20160331 advanc form561 2015 th

Page 1

แบบ 56-1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2558

บริ ษัท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)


สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. ปั จจัยความเสี่ยง 4. ทรัพย์สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอื่น

1 9 29 38 45 54

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 8. โครงสร้ างการจัดการ 9. การกากับดูแลกิจการ 10. การดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน 11. การบริ หารจัดการความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวสอบภายใน 12. รายการระหว่างกัน

1 3 24 35 36 46

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 14. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ การรั บรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 ประวัติกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุม เลขานุการบริษัท หัวหน้ าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษัท เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริษัทย่อย และบริษัทที่เกี่ยวข้ อง (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย เอกสารแนบ 3 (1) ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน (2) รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ (3) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

1 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) หรื อ เอไอเอส ได้ พฒ ั นาเพื่อก้ าวเข้ าสูก่ ารเป็ น “ผู้ให้ บริ การด้ านดิจิทลั ไลฟ์ ” โดยดาเนินธุรกิจหลัก 3 ประการ ได้ แก่ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง และดิจิทลั คอนเทนต์ ปั จจุบนั นี ้ เอไอเอส เป็ นผู้น าด้ า นการให้ บ ริ ก ารโทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ ใ นประเทศไทย โดยมี ส่ว นแบ่ ง ทางการตลาดเชิ ง รายได้ อ ยู่ที่ ร้ อยละ 52 และ มีผ้ ใู ช้ บริ การจานวน 38.5 ล้ านเลขหมายทัว่ ประเทศ เอไอเอสให้ บริ การเทคโนโลยี 2G บนเครื อข่าย 900 เมกะเฮิรตซ์ ตามสัญญา ร่ วมการงานที่มีกับ บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ซึ่งสิน้ สุดลงในเดือนกัน ยายน 2558 และอยู่ในช่วงระยะเวลาของประกาศ มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชั่วคราวในกรณีสิ ้นสุดการอนุญาตสัมปทาน จนกว่าจะมีคาสัง่ สิ ้นสุดมาตรการคุ้มครอง ดังกล่าวจากสานักงานคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียง กิ จการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ส่วน เทคโนโลยี 3G นัน้ ปั จจุบนั ที่ความครอบคลุมทัว่ ประเทศ และดาเนินงานภายใต้ ระบบใบอนุญาตคลื่น 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ที่ออกโดย กสทช. เมื่อเดือนธันวาคม 2555 และจะสิ ้นสุดในปี 2570 นอกจากนัน้ เอไอเอสกาลังจะเปิ ดให้ บริ การเทคโนโลยี 4G บนระบบ ใบอนุญ าตคลื่น 1800 เมกะเฮิ ร ตซ์ ซึ่ง ออกโดยกสทช. เมื่ อเดื อนพฤศจิ ก ายน 2558 และจะสิ ้นสุดในปี 2576 ปั จจุบัน นี ้ เอไอเอสให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทังบริ ้ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศ บริ การโทรศัพท์ทางไกล (International direct dialing หรื อ IDD) และบริ การข้ ามแดนโรมมิ่ง ด้ วยพฤติกรรมของผู้บริ โภคที่เปลีย่ นแปลงไป มีแนวโน้ มที่จะต้ องการการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตตลอดเวลามากขึ ้น เอไอเอสจึง เข้ ามาดาเนินธุรกิ จอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง โดยเปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการเมื่อเดือนเมษายน 2558 ภายใต้ แบรนด์ “เอไอเอส ไฟเบอร์ ” ด้ วยเทคโนโลยี FTTx ที่เชื่ อมต่อด้ วยไฟเบอร์ ตรงเข้ าสู่บ้านหรื ออาคาร โดยใช้ โครงข่ายไฟเบอร์ ที่ได้ วางครอบคลุม ทัว่ ประเทศ ภายในระยะเวลา 9 เดือน ของการดาเนินงาน เอไอเอสไฟเบอร์ สามารถวางเครื อข่ายครอบคลุมได้ ถึง 1.7 ล้ านครัวเรื อน โดยมีลกู ค้ าทังสิ ้ ้น 44,000 ราย ปั จจุบนั นี ้อัตราการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงในตลาดยังมีไม่มากนัก ด้ วยแบรนด์ที่แข็งแกร่ ง เอไอเอสจึงตังเป ้ ้ าหมายที่จะเป็ นหนึง่ ในผู้ให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงรายหลักในตลาดภายใน 3 ปี นอกจากนี ้ เอไอเอสยังก้ าวเข้ าสูธ่ ุรกิจดิจิทลั คอนเทนต์อย่างเต็มตัว เพื่อคงความเป็ นผู้นาในยุคดิ จิทลั โดยบริ ษัทได้ สร้ างระบบ การพัฒนาธุรกิจแบบเชื่อมโยงร่ วมกับพันธมิตรทางธุรกิจผู้มีความสามารถ เอไอเอสได้ ม่งุ พัฒนาธุรกิจดิจิทลั คอนเทนต์ทงั ้ 5 ด้ าน ได้ แก่ วิดีโอ เกม ธุรกรรมทางการเงินผ่านมือถือ คลาวด์ และการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (M2M) ที่จะช่วยเพิ่มความสะดวกสบาย ให้ กบั ลูกค้ า และยังเป็ นแหล่งรายได้ ใหม่ให้ กบั บริ ษัท แทนการใช้ งานโทรศัพท์และอินเทอร์ เน็ตเพียงเท่านัน้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

1.1 วิสัยทัศน์ และพันธกิจ วิสัยทัศน์ เป็ นผู้นาสร้ างสรรค์ตลาดการสือ่ สารโทรคมนาคมในประเทศไทยและมุง่ หมายที่จะเป็ นผู้ให้ บริ การเทคโนโลยีดิจิทลั ที่ได้ รับการ ยอมรับสูงสุด พันธกิจ 

 

เอไอเอสมุง่ มัน่ ที่จะส่งมอบบริ การที่เหนือกว่าและสร้ างนวัตกรรมที่สง่ เสริ มการดาเนินชีวิตประจาวัน และเพิ่มศักยภาพในการ ประกอบธุรกิจของผู้ใช้ บริ การให้ ดีขึ ้น เอไอเอสมุง่ มัน่ ใส่ใจบริ การลูกค้ า เพื่อสร้ างความผูกพันกับผู้ใช้ บริ การ เอไอเอสมุ่งมัน่ ที่จะเสริ มสร้ างวัฒนธรรมการทางานที่กระฉับกระเฉงให้ บุคลากรมีความเป็ นมืออาชีพและมีแนวคิดในการ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจเพื่อการเติบโตขององค์กร เอไอเอสมุ่งมัน่ ในการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืนและสร้ างคุณค่าร่ วมกับสังคมด้ วยการใส่ใจดูแลผลประโยชน์อย่างเป็ นธรรมต่อ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียของบริ ษัททุกกลุม่

ส่วนที่ 1 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

1.2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สาคัญในปี 2558 กลยุทธ์ และธุรกิจโดยรวม  29 มกราคม 2558 เอไอเอส แถลงวิสย ั ทัศน์การดาเนินงานปี 2558 ด้ วยแนวคิด “LIVE Digital, LIVE More” เพื่อยกระดับ ชีวิตคนไทยและประเทศไทยเข้ าสูย่ คุ เศรษฐกิจดิจิทลั โดยมีเป้าหมายสู่ “ผู้สร้ างสรรค์ บริ การดิจิทลั เพื่อคนไทย Your Digital Life Partner” ครอบคลุมทังการพั ้ ฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานและบริ การด้ านดิจิทลั รวมไปถึงการเป็ นพันธมิตรทางบริ การดิจิทลั แก่ทกุ กลุม่  2 มิถน ุ ายน 2558 เอไอเอส เปิ ดให้ บริ การ “Co–Location” ให้ เช่าพื ้นที่สาหรับติดตังอุ ้ ปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย โดยมีโครงสร้ างพื ้นฐานที่ได้ มาตรฐานและเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม รวมถึงระบบอานวยความสะดวกต่างๆ ที่ออกแบบตาม มาตรฐาน UPTIME INSTITUTE และ TIA - 942 เบ็ดเสร็ จ เพื่อให้ ลกู ค้ าองค์กรตลอดจนลูกค้ า SME สามารถลดต้ นทุนในการ จัดเตรี ยมระบบสนับสนุนด้ านไอทีและบริ หารจัดการได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสูงสุด  15 มิถุนายน 2558 เอไอเอส รั บมอบใบรั บรองมาตรฐานระบบบริ หารจัด การความมัน ่ คงปลอดภัยสารสนเทศ ISO/IEC 27001:013 จาก บริ ษัท บูโร เวอริ ทสั เซอทิฟิเคชัน่ (ประเทศไทย) จากัด และ UKAS (The United Kingdom Accreditation Service) ซึง่ เป็ นการยกระดับระบบบริ หารจัดการความปลอดภัยข้ อมูลของศูนย์บริ การ เอไอเอส ดาต้ า เซ็นเตอร์ เพื่อให้ กลุม่ ลูกค้ าองค์กรมัน่ ใจในศักยภาพการให้ บริ การ  10 กันยายน 2558 เอไอเอสได้ รับการประกาศให้ ติดอยูใ่ นดัชนีความยัง่ ยืนดาวน์โจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices: DJSI) ในกลุม่ ธุรกิจตลาดเกิดใหม่ (Emerging markets) สาหรับประเภทธุรกิจบริ การสือ่ สารโทรคมนาคม ซึ่งถือว่าเป็ นบริ ษัท โทรคมนาคมรายแรกของประเทศไทยที่ถกู คัดเลือกเข้ าสูด่ ชั นีดงั กล่าว ธุรกิจมือถือ  13 กุมภาพันธ์ 2558 เอไอเอส จับมือกับไทยคม ขยายเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือไปยังที่พก ั ของเจ้ าหน้ าที่ขดุ เจาะน ้ามันกลาง ทะเลอ่ า วไทย โดยเป็ นผู้ใ ห้ บ ริ ก ารรายแรกในประเทศไทย ที่ มี ก ารน านวัต กรรมเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารผ่ า นเครื อ ข่ าย โทรศัพท์มือถือ มาทางานร่วมกับระบบสือ่ สารผ่านดาวเทียม เพื่อให้ บริ การแก่ผ้ ทู ี่ต้องปฏิบตั ิงานกลางทะเล  2 มีนาคม 2558 เอไอเอส ลงนามบันทึกข้ อตกลงการเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจกับกสิกรไทย ร่ วมกันพัฒนานวัตกรรมบริ การทาง การเงิน สู่ Mobile Banking และ Mobile Commerce เพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของลูกค้ าและคนไทย รวมถึงช่วยสร้ าง การเติบโตทางเศรษฐกิจให้ พร้ อมแข่งขันในภูมิภาคและระดับโลก  31 มีนาคม 2558 เอไอเอส เปิ ดให้ บริ การ “AIS SUPER WiFi” ด้ วยความเร็ วสูงสุด 650 Mbps มากกว่าความเร็ วของบริ การ 4G ในศูนย์การค้ า, โรงภาพยนตร์ , คอมมูนิตี ้มอลล์ และร้ านแม็คโดนัลด์ทกุ สาขา รวมถึง chain store ชันน ้ าทัว่ ประเทศ  20 เมษายน 2558 เอไอเอส เปิ ดตัวนวัตกรรมใหม่ “iSWOP” ที่ตอบโจทย์ได้ ทก ุ พฤติกรรมการใช้ งานของลูกค้ ารายเดือน เป็ น ครัง้ แรกในโลกที่ให้ ลกู ค้ า สามารถสลับการใช้ งานทังอิ ้ นเทอร์ เน็ตและการโทรได้ ตามความต้ องการ  14 พฤษภาคม 2558 เอไอเอส เปิ ดตัวแคมเปญ “AIS LIVE 360º” มอบสิทธิพิเศษให้ แก่ลก ู ค้ า ด้ วยส่วนลดจากร้ านค้ าและแบ รนด์ชนน ั ้ ากว่า 12,000 ร้ านค้ าทัว่ ประเทศ ตลอด 365 วัน  2 กรกฎาคม 2558 เอไอเอส วัน-ทู-คอล! เปิ ดตัว “ซิม ฮัลโหล เอเชีย ” ซิมเติมเงินเพื่อลูกค้ าชาวต่างชาติที่ทางาน และพัก อาศัยในประเทศไทย ทังชาวเมี ้ ยนมาร์ , กัมพูชา, ลาว, จีน, ญี่ปนุ่ และเกาหลีใต้ พร้ อมบริ การรับฟั งข้ อมูลผ่านระบบอัตโนมัติ ด้ วยภาษาประจาชาติทงั ้ 6 ภาษา  1 กันยายน 2558 เอไอเอส ร่ วมกับ ทูนประกันภัย สร้ างมิติใหม่ของบริ การข้ ามแดนอัตโนมัติ มอบความคุ้มครอง ประกัน อุบตั ิเหตุในต่างแดน วงเงินสูงสุด 300,000 บาท ฟรี ให้ กบั ลูกค้ าที่เดินทางไปต่างประเทศและสมัครใช้ แพ็กเกจเอไอเอส โรมมิ่ง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 3


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 

2558

22 กันยายน 2558 เอไอเอส เปิ ดตัวมือถือ 4G รุ่ นแรก “AG SUPER COMBO LAVA A1” ด้ วยราคา 4,590 บาท เพื่อให้ ลูกค้ าทุกกลุม่ สามารถเข้ าถึงบริ การ 4G ความเร็ วสูงได้ อย่างเท่าเทียมกัน 18 พฤศจิกายน 2558 เอไอเอส เปิ ดศูนย์ปฏิบตั ิการ เอไอเอส คอล เซ็นเตอร์ แด่ผ้ พู ิการแห่งที่ 8 ณ โรงเรี ยนศรี สงั วาลย์ จ.ขอนแก่น โดยให้ บริ การด้ วยมาตรฐานในระดับเดียวกับพนักงานปกติ ด้ วยการออกแบบลักษณะงานให้ เหมาะสมและ สอดคล้ องกับความสามารถ ทาให้ ปัจจุบนั เอไอเอสมีพนักงานคอล เซ็นเตอร์ ผ้ พู ิการ จานวน 78 ราย 25 พฤศจิกายน 2558 เอดับบลิวเอ็นซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยของเอไอเอส ได้ รับใบอนุญาตคลืน่ ความถี่ สาหรับกิจการโทรคนนาคม ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ ชุดที่ 2 ช่วงความถี่วิทยุ 1725-1740 เมกะเฮิรตซ์ คู่กับ 1820-1835 เมกะเฮิรตซ์ จากสานักงาน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และได้ เปิ ดให้ บริ การ 4G ด้ วย สถานีฐานกว่า 7,000 แห่ง ในเดือนมกราคม 2559

ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง  27 เมษายน 2558 เอไอเอส เปิ ดให้ บริ การ “เอไอเอส ไฟเบอร์ บรอดแบนด์อินเทอร์ เน็ตบ้ าน ความเร็ วสูงสุด 1 Gbps” ซึ่งเป็ น รายแรกและรายเดียวที่ให้ บริ การ PURE Fibre โดยนาเสนอพร้ อมแพ็กเกจความบันเทิงจากกล่องทีวีอินเทอร์ เน็ต AIS PLAYBOX  1 กรกฎาคม 2558 เอไอเอส ไฟเบอร์ จับมือกับพร็ อพเพอร์ ตี ้ เพอร์ เฟค ร่ วมพัฒนา “Perfect Digital Village powered by AIS Fibre” ดิจิทลั วิลเลจ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ด้ วยการนาเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงผ่านโครงข่าย ใยแก้ วนาแสง 100% ของ เอไอเอส ไฟเบอร์ เข้ าถึงที่พกั อาศัย ธุรกิจดิจิทัล คอนเทนต์  29 กรกฎาคม 2558 เอไอเอส จัดโครงการ AIS The StartUp 2015 เป็ นปี ที่ 5 เพื่อค้ นหานักธุรกิจหน้ าใหม่ มาร่ วมเป็ นดิจิทล ั พาร์ ทเนอร์ กบั เอไอเอส โดยเปิ ดโอกาสให้ ทงนั ั ้ กคิด นักสร้ างสรรค์ รวมถึงผู้ประกอบการรายย่อย สามารถส่งผลงานเข้ าแข่งขัน เพื่อต่อยอดการพัฒนาและนาผลงานออกสู่ตลาดจริ ง ภายใต้ การสนับสนุนจากเอไอเอส และพันธมิตรทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศ ที่มีช่องทางเข้ าถึงฐานลูกค้ ากว่า 550 ล้ านรายในภูมิภาค  16 กันยายน 2558 เอไอเอสเดินหน้ ายกระดับ “AIS mPAY” เป็ น "Digital Money for Everyone" เพื่อรองรับเทรนด์การ เติบโตของตลาดอีคอมเมิร์ช โดยเปิ ดให้ ผ้ ใู ช้ บริ การทังชาวไทยและชาวต่ ้ างชาติ พร้ อมเปิ ดให้ บริ การกับผู้ใช้ มือถือทุกค่าย สามารถใช้ บริ การและทาธุรกรรมต่างๆ ผ่าน AIS mPAY ได้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 4


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

1.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุม่ อินทัช ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2559 ) 1), 2)

( ) 2)

(

(

40.45%

) 2) 41.14%

99.99%

..

1)

99.99% 100%

51.00%

100%

49.00%

99.99%

99.99%

((

) ) 2)

42.07% 100%

(

22.26%

99.99%

25.00%

99.99%

16.67%

51.00%

15.36%

99.99%

)

99.99% 100%

(

99.99%

99.99%

99.99%

99.99% 99.99%

24.00%

) 99.99%

100% 99.99%

100%

50.00%

100% 99.99% 100% 99.98%

3)

100%

99.99%

99.99%

(

70.00% 29.00%

3)

99.99%

99.99%

98.55% 100% 51.00%

) 3) 52.92%

(

) 100%

20.00% 10.00%

Venture Capital 1) Holding Company 2) 3)

ส่วนที่ 1 หน้ า 5

2558


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

โครงสร้ างการถือหุ้นบริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

( 4,997.46

99.99%

99.99%

99.99%

99.99%

) 2,973.10

99.99%

99.99%

99.99% 29.00%

272

200 100

250

(ISP)

15

50

50 14.5

300 (IPLC & IP VPN) (Voice over IP)

98.55%

(IP Television)

99.99%

2.1

51.00% 1)

99.99%

1800

99.98% 10.00%

20.00%

(IT) 300 (Content Aggregator)

Optical Fiber

3,655.47

(Mobile Number Portability: MNP)

1 957.52

50

1,350 1) 2) 3)

2

49 15 . . 2558 ABN

ส่วนที่ 1 หน้ า 6

IH

IH

(AIR) 14.5

9

3)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

1.4 รางวัลแห่ งความภาคภูมิใจ รางวัลด้ านความไว้ วางใจในแบรนด์  รางวัล “Superbrands 2015” จากสถาบัน Superbrands ซึ่งเป็ นรางวัลสุดยอดแบรนด์ที่ผ้ บู ริ โภคเชื่อมัน่ และไว้ วางใจ โดยเอไอเอสเป็ นบริ ษัทผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่รายเดียวที่ได้ รับรางวัลนี ้ และได้ รับต่อเนื่องมา 12 ปี  รางวัล “Thailand’s Top Corporate Brands 2015” สาหรับบริ ษัทที่มีมลู ค่าแบรนด์องค์กรสูงสุด ในกลุม่ ธุรกิจเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารและสูงสุดในทุกอุตสาหกรรม จากคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รางวัลด้ านการบริหารจัดการและผลการดาเนินงานยอดเยี่ยม  รางวัล “CFO ยอดเยี่ยม ประจาปี 2558” จากสมาคมนักวิเคราะห์การลงทุน ซึง่ ได้ รับรางวัลต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 6  รางวัล “ผู้ให้ บริ การด้ านการสื่อสารและโทรคมนาคมดีเด่ น”, “รางวัลผู้ให้ บริ การด้ านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ดีเด่ นแห่ ง ประเทศไทย” และ “รางวัลผู้ให้ บริการดาต้ าดีเด่ นแห่ งประเทศไทย ประจาปี 2558” จากบริ ษัท ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน บริ ษัทด้ านการวิจยั ทางการตลาดและที่ปรึกษาด้ านธุรกิจลงทุนชันน ้ าระดับโลก ซึง่ ได้ รับรางวัลติดต่อกันเป็ นครัง้ ที่ 4  รางวัล “สุ ดยอดหุ้นคุ ณภาพ 2558” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ Money Channel ซึ่งมอบให้ แก่บริ ษัท จดทะเบียนที่มีอตั ราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นและการจ่ายปั นผลดีเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง จากการดาเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาล ทาให้ มีผลประกอบการที่ดีขึ ้นอย่างต่อเนื่องในรอบ 11 ปี  รางวัล “บริ ษัทยอดเยี่ยมแห่ งปี 2558” ซึ่งได้ รับต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 6 และ “บริ ษัทยอดเยี่ยมแห่ งปี 2558 ประเภท กลุ่ ม เทคโนโลยี” ได้ รับต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 3 โดยทัง้ 2 รางวัล ได้ คดั สรรบริ ษัทจดทะเบียนที่มีศกั ยภาพและความสามารถในการ บริ หารงาน จนมีผลประกอบการที่โดดเด่น ทังในด้ ้ านขนาดของบริ ษัท, ความสามารถในการแสวงหาผลกาไร และผลตอบแทน ต่อการลงทุน จากงาน Money & Banking Awards 2015  รางวัล “LIVE 360 Innovative Award 2015” เป็ นรางวัลจากการคัดสรรแคมเปญที่มีนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์การใช้ งานมือถือในยุคดิจิทลั ให้ กบั ลูกค้ าได้ ยอดเยี่ยมที่สดุ จากเวที Asia Pacific Customer Service Consortium  รางวัล “The Best Social Media Program” จากเวที Asia Pacific Customer Service Consortium สาหรับคอลเซ็นเตอร์ ที่ ให้ บริ การด้ านโซเชียลมีเดียที่ดีที่สดุ มีระยะเวลาการตอบสนองต่อลูกค้ าเร็ วที่สดุ และมีคณ ุ ภาพการให้ บริ การ  รางวัล “ศูนย์ รับเรื่องและแก้ ไขปั ญหาให้ กับผู้บริโภคดีเด่ น” จากสานักงานคุ้มครองผู้บริ โภค และสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ ที่มอบให้ เอไอเอส คอลเซ็นเตอร์ ที่ให้ บริ การอย่างมีคณ ุ ภาพ สามารถให้ คาแนะนาและแก้ ไขปั ญหาให้ ลกู ค้ าได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ  รางวัล “ความเป็ นเลิศด้ านการพัฒนาการบริ หารจัดการขององค์ กร” และรางวัล Outstanding อีก 5 ด้ าน ได้ แก่ ด้ าน การบริ หารทางการเงิน , ด้ านนวัตกรรมและการสร้ างสรรค์สิ่งใหม่ๆ , ด้ านสินค้ าและบริ การ, ด้ านการตลาด และด้ านความ รับผิดชอบต่อสังคม ในงาน “Thailand Corporate Excellence Awards 2015” ที่จดั โดยสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศ ไทย (TMA) ร่วมกับ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  รางวัล “สื่อมวลชนดีเด่ น ประจาปี 2558” จากผลงานภาพยนต์โฆษณา Always there ที่จดั ทาขึ ้น เพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ใน แบรนด์เอไอเอสให้ กบั ลูกค้ า เป็ นการเน้ นย ้าความมุง่ มัน่ พัฒนาเครื อข่ายและบริ การให้ สาหรับทุกความต้ องการในทุกช่วงเวลา จากสือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย  รางวัล “นักลงทุนสัมพันธ์ ดีเด่ น ประจาปี 2558” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในงาน SET Awards 2015 จากการ ดาเนินงานด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ที่เป็ นเลิศ โดยเอไอเอสได้ รับต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 5

ส่วนที่ 1 หน้ า 7


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

รางวัลด้ านการดาเนินงานอย่ างยั่งยืน 

รางวัล “หุ้นยั่งยืน (Thailand Sustainability Investment 2015)” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในฐานะองค์กรที่มี ความยัง่ ยืนในการดาเนินธุรกิจ ส่งผลให้ ห้ นุ มีคณ ุ ภาพ และยังเป็ นสมาชิกดัชนีความยัง่ ยืนดาวน์โจนส์ (DJSI) ในระดับสากล รางวัล “บริ ษั ท ที่ มี ก ารก ากั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใ นระดั บ อาเซี ย น ประจ าปี 2558 (ASEAN CORPORATE GOVERNANCE 2015)” จาก ASEAN CAPITAL MARKETS FORUM ซึง่ ได้ คดั เลือกบริ ษัทจดทะเบียน 100 บริ ษัทแรกของ อาเซียนที่มีมลู ค่าทางการตลาดและมีการดาเนินธุรกิจตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี (Asean CG scorecard) สูงสุด รางวัล “รายงานความยั่งยืนดีเด่ น” ประจาปี 2558 จาก CSR club ของสมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย โดยความร่วมมือของ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์ สาหรับการจัดทารายงานเพื่อเผยแพร่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของเอไอเอส โดยมีเนื ้อหาที่สามารถสื่อสารให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ เห็นการดาเนินการที่ตอบโจยท์ ความคาดหวังของผู้มีสว่ นได้ เสียครบทังมิ ้ ติทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้ อม รางวัล “Top CSR Advocates in Asia 2015” จากเวที Asia Corporate Excellence & Sustainability Awards (ACES) ณ ประเทศสิงคโปร์ ที่มอบให้ กับองค์กรที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อสังคม สอดรับกับนโยบายและการปฏิบตั ิงานของบริ ษัท โดย ผู้บริ หารและพนักงานเข้ ามามีสว่ นร่วมในการดาเนินกิจกรรมเพื่อสังคม การมีสว่ นร่วมของชุมชน การดูแลสิ่งแวดล้ อม และ การเสริ มสร้ างพลังทางสังคม รางวัล “บริ ษัทนายจ้ างดีเด่ นแห่ งประเทศไทย ปี 2558” โดยเอไอเอสได้ รับต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 3 และ แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ ได้ เป็ นบริษัทนายจ้ างดีเด่ น อันดับที่ 1 (Best of the Best) จาก เอออนฮิววิท และ ศศินทร์ แห่งจุฬา

ส่วนที่ 1 หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 โครงสร้ างรายได้ ท่ เี กิดจากการให้ บริการและขายผลิตภัณฑ์ ของบริษัทและบริษัทในเครือให้ บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์/บริการ

ดาเนินการโดย

ร้ อยละการถือหุ้น ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 58

ปี 2556 ล้ านบาท

ปี 2557 ร้ อยละ

ล้ านบาท

ปี 2558 ร้ อยละ

ล้ านบาท

ร้ อยละ

ธุรกิจโทรศัพท์ เคลื่อนที่ - บริ ก ารและให้ เ ช่ า อุป กรณ์ และศูน ย์ ใ ห้ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส ข่าวสารทางโทรศัพท์ บจ. แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม บจ. แอดวานซ์ เอ็มเปย์ บจ. แฟกซ์ ไลท์ บจ. แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ - ค่ า ก่ อ สร้ างภายใต้ สั ญ ญาอนุ ญ าตให้ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส ดาเนินการ บจ. ดิจิตอล โฟน

99.99 98.55 99.99 99.99 99.98 99.99

99,504.58 23,216.54 441.47 3,455.66 309.55 4.94

66.08 15.42 0.29 2.30 0.21 -

26,708.27 94,478.94 27.19 2,873.93 368.75 3.90

17.88 63.27 0.02 1.92 0.25 -

7,466.95 117,370.25 3.69 1,272.30 224.59 30.37 3.52

4.81 75.60 0.82 0.14 0.02 -

98.55

3,639.60 126.84

2.42 0.08

600.26 -

0.40 -

63.59 -

0.04 -

130,699.18

86.80

125,061.24

83.74

126,435.26

81.43

516.32 3,484.89 15,113.31

0.34 2.31 10.04

8.38 15,877.15 7,528.74

0.01 10.63 5.04

0.19 23,736.29 4,090.35

15.29 2.63

19,114.52

12.69

23,414.27

15.68

27,826.83

17.92

รวม การขายโทรศัพท์ เคลื่อนที่

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส บจ. แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค บจ. ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย

99.99 99.99

รวม

ส่วนที่ 1 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ผลิตภัณฑ์/บริการ

ดาเนินการโดย

ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร สื่ อ ส า ร ข้ อ มู ล ผ่ า น บจ. แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์1) สายโทรศัพท์ และอินเทอร์ เน็ตความเร็ ว บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค สูง บจ. แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค บจ. แอดวานซ์ อินเทอร์ เน็ต เรโวลูชนั่ 2)

ร้ อยละการถือหุ้น ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 58 51.00 99.99 99.99 99.99

รวม รวมทัง้ หมด หมายเหตุ: 1) 2)

บริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด เป็ นบริ ษัทย่อยทางอ้ อม วันที่ บริ ษัท 8552 ตุลาคม 91แอดวานซ์ อินเทอร์ เน็ต เรโวลูชนั่ จากัด เสร็ จสิ ้นการชาระบัญชี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 10

ปี 2556 ล้ านบาท

ปี 2557 ร้ อยละ

ล้ านบาท

2558 ปี 2558

ร้ อยละ

ล้ านบาท

ร้ อยละ

155.43 416.31 192.38

0.10 0.28 0.13

24.40 786.18 42.96

0.02 0.53 0.03

3.60 883.63 127.12 -

0.57 0.08 -

764.12

0.51

853.54

0.58

1,014.35

0.65

150,577.82

100.00

149,329.05

100.00

155,276.44

100.00


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

2.2 ลักษณะผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ปั จจุบนั นี ้ เทคโนโลยีได้ เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ ว มีสว่ นนาพาให้ พฤติกรรมการใช้ งานโทรศัพท์มือถือของผู้บริ โภค เปลี่ยนตาม โดยไม่ได้ จากัดอยู่เพียงแค่การโทรเท่านัน้ แต่ยังต้ องการใช้ งานบริ การข้ อมูลด้ วย ด้ วยความนิยมใช้ สมาร์ ทโฟนที่ เพิ่มขึ ้น จึงมีสว่ นสนับสนุนการเติบโตของการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถืออย่างต่อเนื่อง เอไอเอสจึงก้ าวไปอีกขันเพื ้ ่อให้ บริ การ สินค้ าและบริ การที่ตรงกับความต้ องการของผู้บริ โภคมากยิ่งขึ ้น พร้ อมเปิ ดตัวธุรกิจใหม่เอไอเอสไฟเบอร์ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง และการให้ บริ การดิจิทลั คอนเทนต์ ผ่านแอพพลิเคชัน่ ต่างๆ เพื่อให้ ผ้ บู ริ โภคใช้ ชีวิตได้ มากกว่าที่เคย และเป็ นที่มาของ AIS Brand Concept “LIVE DIGITAL, LIVE MORE” หรื อ “ใช้ ชีวิตได้ มากกว่า” ธุรกิจหลักของเอไอเอส สามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ส่วนดังต่อไปนี ้ ธุรกิจให้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ปั จจุบัน เอไอเอสได้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศัพ ท์ เ คลื่อนที่บ นคลื่นความถี่ ย่า น 2.1 กิ กะเฮิ ร ตซ์ 1800 เมกะเฮิ ร ตซ์ ในระบบ ใบอนุญาตที่ได้ ประมูลเสร็ จสิ ้นไปช่วงปลายปี 2558 โดยให้ บริ การทังเทคโนโลยี ้ 2G 3G และ 4G ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีลา่ สุดที่ เอไอเอสได้ เปิ ดตัวไป ทังหมดนี ้ ้พร้ อมรองรับลูกค้ ารวมกว่า 38.5 ล้ านราย โดยเป็ นลูกค้ าระบบเติมเงินประมาณ 33 ล้ านราย และมีลกู ค้ าระบบรายเดือนประมาณ 5 ล้ านราย ในปี 2558 เอไอเอสได้ ขยายสถานีฐาน 3G ไปทัว่ ประเทศ รวมทังสิ ้ ้นกว่า 27,200 สถานี ครอบคลุมร้ อยละ 98 ของประชากร 

ระบบเติมเงิน จะต้ องเติมเงินผ่านทางช่องทางต่างๆ เช่น ผ่าน เอไอเอสช็ อป mPAY ผ่านธนาคาร เครื่ องเอทีเอ็ม ผ่านร้ านสะดวกซื ้อ ฯลฯ เพื่อให้ มีเงินคงอยูใ่ นระบบ จากนัน้ จึงสามารถใช้ บริ การโดยเลือกจากแพ็กเกจที่หลากหลาย ภายใต้ แบรนด์เอไอเอส วันทูคอล! เพื่อให้ ตรงตามลักษณะการใช้ งานมากที่สดุ โดยทัว่ ไปแล้ ว เมื่อจดทะเบียนซิม ลูกค้ าจะเลือก แพ็กเกจหลักซึ่งมีทงแบบรวมการใช้ ั้ งานโทรศัพท์ และอินเทอร์ เน็ต ซึ่งมักจะรวมบริ การ AIS WiFi ไว้ ด้วย หรื อแพ็กเกจ NET SIM ที่ให้ บริ การเฉพาะอินเทอร์ เน็ ตซึ่งได้ รับความนิยมเพื่อนาไปใช้ กับอุปกรณ์ อื่นๆ ที่ต้องการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต เท่านัน้ เช่น แท็บ เล็ต และแบบสุด ท้ ายคื อ แบบใช้ ง านโทรศัพท์ เ พียงอย่ างเดียว ที่มีอัต ราค่า โทรแตกต่า งกันไปทัง้ ใน เครื อข่ายและนอกเครื อข่ายเอไอเอส และนอกจากนี ้ ยังมีรูปแบบค่าโทรราคาพิเศษสาหรับผู้บกพร่ องทางการได้ ยินและทาง สายตา ระบบรายเดือน เป็ นรูปแบบที่ลกู ค้ าใช้ บริ การก่อนแล้ วจึงชาระค่าใช้ จ่ายเมื่อสิ ้นสุดรอบการใช้ โดยสามารถเลือก แพ็กเกจที่สามารถแบ่งประเภทได้ เช่นเดียวกับระบบเติมเงิน แบบรวมการใช้ งานโทรศัพท์ และอินเทอร์ เน็ต ซึ่งมีบริ การ AIS WiFi รวมอยู่เช่นกัน หรื อรู ปแบบการใช้ บริ การเฉพาะอินเทอร์ เน็ต และรู ปแบบการใช้ งานโทรศัพท์ เพียงอย่ างเดียว ลูกค้ าในระบบรายเดือนมีแพ็กเกจการใช้ งานให้ เลือกอย่างหลากหลาย เช่นเดียวกัน แต่จะมีข้อแตกต่างจากระบบเติมเงินคือ การชาระเงินหลังรอบการใช้ บริ การในแต่ละเดือน ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ลกู ค้ าจานวนมาก พึงพอใจกับความสะดวกสบายในแง่นี ้ นอกเหนือไปจากแพ็กเกจการใช้ งานหลักของทังระบบเติ ้ มเงินและระบบรายเดือนแล้ ว ลูกค้ าสามารถซื ้อแพ็กเกจ เสริ ม เพื่อใช้ งานเพิ่มเติมและสามารถควบคุมค่าใช้ จ่ายได้ ตามความต้ องการ เช่น เพิ่มจานวนนาทีในการโทร เพิ่มปริ มาณการ ใช้ อินเทอร์ เน็ต เพิ่มความเร็ วอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น โดยสามารถเลือกซื ้อเป็ นแพ็กเกจเสริ มใช้ ครัง้ เดียว หรื อใช้ ต่อเนื่อง เป็ น ประจา ซึ่งมีช่องทางการซื ้อที่ให้ ความสะดวกสบายแก่ลกู ค้ า ทังการสมั ้ ครแพ็กเกจเสริ มด้ วยการกดรหัส สมัครผ่านช่องทาง eService ซึง่ เป็ นช่องทางออนไลน์ และผ่านแอพพลิเคชัน่ อื่นๆ เช่น LINE เป็ นต้ น ในปี 2558 เอไอเอสได้ เปิ ดตัวสินค้ าและบริ การต่างๆ เพื่อรองรับความต้ องการที่หลากหลายของลูกค้ าในยุคดิ จิทลั โดยมีสนิ ค้ าและบริ การที่สาคัญดังต่อไปนี ้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

