คู่มือการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้คุณภาพ ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

Page 1

คูม ่ ือการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพ ฝ่ ายบริหารส่วนกลาง

P D C A ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมษายน 2555


คานา คู่มอื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม ประจาปีการศึกษา 2554 ระดับฝา่ ยฯ จัดทาขึน้ เพื่อสร้างมาตรฐานในการปฏิบตั งิ านประกันคุณภาพของบุลากรในวิทยาลัยนวัตกรรม ให้มแี นวทาง ปฏิบตั งิ านด้านการประกันคุณภาพการศึกษาทีถ่ ูกต้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเป็นคู่มอื ใน การจัดทา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) รวมถึง การติดตามและประเ มินผลตามตัวบ่งชี้คุณภาพ ในแต่ละองค์ประกอบจาก หน่วยงานภายในวิทยาลัย ซึง่ จะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านและผูเ้ กีย่ วข้องเข้าใจวิธกี ารใน การจัดเก็บตัวบ่งชีค้ ุณภาพได้ดยี งิ่ ขึน้ ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคู่มอื ฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อการปฏิบตั งิ านของ บุคลากรในวิทยาลัย ต่อวิทยาลัย และต่อผูท้ ส่ี นใจ

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ เมษายน 2555


สารบัญ หน้ า บทที่ 1 ตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพของวิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ตัวบ่งชีค้ ุณภาพของวิทยาลัยนวัตกรรม เกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ การดาเนินการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ รูปแบบคาอธิบายตัวบ่งชี้ การจัดกลุ่มสถาบันเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. บทที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิ น และแนวทางการอธิ บายผล การประเมิ นตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพ (ทีเ่ กีย่ วข้องกับฝ่ ายบริ หารส่วนกลาง) องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์ องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่ง านวิจยั ไปในวงกว้าง โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ. 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.1 ภาวะผูน้ าของสภาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ สมศ. 13 การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสถาบัน

1 1 2 2 6 7

8 10 12 20 24 26

28 31 34 48 53 57 61


หน้ า ภาคผนวก ภาคผนวก ก ตัวอย่างการเขียนผลการดาเนินงานรายตัวบ่งชี้ ในรายงานการประเมินตนเอง ภาคผนวก ข ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชีค้ ุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2554 ภาคผนวก ค แผนการดาเนินงานประกันคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554 ภาคผนวก ง แบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ ตารางพืน้ ฐาน 3 จานวนบุคลากรทุกประเภทจาแนกตามสายงาน แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาทีม่ วี ุฒปิ ริญญาเอก แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์ แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษาและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สมศ. 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม

64 66 73

77 78 79 80 82 85


บทที่ 1 ตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพของวิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ 1. ตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพของวิ ทยาลัยนวัตกรรม ตัวบ่งชีค้ ุณภาพวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554 แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1.1 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพการศึกษาภายในของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ 1.2 ตัวบ่งชีก้ ารประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) 4 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้ 1.3 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพระดับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ตัวบ่งชี้ 1.4 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพตามอัตลักษณ์วทิ ยาลัยนวัตกรรม 3 ตัวบ่งชี้ โดยมีหลักการในการพัฒนาตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ดังนี้ 1) กาหนดตัวบ่งชีค้ ุณภาพของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 9 องค์ประกอบ 23 ตัว บ่งชี้ 2) กาหนดตัวบ่งชีค้ ุณภาพภายนอกรอบสามจาก สมศ. จานวน 20 ตัวบ่งชี้ 3) กาหนดตัวบ่งชีเ้ ฉพาะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ มธ .1 ร้อยละ ของ กิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด และ มธ.3 ร้อยละของบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่ออาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา 4) กาหนดตัวบ่งชีท้ ส่ี ะท้อนเอกลักษณ์ของวิทยาลัยนวัตกรรม 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ CITU 1 ร้อยละ ของบทความวิชาการหรือบทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระทีต่ พี มิ พ์ต่อจานวนงานค้นคว้าอิสระ CITU 2 ระดับ ความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ และ CITU 3 ระดับความสาเร็จ ในการ เผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบ่งชีใ้ นการประเมินคุณภาพการศึกษานัน้ ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ตัวบ่งชีเ้ ชิงคุณภาพ และ ตัวบ่งชีเ้ ชิงปริมาณ ดังนี้ 1) ตัวบ่งชีเ้ ชิงคุณภาพจะระบุเกณฑ์มาตรฐานเป็นข้อๆ กาหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชีเ้ ป็น 5 ระดับ มีคะแนนตัง้ แต่ 1 ถึง 5 การประเมินจะนับจานวนข้อและระบุว่าผลการดาเนินงานได้กข่ี อ้ ได้คะแนนเท่าใด กรณี ทีไ่ ม่ดาเนินการใดๆ หรือดาเนินการไม่ครบทีจ่ ะได้ 1 คะแนน ให้ถอื ว่าได้ 0 คะแนน 2) ตัวบ่งชีเ้ ชิงปริมาณอยูใ่ นรูปของร้อยละหรือค่าเฉลีย่ กาหนดเกณฑ์การประเมินเป็นคะแนนระหว่าง 1 ถึง 5 โดยคิดเป็นค่าต่อเนื่อง (มีจดุ ทศนิยม) สาหรับการแปลงผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ (ซึง่ อยูใ่ นรูปร้อย ละหรือค่าเฉลีย่ ) เป็นคะแนนทาโดยการเทียบบัญญัตไิ ตรยางศ์ โดยแต่ละตัวบ่งชีจ้ ะกาหนด ค่าร้อยละหรือ ค่าเฉลีย่ ทีค่ ดิ เป็นคะแนน 5 ไว้ ตัวอย่างเช่น

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 1


หากตัวบ่งชีน้ นั ้ กาหนดผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 เป็นคะแนน 5 เต็ม และในตัวบ่งชีน้ นั ้ มีผลการ ดาเนินงานจริงจากการประเมินเป็นร้อยละ 34.62 เท่ากับว่าในตัวบ่งชีน้ นั ้ ได้คะแนนเท่ากับ ตัวอย่างที่ กาหนดร้อยละ 85 เป็นคะแนน 5 ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชีไ้ ด้รอ้ ยละ 34.62 คะแนนทีไ่ ด้ =

34.62 85

X5

= 2.04

สรุปคือมีหลักการคานวณการแปลงค่าร้อยละหรือค่าเฉลีย่ เป็นคะแนนดังนี้ คะแนนทีไ่ ด้ =

ค่าร้อยละหรือค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้จากการดาเนินการ ค่าร้อยละหรือค่าเฉลีย่ ทีก่ าหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 ของตัวบ่งชีน้ นั ้ ๆ

X5

2. เกณฑ์การประเมิ นตัวบ่งชี้ กาหนดเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชีเ้ ป็น 5 ระดับ มีคะแนนตัง้ แต่ 1 ถึง 5 กรณีทไ่ี ม่ดาเนินการใด ๆ หรือ ดาเนินการไม่ครบทีจ่ ะได้ 1 คะแนน ให้ได้ 0 คะแนน โดยมีความหมายของคะแนน ดังนี้ คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุง คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับพอใช้ คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับดี คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดาเนินงานระดับดีมาก 3. การดาเนิ นการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพ การประกันคุณภาพการศึกษาถือเป็นความรับผิดชอบของ วิทยาลัย ทีจ่ ะต้องมีการรายงานข้อมูล ผล การดาเนินงาน ตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ประกอบกับข้อมูลส่วนใหญ่เป็นผลการดาเนินงานของ หน่ว ยงานใน วิทยาลัย ทาให้ขอ้ มูลส่วนใหญ่อยูท่ ่ี ฝา่ ยงานต่างๆ ดังนัน้ การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ในปีการศึกษา 2554 จึงเป็นการจัดเก็บข้อมูลโดยฝา่ ยงานเป็ นหลัก ทัง้ นี้ ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพได้จดั ทา เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ขอบเขตของข้อมูลทีจ่ ดั เก็บ สูตรการคานวณ เกณฑ์มาตรฐาน และเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชีไว้​้ ในบทที่ 2 รวมทัง้ ได้จดั ทาแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูล เพื่อ เป็นแนวทางให้ฝา่ ย งานทีร่ บั ผิดชอบจัดเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง (รายละเอียดแบบฟอร์มอยูใ่ นภาคผนวก) ในกรณีท่ี ฝา่ ยงานฯ ไม่สามารถจัดเก็บข้อมู ลผลการดาเนินงานได้อนั เนื่องมาจากข้อมูลไม่สมบูรณ์ หรือไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลจากหน่วยงานย่อย ให้รายงานในแบบฟอร์มเป็น N/A

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 2


ตารางที่ 1 ด้านล่างสรุปตัวบ่งชีท้ งั ้ หมดของวิทยาลัยทีจ่ ะ ต้องได้รบั การประเมินคุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2554 โดยเครือ่ งหมาย  หมายถึง ฝา่ ยงาน/ผูร้ บั ผิดชอบในคอลัมน์นนั ้ จะต้องประเมินผลตนเองตาม ตัวบ่งชีใ้ นแถวนัน้ ตางราง 1: องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน และตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมิ นคุณภาพตามองค์ประกอบ วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ หน่ วยวัด ฝ่ าย ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้ คุณ ศูนย์ อาจารย์ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี พัทยา ประจา องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนิ นการ  สกอ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ข้อ สมศ. 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของ สถาบัน สมศ.16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ข้อ ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย)   สมศ.16.2 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ข้อ สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ ข้อ ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย) ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต สกอ.2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร ข้อ    หลักสูตร สกอ.2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก ร้อยละ  สกอ.2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทาง ร้อยละ   วิชาการ สกอ.2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร ข้อ  สายสนับสนุน สกอ.2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และ ข้อ  สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ สกอ.2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียน ข้อ   การสอน  สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผล ข้อ (ข้อ4,  การเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 5, 7) สกอ.2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้าง ข้อ  คุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา คุณภาพของบัณฑิตปริญญาโทและเอก สมศ. 2 ค่าเฉลีย่ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

สมศ. 3

ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ

ร้อยละ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 3


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

ปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์หรือ เผยแพร่ สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์ CITU 1 ร้อยละของบทความวิชาการหรือ บทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระที่ ตีพมิ พ์ต่อจานวนงานค้นคว้าอิสระ องค์ประกอบที่ 3 กิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา สกอ.3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและ บริการด้านข้อมูลข่าวสาร สกอ.3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรม นักศึกษา มธ. 1 ร้อยละของกิจกรรมอาสาต่อจานวน กิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรือ งานสร้างสรรค์ สกอ.4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ าก งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ สกอ.4.3

สมศ. 5 สมศ. 6 สมศ. 7 มธ. 3

CITU 2

เงินสนับสนุนงานวิจยั และงาน สร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและ นักวิจยั ประจา งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การ ตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ ประโยชน์ ผลงานวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรอง คุณภาพ ร้อยละขอบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การ อ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวน อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ระดับความสาเร็จในการจัดประชุม

หน่ วยวัด

ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ฝ่ าย คุณ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี

ค่าเฉลีย่ ร้อยละ

ศูนย์ อาจารย์ พัทยา ประจา

 

ข้อ

ข้อ

ร้อยละ

ข้อ

 

ร้อยละ ร้อยละ

(ข้อ2) 

ข้อ อัตรา ส่วน (บาท ต่อคน) ร้อยละ

(ข้อ2, 3, 4) 

  

  

ร้อยละ 

ข้อ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 4


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

วิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่ งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิ ชาการแก่สงั คม สกอ.5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการ แก่สงั คม

หน่ วยวัด

ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ฝ่ าย คุณ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี

ศูนย์ อาจารย์ พัทยา ประจา

ข้อ 

ข้อ

กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิด ข้อ ประโยชน์ต่อสังคม สมศ. 8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จาก ร้อยละ การให้บริการวิชาการมาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการ วิจยั สมศ. 9 ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความ ข้อ เข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก สมศ. 18 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของ สังคมในด้านต่างๆ ั หาของ สมศ.18.1 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญ ข้อ สังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน ั หาของ สมศ.18.2 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญ ข้อ สังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม สกอ.6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและ ข้อ วัฒนธรรม สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและ ข้อ วัฒนธรรม สมศ. 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะ ข้อ และวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ สกอ.7.1 ภาวะผูน้ าของสภาบันและผูบ้ ริหารทุก ข้อ ระดับของสถาบัน สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันการเรียนรู้ ข้อ สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและ ข้อ การตัดสินใจ

(ข้อ 2, 3,4,5)

สกอ.5.2

ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย) ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย)

 

 

  

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 5


ตัวบ่งชี้ สกอ.7.4 สมศ. 13

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

หน่ วยวัด

ระบบบริหารความเสีย่ ง ข้อ การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ อง ค่าเฉลีย่ ผูบ้ ริหารสถาบัน องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ สกอ.8.1 ระบบละกลไกการเงินและงบประมาณ ข้อ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ สกอ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ข้อ การศึกษาภายใน สมศ. 15 ผลการประเมินการประกันคุณภาพ ค่าเฉลีย่ ภายในรับรองโดยต้นสังกัด

ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ฝ่ าย คุณ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี 

ศูนย์ อาจารย์ พัทยา ประจา

 

 

4. รูปแบบคาอธิ บายตัวบ่งชี้ ในคาอธิบายตัวบ่งชีจ้ ะประกอบด้วย 1) ชื่อตัวบ่งชี้ 2) ชนิดของตัวบ่งชี้ เป็ นการอธิบายว่าตัวบ่งชีน้ นั ้ เป็ นตัวบ่งชีท้ ว่ี ดั ปจั จัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) หรือผลผลิต (Output) และระบุทม่ี าของตัวบ่งชี้ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ตัวบ่งชีค้ ุณภาพภายนอก รอบสามของ สมศ. ตัวบ่งชีเ้ ฉพาะของ มธ. และตัวบ่งชีท้ ส่ี ะท้อนเอกลักษณ์ของวิทยาลัยนวัตกรรม 3) หน่วยวัด อธิบายหน่วยในการแสดงค่าตัวบ่งชี้ เช่น ร้อยละ ค่าเฉลีย่ อัตราส่วน จานวน และ ระดับ 4) คาอธิบายตัวบ่งชี้ เป็นการอธิบายความหมายของตัวแปรทีจ่ ะนามาจัดทาเป็นค่าตัวบ่งชี้ ทัง้ นี้ ในกรณีทค่ี าอธิบายใช้คาว่าสถาบัน ขอให้หมายถึง หน่วยงานในระดับนัน้ ๆ กล่าวคือ หากเป็นการ ดาเนินงานในระดับมหาวิทยาลัย คาว่าสถาบันหมายถึง มหาวิทยาลัย หากเป็นการดาเนินงานในระดับคณะ / สานัก/สถาบัน คาว่าสถาบันหมายถึง วิทยาลัยนวัตกรรม 5) สูตรการคานวณ แสดงวิธใี นการคานวณค่าตัวบ่งชี้ (สาหรับตัวบ่งชีเ้ ชิงปริมาณ ) หรือ เกณฑ์ มาตรฐาน เป็นการอธิบายเกณฑ์มาตรฐานสาหรับการประเมินตัวบ่งชีท้ ว่ี ดั ผลการดาเนินงานเป็นข้อ 6) เกณฑ์การประเมิน เป็นเกณฑ์การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐาน 5 คะแนน 7) แหล่งข้อมูลและวิ ธีการจัดเก็บข้อมูล แสดงแหล่งข้ อมูล ขอบเขตของข้อมูลทีจ่ ดั เก็บ เครือ่ งมือ การ จัดเก็บข้อมูล วิธกี ารจัดเก็บข้อมูล การประเมินทุกตัวบ่งชีเ้ ป็นการประเมินในรอบปีการศึกษา ยกเว้นตัวบ่งชีส้ กอ. 1.1 ตัวบ่งชีส้ กอ. 4.3 และตัวบ่งชีส้ กอ. 8.1 ประเมินตามปีงบประมาณ โดยใช้ พ.ศ.ของปีงบประมาณ ทีต่ รงกับ ปีการศึกษาทีป่ ระเมิน ตัวบ่งชี้ สมศ.5 สมศ.6 และสมศ.7 ให้ใช้รอบปีปฏิทนิ การเก็บข้อมูล ในตัวบ่งชีท้ ร่ี ะบุให้ ใช้รอบปีงบประมาณหรือปีปฏิทนิ ให้ใช้ปี พ .ศ.ทีต่ รงกับปีการศึกษานัน้ เช่น ปีการศึกษา 2554 จะต้องจัดเก็บ ข้อมูลในปีงบประมาณ 2554 (1 ตุลาคม 2553- 30 กันยายน 2554) 8) ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ในปีการศึกษา 2554 นี้ วิทยาลัยนวัตกรรมได้มกี ารกาหนดผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชีใน ้ ระดับ ฝา่ ยงาน อันประกอบไปด้วยฝา่ ยต่างๆ ซึง่ จะรับผิดชอบดาเนินการ /กาหนดมาตรการในระดับวิทยาลัย คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 6


