Report 54

Page 1


คํานํา

จากวิสัยทัศนของผูบริหารกรมสงเสริมการเกษตรที่ไดเห็นความสําคัญของการพัฒนาการเกษตรอยาง เปนระบบและทันสมัย จึงไดกอตั้งกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรขึ้นเมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2550 เพื่อเปนการรองรับ สภาวะแวดลอมและสังคมการเกษตรทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากทั่วโลกมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางวิศวกรรมเขามา ใชในการเกษตร นอกจากนี้หนวยงานทางดานวิศวกรรมเกษตรที่มีอยูในประเทศไทยทุกแหงมีหนาที่หลักในการ วิจัย พัฒนา ซึ่งเปนงานในเชิง micro จึงมีเพียงกรมสงเสริมการเกษตรทีด่ ําเนินงานในลักษณะการสงเสริมประยุกต ถายทอด และบริการ ซึ่งเป นงานในเชิง macro ที่รวบรวมเทคโนโลยีก ารวิจัยพัฒ นาของทุ กสถาบัน ทั้งในและ ตางประเทศ ทั้งภาครัฐและเอกชน มาประยุกตและถายทอดแกเกษตรกร ทั้งนี้ กรมสงเสริมการเกษตรไดเริ่มงาน การสงเสริมวิศวกรรมเกษตรในรูปแบบของงานสงเสริมการใชเครื่องจักรกลการเกษตรมาตั้งแตป พ.ศ. 2522 และ พัฒนาขอบขายของงานเพิ่มขึ้นตามความเจริญของเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรมาจนปจจุบัน กองสงเสริมวิศวกรรม เกษตรมีอํานาจหนาที่ที่สําคัญ คือ ๑. พัฒนาและสงเสริมงานดานวิศวกรรมที่เกี่ยวของกับการเกษตร ๒. จัดทํากลยุทธแผนงาน/โครงการการสงเสริมงานดานวิศวกรรมเกษตรของประเทศ ๓. บริ ก ารวิชาการสนับ สนุนงานส ง เสริ ม การเกษตร โดยการคํานวณ ออกแบบ เป นที่ ป รึ ก ษาและ วิทยากรดานวิศวกรรมการจัดการที่ดิน วิศวกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร วิศวกรรมการแปรรูปและลอจิสติกส และวิศวกรรมโครงสรางพื้นฐานการเกษตร ภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม นโยบาย กฎหมาย ขอบังคับ มาตรการ และพันธะสัญญาระหวางองคกร ๔. ดําเนินการตรวจสอบ กลั่นกรอง สรางระบบปฏิบัติการและควบคุมงานที่เกี่ยวของกับระบบงานทาง เทคนิคและวิศวกรรมใดๆ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการสินทรัพยที่อยูในอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของ กรมสงเสริมการเกษตร ๕. ควบคุม กํากับ ติดตาม นิเทศ ประเมินผล และรายงานผลงานดานการสงเสริมวิศวกรรมเกษตร ๖. เป นศูนยก ลางในการบริ ห ารจั ดการและประสานการดําเนินงานดานการสง เสริ มวิศวกรรมของ กรมสงเสริมการเกษตร ในป ๒๕๕๔ กองส ง เสริม วิศวกรรมเกษตร ไดรับ งบประมาณในการดําเนินงานทั้ งในส วนกลางและ ภูมิภาคจากกรมสงเสริมการเกษตร ๖,๙๒๖,๙๗๖ บาท และจากหนวยงานภายนอก ๑๒,๘๐๔,๔๐๐ บาท ดังนี้ สวนกลาง : ไดรับงบประมาณจากกรมสงเสริมการเกษตร ๕๕๘,๐๓๐ ประกอบดวย งบบริหารจัดการ ๓๘๗,๒๐๐ บาท งบดําเนินโครงการ ๖๕,๐๐๐ บาท งบฝกอบรม/สัมมนา ๑๐๕,๘๓๐ บาท และงบประมาณจาก หนวยงานภายนอก ๖๒๔,๐๐๐ บาท สวนภูมิภาค : ไดรับงบประมาณจากกรมสงเสริมการเกษตร ๖,๓๖๘,๙๔๖ บาท ประกอบดวย งบบริหาร จัดการ ๒,๕๓๔,๘๔๖ บาท งบดําเนินโครงการ ๙๙๓,๐๐๐ บาท งบฝกอบรม/สัมมนา ๓๐,๕๐๐ บาท งบลงทุน ๒,๘๑๐,๖๐๐ บาท และงบประมาณจากหนวยงานภายนอก ๑๒,๑๘๐,๔๐๐ บาท รายงานผลการดําเนินงานของกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรประจําป ๒๕๕๔ นี้ เปนผลการดําเนินงาน เฉพาะในสวนที่ เป นกิจ กรรมหลั กของกองสง เสริม วิศวกรรมเกษตร นอกจากนี้ยัง มี ภารกิ จที่ ให การสนับ สนุน หนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกกรม อีกจํานวนหนึ่ง ทั้งนี้ ผลงานทั้งปวงเกิดจากความรวมมือรวมใจและ ทุมเทกําลังกายและกําลังใจของบุคลากรทุกตําแหนงของกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th



หนวยงาน

ขาราชการ

ลูกจางประจํา

พนักงานราชการ จางเหมาแรงงาน

สวนกลาง

16

3

4

ภูมิภาค

19

26

30

12

รวม

35

29

34

12

110

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


การติดตามผลการดําเนินงานการจัดทําแปลงสาธิตการพัฒนา การเขตกรรมเพื่อการเพาะปลูกพืชไร โครงการจัดระบบพิเศษเฉพาะพื้นที่มันสําปะหลัง ป ๒๕๕๓/๕๔ วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เพื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการ เจริ ญ เติ บ โต ผลผลิ ต ต น ทุ น และ ผ ล ต อ บ แ ท น ก า ร ก า ร ผ ลิ ต มั น สํ า ปะหลั ง ของแปลงสาธิ ต การ พั ฒ น า ก า ร เ ขต ก ร ร ม เ พื่ อ ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก พื ช ไ ร กั บ แ ป ล ง เปรี ย บเที ย บ ภายใต โ ครงกา ร จั ด ระบบพิ เ ศษเฉพาะพื้ น ที่ มั น สําปะหลัง ป ๒๕๕๓ ใน ๒ จังหวัด ไดแก จั งหวัดสระแก ว และจัง หวัด กําแพงเพชร จํานวน ๑,๐๐๐ ไร

ตามทีค่ ณะกรรมการนโยบายและมาตรการชวยเหลือเกษตรกร (คชก.) ไดใหความเห็นชอบในหลักการใหกรมสงเสริมการเกษตร รวมกับกรมการคา ภายในดํ าเนินโครงการจัดระบบพิเศษเฉพาะพื้นที่มันสําปะหลัง สํ าหรับเปน แนวทางแกปญหาราคามันสํ าปะหลังตกต่ํ า โดยการจัดระบบการผลิตใหมี ประสิทธิภาพควบคูก บั การวางแผนการตลาดใหสอดคลองกับปริมาณการผลิตเพือ่ เปนตนแบบในการจัดระบบการพัฒนาการผลิตใหมเี สถียรภาพ กรมสงการเกษตรไดมอบหมายใหกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรดําเนิน กิจกรรมนํารองสาธิตการพัฒนาวิธกี ารเขตกรรมในพืน้ ทีป่ ลูกมันสําปะหลัง โดย การจัดทําแปลงสาธิตการไถระเบิดดินดานในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกมันสําปะหลัง ดังนี้ ๑. ป ๒๕๕๐ ดํ าเนินงานใน ๒ จังหวัด ประกอบดวยจังหวัด นครราชสีมา และจังหวัดบุรรี มั ย รวม ๕๐๐ ไร ๒. ป ๒๕๕๑ ดํ าเนินงานใน ๔ จังหวัด ประกอบดวยจังหวัด นครราชสีมา บุรรี มั ย สระแกว และจังหวัดกําแพงเพชร รวม ๔,๐๐๐ ไร ๓. ป ๒๕๕๓ ดําเนินงานใน ๒ จังหวัด ประกอบดวยจังหวัดสระแกว

และจังหวัดกําแพงเพชร รวม ๑,๐๐๐ ไร

วิธกี ารดําเนินงาน 1. กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร ไดจัดทําแบบฟอรมการจดบันทึก สําหรับเกษตรกร โดย กวศ. รวมกับ ศวศ. ดําเนินการใหคําแนะนําในการจด บันทึกแกเกษตรกร 2. ศวศ. ดําเนินการติดตามผล และรวบรวมขอ มู ล จากเกษตร โดยดําเนินการติดตามในชวงอายุ 2, 4, 6, 8 เดือน และหลังเก็บเกี่ยว 3. กวศ. ดํ าเนิ น การรวบรวมข อ มู ล จาก ศวศ. มาดํา เนิน การ วิเคราะห สรุป และจัดทํารายงาน

ผลการดําเนินงาน การศึกษาในครั้งนี้ ไดทําการสํารวจขอมูลการผลิตมันสําปะหลังใน ฤดูการผลิตที่ ๑ (ป ๒๕๕๓/๕๔) ซึ่งผลการศึกษา พบวา การเจริญเติบโตใน แปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรม สูงกวาในแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งสงผล ใหผลผลิต และผลตอบแทนสุทธิสูงกวาในแปลงเปรียบเทียบ ถึงแมวาในฤดู การผลิตที่ ๑ จะมีตนทุนสูงกวา เนื่องจากมีคาใชจายในการเตรียมดิน และ คาขนสงผลผลิตมันสําปะหลังมากขึ้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๑. ความสูงของมันสําปะหลังในพื้นที่แปลงสาธิต อายุ ๒,๔,๖ และ ๘ เดือน เฉลี่ยสูงกวาพื้นที่แปลงเปรียบเทียบ รอยละ ๓๔.๐๓, ๑๗.๕๙, ๓๖.๙๑ และ ๙.๓๗ ตามลําดับ รายละเอียดตามตารางที่ ๑

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


ตารางที่ ๑ ตารางเปรียบเทียบความสูงของมันสําปะหลัง อายุ

แปลงสาธิต

แปลงเปรียบเทียบ

ผลตาง (ซม.)

ผลตาง (%)

2 เดือน

๖๓.๓๓

๔๗.๒๖

๑๖.๐๘

๓๔.๐๓

4 เดือน

๑๒๓.๕๐

๑๐๕.๐๓

๑๘.๔๗

๑๗.๕๙

6 เดือน

๑๔๘.๗๑

๑๐๘.๖๒

๔๐.๐๙

๓๖.๙๑

8 เดือน

๑๘๕.๒๗

๑๖๙.๓๙

๑๕.๘๘

๙.๓๗

๒. ความกวางทรงพุมของมันสําปะหลังในพื้นที่แปลงสาธิต อายุ ๒, ๔, ๖ และ ๘ เดื อ น เฉลี่ ยสู ง กวาพื้ นที่ แปลงเปรี ยบเที ยบร อ ยละ ๒๗.๙๑, ๑๓.๕๓, ๓๘.๓๓ และ ๑๗.๖๖ ตามลําดับ รายละเอียดตามตารางที่ ๒ ตารางที่ ๒ ตารางเปรียบเทียบความกวางทรงพุมของมันสําปะหลัง อายุ

แปลงสาธิต

แปลงเปรียบเทียบ

ผลตาง (ซม.)

ผลตาง (%)

2 เดือน

110.00

86.00

24.00

27.91

4 เดือน

124.20

109.40

14.80

13.53

6 เดือน

116.45

84.18

32.27

38.33

8 เดือน

138.96

118.10

20.86

17.66

๓. ขนาดลําตนของมันสําปะหลังในพื้นที่แปลงสาธิต อายุ ๒, ๔, ๖ และ ๘ เดือน เฉลี่ยสูงกวาพื้นที่แปลงเปรียบเทียบรอยละ ๑๖.๕๘, ๑๗.๕๓, ตารางที่ ๓ ตารางเปรียบเทียบขนาดลําตนของมันสําปะหลัง อายุ

แปลงสาธิต

แปลงเปรียบเทียบ

ผลตาง (ซม.)

ผลตาง (%)

2 เดือน

4.50

3.86

0.64

16.58

4 เดือน

5.70

4.85

0.85

17.53

6 เดือน

7.33

5.30

2.03

38.30

8 เดือน

6.76

6.22

0.54

8.68

๔. ผลผลิตของมันสําปะหลังทีอ่ ายุ ๗–๑๒ เดือน ในพื้นที่แปลงสาธิต เฉลี่ยสูงกวาพื้นทีแ่ ปลงเปรียบเทียบ ๖๘๓ กิโลกรัมตอไร หรือรอยละ 19.75 5. ตนทุนการผลิตของมันสําปะหลังในพื้นที่แปลงสาธิตเฉลี่ยสูงกวาพื้นที่แปลงเปรียบเทียบ รอยละ ๓๓.๒๓ ๑,๐๐๒ บาทตอไร 6. การผลิตมันสําปะหลังในพื้นที่แปลงสาธิตมีผลตอบแทนสุทธิ เฉลี่ยสูงกวาพื้นที่แปลงเปรียบเทียบ ๑,๐๖๙ บาทตอไร หรือรอยละ ๑๔.๕๑

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


การติดตามการดําเนินงานศูนยเครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการเผาป ๒๕๕๓-๕๔ ภายใตโครงการหยุดการเผาในพื้นที่การเกษตร ภายใตแผนการปฏิบต ั ิการแกไขปญหาหมอกควันและไฟปา วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เพื่ อ ติ ด ตามผลการนํ า ร อ ง สาธิ ตเทคโนโลยี ก ารไถกลบตอซั ง ฟางขาวทดแทนการเผา ในรูปแบบ ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอด การเผาที่ มี ก ารบริ ห ารจั ดการโดย ชุมชน เพื่อปองกั นและแก ไขปญหา การเผาในพื้นที่การเกษตร ๕ จังหวัด ประกอบ ด ว ยจั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี ชั ย นาท ลพบุ รี พิ ษ ณุ โ ลก และ จังหวัดสุโขทัย

สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยไดเขารวมลงนามในขอ ตกลงอาเซียน เรื่องมลพิษหมอกควันขามแดน เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ ประเทศไทยจึง ไดจั ดทํ าแผนแม บ ทแหง ชาติวาดวยการควบคุม การเผาในที่ โ ล งเพื่ อ ใชเ ป น กรอบแผนงานและยุทธศาสตรในการดําเนินการปองกัน ลด และแกไขปญหา มลพิ ษ หมอกควั น ซึ่ ง ได ม อบหมายให ก ระทรวงเกษตรและสหกรณ เ ป น หนวยงานหลักรับผิดชอบดําเนินการควบคุมการเผาในพื้นที่เกษตรกรรม โดย ดําเนินจัดตั้งศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผา ในรูปแบบวิสาหกิจ การใหบริการไถกลบตอซังฟางขาวทดแทนการเผา เพื่อเปนการนํารองสาธิต การใชเทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร ในการไถกลบตอซังฟางขาวทดแทน การเผา ซึ่งในป ๒๕๕๒ ไดมีการจัดตั้งศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการ เผา ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ดการการให บ ริ ก ารไถกลบตอซั ง ฟางขา วในรู ป แบบ วิสาหกิจชุมชน จํานวน ๕ แหง

