Shadow play

Page 1



หนังตะลุง ั ์ ้ ของปกษใต เงาแหงปญญา ่ ั


หนังตะลุงหนังตะลุง คือ ศิลปะการ แสดงประจำ � ท้ อ งถิ่ น อย่ า งหนึ่ ง ของ ภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อย เป็ น นิ ย าย ดำ � เนิ น เรื่ อ งด้ ว ยบทร้ อ ย กรองที่ ขั บ ร้ อ งเป็ น สำ � เนี ย งท้ อ งถิ่ น หรื อ ที่ เรี ย กกั น ว่ า การ “ว่ า บท” มี บ ท สนทนาแทรกเป็นระยะ และใช้การแสดง เงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของ ผู้ชม หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลาย อย่ า งยิ่ ง มาเป็ น เวลานาน โดยเฉพาะ ในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึง ทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุง แสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดัง นั้ น งานวั ด งานศพ หรื อ งานเฉลิ ม ฉลองที่ สำ � คั ญ จึ ง มั ก มี ห นั ง ตะลุ ง มา แสดงให้ชมด้วยเสมอ แต่ เ มื่ อ เวลาผ่ า นไป หนั ง ตะลุ ง กลั บ กลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามา ในราคาที่ “แพงและยุ่งยากกว่า” เมื่อ เที ย บกั บ ภาพยนตร์ เพราะการจ้ า ง หนั ง ตะลุ ง มาแสดง เจ้ า ภาพต้ อ งจั ด ทำ�โรงหนังเตรียมไว้ให้ และเพราะหนัง ตะลุงต้องใช้แรงงานคน


มากกว่าการฉายภาพยนตร์ ค่าจ้างต่อคืนจึง แพงกว่า ยุคที่การฉายภาพยนตร์เฟื่องฟู หนัง ตะลุงและการแสดงท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มโนราห์ รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความ บันเทิงราคาถูกและสะดวกสบาย ที่มาแย่งความ สนใจไปจากศิลปะพื้นบ้านเสียเกือบหมด “ปัจจุบัน โครงการศิลปินแห่งชาติ สำ�นักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ส่งเสริม ให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนัง ตะลุงให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อรักษามรดกทาง วัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ให้คงอยู่สืบไป “ ประเทศไทยประกอบด้วยคนในชาติที่มีความ หลากหลายแตกต่างกันไป ซึ่ ง ในแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น มี ศิ ล ปะประเพณี ที่ แตกต่ า ง กันไปตามแต่ละท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการฟ้อนกา ร่ายรำ�อันสวยงามของชาวภาคเหนือ การเซิ้ง หรือแสดงหมอลำ�ของชาวภาคอีสาน การร้อง เล่นลำ�ตัดของชาวภาคกลาง หรือหนังตะลุงที่ จะนำ�มาเสนอเป็นบทความนี้ก็เป็นศิลปะประจำ� ถิ่ น สิ่ ง เหล่ า นี้ ล้ ว นแต่ เป็ นตั ว บ่ ง บอกความมี อารยะธรรมและประเพณี ความมีคุณค่า บ่ง บอกวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความเชื่อต่างๆ และ รากเหง้าของคนในสังคมหรือชุมชนที่อาศัยอยู่ แต่ละพื้นที่

หนังตะลุง ศิลปะการแสดงประจำ�ท้องถิ่นอย่าง หนึ่งของภาคใต้ เชื่อกันว่ากำ�เนิดมาจากจังหวัด พั ท ลุ ง ปั จ จุ บั น สิ่ ง ที่ บ่ ง บอกว่ า จั ง หวั ด พั ท ลุ ง เป็นต้นกำ�เนิดการแสดงหนังตะลุงนั้น เราจะเห็น ได้จากคำ�ขวัญประจำ�จังหวัดพัทลุงที่ว่า เมือง หนังโนราห์ อยูน่ าข้าว พรราวน้�ำ ตก แหล่งนก น้�ำ ทะเลสาปงาม เขาอกทะลุ น้�ำ พุรอ้ น คำ�ว่า เมืองหนัง ก็คือพัทลุงเป็นดินแดนที่ให้กำ�เนิดหนัง ตะลุง และการแสดงพื้นบ้านอีกอย่างหนึ่งคือ มโนราห์ การแสดงหนังตะลุงนั้นในระยะต่อมามี การขยายการแสดงออกไปยังจังหวัดใกล้เคียงทัว่ ภาคใต้ หนังตะลุงนั้นเป็นการเล่าเรื่องราวนิยาย แบบการร้องกลอนสด หรือเราเรียกกันว่า การ ว่าบท เป็นลัการะของกลอนแปด เนือ้ หาของ เรือ่ งทีน่ �ำ มาแสดงหนังตะลุงนัน้ เปรียบให้เห็นง่ายๆ เลยก็คอื เหมือนละครแนวจักรๆวงศ์ๆ ตามที่ เราๆท่านๆได้ดูในตอนเช้าของวันเสาร์ อาทิตย์ หากแต่แตกต่างตรงที่ว่าการแสดงหนังตะลุงนั้น เป็นการแสดงเรือ่ งราวผ่านจอหนังซึง่ เป็นจอผ้าใบ เป็นการร้องกลอนสดของศิลปินหนังตะลุง ซึง่ เรา ชาวปักษ์ใต้นน้ั เรียกศิลปินหนังตะลุงว่า นายหนัง






