ระบบและอุปกรณ์การให้น้ำพืช

Page 1


คํานํา ระบบใหน้ําพืชเปนวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรประเภทหนึ่ง ที่มีการพัฒนาขึ้นเพื่อ อํานวยความสะดวกใหแกเกษตรกร ทั้งในดานการลดภาระเหน็ดเหนื่อยในการใชแรงงานรดน้ําพืช การลด ความเสี่ยงจากความเสียหายของพืชอันเนื่องมาจากการขาดน้ํา ปจจุบันการใหน้ําโดยระบบใหน้ําพืชมิไดเปน เพียงแตการลดภาระหรือลดความเสี่ยงเทานั้น แตยังเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานไดโดยการคํานวณการใหน้ํา แกพืชไดอยางเพียงพอเทาที่จําเปน สามารถลดภาระการใสปุ ยโดยการให ปุยไปพรอมกับการใหน้ํา และยัง สามารถควบคุมการเปด - ปด การใหน้ําพืชไดโดยใชคอมพิวเตอรควบคุมทั้งแบบที่ควบคุมอยูในพื้นที่เพาะปลูก หรืออาจควบคุมขามประเทศก็ทําได สําหรับในประเทศไทย เกษตรกรนิยมใชระบบใหน้ําพืชเพื่อลดภาระงานและลดความเสี่ยงภัย อยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งในงานสวน เชน สวนผลไมและสวนผัก นอกจากนี้ยังมีอุปกรณระบบใหน้ํา พืชจําหนายโดยทั่วไปทั้งที่มีคุณภาพสูงและต่ํา ทั้งที่ผลิตในประเทศและตางประเทศ และพบวาเกษตรกรหรือ แมแตนักวิชาการดานการเกษตรสวนมากยังมีความรูในดานนี้อยางแทจริงไมมากนัก กอใหเกิดการสูญเสียเปน จํานวนมาก กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร จึงไดจัดทําเอกสาร “การเลือกใชระบบและ อุปกรณการใหน้ําพืช” เพื่อเปนการถายทอดและเผยแพรความรูเรื่องระบบใหน้ําพืช โดยในฉบับนี้จะเนนถึง การเลือกใชระบบใหน้ําพืชใหถูกตองและเหมาะสมกับความตองการนําไปใชรวมถึงการทําความรูจักกับอุปกรณ ชนิดตางๆ ของระบบใหน้ําพืช ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุ ณ โครงการกองทุ น รวมเพื่ อช ว ยเหลื อ เกษตรกร (คชก.) และโครงการ จัดระบบพิเศษเฉพาะพื้นที่มันสําปะหลังป 2550/51 ที่ใหการสนับสนุนงบประมาณในการจัดทําเอกสารฉบับนี้ และขอขอบพระคุณผูบริหารของกรมสงเสริมการเกษตรที่ไดใหความสําคัญตอการพัฒนาการใชเทคโนโลยีของ เกษตรกรของประเทศ มา ณ ที่นี้ กองสงเสริมโครงการพระราชดําริ การจัดการพื้นที่ และวิศวกรรมเกษตร สิงหาคม 2558


สารบัญ คํานํา ....................................................................................................................................................... 1 สารบัญ .................................................................................................................................................... 2 ระบบการใหน้ําพืช .................................................................................................................................. 1 การใหน้ําแบบฉีดฝอย (SPRINKLER IRRIGATION) ............................................................................... 1 สปริงเกลอร (SPRINKLER) .................................................................................................... 1 การใหน้ําแบบเฉพาะจุด (LOCALIZE IRRIGATION)............................................................................. 2 มินิสปริงเกลอร (MINI SPRINKER)......................................................................................... 2 ไมโครสเปรย (MICRO SPRAY) และเจ็ท (JET) ....................................................................... 2 น้ําหยด (DRIP) .................................................................................................................... 2 การเลือกระบบการใหน้ําที่เหมาะสมกับชนิดของพืช.............................................................................. 3 พืชไร ............................................................................................................................................. 3 ระบบน้ําหยด ..................................................................................................................... 3 ระบบสปริงเกลอร .............................................................................................................. 4 พืชผัก ............................................................................................................................................ 5 ระบบน้ําหยด ..................................................................................................................... 5 ระบบมินิสปริงเกลอร ......................................................................................................... 6 ไมผล ............................................................................................................................................. 6 ระบบมินิสปริงเกลอร ......................................................................................................... 6 ระบบไมโครสเปรยและเจ็ท ................................................................................................ 6 องคประกอบของระบบการใหน้ํา............................................................................................................ 8 หัวปลอยน้ํา ................................................................................................................................... 9 แบบสปริงเกลอร ................................................................................................................ 9 แบบมินิสปริงเกลอร ......................................................................................................... 10 แบบไมโครสเปรยและเจ็ท ................................................................................................ 11 แบบน้ําหยด ..................................................................................................................... 12 หัวน้ําหยดแบบติดบนทอ .................................................................................................. 13 หัวน้ําหยดแบบฝงในทอ .................................................................................................... 13 หัวน้ําหยดแบบเทปน้ําหยด ............................................................................................... 14


ทอ............................................................................................................................................... 15 ทอชนิด พีวีซี (PVC) ......................................................................................................... 15 ทอชนิด พีอี (PE) .............................................................................................................. 15 เครื่องกรองน้ํา ............................................................................................................................. 16 กรองแยกทราย (SAND SEPARATORS)................................................................................ 17 กรองแบบตะแกรง (SCREEN FILTER) ................................................................................. 17 กรองแบบถังทรายหรือกรวด (GRAVEL FILTER) ................................................................. 18 กรองแบบแหวน (DISC FILTER) ......................................................................................... 18 เครื่องสูบน้ํา ................................................................................................................................ 19 เครื่องสูบน้ําประเภทเหวี่ยงหนีศูนย.................................................................................. 19 เครื่องสูบน้ําประเภทใบพัดจุมใตน้ํา .................................................................................. 20 ตนกําลังที่เปนเครื่องยนต ................................................................................................. 20 ตนกําลังที่เปนมอเตอรไฟฟา ............................................................................................ 21 อุปกรณอื่นที่เกี่ยวของกับระบบการใหน้ํา .................................................................................... 21 ประตูน้ําหรือวาลว ........................................................................................................... 21 ขอตอตางๆ ...................................................................................................................... 22 เกจวัดแรงดันน้ํา .............................................................................................................. 22 วาลวระบายอากาศ .......................................................................................................... 22 วาลวกันน้ําไหลกลับ ......................................................................................................... 23 เครื่องจายปุย ................................................................................................................... 23 เทคนิคการติดตั้งและใชงานระบบใหน้ํา ............................................................................................... 24 การติดตั้งเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ .............................................................................................. 24 ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องสูบน้ํา .......................................................................................... 24 การติดตั้งทอดูดและอุปกรณ ............................................................................................ 24 การติดตั้งเครื่องกรองน้ําและอุปกรณตางๆ .................................................................................. 26 การวางแนวทอสงน้ํา ................................................................................................................... 26 การติดตั้งหัวปลอยน้ํากับทอยอย ................................................................................................. 27 การตอทอยอยและทอเมนยอย .................................................................................................... 28 การตอทอเมน ............................................................................................................................. 30


ขั้นตอนการติดตั้งและเริ่มตนใชงานระบบใหน้ํา ................................................................................... 31 การปฏิบัติงานและดูแลรักษาระบบ ...................................................................................................... 32 การปฏิบัติงานเมื่อเริ่มตนฤดูใหน้ํา ............................................................................................... 32 ชุดควบคุม ....................................................................................................................... 32 ชุดกรอง ........................................................................................................................... 32 ชุดใหปุย .......................................................................................................................... 32 วาลวควบคุมความดัน ...................................................................................................... 32 กลองควบคุม ................................................................................................................... 33 เปดน้ําลางภายในทอ........................................................................................................ 33 เปดน้ําผานระบบ ............................................................................................................. 33 ทอยอย ............................................................................................................................ 33 การปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุดฤดูใหน้ํา ................................................................................................ 33 ลางทอ ............................................................................................................................. 33 ดูแลกรอง......................................................................................................................... 33 ดูแลระบบใหปุย ............................................................................................................... 33 ดูแลทอยอย ..................................................................................................................... 34 การปฏิบัติงานประจําและการดูแลรักษา ..................................................................................... 34


