รำลึกคดีปราสาทพระวิหาร

Page 1

เพชรณพัฒน์ ศรีวุทธิยประภา อาจารย์ประจาสานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง “โดยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 พิพากษาว่า ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในดินแดนภายใต้อธิปไตยของกัมพูชา” คาพิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505


“...ข้าพเจ้าทราบดีว่าการสูญเสียปราสาทพระวิหารคราวนี้ เป็นการสูญเสียที่สะเทือนใจคนไทยทั้งชาติ ฉะนั้น แม้ว่ากัมพูชาจะได้ปราสาทพระวิหารไป ก็คงได้ไปเฉพาะแต่ซากปรักหักพังและแผ่นดินเฉพาะที่รองรับพระ วิหารนี้เท่านั้น แต่วิญญาณของปราสาทพระวิหารคงอยู่กับไปทยตลอดไป... ” แถลงการณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 “...รัฐบาลไทยไม่เห็นด้วยกับคาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยให้เหตุผลว่า คาพิพากษาของ ศาลขัดแย้งกับบทบัญญัติแห่งสนธิสัญญา ค.ศ. 1904 และ 1907ในข้อที่เกี่ยวข้องโดยตรง ตลอดจนขัดต่อหลัก กฎหมายและความยุติธรรม แต่ในฐานะที่ไทยเป็นประเทศสมาชิกสหประชาชาติ รัฐบาลไทยจะปฏิบัติตาม พันธกรณีต่าง ๆ อันเป็นผลมาจากคาพิพากษา ตามข้อ 94 ของกฎบัตรสหประชาชาติ...” “…รัฐบาลปรารถนาจะตั้งข้อสงวนอย่างชัดแจ้ง เพื่อสงวนไว้ซึ่งสิทธิที่ประเทศไทยมีหรือพึงมีในอนาคตในการ เรียกคืนปราสาทพระวิหาร โดยอาศัยกระบวนการทางกฎหมายที่มีอยู่หรือที่จะเกิดขึ้นในภายหลัง…”จดหมาย กระทรวงการต่างประเทศไทย เลขที่ (0601)22239/2505 ถึงสหประชาชาติ ลำดับเหตุกำรณ์สำคัญก่อนกำรฟ้องคดีของกัมพูชำ  พ.ศ.2497 กัมพูชาได้รับเอกราชโดยสมบูรณ์จากฝรั่งเศส นายพจน์ สาระสิน รัฐมนตรีกระทรวงการ ต่างประเทศในขณะนั้ น เห็ น ว่า รั ฐบาลไทยยังไม่ สมควรที่จะให้ การรับรองประเทศกัมพูช า เพราะ เล็งเห็นว่าจะมีความยุ่งยากในเรื่องดินแดน แต่ จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีเห็นว่าควร ที่จะรับรอง นายพจน์ สาระสิน จึงลาออกจากตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ  พ.ศ.2497 หลังได้รับเอกราชกัมพูชาแจ้งให้ไทยถอนผู้ดูแลออกจากปราสาทพระวิหาร (ก่อนที่กัมพูชา จะได้รับเอกราชฝรั่งเศสเคยแจ้งให้ไทยถอนตัวออกจากตัวปราสาทมาแล้ว 4 ครั้ง ระหว่าง ค.ศ. 24922493) ไทยไม่ถอนเพราะถือว่าปราสาทเป็นของไทย  พฤษภาคม พ.ศ. 2500 ไทยไม่ได้ตอบรับการแจ้งของกัมพูชาและเสนอให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ ร่วมไทย-กัมพูชา 2 คณะ คณะแรกทาหน้าที่ตรวจสอบเขตแดน ส่วนคณะที่สองทาหน้าที่ตรวจความ สงบเรียบร้อยตามชายแดน แต่กัมพูชาปฏิเสธข้อเสนอของไทย