ประวัติความเป็นมาของหนังตะลุง นักวิชาการหลายท่านเชื่อว่า มหรสพ การแสดงเงาจำ�พวกหนังตะลุงนี้ เป็น วัฒนธรรมเก่าแก่ของมนุษยชาติ เคย ปรากฏแพร่หลายมาทั้งในแถบประเทศ ยุโรป และเอเชีย โดยอ้างว่า มีหลัก ฐานปรากฏอยู่ ว่ า เมื่ อ ครั้ ง พระเจ้ า อเล็กซานเดอร์มหาราชมีชัยชนะเหนือ อียิปต์ ได้จัดให้มีการแสดงหนัง (หรือ การละเล่นที่คล้ายกัน) เพื่อเฉลิมฉลอง ชั ย ชนะและประกาศเกี ย รติ คุ ณ ของ พระองค์ และเชื่อว่ามหรสพการแสดง เงานี้มีแพร่หลายในประเทศอียิปต์มาแต่ ก่อนพุทธกาล


ในสมัยต่อมา การแสดงหนังได้แพร่ หลายเข้าสู่ในเอเชียอาคเนย์ ขมร พม่า ชวา มาเลเซีย และประเทศไทย คาด กั น ว่ า หนั ง ใหญ่ ค งเกิ ด ขึ้ นก่ อ นหนั ง ตะลุง และประเทศแถบนี้คงจะได้แบบ มาจากอิ น เดี ย เพราะยั ง มี อิ ท ธิ พ ล ของพราหมณ์ ห ลงเหลื อ อยู่ ม ากเรา ยังเคารพนับถือฤๅษี พระอิศวร พระ นารายณ์ และพระพรหม ยิ่ ง เรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ยิ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น เรื่ อ งขลั ง และศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ หนั ง ใหญ่ จึ ง แสดง เฉพาะเรื่องรามเกียรติ์ เริ่มแรกคงไม่มี จอ คนเชิดหนังใหญ่จึงแสดงท่าทาง ประกอบการเชิดไปด้วย


เชื่ อ กั น ว่ า หนั ง ใหญ่ มี อ ยู่ ก่ อ นสมั ย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพราะ มี ห ลั ก ฐานอ้ า งอิ ง ว่ า มี นั ก ปราชญ์ ผู้ ห นึ่ ง เป็ น ชาวเวี ย งสระ จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี เป็ น ผู้ เชี่ ย วชาญทาง โหราศาสตร์และทางกวี สมเด็จพระเจ้า ปราสาททองทรงเรี ย กตั ว เข้ า กรุ ง ศรีอยุธยา ต่อมาได้เป็นพระอาจารย์ ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น พระมหาราชครู หรือพระโหราธิบดี และมีรับสั่งให้พระ มหาราชครูฟื้นฟูการเล่นหนัง (หนัง ใหญ่) อันเป็นของเก่าแก่ขึ้นใหม่