ระบบการใหน้ําพืช พืชทุกชนิดมีความตองการน้ํา โดยน้ําเปนปจจัยอยางหนึ่งของขบวนการสังเคราะหแสงของพืช เปนตัวละลายธาตุอาหารในดินเพื่อให รากดูดขึ้นไปสรางการเจริญเติบโต และคายน้ําเพื่อระบายความรอน นอกจากนี้น้ํายังเปนตัวที่สําคัญในการกําหนดปริมาณและผลผลิตของพืชดวย ซึ่งพืชแตละชนิดมีความตองการ น้ําตางกัน ขึ้นอยูกับชนิด พันธุ และอายุของพืชนั้นๆ การใหน้ํานอยไปทําใหพืชเจริญเติบโตชา ผลผลิตต่ํา ฯลฯ แตถามากไปก็จะทําใหสิ้นเปลืองน้ําและคาใชจาย ดังนั้นจึงจําเปนตองใหน้ําอยางเหมาะสมกับความตองการน้ํา ของพืชนั้นๆ ระบบการให น้ํ าพื ช เป น กลไกที่ ส ามารถจั ด การควบคุ ม ปริ ม าณการให น้ํ าพื ช ได อย างถู ก ต อ ง เหมาะสมและสะดวก อันจะเกิดผลดีดังนี้ 1. พืชเจริญเติบโตอยางเต็มที่ 2. พืชไมชะงักการเจริญเติบโต 3. เพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิต 4. กําหนดเวลาการเก็บผลผลิตได 5. การใชปุยมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 6. สะดวกและประหยัดเวลาการใหน้ํา 7. ลดความเสี่ยงในอาชีพเกษตรกรรม ระบบการใหน้ําที่ดีจะตองสนองความตองการน้ําของพืชไดอยางเพียงพอ อีกทั้งยังตองเปนระบบ ที่เหมาะสมกับปจจัยอื่นๆ ที่เปนความสะดวกของผูใชระบบดวย เชน ชนิดของแหลงน้ํา ขอจํากัดของเครื่องสูบ น้ํา เวลาในการใหน้ํา เปนตน ซึ่งในการเลือกระบบที่จะมาใชกับพืชชนิดตางๆ ผูเลือกจะตองรูจักและทําความ เขาใจกับระบบการใหน้ํานั้นๆ กอน ซึ่งระบบใหน้ําที่ใชอยูในปจจุบัน แบงไดเปน 2 ประเภทคือ

การใหน้ําแบบฉีดฝอย (Sprinkler Irrigation) เปนการใหน้ําโดยฉีดน้ําขึ้นไปบนอากาศเหนือตนพืชกระจายเปนฝอยแลวใหเม็ดน้ําตกลงมาบน พื้นที่เพาะปลูก โดยมีเครื่องสูบน้ําเปนอุปกรณสงน้ําผานระบบทอดวยแรงดันที่สูงเพื่อใหน้ําฉีดเปนฝอย ออก ทางหัวปลอยน้ํา  สปริงเกลอร

(Sprinkler) เปนระบบที่ใชแรงดันตั้งแต 20 เมตรขึ้นไป และมีอัตราการไหลของหัวปลอยน้ําตั้งแต 250 ลิตรตอชั่วโมงขึ้นไป เหมาะสําหรับการใหน้ําในบริเวณกวาง ครอบคลุมพืน้ ที่ไดมาก เชน พืชไร และพืชผัก

1

กรมสงเสริมการเกษตร


ระบบสปริงเกลอรเหมาะกับสภาพแหลงน้ําที่มีปริมาณน้ํามากเพียงพอ คุณภาพน้ําปานกลาง การดูแลงาย ปญหาการอุดตันนอยจึงไมตองการระบบการกรอง แตถาคุณภาพน้ําต่ําและมีสิ่งเจือปนมาก ก็ จําเปนตองมีระบบการกรอง แรงดันที่ตองใชในระบบคอนขางสูงทําใหการลงทุนดานเครื่องสูบน้ําและคาใชจาย ดานพลังงานสูงที่สุด

การใหน้ําแบบเฉพาะจุด (Localize Irrigation) เป น การให น้ํ าบริเวณรากพื ช โดยตรง น้ํ าจะถูกปล อ ยจากหั ว ปล อยน้ํ าสู ดิ น ให น้ํ าซึมไปในดิ น บริเวณเขตรากพืช ระบบนี้เปนระบบที่ประหยัดน้ําไดอยางแทจริง เนื่องจากจะเกิดการสูญเสียน้ําจากปจจัยอื่น นอยมากและแรงดัน ที่ใชกับระบบต่ําประมาณ 5-20 เมตร ทําให ป ระหยัด คาใช จายในดานตน กําลังสูบ น้ํ า จําแนกไดดังนี้  มินิสปริงเกลอร

(Mini Sprinker) เป นระบบที่ใชแรงดั น 10-20 เมตร และมีอัตราการไหลของหั วปลอยน้ํา 20-300 ลิตรต อ ชั่วโมง เหมาะสําหรับไมผลที่มีระยะปลูกตั้งแต 5 เมตรขึ้นไป และพืชผัก  ไมโครสเปรย (Micro

Spray) และเจ็ท (Jet) เปนระบบที่ใชแรงดัน 10-15 เมตร และอัตราการไหลของหัวปลอยน้ํา10-200 ลิตรตอชั่วโมง เหมาะสําหรับไมผลที่มีระยะปลูกไมเกิน 5 เมตร ระบบมินิส ปริงเกลอร ไมโครสเปรยและเจ็ทเหมาะกับ สภาพแหลงน้ําที่มีป ริมาณน้ํ าจํ ากัด คุณภาพน้ําคอนขางดี รูปลอยน้ํามีขนาดเล็กตองการระบบการกรองที่ดีเพื่อไมใหเกิดการอุดตัน ผูใชตองมีความ ละเอียดในการตรวจสอบและลางกรองอยางสม่ําเสมอทุกวัน แรงดันที่ตองใชในระบบปานกลาง การลงทุนดาน เครื่องสูบน้ําและคาใชจายดานพลังงานนอยกวาระบบสปริงเกลอร  น้ําหยด

(Drip) เป น ระบบที่ใช แรงดั น 5-10 เมตร และอัต ราการไหลของหั วปล อยน้ํา 2-8 ลิต รต อชั่ วโมง ปลอยน้ําจากหัวปลอยน้ําสูดินโดยตรง แลวซึมผานดินไปในบริเวณเขตรากพืชดวยแรงดูดซับของดินเหมาะ สําหรับพืชไร พืชผัก ที่ปลูกเปนแถวชิดหรือไมผลบางชนิด ระบบน้ําหยดเหมาะกับสภาพแหลงน้ําที่มีปริมาณน้ําจํากัด คุณภาพน้ําดี รูปลอยน้ํามีขนาด เล็กมากตองการระบบการกรองที่ดีเพื่อไมใหเกิดการอุดตัน ผูใชตองมีความละเอียดในการตรวจสอบและลาง กรองอยางสม่ําเสมอทุกวัน แรงดันที่ตองใชในระบบคอนขางต่ําทําใหการลงทุนดานเครื่องสูบน้ําและคาใชจาย ดานพลังงานนอยที่สุด

2

กรมสงเสริมการเกษตร


ตารางเปรียบเทียบระบบการใหน้ําแบบตางๆ แรงดัน อัตราการไหล สูง มาก (20 เมตรขึ้นไป) (250 ลิตรตอชั่วโมงขึ้นไป) ปานกลาง ปานกลาง (10-20 เมตร) (20-300 ลิตรตอชั่วโมง) ปานกลาง ปานกลาง (10-15 เมตร) (10-200 ลิตรตอชั่วโมง) ต่ํา ต่ํา (5-10 เมตร) (2-8 ลิตรตอชั่วโมง)

ระบบ สปริงเกลอร มินิสปริงเกลอร ไมโครสเปรยและเจ็ท น้ําหยด

เวลาให้นํา นอย ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา

การเลือกระบบการใหน้ําที่เหมาะสมกับชนิดของพืช พืชไร  ระบบน้ําหยด

เหมาะสําหรับการใหน้ํากับพืชไรที่มีการปลูกเปนแถวชิด เชน มันสําปะหลัง ออย ขาวโพด สับปะรด ที่มีระยะการปลูกระหวางแถว 1-2 เมตร สามารถใชเทปน้ําหยดวางตามแถวปลูกทุกแถวโดยใชเทป น้ําหยดที่มีอัตรา 2-4 ลิตรตอชั่วโมง ทุกชองทางออกระยะ 30-50 เซนติเมตร ลักษณะการติดตั้งสําหรับขนาด พื้นที่กวาง 40 เมตร ยาว 80 เมตรดังภาพ

รูปที่ 1 แสดงลักษณะการติดตั้งระบบการใหน้ําแบบน้ําหยด

3

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 2 แสดงการใหน้ําแบบน้าํ หยดในพืชไร  ระบบสปริงเกลอร

เหมาะสํ าหรับ พื ช ไร ที่ มี ร ะยะปลู กทั้ งแถวชิ ด และห าง เช น มั น สํ าปะหลั ง อ อ ย ขาวโพด สับปะรด ที่มีระยะการปลูกระหวางแถว 1-2 เมตร การติดตั้งไมตองวางทอยอยทุกแถวพืชแตใชระยะห าง ระหวางแนวทอยอยและระหวางหัวตั้งแต 10 เมตรขึ้นไป เชนติดตั้งหัวสปริงเกลอร อัตราการไหล 1 ลูกบาศก เมตรตอชั่วโมง รัศมีการกระจายน้ํา 10-12 เมตร ทุกระยะ 10x10 เมตร สามารถติดตั้งระบบสปริงเกลอรใน การใหน้ํา ลักษณะการติดตั้งสําหรับขนาดพื้นที่กวาง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ดังภาพ

