E book แนวข้อสอบกองทัพอากาศประทวน 2558

Page 1


ARMY-INFO-ETC ขาวเปดสอบทหารทุกเหลาทัพ กลาวนํา ARMY-INFO-ETC เปนเว็บเพจ รวบรวมขาวสารการเปดสอบนายสิบ สอบพนักงานราชการ สอบ นายทหารสัญญาบัตร หรือสอบงานราชการในสวนของทหารทุกเหลาทัพ อัพเดททุกงาน โดยผูดูแลอยูใน อาชีพนี้โดยตรง ทําใหไมพลาดทุกสนามสอบทหาร

ที่มาแนวขอสอบ ในส ว นแนวข อ สอบนั้ น มาจาก ผู ที่ เ คยผ า นสนามสอบนั้ น ๆ โดยวางแผนมาจากการวาง วัตถุประสงครายวิชา ตามภาคชั้นนั้นๆ โดยการจําลองโจทยขึ้นมา จนครบตามวัตถุประสงค ทําใหผูอานมี ความรูความเขาใจตามวัตถุประสงคที่จะออกสอบ ตามขอบเขต ของกระทรวงศึกษาธิการ และมีก ารอัพเดท ทุกป โดยการเปดกระดาน แชรขอสอบ จากผูเขาสอบจริง ในตอนเย็นของวันที่สอบ ทําใหไดขอ สอบจริงๆ ในปนั้น มาทําแนวขอสอบใหนองๆในปถัดไป แลวนําขอสอบเหลานี้ มาปรับปรุงในฐานแนวขอสอบเดิม เพื่อใหเปนปจจุบันที่สุด ดวยหลักการนี้จึง มั่นใจในผลงานของเราวา จะทําใหนองๆมีโอกาสสอบติดไดโดย ใชงบประมาณเพียงนอยนิด โดยในปที่ผานๆมาก็มีนองๆสอบติดกันทุกสนาม ตามที่รีวิวตามแนบทายนี้

การอานแนวขอสอบใหเกิดประสิทธิภาพ การอานแนวขอสอบที่ดี คือการอานไปทีละขอ แลวอยาเพิง่ ดูเฉลย ใหตอบไปกอน และใหจด จุดประสงคของคําถามในขอนั้นๆไว แลวไปหาเนื้อหาอานใหเขาใจ ยกตัวอยางเชน วิชาภาษาไทย ขอใดคือ คําสนธิ เราก็จด คําสนธิไว เพือ่ ที่จะไปหาเนือ้ หาอาน ถาจดไวอยางนี้ พอเจอขอสอบจริง รับรองวาทําได แนๆ เพียงเทคนิคงายๆเทานี้


สารบัญ เรื่อง

หนา

แนวขอสอบวิชาภาษาไทย ชุด A……………..………………………….…………….….…….……….. 2 แนวขอสอบวิชาภาษาไทย ชุด B ตอนที่ 1…..….……..…………….……………………...…..….……… 38 แนวขอสอบวิชาภาษาไทย ชุด B ตอนที่ 2…..….……..…………….……………………...…..….……… 57 แนวขอสอบวิชาภาษาอังกฤษ...................................................................................................................... 67 แนวขอสอบวิชาคอมพิวเตอรเบือ้ งตน…………………………………..………………..…...................... 99 แนวขอสอบวิชากฎหมายเบือ้ งตน…………………………………..…….……...……..…...................... 126 แนวขอสอบวิชาคณิตศาสตร…...…………………………………………....…...……………………… 168 ขอสอบจริงป 2558 จากการแชร...…………………………………..…….……...……..…...................... 216


ห น า | 2

แนวขอสอบวิชาภาษาไทย ชุด A จํานวน 100 ขอ 1. การใชระดับเสียงใหมีความแตกตางกันในขณะที่อาน มีประโยชนตอ การอานเนือ้ หาสาระในขอใดมาก ที่สุด 1. นิทาน 2. ปาฐกถา 3. แถลงการณ 4. พระบรมราโชวาท 2. ประโยคในขอใดอานออกเสียงไมยมกแตกตางจากขออื่น 1. เธอเห็นลูกแมวตัวสีดาํ ๆ วิ่งมาทางนี้บางหรือไม 2. เด็กตัวเล็ก ๆ เมือ่ ตะกี้ เปนหลานชายของฉันเอง 3. ในวันหนึ่ง ๆ ปาแกตองอาบเหงื่อตางน้ําหาบของไปขายทุกวัน 4. ทุก ๆ วัน แถวนี้จะเต็มไปดวยรถนานาชนิดที่ทําใหการจราจรคับคั่ง 3. ขอความใดแบงจังหวะวรรคตอนในการอานไดถกู ตอง 1. มีคน/จํานวนไมนอย/เชือ่ วาความตายเปนสิ่งที่จัดการได//จัดการในที่นี้หมายถึง/ 2. เราเชื่อวา/ทุกอยางจัดการได/เพราะเรามีเทคโนโลยี/เรามีเงิน/เรามีความรู/เราจึงมั่นใจวา/เราสามารถ จัดการ/สิ่งตางๆ ได 3. เราสามารถจัดการธรรมชาติ/เราสามารถจัดการสังคม/และเราเชือ่ วา/เราสามารถจัดการรางกายของเรา ได 4. โฆษณาทุกวันนี/้ บอกเราวาทุกอยางจัดการได//เราจึงเชือ่ จริงๆ วา/ไมมีอะไรในโลกนี้ที่จัดการไมได/ รวมทั้งความตาย 4. ขอใดไมมคี วามเกี่ยวของกับการอานจับใจความสําคัญ 1. การจับใจความสําคัญเปนทักษะเบื้องตนของการรับสาร 2. ใจความสําคัญคือความคิดสําคัญหรือประเด็นสําคัญของเรือ่ ง 3. การจับใจความสําคัญสามารถทําไดทั้งการรับสารดวยการอานและการฟง 4. การจับใจความสําคัญดวยการฟงไมจําเปนตองเตรียมความพรอมกอนการฟง


ห น า | 3

5. “ทองฟามีอยูแ บบทองฟา กอนเมฆลอยอยูแบบกอนเมฆ พระอาทิตยสาดแสงในแบบของพระอาทิตย นกรองแบบที่มันรอง ดอกไมสวยงามเปนธรรมชาติของดอกไม ลมพัดเพราะมันคือลม หอยทากเดินชาอยาง ที่หอยทากเปน เหมือนธรรมชาติกําลังกระซิบบอกฉันวามันเพียงเปนของมันอยางนัน้ มันไมรอ งขอ ฉันจะ มองเห็นมัน หรือไมเห็นมัน มันไมเรียกรองใหตองชื่นชม ตองแลกเปลี่ยน ตองขอบคุณ เปนของมันอยางนัน้ ไมไดตอ งการอะไร มันเพียงแตเปนไป ทุกอยางเปนธรรมชาติของมัน” ใจความสําคัญของขอความนี้ตรงกับ ขอใด 1. ธรรมชาติไมเคยสนใจมนุษย 2. ธรรมชาติไมเคยเรียกรองอะไรจากมนุษย 3. ธรรมชาติไมตองการคําชื่นชมจากมนุษย 4. ทุกอยางที่เปนธรรมชาติ ลวนมีความสวยงาม 6. คําในขอใดมีความหมายออม 1. น้ํามาปลากินมด น้ําลดมดกินปลา 2. อันออยตาลหวานลิ้นแลวสิ้นซาก แตลมปากหวานหูไมรูหาย 3. โบราณวาถาเหลือกําลังลาก ใหออกปากบอกแขกชวยแบกหาม 4. ถึงเถาวัลยพนั เกี่ยวทีเ่ ลี้ยวลด ก็ไมคดเหมือนหนึ่งในน้ําใจคน 7. ขอใดสําคัญที่สดุ ในการเขียนกรอบความคิด 1. การจับใจความสําคัญ 2. การลากเสนโยงนําความคิด 3. การกําหนดรูปแบบในการนําเสนอ 4. การใชภาพหรือสัญลักษณทเี่ กี่ยวของ 8. “คนสวนใหญไมคอ ยรูตัว ยังคงอยากไดอะไรที่มากขึน้ ๆ ไมวาจะเปนเงินทอง เกียรติยศชื่อเสียงหรือความ รัก และก็มกั จะไมไดดังใจนึก ความทุกขก็ยิ่งมากขึ้นตามวัยที่มากขึน้ ดวย” ใจความสําคัญของ ขอความนี้ตรง กับขอใด 1. ความอยากของมนุษยเพิ่มตามอายุ 2. คนเราเมื่ออายุมากขึน้ ความตองการจะเพิ่มมากขึ้น 3. ถามนุษยอยากไดไมมีที่สนิ้ สุด ก็จะยิ่งมีแตความทุกข 4. ความทุกขของมนุษยเกิดจากความตองการในทรัพยสิน เงินทอง


ห น า | 4

9. ขอใดใหความหมายของคําวา “วิเคราะห” ไดถูกตองทีส่ ุด 1. พิจารณาความหมายแฝงเรนของเรือ่ ง 2. พิจารณาเจตนาหรือแนวคิดสําคัญของเรื่อง 3. พิจารณายอหนาเพือ่ จับสาระสําคัญของเรื่อง 4. พิจารณาแยกแยะองคประกอบแตละสวนภายในเรื่อง 10. “ผูใดเกิดเปนสตรีอันมีศกั ดิ์ บํารุงรักกายไวใหเปนผล สงวนงามตามระบอบไมชอบกล จึงจะพนภัยพาลการนินทา” ขอคิดที่ไดรับจากบทรอยกรองขางตนตรงกับขอใด 1. เปนผูหญิงตองรูจักรักนวลสงวนตัว 2. เปนผูหญิงตองรูจักเจียมเนื้อเจียมตัว 3. เปนผูหญิงตองงดเวนการนินทาวาราย 4. เปนผูหญิงตองแตงกายใหเหมาะสมกับกาลเทศะ 11. ขอใดเปนวิธกี ารอานตีความรอยกรอง 1. ตีความจากสาระสําคัญของเรื่อง 2. ตีความถอยคําโดยพิจารณาจากบริบท 3. ตีความขอความโดยเปรียบเทียบสํานวนโวหารที่ใช 4. ตีความโดยทําความเขาใจเรือ่ งภาษาภาพพจนที่ใชในงานเขียน 12. ขอใดเรียงลําดับถูกตอง 1. เลาเรือ่ ง วิเคราะหเรือ่ ง กลาวถึงบริบท บอกจุดมุงหมาย ประเมินคา 2. เลาเรือ่ ง บอกจุดมุงหมาย วิเคราะหเรือ่ ง กลาวถึงบริบท ประเมินคา 3. เลาเรือ่ ง กลาวถึงบริบท บอกจุดมุงหมาย วิเคราะหเรือ่ ง ประเมินคา 4. เลาเรือ่ ง วิเคราะหเรือ่ ง กลาวถึงบริบท บอกจุดมุงหมาย ประเมินคา 13. การอานวินิจสารมีความลึกซึ้งแตกตางจากการอานจับใจความสําคัญในประเด็นใด 1. การสรุปเนือ้ หา 2. การบอกประเภท 3. การประเมินคุณคา 4. การบอกองคประกอบ


ห น า | 5

14. ขอใดปรากฏคําที่มคี วามหมายโดยนัย 1. ปฐมพงษเดินไปที่หอ งครัวแลวลืน่ ลมเตะแกวแตก 2. กระโปรงตัวนี้ตัดเย็บสวยเตะตาฉันจริง ๆ เชียว! เธอ 3. โดงซอมเตะฟุตบอลทีส่ นามกีฬาของโรงเรียนทุก ๆ เย็น 4. จอยเตะสุนขั ทีก่ ําลังจะเดินตรงเขามากัดที่โคนขาของเขา 15. จุดประสงคสําคัญที่สดุ ของการคัดลายมือตรงกับขอใด 1. ฝกฝนสมาธิใหแกตนเอง 2. ฝกฝนความเพียรพยายามใหแกตนเอง 3. เพือ่ สรางมาตรฐานเกี่ยวกับรูปแบบตัวอักษรไทย 4. เพือ่ สรางความภาคภูมิใจใหเกิดขึน้ แกคนในชาติ 16. การระบุวาขอความหนึ่ง ๆ คัดดวยอักษรรูปแบบใด ขอใดคือจุดสังเกตสําคัญ 1. การเวนชองไฟ 2. โครงสรางของตัวอักษร 3. การลงน้ําหนักมือบนตัวอักษร 4. ความเสมอตนเสมอปลายของตัวอักษร 17. ลายมือทีไ่ มชัดเจนเปนผลเสียอยางไร 1. ทําใหงานเขียนไมนาสนใจ 2. ทําใหวิเคราะหผลงานไมได 3. ทําใหเกิดอุปสรรคในการสือ่ สาร 4. ทําใหสื่อสารไมตรงวัตถุประสงค 18. รูปประโยคตอไปนี้ขอ ใดถูกตอง 1. เขาทําอะไรเกงกางไมทันกิน 2. ตํารวจกําลังซักฟอกผูตอ งหา 3. พจนรองเพลงเสียงหวานปานนกการเวก 4. ออมเปนคนเก็บเนือ้ เก็บตัวเมื่ออยูก ับผูใหญ 19. “ชุมคอโดนใจ” เปนงานเขียนประเภทใด 1. คําคม


ห น า | 6

2. คําขวัญ 3. โฆษณา 4. คําแนะนํา 20. ถาตองเขียนจดหมายเรียนเชิญวิทยากรมาบรรยายในหัวขอที่กําหนด ภาษาที่ใชในการเขียน ควรมี ลักษณะ อยางไร 1. ขอความสั้นกะทัดรัด ไมเยิ่นเยอ 2. ใชภาษาฟุมเฟอย แตอานเขาใจงาย 3. ภาษาแบบแผน ใชศัพทวิชาการสูงๆ 4. ภาษากึ่งแบบแผนหรือแบบแผน สรางความประทับใจใหผูรับเชิญยินดีทําตามคําขอ 21. ขอใดเปนการเขียนอวยพร 1. จงเชือ่ ในความดี 2. ขอใหมีความสุข 3. ซาโดนใจ 4. จงทําดี 22. การเขียนเรียงความเรื่อง “กลวยพันธุไมสารพัดประโยชน” โครงเรื่องขอใดจําเปนนอยที่สดุ 1. ลักษณะของกลวย 2. ประเภทของกลวย 3. ประโยชนของกลวย 4. ความเชื่อเกี่ยวกับกลวย 23. ขอใดที่ตอ งเขียนใหสอดคลองกับจุดประสงคของโครงงาน 1. ขอเสนอแนะ 2. ที่มาของโครงงาน 3. สรุปและอภิปรายผล 4. ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับ 24. หากมีขอ มูลเกี่ยวกับอาชีพของคนในทองถิ่น ควรเลือกจัดทําโครงงานประเภทใด 1. ทฤษฎี 2. สํารวจ


ห น า | 7

3. ทดลอง 4. ประดิษฐ 25. บุคคลใดมีมารยาทในการเขียนทีไ่ มเหมาะสม 1. สุมิตราใชถอ ยคําที่สภุ าพ ไพเราะในการเขียนสือ่ สาร 2. แกวตาเขียนสื่อสารโดยใชถอ ยคําสุภาพ เหมาะสมกับระดับของผูอ าน 3. สมปรารถนาคนควาขอมูลอยางรอบดานและหลากหลายกอนลงมือเขียน 4. ลีลาศึกษางานเขียนของผูอ ื่น แลวลงมือเขียนโดยคัดลอกขอความนั้นๆ มา เพือ่ แสดงหลักฐาน การคนควา 26. ขอควรปฏิบัติในการเขียนโตแยงตรงกับขอใด 1. การจับใจความสําคัญ 2. การใชภาษาในการถายทอด 3. การกําหนดขอบเขตประเด็น 4. แสดงขอบกพรองทรรศนะของอีกฝาย 27. บุคคลใดใหขอมูลสําหรับการเขียนแนะนําตนเองไดเหมาะสมนอยที่สุด 1. วราภรณบอกชือ่ -นามสกุล ชือ่ เลน อายุ ของตนเองใหเพื่อนๆ ฟง 2. ไมตรีบอกอุปนิสัยสวนตัวและงานอดิเรกทีช่ อบทําหากมีเวลาวาง 3. นวียาบอกสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวที่ประสบผลสําเร็จ จากธุรกิจสงออก 4. ปฐมพงษบอกอาชีพของบิดา มารดา และสาเหตุที่ตอ งยายจากโรงเรียนเดิม

28. อานขอความตอไปนี้ แลวระบุวาเปนการเขียนที่มีวัตถุประสงคอยางไร “มะรุมจอมพลัง คนเรารูจักใชมะรุมเปนยารักษาโรคผิวหนัง โรคทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดิน อาหาร และโรคภัยไขเจ็บอื่นๆ มานานหลายรอยปแลว อีกทั้งปจจุบันยังไดรับการกลาวขวัญถึงวา อาจ เปนทางออก หนึ่งในการรับมือกับความอดอยากและภาวะทุพโภชนาการ พืชทนแลงทีเ่ ติบโตเร็วในอัตรา สูงถึง 3.6 เมตร ตอป ชนิดนี้มีใบอุดมไปดวยวิตามินและเกลือแร” 1. การเขียนโนมนาวใหเชือ่ 2. การเขียนเพือ่ ใหความบันเทิง 3. การเขียนเพือ่ ใหความรู 4. การเขียนเพือ่ ชี้แจง


ห น า | 8

29. ขอใดมีความเกีย่ วของกับศิลปะการเขียนเรียงความนอยที่สดุ 1. การเลือกใชถอ ยคําเพือ่ สรางลีลาการเขียนของตนเอง 2. การเขียนขอความในแตละสวนใหมีความสัมพันธสอดคลองกัน 3. การเลือกใชถอ ยคําที่มคี วามกระชับ ชัดเจน สื่อความตรงไปตรงมา 4. ควรวางโครงเรือ่ งเพือ่ ใหการจัดลําดับความคิดในการนําเสนอเปนไปโดยสมบูรณ 30. การอานในขอใดที่ไมควรใชหลักการยอความ 1. การอานโฆษณาจากหนังสือพิมพ 2. การอานสารคดีเชิงทองเที่ยวจากจุลสาร 3. การอานบทความเชิงอนุรกั ษจากนิตยสาร 4. การอานขัน้ ตอนการประดิษฐจากนิตยสารรายปกษ 31. บุคคลใดตอไปนี้ใชวิธีการอานเพือ่ ยอความไดถกู ตอง 1. บุปผาใชวิธีการอานไปยอไปเพือ่ ความรวดเร็ว 2. มาลีอานเฉพาะยอหนาสุดทายเพือ่ ใหจับใจความสําคัญได 3. นารีอานเนือ้ เรื่องใหเขาใจโดยตลอดจนจบกอนลงมือยอความ 4. ชอผกาอานเฉพาะหัวขอใหญแลวนํามาเรียบเรียงเปนใจความสําคัญ 32. ขอใดจัดเปนจดหมายกิจธุระ 1. จดหมายถึงไกเพือ่ นรัก 2. จดหมายถึงพอและแม 3. จดหมายขอความชวยเหลือจากคุณปา 4. จดหมายสอบถามการรับสมัครนักเรียนฝกงาน 33. ระยะของการปฏิบตั ิโครงงานที่มีความเหมาะสมและถูกตองตรงกับขอใด 1. ขั้นออกแบบ ขัน้ ลงมือ และรายงานผล ขัน้ ติดตามผล 2. ขั้นออกแบบและเขียนเคาโครง ขั้นลงมือ ขั้นรายงานผล 3. ขั้นออกแบบ ขัน้ เขียนเคาโครง ขั้นลงมือ ขัน้ แกปญหา ขั้นรายงานผล 4. ขั้นออกแบบ ขัน้ เขียนเคาโครง ขั้นลงมือ และแกปญหา ขัน้ รายงานผล 34. ขอใดไมใชวิธีทเี่ หมาะสมสําหรับการสืบคนขอมูล เพือ่ นํามาทํารายงานและโครงงานเชิงวิชาการ


ห น า | 9

1. 2. 3. 4.

อานหนังสือ การสํารวจ การสรางแบบสอบถาม การตัดตอจากขอมูลของผูอ นื่

35. ขอใดกลาวถึงลักษณะสําคัญของการเขียนวิเคราะหวิจารณไดถกู ตองที่สดุ 1. เปนกระบวนการเขียนเพือ่ แสดงความรูของผูเ ขียน 2. เปนกระบวนการเขียนเพือ่ ทําใหผอู านเกิดอารมณความรูสึกคลอยตาม 3. เปนกระบวนการเรียบเรียงเนือ้ หาสาระที่ไดจากการศึกษาในประเด็นหนึ่ง ๆ 4. เปนกระบวนการเขียนเพือ่ แสดงความคิดเห็น โดยชี้ใหเห็นทั้งขอดี และขอดอย 36. พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นของบุคคลทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้ ใครแสดงความคิดเห็นไดเหมาะสมที่สุด 1. พรแสดงความคิดเห็นในเรือ่ งสวนตัวของกุง 2. หนอยแสดงความคิดเห็นตอความเชือ่ ของนอย 3. นิดแสดงความคิดเห็นโดยยึดเหตุผลของตนเองเปนใหญ 4. แปงแสดงความคิดเห็นตอขาวอาชญากรรมทีอ่ านจากหนังสือพิมพ 37. พาดหัวขาวในขอใดใชภาษาเพือ่ การแสดงความคิดเห็น 1. รอนนี่ ชาน พอพระ นักอสังหาฯ 2. เชียงราย…ตกหนัก คราชีวิตหญิงชรา 76 3. ดวยคะแนน 2 ตอ 1 เชต วอลเลยบอลสาวไทย 4. ถึงไทยแลว…โรคมือ เทา ปาก สธ.หาทางปองกัน 38. บุคคลใดตอไปนี้มลี ักษณะของผูฟงและดูที่ดี 1. มาลีจะตั้งจุดมุงหมายกอนการฟงและดูทุกครั้ง 2. สมพิศไมชอบผูดําเนินรายการทานนี้จึงไมรับชมรายการ 3. สมปองฟงสมชายซึ่งเปนเพือ่ นสนิทกลาวหาสมศรี แลวเชือ่ ทันที 4. สมพงศไมไดจดบันทึกการฟงบรรยายของวิทยากรเพราะคิดวาตนเองมีความจําที่ดี 39. พิจารณาพฤติกรรมของบุคคลทีก่ ําหนดให อนุมานวาบุคคลใดนาจะประสบผลสําเร็จในการฟงมากที่สดุ 1. กุกเสียบหูฟงขางหนึ่งเพือ่ ฟงเพลงจากคลื่นวิทยุขณะฟงอภิปราย 2. กรณสนทนากับกันตเกี่ยวกับประเด็นการอภิปรายที่พึ่งผานไปขณะฟง


ห น า | 10

3. ไกฟงการอภิปรายอยางตั้งใจแตไมสามารถจับใจความสําคัญของเรือ่ งได 4. แกวบันทึกเสียงของผูอภิปรายขณะฟงการอภิปราย แลวนําไปเปดฟงอีกครั้งหนึ่งที่บาน เพือ่ สรุป สาระสําคัญลงในแบบบันทึกการฟง 40. ขอใดกลาวถึงลักษณะของการพูดทีด่ ีไดถูกตองสมบูรณที่สดุ 1. พูดแลวขัดแยง 2. พูดโดยใชอารมณ 3. พูดแลวผูฟงมีความสุข 4. พูดแลวบรรลุวัตถุประสงค 41. บุคคลใดตอไปนี้นาจะประสบผลสําเร็จในการพูดเพื่อโนมนาวใจมากที่สุด 1. ปรานีใชถอ ยคําเพือ่ แสดงความรูสกึ ของตนเอง 2. บรรจงใชถอ ยคําเพือ่ สงผานความปรารถนาดีไปยังผูฟง 3. เสาวลักษณใชถอ ยคําเพื่อแสดงความคิดเห็นของตนเอง 4. รุงโรจนใชถอยคําเพือ่ ทําใหผูฟงรูส กึ วาเขาเขาใจความรูสกึ ของผูฟง 42. สถานการณใดแสดงวาบุคคลผูนั้นปราศจากแนวทางการฟงเพือ่ จับใจความสําคัญ 1. นารีหาขอมูลเตรียมพรอมเพื่อฟงการสัมมนาประชาคมอาเซียน 2. สมยศจดบันทึกสาระสําคัญที่ไดจากการฟงสัมมนาเรือ่ งประชาคมอาเซียน 3. ขณะที่ฟงการสัมมนาประชาคมอาเซียน มนตรีหนั ไปสนทนากับสนธยาเกี่ยวกับประเด็นทีเ่ พิ่งผานไป 4. ขณะที่ฟงการสัมมนาประชาคมอาเซียน อรทัยคิดตั้งคําถามกับตนเองเกี่ยวกับเรือ่ งที่ฟง 43. บุคคลในขอใดมีความสามารถในการควบคุมอารมณของตนในขณะที่พดู 1. โดมไมเสียดสีผอู ื่น 2. ดอนยิ้มแยมแจมใสทักทายผูฟง 3. โดงไมนําเรื่องของผูอ ื่นมาเปดเผย 4. ดอมไมโตตอบเมือ่ มีผูทกั ทวงในขณะที่พดู 44. ขอใดเรียงลําดับขั้นตอนของการพูดเพือ่ โนมนาวใจไดถูกตอง 1. ฟง เชือ่ เห็นคุณคา ทําตาม 2. เชือ่ ฟง เห็นคุณคา ทําตาม 3. ฟง เชือ่ ทําตาม เห็นคุณคา


ห น า | 11

4. เชือ่ ฟง ทําตาม เห็นคุณคา 45. ลักษณะสําคัญของการพูดอภิปรายตรงกับขอใด 1. การพูดแสดงความคิดเห็น 2. การพูดเพือ่ วางแผนปฏิบัติงาน 3. การพูดเพือ่ เผยแพรความคิดเห็น 4. การพูดแลกเปลี่ยนความรูความคิด 46. ขอใดกลาวถึงลักษณะของการโตวาทีที่ดีไดถกู ตอง 1. ใหความรู 2. ใหความเพลิดเพลิน 3. ใหความรูและความบันเทิง 4. ใหความสามารถในการคิดวิเคราะห 47. พฤติกรรมในขอใดควรกระทําเมือ่ ตองพูดรายงานเชิงวิชาการ 1. ประมวลใชถอยคําทีแ่ ฝงมุกตลกขบขัน 2. ประณมใชถอ ยคําแสดงความเปนกันเองกับผูฟง 3. ประไพใชถอ ยคําเพือ่ เราอารมณความรูสึกของผูฟง 4. ประพิศใชถอยคําทีเ่ ปนทางการ กระชับ เขาใจงาย 48. ประโยคในขอใดปรากฏสระลดรูปมากที่สดุ 1. ดําเปนคนสะอาดและทํางานเรียบรอย 2. แดงเปนคนขยันเขาทําขนมขายทุกวัน 3. สมเปนคนรวยและมักจะสวมเสื้อผาสวย ๆ 4. เขียวเปนคนนิ่งเฉยและปลอยใหเวลาผานเลย 49. ประโยคใดมีเสียงพยัญชนะควบกล้ํามากทีส่ ุด 1. อยาเลนสนุกสนานครืน้ เครงบนซากปรักหักพัง 2. ครอบครัวนี้รวมพลังสูผ ีพรายในนิทานปรัมปรา 3. เหลาวัวควายเดินกินน้ําบริเวณหนองน้ําใกลทุงนา 4. นกปรอดสีขาวบินปรอบนทองฟาเวลายามเย็น 50. คําในขอใดมีเสียงวรรณยุกตตรงกับคําวา “น้ําแข็ง” ทั้งสองคํา


ห น า | 12

1. 2. 3. 4.

ปลาเค็ม น้ําใจ น้ําปลา มาน้ํา นาสาว ลางขา ปลาทู ไหมฝน

51. คําประสมในขอใดประกอบขึ้นจากคําชนิดเดียวกันทุกคํา 1. น้ําปลา ไกชน น้ําแข็ง 2. ตาขาว มดแดง ดอกฟา 3. บัตรเติมเงิน แปรงสีฟน ใบขับขี่ 4. ปากนกกระจอก รถไฟฟา เด็กหลอดแกว 52. คําซอนในขอใดมีวิธกี ารประกอบรูปคําเหมือนกัน 1. อวนพี ดูแล รุงริ่ง 2. ยากงาย เสือ่ สาด จิตใจ 3. จิตใจ บานเรือน เสือ่ สาด 4. บานเรือน ถวยชาม ถากถาง 53. รูปประโยคใดแตกตางจากขออืน่ 1. สมพลเปนคนซุมซามมักเดินชนสิ่งของตางๆ อยูเ ปนประจํา 2. สมภพฟงเรือ่ งทีส่ มเกียรติเลาแลวหัวเราะจนน้ําหูน้ําตาไหล 3. สมชายมักถูกหัวหนางานตําหนิตเิ ตียนเสมอเรือ่ งเวลาเขางาน 4. สมสมรจัดขาวของทีก่ ระจัดกระจายอยูเต็มพืน้ หองใหเรียบรอย 54. ขอใดเปนคําสมาสสรางทุกคํา 1. สรรพาวุธ สันติภาพ ชีวเคมี 2. เทพเจา เคมีภัณฑ ทุนทรัพย 3. ภัตตาคาร โยธวาทิต ทรัพยากร 4. ทรัพยากร ประชาชน กาลเวลา 55. คําสมาสในขอใดอานออกเสียงตางจากขออื่น 1. เอกชอบเรียนวิชากายวิภาคศาสตร 2. ฟาผาเปนปรากฏการณทางธรรมชาติ


ห น า | 13

3. แพทยสภาเปนหนวยงานทางราชการ 4. พสกนิกรชาวไทยเฝาฯ รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 56. ขอใดเปนคําสมาสที่มสี นธิทุกคํา 1. สุโขทัย ปรมาณู ยุทธภูมิ 2. จิตรกรรม ปรมาณู สวัสดิภาพ 3. จิตรกรรม กรณียกิจ สวัสดิภาพ 4. สุโขทัย พฤษภาคม แสนยานุภาพ 57. คําในขอใดเปนคําไทยแททกุ คํา 1. เฆี่ยน ขจี กุศล 2. กีฬา กรีฑา ปฏิวัติ 3. เผด็จ กระจาย กวยเตี๋ยว 4. มะขาม กระถิน กระโจน 58. คําในขอใดเปนคําที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต 1. อัชฌาสัย 2. พฤกษา 3. บรรทัด 4. อิจฉา 59. คําในขอใดเปนคําที่ยืมมาจากภาษาเขมร 1. บูรณะ 2. มรกต 3. เพชร 4. เพลิง 60. การประกอบศัพทบัญญัติจะใชคําในขอใดมาประกอบ 1. ภาษาอังกฤษ 2. ภาษาชวา-มลายู 3. ภาษาบาลี สันสกฤต 4. ภาษาจีนและอังกฤษ


ห น า | 14

61. คําทับศัพทมีลกั ษณะสําคัญอยางไร 1. ยืมมาใชโดยไมมีการปรับปรุงแกไข 2. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสรางของคํา 3. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธกี ารออกเสียง 4. ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย 62. คํานามในขอใดตอไปนี้ทําหนาที่ตางจากขออื่น 1. หนังสือเลมนี้มแี ตคนสนใจ 2. เขาขอบอานหนังสือเลมนี้มากที่สดุ 3. หนังสือชุดนี้พวกเขาเหลานัน้ ชอบมาก 4. หนังสือเลมนีน้ าสนใจเพราะเปนเรือ่ งที่ดีมาก 63. ประโยคในขอใดไมปรากฏคําสมุหนามหรือคํานามที่บอกความเปนหมูเ ปนพวก 1. คณะนักเรียนโรงเรียนบานรีวิทยาไปทัศนศึกษา 2. ฝูงโลมาวายมาเกยตืน้ บริเวณปากอาวไทย 3. กองหนังสือวางอยูบนโตะในหองสมุด 4. ชาวนาตองการสวิงหาปลาหลายปาก 64. “เขาปลูกตนกามปูไวทางทิศตะวันตก เพื่อใหมันบังแดดตอนบาย” คําที่ขีดเสนใตเปนคําชนิดใด และทํา หนาที่ใดในประโยค 1. เปนคําสรรพนาม ทําหนาที่เชือ่ มประโยค 2. เปนคําสรรพนาม ทําหนาที่บอกความชี้เฉพาะ 3. เปนคําลักษณนาม ทําหนาที่บอกลักษณะของคํานามทีอ่ ยูข า งหนา 4. เปนคําสรรพนาม ทําหนาที่แทนกรรมของประโยคเมือ่ มีการกลาวซ้ํา 65. ขอใดใชคําบุพบทถูกตอง 1. เราทุกคนมัน่ ใจตอมติที่ประชุม 2. นองตั้งใจเรียนเพราะอนาคตของตนเอง 3. เรากลาวคําสรรเสริญแกพระผูมีพระภาคเจา 4. นิสิตตองยืน่ คํารองตอมหาวิทยาลัยเมือ่ ตองการเปลี่ยนวิชา


ห น า | 15

66. ขอความใดเปนประโยค 1. พอเหนือ่ ย 2. ทานผูมเี กียรติทั้งหลาย 3. คนไทยรุน ใหมในทศวรรษนี้ 4. พวกเรานักเรียนโรงเรียนวัดไทรยอย 67. ประโยคในขอใดมีโครงสรางภายในแตกตางจากขออื่น 1. ปรีชากินอาหารซึ่งแมของเขาเปนคนปรุง 2. ที่เขาทํามาทั้งหมดไมมีความหมายกับใครเลย 3. เสือ้ ที่พีระสวมอยูตัดเย็บโดยชางประจําตัวของเขา 4. ลําดวนซือ้ พวงมาลัยซึ่งขายอยูที่สแี่ ยกมไหสวรรย 68. ขอใดคือสวนประกอบของประโยคสามัญ 1. ประธาน คําเชื่อม 2. ประธาน กริยา 3. ประธาน 4. กริยา 69. “คุณพอบอกลูกๆ วาทุกคนตองเขมแข็งอดทนรวมมือรวมใจกันฝาฟนกับภัยธรรมชาติทเี่ กิดขึ้นจนยากที่ จะแกไขได” ขอความนีเ้ ปนประโยคชนิดใด 1. ประโยคซอน 2. ประโยครวมที่ซับซอน 3. ประโยคซอนทีซ่ ับซอน 4. ประโยคสามัญทีซ่ ับซอน 70. ขอใดเปนคําสรรพนามบุรุษที่ ๒ ทีต่ องใชเมื่อสนทนากับสมเด็จพระราชาคณะ 1. พระคุณเจา 2. ทานพระเดช 3. ทานเจาประคุณ 4. พระเดชพระคุณ 71. ขอใดเปนลักษณะเดนเฉพาะของภาษาพูด


ห น า | 16

1. 2. 3. 4.

มีความเครงครัดในเรือ่ งไวยากรณ ใชประโยคที่ซับซอนในการสื่อสาร ใชประโยคที่ละประธานในการสือ่ สาร มักขึ้นตนประโยคโดยการใชคํานามธรรม

72. บุคคลใดใชพลังของภาษาไปในเชิงสรางสรรค 1. วิชิตพูดโนมนาวใหอมรชัยทําการบานใหแกตนเอง 2. ภาณุพูดโนมนาวใจเพื่อใหผฟู งเกิดความรูสกึ แบงฝกแบงฝาย 3. จันทรพูดโนมนาวใหสมใจเขาใจผิดกับกัลยา เพราะจันทรไมชอบกัลยา 4. สมภพพูดใหคนในชุมชนรวมมือกันทําแนวกระสอบทรายปองกันน้ําทวม 73. ขอใดประกอบคําราชาศัพทเพื่อใชสื่อสารไดถกู ตอง 1. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงโปรดการถายรูปดวยพระองคเอง 2. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดําเนินตางประเทศ 3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2498 4. สมเด็จพระบรมราชินนี าถ ทรงมีพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหขาราชการเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท 74. คําราชาศัพทในขอใดแตกตางจากขออื่น 1. พระกราม 2. พระหัตถ 3. พระบรมราโชวาท 4. พระบรมราชชนนี 75. ขอใดเรียงลําดับหมายเลขของคําที่ตอ งเติมลงในชองวางไดถูกตอง 1. รอง 2. สักวา 3. แสงดาว 4. หมอง …….ดาวจระเขกเ็ หหก ศีรษะตกหันหางขึน้ กลางหาว เปนคืนแรมแจมแจงดวย……. น้ําคางพราวปรายโปรยโรยละออง ลมเรื่อยเรื่อยเฉื่อยฉิวตองผิวเนือ้ ความหนาวเหลือทานทนกมล……. สกุณาดุเหวาก็เรา……. ดูแสงทองจับฟาขอลาเอย 1. 2 4 1 3 2. 2 3 1 4 3. 2 3 4 1


ห น า | 17

4. 2 4 3 1 76. ขอใดมีความเกีย่ วของกับการแตงบทรอยกรองนอยที่สดุ 1. ฉันทลักษณ 2. บรรยากาศ 3. การเลือกสรรคํา 4. แนวคิดและจินตนาการ 77. ตําแหนงคําเอกในการแตงบทรอยกรองประเภทโคลงสีส่ ุภาพ สามารถใชคําชนิดใดแทนได 1. ครุ 2. ลหุ 3. คําเปน 4. คําตาย 78. คําในตัวเลือกใดเหมาะสมที่จะนํามาเติมในชองวางทั้ง 2 คํา เรือ่ ยเรือ่ ยมาเรียงเรียง นกบิน…….ไปทั้งหมู ตัวเดียวมาพลัด……. เหมือนพีอ่ ยูผูเดียวดาย 1. เอียง, เฉียง 2. พลัน, ครัน 3. เฉียง, คู 4. เรียง, บาน 79. ขอใดถูกตองเมื่อตองนําวรรคที่กําหนดใหตอไปนีเ้ ติมลงในชองวาง (1) และ (2) ตามลําดับ ก. ควรหลีกหลบใหจงดี ข. พลาดพลั้งอาจเสียที ค. ทําใหจิตคิดหรรษา ง. ควรคบกับบัณฑิต คนพาลไมควรคบ ……….(1) ………. ……….(2) ………. ไมมีสุขทุกขตามมา 1. ก. และ ง. 2. ข. และ ค. 3. ก. และ ข. 4. ค. และ ง.


ห น า | 18

80. คน “………………..” จะใชจายตองระมัดระวัง ควรเติมสํานวนในขอใดลงในชองวางจึงจะเหมาะสม ที่สุด 1. เบี้ยหวัดนอย 2. ยากจนขนแคน 3. เบี้ยนอยหอยนอย 4. ชักหนาไมถึงหลัง 81. ขอใดไมมกี ารเสนอแนวคิด 1. กานบัวบอกลึกตืน้ มรรยาทสอสันดาน 2. ถึงจนทนสูก ัด อยาเที่ยวแลเนือ้ เถือ 3. ออนหวานมานมิตรลน หยาบบมีเกลอกลาย 4. ผลเดื่อเมือ่ สุกไซร ภายนอกแดงดูฉนั

ชลธาร ชาติเชือ้ กินเกลือ พวกพอง เหลือหลาย เกลือ่ นใกล มีพรรณ ชาติบาย

82. ขอใดกลาวถึงสวนประกอบของอาหาร 1. ซาหริ่มลิ้มหวานล้ํา แทรกใสน้ํากะทิเจือ วิตกอกแหงเครือ ไดเสพหริ่มพิมเสนโรย 2. ลําเจียกชื่อขนม นึกโฉมฉมหอมชวยโชย ไกลกลิ่นดิน้ แดโดย โหยไหหาบุหงางาม 3. มัศกอดกอดอยางไร นาสงสัยใครขอถาม กอดเคลนจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังแคลง 4. ขนมจีบเจาจีบหอ งามสมสอประพิมพประพาย นึกนองนุงจีบกราย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน 83. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับกลวิธกี ารแตงในขอความตอไปนี้ “…สมิงพระรามจึงทูลวาลักษณะชางดีตอ เมือ่ ขี่จึงรูวาดี มาดีไดตอ งเอามือตองหลังดูกอนจึงจะรูวาดี ทแกลวทหารก็ดี ถาอาสาออกสงครามทําศึกจึงจะรูวาดี ทองนพคุณเลาขีดลงหนาศิลากอนจึงจะรูวาดี สตรีรูปงามถาพรอมดวยลักษณะกิริยามารยาทตองอยางจึงควรนับวางาม ถาจะใหรูรสอรอยไดสัมผัส ถูกตองกอนจึงนับวามีโอชาอรอย…” 1. บทสนทนา


ห น า | 19

2. บรรยายโวหาร 3. พรรณนาโวหาร 4. สํานวนเปรียบเทียบ 84.

พิณพาทยระนาดฆอง ตะโพนกลองรองเปนเพลง ระฆังดังวังเวง โหงงหงางเหงงเกงกางดัง ขอใดเปนลักษณะเดนของคําประพันธขางตน 1. การเลนคํา 2. การใชคําหนักเบา 3. การใชความเปรียบ 4. การเลียนเสียงธรรมชาติ

85. ขอใดที่ไมใชคําสอนเกี่ยวกับการพูด 1. อยาขุดคนดวยปาก 2. ยอมิตรเมือ่ ลับหลัง 3. อยาริกลาวคําคด 4. อยาเบา 86.

“นางเห็นรูปสุวรรณอยูช ั้นใน รูปเงาะสวมไวใหคนหลง” คําที่ขีดเสนใตสอดคลองกับขอใดมากทีส่ ุด 1. ภายในยอมแมลงวัน หนอนบอน ดุจดังคนใจราย นอกนั้นดูงาม 2. ภายในยอมรสา เอมโอช สาธุชนนั้นแล เลิศดวยดวงใจ 3. คือคนหมูไปหา คบเพือ่ น พาลนา ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ 4. คือคนเสพเสนหา นักปราชญ ความสุขซาบฤๅมวย ดุจไมกลิ่นหอม

87. คําประพันธตอ ไปนี้มีจุดประสงคตามขอใด ถึงจนทนสูก ัด เกลือกิน อยาเที่ยวแลเถือเนือ้ พวกพอง อดอยากเยี่ยงอยางเสือ สงวนศักดิ์


ห น า | 20

โซก็เสาะใสทอ ง 1. ใหรูจักอดทน 2. ใหรูจักประมาณตน 3. ใหรูจักรักศักดิศ์ รี 4. ใหรูจักชวยเหลือตนเอง

จับเนื้อกินเอง

88. คําประพันธใดแสดงความเชือ่ ของสังคมไทย 1. สายติ่งแซมสลับตนตับเตา เปนเหลาเหลาแลรายทั้งซายขวา กระจับจอกดอกบัวบานผกา ดาษดาขาวดั่งดาวพราย 2. งิ้วนรกสิบหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ยมแซกแตกไสว ใครทําชูค ูทานครั้นบรรลัย ก็ตอ งไปปนตนนาขนพอง 3. อยูกลางทุงรุงโรจนสันโดษเดน เปนทีเ่ ลนนาวาคงคาไหล ที่พื้นลานฐานบัทมถัดบันได คงคาลัยลอมรอบเปนขอบคัน 4. แสนวิตกอกเอยมาอางวาง ในทุงกวางเห็นแตแขมแซมสลอน จนดึกดาวพราวพรางกลางอัมพร กระเรียนรอนรองกองเมือ่ สองยาม 89. คําประพันธตอ ไปนี้ใชภาพพจนกี่แหง ผลเดื่อเมือ่ สุกไซร มีพรรณ ภายนอกแดงดูฉนั ชาดบาย ภายในยอมแมลงวัน หนอนบอน ดุจดั่งคนใจราย นอกนั้นดูงาม 1. 1 แหง 2. 2 แหง 3. 3 แหง 4. 4 แหง 90. “ถึงทางลัดตัดทางมากลางนา ทั้งแฝกคาแขมกกขึ้นรกเรี้ยว” จากบทประพันธขางตนปรากฏชือ่ พืชกีช่ นิด 1. 2 ชนิด 2. 3 ชนิด 3. 4 ชนิด 4. 5 ชนิด


ห น า | 21

91. คําประพันธในขอใดเปนตัวอยางที่นายกยอง พันทายตกประหมาสิน้ สติคดิ โดดจากเรือทูลอุทศิ โทษรอง พันทายนรสิงหผิด บทฆา เสียเทอญ หัวกับโขนเรือตอง คูเสนทําศาล 1. ความเสียสละเพือ่ คนรัก 2. ความยุติธรรมของทหาร 3. ความกลาหาญเด็ดเดี่ยว 4. ความผิดตองไดรับการใหอภัยเสมอ 92. ขอใดแสดงความประสงคของผูแตง 1. หวังสวัสดิ์ขจัดทุกขสราง สืบสรองศุภผล 2. ตามแบบบขาดหวิ้น เสร็จแลวสมบูรณ 3. เปนมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเฮย 4. จบสามสิบหกเคา คะแนนนับ หมวดแฮ 93. ขอใดไมมกี ารใชคําหลาก 1. เมือ่ นั้น ไดฟงนนทกพาที 2. บัดนั้น รับพรพระศุลีมียศ 3. เมือ่ นั้น เห็นนนทกนั้นทําฤทธา 4. เมือ่ นั้น ไดฟงองคอมรินทรา 94.

พระสยมภูวญาณเรืองศรี ภูมีนิ่งนึกตรึกไป นนทกผูมีใจสาหส บังคมลาแลวบทจรไป หัสนัยนเจาตรัยตรึงศา ชี้หมูเ ทวาวายปราณ พระอิศวรบรมนาถา จึ่งมีบัญชาตอบไป

ทั้งชางรูปพรรณสุวรรณกิจ ชางประดิษฐรชั ดาสงาผอง อีกชางถมลายลักษณะจําลอง อีกช่ําชองเชิงรัตนประกร คําประพันธที่ยกมาไมเกี่ยวของกับชางใด 1. ชางปน 2. ชางถม 3. ชางแกะ 4. ชางเขียน


ห น า | 22

95. ขอใดสอดคลองกับขอคิดเรือ่ งการตระหนักในหนาที่ของตน 1. อนึ่งปนเปนรูปเทวฤทธิ์ ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา 2. อันชาติใดไรชางชํานาญศิลป เหมือนนารินไรโฉมบรรโลมสงา 3. แมนไมถอื เครงคงตรงวินัย เมือ่ ถึงคราวพายุใหญจะครวญคราง 4. ในพระราชสํานักพระภูธร เหมือนเรือแลนสาครสมุทรไทย 96. ขอใดมีจินตภาพของความเคลื่อนไหว 1. หัวลิงหมากลางลิง ตนลางลิงแลหูลิง 2. ยูงทองยองเยื้องยาง รํารางชางชางฟายหาง 3. ไกฟาอาสดแสง หัวสุดแดงแทงเดือยแนม 4. เลียงผาอยูภ เู ขา หนวดพรายเพราเขาแปลปลาย 97. “เมื่อชั่วพอกู กูบาํ เรอแกพอ กู กูบําเรอแกแมกู กูไดตัวเนือ้ ตัวปลา กูเอามาแกพอ กู” ขอความในหลักศิลาจารึกที่ยกมานีเ้ ปนตัวอยางที่ดีในขอใด 1. ความรักบิดามารดา 2. ความกตัญูรคู ุณ 3. ความซื่อสัตยซอื่ ตรง 4. ความรักใครกลมเกลียว 98.

กวางทรายรายกินหญา สุกรปาพาพวกจร สุนัขในไลเหาหอน ตามเปนหมูพรูเพรียกเสียง ในคําประพันธที่ยกมานี้มสี ัตวปาอยูก ี่ชนิด 1. 1 ชนิด 2. 2 ชนิด 3. 3 ชนิด 4. 4 ชนิด

99. ขอใดใชคําถามเชิงวาทศิลป 1. โฉมเอยโฉมเฉลา เจามาแตสวรรคชนั้ ใด 2. ประสงคสิ่งอันใดจะใครรู ขาเห็นเปนนาปรานี

เสาวภาคยแนงนอยพิสมัย นามกรชือ่ ไรนะเทวี ทําไมมาอยูที่นี่ มารศรีจงแจงกิจจา


ห น า | 23

3. ทําไมมาลวงไถถาม ทานนี้ไมมีความเกรงใจ 4. อันซึ่งจะฝากไมตรีขา เราเปนนางรําระบําใน

ลวนลามบุกรุกเขามาใกล เราเปนขาใชเจาโลกา ขอนั้นอยาวาหารูไม จะมีมิตรที่ใจผูกพัน

100. คําประพันธในขอใดไมไดกลาวถึงเวลา 1. หยุดประทับดับดวงพระสุริย 2. พอฟาคล้ําค่าํ พลบลงหรุบรู 3. ยุงออกฉูช ิงพลบตบไมไหว 4. ไดรับรองปองกันเพียงควันไฟ

******************************************************


ห น า | 24

เฉลยขอสอบ ขอที่ 1.

เฉลย 1

2.

3

3.

4

4.

4

5.

4

6.

1

เหตุผลประกอบ การอานออกเสียงพระบรมราโชวาท ปาฐกถาและแถลงการณ ผูอานออกเสียง จะตองมุงเนนไปทีก่ ารแบงวรรคตอนใหถูกตอง เพือ่ ปองกันการสือ่ ความ คลาดเคลือ่ น นอกจากนี้ ยังตองออกเสียงคําใหชดั เจน เชน คําควบกล้ํา อักษรนํา เปนตน แตการอานนิทานซึ่งมีเนือ้ หาในการเสริมสรางจินตนาการใหแกผูฟง การใช ระดับเสียงใหแตกตางในขณะทีอ่ าน มีความหนัก เบา สูง ต่าํ จะชวยทําใหผูฟงเกิด อารมณความรูสกึ คลอยตามและสามารถทําความเขาใจเนื้อหาสาระของเรือ่ งไดงาย ขึ้น การอานเครือ่ งหมาย ๆ ไมยมก ที่ใชวางหลังคําหรือขอความที่ตองการใหอานออก เสียงซ้ํา ซึ่งอาจซ้ําคําเดียวหรือมากกวาหนึ่งคําก็ได แลวแตความหมาย การอานไม ยมกจึงสามารถอานไดหลายแบบ เชน อานซ้ําคํา ของดีๆ อานวา ของ-ดี-ดี อานซ้ํา กลุมคํา เชน วันละคนๆ อานวา วัน-ละ-คน-วัน-ละ-คน อานซ้ําประโยค เชน โอเลี้ยง มาแลวครับๆ อานวา โอ-เลี้ยง-มา-แลว-ครับ โอ-เลี้ยง-มา-แลว-ครับ จากตัวเลือกที่ กําหนด ขอ 1. อานวา สี-ดํา-ดํา ขอ 2. อานวา ตัว-เล็ก-เล็ก ขอ 4. อานวา ทุก-ทุก-วัน สวนขอ 3. อานวา ใน-วัน-หนึ่ง-วัน-หนึ่ง การแบงวรรคตอน หรือการแบงจังหวะเปนสิ่งทีส่ ําคัญมากสําหรับการอานออกเสียง เพราะการแบงวรรคตอนที่ผดิ พลาด อาจทําใหผูฟงเขาใจเนือ้ หาสาระของสาร คลาดเคลือ่ นไป การจับใจความสําคัญเปนทักษะเบื้องตนของการรับสารไมวาดวยวิธีการอานหรือฟง ผูรับสารจะตองคนหาความคิดสําคัญหรือประเด็นของเรือ่ งใหได ซึ่งการจับใจความ สําคัญดวยการฟง หากผูฟงพอจะทราบหัวขอของการฟงก็ควรที่จะเตรียมความ พรอม โดยหาความรูเบือ้ งตน เพื่อใหงายตอการทําความเขาใจ รวมถึงเตรียมความ พรอมทั้งดานรางกายและจิตใจ จากขอความไดกลาวถึง ความเปนไปของธรรมชาติ ธรรมชาติทุกสิ่งลวนเปนไปตาม แบบฉบับของมัน และดวยความที่เปนธรรมชาติมันจึงสวยงาม เพราะเปนสํานวนที่มคี วามหมายวา จังหวะหรือโอกาสของฝายใด ฝายนัน้ ก็ ไดเปรียบ เปนฝายมีชัย


ห น า | 25

ขอที่ 7.

