การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า...ในการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น

Page 1


เอกสารค�ำแนะน�ำที่ 3/2558 การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า...ในการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ที่ปรึกษา : นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายสุรพล จารุพงศ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายบริหาร นายไพรัช หวังดี รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ นายสงกรานต์ ภักดีคง รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายส่งเสริมและฝึกอบรม ผู้เชี่ยวชาญกรมส่งเสริมการเกษตร นางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี นางดาเรศร์ กิตติโยภาส ผู้อ�ำนวยการกองประสานงานโครงการพระราชด�ำริและพื้นที่เฉพาะ เรียบเรียง : กลุ่มโครงการพระราชด�ำริ กองประสานงานโครงการพระราชด�ำริและพื้นที่เฉพาะ กลุ่มส่งเสริมระบบการให้น�้ำพืชและโรงเรือนเกษตร กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร ส�ำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร จัดท�ำโดย : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร พิมพ์ครั้งที่ 1 : ปี 2558 จ�ำนวน 20,000 เล่ม พิมพ์ที่ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด

SSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSS SSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSS


ค�ำน�ำ กรมส่งเสริมการเกษตร ได้จัดท�ำโครงการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 ในหัวข้อ “ใช้น�้ำ อย่างรูค้ ณ ุ ค่า ปวงประชาถวายพ่อของแผ่นดิน” เพือ่ เป็นการน้อมร�ำลึก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ มี ต ่ อ วิ ถี ชี วิ ต และความเป็ น อยู ่ ข อง ประชาชน ซึ่งเป็นผลมาจากพระอัจฉริยภาพด้านน�้ำ เอกสารค�ำแนะน�ำ “การใช้นำ�้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่า...ในการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น” เป็นเอกสารที่จัดท�ำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเทิด พระเกี ย รติ ฯ เพื่ อ ให้ ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ก ารเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต สินค้าเกษตร ได้น�ำไปใช้เป็นแนวทางการส่งเสริม เผยแพร่ และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการบริหารจัดการน�้ำในรูปแบบต่างๆ แล้วได้น�ำ ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับการด�ำเนินการของตนเองและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง เพื่อให้เกษตรกรได้ตระหนักและเห็นถึงแนวทางการใช้ประโยชน์ จากน�้ำอย่างรู้คุณค่าและมีประสิทธิภาพ กรมส่งเสริมการเกษตรหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า เอกสารค�ำแนะน�ำ ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรที่ได้เข้ามาเรียนรู้ด้านการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ซึ่งสามารถน�ำไปปรับใช้และ ปรับปรุงการด�ำเนินงานในอาชีพการเกษตรของตนเองต่อไป

กรมส่งเสริมการเกษตร พฤษภาคม 2558

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS 1S S S S �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


สารบัญ คุณค่าแห่งน�้ำ น�้ำของพ่อ น�้ำของแผ่นดิน หลักการให้น�้ำแก่พืช การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า...ในการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น

ระบบน�้ำที่เหมาะสมส�ำหรับไม้ผล ไม้ยืนต้น (1) ระบบมินิสปริงเกลอร์ (2) ระบบไมโครสเปรย์ (3) ระบบน�้ำหยด การให้น�้ำตามความต้องการของไม้ผล ไม้ยืนต้น (1) ตามระยะปลูก (2) ตามขนาดทรงพุ่ม (3) การให้น�้ำที่เหมาะสมกับความต้องการของไม้ผล ไม้ยืนต้น

ตัวอย่างเกษตรกรที่ประสบความส�ำเร็จ

(1) นายจ�ำเนียร เพชรศรี (2) นายด�ำรง จินะกาศ

หน้า

3 4 5 6

6 7 8 9 11 11 11 12

17

17 22

S S S S2 S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS SSSSS SSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


คุณค่าแห่งน�้ำ นั บ ตั้ ง แต่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ เถลิ ง ถวั ล ยราชสมบั ติ ทรงพระอุตสาหะเสด็จพระราชด�ำเนินเยีย่ มเยียนราษฎรไทยทัว่ ภูมภิ าค ทรงประจักษ์แจ้ง ในทุกข์สุขของราษฎร ทรงทราบว่าราษฎรในชนบทยากจนเพราะการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมไม่ได้ผล เนื่องจากขาดแคลนน�้ำ ทรงตระหนักดีว่า “น�้ำ” มีความส�ำคัญ ต่อการประกอบอาชีพและด�ำรงชีวิตของราษฎรในชนบท ทั้งน�้ำใช้ อุปโภค บริโภค และ น�ำ้ เพือ่ การเกษตร ดังพระราชด�ำรัส ณ สวนจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสติ เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2529 ความตอนหนึ่งว่า ““...หลักส�ำคัญต้องมีน�้ำบริโภค

น�้ำใช้ น�้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั้น ถ้ามีน�้ำคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้า ไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้...”” ดังนัน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จึงทรงทุม่ เทพระวรกายในการศึกษาพัฒนา และจัดการทรัพยากรน�้ำ ด้วยทรงมีความเชื่อมั่นว่าเมื่อใดที่สามารถแก้ไขหรือบรรเทา ความเดือดร้อนในเรือ่ งน�ำ้ ให้แก่ราษฎร เพือ่ ให้ราษฎรมีนำ�้ กิน น�ำ้ ใช้และเพือ่ การเพาะปลูก ตลอดจนไม่มปี ญ ั หาเกีย่ วกับน�ำ้ ทีม่ คี วามเสียหายให้แก่พชื ทีเ่ พาะปลูกแล้ว เมือ่ นัน้ ราษฎร ย่อมมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกว่าเดิม

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS 3S S S S �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


น�้ำของพ่อ น�้ำของแผ่นดิน ด้ ว ยพระอั จ ฉริ ย ภาพด้ า นน�้ ำ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และ พระราชกรณียกิจด้านการแสวงหาแหล่งน�้ำและการบริหารจัดการน�้ำ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ จึงได้จัดท�ำโครงการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 ในหัวข้อ “ใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า ปวงประชาถวายพ่อของแผ่นดิน” โดยใช้ศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่มีอยู่ทั่วประเทศทั้ง 77 จังหวัด จ�ำนวน 882 ศูนย์ เกษตรกร 88,200 คน เป็นตัวขับเคลื่อนการด�ำเนินงานโครงการ โดยเน้นกิจกรรมการ ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการบริหารจัดการน�้ำที่เหมาะสมในการปลูกพืชที่เป็น สินค้าหลักของแต่ละศูนย์ ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1. การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า..ในการ “ท�ำนา” 2. การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า..ในการ “ปลูกพืชไร่” 3. การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า..ในการ “ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น” 4. การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า..ในการ “ปลูกพืชผัก และพืชสมุนไพร”

S S S S4 S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS SSSSS SSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


หลักการให้น�้ำพืช “น�้ำ”...เป็นปัจจัยหลักส�ำหรับการเพาะปลูกพืช ภายใต้สภาพการปลูกพืชที่มี น�้ ำ เพี ย งพอ ธาตุ อ าหารอุ ด มสมบู ร ณ์ สภาพภู มิ อ ากาศเหมาะสมแล้ ว พื ช สามารถ สังเคราะห์แสง สร้างอาหารเพื่อน�ำไปใช้ในการเจริญเติบโต เก็บสะสมอาหารให้เป็น ผลผลิตที่มนุษย์ต้องการได้อย่างเต็มที่ การปลูกพืชจึงต้องได้รับน�้ำอย่างเพียงพอและ เหมาะสมตามระยะเวลาที่ต้องการ หลักการให้น�้ำเพื่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างมีคุณภาพและให้ผลตอบแทน สูงนัน้ จะต้องค�ำนึงถึงว่าควรให้นำ�้ แก่พชื เมือ่ ใด และให้ปริมาณน�ำ้ เท่าใด ซึง่ ในทางปฏิบตั ิ จะมีปัจจัย 3 ประการที่ต้องค�ำนึงถึง คือ ดิน น�้ำ และพืช ดังนี้ 1. ดิน...ความสามารถในการอุ้มน�้ำของดินในเขตรากพืช 2. น�้ำ...ปริมาณของน�้ำที่ต้องจัดหามาให้แก่พืช 3. พืช...ปริมาณน�้ำที่พืชต้องการในช่วงเวลาต่างๆ ตลอดอายุพืช ในการอุม้ น�ำ้ ของดินในเขตรากพืชและปริมาณน�ำ้ ทีพ่ ชื ต้องการในแต่ละช่วงเวลา ต่างๆ ตลอดอายุของพืชเป็นข้อมูลส�ำคัญเบื้องต้นที่จะต้องน�ำมาใช้ก�ำหนดความถี่และ ปริมาณน�้ำในการให้น�้ำแต่ละครั้ง

