1 หลักสูตรพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนาครู 1. ชื่อหลักสูตร:
การสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้ Concept-Based Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจ เชิงลึก (Deeper Understanding) ระดับมัธยมศึกษา
Curriculum Theme:
Using Concept-Based Instruction to Create Deep Understanding in Teaching Secondary Mathematics
2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร (Curriculum Level): หลักสูตรระดับพื ้นฐาน (Basic level) 3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (In charge committees of curriculum): 3.1นายพีระ ปั ตตะวงค์
ประธานกรรมการ
3.2 นางสาวจริ ยาภรณ์ แดงน้ อย
กรรมการ
4. พืน้ ฐานและเงื่อนไขของครูท่ จี ะเข้ าอบรมในหลักสูตร ครูผ้ สู อนคณิตศาสตร์ ระดับชันมั ้ ธยมศึกษา จานวน 150 คน 5. กาหนดคาสาคัญ (Keywords): Concept-Based Instruction, Deep Understanding, Teaching Secondary Mathematics, การสอน คณิตศาสตร์ , คณิตศาสตร์ มธั ยมศึกษา 6. หลักการและที่มาของหลักสูตร (Need Assessments) ปั ญหาที่สาคัญประการหนึ่งของการสอนคณิตศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาคือ การที่เด็กสามารถทาวิธีการและ ขันตอนคิ ้ ดคานวณได้ แต่ไม่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในโจทย์ปัญหาได้ เนื่องจากไม่เข้ าใจในเนื ้อหาอย่างแท้ จริ ง ทาให้ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพผู้เรี ยน ที่สะท้ อนได้ จากคะแนนการทดสอบระดับชาติ ซึ่งสอดคล้ องกับผลการศึกษาร่ วมกับ นานาชาติ (TIMSS 1999, PISA 2000 & 2003) ที่พบว่าผลสัมฤทธิ์ คณิตศาสตร์ ต่ากว่านานาชาติ ทังที ้ ่ทกั ษะทาง คณิตศาสตร์ มีความสาคัญทังในระดั ้ บพื ้นฐานในการดาเนินชีวิต การแก้ ปัญหา การวางแผน และการสร้ างสรรค์สิ่งต่างๆ ในการสอนคณิตศาสตร์ เพื่อจะให้ เกิดการเรี ยนรู้ นนั ้ ควรให้ นกั เรี ยนเกิดมโนคติ (concept) ด้ วยตนเองและนาไปสูข่ ้ อสรุ ป ได้ นอกจากนี ้ครูควรจะต้ องฝึ กนักเรี ยนให้ ร้ ู จกั ใช้ หลักการจากเรื่ องที่เรี ยนจบแล้ วในสถานการณ์ที่องค์ประกอบคล้ ายคลึง กันแต่ซบั ซ้ อนยิ่งขึ ้น (วัชรี : 2554) ดังนันการสอนคณิ ้ ตศาสตร์ เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึก (Deeper Understanding) ครู มีบทบาทสาคัญในการ จัดการเรี ยนการสอน ดังนันวิ ้ ธีการสอนแบบ Concept-based จึงเป็ นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยให้ ครู ออกแบบการเรี ยนรู้ เพื่อนาไป พัฒนาผู้เรี ยนของตนเองให้ สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ สงู สุด
2
จากความสาคัญดังกล่าว บริ ษัท อักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จากัด ในฐานะองค์กรเอกชนที่ผลิตสื่อการเรี ยนรู้ ให้ แก่ ครู และผู้เรี ยน ตระหนักถึงการมีสว่ นร่ วมในการส่งเสริ มและพัฒนาครู ผ้ สู อนให้ มีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรม การเรี ยนรู้ ที่มีประสิทธิภาพให้ แก่ผ้ เู รี ยน จึงได้ จดั ทาโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ หลักสูตร “การสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้ Concept-Based Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึก (Deeper Understanding) ระดับมัธยมศึกษา” เพื่อให้ ครูที่สอน คณิ ตศาสตร์ ในระดับชัน้ มัธยมศึกษา สามารถน าวิธีก ารที่ได้ รับไปประยุกต์ ใ ช้ ในการจัด การเรี ยนการสอนได้ อ ย่างมี ประสิทธิภาพ 7. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 7.