Urban Studio 2 x Return of singha tha Project

Page 1

1



3

2325

เจ้า ฝ่า ยหน้า ไปช่ว ยศึ กได้เ ลื่อ นขั้ น

ไปปกครองนครจาปาศักดิ์

พระวอ พระตา เสนาบดีเก่าอพยพมาจากลาว

2354

ซึ่งสมัยนั้นฝรั่งเศสเข้ามามีบทบาทในภูมิภาคนี้ คนมี

พระวอมาพบเจ้าคาสู เจ้าบ้านสิงห์ท่า(ยโสธร)

ฐานะก็นาเข้าช่างมาจากเวียดนามเข้ามาสร้างบ้านทาให้

พักอยู่ชั่วคราวและอพยพ

สถาปัตยกรรมบริเวณนั้นมีรูปแบบเวียดนามผสมยุโรป 2354

เจ้าฝ่ายหน้าตายแล้ว ลูกก็กลับมาอยู่ บ้านสิงห์ท่าก่อเจดีย์วัดมหาธาตุ

2357 เมืองยศสุนทร เข้าเป็นประเทศราชของสยาม 2356

2515

มีการติดต่อซื้อขายจากทางคมนาคมผ่านแม่น้าชีกับ กรุงเทพมหานครจึงมีการเข้ามาค้าขายในพื้นที่จาก พ่อค้าชาวจีน

ก่อตั้งเป็นเมืองยโสธรและขยายเมืองออกไป ทาง ตลาดสดเทศบาล1(ตลาดเก่าเมืองยโสธร)

ก า ร ตั้ ง ถิ่ น ฐ า น แ ล ะ ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า

การตั้งถิ่นฐานช่วงที่ 1 ปีพศ.2314-2356

การตั้งถิ่นฐานช่วงที่ 2 ปี พศ.2356-2514

บ้านสิงห์ท่าปัจจุบัน


4

2

3

1 9

5 1

8

10 6

11

7

2

จิ น ต ภ า พ ข อ ง เ มื อ ง

I.

ถนนสายประธาน

II.

ถนนสายหลัก

III. ถนนสายรอง

1.ที่ว่าการอาเภอเมืองยโสธร

LANDMARKS หลัก

1 .ร้านของฝาก

ย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย

2.วัดมหาธาตุ

1.วัดมหาธาตุ

2 .ร้านปลาส้มแม่ก้อย

3.ศาลหลักเมือง

2.ศาลหลักเมือง

3. ร้านลอดช่อง

ย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่นและพาณิชยกรรม

4.วัดสิงห์ท่า

3.วิมาณพยาแถน

4. ขนมจีนน้างัว

ย่านหน่วยงานราชการและสาธารณูปโภค

5. ร้านกาแฟ

สถานศึกษา

5.อนุสาวรีย์พระสุนทรราชวงษา

6.วัดศรีธรรมาราม

LANDMARKS รอง

6. อาคารเก่า

ที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาสิ่งแวดล้อม

7.วัดศรีไตรภูมิ

4.วัดศรีไตรภูมิ

7. โรงมหรสพเก่า(โรงหนังเก่า)

สถาบันศาสนา

8.ตลาดสดเทศบาลเมืองยโสธร

5.วัดศรีธรรมมาราม(พิพิธภัณฑ์

8. ศาลเจ้าแม่สองนาง

ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

9.ตลาดสดเทศบาล1ยโสธร

หลวงตาพวง)

9 .มูลนิธิร่วมสามัคคี

10.นานาภัณฑ์ พลาซ่า

6.วัดสิงห์ท่า

10. อาคารดิน200ปี

11.วิมานพยาแถน

7.อนุสาวรีย์พระสุนทรราชวงษา

11. อาคารเก่าแก่ที่มีลวดลายสถาปัตยกรรมชัดเจนที่สุดในย่าน


5

ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ที่ ดิ น • กรรมสิทธิ์ที่ดินในชุมชนส่วนใหญ่แล้วเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนในเขตพื้นที่ชุมชนหนาแน่น กรรมสิทธิ์จะเป็น แปลงย่อย ๆ เนื่องจากมีผู้อยู่เยอะซึ่งจะอยู่บริเวณฝั่งตะวันออกของชุมชนติดกับย่านการค้า ส่วนทางทิศใต้ ของชุมชนเป็นพื้นที่เกษตรกรรมแปลงที่ดินยังคงเป็นแปลงใหญ่ กรรมสิทธิ์ของรัฐจะเป็นราชพัสดุ ซึ่งเป็น ที่ตั้ง ของสถานที่ราชการ

• การศึกษากรรมสิทธิ์ที่ดินเพื่อที่จะทราบถึงข้อจากัดและความเป็นไปได้ของพื้นที่เพื่อเป็นข้อประกอบ ในการ พิจารณากาหนดพื้นที่พัฒนาต่อไป