หนังใหญ่ แต่ เดิ ม เรี ย กว่ า “หนั ง ” นิ ย มเล่ น กั น แพร่หลายในแถบภาคกลาง ส่วนหนัง ตะลุ ง แต่ เดิ ม คนในท้ อ งถิ่ น ภาคใต้ ก็ เรียกสั้นๆ ว่า “หนัง” เช่นกัน ดังคำ� กล่ า วที่ ได้ ยิ นกั น บ่ อ ยว่ า “ไปแลหนั ง โนรา” จึงสันนิษฐานว่า คำ�ว่า “หนัง ตะลุง” คงจะเริ่มใช้เมื่อมีการนำ�หนัง จากภาคใต้ไปแสดงให้เป็นที่รู้จักในภาค กลาง จึงได้เกิดคำ� “หนังตะลุง” และ “หนังใหญ่” ขึ้นมาเพื่อไม่ให้ซ้ำ�ซ้อนกัน หนังจากภาคใต้เข้าไปเล่นในกรุงเทพฯ ครั้ ง แรกสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว โดยพระยาพั ท ลุ ง (เผือก) นำ�ไปเล่นที่แถวนางเลิ้ง หนังที่ เข้าไปครั้งนั้นเป็นนายหนังจากจังหวัด พัทลุง คนกรุงเทพฯจึงเรียก “หนังพัทลุง” ต่อมาเสียงเพี้ยนเป็น “หนังตะลุง”


เชื่อกันว่า หนังตะลุงเลียนแบบมาจาก หนังใหญ่ โดยย่อรูปหนังให้เล็กลง ใน ยุ ค แรกๆ คงแสดงเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ เหมือนกัน แต่เปลี่ยนบทพากย์มาเป็น ภาษาท้ อ งถิ่ น เปลี่ ย นเครื่ อ งดนตรี จาก พิณพาทย์ ตะโพน มาเป็น ทับ กลอง ฉิ่ง โหม่ง ซึ่งเป็นเครื่องดนตรี ที่ มี อ ยู่ เดิ ม ในภาคใต้ หลั ก ฐานที่ บ อก ว่าหนังตะลุงคงเลียนแบบมาจากหนัง ใหญ่ คือ แม้หนังตะลุงจะไม่ได้ใช้ พิณ พาทย์ ตะโพน แต่ในโองการร่ายมนต์ พระอิศวร (บทบูชาพระอิศวร) ต่อมา หนังภาคใต้หรือหนังตะลุง รับ อิทธิพลของหนังชวาเข้ามาผสมผสาน จึงทำ�ให้เกิดวิวัฒนาการใน “รูปหนัง” ขึ้นมา


รูปหนังใหญ่จะเป็นแผ่นเดียวกัน ทั้ ง ตั ว เคลื่ อ นไหวอวั ย วะไม่ ได้ แต่รูปหนังชวาเคลื่อนไหวมือ และปากได้ ส่วนใหญ่รูปหนังจะ เคลื่ อ นไหวมื อ ได้ เพี ย งข้ า งเดี ย ว ยกเว้นรูปกาก หรือตัวตลก และ รู ป นางบางตั ว ที่ ส ามารถขยั บ มือได้ทั้งสองข้าง รูปหนังชวามี ใบหน้าที่ผิดไปจากคนจริง และ หนังตะลุงก็รับแนวคิดนี้มาปรับ ใช้กับรูปตัวตลก เช่น แกะรูป หนูนุ้ยให้หน้าคล้ายวัว เท่งหน้า คล้ายนกกระฮัง เป็นต้น หนั ง ตะลุ ง เกิ ด ขึ้ น ในภาคใต้ ครั้งแรกที่จังหวัดใด ก็ยังไม่มี หลักฐานยืนยันแน่ชัด