วิธีการดําเนินงาน 1. ศู น ย ส ง เสริ ม วิ ศ วกรรมเกษตร ติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งาน/ให คําแนะนํา/ควบคุมดูงานดานการใชเทคโนโลยี 2. กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร รวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุป และจัดทํารายงาน

ผลการดําเนินงาน จากการติดตามประเมินผลการดําเนินงานศูนยเครื่องจักกลการเกษตร ปลอดการเผา ในจัง หวัดสุพ รรณบุรี ชัยนาท ลพบุรี พิษณุโ ลก และจั งหวัด สุโขทัย พบวา ๑. พื้นที่ก ารใหบริ การ : พื้นที่ การใหบ ริการเครื่องจักรกลการเกษตร ปลอดการเผาประจําป ๒๕๕๓/๕๔ ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตร ทั้ง ๕ แหง มีพื้นที่ก ารใหบ ริก าร รวมทั้ งสิ้ น จํ านวน ๓,๙๑๖.๒๕ ไร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๑.๑ ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผาที่ดําเนินงานมาครบ ๑ ป จํานวน ๓ แหง ประกอบดวยศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผา จังหวัดสุพรรณบุรี ลพบุรี และจังหวัดพิษณุโลก มีผลการดําเนินงาน ดังนี้  พื้นที่ดําเนินงาน : ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการ เผาทั้ง ๓ แหง มีพื้นที่การใหบริการเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผา รวม ๓,๕๘๗ ไร

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


 จัง หวัดสุ พรรณบุ รี : พื้ นที่ การให บริ การ ตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ถึง ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รวม ๑,๓๗๖.๕๐ ไร ประกอบดวย ไถกลบตอซังเพลาหมุนดวยพีทีโอ จํานวน ๘๖๒ ไร ไถหัวหมู ๒๘๖.๕๐ ไร และ จอบหมุนตีเทือก ๒๒๘ ไร  จังหวัดลพบุรี : พืน้ ทีก่ ารใหบริการ ตั้งแตวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๓ ถึง ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ รวม ๑,๖๔๒.๕๐ ไร ประกอบดวย ไถกลบตอซัง เพลาหมุนดวยพีทโี อ จํานวน ๒๕๗ ไร ไถหัวหมู ๗๑๒.๕ ไร และจอบหมุนตีเทือก ๖๗๓ ไร ๑.๒ ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรที่ดําเนินงานมายังไมครบ ๑ ป จํานวน ๒ แหง ประกอบดวยศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผาจังหวัด ชัยนาท และจังหวัดสุโขทัย ชวงระยะเวลาการดําเนินงานตั้งแต ๑๐ มิถุนายน ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มีผลการดําเนินงาน ดังนี้  พื้นที่ดําเนินงาน : ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการ เผาทั้ง ๒ แหง มีพื้นที่ การใหบริการดําเนินงานเครื่องจักรกลการเกษตรปลอด การเผา รวม ๓๒๙.๒๕ ไร  จั ง หวั ด ชั ย นาท : พื้ น ที่ ก ารให บ ริ ก าร ตั้ ง แต วั น ที่ ๑ - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รวมทั้งสิ้น ๓๑๐ ไร ประกอบดวย ไถกลบตอซั ง เพลาหมุนดวยพีทีโอ จํานวน ๒๓๐ ไร ไถหัวหมู จํานวน ๘๐ ไร  จังหวัดสุโขทัย : พื้นที่การใหบริการ ตั้งแตวันที่ ๑๐ มิถุนายน ถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รวม ๑๙.๒๕ ไร ประกอบดวย ไถกลบตอซังเพลาหมุนดวยพีทีโอ จํานวน ๕ ไร ไถหัวหมู ๑ ไร และจอบหมุนตีเทือก จํานวน ๑๓.๒๕ ไร ๒. การบริหารรายได : การใหบริการเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผาประจําป ๒๕๕๓/๕๔ ของศูนย เครือ่ งจักรกลการเกษตร ทั้ง ๕ แหง สงผลใหเกิดรายไดรวม ๖๓๙,๖๙๘ บาท หรือคิดเปน ๑๖๓.๓๔ บาทตอไร มีกําไร สุทธิจากการใหบริการรวม ๑๑๘,๕๕๗ บาท มีคาใชจายในการดําเนินงานเปนคาเฉลี่ย ๑๓๓.๐๗ บาท โดยมีคาใชจาย มากกวารอยละ ๕๔.๖๑ ของรายจายทั้งหมด คือคาน้ํามันเชื้อเพลิง คิดเปน ๘๙.๒๑ บาทตอไร อยางไรก็ตามศูนย เครื่องจักรฯ ทั้ง ๕ แหง สามารถบริหารรายไดเปนไปตามขอกําหนดของโครงการ กลาวคือ มีเงินสะสมเพื่อการจัดหา เครือ่ งจักรเพิม่ เติม จํานวน ๑๙๑,๙๐๙.๔๐ บาท กลาวไดวาศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผาทั้ง 5 แหง สามารถดําเนินการเปนไปตามขอกําหนดของโครงการ แต จะตองดําเนินการติดตาม นิเทศงาน เพื่อใหมีการปรับปรุงการดําเนินงานอยางใกลชิด

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


โครงการความรวมมือระหวาง มหาวิทยาลัยเกษตรภาคใตจีนและกระทรวงเกษตรและสหกรณ การศึกษาทดสอบเปรียบเทียบสมรรถนะและคาใชจายในการใชเครื่องจักรกลเกษตรในการทํานา ของมหาวิทยาลัยเกษตรภาคใตจีนกับวิธีการแบบของไทย

วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เพื่ อ ทดสอบเปรี ย บเที ย บ สมรรถนะและค า ใช จ า ยในการ ทํางานของรถปรั บระดับผิ วดินและ รถหยอดขาว ที่เปนผลงานวิจัยของ มหาวิท ยาลั ย เกษตรภาคใตจี น กั บ วิธี ก ารโดยทั่ ว ไปของไทยในสภาพ พื้นที่นาชลประทานภาคกลาง

การพั ฒ นาระบบการปลู ก ข าวของประเทศที่ พั ฒ นาแล ว ได ทํ า การ เพาะปลูกขาวดวยเครื่องจักรกลการเกษตร เปนการทําการเกษตรแบบประณีต (Intensive Farming) สามารถควบคุม มาตรฐานการผลิตได มุง สูร ะบบการ จัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agriculture Practice) สงผลใหมีปริมาณและคุณภาพผลผลิตสูง ซึ่งแตกตางจากระบบการผลิตขาว โดยทั่ วไปที่ ยัง มี ป ระสิ ท ธิภาพต่ํา กล า วคือ มี ก ารใชป จ จั ยการผลิ ตสู ง เกิ ด ปญหาตนขาวหนาแนน กอใหเกิดการสะสมของโรคและแมลง ประกอบกับใน ปจจุบันจํานวนประชากรในภาคการเกษตรมีแนวโนมลดต่ําลง เกษตรกรรุ น ใหมตองการความสะดวกสบายในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังนั้น การ สงเสริมพั ฒนาการใชเครื่ องจั กรกลการเกษตรในระบบการปลูกขาวเปนอี ก ทางเลื อ กหนึ่ง ที่ ส ามารถแก ไขป ญ หาขางตนไดเ ป นอยางดียิ่ง และเป นการ เตรียมการรองรับระบบเกษตรสมัยใหมที่ตองมีการใชเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความ แมนยําในการผลิต ตองใชเทคนิควิชาการและทักษะในรูปแบบใหมจึงมีความ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําการทดสอบการใชเครื่องจักรกลเกษตรในการทํานา เพื่อใหมีขอมูลรองรับการพัฒนาในลําดับตอไป

ผลการดําเนินงาน การศึ ก ษาทดสอบเปรี ย บเที ย บสมรรถนะและค า ใช จ า ยในการใช เครื่องจักรกลเกษตรในการทํานาของมหาวิทยาลัยเกษตรภาคใตจีนกับวิธีการ แบบไทยดังนี้ ๑. ทดสอบการทํ างานของรถปรั บระดับผิ วดินของจี น ที่ควบคุม ดวย แสงเลเซอร กับรถปรับระดับผิวดินแบบไทย ที่ใชรถไถเดินตามติดทายดวยสกี ปรับระดับ ๒. ทดสอบการทํางานของรถหยอดขาวของจีนกับวิธีการหวานแบบไทย ผลการศึกษาทดสอบพบวา ๑. การทดสอบเปรียบเทียบสมรรถนะและคาใชจายของรถปรับระดับ ผิวดิน : รถปรับระดับผิวดินของจีนมีอัตราการทํางานต่ํากวารถปรับระดับผิว ดินแบบไทย และมีคาใชจายในการทํางานสูงกวารถปรับระดับผิวดินแบบไทย รายละเอียด ดังนี้ ๑.๑ การปรับระดับ ผิวดินดวยรถปรับระดับ ผิวดินแบบจีนมี อัตรา การทํางานต่ํากวาการปรับระดับผิวดินดวยรถปรับระดับผิวดินแบบไทย 2.89 ไรตอชั่วโมงหรือคิดเปนรอยละ 63.38

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๑.๒ การปรั บ ระดั บ ผิ ว ดิ น ด ว ยรถปรั บ ระดั บ ผิ ว ดิ น แบบจี น มี คาใชจายในการปรับระดับผิวดินสูงกวาการปรับระดับผิวดินดวยรถปรับระดับ ผิวดินแบบไทย 37.10 บาทตอไรหรือคิดเปนรอยละ 241.54 ๑.๓ การปรับระดับผิวดินดวยรถปรับระดับผิวดินแบบไทยมีความ ตองการใชแรงงานที่มีความชํานาญงานมากกวา 2 เทา ของการปรับระดับผิว ดินดวยรถปรับระดับผิวดินแบบจีน ๒. การทดสอบเปรียบเทียบสมรรถนะและคาใชจายของรถหยอดขาว ของจีนกับวิธีการแบบไทย : การปลูกขาวดวยรถหยอดขาวของจีนมีอัตราการ ทํางานที่ต่ํากวาการปลูกขาวดวยวิธีการหวานแบบไทย แตมีการใชเมล็ดพันธุ ในอัตราที่ ต่ํากวา และมี ผลตอบแทนตอ การลงทุนสู งกวาการปลู ก ขาวแบบ หวานของไทย รายละเอียดดังนี้ ๒.๑ การปลูกขาวดวยรถหยอดขาวของจีนมีอตั ราการทํางานที่ต่ํากวา การปลูกขาวดวยวิธีการหวานแบบไทย 3.66 ไรตอชั่วโมงหรือคิดเปนรอยละ 58.47 ๒.๒ การปลู ก ขาวดวยรถหยอดขาวของจี นมีก ารใชเ มล็ ดพั นธุใน อัตราที่ต่ํากวาการปลูกขาวดวยวิธีการหวานแบบไทย 11.09 กิโลกรัมตอไร หรือคิดเปนรอยละ 73.59 ๒.๓ การเปรียบเทียบตนทุนและผลผลิตทีไ่ ดรับ พบวา การปลูกขาว ดวยรถหยอดขาวของจีนไดผลผลิต 814.23 กิโลกรัมตอไร ที่ความชื้น 15% wb มีตนทุนการปลูก 123.76 บาทตอไร หรือคาการลงทุนตอผลผลิตที่ไดคือ 0.15 บาทตอกิโลกรัมขาวเปลือก สวนการปลูกขาวดวยวิธีหวานแบบไทยได ผลผลิ ต 913.38 กิ โ ลกรั ม ต อ ไร ที่ ค วามชื้ น 15%wb มี ต นทุ นการปลู ก 335.74 บาทต อ ไร หรื อ คา การลงทุ นต อ ผลผลิ ตที่ ไ ดคือ 0.37 บาทต อ กิ โ ลกรั ม ข า วเปลื อ ก นั่ น คื อ การปลู ก ข า วด ว ยรถหยอดข า วของจี น ได ผลตอบแทนตอการลงทุนที่สูงกวาถึง 2 เทาเศษ

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


การจัดตั้งศูนยบริการการเตรียมดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลัง ภายใต โครงการพัฒนาการเตรียมดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลัง วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

๑. เ พื่ อ พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เตรี ยม ดิ น เพื่ อเ พิ่ ม ผล ผลิ ตมั น สําปะหลังในรูปแบบศูนยบริการการ เตรี ยม ดิ น เพื่ อเ พิ่ ม ผล ผลิ ตมั น สํ าปะหลั ง ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ดการ โดยองคกรเกษตรกร ๒. สร า งพื้ น ฐานระบบการ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร เครื่ อ ง จั ก ร ก ล ก า ร เ ก ษต ร เ ชิ ง วิส าหกิ จ ชุม ชนเพื่ อ สร างเกษตรกร มื อ อ า ชี พ ด า น ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร เครื่องจักรกลการเกษตร ๓. พัฒ นาโครงสร างพื้ นฐาน การเกษตรเพื่อ เอื้อ ใหคนรุนใหมไม ละทิ้งอาชีพเกษตรกรรม

การสาธิตการไถระเบิดดินดานเพื่อการพัฒนาการเตรียมดินสําหรับพืช ไรของกองสง เสริ มวิศวกรรมเกษตร ภายใตโครงการจัดระบบพิ เศษเฉพาะ พื้นที่มันสําปะหลัง (คชก.) เปนที่ยอมรับของเกษตรกรในดานการชวยฟนฟู โครงสร า งดิ น และทํ าลายการอั ดแน นของชั้น ดิ น ที่ เ ป นอุ ป สรรคของการ เจริ ญ เติ บ โตที่ ส มบู ร ณ ข องพื ช รวมถึ ง การลดปริ ม าณวั ช พื ช เป น ผลให เกษตรกรไดรับผลผลิตเพิ่มขึ้น คิดเป นรอยละ ๑๖.๕๒ สงผลใหเ กษตรกรมี ความตองการใชเทคนิคและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการไถระเบิดดินดาน เพื่อการเตรียมดินในการเพาะปลูกพืชเปนจํานวนมาก แตไมสามารถกระทําได เนื่องจากเทคโนโลยีดังกลาวยังไมมีผูประกอบการรับจางในทองถิ่นโดยทั่วไป ดังนั้น การสงเสริมการพัฒนาระบบการเตรียมดินในรูปแบบศูนยการใหบริการ เตรี ย มดิ น เพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต มั น สํ า ปะหลั ง ถื อ ว า เป น การเริ่ ม ต น ในการ ดําเนินการใชเทคนิควิธีการดังกลาวดวยตนเองของกลุมเกษตรกร โดยใชเปน แหลงเรียนรูใหแกเกษตรกรและผูประกอบการรับจางในทองถิ่น ในการพัฒนา เทคนิคและวิธีการเตรียมดินเพื่ อพัฒนาการผลิต สงผลใหผูประกอบการใน ท อ งถิ่ น จั ด หามาให บ ริ ก ารจนกระทั่ ง เป น ระบบบริ ก ารที่ เ ป น มาตรฐาน โดยทั่วไป ทํ าใหเ กิดการพั ฒนาการผลิตไดอยางเป นรู ปธรรม และสามารถ ขยายผลโดยกลไกธรรมชาติตอเนื่องตอไป

