วัดพระแก้ว ตั้งอยู่ที่ถนนไตรรัตน์ ใจกลางเมืองเชียงราย วัดนี้เองที่ได้ค้นพบ พระแก้วมรกต หรือพระ พุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ที่ประดิษฐานอยู่ ณ วัดศรีรัตนศาสดาราม(วัดพระแก้ว) กรุงเทพฯ ใน ปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่า เมื่อปี พ.ศ. 1897 ในสมัย พระเจ้า สามฝั่งแกน เป็นเจ้าเมือง ครอง เชียงใหม่นั้น ฟ้าได้ผ่า เจดีย์ร้างองค์หนึ่ง และได้พบ พระพุทธรูปลงรักปิดทอง อยู่ภายในเจดีย์ ต่อมารักกะเทาะออก จึงได้พบว่า เป็นพระพุทธรูป สีเขียวที่สร้างด้วยหยก ซึ่งก็คือ พระแก้ว มรกตนั่นเอง ปัจจุบัน วัดพระแก้ว เชียงราย เป็นที่ประดิษฐาน พระหยก ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ ใน วาระที่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระชนมายุครบ 90 พรรษา
วัดพระสิงห์ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่ ถนนท่าหลวง ตาบลเวียง อาเภอเมือง จังหวัด เชียงราย มี สาเหตุที่วัดนี้ มีชื่อว่า “วัดพระสิงห์” นั้น น่าจะเป็นเพราะครั้งหนึ่ง เคยเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปสาคัญคู่บ้านคู่เมือง ของ ประเทศไทย คือ พระพุทธสิหิงค์ หรือที่เรียก กันในชื่อสามัญว่า“พระสิงห์”ปัจจุบันวัดพระสิงห์เป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธสิหิงค์ (หรือ พระสิงห์) จาลองศิลปะเชียงแสน ปางมารวิชัย ชนิดสาริดปิดทอง หน้าตักกว้าง ๓๗ เซนติเมตร สูงทั้งฐาน ๖๖ เซนติเมตร
วัดห้วยปลากั้ง เริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2544 โดยคณะศรัทธาวัดห้วยปลากั้งเริ่มกันก่อตั้ง เป็นสานักสงฆ์ดังภาพ จนกระทั่ง วันที่ 19 พฤศจิกายน 2548 ได้มี พระอาจารย์พบโชค ติสฺสวโส ได้เดินทางมาปฏิบัติ ธรรมและเริ่มมีการก่อตั้งศาสนวัตถุ เริ่มแต่กุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ หอฉัน เจดีย์และเมื่อ วันที่ 24 กรกฎาคม 2552 ทางสานักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้มีประกาศแต่งตั้งให้เป็นวัดโดยชื่อว่า ? วัดห้วยปลากั้ง ? โดยมีพระอธิการพบโชค ติสฺสวโส เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ปัจจุบันวัดห้วยปลา กั้งเป็นวัดที่มีศรัทธา จากต่างจังหวัด ต่างประเทศ เข้ามากราบไหว้นมัสการ และปฏิบัติธรรมเป็น จานวนมาก ถือเป็นจุดกาเนิดพุทธศาสนาในเชียงรายแห่งหนึ่งที่สาคัญ
