คู่มือการปลูกทุ่งดอกไม้ โดย บริษัท เอกะ อะโกร จำกัด

Page 1

Flower Field ·Ø‹§´Í¡äÁŒ ¤Ù‹Á×Í¡ÒûÅÙ¡ ดาวเรือง เอกะ Aga Flowers เอกะ อะโกร www.aga-agro.com sales@aga-agro.comaga. owers

วิธีการเตรียมแปลง1.ปรับหนาดิน 3. ใสอินทรียวัตถุ ไถพลิกหนาดินดวย ผาน 3 หรือผาน 7 ควรไถลึกประมาณ 30-40 กอนไถพรวนโรตารี่ตีดินใหละเอียดตากทิ้งไวเพื่อพลิกหนาดินชั้นลางขึ้นมาซม.1สัปดาห หวานใหทั่วพื้นที่แลวทำการไถกลบ ใสปุยหมักที่ผานการยอยสลาย ในการเจริญเติบโตและเพิ่มธาตุอาหารหลักของพืชไดปุยหมักเปนอินทรียวัตถุที่สามารถใชเปนแหลงอาหาร อัตราสวนที่แนะนำ ขี้วัวแหง 200-300 กก./ไร ปุยรองพื้น 15-15-15 อัตรา 25-50 กก./ไรทำใหพืชนำธาตุอาหารในดินไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพการปรับสภาพดินเพื่อใหดินมีคาหรือแฉะจนเกินไปในสภาพที่หนาดินหมาดไมแหงใหเทากันทั้งหมดโดยใชการไถผานพลิกดินเปนการปรับระดับผิวหนาดินpHเปนกลางโดยใสโดโลไมท300-400กก./ไร การปรับสภาพดิน

4. ไถปนจอบหมุน (โรตารี่) 5. ตีแนวแปลง กอนยกรองปลูก 6. การเตรียมแปลง เพื่อใหรากสามารถเจริญเติบโตไดดีเปนการไถปนเนื้อดินใหละเอียด เปนการตีแนวเพื่อไถขึ้นแปลงตามรูปแบบแปลงที่ตองการ เชน- แบบแปลงแถวคู - แบบแปลงแถวเดี่ยว - แบบสลับฟนปลา - แบบชุด 4 แถว - พื้นที่ขนาดใหญ และมีการระบายน้ำทั้งสองขางสำหรับไมหวานควรปรับพื้นที่ใหมีความลาดเทอยางตอเนื่อง - การขึ้นแปลงตามแบบ แนะนำใหยกสูง 20-30 ซม. ระยะหางระหวางแปลง 80-90 ซม. แตงขอบแปลงและปรับหนาแปลงใหเรียบเสมอกันวิธีการเตรียมแปลงระบบน้ำที่เหมาะสม ระยะหางระหวางแปลงที่แนะนำนั้นจะเหมาะสำหรับผูเขาเยี่ยมชมสวน และชวยใหทำงานไดสะดวกทำใหเกิดความสะดวกตอการเขาชมและไมเกิดความเสียหายตอไมดอกทไมเกิดการย่ำบนแปลงี่ปลูกดานขางของแปลง และควบคุมวัชพืชไดดีการแพรกระจายของโรคพืชในแตละชวงไดสามารถควบคุมปริมาณการใหปุยรักษาความชื้นในดินไดดีแตใชไดระยะยาวเปนระบบที่ลงทุนสูงในชวงแรกประหยัดแรงงานลดปญหา การเลือกใชระบบน้ำในการปลูกดอกไมมีหลายวิธี ซึ่งมีจุดเดนจุดดอยแตกตางกัน การเลือกใชวิธีที่เหมาะสม อาจมีปจจัยตางๆในการเลือกใชงาน เชน สภาพพื้นที่ในการปลูก จำนวนทุน แรงงาน รวมไปถึงประสบการณ คอนขางดีและลดการอุดตันของหัวน้ำเปนระบบที่ใหความชื้นในแปลง และมีปริมาณน้ำที่มากพอหรือเปนดินรวนปนดินเหนียวลักษณะเปนดินเหนียววิธีนี้เหมาะสมกับพื้นที่ราบเรียบเปนระบบที่ตนทุนต่ำ ระบบน้ำแบบน้ำหยด ระบบน้ำแบบสปริงเกอร ระบบน้ำแบบตามรองระบบน้ำแบบหัวผีเสื้อ

