Chiang Mai MICE in GMS-BIMSTEC

Page 1

1


2


เชียงใหม่ สำนักพิมพ์ ปี นฟ้ำ 2556 3


ชื่อหนังสือ

:

เชียงใหม่นครศูนย์กลาง MICE ในลุ่มแม่น้าโขงและ BIMSTEC

ผู้เขียน

:

สุธิดา สุวรรณกันธา

พิมพ์ครังที่ 1

:

กุมภาพันธ์ 2556

จ้านวนพิมพ์

:

500 เล่ม

ออกแบบและจัดพิมพ์

:

ส้านักพิมพ์ปีนฟ้า

เจ้าของ

:

ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด ปีนฟ้า ครีเอชั่น 2 อาคาร 103 คอนโดมิเนียม ซอย 7 ถ.สวนดอก ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร. 081-9922952

ราคา

:

250 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ © การพิมพ์ การแปล และการผลิตซ้าอื่นใด ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์อย่างถูกต้องตามกฎหมาย พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ ธันวาคม พ.ศ.2552

4


สำรบัญ

ค้าน้าส้านักพิมพ์

7

ค้าน้าผู้เขียน

9

1 2 3 4 5 6 7 8

13 15 18 26 39 45 53 70

9 10 11 12

ค้านิยามของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิง MICE ความหมายและความส้าคัญของอุตสาหกรรมไมซ์ เชียงใหม่อนาคต Hub of MICE City สถานการณ์ไมซ์ในอนุภมู ิภาคลุม่ แม่น้าโขง (GMS) สถานการณ์ไมซ์ในภูมภิ าคเอเชียใต้ (BIMSTEC) อุตสาหกรรมไมซ์ของไทย อุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่ บทสรุปความท้าทายของจังหวัดเชียงใหม่สู่นครแห่ง MICE ในลุ่มแม่น้าโขงและ BIMSTEC บรรณานุกรม MICE Links พระราชกฤษฎีกาจัดตังส้านักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๖ ประวัติผู้เขียน

5

103 104 120


6


คำนำสำนักพิมพ์ การเคลื่อนตัวทางกายภาพของจังหวัดเชียงใหม่สู่มหานครเชียงใหม่ เป็นเรื่องที่น่าสนใจถึง การถ่าโถมของนโยบายและอภิมหาโครงการที่ลงสู่ในพืนที่ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเมือง ขนานใหญ่เพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่ครบวงจร ไม่ว่าจะมีโครงการรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ที่จะเกิดขึนภายใน 10 ปี โครงการมอเตอร์เวย์เชื่อมเชียงใหม่- เชียงราย- จีน ตอนใต้ การเร่งพัฒนาสนามบินเชียงใหม่ให้ เป็น Cultural Hub ของอินโดจีน เพื่อสนับสนุนการ เป็นฐานและประตูดา้ นการค้า รวมถึงโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงกับกลุ่มประเทศอนุภูมภิ าคลุ่ม แม่น้าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) ไม่รวมถึงโครงการของภาคเอกชนที่แห่งมาลงทุนใน พืนที่จังหวัดเชียงใหม่อย่างมหาศาลเช่นกัน การพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ถูกก้าหนดให้เป็นศูนย์กลางหลาย ๆ ด้านมาก่อนหน้านีทัง ศูนย์กลางการบิน ศูนย์กลางการศึกษา ศูนย์กลางการบริการสุขภาพและการแพทย์ ล้วนท้าให้เมือง เชียงใหม่เกิดภาวะกระจุกตัวด้วยประชากรและปัญหาที่สะสมไม่แตกต่างกับกรุงเทพฯ เมืองหลวง ของประเทศ ทว่ายุทธศาสตร์ลา่ สุดที่ก้าหนดให้เชียงใหม่นครศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติ (HUB of MICE City) ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) หรือเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมไมซ์ อันประกอบด้วยองค์ 4 องค์ด้วยกันคือ อุตสาหกรรมการจัดประชุม (Meeting) เป็นการจัดประชุมของบริษัทหรือองค์กรต่างๆ โดยอาจจะ มีผู้เข้าร่วมประชุม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentives) อุตสาหกรรมการจัด 7


ประชุมนานาชาติ (Conventions) อุตสาหกรรมการจัดงานแสดงสินค้านานาชาติ (Exhibitions) เพราะสมมุติฐานว่าหากดึงกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มนีมาได้ก็จะมีรายได้ต่อหัวต่อการ เดินทางเฉลี่ยสูงกว่านักท่องเที่ยวเชิงพักผ่อนกว่าเกือบ 2 เท่าตัว ซึ่งท่านจะได้ทราบถึง ยุทธศาสตร์ดา้ นนีในหนังสือเล่มนีว่า จะส่งผลกระทบต่อจังหวัดเชียงใหม่และมีความท้าทาย อย่างไร ท่ามกลาง หลาย ๆ ประเทศทั่วโลก รวมถึงในภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง และอาเซียนก็ตา่ ง ให้ความส้าคัญกับอุตสาหกรรมนีเช่นกัน ค้าถามมีอยู่ว่าเชียงใหม่พร้อมรับอุตสาหกรรมไมซ์อย่างเต็มที่หรือยัง และเมื่อรับมาเป็น ตัวขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของพืนที่อันหมายรวมถึงภาคเหนือแล้ว จะมีความท้าทายที่สา้ คัญ อย่างไร ซึง่ ผู้เขียนได้ตังประเด็นที่ศึกษาเชิงลึกไว้ในเรื่องศักยภาพและขีดความสามารถในการ แข่งขันของจังหวัดเชียงใหม่ อันคาบเกี่ยวกับนโยบายของภาครัฐกับการก้าหนดยุทธศาสตร์และ กลยุทธ์ส่งเสริมให้เชียงใหม่เป็นนครศูนย์กลางด้านไมซ์ บริบททางเศรษฐศาสตร์การเมือง และ สังคม-สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ทังผลกระทบด้านบวกและด้านลบ และปัญหา อุปสรรค แนวคิด และข้อเสนอแนะในการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่ผ่านนโยบายและโครงการส้าคัญขนาด ใหญ่ โดยเฉพาะโครงการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ที่ใช้งบกว่า 3,000 ล้าน บาทในการก่อสร้าง ศึกษาออกแบบ ล่าสุดทางการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยก็ยังจะใช้งบประมาณไว้ราว 200 ล้านบาท เพื่อ จัดจ้างบริษัทที่จะเข้ามาบริหารจัดการศูนย์ฯ และต้องศึกษาความเป็นได้จากศักยภาพของ เชียงใหม่ในฐานะศูนย์กลางการจัดประชุมโดยจะวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ทังด้านสังคม เศรษฐกิจ ภูมิศาสตร์ ว่ามีส่วนส่งเสริมธุรกิจการจัดประชุมมากน้อยเพียงใด จึงคิดว่าหนังสือเล่มนีจะให้ ค้าตอบผู้สนใจในอุตสาหกรรมไมซ์ และหน่วยงานที่ก้าลังศึกษาได้แน่นอน

ส้านักพิมพ์ปีนฟ้า , 2556 8


คำนำผู้เขียน หนังสือ “เชียงใหม่ นครศูนย์กลำงแห่ง MICE ในลุม่ น ้ำโขงและ BIMSTEC” เป็น การปรับปรุงเนือหาจากงานวิจัยเรื่อง “ความท้าทายของจังหวัดเชียงใหม่ต่อการเป็นนครศูนย์กลาง การประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ (HUB of MICE City) ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC)” ของผู้เขียนเอง MICE เป็นศัพท์ที่เพิ่งมาโด่งดังมาไม่นานนัก ย่อมาจากค้าว่า การประชุมและแสดงสินค้านิ ท รรศการ (Meeting Incentive Convention Exhibition: MICE) เป็ น หนึ่ ง ในธุ ร กิ จ ด้ า นการ ท่องเที่ยวของประเทศไทยที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วและน้ารายได้เข้าประเทศในแต่ละปีเป็นจ้านวน มาก ในหนังสือเล่มนีผู้เขียนต้องการน้าเสนอว่าเชียงใหม่พร้อมหรือมีขีดความสามารถพอหรือ ยังที่จะเป็นนครศูนย์กลางด้านไมซ์ในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง โดยมองถึงบริบททาง เศรษฐศาสตร์ ก ารเมื อ ง และสั ง คม-สิ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ทั งผลกระทบด้ า นบวกและด้ า นลบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่จังหวัดเชียงใหม่จะได้ของขวัญชินใหญ่คือโครงการศูนย์ประชุมและแสดง สินค้านานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ที่คาดว่าจะเปิดอย่างเป็นทางการในเดือนเมษายน 2556 ผลการศึกษาน่าสนใจหากมองในเชิงการแข่งขันทางยุทธศาสตร์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ การ Branding จุดขายของเชียงใหม่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่งที่ได้เร่งพัฒนาศักยภาพใน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไมซ์ เช่น ประเทศจีน เวียดนาม และอินเดียที่ตลาดด้านนีก้าลังเติบโต และไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาด้านใดก็ตามย่อมมีเหรียญสองด้าน อีกด้านหนึ่ง ปัญหาด้านระบบขนส่ง และจราจร ปัญหาสิ่งแวดล้อม เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต -วัฒนธรรม จากการไหลเข้ามาของ นักท่องเที่ยวและกลุ่มทุนต่างชาติ อันจะส่งผลให้วัฒนธรรมถูกละลายไป หรือเกิด Culture Shock ที่จะท้าให้เสน่ห์ของเชียงใหม่เลือนหายไป และช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนถ่างกว้างมากขึน การก้าวไปสู่นครศูนย์กลางด้านไมซ์ใน 2 อนุภูมิภาคนีถือเป็นอีกด้านหนึ่งของการเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ซึ่งเชียงใหม่ควรจัดวางตัวเองให้อยู่บนพืนฐานของการรักษาเอกลักษณ์ วัฒนธรรมล้านนา สร้างฐานไมซ์ที่ไม่สุดโต่งต่อกระแสทุนนิยม หรือการเป็น “ไมซ์แบบพอเพียง” ที่ ไม่แสวงเพียงปริมาณแต่เน้นคุณภาพของนักท่องเที่ยวเป็นส้าคัญ อันจะสร้างสังคมให้น่าอยู่อย่างมี ความสมดุลและยั่งยืน ด้วยเพราะปัจจุบันจังหวัดเชียงใหม่ก้าลังเผชิญหน้ากับความท้าทายในการหา ทางออกให้กับปัญหาสังคมระดับท้องถิ่นที่ถูกดึงเข้าไปอยู่ในกระแสโลกาภิวัฒน์มากขึนเรื่อยๆ ประการส้าคัญจะท้าอย่างไรให้เกิดผลคุ้มค่าต่องบประมาณมูลค่าหลายพันล้านบาทที่ รัฐบาลทุ่มเทลงไปเพื่อให้เป็นกลไกหนึ่งที่จะขับเคลื่อนจังหวัดเชียงใหม่เป็นนครศูนย์กลางการประชุม และแสดงสินค้าในระดับนานาชาติได้อย่างแท้จริง

สุธิดา สุวรรณกันธา 9


10


11


12


คำนิ ยำมของอุตสำหกรรมท่องเที่ยวเชิง MICE MICE (Meeting, Incentive, Convention, Exhibition) หมายถึงตลาดนักท่องเทีย่ ว ประเภท ทีเ่ ดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพื่อร่วมการประชุมนานาชาติ มาท่องเทีย่ วเพื่อเป็ น รางวัล และการจัดงานนิทรรศการ หรืองานแสดงสินค้านานาชาติ ซึง่ นักท่องเทีย่ วกลุม่ นี้ ในช่วงทีผ่ ่านมามีอตั ราการเจริญ เติบโตสูงมาก ทัง้ นี้มรี ายละเอียดดังนี้ Corporate Meeting หมายถึง การประชุมของกลุ่มบริษทั เอกชน โดยเป็ นการประชุม ของกลุ่มบุคคลหรือผูแ้ ทนจากบริษทั เดียวกัน หรือบริษทั ในเครือเดียวกัน มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ปรึกษาหารือ และ/หรือ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึง่ กันและกัน หรือเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่าง หนึ่ง อันจะนาไปสูผ่ ลประโยชน์ทางสังคมและธุรกิจร่วมกัน โดยทัวไปเป็ ่ นการประชุมของผูท้ ม่ี ี ส่วนเกีย่ วข้องโดยตรงกับองค์กรเท่านัน้ ซึง่ บริษทั จะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ทัง้ นี้หมาย รวมถึงการฝึกอบรม (Company Training) และ/หรือ การเทีย่ วสังสรรค์ของพนักงานบริษทั (Company Outing) Association Meeting หมายถึง การประชุมของสมาคม ซึง่ เป็ นการรวมตัวกันของ กลุ่มบุคคลทีอ่ ยูใ่ นสาขาอาชีพเดียวกัน หรือคล้ายกัน มีวตั ถุประสงค์เพื่อปรึกษาหารือ/หรือ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึง่ กันและกัน หรือเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง อันจะนาไปสู่ ผลประโยชน์ทางสังคมและธุรกิจร่วมกัน ซึง่ เปิ ดโอกาสให้ทงั ้ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับองค์กรโดยตรง และบุคคลทัวไปที ่ ม่ คี วามสนใจได้มโี อกาสเข้าร่วมประชุม และผูเ้ ข้าร่วมประชุมต่างมาร่วมงาน ด้วยความสมัครใจและเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ทัง้ นี้ยงั หมายรวมถึงการประชุมของ หน่วยงาน/องค์กร ทีไ่ ม่มงุ่ หวังผลทางด้านธุรกิจ (Non-profit Organization) ด้วย Government Meeting หมายถึง การประชุมของหน่วยงานภาครัฐ ซึง่ เป็ นการรวมตัว กันของกลุ่มบุคคล หรือผูแ้ ทนจากหน่วยงานราชการ ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ รวมถึงหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิน่ อาทิ อบจ อบต เทศบาล Incentive Travel หมายถึง การท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัล โดยเป็ นการจัดนาเทีย่ วเป็ น หมู่คณะให้กบั พนักงานหรือตัวแทนขายของบริษทั และ/หรือ บริษทั ตัวแทนจาหน่าย เพื่อตอบ แทนทีท่ างานได้ตามเป้าหมายของบริษทั โดยบริษทั ผูใ้ ห้รางวัลจะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย ดังกล่าว 13


Exhibition หมายถึง การจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการ เป็ นการแสดงผลงาน สินค้า ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ เพื่อขายให้กบั ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย รวมทัง้ เปิ ดให้ผเู้ ข้าชมทัวไปได้ ่ เข้า ร่วมงานด้วย ทัง้ นี้สามารถจาแนกออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1.Public Show หมายถึง การจัดงานแสดงสินค้าโดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็ นผูบ้ ริโภค 2.Trade Show หมายถึง การจัดงานแสดงสินค้าโดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็ น ผูป้ ระกอบการ 3.Public and Trade Show หมายถึง การจัดงานแสดงสินค้าทีม่ กี ลุ่มเป้าหมายเป็ นทัง้ ผูบ้ ริโภคและผูป้ ระกอบการ MICE ถือเป็ นยุทธศาสตร์ทก่ี ารท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) จะนามาใช้เป็ นหลัก ในการดึงดูดรายได้จากนักท่องเทีย่ วเข้าประเทศไทย โดยหน่วยงานทีม่ บี ทบาทสาคัญในการ กากับดูแลและส่งเสริมธุรกิจนี้ คือ สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การ มหาชน) หรือ สสปน. MICE Definition MICE is used to refer to a particular type of tourism in which large groups planned usually well in advance are brought together for some particular purpose. MICE tourism is a specialised area with its own trade shows and practices. IAPCO (the International Association of Professional Congress Organisers) publishes a book called "Meetings Industry Terminology" which functions as a dictionary for the meetings industry. These are the definitions as put out by IAPCO:

Meeting

General term indicating the coming together of a number of people in one place, to confer or carry out a particular activity. Frequency: can be on an ad hoc basis or according to a set pattern, as for instance annual general meetings, committee meetings, etc.

Incentive

Meeting event as part of a program which is offered to its participants to reward a previous performance.

Conference

Participatory meeting designed for discussion, fact-finding, problem solving and consultation. As compared with a congress, a conference is normally smaller in scale and more select in character - features which tend to facilitate the exchange of information. The term "conference" carries no special connotation as to frequency. Though not inherently limited in time, conferences are usually of limited duration with specific objectives. Exhibition Events at which products and services are displayed. The "E" sometimes referring to Events and the "C" sometimes referring to Conventions.

14


ควำมหมำยและควำมสำคัญของอุตสำหกรรมไมซ์ จากรายงานเรื่อง อุตสาหกรรมไมซ์ในภูมิภาคเอเชีย โดยสานักงานส่งเสริมการจัด ประชุ ม และนิ ท รรศการ (องค์ ก ารมหาชน) (2554) ระบุ ว่ า การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธุ ร กิ จ เป็ น ปรากฎการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ได้หลายรูปแบบ อาทิ การเดินทางทีม่ วี ตั ถุประสงค์ทางธุรกิจ การฝึกอบรม การจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการ และการท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัล เป็ นต้น เหล่านี้ลว้ นแล้วแต่ อยู่ในความหมายของการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ อุตสาหกรรมการประชุม การท่องเที่ยวเพื่อเป็ น รางวัล การจัดประชุมนานาชาติและการจัดนิทรรศการ หรือที่เป็ นที่รจู้ กั กันว่า MICE (Meeting Incentive Convention Exhibition) จึงเป็ นส่วนหนึ่งของการท่องเทีย่ วเชิงธุรกิจ ปจั จุบนั อุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ได้รบั การยอมรับมากขึน้ ในฐานะกลไกสาคัญของ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วทีม่ กี ารเติบโตสูงและมีความสาคัญต่อการสร้างรายได้และการจ้างงาน ให้แก่ประเทศ เนื่องจากนักเดินทางกลุ่มไมซ์มเี ป้าหมายเฉพาะทางธุรกิจ มีอานาจซื้อสูงและมี ความต้องการสินค้าและบริการทีม่ คี ุณภาพดี ทัง้ อาหารและเครื่องดื่ม สายการบิน โรงแรม ธุรกิจ การขนส่งสินค้า การเดินทางในประเทศ เป็ นต้น ทาให้ค่าใช้จ่ายเฉลีย่ ของกลุ่มไมซ์ จึงอยู่ในระดับ ทีส่ งู กว่านักท่องเทีย่ วทัวไปประมาณ ่ 2-3 เท่า จากการสารวจของ Business Strategies Group (BSG) พบว่า ในปี 2552 เอเชีย มี การจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการ 1,782 ครัง้ เมื่อรวมพืน้ ทีจ่ ดั แสดงสินค้า/นิทรรศการทีข่ ายได้ ทัง้ หมดคิดเป็ นพืน้ ที่ 14.9 ล้าน ตร.ม. เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนร้อยละ 213 ในจานวนนี้ คิดเป็ นมูลค่า การจัดงานเท่ากับ 3,394.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 101,823 ล้านบาท และมีรายได้เฉลี่ยจาก 15


การจัดงานแต่ละครัง้ คือ 1.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 57 ล้านบาท ทัง้ นี้ เป็ นทีน่ ่ าสังเกตว่า มาเก๊า และเวียดนาม มีการขยายตัวของพืน้ ทีจ่ ดั งานในอัตราทีค่ ่อนข้างรวดเร็วกล่าวคือ มาเก๊า มีอตั ราการ เติบโต (ปี 2550-2552) เฉลีย่ ร้อยละ 50 ต่อปี และเวียดนามมีการขยายตัว (ปี 2548-2552) ร้อยละ 25 ต่อปี โดยในช่วง 5 ปี ทผ่ี ่านมาธุรกิจงานแสดงสินค้า/นิทรรศการของเอเชียมีการเติบโตอย่าง มากคือ ร้อยละ 70 และในช่วงเวลาเดียวกัน เวียดนามมีการขยายพื้นที่อย่างมาก (ร้อยละ 122) จาก 63,500 ตร.ม. ในปี 2548 เป็ น 141,250 ตร.ม.ในปี 2552 ขณะทีก่ ารเติบโตของจีนก็เป็ นไป ตามคาดการณ์ โดยมีพน้ื ทีเ่ พิม่ ขึน้ ร้อยละ 117 จาก 3.76 ล้านตร.ม. เป็ น 8.16 ล้านตร.ม. และเป็ น พียงประเทศเดียวทีม่ พี น้ื ทีจ่ ดั งานแสดงสินค้า/นิทรรศการขนาดใหญ่เกิน 1 ล้านตร.ม. ขณะทีป่ ระเทศไทยก็มกี ารขยายพืน้ ทีค่ ่อนข้างมาก (ร้อยละ 70) ปากีสถาน (ร้อยละ57) และฮ่องกง (ร้อยละ 50) โดยทีก่ ารเติบโตของฮ่องกงเป็ นผลจากการขยายพืน้ ทีห่ ลังการเปิ ดตัว Asia World Expo ในปี 2549 ด้า นเกาหลีใ ต้ มีก ารขยายตัว ร้อยละ 50 จากการขยายพื้น ที่แ ละการ สนับสนุนของรัฐบาล ขณะทีญ ่ ป่ี นุ่ เป็ นตลาดขนาดใหญ่ทย่ี งั มีผลประกอบการไม่ดนี ัก คือ ลดลงร้อย ละ 8 ในช่วง 5 ปี ทผ่ี ่านมา เป็ นผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับต่า และการให้ความสาคัญ กับลูกค้าในประเทศเป็ นหลัก ผลประโยชน์ของประเทศจากธุรกิ จ MICE (MULTIPLE BENEFITS) ธุรกิจ MICE เป็ นธุรกิจแขนงหนึ่งของธุรกิจท่องเที่ยว ที่สามารถนานักท่องเที่ยวจาก ต่างประเทศเข้ามาในประเทศได้มากกว่า 7 แสนคนต่อปี โดยทีน่ ักท่องเทีย่ วกลุ่มนี้มพี ฤติกรรมการ ใช้จ่า ยสูง กว่า นักท่ อ งเที่ยวทัว่ ไปดัง นัน้ ธุ ร กิจ MICE จึงสามารถท ารายได้แ ละผลประโยชน์ ต่ อ ประเทศจ านวนมาก ทัง้ ผลประโยชน์ ท่ีสามารถค านวณมูลค่า เป็ น เงินได้แ ละผลประโยชน์ ท่ไี ม่ สามารถคานวณมูลค่าเป็ นเงินได้ ทัง้ นี้สามารถจาแนกออกเป็ นผลประโยชน์ได้ใน 3 ระดับ ดังนี้ ผลประโยชน์ระดับที่ 1 ( Primary Benefits ) เป็ นผลประโยชน์ทเ่ี กิดขึน้ โดยตรง (Direct Interests) จากกิจกรรมการประชุมนานาชาติ การท่ อ งเที่ย วเพื่ อ เป็ น รางวัล นานาชาติ และการแสดงสิน ค้ า นานาชาติ โดยมีผู้ เ กี่ย วข้อ ง (Stakeholders) ที่ไ ด้ผ ลประโยชน์ โ ดยตรง คือ Venue, Organizer, PCOs, PEOs, DMCs และ โรงแรม

16


ผลประโยชน์ระดับที่ 2 (Secondary Benefits) เป็ น ผลประโยชน์ ท่ีเ กิด ขึ้น เกี่ย วเนื่ อ ง (Related Interests) จากกิจ กรรมการประชุ ม นานาชาติ การท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัลนานาชาติ และการแสดงสินค้านานาชาติ โดยมีผเู้ กีย่ วข้อง (Stakeholders) ที่ไ ด้ผ ลประโยชน์ เช่ น Contractors, Freight Forwarders, Exhibitors, Restaurants & Entertainments, Tour Agents,Shopping Centers, Transportation & Communication ธนาคาร และพนักงานชัวคราวในพื ่ น้ ทีแ่ สดงสินค้า

ผลประโยชน์ระดับที่ 3 (Tertiary Benefits) เป็ น ผลประโยชน์ ท่ีเ กิด ขึ้น ตกทอด (Multiple Interests) การประชุ ม นานาชาติ การ ท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัลนานาชาติ และการแสดงสินค้านานาชาติ ที่ไม่สามารถคานวณมูลค่าเป็ น เงินได้มายังประเทศไทยโดยรวมเช่น Technology and knowledge Transfer, International Trade และ Positive Image

17


เชียงใหม่อนำคต Hub of MICE City ในช่วงทศวรรษทีผ่ ่านมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ถูกพัฒนาให้กลายเป็ นเมืองหลักในภูมภิ าค (Regional Primate City) ด้วยศักยภาพทีต่ งั ้ อันโดดเด่นในเชิงภูมริ ฐั ศาสตร์ โดยได้ถูกกาหนดให้มี บทบาทเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน ศูนย์กลางการศึกษา ศูนย์กลางการบิน ศูนย์กลางการท่องเทีย่ ว ฯลฯ ซึง่ การถูกกาหนดให้เป็ นเมืองศูนย์กลางหลายด้านของภาคเหนือทา ให้จงั หวัดเชียงใหม่มกี ารขยายตัว เติบโตทางเศรษฐกิจ และได้สง่ ผลกระทบทัง้ ด้านบวกและลบต่อ พืน้ ที่โดยตรง โดยเฉพาะวิถชี วี ติ วัฒนธรรม ปญั หาสังคม สิง่ แวดล้อม ที่เกิดขึน้ พร้อมกับสังคม เมืองทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ล่าสุดคือจังหวัดเชียงใหม่ถูกกาหนดให้เป็ นเมืองศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านิทรรศการ (Hub of MICE City) เพื่อรองรับนโยบายเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางของภาคเหนือในการ เชื่อมโยงกับนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (Greater Mekong Sub-Region: GMS) และกลุ่มประเทศเอเชียใต้ (BIMSTEC: Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation) อาจกล่าวได้ว่าสถานการณ์และแนวโน้มของภาคอุตสาหกรรมไมซ์หรือการประชุมและ แสดงสินค้า-นิทรรศการ (Meeting Incentive Convention Exhibition: MICE) เป็ นหนึ่งในธุรกิจ ด้านการท่องเทีย่ วของประเทศไทยทีม่ กี ารเติบโตอย่างรวดเร็วและนารายได้เข้าประเทศในแต่ละปี เป็ นจานวนมาก ทัง้ นี้ ปจั จุบนั รายได้และจานวนนักท่องเทีย่ วจากอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทยมี อัตราการเติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 15-20 นานักท่องเทีย่ วคุณภาพเข้าประเทศเฉลีย่ 700,000 คนต่อปี สร้างรายได้ 52,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งรายได้จากอุตสาหกรรมไมซ์คดิ เป็ นสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 10.7 ต่อปี ของรายได้จากการท่องเทีย่ ว (การสัมมนานานาชาติเรื่อง“Tourism Trade and Investment Promotion in GMS 2010: Creative MICE Expanding Markets”, 2553) 18


สัดส่วนอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย จากข้อ มู ล สถิติ MICE ปี 2546 – 2553 โดยส านั ก งานส่ ง เสริม การจัด ประชุ ม และ นิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือสสปน. ระบุว่า ธุรกิจไมซ์เป็ นส่วนหนึ่งของธุรกิจท่องเทีย่ วทีน่ า นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็ นนักท่องเที่ยวคุณภาพ (Quality Visitor) เข้าสู่ประเทศไทย โดยนับตัง้ แต่ปี 2546 เป็ นต้นมา มีนักท่องเที่ยวกลุ่มไมซ์เข้ามายังประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ปี 2550 เป็ นปี ท่มี นี ักท่องเที่ยวกลุ่มไมซ์สงู สุด จานวน 857,244 คน แต่เนื่องด้วยวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกิจทาให้จานวนนักท่องเที่ยวกลุ่มไมซ์ลดลงเหลือ 700,000 คนในปี 2551 แต่ มีจานวน เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยในปี ทแ่ี ล้ว (2553) มีจานวนนักท่องเทีย่ วในกลุ่มนี้เข้ามายังประเทศไทย มากถึง 740,412 คน คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 4.65 ของนักท่องเทีย่ วระหว่างประเทศโดยรวมตลอด ทัง้ ปี ของปี 2553 รวมทัง้ สิน้ 15.9 ล้านคน ประมาณการว่ารายได้ของประเทศทีเ่ กิดจากรายได้ของ นักท่องเทีย่ วกลุ่มไมซ์สงู ถึง 53,226.19 ล้านบาทในปี ทผ่ี ่านมา อมรพันธุ์ นิมานันท์ กล่าวว่า ในบริบททีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ได้ถูกกาหนดให้เป็ นนครแห่ง ไมซ์ (Hub of MICE City) ตามนโยบายของภาครัฐ โดยในวันที่ 1 กันยายน 2552 ได้มพี ธิ ลี งนาม เซ็นสัญญาระหว่างจังหวัดเชียงใหม่กบั สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การ มหาชน) หรือสสปน. จังหวัดเชียงใหม่จงึ ได้กาหนดแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ของจังหวัดตัง้ แต่ปี 2552 – 2556 ที่มีแ ผนสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมไมซ์ใ ห้ก้า วขึ้น มาเป็ น อัน ดับ 1 ในอุ ต สาหกรรมการ ท่องเทีย่ วทีส่ าคัญ โดยวางเป้าหมายให้เชียงใหม่เป็ นเมืองน่ าเทีย่ วระดับโลก ขณะทีท่ างจังหวัดได้ ตัง้ คณะกรรมการขับเคลื่อนเชียงใหม่นครแห่งไมซ์ ในการทางานร่วมกับ สสปน.เพื่อส่งเสริมให้ จังหวัดเชียงใหม่เป็ นอีกเส้นทางที่ได้รบั ความนิยมในการเดินทางมาจัดประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติอย่างจริงจัง (ฐานเศรษฐกิจ, 2552) 19


ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล กล่าวว่า จังหวัดเชียงใหม่เป็ นเมืองทีม่ ผี เู้ ดินทางกลุ่มไมซ์เป็ น อันดับต้น ๆ ของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในแถบเอเชีย ยุโรป เพราะมีความพร้อมทางด้าน จ านวนห้ อ งพัก สถานที่จ ัด ประชุ ม สัม มนาและแสดงสิน ค้ า นอกจากนี้ ย ัง มี เ รื่อ งราวทาง ประวัตศิ าสตร์ยาวนานกว่า 700 ปี แหล่งท่องเทีย่ วหลากหลาย และการเดินทางสะดวก เพราะมี เที่ย วบิน บิน ตรงจากนานาประเทศสู่ ส นามบิน นานาชาติ จ ัง หวัด เชีย งใหม่ ห ลายเส้น ทาง (ฐานเศรษฐกิจ, 2552) อมรพันธุ์ นิมานันท์ กล่าวว่า จังหวัดเชียงใหม่มศี กั ยภาพและความพร้อมในการเป็ น เมืองแห่งไมซ์ หรือ MICE city เป็ นเมืองใหญ่อนั ดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร เป็ นเมืองหลวง ของภาคเหนือ มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน เป็ นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการ คมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกับประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และกลุ่มประเทศเอเชียใต้ (BIMSTEC) รวมทัง้ มีความเชื่อมโยงกับมหานครเซีย่ งไฮ้ นครฉงชิง่ นครชิงเต่า และจังหวัดยอร์ก ยากาต้า รวมทัง้ ยังอยู่ระหว่างการผลักดันเชื่อมโยงเพิ่มเติมอีกหลายเมือง นับเป็ นการเสริม ศักยภาพของตลาดไมซ์ในอนาคตด้านการท่องเทีย่ ว ขณะเดีย วกัน เชีย งใหม่ มีศิล ปวัฒ นธรรมที่มีเ อกลัก ษณ์ แ ละแหล่ ง ท่ อ งเที่ย วที่ หลากหลาย โดยได้รบั การจัดอันดับจากนิตยสารการท่องเทีย่ วของสหรัฐอเมริกา Travel & Leisure ว่าเป็ นเมืองท่องเที่ยวที่ดีท่สี ุดของโลก และเป็ นเมืองท่องเที่ยวที่ดีท่สี ุดของเอเชีย หรือ World’s Best Award ประจาปี 2553 อันดับ 2 รองจากกรุงเทพมหานคร มีห้อ งพัก ของโรงแรมต่ า งๆ จ านวน 32,000 ห้อง ด้า นสายการบิน ก็มีเ ที่ยวบิน ที่ เชื่อมโยงกับเมืองในต่างประเทศจานวน 7 สายการบิน และในอนาคตคาดว่าจะมีสายการบินทีบ่ นิ ตรงเพิม่ ขึน้ อีก 6 สายการบิน ขณะที่รฐั บาลก็ยงั มีนโยบายที่จะส่งเสริมการจัดสร้างระบบรถไฟ ความเร็ว สูง เชื่อ มโยงเชีย งใหม่ ก ับ กรุ ง เทพมหานคร นั บ เป็ น การพัฒ นาศัก ยภาพด้า นการ ท่องเทีย่ วและดาเนินธุรกิจมากยิง่ ขึน้ (เชียงใหม่นิวส์, 2553) อรรคพล สรสุชาติ กล่าวว่า สสปน.จะเป็ นองค์กรผลักดันให้เกิดอีเวนต์ใหญ่ในไทย ด้านการพัฒนาบุคลากรจัดทาร่วมกับ 10 มหาวิทยาลัยชัน้ นา ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรใน กรอบแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ผลักดันให้จงั หวัดเชียงใหม่เป็ นฮับอนุ ภูมิภาคลุ่มน้ าโขง (GMS Hub) และสงขลา เป็ นฮับภูมิภาคของอาเซียนตอนใต้ (ประชาชาติ ธุรกิจ, 2554)

20


สอดคล้องกับข้อมูลของสานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การ มหาชน) หรือสสปน.จากการสัมมนานานาชาติเรื่อง “Trade and Investment Promotion in GMS 2010 : Creative MICE Expanding Markets” (23-24 กันยายน 2553) ที่ได้ระบุว่า สสปน.วาง แนวทางในการส่งเสริมภาพลักษณ์และจุดขายของจังหวัดเชียงใหม่ โดยกาหนดให้เป็ นศูนย์กลาง การจัดประชุมและงานแสดงสินค้าของ GMS และ BIMSTEC ขณะที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 อนุ มตั ิให้มีการก่อสร้าง โครงการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่มลู ค่าราว 2,929 ล้านบาท บนเนื้อ ที่ 326 ไร่ บริเวณหนองฮ่อ ใกล้ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ อันจะเป็ นโครงสร้างพื้นฐานและ กลไกขับเคลื่อนหลักในการเป็ นศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในระดับประเทศ หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ (2553) สรุปความเป็ นมาของโครงการศูนย์ประชุมและ แสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ ว่า การที่จะให้เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการประชุมและ แสดงสินค้านานาชาตินนั ้ จาเป็ นจะต้องเกีย่ วข้องกับโครงสร้างพืน้ ฐานทีร่ องรับ ซึง่ จังหวัดเชียงใหม่ ได้มกี ารผลักดันโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ ตัง้ แต่ ปี 2534 จนถึงปจั จุบนั เป็ นเวลาร่วม 20 ปี และมีการศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ไม่ต่ากว่า 5 ครัง้ ทัง้ นี้ คณะรัฐมนตรีไ ด้มีม ติเ มื่อ วัน ที่ 29 กรกฎาคม 2551 เห็น ชอบให้สานัก งาน ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ดาเนินการโครงการก่อสร้างศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ พื้นทีใ่ ช้สอย 419,625.46 ตารางเมตร แยกเป็ นพืน้ ทีใ่ ช้สอยภายใน อาคารประมาณ 55,076.02 ตารางเมตร และพื้นทีภ่ ายนอกอาคารประมาณ 364,549.44 ตาราง เมตร ภายในกรอบวงเงินงบประมาณ จานวน 2,219,044,000 บาท ระยะเวลาดาเนินงาน 3 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2553 ประกอบด้วย ค่าก่อสร้างอาคารศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ 2,181,536,900 บาท ค่ า ควบคุ ม งาน 35,507,100 บาท และค่ า ศึก ษาความเหมาะสมและ เตรียมการดาเนินงาน 2,000,000 บาท ในปี 2552 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ดาเนินการประกวดราคาด้วยวิธกี าร ทางอิเล็กทอรนิกส์ จานวน 2 ครัง้ จึงได้ผรู้ บั จ้าง คือ กิจการร่วมค้า อีเอ็มซี และเพาเวอร์ไลน์ ซึง่ เป็ นผูเ้ สนอราคาต่าสุด วงเงิน 1,867,150,000 บาท ได้ลงนามในสัญญาจ้างเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 ระยะเวลาดาเนินการก่อสร้างจานวน 730 วัน หรือ 2 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2554 21


อย่างไรก็ตาม ในอนาคตจังหวัดเชียงใหม่จะต้องทาแผนเชิงรุกลักษณะ Hard Sales และมีจุดขายและยุทธศาตร์/ยุทธวิธใี นเรื่องนครแห่งเมืองไมซ์ (Hub of MICE City) ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว พร้อมความเป็ น เชียงใหม่ท่ีมีว ัฒนธรรม วิถีชีวิต และชื่อ เสียงทางธรรมชาติท่ี ยาวนานและเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ รวมทัง้ ต้องช่วยกัน Bid และพยายามดึงงานใหญ่ระดับชาติ และนานาชาติมาจัดในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ไม่ว่าจะเป็ นงานมอเตอร์โชว์ งานแสดงสินค้าต่างๆ งานแข่งขันประชุมวิชาการแพทย์เฉพาะทางนานาชาติ ซึง่ จังหวัดเชียงใหม่ มีความพร้อมในแง่ ของการเป็ นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) เป็ นต้น ชุ ม พล ศิ ล ปอาชา กล่ า วว่ า การก่ อ สร้า งโครงการศู น ย์ ป ระชุ ม และแสดงสิน ค้ า นานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ จะเป็ นการส่งเสริม สนับสนุ นให้เชียงใหม่เป็ นเมืองศูนย์กลางการ ประชุ ม นานาชาติของประเทศไทย ที่สามารถรองรับการขยายตัว ของนัก ท่อ งเที่ยวคุ ณภาพ ก่อให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจ เพิม่ มูลค่าเและคุณค่าสินค้าการท่องเทีย่ วของเชียงใหม่ สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมอุตสาหกรรมการจัดการประชุมในระดับนานาชาติ (กลุ่ม ประชาสัมพันธ์ กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา, 2553) สมบัติ คุรุพนั ธุ์ กล่าวว่า ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ จะ เป็ นกลไกในการเพิม่ ศักยภาพให้กบั ประเทศไทยในการรองรับตลาดการประชุมและแสดงสินค้า ซึง่ คาดว่าหลังการเปิ ดใช้บริการจะสามารถสร้างรายได้จากการท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้ เป็ นมูลค่าเฉลีย่ ปี ละไม่ต่ากว่า 3,000 ล้านบาท และจะช่วยเพิม่ จานวนนักท่องเทีย่ วด้านการประชุมและแสดงสินค้า ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 10 ในภาพรวมทัง้ ประเทศ และก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมใน รูปแบบของลูกโซ่ทางรายได้ท่เี พิ่มขึ้นของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวทัง้ ทางตรงและ ทางอ้อม นอกจากนี้ จะเป็ นการกระตุน้ การท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะนักท่องเทีย่ วคุณภาพ (Business Group) ทีม่ กี าลังซือ้ มากถึง 3 – 4 เท่าตัวได้ตลอดทัง้ ปี โดยไม่เลือกฤดูกาลได้เป็ นอย่างดียงิ่ อย่างไรก็ตาม ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ จะเป็ นตัวช่วย กระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงใหม่และภูมภิ าคในระยะยาว จาเป็ นต้องสนับสนุ นให้เกิดการ บริหารจัดการทีค่ มุ้ ค่า ก่อให้เกิดรายได้ มีการบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่ ขณะเดียวกันผู้บริหารศูนย์ประชุมจะต้องเป็ นผู้บริหารมืออาชีพ มีการ โฆษณาและประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดการรับรู้ของคนเชียงใหม่และภูมภิ าค และสามารถขยาย ตลาดการประชุมให้กว้างขึน้ รวมทัง้ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก GMS ระดับอนุ ภูมภิ าคต่างๆ ระดับนานาชาติและระดับโลก เพื่อส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการในจังหวัด เชียงใหม่ 22


ทัง้ นี้ จังหวัดเชียงใหม่จะมีจานวนผู้มาเยี่ยมเยือนมากกว่า 3 – 5 ล้านคนต่อปี มี รายได้ม ากกว่ า 3 – 4 หมื่น ล้า นบาทต่ อ ปี จะต้อ งอาศัย การท่ อ งเที่ย วแบบไมซ์ ซึ่ง มีก าร ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและเกิดปฏิกริ ยิ ากระตุน้ เศรษฐกิจแบบทวีคูณในลักษณะ Economic Catalyst อันจะก่อให้เกิดจานวนนักท่องเที่ยวเพิม่ ขึน้ และรายได้การท่องเที่ยวมีการกระจายไปสู่ ชุมชนและสังคมอย่างรวดเร็ว (กลุ่มประชาสัมพันธ์ กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา, 2554) ขณะเดียวกันการพัฒนาพืน้ ที่ในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) ที่มี สมาชิกในกลุ่ม 6 ประเทศประกอบด้วย จีน ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม กัมพูชาและไทย และ กลุ่มประเทศเอเชียใต้ (BIMSTEC) ประกอบด้วย บังคลาเทศ อินเดีย เมียนมาร์ ศรีลงั กา ไทย ภูฎาณ และเนปาล ได้มคี วามก้าวหน้าและถูกเร่งเร้าทางด้านการลงทุนอย่างมากในปจั จุบนั อัน เป็ นรอยต่อการพัฒนาประเทศในลุ่มแม่น้าโขงและเอเชียใต้ในทศวรรษหน้า โดยเฉพาะการขยายตัวของตลาดด้านการท่องเทีย่ วในรูปแบบใหม่ อันรวมถึงภาค อุตสาหกรรมไมซ์ ซึ่งปจั จุบนั กลุ่มประเทศลุ่มแม่น้ าโขงได้ให้ความสาคัญโดยการขยายการ ลงทุนสร้างศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติและประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิง รางวัล เพื่อเป็ นจุดขายใหม่รองรับนักท่องเที่ยวทีจ่ ะขยายตัวเพิม่ มากขึน้ ในอนาคต ตลอดจน การจัด Event ในระดับนานาชาติขน้ึ เป็ นประจาทุกปี โดยหลายประเทศได้ให้ความสาคัญกับภาคอุตสาหกรรมไมซ์ทผ่ี ูกพ่วงอย่างแยกไม่ ออกจากอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ย ว หลายประเทศจึง พยายามช่ ว งชิง ฐานตลาดนี้ เช่ น สาธารณรัฐประชาชนจีนกาหนดให้สองมณฑลทางตอนใต้อนั เป็ นส่วนหนึ่งของกรอบความ ร่วมมือ GMS ซึง่ จีนได้วางยุทธศาสตร์ให้ 2 เมืองหลักคือ นครคุณหมิงของมณฑลยูนนานและ นครหนานหนิงของมณฑลกว่างซี เป็ นศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้าในระดับมณฑล และพยายามเชื่อมต่อประเทศในกลุ่ม GMS และอาเซียน โดยเมืองคุณหมิงได้มกี ารก่อสร้าง ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติขนาด 125,000 ตารางเมตร ขณะที่เมืองหนานหนิงมี ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติขนาดพืน้ ที่ 99,122 ตารางเมตร เช่นเดียวกับเวียดนามก็กาหนดให้เมืองหลวงอย่างฮานอยเป็ นศูนย์กลางการประชุม และแสดงสินค้านานาชาติเช่นกัน โดยมีศูนย์ประชุมขนาดใหญ่คอื International Convention Center, Hanoi, Vietnam ขณะที่ลาวก็ได้มีก ารก่ อสร้า งศูน ย์ (LAO – ITECC) ในนครหลวง เวียงจันทน์ ทีก่ ่อตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ 2547 บนพืน้ ที่ 80 กว่าไร่ เป็ นศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศลาวทีม่ มี าตรฐานระดับสากล พืน้ ทีร่ วม 30,000 ตารางเมตร 23


ส่วนพม่าก็มศี นู ย์ประชุมและแสดงสินค้าทีช่ ่อื Myanmar International Convention & Exhibition Center ตัง้ อยู่ในกรุงย่างกุง้ (การสัมมนานานาชาติเรื่อง Tourism Trade and Investment Promotion in GMS 2010: Creative MICE Expanding Markets, 2553) ขณะทีป่ ระเทศในกลุ่มเอเชียใต้ (BIMSTEC) นับว่ายังค่อนข้างมีศกั ยภาพน้อยในด้าน อุตสาหกรรมไมซ์ เนื่องจากยังไม่ได้มกี ารลงทุนและสร้างจุดขายในด้านนี้มากนัก ยกเว้นประเทศ อินเดียทีใ่ ห้ความสาคัญกับยุทธศาสตร์น้เี ช่นกัน โดยได้จดั ตัง้ องค์กรทีส่ ่งเสริมด้านอุตสาหกรรมนี้ มาโดยเฉพาะคือ India Conference Promotion Bureau (ICPB) ในทางกลับกันกลุ่ มประเทศ BIMSTEC กลับเป็ นฐานตลาดทีส่ าคัญของประเทศไทยและจังหวัดเชียงใหม่ในอนาคตทีส่ าคัญ ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง (2551) กล่าวว่า เชียงใหม่ถูกกาหนดบทบาทให้ เป็ นศูนย์กลางของหลายสิง่ หลายอย่างมากเกินไป เช่น ศูนย์กลางอนุ ภาคลุ่มน้ าโขง ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่มี อาณาเขตติดน้ าโขงเลย เป็ นศูนย์กลางเศรษฐกิจและการท่องเทีย่ วภาคเหนือ ศูนย์กลางการบิน ไม่ได้คดิ ถึงคนอยู่ ไม่เคยถามประชาชน ผังการคมนาคมมีแต่ผงั ขยายถนน ไม่ได้เสนอทางเลือก อื่นๆ เช่น ระบบรถเมล์ ทางจักรยาน ถนนคนเดิน ผังเมืองวางโดยไม่คานึงถึงขีดความสามารถใน การรองรับของพื้นที่เมืองเชียงใหม่ว่าเป็ นเมือ งเก่า ถนนจึงคับแคบ ควรจัดการระบบจราจร มากกว่าการขยายถนน รวมถึงข้อกาหนดควบคุมการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ เกรียงศักดิ์ เจริญทรัพย์ (2551) ระบุว่า การพัฒนาของเชียงใหม่ในระยะทีผ่ ่านมามุ่ง ไปสูโ่ ลกการค้าเสรี (Globalization) มากเกินไป ตัวอย่างเช่น ย่านถนนลอยเคราะห์ เขตตัวเมือง เชียงใหม่ มีชาวต่างชาติเข้ามาทาธุรกิจประเภทผับ บาร์เป็ นจานวนมาก ซึง่ อาจจะนาไปสู่ปญั หา ยาเสพติดและการค้ามนุษย์ แต่ประเด็นนี้ถูกละเลยมาโดยตลอด โดยการพัฒนาทีผ่ ่านมาเป็ นการ มองแบบแยกส่วน ไม่มกี ารบูรณาการอย่างเป็ นระบบ ทัง้ นี้ในบทต่อไปผูเ้ ขียนเจาะประเด็นความท้าทายของจังหวัดเชียงใหม่ในการก้าวไป เป็ นศูนย์กลางด้านการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และกลุ่ ม ประเทศเอเชี ย ใต้ (BIMSTEC) โดยจะท าการศึ ก ษาครอบคลุ ม ในมิ ติ เศรษฐศาสตร์การเมือง รวมถึงผลกระทบต่อสังคมท้องถิน่ ในมิตเิ ศรษฐกิจนัน้ จะได้ขยายความถึงศักยภาพ โอกาส ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่กา้ วไปสูน่ ครศูนย์กลางด้านการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติใน กลุ่ ม ประเทศอนุ ภู มิภ าคลุ่ ม แม่ น้ า โขง (GMS) และเอเชีย ใต้ (BIMSTEC) โดยมุ่ ง ศึก ษาการ เชื่อมโยงความร่วมมือกับสองกลุ่มอนุ ภูมภิ าค และรูปแบบการสัมพันธ์ในเชิงเศรษฐกิจการตลาด 24


เปรียบเทียบว่าจังหวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นศูนย์กลางการประชุมในภูมภิ าคนี้ได้หรือไม่ และ เป็ นไปในลักษณะใดทีจ่ ะสามารถพัฒนาได้อย่างยังยื ่ น ในมิตกิ ารเมือง จะเป็ นเรื่องยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนนโยบายของภาครัฐ และท้องถิน่ ทีจ่ ะผลักดันจังหวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศ อนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) ให้เกิดเป็ นรูปธรรม โดยจะศึกษา ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานภาครัฐในระดับประเทศและท้องถิน่ ต่อการขับเคลื่อนนโยบายนี้ ทัง้ การ ผ่านนโยบายทางการเมืองในระดับประเทศ และท้องถิน่ กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมือง ตลอดจน ปญั หาอุปสรรค ส่วนมิติดา้ นสังคมเป็ นเรื่องที่น่าสนใจทีผ่ ู้เขียนค้นพบว่าผลกระทบด้านบวกและด้าน ลบของการเป็ นนครศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติของจังหวัดเชียงใหม่ต่อ สภาพสังคมในท้องถิ่นในมิตทิ ่สี าคัญได้แก่ ด้านสิง่ แวดล้อมอันรวมถึงปญั หาการจราจร-ขนส่ง มลภาวะ บุคลากร-แรงงานในพื้นที่ ภาคธุรกิจในท้องถิ่น ตลอดจนปฏิกริ ิยาที่มีต่อทิศทางการ พัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ต่อการเป็ นศูนย์กลางการประชุมฯ เป็ นต้น เป้าหมายทีส่ าคัญเขียนถ่ายทอดเรื่องนี้กเ็ พื่อจะให้ได้ภาพทีช่ ดั เจนครอบคลุมมิตทิ าง เศรษฐศาสตร์การเมือง และสังคม-สิง่ แวดล้อม ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการ ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) อันจะทาให้เกิดองค์ความรูท้ จ่ี ะพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่ในอนาคตทีย่ งยื ั่ น ต่อไป

25


สถำนกำรณ์ไมซ์ในอนุ ภมู ิภำคลุ่มแม่น้ ำโขง (GMS) โครงการพัฒ นาความร่ ว มมือ ในอนุ ภู มิภ าคลุ่ ม แม่ น้ า โขง (Greater Mekong Subregion: GMS) เริม่ ในปี 2535 ประกอบด้วยสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว จีน (มณฑล ยูนนานและกว่างซี) พม่า ไทย และเวียดนาม เพื่อพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในลักษณะ เกื้อกูลกันบนพื้นฐานของความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของแต่ละประเทศ โดยมีจุดเน้นความ ร่วมมือตามยุทธศาสตร์ 3C (Connectivity, Competitiveness, Community) และการพัฒนาตาม แนวพื้น ที่พ ัฒ นาเศรษฐกิจ (Economic Corridor) ซึ่ง เป็ น การพัฒ นาแบบองค์ร วมในพื้น ที่ท่ีมี ศักยภาพตามแนวคมนาคมเชือ่ มโยงหลัก 3 แนว ได้แก่ 1. แนวเหนือ-ใต้ เชื่อมโยงไทย-พม่า/ลาวจีน 2. แนวตะวันออก-ตะวันตก เชื่อมโยงพม่า-ไทย-ลาว-เวียดนาม และ 3. แนวตอนใต้ เชื่อมโยง ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2546) 600000 500000

Yangon Entry Point

400000 Mandalay & Bagan Gateway Border Tourism

300000 200000 100000 0 2006

2007

2008

2009

2010

ภาพความร่วมมือตามยุทธศาสตร์ 3C ของอนุภูมภิ าคลุม่ แม่น้ าโขง (GMS) จากการคาดการณ์ ข ององค์ก รการท่ อ งเที่ย วโลก (World Tourism Organization : WTO) และสมาคมท่องเทีย่ วภูมภิ าคเอเชีย -แปซิฟิก (Pacific Asia Travel Association : PATA) 26


ยืนยันสถิติจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยมีไทยเป็ นประตู (Gateway) เชื่อมโยงกับประเทศลุ่มน้าโขง ปี 2553 จะมีถงึ 30 ล้านคน และ ปี 2558 เพิม่ เป็ น 52.02 ล้านคน เนื่องจากเป็ นเส้นทางท่องเทีย่ วยอดนิยมของทัวโลกในอั ่ นดับต้น ๆ ซึง่ มีสถานทีห่ ลากหลาย ครบ วงจร และมีวถิ วี ฒ ั นธรรมมีคุณค่าเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ (ประชาชาติธุรกิจ, 2553)

ภาพ 2.2 สถิตทิ วั ร์ต่างชาติเข้า “ไทย-ลุ่มน้าโขง” สอดคล้อ งกับ นโยบายรัฐบาลไทยมอบหมายให้ก ระทรวงการท่ อ งเที่ย วและกีฬ า เดินหน้าขยายการเติบโตทางรายได้และจานวนนักท่องเทีย่ วตลาดต่างประเทศ ขับเคลื่อนคู่ขนาน รัฐและเอกชนภายใต้กรอบความร่วมมือใหญ่ 4 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มอนุ ภู มิภาคลุ่มน้ าโขง (GMS) อาเซียนและประชาคมเศรษฐกิจอ่าวเบงกอล (ASEAN, BIMSTEC : Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Tecnical and Economic Cooperation) กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจและกล ยุทธ์ลุ่มน้าอิรวดี-เจ้าพระยา (ACMECS : Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy) และกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Cooperation) Greg Duffell (2553) ได้ให้ภาพเป็ นภาพกว้างการท่องเที่ยวในด้านการขยายตัวของ นักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางมาท่องเที่ยวลุ่มแม่น้ าโขงและแนวโน้มในอนาคต (การสัมมนานานาชาติ เรื่อง เครือข่ายความรู้ และพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง, 2553) 27


ภาพ จานวนการขยายตัวของนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางมาท่องเทีย่ วลุ่มแม่น้ าโขง สาหรับแนวโน้มที่ทาง PATA ได้วเิ คราะห์ไว้คอื ทัง้ 6 ประเทศจะมีแนวโน้มทีเ่ ติบโต สอดคล้องกัน โดยเฉพาะประเทศพม่ามีการเติบโตขึน้ สูงมาก

กราฟแสดงแนวโน้มทีเ่ ติบโตของนักท่องเทีย่ วใน GMS 1

28


ภาพ 2.6 กราฟแสดงแนวโน้มทีเ่ ติบโตของนักท่องเทีย่ วใน GMS 2 สาหรับกลุ่มนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางมาท่องเทีย่ วในลุ่มแม่น้ าโขงแบ่งเป็ นลาดับดังนี้ คือ มาเลเซีย, ญี่ปุ่น, จีน, เกาหลี, สหรัฐฯ,ไทย,อังกฤษ, ออสเตรเลีย,เวียดนาม,ไต้หวัน,สิงคโปร์, เยอรมันฝรังเศส, ่ ลาว, อินเดีย เป็ นต้น

ลาดับกลุ่มนักท่องเทีย่ วรายประเทศทีเ่ ดินทางมาท่องเทีย่ วใน GMS ดังนัน้ การทีจ่ ะพัฒนาการท่องเทีย่ วใน GMS ควรมองในเรื่องการตลาด โดยเชื่อมโยง ผ่านโครงสร้างพืน้ ฐาน รวมถึงการสร้าง Mekong Branding และเตรียมสินค้า การพัฒนาบุคลากร ด้านการท่องเทีย่ วของคนในพืน้ ทีซ่ ง่ึ เป็ นเอกลักษณ์ของคนในท้องถิน่ คือการทาตลาดทีจ่ ะต้องเร่ง พัฒนา รวมถึงการมองถึงกลไก เช่น ความปลอดภัย การวิจยั การพัฒนา และประชาสัมพันธ์เชิงรุก เป็ นต้น เวียดนาม ปจั จุบนั เวียดนามเป็ นประเทศทีม่ ศี กั ยภาพค่อนข้างมากในการก้าวขึน้ มาเป็ นผูเ้ ล่นราย ใหม่ในอุตสาหกรรมไมซ์ของโลกทีก่ าลังได้รบั ความสนใจจากประเทศต่างๆ แม้ว่าโดยพืน้ ฐานแล้ว เวียดนามเป็ นประเทศที่มีระบอบการปกครองแบบสัง คมนิย มก็ต าม แต่ จากการเปิ ด ประเทศ ต้อนรับทุ นจากทัวโลกและสร้ ่ า งความเป็ นมิตรกับประเทศตะวัน ตก โดยเฉพาะสหรัฐฯ ท าให้ มุมมองของนักลงทุน ผูจ้ ดั งานประชุมและแสดงสินค้า/นิทรรศการ และนักเดินทางกลุ่มไมซ์ทวโลก ั่ ก็เริม่ ปรับเปลีย่ นไปในทิศทางทีด่ ขี น้ึ 29


