1 สรุ ปสาระสํ าคัญ เทคนิคการบริหารโครงการพระราชดําริ (Royal Project Administration Technique) องค์ความรู ้ของ น.ส.ถนอมพรรณ สื บจากดี นักวิชาการส่ งเสริ มการเกษตรชํานาญการพิเศษ ผูอ้ าํ นวยการกลุ่ม โครงการพระราชดําริ กองส่ งเสริ มโครงการพระราชดําริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร กรมส่ งเสริ มการเกษตร ภายใต้หวั ข้อ “เทคนิคการบริ หารโครงการพระราชดําริ ” เป็ นองค์ความรู ้ที่ได้จากการสัง่ สมประสบการณ์วิชาชีพในสาย งานโครงการพระราชดําริ ที่เจ้าขององค์ความรู ้ได้ปฏิบตั ิงานมาตั้งแต่แรกเข้ารับการบรรจุเป็ นข้าราชการ ตั้งในสังกัด กลุ่มงานโครงการพิเศษ กองแผนงานจนถึงเกษียณอายุราชการ ณ กลุ่มโครงการพระราชดําริ กองส่ งเสริ มโครงการ พระราชดําริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ซึ่งเป็ นเวลามากกว่า 35 ปี ประกอบกับประสบการณ์วิชาชีพ โดยตรง จากการศึกษาในระบบและการทํางานด้านการส่ งเสริ มการเกษตรทําให้ทกั ษะการบริ หารจัดการ การ ประสานงานและการดําเนินงานด้านโครงการพระราชดําริ ของเจ้าขององค์ความรู ้ เป็ นประสบการณ์เฉพาะบุคคลที่มี คุณค่ายิง่ ซึ่งควรมีการเรี ยนรู ้เพื่อจะนําไปสู่ การขับเคลื่อนงานให้มีประสิ ทธิภาพสําหรับผูป้ ฏิบตั ิงานสนองพระราชดําริ ที่ จะใช้เป็ นแบบอย่างและแนวทางการดําเนินงานต่อไป สาระสําคัญของเทคนิคการบริ หารโครงการพระราชดําริ ให้เกิดประสิ ทธิภาพและประโยชน์สูงสุ ด เจ้าขององค์ ความรู ้ได้นาํ เอาแนวคิด หลักการ และวิธีการดําเนินงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาปรับใช้ในการขับเคลื่อน และปฏิบตั ิงานสนองพระราชดําริ ผนวกกับการใช้วิชาทางด้านการบริ หาร (Administration) ที่ได้รับการอบรม ศึกษา ดูงาน และจากประสบการณ์ในวิชาชีพ รวมทั้งการเป็ นนักมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีและการพัฒนาตนเองสร้างเครื อข่ายและหา ความรู ้เพิ่มเติมอยูเ่ สมอ จึงเป็ นปั จจัยแห่งความสําเร็ จในการบริ หารโครงการพระราชดําริ ในส่ วนเนื้อหาที่นอกเหนือจาก ประสบการณ์และทักษะเฉพาะตัวของเจ้าขององค์ความรู ้ที่ได้จากการถอดองค์ความรู ้แล้ว ผูเ้ ป็ นเจ้าขององค์ความรู ้ยงั แนะนําให้ผทู ้ ี่ปฏิบตั ิงานสนองพระราชดําริ หมัน่ ศึกษาเพิม่ เติมจาก “คู่มือปฏิบตั ิงานโครงการพระราชดําริ ” ของสํานักงาน คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร) ซึ่งจะมีการชี้แจงและขยายผลการ ทํางานร่ วมกับสํานักพระราชวังและสํานักราชเลขาธิการด้วย นอกจากนี้ในส่ วนของเนื้อหาวิชาการ เจ้าขององค์ความรู ้ แนะนําให้ศึกษาเพิ่มเติมจากตํารา Project Management : A System Approach to Planning, Scheduling , and Controling ของ Harold R. Ker ซึ่งมีเนื้อหาร่ วมสมัยและนําไปใช้ได้จริ ง ซึ่งโครงการดังกล่าวล้วนแล้วแต่มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวิตของปวงชนชาวไทย การแก้ไขปัญหาความยากจนตลอดจนเป็ นการสนองพระมหากรุ ณาธิคุณใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีต่อพสกนิกรทุกหมู่เหล่า รายงานองค์ความรู ้น้ ีเป็ นการเป็ นการถอดองค์ความรู ้ต่อเนื่องจากเจ้าขององค์ความรู ้เป็ นเรื่ องที่ 3 ต่อเนื่อง มาจาก “กระบวนการรับเสด็จ (2556)” “เทคนิคการประสานงานโครงการพระราชดําริ (2557)” และเรื่ องดังกล่าว “เทคนิคการบริ หารโครงการพระราชดําริ (2558)” เป็ นเรื่ องที่ดาํ เนินการจัดกิจกรรมการจัดการความรู ้ในปี ล่าสุ ด ซึ่ง แสดงให้เห็นถึงความรู ้ความชํานาญของเจ้าขององค์ความรู ้ตามเป้าหมายซึ่งเป็ นผูท้ ี่จะเกษียณอายุราชการตาม แผนการจัดการความรู ้ แผนที่ 1 ซึ่งเป็ นเป้าหมายการถอดองค์ความรู ้เพือ่ พัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน ตามเกณฑ์ประเมิน
2 ตัวชี้วดั และเกณฑ์การให้คะแนนการปฏิบตั ิราชการประจําปี งบประมาณ 2558 รอบ 2 ของผูอ้ าํ นวยการกองส่งเสริ ม โครงการพระราชดําริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ตัวชี้วดั ที่ 5.3 ระดับความสําเร็ จของการดําเนินงานการ จัดการความรู ้สาระสําคัญในแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ น้ นั มีอยูม่ ากมายหลากหลายประเภทแตกต่างกันไป ตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการนั้น ๆ ซึ่งส่ วนมากจะเป็ นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการทํามาหา กินของประชาชนเป็ นสําคัญ และดังที่ทราบกันดีวา่ ส่ วนใหญ่ของประชากรของประเทศไทยยังยังชีพอยูด่ ว้ ยการทํา เกษตรกรรม ดังนั้น โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จึงเกี่ยวข้องอยูก่ บั เรื่ องของการพัฒนาปัจจัยการผลิต ต่างๆ เช่น ดิน นํ้า ที่ทาํ กิน ทุน และความรู ้ดา้ นเกษตรกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ เป็ นต้น และดังได้กล่าวมาแล้วในเบื้องต้นไม่วา่ จะเป็ นแนวคิดและทฤษฎีในงานสาขาใดที่ได้พระราชทาน พระราชดําริ เพื่อการแก้ไขปรับปรุ ง และพัฒนาไว้ หลักสําคัญของทุกเรื่ องก็คือความเรี ยบง่ายดังที่ได้ทรงใช้คาํ ว่า “Simplify” หรื อ “Simplicity” จะต้องเรี ยบง่ายไม่ยงุ่ ยากสลับซับซ้อน ทั้งในแนวความคิดและด้านเทคนิควิชาการ จะต้องสมเหตุสมผล ทําได้รวดเร็ ว และสามารถแก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จริ ง ตลอดจนมุ่งไปสู่ วิถี แห่งการ พัฒนายัง่ ยืน (Sustainability) อีกด้วย พระเจ้าอยูห่ วั ทรงศึกษาข้อมูลต่าง ๆ เป็ นขั้นเป็ นตอนอย่างละเอียดก่อนทุกครั้งในการจัด วางแผนโครงการใดโครงการหนึ่ง ก่อนจะมีพระราชดําริ น้ นั ขั้นตอนต่าง ๆ พอจะกล่าวได้ดงั ต่อไปนี้ ๑. การศึกษาข้อมูล ๒. การหาข้อมูลในพื้นที่ ๓. การศึกษาข้อมูลและการจัดทําโครงการ ๔. การดําเนินงานตามโครงการ ๕. การติดตามผลงาน ๑. การศึกษาข้อมูล ก่อนจะเสด็จพระราชดําเนินยังพื้นที่ใดๆ นั้น จะทรงศึกษาข้อมูลจากเอกสารและแผนที่ต่างๆ ที่มีอยู่ เพื่อให้ทราบ ถึงสภาพในท้องถิ่นนั้นๆ อย่างละเอียดก่อนเสมอ 2. การหาข้อมูลในพื้นที่ เมื่อเสด็จฯ ถึงพื้นที่น้ นั ๆ จะทรงหาข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ งและข้อมูลล่าสุ ด อาทิเช่น ๑. ทรงสํารวจพื้นที่ เสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตรพื้นที่จริ งที่คาดว่าควรจะดําเนินการพัฒนาได้ 2. ทรงสอบถามเจ้าหน้าที่เมื่อทรงศึกษาจากข้อมูลเอกสาร และทรงได้ขอ้ มูลจากพื้นที่จริ งแล้ว จะทรง ปรึ กษากับเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ ถึงความเหมาะสม ความเป็ นไปได้อีกครั้งหนึ่งพร้อมทั้งคํานวณวิเคราะห์ทนั ที ด้วย ว่าเมื่อดําเนินการแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร และคุม้ ค่ากับการลงทุนหรื อไม่เพียงใด อย่างไรแล้วจึงพระราชทาน พระราชดําริ ให้เจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องไปพิจารณาในขั้นรายละเอียดตามขั้นตอนต่อไป
3 ๓. การศึกษาข้อมูลและการจัดทําโครงการ เมื่อเจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้องได้รับพระราชทานพระราชดําริ แล้ว จะไปศึกษาข้อมูลรายละเอียดต่างๆ อีกครั้งหนึ่ง เพื่อ ประกอบการจัดทําโครงการให้เป็ นไปตามแนวทางพระราชดําริ ที่ได้พระราชทานไว้ อย่างไรก็ตาม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้มีพระราชดําริ อยูเ่ สมอว่า พระราชดําริ ของพระองค์เป็ นเพียงข้อเสนอแนะเท่านั้น เมื่อรัฐบาลได้ทราบแล้ว ควรไปพิจารณาวิเคราะห์กลัน่ กรองตามหลักวิชาการก่อน เมื่อมีความเป็ นไปได้และมี ประโยชน์คุม้ ค่า และเห็นควรทํา เป็ นเรื่ องที่จะต้องพิจารณาตัดสิ นใจเอง และในกรณี ที่วิเคราะห์พิจารณาแล้วเห็น ว่าไม่เหมาะสมสามารถล้มเลิกได้ ๔. การดําเนินงานตามโครงการ เมื่อจัดทําโครงการเสร็ จเรี ยบร้อยและผ่านการพิจารณาจากหน่วยเหนือตามลําดับขั้นตอน จนถึงการอนุมตั ิ โครงการและงบประมาณแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะดําเนินการปฏิบตั ิงานในทันที โดยมีสาํ นักงาน คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) เป็ นหน่วยงานกลาง ในการประสานงานและประสานแผนต่างๆ ให้แต่ละหน่วยงานได้ดาํ เนินการสนับสนุนสอดคล้องกัน และ/หรื อ อาจจัดตั้งองค์กรกลางที่ประกอบด้วยแต่ละฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง เป็ นผูค้ วบคุมดูแลให้การดําเนินการต่างๆ ให้เป็ นไป ด้วยความเรี ยบร้อยมีประสิ ทธิภาพ ๕. การติดตามผลงาน ในการติดตามผลงานการดําเนินงานนั้น แต่ละหน่วยงานรวมทั้งสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จะได้มีการติดตามประเมินผลเป็ นระยะๆ แต่ที่สาํ คัญคือ พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั จะเสด็จฯกลับไปยังโครงการนั้นด้วยทุกครั้งเมื่อมีโอกาส เพื่อทอดพระเนตรความก้าวหน้าและติดตาม ผลงานต่างๆ ให้เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย ในกรณี ที่เกิดมีปัญหาอุปสรรคต่างๆ จะทรงชี้แนะแนวที่สามารถนําไป ปฏิบตั ิงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การแก้ไขปัญหานั้น ให้สาํ เร็ จลุล่วงไป หลักการทรงงานพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว 1. ระเบิดจากข้างใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมุ่งเน้นเรื่ องการพัฒนาคน มีพระราชดํารัสว่า "ต้องระเบิดจากข้างใน" นั้น หมายความว่า ต้องมุ่งพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้คนและครอบครัวในชุมชนที่เข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อม ที่จะรับการพัฒนาเสี ยก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่ สงั คมภายนอก มิใช่การนําเอาความเจริ ญจากสังคมภายนอกเข้าไป หาชุมชนและหมู่บา้ น ซึ่งหลายชุมชนยังไม่ทนั ได้มีโอกาสเตรี ยมตัวหรื อตั้งตัว จึงไม่สามารถปรับตัวได้ทนั กับ กระแสการเปลี่ยนแปลงและนําไปสู่ ความล่มสลายได้ 2. แก้ปัญหาจากจุดเล็ก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเปี่ ยมไปด้วยพระอัจฉริ ยภาพในการแก้ไขปัญหา ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของพระองค์จะเริ่ มจากจุดเล็กๆ (Micro) คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คน มักจะมองข้าม ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งว่า