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS 5S S S S �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า... ในการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ผล ไม้ยืนต้น เป็นพืชที่ปลูกตามระยะปลูกที่แน่นอน การปลูกเป็นระเบียบ เป็นแถว เป็นแนว ในอดีต การให้น�้ำไม้ผล ไม้ยืนต้น ใช้วิธีการท�ำดินล้อมรอบโคนต้นและ ปล่อยน�้ำทางผิวดินไหลเข้าท่วมขังและซึมลงดินเอง หรือใช้สายยางปล่อยน�้ำลงในดิน แต่ปจั จุบนั มีระบบให้นำ�้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยการให้นำ�้ ทางท่อและปล่อยน�ำ้ กระจายออก ที่บริเวณโคนต้นด้วยหัวมินิสปริงเกลอร์หรือเรียกว่าหัวเหวี่ยงขนาดเล็ก หัวมินิสเปรย์ หรือเรียกว่าหัวพ่นฝอยขนาดเล็ก ซึ่งใช้ได้กับไม้ผล เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด มะม่วง หรือ ไม้ยืนต้น เช่น ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน และหัวน�้ำหยดซึ่งใช้ได้กับไม้ผลที่ปลูกเรียงเป็น แถวชิด เช่น องุ่น กล้วย

ระบบน�้ำที่เหมาะสมส�ำหรับไม้ผล ไม้ยืนต้น ระบบการให้น�้ำส�ำหรับไม้ผล ไม้ยืนต้นที่มีประสิทธิภาพ คือให้น�้ำแบบเฉพาะจุด บริเวณรากพืชโดยตรง น�้ำจะถูกปล่อยจากหัวปล่อยน�้ำสู่ดิน ให้ซมึ ไปในดินบริเวณเขตรากพืช ระบบนี้ เป็นระบบที่ประหยัดน�้ำได้อย่างแท้จริง เนื่ อ งจากเกิ ด การสู ญ เสี ย น�้ ำ น้ อ ยมาก และแรงดั น ที่ ใ ช้ กั บ ระบบประมาณ 5 - 20 เมตร ท�ำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ในด้านต้นก�ำลังสูบน�้ำ มี 3 ระบบ คือ ระบบมินิสปริงเกลอร์ ระบบไมโครสเปรย์ และระบบน�้ำหยด ดังนี้

S S S S6 S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS SSSSS SSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


1. มินิสปริงเกลอร์ (Mini Sprinkler)

เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 10–20 เมตร และมีอัตราการไหลของหัวปล่อยน�้ำ 20–300 ลิตรต่อชัว่ โมง ระบบนีเ้ หมาะกับสภาพแหล่งน�ำ้ ทีม่ ปี ริมาณน�ำ้ จ�ำกัด คุณภาพน�้ำ ค่อนข้างดี รูปล่อยน�้ำมีขนาดเล็ก ต้องการระบบการกรองที่ดีเพื่อไม่ให้เกิดการอุดตัน ผู้ใช้ต้องมีความละเอียดในการตรวจสอบและล้างกรองอย่างสม�่ำเสมอทุกวัน แรงดัน ที่ต้องใช้ในระบบปานกลาง การลงทุนด้านเครื่องสูบน�้ำและค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน น้อยกว่าระบบสปริงเกลอร์ เหมาะส�ำหรับไม้ผล ไม้ยืนต้นที่มีระยะปลูกตั้งแต่ 5 เมตรขึ้นไป เช่น ไม้ผล ไม้ยืนต้น ระยะปลูก 5 x 5, 6 x 6, 8 x 8 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของ ไม้ผลทุกแถวและติดตั้งหัวมินิสปริงเกลอร์ต้นละ 1–2 หัว ได้แก่ ทุเรียน เงาะ มังคุด ล�ำไย มะม่วง ส้มโอ ข้อดี มีใบหมุนช่วยกระจายน�้ำเป็นวงกว้างใช้กับต้นไม้ใหญ่ได้ ข้อจ�ำกัด ต้องใช้เครื่องกรองละเอียดปานกลาง 40–120 เมช (mesh) และ ล้างไส้กรองทุกวัน ถ้าใบหมุนช�ำรุดจะใช้งานไม่ได้

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS 7S S S S �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


2. ไมโครสเปรย์(Micro Spray) และเจ็ท (Jet)

เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 10–15 เมตร และอัตราการไหลของหัวปล่อยน�้ำ 10–200 ลิตรต่อชั่วโมง ระบบนี้เหมาะกับสภาพแหล่งน�้ำที่มีปริมาณน�้ำจ�ำกัด คุณภาพน�้ำ ค่อนข้างดี รูปล่อยน�้ำมีขนาดเล็ก ต้องการระบบการกรองที่ดีเพื่อไม่ให้เกิดการอุดตัน ผู้ใช้ต้องมีความละเอียดในการตรวจสอบและล้างกรองอย่างสม�่ำเสมอทุกวัน แรงดัน ที่ต้องใช้ในระบบปานกลาง การลงทุนด้านเครื่องสูบน�้ำและค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน น้อยกว่าระบบสปริงเกลอร์ เหมาะส�ำหรับไม้ผล ไม้ยืนต้นที่มีระยะปลูกไม่เกิน 5 เมตร เช่น ไม้ผล ไม้ยืนต้นระยะปลูก 4 x 4 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถวและติดตั้ง หัวสเปรย์และเจ็ทต้นละ 1–2 หัว ได้แก่ มะม่วง ส้ม องุ่น ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน ข้อดี เป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหว ลดปัญหาการสึกหรอ ใช้งานได้นาน ข้อจ�ำกัด สูญเสียน�้ำจากการกระจายไปตามลมบ้าง ต้องใช้เครื่องกรองละเอียดค่อนข้างมาก 80–120 เมช (meh) และ ล้างไส้กรองทุกวัน

S S S S8 S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS SSSSS SSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


3. น�้ำหยด (Drip)

เป็นระบบที่ใช้แรงดัน 5–10 เมตร และอัตราการไหลของหัวปล่อยน�้ำ 2–8 ลิตรต่อชั่วโมง ปล่อยน�้ำจากหัวปล่อยน�้ำสู่ดินโดยตรง แล้วซึมผ่านดินไปในบริเวณ เขตรากพืชด้วยแรงดูดซับของดิน ระบบน�้ำหยดเหมาะกับสภาพแหล่งน�้ำที่มีปริมาณน�้ำจ�ำกัด คุณภาพน�้ำดี รูปล่อยน�้ำมีขนาดเล็กมาก ต้องการระบบการกรองที่ดีเพื่อไม่ให้เกิดการอุดตัน แรงดัน ทีต่ ้องใช้ในระบบค่อนข้างต�่ำท�ำให้การลงทุนด้านเครื่องสูบน�้ำและค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน น้อยที่สุด เหมาะส�ำหรับไม้ผล ไม้ยืนต้นที่มีระยะปลูกเป็นแถวระยะชิด เช่น 2 x 5, 3 x 7 เมตร วางท่อย่อย 1–2 เส้นตามแถวของไม้ผลทุกแถวและติดตั้งหัวน�้ำหยด ต้นละ 2–8 หัว ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน องุ่น ส้ม กล้วย ข้อดี ประหยัดน�้ำและใช้พลังงานน้อยที่สุด ข้อจ�ำกัด อุดตันง่ายต้องใช้เครื่องกรองละเอียดมาก 140 เมช (mesh) ต้อง ตรวจสอบและล้างไส้กรองทุกวัน การวางบนพื้นดินท�ำให้ตรวจสอบยาก เมื่อพบการอุดตันพืชอาจเกิด ความเสียหายแล้ว

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS 9S S S S �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


ตัวอย่างเช่น มะม่วง ระยะปลูก 5 x 5 เมตร จ�ำนวน 80 ต้น ติดตั้งระบบ มินิสปริงเกลอร์หรือไมโครสเปรย์และเจ็ทอัตราการไหล 120 ลิตรต่อชั่วโมง รัศมี การกระจายน�้ำ 2 - 4 เมตร ต้นละ 1 หัว ลักษณะการติดตั้งดังรูปภาพ

สรุปตารางเปรียบเทียบระบบการให้น�้ำแบบต่างๆ ระบบ แรงดัน อัตราการไหล มินิ ปานกลาง ปานกลาง สปริงเกลอร์ (10 - 20 (20 - 300 เมตร) ลิตรต่อชั่วโมง) ไมโคร สเปรย์ และเจ็ท

ปานกลาง ปานกลาง (10 - 15 (10 - 200 เมตร) ลิตรต่อชั่วโมง)

น�้ำหยด

ต�่ำ (5 - 10 เมตร)

ต�่ำ (2 - 8 ลิตรต่อชั่วโมง)

