ใบความรู้ที่ 2 เริ่มใช้ งานโหมด VideoStudio Editor
เนื้ อหาในบทนี้ จะแนะนาให้รู้จกั กับเมนู หลัก และเครื่ องมื อต่างๆ ของโหมด VideoStudio Editor ที่จะนามาใช้งานได้แบบครบถ้วนสมบูรณ์ ตั้งแต่การจับภาพวิดีโอ การตัดต่อวิดีโอ ใส่ เอฟเฟ็ กต์ การซ้อนภาพวิดีโอที่ตดั ต่อออกมาใช้งานในรู ปแบบต่างๆ 1. ส่ วนประกอบของโหมด VideoStudio Editor เมื่อเลื อกการท างานในโหมด VideoStudio Editor จะเห็ นว่ามี ส่วนของการทางานมากมาย ซึ่ งได้จดั เป็ นระเบียบเป็ นขั้นตอนได้อย่างลงตัว ทาให้ดูใช้งานง่าย ซึ่ งขั้นตอนของส่ วนต่างๆ จะเปลี่ยน การทางานไปเรื่ อยๆ ตามกระบวนการขั้นตอนการตัดต่อจนถึ งการนาไฟล์วิดีโอออกมาใช้งาน ซึ่ ง ส่ วนประกอบหลักของโหมด VideoStudio Editor มีดงั นี้ B
A
C E D F
G
A. B. C. D. E.
Menu Bar เป็ นส่ วนประกอบของเมนูคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรม Step Panel เป็ นแถบการทางานแต่ละขั้นตอนในการตัดต่อวิดีโอ Library เป็ นส่ วนที่ใช้สาหรับเก็บไฟล์ต่างๆ ที่จะนามาใช้งาน Options Panel เป็ นส่ วนที่ใช้สาหรับตั้งค่าหรื อกาหนดรายละเอียดต่างๆ Preview Window เป็ นส่ วนสาหรับแสดงไฟล์ตวั อย่างต่างๆ ในการตัดต่อวิดีโอ
2 F. Navigation Panel เป็ นส่ วนที่ใช้ควบคุมการแสดงผลของหน้าต่าง Preview Window G. Project Timeline เป็ นส่ วนของการทางานหลักของโปรแกรมที่จะดึงไฟล์เข้ามาตัดต่อทั้ง ไฟล์วดิ ีโอ ภาพนิ่ง เสี ยงประกอบ ฯลฯ 2. การนาไฟล์วดิ ีโอเข้ ามาเก็บใน Library เราสามารถเพิ่มไฟล์วิดีโอหรื อไฟล์เสี ยง รวมถึ งไฟล์ต่างๆ ที่จะนาเข้ามาเพิ่มไว้ใน Library เตรี ยมพร้อมก่อนการตัดต่อด้วยวิธีง่ายๆ เริ่ มจาก คลิกปุ่ ม Load Image
จะแสดงไฟล์วิดีโอที่นาเข้า มา
1
4
การเปลี่ยนโหมดการทางานของ Library จะมี ด้ว ยกัน หลายหมวด เช่ น Video, Image, Audio, Color, Transition, Video Filter, Title, Decoration, Flash Animation
2
เลือกไฟล์ที่ตอ้ งการ
3
คลิกปุ่ ม Open
3
3. การจัดลาดับไฟล์ให้ Library Library อาจมีไฟล์วิดีโอมากมาย จนทาให้การค้นหาไฟล์วิดีโอนั้นยากลาบาก ดังนั้น เรา จาเป็ นต้องมาจัดลาดับไฟล์ใน Library เพื่อความสะดวกต่อการเรี ยกใช้งาน ซึ่งสามารถทาได้โดย
1
ไฟล์ที่ถูกจัดลาดับแล้ว
คลิกปุ่ ม
Sort by Name