รูปที่ 3 แสดงลักษณะการติดตั้งระบบการใหน้ําแบบสปริงเกลอร

4

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 4 แสดงการใหน้ําแบบสปริงเกลอรในพืชไร

พืชผัก  ระบบน้ําหยด

เหมาะสําหรับพืชผักที่ปลูกเปนแถวเปนแนว เชน ถั่วฝกยาว คะนา ผักกาดขาว กะหล่ําปลี ที่มีระยะการปลูกระหวางแถว 0.5-1 เมตร สามารถใชเทปน้ําหยดวางตามแถวปลูกทุกแถวโดยใชเทปน้ําหยดที่ มีอัตรา 2-4 ลิตรตอชั่วโมง ทุกชองทางออกระยะ 30-50 เซนติเมตร ลักษณะการติดตั้งดังภาพ

รูปที่ 5 แสดงการใหน้ําแบบน้ําหยดในแปลงพืชผัก

5

กรมสงเสริมการเกษตร


 ระบบมินิสปริงเกลอร

เหมาะสําหรับพืชผักที่ปลูกเปนแปลงแบบหวาน หรือแบบตนกลา เชน ผักกินใบ ผักหวาน การติดตั้งสามารถวางระยะหางระหวางแนวทอยอยและระหวางหัวประมาณ 3-4 เมตร เชนติดตั้งหัวมินิสปริง เกลอรอัตราการไหล 60-120 ลิตรตอชั่วโมง รัศมีการกระจายน้ํา 4 เมตร ทุกระยะ 4x4 เมตร ลักษณะการ ติดตั้งดังภาพ

รูปที่ 6 แสดงการใหน้ําแบบมินิสปริงเกลอรในแปลงพืชผัก

ไมผล  ระบบมินิสปริงเกลอร

เหมาะสําหรับไมผลที่มีระยะปลูกตั้งแต 5 เมตรขึ้นไป เชน ไมผลระยะปลูก 5x5, 6x6, 8x8 เมตร สามารถวางทอยอยตามแถวของไมผลทุกแถวและติดตั้งหัวมินิสปริงเกลอรตนละ 1-2 หัว  ระบบไมโครสเปรยและเจ็ท

เหมาะสําหรับไมผลที่มีระยะปลูกไมเกิน 5 เมตร เชน ไมผลระยะปลูก 4x4 เมตร สามารถวาง ทอยอยตามแถวของไมผลทุกแถวและติดตั้งหัวสเปรยและเจ็ทตนละ 1-2 หัว

รูปที่ 7 แสดงการใหน้ําแบบมินิสปริงเกลอร ไมโครสเปรยและเจ็ทในไมผล

6

กรมสงเสริมการเกษตร


ตัวอยางเชน มะมวง ระยะปลูก 5x5 เมตร จํานวน 80 ตน ติดตั้งระบบมินิสปริงเกลอรหรือไม โครสเปรยและเจ็ทอัตราการไหล 120 ลิตรตอชั่วโมง รัศมีการกระจายน้ํา 2-4 เมตร ตนละ 1 หัว ลักษณะการ ติดตั้งดังภาพ

รูปที่ 8 ลักษณะการติดตั้งระบบการใหน้ําแบบมินิสปริงเกลอร ไมโครสเปรยและเจ็ท

7

กรมสงเสริมการเกษตร


องคประกอบของระบบการใหน้ํา ระบบการใหน้ํากําลังเป นที่นิยมและมีบทบาทมากขึ้นในหมูเกษตรกร เป นระบบที่ใชกันอยาง แพรหลายสามารถนําไปใชในการใหน้ําพืช โดยเฉพาะไมผล พืชผักและพืชไร ระบบการใหน้ําพืชมีหลายระบบ เชน สปริงเกลอร (Sprinkler) มินิสปริงเกลอร (Mini Sprinkler) น้ําหยด (Drip) ไมโครสเปรยและเจ็ท (Micro Spray and Jet) ซึ่งทุกระบบมีองคประกอบทีส่ ําคัญในระบบมีชื่อเรียกสวนตางๆ ดังนี้ 1. เครื่องสูบน้ํา ทําหนาที่สูบน้ําจากแหลงน้ําและเพิ่มความดันใหกับหัวปลอยน้ํา 2. เครื่องกรองน้ํา ทําหนาที่กรองสิ่งสกปรกและเศษผงตางๆ ที่ปนมากับน้ําปองกันไมใหเกิดการอุดตันที่หัว ปลอยน้ํา 3. ทอเมน ทอที่สงน้ําออกจากเครื่องสูบน้ําไปยังทอเมนยอย ควรใชเปนทอพีวีซี (PVC) 4. ทอเมนยอย ทอซึ่งแยกออกมาจากทอเมน และสงน้ําไปยังทอยอย ควรใชเปนทอพีวีซี (PVC) หรือ พี อี (PE) ชนิด HDPE 5. ทอยอย ท อ ที่ สํ า หรั บ ติ ด ตั้ ง หั ว ปล อ ยน้ํ า และจ า ยน้ํ า ให กั บ หั ว ปล อ ยน้ํ า โดยตรง ควรใช ทอพีอี (PE) ชนิด LDPE 6. หัวปลอยน้ํา อุปกรณที่ทําหนาที่รับน้ํามาจากทอยอย และจายน้ําใหกับตนพืชตามปริมาณที่ตองการ

รูปที่ 9 องคประกอบของระบบการใหน้ําและชื่อเรียกสวนตางๆ

8

กรมสงเสริมการเกษตร


หัวปลอยน้ํา เปนอุปกรณซึ่งทําหนาที่รับน้ํามาจากทอยอย และจายใหกับตนพืชตามปริมาณที่กําหนด หัวจาย น้ํามีมากมายหลายแบบ ซึ่งผูใช จะตองเลือกใชให เหมาะสมกับ ชนิด ของพืช สิ่งสําคัญ ที่จะตองพิจารณาคือ อัตราการจายน้ํา หมายถึงปริมาณน้ําตอหนวยเวลา แรงดันที่ใชของหัวปลอยน้ํา รูปแบบการกระจายน้ํา  แบบสปริงเกลอร

หัวสปริงเกลอร ทําหนาที่จายน้ําโดยฉีดน้ําจากหัวฉีดไปในอากาศแตกใหกระจายเปนเม็ดน้ํา เล็กๆ ตกลงมายังพื้นที่เพาะปลูก การกระจายน้ํามีรูปแบบเปนวงกลม หรือแบบทอมีรูเล็กๆ ใหน้ําฉีดออกมา ตลอดความยาวของทอ ระบบสปริงเกลอรตองการ 2 สิ่งคือ อัตราการไหลของน้ําและแรงดัน หากแรงดันไมพอ ระบบจะใชงานไมไดดี แรงดันเหมือนพลังงานในการผลักดันใหสปริงเกลอรทํางาน จึงจะไดอัตราการไหลของ น้ําออกมาอยางถูกตอง แตกอนที่น้ําจะไหลมาถึงบริเวณหัวสปริงเกลอรจะเสียแรงดันไปในเสนทางที่ผาน เชน มิเตอรวัดน้ํา ทอ วาลวกันน้ํากลับ ขอตอและประตูน้ําตางๆ แลวจึงผานถึงหัวสปริงเกลอร และตองมีแรงดัน เหลือพอใหหัวสปริงเกลอรทํางานได แรงดันมีผลตอการกระจายของน้ําใหโปรยทั่วพื้นที่อยางสม่ําเสมอ สําหรับ ตนกลาหรือพืชที่เพิ่งปลูกควรใชแรงดั นที่สูงกวากําหนดเพื่อใหการแตกตัวของน้ําเปนละอองมากขึ้น จะได ละอองน้ําที่ละเอียด ระบบสปริงเกลอรนิยมใชกับพืชไรและพืชผัก

รูปที่ 10 สปริงเกลอรแบบกระจายน้ํารอบตัว และแบบกระจายน้ําตามแนวเสนทอ

รูปที่ 11 สปริงเกลอรขนาดเล็กในแปลงพืชไรและพืชผัก 9

กรมสงเสริมการเกษตร


 แบบมินิสปริงเกลอร

หัวมินิสปริงเกลอรจะตอไวยังจุดที่เลือกบนทอยอย วางไวเหนือผิวดินกระจายน้ําดวยใบหมุน ลงสูดินในบริเวณเขตรากพืช รัศมี 3-4 เมตร ใหปริมาณน้ําทีละนอยเพียงพอแกการเจริญเติบโต เหมาะสําหรับ พืชที่ปลูกทั้งระยะชิดและระยะหางใชไดดีกับไมผลและยังสามารถใชกับพืชผักไดดวย

รูปที่ 12 หัวปลอยน้ําแบบมินสิ ปริงเกลอร

หัวมินิสปริงเกลอร บังคับทางออกของน้ําใหมีขนาดเล็ก ขอแตกตางจากหัวปลอยน้ําแบบอื่นๆ ที่ คอนขางจะเดน คือมีสวนที่หมุนไดที่เรียกวา ใบหมุน ซึ่งเปนตัวทําใหน้ํากระจายออกเปนวงกวางไดดีกวาสเปรย ขนาดเล็กแบบอื่น ทําใหมบี ริเวณพื้นที่เปยกมาก