เวลาให้น�้ำ ข้อดี ข้อจ�ำกัด ปานกลาง • มีใบหมุนช่วยกระจาย • ต้องใช้เครื่องกรองละเอียดปาน น�้ ำ เป็ น วงกว้ า งใช้ กั บ กลาง 40-120 เมช และล้างไส้ ต้นไม้ใหญ่ได้ กรองทุกวัน • ถ้าใบหมุนช�ำรุดจะใช้งานไม่ได้ ปานกลาง • เป็นอุปกรณ์ที่ไม่มีชิ้น • สู ญ เสี ย น�้ ำ จากการกระจายไป ส่วนเคลื่อนไหว ตามลมบ้าง • ลดปั ญ หาการสึ ก หรอ • ต้องใช้เครื่องกรองละเอียดค่อน ใช้งานได้นาน ข้างมาก 80 - 120 เมช และล้าง ไส้กรองทุกวัน มาก • ประหยั ด น�้ ำ และใช้ • อุ ด ตั น ง่ า ยต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งกรอง พลังงานน้อยที่สุด ละเอียดมาก 140 เมชต้องตรวจ สอบและล้างไส้กรองทุกวัน • การวงบนพื้นดินท�ำให้ตรวจสอบ ยาก เมื่อพบการอุดตันพืชอาจ เกิดความเสียหายแล้ว

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S10 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


การให้น�้ำตามความต้องการน�้ำของไม้ผลไม้ยืนต้น 1. ตามระยะปลูก ไม้ผลไม้ยืนต้น ทุเรียน มังคุด ล�ำไย เงาะ มะม่วง ปาล์มน�้ำมัน ยางพารา

ระยะปลูก (เมตร) 8x8 ถึง 10x10 6x6 ถึง 8x8 5x5 ถึง 6x6 9x9 2.5x7

พื้นที่ทรงพุ่มเฉลี่ย (ตารางเมตร) 64 - 100 36 - 64 25 - 36 81 17.5

ความต้องการน�้ำเฉลี่ย (ลิตรต่อต้นต่อวัน) 320 - 500 180 - 320 125 - 180 405 87.5

2. ตามขนาดทรงพุ่ม เป็นจ�ำนวนลิตรต่อต้นต่อวัน

ไม้ผล ไม้ยืนต้น มังคุด เงาะ ทุเรียน ล�ำไย มะม่วง ปาล์มน�้ำมัน ยางพารา

1-2 5 - 20 5 - 20 5 - 20 3 - 10

ขนาดทรงพุ่ม (เมตร) 3-4 5-6 7-8 45 - 80 125-180 245- 320 34 - 60 94-135 184- 240 45 - 80 125-180 245- 320 23 - 40 60 - 90 120- 160

9 - 10 405 - 500 300 - 375 405 - 500 200 - 250

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS11 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


3. การให้น�้ำที่เหมาะสมกับความต้องการของไม้ผล ไม้ยืนต้น ชนิดพืช กล้วยไข่

ทุเรียน

ขนุน

ชมพู่

การให้น�้ำ จุดวิกฤติ การเตรียมการออกผล การให้น�้ำโดยการปล่อยน�้ำไปตามร่องระหว่างแถวปลูกอย่างช้าๆ หรือใช้มินิสปริงเกลอร์ เพื่อให้น�้ำซึมผ่านผิวดินลงไปถึงดินชั้นล่าง ส�ำหรับการให้น�้ำในช่วง ฤดูแล้งจะอยู่ประมาณ 10-15 วันต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับสภาพดินและอัตราการระเหยของดิน ความต้องการน�ำ้ ของทุเรียนต้นเล็ก ประมาณ 0.6 เท่าของค่าอัตราการระเหยน�ำ ้ (มิลลิเมตร ต่อวัน) คูณด้วยพื้นที่ใต้ทรงพุ่ม เช่น ภาคตะวันออก เมื่ออัตราการระเหยน�้ำวันละ 3.8-5.7 มิลลิเมตร มีพื้นที่ใต้ทรงพุ่ม 1 ตารางเมตร เท่ากับให้น�้ำวันละ 2.3-3.4 ลิตรต่อต้น ระบบการให้น�้ำที่เหมาะสม คือ มินิสปริงเกลอร์ ระยะออกดอก ติดผลเล็ก • ให้น�้ำระยะก่อนดอกบาน 7-10 วัน จนถึงติดผลในระยะปิ่น ลดการให้น�้ำเหลือ 70% • ระยะผลพัฒนา ให้น�้ำอย่างสม�่ำเสมอ จุดวิกฤต การขาดน�้ำของทุเรียนในระยะการเจริญเติบโตของผลที่อายุ 8-12 สัปดาห์ หลังดอกบาน หากขาดน�้ำในช่วงดังกล่าว จะท�ำให้การพัฒนาของผลไม่สมบูรณ์ ผลมีรูปทรงบิดเบี้ยว และมีขนาดเล็ก แม้จะให้นำ�้ เพิม่ ในภายหลังก็ไม่ชว่ ยให้รปู ทรงและขนาดผลของทุเรียนดีขนึ้ สัปดาห์แรกหลังจากปลูก ถ้าฝนไม่ตกควรรดน�้ำทุกวัน หลังจากนั้น ถ้าฝนไม่ตกควรรดน�้ำ 3-4 วันต่อครั้ง และตลอดฤดูแล้ง ถ้าเห็นว่าดินแห้งเกินไปต้องรดน�้ำช่วยจนกว่าต้นขนุน มีอายุ 1 ปีขึ้นไป จึงจะปลอดภัย การให้น�้ำอาจห่างออกไปบ้างก็ได้ การปลูกโดยทั่วไปมัก ให้นำ�้ เพียง 1-2 ครัง้ แล้วปล่อยตามธรรมชาติ ก็สามารถเจริญเติบโตให้ดอกให้ผลได้เช่นกัน จุดวิกฤต ระยะที่ติดผล จะเป็นช่วงที่ต้องการน�้ำมากที่สุด ให้น�้ำตามความเหมาะสมกับสภาพอากาศ และฉีดพ่นสารเคมีป้องกันก�ำจัดโรคแมลงอย่างสม�่ำเสมอ • ระยะเริ่มปลูกควรให้น�้ำวันละครั้ง จุดวิกฤติ • ระยะก่อนติดผล ควรให้น�้ำ 5-7 วันต่อครั้ง โดยให้แต่ละครั้งจนดินมีความชุ่มชื้นเต็มที่ • ระยะติดผลควรให้นำ �้ 2-3 วันต่อครัง้ ถ้าดินเก็บความชืน้ ไม่ดคี วรให้ทกุ วันหรือวันเว้นวัน ควรให้น�้ำเต็มแอ่งรอบต้น และควรหยุดให้น�้ำก่อนเก็บผลประมาณ 7-10 วัน เพื่อให้ ชมพู่มีความหวานขึ้น

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S12 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


ชนิดพืช ล�ำไย

ลองกอง

ลิ้นจี่

มะม่วง

การให้น�้ำ จุดวิกฤติ ช่วงฤดูแล้งหลังออกดอก เริ่มให้น�้ำเมื่อล�ำไยมีดอกบาน ดังนี้ • สัปดาห์แรก ฉีดน�้ำพรมที่กิ่ง และโคนต้นเล็กน้อย เพื่อให้ล�ำไยค่อยๆ ปรับตัว • สัปดาห์ที่สอง เริ่มให้น�้ำเต็มที่ ส�ำหรับต้นล�ำไยที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม 7 เมตร ให้น�้ำปริมาณครั้งละ 200–300 ลิตรต่อต้น สัปดาห์ละ 2 ครั้ง การให้นำ�้ ปีแรกทีป่ ลูก ควรให้นำ�้ อย่างสม�ำ่ เสมอ เมือ่ อายุ 2-3 ปี ควรให้นำ�้ สัปดาห์ละ 2 ครัง้ ให้น�้ำระยะแทงช่อดอกและเก็บเกี่ยว • งดให้น�้ำอย่างน้อย 30-45 วัน • สังเกตใบลองกองเหี่ยวให้น�้ำเต็มที่ 1 ครั้ง • เมื่อเห็นตาดอกเริ่มให้น�้ำสม�่ำเสมอ • หยุดการให้น�้ำก่อนเก็บเกี่ยว 20 วัน จุดวิกฤติ • ลองกองทนสภาพน�้ำท่วมขังได้ไม่เกิน 5-7 วัน • ลองกองทนสภาพความแห้งแล้งได้เกิน 2 สัปดาห์ • ช่ ว งการพั ฒ นาของตาดอกและผล หากขาดน�้ ำ ในช่ ว งยื ด ตาดอกจะท� ำ ให้ ช ่ อ ดอก สั้นกว่าปกติ และผลอ่อนหลุดร่วง • ช่วงการพัฒนาของผลในระยะแรกช่วงที่ผลมีอายุ 7-10 สัปดาห์ จะท�ำให้ช่อผล และ ผลชะงักการเจริญเติบโต • ช่วงวิกฤติมากคือ ช่วงผลิตผลก�ำลังเปลี่ยนสีจากเขียวเป็นเหลือง หากมีฝนตกหรือ ได้รับน�้ำอย่างกะทันหัน จะท�ำให้เปลือกผลแตกทั้งต้น หรือทั้งสวน • หลังปลูกช่วงต้นเล็กในระยะ 1-2 ปีแรก ให้น�้ำ 20-60 ลิตร ต่อระยะ 4-5 วัน (รดให้ ดินเปียก น�้ำกว้าง 0.5-1.0 เมตร) • ต้นลิ้นจี่ที่อายุ 3 ปี ขึ้นไป ให้น�้ำทางผิวดิน เป็นการให้น�้ำครั้งหนึ่งๆ เป็นจ�ำนวนมาก เพื่อให้ดินที่ความลึกอย่างน้อย 50 เซนติเมตร อุ้มน�้ำไว้ให้มากที่สุด เพื่อให้ต้นค่อยๆ ใช้ได้หลายวัน จุดวิกฤติ ช่วงออกดอก ควรให้น�้ำสม�่ำเสมอ หลังปลูก ถ้าฝนไม่ตกควรรดน�้ำทุกวันช่วง 7 วันแรก และค่อยๆ ห่างขึ้น 3-4 วันต่อครั้ง หรือ 10 วัน ต่อครั้งแล้วแต่ชนิดของดิน การให้น�้ำมากหรือน้อยขึ้นกับช่วงเจริญเติบโต ทางกิ่งและใบ จุดวิกฤติ • ช่ ว งระยะติ ด ผลอ่ อ นให้ น�้ ำ ที ล ะน้ อ ยและเพิ่ ม มากขึ้ น เพื่ อ เพิ่ ม ขนาดผลและพั ฒ นา คุณภาพผลจนถึงช่วงผลแก่ และหยุดการน�้ำในช่วงใกล้เก็บเกี่ยว