และสรุปผลการดาเนินงาน เพื่อให้ ผลการดาเนินงานเป็ นไปตามเป้าหมายทีก่ าหนด จึ งได้ระบุผรู้ บั ผิดชอบตัว บ่งชีไ้ ว้เพื่อประสานผลการดาเนินงาน 9) ผูป้ ระสานงานตัวบ่งชี้ เป็นการระบุช่อื เจ้าหน้ าทีข่ องงานประกันคุณภาพการศึกษา และหมายเลข โทรศัพท์ทต่ี ดิ ต่อ ที่ มหาวิทยาลัยจะ สามารถติดต่อเพื่อขอคาปรึ กษาเกีย่ วกับรายละเอียด ของตัวบ่งชีแ้ ต่ละตัว บ่งชี้ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังได้มกี ารจัดทาแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก) ซึง่ ในแบบฟอร์มดังกล่าว ขอให้ระบุรายนามผูด้ แู ลตัวบ่งชี้ (ผูร้ บั ผิดชอบ ตัวบ่งชี้) และผูจ้ ดั เก็บข้อมูล เพื่อประโยชน์ในการสอบถามข้อมูลเพิม่ เติม 5. การจัดกลุ่มสถาบันเพื่อการประเมิ นคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. เพื่อเป็นการเตรียมการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. ซึง่ เริม่ ในปีงบประมาณ 25542558 นัน้ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ได้มบี นั ทึก ที่ มศ. 0002/ (ว)2648 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2552 เรือ่ ง พิจารณาเลือกกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม มีใจความสรุปได้ดงั นี้ สานักงานได้ปรับกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามประกาศการแบ่งกลุ่ม สถาบันอุดมศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ผนวกกับการจัดกลุ่มตามจุดเน้น ตามพันธกิจของ สถาบันอุดมศึกษา โดยกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญา เป็น 5 กลุ่ม คือ ข(1), ข(2), ค(1), ค(2), และ ง จึงขอให้มหาวิทยาลัยพิจารณาว่าตามปณิธาน อัตลักษณ์ และจุดเน้นของสถาบันเหมาะสม ทีจ่ ะจัดอยู่ ใน สถาบันอุดมศึกษากลุ่มใด ทัง้ นี้ ในการประชุมสภามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ครัง้ ที่ 11/2552 เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ได้ พิจารณาเลือกกลุ่มสถาบันเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของ สมศ . และมีมติให้ ความเห็นชอบ เลือกรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของ สมศ. ในกลุ่ม ง. สถาบันที่เน้ นการวิ จยั ขัน้ สูงและผลิ ต บัณฑิ ตระดับบัณฑิ ตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก ดังนัน้ ในการประเมิน ในตัวบ่งชีส้ กอ . 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการ เรียนการสอนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชีส้ กอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรือ งานสร้างสรรค์ และตัวบ่งชี้ สกอ.4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและ นักวิจยั ประจา วิทยาลัย นวัตกรร มจะใช้เกณฑ์มาตรฐานกลุ่ม ง สถาบันทีเ่ น้นการวิจ ั ยขัน้ สูงและผลิตบัณฑิต ระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก เป็นเกณฑ์ในการประเมินตัวบ่งชี้

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 7


บทที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิ น (ทีเ่ กีย่ วข้องกับฝ่ ายบริ หารส่วนกลาง) องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต จานวน 5 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.4 ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5 ตัวบ่งชี้ สมศ. 14

อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ การพัฒนาคณาจารย์

1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 : อาจารย์ประจาที่ มีคณ ุ วุฒิปริ ญญาเอก 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ปจั จัยนาเข้า 3. หน่ วยวัด : ร้อยละ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็ นการศึกษาระดับ สูงสุดทีต่ อ้ งการบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ และ ความลุ่มลึกทางวิชาการ เพือ่ ปฏิบตั พิ นั ธกิจสาคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจยั เพือ่ การติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังนัน้ สถาบันจึงควรมีอาจารย์ทม่ี รี ะดับคุณวุฒทิ างการศึกษาใน สัดส่วนทีเ่ หมาะสมกับพันธกิจหรือจุดเน้นของสถาบัน อาจารย์ประจา หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน และบุคลากรทีม่ สี ญ ั ญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษาทัง้ ปี การศึกษา ซึง่ มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นบั ระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 9-12 เดือน

คิดเป็ น 1 คน

6 เดือนขึน้ ไปแต่ไม่ถงึ 9 เดือน

คิดเป็ น 0.5 คน

น้อยกว่า 6 เดือน

ไม่สามารถนามานับได้

หมายเหตุ : 1. คุณวุฒปิ ริญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒทิ ไ่ี ด้รบั หรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒ ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีทม่ี กี ารปรับวุฒ ิ การศึกษาให้มหี ลักฐานการสาเร็จการศึกษาภายในรอบปี การศึกษานัน้ ทัง้ นี้ อาจใช้คณ ุ วุฒอิ น่ื แทนคุณวุฒปิ ริญญาเอกได้สาหรับกรณีทบ่ี างสาขาวิชาชีพ มีคณ ุ วุฒอิ น่ื ทีเ่ หมาะสมกว่า ทัง้ นี้ ต้อง ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นบั ตามปี การศึกษาและนับทัง้ ทีป่ ฏิบตั งิ านจริงและลาศึกษาต่อ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 8


3. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑ์การประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได้ ไม่จาเป็ นต้องเลือก เหมือนกับมหาวิทยาลัย 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ให้แสดงการคานวณในรายงานการประเมินตนเอง 1.สรุปรายชือ่ อาจารย์ประจา มีคณ ุ วุฒปิ ริญญาเอกที่ ดังนี้ ทัง้ หมดทีส่ งั กัดวิทยาลัยนวัตกรรม กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 1.คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาทีม่ คี ณ ุ วุฒ ิ ในปี การศึกษาที่ ประเมิ น ร้อยละ 60 ขึน้ ไป ปริญญาเอก จาแนกตามวุฒกิ ารศึกษา จานวนอาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒริ ะดับปริญญาเอก (ป.ตรี, โท, เอก) หรือเทียบเท่าในปี การศึกษานัน้ 2. สรุปรายชือ่ อาจารย์ประจาที่ × 100 สังกัดวิทยาลัยนวัตกรรมทีม่ ี จานวนอาจารย์ประจาทัง้ หมดในปี การศึกษานัน้ คุณวุฒปิ ริญญาเอก เกณฑ์

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม

2.แปลงค่าร้อยละทีค่ านวณได้ในข้อ 1 เทียบกับ คะแนนเต็ม 5 คะแนนทีไ่ ด้ = ร้อยละของอาจารย์ประจาทีม่ ี คุณวุฒปิ ริญญาเอก X5 ร้อยละของอาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก ทีก่ าหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

6. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : 1) จานวนอาจารย์ทม่ี วี ุฒกิ ารศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ณ วัน สิน้ สุดปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (31 พฤษภาคม) 2) จานวนอาจารย์ทงั ้ หมด ณ วันสิน้ สุดปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (31 พฤษภาคม) 7. เครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล : แบบฟอร์มระดับคณะ/สานัก/สถาบัน : แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 สกอ.2.3 และ สมศ.14 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง (งานบุคคล)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 9


1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 : อาจารย์ประจาที่ ดารงตาแหน่ งทางวิ ชาการ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ปจั จัยนาเข้า 3. หน่ วยวัด : ร้อยละ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาถือเป็ นขุมปญั ญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบทีจ่ ะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ ในสถาบัน ทาการศึกษาวิจยั เพือ่ แสวงหาและพัฒนาองค์ ความรูใ้ นศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพือ่ นาไปใช้ในการเรียน การสอน รวมทัง้ การแก้ไขปญั หาและพัฒนาประเทศการดารงตาแหน่งทางวิชาการเป็ นสิง่ ทีส่ ะท้อน การปฏิบตั งิ าน ดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจของสถาบัน อาจารย์ประจา หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน และบุคลากรทีม่ ี สัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษาทัง้ ปี การศึกษา ซึง่ มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นบั ระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 9-12 เดือน คิดเป็ น 1 คน 6 เดือนขึน้ ไปแต่ไม่ถงึ 9 เดือน คิดเป็ น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนามานับได้ หมายเหตุ : 1. การนับจานวนอาจารย์ประจาให้นบั ตามปี การศึกษาและนับทัง้ ทีป่ ฏิบตั งิ านจริงและลาศึกษาต่อ 2. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑ์การประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได้ ไม่จาเป็ นต้องเลือก เหมือนกับมหาวิทยาลัย 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ให้แสดงการคานวณในรายงานการประเมินตนเอง สรุปรายชือ่ อาจารย์ประจา ดารงตาแหน่งรอง ดังนี้ ทัง้ หมดในปี การศึกษาทีป่ ระเมิน ศาสตราจารย์และ 1.คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาทีด่ ารง จาแนกตามตาแหน่งทาง ศาสตราจารย์รวมกันที่ ตาแหน่งทางวิชาการ วิชาการ (อ. ผศ. รศ. ศ.) จานวนอาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่ง กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ ร้อยละ 30 ขึน้ ไป เกณฑ์

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม

× 100 จานวนอาจารย์ประจาทัง้ หมดในปี การศึกษานัน้

2.แปลงค่าร้อยละทีค่ านวณได้ในข้อ 1 เทียบกับ คะแนนเต็ม 5 คะแนนทีไ่ ด้ =

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 10


เกณฑ์

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ

ร้อยละของอาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่ง รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ X5 ร้อยละของอาจารย์ประจาทีม่ ดี ารงตาแหน่ง รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ ทีก่ าหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

6. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : 1) จานวนอาจารย์ ทด่ี ารงตาแหน่งอาจารย์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ณ วันสิน้ สุดปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (31 พฤษภาคม) 2) จานวนอาจารย์ทงั ้ หมด ณ วันสิน้ สุดปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (31 พฤษภาคม) 7. เครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล: แบบฟอร์มระดับคณะ/สานัก/สถาบัน : แบบฟอร์มตัวบ่งชีส้ กอ. 2.2 สกอ.2.3 และสมศ.14 1) จานวนอาจารย์จาแนกตามวุฒกิ ารศึกษาและตาแหน่งทางวิชาการ : แบบฟอร์มที2.2 ่ และ 2.3 -1 2) รายชือ่ อาจารย์จาแนกตามวุฒกิ ารศึกษาและตาแหน่งทางวิชาการ : แบบฟอร์มที2.2 ่ และ 2.3 -2 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง (งานบุคคล)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 11


1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ จาเป็ นต้องมีการบริหารและพัฒนาคณาจารย์เหมาะสมทัง้ ในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สอ่ื การสอนทีท่ นั สมัย รวมทัง้ มีการปรั บกระบวนการเรียน การสอนโดยใช้ผลการเรียนรู้ และข้อมูลจากความคิดเห็นของผูเ้ รียน นอกจากนัน้ ยังจาเป็ นต้องมีบุคลากร สาย สนับสนุนทีม่ คี ณ ุ ภาพสอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายของสถาบัน จรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน หมายถึง ประมวลความประพฤติทอ่ี าจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนพึงปฏิบตั เิ พือ่ รักษา ส่งเสริมเกียรติคณ ุ ชือ่ เสียง และฐานะของอาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน ตามทีส่ ภามหาวิทยาลัยกาหนด โดยอาจใช้กรอบแนวทางตามประกาศ ก.พ.อ.เรือ่ งมาตรฐาน ของจรรยาบรรณที่ พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา โดยต้องยึดมันในหลั ่ กการ 6 ประการ คือ 1) ยึดมันและยื ่ นหยัดในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง 2) ซื่อสัตย์ สุจริตและรับผิดชอบ 3) ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ 4) ปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยไม่เลือกปฏิบตั ิ อย่างไม่เป็ นธรรม 5) มุง่ ผลสัมฤทธิ ์ของงาน 6) ไม่ใช้อานาจครอบงาผิดทานองคลองธรรมต่อนักศึกษา และต้อง ครอบคลุมจรรยาบรรณ 10 ประการ คือ 1) จรรยาบรรณต่อตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 3) จรรยาบรรณต่อการ ปฏิบตั งิ าน 4) จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน 5) จรรยาบรรณต่อผูบ้ งั คับบัญชา 6) จรรยาบรรณต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 7) จรรยาบรรณต่อผูร้ ว่ มงาน 8) จรรยาบรรณต่อนักศึกษาและผูร้ บั บริการ 9) จรรยาบรรณ ต่อประชาชน และ10) จรรยาบรรณต่อสังคม 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน มาตรฐานกระบวนการ ในการประเมิ นคุณภาพ 1 มีแผนการบริหารและการพัฒนา ควรชีใ้ ห้เห็นว่ามีการวางแผนหรือ 1. รายงานการประชุมครัง้ ทีม่ ี คณาจารย์ทงั ้ ด้านวิชาการ พิจารณาในประเด็นการบริหารและ การพิจารณาเรือ่ งอัตรากาลัง เทคนิคการสอนและการวัดผล พัฒนาคณาจารย์ในวิทยาลัย จากการ แผนการพัฒนาคณาจารย์ หรือ และมีแผนการบริหาร และ วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ เช่น ประเด็นอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเช่น พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนทีม่ ี อัตรากาลัง การทดแทนการเกษียณ แผนการบริหารและการพัฒนา การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ ความก้าวหน้าในสายงาน คณาจารย์ ทัง้ ด้านวิชาการ (การศึกษาต่อ การพัฒนาอบรม เทคนิคการสอนและการวัดผล การวิเคราะห์ จาก Competency ) ทีม่ กี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิง สาหรับสายวิชาการ แผนต้อง ประจักษ์ (ควรระบุตวั ชีว้ ดั ทีจ่ ะ ครอบคลุม 3 ด้าน คือ วิชาการ ใช้ตดิ ตามประเมินแผนด้วย) เทคนิคการสอน และการวัดผล 2. แผนการบริหารและพัฒนา สาหรับสายสนับสนุนวิชาการสามารถ บุคลากรสายสนับสนุนทีม่ ี อ้างอิงถึงแผนพัฒนาบุคลากรของ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ วิทยาลัย (ควรระบุตวั ชีว้ ดั ทีจ่ ะใช้ คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 12


ข้อ

2

เกณฑ์มาตรฐาน

มีการบริหารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนที่ กาหนด

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ติดตามประเมินแผนด้วย) 3. รายงานผลการสารวจความ ต้องการในการอบรม (training needs) ของบุคลากร ทัง้ สายอาจารย์ และ สายสนับสนุน เพือ่ ให้ได้รบั การ ฝึกอบรมตามเกณฑ์ทว่ี ทิ ยาลัย กาหนด และสามารถนาความรู้ ทีไ่ ด้รบั มาพัฒนางานของตนให้ มีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ 4. แผนกรอบอัตรากาลังระยะ 4 ปี 5. ประกาศระเบียบข้อบังคับ พนักงานมหาวิทยาลัย 6. หลักเกณฑ์การสรรหา บุคลากร 7. แผนปฏิบตั งิ านพัฒนา บุคลากรประจาปี การศึกษา 8. การประเมินผลการ ปฏิบตั งิ าน (job evaluation)ทีม่ ี รูปแบบชัดเจน มีการกาหนด เส้นทางเดินของตาแหน่ง งาน (career path) ของ บุคลากรทุกกลุ่ม วิเคราะห์ ปริมาณการเข้า – ออกของ บุคลากรแต่ละกลุ่ม และ พิจารณาหาแนวทางการ ปรับปรุงแก้ไขและติดตามผล ต้องแสดงให้เห็นถึงการดาเนินงานตาม 1. รายงานการประชุมครัง้ ทีม่ ี แผนทีก่ าหนด การติดตามการดาเนินงานตาม แผนการบริหารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน 2. เอกสาร/โครงการทีแ่ สดงว่า คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 13


ข้อ

3

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพทีด่ ี อ้างอิงจากสวัสดิการของวิทยาลัยได้ และสร้างขวัญและกาลังใจให้ และถ้าหากมีเพิม่ เติมก็เขียนใน SAR คณาจารย์และบุคลากรสาย ได้ สนับสนุนสามารถทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ได้มกี ารดาเนินการบริหาร และพัฒนาคณาจารย์ตามแผน ในเกณฑ์การประเมินข้อที่ 1 (หลักฐานลาดับที่ 1) 2. เอกสาร/โครงการทีแ่ สดงว่า ได้มกี ารดาเนินการบริหาร และพัฒนาบุคลากรสาย สนับสนุนตามแผนในเกณฑ์ การประเมินข้อที่ 1 (หลักฐาน ลาดับที่ 2) 1. หลักฐานทีแ่ สดงถึงการ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ (การทางานได้ดขี น้ึ ) เช่น ผล การสารวจความพึงพอใจของ คณาจารย์และบุคลากรด้านการ จัดสวัสดิการ การเสริมสร้าง สุขภาพทีด่ แี ละการสร้างขวัญ และกาลังใจ หรือหลักฐาน เชิงประจักษ์อน่ื ๆ 2. ประกาศสวัสดิการของ พนักงานมหาวิทยาลัย 3. ระบบส่งเสริมสนับสนุนการ เสนอขอรับรางวัลของ คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน เช่น มีการติดตาม ข้อมูลแหล่งให้รางวัลต่างๆ เพือ่ ประชาสัมพันธ์ให้ คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนทราบโดยเร็ว 4. มีการกระตุน้ และช่วยเหลือ ผูท้ ม่ี ศี กั ยภาพเพือ่ ขอรับ รางวัลในด้านต่างๆ เช่น ช่วยจัดทาเอกสารการขอรับ รางวัล ประสานงานใน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 14


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

4

มีระบบการติดตามให้คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนนา ความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ด้จากการ พัฒนามาใช้ในการจัดการเรียน