เฉลย 1

8.

3

9.

4

10.

1

11.

1

12.

2

13.

3

14.

2

เหตุผลประกอบ การเขียนกรอบแนวคิดที่ดี ผูเ ขียนจะตองสามารถจับใจความ หรือเก็บรายละเอียด ของสิ่งที่ไดฟงและดู เพือ่ นํามาถายทอดเปนกรอบความคิดไดครบถวน ตรงประเด็น สาระสําคัญของขอความที่กําหนด คือ มนุษยทกุ คนมีความอยาก ความตองการไมมี ที่สิ้นสุด เมือ่ อยากไดก็ยอ มมีแตความทุกขที่ไมมสี ิ้นสุดเชนกัน ในการรับสาร นอกจากการทําความเขาใจสารแลว ผูรับสารจําเปนตองวิเคราะหสาร ที่ไดรับมานั้น วามีความถูกตอง นาเชือ่ ถือมากนอยเพียงใด มีความเปนเหตุเปนผล หรือไม สวนใดเปนขอเท็จจริง ขอคิดเห็น ซึง่ สิ่งเหลานี้จะมองเห็นไดก็ตอ เมื่อผูรับ สารสามารถวิเคราะหหรือแยกแยะองคประกอบแตละสวนภายในเรือ่ งไดอยาง ละเอียดถี่ถวน พิจารณาจากขอความที่ปรากฏในบทประพันธ ในวรรคทีส่ ามหรือวรรครอง ปรากฏ คําวา สงวนงาม โดยมีความหมายวา ใหระวังรักษาตนทั้งกาย วาจา ใจ ใหมีความ เหมาะสม งดงาม ซึ่งการประพฤติผิดหรือไมถูกตองตามคานิยม และมักไดรับการ นินทาวารายมากทีส่ ุดคือ การไมรกั นวลสงวนตัว ซึ่งนักเรียนตองวิเคราะหตอไปวา ตัวเลือกในขอใดมีความสอดคลองกับคําขางตนมากทีส่ ุด ซึ่งคําตอบในขอ 2., 3. และ 4. ไมมีความสัมพันธกับคําวา สงวนงาม บทรอยกรอง เปนบทอานทีผ่ อู านจะตองถอดความสาระสําคัญออกมาเปนรอยแกว กอน แลวจึงตีความ จากสาระสําคัญของเรื่อง การอานเพือ่ ประเมินคุณคาสาร เริ่มจากผูอ านจะตองอานเรือ่ งใหจบตลอดทั้งเรื่อง เพือ่ ใหเลาเรื่องได บอกจุดมุงหมายของเรือ่ ง วิเคราะหสวนประกอบภายในเรือ่ ง กลาวถึงบริบทแวดลอมเรื่องทีอ่ าน แลวจึงประเมินคา การอานวินิจสารมีความแตกตางจากการอานจับใจความสําคัญในประเด็นของการ ประเมินคุณคา เพราะการอานจับใจความสําคัญ เปนเพียงการอานเพือ่ ใหทราบวา เรือ่ งที่อานเปนเรือ่ งเกี่ยวกับอะไร ในขณะทีก่ ารอานวินิจสาร ผูอานจะตองบอกไดวา เรือ่ งที่อานมีคณ ุ คาอยางไร เมือ่ พิจารณาจากตัวเลือกทั้ง 4 ขอ คําที่จะตองพิจารณาคือคําวา “เตะ” ซึ่งขอ 1., 3. และ 4. คําวา “เตะ” เปนคํากริยาที่มคี วามหมายปรากฏตามรูปคําหรือมีความหมาย นัยตรง โดยหมายถึง “วัดหรือเหวี่ยงไปดวยเทา” สวนคําวา “เตะ” ในขอ 2. มี ความหมายโดยนัยซึ่งหมายถึง “สะดุดตา”


ห น า | 26

ขอที่ 15.

เฉลย 3

16.

2

17.

4

18.

2

19.

3

20

4

21.

2

22.

4

เหตุผลประกอบ ผูทฝี่ กฝนคัดลายมืออยางเปนประจํา สม่ําเสมอจะไดรับประโยชนทั้งทางตรงและ ทางออม เชน เปนผูที่มีลายมือถูกตอง เรียบรอย สวยงาม ฝกสมาธิ และความเพียร พยายาม นอกจากนี้ยังกอใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ภาคภูมิใจในมรดกของ ชาติ แตจุดประสงคที่สําคัญทีส่ ุดของการกําหนดใหเยาวชนไทยตองฝกฝนการคัด ลายมือก็เพือ่ สรางความเปนมาตรฐาน รักษาแบบแผนอักษรไทยไวไมให เปลีย่ นแปลง จนกระทั่งสูญเสียความเปนเอกลักษณไปในที่สุด การจะระบุวาขอความหนึ่งๆ คัดดวยอักษรรูปแบบใด คือ การสังเกตโครงสรางของ ตัวอักษรวามีลักษณะอยางไร เชน การเขียนสวนหัว การโคง การหยัก แนวเสน เปนตน สวนการเวนชองไฟ การลงน้ําหนักมือ และความเสมอตนเสมอปลายของ ตัวอักษรที่คดั เปนเกณฑที่ใชสําหรับวัดคุณภาพของลายมือ เพื่อการตัดสินประกวด คัดลายมือ หรือใชเปนแนวทางเพือ่ ฝกฝนคัดลายมือ การเขียนสือ่ สารครั้งหนึ่งๆ เมือ่ เขียนพยัญชนะ ตัวเลข หรือเครือ่ งหมายตางๆ ดวย ลายมือที่ไมชัดเจน จะทําใหผูรับสาร อาจรับสารผิดพลาดไปจากความเปนจริง เนือ่ งจากไมสามารถอานลายมือได จากตัวเลือกขอ 4. ประโยคที่ถกู ตองคือ ออมเปนคนสงบเสงี่ยมเมือ่ อยูกับผูใหญ ขอ 3. ประโยคทีถ่ ูกตองคือ พจนรองเพลงเสียงปานนกการเวก ขอ 1. ประโยคทีถ่ กู ตอง คือ เขาทําอะไรงุมงามไมทันกิน ชุมคอโดนใจ เปนงานเขียนประเภทโฆษณา เพราะเนือ้ หาสาระมีความมุงหมายให ผูฟงเกิดความสนใจ การเขียนจดหมายกิจธุระ เพือ่ ขอความอนุเคราะหวิทยากร ผูเขียนควรใชภาษากึ่ง แบบแผน หรือภาษาแบบแผน เพือ่ ใหผูรับเกิดความประทับใจ ยินดีใหความ อนุเคราะห การเขียนอวยพร คือ การเขียนที่มีจุดมุงหมายเพือ่ ใหผูรับเกิดความรูสกึ ประทับใจ ดังนั้นถอยคําที่ใชจึงมีลักษณะของการกลาวใหผูรับคําอวยพร พบแตสิ่งทีด่ ีๆ โครงเรือ่ ง หมายถึง เคาโครงของงานเขียนทําใหงานเขียนมีการจัดลําดับเนื้อหา เหมาะสม เนื้อความสัมพันธกัน มีเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ จาก ตัวเลือกที่กําหนดให คําตอบในขอ 1., 2. และ 3. มีความสัมพันธกัน และเชื่อมโยง สัมพันธกับชือ่ เรือ่ ง สวนประเด็น “ความเชือ่ เกีย่ วกับกลวย” มีความสอดคลองกับชื่อ เรือ่ งนอยทีส่ ุด และไมมีความสัมพันธใกลเคียงกับประเด็นทั้ง 3 ประเด็นดังกลาว


ห น า | 27

ขอที่ 23.

เฉลย 3

24.

2

25.

4

26.

1

27

3

28

3

29.

3

30.

4

เหตุผลประกอบ การเขียนโครงงานในของการสรุป และอภิปรายผล ผูเ ขียนจะตองเขียนใหมีความ สอดคลองกับจุดประสงคที่วางไว กอนที่จะลงมือปฏิบัติโครงงาน เพือ่ แสดงใหเห็น วาผูเขียน ไดศึกษาโครงงานเปนไปตามจุดประสงคที่วางไว โครงงานมีหลายประเภท ขึ้นอยูก ับวาผูจัดทําจะเลือกจัดทําประเภทใด โดยพิจารณา จากขอมูลที่มอี ยูเ ปนสําคัญ จากตัวเลือกขอ 1., 2. และ 3. เปนมารยาทที่ควรปฏิบัติในการสรางงานเขียนดวย ตนเอง สวนขอ 4. การคัดลอกงานเขียนของผูอนื่ มาเปนผลงานของตนเองเปนสิ่งที่ ไมควรปฏิบัติ เพราะนอกจากจะเปนการไมใหเกียรติเจาของผลงานนัน้ แลว ยังผิด กฎหมายในขอหาละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา สงผลใหผเู ขียนไดรับความเดือดรอน เสียหาย และงานเขียนชิน้ นั้นๆ ไมไดรับการเชือ่ ถือ สิ่งที่สําคัญทีส่ ุดสําหรับการเขียนโตแยง คือผูฟงจะตองจับใจความสําคัญของเรือ่ งให ได เพือ่ กําหนดขอบเขตประเด็นที่จะโตแยง ขอมูลสวนตัวที่จะเลือกมาเขียนแนะนําตนเอง ควรเปนขอมูลที่ทําใหผอู ื่นรูจักเรา เชน ชือ่ -นามสกุล ชื่อเลน อายุ ภูมิลําเนา อาชีพของบิดา มารดา อุปนิสัยสวนตัว งาน อดิเรก แตขอ มูลที่คอ นขางไปในทางยกตนขมทานไมเหมาะสมที่จะนํามาบรรยาย ใหผูอื่นฟง และในการแนะนําตนเองกับเพือ่ นรวมชั้นก็ไมจําเปนตองใหขอมูล ดังกลาว ขอความขางตนปรากฏลักษณะสําคัญ คือ ใชถอ ยคําเรียบเรียงเพือ่ ใหความรูเกี่ยวกับ เรือ่ งใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งในที่นี้ คือ มะรุม การสรางสรรคงานเขียนประเภทเรียงความ หลังจากกําหนดจุดมุงหมายในการเขียน ไดแลว ผูเ ขียนจะตองรวบรวม คัดเลือก จัดหมวดหมูขอ มูลเปนสวนๆ วางโครงเรื่อง เพือ่ จัดลําดับความคิด เรียบเรียงสวนตางๆ ใหมีความสัมพันธสอดคลองกัน โดยใช สํานวนภาษาที่มีความไพเราะ เหมาะสม และมีลลี าเปนของตนเอง การอานโฆษณาสามารถใชหลักการยอความได โดยพิจารณาวา เปนโฆษณา เกีย่ วกับสินคาอะไร สรรพคุณ สถานที่วางจําหนาย การอานสารคดีเชิงทองเทีย่ ว สามารถใชหลักการยอความได โดยพิจารณาวา สถานที่นนั้ ตั้งอยูท ี่ใด เดินทางไป อยางไร ที่พกั อาหาร การอานบทความเชิงอนุรักษสามารถใชหลักการยอความได โดยพิจารณาวา สถานที่ที่ไดรับการอนุรักษคอื ที่ใด ทําไมตองอนุรกั ษ แลวอนุรกั ษ อยางไร สวนการอานขั้นตอนการประดิษฐ ผูอานไมสามารถใชหลักการยอความได เพราะผูอ านจะตองปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนทุกๆขอ เพื่อใหประกอบชิน้ งานไดสําเร็จ


ห น า | 28

ขอที่ 31.

เฉลย 3

32.

4

33.

2

34.

4

35.

4

36.

4

เหตุผลประกอบ การยอความ คือ การจับสาระสําคัญของเรื่องทีอ่ านวา เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใคร ทําอะไร กับใคร ที่ไหน อยางไร เมือ่ ไร และทําไม โดยใชสาํ นวนภาษาของผูยอ เอง ซึ่งวิธีการอานที่เหมาะสมสําหรับการยอความ คือ ผูยอ จะตองอานเนือ้ หาสาระใหจบ ตลอดทั้งเรือ่ ง กอนลงมือยอความ จดหมายสวนตัว คือ จดหมายทีเ่ ขียนติดตอกันอยางไมเปนทางการ ระหวางคนที่ สนิทสนม เพือ่ สงขาวคราว ไตถามทุกขสขุ ดังนัน้ จดหมายถึงไกเพือ่ นรัก จดหมายถึง พอแม และจดหมายขอความชวยเหลือจากคุณปาจึงจัดเปนจดหมายสวนตัว สวน จดหมายกิจธุระ คือ จดหมายระหวางบุคคลที่ติดตอสือ่ สารกันดวยกิจธุระ เชน การ ติดตอสอบถาม แตถาบริษัทติดตอกับบริษัทเรียกวา จดหมายธุรกิจ จดหมายสอบถาม การรับสมัครนักเรียนฝกงานจึงจัดเปนจดหมายกิจธุระ ขั้นตอนการปฏิบัติโครงงานมีทั้งสิ้น 3 ระยะ ไดแก ขัน้ ออกแบบและเขียนเคาโครง สมาชิกภายในกลุมจะตองชวยกันออกแบบโครงงาน แลวเขียนเคาโครงของ โครงงานเพือ่ นําเสนอ ขอความเห็นจากอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ระยะที่ 2 ขั้นลง มือปฏิบตั ิ เมื่อเคาโครงทีน่ ําเสนอไดรับความเห็นชอบ ผูรับผิดชอบนําไปปฏิบัตติ าม ขั้นตอนที่วางไวตามระยะเวลาที่กําหนด และระยะที่ 3 คือ รายงานผลการปฏิบัติ โครงงาน การทํารายงานและโครงงาน หากจะใชขอมูลปฐมภูมสิ ามารถทําไดหลายวิธี เชน การ จัดทีมสํารวจสอบถามขอมูล หรือหากจะใชขอ มูลทุติยภูมหิ รือขอมูลที่มผี ูศึกษาไว แลวจะสังเคราะหขอ มูลดวยวิธีการอาน เมือ่ ไดขอ มูลที่มีประสิทธิภาพ ผูทํารายงาน จะตองรวบรวมเรียบเรียงขอมูลเหลานั้นดวยสํานวนภาษาของตนเอง ไมนําขอมูล ของผูอ ื่นมาตัดตอเปนรายงานของตนเอง การเขียนวิเคราะห วิจารณ คือการเขียนแสดงความคิดเห็นของผูเขียนที่มีตอ สิ่งใดสิ่ง หนึ่ง หรือเรือ่ งใดเรื่องหนึ่ง โดยแจกแจงใหเห็นสวนประกอบแตละสวนวามีขอ ดี ขอดอยอยางไร เปนกระบวนการเขียนเพือ่ แสดงความคิดเห็นโดยการวิเคราะห แยกแยะขอมูล ทําใหมองเห็นแตละสวนประกอบวามีความสัมพันธกนั อยางไร นําไปสูก ารตัดสินประเมินคา การแสดงความคิดเห็นเปนพฤติกรรมประการหนึ่งของมนุษยที่จะทําใหเกิดการมอง หลายๆ แงมุม ซึ่งเราสามารถแสดงความคิดเห็นไดทุกเรือ่ งในชีวิตประจําวัน แตบาง เรือ่ งก็ไมควรแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษวิจารณ เพราะอาจทําใหเกิดความขัดแยง ได เชน เรื่องสวนตัวของผูอนื่ เรื่องเกี่ยวกับความเชื่อ ศาสนา คานิยม และที่สําคัญใน การแสดงความคิดเห็นไมควรยึดถือแตเฉพาะความคิดของตน


ห น า | 29

ขอที่ 37.

เฉลย 1

38.

1

39

4

40.

4

41.

4

เหตุผลประกอบ พาดหัวขาว คือ การนําประเด็นสําคัญของขาวมาเขียน เพือ่ บอกใหผูอานทราบวา วันนี้มีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นบาง พาดหัวขาว จึงมีจุดประสงคเพือ่ เรียกรองความ สนใจของผูอ าน การพาดหัวขาวแสดงความคิดเห็น คือ การที่ผเู ขียนใชถอ ยคําเพือ่ แสดงอารมณ ความรูสกึ ที่มีตอ เนือ้ ขาว หรือผูทเี่ กี่ยวของกับขาว คําตอบในขอ 2., 3. และ 4. เปนประโยคทีผ่ เู ขียนมุงแสดงขอเท็จจริง ประโยคในขอ 1. ปรากฏการใช ถอยคําในเชิงแสดงความคิดเห็นคือคําวา “พอพระ” ซึ่งคํานีม้ ักจะกลาวชมเชยแก บุคคลที่มีจิตใจดีหรือใจบุญมากเปนพิเศษ การฟงและดูสื่อในชีวิตประจําวันใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปจจัยหนึ่งขึ้นอยูก ับ ผูฟงและดู ซึ่งการฟงและดูที่ดี ผูฟงและดูควรตั้งจุดมุงหมายทุกครั้ง เพราะเมือ่ มี จุดมุงหมายยอมสามารถจับใจความสําคัญได การมีอคติตอผูส งสาร การเชือ่ โดย ปราศจากการใชวิจารณญาณไตรตรอง และการฟงโดยไมมกี ารจดบันทึกสาระสําคัญ ของสิ่งที่ไดฟงไดดเู หลานีล้ วนไมใชลักษณะของผูฟงและดูที่ดี การฟงและดูสื่อเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผูฟงและดูควรมีสมาธิ ใจจดจออยูก ับ เรือ่ งที่ฟง เพื่อใหสามารถจับใจความสําคัญไดไมสนทนากับผูอ ื่น เพราะอาจทําให พลาดสาระสําคัญในสวนตอๆไป เมือ่ ฟงเรือ่ งที่มีความยาว และผูฟงขาดพื้น ฐานความรู ควรมีอุปกรณชวยจํา แลวนํากลับมาทบทวนภายหลังจะทําใหการฟงครั้ง นั้นๆ เกิดประสิทธิภาพ การพูด คือ การถายทอดความรู ความคิดหรือความตองการของผูพูดสือ่ ความหมาย ไปยังผูฟงเพือ่ ใหเกิดการรับรูแ ละอาการตอบสนอง โดยใชถอยคํา น้ําเสียง รวมทั้ง อากัปกิริยาตางๆ ประกอบกัน ดังนั้นลักษณะของการพูดทีด่ ีคอื พูดแลวบรรลุ วัตถุประสงคที่ตั้งไว แตการพูดที่ไมควรใหเกิดขึ้น ไดแก การพูดโดยใชอารมณ พูด แลวกอใหเกิดความขัดแยง ซึ่งการพูดที่พดู แลวผูฟ งมีความสุข แตถาไมบรรลุ วัตถุประสงค ก็ยังถือเปนการพูดทีด่ ีหรือสมบูรณไมได การพูดโนมนาวใจ เปนการพูดทีผ่ ูพูดมีวัตถุประสงคเฉพาะตองการใหผูฟงเชือ่ ศรัทธา และสนองตอบเจตนา เชน นักการเมืองพูดหาเสียง เพือ่ ใหผูฟงเชื่อถือ ในนโยบายหรือตัวตน และนําไปสูการลงคะแนนเสียงให เปนตน ดังนั้นลักษณะการ พูดโนมนาวใจที่มีแนวโนมวาจะประสบผลสําเร็จมากทีส่ ุดจากตัวเลือกทีก่ ําหนด คือ ผูพูดตองใชถอยคําเพือ่ กระตุนอารมณความรูสกึ ของผูฟง ทําใหผูฟงรูสกึ วาผูพูดเปน อันหนึ่งอันเดียวกันกับผูฟงหรือรับรูแ ละเขาใจความรูสึก หากผูพูดโนมนาวใจ สามารถทําใหผูฟงยอมรับในตัวผูพูด หรือรับผูพูดเขามาในความรูสึกของตน ยอมทํา ใหผูฟงเกิดความคลอยตามไดโดยงาย


ห น า | 30

ขอที่ 42.

เฉลย 3

43.

4

44.

1

45.

4

46. 47.

3 4

48.

3

49.

2

เหตุผลประกอบ แนวทางสําหรับการฟงเพือ่ จับใจความสําคัญ ผูฟงตองเตรียมความพรอมกอนเขาฟง ดวยการหาขอมูลเบือ้ งตนเพื่อจะไดเขาใจเนื้อหาสาระของเรื่องไดงายขึ้น พยายามตั้ง คําถามในขณะที่ฟง เพือ่ ขยายความคิดของตนเอง บันทึกสาระสําคัญที่ไดจากการฟง ไมควรหันไปสนทนากับเพือ่ นเพราะอาจทําใหพลาดสาระสําคัญของเรื่องได การควบคุมอารมณขณะที่พูด นับเปนมารยาททีผ่ ูพูดควรปฏิบัติ เพราะในบาง สถานการณอาจมีผูทกั ทวง หรือแสดงความไมเห็นดวยกับสิ่งทีผ่ ูพูดนําเสนอ การไม ตอบโตดวยอารมณ จะชวยทําใหสถานการณคลีค่ ลายไปในทิศทางทีด่ ีได การพูดโนมนาวใจ เปนการพูดทีผ่ ูพูดมีจุดมุงหมายเฉพาะ ดังนั้นการพูดของผูพดู จะตองเริ่มจากการทําใหผูฟง ฟงแลวเชื่อ เห็นคุณคาของสิ่งที่เชื่อ ซึ่งจะนําไปสูการ ปฏิบัติตาม การอภิปราย คือการพูดเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกัน โดยมีเปาหมายเพือ่ หาทางออก หรือวิธีการแกไขปญหาในประเด็นหนึ่งๆ รวมกัน การโตวาทีที่ดี จะตองทําใหผูฟงไดรับทั้งความรู และความบันเทิงในขณะเดียวกัน การพูดรายงานเชิงวิชาการเปนการพูดเพือ่ แสดงขอมูลความรูที่ผานการวิเคราะหตาม หลักวิชา ภาษาที่ใชจึงควรเปนภาษาในระดับทางการ สั้น กระชับ ชัดเจน ถูกหลัก ไวยากรณและเขาใจงาย สระลดรูป คือ สระทีเ่ มื่อนํามาประสมกับพยัญชนะเปนคําแลวจะไมปรากฏรูปสระ ใหเห็นหรือลดรูปบางสวนไป เชน สระโอะ เมือ่ นํามาใชประสมเปนคําและมี ตัวสะกดจะไมปรากฏรูปสระโอะ ขอ 1. คําที่ประสมดวยสระลดรูปไดแก คําวา คน ขอ 2. คําที่ประสมดวยสระลดรูปไดแก คําวา คน ขอ 3. คําที่ประสมดวยสระลดรูป ไดแก คําวา สม คน รวย สวม สวย ขอ 4. คําที่ประสมดวยสระลดรูปไดแก คําวา คน เฉย เลย ขอสอบลักษณะนีถ้ าหากโจทยใหหาเสียงพยัญชนะควบ ตองหาทั้งคําควบแทและคํา ควบไมแท แตถาโจทยใหหาพยัญชนะควบกล้ํา ตองหาเฉพาะคําควบแท จากคํานิยาม นี้ ขอ 1. ไดแกคําวา ครื้น เครง ขอ 2. ไดแกคําวา ครอบ ครัว พราย ขอ 3. ไดแกคําวา ควาย ใกล และขอ 4. ไดแกคําวา ปรอ


ห น า | 31

ขอที่ 50.

เฉลย 3

51.

4

52.

3

53.

1

54.

3

55.

3

เหตุผลประกอบ จากตัวเลือกขอ 1. ปลาเค็ม มีเสียงสามัญ, สามัญ น้ําใจ มีเสียงตรี, สามัญ ขอ 2. น้ําปลา มีเสียงตรี, สามัญ มาน้ํา มีเสียงตรี, ตรี ขอ 4. ปลาทู มีเสียงสามัญ, สามัญ ไหมฝน มีเสียงจัตวา, จัตวา จากโจทยคําวา “น้ําแข็ง” มีเสียงวรรณยุกตเปนเสียงตรี กับเสียงจัตวา ขอ 3. คําวา “นาสาว” มีเสียงตรีและเสียงจัตวา คําวา “ลางขา” มีเสียงตรี และเสียงจัตวา จากตัวเลือกขอ 1. “น้ําปลา” นาม+นาม “ไกชน” นาม+กริยา “น้ําแข็ง” นาม+วิเศษณ ขอ 2. “ตาขาว” นาม+วิเศษณ “มดแดง” นาม+วิเศษณ “ดอกฟา” นาม+นาม ขอ 3. “บัตรเติมเงิน” นาม+กริยา+นาม “แปรงสีฟน” นาม+กริยา+นาม “ใบขับขี”่ นาม+ กริยา+กริยา สวนขอ 4. “ปากนกกระจอก” นาม+นาม+นาม “รถไฟฟา” นาม+นาม+ นาม “เด็กหลอดแกว” นาม+นาม+นาม จากตัวเลือกขอ 1. อวนพี นําคําที่มคี วามหมายเหมือนกันมาซอนกัน ดูแล นําคําที่มี ความหมายเหมือนกันมาซอนกัน รุงริ่ง เปนคําซอนเพือ่ เสียง ขอ 2. ยากงาย นําคําที่มี ความหมายตรงขามกันมาซอนกัน เสือ่ สาด นําคําที่มีความหมายเหมือนกันมาซอน กัน จิตใจ นําคําที่มีความหมายเหมือนกันมาซอนกัน ขอ 4. บานเรือน นําคําที่มี ความหมายเหมือนกันมาซอนกัน ถวยชาม นําคําที่มคี วามหมายคลายกันมาซอนกัน ถากถาง เปนคําซอนเพือ่ เสียง จากตัวเลือกขอ 2. “น้ําหูน้ําตา” เปนคําซอน 4 คํา โดยมีคําที่ 1 และ 3 ซ้ํากัน ขอ 3. “ตําหนิตเิ ตียน” เปนคําซอน 4 คํา แยกเปน 2 คู โดยมีเสียงคลองจองระหวางพยางคที่ 2 กับ 3 ขอ 4. “กระจัดกระจาย” เปนคําซอน 4 คํา ซึ่งเกิดจากการนําคํายืมจากภาษา เขมรมาซอนกัน สวนขอ 1. ไมปรากฏคําทีส่ รางดวยวิธีการซอนคํา คําวา “ซุมซาม” เปนคําที่สรางโดยทําใหมเี สียงบางเสียงเหมือนกัน เขากัน หรือคูก ัน จากตัวเลือกขอ 1. “สรรพาวุธ” เปนคําสมาสสราง “สันติภาพ” เปนคําสมาสสราง “ชีวเคมี” เปนคําสมาสเทียม ขอ 2. “เทพเจา” “เคมีภัณฑ” “ทุนทรัพย” เปนคําสมาส เทียมทั้ง 3 คํา ขอ 4. “ทรัพยากร” เปนคําสมาสสราง “ประชาชน” เปนคําสมาสซอน “กาลเวลา” เปนคําสมาสซอน สวนขอ 3. “ภัตตาคาร” “โยธวาทิต” “ทรัพยากร” เปน คําสมาสสรางทั้ง 3 คํา คําสมาสในขอ 1. อานวา กาย-วิ-พาก-สาด ขอ 2. อานวา ปรา-กด-กาน ขอ 3. อานวา แพด-สะ-พา หรือ แพด-ทะ-ยะ-สะ-พา สวนขอ 4. อานวา พะ-สก-นิ-กอน ซึ่ง คําสมาสในขอ 1., 2. และ 4. เปนคําสมาสที่ไมตอ งอานออกเสียงพยางคเชื่อมระหวาง คํา คําสมาสในขอ 3. จึงอานออกเสียงตางจากขออื่น


ห น า | 32

ขอที่ 56.

เฉลย 4

57.

4

58.

2

59.

4

60

3

61.

1

62.

4

63.

4

64

4

เหตุผลประกอบ จากตัวเลือกขอ 1. “สุโขทัย” และ “ปรมาณู” เปนคําสมาสแบบมีสนธิ สวน “ยุทธภูม”ิ เปนคําสมาสแบบไมมสี นธิ ขอ 2. “จิตรกรรม” และ “สวัสดิภาพ” เปนคําสมาสแบบ ไมมีสนธิ สวน “ปรมาณู” เปนคําสมาสแบบมีสนธิ ขอ 3. “จิตรกรรม” “กรณียกิจ” และ “สวัสดิภาพ” เปนคําสมาสแบบไมมสี นธิ ทั้ง 3 คํา ขอ 4. “สุโขทัย” “พฤษภาคม” และ “แสนยานุภาพ” เปนคําสมาสแบบมีสนธิทุกคํา จากตัวเลือกขอ 1. “เฆี่ยน” เปนคําไทยแท “ขจี” เปนคํายืมจากภาษาเขมร “กุศล” เปน คํายืมจากภาษาสันสกฤต ขอ 2. “กีฬา” และ “ปฏิวัต”ิ เปนคํายืมจากภาษาบาลี “กรีฑา” เปนคํายืมจากภาษาสันสกฤต ขอ 3. “เผด็จ” “กระจาย” เปนคํายืมจากภาษา เขมร “กวยเตี๋ยว” เปนคํายืมจากภาษาจีน คําที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต ใชขอ สังเกตที่ทําใหระบุแหลงที่มาได ซึ่งการใช ฤ ก็ เปนหนึ่งในของสังเกตนัน้ คําที่ยืมมาจากภาษาเขมรสวนใหญ จะเปนคําควบกล้ํา แตเปนคําควบกล้ําพื้นๆ ไม เหมือนคําที่ยืมจากภาษาสันสกฤต ศัพทบัญญัติ คือ คําทีก่ ําหนดขึ้นเพือ่ ใชแทนคําภาษาอังกฤษที่ยืมเขามาใชดวยเหตุผล ตางๆ ซึ่งคําที่นํามาบัญญัตนิ อกจากเปนคําในภาษาไทยแลวยังใชคําภาษาบาลีและ สันสกฤตดวย คําทับศัพท คือ คําที่มลี กั ษณะเฉพาะ โดยนําเขามาใช โดยไมมีการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือแกไข ตัวเลือกทั้ง 4 ขอ มีคํานามเปนคําเดียวกัน คือคําวา “หนังสือ” แตหนังสือคําเดียวกันนี้ ทําหนาที่ในประโยคแตกตางกัน ขอ 1. “หนังสือ” ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค ขอ 2. “หนังสือ” ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค ขอ 3. “หนังสือ” ทําหนาที่เปนกรรมใน ประโยค สวนขอ 4. “หนังสือ” ทําหนาที่เปนประธานในประโยค คําสมุหนาม คือ คํานามที่บอกความเปนหมู เปนพวกกลุมหรือคณะ ไดแก ชื่อบุคคล ชือ่ สัตว ชือ่ สิ่งของ และชื่อสถานที่ จากคํานิยามนี้ทําใหพิจารณาไดวา คําสมุหนามใน ขอ 1. คือคําวา “คณะ” คําสมุหนามในขอ 2. คือคําวา “ฝูง” คําสมุหนามในขอ 3. คือ คําวา “กอง” สวนคําวา “ปาก” ในขอ 4. ไมใชคําสมุหนาม แตเปนคําลักษณนาม จากประโยค “เขาปลูกตนกามปูไวทางทิศตะวันตก เพือ่ ใหมันบังแดดตอนบาย” ประโยคนี้มีการกลาวซ้ําถึงคําทีเ่ ปนกรรมตรงของประโยค ซึ่งประโยคเต็มคือ “เขา ปลูกตนกามปูไวทางทิศตะวันตก เพือ่ ใหตนกามปูบังแดดตอนบาย” มัน” จึงเปนคํา สรรพนามที่ถกู ใชแทนตนกามปูเมื่อถูกกลาวซ้ําอีกครั้งในประโยค


ห น า | 33

ขอที่ 65.

เฉลย 4

66.

1

67.

2

68.

2

69.

3

70.

3

71.

3

เหตุผลประกอบ คําบุพบทมักมีความหมายเพือ่ บอกตําแหนง หนาที่ ความเกี่ยวของ ความมุงหมาย ความเปนเจาของของนามวลีที่มคี วามสัมพันธกับคํากริยา หรือบอกความสัมพันธ ระหวางนามวลีกับนามวลีในประโยคเดียวกัน จากคํานิยามขางตนจะทําใหวิเคราะห ไดวา ขอ 1. ที่ถูกตองควรใชคาํ วา “ในมติ” ขอ 2. ที่ถกู ตองควรใชคําวา “เพือ่ อนาคต ของตนเอง” ขอ 3. ที่ถูกตองควรใชคําวา “แดพระผูมีพระภาคเจา” ประโยคที่ใชสอื่ สารใหเขาใจกันในชีวิตประจําวัน ประกอบดวยองคประกอบหรือ โครงสรางสําคัญ 2 สวน ไดแก นามวลี และกริยาวลี ขอความที่จัดวาเปนประโยค จะตองประกอบดวยสองสวนดังกลาวขางตน เพือ่ สือ่ ความวามีอะไรเกิดขึ้น หรือ อะไรมีสภาพเปนอยางไร จากตัวเลือกในขอ 2., 3. และ 4 เปนขอความที่ประกอบ เพียงนามวลี ไมมีกริยาวลีเพือ่ บอกสภาพ สวนคําตอบในขอ 1. มีลักษณะเปน ประโยค เพราะประกอบดวยนามวลี “พอ” และกริยาวลี “เหนื่อย” ประกอบกันสือ่ ความหมายไดเขาใจ จากตัวเลือกในแตละขอเปนประโยคซอนทั้งหมด แตมอี ยูห นึ่งประโยคที่มี โครงสรางภายในตางไปจากขออื่น โดยตัวเลือกในขอ 1., 3. และ 4. เปนประโยค ซอนที่มอี นุประโยคชนิด คุณานุประโยคซอนอยู โดยทําหนาที่ขยายคํานามซึ่งอยู ขางหนา สวนขอ 2. เปนประโยคซอนที่มอี นุประโยคชนิด นามานุประโยคซอนอยู โดยทําหนาทีเ่ ปนประธานของกริยาวลี สวนประกอบของประโยคสามัญ ไดแก ประธาน และกริยา เพราะขอความหนึ่งๆ จะ เปนประโยคไดกต็ อเมือ่ สามารถสือ่ ความเบื้องตนได เชน ใหรูวาใครทําอะไร ประโยคทีก่ ําหนดใหขางตน เปนประโยคซอนที่มีความซับซอน โดยมีประโยคยอย 2 ประโยค ซอนอยูในประโยคหลัก เมือ่ ตองสนทนากับบุคคลที่มสี ถานภาพในดานตางๆ สูงกวา ผูพูดจะตองศึกษาการใช ถอยคําใหถกู ระดับ ภาษาพูดเปนภาษาที่ใชสําหรับการสือ่ สารในชีวิตประจําวันในสถานการณที่ไมเปน ทางการกับบุคคลที่มคี วามสนิทสนมคุนเคย ไมมคี วามเครงครัดทางไวยากรณ ไมมี การใชรูปประโยคที่ซับซอนในการสื่อสาร จุดประสงคเพียงเพือ่ ใหเขาใจความหมาย และปรากฏการใชรูปประโยคทีล่ ะสวนประกอบของประโยค เชน ละประธาน ละกรรม


ห น า | 34

ขอที่ 72.

เฉลย 4

73.

3

74.

1

75.

3

76.

2

77.

4

เหตุผลประกอบ พลังของภาษา คือ อํานาจของภาษาที่กอ ใหเกิดผลตอพฤติกรรมของมนุษยในแตละ สังคม ดังนั้นพลังของภาษาในเชิงสรางสรรค จึงกอใหเกิดพฤติกรรมหรือการ เปลีย่ นแปลงในทิศทางที่ดีงาม ไมใชการใชพลังของภาษาเพื่อสรางผลประโยชน ใหแกตนเอง โนมนาวใหผอู ื่นขัดแยงหรือแบงฝกแบงฝาย ขาดความสามัคคีกัน ขอควรคํานึงในการใช “ทรง” เปนกริยานุเคราะห จะไมใชนําหนาคํา ซึ่งกําหนดให เปนคําราชาศัพทอยูแ ลว เชน “โปรด” ไมใชวา “ทรงโปรด” และจะไมใชนําหนา คํากริยาสามัญซึ่งมีคาํ นามราชาศัพทตอ ทาย เชน “ทรงพระกรุณา” ไมใชวา “ทรงมี พระกรุณา” การใชคําวา “เสด็จพระราชดําเนิน” จะตองเติมคํากริยาสําคัญลงใน ประโยค เพื่อใหสอื่ ความไดสมบูรณ เชน เสด็จพระราชดําเนินเยือนตางประเทศ เสด็จพระราชดําเนินไปเปดนิทรรศการ วิธีการพิจารณาขอสอบขอนี้ ใหพิจารณาจากที่มาของคําทีน่ ํามาประกอบเปนคําราชา ศัพท ซึ่งคําทีน่ ํามาประกอบเปนคําราชาศัพทในภาษาไทย สวนใหญเปนคํายืมภาษา เขมร บาลี สันสกฤต แตถึงอยางไรก็ตามไดปรากฏคําราชาศัพทที่ประกอบขึน้ จากคํา ไทย คือ พระกราม พระเตา พระรากขวัญ และพระยอด คําวาพระหัตถ พระบรม ราโชวาท และพระบรมราชชนนี ประกอบขึน้ จากคํายืมภาษาบาลี และบัญญัติใช สําหรับพระมหากษัตริย กลอนสักวา มีลักษณะฉันทลักษณสัมผัสระหวางวรรคระหวางบท เชนเดียวกับ กลอนแปด แตมีลกั ษณะสําคัญที่แตกตางคือ จะขึ้นตนบทดวยคําวา “สักวา” จาก ตัวเลือกในขอ 1. ตัดทิ้งไมพิจารณาเพราะคําสุดทายของวรรครับไมสัมผัสกับคํา สุดทายของวรรครอง ขอ 2. ตัดทิ้งไมพิจารณา เพราะถึงแมคําจะสงสัมผัสกันถูกตอง แตอานแลวไมสอื่ ความ ขอ 4. ตัดทิง้ ไมพิจารณา เพราะไมมีสัมผัสระหวางบท การแตงบทรอยกรอง ผูแตงจะตองมีคุณสมบัติหรือมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ ฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภท เพือ่ ใหสามารถแตงไดถกู ตองทั้งจํานวน คํา วรรค และตําแหนงสัมผัสที่กําหนดไวตามรูปแบบ มีจินตนาการ ความคิด สรางสรรคในการถายทอดเนือ้ หาทีเ่ ปนประโยชนตอ ผูรับสาร และมีความสามารถ ในการสรรถอยคําที่มีความไพเราะทั้งดานเสียงและความหมาย เพือ่ ถายทอดแนวคิด จากตัวเลือกทีก่ ําหนดสิ่งที่มคี วามเกี่ยวของกับการแตงบทรอยกรองนอยที่สุด คือ บรรยากาศ การแตงบทรอยกรองประเภทโคลงสีส่ ุภาพ หากผูแ ตงไมสามารถบรรจุคําเอกลงใน ตําแหนงทีก่ ําหนดไวในฉันทลักษณได ผูแ ตงสามารถบรรจุคําเอกลงไปแทนได เนือ่ งจากเปนคําที่มเี สียงสั้นเชนกัน


ห น า | 35

ขอที่ 78.

เฉลย 3

79.

3

80.

3

81.

4

82.

1

83.

3

84.

4

85.

4

86.

2

เหตุผลประกอบ บทรอยกรองขางตนอยูในวรรณคดีเรื่อง กาพยเหเรือ พระนิพนธในเจาฟาธรรม ธิเบศรหรือเจาฟากุง ซึ่งประพันธดวยกาพยยานี 11 จากตัวเลือกถายึดจากสัมผัส บังคับของกาพยยานี 11 จะพบวาคําทายของวรรคหนาจะสงสัมผัสมายังคําที่ 1,2 หรือ 3 ของวรรคหลังในบาทเอก คําทายของวรรคหลังในบาทเอกจะสงสัมผัสมายังคําทาย ของวรรคหนาในบาทโท กาพยยานี 11 ไดกําหนดสัมผัสระหวางวรรคไว ดังนี้ คําทายของวรรคหนาสัมผัสกับ ที่ 1,2 หรือ 3 ของวรรคที่ 2 คําทายของวรรคสองสงสัมผัสยังคําทายของวรรคสาม คําตอบในขอ 1. เบี้ยหวัด เปนคํานาม หมายถึง เงินไดจากราชการ คําตอบในขอ 2. ไมใชสํานวนแตเปนลักษณะของคําซอนในภาษาไทย คําตอบในขอ 4. ชักหนาไมถึง หลัง เปนคํากลาวที่มีความหมายถึงคนที่มรี ายไดไมพอกับรายจายในแตละเดือน สวน คําตอบในขอ 3. เปนสํานวนที่กลาวถึงคนที่มเี งินนอยจะใชจายตองระมัดระวัง ไมสุรุยสุราย ขอ 1. เสนอแนวคิดวา กิรยิ ามรรยาทสอสกุล ขอ 2. เสนอแนวคิดวา ใหรักศักดิศ์ รี ขอ 3. เสนอแนวคิดวา การพูดจาออนหวานจะทําใหมีเพื่อนมาก ตางกับคนทีช่ อบพูดจา หยาบคายยอมไมมีเพือ่ นเขาใกล ขอ 4. บอกเพียงลักษณะของผลมะเดื่อวามีสแี ดงชาด ไมมีการเสนอแนวคิด ขอทีก่ ลาวถึงสวนประกอบอาหาร คือ ขอ 1. กลาวถึงขนมซาหลิ่ม ซึ่งมีสวนผสมของ กะทิ และพิมเสน สวนในขออื่น กลาวถึงชือ่ ขนมและความรูสึกของกวีที่มีตอ นางอัน เปนที่รกั กลวิธีในการแตงของเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา มีลกั ษณะการดําเนิน เรือ่ งดวยบทสนทนา และการบรรยายวิธกี ารเลือกมา โดยใชสํานวนเปรียบเทียบกับ การเลือกสิ่งอื่นเพือ่ ใหเห็นความสําคัญของการเลือกมาเพิ่มขึ้น ดังนั้น ขอทีก่ ลาวไม ถูกตองเกี่ยวกับกลวิธีการแตงในขอความขางตน คือ การใชพรรณนาโวหาร ลักษณะเดนของคําประพันธขางตน คือ มีการเลียนเสียงธรรมชาติวา “โหงงหงาง เหงงเกงกาง” ซึ่งเปนเสียงที่เกิดจากการตีระฆัง ขอ 1. อยาขุดคนดวยปาก หมายความวา อยาพูดจาทิ่มแทงใหคนอืน่ เสียหาย ขอ 2. ยอ มิตรเมือ่ ลับหลังเปนการพูดถึงมิตรในทางที่ดี แมผเู ปนมิตรจะไมไดยินก็ตาม ขอ 3. อยาริกลาวคําคด หมายถึง อยาเริ่มโกหก สวนขอ 4. อยาเบา หมายถึง อยาหลงเชือ่ คน งาย เรามักจะคุนกับสํานวนวา “อยาหูเบา” ซึ่งไมเกี่ยวกับการพูดแตเกี่ยวกับการฟง “รูปเงาะ” หมายความวา รูปกายภายนอกดูไมงามแตภายในนั้นเปนอยางทองคํา ตรง กับขอ 2. หมายความวา ภายในนั้นดี รสเปนเลิศ


ห น า | 36

ขอที่ 87.

เฉลย 3

88.

2

89.

2

90.

3

91.

3

92.

1

93.

3

94.

1

เหตุผลประกอบ จากคําประพันธขางตนถอดคําประพันธไดวา แมจะยากจนอยางไรก็ใหทนกัดกอน เกลือกิน อยาไดไปเบียดเบียนเพื่อนฝูง ใหเปนอยางเสือทีเ่ มือ่ หิวก็สูพยายามจับเนือ้ กินเองอยางมีศกั ดิศ์ รี จากความวา “อดอยากเยี่ยงอยางเสือ สงวนศักดิ”์ คือ สอนใหรู รักศักดิ์อยางเสือ บทประพันธแตละขอพรรณนาดอกไม พันธุไม ขอทีแ่ สดงใหเห็นความเชือ่ ของ สังคม คือ ขอที่กลาวถึงตนงิ้ววาเปนสัญลักษณของการเปนชูผ ิดคูผ ิดเมียผูอ ื่น จะถูก ลงโทษใหปนตนงิ้ว ถูกหนามงิ้วทิ่มแทงโดยเชื่อวาเปนการลงโทษ คําประพันธในขางตนมีการใชภาพพจนอุปมา 2 แหง คือ “ภายนอกแดงดูฉนั ชาดบาย” และ “ดุจดั่งคนใจราย นอกนัน้ ดูงาม” พิจารณาจากวรรคในคําประพันธทกี่ ลาววา “ทั้งแฝกคาแขมกกขึ้นรกเรี้ยว” คําที่เปน ชือ่ พืช ไดแก แฝก คา แขม และ กก ซึ่งเปนพืชที่มักเกิดในที่ชุมชื้น รวมทั้งหมด 4 ชนิด เมือ่ พันทายนรสิงหทําผิดกฎมณเฑียรบาลที่วา ถาใครทําโขนเรือพระทีน่ ั่งหักจะตอง โทษถึงประหารชีวิต จึงขอรับโทษซึ่งเปนการแสดงความกลาหาญเด็ดเดีย่ ว ทั้งนี้ เพราะพันทายนรสิงหรูดีวาหากไมรับโทษ จะทําใหกฎมณเฑียรบาลไมศักดิส์ ิทธิ์ และเปนตัวอยางที่ไมดีตอ ผูอ ื่นในภายหนา ในโคลงบทนําของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคกลาวไววา ผูที่ปฏิบัติตามคําแนะนํา ผลของความดีนนั้ ยอมมีแตความสุข ความเจริญรุงเรือง และมีผคู นกลาวคําสรรเสริญ ซึ่งตรงกับขอ 1. “หวังสวัสดิ์ขจัดทุกขสราง สืบสรองศุภผล” ทั้งนี้พิจารณาไดจากคํา วา “หวัง” ซึ่งเปนคําทีแ่ สดงความประสงค ขอ 1. มีคําวา พระสยมภูวญาณ หมายถึง พระอิศวร มีคําขยายวา “เรืองศรี” ขอ 2. มีคํา วา “พระศุล”ี ที่หมายถึง พระอิศวร ขอ 3. มีคําวา “หัสนัยน” กับคําวา “เจาตรัย ตรึงศา” ที่หมายถึง พระอิศวร และขอ 4. มีกลาวถึง “พระอิศวร” และ “องคอมริน ทรา” คือ พระอินทร การหลากคํา คือ ใชคําที่มคี วามหมายเหมือนกัน จากบทประพันธกลาวถึงชางทําเครือ่ งถมที่ดี ซึ่งมีชางสาขาตางๆ รวมอยู 3 สาขา ซึ่ง ประกอบไปดวย ชางขึ้นรูปหรือชางเขียนแบบชางแขนงนีม้ าจากชางเงิน ชางทอง ที่ จะทํารูปทรงภาชนะหรือเครือ่ งประดับตางๆ ใหไดสัดสวน ชางแกะสลัก คือผูบรรจง สลักเสลา ลวดลายใหมีความออนชอยงดงามตามแบบนิยม และชางถม ซึ่งเปนชางที่ ตองใชความชํานาญในการผสมและลงยาถมบนพื้นทีซ่ ึ่งแกะสลักลวดลายไวแลว ชางที่ไมเกี่ยวของกับเนือ้ ความในบทประพันธ คือ ชางปน


ห น า | 37

ขอที่ 95.

เฉลย 3

96.

2

97.

2

98.

4

99.

3

100.