- หลังจากเตรียมแปลงรดน้ำใหชุม เตรียมเมล็ดโดยประมาณ 500 กรัม/ 1 ไร - นำทรายหยาบ ผสมกับเมล็ด อัตราสวน 3 : 1 (ทราย 3 สวน : เมล็ด 1 สวน) - หวานใหทั่ว กระจายสม่ำเสมอในแปลง - ใชดินละเอียดหวานกลบบางๆ หรือหากมีฟางสามารถใชคลุมแทนได เพื่อชวยรักษาความชื้นของดิน - หลังจากหวานเมล็ด ควรเช็คความชื้นในระยะที่เมล็ดกำลังงอกใหชื้นอยูตลอด แตระวังอยาใหแฉะจนเกินไป วัสดุและอุปกรณวิธีการเพาะเมล็ดวิธีหวานเมล็ดเมล็ดดาวกระจายเทานั้นคำแนะนำเฉพาะการหวาน วัสดุเพาะผสมกับนํ้า โดยผสม โพรพาโมคารบ 0.4 ซีซี/นํ้า 1 ลิตร หรือ เมทาแลกซิล 1 กรัม/นํ้า 1 ลิตร นําวัสดุเพาะใสลงในถาดเพาะ และปาดใหเรียบโดยใสวัสดุเพาะใหเต็ม ทําหลุมเพื่อหยอดเมล็ด หลุมที่กดควรมีขนาดลึกพอดีกับเมล็ดแลวกดถาดลงเพื่อใหเกิดหลุมโดยนําถาดเปลามาวางทับ ประมาณ 0.5 ซม. นําถาดเพาะไปไวบริเวณที่พรางแสง80%-90% รักษาความชื้นโดยการพนนํ้าอยาใหถาดแหงจนเกินไป พนสารเคมีเพื่อปองกันโรคเนาคอดินอีกครั้ง โพรพาโมคารบ 1 ซีซี/นํ้า 1 ลิตร หรือ เมทาแลกซิล 1 กรัม/นํ้า 1 ลิตร นําวัสดุเพาะมารอนกลบเมล็ด กลบเมล็ดถาเมล็ดมีขนาดใหญเมล็ดเล็กไมตองกลบ ทําการหยอดเมล็ด 1 เมล็ด/1 หลุม โดยการหยอดเมล็ดเปนแนวนอน 80%แสง90% 1 2 3 3.1 4 5 6 7 เมล็ดพันธุ ถาดเพาะเมล็ด พีทมอส(วัสดุเพาะ) ถังพนสารเคมี สารปองกันและกำจัดเชื้อรา (โพรพาโมคารบ หรือเมทาแลกซิล) ตะกรา(สำหรับรอนวัสดุเพาะกลบเมล็ด)

1. ขุดหลุมเตรียมปลูก เพื่อใหงายตอการยายปลูก - รักษาความชื้นโดยการพนน้ำ - พรางแสง 50% วิธีการยายปลูก วิธีการดูแลตนกลา 2. การยายปลูก กอนการยายปลูก 2-3 วันควรทำใหตนกลาแข็งแรงกอน มารคจุดหลุมและทำใหแถวตนตรงกันเพื่องายแกการยายปลูกและระยะหางของตน เพลี้ยไฟและแมลงหวี่ขาวเพื่อปองกันแมลงปากดูดใสยารองกนหลุมระยะเริ่มมีใบจริงระยะเริ่มมีใบจริงระยะใบเลี้ยงเริ่มแผระยะตนกลาเริ่มงอก1คู2คู