แพ็กเกจ iSWOP เกิดจากการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ งานของผู้บริ โภค ทาให้ มองเห็นรายละเอียดพฤติกรรมการใช้ งานของลูกค้ า นาไปสูก่ ารพัฒนารูปแบบแพ็กเกจที่ตรงกับพฤติกรรมการใช้ งานของลูกค้ าแต่ละบุคคลให้ ได้ มากที่สดุ เกิดเป็ น แพ็กเกจ iSWOP ซึ่งเป็ นครัง้ แรกที่ผ้ ใู ช้ งานสามารถปรับสลับค่าโทรและเน็ตเองได้ แบบ Real time คือสามารถปรับได้ ทุกที่ ทุกเวลา และมีผลในทันที สามารถตอบโจทย์ได้ ทกุ พฤติกรรมการใช้ งาน ไม่ต้องกังวลว่าค่าโทรหรื อค่าเน็ตในแพ็กเกจที่ใช้ งานจะเหลือ ทาให้ ใช้ งานได้ หมดคุ้มค่าทุกเดือน ซิมเซฟเซฟ เอไอเอสร่วมมือกับ แอกซ่าประกันภัย แบรนด์ประกันภัย อันดับ 1 ของโลก ออกแบบซิมมือถือรู ปแบบใหม่ เป็ น ซิมระบบเติมเงินรายแรกและรายเดียว ที่มอบสิทธิพิเศษ “โทรคุ้มค่าพร้ อมความคุ้มครอง” ให้ ลกู ค้ าได้ รับความคุ้มครอง ประกันอุบตั ิเหตุและเงินชดเชยรายได้ โดยไม่ต้องจ่ายเบี ้ยประกัน ซิมแบบเฉพาะกลุ่ม เอไอเอสมองเห็นโอกาสที่จะเพิ่มฐานลูกค้ าในกลุม่ ที่มีศกั ยภาพ ได้ แก่ กลุม่ ลูกค้ าวัยรุ่น กลุม่ แรงงานต่างด้ าว และกลุม่ ลูกค้ านักท่องเที่ยว โดยได้ เสนอแพ็คเกจและบริ การที่สร้ างความแตกต่างจากคู่แข่งและสอดคล้ องกับพฤติกรรม ของลูกค้ าแต่ละกลุม่ ดังนี ้ Traveller Sharing SIM เดือน มกราคม เอไอเอส ได้ เปิ ดบริ การซิมใหม่ให้ กบั นักท่องเที่ยว “Traveller Sharing SIM” โดยใน 1 แพ็คเกจ จะมีซิม 3 เลขหมาย ซึ่งลูกค้ าจะได้ โปรโมชัน่ ค่าโทรในกลุม่ ฟรี พร้ อมได้ ใช้ งานอินเทอร์ เนต และสามารถแบ่งการใช้ งาน สาหรับกลุม่ นักท่องเที่ยวที่มาเป็ นครอบครัว หรื อกลุม่ เพื่อน โดยได้ ทาการตลาดร่วมกับ Tour Agency ทังในประเทศและ ้ นอกประเทศ เพื่อให้ ลกู ค้ ามีโอกาสเข้ าถึง AIS Traveller SIM AIS One-2-Call! ZEED SIM เดือนกุมภาพันธ์ เอไอเอส เปิ ดให้ บริ การซิมใหม่สาหรับกลุม่ วัยรุ่น ซึง่ เป็ นกลุม่ ที่มีศกั ยภาพในการเติบโตในทาง การตลาดสูง รวมทังมี ้ พฤติกรรมการใช้ งานบริ การข้ อมูลที่สงู อีกด้ วยเช่นกัน ภายใต้ ชื่อผลิตภัณฑ์ “Zeed SIM” มอบสิทธิ ประโยชน์หลากหลายตรงตามความต้ องการของกลุม่ ลูกค้ าวัยรุ่ น เพิ่มส่วนแบ่งการตลาดด้ วยกลยุทธ์ Music Marketing ทังยั ้ งมีโปรโมชัน่ โซเชียลไม่อนพร้ ั ้ อมเน็ตฟรี และค่าโทรราคาพิเศษ มอบสิทธิ พิเศษส่วนลดร้ านอาหารชื่อดัง และยังมี แอพพลิเคชัน่ ที่ได้ รับความนิยมเป็ นส่วนเสริ มอีกด้ วย Hello Asia SIM เดือน มิถุนายน เอไอเอส ได้ เปิ ดให้ บริ การ Hello Asia SIM เพื่อตอบสนองกลุ่มแรงงานต่างด้ าวและ ชาวต่างชาติที่ทางานอยูใ่ นประเทศไทย อาทิ เมียนมาร์ เขมร ลาว จีน เกาหลี ญี่ปนุ่ โดยเป็ นรายแรกที่มีจดุ เด่น แตกต่าง จากคู่แข่งขันคือ 1 ซิม รองรับถึง 6 ประเทศ 6 ภาษา ด้ วยระบบตอบรับทางเสียงในภาษาประจาชาติ สื่อสารกับลูกค้ า และยังมีโปรโมชัน่ ที่สอดคล้ องกับพฤติกรรมผู้บริ โภค ด้ วยอัตราค่าโทรที่ถกู พิเศษ และใช้ งาน Social Media ฟรี อีกทังยั ้ ง มีบริ การโทรกลับต่างประเทศ (IDD) ด้ วยอัตราค่าบริ การพิเศษ และยังได้ มีการนาเครื่ องโทรศัพท์ AIS LAVA มาผนวกกับ ซิมการ์ ด ทาให้ สามารถเพิ่มฐานลูกค้ ากลุม่ เมียนมาร์ ไม่น้อยกว่า 1 ล้ านรายภายในปี 2015 นอกจากบริ การที่กล่าวมาข้ างต้ นแล้ ว เอไอเอสยังมีการขายเครื่ องโทรศัพท์ซงึ่ ได้ จดั หาโทรศัพท์คณ ุ ภาพดี ราคา เหมาะสมให้ ลกู ค้ าเลือกใช้ ตามความต้ องการที่หลากหลาย ในปี ที่ผา่ นมา เอไอเอสได้ จดั โปรโมชัน่ ต่างๆ เพื่อความคุ้มค่า สาหรับลูกค้ า และยังช่วยสนับสนุนการเปลี่ยนมาใช้ โทรศัพท์ 3G ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีที่มีคณ ุ ภาพดี ทันสมัยขึ ้น รวมไปถึง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การใช้ สมาร์ ทโฟนที่ทาให้ ลกู ค้ าสามารถใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือได้ ง่ายดายยิ่งขึ ้น ตัวอย่างของโปรโมชัน่ ส่งเสริ มการ ขายเครื่ องโทรศัพท์มีดงั ต่อไปนี ้ เอไอเอสซุปเปอร์ คอมโบ นาเสนอสมาร์ ทโฟนคุณภาพดี ราคาประหยัดหลากหลายรุ่ น ภายใต้ แบรนด์เอไอเอส LAVA ที่เป็ นแบรนด์พิเศษระหว่าง เอไอเอสกับผู้ผลิตมือถือ พร้ อมโปรโมชัน่ สุดคุ้ม ทังในระบบเติ ้ มเงินและรายเดือน ทาให้ ลกู ค้ าได้ ใช้ โทรศัพท์ราคาคุ้มค่า รองรับ เทคโนโลยี 3G นอกจากนี ้ในช่วงไตรมาสสุดท้ ายของปี 2558 ยังมีการเปิ ดตัวเอไอเอส LAVA ที่รองรับเทคโนโลยี 4G ด้ วย เพื่อให้ ลกู ค้ าพร้ อมใช้ บริ การ 4G บนเครื อข่ายเอไอเอส ท่านสามารถหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ ยวกับแพ็กเกจระบบเติมเงิ นได้ ที่ www.ais.co.th/3g-one-2-call/Default.aspx และ www.ais.co.th/3g-postpaid เพื่อทราบข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแพ็กเกจระบบรายเดือน บริการโรมมิ่ง นอกจากบริ ก ารโทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ เ พื่ อ การสื่อ สารในประเทศแล้ ว เอไอเอสยัง มี บ ริ ก ารเพิ่ ม เติ ม ที่ ช่ ว ยเสริ ม ให้ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ ครอบคลุมยิ่งขึ ้น เช่น บริ การโรมมิ่ง สาหรับลูกค้ าที่เดินทางไปต่างประเทศ และต้ องการ ใช้ งานโทรศัพท์ ส่งข้ อความ และอินเทอร์ เน็ต ในปั จจุบนั เอไอเอสเปิ ดให้ บริ การโรมมิ่ง 229 ประเทศทัว่ โลก และมีช่องทางการ ให้ บริ การที่สะดวกสบาย ทังคอลเซ็ ้ นเตอร์ แอพพลิเคชัน่ AIS Roaming และการกดรหัสผ่านโทรศัพท์ เอไอเอสได้ พฒ ั นาบริ การโรมมิ่งอย่างต่อเนื่องทังในส่ ้ วนของบริ การเสียงและบริ การข้ อมูล โดยในปี ที่ผ่านมาบริ ษัทได้ ออก แพ็กเกจข้ อมูลแบบรายวันราคาประหยัด Non-stop Data Roaming ที่ให้ ผ้ ใู ช้ บริ การใช้ งานข้ อมูลในต่างประเทศได้ อย่าง ต่อเนื่องไม่จากัดตลอด 24 ชัว่ โมง และใช้ งานได้ หลายประเทศในแพ็กเดียว ซึ่งผู้ที่ต้องเดินทางหลายประเทศในทริ ปเดียวกัน หรื อต้ องบินแบบต่อเครื่ อง จะได้ รับความสะดวกสบายและคุ้มค่ามาก โดยแพ็กเกจนี ้เปิ ดให้ บริ การรวม 97 ประเทศ สาหรับ แพ็กเกจเสียงราคาประหยัดบริ ษัทได้ ขยายจานวนประเทศที่ให้ บริ การแล้ ว 109 ประเทศ บริการโทรศัพท์ ระหว่ างประเทศ สาหรับลูกค้ าที่อยูใ่ นประเทศไทย สามารถติดต่อสื่อสารกับปลายทางในต่างประเทศ ครอบคลุม 240 ประเทศทัว่ โลกได้ โดยสะดวกง่ายดาย ด้ วยบริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ที่โทรออกได้ ทงจากโทรศั ั้ พท์ในระบบรายเดือนและระบบเติมเงิน โดยกดรหัสการโทรต่างประเทศและตามด้ วยหมายเลขปลายทาง บริการสาหรับลูกค้ าองค์ กร นอกจากกลุม่ ลูกค้ าบุคคล เอไอเอสยังมีบริ การครอบคลุมถึงกลุม่ ลูกค้ าองค์กรทังธุ ้ รกิจขนาดใหญ่และขนาดย่อม ซึ่ง มีการเติบโตเช่นกัน ด้ วยความต้ องการใช้ งานเพื่อจัดการธุรกิจและเสริ มประสิทธิภาพในด้ านต่างๆ โดยเอไอเอสได้ นาเสนอ โซลูชนั่ สาหรับธุรกิจ เช่น โซลูชนั่ ส์ทางการสือ่ สาร โซลูชนั่ ส์ทางด้ านไอที โซลูชนั่ ส์ติดตามและตรวจสอบ โซลูชนั่ ส์ทางการตลาด และโซลูชนั่ ส์พิเศษเฉพาะธุรกิจ ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง เอไอเอสได้ ให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตบ้ านความเร็ วสูงสุด ภายใต้ แบรนด์เอไอเอสไฟเบอร์ เป็ นรายแรกและรายเดียวที่ให้ บริ การ โดยการใช้ ไฟเบอร์ อย่างเต็มรู ปแบบ โดยการใช้ โครงข่ายใยแก้ วนาแสงที่ใหญ่ที่สดุ ถึง 120,000 กิโลเมตร ที่ได้ ลงทุนเพื่อ รองรับระบบ 3G บนคลืน่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ตงแต่ ั ้ ปี 2556 เอไอเอสจึงสามารถลากสายเคเบิลใยแก้ วนาแสง (Fibre optic) เข้ า ตรงถึงบ้ าน (FTTH) และอาคารที่พกั อาศัย (FTTB) ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าในด้ านความเร็ วอินเทอร์ เน็ต ได้ อย่าง 

ส่วนที่ 1 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

เต็มประสิทธิภาพ ทังในเรื ้ ่ องของความเร็ วและความเสถียรในการใช้ งาน รวมไปถึงบริ การหลังการขายมาตรฐานเอไอเอส ในปี 2558 พร้ อมให้ บริ การครอบคลุม 12 จังหวัด ได้ แก่กรุ งเทพฯ นนทบุรี สมุทรปราการ ปทุมธานี เชียงใหม่ นครราชสีมา ชลบุรี อุดรธานี ขอนแก่น ภูเก็ต นครปฐมและสมุทรสาคร และจะขยายการให้ บริ การอย่างต่อเนื่อง และจะครอบคลุมกว่า 6.5 ล้ าน ครัวเรื อน ภายในปี 2559 โดยเอไอเอสไฟเบอร์ มีแพ็กเกจให้ ลกู ค้ าเลือกใช้ บริ การ 2 แบบ สามารถเลือกความเร็ วได้ ตงแต่ ั ้ 15 Mbps - 9 Gbps ดังนี ้ 1. แพ็กเกจแบบ Home เหมาะสาหรับผู้ใช้ งานตามบ้ าน มาพร้ อมกับความเร็ วในการอัพโหลดสูงกว่าคู่แข่ง เมื่อเทียบกับ แพ็กเกจที่ราคาเท่ากัน ทาให้ ผ้ ูใช้ งานสามารถท่องเว็บ รั บส่งอีเมล์ เล่นโซเชี ยลเน็ตเวิร์ค อัพโหลดรู ปภาพ เล่นเกมส์ ออนไลน์ ดูวิดีโอสตรี มมิ่ง และอัพโหลดคลิปหรื อดู YouTube ได้ อย่างไม่ติดขัด 2. แพ็กเกจแบบ Professional เหมาะสาหรับผู้ใช้ งานระดับองค์กรขนาดเล็ก หรื ออินเทอร์ เน็ตคาเฟ่ เนื่องจากแพ็กเกจนี ้จะ ได้ รับการกาหนดไอพี เพื่อทา เว็บเซิร์ฟเวอร์ เมล์เซิร์ฟเวอร์ และการประชุมผ่านวิดีโอ คุณภาพระดับ Full HD นอกจากนี ้ลูกค้ าเอไอเอสไฟเบอร์ ยงั สามารถรับชมทีวีผ่านอินเทอร์ เน็ต โดยไม่จาเป็ นต้ องติดจานดาวเทียม เพียงใช้ งาน อุปกรณ์ AIS Playbox ทาให้ ลกู ค้ าสามารถรับชมรายการบันเทิงจากผู้จดั หาคอนเทนต์ที่เป็ นพันธมิตรทางธุรกิจกับเอไอเอส รองรับความคมชัดระดับ Ultra HD 4K ซึง่ ชัดกว่า HD ถึง 4 เท่า ท่านสามารถหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริ การเอไอเอสไฟเบอร์ ได้ ที่ www.ais.co.th/fibre 

ดิจิทัลคอนเทนต์ และแอพพลิเคชั่นร่ วมกับพันธมิตร

ในปี 2558 เอไอเอสมีการพัฒนาศักยภาพให้ มีขีดความสามารถพิเศษ เพื่อตอบรับรู ปแบบการใช้ ชีวิตของผู้บริ โภคในยุค ดิจิทลั และขยายช่องทางในการหารายได้ ใหม่จากคอนเทนต์และบริ การด้ านดิจิทลั โดยได้ มงุ่ เน้ นไปที่ 5 แกนหลักที่จะสามารถ ตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ าในยุคปั จจุบนั นี ้ได้ ครอบคลุมยิ่งขึ ้น ได้ แก่ วิดีโอ เกม ธุรกรรมทางการเงินผ่านมือถือ คลาวด์ และการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (Machine-to-Machine หรื อ M2M) วิ ดีโอ นวัตกรรมสาคัญที่มีการพัฒนาและนาเสนอต่อผู้บริ โภคในปี 2558 ก็คืออุปกรณ์ AIS Playbox ซึ่งเป็ นอุปกรณ์ Set Top Box ที่มีเสถียรภาพและมีความหลากหลายของคอนเทนต์ในด้ านวิดีโอ ทังรายการโทรทั ้ ศน์ ภาพยนตร์ กีฬา และคาราโอเกะ เพื่อสร้ างความสะดวกสบายในการบริ โภคสือ่ บันเทิงหลากรูปแบบสาหรับลูกค้ าเอไอเอสไฟเบอร์ โดยต่อยอดความร่ วมมือกับ พันธมิตรชันน ้ า เช่น จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ซีทีเอช สถานีโทรทัศน์ตา่ งๆ และยังเป็ นครัง้ แรกที่เอไอเอสนาบริ การภาพยนตร์ ฮอลลีว้ ู ด จากผู้ให้ บริ การในระดับภูมิภาคอย่าง HOOQ มาให้ บริ การบนอุปกรณ์ AIS Playbox และบนโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เกม ในปี 2558 เอไอเอสได้ ร่วมมือกับบริ ษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการคัดสรรเกมจากนักพัฒนาทัว่ โลก ไม่ว่าจะเป็ นบริ ษัท E-Innovation และบริ ษัท Blue Mobile ในประเทศไทย จนกระทัง่ บริ ษัท Boyaa และ Game Loft ที่เป็ นบริ ษัทผู้พฒ ั นาเกมชื่อ ดังจากต่างประเทศ เพื่อให้ บริ การแก่กลุม่ นักเล่นเกมที่ครอบคลุมตังแต่ ้ วยั รุ่ นจนถึงวัยทางาน โดยได้ พฒ ั นาช่องทางการชาระ เงินผ่านทางการหักเงินจากเครื อข่าย (Direction Carrier Billing) และการชาระเงินผ่านทางบัตรเติมเงินวันทูคอล ธุรกรรมทางการเงิ นผ่านมื อถือ นอกจากนี ้ เอไอเอสยังได้ พฒ ั นาบริ การด้ านการทาธุรกรรมการเงินเพื่อเพิ่มความสะดวกให้ กบั ลูกค้ า ทาให้ ลกู ค้ าสามารถ โอนเงิน ถอนเงิน ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ อย่างง่ายดาย เช่น การใช้ แอพพลิเคชัน่ AIS mPAY หรื อใช้ บริ การ Beat Banking ที่ เอไอเอสได้ ร่วมมือกับธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย และได้ ยกระดับการให้ บริ การเป็ นเอ็มเปย์ สเตชัน่ เพื่อเป็ นช่องทางในการอานวย ส่วนที่ 1 | หน้ า 14


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ความสะดวกกับผู้ประกอบการและร้ านค้ าในการช่วยให้ ลกู ค้ าชาระเงินผ่านระบบได้ โดยง่าย อีกทังยั ้ งมีความร่ วมมือกับ ธนาคารกสิกรไทยเพื่อรับโอนเงินจากบัญชีเงินฝากของธนาคาร สาหรับใช้ ชาระค่าบริ การอื่นๆ คลาวด์ ในด้ านบริ การคลาวด์สาหรับลูกค้ าองค์กร เอไอเอสได้ ให้ บริ การด้ าน Software-as-a-Service ซึ่งเป็ นซอฟต์แวร์ ที่อยู่บน คลาวด์ เช่น ซอฟต์แวร์ ด้านการรักษาความปลอดภัยบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ด้ านงานบริ การ ด้ านลอจิสติกส์ เครื่ องมือด้ าน การตลาด และด้ านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เป็ นต้ น โดยมีจานวนผู้ใช้ เติบโตโดยรวมกว่าเท่าตัวในปี 2558 ซึ่งบริ การ ดังกล่าวลูกค้ าองค์กรไม่จาเป็ นต้ องลงทุนซื ้อซอฟต์แวร์ แต่เป็ นการจ่ายค่าบริ การรายเดือนแทน ซึง่ คุ้มค่ากว่าการลงทุนซื ้อ และ จะได้ ใช้ งานซอฟต์แวร์ ที่อพั เดทใหม่อยูเ่ สมอ อีกทังมี ้ ความยืดหยุน่ ในการเพิ่มหรื อลดจานวนผู้ใช้ ทาให้ ตอบสนองความต้ องการ ด้ านธุรกิจได้ อย่างรวดเร็ วและมีประสิทธิภาพด้ านต้ นทุน การเชื ่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (M2M) ในด้ านบริ การ M2M เอไอเอสทาตลาดในหลากหลายอุตสาหกรรม เช่น ลอจิสติกส์ การเงินและธนาคาร สาธารณูปโภค เป็ นต้ น และในปี 2558 จานวน connection ได้ เติบโตกว่าร้ อยละ 20 และในปี นี ้บริ ษัทได้ พฒ ั นา M2M แพลตฟอร์ มการ เชื่อมต่อร่ วมกับ Bridge Alliance ซึ่งเป็ นกลุ่มพันธมิตรที่เอไอเอสเป็ นสมาชิก และมีผ้ ูให้ บริ การชัน้ นาเป็ นสมาชิกใน 37 ประเทศในภูมิภาคเอเชียและแอฟริ กา โดยแพลตฟอร์ มดังกล่าวจะช่วยให้ ลกู ค้ าองค์กรสามารถบริ หารจัดการการเชื่อมต่อ M2M ของอุปกรณ์ตนเองได้ เอง เช่น เปิ ดหรื อปิ ดการเชื่อมต่อเวลาใดก็ได้ ตามความต้ องการของธุรกิจ สามารถปรับเปลี่ยนค่า ใช้ บริ การของแต่ละอุปกรณ์ ได้ ตามความเหมาะสมของแอพพลิเคชั่นที่ใช้ งาน อีกทังสามารถดู ้ รายงานการใช้ งานของแต่ละ อุปกรณ์และ สถานะการเชื่อมต่อได้ แบบ real-time เป็ นต้ น ทาให้ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของธุรกิจ อีกทังตอบสนอง ้ การเข้ าถึงตลาดได้ อย่างรวดเร็ ว และแพลตฟอร์ มดังกล่าวยังสามารถให้ บริ การได้ ทงลู ั ้ กค้ าองค์กรในประเทศและต่างประเทศ และครอบคลุมการใช้ งานทังในประเทศไทยและต่ ้ างประเทศอีกด้ วย นอกจากคอนเทนต์และบริ การหลักทัง้ 5 ด้ านนี ้ บริ การเสริ มอื่นๆ ยังมีให้ บริ การลูกค้ าอยู่ เช่น บริ การ Calling Melody ได้ ยกระดับให้ ทนั สมัย มีเพลงใหม่ๆ พร้ อมแอพพลิเคชัน่ Calling Melody เพิ่มความสะดวกในการเลือกและจัดการเพลง อีกทัง้ ยังมีแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ที่ผ่านการคัดเลือกมาจากโครงการ AIS StartUp ที่จัดต่อเนื่องมาตังแต่ ้ ปี 2554 เพื่อสนับสนุนและ ผลักดันให้ ผ้ ปู ระกอบการ StatrUp สามารถเติบโตได้ และมีการคิดสร้ างสรรค์แอพพลิเคชัน่ ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองผู้บริ โภคมาก ขึ ้น โดยมีแอพพลิเคชัน่ ใหม่ๆ มานาเสนอให้ กบั ผู้ใช้ บริ การเอไอเอส อาทิเช่น บริ การ GolfDigg ที่เป็ นแอพพลิเคชั่นจองรอบ สนามกอล์ฟราคาพิเศษ บริ การ Stock Radar อันเป็ นแอพพลิเคชัน่ สาหรับนักลงทุนในตลาดหุ้น บริ การ Local Alike ที่เป็ น การส่งเสริ ม การท่อ งเที่ ยวชุมชนอย่างยั่งยื น บริ การ Noonswoon ซึ่งเป็ นการให้ บริ การหาคู่ ฯลฯ นอกจากนี ้ ยังมี การ ประสานงานกับบรรดาพันธมิตรธุรกิจของเอไอเอสที่มีการให้ บริ การด้ าน SMS Infotainment ในอดีตเพื่อผลักดันให้ เกิดการ คิดค้ นแอพพลิเคชัน่ ให้ บริ การใหม่ๆ เพื่อตอบสนองชีวิตของผู้บริ โภคที่เปลีย่ นมาใช้ สมาร์ ทโฟนกันมากขึ ้น 2.3 การจาหน่ ายและช่ องทางการจัดจาหน่ าย ช่องทางการจัดจาหน่ายซึง่ เป็ นจุดส่งผ่านสินค้ าและบริ การไปสูม่ ือผู้บริ โภคนับเป็ นหนึ่งในปั จจัยสาคัญที่สง่ เสริ มกลยุทธ์ ของ บริ ษัท และช่วยให้ ลกู ค้ าเข้ าถึงสินค้ าและบริ การได้ ทวั่ ถึง เอไอเอสได้ รักษาความสัมพันธ์ อนั ดีกับตัวแทนจาหน่าย กระจายช่อง ทางการจัดจาหน่ายทัว่ ทุกภูมิภาคของประเทศ รวมถึงมีช่องทางการจัดจาหน่ายที่แตกต่างกันออกไปเพื่อตอบสนองรู ปแบบการ ดาเนินชีวิตของลูกค้ าทุกกลุม่ โดยร้ อยละ 97 เป็ นการจาหน่ายผ่านตัวแทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพในการดาเนินธุรกิจและสามารถ ดูแลลูกค้ าได้ อย่างต่อเนื่อง ด้ วยหลักเกณฑ์การพิจารณาทังจากท ้ าเลที่ ตงั ้ ผลงานที่ผ่านมา รวมทังสถานะทางการเงิ ้ น โดยเฉพาะ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

อย่างยิ่งตัวแทนจาหน่ายในพื ้นที่ต่างจังหวัดจะต้ องเป็ นผู้ที่มีความคุ้นเคยในพื ้นที่และเป็ นนักธุรกิจที่มีศกั ยภาพภายในพื ้นที่เพื่อ สร้ างความน่าเชื่อถือและส่งมอบบริ การที่ดีให้ กบั ลูกค้ าได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ 1. เอไอเอส ช็อป เอไอเอสมีการขยายสาขาเอไอเอส ช็อป เพื่อให้ สามารถบริ การลูกค้ าได้ ในพื ้นที่ที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ยังมีการ พัฒนากระบวนการให้ บริ การที่ทาให้ คล่องตัว เพื่อความรวดเร็ ว อีกทังยั ้ งปรับปรุ งการจัดพื ้นที่และแสดงสินค้ าในช็อป ซึ่งจะมีสว่ น ช่วยสร้ างประสบการณ์ที่ดีให้ กบั ลูกค้ า โดยในปี 2558 มีเอไอเอส ช็อป 24 สาขา และเอไอเอส ช็อป บาย พาร์ ทเนอร์ ที่ดาเนินการ โดยพันธมิตรอีก 10 สาขา นอกจากนี ้ เอไอเอสยังเปิ ดโอกาสให้ ตวั แทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพเข้ าร่ วมเป็ นส่วนหนึ่งในการบริ หารร้ านเอไอเอส ช็อป เพื่อ ช่วยให้ การขยายสาขาเข้ าถึงลูกค้ าได้ มากยิ่งขึ ้น โดยเอไอเอส ช็อปที่บริ หารโดยตัวแทนจาหน่ายนี ้จะมีมาตรฐานการขายและการ ให้ บริ การอย่างมีคณ ุ ภาพเช่นเดียวกับการบริ หารโดยเอไอเอสเอง 2. ตัวแทนจาหน่าย “เทเลวิซ” เอไอเอสมีตวั แทนจาหน่ายเทเลวิซจานวนทังสิ ้ ้นกว่า 100 ราย และมีร้าน เทเลวิซ และเทเลวิซพลัส กว่า 450 แห่งทัว่ ประเทศ โดยตัวแทนจาหน่ายเทเลวิซมีสิทธิในการจาหน่ายสินค้ าและบริ การ ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าของเอไอเอส รวมถึงมีสิทธิใน การ ให้ บริ การรับจดทะเบียนรายเดือน ให้ บริ การเกี่ยวกับงานทะเบียนต่างๆ และเป็ นผู้ให้ บริ การรับชาระค่าบริ การหรื อค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ทังนี ้ ้ เทเลวิซที่เป็ นพันธมิตรกับเอไอเอส จะได้ รับการสนับสนุนในด้ านต่างๆ เพื่อให้ การดาเนินงานให้ บริ การลูกค้ ามีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานเช่นเดียวกับเอไอเอสช็อป ทังการสนั ้ บสนุนในด้ านระบบบริ หารจัดการ ระบบและช่องทางสื่อสารที่สะดวกเพื่อให้ การส่งข้ อมูลถึงพันธมิตรได้ รวดเร็ วเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขันให้ กบั ร้ านค้ า อีกทังยั ้ งสนับสนุนในด้ านการแบ่งปั นความรู้ ฝึ กอบรม บุคลากรให้ สามารถปฏิบตั ิงานได้ เป็ นอย่างดี มีทีมสนับสนุนงานบริ การที่ออกเยี่ยมร้ านเพื่อให้ คาแนะนา และในปี 2557-2558 นี ้ ยังได้ จัดหลักสูตร Yong Telewiz Management เพื่อเตรี ยมความพร้ อมทังด้ ้ านการดาเนินงาน การตลาด บัญชีการเงิน และ เทคโนโลยี ให้ กบั ผู้บริ หารเทเลวิซรุ่นใหม่ในการสืบทอดธุรกิจ ในปี 2558 เอไอเอสมุง่ มัน่ ที่จะเพิ่มประสบการณ์การเลือกซื ้อสินค้ าให้ กบั ลูกค้ า จึงจัดร้ านให้ ลกู ค้ าได้ สมั ผัสและทดลองใช้ งาน สมาร์ ทโฟนยอดนิยมจริ งก่อนตัดสินใจซื ้อ รวมถึงการอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น ช่วยโอนย้ ายข้ อมูลในโทรศัพท์เครื่ องเดิม เช่น เบอร์ โทรศัพท์ รูปภาพ ข้ อความและเพลง ไปสูค่ รื่ องใหม่ด้วยนวัตกรรมจากอุปกรณ์ Cellebrite และยังช่วยอานวยความสะดวกแก่ ลูกค้ าที่เข้ ามารับบริ การด้ วยระบบคิวและตู้รับชาระอัตโนมัติ (Payment kiosk) 3. ตัวแทนจาหน่ายแอดวานซ์ ค้ าส่ง (Advanced Distribution Partnership หรื อ ADP) ตัวแทนจาหน่ายแอดวานซ์ ค้ าส่งได้ รับการคัดเลือกจากตัวแทนจาหน่ายเทเลวิซ และตัวแทนจาหน่ายทัว่ ไปที่มีศกั ยภาพใน การกระจายสินค้ าในพื ้นที่มีสถานะทางการเงินที่ดี เพื่อทาหน้ าที่ดแู ลบริ หารการจัดส่งสินค้ าให้ กับตัวแทนแอดวานซ์ค้าปลีกและ ตัวแทนจาหน่าย เอไอเอส บัดดี ้ ในเขตพื ้นที่ของตนเองได้ อย่างรวดเร็ ว รวมทังสนั ้ บสนุนการทากิจกรรมทางการตลาดในพื ้นที่ 4. ตัวแทนจาหน่าย “เอไอเอส บัดดี ้” ในปี 2558 นี ้ เอไอเอสได้ ทาการปรับโฉมตัวแทนจาหน่าย “เอไอเอส เซอร์ วิส พอยท์ ” ใหม่ ภายใต้ แบรนด์ว่า “เอไอเอส บัดดี ้” ด้ วยแนวคิด “เพื่อนบ้ านใหม่ใกล้ บ้านคุณ” เพื่อเป็ นร้ านค้ าปลีกที่จาหน่ายสินค้ าและให้ บริ การอื่นๆ ของเอไอเอส โดยมีจานวนกว่า 1,000 ร้ านค้ ากระจายตัวอยูใ่ นตามแต่ละอาเภอ ทัว่ ประเทศ เพื่อตอบสนองต่อการขยายตัวของกลุม่ ลูกค้ าเอไอเอสที่มีแนวโน้ มเพิ่ม มากขึ ้นในอนาคต

ส่วนที่ 1 | หน้ า 16


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

5. ตัวแทนแอดวานซ์ ค้ าปลีก (Advanced Retail Shop หรื อ ARS) ตัวแทนแอดวานซ์ ค้ าปลีกเป็ นร้ านค้ าปลีกที่จาหน่ายโทรศัพท์ทวั่ ไปที่กระจายอยูห่ ลากหลายพื ้นที่ สามารถเข้ าถึงลูกค้ าได้ เป็ น อย่างดี นับเป็ นช่องทางสาคัญเพราะเป็ นตัวแทนจาหน่ายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าโดยตรง ปั จจุบนั มีมากกว่า 22,000 ราย และมีแนวโน้ ม ที่จะเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของชุมชน 6. ตัวแทนจาหน่ายขนาดใหญ่ (Key Account and Modern Trade) เอไอเอส ได้ จดั จาหน่ายสินค้ าและบริ การต่างๆ เช่น รับชาระเงิน ผ่านตัวแทนจาหน่ายขนาดใหญ่ซึ่งมีสาขาหรื อร้ านค้ าของ ตนเองอยู่ทวั่ ประเทศ (Chain store) เช่น เจมาร์ ท ทีจี บางกอกเทเลคอม ซีเอสซี กลุม่ ร้ านค้ าปลีกสมัยใหม่ (Modern trade) เช่น เทสโก้ โลตัส บิ๊กซี เพาเวอร์ บาย เซเว่นอีเลเว่น กลุม่ ช่องทางขายอุปกรณ์ไอที ตัวแทนจาหน่ายไอที กลุม่ ไอทีค้าปลีก เช่น ไอสตูดิโอ ไอบีท บานาน่าไอที คอมเซเว่น ไอทีซิตี ้ เป็ นต้ น โดยกระจายอยู่ทวั่ ประเทศเป็ นจานวนทังสิ ้ ้นมากกว่า 20 ราย และเป็ นสาขา มากกว่า 15,000 แห่ง รวมถึงได้ เพิ่มจานวนพนักงานส่งเสริ มการขาย (AIS promoter) คอยทาหน้ าที่แนะนาสินค้ าและบริ การแก่ ลูกค้ า พร้ อมทังมี ้ การเพิ่มประสิทธิ ภาพของช่องทางจาหน่ายโดยเพิ่มความสามารถในการขายสินค้ า และให้ บริ การของเอไอเอส อาทิ โครงการ AIS Super Deal โครงการเก่าแลกใหม่ เป็ นต้ น ตลอดจนการเพิ่มสือ่ ต่าง ๆ ในสาขาของตัวแทนจาหน่ายเพื่อเป็ นการ ส่งเสริ มการขายและสร้ าง Brand Awareness 7. การจาหน่ายทางตรง เป็ นช่องทางที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดจาหน่ายให้ สามารถนาเสนอสินค้ าและบริ การได้ เข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ าโดยตรง เช่น การออกบูธ ซึง่ ดาเนินการโดยการคัดสรรจากตัวแทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพและความชานาญในแต่ละพื ้นที่ และโดยจัดตังที ้ มงาน AIS Direct Sales เพื่อรองรับการเติบโตและขยายตัวของตลาดในอนาคต 8. การจาหน่ายผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เอไอเอส ส่งเสริ มให้ ตวั แทนจาหน่ายระบบ วัน ทู คอล านตัวแทนหน่วยเติมเงินให้ บริ การเติมเงินผ่ !AIS Online top-up ช่วย ให้ ลกู ค้ าเอไอเอสสะดวกยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ยังพัฒนาวิธีการเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น ผ่านเครื่ อง เติมเงิ นอัตโนมัติ เอทีเอ็ม ธุรกรรมการเงินผ่านมือถือ อินเทอร์ เน็ต เอ็มเปย์ โดยปั จจุบันเ อไอเอสมีการจาหน่ายผ่านช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์กว่า 400,000 จุด ปั จจุบนั การเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมาก โดยมีสดั ส่วนกว่า ร้ อยละ 80 ของมูลค่า การเติมเงินทังหมด ้ รวมถึงยังช่วยลดต้ นทุนในการผลิตบัตรเติมเงินและบัตรเงินสดอีกด้ วย สาหรับธุ รกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง เอไอเอสไฟเบอร์ นนั ้ มีช่องทางการจัดจาหน่ายที่ม่งุ เน้ นประสิทธิ ภาพให้ สามารถ นาเสนอสินค้ าและบริ การได้ เข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ า โดยได้ เลือกช่องทางที่เหมาะสมกับกลุม่ ลูกค้ า และครอบคลุมเพื่อรองรับการเติบโต และขยายตัวของตลาดในอนาคต ช่องทางจัดจาหน่ายสาหรับธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงนี ้ มีทงการจั ั้ ดจาหน่ายผ่านเอไอเอส ช็อป และร้ านค้ าเทเลวิซ กว่า 80 แห่ง ใน 12 จังหวัดในพื ้นที่ให้ บริ การ มีการตังที ้ มจัดจาหน่ายแบบขายตรงของเอไอเอสไฟเบอร์ มีการจัดตังตั ้ วแทนจาหน่าย ที่มี ศักยภาพและความชานาญในแต่ละพื ้นที่ นอกจากนี ้ ยังมีการจาหน่ายผ่านร้ านค้ าตัวแทนของเอไอเอส ได้ แก่ เทเลวิซ ตัวแทน แอดวานซ์ค้าปลีก (Advanced Retail Shop หรื อ ARS) อีกทังยั ้ งมีช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็ นช่องทางการจัดจาหน่ายที่เหมาะ กับพฤติกรรมผู้บริ โภคในปั จจุบนั โดยผ่ าน เว็บไซต์เอไอเอสไฟเบอร์ www.ais.co.th/fibre/ และแอพพลิเคชัน่ AIS Fibre โดย สามารถดาวน์โหลดผ่าน Google Play

ส่วนที่ 1 | หน้ า 17


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

2.4 การบริหารความสัมพันธ์ ลูกค้ า และประสบการณ์ ลูกค้ า ปี นี ้ เอไอเอสได้ เดินหน้ ายกระดับกลยุทธ์ การดูแลลูกค้ าให้ สอดรับกับยุคดิจิทลั ด้ วยการเปิ ดตัวโครงการ "AIS LIVE 360º เติมทุกองศากับความพิเศษ" เพื่อดูแลลูกค้ าให้ ครอบคลุมทุกด้ านของความต้ องการทัง้ 360 องศาของการใช้ ชีวิต สอดคล้ องกับ รูปแบบการใช้ ชีวิตของคนยุคใหม่ ที่มองหาความพิเศษ ความสะดวกสบาย ความตื่นเต้ น และความสนุกสนาน โดยมีกลยุทธ์สาคัญ 5 ด้ าน ผ่าน 5 องศาของการดูแล ดังนี ้ 1. AIS Service องศาการบริการแบบใส่ ใจ ยกระดับการบริ การด้ วยเทคโนโลยี พร้ อมพนักงานผู้เชี่ยวชาญที่ให้ การ ดูแ ลอย่ า งครอบคลุ ม กว่ า 5,000 คน โดยในปี นี ้ บริ ษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็ นเตอร์ จากัด (ACC) ผู้ใ ห้ บ ริ ก าร เอไอเอส คอลเซ็นเตอร์ ได้ เติบโตไปอีกก้ าวย่าง ด้ วยการจัดตัง้ สานักงานต่างจังหวัด ที่จังหวัดนครราชสีมา จานวน 2 แห่ง คือที่ อาคาร เกริ กไกร ถนนอัษฎางค์ และที่อาคารเดอะมอลล์ ถนนมิตรภาพ รองรับพนักงานได้ สงู สุด 750 คน คิดเป็ นร้ อยละ 20 ของพนักงาน ACC ทัง้ หมด และยังเป็ นการสร้ างงานให้ แก่ท้องถิ่ นโคราช โดยปั จจุบนั มีพนักงานจากท้ องถิ่ นและจังหวัดใกล้ เคียง 540 คน ให้ บริ การรับสายลูกค้ าได้ ร้อยละ 20 ของจานวนสายทัว่ ประเทศ และเพื่อตอบสนองรู ปแบบการใช้ ชีวิตบนสื่อสังคมออนไลน์ ยังได้ มีการลงทุนพัฒนาระบบดูแลสื่อมัลติมีเดีย (New Multimedia Tool) โดยระบบจะแจ้ งกระทู้ ข้ อสงสัยต่างๆ ที่กระจายอยู่ในสื่อ สังคมออนไลน์ เช่น เฟชบุ๊ค พันทิป อีเมล์ กลับมายังพนักงานโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ สามารถตอบกลับลูกค้ าได้ ภายในไม่ เกิน 30 นาที โดยจานวนการติดต่อผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ได้ เติบโตสูงขึ ้นถึง 59% เมื่อเทียบกับปี 2557 นอกจากนี ้ ยังได้ พัฒนา ระบบการบริ การตนเองผ่ านระบบตอบรั บอัตโนมัติ (Interactive Voice Response) ซึ่งมีจานวนมากกว่า 3.4 ล้ านสายต่อ เดือน ด้ วยบริ การใหม่ *1175 บริ การทาเองได้ ง่ายจัง ให้ ลกู ค้ าทาธุรกรรมต่างๆ ได้ ด้วยตนเอง เช่น เปลี่ยนแพ็กเกจ สมัคร โปรโมชั่น ฯลฯ ฟรี ไม่คิดค่าโทร มี ผ้ ูใช้ บริ การร้ อยละ 52 ของบริ การระบบตอบรับอัตโนมัติทงหมด ั้ และมี ยอดขายผ่ าน *1175 เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 17 จากปี 2557หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 11 ของยอดขายทังหมด ้ ด้ วยความมุ่งมั่นสร้ างสรรค์ นวัตกรรมการบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล และการตรวจสอบคุณภาพ ทาให้ ACC ได้ รับรางวัล "Best of the Best Employer Thailand 2015” จาก Aon Hewitt และรางวัล “ศูนย์ รับเรื่ องและแก้ ไขปั ญหา ให้ กับผู้บริ โภคดีเด่ น” จาก สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริ โภค (สคบ.) ร่ วมกับสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) เป็ นปี ที่สองติดต่อกันอีกด้ วย เอไอเอส ช็อป ในปี นี ้ ได้ เติบโตขยายสาขาอย่ างต่ อเนื่อง จาก 68 สาขาในปี 2557 เป็ น 84 สาขาในปี 2558 โดยได้ เปิ ดตัว AIS Flagship Store ใหม่ 2 แห่ง คือที่ ดิ เอ็มควอเทียร์ และเซ็นทรัล เวสต์เกต พร้ อมเดินหน้ า ยกระดับการให้ บริ การเอไอเอส ช็อปทั่วประเทศสู่ดิจิทัลไลฟ์อย่างเต็มตัวในหลากหลายมิติ อาทิ (1) กระบวนการให้ บริ การ ได้ พัฒนาสู่รูปแบบดิจิตอล (Digitized Process) โดยพนักงานให้ บริ การแบบเคลื่อนที่ (Service on Mobility) ด้ วยแท็บเล็ต ทาให้ มีความคล่องตัว ลดการใช้ กระดาษ และช่วยสร้ างความผูกพันกับลูกค้ า ผ่าน การปฏิสมั พันธ์ในการให้ คาปรึกษาบริ การอย่างใกล้ ชิดขึ ้น (2) การจัดร้ านให้ มีพนื ้ ที่แสดงเทคโนโลยีดิจิตอลไลฟ์ที่ลา้ สมัย (Digital Life Arena) โดยปี นี ้จัดแสดงในคอนเซ็ปต์ การดูแลสุขภาพ และการใช้ ชีวิตในบ้ านแบบสมาร์ ท (Smart Health & Smart Home) ให้ ลกู ค้ าได้ ทดลองสัมผัส ประสบการณ์จริ งกับอุปกรณ์จริ ง โดยจัดพื ้นที่ดงั กล่าวที่ เอไอเอส ช็อป 10 สาขาในปี นี ้ และยังได้ ปรับโฉม การจัดแสดง สินค้ าภายในช็อปในรูปแบบดิจิตอล (Visual Merchandise Wall) เพื่อเพิ่มความโดดเด่นทางสายตา และนาเสนอสินค้ า บริ การที่หลากหลายครบวงจรอย่างน่าสนใจด้ วย (3) การบริการด้ วยตู้อัจฉริยะ ₋ ตูช้ าระเงิ น (Payment Kiosk) เพิ่มจาก 249 ตู้ในปี 2557 เป็ น 370 ตู้ในปี 2558 โดยย้ ายธุรกรรมการชาระเงิน ผ่านเคาน์เตอร์ ที่ เอไอเอส ช็อป ไปยังตู้ได้ ถึงร้ อยละ 80 ทาให้ พนักงานสามารถให้ บริ การอื่นที่สร้ างมูลค่าเพิ่มได้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 18