4

เหตุผลประกอบ ขอ 1. และขอ 2. กลาวถึงความสําคัญของศิลปะของชาติ ขอ 3. ใหขอคิดเรือ่ งการ ตระหนักในหนาที่ของตน คือ “แมนไมถอื เครงคงตรงวินัย เมือ่ ถึงคราวพายุใหญจะ ครวญคราง” การไมรักษาวินัยในตนเอง จะสงผลเสียตอหนาที่ที่รับผิดชอบ เมือ่ เกิด ปญหาก็จะสงผลกระทบกับงานทีต่ องทํารวมกับคนอื่น ขอ 4. กลาวเปรียบ พระราชสํานักเหมือนเรือที่แลนในมหาสมุทร ขอ 1. กวีพรรณนาถึงพันธุไมชนิดตางๆ ดวยการเลนคําวา “ลิง” ไดแก ตนหัวลิง ตน ลางลิง และตนหูลิง ซึ่งไมเห็นภาพการเคลือ่ นไหว ขอ 2. กวีพรรณนาการเดินของยูง ทอง “ยองเยือ้ งยาง” คือ กาวอยางชาๆ และก็รําแพนหางอยางงดงาม ขอ 3. กวี พรรณนาลักษณะไกฟาวามีหัวสีแดง มีเดือย และขอ 4. กวีพรรณนานาเลียงผาทีอ่ ยู บนภูเขาวามีหนวดแบนราบ ขอความขางตนกลาววา “เมื่อครั้งสมัยพอกู กูดแู ลรับใชพอกับแม เมือ่ กูไดอาหารมา กูกเ็ อามาใหพอกู” ซึ่งเปนขอความที่แสดงใหเห็นความกตัญู รูจักตอบแทนพระคุณ ของบิดามารดา ดวยการคอยดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด จากบทประพันธขางตนกลาวถึงสัตวปา ดังนี้ กวางเนือ้ ทราย หมูปา หมาในซึ่งเปน หมาชนิดหนึ่ง ขนสีน้ําตาลแดง หรือน้ําตาลเทา หางสีคล้ํายาวเปนพวง อาศัยอยูตาม ปาทึบ ออกหากินเปนฝูงเวลาเชามืดและพลบค่ํา ลาสัตวอื่นกิน เชน เกง กวาง หมูปา สัตวเล็กๆ สัตวปาในบทประพันธขางตนจึงมีทั้งหมด 4 ชนิด ขอ 1. และขอ 2. เปนบทเจรจาของนนทกทีถ่ ามนางอัปสรดวยชื่นชอบรักใครอยากรู วาเปนใคร ชือ่ อะไร จึงคาดหวังคําตอบจากนาง สวนขอ 3. ที่นางอัปสรกลาววา “ทําไมมาลวงไถถาม” ไมไดตองการคําตอบ แตเปนการตอวานนทกที่กลาเขามาทัก ถาม ขอ 4. เปนแตเพียงการบอกเลาไมไดถาม คําประพันธทกี่ ลาวถึงเวลา มีดังนี้ ขอ 1. มีคําวา “ดับดวงพระสุริย” ซึ่งหมายถึง ชวง ค่ํามืดที่ดวงอาทิตยหมดแสง ขอ 2. มีคําวา “ค่ําพลบ” หมายถึง เวลาย่ําค่ํา เวลา โพลเพล ขอ 3. มีคําวา “ชิงพลบ” มีความหมายเหมือนกับ “ค่ําพลบ” สวนขอ 4. ไมมี คําที่กลาวถึงเวลา


ห น า | 38

แนวขอสอบ วิชาภาษาไทย ชุด B ตอนที่ 1 1. การสัมผัสอักษรในขอใดเดนมากทีส่ ดุ ? 1. จุดเทียนสะกดขาวสารปราย

ภูตพรายโดดเรือนสะเทือนขวัญ

2. ทุกวันนี้ใชแมจะผาสุก

มีแตทกุ ขใจเจ็บดังเหน็บหนาม

3. สินสมุทรสุดแสนสงสารแม

ชําเลืองแลดูหนาน้ําตาไหล

4. ไผซอออเอียดเบียดออด

ลมลอดไลเรี้ยวเรียวไผ

2. “งวงเหงาเซาซบซ้ําซมซาน”โคลงบาทนี้มีหนวยเสียงใดบาง ? 1. เสียงรัว เสียงนาสิก

4. เสียงนาสิก เสียงเสียดแทรก

2. เสียงระเบิด เสียงรัว 3. เสียงเสียดแทรก เสียงรัว 3. “โอวานาเศราใจ จะเมิลไหนก็มืดมัว เย็นเยียบทุกถิ่นทั่ว ณ ยามพัสสะโปรยปราย” ขีดเสนใตคอื ขอใด 1. ลม

4. แดด

2. ฝน 3. เมฆ 4. สนิมเหล็กเกิดแตเนือ้ ในตน บาปเกิดแตตนคน เปนบาป

กัดกินเนือ้ เหล็กจน กรอนขร้ํา บาปยอมทําโทษซ้ํา ใสผูบาปเอง

ความหมายของโคลงบทนี้ตรงกับสํานวนใดมากทีส่ ุด ? 1. ไสศึก

4. กงเกวียนกําเกวียน

2. กรรมสนองกรรม 3. ทําดีไดดี ทําชั่วได 5. “รักในหลวง หวงลูกหลานรวมกันตานยาเสพติด” คําขวัญที่กําหนดใหมเี สียงพยัญชนะสะกดกีเ่ สียง ? 1. 12 เสียง

4. 5 เสียง

2. 10 เสียง 3. 6 เสียง 6. “มาทําลายรั้วระวังใหพังราบ มารายเสกมนตสาบใหหมดเศรา มาใหหวงคิดถึงทุกค่ําเชา มาปลนเอา หัวใจไปหมดแลว” จากขอความดังกลาว ขอใดถูกตอง ? 1. ขโมย 2. พอมด

4. ทหารที่ออกไปรบ


ห น า | 39

3. นางอันเปนที่รัก 7. “ทุกครั้งที่คณ ุ ขับรถยนตตอ งคาดเข็มขัดนิรภัย เพราะถาเกิดอุบัตเิ หตุขึ้น จะทําใหหนักเปนเบาได ตอไป คุณตองคาดเข็มขัดนิรภัยเสมอ และการไมคาดเข็มขัดนิรภัยผิดกฎหมายนะครับ” จากขอความผูพูดมี วัตถุประสงคอยางไร ? 1. พูดแนะนํา

3. พูดอธิบาย

2. พูดตักเตือน

4. พูดใหโอวาท

8. “ตนไมถกู หักกิ่งไป มันไมเคยเสียเวลาใหเกิดความเจ็บปวดทอแท แตพยายามยืดกิ่งแทงหนอขึ้นมาใหม และปลอยใหกิ่งทีแ่ หงหรือหักนั้น ใหตกลงดินเปนปุยอันโอชะของมันตอไป” จากขอความขอใดเปน แนวคิดสําคัญ ? 1. คนเรายอมมีผิดพลาดได

4. ความอดทนทําใหเกิดความสําเร็จ

2. ควรใชวิกฤตใหเปนโอกาส 3. ควรใชเวลาวางใหเปนประโยชน 9. “นาสงสารผูหญิงคนนั้นนะ ทั้งทีเ่ ธอเกิดมาพิการแลวยังตองมาถูกคนหลอกลวงเธออีก” ขอความนี้เปน การแสดงสิ่งใด ? 1. ความคิด

4. ขอสันนิษฐาน

2. ความรูสึก 3. ขอเท็จจริง 10.

“เจ็ดวันเวนดีดซอม ดนตรี สามวันจากนารี

เปนอื่น

อักขระหาวันหนี เนินชา วันหนึ่งเวนลางหนา อับเศราหมองศรี”

จากโคลงบทนี้ขอ ใด เปนเหตุผลสําคัญทีส่ ุดที่ทําใหเกิดการตีความตางกัน ? 1. อคติสวนตนอันเกิดจากความเปนชายเปนหญิง 2. การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมตามยุคสมัย 3. ความคิดแตกตางทําใหเกิดความแตกแยก 4. วิจารณญาณตางกันทําใหคดิ ไมตรงกัน 11. ฝายบริการมีหนังสือถึงผูบังคับบัญชาเพือ่ ของบประมาณซอมหองสุขา คําลงทายควรใชอยางไร ? 1. จึงเรียนมาเพื่อพิจารณา 2. จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุมัติ 3. จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุญาตดวย

4. จึงเรียนมาเพื่อทราบและดําเนินการตอไป


ห น า | 40

12. ขอใด คือ การยอความที่มีประสิทธิภาพ ? 1. มีความรอบรูในการเขียน

4. มีการฝกฝนการอานอยางสม่ําเสมอ

2. มีประสบการณในการอาน 3. มีความคิดอยางเปนระบบ 13. “เหนือบรรพตสดใสนาใหลหลง กวีลงสรงสนานในธารศิลป โปรยสุคนธปนมาในวาริน ใครไดลงสรงสนานในธารนี้

อบอวลกลิ่นหอมกรุนถึงรุนเรา คงชีวีกี่กัปไมอับเฉา

กลิน่ กลอมโลกโศกสรางลงบางเบา

เชิญรับเอาอายุสคุ นคันธทั่วกันเอย”

ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของขอความนี้ ? 1. ชีวิตกับบทกวี

3. ความรื่นรมยของมวลกวี

2. อิทธิพลของงานกวี

4. ความเยายวลของธารศิลป

14. “กระดาษที่ใชหอ หรือใสอาหาร โดยเฉพาะพวกกลวยทอด มันทอด กลวยปงนั้นไมควรเปนกระดาษที่มี ตัวหนังสือ ทั้งนี้เพราะหมึกพิมพนั้นจะมีพวกโลหะหนัก เชน ตะกั่ว โครเมียมเปนสวนประกอบ ถา หมึกพิมพไปถูกอาหารก็จะติดอาหารไป เรารับประทานเขาไปสะสมในรางกาย ทําใหเกิดโรคตางๆ ได” ขอความนี้เปนการเขียนลักษณะใด ? 1. การบรรยายโดยกลาวซ้ํา

4. การบรรยายตามลําดับขัน้ ตอน

2. การอธิบายโดยยกตัวอยาง 3. การอธิบายโดยชี้เหตุและผล 15. “ภาษาไทยคาแทไทยวิถเี อกลักษณสมศักดิศ์ รีสืบไวคนควาหลักฐานมีมากเรือ่ งมรดกบรรพบุรุษใหหวง รูรักษา” ขอความขางตนถาเรียงวรรคตอนใหถกู ตองจะเปนคําประพันธชนิดใด ? 1. โคลงสี่สุภาพ

4. กาพยฉบัง 16

2. กลอนสุภาพ 3. กาพยยานี 11 16. “หยิ่งจองหอง” เปนสํานวนเหมือนขอใด ? 1. ไกไดพลอย

4. ตาบอดไดแวน

2. กิ่งกาไดทอง 3. หัวลานไดหวี 17. พาดหัวขาวหนังสือพิมพขอ ใด รายงานเฉพาะขอเท็จจริง ?


ห น า | 41

1. แหขอหวยตนมะพราวคลายหัวชาง 2. งมงายเลขเด็ด แหขอหวยจิ้งจก 1 ขา 3. หวั่นซื้อเสียงมโหฬาร-กลไก กมช.ไรศักยภาพ 4. ปลุกธรรมาภิบาลผูบริหาร บลจ. ลดทุจริตในตลาดหุน 18. “รัตนโกสินทรถาเทียบกันคือตนไมทเี่ พิ่งงอกงามขึ้นมาใหม จากหนอจากแขนงของตนเกา ลําตนและ รากออนนัก ศัตรูชอบมาโยกคลอน ฉุดกระชากจะใหรากขาดไมหยุดหยอน อาศัยแตวาเจาของรดน้ํา พรวนดินสม่ําเสมอ รากจึงเหนียวแนนไมขาดงาย กิ่งใบไมยอมเฉาจนบัดนี้” ขอความนี้สอื่ ความหมาย ตรงกับขอใด? 1. บานเมืองและตนไมปลูกใหมตองหมั่นดูแลบํารุงรักษาเสมอ 2. บานเมืองที่เพิ่งสรางตองคอยปกปองรักษาดูแลเพือ่ ใหเกิดความมั่นคง 3. การดูแลรักษาบานและตนไมใหคงอยูคกู ันเพราะตางฝายตางอาศัยกัน 4. การดูรกั ษาตนไมปลูกใหมก็เหมือนดูแลบานเมืองทีส่ รางใหมมักมีศัตรูรบกวน 19. ใครมีฐานะดีทสี่ ุด ? 1. สมพรมีฐานะพอทําพอกิน

4. สมพงษมฐี านะพอเลี้ยงปากเลี้ยงทอง

2. สมสมรมีฐานะพอมีพอกิน 3. สมศักดิ์มฐี านะพอมีอันจะกิน 20. ขอใดใชคําเปรียบเทียบผิด ? 1. ฉลาดเปนกรด

4. สวยเหมือนนางงาม

2. ขาวเหมือนสําลี 3. ใจเสาะเปนปลาซิว 21. “เพราะเขาทําบุญกุศลไวมากในชาติกอน ชาตินเี้ ขาจึงร่ํารวยมีความสุขสบาย” คําที่ขดี เสนใตทําหนาที่ เปนคําสันธานชนิดใด ? 1. บอกผล

4. บอกความขัดแยง

2. บอกเหตุ 3. บอกเปาหมาย 22. “ทานเหมือนดวงอาทิตย ใกลทานมากจะเรารอนและโดนเผาไหม ไกลทานมากก็หนาวเย็นวาเหวและ คิดถึง นินทากันลับหลังวาทานเปนกระดาษหอไฟ”ในการแสดงทรรศนะตอบุคคลขอความนี้ตรงกับขอ ใด?


ห น า | 42

1. ขอเท็จจริง

4. ทรรศนะของผูอ ื่น

2. ขอสันนิษฐาน 3. ทรรศนะสวนตัว 23. ทุกคําในขอใดมีโครงสรางคําเหมือนกับ “อมยิ้ม” ? 1. ตมย้ํา หอหมก

4. มวยปล้ํา กระโดดไกล

2. สามลอ สองแถว 3. ลูกกวาด ทองหยอด 24. ขอใดเปนขอเท็จจริงไมใชการแสดงความคิดเห็น ? 1. น้ําอัดลมมีประโยชนและมีคณ ุ คากับรางกายของเรา 2. การดื่มโคกมากๆจะชวยในการยอยอาหาร 3. ในน้ําอัดลมจะมีแก็สคารบอนไดออกไซด 4. คนไทยจะดื่มน้ําอัดลมแทนน้ําธรรมดา 25. ขอใดไมใชมารยาทในการอานหนังสือ ? 1. อานหนังสืออยางตั้งใจเงียบๆ 2. อานหนังสือเกาอยางถะนุถนอม 3. อานหนังสือและคั่นหนาโดยการพับหนังสือ 4. ไมอานหนังสือเมื่ออยูในวงสนทนาหรือมีการประชุม 26. ขอใดคือมารยาทในการอานสือ่ อิเล็กทรอนิกส? 1. แกไขขอมูลผูอ ื่นตามใจชอบ

4. อางถึงแหลงที่มาเมื่อคัดลอกขอมูลบนเว็บไซด

2. เจาะขอมูลผูอ ื่นมาเปนของตนเอง 3. ถายขอมูลที่ตอ งการตามความสะดวก 27. การเตรียมพรอมในการอานขอใดสําคัญที่สดุ ? 1. เตรียมเปลงเสียง

4. เตรียมการการเคลือ่ นไหว

2. เตรียมแบงวรรคตอน 3. เตรียมสุขภาพกายใจ 28. การฟงในขอใด มีความสําคัญมากในการดําเนินชีวิต ? 1. รับความรู 2. ความเพลิดเพลิน

4. ติดตอสื่อสารในชีวิตประจําวัน


ห น า | 43

3. คติชีวิตและจรรโลงใจ 29. เพราะเหตุใดจึงกลาววาการฟงเปนกระบวนการทํางานของสติปญญา ? 1. ตองตีความ

4. พิจารณาตาม

2. จําประเด็น 3. ขยายความ 30. “เมื่อขาวตั้งทองออกรวงในเดือนสอบเอ็ดตองมีการทําขวัญขาว เชือ่ กันวาการที่ขาวตั้งทองออกรอง คือ การทีแ่ มโพสพแททอง จึงอยากกินของเปรี้ยวของหวาน เชนเดียวกับผูหญิงที่ตั้งทอง จึงตองนําขาวพลา ปลายํา หุงขาว หอแกง สมเขียวหวานหรือสมมะนาว กลวย ถั่ว งา นําดอกไม ธูปเทียน มาบูชาแมโพสพ และยังตองแตงตัวใหแมโพสพอีกดวย” ขอความนีเ้ ปนแนวคิดตามขอใด ? 1. วัฒนธรรม

4. จริยธรรม

2. คานิยม 3. คุณธรรม 31. สุดาไดฟงบรรยายเรือ่ ง “ภาษากับความมั่นคงของชาติ” ทําใหไดรับความรูและตระหนักวา ตอไปนี้ จะตองใชภาษาไทยใหถูกตอง อยางนอยก็เปนการชวยชาติทางออม การทีส่ ุดาเปลี่ยนพฤติกรรมของ ตัวเอง แสดงวามีประสิทธิภาพการฟงตามขอใด ? 1. ตีความได

4. จับประเด็นได

2. วิเคราะหได 3. ประเมินคาได 32. เมือ่ เพื่อนสอบแขงขันไดรับการคัดเลือกไปดูงานตางประเทศ จะกลาวอยางไร จึงจะแสดงวาทานยินดี กับความสําเร็จนั้นดวยความจริงใจ ? 1. แมจะไมใชตัวเก็ง แตเธอก็ยอดมากเลย 2. ฉันวาแลวพอเขาไมไป เธอตองได ก็ไดจริงๆ 3. เธอคือมามืดจริงๆ มาแซงทางโคงวิ่งเขาปายเลยนะ 4. ฉันวาแลวเชียวยังไงๆ เธอก็ตองไดเยี่ยมจริงๆ เลยเพื่อน 33. ขณะรับประทานอาหารเย็นวันหนึ่ง ติ๋มไดปรารภกับตอยวา “หมูนี้ฉันเปนอะไรก็ไมรูสามวันดีสี่วันไข กินก็ไมได นอนก็ไมหลับ แถมถายก็ไมสะดวกอีกดวย” ขอใดเปนการประเมินผลของการพูดของติ๋มได เหมาะสมที่สดุ ? 1. พูดเรื่องของตนเองมากเกินไป


ห น า | 44

2. รูจักสรางบรรยากาศใหเปนกันเอง 3. สามารถใชสํานวนภาษาไดอยางคลองแคลว 4. ขาดการวิเคราะหโอกาสและสถานการณในการพูด 34. “เพื่อนคนหนึ่งซึ่งมีไมตรีจิต คนเดียวซือ่ ถือธรรมประจําใจ 1. ชักจูงใจใหคบเพื่อน

ดีกวามิตรคบเลนเปนไหนไหน ดีกวาใครใครชั่วโฉดนับโกฏิพนั ”? 4. แนะนําหลักการในการคบเพือ่ น

2. ใหความรูในการคบมิตร 3. ใหขอ คิดในการคบมิตร 35. ขอใดไมใชจุดมุงหมายสําคัญของการพูดโนมนาวใจ ? 1. คลอยถาม

4. ใหแสดงทรรศนะออกมา

2. จูงใจใหเชื่อ 3. การซักชวน 36. การฟงและการพูดอยางมีวิจารณญาณ ขอใดไมถูกตอง ? 1. เพื่อความบันเทิง

4. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ

2. เพื่อพัฒนาตนเอง 3. เพื่อประกอบอาชีพ 37. ประเด็นในขอใดเปนสาเหตุของการโตแยง ? 1. ควรสรางอาคารพานิชยในหมูบานหรือไม 2. ควรสงวนที่วางที่มีอยูไวสําหรับชาวบานหรือไม 3. ควรจัดหาที่พักผอนหยอนใจขึ้นสําหรับชาวบานหรือไม 4. ควรจัดหาบริเวณที่วางใหมากขึ้นสําหรับชาวบานหรือไม 38. “มีการเชือ่ อยางผิดๆ วาใครก็ตามทีต่ ิดยาเสพติดก็จะติดตลอดไป ประชาชนควรไดรับขอมูลที่ถกู ตอง วาผูติดยาเสพติด จํานวนมากที่ไดรับการฟนฟูสมรรถภาพ สามารถกลับเขาสูส ังคมไทยไดอยางปกติ” ขอความขางตนเปนการโตแยงเกี่ยวกับสิ่งใด ? 1. ขอสรุป

4. ขอเสนอแนะ

2. ขอเท็จจริง 3. ขอสนับสนุน 39. ถาเพื่อนจะชวยทานแตทานรูสกึ เกรงใจ ทานจะพูดวาอยางไร ?


ห น า | 45

1. อยาเลยฉันทําเองได

4. อยาลําบากเลย ฉันจะพยายามทําเอง

2. อยาเลยฉันอยากทําเอง 3. อยาลําบากเลย ฉันทําเองได 40. “นกอยูบนฟานกหากไมเห็นฟา ปลาอยูในน้ํายอมปลาเห็นน้ําไม ไสเดือนไมเห็นดินวาฉันใด

หนอนยอมไรดวงตาเห็นอาจม”

ขอความใดไมสัมพันธกับสารในคําประพันธขางตนนี้ ? 1. จวักตักแกง

4. ใกลเกลือกินดาง

2. ใกลตาใกลใจ 3. หญาปากคอก 41. ในการเลือกใชภาษาทางการหรือไมเปนทางการนัน้ ควรพิจารณาจากสิ่งใด ? 1. สถานทีแ่ ละบุคคล

4. โอกาส สถานที่และความสัมพันธ

2. ความสัมพันธของผูพูดและผูฟง 3. สถานที่จะแสดงความคิดเห็นนั้น 42. “ปากใจไมตรงกัน

ความสัมพันธไมยั่งยืน ใจเกลียดแตปากฝน

พูดแตงลิน้ สิน้

ผลจักเกิดทั้งตนปลาย

ผูฟงเลาเขาใจตรง”

ความหมาย ปากใจใหตรงเถิด

ผูพูดใจสบาย

ใจเกลียดแตปากฝน พูดแตงลิ้นสิ้นความหมาย ตรงกับขอใด ? 1. ปากหวานกนเปรี้ยว

4. ปากเปนเอกเลขเปนโท

2. พูดดีเปนศรีแกปาก 3. พูดมากปากจะมีสี 43. คําประพันธประเภทใดบังคับ เสียงวรรณยุกต ? 1. รายสุภาพ

4. กลอนบทละคร

2. โคลงสี่สุภาพ 3. กาพยฉบัง 16 44. ขอใดมีทั้งอักษรควบและอักษรนํา ? 1. ราชาลิจฉวี ไปมีสักองค 2. สวนเราเลาใช เปนใหญยังมี 3. สงครามครานี้หนัก ใจเจ็บใจมา

4. บาวคราวกลาวกัน อื้อพลันแพรหลาย


ห น า | 46

45. ขอใดเปนภาษาระดับทางการ ? 1. ภูมิแพอากาศภัยเงียบไมควรประมาท 2. นายยังไมแทงลงมาใหฉนั ตั้งแตเมือ่ วานนี้ 3. นายกินเหลานานหรือยังเสียสุขภาพจริงๆเลย 4. คนไทยขาดความมั่นใจและศรัทธาในความกลาหารของนายก 46. ขอใดใชคําผิด ? 1. เขามักจะผัดวันประกันพรุงอยูเ สมอ 2. เธอผัดหนาออกมานอกบานเผื่อซือ้ ขาวผัด 3. เขาขอผัดผอนคาเชาบาน เจาของบานก็ผอนผันให 4. ทีมวิ่งผลัดสีค่ ูณรอยของไทย มีความหวังไดเหรียญทอง 47. “สะโพก” เปลี่ยนเปนคําราชาศัพทวาอยางไร ? 1. พระนาภี

4. พระโมลี

2. พระโสณี 3. พระอัสสุธารา 48. ประโยคใดตอไปนี้ใชคําราชาศัพทไดถกู ตองเหมาะสม ? 1. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารยเสด็จไปแสดงพระธรรมเทศนา 2. พระครูโสภิญกําลังเขียนจดหมายถึงลูกศิษยของทาน 3. หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมทยถึงแกกรรม เมือ่ พ.ศ. 2538 4. หมอมเจาหญิงจงจิตรถนอม ดิศกุล สิ้นชีพิตกั ษัยเปนเวลานานแลว 49. ขอใดใชถอ ยคําไมถูกตอง ? 1. พระเจดียภูเขาทองมีพระอัฐิของพระพุทธเจาบรรจุอยู 2. ประธานสภาขอมติจากที่ประชุมวาสมควรจะปดประชุมหรือไม 3. พลเมืองดีตอ งรูจักรักษาผลประโยชนของตนและสวนรวมดวยการไปใชสิทธิเลือกตั้ง 4. พระสงฆที่วัดนี้ทําวัตรเชาตั้งแตตสี ี่ ออกบิณฑบาตตอนเชาและฉันภัตตาหารเพียงมื้อเดียว 50. ภาษาถิ่นใดที่มเี สียงวรรณยุกตมากทีส่ ดุ ? 1. ภาษาถิ่นใต 2. ภาษาถิน่ กลาง 3. ภาษาถิ่นเหนือ

4. ภาษาถิ่นอิสาณ


ห น า | 47

51. การศึกษาภาษาถิ่น และภาษาตางประเทศที่มอี ิทธิพลตอภาษาไทยขอใดสําคัญทีส่ ุด ? 1. ทําใหเขาใจความหมายของคําเพิ่มมากขึ้น 4. ทําใหภาษาไทยมีลกั ษณะเดนเฉพาะตัว 2. ทําใหเขียนตัวสะกดไดตรงตามมาตรา 3. ทําใหออกเสียงคําควบกล้ําไดชดั เจนขึ้น 52. “ขูลูนางอั้ว” เปนวรรณกรรมทองถิน่ อิสาณประเภทใด ? 1. เพลง นิยาย

4. ตํานวน นิทาน นิยาย

2. พิธีกรรม ตํานาน 3. ปริศนาคําทาย นิทาน 53. ขอใดคือคุณสมบัติทดี่ ีเลิศทีส่ ุดของเวตาล ? 1. คุณธรรมสูงสง และกลาหาญ

4. มีฤทธิแ์ กลวกลา เหาะเหินเดินบนอากาศได

2. บินได แปลงราง และหายตัวได 3. เขาใจในจิตวิทยาของมนุษยเปนอยางดี 54.

“อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤา บุญเพรงพระหากสวรรค ศาสตรรุง เรืองแฮ

สิงหาสหปรางรัตนขรร- เจิดหลา บังอบายเบิกฟา

ฝกฟนใจเมือง”

บทประพันธดังกลาวจากวรรณคดีเรือ่ งนิราศนรินทรมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อแสดงสิ่งใด ? 1. กลาวถึงเมืองอยุธยา

4. เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริย

2. กลาวถึงนรกและสวรรค 3. เพื่อแสดงความระลึกถึงกรุงศรีอยุธยา 55. ยิ่งรักษณ อานวรรณคดีแลวสามารถบอกไดวา ชอบหรือไมชอบ ดีหรือไมดอี ยางไร แสดงวาคุณภาพ การอานของยิ่งรักษณอยูในระดับใด ? 1. จดจํา

3. วิจารณ

2. เขาใจ

4. วิจักษณ

56. ขอใดเปนลักษณะของการวิจารณวรรณคดี ? 1. การอานใหไดแนวคิด

4. การแยกขอเดนของวรรณคดีออกมา

2. การอานใหเขาใจเนื้อหา 3. การแสดงขอคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี 57. “นาวาแนนเปนขนัด ลวนรูปสัตวแสนยากร เรือริ้วทําธงสลอน เรือครุฑนาคหิ้ว

ลิ่วลอยมาพาผันผยอง

พลพายกรายพายทอง

สาครลั่นครั่นครื้นฟอง รองโหเหโอเหมา”


ห น า | 48

ขอใดเปนลักษณะเดนของคําประพันธขางตน ? 1. ภาพ

3. แสงสี

2. เสียง

4. สิ่งแวดลอม

58. ขอใด ไมใช “โวหารการหึง” ของพระเวสสันดร? 1. ทั้งฤๅษีสิทธิ์วิทยาธรคนธรรพเทพรักษผูมีพักตรอันเจริญ เห็นแลวก็นาเพลิดเพลินไมเมินได 2. เออก็เมื่อเชาเจาจะเขาปานาสงสารปานประหนึ่งวาจะไปมิได ทํารองไหฝากลูกมิรแู ลว ครั้นคลาดแคลวเคลือ่ นคลอยเขาสูดง ปานประหนึ่งวาจะหลงลืมลูกสละผัว 3. นอกกวานั้นที่แนนอนคือนางไหนอันสนิทชิดใชแตกอนกาล ยังจะติดตามพระราชสมภารมา บางละหรือ 4. อุปมาเสมือนหนึ่งภุมรินบินวะวอน เที่ยวซับซาบเอาเกสรสุคนธมาเลศ พบดอกไมวิเศษตอง ประสงคหลงเคลาคลึงรสจนลืมรัง 59. ขอใดไมมกี ารใชภาพพจน? 1. ทั้งแปดทิศก็มืดมิดมัวมนทุกหนแหง ทั้งขอบฟาก็ดาดแดงเปนสายเลือด 2. พอประจวบจวนพญาพาฬมฤคราช สะดุงพระทัยไหวหวาดวะหวีดวิ่งวนแวะเขาขางทางพระ ทรวงนางสั่นระรัวริกเตนดั่งตีปลา 3. พระนัยเนตรทั้งสองขางไมขาดสายพระอัสสุชล พลางพิศดูผลาผลในกลางไพร ที่นางเคยได อาศัยทรงสอยอยูเปนนิตยผิดสังเกต 4. ประหลาดแลวแลไมเห็นก็ใจหาย ดั่งวาชีวิตนางจะวางวายลงทันที จึ่งตรัสเรียกวา แกวกัณหา พอชาลีของแมเอย 60. “โอพระอาศรมเจาเอยนาอัศจรรยใจ แตกอ นดูนสี่ ุกใสดวยสีทอง เสียงเนือ้ นกนี่ร่ํารองสําราญรังเรียกคูคู ขยับขัน ทั้งจักจั่นพรรณลองไนเรไรรองอยูหริ่งๆ ระเรือ่ ยโรย โหยสําเนียงดั่งเสียงสังคีต ขับประโคม ไพร โอเหตุไฉนเหงาเงียบเมื่อยามนี้ ทั้งอาศรมก็หมองศรีเสมือนหนึ่งวาจะเศราโศก” ขอความขางตน ไมปรากฏการใชโวหารภาพพจนใด? 1. สัทพจน

3. อุปลักษณ

2. อุปมา

4. อุปไมย

61. “พระพุทธเจาขาอันสองกุมารนี้ เกลากระหมอมฉานไดอุตสาหะถนอม ยอมพยาบาลบํารุงมา ขอถวายอนุโมทนาดวยปยบุตรทานบารมี” ขอความนีส้ ะทอนอุปนิสัยใดของผูพูดมากทีส่ ุด? 1. ถนุถนอม

3. เดดเดี่ยวมุงมั่น


ห น า | 49

2. วิตกกังวล

4. เขมแข็งอดทน

62. ปมปญหาสําคัญในมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี คืออะไร? 1. เทวดาแปลงเปนเสือมาขวางนางมัทรีไว 2. นางมัทรีตามหาลูกอยูทั้งคืนจนสวางไมพบ 3. นางมัทรีหลงปาและถูกเสือมานอนขวางทาง 4. พระเวสสันดรยกกัณหาชาลีใหชชู กโดยมิไดบอกนางมัทรี 63. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับเรือ่ ง มัทนะพาธา? 1. เปนบทละครพูด 2. ใชฉันทแตงปนกับกาพย 3. วิธีการแสดงเรื่องนี้ ใชแบบแผนเหมือนละครพันทาง 4. เปนบทละครทีแ่ ตงดวยคําฉันทเรือ่ งแรกและเรือ่ งเดียวในวรรณคดีไทย 64. จากตอนสุเทษณฝากรักนางมัทนา แสดงใหเห็นวามัทนามีอุปนิสัยใดเดนชัดที่สดุ ? 1. เขมแข็ง อดทน

3. จงรักภักดี รักเดียวใจเดียว

2. จริงใจ เด็ดเดี่ยว

4. ออนนอมถอมตน

65. อะ! เราไมขอ

ไดนางละหนอ

โดยวิธีนั้น!

เสียแรงเรารัก

สมัครใจครัน

อยากให

นางนั้น สมัครรักตอบ.

จากบทประพันธขางตนตรงกับสํานวนใดมากทีส่ ุด ? 1. ปากวาตาขยิบ 4. รักวัวใหผูกรักลูกใหกอด 2. ปากหวานกนเปรี้ยว 3. อยาขมเขาโคขืนใหกลืนหญา 66. ขอใดเปนคําพูดโตตอบระหวางสุเทษณกับมัทนาระหวางนางถูกสะกดจิตใหงงงวย ? 1. ที่หลอนมิยินยอม มีคูสะมรมาน

มะนะรักสมัคสมาน อภิรมฤเปนไฉน

2. หมอมฉันสดับมระธุระถอย

ก็สํานึกเสนาะคํา

แตตอ งทํานูลวะจะนะซ้ํา

ดุจะไดทํานูลมา


ห น า | 50

3. รักจริงมิจริงฤก็ไฉน รักจริงมิจริงก็สุระชาญ 4. พี่นี้นะรักเจา คูชดิ สนิธนอง 67.

อรไทยบแจงการ ชยะโปรดสถานใด และจะเฝาประคับประคอง บมิใหระคางระคาย

งามผิวประไพผอง สุพรรณ, งามแกมแฉลมฉัน

กลทาบศุภา พระอรุณ

แอรมละลาน. งามเกศะดําฃํา

กลน้ําณทอง

ละหาน, งามเนตรพน ิ ิศปาน

สุมณีมะโนหะ

งามทรวงสลางสอง

วรถันสุมนสุ

รา; มาจากบทประพันธขางตน ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. มีการใชบคุ ลาธิษฐาน 1 แหง

4. เปรียบแขนของนางงามเหมือนกับงวงชาง

2. มีการซ้าํ คําเพือ่ สรางเสียงเสนาะ 3. ใชภาพพจนอุปมาโดดเดนมากที่สดุ 68. ขอใดกลาว ไมถูกตองเกี่ยวกับกวีผูทรงนิพนธวรรณคดีเรือ่ ง ลิลติ ตะเลงพาย 1. พระนามเดิม คือ พระองคเจาชายปรมานุชิต 2. เปนสมเด็จพระสังฆราชองคที่ 7 แหงกรุงรัตนโกสินทร 3. เปนพระโอรสองคที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 4. เปนเชือ้ พระวงศพระองคแรกแหงกรุงรัตนโกสินทรที่มีสมณศักดิส์ ูงสุดในทางพุทธศาสนา 69. ขอใด ไมถกู ตองเกี่ยวกับวรรณคดีเรือ่ ง ลิลิตตะเลงพาย? 1. แตงขึ้นเพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช


ห น า | 51

2. แตงในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย 3. แตงดวยรายสุภาพและโคลงสุภาพประเภทตางๆ 4. เนื้อหามาจากพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 70. ขอใด ไมมกี ารใชคําแผลง 1. สลัดไดใดสลัดนอง เพราะเพือ่ มาราญรอน 2. ธก็เอือ้ นสารเสาวพจนแดเอารสยศเยศ

71.

แหนงนอน ไพรฤๅ เศิกไซร องคอศิ เรศอุปราช

3. ศึกมอญมาชิงควัน กันบใหไปออก

บอกใหเตาโดยตก ควรจักยกไปยุทธ

4. ลูกตายฤใครเก็บ

ผีฝาก พระเอย

เจาอยุธยามีบุตร ลวนยงยุทธเชี่ยวชาญ หาญหักศึกบมิยอ ตอสูศ ึกบมิหยอน ไปพัก วอนวาใช ใหธหวงธหาม แมเจาครามเคราะหกาจ จงอยายาตยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรียสรางเคราะห เมือ่ พระมหาอุปราชาไดฟงขอความดังกลาวนี้ทรงรูส ึกอยางไร ? 1. ละอายใจและเกิดขัตติยมานะ 3. นอยใจและทอใจ 2. เสียใจและละอายใจ

4. ไมพอใจเซ็ง

72. “ตะเลงพาย” ตามรูปศัพทหมายความวาอยางไร และเพราะเหตุใดจึงเรียกชือ่ เชนนี้ ? 1. หมายถึง มอญพาย เพราะในขณะนั้นพมาปกครองมอญอยูและมีเมืองหลวงอยูที่มอญ 2. หมายถึง มอญพาย เพราะพระมหาอุปราชามีเชือ้ สายมอญ 3. หมายถึง มอญพาย เพราะทัพอยุธยาตีพมาแตกทีเ่ มืองมอญ 4. หมายถึง พมาพาย เพราะทัพพมาพายแพแกอยุธยา 73. ขอใดกลาวถึงวรรณกรรมเรื่อง คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะหไมถกู ตอง ? 1. แตงเพือ่ ใชสั่งสอนจรรยาของแพทยที่ดี 2. แตงเพื่อเปนแบบอยางในการแตงฉันท สําหรับแพทย 3. แตงดวยกาพยยานี 11 และเริ่มตนดวยบทประณามพจน 4. แตงเพือ่ เปนตําราคูมอื ในการรักษาโรคของแพทยแผนไทย


ห น า | 52

74. ขอใดกลาวถึงผูร วบรวมคัมภีรตางๆ ใน “แพทยศาสตรสงเคราะห” ไมถกู ตอง ? 1. เคยเปนแพทยใหญประจําโรงพยาบาลวังหลัง 2. บรรดาศักดิ์สดุ ทาย คือ พระยาพิศณุประสาทเวช 3. เปนผูปฏิเสธวิชาการแพทยแผนตะวันตกโดยสิ้นเชิง 4. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเรียกวา“หมอคง” 75. คําประพันธตอ ไปนีแ้ สดงใหเห็นคุณธรรมขอใดชัดเจนที่สดุ ? “เรียนรูค ัมภีรไสย ควรกลาวจึ่งขยาย ไมรักจะทํายับ เสียแรงเปนครูสอน 1. ความเคารพครู

สุขุมไวอยาแพรงพราย อยายืน่ แกวแกวานร พาตํารับเที่ยวขจร ทั้งบุญคุณก็เสื่อมสูญ” 4. ความซื่อสัตยสุจริตในวิชาชีพ

2. ความกตัญูตอ ครู 3. ความมีศักดิศ์ รีในอาชีพ 76. ขอใดใชโวหารชนิดพรรณนาโวหาร ? 1. หนึ่งทรางทับสํารอก

อาจารยบอกไวแจง

สํารอกแหงกุมาร

มีอาการสี่อยาง

เหลืองเขียวบางเสมหะ

เปนเม็ดมะเขือก็มี

2. รูแลวอยาอวดรู ควรยาหรือยาเกิน 3. หินชาติแพทยเหลานี้ ทํากรรมนําใสตัว 4. กําเริบไอเปนหมูๆ

พินิจดูอยาหมิ่นเมิน กวาโรคนัน้ จึ่งกลับกลาย เวรามีมิไดกลัว จะตกไปในอบาย กําเดาจูมาซ้ําเขา

ใหซึมเซาเชือ่ มมัว

หัวตัวเปนเปลวรอน

โดยอธิกรณสังเกตมาแพทย

ใหยาอยาดูเบา

77. จงพิจารณาคําประพันธตอไปนี้วาเปนคําประพันธชนิดใด ? ไนยหนึ่งนั้นเด็กไข แมทรางใดมากระทํา เขาประจําสองโทษ กุมารโสดใหทองขึน้ เทามือ มึนเยือกเย็น อุจจาระเหม็นพิการ พอมาพานสํารอกทับ อาการกลับแรงราย ใหลงทองกระหายน้ํา 1. กลอน 8 3. กาพยยานี 11 มีกําลังดวยเชือ่ มมัว ใหปวดหัวตัวรอน ตีนมือทอนปลายเย็น อาการเปนดังนี้ เอายาตรีใหกินเชา ยามเที่ยงเอาหอมผักหนอก ยามเย็นบอกประสะนิล นอยใหกินสําหรับ


ห น า | 53

2. รายยาว

4. กาพยฉบัง 16

78. ขอใดมีความหมายเหมือนกับขอความตอไปนี้ ? อยาถือวาตนดี อยาถือวาตนใหญ

ยังจะมียิ่งขึ้นไป กวาเด็กนอยผูเ ชี่ยวชาญ

1. บางแพทยก็หลงเลห

ดวยกาเมเขาปดบัง

รักษาโรคดวยกําลัง

กิเลสโลภะเจตนา

2. บางรูแตยากวาด โรคนอยใหหนักไป 3. โทโสจงอดใจ คนไขยงิ่ ครามกลัว 4. แกกายไมแกรู แมเด็กเปนเด็กชาญ

เที่ยวอวดอาจไมเกรงภัย ดังกอกรรมใหติดกาย สุขุมไวอยูในตัว มิควรขูใหอดใจ ประมาทผูอดุ มญาณ ไมควรหมิ่นประมาทใจ

79. จากคําประพันธขางตน “ขาศึก” หมายถึงสิ่งใด? “หนทางทั้งสามแหง หามอยาใหขาศึกมา

1. โรคคือครุกรรม กลาวเลหอ ุบายหมาย

เรงจัดแจงอยูรกั ษา ปดทางไดจะเสียที”

บรรจบจําอยาพึงทาย ดวยโลภหลงในลาภา

2. โมโหอยาหลงเลห พยาบาทแกคนไข

ดวยกาเมมิจฉาใน ทั้งผูอ ื่นอันกลาวกล

3. เปนแพทยไมรูใน รูแตยามาอาองค

คัมภีรไสยทานบรรจง รักษาไขไมเข็ดขาม

4. เห็นลาภจะใครได รูนอยบังอาจทํา

นิยมใจไมเกรงกรรม โรคระยําเพราะแรงยา

80. เหตุใดผูแ ตงจึงใหชอื่ หนังสือรวมบทความนี้วา “โคลนติดลอ”


ห น า | 54

1. 2. 3. 4.

เพราะสิ่งทีผ่ แู ตงกลาวถึงเปนการใหความรูเ รือ่ งลัทธิความเชือ่ ที่ถวงความเจริญของชาติ เพราะสิ่งทีผ่ แู ตงกลาวถึงเปนการวิจารณนโยบายการปกครองทีถ่ วงความเจริญของชาติ เพราะสิ่งที่ผูแตงกลาวถึงเปนการวิจารณความคิดและพฤติกรรมที่ถวงความเจริญของชาติ เพราะสิ่งทีผ่ แู ตงกลาวถึงเปนการใหความรูเ รือ่ งการศึกษาแบบลาหลังที่ถวงความเจริญของชาติ

81. จากเรือ่ งโคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน ผูแ ตงใชกลวิธีใดในการปดเรือ่ ง 1. การอางอิงพุทธศาสนสุภาษิต 2. การตั้งคําถามไวใหผอู านไดคดิ 3. การเชื่อมโยงกับบทความเรื่องถัดไป 4. การกลาวถึงเหตุการณในประวัติศาสตร 82. เหตุใดผูเ ขียนจึงกลาววา “เพราะฉะนั้นโอกาสที่จะหางานทําก็มีนอ ยเขาทุกวัน จนเปนที่นาอัศจรรย วาเขาหาเลี้ยงชีพอยูไดอยางไร” 1. เพราะ “ในระหวางนี้อายุของเขาก็ลวงเขาไปทุกวัน และผูทเี่ ปนนายหรือก็ชอบ ใชแตเสมียนหนุม” 5. เพราะ “พอเสมียนยังอุตสาหจําหนายทรัพยไดตางๆ เชน นุง ผามวงสี ใสเสือ้ ขาว สวมหมวกสักหลาด” 6. เพราะ “เขาตองจับจายซื้อสิ่งของซึ่งเขาถือวาเปนของจําเปนในระหวางที่เขาทําการ เปนเสมียนอยู” 7. เพราะ “เขาไมอยากจะลืมวิชาที่เขาไดเรียนรูมาจากโรงเรียน” 83. ขอใดเปนผลกระทบจากการที่เสมียนตองออกจากงาน แตไมตองการกลับไปทํางาน อยูในภูมลิ ําเนาเดิม ตามที่ปรากฏในเรือ่ ง โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน 1. มีคนอยูเปนอันมากทีช่ วยเปดทางหาการงานใหแกผูทอี่ ยากจะเปนเสมียน 2. เขาก็คงจะตองยาตราเขาสูศาลพระราชอาญา และไมชาก็คงจะไดเขาไปอยูในคุก 3. สถานทีเ่ หลานัน้ จึงตองจัดการถายเทพวกที่เกินตองการออกเสียเปนครั้งคราว เพื่อไดรับคนใหมๆ ตอไป 8. ผูที่ไดรับความศึกษามาจากโรงเรียนแลว ไมควรจะเสียเวลาไปทํางานชนิดซึ่งคนไมรูหนังสือ ก็ทําได 84. ขอใด ไมไดสะทอนใหเห็นสภาพสังคมและวัฒนธรรมในสมัยรัชกาลที่ 6 1. ในเวลาที่กลับจากออฟฟศแลว ก็ตองสวมกางเกงแพรจีนดวย และตองไปดูหนังอีก


ห น า | 55

อาทิตยละ 2 ครั้งเปนอยางนอย 2. พอเสมียนยังอุตสาหจําหนายทรัพยไดตางๆ เชน นุงผามวงสี ใสเสือ้ ขาว สวมหมวกสักหลาด 3. ถึงแมพวกหนุมๆ นั้นจะมีความคิดเห็นวาตัวสําคัญปานใด ก็คงจะตองฟงความเห็นของผูอื่น 4. ครั้นเมือ่ เงินเดือนขึน้ เปนเดือนละ 20 บาท เขาก็คดิ อานแตงงานทีเดียว 85. ขอใด ไมใชแนวทางแกปญหาเรื่อง “ชายหนุมซึ่งไดฝกตัวใหคุนแกความสนุกสนานในเมือง ยอมจะรูสกึ เบื่อหนายถิน่ ฐานบานเดิมของเขาตามบานนอก” ที่ผเู ขียนเสนอไวในบทความ 1. การตั้งโรงเรียนขึ้นทั่วทั้งพระราชอาณาจักร ใหโอกาสแกบรรดาชายหญิงทุกๆ ชั้น 2. ถาไมยกเสมียนขึ้นลอยไวในที่อันสูงเกินกวาควร ก็จะเปนประโยชนชวยเหลือไดมาก 3. ถึงแมพวกหนุมๆ นั้นจะมีความคิดเห็นวาตัวสําคัญปานใด ก็คงจะตองฟงความเห็นของผูอนื่ 4. เราควรจะสอนใหพวกหนุมๆ ของเราปรารถนาหาการงานอื่นๆ อันพึงประโยชน ไดดีกวาการเปนเสมียน คําชี้แจง ตั้งแตขอ 86-90 ใหนักเรียนพิจารณาหาคําที่มีความหมายใกลเคียงกับคําทีก่ ําหนดใหมากที่สดุ 86. ลูกชายของเขาคนนี้ไมเอาถานเลย ? 1. ไมสนใจใคร 2. ไมเอาการเอางาน

4. อับอาย 89. อาจารยคะ ชวยสรุปเรื่องนี้ใหหนูหนอย ?

3. ไมขยัน

1. รวบรวม

4. ไมฉลาด

2. รวบรัด

87. คุณควรจะรักษาคําพูดของคุณใหดีนะ ? 1. ผูกผัน 2. ยึดถือ 3. ระวัง 4. เครงครัด 88. ประพฤติตัวเชนนี้นาขายหนา จังเลย ?

3. รวมความ 4. รวมกัน 90. เขาเปนคนทีค่ อนขางพูดจาไดอยาง นุมนวล? 1. ชดชอย 2. ออนหวาน

1. ดูถกู

3. ไพเราะ

2. ตําหนิ

4. สุภาพ

คําชี้แจง ตั้งแตขอ 91-95 ใหผูเขาสอบพิจารณาคําที่ มีความตรงขามกับคําทีก่ ําหนดใหในประโยคแตละ ประโยค

3. ลงโทษ

91. ในหองประประชุมมีเสียงคุยกันอยาง อึกทึก 1. หนัก


ห น า | 56

2. เงียบ

96. โชคชะตา ?

3. เรียบรอย

1. หมอดู

4. เบา

2. หลวงพอ

92. ยากเหมือนเข็นครกขึน้ ภูเขา ?

3. ดวงดาว 4. เขาทรง

1. ดัน 2. ถอย

97. นักโทษ ?

3. ลาก

1. ฆาตกร

4. แบก

2. ตํารวจ 3. เรือนจํา

93. ปนี้ทีมจุฬาฯ เปนตอทีมธรรมศาสตร 3-2 ?

4. คนชั่ว

1. เกง 2. รอง

98. ดอกไม ?

3. แพ

1. กลิน่ หอม

4. ตาม

2. ผูหญิง

94. การมัธยัสถ เปนการดี ?

3. สีสวย

1. ประหยัด

4. ผีเสือ้

2. ใจกวาง

99. เตา ?

3. หรูหรา

1. โบราณ

4. สุรุยสุราย

2. อายุยืน 3. ผักบุง

95. หัวหนาของคุณชอบพูดถอมตัว อยูเสมอๆ?

4. เชื่องชา

1. ขมขู 2. พูดมาก

100.

ฟนเฟอง ?

3. โออวด

1. ชางกล

4. อวดดี

2. แข็งแรง

คําชี้แจง ตั้งแตขอ 96-100 ใหผูเขาสอบ พิจารณาคําที่มีความสัมพันธเกี่ยวกับคําที่ กําหนดให ?

3. หมุน 4. รถยนต


ห น า | 56

แนวขอสอบ วิชาภาษาไทย ชุด B ตอนที่ 2 คําชี้แจง เขียนคําตอบลงในพื้นที่คําตอบ 1.เสียงในภาษาไทย มีกชี่ นิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .................. การบรรยาย พรรณนา อธิบาย 2.การบรรยาย คือ .................................................................................................................................................... 3.การพรรณนา คือ .................................................................................................................................................. 4.การอธิบาย คือ ..................................................................................................................................................... หลักการอานคําในภาษาไทย 5.คําพองรูป คือ ....................................................................................................................................................... 6.คําพองเสียง คือ .................................................................................................................................................... โวหารในการเขียน 7.พรรณนาโวหาร คือ ..............................................................................................................................................