มีระบบและกลไกทีจ่ ะทาให้มปี ้ อนกลับ ข้อมูล คือมีการรายงานผลการเข้าร่วม การอบรม/สัมมนา/ประชุมภายนอก มหาวิทยาลัย ว่าได้นามาใช้ในการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ กระบวนการขอรับรางวัล หรือ งานธุรการอืน่ ๆ 5. การยกย่องให้เกียรติผไู้ ด้รบั รางวัลโดยวิธกี ารต่างๆ เช่น ประชาสัมพันธ์ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลทัง้ ภายในและ ภายนอกหน่วยงาน หรือจัด บรรยากาศพิเศษเพือ่ เป็ น เกียรติ พิจารณาความดี ความชอบเป็ นกรณีพเิ ศษ 6. ระบบพีเ่ ลีย้ ง โดยจัดให้ผทู้ ม่ี ี ประสบการณ์เคยได้รบั รางวัล ให้คา แนะนา ช่วยเหลือและ สนับสนุนอาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุนรุน่ ใหม่ ในการขอรับรางวัลต่างๆ 7. นโยบายดูแลสุขภาพของ บุคลากร ทัง้ ในเชิงป้องกันและ ส่งเสริม และมีสวัสดิการ ตรวจเช็คสุขภาพ ส่งเสริมการ ออกกาลังกายในรูปแบบต่างๆ เช่น สนับสนุนด้านสถานที่ ออกกาลังกายสนับสนุน ผูเ้ ชีย่ วชาญในการแนะนา ด้านการดูแลสุขภาพ 8. หลักฐานการให้ความ ช่วยเหลือดูแลบุคลากรกรณี จาเป็ นประกาศให้รางวัลในด้าน ต่างๆ เช่น รางวัลวิจยั รางวัล ตีพมิ พ์ผลงาน ฯลฯ 1. หลักฐานทีแ่ สดงให้เห็นว่ามี การติดตามให้คณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน นาความรูท้ ไ่ี ด้จากการพัฒนา

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 15


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน การสอนและการวัดผลการ เรียนรูข้ องนักศึกษา ตลอดจน การปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้อง

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ ปรับปรุงการเรียน การสอนหรือการ วัดผลหรือการเรียนรูข้ องนักศึกษา ได้หรือไม่และอย่างไร ถ้าไม่สามารถ นาไปใช้ได้กไ็ ม่ถอื เป็ นเหตุได้ว่าไม่ผา่ น การดาเนินงานข้อนี้

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ มาใช้ เช่น การติดตามในที่ ประชุมของภาค/สาขา เป็ นต้น 2. การกาหนดแนวทาง หรือ วิธกี ารติดตาม ประเมิน ผลสัมฤทธิ ์ของการอบรม/ การพัฒนาในทุกหลักสูตร การฝึกอบรม หรือทุกโครงการ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ในการเพิม่ ความรูแ้ ละทักษะการ ปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้เกิดความ มันใจว่ ่ าบุคลากรสามารถนา ความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ด้จากการ พัฒนามาใช้ในการปฏิบตั งิ าน หรือปรับปรุงตนเอง 3. การกาหนดกลไกการติดตาม ผลการนาความรูแ้ ละทักษะ ไปใช้ภายหลังการอบรมหรือ พัฒนา 6 - 9 เดือน หรือใช้ กลไกการจัดการความรูเ้ ป็ น เครือ่ งมือในการติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ ์ของการ อบรม หรือการพัฒนา เป็ นต้น 4. แบบสารวจ/ติดตามการนา ความรูจ้ ากการอบรม/ประชุม/ สัมมนามาใช้ประโยชน์หลังการ อบรม/ประชุมสัมมนา 6-9 เดือน 5. จัดทาตัวชีว้ ดั การปฏิบตั งิ าน ตามความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ป พัฒนามา เช่น เปรียบเทียบ ผลการประเมินการสอนโดย นักศึกษา หรืออาจารย์ทา่ นอืน่ ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการ หรือผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบเป็ นต้น

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 16


ข้อ 5

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

มีการให้ความรูด้ า้ นจรรยาบรรณ อธิบายว่าวิทยาลัยได้ให้ความรูแ้ ละดูแล อาจารย์และบุคลากรสาย ควบคุมให้บุคลากรถือปฏิบตั อิ ย่างไร สนับสนุน และดูแลควบคุมให้ เช่น ผ่านวาระในทีป่ ระชุม คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนถือปฏิบตั ิ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1.คูม่ อื อาจารย์ 2. คูม่ อื พนักงาน 3. หลักฐานทีแ่ สดงให้เห็นถึง การให้ความรูห้ รือเผยแพร่ จรรยาบรรณอาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน 4. การจัดโครงการ/กิจกรรมให้ ความรูด้ า้ นจรรยาบรรณ และ กิจกรรมส่งเสริมการปลูกฝงั จรรยาบรรณแก่คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน อย่างสม่าเสมอ 5. เอกสารคาสังแต่ ่ งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบในการให้ความรู้ ด้านจรรยาบรรณ 6. มีการติดตามผลการปรับปรุง และพัฒนาตนเองด้าน จรรยาบรรณของคณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง 7. ประกาศจรรยาบรรณทีพ่ งึ มี ในสถาบันการอุดมศึกษา 8. ประกาศหลักเกณฑ์วธิ กี าร ตักเตือน กรณีกระทาผิด จรรยาบรรณ คาสังแต่ ่ งตัง้ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของ คณะกรรมการจรรยาบรรณ 9. เอกสารแสดงกระบวนการ ส่งเสริม และแนวทางในการ ดาเนินการเมือ่ มีพฤติกรรมที่ ผิดจรรยาบรรณ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 17


แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ

มีการประเมินผลความสาเร็จของ แผนการบริหารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน

แสดงให้เห็นถึงการประเมินผลสาเร็จ ของแผนทีก่ าหนดในข้อ 1 (หากมีการ ประเมินแม้ว่าแผนไม่บรรลุความสาเร็จ ทัง้ หมดก็ถอื ว่ามีการดาเนินการตาม เกณฑ์น้ีแล้ว ) แต่ถา้ ไม่มแี ผนในข้อ 1 ก็ไม่ได้คะแนนในข้อนี้

มีการนาผลการประเมินไป ปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการ บริหารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน

นาผลการประเมินจากข้อ 6 มาปรับปรุง แผนหรือการบริหาร โดยแสดงให้เห็น อย่างชัดเจนว่านาผลเรือ่ งใดมาปรับปรุง อย่างไร เนื่องจากเป็ นรอยต่อของรอบปี ในการนาผลไปปรับปรุงอาจจะแสดง หลักฐานอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 1) ผลของปี น้ีนาไปปรับปรุงแผนในปี ถัดไป หรือ 2) ผลของปี ทแ่ี ล้วนามาปรับปรุงแผน ในปี น้ี

รายงานการประเมินผล ความสาเร็จของการปฏิบตั งิ าน ตามแผนการบริหารและการ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนทีก่ าหนดไว้ใน เกณฑ์ประเมินข้อที่ 1 (หลักฐานลาดับที่ 1 และ 2) ตามตัวชีว้ ดั ผลการดาเนินงาน (KPI) หรือเป้าหมายของ แผนการบริหารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน 1. เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงถึง การนาผลการประเมิน ความสาเร็จของแผนการบริหาร และการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนจาก เกณฑ์ประเมินข้อที่ 6 ไปปรับปรุงแผนการบริหารและ การพัฒนาคณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน หรือ ปรับปรุงการบริการและพัฒนา คณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน เช่น รายงานการ ประชุมทีพ่ จิ ารณา ปรับปรุงแผน เป็ นต้น 2. การดาเนินการตามแผน ปรับปรุงการบริหารและการ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนตามระยะเวลาที่ กาหนด

ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

6

7

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 18


6.เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 หรือ 4 ข้อ

5 หรือ 6 ข้อ

7 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ในรอบปี การศึกษา ทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (1 มิถุนายน- 31 พฤษภาคมของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง (งานบุคคล)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 19


1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5: ห้องสมุด อุปกรณ์ การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ปจั จัยนาเข้า 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : นอกเหนือจากการเรียนการสอน สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริการด้านกายภาพอย่างครบถ้วน โดยเฉพาะใน เรือ่ งการบริการสิง่ อานวยความสะดวกทีเ่ อือ้ ต่อการเ รียน เช่น สือ่ เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ห้องสมุดและแหล่งการ เรียนรูอ้ น่ื ๆ การบริการด้านงานทะเบียนการบริการนักศึกษานานาชาติ เป็ นต้น นอกจากนัน้ ยังจาเป็ นต้องมี สภาพแวดล้อมและการบริการด้านกายภาพทีส่ ง่ เสริมคุณภาพชีวติ ของนักศึกษา เช่น สิง่ แวดล้อมในสถาบัน หอพัก นักศึกษา ห้องเรียน สถานทีอ่ อกกาลังกาย บริการอนามัย การจัดจาหน่ายอาหาร เป็ นต้น 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ในการ ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน มาตรฐานกระบวนการ ประเมิ นคุณภาพ 1 มีการจัดการหรือจัดบริการ มีบริการแหล่งเรียนรูผ้ า่ นระบบ 1.แหล่งเรียนรูอ้ น่ื ๆ ผ่านระบบ เพือ่ ให้นกั ศึกษามีเครือ่ ง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมฯ เช่น ระบบ คอมพิวเตอร์ใช้ในอัตรา รายวิชา เว็บไซต์บทเรียนการ ไม่สงู กว่า 8 FTES ต่อเครือ่ ง สืบค้นออนไลน์ เป็ นต้น 2. รายงานโครงการ/กิจกรรม แนะนาการใช้ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์แก่นิสติ 2 มีการบริการห้องสมุดและแหล่ง มีบริการด้านกายภาพทีเ่ หมาะสมต่อ 1.ภาพถ่ายห้องเรียน และ เรียนรูอ้ น่ื ๆ ผ่านระบบเครือข่าย การจัดการเรียนการสอนและพัฒนา อุปกรณ์การศึกษา คอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรม นิสติ อย่างน้อยในด้านห้องเรียน 2. ภาพถ่ายห้องปฏิบตั กิ าร การใช้งานแก่นกั ศึกษาทุกปี ห้องปฏิบตั กิ าร อุปกรณ์การศึกษา และ คอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั กิ าร การศึกษา จุดเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตในระบบไร้สาย ทางภาษา ห้องปฏิบตั กิ ารอืน่ ๆ 3. ภาพถ่ายอุปกรณ์ทาง การศึกษาทีส่ าคัญ 4. ข้อปฏิบตั ใิ นการใช้/ตาราง การใช้หอ้ งเรียนห้องปฏิบตั กิ าร 5. รายงานสรุปพืน้ ทีใ่ ห้บริการ จุดเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต/wifi 6. รายงานสถิตกิ ารใช้หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร อุปกรณ์ท่ี สาคัญ ฯลฯ 7. รายงานโครงการ/กิจกรรม คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 20


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

3

มีบริการด้านกายภาพที่ เหมาะสมต่อการจัดการเรียน การสอนและการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร อุปกรณ์ การศึกษาและจุดเชือ่ มต่อ อินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย

4

มีบริการสิง่ อานวยความสะดวก ทีจ่ าเป็ นอืน่ ๆ อย่างน้อยในด้าน งานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การ บริการอนามัยและการ รักษาพยาบาล การจัดการหรือ จัดบริการด้านอาหารและ สนามกีฬา มีระบบสาธารณูปโภคและรักษา ความปลอดภัยของอาคาร ตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่าง น้อยในเรือ่ งประปา ไฟฟ้า ระบบ กาจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทัง้ มีระบบและอุปกรณ์ ป้องกันอัคคีภยั ในบริเวณอาคาร

5

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ในการ ประเมิ นคุณภาพ แนะนาสถานทีข่ องหน่วยงาน

มีบริการสิง่ อานวยความสะดวกที่ จาเป็ นอืน่ ๆ เช่น บริการ โสตทัศนูปกรณ์ หรือพืน้ ทีน่ นั ทนาการ เป็ นต้น

การบริการโสตทัศนูปกรณ์ 1. ภาพถ่าย โสตทัศนูปกรณ์ 2. ข้อปฏิบตั กิ ารใช้ โสตทัศนูปกรณ์ 3. รายงานโครงการ/ กิจกรรมแนะนาการ ให้บริการ ด้านพืน้ ทีน่ นั ทนาการ 1. ภาพถ่ายสถานที/่ พืน้ ที่ นันทนาการ 2. ข้อปฏิบตั ใิ นการใช้ สถานที/่ พืน้ ที่ นันทนาการ 3. รายงานโครงการ/ กิจกรรมแนะนาพืน้ ที่ นันทนาการ มีบริการสิง่ อานวยความสะดวกที่ ภาพถ่ายสิง่ อานวยความ จาเป็ นอืน่ ๆ เช่น ระบบเครือข่าย สะดวกทีจ่ าเป็ นอืน่ ๆ อย่างน้อย คอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและ ในด้านงาน ทะเบียนนักศึกษา การรักษาพยาบาล การจัดการหรือ ผ่านระบบเครือข่าย จัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา คอมพิวเตอร์ การบริการ เป็ นต้น อนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้าน อาหารและสนามกีฬา มีบริการระบบสาธารณูปโภค การ มีระบบสาธารณูปโภค อย่าง รักษาความสะอาด และการรักษาความ น้อยในเรือ่ งประปาไฟฟ้า ระบบ ปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณ กาจัดของเสีย การจัดการขยะ โดยรอบอย่างน้อยในเรือ่ งห้องสุขา 1. รายงานการตรวจบารุงรักษา ั ้ า ลิฟต์ ห้องสุขา ประปา ไฟฟ้า ระบบจากัดของเสีย ปมน้ การจัดการขยะ รวมทัง้ มีระบบและ 2. สัญญา /ข้อตกลงการจ้าง อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริเวณ พนักงานทาความสะอาด คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 21


แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ในการ มาตรฐานกระบวนการ ประเมิ นคุณภาพ ต่างๆ เป็ นไปตามกฎหมายที่ อาคารต่างๆ อาคาร ห้องสุขา เกีย่ วข้อง 3. ภาพถ่ายจุดบริหารจัดการ ขยะรักษาความปลอดภัยของ อาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ 4. มาตรการการรักษาความ ปลอดภัยของอาคารตลอดจน บริเวณโดยรอบ 5. ภาพจุดทีม่ กี ล้องวงจรปิ ด ระบบและอุปกรณ์ป้องกัน อัคคีภยั 6. มาตรการป้องกันอัคคีภยั 7. ภาพถ่ายอุปกรณ์ป้องกัน อัคคีภยั 8. รายงานการตรวจสอบระบบ และอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั 6 มีผลการประเมินคุณภาพของ มีผลการประเมินคุณภาพของบริการ แบบประเมินและสรุปผล บริการในข้อ 2-5 ทุกข้อไม่ต่า ในข้อ 1- 4 ทุกข้อไม่ต่ากว่า 3.51 จาก การประเมินคุณภาพของ กว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนนเต็ม 5 การบริการแก่นกั ศึกษารายข้อ รายงานสรุปผลการประเมิน คุณภาพของบริการ 7 มีการนาผลการประเมินคุณภาพ มีการนาผลการประเมินคุณภาพในข้อ รายงานสรุปผลการประเมิน ในข้อ 6 มาใช้เป็ นข้อมูลในการ 5 มาใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการ คุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็ น พัฒนาการจัดบริการด้าน จัดบริการด้านกายภาพทีส่ นองความ ข้อมูลในการพัฒนาการ กายภาพทีส่ นองความต้องการ ต้องการของผูร้ บั บริการ จัดบริการด้านกายภาพ ของผูร้ บั บริการ 6. เกณฑ์การประเมิ น: ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 หรือ 3 ข้อ

4 หรือ 5 ข้อ

6 ข้อ

7 ข้อ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 22


7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ในรอบปี การศึกษาที่ จัดเก็บข้อมูล (1 มิถุนายน-31 พฤษภาคม ของปี ถดั ไป ) ทัง้ นี้ บางข้ออาจ ดาเนินการร่วมกับ มธ. สามารถใช้ขอ้ มูลระดับ มหาวิทยาลัยได้ 8. เครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล : แบบฟอร์มตัวบ่งชีส้ กอ. 2.5 1) สัดส่วนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ต่อจานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า: แบบฟอร์มที่ 2.5-1 2) ผลประเมินคุณภาพการให้บริการ : แบบฟอร์มที่ 2.5-2 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 23


1. ตัวบ่งชี้ สมศ. 14 : การพัฒนาคณาจารย์ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต 3. หน่ วยวัด : ค่าเฉลีย่ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : คุณภาพของคณาจารย์เป็ นปจั จัยสาคัญทีส่ ง่ ผลต่อคุณภาพของผูเ้ รียน รวมทัง้ พิจารณา จากความสาเร็จของ สถาบันในการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ เพือ่ ให้อาจารย์ตดิ ตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่าง ต่อเนื่อง อันจะทาให้สถาบันสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล คุณภาพอาจารย์พจิ ารณาจากคุณวุฒแิ ละตาแหน่งทาง วิชาการ คุณวุฒคิ ณาจารย์กรณีสาขาวิชาการ /วิชาชีพ ให้รบั รองการเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์ของ สกอ . และกรณีสาย วิชาชีพให้เทียบปริญญาสูงสุดตามเกณฑ์ ก.พ. กาหนดค่าน้าหนักระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้ วุฒิการศึกษา ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ตาแหน่ งทางวิ ชาการ อาจารย์ 0 2 5 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ 1 3 6 รองศาสตราจารย์ 3 5 8 ศาสตราจารย์ 6 8 10 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น เกณฑ์ ค่าผลรวมถ่วงน้าหนักของ อาจารย์ประจาทีก่ าหนดให้ เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 6

