คู่มือการปลูกดาวเรือง

Page 1

คูมือการปลูก

ดาวเรือง

“ คุณภาพที่เราใสใจ ดาวเรืองเอกะ ”

We color the World


ดาวเรือง เอกะ การเตรียมแปลง

ระบบนํ้า ที่เหมาะกับดาวเรือง

วิธีการเพาะเมล็ด

การยายปลูก และการดูแลหลังยายปลูก

การใหปุยดาวเรือง

สารปองกัน และกําจัดโรคพืช

สารปองกัน และกําจัดแมลงศัตรูพืช

สาระดีดี

“ คุณภาพที่เราใสใจ ดาวเรืองเอกะ ”


วิธีการเตรียมแปลง

2

1

ไถผาน ปรับหนาดิน

เปนการปรับระดับผิวหนาดิน ใหเทากันทั้งหมด โดยใชการไถผานพลิกดิน

ไถพลิกหนาดินดวย ผาน 3 หรือผาน 7 ควรไถลึกประมาณ 50 ซม. เพื่อพลิกหนาดินชั้นลางขึ้นมา โดยไถตากทิ้งไว 1 สัปดาห กอนไถพรวนโรตารี่ตีดินใหละเอียด

3 ใสอินทรียวัตถุ

หวานใหทั่วพื้นที่แลวทําการไถกลบ

ใสปุยหมักที่ผานการหมักยอยสลาย

การปรับสภาพดิน ปุยหมักเปนอินทรียวัตถุที่สามารถใชเปนแหลงอาหาร ในการเจริญเติบโตและเพิ่มธาตุอาหารหลักของพืชได อัตราสวนที่แนะนํา ใสปุยหมัก 4-6 ตัน/ไร หรือ ขี้วัวแหง 200-300 กก./ไร ผสมกับปุยรองพื้น 50 กก./ไร การปรับสภาพดินเพื่อใหดินมีคา pH เปนกลางทําใหดาวเรืองนําธาตุอาหารในดินไปใชได โดยใส โดโลไมท 300-400 กก./ไร


วิธีการเตรียมแปลง

4 ไถปนจอบหมุน (โรตารี่)

เปนการไถปนเนื้อดินใหละเอียด เพื่อใหรากดาวเรืองสามารถ เจริญเติบโตไดดี

5 6

ตีแนวแปลง กอนยกรองปลูก เปนการตีแนวเพื่อไถขึ้นแปลง ตามรูปแบบแปลงที่ตองการ - แบบแปลงแถวคู - แบบแถวเดี่ยว - แบบสลับฟนปลา - แบบชุด 4 แถว

รูปแบบแปลงที่แนะนํา - แบบแปลงแถวคู - แบบแถวเดี่ยว

การขึ้นแปลงที่เรียบไดระดับจะชวยใหนํ้าไมขังนองเปนจุดๆ และตนจะโตอยางสมํ่าเสมอ รูปแบบแปลงดาวเรืองแบบแถวคู

รูปแบบการปลูกดาวเรืองแบบแถวคู

ระยะปลูก 40 x 40 ซม. ฤดูหนาวและฤดูรอน แนะนําใหปลูกแถวคูจะใหผลดี แปลงหนากวาง 1.20 เมตร สูง 30 ซม. รองแปลง 50-70 ซม. (งายตอการจัดการและเก็บเกี่ยว) เนื่องจากแถวคูจะชวยเก็บความชื้นในดินไดดีกวาแถวเดี่ยว รูปแบบแปลงดาวเรืองแบบแถวเดี่ยว

รูปแบบการปลูกดาวเรืองแบบแถวเดี่ยว

ระยะปลูก 50 x 50 ซม. ฤดูฝน แนะนําใหปลูกแถวเดี่ยว แปลงหนากวาง 0.8 - 1 เมตร สูง 30 ซม. รองแปลง 50-70 ซม. (งายตอการจัดการและเก็บเกี่ยว) เนื่องจากแถวเดี่ยวจะชวยลดการระบาดการเกิดโรคพืชไดในชวงฤดูฝน


ระบบนํ้าที่เหมาะสมกับดาวเรือง การใหนํ้าดาวเรืองตัดดอกมีหลากหลายวิธี ซึ่งมีจุดเดนจุดดอยแตกตางกัน การเลือกใชวิธีที่เหมาะสมกับการปลูกดาวเรืองตัดดอกอาจมีปจจัยตางๆในการเลือกใช เชน สภาพพื้นที่ในการปลูก จํานวนทุน แรงงาน รวมไปถึงประสบการณและความชํานาญในการปลูกดาวเรือง

