History of Microsoft Windows

Page 1

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

History of Microsoft Windows


สารบัญ 1 วินโดวส์ 1.0 2 วินโดวส์ 2.0 3 วินโดวส์ 2.1 4 วินโดวส์ 3.0 5 วินโดวส์ 3.1 6 วินโดวส์ เอ็นที 3.1 7 วินโดวส์ เอ็นที 3.5 8 วินโดวส์ เอ็นที 3.51 9 วินโดวส์ 95 10 วินโดวส์ เอ็นที 4.0

11 วินโดวส์ 98 12 วินโดวส์ 2000 13 วินโดวส์ มี 14 วินโดวส์ เอกซ์พี และ เซิร์ฟเวอร์ 2003 15 วินโดวส์ วิสตา และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 16 วินโดวส์ 7 และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2 17 วินโดวส์ 8 อ้างอิง ผู้จัดทา


วินโดวส์ 1.0 วินโดวส์ 1.0 เป็นสภาวะการทางานรุ่นแรกของ วินโดวส์ เปิดตัวอย่างเป็นทางการในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 มีสภาวะการทางานแบบ 16 บิต ที่เรียกว่า สภาวะการทางาน (Operating Environments) เพราะ วินโดวส์ 1.0 ยังไม่มี ความสามารถทางานได้ด้วยตัวเอง จาเป็นต้องมี ระบบปฏิบัติการเฉพาะแยกต่างหาก (ระบบปฏิบัติการ ดังกล่าวคือ ดอส) ซึ่งวินโดวส์จะทาหน้าที่เพียงการ ติดต่อกับผู้ใช้ เมื่อผู้ใช้ป้อนคาสั่งใดๆ วินโดวส์จะไป เรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ จากดอส เมื่อได้ผลการทางาน ออกมา วินโดวส์จะแสดงผลออกมายังผู้ใช้อีกทีหนึ่ง


วินโดวส์ 1.0 วินโดวส์ในช่วงนี้ จึงยังไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็น ระบบปฏิบัติการ แต่เป็นตัวแสดงผลส่วนหน้าของ ดอส ที่จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ง่าย กว่าการติดต่อกับดอสโดยตรง และตั้งแต่รุ่นแรก วินโดวส์เป็นคู่แข่งกับ แมคอินทอช ผลิตภัณฑ์ลักษณะ คล้ายกันจากบริษัท แอปเปิลคอมพิวเตอร์ แต่ในช่วง แรก ภาพการแข่งขันยังไม่ชัดเจนนัก วินโดวส์ 1.0 อยู่ ในระยะการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ 2.0 วินโดวส์ 2.0 เปิดตัวเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 2.0 ยังต้องอาศัยดอส แต่มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น มากเมื่อเทียบกับ 1.0 เช่น สามารถเปิดหลายโปรแกรม ซ้อนกันได้ และมีโปรแกรม ไมโครซอฟท์ เวิร์ด (Word) และ เอกซ์เซล (Excel) และได้มีปุ่ม Minimize, Maximize และปุ่มลัดอื่นๆ ขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงของวินโดวส์ 2.0 วินโดวส์กับแมคอินทอชมีความใกล้เคียงกันมาก จนเกิดคดี ฟ้องร้องกันของบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ 2 แห่ง คือ ไมโครซอฟท์ และ แอปเปิล