รู ป แ บ บ ท า ง ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม

อาคารตึกแถว

ห้องแถว

สถาปั ต ยกรรมแบบชาว ตะวั น ตกองค์ ประกอบของ

วั สดุ ใน ก าร กอ่ สร้ าง ข อง กลมุ่ อา ค า ร ห้ อ ง แถ ว ที่ มี่

สร้ า งในรู ป แบบเดิ ม ที่ ใ ช้ วั สดุ เ ป็ น ไม้ ทั้ ง หลั ง และ ครึ่ ง ไม้

ช่วงอายุ50ปี ซึ่งเป็นโรงหนังแรกที่มีคนพากษ์ภายในโรง

อาคารที่สาคัญ ได้แก่ลวดลายประดับประตู หน้าต่างซึ่งมี

โครงสร้ า งที่ ท าด้ ว ยดิ น โครงสร้ า งเป็ น ผนั ง รั บ น้ าหนั ก

ครึ่งปูนมีการปรับการก่อสร้างและใช้วัสดุก่อสร้าง ที่หา

ลวดลายของศาลหลักเมืองมีการผสมผสานศิลปะ

ลักษณะที่ โค้ งหน้ าต่า งส่ วนมากเป็น บาน ลูก ฟัก มีช่องลม

(wall baring)โดยวัสดุที่ใช้ ก่อผนังเป็นดินดิบปั้นผสมฟาง

ได้ง่ายขึ้นและมีลักษณะโครงสร้างที่มีรูปแบบอาคารเก่า

สถาปัตยกรรมจีนและ ไทยเป็นอาคารในยุคแรกที่ทาให้เกิด

ฉลุด้วยไม้อ่อนช้อยสวยงามวัสดุที่ใช้มุง มีทั้งสังกะสีและใช้

ขี้วัว ขี้ควายยางบง เพื่อเพิ่มความเหนยีว ช่วยให้ก้อนดินมี

นอกจากกลุ่มอาคารทั้ง 3 ประเภทแล้วภายใน ชุมชนยัง

กิจกรรม การค้าเป็นสถานบันเทิงในอดีตอาคารมีรูปแบบ

กระเบื้ องหางเหยี่ยวอิฐที่ใช้ ก่อจะมี ลักษณะก้อนโตกว่าอิ ฐ

ความยืดหดไม่แตกร้าวและมีน้าหนักเบาขึ้นประตูด้านหน้า

ประกอบด้ ว ยอาคารศาสนาและวั ฒ นธรรมและยั ง มี

มอญแดงปัจจุบัน5-6เท่าใช้เรียง กอ่เป็นผนังฉาบปูน

ลักษณะ ทางสถาปัตยกรรมที่แตกต่างจากอาคารทั่วไปใน

เป็นฝาเฟี้ยมเปิดกว้างเรียก หน้าถัง

ชุมชนบ้านสิงห์ท่ายังมีอาคาร

บ้า้นพักอาศัย

ที่สาคัญคือโรงหนังเก่ามีชื่อว่า ยโสธรภาพยนตร์ อยู่ใน

ชุมชนในปัจจุบันไม่มีการใช้งานและขาดการดูแล


6

ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ อ า ค า ร

ประตูทางเข้า

บริ เ วณชุ ม ชนบ้ า นสิ ง ห์ ท่ า ปั จ จุ บั น มี ค วามหนาแน่ น ของ อาคารที่มีลักษณะเป็นห้องแถวจากการเข้ามาของกลุ่ม คนชาวจีนทา การค้ า ในชุ ม ชน และอี ก ปั จ จั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ที่ มี ผลจากการเปลี่ ย นแปลง ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมในอดีต ทาให้ชุมชนเกิดการขยายตั ว ทางด้านเศรษฐกิจเกิดเป็นพื้นที่พาณิชยกรรมที่มีความรุ่งเรือง มีการ ก่อสร้างบ้านเรือน ร้านค้าและตลาด เพื่อตอบสนองทางด้านการค้า

ถนนที่มีการสารวจอาคารเก่า พื้นที่อาคารเก่า

ศาลหลักเมือง

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนคนเดินเส้นกลาง

ศาลจีน

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ร้านค้า

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ร้านค้า

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

พื้นที่ว่าง

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนคนเดินเส้นกลาง

ถนนหน้าวัดสิงห์ท่า

ถนนคนเดินเส้นกลาง

-อาคารเป็ นประเภทที่อยู่ อาศัย 2ชั้ นครึ่ง ปูนครึ่ งไม้ มีการปรั บปรุง ซ่อมแซมอยู่เสมอ ท าให้อาคารใช้ง านได้ดี และอาคารที่มีลัก ษณะเป็นอาคารขนาดเล็ก ชั้นเดียว และอาคา รที่มี ลักษณะเป็ น อาคารปูนทั้งหลัง เป็นอาคารพาณิชยกรรมเก่า ซึ่งอาคารส่วนมากในถนนเส้นนี้ยังมีการใช้งานอยู่ และอาคารส่วนมากมีความสูงไม่เกิน 2 ชั้นและมีอาคารชั้นเดียวบ้างเล็กน้อย

ร้านค้า ศาล

-สวนมากเป็นอาคารปูนชั้นเดียว มีความสูงไม่เกิน 2 ชั้น ยังมีการใช้งานอยู่ -มีอยู่ 2 ที่ คือศาลหลัก เมือง และศาลจีน เป็นอาคารปูนทั้งหลังความสูงไม่เกิน 2 ชั้น

พื้นที่วา่ ง

-พื้นที่ว่างที่ยังมีการใช้งานอยู่


7

ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ อ า ค า ร ประตู ทางเข้า

ถนนที่มีการสารวจอาคารเก่า พื้นที่อาคารเก่า

ร้านซ่อมรถ

ร้านขนมจีนน้าวัว

ศาลหลักเมือง

โรงงิว ้

เส้นข้างวัดสิงห์ท่า เส้นข้างศาล

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนหน้าวัดสิงห์ท่า

ถนนหน้าวัดสิงห์ท่า

อยู่อาศัย

ร้านค้า

ร้านค้า

รูปแบบอาคาร

อยู่อาศัย

พื้นที่ว่าง

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนคนเดินเส้นกลาง

-อาคารเป็นประเภทที่อยู่อาศัย 2ชั้นครึ่งปูนครึ่งไม้ มีการปรับปรุงซ่อมแซมอยู่เสมอ ทาให้อาคารใช้งานได้ดี และอาคารที่มีลักษณะเป็นอาคารขนาดเล็กไม้ทั้งหลังชั้นเดี ยว และอาคารที่มีลักษณะเป็น อาคารครึ่งปูนครึ่งไม้เป็นอาคารพาณิชยกรรมเก่า ซึ่งอาคารบางส่วนในถนนเส้นนี้ยังมีการใช้งานอยู่ และบางส่วนไม่มีการใช้งาน และอาคารส่วนมากมีความสูงไม่เกิน 2 ชั้นและมีอาคารชั้นเดียว บ้างเล็กน้อย

ร้านค้า

-อาคารปูน2 ชั้น และมีความสูงไม่เกิน 2 ชั้น ยังมีการใช้งานอยู่

อาคารศูนย์การเรียนรู้ 200ปี

-อาคารไม้ทั้งหลัง 1ชั้น ยังมีการใช้งานบางโอกาส

พื้นทีว ่ า ่ ง

-พื้นที่ว่างที่ไม่มีการใช้งาน


8

ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ อ า ค า ร

ประตู

03

ทางเข้า

ถนนที่มีการสารวจอาคารเก่า พื้นที่อาคารเก่า

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

พื้นที่ว่าง อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนศรีสุนธร

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนวิทยะดารงค์

อยู่อาศัย

อาคารศูนย์การเรียนรู2 ้ 00ปี

รูปแบบอาคาร

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

อยู่อาศัย

ถนนวิทยะดารงค์

-อาคารเป็นประเภทที่อยู่อาศัย 2ชั้นครึ่งปูนครึ่งไม้ มีการปรับปรุงซ่อมแซมอยู่เสมอ ทาให้อาคารใช้งานได้ดี และอาคารที่มีลักษณะเป็นอาคารขนาดเล็กไม้ทั้งหลังชั้นเดี ยว และอาคารที่มีลักษณะเป็น อาคารครึ่งปูนครึ่งไม้เป็นอาคารพาณิชยกรรมเก่า ซึ่งอาคารบางส่วนในถนนเส้นนี้ยังมีการใช้งานอยู่ และบางส่วนไม่มีการใช้งาน และอาคารส่วนมากมีความสูงไม่เกิน 2 ชั้นและมีอาคารชั้นเดียว บ้างเล็กน้อย