พระตาหนักดอยตุง อยู่บริเวณ กม. ที่ 12 ทางหลวงหมายเลข 1149 เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานเพื่อทรงงาน ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระ-ตาหนักเป็นอาคารสองชั้น มีรูปทรง ผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับชาเลย์ของสวิส มีการแกะสลักไม้ตามกาแล เชิงชายและ ขอบหน้าต่างเป็นลวดลายต่าง ๆ ฝีมือช่างชาวเหนือ พระตาหนักดอยตุงอยู่ห่างจากตัวเมือง เชียงราย 60 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 110 ไป 45 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทาง หลวงหมายเลข 1149 ไปประมาณ 15 กิโลเมตร สาหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถประจา ทางสามารถใช้บริการรถสองแถวสีม่วงบริเวณปากทาง รถออกตั้งแต่ 07.00 น. มีรถออกทุก 20 นาที
ดอยแม่สลอง ตั้งอยู่ ต.แม่สลองนอก อ.แม่ฟ้าหลวง เป็นชื่อเรียกรวมๆ ของชุมชนชาวจีนฮ่อ แห่งกองพล 93 ที่ตั้งหลักแหล่งบนดอยแห่งนี้มานานกว่า 40 ปี ปัจจุบันชุมชนชาวจีนบนดอยแม่สลอง มีชื่อว่า หมู่บ้านสันติคีรี ตั้งอยู่ที่ ความสูงจาก ระดับน้าทะเล เฉลี่ย 1,200 ม. อากาศเย็นสบายตลอดปี รายได้หลัก มาจากการปลูกชาอู่หลง บ้านสันติคีรี เป็นชุมชน ขนาดใหญ่ มีประชากร ประมาณ 800
หลังคาเรือน มีทั้งวัด โบสถ์คริสต์ มัสยิด ระบบไฟฟ้า โทรศัพท์ และธนาคาร ทหารไทย ที่
ให้บริการอย่างสมบูรณ์แบบ
ภูชี้ฟ้า เป็นยอดเขาสูงที่สุดในเทือกเขาดอยผาหม่น ติดชายแดนไทย - สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว อยู่ในพื้นที่เขตอาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ มี เอกลักษณ์ทางธรรมชาติด้วยลักษณะหน้าผาปลายยอดแหลม เป็นแนวยาวที่ชี้ไปบนฟ้า ทางฝั่ง ประเทศลาว จึงเป็นทีม่ าของชื่อเรียกว่า "ภูชี้ฟ้า" นั่นเอง ด้านที่ติดสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว นับเป็นจุดชมวิวที่สวยที่สุด ทั้งนี้ กรมป่าไม้ได้มีคาสั่งให้จัดตั้ง "ภูชี้ฟ้า" เป็นวน อุทยาน เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2541 ด้วยเนื้อที่ประมาณ 2,500 ไร่ สูงจากระดับน้าทะเลตั้งแต่ 1,200 เมตร ถึง 1,628 เมตร
ดอยผาตั้ง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย อยู่ในเขตตาบลปอ อาเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ดอยผาตั้งเป็นยอดดอยอยู่ในเทือกเขาหลวงพระบาง สันปันน้าเป็นจุดแบ่งอาณาเขตระหว่าง ประเทศไทย-ลาว เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อสาหรับชมพระอาทิตย์ ขึ้นและทะเลหมอกในตอนเช้าและชมพระอาทิตย์ตกในเวลาเย็น มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 1,800 เมตร เส้นทางเดินขึ้นยอดดอยอยู่ติดกับสถานที่จอดรถและร้านค้าบริการความยาวประมาณ 700 เมตร จาก ยอดดอยสามารถมองเห็นแม่น้าโขงฝั่งลาวและสามารมองเห็นยอดภูชี้ ฟ้าที่อยู่ห่างออกไปกว่า 25 