4 "...ถ้ าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ ออกเป็ นอย่ างนั้นต้ องแก้ ไขการปวดหัวก่ อน..มันไม่ ได้ เป็ นการแก้ อาการจริ งแต่ ต้องแก้ ปวดหัวก่ อน เพื่อที่จะให้ อยู่ในสภาพที่คิดได้ ...แบบ(Macro) นี ้ เขาจะทําแบบรื ้อทั้งหมด ฉันไม่ เห็นด้ วย...อย่ าง บ้ านคนอยู่ เราบอกบ้ านนีม้ นั ผุตรงนั้น ผุตรงนี ้ ไม่ ค้ มุ ที่จะซ่ อม ...เอาตกลงรื ้อบ้ านนี ้ ระเบิดเลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่ มที ี่อยู่ ..วิธีทาํ ต้ องค่ อยๆ ทํา จะไประเบิดหมดไม่ ได้ ..." 3. ทําตามลําดับขั้น ในการทรงงานพระองค์จะทรงเริ่ มต้นจากสิ่ งที่จาํ เป็ นของประชาชนที่สุดก่อน ได้แก่ สาธารณสุ ข เมื่อมีร่างกาย สมบูรณ์แข็งแรงแล้วก็จะสามารถทําประโยชน์ดา้ นอื่นๆ ต่อไปได้จากนั้นจะเป็ นเรื่ องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน และสิ่ งจําเป็ นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งนํ้า เพื่อการเกษตร การอุปโภคบริ โภค ที่เอื้อประโยชน์ต่อ ประชาชนโดยไม่ทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ความรู ้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เรี ยบง่าย เน้นการ ปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนําไปปฏิบตั ิได้และเกิดประโยชน์สูงสุ ด ดังพระบรมราโชวาท เมื่อ วันที่ ๑๘ กรกฏาคม ๒๕๑๗ ความตอนหนึ่งว่า "...การพัฒนาประเทศจําเป็ นต้ องทําตามลําดับขัน้ ต้ องสร้ างพืน้ ฐานคือความพอมีพอกิน พอใช้ ของประชาชนส่ วน ใหญ่ เป็ นเบือ้ งต้ นก่ อน ใช้ วิธีการและอุปกรณ์ ที่ประหยัดแต่ ถกู ต้ องตามหลักวิชาการ เมื่อได้ พืน้ ฐานที่มนั่ คงพร้ อม พอสมควรและปฏิบัติได้ แล้ ว จึ งค่ อยสร้ างค่ อยเสริ มความเจริ ญและฐานะเศรษฐกิจขัน้ ที่สูงขึน้ โดยลําดับต่ อไป หากมุ่งแต่ จะทุ่มสร้ างความเจริ ญยกเศรษฐกิจให้ รวดเร็วแต่ ประการเดียว โดยไม่ ให้ แผนปฏิบัติการสัมพันธ์ กับ สภาวะของประเทศและของประชาชน โดยสอดคล้ องด้ วย ก็จะเกิดความไม่ สมดุลในเรื่ องต่ างๆขึน้ ซึ่ งอาจ กลายเป็ นความยุ่งยากล้ มเหลวได้ ในที่สุด ดังเห็นได้ ที่อารยประเทศกําลังประสบปั ญหาทางเศรษฐกิจอย่ างรุ นแรง ในเวลานี ้ การช่ วยเหลือสนับสนุนประชาชน ในการประกอบอาชีพและตั้งต้ วให้ มคี วามพอกิน พอใช้ ก่อนอื่นเป็ น พืน้ ฐานนั้น เป็ นสิ่ งสําคัญอย่ างยิ่งยวด เพราะผู้ที่มอี าชีพแลฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ย่ อมสามารถสร้ างความ เจริ ญก้ าวหน้ าระดับที่สูงได้ ต่อไปโดยแน่ นอน ส่ วนการถือหลักที่จะส่ งเสริ มความเจริ ญให้ ค่อยเป็ นไปตามลําดับ ด้ วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้ มเหลวและเพื่อให้ บรรลุผลสําเร็ จได้ แน่ นอนบริ บูรณ์ ..." 4. องค์ รวม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม (Holistic) ทรงมองสิ่ งต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็ นระบบครบ วงจร มองทุกสิ่ งเป็ นพลวัตที่ทุกมิติเชื่อมต่อกัน ในการที่จะพระราชทานพระราชดําริ เกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น จะ ทรงมองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยงดังเช่นกรณี ของ "ทฤษฎีใหม่" ที่พระราชทานเป็ น แนวทางดําเนินชีวิตแก่ปวงชนชาวไทย อันเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพซึ่งพระองค์ทรงมองอย่างเป็ นองค์ รวม ตั้งแต่การถือครองที่ดินโดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทยประมาณ ๑๐ - ๑๕ ไร่ การบริ หารจัดการที่ดินและ แหล่งนํ้าอันเป็ นปั จจัยพื้นฐานที่สาํ คัญในการประกอบอาชีพ เมื่อมีน้ าํ ในการทําการเกษตรแล้วจะส่ งผลให้ผลผลิต ดีข้ ึน และหากมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้นเกษตรกรจะต้องรู ้จกั วิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการรวมกลุ่มรวมพลัง ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อมที่จะออกสู่ การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้อย่างครบวงจร นั้นคือแนว ทางการดําเนินงานทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๑,๒ และ ๓
5 5. การมีส่วนร่ วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเป็ นนักประชาธิปไตย ทรงเปิ ดโอกาสให้ทุกฝ่ ายทั้งสาธารณชน ประชาชน หรื อ เจ้าหน้าที่ทุกระดับได้เข้ามาร่ วมกันแสดงความคิดเห็นและร่ วมกันทํางานโครงการพระราชดําริ โดยคํานึงถึงความ คิดเห็นของประชาชนหรื อความต้องการของสาธารณชนด้วย ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งว่า "...สําคัญที่สุดจะต้ องหั ดทําใจให้ กว้ างขวางหนักแน่ น รู้ จักรั บฟั งความคิดเห็น แม้ กระทั่งความวิพากษ์ วิจารณ์ จาก ผู้อื่นอย่ างฉลาด เพราะการรู้ จักรั บฟั งอย่ างฉลาดนั้นแท้ จริ งคือการระดมสติปัญญาและประสบการณ์ อัน หลากหลายมาอํานวยการปฏิบัติบริ หารงานให้ ประสบความสําเร็ จที่สมบูรณ์ นั่นเอง..." "...การไปช่ วยเหลือประชาชนนั้น ต้ องรู้ จักประชาชน ต้ องรู้ ว่าประชาชนต้ องการอะไร ต้ องอาศัยความรู้ ในการ ช่ วยเหลือ..." สําหรับวิธีการมีส่วนร่ วมพระองค์ทรงนํา "ประชาพิจารณ์" มาใช้ในการบริ หารจัดการดําเนินงาน ซึ่งเป็ น วิธีการที่เรี ยบง่ายตรงไปตรงมา โดยหากจะทําโครงการใดจะทรงอธิบายถึงความจําเป็ นและผลกระทบที่เกิดกับ ประชาชนทุกฝ่ าย รวมทั้งผูน้ าํ ชุมชนในท้องถิ่น เมื่อประชาชนในพื้นที่เห็นด้วยแล้ว หน่วยราชการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องและร่ วมดําเนินการมีความพร้อม จึงจะพระราชทานพระราชดําริ ให้ดาํ เนินโครงการนั้นๆ ต่อไป 6. ประโยชน์ส่วนรวม การปฏิบตั ิพระราชกรณี ยกิจและการพระราชทานพระราชดําริ ในการพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่ วนรวมเป็ นสําคัญ ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งว่า "...ใครต่ อใครบอกว่ า ขอให้ เสียสละส่ วนตัวเพื่อส่ วนรวม อันนีฟ้ ั งจนเบื่อ อาจรําคาญด้ วยซํา้ ว่ า ใครต่ อใครมาก็ บอกว่ าขอให้ คิดถึงประโยชน์ ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่ า ให้ ๆ อยู่เรื่ อยแล้ วส่ วนตัวจะได้ อะไร ขอให้ คิดว่ าคนที่ ให้ เป็ นการให้ เพื่อส่ วนรวมนั้น มิได้ ให้ ส่วนรวมแต่ อย่ างเดียว เป็ นการให้ เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะ อาศัยได้ ..." 7. ประหยัด เรี ยบง่าย ทําง่ายขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงประหยัดมากแม้เป็ นเรื่ องส่ วนพระองค์ดงั ที่ประชาชนชาวไทยเคยเห็นว่า หลอด ยาสี พระทนต์น้ นั ทรงใช้อย่างคุม้ ค่าอย่างไร ฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยูเ่ ป็ นเวลานาน หรื อแม้แต่ฉลองพระ บาทหากชํารุ ดก็จะส่ งซ่อมและใช้อย่างคุม้ ค่า ซึ่งในเรื่ องของความประหยัดนี้ กองงานในพระองค์เล่าว่า "...ปี หนึ่งพระองค์ เบิกดินสอ ๑๒ แท่ ง เดือนละแท่ ง ใช้ จนกระทั่งกุด ใครอย่ างไปทิง้ ของท่ านนะ จะกริ ้วเลย ประหยัดทุกอย่ าง เป็ นต้ นแบบทุกอย่ าง ทุกอย่ างนีม้ คี ่ าสําหรั บพระองค์ หมด ทุกบาททุกสตางค์ จะใช้ อย่ าง ระมัดระวัง จะสั่งให้ เราปฏิบัติงานด้ วยความรอบคอบ..." นอกจากนี้ในการพัฒนาช่วยเหลือราษฎร ทรงใช้หลักการดําเนินงานด้วยความเรี ยบง่ายหรื อทําให้ง่าย ราษฎร สามารถทําได้เอง สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น โดยไม่ตอ้ งลงทุนสู งหรื อให้เทคโนโลยีที่ยงุ่ ยากนัก ดังพระราช ดํารัสความตอนหนึ่งว่า
