แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว แผ่ นดิ นไหว เป็ นภัยพิบตั ิ ทางธรรมชาติ ที่ เกิ ดขึ้ นในรู ปแบบของการสัน่ สะเทื อนของ พื้ นดินอันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพือ่ ลดความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมา เพือ่ ปรับสมดุลของเปลือกโลกให้เหมาะสมตามกาลเวลา ปั จจุบนั นักวิทยาศาสตร์ยงั ไม่สามารถ ทานายเวลา สถานที่ และขนาดของแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้ นในอนาคตได้
จังหวัดเชียงราย มีภมู ิประเทศที่เป็ นภูเขาสูงชัน ล้ อมรอบอยู่ ท่ั ว ไปทั้ ง จั ง หวั ด ภู เ ขาเหล่ า นี้ เกิ ด จาก กระบวนการเคลื่ อ นที่ข องเปลื อ กโลกที่เ ป็ นของแข็ง ที่ เคลื่ อ นบนหิ น หนื ด ร้ อ นคล้ า ยสายพานล าเลี ย งส่ ง ของ เมื่อแต่ละแผ่นมาชนกันจะทาให้ เกิดรอยคดโค้ งหรือรอย เลื่ อ นบนเปลื อ กโลกแล้ ว ปลดปล่ อ ยพลั ง งานที่เ หลื อ ออกมาในรูปของคลื่นแผ่ นดินไหวสู่ผิวโลก ในจัง หวัด เชี ย งรายมี ก ลุ่ ม รอยเลื่ อ นที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การเกิ ด แผ่นดินไหวอยู่หลายรอยเลื่อน รวมทั้งประเทศข้ างเคียง ที่เกิดแผ่นดินไหวแล้ วส่งผลกระทบต่อจังหวัดเชียงรายมา โดยตลอด แสดงให้ เห็นว่ าเปลือกโลกบริเวณนี้ยังมีการ เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
แผ่นที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย
ประเทศไทยมี ร อยเลื่ อ นกระจายตั ว ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ภ าคเหนื อ ภาคตะวันออก และภาคใต้จานวน 14 กลุ่มรอยเลื่อนที่พาดผ่านพื้ นที่ ต่างๆ ใน 21 จังหวัด กลุ่มรอยเลือ่ นมีพลังพาดผ่านของประเทศไทย กลุ่มรอยเลือ่ น 1. แม่จนั 2. แม่อิง
รายชื่อจังหวัด เชียงราย เชียงใหม่ เชียงราย
3. แม่ฮ่องสอน 4. เมย
แม่ฮ่องสอน ตาก ตาก กาแพงเพชร
5. แม่ทา
เชียงใหม่ ลาพูน เชียงราย
6. เถิน
ลาปาง แพร่
7. พะเยา
พะเยา เชียงราย ลาปาง
8. บัว 9. อุตรดิตถ์ 10. เจดียส์ ามองค์ 11. ศรีสวัสดิ์ 12. ระนอง 13. คลองมะลุ่ย 14. เพชรบู รณ์
น่าน อุตรดิตถ์ กาญจนบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทยั ธานี ตาก ระนอง ชุมพร ประจวบคีรีขนั ธ์ พังงา สุราษฏร์ธานี กระบี่ พังงา เพชรบู รณ์
1
กลุ่มรอยเลือ่ นแม่จนั
2
กลุ่มรอยเลือ่ นแม่อิง
3
กลุ่มรอยเลือ่ นพะเยา
4
กลุ่มรอยเลือ่ นแม่ทา
กลุ่มรอยเลือ่ นแม่จนั จัด เป็ นรอยเลื่อ นมี พ ลัง ขนาด ใหญ่ (ยาวมากกว่า 100 กิโลเมตร) เคลือ่ นตัวตามแนวระนาบ แบบเหลื่อมซ้าย พาดผ่านตั้งแต่ อ.ฝาง อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ อ.แม่จนั อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เข้าสู่ประเทศลาว หรือ สังเกต ได้จากเส้น ทางหลวงหมายเลข 1089 รอยเลื่อนแม่ จัน มีก าร เลือ่ นแบบเหลือ่ มซ้าย เนือ่ งจากถูกแรงบีบอัดในแนวเหนือ - ใต้ รอยเลื่อนแม่จันนั้นได้รบั อิทธิพลจากการชนกันของแผ่นเปลือก โลกอินเดียกับแผ่นเปลือกโลกเอเชีย
รอยเลือ่ นแม่จนั
กลุ่มรอยเลือ่ นแม่อิง รอยเลือ่ นแม่อิง