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS13 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


ชนิดพืช มังคุด

ส้มโอ

เงาะ

การให้น�้ำ ต้องให้น�้ำอย่างสม�่ำเสมอช่วงการเจริญเติบโตทางใบ และงดให้น�้ำช่วงปลายฝน ต้นมังคุด ที่มีอายุตายอด 9–12 สัปดาห์ และผ่านสภาพแล้ง 20-30 วัน เมื่อแสดงอาการใบตก ปลายใบบิด ก้านใบและกิ่งที่ปลายยอดเริ่มเป็นร่อง ให้กระตุ้นการออกดอก โดยการให้น�้ำ อย่างเต็มที่ ครั้งที่ 1 ให้มากถึง 1,100–1600 ลิตรต่อต้น* จากนั้นให้หยุดดูอาการ 7–10 วัน เมื่อพบว่า ก้านใบและกิ่งที่ปลายยอดเริ่มเต่งขึ้นก็ให้น�้ำ ครัง้ ที่ 2 ในปริมาณครึง่ หนึง่ ของครัง้ แรก หลังจากนัน้ 10–14 วัน ตาดอกจะผลิออกมาให้เห็น และควรมีการจัดการน�ำ้ เพือ่ ควบคุมให้มปี ริมาณดอกเพียง ร้อยละ 35–50 ของยอดทัง้ หมด เพือ่ ให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยหลังจากมังคุดออกดอกแล้ว 10–15 เปอร์เซ็นต์ ของตายอด ทั้งหมด ควรให้น�้ำปริมาณมากถึง 220–280 ลิตรต่อต้น* ทุกวัน จนกระทั่งพบว่ายอดที่ ยังไม่ออกดอกเริ่มมียอดอ่อนแทนตาดอก จึงค่อยให้น�้ำตามปกติ คือ 80–110 ลิตรต่อต้น และจะต้องให้นำ�้ ในปริมาณนีอ้ ย่างสม�ำ่ เสมอต่อเนือ่ งทุกวัน เพือ่ ให้ผลมังคุดมีพฒ ั นาการทีด่ ี (* เป็นปริมาณน�้ำส�ำหรับต้นมังคุดที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่มประมาณ 6 เมตร) ส้มโอที่เริ่มปลูกในระยะแรก หากฝนไม่ตกตามฤดูกาล จ�ำเป็นต้องให้น�้ำทุกวันประมาณ 15 วัน หรือ จนกว่าจะตั้งตัวได้ ต้องรดน�้ำสม�่ำเสมอ เมื่อส้มโอเจริญเติบโตดีแล้ว จึงเว้น ช่วงเวลาการรดน�้ำให้ห่างกว่าเดิม จุดวิกฤติ ช่ ว งระยะติ ด ผลอ่ อ น ให้ น�้ ำ ที ล ะน้ อ ยและเพิ่ ม มากขึ้ น เพื่ อ เพิ่ ม ขนาดผลและพั ฒ นา คุณภาพผลจนถึงช่วงผลแก่ และหยุดการให้น�้ำในช่วงใกล้เก็บเกี่ยว • หากปริมาณน�้ำไม่เพียงพอกับความต้องการ ท�ำให้ส้มโอชะงักการเติบโต ดอกร่วง การติดผลน้อย ผลแคระแกร็น • หากน�้ำมีสภาพเป็นกรด-ด่างสูงหรือต�่ำเกินไป จะท�ำให้ธาตุอาหารพืชบางชนิดถูกตรึง ไม่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ ท�ำให้ส้มโอเติบโตช้า หรือชะงักการเจริญเติบโต ควรให้ น�้ ำ วั น ละ 2.2–2.7 มิ ล ลิ เ มตรต่ อ ต้ น หรื อ วั น ละ 60–75 ลิ ต รต่ อ ต้ น ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม 6 เมตร (เงาะเป็นไม้ผลที่ต้องการปริมาณน�้ำฝนสม�่ำเสมอ โดยเฉลี่ย 1,800–3,000 มิลลิเมตรต่อปี) จุดวิกฤติ • เงาะมีความต้องการน�้ำแตกต่างกันในแต่ละช่วง ถ้าขาด 21–30 วัน จะแสดงอาการ ขาดน�้ำ (ใบห่อ) • ช่วงแสดงอาการพร้อมที่จะออกดอก (จะแสดงอาการใบแก่ที่อยู่ปลายช่อตั้งชันขึ้น พร้อมกับมีอาการใบห่อ ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ซึ่งเป็นอาการของการขาดน�้ำ ควรให้น�้ำเงาะในปริมาณ 35 มิลลิเมตร หรือ 1,000 ลิตรต่อถัง เส้นผ่านศูนย์กลาง ทรงพุ่ม 5 เมตร เพียง 1 ครั้งแล้วหยุด

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S14 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


ชนิดพืช เงาะ (ต่อ)

น้อยหน่า

การให้น�้ำ • ระยะทีต่ ายอด สีของตายอด เปลีย่ นเป็นสีนำ�้ ตาลเป็นสีนำ�้ ตาลทองให้นำ�้ อีกครัง้ ในปริมาณ 35 มิลลิเมตรต่อต้น • ถ้ า มี ล มพั ด แรง ควรเพิ่ ม ปริ ม าณการให้ น�้ ำ ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย มิ ฉ ะนั้ น จะท� ำ ให้ ต ้ น เงาะ แสดงอาการขาดน�้ำและมีใบร่วงได้ • หากพบว่าตายอดมีการพัฒนาและเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลปนเขียว หรือสีเขียวอมน�้ำตาล แสดงว่าให้น�้ำมากเกินไป ส�ำหรับกระตุ้นการพัฒนาการของตาดอก จึงท�ำให้ตายอด พัฒนาเป็นตาใบแทน ต้องหยุดการให้น�้ำและปล่อยให้ต้นเงาะกระทบแล้งอีกครั้งหนึ่ง • ช่วงตายอดเริ่มพัฒนาเป็นตาดอกให้น�้ำในปริมาณ 3.0–3.9 มิลลิเมตร หรือวันละ 85–110 ลิตรต่อต้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม 6 เมตร หลังปลูก ถ้าฝนไม่ตกควรรดน�้ำสม�่ำเสมอ จะช่วยให้น้อยหน่าเจริญเติบโตได้เร็ว จ�ำนวน รอดตายสูง และเมื่อน้อยหน่าเริ่มติดผลผลในปีที่ 2 การให้น�้ำอย่างเพียงพอจะช่วยให้ ผลเจริญเติบโตดี ขนาดของผลมีความสม�ำ่ เสมอ คุณภาพดี และเก็บเกีย่ วผลได้เร็วกว่าปกติ

มะขามหวาน มะขามหวานเป็ น พื ช ที่ ท นแล้ ง ได้ ดี แต่ จ ะให้ น�้ ำ มากช่ ว งออกดอกและติ ด ฝั ก เพราะ ถ้าขาดน�้ำ จะท�ำให้ฝักไม่มีคุณภาพ มะปราง