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพครูให้ มีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ โดยใช้ Concept-Based Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึกและพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ ปัญหาให้ กับ นักเรี ยนอย่างมีคณ ุ ภาพ 7.2 เพื่อส่งเสริ มครู ให้ มีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ ผ่านการใช้ ConceptBased Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึกและพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ ปัญหา ให้ กบั นักเรี ยนอย่างมีคณ ุ ภาพ 7.3 เพื่อพัฒนาครู ให้ มีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ ยวกับหลักการประเมินความเข้ าใจเชิ งลึกคณิ ตศาสตร์ สาหรั บ นักเรี ยนอย่างมีคณ ุ ภาพ 8. ตัวชีว้ ัดการสาเร็จของการเรียนรู้ของครูตามหลักสูตร 8.1 ครูที่เข้ ารับการพัฒนาต้ องมีเวลาเข้ าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 ของเวลาตามหลักสูตร 8.2 ครูที่เข้ ารับการพัฒนามีคะแนนทดสอบหลังการอบรมของสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนอบรม 8.3. ครูที่เข้ ารับการพัฒนามีความพึงพอใจต่อการอบรมเชิงปฏิบตั ิการในภาพรวมอยูใ่ นระดับพอใช้ ขึ ้นไป 9. กรอบความคิดของหลักสูตร (Curriculum Conceptual Framework) หลักสูตร “การสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้ Concept-Based Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึก (Deeper Understanding) ระดับมัธยมศึกษา” เป็ นนาเนื ้อหาที่เป็ นสาระวิชา (content) ทางด้ านคณิตศาสตร์ ผสานวิธีการสอน แบบ Concept-based เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึกให้ กบั ครู เพื่อให้ ครูนาความรู้ ที่ได้ ไปพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และ ทักษะการแก้ ปัญหาที่สอดคล้ องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการให้ แก่นกั เรี ยน อีกทังยั ้ งประกอบไปด้ วยเนื ้อหาสาระที่ เป็ นศาสตร์ ทางวิชาชีพครู (Pedagogy) อันได้ แก่ การสอนในศตวรรตที่21และการจัดการชันเรี ้ ยน เพื่อส่งเสริ มครู ให้ มี ความสามารถในการออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ให้ แ ก่ นัก เรี ย น และสามารถประยุก ต์ ก ารออกแบบการเรี ย นรู้ ได้ หลากหลาย เหมาะสมกับความต้ องการของนักเรี ยนในชันเรี ้ ยน ในระดับชันมั ้ ธยมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ ปัญหาให้ กบั นักเรี ยนอย่างมีคณ ุ ภาพ
3 10. สาระการพัฒนา หัวข้ อ (Knowledge)
สาระที่พัฒนา
กิจกรรม
สาระเนือ้ หา (Content)
สาระที่เป็ นศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องการ จัดการเรียนรู้ (Pedagogy)
1) ความรู้เบื ้องต้ น
การสอนเนื ้อหาสาระ
- บรรยาย
(2) คณิตศาสตร์
1)การสอนใน
เกี่ยวกับองค์ความรู้
เฉพาะ
- กิจกรรมปฏิบตั ิ
ศตวรรษที2่ 1
เกี่ยวกับการจัดการ
รายบุคคล
(4)การจัดการชัน้
เรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ โดย
- การแลกเปลีย่ น
เรี ยน
ใช้ Concept-Based
เรี ยนรู้
Instruction เพื่อสร้ าง
- การเรียนรู้ร่วมกัน
ความเข้ าใจเชิงลึก
เป็ นกลุม่ ใหญ่
2) การออกแบบ
การสอนเนื ้อหาสาระ
- บรรยาย
(2) คณิตศาสตร์
1)การสอนใน
กิจกรรมการเรียนรู้
เฉพาะ
- กิจกรรมปฏิบตั ิ
ศตวรรษที2่ 1
คณิตศาสตร์ ผา่ นการใช้
รายบุคคล
(4)การจัดการชัน้
Concept-Based
- การแลกเปลีย่ น
เรี ยน
Instruction เพื่อสร้ าง
เรี ยนรู้
ความเข้ าใจเชิงลึกและ
- การเรียนรู้ร่วมกัน
พัฒนาทักษะการคิด
เป็ นกลุม่ ใหญ่
วิเคราะห์และ ทักษะการแก้ ปัญหา ให้ กบั นักเรี ยนอย่างมี คุณภาพ 3) ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การสอนเนื ้อหาสาระ
- บรรยาย
การเรี ยนรู้และฝึ กฝน
- กิจกรรมปฏิบตั ิ
แนว/จิตวิทยาการ
ทักษะจัดการเรี ยนการ
รายกลุม่
จัดการเรี ยนรู้
สอนคณิตศาสตร์ โดย
- การแลกเปลีย่ น
(8) การใช้ สอื่ และ
ใช้ Concept-Based
เรี ยนรู้
เทคโนโลยีในการ
Instruction
เฉพาะ
(2) คณิตศาสตร์
(3) จิตวิทยาการแนะ
จัดการเรี ยนรู้
4 11. กระบวนการพัฒนาและตารางการจัดกิจกรรมและแผนการจัดกิจกรรม 11.1 ตารางการจัดกิจกรรม วันที่
เวลา
จานวน เรื่อง/สาระการพัฒนา ชั่วโมง
วันที่ 1
9.00-12.00 น.