ร้านค้า

-อาคารปูน2 ชั้น และมีความสูงไม่เกิน 2 ชั้น ยังมีการใช้งานอยู่

พื้นทีว ่ า ่ ง

-พื้นที่ว่างที่ไม่มีการใช้งาน

อาคารศูนย์การเรียนรู้ 200ปี

-อาคารไม้ทั้งหลัง 1ชั้น ยังมีการใช้งานบางโอกาส


9

ค ว า ม ห น า แ น่ น

EXISTING TREES

EXISTING BUILDINGS

EXISTING OPEN SPACES

INACCESSIBLE OPEN SPACE

ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง เ มื อ ง

การขยายตัว บ้านสิงห์ท่ามีการขยายตัวจากชุมชนทีเ่ กิดขึน ้ บริเวณรอบตลาดในช่วงระยะที่ 1ถึง3 ต่อมาขยายตัวตามเขตสถานทีร ่ าชการในช่วงระยะที่ 4 และในระยะที่ 5 จนถึงปัจจุบันขยายตัวตามแนว ถนนแจ้งสนิทที่เป็นถนนสายหลักตัดผ่านตัวเมือง ข้อจากัด การขยายตัว การขยายตัวของชุม ชนบ้านสิงห์ท่าถูกจากัดขอบเขตเอาไว้ด้วยแหล่งน้าที่อยู่ล้อมรอบ พื้นที่ชุมชนจากทางด้านทิศตะวันตก , ตะวันตกเฉียงใต้ , ตะวันออก , ตะวันออกเฉียงใต้ และทิศใต้เนื่องจากพื้นที่ ถูกตัดขาดทาให้การขยายเมืองไปยังทิศทางดังกล่าวเป็นไปได้ยาก


10

01

โ ค ร ง ข่ า ย ก า ร สั ญ จ ร

โครงข่ายการสัญจร ระบบถนน ระบบขนส่งสาธารณะ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 เป็นทางหลวงแผ่นดินที่แยกออกมาจากถนนมิตรภาพ ที่ตาบลบ้านไผ่ อาเภอบ้านไผ่ จังหวัด ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 292 หรือ ถนนเลี่ยงเมืองยโสธร เป็นทางหลวงแผ่นดินที่มีลักษณะเป็นถนนเลี่ยงเมืองเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาจราจร ในเขตตัวจังหวัดยโสธร ถนนเลี่ยงเมืองยโสธรมีทั้งหมด 1 ช่วง คือถนนเลี่ยง เมืองยโสธรด้านทิศเหนือ ซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นครึ่งวงกลม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 สายชัยภูมิ–เขมราฐ เป็นทางหลวงแผ่นดิน แนวตะวันตก-ตะวันออก มีระยะทางตลอดทั้งสาย 380.653 กิโลเมตร ผ่านจังหวัดต่างๆ ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอานาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2169 สายยโสธร–เลิงนกทา หรือ ถนนวารีราชเดช เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ มีระยะทางตลอดทั้งสาย 67.1 กิโลเมตร ผ่านอาเภอต่าง ๆ ของจังหวัดยโสธร ได้แก่ อาเภอเมืองยโสธร อาเภอทรายมูล อาเภอกุดชุม อาเภอไทยเจริญ และอาเภอเลิงนกทา ถนนทางหลวงชนบทสาย ยส.3018 สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดยโสธร มี้ 1้ แห่ง้ มีรถโดยสารประจาทางเข้าใช่สถานีจานวน้ 22้ เส้นทาง้เฉลี่ยวันละ้ 200้ เที่ยว้ เฉลี่ยวันละ้ 700-1000้ คน ในตัวจังหวัดยโสธรมีรถชนิดต่างๆ ให้บริการ นักท่องเที่ยวรถสองแถว มีวิ่งบริการจากสถานี ขนส่งไปยังที่ต่างๆในตัวเมือง นักท่องเที่ยวอาจเหมารถสองแถวรถสามล้อเครื่องหรือสกายแล็ป และมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ซึ่ง จอดรถตามจุดต่างๆ ในจังหวัดไปเที่ยวได้ทั้งในเมืองและต่างอาเภอ พื้ น ที่ ท า ง เ ดิ น เ ท้ า

02 เส้นทางเดินและการใช้พน ื้ ทีท ่ างเท้า - ถนนในชุมชนสิงห์ท่าส่วนใหญ่มีลักษณะที่ค่อนข้างแคบ ไม่ฟุตบาทเพื่อ รองรับการเดินเท้าและการปั่นจักรยาน - บริเวณถนนในช่วงที่มีถนนคนเดินก็จะมีปริมาณจราจรที่ค่อนข้าง หนาแน่นกว่าปกติ

PEDESTRIAN AREAS พื้น ที่ท างเดิ นเท้า ภายในชุม ชนบ้า นสิ งห์ ท่า ตั้ งแต่ บริเวณทางเข้าจะมีการจัดให้มีพื้นที่ทางเท้า สามารถเดินได้รอบชุมชน แต่จะมี ถนนเส้นกลางที่มีวัสดุปูพื้นที่ทางที่ต่างจากรอบๆ เนื่องจากเป็นขอบเขตของถนน คนเดินที่มีประจาทุกวันพุธ


11 ช่ อ ง ม อ ง แ ล ะ เ ส้ น ข อ บ ฟ้ า

scope/existing primary route Open space Primary cycle/pedestrian gateway (เส้นทางหลักของรถจักรยานยนต์และทางเดินเท้า)

vistas view/good view consideration for taller building

Good view

2

1

(อาคารส่วนใหญ่เป็นอาคารสูงไม่เกิน 2 ชั้น) park

สวนสาธารณะริมชี Good view

1 ศูนย์เรียนรู้และบริการข้อมูลเมืองเก่า 200 ปี บ้านสิงห์ท่า 2 พิพิธภัณฑ์เมืองเก่า บ้านสิงห์ท่า ทางเดินเท้า

Good view


12 ภู มิ อ า ก า ศ ท้ อ ง ถิ่ น

จังหวัดยโสธรตั้งอยู่ระหว่างเส้นแวงที่ 104 และ 105 องศา ตะวันออก และเส้นรุ้งที่ 15 และ 16 องศาเหนือ สาหรับภูมิอากาศ

