แผนยุทธศาสตร์กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร พ.ศ.๒๕๕6-๒๕๕8 วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรสนับสนุนการผลิตสินค้าเกษตร พันธกิจ ๑. ศึก ษา วิจั ย พั ฒ นา และส่ ง เสริม งานด้ านวิศ วกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเกษตร โดย การศึกษา วิเคราะห์ ทดสอบ วิจัยประยุกต์ คัดสรร วางแผน กาหนดเป้าหมาย วิธีการ ๒. บริการวิชาการสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตร โดยการคานวณ ออกแบบ เป็นที่ปรึกษา และวิทยากรด้านวิศวกรรมการจัดการที่ดิน วิศวกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร วิศวกรรมแปรรูปสินค้า เกษตรและโลจิสติกส์ และวิศวกรรมโครงสร้างพื้นฐานการเกษตร ภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับ มาตรการ และพันธะสัญญาระหว่างองค์กร ๓. เป็นศูนย์กลางในการออกแบบ ที่ปรึกษา บริหารจัดการและประสานการดาเนินงานด้าน ส่งเสริมวิศวกรรม การบริหารจัดการทางวิศวกรรมของอุปกรณ์การผลิตและบริการของศูนย์ปฏิบัติการ การใช้เทคนิควิศวกรรมในการบริหารจัดการสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ ๑. ศึกษา วิจัย พัฒนา ประยุกต์ และถ่ายทอดความรู้เชิงวิชาการและเทคนิคการปฏิบัติการ ทางวิศวกรรมเกษตร ๒. บริการ สนับสนุนข้อมูลและเทคนิควิศวกรรมแก่หน่วยงานภายในและภายนอก ๓. สร้างระบบการเข้าถึงการบริการทางเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร
รายละเอียดประกอบยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ๑. ศึกษา วิจัย พัฒนา ประยุกต์ และถ่ายทอด ความรู้เชิงวิชาการ และ เทคนิคการปฏิบตั ิ การ ทางวิศวกรรมเกษตร
เป้าประสงค์ - เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีวิศวกรรม เกษตรเพื่อการผลิต และจัดการสินค้า เกษตร
ตัวชี้วัด - เกษตรกรที่ได้รบั การ ถ่ายทอดฯ มีการ นาไปปฏิบตั ิ ไม่น้อย กว่าร้อยละ ๖๐
-
๒. บริการ สนับสนุน ข้อมูล - ผู้ใช้บริการสามารถนา - ผู้ใช้บริการสามารถนา และเทคนิควิศวกรรมแก่ ข้อมูลและเทคนิค ข้อมูลและเทคนิค หน่วยงานภายในและ วิศวกรรมไปใช้ วิศวกรรมไปใช้ ภายนอก ประโยชน์ตาม ประโยชน์อย่างมี วัตถุประสงค์อย่างมี ประสิทธิภาพไม่น้อย ประสิทธิภาพ กว่าร้อยละ ๖๐ -
-
แนวทางการดาเนินงาน ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ เกษตรปลอดการเผา ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเขต กรรมเพื่อการผลิตพืช สร้างเสริมศักยภาพการ ผลิตและการใช้พลังงาน ทดแทน ศึกษา วิจัย พัฒนาระบบโล จิสติกส์ทางการเกษตร ศึกษา วิจัย พัฒนา ศักยภาพการใช้ระบบให้น้า พืชในการผลิตพืช ศึกษา วิจัย พัฒนาระบบ โรงเรือนเกษตร ศึกษา วิจัย พัฒนา เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยว และหลังการเก็บเกีย่ ว ผลผลิต ถ่ายทอดเทคนิคการใช้และ ซ่อมบารุงเครื่องจักรกล เกษตร พัฒนาศักยภาพการ ปฏิบตั ิการทางเทคนิค วิศวกรรมเกษตร บริการด้านวิศวกรรม เกษตรเพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิต และแก้ไขปัญหา ทางการเกษตร สร้างระบบฐานข้อมูล โครงสร้างพื้นฐานศูนย์ ปฏิบตั ิการ สร้างระบบบริหารจัดการ การใช้บารุงรักษาซ่อมแซม เครื่องมืออุปกรณ์โรงเรือน การเกษตร พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านเทคนิคการใช้เครื่อง จักรอุปกรณ์ในระบบการ
ยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัด -
๓. สร้างระบบการเข้าถึง การบริการทาง เทคโนโลยีวิศวกรรม เกษตร
- ผู้ใช้บริการมีศูนย์กลาง - มีช่องทางในการเข้าถึง ในการให้คาปรึกษา บริการทางเทคโนโลยี ทางเทคโนโลยี วิศวกรรมเกษตรอย่าง วิศวกรรมเกษตร น้อย ๔ ช่องทาง -
แนวทางการดาเนินงาน ผลิตพืช บริ การเทคนิ ควิศวกรรมใน การบริ หารจั ด การ เครื่ อง มือ และสินทรัพย์ของกรมฯ การวิเคราะห์ และประเมิ น การใช้ พลั ง งานไฟฟ้า ตาม แผน การอนุรักษ์ พลั ง งาน ตามพระ ราชบั ญ ญั ติ ก าร อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน พ.ศ. ๒๕๓๕ เชื่ อ มโยงการปฏิ บั ติ ง าน ร่วมกับองค์กรต่างๆ พั ฒ นาระบบสารสนเทศ และอุ ปกรณ์ สนับสนุนการ ปฏิบัติงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ เป็นที่รู้จัก จัดกิจกรรมการให้บริการ
แผนปฏิบัติงาน ยุทธศาสตร์
