612011090

Page 1

1

หลักสูตรพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนาครู 1. ชื่อหลักสูตร:

การบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ด้ วยรูปแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)” ระดับประถมศึกษา

Curriculum Theme:

Active Learning Integration Using STEM Education in Primary Levels

2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร (Curriculum Level): หลักสูตรระดับพื ้นฐาน (Basic level) 3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (In charge committees of curriculum): 3.1นายพีระ ปั ตตะวงค์ ประธานกรรมการ 3.2 จริ ยาภรณ์ แดงน้ อย

กรรมการ

4. พืน้ ฐานและเงื่อนไขของครูท่ จี ะเข้ าอบรมในหลักสูตร ครูผ้ สู อนระดับชันประถมศึ ้ กษา จานวน 150 คน 5. กาหนดคาสาคัญ (Keywords): STEM Education in Primary Levels, Active Learning Integration, STEM Education, สะเต็มศึกษา 6. หลักการและที่มาของหลักสูตร (Need Assessments) สะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็ นแนวทางการจัดการศึกษาหนึ่งที่ช่วยส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยน มีทกั ษะและ สมรรถนะที่สอดคล้ องกับความต้ องการที่เปลีย่ นแปลงไปตามสังคมปั จจุบนั และความก้ าวหน้ าในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก มีรูปแบบของการจัดการเรี ยนรู้ ที่มีการบูรณาการ ซึ่งการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศึ กษาเป็ นการกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยน เกิดความสนใจในการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบการคิดอย่างมีเหตุมีผลในเชิงตรรกะรวมถึงทักษะของการ เรี ยนรู้หรื อการทางานแบบร่วมมือ เพื่อให้ การเรี ยนการสอนสะเต็มศึกษา สามารถนามาใช้ ได้ อย่างแท้ จริ ง ดังนันครู ้ ควรมีความรู้ ความเข้ าใจ เกิด ความตระหนัก และเห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาทักษะการจัดการเรี ยนรู้ เชิงรุ ก (Active Learning) ที่สง่ เสริ มให้ เกิด การบูรณาการของ 4 วิชา โดยการเชื่อมโยงความรู้ ทางด้ านวิทยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี (T) วิศวกรรมศาสตร์ (E) และ คณิตศาสตร์ (M) กับเนื ้อหาที่มีการจัดการเรี ยนรู้ ในชั่วโมงเรี ยนปกติอย่างกลมกลืน และมีความเหมาะสม สามารถ สร้ างสรรค์นวัตกรรมเพื่อนามาใช้ ในการดารงชีวิต รวมทังควรมี ้ การส่งเสริ มให้ ครู นาวิธีการและทักษะเหล่านันสู ้ ช่ นเรี ั ้ ยน และประยุกต์ใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในฐานะของหน่วยงานเอกชนที่ให้ การส่งเสริ มและสนับสนุนการพัฒนาความรู้ ความสามารถของครู จึงได้ จดั ทาโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ “การบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอนเชิงรุ ก (Active Learning) ด้ วยรูปแบบสะเต็มศึกษา(STEM Education)” ระดับประถมศึกษา ขึ ้น เพื่อขานรับนโยบายของ