หนั ง ตะลุ ง ทุ ก คณะมี ลำ � ดั บ ขั้ น ตอนในการแสดงเหมื อ นกั น จนถื อ เป็ น ธรรมเนียมนิยม ดังนี้ - ตั้งเครื่อง - แตกแผง หรือ แก้แผง - เบิกโรง - ลงโรง - ออกลิงหัวค่ำ� เป็นธรรมเนียมของหนังในอดีต ลิงดำ�เป็นสัญลักษณ์ของ อธรรม ลิงขาวเป็นสัญลักษณ์ของธรรมะ เกิดสู้รบกัน ฝ่ายธรรมะก็มีชัยชนะ แก่ฝ่ายอธรรม ออกลิงหัวค่ำ�ยกเลิกไปไม่น้อยกว่า ๗๐ ปีแล้ว ออกฤๅษีหรือชักฤๅษี ฤๅษี เป็นรูปครู มีความขลังและศักดิ์สิทธิ์สามารถป้อง ปัดเสนียดจัญไร และ ภยันตรายทั้งปวง ทั้งช่วยดลบันดาลให้หนังแสดงได้ดี เป็นที่ชื่นชมของคนดู รูปฤๅษีรูปแรกออกครั้งเดียว นอกจากประกอบพิธีตัดเห มรยเท่านั้น - ออกรูปพระอิศวรหรือรูปโค รูปพระอิศวรของหนังตะลุง ถือเป็นรูป ศักดิ์สิทธิ์ และเป็นเทพเจ้าแห่งความบันเทิง ทรงโคอุสุภราชหรือนนทิ หนัง เรียกรูปพระอิศวรว่ารูปพระโคหรือรูปโค หนังคณะใดสามารถเลือกหนังวัว ที่มีเท้าทั้ง 4 สีขาว โหนกสีขาว หน้าผากรูปใบโพธิ์สีขาว ขนหางสีขาว วัว ประเภทนี้หายากมาก ถือเป็นมิ่งมงคล ตำ�ราภาคใต้ เรียกว่า “ตีนด่าง หาง ดอก หนอกพาดผ้า หน้าใบโพธิ์” โคอุสุภราชสีเผือกแต่ช่างแกะรูปให้วัวเป็นสี ดำ�นิล เจาะจงให้สีตัดกับสีรูปพระอิศวร ตามลัทธิพราหมณ์พระอิศวรมี 4 พระกร ถือตรีศูล ธนู คฑา และ บาศ พระอิศวรรูปหนังตะลุงมีเพียง 2 กร ถือจักร และ พระขรรค์ เพื่อให้รูปกะทัดรัดสวยงาม



- ออกรูปฉะหรือรูปจับ “ฉะ” หมาย ถึง การสู้รบระหว่างพระรามกับทศ กัณฐ์ ยกเลิกไปพร้อม ๆ กับลิงหัวค่ำ� - ออกรู ป รายหน้ า บทหรื อ รู ป กาศ ปราย หมายถึง อภิปราย กาศ หมาย ถึง ประกาศ - รูปปรายหน้าบท หรือ รูปกาศ หรือ รูปหน้าบท เสมือนเป็น ตัวแทนนายหนังตะลุง เป็นรูปชาย หนุ่มแต่งกายโอรสเจ้าเมือง มือหน้า เคลื่อนไหวได้ มือทำ�เป็นพิเศษให้นิ้วมือ ทั้ง 4 อ้าออกจากนิ้วหัวแม่มือได้ อีก มือหนึ่งงอเกือบตั้งฉาก ติดกับลำ�ตัว ถือดอกบัว หรือช่อดอกไม้ หรือธง - ออกรูปบอกเรื่อง รูปบอกเรื่อง คือรูปบอกคนดูให้ทราบว่า ในคืนนี้หนัง แสดงเรื่องอะไร

- ขับร้องบทเกี้ยวจอ - ตั้งนามเมืองหรือตั้งเมือง เริ่ม แสดงเป็นเรื่องราว ตั้งนามเมือง เป็ น การเปิ ด เรื่ อ งหรื อ จั บ เรื่ อ งที่ จ ะ นำ�แสดงในคืนนั้น กล่าวคือการออกรูป เจ้าเมืองและนางเมือง53



ดนตรีหนังตะลุง เครื่องดนตรีหนังตะลุงในอดีต มีความ เรียบง่าย ชาวบ้านในท้องถิ่นประดิษฐ์ ขึ้นได้เอง มี ทับ กลอง โหม่ง ฉิ่ง เป็นสำ�คัญ ส่วน ปี่ ซอ นั้นเกิดขึ้น ภายหลั ง แต่ ก็ ยั ง เป็ น เครื่ อ งดนตรี ที่ ชาวบ้านประดิษฐ์ได้เองอยู่ดี จนเมื่อมี วัฒนธรรมภายนอกเข้ามา โดยเฉพาะ ดนตรีไทยสากล หนัง ตะลุง บางคณะ จึงนำ�เครื่องดนตรีใหม่ ๆ เข้ามาเสริม เช่น กลองชุด กีตาร์ ไวโอลิน ออร์แกน เมื่อเครื่องดนตรีมากขึ้น


