เทคนิคการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

Page 1


คู่มือปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เทคนิคการใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร ISBN 978-974-403-960-6 พิมพ์ครั้งที่ 1 ปี 2556 จำ�นวน 10,000 เล่ม โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด


คำ�นำ� การท�ำงานส่งเสริมการเกษตร เป็นการท�ำงานที่มุ่งปรับปรุงคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ของเกษตรกร โดยเจ้าหน้าทีส่ ง่ เสริมการเกษตร เป็นผูน้ ำ� ความรูแ้ ละเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ถ่ายทอดสู่ เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย ปี 2556 กรมส่งเสริมการเกษตรได้จัดท�ำ “คู่มือปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร” เพือ่ เป็นองค์ความรูใ้ ห้เจ้าหน้าทีส่ ง่ เสริมการเกษตร ได้ใช้เป็นแนวทางการปฏิบตั งิ านส่งเสริมการเกษตร ในพืน้ ที่ โดยได้รวบรวมและเรียบเรียงเนือ้ หาตามหลักวิชาการทีถ่ กู ต้อง สามารถอ้างอิงได้ และถอดบทเรียน จากหลักปฏิบตั จิ ริง สามารถประยุกต์ใช้กบั งานส่งเสริมการเกษตรในแต่ละพืน้ ทีไ่ ด้ จ�ำนวน 24 รายการ แบ่งเป็นเนือ้ หา ด้านการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจ ด้านเคหกิจเกษตรและการเพิม่ มูลค่า สินค้าเกษตร และด้านเทคนิคการท�ำงานส่งเสริมการเกษตร คู่มือฯ เรื่อง “เทคนิคการใช้และบ�ำรุงรักษาเครื่องมือการเกษตร” เล่มนี้ ประกอบด้วย เนื้อหาที่มุ่งเน้นวิธีการใช้ และการบ�ำรุงรักษารถแทรกเตอร์ เครื่องยนต์การเกษตรอย่างถูกต้อง เพื่อให้เครื่องยนต์ทำ� งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีอายุการใช้งานทีย่ นื ยาว รวมถึงระบบการให้นำ�้ และเทคนิคการฉีดพ่นสารก�ำจัดศัตรูพชื การเลือกใช้เครือ่ งพ่น วิธกี ารฉีดพ่น การตรวจเช็คเครือ่ งพ่นสาร ตลอดจนการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นแก่ผู้สนใจ ซึ่งเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร สามารถน�ำไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกับลักษณะการท�ำงานตามบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ และหวังให้เกิดแนวคิด การพัฒนาทักษะในการท�ำงานส่งเสริมการเกษตรเพื่อประโยชน์ของเกษตรกรต่อไป กรมส่งเสริมการเกษตร ขอขอบคุณในความร่วมมืออย่างดียิ่งจากหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง ในการให้ข้อมูลและภาพประกอบส�ำหรับการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ และหากเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมการเกษตร มีขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม ขอได้โปรดแจ้งมายังกรมส่งเสริมการเกษตรให้ทราบด้วย ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงส�ำหรับการใช้งานครั้งต่อไป

(นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร) อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร สิงหาคม 2556



สารบัญ หน้า บทนำ� 1 ส่วนที่ 1 การใช้และบำ�รุงรักษาแทรกเตอร์ 3

ï ก่อนใช้รถแทรกเตอร์ ï การตรวจเช็คก่อนใช้งาน ï การใช้รถแทรกเตอร​​์ ï การตรวจเช็คขณะใช้งาน ï หลังใช้งานรถแทรกเตอร์ ï การเก็บรถไว้นาน ๆ ï การบำ�รุงรักษาแทรกเตอร์ ï ภาคผนวก

5 8 13 19 16 38 42 55

ส่วนที่ 2 การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องยนต์เกษตร 71

ï ï ï ï

ความหมายของเครื่องยนต์เกษตร 73 ระบบการทำ�งานที่สำ�คัญของเครื่องยนต์ 74 การใช้เครื่องยนต์เกษตรและข้อปฏิบัติ 76 ในการใช้เครื่องยนต์เกษตร การบำ�รุงรักษาเครื่องยนต์เกษตร 84


หน้า ส่วนที่ 3 ระบบการให้น�้ำและเทคนิคการพ่นสารเคมี 93

รบบการให้น้ำ� 94 ï นิยาม 94 ï ปริมาณการใช้น�ำ้ ของพืชต่อวันโดยประมาณเป็นรายภาค 95 ï ระบบการให้น้ำ�พืช 101 ï องค์ประกอบของระบบการให้น้ำ� 101 ï ระบบการให้น้ำ�ที่เหมาะสมกับพืชไร่ 107 ï ระบบการให้น้ำ�ที่เหมาะสมกับพืชผัก 105 ï ระบบการให้น้ำ�ที่เหมาะสมกับไม้ผล 107 ï หัวปล่อยน้ำ� 108 ï ท่อ 113 ï เครื่องกรองน้ำ� 115 ï เครื่องสูบน้ำ� 118 ï อุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบการให้น้ำ� 120 ï เทคนิคการติดตั้งและใช้งานระบบให้น้ำ� 123 ï การปฏิบัติงานและดูแลรักษาระบบ 131 เทคนิคการพ่นสารเคมี 133 ï เครื่องพ่นสารเคมี 133 ï การเลือกใช้ และตรวจเช็คเครื่องพ่นสาร 137 ï เป้าหมายในการพ่นสาร 141 ï ความปลอดภัยในการใช้เครื่องพ่นสารเคมี 142


บทนำ� ปัจจุบนั มีการใช้เครือ่ งยนต์การเกษตร ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นจ�ำนวนมาก แต่เกษตรกรผูใ้ ช้เครือ่ งยนต์เกษตรส่วนใหญ่ ยังใช้เครือ่ งยนต์ไม่ถกู วิธแี ละหรือขาดการบ�ำรุงรักษาทีถ่ กู ต้อง ท�ำให้เครือ่ งยนต์ชำ� รุดเสียหายเร็วกว่าปกติทคี่ วรจะเป็นมาก ตลอดจนความถีใ่ นการเกิดความเสียหาย กับเครือ่ งยนต์มมี าก เนือ่ งจากเมือ่ เครือ่ งยนต์เกิดความเสียหายถูกน�ำไปซ่อมแซม เมือ่ ซ่อมแซมเสร็จ น�ำกลับมาใช้ และวิธีการใช้ยังเป็นแบบเดิม ไม่ได้มีการบ�ำรุงรักษาอย่างถูกต้อง เครื่องยนต์ก็จะ เกิดความเสียหายอีก ท�ำให้ผใู้ ช้เสียทัง้ ค่าใช้จา่ ยและเวลาเช่นนีเ้ รือ่ ยไป แต่หากมีการใช้และการบ�ำรุงรักษา ที่ถูกต้อง ก็จะท�ำให้เครื่องยนต์ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีอายุการใช้งานที่ยืนยาว นอกจากนี้ การวางระบบการให้น�้ำแก่พืชแต่ละชนิดนับว่าเป็นสิ่งส�ำคัญและนักส่งเสริม การเกษตรจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีความรูร้ อบเพือ่ ให้คำ� แนะน�ำแก่เกษตรกรได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการระบาด ของศัตรูพชื ทีม่ กั ท�ำความเสียหายให้แก่ผลผลิตของเกษตรกร ท�ำให้เกษตรกรขาดรายได้ กรณีเกิดการระบาด อย่างรุนแรง อาจท�ำความเสียหายให้ตน้ พืชถึงขัน้ ยืนต้นตายได้ ซึง่ เป็นผลเสียต่อเกษตรกรเป็นอย่างมาก สิ่งที่เกษตรกรสามารถป้องกันและก�ำจัดการระบาดของศัตรูพืชได้ คือ การใช้สารเคมี สารชีวภาพ และการใช้แมลง ตัวห�ำ ้ ตัวเบียน ในการควบคุมศัตรูพชื การใช้สารเคมี และสารชีวภาพให้มปี ระสิทธิภาพ จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงการกระจายละอองสารให้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายได้มากที่สุด โดยเฉพาะ การใช้เครื่องพ่นสาร หัวฉีด เทคนิคการพ่นสาร จ�ำเป็นต้องเข้าใจในรายละเอียด วิธีการเลือกใช้ การฉีด ระยะเวลาและปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่ง ผลกระทบต่อการฉีดพ่น โดยเอกสารฉบับนีไ้ ด้มงุ่ เน้นวิธกี ารใช้เครือ่ งยนต์ และการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งยนต์อย่างถูกต้อง หากผูใ้ ช้ได้ศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามจะเป็นผลดีตอ่ ผูใ้ ช้เครือ่ งยนต์โดยตรง รวมทัง้ ยังได้รวบรวมวิธกี ารใช้ และการปฏิบตั งิ านฉีดพ่นสารก�ำจัดศัตรูพชื การเลือกใช้เครือ่ งพ่น วิธกี ารฉีดพ่น เป้าหมาย การตรวจเช็ค เครือ่ งพ่นสาร ตลอดจนการแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้น เพือ่ เป็นข้อมูลให้แก่นกั ส่งเสริมการเกษตร ได้ศกึ ษา และใช้เป็นข้อแนะน�ำ ในการส่งเสริมการเกษตรต่อไป

สิงหาคม 2556 คณะผู้เรียบเรียง



การใช้และบ�ำรุงรักษา รถแทรกเตอร์

นายณรงค์ ปัญญา


การใช้และบ�ำรุงรักษา รถแทรกเตอร์

4

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ปัจจุบันรถแทรกเตอร์มีใช้กันอย่างแพร่หลายมากในภาคเกษตรกรรม เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้ รถแทรกเตอร์หรือผู้ประกอบการที่มีรถแทรกเตอร์รับจ้างในการท�ำการเกษตร มีการใช้งานได้ เต็มประสิทธิภาพ และมีสภาพพร้อมใช้งานได้ดแี ละมีประสิทธิภาพตลอดเวลา รถแทรกเตอร์ไม่ชำ� รุด เสียหายก่อนเวลาอันควร เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม คุ้มค่ากับการลงทุน เกษตรกรจะ ต้องมีการปฏิบัติก่อนการใช้ ขณะใช้งาน และหลังการใช้งานให้ถูกต้อง โดยมีรายละเอียดดังนี้

ก่อนใช้รถแทรกเตอร์

- ท�ำความรู้จักกับอุปกรณ์และข้อจ�ำกัดต่าง ๆ

- ปฎิบัติตามข้อความ ค�ำเตือน ที่สติกเกอร์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

5


6

- อย่าขับรถแทรกเตอร์เมื่อเมาหรือง่วง

- เข้าใกล้รถแทรกเตอร์ต้องแต่งตัวรัดกุม

- อย่าให้ผู้ที่ขับรถไม่เป็นขับแต่ผู้เดียว ต้องฝึกฝนให้ขับเป็นและมีความช�ำนาญเสียก่อน

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


- ตรวจเช็คความสึกหรอของเบรก คลัทช์ และอื่นๆ

- หมัน่ ท�ำความสะอาด เศษผง, หญ้า, จารบี, คราบน�ำ้ มัน และเวลาเติมน�ำ้ มันห้ามสูบบุหรี่ โดยเด็ดขาด (อาจลุกเป็นไฟได้)

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

7


การตรวจเช็คก่อนใช้งาน

การตรวจเช็คประจ�ำวัน ➣ ตรวจวัดระดับน�้ำมันเครื่องให้ได้ระดับ (ขีดบน) และตรวจการรั่วซึมของน�้ำมันเครื่อง

ขีดบน ขีดล่าง

➣ ตรวจวัดระดับน�้ำมันเกียร์ น�้ำมันไฮดรอลิกส์ ให้ได้ระดับ

จุด ดูระดับ น�้ำมัน

8

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ตรวจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง หากพร่องให้เติม

➣ ตรวจวัดระดับน�้ำระบายความร้อน

➣ ท�ำความสะอาดตะแกรงหน้าหม้อน�้ำ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

9


➣ ตรวจเช็คท�ำความสะอาดไส้กรองอากาศ (ตัวนอก)

➣ ตรวจเช็คตัวดักฝุน่ ทีก่ รองอากาศในถ้วยพลาสติกตัวบนและหมัน่ ท�ำความสะอาดทุกวัน และบีบท่อยางดักฝุ่นเพื่อเปิดช่องให้ฝุ่นทิ้งออกไป

ท่อยาง ดักฝุ่น

➣ ตรวจระยะฟรีคันเหยียบเบรกและคลัชท์โดยมีระยะฟรี 15 - 20 มม.

ระยะฟรี 15 - 20 มม.

10

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ตรวจการท�ำงานของเกจวัด และไฟเตือนต่างๆ บนหน้าปัด

➣ ตรวจแรงดันลมยาง และสภาพยาง

ลมยางที่แข็งเกินไป (ยางสึกกลางหน้ายาง) • การยึดเกาะถนนไม่ดี เนื่องจากหน้ายางสัมผัสกับ พื้นดินน้อย • การขับขี่ไม่สบายเนื่องจากความสั่นสะเทือนสูง • ยางช�ำรุดเสียหายได้งา่ ยหากเกิดการกระแทกแรง ๆ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

11


ลมยางต�่ำเกินไป (ยางสึกที่ขอบยาง) • ยางจะร้อนเนื่องจากโครงยางยืดหยุ่นตัว มากเกินไป อาจท�ำให้ยางร่อนได้ • ความสามารถในการรับน�ำ้ หนักลากจูงลดลง

ลมยางถูกต้อง • การยึดเกาะถนนและการลอยตัวดี • ยางไม่ยืดหยุ่นตัวมากหรือน้อยเกินไป จึงท�ำให้ยางไม่ร่อนและไม่เสียหาย ถ้าเกิด การกระแทกแรง ๆ

➣ ตรวจไฟส่องสว่าง ไฟเลี้ยว ไฟเบรก

12

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การใช้รถแทรกเตอร์

การสตาร์ทเครื่องยนต์ 1. ล็อกเบรก เข้าด้วยกันและดึงเบรกมือ

ล็อคเบรก

ดึงเบรกมือ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

13


2. ผลักคันเกียร์ให้อยู่ต�ำแหน่ง เกียร์ว่าง (N)

3. ผลักคันเกียร์ พีทีโอ ให้อยู่ต�ำแหน่ง ไม่ท�ำงาน 1 คันเกียร์ พีทีโอ

14

4. วางคันควบคุมต�ำแหน่ง (คันยกอุปกรณ์ 1) ลงต�่ำสุดทิศทาง A

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

1 คันยกอุปกรณ์ A ต�ำแหน่งวางอุปกรณ์


5. ผลักคันเร่งมือต�ำแหน่ง กึ่งกลาง

1 คันเร่งมือ 2 คันเร่งเท้า

6. บิดกุญแจสตาร์ทต�ำแหน่ง เปิด

7. บิดกุญแจไปต�ำแหน่งสตาร์ท แล้วปล่อยมือ เมื่อเครื่องยนต์ติดแล้ว

หมายเหตุ ➣ พีทีโออยู่ต�ำแหน่ง ไม่ท�ำงาน ➣ เหยียบคลัทช์ลงสุด ➣ ไม่ควรสตาร์ทเครื่องค้าง นานเกิน 10 วินาที

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

15


การอุ่นเครื่องยนต์ ควรอุน่ เครือ่ งยนต์ทงิ้ ไว้ประมาณ 5 นาทีกอ่ นน�ำไปใช้งานทุกครัง้ เพือ่ ให้นำ�้ มันเครือ่ งหล่อลืน่ ชิน้ ส่วนทีห่ มุนอย่างเพียงพอและชิน้ ส่วนต่างๆ ของเครือ่ งยนต์มอี ณ ุ หภูมทิ เี่ หมาะสมในการท�ำงาน เป็นผลท�ำให้การสึกหรอน้อยเป็นการยืดอายุการใช้งานของเครื่องยนต์นานขึ้น

ขณะท�ำงาน ➣ ห้ามผู้โดยสารขึ้นบนรถแทรกเตอร์

16

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ อย่าขึ้น - ลงแทรกเตอร์ในขณะรถแทรกเตอร์ยังวิ่งอยู่

➣ เมื่อลากจูงเทรลเลอร์หรือรถอื่นพยายามอย่าเบรกแรง ๆ

➣ เมือ่ ท�ำการลากจูงรถหรือเทรลเลอร์ทมี่ นี ำ�้ หนักเท่ากับรถแทรกเตอร์คนั ทีล่ าก รถคันทีถ่ กู ลากควรจะมีเบรกด้วย

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

17


➣ ลากอุปกรณ์ที่คานลากเท่านั้น

คานลาก

18

➣ เมือ่ ขับแทรกเตอร์ขนึ้ หรือลงเขาให้ใช้เกียร์เดียวกันตลอด ห้ามปลดเกียร์วา่ งวิง่ โดยเด็ดขาด

➣ อย่าขับรถแทรกเตอร์เดินหน้าขึ้นที่สูงชัน ควรถอยหลังข่ึ้น

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ จงใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษในขณะท�ำงานบนเขาหรือที่ลาดชัน

การตรวจเช็คขณะใช้งาน

➣ ไฟเตือนและเกจวัดบนหน้าปัด

1. ไฟเตือนแรงดันน�้ำมันเครื่องต�่ำ และไฟเตือนไฟชาร์ท ถ้าไฟติดให้หยุดการท�ำงาน และตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้อง 2. เกจวัดอุณหภูมนิ ำ�้ ระบายความร้อน ถ้าความร้อนสูงเกิน ให้หยุดการท�ำงาน และตรวจสอบ แก้ไขให้ถูกต้อง 3. เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง   เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

19


➣ ความเร็วรอบเครื่องยนต์ / มิเตอร์ชั่วโมงการท�ำงาน

1. ความเร็วรอบเครื่องยนต์ 2. ชั่วโมงการท�ำงานแทรกเตอร์ A. เพลา พีทีโอ หมุน 540 รอบต่อนาที

เทคนิคการใช้งานล็อกกันฟรี 1 คันเหยียบ ล็อกกันฟรี A ล็อก B ว่าง

20

➣ ห้ามใช้ขณะวิ่งด้วยความเร็ว ➣ ทุกครั้งที่เลี้ยวให้ปลดล็อกกันล้อฟรี ถ้าไม่ปลดจะฝืนในการเลี้ยว ➣ ถ้าไม่สามารถปลดได้ ให้เหยียบเบรกลงสลับไปมาหลาย ๆ ครั้ง เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การใช้งานขณะอยู่บนพื้นลาดเอียง ➣ ควรหลีกเลีย่ งการเหยียบคลัทช์หรือเปลีย่ นเกียร์หรือปลดเกียร์วา่ งระหว่างการขับลง - ขึน้ ทางชัน

➣ ให้หลีกเลี่ยงการท�ำงานบนพื้นลาดเอียงมาก ๆ หรือพื้นที่บริเวณคูน�้ำ หนองน�้ำ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

21


22

➣ ให้หลีกเลีย่ งการท�ำงานบนทางสูงชันเมือ่ ต้องขับขึน้ พืน้ ทีส่ งู ชัน ต้องขับแทรกเตอร์ถอยหลังขึน้

➣ ควรขับรถแทรกเตอร์ช้า ๆ ในขณะอยู่บนลาดเอียง สูงขึ้น หรือขรุขระ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การขับรถแทรกเตอร์บนถนน ➣ ต้องล็อกเบรกทัง้ สองข้างเข้าด้วยกันเพือ่ ป้องกันการพลิกคว�ำ่ จากการเบรกแบบกะทันหัน A การล็อก 1 เบรกซ้าย 2 เบรกขวา 3 แผ่นล็อก

➣ ลดความเร็วก่อนเลี้ยวทุกครั้งเพื่อป้องกันการพลิกคว�่ำ

➣ ติดแผ่นป้ายสะท้อนแสงหรือแสดงสัญญาณแทรกเตอร์วิ่งช้าหรือไฟฉุกเฉินเพื่อป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุจากการเฉี่ยวชน

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

23


➣ เปิดไฟหน้าโดยใช้ไฟต�ำ่ เพือ่ ป้องกันแสงไฟพุง่ เข้าตารถคันทีว่ งิ่ สวนมาไม่สามารถมองเห็นทาง ท�ำให้เกิดอุบัติเหตุจากการเฉี่ยวชนได้

➣ขับรถแทรกเตอร์ด้วยความเร็วที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการเฉี่ยวชน และพลิกคว�่ำ

➣ อย่าเหยียบล็อกกันฟรีขณะขับบนถนนเพือ่ ป้องกันการบังคับเลีย้ วทีย่ ากท�ำให้เกิดอุบตั เิ หตุ จากการเฉี่ยวชน

24

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ อย่าเลีย้ วแทรกเตอร์กะทันหันเพือ่ ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุจากการพลิกคว�ำ่

➣ อย่าใช้รถแทรกเตอร์ขับเคลื่อน 4 ล้อ ให้ปลดเป็นการขับเคลื่อน 2 ล้อ บนถนนเพราะ จะไม่ท�ำให้ยางล้อหน้าสึกเร็ว

➣อย่ายกหรือวางอุปกรณ์ขณะวิ่งบนถนนให้ล็อกค้างในต�ำแหน่งยก 1 คันควบคุมต�ำแหน่ง 2 ล็อก A แผ่นล็อก B ปลดล็อก

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

25


การใช้เพลา พีทีโอ ➣ เพื่อใช้ต่อการส่งก�ำลังกับอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยสามารถควบคุมการหมุนของเพลา ด้วยคันคลัทช์พีทีโอ. และคันเกียร์พีทีโอ ข้อควรระวัง ➣ การปล่อยคันคลัทช์ พีทีโอ ควรท�ำอย่างช้า ๆ มิฉะนั้นจะท�ำให้ชิ้นส่วนของรถ หรืออุปกรณ์เสียหายได้ ➣ อย่าปล่อยให้คนั คลัทช์ พีทโี อ อยูใ่ นต�ำแหน่ง “จาก” ไว้นาน ๆ ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนต์ตดิ อยู่ ควรเก็บในต�ำแหน่ง “จับ” ไว้เสมอเมื่อเลิกใช้เพลา พีทีโอ

26

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ก่อนปรับตั้งหรือซ่อมเพลา พีทีโอ ต้องให้ทุกส่วนของแทรกเตอร์หยุดสนิทก่อน

➣ สวมปลอกเพลา พีทีโอ เมื่อเลิกใช้งาน เพื่อป้องกันฝุ่น

➣ อ่านคู่มือของอุปกรณ์ก่อนจะติดตั้งอุปกรณ์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

27


➣ เมื่อใช้ พีทีโอ อยู่กับที่ล็อกเบรกและหนุนล้อหลังด้วยขอนไม้

➣ การเปลี่ยนความเร็วรอบ ต้องหยุดแทรกเตอร์ และให้เพลา พีทีโอหยุดหมุนก่อน

➣ พีทีโอมีความเร็วรอบให้เลือกใช้เหมาะสมกับงาน คือ - เกียร์ช้า 540 รอบต่อนาที - เกียร์ปานกลาง 750 รอบต่อนาที - เกียร์เร็ว 1,000 รอบต่อนาที

28

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การใช้จุดพ่วงอุปกรณ์ 3 จุด และคานลาก

1. แขนกลาง 2. ก้านต่อแขนยก (ด้านซ้าย) 3. ตัวปรับโซ่ข้าง 4. โซ่ข้าง

5. แขนพ่วงตัวล่าง 6. สายยึดแขนพ่วงตัวล่าง 7. ก้านต่อแขนยก (ด้านขวา) 8. คานลาก เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

29


➣ จุดพ่วง 3 จุด จะใช้ร่วมกับอุปกรณ์ที่ออกแบบมาส�ำหรับใช้งานโดยเฉพาะเท่านั้น

➣ ถ่วงน�้ำหนักด้านหน้าให้สมดุลกับอุปกรณ์

➣ แทรกเตอร์วิ่งบนถนนต้องล็อกความเร็ววางอุปกรณ์ในต�ำแหน่งล็อก (ปิด)

30

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ชุดต่อพ่วงอุปกรณ์ 3 จุด

รูยึดแขนกลาง

➣ ปรับตัง้ มุมของอุปกรณ์ให้ได้ตามต�ำแหน่งทีต่ อ้ งการ โดยการปรับแขนกลางเลือกปรับ แขนกลางให้มีความยาวเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ใช้และระยะเกลียวของปลายแขนกลางทั้งสองข้าง ควรจัดไว้ให้เท่า ๆ กัน เพือ่ สะดวกในการปรับตัง้ รวมถึงเลือกใช้รใู ห้เหมาะสมกับงานและอุปกรณ์ทใี่ ช้

ก้านต่อแขนยก (ด้านขวา)

➣ ระดับของการพ่วงอุปกรณ์ 3 จุด สามารถปรับได้โดยหมุนมือปรับแขนยกข้างขวา ให้ได้ความยาวตามที่ต้องการเพื่อให้รูยึดอุปกรณ์ต่อพ่วงตรงกันก่อนติดตั้งอุปกรณ์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

31


โซ่ข้าง

➣ ควรปรับให้โซ่ข้างตึงไว้เสมอ เพื่อควบคุมการแกว่งในแนวนอนและอุปกรณ์ที่ใช้งาน เหนือพื้นดิน

สายยึดแขนพ่วงตัวล่าง

สายยึดแขนพ่วง ➣ ควรยึดแขนพ่วงตัวล่างเสมอ เมือ่ งไม่ได้พว่ งอุปกรณ์ เพือ่ ป้องกันไม่ให้แขนพ่วงตัวล่าง กระแทกกับล้อแทรกเตอร์

