วรัญญา เอื้อสุนทรพานิช 5701565

Page 1

THE COMMUNITEL



COMMUNITEL COMMUNITY + HOTEL

CONCPET

การที่โรงแรมเปนสวนหนึ่งของชุมชมสามแพรง และ ชุมชนสามแพรงเปนสวนหนึ่งของโรงแรม โดยคำนึงถึงการเขาถึงวิถีชีวิตการดำรงอยู ของชาวบานขาราชการ กิจกรรมศิลปะการแสดง ป ร ะ ว ั ต ิ ศ า ส ต ร  ข อ ง ว ั ง ใ น แ ต  ล ะ แ พ ร  ง สถาปตกรรมของชุมชนสามแพรงซึ่งเปนสิ่งที่รวบรวมไวในสามแพรงนี้


วิถีชีวิตชาวสามแพรง

ความเป น มาของชุ ม ชนและความสำคั ญ ทางประวั ต ิ ศ าสตร ข องชุ ม ชนผ า นทาง สถาป ต ยกรรมในย า นสามแพร ง ศึ ก ษารู ป แบบอาคารสถาป ต ยกรรมและ การวางผังเมืองในยานสามแพรง ในรัชสมัยของรัชกาลที่ 4-5 และไดรับอิทธิพลของ ศิลปะตะวันตกที่แฝงอยูในสถาปตยกรรมในยานสามแพรง รวมไปถึงการศึกษารูปแบบการวางผังเมืองในบริเวณแพรงและเสนทางการคมนาคม ทั้งทางบกและทางน้ำที่สงผลทำยานสามแพรงมีความเจริญรุงเรืองและกลายเปนยาน การค า สำคั ญ สามแพร ง ถื อ เป น ย า นที ่ ม ี ค วามสำคั ญ ตั ้ ง แต เ ริ ่ ม สถาปนา กรุงรัตนโกสินทรมีความสำคัญในฐานะที่เปนยานที่มีความเจริญ เปนยานเศรษฐกิจการคาขายเปนยานที่มีคุณคาทางดานวัฒนธรรม มีความสำคัญของประวัติศาสตรในพื้นที่รูปแบบอาคารสถาปตกรรม รวมไปถึงการวางผังเสนคมนาคมและรูปแบบชุมชนที่นาสนใจ


กิน เที่ยว ยานสามแพรง วังเกาในอดีต แพรงภูธร แพรงนรา และแพรงสรรพศาสตร ลวนแลวแตเคยเปนวังที่ ประทั บ ของพระบรมวงศานุ ว งศ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู  ห ั ว โดยแพรงภูธรตั้งชื่อตาม พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาทวีถวัลยลาภ กรมหมื่น ภูธเรศธำรงศักดิ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู หัวและเจาจอมมารดา ตลับเมื่อพระองคสิ้นพระชนมในป พ.ศ.2440 จึงไดขายวังใหกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกลาเจาอยูหัว ปจจุบันแพรงภูธร เปนแหลงที่ตั้งของรานอาหารขึ้นชื่อมากมาย ไมวาจะเปนรานบะหมี่แพรงภูธร รานอุดมโภชนา เปดขายขาวหมูแดง ขาวสตู ขาวหนาแกงกะหรี่มา กวา 70 ปรานไอติมกะทิโบราณนัฐพรที่เราติดใจไอศกรีม นมรสชาติหวาน มันจนไปทีไรอดสั่งเพิ่มไมไดทุกที อีกหนึ่งรานที่นักชิมเริ่มจะบอกตอ ๆ กันก็ คือรานปอเปยะสองหมวย ซึ่งมีเมนูพิเศษปอเปยะหอไขอัดไสขางในไว เพียบ และปดทายดวยรานขายตมยำสมองหมูที่หาทานกันไมไดงาย ๆ จึงมีลูกคาทั้งขาจรและขา ประจำแวะเวียนกันมาทานจนแนนรานทั้งวัน ทางซายของแพรงภูธรคือถนนแพรงนรา แพรงนี้ตั้งชื่อตามพระเจาบรมวงศ เธอ กรมพระยานราธิปประพันธพงศ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระ จอมเกลาเจาอยูหัว และเจาจอมมารดาเขียน แพรงนรานี้มีอาคารหลังเกาที่ สรางขึ้นตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ไดแก โรงเรียนตะละภัฏศึกษา ที่เปนสวน หนึ่งของโรงละครปรีดาลัย โรงมหรสพแหงแรก ของกรุงเทพฯ ที่พระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยานราธิปประพันธพงศโปรดใหสรางขึ้น แพรงนรานี้มี ราน "ขนมเบื้องแพรงนรารานเดิม" ซึ่งใชสูตรขนมเบื้องจากตนเครื่องชาววัง แปงของที่นี่จึงทั้งทั้งหอมทั้งกรอบ สวนไสก็รสชาติกลมกลอมนาลองทั้งไสหวานและ ไสเค็ม แพรงสุดทายเดินเลี้ยวซายจากแพรงนรามาไมไกล แมวาจะมองไมเห็นตึก เกาตั้งขนานอยูเต็ม 2 ฟากถนนเหมือนสองแพรงแรก แตตรงหนาแพรง สรรพศาสตรยังคงหลงเหลือซุมประตูรูปแบบศิลปะตะวันตก ซึ่งเคยเปนซุมประตูของ วังสรรพสาตรศุภกิจ ที่ประทับของพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาทองแถมถวัลยวงศ กรมหลวง สรรพสาตรศุภกิจ ผูบังคับบัญชากรมชางใน พระบรมมหาราชวัง ตอมาใน พ.ศ. 2510 วังนี้เกิดเพลิงไหมเสียหายจนหมด คงเหลือแตซุมประตูวังและมีการสราง ตึกแถวสมัยใหมขึ้นมาแทน