ผลการดําเนินงาน กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรไดเสนอโครงการพัฒนาการเตรียมดินเพื่อ เพิ่มผลผลิตมันสําปะหลัง เพื่อขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากกองทุนรวมเพื่อ ชวยเหลื อ เกษตรกร โดยจะดํา เนินการในลั ก ษณะสนับ สนุนเงิ น ยืม ปลอด ดอกเบี้ ยชําระคืน ภายใน 7 ป ให อ งคก ารเกษตรเพื่ อ การลงทุ นจั ดหาชุ ด เครื่ อ งจั ก รกลในการเตรี ย มดิ น ที่ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ และจั ด ตั้ ง ศูนยบริการการเตรียมดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังที่มีการบริหารจัดการ โดยองคกรเกษตรกร จํานวน 10 กลุม ในพื้นที่เพาะปลูกมันสําปะหลังหลัก 10 จัง หวัด คือ จั งหวัดนครราชสี มา กําแพงเพชร สระแกว ชัยภูมิ ชลบุ รี กาญจนบุ รี กาฬสิ น ธุ นครสวรรค ฉะเชิ ง เทรา และจั น ทบุ รี ระยะเวลา ดําเนินการ 7 ป งบประมาณรวม 44,104,000 บาท ประกอบดวย ๑. เงินจากกองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกร เปนเงิน 38,476,000 บาท ประกอบด วยโดยเป น เงิ น จ า ยขาดสํ า หรั บ หน วยงานในการบริ ห าร โครงการ จํ านวน 3,476,000 บาท และเงิ นยืม ปลอดดอกเบี้ ย สํ าหรั บ คาใชจายในการจัดหาชุดเครื่องจักรกลในการพั ฒนาการเตรียมดิน จํ านวน ๓๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๒. เงินสมทบจากกรมสงเสริมการเกษตร 5,628,000 บาท สําหรับ คาใชจายในการติดตาม นิเทศ และประเมินความสําเร็จของกลุมเปาหมาย ปจจุ บันโครงการไดผานการเห็นชอบหลัก การจากคณะอนุก รรมการ พิจ ารณาชวยเหลื อ ดานปจ จั ยการผลิ ตทางการเกษตรแล ว โดยสํ านัก งาน เศรษฐกิ จ การเกษตรในฐานะฝ า ยเลขานุ ก ารจะนํ า เสนอโครงการให คณะกรรมการนโยบายและมาตรการชวยเหลือเกษตร (คชก.) พิจารณาตอไป

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๑๐

โครงการวิจัยศึกษาระบบหวงโซอุปทานและโลจิสติกส มะมวงสงออกในเขตภาคกลางและภาคเหนือตอนลาง วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เ พื่ อ ศึ ก ษ า ร ะ บ บ ห ว ง โ ซ อุ ป ทานของมะม ว งส ง ออกจาก เกษตรกรถึงผูสงออก รวมทั้งสัดสวน ตนทุน และแนวทางปฏิบั ติที่ดี เพื่ อ เป น ต น แบบในการวางแผนการ พั ฒ นาระบบโลจิ ส ติก ส ของมะม ว ง สงออกของประเทศ และขยายผลสู ผลผลิตทางการเกษตรชนิดอื่นตอไป โ ด ย ศึ ก ษ า ม ะ ม ว ง พั น ธุ น้ําดอกไม จากกลุมผูผลิตมะมวงเพื่อ การส ง ออกเป น หลั ก จํ า นวน ๑๓ กลุ ม ที่ ตั้ง อยู ในพื้ นที่ แหล ง ผลิ ต ๖ จั ง หวั ด ประกอบด ว ย อ า งทอง อุ ทั ย ธ า นี ส ร ะ บุ รี เ ชี ย ง ใ ห ม พิษณุโลก และเพชรบูรณ

มะม วงเป น พื ชเศรษฐกิ จ ที่ สํ าคัญ ของประเทศ ที่ มี ความชัดเจนดา น ศัก ยภาพการตลาดตางประเทศ เป นที่ ตองการของตลาดภายนอก แตยัง มี ปญหาการจัดการผลผลิ ตภายในประเทศตลอดทั้งหวงโซ อุปทาน ทําใหเสี ย โอกาสในการขยายตลาด ประเด็น ที่ สํ า คัญ หนึ่ง คือ มะม ว งเป นผลิ ตผลสด (Perishable Crops) ซึ่งเปนสินคาที่มีอายุสั้น เนาเสียและบอบช้ํางาย มีความ จําเปนตองมี ระบบจั ดการดานโลจิส ติกส ที่ดี เพื่อ ใหสิ นคามีคุณภาพดีและมี ปริมาณสม่ําเสมอ สามารถขายไดราคาสูงโดยเฉพาะอยางยิ่งในตางประเทศ การวางแผนอยางเปนระบบในการพัฒนาและแกไขปญหาใหตรงจุดมี ความจํ าเปนตองใชขอ มูล ระบบห วงโซ อุป ทานที่เ ปนอยูแตเดิม เป นฐานการ วิเคราะหใหตรงกับสภาพความเปนจริ ง มีความเปนไปไดในทางปฏิบัติจึงจะ สามารถแกไขปญหาในระดับประเทศได โครงการวิจัยนี้มุงศึกษาระบบหวงโซ อุปทานของมะมวงสง ออกจากเกษตรกรถึง ผูสง ออก โดยนําร องในเขตภาค กลางและภาคเหนือตอนลาง เพื่อมุงหวังใหเปนตนแบบในการวางแผนพัฒนา ระบบโลจิสติกสของผลทางการเกษตรของประเทศตอไป

รายงานประจําป ๒๕๕๔

ผลการดําเนินงาน ๑. ผลผลิตมะมวงเมื่อเก็บเกี่ยวจากสวนแลวมีเสนทางไปสูต ลาดหลัก ๓ แหง คือ ผูสงออกผลสดไปยังประเทศญี่ปุน เกาหลี ยุโรป ตะวันออกกลาง จีน และมาเลเซีย รอยละ ๓๐.๕๗ ผูสงออกผลผลิตแปรรูปในรูปมะมวงแชแข็ง และมะมวงทอดไปยังประเทศญี่ปุน รอยละ ๓.๔๖ และอีกรอยละ ๖๕.๙๗ ถูก จําหนายไปยังตลาดคาสงในประเทศ ๒. ผลผลิตสดที่สงออกไปยังตางประเทศ แบงเปนผลผลิตสดระดับ คุณภาพสู ง จํ านวนร อ ยละ ๓๔.๔๒ ในจํ านวนนี้ ร อ ยละ ๙๙ เป นผลผลิ ต มะมวงที่ผานการคัดแยกเบื้องตน เชน ถอดถุง ตัดขั้ว และคัดเลือกเบื้องตน จากศูนยรวบรวมผลผลิตของกลุมเกษตรกร สวนที่เหลืออีกรอยละ ๑ มาจาก พอคารวบรวมผลผลิต ๓. ผลผลิ ตในสวนที่ มุงหวังสง ออกตลาดบน มีสัดสวนผลผลิ ตที่ได ราคาในระดับคุณภาพสูง เฉลี่ย ๖๕ บาทตอกิโลกรัม จํานวนรอยละ ๓๔.๔๕ สวนที่เหลือเปนระดับคุณภาพที่ไมผานเกณฑการคัดเลือกของผูสงออก รวมถึง ผลผลิ ตส วนที่ เกิ นปริ มาณความตอ งการของผูส ง ออก จะมี ราคาลดหลั่นไป ตามลํ าดับ คือ ๕๐, ๓๕ และ ๒๐ บาทตอ กิ โ ลกรัม คิดเปนราคาเฉลี่ ยของ ผลผลิต คือ ๔๕.๑๑ บาทตอกิโลกรัม ๔. รายไดที่ เ กษตรกรสู ญ เสี ยไป ร อ ยละ ๓๐.๔๕ ของมู ล คาการ จําหนายผลผลิตในระดับคุณภาพสูงทั้งหมด เกิดจากสาเหตุหลักจากการปฏิบัติ หลังการเก็บเกี่ยวที่ไมเหมาะสม

www.aepd.doae.go.th


๑๑

๕. สั ดส วนตนทุ นของเกษตรกรในชวงการเก็ บ เกี่ ยวไปถึง การรั บ ซื้ อ ผลผลิตเฉลี่ย คือ ๓.๙๙ บาทตอกิโลกรัม พบวามีตนทุนหลักคือ ตนทุนการเก็บ เกี่ยว ตนทุนการคัดเลือกผลผลิตเบื้องตน และตนทุนการขนยาย/ขนสงจาก สวนไปยังศูนยรวบรวม คิดเปนรอยละ ๗๓.๗๒ รอยละ ๑๕.๓๙ และรอยละ ๑๐.๘๙ ตามลําดับ ๖. ปริ ม าณความเสี ยหายหรื อ ผลผลิ ตที่ ถูก คัด ออกจากกระบวนการ ปรั บ ปรุ ง คุ ณภาพเพื่ อ การส ง ออก มี จํ านวนร อ ยละ ๑๕ ของจํ า นวนที่ เ ข า กระบวนการ หรือคิดเปนรอยละ ๕.๑๘ ของจํานวนผลผลิตที่มี เปาหมายใน การสงออกทั้งหมด โดยพบวาสาเหตุและลักษณะของความสูญเสียสวนใหญ เกิดจากการกระทบและกดทับของผลผลิตและตะกราในขั้นตอนการเก็บเกี่ยว และขนยาย รวมทั้งการสุกเร็วทําใหตองมีการขนสงทางเครื่องบินกอใหเกิดคา การขนสง สู ง แนวทางปฏิบั ติที่ ดีจึง ควรเนนการแกไขความเสี ยหายในส วน ดังกลาว อันไดแก การเก็บเกี่ยวโดยใชมือเด็ดขั้วมะมวง การเพิ่มวัสดุปองกัน การกระแทกในตะกรา การบรรจุผลผลิตไมเกินขอบบนของตะกรา การเพิ่ม ระบบ pre-cooling เพื่ อยืดอายุของผลผลิตหลั งการเก็บเกี่ยว การคัดเลือ ก ผลผลิตเบื้องตนของศูนยรวบรวมผลผลิตของกลุม เกษตรกร และการขนสงดวย รถหองเย็น อยางไรก็ตาม ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงทดสอบภาคสนามที่ชัดเจน เพิ่ ม เติม เพื่ อ จั ดลํ าดับ และคัดเลื อ กวาควรให ความสํ าคัญ ในการส ง เสริ ม วิธี ปฏิบัติใดกอน ๗. แนวทางในการพัฒนาระบบหวงโซอุปทานและโลจิสติกสของมะมวง สงออกในชวงเก็บเกี่ยวไปถึงผูสงออก มีขอเสนอดังนี้  สงเสริมใหเกษตรกรผลิตมะมวงคุณภาพสูงสําหรับตลาดสงออกผล สดเพิ่มขึ้น  วิจัยเชิงทดสอบภาคสนามเพื่อการคัดเลือกเทคโนโลยีในการลด ความสูญเสียและยืดอายุผลผลิตที่เหมาะสม  ศึกษาและสงเสริมการใชเทคโนโลยีการคัดคุณภาพ และตรวจวัด คาสารตกคางที่ประเทศผูซื้อยอมรับและเชื่อถือในระดับผูสงออก  ศึกษามาตรฐานและขอกําหนดของผลผลิตมะมวงของประเทศคู ค า ที่ สํ า คั ญ ควบคู กั บ การศึ ก ษาเทคโนโลยี ด า นการผลิ ต การเก็ บ เกี่ ย ว กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว และการแปรรูปของผลผลิตมะมวงของประเทศ ตางๆที่สอดคลองกับมาตรฐานและขอกําหนดของประเทศคูคา  ประยุกตผลการวิจัยหวงโซอุปทานและระบบโลจิสติกสของมะมวง สงออกนีไ้ ปสูก ารสงเสริมใหเกิดการพัฒนาการผลิตอยางเปนรูปธรรม รวมถึงการ ประยุกตใชในผลไมสดสงออกชนิดอืน่ ทีม่ ลี กั ษณะและพฤติกรรมทีใ่ กลเคียงกัน

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๑๒

คณะกรรมการพิจารณาและกํากับดูแลการดําเนินงานตามสัญญาเชา โรงงานและอุปกรณโรงงานศูนยพัฒนาการผลิตและควบคุมศัตรูผักผลไม เพื่อการสงออก กรุงเทพมหานคร วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

พิจ ารณาและกํ ากั บ ดูแลการ ดํ าเนินงานใหเป นไปตามสัญญาเชา โรงงานและอุ ป กรณ โ รงงานศู น ย พัฒ นาการผลิ ตและควบคุมศัตรู ผั ก ผลไมเพือ่ การสงออก กรุงเทพมหานคร รวมทั้ งกรณีปญหาตางๆ อันเกิดขึ้น ภายใตสญั ญาดังกลาว

กรมสงเสริมการเกษตรไดจัดตั้งศูนยพัฒนาการผลิตและควบคุมศัตรูผัก ผลไม เพื่ อ การส ง ออก กรุง เทพมหานคร ตามมติคณะรั ฐมนตรี เมื่ อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๒๙ โดยก อ ตั้ ง แล ว เสร็ จ เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน ๒๕๓๑ มี เครื่องจักรอุปกรณในโรงงาน ประกอบดวย โรงอบไอน้ํา ขนาด ๕ ตัน เครื่อง คัดขนาด ระบบบรรจุหีบหอ และหองเย็น และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๑ กําหนดใหเอกชนเชาดําเนินงาน โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ พัฒนาผลิตผลของเกษตรกรใหมีคุณภาพไดมาตรฐานตามความตองการของ ตลาดทั้งในและตางประเทศ ซึ่ง ณ ปจจุบันกรมสงเสริมการเกษตรไดเปดให ภาคเอกชนเชาดําเนินการตามสั ญ ญาเชาโรงงานและอุ ป กรณโ รงงานศูนย พัฒ นาการผลิตและควบคุม ศัตรูผั กผลไม เพื่ อการสง ออก กรุ งเทพมหานคร เลขที่ ๑/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๙ สิ งหาคม ๒๕๕๒ ระหวางกรมธนารัก ษ โดย อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร ผูรับมอบอํานาจจากกรมธนารักษ และบริษัท พี แอนดเอฟ เทคโน จํากัด มีกําหนดระยะเวลาการเชารวม ๑๐ ป นับตั้งแตวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๒ เปนตนไป ซึ่งมีคณะกรรมการพิจารณาและกํากับดูแล การดําเนินงานตามสัญญาเชาโรงงานและอุปกรณโรงงานศูนยพัฒนาการผลิต และควบคุม ศัตรูผั ก ผลไมเ พื่ อ การสง ออก กรุง เทพมหานคร ทํ าหนาที่ แทน กรมฯ ในการพิจารณาและกํากับดูแลการดําเนินงานใหเปนไปตามสัญญาเชา

