วารสารราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม ธันวาคม 2557(rmutl journal #2)

Page 1

RMUTL RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY LANNA

ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

ISSUE

CELEBRATING th

THE 10

ANNIVERSARY OF RMUTL เฉลิมฉลองครบรอบหนึ่งทศวรรษ

การสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

“Global Concerns, Local Solutions” Numyoot Songthanapitak President of RMUTL

2

ROYAL STUDENT AWARD

Arnuphap Meechaka นักศึกษารางวัลพระราชทาน

Congratulations to the New Graduates แสดงความยินดีกับบัญฑิตใหม่ กำลังสำคัญในการพัฒนาชาติ

สมาคมพัฒนาครูอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาคนของเอเชียตะวันออก และอาเซียน

วารสาร ราชมงคลล้านนา


บทบรรณาธิ ก าร

วารสารราชมงคลล้านนา ฉบับที่ 2 ประจําป 2557 นี้

ถื อ เป น ฉบั บ พิ เ ศษเนื่ อ งในโอกาสอั น เป น มงคลของมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลลานนาที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ในการพระราชทานนามและมีพระบรม ราชโองการโปรดเกลาฯ จัดตั้งมหาวิทยาลัยฯ เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 จวบจนปจจุบัน ครบหนึ่งทศวรรษ มหาวิทยาลัยฯ จึงได จัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 10 ป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล า นนา ภายใต แ นวคิ ด “Global Concerns, Local Solutions” โดยนําเสนอสิ่งที่ไดดําเนินการมาตลอดระยะเวลาของ การเปนมหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน ซึ่งไดสรางรากฐานของ การเปนสถาบันการศึกษาที่อยูคูสังคม ชุมชนมาอยางยาวนาน ทั้งนี้ ยังไดถือโอกาสเปดบานราชมงคลลานนานําเสนอสิ่งที่มหาวิทยาลัยฯ ในฐานะสถาบันการศึกษาอันเปนที่พึ่งและรวมแกไขปญหาเพื่อสังคม ชุ ม ชนและประเทศชาติ ภายใต ก ารนํ า ของ รศ.ดร.นํ า ยุ ท ธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา ซึ่งปจจุบันยังไดสราง ความร ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาในภู มิ ภ าคเอเชี ย และ เอเชียตะวันออกเฉียงใตโดยรวมกันจัดตั้งสมาคมระดับภูมิภาคเพื่อ พัฒนาและยกระดับครูอาชีวศึกษารวมกัน จากการดําเนินงานที่ผานมาจะเห็นไดวาผลผลิตของมหา วิทยาลัยฯ ลวนกอเกิดจากการหลอหลอม อบรม บมเพาะ ของ คณาจารยสงผลใหบัณฑิตของราชมงคลลานนาประสบความสําเร็จ ทั้งทางดานการศึกษาและการทํากิจกรรมในมหาวิทยาลัยฯ จนได รับรางวัลนักศึกษาพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งจะอยูภายในวารสารเลมนี้ดวย นอกจากนี้ยังมีการเตรียมความพรอมเขาสูอาเซียนของ บุคลากรทางการศึกษาซึ่งในปจจุบันจะเห็นไดวามหาวิทยาลัยฯของ เราเขาไปมีสวนเกี่ยวของในการพัฒนาชุมชนมากมาย ดังจะเห็นได จากงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ อาทิ การสรางบานเพื่อรองรับการเกิด ภัยพิบัติ กังหันลมสรางพลังงาน การคิดคนเสื้อเกราะกันกระสุนจาก ใยสับปะรดและการออกแบบบรรจุภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จนสามารถควารางวัลระดับเอเชียไดเปนปที่ 6 ติดตอกัน อีกทั้งการ บริการวิชาการ เพื่อพัฒนาชุมชนอีกหลายๆ เรื่องซึ่งมีตัวอยางอยูใน ฉบับนี้ดวย

ในนามกองบรรณาธิการ ขอสวัสดีปีใหม่ปี 2558 ปีแพะรับโชค ขอให้ผู้อ่านทุกท่านจงประสบแต่ ความสุข ความเจริญ พบแต่โชคลาภตลอดปี ตลอดไป

Editorial The 2nd RMUTL journal in 2014 is regarded as a special issue commemorating RMUTL received the royal graciousness from His Majesty King Bhumibol Adulyadej naming this university and with the royal command to establish the university on 18th January 2005, since then it has been one full decade of being a recognized institution of higher education in the nation. Therefore, we shall have a 10 year anniversary celebration at Rajamangala University of Technology Lanna under the idea of “Global Concerns, Local Solutions”. On this special occasion, we will proudly present all of our yearly achievements as an innovative university for the village and an educational foundation for the community. We take this opportunity showcase the works and ideas of our colleagues who have helped enabled the institution in solving problems within the community and in the nation. Under the authority of Professor Numyoot Songthanapitak, who is the President of RMUTL, the university is now coordinating with other institutions in the Asian region, especially in Southeast Asia, in order to establish a regional association that includes developing and improving the competency of vocational teachers. The preceding implementations, which have made the university realize its achievement, were translated into the success of some graduates receiving distinctions through academic learning and carrying out the activity’s objectives. These honor students’ hard fought effort was finally rewarded by receiving their alma maters from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhom. This edition also includes the preparation of educational personnel for ASEAN whereas our fellow colleagues are being highly involved in many community development projects. The activities can be seen from research and invention, such as building a house for enduring disasters, wind power generation, the invention of armor, and the design of packaging that is environmentally friendly which won an award in Asia for six years in a row. Furthermore, there are many examples depicting the development of an academic community. On behalf of our editorial department we would like to wish you a very Happy New Year for 2015. This is the year of the sheep; known to be as a symbol for being. In addition, we hope that our readers always be filled with joy, health, wealth and prosperity.


สารบั ญ

5

P

11 12

P

P

9

5 - 7 Global Concerns, Local Solutions 8 - 9 สมาคมพัฒนาครูอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาคน ของเอเชียตะวันออกและอาเซียน 10 - 17 การจัดการเรียนการสอน 10 เศรษฐกิจพอเพียง 11 ศิลปแห่งความรัก 12 World skills 2014 14 “ส่องน่าน” 15 ยกระดับสู่ความเป็นเลิศ 16 จุดประกายความคิด 18 - 25 วิจัยและสิ่งประดิษฐ์ 18 บ้านรองรับภัยพิบัติ 19 ถ่านอัดแท่งครบวงจร 20 ชีววิถี “สิ่งประดิษฐ์เครื่องผสมผลิตภัณฑ์ ความงามและชําระล้าง 22 กังหันลม...สร้างพลังงาน 24 Eco Packaging Design งานท้าทาย นักออกแบบรุ่นใหม่

P

26 - 35 บริการวิชาการ 26 เสื้อเกราะกันกระสุนเครื่อง 28 การจัดทําระบบสมดุลแรงดันไฟฟ้า 30 เทคนิคการผสมอาหารโคเนื้อ 31 ปล่อยปลาเลียหิน 33 ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา 34 หมู่บ้านวอแก้ว 36 - 49 ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 36 ยี่เป็ง 2557 42 ข่วงวัฒนธรรม 45 ช่อทองกวาว 46 สืบสานวิถีไทย 48 ลงแขกดํานา 49 สร้างคนดีถวายในหลวง 50 - 53 ข่าวสารราชมงคลล้านนา 54 - 55 คอลัมน์สุขภาพ 56 - 59 ยกระดับการศึกษาไทยไปสู่สากล ตอนที่ 1 60 - 63 เรื่องจากปก:เส้นทางสู่นักศึกษารางวัลพระราชทาน 64 - 67ประมวลภาพพิธีพระราชทานปริญญาบัตร

วารสาร ราชมงคลล้ า นนา ฉบั บ ที ่ 2 RMUTL JOURNAL

Issue 2

ประจําเดือน กรกฎาคม ธันวาคม 2557

July - December 2014

เรื่องจากปก

64

P

31

P

7

22

P

P

24

P

20

P

7

P

36

P

37

P


คณะผู ้ จ ั ด ทํ า

คณะผู้จัดทํา

ที่ปรึกษา / Advisor

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ Assoc.Prof.Numyoot Songthanapitak Ph.D. ผศ.ประพัฒน์ เชื้อไทย Asst.Prof.Prapat Chaethai ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ Asst.Prof.Sanit Pipithasombut ดร.ภาสวรรธน์ วัชรดํารงศักดิ์ Passawat Wacharadumrongsak Ph.D. ผศ.ประสาร รุจิระศักดิ์ Asst.Prof. Prasarn Rujirasak ผศ.อวยพร บัวใบ Asst.Prof. Auiporn Buabai ผศ.อุดม สุธาคํา Asst.Prof. Udom Suthakam ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล Asst.Prof. Manoon Mekaroonkamol รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ Assoc.Prof.Komsan Annuaysit Ph.D. ดร.ทินกร ทาตระกูล Tinnakorn Tathrakul Ph.D. ดร.ศิรประภา ชัยเนตร SiraprapaChainetr Ph.D. รศ.ดร.พรหทัย ตัณฑจิตานนท์ Assoc.Prof.Pornhathai Tanjitanont Ph.D.

บรรณาธิการ / Editor

อัคค์สัจจา ดวงสุภาสิญจ์

Akksatcha Duangsuphasin

ผู้ช่วยบรรณธิการ / Assistant Editor

อภิญญา พูลทรัพย์ Apinya Poolsab

ออกแบบกราฟิก / Graphic Designer อาพัชรี ศิรินาโพธิ์ Arpacharee Sirinapho

ถ่ายภาพ / Photographer

ส.ต.นิวัตร อินต๊ะรัตน์

LCPL Niwat Intarat

กองบรรณาธิการ / Editorial Board

ผศ.ดร.เอมอร ไชยโรจน์ Asst.Prof.Emon Chairote,Ph.D. ผศ.ดร.พีระ จูน้อยสุวรรณ Asst.Prof.Peera Junoisuwan,Ph.D. สมศักดิ์ นาวายุทธ Somsak Navayuth สุรีย์พร ใหญ่สง่า Sureeporn Yai sa-nga ดร.ณงค์นุช นทีพายัพ Nongnoot Nathipayap,Ph.D. ดร.ระวี เผ่าหอม Ravee Phoewhawm,Ph.D. ปาริฉัตร เดือนเพ็ญ Parichat Duenpen ภาคภูมิ ภัควิภาส Pakphum Pakvipas อัจฉริน จิตต์ปรารพ Acharin Chitprarop ชรัญญา สุวรรณเสรีรักษ์ Charanya Suwansareerak สุภาวดี วรุณกูล Supavadee Waroonkun ศิวพร เจรียงประเสริฐ Siwaporn Jariangpraserth วรัทยา มาภักดี Warattaya Mapakdee พิริยมาศ ศิริชัย piriyamart sirichai Peter John Oswald, Mahmoud Moussa, Curtis Fry จิตต์มนัส สมโน Jiymanus sommano ณัฐริกา ทองปัชโชติ Natarica Thongpatchote กิ่งดาว ปินไชย Kingdao Pinchai เมธาฤทธิ์ จันทร์ทอง Metarit Juntong สิริรัตน ต้นผล Sirirattana Thonpon ดวงพิชา ชนะดวงดี Doungpicha Chanadoungdee รัตนา พุทธวงค์ Rattana Puttawong จารุวรรณ สุยะ Jaruwan Suya เกศกนก เนตรวงศ์ Ketkanok Netwong ชฎารัตน์ มหัสพัน Chadarat Mahudsapan สุภาภรณ์ ใจหนุน Supaporn Jainoon สิริญญา ณ นคร Sirinya Na Nakorn วิทยา กวีวิทยาภรณ์ Witthaya Kaweewitthayaporn แววดาว ญาณะ Waewdao Yana ธริษตรี ธนรัตนพิมลกุล Taristree Tanarattanapimolkul เยาวัลย์ จันทร์ต๊ะมูล Yaowan Jantamoon ประไพ อินทรศรี Prapai Intrarasri กิ่งกานต์ สาริวาท Kingkarn Sarivat เอกชัย จันทน์หอม Akekachai junhom ชไมพร มาลากุลต๊ะ Chamaiporn Malagoonta

นักศึกษาฝึกงาน / IBM Students

พลากร แก้วทิพย์ Palakorn Kaewthip / วชิรา สามารถ Wachira Samart / ฤทธิ์เดชา ตาบุญใจ Ritdacha Taboonjai 4 วารสาร ราชมงคลล้านนา


ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

“มหาวิทยาลัยอันเป็นมงคลแหง่ พระราชา” มงุ่ สู่การเป็นมหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา แรกเริ่มจัดตั้งเปน สถาบันอุดมศึกษาในนามของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา จากนั้น ในป 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนาม “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” อันหมายถึง “สถาบัน อันเปนมงคลแหงพระราชา” ตอมาเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ได รับการสถาปนาขึ้นเปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนาเปน 1 ใน 9 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งตั้งอยูทางตอนเหนือของ ประเทศไทย ใน 6 จังหวัด ไดแก นาน ตาก พิษณุโลก เชียงใหม ลําปาง และเชียงราย จัดการศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายแหงชาติ และความ ตองการของตลาดแรงงานในการสรางบัณฑิตนักปฏิบัติดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี นับจากนั้นเปนตนมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา จึงมีเปาหมายที่จะกาวสูการเปนมหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน ในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ มื อ อาชี พ โดยใช เ ทคโนโลยี เ ป น ฐาน

การเติบโต กาวหนาที่ผานมาเปนที่ยอมรับในกลุมมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันการศึกษาอื่นๆทั้งในประเทศและนานา ประเทศ ซึ่ง รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดกําหนดใหป พ.ศ.2558 เปนปแหงการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเปนความจําเปนอยางยิ่งที่บุคลากรใน องคกรตองรวมมือ รวมใจ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและสรางสรรค ผลงานภายใต 3 ยุทธศาสตร ที่มุงปรับปรุงพัฒนาระบบการบริหาร จัดการ (Change) มุงสรางความแตกตางในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ที่มีความโดดเดนเฉพาะดาน (Challenge) และมุงสรางโอกาสในการ ก า วเข า สู ก ารเป น มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น นํ า ด า นการผลิ ต บนฐานความคิ ด สรางสรรค สรางนวัตกรรม เพื่อชุมชนทองถิ่นทั้งในและตางประเทศ (Chance) และภายใต 9 นโยบาย ที่มุงพัฒนาดานการจัดการศึกษา วิจัยและนวัตกรรมสรางสรรค การบริการวิชาการแกสังคม ทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดลอม พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและศิษย เกาสัมพันธ พัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน บริหารจัดการ สร า งสรรค พั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ การเรี ย นรู แ ละบริ ห าร จั ด การและสร า งเครื อ ข า ยความร ว มมื อ ทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ วารสาร ราชมงคลล้านนา 5


ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

“Global Concerns,

....Local Solutions”

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ความทาทาย เต็มไปดวยการแขงขัน ความเปนโลกาภิวัตน ได ชั ก นํ า ให ทุ ก คนในสั ง คมกลายเป น สมาชิ ก ของสังคมโลก ทําใหพรมแดนทางความคิดและ อุดมการณหมดไป ทุกประเทศเปนเหมือนเพื่อน บานในชุมชนเดียวกัน ระบบเศรษฐกิจกลายเปน เศรษฐกิจแบบเสรี สังคมเขาสูยุคสังคมแหงการ เรียนรู (Knowledge Based Society) สงผลให ระบบเศรษฐกิจ กลายเปนเศรษฐกิจบนพื้นฐาน ของความรู (Knowledge Based Economy) สงผลใหประเทศตางๆ ทั่วโลก ตางก็พากันปฏิรูป การศึกษาของตน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่ เปนไปอยางรวดเร็ว ปญหาของการศึกษาจึงเปน สิ่งที่ทาทายใหสถาบันอุดมศึกษา ตองปรับปรุง พัฒนาและสรางศักยภาพใหสูงขึ้น เพื่อทัดเทียม กับนานาประเทศโดยใชทรัพยากรและศักยภาพ ที่เปนเอกลักษณของแตละชุมชน มาใชใหเกิด ประโยชน เปนที่ยอมรับในระดับสากล ดังนั้น ในโอกาสที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ลานนา ไดจัดงานวันสถาปนามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนาครบรอบ 1 ทศวรรษ ในวันที่ 18 มกราคม 2558 ภายใตแนวคิด “Global Concerns, Local Solutions” เพื่อ ใหสาธารณะไดทราบวามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนาไดเรียนรูจากนานาประเทศที่ พัฒนาแลวและนําสิ่งตางๆที่ดีกลับมาปรับปรุง พั ฒ นาและแก ป ญ หาให กั บ ชุ ม ชนและขณะ เดียวกัน ภาคการศึกษาตองมีวิวัฒนาการตนเอง ด ว ยการสร า งศั ก ยภาพให สู ง ขึ้ น ทั ด เที ย มกั บ อารยประเทศภายใตทรัพยากรที่มีอยูในชุมชน สรางความหมาย เกิดคุณคาตอการนําไปสูการใช ใหเกิดประโยชนตอสังคมโลกจนเปนที่ยอมรับ ในระดับนานาชาติตอไป “Local Concerns, Global Solutions” 6 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Rajamangala University of Technology Lanna was established as a Technological and Vocational College, then on the 27th of February, 1975. His Majesty the King has bestowed the name of this institution as “Rajamangala Institute of Technology” which literally means “The Royal Auspicious Institute”. The announcement was made in the Royal Gazette on 18th of August, 1988. Later, this institute was renamed as Rajamangala University of Technology Lanna in 2005 which covers the northern part of Thailand consisting of six provinces namely, Nan, Tak, Phitsanuloke, Chiang Mai, Lampang and Chiang Rai. This university has served the needs of the country to produce manpower in the fi eld of Science and Technology which corresponds to the national education. The objective of the university is to be an innovative university for the community and produce hands-on graduates that are technologically oriented. ราง วัล แ ยสู่สากล ห่ ง ค ว า คภูมิใจ พัฒนาชุมชนไท ม ภา


RMUTL RMUTL

The growth, development, and extension of all commitments recognized by Rajamangala University of Technology clusters and other institutions (both domestic and international) has been made as an urgent agenda by the President, Assoc.Prof. Numyoot Songthanapitak, Ph.D. It’s been proclaimed that the 2015 academic year will be the starting period for quality education. It is necessary that all RMUTL staff work in partnership in upholding the quality of education under these three strategies : Change ; Producing specialized hands-on graduates, Challenge ; Creating more opportunities to be a leading productive university under a creative and innovative basis for the communities both domestic and international levels, Chance; Implementing 9 RMUTL policies towards education administration, research creative and innovative, providing academic services for the communities, fostering culture and environment, as well as developing the students’ capabilities and alumni relationship. The university also develops academic staff and supporting staff by utilizing information technology as the learning resources and management, and creating a domestic and international collaboration network.

ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

Globalization is making the 21st century a very challenging era that has a high level of competition and collaboration. Globalization has transformed everyone to be citizen of this planet. There are no more boundaries that can constrain our ideas or ambition. Every country has taken a new role in becoming a village member in this world. The economic system is turning itself into a free trade zone and society is transforming into a Knowledge Based Society. The system has become a Knowledge Based Economy, thus making every country reform its educational system to accommodate the rapid changes for the future. Problems in education have become a big challenge for universities to develop. Capabilities need to be cultivated to meet international standards exploiting and maximizing existing resources and the community’s identity. As Rajamangala University of Technology Lanna is celebrating its 10 years anniversary on the 18th of January, 2015 under the theme of “Global Concerns, Local Solutions” the aim revolves on informing the public that this university is bringing what has been learnt from the developed countries so that problems in the communities can be solved. In addition, the educational aspect will be continuously improved upon to converge with the international standard of higher learning within our given resources.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 7


การพัฒนาครูอาชีวศึกษา

RAVTE สมาคมพัฒนาครูอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาคนของเอเชียตะวันออกและอาเซียน

การศึ ก ษามี ส่ ว นสํ า คั ญ ยิ่ ง ใน การพั ฒ นาคนหรื อ การเพิ่ ม ศั ก ยภาพ ของทรั พ ยากรบุ ค คลในกลุ่ ม ประเทศใน ภู ม ิ ภาคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียนซึ่งวันนี้มีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 601 ล้านคน โดยมีสัดส่วนประชากรที่อยู่ ในวัยเรียนประมาณร้อยละ35 ซึ่งถือว่า เป็ น ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ สํ า คั ญ ที่ จ ะนํ า พา อาเซี ย นไปสู่ ก ารพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ใน อนาคต ดังนั้นการจัดการศึกษาสําหรับ เยาวชนโดยเฉพาะในระดั บ อาชี ว ศึ ก ษา และระดั บ อุ ด มศึ ก ษามี ส่ ว นสํ า คั ญ ยิ่ ง เพราะประชากรกลุ่มนี้กําลังจะก้าวออก ไปสู่สังคมเพื่อเป็นตัวจักรสําคัญในการขับ เคลื่อนทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคงร่วมกัน จากที่ ป ระชุ ม เครื อ ข่ า ยความ ร่ ว มมื อ ระดั บ ภู มิ ภ าคเพื่ อ พั ฒ นาครู อาชีวศึกษา (Regional Cooperation Platform for Vocational Teacher Education in Asia : RCP) ณ จังหวัด เชียงใหม่ ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือใน การพัฒนาครูอาชีวศึกษาในระดับภูมิภาค เอเชียตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ให้ มีคุณภาพทั้งด้านการสอน การทําวิจัย การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รและส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เชี่ยวชาญจากภาคธุรกิจอุตสาหกรรมได้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องด้วยการจัดทํา หลักสูตรที่เหมาะสมตามหลักการศึกษา ตลอดชี พ ซึ่ ง โครงการนี้ เริ่ ม ดํ า เนิ น การ ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 และสิ้นสุดโครงการ ในปี พ .ศ.2557หลั ง จากสิ้ น สุ ด โครงการ ที่ ป ระชุ ม จึ ง ได้ มี ม ติ ก่ อ ตั้ ง สมาคมระดั บ ภู มิ ภ าคเพื่ อ พั ฒ นาครู อ าชี ว ศึ ก ษาใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้“Regional Association for Vocational Teacher Education in East and Southeast Asia” (RAVTE) ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ น หน่ ว ยงานที่ ขั บ เคลื่ อ น ภารกิจดังกล่าวให้ประสบผลสําเร็จ 8 วารสาร ราชมงคลล้านนา

รศ.ดร.นํ า ยุ ท ธ สงค์ ธ นาพิ ท ั ก ษ์ ประธานที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และอธิการบดี มทร.ล้านนาผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายก สมาคมคนแรกกล่าวว่าสมาชิกสมาคมทั้งหมด ประกอบด้วยสถาบันการศึกษาใน 8 ประเทศ รวม 15 สถาบันอันได้แก่ 1.ประเทศสาธารณ รัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยมหาวิทยาลัย แห่งชาติลาว 2.ประเทศอินโดนีเซียประกอบ ด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย Pendidikanlndonesia (UPl), มหาวิทยาลัย Yogyakarta State (YSU)และมหาวิทยาลัย Surabaya State (UNESA) 3.สาธารณรัฐฟิลิปินส์ โดย มหาวิ ท ยาลั ย San Carlos (SCU) 4. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประกอบ ด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา Nam Dinh (NUTE) มหาวิทยาลัย Technical Education Ho Chi Minh City (UTE-HCM) 5.ประเทศกัมพูชาโดยสถาบันฝึกอบรมด้าน เทคนิคแห่งชาติ(NTTI) 6.ประเทศมาเลเซีย โดย มหาวิทยาลั ย Tun Hussein Onn Malaysia (UTHM) 7. สาธารณรัฐประชาชนจีน ประกอบด้วยมหาวิทยาลัย Tongji University Shanghai และ มหาวิ ท ยาลั ย Beijing Normal University และ8.ประเทศไทย ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาโดยสมาชิกทัง้ หมด จะร่วมกันสร้างมาตรฐานของครูในสายอาชีว ศึกษา รวมถึงการสร้างงานวิจัยทั้งในประเทศ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ซึ่งในช่วงเดือนเมษายน ถึงเดือน มิถุนายน ที่ผ่านมาตนได้นําคณะผู้บริหารของ มหาวิทยาลัยและนักวิชาการของไทยเดินทาง สร้ า งความเข้ า ใจกั บ สถาบั น การศึ ก ษาใน ประเทศกัมพูชา คือ สถาบันโพลีเทคนิคแห่งชาติ กัมพูชา (NPIC) เพือ่ ลงนามบันทึกความร่วมมือ ในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคม

รวมทั้งเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนกับสมาชิกใน ประเทศอินโดนีเชีย ณ มหาวิทยาลัย Yogyakarta State (YSU) ซึ่ง ประเด็นสําคัญคือ การปรับ โครงสร้าง ( Re-Structuring ) ทางด้านการ ศึ ก ษาของกลุ ่ มสมาชิ ก โดยยกตั ว อย่า งกรณี ศึ ก ษา มาตรฐานคุ ณ วุ ฒ ิ ว ิ ช าชี พ และมาตรฐาน คุณวุฒิการศึกษาของไทย ซึ่งการเชื่อมโยงการ จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของ สถานประกอบการเป็นสิ่งสําคัญ เช่น หากสถาน ประกอบการมีความต้องการช่างเทคนิคระดับ 3 ตามมาตรฐานคุ ณ วุ ฒ ิ ว ิ ช าชี พ แล้ ว นั ก ศึ ก ษา ที่เรียนในระบบจะต้องเรียนรู้อะไรบ้าง และจะ ต้องอยู่ในระดับชั้นไหนถึงจะเทียบเคียงกับระดับ คุณวุฒิวิชาชีพที่ต้องการเพราะฉะนั้นจะต้องหัน มาจัดทําหรือปรับปรุงหลักสูตรร่วมกันและจัดรูป แบบการศึ ก ษาที่ เ น้ น ผู้ เรี ย นเป็ น สํ า คั ญ หรือการ ใช้โครงการหรือปัญหามาเป็นโจทย์ให้นักศึกษา ได้เรียนรู้โดยเน้นเป้าหมายมากกว่าวิธีการทั้งนี้ กระบวนการเรียนการสอนในระดับอาชีวศึกษา และระดั บ อุ ด มศึ ก ษาโดยเฉพาะมหาวิ ท ยาลั ย ด้ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงต้องกลับมาดู ในเรื่องของการพัฒนาครูหรืออาจารย์ผู้ประสิทธิ์ ประศาสตร์ วิ ช าเพราะต้ อ งมี ค วามยื ด หยุ่ น ทั น ต่ อ กระแสการเปลี่ ย นแปลงและต้ อ งเข้ า ใจ โลกทุนนิยมรวมถึงการอยู่รอดของภาคธุรกิจใน ปัจจุบัน ดังนั้นหากทั้งในอาเซียน และในภูมิภาค เอเชียมีการเชื่อมโยงมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา กับมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพเข้าด้วยกันแล้วเชื่อว่า ระบบการศึกษาจะตอบสนองกับภาคธุรกิจและ เกิดกระบวนการพัฒนาทั้งในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงไปด้วยกันได้เป็นอย่างดีและยั่งยืน

และตอนนี้สมาคมดังกล่าวได้ดําเนินการจด ทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมายโดยมีสํานักงาน ใหญ่อยู่ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย และใน อนาคตสมาคมจะเป็นตัวประสานการจัดเวทีการ ประชุมวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู อาชีวศึกษาหรือการจัดกิจกรรมทางวิชาการ อื่นที่เป็นประโยชน์ร่วมกันต่อไป


การพัฒนาครูอาชีวศึกษา

Regional Association for Vocational Teacher Education in Asia Education has an important role in the development of people or increasing the potential of human resources in the Southeast Asia or ASEAN countries, which today have a population around 601 million people, school age children make up about 35 percent of this population. This age cohort is an important human resource that can lead ASEAN to the sustainable development in the future. Thus, education management for youth, especially vocational education and higher education is essential because this group of people is stepping out to society to be a significant driver of the economy, social environment and security. The Regional Cooperation Platform for Vocational Teacher Education in Asia: (RCP) in Chiang Mai, is a network of cooperation for the development of vocational teacher education in the East and Southeast Asia. The group focus is teaching, research, curriculum development, and encourage professionals from the industry has developed steadily with an appropriate curriculum as theoretically the study of life. This project started to operate in 2009 and finished in 2014. At the final meeting the RCP resolved is to establish regional associations to develop Vocational Teacher Education in the East Asia and Southeast Asia. "Regional. Association for Vocational Teacher Education in East and Southeast Asia" (RAVTE), was set up to be the agency that drives their mission to succeed. Assoc.Prof.Numyoot Songthanapitak, Ph.D. Chairman of the Rajamangala University of Technology President (RMUT) and RMUTL, as the first President of the association, he was appointed that Membership includes 15 educational institutions in 8 countries as; 1. Lao People’s Democratic Republic: The National University of Laos 2. Indonesia: University of Pendidikan lndonesia (UPl), Yogyakarta State University (YSU) and the University of Surabaya State (UNESA) 3. Republic of the Philippines: the San Carlos University (SCU) 4. Vietnam: Nam Dinh University of Technical Education (NUTE), University of Technical Education Ho Chi Minh City (UTE-HCM)

5. Cambodia: the National Technical Training Institute (NTTI) 6. Malaysia: the University of Tun Hussein Onn Malaysia (UTHM). 7. China: Tongji University Shanghai, and Beijing Normal University and 8. Thailand : Burapha University, Rajamangala University of Technology Thanyaburi and Rajamangala University of Technology Lanna. All members will collaborate to build the standards of teachers in vocational education including the creation of research in both East Asia and Southeast Asia. During April-June, he has been brought top management of the University and Thai researchers develop collaboration with educational institutions in Cambodia is the National Polytechnic Institute of Cambodia (NPIC) to sign the Memorandum of Understanding as a member of the Association. They also participated meeting with members in Indonesian at the Yogyakarta State University (YSU), key issues are education re-structuring in member countries. The Professional Autonomy and Thai Qualification Framework which links education meet the needs of enterprises. For instance, if enterprises are demanding technician level 3 as the Professional Autonomy, what students in the program must learn? And in which degree would be comparable to the level of the Professional Autonomy.