รูปที่ 13 หัวมินิสปริงเกลอรแบบตางๆ

ปกติหัวมินิสปริงเกลอรจะตั้งไวบนขาตั้งและตอกับทอยอยโดยใชทอออนที่ถอดได ทอนี้ปกติมี เสนผานศูนยกลาง 4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 0.5 เมตร เปนประโยชนเมื่อตองการโคงงอหรือเคลื่อนยาย จุดปลอยน้ํารอบๆ โคนตนพืช อยางไรก็ตาม สําหรับหัวที่ใหปริมาณน้ําที่มากกวา 100 ลิตรตอชั่วโมงควรใชทอ ออนที่มีขนาดใหญขึ้นเพื่อชวยลดการสูญเสียแรงดัน

10

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 14 ทอออนขนาดตางๆ ที่ใชกับมินิสปริงเกลอรบนขาตั้ง  แบบไมโครสเปรยและเจ็ท

การใหน้ําแบบไมโครสเปรยและเจ็ทเปนรูปแบบการใหน้ําโดยหัวปลอยน้ํากระจายน้ําเปนฝอย หรือเป น สาย หั วปล อยน้ํ าจะไมมีใบหมุน หรือชิ้ น สวนที่เคลื่ อนไหว ให ป ริมาณน้ํ าทีละน อยเพียงพอแกการ เจริญเติบโตของพืช หัวปลอยน้ําถูกวางไวยังจุดที่เลือกบนทอน้ํา สวนใหญจะวางไวเหนือผิวดินกระจายน้ําลงสู ดินในบริเวณเขตรากพืชรัศมี 1-3 เมตร ทําใหเกิดเขตเปยกซึ่งจะมากนอยขึ้นอยูกับคุณลักษณะของดิน และ เวลาใหน้ํา โดยทั่วไปไมโครสเปรยและเจ็ทนั้น เหมาะสําหรับพืชที่ปลูกระยะชิด และตองการความชื้นสูง ไม ผลระยะตนเล็กๆ และในเรือนเพาะชํา แบบที่ฉีดเปนฝอยละเอียดจะตองหลีกเลี่ยงการใชในที่แจงที่มีลมแรง ปกติมักจะถูกนํามาติดโดยตรงบนทอยอย หรือติดบนปลายทอสั้นๆ หรือบนขาตั้ง หัวปลอยน้ําเหลานี้มักใชใน สวนผลไม สวนกลวย ฯลฯ

รูปที่ 15 หัวปลอยน้ําแบบไมโครสเปรยและเจ็ท

11

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 16 แบบการกระจายน้ําของหัวเจ็ท  แบบน้ําหยด

หัวน้ําหยดจะถูกติดตั้งไวยังจุดที่เลือกบนทอยอย สวนใหญหัวน้ําหยดจะวางไวบนผิวดินก็ได หรือสามารถฝงไวในดินระดับตื้นๆ เพื่อปองกันการเสียหายก็ได หัวน้ําหยดจะปลอยน้ําสูดินใหน้ําซึมไปในดิน ระหวางหัวน้ําหยดดวยแรงดูดซับ ซึ่งแรงดูดซับก็คือการเคลื่อนที่ของน้ําผานดินโดยแรงดึงของดิน สวนอัตรา การเคลื่อนที่ขึ้นอยูกับขนาดของชองวางในดินและความชื้นของดิน ชองวางขนาดเล็กจะมีแรงดูดซับสูงแตการ เคลื่อนที่ของน้ําจะชา สวนเขตเปยกของดินจะมากนอยขึ้นอยูกับคุณลักษณะของดิน เวลาใหน้ําและจํานวนของ หัวปลอยน้ําที่ใช

12

กรมสงเสริมการเกษตร


หัวน้ําหยดแบบตางๆ ที่พบทั่วไป แบงไดเปนกลุมใหญๆ ดังนี้ หัวน้ําหยดแบบติดบนทอ สามารถยึด ติดกับทอยอยโดยอาศัยเงี่ยงเกาะ ใชในโรงเรือน โรงอนุ บาลพืช พืชตระกูลส ม มะนาว ไมผลัดใบ ไมผลตางๆ และไมเถา เชน องุน

รูปที่ 17 หัวน้ําหยดแบบติดบนทอชนิดตางๆ

บางแบบอาจใชแยกเปน 4 ทางกับหัวปลอยน้ํา ดังนั้นน้ําสามารถกระจายออกได 4 จุด ทําให เปนประโยชนเมื่อใชกับดินรวนหรือดินทรายซึ่งไมคอยมีการแผขยายของเขตเปยก หัวน้ําหยดชนิดนี้ใชกันมาก ในสวนองุนและสวนดอกไม การติดหัวน้ําหยดบนทอทําใหยากตอการมวนเก็บจึงนิยมใชติดตั้งประจํา

รูปที่ 18 หัวน้ําหยดประกอบกับทางแยก 4 ทาง

หัวน้ําหยดแบบฝงในทอ มีหัวน้ําหยดเปนสวนเดียวกับทอ ไมยื่นออกมาภายนอกทอและสามารถมวนเก็บหลังการใชได ดวย มีทั้งชนิดไมปรับแรงดันและชนิดปรับแรงดันในตัวได

รูปที่ 19 หัวน้ําหยดชนิดไมปรับแรงดัน

13

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 20 หัวน้ําหยดชนิดปรับแรงดัน

หัวน้ําหยดแบบเทปน้ําหยด ประกอบดวยทอใหญผนังบางนําน้ําไหลผานตออยูกับทอเล็กเพื่อจายน้ํา มีลักษณะเปนรอง หรือบางแบบอาจเปนรูเล็กๆ และมีหัวน้ําหยดฝงอยูภายใน

รูปที่ 21 เทปน้ําหยดแบบมีทอใหญนําน้ํา และรองขนาดเล็กจายน้ําเปนชวงๆ

เทปน้ําหยดปกติใชกับพืชผลตางๆ ที่ปลูกเปนแถว เชน สับปะรด ออย มันสําปะหลัง ผักตางๆ และกลวย ยิ่งขนาดของทอออกเล็กมากเทาไรการซึมลงดินก็ยิ่งดีมากขึ้น ในการใหน้ําผักทอน้ําหยดจะถูกวางใต พลาสติกที่คลุมอยูเพื่อลดการระเหยและปองกันผลผลิตสัมผัสกับดิน นอกจากนี้ยังสามารถใชทอที่ไมมีความ ตานทานตอแสงอาทิตยและมีราคาถูกกวาได การฝงทอระดับตื้นๆ จะทําใหการคนหาทอภายหลังฤดูเก็บเกี่ยว งายขึ้น

รูปที่ 22 ทอน้ําหยดวางใตพลาสติกคลุมดิน

รูปที่ 23 ทอน้ําหยดวางใตดิน

14

กรมสงเสริมการเกษตร


ทอ ทอถูกนํามาใชในระบบการใหน้ําพืชตั้งแตการลําเลียงน้ําจากแหลงน้ํามาถึงหัวปลอยน้ํา ซึ่งผูใช ระบบน้ําจะตองพิจารณาวาจะใชทอชนิดใด ขนาดใด เปนทอเมน ทอเมนยอย และทอยอย ทอสวนมากจะใช 2 ชนิด คือ  ทอชนิด

พีวีซี (PVC) ทอชนิดนี้เปนทอพลาสติกมีน้ําหนักเบา เชื่อมตอกันไดงายสามารถเชื่อมตอกับทอชนิดอื่นได ดวย ไมเปนสนิม ทนตอการกัดกรอนของกรดและสารเคมี แตมีขอเสียคือ เมื่อถูกทับดวยน้ําหนักมากๆ อาจ เกิดการแตกหักได หรือเกิดการกรอบแตกไดงายเมื่ออยูในที่แดดจัดเปนเวลานานๆ และตอเนื่อง ทอพีวีซี มี ความยาวมาตรฐาน ทอนละ 4 เมตร และขนาดมาตรฐานที่มีขายทั่วไปมีตั้งแตขนาดเสนผานศูนยกลาง ½ นิ้ว ถึง 16 นิ้ว ขอที่ควรคํานึงในการใชทอพีวีซีกับระบบการใหน้ําอีกขอหนึ่งก็คือขนาดความหนาของทอ ซึ่งความ หนาของทอจะมีผลในการรับแรงดันของน้ําซึ่งระบบคาการรับแรงดันของทอพีวีซีกําหนดไวเปนชั้น (Class) ตามมาตรฐาน ดังนี้ ชั้น 5 หมายถึง รับแรงดันของน้ําไดสูงสุด 5 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร ชั้น 8.5 หมายถึง รับแรงดันของน้ําไดสูงสุด 8.5 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร ชั้น 13.5 หมายถึง รับแรงดันของน้ําไดสูงสุด 13.5 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร

