MDIC MAGAZINE

Page 1

MDIC MAGAZINE

ประว ัติ สาขา หล ักสู ตร อาจารย์ประจ�ำสาขา Special Talk

ISSUE

01 DECEMBER

2016


EDITOR’S TALK หากพูดถึงเรื่องของการออกแบบ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คงจะ นึกถึงคณะศิลปกรรมศาสตร์ แต่ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์แห่งนี้ ไม่ได้มีเพียงแค่คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ เรายังมีสาขานวัตกรรมการออกแบบและสร้างสรร์สื่อ สำ�หรับบางคนอาจยัง ไม่คุ้นหูกับสาขานี้ เราจึงนำ�เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับสาขาของเรา ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการเรียน อาจารย์ประจำ�สาขา หรือแม้กระทั่งประวัติความเป็นมาของสาขา ว่ามีความเป็นมาอย่างไร ใน ส่วนของนิตยสารเล่มนี้ ไม่เพียงแค่มีเนื้อหาเกี่ยวกับด้านการเรียน แต่เรายังมีบทสัมภาษณ์บุคคล สำ�คัญคนหนึง่ ของสาขาเรา ทีไ่ ด้สร้างผลงานโดดเด่นไว้ให้สาขาของเรา พวกเรานักศึกษานวัตกรรม การออกแบบและสร้างสรรค์สอื่ พร้อมทีจ่ ะนำ�เสนอข้อความผ่านตัวอักษรและรูปภาพให้ทกุ คนได้ ชมในนิตยสารเล่มนี้

// Five Team


04 05 06 08

ประว ัติ สาขา หล ักสู ตร อาจารย์ ประจ�ำสาขา Special Talk


ประว ัติ สาขา

4 | MDIC MAGAZINE

ในช่วงปี 2548 คณะวิทยาการสือ่ สารได้เปิดหลักสูตร วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขานวัตกรรม การออกแบบสื่อและผลิตสื่อ Bachelor of Science Program in Media Design and Production Innovations ต่อมาในปี 2553 ทางสาขานวัตกรรมได้ท�ำการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร จาก หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต เป็นหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิตสาขานวัตกรรมการออกแบบและ สร้างสรรค์สื่อ Bachelor of Arts Program in Media Design Innovation and Creation เพื่อให้สอดคล้องกับทางสาขาวิชาเนื้อหาที่เรียน และเพื่อให้ง่ายต่อการที่จะรับนักศึกษาเข้ามา โดยหลักสูตรที่ปรับปรุงจะเน้นให้บัณฑิตสาขานวัตกรรมการออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ เป็นผู้ที่ สามารถถ่ายทอดความคิดทักษะทางศิลปะในการออกแบบผลิตสื่อสร้างสรรค์โดยใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่สามารถสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น การเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็วของโลกและเทคโนโลยีในปัจจุบนั ท�ำให้การศึกษาไทยมี การเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย หลักสูตรนวัตกรรมจึงมีการปรับปรุงทุกๆ 5 ปี และในปี 2558 ได้มี การปรับปรุงหลักสูตรใหม่เช่นเดียวกัน โดยหลักสูตรนวัตกรรมในปี 2558 จะเน้นให้บัณฑิตสาขา นวัตกรรมการออกแบบและสร้างสรรค์ส่ือเป็นผู้ที่สามารถ่ายทอดความคิดและทักษะทางศิลปะ ในการออกแบบและผลิตสื่อสร้างสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถสื่อสารกลุ่มเป้า หมายได้อย่างชัดเจนและสามารถน�ำมาประยุกต์งานอัตลักษณ์ทอ้ งถิน่ สูง่ านออกแบบสากลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ


1.หล ักสู ตรเดิ ม

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชานวัตกรรม การออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Media Design and Production Innovations ชื่อปริญญา ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (นวัตกรรมการ ออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ) ภาษาไทย (ชื่อย่อ) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (นวัตกรรมการ ออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ) วท.บ. (นวัตกรรมการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Bachelor of Science (Media Design and Production Innovations) ภาษาอังกฤษ (ชื่อย่อ) : B.Sc. (Media Design and Production Innovations)