ห น า | 57

8.บรรยายโวหาร คือ ................................................................................................................................................ 9.อุปมาโวหาร คือ ................................................................................................................................................... 10.เทศนาโวหาร คือ ................................................................................................................................................ 11.สาธกโวหาร คือ ................................................................................................................................................. คําที่มักเขียนผิด (โจทยมักถามวา ขอใดเขียนถูกตอง) 1. คําทั่วไป กงสุล กฎ กบฏ กรรเชียง กรรโชก กรรมบถ กระจิริด กระเชอ กระตือรือรน กระเบียดกระเสียร กระปรีก้ ระเปรา กระหนก(ลายไทย) กอปร กะทัดรัด กะทันหัน กะทิ กะเพรา กะหรี่ปบ กักขฬะ กักวาน กาลเทศะ กิจจะลักษณะ เกศา เกษียณอายุ เกษียนหนังสือ เกษียรสมุทร เกสร ขบถ ขมีขมัน ขะมุกขะมอม ขึ้นฉาย เข็ญใจ ไขมุก คณนา คทา คริสตกาล คริสตศตวรรษ คริสตศาสนา คลาคล่ํา คลินิก คอนเสิรต คะนึง คะยั้นคะยอ คัมภีร คํานวณ คุกกี้ เคก เครือ่ งราง เครือ่ งราชอิสริยาภรณ เครือ่ งสําอาง เคี่ยวเข็ญ แคลอรี โครงการ โควตา งูสวัด จลาจล จักจั่น จัดสรร จัตุรัส จาระไน จํานง เจตนารมณ โจษจัน ฉะนัน้ ชนวน ชโลม ชะลอ ซาลาเปา ตกลองปลองชิน้ ตระเวน ตลบตะแลง ตํารับตํารา ถวงดุล ทโมน ทยอย ทแยง ทระนง ทะนุบํารุง ทะลึ่ง ทีฆายุโก ทูนหัว เทาความ เทิด เทิดทูน เทิดพระเกียรติ ธุดงค นภดล น้ํามันกาด นิมิต เนรมิต บอระเพ็ด เบญจเพส ประณต ประติมากรรม ประดิดประดอย ประนีประนอม ประพาส ปราดเปรื่อง ปรานี(เอ็นดู) ปราศรัย ปะการัง ปาฏิหาริย ผลานิสงส ผาสุก พยักพเยิด พลอดรัก พหูสูต พะแนง พะวง พิศวง พิศวาส พิสดาร พิสมัย มงกุฎ มังสวิรัติ มัสมัน่ แมงกะพรุน รสชาติ รังสรรค รังสี รื่นรมย ลออ ละเอียดลออ ลังถึง เลือกสรร เลือนราง วันทยหัตถ วิ่งเปยว วิตถาร วิไล เวนคืน สังสรรค สัตตบงกช สันโดษ สับปะรด สัมมนา สาบสูญ สารพัด สิงโต สิริมงคล เสาวนีย หงส หญาฝรั่น หมาใน หยักศก หลงใหล หยากไย หลับใหล หอมหวน หัวมังกุทายมังกร เหลวไหล อภิชาต อะไหล อานิสงส อาสนะสงฆ อิรยิ าบถ อุดมการณ อุโมงค เอเชีย ไอศกรีม


ห น า | 58

2. คําทับศัพทและศัพทบัญญัติ กราฟ กอบป กลูโคส ผากอซ กอลฟ กาแล็กซี ค็อกเทล คอนเสิรต แค็ตตาล็อก แคลอรี คอมมิวนิสต คุกกี้ เคก เครดิต แคปซูล เคานเตอร แคลอรี โควตา ช็อกโกแลต ช็อกโกเลต ชอลก เช็ค เชิ้ต ซิป ซีเมนต ดีเปรสชัน ดราฟต ไดโนเสาร ไดนาไมต เต็นท ทรัมเปต เทอรโมมิเตอร ทอฟฟ เทคโนโลยี แท็กซี่ คลินิก นอต นิวเคลียร นีออน ไนตคลับ ไนลอน บัคเตรี โบ แบงก บารเลย บิลเลียด แบดมินตัน แบตเตอรี่ ปกนิก ปะการัง ปาทังกา โปสตการด ปโตรเลียม เปอรเซ็นต ฟลม ฟุลสแกป แฟชั่น ไฟแช็ก มอเตอรไซค ริบบิ้น แร็กเกต ลองจิจูด ละติจูด ลินิน ลิปสติก สเกต สปาเกตตี สวิตช สัมมนา สุญญากาศ เสิรฟ อิเล็กตรอน อิเล็กโทน เอ็นไซม โอลิมปก เฮลิคอปเตอร น้ํามันกาด ไอศกรีม 12.คําสมาส คือ ........................................................................................................................................................ การเพิ่มคําในภาษาไทย 13.คํามูล คือ ............................................................................................................................................................ 14.คําประสม คือ ..................................................................................................................................................... 15.คําซอน คือ ......................................................................................................................................................... 16.คําซ้ํา คือ ............................................................................................................................................................. 17.คําสมาส คือ ........................................................................................................................................................ 18.คําสนธิ คือ ..........................................................................................................................................................


ห น า | 59

การจําแนกคําในภาษาไทย 19.การจําแนกคําในภาษาไทยโดยการแบงตามความหมายและหนาที่ของคําในประโยคออกเปน 7 ชนิด 1...........................คือ .............................................................................................................................................. 2...........................คือ .............................................................................................................................................. 3...........................คือ .............................................................................................................................................. 4...........................คือ .............................................................................................................................................. 5...........................คือ .............................................................................................................................................. 6...........................คือ .............................................................................................................................................. 7...........................คือ .............................................................................................................................................. ภาษาตางประเทศทีป่ รากฏในภาษาไทย 20.ขอสังเกตของคําบาลี-สันสกฤต คือ .................................................................................................................... 21.ขอสังเกตของภาษาเขมร คือ ...............................................................................................................................


ห น า | 60

ระดับภาษา 22.การใชภาษาขึ้นอยูก ับกาลเทศะ สถานการณ สภาวะแวดลอม และสัมพันธภาพระหวางบุคคล ซึ่งอาจแบง ภาษาเปนระดับตางๆไดหลายลักษณะ เชน (ภาษาระดับที่เปนแบบแผนและไมเปนแบบแผน),(ภาษาระดับ พิธีการ ระดับกึ่งพิธีการ ระดับไมเปนทางการ) ในชั้นเรียนนี้ เราจะชีล้ ักษณะสําคัญของภาษาเปน 5 ระดับ คือ 1.ระดับพิธกี าร คือ ................................................................................................................................................... 2.ภาษาระดับทางการ คือ ......................................................................................................................................... 3.ภาษาระดับกึ่งทางการ คือ ..................................................................................................................................... 4.ภาษาระดับไมเปนทางการ คือ .............................................................................................................................. 5.ภาษาระดับกันเอง คือ ........................................................................................................................................... 23. ลักษณะของภาษาไทย 1. คําไทยแทมักมีคําพยางคเดียว เชน พอ แม นั่ง เดิน สวย งาม ใน เสือ คลอง ฯลฯ 2. ตัวสะกดมักเปนตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน สิน เกรง นาม ศอก ศึก ลม ขีด ฝน ตน ศอก เย็น 3. คําคําเดียวอาจมีความหมายหลายอยางขึ้นอยูกับบริบท เชน ไกขนั ขันน้ํา คุณพอขันเชือก 4. คําไทยไมมีคําแสดงเพศและพจนภายในคํา ถาตองการแสดงเพศและพจนก็นําคํามารวมกัน เชน ชางตัวผู ประชาชนทั้งหลาย ผูหญิง 5. คําไทยมีลกั ษณะนาม เชน ชาง 1 เชือก แหวน 1 วง 6. คําไทยมีคําราชาศัพท เชน เสวย ตรัส พระราชทาน


ห น า | 61

7. คําไทยเปนคําที่ใชวรรณยุกต เมือ่ เสียวรรณยุกตเปลี่ยนไปจะทําใหความหมายของคําเปลี่ยนไปดวย 8. คําไทยจะมีคําหลักอยูขางหนา คําขยายอยูข างหลัง เชน หมูอวน โรงเรียนกันทรอมวิทยาคม 9. คําไทย จะมีลักษณะทางไวยากรณ คือ ประธาน+ขยายประธาน+กริยา+กรรม+ขยายกรรม+ขยายกริยา 10. คําไทยมีวิธีการสรางคําใหมโดยการนําคํามาประสมกัน เชน คําประสม คําซ้ํา คําซอน 11. คําไทยมีลักษณะวิธกี ารสรางคําไทยแท 3 ลักษณะ คือ 11.1 การกรอนเสียง คือ เสียงพยางคตนหายไปเหลือเพียงบางสวนโดยพยางคตนเหลือเปนสระ อะ เชน หมากขาม เปน มะขาม ตนไคร เปน ตะไคร ตัวขาบ เปน ตะขาบ 11.2 การแทรกเสียง คือ การเติมเสียงเขากลางคําแลวเสียงเกิดคอนกันจึงเติมขางหนาอีกเพือ่ ให ถวงดุลกัน เชน ลูกดุม เปน ลูกกระดุม ดุกดิก เปน กระดุกกระดิก 11.3 การเติมพยางค คือ การเติมเสียงเขาหนาคําและหลังคําของคําหนาเพือ่ ใหเกิดดุลเสียงกัน เชน มิดเมี้ยน เปน กระมิดกระเมี้ยน แอมไอ เปน กระแอมกระไอ 24.สํานวนไทย 1. ชักแมน้ําทั้งหา – พูดจาหวานลอมเพือ่ ใหคลอยตามโดยอางสิ่งตางๆแลวจึงวกเขามาหา จุดมุงหมายของตนในภายหลัง 2. จ้ําจีจ้ ้ําไช – พูดหรือสอนซ้ําๆซากๆ 3. ปากเปยกปากแฉะ – วากลาวตักเตือนซ้ําแลวซ้ําเลา 4. แจงสี่เบี้ย – อธิบายหรือพูดชีแ้ จงอยางละเอียด 5. ขายผาเอาหนารอด – ทําใหสําเร็จลุลวงไปเพือ่ รักษาชือ่ เสียงของตน , ยอมเสียสละแมแตของจําเปนทีต่ นมี อยู 6. ฆาควายเสียดายพริก – ทุมไมอั้น 7. ตําน้ําพริกละลายแมน้ํา ฆาชางเอางา ขี่ชางจับตั๊กแตน – ฟุมเฟอย ลงทุนใหญโตแตไดผลไมคุมคา


ห น า | 62

8. ใสสาแหรกแขวนไว – เลี้ยงดูอยางพะเนาพะนอไมตองใหทําอะไร 9. ไขในหิน – ของที่ตอ งระมัดระวังทะนุถนอมอยางยิ่ง 10. ริ้นไมใหไตไรไมใหตอม – กลอมเกลี้ยงเลี้ยงดูบุตรอยางทะนุถนอม 11. ตัดไฟตนลม – ตัดตนเหตุเพือ่ ไมใหเหตุการณลุกลามตอไป 12. ตัดเชือก,ตัดหางปลอยวัด,ตัดเปนตัดตาย – ตัดความสัมพันธ 13. หัวกระไดไมแหง – บานที่มีลูกสาวสวย , บานผูมอี ํานาจวาสนา 14. หมูไปไกมา – ถอยทีถอยอาศัยกันดวยการใหสิ่งของแลกเปลี่ยนหรือตอบแทนซึ่งกันและกัน 15. ยื่นหมูยื่นแมว – แลกกันโดยตางฝายตางใหและรับในเวลาเดียวกัน 16. ทนายหนาหอ – หัวหนาคนรับใชที่ใชออกหนาออกตา 17. จับแพะชนแกะ – ทําอยางขอไปที ไมไดอยางนีก้ ็เอาอยางนั้นเขาแทนทีเ่ พือ่ ใหลลุ วงไป 18. สุกเอาเผากิน – ทําลวกๆ ทําพอเสร็จไปคราวหนึ่งๆ เพราะไมมีพอ 19. คางเหลือง – เปนอาการของการเจ็บปางตาย 20. เจกตื่นไฟ – คนที่เอะอะโวยวาย 21. ฆองปากแตก – คนปากโปง เก็บความลับไมอยู 22. ลูบหนาปะจมูก – ทําอะไรเด็ดขาดจริงใจไมไดเพราะเกรงไปกระทบกระเทือนพวกพอง 23. เลือดเขาตา – สูไมถอย 24. เลือดขึน้ หนา – โกรธมาก 25. ไปวัดไปวา – รูปรางหนาตาดีพอจะอวดเขาได 26. ตําขาวสารกรอกหมอ – ไมวางแผน ทํางานใหเสร็จรอดตัวไปวันหนึ่งๆ


ห น า | 63

27. ชางตายทั้งตัวเอาใบบัวมาปด – ปดความชั่วหรือความผิดรายแรงที่คนรูกนั ทั่วแลวไมมิด 28. เตาใหญไขกลบ – ทําอะไรที่เปนพิรธุ และพยายามกลบเกลือ่ นไมใหคนรู 29. มะพราวตื่นดก ยาจกตื่นมี – เหอหรือตื่นเตนในสิ่งที่ตนไมเคยมี ไมเคยไดจนเกินพอดี 30. มือหางตีนหาง – สุรุยสุราย เลินเลอ สะเพรา ไมเกี่ยวกับการเดิน 31. ปากวาตาขยิบ – ปากกับใจไมตรงกัน 32. ฆาไมตายขายไมขาด – ตัดความสัมพันธแมกับลูกไมขาด 33. ขาวเหลือเกลืออิ่ม – บานเมืองอุดมสมบูรณ 34. ตีนถีบปากกัด – มานะพยายามทํางานทุกอยางเพือ่ ปากทองโดยไมคํานึงถึงความเหนือ่ ยยาก 35. เจกตื่นไฟ – สงเสียงเอะอะโวยวาย 36. หลงหูหลงตา – ผานสายตาไปไมทันเห็นทีผ่ ดิ พลาด ไมทันไดแก 37. รอดหูรอดตา – มองไมเห็นแมจะดูอยางตั้งใจแลวก็ตาม 38. สอดแนม – ลอบเขาไปสืบความลับ 39. เถียงคําไมตกฟาก – เถียงไมหยุดปาก 40. เถียงขางๆคูๆ – เถียงอยางดือ้ ดันทุรัง 41. เถียงคอเปนเอ็น – เถียงไมยอมลดละ 42. เถียงไมขึ้น – ไมอาจเถียงไดเพราะจํานนตอเหตุผล 43. เถียงกันไมตก – ถกเถียงกันยังไมไดขอสรุป 44. นกไรไมโหด ไมลมเงาหาย – พอหมดอํานาจบารมี ก็ไมมีบริวารหอมลอม 45. ตีขลุม – ตูหรือหยิบฉวยเอาของผูอนื่ โดยทึกทักวาเปนของตน แสดงอาการเปนเชิงรับสมอางเพือ่ ประโยชนแกตน


ห น า | 64

46. ตีตนกอนไข – กังวลทุกขรอ นหวาดกลัวสิ่งที่ยังไมเกิด 47. กระตายตื่นตูม – ตื่นตกใจโดยไมไดสํารวจหรือพิจารณา 48. ตาลุกตาพอง ตาโต – ตาเบิกกวางอยากไดเมือ่ เห็นเงิน 49. เงียบเปนเปาสาก – เงียบสนิท คนมากแตเงียบสนิท 50. เงียบเปนปาชา – บรรยากาศสถานที่ทรี่ างผูคน 51. บัวไมใหช้ําน้าํ ไมใหขนุ – ถนอมน้ําใจ 52. เสียเบี้ยบายรายทาง – เสียเงินเปนระยะในขณะทําธุรกิจใหสําเร็จ 53. ตักน้ํารดหัวตอ – แนะนําพร่ําสอนเทาไรก็ไมไดผล 54. สีซอใหควายฟง - สั่งสอนคนโงมักไมไดผล 55. จนตรอก – ไมมีทางไป 60. จนแตม – ไมมีทางเดินหรือไมมีทางสู 61. จนมุม – ไมมีทางหนี 62. ปนเกลียว – มีความเห็นไมลงรอยกันแตกพวกไมถูกกัน 63. วาวติดลม – เพลินจนลืมตัว 64. อีลุยฉุยแฉก – สุรุยสุราย 65. โยนหินถามทาง – ปลอยขาวเพือ่ หยั่งเสียงหยั่งปฏิกิริยาคนรอบขาง 66. เลือดเขาตา – ฮึดสูโดยไมเกรงกลัวเพราะไมมีทางเลือก หรือทนถูกบีบคั้นไมไหว 67. เลือดขึน้ หนา – โกรธจนหนาแดง 68. ขิงก็ราขาก็แรง – ตางฝายไมยอมลดละกัน


ห น า | 65

69. เกลือจิ้มเกลือ – ไมยอมเสียเปรียบกัน แกเผ็ดใหสาสม 70. ขนมพอสมน้ํายา – พอดีกันไมมีใครดีกวาใคร 71. สมน้ําสมเนือ้ – สมกัน เหมาะกัน คูควรกัน 72. จุดไตตําตอ – พูดหรือทําสิ่งใดบังเอิญไปโดนเจาตัว 73. พลอยฟาพลอยฝน – พลอยรับเคราะหกรรมกับคนอื่นโดยไมรเู รือ่ งดวย 74. น้ําลดตอผุด – เมือ่ หมดอํานาจ ความชั่วที่ทําไวก็ปรากฏ 75. รักพี่เสียดายนอง – ตัดสินใจไมถูกวาจะเลือกสิ่งไหนดี 76. เหยียบเรือสองแคม – ทําทีเขาดวยทั้งสองฝาย 77. จับปลาสองมือ – หมายจะใหไดทั้งสองอยางพรอมๆกัน 78. ไมหลักปกเลน – โลเล ไมแนนอน 79. กินขาวรอนนอนตื่นสาย – สุขสบายทํางานเปนอิสระ 80. เอามะพราวหาวไปขายสวน – อวดรูกับผูที่รกู วา 81. สอนจระเขวานน้ํา – สอนสิ่งทีเ่ ขารูหรือถนัดอยูแ ลว 82. นกมีหูหนูมีปก – ทําตัวเขาทั้งสองฝายตามสถานการณ 83. กินน้ําเห็นปลิง – ตะขิดตะขวงใจเมื่อจะทําอะไรสักอยาง 84. กินปูนรอนทอง – มีพิรุธหรือแสดงอาการเดือดรอน 85. เสนผมบังภูเขา – เรือ่ งงายๆแตคดิ ไมออก 86. ผีซ้ําด้ําพลอย - ถูกซ้ําเติมคราวเคราะหราย 87. ปากหวานกนเปรี้ยว – พูดจาออนหวานแตไมจริงใจ


ห น า | 66

88. ปากวาตาขยิบ – พูดอยางทําอยาง ปากไมตรงกับใจ 89. ชีปลอยปลาแหง – เสแสรงวาเปนคนใจบุญ 90. วันโกนไมละวันพระไมเวน – ทําชั่วไดตลอดเวลา 91. วัวใครเขาคอกนัน้ ,กงเกวียนกําเกวียน – กรรมทีผ่ ูใดทําไวยอมสงผลใหแกผูนั้น 92. ชายขาวเปลือกหญิงขาวสาร – หญิงเสียหายงายกวาชาย 93. เอาทองไปรูกระเบื้อง – โตตอบหรือทะเลาะกับคนพาลไมสมควร 94. ฝนตกก็แชงฟาแลงก็ดา – ทําอยางไรก็ไมถูกใจก็ดา 95. ชักใบใหเรือเสีย – พูดขวางๆใหการสนทนาเขวนอกเรื่อง 96. เหยียบขี้ไกไมฝอ – ไมหนักเอาเบาสู 97. เรือลมเมือ่ จอด ตาบอดเมื่อแก – คนที่ทําตนเปนคนดีมาตลอดแตมาเสียคนเมือ่ แก 98. กินอยูกบั ปากอยากอยูกบั ทอง – รูดีอยูแ ลวแสรงทําเปนไมรู 99. จมไมลง – คนทีเ่ คยมั่งมี เมือ่ ถึงคราวตกอับก็ยังทําตัวเหมือนเดิม 100. เงาตามตัว – ผูที่ไปไหนมาไหนดวยกันแทบไมคลาดกันเลย อาจเปนพี่นอ งหรือเพื่อนสนิทก็ได , สิ่งที่ เพิ่มขึน้ หรือลดลงไปตามกัน


ห น า | 67

แนวขอสอบ ภาษาอังกฤษ จํานวน 100 ขอ Situation: At a department Store Lisa

: This blouse is too tight. Is it size 14?

Salesperson: .................(1)............ . Would you like to try size 16? Lisa

: That would be nice.

Salesperson: I’m sorry. We only have the blue one in size 16. Lisa

: ……….(2)………! I like the red one, but it’s a bit too small.

Salesperson: If you take the blue one in size 16. I could give you a discount. Lisa

: ………..(3)…………. If the discount is a good one.

Salesperson: I could give you a 20% discount at the most. Lisa

: Fair enough. I like the design anyway.

Salesperson: ............(4)............ Enjoy it, ma’am.

1. 1. It sure is 4. You think too much 2. 1. What fun 4. How beautiful

2. No problem

3. See for yourself

5. It’s your business 2. How nice 5. What a pity

3. How clumsy


ห น า | 68

3. 1. That is funny 4. You can’t be serious 4. 1. You deserve better

2. You must be joking

3. That sounds okay

5. You’re welcome 2. You won’t be disappointed

3. It serves you right

4. You haven’t missed much 5. You should bring the credit card Joe : Hey, Patrick, …………. (5)………………….? Patrick: Sure. What do you need? Joe : ………(6)….….. giving me a ride home later? My car’s in the shop. Patrick: ………(7)………... Joe : Thanks. I’d appreciate it. 5. 1. Can I assist you 3. Could you do me a favor

2. How does that sound to you 4. Would you like me to help

5. What can I do for you 6. 1. Would you mind 4. Are you thinking about 7. 1. Yes, I wouldn’t mind 4. Not at all

2. Do you like

3. Could you think about

5. May I talk about 2. Yes, go ahead 5. I don’t think so

Conversations. Which of the given choices best complete the dialogues?

3. Well, I’m afraid not


ห น า | 69

8. A: What do you find most difficult to learn in English? B: I think the most difficult part of learning English is our fear to express ourselves in using this language. A: __________ but it would be practical if the teachers chose appropriate motivating activities. 1. That's quite true 4. I don’t either

2. Me neither 5. It’s surprising

3. That's incredible!

9. A: What’s the thing you hate doing most? B: _____________________ 1. I don’t mind cleaning the house.

2. I can’t bear getting up early.

3. What’s the idea? Don’t you trust me?

4. Not at all, but you’d better not ask.

5. I hate doing that 10. A: I haven’t felt very well all day. What do you think we should do? B: ______________________ 1. 2. 3. 4. 5.

I’m sure a big dinner is what you need. Let’s go because I don’t like staying home. You stay home. I’m going to celebrate by myself. Let’s cancel our plans. Your health is more important. We need to ask a doctor what to do next. Samran : Excuse me. Could I ask you a few questions about Thailand? Tourist : Sure. Samran : .............(11)................... ? Tourist : Well, there are some things I like and some Idon’t.


ห น า | 70

Samran : How do you find the food? Tourist : I don’t like it. It’s too hot and spicy. But the fruits are marvelous. Samran : .........(12).......... How about the weather? Tourist : I love it. It’s warm and sunny.

11. 1. Can you show it 4. How do you get around 12. 1. I see 4. I wonder why

2. What is your favorite

3. What do you like

5. Do you like it here 2. I doubt it

3. I’m afraid not

5. See you there

Passage 1 Every material you encounter in your daily life is solid, liquid or gas. These are known as the three states of matter. There is a fourth state known as plasma, but this can only exist at extremely high temperatures, and is therefore exceedingly rare on Earth. What defines a substance as a solid, liquid or gas may seem obvious at first, but when you think about substances like toothpaste, margarine or jelly, their states are not as obvious. For something to be classed as a solid, it has to have a fixed volume and a fixed shape. Solids are not easily compressed and do not flow. Liquids also have a fixed volume but do not have a fixed shape. They take the shape of their container from the bottom upward if they are inside one, and they flow when they are poured out. Like solids, liquids are not easily compressed, which is why they are used in hydraulic brakes. Gases, on the other hand, are highly compressible. They have no fixed shape, no fixed volume, and they flow easily, taking up all the available space they can. Every nook and cranny in your house is filled with gas.

13. Which of the following would be the best title for the text?


ห น า | 71

1. Particle Theory. 2. The States of Matter. 3. Three Gas Properties. 4. Changes in Characters 5. Gases everywhere 14. According to the text, which sentence can be deleted because it does not relate to other sentences? 1. Sentence 3. 2. Sentence 7. 3. Sentence 8. 4. Sentence 11. 5. Sentence 10 15. Which of the following sentences contains the examples to support the main thesis? 1. Sentence 1. 2. Sentence 4. 3. Sentence 6 . 4. Sentence 12. 5. Sentence 11 16. Which of the following is not the author’s purpose for the text? 1. To compare. 2. To persuade. 3. To inform. 4. To describe. 5. To advertise 17. This text is likely taken from a text book in the field of…………………. 1. geology 2. physics 3. astrology 4. chemistry 5. Biology Choose the best choice from the passage. (18) Chickpea Soup Ingredients: 3/4

cup chicken broth

2

carrots, thinly sliced

3

cloves garlic, minced

1/2

tsp. dried sage

1/4

tsp. pepper

2

cups cooked chickpeas, red kidney beans or black beans


ห น า | 72

4

cups packed, torn spinach or watercress leaves

Procedure: Bring the broth to boil over moderate heat. Add carrots, garlic, sage and pepper. Cover and simmer for seven minutes. Stir in greens and cook for one minute. Serves four. 18. For how many people is this dish? 1. 1

2. 2

3. 3

4. 4

5. 5

You will be amazed by the quality of the sound you hear with the Earmate-63. Its superior Class D circuitry gives you a clearer, more natural sound with less distortion. You will also find that your batteries last twice as long with Class D circuitry, so you spend half as much on batteries. For less than $300 with an introductory offer, you can try this revolutionary hearing aid for yourself. You can be assured that quality is not sacrificed. Compare the Earmate to hearing aids selling for more than $1,000 and decide for yourself which works best for you. You can try the EarMate-63 risk-free for 45 days in your own home! You can request free information by calling toll-free: 1-800-843-3773 dept. 86-519 or Write to: Hearing Help Express 150 N First St. Dept 86-519, DeKalb, IL 60115 19.What is true about the Earmate-63? 1. It is cheaper than other products of the same kind. 2. It is more expensive but its quality is much better. 3. It is about the same price but its quality is far better. 4. It is about the same price and quality but it offers a better service. 5. It is clear, more natural sound with high distortion. 20. Which section in a magazine can you find this article? 1. Social section

2. International News

3. Advertisement


ห น า | 73

4. Entertainment

5. Classification

21. We can conclude from the cartoon that 1. he can keep on dieting.

2. his attempt to be on a diet is in vain.

3. finally, he can lose his weight.

4. his favorite diet is chocolate cake.

5. he has been continuing diet.

22. Based on what the man is wearing, we can assume that he is ____________________ . 1. a Viking

2. a Roman

3. a Greek

4. an India

5. An Arabian

23. Why did the man say: "If you don't mind, I'll just stand"? It is because ________________. 1. he does not mind sitting 2. he prefers standing to sitting


ห น า | 74

3. he can't wait to see the doctor 4. he is afraid he couldn’t see the doctor 5. he is afraid he might hurt himself

24. What should be filled in the first picture? 1. Are you all right now? 2. What you did to your palm? 3. Hoe about to see the doctor? 4. What would you like to tell us? 5. What happened to your wrist, Nate? 25. What does the word “flesh” in the third picture mean? 1. meat 2. kin 3. hand 4. fatten 5. excess weight


ห น า | 75

Read the table and choose the best answer. Thailand’s Climate Climatic Table Average Daytime Temperature (oC) - Central Thailand Jan Feb

Mar

Apr

May

Jun

Jul

Aug

Sep

Oct

Nov

Dec

30

34

36

35

33

32

33

32

32

31

30

31

Average Rainfall (cm) - Central Thailand Jan Feb

Mar

Apr

May

Jun

Jul

Aug

Sep

Oct

Nov

Dec

1.0

3.5

6.0

8.0

14.5

16.5

17.5

30.0

21.0

7.0

0.5

2.5

26. From the climatic table, which are the hottest months? 1. January and December 3. September and October 5 June and August

2. February and November 4. July and October


ห น า | 76

27. What is double the total saturated fat to sunflower oil? 1. palm oil

2. corn oil

3. soybean oil

4. peanut oil

5. canola oil

28. How many times is coconut oil greater in the percentage of total saturated fat than chicken fat? It is almost ............... . 1. two 2. three 3. four 4. five 5. six 29. According to the fat statistics, which of the following statements is FALSE? 1. Active men can take in more fat than active women. 2. Active women can take in the same amount of fat as teen girls. 3. The recommended daily grams of fat for teen girls and children are different. 4. The recommended daily grams of fat for teen girls and children are same. 5. The total intake of saturated fat for women should be much less than that for teen boys.


ห น า | 77

Read the articles carefully and choose the best answer. Nestled in an ever-green mountainous area, Bo Klue is now a new tourist destination for Nan. Bo Klue’s salt is a major product that has generated income for local people in this district since the ancient time. Now people still follow traditional salt-producing process, siphoning saltwater to a pond through bamboo pipes. Then they put it in a large pan on a stove, until the water evaporates, leaving salt grains that will be kept in baskets until it is dry and then packaged in a plastic bag. Salt is seasonal product, available only in the summer and winter as rain will obstruct the processing.

30. Bo Klue, the new tourist destination for Nan can now produce …………………….. 1. baskets

2. bamboo pipes

4. plastic bag

5. salt

3. large pan

31. Which of these statements is NOT TRUE? 1. Rain obstructs the processing of salt. 2. Local people make salt only in summer and winter. 3. Salt is a major product that has generated income for local people. 4. People follow the modern salt producing process. 5. Salt is a seasonal product.


ห น า | 78

Choose the best choice. (32-36) A century ago the process of choosing a career was a much simpler matter than it is today. A boy often followed in his father's footsteps. His sister learned the household skills that (32) __________her to become a wife and mother. Nowadays young people grow up in a much freer society (33) __________ they enjoy almost unlimited career opportunities. In recent years there (34) __________an enormous increase in the kinds of vocations from which it is possible to choose. In addition, many of the barriers to career opportunity that existed only a few decades ago, such as (35) __________ based on sex or religion or ethnic origins, are (36) __________ disappearing. 32.

33.

34.

35.

36.

1. had prepared

2. may prepare

4. would prepare

5. preparing

1. where

2. when

4. whom

5. whose

1. had been

2. has been

4. would have been

5. was

1. judgment

2. perception

4. devotion

5. discrimination

1. rapidly

2. incessantly

4. vigilantly

5. Straightforwardly

3. was prepared

3. why

3. will be

3. goodwill

3. categorically


ห น า | 79

Which of the choices makes the given sentences correct? 37. Despite the unfavorable attention brought on by the media, the press had a______ effect on the campaign. 1. positive 4. amplified

2. negative 5. satisfying

3. inert

38. It is no secret that prisons can be rather ______; grim conditions and severe treatment have been known to ______ even the most hardened criminals. 1. cruel ... entertain 2. harsh ... dishearten 3. pleasant ... encourage 4. strange ... prevent 5. difficult-punish 39. Although Kate’s report on her scientific findings was lengthy, the presentation she held was rather ______. 1. brief 2. neutral 3. practical 4. straightforward 5. ordinary 40. The new building was expansive; its ______ foundation allowed for wider hallways than the previous building. 1. shallow 2. small 3. broad 4. fancy 5. limited 41. The famous pop singer tragically died at age fifty. This was an ______ event for his ______ fans. 1. awful ... loyal 2. amazing ... dubious 3. unthinkable ... devoted 4. amicable ... strange 5. unimaginable…doubtful 42. Unlike the misleading television documentary, the biography was ______. 1. interesting 2. accurate 3. fantastic 4. phony 5. Convincing


ห น า | 80

Grammatical Error (43-52) 43. The Naval Observatory in Washington, D.C., supplies official time signals to regulate 1

2

3

clocks throughout the United States. No error 4

5

44. Since the startings of the Industrial Revolution, artists have celebrated and satirized 1

2

3

4

technology. No error 5

45. People’s earliest effort at understanding the structure of universe took the form of myths. 1

2

3

4

No error 5

46. Reading is the act of interpreted printed and written words. No error 1

2

3

4

5

47. James A. Farley, a politician and businessmen, served as postmaster general of the United 1

2

3

States in 1993 to 1940. No error 4

5

48. Effective relations between labor and management: are very highly important in an 1

2

3


ห น า | 81 industrial society. No error 4

5

49. The Hawaii group of island, rising steeply from a depth of fifteen thousand feet, 1

2

3

is entirely volcanic. No error 4

5

50. Her marksmanship with rifle and shortgun brought Annie Oakley worldwide famous. 1

2

3

4

No error 5

51. The water buffalo is the only kind of buffalo what has ever been tamed. No error 1

2

3

4

5

52. John Dewey is generally considered on of the greatest modern educational philosophers. 1 No error 5

2

3

4


ห น า | 82 A girl wearing face paint at the Bhaktivedanta Manor Krishna Temple, in Watford, north of London, August 21, during an open day for pilgrims to celebrate ‘Janmashtami’ the birth of Lord Krishna. In a typical English setting, the grounds of a mock-Tudor mansion, thousands of pilgrims are celebrating what organisers claims the biggest Hindu Festival outside India. More than 60,000 people were expected to attend the two-day Janmashtami festival at the temple. The rolling fields backdrop of Letchmore Heath suggests in English country fete, as does the bunting and muddy grass but the flavor is unmistakably Indian. Dancing, dramas, devotional songs and inspirational talks from swami teachers filled the tents as outside, mothers in bright saris sipped coconut juice and children had their faces painted blue like Lord Krishna. “Janmashtami are coming together of a great family,” said former temple President Gauri Das.”People wouldn’t miss this for anything. There’s just such a spirit that captureseverybody,” the 49-year-old temple senior said. -AFP

53. What is Janmashtami? 1. The pilgrims in north of London

2. Face painted festival

3. The Hindu festival in London

4. An English country fete

5. Indian dancing 54. Why do the children paint their faces in Janmashtami? 1.To protect themselves from devils.

2.. To recall Lord Krishna.

3. To make fun when they go around

4. To make Lord Krishna happy

5. Because the visitors can distinguish between the locals and themselves 55. What is the best “adjective” for this proverb? “The more one has, the more one wants” 1. needy

2. ready

3. steady

4. greedy

5. speedy

56. “Laziness in the mother of all vices” from the above motto it means that______________. 1. Mother should advice her child. 2. Laziness should be your mother.


ห น า | 83

3. Laziness can cause many bad things. 4. You are lazy because of your mothers. 5. Mother is the best.

Older We Get Poet: K. Summers The older we get The more we forget But who cares Only those who dare

57. What is the tone of this poem? 1. funny

2. sad

3. angry

4. serious

58.What is the meaning of this gesture in English?

1. Help me 2. You get zero. 3. Everything is all right. 4. There is something strange

5. excited


ห น า | 84

5. You should think carefully. 59. “ Americans consider their word to be bond when someone doesn’t keep their word, that person is considered untrustworthy” What is the most suitable sub-title for this definition? 1. Checking a word 4. Keeping a secret

2. Breaking a promise 3. Making a speech 5. Using an informal expression

Choose the closest meaning of the italicized words. (60-70) 60. He made the statement assertively. 1. reluctantly

2. hastily

4. honestly

5. Vividly

3. positively

61. Many credulous people are influenced by television advertisements to buy certain products. 1. middle-class

2. believing

4. clever

5. logical

3. uneducated

62. After she found out how much money I had spent on records and jewelry in one year, Mother delivered an ultimatum about saving money. 1. long lecture

2. suggestion

4. serious objection

5. necessary advice

3. final order

63. The company offers this commodity as a real bargain. 1. perishable goods

2. repair service

4. merchandise

5. tool

3. chance


ห น า | 85

64. This man’s potential has never been realized. 1. latent powers

2. attitude toward his work

3. development of his emotional outlook

4. expectation

5. gratitude 65.She was studying to be a sociologist. 1. receptionist

2. practical nurse

4. student of human relations

5. faith-healer

3. medical doctor

66. One side emphasizes arbitration; the other side did not 1. the status quo

2. new conditions

4. mediation

5. secrecy

3. risk

67. Because of his position in the community, he expected to be granted immunity. 1. prestige

2. parole

4. praise

5. a term in prison

3. freedom from legal action

68. This was certainly an ambiguous accusation 1. fatal

2. clear

4. obscure

5. hidden

3. vicious

69. He became a sojourner in that area. 1. temporary resident

2. famous person

4. owner of property

5. permanent attendant

70. That year there was a heavy influx of locusts.

3. squatter


ห น า | 86

1. growth

2. flowing in

4. increasing

5. birth-rate

3. absence

Directions: Choose the word that best completes each blank in the passage. Item (71-75) The evolution of pizza from a traditional Italian dish to fast food is complete. Once handmade from fresh dough and simple tomato-based ………(71)……., pizzas could soon be ………..(72)………. from vending machines. The Wonderpizza is the world’s first vending machine to ……..(73)……….. piping hot pizzas in less than two minutes, for a cost of around $5. The machine was ………..(74)……. in Italy and is now beginning worldwide……(75)………..after more than five years of research. 71.

72.

73.

74.

75.

1. toppings

2. top-dressing

4. top-coat

5. topnotch

1. available

2. adjustable

4. advisable

5. dependable

1. pick up

2. serve up

4. cover up

5. level up

1. dedicated

2. facilitated

4. developed

5. originated

1. contribution

2. attraction

3. toplists

3. acceptable

3. get up

3. complicated

3. distribution


ห น า | 87

4. transportation

5. production

76. Which one is not an ingredient of Khao Yum? 1. sweet sauce

2. herbs

4. salty sauce

5. jasmine rice

3. pork

77. What is the meaning of “platter”? 1. a small bowl

2. a big bowl

4. a big dish

5. a giant pot

3. a small dish

78. Khao Yum is a tasty dish from ………………of Thailand. 1. the north

2. the south

3. the east


ห น า | 88

4. the west

5. the northeast

79. What is the name of Middle Eastern dish? 1. Chilli Paste

2. Khao Yum

4. Deep fried mullet

5. Pan-fried lamp chop

3. Maaki Kabab

Students in the farming communities learn how to use communication networks to send crop information to farmers. The Youth ALRO Cyber Brain project is a significant mechanism in making agricultural project more sustainable, capitalizing on the fact that children are the successors of their parents and they will grow up to become a new generation farmers equipped with the knowledge and technology to implement agricultural innovations in their communities. The children thereby become the connection between the farmers and the schools. “The idea behind this ALRO initiative is to make sustainable agriculture a success. The interaction between homes and schools is a must and thus, it’s better to mold them from childhood,” said National Electronics and Technology Center (Nectec) deputy director, Dr. Asanee Kawtrakul, who oversees the Smart Farm project, one of the Nectec’s three flagships, along with Smart Health and Digitized Thailand. As research body, Nectec provides technology and tools for the community. However, in order to drive the Smart Farm more effectively, they have conducted two mechanisms running together- the “Youth ALRO Cyber Brain”, which empowers the community through the collaboration of homes and schools, and “Training for the Trainers” in which farmers work with government officials. Currently, there are 11 innovative projects that the children take a major role in based on the collaboration between schools and communities, and four of them have been awarded a place in the Youth Farmers Conference this year.

80. What benefit did the farmers receive from students in farming communities? 1. New crops.

2. Information on selling crops.

3. New farming machines.

4. How to manage the farm.


ห น า | 89

5. How to grow new 81. Who are the youth in the ALRO Cyber Brain Project? 1 Students from all the school in Thailand. 2. All children living in isolate farming communities. 3. School children participating in the project. 4. Farmers’ children who participate in the project. 5. Foreign farmers. 82. In what ways the farmers get linkages with IT application? 1. By the help from some officers of the ALRO Cyber Brain Project. 2. Through their children living in farming communities. 3. Through the schools locating in the farming communities. 4. The school teachers nearby communities help them. 5. By planting 83. What is the idea behind the ALRO initiative? 1. The success of sustainable agriculture. 2. To create smart children for future farmers.


ห น า | 90

3. To drive the Smart Farm successfully. 4. To built connection between Smart Farm and Smart Health. 5. The product of the harvest. 84. The success of the ALRO Project is depending on ……. 1. the coordination between schools and farmers. 2. the collaborations between homes and schools. 3. technology and tools provided for the communities. 4. the creation of Smart Farm, Smart Health, and IT applications. 5. the harvest time 85. What are the Nectec’s three flagships? 1. Smart Farm.

2. Smart Health.

4. All of the above

5. None of the above

3. Digitized Thailand


ห น า | 91

Thai Customs There are some social and religious customs which must always be remembered in Thailand. The head is regarded as the highest part of the body. It is not considered polite to touch someone’s head___86__a child, even it is meant as a friendly___87___. At the other extreme the feet are considered the lowest and least important part of the body. In public or with Thais one must not point at anything or anyone with the feet. Also putting the feet on the table or on a chair is___88___in the company of the locals. If you visit a temple or a mosque, you must always remove your shoes, and be suitably attired. Female___89___shorts are not allowed in temples or mosques. It is also the custom when visiting the home of a Thai to remove the shoes before entering. For Thais the common form of greeting is a wai, which is done by placing the palms of the hands together, as in prayer and___90___the head slightly forward.

86. 1. as 4. unless 87. 1. action 4. performance 88. 1. taboo 4. symbolic 89. 1. worn 4. wearing

2. if

3. though

5. or 2. custom

3. gesture

5. symbol 2. strict

3. limited

5. allowed 2. wear 5. wears

3. wore


ห น า | 92

90. 1. putting d) nodding

2. inclining

3. shaking

5. raising

Directions: Read the passage. Then answer questions about the passage below. The idea of Mother’s Day is a very old idea. This idea dates back to the ancient Egyptians, who celebrated a day to honor Isis, the mother of the pharaohs. The Egyptians were not the only ones who felt the need to honor their mothers. The ancient Greeks celebrated a day to honor Rhea, the mother of the gods. The Romans built a temple to the mother of the gods, named Magna Mater. They also held a celebration every March in her honor. The early Christians celebrated a day to honor Mary, the mother of Jesus. Later, English Christians expanded the celebration to honor all mothers. This English holiday was called “Mothering Sunday.” When the English colonists came to America, they did not have time for Mothering Sunday, so the holiday was not celebrated in America.

During the U.S. Civil War, mothers on both sides of the war lost sons. The country was very sad. Grieving mothers from both sides had meetings. Sometimes families had been torn apart by the war. In 1868, Ann Reeves Jarvis started a committee to help families get back together after the war. This committee tried to establish a “Mothers’ Friendship Day” for mothers who had lost sons in the war. Unfortunately, Ann Reeves Jarvis died in 1905, so she did not see that the day eventually became popular.


ห น า | 93

Another woman, Julia Ward Howe was also against the war. She was also against slavery. She declared the first official Mother’s Day in 1870, and held an anti–war Mother’s Day observance. She funded this observance with her own money every year for several years, but an annual Mother’s Day celebration still did not catch on in the U.S. However, the idea stayed alive.

Meanwhile, Anna M. Jarvis, The daughter of Ann Reeves Jarvis, wanted to honor her mother. She requested that her mother’s West Virginia church be allowed to celebrate a Mother’s Day in 1908 in honor of her mother. Every mother at church that day received two carnations –– Ann Reeves Jarvis’ favorite flower. Now, carnations and other flowers are associated with Mother’s Day because they were handed out at the first celebration of Mother’s Day.

In 1914, the U.S. Congress passed a law which designated the second Sunday in May as Mother’s Day. In the same year, President Woodrow Wilson proclaimed the first Mother’s Day. He called for the flying of the flag to honor the mothers who had lost sons in war.

Mother’s Day is celebrated in many other countries. In Mexico, Dia de las Madres is celebrated on May 10. It is a popular holiday celebrated by schools, churches, and civic groups. Children give their mothers flowers and handmade cards. Schools present performances in honor of mothers as part of the national observance of Dia de las Madres.


ห น า | 94

In China, ten distinguished mothers are chosen to receive government recognition. National drives for mothers living in poverty are also held. The holiday is a demonstration of the respect the Chinese have for the elderly, and the love they have for their parents.

In India, children send their mothers cards and flowers and cook a meal for their mothers. Companies launch women’s products on Mother’s Day, and restaurants advertise heavily for Mother’s Day; the day has become commercialized.

In Canada, Australia, New Zealand, South Africa, and Ireland, Mother’s Day is celebrated on the same day as in the United States –– the second Sunday in May. People mark the day in the same way that they do in the United States. Children give their mothers cards, gifts, and flowers. Churches and schools give special Mother’s Day presentations, and civic groups observe the day.

The first President of the U.S., George Washington, said of his own mother, “My mother was the most beautiful woman I ever saw. All I am I owe to my mother. I attribute all my success in life to the moral, intellectual and physical education I received from her.” 91. Who built a temple to Magna Matter? 1. The Greeks

2. The Romans

4. The American colonists

5. None of the above

92. Why did Ann Reeves Jarvis want a special day?

3. The early Christians


ห น า | 95

1. To help Civil War mothers

2. To honor her own mother

3. To honor mothers of soldiers 4. Both A and C are correct. 5. All of the above 93. What did mothers receive at the first Mother’s Day in West Virginia? 1. flowers

2. presents

4. Both A and B are correct.

5. Both B and C are correct.

3. handmade cards

94. Which U..S.. President first proclaimed Mother’s Day? 1. Harry Truman

2. John Kennedy

4. Abraham Lincoln

5. George Washington

3. Woodrow Wilson

95. In what year did the U..S.. Congress designate the second Sunday in May as Mother’s Day? 1. 1862

2. 1868

4. 1914

5. 1962

3. 1908

96. The best synonym for honor is… 1. respect

2. explain

4. describe

5. decrease

3. perform

97. Expanded means… 1. made larger

2. made famous.

4. made up

5. gave in

3. dressed up

98. What does funded mean? 1. Looked at

2. Celebrated

3. Watched


ห น า | 96

4. Paid for

5. Both A and C are correct.

99. The best synonym for designated is… 1. required

2. named

4. hired.