การลากจูง

คานลากจุดที่ใช้ในการลากจูง

คานลาก ➣ ต้องใช้คานลากเพือ่ ใช้ในการลากจูงเท่านัน้ เพือ่ ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุการพลิกคว�ำ่

32

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การควบคุมแขนยกอุปกรณ์ ➣ แบบควบคุมต�ำแหน่ง (Position control) - คันควบคุมต�ำแหน่งจะควบคุมอุปกรณ์ตามต�ำแหน่งที่ต้องการ คือ “ยก” “วาง” (ตื้นหรือลึก) และ “ลอยตัว” โดยไม่เกี่ยวข้องกับคันควบคุมดราฟท์ (แรงฉุดลาก) - เมื่อต้องการใช้คันควบคุมต�ำแหน่งให้เก็บคันควบคุมดราฟท์ไว้ด้านล่างสุด คันควบคุมต�ำแหน่ง

คันควบคุมดราฟท์

คันควบคุมต�ำแหน่ง

คันควบคุมดราฟท์

➣ แบบควบคุมดราฟท์ (Draft control) หรือควบคุมแรงฉุดลาก หรือควบคุมอัตโนมัติ - คันควบคุมดราฟท์จะแบ่งการควบคุมได้เป็น 3 ช่วง คือ “ยก” “วาง” (ตืน้ หรือลึก) และ “ลอยตัว” - ในขณะที่คันควบคุมดราฟท์อยู่ในต�ำแหน่ง “วาง” จะควบคุมแรงฉุดลากที่มากระท�ำ กับอุปกรณ์สม�่ำเสมอตลอดเวลา - ในขณะที่คันควบคุมดราฟท์ถูกวางไว้ในช่วง “ลึก” จะมีแรงฉุดลากอุปกรณ์มากกว่า ในช่วง “ตื้น” เนื่องจากสัญญาณที่เกิดจากแรงต้านใต้ดินถูกส่งเข้าไปในระบบช้ากว่า ท�ำให้แขนยก อุปกรณ์ยกตัวเองได้ช้า ดังนั้นในช่วง “ลึก” อุปกรณ์ทีใช้จะถูกควบคุมน้อยกว่าในช่วง “ตื้น” - เมื่อต้องการใช้คันควบคุมดราฟท์ให้เก็บคันควบคุมต�ำแหน่งไว้ด้านล่างสุด

คันควบคุมต�ำแหน่ง

คันควบคุมดราฟท์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

33


➣ แบบควบคุมผสม (Mix control) - ในการควบคุมแรงฉุดลาก ในขณะทีแ่ รงต้านทีก่ ระท�ำกับอุปกรณ์ลดลงจะท�ำให้อปุ กรณ์ ลดต�่ำลงอย่างอัตโนมัติเพื่อสร้างแรงต้านขึ้น ซึ่งบางครั้งอุปกรณ์จะกินดินลึกมากเกินไป จึงต้อง ก�ำหนดต�ำแหน่งการท�ำงานของอุปกรณ์ โดยการใช้การควบคุมต�ำแหน่งเข้ามาช่วย เพื่อที่จะได้ เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน - เมื่อต้องการใช้การควบคุมผสมให้ตั้งคันควบคุมต�ำแหน่งลึกสุดของการท�ำงาน ที่ต้องการ แล้ววางคันควบคุมดราฟท์ลงไปตามต�ำแหน่งที่ต้องการไถ

คันควบคุมต�ำแหน่ง คันควบคุมดราฟท์ ➣ การใช้คันควบคุมต�ำแหน่งขณะเดินทาง

34

การควบคุมต�ำแหน่งขณะเดินทางล็อกคันควบคุม 1. คันควบคุมต�ำแหน่ง A. แผ่นล็อก 2. ล็อก B. ปลดล็อก เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣การควบคุมความเร็วการวางอุปกรณ์ - การตกลงของอุปกรณ์จะให้ชา้ หรือเร็วได้ โดยปรับทีป่ มุ่ ปรับอัตราการตกของอุปกรณ์ - อุปกรณ์ไม่ควรตกลงใช้เวลาน้อยกว่า 2 วินาที เพื่อป้องกันอุปกรณ์ช�ำรุดเสียหาย

1. วาล์วควบคุมความเร็วการวางอุปกรณ์ A. เร็ว

B. ช้า C. ล็อกป้องกันการตกของอุปกรณ์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

35


หลังใช้งานรถแทรกเตอร์

➣ วางอุปกรณ์ทั้งหมดลงและปลดเกียร์ต�ำแหน่งว่างทั้งหมด (N)

36

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ให้แทรกเตอร์หยุดสนิทก่อนลงจากแทรกเตอร์

➣ หากจอดบนพื้นลาดเอียงควรจอดขวางแนวลาดเอียง

➣ เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เต็มถัง เพื่อป้องกันการเกิดน�้ำในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

37


การเก็บรถไว้นาน ๆ

1) ตรวจขันน๊อตโบลท์ตามจุดต่าง ๆ

2) ทาจารบีหรือน�้ำมันเครื่องบริเวณที่อาจเป็นสนิมได้

38

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


3) ถ่ายเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องแล้วติดเครื่องไว้ประมาณ 5 นาที เพื่อหล่อลื่นจุดต่าง ๆ

4) ถ่ายเปลี่ยนน�้ำระบายความร้อนและเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เต็มถัง (ระวังจะล้นถัง)

5) วางอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงบนพื้น

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

39


6) เพื่อป้องกันคลัทช์เป็นสนิม ควรเก็บคลัทช์ไว้ต�ำแหน่ง “จาก” - ส�ำหรับคลัทช์ของเครื่องยนต์ เก็บคลัทช์ไว้โดยล็อคคันเหยียบคลัทช์ดังรูป - ส�ำหรับคลัทช์เพลาอ�ำนวยก�ำลัง เก็บคลัทช์ไว้โดยดึงคันคลัทช์เพลาอ�ำนวยก�ำลังขึน้ ในต�ำแหน่ง “จาก” เช่นกัน

40

7) จอดรถไว้ในโรงเก็บ ไม่ควรเก็บรถตากแดดตากฝนหรือบริเวณที่มีความชื้นสูง

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ข้อแนะน�ำ ➣ ดึงกุญแจสตาร์ทออกมา อย่าปล่อยค้างไว้ในต�ำแหน่ง “ON”

➣ ชาร์ทแบตเตอรี่ให้เต็ม ถอดแบตเตอรี่ออกหรือถอดขั้วลบออกจากแบตเตอรี่

➣ เมือ่ เครือ่ งยนต์เย็นแล้ว ควรครอบปลายท่อไอเสียไว้ เพือ่ ป้องกันสิง่ แปลกปลอมเข้าเครือ่ งยนต์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

41


การบ�ำรุงรักษาแทรกเตอร์ การบ�ำรุงรักษาทุก ๆ 50 ชั่วโมง ➣ เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและไส้กรองน�้ำมันเครื่อง (เมื่อใช้งานครั้งแรกครบ 50 ชั่วโมง จะต้องท�ำการเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องพร้อมไส้กรองน�้ำมันเครื่องและครั้งที่ 2, 3, 4 เป็นต้นไปจะมี อายุการเปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเครื่องแตกต่างกันไปจะเป็นเวลา 100, 200 หรือ 300 ชั่วโมง ดูตาราง การบ�ำรุงรักษาตามที่บริษัทผู้ผลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70)

42

ปลั๊กถ่ายน�้ำมันเครื่อง

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

เติมให้ได้ระดับ


การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและไส้กรองน�้ำมันเครื่อง 1) ดับเครื่องให้เรียบร้อย 2) ถอดปลั๊กถ่ายน�้ำมันเครื่องออก 3) เมื่อน�้ำมันเครื่องเก่าไหลออกหมดแล้ว ขันปลั๊กถ่ายเข้าไปให้แน่น 4) ใช้ประแจถอดไส้กรอง ถอดเอาไส้กรองน�้ำมันเครื่องออก 5) เอาน�้ำมันเครื่องทาบางๆ ที่แหวนยางไส้กรองลูกใหม่ 6) ใช้มือขันไส้กรองน�้ำมันเครื่องเข้าไปให้แน่น อย่าใช้ประแจขันไส้กรอง เพราะถ้าขันแน่น เกินไปแหวนยางอาจขาดได้ 7) ใช้น�้ำมันเครื่องเบอร์ 40 มาตรฐาน CF หรือสูงกว่า เติมให้ได้ระดับขีดบนของก้านวัด 8) จากนั้นติดเครื่องยนต์สักพักแล้วตรวจดูรอยรั่วซึมและวัดระดับน�ำ้ มันเครื่องอีกครั้ง ถ้า ต�่ำกว่าขีดที่ก�ำหนดควรเติมใหม่ให้พอดี ข้อแนะน�ำ - ควรถ่ายน�้ำมันเครื่องในขณะที่เครื่องยนต์ยังร้อนอยู่ - ไม่ควรใช้น�้ำมันเครื่องต่างชนิดหรือต่างยี่ห้อมาใช้ร่วมกัน ➣ เปลี่ยนกรองน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ 50 ชั่วโมงแรก (รถแทรกเตอร์ใหม่) หลังจากนั้น เปลี่ยนตามตารางการบ�ำรุงรักษาตามที่บริษัทผู้ผลิตก�ำหนด (ภาคผนวก หน้า 55 - 70) การเปลี่ยน กรองน�้ำมันเชื้อเพลิงทุกครั้งจ�ำเป็นต้องไล่อากาศในระบบของปั๊มเชื้อเพลิงด้วย

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

43


➣ รถใหม่เปลีย่ นไส้กรองไฮดรอลิกส์ที่ 50 ชัว่ โมงแรก หลังจากนัน้ ขึน้ อยูก่ บั บริษทั ผูผ้ ลิต โดยดูตารางการบ�ำรุงรักษาตามที่ผู้ผลิตก�ำหนด (ภาคผนวก หน้า 55 - 70)

44

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ อัดจารบีตามจุดต่าง ๆ

บูชสลักคอม้า

บูชสลักคานหน้า

เพลาคันเหยียบเบรกและคลัทช์

ข้อต่อแกนพวงมาลัย

ก้านต่อแขนยกขวา

ขั้วแบตเตอรี่

เพลาคันเกียร์ ช้า เร็ว ถอยหลัง

เพลาแขนยก

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

45


การบ�ำรุงรักษา ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษัทผู้ผลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70) ➣ เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องและไส้กรองน�้ำมันเครื่อง

เปลีย่ นไส้กรองน�ำ้ มันเครือ่ งน�ำ้ มันเครือ่ งโดยใช้ ไส้กรองที่ดี มีมาตรฐาน

1) ที่เติมน�้ำมันเครื่อง ใช้เบอร์ 40 และ มาตรฐาน CF หรือสูงกว่า 2) เหล็กวัดระดับน�้ำมันเครื่อง A ระดับ น�ำ้ มันเครือ่ งเติมให้ได้ระดับขีดบน เติมให้ได้ ระดับขีดบนของก้านวัด

➣ ท�ำความสะอาดไส้กรองอากาศ

1 ไส้กรองลูกใน 2 ไส้กรองลูกนอก 3 ฝาปิด 4 ลิ้นดักฝุ่น ท�ำความสะอาดกรองอากาศ (ลูกนอก) โดยการใช้ลมเป่า ความดันของลมไม่เกิน 30 - 35 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว

46

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ กรณีเป็นกรองเปียกต้องล้างท�ำความสะอาดบ่อยๆ ถ้าหากท�ำงานในบริเวณที่ มีฝุ่นละอองมาก โดยล้างด้วยน�้ำมันโซล่าและใช้น�้ำมันเครื่องยนต์เติมให้ได้ระดับที่ก�ำหนด (อ่างด้านล่าง) ของกรองอากาศ

➣ ท�ำความสะอาดไส้กรองน�้ำมันเชื้อเพลิงหรือเปิดน�้ำทิ้ง ถ้ามีน�้ำอยู่ในถ้วยแก้ว เพื่อป้องกันน�้ำเข้าไปในปั๊มเชื้อเพลิงหัวฉีดท�ำให้เสียหายได้ และเปลี่ยนเมื่อครบอายุการใช้งาน

1. ชุดกรองน�้ำมันเชื้อเพลิง

การแยกส่วนท�ำความสะอาด เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

47


➣ ปรับความตึงสายพานพัดลม หากตึงเกินไปจะท�ำให้ลกู ปืนพัดลมเสียหายได้และหาก หย่อนเกินไปสายพานจะลื่นท�ำให้สึกหรอเร็ว

ปรับความตึงสายพานพัดลมประมาณ 7 – 9 มม.

➣ ตรวจสภาพท่อน�้ำมันเชื้อเพลิง หากเห็นมีรอยรั่วซึมหรือช�ำรุด ให้ท�ำการแก้ไข หรือเปลี่ยนใหม่

➣ ปรับตัง้ ระยะฟรีคนั เหยียบคลัตช์ ระยะฟรี 20 – 30 มม. เพือ่ ให้หน้าคลัทช์สมั ผัสได้เต็มที่ ป้องกันการลื่นท�ำให้แผ่นคลัทช์ไหม้เสียหายได้

48

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ปรับตั้งระยะฟรีคันเหยียบเบรก ระยะฟรี 15 – 20 มม.เพื่อป้องกันการสึกหรอของ ผ้าเบรกและจานเบรกเสียหาย

➣ ตรวจเช็คสภาพแบตเตอรี่และเติมน�้ำกลั่นให้ได้ระดับขีดบน เพื่อป้องกันแบตเตอรี่ มีอายุเสื่อมเร็วกว่าก�ำหนด

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

49


การบ�ำรุงรักษา (ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษัทผู้ผลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70) ➣ เปลี่ยนไส้กรองและน�้ำมันไฮดรอลิกส์

ไส้กรองน�้ำมันไฮดรอลิกส์

เปลีย่ นไส้กรองน�ำ้ มันไฮดรอลิกส์โดยใช้ไส้กรองทีด่ ี มีมาตรฐานหากใช้ไส้กรองทีไ่ ม่มมี าตรฐาน จะท�ำให้เศษโลหะเข้าไปในระบบหล่อลืน่ ท�ำให้เกิดการสึกหรอ และต้องเสียค่าใช้จา่ ยสูงในการซ่อมแซม

50

ใช้น�้ำมันไฮดรอลิกส์ตามมาตรฐานที่ผู้ผลิตก�ำหนดให้ได้ระดับขีดบน ของก้านวัดหรือระดับแก้วใส (ตาแมว)

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ปรับตั้งระยะสอบล้อหน้า (โทอิน)

- คลายน็อตล็อก หมายเลข 1 แล้วหมุนปรับตั้งข้อต่อ หมายเลข 2 คันชักคันส่ง หมายเลข 3 จนได้ระยะ A – B = 5 มม. ตามต้องการ (ระยะกึ่งกลางล้อด้านหน้าน้อยกว่า ระยะกึง่ กลางล้อด้านหลัง ประมาณ 5 มม.) การปรับตัง้ ระยะสอบล้อหน้า (โทอิน) เพือ่ ให้การบังคับทิศทาง ให้รถวิ่งตรงไปข้างหน้าได้ง่ายและป้องกันการสึกหรอของยางเร็วกว่าก�ำหนด

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

51


➣ ตรวจสภาพท่อน�ำ้ และตรวจสภาพท่อน�ำ้ มันพวงมาลัยเพาเวอร์หากมีสภาพบวมหรือ แตกร้าวให้เปลี่ยนใหม่

สภาพท่อน�้ำอย่าให้บวมหรือมีรอยรั่ว ท่อน�้ำมันเพาเวอร์อย่าให้บวมหรือแตกร้าว

การบ�ำรุงรักษา (ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษทั ผูผ้ ลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70)   ➣ เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเกียร์คานล้อหน้า

1. ปลั๊กถ่าย

52

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

1. ปลั๊กวัดระดับ 2. ปลั๊กเติม


➣ อัดจารบีลูกปืนล้อหน้า

เปิดฝาครอบดุมล้อออก แล้วใส่จารบีเข้าไปในฝาครอบดุมล้อ (ขับเคลื่อน 2 ล้อ)

การบ�ำรุงรักษาทุก ๆ 600 ชัว่ โมง (ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษทั ผูผ้ ลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70)   ➣ ปรับความคล่องตัวคานล้อหน้า

คลายน็อตล็อกออกให้หลวม ขันโบลต์ปรับตั้งเข้าจนตึงมือ แล้วคลายออก 1/6 รอบ แล้วขันน็อตล็อกให้แน่น

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

53


การบ�ำรุงรักษาทุก ๆ 800 ชัว่ โมง (ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษทั ผูผ้ ลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70)   ➣ ปรับตั้งระยะห่างลิ้นของเครื่องยนต์

การบ�ำรุงรักษาทุก ๆ 1 ปี (ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษทั ผูผ้ ลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70)   ➣ เปลี่ยนไส้กรองอากาศ

การบ�ำรุงรักษาทุก ๆ 2 ปี (ดูตารางการบ�ำรุงรักษาของบริษัทผู้ผลิตก�ำหนดในภาคผนวก หน้า 55 - 70)   ➣ ล้างท�ำความสะอาดหม้อน�้ำ   ➣ เปลี่ยนถ่ายน�้ำระบายความร้อน   ➣ เปลี่ยนท่อน�้ำระบายความร้อน   ➣ เปลี่ยนท่อน�้ำมันเชื้อเพลิง   ➣ เปลี่ยนท่อน�้ำมันพวงมาลัย

* ใช้และดูแลรักษาถูกวิธีนานปีจึงซ่อม * 54

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ภาคผนวก


ตารางการบำ�รุงรักษา KUBOTA


ตารางการบำ�รุงรักษา KUBOTA


ตารางการบำ�รุงรักษา YANMAR

EF393T :

50

100

150

200

250

300

: 350

400

450

/

/ )

(

)

(

2 2 2

,

(

50

)

2

1 2

:

/

:

500

550

600


ตารางการบำ�รุงรักษา YANMAR :

: 50

100

150

EF494T

:

/

200

250

: 300

350

400

450

500

/

/ (

)

(

) 2 2 ,

2

, (

)

50

1

2 2

550

600


ตารางการบ�ำรุงรักษา MASSEY FERGUSON 10 ชม. 50 ชม. 250 600 900 1,200 หรือ หรือ ชม. ชม. ชม. ชม. รายวัน ราย สัปดาห์ ต�ำแหน่ง ระบบเครื่องยนต์, น�้ำมันเชื้อเพลิง, หล่อเย็น 01 เครื่องยนต์ – ท�ำความสะอาด เมื่อจ�ำเป็น 02 เต็มน�้ำมันเชื้อเพลิงหลังการใช้งานทุกวัน X 03 ตรวจวัดระดับน�้ำมันหล่อลื่นและเติมให้ได้ X ระดับ ด้วยน�้ำมันตามที่แนะน�ำไว้ 04 ระบายน�้ำและสิ่งปนเปื้อนที่ตกตะกอน X อยู่ในกรองน�้ำมันเชื้อเพลิงออก 05 ตรวจสอบสายพานตัววี X 06 ตรวจสอบระดับน�ำ้ หล่อเย็น, หากมีระดับต�ำ่ X เติมให้ได้ระดับ 07 ท�ำความสะอาดภายในหม้อน�้ำและครีบ X ระบายความร้อน 08 น�ำเอาสิง่ ปนเปือ้ น/ฝุน่ ทีต่ กค้างอยูใ่ นกรอง X ของวาล์วอันโหลดเดอร์ออก 09 ตรวจสอบระบบกรองอากาศ : ขันยึดแคล้ม X ให้แน่น, ตรวจสภาพท่อทาง, ตัวบ่งชี้ การอุดตันต่างๆ, และส่วนประกอบของ เทอร์โบ เป็นต้น 10 ตรวจสอบปั๊มน�้ำ, อัลเตอเนเตอร์, สภาพ X และความตึงหย่อนของสายพาน 11 เปลี่ยนกรองน�้ำมันเครื่องยนต์ X 12 เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องยนต์ (เปลี่ยนครั้งแรก X ที่ 50 ชั่วโมงแรกของการใช้งาน) 13 เปลี่ยนไส้กรองน�้ำมันเชื้อเพลิง X 14 ปรับ/เปลี่ยนสายพานตัววี X 15 ตรวจสอบความตึงหย่อนของสายพาน X 16 ตรวจสอบระดับน�้ำยาในหม้อแบตเตอรี่ X การบ�ำรุงรักษาปกติ

60

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ตารางการบ�ำรุงรักษา MASSEY FERGUSON 10 ชม. 50 ชม. 250 600 900 1,200 หรือ หรือ ชม. ชม. ชม. ชม. รายวัน ราย สัปดาห์

การบ�ำรุงรักษาปกติ 17 18 19 20 21 22

23

24 25

ท�ำความสะอาดท่อหายใจของอ่างน�้ำมัน ตรวจสอบท่อทางระบบน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงและ ระบบหล่อเย็น, ขันยึดแคล้มให้แน่น ตรวจสอบการท�ำงานของเครื่องยนต์ : อุณหภูมิ, ความดัน, สมรรถนะการท�ำงาน ตรวจสภาพทั่วไป, การท�ำงานของปั๊มน�้ำ ท�ำความสะอาดถังน�ำ้ มันและเติมให้เต็มถัง

X X X X X

เปลี่ยนกรองอากาศแบบหยาบเมื่อมี เมื่อตัวบ่งชี้การอุดตันปรากฏบนหน้าปัด สัญญาณเตือนการอุดตัน หรือทุก ๆ 1,000 ชั่วโมง หรือรายปี หรืออย่างใด ถึงก่อน X เปลี่ยนกรองอากาศแบบละเอียดเมื่อมี การเปลี่ยนกรองแบบหยาบ 3 ครั้ง หรือ ทุก ๆ 1,000 ชั่วโมง หรือรายปี หรือ อย่างใดถึงก่อน X เปลี่ยนถ่ายน�้ำหล่อเย็น เมื่อเครื่องยนต์ เย็นตัวลงสู่อุณหภูมิปกติ ตรวจสอบมอเตอร์สตาร์ท ทุก ๆ 2,000 ชั่วโมง - ตัวแทนจ�ำหน่าย

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

61


ตารางการบ�ำรุงรักษา MASSEY FERGUSON การบ�ำรุงรักษาปกติ 26 27 28

10 ชม. 50 ชม. 250 500 750 1,000 หรือ หรือ ชม. ชม. ชม. ชม. รายวัน ราย สัปดาห์

ตรวจสอบเทอร์โบชาร์จเจอร์ ทุกๆ 2,000 ชม.- ตัวแทนจ�ำหน่าย ตรวจสอบปั๊มน�้ำ ทุกๆ 2,000 ชม.- ตัวแทนจ�ำหน่าย ตรวจสอบ/ปรับ/เปลี่ยนสายพาน ทุกๆ 3,000 ชม.- ตัวแทนจ�ำหน่าย อัลเตอเนเตอร์ 29 ตรวจสอบปั๊มและหัวฉีดน�้ำมันเชื้อเพลิง ทุกๆ 3,000 ชม.- ตัวแทนจ�ำหน่าย คลัทช์ 30 ตรวจสอบการท�ำงานของคลัทช์ X -รถแทรกเตอร์กับการเคลื่อนไหว 31 ตรวจสอบระยะฟรีของคันคลัทช์ X 32 ตรวจสอบและปรับแต่งคลัทช์ไลท์พีทีโอ X ต�ำแหน่ง ระบบส่งก�ำลัง, เพลาหลัง และระบบไฮดรอลิกส์ 33 ท�ำความสะอาดครีบระบายความร้อน เมื่อจ�ำเป็น 34 ท�ำความสะอาดรูระบายอากาศห้องเกียร์ X ดิฟเฟอเรนเชียลหลัง, ระบบน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง และระบบส่งก�ำลัง 35 ท�ำความสะอาดรูระบายอากาศเพลาหลัง X 36 ตรวจวัดระดับน�้ำมันระบบส่งก�ำลังและน�้ำ X มันไฮดรอลิกส์ 37 ตรวจวัดระดับน�้ำมันเพลาขับหลัง X 38 เปลี่ยนไส้กรองน�้ำมันไฮดรอลิกส์ไหลกลับ X 39 ตรวจสอบระยะคันเหยียบล็อคดิฟเฟอเรนเชียล X 40 ท�ำความสะอาดกรองอากาศด้านดูด X 41 เปลีย่ นถ่ายน�ำ้ มันไฮดรอลิกส์และน�ำ้ มันเกียร์ X 42 เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเพลาขับหลัง X 43 ท�ำความสะอาดตะแกรงกรองปั๊มน�้ำมัน X ไฮดรอลิกส์ การเชื่อมต่อ

62

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ตารางการบ�ำรุงรักษา MASSEY FERGUSON 10 ชม. 50 ชม. 250 500 750 1,000 หรือ หรือ ชม. ชม. ชม. ชม. รายวัน ราย สัปดาห์

การบ�ำรุงรักษาปกติ 44 45

46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58

ตรวจสอบการขันยึดน็อตระหว่างเครือ่ งยนต์ กับกล่องเกียร์, และกล่องเกียร์กบั เพลาหลัง ตรวจสอบและปรับแต่ง ก่อนการให้เพลา ขับหลังรับภาระ เบรก ไล่อากาศออกจากระบบเบรก ตรวจสอบการท�ำงานของระบบเบรก ตรวจสอบระยะฟรีของคันเหยียบเบรก ตรวจสอบการปรับเบรกขณะจอด ตรวจสอบเบรกและท�ำการปรับแต่งหากจ�ำเป็น ตรวจวัดระดับน�้ำมันเบรก, เติมให้ได้ระดับ หากมีระดับต�่ำกว่าเกณฑ์ เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเบรก ระบบหันเลี้ยวและเพลาหน้า ท�ำความสะอาดรูระบายอากาศ เกียร์ดิฟเฟอเรนเชียลหน้า อัดจารบีข้อต่อเพลาหน้าและเพลาขับ (การขับเคลื่อนล้อหน้า) อัดจารบีจุดหมุนการหันเลี้ยว ตรวจสอบระยะฟรีทดี่ มุ ล้อหน้า และจุดหมุน การหันเลี้ยว ตรวจสอบการท�ำงานของระบบหันเลี้ยว (ขณะเครื่องยนต์ท�ำงานและหยุดท�ำงาน) ตรวจสอบการหันเลี้ยวและการปรับระยะ โทอิน (รวมถึงความเสียหายและการสึกหรอ ของล้อยาง)