6 "...ให้ ปลูกป่ าโดยไม่ ต้องปลูกโดยปล่ อยให้ ขึน้ เองตามธรรมชาติจะได้ ประหยัดงบประมาณ..." 8. ขาดทุนคือกําไร จากพระราชดํารัสดังกล่าว คือหลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสี ยสละ” เป็ นการกระทําอันมีผลเป็ นกําไร คือความอยูด่ ีมีสุขของราษฎร ซึ่งสามารถสะท้อนให้เห็นเป็ น รู ปธรรมชัดเจนได้ดงั พระราชดํารัสที่ได้พระราชทานแก่ตวั แทนของปวงชนชาวไทย ที่ได้เข้าเฝ้าฯถวายพระพร เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตําหนักจิตรลดา รโหฐาน ความตอนหนึ่งว่า… ...ขาดทุน คือ กําไร (Our loss is our gain) … การเสีย คือ การได้ ประเทศชาติกจ็ ะก้ าวหน้ า และการที่คนอยู่ดีมสี ุข เป็ นการนับที่เป็ นมูลค่ าเงินไม่ ได้ ... 9. ความเพียร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงริ เริ่ มดําเนินงานโครงการต่างๆ ในระยะแรกที่ไม่ได้มีความพร้อมในการ ดําเนินงานมากนัก และทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ท้ งั สิ้ น แต่พระองค์กม็ ิได้ทอ้ พระราชหฤทัย ทรงอดทน และมุ่งมัน่ ดําเนินงานนั้นๆ ให้สาํ เร็ จลุล่วงดังเช่นพระราชนิพนธ์ "พระมหาชนก" ซึ่งพระองค์ทรงใช้เวลาค่อนข้าง นานในการคิดประดิษฐ์ถอ้ ยคําให้เข้าใจง่าย และปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสภาพสังคมปัจจุบนั เพื่อให้ประชาชนชาว ไทยปฏิบตั ิตามรอยพระมหาชนก กษัตริ ยผ์ เู ้ พียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายนํ้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็ จะตกเป็ นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกับเทวดาที่ช่วยเหลือมิให้จมนํ้า 10. เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง" เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการ ดําเนินชีวิต แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ให้ดาํ เนิน ไปบน "ทางสายกลาง" และเมื่อภายหลังได้ทรงยํ้าแนวทางการแก้ไข เพือ่ ให้รอดพ้นและสามารถดํารงอยูไ่ ด้อย่าง มัน่ คงและยัง่ ยืนภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ในการพัฒนาและบริ หารให้ดาํ เนินไปในทางสายกลาง เพื่อให้ ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ "ความพอเพียง" หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล รวมถึงความจําเป็ นที่ จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ ภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ วางแผน และการดําเนินการทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสาํ นึกในคุณธรรมและความซื่อสัตย์สุจริ ต ดําเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
7 เปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างรวดเร็ วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็ นอย่างดี 11. ไม่ติดตํารา หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีลกั ษณะการพัฒนาที่อนุโลมและรอมชอมกับสภาพ ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และสภาพของสังคมจิตวิทยาของชุมชน เป็ นการใช้ตาํ ราอย่างอะลุ่มอล่วยกัน ไม่ผกู ติด กับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม คือ "ไม่ติดตํารา" 12. ทรงใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติ และต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ เช่น การแก้ไขปัญหาป่ าเสื่ อมโทรม ได้พระราชทานพระราชดําริ "การปลูกป่ าโดยไม่ตอ้ งปลูก" ปล่อยให้ธรรมชาติช่วย ในการฟื่ นฟูธรรมชาติ หรื อแม้กระทัง่ "การปลูกป่ า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง" ได้แก่ ปลูกไม้เศรษฐกิจ ไม้ผล และไม้ฟืน นอกจากได้ประโยชน์ตามประเภทของการปลูกแล้วยังช่วยสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พ้นื ดินด้วย พระองค์จึงทรงเข้าใจธรรมชาติและมนุษย์ที่อยูอ่ ย่างเกื้อกูลกัน ทําให้คนอยูร่ ่ วมกับป่ าไม้ได้แย่งยัง่ ยืน 13. ปลูกป่ าในใจคน เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่ช้ ีถึงแนวทางการดํารงอยู่ และปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและการบริ หารประเทศให้ดาํ เนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวฒั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ตอ้ งอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ใน การนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดําเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสาํ นึกใน คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มี สติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และ กว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี 14. การให้ "การให้" เป็ นหลักการทรงงานอย่างหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดยพระองค์ทรงใช้ "หลักสังฆทาน" ซึ่งมีความหมายลึกซื้ง คือ "ให้เพื่อให้" เป็ นการให้โดยไม่เลือก ให้เพื่อให้จริ งๆ ไม่ได้ให้เพื่อคิดหวังผลตอบแทน ว่า เมื่อให้แล้วจะต้องเป็ นอย่างนั้นอย่างนี้ ซึ่งครั้งหนึ่งเคยรับสัง่ ว่า "...รู้ ไหมว่ าทฤษฎีโดมิโนทําไมมาหยุดที่เมืองไทย ทําไมจึงไม่ เป็ นไปตามทฤษฎีที่อเมริ กันทํานายไว้ หลังจาก เวียดนาม เขมร ลาวแตก รู้ ไหมว่ าทําไมมาหยุดที่นี ้ เพราะสังคมเรานั้นเป็ นสังคมที่ให้ กันอยู่..." 15. ความรู ้
8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระเกษมสําราญและทรงมีความสุ ขทุกคราที่จะช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคย รับสัง่ ครั้งหนึ่งว่า "...ทํางานกับฉั น ฉั นไม่ มอี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่ วมกันในการทําประโยชน์ ให้ กับผู้อื่น..." 16. รู ้รัก สามัคคี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระราชดํารัสในเรื่ อง "รู ้ รัก สามัคคี" มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นแนวทางปฏิบตั ิที่มี คุณค่าและมีความหมายลึกซึ้ง สามารถปรับใช้ได้กบั ทุกยุคทุกสมัย รู้ : การที่เราจะลงมือทําสิ่ งใดนั้น จะต้ องรู้ เสียก่ อน รู้ ถึงปั จจัยทั้งหมด รู้ ถึงปั ญหา และรู้ ถึงวิธี แก้ ปัญหา รั ก : คือ ความรั ก เมื่อเรารู้ ครบถ้ วนกระบวนความแล้ วจะต้ องมีความรั ก การพิจารณาที่จะเข้ าไปลง มือปฏิบัติแก้ ไขปั ญหานั้นๆ คือ การสร้ างฉั นทะ สามัคคี : การที่จะลงมือปฏิบัติควรคํานึงเสมอว่ าเราจะทํางานคนเดียวไม่ ได้ ต้ องร่ วมมือร่ วมใจกันเป็ น องค์ กร เป็ นหมู่คณะจึ งจะมีพลังเข้ าไปแก้ ปัญหาให้ ลลุ ่ วงไปได้ ด้วยดี นอกจากนี้ในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระราชดํารัสในเรื่ อง "ความสามัคคี" ความตอนหนึ่งว่า "...บ้ านเมืองจะมีความมัน่ คงและปกติสุขอยู่ได้ ก็ด้วยนานาสถาบัน อันเป็ นหลักของประเทศและคนไทยทุกหมู่ เหล่ า มีความสมัครสมานปรองดองกันดี และรู้ จักปฏิบัติหน้ าที่ให้ ประสานส่ งเสริ มกัน ความพร้ อมเพรี ยงของทุก ฝ่ าย ทุกคนที่มคี วามสํานึกแน่ ชัดในหน้ าที่ความรั บผิดชอบ และต้ องใจปฏิบัติตน ปฏิบัติงานให้ ดใี ห้ สอดคล้ องกัน นี ้ ความสามัคคีในชาติ ถ้ าทุกคนใจชาติจะได้ ตั้งตนตั้งใจให้ อยู่ในความสามัคคีดังกล่ าว ประโยชน์ และความสุขก็ จะพึงเกิดขึน้ พร้ อมทั้งแก่ ส่วนตัวและส่ วนรวม ประเทศชาติของเราก็จะสามารถรั กษาความปกติมนั่ คงพร้ อมทั้ง พัฒนาให้ รุดหน้ าไปได้ "
ทีม่ าของโครงการ โครงการพระราชดําริ มีข้ นั ตอนการดําเนินงาน โดยมีแนวทางการดําเนินงานจากพระราชวินิจฉัย
9 โดยมีข้นั ตอนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดังนี้ คือ ๑. เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ประทับอยูใ่ นพระตําหนัก แต่มีเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น เช่น มีพายุ หรื ออุทกภัย ทําให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก ก็จะมีพระราชดําริ ให้เจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้องไป ดําเนินการช่วยเหลือ ๒.เมื่อเสด็จพระราชดําเนินยังพื้นที่ต่างๆ จะพระราชทานพระราชดําริ ให้กบั คณะผูต้ ามเสด็จฯ (องคมนตรี เจ้าหน้าที่กรม /กอง ที่เกี่ยวข้อง ผูว้ า่ ราชการจังหวัด เจ้าหน้าที่สาํ นักงาน กปร. ฯลฯ)ดําเนินการโครงการต่างๆ เจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้องซึ่งรับสนองพระราชดําริ จัดทําโครงการเสนอผูบ้ งั คับบัญชาจนถึงปลัดกระทรวง เพื่อนําส่ งสํานักงาน กปร. • สํานักงาน กปร. ประสานงาน วิเคราะห์ ว่าสอดคล้องกับพระราชดําริ แล้วนําเสนอ กปร. เพือ ่ พิจารณาอนุมตั ิ • ที่ประชุม กปร. หรื อ ประธาน กปร. พิจารณาอนุ มต ัิ • สํานักงาน กปร.แจ้งหน่ วยงาน และสํานักงบประมาณ เพือ ่ ดําเนินการต่อไป • หน่ วยงานเหล่านั้นดําเนิ นการตามแผนงานโครงการ • สํานักงาน กปร. ทําการติดตาม ประเมินผล จัดทํารายงานทูลเกล้าฯ ถวาย แจ้งหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุ งแก้ไขให้ได้ประโยชน์สูงสุ ดตามพระราชดําริ ที่ได้พระราชทานไว้ ๓. การถวายฎีกา มีข้นั ตอนการดําเนินงาน ดังนี้ • เมื่อมีการถวายฎีกาเกี่ยวกับโครงการทางด้านการพัฒนา • สํานักงาน กปร. จะทําหน้าที่ตรวจสอบข้อมูล หาข้อเท็จจริ ง เพื่อจัดทํารายละเอียดกราบบังคมทูลฯ เพื่อขอพระราชทานพระราชวินิจฉัย ็ ะพระราชทานแนว • หากทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็ นโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ กจ พระราชดําริ วา่ ควรพัฒนาตรงนั้นอย่างไร จากนั้น สํานักงาน กปร. ก็จะดําเนินการประสานให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเข้าดําเนินการเช่นเดียวกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ •
ลักษณะของโครงการ โครงการพระราชดําริ ในระยะแรกๆ นั้น สามารถแบ่งออกได้เป็ น ๒ ลักษณะ คือ ๑.โครงการที่มีลกั ษณะศึกษา ค้นคว้า ทดลองเป็ นการส่ วนพระองค์ โครงการดังกล่าวนี้เท่ากับเป็ นการเตรี ยม พระองค์ในด้านข้อมูลและความรอบรู ้ที่จะทรงนําไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและเผยแพร่ แก่เกษตรกร รวมทั้งเป็ น การแสวงหาแนวทางการพัฒนาที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพสังคมไทยและสภาพแวดล้อมในแต่ ละท้องถิ่นด้วย ๒.โครงการที่มีลกั ษณะเริ่ มเข้าไปแก้ไขปัญหาหลักของเกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรประสบปัญหา และ อุปสรรคในการทําเกษตรกรรม มากขึ้นทุกขณะซึ่งในขณะที่พระองค์ทรงมีโครงการทดลองและเรี ยนรู ้ไปด้วยกัน จะทรงเริ่ มก้าวเข้าสู่ การดําเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาของเกษตรกรอย่างแท้จริ ง ระยะแรกโครงการยังจํากัดขอบเขต อยูเ่ ฉพาะบริ เวณรอบๆ ที่ประทับในส่ วนภูมิภาค รู ปแบบของการพัฒนาแก้ปัญหา คือ การพัฒนาแบบผสมผสาน
10 (Integrated Development) หลังจากนั้นโครงการในลักษณะนี้ค่อยๆ ขยายขอบเขตออกไปสู่ สงั คมเกษตรกรใน พื้นที่ที่กว้างขึ้น โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริมีอยู่มากมายหลายสาขา หลายประเภท ในระยะแรก มีชื่อเรียกแตกต่ างกันไป ดังนีค้ ือ ๑) โครงการตามพระราชประสงค์ หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบตั ิเป็ นส่ วนพระองค์ ทรงศึกษาหารื อกับผูเ้ ชี่ยวชาญในวงงาน ทรง แสวงหาวิธีการทดลองปฏิบตั ิ ทรงพัฒนาและส่ งเสริ มแก้ไขดัดแปลงวิธีการเป็ นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้ง ในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดําเนินการทดลองจนกว่า จะเกิดผลดี ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็ นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริ ง จึงโปรด เกล้าฯให้รัฐบาล เข้ามารับงานต่อภายหลัง ๒) โครงการหลวง พระองค์ทรงเจาะจงดําเนินการพัฒนาและบํารุ งรักษาต้นนํ้าลําธารในบริ เวณป่ าเขาในภาคเหนือ เพื่อบรรเทา อุทกภัยในที่ลุ่มล่าง ด้วยเหตุผลที่พ้ืนที่เหล่านี้เป็ นเขตแดนชาวไทยภูเขา จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้ อยูด่ ีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่ น เลิกการตัดไม้ทาํ ลายป่ า ทําไร่ เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธ ยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสู ง ขนส่ งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยง สัตว์ไว้เพื่อบริ โภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่ น ทั้งๆที่งานของโครงการนี้กินเวลายาวนาน กว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิ บปี การดําเนินงานจะยากลําบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนา ค่อยๆได้ผลดีข้ ึนๆ ชาวเขาชาวดอยจึงมีความจงรักภักดี เรี ยกพระองค์วา่ “พ่อหลวง” และเรี ยกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์ จึงเรี ยกว่า “โครงการหลวง” ๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดําริ ให้เอกชนไปดําเนินการ ด้วยกําลังเงิน กําลังปั ญญา และกําลังแรงงาน พร้อมทั้งการติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการ พัฒนาหมู่บา้ นสหกรณ์เนินดินแดง อําเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขนั ธ์ ซึ่งสโมสรโรตารี แห่งประเทศไทย เป็ นผูจ้ ดั และดําเนินงานตามพระราชดําริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน เป็ นต้น ๔) โครงการตามพระราชดําริ โครงการประเภทนี้เป็ นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่ วมดําเนินการตามแนว พระราชดําริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่ วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาล ซึ่งมีท้ งั ฝ่ ายพลเรื อน ตํารวจ ทหาร โครงการตามพระราชดําริ น้ ีในปัจจุบนั เรี ยกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ” มีกระจายอยูท่ ว่ั ทุกภูมิภาค ของประเทศไทย ปัจจุบนั มีลกั ษณะที่เป็ นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดาํ เนินการเสร็ จสิ้ นภายในระยะเวลาสั้น
11 และระยะเวลายาวที่มากกว่า ๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลกั ษณะที่เป็ นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษา ค้นคว้าทดลอง หรื อโครงการที่มีลกั ษณะเป็ นงานวิจยั เป็ นต้น ความเป็ นมาของการบริหารโครงการ ในช่ วงคริ สต์ศกั ราช 1750-1850 ที่ มีการปฏิ วตั ิอุตสาหกรรมผูบ้ ริ หารส่ วนใหญ่ ไม่ได้นาํ การบริ หาร โครงการมาใช้โดยตรง เนื่องจากองค์การขนาดใหญ่สามารถดําเนินงานจนสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาํ หนดไว้ ได้ โดยการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่ถูกกําหนดขอบเขตให้เป็ นภารกิจของผูเ้ ชี่ยวชาญทางเทคนิ คและทางการ บริ หารภายในองค์การ ต่อมาเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็ น ผลมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีและการติดต่อสื่ อสาร องค์การขนาดใหญ่จึงถูกมองว่าเป็ นองค์การที่มีความสามารถที่จาํ กัดในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงจาก สภาวะแวดล้อม สําหรับการเปลี่ยนแปลงด้านสภาวะแวดล้อมที่ สามารถส่ งผลกระทบต่อการบริ หาร และกระตุน้ ให้ องค์การจําเป็ นต้องนําแนวทางการบริ ห ารโครงการมาใช้ในการดําเนิ น งาน ได้เกิ ดความนิ ยมขึ้น ตั้งแต่ช่วง ปี 1960 ที่เกิดจากปั ญหาด้านต้นทุนที่สูงขึ้นและกําไรที่ลดลงจนสามารถส่ งผลกระทบต่อการผลิตสิ นค้าและ การให้บริ การอย่างต่อเนื่อง จึงทําให้องค์การจําเป็ นต้องหาแนวทางหรื อกลยุทธ์ ในการเพิ่มรายได้โดยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ข้ ึน แต่เนื่ องจากการคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ไม่อาจปฏิบตั ิได้ในกระบวนการผลิตที่ใช้ การบริ ห ารทั่ว ไปที่ มี ก ารผลิ ต โดยใช้ก ระบวนการของ การบริ ห ารทั่ว ไปที่ มี ค วามเหมาะสมและมี ค วาม สอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย ในระยะเวลาต่อมาได้เกิดการแข่งขันทางธุรกิจมีมากขึ้นส่ งผลทําให้เกิดการผลิตสิ นค้าและบริ การที่สูงขึ้น ผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์ยงิ่ มีความต้องการให้องค์การตอบสนองความต้องการของตนมากขึ้นองค์การจึงต้องมีการปรับปรุ ง การดําเนิ นงาน ได้แก่ กลยุทธ์ โครงสร้าง และวัฒนธรรมขององค์การ ให้มีความยืดหยุ่น มีความคล่องตัวและ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ มิฉะนั้นแล้วองค์การ อาจต้องเลิกดําเนิ นกิจการไป จึงส่ งผลทําให้ระบบ การวางแผนและการบริ ห ารงานในลักษณะโครงการ ได้ถูก นํามาใช้เพื่ อจัด การกับ การเปลี่ ยนแปลง รวมทั้ง สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การวางแผนและการควบคุ ม การดํา เนิ น งานทั่ว ไป ตลอดจนทํา ให้ อ งค์ก ารบรรลุ วัตถุประสงค์ภายใต้เวลาและงบประมาณที่จาํ กัด อย่างไรก็ ต ามการบริ ห ารงานที่ มุ่ ง เน้น คุ ณ ภาพและความหลากหลายของผลิ ต ภัณ ฑ์ ท ําให้ เกิ ด การ เปลี่ ย นแปลงขึ้ น และเป็ นสาเหตุ ท ําให้ มี ก ารนําการบริ ห ารโครงการมาใช้อ ย่างแพร่ ห ลาย เช่ น มี ก ารคิ ด ค้น สิ่ งประดิษฐ์ใหม่ๆ เกิดเทคโนโลยีระดับสู ง และมีการนําเทคโนโลยีมาใช้กนั อย่างกว้างขวาง ทําให้กระบวนการ ผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ สั้นลง จนเกิดการเปลี่ยนแปลงการบริ หารในอย่างรวดเร็ ว การบริ หารโครงการจึงถูกนํามาใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ดงั กล่าว อย่างไรก็ตามโครงการ มักจะเป็ นกิจกรรมที่มีการดําเนิ นงานเพียงครั้ง เดียวแต่มีกิจกรรมย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในด้านเวลา และ การจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่องค์การ ต้องการ นอกจากนี้ วตั ถุประสงค์ของโครงการจากกิจกรรมที่มีความสลับซับซ้อนจึงมีความจําเป็ นที่ผบู ้ ริ หารต้อง ให้ความสําคัญมากยิง่ ขึ้นอีกด้วย