ระยะแรกทีเ่ ริม่ ปลูก ควรให้นำ�้ ต้นมะปรางให้ชมุ่ อยูเ่ สมอ 3–5 วันต่อครัง้ เมือ่ อายุ 3–6 เดือน ให้น�้ำ 7–10 วันต่อครั้ง และเมื่อมะปรางแตกใบอ่อนใหม่ หลังติดดอกควรมีการให้น�้ำ อย่างสม�่ำเสมอ

สตรอเบอรี่

สตรอเบอรี่ เ ป็ น พื ช ที่ ต ้ อ งการความชื้ น ในดิ น อย่ า งสม�่ ำ เสมอ หากดิ น มี ค วามชื้ น น้ อ ย จนถึงแห้ง ต้นก็ลดการเจริญเติบโตจนหยุดการเจริญเติบโตเมือ่ ดินแห้งจัด ในทางตรงกันข้าม ถ้าดินมีความชื้นมาก น�้ำขังรากก็จะเน่าและตายได้ นอกจากนี้ การรดน�้ำมากเกินไป ท�ำให้ ล�ำต้นอวบน�้ำ ใบมีขนาดใหญ่ การออกดอกลดลง สีผลซีด ผลสดนิ่ม อายุผลสั้น มักเกิด การบอบซ�้ำและเชื้อราเข้าท�ำลายได้ง่าย ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด ฉะนั้นเมื่อผลสุก จึงควรเก็บผลก่อนที่จะให้น�้ำ • องุ่นที่ปลูกใหม่ต้องการน�้ำและความชุ่มชื้นมาก ในระยะที่ฝนไม่ตกจ�ำเป็นต้องรดน�้ำ ทุกวันหรือวันเว้นวัน เมื่อต้นองุ่นมีกิ่งก้านคลุมค้างได้บ้างแล้ว แปลงองุ่นจะไม่แห้งเร็ว เกินไป ถ้าฝนไม่ตกก็ให้น�้ำประมาณ 3 วันต่อครั้ง • องุ่นที่ให้ผลแล้วในช่วงก่อนและระหว่างการออกดอก จ�ำเป็นต้องให้น�้ำอย่างเพียงพอ ถ้าขาดน�้ำจะออกดอกช้า และถ้าขาดน�้ำรุนแรงจะให้ผลน้อย ในช่วงผลก�ำลังเติบโต ต้องให้น�้ำอย่างสม�่ำเสมอเช่นกัน

องุ่น

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS15 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


ชนิดพืช มะละกอ

การให้น�้ำ มะละกอที่ปลูกใหม่ๆ จะต้องให้น�้ำกับต้นกล้ามะละกอจนตั้งตัวได้ดี โดยให้น�้ำ 2–3 วัน ต่อครั้ง ในช่วงที่ออกดอกติดผลจะต้องการน�้ำมาก ถ้าขาดจะท�ำให้ดอกและผลร่วงหรือ ไม่สมบูรณ์ จึงต้องให้น�้ำอย่างสม�่ำเสมอ โดยเฉพาะที่ปลูกในที่ดอน

ฝรั่ง

หลังปลูกต้องรดน�้ำในช่วงแรกอย่างสม�่ำเสมอจนฝรั่งตั้งตัวได้ หลังจากนั้นให้ดูความชุ่มชื้น ของดิน ถ้าดินแห้งมากต้องรีบให้น�้ำ และถ้าฝนตกหนักควรระบายน�้ำออก ควรเว้นช่วง การให้น�้ำขณะฝรั่งก�ำลังจะออกดอก เมื่อเริ่มติดผลแล้วควรค่อยๆ ให้น�้ำเพิ่มขึ้นตาม ความต้องการของต้นฝรั่ง มะพร้าวเจริญเติบโตได้ดใี นพืน้ ทีม่ ฝี นตกไม่นอ้ ยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี มีการกระจายตัว สม�่ำเสมอตลอดปี และควรให้น�้ำในช่วงแล้งอย่างสม�่ำเสมอ หากมีน�้ำท่วมแปลงต้องขุดร่อง เพื่อระบายน�้ำออกทันที

มะพร้าว

ชา

การให้น�้ำสวนชา มี 3 แบบ คือ การให้น�้ำแบบปล่อยท่วมแปลง หรือการให้น�้ำตามร่อง ระหว่างแถวปลูก ควรเป็นพื้นที่มีความลาดชันเล็กน้อย การให้น�้ำแบบมินิสเปรย์ และ การให้น�้ำแบบหยด อัตราวันละ 4 ลิตรต่อต้น หรือ วันละ 5,680 ลิตรต่อไร่ ควรมีแหล่งน�้ำ ที่ ส ะอาดเพี ย งพอ โดยเฉพาะช่ ว งตั ด แต่ ง กิ่ ง ช่ ว งการเจริ ญ เติ บ โตของยอดชาและ ก่ อ นเก็ บ เกี่ ย ว (อั ต รานี้ เ ป็ น ปริ ม าณความต้ อ งการน�้ ำ ของต้ น ชาที่ โ ตเต็ ม ที่ จ� ำ นวน 1,400 ต้นต่อไร่ ระยะปลูก 2.0 x 0.75 เมตร) กาแฟ ต้องปลูกในพื้นที่มีปริมาณน�้ำฝนเฉลี่ยไม่ต�่ำกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และมีการกระจาย ของฝน 7-8 เดือน มีน�้ำเพียงพอส�ำหรับใช้ในฤดูแล้ง • ถ้าปลูกในแหล่งทีม่ ฝี นตกหนัก ควรค�ำนึงถึงการระบายน�ำ ้ และฝนน้อยควรมีการป้องกัน การสูญเสียความชื้นไปจากดิน เช่น การปลูกไม้บังลม การคลุมโคนต้น ยางพารา • ต้องมีปริมาณน�้ำฝนไม่ต�่ำกว่า 1,250 มิลลิเมตรต่อปี การกระจายตัวของฝนดี มีจ�ำนวน วันฝนตก 120–150 วัน ช่วงแล้งไม่เกิน 4 เดือน • การระบายน�้ำดี ระดับน�้ำใต้ดินต�่ำกว่าระดับผิวดินมากกว่า 1 เมตร ไม่เป็นที่ลุ่มน�้ำขัง หรือพื้นที่นา • หากมีปริมาณน�้ำฝนต�่ำกว่านี้ จะท�ำให้ต้นยางพาราเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ซึ่งจะส่งผล ให้อายุยางที่จะกรีดได้มากกว่า 7 ปีขึ้นไป ปาล์มน�้ำมัน พื้นที่ที่มีน�้ำฝนน้อยกว่า 1,800 มิลลิเมตรต่อปี และมีฤดูแล้งยาวนานกว่า 3-5 เดือน ควรมีการให้น�้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตทะลายให้สูงขึ้น ซึ่งอาจใช้ระบบน�้ำแบบน�้ำหยด หรือ ระบบน�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ ตามความเหมาะสม

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S16 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


ตัวอย่างเกษตรกรที่ประสบความส�ำเร็จ

การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า ในการปลูกเงาะ ด้วยระบบมินิสปริงเกลอร์...เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในการส่งออก แบบนายจ�ำเนียร เพชรศรี ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ต�ำบลล�ำพูน อ�ำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

นายจ�ำเนียร เพชรศรี อยู่บ้านเลขที่ 112 หมู่ที่ 5 ต� ำ บลล� ำ พู น อ� ำ เภอบ้ า นนาสาร จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ข้าราชการบ�ำนาญ มีความสนใจท�ำการเกษตร จึงได้หันมา ปลูกเงาะ พัฒนาตนเองมาเรือ่ ยๆ ท�ำให้เกิดเทคนิคและแนวทาง เพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพเงาะเพื่อการส่งออกในพื้นที่ ปลูกเงาะของตนเอง จ�ำนวน 10 ไร่

เรียนรู้การให้น�้ำ...ในแปลงปลูกเงาะ ในอดีตนายจ�ำเนียร เพชรศรี ปลูกเงาะโดยใช้เครื่องสูบน�้ำแบบเครื่องยนต์เบนซินจาก คลองล�ำพูนต่อท่อสายยางส่งน�ำ้ ไปยังสวนระยะทางประมาณ 300 - 500 เมตร พบว่าสิน้ เปลืองแรงงาน ในการให้นำ�้ มาก จึงได้เปลีย่ นวิธกี ารให้นำ�้ มาเป็นแบบมินสิ ปริงเกลอร์ ใช้นำ�้ จากบ่อเก็บน�ำ้ ทีข่ ดุ ไว้สำ� หรับ กักเก็บน�้ำในสวน โดยใช้เครื่องสูบน�้ำด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 3 แรงม้า ส่งน�้ำด้วยท่อ PVC ท่อเมน ขนาด 2 นิ้ว ท่อเมนย่อย 1 นิ้ว ติดหัวจ่ายน�้ำขนาด 0.5 นิ้ว ให้น�้ำต้นละ 30 นาที

เทคนิคการใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า นายจ�ำเนียร มีวิธีการบริหารจัดการให้น�้ำแก่ต้นเงาะด้วยระบบมินิสปริงเกลอร์ โดย การแบ่ ง พื้ น ที่ อ อกเป็ น 12 โซน ในพื้ น ที่ 10 ไร่ ตามลั ก ษณะแปลงและแถวที่ ป ลู ก ให้ น�้ ำ ตามความต้องการตามช่วงการเจริญเติบโตของเงาะ ท�ำให้ผลผลิตมีคุณภาพ และในช่วงฤดูแล้ง ใช้ใบเงาะคลุมโคนต้น และปล่อยวัชพืชไว้คลุมดินเพือ่ เก็บความชืน้ ในดิน และก�ำจัดศัตรูพชื เท่าทีจ่ ำ� เป็น เท่านั้น เทคนิคการให้น�้ำด้วยมินิสปริงเกลอร์ของนายจ�ำเนียร...มีดังนี้ 1. ให้น�้ำแก่ต้นเงาะนาน 15-30 นาที ต่อต้น 2. ใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิประมาณ 30 องศาเซลเซียส ในสวนเงาะเพื่อประกอบ การตัดสินใจในการให้น�้ำที่เหมาะสมกับช่วงเวลา โดยเฉพาะในช่วงเงาะติดผล

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS17 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


3. ต่อท่อน�้ำสูงจากพื้นดิน 4 เมตร เพื่อควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในแปลงปลูก การสังเกตต้นเงาะเพื่อประกอบการให้น�้ำในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของ ต้นเงาะ สามารถสังเกตได้ดังนี้ 3.1 ให้ดูจากยอดเงาะ 1) หากยอดเงาะมีสีน�้ำตาลเขียวเข้ม หยุดให้น�้ำ เพราะเงาะจะแตกยอด 2) หากยอดเงาะมีสีน�้ำตาลเหลืองเข้ม ควรให้น�้ำ อย่างต่อเนื่อง 3.2 การสังเกตใบเงาะ 1) หากใบเงาะกางออก แสดงว่าได้รบั น�ำ้ เพียงพอ 2) หากก้านใบหุบเข้าหากัน 60 องศา ควรให้นำ�้ 3.3 การสังเกตจากสภาพดิน ดูความชื้นในดิน หากพบดินแห้งขาว ควรให้น�้ำเพิ่มขึ้น

การให้น�้ำในปริมาณที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการน�้ำของเงาะ ช่วงเตรียมต้น ช่วงให้ผลผลิต ช่วงติดดอก ช่วงติดผล

: : : :

ให้น�้ำเล็กน้อย เพื่อให้ต้นเงาะเจริญเติบโต ให้น�้ำมากพอสมควร เพื่อบ�ำรุงต้นเงาะให้สมบูรณ์เพื่อสะสมอาหาร ต้องให้นำ�้ อย่างสม�ำ่ เสมอทุกวันๆ ละ 30 นาที โดยต้องดูอณ ุ หภูมแิ ละความชืน้ ของอากาศประกอบด้วย หากอากาศแห้งต้องให้น�้ำทั้งเช้าและเย็น ห้ามขาดน�ำ ้ ต้องให้นำ�้ อย่างเต็มที่ เพราะหากขาดน�ำ้ แล้ว เมือ่ เจอฝนจะท�ำให้ ผลเงาะแตกและร่วง

ผังการให้น�้ำในปริมาณที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการน�้ำของเงาะ

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S18 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


ปฏิทินปฏิบัติงาน การจัดการสวนเงาะ...ของนายจ�ำเนียร ช่วงเดือน ตุลาคม

• •

พฤศจิกายน • • ธันวาคม

• •

มกราคม

กุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม

• เมษายน

• พฤษภาคม

• • •

รายการปฏิบัติงานในสวนเงาะ การเตรียมความพร้อมให้ต้นเงาะโดยการตัดแต่งกิ่ง ทรงพุ่ม ให้ปุ๋ยสูตรเสมอ 16-16-16 ต้นละ 1.5-2 กก. และเสริมด้วย ปุ๋ยยูเรีย ต้นละ 1 กก. หรืออาจจะเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพก็ได้ เงาะจะแตกยอดอ่อนชุดที่ 1 บ�ำรุงต้น เลีย้ งยอดให้สมบูรณ์ ดูแลรักษายอดและใบเงาะโดยการ ฉีดพ่นสารเคมีกำ� จัดแมลงศัตรูพชื (เรียกว่าล้างแปลง) เพือ่ ก�ำจัด ตัวอ่อนและไข่ของแมลงศัตรูพืช เงาะจะต่อยอดอ่อนเป็นชุดที่ 2 ดูแลรักษาบ�ำรุงต้นใบ เฝ้าระวังแมลงศัตรูพืช หากมีศัตรูพืช ระบาด ต้องก�ำจัดไม่ให้รบกวนความสมบูรณ์ของใบและยอดเงาะ ใบแก่จดั และจะต่อยอดเป็นชุดที่ 3 ช่วงนี้ ใบเงาะจะสมบูรณ์เต็ม ต้น ช่วงปลายๆ เดือน ให้สงั เกตความชืน้ ในสวนเงาะ ถ้าความชืน้ น้อย ขาดน�้ำต้องให้น�้ำบ้างเพื่อเลี้ยงต้น ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูแล้ง อากาศเริ่มแห้ง ต้องเริ่มให้น�้ำโดยการ สังเกตสภาพแวดล้อมภายในสวน ประกอบการตัดสินใจ ปกติ จะให้น�้ำ 1 วัน เว้น 3 วัน ครั้งละประมาณ 30 นาที ต่อต้น แต่ ถ้ามีความชืน้ ในสวนเงาะก็อาจจะเว้นระยะการให้นำ�้ เป็น 6-7 วัน ต่อครั้งก็ได้ จนถึงปลายเดือนมีนาคม ช่วงนี้เงาะเริ่มแทงช่อดอก เป็นการบังคับต้นเงาะไม่ให้ดอกบานในช่วงเวลาต้น-กลางเดือน เมษายน เพื่อยืดอายุการติดผลออกไป ช่วงนี้ต้นเงาะแทงช่อดอก มีความพร้อมที่จะออกดอก ต้องให้ น�้ำทุกวัน จนถึงปลายเดือน ดอกจะบานเต็มที่ ช่วงนี้งดการ ให้น�้ำ ประมาณ 3 วัน เพื่อกระตุ้นให้เงาะติดลูก จากนั้นให้น�้ำ อย่างเต็มที่ ทุกวัน เมือ่ เงาะติดผลเล็กๆ ให้สงั เกตศัตรูพชื หากพบให้พน่ สารเคมีเพือ่ ก�ำจัดหนอนแมลง ช่วงติดผล ต้องให้น�้ำอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ ดูแลรักษาผล สังเกตแมลงศัตรูพืชหากพบให้ก�ำจัด ส่วนวัชพืชถ้ามีมากให้ ก�ำจัดออกบ้าง ช่วงนีต้ อ้ งเตรียมผูกโยงกิง่ ด้วยเชือกและค�ำ้ ยันด้วยไม้ไผ่ เพือ่ รับ น�้ำหนักผลเงาะที่จะออกประมาณต้นละ 1,000 กก. ถ้าฝนทิ้งช่วง แล้งหลายวันติดต่อกันจะมีแมลงศัตรูพืชระบาด

หมายเหตุ • เงาะอายุ 20 ปี • พื้นที่ 10 ไร่ • ระยะปลูก 16 x 16 เมตร การดูแลรักษา จ้างแรงงานประจ�ำ

แหล่งน�้ำ : เป็นบ่อน�้ำตื้น ระบบการส่งน�้ำ : ใช้ท่อส่งน�้ำ PVC ขนาด 4 นิ้ว 2 นิ้ว และ ครึง่ นิว้ หัวจ่ายน�ำ ้ แบบมินสิ ปริง เกลอร์ หัวเหวี่ยง ต้นละ 3 หัว เครื่องสูบน�้ำ : มอเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 3 แรงม้า

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS19 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