รวมถึงความมันใจในการเข้ ่ าไปลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ อานวยความสะดวก ขนาดใหญ่ ซึ่งเริ่มมีสญ ั ญาณของการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขน้ึ อย่างต่อเนื่อง อาทิ การ ก่อสร้างสนามบิน ใหม่ 2 แห่ ง คือ ดง นาย (Dong Nai) และไฮ ฟอง (Hai Phong)โดยเฉพาะ สนามบิน ดง นาย สามารถรองรับผูโ้ ดยสารได้ประมาณ 80-100 ล้านคนต่อปี ส่วนหนึ่งเป็ นผลมา จากการทีเ่ วียดนามเป็ น 1 ใน 5 ประเทศที่มกี ารเติบโตเร็วที่สุดของกลุ่มนักท่องเทีย่ วที่เดินทาง ด้วยเครื่องบิน ตามรายงานของสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) รวมทัง้ แผนการ ก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมโยงการเดินทางระหว่างภาคเหนือและใต้ของประเทศ นอกจากนี้ เวี ย ดนามยั ง เป็ นประเทศหนึ่ ง ที่ มี ค วามร่ า รวยของทุ น ทางด้ า น ศิลปวัฒ นธรรมที่เ ก่ า แก่ แ ละเป็ น การผสมผสานกัน อย่ า งกลมกลืน ระหว่ า งวัฒ นธรรมจีน และ พืน้ เมืองทีม่ คี วามน่าสนใจหลายแห่ง สถานทีท่ ่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ และแหล่งท่องเทีย่ วทาง ธรรมชาติทส่ี วยงามโดดเด่นจานวนมาก รวมทัง้ การมีกจิ กรรมทีส่ ามารถสร้างความตื่นเต้นให้กบั นักท่องเที่ยวได้เป็ นอย่างดี อาทิ สถานที่ท่องเที่ยวแถบชายฝงั ่ ได้แก่ อ่าวฮาลอง ดานัง (Da Nang) และนาตรัง (Nha Trang) ซึง่ เป็ นปลายทางทีส่ าคัญของนักท่องเที่ยวและนักเดินทางกลุ่ม ไมซ์ท่ตี ้องการมาเวียดนาม และการมีถ้าขนาดใหญ่จานวนมาก ซึ่งเวียดนามเป็ นที่รู้จกั ของนัก สารวจทางธรณีวิท ยาทัวโลกว่ ่ า เป็ น “บ้านของถ้ าขนาดใหญ่ ของโลก” ซึ่ง บางแห่งมีค วามสูง เท่ากับตึกขนาดใหญ่หรือบางแห่งก็มคี วามกว้างพอทีจ่ ะเก็บเครื่องบินขนาดใหญ่ จากความตัง้ ใจในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิง่ อานวยความสะดวกด้านต่างๆ โดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรทีภ่ าคเอกชนหลายรายยอมรับว่า เห็นถึงความแตกต่างได้อย่าง ชัด เจนเมื่อ เปรีย บเทีย บกับ ช่ ว งก่ อ นการประชุ ม เอเปก (2549) ประกอบกับ การที่มีทุ น ทาง ศิลปวัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อมค่อนข้างมาก ทาให้เวียดนาม จึงเป็ นประเทศหนึ่งที่มศี กั ยภาพ อย่างมากในการก้าวขึน้ มาเป็ นผูเ้ ล่นรายสาคัญรายหนึ่งในอุตสาหกรรมไมซ์ของโลกในอนาคต กลยุทธ์ทางการตลาดไมซ์ของเวียดนาม จากวิสยั ทัศน์ทเ่ี ล็งเห็นถึงความสาคัญของไมซ์จากภาครัฐและเอกชน ทาให้องค์กรหลัก ที่ท างานด้านการท่ อ งเที่ย วด้า นต่ า งๆ จึงร่ ว มมือ กันในการจัดตัง้ องค์ก รกลาง เพื่อ ท าหน้ า ที่ ขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศคือ Vietnam Meeting and Incentive Club หรือ MICE Club จึงได้รบั ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2545 ซึง่ เป็ นผลมาจากความสาคัญของความร่วมมือของ สายการบินเวียดนาม แอร์ไลน์ ไซง่อ น ทัวริสต์ เทรแวล เซอร์วิส และการท่องเที่ยวฮานอย 30


ร่วมกับโรงแรมและรีสอร์ตชัน้ นาของประเทศมากกว่า 24 แห่ง โดยมีเป้าหมายเพื่อสนับสนุ นผูจ้ ดั งานไมซ์ ผู้ใ ห้บริก ารในด้านต่ า งๆ และรองรับ ความต้อ งการของลูก ค้ากลุ่ มไมซ์จ ากทัวโลก ่ ที่ คาดหวังถึงบริการคุณภาพสูงจากบุคคลทีเ่ ป็ นมืออาชีพ ขณะที่การเปิ ดรับเศรษฐกิจแบบทุนนิยมมากขึน้ ทาให้เวียดนามเป็ นตลาดเกิดใหม่ท่ี ได้รบั แรงสนับสนุนจากมหาอานาจทางเศรษฐกิจโลก อาทิ สหรัฐฯ และช่วยสร้างความเชื่อมันให้ ่ กบั นักลงทุนทัวโลกได้ ่ อย่างมาก รวมทัง้ แผนส่งเสริมการลงทุนในภาคเศรษฐกิจต่ างๆ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมที่ต้องใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชนั ้ สูง ซึ่งจากการเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างมากนี้ กลายมาเป็ นปจั จัยหนึ่งที่ทาให้ความต้องการสินค้าและบริการคุณภาพสูง และบุคลากรทีม่ ที กั ษะความรูโ้ ดยตรง เพื่อรองรับลูกค้ากลุ่มไมซ์ซง่ึ ส่วนใหญ่เป็ นนักลงทุนต่างชาติท่ี เข้ามาทาธุรกิจในเวียดนามมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ และเป็ นปจั จัยสาคัญทีท่ าให้อุตสาหกรรมไมซ์ของ เวียดนามเติบโตอย่างรวดเร็ว (สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อุตสาหกรรมไมซ์ในภูมภิ าคเอเชีย, 2554) สหภาพพม่า Daw Kyi Kyi Aye (2554) ได้ให้ภาพความคืบหน้าสถานการณ์ท่องเทีย่ วของพม่า และ การพัฒนาธุรกิจด้าน MICE โดยได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขของนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางผ่านทาง สายการบิน ที่มีอ ัต ราเพิ่มขึ้น ผ่ านจุ ด ผ่า นแดน ที่ย่า งกุ้ง, มันฑเลย์, บากัน รวมถึง การผ่ านด่ า น ชายแดนทีร่ วมแล้วมีการขยายตัว ทัง้ นี้ นักท่องเที่ยวทีเ่ ข้ามาท่องเทีย่ วในพม่า จะมาจากประเทศในเอเชียสูงสุดถึง 68% รองลงมาคือจากยุโรปตะวันตก และอเมริกาเหนือ ส่วนใหญ่จะเป็ นนักท่องเทีย่ วที่เป็ นนักเดินทาง ทีม่ าท่องเทีย่ วส่วนตัวมากถึง 57% รองลงไปคือการเดินทางเพื่อธุรกิจ แพคเกจทัวร์ และอื่น ๆ เป็ น ผูช้ ายมากกว่า 62% เป็ นหญิง 38% ซึง่ สร้างรายได้สงู ถึง 254 ล้านสหรัฐฯในปี 2010 ทีผ่ ่านมา มี การใช้ค่าใช้จ่ายต่อวันประมาณ 102 ดอลลาร์ มีอตั ราพักประมาณ 8 วัน ทัง้ นี้ ศักยภาพของการท่องเทีย่ วของพม่ามีไกด์ประมาณ 4,000 คน มีหอ้ งพักประมาณ 23,000 ห้อง และในอนาคตจะมีการลงทุนด้านโรงแรมมากกว่า 6,560 ห้อง ด้วยเงินลงทุนกว่า 1,144 ล้านเหรียญ โดยนักลงทุนจากสิงคโปร์ ประเทศไทย ประเทศญีป่ นุ่ จีน มาเลเซีย และอังกฤษ และล่าสุดทางการพม่าก็มศี นู ย์ประชุมและแสดงสินค้าทีช่ ่อื Myanmar International Convention & Exhibition Center ตัง้ อยูใ่ นกรุงย่างกุง้ 31


ในส่วนแผนการส่งเสริมการท่องเทีย่ วของพม่าในปี 2554 จะได้เข้าไปโปรโมทในงาน แสดงสินค้าและนิทรรศการที่สาคัญได้แก่ งาน ASEAN Tourism Forum, WTM (London), ITB Berlin (Germany), ITB ASIA (Singapore), First Boao International Tourism Forum 2010 China เป็ นต้น ในส่วนของแผนการตลาดทีส่ าคัญของการท่องเทีย่ วพม่าคือ การพัฒนาร่วมกันระหว่าง การโรงแรมและอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ย ว การส่ ง เสริม การลงทุ น จากต่ า งประเทศ การ พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในอุตสากรรมการท่องเทีย่ ว การสร้างโปรแกรมท่องเทีย่ วสู่ ตลาดนานาชาติ การจัดสัมมนา การแสดงสินค้าเพื่อแสดงศักยภาพของการท่องเทีย่ วพม่า รวมถึง การสร้างมาตรฐานในด้านบริการ เป็ นต้น จีนตอนใต้ ด้านสาธารณรัฐประชาชนจีนกาหนดให้สองมณฑลทางตอนใต้อนั เป็ นส่วนหนึ่งของ กรอบความร่วมมือ GMS ซึง่ จีนได้วางยุทธศาสตร์ให้ 2 เมืองหลักคือ นครคุณหมิงของมณฑลยูน นานและนครหนานหนิงของมณฑลกว่างซี เป็ นศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้าในระดับ มณฑลและพยายามเชื่อ มต่ อ ประเทศในกลุ่ ม GMS และอาเซีย น โดยเมือ งคุ ณหมิงได้มีก าร ก่อสร้างศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติขนาด 125,000 ตารางเมตร ขณะทีเ่ มืองหนานหนิง มีศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติขนาดพืน้ ที่ 99,122 ตารางเมตร (การสัมมนานานาชาติ เรื่อง “Tourism Trade and Investment Promotion in GMS 2010: Creative MICE Expanding Markets”, 2553) ศูนย์บริการข้อมูลธุรกิจไทยในจีน (http://www.thaibizchina.com) (2554) ข้อมูลจากที่ ประชุมคณะทางานการท่องเทีย่ วนครคุนหมิงระบุว่า ปี 2554 นครคุนหมิงจะเน้นพัฒนาตนเองให้ กลายเป็ นศูนย์กลางนิทรรศการการท่องเทีย่ วกับศูนย์กลางการค้านานาชาติในภูมภิ าค อีกทัง้ เป็ น ศูน ย์ก ลางการท่อ งเที่ยวนานาชาติ และสถานที่ท่ องเที่ย วพักผ่ อนที่มีช่อื เสีย งระดับโลก โดย ตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะกระตุน้ ให้จานวนนักท่องเทีย่ วจากทัง้ ในและต่างประเทศเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ร้อย ละ 11.1 และร้อยละ 10.28 ตามลาดับ และมีรายได้จากการท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ร้อยละ 12.23 ทัง้ นี้ นายหวง จวิ้นเฟิ ง ผูอ้ านวยการสานักงานท่องเที่ยวนครคุนหมิง กล่าวว่า นคร คุนหมิงจะเร่งการก่อสร้างและเผยแพร่ขอ้ มูลด้านการท่องเที่ยว อีกทัง้ ยังจะเร่งความร่วมมือกับ 32


บริษัทสายการบินและผู้แทนจาหน่ ายด้านการท่องเทีย่ วทัง้ ในและต่างประเทศ รวมถึงเร่งความ ร่ว มมือ กับ กลุ่ ม ประเทศอาเซีย น เพื่อบุ ก เบิก เส้นทางการท่อ งเที่ย วและเพิ่ม เส้นทางการบิน ระหว่างประเทศ เป็ นต้น นอกจากนี้ นครคุนหมิงจะบุกเบิกตลาดการท่องเที่ยวในทวีปยุโรปกับ ทวีปอเมริกา โดยจะอาศัยตลาดการท่องเที่ยวดัง้ เดิม อาทิ ไต้หวัน เกาหลีใต้ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ เป็ นต้น ใช้เป็ นพืน้ ฐานสาคัญในการพัฒนาด้านการท่องเทีย่ วอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกัน นครคุนหมิงจะพัฒนาโรงแรมทีม่ ชี ่อื เสียงหรือโรงแรมระดับ 5 ดาว ทีม่ ี มูลค่าการลงทุนมากกว่า 300 ล้านหยวน และโรงแรมบรรยากาศสไตล์ชนบทที่มูลค่าการลงทุน มากกว่า 100 ล้านหยวน ทัง้ นี้ เมื่อถึงปี 2555 นครคุนหมิงจะมีโรงแรมระดับ 5 ดาวหรือรีสอร์ท พักผ่อนเพิม่ ขึน้ ไม่ต่ากว่า 5 แห่ง และมีโรงแรมบรรยากาศสไตล์ชนบทเพิม่ ขึน้ ไม่ต่ ากว่า 2 แห่ง เป็ นต้น ขณะที่ศูนย์กลางการจัดประชุมและแสดงสินค้าแห่งหนึ่งของจีนคือ หนานหนิง เขต ปกครองตนเองชนชาติจว้ งกว่างซี สปป.จีน ได้วางแผนพัฒนาการท่องเทีย่ วในช่วง 5 ปี ขา้ งหน้า โดยใช้ยุทธศาสตร์ “1 หลัก 2 โฟกัส 3 แหล่ง 4 แบรนด์ 5 ระเบียง 6 ผลิตภัณฑ์ ” ยุทธศาสตร์ ดังกล่าว ปรากฏอยู่ในแผนแม่บทพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วหนานหนิง ฉบับแก้ไข และ แผนพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วหนานหนิงระยะ 5 ปี ฉบับที่ 12 ทัง้ นี้ ในแผนพัฒนาฯ ระบุว่า ในช่วง 5 ปี จากนี้ (2554-2558) นครหนานหนิงตัง้ เป้าให้ มีจานวนนักท่องเทีย่ วทัง้ สิน้ กว่า 80 ล้านคน เพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 18 ต่อปี เป้าหมายของจานวน นักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางเข้ามาพักค้างคืนเท่ากับ 300,000 คน เพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 14 ต่อปี เป้าหมายรายได้จากการท่องเทีย่ วในช่วงดังกล่าวเท่ากับ 60,000 ล้านหยวน เพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 20 ต่อปี โดยรายได้จากการท่องเทีย่ วมีสดั ส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 12.5 ของ GDP มีการจ้างงานใหม่โดยตรงในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วจานวน 30,000 อัตรา และมีการจ้างงาน ทางอ้อมจานวน 150,000 อัตรา นอกจากนี้ นครหนานหนิงยังได้ตงั ้ เป้าหมายที่จะพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวระดับ 5A จานวน 1 แห่ง ระดับ 4A จานวน 15 แห่ง โรงแรมระดับ 5 ดาว 10 แห่ง ระดับ 4 ดาว 20 แห่ง และระดับต่ากว่า 4 ดาว 30 แห่ง ทัง้ นี้ ในแผนยุทธศาสตร์ได้อธิบายรายละเอียดดังนี้ 1 หลัก หมายถึง การมุ่งพัฒนาจุดหมายการท่องเทีย่ ว ฮับและแหล่งรวมการท่องเทีย่ ว ระดับนานาชาติในภูมภิ าค เป็ นหลัก 33


2 โฟกัส หมายถึง การเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วใน 2 ด้าน ได้แก่ การ ยกระดับ คุ ณ ภาพของอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ย วโดยรวม และการปรับ ปรุ ง ผลิต ภัณ ฑ์ก าร ท่องเทีย่ ว 3 แหล่ง หมายถึง จะเร่งสร้างแหล่งท่องเทีย่ วแห่งใหม่ 3 แหล่ง ได้แก่ แหล่งท่องเทีย่ ว ในเมืองระดับนานาชาตินครหนานหนิง แหล่งท่องเทีย่ วธรรมชาติเชิงนิเวศต้าหมิงซาน และแหล่ง ท่องเทีย่ ววัฒนธรรมเชิงนิเวศนานาชาติเฟิงถิงหนานหนิง 4 แบรนด์ท่องเทีย่ ว หมายถึง จะผลักดันจุดเด่น 4 ด้านของนครหนานหนิงให้กลายเป็ น ตราสินค้าท่องเที่ยวที่ติดตลาด ได้แก่ “เมืองสีเขียวแห่งประเทศจีน ” “บ้านเกิดของชนชาวจ้วง” “เมืองแห่งนิทรรศการ” และ”สวรรค์แห่งอาหารเลิศรส” 5 เส้นทาง หมายถึง การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว 5 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางสาย หนานหนิง-หลิว่ โจว-กุย้ หลิน เส้นทางสายหนานหนิง -ชินโจว-ฝางเฉิงก่าง-เป๋ยไห่ เส้นทางสาย หนานหนิง-ไป่เซ่อ-เหอฉือ เส้นทางสายหนานหนิง -กุย้ ก่าง-ยวีห่ ลิน-อู๋โจว-กว่างโจว และเส้นทาง สายหนานหนิง-ฉงจัว-เวี ่ ยดนาม 6 ผลิตภัณฑ์ หมายถึง การนาเสนอสินค้าท่องเที่ยวออกมาในรูป 6 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ความงดงามของธรรมชาติ งานนิทรรศการและการประชุมด้านธุรกิจการค้า การพักผ่อนและ สันทนาการ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเทีย่ วในชนบท และการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของชนกลุ่มน้อย กรวรรณ สัง ขกร และ จัก รี เตจ๊ ะ วารี (2553) ระบุ ว่ า ในกลุ่ ม ประเทศ GMS ได้มี ข้อ ตกลงด้า นการท่อ งเที่ย วในด้านการตลาดร่ ว มกับจีนที่สาคัญ เช่น การจัด งานส่งเสริมการ ท่ อ งเที่ย วจีน (China International Travel Mart) งานแสดงสิน ค้ า จีน – อาเซีย น (China – ASEAN Expo) นอกจากนี้ยงั มีการจัดงานเทศกาล การอบรม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การ พัฒนาแม่น้ าโขง เช่น โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามแนวแม่น้ าโขง เชื่อมโยง 6 ประเทศ (Mekong World River Corridor) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้ให้กบั การ ท่องเที่ยว (GMS Tourism Village) โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อขจัดความยากจน (GMS Tourism for Poverty Alleviation) ระหว่ า งจีน ตอนใต้ สหภาพพม่ า ประเทศไทย สปป. ลาว กัมพูชา และเวียดนาม 34


ดังนัน้ จึงถือว่าการกาหนดแผนยุทธศาสตร์และการตลาดของธุรกิจ MICE ในจีนตอน ใต้ท่อี ยู่ภายใต้กลุ่ม GMS คือมณฑลยูนนาน และมณฑลกว่างซี จึงเป็ นพื้นที่ได้เร่งการพัฒนา ธุรกิจเกีย่ วเนื่องกับ MICE อย่างรวดเร็วในปจั จุบนั และอนาคต จึงนับเป็ นคู่แข่งทีส่ าคัญของไทย และเชียงใหม่ในอนาคต สปป.ลาว สุกเสริม โพธิสาน ได้กล่าวถึงสถานการณ์การท่องเทีย่ วของสปป.ลาว ว่า ส่วนใหญ่ ตลาดต่ า งประเทศแถบเอเชีย -แปซิฟิ กกว่ า 80% ยุ โ รป 6% ผ่ า นทางไทยเข้า ลาว ดัง นัน้ จึง วางแผนให้ไทยและเวียดนามเป็ นศูนย์กลาง (tourism hub) ซึง่ ทัง้ 2 ประเทศมีเทีย่ วบินเข้า -ออก มากกว่า รวมทัง้ มีนกั ท่องเทีย่ วไทยเข้าไปเทีย่ วลาวมากเป็ นอันดับ 1 ปี ละประมาณ 2 ล้านคน คิด เป็ น 60% ของทัง้ หมด ขณะนี้รฐั บาลลาวมีแผนแม่บท 5 ปี 2554-2558 เตรียมพัฒนาท่องเที่ยวด้วยตนเอง ด้วยยุทธศาสตร์การลงทุนขยายสนามบินหลวงพระบางให้แล้วเสร็จพร้อมเปิ ดบริการภายใน 3 ปี นี้ จะสร้างอาคารผูโ้ ดยสารหลังใหม่ เพิม่ ขีดความสามารถรันเวย์รองรับเครื่องบินเจ็ตขนาดใหญ่ โบอิ้งและแอร์บสั ได้ จากปจั จุบนั มีเฉพาะใบพัดเครื่องบินแบบ ATR คู่ขนานกับแผนแม่บทการ ท่องเที่ยวเน้นเมืองสีเขียว รักษาพืน้ ที่ธรรมชาติดงั ้ เดิม พัฒนาความสะอาด ตัง้ เป้าดึงกาลังซื้อ ตลาดคุณภาพกลุ่มฝรังเศส ่ เยอรมัน อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ สหรัฐ จะเร่งให้เห็นได้ทนั ปี ท่องเทีย่ ว หรือ Visit Loas Year 2012 ต่ อด้วยการเป็ นเจ้าภาพจัดงาน ATF : ASEAN Tourism Forum 2013 (ประชาชาติธุรกิจ, 2553) ขณะที่ธุรกิจด้าน MICE ของสปป.ลาว ก็ได้มกี ารก่อสร้างศูนย์ (LAO – ITECC) ใน นครหลวงเวียงจันทน์ ทีก่ ่อตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ 2547 บนพื้นที่ 80 กว่าไร่ เป็ นศูนย์ประชุมและ แสดงสินค้าแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศลาวที่มมี าตรฐานระดับสากล พื้นที่รวม 30,000 ตารางเมตร กัมพูชา กรมส่งเสริมการส่งออก (http://www.depthai.go.th/DEP/DOC/52/52002049.doc) ระบุว่า ประเทศกัมพูชาเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เศรษฐกิจของประเทศพึ่งพิงเงินลงทุนจาก ต่างประเทศในสัดส่วนทีส่ งู รัฐบาลกัมพูชามีนโยบายสนับสนุ นให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุน 35


เพิม่ มากขึน้ เพื่อสร้างงานและสร้างรายได้ให้กบั ประชาชนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยได้ ปรับเปลีย่ นกฎระเบียบการบริหารงานของภาครัฐเพื่อเอือ้ ประโยชน์ให้กบั นักลงทุนต่างชาติมาก ขึน้ โอกาสและลู่ทางการลงทุนในกัมพูชานับว่ายังมีอยู่มาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการ ท่องเทีย่ ว ซึง่ ประเทศกัมพูชามีแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ าคัญคือ นครวัดนครธม ทีจ่ งั หวัดเสียมเรียบ ใน แต่ละปี มนี ักท่องเทีย่ วเดินทางเข้าไปเยีย่ มชมเป็ นจานวนมาก ทาให้มคี วามต้องการห้องพักและ ร้านอาหารและบริการด้านต่างๆ เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะธุรกิจทีเ่ ชื่อมโยงกับธุรกิจท่องเทีย่ ว เช่น ที่ พักโรงแรม เกสเฮ้าส์ ร้านอาหาร นวด สปา จาหน่ ายสินค้าของทีร่ ะลึกแก่นักท่องเทีย่ ว ในเมืองที่ กาลังเติบโตเช่นเสียมเรียบ พนมเปญ และ กัมปงโสม ขณะที่ สถานการณ์ของธุรกิจไมซ์ในกัมพูชา (2554) ก็เริม่ ได้รบั ความสนใจและมีการ ขยายตัวมากขึ้น เช่นกัน เห็นได้จากการเกิดขึ้นของบริษัทด้า นการจัดประชุม และนิทรรศการ ข้อมูลของเว็บไซต์ http://www.miceincambodia.com ระบุว่า ประเทศกัม พูชายังไม่ไ ด้มีการ เปิ ดตัวในธุรกิจไมซ์มากนัก แต่หลายปี ทผ่ี ่านมาก็มกี ารจัดประชุม สัมมนา และนิทรรศการระหว่าง ประเทศอย่างต่อเนื่อง และประเทศกัมพูชาก็มคี วามตัง้ ใจที่จะรุกเข้าสู่ธุรกิจนี้อย่างจริงจัง และ เชื่อมัน่ ในศักยภาพที่จะเป็ น สถานที่จดั การประชุมเชื่อมโยงเครือ ข่ายสาหรับประเทศในกลุ่ ม อาเซียน ทัง้ นี้ ความสามารถทีจ่ ะเป็ นประเทศเจ้าภาพด้านไมซ์ของกัมพูชามีจุดแข็งคือ การมี โรงแรมระดับ 5 ดาวรองรับหลายแห่ง มีสงิ่ อานวยความสะดวกสาหรับการประชุม มีระบบการ บริการในการจัดประชุมทัง้ ระบบแสงสีเสียงที่ทนั สมัย มีสถานที่ท่องเที่ย วเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สนามกอล์ฟ ฯลฯ ข้อ มูล ของ http://www.mice@hanumantourism.com ซึ่ง เป็ น บริษัท ที่ดาเนิ น ธุ ร กิจ เกีย่ วกับไมซ์ ก็ระบุเช่นกันว่า สามารถสร้างสรรค์การประชุมได้ในหลากหลายรูปแบบอาทิ การ ประชุมในรีสอร์ททีเ่ งียบสงบ การจัดประชุมท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัลบนเกาะทีอ่ ยู่ห่างไกล การจัด สัมมนาในป่าที่มบี รรยากาศแวดล้อมด้วยวัด รวมถึงการจัดแสดงสินค้า-นิทรรศการนานาชาติใน โรงแรมระดับมาตรฐาน ซึง่ ทุกรูปแบบของไมซ์สามารถเกิดขึน้ ได้ในประเทศกัมพูชา เสริมคุณ คุณาวงศ์ กล่าวว่า บริษทั ซีเอ็ม ออร์กาไนเซอร์ จากัด (มหาชน) (CMO) ซึง่ เป็ นกลุ่มทุนไทยทีด่ าเนินธุรกิจบริการทางด้านบริหารการจัดงาน (Event Management) ได้เข้า ไปลงทุนประกอบธุรกิจทางด้านการบริหารการจัดงานแสดงในประเทศกัมพูชา ร่วมกับ Bayon 36


Radio and Television Co., Ltd. ซึง่ เป็ นผูป้ ระกอบการสถานีโทรทัศน์ชนั ้ นาในประเทศกัมพูชา เนื่องจากมีแผนที่จะขยายธุรกิจการจัดกิจกรรมด้านศิลปะ วัฒนธรรม และบันเทิง รวมถึงการ ประชุมและสัมมนาระดับนานาชาติไปยังตลาดต่างประเทศแถบภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการทีร่ ่วมกับบริษทั ในท้องถิน่ เพื่อทีบ่ ริษทั จะได้ศกึ ษาและเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมของคนท้องถิน่ ใน ประเทศดังกล่าว และถือเป็ นรากฐานการลงทุนในต่างประเทศ ก่อนทีจ่ ะขยายการลงทุนในแถบ เอเชียใต้เพิม่ ขึน้ ในอนาคต โดยมองว่ากัมพูชาเป็ นประเทศท่องเทีย่ วทีน่ กั ท่องเทีย่ วต่างชาติให้ความสนใจและมัก เดินทางไปในประเทศนี้ด้วย โดย CMO จะเน้ นงานด้าน Meeting Incentive Convention and

Exhibition ห รื อ รายวัน, 2549)

MICE เป็ น หลัก (ผู้จ ัด การ

37


38


สถำนกำรณ์ไมซ์ในภูมิภำคเอเชียใต้ (BIMSTEC) ความริเริม่ แห่งอ่าวเบงกอลสาหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและ เศรษฐกิจ (BIMSTEC : Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation) เป็ นกรอบความร่วมมือทางวิชาการและเศรษฐกิจระหว่าง 7 ประเทศในอ่าวเบ งกอล ได้แก่ บังกลาเทศ ภูฏาน อินเดีย พม่า เนปาล ศรีลงั กา และไทย เชื่อมสานนโยบาย Look East ของกลุ่มประเทศในเอเชียใต้ และนโยบาย Look West ของไทย เป็ นกรอบเดียวที่ เชื่อมเอเชียใต้เข้ากับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากร 1,466 ล้านคน เกิดขึน้ จากการริเริม่ ของไทย เมื่อ วัน ที่ 6 มิถุ น ายน 2540 ภายใต้ ช่ือ BIST-EC (Bangladesh-India-Sri LankaThailand Economic Cooperation) ต่อมาเปลีย่ นชื่อเป็ น BIMST-EC เมื่อพม่าเข้าร่วมเป็ นสมาชิก เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2540 เนปาลและภูฏาน เข้าเป็ นสมาชิก เมื่อเดือนธันวาคม 2546 มีการประชุมระดับผูน้ าครัง้ แรก ณ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2547 โดยได้มกี ารเปลี่ยนชื่อเป็ น BIMSTEC เพื่อ สะท้อนถึงความร่วมมือทางภูมภิ าค แทนชื่อประเทศสมาชิก และมีการออกปฏิญญาการประชุม ผูน้ า ความร่วมมือของ BIMSTEC เดิมมี 6 สาขา 1. การค้าและการลงทุน บังกลาเทศเป็ นประเทศนา 2. เทคโนโลยี ศรีลงั กาเป็ นประเทศนา 39