5. left

3. wished

100. If something is commercialized it is… 1. used to make a profit

2. celebrated for mothers

3. proclaimed a holiday

4. made into a new law

5. used to fund military expansion

******************************************************************


ห น า | 97 เฉลยคําตอบ

ภาษาอังกฤษมัธยมปลาย

ขอที่

เฉลย

ขอที่

เฉลย

ขอที่

เฉลย

ขอที่

เฉลย

1

1

26

5

51

3

76

3

2

5

27

4

52

5

77

4

3

3

28

2

53

3

78

2

4

2

29

3

54

2

79

3

5

3

30

5

55

4

80

5

6

1

31

4

56

3

81

4

7

4

32

4

57

1

82

2

8

1

33

1

58

3

83

1

9

2

34

2

59

2

84

2

10

4

35

5

60

3

85

4

11

5

36

1

61

2

86

4

12

1

37

1

62

3

87

3

13

2

38

2

63

4

88

1

14

1

39

3

64

1

89

4

15

2

40

3

65

4

90

2

16

2

41

1

66

4

91

2


ห น า | 98 17

4

42

2

67

3

92

1

18

4

43

5

68

4

93

1

19

1

44

2

69

1

94

3

20

3

45

3

70

2

95

5

21

2

46

2

71

2

96

1

22

1

47

4

72

1

97

1

23

5

48

3

73

2

98

4

24

5

49

1

74

4

99

2

25

1

50

4

75

3

100

1


ห น า | 99

แนวขอสอบคอมพิวเตอรเบื้องตน 1. คอมพิวเตอรคอื อะไร ก. ระบบโปรแกรมการทํางาน ข. การคํานวณ ค. เครือ่ งจักรอิเล็กทรอนิกสที่ทํางานตามขัน้ ตอนของโปรแกรม ง. อุปกรณที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร 2. ฮารดแวรคอมพิวเตอรคอื อะไร ก. อุปกรณที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอรระบบโปรแกรมการทํางาน ข. การคํานวณ ค. เครือ่ งจักรอิเล็กทรอนิกสที่ทํางานตามขัน้ ตอนของโปรแกรม ง. ระบบโปรแกรมการทํางาน 3. ซอฟตแวรคอมพิวเตอรคอื อะไร ก. อุปกรณที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอรระบบโปรแกรมการทํางาน ข. โปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่สั่งใหคอมพิวเตอรทํางาน ค. เครือ่ งจักรอิเล็กทรอนิกสที่ทํางานตามขัน้ ตอนของโปรแกรม ง. ระบบโปรแกรมการทํางาน 4. การวัดขนาดขอมูล 8 Bit มีคาเทากับ ก. 10 Byte ข. 100 Byte ค. 1 Byte ง. 1024 Byte 5. การวัดขนาดขอมูล 1 KB(กิโลไบต) มีคาเทากับ ก. 1024 KB ข. 1024 MB ค. 1024 Byte ง. 1024 Byte


ห น า | 100

6. การวัดขนาดขอมูล 1 MB(เมกกะไบต) มีคาเทากับ ก. 1024 KB ข. 1024 MB ค. 1024 Byte ง. 1024 Byte 7. การวัดขนาดขอมูล 1 GB(กิกะไบต) มีคาเทากับ ก. 1024 KB ข. 1024 MB ค. 1024 Byte ง. 1024 Byte 8. การวัดขนาดขอมูล 1 TB(เทราไบต) มีคาเทากับ ก. 1024 KB ข. 1024 MB ค. 1024 GB ง. 1024 Byte 9. RAM คืออะไร ก. หนวยความจําถาวรที่ติดตั้งมาพรอมกับแผงเมนบอรด ข. หนวยความจําเสมือน ค. หนวยความจําจําลองที่ทํางานแทนเมนบอรด ง. หนวยความจําชั่วคราวที่สามารถอานและเขียนขอมูลได 10. ROM คืออะไร ก. หนวยความจําถาวรที่ติดตั้งมาพรอมกับแผงเมนบอรด ข. หนวยความจําเสมือน ค. หนวยความจําจําลองที่ทํางานแทนเมนบอรด ง. หนวยความจําชั่วคราวที่สามารถอานและเขียนขอมูลได


ห น า | 101

11. ขอมูล คืออะไร ก. ขอมูลทีไ่ ดรับการกรอง และเรียบเรียง ที่สามารถนําไปใชงานได ข. ความเปนจริงที่ยังเปนขอมูลดิบซึ่งไมไดผานการประมวลผลใด ๆ ค. ขอมูลที่ประมวลผลแลว ง. ผลลัพทของการทํางาน 12. ขอมูลสารสนเทศ คืออะไร ก. ขอมูลที่ไดรับการกรอง และเรียบเรียง ที่สามารถนําไปใชงานได ข. ความเปนจริงที่ยังเปนขอมูลดิบซึ่งไมไดผานการประมวลผลใด ๆ ค. ขอมูลที่ประมวลผลแลว ง. ผลลัพทของการทํางาน 13. ขอใดไมใชระบบปฏิบัตกิ าร ก. Microsoft Windows98 ข. Microsoft Windows ME ค. Microsoft Windows XP ง. Microsoft Office 14. ในปจจุบันนิยมใชระบบปฏิบัตกิ ารอะไรมากทีส่ ุด ก. Microsoft Windows98 ข. Microsoft Windows ME ค. Microsoft Windows 8 ง. Microsoft Windows xp 15. ระบบปฏิบัตกิ าร Microsoft Windows XP ไดพัฒนาตอจากระบบปฎิบัติการอะไร ก. Microsoft Windows98 ข. Microsoft Windows ME ค. Microsoft Windows XP ง. Microsoft Office


ห น า | 102

16. MOUSE คืออะไร ก. เครือ่ งพิมพ ข. อุปกรณนําเขาขอมูล เพื่อใหเราสามารถปอนคําสั่งตาง ๆ ได ค. อุปกรณสอื่ สาร ง. อุปกรณแสดงผล 17. ถาตองการสลับปุมการทํางานซาย-ขวา ของเมาสตอ งคลิกปรับที่หัวขอใด ก. Button configulation ข. Double-click Speed ค. Click Lock ง. Click 18. ถาตองการปรับความเร็วในการดับเบิล้ คลิกใหชาหรือเร็ว ของเมาสตองคลิกปรับที่หัวขอใด ก. Button configulation ข. Click ค. Click Lock ง. Double-click Speed 19. ถาตองการคลิกลากโดยไมตองคลิกเมาสคางไวตอ งปรับที่หัวขอใด ก. Button configulation ข. Double-click Speed ค. Click ง. Click Lock 20. คําสั่งใดที่ใชในการลบไฟล ก. Delete ข. Rename ค. Open ง. Save


ห น า | 103

21. คําสั่งใดที่ใชในการเปลี่ยนชือ่ ไฟล ก. Delete ข. Rename ค. Open ง. Save 22. คําสั่งใดที่ใชในการเปดใชงานไฟล ก. Delete ข. Rename ค. Open ง. Save 23. คําสั่งใดที่ใชในการเปดบันทึกไฟล ก. Save ข. Rename ค. Open ง. Delete 24. โปรแกรมใดที่ใชในการจัดพืน้ ที่ฮารดดิสก ก. NotePad ข. ScanDisk ค. Disk Defragment ง. WordPad 25. โปรแกรมใดที่ใชในการตรวจสอบพื้นที่ฮารดดิสก ก. NotePad ข. ScanDisk ค. Disk Defragment ง. WordPad


ห น า | 104

26. โปรแกรมใดที่ใชในการวาดภาพ และตัดตอภาพเบือ้ งตน ก. NotePad ข. ScanDisk ค. Paint ง. WordPad 27. โปรแกรมใดที่ใชในการดูหนัง ฟงเพลงเบื้องตน ก. NotePad ข. Media Player ค. Paint ง. WordPad 28. โปรแกรมใดที่ใชในการดูเอกสารขอความเบื้องตน ก. Access ข. Media Player ค. Paint ง. WordPad 29. อินเตอรเน็ต คืออะไร ก. ระบบเมนเฟรม ข. ระบบเครือขายที่เชื่อมโยงกันหลาย ๆ เครือขายทั่วโลก ค. ระบบเครือขายเดี่ยว ง. ระบบไมโครคอมพิวเตอร 30. อินเตอรเน็ตเขามาในประเทศไทยครั้งแรกเมือ่ ป พ.ศ.ใด ก. 2530 ข. 2540 ค. 2520 ง. 2510 31.ขอใดคือความหมายของ คอมพิวเตอร ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542


ห น า | 105

ก.เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทาหนาทีเ่ สมือนสมองกล ใชสาหรับแกปญหาตาง ๆ โดยวิธี ทางคณิตศาสตร ข.เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทาหนาที่ตามชุดคาสัง่ ค.เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ง.เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทาหนาที่คานวณทางคณิตศาสตร 32.คำวา computer มีรากศัพทมาจากภาษาอะไร ก.ภาษาอังกฤษ ข.ภาษากรีก ค.ภาษาละติน ง.ภาษาสันสกฤต 33.หนวยเก็บขอมูลสารอง (Secondary Storage Unit) หมายถึงขอใด ก.RAM ข.Hard disk ค.UPS ง.CD 34.แรม (RAM) มีความหมายตรงกับขอใด ก.หนวยความจาหลักแบบอานไดอยางเดียว ข.หนวยความจาหลักแบบแกไขได ค.หนวยประมวลผลกลาง ง.หนวยแสดงผล


ห น า | 106

35. Operating System หมายถึงขอใดดังตอไปนี้ ก.โปรแกรมเกมออนไลน ข.ระบบปฏิบัตกิ าร ค.หนวยจายไฟใหกับคอมพิวเตอร ง.โปรแกรมฟงเพลง 36.ขอใดตอไปนี้ไมใชระบบปฏิบัตกิ าร ก.Mac OS ข.Window 8 ค.Microsoft Word ง.Ubuntu 37.ขอใดตอไปนี้ไมใช Web Browser ก.Google Chrome ข.Internet Explorer ค.Maxthon ง.MSN 38.ขอใดไมใชหนวยรับขอมูล (Input Unit) ก.แปนพิมพ (Keyboard) ข.เมาส (Mouse) ค.แรม(RAM)


ห น า | 107

ง.จอภาพระบบสัมผัส (Touch screen) 39. Internet ยอมาจากอะไร ก.Inter Connection Network ข.International Network ค.Inter Network ง.International Connection 40. ขอใดคือความหมายของ Internet ก.เครือขายคอมพิวเตอร ระบบตาง ๆ ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก ข.เครือขายสํานักงานทีเ่ ชือ่ มกันระหวางองคบริษัทใหญๆ ค.ชือ่ ระบบปฏิบตั ิการ ง.ชือ่ องคกรหนึ่งทีอ่ อกขอบังคับการใชคอมพิวเตอรใหเปนสากล 41.ภาษาที่ใชสอื่ สารกันระหวางคอมพิวเตอรใน Internet คือขอใด ก.เอชทีเอ็มแอล(html) ข.จาวา(java) ค.เบสิก(basic) ง.โพรโทคอล (Protocol) 42. ขอใดไมใชชื่อฐานขอมูลในระบบคอมพิวเตอร ก.Oracle ข.MySQL ค.PHP


ห น า | 108

ง. SQLite 43.Web Site มีความหมายตรงกับขอใด ก.หนาแรกของเว็บ ข.แหลงเก็บขอมูลตางๆที่ใชแสดงผลบน WWW ค.แหลงใหบริการคนหาขอมูล ง.เว็บบราวเซอร 44.Home Page มีความหมายตรงกับขอใด ก.การเชื่อมโยงหนาเว็บ ข.หนาหลักของเว็บไซต ค.หนารองของเว็บไซต ง.บริการเสริมของเว็บไซต 45.IP Address มีความหมายตรงกับขอใด ก.เลขประจาตัวเครื่องคอมพิวเตอร ข.เลขประจาตัวของเว็บบราวเซอร ค.ที่อยูข องเว็บไซตในรูปแบบของตัวเลข ง.ไมมีขอ ถูก 46.Domain Name คืออะไร ก.ชือ่ เว็บไชต ข.ชื่อองคกรดูแลระบบ Internet


ห น า | 109

ค.ชื่อเซิรฟเวอร ง.ไมมีขอ ถูก 47.บิดาแหงเครื่องคอมพิวเตอรคอื ใคร ก.เมาชลแี ละเอ็กเคอรต (Mauchly and Eckert) ข. ชารล แบบเบจ (Charles Babbage) ค.เซอรไอแซก นิวตัน ( Sir Isaac Newton ) ง. สตีเวน พอล จอบส (Steven Paul Jobs) 48.คอมพิวเตอรเครื่องแรกของประเทศไทย มีชื่อวาอะไร ก.UNIVAC ข.ENIAC ค.IBM 1620 ง.IBM 1720 49.ขอใดเปนอุปกรณประเภทเดียวกันกับ แปนพิมพ (Keyboard) ก.แรม(RAM) ข.ฮารดดิสก (hard disks) ค.ซีพีย(ู Central Processing Unit) ง.เมาส (Mouse) 50.Mac Address คืออะไร ก.หมายเลขประจาตัวฮารดดิสก


ห น า | 110

ข.หมายเลขประจาตัวซีพียู ค.หมายเลขประจาตัวการดแลน ง.หมายเลขประจาตัวเมนบอรด 51.คอมพิวเตอรประเภทใดที่มสี มรรถภาพสูงทีส่ ุด ก.เมนเฟรมคอมพิวเตอร (mainframe computer) ข.ไมโครคอมพิวเตอร (microcomputer) ค.ซูเปอรคอมพิวเตอร (supercomputer) ง.ไมมีขอ ใดถูก 52.อุปกรณใดที่ใชในสารองไฟในกรณีที่ ไฟตก ไฟดับ ไฟเกิน หรือไฟกระชาก ก.UPS ข.Power Supply ค.Fuse ง.ถูกทุกขอ 53.ทำ ไม notebook ถึงตองใชไฟฟาผาน adapter ในการชารจแบตเตอรี่ ก.เพราะตองเพิ่มระดับแรงดันไฟฟาใหสูงขึ้น ข.เพราะ adapter รอน จึงตองแยกออกมาจากตัว notebook ค.เพราะตองลดระดับแรงดันไฟฟาใหต่ํา ลง ง.เพือ่ ลดนา หนักโดยรวมของ notebook ใหพกพาได 54.คียล ัดใดที่ใชแทนคา สั่ง copy


ห น า | 111

ก.Ctrl+Y ข.Ctrl+Z ค.Ctrl+C ง.Ctrl+A 55. ขอใดคือความหมายของคอมพิวตอร ก. เครือ่ งคำนวณอัตโนมัติ ข. เครื่องใชสำนักงานอัตโนมัติรุนใหม ค. อุปกรณอิเล็คทรอนิกสอยางหนึ่ง ง. เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสอยางหนึ่ง 56. คอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาททีเ่ กีย่ วของกับชีวิตประจำวันของเราอยางไร? ก. การถอนเงินจากเครื่อง atm ข. การจับจายซือ้ ของในหางสรรพสินคาโดยใชบัตรเครดิต ค. การสารองทีน่ ั่งเครื่องบินสือ่ สาร’ ง. ถูกทุกขอ 57. ขอใดไมใชลักษณะทีส่ ำคัญของคอมพิวเตอร? ก. มีความเร็วสูงในการประมวลผล ข. มีความถูกตองเชือ่ ถือได ค. เปนระบบอนาลอก ง. ทางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกสและอัตโนมัติ


ห น า | 112

58. เครื่องคอมพิวเตอรสวนใหญทางานดวยระบบใด? ก. Digital ข. Analog ค. Calculate ง. Numerical 59. ขอจำกัดของคอมพิวเตอรคือขอใด? ก. เครือ่ งมีราคาแพงมาก ข. ขาดแคลนบุคลากรทางคอมพิวเตอร ค. การทางานขึ้นอยูกบั มนุษย ง. ถูกทุกขอ 60. กอนที่หนวยงานจะเลือกนาคอมพิวเตอรเขามาใชงาน หนวยงานนั้นๆ จะตองดาเนินงานในเรือ่ งใด กอน? ก. จัดหาบุคลากรคอมพิวเตอร ข. วางระบบงาน ค. จัดซือ้ อุปกรณคอมพิวเตอร ง. ถูกทุกขอ 61. สิ่งใดที่ไมมีในเครื่องคอมพิวเตอร? ก. ความคิด ข. ความจำ ค. การควบคุมตนเอง


ห น า | 113

ง. การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ 62.ขอใดคือขอดีของคอมพิวเตอร? ก. มีความเร็วสูง ข. มีความเชือ่ ถือได ค. มีความถูกตองแมนยา ง. ถูกทุกขอ 63. ในโรงงานอุตสาหกรรมนาคอมพิวเตอรมาใชงานดานใด? ก. ควบคุมการผลิต ข. การใชหนุ ยนตในการทางานทีเ่ สี่ยงอันตราย ค. การวางแผนการผลิต ง. ถูกทุกขอ 64.หางสรรพสินคาและรานคาปลีกนำเครือ่ งคอมพิวเตอรมาใชในการบริการลูกคาในเรือ่ งใด? ก. บริการ ATM ข. บริการดานบัตรเครดิต ค. บริการ ณ จุดขาย ง. บริการสอบถามขอมูลเกีย่ วกับสินคา 65. บริษัทที่มบี ทบาทอยางมากในการผลิตเครื่องคอมพิวเตอรรุนแรกคือบริษัทใด ก. IBM ข. COMPAQ


ห น า | 114

ค. MICROSOFT ง. DIGTAL 66.ขอใดเปนประโยชนของคอมพิวเตอรในทางธุรกิจ ก.การฝาก-ถอนเงินผานตู ATM ข. การจองตั๋วเครือ่ งบิน ค. การเก็บภาษีกรมสรรพากร ง. การนาคอมพิวเตอรมาชวยในการสอน 67. Lap Top เปนขนาดของคอมพิวเตอรชนิดใด ก. ขนาดตั้งโตะ ข. ขนาดสมุดโนต ค. ขนาดวางตัก ง. ขนาดฝามือ 68. Note Book เปนขนาดของคอมพิวเตอรชนิดใด ก. ขนาดตั้งโตะ ข. ขนาดสมุดโนต ค. ขนาดวางตัก ง. ขนาดฝามือ 69. Palm Top เปนขนาดของคอมพิวเตอรชนิดใด ก. ขนาดตั้งโตะ


ห น า | 115

ข. ขนาดสมุดโนต ค. ขนาดวางตัก ง. ขนาดฝามือ 70. ถาตองการพิมพเอกสารในระบบ WINDOWS จะตองคลิกที่ START MENU ใด ก. MY DOCUMENT ข .MY COMPUTER ค. PROGARM ง. CONTROL PANEL 71.โดยปกติเอกสารจะจัดในลักษณะใดเปนหลัก ก. ชิดซาย ข. ชิดขวา ค. กึ่งกลาง ง. ชิดขอบ 72.ขอใดไมอยูใ นการเพิ่มเติมลักษณะพิเศษ ก. ชุดรูปแบบ ข. พื้นผิว ค. ลวดลาย ง. รูปภาพ 73.ในการใชงานคอมพิวเตอรนนั้ อาจเกิดอุบัตเิ หตุไดทุกเมือ่ เชนลบแฟมขอมูลผิดหารเราตองการกลับคืนจะ ใชคาสั่งใด


ห น า | 116

ก. ใชคาสัง่ RE RAN ข. ใชคาสั่ง UNDO ค. ใชคาสั่ง RESTORE ใน RECYCLE BIN ง. ใชคาสั่ง COME BACK 74.สวนใดของคอมพิวเตอรทาหนาที่ปอ นขอมูล ก. Printer ข.Monitor ค.Mainboard ง.Keyboard 75.ขอใดเปนบริการทีเ่ ราสามารถใชไดบนอินเตอรเน็ต ก. อานขาวสาร ความรูและบันเทิง ข. รับสงขอความและสั่งซื้อสินคา ค. ดูหนังฟงเพลงและเลนเกม ง. สามารถใชบริการไดทกุ ขอ 76..ชุดคำสั่งในระบบคอมพิวเตอรเรียกวาอะไร ก. Computare ข. Electronic ค. lnstruction ง. Program


ห น า | 117

77.โปรแกรมที่ใชในการวาดรูปภาพ แกไชรูปภาพ และตกแตงภาพใหสวยงามไดคือขอใด ก. โปรแกรม Dos ข. โปรแกรม Paint ค. โปรแกรม Note Pad ง. โปรแกรม Scandisk 78..Recy Bin ทำหนาที่อะไร ก. กูไฟลขอ มูล ข. ซอมแซมไฟล ค. จัดเรียงไฟล ง. เปนโฟลเดอรสาหรับเก็บไฟลทถี่ ูกทิ้ง 79..ใชคาสั่งทีแ่ ถบเมนู (Menu Bar) ในการเปดแฟมขอมูลเกามาใชตรงกับขอใด ก. คลิกเมาสที่เมนูเปด (Open) เลือกแฟม(File) ข. คลิกเมาสที่เมนูแฟม (File) เลือกเปด(Open) ค. คลิกเมาสที่เมนูแกไข (Edit) เลือกเปด(Open) ง. คลิกเมาสที่เมนุรูปแบบ (Format) เลือกปด(Open) 80..หากตองการเขาไปที่ http://www.google.com ตองพิมพชื่อเว็บเพจที่ชอ งใด ก. E-Mail ข. Search Web ค. Password


ห น า | 118

ง. Address 81.การตั้งคาหนาแรกในการเปดเว็บไซตเรียกวาอะไร ก. First Site ข. History ค. Home ง. Refrest 82. ขอมูล 8 บิตมีกี่ไบต ก. 1 ไบต ข. 2 ไบต ค. 3 ไบต ง. 4 ไบต 83.ขอมูล 32บิตมีกี่ไบต ก. 2 ไบต ข. 3 ไบต ค. 4 ไบต ง. 5 ไบต 84.หนวยของขอมูลที่มขี นาดเล็กทีส่ ดุ คือขอใด ก. Bit ข. Byte


ห น า | 119

ค. Charater ง. Database 85.หนวยของขอมูลที่เกิดจากการนาบิตมารวมกันคือขอใด ก. Field ข. File ค. Byte ง. Record 86.ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอรทํางาน เรียกวาอะไร ก. ซอฟตแวร ข. ฮารดแวร ค. พีเพิลแวร ง. ระเบียบวิธปฏิบัติ 87.องคประกอบของคอมพิวเตอรมอี ะไรบาง ก. ฮารดแวร (Hard ware) ข. ซอฟตแวร (Soft ware) ค. บุคลากร(people ware) และขอมูล (Data) ง. ถูกทุกขอ 88. ฮารดแวรหมายถึงอะไร ก. หมายถึงอุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงราง สามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส


ห น า | 120

ข .หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคาสั่งทีถ่ ูกเขียนขึน้ เพื่อสัง่ ใหเครือ่ งคอมพิวเตอรทางาน ค. หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถใชงาน สั่งงานเพือ่ ใหคอมพิวเตอรทางานตามที่ตองการ ง. ขอมูลเปนองคประกอบทีส่ าคัญอยางหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร 89.ซอฟตแวรหมายถึงอะไร ก. อุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึน้ เปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลกั ษณะเปนโครงรางสามารถมองเห็นดวย ตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครือ่ งพิมพ เมาส ข. หมายถึง สวนทีม่ นุษยสมั ผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ถูก เขียนขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทางาน ค. หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถใชงาน สั่งงานเพือ่ ใหคอมพิวเตอรทางานตามที่ตองการ ง. ขอมูลเปนองคประกอบทีส่ าคัญอยางหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร 90.ขอใด เปนอุปกรณรับขอมูลเบือ้ งตน ก. จอภาพ ข. คียบอรด ค. เครื่องพิมพ ง. เคส 91.ซอฟตแวรแบงไดเปน 2 ประเภทอะไร ก. ซอฟตแวรระบบ ข. ซอฟตแวรประยุกต


ห น า | 121

ค. ขอ ก และ ข ถูก ง. ผิดทุกขอ 92.ซอฟตแวรระบบ (System Software) หมายถึงอะไร ก. คือ ซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่มาใหคอมพิวเตอรทางานตางๆ ตามทีผ่ ูใชตอ งการ ข. คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพือ่ การทางานเฉพาะอยางที่เราตองการ ค. คือเปนโปรแกรมประยุกตที่มผี จู ัดทาไว เพื่อใชในการทางานประเภทตางๆ ง. คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไวเปนคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมาก ที่สุด 93.คอมพิวเตอรยุคใด ใชวงจรไอซี (Integrated Circuit) เปนหลัก ก. คอมพิวเตอรยุคแรก ข. คอมพิวเตอรยุคที่ 2 ค. คอมพิวเตอรยุคที่ 3 ง. คอมพิวเตอรยุคในยุคปจจุบนั 94.คอมพิวเตอรมีบทบาทกับการศึกษาอยางไร ก. นามาประยุกตใชในกิจกรรมการเรียนการสอน เชน ทาสื่อตางๆ คอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน ข. ใชในงานบริหารของโรงเรียน เชน การจัดทาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย เปนตน ค. ใชเปนแหลงเรียนรู เชนการคนควาจากอินเทอรเน็ต ง. ถูกทุกขอ 95.การวัดขนาดขอมูล 1 GB(กิกะไบต) มีคาเทากับ ก. 1024 KB


ห น า | 122

ข. 1024 MB ค. 1024 Byte ง. 1024 Byte 96.ขอมูลสารสนเทศ คืออะไร ก. ขอมูลที่ไดรับการกรอง และเรียบเรียง ที่สามารถนําไปใชงานได ข. ความเปนจริงที่ยังเปนขอมูลดิบซึ่งไมไดผานการประมวลผลใด ๆ ค. ขอมูลที่ประมวลผลแลว ง. ผลลัพทของการทํางาน 97.ขอใดไมใชระบบปฏิบัติการ ก. Microsoft Windows98 ข. Microsoft Windows ME ค. Microsoft Windows XP ง. Microsoft Office 98. WWW ยอมาจากอะไร ก. World Wide Web ข. World War Web ค. World Wan Web ง. World Wide Wan 99.อินเตอรเน็ตเขามาในประเทศไทยครั้งแรกเมือ่ ป พ.ศ.ใด ก. 2530 ข. 2540 ค. 2520 ง. 2510


ห น า | 123

100. Up Load คืออะไร ก. การโอนยายขอมูลจากเครือ่ งแมขายมายังเครื่องสวนบุคคล ข. การโอนยายขอมูลในเครือ่ งสวนบุคคล ค. การโอนยายขอมูลจากเครื่องสวนบุคคลไปยังเครื่องแมขาย ง. การโอนยายขอมูลในเครือ่ งแมขาย 101. Domain Name คืออะไร ก. รหัสขอมูลที่อยูข องเครือ่ งคอมพิวเตอร ข. เลขรหัสประจําตัวของเครือ่ งคอมพิวเตอรที่ตอ เขากับเครือขาย ค. รหัสไอพีประจําตัวของเครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการ ง. เลขรหัสประจําตัวของเครือ่ งคอมพิวเตอรที่ไมไดเชื่อมโยง 102.โดเมนเนม .com มีความหมายคืออะไร ก. สําหรับกลุม องคกรการศึกษา ข. สําหรับกลุม องคกรคา ค. สําหรับกลุมองคการทหาร ง. สําหรับกลุมองคกรรัฐบาล 103. โดเมนเนม .edu มีความหมายคืออะไร ก. สําหรับกลุมองคกรการศึกษา ข. สําหรับกลุมองคกรคา ค. สําหรับกลุมองคการทหาร ง. สําหรับกลุมองคกรรัฐบาล 104. โดเมนเนม .net มีความหมายคืออะไร ก. สําหรับกลุมองคการบริหาร ข. สําหรับกลุมองคกรคา ค. สําหรับกลุมองคการทหาร ง. สําหรับกลุมองคกรรัฐบาล


ห น า | 124

1055. โดเมนเนม .gov มีความหมายคืออะไร ก. สําหรับกลุมองคการบริหาร ข. สําหรับกลุมองคกรคา ค. สําหรับกลุมองคการทหาร ง. สําหรับกลุม องคกรรัฐบาล 106. โดเมนเนม .mil มีความหมายคืออะไร ก. สําหรับกลุมองคการบริหาร ข. สําหรับกลุมองคกรคา ค. สําหรับกลุม องคการทหาร ง. สําหรับกลุมองคกรรัฐบาล 107. โดเมนเนม .org มีความหมายคืออะไร ก. สําหรับกลุมองคกรอื่น ๆ ข. สําหรับกลุมองคกรคา ค. สําหรับกลุมองคการทหาร ง. สําหรับกลุมองคกรรัฐบาล 108. URL คืออะไร ก. ตําแหนงทีอ่ ยูของเว็บเพจ ข. ตําแหนงที่อยูของเว็บไซต ค. ตําแหนงทีอ่ ยูข องเลขประจําเครือ่ ง ง. ตําแหนงที่อยูข องรหัสประจําเครือ่ ง 109.ขอใดคือ url ของ กองบัญชาการกองทัพไทย ก. http://rtarf.mi.th ข. http://rtarf.co.th ค. http://rtarf.com ง. http://rtarf.net


ห น า | 125

110. www.rta.mi.th เปนเว็บไซตขององคกรเกี่ยวกับอะไร ก ธุรกิจการคา ข องคกรของรัฐ ค หนวยงานทางทหาร ง สถาบันการศึกษา


ห น า | 126

ความรูเรื่องกฎหมาย กฎหมาย คือ บรรดาคําสั่งหรือขอบังคับของรัฐหรือประเทศที่ใชบงั คับความประพฤติทั้งหลายของบุคคล อันเกี่ยวดวย เรื่องความสัมพันธระหวางกัน ถาใครฝาฝนไมป ฏิบัติตามจะตองมีความผิดและถูกลงโทษ ในทางอาญาอาจจะมีโทษปรับ เปนเงินหรือโทษจําคุก ในทางแพงอาจจะถูกบังคับ ใหชําระหนีห้ รือชดใชคาเสียหาย ความหมายของกฎหมายตามแนวความคิดเดิม 1. กฎหมาย คือ คําบัญชาของผูม ีอํานาจสูงสุด ในรัฐ 2. กฎหมาย คือ คําสั่งทั้งหลายของผูปกครองวาการแผน ดิน ตอราษฎรทั้งหลาย เมื่อไมท ําตามก็จะตองถูกลงโทษ ความหมายของกฎหมายตามแนวความคิดใหม 1. กฎหมาย คือ ระเบียบกฎเกณฑซึ่งมีลักษณะเปนสากลและพบเห็นไดในทุกสังคม 2. กฎหมาย คือ ระบบที่มีอํานาจโดยชอบธรรมซึ่งมีการรับรองไวแลว 3. กฎหมาย คือ กฎเกณฑสูงสุดของสังคมและเปนตัวควบคุมกฎเกณฑอื่น ๆ 4. กฎหมายคือระบบกฎเกณฑทม ี่ ีการจัดทํา การตีความ และการใชบังคับ เปนกิจจะลักษณะ ตลอดจนมีวัตถุประสงคของ โครงสรางหลักเกณฑ เจาหนาที่และกระบวนการอันคํานึงถึงความสงบเรียบรอย และความคิดเรื่องความยุติธรรม ลักษณะสําคัญของกฎหมาย 1. กฎหมายจะตองมาจากรัฏฐาธิปตย หมาย ความวา ผูบ ัญญัติกฎหมายตองมีอํานาจในรัฐ จะเปนบุคคลหรือคณะบุคคล เชน พระมหากษัตริย หัวหนาคณะ ปฏิวัตหิ รือรัฐสภาทีม่ ีอํานาจเด็ดขาดที่จะออกกฎหมายมาบังคับไดและ รัฐหรือประเทศนัน้ ๆ จะตองเปนเอกราช มีอํานาจ อธิป ไตยของตนเอง ไมเปนอาณานิคมหรือเมืองขึ้นของประเทศอืน่ ใด 2. กฎหมายเปน คําสั่งหรือขอบังคับที่ใชทั่วไป หมายความวา กฎหมายจะตองใชบังคับไดทุกสถานที่และแกบ ุคคลทุกคนโดยเสมอภาค 3. กฎหมายเปน ขอบังคับที่ใชไดเสมอไป

หมายความวา เมื่อไดมีการประกาศใชกฎหมายเรื่องใดฉบับใดแลว กฎหมายนัน้ ก็จะใชไดตลอดไป จะเกาหรือลาสมัย อยางไรก็ใชบ ังคับ ไดอยู จนกวาจะไดมีการประกาศยกเลิก เชน พระราชบัญญัติตามชางรัตนโกสินทรศก 127 เปนตน ซึ่ง ปจจุบนั ก็ยังคงมีผลใชบังคับอยู 4. กฎหมายเปน ขอบังคับที่ตองปฏิบัติตาม

หมายความวา กฎหมายทุกฉบับประชาชนตองปฏิบัติตาม จะขัดกับผลประโยชนของตนอยางไรหรือไมเห็นดวยกับ กฎหมายฉบับนัน้ ก็ปฏิเสธไมได เชน กฎหมายกําหนดใหผูมีรายไดตองเสียภาษีอากร ชายไทยอายุยางเขา 21 ป ใน พ.ศ. ใดตองตรวจเขารับ ราชการทหาร เปนตน บุคคลที่ถูกบังคับใหตองปฏิบัติจะปฏิเสธไมได 5. กฎหมายตองมีสภาพบังคับ หมายความวา ผูกระทําหรืองดเวนกระทําตามที่กฎหมายกําหนดตองถูกลงโทษ เชน กฎหมายกําหนดผูมีรายไดตองเสีย ภาษี ผูนนั้ ตองรับโทษปรับ หรือถูกยึดทรัพยสินมาขายหรือชําระคาภาษี เปนตน


ห น า | 127 ที่มาของกฎหมาย 1.กฎหมายลายลักษณอักษร คือ กฎหมายที่ออกโดยฝายนิติบ ัญญัติตามแบบพิธีและขัน ้ ตอนที่กําหนดไว โดย ตราขึ้นไวเปนลายลักษณอักษรและประกาศใหประชาชนทราบ เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวล กฎหมาย พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง เทศบัญญัติ ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เปนตน กฎหมายของ ไทยสวนใหญที่ศาลหรือผูใชนํามาปรับ แกคดีคือ กฎหมายลายลักษณอักษรเปนสําคัญ 2.กฎหมายจารีตประเพณี คือ กฎหมายที่ไมไดมีการบัญญัติไวเปน ลายลักษณอักษร ประชาชนไดประพฤติตาม แบบอยางกันมาเปนเวลาชานานโดยรูสึกวาเปนสิ่งที่ดีงามและถูกตอง และรัฐใชขอปฏิบัติเหลานีเ้ สมือนกฎหมายอยาง หนึ่ง โดยมีศาลยุติธรรมรับรองกฎหมายจารีตประเพณี 3. หลักกฎหมายทั่วไป คือ หลักเกณฑทั่ว ๆ ไป ของกฎหมายที่ยึดหลักความเปนธรรมซึ่งเปนที่ยอมรับกันทั่วไป โดยศาลยุติธรรมเปนผูรบั รองหลักกฎหมายวามีฐานะเปนกฎหมายและมีผลบังคับ ใชได ประเภทและลําดับชั้นของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย กฎหมายมี 3 ประเภทคือ 1. กฎหมายมหาชน เปน กฎหมายทีบ ่ ัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน ไดแก ราษฎรทั่วไปในฐานะ ที่รัฐเปนฝายปกครองมีอํานาจเหนือกวาราษฎร กฎหมายมหาชนไดแกกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมาย อาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 2.กฎหมายเอกชน เปน กฎหมายทีบ ่ ัญญัติถึงความสัมพันธระหวางเอกชนตอเอกชน ในฐานะเทาเทียมกัน กฎหมายเอกชนไดแกกฎหมายแพง และกฎหมายพาณิชย 3.กฎหมายระหวางประเทศ คือกฎหมายที่กําหนดตามความเกี่ยวพันระหวางประเทศตอประเทศ หรือรัฐตอรัฐ แบงออกเปน 3 แผนก คือ 3.1 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 3.2 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3.3 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีอาญา ลําดับชัน้ ของกฎหมาย 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดในการจัดระเบียบการปกครองประเทศ ซึ่งจะวางระเบียบแหงอํานาจสูงสุดของรัฐหรืออํานาจ อธิป ไตย ไดแก อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ ตลอดจนการกําหนดสิทธิเสรีภาพและหนาทีข่ องชน ชาวไทย 2. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)

คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยท รงตราขึน้ โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา เปนกฎหมายหลักที่สําคัญที่บังคับใชอยู ในปจจุบนั พระราชบัญญัติเปนกฎหมายทีม่ ีลําดับ ชั้นรองลงมาจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติที่สําคัญที่รัฐสภา ตราออกมาใชบ ังคับ เชน พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติคุมครองสุขภาพของผูไม สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 เปนตน


ห น า | 128 3.ประมวลกฎหมาย

คือ กฎหมายลายลักษณอักษรที่ไดบัญญัติหรือตราขึน้ โดยรวบรวมจัดเอาบทบัญญัติ เกี่ยวกับกฎหมายที่เปนเรื่องเดียวกัน เอามารวบรวมเปนหมวดหมู วางหลักเกณฑใหอยูในทีเ่ ดียวกันและมีขอความเกี่ยวเนื่องติดตอกันอยาง เปนระเบียบ เชน ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลรัษฎากร เปนต ประมวลกฎหมายมีฐานะเทาเทียม กับพระราชบัญญัติ 4.พระราชกําหนด (พ.ร.ก.)

คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยท รงตราขึน้ ตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี การตราพระราชกําหนดใหกระทําไดเฉพาะ เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นวาเปนกรณีฉุกเฉิน ที่มีความจําเปนเรงดวนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได และตองเปนกรณีเพื่อจะรักษา ความปลอดภัยของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมัน่ คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปดภัย พิบ ัติสาธารณะ หรือเปนพระราชกําหนดเกี่ยวดวยการภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะตองไดรับการ พิจารณาโดยดวนและลับ เพื่อรักษาผลประโยชนของแผนดินและเมื่อไดป ระกาศใช แลวตองเสนอพระราชกําหนดนัน้ ตอสภาทันทีถารัฐอนุม ัติก็มีผล ใชบังคับเปน พระราชบัญญัติตอไป ถารัฐสภาไมอนุมัติก็ตกไป แตถาไมกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางที่ใช พระราชกําหนดนั้น การประกาศใชพระราชกําหนดใหประกาศในราช-กิจจานุเบกษา โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนผูลงนาม สนองพระบรมราชโองการ 5.พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ)

คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยท รงตราขึน้ ตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี พระราชกฤษฎีกาจะออกไดตอเมื่อ พระราชบัญญัติซึ่งถือเปนกฎหมายแมบทใหอํานาจไว พระราชกฤษฎีกาจึงเปนเสมือนกฎหมายที่ไมสามารถจะออกมาให ขัดหรือแยงกับกฎหมายแมบท และถากฎหมายแมบทถูกยกเลิก พระราชกฤษฎีกานัน้ ก็ถือวาถูกยกเลิกไปดวย การ ประกาศใชพระราชกฤษฎีกาใหป ระกาศในราชกิจจานุเบกษา 6.กฎกระทรวง

คือ กฎหมายทีร่ ัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติอันเปนกฎหมายแมบทออกมาเพื่อ ดําเนินการใหเปนไปตาม พระราชบัญญัตินนั้ ๆกฎกระทรวงจึงเปนกฎหมายบริวารที่ กําหนดรายละเอียดของกฎหมายแมบทอีกตอหนึ่ง กฎกระทรวง จะออกมาขัดแยงกับกฎหมายแมบทไมไดและถากฎหมายแมบทถูกยกเลิก กฎกระทรวงนัน้ ถือวาถูกยกเลิกไปดวย คณะรัฐมนตรีเปนอนุมัติกฎกระทรวง การประกาศใชกฎกระทรวงใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา 7. ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่ง

คือ กฎหมายปลีกยอยประเภทที่เปนเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ไดแกเรื่องที่เกี่ยวกับระเบียการปฏิบัติราชการภายในและการที่ จะนํากฎหมายปลีกยอยเหลานี้ไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตองเปนกรณีที่กฎหมายกําหนดไวใหประกาศในราชกิจจา นุเบกษา แตถาในกฎหมายไมไดกําหนดเชนนัน้ ก็อยูในดุลยพินิจของผูมีอํานาจวาการจะประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา หรือไม ซึ่งประกาศ ระเบียบขอบังคับ และคําสั่งเหลานั้นก็เปนกฎหมายไดเชนกัน 8. กฎหมายที่ออกโดยองคกรปกครองตนเอง


ห น า | 129 ไดแกขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ขอบัญญัติเมืองพัทยา ขอบัญญัติจังหวัด เทศบัญญัติ และขอบังคับ สุขาภิบ าล เปน กฎหมายทีม่ ีพระราชบัญญัติการจัดตั้งองคกรปกครองตนเองอันเปนการบริหารสวนทองถิ่นนัน้ ๆ ใหมีอํานาจออกกฎหมาย บังคับใชเฉพาะทองถิน่ เทานัน้ สรุปสาระสําคัญ (

เนนจํา )

1. ลักษณะสําคัญของกฎหมาย มี 5 ประเภท 1.กฎหมายตองมาจากรัฎฐาธิป ตย 2.กฎหมายเปน คําสั่งหรือขอบังคับที่ใชท ั่วไป 3.กฎหมายเปน ขอบังคับที่ใชไดเสมอไป 4.กฎหมายเปน ขอบังคับที่ตองปฏิบัติตาม 5.กฎหมายตองมีสภาพบังคับ 2. ที่มาของกฎหมายไทย ไดแก 1.กฎหมายลายลักษณอักษร 2.กฎหมายจารีตประเพณี 3.กฎหมายทั่วไป 4.ประเภทของกฎหมาย ไดแกกฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา

กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบขอบังคับ คําสั่ง และกฎหมายที่ออกโดยองคการปกครองตนเอง


ห น า | 130

แนวขอสอบ วิชากฎหมายเบื้องตน คําสั่ง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (มีทั้งหมด 120 ขอ) 1. ระบบกฎหมายใดที่คําพิพากษาของศาสนาเปนที่มาของกฎหมาย และศาลจะไมบ ังคับ ใชกฎหมายลายลักษณอักษรที่มี

ถอยคําไมชัดเจนหรือเคลือบ แคลงสงสัย (1) ระบบคอมมอน ลอว (Commom Law) (2) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) (3) ระบบประมวลกฎหมาย (Code Law) (4) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร (Written Law) ตอบ 1 ระบบกฎหมายคอมมอน ลอว หรือระบบกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร เปนกฎหมายทีเ่ กิดจากจารีตประเพณี และคําพิพากษาของศาล กลาวคือ เมื่อมีคดีใดเกิดขั้น และศาลไดพิพากษาคดีนั้นไปแลว คําพิพากษาของศาลยอมถือเปน บรรทัดฐานในการใชวินิจฉัยคดีที่เกิดขึ้นอยาง เดียวกันไดในภายหลังอีก แตทั้งนี้คงมีบางเรื่องที่ไดมีการบัญญัติกฎหมาย เอาไว ซึ่งถากฎหมายนั้นบัญญัติไวโดยชัดแจง ศาลก็ตองนํามาบังคับใชแกคดี แตถากฎหมายลายลักษณอักษรนั้นมีถอยคําที่ ไมชัดเจน หรือเคลือบแคลงสงสัย ศาลจะไม บังคับใช 2. กฎหมายโรมันเปนรากฐานของระบบกฎหมายใด (1) ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (2) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร (3) ระบบคอนมอน ลอว (Common Law) (4) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law)

ตอบ 4 ระบบกฎหมายซีวิล ลอว หรือระบบกฎหมายลายลักษณอักษรเปนระบบกฎหมายที่ไดรับอิทธิพ ลมาจากกฎหมาย โรมัน เนื่องมาจากในสมัยพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม (สมัยโรมัน) ไดทรงรวบรวมเอากฎหมายประเพณีซึ่งบันทึกไวใน กฎหมายสิบสองโตะและหลักกฎหมาย ของนักนิติศาสตร นํามาบันทึกไวในประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน ซึ่งถือ เปนรากฐานในการจัดทําประมวลกฎหมายของกฎหมายระบบซีวิล วอล 3. นักกฎหมายชาวตางประเทศชาติใดมีบทบาทในการจัดทํารางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของประเทศไทย (1) ประเทศฝรั่งเศส (2) ประเทศเยอรมัน (3) ประเทศอิตาลี (4) ประเทศญี่ปุน

ตอบ 1 ประเทศไทยรับหลักกฎหมายและหลักปฏิบัติของอังกฤษเขามาใชบังคับในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงปลายรัชกาลที่ 6 จึงไดมีการเปลี่ยนแปลงในระบบของกฎหมายไทย โดยรัฐไดตัดสินใจทําประมวลกฎหมายขึ้นคือประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย บรรพที่ 1 และบรรพที่ 2 ซึ่งรางโดยที่ปรึกษากฎหมายชาวฝรั่งเศสและไดประกาศใชเปนเวลา 2 ป จึงไดมีการ เปลี่ยนแปลงอีกครั้งหนึ่ง โดยเปลี่ยนจากการใชประมวลกฎหมายตามอยางประมวลกฎหมายแพงฝรั่งเศสมาใช ประมวล กฎหมายแบบเยอรมัน


ห น า | 131 4. ระบบกฎหมายใดศาลปฏิเสธที่จะไมนําจารีตประเพณีทองถิ่นมาใชในการอุดชองวางแหงกฎหมาย (1) ระบบคอมมอน ลอว (Common Law) (2) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) (3) ระบบประมวลกฎหมาย (Code Law) (4) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร (Written Law)

ตอบ 1 การ ที่ศาลนําจารีตประเพณีแหงทองถิ่นมาใชในการอุดชองวางแหงกฎหมายนั้นเปน วิธีอุดชองวางแหงกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 4 วรรค สอง ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชอยูในประเทศไทย และเปนประเทศที่ใช กฎหมายซีวิล ลอว สวนในกฎหมายระบบคอมมอน ลอวนั้น ศาลจะไมนําจารีตประเพณีแหงทองถิ่นมาใชในการอุดชองวาง แหงกฎหมาย เนื่องจากระบบนี้ไมนําหลักการเทียบเคียงกฎหมายหรือนําจารีตประเพณีแหงทอง ถิ่นมาใชในกรณีที่ไมมี กฎหมายบัญญัติไว แตจะตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด 5. วิวัฒนาการของกฎหมายยุคใดที่ศีลธรรมและจารีตประเพณีไมไดแยกกันเด็ดขาด หากแตกฎหมายศีลธรรม และจารีต

ประเพณีเปนเรื่องเดียวกัน (1) ยุดกฎหมายประเพณี (2) ยุคกฎหมายชาวบาน (3) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย (4) ยุคกฎหมายเทคนิค ตอบ 2 ยุค กฎหมายชาวบาน เปนยุคที่กฎหมายมีลักษณะเปนกฎเกณฑควบคุมความประพฤติที่ออกมาในรูปของขนบ ธรรมเนียมจารีตประเพณีที่มีอยูในความรูสึกนึกคิดของประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งมีวิวัฒนาการมาจากศีลธรรมหรือความรูสึก ผิดชอบชั่วดีของมนุษยวาถาไม ปฏิบัติตามแลวจะรูสึกวาเปนความผิด ดังนั้นในยุคนี้มนุษยจึงยังไมสามารถแยกไดวา ศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี และกฎหมายแตกตางกันอยางไร กลาวคือ กฎหมาย ศีลธรรม และจารีตประเพณี ยังคงเปนเรื่องเดียวกันนั่นเอง 6. ขอใดไมใ ชการมีสวนรวมของผูมีสิท ธิเลือกตั้งในเขตองคการบริหารสวนตําบล (1) การทําประชามติขับ ไลนายกองคการบริหารสวนตําบล (2) การเขาชื่อเสนอรางขอบัญญัติตําบล (3) การเขาชื่อถอดถอนนายกองคการบริหารสวนตําบล (4) การเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล

ตอบ 1 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 286 ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสิทธิเขาชื่อรอง ขอตอประธานสภาทองถิ่นเพื่อใหสภาทองถิ่นพิจารณาออกขอบัญญัติทองถิ่นได, มาตรา 285 ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งใน องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีสิทธิเขาชื่อรองขอใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่น คณะผูบริหาร ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ผูนั้นพนจากตําแหนง, มาตรา 165 การทําประชามติที่เกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคลจะ กระทํามิไดและมาตรา 72 บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง 7. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ (1) ใชกําหนดงบประมาณของแผนดินเทานั้น (2) เปนกฎหมายนิติบญ ั ญัติโดยแท


ห น า | 132 (3) มีผลบังคับใชเมื่อผานความเห็นของรัฐสภา (4) มีเนื้อหาใดก็ได

ตอบ 2 พระ ราชบัญญัติ เปนกฎหมายทีบ่ ญ ั ญัติขึ้นโดยผานนิติบญ ั ญัติ (รัฐสภา) ซึ่งถือวาเปนกฎหมายนิติบญ ั ญัติโดยแท โดยผูที่มีอํานาจตรา คือ พระมหากษัตริย และมีนายกรัฐมาตรีเปนผูล งนามสนองพระบรมราชโองการ ซึ่งเนื้อหาของ พระราชบัญญัตินั้นจะกําหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได แตตองไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญและมีผลใชบังคับ เมื่อ ประกาศใหประชาชนทราบแลวในราชกิจจานุเบกษา 8. ผูลงนามสนองพระบรมราชโองการในพระราชบัญญัติ ไดแก (1) นายกรัฐมนตรี (2) ประธานรัฐสภา (3) ประธานองคมนตรี (4) ประธานวุฒิสภา

ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 7 ประกอบ เรื่องใดตองตราเปนพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ (1) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ (2) ศาลรัฐธรรมนูญ (3) การเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย (4) การเสนอขอประชามติ ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 138 บัญญัติวา “ใหมพี ระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ดังตอไปนี้ ...(4) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ” และมาตรา 165 วรรคแรกและวรรคทายบัญญัติวา “ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ... หลักเกณฑและวิธีการออกเสียงประชามติใหเปนไปตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐ ธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ...” (สําหรับขอ (1) (2) และ (3) นั้น มีบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญโดยตรงแลว) 9.