จังหวัดยโสธรมี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ความชื้น สั ม พั ท ธ์ เฉลี่ ย เท่ า กั บ 71.1% อุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด 43 องศาเซลเซี ย ส อุณหภูมิต่าสุด 11 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยในรอบ 5 ปี

ฤดูร้อน

ฤดูฝน

ฤดูหนาว

อุณหภูมิสูงสุดที่วัดได้เท่ากับ 41.1 องศา

อุณหภูมิที่วัดได้เท่ากับ 26.8 องศา

อุณหภูมิต่าสุดที่วัดได้เท่ากับ 6.3 องศา

(2552 – 2556) เฉลี่ย 1,600 ม.ม. ต่อปี

ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ศ า ส ต ร์

02 LANDFORM AND NATURE บ้านสิงห์ท่านั้นมีลักษณะพื้นที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบ แต่ถ้าหากสังเกตจากเส้นจะแสดง ให้เห็นถึงความสูงต่าในบริเวณซึ่งมีค วามสูงต่าสลับ ซับซ้อนกัน หากเกิดฝนตกหนักหรือน้า

ท่วมสูงพื้นที่เสียงภัยจะได้แก่บริเวณวัดสิงห์ท่าและบริเวณโรงพยาบาลรวมแพทย์


13

พื้ น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ / พื้ น ที่ เ ปิ ด โ ล่ ง

พื้นที่ลานกิจกรรม ถนนคนเดิน

พื้นที่ลานกิจกรรม

สวนสาธารณะ

พื้นที่เกษตรกรรม

พื้นที่โล่งไม่มีการใช้งาน

พื้นที่ลานกิจกรรม



15

ผู้ ใ ช้ ง า น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม

ผู้ใช้งานหลัก

ผู้ใช้งานรอง

ผู้สูงอายุ วัยทางาน กลุ่มนักเรียน

นักท่องเที่ยว

อ า ห า ร ที่ ขึ้ น ชื่ อ

ทุ ก วั น พุ ธ จะมี ต ลาดถนนคนเดิ น บ้ า นสิ ง ห์ ท่ า ช่ ว งเวลา 16.00-19.00พ่ อ ค้ า แม่ ค้ า ชาวบ้านส่วนใหญ่ทาอาหารมาขาย ส่วนมากเป็นอาหารพื้นบ้านของชาวอีสาน อาหารป่าพื้น ถิ่นของไทยเดิม


16 วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ถิ่ น

LOCAL CULTURE กิจกรรมหลักทางสังคมวัฒนธรรม

กิจกรรมรองทางสังคมและวัฒนธรรม

o

ลักษณะทางสังคม เป็นสังคมแบบเครือญาติ และผู้อพยพมาตั้งถิ่นฐาน

1.ประเพณีบุญมหาชาติ ของคนอีสานไทยเดิม

1.กิ จ กรรมการแสดงด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมพื้ น บ้ า นและภู มิ

o

2.ประเพณีแห่บั้งไฟ บุญเดือน 7

ปัญญาท้องถิ่น “เสน่ห์สิงห์ท่า เสน่ห์ยโสธร”

ชาวไทย ชาวลาย ชาวจีน เวียดนาม

3. กิจกรรมทาบุญตักบาตร ย้อนยุค วิถีถิ่น วิถีไทย

2.กิจกรรมการแสดงราวงย้อนยุคผู้สูงอายุ ในงานถนนคน

o

ในงานถนนคนเดิน เมืองเก่า ๒๐๐ ปี

เดิน เมืองเก่า ๒๐๐ ปี

ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์นิกายคาโรมันคาทอลิก

4. งานประจาปีสมโภชศาลเจ้าพ่อหลักเมือง หรืองานงิ้ว

3.งานบุญเบิกฟ้ายโสธร

o

เชื้อชาติเอกลักษณ์ของแต่ละชนชาติ

ศาสนา ท้องถิน ่

วัฒนธรรมประเพณีการแต่งกายท้องถิน ่

ชุดพื้นเมืองอีสาน ไทย ญวณ จีน ค ว า ม เ ชื่ อ ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น

จากพงศาวดารบ้านสิงห์ท่าเล่าว่า ปี พ.ศ. 2318 เจ้าคาสู ผู้นาสมัยนั้นพร้อมบ่าวไพร่พ ากันไปหักร้างถางพงที่ดงขวางท่าชีเสร็จแล้วจะพา กันปลูกบ้านเรือนอยู่ อาศัย จึงได้เห็นเป็นปาฏิห าริย์ข องผีผู้ศักดิ์สิท ธิ์ที่รักษาดงแห่งนี้และพระพุทธเจ้า ใหญ่ ได้หักต้นไม้ใหญ่ให้ดูเป็น ที่น่าอัศ จรรย์ จึงให้ค ณะหมอทานายดู จึงรู้ว่าเป็นดวง วิญญาณที่เห็นคือผี “พระละงุม กับพระละงา” มาทาอิทธิฤทธิ์ให้ดู จึงได้นาไม้ต้นนั้นมาทาเป็นเสาหลักบ้าน 3 เสาแล้วเชิญดวงวิญญาณผีทั้งสองมาสถิตเป็นองค์เจ้าพ่อ รักษาหลักบ้านเมืองมา ตลอด คือเสาแรกและเสาหลังคือ เสาผีพระละงุมผีพระละงา ผู้รักษาหลักบ้านนั้น คือเสาตรงกลาง


พื้ น ที่ ปั ญ ห า

17 ส รุ ป พื้ น ที่ ปั ญ ห า

เป็นย่านพาณิชยกรรมเก่า มีลักษณะสถาปัตยกรรมที่ สวยงาม

มีศักยภาพในการพัฒนาเป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

กิจการร้านค้ามีการขยายตัวขึ้น เป็นพื้นที่ประกอบการต่างๆ สร้างรายได้ให้แก่ประชาชน

มีการจัดงานประเพณี วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์

อยู่ใกล้วัด และศาลหลักเมืองซึ่ง ทั้งวัดและศาลเจ้านั้นล้วนเป็น ศูนย์รวมและที่พึ่งทางจิตใจของ คนในพื้นที่

สร้างสัมพันธ์ของคนในชุมชนทา ให้เกิดกิจกรรมใหม่ทางสังคม

ขาดพื้นที่ทางเท้าที่ต่อเนื่อง ขาดพื้นที่โล่งสาธารณะ เพื่อ กิจกรรมและนันทนาการ และมีปัญหาน้าท่วม