3. คมนาคม อินเดียเป็ นประเทศนา 4. พลังงาน พม่าเป็ นประเทศนา 5. ท่องเทีย่ ว อินเดียเป็ นประเทศนา 6. ประมง ไทยเป็ น ประเทศน า ที่ป ระชุ ม รัฐ มนตรีฯ ครัง้ ที่ 8 (เมื่อ วัน ที่ 18 -19 ธันวาคม 2548) ได้มมี ติให้เพิม่ ความร่วมมือใหม่ขน้ึ อีก 7 สาขา รวมเป็ น 13 สาขา ได้แก่ 7. เกษตร พม่าเป็ นประเทศนา 8. สาธารณสุข ไทยเป็ นประเทศนา 9. การจัดการสิง่ แวดล้อมและภัยพิบตั ิ อินเดียเป็ นประเทศนา 10. การต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ อินเดียเป็ นประเทศนา 11. การลดความยากจน เนปาลเป็ นประเทศนา 12. วัฒนธรรม ภูฏานเป็ นประเทศนา 13. ปฏิสมั พันธ์ในระดับประชาชน ไทยเป็ นประเทศนา และทีป่ ระชุมผูน้ าครัง้ ที่ 2 ได้ เห็นชอบที่จะให้เพิม่ สาขาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บังกลาเทศเสนอเป็ นประเทศนา (กรมเจรจาการค้า กระทรวงพาณิชย์, 2550) ประเทศอินเดีย มีฐานทีต่ งั ้ อยู่ในภูมภิ าคเอเชียใต้ อาณาเขตทางทะเลกว้างขวาง มี เขตติ ด ต่ อ กับ ประเทศต่ า งๆ 6 ประเทศ ได้แ ก่ บัง กลาเทศ (ภาคตะวัน ออก) พม่ า (ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ) จีน เนปาล ภูฏาน (ภาคเหนือ) และปากีสถาน (ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ) และมีดนิ แดนในอาณัตคิ อื หมู่เกาะอันดามัน ประเทศศรีลงั กา มีท่ตี งั ้ อยู่ทางตอนใต้ของอินเดียประมาณ 80 กิโลเมตร แต่มสี ภาพ เป็ นเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ประเทศพม่า เป็ นประเทศทีม่ ภี ูเขาเป็ นปา่ เรียงกันไปสามภูเขาใหญ่จากเหนือไปถึงใต้ ั่ มีความยาวชายฝงทะเล 2,832 กิโลเมตร ประเทศบังกลาเทศ ตัง้ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ทางเหนือและ ตะวันตกติดต่อกับอินเดีย ทางตะวันออกติดต่อกับอินเดียและพม่า ทางใต้ตดิ ต่อกับอ่าวเบง กอล 40


ประเทศเนปาล มีลกั ษณะเป็ นประเทศบนภูเขาเป็ นประเทศเล็กๆทีไ่ ม่มที างออกทะเล ตัง้ อยู่บนทีส่ งู ของเทือกเขาหิมาลัย มีอาณาเขตติดกับแคว้นทิเบตของประเทศจีนทางตอนเหนือ และประเทศอินเดียทางตอนใต้ ประเทศภูฏาน ทัง้ ประเทศจึงเป็ นภูเขาและไม่มที างออกสู่ทะเล ตัง้ อยู่บนพืน้ ทีส่ งู ของ เทือกเขาหิมาลัย ประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านซึง่ เป็ นสมาชิกของ BIMSTEC เพียงประเทศเดียวคือ ประเทศพม่า แต่มอี าณาเขตติดต่อกับประเทศสมาชิกในกลุ่ม ASEAN คือ ั่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ซึง่ รวมความยาวของชายฝงทะเล ั ่ านทะเลอ่าวไทยและด้านทะเลอันดามันสองด้าน 2,815 กิโลเมตร โดยหมู่เกาะอันดามัน ทัง้ ฝงด้ ั ่ านตะวันตกเพียง 300 กิโลเมตร ของอินเดียอยู่ห่างจากชายฝงด้ เห็นได้ว่าสมาชิก BIMSTEC ซึง่ มีทต่ี งั ้ อยู่ในทีส่ งู ไม่ตดิ ทะเล ได้แก่ เนปาลและภูฏาน ในขณะทีป่ ระเทศส่วนใหญ่อยู่ตดิ กับชายทะเล ได้แก่ ศรีลงั กา บังกลาเทศ พม่า อินเดีย และไทย ดังนัน้ รูปแบบในการติดต่อค้าขายจึงแตกต่างกัน โดยที่ประเทศติดชายทะเลสามารถใช้การ คมนาคมทางน้า ส่วนประเทศอื่นต้องใช้การคมนาคมทางบกและทางอากาศ นอกจากนัน้ ความ สูงต่าของพืน้ ทีก่ เ็ ป็ นปจั จัยทาให้เกิดความยากลาบากในการค้าขายด้วย อย่างไรก็ดี ลักษณะความใกล้ชดิ ของสถานทีต่ งั ้ ประเทศของกลุ่ม BIMSTEC ทาให้ เกิดความสะดวกในการติดต่อค้าขายซึ่งกันและกันและเอื้อประโยชน์ ต่อกันได้ เช่น พม่าเป็ น ประเทศที่อยู่ท่ามกลางกลุ่มประเทศอาเซียนและเอเชียใต้ มีอาณาเขตติดต่ อกับ จีน อินเดีย บังกลาเทศ ลาวและไทยทาให้มคี วามได้เปรียบในการติดต่อทาการค้าขาย รวมทัง้ การส่งสินค้า ผ่า นแดนไปยังประเทศต่ า งๆ ในขณะที่ไทยอยู่ห่ างจากประเทศในกลุ่ม เอเชีย ใต้ จึงมีความ เสียเปรียบประเทศในกลุ่ม BIMSTEC ด้วยกันเองในการติดต่อทาการค้าระหว่างประเทศ (กรม เจรจาการค้า กระทรวงพาณิชย์, 2550) จากการศึกษาของกรมเจรจาการค้า (2550) เมื่อเปรียบเทียบศักยภาพการค้าบริการ ของสมาชิก BIMSTEC ทัง้ หลายแล้ว สรุปศักยภาพการให้บริการได้ว่า 1. ไทยและอินเดียมีศกั ยภาพสูงมาก ในการให้บริการด้านท่องเที่ยว สามารถสร้าง รายได้จากการให้บริการเป็ นจานวนมากและสม่าเสมอ 41


2. บังกลาเทศและศรีลงั กามีศกั ยภาพในการให้บริการด้านท่องเที่ยวได้ดพี อสมควร ส่วนภูฏานแม้ว่าไม่มขี อ้ มูลทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ แต่กม็ เี ศรษฐกิจทีพ่ ง่ึ พิงรายได้จากการท่องเทีย่ ว จึงสันนิษฐานได้ว่ามีศกั ยภาพดีเช่นกัน 3. พม่าและเนปาล มีศกั ยภาพในด้านนี้ต่ ากว่าเพื่อนบ้าน เพราะมีสาเหตุส่วนหนึ่งมา จากกาลังอยู่ในภาวะยุ่งยากทางการเมืองภายในประเทศ สาหรับการใช้จ่ายในด้านการท่องเทีย่ วในประเทศของกลุ่ม BIMSTEC พบว่า 1. ไทยและอินเดียมีศกั ยภาพในการใช้จ่ายในระดับดีมาก 2. พม่าและศรีลงั กามีแนวโน้มทีด่ รี องลงมา ด้วยเหตุน้ี จึงอาจกล่าวได้ว่าการทีห่ ลายประเทศมีความสามารถให้บริการ และหลาย ประเทศมีความต้องการรับบริการ ประกอบกับการที่ประเทศไทยสามารถขยายเครือข่ายจาก ธุรกิจการท่องเทีย่ วไปสูธ่ ุรกิจภาคบริการอื่นๆได้หลายสาขา การค้าบริการท่องเทีย่ วจึงมีศกั ยภาพ สูงมากในอนาคตในการเปิ ดการค้าเสรีกรอบ BIMSTEC สาหรับอินเดียเป็ นประเทศทีม่ อี ตั ราการเจริญเติบโตทีส่ งู มากประเทศหนึ่งในโลก โดย ในปี งบประมาณ 2010-11 อัตราการเจริญเติบโตของอินเดียอยู่ทร่ี อ้ ยละ 8.6 นอกจากนี้ อินเดียมี ประชากรจานวนมาก (1.2 พันล้านคน) และชนชัน้ กลางและชนชัน้ สูงทีม่ กี าลังจ่าย จานวน 300400 ล้านคน จึงทาให้ตลาดการท่องเทีย่ วอินเดียมีขนาดใหญ่มาก อย่างไรก็ดี เนื่องจากอินเดียเป็ นประเทศที่มขี นาดพื้นที่กว้างใหญ่ (อนุ ทวีป) เมือง สาคัญ และเมือ งท่ อ งเที่ย วอยู่ก ระจายกัน และห่า งกัน มาก จึง ท าให้ค่ าบัต รโดยสารเครื่อ งบิน ภายในประเทศในบางเส้นทางสูงกว่าค่าบัตรโดยสารเครื่องบินไปประเทศไทย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการจัด การประชุมหรือ การท่ องเที่ยวเพื่อ เป็ นรางวัลในอินเดีย เช่น ค่ าที่พ ัก ค่า อาหารใน โรงแรมทีพ่ กั ก็มรี าคาสูงกว่าในเมืองไทย กอปรกับระยะเวลาทีใ่ ช้ในการเดินทางทางอากาศจาก อินเดียไปไทยไม่ยาวนานมากจนเกินไป อาทิ จากกรุงนิวเดลีไปกรุงเทพฯ ใช้เวลาประมาณ 4 ชัวโมง ่ ยิง่ หากบินจากเมืองกัลกัตตาด้วยแล้ว ระยะเวลาทีใ่ ช้กส็ นั ้ ลง ประมาณ 2½ ชัวโมงเท่ ่ านัน้ ด้วยเหตุน้ี บริษัทอินเดียจึงนิยมเดินทางมาจัดการประชุมหรือการท่องเทีย่ วเพื่อเป็ น รางวัลในประเทศไทย ซึ่งเป็ นข่าวดีสาหรับนักธุรกิจไทยโดยเฉพาะในสาขาการท่องเที่ยวการ โรงแรม ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว เป็ นต้น จากสถิติของ สสปน. ในปี 2553 มีชาวอินเดีย 42


เดินทางมาเมืองไทยเพื่อการจัดการประชุมและท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัลในประเทศไทย จานวน 88,755 คน เพิม่ ขึน้ จากปี 2552 ร้อยละ 98.5 และคาดว่าในปี 2554 จะเพิม่ ขึน้ เป็ น 124,257 คน โดยขนาดของกลุ่มไมซ์จากอินเดียมีตงั ้ แต่ 50 คน ไปจนถึงประมาณ 500 คน ส่วนใหญ่ขนาดของ กลุ่มฯ จะอยู่ทป่ี ระมาณ 100-200 คน โดยเดินทางไป 2 เมือง และพักอยู่ในประเทศไทยประมาณ 4-5 วัน สาขาอุตสาหกรรมในอินเดียที่เป็ นตลาดไมซ์มมี ากมายหลายสาขา อาทิ เทคโนโลยี สารสนเทศ ยา บริษัทบันเทิง อุตสาหกรรมรถยนต์ บริษัทประกัน สินค้าคงทน โทรคมนาคม สื่อมวลชน บริษทั รับเหมาก่อสร้าง อุตสาหกรรมวัตถุดบิ ของการก่อสร้าง ธนาคารและการเงิน เป็ น ต้น โดยวัต ถุ ป ระสงค์ข องการเดินทางก็เ พื่อ การท่ องเที่ยวเพื่อ เป็ นรางวัล (ซึ่ง คิด เป็ นสัดส่ว น ประมาณร้อยละ 70) การจัดประชุมหรือการจัดงานแนะนาสินค้าใหม่ (สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี) ดัง นั น้ จึง สามารถสรุ ป ได้ว่ า กลุ่ ม ประเทศในกลุ่ ม เอเชีย ใต้ (BIMSTEC) นั บ ว่ า ยัง ค่อนข้างมีศกั ยภาพน้อยในด้านอุตสาหกรรมไมซ์ เนื่องจากยังไม่ได้มกี ารลงทุนและสร้างจุดขายใน ด้านนี้มากนัก ยกเว้นประเทศอินเดียทีใ่ ห้ความสาคัญกับยุทธศาสตร์น้ีเช่นกัน โดยได้จดั ตัง้ องค์กร ที่ส่ง เสริม ด้า นอุ ต สาหกรรมนี้ ม าโดยเฉพาะคือ India Conference Promotion Bureau (ICPB) ในทางกลับกันกลุ่มประเทศ BIMSTEC กลับเป็ นฐานตลาดที่สาคัญของประเทศไทยและจังหวัด เชียงใหม่ในอนาคตทีส่ าคัญ

43


44


อุตสำหกรรมไมซ์ของไทย ข้อมูลจากรายงานเรื่อง อุตสาหกรรมไมซ์ในภูมภิ าคเอเชียโดยสานักงานส่งเสริมการ จัดประชุม และนิทรรศการ (องค์การมหาชน) (2554) เปิ ดเผยว่ า สานัก งานส่งเสริมการจัด ประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. (TCEB) ได้รบั การก่อตัง้ ในปี 2547 เพื่อ เป็ นหน่วยงานหลักในการพัฒนาและส่งเสริมการตลาดให้แก่อุตสาหกรรมไมซ์ และสร้างรายได้ เข้า ประเทศจากกลุ่ม นัก ท่อ งเที่ยวที่มีกาลัง ซื้อ สูง ที่ผ่า นมาการดาเนิน ต่ า งๆ มุ่ งเสริมสร้า ง ภาพลักษณ์พร้อมกับขยายตลาดไมซ์ให้กว้างขวางมากขึน้ โดยมีเป้าหมายสาคัญในการผลักดัน ให้ไทยเป็ นศูนย์กลางของการจัดประชุมและการจัดนิทรรศการในภูมภิ าคนี้ ขณะที่ บทบาทของ สสปน. มุ่งไปสู่การเป็ น One Stop Service สาหรับไมซ์ โดยเป็ นศูนย์กลางการประสานงาน แบบเบ็ดเสร็จทัง้ หน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็ น กรมศุลกากร การท่าอากาศยานฯ ททท. ผูป้ ระกอบการ ฯลฯ เพื่ออานวยความสะดวกทัง้ ในส่วนของผูเ้ ข้าประชุม จัดแสดงสินค้า/ นิทรรศการ รวมทัง้ สนับสนุนการเข้าประมูลงานในต่างประเทศ อาทิ ด้านงบประมาณ หรือการ จัดงานเพื่อเสริมภาพลักษณ์ของประเทศ เป็ นต้น อรรคพล สรสุช าติ กล่ า วว่ า ในปี 2554 มูลค่ า ของผู้ป ระกอบการที่จ ะเข้า มาใน อุตสาหกรรมไมซ์ อยู่ท่ี 15-20% หรือคิดเป็ นมูลค่า 5.7 หมื่นล้านบาท โดยคาดการณ์ว่า ปี 2555 หรือปี หน้ า จะมีผู้เข้าร่วมราว 7.2 แสนคน คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 5.8 หมื่นล้านบาท (ไทยรัฐออนไลน์, 2554) นอกจากนี้ ข้อมูลจากรายงานเรื่อง อุตสาหกรรมไมซ์ในภูมภิ าคเอเชีย (2554) โดย สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ยังระบุอกี ว่า จากการสารวจข้อมูลอุตสาหกรรม ไมซ์ของไทยในทัง้ 4 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจการจัดประชุม (Meeting) การท่องเทีย่ วเพื่อเป็ น รางวัล (Incentive) ธุรกิจการจัดประชุมนานาชาติ (Convention) และธุรกิจการจัดงานแสดง สินค้า/นิทรรศการ (Exhibition) ของอินฟอร์เมชัน่ โพรวายเดอร์ แอนด์ คอนซัลแตนท์ (IP&C) พบว่ า ในปี 2552 มีนั ก ธุ ร กิจ กลุ่ ม ไมซ์เ ดิน ทางเข้า สู่ไ ทยเป็ น จ านวน 620,000 คน ลดลง 45


ค่อนข้างมาก (ร้อยละ -24.56) เมื่อเทียบกับปี ก่อน สร้างรายได้รวมจากการใช้จ่ายคิดเป็ นมูลค่า 45,000 ล้ า นบาท (ลดลงจากปี ก่ อ นร้ อ ยละ -26.91) ในจ านวนนี้ การประชุ ม นานาชาติ (Convention) ยังคงเป็ นธุรกิจทีท่ ารายได้สงู ที่สุดคิดเป็ นมูลค่า 16,232.03 ล้านบาท ลดลงร้อย ละ -41.18 เมื่อเทียบกับปี ก่อน รองลงมาคือ การประชุม (Meeting) มีมูลค่า 10,710.13 ล้าน บาท ลดลงร้อยละ -27.00 เมื่อเทียบกับปี ก่อน การท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัล (Incentive) มีมูลค่า 7,548.78 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -18.44 และการจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการ (Exhibition) เป็ นธุรกิจเพียงประเภทเดียวทีม่ กี ารขยายตัวในอัตราร้อยละ 4.61 เมื่อเทียบกับปี ก่อน คิดเป็ น มูลค่า 10,509.06 ล้านบาท

กราฟภาพรวมรายได้จากธุรกิจ MICE ปี 2551-2552 เมื่อพิจารณาในภาพรวมตัง้ แต่ปี 2546 เป็ นต้นมา พบว่า ในช่วงปี งบประมาณ 25472549 ก่อนเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลก ภาพรวมของอุตสาหกรรมไมซ์ของไทยเป็ นไปในทิศทางของ การเติบ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จนถึง ปี 2550 วิก ฤติเ ศรษฐกิจ โลกได้ส่ง ผลกระทบอย่ า งมากต่ อ อุตสาหกรรมไมซ์ ทาให้รายได้และนักธุรกิจไมซ์ทเ่ี ดินทางเข้าไทยมีจานวนลดลงค่อนข้างมาก แต่ในปี 2551 อุตสาหกรรมไมซ์กก็ ลับมาอยู่ในเส้นทางการเติบโตอีกครัง้ หนึ่ง โดยนักธุรกิจกลุ่ม ไมซ์ท่เี ดินทางเข้าไทยมีการขยายตัวร้อยละ 10.45 แต่ หากพิจารณาในแง่รายได้แล้วพบว่า รายได้จากกลุ่มไมซ์มกี ารขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.07 เมื่อเทียบกับปี ทผ่ี ่านมา แสดงให้เห็นว่า 46


อุตสาหกรรมไมซ์เป็ นภาคเศรษฐกิจที่มกี ารฟื้ นตัวค่อนข้างรวดเร็ว เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม ท่องเทีย่ วหรือภาคเศรษฐกิจอื่นๆโดยเฉพาะการประชุมและการประชุมนานาชาติ (Meeting และ Convention) ทีม่ ที ศิ ทางของการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แม้ตอ้ งเผชิญวิกฤติเศรษฐกิจทัวโลกก็ ่ ตาม ฉะนัน้ จึงกล่าวได้ว่า อุตสาหกรรมไมซ์มศี กั ยภาพในการเป็ นกลไกทีส่ าคัญและเริม่ มีบทบาทมาก ขึน้ ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในช่วงทีภ่ าคธุรกิจอื่นๆ ยังคงไม่ฟ้ืนตัวอย่างเต็มที่

กราฟภาพรวมรายได้จากธุรกิจ MICE ปี 2551-2552 ทัง้ นี้ ในส่วนของธุรกิจการจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการของไทย จากการสารวจ ของ BSG ระบุว่า ในปี 2552 ธุรกิจจัดแสดงสินค้า/นิทรรศการของไทยมีมูลค่ารวม 149.4 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ หรือ 4,479 ล้านบาท จากการจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการจานวน 75 ครัง้ แม้ว่า การขายพื้นที่ของไทยในปี 2552 มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2551 แต่หาก พิจารณาตัง้ แต่ปี 2548 เป็ นต้นมา กล่าวได้ว่า การขายพืน้ ทีจ่ ดั แสดงสินค้า/นิทรรศการของไทย เป็ นไปในทิศทางที่เพิม่ ขึน้ นัน่ คือ เฉลี่ยร้อยละ 14 ต่อปี (ปี 2548-2552) เช่นเดียวกับประเทศ ต่างๆในภูมิภาคเอเชียที่ทาการสารวจ ได้แก่ ฮ่องกง เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเดีย สิงคโปร์ ไต้หวัน มาเลเซีย เวียดนาม และมาเก๊า ยกเว้นญี่ปุ่นและอินโดนีเซีย ที่มกี ารปรับตัวลดลง อัน เป็ นผลมาจากปจั จัยในประเทศเป็ นสาคัญ

47


ไทยเป็ นประเทศที่มศี กั ยภาพมากประเทศหนึ่งในเอเชีย จากการสร้างและพัฒนาสิง่ ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น สนามบินสุวรรณภูมิ รถไฟฟ้าบีทเี อส รถไฟฟ้าใต้ดนิ ศูนย์ประชุมขนาด ใหญ่ และทีก่ าลังจะเกิดขึน้ ใหม่ในภูมภิ าค อาทิ เชียงใหม่ และภูเก็ต ส่วนศูนย์การประชุมทีม่ อี ยู่ อาทิ ศูนย์การประชุมนานาชาติอมิ แพคเป็ นต้น ก็มแี ผนทีจ่ ะขยายพืน้ ทีเ่ พิม่ เติมเช่นกัน ขณะเดียวกัน การเติบโตของอุตสาหกรรมไมซ์ของไทย ยังได้รบั แรงสนับสนุ นจากการ ลงนามข้อตกลงทางการค้าเสรีกบั ประเทศต่างๆ และการกาหนดยุทธศาสตร์เศรษฐกิจในหลาย สาขา อาทิ เกษตรยานยนต์ อาหารและเครื่องดื่ม แฟชัน่ และไอที เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม ฐาน ลูกค้าที่สาคัญอีกส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมไมซ์ของไทย ได้แก่ บริษัทต่างชาติท่จี ดทะเบียนใน ไทยซึง่ มีประมาณ 3,000 บริษทั และมีความเป็ นไปได้ทจ่ี ะสามารถพัฒนาไปสู่การเป็ นกลุ่มลูกค้า ทีส่ าคัญ รวมทัง้ สมาคมวิชาชีพต่างๆ อาทิ แพทยสภา สมาคมเภสัชกร สภาวิศวกรและสถาปนิก เป็ นต้น ในส่วนกลยุทธ์ทางการตลาดของไทย แนวทางทีส่ าคัญของสานักงานส่งเสริมการจัด ประชุ ม และนิ ท รรศการ (องค์ก ารมหาชน) หรือ สสปน. ในการเสริม สร้ า งศัก ยภาพให้ก ับ อุตสาหกรรมไมซ์ ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ ส่วนแรก การเสริมศักยภาพในการจัดประชุมให้แก่ สมาคม อาทิ การพัฒนาบุคลากร และเพิม่ ประสิทธิภาพบริหารจัดการ รวมทัง้ สร้างโอกาสในการ จัดกิจกรรมไมซ์ ทัง้ ในระดับประเทศและนานาชาติ ส่วนทีส่ อง เสริมสร้างมาตรฐานด้านการรักษา ความปลอดภัยสาหรับกิจกรรมไมซ์ เพื่อช่วยให้ผจู้ ดั การประชุมมีความพร้อมในการรับมือความ เสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในช่วงเวลาการประชุม เพื่อสร้างความมันใจให้ ่ แก่ผเู้ ข้าร่วมประชุมและผู้ ที่มสี ่วนเกี่ยวข้อง ส่วนที่สาม คือ แผนการส่งเสริมการจัดไมซ์ภายในประเทศ ส่วนที่ส่ี คือการ ประชุมสีเขียว (Green meeting) เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับกิจกรรมไมซ์ท่คี านึงถึงหลัก ความยังยื ่ น (Sustainability) และลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และส่วนทีห่ า้ คือการเสนอตัวเป็ น เจ้าภาพจัดงาน World Expo 2020 แผนส่ ง เสริม การจัด ไมซ์ใ นประเทศภายใต้ โ ครงการที่ส าคัญ 3 โครงการคือ 1. โครงการ“ประชุ ม เมือ งไทย Domestic MICE มัน่ ใจเมือ งไทยพร้อ ม” 2. โครงการ “ไมซ์ไ ทย เข้มแข็ง: Creative MICE พลิกฟื้ นเศรษฐกิจ ด้วยความคิดสร้างสรรค์” และ 3. โครงการ “MICE Education: พัฒนาการศึกษาไมซ์ทวไทย” ั่

48


โครงการแรก คือ โครงการ “ประชุม เมือ งไทย Domestic MICE มันใจเมื ่ องไทย พร้อม” เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์ในประเทศอย่างครบวงจร และกระตุน้ ตลาดไมซ์ในประเทศ อย่างเต็มรูปแบบ โดยมีเป้าหมายการขยายตัวไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ในปี 2554 โครงการนี้ เป็ น ผลมาจากการจัด ทาโรดแมป (Roadmap) อุ ตสาหกรรมไมซ์ฉ บับแรกระหว่ า ง สสปน. และ ภาคเอกชน และได้ร ับ การพัฒนาเป็ น สมุ ด ปกขาว (White paper) อุ ต สาหกรรมไมซ์ ที่เ ป็ น เจตนารมณ์ร่วมของทุกฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ไทยให้เป็ นไปใน ทิศทางเดียวกัน

ทัง้ นี้ กลยุทธ์การทาตลาดภายใต้โครงการนี้ แบ่งเป็ น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่ม MIC (กลุ่มการประชุม การท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัล และการประชุมนานาชาติ) เน้นการวางแนวทาง ส่งเสริมการตลาดเป็ น 6 แนวทาง ได้แก่ การสร้างทีมเวิรค์ ผ่านประสบการณ์ท่ที า้ ทาย (Team Building) การสร้างการเรียนรูแ้ ละความภาคภูมใิ จในประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม (History and Culture) การสร้า งประสบการณ์ ก ารเรีย นรู้ใ หม่ ๆ (Productivity) การตระหนั ก ในการรัก ษา สิง่ แวดล้อม (Green) การตระหนักในความรับผิดชอบต่ อสังคม (CSR) และการได้สมั ผัสกับ ความพิเศษ (Luxury) และกลุ่มที่ 2 คือ กลุ่ม E (กลุ่มงานแสดงสินค้า) เน้ นการวางแนวทาง ส่งเสริมการตลาดงานแสดงสินค้าชูจุดเด่นตามอุตสาหกรรมในประเทศ โดยลาดับความสาคัญ จากปริมาณการค้าและการส่งออกของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมการเกษตร อัญมณี สิง่ ทอ สัตว์เลีย้ ง และ เซรามิก เป็ นต้น โดยในส่วนของการส่งเสริมธุรกิจการจัดงานแสดงสินค้า/นิทรรศการ (Exhibition) สสปน. มีเ ป้ าหมายส าคัญ ในการผลัก ดัน ให้ง านแสดงสิน ค้ า นานาชาติ ข องไทยในแต่ ล ะ อุตสาหกรรมสามารถก้าวขึ้นเป็ นผู้นาของงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมนัน้ ๆในภูมิภาค หรือ Regional Champion Show โดยได้รเิ ริม่ โครงการ “Better the Best” ขึน้ เพื่อคัดเลือกและให้การ 49


สนับสนุนการทาตลาดต่างประเทศให้แก่งานแสดงสินค้าทีม่ คี วามเป็ นเอกลักษณ์เป็ นทีย่ อมรับใน ระดับภูมภิ าค อาทิ งาน 46th Bangkok Gems and Jewelry Show 2010 เป็ นต้น ขณะที่ ภาครัฐก็ได้เข้ามาให้การสนับสนุ นด้านภาษีต่อการจัดกิจกรรมไมซ์ในประเทศ เช่นกันคือ 1. กรณีทอ่ี งค์กรเอกชนจัดการฝึ กอบรมสัมมนาให้แก่ลูกจ้าง ทัง้ ทีด่ าเนินการเองหรือ จ่ายให้แก่ผปู้ ระกอบธุรกิจนาเที่ยว จะได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เป็ นจานวนร้อยละ 100 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ นค่าห้องสัมมนาค่าห้องพัก ค่าขนส่ง หรือรายจ่ายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง ในการอบรมสัมมนาภายในประเทศ (ตามพรฎ.ฉบับที่ 506) หรือ 2. กรณีออกร้านในงานแสดง สินค้า จะได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เป็ นจานวนร้อยละ 100 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไป เป็ นค่ าเช่ าพื้นที่ ค่ า ก่อ สร้างสถานที่จดั แสดงค่ าประกันภัย ค่ าระวางหรือ ค่า ขนส่งสินค้าและ อุปกรณ์ ท่ใี ช้ในการร่วมงานออกร้า น งานนิทรรศการ หรืองานแสดงสินค้าทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ (ตามพรฎ.ฉบับที่ 503)

โครงการทีส่ อง คือ โครงการ “ไมซ์ไทยเข้มแข็ง : Creative MICE พลิกฟื้ นเศรษฐกิจ ด้วยความคิดสร้างสรรค์” เป็ นโครงการต่อเนื่องในปี ท่ผี ่านมาภายใต้งบประมาณไทยเข้มแข็งปี 2553 ซึ่ง สสปน.ได้รบั การสนับสนุ นจากรัฐบาลจานวน 50 ล้านบาท เพื่อเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ง ให้กบั นักธุรกิจต่างชาติ ในการจัดประชุมและนิทรรศการในรูปแบบใหม่ๆ ในประเทศไทย สร้าง เครือ ข่ า ยการแลกเปลี่ย นองค์ค วามรู้ และประสบการณ์ ตลอดจนเป็ น การจุ ด ประกายให้ ผูป้ ระกอบการท้องถิน่ สามารถจัดงานประชุมอย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ท้องถิ่น ซึ่ง สอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ของรัฐบาล