10. กฎหมายใดแมพระมหากษัตริยจะทรงลงประปรมาภิไธยแลวแตรัฐสภาอาจไมอนุมัติใหใชมีผลบังคับตอไปได (1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) พระบรมราชโองการ

ตอบ 2 พระ ราชกําหนด คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยท รงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี จึงถือเปนกฎหมายที่ บัญญัติขึ้นโดยฝายบริหาร โดยผูเสนอรางคือรัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชกําหนดนั้น ซึ่งการตราพระราชกําหนดนั้น จะตองมีเงื่อนไขในการตรา กลาวคือ จะตองเปนกรณีที่มีความจําเปนรีบดวนในอันจะรักษาความปลอดภัยและความมั่นคง ของประเทศ ดังนั้นจึงตองนําขึ้นทูบเกลาฯ ใหพ ระมหากษัตริยท รงลงปรมาภิไธย และประกาศใชบังคับเปนกฎหมาย ชั่วคราวกอน จนกวาจะผานความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงจะทําใหพระราชกําหนดนั้นมีผลใชบังคับ เสมือนเปน พระราชบัญญัติตอไป แตถารัฐสภาไมอนุมัติใหพระราชกําหนดนั้นตกไปแตไมกระทบกระเทือนกิจการที่ ไดเปนไปใน ระหวางที่ใชพระราชกําหนดนัน้


ห น า | 133 11. ขอใดเปนกฎหมายตามแบบพิธี (1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 กฎหมายตามแบบพิธี คือ กฎหมายที่ออกมาโดยวิธีบัญญัติกฎหมาย ทั้งนี้โดยมิไดคํานึงถึงวากฎหมายนั้นจะเขาถึง ลักษณะเปนกฎหมายตามเนื้อ ความหรือไม ซึ่งก็ไดแก พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา และกฎหมาย กระทรวงตางๆที่มิไดบัญญัติขึ้นมาเพื่อควบคุมความประพฤติของ มนุษย และไมไดกําหนดโทษไว เชน พ.ร.บ. งบประมาณ รายจายประจําป เปนตน 12. ประเทศไทยรับหลักระบบกฎหมายคอมมอน ลอว จากประเทศอังกฤษอยางไร (1) เนื่องจากมีนักกฎหมายที่จบการศึกษาจากประเทศอังกฤษเปนจํานวนมาก (2) ศาลไทยนํามาปรับใชในการพิจารณาพิพากษาคดี (3) เปนกฎหมายตนแบบที่ใชในการรางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (4) ความจําเปนเพื่อใหประเทศไทยพนจากการตกเปนอาณานิคมของประเทศอังกฤษ

ตอบ 1 เนื่องมาจากในสมัยรัชการที่ 5 มีนักกฎหมายของไทยไปศึกษาตอและจบการศึกษาจากประเทศอังกฤษเปนจํานวน มาก ซึ่งหนึ่งในนัน้ ก็คือ พระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (พระบิดาแหงกฎหมายไทย) ซึ่งพระองคไดทรง นําเอาหลักกฎหมายคอมมอน ลอว จากประเทศอังกฤษมาใชสอนและนิพนธสําหรับตํารากฎหมายขึ้นมากมายรวมทั้งทรง วาง รากฐานการปฏิรูประบบกฎหมายไทยดวย 13. ขอใดถูกตองในการเรียงอัตราโทษตามประมวลกฎหมายอาญาจากสูงสุดไปเบาสุด (1) จําคุก ปรับ ริบทรัพ ยสิน (2) กักขัง ริบ ทรัพยสิน ปรับ (3) ริบ ทรัพยสิน กักขัง ปรับ

ปรับ ริบทรัพยสิน กักขัง ตอบ 1 สภาพบังคับของกฎหมายนั้น ถาเปนกฎหมายอาญา สภาพบังคับก็คือโทษนั่นเอง ซึ่งเรียงจากหนักทีส่ ุดไปเบาที่สุด ไดแก 1. ประหารชีวิต 2. จําคุก 3.กักขัง 4.ปรับ และ 5. ริบทรัพยสิน สวน สภาพบังคับในทางกฎหมายแพง ไดแก การ ชดใชคาสินไหมทดแทน หรือความเปนโมฆะกรรม หรือโมฆียกรรม ซึ่งเปนสภาพบังคับที่เปนผลราย สวนสภาพบังคับที่ เปนผลดี เชน การไดรับลดหยอนภาษี เปนตน 14. ขอใดเปนเหตุผลสําคัญเกี่ยวกับที่มาของหลักกฎหมายเรื่องอายุความ (1) เปนกฎหมายที่เกิดจากการประพฤติปฏิบัติเปนเวลานาน (2) เปนเหตุผลที่เกิดจากการประพฤติปฏิบัติขึ้นเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น (3) เปนกฎหมายที่ดีของบรรพบุรษ ุ (4) เปนกฎหมายที่เกิดขึ้นโดยใชเหตุผลทางกฎหมาย

ตอบ 4 เนื่องจากกฎหมายในยุคแรกคือกฎหมายชาวบานหรือกฎหมายประเพณีมีไมเพียงพอ ดังนั้นนักกฎหมายซึ่งเกิดขึ้น ในยุคที่ 2 (ยุค นักกฎหมาย) จึงไดสรางหลักกฎหมายขึ้นมาเพื่อเสริมกับกฎหมายประเพณี ซึ่งหลักกฎหมายของนักกฎหมาย


ห น า | 134 นี้จะเกิดจากการปรุงแตงเหตุผลในทางกฎหมายที่ เกิดจากความคิดในทางกฎหมายของตน เรียกวา ใชเหตุผลทางกฎหมาย (Juristic Reason) ดัง นั้นการจะทําความเขาใจจึงตองอาศัยการศึกษาคนควาและเรียนรูเทานั้น ซึ่งกฎหมายของนัก กฎหมายดังกลาวที่ยังมีใชอยูในปจจุบัน ไดแก เรื่องสิทธิเรียกรองขาดอายุความเรื่องการครอบครองปรปกษ เปนตน 15. เหตุผลสําคัญที่นักกฎหมายมีบทบาทการสรางหลักกฎหมายในยุควิวัฒนาการกฎหมายของนักกฎหมาย (1) ไมมีจารีตประเพณีมาปรับใชได (2) จารีตประเพณีท ี่ใชบ ังคับ ไมเหมาะสม (3) จารีตประเพณีท ี่ใชบ ังคับ อยูลาสมัย (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 เนื่องจากสังคมมนุษยมีขนาดใหญขึ้น เจริญขึ้นและมีการพัฒนาไปมากพอสมควร ขอพิพ าทจึงเกิดขึ้นมากตามไป ดวย ดังนั้นการที่จะนํากฎหมายประเพณีหรือกฎหมายชาวบานมาปรับใชจึงไมเหมาะสม ไมพอใชบังคับกับชีวิตในสังคมที่ เจริญแลวกฎหมายของนักกฎหมายจึงถูกพัฒนา ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการของ กไขปญหาที่เกิดในคดีซบั ซอน ทําใหเกิดกฎเกณฑขึ้นใหมเปนการเสริมกฎเกณฑเกา 16. องคกรที่ไมสามารถริเริ่มการเสนอรางพระราชบัญญัติได (1) ประธานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญฯ (2) คณะรัฐมนตรี (3) นายกรัฐมนตรี (4) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา 20 คน

ตอบ 3 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 142,163 รางพระราชบัญญัติจะเสนอไดก็แตโดย (1) คณะรัฐมนตรี (2) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวา 20 คน (3) ศาลหรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญเฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับ การจัดองคกรและกฎหมายที่ประธานศาลและประธานองคกรนั้นเปนผูรักษาการ (4) ผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวา 10,000 คนเขาชื่อรองขอตอประธานรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาพิจารณารางพระราชบัญญัติตามที่กําหนดไวในหมวด 3 สิท ธิ และเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐได... ถารางพระราชบัญญัติซึ่งมีผูเสนอตาม (2) (3) หรือ (4) เปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงินจะเสนอไดก็ตอเมื่อมีคํา รับรองของนายกรัฐมนตรี 17. ขอใดเปนสภาพบังคับ ในทางกฎหมายแพง (1) ปรับ (2) ริบ ทรัพยสินของกลาง (3) กักขังแทนคาปรับ (4) คาสินไหมทดแทน

ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 13.ประกอบ 18. กฎหมายลําดับ รองของฝายบริหารตองอาศัยอํานาจจากที่ใด (1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกฤษฎีกา (3) ประกาศกระทรวง


ห น า | 135 (4) กฎกระทรวง

ตอบ 1 กฎหมาย ลําดับรองของฝายบริหาร เชน พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวงนั้นสามารถตราขึ้น ไดก็โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายแมบทซึ่ง ไดแกพระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด 19. ถาหาหลักกฎหมายทั่วไปในตัวบทลายลักษณอักษรมาปรับแกคดีไมได ศาลจะหากฎหมายจากที่ไหนมาตัดสิน (1) ศาลจะปฏิเสธไมพิจารณาคดีได (2) ศาลจะยกประโยชนแหงความสงสัยใหจําเลย (3) ศาลนําหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติมาพิจารณาคดีได (4) ศาลจะสั่งจําหนายคดีออกจากสารบบความ

ตอบ 3 ใน กรณีที่หาหลักกฎหมายทั่วไปมาปรับแกคดีไมได ศาลจะปฏิเสธไมพิจารณาคดีไมได ในกรณีเชนนี้ ศาลตอง หาหลักกฎหมายทั่วไปจากหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติมาปรับแกคดี ซึ่งไดแก ความเปนธรรมหรือความรูสึกผิดชอบ ชั่วดีที่อยูในจิตใจของมนุษย และจากหลักเหตุผลของเรื่อง 20. การกระทําโดยอาศัยขอใดอาจยกเวนความรับผิดทางอาญาได (1) จารีตประเพณีท ี่ยอมรับใหท ําได (2) หลักปองกันตามกฎหมายอาญา (3) หลักเอกสิทธิส ์ มาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 แม วาการกระทําจะเขาลักษณะเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหรือตามพระราช บัญญัติอื่น แตถามี กฎหมายลายลักษณอักษรหรือกฎหมายจารีตประเพณีในกระทําการนั้นๆ ไดแลว การกระทํานั้นก็ไมเปนความผิดตอ กฎหมายอาญา เชน การชกมวยแมจะทําใหคูชกบาดเจ็บหรือตายก็ไมเปนความผิด (ป.อ. มาตรา 68) หรือหลักเอาเอกสิทธิ์ ของสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญฯมาตรา 130 เปนตน 21. ผูพพ ิ ากษาในศาลประเทศอังกฤษใชกฎหมายใดในการวินิจฉัยคดี (1) กฎหมายโรมัน (2) คําพิพ ากษาของศาลที่เปนบรรทัดฐาน (3) กฎหมายสิบสองโตะ (4) ประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน

ตอบ 2 กฎหมาย คอมมอน ลอว (กฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร) เปนกฎหมายที่ถือเอาคําพิพากษาของศาลเปนตัวบท กฎหมาย ดังนั้นบอเกิดของกฎหมายในระบบนี้จึงมาจากคําพิพากษาของศาล ซึ่งประเทศที่นิยมใชกฎหมายระบบนี้ไดแก ประเทศอังกฤษ และเครือจักรภพอังกฤษ (ดูคําอธิบายขอ 1. ประกอบ) 22. ลักษณะประมวลกฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศสเหมือนกับประมวลกฎหมายกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหง

กรุงโรมหรือไม เพราะเหตุใด (1) มีลักษณะเหมือนกัน เพราะใชชื่อประมวลกฎหมายเหมือนกัน (2) มีลักษณะเหมือนกัน เพราะเปนกฎหมายแพงเหมือนกัน (3) มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะไมมีการจัดแบงโครงสรางเนื้อหาเปนหมวดหมู (4) มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะระบบกฎหมายตางกัน


ห น า | 136 ตอบ 3 ประมวล กฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศสนั้นจัดทําขึ้นโดยแบงโครงสรางเนื้อหาเปนหมวด หมู เปนเรื่องๆอยาง เปนระบบ ซึ่งตางกับประมวลกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ซึ่งถือแมจะเปนตนกําเนิดของระบบกฎหมาย ซีวิล ลอว แตมีลักษณะเปนการรวบรวมเอากฎหมายตางๆมาบันทึกไวในประมวลกฎหมายเดียวกัน เทานั้นโดยมิไดแบง เนื้อหาออกเปนหมวดหมูหรือเปนเรื่องๆแตอยางใด 23. การที่นักศึกษาตองเสียคาปรับเนื่องจากขับรถฝาสัญญาณไฟแดง ดังนี้ (1) เปนความผิดอาญาที่เปนความผิดศีลธรรมดวย (2) เปนความผิดอาญาในทางเทคนิค (3) เปนความผิดอาญาที่ผิดทั้งศีลธรรมและผิดเพราะกฎหมายหาม (4) ไมเปนความผิดอาญาใดๆ

ตอบ 2 ความผิดทางเทคนิค (Technical Offence) คือ ความผิดอาญาที่ไมผิดศีลธรรมแตผิดเพราะกฎหมายหาม ซึ่ง กฎหมายดังกลาว คือกฎหมายเทคนิคที่เกิดขึ้นในยุคกฎหมายเทคนิค เชน กฎหมายจราจร กฎหมายปาไม กฎหมายเกี่ยวกับ บัตรประชาชน เปนตน (การขับรถฝาสัญญาณไฟแดงถือเปนการฝาฝนกฎหมายจราจร) 24. ถาพิเคราะหบทบัญญัติในมาตรา 369 ทีบ ่ ัญญัติวา “ในสัญญาตางตอบ แทนนั้น คูสัญญาฝายหนึ่งจะไมยอมชําระหนี้

จนกวาอีกฝายจะชําระหนีห้ รือขอปฏิบัติการ ชําระหนี้ก็ได...” ทานจะไดหลักกฎหมายเรื่องใดจากบทบัญญัติในมาตรา 369 (1) หลักปฏิเสธไมตองผูกพันตามสัญ ญา (2) หลักบุคคลตองปฏิบ ัติตามสัญญา (3) หลักคุมครองบุคคลที่สามผูกระทําโดยสุจริต (4) หลักความเปนเพื่อนบานที่ดี ตอบ 2 บทบัญญัติของมาตรา 369 เปน บทบัญญัติของกฎหมายทีบ่ ัญญัติขึ้นโดยอาศัยหลักวา “บุคคลตองปฏิบัติตาม สัญญา” ซึ่งเกิดจากหลักศีลธรรมที่วา “เมื่อพูดใหสญ ั ญาแลวตองรักษาคําพูด” (กรณีหลักปฏิเสธไมตองผูกพันตามสัญญา นั้นจะตองเกิดจากพฤติการณหรือ เหตุการณที่เปลี่ยนแปลงไป เชน การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย เปนตน) 25. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับ ศีลธรรม (1) เปนกฎเกณฑที่ควบคุมเฉพาะความประพฤติภายนอกของมนุษย

กฎเกณฑมีสภาพบังคับจริงจังในปจจุบัน (3) ศีลธรรมเปนเพียงแตคิดในทางที่ไมชอบก็ผิดแลว (4) เปนกฎเกณฑของชนชั้นใดชนชั้นหนึ่งเทานั้น ตอบ 3 ศีลธรรม คือ ความรูสึกภายในจิตใจของมนุษยวาการกระทําอยางไรเปนการกระทําที่ถูกหรือผิด ดังนั้นศีลธรรมจึง เปนกฎเกณฑที่ควบคุมความประพฤติภายในจิตใจมนุษย ซึ่งจะตางกับกฎหมายเพราะกฎหมายจะกําหนดความประพฤติ ภายนอกของมนุษยที่ แสดงออกมาใหเห็น แคศีลธรรมเปนเพียงแตคิดในทางที่ไมชอบก็ผิดศีลธรรมแลว 26. ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 การตราพระราชกําหนดเรื่องใดที่ตองกระทําโดยดวนและลับ (1) ปองปดภัยพิบัติสาธารณะ (2) ความปลอดภัยของประเทศ (3) ภาษีอากร (4) ถูกทุกขอ


ห น า | 137 ตอบ 3 พระราชกําหนด มี 2 ประเภท ไดแก 1.พระราชกําหนดทั่วไป เปน กรณีที่ตราพระราชกําหนดเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความ ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ หรือปองปดภัยพิบัตสิ าธารณะ และใหตราไดเฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นวา เปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปน รีบดวนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได (รัฐธรรมนูญฯ 2550 มาตรา 184) 2. พระราชกําหนดเกี่ยวดวยภาษีและเงินตรา เกี่ยว กับภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งตองพิจารณาโดยดวนและลับเพื่อรักษา ประโยชนของแผนดินในระหวางสมัย ประชุมสภาเทานั้น (รัฐธรรมนูญฯ 2550 มาตรา 186) 27. ขอใดเปนบอเกิดของกฎหมาย (1) การครอบครองปรปกษ (2) หลักความไมรูก ฎหมายไมเปนขอแกตัว (3) ยินยอมไมเปนละเมิด (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 หลัก กฎหมายทั่วไปเปนบอเกิดหรือมีที่มาอีกประการหนึง่ ของกฎหมายโดยหลักกฎหมาย ทั่วไปอาจเปนหลัก กฎหมายดั้งเดิม ซึ่งเขียนเปนสุภาษิตกฎหมายภาษาละตินหรือเปนหลักกฎหมายที่แฝงอยูในบท กฎหมายตางๆ เชน หลัก ความไมรูกฎหมายไมเปนขอแกตัว หลักความยินยอมไมเปนละเมิด เปนตน 28. ขอใดถูกตอง (1) ระบบซีวิล ลอว จะตีความกฎหมายตามตัวอักษรโดยเครงครัด (2) ระบบซีวิล ลอว ถือเปนคําพิพากษาเปนบอเกิดของกฎหมายลําดับ แรก (3) ระบบคอมมอน ลอว ศาลจะเปนผูสรางหลักกฎหมาย (4) ระบบคอมมอน ลอว คําพิพากษาเปนเพียงคําอธิบายการใชกฎหมาย

ตอบ 3 ตามหลักของระบบกฎหมายคอมมอน ลอว นั้น 1. ถา มีหลักกฎหมายซึ่งเปนหลักกฎเกณฑทั่วไปอยูแลว ศาลหรือผูพ  พิ ากษาเปนแตเพียงผูแสดงหลักเกณฑนนั้ ๆแลวนํามา ปรับแกคดีเทา นั้น และ 2. ถาไมมีหลักกฎหมายดังกลาว ก็ใหศาลหรือผูพ  พิ ากษาเปนผูสรางหลักกฎหมายขึ้นโดยคําพิพ ากษาและคําพิพากษา ของ ศาลดังกลาวถือเปนบรรทัดฐานของศาลตอๆมา ซึ่งเรียกวา “Judge Made Law” 29. หลักกฎหมายใดที่ขัดกับ ศีลธรรม (1) การพยายามฆาตัวตายไมเปนความรับผิดทางอาญา (2) การที่สามีลักทรัพยภริยา มีความผิดฐานลักทรัพย (3) การเบิกความเท็จเพื่อใหตนเองพนจากความรับ ผิด มีความผิดฐานเบิกความเท็จ (4) แมขโมยนมผงเพื่อใหลูกกินเนื่องจากตนไมมีเงิน มีความผิดฐานลักทรัพย

ตอบ 4 กฎหมาย กับศีลธรรมนั้นถึงแมจะมีอิทธิพ ลตอกันมาก เชน การที่มีศีลธรรมสูง ยอมเปนที่เชื่อไดวาไมเคยทําการฝา ฝนกฎหมาย แตบางครั้งกฎหมายกับศีลธรรมก็อาจขัดกันได เชน แมขโมยนมผงเพื่อใหลูกกินเนื่องจากตนไมมีเงิน ถือวาถูก ศีลธรรมแตผิดกฎหมายฐานลักทรัพย เปนตน


ห น า | 138 30. กรณีใดไมอาจเปนทายาทผูรบ ั พินัยกรรมได (1) คนสวนของเจามรดก (2) ภริยานอกกฎหมายของเจามรดก (3) ทวดของเจามรดก (4) ชมรมคนรักรา

ตอบ 4 ทายาท ที่มีสิทธิรบั มรดกในฐานะทายาทผูรบั พินัยกรรมนั้นกฎหมายมิไดกําหนดวาจะตอง เปนใคร แตมีเงื่อนไข ที่สําคัญคือ จะตองเปนบุคคลตามกฎหมาย(บุคคลธรรมดาและนิติบคุ คล) เทานั้น และตองไมใชบุคคลที่กฎหมายหามมิให เปนผูรบั พินัยกรรม ซึ่งไดแก ผูเขียนพินัยกรรม พยาน รวมทั้งคูสมรสของบุคคลดังกลาวดวย (ชมรมคนรักรามไมมีสภาพ เปนนิตบิ ุคคล) 31. กรณีใดที่ไมสามารถเปนทายาทโดยธรรมได (1) ผูรับบุตรบุญ ธรรม (2) คูสมรสที่ชอบดวยกฎหมาย (3) บุตรนอกกฎหมายทีบ ่ ิดารับรองแลว (4) พี่คนละแมแตพอเดียวกันกับเจามรดก

ตอบ 1 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมที่มีสทิ ธิรบั มรดกมี 2 ประเภท คือ ทายาทโดยธรรมที่เปนญาติและ ทายาทโดยธรรมที่เปนคูสมรส ซึ่งทายาทโดยธรรมที่เปนญาติมี 6 ลําดับ ไดแก 1. ผูสืบสันดาน (รวมถึงบุตรนอกกฎหมายที่ บิดารับรองแลวและบุตรบุญธรรมดวย) 2. บิดามารดา (ไมรวมถึงผูรับบุตรบุญธรรม ซึ่งกฎหมายไมถือเปนทายาทโดย ธรรมในลําดับที่ 2 ของบุตรบุญธรรมและไมมีสิทธิรับมรดกของเจามรดกซึ่งเปนบุตรบุญธรรมของตน) 3. พี่นองรวมบิดา มารดาเดียวกัน 4. พี่นองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน 5. ปู ยา ตา ยาย 6. ลุง ปา นา อา 32. นายดําอยูกินกับนางแดง มีบุตรคือ นายดิน และนายดอน ซึ่งนายดําไดใหบุตรทั้งสองใชนามสกุลตอมานายดอนตาย เชนนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก (1) นายดําและนางแดง (2) นางแดงและนายดอน (3) นายดอน (4) นางแดง ตอบ 4 เมื่อนายดอนตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นางแดงซึ่งเปนมารดาโดยชอบธรรมตามกฎหมาย และเปน ทายาทในลําดับที่ 2 สวนนายดินเปนทายาทในลําดับที่ 3 จึงไมมีสิทธิรับมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา 1630 ซึ่ง มีหลักวา ทายาทโดยธรรมในลําดับกอนจะตัดทายาทโดยธรรมในลําดับหลัง ดังนั้นนางแดงจึงมีสิทธิรับมรดกของนายดอนแตเพียงผู เดียว สําหรับนายดํานั้นเปนบิดาที่ไมชอบดวยกฎหมายของนายดอน จึงไมใชทายาทโดยธรรมและไมมีสิทธิรับมรดก (ดู คําอธิบายขอ 31.ประกอบ) 33. นายดําอยูกินกับนางแดง มีบุตรคือ นายดิน และนายดอน ซึ่งนายดําไดใหบุตรทั้งสองใชนามสกุล ตอมานางแดงตาย

เชนนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก (1) นายดํา (2) นายดินและนายดอน


ห น า | 139 (3) นายดอน (4) นางแดง

ตอบ 2 เมื่อนางแดงตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นายดินและนายดอน ซึ่งเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย และเปน ทายาทในลําดับที่ 1 นาย ดินและนายดอนจึงมีสิทธิรบั มรดก สําหรับนายดํานั้นเปนคูสมรสที่ไมชอบดวยกฎหมายของนาง แดง จึงไมใชทายาทโดยธรรมและไมมีสิทธิรับมรดก (ดูคําอธิบายขอ 31.ประกอบ) 34. นายดําอยูกินกับนางแดง มีบุตรคือ นายดิน และนายดอน ซึ่งนายดําไดใหบุตรทั้งสองใชนามสกุล ตอมานายดําตาย

เชนนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก (1) นางแดง (2) นายดินนและนายดอน และนางแดง (3) นายดินและนายดอน (4) แผนดิน ตอบ 3 เมื่อนายดําตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นายดินและนายดอน ซึ่งเปนบุตรนอกกฎหมายทีน่ ายดํารับรอง แลว (ใหใชนามสกุล) และถือเปนทายาทในลําดับที่ 1 นาย ดินและนายดอนจึงมีสิทธิรบั มรดก สําหรับนางแดงนั้นเปนคู สมรสที่ไมชอบดวยกฎหมายของนายดํา จึงไมใชทายาทโดยธรรมและไมมีสิทธิรับมรดก (ดูคําอธิบายขอ 31.ประกอบ) 35. ขอใดตอไปนี้มิใชทรัพย (1) จักรยาน (2) สิทธิบัตร (3) นาฬิกา (4) ตุกตาหมี

ตอบ 2 “ทรัพ ย” หมายถึง วัตถุมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน จักรยาน นาฬิกา ตุกตาหมี ฯลฯ สวน “ทรัพยสิน” หมายถึง ทรัพ ย และวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน พลังงานปรมาณู แกส กรรมสิท ธิ์ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ฯลฯ 36. สิ่งใดตอไปนี้เปนสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (1) ยานอวกาศ (2) เรือแจว (3) รถยนต (4) แพที่ใชอยูอาศัย

ตอบ 4 สังหาริม ทรัพยชนิดพิเศษ คือ ทรัพยอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพยซึ่งกฎหมายกําหนดใหเปนทรัพยในลักษณะ พิเศษ กวาสังหาริมทรัพยทั่วไป กลาวคือ เวลาจําหนายจายโอนจะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ดวย ซึ่งไดแก เรือที่มีระวางตั้งแต 5 ตนขึ้นไป แพที่ใชอยูอาศัย และสัตวพาหนะ คือ ชาง มา โค กระบือ ลา ลอ 37. เงินปนผลจากบริษท ั คือ (1) ดอกผลธรรมดา (2) ดอกผลนิตินัย (3) เปนทั้งดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย


ห น า | 140 (4) ไมใชดอกผล

ตอบ 2 “ดอก ผลนิตินัย” เปนดอกผลที่มิไดเกิดขึ้นตามธรรมชาติจากตัวของแมทรัพยแตเปนทรัพยหรือ ประโยชนอยาง อื่นที่ไดมาเปนครั้งคราวแกเจาของทรัพยจากผูอนื่ เพื่อการที่ไดใชทรัพยนั้น และสามารถคํานวณและถือเอาไดเปนรายวัน หรือตามระยะเวลาที่กาํ หนดไว เชน ดอกเบี้ย คาเชา เงินปนผลหรือประโยชนในการใหเขาไปทํากินในที่ดิน 38. ขอใดถูกตองที่สุด (1) ดอกผลธรรมดาบางประเภทสามารถทดแทนดอกผลนิตินัยได (2) ทรัพยบางประเภทสามารถเปนไดท ั้งอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพย (3) เจาของทรัพยสินยอมมีสิทธิไดดอกผลแหงทรัพยสินนัน ้ (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 บัญญัติวา “ภายในบังคับแหงกฎหมายเจาของทรัพยสนิ มีสิทธิใชสอยและจําหนาย ทรัพ ยสินของตนและไดซึ่งดอกผลแหงทรัพ ยสนิ นั้น...” 39. บานทรงไทยที่ซื้อขายกันโดยซื้อเปนสวนๆไปประกอบในที่ดน ิ อีกแหง คือ (1) อสังหาริมทรัพ ย (2) อุปกรณ (3) สวนควบ (4) สังหาริมทรัพย

ตอบ 4 ทรัพย ใดแมจะเปนอสังหาริมทรัพยแตก็อาจจะโอนกันในรูปสังหาริมทรัพยก็ได เชน บานทรงไทยที่ซื้อขายกัน เปนสวนๆ ไมถือวาเปนการซื้อขายทรัพ ยอันติดอยูกับที่ดินจึงไมเปนการซื้อ ขายอสังหาริมทรัพย แตเปนการซื้อขายทรัพ ย ในสภาพของสังหาริมทรัพยทั่วไป 40. การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์โดยทางนิติกรรม คือ (1) การครอบครองปรปกษ (2) สัญญาเชาซื้อ (3) การแยงสิทธิครอบครอง (4) คําพิพ ากษาของศาล

ตอบ 2 การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์มี 2 กรณี คือ 1. การไดมาโดยทางนิติกรรม เชน การซื้อขาย เชาซื้อ แลกเปลี่ยน ให เปนตน และ 2. การไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม เชน การไดมาโดยการครอบครองปรปกษ โดยพิพ ากษาของศาล โดยอาศัยหลัก สวนควบ หรือโดยทางมรดก เปนตน 41. ขอใดตอไปนี้มิใชทรัพยสิท ธิ (1) สิทธิครอบครอง (2) ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย (3) กรรมสิทธิ์ (4) สวนควบ


ห น า | 141 ตอบ 4 ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่มีวัตถุแหงสิทธิเปนทรัพ ยสิน หรือสิทธิที่มีอยูเหนือทรัพ ยสนิ โดยตรง เชน กรรมสิทธิ์ สิทธิ ครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพื้นดิน ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพ ย สิทธิจาํ นอง สิทธิจํานํา สิทธิยึดหนวง ลิขสิทธิ์ สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน (สวนควบถือเปนสวนประกอบของทรัพย) 42. บิดามารดาของเด็กชายดํา ประสบอุบัติเหตุถึงแกความตาย ยายของเด็กชายดําตอ งการจะรองขอใหศาลสั่งใหเปน

ผูปกครองของเด็กชายดํา จะตองขอตอศาล (1) ศาลปกครอง (2) ศาลรัฐธรรมนูญ (3) ศาลแพง (4) ศาลเยาวชนและครอบครัว ตอบ 4 ศาลเยาวชนและครอบครัว คือ ศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งในคดีที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน (บุคคล ที่มีอายุเกิน 7 ปแตยังไมถึง 18 ปบริบูรณ) โดยเฉพาะทั้งทางแพงและทางอาญา เชน - คดีครอบครัว ไดแก คดีแพงที่ฟองหรือรองขอตอศาล หรือการกระทําใดๆในทางศาลเกี่ยวกับผูเยาวหรือครอบครัวแลวแต กรณีซึ่งจะ ตองบังคับตาม ป.พ.พ. เชน การขอตั้งผูปกครองผูเยาวในกรณีทบี่ ิดามารดาของผูเยาวถึงแกกรรม เปนตน - คดีอาญา ที่มีขอหาวาเด็กหรือเยาวชนกระทําผิด 43. ผูเสียหายที่มีสท ิ ธิขอรับคาตอบแทนความเสียหาย จะตองเปนผูเ สียหายในประเภทความผิด (1) ลักทรัพย วิ่งราวทรัพย (2) ยักยอก ฉอโกง (3) ถูกขมขืนกระทําชําเรา (4) ปลอมแปลงเอกสาร

ตอบ 3 ตาม พ.ร.บ. คาตอบแทนผูเสียหายและคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 มาตรา 17 ได บัญญัติวา ความผิดที่กระทําตอผูเ สียหาย อันอาจขอรับคาตอบแทนไดตองเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ไดแก 1. ความผิดเกี่ยวกับเพศ 2. ความผิดตอชีวิต 3. ความผิดตอรางกาย 4. ความผิดฐานทําใหแทงลูก และ 5. ความผิดฐาน ทอดทิ้งเด็ก คนปวยเจ็บ และคนชรา 44. ผูกระทําความผิดคดีอาญาที่ถูกฟองตอศาลเยาวชนและครอบครัว จะตองมีอายุในวันที่กระทําความผิด (1) ไมเกิน 15 ป (2) ไมเกิน 17 ป (3) ไมถึง 18 ป (4) ไมถึง 20 ป

ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 42.ประกอบ 45. สามีทํารายภริยา ตามกฎหมาย (1) ไมมีความผิด (2) มีความผิดแตไมตอ งรับโทษ (3) มีความผิดแตศาลลงโทษนอย (4) ไมมีขอใดถูก


ห น า | 142 ตอบ 4 ความผิดฐานทํารายรางกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 เปน ความผิดที่ไมอาจยอมความได ไมวาผูใด กระทําตอผูใด สําหรับการกระทําระหวางสามีกบั ภริยา หรือระหวางผูบพุ การีกับผูสบื สันดาน ซึ่งเปนความผิดแตกฎหมาย ยกเวนโทษให หรือลดหยอนโทษใหหรือใหยอมความไดนั้น จะตองเปนการกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งเฉพาะที่ กฎหมายกําหนดไวเทานั้น เชน ความผิดฐานหลักทรัพ ย ยักยอกทรัพ ย หรือทําใหเสียทรัพ ย เปนตน 46. โจรลอบปนเขาบานนายเอก ภริยานายเอกรองใหคนชวย โจรจึงเงื้อมีดจะฟน นายเอกจึงใชปนยิงถูกโจรถึงแกความตาย

ดังนี้ (1) นายเอกกระทําดวยความจําเปน มีความผิดแตไมตองรับโทษ (2) นายเอกกระทําโดยบันดาลโทสะ ศาลลงโทษนอย (3) นายเอกกระทําการปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย ไมมีความผิด (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 การกระทําของนายเอก เปนการกระทําเพื่อปองกันสิทธิของผูอื่น คือ ภริยาใหพนภยันตรายซึ่งเกิดจากการ ประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมาย และเปนภยันตรายทีใ่ กลจะถึง เมือ่ ไดกระทําไปพอสมควรแกเหตุ ถือวาการกระทํานั้น เปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายผูกระทําไมมีความผิด (ป.อ. มาตรา 68) 47. นายโกยุสุนัขของตนใหกัดนางสาวแจวจนบาดเจ็บ ดังนี้นายโกตองรับผิดทางอาญาในฐาน (1) ประมาทเปนเหตุใหผูอื่นบาดเจ็บ (2) เจตนาทํารายรางกายผูอน ื่ (3) ไมมีความผิดเพราะเปนการกระทําของสุนัข (4) ทํารายรางกายโดยไมเจตนา

ตอบ 2 การกระทําของนายโก ถือวามีเจตนาทํารายรางกายนางสาวแจวโดยอาศัยสุนัขเปนเครื่องมือ นายโกจึงมีความผิด ฐานเจตนาทํารายรางกายผูอื่น 48. นายเอกขับ รถยนตโดยประมาทเปนเหตุใหทบ ั ลูกสุนัขของนางสาวจุมจิ๋มตาย ดังนี้นายเอกตองรับผิดทางอาญา (1) ประมาทเปนเหตุใหท รัพ ยผูอื่นเสียหาย (2) เจตนาทําใหท รัพ ยผูอื่นเสียหาย (3) ไมมีความผิดทางอาญา (4) ผิดทุกขอ

ตอบ 3 (คํา บรรยาย) การกระทําของนายเอกเปนความผิดในทางแพงฐานละเมิดเทานั้น ไมเปนความผิดทางอาญา เพราะ การกระทําใหบุคคลอื่นเสียหายแกเปนความผิดฐานทําใหเสีย ทรัพยนั้นตองเปนการกระทําโดยเจตนาเทานั้น ถาเปนการ กระทําโดยประมาทแลวกฎหมายอาญาไมไดบญ ั ญัติไวเปนความผิดแต อยางใด 49. นายโกเดินผานรั้วบานนายเกง สุนัขในบานของนายเกงสงเสียงเหา นายโกรําคาญใชป นยิงสุนัขของนายเกงตาย นายโก

ตองรับผิดทางอาญาในความผิด (1) ไมมีความผิดเพราะกฎหมายมิไดบญ ั ญัติในความผิดฐานฆาสุนขั ผูอื่น (2) ทําใหเสียทรัพย (3) ประมาททําใหทรัพ ยผูอื่นเสียหาย (4) ผิดทุกขอ


ห น า | 143 ตอบ 2 การกระทําของนายโกเปนการกระทําโดยเจตนาเพื่อใหบุคคลอื่นเสียหายซึ่ง ทรัพยสิน จึงมีความผิดฐานทําใหเสีย ทรัพ ย (ขอใหเปรียบเทียบกับขอเท็จจริงในขอ 48. ซึ่งจะตางกัน) 50. นายเอกเลี้ยงสุนัขตัวโตไมดูแลใหดี ปลอยใหหลุดออกจากประตูรั้วบานไปที่ถนนสาธารณะ สุนัขกัดแมวของ ด.ญ.

ตุกตาตาย ดังนี้นายเอกตองรับผิดทางอาญา (1) เจตนาทําใหผูอื่นเสียทรัพย (2) ประมาททําใหทรัพ ยผูอื่นเสียหาย (3) ไมมีความผิด (4) มีความผิดแตยอมความได ตอบ 3 การ ทีส่ ุนัขของนายเอกไปกัดแมวของ ด.ญ.ตุกตาตาย ถือวาเปนการกระทําโดยประมาทของนายเอกที่ไมดูแลสุนัข ใหดี แตนายเอกก็ไมมีความผิดทางอาญาฐานประมาททําใหผูอื่นเสียทรัพ ย เพราะการกระทําโดยประมาททําใหบุคคลอื่น เสียหายแกทรัพ ยสินนั้นกฎหมายอาญาไม ไดบัญญัติไววาเปนความผิด ดังนั้นนายเอกมีความผิดเฉพาะในทางแพงฐาน ละเมิดเทานั้น (ดูคําอธิบายขอ 48.ประกอบ) 51. ขอใดเปนการพยายามกระทําความผิดซึ่งไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแท (1) ดําใชป นไมมีลูกกระสุนยิงขาวใหตกใจกลัว (2) ดําใชป นยิงขาวไดรับบาดเจ็บ เล็กนอย (3) ดํายิงขาวแตลืมใสลูกกระสุน ขาวจึงไมไดรับอันตราย (4) ดํายิงขาว แตขาวพุงหลบ ขาวจึงไมไดรับอันตราย

ตอบ 3 การ พยายามกระทําความผิดซึ่งไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแท เปนการกระทําความผิดที่ไดกระทําไปตลอด แลว แตการกระทํานัน้ ไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนนอน ซึ่งอาจจะเปนเพราะเหตุปจจัยซึ่งใชในการกระทํา (เชน ใชปนที่ ไมมีลูกยิงโดยเจตนาฆา เปนตน) หรือเหตุแหงวัตถุที่มุงหมายกระทําตอก็ได (ขอใหสังเกตวา ขอ (1) ดําไมมีเจตนาฆาขาว ความผิดฐานพยายามจึงไมเกิดขึ้น) 52. นายยิ้มจางมือปนไปยิงนายเอกใหตาย มือปนรับเงินแลวไดเอายาพิษไปลอบใหนายเอกกินแลวตาย ดังนี้นายยิ้ม (1) ไมมีความผิดเพราะไมไดใชใหวางยาพิษ (2) มีความผิดเปนผูใชรับ โทษ 1 ใน 3 (3) เปนผูใชรับ โทษเสมือนตัวการ (4) เปนผูสนับสนุน

ตอบ 3 การ ที่นายยิ้มจางมือปนใหไปยิงนายเอก แคมือปนไดเอายาพิษไปลอบใหนายเอกกินแลวตาย ยอมถือวาความผิด นั้นไดกระทําลงตามที่ไดมีการใชแลว ดังนั้นนายยิ้มซึ่งเปนผูใชใหกระทําความผิดตองรับโทษเสมือนตัวการ 53. นายโหดชวนนายเลวไปฆานายดี นายเลวไมมีป นแตไดรวมกับ นายโหด เมื่อนายโหดยิงนายดีตายแลว นายเลวก็

หลบหนีไปพรอมกับนายโหด ดังนี้นายเลวตองรับผิดรวมกับนายโหดในฐานะเปน (1) ผูสนับสนุน (2) ผูใช (3) ตัวการ (4) ไมมีความผิดเพราะไมไดยิง


ห น า | 144 ตอบ 3 ความผิดฐานตัวการ คือความผิดที่ไดเกิดขึ้นโดยการกระทําของบุคคลตั้งแต 2 คน ขึ้นไป โดยการรวมมือรวมใจ กันกระทําความผิด และตางรูสึกถึงการกระทําของกันและกัน ซึ่งกฎหมายใหถือวาผูรวมกันกระทําผิดเปนตัวการ และตอง ระวางโทษตามที่กฎหมายไดกําหนดไวสําหรับความผิดนั้น 54. นายโกดื่มสุราเขาไปจนเมาแลวนึกสนุกใชป นยิงเขาไปในรถยนตที่แลนผานมา ลูกกระสุนปนถูกนายเฮงถึงแกความตาย

ดังนี้นายโกมีความผิด (1) ฆาคนตายโดยไมเจตนา (2) ฆาคนตายโดยเจตนา (3) ฆาคนตายโดยประมาท (4) มีความผิดแตไดรับลดโทษเพราะกระทําขณะเมาสุรา ตอบ 2 การ กระทําของนายโกเปนการกระทําโดยเจตนาโดยหลักยอมเล็งเห็นผล คือไมไดประสงคตอผลของการกระทํา แตโดยลักษณะของการกระทํายอมเล็งเห็นไดวาการกระทําของตนจะเกิดผลขึ้นอยาง ไร คือยอมเล็งเห็นผลไดวาตองมีคน ถูกลูกกระสุนปนตาย ดังนั้นนายโกจึงมีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา 55. นางสาวติ๊นาเลี้ยงสุนัขตัวโตไมดูแลใหดี สุนัขหลุดจากประตูรวั้ บานออกไปกัด ด.ญ.ตุยนุยถึงแกความตาย ดังนี้นางสาว

ติ๊นาตองรับผิดฐาน (1) ไมมีความผิดเพราะไมไดยุสุนัข (2) ฆา ด.ญ.ตุยนุยตายโดยเจตนา (3) ฆา ด.ญ.ตุยนุยโดยไมไดเจตนา (4) กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ตอบ 4 การ ที่นางสาวติ๊นาเลี้ยงสุนัขตัวโตแลวไมดูแลใหดีนั้น ถือวานางสาวติ๊นากระทําโดยประมาท กลาวคือเปนการ กระทําความผิดซึ่งผูกระทํานั้นมิไดเจตนา แตกระทําโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเชนนั้นจักตองมีตาม วิสัย และพฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดเชนวานั้นได แตหาไดใชใหเพียงพอไม ดังนั้นนางสาวติ๊นาจึงตองรับผิด ฐานกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแก ความตาย วิชาอยูยงคงกระพัน ยิงไมออก ฟนไมเขา แลวจิตใจฮึกเหิม ไดทาใหนายเดนทดลองฟนตนนายเดนรับคําทาใชมีดฟนนายบก คอขาดถึงแกความ ตาย ดังนีน้ ายเดน (1) ไมมีความผิดเพราะนายบกยอมใหฟน (2) มีความผิดฐานฆาคนตายโดยไมเจตนา (3) มีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล (4) ฆาคนตายโดยประมาท ตอบ 3 การกระทําของนายเดน ถือวาเปนการกระทําโดยรูสาํ นึกและแมจะไมไดประสงคตอผลของการกระทํา แตโดย ลักษณะของการกระทํา ยอมเล็งเห็นผลไดวาการกระทําของตนจะเกิดผลขึ้น คือ นายบกคอขาดถึงแกความตาย ดังนั้นการ กระทําของนายเดนจึงมีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล 57. โทษทางอาญาที่หนักทีส ่ ุด (1) กักกัน (2) กักขัง


ห น า | 145 (3) ปรับ 1 แสนบาท (4) ริบ ทรัพยสิน

ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 13.ประกอบ 58. หลักเกณฑตีความกฎหมายอาญา (1) ตีค วามตามตัวอักษรและเจตนารมณ (2) ตีค วามตามเจตนารมณ (3) ตีค วามตามตัวอักษรโดยเครงครัด (4) ขยายความลงโทษจําเลยได

ตอบ 3 กฎหมายอาญาเปนกฎหมายพิเศษ การตีความจึงมีหลักเกณฑที่แตกตางกับกฎหมายทั่วไป คือ 1. ตองตีความตาม ตัวอักษรโดยเครงครัด 2. จะตีความหมายในทางขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพิ่มโทษผูกระทําใหหนักขึ้นไมได และ 3. ในกรณีเปนที่สงสัย ศาลตองตีความใหเปนผลดีแกผูตองหาวาไมไดกระทําความผิด 59. ความผิดตอสวนตัว หรือความผิดอันยอมความได (1) พนักงานอัยการฟองคดีไมไดตองใหผูเสียหายฟองเอง (2) ผูเสียหายฟองคดีเองไมได ตองใหพ นักงานอัยการฟองให (3) พนักงานสอบสวนจะสอบสวนไดตอเมื่อผูเสียหายรองทุกข (4) ราษฎรฟองคดีสวนตัว ศาลไมตองไตสวนมูลฟอง

ตอบ 3 ความ ผิดตอสวนตัว หรือความผิดอันยอมความได หมายถึง ความผิดที่ไมกระทบความสงบของรัฐ และมีกฎหมาย บัญญัติไวโดยชัดแจงวาเปนความผิดตอสวนตัว เชน ความผิดฐานหมิ่นประมาท เปนตน ซึ่งในกรณีที่เปนความผิดตอ สวนตัวนั้น พนักงานสอบสวนจะสอบสวนไดก็ตอเมื่อผูเสียหายไดรองทุกขตามระเบียบแลว 60. นายดอย อายุ 18 ป หมั้นกับ น.ส.กิ๊ก อายุ 16 ป โดยบิดาและมารดาของ น.ส.กิ๊ก ใหความยินยอม เชนนี้การหมั้นของ

น.ส.กิ๊กกับนายดอยจะมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขื้นอยูกับ ดุลยพินิจของศาล ตอบ 3 กฎหมายไดกําหนดหลักเกณฑในเรื่องอายุของชายและหญิงที่ตะทําการหมั้นไววา จะหมั้นกันไดชายและหญิง จะตองมีอายุ 17 ปบริบูรณแลว หากฝาฝน การหมั้นนั้นจะตกเปนโมฆะ (ป.พ.พ. มาตรา 1435) แมผูแทนโดยชอบธรรมจะ ใหความยินยอมก็ตาม 61. นายชาญ อายุ 30 ป ตองการหมั้นกับ น.ส.ดาว อายุ 25 ป แตกลับหมั้นกับ น.ส.เดือน คูแฝดของ น.ส.ดาว โดยสําคัญผิด

เชนนี้การหมั้นนั้นจะมีผลทางกฎหมายอยางไร สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล


ห น า | 146 ตอบ 2 เงื่อนไขที่จะทําใหการสมรสตกเปนโมฆียะ (การสมรสมิอาจสมบูรณ) มี 5 ประการ คือ 1. ชายและหญิงมีอายุไม ครบ 17 ปบริบูรณ 2. ผูเยาวทําการสมรสโดยมิไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หรือผูป กครอง 3. การสมรสโดยสําคัญ ผิดตัวคูส มรส 4. สมรสโดยถูกกลฉอฉล 5. การสมรสเพราะถูกขมขู (ในเรื่องการหมั้นนั้นมิไดบญ ั ญัติในเรื่องการสําคัญ ผิดตัวคูหมั้นไว จึงตองนําบทบัญญัติในสวนของการสมรสมาบังคับใช) 62. น.ส.สวยหมั้นกับนายโดม โดยนายโดมมอบแหวนเพชรใหในเวลาทําสัญญาหมั้น ตอมา น.ส.สวยกลับ ไมยอมสมรส

เชนนี้นายโดมจะทําอยางไรไดบาง (1) ฟองบังคับ ให น.ส.สวยสมรสกับตน (2) ฟองเรียกเบี้ยปรับ (3) ฟองเรียกของหมั้นคืน (4) ถูกทั้ง 2 และ 3 ตอบ 3 ถา คูหมั้นฝายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝายหนึ่งจะฟองบังคับเพื่อใหมีการสมรสหรือเรียกเบี้ยปรับไมได มีสิทธิก็แต เฉพาะเรียกคาทดแทนเนื่องจากมีการผิดสัญญาหมั้นเทานัน้ และหากหญิงเปนฝายผิดสัญญาหมั้นก็จะตองคืนของหมั้นใหแก ฝายชายดวย 63. นายขิมตกลงจะไปหมั้นกับ น.ส.แคน แตกอนถึงวันหมั้น น.ส.แคนไดขอใหนายขิมสงมอบทองคําแทงทั้งหมดที่เตรียม

ไวเปนของหมั้นแกตน กอน ตอมาอีกวันในเวลาทําสัญญาหมั้น จึงไมมีของหมั้นสงมอบ เชนนี้ หากตอมา น.ส.แคนไมทาํ การสมรสกับนายขิม นายขิมจะทําอยางไร (1) เรียกทองคําแทงคืนทั้งหมด (2) เรียกทองคําแทงคืนไดครึ่งหนึ่ง (3) เรียกทองคําแทงคืน พรอมเบี้ยปรับ คําแทงคืนไมไดเลย ตอบ 1 การ หมั้นยอมสมบูรณเมื่อฝายชายไดสงมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหมั้นให แกหญิงเพื่อเปนหลักฐานวา จะสมรสกับหญิงนั้น กลาวคือ สัญญาหมั้นยอมสมบูรณในวันที่มีการสงมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหมั้น แลว แมจะ คนละวันกับวันหมั้นก็ตาม และหากฝายหญิงผิดสัญญาหมั้นก็ตองคืนของหมั้นใหแกฝายชาย 64. นายชัน อายุ 40 ป ผูรับบุตรบุญธรรมจดทะเบียนสมรสกับ น.ส.ยิ้ม อายุ 25 ป บุตรบุญธรรมของตนเชนนี้การสมรสนั้น

มีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 ผู รับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไมได ในกรณีที่มีการฝาฝน ใหถือวาการรับบุตรบุญธรรมเปนอัน ยกเลิกไป แตการสมรสยังมีผลสมบูรณ


ห น า | 147 65. นายดําลุงเขยของ น.ส.น้ํา เมื่อปาของ น.ส.น้ําตาย นายดําจึงมาจดทะเบียนสมรสกับ น.ส.น้ํา เชนนี้การสมรสนั้นมีผล

ทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 เงื่อนไขที่จะทําใหการสมรสตกเปนโมฆะ มี 4 ประการ คือ 1. สมรสกับบุคคลวิกลจริต หรือคนไรความสามารถตามคําสั่งศาล 2. สมรสกับ ญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปลงมา หรือกับพีน ่ องรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน 3. สมรสโดยปราศจากความยินยอมของชายหญิงคูสมรส และ 4. สมรสในขณะที่ตนมีคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมายอยูแลวหรือที่เรียกวา สมรสซอน (ลุง เขยไมถือวาเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงหรือลงมาแตอยางใด และกรณีไมเปนสมรสซอนเพราะการสมรสครั้งแรก ยอมสิ้นสุดลงแลวเนื่องจากความ ตายของคูสมรส) 66. น.ส.อิ่ม อายุ 18 ป ซึ่งไดจดทะเบียนไปเปนบุตรบุญ ธรรมของนายไก ไดสมรสกับนายแผน อายุ 25 ป โดยนายไกมิได

ใหความยินยอม แตบิดามารดาของ น.ส.อิ่มยินยอม เชนนี้การสมรสนั้นมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 2 กรณี ที่ผูเยาวเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลใด เมื่อจะทําการสมรสก็ตองไดรับความยินยอมจากผูรับบุตรบุญธรรม นั้น มิฉะนั้นการสมรสจะเปนโมฆียะ เพราะนับตั้งแตผูเยาวไปเปนบุตรบุญธรรม อํานาจปกครองของบิดามารดายอมหมด ไป ผูรับบุตรบุญธรรมจะตองเปนผูใชอํานาจปกครองแทน (ดูคําอธิบายขอ 61.ประกอบ) 67. กรณีใดไมเปนเหตุใหการสมรสสิ้นสุดลง (1) คูสมรสฝายหนึ่งสาบสูญ (2) คูสมรสฝายหนึ่งปวยตาย (3) คูสมรสจดทะเบียนหยา (4) ศาลพิพากษาเพิกถอนการสมรสเพราะถูกขมขู

ตอบ 1 เหตุทจี่ ะทําใหการสมรสสิ้นสุดลง มีได 3 กรณี คือ 1. คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งตาย 2. โดยการหยา และ 3. ศาลพิพากษาเพิกถอนการสมรส (การที่คูสมรสฝายหนึ่งสาบสูญเปนเพียงเหตุฟองหยาเทานั้น) 68. ขอตอไปนี้ไมเปนสินสมรส (1) เงินเดือนของคูสมรส (2) เงินถูกรางวัลสลากกาชาดของคูสมรสฝายหนึ่ง (3) ดอกเบี้ยเงินฝากในธนาคารที่คูสมรสมีกอนสมรส


ห น า | 148 (4) ถูกทั้งขอ 1 และ 2

ตอบ 3 สินสมรส ไดแก 1. ทรัพยสินที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส เชน เงินเดือนหรือรางวัลที่ไดจากการถูกลอตเตอรี่ 2. ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรมหรือการใหเปน หนังสือเมื่อมีพ ินัยกรรมหรือหนังสือยกให ระบุวาใหเปนสินสมรส 3. ดอกผลของสินสวนตัว ซึ่งเกิดมีขึ้นเมื่อ มีการสมรส เชน ลูกหมูซึ่งแมหมูตกลูกเมื่อสมรสแลว (ดอกเบี้ยเงินฝากแมจะเปน ดอกผลของสินสวนตัว แตไดมากอนสมรสจึงไมเปนสินสมรสแตเปนสินสวนตัว) 69. กรณีใดตอไปนี้ไมเปนมรดกตกทอดแกท ายาท (1) หนี้เงินกูท ี่เจามรดกทําขึ้น (2) สัญญาหมั้นที่เจามรดกทําไว (3) เจามรดกเปนเจาของลิขสิท ธิ์งานเขียน (4) เจามรดกถูกรางวัลสลากกาชาดแตตายกอนขึ้นรางวัล

ตอบ 2 “มรดก” หมายถึง ทรัพ ยสินทุกชนิดของผูตายตลอดทั้งสิทธิ หนาที่ และความรับชอบตางๆดวย เวนแต ตาม กฎหมายหรือวาโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของผูตายโดยแท (สิทธิตามสัญญาหมั้น เปนสิทธิเฉพาะตัวของผูตาย) 70. การยุบสภาผูแทนราษฎรตองทําเปน (1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) คําสั่งนายกรัฐมนตรี ตอบ 3 ฃ ตามรัฐธรรมนูญ การตราพระราชกฤษฎีกาของพระมหากษัตริยโดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรีนั้นจะเกิดขึ้น ใน 3 กรณี คือ 1. รัฐธรรมนูญกําหนดใหตราขึ้นในกิจการที่สาํ คัญอันเกี่ยวกับฝายบริหารและนิติบญ ั ญัติ เชน พระราช กฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา, พระราชกฤษฎีกายุบสภาผูแทนราษฎร หรือพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ฯลฯ 2. โดยอาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 196 (เรื่องเงินประจําตําแหนง บําเหน็จ บํานาญและประโยชนตอบแทน) 3. โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายแมบท (พระราชบัญญัตหิ รือพระราชกําหนด) ที่ให อํานาจตราพระราชกฤษฎีกาได 71. ราชอาณาจักร หมายถึง ทะเลอันหางจากฝงทีเ่ ปนดินแดนของประเทศไทย ไมเกิน (1) 10 ไมลทะเล (2) 12 ไมลทะเล (3) 20 ไมลทะเล (4) 50 ไมลทะเล

ตอบ ไทย

ราชอาณาจักรไทย หมายถึง 1.พื้นดินและพื้นน้ําซึ่งอยูในอาณาเขตประเทศไทย 2. ทะเลอันเปนอาว 3. ทะเลอันหางจากฝงที่เปนดินแดนของประเทศไทยไมเกิน 12 ไมลท ะเล 4. อากาศเหนือ 1.,2. และ 3.