วินโดวส์ 2.0 วินโดวส์ 2.0 ยังไม่ประสบความสาเร็จมากนัก แต่ก็ถือว่ามีกระแสตอบรับ และการสนับสนุน จากผู้พัฒนาซอฟต์แวร์มากขึ้นกว่ารุ่น 1.0 และ อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ 2.1 วินโดวส์ 2.1 เปิดตัวในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 ยังเป็นสภาวะการทางานที่ต้องอาศัยดอส วินโดวส์รุ่นนี้มี 2 รุ่นย่อย คือ 286 และ 386 ซึ่ง ทางานกับโปรเซสเซอร์ Intel 80286 และ 80386 ซึ่งถือว่าประสบความสาเร็จอยู่บ้าง แต่ไม่มากนัก ใน พ.ศ. 2532 ไมโครซอฟท์ได้ออกรุ่นอัปเดตของ วินโดวส์ 2.1 คือ วินโดวส์ 2.11 (คล้ายกับระบบ Service Pack ในปัจจุบัน) อยู่ในการสนับสนุนของ ไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ 3.0 วินโดวส์ 3.0 เปิดตัวในวันที่22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ยังต้องอาศัยดอส และโปรเซสเซอร์ตัว เดียวกับ 2.1 แต่วินโดวส์ 3.0 ได้มีการออกแบบ กราฟิกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ใหม่, มีระบบการ บริหารจัดการหน่วยความจารอมและแรมที่มี ประสิทธิภาพสูงกว่ารุ่นก่อน และเปลี่ยนโปรแกรม บริหารจัดการไฟล์และโปรแกรมในดอสใหม่ทั้งหมด การเรียกใช้โปรแกรมต่างๆ ทาได้ง่ายและมี ประสิทธิภาพสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดด อีกทั้งยังมี โปรแกรมใหม่ที่ติดตั้งมาพร้อมวินโดวส์ คือ โน้ตแพด , เกม Solitaire ฯลฯ ทาให้วินโดวส์ 3.0 ประสบ ความสาเร็จอย่างสูง และเป็นคู่แข่งอย่างชัดเจนกับ แมคอินทอชจากแอปเปิล วินโดวส์ 3.0 ได้รับการสนับสนุนจากไมโครซอฟท์ จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ 3.0


วินโดวส์ 3.1 วินโดวส์ 3.1 เปิดตัวเมื่อ 6 เมษายน พ.ศ. 2535 ยังต้องอาศัยดอส ในวินโดวส์รุ่นนี้ได้ออกแบบ โดยมีแพลตฟอร์มเพื่อการพิมพ์มากขึ้น โดยได้มี ฟอนต์ประเภททรูไทป์และได้มีการลงเกม ไมน์ สวีปเปอร์ มาพร้อมกับวินโดวส์เป็นครั้งแรก และได้มีรุ่นปรับปรุง (อัปเดต) คือรุ่น 3.11 ออกมาในวันที่31 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ซึ่งถือได้ ว่าวินโดวส์ในช่วงนี้ประสบความสาเร็จอย่าง ต่อเนื่องในรุ่น 3.1 ได้มีการจาหน่าย


วินโดวส์ 3.1 Windows for Workgroups ซึ่งเป็นรุ่นที่มี ความสามารถสูงกว่าวินโดวส์ 3.1 ทั่วไป เช่น รองรับ ระบบเน็ตเวิร์ค และโพรโทคอล, เกม Hearts และได้ มีการทาวินโดวส์ 3.2 สาหรับวางขายเฉพาะประเทศ จีน โดยจะใช้อักษรจีนแสดงตัวย่อ วินโดวส์ 3.1 ได้รับการสนับสนุนจากไมโครซอฟท์ จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์เอ็นที 3.1 วินโดวส์เอ็นที 3.1 เปิดตัวเมื่อ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นแรกของวินโดวส์ สามารถทางานต่างๆได้ด้วยตนเอง คอมพิวเตอร์ที่ ลงวินโดวส์นี้ ไม่จาเป็นต้องลงระบบดอสอีกต่อไป เอ็นทีออกแบบมาสาหรับธุรกิจที่ต้องการ ประสิทธิภาพโดยเฉพาะ อีกทั้งเป็นระบบปฏิบัติการ แบบ 32 บิต ซึ่งวินโดวส์ตัวก่อนหน้าทั้งหมด เป็น สภาวะการทางานแบบ 16 บิต โปรแกรม 32 บิต (ซึ่งในขณะนั้นมักเป็นโปรแกรมขั้นสูง) สามารถใช้ งานกับวินโดวส์เอ็นทีได้ แต่ไม่สามารถใช้งานกับ วินโดวส์ 3.1 ได้ แต่โปรแกรม 16 บิต สามารถใช้งาน กับวินโดวส์ 3.1 และเอ็นที ได้ เพราะเอ็นทีจะมี ระบบแปลงไฟล์ ให้สามารถใช้งานในเอ็นทีได้