ชวงเวลาและความถี่การใหน้ำการใหน้ำหลักปฏิบัติในการยายปลูก 1. ยายตนกลาในตอนที่แดดออน (แนะนำยายปลูกหลังบายสาม) 2. เตรียมแปลงปลูกอยางดี รดน้ำแปลงใหดินชื้นกอนการยายปลูก 3. กอนยายตนกลา รดน้ำตนกลาใหชุมกอนทำการยายปลูก ดึงตนก หรือใชไมปลายแหลมเคาะพรอมดินหุมรากไปใหมากๆ เพื่อรากจะไดรับ กระทบกระเทือนนอยที่สุด ระวังอยาใหดินแตก 4. การใหระบบน้ำตามรองเปนวิธีที่ประหยัดและเปนการใหน้ำที่รวดเรรวมถึงปุยที่ใหจะเปนปุยละลายน้ำที่คุณภาพสูงเพื่อไมใหเกิดกาแตทั้งนี้การใชระบบน้ำหยดจะตองลงทุนสูงในระยะแรกใหปุยไปกับระบบน้ำไดเพื่อใหสภาพพื้นที่ไมชื้นแฉะจนเกินไปสำหรับการทำเปนทุงไมดอกควรเปนการใหแบบน้ำหยด5.หากปลูกตื้นจะทำใหตนหักลมงายและแกปญหาตนกลายืดปลูกในหลุมที่กวางพอกับดินที่หุมรากมาและควรปลูกใหลึกถึงตรงหลังการยายปลูกรดน้ำใหชุมอยาปลอยใหแหงเมื่อพืชตั้งตัวไดการใหน้ำแบบระบบน้ำหยดยังสามารถเปนการประหยัดเวลาและแรงงานรอุดตัน็วและไมตองใหบอย เปนวิธีที่นิยมทำกันเนื่องจากงายและประหยัดคาใชจาย แตปญหาที่ตามมานอกจากเรื่องพื้นที่ที่ชื้นแฉะ ไมสะดวกตอการเดินเขาชมสวนแลว ปญหาเรื่องโรคทางดินเปนปญหาที่พบไดบอยในการใชพื้นที่ซ้ำ เมื่อตนพืชสามารถตั้งตัวไดดีแลวในกรณีใหน้ำแบบหยดควรรดน้ำดานบนแปลงดวยควรใหน้ำในชวงเชาเนื่องจากน้ำที่ทวมขังเปนปจจัยสำคัญในการพัดพาเชื้อโรคใหแพรกระจายไดรวดเร็วยิ่งขึ้นเพื่อน้ำจะระเหยไดทันเมื่อมีแดดในระยะแรกของการปลูกระวังอยาใหแหงเพราะจะทำใหตนชะงักการเจริญเติบโตเพื่อใหเจริญเติบโตอยางพรอมเพรียงกันควรใหน้ำสม่ำเสมอกันทั่วทั้งแปลงควรลดการใหน้ำลงทั้งนี้การใหน้ำจะขึ้นอยูกับสภาพอากาศและชนิดของดินดวย เมื่อมีดอกบานอยารดน้ำใหโดนดอก เพราะอาจทำใหดอกช้ำหรือเนาได การใหน้ำควรใหสภาพดินชุมสลับแหง ไมควรใหชุมตลอดเวลา เพราะอาจเปนสาเหตุของการเกิดโรคได การดูแลหลังยายปลูก

ปุยน้ำการใหปุย 2.มักจะใหที่ความเขมขนสูง1.การละลายปุยเม็ดและพืชไดรับปุยอยางสม่ำเสมอและทั่วถึงลดการเกิดอาการไหมเนื่องจากการใหปุยที่มากเกินไปการใหวิธีนี้จะทำใหตนพืชไดปุยไดอยางรวดเร็วนิยมกันมากเนื่องจากหาซื้องายและราคาไมสูงมากนักสัปดาหละครั้งการใหปุยละลายน้ำมักจะใหไปกับน้ำโดยผานเครื่องดูดจายปุยอัตโนมัติ เนื่องจากปุยชนิดนี้ละลายน้ำไดดีมาก ไมตกตะกอนและไมเกิดอาการอุดตันในเครื่อง แตมักจะมีราคาสูง การใหปุยชนิดนี้มักจะใหแบบเจือจางและใหอยางตอเนื่อง สามารถใหไดตั้งแตยายปลูกไดเลย ตนพืชจะเจริญเติบโตไดเร็วกวาการใหปุยแบบอื่น ปุยที่ผสมไดจะมีความเขมขนสูงมาก จึงมักติดตั้งเครื่องจายปุยอัตโนมัติ และวัดคา EC ปลายสายที่ 2.0-2.3 mS/cm หากไมมีเครื่องดูดจายปุยอัตโนมัติและเครื่องวัดคา EC ใหตักปุยเขมขนมา 1 ลิตร ผสมน้ำ 200 ลิตร รดไดเลย ** ความถี่ในการใหปุย : ใหปุยละลายน้ำทุกวันหลังจากการยายปลูก ** ** การละลายปุยไดดีหรือไมนั้นขึ้นอยูกับยี่หอปุย ** ระยะแรกชวงระยะการเจริญเติบโต (สูตรสำหรับสภาพอากาศหนาวเย็น)บำรุงใบและลำตน 7 วันหลังยายปลูก และใหซ้ำทุกๆ 7 วัน 25-7-7 + 46-0-0 1 กก. 200 ลิตร ชวงเวลาการใหปุย สูตร / อัตรา น้ำ 0.5 กก. ระยะแรก (สูตรสำหรับสภาพอากาศรอน)บำรุงใบและลำตน 7 วันหลังยายปลูก และใหซ้ำทุกๆ 7 วัน 25-7-7 + 15-0-0 1 กก. 200 ลิตร 0.5 กก. ระยะตุมดอก เริ่มสูตรนี้เมื่อใหสูตรใบและลำตนไปแลว2-3ครั้ง(ใหกอนจะเริ่มตุมดอก) 25-7-7 + 15-15-15 1 กก. 200 ลิตร 0.5 กก. ระยะดอกบาน เริ่มสูตรนี้เมื่อใหสูตรระยะตุมดอกไปแลว2ครั้ง 15-15-15 + 13-13-21 1 กก. 200 ลิตร 1 กก. อัตราสูตรน้ำ 0-52-34 13-0-46 นิคสเปรย 2.65 กก. 2006.75ลิตรกก. 1 กก. 15-0-0 เหล็ก EDTA 13% 13.16 กก.200 ลิตร 0.5 กก.อัตราสูตรน้ำA B การดูแลหลังยายปลูก