พื้นที่ขาดการเข้าถึงที่เหมาะสม และ ยังมีปัญหาเรื่องน้าท่วมทุกปี

พื้นที่ซบเซามีการลงทุนน้อย

ไม่มีการรองรับกิจกรรมที่ต่อเนื่อง ทั้งวัน

ปัจจุบันมีผู้สูงอายุจานวน มากความสัมพันธ์ของคนใน พื้นที่ และความเชื่อศาสนา วัฒนธรรมต่างกัน

SO

มี โ อกาสที่ พั ฒ นาสู่ ช มชนเมื อ งเก่ า เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเมื อ งเก่ า ส่ ง เสริ ม

ขาดการเปลี่ยนแปลงกิจกรรม สาหรับคนเข้ามาเที่ยวในพื้นที่

WT

วัฒนธรรมและมีความหลากหลายทางด้านกิจกรรมและการบริการของคน

จัดการระบบขนส่งสาธารณะเพิ่มขึ้น สะดวกต่อการเดินทางมายัง พื้นที่โครงการ สารถเพิ่มโอกาสให้นักท่องเที่ยวทั้งภายนอกและภายใน ได้เข้าถึงพื้นที่โครงการได้สะดวกสบายมากขึ้น

ในพื้ น ที่ มี กิ จ กรรมดึ ง ดู ด และเพื่ อ รองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ช่ ว ยให้ ก ระตุ้ น เศรษฐกิจภายในพื้นที่ให้ดีขึ้น

ST

พื้นที่มีศักยภาพพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวส่งเสริมวัฒ นธรรมเมืองเก่า และ ศักยภาพในเรื่องอื่นๆเช่นวัฒ นธรรม วิถีชีวิต กิจกรรมในพื้นที่ จึงสามารถ รองรับการเปลี่ยนแปลงการใช้งานในการท่องเที่ยวได้หลากหลายในพื้นที่ให้

ดี ขึ้ น เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของค นในพื้ น ที่ ดี ขึ้ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ สาธารณะ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่

WO

มีการจัดการที่อยู่อาศัยที่เป็นทีพื้นที่ชุมชนเก่าเป็นแหล่งเท่าเที่ยว และ ชุมชนใหม่อย่างชัดเจนทาให้ชุมชนได้มีพื้นที่ในการทากิจกรรมระหว่าง คนในชุมชนกับ นักท่องเที่ยวให้ได้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน


18

โครงการออกแบบพัฒนาย่านชุมชนเก่า บ้านสิงห์ท่าเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

VISION วิ สั ย ทั ศ น์

ฟื้นฟูย่านชุมชนเก่า 200 ปี บ้านสิงห์ท่า ส่งเสริมคุณภาพชีวิต พัฒนาย่านที่อยู่อาศัยและปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อรองรับกิจกรรม วัฒนธรรม ประเพณี

เพื่อฟื้นฟูย่านชุมชนเก่าสิงห์ท่า มีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตในด้านสังคม เศรษฐกิจ และที่อยู่อาศัย ปรับปรุง

GOALS เ ป้ า ห ม า ย

ภูมิทัศน์ภายในชุมชนและสวนสาธารณะริมชี เพื่อการใช้งานพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ในการรองรับกิจกรรมต่างๆ ของทั้งจังหวัดและชุมชน

ฟื้นฟูย่านเมืองเก่าบ้านสิงห์ท่า ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและยังสามารถต้อนรับนักท่องเที่ยวที่จะ

OBJECTIVE

เข้ามายังพื้นที่ ยังมีการออกแบบอาคาร “ ตุ้มโฮม “ เพื่อสาหรับชุมชนหลังวัดได้มีพื้นที่ทางสังคมและยังเป็นจุดเปลี่ยนถ่าย สาหรับรอบรับนักท่องเที่ยว

วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์

มีการเพิ่มพื้นที่รองรับกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุภายในชุมชน เนื่องจากในพื้นที่มีผู้สู . อายุจานวนมาก จึงมีการคานึงถึงบุคคลเหล่านั้น ปรับปรุงเส้นทางการเข้าถึงของพื้นที่ เชื่อมต่อการขนส่งสาธารณะและทางเดินเท้า

มีออกแบบพื้นที่สวนสาธารณะริมชีเพื่อรองรับกิจกรรมเมืองและชุมชน


19

เดิน

ที่อยูอ ่ าศัย สังคม & เศรษฐกิจ

เดิน คุณภาพชีวต ิ

พื้นทีร ่ องรับ

สังคม

กิจกรรม ผู้สูงอายุ

สิ่งแวดล้อม

พื้นที่รองรับ

วัฒนธรรม อาคาร “ ตุ้มโฮม “ สาหรับชุมชน

ภูมิทศ ั น์

เศรษฐกิจ การค้าและ การท่องเทีย ่ ว

เดิน

ประเพณี


20

เส้นทางการเข้าถึง 1

• การอนุรักษ์

อ นุ รั ก ษ์

ZONE B ถนนแจ้งสนิท

อาคาร • อนุรักษ์วีถีชีวิตและ

เส้นทางการเข้าถึง 2

วัฒนธรรมท้องถิ่น

• ปรับปรุงภูมิทัศน์ รอบบุ่ง

ป รั บ ป รุ ง

• ปรับปรุงภูมิทัศน์

ZONE A

สวนสาธารณะริมชี • เพิ่มพื้นที่สีเขียว ให้กับชุมชน

ZONE C • ส่งเสริมกิจกรรม

ผู้สูงอายุ

ส่ ง เ ส ริ ม

• ส่งเสริมการค้าขายที่ มีอยู่ในชุมชน ให้เป็นที่ รู้จัก

การเข้าถึงพืน ้ ที่

เส้นทางการ เข้าถึง

พื้นที่ตัวเมืองเก่า

ถนนแจ้งสนิท

ทางเส้นเดิม

พื้นที่ภายในตัวเมืองเก่า

พื้นที่ต้อนรับ


21

เส้นทางการเข้าถึง 1 โครงการฟืน ้ ฟูยา ่ นเมืองเก่าสิงห์ทา ่ •

ถนนคนเดิน (เดิม)

ตักบาตร (เดิม)

จุดให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติของชุมชน

จุดเช็คอิน “ ร้านดัง “ (ของกิน/ของฝาก)

เพิ่มพื้นที่กิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ

โครงการพัฒนาเส้นทางเดินเท้าเพือ ่ เชือ ่ มกิจกรรมให้มีความต่อเนื่อง

ถนนแจ้งสนิท เส้นทางการเข้าถึง 2 ประตูบา ้ นสิงห์ทา ่ ปรับปรุงภูมท ิ ศ ั น์โดยรอบ บ่อบาบัดน้า

