40 Anniversary Faculty of Dentistry CMU

Page 1




Preface From the beginning to the present day, the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University owed its existence and progress to the commitment and determination of the founders, the administrators, teams of lecturers and supporting staff in every generation for the past 40 years. It has been an ongoing development for which everyone involved has reason to be proud. The next step into the future is an important one that will lead the organization to stand firmly as an institute of Dental Education at the forefront at both national and international levels. This booklet, which commemorates this special occasion, focuses on written accounts from various individuals from the past to the present in order to provide a

40 record of the past for everyone interested, and to serve as a source of reference for future developments.

As the current Dean of the Faculty of Dentistry, I would like to thank everyone involved in writing this commemorative booklet, including former deans, alumni and all the deans of the institutes with which we have MoUs for the congratulatory messages. I offer my appreciation for the work of the subcommittee responsible for creating this 40th anniversary publication. Associate Professor Thongnard Kumchai Dean


0

คำ�นำ� จากก้าวแรก...ปัจจุบันของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้วยความมุ่งมั่น แน่วแน่จาก ผู้เริ่มก่อตั้ง และสานต่อจากผู้บริหาร คณาจารย์ ร่วมกับ บุคลากรสายสนับสนุน รุ่นต่อรุ่น จนครบ 40 ปี นับได้ ว่าเป็นพัฒนาการที่มีอย่างต่อเนื่องและเป็นที่ภาคภูมิใจ ของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ก้าวต่อไปสู่ข้างหน้า ถือเป็นก้าว ย่างที่สำ�คัญที่จะนำ�พาองค์กรไปยืนอยู่อย่างมั่นคงเพื่อ เป็นสถาบันทางการศึกษาทางทันตแพทยศาสตร์ในระดับ แนวหน้าของประเทศและระดับนานาชาติ การจัดทำ� หนังสือทีร่ ะลึกในวาระพิเศษนี้ จึงมุง่ เน้นการบันทึกเรือ่ ง ราวต่างๆ จากอดีตจนถึงปัจจุบนั เพือ่ ให้ได้รบั ทราบโดย ทั่วกัน อีกทั้งเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ในโอกาสภายหน้า ในนามของคณบดี คณะทั น ตแพทยศาสตร์ ขอ ขอบพระคุณทุกท่านที่ได้ร่วมบันทึกในหนังสือที่ระลึกนี้ ตั้งแต่อดีตคณบดี ศิษย์เก่า รวมทั้งสารแสดงความยินดี จากผูท้ รงคุณวุฒทิ กุ ท่าน และขอแสดงความชืน่ ชมคณะ อนุกรรมการจัดทำ�หนังสือที่ระลึก 40 ปี ไว้ ณ ที่นี้

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทองนารถ คำ�ใจ คณบดี


สารบัญ

C O N T 8 34 58 66

สารแสดงความยินดี Congratulatory Messages ความเป็นมาของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ History of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University ประวัติของผู้ก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ถาวร อนุมานราชธน Biography of Dr.Thaworn Anuman Rajadhon, the Founder of the Faculty of Dentistry 4 ทศวรรษ : 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 Decades: 40 Years of The Faculty of Dentistry ทศวรรษที่ 1 (พศ.2515-2524) ก่อร่างสร้างคณะและพัฒนาการศึกษาตามปณิธาน The First Decade (1972-1981) : The Establishment of the Faculty ทศวรรษที่ 2 (พศ.2525-2534) ขยายการศึกษาและพัฒนาสู่ชุมชนและสังคม The Second Decade (1982-1991) : Expansion of class size and providing dental service to communities ทศวรรษที่ 3 (พศ.2535-2544) มุ่งมั่นพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา The Third Decade (1992-2001) : Improvement of educational standards ทศวรรษที่ 4 (พศ.2545-2554) ยกระดับการพัฒนาและก้าวสู่สากล The Fourth Decade (2002-2011) : Introduction to the international sphere

6

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


E N T S สู่ทศวรรษที่ 5 (พศ.2555-2564) สถาบันแห่งความเป็นเลิศ ที่คำ�นึงถึง ชุมชนและสังคม To the Fifth Decade (2012-2021) : Faculty of Excellence with Concern for the needs of the Public ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ (พ.ศ.2551-2555) Awards and Prizes (2008-2012) ศิษย์เก่าดีเด่น เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี List of Outstanding Alumni on the occasion of 40th anniversary (2012) ด้วยรักและผูกพัน : จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน Articles written by alumni and present students ม.เชียงใหม่ ...ไม้ใหญ่...คันดิน....หอมกลิ่นความทรงจำ� Articles written by staff รายชือ่ ผูบ้ ริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี พ.ศ.2555 List of Administrators (2012) อนุกรรมการจัดทำ�หนังสือที่ระลึก 40 ปี คณะทันตฯ มช. List of editorial staff of the 40th Anniversary Booklet

96 104 114 154 166 174 180

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

7


C

ongratulatory Messages


ส า ร แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

th

40 ANNIVERSARY FACULTY of DENTISTRY CHIANG MAI UNIVERSITY

10

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


สารจากนายกสภา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

40 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์-มช. ผมขอแนะนำ�ให้ทำ� 2 อย่าง คือ 1. ทบทวนอดีต เพื่อเรียนรู้รอบด้านจนถึงวันนี้ 2. กำ�หนดทิศทางที่จะเดินในอนาคต ผมขอเสนอให้กำ�หนดวิสัยทัศน์ที่รวมแนวความคิด 2 แนวทาง คือ 1. ส่งคณาจารย์ไปศึกษา “สิ่งที่เป็นเลิศที่สุดในโลก เกีย่ วกับสาขาวิชาทันตแพทย์” แล้วเร่งสร้างศูนย์ แห่งความเป็นเลิศหลายๆ ทาง 2. สร้างกลไกให้นำ�ความเป็นเลิศไปสู่ประชาชน ทั้งคนมีและคนจน คนจนก็ต้องได้รับประโยชน์ จากความเป็นเลิศทั้งหลาย ผมขอให้กำ�ลังใจ โดยขอให้ท่านคณบดี คณาจารย์ เจ้ า หน้ า ที่ และนั ก ศึ ก ษา เดิ น ไปข้ า งหน้ า ด้ ว ย 1) สุจริตใจและ 2) ความมุ่งมั่น ชนะอุปสรรค และ นำ�พาคณะทันตแพทยศาสตร์ก้าวกระโดดไปสู่ความ เป็นเลิศ

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

11


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

th

40 ANNIVERSARY FACULTY of DENTISTRY CHIANG MAI UNIVERSITY

12

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำ�เนินงานมาครบ รอบ 40 ปี ในปีพุทธศักราช 2555 ซึ่งคณะทันต แพทยศาสตร์ ได้ ดำ � เนิ น ภารกิ จ ด้ า นการเรี ย น การสอน การวิจัย และ การบริการวิชาการแก่ สังคม ผลิตบัณฑิตทางด้านทันตแพทยศาสตร์ ที่ มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และประเทศชาติ รวมทั้งการส่งเสริมและสร้าง ความแข็งแกร่งทางด้านการวิจัยของคณาจารย์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการบริการ วิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพและเป็น รูปธรรม ความสำ�เร็จของคณะทันตแพทยศาสตร์ เกิด จากการกำ�หนดวิสัยทัศน์ และภารกิจที่กว้างไกล ของผู้บริหาร ทุกยุคสมัย มีนโยบายที่ชัดเจนใน การปฏิบตั ิ และมีแผนการดำ�เนินงานทีส่ อดคล้อง ต่อเนื่องกันมาตลอด ในนามของมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ขออำ�นวยพรให้ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า และผู้เกี่ยวข้อง จงมีกำ�ลังกายและกำ�ลังใจในการดำ�เนินงานเพื่อ พัฒนาคณะทันตแพทย์ให้เจริญก้าวหน้าตลอดไป

( ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

13


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

สารจากประธานคณะกรรมการอำ�นวยการประจำ�คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็น โรงเรียนทันตแพทย์มาตรฐานแห่งแรกของประเทศไทย ที่มีกำ�เนิดในส่วนภูมิภาค นับเป็นคณะทันตแพทยฯ ที่ ต้ อ งบุ ก เบิ ก โดยไม่ มี แ บบอย่ า งในประเทศที่ จ ะ ได้เรียนรู้ เกือบทุกอย่างต้องศึกษาด้วยตนเองจาก การลองผิ ด ลองถู ก และประกอบกั บ ประเทศไทย ในขณะนั้น โดยเฉพาะในภูมิภาคยังขาดการพัฒนา หลายๆ อย่างที่จำ�เป็นสำ�หรับการพัฒนาคณะทันต แพทยฯ ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสาร และการคมนาคมและอื่นๆ อีกมาก นับว่าคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ต่อสู้อุปสรรค จนประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดี ไม่ยิ่งหย่อนกว่า โรงเรียนทันตแพทย์ฯ ใดในประเทศ ในยุ ค สมั ย ที่ มี ค วามก้ า วหน้ า ทางวิ ช าการและ เทคโนโลยี อ ย่ า งรวดเร็ ว การที่ จ ะสามารถตามทั น วิ ท ยาการและโรงเรี ย นทั น ตแพทยฯ อื่ น ๆ ทั้ ง ใน ประเทศและในสากล นับเป็นภารกิจที่สำ�คัญสูงสุด ตลอดจนการสร้ า งนวั ต กรรม เป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น เพื่ อ ที่ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะ สามารถแข่งขันกับสถาบันแนวหน้าอืน่ ๆ ได้ ความร่วม แรงร่วมใจของบุคลากรของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นหัวใจที่จะช่วยให้ความ สามารถในการแข่งขันนี้เป็นไปได้อย่างราบรื่นและ เป็นผลดี

14

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ในวาระที่คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวาระครบ 40 ปี ในครั้งนี้ จึงมีความเชื่อมั่นว่า คณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถที่ จ ะพั ฒ นาตนเองต่ อ ไปเพื่ อ มุ่งสู่ความเป็นเลิศได้สำ�เร็จในอนาคต อันใกล้

th

40 ANNIVERSARY FACULTY of DENTISTRY CHIANG MAI UNIVERSITY

(ศาสตราจารย์ นายแพทย์อาวุธ ศรีสุกรี) ประธานคณะกรรมการอำ�นวยการ ประจำ�คณะทันตแพทยศาสตร์

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

15


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

สารจากนายกทันตแพทยสภา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็น คณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย จัดตัง้ ขึ้นในส่วนภูมิภาคของประเทศ ปัจจุบันเป็นหน่วยงาน หลักหน่วยงานหนึ่งในการผลิตทันตแพทย์ มีศักยภาพ ในการผลิตในระดับทันตแพทยศาสตรบัณฑิตจนถึง ระดั บ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ได้ รั บ การยกย่ อ งในภารกิ จ อื่ น ควบคู่กับการผลิตบัณฑิตอีกหลายประการ ไม่ว่าจะ เป็ น การรั ก ษาทางทั น ตกรรม และโรคในช่ อ งปาก แก่ผู้ป่วย การวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ อีกทั้งยังมี ส่วนในการสนับสนุนและพัฒนาความเจริญก้าวหน้า ในด้านวิชาการทันตแพทย์แก่ประเทศเพื่อนบ้านใน ระดับภูมิภาค 40 ปีที่ผ่านมา เป็นที่ประจักษ์แก่สังคม วิชาชีพ และสังคมไทยว่า คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ มิ ใช่ ค ณะทั น ตแพทย์ ข องภาคเหนื อ แต่ เป็นคณะทันตแพทย์ของประเทศไทย ผลิตบัณฑิต ทันตแพทย์ทมี่ คี วามรู้ ความสามารถและมีความผูกพัน กับชุมชน ทำ�งานกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ตั้งแต่ เหนือสุดสยาม ณ อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ถึงใต้สุดแดนประเทศ ณ อำ�เภอสุไหงโกลก จังหวัด นราธิวาส รวมทั้งภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงสุดเขตประเทศภาคตะวัน ตก บัณฑิตของคณะฯ ได้รังสรรค์ผลงานตามภาระ หน้าที่ของแต่ละคนจนได้รับการเชิดชูเกียรติ ได้รับ การยกย่องจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในระดับประเทศและระดับนานาชาติ เป็นทีภ่ าคภูมใิ จ ของวิชาชีพโดยรวม

16

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


th

40 ANNIVERSARY FACULTY of DENTISTRY CHIANG MAI UNIVERSITY

ในวาระครบรอบ 40 ปี แห่ ง การ สถาปนา ผมขออาราธนาพระรัตนตรัย และสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง หลายที่ เ ป็ น ที่ นับถือในสากล โปรดบันดาลให้คณะผู้ บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรของ คณะทุ ก ท่ า น ได้ รั บ จตุ ร พรชั ย เป็ น กำ�ลังสำ�คัญของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้สามารถนำ� สุขภาพช่องปากที่ดีสู่ประชาชน บรรลุ ภารกิ จ ตามจุ ด มุ่ ง หมายและปรั ช ญา ของคณะฯ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มี คุณธรรมและจริยธรรม มีวินัย มีความ ภูมิใจในวิชาชีพ รับผิดชอบต่อสังคม ประเทศชาติ และขออานุ ภ าพแห่ ง คุ ณ ความดี ที่ ค ณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้สร้างสมให้ แก่สังคมไทยตลอด 40 ปีที่ผ่านมา จง ดลบันดาลให้กิจการของคณะ ประสบ แต่ความเจริญก้าวหน้า สามารถสร้าง บั ณ ฑิ ต ทั น ตแพทย์ เ ป็ น พลั ง แผ่ น ดิ น ให้แก่ประเทศไทย ตลอดไป

(ทันตแพทย์ศิริชัย ชูประวัติ) นายกทันตแพทยสภา

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

17


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Professor Peter A. Reichart, Berlin, Germany It is my great honour and pleasure to send this congratulatory message to the Faculty of Dentistry, Chiangmai University, which celebrates its fortieth anniversary in December this year. In 1972 the former Dental School, part of the Medical Faculty at that time, became Faculty with Professor Thaworn Anumanrajathon as the first Dean. I had the chance to be present in Chiangmai in 1972 when I was lecturer at the Department of Oral Surgery from 1970-1973. Looking back now I can say that over the last 40 years the Faculty has become one of the leading Dental Faculties in Thailand and I am very proud of this. The number of dental students has increased steadily, the interest in sophisticated research has grown and a large number of scholars from Chiangmai, Dental Faculty, have come back from abroad with Ph.D. or Dr. med.dent. degrees. Thus, the high standards of expertise in all fields of Dentistry have dramatically risen and have resulted in excellent research and teaching at the Faculty. Many of my former students have become Head of Departments at the Faculty or have held leading

18

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


positions in University administration, however, as time has passed, many of these have now retired. I am sorry to say, that some of my former friends and colleagues of the Faculty have already passed away, among them Dr. Thaworn who convinced me to come to Chiangmai, already in 1969! During the years many publications have been published together with colleagues from the Dental Faculty in Chiangmai. The first ones date back to the mid seventies of last century. We did field studies together on betel quid chewing and associated oral precancerous lesions among Northern Thai hill tribes, on dental anomalies, on oral lesions in HIV/AIDS patients and many other interesting topics such as oral manifestations in leprosy at McCain Leprosy Rehabilitation Centre, Chiangmai. Cooperation with the Faculty has always been excellent and I am proud to say that all of the scholars who have been with me in Berlin have become outstanding oral surgeons or implantologists with great reputation in Thailand and abroad. For my wife and me; Chiangmai has become kind of a second home during the last many years. We had a wonderful time in Chiangmai in the seventies and whenever we came back to Thailand. In fact, I recently checked my old passports and found out that I came to Thailand more than 40 times in 40 years! For now, my very best wishes go to the Faculty of Dentistry, to the former and present Deans, the Professors, the teaching staff and the dental students, hoping that there will be many more anniversaries to come – ad multos annos.

Dr. Peter A. Reichart Professor emeritus CharitĂŠ, Berlin, Germany Berlin, October 2012 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

19


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Professor Lakshman Samaranayake, Dean, Faculty of Dentistry, University of Hong Kong

It is a pleasure and a delight for me to write this congratulatory message to commemorate the fortieth anniversary, Crystal Jubilee of Chiang Mai University, Faculty of Dentistry. Over the last four decades the Faculty has grown in stature to be one of the most respected dental institutions in Asia and the anniversary is a wonderful time to reflect on its rich experience and bask in the glory! As I pen this message, I am reminded of the outstanding quality and the variety of the research that has stemmed from the Faculty over the decades, and this is due to the collective effort and aspirations of its talented staff, well respected in diverse spheres of research. A cursory perusal of the Faculty website is testimony to the breadth and the depth of research prosecuted in the Faculty, which is world class in quality and second to none. The Faculty’s post graduate programme is also fully fledged. I am aware, it has a well-established, Certificate, Masters and Ph.D. programmes in a variety of sub-disciplines indicating its commitment

20

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


to continuing and post graduate education and knowledge transfer. These are hall marks indeed of a mature and a vibrant Faculty. I take this opportunity to specifically congratulate Dean Thongnart Kumchai for his tireless efforts in leading the Faculty to be a beacon of dental education, particularly in northern Thailand. Chiang Mai is considered to be the largest and most culturally significant city in northern Thailand, and its Dental Faculty is now rooted in history as one of its most venerable educational institutions serving this community. On this auspicious occasion of its Crystal Jubilee, on behalf of my faculty, I am honored to wish the Chiang Mai University Faculty of Dentistry, and its academic staff many, many more bountiful and fulfilling years of achievements and milestones ahead!

Professor Lakshman Samaranayake Hon DSc, Hon FDSRCSE, DDS, BDS, FRCPath (UK), FCDSHK, HKAM(Path),FHKAM(DSurg), FHKCPath

Dean of Dentistry | Chair of Oral Microbiology | Tam Wah Ching Professor in Dental Science| The University of Hong Kong King James IV Professor I Royal College of Surgeons of Edinburgh, UK Director | Prince Philip Dental Hospital, Hong Kong

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

21


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Professor Junji Tagami,

Dean Graduate School of Medical and Dental Sciences, Dean, Faculty of Dentistry, Tokyo Medical and Dental University, Japan

On behalf of the Graduate School of Medical and Dental Sciences and the Faculty of Dentistry, Tokyo Medical and Dental University (TMDU), I would like to congratulate you on the 40th anniversary of your esteemed institution. Your faculty, staff, students, and, indeed, all the stakeholders in dental education in the region, must be very proud of your successful accomplishments over the past 40 years. It is also a great honor for us, TMDU, to be one of the institutions with which your school has concluded an academic agreement. In December 2001, Chiang Mai University and TMDU officially concluded an agreement to promote collaborations in the field of dental education and research. Since then, we have enjoyed frequent exchanges of faculty and students, the most recent example of which was a visit by a delegation of operative dentistry specialists from CMU to TMDU on April 12, 2012. We are very grateful that your current dean, Assoc. Prof. Thongnard Kumchai, has kindly spared time from his busy schedule to visit us from time to time.

22

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Besides the exchange of people and information, the TMDU Faculty of Dentistry, turning 80 in 2008, treasures in particular the experience of educating Thai dentists at our graduate school. Some of them are faculty members of your school, while some are still studying at TMDU. We strongly believe that these professionals, who understand both sides well, will play a key role in furthering our collaborative activities and strengthening our friendship. I would like to express once again our deepest respect for all the hard work you and your forebears have done to make your school as it is now. Finally, we would like to wish the Chiang Mai University Faculty of Dentistry a prosperous future and all the CMU faculty and staff every happiness.

Professor Junji Tagami

Dean, Graduate School of Medical and Dental Sciences, Dean, Faculty of Dentistry, Tokyo Medical and Dental University, Japan

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

23


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Dr. Ikuko Morio, Director, International Exchange Center Tokyo Medical and Dental University, Japan

Happy 40th Anniversary! On behalf of the International Exchange Center of Tokyo Medical and Dental University, and also as Chair of the Committee of International Relations of its Faculty of Dentistry, I would like to extend my sincere congratulations to all the faculty and staff of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University at this important juncture of the celebration of your 40th anniversary. Back in December 2004, when the 1st International Conference on Academic and Research Collaboration was held here in Chiang Mai, under the leadership of one of the former deans, Assoc. Prof. Virush Patanaporn, our faculty and students had an invaluable opportunity to present their research work and participate in exchange activities with participants from various countries. They told me about all the fond memories of their experience and the kind hospitality they enjoyed. At that time I recruited and screened participating students and had planned to go, but could not accompany them to the conference after all, due to other responsibilities at my university.

24

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


In November 2009, my next chance to visit your school arrived in the form of a kind invitation from the current dean, Assoc. Prof. Thongnard Kumchai, who would be hosting the 20th South East Asia Association for Dental Education (SEAADE) Annual Scientific Meeting, “ASEAN Dental Education: Oral Health for All.” At that time my new responsibility as Director of the International Exchange Center did not allow me to accept his kind offer. My young colleague, Dr. Jun Tsuruta, attended the meeting in my stead. This time is, therefore, my third chance to visit your esteemed school. The offer was originally made to our dean, Prof. Tagami, who unfortunately could not accept it due to a previous obligation. There is a Japanese saying of “Sando-me-no-shojiki,” or “The third time does the trick”. I feel all the more happy to be able to witness in person the 40th anniversary of your school and I am very proud to be part of this landmark event in the history of the Faculty of Dentistry of Chiang Mai University.

Wishing you all the best for the next 40 years and more! Ikuko Morio, DDS, PhD

Director, International Exchange Center Tokyo Medical and Dental University

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

25


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Professor Chun Pin Lin, Dean, School of Dentistry, National Taiwan University, Taiwan

On behalf of School of Dentistry, National Taiwan University, I congratulate Faculty of Dentistry, Chiang Mai University on 40 years of achievement. Your faculty has a position prestige and high honor in Thailand and internationally. Built on the fine tradition of Faculty of Dentistry, you have continued to make extraordinary contributions in teaching, learning as well as research of dental education. The official connections between our two faculties were from last year, since the moment we signed Memorandum of Understanding between School of Dentistry, National Taiwan University and Faculty of Dentistry, Chiang Mai University, our school values the sisterhood with your faculty and holds your faculty in high regard. Although our relationship of sister school is young, I hope that we could establish a strong and long-range relation through all kinds of academic exchanges.

26

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


In the past 40 years, Faculty of Dentistry, Chiang Mai University, in your present and former capacities, has contributed significantly to the nurturing of your young generations into has also placed an emphasis on support for your students, enabling their development in critical and creative thinking, life-long learning and leadership in the community. With these educational goals, I believe that your faculty could overcome all the challenges and keep making great progress in the future. Once again, please accept my sincere congratulations at this joyous occasion. I extend my best wishes to Faculty of Dentistry, Chiang Mai University for a delightful and successful 40th anniversary. Yours Sincerely,

Dean and Professor

School of Dentistry National Taiwan University

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

27


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Dr. Sun Hun Kim, Dean, School of Dentistry, Chonnam National University, Korea

On behalf of the Chonnam National University School of Dentisty, I am very pleased to have an opportunity to give my congraturatory remarks on the meaningful ceremonial event for the 40th anniversary celebration. I express my sincere congratulations with reverence to everyone including all the faculties, staffs and alumni who had contributed to the historical development of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. I am deeply impressed by the long school history and the attitude respecting and preserving the school history. Faculty of Dentistry, Chiang Mai University and School of Dentisty, Chonnam National University have built up an intimate relationships, since we signed a MOU on January 29, 2010. Dean, Thongnard Kumchai kindly visited my school in 2010 to celebrate 55th anniversary of my school. We sent and received students every year, giving students world-wide experiences including academics in dentistry.

28

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Furthermore, we hope and are going to promote and develop exchange program and cooperation in not only education but also scientific research in dentistry. By the agreement of cooperation and communications, we can share the information of dental science and execute the joint research works relating to basic and clinical dentistry. I wish the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University continued its proud history forever and we can continue heartful cooperation for mutual benefits based on a close friendship.

Sun Hun Kim

Dean, School of Dentistry Chonnam National University South Korea

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

29


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Professor Zhuan Bian, Dean, School of Stomatology Wuhan University, China

Words really fail to express my joy at the news that you are having the 40th anniversary celebration of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. Please accept my heartiest congratulations on the 40th anniversary of your school. Faculty in dental schools of Chiang Mai University and Wuhan University have been treasuring the friendship developed for such a long time. International boundaries have never weakened our mutual understanding and communication.

30

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


A very surprising coincidence is that my faculty are looking forward to the 50th anniversary of our dental school in this coming November. It seems to me that two close friends are celebrating their birthdays at the same time. Please allow me to describe this wonderful occasion in an old Chinese saying, and that would be “ A Double Blessing Has Descended Upon Our House!’ Once again, congratulations on achieving this memorable milestone!

Zhuan Bian, D.D.S. Ph.D,

Professor, Dean, School of Stomatology Wuhan University

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

31


สารแสดงความยินดี : Congratulatory Messages

Dr. Young Wook Park, President of Gangneung-Wonju National University Dental Hospital, Gangneung, Korea

Dear Dr. Thongnard Kumchai, Dean of the Faculty of Dentistry, members of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University, Ladies and Gentlemen. It is a great honor and pleasure for me to send a congratulatory message on the occasion of the 40th anniversary celebration of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. Although I regret very much that I am unable to attend the celebration, my heartfelt congratulations and best wishes are with the celebration as well as those who are participating. And on behalf of Gangneung-Wonju National University Dental Hospital, I would like to extend my sincere congratulations to the entire faculty and staff members of Chiang Mai University. Since 2009, the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University and Gangneung-Wonju National University Dental Hospital has had a very close relationship and promoted exchange programs such as student exchange, staff exchange, faculty visiting and so on. This year, we receive one group of students from the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University for a Dental Hospital Observation Program. My colleagues remarked that the students

32

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


are very active and sincere about their classes and hospital programs. As such, it was quite tough but very beneficial for their advancement in the Dentistry. Taking this opportunity, I would like to express my appreciation to the students and the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. Recently, Gangneung-Wonju National University Dental Hospital is involved in several MOU (Memorandum of Understanding) relationships with Dental Colleges, Hospitals and Research Institutes in Asia and Europe. In terms of university scale and environment, my hospital is neither large nor located in a big city. It is, however, located in a provincial city of outstanding natural beauty, the sea to the east and lush forested mountains to the west. Gangneung-Wonju National University Dental Hospital has taken advantage of its location making a success in Dental Tourism. Of particular note is the College of Dentistry and Dental Hospital, Gangneung-Wonju National University; one of the leading dentistry schools in Korea with advanced facilities and prominent professors. Dr. Young Wook Park, President of Gangneung-Wonju National University Dental Hospital, Gangneung, Korea

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

33


ความเป็นมาของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


H

istory

of the Faculty

of Dentistry, Chiang Mai University


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จาก... แผนกทันตกรรมในคณะแพทยศาสตร์ สู.่ .. คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จาก... พืน้ ทีห่ อ้ งฟันเล็กๆ ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ สู.่ .. พืน้ ที่ 11 ไร่บนถนนสุเทพ ถนนสายหลักสูม่ หาวิทยาลัยเชียงใหม่ จาก... การผลิตทันตแพทย์เริม่ ต้นเพียง 2 คน สู.่ .. การผลิตบัณฑิตทันตแพทย์ปลี ะ 110 คน และบัณฑิตศึกษา 100 คน จาก... ปี พ.ศ. 2515 แห่งการเริม่ ต้น สู.่ .. ปี พ.ศ. 2555

36

40 ปี

แห่งการสถาปนา

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

37


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประวัตคิ วามเป็นมา

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จากแผนกทันตกรรมซึ่งได้เริ่มมีการให้การรักษาทางทันตกรรมแก่ ชาวเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 โดยมีทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร อนุมานราชธน เป็นหัวหน้าแผนก ช่วงเวลาดังกล่าวแผนกทันตกรรม มีฐานะเป็นเพียงแผนกหนึ่งของโรงพยาบาลนครเชียงใหม่ สังกัดกรม การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ครัน้ ต่อมาถึงปี พ.ศ. 2502 ได้มกี าร จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ขึ้น แผนกทันต กรรม มีฐานะเป็นแผนกทันตกรรม คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล นครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งมีการโอนย้าย คณะแพทยศาสตร์เข้าสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แผนกทันตกรรม จึงได้เปลี่ยนเป็นแผนกหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2508

38

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


คณะทันตแพทยศาสตร์ในส่วนภูมภิ าค ได้ มี ก ารเปิ ด สอนขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกใน ปี พ.ศ. 2509 ในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งในขณะนั้น เริ่ ม ทดลองรั บ นั ก ศึ ก ษา 2 คน และ อาจารย์ที่ทำ�การสอนเป็นครั้งแรก ซึ่ง ก็ เ ป็ น ทั น ตแพทย์ ใ นแผนกทั น ตกรรม ของคณะแพทยศาสตร์นั้นเอง มีด้วย กัน 9 ท่าน คือ อาจารย์ทันตแพทย์ หญิ ง ดร.ถาวร อนุ ม านราชธน รอง ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์พิชิต โคตร จรัส ทันตแพทย์หญิงมลิวัลย์ โคตรจรัส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ธนะเพ็ญ ศรีสวุ รรณ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์เดช เมธา ทันตแพทย์หญิง พันธ์ทิพย์ เนียมทันต์ ทันตแพทย์หญิง อภินันท์ อัครชิโนเรศ รองศาสตราจารย์ ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง วั น เพ็ ญ ปั ญ จสถิ ต กุ ล

ทันตแพทย์หญิงทิพย์วรรณ กลิน่ สุคนธ์ อาจารย์ดงั กล่าวถือได้วา่ เป็นอาจารย์รนุ่ แรกของการเริม่ วางรากฐานของการสอน วิชาทันตแพทยศาสตร์ ในมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ นอกเหนื อ จากนั้นในสาขา วิชาต่างๆ ยังขาดแคลนอาจารย์ทท่ี �ำ การ สอนอยูเ่ ป็นจำ�นวนมาก จำ�เป็นต้องเชิญ อาจารย์พเิ ศษอีกหลายท่านมาช่วยสอน เช่ น ศาสตราจารย์ ทั น ตแพทย์ เ ติ บ จารุดิลก ทันตแพทย์ปิยะ เหล่าสุนทร ศาสตราจารย์ นายแพทย์พริ ญ ั สาหร่าย ทอง ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ นายแพทย์ เชือ้ โชติ หังสสูต ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ทันตแพทย์หญิง ท่านผูห้ ญิงเพ็ชรา เตชะ กัมพุช ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ หญิงพรรณี สุ่มสวัสดิ์ และทันตแพทย์ คล้าก แลมเบอร์ตนั

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

39


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 ได้มีประกาศ จากสำ�นักนายกรัฐมนตรี ได้อนุมัติให้ ยกฐานะจากแผนกทันตกรรมขึ้นเป็น ภาควิชาทันตแพทยศาสตร์ สังกัดคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในช่ ว งเวลาตั้ ง แต่ นั้ น มาขอบเขตของ การทำ � งานและการรั บ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ศึกษาในแต่ละรุน่ เพิม่ มากขึน้ ตามลำ�ดับ ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2515 ได้ มี ป ระกาศสำ � นั ก นายกรั ฐ มนตรี ใ ห้ มี การจัดตั้งเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อันเป็นคณะใน ลำ�ดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็ น คณะทั น ตแพทยศาสตร์ แห่ ง แรกที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในเขตภู มิ ภ าค มี อาจารย์ ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง ดร. ถาวร อนุมานราชธน ดำ�รงตำ�แหน่งคณบดี คนแรกและเป็นผู้ดำ�เนินโครงการจัดตั้ง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

40

เชี ย งใหม่ จนดำ � เนิ น การจั ด ตั้ ง เป็ น ผลสำ�เร็จโดยมี ผู้ ที่มีส่ ว นสนั บสนุ น ให้ โครงการจัดตั้งคณะเป็นไปได้อย่างดียิ่ง ได้แก่ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญสม มาร์ติน อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศาสตราจารย์ พั น โทสี สิ ริ สิ ง ห อดี ต คณบดี ค ณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (คณะทันต แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน)

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


History of Secretariat the Faculty Office of Dentistry, Chiang Mai University A Dentistry Department was first established at Nakorn Chiang Mai Hospital in 1952, by Dr. Thaworn Anuman Rajadhon, the first Dean. It became a part of the Faculty of Medicine in 1965. Dentistry was first taught in the Faculty of Medicine in 1966 with an enrollment of two students. In 1972 the Faculty of Dentistry was established and then moved to its permanent location opposite Suan Dok temple on Suthep Road in 1976. At present the faculty is housed in eight buildings designated as follows:

General Administrative Section Finance and Supply Section Policy, Planning and Quality Assurance Section Educational Services, Research Administration and Academic Services Section

Departments Oral Biology and Diagnostic Sciences Family and Community Dentistry Orthodontics and Pediatric Dentistry Restorative Dentistry and Periodontology Prosthodontics Oral and Maxillofacial Surgery