2
ในการจัดเรี ยงไฟล์มีเดียใน Library จะมี ดว้ ยกัน 2 แบบ คือ Sort by Name การเรี ยง จากชื่อ และ Sort by Date การเรี ยงจากวันที่มาเก็บไว้ในเครื่ อง
4. การลบไฟล์ออกจาก Library หลังจากที่เราได้นาไฟล์มีเดียต่างๆ เข้ามาเก็บไว้ใน Library จนเต็มไปหมด ในที่น้ ี นกั เขียน ขอแนะนาให้ลบออกบ้างหลังจากที่ตดั ต่อเสร็ จแล้ว เวลาเริ่ มงานใหม่จะได้ไม่หลงนาไฟล์เสี ยงและไฟล์ วิดีโอเก่าของงานก่อนเข้ามาตัดด้วย ซึ่ งจะยิง่ เพิ่มความสับสนให้แก่ผตู ้ ดั ต่อเอง
คลิกปุ่ ม OK
1
คลิกเลือกไฟล์ที่ตอ้ งการลบ
2
กดปุ่ ม <Delete> บนคียบ์ อร์ด
3
4 ไฟล์ที่ถูกลบออกจาก Library
4
ในการลบไฟล์ Library ของ Ulead VideoStudio 10 จะไม่เหมือนกับเวอร์ ชนั 7 และ 8 ที่จะถามว่าคุณลบไฟล์น้ ี ออกจากเครื่ องด้วยหรื อไม่ เป็ นข้อดีของเวอร์ ชนั นี้ ที่คุณจะไม่เผลอลบไฟล์ ออกจากเครื่ องโดยไม่ต้ งั ใจ 5. การสร้ าง Library เป็ นหมวดหมู่ด้วย Library Manager เราสามารถสร้ างหมวดย่อยใน Library ขึ้นมาใหม่เป็ นหมวดหมู่ดว้ ย Library Manager ใน กรณี น้ ี คือ ไม่ตอ้ งการให้มีไฟล์รูปภาพหรื อวีดิโอเยอะเกิ นไป ซึ่ งอาจสร้ างความสับสนให้ผูต้ ดั ต่อ วิดีโอได้ 2 เลือกหมวดที่ตอ้ งการสร้าง คลิก Library>Library Manager
1
3 คลิกปุ่ ม New
4 กรอกชื่อลงใน ช่องว่าง
คลิกปุ่ ม OK 5 6 เมื่อเสร็ จให้คลิกปุ่ ม Close
ให้คลิกที่ Library Image>Image--อัลบั้มภาพ
7
5
การโหลดไฟล์ เข้ ามาใช้ งานใน Library หลังจากที่ได้สร้างหมวดย่อยด้วย Library Manager แล้ว ต่อไปเป็ นการนาไฟล์รูปภาพเข้า มาเก็บใน Library ที่สร้างขึ้นก่อนจะเรี ยกใช้งาน 1 คลิกปุ่ ม Load Image
2 เลือกไฟล์รูปภาพที่ตอ้ งการ 3 คลิกปุ่ ม Open
แสดงไฟล์รูปภาพที่นาเข้ามาในอัลบั้ม 4
ถ้าเกิ ดไฟล์มีเดี ยใน Library ถูกเปลี่ ยนตาแหน่ งหรื อถูกลบ โปรแกรมจะถามว่าต้องการ ค้นหาตาแหน่งไฟล์น้ นั ใหม่หรื อไม่ ถ้าต้องการให้คลิกปุ่ ม Relink หรื อต้องการลบทิง้ ก็ให้คลิกปุ่ ม Delete 6. Project Timeline เป็ นส่ วนที่ทางานหลักของโปรแกรม ซึ่ งจะใช้แสดงคลิ ปวิดีโอทั้งหมดที่นาเข้ามาตัดต่อ จะ เรี ยงต่อกันไปเรื่ อยๆ ตามความต้องการของผูต้ ดั ต่อ โดยการทางานใน Project Timeline จะมีดว้ ยกัน 3 โหมด คือ Storyboard View, Timeline View และ Audio View