จำ�นวนคนในคณะก็มากขึ้น ต้นทุนจึง สูงขึ้น ทำ�ให้ต้องเรียกค่าราด (ค่าจ้าง แสดง) แพงขึ้น ประจวบกับการฉาย ภาพยนตร์ แ พร่ ห ลายขึ้ น จึ ง ทำ � ให้ มี คนรับหนังตะลุงไปเล่นน้อยลง การนำ� เครื่ อ งดนตรี ส มั ย ใหม่ เ ข้ า มาเสริ ม นี้ บางท่ า นเห็ น ว่ า เป็ นการพั ฒ นาให้ เข้ า กับสมัยนิยม แต่หลายท่านก็เป็นห่วง ว่าเป็นการทำ�ลายเอกลักษณ์ของหนัง ตะลุงไปอย่างน่าเสียดาย เครื่องดนตรีสำ�คัญของหนังตะลุง มีดังต่อไปนี้ 1.ทับ ทั บ ของหนั ง ตะลุ ง เป็ น เครื่ อ งกำ � กั บ จั ง หวะและท่ ว งทำ � นองที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด ผู้บรรเลงดนตรีชิ้นอื่นๆ ต้องคอยฟัง และยักย้ายจังหวะตามเพลงทับ เพลงที่ นิยมเล่นมีถึง 12 เพลง คือ เพลงเดิน เพลงถอยหลังเข้าคลอง เพลิงเดินยักษ์ เพลงสามหมู่ เพลงนาดกรายออกจาก วัง เพลงนางเดินป่า เพลงสรงน้ำ� เพลงเจ้าเมืองออกสั่งการ เพลงชุมพล เพลงยกพล เพลงยักษ์ และเพลงกลับ วัง นักดนตรีที่สามารถตีทับได้ครบทั้ง 12 เพลง เรียกกันว่า “มือทับ”

ทับหนังตะลุงมี 2 ใบ ใบหนึ่งเสียงเล็ก แหลม เรียกว่า “หน่วยฉับ” อีกใบหนึ่ง เสียงทุ้ม เรียกว่า “หน่วยเทิง” ทับ หน่วยฉับเป็นตัวยืน ทับหน่วยเทิงเป็น ตัวเสริม หนังตะลุงในสมัยโบราณมีมือ ทับ 2 คน ต่อมา เมื่อประมาณ 60 ปี มาแล้ ว หนั ง ตะลุ ง ใช้ มื อ ทั บ เพี ย งคน เดียว โดยใช้ผ้าผูกทับไขว้กัน เวลา เล่นบางคนวาง ทับไว้บนขาบาง คนก็พาดขากด ทับเอาไว้ไม่ให้ เคลื่อนที่โดยทั่ว ไป ตัวทับหรือ ที่เรียกกันว่า “หุ่น” นิ ย มทำ � จากแก่ น ไม้ ข นุ น เนื่ อ งจาก ตบแต่งและกลึงได้ง่าย บางครั้งก็ทำ� จากไม้กระท้อน โดยตัดไม้ออกเป็นท่อน ท่อน ยาวท่อนละประมาณ 60 เซนติ เมตร ใช้ขวานถากเกลาให้เป็นรูปคล้าย กลองยาว จากนั้ นนำ � มาเจาะภายใน และกลึงให้ได้รูปทรงตามต้องการ ลง นำ �้ มั นชั ก เงาด้ า นนอก ทั บ เป็ น เครื่ อ ง ดนตรีที่ขึงหนังหน้าเดียว ขึ้นหน้าด้วย หนังบาง ๆ


ตัวตลกหนังตะลุง เป็นตัวละครที่มีความสำ�คัญอย่างยิ่ง และเป็นตัวละครที่ “ขาดไม่ได้” สำ�หรับ การแสดงหนังตะลุง บทตลกคือเสน่ห์ หรื อ สี สั น ที่ น ายหนั ง จะสร้ า งความ ประทับใจให้กับคนดู เมื่อการแสดงจบ ลง สิ่งที่ผู้ชมจำ�ได้ และยังเก็บไปเล่า ต่อก็คือบทตลก นายหนังตะลุงคนใดที่ สามารถสร้างตัวตลกได้มีชีวิตชีวาและ น่าประทับใจ สามารถทำ�ให้ผู้ชมนำ�บท ตลกนั้นไปเล่าขานต่อได้ไม่รู้จบ ก็ถือว่า เป็ นนายหนั ง ที่ ป ระสบความสำ � เร็ จ ใน อาชีพโดยแท้จริง


ในการแสดงประเภทอื่ น ๆ ตั ว ละครที่ โดดเด่นและติดตาตรึงใจผู้ชมที่สุด มัก จะเป็นพระเอก นางเอก แต่สำ�หรับ หนั ง ตะลุ ง ตั ว ละครที่ จ ะอยู่ ใ นความ ทรงจำ � ของคนดู ไ ด้ น านที่ สุ ด ก็ คื อ ตั ว ตลก มีเหตุผลหลายประการ ที่ทำ�ให้ บทตลกของหนังตะลุงติดตรึงใจผู้ชม ได้มากกว่าบทพระเอกหรือนางเอก ดัง ต่อไปนี้..