Dental Hospital Dental Hospital’s Secretariat Office Patient Service Group

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

41


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปัจจุบัน มีอาคารสำ�นักงาน ห้องบรรยาย ห้องปฏิบัติการ คลินิก และ ศูนย์วิจัยต่างๆ รวมทั้งสิ้น

8 อาคาร 42

สถานที่ทำ�งานเดิมในช่วงที่เป็นแผนก ทันตกรรมนั้น อยู่บนชั้นสองของอาคารซึ่ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของตึ ก ผู้ ป่ ว ยนอกของคณะ แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ ห้ อ งทำ � งานของแผนกทั น ตกรรมจะมี อ ยู่ 2 ห้อง ซึ่งประกอบด้วยห้องตรวจ ห้อง เอกซเรย์ และห้องอุดฟันที่ใช้ร่วมกัน 1 ห้อง และห้องถอนฟันอีก 1 ห้อง โดยอาจารย์ ทันตแพทย์ที่ทำ�การสอนนั้นจะหมุนเวียน ผลัดเปลี่ยนกันไปเป็นอาจารย์ในแต่ละห้อง สลับกัน และหลังจากที่ได้เป็นภาควิชาทันต แพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2511 ก็ยังคงใช้ ห้อง 2 ห้องนั้นเป็นสถานที่ทำ�งานอยู่ ในปี พ.ศ. 2512 คณะแพทยศาสตร์ได้ย้ายสถาน ที่ทำ�งานไปยังตึก 7 ชั้นที่สร้างใหม่ ภาค วิชาทันตแพทยศาสตร์ ได้รับการดัดแปลง ให้เป็นห้องทำ�งานของภาควิชา หลังจากได้ รับการประกาศเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์ แล้ว ก็ยังใช้สถานที่นี้ทำ�การสอน การวิจัย

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


และบริการผู้ป่วยเรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 2519 ด้วยขอบเขตของงานผลิตบัณฑิต สาขาทันตแพทยศาสตร์เพื่อออกมารับ ใช้สังคมให้มากยิ่งขึ้น การรับนักศึกษา ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในแต่ ล ะปี แ ละงานในสาขา ต่ า งๆ มี บุ ค ลากรในการทำ � งานเพิ่ ม ขึ้น ประกอบกับสถานที่เดิมของคณะ ทันตแพทยศาสตร์ค่อนข้างจะคับแคบ คณะฯ จึ ง ได้ รั บ การอนุ มั ติ ใ ห้ ดำ � เนิ น การจั ด สร้ างอาคารที่ทำ�การถาวรขึ้น ในที่ ดิ น ของมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จำ�นวน 11 ไร่ บนถนนสุเทพ ตรงข้าม วัดสวนดอก ปัจจุบนั มีอาคารสำ�นักงาน ห้องบรรยาย ห้องปฏิบัติการ คลินิก และศูนย์วิจัยต่างๆ รวมทั้งสิ้น 8 อาคาร โดยในปี ง บประมาณ 2556-2557 คณะฯ ได้ รั บ งบประมาณสนั บ สนุ น จำ�นวน 25 ล้านบาท สำ�หรับก่อสร้าง อาคารฝึกปฏิบัติงานคลินิก เพื่อขยาย

พืน้ ทีส่ �ำ หรับรองรับนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 6 ในการฝึกปฏิบัติงานในคลินิก และจัดเตรียมพืน้ ทีส่ �ำ หรับการเรียนการ สอน การวิจัย และการบริการวิชาการ สำ�หรับคลินกิ ทันตกรรมพิเศษ และศูนย์ ความเป็นเลิศทางทันตกรรมรากเทียม นอกจากนี้ คณะฯ มีหอพักสำ�หรับ ข้ า ราชการ/พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย จำ�นวน 1 อาคาร และหอพักสำ�หรับ นักศึกษาทันตแพทย์ จำ�นวน 1 อาคาร ในปี พ.ศ. 2553-ปัจจุบัน คณะฯ ร่วม กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ในมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ รวม 13 หน่วยงาน ลงทุน โครงการก่ อ สร้ า งหอพั ก นั ก ศึ ก ษาใน กำ�กับสวนดอก เป็นเงินจำ�นวน 219.9 ล้ า นบาท ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู่ ร ะหว่ า งการ ดำ�เนินการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

43


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

44

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


คณะทันตแพทยศาสตร์ตงั้ แต่เริม่ แรกจนถึงปัจจุบนั มีผดู้ �ำ รงตำ�แหน่งคณบดีในการ บริหารงาน 7 ท่าน คือ อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร อนุมานราชธน รอง ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์พิชิต โคตรจรัส รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์สัมพันธ์ ศรีสุวรรณ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทะนง ฉัตรอุทัย รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ร้อยเอกธำ�รง อนันตศานต์ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์วริ ชั พัฒนาภรณ์ และรองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทองนารถ คำ�ใจ เป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งคณบดี คนปัจจุบัน เริ่มต้นด้วยบุคลากรเมื่อแรกเริ่มของคณะทันตแพทยศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2509 ประกอบด้วย อาจารย์จำ�นวน 9 คน ทันตนามัย 1 คน พยาบาล 2 คน ผู้ช่วยพยาบาล 4 คน นักการภารโรง 2 คน รวมทั้งสิ้น 18 คน ปัจจุบันคณะ ทันตแพทยศาสตร์มีอาจารย์ จำ�นวน 120 คน (ข้าราชการสาย ก จำ�นวน 26 คน พนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ จำ�นวน 94 คน) ข้าราชการสาย ค จำ�นวน 6 คน พนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบตั กิ าร จำ�นวน 102 คน ลูกจ้างประจำ� จำ�นวน 28 คน พนักงานส่วนงาน (ลูกจ้างชั่วคราว) จำ�นวน 103 คน รวมทั้งสิ้นจำ�นวน 359 คน การบริหารงานของคณะทันตแพทยศาสตร์ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก งบประมาณเงินแผ่นดิน งบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย ตลอดจนงบประมาณ เงินบำ�รุงโรงพยาบาลทันตกรรม โดยดำ�เนินการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การ บริการวิชาการ และการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรมตามพันธกิจอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2551 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นผลให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เปลี่ยน สถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ โดยปัจจุบันได้มีการบริหารจัดการ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1.ส่วนวิชาการ ประกอบด้วย 6 ภาควิชา คือ 1.1. ภาควิชาชีววิทยาช่องปากและวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก แบ่งเป็น 3 สาขาวิชา คือ 1.1.1 สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก 1.1.2 สาขาวิชาพยาธิวิทยาช่องปากและเวชศาสตร์ช่องปาก 1.1.3 สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

45


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

46

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


1.2 ภาควิชาทันตกรรมครอบครัวและชุมชน แบ่งเป็น 2 สาขาวิชา คือ 1.2.1 สาขาวิชาทันตกรรมชุมชน 1.2.2 สาขาวิชาทันตกรรมทั่วไป 1.3 ภาควิชาทันตกรรมจัดฟันและทันตกรรมสำ�หรับเด็ก แบ่งเป็น 2 สาขาวิชา คือ 1.3.1 สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน 1.3.2 สาขาวิชาทันตกรรมสำ�หรับเด็ก 1.4 ภาควิชาทันตกรรมบูรณะและปริทันตวิทยา แบ่งเป็น 4 สาขาวิชา คือ 1.4.1 สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต์ 1.4.2 สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ 1.4.3 สาขาวิชาคราวน์และบริดจ์ 1.4.4 สาขาวิชาปริทันตวิทยา 1.5 ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ แบ่งเป็น 4 สาขาวิชา คือ 1.5.1 สาขาวิชาฟันเทียมถอดได้ 1.5.2 สาขาวิชาฟันเทียมติดแน่น 1.5.3 สาขาวิชาใบหน้าและขากรรไกรประดิษฐ์ 1.5.4 สาขาวิชาทันตวัสดุศาสตร์ 1.6 ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล แบ่งเป็น 1 สาขาวิชา คือ 1.6.1 สาขาวิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 2. สำ�นักงานคณะฯ ประกอบด้วย 4 งาน คือ 2.1 งานบริหารทัว่ ไป 2.2 งานการเงิน การคลัง และพัสดุ 2.3 งานนโยบายและแผนและประกันคุณภาพการศึกษา 2.4 งานบริการการศึกษา บริหารงานวิจยั และบริการวิชาการ 3. โรงพยาบาลทันตกรรม ประกอบด้วย 2 งาน คือ 3.1 งานสำ�นักงานโรงพยาบาลทันตกรรม 3.2 งานบริการผูป้ ว่ ย 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

47


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ด้านการ

จัดการศึกษา ภายหลังจากที่รับนักศึกษาเข้าเรียน เป็นรุ่นแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 นั้น เริ่มต้นจากมีนักศึกษาเพียง 2 คน และ มีอาจารย์รุ่นแรกเพียง 9 คน งานด้าน การเรียนการสอนได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้น ไปตามลำ�ดับ ปัจจุบันมีหลักสูตร ระดับ ปริญญาตรี 1 หลักสูตร ระดับบัณฑิต ศึกษา 6 หลักสูตร หลักสูตรการฝึก อบรมทันตแพทย์ประจำ�บ้าน/เฉพาะ ทาง ระดับวุฒิบัตร 3 หลักสูตร และมี หลักสูตรการฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะ ทางระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพทันต กรรม 1 หลักสูตร โดยมีการรับนักศึกษา เข้าศึกษาในคณะฯ เพิ่มจำ�นวนขึ้นตาม ลำ�ดับทัง้ ในระดับปริญญาตรีและบัณฑิต ศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 เป็นต้นมา มี ก ารเพิ่ ม จำ � นวนรั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี จากเดิมปีละ 80 คน เป็น ปีละ 110 คน ภายใต้โครงการผลิต ทั น ตแพทย์ เ พิ่ ม ของสำ � นั ก งานคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ตามความ ต้ อ งการของกระทรวงสาธารณสุ ข ปั จ จุ บั น คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มี นักศึกษาระดับปริญญาตรีตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 6 จำ�นวน 631 คน ระดับ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา 105 คน และได้ ผ ลิ ต บัณฑิตสาขาทันตแพทยศาสตร์ไปแล้ว 41 รุ่น จำ�นวน 2,398 คน

48

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

49


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ด้านการวิจย ั มีการส่งเสริมและสนับสนุนการดำ�เนินงานวิจัย โดยมุง่ เน้นให้อาจารย์และนักวิจยั ได้มโี อกาสในการ ทำ�งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยจัดสรรงบประมาณ และโครงการสนับสนุนการวิจัยเป็นประจำ�ทุกปี ในปี พ.ศ.2545 ได้จัดตั้ง “ศูนย์วิจัยทางทันต แพทยศาสตร์” ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ ส่ง เสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพงานวิจัยทาง ทันตแพทยศาสตร์ รวมถึงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การศึกษา การวิจัย อันจะนำ�ไปสู่ความเป็นเลิศ ทางวิชาการ ซึ่งจะนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์พื้นฐานทุกสาขาวิชามาผสมผสานและ ประยุกต์ใช้ รวมทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นทาง ทันตกรรมและก่อให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่ นอกจาก นี้ มีการจัดตัง้ ห้องปฏิบตั กิ ารทันตวัสดุศาสตร์ ห้อง ปฏิบตั กิ ารพิสจู น์เอกลักษณ์บคุ คล และห้องปฏิบตั ิ การ Craniofacial Anomaly Laboratory เพื่อ สนับสนุนกลุ่มวิจัยที่มีความชำ�นาญและมีความ เชี่ยวชาญเฉพาะทางสูงให้มีการบูรณาการองค์ ความรู้ให้ยั่งยืน สำ�หรับการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัย คณะฯ ได้จดั สรรงบประมาณสำ�หรับจัดทำ�วารสาร ทางวิชาการ “เชียงใหม่ทันตแพทยสาร” โดย มีกองบรรณาธิการ ทำ�หน้าที่รวบรวม คัดสรร วิเคราะห์ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่เชื่อถือ ได้เผยแพร่ในวารสารอย่างรวดเร็วทันต่อการใช้ ประโยชน์ โดยได้รับการบรรจุชื่อวารสารในฐาน ข้อมูลดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Citation Index: TCI)

50

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 41 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ด้านการ

บริการวิชาการแก่ชมุ ชน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มปี ระกาศจัดตัง้ โรงพยาบาลทันตกรรมอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2551 โดยเป็นหน่วยงานที่ให้บริการรักษาทางทันตกรรมแก่ผู้ป่วย ทั้งการบริการขั้นปฐมภูมิและเป็นหน่วยงานรองรับการส่งต่อผู้ป่วยจากหน่วยงาน กระทรวงสาธารณสุขเขตภาคเหนือตอนบนในการบริการขั้นทุติยภูมิและตติยภูมิ โดยมีคณาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชาเป็นผู้ให้การรักษา นอกจากนี้ มีคลินิกทันตกรรมพิเศษ ให้บริการทางทันตกรรม โดยอาจารย์และ ทันตแพทย์เฉพาะทางทุกสาขา เปิดทำ�การทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 09.00-20.30 น. และ มีโครงการจัดตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศทางทันตกรรมรากเทียม โดยจะนำ�เทคโนโลยีงาน ทันตกรรมรากเทียม (Dental Implant Retained Prosthesis) มาใช้เพือ่ แก้ปญ ั หา และขยายขอบเขตการให้บริการที่เหมาะสมกับผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

51


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การประชุมวิชาการการศึกษาต่อเนื่อง

คณะฯ ได้รบั การรับรองจากศูนย์การ ศึกษาต่อเนื่องของทันตแพทยสภาให้ เป็นสถาบันเครือข่ายหลักทีพ่ ฒ ั นาระบบ การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ งให้ กั บ ผู้ ป ระกอบ วิชาชีพ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ ทางวิชาการด้านทันตแพทยศาสตร์และ ศาสตร์อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต เพื่อนำ�ไปปฏิบัติงานให้เกิด ประโยชน์สงู สุดต่อผูป้ ว่ ย รวมถึงเป็นการ สร้ า งหลั ก ประกั น และความมั่ น ใจให้ กับประชาชนว่าผู้ประกอบวิชาชีพทันต กรรมเป็นผูท้ ม่ี คี วามรูค้ วามสามารถ และ ประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพ อยู่ในมาตรฐานและมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องอยู่เสมอ โดยคณะฯ ร่วมกับ ภาควิชาจัดประชุมวิชาการการศึกษา

52

ต่อเนือ่ ง ปีละ 5-8 ครัง้ จัดการประชุม ใหญ่รว่ มกับชมรมทันตแพทย์ภาคเหนือ ปีละ 1 ครั้ง และยังได้จัดการประชุม วิชาการ ร่วมกับชมรมวิชาชีพสาขาต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีย้ งั มีการบริการวิชาการอืน่ ๆ อาทิ การให้บริการรับและแปลผลทาง ห้องปฏิบตั กิ ารโลหิตวิทยา การให้บริการ รับและแปลผลทางห้องปฏิบตั กิ ารพยาธิ วิทยา ศูนย์การให้บริการตรวจฟลูออไรด์ คณาจารย์ร่วมเป็นวิทยากร กรรมการ วิ ช าชี พ อนุ ก รรมการจรรยาบรรณ อนุ ก รรมการฝึ ก อบรมและสอบเพื่ อ อนุมตั บิ ตั ร/ วุฒบิ ตั รของทันตแพทยสภา และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ด้านการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม

และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

คณะทันตแพทยศาสตร์ ได้ส่งเสริม และสนับสนุนกิจกรรมการทำ�นุบำ�รุง ศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้บุคลากรรับรู้ เข้าใจและปฏิบัติ ตนตามวัฒนธรรมไทยและล้านนาอย่าง เหมาะสม ดำ�รงไว้ซงึ่ วัฒนธรรมอันดีงาม โดยจั ด กิ จ กรรมการทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วัฒนธรรมฯ เป็นประจำ�ทุกปี ในส่วนของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คณะฯ ได้จัดโครงการ “ทันตะรวมใจ ทำ�ไทยให้สะอาด” เพือ่ ร่วมกันทำ�ความ สะอาดสถานที่ ทำ � งาน และพั ฒ นา สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ประจำ � ทุ ก ปี มี ก าร ดำ � เนิ น โครงการ “3Rs : Reduce R e u s e R e c y c l e ค ณ ะ ทั น ต แพทยศาสตร์” เพื่อปลูกจิตสำ�นึกให้ บุคลากรและนักศึกษา มีความรู้ความ เข้ า ใจในการทิ้ ง ขยะและการคั ด แยก ขยะ นำ�สู่การลดปริมาณขยะ นำ�ขยะ มาแปรรูปและหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ มีการจัดโครงการ “รักษ์สงิ่ แวดล้อม การ ทำ�ปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกอง ในครัว เรือน” เพื่อลดปัญหาหมอกควัน และ เป็นทางเลือกใหม่ในการผลิตปุ๋ยเพื่อใช้ ในครัวเรือน และสามารถสร้างรายได้ ให้กับครอบครัว นอกจากนี้ คณะฯ ได้ดำ�เนินการ โครงการ “อนุรักษ์เวียงสวนดอก” ร่วม

กับ 6 คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพและ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ ซึ่งได้ นำ�ข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการอนุรักษ์ กำ�แพงเมืองด้านหลังของคณะฯ โดย จัดทำ�ป้ายแสดงประวัตขิ องกำ�แพงเมือง ในส่วนการอนุรักษ์พลังงาน คณะฯ ได้ กำ�หนดมาตรการประหยัดพลังงาน โดย ควบคุมดูแลการใช้น�ำ ม้ นั เชือ้ เพลิง ไฟฟ้า และนำ�้อย่างประหยัด 4 ทศวรรษ 40 ปี แห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ ได้ ส ร้ า งคุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ ท้ อ งถิ่ น และประเทศชาติ ต าม พั น ธกิ จ หลั ก ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่จะต้อง สร้างวัฒนธรรมการทำ�งานเพื่อความ เป็นเลิศ สร้างคุณภาพของการจัดการ ศึกษา การวิจัย และการบริการที่มี คุณภาพในระดับสูง ตามเจตนารมณ์ และปณิธานของการก่อตั้งคณะและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำ�สู่สถาบัน แห่ ง ความเป็ น เลิ ศ ที่ คำ � นึ ง ถึ ง ชุ ม ชน และสังคม (Faculty of Excellence with Public Concern) และการ ก้าวเข้าสู่ทศวรรษที่ 5 ที่จะมุ่งสู่ความ เป็นเลิศอย่างไร้พรมแดน (Beyond the Frontier) ด้วยความมุ่งมั่นเต็ม ศักยภาพต่อไป

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

53


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตราประจำ�คณะฯ คณะทั น ตแพทยศาสตร์ ได้ ใ ช้ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ของมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ โดยได้เพิ่มในส่วนของชื่อและ สีคณะฯ ซึ่งทางสภามหาวิทยาลัยได้ กำ�หนดตราประจำ�มหาวิทยาลัยเป็นรูป ช้างชูคบเพลิง และมีสุภาษิต เป็นภาษา บาลีว่า “อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา”

ดอกไม้ประจำ�คณะฯ Faculty Flower

มีความหมายว่า “บัณฑิตทัง้ หลายย่อม ฝึกฝนตนเอง” อยูใ่ นวงล้อมรอบรูปช้าง ช้างมีท่าทางเหมือนธรรมชาติ งวงจับ คบเพลิงชูขึ้นเหนือหัว เปรียบเสมือน แสงสว่างส่องทางให้นักศึกษาที่จะไปสู่ ความเจริญรุ่งเรืองต่อไป

สีประจำ�คณะฯ สีประจำ�คณะทันตแพทยศาสตร์ คือ สีม่วงเข้ม

Faculty Color ดอกบัวสุทธาสิโนบล The water lily “Sutasinobon”

54

The color of the Faculty of Dentistry is dark purple

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ วิสยั ทัศน์ / Vision

“ภายในปี 2558 เราจะเป็นสถาบันแห่งความเป็นเลิศทีค่ �ำ นึงถึงชุมชนและสังคม” “Faculty of Excellence with Concern for the Public by the year 2015”

พันธกิจ คณะทันตแพทยศาสตร์ ดำ�เนินพันธกิจตามแนวปณิธานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทำ�นุบ�ำ รุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ผลิตบัณฑิตทางด้านทันต แพทยศาสตร์ที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและประเทศชาติ รวมทั้งการส่งเสริมและสร้างความแข็งแกร่งทางด้านการวิจัยของคณาจารย์ เพื่อ สนับสนุนการเรียนการสอนและการบริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นรูปธรรม ตลอดจนส่งเสริมและดำ�รงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงามที่พึงกระทำ� เพื่อจรรโลงไว้ซึ่งความสมบูรณ์ในพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป

Mission The Faculty of Dentistry, Chiang Mai University has four tasks, namely management of teaching and learning, research, dental services and continuing education to society, and preservation of arts and culture. The major task is the production of dental graduates who are fully qualified and who can meet the needs of the community and the nation, including promoting and strengthening the Faculty’s research. In sum these activities are undertaken to coherently and effectively promote learning, teaching and carrying out academic services to society to sustain our national culture, and ensure the fulfilment of our duty as a higher educational institute. 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

55


ความเป็นมาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ คณะทันตแพทยศาสตร์ ผลิตบัณฑิตทุกระดับให้มีคุณภาพ คุณธรรม สอดคล้องกับความต้องการ และการเปลี่ยนแปลงของชุมชนและสังคม รวมถึงเตรียมรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน วิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์ทางทันตแพทยศาสตร์ และสาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ และเชื่อมโยงกับปัญหาของ ชุมชนและสังคม ให้บริการทางทันตกรรมที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล และเป็นศูนย์ ความเป็นเลิศในระดับประเทศ ให้บริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนและ สังคม ทำ�นุบำ�รุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของไทยและท้องถิ่นล้านนา รวมถึงอนุรักษ์ พัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

56

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


รายนามคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร อนุมานราชธน ( พ.ศ. 2515 - 2521) Dr.Thaworn Anuman Rajadhon (1972-1978)

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ พิชิต โคตรจรัส (พ.ศ. 2521 - 2525) Associate Professor Pichit Khotecharat (1978-1982)

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ สัมพันธ์ ศรีสุวรรณ (พ.ศ. 2525 - 2533) Associate Professor Sampan Srisuwan (1982-1990)

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ทะนง ฉัตรอุทัย (พ.ศ. 2533 - 2537) Associate Professor Thanong Chat Uthai (1990-1994)

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ เรือเอกธำ�รง อนันตศานต์ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ วิรัช พัฒนาภรณ์ (พ.ศ. 2537 - 2541) (พ.ศ. 2541 - 2549) Associate Professor Thumrong Anantasan Associate Professor Virush Patanaporn (1994-1998) (1998-2006)

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ทองนารถ คำ�ใจ (พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน) Associate Professor Thongnard Kumchai (2006 - present)

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

57


B

iography

of Dr.Thaworn Anuman Rajadhon, the Founder of the Faculty of Dentistry Chiang Mai University


ประวัติของผู้ก่อตั้งคณะทันแพทยศาสตร์ อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ถาวร อนุมานราชธน


ประวัติของผู้ก่อตั้ง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แด่อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร อนุมานราชธน ... ผู้แรกเริ่มก่อสร้างคณะ รังสรรค์งานสานเกื้อเพื่อประชา ผจงวางอิฐทีละก้อน สร้างเบ้าหลอมทางความคิดบัณฑิตไทย จากวันนั้นผ่านผันถึงวันนี้ ทันตแพทยศาสตร์ก้าวหน้าไปไม่หยุดยั้ง

วิริยะมิระย่อต่อปัญหา สูอ้ ตุ ส่าห์ฝา่ แรงต้านมองการณ์ไกล ผนึกซ้อนตามวิถีที่ฝันใฝ่ จ่อเปลวไฟใส่เชื้อดีมีพลัง คุณความดีมีผลชนรุ่นหลัง ผู้ก่อตั้งนามระบือชื่อ...ถาวร

ประพันธ์ โดย... อาจารย์ ทันตแพทย์อุทัยวรรณ กาญจนกามล

60

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ชีวประวัติของอาจารย์ ทันตแพทย์หญิง

ดร.ถาวร อนุมานราชธน คณบดีท่านแรก ผู้ก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

61


ประวัติของผู้ก่อตั้ง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

OF ชีวประวัติ BIOGRAPHY Dr. Thaworn Anuman Rajadhon, the Founder of the Faculty of Dentistry

62

เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 18 เมษายน พ.ศ.2469 ที่อำ�เภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร สมรสกับนายยรรยง อนุมานราชธน บุ ต รพระยาอนุ ม านราชธน และ คุณหญิงละไม มีบุตรชาย 1 คนและ บุตรสาว 2 คน อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร จบการศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมต้ น จาก โรงเรี ย นสตรี วั ฒ โนทั ย พายั พ เชียงใหม่ มัธยมปลายจากโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ และได้ รับทุนจากสำ�นักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้ศึกษา จนสำ�เร็จทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เหรี ย ญทอง จากจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

Dr. Thaworn Anuman Rajadhon was born on the 8th, April 1926. She married Mr. Yanyong Anuman Rajadhon, son of Praya Anumarn Rajadhon and Khun Ying Lamai. She and her husband had one son and two daughters. Dr. Thaworn completed the lower secondary level of her education at Wattanothaipayap School in Chiang Mai, and the upper secondary level at Triam Udom Suksa School in Bangkok. Later she received a scholarship from the Civil Service Committee Board to continue her studies, and graduated in Dentistry with the Gold Medal of Chulalongkorn University.

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ปี พ.ศ. 2495 เข้ารับราชการ

เป็ น ทั น ตแพทย์ ค นแรกประจำ � โรงพยาบาลนครเชียงใหม่ ต่อมาได้ ไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัย Tufts เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทุนมูลนิธิ Fulbright เป็นเวลา 3 ปี

In 1952, Dr. Thaworn started

working as a civil service dentist at Nakhorn Chiang Mai Hospital. Later, she received a Fulbright scholarship to study at Tufts University in Boston, USA, for three years.

ปี พ.ศ.2516 พระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยูห่ วั ฯ มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่งคณบดี คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่เป็นท่านแรก

In 1973, she was appointed by

the King to be the first Dean of the Faculty of Dentistry at Chiang Mai University.

ปี พ.ศ.2523 กระทรวงสาธารณสุข

ได้ขอยืมตัว อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร เพือ่ ให้มาเป็นผูด้ �ำ เนินการ ก่อตั้งศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่าง ประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2526 กระทรวงสาธารณสุขได้ขอโอนตัว มารับราชการโดยให้ดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้อำ�นวยการศูนย์ฯ จนเกษียณอายุ ราชการ เมือ่ พ.ศ. 2530

In 1980, the Ministry of Public

Health asked her in founding the International Public Dental Health Center, and in 1983, the Ministry arranged her transfer from CMU to work for them as the director of the Centre until she retired in 1987.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

63


ประวัติของผู้ก่อตั้ง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปี พ.ศ.2533 ได้รบั พระราชทาน

ปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาทั น ตแพทยศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

In 1990 , she received an Honorary Ph.D in Dentistry from CMU. In addition, she was one of the initiators of the Doctors Volunteer Foundation, under the patronage of the King’s mother.

64

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


นอกจากนีอ้ าจารย์ ทันตแพทย์หญิง ถาวร ยังได้มสี ว่ นร่วมก่อตัง้ มูลนิธแิ พทย์ อาสาฯ สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี หรื อ หน่ ว ยแพทย์ พอ.สว. อี ก ด้ ว ย และต่ อ มาล้ ม ป่ ว ยลงด้ ว ย โรคมะเร็ ง ตั้ง แต่ เ ดื อ นกั น ยายน พ.ศ. 2539 จนถึงแก่กรรมเมื่อวันอาทิตย์ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2540 รวมสิริอายุได้ 70 ปี 11 เดือน 18 วัน In September, 1996, she fell ill with cancer and died in 1997, on Sunday, April 6th, at the age of 70.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

65


4


4

ทศวรรษ : 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Decades

: 40 Years of The Faculty of Dentistry,Chiang Mai University


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ.2515-2524) ก่อร่างสร้างคณะและพัฒนาการศึกษาตามปณิธาน

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์พิชิต โคตรจรัส

ในปี พ.ศ. 2504 ทั้งจังหวัดเชียงใหม่ มีทันตแพทย์ปริญญา 3 คน รวมทั้ง ตัว ข้ าพเจ้ าด้ วย และยังมีทัน ตแพทย์ จีน พม่า อีกหลายคน เมื่อเริ่มทำ�งาน ใหม่ ๆ ที่ โรงพยาบาลสวนดอก ห้ อ ง ทันตกรรมมี Unit ทำ�ฟัน 1 ตัวเท่านั้น โดยมีหัวหน้า คือ อาจารย์ ทันตแพทย์ หญิงถาวร อนุมานราชธน ขณะนั้น ทาง โรงพยาบาลสวนดอกกำ�ลังเตรียมตัวจัด ตั้งคณะแพทยศาสตร์ โดยมี อาจารย์ นายแพทย์บุญสม มาร์ติน เป็นคณบดี ซึง่ ท่านมีจดุ ประสงค์ทแี่ น่วแน่วา่ ในสมัย ของท่าน จะต้องเปิดคณะทันตแพทย์ คณะเภสัช คณะพยาบาล คณะเทคนิค การแพทย์ ให้ได้

68

จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2507 ได้ทำ�การ เปิดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมีคณะ แพทยศาสตร์รวมอยู่ด้วย และใน 3-4 ปีถัดมา ได้มีโครงการ ซึ่งอาจารย์ หมอ บุญสม มาร์ติน เป็นอธิการบดี ให้ ทั้ง 4 โครงการจัดทำ� โครงการจัดตั้ง คณะฯ ของตนเองขึ้นมา นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยได้ให้งบในการสร้างกำ�ลัง คน (อาจารย์) อีกหลายๆ อัตรา โดยหา ทุนส่งไปศึกษาต่อ ทั้งทุนไทยและทุน ต่างประเทศ ซึ่งมีหลายๆ ประเทศ เช่น เยอรมัน อังกฤษ เดนมาร์ก อเมริกา ในส่วนตัวข้าพเจ้าได้ทุน WHO เรียน ต่ อ ที่ TUFTS University Boston Mass. USA ในวิชา Prosthodontics

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


The First Decade, 1972-1981 The establishment of the Faculty

by Associate Professor Pichit Khotechajart.