รูปที่ 24 ทอพีวีซี  ทอชนิด

พีอี (PE) เป น ท อโพลี เอทธิ ลี น ที่ มีสี ดํ า จึ งมั กเรี ย กกัน วาท อดํ า เป น ท อ ซึ่งผลิ ตสํ าหรับ ระบบเกษตร เนื่องจากทอพีอีขนาดเล็กมีราคาถูกกวาทอชนิดอื่นๆ ตัดตอและเจาะรูงาย ทําใหสะดวกในการติดตั้ง มีน้ําหนัก เบาและมีความยืดหยุนสูงกวาทอพีวีซีมาก จึงสามารถรับแรงกดทับไดโดยไมแตกหัก มีความยาวตั้งแต 50 200 เมตร จึงสามารถลดจํานวนขอตอลงไปไดมากขนาดของทอนิยมเรียกเปนมิลลิเมตร สําหรับคาที่บอกถึง ความสามารถในการรับแรงดันกําหนดไวเปนชั้นตัวเลข (PN) ดังนี้ PN 2.5 หมายถึงรับแรงดันน้ําไดสูงสุด 2.5 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร 15

กรมสงเสริมการเกษตร


PN 4 หมายถึงรับแรงดันน้ําไดสูงสุด 4 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร PN 6.3 หมายถึงรับแรงดันน้ําไดสูงสุด 6.3 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร PN 10 หมายถึงรับแรงดันน้ําไดสูงสุด 10 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร ทอพี อี แบ งเป น 2 ชนิ ด คือ ทอพี อีความหนาแน น ต่ํ า (LDPE) มีความยาวตั้ งแต 50-200 เมตร โคงงอและมวนได สามารถเจาะหรือตอหัวจายน้ําไดงายจึงนิยมใชเปนทอยอย อีกชนิดคือทอพีอีความ หนาแนนสูง (HDPE) มักใชเปนทอเมนหรือทอเมนยอย ทอขนาดไมเกิน 63 มิลลิเมตร สามารถมวนไดที่ความ ยาว 50 เมตร สวนทอขนาดใหญผลิตเปนทอนความยาว 6 เมตร และทอที่มีขนาดตั้งแต 50 มม. ขึ้นไปจะมี ราคาสูงกวาทอพีวีซี

รูปที่ 25 ทอ พีอี ความหนาแนนต่ําใชสําหรับทอยอยและทอพีอีความหนาแนนสูงใชสําหรับทอเมนยอย

เครื่องกรองน้ํา การกรองที่ดีเปนกุญแจที่นําไปสูความสําเร็จ เครื่องกรองน้ําจึงนับเปนอุปกรณที่มีความสําคัญ มากที่สุดอยางหนึ่งในระบบ ซึ่งแกปญหาการอุดตันของหัวปลอยน้ําได เนื่องจากหัวปลอยน้ํามีรูจายน้ําขนาด เล็กมาก เศษผงตางๆ ที่ถูกดูดผานเครื่องสูบน้ําเขาไปในทอจะไปอุดตันที่รูจายน้ํา ระบบการกรองใชในการ กรองเอาอนุภาคเล็กๆ ออกใหเหลืออนุภาคที่เล็กมากพอที่จะไมอุดทางออกของรูจายน้ํา อนุภาคที่อยูในน้ํา เหล านี้ ป ระกอบด ว ยอนุ ภ าคที่ เป น ทั้งสารอิน ทรีย และสารอนิ น ทรี ย อนุ ภ าคที่ เป น สารอิน ทรี ย ได แก พวก สาหราย แบคทีเรีย เศษวัชพืช เมล็ดพืช ตัวทากเล็กๆ ปลา และสิ่งมีชีวิตตางๆ ทั้งที่ตายแลวและยังไมตาย อนุภาคที่เปนสารอนินทรีย ไดแก อนุภาคของดินสามชนิดคือ ทราย ตะกอนทราย และดินเหนียว เครื่องกรองน้ํ ามีอยูหลายแบบซึ่งมีลักษณะการทํางานตางกันบาง ขึ้นอยูกับคุณ ภาพของน้ําที่ จะตองกรอง เครื่องกรองน้ําที่นิยมใชแบงออกไดเปน 4 ชนิด คือ กรองแยกทราย กรองแบบตะแกรง กรอง แบบถังทรายและกรองแบบแหวน

16

กรมสงเสริมการเกษตร


 กรองแยกทราย

(Sand Separators) ใชในการแยกเอาทรายและอนุภาคอื่นๆ ออก เปนแบบใหน้ําไหลหมุนวนซึ่งอนุภาคเหลานี้ หนักกวาน้ําจะแยกตัวออกมาและตกลงสูดานลาง เครื่องกรองแบบนี้มักจะใชกับน้ําที่มีทรายปนอยูเปนจํานวน มาก

รูปที่ 26 กรองแยกทราย  กรองแบบตะแกรง

(Screen Filter) ใชแยกของแข็งและอนินทรียวัตถุที่แขวนลอยปนอยูในน้ํา โดยใชไสกรองเปนตะแกรงทําจาก วัสดุที่ไมเปนสนิม เชน พลาสติก หรือสแตนเลส แบงแยกความละเอียดโดยสีตางๆ ของไสกรอง

รูปที่ 27 ลักษณะกรองและไสกรองแบบตะแกรง

17

กรมสงเสริมการเกษตร


 กรองแบบถังทรายหรือกรวด

(Gravel Filter) ใชในการขจัดพวกอิน ทรียวัตถุและตะไครน้ําจากแหลงน้ํ าเป ด เชน ห วย หนอง คลอง บึ ง แมน้ํา ซึ่งเครื่องกรองแบบตะแกรงไมสามารถกรองได ภายในเครื่องกรองจะบรรจุไวดวยชั้นของทราย หรือวัสดุ กรองที่คัดขนาดมา มีประสิทธิภาพในการกําจัดสารอินทรียวัตถุไดดี

รูปที่ 28 กรองแบบถังทรายหรือกรวด ก. ถังขนาดใหญ ข. ถังขนาดเล็ก  กรองแบบแหวน

(Disc Filter) ใช แยกของแข็งและอนิ น ทรีย วัต ถุทํางานโดยใช ไส กรองแบบแหวนรอง (Grooved Rings) หลายแผนที่ประกบเขาดวยกัน สรางเปนตัวไสกรองแบบทรงกระบอกที่มีความลึกของการกรอง ความละเอียด แบงเปน 6 ระดับ แบงแยกระดับความละเอียดจากนอยไปมากตามที่บริษัทผูผลิตกําหนด ไดแก น้ําเงิน เหลือง แดง ดํา เขียว เทา ตามลําดับ

รูปที่ 29 กรองแบบแหวน

18

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 30 ลักษณะไสกรองแบบแหวน

เครื่องสูบน้ํา เมื่อพูดถึงเครื่องสูบน้ําเกษตรกรทั่วไปมักจะรูจักวาเปนเครื่องมือที่ใชสูบ น้ําจากแหลงน้ําไปยัง บริเวณที่ต องการ แต อาจจะไม รูจั กวาเป น เครื่องสู บ น้ํ าประเภทใด มีคุณ สมบั ติ อย างไร สู บ น้ํ าได มากน อ ย เพียงใด ซึ่งที่จริงแลวแตละประเภทก็จะมีลักษณะการใชงานและคุณสมบัติไมเหมือนกัน เครื่องสูบน้ําสวนใหญ จําแนกไดดังนี้  เครื่องสูบน้ําประเภทเหวี่ยงหนีศูนย

เรี ย กกั น ทั่ ว ไปว า เครื่ อ งสู บ น้ํ า แบบหอยโข ง เป น เครื่ อ งสู บ น้ํ า ที่ ใช กั น อย า งกว า งขวางใน การเกษตร ใชในระบบการใหน้ําทางทอ เชน น้ําหยด มินิสปริงเกลอร สปริงเกลอร หรือใชในการระบายน้ําได เช น กัน เครื่ องสู บ น้ํ าประเภทนี้ มีให เลื อ กมากมายหลายแบบ และหลายขนาดตามความต อ งการของผู ใช สามารถเลือกใชไดทั้งที่น้ํามากแรงดันต่ํา หรือน้ํานอยแรงดันสูง หรือทั้งน้ํามากแรงดันมาก สามารถใชไดทั้ง เครื่ องยนต ห รือมอเตอร ไฟฟ า เครื่องสู บ น้ํ าแบบหอยโขงสามารถใช สู บ น้ํ าจากแหลงน้ํ าเป ด ตางๆ ได ดี แต จําเปนตองติดตั้งใหถูกวิธี และตองกรอกน้ําในทอดูดใหเต็มจึงจะสามารถสูบน้ําได