12 ความสํ าคัญของการบริหารโครงการ ในปั จจุบนั การบริ หารโครงการมีความสําคัญและถูกนํามาใช้ในการดําเนิ นงานอย่างแพร่ หลาย โดยมี จุดมุ่งหมาย เพื่อให้องค์การและสังคมสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ตอ้ งการได้มากยิ่งขึ้นกว่า การบริ หารทัว่ ไปที่ เป็ นการบริ ห ารงานที่ มี ล ัก ษณะของการดําเนิ น งานอย่างเป็ นประจําเนื่ อ งจาก การบริ ห ารโครงการเป็ นการ ดําเนิ นงานที่มีความแตกต่างออกไปจากการดําเนิ นงานที่ปฏิบตั ิอยูเ่ ป็ นประจํา แต่เป็ นเครื่ องมือที่มีประสิ ทธิ ภาพ มากที่สุด เมื่อถูกนําไปใช้ในการดําเนิ นกิจกรรมที่มีความสลับซับซ้อน หรื อกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยต่างๆ ซึ่งจะทําให้องค์การและสังคม ได้รับประโยชน์สูงสุ ดจากทรัพยากรทางการบริ หารที่มี อยู่อย่างจํากัด ภายใต้เงื่อนไขด้านสภาวะแวดล้อม ภายในองค์การ สภาวะแวดล้อมภายนอกองค์การ และปั จจัย ด้านเวลา เป็ นต้นโดยทัว่ ไปองค์การที่มี ประสบการณ์จากการบริ หารโครงการมาแล้วนั้น จะมีความได้เปรี ยบและ สามารถที่จะดําเนิ นงาน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลมากยิ่งขึ้น ทําให้ได้เปรี ยบเหนื อกว่าองค์การที่ ไม่เคยมีประสบการณ์ ในด้านการบริ หารโครงการมาก่อน สําหรับโครงการที่มีประโยชน์ต่อสังคมที่ผ่านมานั้น ล้วนแล้วแต่ ได้ใช้การบริ หารโครงการทั้งสิ้ น เช่น โครงการบําบัดนํ้าเสี ย โครงการลดมลภาวะทางอากาศ เป็ นต้น นอกจากนี้ การบริ หารโครงการยัง ได้นํ า มาใช้เพื่ อ การประสาน และควบคุ ม กิ จ กรรมที่ มี ความ สลับซับซ้อนในการดําเนิ นงาน ได้แก่ โครงการที่เกี่ยวกับการรักษาสภาพแวดล้อมที่พึงประสงค์ ในสังคมเช่ น โครงการด้านความมัน่ คง โครงการความร่ วมมื อระหว่างภูมิภาคของโลก เป็ นต้น โครงการที่เกี่ ยวข้องกับการ ให้บริ การประชาชน เช่น โครงการด้านสุ ขภาพอนามัย ด้านการศึกษา ด้านการฝึ กอบรม ด้านการฟื้ นฟูสภาพจิตใจ ด้านการชลประทานเพื่อการอุปโภคบริ โภค เป็ นต้น การบริ หารโครงการในกิจกรรมเหล่านี้ ทําให้ชีวิตของคนใน สังคมได้รับความสะดวกสบายและ มีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้น ดังนั้นการบริ หารโครงการจึงมีความเกี่ยวข้องกับชีวิต ของคนในสังคมนัน่ เอง โครงการเป็ นกิจกรรมที่ได้รับการจัดทําขึ้นเพื่อการนําไปใช้เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่ ได้กาํ หนดไว้ โครงการทุ กโครงการที่ กาํ หนดขึ้ น จะต้องมี ความสอดคล้องและสนับสนุ น แผนงานหลักของ องค์การ มีการจัดเตรี ยม การกําหนดรู ปแบบของการดําเนิ นงานไว้อย่างเป็ นระบบ การดําเนิ นงานของโครงการ จะต้องเป็ นที่ตกลงยอมรับและรับรู ้จากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องโครงการจะต้อง มีผรู ้ ับผิดชอบในการดําเนินการ รวมทั้ง จะต้องได้รับการสนับสนุ นและเอาใจใส่ จากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง อย่างสมํ่าเสมอและที่สาํ คัญโครงการจะต้องได้รับการ ตรวจสอบและประเมิ น ผลอย่ า งจริ ง จัง ทั้ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารดํา เนิ น งานของโครงการบรรลุ ถึ ง ผลลัพ ธ์ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด โครงการโดยทั่ว ไป เป็ นกิ จ กรรมที่ มี ค วามเกี่ ย วข้อ งกับ การใช้ท รั พ ยากรเพื่ อ หวัง ผลประโยชน์ ตอบแทน ดังนั้น โครงการจึ งมี ความเกี่ ยวข้องกับ การวางแผน การจัดสรรทรั พ ยากร และแผน ปฏิบตั ิงานอย่างมีระเบียบแบบแผนอีกด้วย
13 ความหมายของการบริหารโครงการ ความหมายของคําว่า การบริหาร การจัดการ และโครงการ มีผใู ้ ห้ความหมาย ดังนี้ การบริ ห ารหรื อ การจั ด การ หมายถึ ง การดํ า เนิ น งานหรื อ กระบวนการการทํ า งานร่ ว มกั น ของคน ในองค์ การอย่ างมีศิลปะรวมทั้งมีการประสมประสานทรั พยากรต่ างๆ เพื่อให้ การดําเนินงานเป็ นไปเพื่อบรรลุผล สํ าเร็จตามวัตถุประสงค์ ทกี่ าํ หนดไว้ อย่ างมีประสิ ทธิผลและประสิ ทธิภาพ จากความหมายของการจัด การข้า งต้น พบว่ า การบริ ห ารหรื อ การจัด การจะมี ค วามครอบคลุ ม ถึ ง สาระสําคัญซึ่ งเป็ นประเด็นหลักของการจัดการ คือ วัตถุประสงค์ เป้ าหมายประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผล และการ ประสมประสานทรัพยากรอีกด้วย อย่างไรก็ดีในปั จจุบนั ยังมีการให้ความหมายของการจัดการ ไว้ที่น่าสนใจ คือ การจัด การเป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับ การกําหนดตําแหน่ งทางการแข่งขัน ขององค์ก ารเพื่ อ การดําเนิ น งานในรู ป ของ วิสัยทัศน์ ภารกิ จ นโยบาย เป้ าหมาย และกลยุทธ์ที่ชัดเจนและใช้เป็ น แนวทางสําหรั บกํากับใช้ทรั พ ยากรใน แผนงานต่างๆ โดยมีจุดหมายเพื่อนําองค์การไปสู่ การมีความ ได้เปรี ยบทางการแข่งขัน มีการเจริ ญเติบโตที่ยงั่ ยืน ในระยะยาว เป็ นต้น วัตถุประสงค์ของโครงการ สําหรั บการบริ หารโครงการนั้นจะมีความเกี่ ยวข้องกับความต้องการบรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการ ทั้งสิ้ น สําหรับวัตถุประสงค์ของโครงการ ได้แก่ การจัดการด้านขอบเขตการบริ หาร หรื อขอบเขตการบริ หารเป็ น การกํา หนดบทบาทหน้ า ที่ ข องผู บ้ ริ ห ารโครงการ ได้แ ก่ การกํา หนดวิ ธี ก าร ที่ ต ้อ งการให้ อ งค์ก ารบรรลุ วัตถุประสงค์ กําหนดกลยุทธ์ที่ทาํ ให้วตั ถุประสงค์ของโครงการบรรลุผลสําเร็ จ และการกําหนดแผนยุทธวิธีข้ ึน เพื่ อ ทําให้ แ ผนกลยุท ธ์ ใ นแต่ ล ะด้านประสบความสําเร็ จ ซึ่ งการบริ ห าร ในขอบเขตต่ างๆ ข้างต้น จะต้อ งมี ความสัมพันธ์กบั โครงสร้างองค์การที่มีการแบ่งงานกันทําอย่างชัดเจน นอกจากนี้ วตั ถุประสงค์ของโครงการยังมี ผลต่อการจัดการด้านองค์การ ซึ่ งการจัดการด้านองค์การนี้ จะเป็ นออกแบบโครงสร้างที่มีการกําหนดแผนภูมิ ความรั บ ผิด ชอบ มี ก ารปรั บ ปรุ งรู ป แบบองค์ก าร ให้ ส อดคล้อ งกับ ภารกิ จ ของโครงการ ที่ ต ้อ งคํานึ งถึ งการ เปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม การแปลง วัตถุประสงค์ให้เป็ นกลยุทธ์ของโครงการและนําไปสู่ การปฏิบตั ิโดย มีการจัดทําแผนยุทธวิธีต่อไป ทั้งนี้ วัตถุประสงค์ที่ได้กาํ หนดไว้อาจเป็ นการกําหนดทั้งในด้านที่มีลกั ษณะเชิ ง ปริ มาณ หรื อ เชิ งคุณภาพก็ได้ โดยที่การบริ หารโครงการจะเป็ นกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กนั และกันที่มีการใช้ ความพยายามของบุคคลากรในการดําเนินกิจกรรมที่มีลกั ษณะที่มีความพิเศษอย่างเป็ นระบบเพื่อให้ สามารถ ใช้ท รั พ ยากรอย่างมี ประสิ ทธิ ภ าพสู งสุ ดในการดําเนิ น งานให้บรรลุวตั ถุป ระสงค์ที่ได้กาํ หนดไว้ ซึ่ งกิ จกรรม ดังกล่าวจะต้องมีการกําหนดเวลาเริ่ มต้นและสิ้ นสุ ดอีกด้วย
14 การบริหารโครงการให้ เกิดประสิ ทธิผล ขั้นตอนการบริ หารโครงการ แนวทางการบริ หารโครงการเชิงปฏิบตั ิ และสรุ ป คําสําคัญ : การบริ หารโครงการ, โครงการ 1. โครงการ (Project) เมื่อวิเคราะห์การดําเนินงานขององค์การใด ๆ จะเห็นว่าทุกองค์การจะต้องมีปรัชญาหรื อแนวคิดในการดําเนินงาน ที่เป็ นเฉพาะของตนเอง โดยปรัชญาหรื อแนวคิดนั้นจะแสดงถึงภารกิจ (Mission) หรื องานขององค์การที่จะต้อง ดําเนิ น การและทิ ศทาง (Goal) ของการดําเนิ น งาน เพื่ อ ให้ บ รรลุ วตั ถุ ป ระสงค์(Objective) ที่ ก าํ หนดไว้ การที่ วัต ถุ ป ระสงค์ข ององค์ก ารจะบรรลุ ผ ลตามเป้ าหมายย่อ มต้อ งอาศัย วิธีก ารทํางาน (Procedure) หรื อ โครงการ (Project) หรื อโครงงาน (Program) เป็ นสําคัญ ดังนั้นหากองค์การใดไม่มีการวางแผนงาน และไม่มีโครงการเนิ น การคงเป็ นเรื่ องที่น่าแปลกและเป็ นองค์การที่จดั ว่าล้าหลัง ในการบริ หารองค์การใด ๆ โครงการ (Project) ถือเป็ น ส่ วนประกอบสําคัญของแผน โดยทัว่ ไปองค์การ มักจัดทําแผนใน 2 ลักษณะคือ แผนมหภาค (Macro Plan) และแผนจุลภาค (Micro Plan)โครงการถือเป็ นแผน จุ ล ภาคหรื อ แผนเฉพาะเรื่ อ งที่ จ ัด ทําขึ้ น เพื่ อ พัฒ นาหรื อ แก้ปั ญ หาใดปั ญ หาหนึ่ งขององค์ก ารจากการศึ ก ษา ความหมายของโครงการ สรุ ปได้ว่า “โครงการเป็ นแผนงานที่จดั ทําขึ้นอย่างเป็ นระบบ ประกอบด้วย กิจกรรม ย่อยหลายกิจกรรมที่ตอ้ งใช้ทรัพยากรในการดําเนิ นงาน และคาดหวังที่จะได้ผลตอบ แทนอย่างคุม้ ค่า มีจุดเริ่ มต้น และจุ ด สิ้ น สุ ด ในการดําเนิ น งาน มี ว ตั ถุ ป ระสงค์ห รื อ จุ ด มุ่ ง หมายอย่างชัด เจน และมี บุ ค คลหรื อ หน่ ว ยงาน รับผิดชอบในการดําเนินงานให้เป็ นไปตามแผนงาน เหมาะสมกับเวลา และงบประมาณที่ต้ งั ไว้” เมื่อวิเคราะห์ ความหมายของโครงการสามารถสรุ ปลักษณะสําคัญของโครงการได้ดงั นี้ 1. เป็ นระบบ (System) มีข้ นั ตอนการดําเนินงาน 2. มีวตั ถุประสงค์ (Objective) เฉพาะชัดเจน 3. มีระยะเวลาแน่นอน (มีจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดในการดําเนินงาน) 4. เป็ นเอกเทศและมีผรู ้ ับผิดชอบโครงการอย่างชัดเจน 5. ต้องใช้ทรัพยากรในการดําเนินการ 6. มีเจ้าของงานหรื อผูจ้ ดั สรรงบประมาณ 2. จุดอ่ อนในการจัดทําและบริหารโครงการ การบริ หารโครงการมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อความสําเร็ จหรื อความล้มเหลวของโครงการ การบริ หารโครงการมี ความแตกต่างกับการบริ หารทัว่ ไปตรงที่มีลกั ษณะพิเศษไม่ซ้ าํ กับโครงการอื่นเน้นประสิ ทธิ ผลตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ มี ระยะเวลาที่ แน่ นอน เกี่ ยวข้องกับการเปลี่ ยนแปลงขนาดใหญ่ สภาพแวดล้อมการดําเนิ น งาน ยืดหยุ่นไม่คงที่ มีการให้น้ าํ หนักแก่วตั ถุประสงค์ไม่เท่ากันเพื่อก่อให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลงสภาพเดิม และมีการ สร้ างกลุ่ ม ที ม งานชั่ว คราวขึ้ น มาดํา เนิ น งานโดยแต่ ล ะคนต้อ งรั บ ผิ ด ชอบหลายบทบาท และหากพิ จ ารณา ความหมายของ “การบริ หารโครงการ” ซึ่งผูเ้ ขียนเห็นว่า “การบริ หารโครงการ คือ การจัดการและกํากับทรัพยากร (เวลา วัสดุ บุ คลากร และค่าใช้จ่าย) เพื่ อให้การดําเนิ นงานโครงการประสบความสําเร็ จ บรรลุวตั ถุประสงค์ที่