บทตลกคื อ บทที่ ส ามารถยกประเด็ น อะไรขึ้นมาพูดก็ไม่ทำ�ให้เสียเรื่อง จึงมัก เป็ น บทที่ น ายหนั ง นำ � เรื่ อ งเหตุ ก ารณ์ บ้านเมือง ปัญหาสังคม ธรรมะ ข้อคิด เตือนใจ เข้ามาสอดแทรกเอาไว้ หรือ แม้แต่พูดล้อเลียนผู้ชมหน้าโรง เสน่ห ของมุกตลก ซึ่งแสดงไหวพริบปฏิภาณ ของนายหนั ง ด้ ว ย นายหนั ง ที่ เ ก่ ง สามารถคิดมุก ตลกได้เองเพราะ หากเก็บมุกตลก เก่ามาเล่น คนดู จะไม่ประทับใจและ ไม่มีการ“เล่าต่อ”

ตั ว ตลกมี ค วามผู ก พั น ใกล้ ชิ ด กั บ ผู้ ช ม (ชาวใต้)มากกว่าตัวละครอื่นๆ เพราะ ตั ว ตลกทุ ก ตั ว เป็ น คนท้ อ งถิ่ น ภาคใต้ พู ด ภาษาปั ก ษ์ ใ ต้ เชื่ อ กั น ว่ า ตั ว ตลก เหล่ า นี้ ส ร้ า งเลี ย นแบบมาจากบุ ค ลิ ก ของบุคคลที่เคยมีชีวิตอยู่จริง เหตุผลสำ�คัญอีกประการหนึ่ง ที่ทำ�ให้ คนดู ห นั ง ตะลุ ง รู้ สึ ก ผู ก พั นกั บ ตั ว ตลก นายหนั ง สามารถอวดฝี ป ากการ มากกว่าตัวละครอื่นๆในเรื่อง คือ ตัว พากย์ของตนได้เต็มที่ ตัวตลกทุกตัวมี ตลกหนั ง ตะลุ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น ตั ว ละคร บุคลิกเฉพาะ และตัวตลกหลายตัวมีถิ่น “ยืน” หมายถึง ตัวตลกตัวหนึ่งเล่น กำ�เนิดที่ชัดเจน ซึ่งมักจะเป็นท้องถิ่น ได้หลายเรื่อง โดยใช้ชื่อเดิม บุคลิกเดิม ที่มีสำ�เนียงพูดที่เป็นเอกลักษณ์ แตก นอกจากนั้น ตัวตลกหนังตะลุงยังเป็น ต่ า งจากตำ � บลหรื อ อำ � เภอข้ า งเคี ย ง พับลิกโดเมนอีกด้วย นายหนังทุกคณะ นายหนังที่พากย์ได้ตรงกับบุคลิก และ สามารถหยิบตัวตลกตัวใดไปเล่นก็ได้ เรา สำ�เนียงเหมือนคนท้องถิ่นนั้นที่สุด ก็จะ จึงเห็น อ้ายเท่ง อ้ายหนูนยุ้ มีอยูใ่ นเกือบ สร้างความประทับใจให้แก่คนดูได้มาก ทุกเรือ่ ง ของหนังตะลุงเกือบทุกคณะ