50


โครงการทีส่ าม คือ โครงการ “MICE Education: พัฒนาการศึกษาไมซ์ทวไทย” ั่ เป็ น ยุทธศาสตร์ทส่ี าคัญประการหนึ่งของ สสปน. ในการขยายและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับ โครงสร้างธุรกิจโดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมตามกรอบความร่วมมือเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี พ.ศ.2558 และแนวทางพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถทางการแข่งขันของ อุตสาหกรรมไมซ์ไทยในระยะยาว การริเ ริ่ม โครงการ “Go Green Exhibition” เ ป็ น อี ก โครงการเชิ ง นโยบายเกี่ ย วกั บ แนวทางปฏิ บ ัติ ด้ า นการอนุ ร ัก ษ์ สิง่ แวดล้อมสาหรับอุตสาหกรรมงาน แ ส ด ง สิ น ค้ า เ พื่ อ ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องต่ างๆทัง้ ภาครัฐบาล เอกชน ไปจนถึง ภาค ประชาชน ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการดาเนินงานตามแนวคิด “สีเขียว” เพื่อลดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการ รวมทัง้ สสปน.ยังจะ นาโครงการ Go Green Exhibition นี้ ไปใช้เป็ นจุดขายหลักของอุตสาหกรรมงานแสดงสินค้า ของไทยในอนาคต และเป็ นปจั จัยหลักในการตัดสินใจเลือกประเทศเจ้าภาพในการจัดงาน เพื่อ ใช้เป็ นปจั จัยบวกในการประมูลสิทธิดงึ งานแสดงสินค้าให้เข้ามาจัดในประเทศไทยเพิม่ มากขึน้ และช่วยผลักดันให้ไทยเป็ นศูนย์กลางการแสดงสินค้านานาชาติของอาเซียนได้ในทีส่ ดุ ทีส่ าคัญ สสปน. มีโครงการ “เสนอตัวประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพจัดงานมหกรรมโลก เวิล์ด เอ็ก ซ์โ ป 2020” โดยก าหนดให้จ ัง หวัด พระนครศรีอ ยุ ธ ยาเป็ น สถานที่จ ัด งาน และใช้ งบประมาณ 300 ล้านบาท เพื่อดาเนินการและรณรงค์หาเสียงสนับสนุ น การจัดงานครัง้ นี้ คาด ว่าจะก่อให้เกิดรายได้ทางตรง 62,000 ล้านบาท (ค่าบัตรเข้าชมงานและรายได้จากผูส้ นับสนุ น) รายได้ทางอ้อม 2 แสนล้านบาท (การลงทุนต่อเนื่องและการจ้างงาน) มีผเู้ ข้าชมงาน 35 ล้านคน โครงการนี้ คาดว่าจะมีการประชาสัมพันธ์เต็มรูปแบบในปี 2554 ควบคู่กบั แคมเปญ Believe in Thailand เพื่อสร้างความรูค้ วามเข้าใจแก่ประชาชนถึงผลประโยชน์ทป่ี ระเทศได้รบั และสร้างการ มีสว่ นร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการเป็ นเจ้าภาพ 51


ผลงานที่สาคัญด้านไมซ์ของไทย ในช่วง 10 ปี ท่ผี ่านมา ประเทศไทยได้รบั การคัดเลือกให้เป็ นสถานที่จดั การประชุม องค์กรนานาชาติ/บริษทั และงานแสดงสินค้า/นิทรรศการที่สาคัญหลายครัง้ อาทิ 1.10th United Nation Conference on Trade and Development (UNCTAD X), 2000(3,000 คน) 2. 15th APEC Summit, 2003 (1,000 คน) 3.3rd World Conservation Congress (WCC) 2004, (1,500 คน) 4.13th Meeting of the Conference of the Parties to CITES CoP 13, 2004 (1,000คน) 5.11th United Nations Congress on Crime Prevention and Criminal Justice, 2005(1,200 คน) 6.15th ASEAN Summit, 2009 (1,200 คน) 7.International Conference on Mega-Trend in Human Capital and Labour Productivity towards Global Integration, 2010 (2,000 คน) 8.14th International Anti-Corruption Conference, 2010 (1,000 คน)

52


อุตสำหกรรมไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่ ผูเ้ ขียนได้ประมวลศักยภาพและโอกาสจากจังหวัดเชียงใหม่จากนักวิชาการและผูท้ ไ่ี ด้ ศึกษาเกีย่ วกับอุตสาหกรรมไมซ์ของเชียงใหม่ทน่ี ่าสนใจหลายท่านด้วยกันกล่าวคือ จากการศึกษา พรทิ พย์ เธียรธีรวิ ทย์ (2542) ถึงศักยภาพของจังหวัดเชียงใหม่ในการ เป็ นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วในอนุภูมภิ าคลุ่มน้าโขง จากผลการศึกษาพบว่าในประเด็นของความ ดึงดูดของแหล่งท่องเทีย่ วนัน้ นักท่องเที่ยวให้คะแนนสูงสุดกับอัธยาศัยของคนเชียงใหม่ในเรื่อง ความเป็ นมิตร รองลงมาเป็ น เรื่อ งของความสวยงามของแหล่ ง ท่ อ งเที่ย วธรรมชาติ และแหล่ ง ท่ อ งเที่ย วประวัติ ศ าสตร์ ความหลากหลายและความมีช่ือ เสีย งของแหล่ ง ท่ อ งเที่ย ว ส่ ว น ผูป้ ระกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวเห็นว่าอัธยาศัยของคนเชียงใหม่มผี ลต่อความดึงดูดใจต่อการ ท่องเทีย่ วเชียงใหม่มากทีส่ ดุ เช่นเดียวกับความคิดเห็นของนักท่องเทีย่ ว รองลงมาเป็ นเรื่องของความมีช่อื เสียงของอาหารเชียงใหม่ วัฒนธรรมประเพณีท่มี ี เอกลัก ษณ์ พิเ ศษไม่ เ หมือ นใคร และความเก่ า แก่ ข องสถานที่ป ระวัติศ าสตร์ นั ก ท่ อ งเที่ย ว ต่างประเทศประเมินการให้บริการของผูป้ ระกอบการธุรกิจเกีย่ วกับสถานทีพ่ กั แรม บริษทั นาเทีย่ ว และร้านขายของทีร่ ะลึกในจังหวัดเชียงใหม่อยู่ในเกณฑ์ดี โดยคะแนนสูงสุดเป็ นเรื่องความสุภาพ ของพนั ก งานและผู้เ กี่ย วข้อ ง รองลงมาคือ การให้ก ารต้ อ นรับ ที่อ บอุ่ น ความรวดเร็ว ในการ ให้บริการ ความสะดวกสบายและความคุม้ ค่าเงินทีจ่ ่ายไป

53


ด้านความพร้อมของธุรกิจ MICE ในพื้นที่จงั หวัดเชียงใหม่ รสมาริ นทร์ อรุโณทัย พิ พฒ ั น์ (2544) ศึกษาเรื่อง ปจั จัยด้านการตลาดทีม่ ผี ลต่อการเลือกใช้โรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ เป็ นสถานทีจ่ ดั การสัมมนา สรุปได้ว่าหน่ วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน/สมาคม/ชมรม/มูลนิธิ มีการจัดสัมมนาทีโ่ รงแรมส่วนใหญ่ปีละ 1-3 ครัง้ และส่วนใหญ่ใช้เวลาครัง้ ละ 1 วัน โดยส่วนใหญ่มี ผูเ้ ข้าร่วมสัมมนา 51 –100 คน ในการจัดแต่ละครัง้ ส่วนใหญ่จะไม่เจาะจงทัง้ ช่วงระยะเวลาในการ จัดสัมมนาและโรงแรม แต่จะเน้นความสะดวกในการเดินทางโรงแรมที่ตงั ้ ใกล้หน่ วยงานหรือย่าน ธุรกิจ

ปจั จัยที่ให้ความสาคัญในการเลือกห้องสัมมนา คือ ขนาดและความจุของห้องสัมมนา อุปกรณ์ ในห้องสัมมนา และระบบแสง สี เสีย ง ตามลาดับ ในด้านอุปกรณ์ ท่นี ิย มใช้ในการจัด สัมมนา คือ แอล ซี ดี โปรเจคเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ไมโครโฟนติดหน้าอก เลเซอร์พอยท์ อินเตอร์เนต/ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ตามลาดับ ปจั จัยในการพิจารณาห้องพัก คือ จานวนห้องพักที่เพียงพอ สิง่ อานวยความสะดวก ตามลาดับ ปจั จัยในการพิจารณาสิง่ อานวยความสะดวกภายในโรงแรมคือ ทีจ่ อดรถ พืน้ ทีส่ าหรับ จัดงานแสดงสินค้า/จัดกิจกรรม ศูนย์บริการด้านธุรกิจ ศูนย์ออกกาลังกาย ตามลาดับ ปจั จัยในการ พิจารณาด้านอาหารและเครื่องดื่ม คือ รสชาติอาหาร ความสะอาดถูกสุขอนามัย มีหลากหลาย รายการให้เลือก ราคาถูก ปริมาณอาหารพอเพียงกับความอิม่ ตามลาดับ 54


ประสาน ภิ รชั บุรี (2544) ศึกษาเรื่องการพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางการ สัมมนานานาชาติ สรุปได้ดงั นี้ 1. สถานทีจ่ ดั สัมมนา ศูนย์สมั มนาของประเทศไทยเป็ นศูนย์สมั มนานานาชาติขนาด กลางเป็ น ที่รู้จกั กัน อย่ างแพร่ห ลาย มีสถานที่จ ัดสัมมนาที่ย อมรับได้ และค่ าใช้จ่ ายในการจัด สัมมนาทีส่ มเหตุสมผล 2. โครงสร้างพืน้ ฐานและระบบคมนาคมเชื่อมโยงมีบทบาททีส่ าคัญอย่างยิง่ ในการจัด ประชุมนานาชาติ เนื่องจากผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาจะต้องได้รบั ความสะดวกในการเดินทางระหว่างทีพ่ กั กับสถานทีต่ ่างๆ 3. บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามชานาญในธุรกิจการจัดประชุมนานาชาติในประเทศไทยยัง มีน้อยมาก บุคลากรส่วนใหญ่จะมาจากการให้บริการด้านอื่นๆ 4. ประเทศไทยเป็ นประเทศหนึ่งทีไ่ ด้รบั ความสนใจในตลาดของธุรกิจการจัดประชุม การท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัล การจัดประชุมนานาชาติและการจัดงานแสดงสินค้าของโลก 5. ประเทศไทยมีค วามพร้อ มในด้า นการท่ อ งเที่ย ว เพราะประเทศไทยมีสถานที่ ท่องเทีย่ วทีง่ ดงามและประชาชนส่วนใหญ่มนี ิสยั ใจคอโอบอ้อมอารีและเป็ นมิตร อันเป็ นจุดดึงดูด ให้นกั ท่องเทีย่ วสนใจ 6. การสนับสนุ นจากภาครัฐ ที่ผ่านมาภาครัฐยังมิได้ให้การสนับสนุ นการจัดประชุม นานาชาติอย่างจริงจัง 7. สิง่ ทีส่ าคัญทีส่ ดุ ในการทีจ่ ะได้รบั เลือกให้เป็ นประเทศเจ้าภาพจัดสัมมนานานาชาติ คือ ภาพลักษณ์ของการสนับสนุนอย่างจริงจังของภาครัฐ 8. การก่ อสร้า งศูน ย์สมั มนาขนาดใหญ่ เพื่อ ให้สามารถรองรับ ผู้เข้าร่ วมสัม มนาได้ มากกว่า 10,000 คน เป็ นสิง่ ทีด่ ี แต่จะต้องศึกษาให้รอบคอบ โดยเฉพาะในเรื่องงบประมาณในการ ก่อสร้างและอุปกรณ์แต่งเติมภายในอาคารที่ต้องใช้เทคโนโลยีชนั ้ สูง ซึ่งจะต้องใช้เงินลงทุนที่สูง มาก

55


สอดคล้องกับ จรรยา ตันจาตุรนต์ (2549) ได้ศกึ ษาเรื่อง ผลกระทบของการทาให้ เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางภูมภิ าคของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว สรุปประเด็นสาคัญได้ว่านโยบาย ที่ท าให้เ ชีย งใหม่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ย วของภู มิภ าคตามนโยบายของรัฐ บาลพบว่ า หน่ ว ยงานราชการมีส่ ว นในการน านโยบายดัง กล่ า วไปด าเนิ น การตามแผน แต่ ย ัง ขาดการ ประชาสัมพันธ์ ทาให้กลุ่มผูป้ ระกอบการธุรกิจต่างๆทราบจากสื่อมากกว่า เจ้าหน้าทีจ่ ะมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมโดยประสานกับภาครัฐ เอกชน และท้องถิน่ โดยทีก่ ลุ่ม ผูป้ ระกอบการธุรกิจต่างๆ ส่วนใหญ่จะให้ความร่วมมือ ปั ทมนันท์ นิ ทศั น์ สนั ติ คณ ุ (2550) ศึกษาเรื่อง ความต้องการใช้บริการศูนย์ประชุม และแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ของผูจ้ ดั งานแสดง สรุปได้ว่าผูจ้ ดั งานแสดงสินค้าส่วน ใหญ่มคี วามต้องการทีจ่ ะนางานแสดงสินค้ามาจัดทีศ่ ูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัด เชียงใหม่ โดยจะจัดงานครัง้ ละ 3-5 วัน จะนางานมาจัดรวมกันประมาณ 6-8 งานต่อปี บริการหลักทีศ่ ูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ต้องมี ได้แก่ มี ศูนย์รวมบริการทางธุรกิจ ห้องละมาด ห้องบริการนักข่าว ทางลาดเชื่อมต่างระดับทีเ่ หมาะสมกับ รถเข็น และมีบริการต่างๆ สาหรับคนพิการ ในด้านผู้รบั เหมาช่วงในจังหวัดเชียงใหม่ ผู้จดั งานแสดงสินค้ามีความเห็นว่าควร ปรับปรุงคุณภาพในการบริการ โดยในช่วงแรกที่มงี านมาจัดแสดงที่เชียงใหม่ ผู้รบั เหมาช่วงใน ท้องถิ่นอาจรับเหมางานต่อจากผู้ประกอบการจากกรุงเทพฯ เพื่อพัฒนาฝี มือ เพื่อสร้างความ เชื่อมันให้ ่ แก่ผจู้ ดั งานแสดงสินค้าในการรับงานครัง้ ต่อไป ภูริ ว จั น์ เดชอุ่ม (2552) ศึก ษาเรื่องการพัฒ นากลยุ ท ธ์การเสนอขอเป็ น เจ้า ภาพ จัดการประชุมนานาชาติของประเทศไทย โดยระบุว่าการวิเคราะห์ปจั จัยภายในด้วยประเด็นต่างๆ ที่ช่ ว ยส่ง เสริม ศัก ยภาพของประเทศไทยในการเป็ น จุ ด หมายปลายทางด้า นการจัด ประชุ ม นานาชาติและยังสอดคล้องกับเกณฑ์การคัดเลือก (Criteria of Selection) ของหน่ วยงานหรือ สมาคมระดับนานาชาติโดยทัวไปได้ ่ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการเดินทางเข้าถึง (Accessibility) ความสามารถในการเข้าถึงใน ทีน่ ้ี หมายถึง เทีย่ วบินและระยะเวลาในการเดินทางจากต่างประเทศมายังประเทศไทย รวมไปถึง การเชื่อมโยงกับเมืองหลักอื่นๆ 2. สถานที่พกั แรม (Accommodations) ความพร้อมของสถานที่พกั แรมทัง้ ในด้าน 56


คุณภาพและปริมาณส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทางมาเข้าร่วมประชุม 3. แหล่ ง ท่ อ งเที่ย วที่ดึง ดูด (Attractive Destinations) กิจ กรรมนอกเหนื อ จากการ ประชุมทีผ่ เู้ ข้าร่วมประชุมและผูต้ ดิ ตามให้ความสนใจเป็ นพิเศษคือ การท่องเทีย่ วทัง้ ก่อนและหลัง ระยะเวลาการประชุมนานาชาติ 4. ความมันคงและปลอดภั ่ ย (Security and Safety) องค์ประกอบด้านความมันคงและ ่ ปลอดภัยเป็ นส่วนที่สาคัญต่อการสร้างความเชื่อมันและโอกาสในการจั ่ ดประชุมนานาชาติท่เี พิม่ มากขึน้ 5. คุ ณลัก ษณะของหน่ ว ยงานหรือ สมาคมที่เ ป็ น เจ้า ภาพ (Hosting Association’s Qualifi-cation) มีบทบาทสาคัญในการเป็ นเจ้าภาพการจัดประชุมนานาชาติ จึงต้องมีความพร้อมที่ จะบริหารจัดการการประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล 6. ความพร้อมของผู้ให้บริการหลัก (Key Service Providers) ที่เข้ามาสนับสนุ นให้ การดาเนินการในด้านต่างๆ อันได้แก่ ผู้บริหารโครงการจัดการประชุมมืออาชีพ (Professional Convention Organizers: PCOs) บริษทั รับจัดการจุดหมายปลายทาง (Destination Management Company: DMC) ผูจ้ ดั กิจกรรมพิเศษ (Special Event Organizer) 7. สถานที่จดั การประชุ ม (Convention Center) ในปจั จุ บนั ประเทศไทยมีสถานที่ จัดการประชุมหลายแห่งทัง้ ทีม่ ลี กั ษณะเป็ นศูนย์การประชุมทีบ่ ริหารจัดการโดยผูบ้ ริหารมืออาชีพ โรงแรมที่ให้บริการห้อ งประชุ มควบคู่กบั บริการที่พ ัก (Convention Hotel) และสถานที่จ ัดการ ประชุมในหน่วยงานราชการ 8. จุ ด มุ่ ง หมายในเชิง ภู มิศ าสตร์ (Aims in geographic area) วัต ถุ ป ระสงค์สาคัญ ประการหนึ่งของการจัดประชุมนานาชาติโดยหน่ วยงานหรือ สมาคมระดับนานาชาติ คือ การ เผยแพร่ความรูห้ รือข้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาในด้านต่างๆให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ น สถานทีจ่ ดั ประชุม 9. การขนส่งมวลชนในตัวเมือง (Transportation in the City) การขนส่งมวลชนภายใน ตัวเมือง ได้แก่ การขนส่งระหว่างสนามบินไปยังโรงแรมและสถานทีจ่ ดั ประชุม การขนส่งระหว่าง โรงแรมและสถานทีจ่ ดั ประชุมยังแหล่งท่องเทีย่ วในตัวเมือง

57


10. ค่ า ครองชีพ โดยทัว่ ไป (General Cost of Living) หมายถึง ค่ า ใช้จ่ า ยอื่น ๆ ที่ เกิดขึน้ นอกเหนือจากค่าลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม (Registration Fee) ซึง่ ถือเป็ นรายได้ส่วนเพิม่ หรือผลพลอยได้ทเ่ี กิดจากการเดินทางท่องเทีย่ วและการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ 11. การสนับสนุนทีจ่ ริงจังจากรัฐบาล (Strong Support from the Government) การ สนับสนุนจริงจังจากหน่วยงานภาครัฐเป็ นปจั จัยสาคัญยิง่ ทีท่ าให้ธุรกิจการจัดการประชุมนานาชาติ มีสมรรถนะในการแข่งขันที่สงู และยังเป็ นการแสดงให้เห็นว่า การจัดประชุมนานาชาติในครัง้ นัน้ ได้รบั การสนับสนุนและอานวยความสะดวกจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอย่างแท้จริง 12. ประสบการณ์ ใ นการจัด การประชุ ม นานาชาติ ใ นอดีต (Past Experiences) ประเทศไทยมีประสบการณ์ในการจัดการประชุมนานาชาติทส่ี าคัญและมีขนาดใหญ่หลายครัง้ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2536 จนถึงปจั จุบนั ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับด้านการแพทย์และสาธาณสุข และด้านอื่นๆ

58


พจนา เอื้องไพบูลย์ (2553) กล่าวว่าสถิติการท่องเที่ยวในปี 2552 นักท่องเที่ยว ต่ างประเทศที่เ ดินทางมายัง ประเทศ GMS มีประมาณ 27.3 ล้านคน เพิ่ม ขึ้น +6.87 % การ เจริญเติบโตร้อยละ 7.7 ต่อปี ตงั ้ แต่ปี 2539 คาดว่าจานวนนักท่องเทีย่ วในปี 2558 จะเพิม่ ขึน้ เป็ น 52 ล้านคน ซึง่ เป็ นการเจริญเติบโตทีร่ วดเร็ว แต่ไม่ยงยื ั่ น การพัฒนาการท่องเทีย่ วในกลุ่มอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง สาหรับเป้าหมายยุทธศาสตร์ ปี 2549 – 2558 จะมีเรื่องสาคัญคือ การพัฒนาและส่งเสริมพื้นที่ลุ่มแม่น้ าโขงให้เป็ นจุดหมายปลายทางเดียวสาหรับการ ท่องเทีย่ ว การสนับสนุนให้ทุกประเทศในกลุ่มอนุภูมภิ าค มีสว่ นร่วมในการพัฒนาการท่องเทีย่ ว พัฒนาการท่องเทีย่ วเพื่อลดความยากจน ลดความเหลื่อมล้าระหว่างเพศและสนับสนุ น สิทธิสตรี รวมทัง้ ส่งเสริมการพัฒนาการท่องเทีย่ วทีย่ งยื ั่ น ในด้านแนวโน้มการพัฒนาการท่องเทีย่ วในลุ่มแม่น้าโขง มิ่ งสรรพ์ ขาวสะอาด (2553) ศึกษาถึงพัฒนาการอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วเชิงบูรณาการทีย่ งยื ั ่ นในอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง โดย สรุปว่า ในอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง 6 ประเทศมีนักท่องเที่ยวมาเป็ นลาดับ 14 ของโลก หรือมี 14.15 ล้านคน มีรายได้มากลาดับ 11 ของโลก คือ 5.27 แสนล้านบาท สาหรับข้อเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ นี้คอื ควรส่งเสริมให้นักท่องเทีย่ วในประเทศใกล้เคียง เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย ฮ่องกง เป็ น นักท่องเทีย่ วแบบ Week-enders ควรพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วเชียงใหม่สาหรับคนไทยรายได้สงู ประเภท Soft culture และ City Style ส่งเสริมกิจกรรมโดยคนท้องถิน่ พัฒนาสปาและนวดไทยให้เป็ นการส่งเสริมสุขภาพทัวไปอย่ ่ างองค์รวม (Health, Wellness) ควบคู่ ไ ปกับ การประชาสัม พัน ธ์อ าหารไทยเป็ น อาหารสุข ภาพ พัฒ นาบริก าร สปาที่ หลากหลายเหมาะกับรสนิยมแต่ละบุคคลมากขึน้ พัฒนาการท่องเทีย่ วทีส่ ร้างประสบการณ์ใหม่ในชีวติ และนาความเป็ นอยู่แบบไทยหรือ แบบชีวติ พอเพียงมาใช้ในทีพ่ กั และสปา 59


พัฒ นากิจ กรรมที่เ น้ น ความสัม พัน ธ์ ระหว่า งชุม ชนประชาชนกับนักท่ องเที่ย วที่เป็ น กิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชน และยกระดับ มาตรฐานไทยให้เป็ นมาตรฐานสากล ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมาเทีย่ ว ไทยอย่างต่ อเนื่อง เช่น Spa Food Symposium มีก ารสอนการท าอาหารในงาน มีส ัม มนาทาง วิช าการว่ า ด้ว ยคุ ณ ค่ า อาหารไทย นวดไทย มี หลักสูตร Certified Cook นอกจากนัน้ เสนอให้มี การแก้ไขปญั หาหมอกควันในภาคเหนือร่วมกัน กับประเทศเพื่อนบ้าน ซึง่ หากแก้ไขได้กจ็ ะส่งเสริมนักท่องเทีย่ วทีเ่ ป็ นเชิงสุขภาพได้ Greg Duffell (2553) ได้เ ปิ ด เผยการศึก ษาไว้ว่ า แนวโน้ ม จ านวนนั ก ท่ อ งเที่ย วที่ เดินทางมาท่องเทีย่ วในอนุภูมภิ าคลุ่มแม่น้าโขงทีท่ าง PATA ได้วเิ คราะห์ไว้คอื ทัง้ 6 ประเทศจะมี แนวโน้มทีเ่ ติบโตสอดคล้องกัน โดยเฉพาะประเทศพม่ามีการเติบโตขึน้ สูงมาก สาหรับกลุ่มนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางมาท่องเทีย่ วในลุ่มแม่น้าโขงแบ่งเป็ นลาดับดังนี้ คือ มาเลเซีย ญี่ปุ่น จีน เกาหลี สหรัฐฯ ไทย อังกฤษ ออสเตรเลีย เวียดนาม ไต้หวัน สิงคโปร์ เยอรมัน ฝรังเศส ่ ลาว อินเดีย เป็ นต้น ดังนัน้ การทีจ่ ะพัฒนาการท่องเทีย่ วใน GMS จะต้องให้ความสาคัญในเรื่องการตลาด การเชื่อมโยงผ่านโครงสร้างพื้นฐาน สนามบิน ถนน รถไฟ ประการสาคัญคือการร่วมกันสร้าง Mekong Branding รวมถึง การมองถึง กลไกประกอบอื่นๆ เช่น ความปลอดภัย การวิจ ัย การ พัฒนา และประชาสัมพันธ์เชิงรุก เป็ นต้น เช่นเดียวกับ มาโนช พรหมปญั โญ (2553) ศึกษาเรื่อง บทวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายของ การท่องเทีย่ วรูปแบบ MICE ในจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมทัง้ ทาการวิเคราะห์ถงึ ศักยภาพการรองรับ กลุ่มเป้าหมายผ่านกิจกรรมการท่องเทีย่ วเพื่อการพัฒนาตลาดการท่องเทีย่ วรูปแบบ MICE ของ จังหวัดเชียงใหม่ ตลาดเป้าหมายทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Segmentation) ได้แก่ 1.1 กลุ่ ม Booming Business (คนที่ เ กิ ด ช่ ว ง1946-1965) เป็ นกลุ่ ม อายุ ท่ี มี ความสาคัญต่อ MICE ทีม่ เี งินเก็บ สวัสดิการ บาเหน็จบานาญและมีอานาจในการจับจ่ายสูง 60


1.2 กลุ่ม Knowledge-seeking หรือกลุ่ มที่ม องหาประสบการณ์ ท่ีแ ตกต่ างในด้า น วัฒนธรรม ชีวติ ความเป็ นอยู่ทแ่ี ตกต่างจากตนเอง ต้องการศึกษาพฤติกรรมความเป็ นอยู่ของคน เหล่านัน้ ว่าเป็ นอย่างไร มีความแตกต่างจากพวกเขาอย่างใดบ้าง 1.3 กลุ่ม Ego-enhancement หรือกลุ่มนักท่องเที่ยวสูงอายุ ที่ต้องการเดินทางเพื่อ ศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติม ค้นหาประสบการณ์ทแ่ี ปลกใหม่ 1.4 กลุ่ม China’s little emperors หรือกลุ่มชาวจีนวัยหนุ่ มสาว ซึ่งเกิดในช่วงปลาย ทศวรรษ 1970 กลุ่มนี้นิยมในการซือ้ สินค้าทีร่ ะลึกทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะแหล่งท่องเทีย่ วอันแสดงถึงอัต ลักษณ์และตัวตน รวมทัง้ นิยมถ่ายรูปคู่กบั แหล่งท่องเทีย่ วยอดนิยม (Must Visit Destination) 1.5 กลุ่ม India’s newlyweds หรือชาวอินเดียทีเ่ พิง่ แต่งงาน โดยนักท่องเทีย่ วจะนิยม เดินทางไปจัดงานแต่งงานยังสถานทีท่ ใ่ี ช้ถ่ายทาภาพยนตร์ Bollywood เช่นแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ทัง้ นี้ยงิ่ แหล่งท่องเทีย่ วอยู่ห่างไกล ใหม่และไม่เป็ นทีร่ จู้ กั มากนักก็ยงิ่ มีความน่าดึงดูดใจ 1.6 กลุ่ม Singaporeans work longest butare big spenders หรือกลุ่มชาวสิงคโปร์ท่ี ทางานหนักและใช้จ่ายสูง กลุ่มนี้จะเน้นการใช้จ่ายเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ การเดินทางระยะสัน้ ที่ มีความหรูหรา หรือการเดินทางพักผ่อนกับครอบครัวในช่วงสัน้ ๆ หรือระหว่างการประชุมสัมมนา 1.7 กลุ่ม J Adult หรือกลุ่มชาวญีป่ นุ่ ช่วงอายุ 40-49 ปี กลุ่มเป้าหมายอายุดงั กล่าวถูก คาดการณ์ว่าจะเป็ นช่วงวัยทีจ่ ะมีรายได้สงู ทีส่ ดุ ในช่วงปี มีแนวโน้มทีจ่ ะใช้จ่ายเพื่อตนเองเพิม่ ขึน้ มี การพึง่ พาแพคเกจทัวร์ลดน้อยลง นิยมใช้อเี มล์มากกว่าโทรศัพท์ 1.8 กลุ่ม Home of female power คือกลุ่มสตรีท่มี อี านาจในฮ่องกงและมีฐานะเป็ น ผู้นาครอบครัว รูป แบบการท่อ งเที่ย วที่เหมาะสมกับกลุ่มนี้คือรูปแบบการท่องเที่ยวแบบ City break หรือการท่องเทีย่ วในเมืองท่องเทีย่ วด้านแฟชันและวั ่ ฒนธรรมมวลชนร่วมสมัย 1.9 กลุ่ม Hispanic คือกลุ่มเศรษฐีใหม่ของอเมริกา มีเชือ้ สายแม็กซิกนั ผสมและอยู่ ทางใต้ของอเมริกาเป็ นกลุ่มนักท่องเทีย่ วอีกกลุ่มทีใ่ ห้ความสนใจในธุรกิจ MICE ตลาดเป้าหมายทางหลักประชากรศาสตร์ (Demographic Segmentation) ได้แก่ 2.1 กลุ่ม Social Self Indulgence หรือกลุ่มรางวัลชีวติ มีความต้องการที่จะพักผ่อน ระหว่างและหลังการทางานประจาเพื่อต้องการสิง่ ที่มาชุบคืนชีวติ ใหม่ นิยมท่องเที่ยวในเมืองที่มี โอกาสพบปะผูค้ นเพื่อนฝูงทีไ่ ม่ได้เจอกันมานานหรือเปลีย่ นบรรยากาศเน้นการผ่อนคลาย สุขภาพ สวยงามและเป็ นส่วนตัว 61