รูปที่ 31 เครื่องสูบน้ําหอยโขงแบบใชเครื่องยนตเบนซิน

รูปที่ 32 เครื่องสูบน้ําหอยโขงแบบใชมอเตอรไฟฟา

19

กรมสงเสริมการเกษตร


 เครื่องสูบน้ําประเภทใบพัดจุมใตน้ํา

แบงได 2 ชนิด เชน เครื่องสูบน้ําแบบเทอรไบน ใชสูบน้ําจากบอบาดาลน้ําตื้น หรือบอน้ําตื้น โดยมีเครื่องยนตหรือมอเตอรติดตั้งอยูบนพื้นดิน และเครื่องสูบน้ําแบบ Submersible ใชสูบน้ําจากบอบาดาล น้ําลึกโดยทั้งมอเตอรและใบพัดจมอยูใตน้ําทั้งหมด ทั้ง 2 ประเภทนี้สามารถใชกับระบบการเกษตรได

รูปที่ 33 เครื่องสูบน้ําแบบเทอรไบน และ Submersible  ตนกําลังที่เปนเครื่องยนต

เครื่องยนตมี 2 แบบดวยกันคือ เครื่องยนตแกสโซลีนหรือเครื่องยนตเบนซินและเครื่องยนต ดี เซล สิ่ งสํ าคั ญ ที่ ใช พิ จ ารณาในการใช ต น กํ าลั งที่ เป น เครื่ อ งยนต ม าใช กั บ เครื่ องสู บ น้ํ า ได แ ก แรงม าของ เครื่องยนตและความเร็วรอบของเครื่องยนต ซึ่งตนกําลังที่เปนเครื่องยนตมักจะแยกสวนกับเครื่องสูบน้ํา ดังนั้น เวลาติดตั้งควรจะเลือกเครื่องสูบน้ําใหมีความเร็วรอบอยูในระดับเดียวกับความเร็วรอบทํางานตอเนื่องของ เครื่องยนต หากความเร็วรอบตางกันจําเปนตองทําการทดรอบสามารถทําไดโดยใชพูเลยและสายพาน การใช เครื่องยนตจะตองบํารุงรักษาเปลี่ยนถายน้ํ ามันเครื่องและน้ําในระบบระบายความรอนอยางสม่ําเสมอตาม กําหนด

รูปที่ 34 ตนกําลังที่เปนเครื่องยนตใชกับเครื่องสูบน้ํา 20

กรมสงเสริมการเกษตร


 ตนกําลังที่เปนมอเตอรไฟฟา

มอเตอรไฟฟามีอายุการใชงานยาวนาน ไมตองบํารุงรักษามากเหมือนเครื่องยนต หากมีการใช งานและการบํารุงรักษาอยางถูกตองอาจใชงานไดนาน 20 ถึง 30 ป เมื่อเทียบคาใช จายดานกระแสไฟฟาของ มอเตอรไฟฟากับคาใชจายดานน้ํามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต จะพบวามอเตอรไฟฟาประหยัดกวาถึงรอยละ 30 มอเตอร ที่ใช กับ เครื่องสู บ น้ํ าโดยทั่วๆ ไป รอบการหมุน จะมีความเร็วคงที่คือ 1,450 และ 2,900 รอบตอนาที ความเร็วที่ใชกันมากที่สุดคือ 1,450 รอบตอนาที และมอเตอรใชไฟฟาเฟสเดียว (220V50Hz) จะมีขนาดไมเกิน 10 แรงมา

รูปที่ 35 ตนกําลังมอเตอรไฟฟาแบบตอตรงประกบติดกัน

อุปกรณอื่นที่เกี่ยวของกับระบบการใหน้ํา อุปกรณที่กลาวมาเปนอุปกรณหลัก ๆ แตยังมีอุปกรณอื่นๆที่เกี่ยวของในระบบการใหน้ําที่ควร ทราบอีก เพื่อที่จะทําใหการติดตั้งระบบการใหน้ําเปนไปอยางสมบูรณ อุปกรณที่ควรทราบมีดังนี้  ประตูน้ําหรือวาลว

หนาที่หลักของประตูน้ํา คือ ควบคุมการปดและการเปดน้ํา ควบคุมปริมาณการไหลของน้ํา ประตูน้ํามีหลายชนิด และหลากหลาย ตลอดจนวัสดุที่ใชทําแตกตางกันออกไป แตจะมีลักษณะการทํางานอยู 2 ลักษณะ คือ  ใชเกลียวเปนตัวยกและปดจานควบคุมชองทางการไหลของน้ํา (Gate Valve)  ใชลูกปนกลมเปนตัวควบคุมชองทางการไหลของน้ํา (Ball Valve)

รูปที่ 36 ประตูน้ําแบบใชจานควบคุมการไหล

รูปที่ 37 ประตูน้ําแบบใชลูกปนกลมเปนตัวควบคุมการไหล 21

กรมสงเสริมการเกษตร


 ขอตอตางๆ

ในระบบทอไมวาจะเปนทอเหล็ก ทอพีวีซี หรือทอพีอี จะมีขอตอลักษณะตางๆ เพื่อสะดวกใน การใชงาน ในระบบน้ําจะใชทอชนิดตางๆ บางครั้งก็ใชทั้ง 3 ชนิดรวมกัน เชนในสวนของชุดสูบน้ําใชทอเหล็ก หรือทอพีวีซีตั้งแตทอดูดขึ้นมาจะกระทั่งถึงทอเมน และใชทอชนิดพีวีซีในสวนของ ทอเมน ทอเมนยอย สวนทอ พีอีใชเปนทอยอย ดังนั้นจึงตองเลือกใชอุปกรณขอตอตามชนิดของทอใหถูกตองเหมาะสมดวย  เกจวัดแรงดันน้ํา

ควรใช เกจวั ด แรงดั น ติ ด ตั้ งในบริเวณท อส งใกล กับ เครื่ องสู บ น้ํ า เมื่อเดิ น เครื่ องสู บ น้ํ าแล ว แรงดันจะปรากฏบนเกจโดยเข็มจะกระดิกไปทําใหทราบไดวาเครื่องสูบน้ําทํางานที่แรงดันเทาไร เกจวัดนี้เปน สิ่งสําคัญและจําเปน เพราะเปนตัวระบุไดแนนอนกวาการคาดเดา นอกจากนั้นอาจใชเกจวัดแรงดันติดตั้ง 2 จุด กอนและหลังเครื่องกรองน้ํา เพื่อวัดความดันของ น้ําที่ไหลผานกรอง หากสังเกตพบวาแรงดันที่อานไดจากเกจซึ่งอยูหลังเครื่องกรองต่ํากวาความดันของเกจตัวหนา กรองมาก แสดงวาเครื่องกรองเริ่มอุดตันน้ําไหลผานไมสะดวก จะตองถอดไสกรองออกมาทําความสะอาด

รูปที่ 38 แสดงเกจวัดแรงดันของน้ํา  วาลวระบายอากาศ

เปนอุปกรณชวยในการระบายอากาศออกจากระบบทอซึ่งมักมีอากาศขังอยูบนจุดสูงสุดของ ทอและขัดขวางการไหลของน้ําเนื่องจากอากาศทําใหพื้นที่ของทอลดลง การระบายอากาศออกจะชวยใหการ ไหลของน้ําสะดวกขึ้น

22

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 39 วาลวระบายอากาศชนิดตางๆ  วาลวกันน้ําไหลกลับ

ทําหนาที่เปดใหน้ําไหลไปทางเดียว และปดเพื่อปองกันไมใหน้ําไหลยอนกลับเรียกกันวาเช็ค วาลว การติดตั้งวาลวกันน้ําไหลกลับจะติดตั้งในทอสงน้ําที่วางขึ้นทางชันหรือเนิน เมื่อเครื่องสูบน้ําหยุดอยาง กะทันหันหากไมติดตั้งวาลวกันน้ําไหลกลับน้ําอาจจะไหลยอนกลับกระแทกทําใหเครื่องสูบน้ําเสียหายหรือขอ ตอทอดูดหลุดได

รูปที่ 40 วาลวกันน้ําไหลกลับหรือเช็ควาลว  เครื่องจายปุย

จุดประสงคเพื่อฉีดปุยซึ่งเปนของเหลวเขาไปผสมกับน้ําในอัตราสวนที่พอเหมาะ เชน เครื่อง จายปุยแบบเวนจูรี่ ทํางานโดยอาศัยแรงดันน้ําที่มีอยูแลวในระบบ โดยไมตองอาศัยแหลงพลังงานเพิ่มเติมจาก ภายนอก เหมาะสําหรับจายปุยไดถึง 2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง สามารถใชเปนศูนยกลางการจายปุยสําหรับ พื้นที่ขนาดใหญ สามารถประกอบเขากับระบบใดๆ ที่มีอยูแลวไดอยางงาย ทํางานไดเร็วและไมยุงยาก แตมีการ สูญเสียแรงดันคอนขางมาก

รูปที่ 41 เครื่องจายปุยแบบเวนจูรี่

รูปที่ 42 ติดตั้งเครื่องจายปุยในแปลง 23

กรมสงเสริมการเกษตร


เทคนิคการติดตั้งและใชงานระบบใหน้ํา การติดตั้งเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ  ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องสูบน้ํา