X X

เมื่อจ�ำเป็น X X X X X X X X X X X X

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

63


ตารางการบ�ำรุงรักษา MASSEY FERGUSON การบ�ำรุงรักษาปกติ 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68

ตรวจสอบระดับน�ำ้ มันในห้องเพลาขับหน้า และขับหลัง เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันห้องเฟืองเกียร์จักรวาล และเพลาขับ ตรวจสอบการปรับแต่งดุมล้อหน้า (การขับเคลื่อน 2 ล้อ) ตรวจสอบสภาพข้อต่อเพลาขับ ห้องผู้ขับขี่และเครื่องปรับอากาศ ท�ำความสะอาดคอยล์เย็น ท�ำความสะอาดกรองอากาศในห้องผู้ขับขี่ ท�ำความสะอาดคอนเดนเซอร์เครือ่ งปรับอากาศ ตรวจสอบสภาพและการท�ำงาน ของใบปัดน�้ำฝน ตรวจสอบสภาพและความตึงหย่อน ของสายพานคอมเพรสเซอร์ ตรวจสอบสภาพยางขอบประตู และหน้าต่าง, เปลี่ยนหากจ�ำเป็น

10 ชม. 50 ชม. 250 500 750 1,000 หรือ หรือ ชม. ชม. ชม. ชม. รายวัน ราย สัปดาห์ X X X X หากจ�ำเป็น หากจ�ำเป็น หากจ�ำเป็น X X X

69 70

เปลี่ยนกรองดรายเออร์เครื่องปรับอากาศ เปลี่ยนไส้กรองอากาศในห้องผู้ขับขี่ ต�ำแหน่ง ระบบไฟฟ้าและเครื่องวัดต่าง 71 ตรวจสอบสภาพหม้อแบตเตอรี่ 72 ปรับดวงไฟทัง้ หมดและตรวจสอบการท�ำงาน ให้ถูกต้อง 73 ตรวจสอบไฟบ่งชีท้ งั้ หมด, เสียงเตือนต่างๆ, และความถูกต้องในการท�ำงานของเครือ่ งวัดต่างๆ 74 ก่อนการท�ำงาน, ตรวจสอบสวิทซ์สตาร์ท ทั้งหมดอยู่ในต�ำแหน่งว่าง

64

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

X X X X X X


ตารางการบ�ำรุงรักษา MASSEY FERGUSON 10 ชม. 50 ชม. 250 500 750 1,000 หรือ หรือ ชม. ชม. ชม. ชม. รายวัน ราย สัปดาห์

การบ�ำรุงรักษาปกติ 75 76

77 78 79 80

81 82 83 84 85 86 87 88

เพื่อการให้การท�ำงานเป็นไปอย่างถูกต้อง ตรวจสอบระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด เพือ่ ให้การท�ำงานเป็นไปอย่างถูกต้อง, ตรวจ สอบอุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งหมด (เช่น : เครื่อง ท�ำความร้อน/ พัดลม/ วิทยุ/ ใบปัดน�้ำฝน เป็นต้น) ตรวจสอบสายไฟหม้อแบตเตอรี่ การขันยึด ขั้วไฟ และการยึดหม้อแบตเตอรี่, ใช้จารบี ทาเคลือบที่ขั้วแบตเตอรี่ ตรวจสอบการเชื่อมต่อสายไฟและสายดิน ของหม้อแบตเตอรี่ ตรวจสอบสภาพการเชื่อมต่อของสายไฟ ตรวจสอบการท�ำงานของมอเตอร์สตาร์ท และอัลเตอเนเตอร์ การบ�ำรุงรักษาทั่ว ๆ ไป เติมน�ำ้ ในถังพักน�ำ้ ส�ำหรับฉีดน�ำ้ ล้างกระจกหน้า เปิดสวิทซ์ควบคุมให้ระบบไฮดรอลิกส์ทำ� งาน เพื่อตรวจสอบการท�ำงานของระบบ สอบถามผูข้ บั ขีถ่ งึ ข้อสงสัยหรือปัญหาการใช้ งานต่าง ๆ รวมถึงการให้แนวทางแก้ไขปัญหา ตรวจสอบแผ่นป้องกันหรือฝาครอบต่าง ๆ แผ่นป้ายความปลอดภัยให้อยูใ่ นต�ำแหน่งทีถ่ กู ต้อง ท�ำความสะอาดและซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพดีเสมอ ใช้จารบีและน�ำ้ มันหล่อลืน่ ต่าง ๆ ตามทีร่ ะบุไว้ ในคู่มือเท่านั้น ตรวจสอบแรงดันลมยาง ตรวจสอบแรงบิดขันยึดน็อตตัวผูแ้ ละตัวเมีย ของล้อและกระทะล้อ ตรวจสอบแรงบิดทีใ่ ช้ขนั ยึดโครงป้องกันการพลิกตัว

X X

X X X X

หากจ�ำเป็น X X X X X X

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

X

65


ตารางการบ�ำรุงรักษา KIOTI อายุการ หมาย รหัสการ รายการ การดูแล ชั่วโมงการใช้งาน ใช้งาน เหตุ บ�ำรุงรักษา 10 50 100 200 400 600 1 ปี 2 ปี น�้ำมันเครื่องยนต์ เปลีย่ นถ่าย * 0 L ตรวจวัด * E กรองน�้ำมันเกียร์ เปลีย่ น * 0 M กรองน�้ำมัน HST เปลีย่ น * 0 น�้ำมันเกียร์ เปลีย่ นถ่าย 0 M ตรวจวัด * D น�้ำมันคานหน้า เปลีย่ นถ่าย 0 N ศูนย์กลางคานหน้า ปรับแต่ง 0 ระบบสตาร์ท ตรวจสอบ 0 การหล่อลื่นจารบี ใช้ 0 P แรงบิดน็อตล้อ ตรวจสอบ * 0 Q 0 *3 W สภาพหม้อแบตเตอรี่ ตรวจสอบ ตรวจสอบ 0 T ไส้กรองอากาศ 0 *1 ท�ำความ # T, AF สะอาด 0 0 *2 เปลี่ยน 0 # S ไส้กรอง เปลี่ยน

น�้ำมันเชื้อเพลิง สายพานพัดลม, สายพานแอร์ ระยะฟรีคันคลัทช์ ระยะฟรีคันเบรก

ปรับแต่ง ปรับแต่ง ท�ำความ สะอาด

ท่อทางหม้อน�้ำ และสายรัดท่อทาง ตรวจสอบ เปลี่ยน

66

0

ปรับแต่ง * *

*3

0 0

O R G

*

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

V, AB

0

Z 0


ตารางการบ�ำรุงรักษา KIOTI อายุการ หมาย รหัสการ รายการ การดูแล ชั่วโมงการใช้งาน ใช้งาน เหตุ บ�ำรุงรักษา 10 50 100 200 400 600 1 ปี 2 ปี 0 AA ท่อน�ำ้ มันไฮดรอลิกส์ ตรวจสอบ ระบบหันเลี้ยว เปลีย่ น 0 0 # U ท่อน�้ำมันเชื้อเพลิง ตรวจสอบ เปลีย่ น 0 ตรวจสอบ * 0 X ท่อยางไอดี เปลีย่ น 0 *3 ตรวจสอบ * 0 เพลาพีทีโอ

และสภาพฝาครอบ สภาพจุดต่อติด 3 จุด และคานลากจูง สลักยึดต่าง ๆ แรงดันลมยาง และสภาพยาง สภาพเบรกขณะจอด ระยะโทอิน

ตรวจสอบ

*

0

ตรวจสอบ ตรวจสอบ

* *

0 0

ตรวจสอบ

*

0

ปรับแต่ง

0

Y

สิ่งส�ำคัญ :

• * จะต้องท�ำให้แล้วเสร็จหลังจาก 10 หรือ 50 ชั่วโมงแรกของการใช้งาน • *1 ไส้กรองอากาศควรท�ำความสะอาดบ่อยครั้งในพื้นที่ที่มีฝุ่นละอองมากกว่าปกติ • *2 ท�ำความสะอาดทุกปีหรือเปลี่ยนเมื่อท�ำความสะอาดเป็นจ�ำนวน 6 ครั้ง • *3 เปลี่ยนหากจ�ำเป็น • รายการข้างต้น (เครื่องหมาย # ) เป็นชิ้นส่วนที่ได้ถูกจดทะเบียนว่ามีผลต่อสภาพแวดล้อม เจ้าของรถจะต้องรับผิดชอบหากการบ�ำรุงรักษารถของท่าน ท�ำให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อม

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

67


ตารางการบ�ำรุงรักษา KIOTI รายการ

อายุการ หมาย ชั่วโมงการใช้งาน ใช้งาน เหตุ 800 1,500 3,000 1 ปี 2 ปี 0

การดูแล 10

ระยะห่างของวาล์ว เครื่องยนต์ หัวฉีดและแรงดันหัวฉีด ปั๊มหัวฉีด ระบบหล่อเย็น

ปรับแต่ง

ตรวจสอบ ตรวจสอบ ท�ำความ สะอาด น�้ำหล่อเย็น ตรวจวัด เปลีย่ นถ่าย กรองอากาศ เปลี่ยน ระบบน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ตรวจสอบ ฟิวส์ เปลี่ยน หลอดไฟ

0 0

AJ

*

สิ่งส�ำคัญ :

AE

# #

0

เปลี่ยน

รหัสการ บ�ำรุงรักษา

AJ 0 0 *3 *3 *3

AI C AN, AQ, AP AQ

• * จะต้องท�ำให้แล้วเสร็จหลังจาก 10 หรือ 50 ชั่วโมงแรกของการใช้งาน • *1 ไส้กรองอากาศควรท�ำความสะอาดบ่อยครั้งในพื้นที่ที่มีฝุ่นละอองมากกว่าปกติ • *2 ท�ำความสะอาดทุกปีหรือเปลี่ยนเมื่อท�ำความสะอาดเป็นจ�ำนวน 6 ครั้ง • *3 เปลี่ยนหากจ�ำเป็น • รายการข้างต้น (เครือ่ งหมาย #) เป็นชิน้ ส่วนทีไ่ ด้ถกู จดทะเบียนว่ามีผลต่อสภาพแวดล้อม เจ้าของรถจะต้องรับผิดชอบหากการบ�ำรุงรักษารถของท่าน ท�ำให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อม

68

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


NEW มHOLLAND ขตารางการบ�ำรุ อมูลสําคัญในการบํงารัรุกงรัษา กษารถฟาร แทรกเตอรนิวฮอลแลนด รายการ

รุน

TC38

TC48

TT55

TT75

TD90

TD95

TD95C

5060

ความจุ น้ํามัน เครื่อง(ลิตร) ความจุ น้ํามัน เครื่องในกรองเครื่อง(ลิตร) ระยะเปลีย่ นน้ํามันเครื่องทุกๆ(ช.ม.) ระยะเปลีย่ นกรองน้ํามันเครื่องทุกๆ(ช.ม.)

6.5 7 7.5 10.7 10.5 10.5 10.5 8.9 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 300 300 300 300 300 300 300 600 300 300 300 300 300 300 300 600 AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOL HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 ชนิดของน้ํามันเครื่อง AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPE GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 ความจุ น้ํามัน เกียร/น้ํามันไฮดรอลิค(ลิตร) 30 43 29 29 46 46 46 60 ระยะเปลีย่ นน้ํามันเกียร/ไฮดรอลิค(ช.ม.) 600 600 1200 1200 1200 1200 1200 1200 ระยะเปลีย่ นกรองน้ํามันไฮดรอลิค(ช.ม.) 300 300 300 300 300 300 300 300 ความจุ น้ํามัน พวงมาลัยไฮดรอลิค(ลิตร) 2 2 2 2 2 ระยะเปลีย่ นน้ํามันพวงมาลัย (ช.ม.) 1200 1200 900 900 900 ระยะเปลีย่ นกรองน้ํามันพวงมาลัย (ช.ม.) 300 300 300 AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MUL ชนิดของน้ํามันไฮดรอลิค/น้ํามันพวงมาลัย G G G G G G G G 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 ความจุ น้ํามัน คานหนา(ลิตร) 5.5 8 5.5 5.5 7 7 7 7.5 AMBRA MUL AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA ชนิดของน้ํามันคานหนา/ดุม ลอหนา G HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 10W-30 ความจุ น้ํามัน ดุมลอหนา(ลิตร) 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.4 ระยะเปลีย่ นน้ํามันคานหนาและน้ํามัน ดุมลอ(ถามี)(ช.ม.) 600 600 1200 1200 1200 1200 1200 1200 ชนิดของน้ํามันเพลาหลัง ความจุ น้ํามัน เพลาหลัง/ขาง(ลิตร) ระยะเปลีย่ นถายน้ ํามันเพลาหลัง (ช.ม.) รุน รายการ ความจุ น้ําหลอเย็ น (ลิตร) ปริมาณสารหลอเย็ น(ลิตร) 1/2 ของความจุ น้ําหลอเย็ น ระยะเปลีย่ นน้ําหลอเย็ น(ช.ม.) ความจุ น้ํามัน เชือ้ เพลิง(ลิตร) ระยะเปลีย่ นกรองน้ํามันเชือ้ เพลิง(ช.ม.) ระยะเปลีย่ นกรองน้ํามันเชือ้ เพลิงตัวที่ 2 (ถามี)(ช.ม.) ระยะเปลีย่ นกรองดักน้ํา(ช.ม.) ความจุ น้ํามัน ในกรองเปยก(ลิตร) ระยะเปลีย่ นน้ํามันในกรองเปยก(ช.ม.) ระยะการเปลีย่ นกรองอากาศ(ช.ม.) ระยะการเปลีย่ นกรองอากาศตัวใน(ช.ม.) ระยะหางลิน้ ไอดี(ม.ม.) ระยะหางลิน้ ไอเสีย(ม.ม.) ปรับตัง้ ระยะหางลิน้ ไอดีและลิน้ ไอเสียทุกๆ(ช.ม.)

-

-

AMBRA HYPOIDE 90

AMBRA HYPOIDE 90

AMBRA HYPOIDE 90

AMBRA HYPOIDE 90

AMBRA HYPOIDE 90

-

TC38 5.4 2.7 600 32 300 300 0.25 0.25 600

TC48 6.1 3.05 600 36 300 300 0.25 0.25 600

9 TT55 1200 7 3.5 1200 62 300 600 1 50 900 2700 0.30 0.30 600

5.6 TT75 1200 13.4 6.7 1200 62 300 600 1 50 900 2700 0.30 0.30 600

5.3 TD90 1200 14 7 1200 92 300 600 2 50 1200 1200 0.45 0.45 900

5.3 TD95 1200 14 7 1200 92 300 600 2 50 1200 1200 0.45 0.45 900

5.3 TD95C 1200 16 8 1200 92 300 600 2 50 1200 1200 0.45 0.45 900

5060 14 7 1200 127 600 1200 0.30 0.55 1200

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

69


ด

T75

78

NEWมแทรกเตอร HOLLAND ขตารางการบ�ำรุ อมูลสําคัญในการบํงารุรังกรักษา ษารถฟาร นิวฮอลแลนด TD90

รายการ

TD95

รุน

TD95C

TC38 5060

TC48 6610

TT55 7610

TT75 6020

TD906050

TD95 6070

TD95C

130

5060

10.7 10.5 8.9 11.4 11.4 10 (4สูบ10.7 ) และ 15 (6สูบ1) 0 (4สู บ) และ 15 (6สูบ1)010.5 (4สูบ) และ 15 (6สู10.5 บ) ความจุ10.5 น้ํามัน เครื่อง(ลิตร) 10.5 6.5 7 7.5 10.5 8.9 ความจุ0.5น้ํามัน เครื่องในกรองเครื 0.5 0.5 0.5 0.50.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 ่อง(ลิตร) 0.5 0.5 0.5 300 300 ย่ นน้ํามันเครื่องทุ300 300 600 300 300 ระยะเปลี กๆ(ช.ม.) 300 300 300 300600 300 600 300 600 300 600 ระยะเปลี 300 300 300 300600 300 600 300 600 300 600 300 300 ย่ นกรองน้ํามันเครื 300่องทุกๆ(ช.ม.) 300 600 300 300 0 AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRAAMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA MBRA AMBRA AMBRA AMBRA MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLDMASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD ERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD MASTERGOLD HSP 15W-40 15W-40 HSP15W-40 15W-40 HSP HSP15W-40 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 HSP 15W-40 ชนิดของน้ํามันเครือ่ ง AMBRASUPER SUPER AMBRA AMBRASUPER SUPER AMBRA AMBRASUPER SUPERAMBRA AMBRA SUPER AMBRA SUPER SUPER AMBRAAMBRA SUPER SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER A SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA SUPER AMBRA GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLDGOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD GOLD OLD GOLD GOLD GOLD 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 20W-50 W-50 20W-50 20W-50 20W-50 29 46 ค(ลิตร) 46 60 62 ความจุ46น้ํามัน เกียร/น้าํ มันไฮดรอลิ 30 43 2962 2965 46 65 46 55.5 46 60 ระยะเปลี 600 600 1200 1200600 1200 600 1200 600 1200 1200 200 1200ย่ นน้ํามันเกียร/ไฮดรอลิ 1200 ค(ช.ม.) 1200 1200 1200 1200 ระยะเปลี 300 300 300 300600 300 600 300 600 300 300 300 300 ย่ นกรองน้ํามันไฮดรอลิ 300 ค(ช.ม.) 300 600 600 ความจุ2น้ํามัน พวงมาลัยไฮดรอลิ 2 2 2 2 2 2 2 ค(ลิตร) 2 2.12.1 ระยะเปลี -12001200900 900 900 200 900 ย่ นน้ํามันพวงมาลั 900ย (ช.ม.) 900 ระยะเปลี -300 300 300 300 ย่ นกรองน้ํามันพวงมาลั 300 ย (ช.ม.) 300 AMBRA MULTIA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA AMBRAMULTIMULTI- AMBRA AMBRAMULTIMULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTI- AMBRA MULTIAMBRA MULTIAMBRA MULTI-G AMBRA MULTI-G AMBRA MULTI-G G ชนิดของน้ G GG GG G G G ํามันไฮดรอลิค/น้Gํามันพวงมาลัย G G G G G 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 10W-30 ความจุ7น้ํามัน คานหนา(ลิตร)7 5.5 8 5.5 5.5 9 7 9 7 7 7.5 5.5 7 7.5 11 11 9 AMBRA MULTIAMBRA MULTIAMBRA AMBRA AMBRA MULTI-G AMBRA MULTI-GAMBRA AMBRA MULTI-G AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA MBRA AMBRA AMBRA AMBRA ชนิดของน้ํามันคานหนา/ดุม ลอหนา G G HYPOIDE 9090 HYPOIDE HYPOIDE9090 HYPOIDE 10W-30 10W-30 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 10W-30 90 HYPOIDE 90 OIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 10W-30 10W-30 791.4 ความจุ1.25 น้ํามัน ดุมลอหนา(ลิ1.25 ตร) 1.25 1.251.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.25 1.411 ระยะเปลี าและน้ํามัน ดุมลอ(ถ1200 ามี)(ช.ม.) 600 600 1200 1200600 1200 600 1200 600 1200 1200 200 1200ย่ นน้ํามันคานหน 1200 1200 1200 1200 AMBRA MULTI- AMBRA MULTIAMBRA AMBRA AMBRA AMBRA AMBRA MBRA AMBRA AMBRA AMBRA ชนิดของน้ํามันเพลาหลัง GG HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 OIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 HYPOIDE 90 10W-30 10W-30 ความจุ5.3น้ํามัน เพลาหลัง/ขาง(ลิ 9 5.6 5.3 5.3 5.3 5.6 5.3 ตร) 5.3 1.3 1.3 T75 TD90 TD95 TC38 5060 TC48 6610 TT55 7610 TT75 6020 TD90 TD95 TD95C 130 5060 ระยะเปลี ํามันเพลาหลั 1200 1200 1200 6050 1200 6070 1200 200 1200ย่ นถายน้ 1200 ง (ช.ม.) รุน TD95C 1200 1200 1200 รายการ 14 14 23 13.4 ความจุ14น้ําหลอเย็ น (ลิตร) 14 16 5.4 6.1 714 13.421 14 23 14 16 14 6.7 7 7 ของความจุ น้ําหล8อเย็ น 7 7 10.50 0 ปริมาณสารหล อเย็ น(ลิตร) 1/2 2.7 3.05 3.57 6.7 7 11.50 7 11.50 8 7 200 1200ย่ นน้ําหลอเย็ น(ช.ม.) 1200 1200 1200 1200 1200 1200 ระยะเปลี 600 600 1200 1200 1200 1200 1200 1200 1200 1200 62 92 127 80 ความจุ92น้ํามัน เชือ้ เพลิง(ลิตร)92 32 36 6280 62152 92 230 92 230 92 127 300 300 ย่ นกรองน้ํามันเชื300 300 600 600 600 ระยะเปลี อ้ เพลิง(ช.ม.) 300 300 300 300600 300 600 300 600 300 600 600 - ย่ นกรองน้ํามันเชือ้ -เพลิงตัวที่ 2 (ถามี)(ช.ม.) ระยะเปลี -600600 - 600 ย่ นกรองดักน้ํา(ช.ม.) 600 600 ระยะเปลี ---600 600 600 1 2 ตร) 2 2ความจุ2น้ํามัน ในกรองเปยก(ลิ 12 1 2 2 2 50 50 ย่ นน้ํามันในกรองเป 50 ยก(ช.ม.) 50 100 100 ระยะเปลี 50 50 50 50 50 900 1200 ย่ นกรองอากาศ(ช.ม.) 1200 1200 1200 600 600 ระยะการเปลี 300 300 900 900600 1200 600 1200 600 1200 1200 700 1200 ย่ นกรองอากาศตั 1200วใน(ช.ม.) 1200 1200 1200 1200 ระยะการเปลี 2700 2700 1200 1200 1200 1200 1200 0.30 0.45างลิน้ ไอดี(ม.ม.) 0.45 0.45 0.30 0.20-0.30 0.20-0.30 ระยะห 0.25 0.25 0.30 0.300.25 0.45 0.25 0.45 0.25 0.45 0.20-0.30 0.30 0.30 0.45างลิน้ ไอเสีย(ม.ม.)0.45 0.45 0.55 0.45-0.55 0.45-0.55 ระยะห 0.25 0.25 0.30 0.300.50 0.45 0.50 0.45 0.50 0.45 0.46-0.56 0.55 600 900 1200 ปรับตั900 ง้ ระยะหางลิน้ ไอดีแ900 ละลิน้ ไอเสียทุกๆ(ช.ม.) 600 600 600 600 900 900 900 1200

70

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

A MAS HS AMB

2

AMBR

1

A HY

AMBR

1

0. 0.