In 1961, in the whole of Chiang Mai province, there were only three fully qualified Thai dentists, of whom I was one, with the addition of some Chinese and Burmese dentists. The province’s only dental clinic was the one at Suan Dok Hospital, headed by Dr. Thaworn Anuman Rajadhon. At that time, Suan Dok Hospital was preparing to establish the Faculty of Medicine, of which Dr. Boonsom Martin, with the determination to found Faculties of Dentistry, Pharmacy, Nursing, and Associated Medicine in his time, was Dean. In 1964, when CMU was founded, the Faculty of Medicine was among the first to be established, and during the following three to four years of Dr Boonsom Martin’s rectorship, four more faculties were established with his support. The university granted scholarships both inside the country and abroad and offered encouragement to its lecturers to further their studies in such countries as Germany, England, Denmark, and America. I myself received a grant from WHO to study Prosthodontics at Tufts University in Boston Mass., USA. I received both an M.Sc and Post Doctorate certificate in Prosthodontics which was American Broad of Prosthodontics (Educible). 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

69


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จนจบ M.S. และ Post Doctorate Prosthodontics ซึ่งเป็น American Broad of Prosthodontics (Educible) ส่ ว นคนอื่ น ๆ ก็ แ ยกย้ า ยกั น ไปศึ ก ษา ต่อตามที่ตนเองสมัครไปเรียน ในส่วนของเครื่องไม้เครื่องมือ ซึ่ง ต้ อ งใช้ ง บประมาณค่ อ นข้ า งสู ง ทาง คณะทันตแพทย์ จุฬาฯ ได้ให้ความช่วย เหลือและสนับสนุนอย่างดีเยี่ยม ต่อมา โครงการจัดตั้งคณะฯ ก็ดำ�เนินมาด้วยดี ได้ท�ำ การขอเปิดคณะฯ โดยใช้หลักสูตร ของจุฬา เป็นส่วนใหญ่ หลังปี พ.ศ. 2518 ข้าพเจ้ากลับ จากจบการศึกษา และนำ�ความรู้และ ประสบการณ์ต่างๆ มาใช้ในคณะฯ ใหม่ ของเรา และในปี พ.ศ. 2520 ข้าพเจ้า ได้เป็นคณบดี จนถึงปี พ.ศ. 2524

70

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Where expensive dental equipment was concerned we received help from the Faculty of Dentistry, Chulalongkhorn Uni. Later, when the Faculty of Dentistry of this university was opened, its structure and procedures were based on those of Chulalongkorn University’s Dentistry Faculty. Having finished my studies in 1975, and having applied my knowledge and other experiences gained here, I became Dean of the Faculty in 1977.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

71


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ.2525-2534) ขยายการศึกษา และพัฒนาสู่ชุมชนและสังคม

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์สัมพันธ์ ศรีสุวรรณ

10 ปี ท่ี ส องของการขยายตั ว ของ คณะฯ มาจากฐาน 10 ปี แรกของการ เริ่มชีวิตคณะฯ เมื่อมองจากการเริ่มต้น ในการก่ อ ตั้ง สถาบั น การศึกษาทางทันต แพทยศาสตร์ในส่วนภูมภิ าคแห่งแรก ทีเ่ ริม่ จากศูนย์จริงๆ เพราะไม่มคี รูบาอาจารย์มา ก่อน ไม่มีอาคารเรียนเป็นของตนเอง ไม่มี อุปกรณ์เพื่อการเรียนการสอนอยู่เลย จะมี ก็ใจทีร่ ว่ มกันสูเ้ พือ่ ก่อตัง้ คณะฯ ของคนทีไ่ ด้ ทำ�งานอยู่เดิมในแผนกทันตกรรม รพ.สวน ดอกเป็นส่วนใหญ่ และอีกส่วนหนึ่งที่รับ เพิ่มขึ้นเพื่อการเตรียมตัวจัดตั้งคณะฯ ปี พ.ศ. 2519 ด้านกายภาพ เรามี อาคารเรียน 2-4 ชั้น ติดต่อกัน 5 อาคาร มี ภาควิชา 8 ภาควิชา

72

ระยะ 10 ปีที่ 2 ของการพัฒนาคณะฯ หากมองในมิตขิ องการขยายการศึกษาและ ออกสู่ชุมชน-สังคม ประมวลได้ ดังนี้ ด้านกายภาพและสิง่ แวดล้อม มี อ าคารใหม่ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก เป็ น อาคาร 4 ชั้น คือ อาคารคลินิกบริการทันตกรรม และตามมาด้วย มีอาคารใหม่เพิ่มขึ้นอีก หนึ่ ง หลั ง เป็ น อาคารเรี ย น 5 ชั้ น เพื่ อ รองรับนักศึกษาทีจ่ ะรับเพิม่ ขึน้ สนองความ ขาดแคลนทันตแพทย์ภูมิภาค ด้านสภาพ แวดล้อม เน้นความร่มรื่นเสมือนคณะใน สวนและความสะอาดโดยรวม

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


The Second Decade,1982–1991

Expansion of class size and providing dental service to communities by Associate Professor Sampan Srisuwan

During the second decade of the Faculty, the expansion based on the work and experience of the first decade was continued. Looking back to the earliest years, we can see that provision of dental service to the rural areas began from what was effectively zero, since there were no teachers, not a single educational building to work from, and not even teaching aids. All that we had was the heart and determination to fight for the objectives of those who had been working in the dental section of Suan Dok hospital and those who had planned for and eventually founded the Faculty of Dentistry. In 1976, materially the Faculty

had five 2-4 storey buildings housing eight departments.

During the second decade of the Faculty’s existence, a fourth building was constructed, housing the Dental Clinic, followed by the construction of a five-storey building responding to the need for more students who would eventually alleviate the shortage of dentists in the region. Conscious also of environmental aspects, we ensured that the grounds of the faculty were green and shady, and attention was also focused on overall cleanliness.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

73


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้านการขยายการศึกษาและความ ร่วมมือด้านการศึกษากับต่างประเทศ เพิม่ ภาควิชาทันตกรรมชุมชน (แยกออกจาก ภาควิชาทันตกรรมสำ�หรับเด็ก – ปี พ.ศ. 2527) และมีโครงการจัดตั้งภาควิชาทันต กรรมโรงพยาบาล รองรับการจัดการศึกษา ทันตกรรมแบบประสม ดังนั้น ภาควิชาแต่ เดิมมี 8 ภาควิชา ในทศวรรษนี้จึงมี 10 ภาควิชา

As for the expansion of education and educational cooperation with other countries, in 1984 we increased the number of our departments by taking Pediatric Dentistry out of the Community Dentistry Department and making it an independent Department of Pediatric Dentistry. Student exchange programs with universities in Germany and the UK were also launched.

74

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ในช่วงระยะนี้ (พ.ศ. 2529-2531) โดยความร่วมมือจากศูนย์ทนั ตสาธารณสุข ระหว่างประเทศ คณะฯ ได้จัดการศึกษา นานาชาติ หลั ก สู ต ร Dental Public Health ระดับปริญญาโท (MPH in Dental Public Health) หลักสูตร 1 ปี รับนักศึกษา จำ�นวน 20 คน (ไทย, ศรีลังกา, ญี่ปุ่น และจี น ) โดยการสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น การ จัดการศึกษาจากมหาวิทยาลัย Alabama, สหรั ฐ อเมริ ก า และได้ รั บ ปริ ญ ญาจาก มหาวิทยาลัย Alabama โดยมุง่ หวังให้เป็น หลักสูตรทางทันตสาธารณสุข ที่เป็นต้น แบบทันตสาธารณสุขในแถบประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ During the period 1986–88, the Faculty provided an international one-year curriculum for the Master in Dental Public Health (MPH) degree, recruiting graduates from Thailand, Sri Lanka, Japan, and China, with financial support from the University of Alabama, and the degrees were given from this university. This proved to be the beginning of public health dentistry in Southeast Asia. In addition, there was also educational collaboration with Tokyo Dental College, Japan and Frei University and University of Munster, Germany.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

75


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นอกจากนี้ ยังมีความร่วมมือด้าน การศึกษา สนับสนุนเครือ่ งมือและการแลก เปลี่ยนอาจารย์ดูงาน และให้ทุนการศึกษา กับ Tokyo Dental College ประเทศญีป่ นุ่ และกับ Frie University, University of Munster ประเทศเยอรมันนี เป็นต้น

76

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ด้านนักศึกษาและกิจกรรมนักศึกษา เพื่อชุมชน ในทศวรรษนี้ เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของประเทศ คณะฯ เพิ่ม รับนักศึกษาจากปีละ 70 คน เป็นปีละ 85-90 คน และมีโครงการเพิ่มโลกทัศน์ นั ก ศึ ก ษา โดยจั ด โครงการแลกเปลี่ ย น ดู ง านและทั ศ นศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษากั บ มหาวิทยาลัยต่างประเทศเป็นประจำ� เช่น กับมหาวิทยาลัยในประเทศอังกฤษและ เยอรมันนี เป็นต้น

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

77


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ.2535-2544) มุ่งมั่นพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทะนง ฉัตรอุทัย

การศึกษาสาขาทันตแพทยศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เริ่มต้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2510 โดยเป็นส่วนหนึง่ ของคณะ แพทยศาสตร์ มีการขยายและพัฒนาใน ด้านต่างๆ เป็นจำ�นวนมาก เช่น 1.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต ในปี พ.ศ. 2532 ทบวงมหาวิทยาลัย (ในขณะ นัน้ ) ได้ก�ำ หนดเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับ ปริญญาตรีใหม่ ซึง่ รวมถึงหลักสูตร ทันตแพทยศาสตรบัณฑิตด้วย

78

คณะฯ จึงได้ปรับปรุงหลักสูตรและ เริม่ ใช้หลักสูตรใหม่ ในปี พ.ศ. 2534 มี การเน้ น วิ ช าทั น ตกรรมชุ ม ชนมากขึ้น เพือ่ ให้บณ ั ฑิตใหม่ สามารถทำ�งานในโรง พยาบาลชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการเปลีย่ นแปลง ปรับปรุง เพิม่ เติมราย ละเอียดบางประการ เพือ่ ความเหมาะสม ในปี พ.ศ. 2537, 2539 และ 2541

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


The Third decade, 1992-2001 Improvement of educational standards by Associate Professor Thanong Chat Uthai

Numerous elements of expansion and development have continued: 1. In 1989, with the aim of developing the quality of education for the Bachelor Degree in Dentistry, the Ministry of University Affairs introduced new criteria concerning standards at the undergraduate level, and also a B.Sc in Dentistry. Following the introduction of the new criteria, the faculty improved its curriculum and brought in a new one in 1991. It focused more fully on community dentistry in order to enable graduates to work effectively in community hospitals. In order to make further increases of its efficiency, the curriculum underwent further improvement in quality and detail in the years 1994, 1996, and 1998.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

79


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1. การเปิดหลักสูตรบัณฑิตศึกษาด้านทันตแพทยศาสตร์ ในสาขา วิชาต่างๆ ดังนี้ ปีการศึกษา 2536 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (หลักสูตร 1 ปี) สาขาวิชาทันตกรรม ทั่วไป และสาขาวิชาปริทันตวิทยา ปีการศึกษา 2537 เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาทันตกรรมจัดฟัน และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขา วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต์ และสาขาวิชา ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ปีการศึกษา 2539 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขา วิชาเวชศาสตร์ช่องปาก ปีการศึกษา 2542 เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาทันตกรรมป้องกัน

80

ปีการศึกษา 2545 เปิดสอนหลักสูตรทันตแพทยศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (หลั ก สู ต รปกติ แ ละหลั ก สู ต รนานาชาติ ) หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันตวิทยา หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Different branches of dentistry for graduates were added as follows: In Academic Year 1993, one year studies of Clinical Medical Science, General Dentistry, and Periodontology were opened. In the Academic Year 1994, a curriculum for graduates was opened in Orthodontics, as were certificates for graduates in Prosthodontics, Endodontics and Oral and Maxillofacial Surgery. In Academic Year 1996, ccertificates for graduates majoring in Oral Medicine were introduced. In Academic Year 1999, a curriculum for a Master’s degree was opened in Preventive Dentistry In Academic Year 2002, Doctoral degrees, both national and international, were offered, and a curriculum for a Master’s degree majoring in Periodontology was introduced.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

81


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. อาคาร 20 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ (อาคาร 7) ในโอกาสเฉลิมฉลองครบ รอบ 20 ปี คณะทั น ตแพทยศาสตร์ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2535 มีการ จัดงานเฉลิมฉลอง การประชุมวิชาการ และทำ�บุญเปิดอาคารเรียน ตึก 5 ชั้น ชื่อ “อาคาร 20 ปี” เป็นที่ตั้งของห้อง สมุด พิพิธภัณฑ์ทางทันตแพทยศาสตร์ ถาวร อนุมานราชธน หน่วยวิจัยทาง ทันตแพทยศาสตร์ ห้องปฏิบตั กิ ารกลาง ภาควิชาต่างๆ สำ�นักงานคณบดี และ สำ�นักงานเลขานุการคณะฯ หน่วยงาน อาคารและห้องซัพพลาย

The Twenty Years of the Faculty of Dentistry Building (Building Seven) In celebration of the 20th Anniversary of the Faculty, on March 31st 1992, an academic conference and a ceremony to open this five-storey building, named the Twenty Years of the Faculty of Dentistry Building were held. The building accommodates a library, the Dr. Thaworn Anuman Rajadhon Dental Sciences Museum, a dental research unit, a central laboratory and different departmental units, including the dean’s office, the office of the secretariat, a building facilitating unit, and a supply room.

82

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


4.กองทุ น พั ฒ นาคณะทั น ต แพทยศาสตร์ ในโอกาสเฉลิมฉลอง ครบรอบ 20 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะกรรมการจั ด งานฯ มี ดำ � ริ จั ด ตั้ ง กองทุ น พั ฒ นาคณะฯ ขึ้ น เพื่ อ การ พั ฒ นาด้ า นวิ ช าการและคุ ณ วุ ฒิ ข อง อาจารย์ การส่งเสริมการวิจัย และเป็น ทุ น สนั บ สนุ น การศึ ก ษาแก่ นั ก ศึ ก ษา ทันตแพทย์ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์

5.มู ล นิ ธิ อ านั น ทมหิ ด ล มูลนิธิ อานันทมหิดล แผนกทันตแพทยศาสตร์ ได้ ถื อ กำ � เนิ ด เริ่ ม ต้ น ขึ้ น ในคณะทั น ต แพทยศาสตร์เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2535 และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิงสั่งสม ประภายสาธก ได้รับพระราชทานทุนฯ ในปีแรก

The Faculty Development Fund. In celebrating the 20th Anniversary of the Faculty, the organizing committee agreed on instituting a fund which would help promote academic activities and support The Dentistry Section of the lecturers conducting research, as Ananda Mahidol Foundation was well as dental students requiring inaugurated and on September financial assistance. 25th, 1992, Assist. Prof. Sangsom Prapayasatok was granted a scholarship in its first year. 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

83


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

6.โครงการพัฒนาอาจารย์ ทบวงมหาวิทยาลัย (ในขณะนั้น) และคณะทันตแพทยศาสตร์ต่างๆ ได้จัด ทำ�โครงการพัฒนาอาจารย์ สาขาทันตแพทยศาสตร์ เพื่อศึกษาต่อระดับปริญญาโท-เอก ณ ต่างประเทศ ตลอดหลักสูตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536- 2540 โดย งบประมาณแผ่นดิน มีอาจารย์ของคณะฯ เข้าร่วมใน โครงการ จำ�นวน 13 ท่าน The Lecturer Development Project The Ministry of University Affairs and various faculties of dentistry in Thailand collaborated in a project to encourage their lecturers to further their studies at both the master and doctoral levels abroad from 1993-1997. The budget was administered by the government, with 13 lecturers from our faculty benefiting from the program.

84

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


8. พิพธิ ภัณฑ์ทางทันตแพทยศาสตร์ “ถาวร อนุ ม านราชธน” เนื่ อ งใน โอกาสเฉลิมฉลองการก่อตั้งคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครบรอบ 30 ปี และเพื่อเป็นอนุสรณ์ แด่ท่านอาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ถาวร อนุมานราชธน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จึ ง ได้ จั ด ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท างทั น ตแพทยศาสตร์ “ถาวร อนุมานราชธน” ขึน้ ณ บริเวณ ชั้น 5 อาคาร 7 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แพทยศาสตร์ “ถาวร อนุมานราชธน” และศูนย์วจิ ยั ทางทันตแพทยศาสตร์ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2545 7.กองทุน “ทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า” ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ก่อตั้งขึ้นในวโรกาสครบรอบ 100 ปี วัน คล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งเวียนมา บรรจบในปีพุทธศักราช 2543

Apart from that the Dr. Thaworn Anuman Rajadhon Dental Sciences Museum was established to commemorate the first dean of the Faculty on the occasion of the faculty’s 30th anniversary.

On the occasion of the 100th anniversary of the birth of the Princess Mother in 2000, the 100th Year King’s Mother’s Fund under the patronage of HRH Princess Galyani Vadhana, HM the King’s eldest sister was initiated.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

85


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทศวรรษที่ 4 (พ.ศ.2545-2554) ยกระดับการพัฒนาและก้าวสู่สากล

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์วิรัช พัฒนาภรณ์

ยกระดับการพัฒนาและก้าวสูส่ ากล โดยเริม่ นำ�แผนดุลดัชนี (Balanced Scorecard) มาใช้เป็นเครื่องมือ ในการบริหารงานของคณะทันต แพทยศาสตร์ ตามแนวนโยบาย ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย นำ�มาใช้ในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายของคณะฯ ไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นรูปธรรม รวม ทั้งการติดตาม และการประเมิน ผ ล เ พื่ อ นำ � ผ ล ม า เ ป็ น ข้ อ มู ล ปรั บ ปรุ ง กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ใช้ ใ นการ บริหารจัดการ ได้เริ่มต้นในการ จัดแผนการบริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์ของคณะฯ (Dentistry’s BSC Objective Linkage-Faculty Level และ Dentistry’s BSC Strategic Linkage-Faculty Level) ให้ นำ�้ห นั ก ความสำ � คั ญ (Wt.) ของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของคณะทันตแพทยศาสตร์

86

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


The Fourth Decade: 2002-2011 Introduction into the international sphere by Associate Professor Virush Patanaporn

In this decade, the Faculty started using a Balanced Scorecard as a faculty administrative tool and attaining to the Dentistry’s BSC (Balanced Scorecard) Objective Linkage-Faculty Level and the Dentistry’s BSC Strategic LinkageFaculty Level. The quality assurance program that has been introduced since 2000 was also used as an important tool to improve our works. During that time, the government encouraged all dental schools in Thailand produce more dentists to serve people in rural areas. Since then, the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University has produced 30 more dentists yearly.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

87


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการเร่งรัดการผลิตทันตแพทย์เพิ่มเพื่อ ชาวชนบท เป็นอีกโครงการหนึ่งที่ได้ดำ�เนินการ ตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี โดยดำ�เนิน การอย่างเร่งด่วนร่วมกับองค์กรผูบ้ ริหารคณะทันต แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (อ.บ.ท.ท.) และได้ เพิม่ จำ�นวนผลิตนักศึกษาทันตแพทย์อกี ปีละ 30 คน ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ได้จัดตั้งหน่วย ประกันคุณภาพ เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาของ คณะทันตแพทยศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพตาม วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และได้ผ่านการ ตรวจสอบระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา ตั้ ง กองทุ น “ทุ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ 100 ปี สมเด็จย่า” ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่ นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ในโอกาสครบรอบ 100 ปี วันคล้าย วันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีนครินทรา บ ร ม ร า ช ช น นี ค ณ ะ ทั น ต แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงจัดตั้งกองทุนขึ้น เพื่อ เป็ น อนุ ส รณ์ สำ � นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมกิจการทันตสาธารณสุข ของประเทศ และสร้างความก้าวหน้าในวิทยาการ ทางทั น ตแพทยศาสตร์ และในโอกาสนี้ คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับ พระกรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ จากสมเด็จพระเจ้า พีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์กองทุน ดั ง กล่ า วและทรงประทานชื่ อ กองทุ น ว่ า “ทุ น เฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า” และได้รับ

88

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


A dental hospital has been established for both teaching and learning purposes, and also for taking care of patient’s dental problems. The special dental clinic which serves general patients was moved to building 6th, fourth floor, and increased in size by another 13-14 dental units. Moreover, the Faculty of Dentistry has provided an Implantology unit for the general public in Building 1st, third floor, since 2003. A dental research centre was established in order to embrace all kinds of basic medical science and apply it clinically to solve dental problems. In addition, a Continuing Education Provision Unit was set up to accommodate various academic conferences. Several international activities occurred at the Faculty during this period, such as being the hosts for the First International Conference for Research Presentation by Dental Students, on December 10th-12th 2004; the 20th South East Asian Association for Dental Education (SEAADE) Annual Scientific Meeting on November 23rd and 24th, 2009; and the First Asian Dental Forum (ADF) on January 31st – 1st February 2003, in collaboration with Tokyo Dental and Medical University. With support from Japan through the Japanese Consulate following the project entitled The Grant Assistance for Grassroots Human Security Projects, the faculty was able to purchase a Mobile Dental Unit, to the benefit of patients in need living in rural areas. 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

89


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อนุ มั ติ จั ด ตั้ ง กองทุ น ฯ เมื่ อ วั น ที่ 21 มิ ถุ น ายน 2543 โดยสมเด็ จ พระเจ้าพี่นางเธอฯ และสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ ทรงประทาน เงิ น สมทบกองทุ น ฯ รวมเป็ น เงิ น 510,000 บาท และมีผู้บริจาคเงิน โดยเสด็จพระราชกุศลในระยะแรก ของการจัดตั้งกองทุน รวมเป็นเงิน 3,112,500 บาท หลังจากนั้นได้จัด กิจกรรมเพื่อหารายได้จากการจัด กิจกรรมมาสมทบทุน จนถึงปัจจุบนั มีเงินกองทุนรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 11 ล้านบาท ในโอกาสครบรอบ 30 ปี ของการ ก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ ใน ปี พ.ศ. 2545 ได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ทางทั น ตแพทยศาสตร์ “ถาวร อนุมานราชธน” ขึน้ เพือ่ เป็นอนุสรณ์ แด่ อาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ถาวร อนุมานราชธน ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งและ เป็ น คณบดี ค นแรกของคณะทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี รศ.ทพ.สัมพันธ์ ศรีสุวรรณ เป็นที่ปรึกษาการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ และเป็นกรรมการดำ�เนินการจัดตั้ง พิพธิ ภัณฑ์ดว้ ย โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะ ดำ�เนินการต่อเนือ่ งให้เป็นพิพธิ ภัณฑ์ ทางทั น ตแพทยศาสตร์ แ ห่ ง แรก ของประเทศไทย ที่แสดงให้เห็นถึง แนวทางในการพัฒนาวิชาชีพทาง ทันตแพทยศาสตร์ให้กา้ วหน้าต่อไป ในอนาคต

90

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


โดยเปิ ด ให้ บ ริ ก ารทั้ ง ในและนอก เวลาราชการ ให้บริการและตรวจ รั ก ษาโดยอาจารย์ ทั น ตแพทย์ และผู้ เ ชี่ ย วชาญของคณะทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ จัดตัง้ โรงพยาบาลทันตกรรม โดย รวมคลินกิ ทันตกรรมพิเศษและห้อง ปฏิบตั กิ ารทันตกรรมเป็นหน่วยงาน ภายในโรงพยาบาลทันตกรรมด้วย และคณะทันตแพทยศาสตร์ได้รับ อนุมตั ใิ ห้เป็นโรงพยาบาลทันตกรรม เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2548 ตัง้ ศูนย์วจิ ยั ทางทันตแพทยศาสตร์ เพื่ อ นำ � ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ การแพทย์พื้นฐานทุกสาขามาผสม ผสาน และประยุกต์ใช้ทางคลินิก และแก้ไขปัญหาในการบริการและ การรักษาทางทันตกรรมและก่อให้ เกิดองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งจะนำ�ไปสู่ ความเป็นสากลและเกิดประโยชน์ แก่ประเทศชาติสืบไป และได้รับ พระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา เสด็ จ เป็ น องค์ ป ระธานในพิ ธี เ ปิ ด พิพธิ ภัณฑ์และศูนย์วจิ ยั เมือ่ วันศุกร์ ที่ 18 ตุลาคม 2545

จั ด ตั้ ง หน่ ว ยการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง “Continuing Education” เพื่อ รองรับการจัดประชุมวิชาการต่างๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การร่ ว มมื อ จั ด ประชุ ม วิ ช าการร่ ว มกั บ ชมรม ทันตแพทย์ภาคเหนือ

ปรับปรุงคลินิกทันตกรรมพิเศษใน พื้นที่ใหม่ อาคาร 6 ชั้น 4 และขยาย จำ � นวนยู นิ ต ออกไปอี ก ประมาณ 13-14 ยู นิ ต เพื่ อ รองรั บ ผู้ ป่ ว ย 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

91


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ริ เ ริ่ ม จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร นานาชาติ เพื่ อ เสนอผลงานของ นั ก ศึ ก ษาทั น ตแพทย์ (The 1 st International Conference for Research Presentation by Dental Students) โดยคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมครั้งแรก ในระหว่างวันที่ 10-12 ธันวาคม 2547 มีผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ คณบดี คณาจารย์ และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่ มี ค วามร่ ว มมื อ และลงนามในข้ อ ตกลงทางวิชาการ (MoU) กับคณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ รวมทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น เป็ น เวลานาน ได้แก่ Tokyo Medical and Dental University, Japan; University of Sydney, Australia; Kunming Medical College, China; The Arizona School of Dentistry & Oral Health, Arizona School of Health Sciences, USA.; The Prince Phillip Dental Hospital, Hong Kong; Wuhan University, China; Malmo University, Sweden จัดการประชุมวิชาการ 1st Asian Dental Forum (ADF) โดยคณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ เป็ น เจ้ า ภาพร่ ว มกั บ

92

Tokyo Dental and Medical University ประเทศญี่ปุ่น จั ด ประชุมในหัวข้อเรือ่ ง “Esthetics in Daily Conservative Dentistry” ที่ ค ณ ะ ทั น ต แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในระหว่าง วันที่ 31 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ 2546 ต่อจากนั้นก็มีการจัดการ ประชุม 2nd , 3rd ADF ที่คณะ ทันตแพทยศาสตร์ในประเทศไทย ได้ แ ก่ คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา และใน ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้อกี หลายครัง้

ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น จากรั ฐ บาล ญี่ปุ่นตามโครงการ The Grant Assistance for Grassroots Human Security Projects โดยผ่านทางสถานทูตญี่ปุ่นประจำ� ประเทศไทย เพื่อขอจัดซื้อชุดทันต กรรมเคลื่อนที่ (Dental Mobile Unit) เพื่อนำ�ไปบริการผู้ป่วยด้อย โอกาสและประชาชนที่อยู่ห่างไกล

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ในเขตทุ ร กั น ดารจนประสบผล สำ�เร็จและได้รับเงินสนับสนุนการ จัดซื้อชุดทำ�ฟันเคลื่อนที่ดังกล่าว เป็ น จำ � นวนเงิ น ทั้ ง สิ้ น 40,253 US Dollars (ประมาณหนึ่งล้าน ห้าแสนบาท) และได้ดำ�เนินการ รั บ มอบชุ ด ทั น ตกรรมเคลื่ อ นที่ จากเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำ� ประเทศไทย เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2547 และได้นำ�ไปใช้งานทันต กรรมเคลื่ อ นที่ ทั้ ง ในชนบทและ ในเมื อ งเพื่ อ บริ ก ารผู้ ป่ ว ยตาม วัตถุประสงค์ของการบริการผูป้ ว่ ย ของคณะทันตแพทยศาสตร์

จำ�นวนมาก ประเทศไทยมีจังหวัด ที่ได้รับผลกระทบทั้งสิ้น 6 จังหวัด ในเขตภาคใต้ เหตุการณ์ครัง้ นี้ คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ได้ประสานงานไปยังทันต แพทยสภา ซึ่ ง เป็ น องค์ ก รกลาง ทำ�หน้าที่รวบรวมพยานหลักฐาน ทางด้านทันตกรรม เพื่อส่งอาสา สมัครจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ เข้ า ร่ ว ม ปฏิ บั ติ ง านชั น สู ต รพลิ ก ศพ ที่ วัดย่านยาว อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา และในการเดิ น ทางไปปฏิ บั ติ ง าน ครั้งนี้ คณะฯ ได้รับการสนับสนุน บัตรโดยสารเครื่องบินจากบริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) ให้แก่ อาสาสมัครทุกท่านด้วย ทั น ตกรรมรากเที ย ม คณะทั น ต แพทยศาสตร์ ได้ เ ปิ ด บริ ก ารทาง ด้านทันตกรรมรากเทียมแก่บุคคล ทั่วไป ตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 เป็นต้น มา ณ บริเวณชั้น 3 อาคาร 1

จากเหตุการณ์สะเทือนใจประชากร ทั่ ว โลก กรณี พิ บั ติ ภั ย คลื่ น ยั ก ษ์ สึนามิ ถล่มชายฝั่งอันดามันและ คาบสมุ ท รอิ น เดี ย ในวั น ที่ 26 ธั น วาคม 2547 เป็ น เหตุ ใ ห้ มี จำ�นวนผู้เสียชีวิตและสูญหายเป็น

คณะฯ ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม The 20th South East Association for Dental Education (SEAADE) Annual Scientific Meeting ในหัวข้อเรื่อง “ASEAN Dental Education: Oral Health for All” ในระหว่างวันที่ 23 – 24 พฤศจิกายน 2552

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

93


4 ทศวรรษ 40 ปีแห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เริ่มโครงการผลิตทันตแพทย์เพิ่ม ของสำ�นักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาตามความต้องการของ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อแก้ไข ปั ญ หากำ � ลั ง คนด้ า นสาธารณสุ ข โดยเพิม่ การรับนักศึกษาทันตแพทย์ จากปีการศึกษาละ 80 คน เป็น 110 คน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547-2556 คณะฯ ดำ � เนิ น การปรั บ ปรุ ง หลักสูตร (ปรับปรุงมาก) ตาม เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ห ลั ก สู ต ร อุดมศึกษา ของสกอ. และกรอบ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2552 และสอดคล้ อ ง กั บ เกณฑ์ ม าตรฐานวิ ช าชี พ ของ ทั น ตแพทยสภา โดยหลั ก สู ต ร ผ่านการรับรองของสกอ. เมื่อวัน ที่ 24 พฤษภาคม 2552 และทันต แพทยสภาเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 เริ่มใช้หลักสูตรใหม่ ในปีการ ศึกษา 2553 เป็นต้นมา

94

ปี พ.ศ. 2550-2551 คณะฯ ได้ รั บ จั ด สรรงบประมาณเงิ น รายได้ และงบประมาณแผ่นดิน ในส่วน ของเงินอุดหนุนโครงการเร่งรัดการ ผลิ ต ทั น ตแพทย์ เ พิ่ ม เพื่ อ ต่ อ เติ ม ชั้นที่ 4 อาคาร 1 เป็นอาคารฝึก ปฏิบัติงานของนั ก ศึ ก ษา จำ � นวน 6 ล้านบาทและได้รับงบประมาณ แผ่ น ดิ น เพิ่ ม เติ ม ในปี ต่ อ มา เพื่ อ ต่อเติมชั้น 5-7 อาคาร 1 จำ�นวน 9.5 ล้านบาท เพื่อรองรับการรับ นั ก ศึ ก ษาเพิ่ ม ตามโครงการผลิ ต ทันตแพทย์เพิ่ม และการขยายการ รับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ พ.ศ. 2551 ได้ประกาศ ในราชกิ จ จานุ เ บกษา เป็ น ผลให้ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ เปลี่ ย น สถานภาพเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ใน กำ�กับของรัฐ มีประกาศมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน ในส่วนงานวิชาการและส่วนงานอืน่ (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ให้แบ่งหน่วยงานของคณะ ทันตแพทยศาสตร์ เป็น 3 ส่วน คือ ภาควิชา สำ�นักงานคณะ และโรง พยาบาลทันตกรรม

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ปี พ.ศ. 2552 คณะฯ ร่วมกับ อ ง ค์ ก ร ผู้ บ ริ ห า ร ค ณ ะ ทั น ต แพทยศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย (อ.บ.ท.ท.) จะเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 20th South East Asia Association for Dental Education (SEAADE) Annual Scientific Meeting เรือ่ ง “ASEAN Dental Education: Oral Health for All” ปี พ.ศ. 2552 รับมอบรถทันต กรรมจากบริ ษั ท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) เพื่อใช้ในการออก หน่วยทันตกรรม และกิจกรรมต่างๆ ของคณะฯ ปี พ.ศ. 2552 ปรับปรุงภูมิทัศน์ จั ด ทำ � ลานกิ จ กรรม “ข่ ว งทั น ตะ ม่ ว นใจ๋ ” และเปิ ด ตั ว “โรงเรี ย น ทั น ตแพทย์ ส ร้ า งสุ ข ” เป็ น ความ ร่วมมือ ร่วมใจ สมัครใจของอาจารย์

เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ร่วมสร้าง วิถีสุขที่ครบวงจรเมื่อปฏิบัติหน้าที่ จนเป็นวิถีชีวิตที่ดำ�เนินเป็นปรกติ คือ ปฏิบัติงานอย่างมีความสุข ได้ เรียนรู้ สร้างสุขภาพกาย-ใจ ทีด่ แี ละ ผ่อนคลาย อันจะนำ�ไปสู่การสร้าง สุขให้แก่ผอู้ นื่ ด้วย ได้แก่คนรอบข้าง ผู้ร่วมงาน ผู้ป่วย และสังคม ต้นจามจุรี สนามกลางคณะฯ ได้ รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวด ต้ น ไม้ ใ หญ่ ใ นเขตเทศบาลนคร เชียงใหม่ ประจำ�ปี 2552 ประเภท ต้นไม้ใหญ่ (ต้นจามจุรี) ค ณ ะ ฯ ร่ ว ม กั บ ส่ ว น ง า นใ น มหาวิ ท ยาลั ย และมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ รวม 13 ส่วนงาน ลงทุน โครงการก่อสร้างหอพักนักศึกษา ในกำ�กับสวนดอก เป็นเงินจำ�นวน ประมาณ 219.9 ล้านบาท คาดว่า จะแล้วเสร็จ ในเดือนธันวาคม 2555

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

95


T

o

สู่ทศวรรษที่ 5

(พ.ศ.2555-2564) สถาบันแห่งความเป็นเลิศ ที่คำ�นึงถึงชุมชนและสังคม


The Fifth Decade (2012-2021)

: Faculty of Excellence with Concern for the needs of the Public by Associate Professor Thongnart Kumchai


สู่ทศวรรษที่ 5 สถาบันแห่งความเป็นเลิศ ที่คำ�นึงถึงชุมชนและสังคม

ทศวรรษที่ 5 (พ.ศ.2555-2564) “สถาบันแห่งความเป็นเลิศที่คำ�นึงถึงชุมชนและสังคม”

