5707215 นางสาว มาริสา ดอนยังภัย

Page 1

Nang loeng


โครงการ

อาจารยที่ปรีกษา

ศูนยสงเสริมการเรียนรูเเละทองเที่ยวเชิง ศิลปวัฒนธรรมชุมชนนางเลิ้ง นางสาว มาริสา ดอนยังภัย รหัส 5707215 คณะศิลปะเเละการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน นาย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน


PROJECT BACKGROUND ความเปนมาเเละความสำคัญของโครงการ ปจจุบันยานเกากำลังถูกลืมไปตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ความเจริญกาวหนา ของเทคโนโลยีและการคมนาคม บทบาท รสนิยม ที่เปลี่ยนไปตามยุคกาลเวลา ทำใหคนหันหลังใหกับวัฒนธรรมความงามของไทย แมจะมีคนสวนหนึ่งที่ยังคง สืบทอดตอมา แตไมไดมีการถูกเพิ่มมูลคา ยานนางเลิ้งกำลังเปนอีกทีหนึ่งที่กำลังสูญหายไป เพราะความเจริญ กาวหนาของสังคมเมือง โครงการรถไฟฟาใตดินที่กำลังมีแผนจะเกิดขึ้น ไดมีการเวียนคืนพื้นที่ เเละ พื้นที่บริเวณนั้นมี ตรอกศิลปน บานนราศิลป บานเตนรำ รวมถึงชุมชนที่อาศัยกันมารุนตอรุน กำลังจะหายไป


OBJECTIVE

วัตถุระสงคของการวิจัย ผูจัดทำไดศึกษาเกี่ยววัฒนธรรมและวิถีชีวิตของยานนางเลิ้ง เพื่อทำศูนยสงเสริมการเรียนรูเเละทองเที่ยวชุมชนนางเลิ้ง 1. 2. 3. 4. 5.

เปนพื้นที่ใหความรูดานประวัติศาสตรที่เกี่ยวของกับชุมชน นางเลิ้ง เปนพื้นที่สงเสริมภูมิปญญาของคนในชุมชน ดานศิลป วัฒนธรรมที่สืบตอกันรุนตอรุน สถานที่support นักเรียน นักศึกษา ที่สนใจเกี่ยวกับชุมชน เเละศิลปวัฒนธรรมนางเลิ้ง กระจายรายไดใหพื้นที่ชุมชน เปนศูนยกลาง หรือ จุดนัดพบกับผูที่สนใจการทองเที่ยวยานนางเลิ้ง


EXPECTATION

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

โดยหวังวาศูนยนี้จะเปนประโยชนแกผูที่อยากทราบเกี่ยวกับ ประวัติยานนางเลิ้ง หรือย ยานนางเลิ้ง ศูนยจะชวยปลูกจิตสำนึกใหเห็นคาวัฒนธรรมเกาเเกของชุมชน นางเลิ้งที่อาจสูญหายไปในกาลเวลาตอไป ศูนยแหงนี้นอกจากใหความรูกับคนภายนอกที่สนใจยานนางเลิ้ง เเลว อยากใหศูนยแหงนี้เปนพื้นที่สรางความภูมิใจกับคนในชุมชน ชวยสรางอาชีพใหกับคนในชุมชนเเละกระจายรายไดแกชุมชน อยากใหคนในประเทศในองคกรตางๆเห็นคาของวัฒนธรรม ประวัติศาสตรที่เกาแกของยานนางเลิ้ง หวังวาจะมีชาวตางชาติมาเที่ยวยานนี้มากขึ้น


คนในนางเลิ้งตองการใหนางเลิ้งมีพื้นที่เรียนรูเกี่ยวกับชุมชน


REVIVVAL DEVOLOPMENT CULTURE CONSERVATION


วัฒนธรรม

วิถีชีวิต

วัดสุนทรธรรมทาน แหลงวัฒนธรรม การสืบทอด วัฒนธรรมเเละประเพณีจากรุนสูรุน

2

ตลาดนางเลิ้ง เเหลงวิถีชีวิตของคนนางเลิ้ง

ความบันเทิง

1

โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี เเหลงความบันเทิงของคนนางเลิ้ง ในยุคสมัยกอน