3
1) ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับองค์ความรู้
13.00-16.00 น.
3
2) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
วิทยากร
อาจารย์วีณา เนาวประทีป เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต อาจารย์พิริยา ขวัญพร้ อม โดยใช้ Concept-Based อาจารย์จนั ทร์ ฉาย คุมพล Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิง อาจารย์ณฎั ฐ์ อิทธิยาทร ลึก คณิตศาสตร์ ผา่ นการใช้ Concept-Based Instruction เพื่อ สร้ างความเข้ าใจเชิงลึกและพัฒนา ทักษะการคิดวิเคราะห์และ
อาจารย์วีณา เนาวประทีป อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต อาจารย์พิริยา ขวัญพร้ อม อาจารย์จนั ทร์ ฉาย คุมพล อาจารย์ณฎั ฐ์ อิทธิยาทร
ทักษะการแก้ ปัญหาให้ กบั นักเรี ยน อย่างมีคณ ุ ภาพ วันที่ 2
9.00-16.00 น.
6
3)ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การเรี ยนรู้และ ฝึ กฝนทักษะจัดการเรี ยนการสอน คณิตศาสตร์ โดยใช้ Concept-Based Instruction
อาจารย์วีณา เนาวประทีป อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต อาจารย์พิริยา ขวัญพร้ อม อาจารย์จนั ทร์ ฉาย คุมพล อาจารย์ณฎั ฐ์ อิทธิยาทร
5 11.2 แผนการจัดกิจกรรม วันที่
เวลา
เรื่อง/สาระการพัฒนา
กิจกรรมการพัฒนา
วิทยากร
สื่อ
เครื่องอานวยความสะดวก
วันที่ 1
9.00 – 12.00 น.
1) ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับองค์ความรู้
- ทดสอบก่อนเรียน
1. PowerPoint Slides
1.คอมพิวเตอร์
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์โดยใช้
- ชมวิดีทศั น์
Concept-Based
- บรรยาย
Instruction เพื่อสร้ างความเข้ าใจเชิงลึก
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล
อาจารย์วีณา เนาวประทีป อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต อาจารย์พิริยา ขวัญพร้ อม อาจารย์จนั ทร์ฉาย คุมพล อาจารย์ณฎั ฐ์ อิทธิยาทร
อาจารย์วีณา เนาวประทีป อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต อาจารย์พิริยา ขวัญพร้ อม อาจารย์จนั ทร์ฉาย คุมพล อาจารย์ณฎั ฐ์ อิทธิยาทร
1. PowerPoint Slides
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. เอกสารประกอบ การ 2. visualizer บรรยาย
3. เครื่องฉาย LCD
3. วิดีทศั น์
4. ไมโครโฟน
4. ใบงาน
- การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ 13.00 – 16.00 น.
2) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
- บรรยาย
คณิตศาสตร์ผ่านการใช้
- สาธิตวิธีการออกแบบกิจกรรมการ
Concept-Based Instruction เพื่อสร้ างความ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ผา่ นการใช้
เข้ าใจเชิงลึกและพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ Concept-Based Instruction
1.คอมพิวเตอร์
2. เอกสารประกอบ การ 2. visualizer บรรยาย
3. เครื่องฉาย LCD
3.ตัวอย่างกิจกรรมการ
4. ไมโครโฟน
และ
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ผา่ น
ทักษะการแก้ ปัญหาให้ กบั นักเรียนอย่างมี
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้
คุณภาพ
- การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่
Concept-Based Instruction
วันที่ 2
9.00-16.00 น.