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม ให้แสดงการคานวณในรายงานการประเมินตนเอง ดังนี้ 1.คานวณผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ รายชือ่ อาจารย์ประจาทัง้ หมด ใน ปี การศึกษาทีป่ ระเมิน จาแนกตาม ตามคุณวุฒแิ ละตาแหน่งทางวิชาการ

ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา จานวนอาจารย์ประจาทัง้ หมด

2.แปลงค่าร้อยละทีค่ านวณได้ในข้อ 1 เทียบกับ คะแนนเต็ม 5 คะแนนทีไ่ ด้ =

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 24


เกณฑ์

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ

ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา X5 ค่าดัชนีคณ ุ ภาพอาจารย์ทก่ี าหนดให้เป็ น คะแนนเต็ม 5 คะแนน

6. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : 1) จานวนและรายชือ่ อาจารย์ประจาทัง้ หมดในแต่ละปี การศึกษา 2) นับอาจารย์ทป่ี ฏิบตั งิ านจริง และทีล่ าศึกษาต่อ โดยมีฐานข้อมูลทีร่ ะบุรายละเอียดแสดง วุฒกิ ารศึกษา และตาแหน่งทางวิชาการ 7. เครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล : แบบฟอร์มระดับคณะ/สานัก/สถาบัน : แบบฟอร์มตัวบ่งชีส้ กอ. 2.2 สกอ.2.3 และสม ศ.14 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง (งานบุคคล)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 25


องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั จานวน 1 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ตัวบ่งชี้ CITU 3: ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิ จยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : วิทยาลัยควรทาหน้าทีเ่ ป็ นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรือสามารถให้บริการทางวิชาการแก่สงั คมได้ ซึง่ จะส่งผล ย้อนกลับสูก่ ารพัฒนาด้านวิชาการของวิทยาลัยเอง ทัง้ ด้านการส่งเสริมให้คณาจารย์และนักศึกษาของวิทยาลัยได้มสี ว่ น ร่วมในกิจกรรมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ และเป็ นการเพิม่ โอกาสในการเผยแพร่ผลงานวิชาการของ วิทยาลัยในระดับชาติหรือระดับนานาชาติอกี ด้วย 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ มาตรฐานกระบวนการ ในการประเมิ นคุณภาพ วิทยาลัยกาหนดช่องทางเผยแพร่ 1. เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับ งานวิจยั ผ่านเว็บไซต์วทิ ยาลัย และหน้า เว็บไซต์งานวิจยั วารสาร CITU Review 2. เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับ วารสาร CITU Review มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการจัดทา คาสังวิ ่ ทยาลัยนวัตกรรม วารสารรวมบทคัดย่อ (CITU Review) แต่งตัง้ คณะกรรมการจัดทา วารสารออนไลน์ CITU Review มีการเผยแพร่ผลงานงานวิจยั หน้า ผลงานวิจยั ของอาจารย์ประจา วารสาร CITU Review และนักศึกษาทีเ่ ผยแพร่ ในวารสาร CITU Review Online

ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

1

มีการกาหนดช่องทางเผยแพร่ งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศ

2

มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการ ดาเนินการ

3

มีการเผยแพร่ผลงานวิจยั ทีร่ วบรวมจากวารสารวิชาการ นานาชาติซง่ึ ปรากฏอยูใ่ น ฐานข้อมูลสากล และผ่านการ สังเคราะห์โดยอาจารย์ประจา วิทยาลัย ผลงานวิจยั ของอาจารย์ประจามี มีการเผยแพร่ผลงานงานวิจยั หน้า การเผยแพร่ควบคูก่ บั ข้อ 3 วารสาร CITU Review

4

5

มีการนาข้อมูลจากกลุ่ม ผูใ้ ช้บริการฐานข้อมูลมา

มีการนาข้อมูลจากกลุ่มผูใ้ ช้บริการ ฐานข้อมูลมาวิเคราะห์

ผลงานวิจยั ของอาจารย์ประจา และนักศึกษาทีเ่ ผยแพร่ ใน วารสาร CITU Review Online 1. รายงานสรุปจานวน ผูใ้ ช้บริการวารสาร CITU

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 26


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

วิเคราะห์เพือ่ ปรับปรุง

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ Review และรายงานวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ ปรับปรุงวารสาร CITU Review Online 2. ข้อเสนอแนะจาก คณะกรรมการจัดทาวารสาร ออนไลน์ CITU Reviewในการ ปรับปรุงเพือ่ พัฒนาวารสาร CITU Review Online

6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ระดับความ สาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้าง สารสนเทศในรอบปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคม ของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ/ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

โดยอาศัยเทคโนโลยี

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 27


องค์ประกอบที่ 6 จานวน 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 ตัวบ่งชี้ สมศ. 11

การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม

1. ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 : การส่งเสริ มและสนับสนุนด้านศิ ลปะและวัฒนธรรม 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : ศิลปะและวัฒนธรรม เป็ นตัวบ่งชีถ้ งึ คุณภาพ วิถชี วี ติ และจิตใจทีด่ งี ามของบุคคลและสังคม เป็ นพันธกิจหลัก ประการหนึ่งทีส่ ถานศึกษาพึงตระหนัก ทีจ่ ะต้องให้ความสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุน เพือ่ ให้สงั คม ใน สถานศึกษาอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข อย่างมีคณ ุ ค่า สามารถเป็ นแบบอย่างทีน่ ่าศรัทธา และเป็ นทีย่ อมรับของสังคม การส่งเสริมสนับสนุนจาต้องดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพทีจ่ ริงใจได้ต่อเนื่องทีม่ นคงและยั ั่ งยื ่ นโดยการกาหนด วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีช่ ดั และสามารถประเมินผลได้ ศิ ลปะ คือ งานสร้างสรรค์ทส่ี ง่ เสริมสร้างสุนทรีย์ ความงาม และความสุข แก่ผคู้ น สภาพแวดล้อม และสังคม เพือ่ พัฒนาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุนทรีย์ เข้าใจคุณค่าและความสาคัญของศิลปะ ตลอดจนเป็ นแนวทางใน การพัฒนาส่งเสริมการอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษย์ทม่ี พี ฒ ั นาการอย่างต่อเนื่อง เช่น เรือ่ งความคิด ความรูส้ กึ ความเชือ่ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถชี วี ติ และสังคม รวมทัง้ ผลทีเ่ กิดจาก กิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมมีลกั ษณะเฉพาะและมีลกั ษณะสากล เปลีย่ นแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปจั จุบนั ทีด่ คี วรมีความสอดคล้องกับความเป็ นสากล แต่มรี ากฐานของวัฒนธรรมตนเองทีม่ คี ณ ุ ค่า สาหรับ วัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมทีแ่ สดงความเป็ นอุดมศึกษาทีถ่ อื เป็ นแบบอย่างทีด่ ตี ่อสังคม มี ความเจริญงอกงามทางปญั ญา ความรู้ คว ามคิด ทัศนคติ และจิตใจ การมีน้าใจเสียสละและการมีสว่ นร่วมกับสังคม สามารถเป็ นผูน้ าทีด่ แี ละเป็ นทีพ่ ง่ึ ของสังคม มีวฒ ั นธรรมในวิถชี วี ติ มหาวิทยาลัยทีน่ ่าศรัทธาเป็ นทีย่ อมรับ มีบทบาทต่อ การปกป้องวัฒนธรรมทีด่ งี ามของไทย และพัฒนาแนวทางการดารงชีวติ ท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมส ากลได้เหมาะสม อย่างฉลาดรู้ 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

1

มีการดาเนินงานตามวงจร คุณภาพ (PDCA)

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ มีการกาหนดนโยบาย แผนฯ ระบบและ กลไกในการส่งเสริมและสนับสนุนด้าน ศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1.เอกสารแสดงแผนการ ทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. เอกสารแสดงการดาเนินการ ตามแผน เช่น โครงการ หรือกิจกรรมพร้อมรายละเอียด

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 28


ข้อ

2

3

4

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ รวมทัง้ ตัวบ่งชีแ้ ละเป้าหมาย ความสาเร็จ 3. เอกสารแสดงการติดตามผล การดาเนินงาน 4. เอกสารแสดงการประเมิน ผลสาเร็จตามแผน 5. เอกสารแสดงการปรับปรุง ตามผลการประเมิน ดาเนินการตามแผนใน ข้อ 1 และกาหนด 1. เอกสารแสดงการประเมิน บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่า ตัวชีว้ ดั ในแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 กว่าร้อยละ 80 แผน และผลการประเมินตาม ตัวชีว้ ดั ในแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 2. หลักฐานทีอ่ ธิบาย รายละเอียดและแสดง กระบวนการได้มาซึง่ ข้อมูลของ การประเมินแผน เช่น ขัน้ ตอน และช่วงระยะเวลาการเก็บ ข้อมูลแบบประเมิน วิธกี าร วิเคราะห์ผล เป็ นต้น มีการดาเนินงานสม่าเสมออย่าง การดาเนินงานตามกิจกรรมหรือโครงการ 1. เอกสารแสดงรายละเอียด ส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและ ต่อเนื่อง โครงการหรือกิจกรรมทีม่ ี วัฒนธรรมอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง การดา เนินการในปี ทผ่ี า่ นมา ปี ปจั จุบนั หรือแผนการจัด โครงการหรือกิจกรรมในปี ถัดไป 2. เอกสารแสดงรายงานสรุปผล การจัดโครงการหรือกิจกรรม เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อ การดาเนินงานตามกิจกรรมหรือโครงการ รายงาน รางวัลทีไ่ ด้รบั การ ส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและ ชุมชนภายใน/ภายนอก ประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่อง วัฒนธรรมทีเ่ กิดประโยชน์และสร้างคุณค่า ระดับชาติและนานาชาติ จาก ต่อชุมชนภายใน/ภายนอก สถาบันหรือหน่วยงานทีเ่ ป็ นที่ ยอมรับ รายงานสรุปผลหรือประเมิน โครงการหรือกิจกรรม เกณฑ์มาตรฐาน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 29


ข้อ

5

เกณฑ์มาตรฐาน

ได้รบั การยกย่องระดับชาติ/ นานาชาติ

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ทีแ่ สดงว่าเกิดประโยชน์และ สร้างคุณค่าต่อชุมชน รายงาน รางวัลทีไ่ ด้รบั การประกาศเกียรติ หลักฐานแสดงรายงานรางวัลที่ คุณ ยกย่องระดับชาติ/นานาชาติ จาก ได้รบั การประกาศเกียรติคณ ุ สถาบันหรือหน่วยงานทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับ ยกย่องระดับชาติและนานาชาติ จากมหาวิทยาลัยหรือ หน่วยงานภายนอกทีเ่ ป็ นที่ ยอมรับ

6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรมในรอบปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บ ข้อมูล (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคม ของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริการการศึกษา/ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 30


1. ตัวบ่งชี้ สมศ. 11 : การพัฒนาสุนทรียภาพในมิ ติทางศิ ลปะและวัฒนธรรม 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : ศิลปะและวัฒนธรรม เกีย่ วข้องกับความสุนทรียแ์ ละรสนิยม เกิดรูปแบบวิถชี วี ติ และสังคม โดยมีลกั ษณะ ที่ เป็ นพลวัต มีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา จาเป็ นต้องรูท้ นั อย่างมีปญั ญา โดยมีแผน ในการพัฒนา ให้ความรูแ้ ละ ประสบการณ์ดา้ นสุนทรียภาพในบริบทของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถเลือกรับ รักษาและสร้างให้ตนเอง และ สังคมอยูร่ ว่ มกันอย่างรูค้ ณ ุ ค่าความงาม อย่างมีสนุ ทรียท์ ม่ี รี สนิยม การพัฒนาสุนทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุงเปลีย่ นแปลงอย่างมีแผนทีเ่ ป็ นระบ บเกีย่ วกับความงาม ทาง ศิลปะและวัฒนธรรม ทีม่ ผี ลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคมในแนวทางทีด่ ขี น้ึ โดยมีเป้าหมาย ที่ ชัดเจน และเป็ นทีย่ อมรับร่วมกันได้ ผลการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงหรือสร้างสิง่ ใหม่ตอ้ งไม่เป็ นการทาลายคุณค่าทาง สุนทรียข์ องศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนาเชิงวัฒนธรรมสามารถสร้างวัฒนธรรมใหม่ ทีส่ อดคล้องและ เหมาะสมกับสังคมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงและมีนวัตกรรมใหม่ ทัง้ ทางเทคโนโลยี ระบบสังคม และความนิยม เพือ่ ให้อยู่ ร่วมกันได้อย่างเข้าใจมีความเจริญก้าวหน้าอย่างสันติสขุ สุนทรียะทางศิ ลปะและวัฒนธรรม หมายถึ ง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรมทีส่ ง่ ผลต่อการ รับรูแ้ ละความรูส้ กึ สามารถจรรโลงจิตใจให้มคี วามสุข มีรสนิยม ก่อให้เกิ ดวิถชี วี ติ มนุษย์ทง่ี ดงาม สามารถ อยู่ ร่วมกันในสังคมทีเ่ ข้าใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรูถ้ งึ คุณค่าทีเ่ ป็ นรูปธรรมและนามธรรมของศิลปะและวัฒนธ รรมเชิง ประวัตศิ าสตร์เพือ่ การดารงรักษ์สบื ต่อไป สะอาด หมายถึง ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่าย ใช้สะดวก สุขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุขกาย สบายใจ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม สวยงาม หมายถึง มีการจัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพืน้ ทีแ่ วดล้อม ไม่ สิน้ เปลือง และไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ 1

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ การมีสว่ นร่วมของบุคลากรใน การส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับมีสว่ น สถาบันทีก่ อ่ ให้เกิดวัฒนธรรมทีด่ ี ร่วมในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรทีด่ ี โดยผ่านโครงการ/กิจกรรม ของ วิทยาลัย เกณฑ์มาตรฐาน

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. เอกสารแสดงรายละเอียด โครงการหรือกิจกรรมที่ ก่อให้เกิดวัฒนธรรมทีด่ ขี อง วิทยาลัย และลักษณะ การมีสว่ นร่วมของบุคลากรใน โครงการนัน้ ๆ 2. รายงานสรุปผลการจัด กิจกรรมทีแ่ สดงถึงผลของการ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 31


ข้อ

2

3

4

5

เกณฑ์มาตรฐาน

อาคารสถานที่ สะอาดถูก สุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมี ความสุนทรีย์

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ มีสว่ นร่วมของบุคลากรที่ ก่อให้เกิดวัฒนธรรมทีด่ ี

แผนงานและแผนงบประมาณในการ ปรับปรุงดูแลรักษาอาคาร

1.โครงการหรือกิจกรรมทีแ่ สดง รายละเอียดทีก่ าหนด วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ ความสาเร็จอย่างเป็ นรูปธรรม เช่น โครงการประหยัดพลังงาน ในอาคาร 2. ภาพถ่ายอาคาร สถานที่ สะอาด ถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมีสนุ ทรีย์ ปรับแต่งและรักษาภูมทิ ศั น์ให้ แผนงานและแผนงบประมาณในการ ภาพถ่ายสถานที่ ทีม่ กี าร สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ ปรับปรุงดูแลรักษาอาคาร ปรับแต่งและรักษาภูมทิ ศั น์ให้ และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม สวยงามสอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มีพน้ื ทีท่ างวัฒนธรรมทีเ่ อือ้ และ แผนการใช้พน้ื ทีแ่ ละปฏิทนิ การจัด 1. เอกสารแสดงถึงมีการจัดสรร ส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมี กิจกรรม หรือสนับสนุนพืน้ ทีท่ าง การจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ วัฒนธรรม ทีเ่ อือ้ ต่อจัดกิจกรรม ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม 2. เอกสารแสดงถึงการจัด กิจกรรมทางด้านศิลปะ และวัฒนธรรมในพืน้ ทีด่ งั กล่าว อย่างสม่าเสมอ ระดับความพึงพอใจของ ควรมีการประเมินผลความพึงพอใจของ รายงานสรุปหรือประเมินผล บุคลากรและนักศึกษาไม่ต่ากว่า บุคลากรและนักศึกษาต่อการมีสว่ นร่วม ระดับความพึงพอใจของ 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรทีด่ ี บุคลากรและนักศึกษาใน โครงการหรือกิจกรรมทีพ่ ฒ ั นา สุนทรียภาพทางศิลปะและ วัฒนธรรมไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 (ทีเ่ กีย่ วกับ ข้อ1 - 4)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 32


6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

ปฏิบตั ไิ ด้

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรมในปี การศึกษาทีเ่ ก็บข้อมู ล (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคม ของปี ถดั ไป) 8. เครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล : แบบฟอร์มระดับคณะ/สานัก/สถาบัน : แบบฟอร์มตัวบ่งชีส้ มศ.11 9. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง/ศูนย์พทั ยา (LR)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 33


องค์ประกอบที่ 7

การบริ หารและการจัดการ

จานวน 5 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.1 ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.2 ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.3 ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.4 ตัวบ่งชี้ สมศ. 13

