HMONG

Page 1

HMONG บ้านแผ่นดินทอง ต�ำบลตับเต่า อ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

เล่าเรื่องผ่านผ้าปักม้ง

ไอลวิน นันทกิจาไพศาล


“ม้ ง ” มี ต� ำ นานของเผ่ า ตนว่ า บรรพบุรุษแต่โบราณนั้นอาศัยอยู่ในดิน แดนอั น หนาวเย็ น ซึ่ ง หิ ม ะตกหนั ก ซึ่ ง เป็ น มู ล ให้ สั น นิ ษ ฐานกั น ว่ า ชาวม้ ง คง จะอพยพจากที่ราบสูงธิเบต ไซ บีเรีย และ ก็มีการอพยพออกจากลุ่มแม่น�้ำเหลืองอยู่ เรื่อยๆ มีครั้งหนึ่งจีนพยายามที่จะห้ามมิ ให้ ช าวม้ ง แต่ ง กายแปลกแตกต่ า งจาก คนจี น อื่ น ๆ ห้ า มมิ ใ ห้ พู ด ภาษาม้ ง แต่ไม่ส�ำเร็จ การห้ามปรามในครั้งนี้กลับ มีผลให้ชาวม้ง ต่อต้านจนมีการอพยพ ออกไปหาอิสระภาพกัน ถึงกระนั้นก็ยัง มี ป ระชากรชาวม้ ง บางส่ ว นที่ อ าศั ย อยู ่ ในประเทศจีน ไม่มีใครทราบแน่ว่า ชาว ม้ ง เข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ่ ใ นลาวตั้ ง แต่ เมื่ อ ใด มี ห มู ่ บ ้ า นม้ ง อยู ่ กั น อุ ่ น หนาฝา คั่ ง บนดอยรอบเมื อ งหลวงพระบาง และราวอีกครึ่งศตวรรษต่อมาชาวม้งก็ได้ เริ่มเข้ามาตั้ง รกรากกันในประเทศไทย

2

มงโกเลี ย เข้ า สู ่ ป ระเทศจี น และตั้ ง หลั ก แหล่ ง อยู ่ แ ถบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ เหลื อ ง(ฮวงโห) แต่เพราะเหตุที่ถูกคนจีนรุกรานพยายาม ปราบเอาเป็นเมืองขึ้นอยู่ตลอดเวลาท�ำ ให้ชาวม้งรู้สึกเป็นศัตรู และเมื่อพ่ายแพ้ ชาวเขาเผ่าทีค่ นไทยเรียกแม้วนัน้ ประกอบ ไปด้ ว ยสองพวก ซึ่ ง เรี ย กตนเองว่ า “ม้งเดียว”(ม้งขาว) “ม้งจัว”(ม้งเขียว) ภาษาศาสตร์จัดม้งอยู่ในสาขา เมี้ยว-เย้า ของตระกูลจีน-ธิเบต และ พบว่ามีค�ำที่ ขอยืมมาจากภาษายูนนาน ลาวและไทย ปนเปอยู่ในภาษาม้ง และชาวม้งก็มักจะ เรียนภาษาพูดของคนใกล้ตัว เช่น ลาว ไทยเหนือและกะเหรี่ยง ฮ่อ แล้วแต่ว่าจะ ตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้ใคร ภาษาของม้งขาว และม้ ง เขี ย วแตกต่ า งกั น มากจนพู ด กั น ไม่รู้เรื่อง แต่โดยมีแบบแผนการแต่งกาย ที่คล้ายคลึงกันจึงพอที่จะให้จัดเป็นชน เผ่าเดียวกันได้