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทองนารถ คำ�ใจ

98

หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


องค์กรท่ามกลาง An Organization ความเปลี่ยนแปลง in the world of change. ปั จ จุ บั น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเหตุ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกองค์ ก รเป็ น อย่ า งมาก ที่ สำ � คั ญ ได้ แ ก่ ก ารเปลี่ ย นแปลง เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม ทั้งอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีดิจิตอล ร่ ว มกั บ โลกาภิ วั ฒ น์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า ง ต่อเนื่องส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ สำ�คัญ คือ การเพิม่ ระดับของการเชือ่ มต่อ (Connectivity) ทำ�ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกันมากขึ้น (Interactivity) โดย ผ่ านทางอิ น เตอร์เน็ต และการเลื่อน ไหลหรือเคลื่อนย้าย (Mobility) ของ คนและเทคโนโลยีต่างๆ นโยบายการ เปิดเสรีการค้าและบริการ ในการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และ วิชาชีพทันตกรรม เป็นสาขาหนึง่ ทีม่ กี าร ลงนามความร่วมมือยอมรับคุณสมบัติ ร่วม (MRA) ในประเทศกลุ่มอาเซียน แล้ ว นโยบายการเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในกำ�กับของรัฐ นอกจากนั้น สภาวะ การแข่งขันในประเทศ โดยมีการเปิด หลักสูตรสาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ใน มหาวิทยาลัยเอกชนเพิ่มขึ้น ท่ามกลาง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว คณะทันต แพทยศาสตร์ จำ�เป็นต้องทบทวนและ ปรับแผนยุทธศาสตร์ เพือ่ รองรับในการ ที่จะก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง

Currently, the environment in and around the organization have been affected by many factors, such as technological innovation in the Internet, telecommunications, digital technology and globalization. These have resulted in an increase in the level of Connectivity, which creates Interactivity. Through the Internet and the mobility of people and technology, the initiation of the free market and services within the Asean Economic Community (AEC) has begun. The dental professional is one of seven professionals which has been accepted in the Mutual Recognition Agreements (MRA) in the Asean countries. Moreover, there is a change in the status of the university into an autonomous university.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

99


สู่ทศวรรษที่ 5 สถาบันแห่งความเป็นเลิศ ที่คำ�นึงถึงชุมชนและสังคม

มุ่ ง สู่ ค วามเป็ น เลิ ศ ยึ ดโ ย ง ชุ ม ช น แ ล ะ สังคม การมุง่ สูส่ ถาบันแห่งความเป็นเลิศ ที่คำ�นึงถึงชุมชนและสังคม ต้องสร้าง วัฒนธรรมการทำ�งานเพือ่ ความเป็นเลิศ ผ่านพันธกิจหลัก ทั้งการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่ชุมชน โดยมุ่ ง สร้ า งคุ ณ ภาพของการจั ด การ ศึ ก ษา การวิ จั ย และการบริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพในระดั บ สู ง มี ค วามยึ ด โยง เชื่ อ มโยงกั บ ภาคชุ ม ชนและสั ง คมใน มิติต่างๆ ทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยี หรือเป็นหุน้ ส่วน ในการทำ�งานกับชุมชนและสังคม และ มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันการ ศึกษาชั้นนำ�ในต่างประเทศ

การจัดการศึกษา จะต้องผลิต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง มี ขี ด ความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานสากล สามารถปรั บ ตั ว ในการทำ � งานและ การเรียนรู้ทั้งในประเทศ การทำ�งาน ข้ า มวั ฒ นธรรมและในต่ า งประเทศ การปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการ เรียนการสอน ให้ความสำ�คัญกับการ เรียนรู้ (Learning) มากกว่าการสอน (Teaching) การพัฒนาทักษะการเรียน รู้ (Learning Skill) การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) และทักษะภาษา ในการสือ่ สาร (Communication Skill) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะภาษาอังกฤษ ในระดับที่ใช้ในการทำ�งานได้ การเพิ่ม สัดส่วนการจัดการศึกษาหลังปริญญา ทั้ ง หลั ก สู ต รระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ซึ่ ง เป็ น การเรี ย นรู้ ผ่ า นกระบวนการวิ จั ย (Research Oriented) และหลักสูตร วิ ช าชี พ ซึ่ ง เป็ น การเรี ย นรู้ ผ่ า นการ ฝึ ก อบรมและการฝึ ก ปฏิ บั ติ ใ นคลิ นิ ก (Professional Oriented) ให้มากขึ้น และครอบคลุมทุกสาขาวิชา

100 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


The determination to achieve excellence as well as connecting with the community and society. To become an institution of excellence with concern for the needs of the community and society, a new working attitude needs to be cultivated to achieve main commitment, teaching, research and dental service to the community. All this can be achieved by establishing a high quality of education, research,

and service. Connectedness to community sections and society in various dimensions, as well as transferring knowledge, innovation, technology, and partnership with community and society are crucial. Furthermore, having collaborative networks with leading institutions abroad is essential to us.

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

101


สู่ทศวรรษที่ 5 สถาบันแห่งความเป็นเลิศ ที่คำ�นึงถึงชุมชนและสังคม

การวิจัย มีการพัฒนาการวิจัย ทางด้านทันตแพทยศาสตร์อย่างจริงจัง ให้ ก ารทำ � งานวิ จั ย เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ งานประจำ�ของคณาจารย์ทุกคน โดย มุ่งเน้นให้คณาจารย์สร้างผลงานวิจัย นวัตกรรมที่มีมาตรฐานในระดับสากล มีการบูรณาการในลักษณะสหสาขาวิชา ทางด้านทันตแพทยศาสตร์ รวมทั้งกับ ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมาย ของผลผลิตและผลลัพธ์ของงานวิจัยที่ สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริง อาทิ เชิงพาณิชย์ เชิงนโยบาย เชิงวิชาการ และประโยชน์เชิงสาธารณะ

โดยเป็ น ความสนใจของสาธารณะ (Public Interest) การมีส่วนร่วมของ ชุมชน (Public Participation) และเป็น ช่องทางการสื่อสารกับชุมชน (Public Communication)

ความเป็นนานาชาติ (Interna tionalization) ต้องเพิ่มมิติความเป็น น า น า ช า ติ โ ด ย จั ด ทำ � โ ค ร ง ก า ร แลกเปลี่ยนคณาจารย์ นักศึกษา กับ สถาบันคู่ความร่วมมือในภูมิภาคและ นานาชาติอย่างต่อเนือ่ ง การเพิม่ จำ�นวน นั ก ศึ ก ษานานาชาติ ทั้ ง ในหลั ก สู ต ร ระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา การบริ ก ารวิ ช าการแก่ ชุ ม ชน ควบคูก่ บั การปรับปรุงด้านกายภาพและ มุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อตอบสนอง ชี้นำ� สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ รองรั บ ความเป็ น เตือนสติ แก่ท้องถิ่น ชุมชน และสังคม นานาชาติ อย่างสมำ�่เสมอ โครงการหรือกิจกรรม การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการ ให้ มี ค วาม เชื่อมโยงกับปัญหาท้องถิ่น ชุมชน และ สังคม (Community Engagement)

102 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

103



A

wards and Prizes (2008-2012)

ผลงานแห่งความภาคภูมิใจ (พ.ศ.2551-2555)


ผลงานแห่งความภาคภูมใิ จ (พ.ศ.2551-2555)

รางวัลและการเชิดชูเกียรติ อาจารย์ บุคลากร ศิษย์เก่า และนักศึกษา

ปี พ.ศ. 2551-2555 The researchers and students of this faculty have won several research awards during the past five years.

ปี พ.ศ.

2551

1. รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.สิรพิ ร ฉัตรทิพากร ได้รบั การเชิดชูเกียรติจากงานวิจัย เรื่อง “การศึกษาถึงฤทธิ์ของสารสกัด จากต้นพุดจีบในการยับยัง้ การทำ�งานของเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอส เทอเรสในสมองของหนู” ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยเป็นการวิจัยเกี่ยวกับสารสมุนไพรที่ มีฤทธิ์เป็นยาอายุวัฒนะ โดยพบว่าสารสกัดจากรากและลำ�ต้นของ ต้นพุดจีบมีฤทธิ์เทียบเท่ากับยาบรรเทาอาการโรคอัลไซเมอร์ จึงได้นำ� ผลงานวิจัยดังกล่าวมาทดลองในสัตว์ทดลองเป็นระยะเวลากว่า 2 ปี และพบว่าสัตว์ทดลองยังมีชีวิตอยู่จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ผลงาน ดั ง กล่ า วยั ง ได้ รั บ การตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ์ ม ติ ช น ฉบั บ วั น ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2551 หนังสือพิมพ์โลกวันนี้ ฉบับวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2551 และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2551

106 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


2. รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.ปฐวี คงขุนเทียน ร่วมกับนักวิจยั จากศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับชมเชย ด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ประจำ�ปี 2552 จากสภาวิจัยแห่งชาติ เรื่อง “เดนตี้แพลน: ซอฟต์แวร์ช่วยวางแผนการผ่าตัดรากฟันเทียม” 3. นั ก ศึ ก ษาทั น ตแพทย์ ณ หทั ย พุ ท ธวิ โร นักศึกษาทันตแพทย์กมลวรรณ คำ�ทิพย์ นักศึกษา ทันตแพทย์เมธินี ชัยสิทธิ์ และนักศึกษาทันตแพทย์ อนุชติ จันทรากุล นักศึกษาชัน้ ปีที่ 6 ได้รบั รางวัลที่ 3 จากการประกวดผลงานวิจยั เรือ่ ง “Application of Geographic Information System (GIS) to Monitor Dental Fluorosis Status in High Natural Fluoridated Area” ในงาน SEAADE-GC Student Prevention Program Competition ในการประชุ ม 19 th Annual Meeting of SEAADE ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวัน ที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ.2551 โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย 4. นักศึกษาทันตแพทย์มธุริน ใจหงส์ นักศึกษาทันตแพทย์ญานิน กิตติวรรณ นักศึกษาทันตแพทย์นวรัตน์ กาศสกุล และนักศึกษาทันตแพทย์ นีลนารา เอื้ออรุณ นักศึกษาชั้นปีที่ 6 ได้รับรางวัลอันดับ 3 จากการ ประกวดผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ เรื่อง “ผลของบีตาดีเฟนซินต่อการ แสดงออกของเอนไซม์ไซโคลออกซิจีเนส-2 ในเซลล์สร้างเส้นใยจาก เนื้อเยื่อเหงือกมนุษย์” ในการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัย สาขา ทันตแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 9 ประจำ�ปี 2552 เมื่อวันที่ 18-20 กุมภาพันธ์ 2552 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาครรัตน์ คงขุนเทียน เป็นอาจารย์ ที่ปรึกษางานวิจัย 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

107


ผลงานแห่งความภาคภูมใิ จ (พ.ศ.2551-2555)

ปี พ.ศ.

2552

1. Dr. Eduardo Yugo Suzuki ได้รับรางวัล Best Poster Presentation จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) จากผลงานวิจัยเรื่อง “A Simple Mechanism for Measuring and Adjusting Distraction Forces during Maxillary Advancement”

2. รองศาสตราจารย์ ทั น ตแพทย์ วิ รั ช พั ฒ นาภรณ์ ได้รับการตีพิมพ์ประวัติและผลงานลงในหนังสือที่รวบรวม ประวัติและผลงานของบุคคลทั่วโลก สาขาแพทยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ปี 2009-2010 (Who’s Who in Medicine and Healthcare) 3. นั ก ศึ ก ษาทั น ตแพทย์ น าถยา สั ต ย์ วิ นิ จ นั ก ศึ ก ษา ทั น ตแพทย์ พิ ม พ์ ป รางค์ ญาณะ นั ก ศึ ก ษาทั น ตแพทย์ วรกั ญ ญา บู ร ณพั ฒ นา และนั ก ศึ ก ษาทั น ตแพทย์ ส มั ญ ญา มณีธรรม ได้รบั รางวัลที่ 1 การประกวดผลงานวิจยั ของนักศึกษา โครงการ The Student Clinician Program ในผลงานวิจัย เรื่อง “ผลกระทบของแรงกัดของมนุษย์และการเคลื่อนไหว ของวั ต ถุ ที่ ถู ก กั ด ต่ อ รอย กัดที่ได้จากการวิเคราะห์ รู ป ถ่ า ยโดยใช้ โ ปรแกรม คอมพิวเตอร์ (Effect of Human Bite and Bitten Object Movement on Computer Aided)

108 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


4. นักศึกษาทันตแพทย์ฉัตรชัย โรจน์สวัสดิ์สุข นักศึกษาทันตแพทย์วีรศิกัญจน์ อิศราวรพิทักษ์ นักศึกษาทันตแพทย์วิโรจน์ โชติเวที และนักศึกษา ทันตแพทย์ปรีชา เตียติวิริยะกุล ได้รับรางวัลที่ 3 การประกวดผลงานวิจยั แบบ Poster Presentation จากการแข่ ง ขั น SEAADE-GC Dental Asia Student Prevention Table Clinician Program 2009 ในการประชุม 20th South East Asia 5. ร้อยโท ทันตแพทย์หญิงเรือนแก้ว ทีปกานนท์ ได้รับรางวัลที่ 1 การประกวดผลงานวิจยั แบบ E-Poster จากการประชุมวิชาการ พิธรี บั เข็ม และครุยวิทยฐานะ ของราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย จากผล งานวิจัย เรื่อง “Shear Bond Strengths of Different Adhesive Systems for Bonding Orthodontic Brackets to Porcelain Surfaces” 6. ทันตแพทย์กิตตินันท์ โชติแก้ว ได้รับรางวัลที่ 3 การประกวด ผลงานวิจัยแบบ E-Poster จากการประชุมวิชาการ พิธีรับเข็ม และครุย วิทยฐานะ ของราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย จากผลงานวิจัย เรื่อง “Shear Bond Strengths of Different Adhesive Systems for Bonding Orthodontic Brackets to Porcelain Surfaces” 7. ทันตแพทย์หญิงพีริยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ ได้รับรางวัลชมเชย การ ประกวดผลงานวิจยั แบบ E-Poster จากการประชุมวิชาการ พิธรี บั เข็ม และ ครุยวิทยฐานะ ของราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย จากผลงาน วิจัย เรื่อง “Shear Bond Strengths of One-Step and Two-Step Self-Etching Adhesive Systems for Bonding Ceramic Brackets”

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

109


ผลงานแห่งความภาคภูมใิ จ (พ.ศ.2551-2555)

ปี พ.ศ.

2553

1. Dr. Eduardo Yugo Suzuki และรองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.บุญศิวา ซูซกู ิ ได้รบั รางวัล ผลงานวิจยั ดีเด่น ประจำ�ปี 2553 จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) จากผลงานวิจัยเรื่อง “การควบคุมกระบวนการผ่าตัดกระดูก รองรับฟันทั้งสามมิติ โดยการใช้ทวินแทรกดิสแทรกชั่น ร่วม กับการใช้หมุดเกลียวขนาดเล็กทางทันตกรรมจัดฟัน”

110 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


2. อาจารย์ ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง วรกัญญา บูรณพัฒนา ได้รบั รางวัลบัณฑิต ทันตแพทย์ดเี ด่น ประจำ�ปี 2553 จากมูลนิธิ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

3. นายประหยัด กาวิชัย ได้รับรางวัล ศิษย์เก่าดีเด่น จากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนือ่ งในโอกาส “50 ปี คณะพยาบาล มช. สานต่ อ อนาคตที่ สดใส”

4. ทันตแพทย์หญิงสุพรรณี ธงทอง ทันตแพทย์เชีย่ วชาญ ระดับ 9 หัวหน้ากลุม่ งานทันตกรรม โรงพยาบาลอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง (ศิษยเก่า รหัส 127418) ได้รับรางวัลนักศึกษาเก่า ดีเด่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำ�ปี 2553 สาขาบริการสังคม จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5. นักศึกษาทันตแพทย์ขนิษฐา เกษตรวงศ์ ได้รับรางวัลทันตแพทยศาสตรบัณฑิตผู้มี จริยธรรมดีเยี่ยม ประจำ�ปีการศึกษา 2553 จากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

111


ผลงานแห่งความภาคภูมใิ จ (พ.ศ.2551-2555)

ปี พ.ศ.

2554

1.อาจารย์ ทั น ตแพทย์ ดร.ชยารพ สุ พ รรณชาติ ได้ รั บ รางวัล Best Oral Presentation จากผลงานวิจัย เรื่อง “The Antimicrobial Peptide, LL-37, Inhibits in Vitro Osteoclastogenesis by Blocking Nuclear Translocation of NFATc1” ในการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยสาขา ทั น ตแพทยศาสตร์ ครั้ ง ที่ 10 โดยองค์ ก รผู้ บ ริ ห ารคณะทั น ต แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (อ.บ.ท.ท.) เมือ่ วันที่ 13-14 ตุลาคม 2554

2.นักศึกษาทันตแพทย์วริศ เผ่าเจริญ ได้รับรางวัลนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ยอดเยี่ยม ประจำ�ปีการศึกษา 2554 จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับรางวัลนักศึกษา รางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา (ขนาดใหญ่) จากกระทรวงศึกษาธิการ

112 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


3. นักศึกษาทันตแพทย์ณฐั กานต์ เย็นสม ได้รบั รางวัล ทันตแพทยศาสตรบัณฑิตผู้มีจริยธรรมดีเยี่ยม ประจำ�ปี การศึกษา 2554 จากกองทุนศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ อิศระ-ทันตแพทย์หญิง ขนบพันธุ์ ยุกตะนันทน์

ปี พ.ศ.

2555

1. อาจารย์ ทันตแพทย์หญิงวรกัญญา บูรณพัฒนา ได้รับ พระราชทานทุน แผนกทันตแพทยศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ประจำ � ปี 2555 เพื่ อ ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาเอก ประเทศ สหรัฐอเมริกา 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

113


L

ist of Outstanding Alumni th on the occasion of 40 anniversary (2012)


ศิเนื่อษงในวาระ ย์เก่โอกาสครบรอบ าดีเด่น

40 ปี


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

รายชื่อศิษย์เก่าฯ ดีเด่น เนื่องในวาระโอกาสการครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนา คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประจำ�ปี 2555 1. ดีเด่นด้านการให้ความร่วมมือกับคณะฯ และสมาคมศิษย์เก่า ทันตแพทย์ทรงธรรม สังฆสุบรรณ์ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 157426 ที่อยู่ปัจจุบัน

32 หมู่ 10 ถนนสุเทพ ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 50200 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ทบ.

2521

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน

เป็นเจ้าของกิจการ “คลินิกทรงธรรม-อัจฉรา” เลขที่ 193/21 ตำ�บลช้างเผือก อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ งานอื่น ๆ

กรรมการชมรมทันตแพทย์จังหวัดเชียงใหม่ กรรมการสมาคมศิษย์เก่าอำ�นวยศิลป์ภาคเหนือ ที่ปรึกษาสมาคมศิษย์เก่าทันตแพทย์เชียงใหม่

116 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ผลงานดีเด่น

ดำ�รงตำ�แหน่งนายกสมาคมศิษย์เก่าทันตแพทย์ เชียงใหม่ 2 สมัย (พ.ศ. 2549-2552) เริ่มโครงการเยี่ยมเยือนศิษย์เก่าตามจังหวัดต่างๆ เริ่มที่จังหวัดเชียงราย ลำ�ปาง พิษณุโลก และสุโขทัย เริ่มทำ�ข่าวสาร Dent Talk เสียสละและอุทิศตนเพื่องานส่วนรวมของคณะฯ และสมาคมศิษย์เก่าทันตแพทย์ เชียงใหม่เป็นอย่างดียิ่งและสมำ�่สมอ เป็นวิทยากรในงานปัจฉิมนิเทศนักศึกษา เริ่มกิจกรรมในการเข้าร่วมจัดงานเลี้ยงสังสรรศิษย์เก่าที่กรุงเทพฯ ช่วยการจัดประชุม วิชาการของทันตแพทยสมาคมฯ ร่วมงานจิตอาสา เช่น โครงการออกหน่วยทันตกรรมพระราชทาน ฯลฯ ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จากห้วงลึกของหัวใจ)

มีความสุขตอนเรียน อาจารย์ใจดีทกุ คน พีน่ อ้ งคณะเดียวกัน แพทย์ เภสัช สนิทกันมาก เพราะต้องเรียนด้วยกัน และมีจำ�นวนนักศึกษาน้อย อยากจบเร็วๆ เพราะเรียนนานกว่า คนอื่น แต่จบมาแล้วหาเงินเอง อยากกลับไปเรียนใหม่อีก ไม่เคยคิดว่าจะได้มีโอกาสได้มาทำ�งานให้กับสมาคมศิษย์เก่า แต่ได้กำ�ลังใจและ ความช่วยเหลือจากเพื่อน พี่น้อง รวมถึงเจ้าหน้าที่ของคณะฯ และอาจารย์ที่เคารพรัก มาช่วยกันทำ�งาน ทุกวันนี้ไม่รู้สึกเป็นห่วงคณะฯ ไม่เป็นห่วงสมาคมฯ แล้ว เพราะทุกอย่าง อยู่ในความดูแลของทันตแพทย์เชียงใหม่ที่มีความรู้ความสามารถสูงมาก

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

117


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี ทันตแพทย์สมชาย อัครวัชรางกูร รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 127416 ที่อยู่

32 หมู่ 10 ถนนสุเทพ ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 50200 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

วท.บ.

2516

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ท.บ.

2518

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................ ................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน

คลินกิ นิมติ ทันตแพทย์ ถนนสุขสวัสดิ์ ซอย 8 กรุงเทพมหานคร และนิมิตทันตแพทย์ อำ�เภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ความรู้สึกที่มีต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการ ทำ�งาน (จากห้วงลึกของหัวใจ)

ไม่ใช่ทันตแพทย์ที่เก่งที่สุด แต่เป็นทันตแพทย์ที่รักษาคนไข้ ด้วยความตั้งใจที่สุด เท่าที่จะสามารถทำ�ได้ ให้ความร่วมมือกับ คณะ และชมรมศิษย์เก่ามาโดยตลอด ด้วยความรักต่อสถาบัน เพราะชีวิตที่มีอยู่ทุกวันนี้ ได้รับมาจากความยากลำ�บากของ คณาจารย์ โดยเฉพาะ อ.หมอ ถาวร อนุมานราชธน ผู้ก่อตั้ง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทุกครัง้ ทีก่ ลับไปคณะฯ ก็เพือ่ จะไปให้ก�ำ ลังใจกับคณาจารย์ที่ สอนสัง่ มา รวมทัง้ พีๆ่ น้องๆ เพือ่ จะได้ผลิตบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ออกไปรับใช้ชาติและประชาชน

118 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ข้าพเจ้าไม่มีผลงานยิ่งใหญ่อะไรที่จะกล่าวอ้างได้ รู้สึก ว่าตัวเองเป็นเพียงแค่เศษซากของก้อนอิฐที่เหลือจากการ ก่อสร้างคณะ แต่วันนี้ข้าพเจ้าเพิ่งรู้ว่า จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ข้าพเจ้า มิได้สูญหายไปไหน แต่ยังคงความเป็นก้อนอิฐก้อนนั้นอยู่ บังเอิญก้อนอิฐก้อนนี้สะดุดตาคณะกรรมการฯ ท่านก็เลย หยิบมาเชิดชู ให้ความสำ�คัญที่ยังรักษาคุณค่าของความ เป็นอิฐ ไม่ละลายสูญหายไปไหน ก็ขอขอบคุณทุกท่านที่ ให้เกียรติ

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

119


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

2.ดีเด่นด้านการอุทิศตนในการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.สิรพิ ร ฉัตรทิพากร รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 2909084 ที่อยู่ปัจจุบัน

251/16 หมู่ 3 ถนนเชียงใหม่-หางดง ตำ�บลบ้านแหวน อำ�เภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 50230 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ.

2535

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Ph.D.

2542

University of North Carolina at Chapel Hill, North Carolina, USA

................................................................................................................

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน

พ.ศ. 2535 เป็นอาจารย์ประจำ�ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก และวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2542-2545 postdoctoral fellow Department of Physiology and Biophysics, University of Alabama at Birmingham, Alabama, USA พ.ศ. 2548-ปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่งรองศาสตราจารย์ สังกัด ภาควิชาชีววิทยาช่องปากและวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

120 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


งานอื่น ๆ

พ.ศ. 2546-ปัจจุบนั Staff Cardiac Electrophysiology Research and Training Center, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลงานดีเด่น ได้รับรางวัลนานาชาติจำ�นวนมากในสาขาโรคทางสมอง ได้แก่ 2012 TRF-CHE-SCOPUS Researcher Award จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการ

วิจัย (สกว.) และ สำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) 2009 The Travel Award Fellowship for Alzheimer’s Association 2009 International Conference on Alzheimer’s disease 2006 The Travel Award for Excellent Presentation of the 26th Annual Meeting of Japan Neuroscience Society 2004 Travel Award Finalist, the International Association of Dental Research (IADR) Southeast Asia meeting, Samui, Thailand 2001 Outstanding Scholar Award, University of Alabama at Birmingham, Birmingham, AL 2001 American Heart Association Fellowship Award, American Heart Association 2001 Epilepsy Fellowship Award, American Epilepsy Society 1998 First Prize, NC-AADR (North Carolina Section of American Association of Dental Research) Graduate Research Award, Durham, NC 1998 Graduate School Transportation Grant Fund, University of North Carolina at Chapel Hill, Chapel Hill, NC 1994-1998 Graduate Research Fellowship, Dental Research Center, University of North Carolina at Chapel Hill, Chapel Hill, NC 1993-1999 Royal Thai Government Scholarship, Bangkok, Thailand ได้รบั การคัดเลือกจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้เป็น “อาจารย์ ดีเด่น” ในปี พ.ศ. 2553 ได้รับเชิญให้เป็น Critical Reviewer ของวารสารระดับนานาชาติทางด้านโรคสมอง มีผลงานตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติเป็นจำ�นวนมากทั้งในรูปของ Original article, Editorial Comment และ Peer-Review Abstracts กว่า 100 เรือ่ ง

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

121


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

ความรู้ สึ ก ที่ มี ต่ อ คณะทั น ตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จากห้วงลึก ของหัวใจ) ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทย์ สมัย เป็นนักศึกษา จำ�ได้ว่าชีวิตที่เป็นนักศึกษา

นั้น ดิฉันชอบเรียนมากกว่ากิจกรรม แต่ก็ มีโอกาสได้ช่วยงานกิจกรรมบ้างเป็นบาง ครั้ ง วิ ช าที่ ดิ ฉั น ชอบจะเป็น วิช า Oral diagnosis Oral medicine และ Oral pathology เป็นหลัก เพราะไม่ชอบงาน ฝีมือทางด้านทันตกรรม หรืองาน Lab เสียเท่าไร แม้ชวี ติ นักศึกษาทันตแพทย์จะมี งาน Lab มากมาย ท่องหนังสือจนหัวบาน เครียดบ้าง จากการที่ทำ�งานในคลินิกแล้ว ยังไม่ Perfect พอสำ�หรับอาจารย์ แต่ก็มี มุมดีๆ ที่ได้รับกำ�ลังใจจากอาจารย์ให้สู้ๆ และช่วยแก้ปัญหากันไปเป็นเปราะๆ ตอน ที่ดิฉันเป็นนักเรียนทันตแพทย์ ภาควิชา ที่ดิฉันทำ�งานอยู่ในปัจจุบัน (คลินิกห้อง ตรวจ) สมั ย นั้ น เป็ น ภาควิ ช าที่ ขึ้ น ชื่ อ ว่ า อาจารย์ดมุ าก ตัวเองยังต้องถูกหามส่งห้อง ฉุกเฉินตั้งสองครั้ง ระหว่างเข้าห้องตรวจ เพราะเครียดจัด ถึงจะมีความเครียดแต่กไ็ ด้ รับความรู้ที่แน่นมากในเรื่องการวินิจฉัย โรคช่องปาก จึงทำ�ให้มีความประทับใจกับ คลินิกตรวจเป็นพิเศษ ก่อนจบมีอาจารย์ ชวนให้ ส มั ค รเป็ น อาจารย์ ที่ ภ าควิ ช า พิเคราะห์โรคช่องปาก หรือคลินกิ ห้องตรวจ (ภาควิชาชีววิทยาช่องปากฯในปัจจุบัน) ตอนนั้น ดิฉันคิดว่าลองดูก็ดี เพราะคิด หวาดๆเหมือนกัน ถ้าต้องออกไปทำ�ฟัน ให้คนไข้ในโรงพยาบาลเพราะไม่ชอบงาน ทันตกรรมซักเท่าไร และ มองภาพตัวเอง ไม่ออกทีต่ อ้ งเป็นหมอฟันทีท่ �ำ แต่รกั ษาฟัน

ตลอดชีวิต รวมทั้งดิฉันชอบงานวิชาการ โดยเฉพาะงาน Oral diag Oral med Oral patho อยู่แล้ว สุดท้ายดิฉันก็เข้ามา ทำ�งานเป็นอาจารย์ในภาควิชาพยาธิ ชื่อ เดิมในขณะนั้น ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทย์ สมัย เป็นอาจารย์ หลังจากจบก็พลิกบทบาทจาก

นักศึกษามาเป็นครู หรืออาจารย์ในทันที ชีวติ อาจารย์ใหม่สมัยนัน้ ( 20 ปีทแ่ี ล้ว) ก็ เหมือนๆ นักศึกษา เพราะเพื่อนร่วมงาน คือ อาจารย์ของดิฉันทั้งนั้น แม้จะเปลี่ยน สถานะ จากลู ก ศิ ษ ย์ เ ป็ น เพื่ อ นร่ ว มงาน ก็ตาม อาจารย์ก็ยังคงทำ�หน้าที่เป็นครูที่ ดีของดิฉันเสมอ อาจารย์ทั้งหลายได้สอน ประสบการณ์ตรงในการเป็นครูให้กับดิฉัน แต่คราวนีค้ วามเครียดหายไป เป็นการเรียน รูท้ สี่ นุก และมีความเข้าใจมากขึน้ ทำ�หน้าที่ เป็นครูได้ 2 ปี ก็ได้รบั โอกาสไปเรียนต่อต่าง ประเทศ ต้องขอบพระคุณอาจารย์ หลายๆ ท่านที่ให้การสนับสนุน อาจารย์ทุกๆ ท่าน ที่ ค้ำ � ประกั น ให้ ดิ ฉั น เพื่ อ จะไปเรี ย นต่ อ ต่างประเทศ อาจารย์ทุกๆท่านที่ได้เขียน จดหมาย recommendation ให้ ร วม ทั้ ง คณะที่ ใ ห้ โ อกาสกั บ ดิ ฉั น ในการเดิ น ทางไปเรียนต่อในครั้งนั้น เมื่อดิฉันกลับ มาเป็นอาจารย์ที่คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อีกครั้งใน ปี พ.ศ. 2545 กลับมาใหม่ๆ ต้องพยายามเรียน รู้ ง านวิ ช าการทางทั น ตแพทย์ อี ก ครั้ ง เนื่องจากตลอดเวลาที่ใช้ในการทำ�ปริญญา เอก 5 ปี และทำ�งานเป็น postdoctoral fellow อีก 3 ปีนั้น ได้ทำ�งานวิชาการที่ ออกนอกกรอบทันตแพทย์ไปมากมาย ต้อง ขอบคุณอาจารย์ในภาควิชาทุกท่านที่ก็ยัง คงเป็นครูทดี่ ขี องดิฉนั อยู่ ดังนัน้ การทำ�งาน

122 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


เป็นอาจารย์นั้น ดิฉันมักบอกลูกศิษย์เสมอ ว่ า ตั ว เองเป็ น ครู ข องลู ก ศิ ษ ย์ เหมื อ นที่ ดิฉันได้รับโอกาสในการเรียนรู้ต่างๆจาก คุณครูของดิฉัน เพราะรู้สึกว่าครูเป็นผู้ให้ ไม่เพียงเฉพาะความรู้ แต่ยังให้ความรู้จาก ประสบการณ์ ข องตั ว เองเพื่ อ ให้ ลู ก ศิ ษ ย์ สามารถนำ�ไปปรับใช้กับชีวิตของตนเองได้ อย่างเช่นที่ดิฉันได้รับจากอาจารย์หลายๆ ท่านในคณะเช่นกัน แรงบันดาลใจในการทำ� งาน ตลอด

เวลาที่เรียนปริญญาเอก 5 ปี และทำ�งาน เป็น postdoctoral fellow อีก 3 ปี ได้ เปิดโลกกว้างให้ดิฉันได้เรียนรู้ที่มากขึ้นว่า เป็นทันตแพทย์ไม่ใช่จะเรียนรู้การทำ�ฟัน ให้ดีเลิศเท่านั้น มีอีกสิ่งที่ดิฉันสนใจร่วม ด้ ว ยก็ คื อ “งานวิ จั ย ” ซึ่ ง งานวิ จั ย ทั้ ง หลายจะเป็นต้นกำ�เนิดของการนำ�มาเพื่อ เข้าใจพยาธิกำ�เนิดของโรค รวมทั้งนำ�ไป สู่การพัฒนาในการรักษาโรคต่างๆ ต่อไป นอกจากนี้ ดิฉันได้มีโอกาสพบกับนักวิจัย เก่งระดับโลกที่มีพื้นฐานเป็นทันตแพทย์ มาก่อนด้วย เมือ่ ได้เก็บเกีย่ วประสบการณ์ มาพอสมควรแล้ว ก็กลับมาทำ�งานที่คณะ เมื่อกลับมาเป็นอาจารย์ในปี 2545 นั้น ก็ พ บว่ า เรากลั บ มาในยุ ค ที่ อ าจารย์ ไ ม่ ใช่ ทำ�หน้าที่สอนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมี งานวิจัยร่วมด้วย ซึ่งเป็นโอกาสให้เราได้ เอาประสบการณ์ที่ไปเรียนรู้มาใช้โดยตรง และพยายามนำ�ความรู้นั้นสอดแทรกให้ ลูกศิษย์ ตอนกลับมาใหม่ ก็ตอ้ งปรับตัวมาก พอดู เพราะต้องสอนนักเรียนทันตแพทย์ และต้องหาเวลาทำ�งานวิจัยที่ตนเองสนใจ ดิฉันต้องอาศัย “ฉัน ทะ” ในความเป็น คนที่ชอบสอน ในเรื่องการเรียนการสอน ลูกศิษย์เสมอ สำ�หรับแรงผลักดันในการ

ทำ�งานวิจยั นัน้ ประกอบหลายองค์ประกอบ ด้วย อันได้แก่ 1) ฉั น ทะ ความชอบในการทำ � งาน

วิจัย เพื่อหาคำ�ตอบในคำ�ถามที่เกิด ขึ้นมาเสมอ 2) ครอบครัว เนื่องจากครอบครัว

(สามี คือ ศาสตราจารย์ ดร. นพ. นิพนธ์ ฉัตรทิพากร) ก็เป็นนักวิจัย ทำ�ให้เรา มักคุยกับเรื่องงานวิจัยกันเป็นประจำ� และคอยเป็นกำ�ลังใจในการทำ�งานวิจยั ซึ่งกันและกัน โดยที่ดิฉันและสามี มัก คุยกันเสมอว่า งานวิจัยของเราคนไทย ต้องเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ไม่แพ้ชาวต่างชาติ

3) ความเพียร “ความพยายามอยู่ ที่ไหนความสำ�เร็จก็อยู่ที่นั่น” คำ�พูด นี้เป็นจริงเสมอ เมื่อเรามีความเพียร มาเกือบ 10 ปี แล้วดิฉันก็มาถึงวันนี้ ที่ประสบความสำ�เร็จในเรื่องของงาน วิจัยระดับหนึ่ง 4) ทีมงาน ในการทำ�งาน ดิฉันคิด

เสมอว่าเราไม่สามารถทำ�ได้เพียงคน เดียว การที่ทำ�งานจนมาถึงปัจจุบัน นี้ได้ ก็เพราะการที่ดิฉันมีผู้ร่วมงานที่ ดี ไม่ว่าเป็นทีมงานวิจัยจาก Cardiac Electrophysiology Research and Training Center ที่คณะแพทย์ รวม ทั้ง มีลูกศิษย์ระดับปริญญาโท และ ปริญญาเอกทีด่ ี ทีช่ ว่ ยเหลือในงานวิจยั รวมทัง้ ผูร้ ว่ มงานในภาควิชา และ คณะ ทันตแพทย์ทชี่ ว่ ยในเรือ่ งของเวลาและ ทุนอุดหนุนงานวิจัย

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

123


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี ทันตแพทย์หญิงธาราธร สุนทรเกียรติ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 2409045 ที่อยู่ปัจจุบัน

80/66 ถนนสุขุมวิท ซอย 22 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ ปี พ.ศ.ที่จบ สถาบันและประเทศ ................................................................................................................