ภาวะผูน้ าของสภาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของสถาบัน การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสินใจ ระบบบริหารความเสีย่ ง การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสถาบัน

1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.1 : ภาวะผู้นาของสภาบันและผู้บริ หารทุกระดับของสถาบัน 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : ปจั จัยสนับสนุนทีส่ าคัญต่อการเจริญก้าวหน้าของสถาบันอุดมศึกษา คือ สภาสถาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของ สถาบันนัน้ ๆ หากสภาสถาบันและผูบ้ ริหารมีวสิ ยั ทัศน์ เป็ นผูน้ าทีด่ ี มีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อสังคม รัก ความก้าวหน้า ดูแลบุคลากรอย่างดี เปิ ดโอกาสให้ชมุ ชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปญั หา และกากับดูแล ติดตามผลการดาเนินงานของสถาบันไปในทิศทางทีถ่ กู ต้อง จะทาให้สถาบันเจริญรุดหน้า อย่างรวดเร็ว หลักธรรมาภิ บาล หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการต่างๆ ให้เป็ นไปใน ครรลองธรรม นอกจากนี้ ยังหมายถึงการบริหารจัดการทีด่ ี ซึง่ สามารถนาไปใช้ได้ทงั ้ ภาครัฐและเอกชนธรรมทีใ่ ช้ในการ บริหารงานนี้มคี วามหมายอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ หาได้มคี วามหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่านัน้ แต่รวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ชอบธรรมทัง้ ปวง ซึง่ วิญญูชนพึงมีและพึงประพฤ ติปฏิบตั ิ อาทิ ความ โปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เป็ นต้น หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (Good Governance) ทีเ่ หมาะสมจะนามาปรับใช้ ใน ภาครัฐมี 10 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบตั ริ าชการทีบ่ รรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมาย ของแผนการ ปฏิบตั ริ าชการตามทีไ่ ด้รบั งบประมาณมาดาเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับส่วนราชการหรือหน่วยงานทีม่ ี ภารกิจคล้ายคลึงกันและมีผลการปฏิบตั งิ านในระดับชัน้ นาของประเทศเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สขุ ต่อประชาชนโดยการ ปฏิบตั ิราชการจะต้องมีทศิ ทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ทช่ี ดั เจน มีกระบวนการปฏิบตั งิ านและระบบงานทีเ่ ป็ น มาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเป็ นระบบ 2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกากับดูแลทีด่ ที ม่ี กี ารออ กแบบ กระบวนการปฏิบตั งิ านโดยใช้เทคนิคและเครือ่ งมือการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมให้องค์การสามารถใช้ทรัพยากร ทัง้

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 34


ด้านต้นทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบตั ริ าชการตาม ภารกิจเพือ่ ตอบสนองความต้องการของประชาชนและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุ่ม 3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การให้บริการทีส่ ามารถดาเนินการได้ภายในระยะเวลา ที่ กาหนด และสร้างความเชือ่ มัน่ ความไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความต้องการของประชาชน ผูร้ บั บริการ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีม่ คี วามหลากหลายและมีความแตกต่าง 4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละผลงาน ต่อ เป้าหมายทีก่ าหนดไว้ โดยความรับผิดชอบนัน้ ควรอยูใ่ นระดับทีส่ นองต่อความคาดหวังของสาธารณะ รวมทัง้ การแสดง ถึงความสานึกในการรับผิดชอบต่อปญั หาสาธารณะ 5) หลักความโปร่งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิ ดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชีแ้ จงได้เมือ่ มีขอ้ สงสัยและ สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชนสามารถรูท้ กุ ขัน้ ตอน ในการดาเนิน กิจกรรมหรือกระบวนการต่างๆ และสามารถตรวจสอบได้ 6) หลักการมีสว่ นร่วม (Participation) คือ กระบวนการทีข่ า้ ราชการ ประชาชนและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทุกกลุ่ม มีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทาความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปญั หาหรือประเด็นทีส่ าคัญทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ไขปญั หา ร่วมในกระบวนการตัดสิน ใจ และร่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุน้ ส่วนการ พัฒนา 7) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจทรัพยากร และภารกิจจาก ส่วนราชการส่วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอืน่ ๆ (ราชการบริหารส่วนท้องถิน่ ) และภาคประชาชนดาเนินการแทน โดยมีอสิ ระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดาเนินการให้แก่บุคลากร โดยมุง่ เน้นการสร้างความพึงพอใจในการให้บริการต่อผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และ เพิม่ ผลิตภาพเพือ่ ผลการดาเนินงานทีด่ ขี องส่วนราชการ 8) หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) คือ การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการบริหารราชการ ด้วยความเป็ นธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ิ และคานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การได้รบั การปฏิบตั แิ ละได้รบั บริการอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่มกี าร แบ่งแยกด้าน ชายหรือหญิง ถิน่ กาเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของ บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชือ่ ทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรมและอืน่ ๆ 10) หลักมุง่ เน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงทัวไปภายในกลุ ่ ่มผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียที่ เกีย่ วข้อง ซึง่ เป็ นข้อตกลงทีเ่ กิดจากการใช้กระบวนการเพือ่ หาข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคลทีไ่ ด้รบั ประโยชน์ และเสีย ประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มทีไ่ ด้รบั ผลกระทบโดยตรงซึง่ ต้องไม่มขี อ้ คัดค้านทีย่ ตุ ไิ ม่ได้ในประเด็นทีส่ าคัญ โดยฉันทามติ ไม่จาเป็ นต้องหมายความว่าเป็ นความเห็นพ้องโดยเอกฉันท์ 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

1

สภาสถาบันปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมี การประเมินตนเองตาม หลักเกณฑ์ทก่ี าหนดล่วงหน้า

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ 1. กรรมการสถาบันควรได้รบั คาชีแ้ จง และทาความเข้าใจเกีย่ วกับกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ 2. กรรมการสถาบันกากับดูแลสถาบัน

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. แผนการประเมินผลการ บริหารของผูบ้ ริหารทุกระดับ 2. ระเบียบกฎหมาย ข้อบังคับ ต่างๆ ทีส่ าคัญตามพันธกิจของ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 35


ข้อ

2

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ ไปในทิศทางทีก่ าหนด 3. มีการเปิ ดเผยประวัตกิ รรมการสภา สถาบัน รายงานการประเมินตนเอง และรายงานต่อสาธารณชน

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ วิทยาลัย พระราชบัญญัตขิ อง มหาวิทยาลัยทีก่ าหนด ภาระหน้าทีข่ องคณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย

3 คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย 4. รายงานสรุปการเข้าประชุม ของคณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัย 5. รายงานการประชุม คณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัยทีแ่ สดงวาระและมติ การพิจารณาหลักเกณฑ์/วิธกี าร ในการประเมินตนเอง 6. รายงานผลการประเมิน ตนเองของคณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย 7. แบบประเมินผล และเกณฑ์ การให้คะแนนในการ ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัย ผูบ้ ริหารมีวสิ ยั ทัศน์ กาหนดทิศ 1. ผูบ้ ริหารและสภาสถาบันมีสว่ นร่วม 1. แผนยุทธศาสตร์ของ ทางการดาเนินงาน และสามารถ ในการกาหนดนโยบาย จัดทาวิสยั ทัศน์ หน่วยงาน ถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ และแนวทาง 2. รายงานโครงการ มีความสามารถในการวางแผน ปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน ประชุมสัมมนาทีผ่ บู้ ริหารมีสว่ น กลยุทธ์ มีการนาข้อมูล 2. ผูบ้ ริหารสร้างระบบและกลไกในการ ร่วมในการกาหนดนโยบายและ สารสนเทศเป็ นฐานในการ ถ่ายทอดไปสูบ่ ุคลากร จัดทาวิสยั ทัศน์ พันธกิจ ปฏิบตั งิ านและพัฒนาสถาบัน 3. มีการจัดทาระบบฐานข้อมูลให้ แผนยุทธศาสตร์ ทันสมัย สามารถนามาใช้ตดิ ตามผล 3. เอกสารโครงการ/รายงาน การบริหารสารสนเทศทีก่ าหนดในแผน สรุป/รายงานการประชุมที่ กลยุทธ์อย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้ ผูบ้ ริหารได้มกี ารชีแ้ จง/ ถ่ายทอดนโยบาย วิสยั ทัศน์ คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 36


ข้อ

3

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ และแผนยุทธศาสตร์ ให้ บุคลากรภายในหน่วยงาน ทุกระดับทราบและมีความ เข้าใจร่วมกัน 4. ระบบฐานข้อมูลของวิทยาลัย ทีส่ ามารถนามาใช้ในการ ติดตามผลการบริหารงาน 5. รายงานการประชุมทีม่ วี าระ เกีย่ วกับการรายงานผล การดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ (KPI) หรือตัวบ่งชี้ ทีก่ าหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ (ควรเป็ นวาระพิจารณา เพือ่ ปรับปรุงงาน) 6. วาระการประชุม รายงาน การประชุม และเอกสาร ประกอบการประชุมของ ผูบ้ ริหาร คณะกรรมการประจา หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับแผน ยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด นโยบายของผูบ้ ริหาร รายงาน ผลการดาเนินงาน เป็ นต้น ผูบ้ ริหารมีการกากับ ติดตามและ 1. ผูบ้ ริหารมีการกากับ ติดตามการนา 1. รายงานการติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามที่ นโยบายและแผนยุทธ์ศาสตร์ไปสูก่ าร ตรวจสอบ และประเมินผลการ มอบหมาย รวมทัง้ สามารถ ปฏิบตั ใิ นการประชุมผูบ้ ริหารอย่างน้อย ดาเนินงานของวิทยาลัย สือ่ สารแผนและผลการ ปี ละ 2 ครัง้ (สามารถใช้เอกสารผลการ ดาเนินงานของสถาบันไปยัง 2. ผูบ้ ริหารมีการประเมินผลการ ดาเนินงานตามแผนฯในตัวบ่งชี้ บุคลากรในสถาบัน ดาเนินงานและติดตามผลสัมฤทธิ ์อย่าง 1.1) เสนอคณะกรรมการ น้อยปี ละ 1 ครัง้ อานวยการวิทยาลัย 2. ช่องทางหรือเอกสารแสดง วิธกี ารแจ้งแผนการดาเนินงาน ไปยังบุคลากรทุกระดับ เช่น การประชุมชีแ้ จง เว็บไซต์ สือ่ /สิง่ พิมพ์ เกณฑ์มาตรฐาน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 37


ข้อ

4

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 3. ช่องทางหรือเอกสารแสดง วิธกี ารแจ้งผลการดาเนินงาน และรายงานสรุปการประเมินผล การดาเนินงานไปยัง บุคลากรทุกระดับ เช่น การ ประชุมชีแ้ จง เว็บไซต์ สือ่ / สิง่ พิมพ์ 4. วาระการประชุม รายงาน การประชุม และเอกสาร ประกอบการประชุมของ ผูบ้ ริหาร คณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัยทีเ่ กีย่ วข้อง การกากับ ติดตามผลการนา นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบตั กิ ารไปสู่ การปฏิบตั ิ การประเมินผลและ การดาเนินงาน ผูบ้ ริหารสนับสนุนให้บุคลากรใน 1. ผูบ้ ริหารควรรับฟงั ความคิดเห็นจาก 1. ประกาศ/คาสังเกี ่ ย่ วกับการ สถาบันมีสว่ นร่วมในการบริหาร บุคลากรผูป้ ฏิบตั งิ าน สรรหาผูด้ ารงตาแหน่ง จัดการ ให้อานาจในการตัดสินใจ 2. มีการปรับลดขัน้ ตอนในการ ผูบ้ ริหาร/กรรมการทีส่ าคัญอืน่ ๆ แก่บุคลากรตามความเหมาะสม ปฏิบตั งิ านโดยการมอบอานาจในการ และคาสังแต่ ่ งตัง้ กรรมการชุดที่ ตัดสินใจแก่ผบู้ ริหารหรือผูป้ ฏิบตั ใิ น สาคัญ ระดับถัดไป 2. ช่องทางทีผ่ บู้ ริหารได้รบั ฟงั 3. มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพือ่ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สร้างขวัญกาลังใจให้แก่ผปู้ ฏิบตั งิ าน จากบุคลากรผูป้ ฏิบตั งิ าน เช่น ในทีป่ ระชุม โทรศัพท์ อีเมล์ เว็บบอร์ด กล่องรับความ คิดเห็น ฯลฯ 3. เอกสารหลักฐาน/คาสังการ ่ มอบอานาจในการตัดสินใจ แก่ผบู้ ริหารหรือผูป้ ฏิบตั ริ ะดับ ถัดไป 4. รายงานโครงการผูบ้ ริหาร พบบุคลากร หรือปฐมนิเทศ เกณฑ์มาตรฐาน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 38


แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ บุคลากรใหม่ เพือ่ รับฟงั ความ คิดเห็นในเรือ่ งต่างๆ

ผูบ้ ริหารถ่ายทอดความรูแ้ ละ ส่งเสริมพัฒนาผูร้ ว่ มงาน เพือ่ ให้ สามารถทางานบรรลุ วัตถุประสงค์ของสถาบันเต็ม ตามศักยภาพ

1. ผูบ้ ริหารมีการถ่ายทอดความรูส้ ู่ ผูป้ ฏิบตั งิ านเพือ่ เพิม่ ทักษะในการ ปฏิบตั ใิ ห้มากขึน้ 2. ผูบ้ ริหารควรนาหลักการจัดการ ความรูม้ าใช้เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั ผูป้ ฏิบตั งิ าน

ผูบ้ ริหารบริหารงานด้วยหลัก ธรรมาภิบาล โดยคานึงถึง ประโยชน์ของสถาบันและผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสีย

1. ผูบ้ ริหารยึดหลักธรรมาภิบาลเป็ น หลักในการบริหารงานให้ไปในทิศทาง ทีก่ าหนดร่วมกัน 2. ผูบ้ ริหารดาเนินงานภายใต้หลัก ธรรมาภิบาลโดยเน้นการปกป้อง ผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เรือ่ งคุณภาพทางวิชาการ 3. มีการเปิ ดเผยประวัติ รายงานการ ประเมินตนเอง รายงานสรุปผลการ ทางาน รายงานการเงินเสนอต่อสภา

1. เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงว่า ผูบ้ ริหารมีการสอนงานทีห่ น้า งาน (on–the–job training) เช่น บันทึกการสอนงาน ภาพถ่าย อืน่ ๆ 2. รายงานการจัดโครงการ แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่าง ผูบ้ ริหารและผูร้ ว่ มงาน 3. เอกสารโครงการอบรม ทีผ่ บู้ ริหารเป็ นผูบ้ รรยาย 4. คาสังแต่ ่ งตัง้ และรายงานการ ประชุมคณะกรรมการที่ ผูบ้ ริหารทาหน้าทีเ่ ป็ นทีป่ รึกษา 5. วาระการประชุม รายงาน การประชุม และเอกสาร ประกอบการประชุมของ ผูบ้ ริหาร/คณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย เช่น วาระ การอนุมตั ใิ ห้มกี จิ กรรมพัฒนา บุคลากร ตัวอย่างรายการหลักฐาน ผลการดาเนินงานตามหลัก ธรรมาภิบาล 10 ประการ ดังนี้ หลักประสิ ทธิ ผล (Effectiveness) 1. รายงาน ผลการประเมินการ ปฏิบตั ริ าชการตามคารับรอง การปฏิบตั ริ าชการ (ก.พ.ร.) 2. รายงานสรุปผลการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน

ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

5

6

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 39


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ สถาบันทุกปี 4. มีการติดตามผลการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การตรวจสอบ คุณภาพภายใน รายงานการเงิน เสนอ ต่อสภาสถาบันทุกปี

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ตามตัวชีว้ ดั ของแผน ยุทธศาสตร์/แผนกลยุทธ์ 3. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสารประกอบการประชุมที่ เกีย่ วข้อง 4. ผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในของวิทยาลัย หลักประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) 1. ผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในของวิทยาลัย 2. รายงานการบริหารความ เสีย่ งด้านการเงิน และ ทรัพยากร และการควบคุม ภายใน 3. ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบริหาร 4. รายงาน ผลการประเมินการ ปฏิบตั ริ าชการตามคารับรอง การปฏิบตั ริ าชการ ก.พ.ร. (ด้านงบประมาณ และการ ประหยัดพลังงาน) 5. วาระการประชุม รายงานการประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง 6. รายงานการวิเคราะห์ตน้ ทุน ต่อหน่วยหลักการตอบสนอง (Responsiveness) 7. ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการเรียนการสอน การวิจยั 8. รายงานสรุปผลการจัด โครงการบริการวิชาการแก่

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 40


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ชุมชน 9. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักภาระรับผิ ดชอบ (Accountability) 1. รายงานผลการสารวจ บัณฑิตทีไ่ ด้งานทา และผลการ ประเมินบัณฑิตตามกรอบ มาตรฐาน TQF และ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์ นักศึกษา 2. สรุปงานวิจยั ทีน่ าไปใช้ ประโยชน์แก่สงั คมและชุมชน 3. รางวัลหรือผลงานทีแ่ สดงถึง ผูบ้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาได้เป็ น แบบอย่างทีด่ ใี นด้านคุณธรรม จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม จิตอาสา และด้านอืน่ ๆ ต่อ สาธารณะชน 4. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักความโปร่งใส (Transparency) 1. รายงานการติดตามและ ประเมินการใช้จ่ายจาก งบประมาณรายได้ประจาปี และงบประมาณรายจ่าย จากเงินรายได้ รายงานสภาพ ทางการเงิน การควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การตรวจสอบภายใน อืน่ ๆ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 41