1. แบบฝงดิน ควรฝงดินใหหางโคนตน 10 เซนติเมตร เพื่อปองกันตนไหม โดยอัตราที่ให 2 กรัม (ปลายชอนชา) ตอ 1 ตน และควรใหหลังยายปลูกแลว 7 วัน และใหตอเนื่องสัปดาหละ 1 ครั้ง ควรพนปุยที่เปนจุลธาตุและปุยที่เปนอาหารเสริมสูตรที่ใชเหมือนกับสูตรปุยเม็ดที่นำมาละลายน้ำ สัปดาหละ 1 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรง สีสัน และความทนทานตอโรคและแมลง ปุยที่แนะนำใหฉีดพน ไดแก - แคลเซียมโบรอน หลังจากนั้นรดน้ำทันทีเพื่อลางปุยที่คางออกใหหมด2.--ธาตุโบรอนจะชวยในเรื่องการขนยายน้ำตาลธาตุแคลเซียมจะชวยในเรื่องความแข็งแรงของผนังเซลลมีบทบาทในการสังเคราะหแสงแมกนีเซียมเปนองคประกอบที่สำคัญในคลอโรฟลลจะทำใหพืชมีใบสีเขียวจุลธาตุรวมพืชตองการนอยแตจำเปนหากพืชขาดจะแสดงอาการขาดขึ้นมาแบบหวานวิธีนี้ควรหวานใตทรงพุมอยาใหปุยตกคางที่ยอดและใบ ปุยเม็ด - ควรใหน้ำและปุยอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหคงสภาพการบานใหนานที่สุด - เด็ดดอกแหง ทั้งนี้ควรใหน้ำและปุยรวมถึงการพนยากำจัดศัตรูพืชอยางตอเนื่อดาวกระจาย,คงสภาพการบานของดอกชุดใหมตอไปไดในขณะที่พืชบางชนิดโดยสามารถทำการตัดแตงทรงพุมเพื่อใหแตกกิ่งกานไดใหมและผีเสื้อไมดอกบางชนิดเราสามารถฟนฟูสภาพตนใหกลับมาไดการเลือกใชผลิตภัณฑชีวภาพในการปองกันเปนตัวเลือกที่ดีควรพนยากลิ่นที่ไมแรงและไมทำใหดอกไหม-พืชจะนำพลังงานทั้งหมดไปที่เมล็ดทำใหตนโทรมไวนอกจากจะทำใหไมสวยงามแลวอยาปลอยใหมีดอกแหงคาตนการที่ดอกแหงจะทำใหเกิดการติดเมล็ดพนยาเพื่อปองกันโรคและแมลงที่มาทำลายตนและดอกซึ่งไดแกRockin,แองเจโลเนีย,บานไมรูโรย,บลูซัลเวียลาเวนเดอรสแปนิชอายการเด็ดดอกแหงออกก็เพียงพอใหตนพืชเชนดาวเรืองฝรั่งเศส,บานชื่น,ทานตะวันSunfinity,ลิ้นมังกรPotomacเปนตนงดวย ในชวงดอกไมบานสะพรั่งในชวงระยะฟนฟูทรงตนการพนปุยอาหารเสริม กลบ 10 ซม. การดูแลดอกไมในแปลง การดูแลหลังยายปลูก