3


บานนราศิลป

(นายพินิจ สุทธิเนตร ทายาทรุนที่ 3)

กอตั้งคณะขึ้นมาครั้งแรกในราวตนสมัยรัชกาลที่ 6 โดย คุณแมละมอม สุสังกรกาญจน สมัยนั้นรับงานแสดงโขนกลางแปลง โขนหนาจอ, โขนชักรอก,ละครชาตรี,ละครพันทาง และดนตรีไทย ตลอดจนเปนบริษัทผูสราง ภาพยนตรไทยในยุคแรกๆชื่อ นราศิลปภาพยนตรคุณแมจินดา ปานสมุทรไดรับ ชวงสืบสานงานนาฎศิลปจนพัฒนามากขึ้นมาเปนลำดับตามกระแสความนิยม ของคนไทยในยุคนั้น จนเปนคณะนาฎศิลปคณะใหญ ที่มีชื่อเสียงที่สุดแหงหนึ่ง ของประเทศไทยมาเกือบหนึ่งศตวรรษ

การทำเครื่องดนตรี คณะละครชาตรี

การปกชุดโขนดวยมือ บานนราศิลป

บานเตนรำ ( พี่เอิ้น ทายาทรุนที่ 3) บานเตนรำ มีมาตั้งแต ค.ศ.๑๙๖๐ สมัยโกหลังวัง เพราะยุคนั้นไดรับ อิทธิพลตะวันตกเขามา ตอมาเปดเปนโรงเรียนสอนเตนรำ ชื่อวา โรงเรียนสามัคคีลีลาศ โดยรุนเเรก คือ นายจักกฤษณ ตามรสุวรรณ แตตอมาไดปดตัวลงไปประมาน 30 ปที่เเลว ปจจุบันบานเตนรำ อายุราว 90 ปมาเเลว เเละคนในชุมชนไดทำใหบานหลังนี้กลับ มามีชีวิตอีกครั้งโดยทำใหเปนพิพิธภัณฑเเละโรงเรียนสอนลีลาส สำหรับใหความรูบุคคลที่สนใจ

การสอนรำละครชาตรี โขน ของบานนราศิลป เเละ ตรอกละคร แกเยาวชนในชุมชน

ตรอกละคร

การแสดงละครชาตรี ตรอกละคร

-

กิจกรรมเตนลีลาศ บานเตนรำ

คณะละครเเรกที่โดงดังเเละรูจักอยางกวางขวางในสมัยครูพูน เรืองนนท ที่สืบเชื้อสายมาจากพระศรีชุมพล(ฉิม) ขาราชการในเมืองนครศรีธรรมราช ดวยปจจัยตางๆ ครูพูน เรืองนนทมีโอกาสกลับไป นครศรีธรรมราช เมื่อ อายุราว๘ ขวบ จึงมีโอกาสฝกเชิด หนังตะลุง โนรา แตมีการใชภาษากลาง ปจจุบัน ตรอกนี้เปนที่พักของนักแสดง คนทำชุด คนเลนเเละทำเครื่องดนตรี เเละเหลือคณะละครชาตรีในตรอกนี้เพียงสองคณะ คือ คณะครูพูน เรืองนนท คณละคร จงกลโปรงน้ำใจ

เดินเที่ยวรอบชุมชน

พูดคุยเเลกเปลี่ยนกับคนในชุมชน

CULTURE ACTIVITY

การชมนิทรรศการเกี่ยวกับ การชมการเเสดทางวัฒนธรรมของ ประวัตวัฒนธรรมในชุมชนนางเลิ้ง ชุมชนนางเลิ้ง

กิจกรรมสอนปกชุดโขน บานราศิลป ทำเครื่องดนตรี ตรอกละคร

กิจกรรมสอนเตนลีลา บานเตนรำ

Activie Activities

Passive Activities เรียนทำขนมกับ รานขนมเกาเเกของ ชุมชนนางเลิ้ง


ทายาทผูเชา โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี

โรงมหรสพเฉล

ิมธานี

นายพินิจ สุทธิเนตร

โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี สรางขึ้น พ.ศ.๒๔๖๑ สมัยรัชกาลที่๖ เปนเเหลงใหความบันเทิงดาน ภาพยนตรนานาชาติในยุคนั้น

โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี

พ.ศ. ๒๕๓๖ โรงมหรสพแหงนี้ปดตัวลง เพราะความนิยมที่ เปลี่ยนไปจากผูคนที่ตองเขามา ที่นี่เพื่อนดูหนังราว 400 คนเหลือเพียง 10 คนเทานั้น

เปน1ในทีมหัวหนาชุมชนนางเลิ้ง คุณลุงมีความหวังอยากมากที่อยากใหชุมชนนางเลิ้ง ถูกพัฒนา แตการละเลยของคนใรประเทศ ทำใหคนในชุมชนตางดิ้นรนพัฒนาชุมชนของตัวเอง เพื่อเเสดงใหเห็นถึงศักยภาพของชุมชนใหคนในประเทศเห็น และลุงยังเปนทายาทผูเชาโรงมหรสพ ศาลาเฉลิมธานี ที่เคยรุงเรืองในอดีต เเละเพราะมีความเชี่ยวชาญดานภาพยนตรทำใหคุณลุงได ไปบุกเบิกโรงหนังภาคตะวันออก เเละดวยความผูกพันของโรงมหรสพศาลาเฉลิมธานีใหกลับมามีชีวิตอีกครั้ง


ทายาทรุนที่ ๓ บานเตนรำ

พี่เอิ้น

บานเตนรำ มีมาตั้งแต ค.ศ.๑๙๖๐ สมัยโกหลังวัง เพราะยุคนั้นไดรับ อิทธิพลตะวันตกเขามา ตอมาเปดเปนโรงเรียนสอนเตนรำ ชื่อวา โรงเรียนสามัคคีลีลาศ โดยรุนเเรก คือ นายจักกฤษณ ตามรสุวรรณ

บานเตนรำ

บานเตนรำในสมัยนั้น ไมไดสอนเกี่ยวกับดนตรี จึงตองใชเครื่องเลน แผนเสียง หรือ บางครั้งก็มีดนตรีสดที่เรียกวา Shadow

City Volunteer โดยใชตนทุนทางวัฒนธรรมเปนเครื่องมือในการเชื่อมโยง สมาชิกในชุมชนและอาสาสมัครใหมาแกไขปญหารวมกัน ในปนี้เลือก โครงการ นางเลิ้ง ชุมชนแหงชีวิตชีวา เปนตนแบบ โดยรวมมือกับกลุมสถาปนิก openspace ฟนฟูชุมชน ใหเปนแหลงทองเที่ยว เพื่อชวยแกปญหาที่เกิดขึ้น ภายในชุมชนใหคลี่คลายลง โดยเริ่มตนจากบานเตนรำที่เริ่มพัฒนา ซอมเเซม ตัวบาน ตั้งแต ป ๒๕๕๒ จนปจจุบัน

แตตอมาไดปดตัวลงไปประมาน 30 ปที่เเลว ปจจุบันบานเตนรำ อายุราว 90 ปมาเเลว เเละคนในชุมชนไดทำใหบานหลังนี้กลับ มามีชีวิตอีกครั้งโดยทำใหเปนพิพิธภัณฑเเละโรงเรียนสอนลีลาส สำหรับใหความรูบุคคลที่สนใจ


ทายาทรุนที่ ๓ บานนราศิลป

นายพินิจ สุทธิเนตร

กอตั้งคณะขึ้นมาครั้งแรกในราวตนสมัยรัชกาลที่ 6 โดย..คุณแมละมอม สุสังกรกาญจน สมัยนั้นรับงานแสดงโขนกลางแปลง โขนหนาจอ,โขนชักรอก,ละครชาตรี,ละครพันทาง และดนตรีไทย ตลอดจนเปนบริษัทผูสรางภาพยนตรไทยในยุคแรกๆชื่อ..นราศิลปภาพยนตร