15 กําหนดไว้ภายในช่ วงเวลาที่ กาํ หนด” ดังนั้นบุคคลที่ มีบทบาทสําคัญในการดําเนิ น การโครงการ คือ ผูบ้ ริ หาร โครงการ ซึ่ งควรต้องเลือกบุคคลที่มีความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อหาของโครงการนั้น ๆ และมีความความรู ้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการดําเนินการ มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถประสานงานทั้งกับฝ่ ายบริ หารและผูป้ ฏิบตั ิงานเป็ นอย่าง ดี รวมทั้งทํางานเป็ นที มได้ทาํ หน้าที่ เป็ นผูบ้ ริ ห ารโครงการมิ ใช่ ผูบ้ ริ ห ารจะรวบบริ ห ารเองทุ กโครงการ ยิ่งใน ปั จจุบนั องค์การภาครัฐและเอกชนต่างมีการบริ หารจัดการในรู ปแบบโครงการมากขึ้น ผูบ้ ริ หารโครงการจึงทวี ความสําคัญมากขึ้น ดังนั้นสิ่ งแรกที่ผูบ้ ริ หารต้องขบคิดและตัดสิ นใจเพื่อให้การนําโครงการไปปฏิบตั ิประสบ ความสําเร็ จ คือ “จะมอบหมายให้ใครเป็ นผูบ้ ริ หารโครงการ” อย่างไรก็ตามความสําเร็ จหรื อล้มเหลวของโครงการ มิได้ข้ ึนอยูก่ บั ผูบ้ ริ หารโครงการเพียงอย่างเดียวแต่ยงั มีสาเหตุอื่นๆ ซึ่ง ครรชิต มาลัยวงศ์ ได้กล่าวถึงความล้มเหลว ของโครงการจํานวนมากว่าเกิ ด จาก ใช้งบ ประมาณเกิ น วงเงิ น เสร็ จ ไม่ ท ัน ตามกําหนดเวลา ผลงานไม่ ต รง วัตถุประสงค์และไม่มีคุณ ภาพ ทั้งนี้ โดยมีสาเหตุ พ้ื นฐานคื อ ไม่มีผูร้ ั บผิดชอบที่ ชัดเจน ไม่ ได้ห ลักการจัดการ โครงการ ขาดการประกันคุณภาพ ขาดความรู ้ทางเทคนิ ค และบุคลากรไม่มีความสามารถ จุดอ่อนของการจัดทํา โครงการและบริ หารโครงการที่เป็ นสาเหตุส่งผลต่อความสําเร็ จในการดําเนินการโครงการหลายประการ ที่สาํ คัญ สรุ ปได้ดงั นี้ 1. การจัดทําโครงการ โครงการส่ วนใหญ่กาํ หนดวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ขั้นตอนการดําเนิ นงานโครงการ และการวัดและ ประเมินผลโครงการไม่ค่อยสัมพันธ์กนั 1.1 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ - วัต ถุ ป ระสงค์ไ ม่ ชัด เจน ส่ ง ผลกระทบต่ อ การกํา หนดเป้ า หมายและการประเมิ น ผลการ ดําเนินงานโครงการ - วัตถุประสงค์ไม่เหมาะสม กําหนดไว้สูงเกินไปไม่สามารถทําให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้ภายใน เวลา - ไม่กาํ หนดเป้ าหมายโครงการหรื อกําหนดเป้ าหมายโครงการไม่ชดั เจนหรื อกําหนดเป้ าหมาย โครงการไม่สมั พันธ์กบั วัตถุประสงค์ของโครงการ ส่ งผลกระทบต่อการประเมินความสําเร็ จของโครงการ 1.2 ขั้นตอนการดําเนินงานโครงการ - กิจกรรมโครงการที่กาํ หนดไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ - การดําเนินงานโครงการไม่เป็ นไปตามระยะเวลา ที่กาํ หนด 1.3 การวัดและประเมินผลการดําเนินงานโครงการ - ขาดเครื่ องมือในการวัดผลการดําเนินโครงการที่มีคุณภาพและหลากหลาย - ผูท้ าํ การวัดและประเมินผลโครงการขาดความรู ้และทักษะในการวัดและประเมินผลส่ วนใหญ่ ผูร้ ับผิดชอบโครงการจะดําเนินการเอง ผลการประเมินโครงการที่ได้จึงไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ ไม่ครอบคลุม กระบวนการดําเนินงาน และขาดคุณภาพ จึงใช้ประโยชน์ในทางการบริ หารได้นอ้ ย
16 - ขาดการวัดและประเมิ นผลสัมฤทธิ์ ของโครงการตามเป้ าหมาย ส่ วนใหญ่ จะเป็ นการวัดและ ประเมิ น ผลความคิ ด เห็ น หรื อ ความพึ งพอใจที่ มี ต่ อการดําเนิ น งานโครงการนั้น ๆเมื่ อ สิ้ น สุ ด การดําเนิ น งาน โครงการ - การรายงานผลการดําเนินงานโครงการไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ 2. การบริหารโครงการ ผูบ้ ริ หารส่ วนใหญ่ให้ความสําคัญกับโครงการก่อนดําเนิ นการค่อนข้างมาก ทั้งนี้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิโครงการ แต่ เมื่ออนุ มตั ิโครงการแล้วจะปล่อยให้เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ ับผิดชอบโครงการและทีมงาน หากพิจารณาการ บริ ห ารโครงการตั้งแต่ ก่ อ นดําเนิ น การโครงการ ระหว่ างการดําเนิ น การโครงการ และภายกลัง สิ้ น สุ ด การ ดําเนินการโครงการ พบจุดอ่อนของการบริ หารโครงการสรุ ปได้ดงั นี้ 2.1 ก่อนดําเนินการโครงการ ผูบ้ ริ หารส่ วนใหญ่จะให้ความสําคัญกับ โครงการเพียง “เป็ นโครงการทํากับอะไร เพื่ออะไรงบประมาณเท่าไหร่ สนองแผนการพัฒนาสถานศึกษาหรื อยุทธศาสตร์หรื อนโยบายข้อใด” แต่ไม่สนใจจะวิเคราะห์และประเมินข้อมูล ที่จะนํามาสู่ การตัดสิ นใจว่าควรดําเนิ นการโครงการนั้นหรื อไม่ อย่างไรเช่น วิเคราะห์ความต้องการจําเป็ นของ โครงการ ความสําคัญและความคุม้ ค่าในการที่จะจัดทําโครงการหากเป็ นโครงการต่อเนื่ องผูบ้ ริ หารส่ วนใหญ่จะ ไม่สนใจนําผลการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และความต้องการในการดําเนินการโครงการของรอบปี ที่ผา่ นมาใช้ ประกอบการตัดสิ นใจ หรื อกล่าวได้ว่าขาดการประเมินความต้องการจําเป็ น ความเหมาะสม และความเป็ นไปได้ ของแผนงานโครงการรวมทั้งการไม่ประสานแผนกับแผนงานโครงการอื่นจึงเกิดความซํ้าซ้อน 2.2 ระหว่างการดําเนินการโครงการ ส่ วนใหญ่ให้ความสําคัญกับโครงการระหว่างดําเนิ นการน้อยมาก ทั้งนี้ อาจถือว่าได้มอบหมายให้ผูร้ ับผิดชอบ โครงการแล้วจึงเป็ นหน้าที่ของผูร้ ับผิดชอบโครงการก็เป็ นได้ จุดอ่อนที่พบในระยะนี้ได้แก่ - ขาดผูท้ ี่มีความรู ้ความสามารถด้านการวัดและประเมินผล - ไม่ มี ห น่ ว ยงานหรื อ คณะกรรมการทําหน้ าที่ ติ ด ตามประเมิ น ผลการดําเนิ น งานโครงการ โดยเฉพาะ - ขาดการติดตามประเมินผลการดําเนินงานโครงการเพื่อปรับปรุ ง ให้ความช่วยเหลือ หรื อแก้ไข ปั ญหาเพื่อให้โครงการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ เป็ นเรื่ องของผูร้ ับผิดชอบโครงการและทีมงานที่จะแก้ปัญหา เฉพาะหน้าเอาเอง 2.3 หลังการดําเนินการโครงการ - ขาดการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความสําเร็ จของโครงการระหว่างวัตถุประสงค์เป้ าหมาย และ งบประมาณ ทําให้ไม่สามารถสรุ ปความคุม้ ค่าของโครงการได้ - ขาดการวิเคราะห์ผลกระทบของโครงการที่มีต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยกับโครงการ - มีการนําผลการประเมินโครงการไปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทําแผนงานโครงการหรื อ ตัดสิ นใจในการจัดทําโครงการครั้งต่อไปน้อยมาก
17 3. ขั้นตอนการบริหารโครงการ การบริ หารโครงการ (Project Management) มีลกั ษณะ เป็ นวงจร (Cycle) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. การวางแผนจัดทําโครงการ (Project Plan) งานโครงการจะต้องเริ่ มต้นที่การวางแผนโครงการหรื อ การจัดทําโครงการ ซึ่งต้องมีเนื้ อหาสาระชัดเจน เฉพาะเจาะจง สามารถตอบคําถามต่อไปนี้ได้ โครงการอะไร (ชื่อ โครงการ) ทําไมต้องทํา (หลักการและเหตุผล) ทําเพื่ออะไร(วัตถุประสงค์) ปริ มาณเท่าไร (เป้ าหมาย) ทําอย่างไร (วิธีดาํ เนินการ) ทําเมื่อใด (ระยะเวลา) ใช้ทรัพยากรอะไร (งบประมาณและทรัพยากรอื่น ๆ) ใครทํา (ผูร้ ับผิดชอบ) ทํากับใคร (ผูท้ ี่เกี่ยวข้องหรื อเครื อข่าย) บรรลุผลหรื อไม่ (ประเมินผล) เกิดอะไรเมื่อสิ้ นสุ ดโครงการ (ผลที่คาดว่า ได้รับ) ดังนั้นผูท้ ี่จดั ทําโครงการจะต้องรวบรวมแนวความคิด นโยบาย ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ศึกษา วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปั ญหา แนวทางการแก้ปัญหา กําหนดโครงการ กําหนดวัตถุประสงค์ของ โครงการ และเขียนโครงการ ซึ่งทัว่ ไปนิยมเขียนเป็ นหัวข้อประกอบด้วย 1) หลักการและเหตุผล อธิ บายที่มาของโครงการ ซึ่งเป็ นเหตุผลแสดงถึงความสําคัญจําเป็ นที่ตอ้ งมี โครงการ 2) วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ บอกแนวทางการดําเนิ น งานและการประเมิ น ผล สามารถปฏิ บ ัติ ไ ด้ใ น ช่วงเวลาที่กาํ หนดในโครงการ 3) เป้าหมาย กําหนดคุณลักษณะของผลงานโครงการทั้งเชิงปริ มาณและคุณภาพ สามารถวัดได้ 4) แผนดําเนินงาน อธิบายกิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ิอย่างเป็ นขั้นตอนทั้งวิธีการและระยะเวลา 5) ผูร้ ับผิดชอบโครงการ 6) สถานที่และระยะเวลาดําเนินงาน 7) งบประมาณ อธิบายรายละเอียดแหล่งที่มา จํานวน และประเภทของงบประมาณ 8) การติดตามประเมินผล อธิบายวิธีการ เครื่ องมือ และสิ่ งที่จะประเมินสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย 9) ประโยชน์ ที่ จ ะได้รั บ จากโครงการ เขี ย นผลที่ ค าดว่ าจะได้รั บ และจะเกิ ด ขึ้ น จริ ง จากการ ดําเนินการโครงการที่บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายเป็ นรู ปธรรม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2. การดําเนิ นงานตามโครงการ (Project Implementation) เป็ นขั้นตอนการนําโครงการไปดําเนิ นการ ใช้กบั กลุ่มเป้าหมาย (Target Group) เพื่อให้ได้ผลตามวัตถุประสงค์ 3. การประเมิ น ผลโครงการ (Project Evaluation) เมื่ อ มี ก ารดําเนิ น งานโครงการก็ จ ะต้อ งทําการ ประเมินผลโครงการเพื่อตรวจสอบว่าโครงการนั้นดําเนิ นไปด้วยดีหรื อมีอุปสรรคปั ญหาอย่างไร ทั้งนี้ เพื่อนําไปสู่ การตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารโครงการว่าจะปรับปรุ งแก้ไขโครงการนั้นสําหรับการดําเนิ นการต่อไป หรื อจะยกเลิก การดําเนินงานโครงการ 4. แนวทางการบริ หารโครงการเชิงปฏิบตั ิ เพื่อให้โครงการที่ สถานศึกษาจัดทําบังเกิ ดประสิ ทธิ ผลตามวัตถุประสงค์ ผูเ้ ขียนมีขอ้ เสนอแนะในการบริ หาร โครงการ เชิงปฏิบตั ิดงั นี้