พาดผ่ า นอ าเภอเทิ ง อ าเภอขุ น ตาล และ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในแนวทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ ตะวันตกเฉียงใต้ มีความยาวประมาณ 57 กิโลเมตร เป็ นรอยเลื่อนที่ มีพลังและยังเป็ น 1 ใน 5 รอยเลื่อนที่นกั วิชาการจับตาอย่างใกล้ชิด หลังจากเหตุ ก ารณ์แผ่ นดิ นไหวเชี ยงรายเมื่อ ปี 2557 นับว่ าครั้งที่ รุนแรงที่สุดในไทย ซึ่งรอยเลื่อนแม่อิงนี้ ได้รบั แรงเค้นการสัน่ ไหวของ กลุ่มรอยเลื่อ นพะเยา แต่ ที่ต อ้ งจับตามากเป็ นพิเศษคื อ รอยเลื่อ น แม่จนั ซึ่งอยู่ใกล้รอยเลือ่ นพะเยามากที่สุด
กลุ่มรอยเลือ่ นพะเยา รอยเลือ่ นพะเยา
เป็ น 1 ใน 14 รอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย เป็ นรอยเลื่อนที่มีสองส่วน มีแนวการวางตัวแตกต่างกันและแยกออกจาก กันชั ดเจน พาดผ่ านจังหวัดเชี ยงราย ลาปาง และพะเยา ส่วนแรกเป็ น รอยเลื่อนซีกใต้ (เส้ นสีเหลือง) มีการวางตัวในแนวเกือบทิศเหนือ -ใต้ ค่อนมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีความยาวประมาณ 35 กิโลเมตร แสดงลักษณะของผารอยเลื่อนหลายแนวและต่อเนื่องเป็ นแนวตรงหั น หน้ าไปทิศตะวันออก บริเวณอาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง อีกส่วนรอย เ ลื่ อ น ท า ง ต อ น เ ห นื อ ( เ ส้ น สี แ ด ง ) มี ก า ร ว า ง ตั ว ใ น แ น ว ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ -ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ท่ี พ าดผ่ า นอ าเภอแม่ ส รวย ถึงอาเภอแม่ลาว ของจังหวัดเชียงราย
กลุ่มรอยเลือ่ นแม่ทา รอยเลือ่ นแม่ทา รอยเลื่อนนี้มีแนวเป็ นรูปโค้ งตามแนวลานา้ แม่ วอง และแนวล าน้า แม่ ท าในเขตจั งหวัดเชี ย งใหม่ แ ละล าพู น มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 55 กิโลเมตร หุ บเขาบริเวณนี้น่าเป็ น ห่ วงอย่ างยิ่งก็คือจากภาพจะเห็นได้ ว่าตลอดแนวรอยเลื่ อนจะมี หมู่บ้านตั้งอยู่ตลอดตามหุบเขา
เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18.08 น. (ตามเวลาประเทศไทย) ได้ เกิดเหตุการณ์ แผ่นดินไหวคานวณศูนย์กลางในเบื้องต้ นพบว่ามีจุดศูนย์กลางอยู่บริเวณตาบลทรายขาว อาเภอพาน จั ง หวั ด เชี ย งราย ละติ จู ด 19.685 °N ลองจิ จู ด 99.687 °E ขนาดแผ่ น ดิ น ไหว 6.3 ความลึ ก 7 กิโลเมตร ความรุนแรงระดับ VIII ตามมาตราเมอร์แคลลี่ ต่อมาสานักเฝ้ าระวังแผ่นดินไหวได้ ทาการ วิเคราะห์ข้อมูลอีกครั้งจากข้ อมูลทุกชนิดที่จัดเก็บเพิ่มเติม พบว่ าที่ถูกต้ องล่ าสุดมีการเปลี่ยนแปลง ตาแหน่งเดิมประมาณ 7 กิโลเมตรที่ละติจูด 19.748 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.692 องศาตะวันออก ความลึก 7 กิโลเมตร ที่ ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ต้องเฝ้ าระวัง! เพราะแผ่นดินไหวในครั้งนี้ จะกระทบต่อรอยเลือ่ นที่อยู่โดยรอบ 5 กลุ่มรอยเลือ่ น ซึ่งมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร์
แผ่นดินไหวจังหวัดเชียงรายวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18.08 น.