ระบบนํ้าแบบนํ้าหยด

ระบบนํ้าแบบสปริงเกอร

ระบบนํ้าแบบหัวผีเสื้อ

ระบบนํ้าแบบนํ้าหยด เปนระบบที่ลงทุนสูงในชวงแรกแตใชไดระยะยาว ประหยัดแรงงาน รักษาความชื้นในดินไดดี สามารถควบคุมปริมาณการใหปุยในแตละชวงได ลดปญหาการแพรกระจายของโรคพืชและควบคุมวัชพืชไดดี

ระบบนํ้าแบบสปริงเกอร เปนระบบที่ใชตนทูนสูงอีกระบบหนึ่ง แตใชไดระยะยาวเชนกัน ชวยไลแมลงปากดูดในชวงหนารอน และความชื้นของแปลงคอนขางสมํ่าเสมอดี ขอเสีย มีความชื้นสูงสงเสริมการเขาทําลายของเชื้อราซึ่งเปนสาเหตุของโรคดอกลายในดาวเรืองชวงดอกบาน

ระบบนํ้าแบบหัวผีเสื้อ เปนระบบที่ใหความชื้นในแปลงคอนขางดีและลดการอุดตันของหัวนํ้าที่จายใหกับตนดาวเรืองที่ปลูก

ระบบนํ้าแบบตามรอง เปนระบบที่ตนทุนตํ่า วิธีนี้เหมาะสมกับพื้นที่ราบเรียบและดินควรเปนลักษณะดินเหนียว หรือเปนดินรวนปนดินเหนียวและมีปริมาณนํ้าที่มากพอ ขอเสีย วัชพืชขึ้นเยอะเมื่อเกิดการระบาดโรคทางดินจะทําใหเกิดโรคไดทั่วทั้งแปลง

ระบบนํ้าแบบตามรอง


การเพาะเมล็ดดาวเรือง

วัสดุอุปกรณ 1. เมล็ดพันธุดาวเรือง 2. ถาดเพาะ 3. พีทมอส 4. ตะกรา (สําหรับรอนวัสดุเพาะกลบเมล็ด) 5. สารปองกันและกําจัดเชื้อรา (โพรพาโมคารบ หรืิอเมทาแลกซิล) 6. ถังพนสารเคมี 7 นําถาดเพาะไปไวบริเวณที่พรางแสง 80% - 90% รักษาความชื้นโดยการพนนํ้า อยาใหถาดแหงจนเกินไป

1 วัสดุเพาะผสมกับนํ้า โดยผสม โพรพาโมคารบ 0.4 ซีซี/นํ้า 1 ลิตร หรือ เมทาแลกซิล 1 กรัม/นํ้า 1 ลิตร

แสง 80% - 90% 6 พนสารเคมีเพื่อปองกัน โรคเนาคอดินอีกครั้ง โพรพาโมคารบ 1 ซีซี/นํ้า 1 ลิตร หรือ เมทาแลกซิล 1 กรัม/นํ้า 1 ลิตร

5 นําวัสดุเพาะมารอนกลบเมล็ด โดยใชวัสดุเพาะที่ยังไมไดผสมนํ้ากลบใหมิด เนื่องจากดาวเรืองไมตองการแสง ในการงอก

ระยะตนกลาเริ่มงอก

วิธีการเพาะเมล็ด ดาวเรือง

3 ทําหลุมเพื่อหยอดเมล็ด โดยนําถาดเปลามาวางทับ แลวกดถาดลงเพื่อใหเกิดหลุม

3.1

หลุมที่กดควรมีขนาดลึกพอดีกับเมล็ด ประมาณ 0.5 ซม.

4 ทําการหยอดเมล็ด 1 เมล็ด/1 หลุม โดยการหยอดเมล็ดเปนแนวนอน

ระยะใบเลี้ยงเริ่มแผ

ระยะหลังจากเพาะเมล็ด 3-5 วัน

ระยะหลังจากเพาะเมล็ด 6-7 วัน

รักษาความชื้นโดยการพนนํ้า

นําออกแสงจัดเพื่อปองกันตนยืด ยังรักษาความชื้นไวอยู แตควรปลอยใหวัสดุปลูกแหงบาง ระยะนี้ยังไมควรใหปุย