การใช้และบ�ำรุงรักษา เครื่องยนต์เกษตร

นายนเรสน์ รังสิมันตศิริ



การใช้และบ�ำรุงรักษา เครื่องยนต์เกษตร - ความหมายของเครื่องยนต์เกษตร - ระบบที่ส�ำคัญของเครื่องยนต์เกษตร - ระบบก�ำลังอัด - ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง - ระบบหล่อลื่น - ระบบระบายความร้อน - การใช้เครื่องยนต์เกษตรและข้อปฏิบัติในการใช้เครื่องยนต์เกษตร - ข้อปฏิบัติก่อนที่จะติดเครื่องยนต์ - ข้อปฏิบัติในขณะใช้งานเครื่องยนต์ - ข้อปฏิบัติหลังการใช้เครื่องยนต์ - การบ�ำรุงรักษาเครื่องยนต์เกษตร - การบ�ำรุงรักษาระบบก�ำลังอัด - การบ�ำรุงรักษาระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง - การบ�ำรุงรักษาระบบหล่อลื่น - การบ�ำรุงรักษาระบบระบายความร้อน - ตารางการบ�ำรุงรักษาเครื่องยนต์เกษตร และวิธีการบ�ำรุงรักษา ตามก�ำหนดเวลา - การเก็บเครื่องยนต์หลังฤดูเพาะปลูก หรือเก็บเป็นระยะเวลานาน - ผลเสียหายที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต์เกษตร หากขาดการบ�ำรุงรักษาที่ถูกต้อง เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

73


ความหมายของเครื่องยนต์เกษตร เครื่องยนต์เกษตร ความหมายในที่นี้หมายถึง เครื่องยนต์ต้นก�ำลังที่เป็นเครื่องยนต์ดีเซล ชนิด 4 จังหวะ (จังหวะดูดไอดี จังหวะอัดอากาศ จังหวะก�ำลัง และจังหวะคายไอเสีย) สูบนอน จุดระเบิดด้วยความร้อนภายในกระบอกสูบ ขนาดแรงม้าไม่เกิน 20 แรงม้า ซึ่งในประเทศไทย เกษตรกรรายย่อย ใช้เป็นเครือ่ งยนต์ตน้ ก�ำลัง ในการใช้เป็นเครือ่ งทุน่ แรงหรือใช้รว่ มกับเครือ่ งมืออืน่ ๆ ในการท�ำเกษตรกรรม

ระบบการท�ำงานที่ส�ำคัญของเครื่องยนต์เกษตร ระบบการท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ส�ำคัญ มีอยู่ 4 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบก�ำลังอัด ระบบนีเ้ ป็นระบบ ทีส่ ร้างก�ำลังอัดของเครือ่ งยนต์ โดยเครือ่ งยนต์ จะดูดอากาศผ่านทางท่อไอดีเข้าไปในเครือ่ งยนต์ เข้าไปอยูใ่ นกระบอกสูบ และลูกสูบก็จะอัดอากาศ เพือ่ สร้างก�ำลังอัดภายในกระบอกสูบ ซึ่งก�ำลัง อัดทีก่ ล่าวถึงนีจ้ ะต้องไม่รวั่ ไม่วา่ จะรัว่ ออกทาง ลิน้ (Valve) รัว่ ออกทางแหวนลงไปในอ่างน�ำ้ มัน เครือ่ ง ถ้ามีการรัว่ ไม่วา่ ทางใด จะท�ำให้กำ� ลังอัด ของเครื่องยนต์ไม่ดี ท�ำให้เครื่องยนต์ติดยาก หรือติดได้แต่ เครื่องยนต์ไม่มีก�ำลัง

74

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


2. ระบบน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ระบบนีเ้ ป็นระบบทีค่ วบคุมการฉีดน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเข้าไป ในกระบอกสูบ ของเครือ่ งยนต์ในขณะทีล่ กู สูบอัดอากาศภายในกระบอกสูบจนร้อนจัด ท�ำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง ในห้องเผาไหม้บนหัวลูกสูบและส่งก�ำลังทีไ่ ด้จากการเคลือ่ นทีข่ องลูกสูบ ไปยังเพลาข้อเหวีย่ ง ท�ำให้ เกิดการหมุนของเครื่องยนต์ จากนั้นจึงน�ำพลังงานที่เกิดจากการหมุนนั้นไปใช้งานต่อไป ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง ประกอบด้วย กรองน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ท�ำหน้าทีก่ รองน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงจากถังน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ให้มคี วามสะอาด ปราศจากผงฝุ่นละออง และสารแขวนลอยต่างๆ ก่อนที่น�้ำมันจะถูกส่งไปยังปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง ท�ำหน้าที่เพิ่มแรงดันน�้ำมันให้มีแรงดันสูงส่งไปที่หัวฉีด เพราะถ้าปั๊ม ไม่ท�ำแรงดันน�้ำมันให้สูงพอหัวฉีดจะไม่สามารถฉีดน�้ำมันให้เป็นฝอยละอองได้ หัวฉีด ท�ำหน้าทีร่ บั น�ำ้ มันทีม่ แี รงดันสูงจากปัม๊ น�ำ้ มันเชือ้ เพลิง และฉีดให้เป็นฝอยละออง เข้าไปในห้องเผาไหม้ภายในกระบอกสูบของเครื่องยนต์ ในอัตราที่เหมาะสม น�้ำมันเหลือจากการฉีดเข้าถัง

ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

หัวฉีด น�้ำมันแรงดันต�่ำ

กรองน�้ำมันเชื้อเพลิง

น�้ำมันแรงดันสูง ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง

แสดงระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนต์เกษตร 3. ระบบการหล่อลืน่ ระบบนีม้ คี วามส�ำคัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าระบบอืน่ ๆ ของเครือ่ งยนต์ ระบบก�ำลังอัดและระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง ท�ำให้เครื่องยนต์ติด แต่เมื่อเครื่องยนต์ติดแล้วหากขาด ระบบการหล่อลืน่ หรือระบบการหล่อลืน่ ขัดข้อง น�ำ้ มันหล่อลืน่ ไม่สามารถขึน้ ไปหล่อลืน่ ชิน้ ส่วนต่างๆ ของเครือ่ งยนต์ได้ ก็จะท�ำให้เครือ่ งยนต์รอ้ นจัดและเสียหายได้โดยเฉพาะแหวนลูกสูบ ลูกสูบ และเพลา ข้อเหวีย่ ง เพลาข้อเหวี่ยง แหวนลูกสูบ

ปั๊มน�้ำมันเครื่อง

กระบอกลูกสูบ ลิ้นเครื่องยนต์

ส่ัญญาณแสดงการท�ำงานของน�้ำมันเครื่อง ไส้กรองน�้ำมันเครื่อง

แสดงระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์เกษตร เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

75


4. ระบบระบายความร้อน เป็นระบบที่จะน�ำความร้อนออกจากเครื่องยนต์ไม่ให้สะสม อยู่ในเครื่องยนต์มากเกินไป เพราะในขณะที่เครื่องยนต์ท�ำงาน เครื่องยนต์จะเกิดความร้อนจัด จึงจ�ำเป็นที่จะต้องมีระบบระบายความร้อนออกจากเครื่องยนต์ ในเครื่องยนต์เกษตร จะใช้น�้ำ ระบายความร้อน โดยทัว่ ไปจะเป็นแบบอ่างน�ำ้ ในเครือ่ งยนต์รนุ่ เก่าๆ และแบบหม้อน�ำ้ รังผึง้ ส�ำหรับ ในเครือ่ งยนต์รนุ่ ใหม่ๆ ซึง่ ถ้าระบบระบายความร้อน ขัดข้องด้วยสาเหตุใดก็ตาม จะท�ำให้เครือ่ งยนต์ ร้อนจัดมาก ชิ้นส่วนต่างๆ สึกหรอเร็ว หรือเครื่องยนต์เกิดอาการน๊อคได้ ไอน�้ำ น�้ำ

แสดงระบบระบายความร้อนในเครื่องยนต์เกษตร

การใช้เครื่องยนต์เกษตรและข้อปฏิบัติในการใช้เครื่องยนต์เกษตร ในปัจจุบันเกษตรกรผู้ใช้เครื่องยนต์เกษตร เป็นต้นก�ำลังมีจ�ำนวนไม่น้อยที่ยังใช้เครื่องยนต์ อย่างไม่ถกู ต้อง ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งยนต์ทซี่ อื้ ใหม่ หรือซือ้ เครือ่ งยนต์เก่ามาใช้งาน ท�ำให้เครือ่ งยนต์ ช�ำรุดเสียเร็วกว่าปกติทค่ี วรจะเป็นมาก จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องรูจ้ กั วิธกี ารใช้เครือ่ งยนต์ให้ถกู ต้อง หากผูใ้ ช้เครือ่ งยนต์ รู้จักวิธีการใช้และปฏิบัติอย่างถูกต้องก็จะท�ำให้สามารถใช้เครื่องยนต์ได้อย่าง เต็มประสิทธิ์ภาพ และอายุการใช้งานของเครื่องยนต์จะยาวนานไม่ต้องซ่อมแซมบ่อยๆ ข้อปฏิบัติก่อนที่จะติดเครื่องยนต์ 1. ตรวจสอบระดับน�้ำมันหล่อลื่นในอ่างน�้ำมันหล่อลื่นให้อยู่ในระดับที่ก�ำหนด ถ้าขาดก็ให้ เติมจนได้ระดับ

76

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


2. ตรวจสอบน�ำ้ มันหล่อลืน่ ในหม้อกรองอากาศ ให้อยูใ่ นระดับทีก่ ำ� หนดถ้าขาด ก็ให้เติมจนได้ระดับ

3. ตรวจสอบระดับน�้ำในหม้อน�้ำ หากไม่เต็มก็ให้เติมด้วยน�้ำสะอาดจนเต็ม

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

77


4. ตรวจดูความตึงของสายพานพัดลม อย่าให้ตึงมากหรือหย่อนมากจนเกินไป (สายพาน พัดลมให้หย่อนได้ประมาณ 5 – 10 มิลลิเมตร) ถ้าไม่ได้ให้ปรับแต่งก่อนที่จะติดเครื่องยนต์

5. ยกวาล์ว และใช้มือหมุน หมุนเครื่องยนต์ 10 – 15 รอบ ก่อนที่จะติดเครื่องยนต์ เพื่อให้ ปั๊มน�้ำมันหล่อลื่น จ่ายน�้ำมันหล่อลื่นไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์ก่อน (ขณะที่หมุน เครื่องยนต์ให้คันเร่งอยู่ในต�ำแหน่งดับเครื่อง)

หมุนเครื่องยนต์ 10 – 15 รอบก่อนติดเครื่องยนต์

78

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


คันเร่งอยู่ในต�ำแหน่ง ดับเครื่อง

ข้อปฏิบัติในการติดเครื่องยนต์

หลังจากที่ได้ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติก่อนที่จะติดเครื่องยนต์ทุกขั้นตอนแล้ว ในการติดเครื่องยนต์ ผู้ใช้จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องด้วย โดยให้ปฏิบัติดังนี้ 1. ปรับคันเร่งไปที่ต�ำแหน่งติดเครื่อง

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

79


2. หมุนเครื่องยนต์ให้ตึงมือโดยมือหมุนอยู่ด้านล่าง

3. ยกคันวาล์วขึน้ หมุนเครือ่ งให้ได้รอบ และปล่อยคันยกวาล์วโดยหมุนต่อให้แรงขึน้ เครือ่ ง จะติดโดยง่าย

80

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


4. อุน่ เครือ่ งยนต์ โดยเดินเบาเครือ่ งยนต์ (ต�ำแหน่งเบาสุดแล้วเครือ่ งไม่ดบั ) ประมาณ 3-5 นาที

5. เมื่ออุ่นเครื่องยนต์ ตามก�ำหนดเวลาเสร็จแล้ว เร่งเครื่องยนต์ให้ได้รอบการใช้งาน ซึ่งสังเกตได้จากควันท่อไอเสีย จะต้องไม่เป็นสีด�ำแล้วจึงน�ำไปใช้งาน หากใช้งานโดยที่เครื่องยนต์ ไม่ได้รอบการใช้งานควันจะด�ำ และสิ้นเปลืองน�้ำมันเชื้อเพลิงมาก

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

81


ข้อปฏิบัติหลังการใช้เครื่องยนต์

1. เมื่อสิ้นสุดการใช้งานในแต่ละวัน ให้เดินเบาเครื่องยนต์ (ต�ำแหน่งเบาสุดแล้วเครื่องไม่ดับ) ประมาณ 3 – 5 นาที ก่อนที่จะดับเครื่องยนต์ โดยให้ผลักคนเร่งไปยังต�ำแหน่งดับเครื่อง เครื่องก็ จะดับ ห้ามใช้วิธียกวาล์วในการดับเครื่อง เพราะจะท�ำให้ชิ้นส่วนเกิดความเสียหายได้

82

ดับเครื่องยนต์โดยการผลักคันเร่งไปยังต�ำแหน่ง หยุดเครื่อง หรือดับเครื่อง

การยกวาล์วดับเครื่อง เป็นวิธีการที่ผิด

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


2. เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง (น�้ำมันดีเซล) ให้เต็มถังเพื่อป้องกันการเกิดน�้ำ และสนิมภายใน ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

3. หมุนเครื่องยนต์ให้อยู่ในต�ำแหน่ง จังหวะอัดสูงสุด เพื่อป้องกันปัญหา วาล์วติดค้าง และวาล์วเป็นสนิม ด้วยการหมุนเครือ่ งยนต์ไปตามทิศทางการหมุน (หมุนโดยไม่ยกวาล์ว) จนรูส้ กึ ตึงมือ แล้วหมุนต่อไปอีก จนกระทัง่ ตัวอักษร TD บนล้อช่วยแรง (มูเ่ ล่ย)์ ตรงกับลูกศรหรือจุดทีต่ ะแกรงพัดลม

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

83


การบ�ำรุงรักษาเครื่องยนต์เกษตร

นอกจากการใช้เครือ่ งยนต์ซงึ่ จะต้องใช้อย่างถูกวิธแี ล้ว การดูแลบ�ำรุงรักษาเครือ่ งยนต์ ก็จะต้องท�ำ อย่างถูกต้องควบคูก่ นั ไปด้วย จึงจะท�ำให้เครือ่ งยนต์มอี ายุการใช้งานทีย่ าวนาน ซึง่ การบ�ำรุงรักษานัน้ จะต้องท�ำให้ครอบคลุมทุกระบบของเครื่องยนต์ ไม่ท�ำเฉพาะระบบใดระบบหนึ่ง และต้องท�ำ อย่างสม�่ำเสมอตามที่ก�ำหนดดังนี้ 1. การบ�ำรุงรักษาระบบก�ำลังอัด การบ�ำรุงรักษาระบบก�ำลังอัดทั้งระบบ ท�ำได้ด้วยการ บ�ำรุงรักษาไส้กรองอากาศ และ หม้อกรองอากาศให้อยูใ่ นสภาพดี ซีลยางภายในหม้อกรองอากาศจะต้องไม่ฉกี ขาดช�ำรุด หากช�ำรุด จะต้องท�ำการเปลี่ยนใหม่ทันที โดยทุกๆ 100 ชั่วโมงการท�ำงาน ให้น�ำไส้กรองอากาศออกมาล้าง ท�ำความสะอาดด้วยน�้ำมันดีเซล พร้อมทั้งเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องใหม่ที่หม้อกรองอากาศด้วย โดยใช้น�้ำมันหล่อลื่นเบอร์ 40 ที่ใช้ส�ำหรับเครื่องยนต์ดีเซลเติมให้ได้ระดับที่ก�ำหนด ถ้าท�ำอย่างที่ กล่าวมาแล้วนี้ จะท�ำให้ระบบก�ำลังอัดของเครื่องยนต์ อันประกอบด้วย ลูกสูบ แหวนลูกสูบ ปลอกสูบ ลิน้ ไอดี ลิน้ ไอเสีย จะสึกหรอตามอายุการใช้งานปกติ หากละเลยไม่ปฏิบตั ิ ระบบก�ำลังอัด ทั้งระบบจะมีการสึกหรอ อย่างรวดเร็ว

84

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


2. การบ�ำรุงรักษาระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง การบ�ำรุงรักษาระบบน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงทัง้ ระบบ ท�ำได้ดว้ ยการดูแลรักษาชุดกรองน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง โดยทุก ๆ 100 ชั่วโมงการท�ำงานให้เปลี่ยนไส้กรองน�้ำมันเชื้อเพลิง และเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง ให้เต็มถังทุกครั้ง หลังเลิกการใช้งาน เพื่อป้องกันน�้ำเข้าไปในลูกปั๊มซึ่งจะท�ำให้เกิดสนิมที่ลูกปั๊ม อันเป็นสาเหตุหลักที่ท�ำให้ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิงเสียหายอย่างรวดเร็ว

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

85


3. การบ�ำรุงรักษาระบบหล่อลื่น ระบบหล่อลื่นเป็นระบบที่ส�ำคัญมากของเครื่องยนต์ เนื่องจากชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ทุกชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่มีการเสียดสีกันตลอดเวลา ท�ำให้เกิดความร้อนที่สูงมาก หากไม่มี การหล่อลืน่ หรือระบบหล่อลืน่ ไม่สมบูรณ์ จะท�ำให้เครือ่ งยนต์สกึ หรอเร็วมาก น�ำ้ มันหล่อลืน่ เป็นหัวใจ ของระบบนี้ การบ�ำรุงรักษาระบบหล่อลื่นท�ำได้โดยทุกๆ 100 ชั่วโมง การท�ำงาน ต้องเปลี่ยนถ่าย น�ำ้ มันหล่อลืน่ ทีอ่ า่ งน�ำ้ มันเครือ่ งออกทิง้ แล้วท�ำความสะอาดไส้กรองน�ำ้ มันหล่อลืน่ ด้วยน�ำ้ มันดีเซล ให้สะอาด จากนัน้ จึงใช้นำ�้ มันหล่อลืน่ เบอร์ 40 ทีใ่ ช้กบั เครือ่ งยนต์ดเี ซล เติมลงไปใหม่ให้ได้ระดับทีก่ ำ� หนด

86

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


4. การบ�ำรุงรักษาระบบระบายความร้อน การบ�ำรุงรักษาระบบระบายความร้อน ให้มีประสิทธิภาพสามารถพาความร้อนออกไป จากเครือ่ งยนต์อย่างรวดเร็ว โดยมีนำ�้ และพัดลมเป็นตัวระบายความร้อนออกไป การบ�ำรุงรักษาระบบนี้ จึงต้องให้ความส�ำคัญกับน�้ำในอ่างน�้ำ (กรณีเป็นเครื่องยนต์รุ่นเก่าที่ระบายความร้อนแบบอ่างน�้ำ) หรือน�้ำในหม้อน�้ำ (กรณีเป็นเครื่องยนต์รุ่นใหม่ ที่ระบายความร้อนด้วยระบบหม้อน�้ำรังผึ้ง) โดยทุกๆ 100 ชัว่ โมง การท�ำงานให้เปลีย่ นถ่ายน�ำ้ ในอ่างน�ำ้ หรือ หม้อน�ำ้ ออกทิง้ แล้วเติมน�ำ้ ทีส่ ะอาด ลงไปใหม่จนได้ระดับ รวมทั้งต้องท�ำความสะอาดครีบ รังผึ้ง หม้อน�้ำอย่าให้สกปรก ถ้าสกปรก ลมจะไม่ผ่าน ท�ำให้ระบบระบายความร้อนท�ำงานได้ไม่เต็มที่ ท�ำให้เครื่องยนต์ร้อนจัดเช่นกัน และหมัน่ ตรวจสอบสายพานพัดลมให้ตงึ พอเหมาะอยูเ่ สมอ อย่าให้สายพานพัดลมตึงไปหรือหย่อนไป จะไม่เป็นผลดีตอ่ เครือ่ งยนต์ทงั้ สิน้ หากตึงไปก็จะท�ำให้สายพานขาดเร็ว ลูกปืนพัดลมช�ำรุดเสียหายเร็ว หากหย่อนไป ก็จะท�ำให้เครื่องยนต์ร้อนจัด การปรับตั้งสายพานพัดลมที่ตึงพอเหมาะคือ เมื่อตั้งแล้วใช้นิ้วกดดูความตึงของสายพาน ให้หย่อนได้10-15 มิลลิเมตร

เปลี่ยนถ่ายและเติมน�้ำในระบบระบายความร้อน

ปรับตั้งสายพานพัดลมให้มีความตึง พอเหมาะ เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

87


ท�ำความสะอาดครีบ รังผึ้งหม้อน�้ำให้สะอาด เพื่อให้ลมผ่านสะดวก

88

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การปฏิบัติกรณีเก็บเครื่องยนต์เกษตรหลังฤดูการเพาะปลูก หรือเก็บเป็นระยะเวลานาน เมือ่ หมดฤดูการเพาะปลูก หรือหลังจากการเตรียมดิน เกษตรกรไม่ได้ใช้เครือ่ งยนต์เกษตรเป็น ระยะเวลานานๆ (1 เดือนขึน้ ไป) เพือ่ รักษาสภาพเครือ่ งยนต์ให้สมบูรณ์และพร้อมใช้งาน ให้ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ปิดก๊อกน�้ำมันเชื้อเพลิงใต้ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง 2. ล้างท�ำความสะอาดตัวเครื่องยนต์ 3. ล้างท�ำความสะอาดไส้กรองน�้ำมันเชื้อเพลิง และไส้กรองอากาศ 4. ถอดหม้อกรองอากาศออกแล้ว หยอดน�ำ้ มันเครือ่ งหล่อลืน่ เบอร์ 40 ชนิดใช้กบั เครือ่ งยนต์ดเี ซล เข้าไปในท่อไอดีประมาณ 10 ซีซี แล้วหมุนเครื่องยนต์ 10-15 รอบ เพื่อให้น�้ำมันหล่อลื่นที่หยอด เข้าไป เคลือบตามลูกสูบและผนังลูกสูบจนทั่ว 5. เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เต็มถัง 6. หมุนเครือ่ งยนต์ให้อยูใ่ นต�ำแหน่ง จังหวะอัดสุด (การหมุนเครือ่ งยนต์ ให้อยูใ่ นจังหวะอัดสุด ได้อธิบายไว้แล้วในหัวข้อการปฏิบัติหลังการใช้เครื่องยนต์) ซึ่งการหมุนเครื่องยนต์ให้อยู่ใน จังหวะอัดสุดนี้ จะท�ำให้ลิ้นไอดีและไอเสีย ปิดสนิท ป้องกันการเกิดลิ้นค้าง สปริงกดลิ้นเสียหาย และป้องกันความชื้นเข้าไปในกระบอกสูบอีกด้วย 7. ถ่ายน�้ำหล่อเย็น ออกให้หมด 8. เก็บเครื่องยนต์ไว้ในที่ร่มอากาศถ่ายเทได้ดี 9. เก็บเครื่องไว้ในที่ปลอดภัย ผลเสียหายที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต์เกษตร หากขาดการบ�ำรุงรักษาหรือบ�ำรุงรักษาไม่ถูกต้อง เครื่องยนต์ทุกประเภท ทุกชนิด ไม่วา่ จะเป็นเครื่องยนต์เกษตร หรือเครื่องยนต์ชนิดอื่นๆ เมื่อมีการใช้งาน ก็จะต้องมีการสึกหรอหรือช�ำรุด ซึ่งการสึกหรอหรือช�ำรุดที่กล่าวถึงนี้ ถือว่าปกติ ตามอายุการใช้งาน แม้แต่ผู้ใช้จะมีการใช้และบ�ำรุงรักษาอย่างถูกต้องแล้วก็ตาม ซึ่งอายุการใช้งาน ปกตินี้ส�ำหรับเครื่องยนต์เกษตร จะมีอายุการใช้งานที่ยาวนานมาก เครื่องยนต์เกษตรที่มีการใช้ อย่างถูกต้อง และมีการบ�ำรุงรักษาที่ดีจะมีอายุการใช้งาน 20 ปี หรือมากกว่านั้น แต่ถ้าหากผู้ใช้ ใช้เครือ่ งยนต์ไม่ถกู วิธี หรือขาดการบ�ำรุงรักษาทีด่ แี ละถูกต้องเครือ่ งยนต์กจ็ ะมีอายุการใช้งานลดลง รวมถึงประสิทธิภาพของเครือ่ งยนต์ลดลงด้วย หรือบางครัง้ จะต้องซ่อมแซมบ่อยๆ เมือ่ ซ่อมเสร็จแล้ว น�ำไปใช้ได้ระยะเวลาหนึง่ ก็เกิดความเสียหายอีก ต้องน�ำกลับไปซ่อมแซมอีก เป็นเช่นนีต้ ลอดเวลา ต้นเหตุที่แท้จริงก็คือการใช้และบ�ำรุงรักษาไม่ถูกต้อง ดังนั้นผู้ใช้เครื่องยนต์จะต้องใช้เครื่องยนต์ ให้ถกู วิธี และมีการบ�ำรุงรักษาอย่างถูกต้อง ปัญหาดังกล่าวก็จะหมดไป เครือ่ งยนต์กจ็ ะมีอายุการใช้งาน ทีย่ าวนานตามทีบ่ ริษทั ผูส้ ร้างก�ำหนด และใช้งานเครือ่ งยนต์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึง่ ข้อแนะน�ำ และข้อปฏิบตั ติ า่ งๆ ส�ำหรับการใช้และบ�ำรุงรักษา เครือ่ งยนต์เกษตรทีถ่ กู ต้อง ได้กล่าวมาทัง้ หมดแล้ว แต่หากผูใ้ ช้เครือ่ งยนต์เกษตรไม่มกี ารใช้อย่างถูกต้อง และไม่มกี ารบ�ำรุงรักษาทีด่ แี ล้ว ก็จะเกิด ความเสียหายโดยตรงกับชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ในระบบนั้นๆ และเกิดความเสียหายโดยรวม กับเครื่องยนต์

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

89


ตารางการบ�ำรุงรักษาระบบที่ส�ำคัญของเครื่องยนต์เกษตรตามก�ำหนดเวลา ส่วนทีต่ อ้ งตรวจบ�ำรุงรักษา ก�ำหนดเวลาบ�ำรุงรักษา

1. ระบบก�ำลังอัด

หม้อกรองอากาศแบบเปียก 100 ชั่วโมงการท�ำงาน หม้อกรองอากาศแบบแห้ง

100 ชั่วโมงการท�ำงาน 300 ชั่วโมงการท�ำงาน

2. ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง

ชุดกรองน�้ำมันเชื้อเพลิง

ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

3. ระบบหล่อลื่น

น�้ำมันหล่อลื่น และไส้กรองน�้ำหล่อลื่น

หม้อน�้ำ (ชนิดอ่างน�้ำ)

ถอดถ้วยกรองและไส้กรองน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ออกมาล้าง ท�ำความสะอาด ด้วยน�ำ้ มันดีเซล หากพบว่าไส้กรอง ฉีกขาด หรืออุดตัน ต้องเปลี่ยนใหม่

100 ชั่วโมงการท�ำงาน

ถ่ายน�้ำมันหล่อลื่นเก่าออกให้หมดแล้วน�ำไส้กรอง น�้ำ มัน หล่ อ ลื่ น ออกมาล้า งท�ำ ความสะอาดด้ว ย น�ำ้ มันดีเซล และเช็ดให้แห้งสนิท ใส่กลับเข้าที่เดิม แล้วจึงเติมน�ำ้ มันหล่อลื่นใหม่เบอร์ 40 ทีใ่ ช้สำ� หรับ เครือ่ งยนต์ดเี ซล ลงไปให้ได้ระดับที่ก�ำหนด

300 ชั่วโมงการท�ำงาน

เปิดก๊อกถ่ายน�้ำออกจากหม้อน�้ำออกให้หมดแล้วใช้ น�ำ้ สะอาดไล่ตะกอนขนาดเล็กออกจนหมด จึงปิดก๊อก ถ่ายน�้ำ แล้วเติมด้วยน�้ำสะอาดให้เต็ม เปิดฝาหม้อน�้ำก่อนถ่ายน�้ำทุกครั้ง แล้วจึงเปิดก๊อก ถ่ายน�้ำให้น�้ำไหลออกจนหมด แล้วปิดก๊อก แล้วเติม น�ำ้ สะอาดลงไปในหม้อน�ำ้ ให้เต็ม แล้วจึงปิดฝาหม้อน�ำ้ ให้แน่น