กิโลเมตร ได้ชัดเจน ชมทะเลหมอก จุดชมทิวทัศน์ยอดดอยผาตั้งที่สวยที่สุด อยู่ที่ยอดเนิน 103 เพราะเดิมอยู่ในความ ดูแลของกองร้อยที่ 103 เป็นยอดดอยสูงประมาณ 1,800 ม. จากระดับน้าทะเล หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ของฝั่งลาว ในช่วงเช้าจะปกคลุมด้วยทะเลหมอกที่กาเนิดจากแม่น้าโขงในเขตลาว ก่อนถึงยอดเนิน 103 จะมี ช่องเขา เรียกว่าช่องประตูผาบ่อง เป็นช่องเขาที่เป็นทางเดินเท้าผ่านไปยังประเทศลาว เคยมีการสู้รบดุเดือด ในสมรภูมิดอยผาหม่น
พ่อขุนเม็งราย
เป็นราชโอรสของพระเจ้าลาวเมงแห่งราชวงศ์ ลั๊วจังกราชผู้ครองหิรัญนครเงินยาง กับพระนาง อั้วมิ่งจอเมืองหรือพระนางเทพคาขยาย ราชธิดาของท้าวรุ่งแก่นชายเจ้าเมืองเชียงรุ้ง พระองค์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ แรม 9 ค่า เดือนอ้าย ปีกุนเอกศกจุลศักราช 601 ตรงกับพุทธศักราช 1781 เมื่อมีพระชนม์ได้ 16 พรรษา พระบิดาได้สู่ขอ ธิดาเจ้าเมืองเชียงเรืองมาเป็นคู่อภิเษกแล้วโปรด ให้เมงรายเป็นมหาอุปราช เมื่อพระเจ้าลาวเมงสวรรคตในปี พ.ศ. 1802 เมงรายราชโอรสจึงได้ ครองเมืองหิรัญนครเงินยางสืบแทน ในขณะที่มีพระชนม์ 21 พรรษา
หอนาฬิกาทอง บริเวณที่เห็นในภาพนี้คนเชียงรายเรียกกันว่า”สี่แยกหอนาฬิกา” เดิมทีไม่ได้วิจิตรงดงาม ขนาดนี้หรอกครับ หอนาฬิกาแห่งนี้ถูกสร้างสรรค์และออกแบบโดยอ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ คนที่สร้างวัดร่องขุ่นนั่นเอง เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ โดยได้ ดาเนินการสร้างมาตั้งแต่ปี 2548 และแล้วเสร็จทันงานวันแม่แห่งชาติ เมื่อปี 2551 นี่เอง มีระบบ แสง สี เสียง อลังการมาก เริ่มตั้งแต่เวลา 2 ทุ่มเป็นต้นไป ถ้าได้มาเชียงรายก็ไปแวะดูกันได้นะ ครับ มันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวไปแล้ว
แม่สาย อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 62 กม.อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 62 กม. ตามทางหลวง หมายเลข 110 เป็นอาเภอเหนือสุดของประเทศไทย ติดต่อกับประเทศพม่าที่ท่าขี้เหล็ก โดยมี แม่น้าแม่สายเป็นพรมแดน มีสะพานเชื่อมเมืองทั้งสองเข้าด้วยกัน ทั้งชาวเขาและชาวพม่า เดินทางไปมาหาสู่ค้าขายกันโดยเสรี นักท่องเที่ยวชาวไทยสามารถเดินทางไปยังท่าขี้เหล็กของ พม่าเพื่อซื้อสินค้าพื้นเมืองและสินค้าราคาถูกอื่นๆ เช่น ตะกร้า เครื่องทองเหลือง สบู่พม่า สมุนไพร บุหร่ ฯลฯ นักท่องเที่ยวชาวไทยเดินทางเข้าเขตพม่า ได้ตั้งแต่เวลา 6.00-18.00 น. โดยนาบัตรประชาชนและเสียค่าธรรมเนียมคนละ 20 บาท ที่จุดผ่านแดน (สาหรับชาว ต่างประเทศ 5 เหรียญสหรัฐ และใช้พาสปอร์ต ติดต่อที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองแม่สาย )