Therefore, they have to create or revise curriculum and format instruction so that it is the study focused on the learners or the use of a given project or problem that students master by focusing on goals rather than methods. They have to look at the issue about teacher or instructor development. In the areas of vocational education and higher education specifically science and technology, must be flexible, in time changing wave and to comprehend the capitalism world including the survival of the business in the present. Thus, if ASEAN and East Asia are linked by the Educational Qualification Framework and Professional Autonomy together, he believes that the education system will meet business requirements and the process of development in the economy, society and security will go well together and be sustainable. “Now, the association has been registered in accordance with the law, with headquarters at Rajamangala University of Technology Lanna. In the future we will be the coordinator to organize Association Conferences that relate to the development of vocational teachers or other academic activities.” Numyoot said.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 9


การจั ด การเรี ย น การสอน

เศรษฐกิSuffiจciency พอเพี ย ง Economy คํ า ว่ า “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง”คุ้นเคยกับคนไทยเราเป็นอย่างดี ด้วยเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระราชดํารัส ชี้ แ นะแนวทางการดํ า เนิ น ชี วิ ต แก่ พ สกนิ ก รชาวไทยมาโดยตลอดทุก ระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนกระทั่งถึงระดับประเทศ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยอยู่ดี กินดี มีความสุขแบบยั่งยืนและมั่นคง พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย โดยสาขา วิชาการจัดการ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิล ปศาสตร์ จึ ง น้ อ มนํ า เอาปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระองค์ท่านมาปรับ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาเทคนิ ค การฝึ ก อบรมทาง ธุ ร กิ จ “โครงการหมู ่ บ ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพียงเดินตามรอยพ่อภายใต้ โครงการชุมชนบ้านโป่งแดง อยู่ดีมีสุข ร่วมกับ โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์นํ้ามันหอมระเหย” เพื่อให้ นักศึกษาและชาวบ้านในชุมชนบ้านโป่งแดงรวมทั้งชาวบ้านใกล้เคียง มีความรู้ความเข้าใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรู้และขั้น ตอนเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษด้วยตนเอง และการสกัดนํ้ามัน หอมระเหยจากสมุ น ไพร สําหรับ เป็น อาชีพเสริม สร้างรายได้ ใ ห้ กั บ ตนเองและครอบครัวนอกจากนี้ยังสามารถนําความรู้จากการเข้า รับการอบรมไปเผยแพร่ต่อชุมชนใกล้เคียง ถือเป็นการบูรณาการการ เรียนการสอนให้นักศึกษาได้ฝึกกระบวนการคิดและการปฏิบัติ เพื่อ ให้ ชุ ม ชนและสั ง คมได้ ประโยชน์อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในพันธกิจหลักของ มหาวิทยาลัยอีกด้วย

10 วารสาร ราชมงคลล้านนา

The word “Sufficiency Economy” is well known to the Thai people. It is a philosophy of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, which is focused on a moderate Thai life when the people are with their family, living in the community, and finding a meaning of life in the country. His philosophy encourages Thais to be happy, healthy, as well as to prepare themselves for changes from globalization. The department of Management, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Rai, applied the philosophy of His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s “Sufficiency Economy” by conducting a teaching course called “Business Training Techniques in a Project”. The King’s Self-Sufficiency Economy was applied in the Pong Daeng Community with another related project that was on producing oil. The initiative was called “The Transformation and Development Product of Essential Oil Workshop”. The objective of these projects was the following: First, RMUTL students and villagers nearby the Pong Daeng community would get a better understanding of the “Sufficiency Economy” philosophy. Second, to learn and obtain the knowhow in planting vegetables and not using pesticides. Third, to earn a part time job at the “Essential Oil” company in the area of distilling. Moreover, RMUTL students and the villagers can acquire and apply the knowledge while attending to inform other villagers in the nearby communities. This study relates to the integration of students on being able to plan and conduct benefits for the community. This is one of RMUTL missions in helping the communities and upgrading society.


การจั ด การเรี ย น การสอน

Arts“ศิofลปะแหLove ง่ ความรัก” การบูรณาการระหว่างศาสตร์และศิลป์ สู่การเรียนรู้ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย

“ศิลปะแห่งความรัก” เป็นรายวิชาในหมวดมนุษยศาสตร์ สาขา ศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ลําปาง ลักษณะรายวิชาศิลปะแห่งความรักจะศึกษา เกี่ยวกับนิยามความรักในมิติทางปรัชญา จิตวิทยา สังคมวิทยาและศาสนา ลักษณะธรรมชาติของความรักบทบาทของความรักและการสูญเสียความ รักในบทเพลง ละคร วรรณกรรม พิธีกรรม เทศกาล และการแสดงออกของ มนุษย์ รายวิชาศิลปะแห่งความรัก เริ่มเปิดการเรียนการสอน เมื่อปีการ ศึกษา 2554 เป็นต้นมา อาจารย์ผู้สอนได้บูรณาการการเรียนการสอนเข้า กับงานวัฒนธรรม โดยให้นักศึกษาเรียนรู้สุนทรียศาสตร์และบทบาทของ ความรักในวรรณคดี เรื่อง ไกรทอง จากนั้นถ่ายทอดผ่านการแสดง ในงาน ราชมงคลร่วมใจ สืบสานวิถีไทย ครั้งที่ 9 ซึ่งได้รับความสนใจอย่างมาก นอกจากการศึกษา ศาสตร์ของความรักในวรรณคดีแล้วนักศึกษายังได้ทํา กิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักต่อเพื่อนมนุษย์และการช่วยเหลือสังคมใน ด้านต่างๆ อาทิ การเลี้ยงอาหารกลางวันน้อง ๆ ที่โรงเรียนคนพิการจังหวัด ลําปาง การเลี้ยงอาหารกลางวันและมอบของให้กับน้องๆ ที่โรงเรียนคน ตาบอดจังหวัดลําปาง การช่วยเหลือน้องๆ ตามโรงเรียนห่างไกล ในเดือน ธันวาคม 2557 นักศึกษาที่ลงเรียนในรายวิชานี้เดินทางไปที่โรงเรียนบ้าน หนองมะล้อ อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน เพื่อทํากิจกรรมร่วมกับชุมชนในการ ทาสีอาคาร จัดทําห้องสมุด และซ่อมเครื่องเล่น ให้กับโรงเรียนโดยใช้งบ ประมาณจากกิจกรรมระดมทุน นางสาวเกศรินทร์ อินแถลง นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่ลงทะเบียน เรียนรายวิชาศิลปะแห่งความรัก กล่าวว่า “รายวิชานี้สอนให้นักศึกษาได้ เรียนรู้คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ศิลปะของความรักในมุมมองต่างๆ ทําให้ เราตระหนักและทบทวนตัวเองมากขึ้น รายวิชาศิลปะแห่งความรักเป็น ‘Arts of Love’ is an elective course วิชาที่เรียนรวมกับเพื่อนๆ ต่างสาขาทําให้นักศึกษาได้ทํากิจกรรมเพื่อสังคม provided for any students of RMUTL Lampang. The เรียนรู้การทํางานร่วมกันและแลกเปลี่ยนทัศนคติซึ่งกันและกัน เพื่อเตรียม course is not just about love, but it is related to philosความพร้อมเข้าสู่สังคมของการทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา”

ophy, psychology, religions, and nature of love. It is

การเรียนรู้ในห้องเรียนนั้นเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนรู้ด้านทฤษฎี connected to love in songs, plays, literature, and rituals. แต่การที่ส่งเสริมให้นักศึกษาทํากิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคม จะเป็นการ The students registering this course had to ปลูกจิตสํานึกให้นักศึกษามีจิตอาสา มีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นบัณฑิต voluntarily set up some useful and meaningful activities นักปฏิบัติผู้ถึงพร้อมด้วยคุณงามความดีที่จะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญ such as treating lunch to disabled and blind students. รุ่งเรืองในอนาคต

วารสาร ราชมงคลล้านนา 11


การจั ด การเรี ย น การสอน

นักศึกษา มทร.ล้านนา หนึ่งในทีมเด็กไทย คว้าเหรียญทอง แข่งทักษะฝีมือแรงงานอาเซียน เสียงคนไทยเฮดังอีกครั้งทั่วศูนย์การประชุมแห่งชาติ ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในงาน World Skills Asian Hanoi 2014 หรือ การ แข่งขันฝีมือแรงงานอาเซียน ประจําปี 2557 โดยประเทศไทยได้รับรางวัลเหรียญทองใน สาขาอาชีพต่าง ๆ 6 สาขาอาชีพ ประกอบด้วย สาขาช่างแต่งผม สาขาปูกระเบื้อง สาขา บริการอาหารและเครื่องดื่ม สาขาเทคโนโลยีงานเชื่อม สาขาออกแบบและเขียนแบบ เครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ และสาขาแมคคาทรอนิกส์ซึ่งเป็นสาขาเดียวที่แข่งขันเป็น ทีมๆละ 2คน รวมทั้งสิ้น 7 เหรียญทอง จากทั้งหมด 21 สาขาอาชีพ โดยการแข่งขันครั้ง นี้มีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงานเป็นหน่วยงานหลักในนามประเทศไทยที่ ให้การสนับสนุนและคัดเลือกในระดับชาติ เพื่อเป็นตัวแทนมาแข่งขันในอาเซียน และ ระดับโลก น้องเต้ “จักรพงศ์ หมื่นแสน” หนึ่งในแชมป์เหรียญทอง สาขาแมคคาทรอ นิกส์ ซึ่งเป็นนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ล้านนา กล่าวว่า "การแข่งขันในสาขาแมคคาทรอนิกส์มีทีมที่เข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 7 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ กัมพูชา และ ไทย โดยคู่แข่งจากประเทศเวียดนามและอินโดนีเซีย เป็นทีมที่มีดีกรีแชมป์เก่า และรอง แชมป์ ซึ่งการแข่งขันครั้งนั้นเราได้เหรียญทองแดง แต่ก็ไม่ได้กลัว เนื่องจากว่าตลอด ระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา เราได้เก็บตัว ฝึกซ้อม เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและทักษะ ความชํานาญโดยการแข่งขันดังกล่าวเป็นการประกอบกระบวนการผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรมจําลอง หาทีมที่ประกอบถูกต้อง ทํางานได้จริง และใช้เวลาน้อยที่สุด แบ่งออกเป็น 5 โจทย์ โดย 4 โจทย์แรกคู่แข่งทําเวลาดีกว่า ส่วนเรามาชนะในโจทย์ สุดท้าย โดยทําเวลาเพียง 51 วินาที ส่วนคู่แข่งใช้เวลากว่านาทีครึ่ง จึงทําให้เราเป็นผู้ ชนะในที่สุด" ส่วน น้องธวัชชัย เมืองมูล “เอ็ม” เพื่อนสนิทเต้ คู่หูทีมสาขาแมคคาทรอนิกส์ เสริมว่า“ความรู้ที่ได้จากอาจารย์เป็นส่วนสําคัญยิ่งที่ได้นํามาใช้ในการเขียนโปรแกรม และวางระบบการควบคุม กระบวนการทํางานต่างๆ รวมถึงการฝึกซ้อมอย่างหนัก ตลอดระยะเวลา 1 ปี เพราะพวกเราเรียนไปด้วย ซ้อมไปด้วย ทําให้ต้องแบ่งเวลาให้ เหมาะสม และที่สําคัญกําลังใจจากท่านอธิการบดี รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ และ คณาจารย์ เพื่อนนักศึกษา ที่ให้โอกาส คอยสนับสนุน และให้กําลังตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมา ถือว่าสิ่งเหล่านี้เป็นแรงขับสําคัญในการคว้าเหรียญทองในครั้งนี้” อีกหนึ่งหนุ่มลําปาง สุรพงษ์ ดวงลีลา ผู้คว้าเหรียญทองในสาขาออกแบบและ เขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งปัจจุบันเรียนอยู่สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา กล่าวว่า“ตามที่ได้แข่งขันในระดับประเทศมาแล้ว ทําให้เกิดความกดดันค่อนข้างน้อย ประกอบกับการฝึกเขียนแบบมาตลอดทําให้การใช้ เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรมค่อนข้างคุ้นชินรวมถึงการมองภาพ ทําให้สามารถออกแบบ และเขียนแบบออกมาได้ตรงตามโจทย์ที่ได้รับ ซึ่งผมมั่นใจว่างานด้านนี้คนไทยก็ไม่แพ้ ชาติใดในโลกครับ หากเราเอาจริง เอาจัง” 12 วารสาร ราชมงคลล้านนา

ในส่วนของธรายุทธ กิตติวรารัตน์ อาจารย์ประจําศูนย์ แมคคาทรอนิกส์และออโตชั่น มทร.ล้านนา กล่าวเพิ่ม เติ่มว่า “สําหรับการแข่งขันฝีมือแรงงานระดับอาเซียน ในฐานะของอาจารย์ผู้ฝึกสอนแล้วการเข้าร่วมแข่งขัน เป็นครั้งที่สองที่เราได้ส่งตัวแทนร่วมแข่งขัน ซึ่งในปีที่ ผ่านมาเราได้เพียง 1 เหรียญทองแดงในสาขาแมคคา ทรอนิกส์ เท่านั้น และปีนี้ได้นําโจทย์เดิมที่แข่งขันใน ปีที่ผ่านมาให้นักศึกษาได้พัฒนาฝีมือซึ่งนักศึกษาเพื่อ เกิดความเชี่ยวชาญ ทําให้มีประสบการณ์และสามารถ คว้าเหรียญทองมาครองได้สําเร็จ ส่วนในสาขา หุ่น ยนต์ เ คลื่ อ นที่ เ ป็ น ปี แรกที่ เราก้ า วมาถึ ง ระดั บ อาเซี ย น และได้เหรียญทองแดงก็ถือว่าประสบความสําเร็จเป็น อย่างมากสําหรับปีแรกที่เข้าร่วมแข่งขัน “ จะเห็นได้ว่าสามเหรียญทองที่ได้รับ เกิดจาก การฝึกซ้อม ความตั้งใจของน้องๆนักศึกษา รวมถึง ทักษะประสบการณ์และการควบคุมดูแลให้คําปรึกษา ของอาจารย์ หลังจากนี้ในช่วงเดือนสิงหาคม 2558 น้องๆจะเป็นตัวแทนประเทศไทย ไปแข่งขันในเวที ระดับโลก World skills 2015 ร่วมกับตัวแทนจาก 32 ประเทศทั่วโลก ณ เมืองเซาท์เปาโล ประเทศ บราซิลต่อไป


การจั ด การเรี ย น การสอน

Thai students won gold medals at

World Skills ASEAN : Vietnam, Hanoi

Thais cheered enthusiastically in the Hanoi Exhibition Hall, Vietnam. Thais won gold medals in six professional careers at World Skills ASEAN 2014. These include hair dressing, floor tiling, food and beverage services, welding, mechanical engineering - CAD, and mechatronics. Six professions that Thais have mastered have brought Thailand seven gold medals. The reason we received seven is because there were two entrants in each team in mechatronics. Overall we got seven out of the 21 professional careers awards. The Department of Skill Development, the Ministry of Labour has supported this competition and also selected Thai students. Jakapong Muansand (Tay) won a gold medal in mechatronics and he is a student from the Faculty of Engineering, Rajmangala University of Technology Lanna. NongTay said, “competing in mechatronics; there are competitors from seven countries: Vietnam, Malaysia, Philippines, Indonesia, Singapore, Cambodia and Thailand. In 2013, Vietnam was the champion and Indonesia got the second place and Thailand got the third place”. He said that he was not nervous because he practiced hard and was training well throughout last year, so he could be adaptable and was skillful at all times. This competition was about creating a production process model for a factory. Each team had to find the best players to form the team, to create the model properly, and to make it within the shortest time possible and to make it workable. There were five tasks to complete. The first four all the teams finished very well but Thailand finished off the best on the last task. Tay made the time of 51 seconds, on the other hand, his opponent took 1 min 30 seconds. Thus, Tay finally achieved victory. Tawatchai Moungmool (Em) Tay's closefriend also in the mechatronics team says, “the knowledge I got from my instructor I used in the process of making the program and set the controlling the system. I also trained very hard for the whole year. I had to practice and study at the same time which means I had to manage my time properly. The most important thing for me was the encouragement I received from my President, Assoc.Prof. Numyoot Songthanapitak,Ph.D. instructors and friends. They gave me a chance, advice and encouragement all the time. This is the reason I won the gold medal”.

Another person from Lampang, Surapong Duangleela won a gold medal for CAD. He is studying in the Industrial Technology Department, Faculty of Engineering. He told us, “I wasn’t really nervous about this competition because I practiced design and have drawn it for a long time already. It gave me experience on how to use many of the tools in the program. It is easy to use and be familiar with the peoblems. Thinking about the pictures in my head makes me able to draw and design the tasks I received. I am very confident that Thais won’t lose to any other countries all over the world if we are serious and concentrate very hard.” Mr. Tarayut, an instructor in the Mechatronics and Auto Center said, “for the World Skill ASEAN it was my honor to be the trainer and be part of the competition for the second time. Last year we got the third place in mechatronics but this year the team focused on the same tasks as last year to practice their skills so they could have experience and win the gold medal. However for the moving robots section, this is the first year we have competed at the same level as other ASEAN teams. We won a bronze medal which means that we had good success because this was our first year competing on moving robots”. Three of seven of the gold medals we won because of the training and perseverance of the students. Also we benefited from the skills, experience, and close supervision from our instructors. In August 2015 our students will go on to compete for World Skills 2015. The competition, involving 32 countries, will be held at Sao Paulo, Brazil.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 13


การจั ด การเรี ย นการสอน

นักศึกษา มทร.ล้านนา น่าน คว้ารางวัลชนะเลิศ ในการประกวดคลิปวิดีโอ “ส่องน่าน” นายศิริวัฒน์ ธนะวัติ นักศึกษาสาขาการจัดการ คณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา น่าน คว้ารางวัลชนะเลิศ ชื่อผลงาน โฮงเจ้าฟองคํา และ รางวัลชมเชย จํานวน 2 รางวัล ชื่อผลงาน วัฒนธรรมเก่าแก่เมือง น่าน และ เมืองน่าน เมืองเก่าที่มีชีวิต ในการประกวดคลิปวีดีโอ “ ส่องน่าน ” ซึ่งเป็นโครงการศึกษาวิจัยที่มุ่งสนับสนุนให้เกิดการ ตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ของเมืองน่าน โดยคนในชุมชน เพื่อการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรดังกล่าว สําหรับการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์และ ยั่งยืน สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และความร่วมมือจากหลายหน่วยงานท้องถิ่นในเขตเมืองน่าน ได้แก่ เทศบาลเมืองน่าน องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) น่าน และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา น่าน กิจกรรมหนึ่งซึ่งทาง โครงการได้จัดให้มีขึ้นคือการ ประกวดคลิปวีดีโอ “ส่องน่าน” ขึ้น เพื่อกระตุ้นและส่งเสริม ให้ เด็กและเยาวชนในเมืองน่าน ได้ ตระหนักถึงความสําคัญของ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ท้องถิ่นของตนและได้มีโอกาส นําเสนอผลงานผ่านสือ่ ต่างๆ โดย ทางโครงการได้จัดให้มีการส่งคลิป วีดีโอขนาดสั้นเข้าร่วมการประกวดแข่งขันชิง เงินรางวัลและมอบเกียรติบัตรสําหรับผู้ที่ เข้าร่วมโครงการโดยคลิปวิดีโอที่ส่งเข้า ประกวดต้องมุ่งถ่ายทอดเรื่องราวใน แง่มุมต่างๆ ของเมืองน่านผ่านมุมมอง ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ในเนื้อหา เกี่ยวกับศิลป-วัฒนธรรมสถาปัตยกรรม และสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ สวยงามและมีคุณค่าของเมืองน่านซึ่งจะ นําไปสู่การสร้างจิตสํานึกของชาว เมืองน่าน ให้เกิดความรักและตระหนัก ถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมที่ ถู กถ่ า ยทอดผ่ านรุ ่ น สู ่ ร ุ ่ นของคนใน ชุมชน อันจะยังให้เกิดความภาคภูมิใจ และการอนุรักษ์ สืบสานต่อไปในอนาคต

A junior student at RMUTL, Nan was awarded the winner from the video clip contests “Song Nan” Mr. Siriwat Thanawat, a junior student in Management, Faculty of Business Administration and Liberal Arts of RMUTL, Nan, was awarded the winner from the work titled “Hong Jao Fong Kum” and two consolidating prizes from the work titled “Nan: An Ancient Cultural City” and “Nan a Lively Old Town”. This contest was aimed at fostering awareness of the cultural heritage, and architecture of Nan by people in the community exploiting of the resources for a creative and sustainable tourism. This project was sponsored by the Thailand Research Funds, Faculty of Architecture, Chiang Mai University which was a key agency running this project with the collaboration from local authorities such as Nan Municipality, the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration and RMUTL Nan. The project has organized short video clip contests titled “Song Nan” to encourage and promote children and youth in the city to recognizes the significance of their local culture Song Nan and wisdom and have the opportunity to present their work through the media. Certificates were awarded to everyone for their participation. The video clip submitted must focus on different aspects of the story through the perspectives of Nan youth in the area with the contents on art, culture, architecture and physical and beautiful and valuable surroundings of Nan. This will create awareness among the people to love and appreciate cultural heritage handed down through generations in the community. This will eventually extend pride and foster conservation activities in the future.

คลิปวิดีโอที่ชนะใจ..ได้รางวัลชนะเลิศ นายศิ ร ิ ว ั ฒ น์ ธนะวั ต นักศึกษา มทร.ล้านนา น่าน

14 วารสาร ราชมงคลล้านนา


การจั ด การเรี ย นการสอน

ยกระดับสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ กับสถาบันอาชีวศึกษาจังหวัดเขตภาคเหนือ Upgrading Academic Excellence with the Institutes of Vocational Education in the Northern Region การศึกษาเป็นรากฐานของชีวิต ที่สําคัญ การจัดกิจกรรมส่ง

เสริมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน เพื่อเตรียมกําลังคนที่มีคุณภาพด้าน การศึกษาให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงานและรองรับการ เข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นนั้ น จึ ง ถื อ เป็ น ภารกิ จ ของสถาบั น การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก จึงร่วมกับ สถาบัน อาชีวศึกษาจังหวัดในเขตภาคเหนือ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ทางวิชาการ โดยเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 ดร.ทินกร ทาตระกูล รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก รับ มอบหมายจาก รองศาสตราจารย์ ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็น ประธานในพิ ธ ี บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา กับ สถาบันอาชีวศึกษาจังหวัดในเขตภาคเหนือ กับประธาน กรรมการการอาชีวศึกษา/ผู้อํานวยการวิทยาลัย จังหวัดในภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา แพร่ ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กําแพงเพชร นครสวรรค์และพิษณุโลก รวมจํานวน 15 จังหวัด 54 สถาบัน ณ ห้องประชุมอาคารวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก การลงนามบันทึกข้อตกลงครั้งนี้ถือเป็นแนวทางสําคัญในการ ผลิตครูและการจัดการศึกษาตามพันธกิจหลักของหน่วยงานขององค์กร ที่มีคุณภาพ สถาบันการศึกษาจะเป็นส่วนสําคัญในการผลิตบัณฑิตให้ได้ เรียนรู้จากกระบวนการปฏิบัติงานและมีทักษะวิชาชีพอย่างมีคุณภาพตรง กับความต้องการของสถานประกอบการเป็นความร่วมมือในการพัฒนา บุคลากรให้มีศักยภาพและมีความเข้มแข็งทางวิชาการรวมทั้งทักษะวิชาชีพ ให้เป็นที่ยอมรับสามารถแข่งขันได้ในระดับประเทศและระดับสากลตลอด จนกิจกรรมอื่นๆ ตามพันธกิจของสถาบันที่แต่ละฝ่ายเห็นชอบร่วมกันโดย ในพิ ธ ี ล งนามดั ง กล่ าวได้รับ เกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.วรพจน์ ศรีวงษ์คล และ ดร.ปิยะ กรกชจินตนาการ อาจารย์ประจําคณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมเป็นสักขีพยาน ในการลงนามความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กับ สถาบันอาชีวศึกษาจังหวัด ในเขตภาคเหนือ

Education is an important foundation. Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanuloke launched a project aimed to prepare high qualified students to be ready for the labour market and upcoming ASEAN integration. Rajamangala Phitsanuloke in collaboration with the Institutes of Vocational Education in the Northern Region signed a MOU (Memorandum of Understanding) on the 26th of August 2014 at the Academic Resources Center and Information Technology Building in Rajamangala Phitsanuloke. Dr. Tinnakorn Thatrakoon, on behalf of Assoc.Prof.Numyoot Songthanapitak, Ph.D. signed MOU with directors of Institutes of Vocational Education from Chiang Mai, Chiang Rai, Nan, Phayao, Lampang, Lamphun,Uttaradit,Tak,Sukhothai, Phetchabun, Phichit, Kamphaeng Phet, Nakhon Sawan and Phitsanuloke covering total area of 15 provinces and 54 institutes. Assoc.Prof. Worapot Seemongkol, Ph.D. and Dr.Piya Korakotjintanakarn, the Assistant Dean Faculty of Technical Education at King Mongkot’s University of Technology North Bangkok, also witnessed this signing. The signing of this MOU is a significant channel for education management and is an opportunity to build and shape graduate s to match the needs in labour market. This collaboration would enhance the academic skills and professional skills to be recognized in regional, national and international levels. วารสาร ราชมงคลล้านนา 15


การจั ด การเรี ย นการสอน

จุดประกายความคิด

กัมทร.บวิลานนาทยาศาสตร์ ตาก จัดงานสัปดาห์ ้

วิทยาศาสตร์

ปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาท ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต เป น อย า งมากไม ว า จะเป น สมารทโฟนที่ใชในการติดตอสื่อสารและเขาถึง ขอมูลผานระบบอินเทอรเน็ตรวมถึงเทคโนโลยี การแพทย การเกษตร อุตสาหกรรมและอื่นๆที่ พัฒนาขึ้นอยางรวดเร็วและทันสมัย ซึ่งวิจัยและ พัฒนาโดยผูเชี่ยวชาญอยางตอเนื่อง โดยอยูบน พืน้ ฐานของหลักวิทยาศาสตรทง้ั สิน้ วิทยาศาสตร จึ ง มี ค วามสํ า คั ญ และจํ า เป น ในการคิ ด ค น และ พัฒนาสิ่งตางๆที่จะสามารถตอบสนองและเขา ถึงความตองการของมนุษยได คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี การเกษตร มทร.ลานนา ตาก ไดเล็งเห็นความ สํ า คั ญ และได รั บ การสนั บ สนุ น จากกระทรวง วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ใ ห ร ว มจั ด งาน สั ป ดาห วิ ท ยาศาสตร แ ห ง ชาติ ส ว นภู มิ ภ าคขึ้ น เปนครั้งที่ 2 ภายใตคําขวัญ “จุดประกายความ คิดพัฒนาชีวิตดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี” ระหวางวันที่ 18-20 สิงหาคม 2557 โดย ไดรับเกียรติจาก ผศ.ประสาร รุจิระศักดิ์ รองอธิการบดี มทร.ลานนา ตาก เปนประธาน เปดงาน ณ อาคารเรียนรวมและสารนิเทศเฉลิม พระชนมพรรษา 84 ป 16 วารสาร ราชมงคลล้านนา