3)ปลูกฝั งเจตคติทดี่ ีตอ่ การเรียนรู้และฝึ กฝน
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายกลุม่
ทักษะจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Concept-Based Instruction
- การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ - นาเสนอสื่อ/วิธีการสอน - ทดสอบหลังเรียน
อาจารย์วีณา เนาวประทีป อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต อาจารย์พิริยา ขวัญพร้ อม อาจารย์จนั ทร์ฉาย คุมพล อาจารย์ณฎั ฐ์ อิทธิยาทร
1. PowerPoint Slides
1.คอมพิวเตอร์
2. เอกสารประกอบ การ 2. เครื่องฉาย LCD บรรยาย
3. ไมโครโฟน
3. ใบงาน
4. กระดาษ Flip Chart 5. กระดาษ A4
- มอบหมายงาน และนัดหมายการ
6. ปากกาเมจิก
ติดตามครูที่เข้ ารับการพัฒนา
7. วัสดุ กรรไกร กาว คัตเตอร์
- มอบเกียรติบตั รแก่ผ้ เู ข้ าอบรม
ฯลฯ
6 12. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่ วมกับครู ใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยการจัดทา Closed Group ใน Facebook รวมไปถึงระบบสือ่ สารออนไลน์รูปแบบอื่นตามความเหมาะสม นิเทศติดตามความก้ าวหน้ าใน การดาเนินงานของครู ผ้ เู ข้ าอบรม เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานของครู ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน และ รับคาแนะนาจากคณะวิทยากรอย่างต่อเนื่อง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพัฒนาครู สูก่ ารยกผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนรู้ของนักเรี ยนต่อไป 13. วิทยากร (ดังเอกสารแนบ) 13.1 วิทยากรหลัก 13.1.1 อาจารย์วีณา เนาวป์ระทีป 13.1.2 อาจารย์ยทุ ธคม ภมรสุพรวิชิต 13.2 คณะวิทยากร 13.2.1 อาจารย์ ณัฏฐ์ อิทธยาธร 13.2.2 อาจารย์ พิริยา ขวัญพร้ อม 13.2.3 อาจารย์ จันทร์ ฉาย คุมพล 14. การกาหนดจานวนครูท่ จี ะเข้ าร่ วมการพัฒนาต่ อกลุ่ม ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร จานวนครูต่อกลุ่ม (คน) ระดับพื ้นฐาน
150
7 15. วิธีการวัดและประเมินผล รายการประเมิน
วิธีการประเมิน
เครื่องมือ
เกณฑ์ การประเมิน (ผ่ าน)
ความสอดคล้ องกับ วัตถุประสงค์ หลักสูตร
1) ด้ านความรู้ (K)
1. การทดสอบ
แบบทดสอบ
คะแนนการทดสอบ
1)เพื่อให้ ครูผ้ เู ข้ ารับการอบรม
หลังการอบรมสูงกว่า
เข้ าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้
ก่อนการอบรม
เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โดยใช้ “Concept-Based Instruction” เพื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม เข้ าใจเชิงลึก 2) ด้ านทักษะ (S)
3) ด้ านเจตคติ (A)
1. การสังเกต
1. แบบบันทึกการสังเกต
ครูสามารถการอกแบบ 2)เพื่อให้ ครูสามารถการอก
2. การนาเสนอผลงาน
2. ผลงาน
กิจกรร มเกี่ยวกับการ
แบบกิจกรรมเกี่ยวกับการ
พัฒนาทักษะการคิด
พัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ และทักษ ะ
วิเคราะห์และทักษะการ
การแก้ ปัญหาที่
แก้ ปัญหาที่สอดคล้ องกับ
สอดคล้ องกับ
Concept-Based Instruction”
Concept-Based
เพื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม เข้ าใจเชิง
Instruction”ได้
ลึก
1.การแจงนับ
1.แบบตรวจสอบรายการ ครูที่เข้ ารับการพัฒนา
3.เพื่อให้ ครูเป็ นผู้ปลูกฝั งเจต
2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. ใบเซ็นชื่อเข้ าร่วม
ทังหมดเข้ ้ าร่วม
คติที่ดีตอ่ การเรียนรู้และฝึ กฝน
อบรม
กิจกรรมตามหลักสูตร
ทักษะการจัดการการเรียนการ
ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80
สอนคณิตศาสตร์ โดยใช้ “Concept-Based Instruction” เพื่ อ สร้ างความ เข้ าใจเชิงลึก ให้ แก่นกั เรียน
4) ด้ านความพึงพอใจ
การสอบถาม
แบบสอบถาม
ครูที่เข้ ารับการพัฒนา มีความพึงพอใจต่อ การอบรมเชิง ปฏิบตั ิการในภาพรวม อยูใ่ นระดับพอใช้ ขึ ้นไป
8 16. ข้ อมูลประกอบที่สะท้ อนความสาเร็จของหน่ วยพัฒนาครู บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นผู้นาองค์กรธุรกิจการด้ าน การศึกษาระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภารกิจหลักขององค์กร คือ การมุง่ พัฒนาการศึกษาไทยให้ เป็ นห้ องเรี ยนรูปแบบใหม่ ซึง่ ครูจะเป็ นผู้สนับสนุนและให้ คาปรึกษา โดยมีผ้ เู รี ยนเป็ น ศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ผ่านการคิดวิเคราะห์ การทางานร่วมกัน เพื่อให้ เข้ าถึงแก่นความรู้อย่างแท้ จริงและเป็ นการพัฒนาทักษะ การทางานที่สาคัญอีกด้ วย ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เน้ นให้ บริ การด้ านการเรี ยนรู้และการจัดการ เรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบครบวงจร ด้ วยสือ่ การเรี ยนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้ องการของโรงเรียน ครู และผู้เรี ยน ทัว่ ประเทศ สือ่ การเรี ยนรู้เหล่านัน้ ได้ แก่ หนังสือเรี ยน หนังสือห้ องสมุด หนังสือการศึกษา สือ่ ดิจิทลั ของเล่นเพื่อการศึกษา และสือ่ ที่เน้ นการเรี ยนรู้อย่างเป็ นรูปธรรม รวมไปถึงโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ในแต่ละปี บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) จัดให้ มีกิจกรรมและการอบรมด้ านการศึกษาทัว่ ประเทศกว่า 400 ครัง้ เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ครูผ้ สู อนมากกว่า 70,000 คน โดยมีเนื ้อหาในการอบรมทีห่ ลากหลาย เช่น เทคนิค และวิธีการสอน การสร้ างเครื่ องมือเพื่อการเรี ยนรู้ สาระความรู้ในแต่ละสาขาวิชา และการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี ้ยังจัดทา คูม่ ือครู ซึง่ ประกอบไปด้ วย การสร้ างแรงบันดาลใจ แนวทางการจัดการเรี ยนการสอน เทคนิคการสร้ างคาถามชวนคิด และ แนวทางสร้ างเครื่ องมือช่วยจัดการเรี ยนการสอนมอบให้ กบั ครูผ้ สู อนทัว่ ประเทศมากกว่า 1,000,000 เล่มต่อปี เพื่อให้ ครูผ้ สู อน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั นักเรี ยนและชันเรี ้ ยนได้ ตามความเหมาะสม ค่ าธรรมเนียมการอบรม 3,800 บาท / ท่าน (ไม่รวมค่าที่พกั และค่าเดินทาง) การชาระค่ าธรรมเนียม กรุณาชาระค่าลงทะเบียนในนาม บริษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ธนาคารกรุ งไทย สาขาถนนข้ าวสาร บัญชี ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 027-0-24448-4 (กรุณาแฟกซ์หลักฐานการชาระเงินพร้ อมระบุชื่อ-นามสกุล และรหัสหลักสูตร ของ ท่าน มาที่ คุณติณณภพ 02-622-2999 กด 1691 หรื อ email : admintraining@aksorn.com) หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน กรณีผ้ สู มัครยกเลิกการลงทะเบียน, ไม่เข้ าอบรมตามกาหนดการ หากมีการ ยกเลิกโครงการโดยคณะผู้จดั งาน จะคืนค่าลงทะเบียนให้ ผ้ สู มัครเต็มจานวน สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมที่ คุณติณณภพ โทรศัพท์ 02-622-2999 ต่อ 1212 ระยะเวลาการรับสมัคร กรุณาติดตามประกาศจากสถาบันคุรุพฒ ั นา (ขอสงวนสิทธิ์ปิดรับสมัคร เมื่อมีผ้ สู มัครครบจานวน)