วินโดวส์เอ็นที 3.1 เอ็นที ย่อมาจาก (New Technology) มีความสามารถ ในการรองรับระบบสถาปัตยกรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ หลายประเภท ในช่วงนี้ผู้ใช้วินโดวส์เอ็นทีส่วนใหญ่ไม่ใช่ ผู้ใช้ตามบ้าน แต่มักเป็นลูกค้าที่ใช้คอมพิวเตอร์ใน ระดับสูงและกลุ่มนักธุรกิจ ส่วนผู้ใช้ทั่วไปในช่วงนั้นมัก ยังใช้ วินโดวส์ 3.1 ธรรมดา วินโดวส์ เอ็นที 3.1 ได้รับการสนับสนุนจาก ไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543


วินโดวส์ เอ็นที 3.5 วินโดวส์ เอ็นที 3.5 เปิดตัวเมื่อ 21 กันยายน พ.ศ. 2537 เป็นรุ่นต่อของวินโดวส์เอ็นที 3.1 จุดประสงค์ หลักของไมโครซอฟท์ในการพัฒนาวินโดวส์เอ็นที 3.5 คือ การเพิ่มความรวดเร็วในการทางานของ วินโดวส์ รวมถึงความสามารถอื่นๆ เช่น VFAT ที่ จะทาให้สามารถตั้งชื่อไฟล์และต่างๆ ได้ถึง 255 ตัวอักษร และความต้องการขั้นต่าของระบบได้ ลดลงต่ากว่าเอ็นที 3.1 ด้วย ทาให้สามารถ ครอบคลุมเครื่องคอมพิวเตอร์ได้มากขึ้น


วินโดวส์ เอ็นที 3.5 แต่อย่างไรก็ตาม วินโดวส์ เอ็นที 3.5 ไม่สามารถ ติดตั้งได้ในโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ ที่ไม่มีไดรเวอร์ สาหรับ PCMCIA อแดปเตอร์การ์ด และไม่ สามารถติดตั้งในคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่ใช้ โปรเซสเซอร์รุ่นที่ใหม่กว่า Intel P5 ได้ วินโดวส์เอ็นที 3.5 อยู่ในการสนับสนุนของ ไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ เอ็นที 3.51 วินโดวส์ เอ็นที 3.51 เปิดตัวเมื่อ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 เอ็นที 3.51 สามารถ ทางานบนสถาปัตยกรรม RISC เป็นเพียง วินโดวส์ไม่กี่รุ่นที่สามารถรองรับ RISC ได้ และ นอกจากนี้ยังสามารถรองรับไคลเอนต์/ เซิร์ฟเวอร์, PCMCIA และระบบบีบอัดไฟล์ หรือ NTFS ได้ เอ็นที 3.51 อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์ ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ 95 วินโดวส์ 95 หรือ วินโดวส์ 4.0 (ไม่เอ็นที) เปิดตัว 24 สิงหาคม พ.ศ. 2538 เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 3.1 เป็นวินโดวส์รุ่นแรกที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ทั่วไป ที่ ได้รวมเอาดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ (ยังมีดอส อยู่ในวินโดวส์ แต่ไม่ใช่ระบบปฏิบัติการแยก) สามารถทางานได้ทั้งสถานะ 16 และ 32 บิต มีการ ใช้สตาร์ทเมนู (ปุ่มสตาร์ทที่มุมซ้ายล่าง) และทาสก์ บาร์ (แท่งด้านล่างหน้าจอ แสดงโปรแกรมที่ใช้ และ เบ็ดเตล็ดอื่นๆ) เป็นครั้งแรก ซึ่งทั้งสอง