18 ก่อนดําเนินการโครงการ ข้อสนเทศประกอบการตัดสิ นใจอนุมตั ิหรื อไม่อนุมตั ิโครงการ โดยมีแนวปฏิบตั ิดงั นี้ 1. กําหนดนโยบายและแนวทางในการจัดทําโครงการที่ ชัดเจน จัดเป็ นเป็ นแผนภู มิ และชี้ แจงให้ บุคลากรทราบ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการวิเคราะห์แผนงานโครงการ ดังนี้ 2.1 วิเคราะห์หลักการและเหตุผลของโครงการว่ามีความจําเป็ นหรื อมีความสําคัญอย่างไรที่ตอ้ ง จัดทําโครงการ เป็ นการประเมินความจําเป็ น (Need Assessment) ของโครงการ 2.2 วิเคราะห์ วตั ถุประสงค์ เป้ าหมาย การดําเนิ น งาน และผลที่ จะได้รับ (Project Appraisal) ว่า ชัดเจน มีความเหมาะสมเพียงใด คุม้ ค่ากับงบประมาณที่ใช้หรื อไม่ อย่างไร 2.3 ประเมิ นความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ของโครงการ หากมี ความ เหมาะสมและเป็ นไปได้จึงอนุมตั ิให้ดาํ เนินการโครงการ 2.4 จัดทําปฏิทินการดําเนิ นงานโครงการทั้งหมด เพื่อมิให้ช่วงเวลาการดําเนิ นงานโครงการทับ ซ้อนกัน อันจะส่ งผลต่อความพร้อมด้านสถานที่และทรัพยากร 2.5 แต่งตั้งผูร้ ับผิดชอบติดตามประเมินผลโครงการเป็ นการเฉพาะ โดยควรเลือกผูท้ ี่มีความรู ้ดา้ น การประเมิ น ผลและการวิจยั หรื อผูท้ ี่ สนใจเพื่ อวัดและประเมิ น ผลการดําเนิ น การโครงการทั้งก่ อนดําเนิ น การ โครงการ ระหว่างดําเนินการโครงการ และเมื่อสิ้ นสุ ดการดําเนินการโครงการ ระหว่ างดําเนินการโครงการ 1. ติดตาม กํากับการดําเนินงานโครงการ ให้การสนับสนุนและช่วยแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น 2. ประเมินการดําเนินงานโครงการว่าเป็ นไปตามแผนงานโครงการหรื อไม่ อย่างไร 3. ประเมินความก้าวหน้า ความเหมาะสม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ เพื่อเป็ นข้อสนเทศใน การตัดสิ นใจยกเลิกหรื อดําเนินการโครงการต่อ หลังสิ้นสุ ดการดําเนินการโครงการ นําผลการดําเนินงานโครงการและข้อสนเทศที่ได้จากการประเมินมาใช้ประกอบการวางแผนจัดทําโครงการ โดย มีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ตรวจสอบผลการดําเนิ นงานโครงการโดยเปรี ยบเทียบกับวัตถุประสงค์ เป้ าหมายงบประมาณ เพื่อ ประเมินความคุม้ ค่าของโครงการ 2. ตรวจสอบผลกระทบ (Impact) ของโครงการ 3. ประเมินผลที่ไม่คาดหวัง (Side Effect) 4. สรุ ป จากที่กล่าวมาจะเห็นว่าแม้โครงการจะเขียนอย่างละเอียดชัดเจนเพียง ไร หากการบริ หารโครงการขาด ประสิ ทธิภาพ ผูบ้ ริ หารไม่ตระหนักถึงความสําคัญในการวางแผนงานโครงการ การกํากับติดตามประเมินผลการ ดําเนิ นการโครงการอย่างเป็ นระบบ และไม่นาํ ผลการประเมินโครงการมาใช้ในการตัดสิ นใจบริ หารจัดการ อีกทั้ง
19 ขาดบุ คคลที่ มีความรู ้ ความเข้าใจในโครงการและวิธีการดําเนิ น งานโครงการแล้ว โครงการนั้น ย่อมบรรลุถึง เป้ าหมายได้ยากหรื อไม่บรรลุเป้ าหมาย แนวปฏิบตั ิในการบริ หารโครงการที่กล่าวมาจึงเป็ นอีกแนวทางหนึ่ งที่ ผูบ้ ริ หารโครงการหรื อผูท้ ี่รับผิดชอบโครงการที่ตอ้ งการให้โครงการบังเกิ ดประสิ ทธิ ผลตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายควรนํา ไปใช้ ลักษณะของเทคนิคการบริหารโครงการ
โครงการที่ดีตอ้ งมีลกั ษณะดังนี้ 1. เป็ นโครงการที่สามารถแก้ปัญหาของสหกรณ์ได้ 2. มี รายละเอี ยด เนื้ อหาสาระครบถ้วน ชัด เจน และจําเพาะเจาะจง โดยสามารถตอบคําถาม ต่อไปนี้ได้ คือ - โครงการอะไร (ชื่อโครงการ) - ทําไมจึงต้องริ เริ่ มโครงการ (หลักการและเหตุผล) - ทําเพื่ออะไร (วัตถุประสงค์) - ปริ มาณที่จะทําเท่าไร (เป้าหมาย) - ทําอย่างไร (วิธีดาํ เนินการ) - จะทําเมื่อไร นานเท่าใด (ระยะเวลาดําเนินการ) - ใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน (งบประมาณ แหล่งที่มา) - ใครทํา (ผูร้ ับผิดชอบโครงการ) - ต้องประสานงานกับใคร (หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน) - บรรลุวตั ถุประสงค์หรื อไม่ (การประเมินผล) - เมื่อเสร็ จสิ้ นโครงการแล้วจะได้อะไร (ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ) 3. รายละเอียดของโครงการดังกล่าว ต้องมีความเกี่ ยวเนื่ องสัมพันธ์กนั เช่ นวัตถุประสงค์ตอ้ ง สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล วิธีดาํ เนินการต้องเป็ นทางที่ทาํ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้ เป็ นต้น 4. โครงการที่ริเริ่ มขึ้นมา ต้องมีผลอย่างน้อยที่สุดอย่างใดอย่างหนึ่ง ในหัวข้อต่อไปนี้ - สนองตอบ สนับสนุนต่อนโยบายระดับจังหวัดหรื อนโยบายส่ วนรวมของประเทศ - ก่อให้เกิดการพัฒนาทั้งเฉพาะส่ วนและการพัฒนาโดยส่ วนรวมของประเทศ - แก้ปัญหาที่ได้เกิดขึ้นได้ตรงจุดตรงประเด็น 5. รายละเอียดในโครงการมีพอที่จะเป็ นแนวทางให้ผอู ้ ื่นอ่านแล้วเข้าใจ และสามารถดําเนิ นการ ตามโครงการได้ 6. เป็ นโครงการที่ปฏิบตั ิได้และสามารถติดตามและประเมินผลได้
20 องค์ ประกอบของโครงการ องค์ประกอบพื้นฐานของโครงการ มีดงั นี้ 1. ชื่อโครงการ........................................................................... (ให้ระบุชื่อโครงการตามความเหมาะสม มี ความหมายชัดเจน และเรี ยกเหมื อนเดิ มทุกครั้ งจนกว่า โครงการจะแล้วเสร็ จ) 2. หลักการและเหตุผล………………………………… (ใช้ ช้ ี แจงรายละเอี ย ดของปั ญ หาและความจํา เป็ นที่ เกิ ด ขึ้ น ที่ จ ะต้อ งแก้ ไ ขตลอดจนชี้ แจงถึ ง ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการดําเนิ นงานตามโครงการและหากเป็ นโครงการที่จะดําเนิ นการตามนโยบาย หรื อ สอดคล้องกับแผนจังหวัด หรื อแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติหรื อแผนของกระทรวงหรื อแผนอื่น ๆ ก็ ควรชี้แจงด้วย ) 3. วัตถุประสงค์.............................................. (เป็ นการบอกให้ ท ราบว่ า การดํา เนิ น งานตามโครงการนั้ น มี ค วามต้อ งการให้ อ ะไรเกิ ด ขึ้ น วัตถุประสงค์ที่ควรจะระบุไว้ควรเป็ นวัตถุประสงค์ที่ชดั เจน ปฏิบตั ิได้และวัดประเมินผลได้ นิ ยมการเขียนเพียง 1 – 3 ข้อ) 4. เป้าหมาย ………………………………………. (ให้ระบุ ว่า จะดําเนิ น การสิ่ งใด โดยพยายามแสดงให้ปรากฏเป็ นรู ปตัวเลขหรื อจํานวนที่ จะทําได้ ภายในระยะเวลาที่ ก าํ หนด การระบุ เป้ าหมาย ระบุ เป็ นประเภทประมาณและประเภทลัก ษณะ(คุ ณ ภาพ) ให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความสามารถในการทํางานของผูร้ ับผิดชอบโครงการ) 5. วิธีดาํ เนินการหรื อกิจกรรมหรื อขั้นตอนการดําเนินงาน............................. (คือ งานหรื อภารกิจซึ่ งจะต้องปฏิบตั ิในการดําเนิ นโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ในระยะการ เตรี ยมโครงการ จะรวบรวมกิจกรรมทุกอย่างไว้แล้ว นํามาจัดลําดับว่า ควรจะทําสิ่ งใดก่อน – หลัง หรื อพร้อม ๆ กัน แล้วเขียนไว้ตามลําดับ จนถึงขั้นตอนสุ ดท้ายที่ทาํ ให้โครงการบรรลุวตั ถุประสงค์) 6. ระยะเวลาการดําเนินงานโครงการ (คือ การระบุระยะเวลาตั้งแต่ เริ่ มต้นโครงการจนเสร็ จสิ้ นโครงการ) 7. งบประมาณ................................................ (เป็ นงบประมาณการค่าใช้จ่ายทั้งสิ้ นของโครงการ ซึ่ งควรจําแนกรายการค่าใช่ จ่ายได้อย่างชัดเจน งบประมาณอาจแยกออกเป็ น หลายอย่าง เช่น เงินงบประมาณแผ่นดิน เงินช่วยเหลือจากองค์กรเอกชนต่าง ๆ) 8. เจ้าของโครงการหรื อผูร้ ับผิดชอบโครงการ ……………………………….. (เป็ นการระบุเพื่อให้ทราบว่า หน่วยงานใดเป็ นเจ้าของหรื อรับผิดชอบโครงการโครงการย่อย ๆ บางโครงการระบุ เป็ นชื่อบุคคลผูร้ ับผิดชอบเป็ นรายโครงการได้)
21 9. หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน............................................. (เป็ นการให้แนวทางแก่ผูอ้ นุ มตั ิและผูป้ ฏิบตั ิว่าในการดําเนิ นการโครงการนั้น ควรจะประสานงานและขอความ ร่ วมมือกับหน่วยงานใดบ้าง เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ ) 10. การประเมินผล………………………………………….. ( บอกแนวทางว่า การติดตามประเมินผลควรทําอย่างไรในระยะเวลาใดและใช้วิธีการอย่างไรจึงจะเหมาะสม ซึ่ ง ผลของการประเมินสามารถนํามาพิจารณาประกอบการดําเนิ นการ เตรี ยมโครงการที่คล้ายคลึงหรื อเกี่ยวข้องใน เวลาต่อไป ) 11. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ………………………………. (เมื่อโครงการนั้นเสร็ จสิ้ นแล้ว จะเกิดผลอย่างไรบ้าง ใครเป็ นผูไ้ ด้รับเรื่ องนี้ สามารถเขียนทั้งผลประโยชน์โดยตรง และผลประโยชน์ในด้านผลกระทบของโครงการด้วยได้ ) 12. การบริ หารความเสี่ ยง …………………………… (ให้กล่าวถึงแนวทางหรื อแผนการป้ องกันปั ญ หาที่ อาจเกิ ดขึ้ นหรื อปั จจัยที่ เสริ มในกรณี ที่มีปัญหาในระหว่าง ดําเนินโครงการ )