หล ัก สู ตร 3.หล ักสู ตรปร ับปรุง 2558

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปะศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชานวัตกรรม การออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Media Design Innovation and Creation ชื่อปริญญา ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : ศิลปะศาสตร์บัณฑิต (นวัตกรรมการ ออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ) ภาษาไทย (ชื่อย่อ) : ศศ.บ. (นวัตกรรมการออกแบบและ สร้างสรรค์สื่อ) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Bachelor of Arts (Media Design Innovation and Creation) ภาษาอังกฤษ (ชื่อย่อ) : B.A. (Media Design Innovation and Creation)

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปะศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชานวัตกรรม การออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Media Design Innovation and Creation ชื่อปริญญา ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : ศิลปะศาสตร์บัณฑิต (นวัตกรรมการ ออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ) ภาษาไทย (ชื่อย่อ) : ​ศศ.บ. (นวัตกรรมการออกแบบและ สร้างสรรค์สื่อ) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Bachelor of Arts (Media Design Innovation and Creation) ภาษาอังกฤษ (ชื่อย่อ) : B.A. (Media Design Innovation and Creation)

MDIC MAGAZINE | 5

2.หล ักสู ตรปร ับปรุง 2553


อาจารย์ ประจ�ำสาขา อาจารย์ บ ัดรูดิง ขาลี ปริญญาโท ศิลปมหาบัณฑิต (คอมพิวเตอร์อาร์ต) มหาวิทยาลัยรังสิต ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต (นวัตกรรมการออกแบบสื่อและการ ผลิต) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

6 | MDIC MAGAZINE

ดร. ก� ำธร เกิดทิพย์ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ศิลปะการออกแบบ) มหาวิทยาลัย ศิลปากร ปริญญาโท ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) สถาบัน ราชภัฏสงขลา


อาจารย์ ชนกิตติ ์ ธนะสุ ข ปริญญาโท

ศป.ม. นวัตกรรมการออกแบบ มหาวิทยาลัยศรีนคริทร วิโรฒ

ปริญญาตรี

ศึกษาศาสตร์บัณฑิต ศูนย์กลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

ผศ. สิ ทธิกร เทพสุ วรรณ ปริญญาโท

ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังท่าพระ

ปริญญาตรี

ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต วังท่าพระ

อาจารย์ เกวภร ส ังขมาศ ปริญญาโท

ศิลปมหาบัณฑิต (ทฤษฎีศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปริญญาตรี

MDIC MAGAZINE | 7

ศิลปบัณฑิต (คอมพิวเตอร์อาร์ต) มหาวิทยาลัยรังสิต


Special Talk

8 | MDIC MAGAZINE

วันนี้เราจะมาพบกับบทสัมภาษณ์สุดพิเศษจากหนึ่งในผู้ จัดท�ำโครงการแหกคุกโปรเจค มาท�ำความรู้จักกับเขาคน นี้กันเลย ชื่อ นครา ยะโกะ เกิดวันที่ 12/12/2537 อายุ 22 ปี อยู่บ้าน เลขที่ 91 หมู่ 3 ต.บาเจาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส 96170 อยู่ กับครอบครัว 4 คน คือ พ่อ แม่ ผมเป็นพี่คนโตและน้องสาว ปัจจุบันเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขานวัตกรรมการออกแบบ และสร้างสรรค์สอื่ คณะวิทยาการสือ่ สาร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