การปองกันกำจัดโรคพืชและศัตรูพืช โดยทั่วไปควรพนสารเคมีเพื่อปองกันศัตรูพืช สัปดาหละครั้ง หากพบมีการระบาดควรเพิ่มความถี่ในการพนเปน 2-3 ครั้งตอสัปดาห เปนแมลงจำพวกปากดูด จะเขาทำลายบริเวณยอดออน หรือดอกตูม เขาไปดูดกินน้ำเลี้ยงทำใหยอดหงิกหรือดอกบานแลวผิดรูปไป นอกจากนี้ยังเปนตัวพาหะนำโรคไวรัสมาสูไมดอกได และจะระบาดไดดีในชวงหนาวตอรอน เพลี้ยไฟเปนแมลงที่ดื้อยางาย ดังนั้นการพนสารเคมีควรมีการสลับองคประกอบทางเคมีของตัวยา เพื่อปองกันการดื้อยาการใชสารปองกันกำจัดเพลี้ยไฟ เมื่อพน Exalt (Spinetoram) อยูในกลุม 5 (Spinosyn) ควรพนซ้ำอีกครั้งเดียว ครั้งตอไปควรเปลี่ยนกลุม ไดแก ฟโพรนิล (Fipronil) อยูในกลุม 2B (Phenylpyrazoles) หรือ Cypermethrin ที่อยูในกลุม 3A (Pyrethroids) เปนตน เปนแมลงจำพวกปากดูด มีทั้งชนิดมีปกและไมมีปก แตสวนใหญแลวไมคอยเคลื่อนยายตัวไปไกลๆ ชอบเกาะกลุมอยูกับที่ตรงแหลงที่หากิน วิธีการทำลายจะเขาไปดูดน้ำเลี้ยงทำใหยอดและใบหงิกงอ ดอกเปนคลื่น เมื่อระบาดหนักจะทำใหตนพืชชะงักการเจริญเติบโต บริเวณที่มีเพลี้ยออนระบาดมักจะพบเห็นมดอาศัยกินน้ำหวานที่เพลี้ยออนถายออกมา จึงควรกำจัดมดในแปลงดวยการใชสารปองกันกำจัดเพลี้ยออน Cypermethrin (2A) , Carbosulfan (1A) , Diazenon (1A), Cartap hydrochloride (14) เปนตน ลักษณะจะเปนหนอนตัวเล็กสีเหลือง หัวทายแหลม โดยเริ่มแรกตัวเต็มวัยที่เปนแมลงวันหนอนชอนใบจะวางไขที่ใบดานบนเปนจุดเล็กๆ สีขาว เมื่อไขฟกออกมาเปนหนอนจะเขาทำลายที่ใบ ทำใหใบเปนลายทางสีขาว ดูไมสวยงาม หากระบาดหนักจะทำใหตนโทรมเร็วการใชสารปองกันกำจัดหนอนชอนใบ Cypermethrin (2A) , Abamectin (6), Cartap hydrochloride(14), Cyantraniliprole (28) เปนตน สวนมากมักจะกัดกินในชวงตุมดอก ทำใหดอกเปนรู หรือกัดกินยอดออน ใบออน มักจะขึ้นมากัดกินในชวงเชามืดกอนแดดออก และชวงหัวค่ำ ฉะนั้นควรพนยาชวงเวลาดังกลาวการใชสารปองกันกำจัดหนอนกัดกิน Cypermethrin (2A) , Abamectin (6), Cartap hydrochloride (14) เปนตน