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 2. ข่าวสาร สือ่ สิง่ พิมพ์ต่างๆ ที่ เป็ นการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร รายงานผลการดาเนินต่างๆ ให้ บุคลากร และ/หรือบุคลากร ภายนอกรับทราบโดยทัวกั ่ น เช่น การเผยแพร่ประวัติ ผูบ้ ริหาร รายงานการประเมิน ตนเอง และผลการประเมิน คุณภาพการศึกษา 3. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักการมีส่วนร่วม (Participation) 1. คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการ ชุดต่างๆ ทีม่ กี ลุ่มผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียจากภายนอก หน่วยงานเข้ามามีสว่ นร่วมใน การบริหารจัดการในเรือ่ งต่างๆ 2. รายงานผลการจัดประชุม/ สัมมนาผูบ้ ริหาร และบุคลากร ทุกระดับเป็ นประจาทุกปี เพือ่ ระดมความคิดเห็นในการ พัฒนาวิทยาลัย 3. ช่องทางการรับความคิดเห็น เช่น ตูร้ บั ข้อคิดเห็น โทรศัพท์ สายด่วน เว็บบอร์ด การจัดเวที เพือ่ รับฟงั ความคิดเห็นของ ประชาชน เป็ นต้น และรายงาน สรุปข้อคิดเห็นทีเ่ กีย่ วข้อง 4. กิจกรรมเพือ่ สร้างความ เข้าใจทีต่ รงกันระหว่างวิทยาลัย กับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 5. วาระการประชุม รายงาน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 42


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) 1. คาสัง/หนั ่ งสือการมอบ อานาจให้ผบู้ ริหารส่วนงาน ต่างๆ มีอานาจในการบริหาร และตัดสินใจ 2. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักนิ ติธรรม (Rule of Law) 1. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัย/ หน่วยงาน เช่น การบริหารงานบุคคล การสรรหาหัวหน้าส่วนงาน การเงินพัสดุ สิทธิสวัสดิการ เป็ นต้น จากเงินรายได้ รายงาน สภาพทางการเงิน การควบคุม ภายใน การบริหารความเสีย่ ง การตรวจสอบภายใน อืน่ ๆ 2. ข่าวสาร สือ่ สิง่ พิมพ์ต่างๆ ทีเ่ ป็ นการเผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสาร รายงานผลการดาเนิน ต่างๆ ให้บุคลากรทัวทั ่ ง้ องค์กร และ/หรือบุคลากรภายนอก รับทราบโดยทัวกั ่ น เช่น การ เผยแพร่ประวัตผิ บู้ ริหาร รายงานการประเมินตนเอง และผลการประเมินคุณภาพ การศึกษา 3. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 43


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักการมีส่วนร่วม (Participation) 1. คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการ ชุดต่างๆ ทีม่ กี ลุ่มผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียจากภายนอก หน่วยงานเข้ามามีสว่ นร่วมใน การบริหารจัดการในเรือ่ งต่างๆ 2. รายงานผลการจัดประชุม/ สัมมนาผูบ้ ริหารและบุคลากร ทุกระดับเป็ นประจาทุกปี เพือ่ ระดมความคิดเห็นในการ พัฒนาวิทยาลัย 3. ช่องทางการรับความคิดเห็น เช่น ตูร้ บั ข้อคิดเห็น โทรศัพท์ สายด่วน เว็บบอร์ด การจัดเวที เพือ่ รับฟงั ความคิดเห็นของ ประชาชน เป็ นต้น และรายงาน สรุปข้อคิดเห็นทีเ่ กีย่ วข้อง 4. กิจกรรมเพือ่ สร้างความ เข้าใจทีต่ รงกันระหว่างวิทยาลัย กับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 5. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) 1. คาสัง/หนั ่ งสือการมอบ อานาจให้ผบู้ ริหารส่วนงาน ต่างๆ มีอานาจในการบริหาร และตัดสินใจ 2. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 44


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักนิ ติธรรม (Rule of Law) 1. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน เช่น การบริหารงานบุคคล การ สรรหาหัวหน้าส่วนงาน การเงิน พัสดุ สิทธิสวัสดิการ เป็ นต้น 2. ช่องทางการเผยแพร่กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของ วิทยาลัย เช่น วารสาร เว็บไซต์ 3. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักความเสมอภาค (Equity) 1. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน เช่น การส่งเสริมให้บุคลากร สายวิชาการและสายสนับสนุน วิชาการได้เข้ารับการฝึกอบรม/ การศึกษาต่อ การจัดสวัสดิการ ต่างๆ 2. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง หลักมุ่งเน้ นฉันทามติ (Consensus Oriented) 1. รายงานการประชุม คณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยทีแ่ สดงถึงการรับฟงั ข้อเสนอแนะจากทีป่ ระชุม 2. รายงานสรุปการจัดสัมมนา ต่างๆ ทีม่ กี ารรับฟงั ความ คิดเห็นทัง้ จากบุคลากรภายใน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 45


ข้อ

7

เกณฑ์มาตรฐาน

สภาสถาบันประเมินผลการ บริหารงานของสถาบันและ ผูบ้ ริหารนาผลการประเมินไป ปรับปรุงการบริหารงานอย่าง เป็ นรูปธรรม

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

1. สภาสถาบันมีการประเมินผลการ บริหารงานและผูบ้ ริหารสถาบันตาม ข้อตกลงทีก่ าหนด 2. สภาสถาบันยึดหลักการประเมินผล งานแบบกัลยาณมิตร (ให้ขอ้ เสนอแนะ ในเชิงสร้างสรรค์)

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ วิทยาลัยและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 3. สรุปการประชุมหรือการ ประชาพิจารณ์เพือ่ พิจารณา แนวทางการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาประจาปี ซึง่ ได้เปิ ดโอกาสให้ทกุ ส่วนงานมี ส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็นและหาข้อสรุปร่วมกัน 4. สรุปการเจรจาตัวชีว้ ดั ตาม ระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาของหน่วยงาน ซึง่ ได้ เปิ ดโอกาสให้ผบู้ ริหาร ส่วนงานและบุคลากรที่ เกีย่ วข้องร่วมเจรจาและหา ข้อสรุปร่วมกัน 5. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง 1. รายงานการประเมินคณบดี แผนบริหารงานจากผลการ ประเมินคณบดี 2. แบบประเมินผลการ บริหารงาน และเกณฑ์การให้ คะแนนในการประเมินผลการ บริหารงานของ คณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย/ผูบ้ ริหาร 3. ผลการประเมินการ บริหารงานของคณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย/ผูบ้ ริหาร เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงให้เห็น ถึงการนาผลการประเมิน ไปใช้ปรับปรุงการบริหารงาน เช่น การจัดทาแผนการ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 46


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ บริหารงาน และรายงานการ ประชุม รายงานผล การดาเนินงานต่อ คณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัย (วาระพิจารณา) 4. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง

6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 หรือ 3 ข้อ

4 หรือ 5 ข้อ

6 ข้อ

7 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของสถาบันในรอบ ปี การศึกษาจัดเก็บข้อมูล (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคมของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง/ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ/ฝา่ ยการคลังและทรัพย์สนิ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 47


1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.2 : การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรียนรู้ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กาหนดให้สถาบันมีการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรูแ้ ละสังคมแห่งการ เรียนรู้ ซึง่ ต้องมีการจัดการความรูเ้ พือ่ มุง่ สูส่ ถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรูท้ ม่ี อี ยูใ่ นสถาบันซึง่ กระจัดกระจายอยูใ่ นตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็ นระบบ เพือ่ ให้ทกุ คนในสถาบันส ามารถเข้าถึงความรู้ และ พัฒนาตนเองให้เป็ นผูร้ ู้ รวมทัง้ ปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษา มี ความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรูใ้ นสถาบัน ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลีย่ นความรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก สถาบัน การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภ้ ายในสถาบัน การกาหนดแนววิธปี ฏิบตั งิ าน ตลอดจนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรูใ้ นสถาบันให้ดยี งิ่ ขึน้ 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ 1

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ มีการกาหนดประเด็นความรูแ้ ละ 1. ศึกษาเป้าประสงค์ของประเด็นยุทธ์ เป้าหมายของการจัดการความรู้ ศาสตร์เพือ่ นามาใช้ในการกาหนดแผน ทีส่ อดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ ยุทธ์ศาสตร์หรือแผนปฏิบตั กิ าร สถาบันอย่างน้อยครอบคลุม 2. ผูบ้ ริหารกาหนดทิศทางการ พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและ บริหารงานและการผลิตบัณฑิตให้ ด้านการวิจยั เป็ นไปตามอัตลักษณ์ของหน่วยงาน 3. มีการกาหนดเป้าหมายการจัดการ ความรู้ เน้นเรือ่ งการพัฒนาทักษะและ ความสามารถของบุคลากรเป็ นหลัก เกณฑ์มาตรฐาน

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการ รับผิดชอบงานการจัดการ ความรู้ (Knowledge Management) 2. รายงานการสารวจผลการ ปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นจุดเด่น ของอาจารย์หรือนักศึกษา ในวิทยาลัยหรือหลักสูตร โดยเฉพาะด้านการจัดการเรียน การสอน และการวิจยั เพือ่ นามา กาหนดประเด็นและ กลุ่มเป้าหมาย 3. แผนยุทธศาสตร์หรือ แผนปฏิบตั กิ ารในการจัดการ ความรูใ้ ห้สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย ทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจาก ผูบ้ ริหารและคณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 48


ข้อ

2

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ

4. รายงานการประชุม คณะกรรมการบริหารที่ พิจารณาแผนยุทธศาสตร์หรือ แผนปฏิบตั กิ ารในการจัดการ ความรู้ 5. เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงว่า วิทยาลัยมีเป้าหมายในการ จัดการความรู้ โดยเน้นเรือ่ งการ พัฒนาทักษะความสามารถของ บุคลากรภายในเป็ นหลัก โดย อย่างน้อยต้องครอบคลุมพันธ กิจด้านการผลิตบัณฑิตและ ด้านการวิจยั โดยอาจจะมีการ ประชุมเพือ่ ระดมความคิดเพือ่ กาหนดประเด็น หรือการจัด ประชุมสัมมนา 6. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่ 1. กลุ่มเป้าหมายทีไ่ ด้รบั การพัฒนา 1. เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงถึง จะพัฒนาความรูแ้ ละทักษะด้าน ความรูค้ วรเป็ นบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับ การกาหนดบุคลากร การผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั การผลิตบัณฑิต กลุ่มเป้าหมายทีพ่ ฒ ั นาความรู้ อย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ 2. มีการสารวจผลการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ น เช่น รายงานการประชุม ทีก่ าหนดในข้อ 1 จุดเด่นของบุคลากรและนักศึกษา เอกสารโครงการทีข่ ออนุมตั ิ ดาเนินการ 2. รายงานการสารวจผลการ ปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นจุดเด่น ของอาจารย์หรือนักศึกษา ในวิทยาลัยหรือหลักสูตร โดยเฉพาะด้านการจัดการเรียน การสอน และการวิจยั เพือ่ นามากาหนดประเด็นและ กลุ่มเป้าหมาย คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 49


ข้อ

3

เกณฑ์มาตรฐาน

มีการแบ่งปนั และแลกเปลีย่ น เรียนรูจ้ ากความรู้ ทักษะของผูม้ ี ประสบการณ์ตรง เพือ่ ค้นหา แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ตี ามประเด็น ความรูท้ ก่ี าหนดในข้อ 1 และ เผยแพร่ไปสูบ่ ุคลากร กลุ่มเป้าหมายทีก่ าหนด

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

1. ควรเชิญบุคคลทีม่ ผี ลงานดีเด่นมา ถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั บุคลากร 2. มีการส่งเสริมบรรยากาศและ วัฒนธรรมการเรียนรูใ้ ห้เกิดขึน้ ในองค์กร

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 3. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง 1. รายงานการจัดประชุม/ สัมมนา เพือ่ การแลกเปลีย่ น เรียนรูร้ ว่ มกับเจ้าของความรู้ เคล็ดลับ หรือนวัตกรรม (แสดง รายชือ่ ผูเ้ ข้าร่วมการประชุม/ สัมมนาทีเ่ ป็ นกลุ่มเป้าหมาย ตามเกณฑ์ขอ้ 2) 2. เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงถึง การจัดสรรทรัพยากร อย่างเหมาะสม ทัง้ ด้าน งบประมาณ เวลา สถานที่ เช่น ภาพถ่ายของกิจกรรมหรือ สถานทีท่ ส่ี ง่ เสริมให้หน่วยงาน มีบรรยากาศและวัฒนธรรมการ เรียนรู้ 3. เอกสารลงนาม/ภาพถ่าย/ รายงานสรุปกิจกรรม เครือข่ายด้านการจัดการความรู้ ทัง้ ภายในและภายนอวิทยาลัย 4. รายงานสรุปผลการประเมิน โครงการแต่ละโครงการ ตามแผนการจัดการความรู้ ช่องทางการเผยแพร่ประเด็น ความรูไ้ ปสูบ่ ุคลากร กลุ่มเป้าหมาย เช่น สือ่ สิง่ พิมพ์ เว็บไซต์ e-mail 5. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 50


ข้อ 4

5

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ มีการรวบรวมความรูต้ าม 1. กาหนดผูร้ บั ผิดชอบในการวิเคราะห์ ประเด็นความรูท้ ก่ี าหนดในข้อ 1 สังเคราะห์ความรูใ้ นตัวบุคคลมาเป็ น ทัง้ ทีม่ อี ยูใ่ นตัวบุคคลและแหล่ง แนวทางปฏิบตั แิ ละจัดเก็บอย่างเป็ น เรียนรูอ้ น่ื ๆ ทีเ่ ป็ นแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี ระบบ มาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็ น 2. มีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็ น สารสนเทศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ลายลักษณ์อกั ษร (explicit ในการบริหารจัดการ knowledge) 3. จัดพิมพ์วารสารเพือ่ แลกเปลีย่ น เรียนรูแ้ ละให้เกียรติเจ้าของความรู้ เกณฑ์มาตรฐาน

มีการนาความรูท้ ไ่ี ด้จากการ จัดการความรูใ้ นปี การศึกษา ปจั จุบนั หรือปี การศึกษาทีผ่ า่ น มาทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) และจาก ความรู้ ทักษะของผูม้ ี ประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ทีเ่ ป็ นแนว ปฏิบตั ทิ ด่ี มี าปรับใช้ในการ ปฏิบตั งิ านจริง

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. เอกสารประกอบการสอน เอกสารหลักฐาน/คาสัง่ ผูร้ บั ผิดชอบในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรูท้ งั ้ ทีม่ อี ยูใ่ น ตัวบุคคลและแหล่งเรียนรูอ้ น่ื ๆ ทีเ่ ป็ นแนวปฏิบตั ทิ ด่ี มี าพัฒนา และจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ 2. เอกสารความรูต้ ามประเด็น ความรู/้ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ที ่ี รวบรวมจากการจัดการความรู้ 3. ช่องทางการเผยแพร่ความรู้ เช่น เว็บไซต์ e-mail 4. วารสาร บอร์ด หรือสือ่ สิง่ พิมพ์ เพือ่ การแลกเปลีย่ น เรียนรู้ และควรยกย่องให้ เกียรติแก่ผเู้ ป็ นเจ้าของความรู้ 5. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง 1. ผูร้ บั ผิดชอบในการจัดการความรู้ 1. รายงานการติดตามการนา ควรเรียนรูแ้ นวทางการปฏิบตั ทิ ด่ี จี าก ความรูจ้ ากการจัดการความรู้ แห่งต่างๆ ไปใช้ในการทางานโดยบุคลากร 2. ควรนาความรูท้ ไ่ี ด้รบั มาปรับปรุง ทีเ่ ป็ นกลุ่มเป้าหมายใน และนามาใช้ในหน่วยงาน หน่วยงาน 3. มีการนาผลการประเมินการจัดการ 2. หนังสือรับรองการนาความรู้ ความรูม้ าใช้/ปรับปรุงการจัดการความรู้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ ของหน่วยงาน วิทยาลัยและสังคม 3. เอกสารความรู/้ แนวปฏิบตั ทิ ่ี ดีจากการจัดการความรูท้ ่ี นาไปใช้ประโยชน์ 4. เอกสาร ภาพถ่าย หรือ รายงานทีแ่ สดงการนา ความรู/้ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ไี ปใช้ ประโยชน์ในการทางาน คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 51


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ และสิง่ ทีแ่ สดงถึงประโยชน์ท่ี เกิดขึน้ 5. วาระการประชุม รายงาน การประชุม เอกสาร ประกอบการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง

6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันเรียนรูใ้ นรอบปี การศึกษาจัดเก็บข้อมูล (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคมของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 52