รู ้สึ กอย่ างไรบ ้างก ับการที่ ได ้เป็นประธาน โปรเจค

รู้สึกดีใจและตื่นเต้น เพราะรู้สึกว่าโครงการนี้เป็นโครงการที่ ใหญ่และท้าทาย อีกทั้งยังเป็นการหาค�ำตอบให้กับตัวเองว่า เราชอบท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์หรือเปล่า ซึ่งโครงการนี้ท�ำให้ เราได้ลงมือท�ำ ซึ่งผมเชื่อว่า การลงมือท�ำ คือวิธีที่ดีที่สุด ที่ จะตอบเราว่าเราชอบสิ่งนั้นหรือเปล่า ตลอดระยะเวลา 3 เดือนกว่าๆ เป็นช่วงเวลาที่รู้ว่าได้พบกับหลายเหตุการณ์ ทั้ง สนุก ความสุข ร้องไห้ กดดัน อดหลับอดนอน ท้อแท้ และที่ ส�ำคัญ รู้สึกได้สัมผัสถึงมิตรภาพระหว่างเพื่อนๆ ในกลุ่ม ใน รุ่น และในสาขาซึ่งช่วงเวลาแบบนี้ไม่ได้หาง่ายๆ ในชีวิตของ เรา ผมยังจ�ำบรรยากาศช่วงจบงานได้ดี ช่วงนีท้ กุ คนมานัง่ กิน ข้าวร่วมกัน ใบหน้าของ เพื่อนๆ ทุกคนดูมีความสุขมาก ซึ่ง เป็นภาพที่สวยงามมากครับ


ที่ มาของชื่อโปรเจค “แหกคุ ก”

กระบวนการท�ำงานเป็นอย่ างไรบ ้าง

เราหยิบค�ำว่า แหกคุก มาสื่อสาร เพื่อสร้างนัยยะในแง่ของ การแหกกฎเกณฑ์ แหกกรอบ แหกความคิด แหกค่านิยม ความเชื่อบางอย่าง ที่สังคมได้วางเอาไว้ เพื่อเป็นการตั้ง ค�ำถามว่า สิ่งที่เรา เห็น เป็นอยู่ หรือเกิดขึ้นนั้น มันดีหรือ เปล่า ซึ่งในงานแต่ละกลุ่มก็พยายามน�ำเสนอคุกในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อให้คนดูได้เห็น แล้วหันมาตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า ก�ำลังจมอยู่หรือติดอยู่ในคุกของอะไรบ้าง แล้วควรจะแหก มันดีไหม หรือว่าการอยู่ในคุกนั้นมันดีอยู่แล้ว

กระบวนการท�ำงานของโครงการนี้ จะแบ่งออกแป็นสองส่วน ที่ต้องท�ำงานคู่ขนานกัน คือ งานกลุ่มใหญ่และงานกลุ่มย่อย งานกลุ่มใหญ่คือ ทุกคนทั้ง 46 คนจะมาท�ำงานรวมกัน ทุก คนจะมีฝ่ายเป็นของตัวเอง เพื่อขับเคลื่อนธีมงานใหญ่ ส่วน งานกลุ่มย่อย จะแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ 5-6 คน ซึ่งงานกลุ่ม ย่อย แต่ละกลุ่มก็จะสร้างสรรค์ผลงานขึ้นมา จากนั้นก็น�ำชิ้น งานมารวบรวม แล้วมาจัดแสดงพร้อมกัน ภายใต้ธีม “แหก คุก โปรเจค” ้ ความรู ้สึ กที่ ได ้จ ัดโครงการนี ขึ้ นมา

ผมรู้สึกว่า โครงการนี้เป็นโครงการที่เปรียบเสมือนพื้นที่ให้ วัยรุ่นอย่างเรา มาปลดปล่อยพลังที่ซ่อนอยู่ภายในตัว เป็น โครงการที่พยายามจะสื่อให้สังคมเห็นว่า พลังของเยาวชน นัน้ มีคา่ มากแค่ไหนต่อสังคม ยิง่ เราซึง่ ถือว่าเป็นเด็กชายขอบ โครงการนี้เป็นการประกาศว่า เด็กที่นี่ก็มีความสามารถไม่ ต่างจากเด็กที่อื่น ซึ่งน่าสนใจมากครับ

“การลงมือท�ำ

คื อ วิ ธี ท่ี ดี ที่ สุ ด ที่ จะตอบเราว่า เราชอบสิ่ งน น ั้ หรือเปล่ า” MDIC MAGAZINE | 9


It’s very easy to be different but very difficult to be better Jonathan Ive




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.