เพื่อใหเครื่องสูบน้ําทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีอายุการใชงานที่ยาวนาน เครื่องสูบน้ํา จะตองติดตั้งอยูในตําแหนงที่เหมาะสม วางอยูบนแทนที่มีความมั่นคง แข็งแรง และตอกับอุปกรณตนกําลังและ ระบบทออยางถูกตอง กรณีที่ติดตั้งเครื่องสูบน้ําอยางถาวรควรที่จะตองพิจารณา ดังนี้ 1. สถานที่ติดตั้งเครื่องสูบน้ําควรอยูในตําแหนงที่สามารถเขาไปตรวจสอบ บํารุงรักษา หรือ ซอมแซมไดงาย 2. ไมตากแดด ตากฝน ถาเปนการติดตั้งถาวรควรอยูในโรงที่มีการถายเทอากาศไดดี ไมเปยกชื้น 3. เครื่องสูบน้ําควรอยูใกลแหลงน้ําที่จะสูบมากที่สุดเทาที่จะทําได และอยูสูงกวาระดับน้ําสูง ที่สุดในฤดูน้ําหลาก  การติดตั้งทอดูดและอุปกรณ

สิ่งที่จะตองพิจารณาในการติดตั้งทอดูดและอุปกรณสําหรับเครื่องสูบน้ํา (ปมแบบหอยโขง) มีดังนี้ 1. ศูนยกลางของเครื่องสูบน้ําควรอยูใกลผิวน้ําที่ทําการสูบมากที่สุด 2. มีอุปกรณ เชน ของอ ขอตอ และจุดตอนอยที่สุด 3. ความยาวของทอดูดควรสั้นที่สุด 4. ที่ปลายทอดูดควรมีฟุตวาลวและหัวกะโหลก 5. เครื่องสูบน้ําตั้งอยูบนแทนที่มั่นคงแข็งแรง

รูปที่ 43 แสดงลักษณะการติดตั้งที่ถูกตอง

24

กรมสงเสริมการเกษตร


6. ทอดูดควรจะโตกวาขนาดของดานดูดของเครื่องสูบน้ํา เชน ดานดูด 2 นิ้ว ควรใชทอดูดที่ มีขนาดโตกวา 2 นิ้วอยางนอย 1 ขนาด เชน 2½ นิ้วหรือ 3 นิ้ว ไมควรใชขนาดเดียวกันหรือเล็กกวาดานดูด 7. ขอลดระหวางดานดูดของเครื่องสูบน้ํากับทอดูดควรจะเปนขอลดแบบคางหมูไมควรใชขอ ลดปกติเพราะจะเกิดอากาศขังในทอได

รูปที่ 44 แสดงลักษณะของทอดูดที่ควรใช และไมควรใช

8. ปลายทอดูดไมรวมหัวกะโหลกควรอยูต่ําจากผิวน้ําไมนอยกวา 4 เทาของขนาดเสนผาน ศูนยกลางทอดูดและอยูสูงจากพื้นบอที่สูบน้ําไมนอยกวา 1 เทาของเสนผานศูนยกลางของทอดูด

รูปที่ 45 แสดงอุปกรณและความลึกของปลายทอดูดจากผิวน้ํา 25

กรมสงเสริมการเกษตร


การติดตั้งเครื่องกรองน้ําและอุปกรณตางๆ

การวางแนวทอสงน้ํา

26

กรมสงเสริมการเกษตร


การติดตั้งหัวปลอยน้ํากับทอยอย ท อ ย อ ยจะวางอยู บ นพื้ น ดิ น ในแถวพื ช จะต อ งใส หั ว ปล อ ยน้ํ า หลั ง การวางท อ ย อ ยแล ว 48 ชั่วโมง เพื่อใหการขยายตัวและหดตัวของทอยอยไมกระทบตอตําแหนงของหัวปลอยน้ําการตอขอตอเขากับ ผนังทอยอย จะตองใชที่เจาะรูที่ถูกตองไมใชตะปู หรือลวดที่แข็งและทื่อ ซึ่งอาจเปนผลเสียตอทอยอย คือทอ ยอยอาจแตกหรือทําใหจุดปลอยน้ําจุดนั้นเสียหาย การลางทอยอยกอนใชก็เปนสิ่งที่สําคัญมากเชนกัน

รูปที่ 46 ติดตั้งหัวน้ําหยดกับทอยอย

27

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 47 ติดตั้งหัวมินิสปริงเกลอรกับทอยอย

รูปที่ 48 ติดตั้งหัวไมโครสเปรย (Micro Spray) และเจ็ท (Jet) กับทอยอย

การตอทอยอยและทอเมนยอย การสวมทอยอยพีอี (LDPE) กับขอตอพลาสติกคอนขางงายและควรทําใหทอยอยรอนกอน (ใช น้ํารอนหรือแสงแดดไมใชไฟเผา) มิฉะนั้นเมื่อใชงานทออาจจะแตกตามแนวยาวเนื่องจากในขณะสวมกับขอตอ ไดรับความเครียดมากเกินไป สิ่งนี้สําคัญเพราะการติดตั้งในระยะแรกมักจะประสบกับปญหาเชนนี้มาก

รูปที่ 49 ขอตอพลาสติกสําหรับทอพีอี 28

กรมสงเสริมการเกษตร


รูปที่ 50 การตอขอตอพลาสติกสําหรับทอพีอี

การใชน้ําเพียงอยางเดียวก็ทําใหทอสวมเขากับขอตอพลาสติกไดงาย โดยไมตองใชผงซักฟอก เพราะผงซักฟอกอาจมีผลกระทบตอความทนทานของทอพีอที ี่มีความหนาแนนต่ํา (LDPE) ได สําหรับการตอเชื่อมระหวางทอยอยกับทอเมนยอยพีอีความหนาแน นต่ํา (LDPE) จะใสขอต อ พลาสติ กเขากับทอเมนยอยไดเลย แต ถาทอเมนยอยเป นพีอีความหนาแน นสูง (HDPE) หรือพีวีซีจ ะตองใช ปลอกยางกลมๆ รวมกับขอตอขนาดเทารูปลอกยางเพื่อตอทอยอยเขากับทอเมนยอย

รูปที่ 51 ขอตอแบบใชปลอกยางสําหรับตอทอยอยกับทอเมนยอยพีอี (HDPE) หรือพีวีซี

29

กรมสงเสริมการเกษตร


การตอทอเมน ทอเมนมักใชทอพีวีซีมีทั้งแบบธรรมดา แบบบานปลาย และแบบปากระฆังหรือแหวนยางซึ่งมีขอ ตอเฉพาะแบบ และมีวิธีการตอแตกตางกันตามชนิดทอ หรืออาจใชทอเมนเปนทอพีอีแตจะมีราคาสูงกวาพีวีซี

รูปที่ 52 การตอทอพีวีซีแบบปากระฆัง

รูปที่ 53 ขอตอทอพีอแี บบสวมอัด และขอตอพีวีซี

รูปที่ 54 การตอทอ พีอี ดวยขอตอแบบสวมอัด

30

กรมสงเสริมการเกษตร


ขั้นตอนการติดตั้งและเริ่มตนใชงานระบบใหน้ํา เมื่อเริ่มตนใชงานระบบการใหน้ํา จะตองลางทุกๆ สวนของระบบดวยน้ํา เพื่อลดสิ่งสกปรกจาก การติดตั้งไมใหไปอุดตันที่หัวปลอยน้ํา มีขั้นตอนดังนี้ 1. ติดตั้งอุปกรณชุดควบคุม ชุดใหปุย และกรองใหเรียบรอย 2. ถาใชกรองที่มีระบบลางเองอัตโนมัติ ขั้นแรกตอระบบไฮดรอลิกส โดยตรวจสอบการทํางาน ของ Control Valve ใหถูกตอง จากนั้นตอไฟฟาหรืออุปกรณอิเลคทรอนิคส 3. วางแนวทอเมนและทอจายน้ําตามที่ออกแบบ ถาจะฝงทอก็ใหขุดดินเปนรองใหใกลวันติดตั้ง มากที่สุดเพื่อสภาพดินจะงายตอการกลบ 4. ตอทอเมนและทอเมนยอยทั้งหมด รวมทั้งวาลวปรับความดัน 5. วางทอลงในรอง กลบเพียงบางสวนเพื่อกันการขยับของทอ 6. เปดน้ําในระบบและลางทอใหสะอาด โดยการเปดปลายทอแตละเสนครั้งละ 1 เสน เพื่อใหมี แรงดันในการลางไมเปดทอหรือวาลวทุกวาลวพรอมกัน 7. วางทอยอยโดยเปดปลายทอทุกเสน 8. เจาะรูที่ทอเมนยอยตามตําแหนงที่ถูกตอง เพื่อตอขอตอสําหรับทอยอย เมื่อเจาะรูแลวตองตอ เขาทันทีเพื่อไมใหสิ่งสกปรกเขาไปในทอ อยาทิ้งรูที่เจาะไวเปนเวลานาน 9. ถาในแบบระบุใหใชวาลวปรับความดันที่ทอยอย ก็ใหใสวาลวปรับความดัน และทอยอยตาม แบบ รวมทั้งวาลวระบายอากาศ (ถามี) 10. เปดน้ําในระบบลางทออีกครั้ง โดยเปดครั้งละโซน เพื่อใหน้ํามีแรงดัน ลางทอเมนยอยกอน จากนั้นลางทอยอยที่ติดอยูกับทอเมนยอยนั้นจนเสร็จ จึงทําแบบเดียวกับทอเมนยอยและทอยอยชุดตอๆ ไปจน เสร็จ โดยจัดการใหน้ําที่ลางมีแรงดันมากพอ 11. วาลวปรับความดันบางตัวโดยเฉพาะที่อยูทายๆ ของระบบอาจมีการอุดตันเนื่องจากสิ่งสกปรก ในระหวางการลาง ใหเปดฝาของวาลวปรับความดันนั้น ถอดชิ้นสวนออกมาลางแลวประกอบเขาไปใหม 12. เมื่อลางระบบเรียบรอยแลว ปดปลายทอเมน ทอเมนยอย และทอยอยทุกเสน 13. ถาใชกลองควบคุม หรือวาลวไฮดรอลิกส ใหตอทอควบคุมและสายไฟตางๆ ตรวจสอบการ ทํางานใหเรียบรอย 14. เมื่อทุกอยางเรียบรอยใหกลบทอได แตตองไมกลบวาลวปรับความดัน 15. ตรวจสอบการทํางานอีกครั้งรวมทั้งระบบกรอง ระบบใหปุย เกจวัดความดัน กลองควบคุม และอุปกรณอัตโนมัติตางๆ