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

มากยิ่ ง ขึน้ และยัง ขยายตู้ไ ปยัง จุด ต่า งๆ เช่ น สถานี ร ถไฟฟ้ าใต้ ดิ น สถานี ร ถไฟฟ้ าบี ที เ อส เทเลวิ ซ ช็ อ ป ศูนย์การค้ าชุมชนมากขึ ้นด้ วย ₋ ตู้บริ การอัจฉริ ยะ (Service Vending Kiosk) เปิ ดให้ บริ การเต็มตัวในปี นี ้ ให้ ลกู ค้ าทารายการต่างๆ ได้ ด้วย ตนเอง เช่น เลือกเบอร์ มงคล จดทะเบียนหมายเลขใหม่ เปลีย่ นซิม อัพเกรดเป็ น 3G เปลี่ยนแพ็กเกจ โดยติดตัง้ ที่เอไอเอสช็อปแล้ วทังสิ ้ ้น 49 ตู้ และจะขยายต่อเนื่องในปี หน้ า ₋ ตู้จาหน่ายสิ นค้า (AIS Vending Kiosk) เริ่ มเปิ ดให้ บริ การ 6 ตู้ โดยในเฟสแรกนี ้ เปิ ดจาหน่ายผลิตภัณฑ์น้องอุน่ ใจรูปแบบต่างๆ เช่น ตุ๊กตาอุน่ ใจ ผ้ าขนหนู ม่านกันแดด เป็ นต้ น (4) พนักงาน ยกระดับความรู้ ความสามารถของพนัก งานอย่างต่อ เนื่ อง โดยได้ พัฒ นาพนัก งานเป็ น กูรู ด้า นดิจิ ทัลไลฟ์ (Digital Life Guru) ที่มีทกั ษะความรู้ กี่ยวกับสมาร์ ทโฟน อุปกรณ์เสริ ม และแอพพลิเคชัน่ โดยเพิ่มจาก 232 คน ในปี 2557 เป็ น 375 คน ในปี นี ้ 2. AIS Privileges พิเศษกับองศาที่ชอบส่ วนลด มอบสิทธิพิเศษต่างๆ ร่วมกับร้ านค้ ากว่า 12,000 ร้ านค้ า อาทิ เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป ไมเนอร์ กรุ๊ป แมคโดนัลด์ แบล็คแคนยอน S&P เมเจอร์ กรุ๊ป SF Cinema รถไฟฟ้ าบีทีเอส รถไฟฟ้ าใต้ ดิน เอ็มอาร์ ที บางกอกแอร์ เวย์ส ดิ เอ็มควอเทียร์ สยามพารากอน บางจาก เป็ นต้ น ครอบคลุมทังการรั ้ บประทานอาหาร ช็อปปิ ง้ บันเทิง การ เดินทาง และท่องเที่ยว ตลอดจนส่วนลดมือถือที่มอบให้ สาหรับผู้ซื ้อสมาร์ ทโฟนพร้ อมแพ็กเกจราคาสุดคุ้ม 3. AIS Rewards พิเศษกับองศาที่ชอบลุ้นทอง จัดโครงการคืนกาไรให้ ลกู ค้ าเอไอเอส สานต่อความยิ่งใหญ่ กับโครงการ “เอไอเอส อุ่นใจ ปี 7 โชคทองถล่มทับ” ร่ วมกับเวิร์คพอยท์ ในรายการปริ ศนาฟ้ าแลบ เพื่อมอบโชคให้ ลกู ค้ าได้ ล้ นุ ทองแสนทุกวัน ทองล้ านทุกเดือน เป็ นต้ น 4. AIS Points พิเศษกับองศาที่ชอบแลกพอยท์ มอบความคุ้มค่าทุกการใช้ งาน โดยยอดค่าใช้ บริ การทุก 25 บาท รับ 1 พอยท์ เพื่อรับสิทธิ์แลกค่าโทร ค่าอินเทอร์ เน็ต กินฟรี ดูหนังฟรี พรี เมี่ยมอุน่ ใจ และลุ้นเที่ยวฟรี กบั เจมส์ จิรายุ ด้ วย 5. AIS Experience พิเศษกับองศาเปิ ดประสบการณ์ มอบประสบการณ์สดุ พิเศษ ทังในและต่ ้ างประเทศ ดูแลลูกค้ า อย่างอบอุน่ และพิเศษตลอดประสบการณ์ ได้ แก่ ด้ านท่องเที่ยว 8 เส้ นทางมรดกโลก อาทิ ตุรกี กุ้ยหลิน สาธารณรัฐเชค ด้ านกินดื่ม ที่ตอบโจทย์ลกู ค้ าทุกกลุม่ อย่างหลากหลาย อาทิ อร่อยแบบพรี เมี่ยมกับเชฟระดับโลกจาก “Michelin Star Chef” และโครงการใหม่ ในปี นี ้ "มื ้อนี ้ฟิ น วันนี ้ฟรี ” ให้ ลกู ค้ าได้ กินฟรี ในย่านดังทังกรุ ้ งเทพฯ และอีก 20 จังหวัดทัว่ ไทย ซึง่ ลูกค้ าให้ การตอบรับอย่างมาก ทังนี ้ ้ ลูกค้ า เอไอเอส เซเรเนด ยังคงได้ รับความพิเศษที่มากกว่า ด้ วยการคัดสรรสิทธิ พิเศษสาหรับลูกค้ าเซเรเนด แพลทินมั โดยเฉพาะ เช่น ดูหนังฟรี 1 ที่นงั่ /เดือน ที่ SF Cinema พร้ อมส่วนลด ร้ อยละ 25 สาหรับที่นงั่ ชันหนึ ้ ่ง (First Class) เครื่ องดื่มฟรี 1 แก้ ว และของว่างฟรี 1 ชิ ้น บริ การสารองที่จอดรถพิเศษ ลูกค้ าเซเรเนด แพลตทินมั และโกลด์ กว่า 17 แห่งทัว่ ประเทศ เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ยังมีกิจกรรมที่จดั ขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเน้ นการร่วมสร้ างให้ คนไทยภาคภูมิใจในความเป็ นไทย อาทิ “เปิ ดตานาน 100 ปี พระที่นงั่ อนันตสมาคม” เนื่องในวาระเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การสร้ างพระที่นงั่ อนันตสมาคม พร้ อมชมงานแสดง “ศิลป์ แผ่นดิน” และกิจกรรม “อัศจรรย์ ภูพิงค์ ราชนิเวศน์” พาลูกค้ าเซเรเนดเยี่ยมชมพระตาหนักภูพิงค์ ราชนิเวศน์ จ.เชียงใหม่ อย่าง ใกล้ ชิด ซึง่ ทังหมดนี ้ ้ ได้ รับเสียงตอบรับและความประทับใจจากลูกค้ าเป็ นอย่างดี ทังนี ้ ้ โครงการ “AIS LIVE 360º เติมทุกองศากับความพิเศษ" ดังกล่าว ยังได้ รับรางวัล “Innovative Mobile Digital Lifestyle Campaign Award" จาก Asia Pacific Customer Service Consortium (APCSC) ประเทศฮ่องกง ในเดือนมิถนุ ายน 2558 ซึ่ง เป็ นรางวัลจากการคัดสรรแคมเปญที่มีนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์การบริ การและการดูแลลูกค้ าในยุคดิจิตอลได้ ยอดเยี่ยมที่สดุ ด้ วย

ส่วนที่ 1 | หน้ า 19


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

2.5 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขันในปี 2558 และแนวโน้ มในปี 2559 ตลาดโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ในปี 2558 ตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นที่มีการขยายตัวมากในด้ านการใช้ บริ การข้ อมูล ซึง่ เป็ นผลมาจาก การเชื่อมต่อออนไลน์ ได้ กลายเป็ นปั จจัยพืน้ ฐานในการดาเนินชี วิตของผู้บริ โภค โดยเฉพาะความนิยมการใช้ งานเครื อข่ายสังคมออนไลน์ (Social network) ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว แพ็กเกจการใช้ งานโทรศัพท์เคลือ่ นที่ที่มีความคุ้มค่ามากขึ ้น และราคาเครื่ องสมาร์ ทโฟนที่ลดลง ทาให้ ผ้ บู ริ โภคเป็ นเจ้ าของได้ ง่ายขึ ้น ผู้บริ โภคที่เคยใช้ เครื่ องโทรศัพท์แบบกดปุ่ ม (Feature phone) จึงเริ่ มเปลีย่ นมาใช้ เครื่ องสมาร์ ท โฟนมากขึ ้น ในปั จจุบนั นี ้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยเฉพาะเครื่ องสมาร์ ทโฟนกลายเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการขยายฐานลูกค้ าใหม่ และ รักษาฐานลูกค้ าเดิม ทังยั ้ งช่วยผลักดันรายได้ จากบริ การด้ านข้ อมูลให้ เติบโตขึ ้น ดังนันผู ้ ้ ให้ บริ การเครื อข่ายทุกรายจึงได้ เน้ นการ นาเสนอเครื่ องสมาร์ ทโฟนใน 2 รูปแบบคือ สินค้ าแบรนด์ทวั่ ไป และสินค้ าภายใต้ แบรนด์ของผู้ให้ บริ การ เอไอเอสประสบความสาเร็ จในการจัดจาหน่ายโทรศัพท์สมาร์ ทโฟนภายใต้ แบรนด์ เอไอเอส ลาวา ที่ติดอันดับรุ่ นที่ขายดี ที่สดุ ในช่วงราคาต่ากว่า 3,000 บาท ภายใต้ แคมเปญ Super Combo สาหรับลูกค้ าระบบเติมเงิน และ แคมเปญ Super Deal สาหรับลูกค้ าระบบรายเดือน ซึง่ ทาให้ ลกู ค้ าได้ รับสินค้ าคุณภาพในราคาที่เข้ าถึงได้ ง่ายพร้ อมแพคเกจการใช้ งานที่ค้ มุ ค่า กลยุทธ์ที่ผ้ ใู ห้ บริ การใช้ เป็ นหลักในปี 2558 คือการใช้ เครื่ องโทรศัพท์มือถือเป็ นสิง่ ดึงดูดลูกค้ า โดยมีการแจกเครื่ องฟรี เมื่อ สมัครแพจเกจใช้ งานตามระยะเวลาที่กาหนด ส่วนเอไอเอสได้ ดาเนินกลยุทธ์ นี ้เช่นกันโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ ลกู ค้ าที่ใช้ โทรศัพท์ 8G เปลี่ยนเครื่ องโทรศัพท์ให้ รองรับเครื อข่าย 3G ทาให้ ลกู ค้ าได้ รับประสบการณ์ ดีกว่าเมื่อมาใช้ เครื อข่าย 3G ที่มีคุณภาพและ อินเทอร์ เน็ตเร็ วขึ ้น และยังเป็ นช่วงที่สมั ปทานบนคลื่น 900 เมกะเฮิร์ตซ หมดอายุ เป็ นเหตุผลผลักดันให้ ลกู ค้ าย้ ายไปใช้ เครื อข่าย 3G ที่มีโครงสร้ างต้ นทุนถูกกว่า เอไอเอสใช้ โทรศัพท์ภายใต้ แบรนด์ ลาวา เป็ นตัวหลักในการทาแคมเปญภายใต้ ชื่อ ที่ให้ ลกู ค้ าเอไอเอส ”เก่าแลกซื ้อใหม่“ นาโทรศัพท์ 2G เครื่ องเก่ามาแลกเครื่ องโทรศัพท์แบบกดปุ่ มที่รองรับ 3G หรื อแลกซื ้อเครื่ องสมาร์ ทโฟน 3G เครื่ องใหม่ในราคา พิเศษ ซึง่ ปรากฎว่าแคมเปญดังกล่าวได้ รับการตอบรับเป็ นอย่างดี ทังในด้ ้ านคุณภาพเครื่ องและบริ การหลังการขาย เอไอเอสประสบความสาเร็ จในการโอนย้ ายลูกค้ า 2G มายังเครื อข่าย 3G โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 ซึ่งสิ ้นสุด สัญญาสัมปทานในระบบ 900MHz กับทีโอที เอไอเอสมีลกู ค้ าที่ใช้ งานอยู่บนระบบ 2G เหลืออยู่เพียง 1.9 ล้ านเลขหมาย ซึ่งส่วน ใหญ่เป็ นผู้ที่ใช้ งานน้ อย และอยูใ่ นพื ้นที่หา่ งไกลซึง่ เข้ าถึงได้ ยาก จากการที่ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่นได้ จดั สรรงบประมาณจานวนมากเพื่อทากิจกรรมทางการตลาด และประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับ เทคโนโลยี 4 รวมทังน ้ าเครื่ องโทรศัพท์ที่รองรับ 4G มาจาหน่าย โดยมีเป้าหมายในการสร้ างภาพลักษณ์ ความเป็ นผู้นาในการ ให้ บริ การ 4G ในขณะที่เอไอเอสเป็ นผู้ให้ บริ การเพียงรายเดียวที่ยงั ไม่มีการเปิ ดให้ บริ การบนเทคโนโลยี 4G เนื่องจากข้ อจากัดของ คลื่นความถี่ ปั จจัยดังกล่าวไม่เพียงส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของเอไอเอสในมุมมองของผู้บริ โภค แต่ยงั ส่งผลต่อคุณภาพการ ให้ บริ การในบางพื ้นที่ โดยเฉพาะพื ้นที่ที่มีประชากรหนาแน่น และมีการใช้ งานสูง ซึ่งเอไอเอสมิได้ นิ่งนอนใจในการที่จะปรับปรุ ง คุณภาพการให้ บริ การเครื อข่าย 3G อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการเตรี ยมความพร้ อมในการให้ บริ การ 4G อาทิเช่น 1) การขยายเครื อข่าย 3G อย่างต่อเนื่อง โดย ณ สิ ้นปี 2558 มีจานวนสถานีฐาน 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ มากกว่า 87,200 แห่ง ครอบคลุมพื ้นที่อยูอ่ าศัยมากกว่า98% ของประชากร 2) เพิ่มจุดให้ บริ การ AIS WiFi และ AIS Super WiFi ในพื ้นที่ต่างๆ ทัว่ ประเทศที่มีการใช้ งานสูง เพื่อทาให้ ลกู ค้ าได้ รับความพึง พอใจจากคุณภาพการใช้ งานด้ านข้ อมูลที่ได้ ความเร็ วเทียบเท่า หรื อสูงกว่าการใช้ งานบนเครื อข่าย 4G 3) การนาเสนอโทรศัพท์สมาร์ ทโฟน 4G ในราคาประหยัดภายใต้ ยี่ห้อลาวา เพื่อรองรับการเปิ ดให้ บริ การ 4G ในปี หน้ า

ส่วนที่ 1 | หน้ า 20


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

นอกเหนือไปจากการแข่งขันในอุตสาหกรรม ปั จจัยภายนอกก็ได้ เข้ ามามีผลต่อการดาเนินธุรกิจของผู้ให้ บริ การเครื อข่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่อย่างมากด้ วยเช่นกัน ทังการขยายตั ้ วทางเศรษฐกิจที่ต่ากว่าที่คาดการณ์ และตัวชี ้วัดสาคัญต่างๆ ทางเศรษฐกิจ เช่น ตัวเลขการส่งออกที่ติดลบ อัตราส่วนหนี ้สินต่อครัวเรื อนเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ที่สูงมากกว่า 80% ส่งผลกระทบกับกาลังซื ้อและการใช้ จ่ายของผู้บริ โภค จึงทาให้ ลกู ค้ าใหม่มีจานวนลดลง รวมถึงลูกค้ าปั จจุบนั มีความระมัดระวังใน การใช้ งานและควบคุมค่าใช้ จ่ายมากขึ ้น และการที่สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้ ออกข้ อบังคับเรื่ องการลงทะเบียนซิมการ์ ด ซึ่งหากลูกค้ าในระบบเติมเงินไม่ได้ แสดงตนภายใน ระยะเวลาที่กาหนดก็จะไม่สามารถใช้ งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ อีกต่อไป ทาให้ ฐานลูกค้ าในระบบเติมเงินในตลาดโดยรวมหายไป จากระบบกว่า 10.8 ล้ านเลขหมาย (รวมทุกเครื อข่าย) อย่างไรก็ดีกฎข้ อบังคับดังกล่าวได้ ช่วยลดจานวนเลขหมายที่ไม่มีการใช้ งาน (inactive) ซึง่ เป็ นการบริ หารทรัพยากรเลขหมายให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น และเป็ นการจัดระเบียบเรื่ องฐานข้ อมูลลูกค้ าเพื่อเหตุผล ด้ านความมัน่ คงปลอดภัยของประเทศ ภาวะอุตสาหกรรม และแนวโน้ มการแข่ งขันในปี 2559 ตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในปี 2559 จะมีการขยายตัวมากในส่วนบริ การข้ อมูล โดยเฉพาะเมื่อมีการเปิ ดให้ บริ การ 4G ภายใต้ ใบอนุญาตคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งมีการประมูลเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2558 ที่ผ่านมา โดยปั จจัยบวกสาหรับตลาด โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในปี 2559 มีดงั นี ้ 1. ความต้ องการเชื่ อมต่อโลกออนไลน์ที่สงู ขึ ้น เนื่องจากรู ปแบบการดาเนินชีวิตของผู้บริ โภคที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคดิจิตอลที่ ต้ องการเข้ าถึงข้ อมูลต่างๆ ตลอดเวลา ทังในรู ้ ปแบบของการสือ่ สารผ่านเครื อข่ายสังคมออนไลน์ อีเมล์ หรื อ ความบันเทิง เช่น เล่นเกม ดูหนัง เป็ นต้ น 2. โทรศัพท์สมาร์ ทโฟนมีราคาที่ลดลงและเป็ นเจ้ าของได้ ง่ายขึ ้นทาให้ สดั ส่วนการใช้ งานสมาร์ ทโฟนเติบโตขึ ้นแบบก้ าวกระโดด 3. บริ การที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีการสือ่ สารผ่านโลกออนไลน์มีการขยายตัวเพราะผู้บริ โภคสามารถเข้ าถึงบริ การต่างๆ ได้ ง่าย ผ่านสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ต ได้ แก่  การซื ้อขายสิ นค้าผ่านออนไลน์ (e-commerce and m-commerce) สินค้ าหลายประเภทได้ หนั มาใช้ ช่องทางนี ้ในการเพิม่ ยอดขายผ่านร้ านค้ าออนไลน์ซงึ่ ลูกค้ าสามารถดูสินค้ า เปรี ยบเทียบราคาและโปรโมชัน่ รวมทังตั ้ ดสินใจซื ้อและชาระเงิน ได้ ทนั ที  บริ การคอนเทนต์ (content service) ผู้บริ โภคมองหาเนื ้อหาหรื อคอนเทนต์ที่มีคณ ุ ภาพดีจากผู้ให้ บริ การ มีการนาเสนอ คอนเทนต์ที่เป็ นลิขสิทธิ์ เฉพาะ (exclusive content) ผ่านความร่ วมมือกับพันธมิตรในหลากหลายธุรกิจทัง้ ในและ ต่างประเทศ เช่น การแข่งขันฟุตบอลพรี เมียร์ ลกี อังกฤษ ซีรีส์ละครหรื อซีรีส์ตา่ งประเทศ เพื่ อให้ ครอบคลุมความสนใจของ ลูกค้ ากลุม่ ต่างๆ ได้ อย่างแท้ จริ ง  บริ การเก็ บข้อมู ลบนคลาวด์ (cloud storage) ผู้คนนิยมถ่ายรู ปและวีดีโอหรื อคอนเทนต์ต่างๆ ซึ่งหน่วยความจาของ อุปกรณ์ตา่ งๆ อาจมีไม่เพียงพอ จึงทาให้ การเก็บข้ อมูลบนคลาวด์เป็ นที่นิยมมากขึ ้น  การพัฒนาโมบายแอพพลิ เคชัน่ ใหม่ ๆ ทังแบบให้ ้ ดาวน์โหลดฟรี และแบบเสียเงินเพื่อตอบสนองรู ปแบบการใช้ ชีวิตของ ผู้บริ โภครุ่ นใหม่สาหรับความบันเทิง การศึกษา หรื อเป็ นช่องทางให้ บริ การลูกค้ าอีกทางหนึ่ง เช่น เกม สังคมออนไลน์ บันเทิง สุขภาพ การเงิน เป็ นต้ น 4. การผนวกรวมบริ การในรูปแบบคอนเวอร์ เจนซ์ (Convergence Service) ซึง่ ผสมผสานทังมื ้ อถือ อินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูง และ ความบันเทิง เข้ าด้ วยกัน เพื่อให้ ผ้ บู ริ โภคสามารถเข้ าถึงเนื ้อหาหรื อบริ การต่างๆ ได้ ผ่านหลากหลายอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ เชื่อมต่อถึงกันได้ ผา่ นอินเทอร์ เน็ต

ส่วนที่ 1 | หน้ า 21


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

5. การฟื น้ ตัวทางเศรษฐกิจในปี 2559 จากการใช้ จ่ายและการลงทุนภาครัฐในโครงสร้ างพื ้นฐานขนาดใหญ่ มาตรการในการ ช่วยเหลือผู้มีรายได้ น้อย และการฟื น้ ตัวของอุปสงค์ทงในประเทศและต่ ั้ างประเทศ จะช่วยสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ ภาคเอกชนใน การลงทุนเพิ่มขึ ้น รวมถึงกระตุ้นอานาจซื ้อของผู้บริ โภค 6. การเคลือ่ นย้ ายของประชากรภายในกลุม่ ประเทศอาเซียน ประชากรกว่า 600 ล้ านคนจะสามารถติดต่อการค้ า การลงทุน และ ท่องเที่ยวระหว่างกลุม่ ประเทศสมาชิกได้ ง่ายขึ ้น ซึง่ จะส่งเสริ มเศรษฐกิจระหว่างประเทศรวมถึงบริ การสือ่ สารโทรคมนาคมด้ วย เช่นกัน อย่างไรก็ดีธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในปี หน้ ายังต้ องเผชิญกับความท้ าทายต่างๆ ได้ แก่ 1. การแข่งขันที่สงู ขึ ้นในการให้ บริ การบนเทคโนโลยี 4G โดยมุ่งเน้ นที่การแข่งขันด้ านคุณภาพ และความเร็ วของเครื อข่าย ซึ่ง เอไอเอสก็พร้ อมให้ บริ การเทคโนโลยี 4G นี ้ ด้ วยคลืน่ ความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ที่ได้ ประมูลมาและยังมีการพัฒนาเครื อข่ายอยู่ เสมอเพื่อให้ มีคณ ุ ภาพดี สามารถรองรับการให้ บริ การลูกค้ าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คาดว่าการใช้ กลยุทธ์สง่ เสริ มการขายด้ วย เครื่ องโทรศัพท์มือถือจะยังคงเป็ นสิง่ ที่ผ้ ใู ห้ บริ การต่างๆ ใช้ เพื่อรักษาและเพิ่มส่วนแบ่งตลาด 2. ลูกค้ าคาดหวังคุณภาพบริ การและประสบการณ์การใช้ งานอินเทอร์ เน็ตบนมือถือที่ดีขึ ้นกว่าเดิม หลังจากที่ผ้ ใู ห้ บริ การทุกราย เปิ ดให้ บริ การบนเทคโนโลยี 4G โดยเฉพาะคอนเทนต์ที่ต้องการความเร็ วสูงในการรับส่งข้ อมูลเช่น การถ่ายทอดสด การดูวิดีโอ หรื อคอนเทนต์ที่มีความละเอียดสูงระดับ HD 3. การเกิดบริ การสินค้ าทดแทนโดยเฉพาะ Over-The-Top (OTT) ซึง่ หมายถึงบริ การเสริ มที่ไม่ได้ เป็ นของผู้ให้ บริ การโครงข่าย ใช้ เพื่อติดต่อสื่อสารด้ านภาพ เสียง ข้ อความ หรื อวีดีโอ ผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตซึ่งได้ รับความนิยมมากยิ่งขึ ้น ตัวอย่างเช่น LINE WhatsApp ซึง่ ส่งผลต่อการใช้ งานบริ การด้ านเสียงหรื อส่งข้ อความสัน้ (SMS) ที่ลดลง 4. กฎเกณฑ์ข้อบังคับต่างๆ จากหน่วยงานภาครัฐที่กากับดูแลธุรกิจโทรคมนาคมเพื่อควบคุมราคาหรื อคุณภาพบริ การ 5. ความไม่แน่นอนของเสถียรภาพทางการเมือง รวมถึงปั ญหาภัยแล้ ง จะส่งผลโดยตรงต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการใช้ จ่ายของภาคประชาชน โดยเอไอเอสได้ เตรี ยมพร้ อมรับสถานการณ์ ดงั กล่าว ด้ วยการสร้ างความแตกต่างในด้ านเครื อข่าย บริ การ งานบริ การ ลูกค้ า และการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ใหม่ๆ ซึง่ ปั จจุบนั การที่บริ ษัทมีคลืน่ ความถี่ที่เพียงพอในการให้ บริ การ มีการลงทุนในเทคโนโลยี ต่างๆ เพื่อให้ เข้ าใจลูกค้ าในเชิงลึก ประกอบกับทรัพยากรบุคคลที่มีประสบการณ์และมีคณ ุ ภาพ จึงทาให้ บริ ษัทมีความมัน่ ใจว่าจะ สามารถส่งมอบประสบการณ์การใช้ งานที่ดีที่สดุ ให้ กบั ลูกค้ าได้ ในทุกๆ ด้ าน ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง ในช่วงที่ผ่านมานี ้ ภาครัฐมีการเปลี่ยนถ่ายนโยบายของประเทศไปสู่การจัดทานโยบายดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) โดยเร่ งพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน เพื่อให้ โครงข่ายการสื่อสารครอบคลุมทัว่ ประเทศในระดับหมู่บ้าน มีขนาด เพียงพอต่อการใช้ งาน มีเสถียรภาพในราคาที่เหมาะสม โครงสร้ างพื ้นฐานการสือ่ สารอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ที่มีเสถียรภาพ จึงมี ส่วนสาคัญที่จะช่วยผลักดันให้ มีการใช้ อินเทอร์ เน็ตครอบคลุมทัว่ ทุกพื ้นที่ของประเทศด้ วยคุณภาพที่ดี ในราคาที่เหมาะสม ปั จ จุบัน มี ผ้ ูใ ช้ ง านอิ น เทอร์ เ น็ ต อยู่ที่ ป ระมาณ 5 ล้ า นครั ว เรื อ น โดยข้ อ มูลจากฝ่ ายวิ จัย นโยบาย สานัก งานพัฒ นา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ประเมินว่าอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงในไทยยังมีโอกาสเติบโตได้ อีกมาก คาดการณ์ มูลค่าตลาดบริ การอินเทอร์ เน็ต ปี พ .ศ.2558 คิดเป็ น 50,000 ล้ านบาท เติบโตขึ ้นร้ อยละ 12-15 จากปี ก่อนหน้ า แสดงให้ เห็นว่า ตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงในปั จจุบนั ยังมีความต้ องการใช้ อยูอ่ ีกมาก แต่มีผ้ ใู ห้ บริ การรายใหญ่เพียง 3 ราย ได้ แก่ กลุม่ ทรู 3BB และทีโอที ดังนันตลาดนี ้ ้ จึงเป็ นโอกาสทางธุรกิจที่ดีสาหรับเอไอเอส

ส่วนที่ 1 | หน้ า 22


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ในอดีต การใช้ งานอินเทอร์ เน็ตส่วนใหญ่ จะผ่านสายทองแดง หรื อ ADSL ซึ่งจะเห็นได้ ว่าเริ่ มมีแนวโน้ มลดลง เพราะ เทคโนโลยี เ ดิ ม นี ไ้ ม่สามารถรองรั บ แบนด์ วิ ด ธ์ ได้ เ พี ย งพอกับ ความต้ อ งการลูก ค้ า ที่ ใ ช้ ง านมากขึน้ เรื่ อ ยๆ ดัง นัน้ ผู้ใ ห้ บ ริ ก าร อินเทอร์ เน็ตจึงมีการเปลีย่ นให้ ลกู ค้ าใช้ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงผ่านโครงข่ายใยแก้ วนาแสง หรื อ FTTx ที่มีประสิทธิภาพสูง แทน เพราะได้ คุณ ภาพของสัญ ญาณที่ ดี ก ว่า มี ก ารสูญ เสีย ของสัญ ญาณน้ อ ยมาก สามารถตอบสนองการใช้ ง านได้ อ ย่า ง หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ นการชมภาพยนตร์ ดูทีวีออนไลน์ ในรูปแบบความละเอียดสูง หรื อ เอชดี (HD)รองรับการใช้ งานมัลติมีเดีย เต็มรูปแบบ และท่องโลกออนไลน์ได้ อย่างรวดเร็ วกว่า หลังจากที่เอไอเอสได้ เปิ ดตัวธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงเมื่อช่วงต้ นปี 2558 ทาให้ เริ่ มเห็นความเปลี่ยนแปลงในด้ าน รู ปแบบการแข่งขัน กล่าวคือ คู่แข่งได้ หนั มาโฆษณาในด้ านการให้ บริ การด้ วยเทคโนโลยีใยแก้ วนาแสงมากขึ ้น แต่ยงั มุ่งไปที่การ ให้ บริ การแก่ลกู ค้ าระดับบนที่ใช้ แพ็กเกจราคาสูงเป็ นหลัก นอกจากนี ้ คูแ่ ข่งที่มีบริ การโทรคมนาคมที่หลากหลาย ได้ ม่งุ เน้ นกลยุทธ์ การผนวกรวมผลิตภัณฑ์และบริ การเข้ าด้ วยกันมากขึ ้น ทังนี ้ ้ ด้ วยศักยภาพของเอไอเอสทาให้ บริ ษัทสามารถนาเสนอบริ การ แก่ ลูกค้ าได้ ครอบคลุม โดยยึดแนวคิด “Seamless connection” ที่ทาให้ ลกู ค้ าสามารถเชื่อมต่อสื่อสารได้ ทุกที่ทุกเวลา ทังใช้ ้ งาน เอไอเอสไฟเบอร์ ที่บ้าน ใช้ AIS 3G เพื่อเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตระหว่างเดินทาง และใช้ AIS WiFi เพื่อออนไลน์ ณ จุดต่างๆ เช่น ห้ างสรรพสินค้ า ร้ านอาหาร และสถานที่สาคัญอื่นๆ แนวโน้ มการแข่งขันในอนาคต เนื่องจากความต้ องการของลูกค้ าที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต มีมากขึ ้นตลอดเวลา จากพฤติกรรมการใช้ งานโซเชียลมีเดียต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ น LINE Facebook Instagram และอื่นๆ ประกอบกับการพัฒนารู ปแบบ ของคอนเทนต์ให้ มีความคมชัดระดับ HD (High Definition) ไม่ว่าจะเป็ น ดิจิตลั ทีวีที่ออกอากาศเป็ นแบบ HD ดูหนังออนไลน์หรื อ ดูคลิปผ่าน Youtube ส่งผลให้ ผ้ บู ริ โภคยกระดับมาตรฐานการบริ โภคข้ อมูลจากแบบ SD (Standard Definition) เพิ่มระดับเป็ น แบบ HD ทาให้ ปริ มาณการบริ โภคข้ อมูลสูงขึ ้นมาก การที่จะตอบสนองความต้ องการนี ้ทาให้ ความเร็ วในการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตจึง ต้ องเพิ่มสูงขึ ้นตามไปด้ วย นอกจากนี ้อุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ออกจาหน่ายในปี 2559 นี ้ ได้ มีการแข่งขันกันเพิ่มความสามารถในการรองรับ ความคมชัดที่สงู ขึ ้นในระดับ 4K (ชัดกว่า HD 4 เท่า) ไม่ว่าจะทีวีที่บ้าน (Smart TV) โทรศัพท์สมาร์ ทโฟน แท็บเล็ต ดังนันการ ้ บริ โภคข้ อมูลจะยิ่งสูงมากขึ ้นเป็ นลาดับ ซึ่งผู้ให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตจึงต้ องเน้ นการแข่งขันกันที่ความเร็ วในการให้ บริ การโดยจะมุ่ง พัฒนาขยายโครงข่ายไฟเบอร์ ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีที่สามารถรองรับการใช้ งานได้ ถึ ง 10 Gbps ให้ ครอบคลุมพื ้นที่ให้ บริ การให้ มาก ที่สดุ และมีแนวโน้ มที่จะปรับเพิ่มความเร็ วมาตรฐานในการให้ บริ การเป็ น 33Mbps ในปี 2559 เพิ่มขึ ้นเป็ น 100 Mbps ใน 3 ปี ข้ างหน้ า สาหรับโปรโมชัน่ ที่จะนาเสนอให้ ลกู ค้ า ในปี 2559 คาดว่าจะเน้ นที่การรวมบริ การเป็ นแพ็กเกจเดียวในราคาพิเศษ ให้ ลูกค้ าได้ มีการใช้ งานได้ หลากหลายขึ ้น ไม่เพียงแต่ใช้ งานเฉพาะอินเทอร์ เน็ต ยังสามารถใช้ งานร่ วมกับบริ การอื่นๆ เช่น มือถื อ โทรศัพท์บ้านและทีวีไปพร้ อมกันด้ วย ธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต์ การขยายตัวของตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นที่ Smart Phone ประกอบกับการเติบโตของผู้ผลิตแอพพลิเคชัน่ ในตลาดระดับโลก ก่อให้ เกิดการให้ บริ การแบบ Over-The-Top (OTT) ที่มีความหลากหลายมากขึ ้น และเป็ นสิ่งที่ท้าทายต่อผู้ประกอบการเครื อข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ ในขณะเดียวกันก็เป็ นโอกาสทางธุรกิจให้ กบั เอไอเอสในการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ และบริ การดิจิทลั เพื่อตอบรับ ฐานผู้ใช้ บริ การที่เปิ ดกว้ างยอมรับการบริ โภคคอนเทนต์ดิจิทลั ในปี 2558 เอไอเอสได้ ยกระดับของรู ปแบบการให้ บริ การ อีกทังยั ้ ง ร่ วมมือกับพันธมิตรด้ านคอนเทนต์ เพื่อนาคอนเทนต์ ใหม่ๆ ทังทางด้ ้ านวิ ดีโอ เพลง คลาวด์ และเกม รวมถึงการนาบริ การจาก ผู้ประกอบการ StartUp มาสร้ างเป็ นบริ การที่ลกู ค้ าของเอไอเอส ได้ รับสิทธิพิเศษและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่เหนือกว่าผู้ใช้ บริ การ ทั่ว ไป เป็ นการสร้ างความภัก ดี ต่ อ คุณ ภาพการให้ บ ริ ก าร และยัง เป็ นแหล่ง รายได้ ใ หม่ ที่ มี ศัก ยภาพต่ อ ก ารก้ าวสู่ก ารเป็ น ผู้ประกอบการดิจิทลั เต็มรูปแบบตามวิสยั ทัศน์ของเอไอเอส ส่วนที่ 1 | หน้ า 23


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ส่วนแนวโน้ มในปี 2559 นัน้ เอไอเอสมองว่าการแข่งขันทางด้ านคอนเทนต์ จะเติบโตมากขึน้ ทัง้ การแข่งขันระหว่าง ผู้ให้ บริ การเครื อข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่เอง รวมถึงการแข่งขันกับผู้ประกอบการแบบ OTT ตลาดการบริ โภคคอนเทนต์จะมีการเติบโต ทังในส่ ้ วนของบริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่และส่วนของบริ การอินเทอร์ เน็ตบรอดแบนด์ พันธกิ จทางด้ านคอ นเทนต์ ที่สาคัญของ เอไอเอส เพื่อการเป็ นผู้นาด้ านการให้ บริ การคอนเทนต์ ในปี 2559 มุ่งเน้ นไปที่คุณภาพของการให้ บริ การ ทังในแง่ ้ ของความ หลากหลายของคอนเทนต์ ความสะดวกในการใช้ บริ การและช่องทางการชาระค่าบริ การ ซึ่งเอไอเอสได้ รับการสนับสนุนที่เข้ มแข็ง จากพันธมิตรธุรกิจต่างๆ ทังผู ้ ้ ให้ บริ การคอนเทนต์และผู้ให้ บริ การด้ านเทคโนโลยี เอไอเอสมีแผนการเปิ ดให้ บริ การแอพพลิเคชัน่ ที่เสนอสือ่ ความบันเทิงทุกรูปแบบบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ยกระดับผลิตภัณฑ์ AIS PLAYBOX เป็ นรุ่ นใหม่ที่มีขีดความสามารถสูงขึ ้น การพัฒนาระบบการให้ บริ การ Calling Melody ที่ตอบรับการใช้ ชีวิตใน รูปแบบใหม่ การสร้ างแพลตฟอร์ มให้ บริ การเกม ประกอบกับยุทธศาสตร์ ในการสร้ างความหลากหลายของคอนเทนต์ที่เพิ่มมากขึ ้น โดยครอบคลุมบริ การที่ตอบสนองการใช้ ชีวิตของผู้คน เช่น การศึกษา การท่องเที่ยว และการให้ บริ การซือ้ สินค้ าผ่านช่องทาง ออนไลน์ สิ่งเหล่านี ้เป็ นปั จจัยสาคัญทังต่ ้ อการตอบรับความต้ องการที่หลากหลายของผู้บริ โภค และการเติบโตในธุรกิจดิจิทัล คอนเทนต์ของเอไอเอส 2.6 เป้าหมายการดาเนินธุรกิจใน 3-5 ปี ก้าวผ่านความเปลีย่ นแปลงในยุคดิ จิทลั สู่แถวหน้าในธุรกิ จ ในช่วงเวลา 3-5 ปี นี ้ คาดว่าความเปลี่ยนแปลงในธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทยจะยังเกิดขึ ้นต่อเนื่องด้ วยพฤติกรรมของ ผู้บริ โภคที่เปลี่ยนไปในยุคดิจิทลั ต้ องการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตมากขึ ้น ด้ วยความเร็ วสูงขึ ้น เพื่อเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสาร ความบันเทิง วิดีโอ อีคอมเมิร์ซ และโซเชียล มีเดีย ต่างๆ ที่ มีเนื ้อหาหลากหลายและมีความละเอียดสูง ผู้บริ โภคย่อมต้ องการใช้ เทคโนโลยีที่ ทันสมัยและโครงข่ายที่ให้ ความสะดวกรวดเร็ วในการเชื่อมต่อ เอไอเอสเป็ นผู้นาด้ านบริ การโทรคมนาคมมากว่า 25 ปี เราตระหนักดีถึงความเปลี่ยนแปลงนี ้ และต้ องการเป็ นผู้นาในการ เปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรมให้ ก้าวเข้ าสูย่ คุ ดิจิทลั เราจึงไม่หยุดพัฒนา มีวิสยั ทัศน์ม่งุ สูก่ ารเป็ น “ผู้ให้ บริ การดิจิทลั ไลฟ์ ” ที่ให้ บริ การ ลูกค้ าในทุกองค์ประกอบเพื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมการใช้ ชีวิตของผู้บริ โภคที่ต้องการเชื่อมต่อกับโลกอินเทอร์ เน็ตตลอดเวลา ผ่าน โครงข่ายคุณภาพที่เป็ นรากฐานอัน แข็งแกร่ งของเอไอเอส เพื่อให้ บริ การใน 3 ธุรกิจหลัก ได้ แก่ การบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ การ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง และการบริ การด้ านดิจิทลั คอนเทนต์ ชิ งความเป็ นผูน้ าในธุรกิ จโทรศัพท์เคลือ่ นทีด่ ว้ ยเครื อข่าย และบริ การคุณภาพ ปั จจุบนั ลูกค้ าต้ องการใช้ บริ การข้ อมูลเพิ่มสูงขึ ้นเรื่ อยๆ เนื่องมาจากเทคโนโลยีใหม่ๆ ของเครื่ องโทรศัพท์ เครื อข่าย และ แอพพลิเคชัน่ พฤติกรรมการใช้ โทรศัพท์ที่เปลีย่ นแปลงไปจากเดิมที่ใช้ การโทรเป็ นส่วนมาก แต่ปัจจุบนั ลูกค้ านิยมใช้ อินเทอร์ เน็ตใน การติดต่อสื่อสารกันโดยผ่านทางแอพพลิเคชัน่ ต่างๆ อาทิ LINE หรื อ Facebook เป็ นต้ น เราจึงได้ เห็นการใช้ 3G เป็ นเทคโนโลยี หลักในประเทศไทย อีกทังสมาร์ ้ ทโฟนยังมีราคาถูกลงและหาได้ ง่าย อัตราการใช้ งานโทรศัพท์สมาร์ ทโฟนของลูกค้ าเอไอเอสเพิ่ม สูงขึ ้นถึง 59% ในปี 2558 และยังมีแนวโน้ มที่จะเพิ่มสูงขึ ้นอีก จึงเป็ นแรงผลักดันสาคัญให้ เอไอเอสมุง่ มัน่ ในการพัฒนาโครงข่าย 3G และยังลงทุนเพิ่มเพื่อให้ ครอบคลุมมากขึ ้นกว่า 98% ของประชากร ซึ่งช่วยเสริ มความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน และทาให้ ลกู ค้ ามี ประสบการณ์ที่ดีกบั เอไอเอส ความเปลีย่ นแปลงอีกประการที่สาคัญในธุรกิจคือเทคโนโลยี 4G ได้ เข้ ามามีบทบาทมากในปั จจุบนั และจะมีบทบาทมาก ขึ ้นในช่วง 1 ถึง 3 ปี ข้ างหน้ านี ้ เพราะผู้บริ โภคต้ องการที่จะเชื่อมต่อโลกอินเทอร์ เน็ตทุกที่ทกุ เวลา ทังยั ้ งต้ องการโครงข่ายที่สามารถ ให้ ความเร็ วในการใช้ งานและมีเสถียรภาพอีกด้ วย 4G ได้ กลายมาเป็ นเทคโนโลยีสาคัญที่ลกู ค้ าผู้ใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่ านมือถือ ส่วนที่ 1 | หน้ า 24