หม้อน�ำ้ (ชนิดหม้อน�ำ้ รังผึง้ ) 300 ชั่วโมงการท�ำงาน

90

ถอดหม้อกรองอากาศออกจากเครื่องยนต์แล้ว ท�ำความสะอาดไส้กรองอากาศตัวหม้อกรองอากาศ เสร็จแล้ว เติมน�้ำมันหล่อลื่นใหม่เบอร์ 40 ใช้ส�ำหรับ เครือ่ งยนต์ดเี ซลลงไปทีห่ ม้อกรองอากาศให้ได้ระดับ ที่ก�ำหนด ถอดฝาครอบหม้อกรองอากาศออกแล้วน�ำไส้กรอง อากาศ ออกมาท�ำความสะอาด โดยใช้ลมเป่า โดยเป่าจากด้านในออกมาด้านนอก เอาไส้กรองอากาศเก่าออก แล้วเปลีย่ นไส้กรองอากาศ ใหม่แทน

100 ชั่วโมงการท�ำงาน (หรือเมือ่ พบว่ามีนำ�้ หรือ สิ่ ง สกปรกอยู ่ ใ นถ้ ว ย กรองเป็นจ�ำนวนมาก) 300 ชั่วโมงการท�ำงาน

4. ระบบระบายความร้อน

วิธีการบ�ำรุงรักษา

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

ถ่ายน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงออกให้หมดและล้างท�ำความสะอาด ภายในถังด้วยน�้ำมันดีเซล


ตารางแสดงความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชิ้นส่วนเครื่องยนต์ และผลเสียหายโดยรวมของเครื่องยนต์ หากขาดการบ�ำรุงรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง ระบบที่ขาดการบ�ำรุงรักษา ผลเสียหายที่เกิดขึ้น กับชิ้นส่วนเครื่องยนต์ โดยตรง

ผลเสียหายกับเครื่องยนต์โดยรวม

ระบบก�ำลังอัด

- ไม่ดูแลบ�ำรุงรักษาไส้กรอง - แหวนลูกสูบสึกหรอ เครือ่ งยนต์จะติดยาก หากติดแล้วก็จะไม่คอ่ ยมีกำ� ลัง - ลูกสูบสึกหรอ (ก�ำลังม้าเครือ่ งยนต์ลดลง) และเครือ่ งยนต์จะกินน�ำ้ มัน อากาศ หม้อกรองอากาศ หล่อลืน่ ผิดปกติ - ปลอกสูบสึกหรอ - ลิน้ ไอดี - ไอเสียสึกหรอ

ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง

- ไม่ดแู ลรักษา กรองน�ำ้ เชือ้ เพลิง - ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง และลูกปั้ม สึกหรอ - ไม่เติมน�้ำมันโซล่า ให้เต็มถังน�้ำมัน หลังการใช้งาน

ระบบหล่อลื่น

- ไม่เปลีย่ นถ่ายน�ำ้ มันหล่อลืน่ ตามก�ำหนดเวลาหรือปล่อยให้ น�้ำมันหล่อลื่นขาด หรือไม่มี น�้ำมันหล่อลื่น

- ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง และลูกปั๊ม สึกหรอ - ถังน�้ำมันเกิดสนิม

- แหวนลูกสูบสูบสึกหรอ - ลูกสูบสึกหรอ - ปลอกสูบสึกหรอ - ลิน้ ไอดี - ไอเสียสึกหรอ

เครื่องยนต์จะติดยาก หากติดแล้วเครื่องยนต์เดิน ไม่สม�่ำเสมอเดินสะดุด เนื่องจากปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง ไม่สามารถสร้างแรงดันน�ำ้ มันได้ตามปกติ ท�ำให้มผี ล ถึงการฉีดน�้ำมันเชื้อเพลิงที่หัวฉีดผิดปกติด้วย ในถังน�ำ้ มันจะเกิดช่องว่าง และน�ำ้ มันในถังจะระเหย ขึน้ ไปเกาะอยูต่ ามผนังของถังน�ำ้ มัน เมือ่ อากาศเย็นลง จะกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำตกลงมาในถังน�้ำมัน น�้ำซึ่งมี น�ำ้ หนักมากกว่าน�ำ้ มันก็จะลงสูก่ น้ ถังน�ำ้ มัน และไปยัง ปัม๊ น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงได้ ท�ำให้ปม๊ั น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเป็นสนิม สึกหรอและเสียหายอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้ระบบ น�้ำมันเชื้อเพลิงท�ำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ เครื่องยนต์จะร้อนจัดผิดปกติ เนื่องจากการขยายตัว ของชิ้นส่วนภายในกระบอกสูบ และเสียดสีกันโดย ขาดการหล่อลื่น ท�ำให้แหวนลูกสูบติด ลูกสูบติด จน กระทัง่ แบริง่ เพลาข้อเหวีย่ งละลาย ท�ำให้เครือ่ งยนต์ เสียหายอย่างหนัก

ระบบระบายความร้อน

- ไม่เปลี่ยนถ่ายน�้ำในหม้อน�้ำ - ประเก็นฝาสูบแตกร้าว เครือ่ งยนต์จะร้อนจัดเนือ่ งจากไม่มนี ำ�้ ไประบายความร้อน รอบๆ ปลอกสูบ และรอบฝาสูบ ท�ำให้ประเก็นฝาสูบ ตามก�ำหนดหรือ ปล่อยให้นำ�้ - ฝาสูบแตกร้าว แตกร้าว หรือถึงขัน้ ฝาสูบแตกร้าวได้ ซึง่ เป็นการเสียหาย ในหม้อน�้ำแห้ง ทีจ่ ดั ว่าหนักมาก เพราะเป็นชิน้ ส่วนทีม่ รี าคาค่อนข้างสูง เครือ่ งยนต์จะร้อนเร็วผิดปกติ และเกิดความร้อนสะสม - ไม่ปรับตั้งสายพานพัดลม - สายพานช�ำรุดเร็ว - ลูกปืนพัดลมแตกเร็ว ในเครื่องยนต์ เนื่องจากระบบการระบายความร้อน ด้วยพัดลมท�ำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ ก�ำลังเครื่อง ก็จะตกไปด้วย เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

91



ระบบการให้น�้ำ และเทคนิคการพ่นสารเคมี

นายชีรวรรธก์ มั่นกิจ


ระบบการให้น�้ำ

นิยาม

เครื่องสูบน�้ำ

ความสูงที่ส่ง หมายถึง อัตราการส่ง หมายถึง

ปริมาณน�้ำฝน

ความสูงในแนวดิ่งที่เครื่องสูบน�้ำสามารถส่งน�้ำได้ตามท่อ มีหน่วยเป็นเมตร ปริมาณน�้ำที่เครื่องสูบน�้ำสามารถส่งน�้ำได้ต่อหน่วยเวลา เช่น ลิตรต่อนาที หรือ ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง

หน่วยวัดน�้ำฝน คือ น�ำ้ ฝน 1 มม. ในพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร คือ

ความลึกของน�ำ้ ฝนทีว่ ดั ได้ในภาชนะทรงตรงทีว่ างไว้กลางแจ้ง หลังจากฝนหยุดตกมีหน่วยเป็น มิลลิเมตร (มม.) ปริมาณน�้ำ 1 ลิตร

ปริมาณน�้ำ 1 ลูกบาศก์เมตร คือ

น�้ำ 1000 ลิตร

พื้นที่ทรงพุ่ม

การครอบคลุมพื้นที่ภายใต้ร่มเงาของต้นพืช มีหน่วยเป็น ตารางเมตร ส�ำหรับพืชทีโ่ ตเต็มทีส่ ามารถใช้ ระยะระหว่างแถว x ระยะระหว่างต้น เช่น มะม่วงปลูกระยะ 4 เมตร x 4 เมตร มีพื้นที่ทรงพุ่ม 16 ตารางเมตร เมือ่ ทราบทรงพุม่ สามารถน�ำไปคูณอัตราการใช้นำ�้ ของไม้ผล (ลิตร/ทรงพุม่ 1 ตร.ม.) จะได้ปริมาณน�ำ้ ทีต่ อ้ งการเป็นลิตร

หมายถึง

อัตราการใช้น�้ำของพืช หมายถึง ปริมาณน�้ำที่พืชต้องการใช้เพื่อการเจริญเติบโต

และให้ผลผลิต พืชไร่ พืชผัก มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อวัน ไม้ผล มีหน่วยเป็น ลิตรต่อต้นต่อวัน

หน่วย

ลบ.ม. ตร.ม. ลบ.ม./ชม. ล/น

94

คือ คือ คือ คือ

ลูกบาศก์เมตร ตารางเมตร ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ลิตรต่อนาที

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ปริมาณการใช้น�้ำของพืชต่อวันโดยประมาณเป็นรายภาค ภาคเหนือ ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 5.10 6.16 4.51 4.03 4.47 5.39 3.95 3.53 6.38 7.70 5.64 5.04 3.99 4.81 3.52 3.15

ภาคเหนือตอนล่าง

ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 5.53 6.41 4.90 4.85 4.84 5.61 4.29 4.24 6.91 8.02 6.13 6.06 4.32 5.01 3.83 3.79

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 5.57 6.01 4.68 4.99 4.88 5.26 4.10 4.37 6.97 7.52 5.85 6.24 4.35 4.70 3.66 3.90

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 6.13 6.62 5.34 5.37 5.36 5.79 4.67 4.70 7.66 8.27 6.67 6.71 4.79 5.17 4.17 4.19 เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

95


ภาคตะวันออก ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 6.07 5.99 4.71 5.52 5.31 5.24 4.12 4.83 7.59 7.49 5.89 6.90 4.74 4.68 3.80 4.31

ภาคตะวันตก ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 6.01 6.43 4.59 4.69 5.26 5.63 4.01 4.10 7.51 8.04 5.73 5.86 4.69 5.02 3.58 3.66

ภาคกลาง

96

ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 6.14 6.74 4.96 5.26 5.38 5.89 4.34 4.10 7.68 8.42 6.21 5.86 7.68 8.42 6.21 3.66

ภาคใต้ ปริมาณน�้ำต่อวัน พืชไร่ ข้าวโพด (ลบ.ม./ไร่) พืชไร่ อ้อย มันส�ำปะหลัง (ลบ.ม./ไร่) พืชผัก (ลบ.ม./ไร่) ไม้ผล (ลิตร/ทรงพุ่ม 1 ตร.ม.)

ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. ต.ค.-ธ.ค. 5.85 5.34 4.87 4.18 5.12 4.68 4.26 3.66 7.31 6.68 6.08 5.23 4.57 4.17 3.80 3.27

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

97


98

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

99


100

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ระบบการให้น�้ำพืช พืชทุกชนิดมีความต้องการน�ำ้ โดยน�ำ้ เป็นปัจจัยอย่างหนึง่ ของขบวนการสังเคราะห์แสงของพืช เป็นตัวละลายธาตุอาหารในดินเพือ่ ให้รากดูดขึน้ ไปสร้างการเจริญเติบโต และคายน�ำ้ เพือ่ ระบายความร้อน นอกจากนี้น�้ำยังเป็นตัวที่ส�ำคัญในการก�ำหนดปริมาณและผลผลิตของพืชด้วยซึ่งพืชแต่ละชนิด มีความต้องการน�ำ้ ต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ชนิด พันธุ์ และอายุของพืชนัน้ ๆ การให้นำ�้ น้อยไปท�ำให้พชื เจริญเติบโตช้า ผลผลิตต�ำ่ ฯลฯ แต่ถา้ มากไปก็จะท�ำให้สนิ้ เปลืองน�ำ้ และค่าใช้จา่ ย ดังนัน้ จึงจ�ำเป็น ต้องให้น�้ำอย่างเหมาะสมกับความต้องการน�้ำของพืชนั้น ๆ ระบบการให้น�้ำพืชเป็นกลไกที่สามารถจัดการควบคุมปริมาณการให้น�้ำพืชได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและสะดวก อันจะเกิดผลดีดังนี้ 1. พืชเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ 2. พืชไม่ชะงักการเจริญเติบโต 3. เพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิต 4. ก�ำหนดเวลาการเก็บผลผลิตได้ 5. การใช้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 6. สะดวกและประหยัดเวลาการให้น�้ำ 7. ลดความเสี่ยงในอาชีพเกษตรกรรม ระบบการให้น�้ำที่ดีจะต้องสนองความต้องการน�้ำของพืชได้อย่างเพียงพอ อีกทั้งยังต้องเป็น ระบบที่เหมาะสมกับปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นความสะดวกของผู้ใช้ระบบด้วย เช่น ชนิดของแหล่งน�้ำ ข้อจ�ำกัดของเครือ่ งสูบน�ำ้ เวลาในการให้นำ�้ เป็นต้น ซึง่ ในการเลือกระบบทีจ่ ะมาใช้กบั พืชชนิดต่าง ๆ ผู้เลือกจะต้องรู้จักและท�ำความเข้าใจกับระบบการให้น�้ำนั้น ๆ ก่อน

องค์ประกอบของระบบการให้น�้ำ

ระบบการให้น�้ำก�ำลังเป็นที่นิยมและมีบทบาทมากขึ้นในหมู่เกษตรกรเป็นระบบที่ใช้กันอย่าง แพร่หลาย สามารถน�ำไปใช้ในการให้น�้ำพืชโดยเฉพาะไม้ผล พืชผักและพืชไร่ ระบบการให้น�้ำพืช มีหลายระบบ เช่น สปริงเกลอร์ (Sprinkler) มินิสปริงเกลอร์ (Mini Sprinkler) น�้ำหยด (Drip) ไมโครสเปรย์และเจ็ท (Micro Spray and Jet) ซึ่งทุกระบบมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญในระบบมีชื่อ เรียกส่วนต่าง ๆ ดังนี้ เครื่องสูบน�้ำ ท�ำหน้าที่สูบน�้ำจากแหล่งน�้ำและเพิ่มความดันให้กับหัวปล่อยน�้ำ เครื่องกรองน�้ำ ท�ำหน้าที่กรองสิ่งสกปรกและเศษผงต่างๆ ที่ปนมากับน�้ำป้องกันไม่ให้ เกิดการอุดตันที่หัวปล่อยน�้ำ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

101


ท่อเมน ท่อเมนย่อย ท่อย่อย หัวปล่อยน�้ำ

ท่อที่ส่งน�้ำออกจากเครื่องสูบน�้ำไปยังท่อเมนย่อย ควรใช้เป็นท่อพีวีซี (PVC) ท่อซึ่งแยกออกมาจากท่อเมน และส่งน�้ำไปยังท่อย่อย ควรใช้เป็นท่อพีวีซี (PVC) หรือ พีอี (PE)ชนิด HDPE ท่อที่ติดตั้งหัวปล่อยน�้ำและจ่ายน�้ำให้กับหัวปล่อยน�้ำโดยตรง ควรใช้ท่อพีอี (PE) ชนิด LDPE อุปกรณ์ทที่ ำ� หน้าทีร่ บั น�ำ้ มาจากท่อย่อย และจ่ายน�ำ้ ให้กบั ต้นพืชตามปริมาณ ที่ต้องการ

องค์ประกอบของระบบการให้น�้ำและชื่อเรียกส่วนต่างๆ

102

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ระบบ

แรงดัน

อัตราการไหล

เวลาให้น้ำ�

สปริงเกลอร์

สูง (20 เมตรขึ้นไป)

มาก (250 ลิตรต่อชั่วโมงขึ้นไป)

น้อย

มินิสปริงเกลอร์

ปานกลาง (10-20 เมตร)

ปานกลาง (55-300 ลิตรต่อชั่วโมง)

ปานกลาง

ไมโครสเปรย์และเจ็ท

ปานกลาง (10-15 เมตร)

ปานกลาง (40-200 ลิตรต่อชั่วโมง)

ปานกลาง

น้ำ�หยด

ต่ำ� (5-10 เมตร)

ต่ำ� (2-8 ลิตรต่อชั่วโมง)

ต่ำ�

ตารางเปรียบเทียบระบบการให้น้ำ�แบบต่างๆ

ระบบการให้น�้ำที่เหมาะสมกับพืชไร่ ระบบน�้ำหยด เหมาะส�ำหรับพืชไร่ที่มีการปลูกเป็นแถวชิด เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด สับปะรด ที่มีระยะการปลูกระหว่างแถว 1 - 2 เมตร สามารถใช้เทปน�้ำหยดวางตามแถวปลูกทุกแถว โดยใช้เทปน�้ำหยดที่มีอัตรา 2 - 4 ลิตรต่อชั่วโมง ทุกช่องทางออกระยะ 30 - 50 เซนติเมตร ลักษณะการติดตั้งส�ำหรับขนาดพื้นที่กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตรดังภาพ

ลักษณะการติดตั้งระบบการให้น�้ำแบบน�้ำหยดในพืชไร่ เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

103


การให้น�้ำแบบน�้ำหยดในพืชไร่ ระบบสปริงเกลอร์ เหมาะส�ำหรับพืชไร่ ที่มีระยะปลูกทั้งแถวชิดและห่าง เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด สับปะรด ที่มีระยะการปลูกระหว่างแถว 1 - 2 เมตร การติดตั้งไม่ต้องวางท่อย่อยทุกแถวพืช แต่ใช้ระยะห่างระหว่างแนวท่อย่อยและระหว่างหัวตัง้ แต่ 10 เมตรขึน้ ไป เช่นติดตัง้ หัวสปริงเกลอร์ อัตราการไหล 1 ลูกบาศก์เมตรต่อชัว่ โมง รัศมีการกระจายน�ำ้ 10 - 12 เมตร ทุกระยะ 10 x 10 เมตร สามารถติดตั้งระบบสปริงเกลอร์ในการให้น�้ำ ลักษณะการติดตั้งส�ำหรับขนาดพื้นที่กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ดังภาพ

ลักษณะการติดตั้งระบบการให้น�้ำแบบสปริงเกลอร์ในพืชไร่

104

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การให้น�้ำแบบสปริงเกลอร์ในพืชไร่

ระบบการให้น�้ำที่เหมาะสมกับพืชผัก

ระบบน�้ำหยด เหมาะส�ำหรับพืชผักที่ปลูกเป็นแถวเป็นแนว เช่น ถั่วฝักยาว คะน้า ผักกาดขาว กะหล�่ำปลี ที่ มีระยะการปลูกระหว่างแถว 0.5 - 1 เมตร สามารถใช้เทปน�้ำหยดวางตามแถวปลูกทุกแถว โดยใช้เทปน�้ำหยดที่มีอัตรา 2 - 4 ลิตรต่อชั่วโมง ทุกช่องทางออกระยะ 30 - 50 เซนติเมตร ลักษณะการติดตั้งดังภาพ

การให้น�้ำแบบน�้ำหยดในแปลงพืชผัก เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

105


ระบบมินิสปริงเกลอร์ เหมาะส�ำหรับพืชผักที่ปลูกเป็นแปลงแบบหว่าน หรือแบบต้นกล้า เช่น ผักกินใบ ผักหวาน การติดตัง้ สามารถวางระยะห่างระหว่างแนวท่อย่อยและระหว่างหัวประมาณ 3 - 4 เมตร เช่นติดตัง้ หัวมินิสปริงเกลอร์อัตราการไหล 60 - 120 ลิตรต่อชั่วโมง รัศมีการกระจายน�้ำ 4 เมตร ทุกระยะ 4 x 4 เมตร ลักษณะการติดตั้งดังภาพ

การให้น�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ในแปลงพืชผัก

106

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ระบบการให้น�้ำที่เหมาะสมกับไม้ผล ระบบมินิสปริงเกลอร์ เหมาะส�ำหรับไม้ผลที่มีระยะปลูกตั้งแต่ 5 เมตรขึ้นไป เช่น ไม้ผลระยะปลูก 5 x 5, 6 x 6, 8 x 8 เมตร สามารถวางท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถวและติดตัง้ หัวมินสิ ปริงเกลอร์ตน้ ละ 1 - 2 หัว ระบบไมโครสเปรย์และเจ็ท เหมาะส�ำหรับไม้ผลที่มีระยะปลูกไม่เกิน 5 เมตร เช่น ไม้ผลระยะปลูก 4 x 4 เมตร สามารถวาง ท่อย่อยตามแถวของไม้ผลทุกแถวและติดตั้งหัวสเปรย์และเจ็ทต้นละ 1 - 2 หัว

การให้น�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ ไมโครสเปรย์และเจ็ทในไม้ผล

ตัวอย่างเช่น มะม่วง ระยะปลูก 5 x 5 เมตร จ�ำนวน 80 ต้น ติดตั้งระบบมินิสปริงเกลอร์ หรือไมโครสเปรย์และเจ็ทอัตราการไหล 120 ลิตรต่อชั่วโมง รัศมีการกระจายน�้ำ 2 - 4 เมตร ต้นละ 1 หัว ลักษณะการติดตั้งดังภาพ

ลักษณะการติดตั้งระบบการให้น�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ ไมโครสเปรย์และเจ็ท เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

107


หัวปล่อยน�้ำ

เป็นอุปกรณ์ซึ่งท�ำหน้าที่รับน�้ำมาจากท่อย่อย และจ่ายให้กับต้นพืชตามปริมาณที่ก�ำหนด หัวจ่ายน�้ำมีมากมายหลายแบบ ซึ่งผู้ใช้จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของพืช สิ่งส�ำคัญที่จะ ต้องพิจารณาคือ อัตราการจ่ายน�ำ้ หมายถึงปริมาณน�ำ้ ต่อหน่วยเวลา แรงดันทีใ่ ช้ของหัวปล่อยน�ำ้ รูปแบบการกระจายน�้ำ ➣ แบบสปริงเกลอร์ หัวสปริงเกลอร์ ท�ำหน้าที่จ่ายน�้ำโดยฉีดน�้ำจากหัวฉีดไปในอากาศแตกให้กระจายเป็น เม็ดน�ำ้ เล็กๆ ตกลงมายังพืน้ ทีเ่ พาะปลูก การกระจายน�ำ้ มีรปู แบบเป็นวงกลม หรือแบบท่อมีรเู ล็กๆ ให้นำ�้ ฉีดออกมาตลอดความยาวของท่อ ระบบสปริงเกลอร์ตอ้ งการ 2 สิง่ คือ อัตราการไหลของน�ำ้ และแรงดัน หากแรงดันไม่พอระบบจะใช้งานไม่ได้ดี แรงดันเหมือนพลังงานในการผลักดันให้ สปริงเกลอร์ท�ำงาน จึงจะได้อัตราการไหลของน�้ำออกมาอย่างถูกต้อง แต่ก่อนที่น�้ำจะไหลมาถึง บริเวณหัวสปริงเกลอร์จะเสียแรงดันไปในเส้นทางที่ผ่าน เช่น มิเตอร์วัดน�้ำ ท่อ วาล์วกันน�้ำกลับ ข้อต่อและประตูนำ�้ ต่างๆ แล้วจึงผ่านถึงหัวสปริงเกลอร์ และต้องมีแรงดันเหลือพอให้หวั สปริงเกลอร์ ท�ำงานได้ แรงดันมีผลต่อการกระจายของน�้ำให้โปรยทั่วพื้นที่อย่างสม�่ำเสมอ ส�ำหรับต้นกล้า หรือพืชที่เพิ่งปลูก ควรใช้แรงดันที่สูงกว่าก�ำหนดเพื่อให้การแตกตัวของน�้ำเป็นละอองมากขึ้น จะได้ละอองน�้ำที่ละเอียด ระบบสปริงเกลอร์นิยมใช้กับพืชไร่และพืชผัก

สปริงเกลอร์แบบกระจายน�้ำรอบตัว และแบบกระจายน�้ำตามแนวเส้นท่อ

สปริงเกลอร์ขนาดเล็กในแปลงพืชไร่และพืชผัก

108

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ แบบมินิสปริงเกลอร์

หัวมินสิ ปริงเกลอร์จะต่อไว้ยงั จุดทีเ่ ลือกบนท่อย่อย วางไว้เหนือผิวดินกระจายน�ำ้ ด้วยใบ หมุนลงสู่ดินในบริเวณเขตรากพืช รัศมี 3 - 4 เมตร ให้ปริมาณน�้ำทีละน้อยเพียงพอแก่การเจริญ เติบโต เหมาะส�ำหรับพืชที่ปลูกทั้งระยะชิดและระยะห่างใช้ได้ดีกับไม้ผลและยังสามารถใช้กับพืช ผักได้ด้วย

หัวปล่อยน�้ำแบบมินิสปริงเกลอร์ หัวมินสิ ปริงเกลอร์ บังคับทางออกของน�ำ้ ให้มขี นาดเล็ก ข้อแตกต่างจากหัวปล่อยน�ำ้ แบบอืน่ ๆ ทีค่ อ่ นข้างจะเด่น คือมีสว่ นทีห่ มุนได้ทเี่ รียกว่า ใบหมุน ซึง่ เป็นตัวท�ำให้นำ�้ กระจายออกเป็นวงกว้าง ได้ดีกว่าสเปรย์ขนาดเล็กแบบอื่น ท�ำให้มีบริเวณพื้นที่เปียกมาก