พรางแสง 50 %

2 นําวัสดุเพาะใสลงในถาดเพาะ โดยใสวัสดุเพาะใหเต็ม และปาดใหเรียบ

ระยะเริ่มมีใบจริง 1 คู เริม่ ใหปยุ ทางนํา้ 2-3 ครัง้ /สัปดาห สูตร 15-0-0 หรือ 20-20-20 อัตรา 3 กรัม/นํ้า 10 ลิตร ไมควรใชปุย 46-0-0 หรือ ยูเรีย ความชื้นควรปลอยใหผิวหนาแหง แตตนไมเหี่ยว จึงทําการรดนํ้า

การดูแลตนกลา

ระยะเริ่มมีใบจริง 2 คู เพิ่มการใหปุย 15-0-0 หรือ 20-20-20 อัตรา 6 กรัม ตอนํ้า 10 ลิตร ความชื้นควรปลอยใหผิวหนาแหง แตตนไมเหี่ยว จึงทําการรดนํ้า


การยายปลูกดาวเรือง

1.ขุดหลุมเตรียมปลูก

เพื่อใหงายตอการยายปลูก

มารคจุดหลุมและระยะหางของตนดาวเรือง

ใสยารองกนหลุม ไดโนทีฟูแรน อัตราสวน 2 กรัม/หลุม เพื่อปองกันแมลงปากดูด เพลี้ยไฟและแมลงหวี่ขาว

2.การยายปลูก ควรยายตนกลาที่มีอายุไมเกิน 20 วัน หรือดูจากใบจริง 2-3 คูใบ กอนทําการยายปลูก ไมควรยายตนกลาที่มีอายุมากเกินไปเพราะระบบรากจะแผกระจายไดชา ทําใหตนชะงักการเจริญเติบโตไปชั่วขณะ

3. ชวงเวลาการยายปลูก ชวงเวลาที่เหมาะสมแกการยายปลูกคือชวงเย็น(แดดไมแรง) เพื่อชวยลดการสูญเสียนํ้าของตนกลา จะสงผลใหตนกลามีการตั้งตัวไดดี หลังการยายปลูกในชวง 7 วันแรก ควรใหนํ้า 2 ครั้ง เชา-บาย ใหชุม เมื่อตนกลาตั้งตัวไดดีแลว รดนํ้าวันละครั้งและรักษาความชื้นของดินใหมีอยูสมํ่าเสมอโดยหมั่นสังเกตจากผิวดิน ไมใหแหงเกินไป

การยายปลูกดาวเรืองจะตองปลูกใหลึกถึงระดับดินตรงขอใบเลี้ยง หากปลูกตื้นจะทําใหตนหักลมงาย และควรทําหลุมเพื่อกักเก็บนํ้าและความชื้นในระยะแรกที่ยายปลูก


การดูแลหลังการยายปลูก การใหนํ้า ใหนํ้าสมํ่าเสมอจนตนฟนตัว ประมาณ 1 สัปดาห รักษาความชื้นในดินใหเหมาะสม ไมแหงจนตนเหี่ยว และไมแฉะนานเกินไป หากดินขาดความชื้นจะทําใหแมลงพวกเพลี้ยไฟ ไรแดง ระบาดไดงาย และหากดินมีนํ้าขังหรือแฉะจนเกินไปก็จะทําใหเกิดโรคไดงาย ควรใหนํ้ากอนบาย 3 โมง จะชวยลดการเกิดโรคจากเชื้อราทางใบและทางดิน

การกลบโคน ชวยใหดาวเรืองแตกรากใหมออกมาไดมากขึ้น ทําใหตนดาวเรืองสามารถหาอาหารไดมากขึ้น การเจริญเติบโตจะมากขึ้นตามไปดวย

ควรกลบโคนอยางนอย 2 ครั้ง ในชวงหลังเด็ดยอดและกอนออกดอก โดยทําการกลบโคนใหดินชิดกับใบจริงคูลางสุด เด็ดยอด ใบคูที่ 3 ใบคูที่ 2 ใบคูที่ 1

การเด็ดยอด เด็ดยอดหลังยายปลูกประมาณ 15-20 วัน ชวยในการแตกพุมของลําตน ชวยเพิ่มผลผลิต ชวยใหความสูงตนสมํ่าเสมอ

ตนตองมีใบจริงอยางนอย 3-4 คู ใหเด็ดชิดคูที่ 3-4 โดยนับจากใบจริงคูลางสุด นับเปนคูที่ 1 และควรฉีดพนยาเพื่อปองกันเชื้อโรคหลังเด็ดยอด การเด็ดยอดจะทําใหดาวเรืองออกดอกชาประมาณ 1 สัปดาห