ชาวม้ ง อพยพเข้ า ในจั ง หวั ด เชี ย งราย โดยการเดิ น ทางมาบริ เวณ ประเทศลาวและพม่า เหนือท่าขี้เหล็ก แล้วลงมา ทางขุนหัวแม่ค�ำ ซึ่งอยู่ใกล้ บ้านหินแตก อ�ำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัด เชียงราย โดยกลุ่มที่เข้ามาเส้นทางนี้ เป็น กลุม่ ทีเ่ ข้ามาทีห่ ลังสุด การเข้ามาตัง้ ชุมชน ของชาวม้งในบริเวณที่เป็นประเทศไทย ปั จ จุ บั น ในช่ ว งบุ ก เบิ ก นั้ น ได้ มี ก ารขอ อนุญาตจากผู้น�ำชุมชนใกล้เคียงที่ตั้งหลัก แหล่งอยู่ก่อนแล้ว พร้อมกับการแจ้งให้ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองท้องถิ่นที่ดูแลใน

พื้ น ที่ นั้ น ๆ รั บ ทราบเป็ น ต้ น ว่ า ผู ้ ใ หญ่ บ้ า น ก� ำ นั น เจ้ า เมื อ ง ข้ า หลวง ฯลฯ ทั้งนี้ มักจะมีการเอาของป่าที่มีค่า เช่น ลูกสัตว์ป่า งาช้าง หนังสัตว์ น�้ำผึ้ง ฯลฯ มาเป็นสัญลักษณ์บรรณาการในการผูก สร้างความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่ปกครอง ระดั บ ท้ อ งถิ่ น ดั ง กล่ า ว ทั้ ง นี้ ใ นระยะ แรกนั้นผู้น�ำชาวม้งในหลายพื้นที่ก็ได้รับ การแต่งตั้งจากเจ้าเมืองและข้าหลวงให้ เป็ น พญาหรื อ ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นเพื่ อ ปกครอง ดู แ ลชาวบ้ า นบนภู เขาด้ ว ย เช่ น พญา พิภกั ดิ์ (บ้านพญาพิภกั ดิ์ จังหวัดเชียงราย) 3


การแต่ ง กายของชาวม้ ง มี ที่แตกต่างกัน คน ทั่วไปจึงเรียกชาว ลั ก ษณะเป็ น ที่ เ ฉพาะของกลุ ่ ม ชน ม้ง ตามลักษณะการแต่งกาย สีและ เผ่าม้ง แต่ ละกลุ่ มยังมีการแต่งกาย ลั ก ษณะเครื่ อ งแต่ ง กายของชาวม้ ง

เมื่ อ ชาวม้ ง อพยพเข้ า มาได้ มี การน� ำ งานหั ต ถกรรม งานจิ ต รกรรม งานศิ ล ปวั ฒ นธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ของ ตนเองเข้ า มาด้ ว ย และหนึ่ ง ในนั้ น คื อ “ผ้าปัก” การปักผ้าเป็นงานหัตกรรมที่ ส�ำคัญของสตรีชาวม้ง ถือเป็นเอกลักษณ์ ที่ส�ำคัญ จนเป็นการแสดงออกถึงวิถีชีวิต ชาวม้ ง มี ศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ สื บ

4

ต่อเนื่องกันมาช้านาน โดยเฉพาะเรื่อง เครื่ อ งแต่ ง กายและเครื่ อ งประดั บ แล้ ว ยิ่ ง ใหญ่ อ ลั ง การกว่ า เผ่ า อื่ น ๆทั้ ง หลาย ในจี น การเย็ บ การปั ก การทอเสื้ อ ผ้ า ของชาวม้งนั้น จะท�ำกัน อย่างสุดฝีมือ ลายปั ก ละเอี ย ดแน่ น แต่ ล ะกลุ ่ ม จะมี แบบประจ� ำ กลุ ่ ม ที่ บ อกได้ ทั น ที่ ว ่ า มา จากเมื อ งไหน มณฑลไหน โดยดู จ าก