2.2 กลุ่ ม Easy-going หรือ กลุ่ ม สบายๆ เพื่อ นมีอิท ธิพ ลสูง และต้ อ งการเปลี่ย น สภาพแวดล้อมในการรวมกลุ่มเฮฮาสังสรรค์กบั เพื่อน กิจกรรม Smart Sport เป็ นหนึ่งในความ ต้องการของกลุ่มนี้ 2.3 กลุ่ม Adult Explorer หรือกลุ่มนักสารวจรุ่นใหญ่ ต้องการหาประสบการณ์แปลก ใหม่ เน้นรู้สกึ และรู้จริง หนังสือ รูปภาพเรื่องราวทางการท่องเที่ยวมีอทิ ธิพลและเป็ นแรงจูงใจใน การท่องเทีย่ วรูปแบบทีส่ นใจเฉพาะ 2.4 กลุ่ม Family Planner หรือกลุ่มครอบครัว นักท่องเทีย่ วกลุ่มนี้มกั มีอายุตงั ้ แต่ 40 ปี ข้นึ ไป อาชีพพนักงานบริษัทและเจ้าของกิจการ รายได้ครัวเรือน 100,000 บาท/เดือนขึ้นไป การศึกษาระดับปริญญาตรีขน้ึ ไป มักเดินทางท่องเทีย่ วลักษณะ VFR (Visiting Friends and Relatives) เดินทางเป็ นหมู่คณะ ลูกมีอทิ ธิพลในการเลือกแหล่งท่องเทีย่ ว 2.5 กลุ่ม Parasite singles หรือหญิงโสดที่อาศัยอยู่ก ับครอบครัว (มีร ายจ่า ยน้ อ ย เพราะไม่ต้องเสียค่าเช่าบ้าน) มีการศึกษาสูง หน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการทางานระดับแนวหน้า รสนิยมการแต่งกายและดารงชีวติ เป็ นกลุ่มทีม่ ขี นาดใหญ่และเป็ นกลุ่มเป้าหมายสาคัญ ตลาดเป้าหมายทางจิตวิทยา (Psychographic Segmentation) ได้แก่ 3.1 กลุ่ม Millennial (คนที่เกิดช่วง 1980-2000) กาลังถูกจับตามองมากว่าเป็ นกลุ่ม Youth ทีท่ รงอิทธิพลมากในตลาด MICE ในอีกไม่ก่ปี ี น้ี นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้สามารถคาดหวังทีจ่ ะ เดินทางมากขึน้ ในอนาคต ด้วยการใช้เทคโนโลยีในทีไ่ ม่มขี อบเขตถือเป็ นสิง่ สาคัญ 3.2 กลุ่ม Nowism หรือกลุ่มนักท่องเทีย่ วทีเ่ น้นความพึงพอใจต่อสินค้าและบริการใน ลักษณะ Online และOffline ให้ความสาคัญกับความสะดวกสบายเป็ นหลัก โดยขนาดของสินค้า และบริการมีแนวโน้มเล็กลง ล้าสมัยและมีความเฉพาะเจาะจงเพิม่ ขึน้ 3.3 กลุ่ม Localiz หรือนักท่องเที่ยวผู้คาดหวังจากการท่องเที่ยวภายใต้บรรยากาศ เดิม ๆ ที่หาได้ภายในประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เ ป็ นนักท่อ งเที่ยวในกลุ่ม MICE แต่ อย่างไรก็ตาม คาว่ามาตรฐานก็เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ควรละเลย 3.4 กลุ่ม Granny Chic หรือนักท่ องเที่ย วผู้ยงั คงคาดหวังที่จะเห็น การผสมผสาน ระหว่างรูปแบบการท่องเทีย่ วในแบบเก่า -ใหม่เข้าด้วยกัน การไม่ลมื ทีจ่ ะเพิม่ ความสะดวกสบาย ให้กบั ตนเองด้วยรูปแบบหรูหรา ตรงกับความต้องการ หลีกหนีความจาเจและเป็ นการเติมพลัง ให้กบั ชีวติ และประสบการณ์ทแ่ี ปลกใหม่ 62


3.5 กลุ่ม Eco Luxury ทีใ่ ห้ความสาคัญในองค์ประกอบของกิจกรรมและลักษณะของ การท่องเทีย่ วทีป่ ระกอบด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพิม่ ขึน้ ประกอบกับนักท่องเทีย่ วเริม่ หันมา ตระหนักในเรื่องสิง่ แวดล้อมมากขึน้ เช่นกัน จึงทาให้เกิดโรงแรมสไตล์อโี คโฮเต็ลจานวนมากขึน้ 3.6 กลุ่ ม Bleisure หรือ นั ก ท่ อ งเที่ย วที่ต้ อ งการผสมผสานระหว่ า งธุ ร กิจ กับ การ พักผ่อน Bleisure Trips กลายเป็ นเทรนด์ใหม่ของการท่องเทีย่ วในปี น้ี 3.7 กลุ่ม DINK – Double Income NoKids หมายถึงกลุ่มคู่สามีภรรยาทีไ่ ม่มบี ุตร ไม่ อยากมีพนั ธะ อยู่ด้วยกันและไปท่องเที่ยวด้วยกัน มีฐานะ ทางาน กลุ่มนี้มมี ากและเริม่ เดินทาง ท่องเทีย่ วไปทัวโลกหรื ่ ออาจเรียกว่ารูปแบบการท่องเทีย่ วของคู่สมรส/ผูต้ ดิ ตาม (Spouse Tour)

63


ศักยภำพของเชียงใหม่ส่นู ครแห่งไมซ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นจังหวัดทีต่ งั ้ อยู่ทางทิศเหนือของประเทศไทย เป็ นเมืองเศรษฐกิจ และการค้าทีส่ าคัญอันดับต้น ๆ ของภาคเหนือ โดยมีพน้ื ทีป่ ระมาณ 20,107.057 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 12,566,910 ไร่ มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 1,673,930 คน แยกเป็ น ชาย 817,858 คน หญิง 856,072 คน ความหนาแน่นเฉลีย่ 83 คน/ตร.กม. รายได้ประชากรต่อหัว เฉลีย่ 81,830.71 บาท/คน/ปี อยู่ทอ่ี นั ดับที่ 3 ของภาคเหนือ รองจากจังหวัดลาพูน และจังหวัด กาแพงเพชร และจังหวัดภูเก็ตมีเส้นทางคมนาคม 2 ทางได้แก่ ทางบก และทางอากาศ การคมนาคมทางบก - ทางรถยนต์ มีเส้นทางคมนาคมเชื่อมติดต่อกันระหว่างจังหวัดกับอาเภอ และระหว่าง จังหวัดกับจังหวัดใกล้เคียง - ทางรถไฟ จังหวัดเชียงใหม่มสี ถานีรถไฟ 1 แห่ง คือ สถานีรถไฟเชียงใหม่ มีจานวน รถไฟ รวมวันละ 14 ขบวน วิง่ ระหว่างกรุงเทพ – เชียงใหม่ การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดเชียงใหม่มสี นามบินนานาชาติ ใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากสนามบิน สุวรรณภูมิ และสนามบินดอนเมืองตามลาดับ ตัง้ อยูใ่ นเขตอาเภอเมืองเชียงใหม่ โดยมีการบิน ั บนั รองรับผูโ้ ดยสารได้ทงั ้ ภายในประเทศสัปดาห์ละ 401 เทีย่ ว ในปจั จุบนั สนามบินเชียงใหม่ปจจุ สองอาคารรวม 8 ล้านคนต่อปี มีเทีย่ วบินขึน้ ลงรวม 12,377 เทีย่ วบิน โดยมีเป้าหมายให้เป็น 64


หนึ่งในสนามบินดีเด่นหนึ่งใน 10 ของโลก ในกลุ่มสนามบินทีม่ ผี โู้ ดยสารไม่เกิน 5 ล้านคนในปี 2555 และ 1 ใน 5 ในปี 2557 และการบินระหว่างประเทศ สัปดาห์ละ 76 เทีย่ ว ทัง้ นี้ในช่วงฤดูท่องเทีย่ ว หรือ Hight season มีอกี 8 สายการบินขอเพิม่ เทีย่ วบินและเปิ ด เส้นทางบินเพิม่ หลายสาย เช่น สายการบินแอร์บากันของพม่า เปิ ดบินตรงย่างกุง้ -เชียงใหม่, สาย การบินลาวเปิ ดบิน หลวงพระบาง-เชียงใหม่,สายการบินไชน่าอีสเทิรน์ เปิ ดบินคุนหมิง-เชียงใหม่, สายการบินเกาหลีเปิ ดบินโซล-เชียงใหม่,ซิลค์แอร์ และไทยแอร์เอเชียเปิ ดบินสิงค์โปร์เชียงใหม่,ไชน่าแอร์ไลน์เปิ ดบินไทเป- เชียงใหม่ และแอร์เอเชียเปิ ดบินมาเลเซีย-เชียงใหม่ และ ขณะนี้สนามบินเชียงใหม่อยู่ระหว่างปรับปรุงซ่อมแซมรันเวย์และแท็กซีเ่ วย์ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพทางด้านการบินให้ดยี งิ่ ขึน้

สาหรับศักยภาพความพร้อมของจังหวัดเชียงใหม่ในการเป็ นหนึ่งใน “นครแห่งไมซ์” ของ ประเทศไทยนัน้ จังหวัดเชียงใหม่มหี อ้ งพัก 32,000 ห้อง และกาลังจะมีศนู ย์ประชุมแสดงสินค้า นานาชาติทจ่ี ะสร้างเสร็จในช่วงกลางปี 2555 มีธรรมชาติสวยงาม อากาศเย็นสบายในช่วงฤดูฝน และหนาวรวมถึงวัฒนธรรมประเพณีลา้ นนาทีม่ เี สน่ห์ เหล่านี้ลว้ นเป็ นปจั จัยรองรับตลาดไมซ์ท่ี กาลังจะมีขน้ึ และสามารถเชื่อมโยงกับประเทศอนุภูมภิ าคลุ่มน้าโขง (GMS) และกลุ่มประเทศ เอเชียใต้ (BIMSTEC) รวมทัง้ มีความเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศมหานครระดับ โลกอย่างสาธารณรัฐประชาชนจีน 65


66


67


นอกจากนัน้ จังหวัดเชียงใหม่ได้ลงนาม MOU กับสมาคมส่งเสริมการประชุมนานาชาติ (ทิกา้ ) เพื่อตกลงทีจ่ ะดาเนินโครงการส่งเสริมให้จงั หวัดเชียงใหม่ เป็ นศูนย์กลางการประชุม นานาชาติ (ฮับ) ในภูมภิ าคภาคเหนือ เพราะศักยภาพของเมืองเชียงใหม่ สถานทีจ่ ดั งานทีม่ ี โรงแรมระดับ 5 ดาว จานวนมาก ทีม่ หี อ้ งประชุมเพียงพอทีจ่ ะรองรับตลาดประชุมสัมมนาตัง้ แต่ กรุ๊ปเล็กถึงกลุ่มขนาดใหญ่ โดยหลายๆ แห่งมีความจุของห้องประชุมสูงสุดได้ 1,500-3,500 คน ทาให้ทงั ้ จังหวัดรองรับการประชุมได้รวมกว่า 10,000 คน สาหรับประสบการณ์ของจังหวัดเชียงใหม่ในการรองรรับและจัดกิจกรรมในอุตสาหกรรม ไมซ์นนั ้ จังหวัดเชียงใหม่มปี ระสบการณ์จดั งานทัง้ ในส่วนการท่องเทีย่ วเพื่อเป็ นรางวัล การ ประชุมนานาชาติ และการจัดงานแสดงสินค้า โดยมีตวั อย่างงานทีส่ าคัญ ๆ ในทีผ่ ่านมาและ กาลังจะจัดขึน้ ดังนี้ 1.) จัดประชุมวิชาการบริการสุขภาพนานาชาติ “Chiang Mai International Health Promotion Meeting 2010” ระหว่างวันที่ 2-3 กรกฎาคม 2553 2.) จัดงานมหกรรมหมอพืน้ บ้านนานาชาติ : Chiang Mai International Conference and Exhibition on Traditional Medicine - ICETM2011” ระหว่างวันที่ 24-28 สิงหาคม 2554 3.) งานประชุมวิชาการ "11th Asian-Pacific Regional IAU Meeting : APRIM 2011" เชิญนักดาราศาสตร์ระดับโลกหลายร้อยคน ระดมโชว์ผลงานวิจยั และนวัตกรรมดาราศาสตร์ครัง้ แรกในอาเซียน 26-29 กรกฎาคม 2554 4.) การประชุมวิชาการระดับนานาชาติดา้ นวัสดุชวี ภาพและการประยุกต์ใช้ ทีม่ ชี ่อื ว่า "Chiang Mai International Conference on Biomaterials & Application (CMICBA 2011)" ระหว่างวันที่ 9-10 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ระหว่างวันที่ 9-10 ส.ค. 54 ณ รร. Empress จ. เชียงใหม่ 5.) การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ด้านการประมวณผลภาษาธรรมชาติขน้ึ ซึง่ เป็ น การจัดการประชุมในหัวข้อเดียวกันเป็ นครัง้ ที่ 5 ภายใต้ช่อื The 5th International Joint Conference on Natural Language Processing หรือ IJCNLP 2010 ระหว่าง 1 มิถุนายน พ.ศ.2554 ถึง 27 มกราคม พ.ศ.2555 6.) การประชุมวิชาการนานาชาติ PEA-AIT International Conference on Energy and Sustainable Development (ESD 2010) 7.) การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ The International conference onbiopesticides 68


VI in Celebration of His Majesty the King's 84th Birthday ซึง่ จะจัดขึน้ ในระหว่างวันที่ 11 16 ธันวาคม 2554 8.) การประชุมวิชาการ The 10th International Symposium on New Technologies for Urban Safety of Mega Cities in Asia (USMCA2011) ใน วันที่ 12-14 ตุลาคม 2554 9.) การประชุมวิชาการนานาชาติ The 5th Asia Pacific Occupational Therapy Congress (APOTC 2011) ระหว่างวันที่ 19-24 พฤศจิกายน 2554 10.) งานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติในปี 2549 และปี 2554 รวม 2 ครัง้ ทัง้ นี้ในปี 2556 จังหวัดเชียงใหม่จะมีศนู ย์ประชุมนานาชาติ ทีเ่ ป็นมาตรฐานและมีความ เป็ นสากล สอดคล้องกับการทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ถูกกาหนดให้เป็นนครแห่งไมซ์ Hub of MICE มีพน้ื ทีข่ องศูนย์ประชุมนานาชาติเชียงใหม่ ในภาพรวมทีร่ องรับคนได้กว่า 10,000 คน ซึง่ จะมี

69


บทสรุปควำมท้ำทำยของจังหวัดเชียงใหม่ส่นู ครแห่ง MICE ในลุ่มแม่น้ ำโขงและ BIMSTEC ในการศึกษาของผู้เขียนเกี่ยวกับความท้าทายของจังหวัดเชียงใหม่ต่อการเป็ นนคร ศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง(GMS) และ เอเชียใต้ (BIMSTEC) ได้วางหัวข้อสาคัญไว้ 4 ประเด็นหลักและสามารถสรุปผลการศึกษาไว้ได้ ดังนี้ คือ ศักยภาพและขีดความสามารถการแข่งขันในการเป็ นศูนย์กลางด้านการประชุม และแสดงสิ นค้านานาชาติ ในกลุ่มประเทศอนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชี ยใต้ (BIMSTEC) ของจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่มศี กั ยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันการเป็ นศูนย์กลางการ จัดประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในเชิงเปรียบเทียบกับอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และ กลุ่มประเทศเอเชียใต้ (BIMSTEC) เนื่องจากมีปจั จัยหลักในด้านความพร้อมของทรัพยากรทางด้าน การท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรม มีประเพณีวฒ ั นธรรม ขนบธรรมเนียมและ ความเป็ นมิตรไมตรีท่เี ป็ น จุด แข็ง มีกิจกรรมการท่ องเที่ยวที่ห ลากหลาย สามารถทากิจ กรรม (Event) ตลอดทัง้ ปี ไ ด้ นอกจากนัน้ ยัง มีค วามสามารถในการเข้า ถึง คือ มีสนามบิน นานาชาติ เชียงใหม่รองรับ และการพัฒนาระบบโลจิสติกส์รองรับในอนาคต ทัง้ ยัง มีค วามพร้ อ มด้า นสาธารณู ป โภค มีโ รงแรมที่พ ัก มากเพีย งพอ ตลอดจนมี ผูป้ ระกอบการด้านท่องเทีย่ วจานวนมากและมีความยืดหยุ่นสูง สามารถรองรับได้ทงั ้ การประชุมใน ประเทศ (Domestic MICE) และการประชุมนานาชาติ (International MICE) โดยเฉพาะในอนาคต จะมีโครงการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ ทีจ่ ะสามารถรองรับการแสดง สินค้าได้กว่า 2,000 บูธ มีหอ้ งประชุมรองรับได้กว่า 10,000 คน 70


ส่วนผลการศึกษาที่ได้คน้ พบคือ จังหวัดเชียงใหม่ยงั มีจุดอ่อนทีเ่ ป็ นความท้าทายใน หลายประการทีจ่ ะต้องเร่งพัฒนาและปรับปรุงเร่งด่วนมากทีส่ ดุ ได้แก่ การขนส่งมวลชนในตัวเมือง (Transportation in the City) และการสนับสนุ นที่จริงจังจากรัฐบาล (Strong Support from the Government) ส่ ว นที่ ต้ อ งเร่ ง พัฒ นารองลงไปคื อ เรื่ อ งความสามารถในการเดิ น ทางเข้ า ถึ ง (Accessibility) ความมันคงและปลอดภั ่ ย (Security and Safety) ความพร้อมของหน่ วยงานหรือ สมาคมทีเ่ ป็ นเจ้าภาพ (Hosting Association‘s Qualification) และผูใ้ ห้บริการหลัก (Key Service Providers) การมีประสบการณ์ในการจัดการประชุมนานาชาติในอดีต (Past Experiences) และ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในพืน้ ที่ (People Participation) นโยบายของภาครัฐกับการกาหนดยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ส่งเสริมให้เชียงใหม่ เป็ นนครแห่งศูนย์กลางการประชุมและแสดงสิ นค้านานาชาติ ในกลุ่มประเทศอนุภมู ิ ภาค ลุ่มแม่น้าโขง(GMS) และเอเชี ยใต้ (BIMSTEC) และจะมีการเชื่อมโยงความร่วมมือกับสอง กลุ่มอนุภมู ิ ภาคนี้ อย่างไร พบว่ า ที่ ผ่ า นมาทิ ศ ทางและนโยบายของรัฐ ส่ ว นกลางและท้ อ งถิ่ น ในการให้ ความสาคัญกับการสนับสนุ นให้เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติใน กลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) อยู่ระดับค่อนข้างน้อย สัง เกตได้จ ากความถี่ใ นกิจ กรรมไมซ์ใ นพื้น ที่ยงั มีน้ อ ยมาก ขาดการประชาสัม พัน ธ์แ ละการ วางแผนในระยะยาว เช่นการเชื่อมโยงระบบขนส่งมวลชน การพัฒนาด้านบุคลากรที่จะเตรียม รองรับก็ยงั ไม่เป็ นรูปธรรม รวมถึงขาดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและความร่วมมือใน ท้องถิน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คือ ขาดการสร้างความเข้าใจกับคนในพืน้ ที่ทุกระดับ และยังไม่มี การบูรณาการในหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ท้องถิน่ เองยังมุ่งเน้นผลักดันเรื่องโครงสร้างพืน้ ฐานเป็ น หลักแต่ยงั ขาดเรื่องการพัฒนาเรื่องบุคลากร และสิง่ อานวยความสะดวกเสริม ขณะที่ผมู้ สี ่วนได้ เสียคือภาคราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ยังขาดความเข้าใจและการรับรูท้ แ่ี ตกต่างกัน มีการเปลีย่ นแปลงนโยบายตามผูบ้ ริหารจังหวัด 71


บริ บ ททางเศรษฐศาสตร์ก ารเมื อ ง และสัง คม-สิ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ทัง้ ผลกระทบด้ านบวกและด้า นลบที่ มี ต่ อประเด็น การส่ ง เสริ ม ให้ เ ชี ย งใหม่เ ป็ นนครแห่ ง ศูนย์กลางการประชุมและแสดงสิ นค้านานาชาติ ในกลุ่มประเทศอนุภมู ิ ภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) และประโยชน์ที่ท้องถิ่ นจะได้รบั จากนโยบายนี้ จาการศึกษาพบว่า นโยบายนี้จะส่งผลในเชิงบวกมากกว่าลบ สามารถส่งเสริมภาค การท่องเทีย่ วได้มาก เพราะนักท่องเทีย่ วกลุ่มไมซ์เป็ นตลาดบน และผลผลิตจากการประชุมน่ าจะ ช่วยกระตุน้ สังคมให้เรียนรูไ้ ด้มากขึน้ ในเชิงผลประโยชน์จะมีผลดีต่อภาคการท่องเทีย่ ว ส่วนในเชิง วิชาการก็จะเกิดขึน้ ต่อการพัฒนาท้องถิน่ เชียงใหม่ อย่างไรก็ตามก็มแี ง่คดิ ในนโยบายการการส่งเสริมให้เชียงใหม่เป็ นนครแห่งศูนย์กลาง การประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุภูมภิ าคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) จะส่งผลกระทบทัง้ ด้านบวกและด้านลบ กล่าวคือในด้านบวกจะก่อให้เกิดรายได้ สร้างเศรษฐกิจเชิงการค้า เนื่องจากกลุ่มไมซ์เป็ นฐานนักท่องเทีย่ วทีม่ กี าลังซือ้ สูง ส่งผลให้มรี ายได้ ผลิต ภัณ ฑ์ม วลรวมของจัง หวัด หรือ GPP จากอุ ต สาหกรรมไมซ์เ พิ่ม สูง ขึ้น และการพัฒ นา โครงสร้างพืน้ ฐานทีด่ ขี น้ึ เป็ นต้น ส่วนด้านลบได้แก่ ค่าครองชีพในพื้นที่อาจแพงขึ้น ปญั หาสังคม ปญั หาระบบขนส่ง สาธารณะและจราจร, ปญั หาสิง่ แวดล้อม, เกิดการเปลีย่ นแปลงทางวิถชี วี ติ -วัฒนธรรมในท้องถิน่ กลุ่มทุนต่างชาติ-ต่างถิน่ เข้ามาลงทุนมากขึน้ วิถชี วี ติ วัฒนธรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปปญั หาแรงงาน ผิดกฎหมายเพิม่ มากขึน้ และสร้างปญั หาสังคมและอาชญากรรม, การครอบงาของทุนส่วนกลาง เสน่ ห์ข องเชียงใหม่ เ ลือ นหายไป วัฒนธรรมที่เ คยแข็งแกร่ งก็ถู กละลายไป หรือ เกิด Culture Shock และช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมีมากขึน้ ดังนัน้ การเป็ นเมืองศูนย์กลางด้านไมซ์ของเชียงใหม่ไม่ควรเน้นปริมาณ แต่ต้องมุ่ง ไปสู่ไมซ์ในเชิงเศรษฐกิจที่พอดีพองาม ด้วยการดารงวิถีวฒ ั นธรรมล้านนาให้คงอยู่ เป็ นเมือง เศรษฐกิจพอเพียงทีม่ คี วามสง่างามแบบล้านนา อย่าให้ไมซ์กลายเป็ นเศรษฐกิจทีม่ ุ่งทุนนิยมแบบ สุดโต่ง เพราะอาจกลายเป็ นไมซ์ท่ที าลายวัฒนธรรมเชียงใหม่ และสุดท้ายเชียงใหม่กจ็ ะเติบโต แบบไร้ทิศทาง ดัง นัน้ การเป็ นเมือ งไมซ์ข องจังหวัด เชีย งใหม่ค วรเป็ น ไมซ์แบบพอเพียง ซึ่ง สามารถนามาเป็ นกรอบแนวคิดทีจ่ ะทาให้เศรษฐกิจมีความยังยื ่ น 72


ผูเ้ ขียนก็มคี วามเชื่อว่าส่วนใหญ่มองทิศทางของเศรษฐกิจสังคมของเชียงใหม่ในอนาคต ที่ต้องเน้ นด้านการท่ องเที่ยวที่อ ยู่บ นพื้นฐานของการรัก ษาเอกลักษณ์ ว ัฒนธรรม, การเกษตร ปลอดภัย มีสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี และให้สงั คมน่าอยู่มคี วามสมดุลและยังยื ่ น ปั ญ หา อุ ป สรรค แนวคิ ด และข้ อ เสนอแนะในการพัฒ นาเศรษฐกิ จ จัง หวัด เชียงใหม่ผา่ นนโยบายและโครงการสาคัญขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโครงการศูนย์ประชุมและ แสดงสิ น ค้ านานาชาติ อัน จะท าให้ เ กิ ด องค์ความรู้ใ นการพัฒ นาจัง หวัด อย่า งยังยื ่ น ใน อนาคต พบว่าปญั หาอุปสรรคสาคัญที่ส่งผลต่ อนโยบายการส่งเสริมให้จงั หวัดเชียงใหม่เป็ น ศูนย์กลางด้านไมซ์คอื ปญั หาขาดการบริหารจัดการที่เป็ นระบบและความเป็ นมืออาชีพ การไม่ บูร ณาการระหว่ า งหน่ ว ยงานต่ า งๆที่เ กี่ย วข้อ งในท้อ งถิ่น และส่ ว นกลาง แม้ว่ า มีห น่ ว ยงานที่ ขับเคลื่อนเรื่องไมซ์ของจังหวัดแล้ว แต่กย็ งั ไม่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างเต็มระบบ รวมถึงปญั หา ระบบขนส่งสาธารณะและขนส่งมวลชนในตัวเมือง หรือปญั หาระบบโลจิสติกส์ทงั ้ ในตัวเมืองและ ระหว่างเมืองทีย่ งั ไม่มปี ระสิทธิภาพ ขณะทีอ่ กี ปญั หาหนึ่งก็คอื นโยบายทางการเมืองทีจ่ ะส่งผลถึง งบประมาณของรัฐทีจ่ ะจัดสรรลงมาเพื่อสนับสนุนนโยบายนี้ในพืน้ ที่ ยังไม่ได้รบั การสนับสนุนจริงจัง ตลอดจนปญั หาด้านต้นทุนการบริการที่เพิม่ ขึน้ ผลกระทบต่ อภาคแรงงาน การเคลื่อนย้ายของ แรงงานต่างชาติจะส่งผลกระทบต่อแรงงานไทย เมื่อประมวลประเด็นทีผ่ เู้ ขียนได้สมั ภาษณ์บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องพบว่า ประการแรก ความคิดเห็นเกีย่ วกับศักยภาพและขีดความสามารถการแข่งขันในการ เป็ นศูนย์กลางด้านการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) ของจังหวัดเชียงใหม่ โดยเฉพาะประเด็นความพร้อมของจังหวัด เชียงใหม่ทงั ้ หน่ วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักวิชาการ องค์กรภาคเอกชน ภาค ธุรกิจเอกชน ต่างมีความคิดเห็นตรงกันว่าเชียงใหม่มคี วามพร้อมทีจ่ ะเป็ นศูนย์กลางด้านไมซ์ใน 2 อนุ ภูมภิ าคนี้ได้ เนื่องจากมีจุดแข็งหลายด้านคือ การเป็ นเมืองท่องเที่ยวที่มชี ่อื เสียง มีประเพณี วัฒนธรรมแบบล้านนาทีแ่ ตกต่าง มีความเป็ นมิตรไมตรีของผูค้ น และมีโรงแรมทีพ่ กั และสถานทีจ่ ดั ประชุมมากเพียงพอ เป็ นต้น