ท.บ. (เกียรตินิยม)

2530

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ป.บัณฑิต

วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (วิทยาเอ็นโดดอนต)์

2535

มหาวิทยาลัยมหิดล

................................................................................................................

Certificate: Advanced education program in Endodontics

2540

Master of Science

2541

University of Minnesota, USA

................................................................................................................

University of Minnesota, USA

................................................................................................................

อนุมัติบัตร 2543 ทันตแพทยสภา (เอ็ นโดดอนติกส์) ................................................................................................................

Diplomate

2547

American Board of Endodontics

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน พ.ศ. 2530-2531 อาจารย์สาขาวิทยาเอ็นโดดอนต์ ภาค

วิชาทันตกรรมบูรณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2532-2534 แผนกทันตกรรม โรงพยาบาลหัวเฉียว พ.ศ. 2535-2537 แผนกทันตกรรม โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ ปัจจุบัน เป็นทันตแพทย์เฉพาะสาขาเอ็นโดดอนติกส์ คลินิกเอกชน

124 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


อาจารย์ พิ เ ศษสาขาวิ ท ยาเอ็ น โดดอนต์ ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ที่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัติเด่นอื่นๆ 1.ชมรมเอ็นโดดอนติกส์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546-2547 และ พศ. 2550-2551 บรรณาธิการวารสาร

“เอ็นโดสาร”

พ.ศ. 2553-2554 ประธานชมรมเอ็นโดดอนติกส์แห่ง

ประเทศไทย

พ.ศ. 2555 ที่ปรึกษาชมรมฯ และ วารสารเอ็นโดสาร 2. พ.ศ. 2547 - ปัจจุบนั : คณะอนุกรรมการสอบเพื่ออนุมัติบัตร/

วุฒิบัตรสาขาเอ็นโดดอนติกส์ ทันตแพทยสภา

3. พ.ศ. 2541 - ปัจจุบนั : วิทยากรบรรยายทางวิชาการและฝึก

อบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่มหาวิทยาลัย หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน และเขียนบทความทางวิชาการ

4. External reviewer บทความทางวิชาการสาขาเอ็นโดดอนติกส์ 5. กรรมการพิจารณาและปรับปรุงหลักสูตร สาขาวิทยาเอ็นโดดอนต์

ระดับบัณฑิตศึกษา

ความรูส้ กึ ทีม่ ตี อ่ คณะทันตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จาก ห้วงลึกของหัวใจ)

คณาจารย์ในคณะหลายท่านเป็นแบบอย่างของครูที่ดี ที่มี คุณธรรมกำ�กับความรู้ สอนให้ศิษย์ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ความก้าวหน้า ทางวิทยาการเพื่อพัฒนาตนเอง และทุ่มเทต่องานที่ทำ�อย่างเต็มที่ตาม ศักยภาพที่ตนมี รวมทั้งให้การดูแลผู้ป่วยโดยมีจริยธรรมเป็นพื้นฐาน บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของรุ่นพี่-รุ่นน้องในคณะฯ หล่อหลอมให้เกิด ความรู้สึกของการช่วยเหลือ การดูแล และการแบ่งปัน อันนำ�มาซึ่งการ รู้จักเสียสละเพื่อสังคม 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

125


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

3.ดีเด่นด้านการพัฒนาชุมชนและจรรโลงวิชาชีพทันตแพทย์ ทันตแพทย์กมล เศรษฐ์ชัยยันต์ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 2609002

ที่อยู่ปัจจุบัน

บ้านเลขที่ 79 หมู่ 6 (บ้านมงคลนิมติ ) ตำ�บลผาสิงห์ อำ�เภอ เมือง จังหวัดน่าน ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ.

2532

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

นิติศาสตรบัณฑิต 2536 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ................................................................................................................ สาธารณสุขศาสตร 2537 มหาวิทยาลัยมหิดล มหาบัณฑิต

................................................................................................................

ส่ งเสริมการเกษตร และสหกรณบัณฑิต

2539

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

................................................................................................................

2543 ทันตแพทยสภา อนุมัติบัตร (ทั น ตสาธารณสุ ข ) ................................................................................................................ ประวัติการทำ�งาน พ.ศ. 2532-2538 ทันตแพทย์ 4-6 หัวหน้าฝ่ายทันต

สาธารณสุข โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า เชียงราย

พ.ศ. 2538-2541 ทันตแพทย์ 7 หัวหน้าฝ่ายทันต

สาธารณสุข โรงพยาบาลแม่ลาว เชียงราย

พ.ศ. 2541-2544 ทันตแพทย์ 8 หัวหน้างานทันต

สาธารณสุข สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

126 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


พ.ศ. 2545-2550 ทันตแพทย์ 8 หัวหน้าศูนย์ทันตสุขภาพ สำ�นักงานสาธารณสุข

จังหวัดน่าน

พ.ศ. 2551-ปัจจุบัน ทันตแพทย์ชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข

สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน งานอื่นๆ

เคยเป็นประธานชมรมทันตบุคลากรจังหวัดเชียงราย เคยเป็นประธานชมรมชวนกันฟันดี...ที่เมืองน่าน เป็นสมาชิกแพทย์อาสาในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เป็นสมาชิกทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นสมาชิกชมรมทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย เป็นสมาชิกชมรมทันตภูธร เป็นกรรมการชมรมทันตแพทย์ภาคเหนือ เป็นกรรมการชมรมทันตแพทย์สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด พ.ศ. 2554 ได้รับการเลือกตั้งจากทันตแพทย์ทั่วประเทศให้เป็นผู้แทนวิชาชีพทันต กรรมในคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ของ สำ�นักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เป็นต้น รางวัลที่ได้รับ

1. ได้รับ “รางวัลคณะทำ�งานทันตสาธารณสุขตัวอย่างของจังหวัดเชียงราย” ใน ปี พ.ศ. 2533 2. ได้รับ “รางวัลเจ้าหน้าที่สาธารณสุขดีเด่น โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า เนื่องในวัน ครบรอบ 50 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข” ในปี พ.ศ. 2535 3. ได้รับ “รางวัลทันตบุคลากรดีเด่นจังหวัดเชียงราย” ของชมรมทันตบุคลากร จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2538 4. ได้รับรางวัล “นักสาธารณสุขชนบทดีเด่น สาขาทันตแพทย์” “ทุน ญสส.” (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก) จากโครงการ ทุน ญสส.ในพระสังฆราชูปถัมภ์ และกระทรวงสาธารณสุข ในปี พ.ศ. 2538 โดยเป็นทันตแพทย์ 1 ใน 2 คนของประเทศที่เคยได้รับรางวัลดังกล่าว 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

127


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี 5. ได้รับ “รางวัลไลอ้อน เพื่อสุขภาพ ช่ อ งปาก ปี 2553” ของชมรม ทันตสาธารณสุขแห่ ง ประเทศไทย และบริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำ�กัด จากผลงานดีเด่นด้านทันต สาธารณสุ ข เรื่ อ ง “ศู น ย์ ทั น ต สุขภาพกับการแก้ไขปัญหาทันต สุขภาพเขตเมืองน่าน” ในปี พ.ศ. 2553 6. ได้ รั บ “รางวั ล ชนะเลิ ศ การ ประกวดการนำ�เสนอผลงานทาง วาจา ในงานมหกรรมสุ ข ภาพ ชุมชนภาคเหนือ 2554 และงาน ประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ วิ ท ย์ สุขภาพนเรศวร ครั้งที่ 1 ( สร้าง เครือข่าย สร้างคน สร้างสุขภาพ ชุมชนทีย่ งั่ ยืน )” ของมหาวิทยาลัย นเรศวร จากผลงานเรื่อง “การลด โรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน โดย ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ใน ปี พ.ศ. 2554 ผลงานโดยย่อ 1. หลั ง จากสำ � เร็ จ การศึ ก ษา ทันตแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัย เ ชี ย งใ ห ม่ เป็ น ทั น ตแพทย์ ใ ช้ ทุ น (คู่สัญญา) ของรัฐบาล รุ่นแรก ได้เข้าไป บุกเบิกงานทันตสาธารณสุขในพืน้ ทีห่ า่ ง ไกลและไม่เคยมีทันตแพทย์มาก่อนที่ โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย โดยเป็ น ทั น ตแพทย์ เ พี ย งคนเดี ย ว

ของโรงพยาบาลต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบดู แ ล ประชาชนประมาณ 70,000 คน ได้กอ่ ให้ เกิดผลงานทัง้ ด้านทันตสาธารณสุขและ ทันตกรรมแก่พื้นที่มากมายโดยเฉพาะ ในกลุ่ ม เป้ า หมายเด็ ก ในศู น ย์ พั ฒ นา เด็ ก เล็ ก และโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา เช่ น โครงการเฝ้ า ระวั ง และส่ ง เสริ ม ทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา อำ � เภอเวี ย งป่ า เป้ า ทำ � ให้ สุ ข ภาพใน ช่ อ งปากของนั ก เรี ย นประถมศึ ก ษาดี ขึ้ น ผลการดำ � เนิ น งานในโรงเรี ย นได้ เป็นที่ยอมรับ เช่นการได้รับรางวัลใน การประกวดโรงเรี ย นเฝ้ า ระวั ง ทั น ต สุ ข ภาพระดั บ จั ง หวั ด อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในปี พ.ศ. 2536 โรงเรียนบ้านป่าสัก อำ�เภอเวียงป่าเป้า ได้รับรางวัลชนะเลิศ โรงเรียนเฝ้าระวังทันตสุขภาพดีเด่นของ จังหวัดเชียงรายและภาคเหนือ จนได้รบั รางวัลที่ 3 ระดับประเทศ เป็นต้น 2. เมื่อมีการเปิดโรงพยาบาลแม่ ลาว อำ�เภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ใน ปี พ.ศ. 2538 ได้ย้ายไปเป็นทันตแพทย์ คนแรกและคนเดียวของอำ�เภอแม่ลาว ที่มีประชากรกว่า 35,000 คน ได้เปิด ฝ่ า ยทั น ตสาธารณสุ ข และร่ ว มกั บ ที ม เจ้ า หน้ า ที่ โรงพยาบาลแม่ ล าวในการ พัฒนาการดำ�เนินงานตั้งแต่เริ่มต้น ที่ มีความขาดแคลนสู ง ทั้ ง กำ � ลั ง คนและ งบประมาณ จากห้องที่มีเพียงแต่ห้อง แคบๆ ขาดทั้งยูนิตและเครื่องมือทันต กรรม ในปี แรกต้ อ งใช้ เ ก้ า อี้ ส นามใน การให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชน แต่ ก็ ยั ง

128 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ขยายงานบริการทันตกรรมทั้งงานทันต ศัลยกรรม ทันตกรรมประดิษฐ์ ทันต กรรมบูรณะ เอ็นโดดอนติกส์ เป็นต้น ทำ�ให้ประชาชนแม่ลาวได้เข้าถึงบริการ ทันตกรรมมากขึน้ ซึง่ ต้องอาศัยทัง้ ความ ตั้งใจจริงและมุ่งมั่นในการดำ�เนินงาน เป็นอันมากหลังจากดำ�เนินงานมาปีกว่า พบว่ า ห้ อ งทำ � งานคั บ แคบเนื่ อ งจาก เป็นแบบของโรงพยาบาล 10 เตียง ไม่ เหมาะแก่การให้บริการทันตกรรมได้ เพียงพอกับความต้องการขอประชาชน ที่ มี ม ากขึ้ น จึ ง ได้ คิ ด ก่ อ สร้ า งอาคาร ทันตกรรมแต่ไม่มีทุนทรัพย์ ได้ไปกราบ นมั ส การ เล่ า เรื่ อ งให้ ห ลวงพ่ อ ดาบส สุมโน ที่เป็นพระที่ประชาชนให้ความ เคารพและนับถือโดยหลวงพ่อมีความ เมตตาและเห็ น ความสำ � คั ญ ของงาน ทั น ตกรรม จึ ง ได้ บ ริ จ าคค่ า ก่ อ สร้ า ง อาคารทันตกรรมให้ทั้งหมดโดยไม่ใช้ งบประมาณจากทางราชการ และได้ รับบริจาคยูนติ ทันตกรรมจากคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำ � ให้ ป ระชาชนแม่ ล าวได้ รั บ บริ ก าร ทันตกรรมที่สะดวกและมีคุณภาพมาก ขึน้ นอกจากพัฒนาการดำ�เนินงานทันต สาธารณสุขในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ โรงเรียนประถมศึกษาแล้ว ได้ขยายกลุม่ เป้ า หมายใหม่ ไ ปยั ง กลุ่ ม ผู้ พิ ก ารที่ อ ยู่ ที่บ้านไม่สะดวกที่จะเดินทางมายังโรง พยาบาล มีการออกเยี่ยมบ้านผู้พิการ เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากและให้ความ รูท้ เี่ หมาะสมเป็นรายบุคคล เพือ่ หวังให้ผู้ พิการได้มสี ขุ ภาพช่องปากทีด่ ขี นึ้ อันจะ

นำ�ไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในที่สุด 3. ในปี พ.ศ. 2541 ได้โยกย้าย ครอบครัวมาทำ�งานที่จังหวัดน่านแม้ จะไม่มีญาติพี่น้องอยู่ที่จังหวัดนี้เลย แต่ เห็นว่าเป็นจังหวัดชายแดน ทุรกันดาร ยากแก่การคมนาคม ประชาชนยังขาด โอกาสทางทันตสุขภาพอยู่มาก โดยได้ มาปฏิบัติงานที่สำ�นักงานสาธารณสุข จังหวัดน่าน ในขณะนั้นยังไม่มีโครงการ หลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ทำ � ให้ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดน่านต้อง รั บ ผิ ด ชอบการส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั น ทั น ต สุขภาพ ถึง 2 อำ�เภอ ได้แก่ อำ�เภอ เมืองและกิ่งอำ�เภอภูเพียง ในระยะต้น เน้นการให้บริการในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และโรงเรียนประถมศึกษาน่านที่มีร้อย กว่าแห่ง ได้ให้บริการตรวจสุขภาพช่อง ปากและนัดมารับบริการทันตกรรมที่ สำ�นักงาน แต่กพ็ บปัญหาห้องบริการคับ แคบและไม่เหมาะสมกับการให้บริการ เนื่ อ งจากรบกวนการดำ � เนิ น งานของ ฝ่ายอื่นมาก จึงได้คิดที่จะขยายส่วนให้ บริการใหม่เพือ่ ทำ�เป็นศูนย์วชิ าการทันต สุขภาพของจังหวัดน่าน ทำ�ให้เกิดการ ก่อตัง้ “ศูนย์ทนั ตสุขภาพจังหวัดน่าน” อันเป็นความร่วมมือของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน โรงพยาบาลน่านและเทศบาลเมืองน่าน ให้เป็นศูนย์วิชาการด้านทันตสุขภาพ จั ง หวั ด น่ า น ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร สาธารณสุข ศึกษาวิจยั ทางทันตสุขภาพ เกิดคลินิกทันตกรรมป้องกันสาธิต และ

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

129


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แก้ไขปัญหาทันตสุขภาพเขตเมืองน่านที่ อยู่มาก จนเกิดผลงานต่อเนื่องมาจนถึง ปัจจุบัน ความรู้สึกที่มีต่อคณะทันต แพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจใน การทำ�งาน (จากห้วงลึกของหัวใจ) สำ � นวนจี น ที่ ก ล่ า วว่ า “ได้ รั บ การถ่ายทอดวิชาเพียงหนึ่งวัน เป็น ศิ ษ ย์ อ าจารย์ กั น ชั่ ว ชี วิ ต ” ดู จ ะเป็ น จริงสำ�หรับชีวิตทันตแพทย์ สมัยเป็น นั ก ศึ ก ษาจะถู ก เข้ ม งวดเอาใจใส่ จ าก อาจารย์ ม าตลอดถึ ง หกปี เมื่ อ จบ หลักสูตร แล้วความสัมพันธ์ศษิ ย์อาจารย์ ไม่เคยจางหายไป อาจารย์ยงั คงคอยช่วย เหลือลูกศิษย์อยู่มิเคยขาดเช่นครั้งที่ผม อยู่โรงพยาบาลชุมชนเล็กๆ ขาดสื่อการ สอนก็ได้รบั การสนับสนุนภาพสไลด์การ สอนจากอาจารย์ถึง 4 ภาควิชาเพื่อให้ ใช้สอนประชาชนเป็นเครื่องมือทำ�มา หากินมาจนถึงปัจจุบัน หลายต่อหลาย ครั้ ง ได้ เชิ ญ อาจารย์ ม าเป็ น วิ ท ยากรที่ อำ�เภอ อาจารย์ก็ไม่เคยขัดแม้ผมจะอยู่ ในพื้นที่ยากลำ�บากเพียงใด บางครั้ง ท่ า นอาจารย์ ค ณบดี ยั ง กรุ ณ าไปเป็ น วิ ท ยากรด้ ว ยตนเองทำ � ให้ วิ ช าชี พ อื่ น เช่น นายแพทย์ผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาล ถึ ง กั บ ทึ่ ง ที่ อ าจารย์ ทั น ตแพทย์ ก รุ ณ า ต่ อ ศิ ษ ย์ ข นาดนี้ นอกจากนี้ ห ลั ก สู ต ร ที่เข้มข้นของพวกเราที่มีการพูดล้อว่า จบทันตแพทย์ มช.แล้วสามารถเรียน ทุกคณะได้อย่างไม่มีปัญหาอีก ทำ�ให้

พวกเราต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกันจน มีคติที่ว่า “ใครไม่มีเพื่อน อย่าหมาย จบทันตแพทย์” หรือ “รวมกันเราจบ (หลักสูตร)” ในกลุม่ ของพวกเราจะสนิท กั น มากแม้ จ ะจบมาแล้ ว ความผู ก พั น ที่ ค งอยู่ ยั ง ได้ ช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ในการ ทำ�งานมาจนถึงปัจจุบันนี้ สิ่งเหล่านี้ได้ หล่อหลอมจนทำ�ให้ทันตแพทย์ มช. มี ลักษณะเฉพาะตัวขึ้นมา แรงบันดาลใจในการทำ�งาน หลายคนอาจแปลกใจเมื่ อ รู้ ว่ า จากเด็ ก ชายตั ว เล็ ก ๆคนหนึ่ ง ที่ นั่ ง ดู โทรทั ศ น์ ทุ ก ๆ วั น เกี่ ย วกั บ พระราช กรณี ย กิ จ ของพระเจ้ า อยู่ หั ว จนเกิ ด ความประทับใจในพระราชจริยวัตรที่ ทรงเสียสละ เหน็ดเหนื่อยลำ�บากพระ วรกายในการช่วยเหลือประชาชนของ พระองค์ แม้ อ ยู่ ใ นท้ อ งถิ่ น ที่ ห่ า งไกล และทุรกันดารเพียงใดก็ตามพระองค์ก็ เสด็จไปหาไปช่วยมิได้ขาด สิง่ นีจ้ ะกลาย มาเป็นแรงบันดาลใจให้เด็กชายตั้งใจ ว่าเมื่อโตขึ้นจะทำ�งานตามแบบอย่าง ของพระเจ้าอยู่หัวให้ได้ ในวันที่เข้ารับ พระราชทานปริญญาทันตแพทยศาสตร์ บัณฑิตจากพระหัตถ์ของพระองค์ เขาจึง มีความเชือ่ ว่านัน่ คือพันธสัญญา ระหว่าง เขากั บ พระเจ้ า อยู่ หั ว ตามที่ ไ ด้ ถ วาย คำ�สัตย์ปฏิญาณที่จะนำ�ความรู้ที่ได้รับ ไปช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ เขาจะเป็น ทันตแพทย์ของพระเจ้าอยู่หัว จะตั้งใจ ไปอยู่ ใ นท้ อ งที่ ย ากลำ � บากทุ ร กั น ดาร

130 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


เพือ่ ให้สขุ ภาพในช่องปากของประชาชน ผู้ ด้ อ ยโอกาสดี ขึ้ น นั บ แต่ รั บ ราชการ เป็นต้นมา หลายๆ ต่อหลายครั้งที่เขา ขอย้ า ยที่ ทำ � งานที่ นั บ วั น จะห่ า งจาก ภูมลิ �ำ เนาอันเป็นบ้านเกิดเมืองนอนออก ไปเรื่อยๆ แม้ในท้องที่นั้นจะไม่มีญาติ พี่น้องหรือผองเพื่อนอยู่ก็ตามที ด้วย เหตุผลว่าที่เดิมได้พัฒนามาเต็มที่แล้ว อยู่ไปเหมือนอาศัยบุญเก่าหรือเตรียม เกษียณ จึงสมควรให้ทันตแพทย์ท่าน อืน่ มาพัฒนาต่อยอดเพือ่ ให้ประชาชนได้ มีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้น สำ�หรับเขา ควรจะได้ไปพัฒนาที่ใหม่ๆ ที่ขาดแคลน มากกว่า

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

131


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี ทันตแพทย์หญิงรพินท์ อบสุวรรณ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 2009030 ที่อยู่ปัจจุบัน 284 หมู่ 9 ถนนพ่อขุน ตำ�บลรอบเวียง อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000

ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

สถาบันและประเทศ

วท.บ

2524

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ท.บ. 2526 ป.บัณฑิต 2541

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................

(ปริทันตวิทยา)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน พ.ศ. 2526-2540 ทันตแพทย์ระดับ 4 - 8 รพศ. เชียงรายประชานุเคราะห์ พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน ทันตแพทย์เชีย่ วชาญ (ทันต สาธารณสุข) สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ประสบการณ์ทำ�งาน พ.ศ. 2548 – ปัจจุบนั อาจารย์พเิ ศษ คณะทันตแพทย ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2548 – ปัจจุบนั อาจารย์พเิ ศษ คณะทันตแพทย ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

132 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารการพัฒนาระบบบริหารแบบบูรณาการ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ โครงการพัฒนาคุณภาพการส่งเสริมสุขภาพ แบบบูรณาการ ผลงานดีเด่น 1. พ.ศ. 2538 ได้ร่วมก่อตั้งโครงการดูแลเด็กแรกเกิดที่มีปัญหา ปากแหว่ง-เพดานโหว่ โดย Cleft Team ของโรงพยาบาลศูนย์ เชียงรายประชานุเคราะห์ ภายใต้ความร่วมมือของสหวิชาชีพ ทำ�ให้ เด็กแรกเกิดที่มีปัญหาเหล่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีฐานะยากจน และอยู่ในท้องถิ่นห่างไกล ได้รับการดูแล รักษา ส่งต่อ และประสาน ความร่วมมืออย่างมีระบบ และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.พ.ศ. 2540 ร่วมริเริ่มและก่อตั้งศูนย์ส่งเสริมทันตสุขภาพ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในวโรกาสคล้ายวันสวรรคต ครบรอบ 1 ปี เพื่อพัฒนางานรักษาควบคู่กับงานส่งเสริม ป้องกัน ทันตสุขภาพ และใช้เป็นกรณีศึกษานำ�ร่อง ในการพัฒนาสถาน บริการให้มีความพร้อมในการจัดบริการรักษา ควบคู่กับการส่งเสริม ป้องกัน ทันตสุขภาพต่อไป โดยการก่อตัง้ นี้ สำ�เร็จได้ดว้ ยพลังศรัทธา จากประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ร่วมบริจาคเงิน ครุภัณฑ์ และ สิ่งของ โดยไม่ได้ใช้งบประมาณจากทางราชการ เปิดให้บริการตาม เจตนารมณ์ และเป็นที่ศึกษาดูงานของหน่วยบริการต่างๆ ตั้งแต่ 20 ต.ค. 2541 จนถึงปัจจุบัน

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

133


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี 3. พ.ศ. 2554 ร่วมริเริม่ พัฒนางานด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ เชิงรุกรูปแบบใหม่ในทุกกลุ่มวัย ภายใต้งบกองทุนทันตกรรม ด้วย การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรนอกระบบราชการ เพื่อเป็นนักส่ง เสริมทันตสุขภาพ ทำ�หน้าทีก่ อ่ กระแสให้กลุม่ เป้าหมาย โดยเฉพาะผู้ ปกครอง เด็กในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ประถมศึกษา และผูเ้ กีย่ วข้อง มีความตระหนักทีจ่ ะดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน ปัจจุบนั ได้รบั ความสนใจ และเป็นต้นแบบให้หลายๆจังหวัดนำ� ไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับบริบทของตนเองต่อไป รางวัลที่ได้รับ พ.ศ. 2542 ได้รับการคัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ระดับจังหวัด พ.ศ. 2554 ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคลากรด้านสาธารณสุข ชุมชนและบริการปฐมภูมิดีเด่น ระดับจังหวัด ของสำ�นักงาน สาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ประเภทรางวัลผูส้ นับสนุน การศึกษา ด้านสาธารณสุขดีเด่น ความรู้สึกที่มีต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการ ทำ�งาน (จากห้วงลึกของหัวใจ) ความทรงจำ�ในอดีต คือแรงบันดาลใจทีท่ รงคุณค่า ตลอดระยะ เวลาเกือบ 30 ปี ข้าพเจ้ามีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีได้ ส่วนสำ�คัญส่วน หนึง่ ของชีวติ คือการมีอาชีพเป็นทันตแพทย์ ข้าพเจ้ารูส้ กึ เป็นหนีบ้ ญ ุ คุณ ครู และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นอย่าง ยิง่ ข้าพเจ้าได้คดิ และลงมือทำ�ด้วยความสามารถเท่าทีม่ ี แต่ดว้ ยพลัง ใจอันยิง่ ใหญ่เพือ่ ตอบแทนบุญคุณเหล่านัน้ เสมอมา ข้าพเจ้าเคยผ่าน เหตุการณ์ตา่ งๆทีเ่ ปรียบเสมือนฝันร้ายในช่วงเรียนทันตแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากลำ�บากในการเรียนเป็นอย่างมาก และนั่นคือ ความฝังใจ อันส่งผลให้เกิดเป็นแรงบันดาลใจ ข้าพเจ้าคิดเสมอว่า อยากเป็นครูสอนน้อง ๆ ให้เค้าเรียนรอด ปลอดภัย มีความสุข และ จบอย่างภาคภูมิสมศักดิ์ศรี เพราะรู้ว่าความยุ่งยากใจหลายประเด็น ระหว่างเรียนเป็นอย่างไร ไม่อยากให้เกิดกับใคร

134 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


การเป็นพีเ่ ลีย้ งหรือโค้ชหรือแสงสว่างนำ�ทางหรืออะไรก็แล้วแต่ ที่จะช่วยเหลือน้องๆ นักศึกษาทันตแพทย์เป็นสิ่งที่จำ�เป็น จะทำ�ให้ การเรียนและการใช้ชวี ติ ในมหาวิทยาลัยมีประสิทธิภาพ และมีคณ ุ ค่า น่าจดจำ� ซึ่งดีกว่าไม่อยากจำ� อยากลืมๆ ไป หรืออยากลบจากสมอง ให้มากที่สุด ซึ่งนั่นคือการทำ�ลาย และทำ�ร้ายความสัมพันธ์ระหว่าง ครู ลูกศิษย์ และคณะ ข้าพเจ้าจึงมีความตั้งใจว่าการเป็น “ครูนอก ระบบ” (ของมหาวิทยาลัย) เหมือนเป็นแม่ที่ช่วยอบรมลูกๆ ที่กำ�ลัง เรียนทันตแพทยศาสตร์ เป็นทีพ่ กั พิงใจให้นอ้ งๆ นักศึกษายามเหนือ่ ย ล้า เดินหลงทาง และต้องการกำ�ลังใจ อยากให้การเรียนไม่ใช่สงคราม ระหว่างครูและลูกศิษย์ อยากให้การเรียนการสอน เป็นความผูกพันที่ ดีต่อกัน ข้าพเจ้าจึงขอยื่นมือเข้าปฏิบัติการเหล่านั้นด้วยความเต็มใจ โดยใช้ความเป็นครูในลักษณะของตนเอง ไม่มีระเบียบกฎเกณฑ์ของ คณะหรือตัวชีว้ ดั ใดๆ มารบกวน ด้วยแรงศรัทธาต่อกระบวนการเหล่า นี้ น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งเพื่อช่วยเติมเต็มการร่วมผลิตทันตแพทย์ ที่ ดี สู่ สั ง คม และนั่ น คื อ การตอบแทนบุ ญ คุ ณ ครู และคณะทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ข้าพเจ้าได้ตั้งใจและลงมือ ปฏิบัติตั้งแต่จบจวบจนทุกวันนี้

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

135


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

4.ดีเด่นด้านรับใช้สังคมและส่งเสริมศาสนา ทันตแพทย์สุทธิศักดิ์ บุญนิธิ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 2409065 ที่อยู่ปัจจุบัน

45/1 คลิ นิ ก บ้ า นหมอฟั น ถนนถวาย ตำ � บลท่ า ฉลอง อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ.