โครงการออกแบบปรับปรุงลานกิจกรรมชุมชน •

ปรับปรุงลานกิจกรรมภายในชุมชน

เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบ ั ชุมชน

จุดบริการนักท่องเทีย ่ ว

เพิ่มพื้นทีส ่ เี ขียว ให้กบ ั ชุมชน

เมืองเก่า

โครงการออกแบบจุดรองรับนักท่องเทีย ่ วและปรับปรุงภูมท ิ ศ ั น์บริเวณบุง ่ น้อยลานกิ บุ่งใหญ่ จกรรมประเพณี •

จุดต้อนรับ

จุดเช่า/ยืมจักรยาน

ปรับปรุงภูมิทัศน์บุ่งน้อย บุ่งใหญ่

ที่จอดรถ

โครงการฟืน ้ ฟูภม ู ท ิ ศ ั น์บริเวณสวนสาธารณะริมชี •

ปรับปรุงจุดรองรับกิจกรรมประเพณีของจังหวัด

ปรับปรุงจุดรองรับกิจกรรมชุมชน

ปรับปรุงจุดรองรับกิจกรรมนันทนาการ

ปรับปรุงสวนสาธารณะริมชี

ลานตุม ้ โฮม

สวนสาธารณะริมชี

การเข้าถึงพืน ้ ที่

เส้นทางการ เข้าถึง

ถนนแจ้งสนิท

ทางเดินเท้าและ จักรยาน

พื้นที่ตัวเมืองเก่า ทางเส้นเดิม

พื้นที่ต้อนรับ พื้นที่ภายในตัวเมืองเก่า


22

1

2

โครงการฟื้นฟูย่านชุมชนเก่า บ้านสิงห์ท่า

โครงการออกแบบปรับปรุง ลานกิจกรรมชุมขน

3 1

4

3

โครงการออกแบบจุดรองรับ นักท่องเที่ยวและปรับปรุงภูมิ ทัศน์บริเวณบุ่งน้อย บุ่งใหญ่

2 4

MASTER PLAN

โครงการฟื้นฟูภูมิทัศน์บริเวณ สวนสาธารณะริมชี


23

ทางเข้าเส้นที่ 1 ทางเข้าไปยังชุมชนบ้าน สิงห์ทา ่

เพื่อเป็นการนาทางนักท่องเที่ยว ข้าไปยังภายในชุมชน

เพื่อรองรับการเดินทางใน เวลากลางคืนของคนในชุมชน


24

1

1

ทางเข้าเส้นที่ 1

2

2

ทางรถยนต์ เป็นการสัญจรจากภายนอกเข้ามายังพื้นที่

จะมีการน า Transverse pavement marking เข้ามาปรับ ใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการนา ทางเข้าสู่พื้นที่โครงการ

ทางจักรยาน เป็นทางเลือกแก่นักท่องเที่ยวและคนในชุมชนเพื่อ ใช้อานวยความสะดวกในการเข้าถึงพื้นที่ของโซนต่างๆ ทางเดินเท้า เป็นการเดินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายในชุมชน

โดยจะมีการใช้สีในพื้น ถนนและลวดลายทางเข้าโครงการ

เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการเข้าถึงพื้นที่ และมีการทาป้าย เพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ในการนาทางเข้าสู่พื้นที่โครงการ


1

25

โครงการฟืน ้ ฟูยา่ นชุมชนเก่าบ้านสิงห์ทา่ สิ่งทีพ ่ บในพืน ้ ที่ คือ เป็นการสร้างความเชื่อมต่อของพื้นที่ เนื่องจากใน พื้นที่โครงการยังขาดการเชื่อมย่อของพื้นที่แต่ละที่ เนื่องจากพบพื้นที่ Lost Space จึงเป็นการออกแบบพื้นที่รก

ร้างเพื่อให้กลับมามีคุณค่า หรือมีความน่าสนใจมากขึ้น

ค น ใ น พื้ น ที่

นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว

โครงการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าสิงห์ท่า

ย่าน Gion & ย่านฮิกาชิยา มา & Yasaka Pagoda

ถนนคนเดิน (เดิม)

บนถนน เสามารถมองเห็ น อาคาร

ตักบาตร (เดิม)

บา้ นเรือ นที่เป็ นบ า้ นไม เ้ ก่า ๆในแบบ

จุดให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติของชุมชน

จุดเช็คอิน “ ร้านดัง “ (ของกิน/ของฝาก)

เพิ่มพื้นที่กิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ

้ ้านอาหาร แถวตามสองขา้ งทาง ทังร

โครงการพัฒนาเส้นทางเดินเท้าเพื่อเชื่อม

ร ้านขายของ

เกีย วโตสมัยโบราณที่สวยงาม มีการ ดู แ ลรัก ษาให ม้ ีล ก ั ษณะแบบอาคาร ้ มของชาวญีปุ่​่ น มีร ้านต่างๆเรียง ดังเดิ

กิจกรรมให้มีความต่อเนื่อง นิเนนซากะ เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ ยังมีอาคารและอื่นๆที่ยังคงเก็บรักษาในรูปแบบดั้งเดิม


26 ในพื้นที่โครงการจะมีการออกแบบ pocket park เพื่อให้ สามารถเป็นจุดนัดพบและยังเป็นพื้นที่พักผ่อนภายในชุมชนได้ ปรับ & เปลี่ยน Lost Space เนื่องจากพบพื้นที่ Lost Space จึงเป็นการออกแบบ พื้ น ที่ ร กร้ า งเพื่ อ ให้ ก ลั บ มามี คุ ณ ค่ า หรื อ มี ค วาม น่าสนใจมากขึ้น

ในพื้นที่โครงการจะมีการจัด Pocket park ทั้งหมด 5 จุด จะมีทั้งหมด 3 รูปแบบในโครงการ

โดยการจัดทา Pocket park นี้นั้นจะเป็นการรองรับ กิจกรรมของคนในชุมชนและนักท่องเที่ยวที่ต้องการ พื้ น ที่ พั ก ผ่ อ นห รื อ เ ป็ นจุ ด พั ก ขอ งนั กท่ อ ง เ ที่ ย ว ที่

สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งโครงการ

ถนนหน้าบ้านดินเก่า 200 ปี


27 จะมี ก ารปรั บ ปรุ ง และอ อกแบบในส่ ว นขอ งพื้ น ที่ อาคารโรงงิ้วเดิมให้เป็นพื้นที่ส่วนรวมกิจกรรมทาง