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

จานวนมากเลือกใช้ เพื่อตอบรับความต้ องการใช้ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วที่สงู ขึ ้นสาหรับคอนเทนต์และแอพพลิเคชัน่ ที่มีความซับซ้ อน อาทิคอนเทนต์วิดีโอความคมชัดสูง (High definition) ซึง่ เป็ นที่นิยมมากขึ ้น มีทงคอนเทนต์ ั้ ที่ผ้ ใู ช้ งานสร้ างสรรค์ขึ ้นเองหรื อมาจากผู้ ให้ บริ การคอนเทนต์ที่มีหลากหลาย ด้ วยเหตุนี ้ เราจึงได้ ประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งมีความนิยมใช้ สาหรับเทคโนโลยี 4G มากที่สดุ เอไอเอสได้ วางเครื อข่าย 4G อย่างรวดเร็ ว เพื่อครอบคลุมพื ้นที่ที่มีความต้ องการใช้ อินเทอร์ เน็ตผ่านมือถืออย่างสูง และ คาดว่าจะยังคงวางเครื อข่ายเพิ่มเติมต่อไปอีก ในช่วง 1-3 ปี นี ้ นอกจากนี ้ เรายังใช้ เทคนิค Carrier aggregation คือการรวมคลื่นที่ อยูต่ า่ งคลืน่ ความถี่เข้ าด้ วยกัน เช่นคลืน่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ กับคลืน่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ เพื่อให้ สามารถให้ บริ การได้ ในความเร็ วที่สงู ยิ่งขึ ้น การใช้ อินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือมากขึ ้นเช่นนี ้ โดยเฉพาะใช้ กบั คอนเทนต์ความคมชัดสูงและที่ต้องดูตอ่ เนื่อง ทาให้ จาเป็ นต้ องมี คลืน่ ความถี่เพิ่มมากขึ ้นเพื่อให้ ใช้ งานได้ อย่างพอเพียง เรามุง่ ที่จะหาคลืน่ ความถี่เพิ่มเติมเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต และคาด ว่าภาครัฐจะผลักดันให้ มีการประมูลเพิ่มเติมอีกในอนาคต สาหรับคลื่นต่างๆ เช่น 850 เมกะเฮิรตซ์ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 2600 เมกะเฮิรตซ์ ในอีก 3-5 ปี ด้ วยการพัฒนาโครงข่ายเช่นนี ้ เราจึงพร้ อมให้ บริ การ 3G และ 4G ได้ อย่างมีคณ ุ ภาพ หัวใจสาคัญอีกประการเพื่อรักษา ลูกค้ าให้ รักในแบรนด์ และก่อให้ เกิดรายได้ ที่ดีและยัง่ ยืน ก็คือการให้ บริ การลูกค้ า ความเป็ นเลิศด้ านการบริ การของเราได้ รับการ ยอมรับเป็ นอย่างดี และยังคงพัฒนาต่อไปเพื่อตอบรับไลฟ์ สไตล์ใหม่ๆ เราได้ สร้ างความเปลี่ยนแปลงด้ านงานบริ การลูกค้ าให้ ตอบ รับกับยุคดิจิทลั โดยผลักดันให้ มีขนตอนการบริ ั้ การและประสบการณ์ที่มีคณ ุ ภาพด้ วยเทคโนโลยีต่างๆ ทังในร้ ้ านค้ าและคอลเซ็น เตอร์ รวมไปถึงการสร้ างช่องทางบริ การผ่านระบบออนไลน์ เร่ งขยายธุรกิ จอิ นเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง มุ่งให้บริ การครบวงจร ในอดีต ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงในประเทศไทยมีผ้ เู ล่น 3 ราย โดยส่วนใหญ่แล้ วใช้ เทคโนโลยี ADSL แม้ อตั รา ผู้ใช้ งานอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงจะมีเพียง 30% แต่ก็ยงั มีผ้ ทู ี่ต้องการใช้ งานอยู่อีกมาก เทคโนโลยี ADSL ที่ใช้ งานอยู่นนั ้ เริ่ ม ล้ าสมัยและมีข้อจากัดทางเทคนิคในเรื่ องความเร็ ว ลูกค้ าจึงมองหาบริ การที่ใช้ งานได้ ดียิ่งขึ ้น โดยเฉพาะเรื่ องความเร็ วและความ เสถียร ด้ วยเหตุนี ้ เอไอเอสจึงเล็งเห็นโอกาศทางธุรกิจเพื่อเปิ ดตัวบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงสาหรับที่พกั อาศัย ภายใต้ แบรนด์ เอไอเอสไฟเบอร์ โดยใช้ ประโยชน์จากโครงข่ายใยแก้ วนาแสง (Fiber Optic Cable) คุณภาพสูงที่กระจายอยู่ทวั่ ประเทศจากการ วางโครงข่าย 3G บนเครื อข่าย 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ที่ให้ ความเร็ วสูงในการเชื่อมต่อถึง 1Gbps เทียบกับ ADSL ที่ให้ ความเร็ ว 20Mbps โดยธุรกิจนี ้จะเป็ นอีกหนึง่ ธุรกิจหลักของบริ ษัท และยังเป็ นธุรกิจที่จะช่วยส่งเสริ มความแข็งแกร่ งให้ แก่ธุรกิจโทรศัพท์มือถือที่มีฐาน ลูกค้ าขนาดใหญ่ตอ่ ไปในอนาคตอีกด้ วย ด้ วยฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่ ง เอไอเอสจึงสามารถลงทุนเพื่อรุ กธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงได้ มากยิ่งขึ ้น โดยมี เป้าหมายที่จะมีสว่ นแบ่งทางการตลาดอย่างมีนยั สาคัญในอีก 3 ปี ทังนี ้ ้ นับจากปี 2559 เป็ นต้ นไป เราจะเร่ งขยายพื ้นที่บริ การให้ ครอบคลุมเพิ่มมากยิ่งขึ ้น และพัฒนาขันตอนการท ้ างานต่างๆ ได้ แก่ หน่วยงานขาย การติดตัง้ และบริ การหลังการขาย ดังนัน้ เมื่อ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง พร้ อมด้ วยกับดิจิทลั คอนเทนต์ ผนวกเข้ ากับบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งเป็ นธุรกิจหลัก จะนาพาให้ เอไอเอสเป็ นผู้นาด้ านการให้ บริ การโทรคมนาคมที่ครบวงจร เดิ นหน้าสร้างนวัตกรรมผ่านดิ จิทลั คอนเทนต์ สาหรับลูกค้าทัว่ ไปและลูกค้าธุรกิ จ ในยุคดิจิทลั เมื่ออุปกรณ์ เชื่ อมต่อต่างๆ ได้ รับความนิยมกว้ างขวางและสามารถเข้ าถึงได้ ง่าย ความต้ องการใช้ งาน คอนเทนต์จึงเติบโตขึ ้นอย่างรวดเร็ วเช่นกัน ผู้บริ โภคมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในหลายๆ ด้ าน เช่น ต้ องการดูรายการบันเทิงขณะ เดิ น ทาง แนวโน้ ม อี ค อมเมิ ร์ ซ จากทั ง้ ผู้เ ล่น รายใหญ่ แ ละผู้ป ระกอบการหน้ า ใหม่ รวมไปถึ ง การท าธุ ร กรรมทางการเงิ น ผ่า น โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ส่วนลูกค้ าธุรกิจนัน้ มีการใช้ งานคลาวด์และโซลูชนั่ ส์ทางธุรกิจอื่นๆ ที่ช่วยประหยัดต้ นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ ส่วนที่ 1 | หน้ า 25


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ในขันตอนการท ้ างาน นอกจากนี ้ แม้ วา่ การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ หรื อ M2M ในทุกวันนี ้เป็ นสิง่ ที่ผ้ คู นยังไม่คอ่ ยคุ้นเคย แต่คาดว่า จะได้ รับความนิยมมากขึ ้น และมีประโยชน์ในการใช้ งานที่หลากหลายในอนาคตสาหรับลูกค้ ากลุม่ ต่างๆ ความหลากหลายด้ านดิจิทลั คอนเทนต์จะเป็ นตัวขับเคลื่อนสาคัญให้ กบั เอไอเอสในการก้ าวไปในทิศทางที่ตงเป ั ้ ้ าไว้ โดย ดิจิทลั คอนเทนต์ที่มีความแตกต่างจากคู่แข่งจะสามารถสร้ างความเชื่อมโยงกับลูกค้ าได้ เป็ นอย่างดี ช่วยส่งเสริ มการสร้ างรายได้ ใหม่ให้ กบั เอไอเอส และจะเป็ นรายได้ ที่มีคณ ุ ภาพในระยะยาว กลยุทธ์ สาคัญสาหรับดิจิทลั คอนเทนต์มี 5 แกนหลัก ได้ แก่ วิดีโอ เกม ธุรกรรมทางการเงิน คลาวด์ และ M2M ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือแบบเดิมๆ ให้ กลายเป็ น การเติบโตในอีก 3-5 ปี เราจะเริ่ มเน้ นให้ แพลตฟอร์ มรายการบันเทิงกลายเป็ นการใช้ งานที่สาคัญ โดยเชื่อว่าจะเป็ นส่วนใหญ่ของ การใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือในยุคใหม่ ในปี ที่แล้ ว เราได้ เปิ ดตัว AIS PLAYBOX เพื่อใช้ เป็ นแพลตฟอร์ มสาหรับรายการบันเทิง ที่รับชมที่บ้าน ในปี 2559 นี ้ เราได้ ขยายแพลตฟอร์ มไปสูอ่ ปุ กรณ์เคลื่อนที่เช่น โทรศัพท์มือถือ โดยเป็ นแอพพลิเคชัน่ AIS PLAY นอกจากนี ้ เรายังเชื่อา่ คลาวด์จะเป็ นคลืน่ ลูกใหม่และรากฐานสาหรับการใช้ งานของทังลู ้ กค้ าทัว่ ไปและลูกค้ าธุรกิจ การดาเนินธุรกิจต่อจากนี ้ในยุคดิจิทลั เอไอเอสทังองค์ ้ กรจะมุง่ เน้ นการเปลี่ยนแปลงใน 3 ด้ านหลักๆ ได้ แก่ 1) ด้ านลูกค้ า ซึ่งเป็ นหัวใจหลักของการดาเนินกิจการของบริ ษัท โดยตังเป ้ ้ าหมายให้ ลกู ค้ า “รัก” เอไอเอสจากคุณภาพและบริ การต่างๆ รวมถึง สิทธิพิเศษที่เอไอเอสตังใจมอบให้ ้ ลกู ค้ าของเอไอเอสโดยเฉพาะ 2) ด้ านบุคลากร เอไอเอสจะมุ่งเน้ นให้ พนักงานพัฒนาตนเองและ ปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมการทางาน ให้ มีความตื่นตัว เต็มไปด้ วยความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ และการทางานที่เอไอเอสอย่างมีความสุข ทังนี ้ ้เพื่อให้ เอไอเอสเป็ นองค์กรชัน้ นาสาหรับคนรุ่ นใหม่ 3) ด้ านพันธมิตร โดยเอไอเอสยังคงให้ ความสาคัญกับระบบการพัฒนา ธุรกิจแบบเชื่อมโยง หรื อ Ecosystem ซึง่ เปรี ยบเสมือนระบบนิเวศวิทยาด้ านโทรคมนาคมที่บรู ณาการความสามารถของพันธมิตร ทางธุรกิจแต่ละรายให้ เข้ ากับความต้ องการของลูกค้ า และส่งมอบประสบการณ์ที่เหนือจากความคาดหมายของลูกค้ า เพื่อให้ ทงั ้ เอไอเอสและพันธมิตรทางธุรกิจเติบโตไปด้ วยกันอย่างยัง่ ยืน ปี 2558 นี ้ เอไอเอสได้ รับคัดเลือกให้ รวมอยู่ในดัชนีความยัง่ ยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรื อ DJSI) ในกลุม่ ตลาดเกิดใหม่ซึ่งแสดงให้ เห็นถึงศักยภาพขององค์กรในการบริ หารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้ างสมดุลในการ ดาเนินงานโดยไม่ได้ มงุ่ เน้ นแค่เพียงกาไรเป็ นสาคัญ แต่คานึงถึงผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียกับองค์กรด้ วย กล่าวคือ สร้ างสมดุลทังในด้ ้ าน การเติบโตของผลประกอบการ สามารถสร้ างผลตอบแทนที่ดีให้ กบั ผู้ถือหุ้น ทังยั ้ งสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมได้ ดี พร้ อม ช่วยพัฒนาให้ เติบโตและก้ าวหน้ าไปด้ วยกัน รวมไปถึงการดาเนินธุรกิจโดยไม่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม สรรค์สร้ างนวัตกรรมที่ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม สิง่ เหล่านี ้จะช่วยขับเคลือ่ นธุรกิจบนพื ้นฐานของความยัง่ ยืนในระยะยาว เป็ นรากฐานใหม่ของเอไอเอสที่จะ ก้ าวเข้ าสูก่ ารเป็ นองค์กรชันน ้ าด้ านการให้ บริ การดิจิทลั ไลฟ์ สาหรับคนไทยทุกคน 2.7 การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ คลืน่ ความถี ่ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทยในยุคแรกเริ่ ม มีรูปแบบการให้ บริ การแบบสัญญาสัมปทาน โดยหน่วยงานของรัฐ ได้ แก่ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และการสือ่ สารแห่งประเทศไทย เป็ นเจ้ าของสัญญาร่ วมการงาน และมีบริ ษัทเอกชนได้ สิทธิ ในการใช้ สนิ ทรัพย์ดาเนินกิจการตลอดอายุสญ ั ญา สาหรับเอไอเอสนัน้ ได้ ให้ บริ การเทคโนโลยี 2G บนคลืน่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ภายใต้ สัญญาร่ วมการงานกับ บมจ.ทีโอที (ชื่อเดิม องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย) จนกระทัง่ สัญญาดังกล่าวที่มีมานาน 25 ปี ได้ หมดอายุลงในวันที่ 30 กันยายน 2558 หลังจากนัน้ สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้ นาคลืน่ ความถี่ที่หมดอายุนี ้ไปประมูล โดยได้ ขยายเวลาสาหรับมาตรการคุ้มครองชัว่ คราวในการ ให้ บริ การออกไปจนกว่าจะมีการประกาศแจ้ ง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 26


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

นอกจากนี ้ เอไอเอสยั ง ได้ ท าสั ญ ญาร่ ว มการงานกั บ บมจ.กสทโทรคมนาคม (ชื่ อ เดิ ม การสื่ อ สารแห่ ง ประเทศไทย) เพื่อดาเนินการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยเทคโนโลยี 2G บนคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งสัญญาสิ ้นอายุวนั ที่ 15 กันยายน 2556 และ กสทช. ได้ นาคลื่นกลับไปประมูลเช่นกัน โดยในระยะเวลาที่รอการประมูลนัน้ กสทช. ได้ ออกมาตรการ คุ้มครองชัว่ คราวในการให้ บริ การ เพื่อให้ ลกู ค้ ายังสามารถใช้ บริ การคลืน่ ดังกล่าวได้ เมื่อยุคของสัมปทานใกล้ จะจบลง จึงเป็ นการเข้ าสู่ยคุ เปลี่ยนผ่านเพื่อพัฒนาไปสูร่ ะบบใบอนุญาต โดยในปี 2555 เป็ น ครั ง้ แรกที่ มีก ารเปิ ดประมูลใบอนุญ าตใช้ ค ลื่น 2.1 กิ ก ะเฮิ ร ตซ์ ซึ่งจากการประมูลครั ง้ นัน้ ผู้ให้ บ ริ ก ารทัง้ สามราย ต่า งได้ รั บ ใบอนุญาตใช้ คลื่นความถี่ และบริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อย ถือหุ้นโดยเอไอเอสร้ อยละ 99.99 ได้ รับใบอนุญาตจากการประมูลคลืน่ ในครัง้ นี ้เช่นกัน โดยได้ นาคลืน่ ความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์มาเปิ ดให้ บริ การ 3G นับตังแต่ ้ ปี 2556 ในปี 2558 กสทช. ได้ จดั ประมูลคลืน่ ความถี่ขึ ้น ได้ แก่การประมูลคลืน่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ในวันที่11 พฤศจิกายน 2558 ซึ่ง บริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด ได้ รับใบอนุญาตคลืน่ ความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งได้ นามาให้ บริ การเทคโนโลยี 4G ที่ เปิ ดให้ บริ การอย่างเป็ นทางการในเดือนมกราคม 2559 และเมื่อวันที่15 ธันวาคม 2558 ได้ มีการจัดประมูลคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ซึง่ ในครัง้ นี ้ ผู้ให้ บริ การรายอื่นเป็ นผู้ได้ รับใบอนุญาต คลื่นความถี่ท่ ใี ช้ สาหรับบริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่ภายใต้ สัญญาสัมปทาน คลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์

ช่ วงกว้ าง 17.5 x 2

แถบย่ านความถี่ เทคโนโลยี 897.5-915 เมกะเฮิรตซ์ คู่กับ 942.5- 2G 960 เมกะเฮิรตซ์

1800 เมกะเฮิรตซ์

12.5 x 2

1747.9-1760.5 คูก่ บั 1842.9-1855.5 เมกะเฮิรตซ์

2G

สัญญาสิน้ สุด 1 ตุลาคม 2533 - 30 กันยายน 2558 กสทช.ขยายมาตรการคุ้มครองชั่ว คราวใน การให้ บ ริ ก ารจนออกไปจนกว่ า จะมี ก าร ประกาศแจ้ ง 28 พฤษภาคม 2540 - 15 กันยายน 2556 กสทช.ได้ ขยายมาตรการคุ้มครองชัว่ คราวใน การให้ บริ ก ารจนออกไปจนถึ ง ช่ ว งหลั ง ประมูลใบอนุญาต

คลื่นความถี่ท่ ใี ช้ สาหรับบริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตจากกสทช. คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์

ช่ วงกว้ าง 15 x 2

2.1 กิกะเฮิรตซ์

15 x 2

แถบย่ านความถี่ เทคโนโลยี 1725-1740 เมกะเฮิ ร ตซ์ คู่กับ 1820- 4G 1835 เมกะเฮิรตซ์ 1950-1965 เมกะเฮิรตซ์ คู่กับ 2140- 3G 2155 เมกะเฮิรตซ์

ระยะเวลาใบอนุญาต 25 พฤศจิกายน 2558 - 15 กันยายน 2576 7 ธันวาคม 2555 - 6 ธันวาคม 2570

อุปกรณ์โครงข่าย เอไอเอสมีนโยบายในการจัดหาอุปกรณ์โดยกระจายการสัง่ ซื ้อเพื่อที่จะไม่ต้องพึ่งพิงซัพพลายเออร์ รายใดรายหนึ่งเท่านัน้ หรื อเรี ยกว่า Multi-vendor Policy การดาเนินนโยบายเช่นนี ้ ทาให้ เอไอเอสและผู้ผลิตสามารถวางแผนการพัฒนาอุปกรณ์ และ บริ การให้ สอดคล้ องกัน เพื่อให้ ได้ ทางเลือกที่เหมาะสมที่สดุ และยังช่วยลดความเสีย่ งในการจัดหาและส่งมอบอุปกรณ์ได้ ในเวลาที่ กาหนด ในการเลือกซัพพลายเออร์ บริ ษัทมีการจัดตังคณะท ้ างานด้ านต่างๆ เพื่อประเมินความเหมาะสมโดยมีปัจจัยในการ พิจารณาเลือกหลายประการ เช่น ด้ านราคา ทางเทคนิค และแผนงานการพัฒนาของผู้ผลิตเอง เพื่อให้ มนั่ ใจว่าเอไอเอสจะสามารถ ดาเนินธุรกิจได้ อย่างมัน่ คงในระยะยาว ส่วนที่ 1 | หน้ า 27


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

เอไอเอสเลือกใช้ อปุ กรณ์เครื อข่ายจากผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมชันน ้ า เช่น Nokia, Huawei และ ZTE เป็ นยี่ห้อหลัก และยังมีอปุ กรณ์สว่ นอื่นๆ ในโครงข่ายที่เลือกจากซัพพลายเออร์ อื่น เช่น CISCO และ Juniper เป็ นต้ น เครื ่องโทรศัพท์ สาหรับธุรกิจการขายเครื่ องโทรศัพท์เคลือ่ นที่ บริ ษัทร่วมมือกับผู้ผลิตอุปกรณ์ชนน ั ้ าทัว่ โลก เช่น Apple, Samsung, LAVA, Acer, Sony, Asus, Huawei เป็ นต้ น เพื่อให้ มนั่ ใจว่าจะมีอปุ กรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่หลากหลายรุ่ น สอดคล้ องกับความต้ องการของ ตลาด โดยปั จจุบนั นี ้ เทคโนโลยี 4G ได้ เข้ ามามีบทบาทมากขึ ้น เอไอเอสจึงขยายการสัง่ ซื ้อโทรศัพท์เคลือ่ นที่ที่รองรับ 4G มากขึ ้น นอกจากนี ้ ในปี ที่ผา่ นมา ผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่มีกลยุทธ์ในการเพิ่มจานวนผู้ใช้ บริ การโดยใช้ เครื่ องโทรศัพท์เป็ นตัวดึงดูดลูกค้ า ทัว่ ไป มีการแจกเครื่ องโทรศัพท์ทงแบบปุ่ ั้ มกดและสมาร์ ทโฟนในราคาคุ้มค่า ผู้ให้ บริ การจึงสรรหาผู้ผลิตโทรศัพท์ที่คณ ุ ภาพดี และ สามารถควบคุมต้ นทุนสินค้ าได้ เพื่อใช้ ในการทาตลาดผลิตภัณฑ์ภายใต้ แบรนด์ของตนเอง เอไอเอสได้ คดั เลือก LAVA ซึ่งเป็ นผู้ผลิตโทรศัพท์เคลื่อนที่คณ ุ ภาพดี คุ้มราคา เพื่อให้ ผลิตโทรศัพท์เพื่อทาแบรนด์ร่วมกับ เอไอเอส จึงสามารถกาหนดฟั งก์ชนั่ การใช้ งานได้ ตามต้ องการ หรื อใส่แอพพลิเคชัน่ ของเอไอเอสมาจากโรงงานได้ อีกทังยั ้ งสามารถ ควบคุมจานวนผลิตได้ สอดคล้ องกับความต้ องการของตลาดและตามประมาณการ เพื่อเป็ นส่วนเสริ มให้ เอไอเอสสามารถบรรลุ เป้าหมายตามกลยุทธ์ที่วางไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ บริ การโรมมิ่ งและบริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ในด้ านการจัดหาผู้ให้ บริ การโรมมิ่งในต่างประเทศ บริ ษัททาข้ อตกลงกับผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในต่างประเทศ 409 ราย ทุกทวีปทัว่ โลก ครอบคลุม 444 เครื อข่าย เพื่อให้ บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติกบั ลูกค้ าทังสองฝ่ ้ าย อีกทังยั ้ งจัดให้ มีบริ การโทรศัพท์ ระหว่างประเทศมากกว่า 240 ประเทศปลายทางทัว่ โลก ดิ จิทลั คอนเทนต์ ในส่วนบริ การด้ านดิจิทลั คอนเทนต์ เอไอเอสได้ ร่วมมือกับพันธมิตรทางการค้ าผู้เชี่ยวชาญในการผลิตคอนเทนต์และ แอพพลิเคชั่นกว่า 300 ราย เพื่อตอบสนองรู ปแบบการใช้ ชีวิตที่หลากหลาย โดยกาหนดอัตราผลตอบแทนในรู ปส่วนแบ่งรายได้ ระหว่างกัน พันธมิตรเหล่านี ้ได้ ครอบคลุมถึงคอนเทนต์หลักที่เอไอเอสมีให้ บริ การ ทังด้ ้ านวิดีโอ เพลง เกม และอื่นๆ ซึ่งมีการสรรหา คัดเลือกพันธมิตรจากทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ ขึ ้นอยูก่ บั ความน่าสนใจของคอนเทนต์ที่สามารถตอบความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างเหมาะสม นอกจากนี ้ ยังมีการจัดตัง้ AIS the StartUp ซึ่งเป็ นโครงการส่งเสริ มทักษะให้ แก่ผ้ พู ฒ ั นาคอนเทนต์นาผลงานเข้ าประกวด เพื่อ ผลักดันให้ เกิดการคิดสร้ างสรรค์แนวคิดใหม่ๆ ก่อให้ เกิดคอนเทนต์ใหม่ๆ ที่ตอบรับการใช้ งานของลูกค้ าที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่หยุด นิ่ง โดยในปี ที่ผ่านมา มีผ้ พู ฒ ั นาคอนเทนต์ที่ประสบความสาเร็ จจากโครงการ AIS the StartUp นี ้ ได้ เข้ ามาเป็ นพันธมิตรผู้พฒ ั นา คอนเทนต์ให้ กบั เอไอเอส ทาให้ เกิดแอพพลิเคชัน่ หลากหลายที่เป็ นที่นิยมของผู้ใช้ บริ การ 2.8 งานที่ยงั ไม่ ได้ ส่งมอบ - ไม่มี -

ส่วนที่ 1 | หน้ า 28


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

3. ปั จจัยความเสี่ยง เอไอเอสให้ ความสาคัญกับการมีระบบบริ หารจัดการความเสี่ยงที่ดีเพื่อให้ สามารถดาเนินงานต่อไปได้ ในทุกสภาวการณ์ โดยกาหนดให้ มีคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงซึ่งมีประธานกรรมการบริ หาร เป็ นประธาน และผู้บริ หารระดับสูงจากแต่ละ สายงานเป็ นกรรมการ ได้ มีการประชุมร่วมกันทุกไตรมาส เพื่อพิจารณาประเด็นความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ ้น ซึง่ อาจส่งผลกระทบอย่าง มีนยั สาคัญกับการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรื อการดารงอยูข่ องเอไอเอสและบริ ษัทในเครื อ การกาหนดมาตรการควบคุมและ บริ หารจัดการความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ อันจะเป็ นการสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ผู้ถือหุ้นและผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย และ การทบทวนประเด็นความเสี่ยงของเอไอเอส โดยได้ นาเสนอผลการบริ หารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อรับทราบในทุกไตรมาส ทังนี ้ ้รายละเอียดเพิ่มเติมเรื่ องการบริ หารความเสี่ยง ปรากฎอยู่ใน หัวข้ อ “การบริ หารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน” หน้ า 36 ในปี 2558 ปั จจัยความเสีย่ งที่อาจส่งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญ มีดงั นี ้ 1. ความเสี่ยงด้ านกฎ ระเบียบ และข้ อบังคับ 1.1. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับของหน่ วยงานกากับดูแล เอไอเอสประกอบกิจการภายใต้ การกากับดูแลของคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียง กิ จการโทรทัศน์และกิ จการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึง่ กสทช. ในฐานะองค์กรผู้กากับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม มีอานาจตามกฎหมายใน การออกกฎ ระเบียบ หรื อข้ อบังคับเพื่อกากับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคมของผู้ได้ รับใบอนุญาต ซึ่งการออกกฎ ระเบียบ หรื อข้ อบังคับในอนาคตของ กสทช. เช่น การกาหนดโครงสร้ างและอัตราค่าบริ การ หรื อการกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้บริ โภค อาจทาให้ ความสามารถในการทากาไรของบริ ษัทลดลง และ/หรื อ ต้ นทุนในการให้ บริ การสูงขึ ้น อย่างไรก็ตาม แม้ การปรับปรุง เปลีย่ นแปลง แก้ ไข และ/หรื อ เพิ่มเติมกฎ ระเบียบ และข้ อบังคับในการประกอบกิจการโทรคมนาคม จะส่งผลให้ บริ ษัท ได้ รับความเสียหายไม่ว่าทางหนึ่งทางใด หาก กสทช. ได้ ดาเนินการโดยชอบด้ วยกฎหมาย บริ ษัท ก็ ไม่อาจ ฟ้ องร้ อง และ/หรื อ เรี ยกค่าเสียหายใดๆ จาก กสทช. ได้ ทังนี ้ ้ บริ ษัทมีสิทธิ ที่จะฟ้ องร้ องให้ หน่วยงานผู้ออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ เพิกถอนการประกาศใช้ ตลอดจนเรี ยกร้ องค่าเสียหายจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องได้ ในกรณีที่บริ ษัทมีความเห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ นันๆ ้ กระทบสิทธิของบริ ษัท หรื อบริ ษัทได้ รับการปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรม นอกจากนี ้ ในกรณีที่บริ ษัท มีความเห็นว่าร่ างกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ ที่จะประกาศเพื่อใช้ บงั คับในอนาคตโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กสทช. บริ ษัทใน ฐานะผู้ประกอบกิ จการโทรคมนาคมถื อเป็ นผู้มีส่วนได้ เสียโดยตรง ย่อมจะได้ รับเชิ ญให้ ร่วมแสดงความคิดเห็นก่อนการออก กฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ ดังนัน้ บริ ษัทจะใช้ โอกาสดังกล่าวแสดงความเห็น เสนอแนะ และ/หรื อ คัดค้ าน หากการ ออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับที่จะส่งผลกระทบต่อการประกอบกิจการของบริ ษัทอย่างร้ ายแรง หรื อหากการออก กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ กระทาไปโดยไม่ชอบด้ วยกฎหมาย 1.2. ข้ อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) (1) บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) กับ บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) ทีโอทีได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 9/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการสานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาล ยุติธรรม เรี ยกร้ องให้ บริ ษัทชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มจานวน 31,463 ล้ านบาท โดยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้ มีมติเป็ นเอกฉันท์ชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมด ้ โดยให้ เหตุผลสรุปได้ วา่ บริ ษัทได้ ชาระหนี ้โดยชอบด้ วยกฎหมายแล้ วจึงไม่เป็ นฝ่ ายผิดสัญญาและไม่ต้องชาระเงินค่าผลประโยชน์

ส่วนที่ 1 | หน้ า 29


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ให้ แก่ทีโอที ดังนัน้ ทีโอทีจึงได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ในเวลาต่อมา และขณะนี ้อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากบริ ษัทเป็ นฝ่ ายแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ทีโอทีเรี ยกร้ อง อย่างไรก็ตามผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าผลของ คดีนา่ จะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเงินส่วนแบ่งรายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่บริ ษัทได้ นาส่งแล้ ว ตามซึง่ คณะอนุญาโตตุลาการได้ พิจารณาและมีมติเอกฉันท์ยกคาเสนอก่อนหน้ านี ้ (2) บริ ษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) กับ บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กสท ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 3/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงาน ศาลยุ ติ ธ รรม เพื่ อ เรี ย กร้ องให้ ดี พี ซี บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ช าระเงิ น ส่ ว นแบ่ ง รายได้ เ พิ่ ม เติ ม อี ก จ านวน 2,449 ล้ า นบาท ตามสัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ พร้ อมเรี ยกเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือนของจานวนเงิน ที่ค้างชาระในแต่ละปี นับตังแต่ ้ วนั ผิดนัดจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ ้นรวมเป็ นเงินทังหมดจ ้ านวน 3,410 ล้ านบาท ซึง่ จานวนเงินส่วนแบ่ง รายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่ดีพีซีได้ นาส่งตังแต่ ้ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และได้ นามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ นการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว และ มีการปฏิบตั ิเช่นเดียวกันทังอุ ้ ตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในวัน ที่ 1 มี น าคม 2554 คณะอนุญ าโตตุล าการได้ มี ค าชี ข้ าดให้ ยกค าเสนอข้ อ พิ พ าททัง้ หมดของกสทโดยให้ เหตุผลสรุปได้ วา่ การชาระหนี ้เดิมเสร็ จสิ ้นและระงับไปแล้ ว กสท ไม่อาจกลับมาเรี ยกร้ องส่วนที่อ้างว่าขาดไปได้ อีก ดีพีซี จึงไม่เป็ น ผู้ผิ ด สัญ ญา ดัง นัน้ กสท จึ ง ได้ ยื่ น ค าร้ องขอเพิ ก ถอนค าชี ข้ าดดัง กล่า วต่ อ ศาลปกครองกลางในเวลาต่ อ มา โดยเมื่ อ วัน ที่ 28 กรกฎาคม 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท โดยให้ เหตุผลว่า กสท เป็ นผู้มีหนังสือแจ้ งความ ประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การชาระเงินส่วนแบ่งตามมติ คณะรัฐมนตรี และได้ ยอมรับเงินส่วนแบ่งรายได้ คงเหลือ พร้ อมกับการคืนหนังสือค ้าประกันให้ แก่ดีพีซีมาตลอดโดยมิได้ ทกั ท้ วงแต่อย่างใด คาวินิจฉัยของคณะอนุญาโตตุลาการจึงเป็ นไป ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายและข้ อสัญญา ทังนี ้ ้ หากดีพีซีแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ กสท เรี ยกร้ อง อย่างไรก็ตาม ผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าผลของคดีน่าจะ คลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเงินส่วนแบ่งรายได้ ตามที่ กสท เรี ยกร้ องดังกล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่บริ ษัทได้ นาส่งไปแล้ วตามซึง่ คณะอนุญาโตตุลาการได้ พิจารณาและมีมติยกคาเสนอ รวมถึงศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกคาร้ อง ของ กสท ก่อนหน้ านี ้ 1.3. ข้ อ พิ พาทกรณี เ งิน ผลประโยชน์ ต อนแทนจากรายได้ ค่ าเชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ยโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติการประกอบการกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิ จการ โทรคมนาคมแห่งชาติว่าด้ วยการใช้ และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ได้ กาหนดให้ บริ ษัทมีหน้ าที่ทาสัญญาการ เชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้รับใบอนุญาตรายอื่น โดยบริ ษัทเสนอจะนาส่งเงิ นผลประโยชน์ ตอบแทนจากการเชื่ อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมซึ่งคานวณจากรายได้ สทุ ธิ ตามอัตราและวิธีคิดคานวณของบริ ษัทให้ แก่ทีโอที แต่ทีโอทีต้องการให้ บริ ษัท ชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่บริ ษัทได้ รับทังจ ้ านวนตามอัตราร้ อยละที่กาหนดไว้ ในสัญญา อนุญาตฯ โดยมิให้ บริ ษัทนาค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่บริ ษัทถูกผู้ประกอบการรายอื่นเรี ยกเก็บมาหักออกก่อน ดังนัน้ เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอทีจึงได้ มีหนังสือแจ้ งให้ บริ ษัทชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จากค่าเชื่อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคมที่บริ ษัทได้ รับทังจ ้ านวนตามอัตราร้ อยละที่กาหนดไว้ ในสัญญาอนุญาตฯ ของปี ดาเนินการที่ 17-20 เป็ นเงินรวม 17,803 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน แต่บริ ษัทไม่เห็นด้ วยจึงได้ มีหนังสือโต้ แย้ งคัดค้ านไปยังทีโอที ส่วนที่ 1 | หน้ า 30


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

รวมทังได้ ้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 19/2554 เพื่อให้ มีคาชี ้ขาด ว่าทีโอทีไม่มีสทิ ธิเรี ยกร้ องเงินผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว โดยขณะนี ้อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากบริ ษัทแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ ทีโอที เรี ยกร้ อง อย่างไรก็ ตาม ผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่า คาวินิจฉัย ชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิตามกฎหมายอย่างถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว 1.4 ข้ อพิพาทระหว่ างบริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่ อยของบริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กรณีการปรั บลดอัตราค่ าใช้ โครงข่ ายร่ วม (Roaming) ระหว่ างดีพีซี - บริษัท ดีพีซีได้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 27/2553 เรี ยกร้ อง ให้ กสท เพิ ก ถอนการกล่า วหาว่า ดี พี ซี เป็ นฝ่ ายผิ ด สัญ ญาเนื่ อ งจากการท าสัญ ญาการใช้ โครงข่า ยระหว่า งบริ ษั ท - ดี พี ซี ไม่ได้ รับความยินยอมจาก กสท จึงจะแจ้ งเลิกสัญญากับดีพีซี พร้ อมกันนี ้ยังเรี ยกร้ องให้ กสท ชดใช้ ค่าเสียหายเป็ นเงิน 50 ล้ าน บาทด้ วย ต่อมา กสท ได้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 62/2553 เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการที่ดีพีซีปรับลดอัตราอัตราค่าใช้ โครงข่าย ร่วม (Roaming) ระหว่างดีพีซี - บริ ษัท จาก 2.10 บาท เป็ น 1.10 บาท ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2550 - 31 ธันวาคม 2551 โดยมิได้ รับอนุมตั ิจาก กสท ก่อน มูลฟ้ องคิดเป็ นเงินรวมทังสิ ้ ้น 2,000 ล้ านบาท และเบี ้ยปรับอีกในอัตรา 1.25 ต่อเดือน นับแต่เดือน เมษายน 2553 เป็ นต้ น ไป นอกจากนี ้ เมื่ อ วัน ที่ 1 กัน ยายน 2554 กสท ได้ เ สนอข้ อ พิ พ าทต่อ สานัก ระงับ ข้ อ พิ พ าท สถาบัน อนุญาโตตุลาการ เป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 89/2554 เพิ่มเติมในส่วนปี ดาเนินการที่ 12 เป็ นเงินอีกจานวน 113,211,582.68 บาท ซึง่ ภายหลังสถาบันอนุญาโตตุลาการได้ มีคาสัง่ ให้ รวมพิจารณาทัง้ 3 ข้ อพิพาทเข้ าด้ วยกัน โดยขณะนี ้ ข้ อพิพาทดังกล่าวอยู่ ระหว่างการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากดีพีซีแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ กสท เรี ยกร้ อง อย่างไรก็ตาม ผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่ อว่าคาวินิจฉัยชี ้ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากดีพีซีได้ มีหนังสือแจ้ งการใช้ อตั ราค่า ใช้ โครงข่ายร่ วมในอัตรานาที ละ 1.10 บาท ต่อ กสท นับตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม 2549 เรื่ อยมา และ กสท ได้ มีหนังสือตอบอนุมตั ิ แล้ วตังแต่ ้ เวลาดังกล่าวจนถึง เดือนมีนาคม 2550 รวมทัง้ ได้ มีหนังสืออนุมัติตงั ้ แต่เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม 2552 ด้ วย รวมทังในช่ ้ วงระยะเวลาที่เป็ น ข้ อพิพาทนัน้ กสท ก็มิได้ มีหนังสือตอบปฏิเสธหรื อคัดค้ านมายังดีพีซี และอัตราค่าใช้ โครงข่ายร่ วม ดังกล่าวเป็ นอัตราที่เหมาะสม ตามราคาตลาด ณ ขณะนัน้ ซึง่ ได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติแล้ ว 1.5. ข้ อพิพาทระหว่ างบริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อยของบริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กรณีกรรมสิทธิ์เสาอากาศ/เสาสูง และ อุปกรณ์ แหล่ งจ่ ายกาลังงาน กสท ได้ เ สนอข้ อ พิ พ าทต่อ ส านัก ระงับ ข้ อ พิ พ าท สถาบัน อนุญ าโตตุลาการเป็ นข้ อ พิ พ าทหมายเลขด าที่ 8/2552 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จานวน 3,343 ต้ น พร้ อม อุปกรณ์ แหล่งจ่ายกาลังงาน (Power Supply) จานวน 2,653 เครื่ อง ตามสัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลา่ ร์ หากไม่สามารถส่งมอบได้ ให้ ชดใช้ เงินจานวน 2,230 ล้ านบาท ซึ่งดีพีซีเห็นว่าเสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้ อมอุปกรณ์ แหล่งจ่ายกาลังงาน (Power Supply) มิใช่เครื่ องหรื ออุปกรณ์ตามที่กาหนดให้ ต้องส่งมอบตามที่ระบุไว้ ในสัญญาซึง่ กระทาระหว่าง กัน