2529

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน

เป็นเจ้าของคลินิก และมีกิจการส่วนตัว 1. คลินิกบ้านหมอฟัน 45/1 คลินิกบ้านหมอฟัน ถนน

ถวาย ตำ�บลท่าฉลอง อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 2. ศูนย์ทันตกรรมรัชวิภา เลขที่ 1 ถนนวิภาวดี 38 เขต

จตุจักร กรุงเทพมหานคร

3. ศูนย์ทันตกรรมแอดวานส์ เลขที่ 96/12 หมู่ 8 ถนน

รัตนาธิเบศร์ อำ�เภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 งานอื่น ๆ

ก่อตั้งกองทุนพุทธบูชาคลินิกที่วัดป่ามัชฌิมาวาส ตำ�บล สำ�พาน อำ�เภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นคลินิกบริการพระ และประชาชนทั่วๆ ไป โดยไม่คิดมูลค่า มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็น “พุทธบูชา”

136 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ผลงานดีเด่น

1.ผู้ ก่ อ ตั้ ง พุ ท ธบู ช าคลิ นิ ก ที่ วั ด ป่ า มัชฌิมาวาส ตำ�บลสำ�พาน อำ�เภอเมือง จังหวัดกาฬสินธ์ เพื่อรักษาพระและชาว บ้านโดยไม่คิดค่ารักษา 2.ร่ ว มกั บ พ่ อ แม่ พี่ น้ อ ง ก่ อ สร้ า ง โรงอาหาร หอประชุมและห้องนำ�้ ให้กับ โรงเรียนบ้านหินโคน ตำ�บลหินโคน อำ�เภอ จักราช จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเป็นการ ตอบแทนพระคุณของโรงเรียนที่ให้ความรู้ เมื่อยังเป็นเด็ก ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และ แรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จากห้วงลึก ของหัวใจ)

ปัจจุบนั นีผ้ มระลึกอยูเ่ สมอว่า สิง่ แรก ทีต่ อ้ งขอบคุณสูงสุด คือ พ่อ-แม่ ต่อมาก็คง เป็น ครู-อาจารย์ ที่เสียสละอดทนสั่งสอน ให้ผมเป็นคนดี สามารถอยูใ่ นสังคมได้อย่าง ภาคภูมิใจ คณะทันตแพทย์ มช. ก็เป็นสถาบันที่ มีบญ ุ คุณต่อผมมากทีค่ ณาจารย์ได้ถา่ ยทอด วิชาต่างๆ ให้กับผม จนมีวิชาชีพไว้เลี้ยง ดูครอบครัว และเป็นสถาบันที่ผมมีความ สุขมาก เพราะได้แสดงออกอย่างอิสระใน ทุกๆด้านไม่วา่ จะเป็นกิจกรรม กีฬาสี รวม ทั้งการอยู่ร่วมกันของรุ่นพี่ รุ่นน้อง และ อาจารย์ที่ให้ความช่วยเหลือกันประหนึ่ง ญาติ กั น จริ ง ๆ ประสบการณ์ เ หล่ า นี้ มี ประโยชน์มากหลังจากผมจบมาประกอบ อาชีพทันตแพทย์ ทำ�ให้ไม่มีปัญหาในเรื่อง การบริหารและการจัดการภายในคลินิก สิ่ ง ที่ ผ มภู มิ ใ จมากขณะที่ เ รี ย นที่ คณะ คือ ได้รับเลือกให้เป็นนายกสโมสร นักศึกษาของคณะเมื่อปี พ.ศ. 2538 ขณะ

เรียนอยูช่ นั้ ปีที่ 5 และได้ท�ำ กิจกรรมหลายๆ อย่าง ทัง้ ภายในคณะและร่วมกับคณะอืน่ ๆ ใน มช. สิ่งบันดาลใจที่ออกช่วยเหลือสังคม

มั น เกิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ เรี ย นที่ ค ณะแล้ ว คือ พวกเราเคยออกค่ายอาสาช่วยเหลือ ชาวบ้ า นที่ อ ยู่ ไ กลๆและฐานะไม่ ค่ อ ยดี ประกอบกั บ ผมเป็ น คนทางภาคอี ส านก็ เคยเห็นสภาพเช่นนี้มาตั้งแต่เด็กๆ แล้ว ทำ�ให้เกิดความเมตตาสงสารเพื่อนมนุษย์ อยู่ในใจตลอดมา คิดไว้ว่าสักวันหนึ่ง เมื่อ ผมประกอบอาชีพทันตแพทย์จนกระทั่ง พอมีพอกินแล้ว ก็จะสละกำ�ลังกายและ กำ�ลังทรัพย์ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเต็มความ สามารถ โดยเฉพาะทางภาคอีสานซึ่นเป็น แดนเกิดของผม ผมคิดว่าตัวเองโชคดีมากหรือคงจะ เป็นวาสนาของผม เมื่อ ปี พ.ศ. 2548 ผม ได้มโี อกาสรักษาหลวงพ่อเมือง พลว ฑ. โฒ เจ้าอาวาสวัดป่ามัชฌิมาวาส บ้านดงเมือง ต.ลำ�พาน อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ซึง่ ในครัง้ นัน้ หลวงพ่อต้องเดินทางเข้ากรุงเทพหลายครัง้ ผมเห็นว่าไม่สะดวกก็เลยเริ่มคิดโครงการ เปิดคลินกิ ในวัด เมือ่ ปรึกษาทางครอบครัว ก็เห็นด้วยไม่ขดั ข้อง ก็เลยกราบขออนุญาต หลวงพ่อ ท่านก็เมตตาให้เปิดคลินกิ ได้ โดย ใช้ชื่อ พุทธบูชาคลินิก และที่วัดแห่งนี้เอง ผมได้ฟังเทศน์ของหลวงพ่อทำ�ให้ผมเริ่ม มีความคิดถึงตัวเองว่า แท้จริงแล้วคนเรา เกิดมาเพื่ออะไรแน่ จะเอาอะไร และจะทิ้ง อะไรไว้ เมือ่ คิดได้ หยุดกิจกรรมหลายอย่าง ที่ ทำ � ให้ เ สี ย เวลา และหั น หน้ า มาปฏิ บั ติ ธรรมและศึกษาธรรมะ ทุกวันนีช้ วี ติ ก็อยูส่ ขุ สบาย ไม่คิดมากอยู่กับปัจจุบัน และจะขอ เดินสายธรรมะตลอดไป

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

137


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

5.ดีเด่นด้านความมุ่งมั่นในการบริหารงานภาครัฐ ทันตแพทย์ ดร.สุรสิงห์ วิศรุตรัตน รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 177441 ที่อยู่ปัจจุบัน

10/11 ถนนสุเทพ ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ. 2523 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ................................................................................................................ สาธารณสุข 2528 มหาวิทยาลัยมหิดล มหาบัณฑิต ................................................................................................................ นิติศาสตร 2530 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิต ................................................................................................................

สาธารณสุข ดุษฏีบัณฑิต

2539

The John Hopkins University USA.

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน พ.ศ. 2523 หัวหน้าฝ่ายทันตสาธารณสุข สำ�นักงาน

สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

พ.ศ. 2542 นักวิชาการสาธารณสุขด้านส่งเสริมพัฒนา

สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

พ.ศ. 2551-ปัจจุบัน นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ

สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

138 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


งานอื่น ๆ

เป็นแกนนำ�ในการจัดตั้งโรงพยาบาลวัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาและศูนย์ แพทย์ทางเลือกโรงพยาบาลวัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อำ�เภอกัลยาณิวฒ ั นา ผูจ้ ดั การโครงการพืชอาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริมสุข ภาพ (สสส.) ผู้จัดการโครงการพื้นที่ว่างสำ�หรับเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุนโดยกองทุนส่ง เสริมสุขภาพ (สสส.) หัวหน้าแผนงานพัฒนาระบบเตรียมความพร้อมในการรับมือกับภัยพิบัติจังหวัด เชียงใหม่ สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) งานด้านวิชาการ

เอกสารวิชาการในวารสารในประเทศและต่างประเทศ 24 เรื่อง อาจารย์พเิ ศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผลงานดีเด่น

หัวหน้าโครงการวิจยั ร่วม Project Accept -A Phase III Randomized Controlled Trial of Community Mobilization, Mobile Testing, Same-Day Results, and Post-Test Support for HIV in Sub-Saharan Africa and Thailand. งานวิจัย Superstar’ and ‘model brothel’: developing and evaluating a condom promotion program for sex establishments in Chiang Mai, Thailand. เป็นคณะกรรมการ Editorial Board AIDS www.aidsonline.com (2004-2005) เป็นคณะกรรมการ International AIDS conference Abstract Reviewing Team ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จากห้วงลึกของหัวใจ)

ประสบการณ์ ใ นสมั ย เรี ย นและทำ � งานในชมรมบำ � เพ็ ญ ประโยชน์ ที่ ค ณะทั น ต แพทยศาสตร์ให้บทเรียนที่มีคุณค่ามากในการดำ�เนินชีวิตและการทำ�งาน

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

139


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี ทันตแพทย์ วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 2309041 ที่อยู่ปัจจุบัน

406 หมู่ 6 ตำ�บลทุ่งใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ. 2529 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ................................................................................................................ Catholic University Master of 2534 of Leuven, Belgium Dental Sciences ................................................................................................................

University of Copenhagen, Denmark ................................................................................................................

Ph.D.

2545

ประวัติการทำ�งาน

พ.ศ. 2529-2549 อาจารย์สาขาทันตกรรมชุมชน ภาควิชา

ทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2537-2540 ผู้อำ�นวยการโครงการจัดตั้งฝ่ายทันต สาธารณสุขชนบทภาคใต้ พ.ศ. 2545-2549 ผู้อำ�นวยการฝ่ายทันตสาธารณสุข ชนบทภาคใต้ ปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่งรองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา งานอื่น ๆ

เป็นอาจารย์พิเศษทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก คณะ ทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทย์แผนไทย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ คณะวิ ท ยาการจั ด การ

140 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


สุขภาพ มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลงานดีเด่น 1. เป็นผู้ประสานงานหลักร่วมกับทีม แพทย์หญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ในการ

จัดตั้งทีมทันตแพทย์ในการตรวจฟันศพใน เหตุการณ์ภยั พิบตั สิ นึ ามิ ปี พ.ศ. 2547 และ จัดทำ�โครงการวิจยั ถอดบทเรียนการบริหาร จัดการศพในประเด็นด้านทันตกรรม เพื่อ เป็นหลักฐานวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์ทสี่ �ำ คัญ ของวงการทันตแพทย์ตอ่ ไป จนนำ�ไปสูก่ าร ได้รับการสนับสนุนให้ดำ�เนินการวิจัยเรื่อง การสังเคราะห์บทเรียนจากเหตุการณ์คลืน่ ยักษ์เพื่อเตรียมรับมือภัยพิบัติในอนาคต กรณี ร ะบบการจั ด การกั บ ผู้ เ สี ย ชี วิ ต ใน ทีส่ ดุ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจาก เครือข่ายวิจัยสุขภาพ สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2. ได้ รั บ รางวั ล อาจารย์ ดี เ ด่ น ด้ า น บริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ สั ง คม คณะทั น ต

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี พ.ศ. 2547

3. เป็นผู้จัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย

เพื่อผลักดันให้เกิดกองทุนทันตกรรม ภาย ใต้ ร ะบบหลั ก ประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า ในปี พ.ศ. 2553 และเป็นหนึ่งในคณะ ทำ � งานหลั ก ในการบริ ห ารกองทุ น ทั น ต กรรม สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่ง ชาติ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 เป็นต้นมา ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และ แรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จากห้วงลึก ของหัวใจ) th

....จำ�ได้ว่า ตอนเด็กๆ อาชีพที่ผมไม่อยาก เป็นคือ ครู กะหมอฟัน แต่ทำ�ไม ทำ�ไมผมโต ขึน้ มาเป็นอาจารย์ทนั ตแพทย์ไปได้... 20 ปีท่ี เป็นอาจารย์ที่ มอ. ผมได้เอาประสบการณ์ ทัง้ ด้านดีและไม่ประทับใจสมัยเรียนมาปรับ ใช้ ใ ห้ ค วามเป็ น อาจารย์ ข องผมสมบู ร ณ์ ขึ้ น แน่ น อนว่ า กว่ า จะเป็ น ทั น ตแพทย์ ต้องฝ่าฟัน ต้องอดทน ต้องเรียนรู้ความล้ม เหลว ต้องฝึก ฝึก และฝึก แต่ความเป็นชาว นักศึกษาหมอเขี้ยวช่วยให้ผ่านวันเวลานั้น มาได้อย่างสง่างาม ขอขอบคุณทุกอาจารย์ ทุกผองเพื่อน พี่ น้องที่เติมเต็มความทรงจำ�ดี ดี หอพักทัน ตะที่อบอุ่น ที่ยามสุขร่วมสรวลเส ที่ยาม ทุกข์ร่วมดูแลเยียวยา ต้นก้ามปูกลางคณะ ที่ให้ร่มเงาร่มเย็นในยามที่เร่าเร้า ร้อนรุ่ม ห้องแลปที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายดึกยัน เช้า แต่มมี อื เพือ่ นคอยหยิบยืน่ มาช่วยเหลือ ยามต้องการอยู่เสมอ ...แม้ว่าในวันนี้ ผมจะไม่ได้เป็นทันตแพทย์ แล้ว... แต่ ค วามเป็ น ทั น ตแพทย์ ช่ ว ยให้ ก าร บริ ห ารงานของผมมี ค วามละเอี ย ด รอบคอบ มีความอดทนต่ออุปสรรค อดทน ทีจ่ ะรอผลลัพธ์ทหี่ อมหวาน สิง่ หนึง่ ทีผ่ มไม่ เคยลืมเลยก็คือ ในชั่วโมงทันตกรรมชุมชน อาจารย์อทุ ยั วรรณ กาญจนกามล สอนไว้วา่ ถ้าเราทำ�ฟัน เราทำ�ได้ทลี ะคน แต่ถา้ เราเป็น ผู้กำ�หนดนโยบาย เราทำ�ทีเดียว ประชาชน หลายล้ า นคนจะได้ รั บ ผลลั พ ธ์ จ ากที่ เรา ตัดสินใจ มันทำ�ให้ผมเฝ้ารอมากว่า 20 ปี ที่จะถึงวันนี้ วันที่ผมได้ทำ�ประโยชน์กับ คนทั้งประเทศอย่างที่อาจารย์เคยสอนไว้ อยากให้อาจารย์ภมู ใิ จว่า ลูกศิษย์คนนีย้ งั จำ� คำ�สอนของอาจารย์ได้เสมอครับ

40 Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

141


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

6.ดีเด่นด้านคุณธรรมและจริยธรรม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิงรัตนา อัมไพรวรรณ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 167414 ที่อยู่ปัจจุบัน

1170/4 ถนนสามแยกไฟฉาย เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

ท.บ.

2521

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Diploma in Periodontics

2530

University of Bergen Norway

อนุมัติบัตร (ปริทันตวิทยา)

2545

................................................................................................................ ................................................................................................................ ................................................................................................................

ทันตแพทยสภา

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน พ.ศ. 2525 ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยบริหารวิชาการแก่ชมุ ชน คณะ

ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ. 2530 หัวหน้าภาควิชาปริทันตวิทยา คณะทันต

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ. 2534 รองคณบดี คณะทั น ตแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ. 2536 กรรมการประจำ�คณะฯ จากคณาจารย์ประจำ�

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

142 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


พ.ศ. 2540 กรรมการประจำ�คณะฯ

จากคณาจารย์ ป ระจำ � คณะทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 กรรมการประจำ�คณะฯ

จากคณาจารย์ ป ระจำ � คณะทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544 หั ว หน้ า ภาควิ ช าปริ

ทันตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งานอื่นๆ

อาจารย์พิเศษ ระดับปริญญาตรี สาขา วิชาปริทันตวิทยา คณะทันตแพทย ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะกรรมการอำ � นวยการประจำ � คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม 2552 ถึงปัจจุบัน ความทรงจำ�ที่มีต่อคณะ

ความทรงจำ�ที่มีต่อคณะทันตแพทย์ เชียงใหม่ ยังคงแจ่มใส ชัดเจนทุกครั้งเมื่อ ระลึกถึง ไม่ว่าจะเป็นช่วงที่เป็นนักศึกษา หรือช่วงทีเ่ ปลีย่ นบทบาทมาเป็นครู ในช่วง ชีวิตที่เป็นนักศึกษา เมืองเชียงใหม่ยังเป็น เมืองท่องเที่ยวเล็กๆน่ารัก และสงบเงียบ น่าอยู่ และคณะทันตแพทย์ของเราก็ยงั เป็น คณะเล็กๆที่อบอุ่น เราจะใกล้ชิดสนิทสนม และรูจ้ กั กันเกือบหมดทุกชัน้ ปี และแน่นอน ว่า ความผูกพันกับครูอาจารย์ ตลอดจน ความสุขสนุกสนาน และมิตรภาพอันงดงาม กับเพือ่ นๆ และกับรุน่ พีแ่ ละรุน่ น้องในสมัย

นั้น ยังไม่เคยจางหายไปจากความทรงจำ� ของข้าพเจ้าเลย เมื่ อ เรี ย นจบและเปลี่ ย นบทบาท ตนเองมาเป็นครู ข้าพเจ้าได้เห็นและมีส่วน ร่วมในการเปลี่ยนแปลงของคณะมาอย่าง ต่อเนือ่ ง ภาพจำ�ของคณะสำ�หรับข้าพเจ้า จึง มิใช่ภาพเก่าๆ ทีห่ ยุดนิง่ แต่เป็นภาพทีม่ ชี วี ติ น่าติดตาม และยังมีการพัฒนาเปลีย่ นแปลง ให้เห็นต่อไปเรื่อยๆ จนวันนี้ เมื่อความจำ�เป็นทำ�ให้ต้อง เกษี น ณตนเองออกมาก่ อ นเวลาอั น ควร ข้าพเจ้ายังหาโอกาสกลับไปทำ�งานให้คณะ อยู่เสมอเป็นระยะ ด้วยความรู้สึกผูกพัน และด้วยสำ�นึกในใจเสมอว่า หากไม่มีคณะ ทันตแพทย์เชียงใหม่แห่งนี้ คงไม่มีข้าพเจ้า ในวันนี้ แรงบันดาลใจในการทำ�งาน

ว่ า กั น ว่ า คนที่ ไ ด้ ทำ � ในสิ่ ง ที่ ต นรั ก ถื อ ว่ า เป็ น คนโชคดี ซึ่ ง ข้ า พเจ้ า เองก็ นั บ เป็นหนึ่งในผู้โชคดีนั้น เนื่องเพราะมีใจรัก ความเป็นครูมาแต่เดิม เมื่อได้รับบทบาท ในหน้าที่ของ “ครูทันตแพทย์” จึงมีความ รู้สึกสนุกและกระตือรือร้น ที่จะทำ�งานอยู่ เป็นนิจ ยิง่ เวลาได้เห็นลูกศิษย์ทตี่ นเองสอน มีความก้าวหน้าพัฒนาไม่ว่าจะมากหรือ น้อย ความรู้สึกยินดีและภูมิใจจะเกิดขึ้น เสมอ และเป็นเสมือนพลังที่คอยหล่อเลี้ยง ให้มคี วามสุขในการทำ�งานตลอดมา แท้จริง แล้ว ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า แรงบันดาลใจสำ�คัญใน การทำ�งานของผูไ้ ด้ชอื่ ว่าเป็นครูทนั ตแพทย์ ทุกคน คือการได้เห็นลูกศิษย์ จบไปเป็น ทันตแพทย์ที่ดีมีคุณธรรมความสามารถ เป็นที่ชื่นชมยอมรับของสังคมและประสบ ความสำ�เร็จในชีวิตนั่นเอง

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

143


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

7.ดีเด่นด้านปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยง-พื้นที่ทุรกันดาร ทันตแพทย์พูลพฤกษ์ โสภารัตน์ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 4009046 ที่อยู่ปัจจุบัน

โรงพยาบาลวัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 94 วัดจันทร์ปาย ตำ�บลบ้านจันทร์ อำ�เภอกัลยานิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ.

2545

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน

ปั จ จุ บั น ตำ � แหน่ ง ทั น ตแพทย์ ชำ � นาญการ โรงพยาบาลวัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อำ�เภอ กัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ประสบการณ์การทำ�งาน

เริ่ ม รั บ ราชการที่ โรงพยาบาลนาด้ ว ง อำ � เภอนาด้ ว ง จังหวัดเลย จากนั้น 1 ปี ขอย้ายมาทำ�งานที่ โรงพยาบาล เฉลิมพระเกียรติ อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน โดยที่ ในขณะนัน้ โรงพยาบาลยังสร้างไม่เสร็จ เป็นโรงพยาบาลอยูต่ ดิ ชายแดนไทย-ลาว (ด่านห้วยโก๋น ห่างจากเมืองเงินประเทศลาว 2 กิโลเมตร ห่างจากตัวอำ�เภอเมืองน่าน 145 กิโลเมตร) เป็น กลุ่มรุ่นบุกเบิกโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จากนั้น 4 ปี ย้าย

144 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


กลับมาที่เชียงใหม่ ด้วยเหตุผลทางบ้าน(บิดาเสีย) แต่ก็ไม่ได้อยู่ ตามคำ�สั่ง คือ โรงพยาบาลฮอด แต่กลับไปอยู่ที่โรงพยาบาล วัดจันทร์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อำ�เภอกัลยาณิวัฒนา (อำ�เภอแม่แจ่มในขณะนั้น) จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งก็เป็นอีกครั้งที่ ได้เป็นรุน่ บุกเบิกโรงพยาบาล (ระยะห่างจากอำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 170 กิโลเมตร) จนถึงปัจจุบัน ทำ�งานที่โรงพยาบาล วัดจันทร์ฯ เกือบ 5 ปี การทำ�งานที่ภูมิใจในชีวิตที่ผ่านมา

การได้มโี อกาสทำ�งานในพืน้ ทีห่ า่ งไกล ได้มโี อกาสทีไ่ ด้ท�ำ ใน หลายๆ อย่าง โดยเฉพาะการจัดระบบบริการให้ประชาชน เข้าถึงบริการ โดยไม่ต้องคำ�นึงถึงค่าใช้จ่าย พัฒนาระบบงานทันตกรรมร่วมกับ มูลนิธิ พอ.สว.ในการหา รถทันตกรรมเคลือ่ นทีส่ �ำ หรับ จังหวัดเชียงใหม่ เพือ่ ออกให้ บริการทันตกรรมในท้องถิ่นทุนกันดาร การพัฒนาระบบการดูแลผูพ้ กิ ารในตำ�บลบ้านจันทร์ “เริม่ ต้นที่เข้าใจในความแตกต่าง ก้าวไปช้าๆให้เหมาะสมใน แต่ละคน ร่วมด้วยช่วยกัน เพื่อสิทธิและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์” “ขอบคุณครับที่ได้รับคัดเลือกให้รับรางวัลนี้ ขอบคุณ ทุกประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ทั้งจากอาจารย์ เพื่อน ร่วมงาน และที่สำ�คัญ ผู้รับบริการ มันบ่งบอกให้ผมทราบว่า สิ่งที่เคยทำ� ทำ�อยู่และกำ�ลังจะทำ� คงเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะ สม ทั้งในบทบาทของทันตแพทย์ และบทบาทของเพื่อน มนุษย์คนหนึ่ง ผมคงจะเดินทางในเส้นทางนี้ต่อไปด้วยพลัง กาย พลัง ใจ ที่จะทำ�ในสิ่งที่อยากทำ� เพื่อประโยชน์ของคน ส่วนใหญ่”

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

145


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี

8.ดีเด่นด้านการเสียสละและอุทิศตนเพื่อประโยชน์ส่วนร่วม ทันตแพทย์ชำ�นาญ พลอยประดิษฐ์ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 3809024 ที่อยู่ปัจจุบัน

109 หมู่ 13 ซอยสายลม ตำ�บลรอบเวียง อำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงราย 57000 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ.

2544

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ทันตแพทย์ประจำ�บ้าน สาขา ศั ลยศาสตร์ช่องปากและ

2548

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2550

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วุฒิบัตร สาขาศัลยศาสตร์ ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

2551

ทันตแพทยสภา

ป.บัณฑิต สาขา ศัลยศาสตร์ช่องปาก

................................................................................................................

แม็ กซิลโลเฟเชียล ................................................................................................................ ................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน 2544-2546 ทันตแพทย์ (4-5) โรงพยาบาลเชียงแสน (งาน

บริการทันตกรรมทั่วไป)

2547-ปัจจุบัน ทันตแพทย์ (6-8) โรงพยาบาลเชียงราย

ประชานุเคราะห์ (งานบริการทันตกรรมทั่วไป)

2550- ปัจจุบนั งานศัลย์ศาสตร์ชอ่ งปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

146 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


งานอื่น ๆ 1.งานบริการทันตกรรมในพื้นที่พิเศษและพื้นที่ห่างไกล ออกหน่วยให้บริการทันตกรรม

แก่ผู้ต้องขังในเรือนจำ�กลาง จังหวัดเชียงราย 2. ด้านวิชาการ

เป็นหนึง่ ในทีมอาจารย์สอนทันตแพทย์ทเ่ี ข้าฝึกอบรมระยะสัน้ (4 เดือน) หลักสูตร “ทันตกรรมพร้อมมูล” และหลักสูตร “ทันตกรรมสำ�หรับเด็ก” ณ โรงพยาบาล เชียงรายประชานุเคราะห์ เป็นอาจารย์พิเศษสอน “การฝึกปฎิบัติงานทันตกรรมโรงพยาบาล” ให้กับ Post graduated ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นอาจารย์พิเศษ (สถาบันสมทบ) สอนทันตแพทย์ประจำ�บ้าน สาขาทันตกรรม ทั่วไป ภาควิชาทันตกรรมครอบครัวและชุมชน และทันตแพทย์ประจำ�บ้านสาขา ศัลยศาสตร์ชอ่ งปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ภาควิชาศัลย์ฯ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นอาจารย์สอน “Maxillofacial trauma” ให้นักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 5 ของ ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 3. ด้านงานบริหาร

คณะกรรมการห้องผ่าตัด คณะกรรมการ Trauma team คณะกรรมการวารสารวิชาการ

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

147


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี ผลงานดีเด่น

1. สื บ สานและพั ฒ นางานด้ า น ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชีย ลจนผลงานเป็นที่ประจักษ์จากเดิมที่โรง พยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์เคยมี หมอ maxillofacial ที่เป็นทันตแพทย์ แต่ ขาดความต่อเนือ่ ง เนือ่ งจาก staff ได้ลาออก ไป หลังจากเรียนจบกลับมาก็ได้มาริเริ่ม สานงานเดิ ม และพั ฒ นางานใหม่ อ ย่ า ง ต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน (ประมาณ 5 ปี ) 2 . โ ค ร ง ก า ร ร า ก ฟั น เ ที ย ม เฉลิมพระเกียรติเป็นหนึ่งในทีมงานที่ได้ ร่วมกันคิดและดำ�เนินงานตามโครงการ ทำ�รากฟันเทียมรองรับฟันปลอมทั้งปาก ให้ กั บ ผู้ สู ง อายุ ข องจั ง หวั ด เชี ย งราย จน โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ได้ผล งานดีเด่น อันดับที่ 2 ของประเทศ ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และ แรงบันดาลใจในการทำ�งาน (จากห้วงลึก ของหัวใจ)

ภาพความทรงจำ � ต่ อ คณะทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ เป็นสถาบันที่อบอุ่น และคุ้นเคย เปรียบ เสมือนบ้านอีกหลังหนึ่งของผม ตั้งแต่เริ่ม เข้าเรียนทีม่ หาวิทยาลัยครัง้ แรกก็ได้รบั การ ต้อนรับจากอาจารย์และพี่ๆ เป็นอย่างดี มี กิจกรรมและการเรียนการสอนที่พัฒนา ให้ เราได้ เรี ย นรู้ ทั้ ง วิ ช าการและวิ ช าชี วิ ต (ทั้งในและนอกห้องเรียน) คณะของเรามี ความสนิทสนมกันดีระหว่างเพื่อนๆ และ

พี่ๆ น้องๆ ที่เรียนร่วมกัน และอาจารย์ ได้ให้ความเป็นกันเอง คอยดูแลประสิทธิ์ ประสาทความรู้ ใ ห้ กั บ พวกเราอยู่ เ สมอ สภาพแวดล้อมของคณะสวยงามและเอื้อ อำ�นวยให้เราได้เรียนรู้เป็นอย่างดี ผมใน ฐานะศิษย์เก่าคนหนึง่ ขอขอบคุณคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และ อาจารย์ทกุ ๆท่าน ทีห่ ล่อหลอมผมมาถึงทุก วันนี้ ทำ�ให้ผมค้นพบความหมายและคุณค่า ของวิชาชีพทันตแพทย์ ลูกศิษย์คนนี้หวัง เป็นอย่างยิง่ ว่าจะสามารถตอบแทนคุณของ แผ่นดินให้สมกับเกิดมาในประเทศไทย โดย ใช้ความรู้ที่เราได้รำ�่เรียนมาทำ�ประโยชน์ ให้กับผู้ป่วยและคนอื่นได้อีกมากมาย (ให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี) ให้สมกับที่ได้รำ�่ เรียน มาอย่างยากเย็น ปริญญาใบหนึ่งคงมิอาจ เทียบได้กับประสบการณ์ชีวิตที่จะจำ�ไป มิ รู้ ลื ม ค ว า ม ท ร ง จำ � ใ น ค ณ ะ ทั น ต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะ ยังติดตาตรึงใจตราบนานเท่านาน แรงบันดาลใจในการทำ�งาน คงมา จากการได้ท�ำ งานและพบปะกับผูค้ นต่างๆ และได้เห็นตัวอย่างที่ดี (role model) ของพี่ๆ และอาจารย์ทั้งหลายในจังหวัด เชียงราย และที่อื่นๆ เช่น พี่โคสิต พี่รพินท์ อบสุ ว รรณ อาจารย์ ไ พศาล กั ง วลกิ จ อาจารย์พัชรี กัมพลานนท์ เป็นต้น ท่านทั้ง หลายเป็นตัวอย่างของการสอนการทำ�งาน อย่างขยัน ตั้งใจ อดทน ใช้ปัญญาในการ แก้ไขปัญหา อยู่อย่างพอเพียง และมีความ สุขกับการทำ�งานที่ตัวเองรัก

148 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ทันตแพทย์หญิงอุไร ศัลยพงษ์ รหัสประจำ�ตัวนักศึกษา 137409 ที่อยู่ปัจจุบัน

อุไรทันตคลินกิ 7-9 ถนนแสงชูโต 17 ตำ�บลท่าเรือ อำ�เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี 71130 ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ

ปี พ.ศ.ที่จบ

สถาบันและประเทศ

................................................................................................................

ท.บ.

2520

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

................................................................................................................