การใชแถบกาว ติดตั้งแถบกาวจํานวน 80-100 แถบ/ 1 ไร แถบสีฟา ใชตรวจวัดปริมาณเพลี้ยไฟ แถบสีเหลืองเนนตรวจหนอนชอนใบและแมลงหวี่ขาว

การใชแถบกาวเปนแนวทางการปองกันและตรวจเช็คปริมาณของแมลงเพื่อเลือกใชวิธีการปองกันที่เหมาะสม และสามารถลดปริมาณแมลงลงไดระดับหนึ่ง


การใหปุยในดาวเรือง ตารางการใหปุยดาวเรือง อายุตนหลังยายปลูก รวมวันเพาะเมล็ด 25 วัน

35 วัน

45 วัน

60 วัน

75 วัน

90 วัน

105 วัน

ระยะกอนเด็ดยอด

ระยะเด็ดยอด กลบโคนครั้งที่ 1

กลบโคนครั้งที่ 2 ชวงพัฒนาการ แตกทรงพุมและตาดอก

ระยะดอกแรกบาน

ระยะตัดดอก มีด 1-5

ระยะตัดดอก มีด 5-10

ระยะตัดดอก มีด 10-15

ฤดูหนาว, ฤดูรอน

25-7-7

16-16-16

16-16-16+14-14-21

14-14-21

14-14-21

16-16-16+14-14-21

14-14-21

ฤดูฝน

15-0-0

16-16-16

16-16-16+14-14-21

14-14-21

14-14-21

14-14-21

14-14-21

ปุยเกล็ดทางใบ

ทุกฤดู

30-20-10+TE

ธาตุอาหารรอง

ทุกฤดู

ฮอรโมน

ทุกฤดู

หมายเหตุ

ทุกฤดู

ระยะตนดาวเรือง

สูตรปุย

10-52-17+TE หรือ 6-32-32+TE

20-20-20+TE หรือ 21-21-21+TE

6-32-32+TE

Ca+B,Mg,Zn,Mn

ไมตองใช(หาม)

อะมิโนแอซิค ระยะนี้ควรระวัง เพลี้ยไฟ แมลงปากดูดทุกชนิด รวมทัง้ หนอนกระทู และโรครากเนาโคนเนา

ระยะนี้ควรระวัง เพลี้ยไฟ หนอนกระทู โรคใบจุด

หลังจากตัดดอกควรพนยาปองกันเชื้อรา ระยะนี้ควรระวัง เพลี้ยไฟ หนอนกระทู โรคใบจุดและดอกเนา

ขอแนะนํา 1. การใหปุยสูตร แนะนําใหละลายนํ้ารดเพราะพืชจะสามารถนําไปใชไดเลย อัตรา 1 ก.ก. ตอนํ้า 100 ลิตร เชน ปุยสูตร 25-7-7 จํานวน 1ก.ก. ใชนํ้าผสม 100 ลิตร ถาใหปุย 2 ตัวบวกกัน เชน 15-15-15+14-14-21 อยางละ 1 ก.ก. รวมเปน 2 ก.ก. ตองผสมนํ้า 200 ลิตร 2. ในฤดูฝนควรหลีกเลี่ยงปุยสูตร 46-0-0 ,25-7-7 หรือพวกแอมโมเนียม เพราะจะทําใหเปนโรคไสกลวงไดงาย 3. การตัดดอกแนะนําใหนํ้ากอนตัดดอก 2 วัน จะชวยใหดอกที่ตัดมาไมเหี่ยวงาย




สาระดีดี

อานกอน รูกอน การฉีดพนสารปองกัน กําจัด โรคพืชและแมลงศัตรูพืช

ลักษณะการเขาทําลาย ของสารปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช

การใชสารปองกันโรคพืช ใหมีประสิทธิภาพ - ใชชนิดสารเคมีใหตรงกับเชื้อสาเหตุ - ผสมดวยอัตราสวนที่ถูกตอง - ไมผสมสารหลายชนิดเองโดยที่ไมมีคําแนะนํา - สารบางชนิดมีคําแนะนําใหใชชนิดเดียว หามผสมกับสารชนิดอื่น - นํ้าที่ใชผสมตองมีความเปน กรด-ดาง เหมาะสม - ใชสารเคมีตามคําแนะนําที่กลองบรรจุ หรือที่ฉลากขางขวด

- ประเภทกินตาย สารจะติดบนใบพืช แมลงจะมากัดกินหรือดูดกิน - ประเภทสัมผัสตาย ซึมผานทางผิวหนัง ลําตัว - ประเภทสารรม รูปแบบกาซ เขาทางรูหายใจ - ประเภทดูดซึม