ลักษณะเสื้อผ้าและเครื่องประดับนี้เอง สตรี ช าวม้ ง ทุ ก คนจ� ำ เป็ น ที่ จ ะ ต้องเรียนรู้การปักผ้ามาจากผู้เป็นมารดา ตัง้ แต่อายุยงั น้อย และเริม่ ฝึกฝนมาเรือ่ ยๆ จนเกิดความช�ำนาญ มีความแม่นย�ำใน การปักผ้า ชาวม้งนิยมปักผ้าลงบนเครื่อง แต่งกายของบุคคลในครอบครัวเพื่อไว้ สวมใสในโอกาสพิเศษ ด้วยฝีเข็มเล่มเล็ก ทีท่ ำ� การปักลงไปบนผืนผ้าจนเกิดลวดลาย ที่สวยงาม ถือเป็นงานสร้างสรรค์ที่เกิด จากความคิดของผู้ปักผ้า ด้วยลวดลาย ต่างๆที่ว่าด้วยความเชื่อพื้นฐานของชาว ม้ง เป็นการแสดงออกของลวดลายที่มี ความหมายเชิงสัญลักษณ์ ไม่ว่าจะเป็น ลายก๊ากือ ลายนุกู๊ ต่างเป็นสัญลักษณ์ที่ ได้แรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ สีสัน ของเส้นด้ายที่เลือกน�ำมาปักถือเป็นงาน

ศิ ล ปะที่ เ ด่ น ชั ด ที่ สุ ด ในเรื่ อ งของการใช้ สี เพราะชาวม้งนิยมปักผ้าด้วยด้ายที่มี สีสันสดใส และมักใช้สีของเส้นด้ายที่ตัด กันอย่างชัดเจน รวมถึงเทคนิคในการปัก ผ้าที่มีรูปแบบการปักที่เฉพาะตัวในกลุ่ม ชาติพันธุ์ แต่เมื่อเวลาผ่านไป ลวดลาย ของผ้าปักชาวม้งย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ลวดลายดั้งเดิมกลับถูกกลืนหาย แต่กลับ ปรากฏลวดลายใหม่ๆขึ้นมาเป็นจ�ำนวน มาก ในด้านการตลาดลวดลายดั้งเดิมไม่ เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคมากนัก ท�ำให้ สตรีชาวม้งในปัจจุบัน ต้องคิดค้นและปัก ผ้าลวดลายใหม่ๆทีน่ า่ สนใจขึน้ มาทดแทน แต่ยังคงมีลวดลายดั้งเดิมอยู่ด้วย โดย การปักลวดลายที่ผสมผสานทั้งลวดลาย ดั้ ง เดิ ม และลวดลายใหม่ เข้ า ด้ ว ยกั น

5


จากลวดลายดั้ ง เดิ ม ถู ก ปรั บ เปลี่ยนคิดค้นเป็นลวดลายใหม่ร่วมสมัย แต่เรายังไม่อาจลืมลายดั้งเดิมที่เกิดขึ้น ควบคู่กับชาวม้งมาอย่างช้านานได้ คุณค่า ทางด้านความงาม คุณค่าทางด้านความ คิดสร้างสรรค์ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะ ต้องอนุรักษ์ไว้ เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ทราบ ถึ ง ต� ำ นาน ข้ อ มู ล และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ได้ เห็ น ลวดลายดั้ ง เดิ ม แบบโบราณที่ ห าดู ยาก ท� ำ ให้ เราต้ อ งตระหนั ก อย่ า งมาก ที่จะให้สตรีชาวม้ง ต้องปักผ้าลวดลาย

ดั้งเดิมไว้ให้มากที่สุด เพื่อชาวม้งจะได้ เกิดความภาคภูมิใจในรากเง้าของต้นเอง จะเห็นได้วา่ วิถชี วี ติ ของกลุม่ ชาติพนั ธุม์ ง้ มี ลักษณะและเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่นสวยงาม เฉพาะตัว สิง่ เหล่านี้ ถือเป็นภูมปิ ญ ั ญาและ งานศิลปะของชาวม้ง ที่ถูกสั่งสมกันมา ตั้งแต่บรรพบุรุษ เรื่องราวต่างๆที่ถูกสอด แทรกลงไปในลวดลายของผ้าปัก ถือเป็น ความงามของช่วงเวลานัน้ ๆ ทีย่ งั คงคุณค่า ให้เห็นถึงความเป็นชาติพนั ธุ์ ทีม่ วี ฒ ั นธรรม งานหัตถกรรม และงานศิลปกรรมอันดีงาม