การปองกันกำจัดโรคพืชและศัตรูพืช ลักษณะของตนที่โดนเขาทำลายจะเหี่ยว ใบและยอดตกลูลง ใบเหลืองและรวงหลนบางครั้งจะทำใหพืชออกดอกกอน แตดอกจะเหี่ยวและรวงงาย เนื่องจากรากโดนทำลายไมสามารถดูดน้ำได ที่โคนตนเมื่อดึงขึ้นมามีลักษณะเละสีน้ำตาล รากขาดและมีสีน้ำตาลเชนกัน เมื่อเกิดโรคดังกลางควรทำการถอนตนที่เปนโรคและตนรอบๆออก รดยากำจัดเชื้อราการใชสารปองกันกำจัดโรครากเนาโคนเนา เทอรราคลอ เมทาแลกซิล ใชสารชีวภัณฑ Tricoderma harzianum สามารถทำลายเชื้อสาเหตุได เกิดจากเชื้อ Fusarium โดยเชื้อจะเขาทำลายทอลำเลียงน้ำและอาหารทำให ตนพืชเหี่ยว อาจมีอาการใบเหลืองรวมดวย ภายในตนพืชจะกลวง ไมสามารถดูดน้ำและอาหารได เชื้อตัวนี้เปนเชื้อที่อยูในดิน สามารถแพรกระจายไดงายผานทางการใหน้ำการใชสารปองกันกำจัดโรคเหี่ยว ปรับสภาพดินใหไดคา pH 6.5-7 เปลี่ยนการใชปุยไนโตรเจนจำพวกแอมโนเนียมเปนไนเตรท รวมทั้งการใชสารชีวภัณฑเชนไตรโคเดอรมา กอนการระบาด จะชวยลดการระบาดเปนวงกวางของเชื้อได เปนโรคที่แพรระบาดผานทางบาดแผลเชน การตัดแตงกิ่ง การดูดน้ำเลี้ยงโดยแมลง เชนเพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว อาการที่พบเจอ เมื่อมีไวรัสเขาทำลายไดแก อาการใบดาง, อาการใบและยอดหงิกงอ, อาการไมออกดอกหรือดอกที่ออกผิดรูปผิดราง การใชสารปองกันกำจัด ปองกันโดยการอยาใหเกิดบาดแผลไมวาการใชอุปกรณในการตัดแตง ควบคุมและปองกันแมลงที่เปนพาหะใชเมล็ดพันธุที่มีคุณภาพปราศจากโรคการเกิดโรคชนิดนี้กอใหเกิดความไมสวยงามในแปลงปลูก แตตนพืชยังสามารถดำรงชีวิตอยูได การระบาดของโรคมักไปกับลม และความชื้นในอากาศ ฉะนั้นโรคเหลานี้เราสามารถพนยาปองกันกอนที่จะเกิดโรคไดชวงสภาพอากาศที่มักเปนคือชวงฤดูฝนโดยเฉพาะในชวงที่ตกติดตอกันหลายวันและไมมีแสงแดดคารเบนดาซิม,ไฮโพรไดโอน,ครอโรทาโรนิล,ไพราโคสโตบินเปนตน