2


ห น า | 149 72. ขอใดที่อยูในอํานาจศาลไทยที่จะพิจารณาพิพ ากษาได (1) นายขะแมรชาวเขมรปลอมแปลงเงินไทยที่ประเทศลาว (2) นายโซกับพวกชาวโซมาเลียปลนเรือสินคาในทะเลหลวง (3) นายขะแมรชาวเขมรฆาคนไทยตายทีป ่ ระเทศกัมพูชา (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 7 ไดบัญญัติใหอาํ นาจแกศาลไทยที่จะพิจารณาพิพากษาคดีที่แมจะไดกระทํานอก ราชอาณาจักร และผูกระทําความผิดจะมีสัญชาติใดก็ตาม ไดแก 1. ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแหงราชอาณาจักร 2. ความผิดเกี่ยวกับการปลอม และการแปลงเหรียญกษาปณ ธนบัตรหรือสิ่งอื่นใด 3. ความผิดฐานชิงทรัพย และปลนทรัพ ย ซึ่งไดกระทําในทะเลหลวง และตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 8 ไดบัญญัติใหศาลไทยมีอํานาจพิจารณาพิพ ากษาคดี เกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้น นอกราชอาณาจักรได ถาผูกระทําความผิดเปนคนไทย หรือผูกระทําความผิดเปนคนตางดาว แต รัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหาย และผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ 73. นายหนุมไมทราบวาตนเกิดเมื่อใดทราบแตเพียงปเกิดคือป พ.ศ. 2530 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายหนุมเกิดเมื่อใด (1) 1 มกราคม 2530 (2) 1 มิถุนายน 2530 (3) ณ วันที่นายหนุมแจงตอนายอําเภอทองที่ (4) วันไหนก็ไดแลวแตนายหนุมจะเลือก

ตอบ 1 ในกรณีที่ไมรูวาบุคคลเกิดวันใด เดือนใด แตรูปเกิด ใหวาถือวาบุคคลนั้นไดเกิดวันตนป ซึ่งเปนปทบี่ ุคคลนั้นเกิด ในกรณีที่เกิดกอนวันที่ 18 ตุลาคม 2483 ใหถือเอา วันที 1 เมษายน เปนวันตนป หากเกิดภายหลังจากนั้นใหถือเอาวันที่ 1 มกราคม เปนวันตนป ดังนั้นการที่นายหนุมไมรูวาเกิดเมื่อใดทราบแตเกิดป พ.ศ. 2530 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายหนุมเกิด เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2530 74. ขอใดถือสิ้นเปนสภาพบุคคล (1) การสาบสูญ (2) จิตฟนเฟอน

พิพ ากษาถึงทีส่ ุดใหจาํ คุก (4) พิการ ตอบ 1 สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดายอมสิ้นสุดลงเมื่อตาย ซึ่งการตายนั้นมีได 2 กรณี คือ โดยผลของกฎหมาย คือ เมื่อบุคคลนั้นไดถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ

1. ตายธรรมดา และ 2. ตาย

75. ขอใดไมถูกตองเกี่ย วกับทารกในครรภมารดา (1) มีสภาพบุคคลแลว (2) มีสิท ธิรับ มรดกถาคลอดแลวอยูรอดเปนทารก (3) ไมมีสภาพบุคคล (4) ผิดทุกขอ

ตอบ 1 สภาพ บุคคลยอมเริ่มแตคลอดแลวอยูรอดเปนทารก (โดยจะตัดสายสะดือหรือไมไมสําคัญ) ซึ่งการอยูรอดเปน ทารกนั้น อาจจะดูที่การเตนของหัวใจ การเคลื่อนไหวของรางกาย หรือดูที่การหายใจ ซึ่งการหายใจนั้นไมจํากัดวาจะมี


ห น า | 150 ระยะเวลาเทาใด ดังนั้นทารกที่ยังอยูในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล แตทารกในครรภมารดาอาจมีสทิ ธิตางๆได เชน สิทธิในการรับมรดก ถาหากวาภายหลังไดคลอดแลวอยูรอดเปนทารก 76. สภาพบุคคลเริ่มตนเมื่อใด (1) นางแดงแทงบุตรขณะตั้งครรภ (2) นางเหลืองตั้งครรภบุตรเปนเวลา 5 เดือนแลว (3) นางเขียวคลอดบุตรแลวโดยที่หมอยังมิไดตัดสายสะดือทารก (4) นางดําไปตรวจครรภแลวทราบวาบุตรเปนเพศชายกอนที่จะถึงกําหนดคลอด 1 เดือน

ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 75.ประกอบ 77. ขอใดถูกตองที่สุด (1) ทารกในครรภมารดาถือเปนทายาทแลว (2) สภาพบุคคลเริ่มแตเมื่อคลอด (3) เมื่อทารกคลอดแลวปรากฏวามีการเคลื่อนไหวรางกาย เชนนี้ ทารกมีสภาพบุคคล (4) เมื่อทารกคลอดแลวตองมีการหายใจอยางนอย 1 ชั่วโมง จึงจะถือวามีสภาพบุคคล

ตอบ 3 ทารก ในครรภมารดายังไมมีสภาพบุคคล จึงไมอาจเปนทายาทได เพราะตามกฎหมายการเปนทายาทนั้น (ไมวาจะ เปนทายาทโดยธรรมหรือทายาทในฐานะผูรบั พินัยกรรม) จะตองมีสภาพบุคคลอยูในเวลาที่เจามรดกถึงแกความตายดวย (ดู คําอธิบายขอ 75.ประกอบ) 78. ขอใดไมถูกตอง (1) บุคคลใดถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญแลวกฎหมายนั้นถือวาบุคคลนั้นถึงแกความตาย (2) เมื่อบุคคลใดถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดถึงทายาท (3) เมื่อบุคคลใดถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ ทําใหการสมรสขาดจากกัน (4) การเปนคนสาบสูญ ศาลอาจมีการเพิกถอนคําสั่งสาบสูญได

ตอบ 3 ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหบุคคลใดเปนคนสาบสูญแลวจะมีผลตามกฎหมายคือ 1. คูสมรสอีกฝายหนึ่งฟองหยาได (แตไมทําใหการสมรสสิ้นสุดลง) 2. ถือเปนการสิ้นสุดอํานาจปกครองบุตร 3. มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกท ายาท 4. ถือเสมือนวาบุคคลนั้นสิ้นสภาพบุคคลหรือถึงแกความตาย อยางไรก็ตามหากคนสาบสูญยังมีชีวิตอยูห รือตายในเวลาอื่น ผิดไปจากเวลาที่ กฎหมายสันนิษฐานไว ศาลก็อาจเพิกถอนคําสั่งใหเปนคนสาบสูญได 79. ขอใดเปนชื่อที่ไมไดรับการคุมครองตามกฎหมาย (1) ชือ่ ฉายา (2) นามปากกา (3) ชื่อเลน (4) ชื่อสกุล

ตอบ 3 นอก จากกฎหมายจะใหการคุมครองชื่อสกุล (ชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล) แลว ยังใหการคุมครองไปถึงชื่ออื่นๆ เชน ชื่อฉายา นามแฝง ชื่อนิติบุคคล ชื่อการคา ชื่อยอสําหรับโทรเลข รวมทั้งนามปากกาดวย


ห น า | 151 80. บุคคลธรรมดาที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนา ไดแก (1) ผูเยาว (2) คนตาบอด (3) บุคคลเสมือนไรความสามารถ (4) บุคคลวิกลจริต

ตอบ 1 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาให ไดแก 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ 3. สามีและภริยา 5. ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล

4. ขาราชการ

81.นิติกรรมขอใดเปนโมฆะ (1) สมหญิง อายุ 9 ป ตกลงทําสัญ ญาประกันชีวิตกับ นายสมชายตัวแทนประกันภัย (2) น.ส.แดง อายุ 20 ป ทําสัญญายอมรับเปนภริยานอยของนายดํา (3) วาสนา อาย 10 ป ตกลงทําสัญญาใหรถยนตของตนกับดวงดี อายุ 13 ป

หนึ่งตกลงซื้อขายรถยนตของตนกับนางสองโดยไมไดทําสัญญา ตอบ 2 นิติกรรม ใดก็ตามที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายเปนการพนวิสัย หรือเปนการขัดตอความ สงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นิติกรรมนั้นจะตกเปนโมฆะ (ป.พ.พ. มาตรา 150) เชน นิติกรรมที่มี ผลกระทบตอความสงบของสังคม หรือความมั่นคงของสถาบันครอบครัว เปนตน ( ขอ(2) เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคขัด ตอศีลธรรมอันดีของประชาชน) 82. บุคคลวิกลจริตทํานิติกรรมโดยที่คูกรณีอีกฝายหนึ่งไมรูวาวิกลจริต นิติกรรมจะมีผล (1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ (4) ไมสมบูรณ

ตอบ 3 บุคคล วิกลจริตซึ่งศาลยังมิไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ ทํานิติกรรมใดๆมีผลสมบูรณ เวนแตจะเปนโมฆียะก็ ตอเมื่อไดทําในขณะวิกลจริต และคูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูแลววาผูทําเปนคนวิกลจริต 83. บุคคลตามขอใดยังไมบ รรลุนิติภาวะ (1) อายุ 17 ปบ ริบ ูรณและสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย (2) อายุ 18 ปบ ริบ ูรณ (3) อายุ 16 ป ทําการสมรสโดยศาลอนุญาต (4) ไมบรรลุนิติภาวะทุกขอ

ตอบ 2 บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ (ป.พ.พ. มาตรา 19) แตอยางไรก็ ตามผูเยาวอาจจะบรรลุนิติภาวะกอนนั้นได หากทําการสมรสและการสมรสนั้นไดทาํ ตามบทบัญญัติมาตรา 1448 คือ สมรส เมื่อชายและหญิงมีอายุครบ 17 ปบริบูรณแลว หรืออายุนอยกวา 17 ป แตศาลอนุญาตใหทาํ การสมรสได


ห น า | 152 คนไรความสามารถทํานิติกรรมขอใดได หากผูอนุบาลยินยอม (1) นิติกรรมที่เปนการเฉพาะตัว (2) นิติกรรมที่เกี่ยวกับสังหาริมทรัพ ย (3) นิติกรรมที่ไดไปซึ่งสิทธิ (4) ทํานิติกรรมใดๆก็ไมไดทั้งสิ้น ตอบ 4 คน ไรความสามารถทํานิติกรรมใดๆนิติกรรมนั้นจะตกเปนโมฆียะทั้งสิ้นไมวาจะได ทํานิติกรรมในขณะจริตวิกล หรือไมก็ตาม หรือไดทํานิติกรรมโดยผูอนุบาลจะไดยินยอมหรือไมก็ตาม นิติกรรมที่เกี่ยวกับคนไรความสามารถตองใหผู อนุบาลทําแทน เวนแตพ ินัยกรรมซึ่งผูอนุบาลไมอาจทําแทนได เพราะการทําพินัยกรรมเปนสิทธิเฉพาะตัว ดังนั้นพินัยกรรม ที่คนไรความสามารถไดทําขึ้น หรือใหผูอนุบาลทําแทนยอมตกเปนโมฆะ 84.

85. คนไรความสามารถตองอยูในความดูแลของใครตามกฎหมาย (1) ผูพิท ักษ (2) ผูอนุบาล (3) ผูปกครอง (4) ผูแทนโดยชอบธรรม

ตอบ 2 บุคคล ที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ กฎหมายกําหนดใหอยูในความดูแลของ “ผูอนุบาล” ซึ่งเปนบุคคลที่ ศาลตั้งขึ้น มาเพื่อใหดูแลจัดการทรัพยสินของคนไรความ สามารถนัน้ เนื่องจากบุคคลไรความสามารถไมอาจทํานิติกรรม ใดๆได จะตองใหผูอนุบาลทําแทน 86. คนเสมือนไรความสามารถตองอยูในความดูแลของใครตามกฎหมาย (1) ผูพิท ักษ (2) ผูอนุบาล (3) ผูปกครอง (4) ผูแทนโดยชอบธรรม

ตอบ 1 เมื่อ ศาลไดสั่งใหบุคคลใดเปนคนเสมือนไรความสามารถ กฎหมายกําหนดใหบุคคลนั้นจะตองอยูในความดูแล ของ “ผูพทิ ักษ” ซึ่งการทํานิติกรรมบางประเภทของคนเสมือนไรความสามารถตาม ป.พ.พ. มาตรา 34 จะตองไดรับความ ยินยอมจากผูพิทักษกอน มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ 87. ผูเยาวตองอยูในความดูแลของใครตามกฎหมาย (1) ผูพิท ักษ (2) ผูอนุบาล (3) ผูแทนโดยชอบธรรม (4) ผิดทุกขอ

ตอบ 3 เนื่อง จากผูเยาวเปนบุคคลผูออนอายุ ออนประสบการณ และขาดการควบคุมสภาพจิตใจ ไมอาจจัดการกิจการได อยางรอบคอบ กฎหมายจึงใหความคุมครองโดยกําหนดใหผูเยาวจะตองอยูในความดูแลของ “ผูแทนโดยชอบธรรม” กลาวคือ หากผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆจะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ เวนแตนิติกรรมบางประเภทที่ผูเยาวสามารถทําไดเองโดยลําพัง


ห น า | 153 88. ผูใดมิใช “ผูหยอนความสามารถ” ตามกฎหมาย (1) ชายมีภริยา (2) นายแดงอายุ 18 ป (3) คนเสมือนไรความสามารถ (4) คนไรความสามารถ

ตอบ 1 ผูหยอนความสามารถ คือ บุคคลบางประเภทที่กฎหมายไดจํากัดหรือตัดทอนความสามารถในการใชสทิ ธิ 89. นายมด อายุ 18 ป ไมสามารถทํานิติกรรมใดไดเองบาง (1) ทํานิติกรรมที่เปนการเฉพาะตัว (2) ทํานิติกรรมทีห ่ ลุดพนจากหนาที่โดยปราศจากเงื่อนไข (3) ทํานิติกรรมที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพ ย (4) ทํานิติกรรมที่สมควรตอฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงเลี้ยงชีพ

ตอบ 3 นิติกรรมที่ผูเยาวสามารถทําไดเอง ไดแก 1. นิติกรรมที่ทําใหผเู ยาวไดซึ่งสิทธิ หรือหลุดพนจากหนาที่ เชน การทํา นิติกรรมรับการให โดยปราศจากเงื่อนไขหรือคําภาระติดพัน 2. นิติกรรมที่ผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว เชน การจดทะเบียน รับรองบุตร 3. นิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนในการดํารงชีวิตตามสมควร เชน ซื้ออาหารรับประทาน ซื้อสมุด ดินสอ เครื่องเรียน และปจจัยสี่ 4. ผูเยาวอาจทําพินัยกรรมไดเมื่ออายุครบ 15 ปบริบูรณ พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม ครบ 15 ปบริบูรณขึ้นนั้น เปนโมฆะ 90. ขอใดที่คนเสมือนไรความสามารถ ทํานิติกรรมไดดวยตนเอง (1) จํานอง (2) กูยืมเงิน (3) ใหกูยืมเงิน (4) เชาบานอยูอาศัยเปนระยะเวลา 1 ป

ตอบ 4 คน เสมือนไรความสามารถ โดยหลักแลวสามารถทํานิติกรรมใดๆไดสมบูรณโดยลําพังตนเอง เวนแตนิติกรรมที่ สําคัญบางอยางตองไดรับความยินจากผูพทิ ักษกอนมิ ฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ เชน การนําทรัพยสินไปลงทุน การกูห รือให กูยืมเงิน การค้ําประกัน จํานอง หรือการเชาหรือใหเชาสังหาริมทรัพยมีกําหนดเวลาเกิน 6 เดือน หรืออสังหาริมทรัพยมี กําหนดเวลาเกิน 3 ป (บานเปนอสังหาริมทรัพย) 91. ผูปกครองของผูเยาวมีไดในกรณี

มีบิดามารดา (2) บิดามารดาถูกถอนอํานาจการปกครอง (3) บิดามารดาหยาขาดจากกัน (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2 ตอบ 4 ผูปกครองของผูเยาวซึ่งจะเปนผูแทนโดยชอบธรรม จะมีไดใน 2 กรณีคือ มารดาตายหรือไมปรากฏบิดามารดา) 2. บิดามารดาถูกถอนอํานาจปกครอง

1. ผูเยาวไมมีบ ิดามารดา (กรณีบ ิดา


ห น า | 154 92. ผูที่ไมมีสิท ธิเขาทําสัญญากอนิติสัมพันธ (1) มูลนิธิเด็กดี (2) บริษัทรักษาความปลอดภัย (3) นายแดง อายุ 21 ป (4) ชมรมคายอาสาพัฒนา

ตอบ 4 ผู ที่มีสทิ ธิเขาทํานิติกรรมหรือสัญญาเพื่อกอใหเกิดนิติสัมพันธขึ้นนั้นจะ ตองเปนบุคคลตามกฎหมาย ซึ่งอาจจะ เปนบุคคลธรรมดา (ที่กฎหมายมิไดจํากัดความสามารถไว) หรืออาจเปนนิติบุคคล เชน บริษทั จํากัด มูลนิธิ สมาคม เปนตน (ชมรมคายอาสาพัฒนาไมใชนิติบุคคลจึงไมมีสิทธิเขาทําสัญญากอนิติสัมพันธ) 93. ขอใดไมใ ชนิติกรรม (1) การซื้อน้ําดื่มที่รานขายของ (2) การขอยืมเงินเพื่อน (3) การนําเงินดอลลารไปแลกเปนเงินบาท (4) การเลนพนันฟุตบอล

ตอบ 4 นิติกรรม หมายถึง การใดๆอันทําลงโดยชอบดวยกฎหมายและดวยใจสมัครมุงโดยตรงตอการผูกนิติ สัมพันธขึ้น ระหวางบุคคลเพื่อกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ เชน การซื้อของ การกูยืมเงิน การน้ําเงินตราตางประเทศ ไปแลกเปนเงินไทย เปนตน (การเลนการพนันเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายยอมไมถือเปนนิติกรรม) 94. นิติกรรมที่เปนโมฆียะ คือ (1) นิติกรรมที่มีผลเปนอันสูญเปลาเมื่อถูกบอกลาง (2) นิติกรรมที่มีผลเปนอันสูญเปลาเมื่อถูกใหสัตยาบัน (3) นิติกรรมที่มีผลสมบูรณตามกฎหมาย (4) นิติกรรมที่ทําไมถูกตองตามแบบพิธท ี ี่กฎหมายกําหนด

ตอบ 1 นิติกรรม ที่เปนโมฆียะ เปนนิติกรรมที่เมื่อทําขึ้นมาแลวจะมีผลใชบังคับกันไดตามกฎหมาย จนกวาจะมีการบอก ลางใหตกเปนโมฆะซึ่งจะทําใหนิติกรรมนั้นเปนอันสูญเปลา หรืออาจมีการใหสัตยาบันเพื่อใหนิติกรรมนั้นมีผลใชบังคับได อยางสมบูรณ (สวนนิติกรรมที่เปนโมฆะ เปนนิติกรรมซึ่งเมื่อไดทําขึ้นมาแลวจะมีผลเสียเปลาใชบังคับกันไมได เสมือน หนึ่งมิไดทํานิติกรรมนั้นขึ้นมาเลย และจะใหสัตยาบันก็ไมได) 95. สาเหตุที่ทาํ ใหนิติกรรมเปนโมฆะ ไดแก (1) ไมเปนไปตามแบบที่กฎหมายกําหนด (2) เกิดจากการขมขู (3) เกิดจากการสําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคล (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 1 เหตุทที่ ําใหนิติกรรมตกเปนโมฆะ ไดแก 1. นิติกรรม ที่มีวัตถุป ระสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนการพนวิสัย หรือเปนการขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 2. นิติกรรมที่ทําขึ้นไมถูกตองตามแบบที่กฎหมายบังคับ ไว


ห น า | 155 3. นิติกรรมที่บกพรองเกี่ยวกับ การแสดงเจตนา เชน นิติกรรมที่เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาลวงหรือเกิดจากการแสดงเจตนา

โดยสําคัญผิด ในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรม เปน 96. ขอใดเปนนิติกรรมที่มีสมบูรณ (1) นายเอจางนายบีใหไปทํารายรางกายนายซี (2) นายเอกซื้อแหวนเพชรปลอมโดยถูกหลอกวาเปนเพชรจริง (3) นายหนึ่งขับรถชนรถของนายสองจึงตองชดใชคาเสียหายแกนายสอง (4) นายตรีเกรงใจนายโทเพราะเปนญาติผูใหญจึงจําใจขายรถยนตของตนใหแกนายโท

ตอบ 4 การ ที่นายตรีไดขายรถยนตใหแกนายโทเพราะเกรงใจที่นายโทเปนญาติผูใหญนั้น ถือวาเปนการทํานิติกรรม เพราะความนับถือยําเกรง ซึ่งตามกฎหมายไมถือวาเปนการขมขูที่จะทําใหนิติกรรมเปนโมฆียะ ดังนั้นนิติกรรมซื้อขาย ระหวางนายตรีและนายโทจึงมีผลสมบูรณ 97. ขอใดทําใหสิทธิระงับ (1) ขาดตัวผูทรงสิทธิ (2) การชําระหนี้ตามกําหนด (3) การสูญสิ้นวัตถุแหงสิทธิ (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 สิทธิอาจจะระงับไดดวยเหตุตอไปนี้ คือ 1. การขาดตัวผูทรงสิทธิ 2. การระงับแหงหนี้ เชน การชําระหนี้ การปลดหนี้ เปนตน 3. การสิ้นวัตถุแหงสิทธิ 4. การระงับแหงสิท ธิโดยบทบัญญัติแหงกฎหมาย 98. ขอใดไมใชนิติเหตุ (1) การเกิด (2) การตาย (3) การให (4) การละเมิด ตอบ 3 นิติเหตุ หรือเหตุที่กอใหเกิดผลทางกฎหมาย โดยอาจจะเปนเหตุที่เกิดจากพฤติการณตามธรรมชาติ เชน การเกิด การตาย หรืออาจจะเปนเหตุทเี่ กิดจากการกระทําของบุคคลโดยปราศจากเจตนามุงผลในทาง กฎหมาย ไดแก การจัดการงาน นอกคําสั่ง ลาภมิควรไดและละเมิด หรืออาจจะเปนเหตุที่ไดมาตาม ป.พ.พ. ลักษณะทรัพยและทรัพยสิน เชน การได กรรมสิทธิ์โดยหลักสวนควบ เปนตน (การใหเปนนิติกรรม) 99. การกระทําที่เปนโมฆียะจะมีผล คือ (1) ใหสัตยาบันได (2) การกลาวอางไมกําหนดระยะเวลา (3) บอกลางไมได (4) ผูมีสวนไดเสียทุกคนกลาวอางได

ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 94.ประกอบ


ห น า | 156 100. นิติกรรมที่เปนโมฆะ หมายถึงนิติกรรมที่ (1) ตกเปนอันเสียเปลาใชบ ังคับ ไมไดเสมือนหนึ่งมิไดมีอะไรเกิดขึ้นเลย (2) ตกเปนอันเสียเปลาใชบ ังคับ ไมได แตอาจไดรับสัตยาบันใหกลับ สมบูรณได (3) มีผลในกฎหมายผูกพันกัน แตอาจถูกกลาวอางได

ฎหมายผูกพันกัน แตอาจถูกบอกลางได ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 94.ประกอบ 101. การแสดงเจตนาทํานิติกรรม ทําไดโดย (1) เปนลายลักษณอักษร (2) โดยวาจา (3) โดยกิริยาอาการ (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 ใน การแสดงเจตนาทํานิติกรรมนั้น อาจเปนการแสดงเจตนาโดยชัดแจง คือ กระทําดวยวาจา หรือเปนลายลักษณ อักษร หรือดวยกิริยาอาการอยางใดอยางหนึ่ง หรือเปนการแสดงเจตนาโดยปริยาย หรือในบางกรณีอาจเปนการแสดงเจตนา โดยการนิ่งก็ได 102. สิทธิ หมายถึง (1) การที่บ ุคคลทุกคนตองปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด (2) หนาที่ทท ี่ ุกคนตองปฏิบัติตาม (3) ประโยชนที่กฎหมายรับรองคุมครองให (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 สิทธิ คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองให แบงออกเปน 1. สิทธิในตัวบุคคล เชน สิทธิในรางกาย อนามัย ชื่อเสียง ความคิดเห็น 2. สิทธิในทรัพ ยสิน เชน ทรัพยสิทธิ สิทธิเรียกรองใหชําระหนี้ 3. สิทธิในครอบครัว เชน สิทธิในการรับ มรดก 4. สิทธิในทางการเมือง เชน สิทธิเลือกตั้ง 103. ขอใดมีลักษณะเปน กฎเกณฑ (Norm) ของรัฐที่ใชควบคุมความประพฤติของมนุษย (1) การรณรงคใหผูขับรถเมื่อเกิดอาการงวงไมควรขับ รถ (2) การขอความรวมมือใหสถานบันเทิงงดจําหนายสุราทุกวันพระ (3) การวางแผนรายไดเพื่อใหคํานวณอัตราการเสียภาษีนอย (4) การปรับสถานบันเทิงที่ฝาฝนไมยอมปดตามเวลาที่กําหนด

ตอบ 4 กรณีที่จะถือวาเปนกฎเกณฑ (Norm) นั้นจะตองเปนขอบังคับที่เปนมาตรฐานที่ใชวัดและใชกําหนดความ ประพฤติของ สมาชิกของสังคมไดวาถูกหรือผิด ใหกระทําการไดหรือหามกระทําการ ซึ่งหากผูใดฝาฝนไมยอมปฏิบัติตาม กฎเกณฑที่กําหนดไวถือเปนสิ่งที่ผิดและ จะถูกลงโทษ เชน ผูมีเงินไดตองเสียภาษีใหรัฐบาล หรือหามเปดสถานบันเทิงเกิน เวลาที่กําหนด เปนตน


ห น า | 157 104. ขอใดมิใชคุณสมบัติผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) ไมสังกัดพรรคการเมือง (3) จบการศึกษาระดับปริญ ญาตรี (4) ถูกเฉพาะขอ 2 และ 3

ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 101 ไดกําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรไว เชน 1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 2. มีอายุไมต่ํากวา 25 ปบ ริบ ูรณในวันเลือกตั้ง 3. เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแตเพียงพรรคเดียว... แตไมไดกําหนดไววาผูนั้นจะตองจบการศึกษา ระดับปริญญาตรีแตอยางใด 105. ขอใดมิใชคุณสมบัติผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา (1) มีสัญชาติไทย (2) สังกัดพรรคการเมือง (3) จบการศึกษาระดับปริญ ญาตรีขึ้นไป (4) อายุไมต่ํากวา 40 ปบ ริบูรณ ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 115 กําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภาไว ดังนี้ 1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 2. มีอายุไมต่ํากวา 40 ปบริบูรณ 3. สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญ ญาตรีหรือเทียบเทา 4. ไมเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมือง 5. ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบ  ริหารทองถิ่น 6. ไมเปนบุพ การี คูสมรส หรือบุตรของผูดํารงตําแหนงสมาชิกผูแทนราษฎร... 106. รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550

แกไขปรับปรุงใหมใหสภาผูแทนราษฎรมีจํานวนสมาชิกแบบแบงเขตเลือกตั้งจํานวน

(1) 350 คน (2) 375 คน (3) 400 คน (4) 450 คน

ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 93 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 กําหนดใหมีสมาชิกผูแทนราษฎรแบบ แบงเขต 375 คน และแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน รวมทั้งสิ้น 500 คน ขอใดเปนหลักการสําคัญในการพิจารณาคดีปกครอง (1) ตองฟงความทุกฝาย (2) ใชระบบไตสวน (3) ศาลตอ งใหเหตุผลประกอบคําพิพ ากษาหรือคําสั่ง (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 ในการพิจารณาคดีปกครองนั้นมีหลักการสําคัญไดแก


ห น า | 158 1. การพิจารณาคดีตองเปดเผย

พิพ ากษาหรือคําสั่ง ความจริงแหงคดี

2. ตองฟงความทุกฝาย

3. ศาลตองใหเหตุผลประกอบคํา

4. ไมเนนระบบกลาวหา แตเนนระบบไตสวน ซึ่งเปนระบบที่ใหผพ ู พิ ากษามีบทบาทในการแสวงหา

108. ขอใดมิใชสาระสําคัญ ของกฎหมายอาญา (1) ไมมีกฎหมาย ไมมีค วามผิด ไมมีโทษ (2) กฎหมายอาญายอนหลังลงโทษไมได (3) ตีค วามกฎหมายขยายความลงโทษได (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 สาระสําคัญทางกฎหมายอาญา ไดแก 1. ตองมีกฎหมายบัญญัติวาการกระทําใดเปนความผิด และกําหนดโทษ สําหรับความผิดนั้นๆไวดวย 2. ตองเปนกฎหมายซึ่งมีผลบังคับใชอยูในขณะซึ่งเกิดการกระทํานั้น 3. ตองไมมีผลยอนหลังไปลงโทษหรือเพิ่มโทษบุคคลใหหนักขึ้นเปนอันขาด แตอาจยอนหลังเปนคุณแกผูกระทําผิดได 4. ตองตีค วามตามตัวอักษรโดยเครงครัด และจะตีความในทางขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพิ่มโทษผูกระทําใหหนัก ขึ้นไมได 109. ขอใดเปนลักษณะของกฎหมายเอกชน (1) วิธีการตองอาศัยความสมัครใจ (2) วัตถุป ระสงคเพื่อประโยชนสวนตน (3) เนื้อหาใชกับเอกชนเฉพาะราย (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 กฎหมายเอกชน เปนกฎหมายที่ใชกับนิติสัมพันธที่ตองอาศัยความสมัครใจของผูกอนิติสัมพันธทั้ง 2 ฝาย เนื่องจากยึดถือหลักความเสมอภาคและเทาเทียมกัน โดยเอกชนสามารถตกลงผูกพันกันเปนอยางอื่นนอกเหนือกฎหมาย เอกชนบัญญัติไวได แตตองไมขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ทําใหกฎหมายเอกชนมีลักษณะ เปนกฎเกณฑเฉพาะเรื่องทีส่ รางขึ้นเพื่อใชกับ บุคคลเฉพาะราย และมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนสวนตน 110. ผูเสียหาย หมายถึง (1) ผูที่ถูกฟองคดีอาญาตอศาลวากระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่ง (2) ผูที่ศาลพิพากษาใหชดใชคาเสียหาย (3) ผูที่กระทําความผิด (4) ไมมีขอใดถูก

ตอบ 4 ประมวลกฎหมายวิธีพ ิจารณาความอาญามาตรา 2(4) “ผู เสียหาย” หมายความถึง บุคคลที่ไดรบั ความเสียหาย เนื่องจากการกระทําผิดฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอื่นที่มีอํานาจจัดการแทนไดดังบัญญัติไวในมาตรา 4,5 และ 6 111. ขอใดมิใชสาขายอยในกฎหมายมหาชน (1) รัฐธรรมนูญ (2) กฎหมายมรดก (3) กฎหมายครอบครัว (4) ถูกเฉพาะขอ 2 และ 3


ห น า | 159 ตอบ.4 กฎหมาย มหาชน คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวางรัฐหรือหนวยงานของรัฐกับราษฎร หรือระหวาง หนวยงานของรัฐดวยกันเอง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา ฯลฯ สวนกฎหมายเอกชน เปน กฎหมายที่กําหนดสิทธิหนาที่ระหวางเอกชนในฐานะเทาเทียมกัน เชน กฎหมายแพง กฎหมายพาณิชย กฎหมายแรงงาน เปนตน (กฎหมายมรดกและกฎหมายครอบครัวเปนกฎหมายแพง) 112. ขอใดคือลักษณะสําคัญของการกระจายอํานาจทางปกครอง (1) มีการแยกหนวยงานเปนองคกรนิติบุคคล (2) มีอิสระที่จะดําเนินการตามอํานาจหนาที่ (3) มีการเลือกตั้งผูบริหารของตนเอง (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 ลักษณะสําคัญของการกระจายอํานาจทางปกครอง คือ 1. มีการแยกหนวยงานออกไปเปนองคกรนิติบุคคลอิสระจากองคกรของราชการบริหารสวนกลาง 2. องคกรของราชการ บริหารสวนทองถิ่นจะประกอบดวยผูบริหารหรือเจาหนาทีซ่ ึ่งไดรับเลือกตั้งจากราษฎรในทองถิ่น 3. องคกร ตาม หลักการกระจายอํานาจทางปกครองมีอํานาจดวยตนเอง คือ มีความอิสระทีจ่ ะดําเนินกิจการตามอํานาจหนาที่ไดเองโดยไม ตองรับคําสั่งหรือ อยูใตบังคับจากราชการสวนกลาง มีงบประมาณและเจาหนาที่เปนของตนเอง 113. ผูสบ ื สันดานที่มีสทิ ธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก (1) บุตรนอกกฎหมายทีบ ่ ิดาใหใชนามสกุล (2) บุตรบุญธรรมไดจดทะเบียน (3) บุตรที่เกิดจากบิดาและมารดาที่ไดจดทะเบียนสมรส (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 4 ผู สืบสันดานที่มีสทิ ธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก บุตร หลาน เหลน ลื้อ ของเจามรดก ซึ่งทายาทชั้น บุตรที่จะมีสิทธิรบั มรดกนั้นหมายถึงบุคคล 3 ประเภท คือ 1. บุตรที่ชอบดวยกฎหมาย คือ บุตรที่เกิดจากบิดามารดาที่จด ทะเบียนสมรสกัน นอกกฎหมายทีบ่ ิดารับรองโดยพฤติการณ เชน ใหใชนามสกุล แจงเกิดในสูติบัตรวาเปนบิดา เปนตน 3. บุตรบุญธรรมที่ได จดทะเบียนตามกฎหมายแลว 114. คนเสมือนไรความสามารถทําพินัยกรรมโดยไมไดรับ ความยินยอมจากผูพท ิ ักษ เชนนี้ พินัยกรรมจะมีผลทางกฎหมาย

อยางไร (1) สมบูรณ (2) ตกเปนโมฆียะ (3) ตกเปนโมฆะ (4) จะสมบูรณหากไดรับ อนุญาตจากศาลดวย ตอบ 1 คน เสมือนไรความสามารถทําพินัยกรรมไดสมบูรณโดยลําพังตนเอง เพราะพินัยกรรมที่คนเสมือนไร ความสามารถไดทําขึ้นนั้น ไมมีกฎหมายบัญญัตหิ าม หรือวางเงื่อนไขไวแตอยางใด


ห น า | 160 115. คดีอุท ลุม คือ คดีลักษณะใด (1) คดีที่หามมิใหหลานฟองลุงเปนคดีอาญา (2) คดีที่หามมิใหคูสมรสฟองกันเปนคดีอาญา (3) คดีที่หามมิใหหลานฟองรองยายเปนคดีแพง (4) คดีที่หามมิใหหลานฟองรองอาเปนคดีแพง

ตอบ 3 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1562 ผู ใดจะฟองบุพการีของตนเปนคดีแพงหรือคดีอาญามิได หาก ฟองจะถือวาเปนคดีอุทลุม ซึ่งบุพ การีของตนก็คือ บิดา มารดา ปู ยา ตา ยาย ทวด นั่นเอง (อา ลุง และคูสมรสไมใชบุพการี) 116. เหตุใดประเทศไทยจึงจําตองพัฒนาระบบกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ 5 (1) มีการกบฏบวรเดช (2) มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง (3) ชาวตางชาติขอสงวนสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (4) ถูกทุกขอ

ตอบ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศ ตะวันตกไมพอใจกฎหมายไทย และเริ่มใชอิทธิพลกอตั้งสิทธิสภาพนอกอาณาเขต โดยตั้งศาลของตนเองขึ้นในประเทศไทย ทําใหประเทศไทยตองพยายามหาทางแก ซึ่งมีอยูทางเดียว คือ ตองปรับปรุงระบบ กฎหมายและการศาลไทยใหอยูในระดับที่ตางประเทศยอมรับ ในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงไดจัดใหมีการปรับปรุงกฎหมายหรือ ปฏิรูปกฎหมายและการศาลไทยขึ้นจนประสบความสําเร็จ 117. นายดําและนางแดงรวมกันดําเนินกิจการรานเสริมสวยตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรส โดยนายดําลงทุน 100,000 บาท

และนางแดงลงทุน 200,000 บาท ตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรสและเมื่อจดทะเบียนสมรสก็ยังคงรวมกันลงทุนตลอดมา เชนนี้กิจการรานเสริมสวยถือวาเปนทรัพ ยลักษณะใด (1) สินสวนตัว (2) สินสมรส (3) สินบริคณห (4) สินน้ําใจ ตอบ 1 สินสวนตัว ไดแก 1. ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งมีอยูกอนสมรส กลาวคือ ทรัพ ยสน ิ ทุกชนิดที่ชายหญิงมีอยูหรือไดมากอนวันจดทะเบียนสมรส 2. ทรัพยสินที่เปนเครื่องมือใชสอยสวนตัว เครื่องแตงกาย หรือเครือ่ งประดับ กายตามควรแกฐานะหรือเครื่องมือเครื่องใช จําเปนในการ ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่ง 3. ทรัพยสิน ที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยการรับมรดก หรือโดยการใหโดยเสนหา(กิจการรานเสริมสวยดําเนิน มาตั้งแตกอนจดทะเบียน สมรสจึงเปนสินสวนตัวของทั้งนายดําและนางแดงตามสัดสวนของเงินลงทุน) 118. กรณีใดตอไปนี้ท ี่คูสมรสไมตองจัดการรวมกัน

ขายอสังหาริมทรัพ ย (2) ใหกูยืมเงิน (3) การทําพินัยกรรม (4) ขายฝาก


ห น า | 161 ตอบ 3 นิติกรรม บางประเภทที่เกี่ยวกับสินสมรสนั้นกฎหมายกําหนดใหคูสมรสจะตองจัดการรวมกัน ไดหรือไดรับ ความยินยอมจากอีกฝายหนึ่งกอน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1476 เชน การขายฝากหรือขายฝากอสังหาริมทรัพย การใหกูยืมเงิน เปนตน สวนนิติกรรมอื่นนอกเหนือจากที่ ป.พ.พ. มาตรา 1476 กําหนดไว คูสมรสก็ไมจําเปนตองจัดการรวมกันหรือตอง ไดรับความยินยอมจากอีกฝาย หนึ่งกอนแตอยางใด เชน การทําพินยั กรรม การโอนสิทธิการเชา เปนตน 119. นายเหลืองจดทะเบียนสมรสกับนางศรี โดยมีวัตถุป ระสงคเพือ่ ใหนางศรีมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดโดยไมไดอยูกิน

กัน เชนนี้การสมรสนั้นจะมีผลทางกฎหมายอยางใด (1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ (4) ขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 การ จดทะเบียนสมรสกันหลอกๆ โดยไมมีเจตนาที่จะอยูก ินกันฉันสามีภริยา เชน จะทะเบียนเพื่อใหคูสมรสมี สิทธิไดรับบําเหน็จตกทอด หรือจดทะเบียนเพือ่ ใหสัญชาติยอมถือวาเปนการสมรสโดยปราศจากความยินยอมของ คูสมรส การสมรสนั้นยอมมีผลเปนโมฆะ (ดูคําอธิบายขอ 65.ประกอบ) 120. นางแดงจดทะเบียนสมรสกับ นายหนึ่ง ตอมาไดจดทะเบียนสมรสกับนายสอง ตอมานางแดงตั้งครรภและคลอดบุตร

คือ ด.ญ.พลอย เชนนี้ ด.ญ.พลอยเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของบุคคลใด (1) นางแดงและนายหนึ่ง (2) นางแดง (3) นางแดงและนายสอง นายสอง และนายหนึ่ง ตอบ 3 บุตรยอมเปนบุตรที่ชอบธรรมของมารดาเสมอ และในกรณีที่ชายหรือหญิงสมรสฝาฝน ป.พ.พ. มาตรา 1452 (สมรส ซอน) เด็กที่เกิดมากฎหมายใหสันนิษฐานไวกอนวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของชาย ผูเปนสามีซึ่งไดจด ทะเบียนครั้งหลัง (ป.พ.พ. มาตรา 1538)


ห น า | 162

แบบฝกหัด วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทัว่ ไป

(ที่ออกสอบบอย) 1. กําเนิดที่มาของกฎหมาย มาจากอะไร ยึดหลักอะไร ตอบ มาจาก 6 ประการ 1) หัวหนาเผา 2)ขนบธรรมเนียมประเพณี 3)ความเชือ่ ทางศาสนา 4)ความยุติธรรม 5)ความเห็นของนักปราชญและนักวิชาการดานกฎหมาย 6)คําพิพากษาของศาล 2. คําจํากัดความกฎหมาย ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 3. ความสัมพันธระหวางอํานาจกับกฎเกณฑของกฎหมาย ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 4. โทษทางอาญา มีสภาพบังคับอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………… 5. การแบงประเภทของกฎหมายเปน ตามเนื้อความและแบบพิธี แตกตางกันอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 6. การเกิดการตาย แจงเมือ่ ใด ตอบ แจงเกิดภายใน 15 วัน แจงตาย ภายใน 24 ชั่วโมง 7. การขึน้ ทะเบียนทหารกองเกิน เมือ่ ใด ตอบ อายุครบ 17 ปบริบูรณ 8. กฎหมายอะไรเปนกฎหมายสูงสุด ตอบ รัฐธรรมนูญ 9. ลําดับความสําคัญของกฎหมาย


ห น า | 163

ตอบ 1) รัฐธรรมนูญ 2) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 3) พระราชบัญญัติ 4) พระราชกําหนด 5) ประมวลกฎหมาย 6) พระราชกฤษฎีกา 7) กฎกระทรวง 8) กฏหมายองคกรทองถิ่น 10. กฎหมายเกาแกที่สดุ ในโลกคือกฎหมายอะไร ตอบ ประมวลกฎหมายฮัมบูราบี ปกครองชาวบาบิโลน 11. ระบบศาลคูเปนแบบไหน มีศาลอะไรบาง ตอบ ศาลคูเปนศาลระบบประมวลกฎหมายหรือระบบกฎหมายลายลักษณอักษร มีศาล 1) ศาลสถิตยุตธิ รรม 2) ศาลปกครอง 12. รูปแบบของกฎหมาย (12.1) แบบ Common Law ประเทศใดใชระบบนี้ (12.2) แบบ Civil Law ประเทศ ใดใชระบบนี้ ประเทศไทยใชระบบกฎหมายแบบใด ตอบ (12.1) แบบ Common Law ประเทศอังกฤษและเครือจักรภพอังกฤษ เชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด สิงคโปร มาเลเซีย ศรีลังกา (12.2) แบบ Civil Law ภาพพื้นยุโรป เชน ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี และในเอเชีย เชน ไทย ญี่ปนุ ประเทศไทย ใชกฎหมาแบบ Civil Law 13. หลักเกณฑของการพิจารณาคดีในระบบศาลซานเซอรี่ หลักฏหมายเอควิตี้ ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 14. ที่มาระบบกฎหมายไทย Civil Law ยึดจากประเทศใดเปนหลัก โดยนําระบบไหนมาใช ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 15. การประกาศใชกฎหมายไทย ประกาศยังไง ตอบ 1) กรณีปกติเริ่มบังคับในวันถัดไปจากวันประกาศ 2) กรณี รีบดวนเริ่มบังคับในวันที่ประกาศ 3) เริ่ม บังคับใชในอนาครโดยกําหนดวันที่แนนอนหรือใหใชเมื่อระยะเวลาหนึ่งได ลวงพนไป 4) การกําหนดให พรบ.มีผลบังคับใชในวันถัดจากวันที่ประกาศแตจะนํา พรบ.ไปใชจริงในทองที่ใดเวลาใดประกาศในพระ ราชกฤษฎีกาอีกชั้นหนึ่ง 16. การใชบังคับกฎหมายยึดตามหลักอะไร หลักเกณฑการตีความ ตอบ ยึดตามหลักดินแดน หลักเกณฑการตีความ 1) ตีความตามตัวอักษร 2) ตีความตามเจตนารมณ 17. วิธีอุดชองวาของกฎหมาย วามีกฎหมายอะไรบางที่บญ ั ญัติไว ตอบ 1) กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2) กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง 18. การยกเลิกกฎหมายโดยปริยาย


ห น า | 164

ตอบ 1) กฎหมายใหมและกฎหมายเกามีบทบัญญัตอิ ยางเดียวกัน 2) กฎหมายเกามีขอขัดแยงกับกฎหมาย ใหม 3) กฎหมายเกามีขอ ความขัดกับกฎหมายใหม 19. การจัดลําดับศักดิข์ องกฎหมาย ตั้งแตรฐั ธรรมนูญ จนถึงเทศบัญญัติ ตอบ 1) รัฐธรรมนูญ 2) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 3) พระราชบัญญัติ 4) พระราชกําหนด 5) ประมวลกฎหมาย 6) พระราชกฤษฎีกา 7) กฎกระทรวง 8) ขอบัญญัติจังหวัด 9) เทศบัญญัติ 20. คําจํากัดความของบุคคล เริ่มเมือ่ ใด ตอบ สภาพบุคคลเริ่มแตคลอดแลวอยูรอดเปนทารก และสิ้นสุดเมือ่ ตาย ( ป.พ.พ. มาตรา 15 ) 21. คําจํากัดความของนิติบุคคล คือใคร ตอบ เปนบุคคลตามกฎหมายไมมชี ีวิตจิตใจเหมือนบุคคลธรรมดา แตเปนกองงานหรือกองทรัพยสิน เชน สมาคม มหาวิทยาลัย สหกรณฯ 22. คนไรความสามารถ ตอบ 1) เปนคนวิกลจริต 2) ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ 3) โฆษณาคําสั่งหรือประกาศในราชกิจจา นุเบกษา 23. คนเสมือนไรความสามารถ ตอบ 1) มีเหตุบกพรอง (กายพิการ จิตฟนเฟอน ประพฤติสุลุยสุราย ติดสุรายาเมา) 2) ไมสามารถจัดการงาน ของตนไดเพราะเหตุบกพรอง 3) ศาลสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ 24. สิทธิคอื อะไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 25. ที่มาของสิทธิ ตอบ 1) โดยนิติกรรม 2) โดยนิตเิ หตุ 26.ผลตามกฎหมาย ผลยังไงทีเ่ รียกวา สมบูรณ โมฆะ โมฆียะ ตอบ โมฆะ เสียเปลาไมเกิดผลในทางกฎหมาย โมฆียะ เหตุบกพรองในเรื่องความสามารถ เหตุบกพรองในเรือ่ งการแสดงเจตนา ไม สมบูรณ (โมฆียะ) บอกลาง ผล โมฆะ ใหสัตยาบรรณ ผล สมบูรณ 27. การหมั้น ของหมั้น ตามมาตรา 1435 , 1436, 1437 ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………


ห น า | 165

28. สินสอด การสมรส ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 29. หลักเกณฑการรับบุตรบุญธรรม ตอบ 1) อายุตองแกกวาผูที่จะมาเปนบุตรบุญธรรม 2) ตองไดรับความยินยอมจากคูส มรส 30. ทรัพยสิน สังหาริมทรัพยกับอสังหาริมทรัพย แตกตางกันอยางไร ตอบ สังหาริมทรัพย คือ ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพย คือ ที่ดินและทรัพยอันติดอยูกับทีด่ ิน มีลกั ษณะเปนการถาวร 31. ทรัพยแบงได ทรัพยแบงไมได ตอบ ทรัพยแบงได ทรัพยอันอาจแยกออกจากกันเปนสวน ๆ ไดจริง ทรัพยแบงไมได ทรัพยอันจะแยกออกจากกันไมได นอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของทรัพย 32. ป.พ.พ. มาตรา 148 เรื่องดอกผล ตอบ ดอกผลธรรมดา ทรัพยทเี่ กิดขึ้นตามธรรมชาติจากแมทรัพย ดอกผลนิตินัย เกิดจากใหผูอนื่ ไดใชแมทรัพย เชน คาเชา ดอกเบี้ย 33. ความหมายของบุคคลสิทธิ ทรัพยสิทธิ ตอบ บุคคลสิทธิ สิทธิเหนือบุคคล บังคับกันไดเฉพาะคูก รณีเทานั้น ทรัพยสิทธิ สิทธิของบุคคลในทรัพยสนิ บังคับกันไดกับบุคคลทั่วไป 34. การตกทอดทางมรดก ทายาทโดยธรรมมีลําดับใดบาง ตอบ มี 6 ลําดับ 1) ผูส ืบสันดาน 2) บิดามารดา 3) พี่นอ งรวมบิดามารดาเดียวกัน 4) พี่นอ งรวมบิดาหรือ มารดาเดียวกัน 5) ปูยาตายาย 6) ลุงปานาอา 35 พินัยกรรมมีกี่ประเภท ตอบ 5 ประเภท 1) แบบธรรมดา 2) แบบเขียนเองทั้งฉบับ 3) แบบเอกสารฝายเมือง 4) แบบเอกสารลับ 5) แบบทําดวยวาจา 36. การฟองอาญา ฟองไดโดยใครบาง ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 37. การฟองแพง ฟองอาญาตอศาลไหน ตอบ…………………………………………………………………………………………………………


ห น า | 166

……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 38 ความหมายของรัฐธรรมนูญ ตอบ กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองประเทศ 39. หลักเกณฑความรับผิดทางอาญา ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 40. โทษทางอาญา 5 สถาน ตอบ 1) ประหารชีวิต 2) จําคุก 3) กักขัง 4) ปรับ5) ริบทรัพย 41. การตีความตามกฎหมายอาญาตีความอยางไร ตอบ ตีความโดยเครงครัดตามตัวอักษร 42. การฟองคดีอาญาระหวาง ความผิดยอมความได กับความผิดอาญาแผนดิน ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 43. การกระทําโดยสําคัญผิดแบบไหนรับโทษ แบบไหนไมตองรับโทษ ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 44. การกระทําเพื่อปองกันกับการกระทําโดยความจําเปน (ม.67, ม.68) รับโทษอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 45. การพยายามกระทําความผิด มีความหมายอยางไร รับโทษอยางไร ตอบ การ พยายามกระทําความผิด คือ การกระทํายังไมตลอดหรือกระทําตลอดแลวยังไมบรรลุผล จึงรับ โทษ 2 ใน 3 สวนของโทษทีก่ ฎหมายบัญญัติไวสําหรับความผิดนั้น ๆ 46. การกระทําผิดกรรมเดียว หลายบท รับโทษอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………


ห น า | 167

47. การกระทําผิดหลายกรรม หลายกระทง หลายบท รับโทษอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 48. การรองทุกขกลาวโทษ กําหนดเวลา ตอบ ความผิดอันยอมความไดหรือความผิดตอสวนตัว รองทุกขภายใน 3 เดือนนับแตวันรูเ รือ่ ง 49. การซือ้ ขายกับการเชาซื้อตางกันอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 50. การจํานองกับการจํานําตางกันอยางไร ตอบ จํานอง คือทรัพยที่เปนอสังหาริมทรัพยทุกชนิดและสังหาริมทรัพยที่มีการจดทะเบียน จํานํา คือ ทรัพยทเี่ ปนสังหาริมทรัพยทสี่ งมอบแกผูรับจํานวนเพื่อประกันการชําระหนี้ 51. หมายเรียก หมายอาญา ผูมีอํานาจออกหมายมีใครบาง ตอบ หมายเรียก ออกโดยพนักงานสอบสวน พนักงานฝายปกครอง ศาล หมายอาญา หมายจับ หมายคน หมายขัง ออกโดย ศาล 52. การฟองคดีแพง คดีอาญาทั้งอาญายอมความไดและอาญาตอแผนดิน การนําคดีขึ้นสูศ าล ทําไดอยางไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 53. หลักประกัน ใชประกันตัว กรณีทกี่ ารปลอยตัวชั่วคราว ใชหลักประกันอะไรบาง ตอบ มี 3 ชนิด 1) เงินสด 2) หลักทรัพยอื่น 3) บุคคลมาเปนหลักประกัน (ใชตําแหนง) 54. การเพิ่มโทษในกรณีการยกเวนการเพิ่มโทษ มีอะไรบาง ตอบ 1) ความผิดที่กระทําโดยประมาท 2) ความผิดลหุโทษ 3) ความผิดซึ่งผูก ระทําไดกระทําขณะที่อายุ ไมเกิน 17 ป


ห น า | 168

วิชาคณิตศาสตร ตอนที่ 1 คําชี้แจง จงเลือกขอถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ให p และ q เปนประพจน ถา p * q เปนพจนที่มีคาความจริงตามตารางขางลางนี้

p

q

p*q

T

T

F

T

F

F

F

T

F

F

F

T

แลวประพจน p * q สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้ 1. ~ (~p  q)

2. ~p  q

3. ~(q  ~p)

4. q  ~p

2. กําหนดเอกภพสัมพัทธ U = {1, -1, i, -i} โดยที่ i =

 1 ขอใดมีคาความจริงเปนเท็จ

1. z [z2 = 1]

2. z [z36 = 1]

1 3. z   z   2 

4. z [z3 – z = 0]

3. ให A = {1, a, 2, b, 3, c} , B = {1, 2}


ห น า | 169

จํานวนสับเซต S ของ A ซึ่ง S  B   เทากับคาในขอใดตอไปนี้ 1. 48

2. 32

4. กําหนดให f (x) =

ถา U =

1 2

3. 24

4. 16

3x 3  1

g (x) =

3x

h (x) =

 x 2  5x  6

g แลว Rf  Du เปนสับเซตของเซตในขอใดดังตอไปนี้ h

1. (-4, 1)

2. (-1, 5)

3. (2, 7)

4. (4, 8)

5. กําหนดฟงกชัน f และ g จากเซตของจํานวนจริง R ไปยัง R โดย f (x) = 1 + x g (x) =

1 f ( x)

(gof)(x) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 1 + x 3.