บานนราศิลป

คุณแมจินดา ปานสมุทรไดรับชวงสืบสานงานนาฎศิลปจนพัฒนามากขึ้นมาเปน ลำดับตามกระแสความนิยมของคนไทยในยุคนั้น จนเปนคณะนาฎศิลปคณะใหญ ที่มีชื่อเสียงที่สุดแหงหนึ่งของประเทศไทยมาเกือบหนึ่งศตวรรษ พ.ศ. ๒๕๑๑ คณะนราศิลป ไดมีสวนรวมในเบื้องหลังการแสดงโขนธรรมศาสตร ของอาจารยหมอมราชวงศ คึกฤทธิ์ ปราโมช จนมีชื่อเสียงโดงดังไปทั่วประเทศ และยังไดเริ่มผลิตละครรอง,ละครเวที ตลอดจนละครวิทยุขึ้นมาตามความนิยม ของผูคนใยยุคนั้นอีกดวย


ตรอกละคร

พ.ศ. ๒๔๒๗ มีหลักฐานพบวากลุมละครนั้นมีอยูหลายครอบครัว หลายบาน เเละเปนยานละครชาตรีสืบตอมา คณะละครเเรกที่โดงดังเเละรูจักอยางกวางขวางในสมัยครูพูน เรืองนนท ที่สืบเชื้อสายมาจากพระศรีชุมพล(ฉิม) ขาราชการในเมืองนครศรีธรรมราช มีลูกชายเปนไพรหลวงเกณฑบุญยายที่บานสนามควายครั้งรัชกาลที่๓ เเละรวมกับนายขำ นายจัน นายธูป ตั้งคณละครครูพูน เรืองนนท พ.ศ.๒๔๓๔ ที่นครศรีธรรมราช มีกลุมคนถูกกวาดตอน บางกลุม สามารถติดตอกับภูมิลำเนาเดิมได แตตองมาตั้งถื่นฐานใหม ดวยปจจัยตางๆ ครูพูน เรืองนนทมีโอกาสกลับไป นครศรีธรรมราชเมื่อ อายุราว๘ ขวบ จึงมี โอกาสฝกเชิดหนังตะลุง โนรา แตมีการใชภาษากลาง ครูพูน เรืองนนท คณะนี้ถือวาเปนคณะที่เเพงกวาคณะอื่นถึง ๓ เทา เพราะถือวาเปน คนมีฝมือ ที่ถูกปรับเปนการแสดงกึ่งละครนอกไปแลว เเละครูพูนมีภรรยาเ เเละบุตรหลานจำนวนมาก จึงแตกเปนคณะหลายคณะตอมา เชน คณะครูทองใบ เรืองนนท รุนหลานบัวสาย เรืองนนท คณะกนกพร ทิพโยสถ รัชกาลที่๖ ครูมนตรี ตราโมท บันทึกวา ราวรัชสมัยที่๖ มีผูนำเอาละครนอก เเละละครในมาผสมกัน เรียกวาละครชาตรีเขาเครื่อง หรือ ละครชาตรีเครื่อง ใหญ ใชดนตรีละครของผสมวงปพาทยของละครนอก ขณะเดียวกันเกิด คณะละครจากครอบครัวอื่น คณะจงกล โปรงน้ำใจ ปจจุบันตรอกละครเปนพื้นที่พักอาศัย นักแสดง เเละรับงานรำแกบนตาม พระพรหม หรือ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์


บานนราศิลป

บานเตนรำ

ตรอกละคร

วัดสุนทรธรรมทาน


ARAE OF STYDY

โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี

ตลาดนางเลิ้ง


TARGET GROUP

พนักงานในกระทรวง ตางๆในบริเวณยาน นางเลิ้ง

นักทองเที่ยว ชาวตางชาติ นักเรียน นักศึกษา

คนในชุมชนนางเลิ้ง คนที่ทำอาขีพคาขาย ภายในชุมชนนางเลิ้ง

ผูที่สนใจการ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของชุมชน

ผูสูงอายุ ที่ตอง การมาพบปะ หรือ มาผอนคลาย


NANG LOENG

ตัวอาคารที่เลือกคือ โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี อาคารตึกเเถว 2 ชั้น ริมถนนนครสวรรค ตัวโรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี อยูทางดานขวาของตลาดนางเลิ้ง (อาคารที่ทาสีเหลือง)


โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี นางเลิ้ง

โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี (โรงหนังนางเลิ้ง)