 พ.ศ. 2501 ประชาชนกัมพูชาชุมนุมประท้วงไทยกรณีปราสาทพระวิหารหน้าสถานเอกอัครราชทูต ไทย ณ กรุงพนมเปญ ทาให้ความสัมพันธ์ของสองประเทศตึงเครียดขึ้นโดยลาดับ และมีการเคลื่อน กองกาลังประชิดชายแดน  12 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 เจ้าฟ้านโรดมสีหนุ นายกรัฐมนตรีกัมพูชา เสด็จกรุงเทพฯ เพื่อหารือกับพล โทถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีของไทย ทั้งสองฝ่ายได้ ออกแถลงการณ์ร่วมตกลงจะให้มีการเจรจา ปัญหาปราสาทพระวิหาร ณ กรุงเทพ ในเดือนสิงหาคม  18 สิงหาคม-4 กันยายน พ.ศ. 2501 ทั้งสองฝ่ายยืนกรานความเป็นเจ้าของปราสาทพระวิหาร การ เจรจาไม่บรรลุผล  กันยายน พ.ศ. 2501 ประชาชนไทยชุมนุมประท้วงหน้าสถานเอกอัครทูตกัมพูชาประจา กรุงเทพ สื่อมวลชนของทั้งสองฝ่ายโจมตีคู่พิพาทอย่างรุนแรง  19 ตุลาคม พ.ศ. 2501

เกิดรัฐประหารในประเทศไทยยึดอานาจพลโทถนอม กิตติขจร จอม

พลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน  24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501

กัมพูชาประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย ประกาศปิด

พรมแดน และเพิ่มตารวจตระเวนชายแดนเข้าไปพื้นที่  3 ธันวาคม พ.ศ. 2501

กัมพูชาร้องไปยังสหประชาชาติ ขอให้ส่งผู้แทนมาสังเกตการณ์บริเวณ

ชายแดนไทยกัมพูชา โดยอ้างว่าฝ่ายไทยส่งทหารประชิดชายแดนจานวนมาก  มกราคม พ.ศ. 2502 สหประชาชาติ ส่งผู้เอกอัครราชทูตพิเศษมาตรวจดูสถานการณ์และไกล่เกลี่ย ข้อ พิพ าท ผลการไกล่ เ กลี่ ย ทาให้ ไ ทยและกั ม พูช าเปิ ด ความสั ม พัน ธ์ท างการทูต อี กครั้ง ในวั นที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502  กุมภาพันธ์ – ตุลาคม พ.ศ. 2502 สื่อมวลชนทั้งสองฝ่ายโจมคู่พิพาทเป็นระยะ กัมพูชำฟ้องคดีต่อศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ  6 ตุลาคม พ.ศ. 2502 กัมพูชายื่นฟ้องไทยต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ขอให้ศาลพิพากษาให้ 1. “ไทยมีหน้าที่ต้องถอนทหารออกไปจากปราสาทพระวิหาร ซึ่งได้ส่งเข้าไป ตั้งแต่ ค.ศ. 1954” 2. “อธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารเป็นของกัมพูชา”  5 มีนาคม พ.ศ. 2502

กัมพูชาฟ้องเพิ่มอีก 2 ข้อ คือ ขอให้ศาลพิพากษาให้ 1. “เส้นเขตแดน

ระหว่างไทยกับกับพูชาในตอนเขาดงรัก คือ เส้นที่ลากไว้บนแผนที่ของคณะกรรมการปักปันเขตแดน


ระหว่างอินโดจีนกับสยาม” และ 2. “สิ่งประติมากรรม แผ่นศิลาส่วนปรักหักพังของอนุสาวรีย์ รู ปหิน ทราย เครื่องปั้นดินเผาโบรานที่ได้ถูกโยกย้ายไปจากประสาทพระวิหารโดยเจ้าหน้าที่ไทย นับตั้งแต่ พ.ศ. 2497 ให้รัฐบาลไทยส่งคืนให้กัมพูชา”  20 มีนาคม พ.ศ. 2502