6


7


8


9


ลวดลายจากผ้าปัก

ผ้าปักผืนนี้เป็นของนางเจอ แซ่ เล่า ปักผ้ามาแล้ว 30 ปี เป็นชาวม้งขาว ใช้ วิ ธี ก ารปั ก ผ้ า ในการตกแต่ ง ลวดลาย โดยใช้การปักในรูปแบบที่เรียกว่า “บ้าน จู” คือการปักแบบกากะบาด ลงไปตาม ช่องของผ้า ที่มีการวางแผนเพื่อให้เกิด ลวดลายที่สวยงามตามต้องการ การปัก ผ้านีเ้ ป็นการปักผ้าทีม่ รี ปู แบบและลวดลาย ที่ถูกสร้างใหม่จากลวดลายเดิม ผ้าชิ้นนี้ เป็นการปักลวดลายลงบนผ้าเพื่อใช้เป็น ส่วนประกอบของผ้าคาดเอวของชุดชน เผ่ า ม้ ง ของสุ ภ าพสตรี ส่ ว นบริ เวณที่ ใช้ 10

คาดเอว ซึ่งสองข้างจะมีลักษณะลวดลาย ที่เหมือนกัน และน�ำทั้งสองส่วนนี้เข้าไป ประกอบกับส่วนต่างๆที่จะท�ำเป็นผ้าคาด เอวที่ใช้ในงานพิธีการของชาวม้ง ลวดลาย ทีป่ กั คือลวดลายทีม่ ลี กั ษณะคล้าย “กากะ บาด” แต่จะมีส่วนประกอบที่ท�ำใช้ได้เกิด จากลาย โบราณ ที่เรียกว่า “แน้งหน่า”ซึ่ง หรื อ ลายรอยตี น หนู ซึ่ ง เป็ น ลวดลาย โบราณของชาวม้ง แต่มีการจัดรูปแบบ การวางลายแน้งหน่าที่แตกต่างกันแล้วแต่ ความสวยงามและความชอบของผู้ปักผ้า เพื่อเกิดความชัดเจนของลวดลายผ้าปัก


ผ้าปักผืนนี้เป็นของนางเด้อ แซ่ ว่าง ปักผ้ามาแล้ว 10 ปี เป็นชาวม้งขาว ใช้วิธีการปักผ้าในการตกแต่งลวดลาย โดยใช้การปักในรูปแบบที่เรียกว่า “เซอ ป้า” คือการปักโดยการตัดผ้ามาปะเป็น รู ป แบบต่ า งๆ ปั ก ผ้ า นี้ เ พื่ อ น� ำ ส่ ง ศู น ย์ ศิ ล ปาชี พ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ลวดลายที่ท�ำการน�ำ มาปะติ ด ลงบนผ้ า คื อ “ลายเมฆ” ซึ่ ง

เป็น 1 ใน 9 ของลวดลายประแจจีน ของ ประเทศจีน โดยลายนี้มีความหมายถึง การอวยพรให้เจริญก้าวหน้าในด้านต่างๆ ลายประแจจีนเหล่านี้ คนจีนโบราณมัก น�ำลายธรรมชาติหรืออื่นๆ มาปรับเป็น ลายเส้ น เรขาคณิ ต เพื่ อ เป็ น ลายมหา มงคล ด้วยเพราะชาวม้งมีความผูกผันกับ รูปแบบลวดลายตั้งแต่ในยุคบรรพบุรุษ ของตนก่ อ นมี ก ารอพยพย้ า ยถิ่ น ฐาน

11


ลวดลายจากผ้าปัก

ผ้าปักผืนนี้เป็นของนางมอ แซ่ ว่าง ปักผ้ามาแล้ว 20 ปี เป็นชาวม้งขาวใช้ วิธีการปักผ้าในการตกแต่งลวดลาย โดย ใช้การปักในรูปแบบที่เรียกว่า “จ้า” คือ การปักเดินเส้นเป็นลายโซ่ ซึ่งต้องมีการ วางแผนลวดลายก่อนที่จะปักเพื่อให้เกิด ลวดลายที่สวยงามตามต้องการ การปักผ้า นี้เป็นการปักผ้าที่มีรูปแบบและลวดลายที่ 12