ตัวตลกเอก หมายถึง ตัวตลกที่มีชื่อ เสียงเป็นที่รู้จักทั่วไป นายหนังคณะ ต่างๆหลายคณะนิยมนำ�ไปแสดง มีดัง ต่อไปนี้... 1. อ้ายเท่ง หนังจวนบ้านคูขุดเป็นคนสร้าง โดย เลียนแบบบุคลิกมาจากนายเท่ง ซึ่งเป็น ชาวบ้านอยู่บ้านคูขุด อำ�เภอสะทิ้งพระ จังหวัดสงขลา เป็นคนรูปร่างผอมสูง ลำ�ตัวท่อนบนยาวกว่าท่อนล่าง ผิวดำ� ปากกว้าง หัวเถิก ผมหยิกงอ ใบหน้า คล้ายนกกระฮัง ลักษณะเด่นคือ นิ้ว มื อ ขวายาวโตคล้ า ยอวั ย วะเพศผู้ ช าย ส่ ว นนิ้ ว ชี้ กั บ หั ว แม่ มื อ ซ้ า ยงอหยิ ก เป็ น วงเข้ า หากั น รู ป อ้ า ยเท่ ง ไม่ ส วมเสื้ อ นุ่งผ้ าโสร่งตาหมากรุ ก มีผ้าขาวม้า คาดพุง มีมีดอ้ายครก(มีดปลายแหลม ด้ามงอโค้ง มีฝัก)เหน็บที่สะเอว เป็น คนพูดจาโผงผาง ไม่เกรงใจใคร ชอบ ข่มขู่และล้อเลียนผู้อื่น เป็นคู่หูกับอ้าย หนูนุ้ย เป็นตัวตลกที่นายหนังเกือบทุก คณะนิยมนำ�ไปแสดง


2. อ้ายหนูนุ้ย ไม่มีบันทึกว่าใครเป็นคนสร้าง หนูนุ้ยมีบุคลิก ซื่อแกมโง่ ผิวดำ� รูปร่างค่อนข้างเตี้ย พุงโย้ คอตก ทรงผมคล้ายแส้ม้า จมูกปากยื่นคล้าย ปากวัว ไว้เคราหนวดแพะ รูปอ้ายหนูนุ้ยไม่สวม เสื้อ นุ่งผ้าโสร่งไม่มีลวดลาย ถือมีดตะไกรหนีบ หมากเป็นอาวุธ พูดเสียงต่ำ�สั่นเครือขึ้นนาสิก เป็ นคนหู เบาคล้ อ ยตามคำ � ยุ ย งได้ ง่ า ย แสดง ความซื่อออกมาเสมอ ไม่ชอบให้ใครพูดเรื่องวัว เป็นคู่หูกับอ้ายเท่ง และเป็นตัวตลกที่นายหนัง ทุกคณะนิยมนำ�ไปแสดงเช่นกัน 3. นายยอดทอง ไม่ มี บั นทึ ก ว่ า ใครเป็ นคนสร้ า ง แต่ เชื่ อ กั น ว่ า เป็นชื่อคนที่เคยมีชีวิตอยู่จริง เป็นชาวจังหวัด พัทลุง รูปร่างอ้วน ผิวดำ� พุงย้อย ก้นงอน ผมหยิกเป็นลอน จมูกยื่น ปากบุ๋ม เหมือนปาก คนแก่ไม่มีฟัน หน้าเป็นแผลจนลายคล้ายหน้า จระเข้ ใครพูดถึงเรื่องจระเข้จึงไม่พอใจ รูป ยอดทองไม่ ส วมเสื้ อ นุ่ ง ผ้ า ลายโจงกระเบน เหน็ บ กริ ช เป็ น อาวุ ธ ประจำ � กาย เป็ นคนเจ้ า ชู้ ใจเสาะ ขี้ขลาด ชอบปากพูดจาโอ้อวดยกตน ชอบขู่หลอก พูดจาเหลวไหล บ้ายอ ชอบอยู่กับ นายสาว จนมีสำ�นวนชาวบ้านว่า “ยอดทองบ้า นาย” เป็นคู่หูกับนายสีแก้ว