ส่วนที่ 1 | หน้ า 31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

คณะอนุญาโตตุลาการได้ มีมติเป็ นเอกฉันท์ วินิจฉัยชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททัง้ หมดของ ก สท ในเวลาต่อมา โดยให้ เหตุผลสรุปได้ วา่ สิทธิของ กสท ในอันจะเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีสง่ มอบทรัพย์สนิ อันเป็ นวัตถุแห่งสัญญานัน้ ต้ องกระทาภายหลังวัน สิ ้นสุดสัญญาไปแล้ ว 60 วัน ดังนัน้ การที่ กสท ทาคาเสนอข้ อพิพาทจึงนับว่าเป็ นการใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องก่อนครบกาหนดระยะเวลาที่ อาจให้ สิทธิตามสัญญาได้ ภายหลัง กสท จึงได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางในวันที่ 25 ตุลาคม 2555 และขณะนี ้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาซึง่ กระบวนการพิจารณาซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากดีพีซีเป็ นผู้แพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ กสท เรี ยกร้ อง อย่างไรก็ตามจากข้ อโต้ แย้ งของ ดีพีซี ตามที่กล่าวไว้ ข้ างต้ น ผู้บริ หารจึงเชื่อว่าผลของคดีนา่ จะคลีค่ ลายไปในทางที่ดีกบั บริ ษัท 1.6. ข้ อ พิ พ าทกรณี ผ้ ู ใช้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ โ อนย้ า ยผู้ ให้ บริ ก ารจากบริ ษั ท ไปยั ง บริ ษั ท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อยของบริษัท ในวันที่ 25 กันยายน 2557 บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที ) ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็ น ข้ อพิ พาทหมายเลขด าที่ 80/2557 เรี ยกร้ องให้ บ ริ ษั ทชาระค่าเสียหายนับแต่วัน ที่ยื่น คาเสนอ ข้ อพิพาทจานวน 9,126 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี รวมถึงค่าธรรมเนียมและค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ ในกระบวนการ พิ จ ารณาในชัน้ อนุญ าโตตุล าการ โดยอ้ า งว่ า ความเสี ย หายดัง กล่า วเกิ ด จากกรณี ที่ บ ริ ษั ท ด าเนิ น การโอนย้ า ยผู้ใ ช้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 900 เมกะเฮิ รตซ์ จากบริ ษัท ไปยังระบบ 2100 เมกะเฮิรตซ์ ที่ให้ บริ การโดยเอดับ บลิว เอ็น เป็ นการ ผิดสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการระหว่าง ทีโอที กับ บริ ษัท ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยูใ่ นขันตอนของอนุ ้ ญาโตตุลาการ โดยฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าผลของข้ อพิพาทดังกล่าว ไม่นา่ จะมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่องบการเงินของบริ ษัท เพราะบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิถกู ต้ องตามข้ อสัญญาที่เกี่ยวข้ องทุกประการ แล้ ว 1.7 ข้ อพิพาทกรณีบริษัทไม่ ดาเนินการจัดเก็บข้ อมูลของผู้ใช้ บริการแบบชาระค่ าบริการล่ วงหน้ า ตามที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้ อาศัยอานาจ ตามในประกาศ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ การเลขหมายโทรคมนาคมฯ มีคาสัง่ ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มี การให้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ าทุกราย รวมทังบริ ้ ษัทต้ องจัดเก็บข้ อมูลของผู้ใช้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ า ทุกรายให้ ครบถ้ วนเสร็ จสิ ้นภายในระยะที่กาหนดไว้ และต่อมาได้ มีคาสัง่ กาหนดค่าปรับทางปกครองจานวนวันละ 80,000 บาท ต่อบริ ษัทและให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ในตลาดอีก 2 ราย เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 6 กรกฎาคม 2555 จนกว่าจะปฏิบตั ิตามคาสัง่ อย่างครบถ้ วน เนื่องจากพิจารณาเห็นว่าผู้ประกอบการทัง้ 3 รายดังกล่าว ยังมิได้ ปฏิบตั ิตามคาสัง่ อย่างครบถ้ วน ซึ่งบริ ษัทได้ ยื่น ฟ้ องต่อศาลปกครองกลางเพื่อ ให้ มีก ารเพิ ก ถอนค าสั่งทัง้ 2 ฉบับ เป็ นคดีห มายเลขดาที่ 1858/2554 และ หมายเลขด าที่ 252/2556 ตามลาดับ ขณะนี ้อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ต่อมาในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ กสทช. กาหนดค่าปรับ ทางปกครอง เนื่องจากเห็นว่าการบังคับให้ ผ้ ปู ระกอบการต้ องจัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การย้ อนหลัง ซึ่งผู้ใช้ บริ การจะต้ องเปิ ดเผยข้ อมูล ส่วนบุคคล โดย กสทช. มิได้ ออกมาตรการบังคับให้ ระงับหรื อยกเลิกบริ การได้ อีกทังมี ้ จานวนของผู้ใช้ บริ การเป็ นจานวนมาก ซึ่ง เป็ นการยากที่จะกระทาได้ หากไม่ได้ รับความร่วมมือจากผู้ใช้ บริ การ มติและคาสัง่ ดังกล่าวจึงไม่ชอบด้ วยกฎหมาย เพราะเป็ นการ ใช้ ดลุ ยพินิจในการกากับดูแลเกินขอบเขตความจาเป็ น ก่อให้ เกิดภาระแก่ผ้ ปู ระกอบการเป็ นอย่างมาก กรณีที่ กสทช. อ้ างเรื่ อง ประเด็นเพื่อความมัน่ คงหรื อความปลอดภัยนัน้ มิใช่อานาจหน้ าที่ของ กสทช. โดยในวันที่ 18 ธันวาคม 2558 กสทช. ได้ ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด ซึ่งขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสูงสุด ส่วนที่ 1 | หน้ า 32


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ทัง้ นี ้ หากบริ ษั ทแพ้ คดี บริ ษั ทอาจต้ อ งชาระเงิ นค่ าปรั บ ทางปกครองจานวนวัน ละ 80,000 บาท เริ่ มตัง้ แต่วัน ที่ 6 กรกฎาคม 2555 จนกว่าจะปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของ กสทช. โดยครบถ้ วนถูกต้ อง อย่างไรก็ตาม ผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าข้ อพิพาท ในกรณีนี ้น่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากที่ผา่ นมา กสทช. และผู้ประกอบการทุกรายได้ มีความพยายามร่วมกันในการจัดเก็บ ข้ อมูลของผู้ใช้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ า ซึง่ กสทช. และผู้ประกอบการทุกรายได้ ร่วมกันพัฒนาแอพพลิเคชัน่ “2 แชะ” ให้ ผู้ใช้ บริ การแบบชาระเงินล่วงหน้ า สามารถขอลงทะเบียนข้ อมูลผู้ใช้ บริ การผ่านตัวแทนจาหน่ายเพิ่มเติมจากการจัดเก็บในรู ปของ การกรอกแบบคาขอลงทะเบียนและสาเนาเอกสารประจาตัว โดยข้ อมูลดังกล่าวจะถูกส่งเข้ าระบบของผู้ให้ บริ การเครื อข่าย โดยตรง 1.8 ข้ อพิพาทกรณีเงินผลประโยชน์ ตอบแทนจากรายได้ จากการให้ บริการเครือข่ ายร่ วม (National Roaming) สืบเนื่องจากข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครัง้ ที่ 7 บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) ตกลงให้ บริ ษัทนาโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่นเข้ ามาร่ วมใช้ โครงข่ายร่ วมได้ โดยบริ ษัท ตกลงจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ แก่ทีโอทีตามอัตราร้ อยละของสัญญาข้ อ 30 บริ ษัทจึงได้ ตกลงทาสัญญาการใช้ โครงข่าย โทรคมนาคมกับบริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) และเรี ยกเก็บอัตราค่าตอบแทนการใช้ โครงข่ายจาก เอดับบลิวเอ็น ตามที่ตกลงไว้ ในสัญญา รวมทังได้ ้ นารายได้ จากค่าตอบแทนการใช้ บริ การที่เรี ยกเก็บจากเอดับบลิวเอ็น คานวณ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ แก่ทีโอทีตามอัตราร้ อยละที่กาหนดไว้ ในสัญญาอนุญาตฯ ต่อมาทีโอที ได้ มีหนังสือแจ้ งมายังบริ ษัทว่านับตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม 2556 บริ ษัทชาระเงินผลประโยชน์ตอบแทนจาก รายได้ จากการให้ บริ การเครื อข่ายร่ วมไม่ครบถ้ วน โดยทีโอทีเห็นว่าบริ ษัทเรี ยกเก็บค่าใช้ เครื อข่ายร่ วมจากเอดับบลิวเอ็นในอัตรา ค่าบริ การที่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ในสัญญาการใช้ โครงข่ายโทรคมนาคม โดยที่บริ ษัทมิได้ แจ้ งให้ ทีโอทีเห็นชอบก่อนเป็ นลายลักษณ์ อักษร ทีโอทีจึงให้ บริ ษัทชาระเงิ นผลประโยชน์เพิ่มเติมจากรายได้ จากการให้ บริ การเครื อข่ายร่ วมให้ แก่ทีโอทีนบั ตัง้ แต่เดือน กรกฎาคม 2556 ถึงเดือน มิถนุ ายน 2558 เป็ นเงินจานวน 13,341 ล้ านบาท แต่บริ ษัทไม่เห็นด้ วยและได้ มีหนังสือชี ้แจงโต้ แย้ งทีโอที ด้ วยเห็นว่าการที่บริ ษัทเรี ยกเก็บค่าบริ การใช้ โครงข่ายจากเอดับบลิวเอ็น ต่ากว่าอัตราค่าบริ การที่กาหนดไว้ ในสัญญาการใช้ โครงข่ายเป็ นกรณีที่บริ ษัทจัดทารายการส่งเสริ มการให้ กับผู้ใช้ บริ การที่ปริ มาณการเข้ ามาใช้ โครงข่ายร่ วมเป็ นจานวนมาก ซึ่ง รายการส่งเสริ มการขายในลักษณะที่ให้ แก่เอดับบลิวเอ็น บริ ษัทก็ได้ แจ้ งให้ แก่ผ้ ใู ช้ บริ การโครงข่ายร่วมของบริ ษัททุกรายที่มีปริ มาณ การใช้ ถึงตามที่กาหนดไว้ และอัตราค่าบริ การตามรายการส่งเสริ มการขายดังกล่าวเป็ นอัตราค่าบริ การที่ไม่เกินกว่าอัตราค่าใช้ เครื อข่ายร่ วมที่กาหนดไว้ ในข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 7 ดังนัน้ การกาหนดอัตราค่าใช้ เครื อข่ายร่ วมตามรายการ ส่งเสริ มการขายดังกล่าวจึงไม่ต้องได้ ความเห็นชอบจากทีโอที กรณีนี ้หากทีโอทีนาเรื่ องเข้ าสูก่ ระบวนอนุญาโตตุลาการ ผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าจะสามารถโต้ แย้ งได้ เพราะบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิถกู ต้ องตามข้ อสัญญาที่เกี่ยวข้ องทุกประการแล้ ว และปั จจุบนั การกากับดูแลในเรื่ องของการกาหนดอัตราค่าบริ การต่างๆ อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของ กสทช. 1.9 ข้ อพิพาทระหว่ างบริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) กับ บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) กรณีกรรมสิทธิ์เสาอากาศ/เสาสูง บริ ษัทได้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 53/57 เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ขอให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดว่าเสาอากาศมิใช่เครื่ องมืออุปกรณ์และทรัพย์สินที่ต้องส่งมอบให้ แก่ ทีโอที และให้ บริ ษัทเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ ในเสาอากาศและขอให้ ทีโอที คืนเงินส่วนแบ่งรายได้ จากการนาเสาไปหาประโยชน์ที่ บริ ษัทชาระไปแล้ วให้ คืนแก่บริ ษัท เนื่องจากเห็นว่าเสาอากาศมิใช่เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการดาเนินกิจการระบบเอ็นเอ็มที 900 ตามสัญญาให้ ดาเนินกิจการให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Cellular Mobile Telephone) ดังนันจึ ้ งไม่มีหน้ าที่ต้องส่งมอบให้ แก่ทีโอที ส่วนที่ 1 | หน้ า 33


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยูใ่ นขันตอนของอนุ ้ ญาโตตุลาการ โดยฝ่ ายบริ หารของบริษัทเชื่อว่าข้ อพิพาทดังกล่าวน่าจะ คลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากบริ ษัทและทีโอทีอยูร่ ะหว่างการเจรจาตกลงดาเนินการทางธุรกิจเป็ นพันธมิตรร่วมกัน 1.10 ข้ อพิพาทกรณีบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที ) เรี ยกร้ องให้ บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) ส่ งมอบกรรมสิทธิ์อุปกรณ์ ระบบในการให้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ระบบเอ็นเอ็มที 900 ตามที่ทีโอทีได้ เรี ยกร้ องให้ บริ ษัทส่งมอบกรรมสิทธิ์อปุ กรณ์ระบบในการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบเอ็นเอ็มที 900 ได้ แก่ ระบบ Billing ระบบ Intelligence Network (IN) ระบบบริ การเสริ ม (Value Added Service) ระบบการบริ หารความสัมพันธ์ กับลูกค้ า (Customer Relation Management) ระบบ Systems Application and Product (SAP) ระบบรับชาระเงิน เครื่ องมือ และอุปกรณ์ช่าง ระบบผลิตและควบคุมการใช้ งานบนบัตรเติมเงิน ระบบบริ การลูกค้ า และการออกใบแจ้ งหนี ้ ติดตามหนี ้ ระบบ บริ หารจัดการร้ านเทเลวิซและดีลเลอร์ ระบบการจัดการโครงข่าย ระบบเก็บฐานข้ อมูลลูกค้ า อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และซอฟแวร์ บริ การเสริ ม สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน และอะไหล่บารุ งรักษาให้ แก่ทีโอทีตามสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินกิจการบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยทีโอทีเห็นว่าทรัพย์สนิ ดังกล่าวทังหมด ้ เป็ นเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่บริ ษัทจัดหามาไว้ สาหรับดาเนินการระบบ เอ็นเอ็มที 900 ซึ่ง บริ ษัทมีหน้ าที่ต้องส่งมอบให้ เป็ นกรรมสิทธิ์ แก่ทีโอทีตามสัญญาอนุญาต แต่บริ ษัทเห็นว่าอุปกรณ์ ระบบดังกล่าว ตามที่ทีโอที เรี ยกร้ องมานัน้ มิใช่เครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ในการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบเอ็นเอ็มที 900 ตามที่ระบุไว้ ในสัญญาอนุญาตฯ ที่บริ ษัทจะต้ องส่งมอบให้ แก่ทีโอที แต่เป็ นเครื่ องมือที่บริ ษัทใช้ สนับสนุนในการให้ บริ การให้ แก่ผ้ ใู ช้ บริ การเท่านัน้ ในกรณีที่ทีโอทีใช้ สิทธิ นาข้ อพิพาทเข้ าสู่กระบวนการอนุญาตุลาการ ผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าข้ อพิพาทดังกล่าวจะ สามารถเจรจาไกล่เกลีย่ ยุติข้อพิพาทดังกล่าวได้ เนื่องจากปั จจุบนั บริ ษัทกับทีโอทีอยูร่ ะหว่างดาเนินการทางธุรกิจเพื่อเป็ นพันธมิตร กัน 1.11 กรณีการเรียกร้ องผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มเติมจากการทาข้ อตกลงต่ อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 6 และ 7 เมื่อวันที่ 30 กัน ยายน 2558 บริ ษัท ได้ ยื่น คาเสนอข้ อพิ พาทหมายเลขดาที่ 78/2558 ต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานัก ระงับ ข้ อ พิ พ าท ส านัก งานศาลยุติ ธ รรม เพื่ อ มี ค าชี ข้ าดให้ ข้ อ ตกลงต่ อ ท้ า ยสัญ ญาอนุญ าตให้ ด าเนิ น กิ จ การบริ ก าร โทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Cellular Mobile Telephone) ครัง้ ที่ 6 ซึ่งกระทาขึ ้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 และ ครัง้ ที่ 7 ซึ่งกระทาขึ ้น เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 มีผลผูกพันบริ ษัท และบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ให้ ต้องปฏิบตั ิตามจนกว่าสัญญาจะ สิ ้นสุด และบริ ษัทไม่มีหน้ าที่ต้องชาระผลประโยชน์ตอบแทนตามที่ ทีโอที ได้ มีหนังสือลงวันที่ 29 กันยายน 2558 เรื่ องขอให้ ชาระ ผลประโยชน์ตอบแทน แจ้ งมายังบริ ษัทให้ ชาระเงินเพิ่มจานวน 72,036 ล้ านบาท โดยกล่าวอ้ างว่าการทาข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญา ครัง้ ที่ 6 และ 7 เป็ นการแก้ ไขสัญญาในสาระสาคัญทาให้ ทีโอที ได้ ผลประโยชน์ตอบแทนต่ากว่าที่กาหนดในสัญญาหลัก ต่อมาวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 ทีโอที ยื่นคาเสนอข้ อพิพาท คดีเลขที่ 122/2558 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานัก ระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรมเพื่อแก้ ไขจานวนเงินที่เรี ยกร้ องผลประโยชน์ตอบแทนลดลงเป็ น 62,773 ล้ านบาท เนื่องจาก การปรับปรุงอัตราร้ อยละในการคานวณส่วนแบ่งรายได้ ข้ อพิพาทนี ้เป็ นเรื่ องเดียวกับข้ อพิพาทที่ 78/2558 ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขันตอนของอนุ ้ ญาโตตุลาการ โดยฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญา ครัง้ ที่ 6 และครัง้ ที่ 7 มีผลผูกพันจนกระทัง่ สิ ้นสุดสัญญาเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 และบริ ษัทได้ ปฎิบตั ิถูกต้ องตามข้ อสัญญาที่ เกี่ ยวข้ องทุกประการแล้ ว อีก ทัง้ สานัก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าได้ เคยให้ ความเห็ นต่อ กรณี การแก้ ไขสัญญาอนุญ าตให้ ดาเนินการฯ ระหว่างทีโอที กับบริ ษัท เรื่ องเสร็ จที่ 291/2550 ความตอนหนึ่งว่า “... กระบวนการแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาอันเป็ นนิติ กรรมทางปกครอง สามารถแยกต่างหากออกจากข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทาขึน้ ได้ และข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญา อนุญาตฯ ที่ทาขึ ้นนันยั ้ งคงมีผลอยูต่ ราบเท่าที่ยงั ไม่มีการเพิกถอนหรื อสิ ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรื อเหตุอื่น...” นอกจากนี ้ ข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาครัง้ ที่ 6 และครัง้ ที่ 7 มิได้ ถกู เพิกถอนหรื อแก้ ไขเพิ่มเติมจนกระทัง่ สิ ้นสุดลงในวันที่ 30 กันยายน 2558 ดังนัน้ ผลของข้ อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดีและไม่นา่ จะมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อบริ ษัท ส่วนที่ 1 | หน้ า 34


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

2. ความเสี่ยงด้ านการดาเนินงาน 2.1 ความเสี่ยงจากสภาวะการแข่ งขันทางธุรกิจโทรคมนาคม การให้ บริ การโทรคมนาคมผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ในประเทศไทยนับเป็ นธุรกิ จที่มีการแข่งขันสูง และมีแนวโน้ มที่การ แข่งขันจะเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทังยั ้ งมีความอ่อนไหวสูงต่อปั จจัยด้ านราคา เนื่องจากการเติบโตของตลาดและความต้ องการใช้ งานด้ านข้ อมูลของผู้ใช้ บริ การที่เพิ่มสูงขึ ้น โดยมีการแข่งขันด้ านราคา โปรโมชัน่ และการทาการตลาดจากผู้ให้ บริ การในปั จจุบนั อย่างรุนแรงและต่อเนื่อง ซึง่ บริ ษัทต้ องตอบสนองต่อการแข่งขันดังกล่าวอย่างทันท่วงทีด้วยต้ นทุนที่เหมาะสมเพื่อรักษาความเป็ น ผู้นาในตลาด นอกจากนี ้ การเปิ ดเสรี กิจการโทรคมนาคมเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ทู ี่ประสงค์จะประกอบกิจการโทรคมนาคมที่มีคณ ุ สมบัติตาม กฎหมายและกฎเกณฑ์ ของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ สามารถมีสิทธิ ขอรั บ ใบอนุญ าตประกอบกิ จการโทรคมนาคมได้ โดยเสรี จะเห็ นได้ จ ากการเปิ ดประมูลใบอนุญาตใช้ คลื่นความถี่ ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ที่ผ่านมา มีผ้ ปู ระกอบการรายใหม่สนใจ และเข้ าร่ วมประมูลดังกล่าว ส่งผลให้ การแข่งขันใน ตลาดอาจมีความรุ นแรงยิ่งขึ ้น เนื่องจากผู้ประกอบการรายใหม่อาจใช้ กลยุทธ์ การแข่งขันทางด้ านราคาเพื่อแย่งชิงส่วนแบ่งทาง การตลาดจากผู้ประกอบการในปั จจุบนั ในฐานะผู้นาในตลาดบริ ษัทมีความเชื่อมัน่ ว่าบริ ษัทมีความพร้ อมในการแข่งขันทังทางด้ ้ าน ราคา แพคเกจ โปรโมชัน่ ต่างๆ อีกทังความน่ ้ าเชื่อถือของแบรนด์ การบริ การหลังการขาย การดาเนินงานภายใต้ ต้นทุนที่เหมาะสม รวมทังผลิ ้ ตภัณฑ์และบริ การที่หลากหลายอย่างครบวงจรของบริ ษัทที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้ างความแตกต่างและ สามารถตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การได้ อย่างครบวงจร 2.2 ความเสี่ยงด้ านความปลอดภัยของสารสนเทศ ด้ วยความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ วและต่อเนื่อง ทาให้ ผ้ ใู ช้ บริ การสามารถเข้ าถึงข้ อมูลและใช้ บริ การรู ปแบบต่างๆ ที่ต้องการผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตได้ จากทุกที่ทวั่ โลก ตลอดจนการทาธุรกรรมต่างๆได้ สะดวกสบายมาก ยิ่งขึน้ ไม่ว่าจะเป็ นการซื ้อขายสินค้ าและบริ การ การทาธุรกรรมทางการเงิน รวมทังการใช้ ้ บริ การเก็บรักษาข้ อมูลแบบ Cloud computing ความต้ องการต่างๆเหล่านี ้ส่งผลให้ บริ ษัทต้ องพัฒนาผลิ ตภัณฑ์และบริ การต่างๆเพื่อตอบสนองความต้ องการของ ผู้ใช้ บริ การ อย่างไรก็ตามความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีที่มีอยูอ่ ย่างต่อเนื่อ งนอกจากจะเพิ่มความสะดวกสบายให้ กบั ผู้ใช้ บริ การแล้ ว ก็อาจมีโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ งทางด้ านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศด้ วยเช่นกัน บริ ษัทในฐานะผู้ให้ บริ การซึง่ ต้ องอาศัย เทคโนโลยีตา่ งๆเพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงการให้ บริ การให้ ดียิ่งขึ ้น สิง่ สาคัญที่บริ ษัทคานึง ถึงคือความปลอดภัยของระบบ และ การรักษาความปลอดภัยของข้ อมูล ซึง่ อาจมีความเสีย่ งทีเกิดขึ ้นได้ จากความบกพร่องของตัวระบบเอง หรื อจากภัยคุกคามทางด้ าน เทคโนโลยีตา่ งๆ บริ ษัทจึงให้ ความสาคัญกับการป้องกันความเสีย่ งต่างๆที่อาจเกิดขึ ้น ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของข้ อมูล ใน ด้ านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการกาหนดนโยบายการรั กษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ และข้ อมูลสารสนเทศ ที่ใช้ เป็ นกรอบ แนวทางในการป้องกันและจัดการความเสีย่ งที่เกี่ยวข้ องกับความปลอดภัยของข้ อมูลในทุกๆด้ าน การออกระเบียบและหลักเกณฑ์ การปฏิ บัติ ภ ายในสาหรั บ ผู้บ ริ ห ารและพนัก งานทุก ระดับ เพื่ อ ป้ องกัน ความเสี่ ย งจากการรั บ -ส่ง ข้ อ มูล ผ่ า นอุป กรณ์ พ กพา การกาหนดให้ มีการประเมินความเสีย่ งด้ านความปลอดภัยของข้ อมูลในระบบงานสาคัญตามแผนที่กาหนด ตลอดจนการนาระบบ มาตรฐานสากลต่างๆมาประยุกต์ใช้ เช่น มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของการให้ บริ การด้ านบัตรเครดิต (Payment Card Industry - Data Security Standard: PCI-DSS) มาตรฐานระบบบริ หารความมัน่ คงปลอดภัยสารสนเทศ (ISO 27001) ซึง่ ในปี 2558 บริ ษัทได้ ผา่ นการรับรองการตรวจประเมินตามมาตรฐานระบบบริ หารความมัน่ คงปลอดภัยสารสนเทศ (ISO 27001) ดังกล่าวเรี ยบร้ อยแล้ ว รวมทังมี ้ การสื่อสารและอบรมภายในเพื่อสร้ างความตระหนักในเรื่ องนี ้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็ นการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 35


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ป้องกันความเสีย่ งที่อาจจะเกิดขึ ้นจากความบกพร่ องของระบบ หรื อจากความจงใจในการโจรกรรมข้ อมูลของผู้ ไม่ประสงค์ดี เพื่อ ส่งมอบบริ การที่มีคณ ุ ภาพให้ กบั ผู้ใช้ บริ การและเพิ่มความมัน่ ใจในความปลอดภัยของข้ อมูลสารสนเทศให้ กบั ผู้ใช้ บริ การ 2.3 ความเสี่ยงจากภัยพิบตั ิ ภัยธรรมชาติ หรือเหตุสุดวิสัยต่ างๆ กรณี ที่เกิ ดภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ หรื อเหตุการณ์ ความผิดพลาดต่างๆที่ไม่อยู่ในความควบคุมของบริ ษัท เหตุการณ์ ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบให้ เกิดการหยุดชะงักของระบบปฏิบตั ิงานหลัก และอาจก่อให้ เกิดความสูญเสีย เสียหายต่อทรัพย์สิน และบุคลากรของบริ ษัท บริ ษัทมีการบริ หารจัดการความเสี่ยงเพื่อรับมือหากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าว โดยจัดทาแผนบริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจ มีการซักซ้ อมและทบทวนความเหมาะสมของแผนงานอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ สามารถบริ หารทรัพยากรองค์กรให้ มีป ระสิท ธิ ภาพสูงสุด และให้ สามารถรั บมื อกับ พิบัติภัยที่ ร้ ายแรงในระดับ ที่ยัง ความเสียหายต่ออาคารสานักงาน หรื อศูน ย์ ปฏิบตั ิการ จนต้ องมีการเปิ ดใช้ งานสถานที่ทาการฉุกเฉิน (Alternate Sites) เพื่อให้ เกิดความต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างเป็ นระบบ เมื่อเกิดความบกพร่ องใดๆ ขึ ้นจะไม่สง่ ผลกระทบต่อการให้ บริ การเครื อข่ายโทรศัพท์ของบริ ษัทในวงกว้ าง หรื อในระยะเวลานาน ทังนี ้ เ้ พื่อให้ มนั่ ใจว่าบริ ษัทจะสามารถรักษาความเป็ นผู้นาด้ านระบบเครื อข่ายคุณภาพ และสร้ างความมั่นใจให้ ลกู ค้ าในยาม ประสบพิบตั ิภยั ร้ ายแรงอีกด้ วย 2.4 ความเสี่ยงจากการขาดความเข้ าใจที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับปั ญหาสุขภาพที่เกิดจากคลื่นวิทยุ ในปี 2558 บริ ษัทมีการขยายและสร้ างสถานีฐานเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มเพื่อรองรับการเติบโตของการใช้ งานด้ านการรับ -ส่ง ข้ อมูล รวมทังเพื ้ ่อรองรับการเปิ ดให้ บริ การในระบบ 4G ซึ่งปั จจัยเสี่ยงที่อาจทาให้ บริ ษัทไม่สามารถดาเนินการได้ ตามแผนงานคือ ปั ญหาด้ านความเข้ าใจจากชุมชนโดยรอบ ซึ่งอาจยังมี ความเข้ าใจคลาดเคลื่อน หรื อความกังวลใจเกี่ยวกับ ปั ญหาด้ านสุขภาพที่ เกิดจากคลื่นวิทยุบริ เวณโดยรอบสถานีฐาน อาจนาไปสู่การต่อต้ าน คัดค้ านการก่อสร้ าง หรื อมีการร้ องเรี ยนไปยังหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง ทาให้ บริ ษัทไม่สามารถขยายการติดตังอุ ้ ปกรณ์ส่งสัญญาณ หรื อสร้ างสถานีฐานใหม่ได้ บริ ษัทมีแนวทางในการรับมือ และจัดการความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ ้น โดยกาหนดทีมงานในการสื่อสารเพื่อสร้ างความเข้ าใจก่อนการก่อสร้ างสถานีฐานตาม แนวทางที่สอดคล้ องกับข้ อกาหนดของสานักงานคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.) โดยการลงพื ้นที่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นจากกลุม่ ผู้ มีส่วนได้ ส่วนเสียในชุมชน การหารื อกับผู้นาในชุมชน และ ประชาชนในพื ้นที่ที่ต้องการจะก่อสร้ างสถานีฐานใหม่ โดยวางแผนขันตอนการท ้ างานให้ สามารถสื่อสารเพื่อสร้ างความเข้ าใจกับ ชุมชนตังแต่ ้ กระบวนการหาสถานที่ ทาให้ บริ ษัทสามารถวิเคราะห์แนวโน้ มความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษัทและชุมชนได้ จึงสามารถลด ความเสีย่ งที่จะเกิดการต่อต้ านและยังมีข้อมูลในการวางแผนเพื่อทาความเข้ าใจหากพบในภายหลังว่ามีข้อกังวลใจเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของเสาสัญญาณโทรศัพท์ โดยเปิ ดโอกาสให้ ชุมชนสามารถเข้ ามามีสว่ นร่ วมในทุกขันตอนการท ้ างานตังแต่ ้ ร่วมกันหา สถานที่ก่อสร้ างเสาสัญญาณ เมื่อได้ สถานที่สาหรับการก่อสร้ างสถานีฐานใหม่แล้ ว ก็จะจัดทาแบบการติดตังสถานี ้ ฐานซึ่งรับรอง โดยวิศวกรระดับสามัญวิศวกรโยธาขึ น้ ไปและเป็ นไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยเพื่อเสนอต่อ สานักงานเขตหรื อเทศบาลขออนุมตั ิการก่อสร้ าง และหลังจากได้ ใบอนุญาตแล้ วทีมงานด้ านวิศวกรรมจะควบคุมการก่อสร้ างให้ เป็ นไปตามแบบที่ได้ รับการอนุมตั ิและเป็ นไปตามมาตรฐานอย่างเคร่งครัดเพื่อความปลอดภัยของทังผู ้ ้ ทางานและชุมชนโดยรอบ 2.5 ความเสี่ยงจากการไม่ สามารถตอบสนองต่ อเครือข่ ายสังคมออนไลน์ ได้ อย่ างทันท่ วงที ปั จจุบนั เครื อข่ายสังคมออนไลน์มีการเชื่อมต่อกันอย่างไม่จากัด การติดต่อสือ่ สารหรื อการส่งต่อข้ อมูลเป็ นไปได้ อย่าง รวดเร็ว และกระจายไปในวงกว้ างได้ งา่ ยดายยิ่งขึ ้น การตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การที่ติดต่อผ่านช่องทางสือ่ สารสังคม ออนไลน์ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็ นความต้ องการข้ อมูลผลิตภัณฑ์และบริ การ การสอบถามปั ญหาการใช้ งานต่างๆ ตลอดจนการร้ องเรี ยน

ส่วนที่ 1 | หน้ า 36


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การใช้ บริ การของบริ ษัท จาเป็ นต้ องมีการตอบสนองที่รวดเร็ วด้ วยข้ อมูลที่ถกู ต้ องแม่นยา และสามารถรับมือจัดการแก้ ไขปั ญหา เฉพาะหน้ าได้ อย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการบอกต่อข้ อมูลที่คลาดเคลือ่ นซึง่ อาจส่งผลในทางลบต่อภาพลักษณ์ของบริ ษัท บริ ษัทได้ นาเครื่ องมือที่ใช้ ในการตรวจติดตามข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทที่มีการกล่าวถึงในเครื อข่ายออนไลน์ตา่ งๆ รวมทัง้ มีทีมงานที่ทาหน้ าที่เฝ้ าติดตามและตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การผ่านช่องทางออนไลน์โดยเฉพาะ เพื่อให้ มั่นใจว่า ผู้ใช้ บริ การจะได้ รับการตอบสนอง ได้ รับข้ อมูลที่ถกู ต้ องอย่างทันท่วงที และได้ รับประสบการณ์ที่ดีที่สดุ จากบริ ษัท

ส่วนที่ 1 | หน้ า 37


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

4. ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 4.1 สินทรัพย์ ถาวรหลัก ที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร และส่วนปรับปรุงอาคารเช่า ของบริ ษัท และบริ ษัทย่อยนัน้ เป็ นของบริ ษัทเป็ นหลัก เนื่องจากบริ ษัทมีสานักงานสาขากระจายอยู่ทวั่ ประเทศ ส่วนเครื่ องตกแต่ง ติดตัง้ และเครื่ องมืออุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้ วย อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ ช่ า ง อุ ป กรณ์ แ ละโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ตลอดจนอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ ส าหรั บ บริ ก ารเสริ ม ของ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยสินทรัพย์ถาวรหลักของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้ วย สินทรั พย์ ถาวรหลักของบริษัทและบริษัทย่ อย ที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า1/ เครื่องตกแต่ง, ติดตังและเครื ้ ่องใช้ สานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้ างและติดตัง้ อุปกรณ์สื่อสารเพื่อให้ เช่า รวม ทีด่ ิ น อาคาร และอุปกรณ์ หัก ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม ทีด่ ิ น อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 1/

ประมาณอายุการใช้ (ปี )

หน่วย: ล้ านบาท

5 และ 20 5 และ 10 2-5 2 - 20 5-10 5 อายุสญ ั ญาเช่า และ 3

524.68 477.06 1,383.00 1,629.36 91,503.48 8,301.81 236.35 13,778.04 7.48 117,841.26 (33,550.16) 84,291.10

ส่วนปรับปรุ งอาคารเช่าเป็ นค่าใช้ จ่ายในการปรับปรุ งตกแต่งสานักงานบริ การของบริ ษัท

สาหรับสินทรัพย์ถาวรหลักของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ รวมสินทรัพย์ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงินที่บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเป็ น ผู้เช่าอยูใ่ นส่วนของเครื่ องตกแต่ง ติดตังและเครื ้ ่ องใช้ สานักงาน เครื่ องมือและอุปกรณ์ และยานพาหนะ เป็ นจานวน 280.86 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยยังมีการเช่าพื ้นที่อาคารสานักงานเพื่อใช้ ในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิ ้นเดือนธันวาคม 2558 สัญญาเช่าหลักของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีรายละเอียด ดังนี ้ 1. พื ้นที่สานักงานอาคาร เอ ไอ เอส ทาวเวอร์ 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื ้อที่ประมาณ 17,827 ตาราง เมตร จากบริ ษัท เอสซี แอสเสท คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) (เอสซี แอสเสท) ระยะเวลา 3 ปี ตังแต่ ้ 1 มกราคม 2557 - 31 ธันวาคม 2559 ในอัตราค่าเช่า 11,825,485 บาทต่อเดือน และจะต่ออายุโดยอัตโนมัติทกุ 3 ปี เว้ นแต่มีการแจ้ งยกเลิก 30 วัน ล่วงหน้ าก่อนหมดอายุสญ ั ญา ปั จจุบนั บริ ษัทได้ ตอ่ อายุมาเป็ นเวลากว่า 10 ปี 2. พื ้นที่สานักงานอาคารเอไอเอส ทาวเวอร์ 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุ งเทพฯ เนื ้อที่ประมาณ 12,963 ตารางเมตร จากเอสซี แอสเสท ระยะเวลา 3 ปี ตังแต่ ้ 1 มกราคม 2557 - 31 ธันวาคม 2559 ในอัตราค่าเช่า 7,278,538 บาท ต่อเดือน และจะต่ออายุโดยอัตโนมัติทกุ 3 ปี เว้ นแต่มีการแจ้ งยกเลิก 30 วันล่วงหน้ าก่อนหมดอายุสญ ั ญา ปั จจุบนั บริ ษัทมี การต่ออายุสญ ั ญาเช่าอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลากว่า 10 ปี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 38


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

3. พื ้นที่สานักงานอาคาร เอสซี แอสเสท เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจกั ร กรุ งเทพฯ เนื ้อที่ประมาณ 558ตารางเมตร จากเอสซี แอสเสท ระยะเวลา 3 ปี ในอัตราค่าเช่า 326,430 บาทต่อเดือน ซึ่งสัญญาฉบับปั จจุบนั จะหมดอายุ 31 ธันวาคม 2559 และจะต่ออายุโดยอัตโนมัติทกุ 3 ปี เว้ นแต่จะมีการแจ้ งยกเลิก 30 วันล่วงหน้ าก่อนหมดอายุสญ ั ญา 4. สัญญาเช่าพื ้นที่สานักงานอาคารอีเอสวีทาวเวอร์ เลขที่ 1 และ เลขที่ 1293/9 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุ งเทพฯ เนื อ้ ที่ ป ระมาณ 8,375 ตารางเมตร จากบริ ษั ท อี เ อสวี แอสเสท จ ากั ด ในอัต ราค่ า เช่ า 3,789,354 บาทต่ อ เดื อ น โดยจะหมดอายุสญ ั ญาวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559 5. สัญญาเช่าพื ้นที่สานักงานพหลโยธิ น เพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิ น พญาไท กรุ งเทพฯ เนื ้อที่ประมาณ 20,013 ตารางเมตร จากบริ ษัท พหล 8 จากัด, บริ ษัท สยามเคหะพัฒนา จากัด, , บริ ษัท บีบี ซูซูกิ ออโต้ จากัด, บริ ษัทณัฐวุฒิและ กานต์ จากัด, บริ ษัท อาทิตย์-จันทร์ จากัด, บริ ษัท พันธ์ทิพย์ เน็ตเวิร์ค จากัด,บริ ษัท เมอริ ท โฮลดิ ้ง จากัด, บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน), บริ ษั ท อลิ อัน ซ์ อยุธ ยาประกัน ชี วิ ต จ ากัด (มหาชน), บริ ษั ท พาธแล็ ป จ ากัด , คุณ ซานดรา ไทบัญ ชากิ จ คุณธีรวัฒน์ ชีววัฒนรักษ์ คุณนนทวัฒน์ พุ่มชูศรี คุณภัทรา วนิชวัฒนะ ในอัตราค่าเช่า 7,770,044 บาทต่อเดือน ซึ่งสัญญา เช่าทาแยกในแต่ละชัน้ และสัญญาฉบับปั จจุบนั จะหมดอายุ 31 ธันวาคม 2560 6. สัญญาเช่าพืน้ ที่สานักงานอาคารพหลโยธิ น เซ็นเตอร์ เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิ น พญาไท กรุ งเทพฯ เนือ้ ที่ ประมาณ 5,130 ตารางเมตร จากบริ ษัท ทรี พลั ส์ จากัด ในอัตราค่าเช่า 1,772,155 บาทต่อโดยจะหมดอายุสญ ั ญาวันที่ 31 สิงหาคม 2560 7. สัญญาเช่าพื ้นที่อาคารเอสพี เลขที่ 388 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร เนื ้อที่ประมาณ 1,070 ตารางเมตร จากบริ ษัท เอสพี อาคาร จากัด ในอัตราค่าเช่า 518,950 บาทต่อเดือน โดยจะหมดอายุสญ ั ญาวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 8. สัญญาเช่าพื ้นที่อาคารบีบีดี เลขที่ 626 ซอยจินดาถวิล ถนนพระราม4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เนื ้อที่ประมาณ 4,351 ตารางเมตร จากบริ ษัท บี.บี.ดี.ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด ในอัตราค่าเช่า 1,435,830 บาทต่อเดือน โดยจะ หมดอายุสญ ั ญาวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 9. สัญญาเช่าพื ้นที่อาคารสานักงานบริ การสาขา ในจังหวัดเชียงใหม่ , สุราษฏร์ ธานี, นครสวรรค์, นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, หาดใหญ่, ชลบุรี, อยุธยา, ระยอง, ภูเก็ต, อุดรธานี, ขอนแก่น, อุบลราชธานี, สมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, เชียงราย , ลาปาง, แพร่, แม่สอด, สุรินทร, ร้ อยเอ็ด, มหาสารคาม, มุกดาหาร, หัวหิน, ปราจีนบุรี, สระบุรี และกรุ งเทพฯ เนื ้อที่รวมกัน ประมาณ 17,117 ตารางเมตร โดยทาสัญญาแยกแต่ละจังหวัด และต้ องจ่ายค่าเช่ารวมทังสิ ้ ้น 32,877,837 บาทต่อเดือน 4.2 สัญญาร่ วมการงาน ต้ นทุนโครงการภายใต้ สญ ั ญาร่ วมการงานเป็ นสินทรั พย์ ที่ลงทุนโดยบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และโอนกรรมสิทธิ์ ให้ แก่ หน่วยงานรัฐผู้เป็ นเจ้ าของสัญญาร่ วมการงานนัน้ โดยบริ ษัทและบริ ษัทย่อยจะได้ สิทธิ ในการใช้ สินทรั พย์นนในการด ั้ าเนิน กิจการตลอดอายุสญ ั ญาร่ วมการงานนัน้ สัญญาร่ วมการงานของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย ประกอบไปด้ วยสัญญาร่ วมการงาน ที่ทากับหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ สามารถดาเนินธุรกิจภายใต้ สทิ ธิของหน่วยงานรัฐนันๆ ้ โดยต้ นทุนโครงการภายใต้ สญ ั ญาร่วม การงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ส่วนที่ 1 | หน้ า 39


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ประเภทสินทรัพย์ ต้ นทุนโครงการของบริษัท อุปกรณ์เครือข่ายระบบดิจติ อล GSM อุปกรณ์เครือข่ายระบบอนาลอก NMT อุปกรณ์เครือข่ายสื่อสัญญาณ อื่นๆ ต้ นทุนโครงการของ เอดีซี เครื่องมือและอุปกรณ์ รวม ต้ นทุนโครงการของ ดีพีซี อุปกรณ์เครือข่ายระบบดิจติ อล GSM และอุปกรณ์เครือข่ายสื่อสัญญาณ รวมต้ นทุนโครงการของบริษัทและ บริษัทย่ อย

2558

ต้ นทุน (ล้ านบาท)

จานวนปี ตัดจาหน่าย

จานวนปี ที่ตดั จาหน่ายแล้ ว

78,636.41 116.36 19,187.07 26,407.10

10 ปี ไม่เกินปี 2558 สิ ้นสุด กันยายน 2545 10 ปี ไม่เกินปี 2558 10 ปี ไม่เกินปี 2558

1 - 10 1 - 10 1 - 10 1 - 10

-

1,246.95 125,593.89

10 ปี

1 - 10

-

10 ปี ไม่เกินปี 2556

1-9

-

125,593.89

มูลค่าทางบัญชี (ล้ านบาท)