สามเหลื่ยมทองคา บริเวณ สามเหลี่ยมทองคา แห่งนี้ แรกเริ่มเดิมทีเป็นแหล่งขายยาเสพติดที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ของโลก โดยการนาทองคามาแลกกับฝิ่น ซึ่งในบริเวณนี้เหมาะอย่างยิ่งในการแลกเปลี่ยน เนื่องจากทั้งที่ตั้งและการเดินทางที่ไม่ยากนัก เพราะ สามเหลี่ยมทองคา เป็นจุดตัดของแม่น้าโขง กับแม่น้ารวก ที่ผู้คนทั่วไปเรียกว่า สบรวก ชายแดนบริเวณนี้ เป็นเขตแดนของสามประเทศ คือ ไทย ลาว พม่า โดยมีสันดอนตรงกลาง ยิ่งเหมาะกับการแลกเปลี่ยนมากยิ่งขึ้น เมื่อวันเวลาผ่านไป การกวาดล้างยาเสพติดมีมากขึ้น ทาให้การค้าฝิ่นเริ่มหมดไปและถูกพัฒนามาเป็นแหล่งท่องเที่ยวแทน จุดยอดนิยมที่นักท้องเที่ยวส่วนใหญ่พลาดไม่ได้คือ การถ่ายรูป โดยเฉพาะ บริเวณ ซุ้มประตู สามเหลี่ยมทองคา
บ้านกระเหรี่ยงรวมมิตร ตั้งอยู่ริมแม่น้ากกฝั่งซ้าย หมู่ 2 ต.แม่ยาว อ.เมืองเชียงราย นอกจากชาวกระเหรี่ยงแล้วยังมี หมู่บ้านชาวเขาเผ่าอาข่าและลาหู่ในระแวกใกล้เคียง หมู่บ้านกระเหรี่ยงเป็นหมู่บ้านขี่ช้างเที่ยวชม หมู่บ้านชาวเขา บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตร มีหมู่บ้านบริวาร 1 หมู่บ้าน คือ บ้านดอยบ่อ 2 ( ชนเผ่าอา ข่า ) บ้านรวมมิตรมีประชากรทั้งหมด 2,840 คน จานวนครัวเรือน 1,549 ครัวเรือนประกอบไป ด้วย ชนเผ่ากะเหรี่ย,อาข่า,ลาหู่,ลีซอ,ม้ง,ไทลื้อ บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตร เป็นหมู่บ้านกะเหรี่ยง ตั้งอยู่ริมแม่น้ากกฝั่งซ้าย นอกจากชาวกะเหรี่ยงแล้ว ยังมีหมู่บ้านชาวเขาเผ่าอาข่าและลาหู่ใน ละแวกใกล้เคียง บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตรเป็นจุดขี่ช้างเที่ยวชมหมู่บ้านชาวเขา
บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตร ตั้งอยู่ริมแม่น้ากกฝั่งซ้าย หมู่ 2 ต.แม่ยาว อ.เมืองเชียงราย นอกจากชาวกระเหรี่ยงแล้วยังมี หมู่บ้านชาวเขาเผ่าอาข่าและลาหู่ในระแวกใกล้เคียง หมู่บ้านกระเหรี่ยงเป็นหมู่บ้านขี่ช้างเที่ยวชม หมู่บ้านชาวเขา บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตร มีหมู่บ้านบริวาร 1 หมู่บ้าน คือ บ้านดอยบ่อ 2 ( ชนเผ่าอา ข่า ) บ้านรวมมิตรมีประชากรทั้งหมด 2,840 คน จานวนครัวเรือน 1,549 ครัวเรือนประกอบไป ด้วย ชนเผ่ากะเหรี่ย,อาข่า,ลาหู่,ลีซอ,ม้ง,ไทลื้อ เป็นหมู่บ้านกะเหรี่ยงที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพ โดยใช้การท่องเที่ยวจากองค์กรเอกชนและประสบความสาเร็จจากการนาช้างมาเป็นพาหนะนา เที่ยวหมู่บ้านชาวเขา ปัจจุบันจัดเป็นศูนย์กลางชาวเขาในแถบ อ.เมือง จ.เชียงราย