ผลการดําเนินงาน ๑. ปการเชาที่ ๑ (ระวางวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๒–๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๓) คณะกรรมการฯ ได มี ก ารประชุม เพื่ อ พิ จ ารณาและกํ ากั บ ติ ดตามให ผู เ ช า ดําเนินการตามสัญญา สรุปการดําเนินงานของผูเ ชา ดังนี้ ๑.๑ ปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม เติม อุ ป กรณ /ระบบต างๆ ในโรงงานให มี ประสิทธิภาพ รวม ๗ รายการ ๑.๒ พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีใหเจาหนาทีก่ รมสงเสริมการเกษตร และเกษตรกร รวม ๕ รายการ ไดแก [๑] อบรมเจาหนาที่กรมฯ หลักสูตร “การ พัฒนาการผลิตมะมวงและมังคุดเพื่อการสงออกอยางยั่งยืน” จํ านวน ๖๐ คน และหลั ก สู ต ร “เทคโนโลยีเ ครื่ อ งอบไอน้ํ า VHT” จํ า นวน ๒๔ คน รวม ๒ หลักสูตร จํานวน ๘๔ คน [๒] นําเจาหนาที่กรมฯ ไปศึกษาดูงานดานเทคโนโลยี การผลิต ณ ประเทศญีป่ นุ จํานวน ๕ คน [๓] สัมมนาเกษตรกร หลักสูตร “การ พัฒนาการผลิตมะมวงและมังคุดเพื่อการสงออกอยางยั่งยืน” จํานวน ๑๖๐ คน [๔] อบรมเกษตรกรในพื้นที่ ณ อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม จํ านวน ๒๐ คน [๕] นําเกษตรกรไปฝกอบรมดานการผลิต ณ ประเทศญีป่ นุ จํานวน ๑๐ คน ๑.๓ ดําเนินการผลิตและรายงานผล สรุปไดดังนี้ [๑] ปริมาณการอบ VHT มะมวง เทากับ ๔๐๒.๓๕๒ ตัน (รวมปริมาณอบทั้งหมดของบริษัท P&F Techno จํากัด และรายอืน่ ) ต่ํากวาทีค่ าดการณไว ๖๐๐ ตัน คิดเปนรอยละ

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๑๓

๓๒.๙๔ [๒] ปริม าณการส งออกมะม วงที่ ผาน VHT จํ านวน ๒๕๖.๔๐๗ ตัน ต่ํากวาทีค่ าดการณไว ๖๐๐ ตัน คิดเปนรอยละ ๕๗.๒๗ [๓] เปดโอกาสใหผสู ง ออก รายอืน่ มาใชบริการ รวม ๑๐ ราย คิดเปนรอยละ ๒๐ ของผลผลิตทีเ่ ขาอบ VHT ๒. ปการเชาที่ ๒ (ระวางวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๓–๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔) สรุปผลการพิจารณาและกํากับการดําเนินงานของผูเ ชา ดังนี้ ๒.๑ ปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม เติม อุ ป กรณ /ระบบต างๆ ในโรงงานให มี ประสิทธิภาพเพิ่มเติมจากปที่ ๑ จํานวน ๑ รายการ ไดแก การปรับปรุงอาคาร ผลิตและขยายพันธุพ ชื เพาะเลีย้ งเปนหองและอุปกรณทดลอง ๒.๒ พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีใหเจาหนาทีก่ รมสงเสริมการเกษตร และเกษตรกร รวม ๕ รายการ ไดแก [๑] อบรมเจาหนาที่กรมฯ หลักสูตร “การ พัฒนาการผลิตมะมวงและมังคุดเพื่อการสงออกอยางยั่งยืน” จํ านวน ๗๔ คน และหลักสูตร “เทคโนโลยีการคัดคุณภาพผลไมดวยระบบ Sensor” จํานวน ๓๑ คน รวม ๒ หลักสูตร จํานวน ๑๐๕ คน [๒] นําเจาหนาที่ที่กรมฯ ไปศึกษาดูงาน ดานเทคโนโลยีการผลิต ณ เมือง Fukuoka ประเทศญี่ปุน จํานวน ๕ คน [๓] สัมมนาเกษตรกร หลักสูตร “การพัฒนาการผลิตมะมวงและมังคุดเพือ่ การสงออก อยางยัง่ ยืน” จํานวน ๑๖๐ คน [๔] อบรมเกษตรกรในพื้นที่ ณ อําเภอบานแฮด จังหวัดขอนแกน หลักสูตร “การผลิตมะมวงคุณภาพเพือ่ การสงออก” จํานวน ๒๐ คน [๕] นําเกษตรกรไปฝกอบรมดานการผลิต ณ เมือง Fukuoka ประเทศญี่ปุน จํานวน ๑๐ คน ๒.๓ ศึกษาพัฒนาดานวิชาการรวมกับกรมฯ อยางนอย ๑ เรื่อง โดย เรื่ อ งแรกจะศึก ษาวิจั ยเรื่ อ ง “การคัดคุณภาพผลไม โ ดยใชร ะบบ Sensor : กรณีศกึ ษาสมโอ” ระยะเวลาในการศึกษา ๔ ป ๒.๔ ดําเนินการผลิตและรายงานผล สรุปไดดังนี้ [๑] ปริมาณการอบ VHT มะมวง เทากับ ๕๑๗.๑๘๗ ตัน (รวมปริมาณอบทั้งหมดทั้งของบริษัท P&F Techno จํ ากัด และรายอื่น) สูงกวาที่คาดการณไว ๕๐๐ ตัน คิดเปนรอยละ ๓.๔๔ [๒] ปริมาณการอบ VHT มังคุด เทากับ ๘๘.๑๔๙ ตัน ต่ํากวาที่คาดการณ ไว ๑๕๐ ตัน คิดเปนรอยละ ๔๗.๑๔ [๓] ปริมาณการสงออกมะมวงที่ผาน VHT จํานวน ๓๓๖.๑๖๕ ตัน ต่ํากวาทีค่ าดการณไวรอยละ ๓๒.๗๗ แตมีปริมาณการ สงออกเพิ่มขึ้นจากปที่แลว คิดเปนรอยละ ๓๑ [๔] ปริมาณการสงออกมังคุดที่ ผาน VHT จํานวน ๗๙.๔๔ ตัน ต่ํากวาที่คาดการณไว คิดเปนรอยละ ๔๗.๐๔ [๕] ปริมาณการรับซื้อผลผลิตมะมวง รวม ๔๙๕.๑๕ ตัน จากเกษตรกรพื้นที่ ตางๆ รวม ๑๒ จั งหวัด และมั งคุด รวม ๘๘.๑๕ ตัน จากเกษตรกรจั งหวัด จันทบุรี โดยมีการทําสัญญา Contract Farming กับสถาบันเกษตรกรผูปลูก มะม วงและมั ง คุด จํ านวน ๗ กลุ ม และรายเดี่ยว จํานวน ๒ ราย [๖] เป ด โอกาสใหผูสงออกรายอื่นมาใชบริการ รวม ๑๓ ราย คิดเปนรอยละ ๓๐ ของ

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๑๔

การทดสอบความสูญเสียของผลผลิตจากการเกี่ยวดวย เครื่องเกี่ยวนวดขาว วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เพื่อทดสอบความสูญเสียจาก การการเกี่ ย วขา วดว ยเครื่ อ งเกี่ ย ว นวดข า ว ประเมิ น สมรรถนะของ เครื่อ งเกี่ ยวนวดขาวไทย รวมทั้งหา แนวทางในการปรับปรุงเครื่องเกี่ยว นวดขาวที่ผลิตในประเทศใหสามารถ ลดความสูญเสียขาวโดยรวม โดยทดสอบกั บ เครื่ อ งเกี่ ย ว น ว ด ข า ว ที่ ผ ลิ ต แ ล ะ นิ ย ม ใ ช ภายในประเทศ ขนาดหนากวางหั ว เกี่ ยว ๓ เมตร ระบบนวดแบบไหล ตามแนวแกน เครื่ อ งยนต ขนาด ๑๘๕ -๒๖๐ แรงม า จํ า นวน 10 เครื่อง ที่เก็บเกี่ยวขาวหอมมะลิหรือ ขาวขาวดอกมะลิ 105 ในเขตทุงกุลา

จากป ญ หาในระบบการเก็ บ เกี่ ยวขาวของประเทศ ที่ส วนมากใช ระบบการรับจางเก็บเกี่ยวจากเครื่องเกี่ยวนวดขาวดวยการจางเหมาตอไรเปน หลัก ผูประกอบการรับจางตองเรงรีบทําการเก็บเกี่ยวเพื่อใหไดจํานวนไรตอวัน สูงที่สุดในทุกสภาพการทํางาน โดยไมมีการปรับตั้ง หรือแมกระทั่งการคํานึงถึง ความเร็วการเคลื่อนที่ของเครื่องเกี่ยวนวดขาวอยางเหมาะสม ทําใหเกิดความ สูญเสียจากการเก็บเกี่ยวสูง จากปญหาดังกลาวจึงไดดําเนินการทดสอบความ สู ญ เสี ย ของผลผลิ ต จากการเกี่ ย วด ว ยเครื่ อ งเกี่ ย วนวดข า ว เพื่ อ ประเมิ น สมรรถนะของเครื่ องเกี่ยวนวดขาวไทย รวมทั้ง หาแนวทางในการปรับ ปรุ ง เครื่องเกี่ยวนวดขาวที่ผลิตในประเทศใหสามารถลดความสูญเสียขาวโดยรวม เพื่อใหเกิดองคความรูทั้งทางดานวิชาการและเทคนิค สําหรับใชเปนแนวทาง ในการเผยแพร โ ดยการถ า ยทอดความรู แ ละแนะนํ า เกษตรกรและ ผูประกอบการรับจางเกี่ยวนวดขาว ใหทราบและตระหนักถึงสิง่ ทีเ่ กษตรกรควร จะไดเปนเงินแตตองสูญเปลา เพียงขาดความรูหรือละเลยในการปรับตั้งเครื่อง เกี่ ยวนวดขาว ซึ่ง เปนประโยชนตอ เกษตรกรโดยตรงและเกิ ดประโยชนตอ ประเทศโดยรวม

ผลการดําเนินงาน ผลการทดสอบความสู ญ เสี ยของผลผลิตจากการเกี่ยวดวยเครื่ อ ง เกี่ ย วนวดขา ว คื อ เกิ ด ความสู ญ เสี ย จากระบบการเก็ บ เกี่ ยวมากที่ สุ ด ซึ่ ง สามารถนําไปแกไขปญ หาเรื่อ งความสูญเสียจากระบบการเก็บเกี่ยวโดยนํา ขอ มู ล ไปปรั บตั้ง พั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง เครื่อ งเกี่ ยวนวดขาว ซึ่ ง มี ประโยชนเ ชิง ปริมาณหากคิดเปนมูลคา โดยคิดจากผลผลิตในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน ๖,๔๙๐,๐๐๐ ตัน ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในสภาพปจจุบันแบงไดเปน ๒ กลุม คือ กลุมที่ ๑ มีความสูญเสียเฉลี่ยต่ํากวา ๓ เปอรเซ็นต มีเครื่องเกี่ยวนวด ขาวกลุม ๗๐ เปอร เซ็ นต และกลุม ที่ ๒ มี ความสู ญ เสียเฉลี่ ยสู ง กวากวา ๓ เปอรเซ็นต มีเครื่องเกี่ยวนวดกลุม ๓๐ เปอรเซ็นต ความสูญเสียของกลุมที่ ๑ เฉลี่ย ๒.๕๒ เปอร เซ็นต และของกลุม ที่ ๒ เฉลี่ย ๔.๔๑ เปอรเซ็นต หากคิด มูลคาตันละ ๑๕,๖๐๐ บาท คิดเปนมูลคาถึง ๔,๐๔๙,๗๖๐,๐๐๐ บาท และ หากสามารถลดความสู ญ เสี ยลงจากกลุ ม ที่ มี ความสู ญ เสี ยเฉลี่ ยเกิ น ๔.๔๑ เปอรเซ็นต เหลือ ๒.๕๒ เปอรเซ็นต จะสามารถลดความสูญเสียลงได คิดเปน มูลคา ๕๗,๑๙๘,๙๖๐ บาทตอป และเกิดประโยชนกับผูเกี่ยวของดังนี้

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๑๕

๑. เกษตรกร ซึ่งเปนผูวาจางไดทราบและสามารถตรวจสอบความ สูญเสียที่เกิดขึ้นจากการเก็บเกี่ยวเบื้องตนได โดยการสังเกตจากการรวงหลน ของเมล็ดขาวในแปลงนา เพื่อเลือกสรรผูป ระกอบการรับจางเครื่องเกี่ยวนวดที่ เก็บเกี่ยวมีคุณภาพ ทําใหลดความสูญเสียจากการเก็บเกี่ยวลงได ๒. ผูประกอบการรับจาง สามารถปรั บตั้ง ระบบใบมี ดตัดตนขาว และใบมีดตองคมเพื่ อให ตนขาวสั่นสะเทื อนนอยที่ สุด และควบคุม ความเร็ ว เครื่องเกี่ยวนวดขาวใหมีความสัมพันธกับความเร็วของลอโนมที่เหมาะสม เปน ผลทําใหลดความสูญเสียจากการเก็บเกีย่ วลงไดซึ่งจะทําใหเกษตรกรผูวาจางพึง พอใจและยอมรับผูประกอบการอยางแพรหลาย เนื่องจากเครื่องเกี่ยวนวดขาว เก็บเกี่ยวไดอยางดีมีคุณภาพ ทําใหผูประกอบการรับจางมีงานอยางตอเนื่อง เกิดประโยชนกับผูประกอบการรับจางโดยตรง ๓. โรงงานผูผลิต สามารถพัฒนาและปรับปรุงแกไขเครื่องเกี่ยวนวด ขาวให ปรั บตั้งความเร็วของล อโนม ไดง ายตามชนิดพันธุขาว และระบบการ เกี่ ยวที่ มี คุณภาพดีมี ป ระสิ ท ธิภาพ ไดรั บ ความไววางใจจากผู ป ระกอบการ รับจางภายในประเทศอยางแพรหลายทําใหโรงงานผูผลิตสามารถผลิตเครื่อง เกี่ยวนวดขาวที่ดีมีมาตรฐานสามารถแขงขันกับเครื่องเกี่ยวนวดขาวที่ผลิตจาก ตางประเทศไดและสามารถผลิตเพื่อการสงออกไดในอนาคต

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๑๖

โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตขาวและสรางความเขมแข็งใหชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปดเสรีการคาอาเซียน (AFTA) ป ๒๕๕๔ วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เพื่อยกระดับผลผลิตขาว และ ปรั บ ปรุ งคุ ณ ภา พข า วใ ห สู งขึ้ น สามารถลดตนทุนการผลิตขาวของ ชาวนาใหสามารถแขงขันกับประเทศ ในภูมิ ภาคอาเซี ยน และสร างความ เขมแข็งใหองคกรชาวนาในการผลิต เมล็ดพั นธุขาวคุณภาพดีใหพ อเพียง สําหรับกระจายสูชาวนาอยางทั่วถึง และเปนศูนยกลางการเรียนรูในการ ผลิตขาวของชาวนาใหมคี วามสามารถ ในการผลิ ตและการสรางมูลคาเพิ่ ม โดยผานระบบศูนยขาวชุมชนจํานวน ๘๑๕ แหงทั่วประเทศ