หัวมินิสปริงเกลอร์แบบต่างๆ ปกติหวั มินสิ ปริงเกลอร์จะตัง้ ไว้บนขาตัง้ และต่อกับท่อย่อยโดยใช้ทอ่ อ่อนทีถ่ อดได้ ท่อนีป้ กติ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 0.5 เมตร เป็นประโยชน์เมื่อต้องการโค้งงอ หรือเคลือ่ นย้ายจุดปล่อยน�ำ้ รอบ ๆ โคนต้นพืช อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับหัวทีใ่ ห้ปริมาณน�ำ้ ทีม่ ากกว่า 100 ลิตรต่อชั่วโมง ควรใช้ท่ออ่อนที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อช่วยลดการสูญเสียแรงดัน เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

109


ท่ออ่อนขนาดต่างๆ ที่ใช้กับมินิสปริงเกลอร์บนขาตั้ง

➣ แบบไมโครสเปรย์และเจ็ท

การให้นำ�้ แบบไมโครสเปรย์และเจ็ทเป็นรูปแบบการให้นำ�้ โดยหัวปล่อยน�ำ้ กระจายน�ำ้ เป็น ฝอยหรือเป็นสาย หัวปล่อยน�้ำจะไม่มีใบหมุนหรือชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว ให้ปริมาณน�้ำทีละน้อย เพียงพอแก่การเจริญเติบโตของพืช หัวปล่อยน�้ำถูกวางไว้ยังจุดที่เลือกบนท่อน�้ำ ส่วนใหญ่จะวาง ไว้เหนือผิวดินกระจายน�้ำลงสู่ดินในบริเวณเขตรากพืชรัศมี 1-3 เมตร ท�ำให้เกิดเขตเปียกซึ่งจะมาก น้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของดิน และเวลาให้น�้ำ โดยทั่วไปไมโครสเปรย์และเจ็ทนั้น เหมาะส�ำหรับพืชที่ปลูกระยะชิด และต้องการความชื้นสูง ไม้ ผลระยะต้นเล็กๆ และในเรือนเพาะช�ำ แบบที่ฉีดเป็นฝอยละเอียดจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ในที่แจ้ง ที่มีลมแรง ปกติมักจะถูกน�ำมาติดโดยตรงบนท่อย่อย หรือติดบนปลายท่อสั้นๆ หรือบนขาตั้ง หัว ปล่อยน�้ำเหล่านี้มักใช้ในสวนผลไม้ สวนกล้วย ฯลฯ

หัวปล่อยน�้ำแบบไมโครสเปรย์และเจ็ท

110

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

แบบการกระจายน�้ำของหัวเจ็ท


➣ แบบน�้ำหยด

หัวน�้ำหยดจะถูกติดตั้งไว้ยังจุดที่เลือกบนท่อย่อย ส่วนใหญ่หัวน�้ำหยดจะวางไว้บนผิวดิน ก็ได้ หรือสามารถฝังไว้ในดินระดับตื้นๆ เพื่อป้องกันการเสียหายก็ได้ หัวน�้ำหยดจะปล่อยน�้ำสู่ดิน ให้น�้ำซึมไปในดินระหว่างหัวน�้ำหยดด้วยแรงดูดซับ ซึ่งแรงดูดซับก็คือการเคลื่อนที่ของน�้ำผ่านดิน โดยแรงดึงของดิน ส่วนอัตราการเคลื่อนที่ขึ้นอยู่กับขนาดของช่องว่างในดินและความชื้นของดิน ช่องว่างขนาดเล็กจะมีแรงดูดซับสูงแต่การเคลื่อนที่ของน�้ำจะช้า ส่วนเขตเปียกของดินจะมากน้อย ขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของดิน เวลาให้น�้ำและจ�ำนวนของหัวปล่อยน�้ำที่ใช้ หัวน�้ำหยดแบบต่างๆ ที่พบทั่วไป แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ หัวน�้ำหยดแบบติดบนท่อ สามารถยึดติดกับท่อย่อยโดยอาศัยเงี่ยงเกาะ ใช้ในโรงเรือน โรงอนุบาลพืช พืชตระกูลส้ม มะนาว ไม้ผลัดใบ ไม้ผลต่างๆ และไม้เถา เช่น องุ่น

หัวน�้ำหยดแบบติดบนท่อชนิดต่าง ๆ บางแบบอาจใช้แยกเป็น 4 ทางกับหัวปล่อยน�ำ้ ดังนัน้ น�ำ้ สามารถกระจายออกได้ 4 จุด ท�ำให้ เป็นประโยชน์เมือ่ ใช้กบั ดินร่วนหรือดินทรายซึง่ ไม่คอ่ ยมีการแผ่ขยายของเขตเปียก หัวน�ำ้ หยดชนิดนี้ ใช้กันมากในสวนองุ่นและสวนดอกไม้ การติดหัวน�้ำหยดบนท่อท�ำให้ยากต่อการม้วนเก็บจึงนิยม ใช้ติดตั้งประจ�ำ

หัวน�้ำหยดประกอบกับทางแยก 4 ทาง เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

111


หัวน�้ำหยดแบบฝังในท่อ มีหวั น�ำ้ หยดเป็นส่วนเดียวกับท่อ ไม่ยนื่ ออกมาภายนอกท่อและสามารถม้วนเก็บหลังการใช้ได้ดว้ ย มีทั้งชนิดไม่ปรับแรงดันและชนิดปรับแรงดันในตัวได้

หัวน�้ำหยดชนิดไม่ปรับแรงดัน

หัวน�้ำหยดชนิดปรับแรงดัน

หัวน�้ำหยดแบบเทปน�้ำหยด ประกอบด้วยท่อใหญ่ผนังบางน�ำน�ำ้ ไหลผ่านต่ออยูก่ บั ท่อเล็กเพือ่ จ่ายน�ำ้ มีลกั ษณะเป็นร่อง หรือบางแบบอาจเป็นรูเล็กๆ และมีหัวน�้ำหยดฝังอยู่ภายใน

เทปน�้ำหยดแบบมีท่อใหญ่น�ำน�้ำ และร่องขนาดเล็กจ่ายน�้ำเป็นช่วง ๆ เทปน�ำ้ หยดปกติใช้กบั พืชผลต่างๆ ทีป่ ลูกเป็นแถว เช่น สับปะรด อ้อย มันส�ำปะหลัง ผักต่างๆ และกล้วย ยิง่ ขนาดของท่อออกเล็กมากเท่าไรการซึมลงดินก็ยงิ่ ดีมากขึน้ ในการให้นำ�้ ผักท่อน�ำ้ หยด จะถูกวางใต้พลาสติกที่คลุมอยู่เพื่อลดการระเหยและป้องกันผลผลิตสัมผัสกับดิน นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ท่อที่ไม่มีความต้านทานต่อแสงอาทิตย์และมีราคาถูกกว่าได้ การฝังท่อระดับตื้นๆ จะท�ำให้การค้นหาท่อภายหลังฤดูเก็บเกี่ยวง่ายขึ้น

112

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ท่อน�้ำหยดวางใต้พลาสติกคลุมดิน

ท่อน�้ำหยดวางใต้ดิน

ท่อ

ท่อถูกน�ำมาใช้ในระบบการให้น�้ำพืชตั้งแต่การล�ำเลียงน�้ำจากแหล่งน�้ำมาถึงหัวปล่อยน�้ำ ซึง่ ผูใ้ ช้ระบบน�ำ้ จะต้องพิจารณาว่าจะใช้ทอ่ ชนิดใด ขนาดใด เป็นท่อเมน ท่อเมนย่อย และท่อย่อย ท่อส่วนมากจะใช้ 2 ชนิด คือ ➣ ท่อชนิด พีวีซี (PVC) ท่อชนิดนีเ้ ป็นท่อพลาสติกมีนำ�้ หนักเบา เชือ่ มต่อกันได้งา่ ยสามารถเชือ่ มต่อกับท่อชนิดอืน่ ได้ดว้ ย ไม่เป็นสนิม ทนต่อการกัดกร่อนของกรดและสารเคมี แต่มขี อ้ เสียคือ เมือ่ ถูกทับด้วยน�ำ้ หนักมาก ๆ อาจเกิดการแตกหักได้ หรือเกิดการกรอบแตกได้งา่ ยเมือ่ อยูใ่ นทีแ่ ดดจัดเป็นเวลานาน ๆ และต่อเนือ่ ง ท่อพีวีซี มีความยาวมาตรฐาน ท่อนละ 4 เมตร และขนาดมาตรฐานที่มีขายทั่วไปมีตั้งแต่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ½ นิ้ว ถึง 16 นิ้ว ข้อที่ควรค�ำนึงในการใช้ท่อพีวีซีกับระบบการให้น�้ำ อีกข้อหนึ่งก็คือขนาดความหนาของท่อ ซึ่งความหนาของท่อจะมีผลในการรับแรงดันของน�้ำซึ่งระบบ ค่าการรับแรงดันของท่อพีวีซีก�ำหนดไว้เป็นชั้น (Class) ตามมาตรฐาน ดังนี้ ชัน้ 5 หมายถึงรับแรงดันของน�ำ้ ได้สงู สุด 5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 50 เมตร ชัน้ 8.5 หมายถึงรับแรงดันของน�ำ้ ได้สงู สุด 8.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 85 เมตร ชัน้ 13.5 หมายถึงรับแรงดันของน�ำ้ ได้สงู สุด 13.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 135 เมตร

ท่อพีวีซี เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

113


➣ ท่อชนิด พีอี (PE)

เป็นท่อโพลีเอทธิลีนที่มีสีด�ำ จึงมักเรียกกันว่าท่อด�ำ เป็นท่อซึ่งผลิตส�ำหรับระบบเกษตร เนือ่ งจากท่อพีอขี นาดเล็กมีราคาถูกกว่าท่อชนิดอืน่ ๆ ตัดต่อและเจาะรูงา่ ย ท�ำให้สะดวกในการติดตัง้ มีน�้ำหนักเบาและมีความยืดหยุ่นสูงกว่าท่อพีวีซีมาก จึงสามารถรับแรงกดทับได้โดยไม่แตกหัก มีความยาวตั้งแต่ 50 - 200 เมตร จึงสามารถลดจ�ำนวนข้อต่อลงไปได้มากขนาดของท่อนิยมเรียก เป็นมิลลิเมตร ส�ำหรับค่าทีบ่ อกถึงความสามารถในการรับแรงดันก�ำหนดไว้เป็นชัน้ ตัวเลข (PN) ดังนี้ PN 2.5 หมายถึงรับแรงดันน�้ำได้สูงสุด 2.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 25 เมตร PN 4 หมายถึงรับแรงดันน�้ำได้สูงสุด 4 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 40 เมตร PN 6.3 หมายถึงรับแรงดันน�้ำได้สูงสุด 6.3 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 63 เมตร PN 10 หมายถึงรับแรงดันน�ำ้ ได้สงู สุด 10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ 100 เมตร ท่อพีอี แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ท่อพีอคี วามหนาแน่นต�ำ่ (LDPE) มีความยาวตัง้ แต่ 50 - 200 เมตร โค้งงอและม้วนได้ สามารถเจาะหรือต่อหัวจ่ายน�ำ้ ได้งา่ ยจึงนิยมใช้เป็นท่อย่อย อีกชนิดคือท่อพีอี ความหนาแน่นสูง (HDPE) มักใช้เป็นท่อเมนหรือท่อเมนย่อย ท่อขนาดไม่เกิน 63 มิลลิเมตร สามารถ ม้วนได้ที่ความยาว 50 เมตร ส่วนท่อขนาดใหญ่ผลิตเป็นท่อนความยาว 6 เมตร และท่อที่มีขนาด ตั้งแต่ 50 มม. ขึ้นไปจะมีราคาสูงกว่าท่อพีวีซี

ท่อ พีอี ความหนาแน่นต�่ำใช้ส�ำหรับท่อย่อย และท่อพีอีความหนาแน่นสูงใช้ส�ำหรับท่อเมนย่อย

114

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


เครื่องกรองน�้ำ การกรองทีด่ เี ป็นกุญแจทีน่ ำ� ไปสูค่ วามส�ำเร็จ เครือ่ งกรองน�ำ้ จึงนับเป็นอุปกรณ์ทมี่ คี วามส�ำคัญ มากที่สุดอย่างหนึ่งในระบบ ซึ่งแก้ปัญหาการอุดตันของหัวปล่อยน�้ำได้ เนื่องจากหัวปล่อยน�้ำ มีรจู า่ ยน�ำ้ ขนาดเล็กมาก เศษผงต่างๆ ที่ถูกดูดผ่านเครื่องสูบน�้ำเข้าไปในท่อจะไปอุดตันที่รูจ่ายน�้ำ ระบบการกรองใช้ในการกรองเอาอนุภาคเล็กๆ ออกให้เหลืออนุภาคทีเ่ ล็กมากพอทีจ่ ะไม่อดุ ทางออก ของรูจา่ ยน�ำ้ อนุภาคทีอ่ ยูใ่ นน�ำ้ เหล่านีป้ ระกอบด้วยอนุภาคทีเ่ ป็นทัง้ สารอินทรียแ์ ละสารอนินทรีย์ อนุภาคที่เป็นสารอินทรีย์ได้แก่ พวกสาหร่าย แบคทีเรีย เศษวัชพืช เมล็ดพืช ตัวทากเล็กๆ ปลา และสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งที่ตายแล้วและยังไม่ตาย อนุภาคที่เป็นสารอนินทรีย์ ได้แก่ อนุภาคของดิน สามชนิดคือ ทราย ตะกอนทราย และดินเหนียว เครื่องกรองน�้ำมีอยู่หลายแบบซึ่งมีลักษณะการท�ำงานต่างกันบ้าง ขึ้นอยู่กับคุณภาพของน�้ำ ทีจ่ ะต้องกรอง เครือ่ งกรองน�ำ้ ทีน่ ยิ มใช้แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด คือ กรองแยกทราย กรองแบบตะแกรง กรองแบบถังทรายและกรองแบบแหวน

➣ กรองแยกทราย (Sand Separators)

ใช้ในการแยกเอาทรายและอนุภาคอืน่ ๆ ออก เป็นแบบให้นำ�้ ไหลหมุนวนซึง่ อนุภาคเหล่านี้ หนักกว่าน�้ำจะแยกตัวออกมาและตกลงสู่ด้านล่าง เครื่องกรองแบบนี้มักจะใช้กับน�้ำที่มีทรายปน อยู่เป็นจ�ำนวนมาก

กรองแยกทราย เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

115


➣ กรองแบบตะแกรง (Screen Filter)

ใช้แยกของแข็งและอนินทรียวัตถุทแี่ ขวนลอยปนอยูใ่ นน�ำ้ โดยใช้ไส้กรองเป็นตะแกรงท�ำจาก วัสดุที่ไม่เป็นสนิม เช่น พลาสติก หรือสแตนเลส แบ่งแยกความละเอียดโดยสีต่างๆ ของไส้กรอง

ลักษณะกรองและไส้กรองแบบตะแกรง

➣ กรองแบบถังทรายหรือกรวด (Gravel Filter)

ใช้ในการขจัดพวกอินทรียวัตถุและตะไคร่น�้ำจากแหล่งน�้ำเปิด เช่น ห้วย หนอง คลอง บึง แม่นำ�้ ซึง่ เครือ่ งกรองแบบตะแกรงไม่สามารถกรองได้ ภายในเครือ่ งกรองจะบรรจุไว้ดว้ ยชัน้ ของทราย หรือวัสดุกรองที่คัดขนาดมา มีประสิทธิภาพในการก�ำจัดสารอินทรียวัตถุได้ดี

กรองแบบถังทรายหรือกรวด ก. ถังขนาดใหญ่ ข. ถังขนาดเล็ก

116

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ กรองแบบแหวน (Disc Filter)

ใช้แยกของแข็งและอนินทรียวัตถุท�ำงานโดยใช้ไส้กรองแบบแหวนร่อง (Grooved Rings) หลายแผ่นที่ประกบเข้าด้วยกัน สร้างเป็นตัวไส้กรองแบบทรงกระบอกที่มีความลึกของการกรอง ความละเอียดแบ่งเป็น 6 ระดับ แบ่งแยกระดับความละเอียดจากน้อยไปมากตามที่บริษัทผู้ผลิต ก�ำหนด ได้แก่ น�้ำเงิน เหลือง แดง ด�ำ เขียว เทา ตามล�ำดับ

กรองแบบแหวน

ลักษณะไส้กรองแบบแหวน เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

117


เครื่องสูบน�้ำ เมือ่ พูดถึงเครือ่ งสูบน�ำ้ เกษตรกรทัว่ ไปมักจะรูจ้ กั ว่าเป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้สบู น�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ไปยัง บริเวณที่ต้องการ แต่อาจจะไม่รู้จักว่าเป็นเครื่องสูบน�้ำประเภทใด มีคุณสมบัติอย่างไร สูบน�้ำได้ มากน้อยเพียงใด ซึ่งที่จริงแล้วแต่ละประเภทก็จะมีลักษณะการใช้งานและคุณสมบัติไม่เหมือนกัน เครื่องสูบน�้ำส่วนใหญ่จ�ำแนกได้ดังนี้ ➣ เครื่องสูบน�้ำประเภทเหวี่ยงหนีศูนย์ เรียกกันทั่วไปว่าเครื่องสูบน�้ำแบบหอยโข่งเป็นเครื่องสูบน�้ำที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ในการเกษตร ใช้ในระบบการให้น�้ำทางท่อ เช่น น�้ำหยด มินิสปริงเกลอร์ สปริงเกลอร์ หรือใช้ ในการระบายน�้ำได้เช่นกัน เครื่องสูบน�้ำประเภทนี้มีให้เลือกมากมายหลายแบบ และหลายขนาด ตามความต้องการของผู้ใช้ สามารถเลือกใช้ได้ทั้งที่น�้ำมากแรงดันต�่ำ หรือน�้ำน้อยแรงดันสูง หรือทัง้ น�ำ้ มากแรงดันมาก สามารถใช้ได้ทงั้ เครือ่ งยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้า เครือ่ งสูบน�ำ้ แบบหอยโข่ง สามารถใช้สูบน�้ำจากแหล่งน�้ำเปิดต่างๆ ได้ดี แต่จ�ำเป็นต้องติดตั้งให้ถูกวิธี และต้องกรอกน�้ำ ในท่อดูดให้เต็มจึงจะสามารถสูบน�้ำได้

เครื่องสูบน�้ำหอยโข่งแบบใช้เครื่องยนต์เบนซิน เครื่องสูบน�้ำหอยโข่งแบบใช้มอเตอร์ไฟฟ้า

➣ เครื่องสูบน�้ำประเภทใบพัดจุ่มใต้น�้ำ

แบ่งได้ 2 ชนิด เช่น เครือ่ งสูบน�ำ้ แบบเทอร์ไบน์ ใช้สบู น�ำ้ จากบ่อบาดาลน�ำ้ ตืน้ หรือบ่อน�ำ้ ตืน้ โดยมีเครือ่ งยนต์ หรือมอเตอร์ตดิ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ดิน และเครือ่ งสูบน�ำ้ แบบ Submersible ใช้สบู น�ำ้ จากบ่อบาดาลน�ำ้ ลึกโดยทัง้ มอเตอร์ และใบพัดจมอยูใ่ ต้นำ�้ ทัง้ หมด ทัง้ 2 ประเภทนีส้ ามารถ ใช้กับระบบการเกษตรได้

118

เครื่องสูบน�้ำแบบเทอร์ไบน์ และ Submersible เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


➣ ต้นก�ำลังที่เป็นเครื่องยนต์

เครื่องยนต์มี 2 แบบด้วยกันคือ เครื่องยนต์แก๊สโซลีนหรือเครื่องยนต์เบนซินและ เครื่องยนต์ดีเซล สิ่งส�ำคัญที่ใช้พิจารณาในการใช้ต้นก�ำลังที่เป็นเครื่องยนต์มาใช้กับเครื่องสูบน�้ำ ได้แก่ แรงม้าของเครื่องยนต์และความเร็วรอบของเครื่องยนต์ ซึ่งต้นก�ำลังที่เป็นเครื่องยนต์มักจะ แยกส่วนกับเครื่องสูบน�้ำ ดังนั้นเวลาติดตั้งควรจะเลือกเครื่องสูบน�้ำให้มีความเร็วรอบอยู่ใน ระดับเดียวกับความเร็วรอบท�ำงานต่อเนื่องของเครื่องยนต์ หากความเร็วรอบต่างกันจ�ำเป็นต้อง ท�ำการทดรอบสามารถท�ำได้โดยใช้พู่เล่ย์และสายพาน การใช้เครื่องยนต์จะต้องบ�ำรุงรักษา เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเครื่องและน�้ำในระบบระบายความร้อนอย่างสม�่ำเสมอตามก�ำหนด

ต้นก�ำลังที่เป็นเครื่องยนต์ใช้กับเครื่องสูบน�้ำ

➣ ต้นก�ำลังที่เป็นมอเตอร์ไฟฟ้า

มอเตอร์ไฟฟ้ามีอายุการใช้งานยาวนาน ไม่ต้องบ�ำรุงรักษามากเหมือนเครื่องยนต์ หากมีการใช้งานและการบ�ำรุงรักษาอย่างถูกต้องอาจใช้งานได้นาน 20 ถึง 30 ปี เมือ่ เทียบค่าใช้จา่ ย ด้านกระแสไฟฟ้าของมอเตอร์ไฟฟ้ากับค่าใช้จ่ายด้านน�้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ จะพบว่า มอเตอร์ไฟฟ้าประหยัดกว่าถึงร้อยละ 30 มอเตอร์ที่ใช้กับเครื่องสูบน�้ำโดยทั่วๆ ไป รอบการหมุนจะมีความเร็วคงที่คือ 1,450 และ 2,900 รอบต่อนาที ความเร็วทีใ่ ช้กนั มากทีส่ ดุ คือ 1,450 รอบต่อนาที และมอเตอร์ใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว (220V-50Hz) จะมีขนาดไม่เกิน 10 แรงม้า

ต้นก�ำลังมอเตอร์ไฟฟ้าแบบต่อตรงประกบติดกัน เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

119


แรงดันปั๊ม/เมตร

แรงดันสูงสุดของปั๊ม ปริมาณน้ำ� = 0 ลิตร/นาที ที่แรงดัน 30 เมตร ปริมาณน้ำ� = 300 ลิตร/นาที

32 เมตร 30 เมตร

ที่แรงดัน 20 เมตร

20 เมตร

ปริมาณน้ำ� = 550 ลิตร/นาที

แสดงคุณสมบัติในการส่งน�้ำของเครื่องสูบน�้ำแบบเหวี่ยงหนีศูนย์

อุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบการให้น�้ำ อุปกรณ์ที่กล่าวมาเป็นอุปกรณ์หลัก ๆ แต่ยังมีอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องในระบบการให้น�้ำที่ ควรทราบอีก เพื่อที่จะท�ำให้การติดตั้งระบบการให้น�้ำเป็นไปอย่างสมบูรณ์ อุปกรณ์ที่ควรทราบมี ดังนี้ ➣ ประตูน�้ำหรือวาล์ว หน้าทีห่ ลักของประตูนำ�้ คือ ควบคุมการปิด การเปิดน�ำ้ และควบคุมปริมาณการไหลของน�ำ้ ประตูน�้ำมีหลายชนิด และหลากหลาย ตลอดจนวัสดุที่ใช้ท�ำแตกต่างกันออกไป แต่จะมีลักษณะ การท�ำงานอยู่ 2 ลักษณะ คือ

120

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


• ใช้เกลียวเป็นตัวยกจานควบคุมช่องทางการไหลของน�้ำ (Gate Valve) • ใช้ลูกกลมเป็นตัวควบคุมช่องทางการไหลของน�้ำ (Ball Valve)

ประตูน�้ำแบบใช้จานควบคุมการไหล

ประตูน�้ำแบบใช้ลูกกลมเป็นตัวควบคุมการไหล

➣ ข้อต่อต่างๆ

ในระบบท่อไม่วา่ จะเป็นท่อเหล็ก ท่อพีวซี ี หรือท่อพีอี จะมีขอ้ ต่อลักษณะต่างๆ เพือ่ สะดวก ในการใช้งาน ในระบบน�ำ้ จะใช้ทอ่ ชนิดต่างๆ บางครัง้ ก็ใช้ทงั้ 3 ชนิดร่วมกัน เช่นในส่วนของชุดสูบน�ำ้ ใช้ทอ่ เหล็กหรือท่อพีวซี ตี งั้ แต่ทอ่ ดูดขึน้ มาจะกระทัง่ ถึงท่อเมน และใช้ทอ่ ชนิดพีวซี ใี นส่วนของท่อเมน ท่อเมนย่อย ส่วนท่อพีอใี ช้เป็นท่อย่อย ดังนัน้ จึงต้องเลือกใช้อปุ กรณ์ขอ้ ต่อตามชนิดของท่อให้ถกู ต้อง เหมาะสมด้วย ➣ เกจวัดแรงดันน�้ำ ควรใช้เกจวัดแรงดันติดตั้งในบริเวณท่อส่งใกล้กับเครื่องสูบน�้ำ เมื่อเดินเครื่องสูบน�้ำแล้ว แรงดันจะปรากฏบนเกจโดยเข็มจะกระดิกไปท�ำให้ทราบได้ว่าเครื่องสูบน�้ำท�ำงานที่แรงดันเท่าไร เกจวัดนี้เป็นสิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็น เพราะเป็นตัวระบุได้แน่นอนกว่าการคาดเดา นอกจากนัน้ อาจใช้เกจวัดแรงดันติดตัง้ 2 จุด ก่อนและหลังเครือ่ งกรองน�ำ้ เพือ่ วัดความดัน ของน�ำ้ ทีไ่ หลผ่านกรอง หากสังเกตพบว่าแรงดันทีอ่ า่ นได้จากเกจซึง่ อยูห่ ลังเครือ่ งกรองต�ำ่ กว่าความ ดันของเกจตัวหน้ากรองมาก แสดงว่าเครื่องกรองเริ่มอุดตันน�้ำไหลผ่านไม่สะดวก จะต้องถอด ไส้กรองออกมาท�ำความสะอาด