-

สัญญาร่วมการงานและใบอนุญาตประกอบกิจการหลักๆ ของบริษัทและบริ ษัทย่อย มีดงั นี ้ 1. สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินกิจการบริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่ระหว่างบริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) (เอไอเอส) กับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หรื อทศท. (ชื่อเดิมของทีโอที) อายุของสัญญา : 25 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 - 30 กันยายน 2558 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : บริ ษัทได้ รับอนุญาตจากในลักษณะของสัญญาแบบสร้ าง-โอนกรรมสิทธิ์-ดาเนินงาน โดยให้ มีสทิ ธิ ดังนี ้ 1. สิทธิ ให้ บริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ระบบ NMT และ GSM ในย่านความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ทวั่ ประเทศ 2. สิท ธิ ร่ ว มบริ ห ารผลประโยชน์ จากระบบสื่อ สัญญาณเชื่ อ มโยงและทรั พ ย์ สิน ใน ส่วนที่เหลือจากการใช้ งานของบริ ษัทได้ 3. สิทธิให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่แบบใช้ บตั รจ่ายเงินล่วงหน้ า 4. สิทธิในการนาเครื อข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามสัญญาหลัก ไปให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น เข้ ามาใช้ โครงข่ายร่ ว ม (Roaming) และสิทธิ ในการเข้ าไปใช้ โครงข่ายร่ วมของ ผู้ให้ บริ การรายอื่น โดยบริ ษัทจะต้ องทาหนังสือแจ้ งให้ ทีโอทีทราบเป็ นลายลักษณ์ อักษรก่อน ในทังสองกรณี ้ ผลประโยชน์ ตอบแทน : 1. บริ ษัทจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอทีเป็ นส่วนแบ่งรายได้ ก่อนหักค่าใช้ จ่าย และภาษี ที่อตั ราร้ อยละ 15-30 (ขึ ้นอยู่กบั ปี ที่ดาเนินการ) และในอัตราร้ อยละ 20 ของมูลค่าราคาหน้ าบัตร (รวมภาษี มลู ค่าเพิ่ม) สาหรับบริ การแบบใช้ บตั รจ่ายเงิน ล่วงหน้ า (Prepaid Card) แต่ไม่น้อยไปกว่าจานวนเงินขันต ้ ่าตามที่ระบุไนสัญญา และทีโอทีตกลงแบ่งส่วนแบ่งรายได้ จากการให้ บริ การโทรศัพท์ ระหว่างประเทศ เฉพาะการเรี ยกออกจากเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามสัญญาหลักให้ แก่บริ ษัท โดยเมื่อบริ ษัทได้ รับรายได้ ดงั กล่าวจะต้ องนามารวมเป็ นรายได้ เพื่อคานวณเป็ น ส่วนแบ่งรายได้ ให้ ทีโอทีเมื่อครบรอบปี ดาเนินการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 40


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

2. บริ ษั ท ตกลงจ่ า ยเงิ นผลประโยชน์ ต อบแทนจากการใช้ เครื อ ข่ า ยร่ ว ม ให้ ที โอที ตามเงื่อนไขและอัตราที่ระบุไว้ ในสัญญาหลัก หมายเหตุ: ปั จจุบันสัญญาอนุญาตฯ ระหว่างทีโอทีกับเอไอเอสได้ สิ ้นสุดลงแล้ วตั ้งแต่ 30 กันยายน 2558 และขณะนี ้อยู่ร ะหว่างกระบวนการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ตามมติของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จนกว่า กสทช.จะออกใบอนุญาตให้ กับผู้ชนะการประมูลคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์

2. สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการกิจการบริ การสือ่ สารข้ อมูลโดยระบบ Data kit Virtual Circuit Switch ระหว่างบริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด (เอดีซ)ี กับบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) อายุของสัญญา : 25 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 25 กันยายน 2540 - 24 กันยายน 2565 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : 1. เอดี ซี ได้ รั บ อนุญ าตให้ ด าเนิ น กิ จ การบริ ก ารสื่อ ข้ อ มูลทุก ประเภท โดยใช้ ร ะบบ Frame Relay และ Data kit Virtual Circuit Switch และ/หรื อ ระบบสื่อสารข้ อมูล อื่นๆ เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเครื อข่ายผู้ให้ บริ การและผู้ใช้ บริ การทัว่ ประเทศให้ รองรับ บริ การสือ่ สารข้ อมูลประเภทต่างๆ ซึง่ กาหนดให้ ต้องเช่าวงจรสือ่ สัญญาณจากทีโอที หรื อจากผู้ร่วมการงานกับทีโอทีเท่านัน้ เว้ นแต่ในกรณีที่ทีโอทีไม่สามารถจัดหา วงจรสื่อสัญญาณให้ ได้ เอดีซีถึงจะมีสิทธิ ลงทุนสร้ างเครื อข่ายเอง หรื อมีสิทธิ เช่า จากผู้ให้ บริ การรายอื่นๆ ได้ 2. เอดีซีมีสิทธิขยายบริ การไปสูเ่ ขตภูมิภาค โดยต้ องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ให้ ทีโอทีในอัตราที่กาหนดในข้ อตกลง 3. ทีโอทีตกลงให้ เอดีซีปรับปรุ งระบบการให้ บริ การ โดยใช้ ระบบ ADSL และ ATM Switch เพิม่ เติมจากระบบเดิมที่ได้ รับอนุญาต ทังนี ้ ้ การกาหนดอัตราค่าเช่าบริ การ สื่ อ สารข้ อมู ล อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย ม หรื อ เรี ย กเงิ น อื่ น ใดจากผู้ เช่ า ใช้ บริ ก าร ให้ เป็ นไปตามความเหมาะสมกั บ สภาวะของตลาด โดยบริ ษั ท ไม่ ต้ องขอ ความเห็นชอบจากทีโอทีก่อน 4. เอดีซีสามารถให้ บริ การข้ อมูลเสริ มทางธุรกิ จต่างๆ (contents) ได้ โดยต้ องขอ ความเห็นชอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากทีโอทีก่อน ผลประโยชน์ ตอบแทน : หุ้ นเพิ่ ม ทุ น ของเอดี ซี จ านวน 107.52 ล้ านบาท ซึ่ ง คิ ด เป็ นร้ อยละ 23.5 ของ ทุนจดทะเบียน โดย ทีโอที ไม่ต้องชาระเงินค่าหุ้นแต่อย่างใด 3. ใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจเป็ นผู้ให้ บริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างบริษัท แอดวานซ์ เมจิค การ์ ด จากัด (เอเอ็มซี) กับคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารโดยมีระยะเวลา 10 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 13 พฤษภาคม 2552 - 12 พฤษภาคม 2562 4. ใบอนุญาตของบริ ษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (เอเอ็มพี) 4.1 หนังสืออนุญาตให้ ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ ผู้อนุญาต : กระทรวงการคลัง อายุใบอนุญาต : ตังแต่ ้ วนั ที่ 24 มิถนุ ายน 2548 เป็ นต้ นไป ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เอเอ็มพีได้ สทิ ธิในการให้ บริ การบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ ชาระค่าสินค้ าหรื อ ค่าบริ การแทนเงินสด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 41


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

4.2 ใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจเป็ นผู้ให้ บริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้อนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร อายุใบอนุญาต : 10 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 13 พฤษภาคม 2552 - 12 พฤษภาคม 2562 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เอเอ็มพีได้ รับอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจบริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 5. ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม ของ บริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (เอไอเอ็น) ซึง่ ได้ รับจาก คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) อายุใบอนุญาต : 20 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2549 - 25 กรกฎาคม 2569 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เอไอเอ็นได้ รับอนุญาตให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone service) บริ การเสริ มบริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริ การที่เกี่ยวเนื่องกับ บริ การโทรศัพท์ ระหว่างประเทศ ตลอดจนบริ การโครงข่ายบริ การโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอไอเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามอัตรา และกาหนดเวลาที่กสทช. กาหนด 6. ใบอนุญาตของบริ ษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอสบีเอ็น) ซึง่ ได้ รับจาก กสทช. 6.1 ใบอนุญาตการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ และบริ การชุมสายอินเทอร์ เน็ต แบบที่สอง ที่มีโครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้ บริ การจากัดเฉพาะกลุม่ บุคคล อายุใบอนุญาต : 5 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 15 ตุลาคม 2555 - 14 ตุลาคม 2560 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : สิทธิ ใ นการให้ บริ การที่ เกี่ ยวข้ องกับ อินเทอร์ เ น็ตระหว่างประเทศ และ บริ การ ชุมสายอินเทอร์ เน็ต ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอสบีเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกาหนดเวลา ที่กสทช. กาหนด 6.2 ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม : 20 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 16 สิงหาคม 2550 - 15 สิงหาคม 2570 อายุใบอนุญาต ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : สิ ท ธิ ใ นการให้ บ ริ ก ารโทรคมนาคมแก่ บุค คลทั่ว ไป ประเภทบริ ก ารโทรศัพ ท์ ประจาที่ บริ การวงจรร่ ว มดิ จิ ตอล บริ การพหุสื่อความเร็ ว สูงและบริ การเสริ ม มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอสบีเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกาหนดเวลา ที่กสทช. กาหนด 7. ใบอนุญาตของบริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึง่ ได้ รับจาก กสทช. 7.1 ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สาม อายุใบอนุญาต : 19 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2551 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2570 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : สิทธิในการให้ บริ การโทรคมนาคมแก่บคุ คลทัว่ ไป ประเภทบริ การโทรศัพท์ประจา ที่ บริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ สายความเร็ ว สูง บริ ก ารพหุสื่อ ความเร็ ว สูง บริ ก าร โทรคมนาคมแบบครบวงจร บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมทางสายและไร้ สาย มี โ ครงข่ า ยโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง และได้ รั บ อนุญ าตเพิ่ ม เติ ม กิ จ การ ส่วนที่ 1 | หน้ า 42


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

โทรคมนาคม เคลื่อนที่สากล (International Mobile Telecommunications IMT) ย่าน 2.1 กิ กะเฮิ รตซ์ โดยมี อายุตงั ้ แต่ วันที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึ ง วันที่ 6 ธันวาคม 2570 ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดั บ บลิ ว เอ็ น มี ห น้ าที่ ต้ องช าระค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญ าตตามอั ต ราและ กาหนดเวลาที่กสทช. กาหนด 7.2 ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (3G) อายุใบอนุญาต : 15 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2570 ลักษณะสาคัญและ : 1. ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (3G) เงื่อนไข จานวน 3 ชุด ในแถบย่านความถี่ 1950 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1965 เมกะเฮิรตซ์ คู่กบั 2140 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 2155 เมกะเฮิรตซ์ 2. เอดับ บลิวเอ็น จะต้ องประกอบกิ จ การด้ ว ยตนเอง จะมอบการบริ หารจัดการ ทังหมดหรื ้ อบางส่วน หรื อยินยอมให้ บุคคลอื่นเป็ นผู้มีอานาจประกอบกิ จการ แทนมิได้ 3. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขก่อนเลิกกิจการตามที่กาหนด ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดับ บลิวเอ็ นมี หน้ าที่ ต้อ งชาระค่า ตอบแทนการใช้ ค วามถี่ วิท ยุต ามอัตราและ กาหนดเวลาที่กสทช. กาหนด 7.3 ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ (4G) อายุใบอนุญาต : 18 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2576 ลักษณะสาคัญและ : 1. ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 1800 MHz ความถี่ เงื่อนไข ช่วง 1725 - 1740MHz คูก่ บั 1820 - 1835 MHz ในกิจการเคลืน่ ที่ทางบก 2. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องประกอบกิจการด้ วยตนเอง จะมอบการบริ หารจัดการ ทังหมดหรื ้ อบางส่วน หรื อยินยอมให้ บคุ คลอื่นเป็ นผู้มีอานาจประกอบกิจการ แทนมิได้ 3. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขก่อนเลิกกิจการตามที่กาหนด ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดับ บลิวเอ็ นมี หน้ าที่ ต้อ งชาระค่า ตอบแทนการใช้ ค วามถี่ วิท ยุต ามอัตราและ กาหนดเวลาที่กสทช. กาหนด 8. ใบอนุญาตการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ต แบบที่หนึง่ ของบริ ษัท แอดวานซ์ อินเทอร์ เน็ต เรโวลูชนั่ จากัด (เอไออาร์ ) ซึง่ ได้ รับ จาก กสทช. อายุใบอนุญาต : 5 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 17 ธันวาคม 2553 - 16 ธันวาคม 2558 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เป็ นผู้รับอนุญาตการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตแก่บคุ คลทัว่ ไปโดยเสรี โดยให้ บริ การผ่าน โครงข่ายของผู้รับใบอนุญาตที่มีโครงข่ายเป็ นของตนเอง ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอไออาร์ มีหน้ าที่ต้องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามอัตรา และกาหนดเวลาที่กสทช. กาหนด หมายเหตุ: เอไออาร์ แจ้ งความประสงค์ขอยกเลิกใบอนุญาตการให้ บริ การอินเตอร์ เน็ตแบบที่หนึง่ เนื่องจากสภาพตลาดบริ การอินเตอร์ เน็ตในปั จจุบนั มีการแข่งขันที่สงู มากและคาดว่าการ แข่งขันจะเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ บริ ษัทเอไออาร์ ในฐานะผู้ประกอบการที่ไม่มีโครงข่ายเป็ นของตนเอง ไม่อาจแบกรับด้ านต้ นทุนไหว จึงขอยกเลิกใบอนุญาต โดยสานักงาน กสทช. มีมติเห็นชอบให้ ใบอนุญาตการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ต แบบที่หนึ่งของบริ ษัทเอไออาร์ สิ ้นสุดลงเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2557

ส่วนที่ 1 | หน้ า 43


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

4.3 นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษัทมีการลงทุนในบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วมเพื่อสนับสนุนธุรกิจหลักของบริ ษัท และเพื่อประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่อง หรื อเป็ นประโยชน์กบั ธุรกิจของบริ ษัท โดยมีการแต่งตังกรรมการและผู ้ ้ บริ หารที่มีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับบริ ษัทย่อยและบริ ษัท ร่ วมแต่ละแห่งเพื่อทาหน้ าที่เป็ นตัวแทนของบริ ษัทในการกากับดูแลการดาเนินงานให้ มีประสิทธิภาพและรักษาผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้น และกาหนดให้ ต้องมีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้ อยไตรมาสละครัง้ และการประชุมผู้ถือหุ้นปี ละ 1 ครัง้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 44


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 5.1 กรณีข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) (บริษัท) คู่ความ

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที)

วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

22 ม.ค. 2551 ศาลปกครองกลาง

คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) 7 มี.ค. 2551 ศาลฎีกา

ทีโอทีเรี ยกร้ องให้ บริ ษัทชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มจานวน 31,463 ล้ านบาท ซึ่งเงินส่วนแบ่ง รายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่บริ ษัทได้ นาส่งไปแล้ ว ในวันที่ 20 พ.ค. 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้ มีคาชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมด ้ เนื่องจาก ผลการพิจารณาคดี เห็นว่าบริ ษัทได้ ชาระหนี ้โดยชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว จึงไม่เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา ในวันที่ 22 ก.ย. 2544 ทีโอทียื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึง่ ขณะนีค้ ดี ความคืบหน้ าของคดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

กสท ยื่นฟ้ องบริ ษัทเป็ นจาเลยที่ 1 และบริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (เอไอเอ็น) เป็ นจาเลยที่ 2 ให้ ร่วมกันชดใช้ ค่าเสียหายเป็ นเงินรวม 583 ล้ านบาท โดยอ้ างว่าบริ ษัทกับเอไอเอ็นละเมิดสิทธิ ของ กสท โดยเปลี่ยนแปลงการส่งทราฟฟิ คการให้ บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ให้ บริ การผ่าน เครื่ องหมาย + จากเดิมรหัส 001 ของ กสท มาเป็ นรหัส 005 ของเอไอเอ็นในช่วงวันที่ 1 มี.ค. 2550 ถึง 7 มี.ค. 2551 ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 17 ธ.ค. 2552 ศาลแพ่งมีคาพิพากษายกฟ้ อง เนื่องจากข้ อเท็จจริ งรับฟั งไม่ได้ ว่า การกระทา ของบริ ษัทเป็ นการละเมิดสิทธิใด ๆ ของ กสท และส่งผลให้ เอไอเอ็นมิได้ กระทาการละเมิดตามฟ้ องด้ วย ในวันที่ 27 มิ.ย. 2556 ศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษายืนตามศาลแพ่ง ความคืบหน้ าของคดี ในวันที่ 16 ก.ย. 2556 กสท ยื่นฎีกาคัดค้ านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ ซึ่งขณะนีค้ ดีอยู่ระหว่างการ พิจารณาของศาลฎีกา คู่ความ

บริษัท ทรูมูฟ จากัด (ทรูมูฟ) 11 มิ.ย. 2553 วันเริ่ มคดี สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม ผู้พิจารณาคดี บริ ษัทยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดให้ ทรู มูฟ ชาระเงิ นค่าเชื่อมต่อ ข้ อพิพาท โครงข่ายโทรคมนาคมตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างกัน ของเดือนเม.ย.และ พ.ค. 2551 เป็ นเงินจานวน 89 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี นับตังแต่ ้ วนั ผิดนัดไป จนกว่าจะชาระเสร็ จสิ ้น ในวันที่ 13 ก.พ. 2558 บริ ษัทได้ ทาสัญญาประนีประนอมยอมความกับทรู มฟู โดยทรู มฟู ตกลงที่จะ ผลการพิจารณาคดี ชาระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามที่บริ ษัทเรี ยกร้ อง และคณะอนุญาโตตุลาการได้ มีคาชี ้ขาด ข้ อพิพาทตามสัญญาประนีประนอมดังกล่าว ความคืบหน้ าของคดี ในวันที่ 2 พ.ย. 2558 ทรูมฟู ได้ ชาระหนี ้ครบถ้ วนตามสัญญาประนีประนอมยอมความเรี ยบร้ อยแล้ ว ส่วนที่ 1 | หน้ า 45


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2558

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติ (คณะกรรมการกิ จ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติเ ดิ ม ) และเลขาธิ ก ารคณะกรรมการกิ จ การ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (เลขาธิการคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติเดิม) 15 พ.ย. 2553 ศาลปกครองกลาง

บริ ษัทยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ กสทช. ให้ บริ ษัทดาเนินการ จัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การระบบจ่ายเงิ นล่วงหน้ า (Pre-Paid) ที่ให้ บริ การอยู่ก่อนแล้ วทัง้ หมดให้ แล้ วเสร็ จ ภายใน 180 วันนับแต่วนั ที่ ประกาศ กทช. เรื่ องหลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2251 มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2551 และคาสัง่ ที่กาหนดให้ บริ ษัทชาระค่าปรับทางปกครองวัน ละ 80,000 บาท เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 6 ก.ค. 2555 จนกว่าบริ ษัทจะดาเนินการให้ แล้ วเสร็ จ ในวันที่ 19 พ.ย. 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ กสทช. กาหนดค่า ปรับทางปกครอง เนื่องจากเห็นว่าการบังคับให้ ผ้ ปู ระกอบการต้ องจัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การย้ อนหลัง ซึ่ง ผู้ใช้ บริ การจะต้ องเปิ ดเผยข้ อมูลส่วนบุคคล โดย กสทช. มิได้ ออกมาตรการบังคับให้ ระงับหรื อยกเลิก ผลการพิจารณาคดี บริ การได้ อีกทังมี ้ จานวนของผู้ใช้ บริ การเป็ นจานวนมาก ซึ่งเป็ นการยากที่จะกระทาได้ หากไม่ได้ รับ ความร่วมมือจากผู้ใช้ บริ การ มติและคาสัง่ ดังกล่าวจึงไม่ชอบด้ วยกฎหมาย เพราะเป็ นการใช้ ดลุ ยพินิจ ในการกากับดูแลเกินขอบเขตความจาเป็ น ก่อให้ เกิ ดภาระแก่ผ้ ปู ระกอบการเป็ นอย่างมาก กรณี ที่ กสทช. อ้ างเรื่ องประเด็นเพื่อความมัน่ คงหรื อความปลอดภัยนัน้ มิใช่อานาจหน้ าที่ของ กสทช. ในวันที่ 18 ธ.ค. 2558 กสทช. ได้ ยื่นอุทธรณ์ ต่อศาลปกครองสูงสุด ซึ่งขณะนีค้ ดีอยู่ระหว่างการ ความคืบหน้ าของคดี พิจารณาของศาลปกครองสูงสุด คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) 9 มี.ค. 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม

บริ ษั ทได้ ยื่นค าเสนอข้ อพิ พาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดว่าทีโอทีไม่มีสิทธิ เรี ยกร้ องเงิ น ผลประโยชน์ตอบแทนจากรายได้ ค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของปี ดาเนินการที่ 17-20 โดยไม่ให้ บริ ษัทนาค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่บริ ษัทถูกผู้ประกอบการรายอื่นเรี ยกเก็บมาหักออกก่อนเป็ นเงิน รวม 17,803 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ตามหนังสือเรี ยกร้ องของ ทีโอที เมื่อวันที่ 26 ม.ค. 2554 ต่อมา ทีโอทีได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชีข้ าดให้ บริ ษัท ชาระผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 21-22 เพิ่มเติม จานวน 9,984 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 46


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2558

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) 11 พ.ค. 2554 ศาลปกครองกลาง

บริ ษั ท เรี ย กร้ องให้ ที โอที คื น หนัง สือ ค า้ ประกัน ธนาคารเพื่ อ ประกัน ผลประโยชน์ ต อบแทนขัน้ ต่ า ปี ดาเนินการที่ 17 - 21 และห้ ามไม่ให้ เรี ยกร้ องเงินใด ๆ จากธนาคาร พร้ อมทังช ้ าระค่าเสียหายในส่วน ของค่าธรรมเนียมหนังสือค ้าประกัน และค่าเสียหายจากการเสื่อมเสียชื่อเสียงและเครดิตทางการเงิน ให้ กับบริ ษัท สาหรับหนังสือคา้ ประกันผลประโยชน์ ตอบแทนขันต ้ ่าปี ดาเนินการที่ 17-21 เป็ นเงิ น 30 ล้ านบาท และอีก 20 ล้ านบาท สาหรับหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าดาเนินการปี ที่ 21 ในวันที่ 10 ก.พ. 2557 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดให้ ทีโอทีคืนหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ ผลการพิจารณาคดี ตอบแทนขันต ้ ่า และให้ ชาระเงิน 6.65 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ที่ บริ ษัทชาระให้ แก่ธนาคาร ในวันที่ 19 พ.ค. 2557 บริ ษัทยื่นคาร้ องต่อศาลปกครองกลางขอบังคับตามคาชี ้ขาดอนุญาโตตุลาการ ความคืบหน้ าของคดี โดย ทีโอทีได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางเช่นกัน ศาลจึงมีคาสัง่ ให้ รวม พิจารณา ซึง่ ขณะนี ้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติ (คณะกรรมการกิ จ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติเ ดิ ม ) และเลขาธิ ก ารคณะกรรมการกิ จ การ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (เลขาธิการคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติเดิม) วันเริ่ มคดี 27 พ.ค. 2554 ผู้พิจารณาคดี ศาลปกครองกลาง ข้ อพิพาท บริ ษัทยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาให้ เพิกถอนคาสัง่ กทช. ที่แจ้ งให้ บริ ษัทดาเนินการ แก้ ไขแบบร่างสัญญาให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นระบบจ่ายเงินล่วงหน้ า (Pre-Paid) ที่กาหนดห้ ามมิให้ มี เงื่อนไขเกี่ยวกับวันหมดอายุการใช้ งาน (Validity) ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี

คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยง กิ จการโทรทั ศน์ และกิ จการโทรคมนาคมแห่ งชาติ และ เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ 2 ก.ค. 2555 ศาลปกครองกลาง

ข้ อพิพาท

บริ ษัทยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ องอัตราขันสู ้ งของ ค่าบริ การโทรคมนาคมสาหรับบริ การประเภทเสียงภายในประเทศ พ.ศ. 2555 ที่ให้ เรี ยกเก็บค่าบริ การ ประเภทเสียงภายในประเทศได้ ไม่เกิน 0.99 บาท/นาที โดยมีผลบังคับใช้ เฉพาะกับผู้มีอานาจเหนือ ตลาดอย่างมีนยั สาคัญ เนื่องจากเห็นว่าเป็ นคาสัง่ ที่มิชอบและเป็ นการเลือกปฏิบตั ิ ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 47


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) 16 ม.ค. 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม บริ ษัทยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุล าการมีคาชี ้ขาดให้ ทีโอทีชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จากการให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศตามข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 3 และครัง้ ที่ 4 ซึง่ ทีโอที ผิดนัดชาระให้ แก่บริ ษัทตังแต่ ้ เดือนพ.ย. 2551 - ก.ย. 2555 รวมเป็ นเงิน 1,528 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) 25 ก.ย. 2557 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ บริ ษัท หยุดการให้ ลกู ค้ าย้ ายค่าย โดยวิธีการ กด *988* เนื่องจากเป็ นการผิดสัญญาอนุญาตฯ และเรี ยกร้ องค่าเสียหาย9,126 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) 30 ก.ย. 2558 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม บริ ษั ท ยื่ น ค าเสนอข้ อ พิ พ าทเพื่ อ ให้ ค ณะอนุญ าโตตุลาการมี ค าชี ข้ าดให้ ข้ อ ตกลงต่อ ท้ า ยสัญ ญา อนุญ าตฯ ครั ง้ ที่ 6 และครั ง้ ที่ 7 มีผลผูกพัน บริ ษั ท และที โอที และบริ ษั ท ไม่มี ห น้ าที่ ต้ อ งช าระ ผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มเติม จานวน 72,036 ล้ านบาท ตามที่ทีโอที กล่าวอ้ างว่าข้ อตกลงท้ าย สัญญาดังกล่าวเป็ นการแก้ ไขสัญญาในสาระสาคัญทาให้ ทีโอที ได้ ผลประโยชน์ตอบแทนต่ากว่าที่ กาหนดในสัญญาหลัก ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) 30 ก.ย. 2558 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชีข้ าดให้ บริ ษัทดาเนินการเช่าสถานที่ จานวน 11,883 สถานีฐาน ที่ใช้ เป็ นสถานที่ติดตัง้ เสา และอุปกรณ์ ในการให้ บริ การตามสัญญา อนุญาตฯ ต่อเนื่องไปอีก 2 ปี หลังจากสัญญาอนุญาตฯ สิ ้นสุดลง หากไม่สามารถปฏิบตั ิได้ ให้ บริ ษัท ชาระเงินค่าเช่าสถานที่ พร้ อมค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องตลอดระยะเวลา 2 ปี นับแต่สิ ้นสุดสัญญา อนุญาตฯ คิดเป็ นเงิน 1,911 ล้ านบาท หรื อนาเงินจานวนดังกล่าวมาวางทีศ่ าล ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส่วนที่ 1 | หน้ า 48


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

5.2 กรณีข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซ)ี ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อย คู่ความ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) วันเริ่ มคดี 9 ม.ค. 2551 ผู้พิจารณาคดี ศาลปกครองสูงสุด ข้ อพิพาท กสท เรี ยกร้ องให้ ดีพีซี ชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติมจานวน 2,449 ล้ านบาท ตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ พร้ อมเรี ยกเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือนของจานวนเงินที่ค้างชาระในแต่ละปี นับตังแต่ ้ วนั ผิดนัดจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ ้น รวมเป็ นเงิน 3,949 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ดีพีซีชี ้แจงว่าเงินส่วนแบ่งรายได้ ดงั กล่าว เป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่ดีพีซีได้ นาส่งไปแล้ วตังแต่ ้ 16 ก.ย. 2546 - 15 ก.ย. 2550 และได้ นามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ นการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2546 ในวันที่ 1 มี. ค. 2554 คณะอนุญ าโตตุลาการมีค าวินิ จฉัย ชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อ พิพาททัง้ หมด เนื่องจากเห็นว่าการชาระหนี ้เดิมเสร็ จสิ ้นและระงับไปแล้ ว ดีพีซีจึงไม่เป็ นผู้ผิดสัญญา โดยในวันที่ 3 มิ.ย. 2554 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ในวันที่ 28 ก.ค. 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท เนื่องจากเห็นว่า กสท ผลการพิจารณาคดี เป็ นผู้มี ห นัง สือ แจ้ งความประสงค์ ใ นการเปลี่ย นแปลงหลั ก เกณฑ์ ก ารช าระเงิ น ส่ว นแบ่ ง ตามมติ คณะรัฐมนตรี . และได้ ยอมรับเงินส่วนแบ่งรายได้ คงเหลือพร้ อมกับคืนหนังสือค ้าประกันให้ แก่ดีพีซีมา โดยตลอด โดยมิได้ ทกั ท้ วงแต่อย่างใด คาวินิจจั ฉัยของคณะอนุญาโตตุลาการจึงเป็ นไปตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมายและข้ อสัญญา ในวันที่ 3 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุด ซึง่ ขณะนี ้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณา ความคืบหน้ าของคดี ของศาลปกครองสูงสุด คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) 29 ก.ค. 2551 ศาลปกครองสูงสุด

กสท เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ดีพีซีหกั ไว้ และไม่ได้ นาส่งให้ กสท ดังนี ้ 1) ผลประโยชน์ ต อบแทนส่ว นเพิ่ ม ของปี ด าเนิ น การ 7-10 เป็ นเงิ น ต้ น รวมภาษี มูลค่ า เพิ่ ม 165 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน คานวณถึงวันที่ 31 ก.ค. 2551 รวม 222 ล้ านบาท 2) ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 11 เป็ นต้ นเงินและภาษี มลู ค่าเพิ่ม 23 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน โดยคานวณถึงวันที่ 15 ต.ค. 2552 รวมเป็ นเงิน 26 ล้ านบาท รวม 2 ข้ อพิพาทเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 248 ล้ านบาท ในวันที่ 23 มี.ค. 2555 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททัง้ หมด เนื่องจากเห็นว่า กสท ยังมิได้ ชาระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายในส่วนที่ดีพีซี ต้ องชาระแก่ทีโอที ตามบันทึก ข้ อตกลงค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรคมนาคม จึงถือว่ากสท ยังไม่มีสิทธิเรี ยกร้ องดังกล่าว และในทางนา ผลการพิจารณาคดี สืบของ กสท ยังฟั งไม่ได้ วา่ การที่ ดีพีซี ชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้ แก่ กสท ในแต่ละปี เป็ นการชาระ ผลประโยชน์ตอบแทนไม่ครบถ้ วน โดยในวันที่ 25 มิ.ย. 2555 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาด ดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ในวันที่ 16 ก.ย. 2557 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท ความคืบหน้ าของคดี ในวันที่ 15 ต.ค. 2557 กสท ได้ ยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุด ซึ่งขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของศาลปกครองสูงสุด ส่วนที่ 1 | หน้ า 49


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท)

วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

3 ก.พ. 2552 ศาลปกครองกลาง

ผลการพิจารณาคดี

2558

กสท เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีสง่ มอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จานวน 3,343 ต้ น และ อุปกรณ์แหล่งจ่ายกาลังงาน (Power Supply) จานวน 2,653 เครื่ อง ตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ โดย หากไม่สามารถส่งมอบได้ ดีพีซีต้องชดใช้ เงิ นจานวน 2,230 ล้ านบาท โดย ดีพีซีชีแ้ จงว่าทรั พย์ สิน ดังกล่าว ไม่ใช่เครื่ องหรื ออุปกรณ์ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญาข้ อ 2.1 ที่กาหนดให้ ดีพีซีต้องส่งมอบ ในวันที่ 18 ก.ค. 2555 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมดของ ้ กสท เนื่องจากเห็นว่าตามสัญญาข้ อ 12 สิทธิของ กสท ในอันที่จะเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีสง่ มอบทรัพย์สินอัน เป็ นวัตถุแห่งสัญญานัน้ ต้ องกระทาภายหลังวันสิ ้นสุดสัญญา 60 วัน ดังนันการที ้ ่ กสท ทาคาเสนอข้ อ พิพาทจึงถือว่าเป็ นการใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องก่อนกาหนดระยะเวลา

ความคืบหน้ าของคดี

ในวันที่ 25 ต.ค. 2555 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึง่ ขณะนี ้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

คู่ความ

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท)

วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

7 เม.ย. 2553 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม

ดีพีซียื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ กสท ยกเลิกการกล่าวหาว่าดีพีซี เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา อันเนื่องมาจากการทาสัญญาการใช้ โครงข่ายระหว่างบริ ษัท - ดีพีซีทไี่ ม่ได้ รับความ ยินยอมจาก กสท พร้ อมทังชดใช้ ้ คา่ เสียหายแก่ดีพีซีเป็ นเงินจานวน 50 ล้ านบาท ต่อมาในวันที่ 15 ก.ค. 2553 กสท เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการปรับลดอัตราค่าใช้ โครงข่ายร่ วม (Roaming) ระหว่างดีพีซี - บริ ษัท จาก 2.10 บาท เป็ น 1.10 บาท ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เม.ย. 2550 - 31 ธ.ค. 2551 โดยไม่ได้ รับอนุมตั ิจาก กสท ก่อน ซึ่งคิดเป็ นเงินจานวน 1,640 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับที่คานวณถึงเดือนมี.ค. 2553 อีก 365 ล้ านบาท รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 2,000 ล้ านบาท และเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน นับแต่เดือน เม.ย. 2553 เป็ นต้ นไป และเมื่อวันที่ 12 ก.ย. 2554 กสท ได้ เสนอข้ อพิพาทเพิ่มเติมในส่วนปี ดาเนินการ ที่ 12 (1 เม.ย. 2552 - 15 มิ.ย. 2552) เป็ นเงิน 113 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี สถาบันอนุญาโตตุลาการได้ มีคาสัง่ ให้ รวมพิจารณาทัง้ 3 ข้ อพิพาทเข้ าด้ วยกัน ซึ่งขณะนี ้ข้ อพิพาทอยู่ ระหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 50


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) 8 เม.ย. 2554 ศาลปกครองกลาง กสท เรี ยกร้ องให้ ดี พีซี ชาระเงิ น จานวน 33 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ย้ ในอัตราร้ อยละ 15 ต่อ ปี ของ เงิ นต้ นดังกล่าว รวมเป็ นเงิ นทัง้ สิ ้น 35 ล้ านบาท โดย กสท อ้ างว่า ดีพีซีผิดสัญญาให้ ดาเนินการฯ เนื่องจากสัญญาเช่าใช้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าระหว่างดีพีซี กับผู้ ใช้ บริ การ ในระหว่าง ปี 2540 - 2546 จานวน 1,209 เลขหมาย มีการปลอมแปลงเอกสาร/ลายมือชื่อ เป็ นเหตุให้ กสท ได้ รับ ความเสียหายเนื่องจากไม่สามารถเรี ยกเก็บค่าใช้ บริ การระหว่างประเทศได้ เมื่อเลขหมายดังกล่าวมี การใช้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศของ กสท ในวันที่ 28 พ.ค. 2556 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมดของ ้ ผลการพิจารณาคดี กสท เนื่องจากเห็นว่าข้ อพิพาทในคดีนี ้เป็ นเรื่ องพิพาททางละเมิด มิได้ เป็ นการกระทาอันเกิดจากการ ผิดสัญญาให้ ดาเนินการ ดังนันข้ ้ อพิพาทในคดีนี ้จึงไม่อยูใ่ นอานาจพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ในวันที่ 6 ก.ย. 2556 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึ่ง ขณะนี ้ ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูใ่ นขันตอนการพิ ้ จารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ

บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที)

วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

9 พ.ค. 2554 ศาลปกครองกลาง

ทีโอทียื่นฟ้ อง กสท และดีพีซี ต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาร่ วมกันชาระค่า Access Charge ตามข้ อ ตกลงเรื่ อ งการเชื่ อ มโยงโครงข่ า ยโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ ข องดี พี ซี ลงวัน ที่ 8 ก.ย. 2540 ซึ่ ง ประกอบด้ วย 1) ค่า Access Charge ที่ทีโอที ขอเพิ่มเรี ยกร้ องจากเดิมที่คานวณไว้ จนถึงวันที่ยื่นฟ้ อง (9 พ.ค. 2554) เป็ นวันที่ 15 ก.ย. 2556 (วันที่สิ ้นสุดสัมปทานของ และ ดีพีซี ) ค่า Access Charge ซึ่งดี พีซีต้องชาระให้ แก่ทีโอทีโดยคานวณจากจานวนเลขหมายที่ดีพีซีมีการให้ บริ การ ในแต่ละเดือน ในอัตรา 200 บาทต่อเลขหมาย เป็ นเงินรวม 1,289 ล้ านบาท 2) ค่า Access Charge ซึง่ กสท ต้ องชาระให้ แก่ทีโอทีโดยคานวณจากครึ่งหนึง่ ของจานวนเงินส่วน แบ่งรายได้ ที่ กสท ได้ รับจากดีพีซี เป็ นเงินรวม 3,944ล้ านบาท 3) ค่า Access Charge ซึ่ง กสท ชาระให้ แก่ทีโอทีไม่ครบถ้ วนเนื่องจาก กสท และดีพีซีนาส่วนลด ค่า Access Charge ในอัตรา 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนมาหักออกก่อน เป็ นเงินรวม 222 ล้ านบาท รวม 3 รายการ เป็ นเงินทังสิ ้ ้น 5,454 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ย ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 51


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ

2558

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท)

วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

24 ส.ค.2555 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซี ชาระผลประโยชน์ตอบแทน ส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-14 เพิ่มเติมจากรายได้ ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (IC) ที่ได้ รับ ทังหมด ้ (ขารับ) ก่อนหักค่า IC ที่จ่ายออกไปเป็ นจานวน 183 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ต่อมา กสท เรี ยกร้ องให้ ชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 15 เพิ่มเติมเป็ นจานวน 141 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 324 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่ความ

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท)

วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

8 ต.ค. 2555 ศาลปกครองกลาง ดีพีซีเรี ยกร้ องให้ กสท คืนหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าปี ดาเนินการที่ 10-14 และห้ าม มิให้ เรี ยกร้ องเงินใด ๆ จากธนาคาร พร้ อมทังช ้ าระค่าเสียหายในส่วนของค่าธรรมเนียมหนังสือคา้ ประกัน และค่าเสียหายจากความเสียหายแก่ชื่อเสียงและเครดิตทางการเงินอีก 109 ล้ านบาทให้ กบั ดี พีซี ในวันที่ 28 พ.ค. 2558 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ กสท คืนหนังสือค ้าประกันและ ผลการพิจารณาคดี ชดใช้ คา่ ธรรมเนียมธนาคารแก่ดีพีซี ในวันที่ 15 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึง่ ขณะนี ้ ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูใ่ นขันตอนการพิ ้ จารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) 28 ส.ค. 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรม กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซี ส่งมอบหนังสือค ้าประกัน ผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าปี ดาเนินการที่ 15 - 16 ฉบับใหม่ โดยอ้ างว่าหนังสือค ้าประกันที่ดีพีซีสง่ มอบให้ นนั ้ มีข้อความไม่ถกู ต้ องและไม่เป็ นไปตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 52


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดี ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2558

บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) 20 พ.ค. 2558 ศาลปกครองกลาง

กสท ยื่นฟ้ องสานักงาน กสทช. กทค. กสทช. ทรู มฟู และดีพีซี ต่อ ศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษา ให้ ชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท. ช่วงระยะเวลาคุ้มครองตามประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชัว่ คราว ในกรณี สิ ้นสุดการอนุญ าต สัมปทาน หรื อสัญ ญาการให้ บริ การโทรศัพท์ เคลื่อ นที่ ช่วงระยะเวลา คุ้มครอง นับแต่วนั ที่ 16 ก.ย. 2556 ถึง 15 ก.ย. 2557 เป็ นจานวนเงินดังนี ้ 1) สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 24,117 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี 2) ทรูมฟู ร่วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 18,025 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อย ละ 7.5 ต่อปี 3) ดีพีซี ร่วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 6,083 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมาในวันที่ 11 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาให้ ผ้ ถู กู ฟ้ องชาระ ค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท นับ แต่วนั ที่ 16 ก.ย. 2557 ถึง 17 ก.ค. 2558 เพิ่มเติมเป็ นจานวนเงิน ดังนี ้ 1) สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 6,521 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี 2) ทรูมฟู ร่วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 4,991 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี 3) ดีพีซี ร่วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 1,635 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ

ส านั ก งานคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศน์ และกิ จ การโทรคมนาคม แห่ งชาติ และคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม และคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ วันเริ่ มคดี 16 พ.ย. 2558 ผู้พิจารณาคดี ศาลปกครองกลาง ข้ อพิพาท ดีพีซียื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ กสทช. ให้ ดีพีซีดาเนินการส่ง รายได้ จากการให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในระยะเวลาความคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ นับแต่วนั ที่เข้ าสูม่ าตรการ การคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ ตาม ประกาศ กสทช. เรื่ องมาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชั่วคราวฯ พ.ศ. 2556 จนถึงวันที่มีคาสัง่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กล่าวคือช่วงระหว่างวันที่ 16 ก.ย. 2556 17 ก.ค. 2557 (ช่วงที่หนึง่ ) เป็ นเงินจานวน 628 ล้ านบาท พร้ อมดอกผลที่เกิดขึ ้น ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณารับฟ้ องของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 53