2

กระทรวงศึกษาธิ การในการขับเคลื่อน และผลักดันให้ ครู ผ้ ูสอนสามารถเตรี ยมความพร้ อมในการจัดการเรี ยนการสอน วิทยาศาสตร์ และเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการรู้ของผู้เรี ยนให้ เพิ่มสูงขึ ้นต่อไปในอนาคต 7. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 7.1 เพื่อให้ ครูผ้ สู อนมีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ด้ วยรูปแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในห้ องเรี ยนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการรู้ของนักเรี ยน 7.2 เพื่อสนับสนุนการถ่ายทอดและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรี ย นการสอนที่บรู ณาการความรู้ ใน 4 สหวิทยาการ ได้ แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้ นการนาความรู้ไปใช้ แก้ ปัญหาใน ชีวิตจริ ง พัฒนากระบวนการหรื อผลผลิตใหม่ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต และการทางานช่วยนัก เรี ยน สร้ างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการกับชีวิตจริ งและการทางานจนประสบผลสาเร็ จ 7.3 เพื่อสนับสนุนการประยุกต์แนวคิดและประสบการณ์ที่ได้ จากการอบรมโครงการฯ ไปใช้ เป็ นต้ นแบบในการ วางแผนการบริ หารจัดการเรี ยนการสอนภายในสถานศึกษาในอนาคตเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการรู้ ของ ผู้เรี ยนให้ เพิ่มสูงขึ ้นต่อไปในอนาคต 8. ตัวชีว้ ัดการสาเร็จของการเรียนรู้ของครูตามหลักสูตร 8.1 ความสามารถของครูในการหาแหล่งเรี ยนรู้ การใช้ เกมและกิจกรรมต่างๆ มาประยุกต์ใช้ ในการ จัดการเรี ยนการสอนตามแนวทางของสะเต็มศึกษาได้ 8.2 ตรวจผลงาน โดยผ่านเกณฑ์ ร้ อยละ 80 ขึ ้นไป 8.3 การสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้ ารับการอบรม 9. กรอบความคิดของหลักสูตร (Curriculum Conceptual Framework) หลักสูตร “การบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอนเชิงรุ ก (Active Learning) ด้ วยรู ปแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)” ระดับประถมศึกษา เป็ นการการบูรณาการสาระทางด้ านวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง Active Learning ได้ แก่ องค์ ค วามรู้ ที่ ส อดคล้ อ งกับ นโยบายของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ผนวกกับ เนื อ้ หาสาระที่ เ ป็ นศาสตร์ ท างวิ ช าชี พ ครู (Pedagogy) อันได้ แก่ การสอนในศตวรรษที่21และการจัดการชันเรี ้ ยน เพื่อให้ ครู ที่เข้ ารับการพัฒนาสามารถนาความรู้ ความเข้ าใจและทักษะที่ได้ จากการอบรมเชิ งปฏิบตั ิการไปออกแบบการจัดการการเรี ยนรู้ ให้ แก่นกั เรี ยน และสามารถ ประยุก ต์ ก ารออกแบบการเรี ย นรู้ ได้ ห ลากหลาย เหมาะสมกับ ความต้ อ งการของนัก เรี ย นในชัน้ เรี ย น ในระดับ ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 1-6 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน


3

10. สาระการพัฒนา หัวข้ อ (Knowledge)

1) ความรู้เบื ้องต้ น เกี่ยวกับความรู้ ความรู้ ความเข้ าใจ การบูรณา การการจัดการเรียน การสอนเชิงรุก (Active Learning) ด้ วยรูปแบบ สะเต็มศึกษา (STEM Education)ตาม แนวทาง Active Learning 2) การถ่ายทอดและ การแลกเปลีย่ น ประสบการณ์การเรี ยน การสอนที่บรู ณาการ ความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้ แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ 3) ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การเรี ยนรู้และฝึ กฝน ทักษะการจัดการเรี ยน การสอนตามแนวทาง ของสะเต็มศึกษา

สาระที่พัฒนา

กิจกรรม

สาระเนือ้ หา (Content)

สาระที่เป็ นศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องการ จัดการเรียนรู้ (Pedagogy) 1)การสอนใน ศตวรรษที2่ 1 (4)การจัดการชัน้ เรี ยน

การสอนเนื ้อหาสาระ เฉพาะ

- บรรยาย (1)วิทยาศาสตร์ - กิจกรรมปฏิบตั ิ รายบุคคล - การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้ - การเรี ยนรู้ร่วมกัน เป็ นกลุม่ ใหญ่

การสอนเนื ้อหาสาระ เฉพาะ

- บรรยาย (1)วิทยาศาสตร์ - กิจกรรมปฏิบตั ิ รายบุคคล - การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้ - การเรี ยนรู้ร่วมกัน เป็ นกลุม่ ใหญ่

1)การสอนใน ศตวรรษที2่ 1 (4)การจัดการชัน้ เรี ยน

การสอนเนื ้อหาสาระ เฉพาะ

บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิ รายกลุม่ - การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้

(3) จิตวิทยาการแนะ แนว/จิตวิทยาการ จัดการเรี ยนรู

(1)วิทยาศาสตร์


4 11. กระบวนการพัฒนาและตารางการจัดกิจกรรมและแผนการจัดกิจกรรม 11.1 ตารางการจัดกิจกรรม วันที่

เวลา

วันที่ 1

9.00-12.00 น.

13.00-16.00 น.

วันที่ 2

9.00-16.00 น.

จานวน เรื่อง/สาระการพัฒนา ชั่วโมง 3 1) ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับความรู้ ความรู้ ความเข้ าใจ การบูรณาการการ จัดการเรี ยนการสอนเชิงรุ ก (Active Learning) ด้ วยรูปแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)ตามแนวทาง Active Learning 3 2) การถ่ายทอดและการแลกเปลีย่ น ประสบการณ์การเรี ยนการสอนที่ บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้ แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ 6

3) ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การเรี ยนรู้และ ฝึ กฝนทักษะการจัดการเรียนการสอน ตามแนวทางของสะเต็มศึกษา

วิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ ายคาตา ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ ดร. วชิร ศรี ค้ มุ ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล อาจารย์กรกนก เลิศคชาภัทร รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ ายคาตา ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ ดร. วชิร ศรี ค้ มุ ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล อาจารย์กรกนก เลิศคชาภัทร รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ ายคาตา ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ ดร. วชิร ศรี ค้ มุ ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล อาจารย์กรกนก เลิศคชาภัทร


5 11.2 แผนการจัดกิจกรรม วันที่ วันที่ 1

วันที่ 2

เวลา

เรื่อง/สาระการพัฒนา

9.00 – 12.00 น.

1) ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับความรู้ ความรู้ ความเข้ าใจ การบูรณาการการจัดการเรียน การสอนเชิงรุก (Active Learning) ด้ วย รูปแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) ตามแนวทาง Active Learning

13.00 – 16.00 น.

2) การถ่ายทอดและการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรียนการสอนทีบ่ รู ณาการ ความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้ แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์

9.00-16.00 น.

3) ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรู้และฝึ กฝน ทักษะการจัดการเรียนการสอนตามแนวทาง ของสะเต็มศึกษา

กิจกรรมการพัฒนา - ทดสอบก่อนเรียน - ชมวิดีทศั น์ - บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ - บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่

- บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิรายกลุม่ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ - ทดสอบหลังเรียน - มอบหมายงาน และนัดหมายการ ติดตามครูที่เข้ ารับการพัฒนา - มอบเกียรติบตั รแก่ผ้ เู ข้ าอบรม

วิทยากร

สื่อ

เครื่องอานวยความสะดวก

รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ าย คาตา ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ ดร. วชิร ศรีค้ มุ ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล อาจารย์กรกนก เลิศคชาภัทร รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ าย คาตา ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ ดร. วชิร ศรีค้ มุ ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล อาจารย์กรกนก เลิศคชาภัทร รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ าย คาตา ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ ดร. วชิร ศรีค้ มุ ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล อาจารย์กรกนก เลิศคชาภัทร

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบ การ บรรยาย 3. วิดีทศั น์ 4. ใบงาน

1.คอมพิวเตอร์ 2. visualizer 3. เครื่องฉาย LCD 4. ไมโครโฟน

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบ การ บรรยาย 4. ใบงาน

1.คอมพิวเตอร์ 2. visualizer 3. เครื่องฉาย LCD 4. ไมโครโฟน

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบ การ บรรยาย 3. ใบงาน

1.คอมพิวเตอร์ 2. visualizer 3. เครื่องฉาย LCD 4. ไมโครโฟน 5. กระดาษ Flip Chart 6. กระดาษ A4 7. ปากกาเมจิก 8. วัสดุ เช่น กรรไกร กาว คัต เตอร์ ฯลฯ


6

12. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่ วมกับครู ใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยการจัดทา Closed Group ใน Facebook รวมไปถึงระบบสือ่ สารออนไลน์รูปแบบอื่นตามความเหมาะสม นิเทศติดตามความก้ าวหน้ าใน การดาเนินงานของครู ผ้ เู ข้ าอบรม เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานของครู ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน และ รับคาแนะนาจากคณะวิทยากรอย่างต่อเนื่อง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพัฒนาครู สูก่ ารยกผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนรู้ของนักเรี ยนต่อไป 13. วิทยากร (ดังเอกสารแนบ) 13.1 วิทยากรหลัก 13.1.1 รองศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ฝ่ ายคาตา 13.1.2 ดร. สุรยศ ทรัพย์ประกอบ 13.2 คณะวิทยากร 13.2.1 ดร. วชิร ศรีค้ มุ 13.2.2 ดร. ศิริพรรณ ศรัทธาผล 13.2.3 อาจารย์ กรกนก เลิศคชาภัทร 14. การกาหนดจานวนครูท่ จี ะเข้ าร่ วมการพัฒนาต่ อกลุ่ม ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร ระดับพื ้นฐาน

จานวนครูต่อกลุ่ม (คน) 150


7

15. วิธีการวัดและประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการประเมิน

เครื่องมือ

เกณฑ์ การประเมิน (ผ่ าน) คะแนนการทดสอบ หลังการอบรมสูงกว่า ก่อนการอบรม

ความสอดคล้ องกับ วัตถุประสงค์ หลักสูตร 1)เพื่อให้ ครูผ้ สู อนมีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับการ จัดการเรียนการสอนตาม แนวทางของสะเต็มศึกษา และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ ในห้ องเรียน ของตนเองได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ

1) ด้ านความรู้ (K)

1. การทดสอบ 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

แบบทดสอบ

2) ด้ านทักษะ (S)

1. การสังเกต 2. การนาเสนอผลงาน

1. แบบบันทึกการสังเกต 2. ผลงาน

ครูที่เข้ ารับการอบรม สามารถนา ประสบการณ์การเรียน การสอนที่เกิดจากการ แลกเปลี่ยนมาบูรณา การเป็ นวิธีการใหม่ได้ 1.แบบตรวจสอบรายการ ครูที่เข้ ารับการพัฒนา 2. ใบเซ็นชื่อเข้ าร่วม ทังหมดเข้ ้ าร่วม อบรม กิจกรรมตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80