ประวัติการทำ�งาน เริ่ ม รั บ ราชการตั้ ง แต่ ตำ � แหน่ ง ทั น ตแพทย์ 4 กลุ่มงาน ทันตกรรม โรงพยาบาลมะการักษ์ จังหวัดกาญจนบุรี แต่งตั้ง เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2521 ถึงทันตแพทย์ 9 (วช.) โรงพยาบาล มะการักษ์ จังหวัดกาญจนบุรี แต่งตั้งเมื่อ 1 ตุลาคม 2550 จนเกษียณอายุราชการ ปี พ.ศ. 2552 ปัจจุบัน เป็นเจ้าของและผู้ประกอบการ อยู่ที่อุไรทันตคลินิก 7-9 ถนนแสงชูโต 17 ตำ�บลท่าเรือ อำ�เภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุรี 71130 ประวัติการทำ�งาน

หน้าที่ความรับผิดชอบในการทำ�งานระหว่างที่รับราชการ หัวหน้ากลุ่มงานทันตกรรมและคณะกรรมการบริหารของ โรงพยาบาลมะการักษ์ตั้งแต่เริ่มบรรจุจนเกษียณ ประธานคณะกรรมการประสานงานทั น ตสาธารณสุ ข ระดับอำ�เภอ คณะกรรมการดำ�เนินงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

149


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี คณะทำ � งานประเมิ น คุ ณ ภาพโรงพยาบาล จั ง หวั ด กาญจนบุรี คณะกรรมการบริหารโครงการ พบส.จังหวัดกาญจนบุรี และคณะทำ�งาน พบส. จังหวัดกาญจนบุรี คณะทำ � งานด้ า นทั น ตกรรม โรงพยาบาลศู น ย์ แ ละโรง พยาบาลทั่วไป งานอื่น ๆ พ.ศ. 2527-2528 ผู้ฝึกอบรมการถอนฟันแก่นายแพทย์

หมุนเวียนที่ต้องไปปฏิบัติงานโรงพยาบาลชุมชน ห่างไกล พื้นที่ชายแดนของจังหวัดกาญจนบุรี ที่ไม่มีทันตแพทย์ ประจำ�การ สำ�นักงานสาธารณสุข กาญจนบุรี 15 ธันวาคม 2537 วิทยากรอบรมทันตแพทย์หัวหน้ากลุ่ม

งานทันตกรรม โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ที่ เข้าดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ จำ�นวน 26 คน เพื่อให้ปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพในด้านบริหาร ด้านบริการ การ วางแผน การควบคุมกำ�กับ และการประเมินผล โดยกอง โรงพยาบาลภูมิภาค สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2545-2546 รับผิดชอบโครงการ “ชาวมะการักษ์

แปรงฟั น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ” เพื่อให้เจ้าหน้าที่แปรงฟัน ถูกวิธชี ว่ งหลังอาหารกลางวัน เพือ่ เป็นแม่แบบแก่ครอบครัว ผู้ใกล้ชิด ผู้ป่วย และ เจ้าหน้าที่ยังสามารถตรวจฟันด้วย ตนเองได้ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2547 เรื่อง จัดทำ�คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับ

พฤติกรรม บริโภคในเด็กสำ�หรับวิชาชีพทันตแพทย์ ร่วม กำ � หนดกิ จ กรรม จั ด ทำ � ชุ ด ความรู้ และแนะนำ � เกี่ ย ว กั บ พฤติ ก รรมการบริ โ ภคในเด็ ก สำ � หรั บ กุ ม ารแพทย์ ทันตแพทย์ และนักโภชนาการ หน่วยงานทีเ่ ชิญ สำ�นักงาน เลขาธิการทันตแพทยสภา 15 กั น ยายน 2547 เรื่ อ ง ร่ ว มประชุ ม “โครงการ รณรงค์ เ สริ ม และฟื้ น ฟู สุ ข ภาพช่ อ งปากผู้ สู ง อายุ ”

150 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว วาระ มหามงคลครบ 80 พรรษา พิจารณาและวางแนวทางการ ใส่ฟันปลอมให้กับผู้สูงอายุ หน่วยงานที่เชิญ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2548-2549 เรื่อง การพัฒนาแนวทางความร่วมมือ

เครือข่ายและศักยภาพทันตบุคลากรในการดำ�เนินงาน ทันตสาธารณสุข หน่วยงานที่เชิญ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข พ.ศ. 2548 ประธานและผู้ดำ�เนินการ “งานส่งเสริม

คุณภาพชีวิตเด็กในศูนย์เด็กเล็ก อำ�เภอท่ามะกา” ร่วม กับกุมารแพทย์ กลุม่ การพยาบาล นักโภชนาการ และชมรม ผู้สูงอายุ โรงพยาบาลมะการักษ์ กาญจนบุรี 23-24 มกราคม 2550 ประชุมสัมนาการดำ�เนินงาน

ส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กประถมวัย ร่วมประชุมอภิปราย ระดมสมองเพื่อจัดทำ�แนวทางในการดำ�เนินงานส่งเสริม สุ ข ภาพช่ อ งปากของเด็ ก ประถมวั ย หน่ ว ยงานที่ เชิ ญ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551 คณะทำ�งานด้านทันตกรรม โรงพยาบาล

ศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ด้านศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เสนอ แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านทันตกรรม หน่วยงานที่ เชิญ คณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป ปัจจุบัน ร่วมกิจกรรมของโรงพยาบาลและงานทันตกรรม

หลั ง เกษี ย ณโดยไม่ รั บ ค่ า ตอบแทน ร่ ว มกิ จ กรรมด้ า น พุทธศาสนา ปฎิบัติธรรม และงานสาธารณประโยชน์อื่นๆ ผลงานวิชาการที่เผยแพร่ 1.กระดูกขากรรไกรล่างหักในเด็ก วารสารแพทย์เขต 7 ปีที่

13 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2537

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

151


ศิษย์เก่าดีเด่น เนือ่ งในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี 2.ทรอมาติกโบนซิสท์ (Traumatic bone cyst)

ว. ศัลยกรรมช่องปาก-แม็กซิลโลเฟเชียล ปีที่ 14 ฉบับ ที่ 2 พ.ศ. 2543 3.ฟันจม (Submerged teeth) วารสารแพทย์เขต 6-7 ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2547 ผลงานดีเด่น พ.ศ. 2545 รับรางวัลชนะเลิศ เรื่องการส่งเสริมการ

จัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องทันตสุขภาพในโรงเรียนจาก สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2546 รับรางวัลโรงพยาบาล และเครือข่าย บริการ

ดีเด่นโครงการแม่ลูกฟันดี 102 ปี สมเด็จย่า นำ�เสนอรูป แบบการทำ�งาน จัดทำ� VCD แจกทุกจังหวัด โดยกองทันต สาธารณสุข กลุ่มพัฒนาการส่งเสริม สุขภาพ (งานทันต สาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข) ความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทยศาสตร์ และแรงบันดาลใจในการ ทำ�งาน (จากห้วงลึกของหัวใจ)

ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ดอกไม้ต้นไม้ธรรมชาติสวยงาม อาหารอร่อย เป็นเมืองพุทธ เมืองเก่า มีวัฒนธรรมเก่าแก่ ผู้คนมีอัธยาศัยและนำ�้ ใจดี โอบอ้อมอารี มหาวิทยาลัยมีกิจกรรมดีๆหลายอย่าง เช่น ประเพณีรับ น้องเดินขึ้นดอยสุเทพ สิ่งประทับใจในคณะทันตแพทยศาสตร์

สถานที่เรียน สิ่งแวดล้อมงดงาม สะดวกสบาย สะอาด ปลอดภัย อาจารย์ มีความรู้ เข้าถึงง่ายเป็นกันเอง เป็นเพือ่ นทีป่ รึกษา และผู้ปกครองในเวลาเดียวกัน ความสัมพันธ์ ในคณะอยู่ด้วยกันแบบพี่ๆ น้องๆ หอพักปลอดภัย สะดวก สนุก มีการเรียนรู้ ซึ่งกันและกันทำ�ให้ปรับตัวให้เข้ากัน มีความ อบอุน่ ช่วยเหลือ เอือ้ เฟือ้ แบ่งปัน จริงใจต่อกัน กิจกรรมร่วมภายในคณะทำ�ให้เกิดความรัก ความสามัคคี ความภาคภูมิใจ

152 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


แรงบันดาลใจในการทำ�งาน

เป็นวิชาชีพทีไ่ ด้คา่ ตอบแทนที่ ไม่ใช่เงินอย่างเดียว ผลพลอยได้ เช่น บุญคุณ เพือ่ นใหม่ เพือ่ นรูใ้ จ ทำ�ให้ผปู้ ว่ ยพ้นทุกข์ มีความสุข มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความศรัทธา ฯลฯ งานส่งเสริมป้องกัน ลดปัญหาสุขภาพ มีสุขภาพดี ลดเวลา ค่าใช้จา่ ยด้านการรักษาให้แก่ตนเอง ชุมชนและประเทศในทีส่ ดุ มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ สังคม โดยรวมดีมีความสุข การทำ�งานให้สำ�เร็จใช้หลักอิทธิบาท 4 และพรหมวิหาร 4

ข้อเสนอแนะ ทันตแพทย์ บางครั้งต้องทำ�หน้าที่อื่นนอกเหนือจากงานทันต

กรรม เช่ น ปฏิ บั ติ ร าชการแทนผู้ อำ � นวยการ รั บ ผิ ด ชอบ โครงการต่างๆ ทำ�ให้เกิดความทุกข์ในการทำ�งาน โดยเฉพาะ ทันตแพทย์ใหม่ เพราะขาดความรู้อาจจะต้องเพิ่มความรู้ ใน ด้าน การบริหาร การจัดการ การวางแผน ควบคุมกำ�กับ การวิเคราะห์ แก้ปัญหา และการประเมินผล ฯลฯ จิตวิทยาในการทำ�งาน ลดปัญหาการฟ้องร้อง โดยเฉพาะความ สัมพันธ์ระหว่างหมอและผูป้ ว่ ย การทำ�งานให้เข้าถึงจิตวิญญาณ ผู้ป่วย วิเคราะห์ผู้ป่วยได้ถูกต้องทั้งโรคที่เป็นอยู่ พฤติกรรม สังคม โรคประจำ�ตัว สุขภาพจิต อาชีพและครอบครัว ฯลฯ การประเมินผู้ป่วยได้ถูกต้องจะส่งผลให้เกิดความสำ�เร็จที่ดี ของการทำ�งาน จัดทำ�เครือข่ายวิชาชีพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระดับจังหวัด และเขต ประสานงานกับคณะโดยเป็นที่ปรึกษา พี่เลี้ยงความ สัมพันธ์ ประสานงาน ฯลฯ เพิ่มหลักสูตรเสริมการบริการการเงิน การลงทุน การตลาด ตลอดจนภาษี การจั ด หอพั ก ให้อยู่รวมๆกันหลายคณะ คละกันเพื่อการ ประสานงานในอนาคตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำ�รงชีวิต กิจกรรมพิเศษ (ชมรม ดูงาน) เช่น การปฏิบัติธรรม ศิลปะ กีฬา การทำ�อาหาร ฝึกพูด ฝึกบุคลิกภาพ การแต่งกายแต่ง หน้า ภาษา การเกษตร ดนตรี เป็นต้น เพือ่ เป็นการผ่อนคลาย ความเครียด ในการเรียนและการฝึกปฏิบัติงาน 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

153


A

ด้วยรักและผูกพัน

: จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน


A

rticles written by alumni and present students


ด้วยรักและผูกพัน : จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน

พวกเรานักศึกษา ทันตแพทย์ รุ่นที่ 2 จำ�นวน 6 คน เข้าศึกษาในภาควิชา ทันตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ ใช้ตึก OPD เก่า ของ โรงพยาบาลสวนดอกเป็นอาคารเรียน จนถึงปี 2515 จึง มี ป ระกาศตั้ ง คณะทั น ตแพทยศาสตร์ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ พวกเรา 4 รุ่นแรก จึงเสมือน “คลอดก่อน กำ�หนด” คณะเราเป็น “คณะทันตะภูธร” แห่งแรกของ ประเทศ แม้พวกเราจะเป็นนักศึกษาก็สัมผัสถึงความยาก ลำ�บาก ปัญหาอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนและการ บริหารจัดการ อาจารย์ผกู้ อ่ ตัง้ คณะ โดยอาจารย์ หมอถาวร อนุมานราชธน อาจารย์ หมอสัมพันธ์ ศรีสุวรรณ อาจารย์ หมอธนะเพ็ญ ศรีสุวรรณ อาจารย์ผุสดี ศรีเจริญ และอีก หลายๆ ท่านต้องทำ�งานอย่างหนัก กราบขอบพระคุณ อาจารย์ผู้ก่อตั้งมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ พวกเราก็ได้เห็นคณะฯ จากวัยเด็ก >วัยรุ่น > วัยทำ�งาน (40 ปี) หรือจากภาควิชา คณะแพทย์ มาเป็นคณะฯ ทีย่ อมรับ ทัง้ ผลงานวิชาการ และ ทันตแพทย์ที่จบจากคณะฯ นี้ พวกเรามีความภาคภูมิใจ ที่จบจากคณะทันตฯ มช. และหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะเห็น คณะเราเป็น “วัยผู้ใหญ่” ที่เปี่ยมทั้งผลงานและคุณธรรม จึงขอฝากความหวังไว้กับท่านผู้บริหาร อาจารย์และศิษย์ ปัจจุบัน และเจ้าหน้าที่ทุกๆ ระดับ ที่จะพึ่งพาคณะของ พวกเราต่อไป รักษ์ทันต มช. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง มัลลิกา ศุขเกษม รหัส 510910104

156 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ความรู้สึกของศิษย์เก่าทันตแพทย์ มช. ในโอกาสครบรอบ 40 ปี ในปี พ.ศ. 2555 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใน ปีพุทธศักราช 2555 มีอายุครบ 40 ปีบริบูรณ์ ก็เปรียบ เสมือนกับคนที่อยู่ในวัยที่สมบูรณ์ มีความพร้อมทั้งวัย วุฒิและคุณวุฒิ พร้อมอีกทั้งประสบการณ์ที่มากพอ ใน ฐานะศิษย์เก่าที่ได้คลุกคลีและสัมผัสกับคณะของเรามา ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง อีกทั้งได้มีส่วนร่วมในการทำ�งานในฐานะ อาจารย์ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ได้เฝ้ามองการเจริญเติบโต และพัฒนาการของคณะในด้านต่างๆ ด้วยความภาคภูมิใจ ไม่ว่าจะเป็นการขยายงานและปรับปรุงการเรียนการสอน พร้อมทั้งการวิจัยให้มีความทันสมัยอยู่ในระดับนานาชาติ คณาจารย์มีการพัฒนาศักยภาพที่สามารถสร้างองค์ความ รู้ ใ หม่ ท างทั น ตแพทยศาสตร์ อ ย่ า งสมำ �่ เ สมอดั ง ปรากฎ ในรายงานการวิจัยและวารสารทางวิชาการต่างๆ อีกทั้ง คณะของเรายังได้ผลิตบัณฑิตทั้งในระดับปริญญาบัณฑิต และหลังปริญญาในหลายสาขาที่มีคุณภาพดี มีจริยธรรม เป็นที่ชื่มชนและยอมรับของวงการทันตแพทย์ระดับสากล กระผมมีความรู้สึกเป็นเกียรติและภาคภูมิใจที่ได้มีโอกาส ศึกษาและร่วมเป็นส่วนหนึ่งของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอให้น้องทันตแพทย์ทุกท่านทั้งที่ สำ�เร็จการศึกษาไปแล้วและกำ�ลังศึกษาอยู่ในปัจจุบัน ช่วย กันผนึกกำ�ลังช่วยเหลืองานของคณะในด้านต่างๆ พร้อมทัง้ ผลักดันคณะทันตแพทยศาสตร์ของเราให้มกี ารพัฒนาและ มีความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุดต่อไป ด้วยความเชื่อมั่น รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์วิจิตรศักดิ์ โชลิตกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยรังสิต ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช.รหัส 137413 40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

157


ด้วยรักและผูกพัน : จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน

ของการผลิตทันตแพทย์

สู่สังคมไทย ความในใจของคนเป็นครู”

เมื่อเรียนจบ ช่วงแรกไม่ได้คิดมาเป็น อาจารย์ แต่หลังจากที่ได้ไปลิ้มรสการผจญ ภัยและการทำ�งานทัง้ ชายแดนไทย-กัมพูชา ชายแดนไทย-ลาว ศูนย์ผอู้ พยพผูล้ ภี้ ยั รวม ถึงทำ�งานคลินิกเอกชนมาแล้ว ท้ายที่สุด ก็ได้เลือกที่จะก้าวตามครูบาอาจารย์รุ่น ก่อนหน้าเพื่อสานต่อการเป็น “ครู”

ผลงานวิจัยเพื่อร่วมสร้างชื่อเสียงต่อเนื่อง ให้คณะฯ ต่อจากที่อาจารย์รุ่นก่อนหน้าได้ ทุ่มเทไว้ให้ดียิ่งๆ ขึ้น รวมถึงภาระที่ต้องทำ� หน้าทีใ่ ห้บริการดูแลรักษาคนไข้ เพือ่ เป็นที่ พึง่ ของประชาชนด้านสุขภาพช่องปาก รวม ถึงเป็นวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ ฯลฯ สำ�หรับ หน่วยงานต่างๆ

จากนั้นชีวิตนี้ต้องตอบคำ�ถามหรือ ได้ยินถ้อยคำ�เหล่านี้อยู่เสมอ “ทำ�ไมเลือก เป็นอาจารย์” “อาจารย์ต้องเป็นพวก เรียนเก่งๆ ใช่ไหม” “อาจารย์คือพวก ทำ�งานบนหอคอยงาช้าง ไม่เคยอยู่ใน พืน้ ทีฯ่ ลฯ” “อาจารย์คอื พวกกินอุดมคติ” “ทำ�ไมไม่ไปอยู่คลินิกกัน” และอื่นๆ อีก มากมายขึ้นกับว่าเป็นอาจารย์รุ่นไหน

จากการทุม่ เทของท่านผูก้ อ่ ตัง้ คณะฯ ท่านอาจารย์ถาวร อนุมานราชธน คณบดี คนแรก รวมทั้งครูรุ่นแรกๆที่ทำ�งานอย่าง หนักเพื่อสร้างสถาบันแห่งนี้ขึ้นมา คนที่ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ครู เ ป็ น กลไกหลั ก สำ � หรั บ สถาบันที่มีหน้าที่ผลิตทันตแพทย์ คณะ ทันตแพทยศาสตร์เติบใหญ่ก้าวสู่ปีที่ 40 และจะเติบใหญ่ต่อไปอย่างสง่างาม ด้วย การร่วมแรงร่วมใจอุทิศทุ่มเทของเหล่าครู อาจารย์ทุกคน ครูทุกคนทำ�งานด้วยแรง กาย แรงใจ ทำ�งานด้วยรัก ห่วงใย ผูกพัน ส่งต่อความเป็น “ครู” ไปสู่ศิษย์ทุกรุ่น ตลอด 40 ปี ดูได้จากทีค่ ณะฯเรามีครูอาวุโส หลายท่านทีย่ งั มาช่วยคณะฯ แม้จะเกษียณ ไปแล้ว เพราะรูว้ า่ ตอนนีค้ ณะฯเราเป็นช่วง วิกฤต เริ่มขาดแคลนอาจารย์ทันตแพทย์

คำ�ตอบสำ�หรับคนทำ�งานมาเกือบ 30 ปี ขอตอบว่าการที่เลือกเป็น “ครู” หมายถึง การเลือกที่จะทำ�หน้าที่ถ่ายทอดความรู้ สนับสนุน ส่งเสริม ให้เด็กทีเ่ พิง่ ก้าวออกจาก โรงเรี ย นมั ธ ยม ที่ เ ดิ น เข้ า สู่ รั้ ว คณะทั น ต แพทยศาสตร์ได้เริม่ ทำ�ความรูจ้ กั กับวิชาชีพ ทันตแพทย์ ทั้งเนื้อหาวิชา ทั้งปลูกฝังภาระ รับผิดชอบต่อผู้ป่วย ประชาชนและสังคม รวมทั้งเลือกที่จะค้นคว้าหาความรู้ สร้าง

ความผูกพันที่มีให้คณะฯ มีมากเกิน

158 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


พรรณนา เพราะเป็นทีท่ ไี่ ด้เลือกทีจ่ ะใช้ชวี ติ วันละกว่า 7 ชัว่ โมง เพื่อทำ�งาน เป็นสถานที่ที่ได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกศิษย์ เพื่อนร่วมงาน เป็นที่ที่ได้สร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาจาก คนไข้ มีความภาคภูมิใจที่มีลูกศิษย์จบไป ทำ�หน้าที่หมอฟันที่ ดีในที่ต่างๆทั่วประเทศ การมีส่วนช่วยสร้างหมอฟันไปสู่สังคม ช่วยหล่อเลี้ยงและช่วยให้คนที่เลือกเป็น “ครู” มีกำ�ลังใจใน การทำ�หน้าที่ต่อไป คณะทันตแพทยศาสตร์แห่งนี้มีความร่มรื่นของต้นไม้ จามจุรีใหญ่แผ่ร่มใบให้พวกเราได้ร่มเย็น จากต้นเล็กเติบโต เป็นต้นใหญ่ จากใบสีน�้ำ ตาลตอนเปิดเรียนเดือนเมษายน เปลีย่ น เป็นเขียวในหน้าฝน แล้วเริม่ ร่วงหล่นอีกครัง้ ในหน้าหนาว เสียง จักจั่นหน้าแล้งส่งเสียงแข่งกันจนแทบทำ�งานไม่ได้ในหน้าร้อน หมุนเวียนมากว่า 40 ปี มีเจดีย์สีทองของวัดสวนดอกอยู่ด้าน หน้า มีกำ�แพงเวียงสวนดอกด้านหลัง มีดอยสุเทพด้านตะวัน ตก คณะทันตแพทยศาสตร์จึงเป็นสถานที่ทำ�งานที่น่ารื่นรมย์ 40 ปีในแวดวงวิชาการ ถือว่ายังอ่อนเยาว์นัก พวกเรา หมายถึงครู ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า เจ้าหน้าที่ทุกคนจะร่วมกัน ทำ�ให้สถาบันแห่งนีก้ า้ วต่อไปให้ดยี งิ่ ขึน้ เพือ่ เป็นความภาคภูมใิ จ ของพวกเราทุกคนรวมทั้งชาวเชียงใหม่ สมกับความตั้งใจของ ท่านคณบดีคนแรกและท่านผู้ก่อตั้งคณะฯ ท่านอาจารย์ถาวร อนุมานราชธน รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.พัชราวรรณ ศรีศลิ ปนันทน์ อาจารย์คนหนึ่งที่อายุงานเกือบ 30 ปี

ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช.รหัส 197417

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

159


ด้วยรักและผูกพัน : จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน มุมมองและความทรงจำ�ต่อคณะทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทันตแพทย์โคสิต อบสุวรรณ

ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย

ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช. รหัส2009006

6 ปี

ของชี วิ ต นั ก ศึ ก ษา ทันตแพทย์มีเรื่องราวมากมายที่น่าจดจำ� ทั้งทุกข์ สุข โลดโผน ดี เลว รวยวันเดียว เดี๋ยวเดียวจนก็มี คละเคล้ากันไป แต่ความ ทรงจำ�ของความเป็นพี่เป็นน้องของคณะ ทันตฯ เป็นภาพที่ชัดที่สุด หอพักทันตฯ เป็นศูนย์รวมและก่อกำ�เนิดความผูกพัน ที่แน่นแฟ้นนี้ สิ่งบันเทิงในสมัยนั้น (30 ปีที่แล้ว) พวกเรามีโทรทัศน์เพียงเครื่อง เดียว ใต้ถุนหอพักหญิง ที่ทุกคนอาศัยเป็น แหล่งข้อมูลจากภายนอกโลกของหมอฟัน ไม่มีคอมพิวเตอร์ ไม่มีโทรศัพท์มือถือ จะ โทรศั พ ท์ ก ลั บ บ้ า นกั น ที ต้ อ งไปสวนดอก จะตามคนไข้ ทั้ ง ที ก็ ต้ อ งไปโทรเลขที่ สันป่าข่อย (ปัจจุบันโทรเลขก็ไม่มีการใช้ อีกต่อไปแล้ว) หลายๆ คนคอยลุ้นธนาณัติ จากทางบ้าน หลายๆ คนดีใจจะได้คนื เงินกู้ แบบดอกเบี้ย 0 เปอร์เซ็นต์เสียที เสียง โหวกเหวกชวนกันเล่นกีฬา เสียงมอเตอร์ ไซด์ (ทั้งรุ่นมีรถเก๋งเพียงคันเดียว) สารพัน กิจกรรมที่คึกคักยามเลิกเรียน ทุกอย่าง เปรียบเสมือนบ้านหลังใหญ่ที่มีลูกเยอะ มี อาจารย์ประจำ�หอทีเ่ ป็นผูค้ วบคุมดูแล กลับ ไปเชียงใหม่ครั้งใดก็อยากกลับไปเยี่ยมหอ ทันตฯ ทุกครั้งไป น่าเสียดายปัจจุบันไม่มี หอทันตฯ อีกแล้ว และเมื่อใดมีโอกาสไป เยี่ยมคณะ ก็มักจะมีความรู้สึกตื่นตาตื่นใจ

กับความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทุกครั้ง ไปจนเดินแทบไม่ถูก เพราะคณะฯ เมื่อ อายุ ม ากขึ้ น แต่ ก ลั บ ดู ดี ยิ่ ง ขึ้ น ทุ ก ครั้ ง ไป นึกถึงพี่ ป้า น้า อา ผู้ช่วยทั้งหลายที่คอย ดูแล สอน แนะนำ�แถมดุพวกเราให้อาจารย์ ได้ยิน (ก็น่าขำ�ดี) นึกถึงอ้ายห้องโสตที่คอย แก้ไขเวลาเครื่องฉายสไลด์มีปัญหา นึกถึง คุณยายที่ขายขนมหน้าห้องศัลย์ฯที่แสน อร่อย สะอาดสะอ้าน และคำ�พูดที่ไพเราะ ทั้งลูกศิษย์และอาจารย์เป็นขาประจำ�กัน แทบถ้วนหน้า นั่นคือองค์ประกอบหลาย อย่างของความเป็นคณะ คณะทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ถูกหล่อหลอม ไม่ ว่าจะด้านวิชาการ สิ่งก่อสร้างและอื่นๆ ที่เหล่าคณาจารย์และบุคลากรทุกสาขา วิ ช าชี พ รุ่ น บุ ก เบิ ก ทั้ ง หลายที่ ท่ า นได้ ว าง รากฐานที่มั่นคงไว้ และได้รับการต่อยอด โดยคณาจารย์ รุ่ น ใหม่ ๆ ที่ ไ ด้ ร่ ว มสร้ า ง ชื่อเสียง เป็นที่น่าชื่นชมและภาคภูมิยิ่ง อยากเชิญชวนพวกเรา ในฐานะศิษย์เก่าทุก ท่านกลับมาช่วยกันเป็นกองหนุนที่สำ�คัญ โปรดอย่าปล่อยให้เป็นหน้าที่ของผู้ที่อยู่ คณะแต่เพียงผู้เดียว ในการจรรโลงคณะ ทันตแพทย์ของเรา ให้กา้ วไปข้างหน้าอย่าง สง่างามและมัน่ คงยิง่ ขึน้ ต่อไป กลับมาเยีย่ ม บ้าน กลับมาหวนรำ�ลึกความหลังด้วยกัน ปีนี้บ้านเราอายุ 40 ปีแล้วครับ

160 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ลู กช้างจากเชียงใหม่

“จบเชียงใหม่ครับ” ผมจะตอบอย่างภาคภูมิใจเสมอ เมื่อถูกถามว่า

“หมอจบที่ไหน” หรือเมื่อเป็นวิทยากรต้องบอกว่าจบเมื่อไร ที่ไหน ผมจะบอก ว่า “ผมจบ ทันตะมช.” จากวันที่เป็นน้องใหม่ยังจำ�ได้ว่าพี่พามาคณะซึ่งเป็นตึก คณะทันตแพทยศาสตร์ที่เพึ่งจะสร้างเสร็จได้ปีเดียวยังใหม่ๆ อยู่เลย เอกลักษณ์ คือห้องนำ�้ ทีเ่ ป็นทรงกระบอกอยูป่ ลายทางเดินนอกอาคารสีน�ำ ้ ตาล มีอาคารเดียว จริงๆ..เจ๋งมาก..หน้าคณะมีต้นลำ�ไย ตรงกลางอาคารเป็นสนามหญ้ามีต้นจามจุรี ต้นใหญ่อยู่ต้นหนึ่ง ถนนหน้าคณะยังร่มรื่นไม่พลุกพล่าน วันนั้นไม่เคยลืมจำ�ได้ แม่น “ขอต้อนรับทุกคนที่มาเรียนที่คณะทันตแพทย์เชียงใหม่” คณบดีผู้หญิง ท่าทางใจดีมเี มตตากล่าวต้อนรับน้องใหม่ “ขอให้ลกู ๆ ทุกคน ตัง้ ใจเรียนอย่างที่ พ่อแม่ตงั้ ใจไว้และขอให้ส�ำ เร็จอย่างตัง้ ใจ” ท่านกล่าวตอนท้ายของโอวาท ท่าน เป็นคณบดีคนแรกของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ ถาวร อนุมานราชธน ผูก้ อ่ ตัง้ และผลักดันให้เกิดคณะทันตะมอชอ ทำ�ให้ผมนึกถึง ความคิดขณะนั้น “อบอุ่นเหมือนครอบครัวเดียวกัน ต่างจากบรรยากาศที่มา จากกรุงเทพ โชคดีจริงๆ ที่เราได้มาเรียนที่นี้” ตลอด 6 ปีที่เรียน จากสองปีฝั่ง มอแล้วข้ามมาฝัง่ สวนดอก ได้กล่อมเกลาให้พวกเราเป็นพีเ่ ป็นน้องกันรักใคร่ดแู ล กันช่วยเหลือกันเพราะกินด้วยกัน อยู่ด้วยกัน เล่นด้วยกัน เที่ยวด้วยกัน อยู่หอ เดียวกัน สอนให้เป็นทันตแพทย์ที่รู้จักอดทน ซื่อสัตย์ เข้ากับชาวบ้านได้ ติดดิน ใส่ใจผูป้ ว่ ย กล้าทีจ่ ะทำ�ในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ทำ�งานได้ทกุ อย่าง สามสิบปีสสี่ บิ ปีผา่ นไป กลับคณะอีกครัง้ ได้เห็นอาคารทีเ่ พิม่ ขึน้ หลายอาคาร ห้องเรียนมากขึน้ ห้องต่าง ๆ เพิ่มขึ้น บุคลากรเพิ่มขึ้น อาจารย์มากจนรู้จักไม่หมด นักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างเห็น ได้ชดั เจน จนดูจะทำ�ให้คณะคับแคบไปเลย แต่กเ็ ห็นการเปลีย่ นแปลง เติบโตทีไ่ ม่ หยุดยัง้ มีการพัฒนาก้าวหน้า อดดีใจ ปลืม้ ใจและภูมใิ จไม่นอ้ ย ต้นจามจุรที กี่ ลาง สนามใหญ่เติบโตแตกกิง่ ก้านสาขามากมายแผ่ขยายออกดูสวยงามให้ความร่มรืน่ แก่สรรพสิง่ ต่างๆ เสมือนบัณฑิตทันตแพทย์จากทีน่ รี่ นุ่ แล้วรุน่ เล่า ตลอดสีส่ บิ ปีได้ ถูกผลิตสู่สังคมหลั่งไหลออกไปเพื่อรับใช้ประเทศชาติประชาชนเพิ่มขึ้นมากมาย และอย่างมีคุณภาพเพื่อดูแลสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย สามารถพูดได้ ว่าทุกหนทุกแห่งทุกจังหวัดในประเทศไทยเหนือสุดถึงใต้สดุ มีหมอเขีย้ วทีจ่ บจาก มอเชียงใหม่แน่นอน เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทยที่อยู่ ภูมิภาค เป็นหมอฟันที่มาจากภูมิภาค แต่วันนี้เราสามารถพูดได้อย่างเต็มปาก ยืดเต็มอกและภูมใิ จว่าคณะทันตแพทยศาสตร์มอชอเรา ก็เป็นหนึง่ ได้ ไม่เป็นสอง รองใคร ก็เพราะพวกเรา “เป็นลูกช้างจากเชียงใหม่” ทันตแพทย์สมชาย กิจสนาโยธิน โรงพยาบาลสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช.รหัส 2009040

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

161


ด้วยรักและผูกพัน : จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน

40 ปี

ผ่านมา วันเวลาหมุนไปหลายสิง่ หลายอย่าง เปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา แต่สงิ่ หนึง่ ทีม่ อิ าจเปลีย่ นคือ ภาระ หน้าที่และปณิธานของคณะทันตฯ มช. คือการสร้างหมอฟันที่ มีคุณภาพออกไปทำ�งานบริการสังคม ในฐานะศิษย์เก่า รุ่น 13 ขอแสดงความยินดีเนื่องในวาระครบรอบ 40 ปีของคณะฯ ตั้งแต่ก้าวแรกที่เข้าสู่รั้วสีม่วง ทันตฯ มช. จนจบหลักสูตร 6 ปี สถาบันแห่งนี้ได้พรำ่�สอนกล่อมเกลาให้ดิฉันมีความรู้ มีทักษะ ในวิชาชีพ หล่อหลอมสิ่งดีงามในจรรยาบรรณ ฝึกความอดทน อดกลัน้ และอยูร่ ว่ มกันฉันท์พนี่ อ้ ง ได้เรียนรูว้ า่ ชีวติ มีทงั้ ความสุข ความทุ ก ข์ ค ลุ ก เคล้ า กั น ไป แต่ ห วนคิ ด ถึ ง ที ไรก็ มี ค วามสุ ข ทุกครา นับว่า คณะทันตฯ มช. เป็นแหล่งเรียนรูท้ มี่ คี า่ ยิง่ ในชีวติ ทันตแพทย์ ดิฉันมีความภาคภูมิใจมากที่บอกใครๆ ว่า จบจาก สถาบันนี้ ขอขอบพระคุณจากใจจริงและปรารถนาจะเห็น คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มช. เจริญรุ่งเรืองก้าวไกลต่อไปในอนาคต ทันตแพทย์หญิงวรรณศรี แก้วปินตา ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช.รหัส 2109029