น้ำพุร้อนแม่ขะจำน ตั้งอยู่ที่ตาบลแม่เจดีย์ใหม่ อ.เวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย น้าพุร้อนแม่ขะจานเป็นจุดพักรถระหว่าง ทางจาก เชียงใหม่ไปสู่เชียงราย หรือจากเชียงใหม่ไปสู่พะเยา น้าพุร้อนแม่ขะจานแต่เดิมมีอยู่แค่ฝั่งเดียว ก็ คือฝั่งขวามือหากมาทางเชียงใหม่ หรือฝั่งซ้ายมือถ้ามาจากเชียงราย พะเยา ภายในมีบ่อน้าร้อนธรรมชาติ ที่ มีอุณหภูมิสูงถึง 90 องศาเซียลเซียส ซึ่งสามารถต้มไข่ได้เลย น้าพุร้อนแม่ขะจานเป็นบ้อน้าร้อนที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาติ ตามคาบอกเล่าของผู้เฒ่า ผู้แก่ของหมู่บ้านโป่งน้าร้อนเล่าว่า เมื่อก่อนบริเวณนี้ยังไม่มีหมู่บ้าน เป็นป่าดงดิบ เมื่อก่อนเรียกว่าโป่งดิน มีสัตว์ทั้งน้อย ทั้งใหญ่ ลงมากินดินโป่งเป็นประจา และบริเวณน้าพุ ร้อนก็ยังเป็นทางผ่านระหว่างพ่อค้าจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย โดยมีม้าและวัวเป็นพาหนะ เป็นเส้นทาง เดินไปตามไหล่เขา และถือเป็นจุดพักแรมค้างคืน เพราะพื้นเป็นลานกว้าง ทาเลสะดวก และมีบ่อน้าพุร้อน ธรรมชาติ
บ่อน้าพุร้อนผาเสริฐ และ บ่อน้าร้อนห้วยหมากเลี่ยม ไปทางถนนหน้าค่าย สี่แยกเด่นห้า อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 20 กิโลเมตร โดยบ่อน้า ร้อนผาเสริฐตั้งอยู่ก่อนบ่อน้าร้อนห้วยหมากเลี่ยมประมาณ 1 กิโลเมตร บ่อน้าร้อนห้วยหมาก เลี่ยมและบ่อน้าร้อนผาเสริฐตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติลาน้ากก เป็นบ่อน้าร้อนธรรมชาติที่เกิด จากความร้อนใต้พิภพมีน้าร้อนผุดขึ้นมาตลอดเวลา อุณหภูมิประมาณ 67 อาศาเซลเซียสและมี องค์ประกอบของแร่ธาตุอยู่หลายชนิด เป็นน้าพุร้อนที่มีขนาดเล็ก บริเวณโดยรอบมีทิวทัศน์ สวยงามของแม่น้ากก
ดอยวาวี ตั้งอยู่ หมู่ 1 ต.วาวี อ.แม่สรวย เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ ของชาวจีนฮ่อ บนดอยวาวี ยังมีความเป็น เอกลักษณ์ อีกอย่างหนึ่ง ที่ชวนให้หลงใหล หลงรส นั่นก็คือ เสน่ห์แห่ง "ชา" ที่ชาวบ้านบนดอยวาวี ปลูกกัน เป็น อาชีพหลัก อย่างเป็นล่าเป็นสัน เพราะที่นี่มีชาวจีนฮ่อ หรือจีนยูนนานมาอาศัยอยู่ ยุคเดียวกับกองพล 93 ที่ ดอยแม่สลอง (ที่ขึ้นชื่อเรื่องชาเช่นกัน) ส่งผลให้บนดอยวาวีนิยมปลูกชากันมาก ชาบนดอยวาวี มีทั้งชา พันธุ์พื้น เมืองสายพันธุ์ "อัสสัม" ชาสายพันธุ์ไต้หวันอย่างชิงชิง เบอร์ 12, 13 และชา "อู่หลง" ที่มีความโดด เด่น เป็นอย่าง ยิ่ง เพราะดอยวาวี ถือเป็นแหล่งปลูกชาอู่หลงแห่งแรกของเมืองไทย ลุงพังโก : พินิจ พิทักษ์ วารี ชายอายุ 60 กว่าๆ ผู้ที่ติดใจในรสชาติชาอู่หลง จนถึงขนาดแอบลักลอบนาต้นชาอู่หลงพันธุ์ดี เข้ามาปลูก ในเมืองไทย เมื่อ 30 กว่าปีที่แล้ว และลองผิดลองถูกอยู่ 8 ปี จนปัจจุบันได้พัฒนาเป็นชาอู่หลงแบบไทยๆ ที่ รสชาติยอดเยี่ยม ไม่ยิ่ง หย่อนไปกว่าอู่หลงของไต้หวัน แถมยังส่งไปตีตลาดที่ไต้หวันอีกด้วย
