1
ด.ญ.น
ุศรา
การเดินทางของนุชยาวนานเหลือเกิน ความทรงจำแรกครัง้ ลืมตา ดู โ ลกคื อ ครอบครั ว ที่ อ บอุ่ น มี พ่ อ แม่ พี่ ส าว และพี่ ช าย เราเป็ น ครอบครัวขนาดเล็กที่แสนน่ารัก อาศัยอยู่ที่อำเภอบ้านโป่ง จังหวัด ราชบุ รี เริ่ ม ต้ น แบบนี้ ก็ ค งเข้ า อี ห รอบเรื่ อ งราวเด็ ก สาวต่ า งจั ง หวั ด ธรรมดาๆ ที่มีชีวิตครอบครัวปกติสุขสมถะทั่วไป ไม่ได้มีสิ่งพิเศษใด พอให้สนใจนัก แต่กอ็ ย่างทีค่ ณ ุ ผูอ้ า่ นพอจะทราบนัน่ แหละค่ะ จุดเริม่ ต้น ธรรมดาแบบนี้นี่เองที่นำพาและผสมผสานเรื่องราวหลากหลายรายทาง จนนำนุชก้าวขึ้นมาสู่จุดที่กำลังยืนอยู่ในปัจจุบัน
มือเซตอันดับหนึ่งของโลก
7
คุณพ่อของนุชมีอาชีพเป็นช่างยนต์ที่โรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง ใน ขณะที่คุณแม่ก็เป็นแม่บ้าน ทั้งสองท่านไม่มีต้นทุนทางสังคมมากมาย อะไร เป็นเพียงคูส่ ามีภรรยาฐานะปานกลาง พอมีกนิ มีใช้ปกติ ไม่อตั คัด แต่ทา่ นกลับสามารถดูแลลูกๆ ทงั้ สามคนให้กนิ อิม่ นอนหลับ มีความสุข ได้อย่างเต็มที ่ ทุกเช้าพ่ออาบน้ำแต่งตัวเตรียมออกไปทำงานในเวลาเดิมๆ ขณะที่แม่ก็จะกุลีกุจอสรรหาอาหารให้ลูกๆ กินก่อนไปโรงเรียน แม่เป็น คนตื่นเช้าที่สุดของบ้าน ทุกสิ่งอย่างจะถูกตระเตรียมไว้ให้เราสามพี่น้อง รวมถึงพ่อ หลังกินข้าวเช้าเรียบร้อยก็แยกย้ายกันไปทำหน้าที่ของตัวเอง พ่อไปทำงาน แม่จัดการงานบ้าน ลูกๆ ไปโรงเรียน เป็นแบบนี้ทุกวัน เมือ่ พ่อควบมอเตอร์ไซค์ประจำตัวออกไปก็ถงึ ตาพวกเราสามพีน่ อ้ ง บ้าง ต่างกันตรงที่พ่อมีมอเตอร์ไซค์ แต่พวกเรามีจักรยาน อาจมีบ้าง บางวันทีพ่ อ่ จะไปส่งถึงประตูโรงเรียนแล้วจึงค่อยไปทำงาน วัดบ้านฆ้องน้อย
ของเราพีน่ อ้ งอยูไ่ ม่ไกลเลย ถ้ามากับพ่อก็บดิ แฮนด์มอเตอร์ไซค์แป๊บเดียว แต่หากขีจ่ กั รยานกันมาเองก็ออกแรงปัน่ ๆ ถบี ๆ มากกว่าหน่อย เดีย๋ วเดียว ก็ถึง ถึงปั๊บนุชก็วิ่งเล่นเฮโลตามประสาเด็กในวัยที่ยังไม่ต้องคิดอะไร มากมาย พี่สาวและพี่ชายก็แยกย้ายไปยังห้องเรียนของพวกเขา จริง อยูว่ า่ อายุของเราทัง้ สามคนอาจจะห่างกันพอสมควรทีเดียว (นุศห่างจาก พี่สาว ๖ ปี และห่างจากพี่ชาย ๓ ปี) แต่เราก็ยังเรียนทันรุ่นกันอยู่ค่ะ โรงเรียนวัดบ้านฆ้องน้อยเปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนจบมัธยม นู่นเลย จะว่าพวกเราพี่น้องครองโรงเรียนก็ได้นะคะตอนนั้น เวลานุช มีปัญหากับเด็กผู้ชายก็วิ่งไปหาพี่สาวกับพี่ชายนี่แหละค่ะ ง่ายดี ไม่มี ใครกล้ายุ่งกับเราเลย (ฮา) โรงเรียนวัดบ้านฆ้องน้อยเป็นเหมือนโรงเรียนชนบททัว่ ไปตามแบบ ที่เรานึกถึง เป็นภาพแรกในหัวเมื่อพูดถึงโรงเรียนตามต่างจังหวัดเลยค่ะ อธิบายให้เห็นภาพชัดคือจะมีเสาธงตั้งตรงกลางหน้าอาคารเรียนหลัก เห็นเด่นชัด ขนาบด้วยอาคารเรียนรองซ้ายขวาด้านละหนึง่ หลัง รวมเป็น สามหลัง ซึ่งทั้งสามหลังก็เป็นเพียงอาคารปูนชั้นเดียวยกพื้นสูงธรรมดา มี ส นามหญ้ า ที่ ข าดแคลนหญ้ า ไปสั ก หน่ อ ยอยู่ ต รงกลาง บวกกั บ ลานปู น กิ จ กรรมเล็ ก ๆ ไว้ ส ำหรั บ เล่ น บาสเกตบอล วอลเลย์ บ อลอี ก หนึ่งแห่ง นุชเข้าเรียนที่นี่ตั้งแต่อนุบาล ชีวิตในโรงเรียนของเด็กหญิง นุศรา ต้อมคำ วัย ๔ - ๖ ขวบ ก็ไม่มีอะไรมากไปกว่าการทำหน้าที่ของ ตนเองอย่ า งเต็ ม ที่ นั่ น คื อ การเรี ย น เห็ น อย่ า งนี้ ก็ เ ถอะ นุ ช ไม่ เ คย สอบได้ อั น ดั บ ต่ ำ กว่ า ที่ ๓ เลยนะคะ อาจด้ ว ยความที่ ชี วิ ต ในวั ย นั้ น ไม่ต้องคิดอะไรมากมายด้วยมั้ง บวกกับไม่มีสิ่งยั่วยุหรือสิ่งน่าสนใจ อื่นใดมากกว่าการเรียน เลยทำให้นุชโฟกัสไปแค่การทำผลการเรียน ออกมาให้ดีที่สุด ให้สมกับที่พ่อแม่เหนื่อยยากกว่าจะมีเงินส่งเสียมาให้ เรียนหนังสือ นอกเหนือไปจากเวลาเรียนแล้วก็เป็นเรื่องการเล่นนี่แหละ
8
9
ค่ะที่นุชทำได้ดี สมัยนั้นก็เล่นทุกอย่างที่เด็กผู้หญิงเล่นกัน โดดหนังยาง จับเส้นไปตามเรื่อง ชีวิตในช่วงนั้นเรียกว่ามีความสุขสุดๆ มีพ่อแม่ใจดี อยู่ที่บ้าน มีพี่สาวพี่ชายดูแลที่โรงเรียน และยังมีเพื่อนเล่นกลุ่มเดียวกัน ที่ รั ก กั น มากและยั ง คุ ย กั น มาจนถึ ง ทุ ก วั น นี้ อี ก ด้ ว ย เรี ย กได้ ว่ า เป็ น ช่วงเวลาที่นุชมองย้อนกลับไปเมื่อไหร่ก็ยิ้มได้ทุกทีเลย ละค่ะ โดยปกติแล้วเด็กอนุบาลจะเป็นระดับชั้น ที่เลิกเรียนและได้กลับบ้านเร็วที่สุดคือตั้งแต่ เวลาราวๆ บ่ายสองโมงครึ่งก็สามารถ กลับบ้านได้แล้วหากผู้ปกครองมารับ แต่สำหรับนุชในตอนนัน้ ขึน้ อยูก่ บั พ่ อ พี่ ส าว และพี่ ช ายเป็ น หลักค่ะ พี่สาวและพี่ชาย เป็นนักกีฬาทั้งคู่ พี่สาว เล่นวอลเลย์บอล ในขณะ ทีพ่ ชี่ ายเล่นฟุตบอล ด้วย ความที่ ยั ง เด็ ก มากทำให้ นุ ช ต้ อ ง รอใครคนใดคนหนึง่ หรือทัง้ สองคน ซ้อมกีฬาเสร็จก่อนจึงจะสามารถ กลั บ บ้ า นได้ แต่ ห ากยั ง ไม่ มี วี่แววว่าจะใกล้ก็จะเป็นพ่อที่ มารับ สถานที่ ร อประจำ คือข้างสนามวอลเลย์บอล ของพี่สาวนั่นเอง...