วังวรวรรณ


ASA VERNDOC 2008, BANGKOK, THAILAND

ASA VERNDOC 2008, BANGKOK, THAILAND


ASA VERNDOC 2008, BANGKOK, THAILAND

ASA VERNDOC 2008, BANGKOK, THAILAND


วังวรวรรณ เปนวังที่ประทับของ พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธพงศ ตนราชสกุลวรวรรณ อยูทางทิศเหนือของวัง สะพานชางโรงสี ตอมาวังนี้ถูกเวนคืนเพื่อนำพื้นที่มาสรางเปนถนน ตามโครงการขยาย ความเจริญของพระนครในสมัยนั้น คงเหลือเพียงพระตำหนักไมเกาหลังเล็ก ที่เดิมเปนที่ตั้งของโรงละครปรีดาลัย ภายหลังเมื่อกรมพระนราธิปฯ ไดสิ้นพระชนมแลวก็ตก เปนของสำนักงานทรัพยสินสวน พระมหากษัตริย และไดใหเชาตอเปนโรงเรียนตะละภัฏศึกษา(ปจจุบันเลิกกิจการไปแลว) ปจจุบันเปนที่ตั้งสำนักงานทนายความตะละภัฏ และมีการแบงพื้นที่ริมถนนสราง เปนอาคารพาณิชยขายใหแกเอกชน ชาวบานแถบนั้นจึงเรียกยานนั้นวา แพรงนรา ตามพระนามของ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ และเรียกถนนที่ ตัดใหมนั้นวา ถนนแพรงนรา



"สุขุมาลอนามัย" ในซอย "แพรงภูธร" ที่มา “ยานสามแพรง” ที่ฉันพูดถึงนั้น แพรงภูธร แพรงนรา แพรงสรรพสาตร ชื่อแพรงทั้งสามนี้มาจากชื่อเจานายสามพระองค ซึ่งเปนพระราชโอรสของรัชกาลที่ 4 ที่มีวังที่ ประทับอยูในบริเวณนี้ คือ พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงสรรพสาสตรศุภกิจพระเจาบรมวงศ เธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ และพระเจา บรมวงศเธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ โดยในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตัดถนน เปนทางเชื่อมระหวางถนนอัษฎางค กับถนนตะนาว ทำใหพื้นที่บริเวณวังของทั้งสาม พระองคถูกถนนตัดผากลางจนเปนทาง สามแพรงตอมาจึงตั้งชื่อถนนตามนามของทั้งสา มพระองคคือถนนแพรงสรรพศาสตร ถนนแพรงนรา และถนนแพรงภูธร


แพรงภูธร


แพ


ซุมประตูวังเกา ที่ "แพรงสรรพสาตร” ในเขตกรุงเทพมหานครเมืองหลวงของไทยแหง นี ้ ม ี ย  า นเก า อยู  ม ากมายซึ ่ ง แต ล ะแห ง นั ้ น ล ว นมี เรื่องราวทางประวัติศาสตรศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงวิถีชีวิตของผูคนในยานนั้นซึ่งไดดำเนิน จนมาถึงปจจุบัน แตในหมูยานทั้งหลายนั้น ยานที่มีชื่อเรียกแปลกออกไปจากหลายๆ ที่นั้น คือ “ยานแพรง” คำวาแพรงนี้ใชเรียกทางแยก สามทางซึ่งเรามักไดยินบอยวา “ทางสามแพรง” ในกรุงเทพฯมีเสนทางลักษณะนี้อยูมากมายซึ่ง ปจจุบันไมไดเรียกแบบอดีตแลว แตก็ยังคงเหลือยานที่ยังคงชื่อเหลานี้ไวตั้งแต อดีตนั้นคือ “ยานแพรง” ยานนี้ประกอบดวย แพรงภูธร แพรงนรา แพรงสรรพสาตร ทั้งสามแพรงนี้อยูในละแวกเดียวกัน รวมกันเรียกวา “ยานแพรง” หรือที่หลาย คนนิยมเสียกวายาน “สามแพรง” ในวันหยุดนี้ ฉันจึงขอเดินเยือนสามแพรงชมสถานที่และหาขอ งกินอรอยๆ มาแนะนำใหรูจักกันยิ่งขึ้น