162 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ดีๆ

ความรู้สึก

ที่มีต่อ

คณะทันตแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สิ่งแรกที่เห็นและรู้สึกคือ บรรยากาศอันร่มรื่น มองไปที่ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่กลาง คณะยามแดดรำ�ไรแล้ว ทำ�ให้จติ ใจสงบ คณะทันตแพทยศาสตร์นนั้ เป็นดัง่ บ้านหลัง ใหญ่ ให้ผู้คนมากมายอาศัยอยู่ในบ้านหลังนี้ ต่างคนทำ�หน้าที่ของตน ทั้งการเรียน การสอน การวิจัย การรักษาคนไข้ และบริการสังคม ในฐานะศิษย์ปัจจุบัน รู้สึก ภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้ศึกษาและทำ�งานในสถาบันแห่งนี้ ทำ�ให้เรานั้นเรียนรู้ และสำ�เร็จได้รับทั้งปริญญาวิชาชีพและปริญญาวิชาชีวิตซึ่งมีคุณค่าใหญ่หลวงแก่ ชีวิต……..ศิษย์ปัจจุบัน ทันตแพทย์วีระพันธ์ อุ่นเมืองทอง

ทันตแพทย์ประจำ�คลินิกทันตกรรมพิเศษ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช.รหัส 4209053

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

163


ด้วยรักและผูกพัน : จากตัวแทนศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน

“ความรู้สึกที่มีต่อ คณะทันตแพทยศาสตร์ เนื่องในวาระครบรอบ

40 ปี”

5 ปีที่แล้ว กระผมยังจำ�ได้ดีถึง ย่างก้าวแรกสูร่ วั้ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่แห่งนี้ ยังจำ�ได้ดี ถึงความรูส้ กึ ต่างๆ ทีป่ ระสมปนเปกันไป ทัง้ ยินดี ตืน่ เต้น และกังวลใจ อันสืบเนือ่ ง มาจากการต่อสู้ฟาดฟันกันเพื่อแย่งชิง ตั๋ ว ใบสำ � คั ญ ของชี วิ ต เพื่ อ เข้ า เรี ย นใน โรงเรียนผลิตทันตแพทย์อันทรงเกียรติ แห่งนีแ้ ละการเปลีย่ นสถานะตนเองจาก นักเรียนมัธยมปลายมาเป็นนักศึกษา ทันตแพทย์นั้นก็คล้ายกับเป็นภูเขาลูก ใหญ่ที่ต่อจากนี้อีก 6 ปี กระผมจำ�ต้อง เดินข้ามไปให้ได้ เราในรุน่ กว่าครึง่ ร้อยที่ ต้องจากบ้าน จากพ่อแม่ผเู้ ป็นทีร่ กั และ สิ่งอำ�นวยความสะดวกที่เราเคยมี การ ปรับตัวกับบ้านหลังใหม่ที่ไม่เคยรู้จักมา ก่อนจึงเป็นสิ่งท้าทายชีวิตของกระผม อยู่ไม่น้อย เมื่ อ ชั้ น ปี ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น พร้อมไปกับ เวลาที่ผ่านไป เวลาทำ�ให้คนเราเรียนรู้ และซึ ม ซั บ สิ่ ง รอบข้ า งได้ เ ป็ น อย่ า งดี ในรั้วม่วงแห่งนี้ ไม่ใช่เพียงแค่ความรู้ เชิ ง วิ ช าชี พ เท่ า นั้ น ที่ ก ระผมได้ เรี ย นรู้

แต่คณะทันตแพทยศาสตร์ของเราทำ�ให้ กระผมซึ ม ซั บ รสชาติ ข องชี วิ ต หลาย ต่ อ หลายอย่ า ง ในแบบที่ ชี วิ ต ไม่ เ คย ประสบพบเจอมา สิ่งแรกที่กระผมรู้สึก ประทั บ ใจมากคื อ วั ฒ นธรรมการรั บ น้องที่เป็นเอกลักษณ์ เราทุกคนผ่าน ธรรมเนียมการรับน้องทีค่ รบทุกอารมณ์ ทั้งเหน็ดเหนื่อย สนุกสนาน และซาบซึ้ง ในช่วงแรกเราต่างก็รู้สึกยากลำ�บากกับ ธรรมเนียมเหล่านั้น แต่เมื่อเวลาผ่านไป เราได้เรียนรู้ว่าสิ่งเหล่านั้นมีค่าต่อการ ดำ�รงชีวิตในคณะฯ มากเพียงใด โดยสิ่ง ต่างๆ ในคณะฯ นั้น ถูกถ่ายทอดผ่าน ระบบพีน่ อ้ งจากรุน่ สูร่ นุ่ พีๆ่ จะคอยช่วย เหลือเกื้อกูลน้องๆ ไม่ว่าจะเป็นเอกสาร ประกอบการเรียน หรืองานแลป กระผม มองว่าหากคณะฯ ของเราขาดสิง่ เหล่านี้ คณะทันตแพทยศาสตร์ ก็คงเป็นคณะที่ ไม่ต่างอะไรกับคณะอื่นๆ เลย ว่ากันว่าชีวติ นักศึกษาทันตแพทย์ นั้ น เป็ น ชี วิ ต ที่ รี บ เร่ ง และบางครั้ ง คุณภาพชีวิตก็ไม่ดีนัก หากแต่กระผม รู้สึกมีความสุขทุกครั้งที่ได้เงยหน้าขึ้น

164 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


มองดอยสุเทพ และธรรมชาติอันงดงามอื่นที่รายล้อม คณะฯ ขณะที่ เราเหน็ ด เหนื่ อ ยจากการเรี ย นและ เครียดจากงานรักษาผู้ป่วย โชคดีเหลือเกินที่เรายังมี ความสวยงามมากมายรายรอบตัวเรา นอกเหนือจาก ธรรมชาติแล้ว ผู้ป่วยที่มาทำ�การรักษาในคณะฯ ก็เป็น ความงดงามหนึง่ ของการเป็นส่วนหนึง่ ของทีน่ ี่ กระผม คิดว่า ความสวยงามทีค่ ณะทันตแพทยศาสตร์แห่งนีเ้ ป็น ความสวยงามที่ไม่สามารถหาซื้อได้ และอาจแตกต่าง ออกไปจากคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งอื่นๆ ทุกห้วงเวลาที่ผ่านในการใช้ชีวิตในคณะทันต แพทยศาสตร์แห่งนี้ เราทุกคนถูกหล่อหลอมให้เป็น แพทย์ที่ดี ธำ�รงไว้ซึ่งจิตสำ�นึกต่อการรักษามนุษย์ เรา ถูกพรำ่�สอนให้รักษาชื่อเสียงของสถาบันและวิชาชีพ ผ่านมาตรฐานในการตรวจวินิจฉัย และให้การรักษา เนื่องในวาระครบรอบ 40 ปีแห่งการสถาปนาคณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่นี้ ในนามของ สโมสรนักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ กระผมมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้ เป็น ส่ว นหนึ่งของสถาบั น ที่ ผ ลิ ต ทั น ตแพทย์ อั น ทรง เกียรติ และขอร่วมเฉลิมฉลองไปกับการเดินทางที่ ยาวไกลเกือบค่อนชีวิตคนของสถาบันอันเป็นที่รักยิ่ง ของผมแห่งนี้

นักศึกษาทันตแพทย์เอกพงษ์ เดชธรรม นายกสโมสรนักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 ศิษย์เก่าทันตแพทยศาสตร์ มช.รหัส 510910104

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

165


A

rticles written by staff


ม.เชียงใหม่...

ไม้ใหญ่...คันดิน....หอมกลิ่นความทรงจำ�


ม.เชียงใหม่ ...ไม้ใหญ่...คันดิน....หอมกลิ่นความทรงจำ�

ม.เชียงใหม่...

ไม้ใหญ่... คันดิน หอมกลิ่นความทรงจำ�

Articles written by staff

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ วิรัช พัฒนาภรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ พิริยะ เชิดสถิรกุล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

168 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


“ร่มแดนช้างชูคบเพลิงเชียงใหม่ มิได้ ไกลพระบาทไทยราชาร่มภูพิงค์นั้นดำ�รง ทุกคราทรงเสด็จมา พระเมตตาแผ่พร้อม มา ถึงพวกเราทุกเหล่าเอย........” เสียง เพลงลอยผ่ า นมาท่ า มกลางบรรยากาศ ของการเปิ ด ภาคการศึ ก ษาใหม่ ข อง มหาวิทยาลัยเก่าแก่ทางภาคเหนือ ภาพ เก่ า ๆในรั้ ว หมอฟั น ของมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่กระจ่างชัดขึน้ มาอีกครัง้ นักศึกษา ปี 1 ผูกไทด์สีม่วงยืนเรียงแถวเพื่อเข้าร่วม กิ จ กรรมในขณะที่นักศึกษารุ่นพี่เดินถือ ตะกร้ า ผ่ า นเข้ า ออกประตู ด้ า นหลั ง ของ คณะ ต่างพากันสะกิดชีช้ วนกันชมน้องใหม่ ทีเ่ ข้ามาเป็นสมาชิกล่าสุดของสถาบันแห่งนี้

จากการเรียนการสอนในระดับปริญญา ตรีเดิมทีเ่ คยเรียนในลักษณะ 2-2-2 คือการ เรียนในฝั่งสวนสัก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 ปีเรียนพื้นฐานคณะแพทยศาสตร์และ ทันตแพทยศาสตร์ในฝัง่ สวนดอก 2 ปี และ ฝึกปฏิบัติงานในคลินิกอีก 2 ปี ปรับมา เป็นหลักสูตรลักษณะ 1-2-3 ในปัจจุบัน เวลา 40 ปี ของการเติบใหญ่ของคณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากการเปิ ด สอนเพี ย งหลั ก สู ต รทั น ต แพทยศาสตร์ ใ นระดั บ ปริ ญ ญาตรี เ พี ย ง หลักสูตรเดียว มีนักศึกษาครั้งแรกจำ�นวน 2 คน มาในวั น นี้ ที่ มี นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญา ตรีปีละ 110 คน และมีหลักสูตรต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ทั้งประกาศนียบัตรบัณฑิต ชั้นสูงและปริญญาโทรวม 9 แขนงวิชา รวมทั้งแขนงน้องใหม่ “ทั น ตกรรมราก เทียม” ที่กำ�ลังจะเปิดสอนในปีการศึกษา 2556 ที่จะถึงนี้ หลักสูตร วุ ฒิ บั ต รที่ มุ่ ง เน้ น ความ เชี่ ย วชาญเฉพาะสาขา ทั้ ง ปริ ทั น ตวิ ท ยา ทั น ต กรรมจัดฟัน ทันตกรรม ทั่ ว ไป และศั ล ยศาสตร์ ช่ อ งปาก และหลั ก สู ต ร ปริญญาเอกที่เปิดสอนทั้ง หลักสูตรปกติและหลักสูตร นานาชาติ ภายในคณะทันต แพทยศาสตร์จึงไม่ได้มีแต่ นักศึกษาปริญญาตรีเหมือน ในอดีต แต่ขวักไขว่เต็มไป ด้ ว ยนั ก ศึ ก ษาทุ ก ระดั บ เมื่อนับดูแล้วจึงพบว่าคณะ ทันตแพทยศาสตร์ ภายใต้ ร่ ม แดนช้ า งมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ แ ห่ ง นี้ ไ ด้ ผ ลิ ต บัณฑิตทันตแพทย์ทั้งในระดับปริญญาตรี และหลังปริญญามาถึงปัจจุบันมาแล้วราว 3000 คน

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

169


ม.เชียงใหม่ ...ไม้ใหญ่...คันดิน....หอมกลิ่นความทรงจำ� ต้ น จามจุ รี ใ หญ่ ส ามต้ น ยั ง คงยื น นิ่ ง โอบกอดกันไปมาแผ่กงิ่ ก้านสาขาครอบคลุม พืน้ ทีส่ เี ขียวกว่า 2000 ตารางเมตรของสนาม กลางคณะทันตแพทยศาสตร์ ทำ�หน้าที่ ให้ความร่มกายเย็นใจมาตลอดระยะเวลา ของการตั้ ง คณะทั น ตแพทยศาสตร์ จน กลายเป็นสัญลักษณ์และความทรงจำ�ของ ชาวหมอฟัน มช. นอกเหนือความสวยงาม และรื่ น รมย์ ที่ ไ ม้ ใ หญ่ ต้ น นี้ ไ ด้ ม อบให้ กั บ ชาวทันตแพทย์แล้ว ไม้ใหญ่เหล่านี้ยังได้ รับรางวัลชนะเลิศในการประกวดต้นไม้ ใหญ่ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประจำ�ปี 2552 ประเภทต้นไม้ใหญ่ (ต้นจามจุร)ี จาก เทศบาลนครเชียงใหม่ จนทำ�ให้ใครที่ได้ ผ่านเข้ามาในคณะทันตแพทยศาสตร์ ต่าง ต้องหยุดมองและทอดสายตาดูไม้ใหญ่ดว้ ย ความเย็นใจ ต้นจามจุรีหรือต้นฉำ�ฉานี้จึง เป็นมากกว่าต้นไม้ แต่กลับเป็นสัญลักษณ์ ของความงดงาม ยืนหยัด และเป็นที่พึ่งพา ของชาวทั น ตแพทย์ แ ละผู้ ค นในจั ง หวั ด เชียงใหม่มาโดยตลอด มีเรือ่ งเล่าเมือ่ ครัง้ ก่อสร้างอาคารคณะ ทันตแพทยศาสตร์ในปี 2518 ไม้ใหญ่ต้น นี้เกือบถูกโค่นลงเพื่อปรับพื้นที่สำ�หรับการ สร้างตึกอาคารเรียนต่างๆ หากแต่ อ.ทพญ. ถาวร อนุมานราชธน ผู้ก่อตั้งคณะทันต แพทยศาสตร์และคณบดีในสมัยนั้นได้ขอ ผู้รับเหมาให้หลีกเลี่ยงการตัดต้นไม้ แต่ให้ ช่วยปรับภูมิทัศน์ส่วนอื่นๆ ให้เหมาะสม กับการสร้างอาคาร โดยขอเก็บต้นไม้เหล่า นี้ไว้เพื่อเป็นต้นไม้ที่ทำ�ให้เกิดร่มเงาและ ความให้ร่มรื่นแก่คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงทำ�ให้ภาพไม้ใหญ่กลางสนามหญ้าสีเขียว ที่ถูกล้อมรอบโดยอาคารเรียนเป็นภาพชิน ตามาจวบจนปัจจุบัน

จากอาคารเรี ย นระยะแรกที่ อ าศั ย อาคารของคณะแพทยศาสตร์ตงั้ แต่ปี 2509 จนย้ายมาที่ทำ�การถนนสุเทพในปี 2519 และมีการเพิม่ อาคารต่างๆ ขึน้ มาเป็นระยะ จนปัจจุบันมีอาคาร 8 หลัง โดยอาคาร ล่าสุดที่สร้างขึ้นในโอกาสครบรอบ 36 ปี ของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ เป็ น อาคารเรี ย น 7 ชั้ น ที่ ตั้ ง หันหน้าสู่ดอยสุเทพ เป็นอาคารสำ�หรับ จัด การเรีย นการสอนและการให้บริการ ของคลิ นิ ก ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาใน สาขาต่ า งๆ รวมทั้ ง ห้ อ งผ่ า ตั ด ทางด้ า น แม็ ก ซิ ล โลเฟเชี ย ล และหอผู้ ป่ ว ย ซึ่ ง เป็นการพัฒนาสู่โรงพยาบาลทันตกรรม อย่างเต็มรูปแบบ และในโอกาสที่คณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เปิดให้การเรียนการสอนและบริการมา ครบ 40 ปี ในปี 2555 นี้ โครงการก่อสร้าง อาคาร 40 ปีขึ้นเพื่อรองรับต่อปริมาณและ ความหลากหลายของผู้ป่วย ให้สามารถ ขยายการรั ก ษาลงไปสาขาวิ ช าเฉพาะ ต่างๆ ได้ดีขึ้น และพร้อมจะอวดโฉมเพื่อ ให้บริการกับประชาชนชาวเชียงใหม่และ จังหวัดใกล้เคียงในช่วงเวลาอันใกล้นี้ แม้วา่ อาคารต่างๆ จะเพิ่มขึ้นมาตามห้วงเวลา ที่เปลี่ยนไป แต่สิ่งที่คงอยู่คือปณิธานของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่มุ่งเน้นในการเป็น สถาบันที่เป็นศูนย์กลางทางวิชาการและ วิ ช าชี พ ชั้ น สู ง เพื่ อ อำ � นวยประโยชน์ แ ก่ ท้องถิ่นและประเทศชาติโดยส่วนรวม เสียงนักศึกษาทันตแพทย์เดินพูดคุย กันมาหลังเสร็จงานจากคลินิก ทำ�ให้ต้อง ละสายตาจากงานที่ทำ�อยู่ และหันมามอง ภาพนักศึกษาหอบหิ้วอุปกรณ์ต่างๆ เต็ม ไม้เต็มมือเดินกลับสู่หอพักหลังเลิกเรียน

170 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ถนนเล็กๆ ที่ใช้เป็นทางสัญจรขนาบไป ด้วยแนวคันดินทีม่ ตี น้ ไม้คลุมอยูต่ ลอดแนว ดอกตะแบกร่วงหล่นตามทางที่เดินผ่าน เป็นสัญญาณของการเริ่มต้นของการเรียน การสอนในคลิ นิ ก แนวคั น ดิ น ข้ า งเส้ น ทางประจำ � ของพวกเราทุ ก คนเดิ น ผ่ า น ไปมานั้น แท้จริงแล้วคือแนวกำ�แพงดิน โบราณ ซึ่งถือเป็นโบราณสถานที่บ่งบอก ถึงประวัติศาสตร์สมัยอาณาจักรล้านนา ในอดีตเมื่อหลายร้อยปีมาแล้ว กำ�แพงดิน โบราณแห่งนี้เป็นที่บอกขอบเขตของเวียง สวนดอกของอาณาจักรล้านนาที่รุ่งเรือง ในสมัยอดีต โดยมีประวัติและความสำ�คัญ ด้านประวัติศาสตร์-โบราณคดี คือ ที่ดิน ในเขตเวียงสวนดอกเดิม เป็นเขตพระราช อุทยานสวนดอกไม้ของพญากือนา กษัตริย์ ล้านนาลำ�ดับที่ 6 (พ.ศ.1910-1931) ซึ่ง ท่ า นได้ ย กให้ เ ป็ น สมบั ติ ข องพระพุ ท ธ ศาสนา โดยได้สร้างบริเวณนี้ให้เป็นวัด สำ � หรั บ จำ � พรรษาของพระสุม นเถระ ที่ ทรงนิมนต์มาเผยแพร่พุทธศาสนาในเมือง เชียงใหม่ ลักษณะทางกายภาพเป็นคันดิน ชั้นเดียว ด้านนอกเป็นคูนำ�้ช่วยป้องกัน ข้ า ศึ ก ด้ า นตะวั น ตกที่ เข้ า มาโจมตี เวี ย ง เชี ย งใหม่ สภาพปั จ จุ บั น กำ � แพงเวี ย ง สวนดอกถูกทำ�ลายลงไปมาก ขณะทีค่ นั ดิน ด้านเหนือทีอ่ ยูห่ ลังคณะทันตแพทยศาสตร์ มช. เป็นส่วนทีย่ งั มีความสมบูรณ์อยูเ่ พราะ เป็ น เขตพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ 1 และคณะทันตแพทยศาสตร์ ได้ พั ฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาและ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยการจัดสภาพ ภูมทิ ศั น์สงิ่ แวดล้อมให้มคี วามสะอาดร่มรืน่ สวยงาม ไม่สง่ ผลกระทบกระเทือนเสียหาย ให้เกิดขึ้นกับโบราณสถานกำ�แพง-คูเวียง สวนดอก เพื่อเป็นการอนุรักษ์และดำ�รง

มรดกของโบราณที่สืบทอดมาจนถึงสมัย ปัจจุบัน

ระยะเวลาเดินเท้าเพียง 2-3 นาทีจาก คณะผ่านถนนเล็กๆ ทีก่ นั้ อยู่ จะเข้าสูห่ อพัก นักศึกษาทันตแพทย์ พื้นที่ของความทรง จำ�แห่งหนึง่ ทีศ่ ษิ ย์เก่าล้วนแต่จดจำ�ได้ไม่ลมื ใต้หอพักทีค่ ราครำ�ไ่ ปด้วยนักศึกษาทีช่ มุ นุม กันหลังเลิกเรียนเพือ่ ทำ�กิจกรรมต่างๆ เป็น ภาพทีเ่ ห็นกันอย่างชินตา ลานกลางหอพัก อาคาร 1 และ 2 ที่เป็นสนามกีฬาแปร สภาพเป็นสนามฟุตบอลบ้าง วอลเล่ย์บอล บ้าง ตามแต่สมาชิกจะต้องการในขณะนั้น บางครั้งลูกฟุตบอลจากกลางสนามถูกโยน เข้ามาในพืน้ ทีท่ กี่ �ำ ลังตีแบดมินตันอย่างเอา เป็นเอาตาย หรือบางครัง้ ลูกฟุตบอลกลมๆ ลูกเดียวกันถูกโยนเข้าไปฝัง่ หอพักนักศึกษา คณะเทคนิกการแพทย์ จนต้องปีนขึน้ ลงกัน เป็นประจำ� การเตรียมกิจกรรมรับน้องขึน้ ดอย ค่ายอาสารพัฒนาชนบท การซ้อม กีฬา กิจกรรมต่างๆ มากมายล้วนแต่เกิด จากพื้นที่แห่งนี้ มาจนวันนี้ที่หอพักได้ทำ� หน้าที่ของมันมาอย่างยาวนานจนเสื่อม สภาพและไม่สามารถรองรับต่อปริมาณ นักศึกษาที่เพิ่มขึ้นเกือบ 700 คนในแต่ละ ปีการศึกษา หอพักอาคารเก่า 2 อาคาร

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

171


ม.เชียงใหม่ ...ไม้ใหญ่...คันดิน....หอมกลิ่นความทรงจำ� จึงถูกทุบทิ้งลงเหลือเพียงอาคาร 3 หลัง เดี ย วในปั จ จุ บั น อาคารหอพั ก ทั น สมั ย สูง 8 ชั้นกำ�ลังก่อสร้างขึ้นและพร้อมต่อ การให้บริการกับเหล่านักศึกษาในปลาย ปี 2555 นี้ เวลาที่หมุนผ่านอาจทำ�ให้ฉาก หลังเปลี่ยนแปลงไปจนไม่เหลือภาพเก่า แต่ภาพพื้นที่หอพักและกิจกรรมที่เกิดขึ้น และนำ�ทุกคนมาใช้ชวี ติ ร่วมกัน จนเกิดเป็น มิตรภาพทีย่ งั่ ยืนยังคงเป็นภาพทีป่ ระทับอยู่ ในความทรงจำ�ของศิษย์เก่าหมอเขีย้ ว ม.ช. ทำ�ให้ยิ้มได้ทุกครั้งเมื่อนึกชีวิตในรั้วทันต แพทยศาสตร์ มช. ฉั บ พลั น ที่ ห ลุ ด จากภาพเก่ า ๆ หั น มามองคณะทันตแพทยศาสตร์ในปัจจุบัน ที่ ไ ม่ ลำ � พั ง แต่ เ ป็ น สถาบั น หลั ก ที่ ผ ลิ ต ทันตแพทย์สู่สังคมไทยเท่านั้น แต่หากยัง ต้ อ งพั ฒ นาด้ า นงานวิ จั ย เพื่ อ รองรั บ การ ต่อยอดความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ อาทิ เช่น การจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านทันต กรรมรากเทียม เป็นส่วนงานที่ทำ�หน้าที่ เปิดสอนหลักสูตรทันตกรรมรากเทียม และ พัฒนารากเทียมสำ�หรับใช้ในประเทศไทย โดยเข้ า ร่ ว มกั บ โครงการฟั น เที ย มและ รากเที ย มพระราชทานของมู ล นิ ธิ ทั น ต นวัตกรรมในพระบรมราชูปถัมภ์ หน่วย ทันตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ในปัจจุบันยังก้าวสู่ความ เป็นสากล โดยสร้างความร่วมมือทางด้าน วิชาการกับประเทศต่างๆ หลายประเทศ อาทิเช่น ฮ่องกง ญีป่ นุ่ เยอรมัน แคนาดา ซึง่ เปิดโอกาสให้อาจารย์และนักศึกษาได้แลก เปลีย่ นประสบการณ์ดงู านในมหาวิทยาลัย ต่างๆ

จากสีท่ ศวรรษทีค่ ณะทันตแพทยศาสตร์

มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ไ ด้ พั ฒ นาตาม ปรัชญาทีม่ งุ่ เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ การวิจัย และการบริการวิชาการแก่สังคม เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม และจริยธรรม จนก้าวเข้าสู่ทศวรรษที่ห้า ซึ่ ง ยั ง ค ง ยื น ห ยั ด ที่ จ ะ ส ร้ า ง บั ณ ฑิ ต ทันตแพทย์ที่มีความรับผิดชอบ เป็นผู้นำ� พร้อมจะรับใช้ต่อสังคมและประเทศชาติ สืบต่อไป

“มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของเรา งามพร้อมสมภูมลิ �ำ เนาทีพ่ วกเรา แสนภูมิใจ สร้างความหวังศรัทธาวิทยา พาเรืองไกล พวกเราขอเทิดทูนไว้ด้วย ดวงใจพร้อมเพรียงบูชา” เสียงเพลงมาร์ช มช. ลอยมา กระทบหู เรียกความทรงจำ� รอยยิ้มและ ความภูมใิ จในสถาบันแห่งนีก้ ลับมาอีกครัง้ หนึง่ .... นีแ่ หละกระมังทีเ่ รียกกันว่า “หอม กลิ่น....ความทรงจำ�” ______________________________ 1 เอกสารอ้างอิงจาก หนังสือชุมชนโบราณในแอ่ง เชียงใหม่-ลำ�พูน โดย สรัสวดี อ๋องสกุล

172 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

173


ร า ย ชื่ อ ผู้ บ ริ ห า ร

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี พ.ศ.2555


ist of administrators (2012)

L


รายชื่อผู้บริหารคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รายชื่อผู้บริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2555 รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทองนารถ คำ�ใจ คณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์การุณ เวโรจน์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์พิริยะ เชิดสถิรกุล รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.อภิรมุ จันทน์หอม รองคณบดีฝา่ ยวิจยั และวิเทศสัมพันธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.เกษรา ปัทมพันธุ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ นักศึกษาและกิจการพิเศษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์สุกิจ เกษรศรี ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลทันตกรรม รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์มนตรี จันทรมังกร ผู้ช่วยคณบดี อาจารย์ ทันตแพทย์ชนธีร์ ชิณเครือ ผู้ช่วยคณบดี นางกรกช ชัยชมพู เลขานุการคณะฯ

รายชื่อผู้บริหารระดับภาควิชา รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.สิทธิชัย วนจันทรรักษ์ หัวหน้าภาควิชาชีววิทยาช่องปากและวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก อาจารย์ ทันตแพทย์หญิงภัทรานันท์ มหาสันติปิยะ รองหัวหน้าภาควิชาชีววิทยาช่องปากและวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิงจินตนา อิทธิเดชารณ หัวหน้าภาควิชาทันตกรรมครอบครัวและชุมชน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ศศิธร ไชยประสิทธิ์ รองหัวหน้าภาควิชาทันตกรรมครอบครัวและชุมชน

176 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ธีระวัฒน์ โชติกเสถียร หัวหน้าภาควิชาทันตกรรมจัดฟันและทันตกรรมสำ�หรับเด็ก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิงจุไรรัตน์ คุณะไชยโชติ รองหัวหน้าภาควิชาทันตกรรมจัดฟันและทันตกรรมสำ�หรับเด็ก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.สุมนา จิตติเดชารักษ์ หัวหน้าภาควิชาทันตกรรมบูรณะและปริทันตวิทยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิงสุพัตรา แสงอินทร์ รองหัวหน้าภาควิชาทันตกรรมบูรณะและปริทันตวิทยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์วุฒินันท์ จตุพศ หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ดร.พิริยะ ยาวิราช หัวหน้าภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์

รายชื่อผู้บริหารระดับหัวหน้างาน นางจริยา กิจสมพร นางสาวกัญญา สุขพรหม นางสาวธัญญาภรณ์ อินทะไชย นางสุภาพร ปัญญาแก้ว นางคุณัญญา แซ่เจี่ย นางสาววาสนา วงค์ขันทอง

หัวหน้างานบริหารทั่วไป หัวหน้างานการเงิน การคลังและพัสดุ หัวหน้างานนโยบายและแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หัวหน้างานบริการการศึกษา บริหารงานวิจยั และบริการวิชาการ หัวหน้างานสำ�นักงานโรงพยาบาลทันตกรรม หัวหน้างานบริการผู้ป่วย

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

177


รายชื่อผู้บริหารคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

List of administrators (2012)

Associate Professor Thongnard Kumchai Dean Assistant Professor Karune Verochana Associate Dean for Administration Affairs Assistant Professor Piriya Cherdsatirakul Associate Dean for Academic Affairs Assistant Professor Dr. Apirum Janhom Associate Dean for Research and International Relations Assistant Professor Dr. Kassara Pattamapun Associate Dean for Student Development and Special Activities Affairs Assistant Professor Sukit Kesornsri Director, Dental Hospital Associtae Professor Montri Chantaramungkorn Dr. Chonatee Chinkrua Assistant Deans

List of administrators of the department

Associate Professor Dr. Sitthichai Wanachantararak Head of Oral Biology and Diagnostic Sciences Department Dr. Phattaranant Mahasantipiya Deputy Head Assistant Professor Chintana Itthidecharon Head of Family and Community Dentistry Department Assistant Professor Dr. Sasitorn Chaiprasitti Deputy Head Professor Dhirawat Jotikasthira Head of Orthodontics and Pediatric Dentistry Department

178 หนังสือที่ระลึก เนื่องในวาระโอกาสครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


Assistant Professor Jurairat Kunachaichote Deputy Head Assistant Professor Dr. Sumana Jittidecharaks Head of Restorative Dentistry and Periodontology Department Assistant Professor Supatra Sang-In Deputy Head Assistant Professor Vuttinun Chatupos Head of Oral and Maxillofacial Surgery Department Assistant Professor Dr. Piriya Yavirach Head of Prosthodontics Department Faculty secretariat Ms. Korakot Chaichompoo

Heads of Section

Ms. Jariya Kijsomporn Head of General Administrative Section Ms. Kanya Sukprom Head of Finance and Supply Section Ms. Tanyaporn Intachai Head of Policy, Planning and Quality Assurance Section Ms. Supaporn Panyakaew Head of Educational Service, Research Administration and Academic Service Section Ms. Khunanya Saechia Head of Dental Hospital Ms. Wasana Wongkhantong Head of Dental Service

40th Anniversary Faculty of Dentistry, Chiang Mai University

179


อนุ กรรมการจัดทำ�หนังสือที่ระลึก 40 ปี คณะฯ ................................................................................................................................... Professor Kevin ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมนา รองศาสตราจารย์สุรวุฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒินันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา นางจีรวรรณ นางศุกตา นางสาววิลาวัณย์ นายทนงศักดิ์ นางสาวเจฬิญญ์ นางสาวอณิษฐา นางสาวธัญญาภรณ์ นางสาวศิริยา

O’ Carroll จิตติเดชารักษ์ พงษ์ศิริเวทย์ จตุพศ ยาวิราช ชัยวรวิทย์กุล อิทธิเดชารณ เปี่ยมสุข ขันสี เลาว้าง รัตนชูโชค สุรินทร์แก้ว ทิพย์ทองดี อินทะไชย รำ�ลึก

ที่ปรึกษา / Consultant ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

List of editorial staff of the 40th Anniversary Booklet ...................................................................................................................................

Prof. Kevin O’ Carroll Consultant Assistant Professor Dr. Sumana Jittidecharak President Associate Professor Surawut Pongsiriwet Subcommittee Assistant Professor Vuttinun Chatupos Subcommittee Assistant Professor Dr. Piriya Yavirach Subcommittee Assistant Professor Marasri Chiaworawitkul Subcommittee Assistant Professor Chintana Itthidecharon Subcommittee Ms. Jeerawan Piamsuk Subcommittee Ms. Sukta Khansri Subcommittee Ms. Wilawan Laowang Subcommittee Mr. Thanongsak Rattanachoochoke Subcommittee Ms. Je-lyne Surinkaew Subcommittee Ms. Anitha Thipthongdee Subcommittee Ms. Tanyaporn Intachai Secretary Ms. Siriya Rumluek Assistant Secretary



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.