ก า ร จั ด ง า น ใ น ค รั้ ง นี้ เ ป น ก า ร เทิดพระเกียรติยศพระบาทสมเด็จพระจอม เกลาเจาอยูหัวฯ “พระบิดาแหงวิทยาศาสตร ไทย” ภายในงานบรรยากาศเปนไปอยางคึกคัก มีคณะครู อาจารย นักเรียน นักศึกษา และ ประชาชนทั่วไปใหความสนใจเขารวมงานเปน จํานวนมาก อีกทัง้ ภายในงานยังมีการจัดกิจกรรม การแขงขันทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หลายประเภท อาทิ การพัฒนาเว็บไซตดวย โปรแกรมคอมพิวเตอร โครงงานสิ่งประดิษฐ การตอบปญหาทางวิทยาศาสตร เรียงความ การวาดภาพระบายสี การพู ด สุ น ทรพจน ตลอดจนการแสดงผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมตางๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยไดคิดคน วิจัย และประดิษฐ ทั้งนี้เพื่อใหเยาวชนเห็น ความสําคัญของวันวิทยาศาสตรไทยมีแหลง คนควาเผยแพรผลงานการวิจัย สื่อการเรียนรู ทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรมของไทย และตางประเทศ ไดมีโอกาสเรียนรู เกิดความ คิดสรางสรรคจากการทีไ่ ดเปดโลกทัศนทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันเปนรากฐาน สํ า คั ญ ของการพั ฒ นาประเทศให มี ค วาม กาวหนาอยางยั่งยืน

เพื่อให้เยาวชนเห็นความสําคัญ ของวันวิทยาศาสตร์ไทย มีแหล่ง ค้นคว้าเผยแพร่ผลงานการวิจัย สื่อการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมของไทย และต่างประเทศ ได้มีโอกาสเรียนรู้ เกิดความคิดสร้างสรรค์


การจั ด การเรี ย นการสอน

Learn and Create Ideas of Technology and Innovations

National Science Exhibition at RMUTL Tak triggered creativity Technology has been playing a very important role in our daily lives from using smartphones for communication to getting access to the Internet. Moreover, exploiting technology in the fields of medical care, agriculture, and other specific industries has rapid progress based on a scientific basis. Subsequently, science is an essential key in inventing and developing innovative ideas that respond to people’s needs. The Faculty of Science and Agriculture Technology has realized how important science is to the community, therefore RMUTL Tak Campus has organized the 2nd National Science Exhibition in collaboration with the Ministry of Science and Technology under an agenda “Science and Technology nurture creativity to improve our lives”. The exhibition was held during the 18th to 20th of August, 2014. Asst. Prof. Prasan Ruchirasak, Vice-president of Rajamangala University of Technology Lanna Tak, presided over the opening ceremony at His Majesty the 60th Anniversary Accession to the Throne building. This event was also held to commemorate His Majesty the King Rama the fourth scientific contribution and later was graciously considered “Thailand’s science master”. It was a fascinating event that attracted the attention of general public like teachers, students and community members. There were many kinds of contests in science and technology i.e. developing websites using computer programs, inventions, science quiz, writing essays, paintings and scientific speech contests. Besides this, the exhibition was a showcase for scientific research, inventions and innovations conducted by the university. In addition, the aim of an exhibition was to inspire Thai teenagers to realize the significance of science and acknowledged the university as the science learning resources with research articles, learning materials on science and technology, and opportunities in learning and generating ideas. This exhibition was considered as an important part in placing fundamental science and technology for the country sustainable development. วารสาร ราชมงคลล้านนา 17


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

RMUTL IDEA มทร.ล้านนา เชียงราย ปิ๊งไอเดีย

“โครงการบ้านรองรับภัยพิบัติ” สถานการณภัยพิบัติที่มีแนวโนมทวีความรุนแรงมากขึ้นใน ปจจุบัน เหตุการณภัยพิบัติที่ไมเคยเกิดขึ้นก็ไดเห็นกันมากขึ้น ไมวาจะเปน อุทกภัยครั้งใหญป 2554 ในพื้นที่ภาคกลางหรือป 2557 เกิดอุทกภัยพื้นที่ ภาคเหนือรวมถึงจังหวัดเชียงรายดวย จนกระทั่งเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เกิดเหตุการณแผนดินไหว วัดระดับการสั่นสะเทือนอยูที่ 6.3 ตาม มาตราริกเตอร ซึ่งจุดศูนยกลางอยูในจังหวัดเชียงราย ทําใหบานเรือน ประชาชนที่อยูอาศัยใกลบริเวณจุดศูนยกลางแผนดินไหว ในอําเภอพาน และอําเภอแมลาว จังหวัดเชียงรายไดรับความเสียหายเปนจํานวนมาก ถือ ไดวาเปนเหตุการณแผนดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในประเทศไทย จากเหตุการณดังกลาว สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดลอม มทร.ลานนา เชียงราย จึงสนใจที่จะศึกษาและลงพื้นที่เพื่อจัดเก็บขอมูล จนเกิดเปน “โครงการบานรองรับภัยพิบัติ” โดยใชพื้นที่ในการศึกษาบาน ตนแบบ ตําบลนางแล อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โดยนางสาวรุจิรา แสนยอด นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดลอม เจาของผลงาน กล า วว า “การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของการเรี ย นการสอนใน รายวิชาโครงงานวิศวกรรมโยธาที่ไดทํารวมกับ นายอดิรุจ ปาพรม และนายฉัตรชัย ชัยสวัสดิ์ นักศึกษาในสาขาเดียวกัน โดยเปนการเนน แบบเพื่อใหบานรองรับภัยพิบัติและใหมีความสอดคลองกับอัตลักษณทาง ภาคเหนือ เนนนวัตกรรมเปนแบบบานที่มีความคงทนแข็งแรง ประหยัด พลั ง งานต น ทุ น ตํ า และที่ สํ า คั ญ ได อ อกแบบให ส ามารถอยู ไ ด ภ ายใต สถานการณภัยพิบัติตางๆ ได ไมวาจะเปนนํ้าทวมหรือแผนดินไหว โดย ออกแบบบานตนแบบตามหลักวิศวกรรม ซึ่งมีบานจํานวนตนแบบ 6 หลัง รูปแบบบาน 1 ชั้น ยกพื้นสูงประมาณ 1.20 เมตร และการเลนระดับ ของแบบบาน เหมาะกับรูปแบบของครอบครัวในปจจุบัน” ดร.มงคลกร ศรีวิชัย อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่ง แวดลอม อาจารยที่ปรึกษาโครงการกลาวเสริมวา“การออกแบบบานเพื่อ รองรับภัยพิบัตินั้นเปนการสะทอนแนวคิดในการเรียนรูและอยูรวมกับภัย พิบัติ เนื่องจากภัยพิบัติหรือภัยธรรมชาติสามารถเกิดขึ้นไดทุกที่ทุกเวลา ขึ้นอยูกับความเสี่ยงของแตละพื้นที่ ซึ่งนักศึกษาจะไดนําองคความรูทั้งหมด ที่ไดเรียนในหลักสูตรวิศวกรรมโยธา นํามาใชเพื่อใหเกิดนวัตกรรม โดย ผลลัพธที่ไดเพิ่มเติมคือแบบบานที่สอดคลองกับพื้นที่อีกทั้งยังเปนแหลง ขอมูลแบบบานมาตรฐานใหกับคนในพื้นที่อีกดวย” 18 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Safety Home Projects Nowadays, Thailand has a tendency for encountering natural disasters. The flood in the central region of Thailand in 2012 and the 2014 earthquake in Chiang Rai province are just some of the devastating effects on the people’s livelihood and mental state. Even with the past events, there could be more unexpected incidents and aftershock. These types of unwanted events are a source of concern for the region. The civil engineering and environment department took an interest in this situation. The department launched a workshop called “Safe Constructions for Natural Disaster” in the Nang Lae district in the Chiang Rai province. Miss Rujira Sanyod and her two assistants, Mr. Adirut Paprom and Mr. Chatchai Chaisawad, have conducted this project that focused on the ‘Northern Thai architecture identity’ with an innovation style based on solidity, safety and competitive cost. Regarding these different functions, the aim of the project is to prevent the houses from being entirely engulfed in a natural disaster. Dr. Mongkolkorn Srivichai, Lecturer of Civil Engineering and Environment, was the advisor of this project. He said that “the home design of disaster supporting reflects to the conception of learning and living with it”. The fact is that such a natural disaster is bound to happen depending on the risk in those areas. In follow up, the students should be able to apply their knowledge about the construction of safety homes. They can use this project as a model for planning construction.


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Developing an Innovative Charcoal Making Briquettes for the Community RMUTL Tak

มทร.ล้านนา ตาก สร้างนวัตกรรม ทําถา่ นอัดแทง่ ครบวงจร ชว่ ยชุมชน โครงการส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวิตอยางมีสวนรวมของหมูบานอยูดี ต.วังจันทร อ.สามเงา จ.ตาก เปนกิจกรรมที่ไดมีการพูดคุย ปรึกษาหารือ และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางคณะผูดําเนินโครงการและชาวบาน ทําใหทราบวา ภายในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมทําสวนลําไยและเลี้ยงสัตว มีเศษ วัสดุเหลือทิ้งปริมาณมาก โดยเฉพาะไมลําไยและตองนําไปเผาทําลายเกิดมลพิษตอ สิ่งแวดลอม ประกอบกับปญหาราคาแกสหุงตมมีราคาสูงขึ้น คณาจารยและนักศึกษา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และวิศวกรรม เครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ตาก เห็นวาสามารถนําสวนที่ตองเผา ทําลายมาแปรรูปเปนถานอัดแทงเชื้อเพลิงได จึงรวมกันคิดคนและสรางเตาเผาถาน เครื่องบดถาน และเครื่องอัดแทงเชื้อเพลิง เพื่อกระบวนการผลิตถานเชื้อเพลิงอัดแทง อยางครบวงจร โดยอาจารยกานต วิรุณพันธ หนึ่งในทีมงาน เลาถึงกระบวนการทํา ถานอัดแทงวา “ชาวบานสามารถใชกิ่งไมทั้งขนาดเล็กและใหญมาเผาในเตาได โดย นําถานใสเครื่องบดโดยใชหลักการเหวี่ยงตัวของแผนเหล็กใหถานเกิดการกระทบ บดเปนผง รอนผานตะแกรงเสนผานศูนยกลาง 2.5 มิลลิเมตร อัตราการผลิต 300400 กิโลกรัมตอชั่วโมง จากนั้นนําผงถานผสมแปงมันและนํ้านําใสเครื่องอัดแทงดวย เกลียวอัดรูปทรงแปดเหลี่ยม อัตราการผลิต 800 กิโลกรัมตอชั่วโมง ตากแดด 3 วัน พรอมใสบรรจุภัณฑเพื่อจําหนายในชุมชน ลดคาใชจาย เพิ่มรายได รวมถึงเปนการ รักษาสิ่งแวดลอมในชุมชน” ทั้งนี้ชาวบ้านยังเกิดองค์ความรู้ใหม่ ต่อยอดการใช้งานเครื่องอัดถ่าน โดยการ เปลี่ยนเกลียวอัดเป็นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร เพื่อใช้ในการทําปุ๋ยอัดเม็ดจาก มูลสัตว์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์จากราคาถุงละ 30 บาท ปัจจุบันจําหน่ายใน ราคา ถุงละ 40 บาท เป็นความภาคภูมิใจของคณะผู้ดําเนินโครงการที่สามารถช่วยชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นดังวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จนสําเร็จ

According to a discussion that was exchanged on raising the quality life between the community members in the Sam-Ngao district and RMUTL Tak’s project staff it was revealed that most of the community’s members working in the longan agriculture sector were cattlemen.There was a lot of waste being produced, whereas the longan stems are being left to burn, thus causing air pollution within the community.Meanwhile, there had been an increase in gas price. Lecturers and students of the department of Industrial and Mechanical Engineering of RMUTL Tak have came up with an idea on building a charcoal kiln and a briquetting machine for a full systematic production of charcoal. Mr.Karn Wirunpan, the lecturer of Industrial engineering department, mentioned that with the charcoal process “they (the villagers) can use any size of the longan branches for making charcoal. Upon having the charcoal, it is placed in the briquetting machine where it swings the magnetic plates which produce charcoal powder”.Mr. Karn states that “from this phase, the process goes through a 2.5 millimeter filter, with a production of 300 – 400 kilograms per hour: the charcoal powder is mixed with flour and water. It is later pressed into a charcoal bar, where the production rate is 800 kilograms per hour. From this step, the charcoal bars are placed outside in the sun for 3 days, and then packaged for sale in the community. This initiative helps save the production cost. It not only brings more income but also maintains a clean environment”. Moreover, based on this project the villagers are equipped with a new knowledge where they can make some slight changes to the briquetting machine with a 5 millimeter blending screw to produce fertilizers that are from the cattle’s waste. The manure turned fertilizer is currently sold at 40 Baht a package. The achievement from this project has become matter of pride on part of the staff. They have made a tremendous effort in accomplishing a goal that made the quality of life much better for the community. วารสาร ราชมงคลล้านนา 19


ชีววิถี “สิ่งประดิษฐ์

Bi o wa y

วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

เครื่องผสม ผลิตภัณฑ์ ความงามและ ชําระลา้ ง” ผลิตภัณฑ์ความงามและชําระลาง ถือ เปนสิ่งจําเปนแกการดํารงชีวิตของมนุษย ซึ่งมี ผลิตภัณฑอยูหลากหลายชนิด เชน สบู แชมพู นํ้ายาลางจาน ครีมทาผิว นํ้ายาถูพื้น นํ้ายา ลางรถ ฯลฯ เปนผลิตภัณฑที่ไดรับความนิยม อุปโภคกันทั่วไป หลายจังหวัดไดรับการคัดสรร ใหเปนผลิตภัณฑหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ขั้น ตอนการผลิตที่สําคัญนั้น คือ ตองทําการคลุก เคล า ส ว นผสมตามสู ต รของผลิ ต ภั ณ ฑ นั้ น ๆ อยางลงตัว สวนใหญในกิจการชุมชนจะตองใช แรงงานคน ซึ่งตองใชเวลาในกระบวนการผลิต มาก อีกทั้งการควบคุณคุณภาพยังทําไดยาก ดังนั้นเพื่อใหการทํางานไดงายและรวดเร็ว ลด การใชแรงงานคน สามารถสรางผลผลิตเพียง พอกั บ ความต อ งการและมี ค ุ ณ ภาพ สาขา วิ ศวกรรมเครื ่ อ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน จึงไดประดิษฐเครื่องผสมผลิตภัณฑความงาม และชําระลาง โดย ดร. สิทธิบูรณ ศิริพรอัครชัย และคณะ โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจาก กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เครื่องผสมนี้ถูกนําไปใชงานในกลุม ชีววิถีตําบลนํ้าเกี๋ยน ซึ่งเปนกลุมวิสาหกิจชุมชน แปรรูปสมุนไพรใหเปนผลิตภัณฑความงามและ 20 วารสาร ราชมงคลล้านนา

ชําระลางชนิดตาง ๆ จําหนายทั้งในจังหวัดนาน และตางจังหวัดตั้งแตป พ.ศ. 2555 เปนตนมา และไดทําการจดสิทธิบัตรการประดิษฐรวม กันในนามของ ดร. สิทธิบูรณ ศิริพรอัครชัย และกระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ภายใตคําขอสิทธิบัตรเลขที่ 1303000018 และปจจุบันผลงานไดรับการเผยแพรผานสื่อ และในวารสารวิชาการตาง ๆ เชน ผลงานสิ่ง ประดิษฐนวัตกรรมกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เปนตน เครื่ อ งผสมผลิ ต ภั ณ ฑ ค วามงาม และชําระลาง เปนเครื่องจักรกลกึ่งอัตโนมัติ สามารถผสมผลิ ต ภั ณ ฑ ค วามงามชนิ ด เหลว เชน นํ้ายาลางจานครั้งละ 75 ลิตร โดยการ

ปอนวัตถุดิบที่เปนของเหลวแตละชนิดลงผสม ในถั ง ผสมโดยอั ต โนมั ต ิ เครื ่ อ งจักรสามารถ ควบคุมการทํางานดวยโปรแกรมการทํางาน ที่สั่งและปอนคาโดยมนุษยเครื่องจักรจะเริ่ม ทํางานอัตโนมัติทันทีที่การปอนคาการทํ า งาน เสร็จสิ้น เครื่องผสมแบบนี้เปนเครื่องตนแบบ นํ้าหนักเครื่อง 60 กิโลกรัม ผสมผลิตภัณฑ ความงามไดในอัตรา 58 ลิตรตอชั่วโมง และ ยังสามารถตั้งโปรแกรมการลางและทําความ สะอาดเครื่องไดอยางรวดเร็วและหมดจด ใช กําลังไฟฟา 180 วัตต ตัวเครื่องจักรมีขนาด กะทัดรัด แข็งแรง ทนทาน สามารถเคลื่อน ยายไดสะดวกดวยลอเลื่อนที่สามารถล็อกใหอยู กับที่ได


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Beauty and cleaning products are necessary for sustaining human life. There are various types of products such as soap, shampoo, lotion, liquid dishwashing detergent to scrub floors. These products have been highly valued by consumers all over. Many provinces have been selected for featuring their unique OTOP products. In the production process, it is important to make the recipe ingredients and mix those products that meet the majority need of the business community who are engaged in manual labor. It takes time to process it. Controlling the quality level is difficult as well. Overall, it has to make the working process easier and faster. Labor has to be reduced while being able to produce enough to meet the demand and quality. At the Faculty of Mechanical Engineering in Rajamangala University of Technology Lanna, Dr. Siriporn has invented a way of mixing beauty and cleansing products.

This initiative was financially supported by the Ministry of Science and Technology. The outcome is a semi-automatic machine that can mix products such as a dishwashing liquid that is 75 liters per one time; this is done by feeding the liquid mixture into each tank mix. The machine can be controlled by a running program or being under human care. It will start automatically once the input is complete. This is a photo type mixer machine. The weight is 60 kg. Mixing rate is at 58 liters per hour. Moreover, it can set up a program to wash and clean up in a swift and sternly manner. The power consumption is at 18o watts. The machine is compact, sturdy and portable, and easy for transport. It has a convenient scrolling wheel that can be locked into place.

Bio-Thai “The Invention of Mixing Beauty and Cleanliness”

This mixer machine is used in Bio-Thai at Tambon Namkian. Community Enterprise Group. Since 2012, the community has been specializing in making herbal beauty products and sanitized items. There are various types available in the Nan province. The goods have been registered as a patent under the name of Dr. Sitthiboon Siripornarkarachai and by the Ministry of Science and technology of Thailand: the patent number is 1303000018. Currently, the works have been published through the media and in academic journals such as the Ministry of Science and Technology of Thailand’s “Innovations and Inventions”.

วารสาร ราชมงคลล้านนา21


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

กังหันลม...สร้างพลังงาน การเรียนรู้....สร้างคนเก่ง มีคุณธรรม

Windmill Generates Energy การเรียนรูอยูรอบตัวเรา ไมเพียงแตในหองเรียนที่จะมอบความรู ใหกับนักศึกษาไดอยางพอเพียง การนําพานักศึกษาเรียนรูนอกหองเรียน ทํากิจกรรมที่สรางสรรค เปนประโยชนตอสังคม ก็สามารถสรางแรง ผลักดันและพัฒนาใหเปนคนดี คนเกง ของประเทศชาติได การเรียนรู ฝกฝน และลงมือปฏิบัติจริงถือเปนการศึกษาที่ครบ ตามกระบวนการเรียนการสอนในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) ของ มทร.ลานนา ซึ่งที่ผานมา อาจารยณัฐพล สิทธิศรีจันทร พรอมดวย นายธีรพงษ ทาสะอาด นายสัมฤทธิ์ แสนบุญยัง นายปยะพงษ เพ็ชรจรูญ นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา พิษณุโลก มีโอกาสเขารวมการแขงขัน โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพลังงานสีเขียว ในงาน“วันนักประดิษฐ” ประจําป 2557 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพคอารีนา เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 23 – 26 มิถุนายน 2557 ซึ่งรวม ในการแขงขันประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ประเภท single phase ระยะเวลาจํากัด ลักษณะการเกิดไฟฟาคือ ใชพลังงานลมเปนตน กําลังในการหมุนกังหัน ทําใหแมเหล็กจํานวน 6 กอนหมุนตัดขดลวด 6 เขด ทําใหเกิดไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส (Single phase) ซึ่งมีทีมจาก มหาวิทยาลัยทั่วประเทศเขารวมการแขงขัน จํานวน 23 ทีม แมวาผลงานประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาของ นศ. มทร.ลานนา จะไมไดติดอันดับ 1 ใน 3 แตความภาคภูมิใจของนักศึกษาที่เขารวม การแขงขัน และกําลังใจสูเต็มรอยของอาจารยก็สงผลใหทุกคนมีแรง ผลักดันในการศึกษามุงเนนทํางานวิจัยตอไป

22 วารสาร ราชมงคลล้านนา

การแขงขันครั้งนี้ ถือเปนรางวัลชิ้นสําคัญ ของนักศึกษา ทั้ง 3 คน เพราะเปนโอกาสกาวสู เวทีการแขงขันระดับประเทศไดเรียนรูฝกฝนปฏิบัติ จริ ง มี ก ารแสดงออกทางด า นความคิ ด และทั ศ นคติ นายธีรพงษ ทาสะอาด กลาวถึงประสบการณ การแขงขันครั้งนี้วา “จากที่เคยไดเรียนแตดานทฤษฎี ได เ ห็ น กั ง หั น ลมของจริ ง แต ไม เ คยคิ ด ว า จะมี โอกาส ไดทําเอง จนมาเรียนและไดโอกาสจากอาจารยและ มหาวิทยาลัย ในการเรียนรูฝกฝนและผลักดันเขา แขงขัน จนทําใหไดรับประสบการณตางๆ มากมาย ที่เปนความภาคภูมิใจอยางหนึ่งในชีวิต” อีกหนึ่งสิ่งที่ สําคัญ คือ อาจารย ณัฐพล สิทธิศรีจันทร ผูฝกฝน ใหแนวคิดแกนักศึกษาวา“อาจารยไมตองการคนเกง แตตองการคนที่มีความรับผิดชอบ เพราะจะเปนผู สามารถพัฒนาตนใหมีคุณภาพไดตอไป” ดวยเหตุ นี้ จึงเกิดความสัมพันธอันดีระหวางอาจารยกับลูกศิษย เกิดความสามัคคีในการทํางานเปนหมูคณะ ซึ่งอาจไม ไดรับรางวัลหรียญทอง ไมไดโลประกาศเกียรติคุณ แต สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ คื อ รางวั ล ชี วิ ต และประสบการณ ที่ ยิ่ ง ใหญ ข องนั ก ศึ ก ษาที่ จ ะจดจํ า ตลอดไปและจะเป น แรงผลั ก ดั น ในการพั ฒ นาตนเองให ส ามารถเป น บุ ค ลที่ มี คุ ณ ภาพของสั ง คมและประเทศชาติ ต อ ไป อ นึ่ ง ต อ ง ข อ ข อ บ คุ ณ สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ กรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ที่จัดการอบรมเชิงปฏิบัติ การและการแขงขันประดิษฐเครื่องกําเนิดไฟฟาใน “โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพลังงานสีเขียว” ขึ้น เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอไป


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Windmill Generates Energy,

...Learning Generates Intellects

Learning takes place everywhere. Not only in the classrooms that students can get knowledge, but also outdoor activities could inspire students to do something for society. The vision of Rajamangala University of Technology Lanna is to create Hands - on graduate. Ajarn Nattapon Sittiseecharn. The team members are Teerapong Tasa-ard, Samrit Saenboonyoung and Piyapong Phetcharoon, the 4th year students majoring in Electrical Engineering. The team participated a competition in Innovation Project for Green Energy on Inventor’s Day 2014 at Impact Arena Hall 9, Muang Thong Thani, Nonthaburi. The project was held during 23th -26th June 2014. They invented a ‘Generator’ with ‘single phase type’ in a limited time. The generator is the windmill produced from 6 bar

magnets and 6 solenoids to create single phase electricity. The total number of teams who participated is 23 from different universities.To be a part of this competition was a good chance to experience new things and enhance their studies in this field. The courage from the teacher pushed the team forward and that would be a big award for them no matter what prize they get. “I only had a lecture about the windmill in my classroom, this competition allows me to invent a real windmill and the most importantly, it is an opportunity to launch our performance and all experiences we have are our biggest pride” Teerapong said. Ajarn Natthapon said that he prefers students who have responsibility because that group of people could be developed. The relationship between teacher and students and the teamwork are beyond prizes. At last we need to thank for the support from National Research Council of Thailand who organize this project.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 23


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Eco Packaging Design

งานท้าทายนักออกแบบรุ่นใหม่

ในยุคที่การบริโภคที่นับวันจะยิ่ ง เพิ ่ ม มากขึ ้ น กระแสการรณรงคเรื่องสิ่ง แวดลอมก็กลับมาอีกครั้ง โดยเฉพาะการ ลดปริมาณขยะเพราะปริมาณขยะที่เกิดขึ้น ในแตละวันลวนแตมาจากการบริโภคทั้งสิ้น กลาวคือ ยิ่งมีการบริโภคมากเทาใด ขยะ ก็ยอมเพิ่มขึ้นมากตามไปดวย กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) เปดเผยถึงปริมาณขยะทั่วประเทศไทยวา ในป 2556 ที่ผานมา มีขยะมากถึง 26.77 ลานตัน เพิ่มจากป 2555 ถึง 2 ลานตัน นํา ไปกําจัดแบบถูกตอง 7.2 ลานตัน กําจัดแบบ ไมถูกตอง 6.9 ลานตัน ปริมาณขยะที่ตกคาง ในพื้นที่ 7.6 ลานตัน และมีปริมาณขยะที่นํา กลับมาใชประโยชนใหมเพียง 5.1 ลานตัน เทานั้น สวนหนึ่งของขยะปริมาณมหาศาล เหลานี้ แนนอนวาจะตองมีกลองบรรจุภัณฑ (Package) รวมอยูดวย เพราะการซื้อขาย สิ น ค า ทุ ก วั น นี้ ต อ งอาศั ย การดึ ง ดู ด ใจผู ซื้ อ นอกเหนือจากกลยุทธการลดแลกแจกแถม แลว สิ่งที่จะทําใหลูกคาสนใจหยิบสินคา ขึ้นมา ก็คือบรรจุภัณฑ เมื่อซื้อสินคาแลว บรรจุ ภ ั ณ ฑ ท ั ้ ง หลายก็ จ ะกลายเป น ขยะ ในพริบตา การออกแบบบรรจุภัณฑเพื่อ อนุรักษสิ่งแวดลอม จึงเปนเรื่องทาทาย ความสามารถของนักออกแบบรุนใหมเปน อยางยิ่ง โดยเฉพาะการยึดหลัก Eco design ที่ตองคํานึงถึงกระบวนการออกแบบ ทุ ก ขั้ น ตอนเพื่ อ ลดผลกระทบทุ ก ทางที่ จ ะ ทําลายสิ่งแวดลอม ตั้งแตการเลือกใชวัสดุ ไปจนถึงการทําลาย ซึ่งตองประยุกตโดย ใชหลัก 4 R (Reduce Reuse Recycle Repair) เขามาบูรณาการ