ถูกสร้างใหม่ ผ้าชิ้นนี้เป็นการปักลวดลาย คอปกเสื้ อ ของชาวม้ ง ที่ ส วมใส่ กั น เป็ น ลงบนผ้าพื้นเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบของ ประจ� ำ ลั ก ษณะเด่ น ของคอปกเสื้ อ ชิ้ น นี้ มีการปักเดินเส้นแบบลายโซ่ ที่มีการ ผสมผสานการปักแบบบ้านจูเล็กน้อยไวที่ ลวดลายตีนหนู หรือลวดลาย “ แน้งหน่า ”


ผ้าผืนนี้เป็นของนางไพร แซ่ม้า ปักผ้ามาแล้ว 20 – 30 ปี เป็นาวม้งขาว ใช้ วิ ธี ก ารปั ก ผ้ า ในการตกแต่ ง ลวดลาย โดยใช้การปักในรูปแบบที่เรียกว่า “บ้าน จู” คือการปักแบบกากะบาด ทั้งคอปก เสื้อและสาบเสื้อ ซึ่งต้องมีการวางแผน ลวดลายก่อนทีจ่ ะปักเพือ่ ให้เกิดลวดลายที่ สวยงามตามต้องการ การปักผ้านี้เป็นการ ปักผ้าที่มีรูปแบบและลวดลายที่ถูกสร้าง

ใหม่ แ ละลวดลายดั้ ง เดิ ม ผสมผสานกั น อยู่ ผ้าชิ้นนี้เป็นการปักลวดลายลงบนผ้า พื้นเพื่อใช้ เ ป็ นส่ วนประกอบของคอปก และสาบเสื้อของชาวม้งที่สวมใส่กันเป็น ประจ�ำ ลักษณะเด่นของคอปกเสื้อชิ้นนี้ มีการปักแบบกากะบาด บริเวณปกเสื้อมี คอปกเสื้อชิ้นนี้ สีที่ใช้เน้นสีฟ้าและสีม่วง เพื่อเกิดความชัดเจนของลวดลายผ้าปัก 13


ลวดลายจากผ้าปัก

ผ้าปักนี้เป็นของนางแน้ง แซ่ว้า ปักผ้ามาแล้ว 33 ปี เป็นชาวม้งขาว ใช้ วิธีการปักผ้าในการตกแต่งลวดลาย โดย ใช้การปักในรูปแบบที่เรียกว่า “เซอ ป้า” คือการปักโดยการตัดผ้ามาปะเป็น รูปแบบต่างๆ และการปักแบบ “บ้าน จู” คือการปักแบบกากะบาด ลงไปตาม ช่องของผ้า ทีมีการวางแผนเพื่อให้เกิด

ลวดลายที่สวยงามตามต้องการ การ ปักผ้านี้เป็นการปักผ้าที่มีรูปแบบและ ลวดลายที่ถูกสร้างใหม่จากลวดลายเดิม คือลวดลายก้นหอย หรือ “ก๊ากื้อ” ผ้า ชิ้นนี้เป็นการปักลวดลายลงบนผ้าพื้นเพื่อ ใช้เป็นส่วนประกอบของคอปกเสื้อของ ชาวม้งที่สวมใส่กันเป็นประจ�ำ

14


ผ้าปักผืนนี้เป็นของนางสาว เน้ง แซ่ว่าง ปักผ้ามาแล้ว 5 ปี เป็นชาว ม้งขาว ใช้วิธีการปักผ้าในการตกแต่ง ลวดลาย โดยใช้การปักในรูปแบบที่ เรียกว่า “เซอป้า” คือการปักโดยการ ตัดผ้ามาปะเป็นรูปแบบต่างๆ บนผ้า พื้น การปักผ้าชิ้นนี้เพื่อน�ำส่งศูนย์ศิลปา ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรม ราชินีนาถ ลวดลายที่ท�ำการน�ำมาปะ ติดลงบนผ้าคือ “ลวดลายก้นหอย” ถือ