ปริมาณงาน ผู้รับผิดชอบ หน่วยนับ ๒๕๕6 ๒๕๕7 ๒๕๕8 ๑.๑ หยุ ด การเผาในพื้ น ที่ แห่ง 5 5 5 วศท. วศค. การเกษตรภายใต้ แ ผน ปฏิ บั ติ ก ารแก้ ไ ขหมอก ควันและไฟป่า โครงการ/กิจกรรม
๑. ศึ ก ษ า วิ จั ย พั ฒ นา ประยุ ก ต์ และ ถ่ า ยทอด ความรู้เชิงวิชาการ และเทคนิคการ ปฏิ บั ติ กา รทาง ๑.๒ พัฒนาการเขตกรรมเพื่อ วิศวกรรมเกษตร การผลิตพืช ๑.๓ พัฒนาศักยภาพการผลิต และกา รใช้ พ ลั ง ง า น ทด แ ท น ใ น ก า ร ผ ลิ ต สินค้าเกษตร ๑.๔ วิ จั ย พั ฒ น า ร ะ บ บ โลจิสติกส์ของผลไม้ไทย ๑.๕ ช่างเกษตรชุมชน ๑.๖ ถ่ า ย ทอ ด เ ทค โน โล ยี ระบบการให้น้าพืช ๑.๗ การตรวจวั ด คุ ณ ภาพ ผลไม้ ๑.๘ วิ จั ย ร ะ บ บ โ ร ง เ รื อ น เกษตร ๒. บริ ก ารสนั บ สนุ น ๒.๑ พั ฒ น าศั กย ภ าพ กา ร ข้อมูลและเทคนิค ปฏิ บั ติ ก ารทางเทคนิ ค วิศวกรรม วิศวกรรมเกษตรแก่ศูนย์ ปฏิบัติการ 2.2 บริ ก ารด้ า นวิ ศ วกรรม เกษตรเพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตและแก้ไขปัญหา ทางการเกษตร 2.3 ระบบฐานข้ อ มู ล โครง สร้ า งพื้ น ฐานของศู น ย์ ปฏิบัติการ 2.4 ส้ า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ วิเ คราะห์ และประเมิ น การใช้ พ ลั ง ง านไฟฟ้ า ประจ้าอาคาร
ศูนย์
3
11
11
วศท. วศจ.
3
วศป. วศค.
2
วศป.
1
1 50
วศจ. วศค.
เรื่อง
พืช
2
หลักสูตร ราย พืช
1
3
2
วศป.
เรื่อง
1
1
1
วศค.
ศูนย์
๖
๖
6
วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.
ด้าน
๕
๕
๕
วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.
ศูนย์
๕๕
๖๕
๖๕
ฝช.
อาคาร
๖
๖
๖
ฝช.
ยุทธศาสตร์
๓. สร้ า งระบบการ เข้าถึงการบริการ ทางเทคโนโลยี วิศวกรรมเกษตร
ปริมาณงาน หน่วยนับ ๒๕๕6 ๒๕๕7 2.5 ออกแบบ ก าหนดราย เรื่อง ๕ ๕ ละเอียดคุณลักษณะ และ หรื อ ควบคุ ม งาน/ตรวจ รับเครื่องมืออุปกรณ์และ ระบบสาธารณูปโภคของ กรมฯ 3.1 พั ฒนาระบบสารสนเทศ รายการ ๔ ๔ และอุปกรณ์การถ่ายทอด 3.2 ประชาสัมพันธ์องค์กรให้ ด้าน ๕ ๕ เป็นที่รู้จัก 3.3 ให้ บ ริ ก ารฝึ ก อบรมทาง เรื่อง 1 เทคโนโลยี วิ ศ วกรรม เกษตร โครงการ/กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ ๒๕๕8 5 วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.
๔ ๕ 1
วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช. กอน. วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.
การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมของหน่วยงาน (SWOT Analysis) จุดแข็ง (Strength : S) สภาพแวดล้อมภายในที่มีผลทางบวกต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร S1 : เป็นหน่วยงานเดียวในประเทศที่ดาเนินงานในลักษณะการส่งเสริมประยุกต์ ถ่ายทอด บริการ ด้านวิศวกรรม เกษตรแก่เกษตรกร S2 : ผลการดาเนินงานเกิดขึ้นอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม S3 : มีบุคลากรทีม่ ีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน S4 : มีข้อมูลรองรับที่เชื่อถือได้ จุดอ่อน (Weekness : W) สภาพแวดล้อมภายในที่มีผลทางลบต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร W1 : ได้รับงบประมาณและแผนงานจากัด W2: บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่มีอยู่ไม่เพียงพอต่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้า W3 : หน่วยงานยังไม่เป็นที่รจู้ ักในวงกว้าง โอกาส (Opportunity : O) สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลทางบวกต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร O1 : งานส่งเสริมและบริการด้านวิศวกรรมเกษตรเป็นที่ต้องการของลูกค้า O2 : สถานการณ์การผลิตเพื่อการแข่งขันและการรักษาสภาพแวดล้อมทางการเกษตรมีความจาเป็นต้องใช้ เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร O3 : งานโครงการต่างๆ มีความจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรในการสนับสนุนมากขึ้น อุปสรรค (Treat : T) สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลทางลบต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร T1 : การใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรต้องลงทุนในมูลค่าสูง T2 : การนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ต้องใช้ระยะเวลาในการเห็นผลและยอมรับ เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ มีความรู้และขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งวิชาการ