ลักษณะการเขาสูพืช ของสารปองกันกําจัดโรคพืช - แบบสัมผัส เมื่อฉีดพนสารจะเกาะอยูบนพืช - แบบแทรกซึม เมื่อฉีดพนบนหนาใบ สารจะแทรกซึมไปถึงใตใบ - แบบดูดซึม สารจะถูกดูดซึมเขาไปในตน แลวสงผานทางทอนํ้าเลี้ยง(จากลางขึ้นบน) - แบบดูดซึมทั้งขึ้นและลง สารจะถูกดูดซึม ผานทอนํ้าเลี้ยงและทางทออาหาร

ทําไมตองอานและทําความเขาใจ ฉลากผลิตภัณฑ - เพื่อใหรูวิธีใชสารปองกันกําจัดศัตรูพืช อยางถูกตองมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย - การใชสารปองกันจํากัดศัตรูพืชไมถูกวิธี จะทําใหสูญเสียทั้งเงิน เวลา และทรัพยากร

ตองตรวจสอบสภาวะอากาศกอนการฉีดพน - สภาวะอากาศมีผลตอประสิทธิภาพของสารปองกันกําจัดศัตรูพืช และความปลอดภัยในการใชงาน ตองตรวจสอบสภาพอากาศกอนฉีดพน หลีกเลี่ยงการฉีดพนในสภาวะแดดจัด - หลีกเลี่ยงในสภาวะ ไมมีลม หรือลมแรงเกินไป ไมแนะนําใหฉีดพนในความเร็วลมเกิน 5 เมตรตอนาที และควรใชวัสดุปองกันการฟุงกระจายของละอองสาร แนะนําใหพน ลมสงบ

ลมเบา

แนะนําใหพน ลมออนๆ

ลมโชย

ลมปานกลาง


รูปแบบของฤดูกาลและชวงเวลาของการเกิดวันสั้นวันยาว ชวงเวลากลางวันจะสั้นกวากลางคืน พระอาทิตยจะขึ้นชาและมืดเร็ว

นาว ห ู ด ฤ

วันสั้น

ม.ค.

ก.พ. มี.ค.

พ.ย.

เม.ย.

ต.ค.

พ.ค. ก.ย.

น ฤดรู อ

ธ.ค.

มิ.ย. ส.ค.

วันยาว

ก.ค.

ชวงเวลากลางวันจะยาวกวากลางคืน พระอาทิตยจะขึ้นเร็วและมืดชา

ฤ ดูฝ น

ชวงแสง หมายถึง ระยะเวลาของแสงในแตละวัน ซึ่งจะแตกตางกันไปตามฤดูกาลและพื้นที่ โดยทั่วไปชวงแสงจะมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตดานลําตนและดานการสืบพันธุหรือการออกดอก ดาวเรืองเปนไมดอกที่ปลูกงาย โตเร็ว แตคอนขางตอบสนองตอสภาพแวดลอม เชน การใหนํ้า ชวงแสง อุณหภูมิ ความชื้น โครงสรางดิน และธาตุอาหาร ดาวเรืองถูกจัดเปนไมดอกจําพวกวันสั้น หมายถึง จะออกดอกเร็วในชวงวันสั้น(ฤดูหนาว) หากเปนชวงแสงมากกวา 12 ชั่วโมงขึ้นไป วันยาว(ฤดูรอนและฤดูฝน) ตนดาวเรืองจะออกดอกชากวาฤดูหนาว ซึ่งปจจัยตางๆเหลานี้มีอิทธิพลตอลักษณะคุณภาพของดาวเรือง แตอยางไรก็ตามการปลูกดาวเรืองใหมีคุณภาพยังตองอาศัยปจจัยอื่นรวมดวย คือ

¡ÒûÅÙ¡´ÒÇàÃ×ͧ

ทักษะเทคนิค และประสบการณของผูปลูก

สภาพแวดลอม

พันธุที่นํามาใช

การหาขอมูลกอนการปลูกดาวเรือง


ทุกทานสามารถติดตอสอบถามเราไดผานชองทางเหลานี้

aga.flowers

sales@aga-agro.com

053-142565

ดาวเรือง เอกะ

เอกะ อะโกร

www.aga-agro.com

บริษัท เอกะ อะโกร จํากัด

207 หมู4 ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 สํานักงาน โทร 053-142565 แฟกซ 053-142560


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.