4.นายสีแก้ว ไม่มีบันทึกว่าใครเป็นคนสร้าง แต่เชื่อกันว่าเอา บุคลิกมาจากคนชือ่ สีแก้วจริงๆ เป็นคนมีตะบะ มือ หนัก เวลาโกรธใครจะตบด้วยมือหรือชนด้วยศรีษะ เป็นคนกล้าหาญ พูดจริงทำ�จริง ชอบอาสาเจ้า นายด้วยจริงใจ ตักเตือนผู้อ่ืนให้ปฏิบัติดีปฏิบัติ ชอบตามทำ�นองคลองธรรม เป็นคนรูปร่างอ้วน เตีย้ ผิวคล้�ำ มีโหนกคอ ศรีษะล้าน นุง่ ผ้าโจง กระเบนลายตาหมากรุก ไม่สวมเสือ้ ไม่ถอื อาวุธ ใดๆ ใครพูดล้อเลียนเกีย่ วกับเรือ่ งพระ เรือ่ งร้อน เรือ่ งจำ�นวนเงินมากๆ จะโกรธทันที พูดช้าๆ ชัด ถ้อยชัดคำ� เพือ่ นคูห่ คู อื นายยอดทอง 5. อ้ายสะหม้อ หนังกัน้ ทองหล่อเป็นคนสร้าง เลียนแบบบุคลิกมา จากมุสลิมชือ่ สะหม้อ เป็นคนบ้านสะกอม อำ�เภอ จะนะ จังหวัดสงขลา ซึง่ นายสะหม้อเองก็รบั รูแ้ ละ อนุญาตให้หนังกั้นนำ�บุคลิกและเรื่องราวของตน ไปสร้างเป็นตัวละครได้ รูปอ้ายสะหม้อหลังโกง มี โหนกคอ คางย้อย ลงพุง รูปร่างเตีย้ สวมหมวก แบบมุสลิม นุง่ ผ้าโสร่ง ไม่สวมเสือ้ เป็นคนอวดดี ชอบล้อเลียนคนอืน่ เป็นมุสลิมทีช่ อบกินหมู ชอบ ดืม่ เหล้า พูดสำ�เนียงเนิบนาบ รัวปลายลิน้ ซึง่ สำ�เนียงของคนบ้านสะกอม มีนายหนังหลายคน นำ�อ้ายสะหม้อไปเล่น แต่ไม่มใี ครพากย์ส�ำ เนียงสะ หม้อได้เก่งเท่าหนังกัน้ ปกติสะหม้อจะเป็นคูห่ กู บั ขวัญเมือง


6. อ้ายขวัญเมือง เป็นตัวตลกเอกของหนังจันทร์แก้ว จังหวัดนครศรีธรรมราช ไม่มีประวัติ ความเป็นมา คนในจังหวัดนครศรีธรรมราชจะไม่เรียกว่า “อ้ายเมือง” เหมือน นายหนังจังหวัดอื่นๆ แต่เรียกว่า “ลุงขวัญเมือง” ซึ่งแสดงให้เห็นว่าหากตัว ตลกตัวนี้นำ�บุคลิกมาจากคนจริง ก็คงเป็นคนที่ได้รับการยกย่องจากคนใน ท้องถิ่นอย่างสูงทีเดียว อ้ายขวัญเมืองหน้าคล้ายแพะ ผมบางหยิกเล็กน้อย ผิวดำ� หัวเถิก จมูกโด่งโตยาว ปากกว้าง พุงยานโย้ ก้นเชิด ปลายนิ้วชี้บวม โตคล้ายนิ้วอ้ายเท่ง นุ่งผ้าสีดำ� คาดเข็มขัด ไม่สวมเสื้อ เป็นคนซื่อ แต่บาง ครั้งก็ฉลาด ขี้สงสัยใคร่รู้เรื่องคนอื่น พูดเสียงหวาน นายหนังในจังหวัดสงขลามักนำ�ขวัญ เมืองมาเป็นคู่หูกับสะหม้อ นายหนัง ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชแถวอำ � เภอเชี ย รใหญ่ อ.หั ว ไทร อ.ปากพนั ง อ.ท่าศาลา มักให้ขวัญเมืองแสดงคู่กับนายยอดทอง หนังพัทลุง ตรัง นิยมให้ เป็นตัวบอกเรื่อง เฝ้าประตูเมือง หรือเป็นพนักงานตีฆ้องร้องป่าว โดยปกติตัวตลกหนังตะลุงจะต้องมีคู่หู เพื่อเอาไว้รับส่งมุกตลกโต้ตอบ กัน ในแต่ละเรื่องจะมีตัวตลกเอกอย่างน้อยสองคู่ คือ เป็นพี่เลี้ยง พระเอกคู่หนึ่ง และเป็นพี่เลี้ยงนางเอกคู่หนึ่ง นอกจากที่ยกตัวอย่างมา ยังมีตัวตลกประกอบอีกจำ�นวนมาก



ท้ายสุดนี้...กระผมหวังเพียงแต่จะให้ตัวหนังตะลุงได้ โลดแล่นอยู่ในใจของทุก ๆ คนตลอดไป...มิใช่เพียงรูปหนังที่ เคลื่อนไหวอยู่บนจอภาพหรือปักทิ้งไว้ เพื่อรอการเสื่อมสลาย...




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.