แสดงเกจวัดแรงดันของน�้ำ เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

121


➣ วาล์วระบายอากาศ

เป็ น อุ ป กรณ์ ช ่ ว ยในการระบายอากาศ ออกจากระบบท่อซึ่งมักมีอากาศขังอยู่บนจุดสูงสุด ของท่อและขัดขวางการไหลของน�้ำเนื่องจากอากาศ ท�ำให้พื้นที่ของท่อลดลง การระบายอากาศออก จะช่วยให้การไหลของน�้ำสะดวกขึ้น ➣ วาล์วกันน�้ำไหลกลับ ท�ำหน้าทีเ่ ปิดให้นำ�้ ไหลไปทางเดียว และปิด เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ น�้ ำ ไหลย้ อ นกลั บ เรี ย กกั น ว่ า เช็ควาล์ว การติดตั้งวาล์วกันน�้ำไหลกลับจะติดตั้ง ในท่อส่งน�ำ้ ทีว่ างขึน้ ทางชันหรือเนิน เมือ่ เครือ่ งสูบน�ำ้ หยุดอย่างกะทันหันหากไม่ติดตั้งวาล์วกันน�้ำไหลกลับ น�้ำอาจจะไหลย้อนกลับกระแทกท�ำให้เครื่องสูบน�้ำ เสียหายหรือข้อต่อท่อดูดหลุดได้

วาล์วระบายอากาศชนิดต่างๆ

วาล์วกันน�้ำไหลกลับหรือเช็ควาล์ว

➣ เครื่องจ่ายปุ๋ย

จุดประสงค์เพื่อฉีดปุ๋ยซึ่งเป็นของเหลวเข้าไปผสมกับน�้ำในอัตราส่วนที่พอเหมาะ เช่น เครื่องจ่ายปุ๋ยแบบเวนจูรี่ ท�ำงานโดยอาศัยแรงดันน�้ำที่มีอยู่แล้วในระบบ โดยไม่ต้องอาศัยแหล่ง พลังงานเพิ่มเติมจากภายนอก เหมาะส�ำหรับจ่ายปุ๋ยได้ถึง 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง สามารถใช้เป็นศูนย์กลางการจ่ายปุย๋ ส�ำหรับพืน้ ทีข่ นาดใหญ่ สามารถประกอบเข้ากับระบบใดๆ ทีม่ อี ยู่ แล้วได้อย่างง่าย ท�ำงานได้เร็วและไม่ยุ่งยาก แต่มีการสูญเสียแรงดันค่อนข้างมาก

122

เครื่องจ่ายปุ๋ยแบบเวนจูรี่ เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

ติดตั้งเครื่องจ่ายปุ๋ยในแปลง


เทคนิคการติดตั้งและใช้งานระบบให้น�้ำ การติดตั้งเครื่องสูบน�้ำและอุปกรณ์ ต�ำแหน่งที่ตั้งของเครื่องสูบน�้ำ เพือ่ ให้เครือ่ งสูบน�ำ้ ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีอายุการใช้งานทีย่ าวนาน เครือ่ งสูบน�ำ้ จะต้องติดตัง้ อยูใ่ นต�ำแหน่งทีเ่ หมาะสม วางอยูบ่ นแท่นทีม่ คี วามมัน่ คง แข็งแรง และต่อกับอุปกรณ์ ต้นก�ำลังและระบบท่ออย่างถูกต้อง กรณีทตี่ ดิ ตัง้ เครือ่ งสูบน�ำ้ อย่างถาวรควรทีจ่ ะต้องพิจารณา ดังนี้ 1. สถานที่ติดตั้งเครื่องสูบน�้ำควรอยู่ในต�ำแหน่งที่สามารถเข้าไปตรวจสอบ บ�ำรุงรักษา หรือซ่อมแซมได้ง่าย 2. ไม่ตากแดด ตากฝน ถ้าเป็นการติดตัง้ ถาวรควรอยูใ่ นโรงทีม่ กี ารถ่ายเทอากาศได้ดี ไม่เปียกชืน้ 3. เครือ่ งสูบน�ำ้ ควรอยูใ่ กล้แหล่งน�ำ้ ทีจ่ ะสูบมากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ และอยูส่ งู กว่าระดับน�ำ้ สูง ที่สุดในฤดูน�้ำหลาก การติดตั้งท่อดูดและอุปกรณ์ สิ่งที่จะต้องพิจารณาในการติดตั้งท่อดูดและอุปกรณ์ส�ำหรับเครื่องสูบน�้ำ (ปั๊มแบบหอยโข่ง) มีดังนี้ 1. ศูนย์กลางของเครื่องสูบน�้ำควรอยู่ใกล้ผิวน�้ำที่ท�ำการสูบมากที่สุด 2. มีอุปกรณ์ เช่น ข้องอ ข้อต่อ และจุดต่อน้อยที่สุด 3. ความยาวของท่อดูดควรสั้นที่สุด 4. ที่ปลายท่อดูดควรมีฟุตวาล์วและหัวกะโหลก 5. เครื่องสูบน�้ำตั้งอยู่บนแท่นที่มั่นคงแข็งแรง 6. ท่อดูดควรจะโตกว่าขนาดของด้านดูดของเครื่องสูบน�้ำ เช่น ด้านดูด 2 นิว้ ควรใช้ทอ่ ดูดทีม่ ขี นาดโตกว่า 2 นิว้ อย่างน้อย 1 ขนาด เช่น 2½ นิ้วหรือ 3 นิ้ว ไม่ควรใช้ ระยะไม่ควรน้อยกว่า 6 เท่าของท่อดูด ขนาดเดียวกันหรือเล็กกว่าด้านดูด 7. ข้อลดระหว่างด้านดูดของเครือ่ งสูบน�ำ้ กับท่อดูดควรจะเป็นข้อลดแบบคางหมูไม่ควรใช้ ข้อลดปกติเพราะจะเกิดอากาศขังในท่อได้ ใกล้ผวิ น�ำ้ มากทีส่ ดุ 8. ปลายท่อดูดไม่รวมหัวกะโหลกควรอยู่ต�่ำจากผิวน�้ำไม่น้อยกว่า 4 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อดูดและอยู่สูงจากพื้นบ่อที่สูบน�้ำ ไม่น้อยกว่า 1 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อดูด หัวกระโหลก

ลักษณะการติดตั้งที่ถูกต้อง

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

123


ควรใช้

ข้อลดแบบคางหมู

ไม่ควรใช้

ท่อดูดโตกว่าขนาดด้านดูดของ เครื่องสูบน�้ำอย่างน้อย 1 ขนาด

ท่อดูดเท่ากับ ขนาดด้านดูดของเครื่องสูบน�้ำ อากาศขังอยู่

ข้อลดแบบปกติ

ลักษณะของท่อดูดที่ควรใช้ และไม่ควรใช้

อย่างน้อย 4 เท่าของ เส้นผ่านศูนย์กลางท่อดูด (D)

อย่างน้อยเท่ากับ เส้นผ่านศูนย์กลางท่อดูด

แสดงอุปกรณ์และความลึกของปลายท่อดูดจากผิวน�้ำ

124

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การติดตั้ง เครื่องกรองน�้ำ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ

นิ้ปเปิ้ล

นิ้ปเปิ้ล

ข้องอ 90ํ นิ้ปเปิ้ล ก๊อกสนาม

เกจวัดแรงดัน เกจวัดแรงดัน นิ้ปเปิ้ล นิ้ปเปิ้ล นิ้ปเปิ้ล ลดเหลี่ยม ลดเหลี่ยม

ยูเนี่ยน ประตูน�้ำ สามทางลด สามทางลด

สามทางลด ประตูน�้ำ

นิ้ปเปิ้ล

สามทางลด

วาล์วกันน�้ำไหลกลับ เครือ่ งกรองน�ำ้

ท่อ

ท่อ

ชุดเครื่องกรองน�้ำ

ข้อลด

เครื่องสูบน�้ำ

โซนที่ 1

โซนที่ 2

วาล์วระบายอากาศ นิ้ปเปิ้ล ข้องอ 90ํ

ข้องอ 90ํ

ท่อ

โซนที่ 3

ท่อย่อย

ท่อเมนย่อย

ประตูน�้ำ

เครื่องกรองน�้ำ

การวางแนวท่อส่งน�้ำ

ประตูน�้ำ ท่อเมน

ประตูน�้ำ

เครื่องสูบน�้ำ

โซนที่ 1

แหล่งน�้ำ

โซนที่ 2

โซนที่ 3

ท่อย่อย

ท่อเมนย่อย เครื่องกรองน�้ำ ประตูน�้ำ ประตูน�้ำ

ท่อเมน

เครื่องสูบน�้ำ แหล่งน�้ำ

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

125


การติดตั้งหัวปล่อยน�้ำกับท่อย่อย ท่อย่อยจะวางอยูบ่ นพืน้ ดินในแถวพืช จะต้องใส่หวั ปล่อยน�ำ้ หลังการวางท่อย่อยแล้ว 48 ชัว่ โมง เพือ่ ให้การขยายตัวและหดตัวของท่อย่อยไม่กระทบต่อต�ำแหน่งของหัวปล่อยน�ำ้ การต่อข้อต่อเข้ากับ ผนังท่อย่อย จะต้องใช้ทเี่ จาะรูทถี่ กู ต้องไม่ใช้ตะปู หรือลวดทีแ่ ข็งและทือ่ ซึง่ อาจเป็นผลเสียต่อท่อย่อย คือท่อย่อยอาจแตกหรือท�ำให้จดุ ปล่อยน�ำ้ จุดนัน้ เสียหาย การล้างท่อย่อยก่อนใช้กเ็ ป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญ มากเช่นกัน

ติดตั้งหัวน�้ำหยดกับท่อย่อย

ติดตั้งหัวมินิสปริงเกลอร์กับท่อย่อย

ติดตั้งหัวไมโครสเปรย์ (Micro Spray) และเจ็ท (Jet) กับท่อย่อย

126

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การต่อท่อย่อยและท่อเมนย่อย การสวมท่อย่อยพีอี (LDPE) กับข้อต่อพลาสติกค่อนข้างง่ายและควรท�ำให้ท่อย่อยร้อนก่อน (ใช้น�้ำร้อนหรือแสงแดดไม่ใช้ไฟเผา) มิฉะนั้นเมื่อใช้งานท่ออาจจะแตกตามแนวยาวเนื่องจากใน ขณะสวมกับข้อต่อได้รับความเครียดมากเกินไป สิ่งนี้ส�ำคัญเพราะการติดตั้งในระยะแรกมักจะ ประสบกับปัญหาเช่นนี้มาก

ข้อต่อพลาสติกส�ำหรับท่อพีอี

การต่อข้อต่อพลาสติกส�ำหรับท่อพีอี

การใช้นำ�้ เพียงอย่างเดียวก็ทำ� ให้ทอ่ สวมเข้ากับข้อต่อพลาสติกได้งา่ ย โดยไม่ตอ้ งใช้ผงซักฟอก เพราะผงซักฟอกอาจมีผลกระทบต่อความทนทานของท่อพีอีที่มีความหนาแน่นต�่ำ (LDPE) ได้ เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

127


ส�ำหรับการต่อเชือ่ มระหว่างท่อย่อยกับท่อเมนย่อยพีอคี วามหนาแน่นต�ำ่ (LDPE) จะใส่ขอ้ ต่อ พลาสติกเข้ากับท่อเมนย่อยได้เลย แต่ถ้าท่อเมนย่อยเป็นพีอีความหนาแน่นสูง (HDPE) หรือพีวีซี จะต้องใช้ปลอกยางกลมๆ ร่วมกับข้อต่อขนาดเท่ารูปลอกยางเพื่อต่อท่อย่อยเข้ากับท่อเมนย่อย

ข้อต่อแบบใช้ปลอกยางส�ำหรับต่อท่อย่อยกับท่อเมนย่อยพีอี (HDPE) หรือพีวีซี

การต่อท่อเมน

ท่อเมนมักใช้ท่อพีวีซีมีทั้งแบบธรรมดา แบบบานปลาย และแบบปากระฆังหรือแหวนยาง ซึ่งมีข้อต่อเฉพาะแบบ และมีวิธีการต่อแตกต่างกันตามชนิดท่อ หรืออาจใช้ท่อเมนเป็นท่อพีอี แต่จะมีราคาสูงกว่าพีวีซี

128

การต่อท่อพีวีซีแบบปากระฆัง

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


ข้อต่อท่อพีอีแบบสวมอัด และข้อต่อพีวีซี

การต่อท่อ พีอี ด้วยข้อต่อแบบสวมอัด ขั้นตอนการติดตั้งและเริ่มต้นใช้งานระบบให้น�้ำ เมื่อเริ่มต้นใช้งานระบบการให้น�้ำ จะต้องล้างทุกๆ ส่วนของระบบด้วยน�้ำ เพื่อลดสิ่งสกปรก จากการติดตั้งไม่ให้ไปอุดตันที่หัวปล่อยน�้ำ มีขั้นตอนดังนี้ 1. ติดตั้งอุปกรณ์ชุดควบคุม ชุดให้ปุ๋ย และกรองให้เรียบร้อย 2. ถ้าใช้กรองทีม่ รี ะบบล้างเองอัตโนมัติ ขัน้ แรกต่อระบบไฮดรอลิกส์ โดยตรวจสอบการท�ำงาน ของ Control Valve ให้ถูกต้อง จากนั้นต่อไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ 3. วางแนวท่อเมนและท่อจ่ายน�้ำตามที่ออกแบบ ถ้าจะฝังท่อก็ให้ขุดดินเป็นร่องให้ใกล้วัน ติดตั้งมากที่สุดเพื่อสภาพดินจะง่ายต่อการกลบ 4. ต่อท่อเมนและท่อเมนย่อยทั้งหมด รวมทั้งวาล์วปรับความดัน 5. วางท่อลงในร่อง กลบเพียงบางส่วนเพื่อกันการขยับของท่อ 6. เปิดน�้ำในระบบและล้างท่อให้สะอาด โดยการเปิดปลายท่อแต่ละเส้นครั้งละ 1 เส้น เพื่อ ให้มีแรงดันในการล้างไม่เปิดท่อหรือวาล์วทุกวาล์วพร้อมกัน เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

129


7. วางท่อย่อยโดยเปิดปลายท่อทุกเส้น 8. เจาะรูที่ท่อเมนย่อยตามต�ำแหน่งที่ถูกต้อง เพื่อต่อข้อต่อส�ำหรับท่อย่อย เมื่อเจาะรูแล้ว ต้องต่อเข้าทันทีเพื่อไม่ให้สิ่งสกปรกเข้าไปในท่อ อย่าทิ้งรูที่เจาะไว้เป็นเวลานาน 9. ถ้าในแบบระบุให้ใช้วาล์วปรับความดันที่ท่อย่อย ก็ให้ใส่วาล์วปรับความดัน และท่อย่อย ตามแบบ รวมทั้งวาล์วระบายอากาศ (ถ้ามี) 10. เปิดน�้ำในระบบล้างท่ออีกครั้ง โดยเปิดครั้งละโซน เพื่อให้น�้ำมีแรงดัน ล้างท่อเมน ย่อยก่อน จากนั้นล้างท่อย่อยที่ติดอยู่กับท่อเมนย่อยนั้นจนเสร็จ จึงท�ำแบบเดียวกับท่อเมนย่อย และท่อย่อยชุดต่อๆ ไปจนเสร็จ โดยจัดการให้น�้ำที่ล้างมีแรงดันมากพอ 11. วาล์วปรับความดันบางตัวโดยเฉพาะที่อยู่ท้ายๆ ของระบบอาจมีการอุดตันเนื่องจาก สิ่งสกปรกในระหว่างการล้าง ให้เปิดฝาของวาล์วปรับความดันนั้น ถอดชิ้นส่วนออกมาล้างแล้ว ประกอบเข้าไปใหม่ 12. เมื่อล้างระบบเรียบร้อยแล้ว ปิดปลายท่อเมน ท่อเมนย่อย และท่อย่อยทุกเส้น 13. ถ้าใช้กล่องควบคุม หรือวาล์วไฮดรอลิกส์ ให้ต่อท่อควบคุมและสายไฟต่างๆ ตรวจสอบ การท�ำงานให้เรียบร้อย 14. เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยให้กลบท่อได้ แต่ต้องไม่กลบวาล์วปรับความดัน 15. ตรวจสอบการท�ำงานอีกครัง้ รวมทัง้ ระบบกรอง ระบบให้ปยุ๋ เกจวัดความดัน กล่องควบคุม และอุปกรณ์อัตโนมัติต่างๆ เมือ่ ติดตัง้ ระบบเสร็จ ในแปลงทีค่ วามชืน้ ของดินต�ำ่ กว่าจุดความชืน้ ชลประทาน (Field capacity) การเริ่มต้นให้น�้ำควรจะนานกว่าปกติเพื่อสะสมความชื้นของดินไว้ การเริ่มต้นให้น�้ำครั้งแรก อย่างน้อยที่สุดควรจะเป็น 2 เท่าของการให้น�้ำปกติ การเริ่มต้นให้น�้ำนี้ส�ำคัญเพราะจะเป็นการ ตรวจสอบการดึงความชื้นในเขตรากที่จะเปลี่ยนแปลงไประหว่างการให้น�้ำครั้งแรกกับครั้งต่อไป อาจจ�ำเป็นต้องท�ำเช่นนี้ซ�้ำในทุกฤดูกาล

130

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การปฏิบัติงานและดูแลรักษาระบบ การปฏิบัติงานเมื่อเริ่มต้นฤดูให้น�้ำ

ก่อนเริ่มต้นฤดูให้น�้ำ ท�ำตามขั้นตอนเพื่อให้แน่ใจว่าระบบใช้งานได้อย่างถูกต้อง ก่อนให้น�้ำ จริงต้องตรวจสอบก่อนประมาณ 2-3 สัปดาห์ ➣ ชุดควบคุม ตรวจเกจวัดความดัน ตรวจมิเตอร์วัดน�้ำ (ถ้ามี) ตรวจกล่องควบคุม และระบบควบคุมอิเลคโทรนิกส์ต่างๆ ใส่แบตเตอรี่ในอุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ ➣ ชุดกรอง ล้างกรองให้สะอาด ตรวจสภาพกรอง ซ่อมเปลี่ยนชิ้นส่วนที่จ�ำเป็น ตรวจยางกันรั่ว ถ้าเป็นกรองแบบกรวด ตรวจปริมาณกรวดถ้าไม่พอให้เติม ถ้าเป็นกรองแบบล้างอัตโนมัติให้ใส่แหล่งพลังงาน เช่น แบตเตอรี่ และกดปุ่ม Test ➣ ชุดให้ปุ๋ย ต่อระบบให้ปุ๋ย เช่น ถังจ่ายปุ๋ย ปั๊มฉีดปุ๋ย ตรวจสอบการท�ำงาน ถังจ่ายปุ๋ยต้องล้างให้สะอาด ➣ วาล์วควบคุมความดัน เปิดน�้ำเข้าในระบบ ตรวจวาล์วควบคุมความดันในแปลง โดยการกดที่สปริงถ้าสปริงกลับคืนแสดงว่าใช้งานได้ ถ้าติดให้เปิดฝาถอดสปริงและลูกสูบล้างให้สะอาด ประกอบเข้าไปใหม่ ➣ กล่องควบคุม เปิดอุปกรณ์ควบคุมตรวจสอบการท�ำงาน ตรวจสอบสายน�ำสัญญาณต่างๆ ➣ เปิดน�้ำล้างภายในท่อ ต้องล้างท่อทุกเส้นด้วยน�้ำที่มีแรงดันสูงสุด ล้างท่อใหญ่ก่อนไล่ไปหาท่อเล็ก และท่อย่อยสุดท้าย ➣ เปิดน�้ำผ่านระบบ เปิดวาล์วที่ปลายท่อเมนทีละเส้น เพื่อให้มีแรงดันในระบบ ล้างท่อเมนเสร็จแล้วล้างท่อเมนย่อยทีละเส้น เปิดล้างท่อย่อยในเมนย่อยแต่ละโซน เสร็จแล้วปิดปลายท่อตามล�ำดับที่เปิด เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

131


ท�ำแบบเดียวกันกับท่อย่อยแต่ละโซน จนเสร็จทุกเส้นในแปลง ถ้าน�้ำออกที่ปลายท่อย่อยไม่แรงแสดงว่าท่อหลุดหรือแตกให้ตรวจสอบและซ่อมแซม ➣ ท่อย่อย ตรวจท่อย่อยตลอดความยาวและหัวปล่อยน�้ำ ถ้าหัวไหนอุดตันให้เปลี่ยนหรือแก้ไข ก�ำจัดดินและพืชที่คลุมท่อออก การปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุดฤดูให้น�้ำ ➣ ล้างท่อ เปิดน�ำ้ ในระบบล้างท่อเมนและท่อเมนย่อยทีละเส้นเพือ่ ให้นำ�้ มีแรงดันมากทีส่ ดุ เมือ่ ล้างท่อเมน และท่อเมนย่อยแล้วให้ลา้ งท่อย่อยโดยเปิดปลายท่อย่อยครัง้ ละไม่เกิน 20 เส้น จากนัน้ ปิดตามล�ำดับ ที่เปิดแล้วล้างกลุ่มต่อไป ต้องระวังไม่เปิดปลายท่อย่อยมากเกินไปในแต่ละครั้งตรวจดูแรงดันน�้ำ ไม่ให้น้อยเกินไป ➣ ดูแลกรอง ล้างกรองแบบตระแกรงหรือแบบแผ่นจานให้สะอาดและระบายความดันออกจากฝาครอบ ล้างกรองแบบกรวดและถอดอุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ส�ำหรับระบบล้างกรองออกเก็บไว้ ตั้งค�ำสั่งให้วาล์วท�ำงานวันละครั้งเพื่อป้องกันวาล์วไฟฟ้าไม่ให้ติดขัด ซ่อมแซมทาสีส่วนที่เป็นโลหะ ➣ ดูแลระบบให้ปุ๋ย ล้างถังปุ๋ย ปั๊มฉีดปุ๋ย และอุปกรณ์ให้ปุ๋ยต่างๆ ให้สะอาดเก็บไว้ในที่เหมาะสม ➣ ดูแลท่อย่อย ดึงท่อย่อยออกจากดินหรือพืชที่ทับถมไม่ให้รากพืชชอนไช ซ่อมจุดที่เสียหาย

การปฏิบัติงานประจ�ำและการดูแลรักษา

การให้น�้ำปฏิบัติตามตารางการให้น�้ำปกติ ส่วนการตรวจสอบว่าเมือ่ ไรจะให้นำ�้ ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณน�ำ้ ที่ ยอมให้พชื ขาดได้ การตรวจปริมาณน�ำ้ ทีร่ ะเหยจากถาดวัดการระเหย การอ่านจากเครือ่ งวัดแรงดึง ความชืน้ หรือตรวจสอบระยะเวลาการให้นำ�้ (ปกติประมาณทุกสัปดาห์) และปริมาณน�ำ้ ทีใ่ ห้ตอ่ ครัง้ การท�ำความสะอาดเครื่องกรองโดยการล้างน�้ำย้อนกลับ (Backwashing หรือ Flushing Filters) นัน้ ปริมาณน�้ำจะเป็นตัวก�ำหนดความบ่อยที่ต้องล้างท�ำความสะอาดเครื่องกรอง อย่างไรก็ตามการ ปฏิบตั งิ านประจ�ำทีด่ คี วรล้างกรองโดยวิธลี า้ งน�ำ้ ย้อนกลับ หรือระบายตะกอนทิง้ เมือ่ สิน้ สุดการให้นำ�้ แต่ละครั้ง การทิ้งไว้ท�ำให้ตะกอนจับตัวแข็งในเครื่องกรองหลังการให้น�้ำเป็นระยะเวลานาน หรือเมื่อไม่มีการให้น�้ำ การใช้ระบบอัตโนมัติจะท�ำการล้างกรองได้เป็นอย่างดี ท่อที่ควรมีการล้าง ได้แก่ ท่อย่อยทั่วไปที่ใช้กันควรจะมีการเปิดล้างอย่างน้อยเดือนละครั้ง ท่อย่อยที่ติดวาล์วระบายน�้ำทิ้งอัตโนมัติจะระบายน�้ำทิ้งทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดการให้น�้ำ ท่อเมนควร พิจารณาล้างขึ้นกับปริมาณน�้ำที่จ่าย

132

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


เทคนิค

การพ่นสารเคมี การพ่นสารเคมีควบคุมศัตรูพชื ให้มปี ระสิทธิภาพ สามารถหยุดยัง้ การระบาดของศัตรูพชื ไม่ให้ เกิดการระบาดรุกลามในวงกว้างได้ เทคนิคการพ่นสารเคมีให้มปี ระสิทธิภาพ ประกอบด้วย ปัจจัยหลายๆ อย่าง เช่น เป้าหมายในการฉีดพ่น (แมลง เชือ้ รา วัชพืช) เครือ่ งพ่นสาร หัวฉีด ขนาดละอองสาร ทิศทางลม ความเร็วลม ตลอดจนเวลาในการฉีดพ่น และสิ่งที่ส�ำคัญ คือ สารเคมี พึงระลึกเสมอว่าสารเคมี เป็นสารพิษ ราคาแพง ควรใช้อย่างระมัดระวัง จ�ำเป็นต้องอ่านฉลากให้เข้าใจในรายละเอียด และใช้สารเคมีให้ตรงกับการควบคุมก�ำจัดศัตรูพชื การพ่นสารเคมีให้มปี ระสิทธิภาพ ประกอบด้วย 1. เครื่องพ่นสารเคมี 2. การเลือกใช้และการตรวจเช็คเครื่องพ่นสารเคมี 3. วิธีการพ่นสารเคมี 4. เป้าหมายในการพ่นสารเคมี 5. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องพ่นและสารเคมี