กรมการขาวร วมกั บกรมสงเสริม การเกษตรดํ าเนินงานโครงการเพิ่ ม ศักยภาพการผลิตขาว และสรางความเขมแข็งใหชาวนาเพือ่ รองรับผลกระทบจาก การเปดเสรีการคาอาเซียน (AFTA) ป ๒๕๕๓ - ๒๕๕๕ เพื่อยกระดับผลผลิตขาว และปรับปรุงคุณภาพขาวใหสูงขึ้น สามารถลดตนทุนการผลิตขาวของชาวนาให สามารถแขงขันกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน และสรางความเขมแข็งใหองคกร ชาวนาในชุมชนในการผลิตเมล็ดพันธุขาวคุณภาพดีใหเพียงพอสําหรับกระจายสู ชาวนาอยางทัว่ ถึง รวมทัง้ เปนศูนยกลางการเรียนรูใ นการผลิตขาวของชาวนาใหมี ความสามารถในการผลิตและการสรางมูลคาเพิม่

รายงานประจําป ๒๕๕๔

ผลการดําเนินงาน ดําเนินงานโดยกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กิจกรรมหลักคือ หมูบานลด ตนทุนการปลูกขาว กิจกรรมยอยไดแก ๑) การจัดทําแปลงสงเสริมการลดตนทุน ขาวโดยใชเครื่องจักร และ ๒) การจัดตั้งศูนยเรียนรูและบริการเครื่องจักรกล เป าหมายการดําเนินงานในพื้ นที่ นํารอ ง ๒ จัง หวัด ไดแก นครสวรรค และ อางทอง ผลการดําเนินงานตามกิจกรรมยอย ดังนี้ ๑. จัดทําแปลงสงเสริมการลดตนทุนการปลูกขาวโดยใชเครื่องจักรกล จํานวน ๒ จุด คือ พื้นที่ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค จํานวน ๒๐๐ ไร พื้นที่ตําบลมงคลธรรมนิมิต ตําบลอบทม และตําบลสามโก อํ าเภอ สามโก จังหวัดอางทอง จํานวน ๒๒๑ ไร รวมพืน้ ที่ ๔๒๑ ไร ๒. เก็บขอมูลเปรียบเทียบการใชเครือ่ งจักรกลในการเตรียมดินและเพาะ กลาดํานา โดยเก็บขอมูลการเจริญเติบโตขาว และขอมูลผลผลิตขาว จํานวน ๒ จุดๆ ละ ๔ ครัง้ จากการเปรียบเทียบตนทุนการผลิตขาวโดยวิธีใชเครื่องจักรกล และวิธีการหวานแบบเดิมของเกษตรกรพบวา ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น ๗๘.๑๓ กิโลกรัมตอไรคดิ เปน ๑๐.๒๖% สงผลใหรายไดสุทธิเพิ่มขึ้น ๑๔๕.๖๐ บาทตอไร หรือรอยละ ๕.๕๔ ๓. จัดตั้งศูนยเรียนรูและบริการเครื่องจักรกลสําเร็จ ๒ แหง คือ ศูนย เรียนรูและบริการเครื่องจักรกลบานทองครึม ตําบลมงคลธรรมนิมิต อํ าเภอ สามโก จังหวัดอางทอง และศูนยเรียนรูและบริการเครื่องจักรกลบานดงมั น ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค

www.aepd.doae.go.th


๑๗

๔. ฝ ก อบรมหลั ก การบริ ห ารจั ดการ รวมทั้ ง การใชและบํ ารุ ง รั ก ษา เครื่ องจั กรกลแก คณะกรรมการบริ หาร และสมาชิก ศูนยเรียนรูและบริการ เครือ่ งจักรกลทัง้ ๒ ศูนย ๕. จัดทําแผนใหบริการเครือ่ งจักรกลป ๒๕๕๔ แกสมาชิกและเกษตรกร ในพืน้ ที่ใหบริการของศูนยเรียนรูและบริการเครื่องจักรกล โดยมีเปาหมายการ ใหบริการศูนยละ ๒,๐๐๐ ไรตอ ป ๖. ติดตามนิเทศ/เยีย่ มเยียนแกไขปญหา เรงรัดการปฏิบตั งิ านศูนยเรียนรู และบริการเครื่องจักรกลทั้ง ๒ ศูนย จํานวน ๔๘ ครั้งโดยมีเจาหนาที่จากกอง สงเสริมวิศวกรรมเกษตร และศูนยสง เสริมวิศวกรรมเกษตรเขารวมดําเนินการ ๗. ผลการดําเนินงานของศูนยเรียนรูแ ละบริการเครือ่ งจักรกล ดังนี้  ศู น ย เ รี ย นรู แ ละบริ ก ารเครื่ อ งจั ก รกลจั ง หวั ด อ า งทองใช เครือ่ งจักรกลเตรียมดินและปลูกขาวไดพนื้ ทีจ่ ํานวน ๒๕๐ ไร  ศูน ย เ รี ย นรู แ ละบริ ก ารเครื่ อ งจั ก รกลจั ง หวัด นครสวรรค ใช เครือ่ งจักรกลเตรียมดินและปลูกขาวไดพนื้ ทีจ่ ํานวน ๔๓๒ ไร

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๑๘

เทคนิคและการใชประโยชนจาก บอกาซชีวภาพ วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

แกสชีวภาพเปนพลั งงานใกล ตัวที่ ให ป ระโยชนกั บ เราในหลายๆ ดานขึ้นอยูกั บเราที่ตองการนําไปใช ใหเกิดประโยชนดานใด โดยแบงเปน ๓ ดานใหญๆ ดังนี้ ๑. ประโยชนดานสิ่งแวดลอม ๒. ประโยชนดานพลังงาน ๓. ประโยชนดานการเกษตร

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร ทีม่ หี นาทีน่ ําเทคนิควิชาการทางวิศวกรรมมา สงเสริมเพือ่ สนับสนุนการพัฒนาทางการเกษตร โดยครอบคลุมถึงพลังงานในภาค เกษตร ซึ่งบอกาซชีวภาพนับเปนเทคโนโลยีที่สามารถแกไขทางการเกษตรได พรอมกับการใหประโยชนกลับสูภ าคการเกษตรและครัวเรือนเกษตรกร กลาวคือ สามารถแกไขปญหาการเนาเสียของมูลสัตว และวัตถุเหลือใชในภาคการเกษตรได โดยการหมั ก จนเกิ ดก าซและสามารถนํ า ก า ซที่ ไ ดก ลั บ มาใชในเครื่ อ งจั ก ร เครือ่ งยนต และอุปกรณการเกษตร และในครัวเรือนเกษตรกร แตการดําเนินการ ผลิ ตก าซชีวภาพและประยุกตเ พื่ อนํ าก าซชีวภาพมาใชตอ งมีเ ทคนิควิธีก าร เฉพาะที่ตองปรับแตงใหเหมาะสมจึงจะสําเร็จไดตามตองการ กาซชีวภาพ คือ กลุม กาซทีเ่ กิดจากการนํามูลสัตวหรืออินทรียสารชนิดตางๆ ไปหมักในสภาวะไร ออกซิ เ จน โดยมี จุ ลิ นทรี ยก ลุ ม แบคที เ รี ยที่ เ รี ยกวา แบคที เ รี ยไร อ อกซิ เ จน (Anaerobic Bacteria) จะทํ าการยอยอิ นทรียส ารและผลิ ตกลุ ม ก าซชีวภาพ ออกมา

ผลการดําเนินงาน กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร จึงไดจดั ทําเอกสารเผยแพรเทคนิคและการใช ประโยชนจากบอกาซชีวภาพขึน้ เพือ่ เผยแพรการใชเทคนิควิชาการทางวิศวกรรม เกษตรใหเปนทีแ่ พรหลายมากขึน้ ดังนี้ ๑. กาซชีวภาพ  ความหมายของกาซชีวภาพ  องคประกอบของกาซชีวภาพ ๒. ระบบการผลิตกาซชีวภาพ  กระบวนการยอยสลายสารอินทรียใ นบอหมัก  โครงสรางของระบบผลิตกาซชีวภาพ  สัดสวนการเติมสารอินทรียท เี่ ปนวัตถุดบิ ในการหมักผลิตกาซชีวภาพ  ปจจัยทีส่ ําคัญในการผลิตกาซชีวภาพ ๓. ระบบเพิม่ ประสิทธิภาพเพือ่ ใชกา ซชีวภาพเปนเชือ้ เพลิง  การดักน้ําในทอสงกาซชีวภาพ  ปรับลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด (CO2)  การปรับลดกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2s)

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๑๙

๔. การนํากาซชีวภาพไปใชประโยชน  อุปกรณสําคัญของระบบการนํากาซชีวภาพไปใชประโยชน  การนํากาซชีวภาพไปใชประโยชนในครัวเรือน  การนํ าก าซชีว ภาพไปใชเ ป น เชื้ อ เพลิ ง เครื่ อ งยนตใ นการผลิ ต พลังงานกล/ไฟฟา  การติดตั้งระบบสงกาซชีวภาพที่จะนําไปใชประโยชนในครัวเรือน  ผลพลอยไดจากระบบผลิตกาซชีวภาพดานการเกษตร  ผลพลอยไดจากระบบผลิตกาซชีวภาพดานสิ่งแวดลอม ๕. การปรับและดัดแปลงอุปกรณใชกาซชีวภาพ  องคประกอบการเผาไหม  การปรั บ และดัดแปลงเตาแก สหุ ง ตม แบบที่ ใชแมกนิโ ตเป นตัว จุดไฟ  เตาแกสหุงตมแบบแมงดาหรือเตาหัวเขียว  ตะเกียงแสงสวางหรือตะเกียงเจาพายุ  ตะเกียง LPG  การปรับแตงเครื่องยนตตนกําลังในระบบนํากาซชีวภาพไปใชเปน เชื้อเพลิง ๖. การบรรจุกาซชีวภาพลงถังกาซปโตรเลียมเหลว  อุ ป กรณ ที่ ใ ช ใ นการประกอบเครื่ อ งอั ด ก า ซชี ว ภาพลงในถั ง กาซ LPG  ขั้นตอนการบรรจุอัดกาซลงในถัง LPG

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๒๐

โครงการสวนพระองคพระตําหนักสวนปทุม อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

ทดลองปลูกพืชชนิดตางๆ ใน โรงเรื อ นเพื่ อ ให ส ามารถควบคุ ม สภาวะแวดลอมและโรคแมลงตางๆ ใ ห ได ผ ล ผ ลิ ต ที่ มี คุ ณภ า พ แ ล ะ ปราศจากสารพิษตกคาง ๑. ออกแบบโครงสร า งและ ปรั บ ปรุ ง โรงเรื อ นให เ หมาะสมกั บ การปลูกชนิดตางๆ จํานวน ๑๐ หลัง ๒. ออกแบบระบบควบคุ ม สภาวะอากาศภายในโรงเรือน ระบบ ฉีดพนสารควบคุมศัตรูพืชและระบบ ใหน้ําและปุยในพื้นที่โครงการ ๓. สนับสนุนเทคนิคดานการใช และบํารุงรักษาระบบตามระยะเวลา เพือ่ ใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

พระตําหนักสวนปทุมเปนพื้นที่สวนพระองค ดําเนินการทดลองปลูกพืช ชนิดตางๆ โดยเนนการปลูก พืชที่แปลกใหม พืชพันธุที่ หายาก หรือ พืชพันธุ นอกเขตรอนชื้น ซึ่งตองการโรงเรือน ระบบควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือน และระบบอื่นๆ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหการทดลองปลูกพืชตางๆ สําเร็จตาม วัตถุประสงค โครงการฯ ไดขอความรวมมือจากกรมสงเสริมการเกษตรใหกอง ส ง เสริ ม วิศ วกรรมเกษตรสนั บ สนุ น ดา นเทคนิค ในการออกแบบปรั บ ปรุ ง โรงเรือน ระบบควบคุม ระบบใหน้ําและปุย รูปแบบแปลงทดลองปลูกพืช และ ระบบเสริมอื่นๆ ทั้งที่ใชในโรงเรือนและภายนอกโรงเรือน ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตนมา

รายงานประจําป ๒๕๕๔

ผลการดําเนินงาน ๑. งานออกแบบ โรงเรือนและระบบภายในโรงเรือน ๑.๑ โรงเรือนปลูกมะเดื่อฝรั่งจํานวน ๑ หลัง  ขนาด ๒๒ x ๑๐๙ เมตร  พืช ปจจุบันปลูกมะเดื่อฝรั่ง ๒๐ พันธุ อายุเฉลี่ย ประมาณ ๓ ป  ระบบใหน้ํา แบบน้ําหยดเปด-ปดดวยวาลวไฟฟา และตั้ง เวลาใหน้ําดวยตูควบคุมอัตโนมัติ ๑.๒ โรงเรือนปลูกสตรอเบอรี่และแตงโมจํานวน ๒ หลัง  ขนาด ๑๘ x ๔๒ เมตร  พืช ปจจุบันปลูกสตรอเบอรี่สลับกับแคนตาลูป และแตงโม  ระบบใหน้ํา แบบน้ําหยดเปด-ปดดวยวาลวไฟฟา และตั้ง เวลาใหน้ําดวยตูควบคุมอัตโนมัติ  ระบบฉีดพนสาร แบบแขวนเคลื่อนที่อัตโนมัติในโรงเรือน  ระบบหลอเย็นรากพืช ใชทอสแตนเลสหมุนเวียนน้ําเย็น ๑๘ oC ๑.๓ โรงเรือนปลูกองุน ๑ จํานวน ๑ หลัง  ขนาด ๑๘ x ๔๒ เมตร  พืช ปจจุบนั ปลูกองุน พันธุ เอ็มเมอรอน อายุ ๒ ป  ระบบใหน้ํา แบบพนฝอยเปด-ป ดดวยวาลวไฟฟ า และ ตั้งเวลาใหน้ําดวยตูควบคุมอัตโนมัติ ๑.๔ โรงเรือนปลูกองุน ๒ จํานวน ๑ หลัง  ขนาด ๒๗ x ๔๒ เมตร พืช ป จ จุ บั น ปลู ก องุ น ๓ พั น ธุ เอ็ ม เมอรอน รูดบาเรด แบล็กโอปอ อายุ ๕ ป  ระบบใหน้ํา แบบพนฝอยเปด-ปดดวยวาลวไฟฟา และตั้ง เวลาใหน้ําดวยตูควบคุมอัตโนมัติ