24 วารสาร ราชมงคลล้านนา

ดวยเหตุนี้เอง วงการนักออกแบบ บรรจุภัณฑจึงไดตื่นตัว และใหความสนใจกับ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑเพือ่ สิง่ แวดลอม (Eco Packaging Design) มากขึ้น ซึ่งมูลนิธิเงินทุน งานแสดงการพิมพแหงประเทศไทย รวมกับ เครือขายสถาบันการศึกษาดานการพิมพ ได จัดกิจกรรมการประกวดผลงานออกแบบบรรจุ ภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอมขึ้น โดยมีแนวคิดปลูก จิตสํานึกแกนักออกแบบบรรจุภัณฑรุนใหม ใหคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ตั้งแต ขัน้ ตอนการออกแบบ ซึง่ เปนหลักการของการ ออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco Design) ต า ม ข อ กํ า ห น ด เชิ ง เ ท ค นิ ค ม า ต ร ฐ า น ISO/TR 14062 โดยมีกลุมเปาหมายเปนนิสิต นักศึกษา ใหออกแบบบรรจุภัณฑใหม เพื่อ การอนุรักษสิ่งแวดลอม (Eco Packaging Design) และนํ า ผลงานส ง เข า ประกวดชิ ง รางวั ล TPAF Eco Packaging Design Awards จากมูลนิธิเงินทุนงานแสดงการพิมพ แหงประเทศไทย ในหัวขอ “การออกแบบ บรรจุ ภ ั ณ ฑ เ พื ่ อ สิ ่ ง แวดล อ ม” ( Eco Packaging Design ) สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพและ บรรจุภัณฑ วิชาเอกเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ คณะศิ ล ปกรรมศาสตร แ ละสถาป ต ยกรรม ศาสตรมทร. ลานนา ไดสนับสนุนใหนักศึกษา ชั้น ปที่ 3 - 4 ส ง ผลงานเข า ประกวด โดย อ.วัชรวุธ พุทธิรินโน และอ.สิฐพร พรหมกุล สิทธิ์ เปนผูควบคุม โดยมีการประกาศผลวัน 26 กันยายน 2557 ในงาน Thai GASMA ณ ศูนยประชุไบเทค บางนา ซึ่งนักศึกษา มทร.ลานนา ควารางวัลมาไดดังนี้

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 นายอาทิตย เดชชะ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นายพงษพัฒน อุดคํา และ รางวัลชมเชยนายทศพล ใสสด นางสาวเจนจิรา ทานามัง นางสาวศิ ร ิ ล ั ก ษณ บุ ญมาใจ โดยผลงานของนักศึกษา ที ่ ไ ด ร ั บรางวั ล ได จ ั ด แสดงภายในงาน Thai GASMA ซึ่งผลงานดังกลาวเปนตัวแทนประเทศไทยในการประกวด “ AsiaStar 2014 Awards ” ณ กรุงมะลิลา ประเทศ ฟ ล ิ ป ป น ส และผลงานของนั ก ศึ ก ษา มทร.ล า นนา ควารางวัลมาได 6 รางวัล

นับเป็นก้าวสําคัญของนัก ออกแบบรุ่นใหม่ “บัณฑิตนักปฏิบัติ มทร.ล้านนา” ที่จะได้ใช้พลังความคิด สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อชุมชน...สู่ สากล ร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืนต่อไป


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Eco-Packaging Design: A Challenge for young designers Nowadays, there is an increase in consumption ; therefore the environmental campaign has been raised again in order to reduce waste which has directly affected the environment. The Ministry of Natural Resources and Environment has revealed that in 2013, there were 26.77 million tons of garbage which has increased 2 million tons from 2012. Only 7.2 million tons have been properly disposed and on the other hand 6.9 million tons have not been treated properly. There were 7.6 million tons which remained in the area, and only 5.1 million tons had been reused and parts of this enormous amount of waste came from packaging. In order to influence consumers, doing a promotion strategy alone is inadequate. One has to consider the importance of the way packaging is done. After the products have been bought, the packages were opened, thus becoming garbage. The concept of a packaging design for environmental preservation with an idea of “Eco Design” is a challenge for young designers to learn. Eco Design means mindful about the impact of environment in every process: from the beginning (material selection) to the end (destruction). Also, there is the adoption of the 4R principle which is defined as Reducing, Reusing, Recycling and Repairing. With these reasons, the packaging designers are aware and have paid more attention to the Eco Packaging Design. The Foundation Funding for Exhibition of Printing, Thailand and the Academy of Printing Network have proposed an Eco Packaging Design Contest in order to install awareness within the mindset of today’s young designers. This begins with the Designing process by using the Principle of Eco Design (ISO/TR 14062). The target group in this contest is the college students. They have to make a design that is under the “Eco Packaging Design” topic. The winner will receive the “TPAF Eco Packaging Award” from the Foundation Funding for Exhibition of Printing. The courses in Packaging Technology, at the Department of Printing and Packaging Technology, Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) has encouraged 3rd and 4th year

students to participate in this contest with the support from Mr. Watcharavut Phuttirinnoand and Mr.Sittapond Pomgulasit, the foremost is a lecturer and the latter is a supervisor. The result was announced on 26th September 2014 and these were the RMUTL students who had won the awards: The 1st runner up was Mr. Athit Decha. The 2nd runner up was Mr. Pongpat Oudcum.Three Consolation Prizes were awarded to Mr.Tossapol Saisod, Miss Jenjira Tanamung, and Miss Siriluck Boonjaima. All of the students’ awards winning design will be displayed the Thai GASMA Exhibition as well.

This is a new and important beginning for the “RMUTL Hands-on Graduates” young designers. They’ve learned about the initiative of creative innovation along with having understanding of environmental sustainability.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 25


งานบริ ก ารวิ ช าการ

เสื อ ้ เกราะกั น กระสุ น นวัตกรรมสู่การรับใช้สังคมและประเทศชาติอย่างยั่งยืน ผูพิทักษสันติราษฎร หรือตํารวจ เปนผูรักษาความสงบของ ประชาชนและบานเมือง โดยใช “ชีวิตปกปองชีวิต”

การปฏิบัติงานของเจาหนาที่นั้นจึงจําเปนที่จะตองมียุทโธปกรณ เพื่อ อํานวยความสะดวกในการทํางาน โดยเฉพาะเมื่อเกิดเหตุการณที่ไมคาดคิดขึ้น เชน การกอเหตุจลาจล การยิงตอสูกับผูราย อุปกรณที่จะชวยปกปองชีวิตของ สันติราษฎรไดก็คือ “เสื้อเกราะกันกระสุน” รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี พรอมดวย ผศ.มนูญ เมฆ อรุณกมล รองอธิการบดี มทร.ลานนา ไดรวมลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) กับสถานีตํารวจภูธร อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง โดยพันตํารวจเอกชัชวรินทร บุนนาค ผูกํากับการสถานีตํารวจภูธรแมทะ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2556 ที่ ผานมา ภายใตโครงการ “โรงพักสรางสุข” ดวยทาง มทร.ลานนาไดทราบถึง ปญหาจากเจาหนาที่ตํารวจวาเสื้อเกราะกันกระสุนนั้นที่มีอยูนั้นไมเพียงพอตอ ความตองการที่จะนําไปใชงาน โดยเฉพาะการใชระงับเหตุจลาจลตางๆ อีกทั้ง ยังขาดประสิทธิภาพในการใชงาน นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ภายใต การควบคุมของ อ.เอกรัฐ ใจบุญ จึงลงพื้นที่เก็บขอมูล เพื่อวิเคราะห หาสาเหตุ และแนวทางการแกไข เริม่ จากการออกแบบและสรางเสือ้ เกราะกันกระสุน โดย ผานการทดสอบจาก พ.ต.อ. บัญชา เศรษฐกร รองผูบัญชาการ ศพร. ภาค 5 อดีตนักแมนปนทีมชาติ และไดรับขอเสนอแนะใหปรับปรุงทางกลุมนักศึกษา จึงไดพัฒนาปรับปรุงเสื้อเกราะกันกระสุน ใหตรงตามความตองการของผูใช งานจริง ทั้งในเรื่องสูตร รูปแบบโลหะ รูปทรงทางกลศาสตรและทําใหมีนํ้าหนัก เบาลง โดยใชวัสดุคอมโพสิตผสมเสนใยใบสับปะรดเปนแผนซับแรงกระแทก เพื่อใหไดเสื้อเกราะปองกันกระสุนที่ดี มีคุณภาพ ประหยัด ปลอดภัยและสราง ความมั่นใจแกครอบครัวของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานภาคสนามที่เสี่ยงตอภัย อันตรายหลังจากการพัฒนาแลว จึงไดนําไปทดสอบอีกครั้งกับเครื่องยิงกระสุน ที่ โรงงานวัตถุระเบิดทางทหารสรรพวุธทหารบก กรมอุตสาหกรรมทหาร กระทรวงกลาโหม เพื่อขอใบรับรองผลการยิง ซี่งเสื้อเกราะกันกระสุนของ ทีม มทร.ลานนา ลําปาง ไดรับผลการประเมิน ใหอยูในระดับ 2A ที่สามารถ ปองกันกระสุนไดตามมาตรฐานกําหนดของกระทรวงยุติธรรม สหรัฐอเมริกา หรือ NIJ standard-0101.04 (U.S. National Institute of Justice) และ หลังจากผานการทดสอบแลวดําเนินการจัดซื้อวัสดุและพัฒนาผลงานในระดับ ที่สูงขึ้น โดยเนนราคาประหยัด มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน การออกแบบที่ดีตาม สรีระตรงความตองการใชงานจริง เพื่อเปนเครื่องชวยปองกันเจาหนาที่ตํารวจ ใหมีความปลอดภัยในการปฏิบัติงานภาคสนามตอไป 26 วารสาร ราชมงคลล้านนา

นับเป็นผลงานนวัตกรรมเด่น ของนักศึกษา และอาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ลําปาง ที่ก่อให้เกิดความ ภาคภูมิใจแก่ชาวราชมงคลล้านนา และสร้างประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติ อย่างแท้จริง


งานบริ ก ารวิ ช าการ

According to MOU between RMUTL and Provincial Police Region of Amphoe Mae-Ta, Lampang, together with the campaign “ Happy Workplace” of Thai Health Promotion Foundation, it was found that the number of the bulletproof vests were insufficient and ineffective in order to suppress unrest or to take action against war or riots. Subsequently, the students of Industrial Technology Department and Mr. Eakkarat Jaiboon, the project advisor from the Faculty of Engineering has implemented the research by collecting data, analyzing, discussing the potential solutions, and developing alternatives to meet the users’ requirements. And it has come up with the bullet proof vests composed by COMPOSITE materials and pineapple fiber which is used for shock load resistance. The experiments were conducted rigorously and the bulletproof vests with pineapple fiber were tested on its efficiency and it was revealed that they were in 2A level accredited by NIJ standard0101.04 (U.S. National Institute of Justice) which are well-qualified, high-safety and low- cost in production. The project “Pineapple fiber used to create bullet proof vests” has been one of RMUTL’s prides, improving quality of life in our society.

Bullet proof vests from pineapple fiber :

an innovation for the society

วารสาร ราชมงคลล้านนา 27


งานบริ ก ารวิ ช าการ

The Balance Voltage Load การจัดทําระบบสมดุลแรงดันไฟฟ้า ณ โรงอบชาศูนย์พัฒนามูลนิธิโครงการหลวงห้วยนํ้าขุ่น

บ้านห้วยนํ้าขุ่น ตําบลทากอ อําเภอแมสรวย จังหวัด

เชียงราย มีพื้นที่มีลักษณะเปนหุบเขาสลับซับซอน มีที่ราบระหวาง เขาเพียงเล็กนอย มีแมนํ้าสายเล็กๆ ไหลผานบริเวณตรงกลางของ พื้นที่ พื้นที่สวนใหญมีความลาดชันสลับซับซอน โดยมีอุณหภูมิ สูงสุด 34.9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิตําสุด 9.2 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ย 26 องศาเซลเซียส ซึ่งจากภูมิประเทศดังกลาว ศู น ย พั ฒ นามู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงห ว ยนํ้ า ขุ น ได ส ง เสริ ม การปลู ก พืชพันธุในเขตหนาวไดแก บวย ทอ สาลี่ พลับ ลิ้นจี่ แอปเปล พลัม และชาซึ่งเปนผลผลิตหลักของชุมชน โดยมีการแปรรูปชาอบ เปน ชาอูหลงและชาเขียว โดยการสงเสริมการแปรรูปผลิตชาสดเปนชาอบแหงนั้น ศูนยพัฒนามูลนิธิโครงการหลวงหวยนํ้าขุนไดสรางโรงอบชาแหงขึ้น ซึ่ ง มี เ ครื่ อ งจั ก รที่ ใช พ ลั ง งานไฟฟ า เป น หลั ก มี กํ า ลั ง การใช ไ ฟฟ า ทั้งหมด 12.5 KVA แตปญหาของโรงอบชาที่เกิดขึ้นประจําคือ ปญหาแรงดันไฟฟาตก แรงดันไมเปดใชเครื่องจักร และการ Break Down ของเครื่องจักร จากการปญหาดังกลาว สวนสนับสนุนมูลนิธิ โครงการหลวงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย จึงเขาทําการปฏิบัติงานปรับปรุงระบบไฟฟา โดยตรวจวัดระบบ ไฟฟาในโรงอบชา ซึ่งพบวาการใชงานของโหลดและการจัดโหลด เกิดความไมสมดุล (Unbalance Phase) มีการใชงานหนักในเฟส A และ B สวนเฟส C ไมคอยไดใชงานซึ่งทําใหเกิดความไมสมดุล ในระบบแรงดันไฟฟา ซึ่งเปนที่มาของสาเหตุการ การ Break Down ของเครื่องจักร การเสียหายของอุปกรณชนิดมอเตอร เกิดการเสี่ยง ตอการลัดวงจรไฟฟาและไฟไหม ในวันที่ 4 - 7 สิงหาคม 2557 สวนสนับสนุนมูลนิธิ โครงการหลวงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย ไดดําเนินการทํา Balance Load ใหกับระบบไฟฟาในโรงอบชา ทั ้ ง หมด โดยกํ าหนดโหลดใหเหมาะสมกับ ระดับ แรงดัน ไฟฟ า ระบบ 3 เฟสแลว ** หมายเหตุ เนื่องจากโรงงานไดใชหมอแปลงรวมกับ หมูบานดังนั้นการจัด Balance load จึงขึ้นอยูกับการใชงาน โหลดที่ชาวบานใชดวย การจัด Balance load ในโรงงานชาจึง จั ด เพื ่ อ รั ก ษาระดั บ แรงดั น แต ล ะเฟสให ส มดุ ล ผลจากการ ปฏิบัติงานสามารถปรับสมดุลในระบบแรงดันไฟฟา 3 เฟส ของ โรงอบชาไดและลดการสูญเสียของเครื่องจักรลง 28 วารสาร ราชมงคลล้านนา

การบริการวิชาการ เป็นหนึ่งในพันธ กิจหลักของมหาวิทยาลัย ในการมี ส่วนร่วมและให้ความช่วยเหลือสังคมและ ชุมชน โดยคณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษา มทร.ล้านนา เชียงราย ที่มี ความชํานาญในด้านต่าง ๆ ช่วยเสริม สร้างความเข็มแข็งทางด้านเทคโนโลยี และเศรษฐกิจให้กับศูนย์พัฒนามูลนิธิ โครงการหลวง และชุมชน


งานบริ ก ารวิ ช าการ

The Balance Voltage Load System at dried Tea Leaves Factory of the Royal Project Foundation Development Center In Huay Nam Khun

Huay Nam Khun Village, Chiang Rai, Thailand is a place surrounded by mountains. The highest temperature is 34.9 C while the lowest temperature is 9.2 C. So the average temperature is 26 C. From this factor, the royal project foundation development center in Huay Nam Khun has launched a crop rotation system that features produce such as Chinese plum, peach, Chinese pear, persimmon, lychee, apple, plum and tea. Tea leaves are the main product for making Oulong tea and green tea.

The drying of tea leaves were supported by the Huay Nam Khun Royal Project Foundation Development Center which uses machines that have a power of 12.5 KVA. Unfortunately, this causes a problem where the machine starts to break down. To solve this problem, Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Rai arranged a workshop to improve the electrical system by examining the electrical format in the dried tea leaves factory. The cause of the breakdown of the machine was due to an unbalanced load of voltage between the phases, which damages the electrical equipment and considered to be dangerous.

On 4th – 7th August 2014, Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Rai conducted the project of balanced load for the electrical equipment in the dried tea leaves factory. The table below demonstrates the balanced load of voltage in three phases. Remark : The factory and the villagers used the same transformer, so the balance load depends on the electricity load that the villagers consume. The benefit of this balance load is that it prevents the machine from breaking down. This project is one of RMUTL’s main missions that integrates the students’ knowledge for developing the rural community and the royal projects.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 29


งานบริ ก ารวิ ช าการ าการ

Implementing the Knowledge

of Mixing Beef Cattle Nourishment: An RMUTL Tak Case Event มทร.ล้านนา ตาก ต่อยอดองค์ความรู้ โครงการเทคนิคการผสมอาหารโคเนื้อ หลั ง จากที่ ก ลุ ม บุ ค ลากรผู มี ค วามเชี่ ย วชาญด า นเครื่ อ งกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก ไดมีบทบาทเขามาชวย พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสูชุมชน โดยไดประดิษฐเครื่องผสม อาหารโคเนื้อใหแกกลุมผูเลี้ยงโคบานหนองแบน ต. หนองบัวเหนือ อ.เมืองตาก จ. ตาก ซึ่ง มทร.ลานนา ตาก เล็งเห็นถึงความสําคัญที่กลุม ผูเลี้ยงโคนมจําเปนตองมีความรูความเขาใจในการใชงานเครื่องมือ จึง ไดจัดโครงการบริการวิชาการและถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชน ในชื่อ โครงการ “เทคนิคการผสมอาหารโคเนื้อ ดวยเครื่องผสมอาหารโคเนื้อ โดยงานวิ จ ั ย นวั ต กรรมและเทคโนโลยีรว มกับ วิสาหกิจชุ มชน” โดย ได รับเกียรติจาก ผศ.ดร.ทนงศักดิ์ ยาทะเล ผูอํานวยการกองการศึกษา ร ว มกั บ นายเชาวลิ ต เมืองสมบัต ิ นายกองคก ารบริหารส ว นตํ า บล หนองบัวเหนือ นายสมเกียรติ ยมเกิด กํานันตําบลหนองบัวเหนือ นายทัด เนียมกอน ผูใหญบานรวมเปนประธานเปดโครงการฯ บานหนองแบน และโอกาสนี้ไดรับเกียรติจาก ดร.ณรกมล เลาหรอดพันธ สาขาสัตว ศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม เปนวิทยากรบรรยายพิเศษ ณ กลุมวิสาหกิจชุมชนผูเลี้ยงโคเนื้อ เมื่อวันที่ 10 - 11 สิงหาคม 2557 โดยชาวบานกลุมวิสาหกิจชุมชนกวา 150 คน ไดรับความรูเรื่องการคัดสรรวัตถุดิบที่มีในชุมชน การคํานวณ ปริมาณการผสมอาหาร ซึ่งผสมไดครั้งละ 700 กิโลกรัม ซึ่งชวยลดตนทุน คาอาหาร ทั้งนี้การที่ชาวบานไดรับการถายทอดองคความรูเกี่ยวกับ เทคนิคการผสมอาหารโคเนื้อ ตลอดจนองคความรูพื้นฐานที่ควรทราบ เบื้องตน กอใหเกิดความรูความเขาใจเปนอยางดี เสริมสรางกระบวนการ ทํางานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชน บานหนองแบนอยางแทจริง

30 วารสาร ราชมงคลล้านนา

In follow up to RMUTL Tak’s engineering specialists taking on the role of fostering innovation and technology for mixing beef cattle nourishment, the university was quite aware that the Nongbua group of cattle handlers should be provided with a clear understanding of managing the nourishment mixing machine. With this state of mind, the university conducted a workshop for gaining the know-how and general idea about operating the machine. The seminar was called “ Techniques of Mixing Beef Cattle Nourishment with the Mixing Machine for the Community’s Enterprise ”. This event was presided with distinction by Dr. Tanongsak Yatale, Director of Academic Affair of RMUTL Tak, Mr. Tud Niemgon, Head of the Village, Mr. Somkiat Yommagert, Head of the Community, and Mr. Chaowarit Muang - Sombat, Chairman of the Northern Nongbua Subdistrict Office. Altogether, Dr. Narakamol Laorodpun, from the Faculty of Animal Science and Agricultural Technology, Pibhun Songkram Rajhabhat University, was invited as the guest speaker of the event on 10th -11th August 2014. At this workshop, over 150 beef cattle holders received some good instruction on how to select high quality source in the community for beef cattle’s nourishment. In addition, they learned how to calculate the right portion of nourishment that should be produced at 700 kilograms. This can help the beef cattle group reduce the nourishment cost. Additionally, the knowledge that the group received can be passed to other village members in the community. This results in an effective working process and bringing real benefi ts into the Nongbua community.


ปลาเลียหิน (ปลามัน)

งานบริ ก ารวิ ช าการ

“ตําบลดงพญา...ตําบลที่ เต็มเปี่ยมไปด้วยเรื่องเล่า ธรรมชาติที่สมบูรณ์ ผู้คนช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน”

ปลอ่ ยพันธุ์ปลาเลียหิน (ปลามัน) เพื่อรักษาฐาน ทรัพยากรธรรมชาติลงสลู่ ํานํ้าสะปัน

บานสะปน เปนหนึ่งหมูบานที่ตั้งอยู ในตําบลดงพญา เดิมเปนสวนหนึ่งของตําบล บอเกลือเหนือ อําเภอปว จังหวัดนาน ไดยก ฐานะเป น ตํ า บลดงพญาเมื ่ อ พ.ศ. 2539 การปกครองขึ้นอยูกับกิ่งอําเภอบอเกลือ ตอมา ไดมีราชกฤษฎีกา ยกฐานะกิ่งอําเภอบอเกลือ เปนอําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2538 สวนที่มาของชื่อตําบล ดงพญา จากคําบอกเลาวาในอดีตมีผูนําหรือผู ปกครองชุมชนจะมียศเปนเจาพระยาสืบตอกัน มาเปนจํานวนมาก เชน เจาพระปน เจาพระสาร เจาพระยาแกว และเจาพระยากองแล เปนตน จึงเกิดเปนที่มาของชื่อ ตําบลดงพญา โดยตําบล ดงพญา ไดแบงออกเปน 7 หมูบาน ขนาด แตละหมูบานจะเปนหมูบานขนาดเล็ก จํานวน ครัวเรือนทั้งหมด 740 ครัวเรือน ประชากร ประมาณ 3,347 คน ความสัมพันธของคนใน

หมูบานจะเปนแบบเครือญาติอยูรวมกัน ชวยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ดังนั้นปญหาความขัดแยง ภายในชุมชนจึงไมคอยมี เปนแบบตระกูลไมกี่ ตระกูล ซึ่งจะสังเกตไดจากนามสกุลที่ใชเหมือนกัน การขยายตัวทางชุมชนเพื่อที่จะแยกออกไปตั้งเปน หมูบานใหมจึงไมมี เนื่องจากเปนชุมชนขนาดเล็ก และสภาพพื้นที่ไมเอื้ออํานวย เพราะสภาพพื้นที่ สวนใหญจะเปนเทือกเขาสูงการเปลี่ยนแปลงทาง ดานตางๆ จากอดีตจนถึงปจจุบันมีไมมากนักสวน ใหญจะเปนการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางดานเครื่อง อุปโภคและสาธารณูปโภคที่ใชในชีวิตประจําวัน (เหตุที่มีชื่อบานสะปน เพราะมีลํานํ้าปน ไหลผาน) รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิการบดี มทร.ลานนา พรอมดวยอาจารยเอกชัย ดวงใจ และนักศึกษา สาขาวิชาประมง คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ก ารเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน

และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) รวมกับ องคการบริหารสวนตําบลดง พญา กํานัน ผูใหญบาน และชาวบานตําบลดง พญา อําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน รวมปลอย พันธุปลาเลียหิน (ปลามัน) จํานวนสี่แสนตัว ภาย ใต “โครงการปลอยพันธุปลายเลียหิน (ปลามัน) เพื่อรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติ” โดยโครงการ ดั ง กล า วมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เพิ่ ม จํ า นวนปลา เลียหินในลํานํ้าสะปน อําเภอบอเกลือ จังหวัด นาน สนับสนุนการเรียนการสอนของนักศึกษา สาขาการประมง และเพื่อสรางทัศนคติที่ดีของ นักศึกษาตอการทํากิจกรรมที่เปนประโยชนตอ สังคมและสิ่งแวดลอม ใหชุมชนไดมีสวนรวมใน โครงการและสรางความตระหนักใหกับชุมชนถึง การใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น ของตนเอง วารสาร ราชมงคลล้านนา 31


Garra waensis

งานบริ ก ารวิ ช าการ

Release stone-lapping fish (oily fish) to maintain the natural resource base into the Sa-pan River Sa-pun village is located in Dong Phaya originally part of Tambon Bo-Kluea, Pua District, Nan province was raised as Tambon Dong Phaya in 1996, and the village was governed by Bo-kluea Sub district. Later the Royal decree rose Bo-Kluea to be a district on September 7, 1995. The name Dong Phaya originated from the legend stated that the titles would have the rank of Chao Phraya title such as Chao Phra Pin, Chao Phra Sarn, Chao Phra Keaw and Chao Phrayakong-lae as it was the origin of the name Dong Phaya. Tambon Dong Phaya is divided into 7 villages; with approximately 740 households and total population about 3,347 people. The relationship among the people in the village is just like family members which can be witnessed through the use of the same family names by the majority of the villagers. There were no expansion of the community in order to split off for a new settlement in a new village due to the size of small communities and inadequate land 32 วารสาร ราชมงคลล้านนา

(most of the land is mountainous). There is not much change in the village except the consumer goods and utilities used in daily life. (The name “Baan Sa-pun” originated from the name of the “Sa-pun River” which runs through the village). Assoc. Prof. Dr. Komsan Amnuaysit, Vice President for Nan Campus in collaboration with an Instructor Ekkachai Duangjai, students of Fisheries, Faculty of Science and Agricultural Technology of RMUTL Nan, King Mongkut’s Institute of Technology Thonburi, Dong Phaya Sub district Administrative Organization, village leaders and villagers had released 400,000 stone-lapping fish (oily fish) under the project “Release stone-lapping fish (oily fish) to sustain the natural resources”. This project aims to increase the number of stone -lapping fish in Sa-pun River, Bo-Kluea District, Nan Province and support the teaching and learning fishery students as well as creating a positive attitudes among the students towards

undertaking activitiesthat benefit the society and environment. In addition, the community can participate in this project and create awareness among the community about biodiversity exploitation as well as preserving their local natural resources.