เป็นลวดลายประยุกต์ระหว่างลวดลาย สมัยใหม่และลวดลายโบราณของชาวม้ง เนื่องจากลวดลายก้นหอย หรือ ท่าวบ้าน นิยมเรียกกันว่า “ก๊ากื้อ” เป็นลวดลาย โบราณที่ชาวบ้านชาวม้งคุ้นเคย และถือ เป็นเอกลักษณ์ของลวดลายในการปักผ้า ของ สีที่ใช้เป็นผ้าสีฟ้าอ่อนที่ตัดเป็นรูป ก้นหอย ก่อนจะปักลงไปบนผ้าพื้นสีฟ้า เข้ม

15


ลวดลายจากผ้าปัก

ผ้าผืนนี้เป็นของนางเชา แซ่หาญ ปักผ้ามาแล้ว 30 ปี เป็นชาวม้งขาว ใช้ วิธีการปักผ้าในการตกแต่งลวดลาย โดย ใช้การปักในรูปแบบที่เรียกว่า “เซอ ป้า” คือการปักโดยการตัดผ้ามาปะเป็น รูปแบบต่างๆ ประกอบกับการเดินเส้น แบบโซ่ ที่เรียกว่า “จ้า” ปักอยู่ด้านบน ที่น�ำผ้ามาตัดปะอีกครั้ง เพื่อให้เกิดความ สวยงามขอผ้าปัก การปักผ้านี้เพื่อน�ำส่ง ศูนย์ศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์

พระบรมราชินีนาถ ใช้ในการแปรรูปเพื่อ เพิ่มมูลค้าของสินค้า ลวดลายที่ท�ำการ น�ำมาปะติดลงบนผ้าคือลวดลายที่มีการ ประดิษฐ์ขึ้นเองของผู้ปัก ที่มีการวางแผน ให้ลวดลายเกิดความสวยงามตามที่ผู้ปัก ต้องการ เป็นลวดลายที่ซ�้ำกันตลอดทั้ง ผืน สีที่ใช้เน้นสีชมพูคือผ้าที่น�ำมาตัดปะ และ ผ้าพื้นใช้เป็นสีฟ้า เดินเส้นด้ายสีฟ้า บนผ้าที่น�ำมาปะ

16


ผ้าปักผืนนี้เป็นของนางสาว มุกดา แซ่วาง ปักผ้ามาแล้ว 5 ปี เป็น ชาวม้งขาว ใช้วิธีการปักผ้าในการตกแต่ง ลวดลาย โดยใช้การปักในรูปแบบที่ เรียกว่า “เซอป้า” คือการปักโดยการ ตัดผ้ามาปะเป็นรูปแบบต่างๆ บนผ้า พื้น การปักผ้าชิ้นนี้เพื่อน�ำส่งศูนย์ศิลปา ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรม ราชินีนาถ ลวดลายที่ท�ำการน�ำมาปะ ติดลงบนผ้าคือ “ลายหัวใจ” ผสมกับ

“ลวดลายก้นหอย” ถือเป็นลวดลาย ประยุกต์ระหว่างลวดลายสมัยใหม่และ ลวดลายโบราณของชาวม้ง เนื่องจาก ลวดลายก้นหอย หรือ ชาวบ้านนิยมเรียก กันว่า “ก๊ากื้อ” เป็นลวดลายโบราณ ที่ชาวบ้านชาวม้งคุ้นเคย และถือเป็น เอกลักษณ์ของลวดลายในการปักผ้าของ สีที่ใช้เป็นผ้าสีฟ้าที่ตัดเป็นรูปหัวใจและ ก้นหอย ก่อนจะปักลงไปบนผ้าพื้นสีขาว

17


เล่าเรื่องผ่านผ้าปักม้ง ไอลวิน นัทกิจจาไพศาล ภาพและเนื้อเรื่อง © 2017 (พ.ศ. 2560) โดย ไอลวิน นันทกิจจาไพศาล สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม พ.ศ. 2560 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ไอลวิน นันทกิจจาไพศาล ใช้แบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt หนังสือเล่มนี้ เป็นผลงานทางวิชาการ จัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพ การศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.