สังคมของผู้สูงอายุภายในชุมชน

นอกจากพื้นที่ในส่วนของร้านอาหารเช้าภายในย่าน เมืองเก่า ก็ยังมีร้านอาหารที่ขึ้นชื่อและเป็นที่รู้จัก เช่น ร้านขนมจีนน้าวัว แม่เครือ ลอดช่องยายทองวันและ ร้านปลาส้มแม่ก้อย ในพื้ น ที่ ถ นนคนเดิ น เดิ ม จะมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นให้ เ ป็ น Street Food เพื่อส่งเสริมศักยภาพด้านของอาหาร ในชุ ม ชนให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ รู้ จั ก ร่ ว มกั บ เป็ น การ ส่งเสริมอาชีพให้กับคนในชุมชน แนวความคิดในการออกแบบ • มีการจัดทาป้ายบอกทาง เพื่อเป็นสิ่งนาทางและเป็นเอกลักษณ์แก่ผู้มาเยือน

ป้ายนาทาง

• ภายในพื้นที่ชุมชนเก่าจะมีการเพิ่มจุดรอรถมาไว้ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่จะ เข้ามาท่องเที่ยวภายในชุมชนและยังรองรับคนในชุมชนได้อีกด้วย

• มีการปรับปรุงถนนคนเดินให้เป็น Street Food เพื่อนาเอาของดีของขึ้นชื่อ ของชุมชนมาขายและแสดงให้กับกับผู้ที่มาเยี่ยมเยือน • มีการปรับปรุงและออกแบบโรงงิ้ว ให้เป็นพื้นที่กิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ

ป้ายแสดงตาแหน่ง สถานที่ต่างๆ ภายในชุมชนเก่า

• มีการปรับปรุงฟังก์ชั่นในส่วนของโรงหนังเก่าให้เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงวิถีชีวิต ของคนยโสธรและชุมชนสิงห์ท่า

จุดรอรถหน้าประตูบ้านสิงห์ท่า เก้าอี้นั่งพักผ่อน


28

1

ประตูทางเข้าชุมชนจะมีการนาเอาจุดรอรถมาเป็น พื้นที่รองรับนักท่องเที่ยว ที่มาจากภายนอกและยัง เป็นพื้นที่รอรถสาธารณะที่จะเข้ามาภายในชุมชน

2

1 2

ภายในโครงการจะมีก ารออกแบบโรงงิ้ วเดิ มให้ มี ฟั ง ก์ ชั่ น ที่ จ ะสามารถรองรั บกิ จ กรรมทางสั ง คม

3

ของผู้ สู ง อายุ แ ละคนภายในชุ ม ชนและยั ง มี ก ารใช้ งานได้ตลอดทั้งวัน

3

จ ะ มี ก า ร เ พิ่ ม Street Furniture แ ล ะ Green corridor เพื่ อ ปรั บ สภาพภู มิ ทั ศ น์ ใ ห้ น่ า เดิ น น่ า ใช้ งานมากยิ่งขึ้นและยังเพิ่มร่มเงาให้กับทางเดินเพื่อ ความร่มรื่นของชุมชน

พื้นที่รองรับกิจกรรมทางสังคม ผู้สูงอายุ

ถนนคนเดิน


29

จุดรอรถหน้า”ประตูบ้านสิงห์ท่า”


30

โรงหนังเก่า ‘’พิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตชุมชน’’


2

31

โครงการออกแบบปรับปรุงลานกิจกรรมชุมชน

มีการนา Green Corridor มาใช้ • เนื่องจากพื้นที่เดิมเป็นพื้ นที่อยู่ อาศัย แออัด มีแหล่งเสื่ อมโทรม ตามตรอกซอย ต่างๆก็เสี่ยงต่ออันตราย จึงมีการนา Green Corridor เข้ามาใช้พัฒนาพื้นที่ แนวทางนี้ยังสามารถสร้างบรรยากาศให้มีความร่มรื่น ให้กับถนนและสามรถ ลดผลกระทบเกี่ยวกับมลภาวะทางอากาศด้วย

ค น ใ น พื้ น ที่

คอนกรีตพรุน บล็อกหญ้า

ตีนเป็ดน้า

พื้นที่สีเขียว

ช่องทางเดินรถและจักรยาน

มีพื้นที่ลานหญ้าให้กับชุมชน

ต้นลาพู

ต้นกัลปพฤษ์

พื้นอิฐมอญแดง

ต้นอินทนิล


32

ล า น ตุ้ ม โ ฮ ม


33

1

แนวความคิดลาน “ตุ้มโฮม”

บริ เ วณพื้ น ที่ ชุ ม ชนด้ า นล่ า งของสิ ง ห์ ท่ า จะมี พื้ น ที่ ล าน กิจกรรมขนาดใหญ่ เป็นพื้นที่ดาดแข็ง ในเวลากลางวัน

2

การใช้ ง านค่ อ นข้ า งน้ อ ย จึ ง มี ก ารน าแนวคิ ด Sub Culture มาใช้ในพื้นที่ให้เกิดความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ไม่ ว่ า จะเป็ น สนามเด็ ก เล่ น ลานโยคะ สนามกี ฬ า และ อาคาร “ ตุ้มโฮม “ ที่มีการใช้งานคือเป็นพื้นที่พักผ่อน

1 2 3

3

ของคนในชุ ม ชน เพื่ อ รองรั บ คนในเวลากลางวั น ได้ สถานที่แห่งนี้จึงมีการใช้งานได้ตลอดทั้งวัน

‘’ ลานตุ้มโฮม ‘’

‘’ สนามเด็กเล่น ‘’


3

34

โครงการออกแบบจุดรองรับนักท่องเที่ยวและปรับปรุง ภูมิทัศน์บริเวณบุ่งน้อย บุ่งใหญ่ การท่องเทีย ่ วเชิงวัฒนธรรม เป็นการท่องเที่ ยวเพื่อเรียนรู้ประวั ติศาสตร์ วิ ถีชีวิต เพื่อส่ งเสริมให้ประชาชน ท้องถิ่นและคนทั่วไปได้เห็นความสาคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต และศักยภาพใน พื้นที่ ส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เป็นแหล่งเศรษฐกิจที่สาคัญ ให้กับชุมชน

นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว จุดให้ความรู้แก่ นักท่องเที่ยว

เป็นจุดเช็คอินของ นักท่องเที่ยว

จุดเช่า/ยืมจักรยาน

พิพิธภัณฑ์เมืองระยอง ถนนยมจินดา ต.ท่า ประดู่ อ.เมืองระยอง จ.ระยอง

โครงการออกแบบจุดรองรับ นักท่องเที่ยว •

จุดต้อนรับ

จุดเช่า/ยืมจักรยาน

จุดรับ/ส่งเข้าชุมชน

ที่จอดรถ

พิ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ เ กิ ด จากความตั้ ง ใจของกลุ่ ม ชมรม อนุรักษ์ฟื้น ฟูเมืองเก่าระยอง ให้เป็น ที่รวบรวมของ เก่าของดีของเมืองระยอง ทั้งภาพถ่ายโบราณหาชม