งานบริ ก ารวิ ช าการ

ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา มอบความรู้ ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละภาษาตา่ งประเทศสนู่ อ้ งนักเรียน ความรูทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และภาษาตาง ประเทศ เปนสิ่งสําคัญสําหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ของชาติ โดยเฉพาะเยาวชนระดับมัธยม ควรจะมีพื้นฐานและ มีทัศนคติที่ดีเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาองคความรูใหม ๆ ดวยเหตุผลดังกลาว สาขาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตรและสาขาศิลปศาสตร คณะบริหารธุรกิจ และศิ ล ปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก ประกอบไปดวย 6 แผนกวิชา ไดแก ฟสิกส เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร สงเสริมการเกษตรและภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารสากล ไดตระหนักความสําคัญในการปลูกฝง ทัศนคติที่ดีใหกับนักเรียน โดยจัดกิจกรรมการบริการใหความ รูทางวิชาการและวิทยาการใหม ๆ ทางงานวิจัยของคณาจารย ไปพรอมกัน ภายใตโครงการ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสัญจร รวมกับ คายภาษาตางประเทศ ณ โรงเรียนบานกรางวิทยาคม โรงเรียนวังทองพิทยาคม และโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา ซึ่งมีคณาจารย เจาหนาที่และนักศึกษา เปนวิทยากรมอบความรู ใหกับนักเรียน ซึ่งเปนกิจกรรม 8 ฐาน ประกอบดวย -ฐานพลังงานความรอนจากถานกอนเห็ด (แผนกฟสิกส) -ฐานChem – is – try (แผนกเคมี) กิจกรรมการ ตรวจสอบออกซิเจนอยางงายกิจกรรมการแยก คลอโรฟลลในหญา กิจกรรมไขปลาพากันงง เกมบอล เดงดึ๋ง เกมลูกบอลนาโน -ฐานใครกินใคร (แผนกชีววิทยา) กิจกรรมใหความรู ทางนิเวศวิทยา -ฐานเฮฮา 555 ภาษาคอม(แผนกเทคโนโลยี สารสนเทศ) กิจกรรมถอดประกอบเครื่องคอมพิวเตอร -ฐานสนุกคิด วิเคราะหตัวเลข (แผนกคณิตศาสตร) กิจกรรมใหความรูทางคณิตศาสตร กิจกรรมหกเหลี่ยม คูแฝด เกมสสามทหารเสือ ดอกไมกับตัวเลขมหัศจรรย -คายภาษาอังกฤษ (สาขาศิลปศาสตร) -คายอาเซียน (สาขาศิลปศาสตร) -คายภาษาจีน (สาขาศิลปศาสตร) งานบริ ก ารวิ ช าการครั้ ง นี้ จ ะนํ า มาซึ่ ง พื้ น ฐานการ กระตุ น ความรู สํ า นึ ก รั ก ในขบวนการคิ ด เชิ ง วิ ท ยาศาสตร แ ละ ภาษาตางประเทศใหกับนักเรียน นักศึกษา สงเสริมใหนักเรียน เกิดการเรียนรูประสบการณจริง สามารถคิดและจินตนาการ ไดอยางสรางสรรคและหลากหลายดาน กอใหเกิดการพัฒนา ความรู แ ละความสามารถในการเรี ย นและเป น การเตรี ย ม ความพร อ มตั ว ป อ นร ว มกั บ สถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ป น เครื อ ข า ย

Enhancing education standard; providing

science knowledge and improving foreign language skills to high school students Science, technology and Foreign language skills play an important role in education development. High school students should have high standards and a positive attitude towards learning their subjects. For this reason, Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanuloke, in cooperation with the Science department and Liberal Arts department, organizes an academic camp that is comprised of six subjects. These six main subjects are Physics, Chemistry, Biology, Mathematics, Agricultural Extension and English for International Communication. A group of teachers and students from related departments carry out the role as instructors. The Mobile Academic Camp on Science and Technology and Foreign Languages is provided for three schools; BaanKrang Wittayakom, Wangthong Pittayakom and Noen Maprang Suksawittaya School. The camp is divided into eight stations; - Physics station; heat energy from mushroom charcoal - Chemistry; oxygen investigation, chlorophyll subdivision, fish eggs, bouncing balls and nano balls - Biology station; knowledge of ecology - Information System station; computer installation - Mathematics station; knowledge of Mathematics, twin hexagon game, three musketeers game, flowers and numbers - English station - ASEAN station - Chinese station These activities were designed for encouraging students to acquire a systematic thinking in science and foreign languages from their direct experience. Moreover, it is a good preparation for developing their competencies while achieving good grades for their graduation. วารสาร ราชมงคลล้านนา 33


งานบริ ก ารวิ ช าการ

หมู่บ้าน .....วอแก้ว ้มของชุมชนที่สร้าง.... Wor- Keaw ..รอยยิ อย่างยั่งยืน “คุณภาพชีวิตคนในชุมชน”

จากองค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ ถ่ายทอดลงสู่ชุมชนเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน / สังคม เกิดการเรียนรู้ ต่อยอดให้แก่ คนในชุมชน และเป็นศูนย์กลางการ เรียนรู้แก่คนทั่วไป การได้รับรางวัล อันทรงเกียรติจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ประจําปี 2557 โดย กระทรวงมหาดไทย นั้น คงเป็น สิ่งการันตีถึงความสําเร็จอันยั่งยืน ของหมู่บ้าน วอแก้ว ได้เป็นอย่างดี 34 วารสาร ราชมงคลล้านนา

คงเปนสิ่งสําคัญในการสรางรากฐานคุณภาพของคนในสังคม และชุมชน ดัชนีชี้วัดความสุขของคนไทย บงบอกถึงสภาพชีวิตที่เปนสุข อันเปนผลจากการมีความ สามารถในการจัดการปญหาในการดําเนินชีวิต มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี โดยครอบคลุมถึงความดีงามภายในจิตใจ ภายใตสภาพสังคมและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่ง สิ่งเหลานี้คงเปนคําตอบของการดําเนินโครงการ“ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน/หมูบานแบบมีสวนรวม หมูบานวอแกว” โดยคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเกษตร มทร.ลานนา ลําปาง ซึ่งคณาจารยและ นักศึกษารวมศึกษาปญหาเพื่อหาแนวทางในการแกไขและพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน/หมูบาน ดวย การนําปญหาเขาสูกระบวนการทางวิชาการ โดยมีแผนดําเนินงานเปนเวลา 3 ป และไดเริ่มดําเนิน กิจกรรมตางๆ ไดแก กิจกรรมการปรับปรุงกระบวนการผลิตเห็ดและการเพิ่มแหลงอาหารเห็ดใหกับ ชุมชนอยางยั่งยืน โดยการปรับปรุงสถานที่โรงเรือนเห็ด ณ ศูนยเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งชุมชนไดรับ การฝกปฏิบัติจริง ขณะนี้ชุมชนไดรวมกันสรางสถานที่บมเชื้อและเปดดอกเห็ดภายในครัวเรือน กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษและการผลิตปุยมูลไสเดือน โดยดําเนินการจัดทําจักรยานโดยใช แรงคนปนเพื่อสูบนํ้าเก็บไวในถัง เพื่อทําเปนระบบนํ้าหยดในแปลงปลูกผักปลอดภัย พืชผักสวนครัว และโครงการเลี้ยงไสเดือนในบอซีเมนต เพื่อทําปุยมูลไสเดือนหรือเปนอาหารเพื่อทําการเกษตร ซึ่ง ใชเวลาเลี้ยง 3-4 เดือน อีกทั้งสงเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ และการผลิตปุยมูลไสเดือนในชุมชน สงผลใหเกิดรายไดลดคาใชจายในครัวเรือนไดเปนอยางดี ชุมชนมีผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคและ ลดคาใชจายในครัวเรือน กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกในบอซีเมนตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยทุกครัวเรือนที่เขารวมโครงการไดดําเนินการเลี้ยงปลาแลว จํานวน 23 ครอบครัว เลี้ยงปลาดุก ครอบครัว ละ 1 บอ กิจกรรมการสงเสริมอาชีพการเลี้ยงกบตามแนวพระราชดําริ การดําเนินการ เลี้ยงกบในกระชังบริเวณบอหนาศูนยการเรียนรูหมูบานวอแกว พรอมทั้งจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับ การเลี้ยงกบในกระชังอยางถูกตอง กิจกรรมการถายทอดองคความรูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงไก พื้นเมือง ซึ่งไดถายทอดองคความรูการเลี้ยงไกพื้นเมือง ดานอาหารและการใหอาหาร การเลี้ยงดูและ การจัดการฟารมไกพื้นเมืองแกชาวบาน เพื่อใหการเลี้ยงไกพื้นเมืองเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สามารถผลิตไกตอรุนไดมากขึ้น กิจกรรมการผลิตปุยหมักอินทรียจากใบไมแหงและปุยหมักจาก มูลวัวแหง โดยมีเปาหมายใหหมูบานปราศจากการเผาและสรางมูลคาเพิ่มจากใบไมแหงและวัสดุ การเกษตร เพื่อผลิตเปนปุยหมักหมุนเวียนมาใชในดานการเกษตรตอไป กิจกรรมการสงเสริมความรู ดานการตลาดและการจัดการกลุมโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตบานวอแกว ซึ่งในปแรกไดดําเนินการ เขาไปแนะนําดานการตลาดแกเกษตรกรในการสรางตราสินคา พัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑเพื่อเพิ่ม มูลคาสินคาและสามารถเก็บไวไดนาน


งานบริ ก ารวิ ช าการ

Bann Wor- Keaw the sustainable village “The quality of life of the community” is very crucial to the foundation of the society / community.

The Happiness indicators include the capacity development to improve the standard of living of the community which can be demonstrated in case of the village of Moo Baan Wor -Keaw” launched by the Faculty of Agricultural Science and Technology, Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang which Ajarns and students implemented 3 years solution plans to develop standard of living for the community as follows: Firstly, developing mushroom plantation process for sustainable community. Secondly, support villagers to plant organic vegetables using vermicomposting as bio-fertilizer. Thirdly, encouraging each family to raise frogs and catfishes in cement tank according to the Philosophy of Sufficiency Economy. Fourthly, teaching villagers how to feed local chickens efficiently. Fifthly, making bio-fertilizer from dried leaves and dried cow dung. Finally, running workshop on management and marketing to improve the standard of living of Bann Wor-Keaw.

As a result of RMUTL’s academic services helping to improve the living standard for families in the community and also enable community to be a learning resource for others. Subsequently, in 2014, Bann Wor-Keaw was awarded “Yoo Yen Pen Suk” from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn (village adopted sufficiency economy philosophy) by Ministry of the Interior. วารสาร ราชมงคลล้านนา35


ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และสิ่งแวดล้อม

มทร.ล้านนา สืบสาน

ประเพณียี่เป็ง 2557

“เป็นการสืบสาน อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีล้านนา ให้ดํารงต่อไป”

36 วารสาร ราชมงคลล้านนา

เมื่อเดือนพฤศจิกายนเวียนมาถึง โคมลอยหลายลูกลอยสูทองฟา ยามคําคืน บานเรือนหลายแหงประดับประดาไปดวยโคมไฟหลากสี บาง ก็มีซุมประตูปา เปนสัญญาณบงบอกวาประเพณียี่เปงกําลังจะเริ่มตนขึ้น จังหวัดเชียงใหม ถือเปนจังหวัดที่มีการจัดงานประเพณียี่เปงหรืองานลอย กระทงอยางยิ่งใหญเปนประจําทุกป ไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศเปนจํานวนมาก โดยมีการจัดกิจกรรม ลอยกระทง ที่ดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยว นอกจากนี้แลว ยังมี การจัดประกวดขบวนโคม ขบวนกระทงเล็ก กระทงใหญ ที่บรรดาเหลา แมหญิงลานนาตางพากันมาอวดโฉมนั่งบนริ้วขบวนกระทงที่สถาบันการ ศึกษา หมูบาน และองคกรตางๆ ตางก็รังสรรคกันอยางสุดฝมือ เพื่อสง เขาประกวดและถือเปนการสืบสานอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีลานนา ใหดํารงตอไป ป 2557 นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ลาน นา ไดสงขบวนโคมยี่เปงเขาประกวด ภายใตแนวคิด “สักการะปูจาเกศ แกวจุฬามณีสักขีมิ่งฟา” ที่เปนหลักในการประดิษฐโคมที่มีความงดงาม ตามแบบของชาวลานนา ทามกลางสักขีแหงการสักการะบูชาพระธาตุ เกศแกวจุฬามณี บนสรวงสวรรคชั้นดาวดึงส นอกจากนี้แลว ยังไดสงริ้ว ขบวนกระทง เขาประกวด ภายใตชื่อ “อนันตนาคา อสุราเทวา เกษียร สมุทร” ซึ่งไดแนวความคิดมาจากการกวนเกษียรสมุทรของเหลาเทวดา และอสูร ที่กอใหเกิดสิ่งทิพยและนํ้าอมฤตขึ้น เปรียบไดกับการสรางสรรค วัฒนธรรมอันดีงามดวยความดี และเปรียบเสมือนการรวมวัฒนธรรมอัน หลากหลายของเมืองเชียงใหมเขาไวดวยกันอยางสงางาม


ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และสิ่งแวดล้อม

“สักการะปูจาเกศแก้วจุฬามณีสักขีมิ่งฟ้า” โคมบูชา สักการะเกศฟ้าจุฬามณี ขบวนโคมของ มทร.ลานนาประจําปนี้ ไดแนวความคิดในการประดิษฐโคม ที่มีความงดงามดวยศิลปวัฒนธรรมของชาวลานนา ทามกลางสักขีแหงการสักการบูชา พระธาตุเกศแกวจุฬามณีบนสรวงสวรรค ชั้นดาวดึงส ในชื่อ “สักการะปูจาเกศแกว จุฬามณีสักขีมิ่งฟา” ประกอบเปนริ้วขบวน คือ องก์ที่ 1 คงคาสักขี เปนขบวนโคมเครื่องสักการะ เพื่อขอขมาพระแมคงคา องก์ที่ 2 สักการะเกศฟ้าจุฬามณี เปนขบวนโคมพระธาตุเกศแกวจุฬามณีที่ ประดิษฐานบนหลังปญจรูป ซึ่งปญจรูป เปนการผสมสัตวศักดิ์สิทธิ์ 5 สายพันธุ คือ สิงห ชาง กวาง หงส และพญาปลา แสดงใหเห็นถึงความลุมหลงของมนุษยที่ยังไมลวง พนวัฏฏะสงสาร โดยองคพระธาตุเกศแกวจุฬามณีเปนตัวแทนขององคพระสัมมาสัม พุทธเจา ซึ่งพนจากกิเลสทั้งปวง องก์ที่ 3 แม่พระธรณีเป็นพยาน เปนขบวนโคมที่แสดงถึงการเปนสักขีพยาน ในการตรัสรูขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา แนวคิดการประดิษฐขบวนโคม อ.ธนิตพงศ พุทธวงศ อาจารยคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มทร.ลานนา ผูออกแบบขบวนโคม ไดกลาวถึงการปฏิบัติงานในครั้งนี้วา “ไดวางรูป แบบริ้วขบวนโคม โดยแบงเปน 3 สวน คือ การสักการะบูชาพระแมคงคา บูชาพระ เกศแกวจุฬามณี และสักขีพยานในการตรัสรูขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยปนี้รูป แบบความคิดหลัก จะมีบรรยากาศเปนแบบพมา ซึ่งลานนากับพมามีความสัมพันธกัน มายาวนาน อีกทั้ง ‘ปญจรูป’ ที่อยูในขบวนโคมนั้นเปนสัตวศักดิ์สิทธิ์ของพมา ริ้วขบวน โคมในปนี้จึงจะเห็นการแตงกาย การตกแตงโคม รวมถึงการแสดงเปนแบบพมา”

ประยุกต์ความรู้จากห้องเรียนสู่การปฏิบัติ

อ.ธนิตพงศ ยังกลาวตอวา “การประดิษฐ์ขบวนโคมในครั้งนี้ เกิดจากการร่วม มือร่วมใจของ อาจารยและนักศึกษา มทร.ลานนา ที่ไดบูรณาการ ความรูทุกแขนงมาใชในการประดิษฐโคมครั้งนี้ ซึ่งเปนความรวมมือของ คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร โดยในสวนของ สถาปตยฯนั้น อาจารยผูสอนไดมอบหมายใหนักศึกษา คนควา (Research) ร ูปแบบศิลปะของพมา แลวออกแบบขบวนโคมลานนา และจัดองคประกอบศิลป ใหดึงดูดใจผูชมและมีอารมณ รวมไปกับขบวน โดยเรื่องของการจัดแสงนั้นก็มีความ สําคัญ ซึ่งนักศึกษาตั้งแตชั้นปที่ 1 – 4 ของแตละคณะ ตางก็ไดมาทํางานและรวมแกปญหาไปดวยกัน”

เมื ่ อ ได้ ผ ลสรุ ป เรื ่ อ งแบบ การจั ด วางและองค ประกอบแลว คณาจารยและนักศึกษาก็ไดลงมือทํา โดย แบงหนาที่รับผิดชอบกันไปในแตละสวน “ นักศึกษาจาก คณะวิศวะฯ นําทีมโดย อ.มานิตย อินทรคําเชื้อ ก็มาชวยใน เรื่องของการเชื่อมงานรถเหล็ก อุปกรณหอยโคม นักศึกษา สาขาเหมืองแร และสาขาวิศวกรรมไฟฟา รวมถึงสาขา เทคโนโลยีการพิมพฯ ก็มาชวยในเรื่องของโครงสรางไมที่จะ ตองขึ้นรูปโคม นักศึกษาชั้นปที่ 1 ของสถาปตยกรรมก็จะ รับหนาที่ออกแบบลาย ดูแลวัสดุอุปกรณ รวมถึงประดิษฐ โคมตางๆ และนักศึกษาจากสาขาวิชาระบบสารสนเทศทาง คอมพิวเตอร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร ก็เขามา ดูแลในเรื่องของความเปนเอกภาพ ของขบวนใหสอดคลอง กับความเปน มทร.ลานนาอีกดวย ” อ.ธนิตยพงศ กลาว นอกจากประดิษฐโคมแลว การแสดงในริ้วขบวนก็เปนสิ่ง สําคัญที่จะชวยสงใหขบวนโคมของ มทร.ลานนามีความ โดดเดน นาสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งในสวนนี้อยูในการควบคุม ดูแลของ ดร.ธนศักดิ์ ตันติธนาคม อาจารยประจําสาขาการ จัดการธุรกิจคาปลีก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร รับ หนาที่ดูแลเรื่องการแสดงและการแตงกายของนักศึกษาที่ รวมเดินขบวนในครั้งนี้

อ.ธนิตพงศ์ ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า “ การทําขบวน โคมในครั้งนี้ ทําให้คณาจารย์และนักศึกษา ได้ทําความรู้จัก กัน เกิดเป็นความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่ รุ่นน้อง รวมไป ถึงเพื่อนๆต่างคณะ เนื่องจากระหว่างที่ทําก็จะมีอุปสรรค ปัญหาต่างๆ เข้ามาเรื่อยๆ ทุกๆฝ่ายก็จะต้องร่วมมือกัน แก้ไข เพื่อให้งานสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และสิ่งต่างๆเหล่า นี้จะเป็นส่วนที่หล่อหลอมให้นักศึกษากลายเป็นบัณฑิตนัก ปฏิบัติมืออาชีพต่อไปในอนาคต ”

วารสาร ราชมงคลล้านนา 37


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

“อนันตนาคา อสุราเทวา เกษียรสมุทร” ริ้วขบวนกระทง ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ล้านนา ประจําปนี้ จ.เชียงใหม ในการเขาแขงขัน ซึ่งนักศึกษา

ไดแนวความคิดมาจากการกวนเกษียรสมุทรภายใตชื่อ “อนันตนาคา อสุราเทวา เกษียรสมุทร” ตามตํานานการกวนเกษียรสมุทร ณ สวรรคชั้นดาวดึงส เหลาเทวดาและอสูร ตางฝาย ตางจะแยงชิงสวรรค พระอินทรผูเปนเจาแหงสรวงสวรรค คือดาวดึงสและจตุมหาราชิกจึงไปขอพร แหงองคพระนารายณเพื่อใหไดชัยชนะเหนืออสูรทั้งปวง โดยการดื่มนํ้าอมฤตที่อยูกนเกษียรสมุทร การกวนเกษียณสมุทรนั้นจะใชวาสุกรีนาค เปนผูพันเขามันทระ โดยเขามันทระเปรียบเปนไมกวน อสูร และเทวดา ที่ตางฝายตางตองการที่จะดื่มนํ้าอมฤตนั้นก็รวมมือกันกวนเกษียรสมุทร โดยอสูร อยูทางหัวนาค เทวดาอยูทางหางนาค ใชเวลากวนเกษียรสมุทรนานนับพันป ระหวางนั้น มีสิ่งวิเศษนกําเนิดขึ้น ประกอบดวย พระจันทร แกวเกาสตุภะ พระลักษมี เทพวารุณี ชางเผือกแกวเอราวัณ มาอุจไจศรพ ตนปาริชาติ โคสุรภี หริธนู สังข นางอัปสรทั้ง ๓๕ ลานนาง พิษราย และธันวันตริแพทยสวรรคที่มาพรอมกับนํ้าอมฤต เปนที่มาของแนวคิดริ้วขบวนกระทงที่แสดงใหเห็นถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ของเมืองเชียงใหม อันเปนนครที่เปนที่สุดแหงความสงางามทางวัฒนธรรม การรวมสรางสรรค วัฒนธรรมอันดีงาม ดวยความดี ละซึ่งความชั่ว เพื่อเตือนใจใหคนในสังคมรวมกันทําความดี ชวยสรางสังคมแหงความสุขสืบไป

แนวคิดการสร้างรถขบวนกระทง

อ. วิทยา พลวิฑูรย อาจารยคณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มทร.ลานนา ผูออกแบบรถขบวนกระทงในครั้งนี้ กลาวถึงแรงบันดาลใจในครั้งนี้วา “ แนวคิดกระทงในปนี้เปน เรื่องของการกวนเกษียรสมุทร ที่ในอดีตมีเทวดาและยักษถือพญานาคพันรอบเขามันทระแลวกวน เพื่อที่จะไดนํ้าอมฤต ที่ตางฝายตางแยงชิงกันเพื่อจะเปนอมตะ ก็เลยหยิบยกบางตอนมาสราง โดย พญานาคที่สรางจะมี 7 เศียร พันรอบเขามันทระ นอกจากนี้ก็จะมียักษและเทวดาเดินในขบวน เปรียบเสมือนการรวมมือกันกวนเกษียรสมุทร ซึ่งตามตํานานที่กวนนั้นจะมีสิ่งทิพยเกิดขึ้น หนึ่งใน นั้น คือนางอัปสร ที่จะนั่งอยูบนรถขบวนกระทง ”

ประยุกต์ความรู้จากห้องเรียนสู่การปฏิบัติ

ผลงานในการสรางรถขบวนกระทงในครั้งนี้ ไดรับความรวมมือ รวมแรงและรวมใจ จาก อาจารยและนักศึกษา มทร.ลานนา “ในการทํารถขบวนกระทงในครั้งนี้ เปนการบูรณาการการ เรียนการสอนใหเขากับกิจกรรมของมหาวิทยาลัย และกิจกรรมนี้ก็ถือเปนการรวมมือกับ 38 วารสาร ราชมงคลล้านนา

ทุ ก ชั้ น ป เข า มาร ว มกั น ประดิ ษ ฐ ร ถขบวน กระทง นักศึกษาจากคณะศิลปกรรมและ สถาป ต ยกรรมศาสตร ก็ จ ะดู แ ลเรื่ อ งการ ตกแต ง ความสวยงาม โดยป น ี ้ ร ถขบวน กระทงมีความพิเศษตรงกลางรถซึ่งจัดตกแตง ให เ ป น เสมื อ นบริ เ วณที ่ เ ป น เขามั น ทระ จะหมุนไดรอบ สวนนี้ก็ไดนักศึกษาจากคณะ วิศวกรรมศาสตรมาชวยเชื่อมรถขบวนกระทง และดูแลเรื่องไฟฟา ทําใหอาจารย นักศึกษา มีปฏิสัมพันธกัน ทั้งรุนพี่รุนนองในคณะ ตาง คณะ” อ.วิทยากลาว รถขบวนกระทงปนี้ ถือเปนผลงาน ชิ้นใหญที่เกิดจากความทุมเท ความรวมมือ รวมใจทุกฝาย ทั้งคณาจารยและนักศึกษา ที่ตองอาศัยความสามัคคีและพลังใจ ทําให รถขบวนกระทงสําเร็จไดอยางสวยงาม โดย อ.วิทยา กลาววา “ ปนี้เราใชกําลังคนเยอะ มาก เพราะงานครั้งนี้ถือเปนงานชิ้นใหญ ซึ่ง อาจารยก็จะออกแบบ และทําใหนักศึกษา เห็นเปนตัวอยาง หลังจากนั้นจะใหนักศึกษา ลงมือออกแบบและปฏิบัติทั้งในสวนของการ ประดิษฐพญานาคที่ตองตัดเกล็ดและติดเพื่อ ให เ กิ ด ความแววาวจึ ง ถื อ เป น งานที่ มี ค วาม ละเอียดมาก นอกจากนี้ยังมีในสวนของการ ลงสี การปดทองและเก็บรายละเอียดตางๆ จึงถือวาเปนงานที่นักศึกษามีสวนรวมจริงๆ ”


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

RMUTL Preserving

Loi Ka Thong Culture 2014

Every November, hundreds of paper lanterns are released into the sky during the evening. Many houses are decorated with colorful lights and some have created a natural façade (Patu Pa) that is a sign that Yi Peng ceremony would start.

Sakara Puja Kate-KeawManee Sakhee Ming-Fah

Chiang Mai has been recognized as one of the provinces that organizes a great Yi Peng festival annually. The festival attracts both Thai and foreign tourists. In addition, there are many interesting activities such as a lantern parade contest, the Kra Thong Lek (a small float) parade, and the Kra Thong Yai ( a big float) parade in which many young and beautiful Lanna ladies participate. Each procession is decorated and organized by many organizations such as academic institutions, villages and others in order to preserve this cultural tradition sustainably. In 2014, Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) sent a Yi Peng float for the contest under the concept “Sakara Puja Kate-Keaw-Manee Sakhee Ming-Fah”. Mainly, the float was designed in traditional Lanna style signifying the worship of charmed glass relics in heaven. In addition, RMUTL also sent a float for Kra Thong procession contest under the name “Ananta Naga, Asura Tewa and Samudra Manthan” which represents the churning of the ocean of milk by angels (devas) and demons (asuras) to make the nectar of immortal life. This is comparable to a creative wonderful culture with good deeds and a gathering of diversity and a graceful integration of the cultures of Chiang Mai. “Sakara Puja Kate-Keaw-Manee Sakhee Ming-Fah”Yi Peng Lantern flat for worship charm glass relics pagoda on heaven This year the Yi Peng Lantern convoy of RMUTL was created according to the a magnificent Lanna culture which worships charmed glass relics in heaven with the name “Sakara Puja Kate-Keaw-Manee Sakhee Ming-Fah” the precession consists of Act 1 “Khongkha Sakee” the lantern procession as a tribute to ask for forgiveness of the Goddess of the river. วารสาร ราชมงคลล้านนา 39


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

Act 2 “Sakara Puja Kate-Keaw-Manee Sakhee Ming-Fah” the lantern procession represented by charmed glass relics that are on the back of Panjaroop (five phases animal) refers to the five sacramental animals which are a lion, an elephant, a deer, a swan and a fish which indicate the obsession of humans who cannot get away from the cycle of birth and death and the charmed glass relics represent Lord Buddha who released himself from all sensualities. Act 3 “Mae Pha Tor-Ra-nee Pen Phayan” is the lantern procession which signifies being a witness of the enlightenment of Lord Buddha.

Conceptual of lantern float artificial

Mr. Thanitpong Puthawong, instructor of Art and Architecture Faculty, RMUTL who designed the lantern float said the float was arranged into 3 acts, the concepts mainly comply with Lanna and Burmese cultures, especially Panjaroop, a holy animal in Burmese culture. Therefore, all costumes, lantern decorations, and performances are Lanna and Burmese style.

Work- Integrated- Learning

Ajarn Thanitpong said that “this lantern float was done by cooperation between Ajarns (instructors) and students from all faculties who gather all knowledge to aid in this creation for the Faculty of Arts and Architecture, Ajarns assigned students to research Burmese arts then design, arrange the art and also the light of the procession in order to attract audiences. This activity allowed all students to cooperate and solve problems by themselves”. Once the design was completed, works were delegated to each faculty; “the Engineering students led by Ajarn Manid, were responsible for the iron and wooden structure to be ready for decoration, the 1st year students from the Faculty of Arts and Architecture were responsible for designing the patterns and materials and producing all lanterns, while students from the computer information system department were responsible for the unity to ensure that the procession would represent the uniqueness of RMUTL” Ajarn Thanitpong said. Aj Thanitpong also concluded that “this activity allowed students from different faculties to build good relationship because there were many challenges for them to get through. All these experiences will enable them to become professional in the future”

40 วารสาร ราชมงคลล้านนา


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

“Ananta Naga, Asura Tewa and Samudra Manthan or Churning of the Ocean of Milk “ “Ananta Naga, Asura Tewa and Samudra Manthan”

The float of Kra Thong of RMUTL, 2014 was contributed under a concept of “Ananta Naga, Asura Tewa and Samudra Manthan or Churning of the Ocean of Milk “ According to the mythological story of the churning of the ocean of milk, the Devas (angels) were defeated and the Asuras (demons), led by king Bali, gained control of the universe. The god Indra who took care of two heavens, sought help from the god Narayana for victory over the asuras, Naraya suggested to drink nectar from the ocean of milk. Therefore, in order to win the battle, the churning of the Ocean of Milk was required and it was an elaborate process. Mount Mandara was used as the churning rod, and Vasuki, the demons demanded to hold the head of the snake, while the gods agreed to hold its tail. It took over thousands of years to churn the ocean of milk. During the churning, Ratnas was emerged in the ocean such as Chandar, Kaustubha, Lakshmi, Varuni, Airavata, Uchhaiahravas, Parijat, Kamadhenu, Sharanga, Shankha, Jvestha, Halahala, Dhanvantari and Nectra. As a concept, it indicates the great cultural diversity of Chiang Mai where people do good deeds as memorable norms for maintaining a society of happiness.