6
A. โหมด Storyboard View เป็ นโหมดที่ ภ าพวิ ดี โ อหรื อ ภาพนิ่ ง จะถู ก แสดงใน ลักษณะที่เรี ยงต่ อ กันเป็ นช่ องๆ เหมื อน Storyboard ถ้าดึ งไฟล์ต้ งั แต่ 2 ไฟล์ข้ ึ นไปลงมาวางใน Storyboard View เราก็จะสามารถแทรก Transition ระหว่างคลิ ปวิดีโอที่ ต่อเนื่ องกันได้ดังตัวอย่างที่ ปรากฏในภาพ
บางครั้งวิดีโอของเรามีมากจนจัดเรี ยงยาก ในกรณี น้ ี เราสามารถที่จะสลับการทางานได้ โดยคลิ กปุ่ ม (Enlarge) เพื่ อขยายแบบเต็มจอ แต่ ถ้าต้องการให้ Storyboard กลับไปแสดงผล แบบเดิมให้คลิกปุ่ ม (Minimize)
B. โหมด Timeline View เป็ นโหมดที่ แสดงการทางานอย่างละเอี ยด โดยแบ่งการ ทางานออกเป็ นส่ วนๆ แต่ละส่ วนจะเรี ยกว่า Track ซึ่ งใน Timeline View จะประกอบด้วย 5 Track หลักๆ คือ Video Track, Overlay Track, Title Track, Voice Track และ Music Track
7
B1. Video Track เป็ นส่ วนของไฟล์วดิ ีโอ รู ปภาพหรื อภาพสี พ้นื รวมถึง Transition B2. Overlay Track เป็ นส่ วนของไฟล์วิดีโอ รู ปภาพหรื อภาพสี พ้ืนที่ นามาซ้อนภาพ วิดีโอ (Tuner) B3. Title Track เป็ นส่ วนของหัวเรื่ องหรื อข้อความต่างๆ ที่ตอ้ งการใส่ บรรยาย B4. Voice Track เป็ นส่ วนของการใส่ เสี ยงบรรยายที่อดั เสี ยงโดยตรงจากโปรแกรม หรื ออัดมาจากที่อื่น B5. Music Track เป็ นส่ วนของเสี ยงดนตรี ประกอบซึ่ งสามารถนาเข้ามาจาก Library หรื อจากแผ่น Audio CD C. โหมด Audio View เป็ นโหมดที่ แ สดงการท างานเกี่ ย วกับ เสี ย งในการแก้ไ ข และ ปรับแต่งเสี ยง ทั้งในส่ วนของเสี ยงบรรยายและเสี ยงดนตรี ประกอบ เราสามารถปรับความดังหรื อเบา ของเสี ยงได้ในโหมด Audio View ด้วยวิธีง่ายๆ
โหมดการทางานของ Audio View ในเวอร์ ชนั นี้ จะมี ระบบเสี ยง 5.1 Surround เข้ามา ให้ใช้งานง่าย
8
7. การตั้งค่ า Project การตั้งค่า Project เป็ นขั้นตอนการกาหนดค่าให้วิดีโอที่ตดั ต่อเสร็ จแล้วมีมาตรฐานที่ตอ้ งการ ซึ่ งสามารถนาผลงานออกมาใช้ได้ตรงกับจุดมุ่งหมายที่ต้ งั ไว้ เช่น ต้องการตัดต่อวิดีโอในรู ปแบบ DVD ก็ควรตั้งค่า Project ให้พร้อมที่จะสร้างไฟล์งานในรู ปแบบ DVD 8. การเพิม่ ไฟล์ Media เข้ ามาใช้ งาน ในการเพิ่ มไฟล์ Media เช่ น คลิ ปวิดีโอ, รู ปภาพ และภาพสี พ้ืนต่างๆ เข้ามาในโปรแกรม VideoStudio Editor สามารถทาได้ 4 วิธี คือ วิธีที่ 1 เมื่อเราจับภาพวิดีโอหรื อภาพนิ่ งจากกล้องวิดีโอ คลิ ปวิดีโอและรู ปภาพนิ่ งจะถู ก เพิ่มเข้ามาในส่ วนของ Timeline และส่ วนของ Library โดยอัตโนมัติ วิธีที่ 2 นาไฟล์มีเดียเข้ามาเก็บใน Library แล้วลากไฟล์มีเดียจากส่ วนของ Library เข้ามา ไว้ในส่ วนของ Timeline วิธีที่ 3 เป็ นการเปิ ดไฟล์จากส่ วนของ Timeline ที่อยูด่ า้ นบนของ Timeline แล้วเลือกไฟล์ มี เดี ย ที่ ต้อ งการเพิ่ ม เข้า มาใน Timeline แล้ว คลิ ก เลื อ ก Insert Video, Inser DVD/DVD-VR, Inser Image และ Insert Audio
วิธีที่ 4 เป็ นการเปิ ดไฟล์จากส่ วนของ Timeline โดยการคลิกขวาบน Timeline แล้วเลือก ค าสั่ ง Insert Video, Insert DVD/DVD-VR, Insert Image และ Insert Audio จะมี ก ารดึ ง ไฟล์ มี เดี ย เหมือนกับวิธีที่ 3 ที่ได้แสดงไปแล้ว
9
9. การบันทึก Project การตัดต่อวิดีโองานหนึ่ งอาจจะใช้เวลา 1 – 3 วัน ดังนั้น ขั้นตอนที่สาคัญมากอี กอย่าง คือ การบันทึกงาน เผื่อว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เกิดแฮงค์หรื อไฟฟ้ าดับขึ้นมา ต้องมาตัดต่อกันใหม่คงปวดหัว ไม่เบาเลย โดยขั้นตอนการบันทึกก็ไม่ยงุ่ ยาก เริ่ มจาก
คลิกเมนู File>Save As 2
1
เลือกโฟลเดอร์ ที่จดั เก็บ ไฟล์
3 ตั้งชื่ อไฟล์ที่จะ บันทึก 4 คลิกปุ่ ม Save
1 1 ไฟล์ที่เราได้บนั ทึกไปจะเป็ นไฟล์สกุล .VSP ย่อมาจาก Ulead VideoStuido 10 Project Files
10. การเรียกดูตัวอย่ างงาน
10 ระหว่างการตัดต่อวิดีโอ เราสามารถดูตวั อย่างของคลิปวิดีโอหรื อโปรเจ็กต์งานทั้งหมดได้ ซึ่ ง สามารถทาได้ 3 วิธี เริ่ มจาก วิธีที่ 1 ดูตัวอย่ างคลิปวิดีโอ
1 คลิกที่คลิป วิดีโอ
1 2
คลิกปุ่ ม Play
1 คลิกปุ่ ม Play 2 คลิกที่ภาพนิ่ง 1
1 1
2 คลิกปุ่ ม Play
1 1 คลิกที่ Transition
1
11 วิธีที่ 2 ดูตัวอย่ างของโปรเจ็กต์ งานทั้งหมด (Project)
คลิกปุ่ ม Play 2 คลิกที่ Project จากส่ วนของ Play Mode 1
1 1
วิธีที่ 3 ดูตัวอย่ างของโปรเจ็กต์ งานเฉพาะส่ วนทีต่ ้ องการ (Select range) 2
เลื่อน Trim Handles ทั้ง 2 ด้าน เฉพาะ ช่วงเวลาที่ตอ้ งการ
1 คลิกปุ่ ม Timeline 1 View
1 คลิกปุ่ ม Play 4
1
ปรากฏเส้นสี แดงเฉพาะช่วงเวลาที่ 3 ต้องการ
1