31

กรมสงเสริมการเกษตร


เมื่ อ ติ ด ตั้ ง ระบบเสร็ จ ในแปลงที่ ค วามชื้ น ของดิ น ต่ํ า กว า จุ ด ความชื้ น ชลประทาน (Field capacity) การเริ่มตนใหน้ําควรจะนานกวาปกติเพื่อสะสมความชื้นของดินไว การเริ่มตนใหน้ําครั้งแรกอยาง นอยที่สุดควรจะเปน 2 เทาของการใหน้ําปกติ การเริ่มตนใหน้ํานี้สําคัญเพราะจะเปนการตรวจสอบการดึง ความชื้นในเขตรากที่จะเปลี่ยนแปลงไประหวางการใหน้ําครั้งแรกกับครั้งตอไป อาจจําเปนตองทําเชนนี้ซ้ําใน ทุกฤดูกาล

การปฏิบัติงานและดูแลรักษาระบบ การปฏิบัติงานเมื่อเริ่มตนฤดูใหน้ํา กอนเริ่มตนฤดูใหน้ํา ทําตามขั้นตอนเพื่อใหแนใจวาระบบใชงานไดอยางถูกตอง กอนใหน้ําจริง ตองตรวจสอบกอนประมาณ 2-3 สัปดาห  ชุดควบคุม

ตรวจเกจวัดความดัน ตรวจมิเตอรวัดน้ํา (ถามี) ตรวจกลองควบคุม และระบบควบคุมอิเลคโทรนิกสตางๆ ใสแบตเตอรี่ในอุปกรณอิเลคโทรนิกส  ชุดกรอง

ลางกรองใหสะอาด ตรวจสภาพกรอง ซอมเปลี่ยนชิ้นสวนที่จําเปน ตรวจยางกันรั่ว ถาเปนกรองแบบกรวด ตรวจปริมาณกรวดถาไมพอใหเติม ถาเปนกรองแบบลางอัตโนมัติใหใสแหลงพลังงาน เชน แบตเตอรี่ และกดปุม Test  ชุดใหปุย

ตอระบบใหปุย เชน ถังจายปุย ปมฉีดปุย ตรวจสอบการทํางาน ถังจายปุยตองลางใหสะอาด  วาลวควบคุมความดัน

เปดน้ําเขาในระบบ ตรวจวาลวควบคุมความดันในแปลง โดยการกดที่สปริงถาสปริงกลับคืนแสดงวาใชงานได ถาติดใหเปดฝาถอดสปริงและลูกสูบลางใหสะอาด ประกอบเขาไปใหม

32

กรมสงเสริมการเกษตร


 กลองควบคุม

เปดอุปกรณควบคุมตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบสายนําสัญญาณตางๆ  เปดน้ําลางภายในทอ

ตองลางทอทุกเสนดวยน้ําที่มีแรงดันสูงสุด ลางทอใหญกอนไลไปหาทอเล็ก และทอยอยสุดทาย  เปดน้ําผานระบบ

เปดวาลวที่ปลายทอเมนทีละเสน เพื่อใหมีแรงดันในระบบ ลางทอเมนเสร็จแลวลางทอเมนยอยทีละเสน เปดลางทอยอยในเมนยอยแตละโซน เสร็จแลวปดปลายทอตามลําดับที่เปด ทําแบบเดียวกันกับทอยอยแตละโซน จนเสร็จทุกเสนในแปลง ถาน้ําออกที่ปลายทอยอยไมแรงแสดงวาทอหลุดหรือแตกใหตรวจสอบและซอมแซม  ทอยอย

ตรวจทอยอยตลอดความยาวและหัวปลอยน้ํา ถาหัวไหนอุดตันใหเปลี่ยนหรือแกไข กําจัดดินและพืชที่คลุมทอออก

การปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุดฤดูใหน้ํา  ลางทอ

เปดน้ําในระบบลางทอเมนและทอเมนยอยทีละเสนเพื่อใหน้ํามีแรงดันมากที่สุด เมื่อลางทอ เมนและทอเมนยอยแลวใหลางทอยอยโดยเปดปลายทอยอยครั้งละไมเกิน 20 เสน จากนั้นปดตามลําดับที่เปด แลวลางกลุมตอไป ตองระวังไมเปดปลายทอยอยมากเกินไปในแตละครั้งตรวจดูแรงดันน้ําไมใหนอยเกินไป  ดูแลกรอง

ลางกรองแบบตระแกรงหรือแบบแผนจานใหสะอาดและระบายความดันออกจากฝาครอบ ลางกรองแบบกรวดและถอดอุปกรณอิเลคโทรนิกสสําหรับระบบลางกรองออกเก็บไว ตั้งคําสั่งใหวาลวทํางานวันละครั้งเพื่อปองกันวาลวไฟฟาไมใหติดขัด ซอมแซมทาสีสวนที่เปนโลหะ  ดูแลระบบใหปุย

ลางถังปุย ปมฉีดปุย และอุปกรณใหปุยตางๆ ใหสะอาดเก็บไวในที่เหมาะสม

33

กรมสงเสริมการเกษตร


 ดูแลทอยอย

ดึงทอยอยออกจากดินหรือพืชที่ทับถมไมใหรากพืชชอนไช ซอมจุดที่เสียหาย

การปฏิบัติงานประจําและการดูแลรักษา การใหน้ําปฏิบัติตามตารางการใหน้ําปกติ สวนการตรวจสอบวาเมื่อไรจะใหน้ําขึ้นอยูกับ ปริมาณ น้ํ าที่ ย อมให พื ช ขาดได การตรวจปริ มาณน้ํ าที่ ร ะเหยจากถาดวั ด การระเหย การอ านจากเครื่ องวั ด แรงดึ ง ความชื้น หรือตรวจสอบระยะเวลาการใหน้ํา (ปกติประมาณทุกสัปดาห) และปริมาณน้ําที่ใหตอครั้ง การทําความสะอาดเครื่องกรองโดยการลางน้ํายอนกลับ (Backwashing หรือ Flushing Filters) นั้น ปริมาณน้ําจะเปนตัวกําหนดความบอยที่ตองลางทําความสะอาดเครื่องกรอง อยางไรก็ตามการปฏิบัติงาน ประจําที่ดีควรลางกรองโดยวิธีลางน้ํายอนกลับ หรือระบายตะกอนทิ้งเมื่อสิ้นสุดการใหน้ําแตละครั้ง การทิ้งไว ทําใหตะกอนจับตัวแข็งในเครื่องกรองหลังการใหน้ําเปนระยะเวลานานหรือเมื่อไมมีการใหน้ํา การใชระบบ อัตโนมัติจะทําการลางกรองไดเปนอยางดี ทอที่ควรมีการลาง ไดแก ทอยอยทั่วไปที่ใชกันควรจะมีการเปดลางอยางนอยเดือนละครั้งทอยอย ที่ติดวาลวระบายน้ําทิ้งอัตโนมัติจะระบายน้ําทิ้งทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดการใหน้ํา ทอเมนควรพิจารณาลางขึ้นกับ ปริมาณน้ําที่จาย

34

กรมสงเสริมการเกษตร


จัดทําโดย กองสงเสริมโครงการพระราชดําริ การจัดการพื้นที่เฉพาะและวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร สิงหาคม 2558

ทีปรึกษา นางดาเรศร

กิตติโยภาส

เรียบเรียง นายชีรวรรธก นายนเรสน

มั่นกิจ รังสิมันตศิริ

ออกแบบและจัดทํารูปเล่ม นางสาวชัญญานุช ปานเอี่ยม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.