Concept of Ka Thong artificial float

Ajarn Withaya Phonwitoon, instructor of the Faculty of Arts and Architecture, RMUTL said that “the concept was about the mythological tale of the churning of the ocean of milk when Devas (angels) and Asuras (demons) used Naka to churn the Ocean of Milk to get nectar. Therefore, the design team came up with 7 heads NaKa wiggle around Mount Mandara and Jvestha would sit on the float where angles and demons would follow the float”

Work- Integrated- Learning

This contribution existed by collaboration and cooperation from teachers and students where it applied to work integrated learning. Ajarn Withaya said “Ajarn would design and demonstrate to students before allowing them to practice under close supervision by Ajarns. Students work especially, on NaKa needs to be decorated neatly. Again, business and liberal arts students were responsible for decorating the float, and engineering students were responsible for constructing the iron and wooden structures of the float. This activity allowed students from different faculties to develop a good relationship for participating in this special provincial activity” วารสาร ราชมงคลล้านนา 41


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

“ข่วงวัฒนธรรม ราชมงคลล้านนา สืบสานภูมิปัญญา ทอ้ งถิ่นเชียงราย”

“ข่วงวัฒนธรรม” หรือ “ลานวัฒนธรรม” คําวา “ขวง” ตามพจนานุกรม หมายถึง “บริเวณหรือลาน” ที่ผูคนใชเปนสถานที่ประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ซึ่งใชเปนสถานที่ในการจัดกิจกรรมตางๆ ในภาคเหนือนิยมใชคําวาขวงวัฒนธรรม ซึ่ง เปนลานการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม เพื่อเปนการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่นลานนา และถายทอดความรูใหกับเยาวชนคนรุนใหม โดยภายในงานมีการสาธิตภูมิปญญาพื้น บาน อาหารลานนา การแสดงทางศิลปวัฒนธรรม โดยมีการสาธิตและจําหนายสินคา ทางภูมิปญญาทองถิ่น อาจารยภีราวิชญ ชัยมาลา กลาววา จากการเลาสืบตอกันมา ในสมัยอดีตการ เดินเขาไปในบริเวณบานของคนเหนือหรือคนลานนา เราตองเดินผานขวงเขาสูตัวเรือน เพราะขวงตองอยูหนาบันไดตัวบาน ลักษณะสําคัญของขวงบานตองไมมีหญาขึ้น ขวงมี บริเวณเรียบมีแตผืนดิน อาจจะมีตนไมใหรมเงา หรืออาจเปนที่ราบโลงกลางแจง ขวง บานลานนาหากเวลาปกติ เปนที่เลนของละออน(เด็กๆ) เชน เลนสะบา อีโจง(โยนหลุม) เตะตะกรอ หัดฟอนดาบ ฟอนเจิง หลายอยางที่จะมี ฯลฯ ขวงบานเปนที่นั่งผิงแดดของ ผูคนในบานไมวาเด็ก ผูใหญ ผูเฒา บางครั้งในฤดูหนาวผูเฒาจะนั่งเผาขาวหลามกับ ลูกหลาน กินขาวหลามกับเด็กๆเกิดมีความอบอุนในครอบครัว และโอกาสนี้เองผูใหญ จะสอนหรือเลานิทาน บอกกลาวตักเตือนลูกหลาน ขวงบานในเวลากลางคืนมักเปนที่ ทํางานของผูหญิง ที่นําเอาใบยามาซอย (หั่น) ใบยาเปนฝอย หรือบางครั้งอาจนําเอาตน กลวยมาซอย (หั่น) เรียกกันวา ซอยหยวก (ตนกลวย) เพื่อเตรียมไวตมใหหมูในวันรุงขึ้น หากผูหญิงเอางานมาทําตอนกลางคืนอยางนี้ เรียกกันวา “แมญิงหรือสาวอยูขวง” หากเปนขวงบานของพอเลี้ยงหรือเศรษฐีผูมีอันจะกินก็จะจุดตะเกียงอีดาหรือตะเกียง เจาพายุแขวนไวใหฉายแสงจาทาแรงลมไวหลายดวงรอบๆขวง เพื่อใหบรรดาลูกจางตาง ชวยกันทํางาน เชน หั่นใบยาสูบ (ยาฉุน) เปนยาเสนไวเปนสินคา หรือบางครั้งอาจนํา ใบมาเสียบเปนตับเพื่อรอสงโรงบมใบยา บรรดาพวกหนุมๆก็พากันมานั่งจีบอยูไกลๆ สายตามองหาสาวๆ บางคนเอาสะลอ ซอ ซึงมาดีด เปนเสียงดนตรีบรรเลงเพลงสนุกๆ หลังจากเสร็จงานเวลาคําคืน พวกหนุมๆ ก็จะถือโอกาสไปสงสาวๆกลับบาน บางบานที่มี ผูชายก็จะเอางานสานตะกรา สานสุมไก งานฟนเชือกมานั่งทําทามกลางแสงตะเกียง ไฟแดงๆ ในขวงบาน มีเสียงจิ้งหรีดกลอมเปนเพื่อนยามคําคืน ผสานกับควันไฟไลยุงใน กองเศษไม/ขยะ และไออุนจากการสุมไฟ หากเจาของบานมีงานมงคลก็บริเวณขวงบาน ก็ถูกแปรเปนสถานที่ีวางโตะ ตั่งมานั่งรับแขกอาจมีการละเลนรําวง รองเพลง ขับซอไป ตามฐานะเจาของบาน สวนผูที่เปนพอครู แมครู เมื่อถึงหนาปใหมสงกรานตจะใช บริเวณขวงบานเปนที่รับรองลูกศิษยลูกหาที่มารดนํ้าดําหัวเนื่องในเทศกาลสงกรานต 42 วารสาร ราชมงคลล้านนา

หรือปใหมเมืองบางครั้งอาจมีการทบทวนวิชาฟอนดาบ เจิง มวย บางครั้งมี “งานเศราขาวอวมงคล” ผูคนในบาน เสียชีวิตบริเวณขวงบานจะใชเปนที่วางปราสาทศพ ใชเปน สถานที่ใหแขกนั่งพักรวมพิธีการตลอดงาน ขวงบานของผู ที่ชอบไกชน ขวงก็เปนบริเวณที่จามไก (ทดลองชน) เปนที่ สนุกสนานทั้งเด็กและผูใหญ เวลาที่แดดจัดเจาของมักเอา เมล็ดพันธุพืช หรือเอาสะลี (ฟูกนอน) หมอนมาวางบนแผง เพื่อตากแดด ฆาเชื้อโรคใหหมดไป นอกจากขวงบานแลว ยังมีขวงเมืองอีกระดับหนึ่ง ซึ่งเปนสถานที่ใชจัดกิจกรรม ของบานเมือง เรียกกันโดยทั่วไปวา“ขวงเมือง”ลักษณะนี้ จึงไดใชขวงหนาบานทําประโยชนหลายๆอยางที่เกี่ยวของ กับชีวิตประจําวัน เปนจุดศูนยรวมในการทํากิจกรรมตางๆ การเอาวัฒนธรรมของคนพื้นเมืองลานนามารวมไวที่ขวง จึงเรียกวา “ข่วงวัฒนธรรม”


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2557 ที่ผานมา อาจารยภีราวิชญ ชัยมาลา จึงไดบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ในบทเรียน เรื่องภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น หรือ เปนเรื่องของสังคมและวัฒนธรรมเปนสิ่งที่แยกจากกันไมได เปรียบเสมือน เหรียญเงินที่มีดานหนาและดานหลัง สังคมนั้นหมายถึง กลุมคนที่อยูรวม กันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งมาชานาน มีความเปนเอกลักษณที่เดนชัด จน มีความรูสึกวาเปนพวกเดียวกันและมีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และ วิ ถี ท างในการดํ า รงชี วิ ต ร ว มกั น เป น แบบอย า งเดี ย วกั น วั ฒ นธรรมนั้ น หมายถึง บรรดาขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และทุกสิ่งทุกอยางที่ คนในสังคมนั้นสรางขึ้นมาเพื่อดํารงชีวิตอยูรวมกันเดังนั้น ถาไมมีสังคม ก็ไมมีวัฒนธรรมทั้งสองอยางจึงเปนสิ่งที่อยูคูกันอยางแยกไมออก จึงเกิด แนวคิดโดยการไดใชพื้นที่ลานกวางๆภายในมหาวิทยาลัยจัดกิจกรรมขวง วัฒนธรรม “ขวงวัฒนธรรมราชมงคลลานนา สืบสานภูมิปญญาทองถิ่น เชียงราย” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักศึกษารูจักขวง และเกิดจิตสํานึก ในการอนุรักษและสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดถายทอดองคความรูที่ได ศึกษาในรายวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สามารถ นําเสนอผานนิทรรศการมีชีวิต ไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริงและสามารถนํา ไปปรับใชในชีวิตประจําวันได

เพื่อการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูวัฒนธรรมล้านนาอันลํ้าค่า ให้คงอยู่ต่อไป

วารสาร ราชมงคลล้านนา 43


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

Khuang Wattanatham (Cultural Playground) – Local wisdom At RMUTL, Chiang Rai ‘Khuang Wattanatham’ or ‘cultural playground’ refers to the yard for presenting cultural activities including local wisdom demonstration, Northern Thai food and cultural performance. Regarding to globalization, we should preserve the‘cultural playground’ for the new generation. Ajarn Peerawit Chaimala stated that in the past when someone entered the house, he or she would walk through the yard to the house where it was located in the front of the stairs of the houses. It was a in a plain area that was surrounded by trees. Khuang (the yard) was used by the Northern Thai people for various activities. Some of them were as followed: (1). Playground for Children - a place for children to play Sa Baa (Entada rheedii:familyFabaceae:throwing balls to hit the objects), E-Jong (throwing balls intothe holes), sword performance, etc. (2). Place for keeping warm in the winter During the winter, the people used Khuang to get warm. In the evening, they gathered around the fire and cooked sticky rice in bamboo. It was an opportunity for the elders to teach the younger ones by telling them stories. (3). Working place Khuang is also used for working at night. The women would slice the bamboo leaves for feeding the pig. Some rich people would make some lamps for the workers at night by slicing the tobacco leaves. Some young men would try to seduce the women by singing and playing musical instruments. When work was completed at night, the women would be accompanied home by the men. (4). Place for holding ceremonies This place was used for some ceremonies. The host would welcome the guests and feast together around the table in Khuang. Sometimes, this place would also be used for holding a funeral service.

44 วารสาร ราชมงคลล้านนา

(5). Khuang Muang Apart from the having a Khuang in the house, some cities also have a Khuang in the middle of the city. This is for conducting cultural activities by the people who live there; this is known as “Khuang Muang” Ajarn Peerawit Chaimala who is involved inpreserving the northern culture conducted the project of Khuang activities in RMUTL Chiang Rai on the 3rd of September 2014. The objectives of this project were to present the cultural activities about Khuang and to preserve the local wisdom of the Northern Thai culture.


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

RMUTL Tak

to hold 3rd ChorTong-Gwow fair to sustain beautiful culture

มทร.ลา้ นนา ตาก รว่ มสืบสานวัฒนธรรม จัดมหกรรม “ชอ่ ทองกวาว” ครั้งที่ 3 ศิลปวัฒนธรรมไทย เปนสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ มีความเหมือนและ แตกตางกันในแตละพื้นที่เปนการแสดงใหเห็นถึงความเจริญงอกงาม ทางวัฒนธรรมที่ดีงาม เชน ดานภาษา การแตงกาย อาหาร เปนตน ควรคูแกการอนุรักษและสืบสานใหแกคนรุนหลังตอไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก ไดเล็งเห็น ถึงความสําคัญดังกลาว ประกอบกับมหาวิทยาลัยฯ มีพันธกิจใน ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม จึงไดจัดโครงการ มหกรรม “ชอทองกวาว” ครั้งที่ 3 ประจําป 2557 ไดรับเกียรติจาก ผศ.ประสาร รุจิระศักดิ์ รองอธิการบดี เปนประธานเปดงาน ซึ่งจัดขึ้น วันที่ 17 กันยายน 2557 ณ สนามกีฬากลาง มทร.ลานนา บรรยากาศ ภายในงาน มีการจัดกิจกรรมตางๆ อาทิ นิทรรศการทางการศึกษา การ ออกรานจําหนายอาหารของนักศึกษาสาขาวิชาตางๆเกมสการละเลน เพลงพื้นบานรําวงยอนยุคและการแขงขันรูปแบบตางๆ ไดแก การ ประกวดซุ ม นิ ท รรศการเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ครั้งที่ 8 การประกวดรองเพลงลูกทุงลานนาคอนเทสตประจําป 2557 และการประกวด Mr. & Miss RMUTL Tak 2014 ดวย

ทั้งนี้กิจกรรมทั้งหมดที่จัดขึ้นเป็นการส่งเสริมให้ นักศึกษาและบุคลากรได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมด้านการ ทํานุบํารุงศิลวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมปลูกจิตสํานึกให้เกิดความรัก ความหวงแหนและร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่และ สืบสานศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป

Although there may be some similarities and differences of Thai culture in vast parts of the region, this man-made custom has spurred on a civilization that has its own style of language, dress, food, and other various wonders that should be advocated for the next generation to live by. RMUTL Tak realizes the importance of conserving the Thai heritage. We are highly committed in sustaining the cultural heritage and its surroundings. With this conviction, the university organized the 3rd Chor-Tong-Gwow fair at the university stadium on 17th September 2014. Asst. Prof.Prasan Ruchirasak, Vice-president of Rajamangala University of Technology Lanna Tak had the honor of conducting the opening ceremony. In the event, there was a variety of entertainment, a singing contest, stalls that catered food and games, local plays being performed live,Thai traditional dancing,exhibitions about sufficiency economy and folk wisdom, and a contest to crown a Mr. and Ms. RMUTL of 2014. The objective of this event was to encourage RMUTL Tak’s students and staff members to get involved in activities of sustaining the Thai culture and tradition. Also, the event was to install a sense of pride of one’s culture so that it will set forth a positive mindset in supporting the way of living and carrying on the life as a Tha. วารสาร ราชมงคลล้านนา 45


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

ราชมงคลร่วมใจ สืบสานวิถีไทย ครั้งที่ 9 เปนกิจกรรมที่ แสดงถึงเอกลักษณของความเปนไทย และเปนหนึ่งในพันธกิจของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง เริ่มจัดงาน ราชมงคลรวมใจสืบสานวิถีไทย ครั้งแรกเมื่อป 2548 ในแตละป จะมีลักษณะของกิจกรรมที่แตกตางกันไป เชน ป 2548 เนนการ จั ดนิ ท รรศการภายใน โดยบูรณาการ การเรียนการสอนใน รายวิชา ภาษาไทย ไทยศึกษาและรายวิชาภูมิปญญาทองถิ่น ป 2555 -2556 นิทรรศการวิถีชีวิตชนเผา นิทรรศการเชิงสาธิต โครงการยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต หมู บ า นชุ ม ชนแบบมี ส ว นร ว ม บานมอนเขาแกว โดยการมีสวนรวมของชุมชนและนักศึกษา และในป 2557 เนนการบูรณาการการเรียนการสอนโดยให นักศึกษามีสวนรวมและสํานึกในคุณคาดานวัฒนธรรมประเพณี อันดีงามของชาวจังหวัดลําปางและประเทศชาติ ราชมงคลรวมใจสืบสานวิถีไทยครั้งที่ 9 จัดขึ้นใน วันที่ 28 สิงหาคม 2557 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง ภายใตนโยบาย ของจังหวัดลําปาง ในชื่อ ราชมงคลรวมใจสืบสานวิถีไทย ครั้งที่ 9 “เทิดไทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครบ 5 รอบ” โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมออกรานขายของ กาดหมั้ว-คัวแลง 2. กิจกรรมประกวดรองเพลงลูกทุง (เพลงบังคับ : พระเทพทรงบุญ) 3. กิจกรรมการแสดงบนเวที มีชุดการแสดงดังนี้ การแสดงชุดที่ 1 ดวงจันทรแทนดวงใจโดยศูนยภาษาและ วัฒนธรรมจีน การแสดงชุดที่ 2 ฟอนขันดอก การแสดงชุดที่ 3 วัฒนธรรมไทย นาฏยนารี ศรีราชมงคล การแสดงชุดที่ 4 อัศจรรยของดี 10 อยาง เมืองเขลางคนคร การแสดงชุดที่ 5 เปดประตูสูวัฒนธรรมอาเซียน “แตกตาง อยางเขาใจ” การแสดงชุดที่ 6 จากวรรณคดีสูเวทีการแสดง “ ไกรทอง ” 4. นิทรรศการไทยศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น - นิทรรศการนวดฝาเทาดวยนํ้ามันสมุนไพร - นิทรรศการการทําตุงลานนา - นิทรรศการรถมาลําปาง - นิทรรศการไกพื้นเมือง - นิทรรศการการจัดตูปลา - นิทรรศการอาหารพื้นบานลานนา 5. นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 46 วารสาร ราชมงคลล้านนา

ราชมงคลร่วมใจสืบสานวิถีไทย

ครั้งที่ 9 “ เทิดไท้

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ครบ 5 รอบ”

กิจกรรมนี้จึงเป็นการทํานุบํารุงด้านศิลปวัฒนธรรม ที่มีระบบและกลไกการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนผ่านกิจกรรม ฟื้นฟู อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา เผยแพร่ศิลป วัฒนธรรม สร้างสรรค์ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ เป็นรากฐานการพัฒนาองค์ความรู้ที่ดีแก่นักศึกษาและ ชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

9th RMUTL Thai Cultural Fair to Commemorate HRH Princess Sirindhorn

60th Birthday

This activity, held on August 28th, 2014 at Lampang Campus, was to show Thainess and Thai unique. It is one of the university’s missions – to strengthen the Thai culture and environments. The fair and some courses of study were well-integrated that both the students and the villagers around the university collaborate to show Thai culture and tradition. On that day there were many activities for visitors, such as food shops selling northern Thai food, northern Thai dancing and plays. Thai-local-wisdom stalls serviced foot message; some booths provided some other interesting hand crafts. The most outstanding show was about HRH Princess Sirindhorn’s autobiography and her work for Thailand.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 47


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

วิทย์ – เกษตร รวมใจอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี

..ลงแขกดํานา

Science - Agricultural Cultural Conservation Linking do paddy field

ประเพณีลงแขกดํานา ถือวาเปนวัฒนธรรมประเพณีแหงความ เอื้อเฟอและเกื้อกูลกัน ของสังคมไทยในอดีต ที่นับวันจะสูญหายไป ตามกาลเวลา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมใหเปนไปตาม ยุคสมัย กิจกรรมนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อใหนักศึกษาไดตระหนักถึงคุณคาและ รวมสืบสานประเพณีลงแขกดํานา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร จึงไดจัด กิจกรรมนี้โดยเนนผลิตบัณฑิตที่มีความหลากหลายทางวิชาชีพ เนน ทักษะปฏิบัติ อันจะนําไปสูการเปนบัณฑิตที่พึงประสงค เมื่อนักศึกษา ทุกระดับในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ไดรวมกันทํา กิจกรรมแลว จะเกิดการหลอหลอมทัศนคติที่ดีตอการชวยเหลือสังคม และการมีจิตอาสาแกนักศึกษา การใชเวลาวางใหเกิดประโยชนสราง ความสมัครสมานสามัคคี แลกเปลี่ยนเรียนรูและบูรณาการ การเรียน การสอนในวิชาทักษะวิชาชีพพืชศาสตร ทางดานเกษตร โดยนําความรู ดานการประกันคุณภาพการศึกษามาใช ไมวาจะเปน กิจกรรมบําเพ็ญ ประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและ จริยธรรม และกิจกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมนี้จึงมีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมความสามัคคีของ แตละสาขาในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร อีกทั้งยังได รวมสืบสานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีลงแขกดํานา บูรณาการ ดานการเรียนการสอนในวิชาทักษะวิชาชีพพื้นฐาน สาขาพืชศาสตร กับกิจกรรมนักศึกษา และไดแลกเปลี่ยนเรียนรูทางดานทักษะวิชาชีพ ดานเกษตรในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร และเพื่อ ประชาสัมพันธกิจกรรมของนักศึกษา และเผยแพรภาพลักษณ คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร นักศึกษาสามารถนําความรูมาใชใหเกิดประโยชนตอตนเอง และสวนรวม รวมถึงทํากิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่ง แวดลอม กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม และกิจกรรม สงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม เปนการพัฒนาตนเองใหมีคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค ซึ่งจะสงเสริมใหเกิดวิสัยทัศน และแนวคิดในการ พัฒนาวิชาชีพใหกาวหนา พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาบัณฑิต สอดคลองตามภารกิจของมหาวิทยาลัยตอไป 48 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Paddy field tradition is a culture of hospitality and generousness of historical society in the past that will be lost with the passage of time. Because of society has changed with age, therefore Agricultural Science and Technology with students attended to activities at that day such as community service and environmental protection, promote morality and ethical, arts and cultural activities. The purpose of this activity was to promote unity in each major of agricultural science and technology. They also attended to cultural heritage, linking wrappers tradition, Integrated the teaching of basic professional courses of plants science major with students’ activity. Students exchanged knowledge of agricultural vocational skill in the faculty of agricultural science and agricultural technology.


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

สรUndertaking า้ งตนดีถgoodวายในหลวง ....มอบแด แ ผ น ดิ น ่ ่ practice as dedication to His Majesty the King การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ใหกับนักศึกษา เปนผูที่มีความเกง ดี มีความสุข และภาคภูมิใจในความ เปนไทย ถือเปนภารกิจหนึ่งที่สถาบันการศึกษาจะ ขัดเกลาใหกับนักศึกษา การฝกสมาธิเบื้องตน เปน ปจจัยที่ชวยใหเกิดความสุขไดพอสมควร และการดํารง ตนอยูในศีลธรรมอันดี ยอมเปนหลักประกันไดวาจะ สงผลใหเปนผูมีความสุขความเจริญ ดวยเหตุนี้ ผู ชวยศาสตราจารยสุภวรรณ พันธุจันทร หัวหนาศูนย วัฒนธรรมศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก จัดโครงการ ปฏิบัติธรรมพัฒนาจิต ประจําป 2557 ไดดําเนินงาน มาเปนครั้งที่ 9 โดยมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อถวายเปน พระราชกุศลถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ โดย จัดกิจกรรมขึ้นระหวางวันที่ 29–31 สิงหาคม 2557 ณ หอประชุมกลาง โดยกิจกรรมไดแก การฝกปฏิบัติธรรม ฝกวิปสสนากรรมฐานในแนวสติปฎฐาน 4 การทําวัตร เชา-เย็น การสนทนาธรรม โดยมีพระสุเมศ สุเมโธ และ พระมหาคมสัน จิตญาโณ พระวิทยากรจากวัดพระธาตุ ศรีจอมทองวรวิหาร อ. จอมทอง จ.เชียงใหม เปนผู ฝกใหกับโยคีชายและหญิง(นักศึกษาผูฝกปฏิบัติธรรม) จํานวนกวา 500 คน วันสุดทายของการฝกสมาธิมี กิจกรรมตอบคําถามเกี่ยวกับชีวิตความเปนจริง โดย มีพระสุเมศ สุเมโธ เปนผูตอบคําถาม ซึ่งสอดแทรก หลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนาไวในคําตอบ นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรรมการทอดผาปาสามัคคีและ การปฏิญาณตนเปนคนดี ดํารงชีวิตอยูในความพอเพียง เพื่อถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ดวย ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา พิษณุโลก ดําเนินงานจัดโครงการ ขึ้นเพื่อสงเสริมให นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ได ฝกฝนการปฏิบัติธรรม มีความรูการปฏิบัติธรรมและ พัฒนาจิต อันจะสงผลใหเกิดสมาธิ สติ และ ปญญา เพื่อประโยชนในการดําเนินชีวิต เปนผลใหเกิดการ พัฒนาคนและสังคมที่เกื้อกูลธรรม อีกทั้ง สงเสริม คุณภาพจิตใจใหมีความรักใครสามัคคีเปนนํ้าหนึ่งใจ เดียวกัน หากสามารถแนะนําตอๆกันไป ขยายไปยัง เหลามนุษยชาติอยางไมจํากัดเชื้อชาติ ศาสนา และ ความสันติสุขอันไพบูลยที่ทุกคนใฝฝน ก็ยอมจะบังเกิด ขึ้นอยางแนนอน

Ass.Prof.Supawan Panchan, Panchan,the head of Cultural Study Center from Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanuloke, had organized a project that aimed towards developing the morality and ethics of students.The objective of the 9th “Annual Practical development in Dharma and Mind project was to assemble students in performing meditation for His Majesty the King. The training was held on the 29th - 31st August, 2014 in the conference hall for three days and two nights. The activities include dharma practice, learning the Four Foundations of Mindfulness, doing morning chants, and engaging in dharma discussions. The activities were lead by Reverend Sumet Sumetho and Reverend Komsan Chittayano. They were instructors from Wat Phra That Si Chom Thong Worawihan, which was located in the Chom Thong District of Chiang Mai. The event consisted of 500 participants who were mainly religious students. On the last day of training, there was a dharma discussion that involved questions and answers forum about their lives. The last activity included making an off-season offering of robes and other needs to monks, promising to be a good person, and devoting their lives on the principles of the Sufficiency Economy Philosophy. These activities were to make a dedication to His Majesty the King. The Cultural Study Center from Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanuloke provides a lot of information about the dharma activities. These activities encourage people to develop their minds that lead to a support in concentration, consciousness, and intelletual beliefs. If we extend this project to more people, then peace and happiness would radiate all around our lives.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 49


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

................................................................................

ผู้บริหาร Gistda เข้าพบผู้แทน มทร.ล้านนา เพื่อหารือการติดตั้งจาน C-Band

ผู้บริหาร คณาจารย์ มทร.ล้านนา อบรมเชิง ปฏิบัติการ สร้างกรอบทิศทางการดําเนินงาน ดร.ภาสวรรธน์ วัชรดํารงค์ศักดิ์ รองอธิการบดี ดานวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี มทร.ลานนา เปนประธานในการ ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรางกรอบทิศทางการดําเนินงานใหเปน ไปตามยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยฯและพัฒนาขอเสนอโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตหมูบาน 1 ชุมชนแบบมีสวนรวมใหการดําเนินงาน มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีคณะผูบริหารผูทรงคุณวุฒิและคณาจารย ของแตละเขตพื้นที่ เขารวมอบรมระหวางวันที่ 2 - 3 พฤษภาคม 2557 ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร จ.ลําปาง

ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ รองอธิการบดีดานวิชาการและกิจการนักศึกษา พรอมดวยผูบริหาร มทร.ลานนาใหการตอนรับนายเชาวลิต ศิลปทอง รองผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ในโอกาสเขาพบเพื่อหารือการติดตั้งจานดาวเทียม C-Band รับสัญญาณ ดาวเทียมทั่วโลก เพื่อใชในการประเมินคาตัวแปร สําหรับใชในการปรับ ตําแหนงของดาวเทียมใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสมโดยมีคณาจารย ดานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส เขารวมการหารือ ณ หองประชุมสํานักงาน อธิการบดี มทร.ลานนา จ.เชียงใหม

....................................................................................................................