อาคารนี้จัดเปนกลุมอาคารอนุรักษในเชิงคุณคาเเละวัฒนธรรม เปนโรงหนังเกาเเกสมัย ร.๖ โรงหนังเเหงเเรกของเมืองไทย สรางความแปลก ใหมใหคนสมัยนั้นมาก เเละทำใหยานนางเลิ้งเปนยานที่เปรียบเหมือนพื้นที่ พบปะเเละเเหลงบันเทิงในฝงพระนคร ปจจุบันโรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี ถูกปดไมใหเขาเนื่องจากอาคารทรุดโทรมมาก เเละกำลังรอการปรับปรุงโดย กรมทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย


INTERIOR FLOOR 1

1

3

2

5

4

1 2 3 4 5 6 7

6

7

ภายในตัวอาคาร คอนขางมืด เพราะเปนโรงหนังเกา โครงสราง truss ใชผนังในการรับน้ำหนัก ไมมีเสากลาง พื้นที่บริเวณชั้น 1 ทางเขาของโรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี กระจกตรงกลางคือจุดซื้อตั๋ว และมีบันไดทางขึ้นอยูดานซาย ขวา เเละตัวผนังตีระเเนงไม มีแผงไขซับเสียง บริเวณจุดฉายภาพยนตร หองน้ำเดิมของโรงมหรสพาลาเฉลิมธานี มีการเเยกชาย-หญิง ทางออกดานประตูฝงหองน้ำ ปจจุบันกลายเปนที่เก็บของ


INTERIOR FLOOR 2

1

3

2

4

ทางเดินเพื่อเขาไปบริเวณที่นั่งชมภาพยนตร เเละมีหองฉายฟลมอยูตรง กลาง เเละทางดานขวาเปนหองเก็บมวนฟลม

5

6

7

1

ชั้นลอย เดิมเปนจุดนั่งชมภาพยนตรโซน VIP เปนพื้นไม ที่มีการแบงระดับขั้น

2

ทางเดินบริเวณชั้นลอย กอนจะเขาไปยังที่นั่งชมภาพยนตร

3 4 5 6 7

หองฉายฟลมภาพยนตร หองเก็บฟลมภาพยนตร หนาตางบานกระทุง ตีนอนซอนเกล็ด ชั้นลอยจะมองเห็นโครงสราง truss ชัดเจนมากขึ้น มีการทำฝาปดโครงสรางหลังคาบางสวน ที่ผนังยังมีแผงกั้นเสียงสะทอน


EXTERIOR SITE

1

2

4

5

1 2 3 4 5 6

3

6

ตัวอาคารดานนอก เปนอาคารหนาจัว ผนังเปนระเเนงไม หนาตางตีนอนซอนเกล็ก เปนบานกระทุง ซึ่งแผนของระเเนงไมมีหลุดไปบาง เนื่องจากความทรุดโทรม ผนังเปนสังกะสี คอนขางโทรม ทางออกฝงขวาของอาคาร มุมดานขวาของอาคาร เปนพื้นที่ที่คนในชุมชนออกมาพบปะกัน มีการเลน หมากรุกของคนในชุมชน ดานหนาของอาคาร ดานตรงขามเปนอาคารตึกเเถว 2 ชั้น ดานขางขวาของตัวอาคารติดซอยไปดานหลังชุมชน เเเละ ตึกเเถวสอง 2 ชั้น


SITE ANALYSIS

อาคารตึกแถว ติดถนน นครสวรรค

อาคารตึกแถว 2 ชั้น นางเลิ้ง

อาคารอนุรักษสมัยรัชกาลที่ ๕ เปนอาคารไดรับอิทธิพลตะวันตกเเละจีน เปนอาคารสูง 2 ชั้น หลังคาทรงปนหยา มุงหลังคาดวย กระเบื้องซีเมนต ปจจุบันมี บางสวนเปดดานลางเพื่อคาขาย ดานบนเก็บชองหรืออยูอาศัย เเละบางสวนไมมีผู อยูอาศัย