กัมพูชาฟ้องเพิ่มอีก 1 ข้อ คือ ขอให้ศาลพิพากษาให้ 1. “แผนที่ตอนเขา

ดงรักนั้น ได้ถูกจัดทาขึ้นเผยแพร่ในนาม คณะกรรมการปักปันเขตแดนระหว่างอินโดจีนกับสยามที่ ตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญา ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1904 และว่าแผนที่นี้แสดงรายละเอียดตรงตามมติของ คณะกรรมการดังกล่าวโดยเหตุผลจากความจริงนี้ และด้วยความตกลงและปฏิบัติต่อกันมาของภาคีใน สัญญาแผนที่จึงมีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอย่างหนึ่ง” กำรแก้คำฟ้องของฝ่ำยไทย  ไทยไม่เคยยอมรั บ อานาจศาลใหม่ตามกฎบัตรสหประชาชาติและตามธรรมนูญศาลยุติธ รรม ระหว่างประเทศ แม้ว่าไทยเคยยอมรับเขตอานาจศาลประจายุติธ รรมระหว่างประเทศของ สันนิบาตชาติในปี พ.ศ. 2472 แต่ศาลนั้นถูกยุบเลิกไปพร้อมกับสันนิบาตชาติแล้ว  ไทยมีอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารเพราะทั้งก่อนการฟ้องและขณะฟ้อง ไทยเป็นผู้ครอบครอง ปราสาทพระวิหาร ปราสาทอยู่ในเขตแดนไทย โดยยึดตามเส้นสันปันน้า ตามสนธิสัญญาสยาม ฝรั่งเศส ฉบับลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 และวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2450 ไทยปฏิเสธ แผนที่ที่กัมพูชาอ้างเพราะเป็นแผนที่ที่ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายสารวจและจัดทาฝ่ายเดียว ไทยไม่ได้เข้า ร่วม ไม่เคยมีข้อตกลงว่าแผนที่ดังกล่าวเป็นสนธิสัญญา คำพิพำกษำศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ  26 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศพิพากษาโดยเสียงเอกฉันท์ ยกคา คัดค้านของประเทศไทย และพิพากษาว่า การขยายคาประกาศเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 มีลักษณะเป็นการรับรองอานาจศาลยุติธรรมระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นใหม่ จึงให้รับ ฟ้องของกัมพูชาซึ่งยื่นฟ้องเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2502  15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ พิพากษาว่า “โดยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ให้ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในอาณาเขตภายใต้อธิปไตยของกัมพูชา” “ โดยคะแนน เสียง 9 ต่อ 3ประเทศไทยมีพันธะต้องถอนทหารหรือตารวจหรือผู้ดูแลอื่นใดออกจากปราสาท


หรือในบริเวณใกล้เคียงบนอาณาเขตของกัมพูชา” “โดยคะแนนเสียง 7 ต่อ 5 ให้ประเทศ ไทยต้องคืนแก่กัมพูชาวัตถุที่ไทยอาจได้โยกย้ายจากปราสาทหรือบริเวณพระวิหาร” จุดยืนประเทศไทยหลังจำกมีคำพิพำกษำศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ  4 กรกฎาคม พ.ศ. 2505

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ แถลงการณ์ ต่อประชาชนที่จะปฏิบัติตามคา