พรงสรรพศาสตร





SITE


ถนนบุญศิริ

ศาลเจาพระเสือ แพรงสรรพศาสตร

ถนนอัษฏางค

แพรงภูธร คลองคูเมือง

ถนนตะนาว

แพรงนรา

ถนนบำรุงเมือง

ผูบอกเลาเรื่องราว

ผูบอกเลาเรื่องราว

กิจกรรมของครอบครัว

กิจกรรมของครอบครัว รานขายเครื่องดนตรี “จิ้นเฮงหลี”

ยงยุทธ “ช.ศิลปชัย” รานขายอุปกรณสำรวจและกลองถายรูป “ช.ศิบปชัย”

คุณไชยวัฒน “จิ้นเฮงหลี”

บทบาทใน “องคกรชุมชน” กรรมการ สหกรณฟนฟูเมืองเกา

บทบาทใน “องคกรชุมชน” เลขานุการ กรรมการชุมชน แพรงภูธร

ที่ตั้งและรูปแบบ ของบาน

ที่ตั้งและรูปแบบ ของบาน

ตึกแถวริมถนนอัษฎางค “ยานหลังกระทรวง”

ตึกแถวริมถนนอัษฎางค “ยานหลังกระทรวง”


ผูบอกเลาเรื่องราว

นัฐพร รุงโรจนสุวรรณ

ธีรพล คชาชีวะ (คุณตุย)

ผูบอกเลาเรื่องราว

กิจกรรมของครอบครัว

กิจกรรมของครอบครัว

กิจกรรมของครอบครัว รานขายหนังสือกฎหมาย และขายอาหารตามสั่ง

รานไอศครีมโบราณ “นัฐพร” บทบาทใน “องคกรชุมชน” เหรัญญิก กรรมการ ชุมชนแพรงภูธร ที่ตั้งและรูปแบบ ของบาน ตึกแถวในแพรงภูธร

รานเกาเหลาสมองหมู บทบาทใน “องคกรชุมชน” ประธาน กรรมการชุมชน แพรงภูธร ที่ตั้งและรูปแบบ ของบาน ตึกแถวในแพรงภูธร

บุญทรง พฤกษาพงษ

บทบาทใน “องคกรชุมชน” แกนนำแพรงนรา ที่ตั้งและรูปแบบ ของบาน ตึกแถวแพรงนรา และ แพรงสรรพศาสตร





รานคาภายในแพรง


ง สิงหาคม

ทำบุญประจำปสามแพรง

พฤศจิหายน

สามแพรง facestreet


COMMUNITY ACTIVIES


BUBBLE DIAGRAM THAi MASSAGE HOTS FACILITIES

TOILET

BAR AND RESTAURANT

RECEPTION MASSAGE

PARKING

DINING OUTLET

LOBBY GUEST ACCOMMODATION

COMMUNITY ACTIVITIES

PUBLIC SEMI PUBLIC SEMI PRIVATE PRIVATE

STUDIO

FOOT MASSAGE


ZONING MAIN FACILITIES FOOT MASSAGE

TAHI MASSAGE

RECEPTION MASSAGE

TOILET HOST FACILITIES

LOBBY & FRONT DESK

RECEPTION

STUDIO

TOILET

KITCHEN

DINING ROOM

RECEPTION

DINING AREA



สวนกลาง



ที่พัก




MAIN FACILITIES (F

TYPE ACCO 1

2


FRONT AREA)