วินโดวส์ 95 จนถึงวินโดวส์รุ่นล่าสุด ก็ยังใช้คอนเซปต์เดียวกับ วินโดวส์ 95 เพียงแต่ปรับปรุงรูปลักษณ์ภายนอกให้ ทันสมัยขึ้นเท่านั้น ด้วยความสามารถต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น อย่างก้าวกระโดดสาหรับผู้ใช้ทั่วไป วินโดวส์ 95 ประสบความสาเร็จอย่างสูง ยอดการใช้วินโดวส์ 95 สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ของวินโดวส์ วินโดวส์ 95 อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์ จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544


วินโดวส์ เอ็นที 4.0 วินโดวส์ เอ็นที 4.0 เปิดตัวเมื่อ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 โดยเน้นเวิร์กมากขึ้น โดยจะมี interface คล้ายกับวินโดวส์ 95 แต่ว่าระบบมีความเสถียร มากกว่า โดยการเพิ่ม API (Application Programming Interface) เข้ามาทาให้ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ติดต่อกับวินโดวส์ได้อย่างเป็น มาตรฐานเดียวกัน


วินโดวส์ เอ็นที 4.0 วินโดวส์เอ็นที 4.0 ถือว่าได้รับความนิยมอย่างมาก สาหรับบรรดากลุ่มองค์กรที่ต้องการเครื่อง server ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพอมี เหลือให้เห็นอยู่บ้างในเครื่อง server รุ่นเก่าๆ เอ็นที 4.0 มี 2 รุ่นย่อย คือ รุ่น Workstation อยู่ใน การสนับสนุนถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547 และ รุ่น Server อยู่ในการสนับสนุนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547


วินโดวส์ 98 วินโดวส์ 98 หรือ วินโดวส์ 4.1 (ไม่เอ็นที) เปิดตัว เมื่อ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เป็นระบบปฏิบัติการ รุ่นต่อของวินโดวส์ 95 จุดเด่นของวินโดวส์ 98 คือ การใช้มาตรฐานไดรเวอร์แบบ WDM และ VxD ซึ่ง WDM เป็นมาตรฐานใหม่ที่วินโดวส์รุ่นต่อๆ มา ได้ใช้ เป็นหลัก ส่วน VxD เป็นมาตรฐานเก่า ซึ่งวินโดวส์ รุ่นต่อจาก 98 ไม่รองรับ ซึ่งทาให้วินโดวส์ 98 เป็น จุดเชื่อมต่อระหว่างโปรแกรมสมัยเก่าและใหม่ โปรแกรมสมัยปัจจุบัน


วินโดวส์ 98 แม้จะไม่ได้ออกแบบมาเพื่อวินโดวส์ 98 แต่หลาย โปรแกรมก็สามารถใช้กับวินโดวส์ 98 ได้พอสมควร วินโดวส์ 98 Second Edition รุ่นปรับปรุง เริ่ม จาหน่ายเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2542 วินโดวส์ 98 อยู่ในการสนับสนุนจนถึง 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2549


วินโดวส์ 2000 วินโดวส์ 2000 หรือ วินโดวส์ เอ็นที 5.0 เปิดตัว เมื่อ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 เป็น ระบบปฏิบัติการเอ็นที มีกลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มผู้ใช้ ขั้นสูงและกลุ่มธุรกิจ ในช่วงนี้ได้แบ่งเป็น 5 รุ่นย่อย คือ Professional, Server, Advanced Server, Datacenter Server, Advanced Server 64-bit Limited Edition วินโดวส์ 2000 อยู่ในการสนับสนุนจนถึง 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553


วินโดวส์ มี วินโดวส์ มี ( Windows Me) หรือวินโดวส์ 4.9 (ไม่เอ็นที) เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 98 และเป็นรุ่น สุดท้ายที่ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที รุ่นสุดท้ายที่ทางาน ได้ทั้งระบบ 16 และ 32 บิต (เวลาผ่านไป โปรแกรมรุ่นใหม่ ที่เป็นโปรแกรมพื้นฐานสาหรับ ผู้ใช้ตามบ้าน เริ่มเปลี่ยนจาก 16 เป็น 32 บิต และ โปรแกรมชั้นสูง เริ่มเปลี่ยนจาก 32 เป็น 64 บิต) เปิดตัว 14 กันยายน พ.ศ. 2543 วินโดวส์มี ไม่ใช่ วินโดวส์เอ็นที