INTERIOR FLOOR 1

2

1

3

4

1

พื้นที่ดานลาง ดานลางเปดเปนรานขายของ มีลักษณะเเคบยาว

2

บริเวณดานหลังของตัวบานเเคบเเละมืด

3

บันไดเปนบันไดเกา เล็กและชัน

4

ดานหลังสุดตัวอาคาร เปนครัว เเละหองน้ำ


INTERIOR FLOOR 2

1

2

1 1

3

4

บริเวณหลังคามีชองตะเเกรง เเละหลังคาใส เพื่อใหเเสงเขามาในตัวอาคาร

2

พื้นที่บริเวณชั้น 2 เปนที่เก็บของ

3

มีสองหองนอน คอนขางมืด เเละอับ

4

บันไดลักษณะเเคบเเละชัน เปนพื้นไม



PLAN MOOD CASE STUDY


PLAN อาคารตึกแถว 2 ชั้น

REST ROOM

พื้นที่จัดเเสดง

พื้นที่จัดเเสดง

COMMON AREA

INFORMATION

พื้นที่บอกขาวสารภายในชุมชน พื้นที่จัดเเสดง ทางเดินเทา

แปลนพื้นชั้น 1

แปลนพื้นชั้น 2 1:150

1:150


พื้นที่จัดแสดง -พื้นที่จัดเเสดงแบบ ถาวร บอกเลา -ประวัติของนางเลิ้ง พื้นที่จัดเเสดงชั่วคราว

INFORMATION -สวนใหบริการนักทองเที่ยว เกี่ยวกับการทองเที่ยว ในยานนางเลิ้ง -เชื่อมตอกับ ศูนยเรียนรู ทางวัฒนธรรมของนางเลิ้ง -เปนที่สนับสนุนการทำกิจกรรมในชุมชน

พื้นที่สวนกลาง - พักผอน - จุดเเวะพัก -นักทองเที่ยว -พื้นที่มีโอกาส พบกันตรงจุดนี้


PLAN โรงมหรสพลาเฉลิมธานี

30.30

1.96

4.16

2.95

3.03

3.03

3.03

3.02 3.06

3.05

2.96

4.01 2.64

พื้นที่การเเสดง พื้นที่การเเสดง

INFOMATION

พื้นที่จัดแสดง

4.05

20.15

2.63

4.04

13.00

พื้นที่ทำกิจกรรม

แปลนพื้นชั้นลาง 1:125


PLAN โรงมหรสพลาเฉลิมธานี

30.30

4.16

2.95

3.03

3.03

3.03

3.02

3.06

3.05

2.96

2.64

4.01

วาง

WORKSHOP

4.05

20.15

2.63

4.04

1.96

แปลนพื้นชั้นสอง 1:125


commmn area -พื้นที่นั่งชม นั่งพัก ภายในศูนยการ เรียนรูนาเลิ้ง

พื้นที่จัดเเสดง พื้นที่เเสดงเกี่ยวกับ ประวัติทางวัฒนธรรม ของนางเลิ้ง -มีการเเสดง

workshop

พื้นที่การแสดง

INFORMATION


นางเลิ้ง = ที่รวมประวัติศาสตร


การคิดเเบบ diagram โดยวิเคราะหจากตัวตึก โรงมหรสพศาลาเฉลิมธานี คือการเปดใหมองเห็นภายในได โดยการแชิ้น สวนกลองทึบที่ และพื้นที่บางสวนที่แตกออกมา ยังมาสรางเปน space ไดดวย




CASE STUDY Location Dongdaemun Design Plaza, Seoul, South Korea

ออกแบบโดบ นักออกแบบทั้งสองคน คือ Baram Baram / Farming architecture มาออกแบบ exibitonให LEE Younghee นักออกแบบฮันบกที่โดงดัง สิ่งที่พวกเคาตองการคือ นิทรรศการนี้จะเปนสัญลักษณทางวัฒนธรรมของเกาหลี เปนพื้นที่เพื่อ ใหผูคนมาใชงานได เเละตองการใหที่นี้เปนพื้นที่ของครีเอทีฟในสาขาตางๆอีกดวย การออกแบบจึงตองการใหพื้นที่เปนพื้นที่ใหม ไมมุงเนน การจัดแบบทางการ นำเสนอ มาในรูปแบบเรีนยบงาย