มิถุนายน

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

• ช่วงผลเงาะเข้าเนื้อ ต้องบ�ำรุงด้วยปุ๋ยสูตรเสมอ 16-16-16, • หากเงาะติดผลเยอะจะท�ำให้ 15-15-15 ปริมาณ 2-2.5 กก./ต้น เพื่อควบคุมปริมาณการติด ผลเงาะมีขนาดเล็กเป็นเงาะ ผลของเงาะไม่ให้ตดิ ผลมากเกินไป ท�ำให้ผลเงาะร่วงจ�ำนวนมาก ตกเกรด • จากนั้นบ�ำรุงผลเงาะด้วยปุ๋ยสูตร 0-0-50 , 0-0-60 ปริมาณ • การให้ น�้ ำ ถ้ า ไม่ ส ม�่ ำ เสมอ 1.5-2 กก./ต้น ถ้ า มี ฝ นตกท� ำ ให้ ผ ลเงาะ • ช่วงนี้ให้ระวังหนอนเจาะขั้ว หากพบให้ก�ำจัดด้วยสารเคมีก�ำจัด ส� ำ ลั ก น�้ ำ ผลแตก ผลร่ ว ง หนอนชนิดดูดซึม เสียหาย • และให้ น�้ ำ ต้ น เงาะอย่ า งสม�่ ำ เสมอ อย่ า ให้ เ งาะขาดน�้ ำ จนผลแก่เต็มที่ • ช่ ว งนี้ ถ ้ า สภาพอากาศร้ อ น แล้ ว มี ฝ นตก ราแป้ ง จะระบาด ในผลอ่อน ท�ำลายผิวขนเงาะต้องก�ำจัดราแป้ง • ผลเริม่ เข้าสี ผลเงาะ เริม่ เป็นสีเหลืองและพัฒนาเป็นสีแดงต้องให้ จ้างแรงงานเก็บเกี่ยวตาม น�้ำสม�่ำเสมอ ไม่ให้ขาดน�้ำ และเริ่มเก็บเกี่ยวได้บ้างแล้ว ปริมาณผลผลิตที่เก็บเกี่ยว • ช่วงนี้ถ้าฝนแล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน จะพบ ผีเสื้อมวนหวาน และแมลงวันผลไม้ระบาด ต้องก�ำจัดด้วยสารล่อแสงไฟล่อ แล้ว ท�ำลาย • ช่วงลูกเกือบสุก บริเวณสวนเงาะที่มีความชื้นสูง มีมดมาก เพลี้ย แป้งจะระบาดต้องพ่นสารเคมีก�ำจัดเพลี้ยแป้ง หรืออาจจะใช้ น�้ำยาล้างจาน หรือน�้ำหมักยาสูบฉีดพ่นก็ได้ • เป็ น ช่ ว งการเก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต ที่ เ ริ่ ม มาตั้ ง แต่ ป ระมาณเดื อ น รวมกลุ่มจ�ำหน่ายผลผลิต กรกฎาคม • ต้องให้น�้ำตลอดเวลาอย่างสม�่ำเสมอ อย่าให้ขาดน�้ำ จนกว่า จะเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จประมาณกลางเดือนถึงปลายเดือน • เป็นช่วงหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต ชาวสวนจะปล่อยสวนไปตาม ธรรมชาติเป็นการพักต้นเงาะ และพักการใช้แรงงาน ในสวน ปล่อยให้ตน้ เงาะฟืน้ ตัวเพือ่ จะเข้าสูก่ ารเตรียมความพร้อมส�ำหรับ ฤดูการผลิตต่อไป การบริหารจัดการน�้ำในสวนเงาะ • ถ ้ า ด อ ก บ า น ก ่ อ น เ ดื อ น • ต้องวางแผนการใช้น�้ำอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ บริหาร เมษายนต้องพ่นฮอร์โมนตัวผู้ แหล่งน�้ำ อย่างรู้คุณค่า ใช้น�้ำที่มีอยู่ให้เพียงพอกับช่วงระยะ เพื่อให้ดอกร่วงหมดต้นแล้ว ความต้องการน�้ำของต้นเงาะตลอดฤดูการผลิต เงาะจะออกดอกชุ ด ใหม่ • หากบริหารจัดการน�้ำไม่ดี ถ้าเงาะขาดน�้ำหรือมีปริมาณน�้ำ ในเดือนเมษายน ไม่เพียงพอ จะท�ำให้ผลผลิตเสียหายทั้งหมดได้ • การพ่นฮอร์โมนต้องพ่นใน • การบั ง คั บ การออกดอก ติ ด ผล ส่ ว นใหญ่ จ ะให้ เ งาะติ ด ผล ระยะที่เป็นดอก ถ้าถึงระยะ ในรอบที่ 2 จึงต้องบังคับให้ดอกบานหลังเดือนเมษายน วิธีการ ติดผลแล้ว ผลเงาะจะไม่ร่วง บั ง คั บ การออกดอก คื อ การบั ง คั บ การให้ น�้ ำ เราต้ อ งหยุ ด การให้น�้ำแก่ต้นเงาะ ประมาณ 30 วัน เพื่อไม่ให้ต้นเงาะ มีการพัฒนาตาดอก แต่ต้องดูไม่ให้ต้นเงาะเหี่ยวเฉา จากนั้น ก็ให้นำ�้ ต่อไปจนถึงระยะทีต่ อ้ งการให้ดอกเงาะบาน แล้วค่อยเพิม่ ปริมาณการให้น�้ำอย่างเต็มที่

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S20 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


ผลที่ได้ การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่าในการปลูกเงาะ “ด้วยระบบมินิสปริงเกลอร์” เพื่อเพิ่มผลผลิต และคุณภาพในการส่งออก” ของนายจ�ำเนียร เพชรศรี มีการบริหารจัดการน�้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของพืช ส่งผลให้เงาะมีคุณภาพดี ได้ผลผลิตมากขึ้น เฉลี่ยต้นละ 1,000 กก. มีรายได้เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นแนวทางปฏิบัติ ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ คือ 1. ใช้เทคนิคทางวิชาการมาช่วยในการวางแผน โดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วดั อุณหภูมิ ความชืน้ เพื่อให้น�้ำตามความเหมาะสม และความต้องการของพืช ท�ำให้ผลผลิตมีคุณภาพ ผลใหญ่ เนื้อหนา น�้ำหนักดี ท�ำให้ขายได้ในราคาสูง ส่งผลให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ควบคุมความชื้นในดิน โดยใช้ใบเงาะคลุมโคนต้นและไม่จ�ำกัดวัชพืชหรือหญ้า เพื่อให้ ดินเก็บความชื้นไว้ได้นาน ท�ำให้ลดปริมาณการให้น�้ำลง 3. ลดค่าแรงงานในการสูบน�ำ้ เข้าแปลงปลูกเงาะจากแบบเดิม มาเป็นระบบมินสิ ปริงเกลอร์ ท�ำให้ประหยัดเวลาในการให้น�้ำ 4. การวางระบบการให้น�้ำแก่พืชแบบมินิสปริงเกลอร์ สามารถลดเวลาให้นำ�้ ในสวนเงาะลงได้ มีเวลาเพิม่ ขึน้ เพือ่ ท�ำกิจกรรม อื่นๆ ในสวนได้ 5. มีการป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชเท่าที่จ�ำเป็น จะด�ำเนิน การเมื่อพบการระบาดเท่านั้น

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS21 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


การใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า ในการปลูกล�ำไย ระบบมินิสปริงเกลอร์...เพิ่มมูลค่าการผลิตล�ำไยนอกฤดู แบบนายด�ำรงค์ จินะกาศ ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ต�ำบลทากาศ อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน

นายด�ำรงค์ จินะกาศ อายุ 50 ปี อยู่บ้านเลขที่ 36 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลทากาศ อ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน จบการศึกษา ปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีประสบการณ์และ ท�ำการเกษตรมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 18 ปี มีพนื้ ทีก่ ารเกษตร 50 ไร่ นายด�ำรงค์มีแนวคิดว่า...การท�ำการเกษตรโดยเฉพาะล�ำไย ต้องค�ำนึงถึง “ตลาด” เป็นหลัก จึงเน้น “การท�ำล�ำไยนอกฤดู” สามารถแก้ไขปัญหาในเรื่องสินค้าล้นตลาดได้เป็นอย่างดี

เรียนรูก้ ารให้นำ�้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่า....เพือ่ เพิม่ มูลค่าการผลิตล�ำไยนอกฤดู เกษตรกรในหมูบ่ า้ นใช้นำ�้ จากอ่างเก็บน�ำ้ แม่กมึ ในการท�ำนาและปลูกล�ำไยนอกฤดู แต่ในช่วง ฤดูแล้งน�ำ้ มีปริมาณไม่เพียงพอต่อการผลิตล�ำไยนอกฤดู เพราะอดีตปล่อยน�ำ้ ตามคลองส่งน�ำ้ ให้สมาชิก ในกลุม่ แบบน�้ำท่วมทุง่ ไม่ประหยัดน�้ำ ส่งผลให้นำ�้ ในอ่างหมดในระยะเวลา 5 เดือน คณะกรรมการกลุม่ ผู้ใช้น�้ำอ่างแม่กึม จึงได้ประชุมร่วมกันวางแผนจัดการระบบน�้ำขึ้นมาใหม่ให้เหมาะสมกับเกษตรกร ในต�ำบลทากาศ โดยน�ำระบบน�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์มาใช้ ปัจจุบันเกษตรกรมากกว่าร้อยละ 90 ในต�ำบลทากาศ ใช้ระบบน�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ในสวนล�ำไย

เทคนิคการใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า...ด้วยระบบน�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิตล�ำไยนอกฤดู การให้น�้ำในสวนล�ำไยนอกฤดูต้องให้น�้ำอย่างสม�่ำเสมอ หากล�ำไยได้รับน�้ำไม่สม�่ำเสมอ การเจริญเติบโตของผลล�ำไยจะช้า ส่งผลให้การเก็บเกี่ยวล่าช้าไปด้วย ท�ำให้วงจรการท�ำล�ำไยนอกฤดู ล่าช้าออกไปจากแผนที่ได้วางไว้ ระบบมินิสปริงเกลอร์เป็นระบบการให้น�้ำที่เหมาะสมต่อสภาพดินในพื้นที่ต�ำบลทากาศ เกษตรกรบางรายสามารถให้ปุ๋ยพร้อมน�้ำผ่านระบบมินิสปริงเกลอร์ได้ ท�ำให้ประหยัดน�้ำและแรงงาน ในการให้ปุ๋ยลงได้

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S22 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


นายด�ำรงค์...มีเทคนิคการให้น�้ำในสวนล�ำไยนอกฤดู ดังนี้ 1 ช่วงการเจริญเติบโตของผลล�ำไย ใน 5 เดือนแรก มีการขยายเนื้อผล และเมล็ดในเริ่มมีสีด�ำ หากขาดน�้ำในช่วงนี้ผลจะเล็ก ผิวผลแห้ง ให้น�้ำมากผลจะแตก ถ้าดูแลไม่สม�่ำเสมอจะปรับตัวไม่ทัน ส่งผลให้ลำ� ไยมีขนาดผลเล็กลง จากทีเ่ กษตรกรควรจะได้ลำ� ไยเบอร์ A เกษตรกรอาจจะได้เบอร์ B และ C 2 การสังเกตล�ำไยเริ่มขาดน�้ำและต้องการน�้ำ ใบล�ำไยจะเฉา สีใบเริ่มเปลี่ยนไป ก้านผล จะเแห้ง ผิวล�ำไยมีสีคล�้ำ 3 หากให้น�้ำในสวนล�ำไยแล้วหยุดให้น�้ำ จะท�ำให้ผลล�ำไยร่วง 4 หากไม่ให้น�้ำในสวนล�ำไย ล�ำไยสามารถเจริญเติบโตได้แต่ผลผลิตจะไม่มีคุณภาพ เปลือกอาจจะย่นและมีสีแดงหรือด�ำ

การให้น�้ำในปริมาณที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการน�้ำของ ล�ำไยนอกฤดู นายด�ำรงค์วางแผนให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตล�ำไยนอกฤดูได้ในช่วงที่ตลาดมีปริมาณ ความต้องการซื้อล�ำไยสูง ซึ่งมี 2 ช่วงคือ

1. เก็บเกี่ยวผลผลิตก่อนช่วงตรุษจีน

วางแผนให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตล�ำไยนอกฤดูในช่วงก่อนวันตรุษจีน เพราะตลาด มีความต้องการซื้อล�ำไยสูง ราคาผลผลิตค่อนข้างสูง อีกเหตุผลหนึ่งที่ส�ำคัญคือเป็นช่วงเข้าสู่ฤดูฝน เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม เกษตรกรสามารถใช้น�้ำจากน�้ำฝน ประหยัดน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำแม่กึมได้ ช่วงเตรียมต้นหรือดูแลหลังการเก็บผลผลิต เดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ เตรียมต้นและดูแลหลังการเก็บผลผลิต (ตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย) เดือนเมษายน-มิถนุ ายน เริม่ ราดสารโพแทสเซียมคลอเรต ซึง่ เป็นช่วงในฤดูฝน ท�ำให้เป็นการประหยัดน�ำ้ ที่ใช้ในการท�ำล�ำไยนอกฤดูส่วนหนึ่ง หากฝนไม่ตกในช่วงนี้ เกษตรกรจะสูบน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำแม่กึม โดยใช้ระบบมินิสปริงเกลอร์ในสวน ช่วงแทงช่อดอก ดอกบาน ต้องระมัดระวังในเรื่องการให้น�้ำเป็นพิเศษ มี การให้น�้ำแต่ให้ในปริมาณที่น้อยกว่าช่วงอื่นๆ เนื่องจาก ช่อดอกอาจจะกลายเป็นช่อใบได้ การท�ำล�ำไยนอกฤดูนั้น จะต้องรักษาน�้ำในดินให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ ช่วงติดผล ก่อนเก็บเกีย่ วเดือนกันยายน-ตุลาคม ให้น�้ำอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกัน อาการแตกของ ผลล�ำไย หากงดให้นำ�้ ในช่วงฤดูแล้ง แล้วกลับมาให้นำ�้ อีกครัง้ จะท�ำให้ผลล�ำไยแตกได้

SSSSSSSSSSSSSSSSS SนS S S...ในการปลู S S SกS SนS23 SSSS �้ำอย่S ผS ล ไม้S S S S S S S S S S S S S S S S Sการใช้ SS SางรูS้คุณSค่าS S S Sไม้S SยSืนต้S SSSSS


2. การเก็บเกี่ยวผลผลิตนอกช่วงตรุษจีน

วางแผนให้ ส ามารถเก็ บ ผลผลิ ต ล� ำ ไยนอกช่ ว ง ตรุษจีน จะเริ่มราดสารโพแทสเซียมคลอเรตในช่วงเดือน ธันวาคม การวางแผนปลูกล�ำไยในช่วงนี้จะอาศัยน�้ำฝน ได้เพียงแค่ 3 เดือนเท่านั้น คือ ช่วงเดือนพฤษภาคมถึง กรกฎาคม หลังจากนั้นเกษตรกรจ�ำเป็นต้องสูบน�้ำใช้ใน การท�ำล�ำไยประมาณ 5 เดือน ตั้งแต่เดือนธันวาคมถึง เมษายน โดยหากเปรียบเทียบกับล�ำไยที่เก็บเกี่ยวช่วงก่อน ตรุษจีนซึ่งราดสารโพแทสเซียมคลอเรตในเดือนเมษายน จะต้องสูบน�้ำจากอ่างแม่กึมเพียงแค่ 3 เดือนเท่านั้น

ผลที่ได้ การใช้นำ�้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าในการปลูกล�ำไย…ด้วยระบบมินสิ ปริงเกลอร์ เพือ่ เพิม่ มูลค่าผลิตล�ำไย นอกฤดู ของนายด�ำรงค์ จินะกาศ เน้น “ใช้น�้ำอย่างอย่างรู้คุณค่า และประหยัด” เหมาะสมและ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของล� ำ ไย พร้ อ มทั้ ง น้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นแนวทางปฏิบัติ ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ คือ 1. มีน�้ำเพียงพอต่อการผลิตล�ำไยนอกฤดู 2. สามารถควบคุมปริมาณการให้น�้ำในสวนล�ำไยได้สอดคล้องกับความต้องการของล�ำไย 3. ลดความยุ่งยากในการใส่ปุ๋ย เพราะสามารถให้ปุ๋ยผ่านระบบมินิสปริงเกลอร์ ตรงตาม ความต้องการของล�ำไย 4. ประหยัดแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานคนในการให้น�้ำและใส่ปุ๋ย ระบบมินิสปริงเกลอร์ สามารถให้น�้ำแก่ต้นล�ำไยได้ประมาณ 300-500 ต้นต่อวันต่อคน หากใช้แรงงานคน จะให้น�้ำแก่ ต้นล�ำไยได้เพียง 30 ต้นต่อวันต่อคน 5. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายล�ำไยนอกฤดูกาล โดยจะส่งออกไปยังประเทศจีนก่อน ตรุษจีน ล�ำไยจะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นในช่วงตรุษจีน ตลาดมีความต้องการสูง

S S S S S การใช้ S Sน�้ำSอย่าSงรู้คSุณค่Sา...ในการปลู S S Sกไม้SผลSไม้SยืนS SSSSSSSSSSSSSSSS S S S S24 SSSS SSSSSSS S S Sต้นS S S S S S S S S S S S S S S S


แรงดัน :

1 เมตร เท่ากับ ระดับน�้ำในท่อแนวดิ่งสูง 1 เมตร หรือ 10 เมตร เท่ากับ 14.7 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi)

การเปรียบเทียบหน่วย :

1 มิลลิเมตร เท่ากับ 1.6 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ หรือ 1.6 คิวต่อไร่ (cubic metre per rai)

SSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSS SSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSSS



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.