73


ขณะทีภ่ าคประชาสังคมกลับมีความคิดเห็นแตกต่างออกไป เนื่องจากยังไม่แน่ ใจว่า เชียงใหม่จะมีความพร้อม โดยเห็นว่าจาเป็ นจะต้องมีการระดมความคิดเห็นจากหลายภาคส่วน แม้ว่าในเชิงโครงสร้างจะมีความพร้อมด้านโรงแรม และที่พกั แต่ประเด็นปญั หาที่เกิดขึน้ ก็ยงั มี ได้แก่ ระบบขนส่งโดยเฉพาะระบบการจราจรที่จะเข้าสู่โครงการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติท่ยี งั ไม่ได้มีก ารวางแผน เช่นเดียวกับสื่อมวลชน ที่เห็นว่า ความพร้อมของจังหวัด เชียงใหม่มรี ะดับปานกลาง ด้วยเพราะยังมีปญั หาเรื่องบบขนส่งมวลชน และระบบจราจรภายใน ตัวเมืองยังมีปญั หามาก ทีส่ าคัญคือ หน่วยงานภาครัฐในพืน้ ทีย่ งั ขับเคลื่อนช้า สอดคล้องกับผลการศึกษาของ พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์ (2542) ทีศ่ กึ ษาศักยภาพของ จังหวัดเชียงใหม่ในการเป็ นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วในอนุภูมภิ าคลุ่มน้าโขง ทีผ่ ลการศึกษาพบว่า ในประเด็นของความดึงดูดของแหล่งท่องเทีย่ วนัน้ นักท่องเทีย่ วให้คะแนนสูงสุดกับอัธยาศัยของ คนเชียงใหม่ในเรื่องความเป็ นมิตร รองลงมาเป็ นเรื่องของความสวยงามของแหล่งท่องเที่ยว ธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ ความหลากหลายและความมีช่อื เสียงของแหล่ง ท่องเทีย่ ว เช่นเดียวกับปทั มนันท์ นิทศั น์ สนั ติคุณ (2550) ที่ได้ศึกษาเรื่อง ความต้องการใช้ บริการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ของผูจ้ ดั งานแสดง สรุปได้ว่าผูจ้ ดั งานแสดงสินค้าส่วนใหญ่มคี วามต้องการที่จะนางานแสดงสินค้ามาจัดที่ศูนย์ประชุมและแสดง สินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ โดยจะจัดงานครัง้ ละ 3-5 วัน จะนางานมาจัดรวมกันประมาณ 6 - 8 งานต่อปี อย่างไรก็ตาม เชียงใหม่ยงั มีความท้าทายทีจ่ ะบรรลุสเู่ ป้าหมายทีส่ าคัญหลายประการ เนื่ องจากประเทศคู่แ ข่ง ในอนุ ภู มิภ าคลุ่ มแม่น้ าโขงและเอเชียใต้ ก็ได้เร่ งพัฒ นาศัก ยภาพใน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไมซ์เช่นกัน ซึ่งจากการศึกษาพบว่าประเทศที่เป็ นคู่แข่งสาคัญใน GMS ทีส่ าคัญคือ ประเทศจีน และเวียดนาม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มณฑลยูนนาน และกว่างซี ของ จีน เนื่องจากนโยบายของรัฐบาลและท้องถิ่นมีความชัดเจนและมีงบประมาณสนับสนุ น มีการ บริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ส่วนกลุ่ม BIMSTEC หรือกลุ่มเอเชียใต้ส่วนใหญ่มองว่าประเทศ อินเดียเป็ นคู่แข่งของเชียงใหม่เพราะเป็ นตลาดทีก่ าลังเติบโต ดังนัน้ การวางให้จงั หวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้าในกลุ่ม ประเทศอนุ ภู มิภ าคลุ่ ม แม่ น้ า โขง (GMS) และเอเชีย ใต้ (BIMSTEC) ซึ่ง ถือ ว่ า เป็ น นโยบาย เศรษฐกิจภายในประเทศ ที่จะต้องสัมพันธ์กบั ปจั จัยภายนอกหรือ (External Factor) เช่นกัน 74


สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวพัน (Linkage Theory) ของเจมส์ เอ็น โรส เนา (James N. Rosenau) ที่ อ ธิ บ ายว่ า ป จั จั ย ภายในประเทศ (Internal Factors) หรื อ สภาพแวดล้ อ ม ภายในประเทศ (Internal environment) ได้แ ก่ บทบาทของผู้น า (ผู้มีอ านาจหน้ า ที่ใ นการ ตัดสินใจวางแผนนโยบาย) สภาวะการเมืองภายในประเทศ เช่น การอยู่ร่วมกันของคนในสังคม อุดมการณ์ ปญั หาทางเศรษฐกิจ บทบาทของสื่อมวลชนภายในประเทศเป็ นต้น ซึ่งปจั จัย เหล่านี้มอี ทิ ธิพลหรือผลักดันต่อการกาหนดนโยบาย และการดาเนินนโยบาย ทัง้ นี้ ในระบบเศรษฐกิจ ที่ผูก พ่ ว งกับ นโยบายการเมือ งระหว่ า งประเทศในการ กาหนดให้การเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจหรือการเป็ นศูนย์กลางการจัดประชุมและแสดงสินค้า นานาชาตินัน้ จะประกอบไปด้วยส่วนหลักๆ 2 ส่วนคือ 1. Input หรือส่วนทีใ่ ส่เข้าไป 2. ส่วนที่ เป็ นผลออกมา (Output) ซึง่ ทัง้ สองส่วนนัน้ มีความสาคัญและสัมพันธ์ต่อสภาพแวดล้อมระหว่าง ประเทศ อีกทัง้ ยังเป็ นการช่วยเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ดังนัน้ นโยบายทางเศรษฐกิจของไทยทีไ่ ด้กาหนดให้จงั หวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลาง การประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่ม GMS และ BIMSTEC ย่อมเป็ นสิง่ ทีส่ ร้างผลกระทบ และเกี่ยวโยงกับระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคแห่งนี้ ซึ่งจาเป็ นที่ จะต้องใช้ทฤษฎีน้ใี นการอธิบาย ทัง้ นี้ ในการบริหารจัดการให้จงั หวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการจัดประชุมและแสดง สินค้านานาชาติในเชิงเปรียบเทียบกับอนุภูมภิ าคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) และกลุ่มประเทศเอเชียใต้ (BIMSTEC) สอดคล้องกับแนวคิดส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ดังนัน้ การส่งเสริมให้เชียงใหม่เป็ นนครแห่งการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติใน อนุภูมภิ าคลุ่มแม่น้าโขง และ BIMSTEC จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องนาหลักส่วนผสมทางการตลาด ด้านการท่องเที่ยว (Integrated Tourism Marketing) มาใช้ มีส่วนประกอบที่สาคัญ 4 ประการ ตามแนวคิด 4Ps ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจาหน่ าย และการส่งเสริมการตลาด เนื่องจาก ตลาดไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่จะต้องนากลยุทธ์ การกาหนดจุดขาย ตลอดจนการกาหนดทิศ ทางการส่ ง เสริม การตลาดมาเป็ น แนวทางในการแข่ง ขัน ในเวทีต ลาดโลก เพื่อ ดึง ดูด ลูก ค้า (Customers) ในกลุ่ ม ประเทศเป้ าหมายเข้า มายัง พื้น ที่จ ัง หวัด เชีย งใหม่ แ ละภาคเหนื อ ตาม ยุทธศาสตร์ทว่ี างไว้ให้เป็ นศูนย์กลาง ซึง่ ในวิธกี ารดาเนินการจะต้องใช้กระบวนการทางการตลาด เป็ นหลักในการกาหนดเป้าหมายและตาแหน่งของสินค้า 75


ั โญ (2553) ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาเรื่ อ ง บทวิ เ คราะห์ สอดคล้ อ งกั บ มาโนช พรหมป ญ กลุ่มเป้าหมายของการท่องเที่ยวรูปแบบไมซ์ในจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมทัง้ ทาการวิเคราะห์ถึง ศักยภาพการรองรับกลุ่มเป้าหมายผ่านกิจกรรมการท่องเทีย่ วเพื่อการพัฒนาตลาดการท่องเทีย่ ว รูปแบบไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่ จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องเจาะกลุ่มตลาดให้มคี วามหลากหลายเพื่อ ป้อนตลาดไมซ์เพิม่ ขึน้ แบ่งเป็ น ตลาดเป้า หมายทางภู มิศ าสตร์ (Geographic Segmentation) เช่ น กลุ่ มที่มีเ งิน เก็บ สวัสดิการ บาเหน็จบานาญและมีอานาจในการจับจ่ายสูง ทัง้ นี้ ยิง่ แหล่งท่องเทีย่ วอยู่ห่างไกล ใหม่ และไม่เป็ นทีร่ จู้ กั มากนักก็ยงิ่ มีความน่าดึงดูดใจ เป็ นต้น ตลาดเป้ าหมายทางหลัก ประชากรศาสตร์ (Demographic Segmentation) ได้แ ก่ กลุ่ม Social Self Indulgence หรือกลุ่มรางวัลชีวติ มีความต้องการที่จะพักผ่อนระหว่างและหลัง การทางานประจาเพื่อต้องการสิง่ ทีม่ าชุบคืนชีวติ ใหม่ กลุ่มครอบครัวหรือหญิงโสดทีอ่ าศัยอยู่กบั ครอบครัว เป็ นต้น ตลาดเป้ าหมายทางจิ ต วิ ท ยา (Psychographic Segmentation) ได้ แ ก่ กลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ย วที่เ น้ น ความพึ ง พอใจต่ อ สิน ค้ า และบริ ก ารในลัก ษณะ Online และOffline ให้ ความสาคัญกับความสะดวกสบายเป็ นหลัก โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายทีเ่ ป็ นนักท่องเทีย่ วในกลุ่ม ไมซ์ หรื อ กลุ่ ม Eco Luxury ที่ ใ ห้ ค วามส าคัญ กิ จ กรรมและลัก ษณะของการท่ อ งเที่ ย วที่ ประกอบด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพิม่ ขึน้ รวมถึงกลุ่ม Bleisure หรือนักท่องเทีย่ วทีต่ ้องการ ผสมผสานระหว่างธุรกิจกับการพักผ่อน Bleisure Trips กลายเป็ นเทรนด์ใหม่ของการท่องเที่ยว เป็ นต้น ประการทีส่ อง ความคิดเห็นต่อนโยบายของภาครัฐส่วนกลางและท้องถิน่ กับการกาหนด ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ส่งเสริมให้เชียงใหม่เป็ นนครแห่งศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติในกลุ่มประเทศอนุภูมภิ าคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) และจะมีการ เชื่อมโยงความร่วมมือกับสองกลุ่มอนุภูมภิ าคอย่างไร โดยพบว่าประชากรทุกกลุ่มทีใ่ ห้สมั ภาษณ์มี ความคิดเห็นตรงกันว่า นโยบายของรัฐในการให้ความสาคัญกับการสนับสนุ นให้เชียงใหม่เป็ น ศูนย์กลางไมซ์ใน 2 อนุภูมภิ าคนี้อยู่ระดับปานกลางค่อนข้างน้อย เนื่องจากความถีใ่ นกิจกรรมไมซ์ ในพืน้ ที่ยงั มีน้อยมาก ไม่ได้มกี ารผลักดันให้มกี ารจัดประชุมระดับนานาชาติ ขาดการบูรณาการ ระหว่างหน่วยงานต่างๆในพืน้ ที่ 76


ขณะทีน่ โยบายของรัฐส่วนใหญ่ยงั เน้นทีต่ วั โครงการ โดยไม่ได้ขบั เคลื่อนเชิงกลยุทธ์ และยังขาดการบูรณาการโครงการโดยสิน้ เชิง ขาดการวางแผนในระยะยาว เช่นการเชื่อมโยง ระบบขนส่งมวลชน การพัฒนาด้านบุคลากรที่จะเตรียมรองรับก็ยงั ไม่เป็ นรูปธรรม ขณะที่การ ขับเคลื่อนในเชิงนโยบายยังเป็ นหน่วยงานส่วนกลางเป็ นตัวขับเคลื่อนไม่ได้ใช้หน่วยงานในท้องถิน่ ที่สาคัญคือ ยังไม่มีก ารวางแผนการบริห ารจัด การศูนย์ป ระชุ มและแสดงสินค้านาชาติจ ังหวัด เชียงใหม่ ด้านองค์กรภาคประชาสังคมไม่แสดงความคิดเห็น เนื่องจากไม่มขี อ้ มูลและไม่ทราบถึง นโยบายในเรื่องนี้ของภาครัฐ สาหรับประเด็นแนวทางความร่วมมือด้านไมซ์กบั กลุ่มประเทศ GMS และ BIMSTEC ทุกภาคส่วนเห็นตรงกันว่า การเป็ นศูนย์กลางด้านไมซ์ของเชียงใหม่ควรสร้างความร่วมมือกับกลุ่ม ประเทศลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และ BIMSTEC ในอนาคต เนื่องจากต้องมองถึงการเอือ้ ประโยชน์ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพราะอนาคตทุกประเทศจะต้องเปิ ดประเทศ ไม่มพี รมแดนอีกต่ อไป โดย อาศัยกลไกความร่วมมือระดับประเทศทีม่ อี ยู่แล้ว เช่น การประชุมหรือแสดงสินค้าในประเทศใด ประเทศหนึ่งอาจจัดเป็ นเส้นทาง (Route) การท่องเทีย่ วภายในกลุ่ม อาจเพิม่ ข้อตกลงร่วมกันใน เรื่องไมซ์ให้มกี ารยกเว้นกฎระเบียบบางอย่างเพื่อเอื้ออานวยความสะดวก เป็ นผลประโยชน์ ท่ี สามารถสร้างร่วมกันได้ ไม่ใช่เชียงใหม่เด่นอยู่เพียงฝา่ ยเดียว สอดคล้อ งกับ ผลการศึก ษาเรื่อ ง ผลกระทบของการท าให้เ ชียงใหม่ เ ป็ น ศูน ย์ก ลาง ภูมภิ าคของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว ของจรรยา ตันจาตุรนต์ (2549) ได้สรุปประเด็นสาคัญได้ ว่านโยบายทีท่ าให้เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วของภูมภิ าคตามนโยบายของรัฐบาลพบว่า หน่ ว ยงานราชการมีส่ ว นในการน านโยบายดัง กล่ า วไปด าเนิ น การตามแผน แต่ ย ัง ขาดการ ประชาสัมพันธ์ ทาให้กลุ่มผูป้ ระกอบการธุรกิจต่างๆทราบจากสื่อมากกว่า เจ้าหน้าทีจ่ ะมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมโดยประสานกับภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น โดยทีก่ ลุ่ม ผูป้ ระกอบการธุรกิจต่างๆส่วนใหญ่จะให้ความร่วมมือ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บทบาทขององค์กรที่ดูแลรับผิดชอบด้านนี้โดยตรงคือ สานักงาน ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. ซึง่ เป็ นหน่ วยงานภาครัฐ ก็ ยัง สนับ สนุ น ให้เ ชีย งใหม่ เ ป็ น ศู น ย์ก ลางด้า นไมซ์ใ นภู มิภ าคน้ อ ยมาก เนื่ อ งจากเกี่ย วข้อ งกับ นโยบายทางการเมือง การทาตลาดยังมีน้อยมากเมื่อเทียบกับเมืองศูนย์กลางการประชุมอื่นๆใน ระดับสากล ขาดการสร้างกระบวนการมีสว่ นร่วมกับท้องถิน่ อย่างเป็ นรูปธรรม 77


อย่างไรก็ตาม จากผลการศึกษาพบว่าในทุกภาคส่วนมีความมุ่งมันและต้ ่ องการเห็น ภาพทีจ่ ะสร้างความร่วมมือกับกลุ่มประเทศลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) ใน อนาคต โดยอาจร่วมมือกันจัดกิจกรรมและข้อตกลงร่วมกันจากกรอบความร่วมมือที่ทากันอยู่ เช่น การประชุมหรือแสดงสินค้าในประเทศใดประเทศหนึ่งอาจจัดเป็ นเส้นทาง (Route) การ ท่องเทีย่ วภายในกลุ่ม เป็ นผลประโยชน์ทส่ี ามารถสร้างร่วมกันได้ รวมถึงเพิม่ ข้อตกลงร่วมกันใน เรื่องไมซ์ให้มกี ารยกเว้นกฎระเบียบบางอย่างเพื่อเอื้ออานวยความสะดวก โดยใช้กรอบความ ร่วมมือทีม่ อี ยู่แล้วใน 2 อนุภูมภิ าคนี้ ประการที่สาม บริบททางเศรษฐศาสตร์การเมือง และสังคม-สิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ ทัง้ ผลกระทบด้านบวกและด้านลบทีม่ ตี ่อประเด็นการส่งเสริมให้เชียงใหม่เป็ นนครแห่งศูนย์กลาง การประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชีย ใต้ (BIMSTEC) โดยกลุ่ ม ประชากรส่ ว นใหญ่ ส ะท้อ นทัง้ ผลด้า นบวกและลบจากนโยบายนี้ กล่ า วคือ ด้า นบวกจะส่ง เสริม ภาคเศรษฐกิจ และการท่อ งเที่ย วของจัง หวัด เชีย งใหม่ ได้ม าก เนื่ อ งจากนั ก ท่ อ งเที่ย วกลุ่ ม ไมซ์เ ป็ น กลุ่ ม คุ ณ ภาพ ก าลัง ซื้อ สูง ขณะที่ด้า นลบส่ ว นใหญ่ มี ความเห็นว่า อาจส่งผลกระทบต่อสภาพสังคมของเชียงใหม่จากการเป็ นเมืองศูนย์กลางทีจ่ ะมี การหลังไหลของผู ่ ้คนจากต่ างถิ่นเข้ามา ซึ่ง อาจส่งผลต่ อทัง้ ปญั หาสิ่งแวดล้อม ปริมาณขยะ เพิม่ ขึน้ ปญั หาจราจร การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมของท้องถิน่ เป็ นต้น ด้านองค์กรภาคประชาสังคมของจังหวัดเชียงใหม่มองถึงผลกระทบทีส่ าคัญว่า หาก คนเดินทางเข้ามามากเชียงใหม่กจ็ ะเกิดความแออัด การเป็ นศูนย์กลางด้านไมซ์จะหนีไม่พน้ ที่ ต้องพึง่ ทรัพยากรบุคคลจากส่วนกลางเข้ามาบริหารจัดการและเข้าครอบงา ดังนัน้ นโยบายนี้จะ เข้ามาซ้าเติมปญั หาทีเ่ ชียงใหม่มอี ยู่เช่น ระบบขนส่งมวลชน ระบบกาจัดขยะ การแย่งทรัพยากร จากระบบชลประทาน เป็ นต้น นอกจากนี้ กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ยงั เห็นตรงกันว่าการเป็ นเมืองศูนย์กลางด้านไมซ์ ของเชียงใหม่ควรมุ่งเน้นตลาดนักท่องเที่ยวเชิงคุณภาพไม่ควรเน้นปริมาณ และมุ่งไปสู่ไมซ์ใน เชิงเศรษฐกิจทีพ่ อดีพองาม หรือการเป็ นไมซ์แบบพอเพียง ผูกพ่วงกับการคานึงถึงสิง่ แวดล้อม เน้ นความเป็ น Green MICE หรือ Green Meeting ที่จะส่งผลถึงความยังยื ่ นในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมของจังหวัด เชียงใหม่ใ นอนาคต ดังนัน้ การเป็ น เมืองไมซ์ข องจัง หวัด เชียงใหม่ควรเป็ น ไมซ์แบบพอเพียง ซึง่ สามารถนามาเป็ นกรอบแนวคิดที่จะทาให้เศรษฐกิจมี ความยังยื ่ น 78


อย่างไรก็ตาม ได้มปี ระเด็นข้อเสนอแนะที่สาคัญจากภาคประชาสังคมที่ต้องการให้ จังหวัดเชียงใหม่มกี ารพัฒนาอย่างยังยื ่ น ซึง่ ตรงกับทฤษฎีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีไ่ ด้ระบุ ถึง แนวการดารงอยู่และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึง ระดับ รัฐ การพัฒ นาและบริห ารประเทศให้ดาเนิ น ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒ นา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวตั น์ ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา, 2548) ทัง้ ยังสอดคล้องกับนโยบายและการปรับตัวทางการตลาดของ สสปน.ในปจั จุบนั ทีไ่ ด้ ริเริม่ ผลักดันมาตรฐานกรีนมีทติ้งส์ อรรคพล สรสุชาติ (2554) กล่าวว่า 3 ปี ท่ผี ่านมาที่ สสปน. ริเริม่ ดาเนินการส่งเสริมและผลักดันมาตรฐานกรีนมีทติง้ ส์ให้กบั ผูป้ ระกอบการ และผูใ้ ช้บริการไมซ์ ในประเทศไทยนัน้ ส่งผลให้นานาชาติมกี ารรับรู้ และยอมรับศักยภาพของประเทศไทยในฐานะ จุดหมายปลายทางการจัดงานทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม วันนี้ถอื เป็ นการพัฒนาความพร้อมของ อุตสาหกรรมไมซ์ และการทางานเรื่องกรีนมีทติง้ ส์ไปอีกขัน้ ด้วยการส่งเสริมการเข้าสูก่ ระบวนการ รับรองตามมาตรฐาน ISO 50001 ทีจ่ ะทาให้ผปู้ ระกอบการไมซ์ไทยมีศกั ยภาพในด้านการอนุ รกั ษ์ พลังงานและสิง่ แวดล้อมที่แข็งแกร่ง และเด่นชัดยิง่ ขึน้ ซึง่ จะส่งผลในระยะยาวต่อทัง้ ภาพลักษณ์ การแข่งขัน และรายได้ของประเทศจากอุตสาหกรรมไมซ์อย่างเป็ นรูปธรรมและยังยื ่ น ประการที่ สี่ ปญั หา อุปสรรค แนวคิด และข้อเสนอแนะในการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัด เชียงใหม่ผ่านนโยบายและโครงการสาคัญขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโครงการศูนย์ประชุมและแสดง สินค้านานาชาติ อันจะทาให้เกิดองค์ความรูใ้ นการพัฒนาจังหวัดอย่างยังยื ่ นในอนาคต ซึง่ ประเด็น นี้กลุ่มประชากรทีใ่ ห้สมั ภาษณ์สว่ นใหญ่ มีความคิดเห็นว่าปญั หาอุปสรรคสาคัญทีจ่ ะมีต่อนโยบาย นี้ อาทิ ระบบขนส่งสาธารณะ และขนส่งมวลชนในตัวเมืองเชียงใหม่ท่ยี งั ไม่มปี ระสิทธิภาพและ มาตรฐาน นโยบายการเมืองโดยเฉพาะการเปลีย่ นรัฐบาลบ่อย ความไม่มเี สถียรภาพทางการเมือง ทาให้ก ารสนับ สนุ นนโยบายด้านไมซ์ของจัง หวัดเชียงใหม่ ขาดความต่ อ เนื่อ ง อันจะส่ง ผลถึง งบประมาณของรัฐทีจ่ ะจัดสรรลงมาเพื่อสนับสนุ นนโยบายนี้ในพืน้ ที่ นอกจากนี้ ยังขาดการบูรณา การร่วมกันระหว่างภาคส่วนต่างๆทัง้ รัฐบาลกลางและหน่วยงานในท้องถิน่

79


ส่วนภาคประชาสังคมมองปญั หาอุปสรรคว่า จะมีแรงเสียดทานจากคนเชียงใหม่ เพราะไม่มสี ว่ นร่วมด้วย ทัง้ อาจเกิดผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรน้ า ไฟฟ้าทีจ่ ะเพิม่ มากขึน้ ใน อนาคต ขณะทีป่ ระเด็นโครงการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ กลุ่ม ประชากรที่ให้สมั ภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นไปในแนวทางเดียวกันว่า โครงการนี้จะช่วยส่งเสริมและ สนับสนุ นเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางด้านไมซ์ในอนุ ภูมภิ าคนี้ แต่มคี วามกังวลใน 2 ประเด็นสาคัญ คือ ระบบขนส่งมวลชน (Transportation) ที่จะเข้าถึงตัวศูนย์ประชุมฯ ยังไม่ได้มกี ารวางแผน รองรับและอาจเกิดปญั หาการจราจรติดขัดหากมีกจิ กรรมการประชุมขนาดใหญ่เกิดขึน้ ส่วนอีก ประเด็นคือ การบริหารจัดการศูนย์ประชุมฯ ทีต่ อ้ งบริหารแบบมืออาชีพ ด้านองค์กรภาคประชาสังคมก็มองต่ างออกไปว่า ศูนย์ประชุมฯสามารถรองรับได้ ระดับ หนึ่ ง แต่ อาจมีปญั หาเกิดก็คือ การใช้พ้นื ที่โ ดยรอบดอยสุเ ทพจะมีโ ครงการลงทุน ด้า น อสังหาริมทรัพย์และธุรกิจอื่นๆเกิดขึน้ ตามมาเพิม่ ขึน้ ขณะทีป่ ญั หาการจราจรการเข้า-ออกศูนย์ ประชุมจะหนาแน่นมากขึน้ นอกจากนี้อาจมีผลประโยชน์หรือการแย่งชิงจากส่วนกลาง ขณะทีค่ น เชียงใหม่อาจไม่ได้รบั ประโยชน์อะไรเลย สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ธเนศวร์ เจริญเมือง (2543) ได้นาเสนอประเด็นการ พัฒ นาของเชีย งใหม่ กบั การเป็ น เมืองศูน ย์ก ลางเศรษฐกิจ ไว้ว่า เชียงใหม่ไ ด้พ ัฒนาเป็ น เมือ ง ศูนย์กลางของความเจริญทุกด้านในภาคเหนือ ทิ้งห่างจากจังหวัดอื่นๆรอบๆให้ไม่ได้รบั การ พัฒ นาเท่ า ที่ค วร เกิด การกระจุ ก ตัว ของความเจริญ และการพัฒ นาที่ไ ม่ เ ท่ า เทีย มกัน ท าให้ ประชาชนในจังหวัดเหล่านัน้ ต้องพึง่ พาเมืองเชียงใหม่มากขึน้ และทาให้คนทีอ่ ยากขยายกิจการ ธุรกิจของตนเอง หรือคนทีแ่ สวงหาโอกาสใหม่ๆ เดินทางเข้ามาพักในเมืองเชียงใหม่มากขึน้ สภาวการณ์ทต่ี ามมาทาให้เมืองเชียงใหม่กลายเป็ นศูนย์รวมปญั หาต่างๆ เช่น ปญั หา การขายสินค้าที่ขาดระเบียบ ปญั หาจราจร ปญั หาขยะ ปญั หามลพิษ ปญั หาผังเมือง ปญั หา อิทธิพลเถื่อน ปญั หาเศรษฐกิจนอกระบบ ปญั หาเอกลักษณ์ของท้องถิน่ ถูกทาลายฯลฯ การแก้ไขปญั หาไม่สามารถทาได้อนั เกิดจากโครงสร้างการบริหาร ระบบราชการ และ การต่อสูเ้ พื่อช่วงชิงอานาจและงบประมาณระหว่างหน่วยราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทาให้ปญั หาต่างๆ ยังดารงอยู่และทวีความรุนแรงมากขึน้ แทนทีป่ ญั หาจะลดน้อยลงและได้รบั การแก้ไขทีละขัน้ 80