OMMODATION 3


MAIN FACILTIES


ACCOMMODATION


CODE ACC

P N2 N2-7

7

N

P3-6

P3


COMMODATION N1 N3

N2

P1 P2

6

P3

P4


CHEONG FATT TZE THE BLUE MANSION


The Birth of Glory and Grandeur Mango Tree Place - Hideaway ใน George Town ใชเวลาเดินเพียง 15 นาทีจาก George Town Heritage ที่พักพรอมอาหารเชาใหบริการหองพักสไตลบูติก เดอะบลูแมนชั่นเผยใหเห็นถึงความชำนาญในดานศิลปะและงานฝมือของอาคาร แมนชั่นมีรากเหงา 3,000 ปยอนหลังไปถึงราชวงศซูชูวแมนชั่นเปนจุดบรรจบกัน ของ Hakka และ Teochew style พรอมดวย typologies และวัสดุที่อยูภายในของจีน ในขณะที่การออกแบบแบบดั้งเดิมอยางไมธรรมดา Blue Mansion ยังมีลักษณะทาง สถาปตยกรรมแบบผสมผสานที่แสดงใหเห็นถึงยุคของศตวรรษที่ 19 ในเวลานี้เมื่อตำนาน และความมหัศจรรยของราชอาณาจักรจีนผสานเขากับพระสิริของจักรวรรดิอังกฤษภายใน โลกมาเลย นอกจากนี้ Blue Mansion ยังแสดงใหเห็นถึงความหลงใหลในศิลปะแบบ ตะวันตก ของ Cheong Fatt Tze และความงดงามที่เพิ่มขึ้นของเขาในฐานะเจาหนาที่จีน คฤหาสนสีน้ำเงินของmélangeที่มีอิทธิพลและลวดลายที่หลากหลายดูเหมือนจะไมสอด คลองกันในตอนแรก แตมีลักษณะใกลเคียงกับการจับกุมสถาปตยกรรมโมเสกของเหล็ก หลอเหล็กกลาของสก็อตซึ่งขัดกับพื้นไมซุงกวางตุง แกวอารทนูโวสมัยอังกฤษกับ ฮกเกี้ยนตัดและวางเครื่องลายคราม Chien Nien ทำงานการประดิษฐตัวอักษร จีนกับคานไมซุงวูด มันอยูใน The Blue Mansion ซึ่งคุณจะไดพบกับวัฒนธรรม และสุนทรียศาสตรตางๆที่ผสมผสานอยางลงตัวและสงางาม


Blue Mansion ซึ่งมีความรูสึกสัดสวนสัดสวนและพื้นที่ตางๆสามารถแบงออกไดเปน 2 สวนหลักคือบานหลังใหญโดดเดนดวยหนาจั่วหลังคาหลักและปกดานขางที่สงางามสอง ปกตกแตงดวยวัสดุที่เปนองคประกอบหลักของฮวงจุยที่ทำจากโลหะไมน้ำไฟและดินหองโถ งใหญเปนศูนยกลางของอาคารซึ่งเปนบรรทัดฐานของอาคารที่อยูอาศัยของจีนจาก พระราชวังอันอุดมสมบูรณไปจนถึงที่อยูอาศัยในชนบทที่ต่ำตอยวันนี้ยังคงเปนพารากอน ของคฤหาสนลานจีนแบบดั้งเดิมผสมผสานความกลมกลืนกันของสถาปตยกรรมจีนและต ะวันตกในปนัง Blue Mansion เปนตัวอยางที่สมบูรณแบบของความยิ่งใหญ และความสำเร็จของ Cheong Fatt Tze ซึ่งปจจุบันเปนสถานที่สำคัญในเนื้อผาของ มรดกที่มีชีวิตชีวาของ George Town Penang ซึ่งเปนโรงแรมบูติกและแหลงทองเที่ยว ทางประวัติศาสตรเรื่องราวเริ่มขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ซึ่ง Cheong Fatt Tze ปรารถนาที่จะใหบานลูกหลานของเขาในบานที่เปนตัวเปนตนของความสงางามและความ สงางามไมนานหลังจากนั้นอิฐไดรับการวางกับรายละเอียดความเพียรและลำบากหลังจาก การปรึกษาหารือกับยุคตนแบบฮวงจุยในขณะที่เพื่อนสนิทและญาติของเขาหลายคนสนใจ บานชาวแองโกล - อินเดียสมัยใหม Cheong Fatt Tze รักความงามที่ ซับซอนของบานชาวจีนแบบดั้งเดิม ยิ่งกวาอะไรก็ตามเขาตองการรักษามรดกและแบงปน ความรักในวัฒนธรรมและประเพณีผานทางสถาปตยกรรม ดวยเหตุนี้จึงไดสรางสิ่งกอสรางที่หรูหราและซับซอนที่สุดแหงหนึ่งของเขา - The Blue Mansion ดวยความใสใจในรายละเอียดและความเปนเลิศ Cheong Fatt Tzeตั้งใจที่ จะใชวัสดุที่ดีที่สุดสำหรับแมนชั่นของเขา เขาสงชางฝมือมาจากภาคใตของจีนและนำ เขาวัสดุกอสรางจากสกอตแลนด เขารูสึกเปนเกียรติมากที่ Blue Mansion ไดรับการขัด เกลามากขึ้นกวาบานพื้นเมืองของเขาใน Tai'pu และกลาวกันวามีเพียงหนึ่งในสอง อาคารที่มีขนาดนี้ - มี 5 ลาน - สถาปตยกรรมแบบผสมผสานซึ่งสวนใหญมีอยูนอก ประเทศจีน .

http://www.cheongfatttzemansion.com/


http://www.cheongfatttzemansion.com/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.