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวในวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18.08 น. บริเวณตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ ลาว จังหวัดเชียงราย ขนาด 6.3 ที่ละติจูด 19.748 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.692 องศาตะวันออก
กรมทรั พยากรธรณีได้ จัดทาแผนที่ความรุนแรงแผ่ นดินไหว (Intensity map) โดยการสารวจความเสียหายที่มีต่อสิ่งปลูกสร้ างหรือ พื้นดินที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบตามมาตราความรุนแรงของเมอร์คัลลี่ (MM) เรียงลาดับจากการรับรู้ของมนุษย์จนถึงอันดับอาคารสิ่งก่อสร้ าง เสียหาย ซึ่ งพบว่ าในบริ เวณใกล้ ศูนย์กลางแผ่ นดินไหวความรุนแรง แผ่นดินไหวเท่ากับระดับ VIII ตามมาตราเมอร์แคลลี่ ซึ่งอาคารที่อยู่ ใกล้ บริ เ วณศู นย์ ก ลางแผ่ น ดิ นไหวเสีย หายมาก บางส่ ว นของอาคาร พังทลายสาหรับอาคารที่ออกแบบไว้ ดีเสียหายเล็กน้ อย ภาพการประเมินความรุนแรงของแผ่นดินไหวในจังหวัดเชียงราย วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ทีม่ า : กรมทรัพยากรธรณี
ปรากฏการณ์ทรายพุ (Liquefaction) เกิดขึ้นเนื่องจากการบีบอัด ตัวของชั้นดินทาให้ ดนิ ที่อ่มิ ตัว (ดินที่อ้ มุ นา้ ที่มีความชุ่มชื้น) หรือดินอิ่มตัว บางส่ วนสูญเสียความแข็งแรงและความมั่นคงในการตอบสนองต่ อแรง ความเครี ย ด ในกรณี น้ ี คื อ แรงสั่ น สะเทื อ นจากแผ่ น ดิ น ไหวหรื อ การ เปลี่ ยนแปลงอย่ างฉั บพลั นในสภาพแรงเครี ยด ทาให้ ดินที่อ่ิมตัวมั่นคง ประพฤติตัวเหมือนของเหลว แล้ วทาให้ ท้งั นา้ และดินถูกดันขึ้นมาหลังเกิด แผ่นดินไหว
ภาพอธิบายการเกิดทรายพุ
ภาพทรายพุหลังเกิดแผ่นดินไหว บริเวณ ตาบลป่ าแดด อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
เศียรของพระพุทธรูปหลุดออกจากองค์พระ และแตกหักเมือ่ หล่นลงพื้ น
สภาพเมรุเผาศพ ที่อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย พังทลายลงมาหลังเกิดแผ่นดินไหว
สภาพโรงเรียนพานพิทยาคม จังหวัดเชียงราย ได้รบั ความเสียหายและพังทลายลงมา
บ้านใน ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ก่อนและหลังการเกิดแผ่นดินไหว
• • • • •
ก่อสร้ างไม่ได้ มาตรฐานทางวิศวกรรม มีใต้ ถุนบ้ านซึ่งถือเป็ นชั้นที่อ่อนแอของบ้ าน มักมีเสาสั้นหรือตอม่อเป็ นส่วนหนึ่งของตัวบ้ าน ระยะห่างเหล็กปลอกมากเกินไป การยึดระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ ไม่เหมาะสม
ที่มา : เอกสารการประชุม ลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย ของ สกว. และ วสท. 2557
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด เชี ย งราย ส่ ง เจ้ า หน้า ที่ วิ ศ วกรโยธา และนายช่ า งโยธาเข้า ส ารวจตรวจสอบอาคารที่ ไ ด้ร ับ ผลกระทบจาก แผ่ นดิ นไหว เพื่อ สร้างความมัน่ ใจในการอยู่ อ าศัย ของราษฎรในพื้ นที่ตาบลทรายขาว ต าบลธารทอง ตาบลเมืองพาน ตาบลม่วงคา อาเภอพาน เทศบาล ต าบลป่ าก่ อ ด า อ าเภอแม่ ล าว และต าบลป่ าแดด อาเภอแม่สรวย
VTR แผ่นดินไหว