ยาก ข้ าวของเครื่ องใช้ต่ างๆ ที่ แ สดงถึ ง ชีวิ ต ความ เป็ น อยู่ ข องชาวระยองในอดี ต ตั ว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ด้ รั บ การเอื้อเฟื้อสถานที่ให้ใช้พื้นที่ของบ้านสัตย์อุดม บ้าน เดิ ม ของขุน ศรี อุทั ย เขตร์ (โป๊ง สั ต ย์ อุด ม) เจ้ า ของ โรงสี โรงหนัง และอู่ต่อเรือในอดีต


35

Landmark Singha – Tha

เตยด่าง

ต้นลาพู

ตีนเป็ดน้า

ผักตบชวา

Bike path

ทางเดินที่มีขั้นมีระดับสามารถนั่งพักผ่อนได้

ต้นกัลปพฤษ์

ผักตบชวาเพื่อ การบาบัดน้าเสีย


36

1

แนวความคิด สวนสาธารณะ “บุ่งน้อยบุง ่ ใหญ่ “ บริเวณพื้นที่ ตรงนี้ เดิมเป็นที่ บาบัดน้าของชุมชน จึง มีการ

2 3

ที่มีทั้งสวนสาธารณะ พื้นที่อ อกกาลั งของคนในชุมชนและ ยั ง เป็ น Landmark ที่ มี สิ ง ห์ ที่ เ ป็ นเอกลั ก ษณ์ ของชุ มชนให้

1 2

ปรับเปลี่ยนฟังก์ชันให้เป็นพื้นที่หรือจุดรองรับนักท่องเที่ยว

นักท่องเที่ยวได้มาเยี่ยมชมอีกด้วย

3

ยังมีการจัดลู่วิ่งและลู่จักรยานที่รองรับการออกกาลัง กายของคนในชุมชน

‘’ สวนสาธารณะบุ่งน้อย บุ่งใหญ่‘’


37

‘’ อาคารต้อนรับนักท่องเทีย ่ ว ‘’


4

38

โครงการฟื้นฟูภูมิทัศน์บริเวณสวนสาธารณะริมชี การใช้พน ื้ ที่ Public Space เนื่องจากเดิมพื้นที่เป็นพื้นที่สวนสาธารณะ ที่มีการใช้งานอยู่แล้ว แต่ยัง ขาดผู้คนมาใช้งาน จึงมีการนาแนวคิดมาใช้เพื่อดึงดูดผู้คนให้กลับมาใช้

งานพื้นที่นี้อีกครั้งและทาให้พื้นที่มีชีวิตชีวามากขึ้น

ค น ใ น พื้ น ที่

นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว

สวนสาธารณะหนองประจั ก ษ์ ศิ ล ปาคม จั ง หวั ด อุ ด รธานี หนองน้ าขนาดใหญ่ ที่ มี เ กาะกลางน้ า

โครงการปรับปรุงลานกิจกรรม ประเพณี

สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมของจังหวัดอุด รธานี ถือ

ปรับปรุงจุดรองรับกิจกรรมประเพณี

ทากิจกรรมต่าง มากมาย อาทิเช่น ออกกาลังกาย

ของจังหวัด

กีฬ า สนามเด็กเล่น และต้องมาเช็ค อิน ถ่ายรูปคู่กับ

ปรับปรุงจุดรองรับกิจกรรมชุมชน

เป็ ด เหลื อ งยั ก ษ์ เ มื อ งอุ ด รธานี รองรั บ กิ จ กรรม

ปรับปรุงจุดรองรับกิจกรรมนันทนาการ

ส าห รั บ ค น ทุ กช่ ว ง วั ย ทั้ ง นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษ า /

ปรับปรุงสวนสาธารณะริมชี

เยาวชน / วัยรุ่น วัยทางาน และกลุ่มผู้สูงอายุ

เป็น แลนมาร์คสาคัญ ของจังหวัด ที่ชาวอุด รธานีม า


39 ในส่วนของพื้นที่สวนสาธารณะริมชีนอกจากใช้ในการออก กาลังกายแล้ว ยังมีฟังก์ชั่นที่สามารถเป็นพื้นที่จัดกิจกรรม พื้นที่ออกกาลัง กาย

ลานกิจกรรม

พื้นที่จัดกิจกรรมของ

เมือง

คอนกรีตพรุน

พื้นไม้

ต้นกัลปพฤษ์

ต้นลาพู

บล็อกหญ้า

ตีนเป็ดน้า

พื้นอิฐมอญแดง

ส น า ม กี ฬ่ า

เตยด่าง ต้นเฟิร์น หมากผู้หมากเมีย ส น า ม เ ด็ ก เ ล่ น

ของเมืองได้ เช่น งานกาชาด งานบวงสรวงหรือแม้แต่การ จัดกิจกรรมถนนคนเดิน


40

1

บริ เ วณพื้ นที่ ส วนสาธารณะริ ม ชี ไ ด้ มีก ารออกแบบพื้ น ที่

Landscape ใหม่และยังมีการจัดพื้นที่สาหรับจัดกิจกรรม ของเมือง ไม่ว่าจะเป็นงานกาชาด งานบวงสรวงและอื่นๆ

2

มีก ารเพิ่ มลานกิ จ กรรม สนามเด็ ก เล่น สนามกี ฬา เพื่ อ

รองรับบุคคลทุกประเภทที่จะเข้ามาใช้งานในพื้นที่

2

1 3

3 ลานกิจกรรม

‘’ สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะริมชี ‘’

พื้นที่จัดกิจกรรมของเมือง

‘’ ลานกิจกรรม สวนสาธารณะริมชี ‘’


41

‘’ สวนสาธารณะริมชี ‘’


42


43 การดาเนินงาน / ราคา


กั น ต์ ก วี จ ว น ป ล อ ด

59011112004

จุ ฑ า ม า ศ ส ง ล่ า

59011112011

นั ฐ ริ ก า ้ คั น ธ ้ บุ ป ผ า ้

59011112024้

พั ช ร พ ล จิ ต บ ร ร จ ง

59011112034

พิ ช ญ า เ ด ช า พิ ทั ก ษ์

59011112037

อ ร ย า ้ พั น ธุ์ ้ รั ต น์ ้

59011112065

พ ศ วั ต พิ บู ล ว า ณิ ช

58011112052


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.