่ ค แ ป ไ ส ั น ก ย ี ฟ ร โ เ ช ุ ร น า “ ำผลก ท ร า ก าให้ดีที่สยุดยาก ม ื่อ น ก ห เ ่ อ ม อ ่อแ ี่พ ท บ ั ก ให้สม ีเงินส่งเสีย ม ะ ” จ อ ื า ่ ส ว ง ั ก น ห น ย ี ร เ ้ ห ใ า ม
10
วันหยุดจะเป็นช่วงเวลาที่นุชชอบมากเพราะได้ ขี่จักรยานเล่นกับแก๊งเพื่อนๆ ลูกพี่ลูกน้องแถวบ้าน แก๊งจักรยานของเราเป็นแก๊งใหญ่ มีเด็กรุ่นราวคราว เดียวกันอยู่เยอะ จริงๆ กล็ กู ลุง ลูกอา ลูกป้าด้วยกัน ทัง้ นัน้ รวมๆ กนั ก็มรี าวสิบกว่าคนเลยทีเดียว เครือญาติ เราจะปลูกบ้านติดกันสี่หลัง เมื่อวันหยุดมาถึง ลูกๆ ของแต่ละบ้านก็เอาแล้ว ตัง้ ท่าควบจักรยานประจำตัว มารวมกันตรงลานกิจกรรม เล่นกันตั้งแต่เช้ายันค่ำ เล่ น จนพ่ อ แม่ ต้ อ งมาตามให้ เ ข้ า บ้ า น สนุ ก ดี ชี วิ ต มี อ ะไรให้ ท ำเยอะ นุ ช ยั ง จำสี ห น้ า แววตา เสี ย ง หัวเราะ และรอยยิ้มแห่งความสนุกของการเป็นเด็กที่ เล่นซนตามประสาได้ไม่มลี มื ไม่ตอ้ งนึกอะไร ไม่ตอ้ ง คิดอะไร รู้ว่าสบายใจก็พอ พี่ ส าวและพี่ ช ายมั ก ไม่ ค่ อ ยได้ ม าร่ ว มแก๊ ง กั บ พวกเราในวันหยุดเสาร์อาทิตย์สักเท่าไหร่ ทั้งสองคน ถ้าไม่ติดซ้อมพิเศษวันเสาร์อาทิตย์ก็ติดแข่ง ในวันที่ นุชยังไม่เข้าใจเรือ่ งราวสักเท่าไหร่ ก็ได้แต่คดิ ว่าเรานีด่ ี จริงๆ ได้เล่น ได้วง่ิ ได้สนุกเต็มที ่ แค่นก้ี พ็ อ กระนัน้ ก็ยังแอบมองพี่ๆ อยู่ห่างๆ อยากรู้ว่าโลกที่พี่ทั้งสอง กำลังทำอยู่นั้นเป็นยังไง ซึ่งก็ได้แต่คิด การเล่นสนุก กว่า จริงมั้ยคะ (ฮา)
11
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว จนทีส่ ดุ แล้วนุชก็ได้ ขึน้ ป. ๑ ถึงตรงนีพ้ สี่ าวทีอ่ ายุมากกว่าถึง ๖ ปีกต็ อ้ งไป เรียนต่อที่โรงเรียนอื่น ตัวนุชเองเริ่มโตและรับผิดชอบ
12
13
ตั ว เองได้ ม ากขึ้ น (นิ ด หน่ อ ย) หลายสิ่ ง รอบตั ว ยั ง แทบจะไม่ มี อ ะไร เปลีย่ นแปลงไปเลย เว้นก็แต่การต้องไปนัง่ รอพ่อทีเ่ ดิม เวลาเดิม นัน่ คือ ข้างสนามวอลเลย์บอลนั่นเอง ตอนอนุบาลนั่งรอเฉยๆ ตอนนี้ก็เริ่ม ขยั บ ขยายช่ ว ยพี่ ๆ ในสนามคอยเก็ บ ลู ก วอลเลย์ บ้ า ง เรี ย กได้ ว่ า เริ่ ม ทำตัวมีประโยชน์ขนึ้ มานิดหน่อย (ฮา) การเก็บลูกวอลเลย์บอลนีก่ เ็ พลิน เหมือนกันนะคะ สนุกดี แต่รอ้ นไปหน่อย ยังดีทมี่ เี พือ่ นๆ กลุม่ เดียวกัน มาคอยนั่ ง ด้ ว ย บางคนก็ ร อพ่ อ แม่ เ หมื อ นกั น กั บ เรา บางคนก็ ห า กิจกรรมอย่างอื่นทำไปด้วย ได้คุย ได้เฮฮา ถึงเวลาพ่อมาก็แยกย้าย กันไป ก่อนที่วันรุ่งขึ้นจะมาเรียนใหม่แล้วก็มานั่งอยู่ตรงนี้ตอนเลิกเรียน ซ้ำไปซ้ำมา เมื่ อ โตขึ้ น ความรั บ ผิ ด ชอบก็ เ ริ่ ม มากขึ้ น นุ ช ก็ เ ป็ น เหมื อ นเด็ ก ธรรมดาๆ ทวั่ ไปทีช่ นื่ ชอบการดูการ์ตนู และละครนัน่ แหละค่ะ ชอบมากๆ ด้วย จากแต่เดิมที่กลับบ้านไปก็เปิดทีวีดูได้เลย แต่ตอนนี้ยากมากขึ้น เพราะกว่าจะฝ่าด่านแม่เข้าไปถึงหน้าจอโทรทัศน์เพื่อเปิดดูการ์ตูนเรื่อง โปรดไม่ใช่เรื่องง่ายเลย แม่มักจะบอกให้นุชไปทำการบ้านให้เรียบร้อย รวมถึงทำงานบ้านที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จเสียก่อนจึงจะสามารถเปิด ทีวีดูได้ การมีลูกสามคนทำให้แม่จัดสรรปันส่วนงานที่ต้องรับผิดชอบ ออกเป็นสามอย่าง คือ ล้างจาน กวาดบ้าน และหุงข้าว ใครกลับมา ก่อนก็ได้เลือกก่อน โดยมากก็เลือกแต่ทตี่ วั เองถนัดและคิดว่าเบาแรงทีส่ ดุ และทุกครั้งนุชก็มักจะได้รับหน้าที่ล้างจาน ต้องบอกก่อนว่านุชเป็นคน ขีเ้ กียจมาก (ก ไก่ลา้ นตัว) แล้วก็ดอ้ื มาก (ก ไก่ลา้ นตัวอีกครัง้ ) หลายครัง้ ที่พ่อแม่พูด นุชก็ไม่ค่อยเชื่อ ดื้อในที่นี้หมายถึงเวลาพ่อแม่พูดก็ไม่ค่อย เชื่อฟัง ไม่ได้ดื้อไปในทางเกเรหรือทำเรื่องเสียหายอะไร แต่ดื้อเพราะ ขีเ้ กียจ ดือ้ เพราะไม่อยากทำ (ฮา) ก็มกั จะบ่ายเบีย่ งเรือ่ งงานบ้าน อ้าง เด็กบ้าง อ้างความเหนือ่ ยบ้าง แต่ทสี่ ดุ ก็ตอ้ งทำอยูด่ ี นุชไม่ชอบล้างจาน
เพราะมันคือสิ่งที่ต้องทำทุกวัน อยากกวาดบ้านถูบ้านมากกว่าเพราะ ไม่ต้องทำทุกวัน สัปดาห์หนึ่งทำสักครั้งสองครั้งก็พอแล้ว ด้วยความที่ ไม่ อ ยากล้ า งจานก็ เ ลยทำให้ แ อบอู้ แ อบเบี้ ย วทำเนี ย นไม่ ย อมล้ า งอยู่ เป็นประจำ บ่อยเข้าก็โดนแม่บ่น ไอ้เราก็ทำหูทวนลม นอนดูทีวีต่อไป สบายใจ พอเขาบ่นจนเหนื่อยแล้วเห็นนุชไม่ยอมลุกขึ้นมาทำเสียที เขา ก็จะลงมือทำเองให้จบๆ ไป หรือไม่กใ็ ช้พๆี่ ให้ทำแทน พอเป็นอย่างนัน้ เหล่าพี่ๆ ก็หันมาบ่นเราผสมโรงเข้าด้วย โดนรอบด้านทุกทิศทุกทาง เลย (ฮา) ขึ้น ป. ๔ เด็กหญิงนุศราในวัย ๑๐ ขวบยังคงสดใสร่าเริง สนุก สุดเหวี่ยง และดื้ออย่างสม่ำเสมอไม่เปลี่ยนแปลง (ฮา) มีวันหนึ่งที่นุช จำได้ไม่ลืม