วัดร่องขุ่น ตั้งอยู่ที่ตาบลป่าอ้อดอนชัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ถือเป็นศาสนสถานที่สาคัญแห่ง หนึ่งของจังหวัดเชียงราย เป็นผลงานการออกแบบและก่อสร้างโดย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิต พิพัฒน์ จิตรกรไทยที่มีผลงานจิตรกรรมไทยหลากหลาย จนได้รับการยกย่องขึ้นเป็น ศิลปิน แห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ในปี พ.ศ. 2554 ผู้ซึ่งอุทิศตนสร้างวัดวัดร่องขุ่นอันยิ่งใหญ่ นี้ขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ด้วยความตั้งใจที่จะสร้างสรรค์ให้วัดแห่งนี้งดงามดังสวรรค์ที่มีอยู่ จริง อีกทั้งมนุษย์สามารถสัมผัสได้บนพื้นพิภพ คล้ายเป็นสิ่งกระตุ้นเตือนให้คนเราใฝ่ปฏิบัติ ธรรม และประกอบแต่กรรมดีในการดาเนินชีวิต
บ้านดา หรือ พิพิธภัณฑ์บ้านดา ตั้งอยู่ที่ ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย สร้างขึ้นโดย อ.ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ ที่มีฝีมือ ทางด้าน จิตรกรรมฏิมากรรม ได้สร้างงานด้านศิลปะไว้มากมาย ทั้งทางด้านภาพเขียน และ ด้าน ปฏิมากรรม หลายชิ้น ลักษณะ ของ บ้านดาจะเป็นกลุ่มบ้าน ศิลปะแบบล้านนา ทุกหลังทาด้วยสี ดา ซึ่งเป็นที่มาของคาว่า “บ้านดา” และยังเป็นสีที่ อ. ถวัลย์โปรดปราน อีกด้วย ในบ้านแต่ละ หลังจะประดับด้วยไม้แกะสลักที่มีลวดลายงดงาม นอกจากไม้แกะสลักแล้วยังประดับด้วยเขา สัตว์ เช่น เขาควาย เขากวาง และยังมีกระดูกสัตว์ เช่น กระดูกช้าง เป็นต้น
ไร่แม่ฟ้าหลวง อุทยานศิลปะและวัฒนธรรม บนเนือ้ ที่กว่า 150 ไร่ กลางเมืองเชียงราย เป็นที่เก็บ รักษาศิลปะวัตถุอนั ล้าค่าของวัฒนธรรมล้านนา เชิญนมัสการพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ใน หอคา ชมงานนิทรรศการเรื่องไม้สัก พร้อมชมงานศิลปะพื้นบ้านในหอแก้ว ล้อมรอบ ตัวด้วยบึงน้าอันสงบเงียบ มีสวนไม้หอมและพฤกษานานาพันธ์
ขัวศิลปะ เกิดจากการรวมตัวของศิลปินเชียงราย และเป็นแหล่งนัดพบแห่งใหม่ของผู้ที่ชื่นชอบงาน ศิลปะที่นี่ยังมีร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก ร้านกาแฟ เบเกอรี่ไอศกรีมโฮมเมด ด้วยนะครับ ผม อิ่มท้องแล้วก็สามารถชมงานศิลปะได้ต่อเลยครับ การแสดงงานศิลปะก็มีแบบทั้งแบบ หมุนเวียน และ แบบถาวร สลับกันไปครับผมยังไงแวะเวียนมาเที่ยวกันได้นะครับผม เชียงราย เมืองศิลปิน สนับสนุนงานศิลปะ และสนับสนุนศิลปินบ้าน