1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.3 : ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : สถาบันควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสินใจทีส่ อดรับกับนโยบายและการ วางแผนระดับสถาบัน เพือ่ ให้เป็ นระบบทีส่ มบูรณ์สามารถเชือ่ มโยงกับทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภายในและภายนอก เป็ นระบบทีใ่ ช้งานได้ทงั ้ เพือ่ การบริหาร การวางแผนและการตัดสินใจขอ งผูบ้ ริหารทุกระดับ เพือ่ การปฏิบตั งิ านตาม ภารกิจทุกด้านของบุคลากร เพือ่ การติดตามตรวจสอบและประเมินการดาเนินงาน ตลอดจนเพือ่ การปรับปรุงและ พัฒนาสถาบัน ทัง้ นี้ ระบบดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการใช้งานโดยประเมินจากความพึงพอใจของผูใ้ ช้ ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ ทาหน้าทีใ่ นการรวบรวมข้อมูลเข้ามาทา การประมวลผลรวมทัง้ การ วิเคราะห์เพือ่ จัดทาเป็ นสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ และนาส่งไปยังผูท้ ม่ี สี ทิ ธิได้รบั สารสนเทศเพือ่ ใช้ ใน การปฏิบตั งิ าน การบริหาร หรือการตัดสินใจ โดยมีคอมพิวเตอร์ รวมทัง้ อุปกรณ์ต่าง ๆ เป็ นเครือ่ งมือสนับสนุนการ ทางานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศในองค์การมีหลายประเภทในแต่ละประเภทมีได้หลายระบบ ทัง้ นี้ เพือ่ ตอบสนองวัตถุประสงค์เฉพาะด้านในการทางานทีแ่ ตกต่างกันออกไป 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ 1

เกณฑ์มาตรฐาน มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan)

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ 1. จัดตัง้ คณะกรรมการเพือ่ จัดทาแผน ระบบสารสนเทศ 2. แผนระบบสารสนเทศควรสอดคล้อง กับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 3. ระบบสารสนเทศต้องประกอบด้วย รายละเอียด ดังนี้ - วัตถุประสงค์ ความสามารถใน การทางานของระบบ - ความสอดคล้องของระบบต่อกล ยุทธ์ของสถาบัน - ความสัมพันธ์ของระบบทีเ่ สนอ ใหม่กบั ระบบทีใ่ ช้ในปจั จุบนั - ทรัพยากรทีต่ อ้ งการในแต่ละ ระบบ - งบประมาณทีต่ อ้ งการใช้ - การประเมินความคุม้ ค่า - การจัดลาดับความสาคัญของ ระบบ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการ จัดทาแผนการใช้ระบบ สารสนเทศ หรือแผนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ 2. แผนการใช้ระบบ สารสนสนเทศ หรือแผนการ พัฒนาระบบสารสนเทศ ทีส่ อดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน 3. รายงานการประชุม คณะกรรมการบริหารที่ พิจารณาเห็นชอบแผนการใช้ ระบบสารสนสนเทศ หรือ แผนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 53


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

2

มีระบบสารสนเทศเพือ่ การ บริหารและการตัดสินใจตาม พันธกิจของสถาบันโดยอย่าง น้อยต้องครอบคลุมการจัดการ เรียนการสอน การวิจยั การ บริหารจัดการ และการเงิน และ สามารถนาไปใช้ในการ ดาเนินงานประกันคุณภาพ

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ มีการนาระบบสารสนเทศจากการ ดาเนินงานปกติ เช่น ระบบบัญชี ระบบ การลงทะเบียนนักศึกษา ฯลฯ มาสร้าง เป็ นระบบสารสนเทศให้ผบู้ ริหารใช้ใน การบริหารงานและการตัดสินใจ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. แผนผังการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การ บริหารและการตัดสินใจ ได้แก่ ระบบสารสนเทศด้าน การจัดการเรียนการสอน • ระบบลงทะเบียนนักศึกษา • ระบบทะเบียนประวัติ นักศึกษา • เว็บเค้าโครงรายวิชา การวิจยั • งานเผยแพร่ปริญญานิพนธ์/ สารนิพนธ์ • ระบบบัญชีเงินเดือน ระบบใบเบิกเงินงบประมาณ การบริหารจัดการด้านอืน่ ๆ • ระบบสารสนเทศทรัพยากร บุคคล • ระบบงานประชุม อิเล็กทรอนิกส์ • ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ • ระบบอาคารสถานที่ 3. แผนการติดตามและรายงาน ผลการติดตามข้อมูลในระบบ 4. เอกสาร/บันทึก/รายงานการ ตรวจสอบข้อมูลในระบบเพือ่ ให้ มีความถูกต้อง 5. รายงานการประชุมทีน่ า รายงานผลการติดตามข้อมูล ในระบบเสนอต่อผูบ้ ริหาร/ คณะกรรมการบริหาร โดย ต้องมีการใช้ขอ้ มูลดังกล่าวเป็ น สารสนเทศในการบริหารและ การตัดสินใจ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 54


ข้อ 3

4

5

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ มีการประเมินความพึงพอใจของ 1. มีการทาการประเมินผลความพึง ผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ พอใจของผูใ้ ช้ระบบ ระยะเวลาในการ เก็บข้อมูล 2. ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจ ของผูใ้ ช้ระบบอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. เอกสารรายงานผลการ สารวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้ ระบบสารสนเทศวิทยาลัย ต่อ คุณภาพการบริการทีจ่ ดั ให้แก่ นักศึกษา 2. รายงานผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเสนอต่อผูบ้ ริหาร พร้อม ทัง้ รายงานการประชุมทีแ่ สดง ถึงการพิจารณานาข้อมูลไปใช้ ในการบริหารงาน มีการนาผลการประเมินความพึง 1. กาหนดผูร้ บั ผิดชอบในการวิเคราะห์ รายงานสรุปผลการดาเนินงาน พอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ ข้อมูลการประเมินผลความพึงพอใจ และประเมินผลความสาเร็จของ มาปรับปรุงระบบสารสนเทศ ของผูใ้ ช้ระบบ การดาเนินงาน ปญั หาอุปสรรค 2. นาผลการประเมินมาใช้ในการจัดทา และแนวทางแก้ไขของแผนการ แผนระบบสารสนเทศ ใช้ระบบสารสนเทศหรือ 3. แผนปรับปรุงระบบสารสนเทศควร แผนพัฒนาระบบสารสนเทศ ผ่านการพิจารณาจากผูบ้ ริหาร จากเกณฑ์ ข้อ 1 ต่อ 4. มีการดาเนินงานตามแผน คณะกรรมการวิทยาลัยเพือ่ พิจารณาให้ขอ้ เสนอแนะในการ ปรับปรุงแผน มีการส่งข้อมูลผ่านระบบ มีการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายของ 1. เอกสารรายงานการประเมิน เครือข่ายของหน่วยงาน สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตนเองของวิทยาลัยนวัตกรรม ภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามที่ (CHE QA online) ในระบบ CHE QA online กาหนด 2.เอกสารการระบบรายงานผล การปฏิบตั ริ าชการออนไลน์ 3. แผนการใช้ระบบสารสนเทศ หรือแผนการพัฒนาระบบ สารสนเทศทีป่ รับปรุงตาม ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ วิทยาลัยจากการพิจารณา ในเกณฑ์ขอ้ 4 เกณฑ์มาตรฐาน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 55


6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสินใ จในรอบปี การศึกษาจัดเก็บข้อมูล (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคมของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 56


1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.4 : ระบบบริ หารความเสี่ยง 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : เพือ่ ให้สถาบันอุดมศึกษามีระบบบริหารความเสีย่ ง โดยการบริหารและควบคุมปจั จัย กิจกรรมและ กระบวนการดาเนินงานทีอ่ าจเป็ นมูลเหตุของความเสียหาย (ทัง้ ในรูปของตัวเงิน หรือไม่ใช่ตวั เงิน เช่น ชือ่ เสียง และ การฟ้องร้องจากการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความคุม้ ค่า ) เพือ่ ให้ ระดับความเสีย่ ง และขนาดของความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับและควบคุมได้ โดยคานึงถึง การเรียนรูว้ ธิ กี ารป้องกันจากการคาดการณ์ปญั หาล่วงหน้าและโอกาสในการเกิด เพือ่ ป้องกันหรือบรรเท าความรุนแรง ของปญั หา รวมทัง้ การมีแผนสารองต่อภาวะฉุกเฉิน เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าระบบงานต่าง ๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการ ปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องและทันต่อการเปลีย่ นแปลง เพือ่ การบรรลุเป้าหมายของสถาบัน ตามยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์เป็ นสาคัญ 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ 1

2

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการหรือ 1. มีการตัง้ คณะกรรมการหรือ คณะทางานบริหารความเสีย่ ง คณะทางานโดยมีผบู้ ริหารระดับสูงและ โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงและ ตัวแทนทีร่ บั ผิดชอบพันธกิจของ ตัวแทนทีร่ บั ผิดชอบพันธกิจของ สถาบัน สถาบันร่วมเป็ นคณะกรรมการ 2. มีการระบุรายละเอียดการทางาน หรือคณะทางาน ของคณะกรรมการ เช่น หน้าที่ กาหนด ระยะเวลาการประชุมอย่างสม่าเสมอ เกณฑ์มาตรฐาน

มีการวิเคราะห์และระบุความ เสีย่ ง และปจั จัยทีก่ อ่ ให้เกิด ความเสีย่ งอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของสถาบัน จาก ตัวอย่างต่อไปนี้ - ความเสีย่ งด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานที)่

1. วิเคราะห์ ระบุปจั จัยความเสีย่ งที่ ส่งผลต่อความเสียหายของการบริหาร 2. พิจารณาเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ในอนาคต 3. ปจั จัยทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหาย 4. จัดลาดับความสาคัญความเสีย่ ง

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการ หรือคณะทางานการบริหาร ความเสีย่ ง ทีม่ ผี บู้ ริหาร ระดับสูงของหน่วยงานร่วมใน คณะกรรมการ/คณะทางาน 2. หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ คาอธิบายคุณลักษณะของาน (job description) ของ คณะกรรมการบริหารความ เสีย่ ง 3. รายงานการประชุมของ คณะกรรมการหรือคณะทางาน 1. แผนบริหารความเสีย่ งทีม่ ี การวิเคราะห์และระบุ ความเสีย่ ง และปจั จัยที่ ก่อให้เกิดความเสีย่ งอย่าง น้อย 3 ด้าน - ความเสีย่ งด้านทรัพยากร - ความเสีย่ งด้านยุทธศาสตร์ - ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั งิ าน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 57


ข้อ

3

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

- ความเสีย่ งด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์สถาบัน - ความเสีย่ งด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั งิ าน เช่น ความเสีย่ งของ กระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจยั ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสีย่ งด้านบุคลากรและ ความเสีย่ งด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของ อาจารย์และบุคลากร - ความเสีย่ งจากเหตุการณ์ ภายนอก มีการประเมินโอกาสและ 1. กาหนดระดับความเสีย่ ง เช่น สูง ผลกระทบของความเสีย่ งและ กลาง ต่า จัดลาดับความเสีย่ งทีไ่ ด้จากการ 2. กาหนดเกณฑ์ประเมินความเสีย่ ง วิเคราะห์ในข้อ 2 3. ประเมินโอกาสในการเกิดความเสีย่ ง 4. ประเมินผลกระทบความเสีย่ ง

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 2. เอกสารอืน่ ๆ ทีใ่ ช้ ประกอบการวิเคราะห์ความ เสีย่ ง เช่น เอกสารสรุปสถิติ จานวนอาจารย์ทด่ี ารงตาแหน่ง ทางวิชาการ 3. รายงานการประชุมของ คณะกรรมการหรือคณะทางาน บริหารความเสีย่ งทีม่ วี าระ พิจารณา เพือ่ วิเคราะห์และระบุ ความเสีย่ งในหน่วยงาน

1. แผนบริหารความเสีย่ ง ทีม่ ี การประเมินโอกาสและ ผลกระทบของความเสีย่ งและ จัดลาดับความเสีย่ งที่ ได้แสดงในเกณฑ์ขอ้ 2 2. เอกสารอืน่ ๆ ทีใ่ ช้ในการ ประเมินโอกาสและผลกระทบ ของความเสีย่ ง เช่น คูม่ อื การ บริหารความเสีย่ ง บันทึกการ ประเมินโอกาสและผลกระทบ ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพือ่ แสดงว่าความเสีย่ งนัน้ ได้ ผ่านการประเมินในเบือ้ งต้น แล้ว 3. รายงานการประชุมของ คณะกรรมการ/คณะทางาน ทีแ่ สดงวาระการประเมินโอกาส และผลกระทบของความเสีย่ ง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 58


ข้อ 4

5

6

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ มาตรฐานกระบวนการ ในการประเมิ นคุณภาพ มีการจัดทาแผนบริหารความ 1. จัดทาแผนบริหารความเสีย่ ง (ลด/ 1. แผนบริหารความเสีย่ งทีม่ ี เสีย่ งทีม่ รี ะดับความเสีย่ งสูงและ ป้องกันความเสีย่ ง) ระดับความเสีย่ งสูง ดาเนินการตามแผน 2. สร้างมาตรการควบคุมความเสีย่ ง (ความเสีย่ งทีจ่ ดั ลาดับในเกณฑ์ ข้อ 3 แล้วอยูใ่ นระดับทีส่ าคัญ ทีส่ ดุ อย่างน้อย 3 ความเสีย่ ง) 2. รายงานการประชุมทีน่ าแผน บริหารความเสีย่ งทีม่ รี ะดับ ความเสีย่ งสูงเสนอต่อ คณะกรรมการบริหาร เพือ่ พิจารณา 3. เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงถึง การดาเนินงานตามแผน บริหารความเสีย่ ง เช่น รายงานการดาเนินการลด หรือป้องกันความเสีย่ งตามแผน มีการติดตาม และประเมินผล 1. มีการรายงานความก้าวหน้า/ผลการ 1. รายงานการประชุมทีม่ วี าระ การดาเนินงานตามแผน และ ดาเนินงานตามแผน เกีย่ วกับการรายงาน รายงานต่อสภาสถาบันเพือ่ 2. มีรายงานสรุปผลการดาเนินงาน ความก้าวหน้าหรือผลการ พิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ ประเมินผลสาเร็จของการดาเนินงาน ดาเนินงานตามแผนต่อ คณะกรรมการวิทยาลัย 2. รายงานการประชุมทีม่ วี าระ เกีย่ วกับการรายงานสรุปผล การดาเนินงานและประเมินผล ความสาเร็จของการดาเนินงาน ปญั หาอุปสรรคและแนว ทางการแก้ไข พร้อม ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง แผนการดาเนินงานต่อ คณะกรรมการวิทยาลัย มีการนาผลการประเมิน และ แผนบริหารความเสีย่ งในปี ถดั ไปควร 1. รายงานผลการพัฒนา ข้อเสนอแนะจากสภาสถาบันไป พิจารณาความเสีย่ งทีเ่ หลืออยู่ ข้อเสนอ ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ ใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ จากสภาสถาบัน ความเสีย่ งจาก คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ความเสีย่ งในรอบปี ถดั ไป นโยบายหรือสภาพแวดล้อมที่ 2. แผนบริหารความเสีย่ ง เปลีย่ นแปลงไป ในรอบปี ถดั ไป (มีสาระที่ เกณฑ์มาตรฐาน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 59


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกระบวนการ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ สอดคล้องกับผลการประเมิน/ ข้อเสนอแนะ)

6. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 หรือ 4 ข้อ

5 ข้อ

6 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ระบบบริหารความเสีย่ ง ในรอบปี การศึกษาจัดเก็บข้อมูล พฤษภาคมของปี ถดั ไป) 8. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง/ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ

(1 มิถุนายน – 31

1. ตัวบ่งชี้ สมศ. 13 : การปฏิ บตั ิ ตามบทบาทหน้ าที่ ของผู้บริ หารสถาบัน คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 60


2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต 3. หน่ วยวัด : ค่าเฉลีย่ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : การประเมินผลตามหน้าทีแ่ ละบทบาทของผูบ้ ริหารในการบริหารและการจัดการให้บรรลุผลสาเร็จตามแผน กล ยุทธ์และแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา จะมุง่ เน้นการประเมินคุณภาพของการบริหารงานตาม นโยบายของสภาสถาบันอุดมศึกษาประสิทธิผลของแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ความสามารถในการบริหารและการจัดการตาม หลักธรรมาภิบาลของผูบ้ ริหาร 5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น เกณฑ์

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม

ค่าคะแนนการประเมินผล

ข้อมูลประกอบการพิ จารณา

ผูบ้ ริหารโดยคณะกรรมการที่

1. เอกสารหรือหลักฐานทีแ่ สดงรายละเอียดการ

สภาสถาบันแต่งตัง้ (คะแนน

กาหนดหรือทบทวนนโยบายการกากับดูแล

เต็ม 5)

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมทัง้ ทบทวนกรอบ ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาตามหน้าทีแ่ ละบทบาทของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา 2. เอกสารหรือหลักฐานทีแ่ สดงรายละเอียดการ ดาเนินการตามระบบการกากับดูแลสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือ

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ 1. รายงานการประชุม คณะกรรมการบริหารทีม่ วี าระ พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์และ วิธกี ารในการประเมินผูบ้ ริหาร วิทยาลัย 2. แบบประเมินผล และเกณฑ์การ ให้คะแนนในการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารวิทยาลัย 3. คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะผูป้ ระเมิน ผูบ้ ริหารวิทยาลัย 4. ผลการประเมินการปฏิบตั งิ าน ของผูบ้ ริหารวิทยาลัย