วันนั้นเสียงออดดังเป็นสัญญาณเลิกเรียนแจ้งให้รู้ว่าถึงเวลา ต้ อ งกลับบ้า น เด็กหญิงนุศราเดินลงจากตึกตรงไปยังลานปูนสนาม วอลเลย์บอลขนาดย่อมที่เดิม มันเป็นพื้นสีเทากระด้างที่หากเผลอล้มลง แล้วไม่เข่าก็ศอกคงเจ็บน่าดู ตาข่ายขึงอยู่ดูไม่ต่างอะไรกับราวตากผ้า มีตารางที่แขวนเพียงหย่อนๆ พอให้รู้ว่าเป็นเน็ตเท่านั้น เสียงลูกยาง สีนำ้ ตาลทีค่ รัง้ หนึง่ น่าจะเคยเป็นสีขาวมาก่อนกระดอนกระเด้งกระทบพืน้ บ้าง แขนบ้าง ดังสลับวนเวียน เป็นภาพและเสียงที่คุ้นชินเพราะได้ยิน มาตั้งแต่ตอนยังเด็ก (กว่านี้) นุชเดินไปข้างสนามเพื่อรอพ่อเช่นเดิม วางกระเป๋าลงใต้ตน้ ไม้ หย่อนกายลงนัง่ มองนิง่ ๆ เพือ่ นๆ กลุม่ เดียวกัน ที่ยังไม่กลับบ้านก็เดินมาหาและนั่งด้วย พวกเธอคุยกันสัพเพเหระไปถึง การ์ตูนและละครเรื่องโปรด วิชาที่เพิ่งเรียนจบลงไป เรื่องของเพื่อนทั้ง ผู้ชายและผู้หญิงก็ถูกผนวกเข้าในบทสนทนาด้วย เสียงเหล่านั้นวนเวียน สลับกับเสียงลูกวอลเลย์กระทบฝ่ามือ ท่อนแขน และพืน้ ปูน นุชนัง่ มอง อยู่นานเท่าไหร่ก็จำได้ไม่ชัดนัก รู้แต่ว่าภาพตรงหน้าเพลินดี ภาพของ
14
15
นักกีฬาหมุนเวียนเปลี่ยนสลับกันตีบ้าง เคาะบ้าง อันเดอร์ลกู บ้าง ไหลเข้าตาราวกับว่าภาพซ้ำเหล่านัน้ เป็นฉากหนึง่ ในการ์ตนู ทีน่ ชุ ชอบ ดูเท่าไหร่กไ็ ม่เบือ่ เลย จังหวะหนึ่งลูกวอลเลย์ลูกหนึ่งกลิ้งมาหยุด ตรงหน้าพร้อมเสียงตะโกนจากโค้ชดังมา “เอ้า นัง่ ว่างๆ อยู่ ไหนมาลองเล่นซิ” ไม่เคยคิดมาก่อนเลยว่าการเดินลงสนามใน ครั้งนั้นจะเปลี่ยนชีวิตตัวนุชเองไปตลอดกาล
สวัสดี
วอลเลย์บอล
19
รู้ตัวอีกทีนุชก็ยืนอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลอยู่ในสนามปูนเดียวกัน กับที่พี่สาวเคยยืนซะแล้ว การมายืนบ้างนัง่ บ้างรอพีส่ าว นานวันเข้าทำให้ครูชาติชาย ราศรีด ี คุ ณ ครู ผู้ ส อนวิ ช าพลศึ ก ษาและโค้ ช ที ม วอลเลย์ บ อลหญิ ง โรงเรี ย น วั ด บ้ า นฆ้ อ งน้ อ ยในขณะนั้ น เรี ย กนุ ช เข้ า ไปฝึ ก ซ้ อ มเป็ น เรื่ อ งเป็ น ราว ไม่แน่ใจว่าท่านเห็นแววในตัวนุชหรือรำคาญกันแน่ที่นุชคอยมาวนเวียน วิ่งเก็บลูกวอลเลย์บอลให้กับพี่ๆ เพื่อนๆ ในทีม ล้อเล่นค่ะ จริงๆ แล้ว ครูมาบอกทีหลังว่าเห็นเรามานาน หน่วยก้านส่วนสูงใช้ได้ อีกทัง้ ยังเป็น น้องสาวของคนทีเ่ คยเป็นลูกทีมมาก่อนด้วย ครูกเ็ ลยให้เรามาลองดู ท่าน ให้นชุ เริม่ จากการอันเดอร์ซงึ่ เป็นพืน้ ฐานของกีฬาชนิดนีก้ อ่ น แรกๆ ทำได้ แค่วันละ ๒ - ๓ ทีก็เจ็บแขนแล้ว ฝืนทนทำต่อไปก็ขยับขึ้นมาเป็น ๕ ที บ้าง ๑๐ ทีบ้าง วันต่อๆ ไปก็เริ่มได้หลายสิบไปจนถึงหลักร้อย ทั้งตี ทัง้ อันเดอร์จนแขนบวม รูเ้ ลยว่าการตีลกู วอลเลย์บอลมันเจ็บแขนแค่ไหน ยิ่งถ้าวางตำแหน่งของมือไม่ถูกแล้วเอามือเข้าไปตีหรืออันเดอร์ ก็มีสิทธิ์ แขนแตกเอาได้งา่ ยๆ ถึงจะอันเดอร์ได้ขนาดนัน้ จนแขนเกือบจะชาก็ยงั คง เจ็บอยู่ในทุกครั้งที่ลูกตกมากระทบ ตอนนั้นคิดในใจว่าเห็นทีเราจะไม่ เหมาะกับมันแน่ๆ อากาศหรือก็ร้อนเหลือเกิน ไอ้วอลเลย์บอลนี่มัน ไม่มอี ะไรดีเลยนอกเหนือไปจากการได้อยูร่ ว่ มทำกิจกรรมกับเพือ่ นๆ (ซึง่ คือกลุ่มเดียวกับที่เดินไปเดินมาและนั่งคุยรอบสนามวอลเลย์กับนุชในวัน ก่อนๆ นั่นแหละ) เล่นไปได้สักพักก็เริ่มคิดถึงการกลับบ้านไปนอนดูทีว ี หรือแม้อย่างน้อยไม่ได้ดูทีวี แต่เป็นการทำงานบ้านก็ยังดีกว่าต้องมายืน มาวิง่ มาตีมาตบให้ทรมานอยู่กลางแดดกลางลมอย่างตอนนี ้
ครูชาติชายก็เหมือนรู้ว่าใจเราชักไม่เอาแล้ว แต่แทนที่จะไล่กลับ บ้านไปให้พน้ หูพน้ ตา ท่านกลับยิง่ เคีย่ วเข็ญหนัก ครูบอกว่าทำยังไงก็ได้ ให้อันเดอร์ให้ได้มากที่สุด อย่าให้ลูกตก นุชก็จำต้องพยายามทำตาม ที่ท่านสั่งเพราะท่านดุมาก (ก ไก่ล้านตัว) พอเราทำได้เป็นร้อยจนถึง หลายร้อย ครูชาติชายก็ยิ่งจริงจัง ท่านบอกว่าต่อแต่นี้ไปให้นุชมาซ้อม สม่ำเสมออย่าได้ขาดทั้งเช้าและเย็น กิจวัตรประจำวันเปลี่ยนไปนับจากนั้น จากที่เคยนอนตื่นสายจน แม่ต้องมาลากจากที่นอนลงไปอาบน้ำเพื่อไปโรงเรียน ก็กลับกลายเป็น การรีบรนตื่นตั้งแต่หกโมงเพื่อไปซ้อมให้ทันตอนเจ็ดโมงเช้า ไปสาย แม้เพียงไม่กี่นาทีก็อาจโดนตีเอาได้ ตอนนั้นกฎเรื่องการใช้ไม้เรียวกับ นักเรียนยังไม่มี ครูชาติชายเลยได้หวดนุชเพลินเลย นึกถึงตอนนั้นแล้ว ก็ขำ เราหรืออุตส่าห์ตื่นแต่เช้าอาบน้ำจนตัวหอม พอไปถึงโรงเรียนต้อง เปลีย่ นมาสวมชุดกีฬาลงวิง่ ลงตีจนเหงือ่ ซ่ก เสร็จซ้อมเกือบแปดโมงก็ตอ้ ง กลับมาใส่ชุดนักเรียนตัวเดิมเพื่อเข้าแถวเคารพธงชาติและเตรียมตัว เข้าเรียน จากนัน้ ก็หมักเหงือ่ เค็มๆ ไว้กบั ตัวยาวไปจนเลิกเรียนแล้วกลับมา เปลี่ยนชุดกีฬาตัวเดิม จากนั้นลงซ้อมต่อ เป็นอย่างนี้ทุกวัน