เครื่องพ่นสารเคมี

เครื่องพ่นสารเคมีแยกตามหลักการท�ำงานออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ประเภทใช้แรงลม ถังน้ำ�ยา

ก๊อกน้ำ�ยา

สายส่งน้ำ�ยา หัวฉีด

ศัตรูพชื

เครือ่ งยนต์

พัดลม

ท่อส่งลม

หลักการ ใช้เครื่องยนต์ขับพัดลมท�ำให้เกิดแรงลมออกไปตามท่อส่งลมปะทะสารเคมีทไี่ หลออกมาจาก หัวฉีดให้แตกตัวกระจายเป็นละอองสาร เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

133


ข้อดี - - - -

ละอองสารเคมีที่เกิดจากแรงลมปะทะหัวฉีด จะมีขนาดเล็กและละเอียดมาก สามารถ พ่นละอองสารได้ไกลมาก ระบบการไหลของน�ำ้ ยาไม่ซบั ซ้อนโดยอาศัยลมบางส่วนทีเ่ กิดจากพัดลมอัดลมเข้าถังน�ำ้ ยา ให้น�้ำยาไหลตามสายส่งน�้ำยาไปยังหัวฉีด การบ�ำรุงรักษาน้อยกว่าประเภทแรงดันของเหลวเพราะไม่มีปั๊มน�้ำยา สามารถพ่นสารเคมีชนิดเป็นผงได้

ข้อจ�ำกัด

- ไม่สามารถใช้พ่นสารก�ำจัดวัชพืชได้

เครื่องพ่นสารประเภทใช้แรงลม ได้แก่

134

แบบเครื่องยนต์สะพายหลัง

การท�ำงาน ใช้เครื่องยนต์เบนซิน 2 จังหวะ ขนาด 2.8 – 4 แรงม้า ท�ำให้ เกิดแรงลมความเร็วสูงปะทะสารเคมี ที่ หั ว ฉี ด กระจายเป็ น ละอองขนาด 50 – 120 ไมครอน ขณะใช้งานต้องมี ความเร็วลมสูงจ�ำเป็นต้องเร่งเครือ่ งยนต์ ให้ได้รอบประมาณ 6,000 – 7,000 รอบ ต่อนาที จึงจะได้ละอองละเอียด เหมาะส�ำหรับ ใช้ฉีดพ่นก�ำจัดแมลง และเชื้อรา พื้นที่ ประมาณ 20 – 30 ไร่

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


2. ประเภทใช้แรงดันของเหลว

ตัวปรับแรงดัน เกจวัดแรงดัน เครือ่ งยนต์

ปัม๊

สายส่งน้ำ�

ก้านฉีด

หัวฉีด

ศัตรูพชื

หลักการ ใช้เครือ่ งยนต์ขบั ปัม๊ ให้อดั น�ำ้ ยาเกิดแรงดันไหลไปตามสายส่งน�ำ้ ยาผ่านก้านฉีดออกไปยังหัวฉีด ซึ่งท�ำให้สารเคมีแตกกระจายเป็นละออง ข้อดี - ละอองสารเคมีทเี่ กิดจากหัวฉีดจะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ขนึ้ อยูก่ บั ขนาดของรูหวั ฉีดและแรงดัน - สามารถเลือกหัวฉีดให้เหมาะสมกับการก�ำจัดศัตรูพชื เช่น หัวฉีดรูปพัดใช้กบั การก�ำจัดวัชพืช และหัวฉีดรูปกรวยใช้ก�ำจัดแมลง - สามารถฉีดพ่นโดยให้เครื่องยนต์และปั๊มอยู่กับที่ แต่ใช้การลากสายน�้ำยาและก้านฉีด พ่น ไปได้ไกลประมาณ 200 เมตร หรือขึน้ อยูก่ บั ความยาวของสายน�้ำยา - สามารถใช้ฉีดพ่นสารเคมีชนิดน�้ำในการก�ำจัดศัตรูพืชได้ทุกประเภท

ข้อจ�ำกัด

- ในการฉีดพ่นสารเคมีจะมีการสูญเสียปริมาณสารมาก

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

135


เครือ่ งพ่นสารประเภทใช้แรงดันของเหลว ได้แก่

2.1) แบบสูบโยกสะพายหลัง การท�ำงาน ใช้แรงคนโยกคันโยกให้ลกู สูบใน กระบอกสูบอัดน�้ำยาเกิดแรงดัน 15 - 45 ปอนด์ ต่อตารางนิว้ ส่งน�ำ้ ยาผ่านรูหวั ฉีดรูปกรวย เป็นละออง ขนาด 30 - 50 ไมครอน เหมาะส�ำหรับใช้ฉีดพ่น ก�ำจัดแมลงและเชื้อราในพืชไร่และพืชผัก พื้นที่ ประมาณ 3 - 5 ไร่

2.2) แบบเครือ่ งยนต์สะพายหลังใช้แรงดันของเหลว การท�ำงาน ใช้เครื่องยนต์เบนซิน 2 จังหวะ ขนาด 2.8 - 4 แรงม้า ปั๊มแรงดันสูง แบบลูกสูบ หรือโรตารี่ ท�ำให้เกิดแรงดันประมาณ 10 - 20 บาร์ หรือ 20 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ส่งน�้ำยา ผ่านรูหวั ฉีดรูปกรวย ละอองขนาด 30 – 50 ไมครอน ขนาดละอองสารจะเล็กหรือใหญ่ขนึ้ อยูก่ บั แรงดันขณะ ใช้งาน และขนาดรูที่หัวฉีด เหมาะส�ำหรับใช้ฉีดพ่น ก�ำจัดแมลง เชื้อราและวัชพืช ในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก พื้นที่ประมาณ 10 – 15 ไร่ 2.3) แบบเครือ่ งยนต์ หรือมอเตอร์ไฟฟ้าและปัม๊ 3 สูบ การท�ำงาน ใช้เครื่องยนต์เบนซินหรือดีเซล 4 จังหวะหรือมอเตอร์ไฟฟ้า หมุนขับปัม๊ 3 สูบ ท�ำให้ เกิดแรงดัน 10 – 50 บาร์ อัดน�้ำยาผ่านสายส่งน�้ำยา ไปยั ง ก้ า นฉี ด และรู หั ว ฉี ด เป็ น ละอองขนาด 30 – 50 ไมครอน เหมาะส�ำหรับใช้ฉดี พ่นก�ำจัดแมลง เชื้อรา และวัชพืช ในพืชไร่ พืชผัก และไม้ผล พื้นที่ ประมาณ 10 - 50 ไร่

136

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


การเลือกใช้และการตรวจเช็คเครื่องพ่นสาร 1. การเลือกใช้เครื่องพ่นสาร พืชไร่ ข้าว ฉีดพ่นเพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล เครือ่ งยนต์สะพายหลังใช้แรงลม ไม้ ผล

ฉีดพ่นแมลงและหนอน

ฉีดพ่นหญ้า วัชพืช

เครือ่ งยนต์สะพายหลัง ใช้แรงลม

เครือ่ งยนต์สะพายหลัง ใช้แรงดันของเหลว

เครือ่ งยนต์ หรือมอเตอร์ไฟฟ้า และปัม๊ 3 สูบ

เครือ่ งพ่นสารแบบ สูบโยกสะพาย

เครือ่ งยนต์สะพายหลัง ใช้แรงดันของเหลว

เครือ่ งยนต์ หรือมอเตอร์ไฟฟ้า และปัม๊ 3 สูบ

2. การตรวจเช็คเครื่องพ่นสารเคมี 2.1 แบบสูบโยกสะพายหลัง คันโยก ก๊อกน้ำ�ยา

สายส่งน้ำ�ยา

- ตรวจเช็คสายสะพาย ฝาถังน�้ำยา กรองน�้ำยา - ตรวจเช็คการรั่วซึม ก๊อกน�้ำยา ก้านฉีด ถังน�้ำยาและ การอุดตันของหัวฉีด - ตรวจเช็คการอุดตันของลูกปืนลิ้นดูดและลิ้นส่ง - ทดสอบก�ำลังอัด หัวฉีด สายสะพาย

2.2 แบบเครื่องยนต์สะพายหลังใช้แรงลม - ตรวจเช็คระดับน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง (เบนซิน ผสม น�ำ้ มันเครือ่ ง อัตราส่วน 20 : 1หรือ 25: 1 ตามคูม่ อื แนะน�ำของเครือ่ งยนต์) หัวฉีด - ปรับอัตราการไหล (1 – 12 ลิตร/นาที ) - ตรวจเช็คการรัว่ ซึมของก๊อกน�ำ้ ยา สายส่งน�ำ้ ยาและหัวฉีด ถังน้ำ�ยา - ตรวจเช็คการรั่วของท่อลมเข้าถังน�้ำยาและท่อพ่นยา ถั ง น้ ำ� มั น - ปรับรอบเครือ่ งยนต์ประมาณ 6000-7000 รอบ ต่อนาที คันเร่ง - ติดเครื่องยนต์ทดสอบการท�ำงาน สายส่งน้ำ�ยา ก๊อกน้ำ�ยา เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

137


2.3 แบบเครื่องยนต์สะพายหลังใช้แรงดันของเหลว - ตรวจเช็คระดับน�ำ้ มัน เชือ้ เพลิง (เบนซิน ผสม หั วฉีด น�ำ้ มันเครือ่ งอัตราส่วน 20 : 1 หรือ 25 : 1 ตามคูม่ อื ก้ านฉีด แนะน�ำของเครื่องยนต์) - ปรับแรงดันที่ 10 - 20 บาร์ ถังน้ำ�ยา - ตรวจเช็คการรั่วซึม สายน�้ำยา ก๊อก หัวฉีด ก๊อกน้ำ�ยา - ติดเครื่องยนต์ทดสอบการท�ำงาน ปั๊มพ่นยา สายส่งน้ำ�ยา

2.4 แบบเครื่องยนต์ หรือมอเตอร์ไฟฟ้า และปั๊ม 3 สูบ - ตรวจเช็คระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง ถั งน้ำ�มัน ตัวปรับแรงดัน ก๊อกน้ำ�ยา - ตรวจเช็คระดับน�ำ้ มันเครือ่ งปัม๊ 3 สูบ และเครือ่ งยนต์ - ปรับตั้งค่าความดันที่ 30 – 50 บาร์ - ตรวจเช็คการรั่วซึม สายน�้ำยา ก๊อก หัวฉีด - ติดเครื่องยนต์ทดสอบการท�ำงาน ระดับน้ำ�มันเครื่อง

ปั๊ม 3 สูบ

3. ปัญหาและการแก้ไข

3.1 แบบสูบโยกสะพายหลัง การแก้ไข น�้ำยาไม่ออก ตรวจเช็คลูกสูบ ฉีกขาด แตก แก้ไขเปลี่ยนใหม่ และไม่มีแรงดัน การแก้ไข ตรวจเช็คลูกปืนลิน้ ดูดและลูกปืนลิน้ ส่งถ้าสกปรกให้ถอดล้างท�ำความสะอาด การแก้ไข ตรวจเช็คกระบอกสูบแตก, รัว่ แก้ไขเปลีย่ นใหม่ หรือ บัดกรีรอยแตก รัว่ การแก้ไข ตรวจเช็คการรัว่ ซึมของอุปกรณ์ ข้อต่อ, ก๊อก, ก้านฉีด หัวฉีด แก้ไข เปลี่ยนโอริง ซีลยาง ตามข้อต่อต่างๆ การแก้ไข หัวฉีดตัน อย่าใช้ปากเป่าเพราะอาจได้รบั อันตรายจากสารเคมี ควรใช้ เศษวัสดุเล็กๆ เขี่ยออก

138

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


3.2 แบบเครื่องยนต์สะพายหลังใช้แรงลม 1) เครื่องยนต์ไม่ท�ำงาน การแก้ไข หัวเทียนสกปรก ถอดล้างท�ำความสะอาด หรือเปลีย่ นใหม่ ไฟไม่ออกหัวเทียน ตั้งระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน 0.6 - 0.8 มม. และปรับตั้งระบบไฟจุดระเบิด การแก้ไข ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงอุดตัน ก๊อกและกรองน�้ำมันอุดตัน เข็มลูกลอยค้าง ถอดล้างท�ำความสะอาด การแก้ไข ไม่มีก�ำลังอัด ลูกสูบหลวม แหวนลูกสูบแตกหัก เปลี่ยนใหม่ 2) ระบบน�้ำยา การแก้ไข น�้ำยาไม่ออก ก๊อกน�ำ้ ยากรองและหัวฉีดอุดตันไม่มแี รงอัดในถังน�ำ้ ยาซีลยาง ปิดฝาถังน�ำ้ ยาฉีกขาด ปิดฝาถังไม่แน่น ท่อลมเข้าถังน�ำ้ ยารัว่ ถอดล้างท�ำความสะอาด หรือเปลี่ยนใหม่ การแก้ไข น�้ำยาไม่ออกเฉพาะตอน ไม่มีแรงอัดในถังน�้ำยา ซีลยางปิดฝาถังน�้ำยาฉีกขาด ยกหัวฉีดพ่นสูงขึ้นเหนือ ปิดฝาถังไม่แน่น ท่อลมเข้าถังน�้ำยารั่ว เปลี่ยนใหม่ ระดับถังพ่นยา 3.3 แบบเครื่องยนต์สะพายหลังใช้แรงดันของเหลว 1) เครื่องยนต์ไม่ท�ำงาน การแก้ไข ไฟไม่ออกหัวเทียน การแก้ไข ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงอุดตัน การแก้ไข ไม่มีก�ำลังอัด 2) ระบบน�้ำยา

หัวเทียนสกปรก ถอดล้างท�ำความสะอาดหัวเทียน หรือเปลีย่ นใหม่ ตัง้ ระยะห่างเขีย้ วหัวเทียน 0.6 - 0.8 มม. และปรับตั้งระบบไฟจุดระเบิด ก๊อกและกรองน�้ำมันอุดตัน เข็มลูกลอยค้าง แก้ไข ถอดล้าง ท�ำความสะอาด ลูกสูบหลวม แหวนลูกสูบแตกหัก ปะเก็น ฝาสูบขาด เปลี่ยนใหม่

การแก้ไข น�้ำยาไม่ออก

ก๊อกน�ำ้ ยา กรองและหัวฉีด อุดตัน แหวนลูกสูบปัม๊ แตกช�ำรุด ลิ้นกันกลับสกปรกติดค้าง ท่อส่งน�้ำยารั่ว ถอดล้าง ท�ำความสะอาด หรือเปลี่ยนใหม่ เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

139


3.4 แบบเครื่องยนต์ หรือมอเตอร์ไฟฟ้า และปั๊ม 3 สูบ 1) เครื่องยนต์ไม่ท�ำงาน การแก้ไข ไฟไม่ออกหัวเทียน การแก้ไข ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงอุดตัน การแก้ไข ไม่มีก�ำลังอัด 2) ระบบน�้ำยา การแก้ไข น�้ำยาไม่ออก

ไม่มีไฟออกที่หัวเทียน หัวเทียนสกปรก เขี้ยวหัวเทียน ชิดเกินไปหรือห่างเกินไปควรอยู่ในระยะ 0.6 - 0.8 มม. ถอดล้างท�ำความสะอาดหัวเทียน หรือเปลี่ยนใหม่ และปรับตั้งระบบไฟจุดระเบิด ก๊อกและกรองน�้ำมันอุดตัน เข็มลูกลอยค้าง ถอดล้าง ท�ำความสะอาด ลูกสูบหลวม แหวนลูกสูบแตกหัก ลิ้นไอดีไอเสียติดค้าง ถอดท�ำความสะอาดเปลี่ยนใหม่ ก๊อกน�ำ้ ยา กรองและหัวฉีด อุดตัน แหวนลูกสูบปัม๊ แตกช�ำรุด ลิน้ กันกลับสกปรกติดค้าง ท่อส่งน�ำ้ ยารัว่ สายพานหย่อน หรือขาด ถอดล้างท�ำความสะอาด หรือเปลี่ยนใหม่

วิธกี ารพ่นสาร

- ผู้ปฏิบัติควรอยู่ในทิศทางที่เหนือลมเสมอ - ควรพ่นสารในตอนเช้าหรือตอนเย็นไม่ควรพ่นสารในขณะที่แดดจัด - ควรผสมสารให้พอดีกบั พืน้ ทีท่ จี่ ะท�ำการพ่นสาร - ถ้าเกิดหัวฉีดอุดตันอย่าใช้ปากเป่าควรใช้เศษวัสดุเล็กๆ เขี่ยออก - ขณะพ่นสารด้วยเครื่องยนต์สะพายหลังใช้แรงลม ควรเร่งคันเร่งจนสุดหรือเกือบสุด รอบเครื่องยนต์ประมาณ 6000 - 7000 รอบต่อนาที - ขณะพ่นสารด้วยเครื่องยนต์สะพายหลังใช้แรงดันของเหลว ควรเร่งเครื่องยนต์แล้วดูที่ เกจวัดแรงดัน ส�ำหรับการควบคุมก�ำจัดวัชพืช ใช้หัวฉีดรูปพัดแรงดัน 30 - 50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และส�ำหรับการควบคุมก�ำจัดแมลง หนอนและเชือ้ รา ใช้หัวฉีดรูปกรวยแรงดัน 10 - 20 บาร์ ขณะพ่นสาร ด้วยเครือ่ งยนต์ 2 คนหาม ใช้ปม๊ั 3 สูบ ควรเร่งเครือ่ งยนต์ แล้วดูทเี่ กจวัดแรงดัน ส�ำหรับการควบคุมก�ำจัดวัชพืช ใช้หัวฉีดรูปพัดแรงดัน 30 - 50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และส�ำหรับการควบคุมก�ำจัดแมลง หนอนและเชือ้ รา ควรใช้หัวฉีดรูปกรวย แรงดัน 30 - 50 บาร์

140

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


เป้าหมายในการพ่นสาร 4.1 การพ่นสารก�ำจัดแมลง หนอน ควรพ่นสารระยะตัวอ่อนและพ่นให้ถูกจุดที่ แมลงอาศัยหรือเข้าท�ำลายจึงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพลี ย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล

อาศัยและเข้าท�ำลายที่กาบใบและโคนต้นข้าว

ควรพ่นสารให้ลงโคนต้นข้าว

เพลี ย้ จัก๊ จัน่ มะม่วง

อาศัยตามใบและเข้าท�ำลายช่อดอกมะม่วง

ควรพ่นสารให้ทว่ั ทรงพ่มุ และช่อดอก

หนอนหั วดำ�มะพร้าว

อาศัยและเข้าท�ำลายใต้ใบมะพร้าวโดยท�ำอุโมงค์หอ่ หุม้ ตัว

ควรผสมสารจับใบและพ่นสาร ใต้ใบมะพร้าว

4.2 การพ่นสารก�ำจัดวัชพืช ควรผสมสารจับใบและพ่นสารให้ถกู ใบพืชมากทีส่ ดุ ส�ำหรับ วัชพืชใบแคบ เช่น กก หญ้าคา และแห้วหมู ควรใช้สารชนิดดูดซึมมีการเคลื่อนย้ายของสาร กลุ่ม ไกรโฟรเสท และ 2-4D ส�ำหรับวัชพืชใบกว้าง เช่น สาบเสือ ผักโขม และผักบุ้ง ใช้ได้สารได้ทั้งชนิด ที่มีการเคลื่อนย้ายและไม่เคลื่อนย้าย กลุ่มไกรโฟรเสทและพาราควอท - ขนาดละอองสาร การพ่นสารให้มีประสิทธิภาพสิ่งที่ต้องค�ำนึงถึง ขนาดละอองสาร จ�ำนวนละอองสาร ความสม�ำ่ เสมอของละอองสารและปริมาณสารต่อพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย ในปริมาตรทีเ่ ท่ากันละอองสาร ขนาดใหญ่ มีโอกาสพลาดเป้าหมายมากกว่าละอองสารขนาดเล็ก ถ้าสามารถลดขนาดและปริมาตร ของละอองสารลง 1 เท่าจะสามารถเพิ่มละอองสารได้จ�ำนวน 8 ละออง ขนาดละอองสารลดลง 1 เท่า

ขนาดละออง 1000 ไมครอน ขนาดละออง 500 ไมครอน จ�ำนวน1 ละออง (1ม.ม. = 1000 ไมครอน) จ�ำนวน 8 ละออง ขนาดละอองสารที่ใช้ในการควบคุมก�ำจัดศัตรูพืช ขนาดละอองสาร - การพ่นสารควบคุมก�ำจัดแมลงศัตรูพืช 30 - 50 ไมครอน - การพ่นสารควบคุมก�ำจัดเชื้อรา 50 - 100 ไมครอน - การพ่นสารควบคุมก�ำจัดวัชพืช 200 - 300 ไมครอน

จ�ำนวนละอองสาร 20 ละออง/ตารางเซนติเมตร 50 ละออง/ตารางเซนติเมตร 5 - 10 ละออง/ตารางเซนติเมตร

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

141


ความปลอดภัยในการใช้เครื่องพ่นและสารเคมี

เครือ่ งพ่นและสารเคมีเป็นอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นในการควบคุมก�ำจัดศัตรูพชื การใช้ตอ้ งระมัดระวัง และให้คำ� นึงถึงความปลอดภัยและสภาพสิง่ แวดล้อม โดยการปฏิบตั คิ วรมีอปุ กรณ์ปอ้ งกันสารเคมี และปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในฉลากและรายละเอียดดังนี้ - เครือ่ งพ่นทุกชนิดต้องท�ำงานร่วมกับสารเคมี ควรตรวจเช็คการรัว่ ซึมของน�ำ้ ยาตามข้อต่อ จุดต่างๆ และแก้ไขให้เรียบร้อยเช่น ก๊อกน�้ำยา กรองน�้ำยา ก้านฉีดและหัวฉีด - เครือ่ งพ่นสารเคมีทใี่ ช้เครือ่ งยนต์จะมีชนิ้ ส่วนทีเ่ คลือ่ นทีแ่ ละหมุน เช่น สายพานขับปัม๊ 3 สูบ และการหมุนของใบพัดลม ควรใช้อย่างระมัดระวัง - ควรหลีกเลีย่ งการสัมผัสหรือระวังอันตรายของความร้อนทีเ่ กิดจากเครือ่ งยนต์และท่อไอเสีย - การฉีดพ่นสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช ควรแต่งตัวให้มิดชิดเพื่อป้องกันมิให้ถูกละอองสาร - ขณะฉีดพ่นสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช ควรอยู่เหนือลมเสมอและหยุดฉีดเมื่อลมแรง - อุปกรณ์ป้องกันเคมีที่จ�ำเป็น กางเกงขายาว เสื้อแขนยาว และรองเท้าบู๊ต - อุปกรณ์ปอ้ งกันเคมีการกระเด็นถูกใบหน้าหรือการสัมผัสกับสารเคมีเช่น ถุงมือยาง บังหน้า ที่ปิดจมูก - อ่านฉลากก�ำกับที่ภาชนะบรรจุสารเคมีให้เข้าใจก่อนใช้ และต้องปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ค�ำเตือนและข้อควรระวังโดยเคร่งครัด - การผสมสารก�ำจัดศัตรูพืช อย่าใช้มือผสม ให้ใช้ไม้กวนหรือคลุกให้เข้ากัน - อย่าใช้ปาก เปิดขวดสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช เป่าหรือดูดสิ่งอุดตันที่หัวฉีด ควรเปลี่ยนใหม่ หรือใช้ลวดเขี่ย - อย่าสูบบุหรี่หรือรับประทานอาหารขณะฉีดพ่นสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช - หยุดฉีดพ่นสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชตามก�ำหนดก่อนเก็บเกี่ยวพืชตามที่ระบุในฉลาก - ถ้ารูส้ กึ ไม่สบายให้หยุดฉีดพ่นสารเคมีกำ� จัดศัตรูพชื และรีบไปพบแพทย์พร้อมภาชนะบรรจุ และฉลาก - เก็บสารก�ำจัดศัตรูพืชไว้ในที่ปลอดภัย ห่างจากเด็ก สัตว์เลี้ยง และอาหาร

142

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


คู่มือ ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร

เทคนิคการใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร ISBN 978-974-403-960-6

ที่ปรึกษา

นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร นายนำ�ชัย พรหมมีชัย นายวิทยา อธิปอนันต์ นายสุรพล จารุพงศ์ นางดาเรศร์ กิตติโยภาส นายพรชัย พีระบูล นางนิดา สักกทัตติยกุล

เรียบเรียง

นายณรงค์ ปัญญา นายชีรวรรธก์ มั่นกิจ นายนเรสน์ รังสิมันตศิร ิ นายสมโภชน์ รอดเย็น

อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ผู้อำ�นวยการกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร ผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี ผู้อำ�นวยการส่วนส่งเสริมและเผยแพร่ กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร

จัดทำ�

นางอมรทิพย์ ภิรมย์บูรณ์ นางสาวอัจฉรา สุขสมบูรณ์ นายพงษ์เพชร วงศ์โสภา นางสาวอ�ำไพพงษ์ เกาะเทียน นางสาวรัฐฐา ศรีญาณลักษณ์ กลุ่มสื่อส่งเสริมการเกษตร ส่วนส่งเสริมและเผยแพร่ ส�ำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

143


บันทึก : Note

144

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


บันทึก : Note

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร

145


บันทึก : Note

146

เทคนิค การใช้และบำ�รุงรักษาเครื่องมือการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.