พิพากษาในฐานะสมาชิกสหประชาชาติ และมีความตอนหนึ่งว่า “...ข้าพเจ้าทราบดีว่าการสูญเสีย ปราสาทพระวิห ารคราวนี้ เป็ น การสู ญเสี ยที่ส ะเทือนใจคนไทยทั้งชาติ ฉะนั้นแม้ว่ากัมพูช าจะได้ ปราสาทพระวิหารไป ก็คงได้ไปเฉพาะแต่ซากปรักหักพังและแผ่นดินเฉพาะที่รองรับพระวิหารนี้เท่านั้น แต่วิญญาณของปราสาทพระวิหารคงอยู่กับไทยตลอดไป... ”  6 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 รัฐบาลไทยโดย พ.อ.ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศส่งหนังสือ เลขที่ (0601)22239/2505 ไปยังเลขาธิการสหประชาชาติ ความว่า “... รัฐบาลไทยไม่เห็นด้วยกับคาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศโดยให้เหตุผลว่า คาพิพากษา ของศาลขัดแย้งกับบทบัญญัติแห่งสนธิสัญญา พ.ศ. 2447 (1904) และ พ.ศ. 2450(1907) ในข้อที่ เกี่ยวข้องโดยตรง ตลอดจนขัดต่อหลักกฎหมายและความยุติธรรม แต่ในฐานะที่ไทยเป็นประเทศ สมาชิกสหประชาชาติ รัฐบาลไทยจะปฏิบัติตามพันธกรณีต่าง ๆ อันเป็นผลมาจากคาพิพากษา ตามข้อ 94 ของกฎบัตรสหประชาชาติ...” และประกาศท่าทีของประเทศไทยในการสงวนสิทธิกรณีปราสาท พระวิหารว่า“…รัฐบาลปรารถนาจะตั้งข้อสงวนอย่างชัดแจ้ง เพื่อสงวนไว้ซึ่งสิทธิที่ประเทศไทยมีหรือ พึงมีในอนาคตในการเรียกคืนปราสาทพระวิหาร โดยอาศัยกระบวนการทางกฎหมายที่มีอยู่หรือที่จะ เกิดขึ้นในภายหลัง…”

ประเทศไทยสำมำรถเรียกร้องเอำปรำสำทพระวิหำรกลับคืนมำได้หรือไม่  ตามธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ข้อ 60 ประเทศไทยไม่อาจเรียกร้องเอาปราสาทพระ วิห ารกลั บ คืน มาได้ เนื่ องจากคาพิพากษาดังกล่ าวถือเป็นที่สุ ดไม่สามารถอุทธรณ์ได้อีก (The Judgment is final and without appeal.) และถ้าประเทศไทยประสงค์จะขอตีความคา พิพากษาเพื่อให้ได้ปราสาทพระวิหารกลับคืนมา ภายใต้บทบัญญัติข้ อนี้ศาลก็ไม่มีอานาจที่จะ ตี ค วามให้ เ ป็ น ผลลั ก ษณะเช่ น นั้ น ได้ เนื่ อ งจากการตี ค วามจะต้ อ งตี ค วามในขอบเขตของค า พิพากษาเดิมซึ่งศาลตัดสินแล้วว่าปราสาทเป็นของกัมพูชา


 นอกจากนี้ภายใต้ ข้อ 61 ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ การที่ไทยจะขอให้ศาลแก้ไข คาพิพากษาในคดีเดิมได้นั้น ต้องมีการพบพยานหลักฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนแปลงผลคดีทั้งนี้ ต้องยื่นคาขอภายในระยะเวลา 6 เดือนที่ค้นพบ หรือ 10 ปีหลังจากที่ศาลมีคาพิพากษา ซึ่งถึง ตอนนี้ ก็ มิ ไ ด้ ป รากฏว่ า ไทยค้ น พบพยานหลั ก ฐานใหม่ ใ ดๆที่ จ ะขอแก้ ไ ขค าพิ พ ากษาได้ และ ระยะเวลาในการขอแก้ไขคาพิพากษาก็สิ้นสุดลงแล้วนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515  ดังนั้ น ภายใต้ กระบวนการทางกฎหมายที่มีอ ยู่ใ นปัจ จุบัน ตามธรรมนูญ ศาลยุ ติธ รรมระหว่า ง ประเทศ ประเทศไทยไม่อาจเรียกร้องเอาปราสาทพระวิหารกลับคืนมาได้ เว้นแต่จะอาศัยหลัก กฎหมายตามข้อ 33 ของกฎบัตรสหประชาชาติ เพื่อเป็นช่องทางในการเจรจาตามสิทธิที่ไทยได้ สงวนไว้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.