วินโดวส์ มี จึงยังมีดอสอยู่ในวินโดวส์ ซึ่งวินโดวส์ 95 และ 98 แม้ จะรวมดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ แต่ยังเปิดให้ เข้าถึงดอสได้ แต่วินโดวส์ มี ได้ปิดการเข้าถึงดอสใน วินโดวส์ เพื่อให้การบูตเครื่องทาได้เร็ว แต่ทาให้ โปรแกรมเฉพาะบางโปรแกรมที่ต้องอาศัยการเข้าถึง ดอส ไม่สามารถทางานได้ในวินโดวส์มี โดยเฉพาะ โปรแกรมบริหารจัดการดิสก์ วินโดวส์ มี อยู่ในการสนับสนุนจนถึง 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2549


วินโดวส์ วินโดวส์ เอกซ์พ ี และ เซิร์ฟเวอร์ 2003 วินโดวส์ เอกซ์พี หรือ วินโดวส์ เอ็นที 5.1 และ เอ็นที 5.2 เปิดตัว 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เป็น วินโดวส์เอ็นทีรุ่นแรก ที่พัฒนาขึ้นโดยมี กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ทั่วไป พัฒนาขึ้นจาก วินโดวส์ เนปจูน ถูกยุบรวมกับวินโดวส์ Whistler ส่วนวินโดวส์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อผู้ใช้ขั้นสูงและธุรกิจ จะมีแยกต่างหากอีก 2 ตัว ที่ใช้เลข เอ็นที 5.1 และ 5.2 คือ วินโดวส์ ฟันเดเมนทัลส์ ฟอร์ เลกาซี พีซีส์ และ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 ตามลาดับ โดยคาว่า เอกซ์พี มาจากคาว่า Experience แปลว่า ประสบการณ์ ซึ่งเป็นวินโดวส์ที่ประสบ ความสาเร็จค่อนข้างสูง แม้จะเปิดตัวมาแล้วถึง 9 ปี แต่จากข้อมูลในเดือนกันยายน 2553 พบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ยังใช้วินโดวส์เอกซ์พีมากถึงร้อย ละ 60 ของผู้ใช้ทั้งหมด


วินโดวส์ วินโดวส์ เอกซ์พ ี และ เซิร์ฟเวอร์ 2003 เอกซ์พีรุ่นแรก ที่ไม่มี Service Pack ไมโครซอฟท์ได้ยุติการสนับสนุนเมื่อ 30 กันยายน พ.ศ. 2547, เอกซ์พีรุ่นปรับปรุง SP1 และ 1a ยุติการสนับสนุน 10 ตุลาคม พ.ศ. 2549, รุ่นปรับปรุง SP2 32 บิต ยุติการ สนับสนุน 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553


วินโดวส์ วิสตา และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 วินโดวส์ วิสตา หรือ วินโดวส์ เอ็นที 6.0 ได้รับ ลิขสิทธิ์ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 แต่เริ่มขาย ผู้ใช้จริง 30 มกราคม พ.ศ. 2550 ในช่วงของวิสตา วินโดวส์ สาหรับผู้ใช้ขั้นสูงและองค์กรธุรกิจ คือ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008, วินโดวส์ โฮม เซิร์ฟเวอร์ วิสตามีความสามารถสูงกว่าเอกซ์พี หลายประการ เช่น ในการตัดต่อ การพัฒนาแอป พลิเคชัน, การแสดงผลกราฟิก ที่สามารถแสดงผล แบบโปร่งแสง สามารถมองฉากหลังของหน้าต่างที่ กาลังเปิดอยู่ได้ ในมุมมองแบบโปร่งแสง ในพื้นที่ที่ เหมาะสม เช่น บาร์ด้านบนสุดของโปรแกรม, ความสามารถในการค้นหา, การพิมพ์ ฯลฯ แต่ทว่า วิสตา ไม่ประสบความสาเร็จอย่างที่ควร สาเหตุ หลักๆ ที่เป็นที่วิจารณ์ คือ ความต้องการขึ้นต่าของ ระบบ ที่สูงกว่าวินโดวส์เอกซ์พีหลายเท่าตัว ดัง ตัวอย่างเปรียบเทียบในตาราง