www.aepd.doae.go.th


๒๑

๑.๕ โรงเรือนปลูกไมผลจํานวน ๑ หลัง ขนาด ๑๘ x ๔๒ เมตร พืช ปจจุบนั ปลูกสม ชมพู ทุเรียน มังคุด อายุ ๒ ป ระบบใหน้ํา แบบพนฝอยเปด-ปดดวยวาลวไฟฟา และตั้ง เวลาใหน้ําดวยตูควบคุมอัตโนมัติ ๑.๖ โรงเรือนปลูกแคนตาลูปจํานวน ๑ หลัง ขนาด ๙ x ๓๘ เมตร  พืช ปจจุบันปลูกแคนตาลูป  ระบบใหน้ํา แบบน้ําหยดเปด-ปดดวยวาลวไฟฟา และตั้ง เวลาใหน้ําดวยตูควบคุมอัตโนมัติ  ระบบฉีดพนสาร แบบแขวนเคลื่อนที่อัตโนมัติในโรงเรือน ๑.๗ โรงเรือนปลูกผักไฮโดรโพนิกสจํานวน ๒ หลัง ขนาด ๓.๕๐ x ๗.๕๐ เมตร พืช ปจจุบนั ปลูก ผักสลัดแกว สลัดบอนนิ เรดโอด เรดเรปด เรดโคเรีย แตงกวาญีป่ นุ  ระบบใหน้ํา แบบรางไฮโดรโพนิกส  ระบบลดอุณหภูมิ หัวพนละออง  ระบบหลอเย็นรากพืช ทําความเย็นในบอสารละลายอุณหภูมิ ๑๘oC ๑.๘ โรงเรือนอนุบาลพืชเมืองหนาวจํานวน ๑ หลัง  ขนาด ๘ x ๒๐ เมตร  พืช ปจจุบันอนุบาลตนสรอยฟา  ระบบลดอุณหภูมิ แบบแผนระเหยน้ําและพัดลมระบายอากาศ  ระบบคารบอนไดออกไซด ถัง จ ายคาร บ อนไดออกไซดเ หลวพร อ ม วาลวควบคุม ๒. งานออกแบบและควบคุมการติดตั้งระบบใหน้ําภายนอกโรงเรือน ๒.๑ ระบบสปริงเกลอรสวนหยอมตําหนักทูลกระหมอมหญิง ๒.๒ ระบบสปริงเกลอรสวนปา ๒.๓ ระบบมินิสปริงเกลอรแปลงไมผล ๒.๔ ระบบมินิสสปริงเกลอรแปลงอินทผลัมและสละ ๓. งานบํารุงรักษาและซอมแซม ๓.๑ ตรวจสอบปรับตั้งความดันและแกไขปญหาในระบบสูบน้ํา ๓ แหง ๓.๒ ตรวจสอบปรับตั้งคอนโทรลเลอร ๓ ชุดและวาลวไฟฟา ๕๐ ชุด ๓.๓ ตรวจสอบความสะอาดของระบบกรองน้ําและอุปกรณระบบใหน้ํา

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๒๒

การบริการบํารุงรักษา ฝายชาง กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร วัตถุประสงคและเปาหมาย

ความเปนมา

เพือ่ ใหบริการบํารุงรักษาเครือ่ ง ปรั บ อากาศสํ า นั ก งานล า งแอร ตรวจวัดระดับน้ํ ายา และวิเ คราะห แก ไ ขข อ ขั ด ข อ งให แ ก ห น ว ยงาน สวนกลางของกรมสงเสริมการเกษตร ทีป่ ระสงคจะขอรับการบริการ

กรมส ง เสริ ม วิศ วกรรมเกษตร มี เ จ า หน าที่ ดา นช างเครื่ อ งกลซึ่ ง สามารถที่ จ ะให บ ริ ก ารบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งปรั บ อากาศสํ า นั ก งานได จึ ง เห็นสมควรที่จะดําเนินการใหบริการดงกลาวแกหนวยงานสวนกลางของกรม สงเสริมการเกษตรที่มีความประสงคขอรับการบริการ เพื่อลดคาใชจายและยืด อายุการทํางานของเครื่องปรับอากาศ และใหการสนับสนุนแบบ ประสานงาน การออกแบบกั บ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งหากเป น แบบที่ มี ผ ลกระทบด า น โครงสราง รวมถึงการประมาณราคาคากอสราง คาซอมแซม และการควบคุม งานกอสรางหรือซอมแซมสิ่งกอสรางของกรมสงเสริมการเกษตร

ผลการดําเนินงาน กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรไดดําเนินการบริการ การบํารุงรักษา และทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศในป 2554 ดังนี้ ลําดับที่ หนวยงานที่ขอรับ บริการ 1 สํา นักพั ฒนาคุณภาพสินคาเกษตร 2 ศู นยส งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีรังสี อ.ธั ญบุรี จ.ปทุมธานี 3 อาคารเบญจศิ ริกิตติ์ - ชั้น 2 - ชั้น 3 4 สถานีวิทยุกระจายเสีงเพื่อการเกษตร 5 สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี 6 สถาบันสงเสริมนวัต กรรมภูมิปญญาเศรษฐกิจพอเพียง 7 สํานักสงเสริมและจัดการสินคาเกษตร 8 กองสงเสริมวิ ศวกรรมเกษตร

จํา นวน (เครื่อง) 52 16 35 13 18 5 3 3 11 156

การควบคุมงานกอสรางหรือซอมแซมสิ่งกอสรางของกรมสงเสริม การเกษตร เพื่อสนับสนุนงานทางดานวิศวกรรมแกกรมสงเสริมการเกษตรดานการ ออกแบบ ประมาณราคา และการควบคุม งานให เ ป น ไปตามรู ป แบบและ วัตถุประสงค ตามที่ตองการ

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๒๓

๑. ประมาณราคางานปรับปรุงหลังคาโรงจอดรถ บริเวณอาคารกรม ส ง เสริ ม การเกษตร ความยาวรวม ๔๔๕ เมตร วงเงิ น ค า ปรั บ ปรุ ง ๑,๙๖๘,๐๐๐ บาท ขณะนี้อยูในขั้นตอนของผู รับ จางดําเนินการ สั ญญา แลวเสร็จเดือน ตุลาคม ๒๕๕๔ ๒. ประมาณราคางานปรับปรุงหลังคาอาคารสํานักงานกรมสงเสริม การเกษตรดวยการเปลี่ยนหลังคาพื้นที่ ๒,๐๖๔ ตรม. ติดตั้งฉนวนกันความ รอนใตหลังคาพื้นที่ ๒,๑๕๖ ตรม. วงเงินคาปรับปรุง ๑,๒๔๗,๐๐๐ บาท ขณะนี้ไดผูรับจาง และอยูในขั้นตอนการทําสัญญาจางเหมา ๓. ประมาณราคางานปรั บ ปรุ ง อาคารโรงพิ ม พ (เกษตรสั ม พั นธ) ตอ งการเปลี่ ย นหลั ง คาใหม ทั้ ง หมด และปรั บ ปรุ ง ระบบระบายน้ํารอบ อาคาร วงเงินคาปรับปรุง ๖๙๗,๑๘๐ บาท ขณะนี้อยูในระหวางดําเนินการ เขียนแบบประกอบการประมาณราคา ๔. ประมาณราคางานปรั บ ปรุ ง อาคารเบญจสิ ริ กิ ต ติ์ ด ว ยการ ปรับปรุง หองน้ําจํานวน ๒๐ หอ ง ซอมแซมฝาเพดานอุดยาแนวซิลิโคลน แผ นกระจกรอบหนาตางภายนอก ซ อมแซมปรับ ปรุง ระบบจายน้ําและ ดับ เพลิ ง วงเงิ นคา ปรั บ ปรุ ง ๕,๖๔๘,๐๐๐ บาท ขณะนี้อ ยูใ นระหวา ง ขั้นตอนการประกวดราคา

การบริ ก ารตรวจสภาพรถยนตร าชการเพื่อ การซอมแซมหรื อ จําหนาย วัตถุประสงคและเปาหมาย เพื่อใหบริก ารในการตรวจสภาพรถยนตราชการเพื่อการซอมแซม และจําหนาย ใหแก หนวยงานสวนกลาง กรมสงเสริมสงเสริมการเกษตร ที่ประสงคจะขอรับการบริการ

ผลการดําเนินงาน กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรไดดําเนินการตรวจสภาพรถยนตเพื่อ การ ซอมแซมและจําหนาย โดยตรวจสอบระบบเครื่องยนต ระบบไฟฟา รถยนต ระบบชวงลาง ระบบเบรก ระบบปรับอากาศ ระบบสงกําลัง ลอ และตัวถัง รถยนตราชการส วนกลาง ของกรมสงเสริ มการเกษตรจํานวน 38 คัน และไดรายงานผลใหแกหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการตอไปแลว

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๒๔

ผลการปฏิบัติงานโครงการ ๒๕๕๔ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท ๑. โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะดาน ดําเนินการฝกอบรมเกษตรกรจํานวน 252 ราย ใน ๓ หลักสูตร  หลักสูตร “การซอมแซมและบํารุงรักษาเครือ่ งยนตเกษตร” ดําเนินการใน พื้นที่จังหวัดชัยนาท สิงหบุรี อางทอง และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน เกษตรกรเขารับการฝกอบรม 124 ราย มีเครือ่ งยนตรบั บริการ 19 เครือ่ ง  หลักสูตร “การใชและบํารุงรักษาแทรกเตอร” ดําเนินการในพืน้ ทีอ่ ําเภอ หนองมะโมง และอํ าเภอวัดสิงห จังหวัดชัยนาท จํานวนเกษตรกรเขารับการ ฝกอบรม 55 ราย  หลักสูตร “การติดตั้งระบบการใหน้ํ าพืช” ดําเนินการในพื้นที่จังหวัด ชัยนาท และจังหวัดอางทอง จํานวนเกษตรกรเขารับการฝกอบรม 73 ราย ๒. โครงการเพิม่ ศักยภาพการผลิตขาวและสรางความเขมแข็งใหชาวนาเพือ่ รองรับผลกระทบจากการเปดเสรีการคาอาเซียน (AFTA)  จัดตั้งศูนยเรียนรูและบริการเครื่องจักรกลในการปลู กขาว ณ กลุ ม เกษตรกร บานทองครีม หมูท ี่ 3 ตําบลสามโก อําเภอสามโก จังหวัดอางทอง  จัดซือ้ ชุดเครือ่ งจักรกลในการเตรียมดินและปลูกขาวเพือ่ พัฒนาระบบ การปลูกขาว  ฝกอบรมเนนหนักทักษะการใชและบํารุงรักษาเครื่องจักรกล การ บริหารจัดการศูนยเรียนรูแ ละการบริการเครือ่ งจักรกลแกคณะกรรมการบริหารและ สมาชิกจํานวน 20 ราย  ติดตาม เปนทีป่ รึกษาและใหคําแนะนําการบริหารจัดการศูนยเรียนรู และการบริการเครือ่ งจักรกล  จัดทําแปลงสาธิตสงเสริมการลดตนทุนการผลิตขาวโดยใชเครือ่ งจักรกล ในการเตรียมดิน และปลูกขาวที่มีประสิทธิภาพในตําบลสามโก อําเภอสามโก จังหวัดอางทอง พืน้ ที่ 200 ไร เกษตรเขารวมโครงการ ๓๒ ราย ๓. โครงการหยุดการเผาในพื้นที่เกษตร ภายใตแผนปฏิบัติการแกไขปญหา หมอกควันและไฟปา ดํ า เนิ น การจั ด ตั้ ง ติ ด ตาม เป น ที่ ป รึ ก ษา และให คํ า แนะนํ า ศู น ย เครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการเผาที่มีการบริหารจัดการโดยกลุมเกษตรกร โดยการนํารองสาธิตการใชเทคนิคเครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนการเผาใน รูปแบบวิสาหกิจชุมชนที่มีการใหบริการเครื่องจักรกลการเกษตรไถกลบตอซัง ทดแทนการเผา จํานวน 2 กลุม  ศูนยเครื่องจักรกลการเกษตรปลอดการเผาบางวังลึก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี มีพนื้ ทีใ่ หบริการ 1,376.5 ไร เกษตรกรรับบริการ 132 ราย  ศูนยเครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการเผา วิสาหกิจเกษตรครบวงจร ตําบลคุง สําเภา อําเภอมโนรมย จังหวัดชัยนาท พื้นที่ 310 ไร บริการเกษตรกร ไดรบั บริการ 19 ราย ๔. โครงการงบพัฒนาจังหวัดชัยนาท  การประเมินและปรับปรุงเครือ่ งจักรกลเกษตรผลิตหญาแพงโกลา ภายใต โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดแพงโกลา ที่มีการดําเนินงาน รวมกับศูนยวจิ ยั และพัฒนาอาหารสัตว