22 ตอนที่ 2 ตัวอย่ างการเขียนโครงการ การเขียนโครงการ มี 2 รูปแบบ แบบที่ 1 การเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม กรอบการเขียนโครงการ ชื่อโครงการ................................................................................................................................ หลักการและเหตุผล(กล่าวถึงเหตุผลความจําเป็ นว่าเพราะเหตุใดต้องทําโครงการนี้) ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... วัตถุประสงค์(หรื อจุดมุ่งหมายของโครงการ / ระบุความมุ่งหมายในการดําเนินงานเพื่ออะไร ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... เป้าหมาย (ผลที่ได้รับจากการดําเนินงาน ) - เชิงปริ มาณ (ผลงานที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นโดยตรง จากกิจกรรมหรื อการ ปฏิบตั ิงานทางด้านปริ มาณ - เชิงคุณภาพ (ผลงานที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิงานทางด้านคุณภาพ ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... วิธีดาํ เนินการ ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
23 ระยะเวลาดําเนินการ ( .เดือน........................พ.ศ...................ถึงเดือน...... .........พ.ศ...... ...........) ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... งบประมาณ ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ผูร้ ับผิดชอบโครงการ ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ขั้นตอนการดําเนินโครงการ ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... การประเมินผล (แนวทาง / วิธีการประเมินผลความสําเร็ จ / โครงการตามตัวชี้วดั ) ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ผลที่ดาดว่าจะได้รับจากโครงการหรื อการนําผลที่ได้ไปใช้เมื่อ ดําเนินการเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว) ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ตัวชี้วดั ความสําเร็ จ (ระบุเกณฑ์ตดั สิ น) ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
24 การบริ หารความเสี่ ยง (ให้กล่าวถึงแนวทางหรื อแผนการป้องกันปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นหรื อปัจจัยที่เสริ ม ในกรณี ที่มีปัญหาในระหว่างดําเนินโครงการ) ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... %%%%%%%%%% รายละเอียดอื่น ( ถ้ามี ) รายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายในโครงการ 1.กิจกรรรม ...................................................................เป็ นเงิน.....................................................บาท จําแนกเป็ น ค่าตอบแทน (۱) ค่าตอบแทนวิทยากร (..........คน x ........บาท x …….ชัว่ โมง x ......... ครั้ง ) = ……………….. บาท ค่าใช้สอย (..........คน x ........บาท x …….ชัว่ โมง x ......... ครั้ง ) = ……………….. บาท ( ) ค่าที่พกั (..........คน x ........บาท x …….ชัว่ โมง x ......... ครั้ง ) = ……………….. บาท (۳) ค่าพาหนะ (..........คน x ........บาท x …….ชัว่ โมง x ......... ครั้ง ) = ……………….. บาท (٤) ค่าอาหาร (..........คน x ........บาท x …….ชัว่ โมง x ......... ครั้ง ) = ……………….. บาท (٥) ค่าอาหารว่างและเครื่ องดื่ม มื้อละไม่เกิน.......บาท (..........คน x ........บาท x …….ชัว่ โมง x ......... ครั้ง ) = ……………….. บาท (٦) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ค่าวัสดุ ....................................................................................................................................... ค่าครุ ภณ ั ฑ์ ก. กิจกรรม....................................................เป็ นเงิน........................................................... บาท ................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... รวมทั้งสิ้ นทุกกิจกรรมของโครงการ....................................................บาท) หมายเหตุ - ขอถัวจ่ายทุกรายการตามที่จ่ายจริ ง
25 แบบที่ 2 การเขียนโครงการแบบเชิงเหตุผลหรื อแบบเชิงตรรกวิทยา (Log Frame) เป็ นการเขียนโครงการที่ มีวตั ถุประสงค์ที่ดีที่สุดเพี ยงวัตถุประสงค์เดี ยว และเป็ นโครงการที่ มีเหตุผล ต่อเนื่ องกันตลอด การเขี ยนโครงการแบบนี้ เรี ยกสั้น ๆ ว่า “Log Frame” มี การแสดงขั้น ตอนการทํางานที่ เป็ น เหตุผลซึ่งกันและกัน และสามารถประเมินผลภายในตัวเอง รายละเอียดของโครงการง่ายต่อความเข้าใจง่ายต่อการ วิเคราะห์ แ ละง่ ายต่ อการประเมิ น รายละเอี ย ดของโครงการแสดงในตาราง โดยแสดงให้เห็ น ว่า โครงการมี วัตถุประสงค์อะไร จะดําเนินการอย่างไร มีปัจจัยสําคัญอะไร ที่มีผลกระทบต่อโครงการ นอกจากนี้ ยังระบุให้เห็น ว่าผลงานและความสําเร็ จของโครงการ จะวัด ได้อย่างไร ข้อมู ลได้มาจากไหน และด้วยวิธีก ารอย่างไร โดย ข้อความหรื อรายละเอียดในแต่ละตาราง จะต้องเป็ นเหตุผลกันและกัน ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน รู ปแบบการ จัดทําโครงการแบบ Log Frame โดยสรุ ปมีลกั ษณะแผนภูมิ ดังต่อไปนี้
26 โครงสร้างการจัดทําโครงการแบบ Log Frame สาระสําคัญการ ตัวบ่งชี้ความสําเร็ จ ดําเนินงานโดยสรุ ป ของโครงการ วัตถุประสงค์ของแผน สิ่ งที่แสดงถึง (Program Goal) ความสําเร็ จของ วัตถุประสงค์ของแผน เครื่ องวัดความสําเร็ จ ของวัตถุประสงค์ของ แผนงาน ความมุ่งหมายของ โครงการ (Project purpose)
ความสําเร็ จของ โครงการตามความมุ่ง หมาย
ผลงาน (Output)
สมรรถนะของ ความสําเร็ จที่แสดงใน รู ปของประเภท ปริ มาณและคุณภาพ
ข้อมูลนําเข้า (Input)
ค่าใช้จ่ายและ ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ใน แต่ละกิจกรรม
แหล่งตรวจสอบและ วัดความสําเร็ จ แหล่งอ้างอิง ความสําเร็ จของ วัตถุประสงค์ของแผน แหล่งมาเบื้องต้นของ ข้อมูลแผนงาน และแหล่งประเมินผล ตอนสิ้ นสุ ดของ แผนงาน แหล่งอ้างอิง ความสําเร็ จตามความ มุ่งหมายของโครงการ แหล่งมาเบื้องต้นของ ข้อมูลโครงการ แหล่งอ้างอิง ความสําเร็ จของ โครงการ แหล่งประเมิน ความก้าวหน้าหรื อ ความสําเร็ จของ โครงการ
ข้อสมมุติฐานที่สาํ คัญ/ เงื่อนไขความสําเร็ ผลอันเกิดจาก ความสําเร็ จ วัตถุประสงค์ของแผน ในระยะยาว
ผลอันเกิดจาก ความสําเร็ จเฉพาะ ความมุ่งหมายของ โครงการ
สมมุติฐานที่ ก่อให้เกิดความสําเร็ จ ของแต่ละผลงานหรื อ โดยรวม แสดงจุดอ่อนของ ผลงานที่จะไม่ ก่อให้เกิดผลตาม เป้าหมายที่ต้ งั ไว้ แหล่งที่มาของเงินและ เงื่อนไขที่จะก่อให้เกิด ทรัพยากรในแต่ละ การบรรลุผลสําเร็ จ กิจกรรม ของกิจกรรม
27 อธิบาย 1. สาระสําคัญของการดําเนินงานโดยสรุ ป เป็ นการชี้ให้เห็นว่า โครงการจะดําเนินไปได้ตอ้ งมีรายละเอียดที่ตอ้ งกระทํา 4 ชนิด คือ ۱٫۱ วัตถุประสงค์ หมายถึง วัตถุประสงค์ทว่ั ไป หรื อวัตถุประสงค์รวมของแผนงาน ข้อความที่ระบุจะเป็ นข้อความ กว้าง ๆ ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน ตามแผนงานที่กาํ หนดขึ้น ۱٫۲ ความมุ่งหมาย หมายถึง วัตถุประสงค์เฉพาะของโครงการที่มุ่งเน้นให้เกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามโครงการที่ได้ กําหนดขึ้นเท่านั้น และต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ (Program Goal) ในเชิงที่เป็ นเหตุเป็ นผลซึ่ง กันและกัน ۱٫۳ ผลผลิตหรื อผลงาน (Out put) หมายถึง ตัวงานหรื อผลงานอันเกิดจากการดําเนินงานตามความมุ่งหมายของโครงการผลผลิตหรื อ ผลงานอาจปรากฏในลักษณะที่เป็ นรู ปธรรม หรื อนามธรรม ۱٫٤ ข้อมูลนําเข้า (Input) หมายถึ ง กิ จ กรรมต่ าง ๆ และประเภทหรื อ ชนิ ด ของทรั พ ยากรที่ จ ะต้อ งนํามาใช้เพื่ อ ให้ ส อดคล้อ ง กับผล ۲. ตัวบ่งชี้ความสําเร็ จของโครงการ เป็ นข้อความหรื อข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า วัตถุประสงค์ของแผนงานจะมีความเป็ นไปได้หรื อ ประสบกับความสําเร็ จย่อมต้องสอดคล้องกับข้อความ หรื อข้อมูลทีสามารถวัดและพิสูจน์ได้ เช่น เวลา คุณภาพ ประมาณ และสถานที่ 2. แหล่งตรวจสอบ เป็ นข้อความที่ระบุให้เห็นว่า ตัวบ่งชี้ความสําเร็ จในแต่ละตารางนั้น สามารถตรวจสอบหรื อวัดได้ จากอะไร จากข้อมูลของหน่วย 3. ข้อสมมุติฐานที่สาํ คัญ เป็ นความคาดหมายที่มีต่อคุณค่าของการดําเนินงานตามโครงการว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ อะไรบ้างต่อหน่วยงานในระยะยาว ข้อความที่ระบุในแต่ละตารางจะแสดงให้เห็นว่าถ้าข้อมูลหรื อ ปัจจัยนําเข้าเป็ นเช่นนี้แล้ว ผลผลิตหรื อผลงาน จะต้องเป็ นไปเช่นนั้นหรื อถ้าเกิดผลงาน เป็ นไป เช่นนี้แล้ว ความมุ่งหมายจะต้องเป็ นไปเช่นนั้น