วินโดวส์ วิสตา และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปในช่วงนั้น มีความสามารถ ไม่ถึง หรือ ถึง แต่เกินความต้องการมาเพียงเล็กน้อย ทาให้วิสตาเป็นระบบที่มีขนาดใหญ่มาก ทาให้เครื่อง ทางานไม่มีประสิทธิภาพ หรือช้า อีกทั้งยังเป็นที่ วิพากษ์วิจารณ์ว่าซอร์ซโค้ดไม่มีคุณภาพ ผู้ใช้ส่วน ใหญ่ โดยเฉพาะที่ไม่ได้ใช้คุณสมบัติพิเศษที่เพิ่มมา ของวิสตา จึงยังคงใช้เอกซ์พี วิสตาจึงไม่ประสบ ความสาเร็จมากนัก


วินโดวส์ 7 และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2 วินโดวส์ 7 หรือ วินโดวส์ เอ็นที 6.1 เปิดตัวการขาย ปลีกเมื่อ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เป็นวินโดวส์รุ่น ล่าสุดของไมโครซอฟท์ ส่วน เอ็นที 6.1 อีกรุ่นหนึ่ง ที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ระดับสูง คือ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2 เปิดตัวในวันเดียวกับ วินโดวส์ 7 ในวินโดวส์ 7 ได้มีการแก้ไขข้อบกพร่องที่ ทาให้วิสตาไม่ประสบความสาเร็จ และมีความ ต้องการขั้นต่าไม่ต่างจากวิสตามากนัก นอกจากแรม และการ์ดจอ ที่ต้องการเพิ่ม แต่ที่ผ่านมา จากการ เปิดตัววิสตา ได้กรุยทางส่วนหนึ่งไว้ให้


วินโดวส์ 7 และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2 วินโดวส์ 7 เพราะช่องว่างระหว่างการเปิดตัวนั้น ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์หลายรายได้เพิ่มความสามารถใน หลายด้าน คอมพิวเตอร์ในช่วงหลังวิสตา พร้อมจะ รองรับวินโดวส์ที่ใหญ่กว่าเอกซ์พีได้ อีกทั้งวินโดวส์ 7 ได้มีการบริหารจัดการดี ทางานมีประสิทธิภาพ สูงกว่าวิสตา ปัจจุบัน มีผู้ใช้วินโดวส์ 7 มากกว่า วิสตาเสียอีก ไมโครซอฟท์ ยังไม่มีแผนจะยุติการสนับสนุน วินโดวส์ 7 และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2


วินโดวส์ 8 วินโดวส์ 8 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นต่อไปในตระกูล วินโดวส์ เปิดตัวเมื่อ 22 ตุลาคม 2553 ผ่านทาง บล็อกภาษาดัชต์ของไมโครซอฟท์เอง วินโดวส์ 8 มี คุณสมบัติเพิ่มเติมมากมายหลายอย่าง เช่น ไลฟ์ ไทลส์ ช่วยให้เข้าข้อมูลพื้นฐานได้ง่ายขึ้นวินโดวส์ เอ็กซ์พลอเร่อ ที่ใช้การจัดข้อมูลแบบริบบ้อนแทน แบบเดิม เป็นต้น ปัจจุบันวินโดวส์ 8 อยู่ระหว่างการ พัฒนา ผู้พัฒนาสามารถดาวน์โหลดวินโดวส์รุ่นนี้ไป เพื่อพัฒนาโปรแกรมก่อนได้ ทางไมโครซอฟท์ยังไม่มี แผนการจัดจาหน่ายวินโดวส์ 8


อ้างอิง เนือ้ หาทัง้ หมดได้มาจาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8 %A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3% E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B 8%97%E0%B9%8C_%E0%B8%A7%E0%B8%B4 %E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0% B8%A7%E0%B8%AA%E0%B9%8C


ผู้จัดทำ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.