2.เพื่อให้ ครูพฒ ั นา กระบวนการหรือผลผลิต ใหม่ ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาทักษะของ นักเรียนเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ 3.เพื่อให้ ครูเป็ นผู้ปลูกฝั ง เจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้ และฝึ กฝนทักษะการ จัดการเรียนการสอนตาม แนวทางของสะเต็มศึกษา ให้ แก่นกั เรียน

3) ด้ านเจตคติ (A)

1.การแจงนับ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

4) ด้ านความพึงพอใจ

การสอบถาม

แบบสอบถาม

ครูที่เข้ ารับการพัฒนา มีความพึงพอใจต่อ การอบรมเชิง ปฏิบตั ิการในภาพรวม อยูใ่ นระดับพอใช้ ขึ ้นไป


8

16. ข้ อมูลประกอบที่สะท้ อนความสาเร็จของหน่ วยพัฒนาครู บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ด ดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นผู้นาองค์กรธุรกิจการด้ าน การศึกษาระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภารกิจหลักขององค์กร คือ การมุ่งพัฒนาการศึกษาไทยให้ เป็ นห้ องเรี ยนรู ปแบบใหม่ ซึ่งครู จะเป็ นผู้สนับสนุนและให้ คาปรึ กษา โดยมีผ้ เู รี ยนเป็ น ศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ผ่านการคิดวิเคราะห์ การทางานร่ วมกัน เพื่อให้ เข้ าถึงแก่นความรู้ อย่างแท้ จริ งและเป็ นการพัฒนาทักษะ การทางานที่สาคัญอีกด้ วย ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เน้ นให้ บริ การด้ านการเรี ยนรู้ และการจัดการ เรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบครบวงจร ด้ วยสือ่ การเรี ยนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้ องการของโรงเรี ยน ครู และผู้เรี ยน ทัว่ ประเทศ สื่อการเรี ยนรู้ เหล่านัน้ ได้ แก่ หนังสือเรี ยน หนังสือห้ องสมุด หนังสือการศึกษา สื่อดิจิทลั ของเล่นเพื่อการศึกษา และสือ่ ที่เน้ นการเรี ยนรู้อย่างเป็ นรูปธรรม รวมไปถึงโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ในแต่ละปี บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) จัดให้ มีกิจกรรมและการอบรมด้ านการศึกษาทัว่ ประเทศกว่า 400 ครัง้ เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ครู ผ้ สู อนมากกว่า 70,000 คน โดยมีเนื ้อหาในการอบรมที่ห ลากหลาย เช่น เทคนิค และวิธีการสอน การสร้ างเครื่ องมือเพื่อการเรี ยนรู้ สาระความรู้ในแต่ละสาขาวิชา และการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี ้ยังจัดทา คู่มือครู ซึ่งประกอบไปด้ วย การสร้ างแรงบันดาลใจ แนวทางการจัดการเรี ยนการสอน เทคนิคการสร้ างคาถามชวนคิด และ แนวทางสร้ างเครื่ องมือช่วยจัดการเรี ยนการสอนมอบให้ กบั ครูผ้ สู อนทัว่ ประเทศมากกว่า 1,000,000 เล่มต่อปี เพื่อให้ ครู ผ้ สู อน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั นักเรี ยนและชันเรี ้ ยนได้ ตามความเหมาะสม ค่ าธรรมเนียมการอบรม 3,800 บาท / ท่าน (ไม่รวมค่าที่พกั และค่าเดินทาง) การชาระค่ าธรรมเนียม กรุ ณาชาระค่าลงทะเบียนในนาม บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ธนาคารกรุ งไทย สาขาถนนข้ าวสาร บัญชี ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 027-0-24448-4 (กรุ ณาแฟกซ์หลักฐานการชาระเงินพร้ อมระบุชื่อ -นามสกุล และรหัสหลักสูตร ของ ท่าน มาที่ คุณติณณภพ 02-622-2999 กด 1691 หรื อ email : admintraining@aksorn.com) หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน กรณีผ้ สู มัครยกเลิกการลงทะเบียน, ไม่เข้ าอบรมตามกาหนดการ หากมีการยกเลิกโครงการโดยคณะผู้จดั งาน จะคืนค่าลงทะเบียนให้ ผ้ สู มัครเต็มจานวน สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมที่ คุณติณณภพ โทรศัพท์ 02-622-2999 ต่อ 1212 ระยะเวลาการรับสมัคร กรุณาติดตามประกาศจากสถาบันคุรุพฒ ั นา (ขอสงวนสิทธิ์ปิดรับสมัคร เมื่อมีผ้ สู มัครครบจานวน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.