ทัง้ นี้ จากการประมวลและสรุปผล ผูเ้ ขียนมีความเห็นว่าประเด็นหลักของความท้าทาย ของจังหวัดเชียงใหม่ต่อการเป็ นนครศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศ อนุ ภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) เป็ นเรื่องที่มคี วามเกี่ยวพันระหว่าง องค์กรภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนในหลายมิตทิ ่ใี นแต่ละภาคส่วนมีการรับรู้ (Perception) เกีย่ วกับนโยบายนี้ไม่เท่าเทียมกัน ทาให้การขับเคลื่อนนโยบายด้านนี้ไม่เป็ นเอกภาพและขาดการ ประสานงานอย่างบูรณาการ นับเป็ นความท้าทายหลักทีส่ าคัญทีจ่ ะต้องเร่งสร้างกลไกการขับเคลื่อน ทัง้ จากส่ ว นกลางและท้อ งถิ่น ขึ้น ในรูป แบบที่สร้า งการมีส่ว นร่ ว มภายใต้ร ะดับ ความเข้า ใจใน สถานการณ์การแข่งขันด้านการท่องเทีย่ วด้านไมซ์อย่างเท่าเทียมกันเป็ นเบือ้ งต้นก่อน เนื่องจากสิง่ ทีไ่ ด้จากการศึกษาพบว่า ประเด็นด้านการบริหารจัดการเป็ นเรื่องหลักทีจ่ ะ เป็ น หัว ใจในการขับ เคลื่อ นนโยบายนี้ โดยมีป จั จัย ในเรื่อ งความไม่ แ น่ น อนทางการเมือ งใน ระดับประเทศทีอ่ าจจะส่งผลต่อนโยบายนี้โดยตรง หากการสนับสนุ นทีจ่ ริงจังจากรัฐบาลไม่ต่อเนื่อง ซึง่ ต้องยอมรับว่าการผลักดันให้เชียงใหม่เป็ นนครแห่งไมซ์เป็ นส่วนหนึ่งของนโบบายทางการเมือง ที่กาหนดขึน้ จากส่วนกลาง ที่ไม่ได้สร้างกลไกการมีส่วนร่วมหรือหน่ วยงานบริหารในพื้นที่ทงั ้ ใน ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และภูมภิ าคอย่างเป็ นทางการ ซึง่ จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องเร่งสร้าง กระบวนการด้านการบริหารจัดการเป็ นอันดับแรกในส่วนของคณะกรรมการบริหารในระดับจังหวัด ทีม่ อี านาจการตัดสินใจและมีงบประมาณดาเนินการ ซึง่ จะเกีย่ วพันกับการจัดทาแผนแม่บทการเป็ น นครแห่งไมซ์ทเ่ี ป็ นการเฉพาะ มีแผนงานการทาตลาดทีช่ ดั เจนในระยะสัน้ ปานกลาง และระยะยาว รวมถึงการบูรณาการแผนงานร่วมกับท้องถิน่ ขึน้ ได้ ประเด็นรองลงมาในเรื่องความท้าทายคือ การพัฒนาธุรกิจด้านไมซ์อย่างยังยื ่ นที่ไม่ กระทบต่อวิถชี วี ติ วัฒนธรรมในพืน้ ที่ ซึง่ จะต้องมีการสร้างการมีสว่ นร่วม ความเข้าใจของคนในพืน้ ที่ นอกจากนัน้ จะรวมถึงการอยู่รอดของภาคธุรกิจเอกชนในพื้นที่ เนื่องจากหากธุรกิจด้านไมซ์ของ จังหวัดเชียงใหม่มกี ารขยายตัวมากขึน้ ก็จะส่งเสริมการสร้างรายได้และเกิดธุรกิจใหม่เกี่ยวเนื่อง ตามมา ซึ่งจะเป็ นส่วนที่พฒ ั นาเศรษฐกิจชีวติ ความเป็ นอยู่ในพื้นที่ได้มากขึน้ อย่างไรก็ตาม หาก ไม่ได้มกี ารควบคุมหรือจัดการกาหนดรูปแบบและทิศทางธุรกิจไมซ์ของเชียงใหม่ในเบือ้ งต้นแล้ว ก็ อาจจะส่งผลให้เกิดการครอบงาของทุนส่วนกลาง หรือทุนข้ามชาติทจ่ี ะมากอบโกยรายได้แทนคนใน พืน้ ที่ ซึง่ จะส่งผลให้เกิดแรงต้านในระยะยาวได้

81


ผูเ้ ขียนมองว่ากระบวนการสาคัญอย่างยิง่ ยวดทีจ่ ะขับเคลื่อนและลดปญั หาอุปสรรคที่ เกิดขึน้ ต่อนโยบายนี้ได้คอื ในเรื่องการสร้างระบบการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพในการ สร้า งความเข้า ใจ โดยเฉพาะที่ผ่ า นมาขาดการบู ร ณาการระหว่ า งหน่ ว ยงานในท้อ งถิ่น และ ส่วนกลางในการประสานของข้อมูล (Information) ระหว่างหน่ วยงานอย่างเป็ นระบบ เพื่อให้เกิด มิติของการมีส่วนร่วมเชิงสร้างสรรค์ ที่จะทาให้ทุกฝ่ายมองเป้าหมายเดียวกัน และจะสามารถ แข่ง ขัน ได้ใ นเวทีตลาดด้า นไมซ์ร ะดับนานาชาติ ซึ่ง ในป จั จุ บ ัน และอนาคตในหลายเมือ งก็ไ ด้ วางเป้าหมายด้านการท่องเทีย่ วให้เป็ นเมืองด้านการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเช่นกัน หาก ทุกฝา่ ยยังไม่ดาเนินการตามศักยภาพและแผนงานแล้ว ก็จะทาให้เรื่องนี้เป็ นความท้าทายสาคัญที่ ทาให้เชียงใหม่ไม่สามารถเป็ นศูนย์กลางด้านไมซ์ในภูมภิ าคนี้ได้แน่นอน ประการสุดท้าย คือ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่จาเป็ นอย่าง ยิง่ ทีจ่ ะไม่หวังพึง่ องค์กรใดองค์กรหนึ่ง หากแต่ตอ้ งลงทุนด้านการบริหารจัดการแบบมืออาชีพจาก องค์กรภาคเอกชน หรือการว่าจ้างบริหาร เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิในเชิ ์ งการทาตลาดในต่างประเทศ และภายในประเทศทีจ่ ะดึงกลุ่มลูกค้ามาใช้บริการในพืน้ ทีเ่ ชียงใหม่ให้มากขึน้ จึงเป็ นความท้าทาย อีกประการหนึ่งทีต่ ้องเร่งจัดตัง้ หรือส่งเสริมส่วนบริหารจัดการด้านไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่อย่าง จริงจังและเป็ นรูปธรรม อันรวมถึงการประสานงานให้แก้ไขปญั หาอุปสรรคทีส่ าคัญในพืน้ ทีไ่ ด้ดว้ ย ทัง้ ในเรื่องระบบขนส่งมวลชน การบูรณาการหน่ วยงานทุกภาคส่วนในพื้นที่และส่วนกลาง การ สนับสนุ นทีจ่ ริงจังจากรัฐบาลกลางและสิง่ ทีเ่ ป็ นปจั จัยสาคัญต่อการเติบโตของธุรกิจไมซ์ดา้ นอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การวางแนวทางการบริหารจัดการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัด เชียงใหม่อย่างมืออาชีพ เพื่อก่อให้เกิดผลคุม้ ค่าในเชิงเศรษฐกิจต่อโครงการมูลค่าหลายพันล้าน บาทที่รฐั บาลสนับสนุ นให้เป็ นกลไกในการขับเคลื่อนจังหวัดเชียงใหม่ให้ก้าวไปสู่ศูนย์กลางการ ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในภูมภิ าคนี้ได้อย่างแท้จริง

82


ข้อเสนอแนะส่งท้าย ผู้เ ขีย นมีค วามสนใจแนวโน้ ม ธุร กิจไมซ์ข องเชีย งใหม่ใ นอนาคต ซึ่ง ยัง มีอีก หลาย ประเด็นที่จาเป็ นต้องมีการศึกษาวิจยั เพิ่มเติมต่อเนื่อง เช่น แนวทางการวางแผนการตลาด ร่วมกันในอนาคตภายใต้กรอบ GMS และ BIMSTEC ได้แก่ เวียดนาม จีนตอนใต้ ได้แก่ นคร คุนหมิง มณฑลยูนนาน และนครหนานหนิง มณฑลกว่างซีและนครกว่างโจว สป.จีน สหภาพ พม่า กัมพูชา และสปป.ลาว รวมถึงประเทศอินเดีย เป็ นต้น การเจาะประเด็นเรื่องความต้องการในเชิงการตลาด เช่น ใช้บริการด้านไมซ์และศูนย์ ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ เพื่อจัดประชุมหรือแสดงสินค้าของหน่ วยงาน หรือองค์กรระหว่างประเทศ และของรัฐบาล วิธกี ารจัดโปรโมชันเพื ่ ่อให้เกิดการใช้ศูนย์ประชุมให้ คุ้มค่ากับการลงทุน รวมถึงแผนงานและแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจด้านไมซ์ของจังหวัด เชียงใหม่ในลักษณะของแผนเชิงปฏิบตั ิการที่จะพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่สู่นครศูนย์กลางการ ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติในกลุ่มประเทศอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) และเอเชียใต้ (BIMSTEC) ในอนาคต ประการสาคัญอย่างยิง่ คือการมีแผนการพัฒนารูปแบบขนส่งมวลชนในอนาคตเพื่อ รองรับอุตสาหกรรมไมซ์ท่จี ะเกิดขึน้ ในอนาคต ตลอดจนการวางแผนระบบการจราจรในเมือง ไม่ ใ ห้เ กิด การติด ขัด ในชัว่ โมงเร่ ง ด่ ว น โดยอาจมีร ะบบขนส่ ง มวลชนที่มีป ระสิท ธิภ าพและ หลากหลายให้สามารถรองรับทัง้ ประชากรในเชียงใหม่ และสามารถรองรับนักท่องเทีย่ ว และผู้ มาร่วมงานสัมมนาและแสดงสินค้าจานวนมากได้อกี ด้วย ได้แก่ การวางแผนการจราจรทัง้ ไปยัง ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่ และภายในศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติจงั หวัดเชียงใหม่เอง หรือการจัดให้มรี ถสายพิเศษเพื่อลดการติดขัดและอานวยความ สะดวกในการเดินทาง รองลงมาคือความต้องการของบุคลากรรองรับในสาขาที่ขาดแคลน ตลอดจนการ เตรียมความพร้อมของสถาบัน การศึก ษาและองค์กรภาคเอกชนที่จ ัดเตรีย มหลักสูตรพัฒนา บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาคเอกชนและราชการ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพของท้องถิน่ ให้สามารถรองรับนานาชาติได้ โดยปรับปรุง การบริห ารจัด การด้ ว ยการบู ร ณาการหน่ ว ยงานภาครัฐ องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น และ ภาคเอกชนในพืน้ ที่ และเสนอให้มกี ารบริหารงานแบบองค์การมหาชน 83


ทัง้ นี้หน่วยงานทีจ่ ะบริหารงานเกีย่ วกับด้านอุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่ใน อนาคตจะต้องเน้ นการทางานเชิงรุก พร้อมกับ จะต้องเร่งสร้า งบุคลากรขึ้นมารองรับเป็ นการ เฉพาะ และจะต้องให้ความสาคัญเรื่องการประชาสัมพันธ์ในเชิงนโยบายรวมทัง้ ในส่วนของศูนย์ ประชุ ม และแสดงสิน ค้า นานาชาติจ ัง หวัด เชีย งใหม่ มุ่ ง เน้ น การพัฒ นาท่ อ งเที่ย วตามกรอบ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การท่องเทีย่ วเชิงศิลปวัฒนธรรม โดยรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีให้ คงอยู่ รักษาเสน่หท์ เ่ี ชียงใหม่มี และรักษาวัฒนธรรมให้เหนียวแน่น การสร้างจุดแข็งของเมืองในการเป็ นเมืองการเกษตร ศูนย์กลางเมืองอาหารปลอดภัย มีสงิ่ แวดล้อมทีด่ หี รืออยู่บนฐานของ Green Economy ทีต่ อ้ งคานึงเรื่องสิง่ แวดล้อมเป็ นสาคัญ การพัฒนาเมืองและจัดระเบียบเมืองให้มคี วามปลอดภัย มุ่งเน้นให้เป็ นเมืองแห่งการ ดูแลรักษาสุขภาพ การพัฒนาสู่เมืองศึกษานานาชาติ ควรมีการแบ่งโซนให้ชดั เจนเช่นพื้นที่ เกษตรกรรม พืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรม พืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม

84


85


86


87


88


89


90


91


92


93


94


บรรณำนุกรม กรวรรณ สังขกร และ จักรี เตจ๊ะวารี.การท่องเที่ยวจีนนัยต่อไทย. สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553. กรมเจรจาการค้า กระทรวงพาณิชย์. รายงานผลการวิจยั โครงการวิ เคราะห์โอกาสการขยาย การค้าของไทย ภายใต้เขตการค้าเสรี BIMSTEC, 2550. กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์. อุตสาหกรรมที่น่าลงทุนในกัมพูชา (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.depthai.go.th/DEP/DOC/52/52002049.doc การสัมมนานานาชาติเรื่อง “เครือข่ายความรู้ และพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศ อนุ ภูมิ ภ าคลุ่ ม แม่ น้ า โขง” หรื อ “Upper GMS Tourism Network Forum 2010”. โรงแรมริมกกรีสอร์ท จังหวัดเชียงราย, 2553 (26 - 27 สิงหาคม). การสัมมนานานาชาติเรื่อง “Tourism Trade and Investment Promotion in GMS 2010: Creative MICE Expanding Markets”.โรงแรมเลอ เมอริเดียน เชียงใหม่, 2553 กลุ่มประชาสัมพันธ์ กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา. ข่าวประชาสัมพันธ์ทวไป, ั ่ 2553 (10 พฤษภาคม). ­­­­­­­­­­­­­ ป.กก.มันใจศู ่ นย์ประชุมชม. 3 พันล้าน เปิ ดบริการแน่ ต้น ก.ค.55. ข่าว ประชาสัมพันธ์ทวไป, ั ่ 2554 (21 มิถุนายน). การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย. รายงานขัน้ สุดท้ายโครงการสารวจสถิ ติการจัดประชุมการ ท่องเที่ยวเพื่อเป็ นรางวัล และการจัดงานแสดงสิ นค้านานาชาติ ในประเทศไทย ปี พ. ศ. 2542. กรุงเทพฯ: บริษทั ซี. เอส. เอ็น. แอนด์ แอสโซซิเอท จากัด, 2543. _____ . ก. การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อความเหมาะสมของพืน้ ที่ก่อสร้าง ศูนย์ประชุมและแสดงสิ นค้านานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: การท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย, 2545. 95


_____________ . ข. การศึกษาความเหมาะสมของพืน้ ที่ก่อสร้างศูนย์ประชุมและแสดง สิ นค้านานาชาติ จงั หวัดเชียงใหม่และจังหวัดภูเก็ต. กรุงเทพฯ: บริษทั สินธุพนู ศิรวิ งศ์ คอนซัลแตนท์ จากัด, 2545. การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย . คู่มือนักการตลาดท่องเที่ยวสาหรับผูบ้ ริหารระดับสูง: สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. เกรียงศักดิ ์ เจริญทรัพย์. การประชุมระดมความคิ ดเห็นเพื่อยกร่างข้อเสนอแนวทางการ ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ – ลาพูน – เชียงราย ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ในเวทีของจังหวัดเชียงใหม่, โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่, 2551 (28 กรกฎาคม). จรรยา ตันจาตุรนต์. “ผลกระทบของการทาให้เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางภูมภิ าคของ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว”. การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2549. จิราวรรณ ฉายสุวรรณ. ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการสร้างตราสิ นค้าไทยที่เข้มแข็ง. รายงานวิจยั . สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , 2542. จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา. การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารเศรษฐกิจและสังคม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ปีท่ี 42 ฉบับที่ 6, 2548 (พฤศจิกายน – ธันวาคม). ชานาญ จันทร์เรือง. ทฤษฎีเกมแห่งอานาจ (Game of Power Theory). (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า:http://www.pub-law.net/publaw (6 สิงหาคม 2549). เชียงใหม่นิวส์. เชียงใหม่เตรียมขึน้ แท่นนครแห่งไมซ์ภาคเหนื อ. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า:http://www.chiangmainews.co.th (19 สิงหาคม 2553). ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. วาทกรรมการพัฒนา อานาจ ความรู้ ความจริ งและ ความเป็ น อื่น. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วภิ าษา, 2549. 96


ฐานเศรษฐกิจ. คิ กออฟ 'เชียงใหม่'สู่ฝันที่เป็ นจริงมหานครแห่งไมซ์. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า:http://www.thannews.th.com (13 – 16 กันยายน 2552). ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง. เชียงใหม่ก้าวสู่ศตวรรษที่ 21. เชียงใหม่: ศูนย์ศกึ ษาปญั หาเมืองเชียงใหม่, 2543. _____________. เมืองยังยื ่ น แนวคิ ดและประสบการณ์ ตะวันตก. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์, 2545. _____________. ผังเมืองเชียงใหม่ ซา้ เติ มวิ กฤติ เมืองแอ่งกระทะ. หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ หน้า 4, 2551 (8 ธันวาคม). ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์ เจริญเมือง. การประชุมระดมความคิ ดเห็นเพื่อยกร่างข้อเสนอแนว ทางการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ – ลาพูน – เชียงราย ในช่วง แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 ในเวทีของจังหวัดเชียงใหม่. โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่, 2551 (28 กรกฎาคม). ไทยรัฐ. สสปน.เผยปี 55 อุตฯไมซ์โต5.8หมื่นล้าน ชูโซเชียลมีเดียดันตลาด. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.thairath.co.th (19 กรกฎาคม 2554). ธนภัค อมตอาชาชัย. “อิทธิพลของปจั จัยทางเศรษฐกิจและสังคมของนักท่องเทีย่ วจาก จังหวัดเชียงใหม่ทม่ี ตี ่อการท่องเทีย่ วในประเทศ”. การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2550. ธเนศวร์ เจริญเมือง. เชียงใหม่ก้าวสู่สหัสวรรษใหม่. ในเชียงใหม่กา้ วสูศ่ ตวรรษที่ 21. เชียงใหม่: ศูนย์ศกึ ษาปญั หาเมืองเชียงใหม่, 2543. ธีรภัท ชัยพิพฒ ั น์. การจัดการระหว่างประเทศ. เอกสารคาสอนรายวิชา, ลาปาง: 97


วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552. ธีรพงษ์ ลัพธวรรณ์และอภิชาติ ดวงดี. การพัฒนาที่ยงยื ั ่ น : ยาสารพัดนึ ก? กรณี ศึกษา ประเทศไทยจากแง่มุมทางวัฒนธรรมต่อการพัฒนาที่ยงยื ั ่ นใน เอเชียตะวันออก เฉี ยงใต้. มูลนิธไิ ฮริค เบิลล์ สานักงานประจาประเทศไทยและภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้, 2548. ธุรกิจบัณฑิตย์. รายงานผลการศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคของอุตสาหกรรม MICE สถาบันวิจยั เศรษฐกิจและสังคม, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2546. บทสรุ ป การจัด สัม มนาวิช าการ. “GMS Tourism Promotion: Six Countries :One Visa – One Destination” โรงแรมดุสติ ไอร์แลนด์รสี อร์ท จังหวัดเชียงราย, 2554 (15-16 มกราคม). ปทั มนันท์ นิทศั น์สนั ติคุณ. “ความต้องการใช้บริการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ จังหวัด เชียงใหม่ของผูจ้ ดั งานแสดงสินค้า”. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2550. ปริญญา ผาตากแดด. “พฤติกรรมการเปิ ดรับสือ่ ของผูบ้ ริโภคในอาเภอเมืองเชียงใหม่ทม่ี ผี ล ต่อการตัดสินใจซือ้ โปรแกรมการท่องเทีย่ วต่างประเทศแบบสาเร็จรูป”. การค้นคว้า แบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553. ประสาน ภิรชั บุร.ี การจัดการธุรกิ จการจัดนิ ทรรศการ หน่ วยที่ 5. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราช, 2546. ประสาน ภิรชั บุร.ี การพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางการประชุมนานาชาติ . รายงาน วิจยั .บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2544. ประชาชาติธุรกิจ. ศูนย์ประชุมเชียงใหม่เสร็จปี หน้ า เปิ ดกว้างรับเอกชนใน-นอกประเทศ

98


บริหาร. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.prachachat.net (17 เมษายน 2549). _____________. ไทยผนึ ก GMS ชิ งอิ นบาวนด์ 52 ล.คน ลาวรุกเร็วผุดโรดแมปรับเกตเวย์ ท่องเที่ยวอาเซียน. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.prachachat.net (26 กรกฎาคม 2553). _____________. สสปน.ดันไทยที่หนึ่ งอาเซียนเตรียมตัวเจ้าภาพแข่ง"ฟอร์มูล่าวัน. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.prachachat.net (24 มกราคม 2554). ผูจ้ ดั การรายวัน. ครม.ไฟเขียวศูนย์ประชุมนานาชาติ เชียงใหม่. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.manager.co.th (31 ตุลาคม 2548). ___________. CMO ลงขัน 75% บริษทั ร่วมทุนในกัมพูชากรุยทางสู่เอเชียใต้ขยายตลาด ใหม่. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.manager.co.th (20 ตุลาคม 2549). พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์. ศักยภาพของจังหวัดเชียงใหม่ในการเป็ นศูนย์กลางทางการ ท่องเที่ยวในอนุภมู ิ ภาคลุ่มแม่น้าโขง. เชียงใหม่: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2542. พจนา เอือ้ งไพบูลย์. ได้นาเสนอในการสัมมนาเรือ่ ง “การกาหนดแผนปฏิ บตั ิ เพื่อการ พัฒนาด้านการท่องเที่ยวใน อนุภมู ิ ภาคลุ่มน้าโขงอย่างยังยื ่ น” จังหวัดเชียงราย, 2553 (26 สิงหาคม). พันธุส์ รู ย์ ลดาวัลย์. การกาหนดนโยบายต่างประเทศของไทย. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2540. ภูรวิ จั น์ เดชอุ่ม. การพัฒนากลยุทธ์การเสนอขอเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติ ของ ป ระ เท ศ ไ ท ย . ( ระ บ บ อ อน ไ ลน์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.oknation.net/blog/ miceinthailand (7 ตุลาคม 2552). มาโนช พรหมปญั โญ. “บทวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายของการท่องเทีย่ วรูปแบบ MICE ใน 99


จังหวัดเชียงใหม่”. ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเทีย่ ว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 2553. มิง่ สรรพ์ ขาวสะอาด และกรวรรณ สังขกร. โครงการพัฒนาการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิ ง บูรณาการที่ยงยื ั ่ นในอนุภมู ิ ภาคลุ่มแม่น้าโขง. เชียงใหม่ : สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553. มติชนรายวัน. สสปน. เร่งทาแผนปี 55 ชงของบฯ 1.6 พันล้านบาท. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.matichon.co.th (26 มกราคม 2554). รสมารินทร์ อรุโณทัยพิพฒ ั น์. “ปจั จัยด้านการตลาดทีม่ ผี ลต่อการเลือกใช้โรงแรม ในจังหวัด เชียงใหม่ เป็ นสถานที่จดั การประชุม ”. การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ส า ข า วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2544. วรวิทย์ เจริญเลิศ. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง I. เอกสารประกอบการสอน. เชียงใหม่: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551. วรรณา ศิลปอาชา. การจัดการธุรกิ จการจัดนิ ทรรศการ หน่ วยที่ 1. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราช, 2546. วราพร ศรีสพุ รรณ. การพัฒนาแบบยังยื ่ น ทางเลือกใหม่ในการแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2534. วัชราภรณ์ สุรยิ าภิวฒ ั น์. วิ จยั ธุรกิ จยุคใหม่. : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. วิลาวัลย์ ตันรัตนกุล. การประชุมระดมความคิ ดเห็นเพื่อยกร่างข้อเสนอแนวทางการ ขับเคลื่อนการพัฒนา เมืองเชียงใหม่ – ลาพูน – เชียงราย ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ในเวทีของจังหวัดเชียงใหม่. โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่, 2551 (28 กรกฎาคม). 100


ศิรวิ รรณ เสรีรตั น์, ปริญ ลักษิตานนท์ และศุภร เสรีรตั น์. การบริหารการตลาดยุคใหม่. บริษทั ธรรมสาร, 2546. ศิวฤทธิ ์ พงศกรรังศิลป์. หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ทอ้ ป, 2547. ศุภางค์ศรี เกติวงศ์. การจัดแสดงสิ นค้า. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แม็ค, 2543. ศูนย์บริการข้อมูลธุรกิจไทยในจีน. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.thaibizchina.com (4 มีนาคม 2554). สมพงศ์ ชูมาก. รัฐศาสตร์ 50 ปี . คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สุรพิมพ์, 2541. สถานการณ์ของธุรกิจไมซ์ในกัมพูชา. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.miceincambodia.com (19 กรกฎาคม 2554). __________________. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า:http//www.mice@hanumantourism.com(6 สิงหาคม 2554). สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.thaibicindia.in/thai_mice.php (10 สิงหาคม 2554). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิ จในอนุภมู ิ ภาคลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ กัมพูชา-พม่า-สปป.ลาว-เวียดนาม-ไทย-จีนตอนใต้ (ยูนนาน), 2546. ______________________. การศึกษาเพื่อกาหนดแนวทางการจัดทาแผนปฏิ บตั ิ การ ทรัพยากรมนุษย์สาหรับภาคอุตสาหกรรมและบริการที่สาคัญ. กรุงเทพฯ: สานักงาน, 2547. สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). ข. โครงการสารวจสถิ ติ 101


การจัดประชุม การท่องเที่ยวเพื่อเป็ นรางวัล และการจัดงานแสดงสิ นค้า นานาชาติ ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ: บริษทั อินฟอร์เมชันโพรวายเดอร์ ่ แอนด์ คอนซัลแตนท์ จากัด, 2547. _____________________. ส่วนงานองค์ความรูไ้ มซ์.อุตสาหกรรมไมซ์ในภูมิภาคเอเชีย, 2554. หอการค้าจังหวัดเชียงใหม่. สรุปความเป็ นมาการผลักดันโครงการศูนย์ประชุมและแสดง สิ นค้านานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่, 2553. อรรคพล สรสุชาติ. “สสปน. ยกระดับ “กรีนมีทติ้ งส์”. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://eureka.bangkokbiznews.com/detail/399534 (10 กรกฎาคม 2554). Daw Kyi Kyi Aye. บทสรุปการจัดสัมมนาวิชาการ “GMS Tourism Promotion: Six Countries :One Visa – One Destination” โรงแรมดุสติ ไอร์แลนด์รสี อร์ท จังหวัด เชียงราย, 2554 (15-16 มกราคม). Greg Duffell. การสัมมนา “แนวทางการพัฒนาและการสร้างเครือข่ายทางการท่องเที่ยวใน อนุภมู ิ ภาคลุ่มน้าโขง” หรือ “Creating & Developing Network Tourism in Upper GMS. (ระบบออนไลน์) แหล่งทีม่ า: http://www.manager.co.th/local (26 สิงหาคม 2553).

102


M.I.C.E Links International Congress & Conwww.iccaworld.com vention Association

International Association of ProInternational Congress & Con-www.iapco.org fessional Congress Organisers www.iccaworld.com vention Association

Association of Irish Professional International Association of Pro-www.aipco.ie Conference Organisers www.iapco.org fessional Congress Organisers

Irish Tour Operators Association of Irish Association Professionalwww.irishtouroperators.com www.aipco.ie Conference Organisers

Irish Tourist Industry Confederwww.itic.ie ation Irish Tour Operators Association www.irishtouroperators.com

Northern Ireland TouristConfederBoard www.nitb.com Irish Tourist Industry www.itic.ie ation

International Special Events Northern Ireland Tourist Board Society

www.ises.com www.nitb.com

Meeting Professionals International Special Events So-www.mpiweb.org www.ises.com International ciety

Meet in Meath - conference and Meeting Professionals Interna-www.meetinmeath.ie incentive destination www.mpiweb.org tional

103


104


105


106


107


108


109


110


111


112


113


114


115


116


117


118


119


ประวัติผูเ้ ขียน

สุธิดำ 

  

สุวรรณกันธำ

จบปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิชาโทสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามค้าแหง กรุงเทพมหานคร จบปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ ประจ้าจังหวัดเชียงใหม่ อาจารย์พิเศษสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

120


กำรพัฒนำอุตสำหกรรมไมซ์ของจังหวัดเชียงใหม่ จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะไม่หวังพึ่งองค์กรใดองค์กรหนึ่ง หากแต่ต้องลงทุนด้านการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ในเชิงการท้าตลาดในต่างประเทศและภายในประเทศที่จะดึงกลุ่ม ลูกค้ามาใช้บริการอุตสาหกรรมไมซ์ในพืนที่เชียงใหม่-ภาคเหนือให้มากขึน อันรวมถึงการประสานงานให้แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ส้าคัญในพืนที่ ทังในเรื่องระบบขนส่งมวลชน สิง่ แวดล้อม การพัฒนาบุคลากร การบูรณาการหน่วยงานทุกภาคส่วนในพืนที่ และส่วนกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแนวทางการบริหารจัดการศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า นานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ในอนาคต เพื่อก่อให้เกิดผลคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ ด้วยเม็ดเงินมูลค่าหลายพันล้านบาทที่รัฐบาลสนับสนุนให้เป็นกลไกในการขับเคลื่อน จังหวัดเชียงใหม่ให้ก้าวไปสู่ศูนย์กลางการประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ ในเวทีการแข่งขันของภูมิภาค GMS-BIMSTEC นีได้อย่างแท้จริง

121


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.