ทำอยู่ อย่างนั้นทั้งๆ ที่ใจไม่เอาเลย กลัวครูอย่างเดียว พอเริ่มเล่นได้เป็นเรื่อง เป็นราวก็เริ่มลงทีมจริงจัง มาถึงตรงนี้ แม้กระทั่งเสาร์อาทิตย์อันแสน บันเทิงก็หายไปด้วย เพราะต้องเป็นนักกีฬาโรงเรียน เป็นตัวแทนไปแข่ง กับโรงเรียนอืน่ ต่างอำเภอ บางครัง้ ก็ไปแข่งระดับจังหวัด บางสัปดาห์กไ็ ป แข่งระดับเขต จากเขตก็เป็นระดับประเทศ มาแบบงงๆ และฝืนๆ ก็ว่าได้แหละค่ะ ถึงแม้จะต้องทั้งเรียน ทั้งซ้อม ทั้งแข่งไปพร้อมๆ กัน แต่นุช กลับทำทุกอย่างได้ดีทั้งหมดอย่างไม่น่าเชื่อ การเรียนก็ยังสามารถรักษา มาตรฐานเอาไว้ได้เหมือนเดิม ไม่เคยต่ำกว่าที่ ๓ เลยสักครั้ง เพื่อน ร่วมห้องก็ให้โอกาสเป็นถึงหัวหน้าห้องฝ่ายหญิงอีกด้วย กับการซ้อม 20
21
แม้จะไม่สนุกเอาเสียเลย แต่ก็สามารถทำได้อย่างที่ ครูชาติชายต้องการโดยไม่ขาดตกบกพร่อง เวลาไป แข่งก็สนุก ได้เจอเพื่อนต่างโรงเรียน ได้เที่ยว ได้ เฮฮา นุชจำได้แม่นว่าราวอายุ ๑๒ ปี มีแข่งรายการ มินิวอลเลย์บอลของปลากระป๋องยี่ห้อปุ้มปุ้ยปลายิ้ม ที ม โรงเรี ย นวั ด บ้ า นฆ้ อ งน้ อ ยของเราได้ เ ป็ น ตั ว แทน ภาคกลางไปแข่งที่จังหวัดตรัง เหลือเชื่อที่ทีมรองบ่อน อย่างเราสามารถไปได้ไกลถึงระดับแชมป์เลยทีเดียว การคว้าแชมป์ในครัง้ นัน้ ทำให้นชุ และทีมได้สทิ ธิใ์ นฐานะ แชมป์เดินทางไปแข่งต่อที่ประเทศไต้หวันเป็นครั้งแรก วอลเลย์บอลชักจะสนุกเหมือนกันแฮะ ภูมิใจ อายุแค่ ๑๒ เอง แต่ได้นั่งเครื่องบิน วอลเลย์บอลนี่ ก็ดีเหมือนกัน นุชคิด ในการไปแข่งแต่ละครั้งก็ได้เงินค่าเบี้ยเลี้ยงมา ซือ้ ขนมนมเนยทีอ่ ยากกิน สำคัญคือ เพือ่ นก็ยงั อยูก่ นั ครบ วอลเลย์บอลสำหรับนุชในตอนนั้นก็ชักจะค่อยๆ ผุดข้อดีออกมาเรื่อยๆ ทีละข้อๆ ถึงแม้จะดูเหมือน ไปได้สวย ก็ยงั มีบางจุดทีท่ ำให้นชุ ไม่พอใจอยูด่ ี นัน่ คือ การที่ครูชาติชายมักลงโทษด้วยการตีเสมอ เวลาทำ ไม่ได้ตามที่ครูต้องการ ครูก็ตี บางครั้งตีระหว่างการ แข่งขันต่อหน้าผูช้ มเต็มสนามเลยด้วยซ้ำ สิง่ นีบ้ นั่ ทอน จิตใจเด็กผู้หญิงนุศราเหลือเกิน ถึงแม้จะมีครูสมรักษ์ ประทุมสิร ิ คอยปลอบใจยามเมือ่ โดนครูชาติชายดุหรือ ตีมาก็เถอะ โดนบ่อยๆ เข้าก็งง ไม่เอาแล้ว ไม่เล่นแล้ว พ่อแม่เรายังไม่เคยตีแบบนี้เลย ฯลฯ จนวันหนึ่งนุชตัดสินใจว่าจะเลิกเล่น โดนครู 22