มทร.ล้านนา ก้าวสู่เวทีนานาชาติ เสริมศักยภาพการอาชีวศึกษาไทย

50 วารสาร ราชมงคลล้านนา

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี พรอมดวย ดร.ยุ พ เยาว ดรุ ณ ผู  ช  ว ยอธิ ก ารบดี และดร.กิ จ จา ไชยทนุ ผูอํานวยการกองนโยบายและแผน มทร.ลานนา เขารวมประชุม และร ว มบรรยายพิ เ ศษในหั ว ข อ “ การผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บ ั ต ิ ของมทร.ล า นนา”ในการประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ “ 3 rd International Conference an Vocational Educationand Training” ในหัวขอ “Empowering Vocational Education and Training to Elevate National Economic Growth” ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ระหวางวันที่ 12 - 16 พฤษภาคม 2557 การประชุมดังกลาวจัดขึ้นโดย Yogyakarta State University ร ว มกั บ Regional Cooperation Platform (RCP) และ มหาวิทยาลัยในเครือขายเพื่อเปนเวทีใหนักวิชาการจากหลากหลาย ประเทศในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต ไดแลกเปลี่ยน งานวิ ช าการ ที ่ เ น น การเสริ ม สร า งศั ก ยภาพอาชี ว ศึ ก ษา ซึ ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ฯ เห็ น ว า เป น โอกาสอั น ดี อ ย า งยิ ่ งที่นักวิชาการ มทร.ลานนา จะไดรวมแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณดาน การจั ด การศึ ก ษาที่ เ น น บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บัติ ร ว มกั บนั กวิชาการจาก หลากหลายประเทศ นอกจากนี ้ ย ั ง เป น การเป ด โอกาสให มทร.ลานนา ไดขยายเครือขายความรวมมือทางวิชาการรวมกับ ตัวแทนจากมหาวิทยาลัยในอาเซียนที่มารวมการประชุมดังกลาว ซึ่ ง จะก อ ให เ กิ ด ประโยชน ต อ การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนของ มหาวิทยาลัยและการเตรียมความพรอมตอการเขารวมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนตอไป


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีพระราชทาน พระราชวโรกาสให รศ.ดร.นํายุทธ สงคธ นาพิทัก ษ อธิการบดี และคณะผูบริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล (มทร.) ลานนา เฝาทูลละอองพระบาท ทูลเกลาฯ ถวายเงินรายไดจากการจัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย ณ ศาลา ดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต

ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ทูลเกล้าฯถวายเงินรายได้จากการจัดกิจกรรมแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อธิการบดี ร่วมงาน Kyoto University ASEAN Center (Bangkok office)

Opening Ceremony and Commemorative Symposium รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มทร.ล้านนา รวม งาน Kyoto University ASEAN Center (Bangkok office) Opening Ceremony and Commemorative Symposium ณ โรงแรม Grand Millennium Sukhumvit กรุงเทพฯ โดย Kyoto University ASEAN Center มีเปาหมายสงเสริม การทําวิจัยภายในมหาวิทยาลัยและเพื่อการศึกษากอเกิด ความรวมมือระหวางประเทศตอไป

อธิการบดี มทร.ล้านนา ร่วมประชุมการพัฒนาวิทยาลัยฯ รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มทร.ล้านนา เป น ประธานในการจั ด ประชุ ม เรื่ อ งการพั ฒ นาวิ ท ยาลั ย ฯ และมอบนโยบายและการพัฒนากรอบภาระงานทั้ง 4 ดานของ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละสหวิ ท ยาการให แ ก ค ณะผู บ ริ ห าร ซึ่ ง ในการประชุ ม ครั้ ง นี้ ผู อํ า นวยการวิ ท ยาลั ย ฯ(วทส.) ไดนําเสนอจํานวนและภาระงานของบุคลากรในปจจุบัน รวมถึง Road Map หลักสูตรปจจุบันจนถึงป พ.ศ. 2562 และคณาจารย วิทยาลัยฯ (วทส.) ไดนําเสนอแนวคิดการทํางานเพื่อใหเกิดการ พัฒนาที่ดียิ่งขึ้นดวย

อธิการบดี เปิดโครงการอบรม พัฒนาคุณภาพบุคลากรวิทยาลัยฯ รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มทร.ล้านนา เป น ประธานเป ด “โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ พั ฒ นา คุ ณ ภาพบุ ค ลากรวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละสหวิ ท ยาการ” เพื่ อ ให ค วามรู เ กี่ ย วกั บ จรรยาบรรณในวิ ช าชี พ และแนวทาง การปฏิ บั ติ ง านให ส อดคล อ งกั บ นโยบายของมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง นี้ ยั ง ให โ อวาทแก อ าจารย แ ละเจ า หน า ที่ เ พื่ อ เป น แนวทาง และหลักในการปฏิบัติงานตอไปณกัสซันขุนตาน กอลฟ แอนด รีสอรท จังหวัดลําพูน

วารสาร ราชมงคลล้านนา 51


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

9มทร.จับมือร่วมหารือการสนองงานในปี มหามงคล เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ

ผศ.ประพัฒน์ เชื้อไทย รองอธิการบดี ด้านบริหาร ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนา มทร.ลานนา เปนประธานเปดการ ประชุมสัมมนา เรื่อง นโยบายการสนองงานในเบื้องพระยุคลบาท 9 มทร. เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา รวมกับตัวแทน 8 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) เพื่อนําเสนอรางขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยี ปรับปรุงผลผลิต และลดความเสี่ยงดานการตลาดภายใตเงื่อนไขการเปลี่ยนสภาพ ภูมิภาคและนําเสนอระบบการสนับสนุน การตัดสินใจสําหรับ ผู บ ริ ห า ร ใ น ก า ร ใ ห ทุ น ก า ร ทํ า วิ จั ย ด า น เ ก ษ ต ร พื้ น ที่ สู ง ณ หองประชุม 1 อาคารอํานวยการ มทร.ลานนา

รองอธิการฯ มทร.ล้านนา นําทีมจัดประเมิน โครงการ CIPP Model

ดร.ภาสวรรธน์ วัชรดํารงศักดิ์ รองอธิการบดีด้านวิจัยและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี มทร.ลานนา เปนประธานเปดการประชุมสัมมนา เชิงปฏิบัติการ การจัดทําแบบประเมินโครงการยกระดับคุณภาพ ชีวิตชุมชน/หมูบานแบบมีสวนรวม ตามรูปแบบ CIPP model ณ คลังความรูชุมชน สถาบันถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชน มทร. ลานนา (ดอยสะเก็ด) โดยมี รศ.สุทัศน จุลศรีไกรวัลย และ นายอุดม มณีขัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิรวมให ขอเสนอแนะ นอกจากนี้ยังไดรับเกียรติจาก ดร.นฤมล กิมภากรณ ผอ.ฝายติดตามประเมินผลของ สกว. และผูจัดการโครงการรวมเปน วิทยากร ซึ่งมีอาจารย 6 เขตพื้นที่เขารวมการประชุมในครั้งนี้

อธิการบดี มทร.ล้านนา ร่วมพิธีลงนามในสัญญาทุนวิจัย

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มทร.ลานนา รวมพิธีลงนามในสัญญาทุนวิจัย ในโครงการสงเสริมการผลิตผลงานวิจัย มทร.ลานนา ณ หองประชุม 3 อาคารเรียนรวม โดยพิธีลงนามดังกลาว เปนกิจกรรมในโครงการประชุมวิชาการ การวิจัยภาคปฎิบัติและการพัฒนา ครั้งที่ 1 เพื่อสรางความเขาใจรวมกัน เกี่ยวกับแนวทางการดําเนินงานโครงการตลอดจนใหความรูแกผูที่จะไดรับทุน ในเรื่องการเบิกจายงบประมาณ โครงการโดยมี ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ ห ค วามรู เ กี่ ย วกั บ การเลื อ กวารสารตี พิ ม พ แ ละแนวทางผลสั ม ฤทธิ์ ง านวิ จั ย เชิ ง ผลกระทบทางชุ ม ชนและ อุตสาหกรรม เพื่อใหผูรับทุนนําความรูไปปรับใชกับการดําเนินงานวิจัยตอไป 52 วารสาร ราชมงคลล้านนา


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

มทร.ล้านนา ตรวจสุขภาพ นักศึกษาใหม่ 2557 งานกิจการนักศึกษากองการ ศึกษาเชียงราย มทร.ลานนา เชียงราย จั ด โครงการตรวจสุ ข ภาพนั ก ศึ ก ษาใหม ประจําปการศึกษา 2557 ณ อาคาร บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร โดยแบง นักศึกษาออกเปน 2 ชวง คือ ชวงเชาเปน ก า ร ต ร ว จ สุ ข ภ า พ นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตรสวนในชวง บาย เปนคณะวิศวกรรมศาสตร และคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

....................................................................................................................

มทร.ล้านนา ขยายความร่วมมือสร้างเครือข่ายฐาน การศึกษาดา้ นเทคโนโลยี พัฒนาบัณฑิต Hands–on

มทร.ล้านนา ขยายความร่วมมือการศึกษา สร้างเครือข่ายด้านเทคโนโลยี จับมือ ม.เทียนจิน พัฒนาบัณฑิต Hands–on

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี พรอมดวยคณะทํางานแผนความรวมมือกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน ดานวิศวกรรมศาสตร ประกอบดวย ผศ.อุดม สุธาคํา รองอธิการบดี มทร.ลานนา เชียงราย ดร.ยุพเยาว ดรุณ ผูชวยอธิการบดี ผศ.ดร.อุเทน คํานาน รองคณบดีฝาย วิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร ดร.อังกูร วองตระกูล รองผูอํานวยการสถาบันวิจัยและ พัฒนา ดร.นพดล มณีเฑียร หัวหนางานวิเทศสัมพันธ คณะวิศวกรรมศาสตร ศึกษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเทียนจิน (Tianjin University of Technology) ซึ่งในโอกาสนี้ไดเขา พบ Prof.Dr.Houngyang Jing อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเทียนจิน เพื่อหารือถึงแนวทาง ในการดํ า เนิ น งานร ว มกั น ในอนาคตและเยี่ ย มชมแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กั บ คณบดี แ ละ บุคลากรของคณะวิศวกรรมคอมพิวเตอรและการสื่อสาร คณะวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรม เครื่องกล คณะการจัดการ คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน รวมถึงเยี่ยมชมหองปฏิบัติการตางๆ เชน หองปฏิบัติการประมวลผลภาพทางดิจิตอล (Image Processing Laboratory) หอง ปฏิบัติการสรางภาพเสมือนจริง (Virtual Reality Laboratory) หองปฏิบัติการ การจัด ตนทุน(Cost management Laboratory)หองปฏิบัติการหุนยนต (Robotic Laboratory) หองปฏิบัติการพีแอลซี (PLC Laboratory) ซึ่งเปนความรวมมือในการผลิตบุคลากรรวมกับ บริษัท Siemens Ltd., China หองปฏิบัติการระบบเครื่องมือวัดและควบคุมผานเครือขาย จากการเยี่ยมชมในครั้งนี้ จะทําใหเกิดการขยายผลการดําเนินงานความรวมมือ นําไป สูการแลกเปลี่ยนนักศึกษา คณาจารย การรวมมือในการทําโครงงานวิศวกรรม ตลอดจนความ รวมมือดานอื่นๆ ที่จะพัฒนาสงเสริมและสรางบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands - on) ที่เปนผูมีความรู และทักษะ ในระดับแนวหนาของภูมิภาคอาเซียนและกาวสูระดับสากลตอไป วารสาร ราชมงคลล้านนา 53


คอลัมน์ ปัญหาสุขภาพ

เราคงไม่สามารถปฏิเสธไดวาในสังคมของโลกยุค ปจจุบันนี้ โซเชียลเน็ตเวิรกไดเขามามีอิทธิพลเปนอยาง มาก ในการใชชีวิตประจําวันของผูคน จึงทําใหสังคมทุก วันนี้เรียกวา “สังคมกมหนา” ซึ่งหมายถึงผูคนโดยสวน ใหญใหความสําคัญ หรือถึงขั้นเรียกวาหมกมุนกมหนากม ตาและจดจออยูกับการเสพขาวสาร การติดตอ การพูดคุย กันผานสื่อออนไลนตางๆ เชน Line, WhatsApp, Twitter, Facebook, Instagram โดยใชสมารทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร เปนเครื่องมือ ซึ่งทําใหมีการพูดคุยหรือมี ปฏิสัมพันธกับผูคนที่อยูรอบตัวนอยลง จนกลายเปนตางคน ตางอยูมากขึ้น ซึ่งแนนอนวาถาใหสิ่งเหลานี้มามีอิทธิพลกับ เรามากจนเกินไปโดยที่เราไมรูจักควบคุมการใชใหดีปญหา ตางๆโดยเฉพาะปญหาเกี่ยวกับความสัมพันธก็อาจเกิดขึ้นได

เราลองมาเช็กกันดูว่าตัวเราเองหรือคนที่อยู่ ใกล้ตัวเรานั้นอยู่ในข่ายที่เสพติดโซเชียลเน็ตเวิร์ก มากเกินไปหรือเปล่า ดังนี้ 1.ใชเวลา 4 - 5 ชั่วโมงหรือมากกวานั้นตอวัน ในการใช โซเชียลเน็ตเวิรก 2. อยูกับโซเชียลเน็ตเวิรกเปนสิ่งแรกตอนตื่นนอน และ เปนสิ่งสุดทายกอนที่จะนอน อีกทั้งมักจะตองหยิบสมารท โฟนหรือแท็บเล็ตขึ้นมา เช็คดูขอความอยูทุกๆ 15 นาที 3. รูสึกหงุดหงิดและกระวนกระวายมาก ถามีเหตุที่ไมได เขาโซเชียลเน็ตเวิรก 4. ละเลยครอบครัวและคนใกลชิดในชีวิตจริงและชอบที่ จะสรางความสัมพันธ รวมถึงมีความสนิทสนมกับเพื่อน ในโลกออนไลนมากกวาเพื่อนในชีวิตจริง ที่มา : http://www.thaihealth.or.th/ โดย ดร.แพง ชินพงศ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ 54 วารสาร ราชมงคลล้านนา

................................................................................................................

คุณเสพติดโซเชียล มากไปหรือไม่..?

CHAT ...CHAT

หากตอนนี้พฤติกรรมของเราเขาลักษณะ อยางหนึ่งอยางใด หรือหลายขอใน 4 ขอนี้ ถือวาคุณ เสพติดโซเชียลเน็ตเวิรกแลว ซึ่งหมายถึงเราตองปรับ เปลี่ยนตัวเอง เพื่อแกพฤติกรรมเสพติดโซเชียลเน็ตเวิรก ดังนี้ 1. จํากัดเวลาการเขาโซเชียลเน็ตเวิรกในแตละ วันวา ควรใชวันละไมเกินกี่ชั่วโมงและใชในเวลาใด ที่จะ ไมมีผลกระทบกับงาน ชีวิตครอบครัวและชีวิตสวนตัว เชน จะใชเฉพาะในชวงเวลาพักกลางวัน ชวงหลังเลิกงาน หรือ ชวงกอนนอน ในแตละครั้งไมควรใชติดตอกันเกิน 30 นาที - 1 ชั่วโมง 2. อยาใชโซเชียลมีเดียหลายตัวเกินไป เพราะมีหลายคนที่เลนทั้ง Line, Twitter, Facebook, Instagram และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งกวาจะใช จะเลน จะเช็ก ครบทุกอันก็หมดเปลืองเวลาไปมากทีเดียว ดังนั้น จึงอยากแนะนําให คุณเลือกใชแคชองทางที่จําเปนก็พอ อันไหนที่ไมมีประโยชนกับตัวหรือไมได จําเปนมากก็ลบออกไปจากสมารทโฟนและแท็บเล็ตบางก็ดี เพื่อที่เราจะไมใช เวลาในการอยูกับโลกออนไลนมากเกินไป 3. เพิ่มเวลาทํากิจกรรมรวมกับครอบครัวใหมากขึ้น เชน พาคนใน ครอบครัวไปเที่ยว ไปดูหนัง ไปออกกําลังกาย ทําอาหารรวมกัน ติดตอ พบปะ พูดคุยกับเพื่อนในชีวิตจริงใหมากขึ้นกวาเพื่อนในโลกออนไลน หรือหาสัตวมา เลี้ยง เชน สุนัข แมว ปลา หรือหางานอดิเรกที่ไมตองใชโซเชียลเน็ตเวิรกทํา เชน อานหนังสือ ทํางานศิลปะ ปลูกตนไม ทําขนม ซึ่งกิจกรรมตางๆ เหลานี้ ก็สามารถชวยทําใหเราไดปลดปลอยตัวเอง ออกจากการหมกมุนอยูกับโลกโซ เชียลเน็ตเวิรกไปไดเยอะเลยทีเดียว สําหรับตัวผูเขียนเองก็เปนคนหนึ่งที่รูตัวเลยวา เปนคนที่ติดโซเชียล เน็ตเวิรกเปนอยางมาก ซึ่งเมื่อไดวิเคราะหถึงอาการและวิธีแกไขดังที่เขียนไป แลวนั้นก็เลยเอามาปรับใชกับตัวเองดวยเชนกัน โดยการพยายามใชเวลาอยู กับแท็บเล็ตและสมารทโฟนใหนอยลง และหันไปทํากิจกรรมอื่นๆ ที่ไมตอง ยุงกับเรื่องนี้ใหมากขึ้น เชน จากที่เคยตองเขาไปดูนั่นอานนี่ในโลกออนไลนจน ดึกดื่น ก็หันมาใชเวลาในการวาดรูปและเลนเปยโนแทน ก็รูสึกวาเปนวิธีที่ชวย ทําใหตัวเอง ไมตองฝกใฝในเรื่องของการเลนแท็บเล็ตมากเทาเดิมอีก แทจริงแลวการใชโซเชียลเน็ตเวิรกนั้น เปนสิ่งที่มีประโยชนมากมาย ทั้งในการติดตอสื่อสารที่ไรพรมแดนและการคนควาหาความรูที่มีอยางไม จํากัด แตหากคุณหมกมุนอยูกับมันมากเกินไป นอกจากจะทําใหเสียการงาน เสียความสัมพันธอันดีกับคนใกลชิด เสียเวลาที่มีคาไปอยางเปลาประโยชน แลว ยังทําใหเสียสุขภาพ เพราะอาจทําใหเราเปนโรคที่เกี่ยวกับสายตา ปวด ตนคอ ปวดไหล ปวดหัว ดังนั้น เราตองรูจักระวังและควบคุมตัวเอง ที่จะไม เสพติดโซเชียลเน็ตเวิรกมากจนเกินไป จนมันกลายเปนพิษในชีวิตของเรา


คอลัมน์ ปัญหาสุขภาพ

Are You a Social Network Addict ? We cannot deny that in the world today, social networks have had increasing impact in people’s daily lives. Our societies have become more “phubbing”, which means people have been giving precedence to, or have even assiduously engaging and focusing on news and communication through several online media, such as Line, WhatsApp, Twitter, Facebook, or Instagram using smartphones, tablets, or computers as the tools. There have been fewer interactions between people. This means people tend to leave each other alone more and more. It is clear that if we let these things take over us without any controls, major problems, especially relationship problems, may occur. Let us check if we or others around are too much addicted to social networks: 1. Spend 4-5 hours or more a day using social networks. 2. Use social networks right after waking up and right before bed, including picking up a smartphone or a tablet to check or new messages every 15 minutes. 3. Will be frustrated and anxious when not using social networks. 4. Ignore family and friends in real life and tend to create relationship and friends online more than in real life. 3. Spend more time with family, such as taking them If you have one or more behaviors as listed above, you are now addicted to social networks. on, watching movies together, exercising, cooking, contacting, This means we have to change ourselves to solve meeting, making more real-life friends than online ones, or raising a pet, e.g. dogs, cats, or fish, or finding hobbies that this addiction: 1. Limit the time spent with social networks each day. Limit how many hours and at what time period to use will not affect work, family life, and personal life, e.g. at lunch time, after getting off work, or before bed, with no more than 30 minutes – 1 hour each time. 2. Do not use too many social networks. Most of us use Line, Twitter, Facebook, Instagram, and any other social networks, which take a lot of time to check them all. Therefore, we recommend only essential ones. If some are not important, they can be deleted from your smartphone or tablet so we do not waste time with the online world too much.

do not require social networks to do, e.g. reading, creating art, planting, or baking. These activities can release us from our addictions to social networks. The author is one who has recognized the addiction to social network. The author analyzed and found the solutions listed above and has been using them well by spending less time with tablets and smartphones and turning to more useful activities, e.g. from spending time with reading things online to drawing and playing piano instead. The author feels that this is another way to get away from tablets.

Truly, social networks are beneficial in boundless communicating and searching for limitless knowledge. But if you are too addicted to them, you will lose efficiency at work and have health problems – sight problems, neck pain, shoulder pain, or headache. Therefore, we need to be aware and control ourselves addicted to social networks too much so that they become poisonous for our lives. Source: http://www.thaihealth.or.th/ by Dr. Pang Chinnapong Thai Health Promotion Foundation (Thai Health) วารสาร ราชมงคลล้านนา 55


ยกระดับการศึกษาไทยไปสู่สากล

(ตอนที่ 1)

การยกระดับ

คุณภาพการศึกษาไปสู่สากล คุณภาพการอุดมศึกษาไทยและการกํากับดูแล

สถาบันอุดมศึกษาทําหนาที่เปนแหลงผลิตความรู กําลังคน นวัตกรรม เทคโนโลยี ทําหนาที่สรางองคความรูใหมทั้งจากการวิจัยหรือตอยอดจากภูมิปญญาเดิม และเปน แหลงการเรียนรูของสังคมมีสวนสําคัญยิ่งในการสรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงฐานความ รูและมีความแข็งแกรงทางดานฐานความรูไปเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันได ในสภาวะของโลกปจจุบัน จึงจําเปนที่จะตองมุงพัฒนาใหสถาบันอุดมศึกษาไทยมีความ เขมแข็ง มีความสามารถในการปฏิบัติภารกิจทุกดานและสามารถจะบรรลุความเปนเลิศได เพราะความเขมแข็ง ความกาวหนาทางวิชาการ การวัดการศึกษาที่มีคุณภาพเปนสิ่งสําคัญที่ มหาวิทยาลัยทุกแหงจะตองพัฒนาไปสูจุดนั้น เนื่องจากสังคมปจจุบันเปนสังคมที่ไรพรมแดน การที่จะสรางขีดความสามารถ ในการแขงขัน สถาบันอุดมศึกษาจึงจะตองมีศักยภาพในดานตาง ๆ ที่จะแขงขันไดในระดับ สากล คณะกรรมการอุดมศึกษาจึงมีนโยบายวานอกจากจะมีมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตรระดับตางๆ มีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เปนแนวทางในการสงเสริมคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุงหวังจะให สถาบันอุดมศึกษาไทยมีความเปนเลิศระดับสากล ภายใตระบบการบริหารจัดการที่เปนของ ตนเอง การกํากับดูแลคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา เริ่มจาก การกําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาใชเปน เกณฑมาตรฐานในการจัดการศึกษา อาทิ เกณฑมาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานสาขาวิชาตาง ๆ เกณฑการกําหนดชื่อปริญญา และเพื่อใหการ จัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาเปนไปโดยสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาที่กําหนด สกอ. จึงมีการดําเนินงานเพื่อกํากับดูแล ประกอบไปดวย 56 วารสาร ราชมงคลล้านนา

การรับทราบหลักสูตร

การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาที่ผาน การอนุมัติ เห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐและเอกชนแลว โดยตรวจสอบวาหลักสูตร ที่เปดสอนนั้นเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 หลักเกณฑ การกําหนดชื่อปริญญา พ.ศ.2548 และเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของหรือไม ทั้งเรื่องการกําหนดชื่อปริญญา โครงสรางของหลักสูตร โดยเฉพาะเรื่องคุณวุฒิและ คุณสมบัตขิ องอาจารยประจําหลักสูตร อาจารยผูรับ ผิดชอบหลักสูตรกรณีเปนหลักสูตรวิชาชีพที่องคกร วิชาชีพกํากับมาตรฐานวิชาชีพ สถาบันอุดมศึกษา จะตองจัดสงหลักสูตรดังกลาวไปยังองค ก รวิ ช าชี พ เพื ่ อ ให ก ารรั บ รองหลั ก สู ต รและความพรอมของ สถาบันดวย ซึ่งมีกรณีใหสงใหรับรองทั้งกอนและ หลั ง การรั บทราบของ สกอ. เพื ่ อ ประโยชนของ ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในการเขาสูระบบ การขออนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ ตามองค ก ร วิชาชีพกําหนด


ยกระดับการศึกษาไทยไปสู่สากล

การประกันคุณภาพการศึกษา

สกอ. ไดสงเสริมและกํากับใหสถาบันอุดมศึกมีการประกัน คุณภาพการจัดการศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษา โดยมี วั ตถุ ป ระสงค เ พื ่ อ ตรวจสอบและเมิน การดําเนิน งาน ของภาควิ ช า คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาคณะ และสถาบันอุดมศึกษาในภาพ รวม ครอบคลุมภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาทั้ง 4 ภารกิจ ไดแก การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคมและการ ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งนี้ ในการตรวจประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในตั้งแตระดับคณะวิชา ระดับสถาบัน จะมีผูประเมิน ที่มาจากภายนอกสถาบันรวมเปนผูตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน โดยหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดใหมีระบบการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพ ภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนิน การอยางตอเนื่อง มีการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมิน คุณภาพภายในเสนอตอสภาสถาบัน หนวยงานตนสังกัด และหนวย งานที่เกี่ยวของเพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณะชนเพื่อนําไปสู การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกัน คุณภาพภายนอก นอกจากการกํากับดูแลคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา ของสถาบันอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชนดังกลาวขางตนที่ สกอ.ดูแล ใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งสถาบันอุมศึกษาของรัฐและเอกชนแลว สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสถาบัน อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 ใน เรื่องเกี่ยวกับการรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษา กลาวคือ สถาบัน อุดมศึกษาเอกชนจะทําการสอนเพื่อใหปริญญาชั้นใด สาขาวิชาใด ได เมื่อรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการอุดมศึกษาได รับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้นแลว โดยในการรับรอง วิทยฐานะดังกลาวจะพิจารณาศักยภาพความพรอมของหลักสูตรแรก ที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนจะเป ด ดํ า เนิ น การในระดั บ ชั้ น ปริ ญ ญา นั้น โดยพิจารณามาตรฐานทางวิชาการตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 และหากคณะกรรมการการอุดมศึกษามี ขอสังเกตเรื่องศักยภาพความพรอมทางดานศักยภาพ สิ่งอํานวยความ สะดวกที่เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นปริญญา ที่ขอรับรองวิทยฐานะอาทิ หองสมุด เอกสาร/ตําราวิชาการ แหลง ค น คว า อุ ป กรณ ป ระกอบการจั ด การเรี ย นการสอนที ่ เ หมาะสม คณะกรรมการการอุดมศึกษาอาจพิจารณามอบหมายใหมีการตรวจ เยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา เพื่อประกอบดุลยพินิจเปนกรณีไป

การกํากับดูแลหลักสูตรที่จัดการศึกานอกสถานที่ตั้ง

สกอ. จะรั บ ทราบหลัก สูต รตามกฎกระทรวงวาด ว ยการ จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. 2552 และประกาศคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณา ประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษานอกสถานที ่ ต ั ้ ง ของ สถาบั น

อุดมศึกษา พ.ศ. 2552 เมื่อสถาบันอุดมศึกษาที่จะจัดการเรียนการสอน ทั้งหลักสูตรหรือเฉพาะบางสวนของหลักสูตรในสถานที่และอาคารที่ มิใชสถานที่จัดตั้งตองไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบันกอนการเปด ดํ า เนิ น การ และแจ ง ให ค ณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน เมื่อไดรับ แจงจากสถาบันอุดมศึกษาแลว สกอ. จะตรวจสอบวาเปนไปตามกฎ กระทรวงฯ ประกาศกระทรวงฯ และประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษาในประเด็นเหตุผล ความจําเปน และวัตถุประสงคในการ จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง สถานที่ ระยะเวลาที่เปดสอน หลักสูตร ที่เปดสอน จํานวนนักศึกษาและความพรอมของอาจารย ความพรอม ของสิ่งสนับสนุนการจัดการศึกษา และจัดใหมีการตรวจประเมินโดยผู ทรงคุณวุฒิ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือคณะอนุกรรมการหลักของ กกอ. ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ ที่ เปดสอนนอกสถานที่ตั้ง ซึ่งดํารงตําแหนงตั้งแตรองศาสตราจารย ขึ้นไป และผูทรงคุณวุฒิที่เปนประธานกรรมการการประเมินคุณภาพใน ที่ขึ้นบัญชีของ สกอ. เพื่อประเมินรับทราบวาการจัดการศึกษานอก สถานที่ดังกลาวเปนไปตามเกณฑ/มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการการอุดมศึกษา และหรือใหคําแนะนําเพื่อใชในการ ปรับปรุงแกไขการจัดการศึกษานอกสถานที่ ใหเปนไปตามเกณฑฯ