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

6. ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสาคัญอื่น 6.1 ข้ อมูลทั่วไปของบริษัท ชื่อบริ ษัทที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อย่อหลักทรัพย์ วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชาระแล้ ว จานวนผู้ถือหุ้นทังหมด ้

: : : : : : :

สัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free float) ประเภทธุรกิจ ที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่

: : :

เลขทะเบียนบริ ษัท เว็บไซต์ เว็บไซต์นกั ลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ โทรสาร

: : : : :

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) ADVANC 5 พฤศจิกายน 2534 451,910.49 ล้ านบาท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558) 4,997,459,800 บาท 2,973,095,330 บาท 34,071 ราย (ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2558 วันปิ ดสมุด ทะเบียนล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้ รับเงินปั นผล) 36.22% ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในย่านความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์* เลขที่ 414 อาคารเอไอเอส 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสน ใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 0107535000265 http://www.ais.co.th http://investor.ais.co.th/ (66) 2029 5000 (66) 2029 5165

American Depositary Receipt ชื่อย่อของหลักทรัพย์ วิธีการซื ้อขาย นายทะเบียน อัตราส่วน (ADR to ORD) หมายเลข ADR CUSIP

: : : : :

AVIFY ซื ้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter: OTC) The Bank of New York Mellon 1:1 00753G103

หมายเหตุ: * บริ ษัทจะยุติการเป็ นผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในย่านความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ เมื่อสิ ้นสุดระยะเวลาการคุ้มครองตามที่กสทช.กาหนด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 54


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

6.2 ข้ อมูลทั่วไปของบริษทั ย่ อย บริษัทย่ อย บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (DPC) สานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จากัด (ADC) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน DPC)

ทุนจดทะเบียน (ล้ านหุ้น)

มูลค่ าที่ตราไว้ ต่ อหุ้น (บาท)

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%)

ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่และ บริ การโทรคมนาคม

365.55

10

3,655.47

98.55

ให้ บริ การสื่อสารข้ อมูลผ่าน เครื อข่ายสายโทรศัพท์ และ สาย Optical Fiber

95.75

10

957.52

51.001/

ให้ บริ การศูนย์ให้ ข้อมูลทาง โทรศัพท์

27.2

10

272

99.99

ให้ บริ การการชาระเงินค่าสินค้ า และบริ การทางอิเล็กทรอนิกส์และ บัตรเงินสด

30

10

300

99.99

จาหน่ายบัตรเงินสดอิเล็คทรอนิกส์

25

10

250

99.99

ให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

2

100

100

99.99

ประเภทธุรกิจ

สานักงานเลขที่ 408/157 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 38 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.adc.co.th บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด (ACC) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (AMP) สานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ ด จากัด (AMC) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (AIN) สานักงานเลขที่ 408/127 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 29 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.ain.co.th

ส่วนที่ 1 | หน้ า 55


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริษัทย่ อย บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (SBN) สานักงานเลขที่ 408/157 ชัน้ 38 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.sbn.co.th

บริษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด (WDS) สานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (AWN) สานักงานเลขที่ 408/60 ชัน้ 15 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019

บริษัท ไมโม่ เทค จากัด (MMT) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด (FXL) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (ABN)

2558

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ล้ านหุ้น)

มูลค่ าที่ตราไว้ ต่ อหุ้น (บาท)

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%)

ให้ บริ การโทรคมนาคม และบริ การ โครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการ อินเตอร์ เน็ต (ISP) บริ การ อินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศและ บริ การชุมสายอินเตอร์ เน็ต บริ การ โครงข่ายโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการ เสียงผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต (Voice over IP) และบริ การ โทรทัศน์ผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต (IP Television)

3

100

300

99.99

นาเข้ าและจัดจาหน่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์ โทรศัพท์เคลื่อนที่

0.5

100

50

99.99

ให้ บริ การโทรคมนาคมที่ใช้ คลื่น ความถี่ ในย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ผู้จดั จาหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ ให้ บริ การโทรคมนาคม บริ การโครงข่ายโทรคมนาคม และ บริ การโครงข่ายกระจายเสียงและ โทรทัศน์ ที่ไม่ใช้ คลื่นความถี่

13.5

100

1,350

99.99

พัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศ (IT) บริ การรวบรวมข้ อมูลสาหรับบริการ เสริ มบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator) และ ให้ บริ การในการเรี ยกเก็บและรับ ชาระเงินจากลูกค้ า

0.5

100

50

99.99

ให้ เช่าและบริ การพื ้นที่ ที่ดนิ และ อาคาร และสิง่ อานวยความสะดวก ต่างๆ

0.01

100

1

99.98

ปั จจุบนั ยังมิได้ ประกอบธุรกิจ

0.15

100

15

99.99

สานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร

ส่วนที่ 1 | หน้ า 56


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี บริษัทร่ วมทุน

2558

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ล้ านหุ้น)

มูลค่ าที่ตราไว้ ต่ อหุ้น (บาท)

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%)

บริษัท ศูนย์ ให้ บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จากัด (CLH) สานักงานเลขที่ 598 อาคารสาทร สแควร์ ออฟฟิ ศ ทาวเวอร์ ห้ องเลขที่ 403 ชันที ้ ่ 4 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744

ศูนย์ให้ บริ การระบบสารสนเทศ และฐานข้ อมูลกลาง ประสานงาน การโอนย้ ายผู้ให้ บริ การ โทรคมนาคมเพื่อการคงสิทธิเลข หมายโทรศัพท์ (Mobile Number Portability: MNP)

0.02

100

2

20.00

บริดจ์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (BMB)

ให้ บริ การเกี่ยวกับเครื อข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาคพื ้นเอเชีย แปซิฟิก เพื่อให้ บริการเครื อข่าย โทรคมนาคมระหว่างประเทศ

9

1 เหรี ยญสหรัฐ

9 ล้ านเหรี ยญ สหรัฐ

10.00

ให้ เช่าอุปกรณ์โครงข่ายสื่อ สัญญาณโทรคมนาคม

0.5

100

14.53)

29.00

750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, ประเทศสิงคโปร์ 469000 โทรศัพท์ : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 บริษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด (IH)) 52/1 หมู่ที่ 5 ถนนบางกรวย-ไทรน้ อย ตาบลบางสีทอง อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี หมายเหตุ:

1)

สัดส่วนการถือหุ้นใน ADC ที่เหลืออีกร้ อยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างกัน ปั จจุบนั กระบวนการชาระบัญชีและขบวนการทางกฎหมายเพื่อยกเลิก บริ ษัท แอดวานซ์ อินเทอร์ เน็ต เรโวลูชนั่ จากัด (AIR) ได้ ดาเนินการเรี ยบร้ อยแล้ ว 3) เมื่อวันที่ 15 ก.ค. 2558 ABN ได้ ดาเนินการชาระค่าหุ้นเพิ่มเติมให้ แก่ IH ทาให้ ทนุ ชาระแล้ วใน IH เปลี่ยนแปลงเป็ น 14.5 ล้ านบาท 2)

6.3 ข้ อมูลของบุคคลอ้ างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ห้ นุ สามัญ

บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : (66) 2009 9383 โทรสาร : (66) 2009 9476

ผู้สอบบัญชี

นายเจริ ญ ผู้สมั ฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 บริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด ชัน้ 50-51 เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ 1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (66) 2677 2000 โทรสาร : (66) 2677 2222

ส่วนที่ 1 | หน้ า 57


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

7. ข้ อมูลหลักทรั พย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 จานวนทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบด้ วย หุ้นสามัญจานวน 4,997,459,800 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชาระแล้ ว : 2,973,095,330 บาท ประกอบด้ วย หุ้นสามัญจานวน 2,973,095,330 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท 7.2 ผู้ถอื หุ้น (ก) รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2558 (วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้ รับ เงินปั นผล) ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผู้ถอื หุ้น บริ ษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD2) บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด CHASE NOMINEE LIMITED LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED STATE STREET BANK EUROPE LIMITED THE BANK OF NEW YORK MELLON HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED สานักงานประกันสังคม (2 กรณี) รวม

จานวน (หุ้น) สัดส่ วนการถือหุ้น (%) 1,202,712,000 40.45 693,359,000 23.32 163,637,136 5.50 84,654,222 2.85 52,503,800 1.77 50,034,810 1.68 44,570,900 1.50 44,434,037 1.49 30,381,287 1.02 26,570,900 0.89 2,392,858,092 80.48

หมายเหตุ : 1) ข้ อมูลจากบริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด 2) เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2559 SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD ได้ โอนหุ้นที่ถือผ่าน OCBC NOMINEE จานวนร้ อยละ 0.01 กลับคืนมาทั ้งหมด ทาให้ ปัจจุบนั SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD เป็ นผู้ถือหุ้นทางตรงร้ อยละ 23.32 แต่เพียงผู้เดียว

(ข) กลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกาหนดนโยบายการจัดการหรื อการดาเนินงานของบริษัท 1. บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ โดยผู้ถือหุ้นใหญ่ของบมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ ได้ แก่ รายชื่อผู้ถอื หุ้น จานวน (หุ้น) สัดส่ วนการถือหุ้น (%) 1) 2) บริ ษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด 1,334,354,825 41.62 1)

2)

ข้ อมูลจากกรมพัฒนาธุร กิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ สาเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2559 ของบริ ษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด เป็ นบริ ษัทจดทะเบียนใน ประเทศไทย ถือหุ้นโดยบริ ษัท แอนเดอร์ ตั ้น อินเวสเม้ นท์ พีทีอี แอลทีดี สัญชาติสงิ คโปร์ ในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 ข้ อมูล ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุด เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2558

2. Singtel Strategic Investments Pte Ltd ถือหุ้นในบริ ษัททางตรงร้ อยละ 23.32 โดยผู้ถือหุ้นของ Singtel Strategic Investments Pte Ltd ได้ แก่ รายชื่อผู้ถอื หุ้น สัดส่ วนการถือหุ้น (%) Singtel Asian Investments Pte Ltd * 100.00 * Singtel Asian Investments Pte Ltd ถือหุ้นโดย Singapore Telecommunications Limited ในอัตราร้ อยละ 100 (ที่มา: Accounting and Corporate Regulatory Authority (ARCA), Singapore ณ วันที่ 26 มกราคม 2559)

ส่วนที่ 2 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

(ค) ข้ อตกลงระหว่างกลุม่ ผู้ถือหุ้นใหญ่ในเรื่ องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรื อการบริ หารงานของ บริ ษัท โดยที่ข้อตกลงดังกล่าวมีบริ ษัทร่วมลงนามด้ วย - ไม่มี 7.3 นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลไม่ต่ากว่าร้ อยละ 100 ของกาไรสุทธิตามงบการเงินรวม โดยจะพิจารณาการจ่ายเงินปั นผล ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นปี ละ 2 ครัง้ ครัง้ แรกเป็ นเงินปั นผลระหว่างกาล พิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี แรก ซึง่ ต้ องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท และรายงานต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในครัง้ ถัดไป ส่วนการจ่ายเงินปั นผลครัง้ ที่สอง เป็ นเงินปั นผลประจาปี ซึ่งพิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี หลัง และต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้น สาหรั บ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่ อ ยจะพิ จ ารณาจากผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ย สถานะการเงิ น และ ปั จจัยสาคัญอื่นๆ ของบริ ษัทย่อยนันๆ ้ ทัง้ นี ้ การจ่ า ยเงิ น ปั นผลในทุ ก กรณี จะขึ น้ อยู่ กั บ กระแสเงิ น สดและแผนการลงทุ น รวมถึ ง ความจ าเป็ นและ ความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตของบริ ษัทและ/หรื อ บริ ษัทย่อย และการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวจะต้ องไม่เกินกาไรสะสม ที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัท และ/หรื อ มีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อการดาเนินงานปกติข องบริ ษัทและ บริ ษัทย่อย ข้ อมูลการจ่ ายเงินปั นผลของบริษัทในรอบ 5 ปี มีดังนี ้ รายละเอียด

2554

2555

2556

2557

2558

การจ่ายเงินปั นผล (บาท : หุ้น)

8.43

10.90

12.15

12.00

12.99

1. เงินปั นผลระหว่างกาล

4.17

5.90

6.40

6.04

6.50

2. เงินปั นผลประจาปี

4.26

5.00

5.75

5.96

6.49

3. เงินปั นผลพิเศษ อัตราส่วนการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ

113%

93%

99.58%

99.01%

98.64%

ส่วนที่ 2 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

8. โครงสร้ างการจัดการ โครงสร้ างการบริหารงานของบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่ าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน ประธานกรรมการบริหาร นายแอเลน ลิว ยงเคียง

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านการตลาด นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านปฏิบัตกิ าร นายฮุย เว็ง ชอง

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านทรั พยากรบุคคล1) นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านเทคโนโลยี นายเกรี ยงศักดิ์ วาณิชย์นที

หัวหน้ าคณะผู้บริหารงาน ตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ 1) ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2558 2) หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการพัฒนาองค์กรและหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านลูกค้ และบริ การได้ เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยบริ ษัทอยูร่ ะหว่างการสรรหาผู้เข้ ามาดารงตาแหน่งทดแทนตามแผนการสืบทอดตาแหน่ง 3) หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงินได้ ลาออกจากบริ ษัท มีผลตังแต่ ้ เมื่อวันที่ 31ธันวาคม 2558 โดยบริ ษัทได้ มอบหมายให้ ผ้ ชู ่วยกรรมการผู้อานวยการอาวุโสส่วนงานบริ หารการเงินปฏิบตั ิงานแทนเป็ นการชัว่ คราวในระหว่างการสรรหาผู้เข้ า มาดารงตาแหน่งแทน หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงินดังกล่าว

ส่วนที่ 2 | หน้ า 3


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

8.1 คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่ อยของบริษัท โครงสร้ างการจัดการบริ ษัทประกอบด้ วยคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อย 5 คณะ ได้ แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒ นาความเป็ นผู้ น าและก าหนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและก ากั บ ดูแ ลกิ จ การ คณะกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน และคณะกรรมการบริ หาร โดยรายชื่อกรรมการ ข้ อมูลการดารงตาแหน่ง และรายละเอียด การเข้ าร่วมประชุมในปี 2558 ปรากฎดังนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 4


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ชื่อ-นามสกุล นายวิทติ ลีนุตพงษ์ 4)

ตาแหน่ ง

  

นายสมประสงค์ บุญยะชัย4)

  

นางทัศนีย์ มโนรถ

3)

  

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

  

นางสาวจีน โล เงีย้ บ จง3)

 

นายแอเลน ลิว ยง เคียง4) 7)

  

นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ ชัย

  

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่าตอบแทน กรรมการผู้มีอานาจลงนาม รองประธานกรรมการ กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแล กิจการ กรรมการ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริ ษัท

11/11

จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วมประชุม / จานวนการจัดประชุมทัง้ ปี คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และกากับดูแลกิจการ พัฒนาความเป็ น บริ หาร ผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน 8/8 -

2558

คณะกรรมการการพัฒนา สูค่ วามยัง่ ยืน -

9/11

-

6/6

8/8

-

-

11/11

15/15

-

-

-

4/4

10/11

15/15

6/6

-

-

-

10/11

-

4/6

-

-

-

3/11

-

-

6/8

13/13

-

10/11

15/15

6/6

-

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 5


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ชื่อ-นามสกุล

ตาแหน่ ง

คณะกรรมการบริ ษัท

จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วมประชุม / จานวนการจัดประชุมทัง้ ปี คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และกากับดูแลกิจการ พัฒนาความเป็ น บริ หาร ผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน 7/13

2558

คณะกรรมการการพัฒนา สูค่ วามยัง่ ยืน

นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ 2) 7)

 

กรรมการ กรรมการบริ หาร

6/11

นายกานต์ ตระกูลฮุน1)

 

5/11

-

-

-

-

2/4

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 4)

    

11/11

-

-

-

12/13

4/4

นายคิมห์ สิริทวีชัย8)

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการ กรรมการบริ หาร กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร กรรมการผู้มีอานาจลงนาม กรรมการบริ หาร

-

-

-

-

13/13

-

-

หมายเหตุ 1)

2) 3) 4)

5)

6) 7)

8)

นายอวิรุทธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ ได้ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริ ษัท มีผลวันที่ 25 มีนาคม 2558 และแต่งตั ้ง นายเย็ก บุน เซ็ง เข้ าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัทแทน ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2558 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2558 ทั ้งนี ้ นายเย็ก บุน เซ็ง ได้ ลาออกจากตาแหน่ง กรรมการบริ ษัท โดยบริ ษัทได้ แต่งตั ้ง นายกานต์ ตระกูลฮุน เข้ าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัทแทน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558 นายอึ ้ง ชิง วาห์ ได้ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริษัท มีผลวันที่ 31 พฤษภาคม 2558 และแต่งตั ้ง นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ เข้ าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัทแทน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เมือ่ วันที่ 2 มิถนุ ายน 2558 นางทัศนีย์ มโนรถ และนางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง เป็ นกรรมการที่มีประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน โดยรายละเอียดประวัติการศึกษาและประสบการณ์ทางานปรากฎตามหัวข้ อประวัติคณะกรรมการและผู้บริ หาร ในเอกสารแนบ 1 นายวิทิต ลีนตุ พงษ์ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายแอเลน ลิว ยง เคียง และนายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ เป็ นกรรมการที่มีประสบการณ์ด้านกิจการโทรคมนาคมอย่างยาวนาน รายละเอียดประวัติการศึกษาและประสบการณ์การทางานปรากฏตามประวัติคณะกรรมการและผู้บริ หาร ในเอกสาร แนบ 1 นายนฤาชา จิตรี ขนั ธ์ ได้ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริ ษัท มีผลวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 และแต่งตั ้ง นางปรี ยา ด่านชัยวิจิตร เข้ าดารงตาแหน่งกรรมการแทน ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2558 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2558 ทั ้งนี ้ ปั จจุบนั นางปรี ยา ด่านชัยวิจิตร ได้ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริ ษัท มีผลวันที่ 27 ตุลาคม 2558 นางศุภจี สุธรรมพันธ์ ได้ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริ หาร มีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2558 จานวนครัง้ ในการเข้ าร่ วมประชุมที่แสดงในตารางด้ านบน นับจากการเข้ าร่ วมประชุมด้ วยตนเอง โดยในกรณีที่ นายแอเลน ลิว ยง เคียง และนายสตีเฟน มิลเลอร์ ติดภารกิจในต่างประเทศ จะเข้ าร่ วมการพิจารณาโดยการประชุมทางไกลผ่านวิดีโอ (Video Conference) หรื อการเสนอความเห็น ผ่านประธานกรรมการล่วงหน้ าก่อนวันประชุม ปั จจุบนั นายคิมห์ สิริทวีชยั ได้ ลาออกจากบริ ษัท มีผลตั ้งแต่วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559

ส่วนที่ 2 | หน้ า 6


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

กรรมการผู้มีอานาจลงนาม คือ นายวิทิต ลีนตุ พงษ์ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ กรรมการสองคนนี ้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสาคัญของบริ ษัท คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท มีจานวน 10 คน ประกอบด้ วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์หลากหลายในแต่ละสาขา วิชาชีพ โดยมีกรรมการ 4 คน เป็ นผู้มีประสบการณ์ด้านกิจการโทรคมนาคม และมีกรรมการ 2 คน ทีม่ ีประสบการณ์ด้านบัญชีและ การเงิน (รายละเอียดปรากฎในเอกสารแนบ 1) ทังนี ้ ้ ประธานกรรมการไม่ได้ เป็ นบุคคลเดียวกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร เพื่อให้ มี การแบ่งแยกบทบาทอย่างชัดเจนและมีการถ่วงดุลอานาจในการดาเนินงาน บริ ษัทมีกรรมการอิสระจานวน 4 ท่าน คิดเป็ นสัดส่วน เกินกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทังคณะ ้ รวมทังมี ้ กรรมการเพศหญิงจานวน 2 ท่าน ทังนี ้ ้ คณะกรรมการเป็ นตัวแทนผู้ถือหุ้นโดยรวมมิใช่เป็ นตัวแทนผู้ถือหุ้นกลุม่ ใดกลุม่ หนึ่ง แต่มีการกาหนดนโยบายให้ มี จานวนกรรมการทีเ่ ป็ นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นซึง่ มีอานาจควบคุม (Controlling shareholders) ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความ ซื่อสัตย์ สุจริ ต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท 2. กาหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดาเนินงานของบริ ษัท และกากับดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดาเนินการให้ เป็ นไปตาม นโยบายที่กาหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้ แก่บริ ษัทและผู้ถือหุ้น 3. พิจารณาอนุมัติ รายการที่สาคัญ เช่น โครงการลงทุนธุ รกิ จใหม่ การซือ้ ขายทรั พย์ สิน ฯลฯ และการดาเนิน การใดๆ ที่กฎหมายกาหนด 4. พิจารณาอนุมตั ิและ/หรื อให้ ความเห็นชอบต่อรายการที่เกี่ ยวโยงกันของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยให้ เป็ นไปตามประกาศ ข้ อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องของหน่วยงานที่กากับดูแล 5. ประเมินผลงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูงอย่างสม่าเสมอ และกาหนดค่าตอบแทน 6. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร ด้ วยความตังใจและความระมั ้ ดระวังในการปฏิบตั ิงาน 7. ดาเนินการให้ ฝ่ายบริ หารจัดให้ มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิ น และการสอบบัญชี ที่เชื่อถือได้ รวมทังดู ้ แลให้ มี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้ มีประสิทธิ ภาพและ ประสิทธิผล การบริ หารจัดการความเสีย่ ง การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล 8. ดูแลไม่ให้ เกิดปั ญหาความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีสว่ นได้ เสียของบริ ษัท 9. กากับดูแลกิจการให้ มีการปฏิบตั ิงานอย่างมีจริ ยธรรม 10. ทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท และประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาอย่างน้ อย ปี ละ 1 ครัง้ 11. รายงานความรั บผิดชอบของตนในการจัดทารายงานทางการเงิ น โดยแสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชี ไว้ ใน รายงานประจาปี และครอบคลุมในเรื่ องสาคัญๆ ตามนโยบายเรื่ องข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดสี าหรับกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การสงวนสิทธิเรื่องที่เป็ นอานาจอนุ มัติของคณะกรรมการบริษัท แม้ วา่ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กระจายอานาจให้ แก่คณะกรรมการชุดย่อย ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และผู้บริ หารระดับสูง คณะกรรมการบริ ษัทสงวนสิทธิเรื่ องที่มีความสาคัญไว้ เป็ นอานาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อรักษาประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัท และผู้ถือหุ้น อาทิ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 7


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

-

2558

กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณ ค่าใช้ จ่ายฝ่ ายทุน และค่าใช้ จ่ายที่เกินกว่าวงเงินที่คณะกรรมการชุดย่อย หรื อผู้บริ หารได้ รับมอบหมายให้ อนุมตั ิได้ การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการขายเงินลงทุน นโยบายที่สาคัญ การตกลงเข้ าทาสัญญาที่สาคัญ การฟ้ องร้ อง และดาเนินคดีที่สาคัญ นโยบายการจ่ายปั นผล

กรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริ ษัทมีหลักเกณฑ์ที่เข้ มข้ นกว่าที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกาหนด ทังนี ้ ้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์และเป็ นการถ่วงดุลอานาจ ของคณะกรรมการอย่างเหมาะสม โดยคุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริ ษัท มีดงั นี ้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 0.5 ของจานวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ นิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง ทังนี ้ ้ ให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ องของกรรมการอิสระรายนันๆ ้ ด้ วย 2. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่ได้ เงินเดือนประจา หรื อผู้มีอานาจ ควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลาดับเดียวกัน หรื อ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง สาหรับกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตังในหรื ้ อหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ 3. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง ใน ลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ ้ เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ถือ หุ้นที่มีนยั หรื อผู้มี อานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความ ขัดแย้ งสาหรั บกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตัง้ ในหรื อหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ ความสัมพันธ์ ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทารายการค้ าที่กระทาเป็ นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรื อให้ เช่าอสังหาริ มทรัพย์ รายการที่เกี่ยวกับสินทรัพย์หรื อบริ การ หรื อการให้ หรื อรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้ วยการรับหรื อให้ กู้ยืม คา้ ประกัน การให้ สินทรั พย์ เป็ นหลักประกันหนีส้ ิน รวมถึงพฤติการณ์ อื่นทานองเดียวกัน ซึ่งเป็ นผลให้ บริ ษั ทหรื อ คูส่ ญ ั ญามีภาระหนี ้ที่ต้องชาระต่ออีกฝ่ ายหนึง่ ตังแต่ ้ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของบริ ษัท หรื อตังแต่ ้ 20 ล้ านบาท ขึ ้นไป แล้ วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทังนี ้ ้ การคานวณภาระหนี ้ดังกล่าวให้ เป็ นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยว โยงกันตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้ วยหลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการ พิจารณาภาระหนี ้ดังกล่าว ให้ นบั รวมภาระหนี ้ที่เกิดขึ ้นในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 4. ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ น บิดามารดา คูส่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทังคู ้ ่สมรสของบุตร ผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอานาจควบคุมของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย 5. ไม่เ ป็ นกรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ง ตัง้ ขึ น้ เพื่ อ เป็ นตัว แทนของกรรมการบริ ษั ท ผู้ถื อ หุ้น รายใหญ่ หรื อ ผู้ถื อ หุ้น ซึ่ง เป็ น ผู้ที่เกี่ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง และไม่ เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอานาจควบคุมหรื อหุ้นส่วนของสานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัท ย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง สังกัดอยู่ สาหรับกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตังในหรื ้ อหลัง วันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ 7. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ปรึ กษาทางการเงิน ซึ่งได้ รับค่าบริ การเกินกว่า 2 ล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ ง และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอานาจควบคุมหรื อหุ้นส่วนของผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ ้ วย สาหรับกรรมการ ตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตังในหรื ้ อหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า สองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย หรื อไม่เป็ น หุ้นส่วนที่มีนยั ในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที่มีสว่ นร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนัก งาน ที่ปรึ กษาที่รับเงินเดือนประจา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละ 1 ของจานวนหุ้นที่มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัทอื่น ซึง่ ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย 9. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษัท ภายหลังได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการอิสระที่มีลกั ษณะเป็ นไปตามข้ อ 1 ถึง 9 แล้ ว กรรมการอิสระอาจได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ ตดั สินใจในการดาเนินกิจการของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลาดับเดีย วกัน หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ งโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้ บริ ษัทอาจแต่งตังบุ ้ คคลที่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรื อการให้ บริ การทางวิชาชีพเกินมูลค่าตามข้ อ 3 หรื อ 7 เป็ น กรรมการอิสระได้ หากคณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจ ารณาอย่างระมัดระวังและมีความเห็นว่าการแต่งตัง้ บุคคลดังกล่ าวไม่มี ผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่และการให้ ความเห็นที่เป็ นอิสระ และให้ เปิ ดเผยข้ อมูลต่อไปนีใ้ นหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นในวาระ พิจารณาแต่งตังกรรมการอิ ้ สระด้ วย (1) ลักษณะความสัมพันธ์ ท างธุรกิ จหรื อการให้ บริ การทางวิช าชี พที่ทาให้ บุคคลดังกล่าวมีคุณสมบัติไม่เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กาหนด (2) เหตุผลและความจาเป็ นที่ยงั คงหรื อแต่งตังให้ ้ บคุ คลดังกล่าวเป็ นกรรมการอิสระ (3) ความเห็นของคณะกรรมการของบริ ษัทในการเสนอให้ มีการแต่งตังบุ ้ คคลดังกล่าวเป็ นกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดเป็ นนโยบายว่ากรรมการอิสระอาจขาดความเป็ นอิสระเมื่อได้ ปฏิบตั ิงานเป็ นระยะเวลา 9 ปี หรื อ 3 วาระติดต่อกัน ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทจะพิจารณาทบทวนความเป็ นอิสระหลังจากนันทุ ้ กๆ ปี การแบ่ งแยกหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัทและฝ่ ายบริหาร คณะกรรมการบริ ษัทมีหน้ าที่กากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์และข้ อบังคับของ บริ ษัท มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท ทังนี ้ ้ ในการกากับดูแล กรรมการจะต้ องใช้ ดลุ ยพินิจ ในการตัดสินในทางธุรกิจ และปฏิบตั ิในสิ่งที่ตนเองเชื่ออย่างมีเหตุผลว่าจะเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัทและผู้ถือหุ้น ฝ่ ายบริ หารมีหน้ าที่รับผิดชอบในการนากลยุทธ์ วัตถุประสงค์ของบริ ษัทไปปฏิบตั ิให้ ประสบความสาเร็ จ ตลอดจนบริ หาร จัดการงานประจาวันและธุรกิจของบริ ษัท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การแบ่ งแยกตาแหน่ งประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารต้ องเป็ นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ และคุณสมบัติ ทีเ่ หมาะสม ไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้ มีการถ่วงดุลอานาจ โดยแยกหน้ าที่การกากับดูแลและการบริ หารงานออกจากกัน ประธานกรรมการต้ องเป็ นกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร เป็ นผู้นาของคณะกรรมการ และมีทาหน้ าที่ในฐานะเป็ นประธาน การประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นหัวหน้ าและผู้นาคณะผู้บริ หารของบริ ษัท มีหน้ าที่ความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทใน การบริ หารจัดการบริ ษัทตามทิศทาง กลยุทธ์ และงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทให้ สาเร็ จบรรลุตามเป้าหมาย โดยมีขอบเขตอานาจหน้ าที่ภายใต้ กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติคณะกรรมการบริ ษัทและมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการชุดย่ อย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีรายงานทางการเงินถูกต้ องตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกาหนด และมีการเปิ ดเผย อย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ าย เลิกจ้ าง และการพิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน ความดีความชอบของหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน 3. สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4. พิจารณาผลการปฏิบตั ิงานของผู้สอบบัญชี และให้ ข้อเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อเสนอขออนุมตั ิการแต่งตัง้ เลือก กลับมาใหม่ เลิกจ้ าง และกาหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีของบริ ษัทจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น 5. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่วมประชุมด้ วยอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ 6. พิจารณานโยบายของบริ ษัทเกี่ยวกับการใช้ บริ การอื่นที่มิใช่การสอบบัญชีจากสานักงานสอบบัญชีเดียวกัน 7. พิจ ารณารายการที่ เ กี่ ยวโยงกัน หรื อ รายการที่อ าจมี ค วามขัด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนี ้ ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัท 8. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบบริ หารความเสีย่ ง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 9. สอบทานและอนุมตั ิกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนงานตรวจสอบภายในประจาปี การปฏิบตั ิงานของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี 10. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี ของบริ ษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้ องลงนาม โดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี ้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ส่วนที่ 2 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

11.

12.

13. 14. 15.

16. 17. 18.

2558

(6) จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้ าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรื อข้ อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับจากการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามกฎบัตร (charter) (8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษัท ดาเนินการตรวจสอบข้ อเท็จจริ งตามที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จดั การ หรื อ บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการดาเนินงานของบริ ษัทได้ กระทาความผิดตามที่กฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์กาหนด และให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นให้ แก่สานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี รายงานผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบและข้ อเสนอแนะที่จาเป็ นให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบอย่างน้ อย ปี ละ 4 ครัง้ โดยในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรื อมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรื อการกระทา ดังต่อไปนี ้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัท ให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริ ษัทเพื่อดาเนินการปรับปรุ งแก้ ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร (1) รายการที่เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริ ต หรื อมีสงิ่ ผิดปกติ หรื อมีความบกพร่องที่สาคัญในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง กับธุรกิจ หากคณะกรรมการของบริ ษัทหรื อผู้บริ หารไม่ดาเนินการให้ มีการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรื อการกระทานันต่ ้ อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขตอานาจหน้ าที่ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจเชิญให้ ฝ่ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อ พนักงานของบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องมาให้ ความเห็น ร่วมประชุม หรื อส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้ องจาเป็ น ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขต อานาจ หน้ าที่ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจว่าจ้ างที่ปรึ กษาหรื อเชิญบุคคลที่มี ความรู้ความสามารถ เพื่อให้ ความเห็น หรื อคาแนะนา เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานตามความจาเป็ น สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล และพิจารณาข้ อร้ องเรี ยน รวมถึงพิจารณาผลการสอบสวนของบริ ษัททุกไตรมาส รวมทังเป็ ้ นช่องทางหนึ่งของบริ ษัทใน การรับแจ้ งข้ อร้ องเรี ยนตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี พิจารณาสอบทานกฎบัตรนี ้เป็ นประจาทุกปี และเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิ จารณาอนุมตั ิเปลี่ยนแปลงหากมี ความจาเป็ น ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย ด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

2. คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่ าตอบแทน 1. กาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสม ทังที ้ ่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ของกรรมการ กรรมการชุดย่อย และผู้บริ หาร ระดับสูงของบริ ษัทในแต่ละปี เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทโดยรวม 2. จัดทาหลักเกณฑ์และนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทและผู้บริ หารระดับสูง เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิและ/หรื อนาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมตั ิตามแต่กรณี ส่วนที่ 2 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

3. พิจารณาสอบทานและอนุมตั ิผลการดาเนินงานของบริ ษัท เพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาอนุมตั ิจ่ายเงินโบนัสประจาปี ตาม ผลตัวชี ้วัดการปฏิบตั ิงานและพิจารณาปรับเพิ่มเงินเดือนประจาปี 4. พิจารณาและอนุมัติโครงการค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) รวมถึงแนวทางปฎิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 5. พิจารณาและอนุมตั ิผลการประเมินการปฏิบตั ิงานเพื่อกาหนดเงินโบนัส ประจาปี การปรั บขึ ้นเงินเดือนประจาปี และ ค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) ให้ แก่ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูง ซึง่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว 6. พิจารณาและอนุมตั ิการจ่ายเงินโบนัสประจาปี ให้ กบั กรรมการของบริ ษัท 7. รายงานนโยบายด้ านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผล และวัตถุประสงค์ของนโยบายเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี 8. ร่ วมกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท ประเมินและกาหนดผู้สืบทอดตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงซึ่งรายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว และรายงานแผนการสืบทอดตาแหน่งของ ผู้บริ หารระดับสูงให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกปี 9. ร่ วมกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัทจัดทานโยบายแผนการสืบทอดตาแหน่งสาหรับตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่ บริ หารของบริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงซึง่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว 10. ทาหน้ าที่ดแู ลกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูง 11. ว่าจ้ างที่ปรึ กษาหรื อบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ เพื่อให้ ความเห็นหรื อคาแนะนาตามความจาเป็ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ด้ านการพัฒนาความเป็ นผู้นา 12. คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทและมีหน้ าที่ให้ คาชี ้แจง ตอบคาถามใดๆ เกี่ยวกับค่าตอบแทนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 13. พิ จ ารณาทบทวนและประเมิ น ความเพี ย งพอของกฎบัต รและเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาอนุมัติ เปลีย่ นแปลง 14. รายงานผลการปฏิ บัติ ง านที่ ส าคั ญ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท รั บ ทราบเป็ น ประจ า รวมทั ง้ ประเด็ น ส าคั ญ ต่ า งๆ ที่คณะกรรมการบริ ษัทควรได้ รับทราบ 15. มีอานาจเชิญฝ่ ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลใดที่เกี่ยวข้ องของบริ ษัทมาให้ ความเห็น เข้ าร่ วมประชุม หรื อให้ ข้อมูล ที่เกี่ยวข้ อง 16. ดาเนินการอื่นๆ ใดหรื อตามอานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายหน้ าที่ให้ เป็ นคราวๆ ไป 3. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ 1. กาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริ ษัท 2. กากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท พิจารณาทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของ บริ ษัท ทุกๆ ปี รวมทังเสนอปรั ้ บปรุงแก้ ไขนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทให้ คณะกรรมการพิจารณา 3. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดย่อย โดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดารงตาแหน่งกรรมการ เพื่อเสนอ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ และหรื อเสนอขออนุมตั ิตอ่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่กรณี 4. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย

ส่วนที่ 2 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

4. คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน 1. พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมายการดาเนินงาน และงบประมาณที่เพียงพอ ตลอดจนการใดๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับ การพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ 2. เสนอประเด็ น ส าคั ญ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ บริ ษั ท อั น เกี่ ยวเนื่ อ งกั บ การพั ฒ นาสู่ ค วามยั่ ง ยื น เพื่ อ เสนอต่ อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณา 3. สอบทานผลการปฏิบตั ิงานตามนโยบายและกลยุทธ์ด้านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อให้ เป็ นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 4. ให้ คาปรึกษาและสนับสนุนประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารอันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบตั ิงานด้ านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน 5. รายงานผลการดาเนินงานด้ านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืนต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท 6. สอบทานและให้ ความเห็นชอบต่อรายงานการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณา อนุมตั ิ 7. การปฏิบตั ิอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย 5. คณะกรรมการบริหาร 1. ก าหนดทิ ศ ทางกลยุท ธ์ โครงสร้ างการบริ ห ารงาน แผนธุ ร กิ จ และงบประมาณประจ าปี ของบริ ษั ท เพื่ อ เสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ 2. บริ หารการดาเนินธุรกิจใดๆ ของบริ ษัทให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้ วางไว้ 3. กากับและติดตามผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของบริ ษัท และรายงานผลการดาเนินงานและฐานะการเงินให้ แก่ กรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกเดือน 4. แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม่ 5. พิจารณาและให้ ความเห็นแก่คณะกรรมการบริ ษัทเกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษัท 6. พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ ยวกับการลงทุนและจาหน่ายทรั พย์ สิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การเงินและ การบริ หารเงิน การบริ หารงานทัว่ ไป และรายการอื่นใดที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษัท ภายในขอบเขตอานาจที่ได้ รับอนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษัท 7. พิจารณาและให้ ความเห็นต่อเรื่ องที่ต้องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ยกเว้ นในกิจกรรมใดๆ ซึง่ คณะกรรมการ บริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการชุดย่อยอื่นเป็ นผู้ดาเนินการไว้ แล้ ว 8. พิจารณาและสอบทานการบริ หารความเสีย่ งและระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท 9. คณะกรรมการบริ หารอาจมอบอานาจช่วงให้ ผ้ บู ริ หารหรื อบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอานาจในการดาเนินการในเรื่ องใด เรื่ องหนึง่ หรื อหลายเรื่ องตามที่คณะกรรมการบริ หารพิจารณาเห็นสมควรได้ การอนุมตั ิรายการของคณะกรรมการบริ หาร และหรื อ การมอบอ านาจช่ ว งต้ อ งไม่ เ ป็ นการอนุมัติ ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ หรื อรายการที่คณะกรรมการบริ หารมีสว่ นได้ เสียตามที่กาหนดในข้ อบังคับของบริ ษัท และตามที่กาหนดโดย คณะกรรมการบริ ษัทและหน่วยงานกากับดูแล 10. ว่าจ้ างที่ปรึกษาหรื อบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ เพื่อให้ ความเห็นหรื อคาแนะนาตามความจาเป็ น 11. มีอานาจเชิญฝ่ ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลใดที่เกี่ยวข้ องของบริ ษัทมาให้ ความเห็น เข้ าร่ วมประชุม หรื อให้ ข้อมูลที่ เกี่ยวข้ องตามที่จาเป็ น 12. รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านที่ ส าคั ญ ของคณะกรรมการบริ หารให้ คณะกรรมการบริ ษั ท รั บ ทราบเป็ นประจ า ทุกไตรมาส ในวาระการรายงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

ส่วนที่ 2 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

13. ประเมิน ผลการปฏิ บัติง านของตนเองและประเมิน ความเพี ย งพอของกฎบัต รเป็ นประจ าทุกปี ซึ่ง อาจท าพร้ อมกับ การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยอื่น โดยอยู่ภายใต้ การดูแลของ คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ 14. ดาเนินการอื่นๆ ใด หรื อตามอานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายหน้ าที่ให้ เป็ นคราวๆ ไป นอกเหนือจากคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยแล้ ว บริ ษัทยังกาหนดให้ มีผ้ บู ริ หารระดับสูงเพื่อคอยสนับสนุน การปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ ดังรายชื่อต่อไปนี ้ ผู้บริหาร1) 1. นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 2. นายฮุย เว็ง ชอง 3. นายเกรี ยงศักดิ์ วาณิชย์นที 4. นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม2)

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการตลาด หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั กิ าร หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านเทคโนโลยี หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล

หมายเหตุ : 1) รายชื่อผู้บริ หาร 4 รายแรก ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ตามคานิยามของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2) ได้ รับแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2558 3) บริ ษัทอยู่ระหว่างกระบวนการสรรหาผู้บริ หารเพื่อทดแทนผู้บริ หารที่เกษียณอายุและขอลาออกตามรายชื่อทีไ่ ด้ แจ้ งไว้ ในส่วนที่ 2 หน้ า 3 ตามแผนการสืบทอดตาแหน่งของบริ ษัท