แองเจโลเนียดอกไมเซเรนิตา ตารางขอมูลการปลูกดอกไม 30-35 20-25 25 x 25 25-30 60-65 30-45 แองเจโลเนีย เซเรนา 30-35 25-30 25 x 25 25-30 60-65 30-45 แองเจโลเนีย แองเจลิกา 60-75 25-30 25 x 25 25-30 75-80 30-45 สรอยไก เซ็นจูรี่ 40-45 25-30 20 x 20 15-20 55-60 30-45 สรอยไก ดรากอน เบรธ 60-75 20-25 25 x 25 วันสั้น 55-60 วันยาว วันยาววันยาววันยาววันสั้น100-11065-75100-120วันสั้น65-75100-120วันสั้น65-75100-120 30-4515-20 ผีเสื้อ โจลท 50-60 35-40 25 x 25 25-30 115-120 30-45 ผีเสื้อ ร็อคคิ่น 50-60 35-40 25 x 25 25-30 110-120 30-45 ผีเสื้อ อเมซอน 70-80 25-30 25 x 25 25-30 110-120 30-45 ดิจิทาลิส แพนเทอร 70-80 40-45 30 x 30 25-30 130-140 30-45 บานไมรูโรย คิส 60-65 35-40 35 x 35 20-25 80-95 30-45 ลาเวนเดอร สแปนิส อาย 60-70 50-60 25 x 25x 25-30 70-80 30-45 ดาวเรือง ทุงทอง 55-60 55-60 35 x 35 15-20 80-85 30-45 หงอนไก ชีฟ 80-100 15-20 15 x 15 15-20 70-75 30-45 สรอยไก ซิลฟด ไลม 90-110 20-25 15 x 15 15-20 75-85 30-45 สรอยไก เซลเวย 90-110 20-25 15 x 15 15-20 65-75 30-45 ดาวกระจาย เซนเซชั่น 100-110 25-30 25 x 25 15-20 30-45 ดาวกระจาย ไบรท ไลท 70-90 35-40 25 x 25 15-20 30-45 ดาวกระจาย คอลาเรต ไซเช 90-100 40-45 25 x 25 15-20 30-45 ทานตะวัน วินเซนท 100-120 20-30 25 x 25 7-10 45-55 15 ทานตะวัน แดนซิ่ง ซัน 100-120 70-80 50 x 50 7-10 45-55 15 คูเฟย ศรีราชา 30-40 25-30 25 x 25 20-25 65-75 30-45 ดาวกระจาย แมนดาริน 25-30 20-25 20 x 20 15-20 65-75 30-45 ดาวเรืองฝรั่งเศส ดูแรงโก 35-40 25-30 20 x 20 13-15 60-70 30-45 ความสูงตน(ซม.) ทรงพุมกวาง(ซม.) ระยะปลูก(ซม.) กลบเมล็ดตอนเพาะ ถึงยายปลูกวันเพาะ(วัน) ถึงดอกบานวันเพาะ(วัน) หลังออกดอกระยะเวลา(วัน) เพื่อคงสภาพการตัดแตง เด็ดยอด ฮอลลี่ฮ็อค 150-160 45-60 35 x 35 25-30 150-160 30-45 บานไมรูโรย ออเดรย 120-130 50-60 35 x 35 20-25 70-75 30-45 บานไมรูโรย ไฟเออรเวิรค 120-130 50-60 35 x 35 20-25 70-80 30-45 ทานตะวัน ไวทไนท 150-165 40-50 25 x 25 7-10 50-60 15 ทานตะวัน ไวทไลท 140-150 40-50 25 x 25 7-10 45-50 15 ทานตะวัน ซิกกี้ 100-200 40-50 25 x 25 7-10 60-62 15 ทานตะวัน ช็อคโกแลต เรด 180-200 40-50 25 x 25 7-10 50-60 15 ทานตะวัน ซันฟนิตี้ 180-200 75-80 50 x 50 15-20 70-75 30 ทานตะวัน อควา 140-160 40-50 25 x 25 10-15 90-100 15

50000เชยงใหมจเมองอหนองหอยต4หม207 142560053แฟกซ142565053โทรสำนกงาน จำกดอะโกรเอกะบรษท ดอกไม ซัลเวีย วิตตอเรีย 40-50 25-30 20 x 20 25-30 85-90 30-45 ซัลเวีย เซอรรัส, สตราตา 40-50 25-30 20 x 20 25-30 85-90 30-45 ซัลเวีย บิ๊กบลู 40-50 40-50 30 x 30 25-30 110-120 30-60 ซัลเวีย ซัลวาทอเร 50-60 50-60 30 x 30 25-30 85-90 30-45 ซัลเวีย บลู ไจแอนท 100-110 45-50 40 x 40 25-30 55-60 30-60 เวอรบีนา ไฟเนสส 90-100 60-70 30 x 30 25-30 120-130 30-45 บานชื่น สเตท แฟร 90-100 30-40 25 x 25 15-20 70-80 30-45 บานชื่น ไจแอนท 90-120 50-60 30 x 30 15-20 75-90 30-45 ซัลเวีย วิสตา 30-40 25-30 20 x 20 20-25 85-100 30-35 ความสูงตน(ซม.) ทรงพุมกวาง(ซม.) ระยะปลูก(ซม.) กลบเมล็ดตอนเพาะ ถึงยายปลูกวันเพาะ(วัน) ถึงดอกบานวันเพาะ(วัน) หลังออกดอกระยะเวลา(วัน) เพื่อคงสภาพการตัดแตง เด็ดยอด คำแนะนำหรือวิธีการ ตามคูมือปลูกเลมนี้ ตั้งแตการเพาะเมล็ด, การเตรียมแปลง, การใหน้ำ, การใหปุย ตลอดจนการใชสารเคมีปองกัน/จำกัดโรคพืช เปนคำแนะนำจากทางบริษัท เอกะ อะโกร เกษตรกรที่ปลูกอาจมีวิธีการที่แตกตางไป ตามสภาพภูมิอากาศ, สภาพดินและทักษะประสบการณของผูปลูก ทั้งนี้ผูปลูกอาจจะใชขอมูลจากคูมือเลมนี้มาดัดแปลงปรับแตงเพื่อใหไดแปลงดอกไมที่มีคุณภาพ

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.