การรับทราบหลักสูตร

การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาที่ผานการอนุมัติ เห็นชอบ จากสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนแลว โดยตรวจสอบวา หลักสูตรที่เปดสอนนั้นเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับ อุดมศึกษา พ.ศ. 2548 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ หลักเกณฑการกําหนดชื่อปริญญา พ.ศ. 2548 และเกณฑ อื่นๆ ที่เกี่ยวของหรือไม ทั้งเรื่องการกําหนดชื่อปริญญา โครงสรางของ หลักสูตร โดยเฉพาะเรื่องคุณวุฒิและคุณสมบัติของอาจารยประจํา หลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรกรณีเปนหลักสูตรวิชาชีพ ที่องคกรวิชาชีพกํากับมาตรฐานวิชาชีพ สถาบันอุดมศึกษาจะตองจัด สงหลักสูตรดังกลาวไปยังองคกรวิชาชีพเพื่อใหการรับรองหลักสูตร และความพรอมของสถาบันดวย ซึ่งมีกรณีใหสงใหรับรองทั้งกอนและ หลังการรับทราบของ สกอ. เพื่อประโยชนของผูสําเร็จการศึกษาตาม หลักสูตรในการเขาสูระบบการขออนุญาตประกอบวิชาชีพตามองคกร วิชาชีพกําหนด

การกํากับดูแลหลักสูตรที่จัดการศึกานอกสถานที่ตั้ง

สกอ. จะรับทราบหลักสูตรตามกฎกระทรวงวาดวยการ จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษานอกสถานที่ ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. 2552 และประกาศคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการ พิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบัน อุดมศึกษา พ.ศ. 2552 เมื่อสถาบันอุดมศึกษาที่จะจัดการเรียนการสอน ทั้งหลักสูตรหรือเฉพาะบางสวนของหลักสูตรในสถานที่และอาคารที่ มิใชสถานที่จัดตั้งตองไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบันกอนการ วารสาร ราชมงคลล้านนา 57


ยกระดับการศึกษาไทยไปสู่สากล เปดดําเนินการและแจงใหคณะกรรมการการอุดมศึกาทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแต วันที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน เมื่อไดรับแจงจากสถาบันอุดมศึกษาแลว สกอ. จะตรวจสอบวาเปนไปตามกฎกระทรวงฯ ประกาศกระทรวงฯ และประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษาในประเด็นเหตุผล ความจําเปน และวัตถุประสงคใน การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง สถานที่ ระยะเวลาที่เปดสอน หลักสูตรที่เปดสอน จํ า นวนนั ก ศึ ก ษาและความพร อ มของอาจารย ความพร อ มของสิ ่ ง สนั บ สนุ น การจัดการศึกษา และจัดใหมีการตรวจประเมินโดยผูทรงคุณวุฒิ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือคณะอนุกรรมการหลักของ สกอ. ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ ที่เปดสอนนอกสถานที่ตั้ง ซึ่งดํารงตําแหนงตั้งแตรอง ศาสตราจารยขึ้นไป และผูทรงคุณวุฒิที่เปนประธานกรรมการการประเมินคุณภาพ ในที่ขึ้นบัญชีของ สกอ. เพื่อประเมินรับทราบวาการจัดการศึกษานอกสถานที่ดัง กลาวเปนไปตามเกณฑ/มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการและคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และหรือใหคําแนะนําเพื่อใชในการปรับปรุงแกไขการจัดการศึกษานอก สถานที่ ใหเปนไปตามเกณฑฯ

การประกันคุณภาพการศึกษา

สกอ. ไดสงเสริมและกํากับใหสถาบันอุดมศึกษามีการประกันคุณภาพการ จัดการศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบ และเมินการดําเนินงานของภาควิชา คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทาคณะ และ สถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ครอบคลุมภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาทั้ง 4 ภารกิจ ไดแก การผลิตบัณฑิต การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคมและ การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งนี้ ในการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในตั้งแตระดับคณะวิชา ระดับสถาบัน จะมีผูประเมินที่มาจากภายนอกสถาบัน รวมเปนผูตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน โดยหนวยงานตนสังกัดและ สถานศึกษากําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวา การประกั น คุ ณ ภาพภายในเป น ส ว นหนึ่ ง ของกระบวนการบริ ห ารการศึ ก ษาที่ ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง มีการจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานประเมิน คุณภาพภายในเสนอตอสภาสถาบัน หนวยงานตนสังกัด และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่ อ พิ จ ารณาและเป ด เผยต อ สาธารณชนเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก นอกจากการกํากับดูแลคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถาบัน อุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชนดังกลาวขางตนที่ สกอ.ดูแลใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ทั้งสถาบันอุมศึกษาของรัฐและเอกชนแลว สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะตองปฏิบัติ ตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก ไขเพิ ่ ม เติ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ในเรื่องเกี่ยวกับการรับรองวิทยฐานะสถาบันอุดมศึกษา กลาวคือ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะทําการสอนเพื่อใหปริญญาชั้นใด สาขาวิชาใด ได เมื่อรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดรับรองวิทยฐานะ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้นแลว โดยในการรับรองวิทยฐานะดังกลาวจะพิจารณา ศักยภาพความพรอมของหลักสูตรแรกที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจะเปดดําเนินการ ในระดับชั้นปริญญานั้น โดยพิจารณามาตรฐานทางวิชาการตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 และหากคณะกรรมการการอุดมศึกษามี ขอสังเกตเรื่องศักยภาพความพรอมทางดานศักยภาพ สิ่งอํานวยความสะดวกที่ เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นปริญญาที่ขอรับรองวิทยฐานะ อาทิ หองสมุด เอกสาร/ตําราวิชาการ แหลงคนควา อุปกรณประกอบการจัดการ เรียนการสอนที่เหมาะสม คณะกรรมการการอุดมศึกษาอาจพิจารณามอบหมายให มีการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา เพื่อประกอบดุลยพินิจเปนกรณีไป 58 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Alleviating Thai Quality

of Education to International Standard (Part 1). The role of Thai Higher Education is to cultivate knowledge, create manpower for the workforce, promoting innovation and technology, fostering new knowledge from research or extending it from the local wisdom, and being the learning resource for the communities. The institution also serves the needs of the country to be a learning society and strengthening the country’s competitiveness in the global scenario. Hence, it is an urgent need that Thai Higher Education must be strong so that all missions can be accomplished and become excellent. In order to achieve this, upholding academic studies and procuring quality assessment in scholastic are significant indicators for development. The world at this moment is a borderless society. To create competitiveness in all areas of higher education it must have high potential in the international level. The Commission of Higher Education has a policy that Thai Higher Education must be standardized, with a curriculum standard that has a mechanism to improve quality so that colleges and universities can become excellent and able to meet international standard under its own autonomous management. The standard supervision for higher education management began with the national education standard management so that all institutions can use the idea as a guideline for curriculum standard, quality framework, syllabus standard, and degree titles. In order to comply with the designated education standard, the Commission of Higher Education has laid down the Thai quality framework of higher education and supervision as followed:


ยกระดับการศึกษาไทยไปสู่สากล

Alleviating Thai Quality of Education to International Standard (Part 1). Curriculum Approval

The curriculum from each university must be approved by each university council. Both public and private universities must comply with the 2005 national education standard, the 2009 national qualifi cation framework, the 2005 degree titles, as well as any other related issues; especially on the qualifications and specifications of teachers of each syllabus and being responsible for each course in the syllabus. Whereas the syllabus must be recognized by their professional bodies, the university must get their approval both before and after making a submission to the Commission of Higher Education. Such a procedure provides a benefit to graduates in the form of a recognized qualification when applying for a job.

Education and curriculum supervision at the satellite campuses.

The Commission of Higher Education acknowledges the education at the satellite campuses by the private university according to the ministry of education law AD 2008 and public university according to the ministry of education law AD 2009. For the Commission of Higher Education announcement, with regards to the 2009 regulations and guidelines on quality assessment, the satellite campuses would be implemented as either a part of the program or the whole program. Such an implementation must seek approval from its own university council prioฤr its operation and inform the Commission of Higher Education within 30 days after approval. The Commission of Higher Education will determine whether the satellite campuses comply with the ministry law, and regulations. The Commission of Higher Education would

make announcements with regards to the needs and objectives of the operation, location, duration of the courses, the number of courses, the number of students, teachers, staff, and facilities. There must be an evaluation by the experts from the Commission of Higher Education or by the Commission of Higher Education sub-committees, who are deemed as experts in each field that is being offered to students at the satellite campuses. The experts must possess academic titles. They must at least hold the title of an associate professor and be the chairperson for doing an evaluation. The task must be aligned with the Commission of Higher Education list in order to carry out an evaluation. This is for the purpose of making the satellite operation to comply with the ministry standard and the Commission of Higher Education. This will enable a proper protocol for providing recommendations in conducting the operation of the satellite campus that complies with the regulations.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 59


เรื่อง จากปก

นักศึกษารางวัลพระราชทาน

“อานุภาพ มีชะคะ”

ประสบการณ์ รางวัล ที่ผ่านมา จะมีค่าอะไร หากผมไม่คิดที่จะ ถ่ายทอดและแบ่งปันให้คนอื่น

60 วารสาร ราชมงคลล้านนา


เรื่อง จากปก

เส้นทางสู่นักศึกษา รางวัลพระราชทาน สวัสดีครับ

ทุกๆทานที่ไดอานบทความนี้ ผมชื่อนาย อานุ ภ าพ มี ช ะคะ เกิ ด วั น ที ่ 4 กุ ม ภาพั น ธ 2535 เป น บุ ต รของ ดาบตํารวจสุชาติ มีชะคะ กับนางรัตติยา มีชะคะ เปนบตุรคนที่ 3 มี พ ี ่ 2 คน เป น หญิ ง 1 คน เป น ชาย 1 คน สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจาก คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล านนา ภาคพายัพ เชียงใหม ปจจุบ ัน กําลังศึ ก ษาต อ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ภูมิลําเนาเดิมเปน คนจังหวัดตาก และไดเดินทางมาศึกษาตอ ณ จังหวัดเชียงใหม และ กรุงเทพฯ ตามลําดับ โดยไดทํากิจกรรมเรื่อยมาในทุกๆจังหวัดที่ไดไป ศึกษา จนถึงวันนี้เปนเวลา 7 ป ยางเขาปที่ 8 ผานเรื่องราวมากมาย ทั ้ ง สุ ข ทุ ก ข คํ าชื ่ น ชม และคําดูถูก ไดรูจัก คนมากมาย ได ท ํ า อะไร ที่ไมเคยทํา ไดไปในที่ที่ไมเคยไป สิ่งเหลานี้ลวนแลวไดมาจากการทํา กิจกรรมตลอดเวลาที่ผานมา ผมเปนคนไมไดเกงทางดานวิชาการอะไร มากมาย แตเมื่อถึงเวลาที่ตองทําเราก็ตองทําใหดีและตองผานไปใหได เลยอยากจะใหกําลังใจนองๆที่มาอานบทความนี้ เวลาผมไดมีโอกาสไป บรรยายผมมักจะบอกวา “คนทํากิจกรรมไมไดมีอภิสิทธิ์มากกวา คนอื่น แตคนทํากิจกรรมตองทํางานและทําหนาที่ของตนหนักมากกวา คนอื่นดวยซํ้า ประสบการณเหลานั้นจะสงผลในยามที่นองๆไดเจอกับ การทํางานจริงมากกวา ซึ่งถือวาแตกตางจากเด็กทั่วไป’’ ผมไดรูจักกับรางวัล นักศึกษารางวัลพระราชทานตั้งแต ป 2552 ตอนยังศึกษาอยู ณ วิทยาลัยสารพัดชางตาก (วิทยาลัย เทคนิคตาก ในปจจุบัน) ครั้งนั้นไดรับการชวยเหลือชี้แนะ จากอา จารยพงษศักดิ์ บุญภักดี อยางดีมาตลอด จนไดรับรางวัล “นักศึกษา รางวัลพระราชทาน” ประจําปการศึกษา 2552 ในการเขาเฝารับ รางวัลพระราชทานนั้น ทางกระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานราช เลขาธิการ ไดอนุญาตใหพาผูติดตามเขารวมพิธีได 1 คน ครั้งนั้นผมได พา แมเขาเฝาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุ ส ิ ด าลั ย สวนจิ ต รลดา พระราชวั ง ดุ ส ิ ต ซึ ่ ง ครั ้ ง นั ้ น ผมรู  ส ึ ก ตื้นตันและภาคภูมิใจอยางมาก เพราะไมไดเพียงแตพระมหากรุณาธิคุณ ที่ไดรับรางวัลฯ แตเปนความภูมิใจที่ไดพาผูใหกําเนิดเขารวมพิธี ที่เปนเกียรติแหงวงคตระกูลอยางหาที่สุดมิได หลังจากที่ไดรับรางวัล นักศึกษารางวัลพระราชทาน ประจําปการศึกษา 2552 แลวผมได เดิ นทางมาศึ ก ษาต อ (โควตาจริยธรรม) ณ คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมไฟฟา 4 ป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ในชวงปแรกในใจผมคิดที่จะ

หยุ ด ทํ า กิ จ กรรมทุ ก ๆ อย า งเพื ่ อ ตั ้ ง ใจเรี ย นเพี ย งอย า งเดียว จนเวลา ผานไป 1 ปผมไดยอนกลับมาถามตัวเองวา “รางวัลและผลงานความ ดีที่ทํามา จะมีคาอะไรหากไมคิดที่จะแบงบันใหผูอื่น” หลังจากที่ยอน กลับมาถามตัวเองอยูหลายวัน ก็คิดลุกขึ้นมาทําในสิ่งที่เรารักตอ เริ่ม ดวยลงสมัครนายกสโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ประจําปการศึกษา 2555 และนี่คือจุด เริ่มตนของการทํางานอยางทุมเทของผมตลอดเวลาที่ศึกษา ณ สถาน ศึกษาแหงนี้ ในขณะชวงที่ทําหนาที่ผูนํานักศึกษา ก็เคยไดยิน อาจารย และเจาหนาที่พูดกันวา “ครั้งสุดทายที่ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ของเราไดรางวัล นักศึกษารางวัลพระราชทานก็ป 2545 (ขณะนั้น คือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม)” จนถึง ปจจุบันก็ไมเคยไดอีกเลย ทั้งๆที่ มหาวิทยาลัยของเราสงนักศึกษาเขา ประเมินทุกป และนั้นคือจุดเริ่มตนที่ทาทายสําหรับผม หลายคนอาจม องเปนสิ่งที่ยากที่จะแขงขันกับมหาวิทยาลัยชื่อดัง ในระดับสถานศึกษา ขนาดใหญ ทั่วภาคเหนือ และที่ยากไปกวานั้นคือ ในชีวิติคนหนึ่งคนจะ ไดโอกาส ครั้งที่ 2 ที่จะไดรับรางวัล “นักศึกษารางวัลพระราชทาน” เพราะสิ่งที่ยากกวาคือการรักษาความดี แตผมก็ไมไดกังวลอะไรยังคง ทํ า งานเพื่ อ ส ว นรวมต อ ไปด ว ยอุ ด มการณ ที่ ห นั ก แน น ด ว ยนโยบายที่ วา “เราตองเปนศูนยกลาง และกระบอกเสียงใหนักศึกษา”ซึ่งผมได ทําหนาที่จนหมดวาระและเปนชวงป 4 พอดี และผมไดมีโอกาสสงผล งานเขารับการประเมินเพื่อรับรางวัลนักศึกษารางวัลพระราชทานฯ อีก ครั้ง ครั้งนี้จัดที่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผมยังจําถึงความรูสึกไดดีครับ ตอนนั้นผมตื่นเตนมาก บวกกับเวลาที่เตรียมตัวนอย เจอเพื่อนๆ ตางๆ สถาบันแตละคนมีผลงานระดับชาติที่โดนเดนมาก ถึงเวลาเขารับการ ประเมิณ คณะกรรมการมีประมาณ 15 ทาน มีทังผูทรงคุณวุฒิจากสวน กลาง (สกอ.) และผูแทนจากมหาวิทยาลัยตางๆ โดยใหเวลานําเสนอ 10 นาที และตอบคําถามอีก 20 นาที ผมจําคําถามไดดีโดยคําถามนี้ผม ไดรับมาจาก ประธานกรรมการที่ถามวา “ทําไมคุณสมควรไดรับรางวัล พระราชทาน” ผมก็ตอบไปวา”คงเปนที่ผมไมยอมที่จะหยุดทําความดี เพราะผมเคยคิดที่จะหยุดทํากิจกรรม แตวันหนึ่งผมก็ไดยอนกลับมา ถามตัวเองวา ประสบการณ รางวัล ที่ผานมาจะมีคาอะไรหาก ผมไม คิดที่จะถายทอดและแบงปนใหคนอื่น หากจะใหตอบวาทําไมผมควร ไดรับรางวัลพระราชทาน คงเปนความคิดที่ผมจะทํากิจกรรมที่ดีๆเพื่อ สังคมตราบเทาที่ผมยังมีลมหายใจ” พอตอบเสร็จผมนํ้าตาไหล เพราะ มันคือคําตอบที่มาจากหัวใจ ฝากถึงผูอานทุกๆทานดวยวา หนึ่งชีวิต จะมีเรื่องดีๆใหจดจําไมมาก เราเลือกเองไดครับวาเราจะเลือกทําในสิ่ง ที่ดีหรือไมดี สําหรับผมแลวมันเปนความทรงจําที่ดีครับ ในชีวิตของ ผมเกียรติยศอันสูงสุดที่ผมจะจดจํา ประการแรก คือการที่ไดเขามา เรียนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา (มหาวิทยาลัยอัน เปนมงคลแหงพระราชา) แหงนี้ และอยางที่สองคือการที่ไดรับพระ มหากรุณาธิคุณอันสูงสุดในชีวิตที่ไดมีโอกาสเขารับพระราชทานรางวัล อันทรงเกียรติถึงสองครั​ั้งในชีวิต วารสาร ราชมงคลล้านนา 61


เรื่อง จากปก

“เรื่องเศร้าในชีวิต..ไม่ใช่การที่เราไปไม่ถึงฝัน แต่เป็นการที่เราอยู่โดย..ไม่มีความฝันต่างหาก” The tragedy in life doesn’t lie in not reaching your goal. The tragedy lies in not having a goal to reach.

แนวทางในการดํารงชีวิตอันเป็นแบบอย่างที่ดีงาม

แนวทางในการดําเนินชีวิตของผม มีอยู 3 ทานคือ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทรงเปน แบบอยางใหใครหลายๆ คนและหนึ่งในนั้น คือผมที่ยึดแบบอยางการ ทรงงานของพระองคในการทํางาน คําสอนของพระองค พระบรม ราโชวาทของพระองค สิ่งเหลานี้ เปนเหมือนแรง ผลักดันใหผมทํา เพื่อคนอื่นเสมอมา ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่คอยสอน และสรางพลังใหผม เพื่อที่จะสามารถทําสิ่งตางๆ เพื่อสวนรวมสังคม ผมเปนเพียงเยาวชน คนหนึ่ง ที่ชอบทํากิจกรรม โดยไมเคยหวังสิ่งตอบแทนใดๆ เวลาผม เห็นรอยยิ้มของคนที่มารวมกิจกรรม ความเหนื่อยที่มีก็จะหมดไป ถึง วันหนึ่งวันที่ผมหมดพลังในการทํางาน แตพอเห็นพระองคยังทรงงาน อยู ทําใหผมคิด เกิดแรงบันดาลใจ และมีกําลังใจพรอมที่จะสู และ ทําความดีตอไป ตราบที่ใดที่ผมยังมีลมหายใจ “การทําความดี ก็ เหมือนการปดทองหลังพระ ถาปดแตดานหนา ไมมีใครปดดานหลัง เลย องคพระปฏิมาก็ไมสามารถสวยได” พ่อ แม่ ตลอดชวงเวลาที่ผานมา ในการทํากิจกรรม อาสา สมัคร กิจกรรมเพื่อสังคม และกิจกรรมอื่นๆ ลวนแลวแตผานความ ยากลําบาก มามากมาย แตก็มีกําลังใจที่ไดมาเพิ่ม พรอมกับคําสอน ดีๆ ที่คอยใหผมตลอดมา คือ พอกับแม ทั้งสองทานเปรียบเหมือน พระในดวงใจของผม ทานสอน ในสิ่งดีๆ ใหกําลังใจ และเปนแบบ อยางใหเรา ถึงบางครั้งทานจะเหนื่อยหรือทอ แตทานก็ยังสามารถให กําลังใจคนอื่นไดเสมอมา พอของผม ประกอบอาชีพ รับราชการตํารวจ สวนแม ประกอบอาชีพคาขาย ฐานะทางบานปานกลาง พอทํางานอยูใน หนวยพิสูจนหลักฐานเพื่อตรวจสอบ หลักฐานในการเกิดคดีตางๆ คอยชวยเหลือและปกปองผูบริสุทธิ์ เพื่อที่จะทําใหรูวาสังคมไทย ยัง มีความเปนธรรมอยู พอสอนเสมอวา “การทําความดีนั้น อยาหยุด ทํ า ถ า หยุ ด ทํ าสั ง คมไทยจะเปน เชน ไร เพราะสิ่งเลวรายได เ กิ ด ขึ ้ น ทุกวันโดยไมรูจักเหนื่อย” ตลอดเวลาที่ผานมาผมไดเห็นการ ทํางาน ของพอมามากมาย ตลอดจนการชวยเหลือประชาชนในชุมชน ซึ่งสิ่ง เหลานี้ ทําใหผมยึดถือเปนแบบอยางมาตั้งแตเด็ก และแมเปนแบบ อยางที่ดีในดานความอดทน ทานทํางานหนักเพื่อดูแลครอบครัว เสมอมา ผมเคยถามทานวาเหนื่อยบางหรือไม แมบอกวา “ตราบใดที่ ลูก ยังตองเรียนหนังสือยังตองสรางฐานชีวิต แมจะยังหยุดทํางานไม ได” คํานี้ทําใหผมคิดวานอกจากเราตองเรียนและตอบแทนพระคุณ ของทานแลวเราตอง ประพฤติตนเปนคนดีของสังคมคงเปนสิ่งที่ลูก ทุกคนจะไดพึงปฏิบัติ 62 วารสาร ราชมงคลล้านนา

The Path to a Royal Award for Students To those who are reading this article, I would like to say hello and introduce myself. My name is Mr. Arnuphap Meechaka. I’m the son of Pol. Sen. Sgt. Maj (Police Senior Sergeant Major) Suchart Meechaka and Mrs.Rattiya Meechaka. I’m a 3rd son of my family. I have one elder sister and one elder brother. I’ve just graduated from the Faculty of Engineering Electrical Engineering at Rajamangala University of Technology Lanna. Currently, I’m doing another Bachelor’s Degree at the Faculty of Engineering Electrical Engineering at King Mongkut University of Technology Thonburi. I’m originally from Tak but had moved to Chiang Mai then Bangkok. My studies have been going nonstop for 7 years to 8 years. Through my journey I have experienced joy and suffering, pejorative trials, and insults that would make a man cry. But on this endeavor, I got a chance to know a lot of people, doing something that has never been done before in life, and seeing places that I would never had the chance to go to. I have to confess that I’m not really good in performing in the academic field. However, when I have to do something then it has to be successful. Therefore, I will encourage everyone,


เรื่อง จากปก reading this article, by illustrating an example of making an opportunity. For those individuals who do not have the privilege of doing an activity they have to apply a great deal of effort than other people so that responsibility will have a greater impact when facing a real life working situation. This is something that is quite unique to experience. I have learnt there was a Royal Award since 2009 when I was studying at a Polytechnique school in Tak. I received some good advice and recommendations from Ajarn Pongsak Boonpakdi until I received the award. At the ceremony for receiving the royal award, which was hosted by the Ministry of Education and the Office of His Majesty’s Principal Private Secretary, I brought my mother to have an audience with Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirinthorn at Dusitdalai Palace. At that event, I was very delighted, a great deal of appreciation and full of pride not only because of her graciousness in giving me this award but for allowing my mother to be there and witness this special occasion. After the ceremony, I continued my studies on Electrical Engineering program at Rajamangala University of Technology Lanna. In the first year, I thought about stop doing all activities and to just focus on studying. Then, I realized that the award that I got would have no sense of meaning if I did not share it with others. After making decision I ran for election and eventually was elected as the university president of RMUTL student union in 2012 and this became the beginning of my work and dedication in this university. While assuming the role as one of the acting student leaders, the faculty and staff were aware that “the last RMUTL students who received the Royal Award were in 2002”. Since then no one has ever got this award, in spite of our university assessing our students every year. And that was the beginning of a challenge for me. Many people thought it was difficult to compete with renowned large universities throughout the North. Also, it was more difficult for a student to get a Royal Award twice. But I didn’t think about anything but was still working for the majority of the students with the ideological impact of the policy which states that “We must be the center and spokesperson for the students”. I have served for during my fourth year of my studies. By the end of term, I had the opportunity to apply and be assessed for the Royal Award student again. The assessment was held at Chiang Mai University. I still remember having good feelings about the event. I was very excited because there was little time for preparation and I met many students from various institutions who got their own distinctive national c ontribution. Nevertheless, it was time to get assessed by the committee

which was made up of 15 members, including experts from the OHEC (Office of Higher Education Commission), and representatives from universities. There was a 10-minute presentation and 20 minutes for answering questions. I remember very well the question t hat was asked. The chairman asked me “Why do you deserve the Royal Award?” I said “Because I didn’t want to stop doing good things. I was thinking to quit doing all sorts of activities and only concentrate on studying but one day I went back and asked myself that if I didn’t share with others my first Royal Reward and experiences would have no value whatsoever”. Although the answer I gave wasn’t quite so convincing, I never let that become a mental hindrance to me. I had an emotional teary experience because it was an answer that came from the bottom of my heart. Eventually, I was granted a Royal Award in the year 2014 and it was my second Royal Award and I may be the only student who got this achievement. For me, it was a good memory on being an alumni of Rajamangala University of Technology Lanna (Rajamangala University: the auspicious university of the King). Guidelines of Good model

in my daily life There are three persons who form the guidelines as good model in my daily life “His Majesty the King. He is the model for everyone I take his teachings, his Royal speech of things is like the force. I urge myself that I must always do for others. It is important to teach. And it empowers me until one day I will run out of power in the workplace. But I also saw the king being very active. It made me think about things that were most inspiring and encouraging. I will fight and do good as long as I have breath. Doing good is like putting gold leaf at the back of the Buddha. If everyone put gold leaf only at the front of the Buddha and no one put the gold leaf at the rear of the Buddha, the Buddha will be an unattractive statue”. Mother and Father, when I experienced hardship I have acquired good teaching. Father and mother also taught me to be in high spirits and they acted as the ideal role model for me. My father who is a policeman taught me that “you can’t stop doing goodness in Thailand because bad things happen every day”. My mother took care of everyone in my family. I asked her if she is not tired. She told me “as long as you study and build for your future, I cannot stop working”.This makes me think that we need to learn and repay their kindness when I have the opportunity. วารสาร ราชมงคลล้านนา 63


พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค์ ในการพระราชทาน ปริญญาบัตรแก่ผู้สําเร็จการศึกษา ประจําปีการศึกษา 2556 จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2557

64 วารสาร ราชมงคลล้านนา


พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

พิธีรับพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปีการศึกษา 2556

วารสาร ราชมงคลล้านนา 65


พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

บรรยากาศงานรับพระราชทาน ปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2556

66 วารสาร ราชมงคลล้านนา


พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

วารสาร ราชมงคลล้านนา 63

วารสาร ราชมงคลล้านนา 67


R MU TL JOU R N A L I S S U E 2 : J uly - D e ce m be r 2014

กองประชาสัมพันธ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา โทรศัพท 053-921444 โทรสาร 053-213183

www.rmutl.ac.th

https://www.facebook.com/pages/กองประชาสัมพันธมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา/682631851747556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.