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๒๕

 ปรังปรุงสภาพรถแทรกเตอร จํานวน ๑๐ คัน  ปรับปรุงสภาพเครือ่ งจักรกลเกษตร จํานวน ๙ เครือ่ ง  การพัฒนาการผลิตขาวภายใตโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคา เกษตรทีป่ ลอดภัยไดมาตรฐาน ที่มีการดําเนินงานรวมกับสํานักงานเกษตรจังหวัด ชัยนาท โดยดําเนินการ ๓ กิจกรรมยอย ดังนี้  สงเสริมการเตรียมดินโดยไมเผาตอซังฟางขาว ดําเนินการใหบริการชุด เครื่องมือไถกลบตอซังฟางขาวเพื่อลดการเผาในพื้นที่เกษตร ในอําเภอสรรคบุรี สรรพยา วัดสิงห หันคา และอําเภอมโนรมย จังหวัดชัยนาท จํานวน ๕๐๐ ไร  จัดทํ าแปลงสาธิตการปลูกขาวดวยวิธีปกดํา โดยเพาะกลาดวยชุด เครือ่ งจักร และปกดําดวยเครื่องดํานา ในตําบลศิลาดาน อําเภอมโนรมย จังหวัด ชัยนาท พืน้ ทีจ่ ํานวน ๑๕๐ ไร  จัดงานวันรณรงคไมเผาตอซังขาว ในพื้นที่ที่ดําเนินการสาธิตการปลูก ขาวดวยวิธปี ก ดําโดยเครือ่ งดํานาเกษตรกรเขารวมงานจํานวน ๓๐๐ ราย ๕. โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ  คลินกิ เกษตรเคลือ่ นทีใ่ นพระราชานุเคราะหฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร โดยการออก หนวยบริการใหความรูแ ละบํารุงรักษาเครือ่ งยนตเกษตร ในจังหวัดชัยนาท สิงหบรุ ี อางทอง อุทยั ธานี และจังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน ๑๓ ครัง้ เกษตรกรเขารับบริการ ๖๒๙ ราย การใหบริการดังนี้  จัดนิทรรศการเรือ่ งเครือ่ งยนต เครือ่ งจักรกลในการไถกลบตอซังฟางขาว และการเตรียมดินทีด่ โี ดยใชชดุ เครือ่ งมือ ไถระเบิดดินดาน  บริการขอมูลในการแกปญ หาเครือ่ งยนตเกษตร เชน เครือ่ งยนตกนิ น้ํามันเครือ่ ง เครือ่ งยนตเดินเบาไมไดหรือเดิน ไมเรียบ การประกอบปม น้ํามันเชือ้ เพลิงเครือ่ งยนตรอ นแลวไมมกี ําลัง ปญหาการบํารุงรักษาอืน่ ๆ  ศูนยเรียนรูก ารเกษตรแบบพึง่ พาตนเองบานเนินขามอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ โดยปรับปรุงและพัฒนาระบบการ ใหน้ําพืชศูนยเรียนรูเ กษตรพอเพียงบานเนินขาม อําเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท ๖. งานตามภารกิจ  โครงการชวยเหลือผูป ระสบภัยน้ําทวมจังหวัดชัยนาท โดยจัดหนวยเคลือ่ นทีอ่ อกใหบริการชวยเหลือซอมแซมเครือ่ งยนตของเกษตรกรทีไ่ ดรบั ความเสียหายจากอุทกภัยน้ํา ทวม ในเขตอําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท โดยไดรับความรวมมือจากบริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จํากัด และบริษัท ยันมาร เอส พี จํากัด สนับสนุนน้ํามันเครือ่ ง อะไหลทจี่ าํ เปน และเจาหนาทีม่ ารวมใหบริการเกษตรกรจํานวน ๖ ครัง้ มีผมู าใช บริการ จํานวน ๘๗ ราย และมีเครือ่ งยนตมาซอมบํารุง จํานวน ๑๓๙ เครือ่ ง  โครงการบริการเกษตรกรในจังหวัดชัยนาทและจังหวัดใกลเคียง ดําเนินการอบรมเกษตรกรเรือ่ งการซอมแซมและบํารุงรักษาเครือ่ งยนตเกษตร ในเขตตําบลดงคอน และตําบลตางๆ อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท จํานวน ๑๑๑ ราย โดยไดรบั การสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการจากเทศบาลตําบลดง คอน มีเกษตรกรสนใจรับคําแนะนําและความรู  โครงการหนวยบําบัดทุกข บํารุงสุข สรางรอยยิม้ ใหประชาชน เพื่อเสริมสรางความสมานฉันท และบูรณาการประสานพลังปองกันและแกไขปญหายาเสพติด จังหวัดชัยนาท จํ านวน ๖ ครั้ง โดยใหบริก ารความรูและแก ไขปญ หาการใชเครื่อ งยนตเกษตร ระบบการใหน้ํ าพืช รวมไปถึงการใช เครือ่ งจักรกลเกษตรดานอืน่ ๆ เกษตรกรมาขอใชบริการ จํานวน ๒๘๐ ราย

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๒๖

ผลการปฏิบัติงานป ๒๕๕๔ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๒ จังหวัดพิษณุโลก ๑. โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะดาน ดําเนินการฝกอบรมเกษตรกร จํานวน 252 ราย ใน 4 หลักสูตร  หลักสูตร “การตรวจเช็คและบํารุงรักษาเครื่องยนตเกษตร” ในอํ าเภอ วังทอง และอําเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เกษตรกรเขารับการฝกอบรม 102 ราย  หลักสูตร “การใชและบํารุงรักษารถแทรกเตอร” ในอําเภอวังทอง และ อําเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เกษตรกรเขารับการฝกอบรม 77 ราย  หลักสูตร “การติดตั้งระบบการใหน้ําพืช” ในอําเภองาว จังหวัดลําปาง อําเภอเมือง จังหวัดแพร เกษตรกรเขารับการฝกอบรม 50 ราย  หลักสูตร ”ชางเกษตรหมูบาน” ณ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก อําเภอวังทอง ตําบลวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เกษตรกรเขารับ การฝกอบรม 25 ราย ๒. โครงการหยุดการเผาในพืน้ ทีก่ ารเกษตร ภายใตแผนปฏิบตั กิ ารแกไขปญหา หมอกควันและไฟปา ดําเนินการจัดตัง้ ติดตาม เปนทีป่ รึกษา และใหคําแนะนํา การดําเนินงานศูนย เครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการเผา ที่มีการบริหารจัดการโดยกลุมเกษตรกร โดยการนํารองสาธิตการใชเทคนิคเครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนการเผาใน รูปแบบวิสาหกิจชุมชน ทีม่ กี ารใหบริการเครือ่ งจักรกลการเกษตรทดแทนการเผา จํานวน 2 กลุม  ศูนยเครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการบานคลองคู ตําบลทาโพธิ อําเภอ เมือง จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่การใหบริการ 568 ไร เกษตรกรไดรับบริการ 63 ราย  ศูนยเครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการเผาบานคลอง ตําบลน้ําขุม อําเภอ ศรีนคร จังหวัดสุโขทัย มีพื้นที่การใหบริการ 795.5 ไร เกษตรกรไดรับบริการ 85 ราย ๓. โครงการจัดระบบพิเศษเฉพาะพืน้ ทีม่ นั สําปะหลัง ดําเนินการติดตามจั ดเก็บ ขอ มู ลการเจริ ญ เติบ โตตามอายุ และผลผลิ ต มันสําปะหลัง ในแปลงสาธิตการไถระเบิดดินดาน และแปลงเปรียบเทียบ พื้นที่ 300 ไร จากเกษตรกร 32 ราย เพื่อการศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมเพื่อ เพิม่ ผลผลิตมันสําปะหลัง ในตําบลวังชะพลู และตําบลวังหามแห อําเภอขาณุวร ลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร ๔. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จัดนิทรรศการและใหบริการความรูด า นเครือ่ งจักรกลการเกษตร เครื่องยนต เกษตรขนาดเล็ก และการติดตัง้ ระบบการใหน้ําพืช ในงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระราชานุเ คราะห สมเด็จพระบรมโอรสาธิร าชฯ สยามมกุฏราชกุม าร จํานวน 13 ครัง้ ใน

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๒๗

 อําเภอตรอน บานโคก ทาปลา เมือง จังหวัดอุตรดิตถ  อํ าเภอเนินมะปราง วังทอง บางกระทุม นครไทย และอํ าเภอเมือ ง จังหวัดพิษณุโลก  อําเภอเมืองตาก อําเภอวังเจา จังหวัดตาก  อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง เกษตรกรเขารับบริการ จํานวน 1,445 ราย ๕. โครงการบริ หารจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ย ง ใหกับเกษตรกร เปนโครงการที่มี การดํ าเนินงานรวมกั บศูนยส งเสริ มและพั ฒนาอาชีพ การเกษตร จังหวัดพิษณุโลก (พันธุพืชเพาะเลี้ยง) โดยไดดําเนินการใหบริการ เตรียมดินเพื่ อปลูกมันสํ าปะหลัง ในการจัดทํ าแปลงแมพันธุมันสํ าปะหลั ง จํานวน 57 ไร ๕. โครงการเขื่อนแควนอยบํารุงแดน รวมเปนคณะทํางานโครงการสงเสริมพัฒนาอาชีพการเกษตรในเขตพื้นที่โครงการเขื่อนแควนอยบํารุ งแดน โดย รับผิดชอบเตรียมความพรอมและสนับสนุนวิชาการใหแกเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนแควนอยบํารุง แดน ที่ตองการปจจัยดานระบบการใหน้ําพืช ๕. งานตามภารกิจอื่น  จัดทําซุม เฉลิมพระเกียรติบริเวณหนาทางเขาศูนย เพือ่ การเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมพิ ลอดุลย เดช เนือ่ งในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา  งานบริการและใหคําปรึกษาวิชาการ  ออกแบบและใหคําปรึ กษาดานระบบการใหน้ําพืชในแปลงปลูกไมผ ล พืชไร และไม ดอกไม ประดับ ใหกั บ เกษตรกรจํานวน 18 ราย และหนวยงานราชการจํานวน 6 หนวยงาน ในจังหวัด พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ ลําปาง และจังหวัดเชียงใหม  บริการซอมเครื่องจักรกลการเกษตร ในบานวังดินเหนียว หมู 3 ตําบลวังยาง อําเภอ เนินมะปราง จังหวัด พิษณุโลก มีเกษตรกรเขารับบริการ 9 ราย  ใหคําปรึกษาเรื่องเครื่องจักรกลการเกษตรในการผลิตมันสําปะหลัง ใหแกเกษตรกร จากตําบลหอไกร อําเภอ บางมูลนาก จังหวัดพิจิตร จํานวน 1 ราย  งานถายทอดความรู  บรรยายถายทอดความรูดานระบบการใหน้ําพืช การพัฒนาการเขตกรรมในขาวและพืชไรเพื่อเพิ่มผลผลิต การ ใชและบริหารจัดการเครื่องจักรกลการเกษตรในการผลิตและแปรรูปขาว จํานวน 7 ครั้ง ใหแกเกษตรกร และเจาหนาที่ หนวยงานราชการ จากจังหวัดพิษณุโลก กําแพงเพชร จังหวัดแพร และจังหวัดมหาสารคาม จํานวน 381 ราย  รวมจัดนิทรรศการเรือ่ งเทคโนโลยีการไถกลบตอซังฟางขาวทดแทนการเผา การพัฒนาการเขตกรรมในขาวและ พืชไรเพื่อเพิ่มผลผลิต และระบบการใหน้ําพืช ในงานมหกรรมและงานรณรงค รวมกับหนวยงานอื่น จํานวน 8 ครั้ง ใน จังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ และจังหวัดลําพูน

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๒๘

ผลการปฏิบัติงานป ๒๕๕๔ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๓ จังหวัดรอยเอ็ด ๑. โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะดาน  ฝ ก อบรมเกษตรกร หลั ก สู ต ร “การตรวจเช็ ค และบํ า รุ ง รั ก ษา เครื่องยนตเกษตร” ใน อําเภอโพนทราย สุวรรณภูมิ ทุงเขาหลวง เชียงขวัญ และอําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 274 ราย เกษตรกรนําเครื่องมารับ บริการจํานวน 74 เครื่อง  แปลงเรียนรู/จุดเรียนรู ดําเนินการพั ฒนาแปลงเรียนรู /จุดเรียนรู จํานวน ๕ จุด ดังนี้  จุดเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ระบบการใหน้ําแปลงฟกทอง แบบมินิสปริง เกลอร จํานวน ๑ ไร  จุดเรียนรูที่ ๒ เรื่อง ไถระเบิดดินดาน จํานวน ๑ ไร  จุดเรียนรูที่ ๓ เรื่ อง ระบบการใหน้ํามันสําปะหลั ง แบบน้ําหยด จํานวน ๑ ไร  จุดเรียนรูที่ ๔ เรื่อง ระบบการใหน้ํามันสําปะหลัง แบบเจ็ทสเปรย จํานวน ๑ ไร  จุดเรียนรูที่ ๕ เรื่อง เครื่องจักรกลการเกษตร ๒. โครงการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน “ขาว” เป น โครงการที่ มี ก ารดํ า เนิ น งานร ว มกั บ สํ า นั ก งานปฏิ รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ การเกษตร โดยจัดทําแปลงสาธิตการไถกลบตอซังฟางขาวดวยเครื่องจักรกล เกษตรที่มีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนดังนี้  พรวนตัดสับตอซังฟางขาวดวยพรวนชุด 20 จาน จํานวน 1 รอบ  ไถกลบตอซังดวยไถหัวหมู 3 ผาล จํานวน 1 รอบ  พรวนยอยดินดวยพรวนชุด 20 จาน จํานวน 1 รอบ ในพื้ น ที่ นิคมการเกษตร ตํ าบลทุ ง กุ ล า อํ า เภอสุ วรรณภูมิ จั ง หวัดร อ ยเอ็ ด จํานวน 970 ไร เกษตรกรรวมโครงการ จํานวน 83 ราย ๓. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จั ด นิ ท รรศการและให คํ า ปรึ ก ษาด า นเครื่ อ งจั ก รกลเกษตร การ บํารุงรักษาเครื่องยนตเล็ก ในงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จํานวน 7 ครั้ง ใน อําเภอ ธวัช บุ รี เชีย งขวัญ เสลภู มิ และอํ าเภอพนมไพร จั ง หวัด ร อ ยเอ็ ด อํ า เภอ กุฉินารายณ ห วยเม็ก และอํ าเภอนามน จั ง หวัดกาฬสิ นธุ เกษตรกรเขารั บ บริการ 230 ราย

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๒๙

๔. งานตามภารกิจอื่นๆ  งานนิทรรศการ/สาธิต  จัดนิทรรศการการปลูกขาวโดยการใชเครื่องหยอดขาว บานยางนอย ตําบลอุมเมา อําเภอธวัชบุรี จังหวัดรอยเอ็ด  จัดรานนิทรรศการการรณรงคไถกลบตอซังเพื่อลดภาวะโลกรอน ณ อําเภอจตุรพักตรพิมาน และอําเภอปทุมรัตน จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 3 ครั้ง เกษตรกรรวมงาน 900 คน  จั ด นิ ท รรศการการไถระเบิ ด ดิ น ดาน และระบบการให น้ํ า มั น สํ า ปะหลั ง ในงานวั น รณรงค ค วบคุ ม เพลี้ ย แป ง มั น สํ า ปะหลั ง ณ อาคาร เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยสุรนารี อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา  จั ด นิ ท รรศการระบบการให น้ํ า พื ช ในอํ า เภอศรี ส มเด็ จ จั ง หวั ด รอยเอ็ด และอําเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ  สาธิตการใชน้ํามันสบูดํากับเครื่องยนตเกษตร ใหกับทหารคายสุรนารี ณ ศูนยบริหารศัตรูพืชจังหวัดนครราชสีมา  โครงการหนึ่งใจ...เกษตรกรในทู ลกระหม อมหญิ งอุ บลรัตนพรรณวดี โดยดําเนินการเตรียมดินดวยเครื่องจักรกลเกษตรที่มีป ระสิทธิภาพในแปลง ปลูกผัก จํานวน 30 ไร  โครงการศูนยเรียนรู โดยจัดทําแปลงเรียนรู ณ ศูนยเรียนรูบานหนอง แสง ตําบลโพธิ์สัย อําเภอศรีสมเด็จ จังหวัดรอยเอ็ด  จัดการดูงานพื้นที่แปลงสบูดํา บานดอกคําซอน หมู 7 ตําบลนามะเขือ อําเภอสหัสขันธ จังหวัดกาฬสินธุใหคณะเจาหนาที่จากประเทศพมา

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๓๐

ผลการปฏิบัติงานโครงป ๒๕๕๔ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๔ จังหวัดเพชรบุรี ๑. โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะดาน ฝกอบรมเกษตรกร 314 ราย ใน 2 หลักสูตร ๑. หลักสูตร การใชและบํารุงรักษาเครื่องยนตเกษตร ดําเนินการใน อํ าเภอบางเลน จั งหวัดนครปฐม อํ าเภอจอมบึ ง และ อําเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี เกษตรกรเขา รับการอบรมจํานวน 213 ราย ๒. หลักสูตร การใชและบํารุงรักษาเครื่องยนตเกษตร ดําเนินการใน อําเภอหวย กระเจา จังหวัดกาญจนบุรี เกษตรกร เขารับการอบรม 101 ราย งานพัฒนาจุดเรียนรู ดําเนินการ พัฒนาจุดเรียนรูจํานวน 5 จุด ดังนี้ ๑. ระบบการใหน้ําพืช แปลงไมผล แปลงปาลมน้ํามัน ๒. สาธิตเครื่องยนตการเกษตรใน ไรนาและการซอมบํารุงรักษาเครือ่ งยนต การเกษตร ๓. สบูดําพืชพลังงานทดแทน ๔. แปลงสาธิตการปลูกสบูดํา ๕. โรงสูบน้ําเกษตรกรทดแทนพลังงาน ๒. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดําเนินการจัดงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห จํานวน 4 ครั้ง ที่ อํ าเภอเขาย อ ย อํ า เภอหนองหญ าปล อ ง และอํ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด เพชรบุรี

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๓๑

๓. โครงการรวมกับหนวยงานอื่น ดํา เนิ น งานร ว มกั บ ศู น ยศึ ก ษาการพั ฒ นาห วยทรายอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว  กิจกรรมขยายผลและถายทอดเทคโนโลยี โดยดําเนินการฝกอบรม เกษตรกร 75 ราย ใน 2 หลักสูตร  หลักสูตรการใชและบํารุงรักษาเครื่องยนตเกษตร เกษตรกรเขารับ การอบรมจํานวน 50 ราย  หลั ก สู ต รการเลื อ กใช อุ ป กรณ ร ะบบการให น้ํ า พื ช เบื้ อ งต น เกษตรกรเขารับการอบรมจํานวน 25 ราย  กิจกรรมจัดนิทรรศการ  จั ดนิท รรศการ 84 พรรษาประโยชนสุ ขสู ป วงประชา ณ ศูนย ศึก ษาการพั ฒนาห วยทรายอั นเนื่อ งมาจากพระราชดําริ จั งหวัดเพชรบุ รี มีเกษตรและผูสนใจทั่วไปเขาศึกษาดูงาน จํานวนประมาณ 2,000 ราย

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๓๒

ผลการปฏิบัติงานป ๒๕๕๔ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๕ จังหวัดลพบุรี ๑. โครงการฝกอาชีพการเกษตรแกเกษตรกร  ฝกอบรมเกษตรกร จํานวน 219 ราย ใน 3 หลักสูตร  หลัก สูตรการใชและบํ ารุง รักษารถแทรกเตอร เกษตร ในอํ าเภอชัย บาดาล และอําเภอสระโบสถ จังหวัดลพบุรี อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี จํานวนเกษตรกรเขารับการฝกอบรม 46 ราย  หลักสูตรการใชและบํ ารุง รักษาเครื่องยนตเกษตร ในอํ าเภอวังโป ง จังหวัดเพชรบูรณ อําเภอลําสนธิ ชัยบาดาล และ อําเภอสระโบสถ จังหวัดลพบุรี จํานวนเกษตรกรเขารับการฝกอบรม 72 ราย  หลักสูตรระบบการใหน้ําพืช ในอําเภอพัฒนานิคม และอําเภอทาหลวง จังหวัดลพบุรี จํานวนเกษตรกรเขารับการฝกอบรม 101 ราย  พัฒนาจุดเรียนรู จํานวน ๕ จุด ดังนี้  จุดเรียนรูท ี่ ๑ เรือ่ ง ระบบการใหน้ําในมันสําปะหลัง แบบน้ําหยด  จุดเรียนรูท ี่ ๒ เรือ่ ง ระบบการใหในพืชผัก แบบน้ําหยด  จุดเรียนรูท ี่ ๓ เรือ่ ง ระบบเครือ่ งยนตเกษตร  จุดเรียนรูท ี่ ๔ เรือ่ ง ระบบรถแทรกเตอรการเกษตร  จุดเรียนรูท ี่ ๕ เรือ่ ง ประเภทและอุปกรณการใหน้ําพืช ๒. โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตขา วและสรางความเขมแข็งใหชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปดเสรีการคาอาเชียน (AFTA)  จัดตัง้ ศูนยเรียนรูแ ละบริการเครือ่ งจักรกลในการปลูกขาว ณ กลุม เกษตรกร บานดงมัน หมูท ี่ 3 ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค  จัดทําแปลงสาธิตสงเสริมการลดตนทุนการผลิตขาวโดยใชเครื่องจักรกลใน การเตรียมดิน และปลูกขาวทีม่ ปี ระสิทธิภาพในตําบลจันเสน อําเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค เกษตรกรเขารวม 10 ราย ๓. โครงการหยุดเผาในพื้นที่การเกษตร ภายใตแผนปฏิบัติการแกไขปญหา หมอกควันและไฟปา ดําเนินการ ติดตาม เป นที่ปรึ กษา และให คําแนะนํา ศูนยเ ครื่องจักรกล การเกษตรปลอดการเผา ตําบลเขาสมอคอน อําเภอทาวุง จังหวัดลพบุรี ที่มีการ บริหารจัดการโดยกลุม เกษตรกร โดยการนํารองสาธิตการใชเทคนิคเครื่องจักรกล การเกษตรทดแทนการเผาในรู ป แบบวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ที่ มี ก ารให บ ริ ก าร เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนการเผา มีพื้นที่การใหบริการ 1,642.5 ไร เกษตรกรไดรบั บริการ 238 ราย

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๓๓

๓. โครงการติดตาม แนะนํา พัฒนาวิสาหกิจชุ มชนบริการเครื่องจักรกล การเกษตรในเขตปฏิรปู ทีด่ ิน เปนโครงการทีม่ กี ารดําเนินงานรวมกับสํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร โดยดําเนินการติดตาม เปนที่ปรึกษา และใหคําแนะนํา การใช การตรวจสอบ และการบํ ารุง รักษาเครื่ องจั กรกลเกษตรและอุ ปกรณ และการดํ าเนินการ วิสาหกิจชุมชนบริการเครือ่ งจักรกลการเกษตรในการพัฒนาการเตรียมดิน ใหกับ กลุม เกษตรกรเลีย้ งโคบานโคกสาร หมู 5 ตําบลซับพุทรา อําเภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ มีพนื้ ทีก่ ารใหบริการ 800 ไร ๔. โครงการสงเสริมการพัฒนาการเขตกรรม ดําเนินการจัดทําแปลงสาธิตและถายทอดความรูใหแกเกษตรกร เรื่องการ ระเบิดดินดานโดยใชเครื่องจักรกลการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาการ เขตกรรมในพื้นที่ปลูกพืชไร ตามขั้นตอน ดังนี้  ขั้นตอนที่ 1 ไถ ตัด สับ เศษซากพืชดวยพรวนชุด 20 จาน  ขั้นตอนที่ 2 ไถเพื่อทําลายชั้นดินดาน ดวยไถระเบิดดินดาน จํานวน 2 รอบ ลักษณะตาหมากรุก  ขั้นตอนที่ 3 ไถพลิกดินเพื่อกลบวัชพืชดวยไถหัวหมู  ขั้นตอนที่ 4 ไถพรวนยอยดินดวยพรวนชุด 20 จาน จํานวน 368 ไร ในอําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา และอําเภอลําสนธิ จังหวัดลพบุรี โดยไดรับ การสนับ สนุนงบประมาณจากองคการบริ หารสวน ตําบลของพื้นที่ดําเนินการ ๕. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จั ด นิ ท รรศการและให คํ า ปรึ ก ษาด า นเครื่ อ งจั ก รกลเกษตร และการ บํารุงรักษาเครื่องยนตเล็ก ในงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ จํานวน 4 ครั้ง ใน อําเภอทาวุง หนองมวง และอําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี อําเภอวังโปง จังหวัดเพชรบูรณ เกษตรกรเขารับบริการ 419 ราย

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๓๔

ผลการปฏิบัติงานป ๒๕๕๔ ศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๖ จังหวัดสุพรรณบุรี ๑. โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะดาน ดําเนินการฝกอบรมเกษตรกร จํานวน ๑๐๓ ราย ใน ๒ หลักสูตร  หลั ก สู ตร “การใช บํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งยนต เ กษตร” ในอํ า เภออู ท อง จังหวัดสุพรรณบุรี เกษตรกรเขารับการฝกอบรม ๘๓ ราย  หลักสูตร “ระบบการใหน้ําพืช” ในอําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี เกษตรกรเขารับการฝกอบรม ๒๐ ราย ๒. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดําเนินการจัดนิทรรศการ เรื่องการใชเทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลเกษตรในการ เพิ่มผลผลิต และการบริการซอมแซมเครือ่ งจักรกลเกษตร ในงานคลินิกเกษตร เคลื่ อ นที่ ใ นพระราชานุ เ คราะห สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร จํานวน ๔ ครั้ง ในอําเภอเดิมบางนางบวช เมือง บางปลามา และอําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี เกษตรกรเขารับบริการ ๘๕๐ ราย ๓. การกอสรางโครงสรางพื้นฐานศูนยสงเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๖ จังหวัด สุพรรณบุรี ดําเนินการจัดจางเพื่ อการกอ สร างโครงสร างพื้ นฐานจํ านวน ๔ รายการ วงเงิน ๒,๗๔๘,๘๐๐ บาท ตามรายการดังนี้  ระบบน้ําพรอมหอถังน้ําเหล็ก  เสาธงสูง พรอมปายชือ่ ศูนยฯ  ลานคอนกรีตหนา พืน้ ที่ ๑,๔๕๐ ตารางเมตร  ถนนคอนกรีต พรอมคูระบายน้ํา พื้นที่ ๑,๑๔๐ ตารางเมตร

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๓๕

๔. งานตามภารกิจอื่นๆ ๑. งานสนับสนุนเครื่องจักรกลเกษตร  ในการจัดทําแปลงสําหรับปลูกพืชตามโครงการของหนวยงานตางๆ ของกรมสงเสริมการเกษตร และเกษตรกรในพื้นที่  ในการชวยเหลื อ เกษตรกรที่ ป ระสบอุ ท กภัย ในอํ าเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี รวมกับสํานักเกษตรอําเภอดอนเจดีย ๒. งานถายทอดความรู  อบรมเรื่องการใชและบํารุงรักษาเครื่องยนตการเกษตร ใหผูตองขังที่ จะครบกําหนดปลอยตัว จํานวน ๓๐ ราย ณ เรือนจํากลางจังหวัดสุพรรณบุรี โดยการรวมดําเนินการกับสํานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี  อบรมเรื่องการนําเครื่องจักรกลเกษตรมาใชในการทําการเกษตร ให กํ านัน ผู ใหญ บ านและผู นําชุ ม ชน ตามโครงการส ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชี พ การเกษตรตามแนวเศรษฐกิ จ พอเพี ยง จํ านวน ๒๕๐ ราย ณ. ศูนยส ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชีพ การเกษตร จั ง หวั ด สุพรรณบุรี (พันธุพืชเพาะเลี้ยง)

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


๓๖

คณะกรรมการตางๆ

๑. คณะกรรมการจัดการไฟปาแหงชาติ

 ตามคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๒๖/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๒  มี รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ ม เปนประธาน  มีอธิบดีกรมสงเสริมเปนกรรมการ และมอบหมายให รองอธิบดีกรม ส ง เสริ ม การเกษตร ฝ า ยวิ ช าการ เป น ผู แ ทนสํ า รอง ๑ และ ผูอํานวยการกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร เปนผูแทนสํารอง ๒

๒. คณะกรรมการโครงการแผนปฏิบั ติ  ตามคําสั่ งกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ ๗๕/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ การแกไขปญหาหมอกควันและไฟปา  มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนประธาน  มีรองอธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร ฝายวิชาการ เปนกรรมการและ เลขานุ ก าร และผู อํ า นวยการกองส ง เสริ ม วิ ศ วกรรมเกษตร เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ ๓. คณะทํ า งานปรั บ ปรุ ง แผนแม บ ท  ตามคํ า สั่ ง สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม ที่ ๘๔/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ รองรั บ ก าร เ ปลี่ ย นแปล งส ภา พ ภู มิ อ ากาศด า นการปรั บ ตั ว เพื่ อ ลด  มี เ ลขาธิก ารสํ านัก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เปนประธาน ผลกระทบ (Adaptation)  มีผูอํานวยการกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร เปนผูแทนกรมสงเสริม การเกษตร ทําหนาที่คณะทํางาน ๔. คณะกรรมการพิจารณาการสนับสนุน  ตามคํ า สั่ ง กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ที่ (บ) ๑๑/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๔ ก า ร ล ง ทุ น ติ ด ตั้ ง ร ะ บ บ อ บ แ ห ง พลั ง งานแสงอาทิ ต ย โคร งกา ร  มี อ ธิ บ ดี ก รมพั ฒ นา พลั ง งาน ทดแทนแ ละอนุ รั ก ษ พ ลั ง งา น เปนประธาน สนั บ สนุ น การลงทุ น ติ ด ตั้ ง ใช ง าน ระบบอบแห ง พลั ง งานแสงอาทิ ต ย  มีผูอํานวยการกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร เปนผูแทนกรมสงเสริม การเกษตร ทําหนาที่คณะกรรมการ

รายงานประจําป ๒๕๕๔

www.aepd.doae.go.th


๓๗

งานสนับสนุนทางวิศวกรรม

ลั ก ษณะงานสนับ สนุนระบบงานทางเทคนิค และวิศวกรรมในการ กําหนดรายละเอียดควบคุมงาน ตรวจสอบ เพื่อ การก อสร างและซอ มแซม อาคารสิ่ ง ก อ สร า ง ระบบสาธารณูป โภค และสิ่ ง อํ า นวยความสะดวกขอ หนวยงานตางๆ ในกรมสงเสริมการเกษตร วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการสินทรัพยของกรมสงเสริมการเกษตร ใหมีประสิทธิภาพตามหลักวิศวกรรม ผลการดําเนินงาน  การปรับปรุงโครงหลังคาที่จอดรถอาคาร 1 กรมสงเสริมการเกษตร วงเงิ นประมาณ 1,572,832 บาท โดยสนับ สนุนการกําหนดรายละเอียด ควบคุมงานและตรวจการจาง  การปรั บ ปรุ ง หลั ง คาอาคารสํ า นั ก งานอาคาร 1 กรมส ง เสริ ม การเกษตร วงเงิ น 1,000,000 บาท โดยสนับ สนุนการควบคุม งานและ ตรวจการจาง  การติดตั้ง ระบบน้ําประปา บริเ วณอาคารปฏิบัติการสง เสริม และ พั ฒ นาเทคโนโลยีรั ง สี อํ าเภอธั ญ บุ รี จั ง หวัด ปทุ ม ธานี วงเงิ น......... โดย สนับสนุนการตรวจการจาง  การดูแลและบํารุง รักษาอาคารกรมสงเสริม การเกษตร วงเงิน..... โดยสนับสนุนการตรวจการจาง  การซอมแซมเครื่องฉายรังสี อาคารปฏิบัติปฏิบัติการสงเสริมและ พัฒนาเทคโนโลยีรังสี วงเงิน..... โดยการสนับสนุนการตรวจการจาง

กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.