1 1 x

2. 2 + x 4.

1 2 x

6. ถา f(x) = 1 – x + x2 – x3 + ... ทุกจํานวนจริง x ซึ่งทําใหอนุกรมคอนเวอรจ และ g(x) = 1 – x2 ทุกจํานวนจริง x แลว ขอใดตอไปนี้จริง เมือ่ D เปนโดเมนของ f  g


ห น า | 170

1. D = (- , )

และ (f  g)(x) = 1 + x

ทุก x  D

2. D = (- 1, 1)

และ (f  g)(x) = 1 + x

ทุก x  D

3. D = (- , )

และ (f  g)(x) = 1 - x

ทุก x  D

4. D = (- 1, 1)

และ (f  g)(x) = 1 - x

ทุก x  D

7. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริงลบทั้งคู ถา a < x < b แลวขอใดตอไปนีเ้ ปนจริง 1.  x  + a > 0 3.

2.  x  + b < 0

1 1 < x b

4.

1 1 < x a

8. กําหนดให p คือประพจน “ถา a, b และ c เปนจํานวน ab < ac แลว b < c” และ q คือประพจน “ถา x และ y เปนจํานวนอตรรยะ แลว x + y เปนจํานวนอตรรกยะ” ประพจนใดตอไปนี้มคี วามจริงเปนจริง 1. p  ~q

2. p  q

3. ~p  ~q

4. ~p  q

9. ถา k เปนจํานวนเต็มบวกที่ใหญทสี่ ุดที่ทําใหเสนตรง y = kx + 1 ตัดกับไฮเปอรโบลา x2 y2   1 แลว k เปนจํานวนที่อยูในชวงใดตอไปนี้ 4 40

1. (2.5, 5]

2. (5, 7.5]

3. (7.5, 10]

4. (10, 12.5]


ห น า | 171

10. สับเซตของจํานวนเชิงซอนในขอใดตอไปนี้ทสี่ มาชิกทุกตัวมีอินเวอรสมการคูณอยูในเซตนั้น 1. {1, 1 – i, 1 + i}

1  2. 1, cos 1  i sin 1,   cos 1  i sin 1 

1  3. 1, 1  i,   1 i 

4. 1, cos 1  i sin 1, cos 1 - i sin 1

11. ถา F เปนจุดโฟกัสของไฮเพอรโบลา 6x2 – 10y2 – 12x – 40y – 94 = 0 อยูในควอดแรนททสี่ ี่ แลวสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอดที่ F และมีแกนสังยุคของไฮเพอรโบลาเปนเสนไดเรกตริกซ คือสมการในขอใดตอไปนี้ 1. y2 + 4y - 4x = 0

2. y2 + 4y - 4x + 24 = 0

3. y2 + 4y - 16x - 44 = 0

4. y2 + 4y - 16x + 84 = 0

12. กําหนดใหเสนตรง L1 ลากผานจุดกําเนิด และทํามุม 60 ตัดกับแกน x ทางดานบวก ถาเสนตรง L2 หางจากจุดกําเนิด 6 หนวย และตั้งฉากกับเสนตรง L1 ในควอดเรนทที่หนึ่ง แลวสมการของเสนตรง L2 คือสมการในขอใดตอไปนี้ 1. x +

3y + 12 = 0

2. 3x + y + 12 = 0

3. x +

3y - 12 = 0

4. 3x + y – 12 = 0

13. พาราโบลารูปหนึ่ง จุดโฟกัสอยูที่ (5, -1) จุดยอดอยูบนเสนตรง y =

x เสนไดเรกตริกซ 2

ขนานกับแกน x สมการของเสนไดเรกตริกซืของพาราโบลารูปนีค้ ือสมการในขอใดตอไปนี้


ห น า | 172

1. y = 7

2. y

7 2

3. y =

5 2

4. y = 6

14. จํานวนจริง x ทั้งหมดในชวง [0, 2] ซึ่งสอดคลองกับสมการ 1. [0, ]

π 3π 2.  ,   2 2 

3. [, 2]

π 3π 4. 0 ,    ,2 π   2   2 

15. ให a, b เปนคาคงที่ และ f (x) = a sin x + bx cos x + x2 สําหรับทุกคา x  R ถา f (x) = 3 แลว f (-2) เทากับคาในขอใดตอไปนี้ 1. –3

2. –1

3. 1

4. 5

16. ถา A(1, 2) , B (4, 3) และ C (3, 5) เปนจุดยอดของสามเหลี่ยม ABC แลว sin มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1.

1   2 

1 50  1  2

 50 

1 50  1  2

3.    2 50 

2.

1   2 

1 50  1  2

 50 

1 50  1  2

4.    2 50 

B 2


ห น า | 173

 arctan 3   4  + cos  2 arcsin 3  เทากับขอใดตอไปนี้ 17. คาของ sin  5   2   

1.

1 6  10 25

2.

1 6  3 25

3.

1 7  10 25

4.

1 7  3 25

18. สุดายืนอยูทางทิศตะวันออกของตึกหลังหนึ่ง มองเห็นยอดตึกเปนมุมเงย 45 จากจุดนี้สุดา เดินไปทางทิศใตเปนระยะ 100 เมตร จะมองเห็นยอดตึก (ที่ตําแหนงเดิม) เปนมุมเงย 30 ความสูงของตึกเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 100

2. 50 2

3. 50 3

4.

19. ฟงกชันที่นยิ ามในขอใดตอไปนีเ้ ปนฟงกชันลด 1. f(x) = (sin 45) – x 1 3. h(x) =   2

2. g (x) = (log7) x

x

4. r (x) = x

20. ถา x และ y สอดคลองสมการ logk x  log5 k = 1 เมื่อ k > 1 และ 102y = 625 ตามลําดับ แลวขอใดตอไปนีผ้ ิด 1. 5 < x + y < 7

2. 3 < x – 7 < 4

100 3


ห น า | 174

3. 0 < xy < 10

4. 0 <

21. คําตอบของอสมการ e x

2 ln 2

x 1 < y 2

 2 x คือขอใดตอไปนี้

ln 2 1.   ,   ln 3 

ln 2 2.  0 ,   ln 3 

ln 3 3.  ,    ln 2 

ln 3 4.  0 ,   ln 2 

3

1

22. กําหนดให X = log ( 9 )( 27) Y = log คาของ

4 3

25 5 24 - 2 log + log 8 3 9

X ที่ไดจากสมการที่กําหนดใหคือคาในขอใดตอไปนี้ Y

1. –2

2. – 1

3. 1

2. 2

23. ผลบวก 10 พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตอนุกรมหนึ่งเทากับ 430 ถาพจนที่ 10 ของอนุกรมนี้ คือ 79 แลวผลบวก 3 พจนแรกมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 44

2. 45

3. 46

4. 47

24. สําหรับจํานวนเต็มบวก n > 1 ใด ๆ


ห น า | 175

ให an เปนสัมประสิทธิข์ อง xn + 2 ในการกระจาย (1 + 2x) 2n และ bn เปนสัมประสิทธิข์ อง xn ในการกระจาย (2 + 3x)2n ลําดับ 3n 

an เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ bn 4 3

1. มีลิมิตเปน 0

2. มีลิมิตเปน

3. มีลิมิตเปน 4

4. เปนลําดับไดเวอรเจนต

25. ถาอัตราการเปลี่ยนแปลงของความชันของเสนโคง y = f (x) ณ จุดใด ๆ มีคาเปน x –1 และ เสนโคงนี้มีความชันเปน 1 ณ จุด (-1, 0) แลวสมการของเสนโคงนี้คอื ขอใดตอไปนี้ x2 1 1. y = x 2 2

x2 3 2. y = x 2 2

x3 x 2 x 1 3. y =    6 2 2 6

x 2 3x 13 4. y = x    2 2 6

26. กําหนดใหฟงกชนั f(x) =

7 3x 3

3

5  12x 3 2

4  24 x 3

x

คาของ lim

h 0

f (x  h)  f (x ) เมื่อ x = 8 h

เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 0

2. 1

3. 2

4. 3

27. ให A และ B เปนเมตริกซมิติ 2  2 จงพิจารณาขอความตอไปนี้


ห น า | 176

ก. ถา A = -At แลวสมาชิกในแนวทแยงมุมจากบนซายถึงลางขวาของ A เปน 0 ทั้งหมด ข. ถา A2 = B และ B เปนนอนซิงกูลารเมตริกซ แลว A เปนนอนซิงกูลารเมตริกดวย ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูก ข. ถูก

2. ก. ถูก ข. ผิด

3. ก. ผิด ข. ถูก

4. ก. ผิด ข. ผิด

28. ให a = 2 i + 3 j ถา b มีจุดเริ่มตนที่ (0, 0) และตั้งฉากกับ a แลวเสนตรงทีล่ ากทับ เวกเตอร b จะผานจุดทุกจุดที่กําหนดใหในขอใดตอไปนี้ 1. {(2, 4), (3, -2), (6, -4)}

2. {(-4, 1), (-1, -1), (2, -3)}

3. {(-4, -6), (-2, -3), (0, 0)}

4. {(2, 3), (0, 0) , (2, -3)}

29. ให ABCD เปนสี่เหลีย่ มดานขนานที่มพี ิกัดของจุด A เปน (-1, 2) และกําหนด 

AB = 9 i + 4 j, CD = - i + 5 j อยากทราบวาพิกัดของจุด C เทากับขอใดตอไปนี้ 1. (7, 11)

2. (8, 11)

3. (9, 11)

4. (8, 9)

30. ให a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ ที่ไมเปนศูนยพรอมกัน

a cos2θ sin2θ กําหนดเมตริกซ A =  b  , B =  sin2θ cos2θ     


ห น า | 177

π คาของมุม  ในชวง 0,  ที่จะทําใหเมตริกซผลคูณ At BA เปนเมตริกซศูนยคือ  2 

คาในขอใดตอไปนี้ 1.

π 6

2.

π 3

3.

π 4

4.

π 2

31. กําหนดใหเซต A มีสมาชิก 4 ตัว และเซต B มีสมาชิก 5 ตัว ถาสรางฟงกชันจาก A ไป B แลวความนาจะเปนที่จะไดฟงกชนั 1 – 1 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1.

24 625

2.

120 625

3.

24 196

4.

120 196

32. นาย ก. ข. และ ค. จะขึ้นลิฟทซึ่งมีทั้งหมด 3 ตัว จํานวนวิธีที่นาย ก. และ ข. ขึ้นดวยกัน แตนาย ค. ขึ้นคนเดียวมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 6

2. 7

3. 8

4. 9

33. ตูใบหนึ่งมีเสื้อสีแดงแบบตาง ๆ กัน 6 ตัว และเสือ้ สีขาวแบบตาง ๆ กัน 4 ตัว ถาสุมหยิบเสือ้ จากตูใบนี้มา 5 ตัว ใหมีสีคละกันแลว จํานวนวิธีที่จะหยิบไดเสือ้ สีแดงมากกวาเสื้อสีขาว คือขอใดตอไปนี้ 1. 60 วิธี

2. 120 วิธี

3. 180 วิธี

4. 240 วิธี


ห น า | 178

34. เลือกจํานวนเต็มซึ่งหารดวย 3 ลงตัวมาหนึ่งจํานวนใหมีคาอยูในระหวาง 10 ถึง 200 ความนาจะเปนที่จํานวนที่เลือกมานี้จะหารดวย 7 ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้ 1.

1 7

2.

2 7

3.

3 7

4.

4 7

35. กลองใบหนึ่งบรรจุปากกา 1 โหล เปนปากกาสีแดง 3 ดาน สีเขียว 4 ดาน ที่เหลือเปนสีน้ําเงิน ความนาจะเปนทีส่ ุมหยิบปากกามา 3 ดาม แลวไดครบทุกสีมคี าเทากับในขอใดตอไปนี้ 1.

1 60

2.

1 22

3.

3 11

4.

3 12

36. ถาเสนโคงของการแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธของตัวแปร x มีสมการ y = 1 - e ( x1) ดังแสดงในรูป แลวมัธยฐานของตัวแปร x เทากับคาในขอใดตอไปนี้

1. 1 + ln2 2. 1 – ln2 3. 1 -

1 e2

4. 1 +

1 e2


ห น า | 179

37. ปจจุบัน ความแปรปรวนของอายุของสมาชิกครอบครัวหนึ่งซึ่งมี 4 คน เทากับ 9 (ป)2 และ ความแปรปรวนของอายุของสมาชิกอีกครอบครัวหนึ่งซึ่งมี 6 คน เทากับ 4 (ป)2 ถา คาเฉลีย่ เลขคณิตของอายุของสมาชิกทั้งสองครอบครัวนี้เทากันแลว อีก 2 ป ขางหนา ความแปรปรวนรวมของอายุของสมาชิกทั้งสองครอบครัวนี้ คือขอใดตอไปนี้ 1. 6 (ป)2

2. 8 (ป)2

3. 10 (ป)2

4. 12 (ป)2

38. นักเรียนหองหนึ่งมี 40 คน เปนชายและหญิงจํานวนเทากัน ในการสอบวิชาหนึ่งคะแนนของกลุม นักเรียนชายและกลุมนักเรียนหญิงมีคาเฉลีย่ เทากัน แตมีสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 4 และ 3 ตามลําดับ ถาคะแนนของแตละกลุมมีการแจกแจกปกติ และให x1 , x2 , x3 แทนคะแนนทีเ่ ปนตําแหนง เปอรเซนไทลที่ 95 ของคะแนนของนักเรียนทั้งหอง ของกลุมนักเรียนชาย และของกลุมนัก เรียน หญิงตามลําดับแลว ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1. x1 < x2 < x3

2. x1 < x3 < x2

3. x2 < x3 < x1

4. x3 < x1 < x2

39. กําหนดใหตารางแสดงพื้นที่ (A) ใตเสนโคงปกติดังนี้ z = 0.67

A = 0.2486

z = 0.68

A = 0.2518

การแจกแจงของคะแนนสอบครั้งหนึ่ง เปนการแจกแจงปกติ โดยมีคาเฉลี่ยเลขคณิต 60 คะแนน และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 10 คะแนน คะแนนที่เปนควอรไทลที่ 3 (Q3) เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 65.4

2. 66.7

3. 67.5

4. 69.8


ห น า | 180

40. จากขอมูลอนุกรมเวลา (Y) มีคาแสดงในตารางขางลางนี้

พ.ศ. 2526 2527 2528 2529 2530 Y

20

30

20

40

60

ถา Y มีความสัมพันธเชิงฟงกชนั กับเวลา (X) ในลักษณะเสนตรง แลวสามารถทํานายคาของ Y ในป 2535 ไดเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 97

2. 106

3. 110

4. 120


ห น า | 181

วิชาคณิตศาสตร ตอนที่ 2 คําชี้แจง แสดงวิธีทําทายโจทย 1. จากการสอบถามผูดื่มกาแฟ 20 คน พบวา ก. จํานวนผูที่ใสครีมในกาแฟนอยกวาสองเทาของจํานวนผูทใี่ สน้ําตาลในกาแฟอยู 7 คน ข. จํานวนผูที่ใสทั้งครีมและน้ําตาลในกาแฟเทากับจํานวนผูทไี่ มใสครีมและไมใสน้ําตาล ในกาแฟจํานวนผูที่ใสครีมในกาแฟมีอยูก ี่คน แนวการคิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

2. จํานวนจริง x ที่เปนคําตอบของสมการ 15  x =

22  2 105

มีคาเทากับเทาใด แนวการคิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


ห น า | 182

.......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

3. ผลบวกของระยะทางทีย่ าวที่สุด และสัน้ ที่สดุ จากจุด (10, 7) ไปยังกราฟซึ่งมีสมการ 5x2 + 5y2 – 20x – 10y – 100 = 0 มีคาเทากับเทาใด แนวการคิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


ห น า | 183

4. คาสัมบูรณของผลตางของทุกคําตอบของสมการ

3(1

x 2 x 2 )

 + 9 3 (  

x 2  x 2 )

  = 28 มีคาเทากับเทาใด 

แนวการคิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

5. ถาความชันของเสนสัมผัสของเสนโคง y = x4 - 2x2 + kx + 4, k เปนจํานวนจริงคงที่ ที่จุด x = 2 มีคาเทากับ 24 แลวคาต่ําสุดของ y มีคาเทากับเทาใด แนวการคิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


ห น า | 184

.......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

6. คะแนนสอบของนักเรียน 15 คน คํานวณได x = 50 และคํานวณคา S จากสูตร 15

 (x i  x )

i1

n

2

ได S2 = 10 แตเมือ่ ทราบภายหลังวา x ที่ถกู ตองคือ 51 คา S2 ที่ถูกตองจะ

เทากับเทาใด (S2 = ความแปรปรวน)

แนวการคิด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................


ห น า | 185

เฉลย วิชาคณิตศาสตร ตอนที่ 1 1. ตอบขอ 1 p

q

~p

~p  q

~(~p  q)

q  ~p

~(q  ~p)

T

T

F

T

F

F

T

T

F

F

T

F

T

F

F

T

T

T

F

T

F

F

F

T

F

T

T

F

 p * q  ~ (~p  q)  ~(p  q)

2. ตอบขอ 4 1. z [z2 = 1]

มีคาความจริงเปนจริง

(เมือ่ แทน z ดวย 1, -1)

2. z [z36 = 1]

มีคาความจริงเปนจริง

(เมือ่ แทน z ดวย i – i , 1, -1)

1 3. z   z   2 

มีคาความจริงเปนจริง

(เมือ่ แทน z ดวย 1, i)

4. z [z3 – z = 0]

มีคาความจริงเปนเท็จ

(เมือ่ แทน z ดวย i)

3. ตอบขอ 1  A มีสมาชิก 6 สมาชิก สับเซตทั้งหมดของเซต A มี 26 = 64 เซต แต S  A และ S  B    S  {a, b, c, 3}


ห น า | 186

ซึ่งสับเซตของ {a, b, c, 3} มีเทากับ 24 = 16 เซต  จํานวนสับเซต S ของ A ซึ่ง S  B   เทากับ 64 – 16 = 48

4. ตอบขอ 2  f(x) =

1 3x 2  1 2

 3x2  0 ทุก ๆ x  R 3x2 + 1  1

3x 2  1  

1 2

1 1 3x 2  1  2 2

1  Rf =  ,    2  g (x) =

3x

 3 – x  0 หรือ x  3  Dg =   ,3 h (x) =

 x 2  5x  6

 - x2 + 5x + 6  0 x2 – 5x – 6  0 (x + 1) (x – 6)  0 -1  x  6 Dh = [-1, 6]


ห น า | 187

แต h(x) = 0 เมื่อ  x 2  5x  6 = 0 - x2 + 5x + 6 = 0 x2 – 5x – 6 = 0 (x + 1) (x – 6) = 0  Du

= (Du  Dh) - {xh(x) = 0} = ((-, 3]  [-1, 6]) – {-1, 6} = (-, 3]  (-1, 6) = (-1, 3]

1 1  Rf  Du =  ,    (-1, 3] =  ,3  2

 2 

1   ,3  (-1, 5)  2 

5. ตอบขอ 4  f (x) = 1 + x , g (x) =

1 f (x )

 (gof) (x) = g (f(x)) = g (1 + x)

6. ตอบขอ 4 

=

1 f (1  x )

=

1 1 1 x

=

1 1  (1  x )

=

1 2 x

f (x) = 1 - x + x2 – x3 + ... =

1 เมือ่ x  1 หรือ -1 < x < 1 1 x


ห น า | 188

g(x) = 1 – x2 : x  R f(x)  g(x) =

1  1 – x2 = 1 – x 1 x

D = D jg = Df  Dg = R  (-1, 1) = (-1, 1)  D = (-1, 1) และ (g  f) (x) = 1 – x

7. ตอบขอ 3  a < x < b  b < x < a 

1 1 1 < < a x b

8. ตอบขอ 3  p มีคาความจริงเปนเท็จ

q มีคาความจริงเปนเท็จ

1. p ~q

2. p q

F

T

F

F

F

F

3. ~p ~q

4. ~p q

T

T T

x2 y2  =1 9.  4 40

10 x2 – y2 = 40

T

F F


ห น า | 189

10x2 - (kx + 1)2 = 40

แทน y = kx + 1 ได

10x2 – (k2x2 + 2kx + 1) = 40 10x2 – k2x2 – 2kx – 1 = 40 (10 – k2) x2 – 2kx – 41 = 0

จะหา k ไดเมื่อ (-2k)2 - 4(10 – k2) (- 41)  0 4k2 + 164 (10 - k2)  0 4k2 + 1640 – 164k2  0 1640 – 160k2  0 164 – 16k2  0 16k2 – 164  0 k2 -

164 0 16

k2 -

41 0 4

41   41   k  k  0 4  4  

41 k 4

 10.25  k 

 k =3

41 4 10.25  3.2


ห น า | 190

10. ตอบขอ 4

11. ตอบขอ 4 

6x2 – 10y2 – 12x – 40y – 94

=0

(6x2 – 12x) – (10y2 + 40y)

= 94

6 (x2 – 2x) – 10 (y2 – 4y)

= 94

6 (x2 – 2x + 1) – 10 (y2 + 4y + 4) = 94 + 6 – 40 6 (x – 1)2 – 10 (y + 2)2 = 60 ( x  1) 2 ( y  2 ) 2  10 6

=1

ไฮเพอรโบลานี้มแี กนตามขวางขนานกับแกน x คือเสนตรง y = -2 จุดศูนยกลางอยูที่ (1, -2) และ a2 = 10, b2 = 6

 c2 = a2 + b2 = 16  c = 4

 F (1 – 4, - 2) และ F (1 + 4, - 2)  F (5, - 2) และมีแกนสังยุค คือ เสนตรง x = 1

 พาราโบลานี้ คือ

(y + 2)2 = 4c (x – 5) (y + 2)2 = 4  4 (x – 5)


ห น า | 191

y2 + 4y + 4

= 16x – 80

y2 + 4y – 16x + 84 = 0

12. ตอบขอ 3 เสนตรง L1 ผานจุด (0, 0) และมีความชัน = tan 60 =  สมการเสนตรง L1 คือ y – 0 = y =

3

3 (x – 0)

3x

3 x–y = 0

 สมการเสนตรง L2 คือ x + 3 y + C = 0 เสนตรงนี้หางจากจุด (0, 0) เทากับ 6 หนวย 

C 2

1  ( 3)

2

=6

C =6 2 C = 12

C = 12  สมการเสนตรง L2 คือ x + 3 y + 12 = 0 หรือ x + 3 y – 12 = 0 แตเสนตรง L2 + L1 ในควอดรันตที่ 1  สมการเสนตรง L2 คือ x + 3 y – 12 = 0

13. ตอบขอ 4  ไดเรกตริกซขนานกับแกน x  แกนพาราโบลาขนานกับแกน y


ห น า | 192

จุดโฟกัสอยูที่ (5, -1)  แกนพาราโบลา คือ เสนตรง x = 5  จุดยอดอยูที่ x = 5, y =

5 = 2.5 2

จุดยอดอยูที่ (5, 2.5)  ระยะระหวางจุดยอด และโฟกัสเทากับ 3.5 หนวย  ระยะไดเรคตริกซกับจุดยอด เทากับ 3.5  สมการไดเรคตริกซ คือ y = 6

14. ไมมีคําตอบ  2sin2 x + 1 = -sin x + 2 2sin 2 x  sin x (2sin2 x + sin x) – 2 2sin 2 x  sin x +1 = 0 ( 2sin 2 x  sin x -1)2 = 0 2sin 2 x  sin x -1 = 0 2sin 2 x  sin x = 1

2 sin2 x + sin x = 1

2 sin2 x + sin x – 1 = 0 (2 sin x – 1) (sin x + 1) = 0  2 sin x – 1 = 0 sin x =

หรือ sin x + 1 = 0

1 หรือ sin x = - 1 2


ห น า | 193

 x=

15. ตอบขอ 4

π 5π 3π หรือ หรือ 6 6 6

 f (x) = a sin x + bx cos x + x2

f (2) = a sin 2 + 2b cos2 + 4 3

= a sin 2 + 2b cos2 + 4

 a sin 2 + 2b cos 2 = -1 และ f ( -2) = a sin (-2) – 2b cos (-2) + 4 = -a sin 2 – 2b cos 2 + 4 = - (a sin2 + 2b sin 2) + 4 = - (-1) + 4 = 5

16. ตอบขอ 4 AB =

( 4  1) 2  ( 3  2 ) 2 =

91 =

10

BC =

( 4  3) 2  ( 3  5) 2 =

1 4 =

5

CA =

( 3  1) 2  ( 5  2 ) 2 =

49 =

13

 a=

5, b =

10

 sin

s–a =

B = 2

bca = 2

13 และ c =

(s  a )(s  c ) abc เมื่อ s = ac 2 13  10  5 2


ห น า | 194

s–a =

sin

B = 2

=

17. ตอบขอ 3

abc = 2

5  13  10 2

( 13  10  5 )  ( 5  13  10 4 ( 5 )( 10 ) 1 50  1  2

2 50  2 = 4 50

50  1  =   2 50  2 50 

3 =A 4

ให

arctan

tan A =

3 4

sin A =

3 5

A = arcsin

cos A =

3 5

4 5

 arctan 3   4  + cos  2 arcsin 3  = sin A + cos 2 A  sin   5 2  2   

=

=

1  cos A  ( 2 cos 2 A  1) 2 4 5   2 16   1      2   25  

1


ห น า | 195

1  32    1 = 10  25 

=

18. ตอบขอ 2

ให

1 7  10 25

AB เปนความสูงของตึก = x เมตร P, Q เปนตําแหนงของผูส ังเกต PQ = 100 เมตร

PAB : PB = x cot 45 = x QAB : QB = x cot 30 = x 3 PQB : QB2 = PB2 + PQ2 3x 2 = x2 + (100)2 2x 2 = (100)2 x 2 = 100  50 x

= 100  2  25 = 50 2

ความสูงของตึก = 50 2 เมตร 19. ตอบขอ 2

ฟงกชันที่นยิ ามในขอใดตอไปนี้เปนฟงกชันลด

1. f (x) = (sin 45)

-x

1 x  =    sin 45 

เปนฟงกชันเพิ่ม  0 < sin 45 < 1  2. g (x) = (log 7)x 1 3. h (x) =   2

x

1 >1 sin 45

เปนฟงกชันลด  0 < log 7 < 1 = 2z เปนฟงกชนั เพิม่  2 > 1


ห น า | 196

4. r (x) = x 20. ตอบขอ 4

เปนฟงกชันเพิ่ม   > 1 logk x  log5 k = 1 log5 x = 1 x =5 102 = 625

และ

2y = log10 625 2y = 4log105 y = 2 (1 - log2) = 2 (1 – 0.3010) = 2  0.699 = 1.398

21. ไมมีคําตอบ

2

e x ln 2 < 2x 2

2 x < 2x

x2 < x x2 – x < 0 x (x – 1) < 0 0<x<1

22. ตอบขอ 1

X = log

3

1

( 9 )( 27)

4 3


ห น า | 197 1 4 3 1   3 2 33 3 

 = log   

= log 3 Y = log

  

6

1 3

2

 = log 3  3 

4

1 3

= log 32  = -2 log3

25 5 24 - 2 log + log 8 3 9

 25  3  2 24  = log       = log 3  8 5 9 

X  2 log 3 = = -2 Y log 3

23. ตอบขอ 2  Sn =

 S10 =

n (2a1 + (n – 1) d ) 2

10 (2a1 + 9d) 2

= 10a1 + 45d  10a1 + 45d = 430 2a1 + 9d = 86 an

--------------------

= a1 + (n – 1) d

a10 = a1 + 9d  a1 + 9d = 79  –  ได a1 = 7 แทนใน  ได 7 + 9ก = 79

--------------------


ห น า | 198

9d = 72 d =8  a1 7, a2 = 15, a3 = 23  a1 + a2 + a3 = 7 + 15 + 23 = 45

24. ตอบขอ 3 

an

2n =  n  2  2 n + 2   =

bn

( 2 n )!  2 n 2 ( n  2 )!( n  2 )!

2n =  n  2n 3n   =

( 2 n )! n n 2 3 n! n!

an n! n! 2 n2 n  3  = 3  bn ( n  2 )!( n  2 )! 2 n  3 n n

4 4 n2  4n n = 2 = 3 n  3n  2 1   2 n n2 4

n

an =4 bn

25. ตอบขอ 3  f (x)

= x–1

 lim 3n 

 f  (x) f  (x)

=

x2  x  C1 2

= 1 ณ จุด (-1, 0) แทนคาได


ห น า | 199

1

( 1) 2 =  ( 1)  C1 2

1

=

C1 =

 f  (x)  f (x)

1  (1)  C1 2 

1 2

=

x2 1 x  2 2

=

x3 x2 x    C2 6 2 2

f (x) ผานจุด (-1, 0) แทนคาได ( 1) 3 ( 1) 2 ( 1) 0 =    C2 6 2 2 1 1 1 0 =     C2 6 2 2

C2 =

 f (x)

26. ตอบขอ 2  lim

h 0

1 6

=

x3 x 2 x 1    6 2 2 6

f ( x  h )  f (x ) = f  (x) h

ดังนั้น คําถามจึงตองการใหเราหา f (8) = ?

 f (x)

=

7 3x 2

5  12 x 3 2

x

4  24 x 3


ห น า | 200

f (x)

=

1 3x 3

 f (x) = x

 f (8) = 8

= 2

 12 x

2 3

2 3

 4x

4 3

 4 8

3 

2 3

1 3

 24 x  16 x 4 3

2 3

5 3

 16  8

 4  2

3 

4 3

5 3

 16  2

3 

5 3

= 2-2 + 4  2-4 + 16  2-5 =

1 4 16   4 16 32

=

1 1 1   = 1 4 4 2

27. ตอบขอ 1 ขอ ก. ถูก เชน ให

a b A = c d    a b At =  c d    -a - b - At = - c - d   

A = - At

a b = - a - b  c d  - c - d  

a = -a = 0 d = -d = 0

ขอ ข. ถูก


ห น า | 201

28. ไมมีคําตอบ  a = 2 i + 3 j  ความชันของ a =

3 2

 เสนตรงทีล่ ากทับ b มีความชัน = -

2 3

และเสนตรงนีผ้ านจุด (0, 0) 2  สมการเสนตรงที่ลากทับ b คือ = - x 3

คําตอบที่ใหมาไมถูกตอง

29. ตอบขอ 1

 A (-1, 2) 

AB = 9 i + 4 j 

AD = - i + 5 j B (8, 6) และ D (-2, 7) 

ABCD เปน

CD = AB

ดานขนาน

ให C มีโคออรดเิ นท (x, y) 

CD = (x+2) i + (y – 7) 4 j

 (x+2) i + (y – 7) 4 j = 9 i + 4 j x+2=9


ห น า | 202

x=7 x–7 = 4 y = 11

a 30. ตอบขอ 3  A =  b    At = a b

cos2θ sin2θ B =  sin2θ cos2θ    AtB = [a cos2 - b sin2 a sin2 + b cos2] AtBA = [a2 cos2 - ab sin2 + ab sin 2 + b2 cos2] = [(a2 + b2) cos2] = 0 (a2 + b2) cos 2 = 0 a2 + b2

 0  cos 2 = 0 = cos

31 ตอบขอ 2

n(A)

=4

n(B)

=5

2 =

π 2

=

π 4

π 2


ห น า | 203

จํานวนฟงกชันจาก A ไป B = 5  5  5  5 = 54 = 625 ฟงกชัน จํานวนฟงกชัน 1 – 1 จาก A ไป B = 5  4  3  2 = 120 ฟงกชัน

สูตรลัด

 n(S)

=

625

n(E)

=

120

 P(E)

=

n(E) n ( S)

=

120 625

1. จํานวนฟงกชันจาก A ไป B = n(B)n (A) 2. จํานวนฟงกชันชนิด 1 – 1 จาก A ไป B =

32. ตอบขอ 1 จํานวนวิธีที่ ก และ ข ขึ้นดวยกัน

n (B)

Pn (A)

= 3  1 = 3 วิธี

และจํานวนวิธีที่ ค ขึ้น

= 2 วิธี

 จํานวนวิธีทั้งหมด

= 3  2 = 6 วิธี

33. ตอบขอ 3  มีเสือ้ สีแดง 6 ตัว ตาง ๆ กัน และ มีเสือ้ สีขาว 4 ตัว ตาง ๆ กัน สุมหยิบมา 5 ตัว คละกัน ใหไดสแี ดงมากกวาสีขาว สุมหยิบไดดังนี้ สุมไดเสื้อสีแดง 4 ตัว และสีขาว 1 ตัว

6 4 6! หรือ จะสุมหยิบได =  4     =  4 = 15  4 = 60 วิธี    1  2!4! สุมไดเสื้อแดง 3 ตัว และสีขาว 2 ตัว


ห น า | 204

6 4 6! 4! จะสุมหยิบได =  3     = = 20  6 = 10 วิธี     2  3!3! 2!2!

 จํานวนวิธีทั้งหมด = 60 + 120 = 180 วิธี

34. ตอบขอ 1

S = {12, 15, 18,..., 198}

 an = a1 + (n – 1) d 198 = 12 + (n – 1) (3) 198 = 12 + 3n – 3 198 = 9 + 3n n = 63  n(S) = 63 E = {21, 42, 63, 84, 105, 126, 147, 168, 189} n(E) = 9  P(E) =

n( E ) 9 1 = = n (S ) 63 7

35. ตอบขอ 3 กลองใบหนึ่งมีปากกาสีแดง 3 ดาม สีเขียว 4 ดาม และสีน้ําเงิน 5 ดาม สุมมา 3 ดาน

12 12!  จํานวนวิธีที่เปนไปไดทั้งหมด =  3  = = 220   9!3!  n(S)

= 220


ห น า | 205

สุมมา 3 ดาม ใหไดครบทุกสี

3 4 5  จะสุมได =  1   1   1  = 3  4  5 = 60 วิธี      n(E)

= 60

 P(E)

=

60 3 = 220 11

36. ตอบขอ 1  ตําแหนงมัธยฐาน =

1 2

 y = l – e(- x + 1) แทน y =

1 1 ได = 1 – e(- x + 1) 2 2

e(- x + 1) =

1 2

-x + 1 = ln x

1 = -ln2 2

= 1 + ln2

 มัธยฐานของตัวแปร x = 1 + ln2

สูตรลัด

1. ถาโจทยเปนความถีส่ ะสม ใหแทน y =

N 2

2. ถาโจทยเปนความถีส่ ะสมสัมพัทธ ใหแทน y =

1 2


ห น า | 206

37. ตอบขอ 1 N1 = 4,

S12 = 9

N2 = 6,

S22 = 4

 X เทากัน 

2 Sรวม =

N1S12  N 2S22 N1  N 2

=

4 ( 9 )  6( 4 ) 4 6

=

36 24 60 = 10 10

= 6 (ป) อีก 2 ปขางหนา ความแปรปรวนรวมของอายุของครอบครัวทั้งสองเทากับ

38. ตอบขอ 4  Sรวม

=

20( 4 ) 2  20( 3) 2 40

=

20 16  20  9 40

=

320 180 40

=

500 = 40

=

50 40

5 2 = 3.535 2

 คา Z และ X


ห น า | 207

Z

=

X1  X 3.535

3.535Z = X1 - X 

X1

= 3.535Z + X

และ

Z

=

X2  X 4

4Z

= X2 - X

X2

= 4Z + X

และ

Z

=

X3  X 3

3Z

= X3 - X

X3

= 3Z - X

 X3 < X1 < X2

39. ตอบขอ 2

พื้นที่ใตโคงปกติตางกัน 0.0032 Z ตางกัน 0.01 พื้นที่ใตโคงปกติตางกัน 0.25 – 0.2486 = .0014 Z ตางกัน =

0.01 0.0014 = 0.004375 0.0032

 พื้นที่ใตโคงปกติ = 0.25 ตรงกับ Z = 0.674375 Z = 0.674375 =

XX S X  60 10


ห น า | 208

6.74375 = X – 60 X = 66.74375 = 66.7

40. ตอบขอ 1 y 10

xy

x2

2

-4

4

-1

3

-3

1

2528

0

2

0

0

2529

1

4

4

1

2530

2

6

12

4

0

17

9

10

พ.ศ.

x

y=

2526

-2

2527

 y มีความสัมพันธเชิงฟงกชนั กับเวลา (x) ในลักษณะเสนตรง  สมการทํานาย y = ax + b เมื่อ a, b คือ คาคงที่ หา a และ b ไดดวยสมการปกติ y = a x + Nb

--------------------

xy = a x2 + bx -------------------- แทนคาใน  ได 17 = 0 + 5b 

b =

17 5


ห น า | 209

แทนคาใน  ได 9 = 10a + 0 

a =

 สมการทํานาย y = ป 2535 แทน x = 7 ; y = =

9 10

9 17 x+ 10 5

9 17 7+ 10 5 63 34 97  = 10 10 10

Y 97 = 10 10

Y = 97


ห น า | 210

เฉลยวิชาคณิตศาสตร ตอนที่ 2 1. ตอบ 11

ให

A เปนเซตของผูที่ใสครีม B เปนเซตของผูที่ใสน้ําตาล ให n (A B) = x

 n  (A  B)'  = x

 n(A)

= x+y

ให

n (A – B) = y

และ

n (A – B) = z

และ

n (B)

= x+z

 x + y = 2(x + z) – 7 x + y = 2x + 2z – 7 x – y + 2x = 7 และ 2x + y + z =

20

-------------------- --------------------

 +  ได 3x + 3z = 27 x+z = 9  -  ได x + y = 11  ผูที่ใสครีมในกาแฟมี 11 คน

2. ตอบ 7 

15  x =

22  2 105

15  x =

15  7  2 15  7

--------------------


ห น า | 211

15  x =

( 15  7 ) 2

15  x =

15  7

x =

7

x =7

3. ตอบ 20

5x2 + 5y2 - 20x - 10y - 100 = 0 x2 + y2 - 4x - 2y - 20 = 0 (x2 – 4x) + (y2 – 2y) = 0 (x2 – 4x + 4) + (y2 – 2y + 1) = 20 + 4 + 1 (x – 2)2 + (y – 1)2 = 25 (x – 2)2 + (y – 1)2 = 52 วงกลมนี้มีจุดศูนยกลางอยูที่ (2, 1) และมีรศั มีเทากับ 5  ระยะจากจุด (2, 1) ถึงจุด (10, 7)

=

( 2  10 ) 2  (1  7) 2

=

64  36

=

100 = 10

 ระยะที่ยาวที่สุด = 10 + 5 = 15 และ ระยะที่สนั้ ที่สดุ = 10 – 5 = 5  ผลบวกของระยะทีย่ าวที่สุดและสัน้ ที่สดุ = 15 + 5 = 20


ห น า | 212

4. ตอบ 5  3(1

x 2 x 2 )

3  3(

 + 9 3 (  

x 2  x 2 )

9

+ 3

x 2  x 2 )

เอา 3( 3 3 3 3

2 2( x  x 2 )

3  3( 3(

x 2  x 2 )

=

= 28

+ 9 = 28  3( - 28  3(

2 2( x  x 2 )

x 2  x 2 )

( x 2 x 2)

  = 28 

คูณทั้งสองขางได

2 2( x  x 2 )

(3  3

x 2  x 2 )

- 1)( 3(

x 2  x 2 )

x 2  x 2 ) x 2  x 2 )

- 1 = 0 หรือ 3( 1 = 3 –1 หรือ 3( 3

+9 = 0

-9) = 0 x 2  x 2 )

-9 = 0

x 2  x 2 )

x 2  x  2 = - 1 ซึ่งเปนไปไมได 

= 9 = 32

x2  x  2 = 2

x2 + x – 2 = 4 ** x2 + x – 6

=0

(x + 2) (x – 3) = 0  x = -2, 3  คาสัมบูรณของผลตาง =  2  3 =  5 = 5


ห น า | 213

วิธีลดั

ใชหลักในการมอง  มองเห็นแลวพบวา

x2 + x - 2 ควรเปน 4

ลองแทนคาดู

31 4   9 3  

4

 = 28 

1 33 + 9  2  = 28 3 

5. ตอบ 3

 y = f(x) = x4 - 2x2 + kx + 4  f(x)

= 4x3 - 4x + k

 f(2)

= 4(2)3 - 4(2) + k

24 = 32 – 8 + k 24 = 24 + k 

k =0

 y = f(x) = x4 - 2x2 + 4  f(x)

= 4x3 - 4x

 f(x)

= 0 เมือ่

4x3 - 4x = 0 4x(x2 – 1) = 0 4x(x + 1) (x – 1) = 0

x = 0, -1, 1


ห น า | 214

 f(x) = 12x2 - 4  f (0) = 0 - < 0  ที่ x = 0 f(x) สูงสุด f(- 1) = 12 (-1)2 – 4 = 12 – 4 = 8 > 0  ที่ x = -1 f(x) ต่ําสุด และ f(x) ต่ําสุด = 3 f(1) = 12 (1)2 – 4 = 8 > 0  ที่ x = 1 f(x) ต่ําสุด และ f(x) ต่ําสุด = 3  คาต่ําสุดของ y = 3 15

6. ตอบ 9

2

 ( x i  51)  1

i1

= 10

15 15

2

 ( x i  51)  2( x i  51)(1)  1

i1

2

15 15 

15

i1 

i1

= 10

15

 i1  = 10

2  x i  51  2  x i 51   1

15 15

2

 ( x i  51)  2 (0 )  15

i1

15 15

 ( x i  51)

i 1

15

2

= 10

สูตร

1. (X -

X)

2. C = nc

+ 1 = 10

= 0


ห น า | 215 15

 ( x i  51)

i1

15

2

=9

 คา S2 ที่ถูกตองคือ 9


ห น า | 216

ขอสอบจริงแชร ป2558 (ต่ํากวาสัญญาบัตร) วิชากฏหมายเบือ้ งตน 1.การแจงเกิด ตองแจง ภายในกี่วัน ก. 15 วัน หลังเกิด ข. 10 วัน หลังเกิด ค. 30 วัน หลังเกิด ง. 60 วัน หลังเกิด 2.การแจงตาย ตองแจง ภายในกีช่ ัวโมง ก. 12 ชัวโมง ข. 24 ชัวโมง ค. 36 ชัวโมง ง. 48 ชัวโมง 3.ชายไทย ตองลงบัญชีทหารกองเกินอายุ ตอนอายุเทาใด และไมเกินเทาใด ก. 17 ป ไมเกิน 30 ป ข. 18 ป ไมเกิน 30 ป ค. 19 ป ไมเกิน 30 ป ง. 20 ป ไมเกิน 30 ป 4.เดกเกิดในบาน ใครมีสิทธิ์ในการแจงเกิด ตอบ เจาบาน


ห น า | 217

5.ตั๋วเงินมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท ตั๋วเงินแบงเปน 3 ประเภท ไดแก 1. ตั๋วสัญญาใชเงิน (Promissory Note) 2. ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) 3. เช็ค (Cheque) 6.ขอใดเปนยศนายทหารสัญญาบัตรของกองทัพอากาศมั้ยครับ ก.นาวาโท ข.พันจาเอก ค.เรืออากาศตรี ง.รอยตรี 7.อายุที่บรรลุนติ ิภาวะ คือขอใด ก. 20 ป ข.21 ป ค.17 ป ง.18 ป 8.ผูที่ขอรับบุตรบุญธรรมได ตองอายุ กี่ป ตอบ………………………………………………….


ห น า | 218

9.ขอใดคือกฏหมายสูงสุด ตอบ รัฐธรรมนูญ 10.ศาลใดไมไดจัดขึน้ ในประเทศไทย ตอบ…………………………………………………. 11.ขอใดคือราชพัสดุ ตอบ ม.รามคําแหง 12. 31.ศาลฎีกาจะตองมีองคณะผูพิพากษากีค่ น ตอบ…………………………………………………. 13. เจาหนาที่กระทําความผิด ตองขึ้นศาลใด ตอบ…………………………………………………. 14. 39.พรบ.ประถมวัย เด็กตองเขาเรียนประถมเมือ่ อายุ ก. ยาง 8 ป ข. ยาง 7 ป ค. ยาง 6 ป ง. ยาง 5 ป 15. ใครเปนคนตรากฎหมาย ตอบ…………………………………………………. 16.การสมรสสิ้นสุดลง ตอเมือ่ ตอบ…………………………………………………. 17.การกระทําถือเปนโมฆียะ ตอเมื่อ


ห น า | 219

ตอบ…………………………………………………. 18.ทําใหบุตรนอกกฏหมายเปนบุตรดวยกฏหมายดดย ตอบ…………………………………………………. 19.ถาเกิดขอพิพาทเกี่ยวกับการใชอาํ นาจของรัฐ ตองขึ้นศาลใด ตอบ…………………………………………………. 20.ศาลฎีการมีผพู ิพากษากีค่ น ตอบ…………………………………………………. 21. กรณีเด็กเกิดนอกบาน แลวไมสามารถไปแจงไดใน15วัน สามารถแจงเกิดในภายหลังไดหรือไม ก.ได ภายใน30วัน ข.ได ภายใน45วัน ค.ไมได เพราะกฎหมายกําหนดภายใน15วัน ง.22.ลักษณะของกฏหมาย อาญา ตอบ…………………………………………………. 23. นาย ก กลาวตอ จา ข ขณะเขาจับกุม วา ไอจา ถามึงจับกูกเู อามึงออกแน นาย ก มีความผิดฐานใด ก. ขืนใจบังคับเจาพนักงานใหละเวนการปฏิบัติหนาที่ ข.ดูหมิ่นเจาพนักงาน ค. หมิ่นประมาทเจาหนาที่ ง.ไมมีความผิด

*****************************************************************


ห น า | 220

คอมพิวเตอรเบือ้ งตน 1.ตู เอทีเอ็ม เปนระบบคอมพิวเตอรแบบไหน ตอบ ซุปเปอรคอมพิวเตอร 2.ขอใดไมใชอุปกรแสดงผล? ก.ลําโพง ข.คียบ อรด ค.หนาจอ ง.เครือ่ งปริน้ 3.ขอใดคือหนวยของเครือ่ งปริ้น? ตอบ…………………………………………………. 4 .เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร? ตอบ…………………………………………………. 5.ฮารดิสเปนหนวยความจําอะไร ตอบ…………………………………………………. 6.เว็บ โรงเรียน ใช ลงทายใด ตอบ .ac.th 7.ระบบคอมพิวเตอรใดสําคัญทีส่ ุด ตอบ บุคลากร 8.บริษัทแอนดรอยด กอตั้งขึ้นที่ใด โดยใคร ตอบ พาโลอัลโต รัฐแคลิฟอรเนีย ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 โดยแอนดี รูบนิ


ห น า | 221

9.รายละเอียดของจอภาพเรียกวาอะไร ตอบ…………………………………………………. 10.โปรแกรม power point ใชทํางานดานใด ตอบ………………………………………………….

คณิตศาสตร 1.คณิต บันใดอันนึงยาว25เมตร นําไปพาดกําแพงถือหนาตางพอดีทคี่ วามสูง24เมตร เมือ่ เอนบันใดไปอีกฝง จะพาดกับกําแพงทีค่ วามสูง7เมตร อยากทราบวา ระยะหางจากผนังถึงกําแพงกีเ่ มตร ตอบ…………………………………………………. 2. 1,2,3,4,5 สรางเลขสามหลักไดกี่วิธี ตอบ…………………………………………………. 3.หมู ไก เปด นับขารวมกัน1400ขา เปนหมู40%ของสัตวทงั้ หมด มีไกมากกวาเปด .... ไกมกี ี่ตัว ตอบ…………………………………………………. 4.เลขฐาน 2 ของ 192 คืออะไร ตอบ………………………………………………….


ห น า | 222

ผลงานปที่ผานมา 2558 (บางสวน)


ห น า | 223


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.