รายงานหรือบันทึกการประชุมทีแ่ สดงให้เห็นว่า ผูบ้ ริหารสถานศึกษาได้กาหนดให้มกี ระบวนการที่ เป็ นรูปธรรมในการจัดการเพือ่ ให้เกิดการควบคุมและ ตรวจสอบการดาเนินงานของสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา 3. เอกสารหรือหลักฐานทีแ่ สดงให้เห็นว่าผูบ้ ริหาร สถานศึกษา มีการติดตามผลการดาเนินงานสาคัญ เช่น ระบบในด้านนโยบายและแผน ด้านการ บริหารงานบุคล ด้านการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของ คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 61


เกณฑ์

คาอธิ บายเพิ่ มเติ ม

ตัวอย่างเอกสารที่ ใช้ ในการประเมิ นคุณภาพ

สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทีเ่ ป็ นมติสภาสถาบัน 4. เอกสารหรือหลักฐานทีแ่ สดงให้เห็นถึงนโยบาย ของสถานศึกษา ทีก่ าหนดให้มรี ะบบการประเมิน ผูบ้ ริหารโดยคณะกรรมการทีส่ ภาสถาบันแต่งตัแง้ ละ มีการดาเนินงานตามระบบนัน้ 5. รายงานการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทัง้ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการตัดสินใจของผูบ้ ริหาร สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา 6. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผลการประเมินผูบ้ ริหารโดยคณะกรรมการทีส่ ภาสถาบันแต่งตัง้ 7. ผู้รบั ผิ ดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้ : ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 62


ภาคผนวก

ภาคผนวก ก คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 63


ตัวอย่างการเขียนผลการดาเนินงานของแต่ละตัวบ่งชีใ้ นรา คุณภาพ ประกอบด้วย 7 หัวข้อหลัก ดังนี้ 1. ตัวบ่งชี้......... : ชื่อตัวบ่งชี้ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ปจั จัยนาเข้า หรือกระบวนการ หรือผลผลิต 3. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

ยงานการประเมินตนเองสาหรับตัวบ่งชี้

คะแนน 4

คะแนน 5

4. ผลการดาเนิ นงาน : มีผลการดาเนินงาน......................... ข้อโดยมีรายละเอียด ดังนี้ ผลการดาเนิ นงาน เอกสารอ้างอิ ง - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 2 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 4 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 5 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน 5. ผลการประเมิ นของคณะกรรมการปี ที่ผา่ นมา เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ จานวนข้อ จานวนข้อ 6. ผลการประเมิ นตนเอง ปี การศึกษา ............ เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ จานวนข้อ

จานวนข้อ

คะแนนประเมิ น จากกรรมการ คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนประเมิ น ตนเอง คะแนนทีไ่ ด้

7. ผลการประเมิ นของคณะกรรมการประเมิ นคุณภาพ ปี การศึกษา ............ เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ คะแนนประเมิ นจาก

บรรลุเป้ าหมาย บรรลุ หรือ ไม่บรรลุ บรรลุเป้ าหมาย บรรลุ หรือ ไม่บรรลุ

บรรลุเป้ าหมาย

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 64


(เว้นว่างไว้สาหรับ ผูป้ ระเมิน)

(เว้นว่างไว้สาหรับ ผูป้ ระเมิน)

กรรมการ (เว้นว่างไว้สาหรับ ผูป้ ระเมิน)

(เว้นว่างไว้สาหรับ ผูป้ ระเมิน)

ภาคผนวก ข ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 65


 ฝ่ ายวิ จยั และพัฒนาคุณภาพ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนิ นการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งชีส้ มศ.16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นทีส่ ง่ ผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ สมศ.5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ สมศ.6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ สมศ.7 ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ ตัวบ่งชี้ มธ.3 ร้อยละของบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ CITU 2 ระดับความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.18 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในด้านต่างๆ 18.1 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน 18.2 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน องค์ประกอบที่ 9 ระบบและและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ สกอ. 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ สมศ.15 ผลการประเมินคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายบริ การการศึกษา คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 66


องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา ตัวบ่งชี้ สมศ.2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตัวบ่งชี้ สมศ.3 ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ CITU 1 ร้อยละของบทความวิชาการหรือบทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระทีต่ พี มิ พ์ต่อจานวน งานค้นคว้าอิสระ องค์ประกอบที่ 3 กิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ สกอ. 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่ าวสาร ตัวบ่งชี้ สกอ.3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบ่งชี้ มธ. 1 ร้อยละของกิจกรรมอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนหรือการวิจยั องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สกอ. 6.1 ระบบและกลไกในการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายบริ หารส่วนกลาง คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 67


องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย์ องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.1 ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง ตัวบ่งชี้ สมศ. 13 การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสถาบัน

ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายการคลังและทรัพย์สิน คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 68


องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ สกอ. 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  หลักสูตร MSI (คุณพาวิ ณี) คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 69


องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.9 ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 70


 ศูนย์พทั ยา (LR) องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม

ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 71


 อาจารย์ประจาวิ ทยาลัย องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา (ข้อ 4, 5,7) องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ข้อ 2) ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ข้อ 2, 3, 4) ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ สมศ.5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ สมศ.6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ สมศ.7 ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สงั คม (ข้อ 2, 3, 4, 5) ตัวบ่งชี้ สมศ.8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนหรือการวิจยั

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 72


ภาคผนวก ค แผนการดาเนิ นงานประกันคุณภาพ วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาตร์ ประจาปี การศึกษา 2554 ลาดับ กิ จกรรม ผูร้ บั ผิดชอบ ที่ 1 การอบรมบุคลากรสายสนับสนุนและสายวิชาการ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน “การส่งเสริมความรูแ้ ละสร้างความเข้าใจด้านการ และวิจยั ประกันคุณภาพการศึกษา” -ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ 2 จัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารการจัดทาแผนปรับปรุง - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน คุณภาพ แผนการดาเนินงาน ประจาปี การศึกษา และวิจยั 2554 -ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ 3 จัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพจากการประเมิน - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2553 คุณภาพ และแผนการดาเนินงานประกันคุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ปี การศึกษา 2554 ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ 4 ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงานประกัน ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ (รอบ 9 เดือน) คุณภาพ 5 ส่งรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานตามตัว ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา บ่งชีร้ ายองค์ประกอบ (9 เดือน) คุณภาพ ไปยัง มธ. ตามที่ มธ. กาหนด

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 73


ลาดับ กิ จกรรม ที่ 6 จัดประชุมเจ้าหน้าที/่ ฝา่ ยงานฯ ทีร่ บั ผิดชอบ ตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพเกีย่ วกับเกณฑ์ตวั บ่งชีแ้ ละ

ผูร้ บั ผิดชอบ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ

การจัดเก็บเอกสารอ้างอิงตัวบ่งชี้ 7

8 9

10

- ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 คุณภาพ จัดประชุมคณะกรรมการแผนฯ และผูร้ บั ผิดชอบ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน แต่ละองค์ประกอบตรวจ/แก้ไขข้อมูลร่าง SAR และวิจยั ครัง้ สุดท้าย - คณะกรรมการแผนฯ - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ รายงานข้อมูลการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 ผ่านระบบ คุณภาพ CHE QA Online ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงาน ประกันคุณภาพตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ (รอบ 12 เดือน)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 74


ลาดับ กิ จกรรม ที่ 11 จัดส่งรายงานการประเมินตนเอง (SAR) วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 (กาหนดส่ง SAR คณะ/สานัก/สถาบัน วันศุกร์ที่ 29 มิ ถนุ ายน 2555) 12 ประชุมเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2554

13

ผูร้ บั ผิดชอบ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ

- รองคณบดีฝา่ ยวางแผน และวิจยั - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ รับการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ปี การศึกษา - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน 2554 จากคณะกรรมการประเมินภายใน และวิจยั - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 75


ภาคผนวก ง แบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 76


ตารางพืน้ ฐาน 3 จานวนบุคลากรทุกประเภทจาแนกตามสายงาน ปี การศึกษา 2554 คณะ/หน่ วยงานจัดการเรียนการสอน วิ ทยาลัยนวัตกรรม ผูด้ แู ลตัวบ่งชี้: ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล: นายกิตติศกั ดิ ์ กันยาวิลาศ

โทรศัพท์: 02-623-5055-8

โทรศัพท์: 02-623-5055-8 ต่อ 4122-3

ประเภทบุคลากร

จานวนบุคลากร ปฏิ บตั ิ งานจริง

จานวนบุคลากร ลาศึกษาต่อ

จานวนบุคลากร ทัง้ หมด

1. จานวนบุคลากรสายสนับสนุน 1.1 นักวิ จยั - ข้าราชการ - พนักงาน - ลูกจ้างงบพิเศษ/เงินรายได้ รวมนักวิ จยั 1.2 บุคลากรตาแหน่ งอื่นๆ - ข้าราชการ - พนักงาน - ลูกจ้างงบพิเศษ/เงินรายได้ รวมบุคลากรตาแหน่ งอื่นๆ รวมบุคลากรสายสนับสนุน (1.1+1.2) 2. จานวนบุคลากร (ลูกจ้างประจา ลูกจ้าง เงิ นงบประมาณอื่นที่มีลกั ษณะงาน เทียบเท่าลูกจ้างประจา) รวมบุคลากรทัง้ หมด (1+2) การนับจานวนบุคลากร ให้นบั ระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 9-12 เดือน คิดเป็ น 1 คน 6 เดือนขึน้ ไปแต่ไม่ถงึ 9 เดือน คิดเป็ น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนามานับได้

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 77


แบบฟอร์มตัวบ่งชี้สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาที่ มีคณ ุ วุฒิปริ ญญาเอก ปี การศึกษา 2554 แบบฟอร์มตัวบ่งชี้สกอ.2.3 อาจารย์ประจาที่ ดารงตาแหน่ งทางวิ ชาการ แบบฟอร์มที่ 2.2 และ 2.3 -1 จานวนอาจารย์จาแนกตามวุฒิการศึกษาและตาแหน่ งทางวิ ชาการ คณะ/หน่ วยงานจัดการเรียนการสอน วิ ทยาลัยนวัตกรรม ผู้ดแู ลตัวบ่งชี้:.................................... ผู้จัดเก็บข้ อมูล: .......................... โทรศัพท์ :

โทรศัพท์ : จานวนอาจารย์ทงั ้ หมด ณ วันสิ้ นสุดปี การศึกษาที่จดั เก็บข้อมูล (31 พฤษภาคม)

ตาแหน่ งทางวิ ชาการ

วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ปฏิ บตั ิ งานจริง

ลาศึกษาต่อ

ปริญญาโท ปฏิ บตั ิ งานจริง

ลาศึกษาต่อ

ปริญญาเอก ปฏิ บตั ิ งานจริง

ลาศึกษาต่อ

รวม ปฏิ บตั ิ งานจริง

ลาศึกษาต่อ

สาขา....................... อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ รวม สาขา...................... อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 78


รวม รวมทุกสาขา อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ รวมอาจารย์ทงั ้ หมด

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 79


แบบฟอร์มตัวบ่งชี้สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคณ ุ วุฒิปริญญาเอก ปี การศึกษา 2554 แบบฟอร์มตัวบ่งชี้สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่ งทางวิ ชาการ แบบฟอร์มตัวบ่งชี้ สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์ แบบฟอร์มที่ 2.2 และ 2.3-2 รายชื่ออาจารย์จาแนกตามวุฒิการศึกษาและตาแหน่ งทางวิ ชาการ คณะ/หน่ วยงานจัดการเรียนการสอน วิ ทยาลัยนวัตกรรม ผูด้ แู ลตัวบ่งชี้: ฝา่ ยบริหารส่วนกลาง โทรศัพท์: 02-623-5055-8

ลาดับที่

รวม

ชื่อ - สกุล

ตาแหน่ งทาง วิชาการ (อาจารย์ /ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ / รอง ศาสตราจารย์ / ศาสตราจารย์ )

วุฒกิ ารศึกษา สูงสุด (ปริญญาตรี/ ปริญญาโท/ ปริญญาเอก)

ระยะเวลาใน การปฏิบัตงิ าน (---ปี ---เดือน)

นับจานวน

ค่ านา้ หนัก

(0, 0.5, 1 คน)

(โปรดระบุ)

(1)

(2)

(4)

ถ่ วงนา้ หนัก (3) = (1)*(2)

หมายเหตุ

(5)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 80


หมาย เหตุ

1. การแจงนับจานวนอาจารย์ ให้ นับระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 912 เดือนคิดเป็ น 1 คน, 6 เดือนขึน้ ไปแต่ไม่ถงึ 9 เดือน คิดเป็ น 0.5 คน, น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถ นามานับได้ 2. การแจงนับวุฒกิ ารศึกษา ให้นบั ณ วันสิน้ สุดปี การศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล (31 พฤษภาคม) 3. เกณฑ์การกาหนดค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้ วุฒกิ ารศึกษา

ปริญญ าตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

0

2

5

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์

1

3

6

รองศาสตราจารย์

3

5

8

ศาสตราจารย์

6

8

10

(5) (4)

......................... ..

4. ในช่องหมายเหตุ ให้ระบุขอ้ มูลการลาศึกษาต่อ หรือลาประเภทอืน่ ทีม่ ลี กั ษณะใกล้เคียง กัน เช่น ลาเพิม่ พูนความรูท้ างวิชาการ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 81


แบบฟอร์มตัวบ่งชี้สกอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ปี การศึกษา................ แบบฟอร์มที่ 2.5-1 สัดส่วนเครือ่ งคอมพิ วเตอร์ต่อจานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า คณะ/หน่ วยงานที่จดั การเรียนการสอน…………………………………….....… ผูด้ แู ลตัวบ่งชี้: ...................................... ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล:............................... โทรศัพท์: …………………………. โทรศัพท์: …………………………. สาขาวิ ชา

นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES)

ระดับปริญญาตรี โครงการปกติ สาขา...................................... สาขา...................................... โครงการพิเศษ สาขา...................................... สาขา...................................... ระดับประกาศนี ยบัตรบัณฑิ ต โครงการปกติ สาขา...................................... สาขา...................................... โครงการพิเศษ สาขา...................................... สาขา......................................

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 82


ระดับปริญญาโท โครงการปกติ สาขา...................................... สาขา...................................... โครงการพิเศษ สาขา...................................... สาขา...................................... ระดับปริญญาเอก โครงการปกติ สาขา...................................... สาขา...................................... โครงการพิเศษ สาขา...................................... สาขา...................................... รวมทัง้ หมด จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ทจ่ี ดั บริการให้นกั ศึกษา (ทัง้ นี้ให้นบั รวม Notebook และ Mobile device ต่างๆ ของนักศึกษาทีม่ กี ารลงทะเบียนการใช้ wifi กับคณะหรือ มหาวิทยาลัยด้วย)

สัดส่วนคอมพิวเตอร์ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 83


แบบฟอร์ มที่ 2.5-2 ผลประเมินคุณภาพของบริการ คณะ/หน่ วยงานที่จัดการเรียนการสอน..................................................... ผูด้ แู ลตัวบ่งชี้: ................................... ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล:............................... โทรศัพท์: …………………………. โทรศัพท์: ………………………….

ลาดับที่

การประเมิ น

จานวนผู้ตอบ แบบประเมิ น

ค่าเฉลี่ย (เที ยบจาก คะแนนเต็ม 5)

1 ผลการประเมินคุณภาพการให้บริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรูอ้ น่ื ๆ ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นกั ศึกษา 2 ผลการประเมินคุณภาพการให้บริการด้านกายภาพทีเ่ หมาะสมต่อการจัดการเรียนการ สอนและการพัฒนานักศึกษา อาทิ ห้องเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร อุปกรณ์การศึกษา และจุด เชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย 3 ผลการประเมินคุณภาพการให้บริการสิง่ อานวยความสะดวกทีจ่ าเป็ นอืน่ ๆ เช่น อาทิ งาน ทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการ รักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา 4 ผลการประเมินคุณภาพในการให้บริการสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของ อาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อาทิ ประปา ไฟฟ้า ระบบกาจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทัง้ มีอปุ กรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็ นไปตามกฎหมายที่ เกีย่ วข้อง

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 84


แบบฟอร์มตัวบ่งชี้สมศ. 11 : การพัฒนาสุนทรียภาพในมิ ติ ทางศิ ลปะและวัฒนธรรม ปี การศึกษา 2554 คณะ/หน่ วยงานจัดการเรียนการสอน ................................... ผู้ดแู ลตัวบ่งชี้...................................... โทรศัพท์: .........................................

ลาดับที่

1 2

การประเมิ น

ผู้จดั เก็บข้อมูล:....................................... โทรศัพท์:............................................ ระดับความพึงพอใจของบุคลากร ค่าเฉลี่ย (เทียบ จานวนผูต้ อบแบบ จากคะแนน ประเมิ น เต็ม 5)

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา จานวนผูต้ อบ แบบประเมิ น

ค่าเฉลี่ย (เทียบจาก คะแนนเต็ม 5)

ค่าเฉลี่ยรวม (เทียบจาก คะแนนเต็ม 5)

การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในสถาบันทีก่ ่อให้เกิด วัฒนธรรมทีด่ ี สิง่ แวดล้อมด้านความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย์

3

ปรับแต่งและรักษาภูมทิ ศั น์ให้สวยงาม สอดคล้องกับ ธรรมชาติ และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม

4

การจัดการให้มพี น้ื ทีแ่ ละกิจกรรมทางวัฒนธรรมทีเ่ อือ้ และส่งเสริมให้นกั ศึกษาและบุคลากรมีสว่ นร่วมอย่าง สม่าเสมอ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 85


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.