ง ้ ั ร ป ไ ค น ็ ย า ป เ ่ ล ม ห ี ไ จ ม า “ อ ง ด า ่ ย ม ีท่ทุกอ งการทั้งห อ ้ ต จ ใ ดัง
ต ิ ว ี ช ะ ล ห
แ ่ ี จ ใ ง ั น ่ ด ง แต าได้ทุกอย่า หากเร ่ใช่ชีวิต” ก็คงไม
ตีปบั๊ คว้าจักรยานปัน่ ว่องไวกลับบ้านเลย ระหว่างทางน้ำตาก็คอ่ ยๆ ไหล ถึงบ้านเปิดประตูเข้าไปเจอแม่ก็บอกแม่สั้นๆ ว่า ไม่เอาแล้วนะแม่ โดน ครูตมี า นุชจะเลิกเล่นวอลเลย์บอล แม่เห็นดังนัน้ ก็เข้ามาปลอบประโลม แล้วบอกว่า พรุ่งนี้จะไปบอกคุณครูให้ มาตีลูกอย่างนี้ได้ยังไง มาทำ อย่างนี้กับลูกไม่ได้ รุ่งขึ้นครูมาตามที่บ้านพร้อมคำถามว่า ทำไมไม่ไปซ้อม นุชหันไปมองหน้าแม่เป็นเชิงขอความช่วยเหลือ บอกครูไปเลยแม่ ว่านุชโดนตี นุชไม่เอาแล้ว นุชจะเลิก “ทำไมไม่ไปซ้อม” แม่บอก แม่นะแม่ การเปลีย่ นทิศทันทีทคี่ รูมาถึงบ้านของแม่ทำให้นชุ ต้องจำใจกลับมา ซ้อมตามปกติ มีหลายครัง้ ทีท่ กุ อย่างอาจไม่เป็นไปดังใจต้องการทัง้ หมด แต่นี่แหละชีวิต หากเราได้ทุกอย่างดังใจก็คงไม่ใช่ชีวิต คิดๆ แล้วก็ ขอบคุณทัง้ แม่ทงั้ ครูทลี่ ากนุชกลับมาจับลูกยางอีกครัง้ ในวันนัน้ ซึง่ ถ้าจะ พู ด เรื่ อ งการขอบคุ ณ ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งที่ ท ำให้ นุ ช เดิ น อยู่ บ นเส้ น ทาง สายวอลเลย์บอลได้อย่างทีเ่ ห็นและเป็นอยูใ่ นทุกวันนี้ เห็นทีหน้ากระดาษ หนึ่ ง คงพู ด ได้ ไ ม่ ห มด นุ ช มี ป ระสบการณ์ ดี ๆ เกิ ด ขึ้ น มากมายที่ โรงเรี ย นวั ด บ้ า นฆ้ อ งน้ อ ย ที่ นี่ ใ ห้ ห ลายๆ อย่ า งแก่ นุ ช ให้ ก ารศึ ก ษา ให้เพื่อน ให้ประสบการณ์ชีวิตที่ดีไว้เป็นต้นทุนสำหรับดำเนินชีวิตต่อมา จนถึงปัจจุบัน และที่สำคัญที่สุดคือให้วอลเลย์บอลแก่นุช การซ้อมและการแข่งขันดำเนินไปวันแล้ววันเล่า ตัง้ แต่ครัง้ เริม่ ต้น จับลูกวอลเลย์บอลครัง้ แรกตอน ป. ๔ ผ่านคราบน้ำตาแห่งความเจ็บปวด จากรอยไม้เรียวและฝ่ามือของครู ผ่านความขมปร่าในรสชาติของความ พ่ า ยแพ้ ผ่ า นรสหวานชื่ น ของชั ย ชนะมาจนถึ ง วั น ที่ นุ ช กำลั ง จะจบ การศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ นุชคงจะอยู่จุดนี้ ตรงนี้ เล่น 24
25
วอลเลย์บอลแบบครบรสกับโรงเรียนนี้ต่อไปเรื่อยๆ จนจบ ม. ๖ คงจะเป็นเช่นนัน้ หากครูชาติชายไม่เดินมาหาพร้อมบอกข้อความ สำคัญบางอย่างที่นุชไม่เคยคิดฝันมาก่อนเลย