HiGHLIGHT

ออกแบบทุกอยางโดยคำนึง ความเปน hanbok ผนังโปรงเเสดง เปนวัตถุออนนิ่ม ที่หมายถึงผาดานใน

ราวตาก hanbok ที่ทำใหตรงนี้กลายเปนจุดดิสเพลย ใหคนมาถายรูป วิจารณงาน เเละดวยผนังโปรงแสง เเละใหเเสงกระทบตามงาน ทำใหงานเดนขึ้นดวยแสงไฟที่สปอตมา

มีพื้นที่การเเสดงที่ไมได เนนอะไรมาก เเละมีการจัดที่แบบ random ใคร กอสามารนั่งได เพื่อขมภาพยนตร

แบบแปลน รูปแบบสามมิติ

https://www.archdaily.com/874708/versatile-hanbok-create s-space-farming-architectureCreates Space / Farming Architecture


ออกแบบโดบ นักออกแบบทั้งสองคน คือ Baram Baram / Farming architecture มาออกแบบ exibitonให LEE Younghee นักออกแบบฮันบกที่โดงดัง สิ่งที่พวกเคาตองการคือ นิทรรศการนี้จะเปนสัญลักษณทางวัฒนธรรมของเกาหลี เปนพื้นที่เพื่อ ใหผูคนมาใชงานได เเละตองการใหที่นี้เปนพื้นที่ของครีเอทีฟในสาขาตางๆอีกดวย การออกแบบจึงตองการใหพื้นที่เปนพื้นที่ใหม ไมมุงเนน การจัดแบบทางการ นำเสนอ มาในรูปแบบเรีนยบงาย

บานเลขที่ 69 ชุมชนริมน้ำ จันทบูร

เดิมบานหลังนี้ถูกปลอยราง ที่ชุมชนริมน้ำจันทบูร แตดวยการขยายตัวทางการทองเที่ยในเมืองจันทบุรี ที่จะมองหาสถานที่ทองเที่ยวในตัวเมืิง ประกอบกับมีสถานิกเขามาคืนชีวิตใหกับชุมชนริมน้ำอีกครั้ง เเละสถาปตยกรรมของตัวบานเลขที่ 69 คอนขางสมบูรณที่สุดเเลว และมีแผนการพัฒนาชุมชน เขามาเพื่อใหคนจันทบุรีมีสวนเปนเจาของตึกแหงนี้ เพื่อสรางความภูมิใจใหคนในพื้นที่ เเละเคารูสึกดี กับการเขามาเที่ยวของคนตางชาติ เกิเปนเศรษฐกิจยอมๆ ขึ้นมา บานเลขที่ 69 เปนบานหลังเเรกๆ ที่ถูกพัฒนาเพื่อเปนศูนยการเรียนทางชุมชน เเละตามหลังก็มี บานหลวงราชไมตรีเกิดขึ้น เพื่อสรางรายไดภายในชุมชน


ภายในเจำลองเปนเหมือนบาน มีหองตางๆ เเละ มีงานเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน ประวัติของชุมชน ใหผูคนเขาชมฟรี

เเละยังมี ไกดทองถิ่นที่เปนอาสาสมัคร เพื่อคอยใหความชวยเหลือ นักทองเที่ยว รวมทั้งยังพาชมบานเลขที่ 69


OE House / Fake Industries Architectural Agonism + Aixopluc location Alforja, Spain


The OE house is a montage. The clients wanted a double house, which permitted them to move from one half to the other depending on their mood. The architects proposed using two well-known models of domestic space: the open plan of the Case Study Houses for hedonistic pleasures in the warm summer months, covered by the existentialist interiors of Le Corbusier’s Maison Jaoul for the windy months in the Sierra de la Mussara. This was accomplished literally. The departure points for the design were a typological investigation of local rural constructions and the invention of a seasonal membrane that could be reconďŹ gured depending on changes in the weather. Learning form neighbouring constructions, the resulting building is a cross between an agricultural storehouse and a mas, or a Catalan farmhouse. The house transcends its two schizophrenic uses, creating multiple environments depending on the weather and the mood of its inhabitants. The OE, who lived across the street, spent every evening on the construction site.

http://unďŹ nished.es/en/obra/casa-oe/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.