8.2 การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง 8.2.1 หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการ 1. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการมีหน้ าที่ในการสรรหา คัดเลือก บุคคลที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสม และเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาแต่งตังหรื ้ อเสนอขออนุมตั ิแต่งตังต่ ้ อที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามข้ อบังคับของบริ ษัท 2. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิ จการ จะพิจ ารณาทบทวนทัก ษะและคุณลักษณะของกรรมการ ( Skill and Characteristic) และองค์ ประกอบโดยรวมของคณะกรรมการบริ ษั ท เปรี ย บเที ยบกับ ทิศ ทางในการด าเนิน ธุร กิ จ ในปั จจุบนั และอนาคต โดยจัดทาเป็ นตาราง Board Skill Matrix เพื่อกาหนดเกณฑ์ในการสรรหากรรมการที่ต้องการเป็ น ประจาทุกปี ในการทบทวนดังกล่าว คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการยังได้ พิจารณาถึงความหลากหลาย ทังใน ้ ด้ านทักษะ ประสบการณ์ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความเป็ นอิสระ อายุ และเพศของกรรมการ 3. ในการพิ จารณาแต่งตัง้ กรรมการเดิมเป็ นกรรมการต่ออีกวาระหนึ่ง คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิ จการจะ พิจารณาปั จจัยต่างๆ ซึง่ รวมถึง ผลการปฏิบตั ิงาน ประวัติการเข้ าร่วมและการมีสว่ นร่วมในการประชุม และการสนับสนุน ในกิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษัท โดยหากเป็ นกรรมการอิสระ จะพิจารณาถึงความเป็ นอิสระของกรรมการท่าน ดังกล่าวด้ วย 4. การแต่งตังกรรมการให้ ้ เป็ นไปตามข้ อบังคับบริ ษัทและข้ อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งจะต้ องมีความโปร่ งใสและ ชัดเจน และดาเนินการโดยผ่านคณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ โดยหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตังกรรมการ ้ ในการประชุมผู้ถือหุ้น ดังนี ้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับจานวนหุ้นที่ถือ คือ หนึง่ หุ้นเท่ากับหนึง่ เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงที่มีอยู่ทงหมดตาม ั้ (1) เลือกตังบุ ้ คคลคนเดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ ในกรณีที่เลือกตังบุ ้ คคลหลายคนเป็ นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 14


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

(3) บุคคลซึง่ ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมา เป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะ พึงมีหรื อจะพึงเลือ กตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้ รับการเลือกตัง้ ในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อพึงจะเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ให้ ผ้ เู ป็ นประธานเป็ นผู้ออกเสียงชี ้ขาด กรณีทตี่ าแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากสาเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตาแหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการ พิจารณาแต่งตังบุ ้ คคลซึ่งมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายเข้ าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ เว้ นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจากตาแหน่งเหลือน้ อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการที่ตนแทน ทังนี ้ ้ มติการแต่งตังบุ ้ คคลเข้ าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวต้ องได้ รับคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการที่ยงั เหลืออยู่ ทังนี ้ ้ บริ ษัทเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีสว่ นร่วมในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการได้ ลว่ งหน้ าไม่น้อย กว่า 3 เดือนก่ อนวันสิน้ สุดรอบปี บัญชี โดยแจ้ งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย และเว็บ ไซด์ ของบริ ษั ท ซึ่ง มี ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ วิ ธี ก ารเสนอและขัน้ ตอนการพิ จ ารณา โดยในปี 2558 ไม่ มี ผ้ ูถื อ หุ้น รายใดเสนอชื่ อ บุค คลเพื่ อ รั บ การพิจารณาเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ 8.2.2 การสรรหาผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้พิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมมาดารงตาแหน่ง ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูงที่มีหน้ าที่รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมถึงจัดทาแผนการสืบทอด ตาแหน่ง (Succession Plan) โดยพิจารณาคัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิทงภายในและภายนอกองค์ ั้ กร โดยคณะกรรมการพัฒนา ความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนอาจพิจารณาว่าจ้ างที่ปรึกษาอิสระเพื่อเข้ ามาช่วยในการสรรหาดังกล่าวด้ วย ในตาแหน่งผู้บริ หารระดับสูง บริ ษัทได้ จดั ทาแผนสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan) รองรับผู้บริ หารตังแต่ ้ ระดับ ผู้อานวยการฝ่ ายขึ ้นไป โดยได้ ระบุตวั บุคคลที่จะทาหน้ าที่แทน พร้ อมกันนี ้ บริ ษัทได้ จดั ให้ มีระบบพัฒนาบุคลากรในลาดับรองลงมา เพื่อเตรี ยมความพร้ อมสาหรับการขึ ้นไปดารงตาแหน่งดังกล่าวด้ วย 8.3 วาระการดารงตาแหน่ ง 8.3.1 วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการบริษัท (1) ตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และข้ อบังคับของบริ ษัทกาหนดให้ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี ทุกครัง้ ให้ กรรมการออกจากตาแหน่ง 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทังหมด ้ ถ้ าจานวนกรรมการที่จะแบ่ง ออกให้ ตรงสามส่วนไม่พอดี ให้ ออกจานวนใกล้ เคียงที่สดุ กับส่วน 1 ใน 3 โดยให้ กรรมการคนที่อยู่ในตาแหน่งนาน ที่สดุ เป็ นผู้ออกจากตาแหน่งและกรรมการที่ออกจากตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับเลือกเข้ ามาดารงตาแหน่งใหม่อีก ได้ (2) กรณีทตี าแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากสาเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตาแหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการ พิจารณาแต่งตังบุ ้ คคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมาย มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัท มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 เข้ าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการแทนจะอยู่ใน ตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการที่ตนแทน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

8.3.2 วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการตรวจสอบ (1) กรรมการตรวจสอบมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละไม่เกิน 3 ปี กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งตามวาระมีสิทธิได้ รับเลือก กลับเข้ ามาใหม่ได้ ทังนี ้ ้ สาหรับผู้ที่ได้ ดารงตาแหน่งมาแล้ วเป็ นระยะเวลา 9 ปี หรื อ 3 วาระติดต่อกัน คณะกรรมการ บริ ษัทจะทบทวนความเป็ นอิสระที่แท้ จริ งของกรรมการผู้นนเป็ ั ้ นประจาทุกๆ ปี (2) กรรมการตรวจสอบท่านใดประสงค์ จะลาออกก่อนครบวาระต้ องยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการบริ ษัท โดยการลาออกมีผลตังแต่ ้ วนั ที่ใบลาออกมาถึงที่บริ ษัทเพื่อให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาแต่งตังกรรมการอื ้ ่นที่มี คุณสมบัติครบถ้ วนทดแทนกรรมการที่ลาออก โดยให้ ดารงตาแหน่งเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ ของกรรมการซึ่งตนแทน คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องแต่งตังกรรมการตรวจสอบให้ ้ ครบถ้ วนภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่กรรมการตรวจสอบคน นันลาออก ้ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบพ้ น จากตาแหน่งทังคณะ ้ เพราะเหตุอื่นนอกจากขาดคุณสมบัติ หรื อมีลกั ษณะ ต้ องห้ ามตามกฎหมาย ให้ คณะกรรมการตรวจสอบที่ พ้นจากตาแหน่งยังคงต้ องอยู่รักษาการในตาแหน่งเพียงเท่าที่ จาเป็ นจนกว่าคณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่จะเข้ ารับหน้ าที่ 8.3.3 วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการชุดย่ อยอื่นๆ (1) ให้ ก รรมการชุ ด ย่อ ยอื่ น ๆ มี ว าระอยู่ใ นต าแหน่ ง ตามวาระการด ารงต าแหน่ ง ของกรรมการ และกรรมการ ชุดย่อยอื่นๆ ซึง่ พ้ นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ อีกได้ (2) นอกจากการพ้ นจากตาแหน่งตาม (1) กรรมการชุดย่อยอื่นๆ พ้ นจากตาแหน่งเมื่อ - ตาย - ลาออก - ขาดคุณสมบัติการเป็ นกรรมการชุดย่อย - คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง 8.4 หลักเกณฑ์ ในการพิจารณาจัดสรรค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริ ษัทมีนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนให้ กรรมการ โดยสอดคล้ องกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และเมื่อเทียบกับบริ ษัทใน อุตสาหกรรมเดียวกันและบริ ษัทที่มีขนาดใกล้ เคียงกันแล้ ว ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอที่จะจูงใจและ รักษากรรมการที่มีคุณภาพไว้ และจะคานึงถึงความเป็ นธรรมและเหมาะสมสาหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริ หารและ ผู้บริ หาร โดยสอดคล้ องกับผลการดาเนินงานของบริ ษัทและผลการปฏิบตั ิงานของผู้บริ หารแต่ละท่าน คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน เป็ นผู้พิจารณากาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสมทังที ้ ่ เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ให้ แก่ กรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมถึงผู้บริ หารระดับสูงที่มีหน้ าที่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร โดยในการพิจารณานอกจากนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนที่กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว จะมีการ นาผลสารวจค่าตอบแทนกรรมการที่จดั ทาโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทยมา ประกอบการพิจารณา ทังนี ้ ้ สาหรับค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนจะนาเข้ าเสนอต่อที่ป ระชุม คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อขอมติเห็นชอบ และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมตั ิเป็ นประจาทุกปี

ส่วนที่ 2 | หน้ า 16


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

8.4.1 ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงินสาหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร จานวน 10 ราย รวม จานวนเงิน 26.77 ล้ านบาท โดยจ่ายจากผลการดาเนินงานประจาปี 2558 และมีการพิจารณาจัดสรรตามนโยบายการจ่าย ค่าตอบแทนและกรอบวงเงิน 28 ล้ านบาท ซึ่งได้ รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจาปี 2558 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2558 ทังนี ้ ้ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าว บริ ษัทใช้ หลักเกณฑ์เดียวกันกับปี 2557 และค่าตอบแทนที่จดั สรรอยูภ่ ายในกรอบของวงเงิน อันประกอบด้ วย ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี ้ยประชุมและโบนัส นโยบายการจ่ ายตอบแทนคณะกรรมการประจาปี 2558 ค่ าตอบแทนในรูปตัวเงิน (บาท)

กรรมการ

ค่ าตอบแทนรายเดือน

ค่ าเบีย้ ประชุม

โบนัส

คณะกรรมการ 

ประธานกรรมการ

300,000

x

กรรมการ

75,000

25,000

25,000

25,000

x

25,000

10,000

25,000

x

25,000

คณะกรรมการตรวจสอบ 

ประธานกรรมการ

กรรมการ คณะกรรมการชุดย่ อยอื่นๆ  

ประธานกรรมการ

กรรมการ

หมายเหตุ :

1) กรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร / พนักงานของบริ ษัท หรื อผู้ถือหุ้น ไม่มีสทิ ธิได้ รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ หรื อกรรมการชุดย่อย 2) ประธานกรรมการไม่ได้ รับค่าตอบแทนรายเดือน หรื อเบี ้ยประชุม ในฐานะประธานในคณะกรรมการชุดย่อย

ค่ าตอบแทนกรรมการบริษัทเป็ นรายบุคคลที่ได้ รับในฐานะกรรมการบริษัทจานวน 11 ราย ในปี 2558 มีดังนี ้ ชื่อ - นามสกุล นายวิทิต ลีนตุ พงษ์

นายอวิรุทธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์1)

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการพัฒนา ความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการการพัฒนา สูค่ วามยัง่ ยืน - กรรมการพัฒนาความเป็ น ผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ

ค่ าตอบแทนราย เดือน (บาท) 3,600,000

ค่ าเบีย้ ประชุม1) (บาท) 0

233,065

1,020,000

ส่วนที่ 2 | หน้ า 17

2,900,000

ค่ าตอบแทน อื่นๆ 0

175,000

200,000

0

800,000

2,180,000

0

โบนัส (บาท)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ชื่อ - นามสกุล นางทัศนีย์ มโนรถ1)

นายอึ ้ง ชิง-วาห์ นายนฤาชา จิตรีขนั ธ์ นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 1)

นายเย็ก บุน เซ็ง นางปรียา ด่านชัยวิจิตร นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ 2) นายกานต์ ตระกูลฮุน3)

รวม หมายเหตุ

ตาแหน่ ง - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการการพัฒนาสูค่ วาม ยัง่ ยืน - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการ - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการสรรหาและกากับ ดูแลกิจการ - กรรมการ - กรรมการ - กรรมการ - กรรมการบริ หาร - กรรมการ - ประธานกรรมการการพัฒนาสู่ ความยัง่ ยืน

ค่ าตอบแทนราย เดือน (บาท) 900,000

ค่ าเบีย้ ประชุม1) (บาท) 775,000

375,000

2558

2,075,000

ค่ าตอบแทน อื่นๆ 0

200,000

280,000

0

85,714 1,200,000

25,000 800,000

55,000 3,000,000

0 0

326,613 544,355 522,500

50,000 75,000 325,000

0 300,000 1,252,500

0 0 0

413,710

175,000

1,911,290

0

9,220,957

3,400,000

14,153,790

0

โบนัส (บาท)

1) รวมค่าเบี ้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบของกลุม่ อินทัช ซึ่งในปี นี ้มีการกาหนดให้ ประชุมร่วมกันจานวน 1 ครัง้ เพื่อหารือและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการตวจสอบและพัฒนาบริษัทร่วมกัน 2) นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ ได้ รับแต่งตังเป็ ้ นกรรมการและกรรมการบริหาร ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 2 มิถนุ ายน 2558 3) นายกานต์ ตระกูลฮุน ได้ รับแต่งตังเป็ ้ นกรรมการอิสระและกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558 4) การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการที่ปรากฎตามตารางข้ างต้ นเป็ นรายการที่เกิดขึ ้นในปี 2558 ทังนี ้ ้ ปั จจุบนั กรรมการบางท่านไม่ได้ ดารงตาแหน่งในบริษัทแล้ ว โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ จากหัวข้ อ โครงสร้ างการจัดการ ส่วนที่ 2 หน้ า 3

8.4.2 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้กาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทน ของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูงเป็ นประจาทุกปี รวมทังพิ ้ จารณาอนุมตั ิโครงการค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) ให้ แก่ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูง โดยการกาหนดค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่ บริ หารและผู้บริ หารแต่ละรายจะสอดคล้ องกับผลการดาเนินงานของบริ ษัททังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ และสะท้ อนถึงผลการ ปฏิบตั ิงาน ตลอดจนมีการเปรี ยบเทียบแนวปฏิบตั ิและมาตรฐานของกลุม่ ธุรกิจชันน ้ าเพื่อให้ สามารถแข่งขันได้ และรักษาผู้บริ หารที่ มีความสาคัญต่อความสาเร็ จของบริ ษัทในระยะยาว ค่าตอบแทนรวมของคณะผู้บริ หารจานวน 7 ราย เท่ากับ 98.56 ล้ านบาท ประกอบด้ วยเงินเดือน โบนัส และกองทุนสารอง เลี ้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 18


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

8.4.3 ค่ าตอบแทนอื่นๆ เพื่ อ เป็ นการสร้ างแรงจู ง ใจให้ ทรั พ ยากรบุค คลที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ บริ ษั ท ได้ ปฏิ บัติ ง านให้ แ ก่ อ งค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อัน เป็ น การส่งเสริ มให้ บริ ษัทเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาวเป็ นประโยชน์ ร่วมกันระหว่างบริ ษัท ผู้ถือหุ้น และผู้บริ หาร บริ ษัทได้ ออก ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) ให้ แก่ผ้ บู ริ หาร ตามโครงการจ่ายค่าตอบแทนระยะยาว (Performance Share Plan) เป็ นจานวน 3 ครัง้ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ ครัง้ ที่ 1 ออกปี 2556 ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 0 บาท อายุใบสาคัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขาย ราคาการใช้ สทิ ธิที่จะซื ้อหุ้น : 206.672 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้ อกาหนดที่ ระบุไว้ ในเอกสารข้ อกาหนดสิทธิและเงื่อนไขของใบสาคัญแสดง สิทธิ) วันที่สามารถใช้ สทิ ธิได้ ครัง้ แรก : 1 มิถนุ ายน 2559 ทังนี ้ ้กาหนดให้ ใช้ สทิ ธิได้ ปีละ 1 ครัง้ ครัง้ ที่ 2 ออกปี 2557 ราคาเสนอขายต่อหน่วย อายุใบสาคัญแสดงสิทธิ ราคาการใช้ สทิ ธิที่จะซื ้อหุ้น

: : :

วันที่สามารถใช้ สทิ ธิได้ ครัง้ แรก

:

ครัง้ ที่ 3 ออกปี 2558 ราคาเสนอขายต่อหน่วย อายุใบสาคัญแสดงสิทธิ ราคาการใช้ สทิ ธิที่จะซื ้อหุ้น

: : :

วันที่สามารถใช้ สทิ ธิได้ ครัง้ แรก

:

0 บาท ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขาย 211.816 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้ อกาหนดที่ ระบุไว้ ในเอกสารข้ อกาหนดสิทธิและเงื่อนไขของใบสาคัญแสดง สิทธิ) 1 มิถนุ ายน 2560 ทังนี ้ ้กาหนดให้ ใช้ สทิ ธิได้ ปีละ 1 ครัง้ 0 บาท ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขาย 249.938 บาท ต่อหุ้น (เว้ นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้ อกาหนดที่ ระบุไว้ ในเอกสารข้ อกาหนดสิทธิและเงื่อนไขของใบสาคัญแสดง สิทธิ) 1 มิถนุ ายน 2561 ทังนี ้ ้กาหนดให้ ใช้ สทิ ธิได้ ปีละ 1 ครัง้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 19


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ทังนี ้ ้ ผู้บริ หารตามคานิยามของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทไี่ ด้ รับใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) มีรายชื่อและจานวนใบสาคัญแสดง สิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) ที่ได้ รับดังนี ้

ปี 2558

รายชื่อผู้บริ หารได้ รับ 1. 2. 3. 4. 5.

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นางสุวิมล แก้ วคูณ นางวิลาสินี พุทธิการันต์ นายพงษ์ อมร นิ่มพูลสวัสดิ์ นายเกรี ยงศักดิ์ วาณิชย์นที

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

51,600 33,171 30,174 33,171 34,670

ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก 5.92 3.80 3.46 3.80 3.98

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซือ้ หุ้นสามัญ (Warrant) (หน่ วย) ปี 2557 ปี 2556 ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก 29,816 4.38 19,824 27,116 3.99 18,064 29,816 4.38 20,764 29,816 4.38 21,664 31,216 4.59 7,564

ส่วนที่ 2 | หน้ า 20

ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก 4.89 4.45 5.12 5.34 1.86

รวม

101,240 78,351 80,754 84,651 73,450


8.5 เลขานุการบริษัท คือ นายชวิน ชัยวัชราภรณ์ มีหน้ าที่ตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ดังนี ้ (1) จัดการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการชุดย่อย และการประชุมผู้ถือหุ้น (2) จัดการประชุมของคณะกรรมการและการประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทย่อยทุกบริ ษัท (3) จัด ท านโยบายการก ากับ ดูแ ลกิ จ การของบริ ษั ท เพื่ อ เสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและก ากับ ดูแลกิ จ การ พิจารณา รวมทังปรั ้ บปรุงให้ เป็ นปั จจุบนั เสมอ (4) จัดทาและเก็บรักษาเอกสารต่างๆ ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกาหนด (5) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยมอบหมาย 8.6 หัวหน้ าหน่ วยงานกากั บดูแ ลการปฏิบัติ งาน คือ นางสาวนัฐิ ยา พัวพงศกร ซึ่งมี หน้ า ที่ กากับดูแลในฐานะบริ ษั ท จดทะเบียนในการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) รวมทังกฎหมายบริ ้ ษัทมหาชนจากัด ทังนี ้ ้ข้ อมูลประวัติและรายละเอียดของเลขานุการบริ ษัท และหัวหน้ าหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน ปรากฎตามเอกสาร แนบ 1 หน้ า 3

ส่วนที่ 2 | หน้ า 21


8.7 บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทและบริ ษัทย่อย มีพนักงานทังสิ ้ ้น 12,204 คน (รวมพนักงานชัว่ คราว) โดยแบ่งตามสายงาน หลักได้ ดงั นี ้ เอเอ็มพี / เอดีซี / เอไอเอ็น / ดับบลิวดีเอส / เอสบีเอ็น / เอดับบลิวเอ็น / เอฟเอ็กซ์ แอล / เอ็มเอ็มที / เอไออาร์

เอไอเอส สายงานหลัก ปฏิบตั กิ าร พัฒนาโซลูชนั่ ส์ บริ หารลูกค้ าและการบริ การ การตลาด ปฏิบตั กิ ารด้ านบริ การ การเงินและบัญชี สนับสนุน สานักปฏิบตั กิ ารภูมิภาค สานักปฏิบตั กิ ารภูมิภาค - ภาคกลาง สานักปฏิบตั กิ ารภูมิภาค - ภาคตะวันออก สานักปฏิบตั กิ ารภูมิภาค - ภาคเหนือ สานักปฏิบตั กิ ารภูมิภาค- ตะวันออกเฉียงเหนือ สานักปฏิบตั กิ ารภูมิภาค - ภาคใต้ รวม เอซีซี สายงานหลัก สานักกรรมการผู้จดั การ สานักลูกค้ าสัมพันธ์ ฝ่ ายประกันคุณภาพงานบริ การ ฝ่ ายบริ หารกลุ่มลูกค้ าผู้ใช้ บริ การสูง ฝ่ ายบริ หารคูค่ ้ าสัมพันธ์ ฝ่ ายพัฒนาและวิเคราะห์การปฏิบตั ิการ สานักบริ หารทรัพยากร รวม

จานวนพนักงาน 220 22 20 1 255 490 5 12 10 13 12 11 1,071

จานวนพนักงาน 4 1,557 87 361 592 85 82 2,768

เอเอ็มพี เอดีซี เอไอเอ็น ดับบลิวดีเอส เอสบีเอ็น เอดับบลิวเอ็น เอฟเอ็กซ์แอล เอ็มเอ็มที เอไออาร์

จานวนพนักงาน 33 2 24 538 102 5,876 134 1,621 -

รวม ดีพีซี สายงานหลัก บัญชีและบริ หารสินเชื่อ การตลาด-การขาย วิศวกรรม สนับสนุน

รวม

8,330

จานวนพนักงาน 2 5 26 2

35

สาหรับปี 2558 ค่าตอบแทนรวมของบุคลากรของบริ ษัท และบริ ษัทย่อย ประกอบด้ วย เงินเดือน โบนัส เงินตอบแทนพิเศษ ระหว่างปี และเงินสมทบกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ มีจานวนทังสิ ้ ้น 6,807 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนให้ แก่พนักงาน สามารถศึกษาได้ จากรายงานพัฒนาความยัง่ ยืนปี 2558 หน้ า 64

ส่วนที่ 2 | หน้ า 22


8.8 นโยบายการพัฒนาพนักงาน เสริ มสร้ างศักยภาพบุคลากรให้ สอดคล้ องกับกลยุทธ์และเป้าหมายของธุรกิจ เพื่อขับเคลือ่ นองค์กรสูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดย มีวฒ ั นธรรมการทางานอย่างมืออาชีพ เรายึดมัน่ ในคาสัญญาที่มีตอ่ พนักงานที่วา่ “เอไอเอสพร้ อมให้ คณ ุ และเราเติบโตก้ าวหน้ าไป พร้ อมๆกัน” เราตระหนักถึงความสาคัญในการส่งเสริ มและสนับสนุนกระบวนการเรี ยนรู้ เพื่อสร้ างโอกาสความก้ าวหน้ าในสายอาชีพ หน่วยงาน Assessment center จึงถูกจัดตังขึ ้ ้นเพื่อค้ นหาศักยภาพและนาผลประเมินที่ได้ จดั ทาแผนพัฒนาและแผนการเติบโตทาง สายอาชีพรายบุคคล (Individual Development Plan) อีกทังยั ้ งเตรี ยมความพร้ อมสาหรับการแข่งขันในธุรกิจโทรคมนาคมในยุค “Digital Economy” ด้ วยความมุง่ มัน่ ในการเป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู้ โดยส่งเสริ มให้ พนักงานเกิดการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง และแบ่งปั นความรู้ ผ่าน ช่องทางและวิธีการเรี ยนรู้แบบต่างๆ ที่ทนั สมัย เข้ าถึงง่าย มีประสิทธิ ผล อาทิ Knowledge Management Portal ในอินทราเน็ตของ องค์กร การสร้ างชุมชนนักปฏิบตั ิเพื่อให้ พนักงานแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ , การจัดตังศู ้ นย์ฝึกอบรมในระดับภูมิภาคเพื่อการพัฒนา บุคคลากรได้ อย่างทัว่ ถึง รวมถึงการพัฒนาและสร้ างวิทยากรภายในและแผนงานสาหรับช่องทางในการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ เพื่อให้ เกิดการนาความรู้ไปปรับใช้ เพื่อประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง พัฒนาผู้อื่น พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร ทังนี ้ ้ รายละเอียดของการพัฒนาและการฝึ กอบรมพนักงาน สามารถศึกษาเพิม่ เติมได้ จากรายงานพัฒนาความยัง่ ยืน ประจาปี 2558 ของบริ ษัท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 23


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ นโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทถูกกาหนดจากคณะกรรมการบริ ษัทและเริ่ มบังคับใช้ กับกรรมการ ผู้บริ หาร และ พนักงานทุกระดับมาตังแต่ ้ ปี 2545 รวมทังเผยแพร่ ้ บนเว็บไซต์เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นและบุคคลภายนอกได้ รับทราบและช่วยกันตรวจสอบ ที่ http://investor.ais.co.th โดยคณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการต้ องมีการทบทวน นโยบายการกากับดูแลกิจการให้ มีความเหมาะสมกับธุรกิจและสอดคล้ องกับข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ น ประจาทุกปี ซึ่งในปี ที่ผ่านมาขอบเขตการพิจารณาได้ ครอบคลุมถึง หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทางของ ASEAN Scorecard รวมถึงการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนตามแนวทางของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ สื่อสารนโยบายดังกล่าวให้ ภายในองค์กรรับทราบผ่านช่องทางและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น อีเมล์ อินทราเน็ต แผ่นป้ายประกาศ และการรณรงค์ภายในบริ ษัท เป็ นต้ น เพื่อสร้ างความตระหนักและความเข้ าใจในการปฏิบตั ิ ตามนโยบายของบริ ษัท พร้ อมทังก ้ าหนดให้ มีช่องทางสาหรับบุคคลทังภายในและภายนอกเพื ้ ่อ แจ้ งเรื่ องการพบเห็นการกระทาที่ เป็ นการละเมิดนโยบายการกากับดูแลกิจการดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ซึง่ ครอบคลุมถึงมาตรการคุ้มครองผู้รายงาน ตามนโยบาย การให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล (Whistle Blower Policy) ด้ วย โดยในปี 2558 บริ ษัทได้ รับการคัดเลือกให้ ติดอยูใ่ น DJSI กลุม่ Emerging Markets เพื่อยืนยันว่าบริ ษัทมีการดาเนินงานอย่าง ยัง่ ยืน ครอบคลุมทังมิ ้ ติทางด้ านเศรษฐกิจ ธรรมาภิบาล การคานึงถึงสิ่งแวดล้ อม และการอยู่ร่วมกับสังคมอย่างยัง่ ยืน นอกจากนี ้ บริ ษัทยังได้ การยอมรับให้ เป็ นหนึง่ ใน 50 บริ ษัท ที่มีคะแนน CG ASEAN Scorecard สูงสุดในปี นี ้ 9.2 รายงานการปฏิบัติตามนโยบายการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นบุคคลที่มีภาวะผู้นาและวิสยั ทัศน์ในการมุง่ มัน่ ให้ บริ ษัทเป็ นผู้นาในเรื่ องการสือ่ สารโทรคมนาคมของ ประเทศและเป็ นตัวแทนของผู้ถือหุ้นโดยรวม มิใช่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยคณะกรรมการบริ ษัทประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 10 ท่าน ที่มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามที่กฎหมายกาหนด และมีประสบการณ์หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่างๆ รวมทังประสบการณ์ ้ ที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจโทรคมนาคม โดยมีสดั ส่วนของกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทังหมด ้ และมีคณ ุ สมบัติ ตามที่กาหนดไว้ ในนโยบายการกากับดูแลกิจการซึง่ มากกว่าขันต ้ ่าที่กฎหมายกาหนด นอกจากนี ้ มากกว่ากึ่งหนึง่ ขององค์ประกอบ คณะกรรมการเป็ นกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หาร ทังนี ้ ้ ก็เพื่อให้ มีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทและผู้ถือ หุ้น โดยประธานกรรมการบริ ษัทไม่ใช่บคุ คลคนเดียวกันกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรื อทาง ธุรกิจระหว่างกัน บริ ษัทมีการแบ่งแยกอานาจหน้ าที่ของประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารอย่างชัดเจน รวมทังได้ ้ สงวนสิทธิ ในการพิจารณาเรื่ องที่มีนยั สาคัญซึ่งจะกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทอย่างมากให้ เป็ นอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการ เท่านันด้ ้ วย ทังนี ้ ้ รายละเอียดและองค์ประกอบของคณะกรรมการ หลักเกณฑ์การสรรหาและวิธีพิจารณาคัดเลือก การแต่งตั ง้ นิยามของ กรรมการอิสระ และการแบ่งแยกหน้ าที่ของประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ปรากฎอยู่ในหัวข้ อ“โครงสร้ างการ จัดการ” หน้ า 8 - 10 และ 14 - 15 คณะกรรมการบริ ษัทได้ จดั ให้ มีคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยศึกษาและกลัน่ กรองงานในด้ านอื่นๆ อีก 5 ชุด โดยรายละเอียด โครงสร้ างคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการชุดย่อย รายชื่อและขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการแต่ละชุดปรากฎอยู่ใน หัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 3 - 4 และ 10 - 14

ส่วนที่ 2 | หน้ า 24


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดให้ มีการประชุมอย่างน้ อย 6 ครัง้ ต่อปี โดยในปี ที่ผ่านมามีการประชุมทังสิ ้ ้นจานวน 11 ครัง้ โดย กาหนดการประชุมจะถูกพิจารณากาหนดล่วงหน้ าตลอดทังปี ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ากรรมการทุกท่านจะสามารถจัดสรรเวลาเข้ าร่ วม ประชุมได้ อย่างพร้ อมเพรี ยงกัน โดยหนังสือเชิญประชุมซึ่งประกอบด้ วยรายละเอียดวาระการประชุมและเอกสารประกอบการ ประชุมจะถูกส่งออกให้ กรรมการล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้ กรรมการแต่ละท่านได้ มีเวลาศึกษาข้ อมูลก่อน ล่วงหน้ า โดยรายละเอียดของจานวนครัง้ ที่จดั ประชุมในปี 2558 และจานวนกรรมการที่เข้ าร่วมประชุม ปรากฎในหัวข้ อ “โครงสร้ าง การจัดการ หน้ า 5 - 6” สาหรับในเดือนใดที่ไม่ได้ มีการประชุม ส่วนงานเลขานุการบริ ษัทจะจัดส่งรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานของบริ ษัท และ บริ ษัทย่อยในเดือนนันๆ ้ ให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบ ในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นแต่ละวาระ ประธานกรรมการซึ่ง ทาหน้ าที่เป็ นประธานที่ประชุมจะจัดสรรเวลาให้ อย่างเพียงพอ พร้ อมทังเปิ ้ ดโอกาสให้ ผ้ บู ริ หารที่เกี่ยวข้ องของแต่ละวาระสามารถ นาเสนอข้ อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาและการตัดสินใจได้ สาหรับรายงานการประชุมจะถูกจัดทาโดยเลขานุการบริ ษัทภายใน 7 วันนับแต่วนั ประชุมเสร็ จสิ ้น การประชุมของกรรมการที่ไม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารมีการประชุมร่ วมกันอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ โดยไม่มีกรรมการที่เป็ น ผู้บริ หารหรื อฝ่ ายบริ หารเข้ าร่วมการประชุม เพื่อเปิ ดโอกาสให้ อภิปรายประเด็นต่างๆ ทังที ้ ่เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษัท และเรื่ องที่อยู่ใน ความสนใจได้ อย่างอิสระ โดยภายหลังจะดาเนินการรายงานผลการประชุมให้ คณะกรรมการบริ ษัทและประธานเจ้ า หน้ าที่บริ หาร ทราบ ทังนี ้ ้ ในปี 2558 ได้ มีการจัดประชุมของกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารขึ ้น 1 ครัง้ โดยมีกรรมการเข้ าร่วมประชุม 7 ท่าน แผนการสืบทอดตาแหน่ ง คณะกรรมการกาหนดให้ มีแผนการสืบทอดตาแหน่งของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัท เพื่อให้ มั่นใจว่าบริ ษัทจะสามารถดาเนินธุ รกิ จต่อไปได้ หากตาแหน่งสาคัญดัง กล่าวว่างลง โดยมอบหมายให้ คณะกรรมการพัฒนา ความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนทาหน้ าที่พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์และจัดทาแผนการสืบทอดดังกล่าว รวมทังก ้ าหนดให้ ประธานคณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนต้ องรายงานให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบถึงแผนการสืบทอด ตาแหน่งดังกล่าว รวมทังให้ ้ มีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี บริ ษัทตระหนักดีวา่ พนักงานเป็ นแรงขับเคลือ่ นที่สาคัญขององค์กร ไม่เฉพาะผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทเพี ยงเท่านัน้ ซึ่งสิ่งที่ ท้ าทายต่อการดาเนินธุรกิ จ คือ ความเสี่ยงของการขาดบุคคลากรที่มีความรู้ และความสามารถ การเตรี ยมความพร้ อมของ พนักงานให้ ทนั ต่อการขยายตัว และการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจจึงเป็ นสิ่งสาคัญ บริ ษัทจึงกาหนดให้ การสร้ างผู้สืบทอดตาแหน่ง สาคัญๆ ที่จะว่างลง (Succession plan) หรื อผู้ดารงตาแหน่งใหม่ เป็ น Corporate KPI โดยมุ่งเน้ นเพิ่มขีดความสามารถของ พนักงานให้ มีความรู้ความสามารถในการทางาน และเตรี ยมความพร้ อมต่อความก้ าวหน้ าของพนักงานในอนาคตด้ วยการวางแผน Succession plan ของทุกสายงานอย่างให้ ความสาคัญเท่าเทียมกัน และดาเนินการอย่างจริ งจัง โดยได้ รับคาแนะนาจากที่ปรึ กษา มืออาชีพระดับโลก ทาให้ บริ ษัทมีความพร้ อมในการต่อสู้กบั การแข่งขันด้ วยทีมพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนื่อง การติดต่ อสื่อสารกับฝ่ ายบริหาร บริ ษัทจัดให้ มีสว่ นงานเลขานุการบริ ษัทเพื่อทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางการติดต่อสื่อสารระหว่างกรรมการและฝ่ ายบริ หาร โดย เลขานุการบริ ษัทจะใช้ ระบบการจัดเก็บข้ อมูลสาหรับกรรมการ (Board Portal) เป็ นอีกหนึ่งช่องทางเพื่อให้ คณะกรรมการสามารถ เข้ าถึงข้ อมูลและเอกสารที่สาคัญ ต่างๆ ของบริ ษัทได้ อย่างรวดเร็ วและปลอดภัย อีกทัง้ บริ ษัทมีส่วนงานตรวจสอบภายในเป็ น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 25


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ตัวกลางระหว่างกรรมการตรวจสอบกับฝ่ ายบริ หาร ทังนี ้ ้ บริ ษัทไม่มีการปิ ดกันการเข้ ้ าถึงและติดต่อสื่อสารระหว่างกรรมการและ ฝ่ ายบริ หารโดยตรง แต่การติดต่อสื่อสารนันจะต้ ้ องไม่เป็ นการก้ าวก่ายหรื อแทรกแซงต่อการดาเนินธุรกิจปกติของบริ ษัท ค่ าตอบแทนของกรรมการ บริ ษัทมีนโยบายกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการให้ สอดคล้ องกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และอยู่ในระดับที่สามารถจูงใจ และเทียบได้ กบั บริ ษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันและบริ ษัทที่มีขนาดใกล้ เคียงกัน โดยการพิจารณาจะเชื่อมโยงกับผลการปฏิบตั ิงาน รายบุค คลและผลการดาเนิน งานของบริ ษั ท ด้ ว ย โดยคณะกรรมการพัฒ นาความเป็ นผู้นาและก าหนดค่า ตอบแทนจะเป็ น ผู้พิจารณากาหนดนโยบายในการจ่ายค่าตอบแทน ประเภทของค่าตอบแทนและจานวนค่าตอบแทน เพื่อเสนอขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริ ษัท ก่ อ นน าไปขออนุมัติใ นที่ ป ระชุม ผู้ถื อ หุ้น เป็ นประจ าทุก ปี ทัง้ นี ้ รายละเอี ยดของนโยบายการจ่ า ย ค่าตอบแทนและจานวนค่าตอบแทนที่ให้ แก่กรรมการและผู้บริ หารในปี 2558 ปรากฎอยูใ่ นหัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 17 20 การปฐมนิเทศและพัฒนาความรู้อย่ างต่ อเนื่องของกรรมการ กรรมการที่ได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ แต่ละท่านจะได้ รับการปฐมนิเทศเพื่อ รับทราบข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลการดาเนินธุรกิจ ของ บริ ษัทที่สาคัญและจาเป็ นอย่างเพียงพอก่อนปฏิบตั ิหน้ าที่ นอกจากนี ้ บริ ษัทยังส่งเสริ ม ให้ ทงั ้ กรรมการ เลขานุการบริ ษัท และผู้บริ หารต้ องเข้ า รั บการฝึ กอบรมและพัฒนาความรู้ อย่างต่อเนื่อง โดยบริ ษัทเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายทัง้ หมด ซึ่งการพัฒนาความรู้ ของกรรมการประกอบด้ วยหลากหลายรู ปแบบ เช่น หลักสูตรการอบรมทังภายในและภายนอก ้ การศึกษาดูงานต่างประเทศ การเยี่ยมชมธุรกิจต่างๆ ของกลุม่ บริ ษัท เป็ นต้ น การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดให้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตนเอง (Board Self-Assessment) เป็ นรายบุคคลและทัง้ คณะเป็ นประจาทุกปี เพื่อใช้ เป็ นกรอบในการทบทวนการปฏิบัติงานในหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัทว่า ได้ ดาเนินการตาม นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ได้ อนุมตั ิไว้ และ/หรื อตามแนวปฏิบตั ิที่ดี (Good Practices) หรื อไม่ เพื่อปรับปรุงการปฏิบตั ิงานของ คณะกรรมการบริ ษัทให้ สอดคล้ องกับแนวนโยบายที่กาหนดไว้ และเพื่อทบทวนปั ญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ ้นในรอบปี ที่ผา่ นมา  หลักเกณฑ์ ท่ ใี ช้ ในการประเมิน แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ ประกอบด้ วยการประเมินใน 2 ส่วน ดังนี ้ ส่วนที่ 1 คณะกรรมการประเมินระดับคะแนนความเห็นหรื อระดับการดาเนินการใน 6 หัวข้ อประเมิน ได้ แก่ ₋ โครงสร้ างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ ₋ บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ₋ การประชุมคณะกรรมการ ₋ การทาหน้ าที่กรรมการ ₋ ความสัมพันธ์ กบ ั ฝ่ ายจัดการ ₋ การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริ หาร ส่ว นที่ 2 คณะกรรมการให้ ค วามเห็ น ข้ อ เสนอแนะ หรื อ สิ่ ง ที่ ใ ห้ ค วามสนใจเป็ นกรณี พิ เ ศษสาหรั บ การปฏิ บัติ ง านของ คณะกรรมการหรื อการดาเนินงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 26


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ขัน้ ตอนในการประเมิน เลขานุการบริ ษัทจะจัดส่งแบบประเมินให้ กรรมการบริ ษัททุกท่านประเมินตนเองในทุกสิ ้นปี จากนันจะน ้ ามารวบรวมและ รายงานสรุปผลต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อรับทราบรวมทังหารื ้ อถึงแนวทางในการพัฒนาต่อไป 

การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน มีหน้ าที่ในการกาหนดเป้าหมายการปฏิบตั ิงานประจาปี และ ระยะยาวของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมทังประเมิ ้ นผลการปฏิบตั ิงานดังกล่าวเปรี ยบเทียบกับเป้าหมายดังกล่าวเป็ นประจา ทุกปี โดยผลของการประเมินจะถูกนามาใช้ ประกอบการพิจารณาค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร สิทธิและความเท่ าเทียมกันของผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริ ษัทเคารพในสิทธิ และมีหน้ าที่ในการดูแลรักษาผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่า ผู้ถือหุ้นนันจะเป็ ้ นนักลงทุนสถาบัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นรายย่อย และไม่ว่าสัญชาติใด โดยผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิ และ ความเท่าเทียมกันตามที่กาหนดไว้ ในข้ อบังคับบริ ษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง อาทิ - สิทธิในการได้ รับใบหุ้น โอนหุ้น และสิทธิในการรับทราบข้ อมูล ผลการดาเนินงาน นโยบายการบริ หารงานอย่างสม่าเสมอ และทันเวลา - สิทธิในการรับส่วนแบ่งกาไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม - สิทธิ ในการเข้ าร่ วมประชุมผู้ถือหุ้น แสดงความเห็น ให้ ข้อเสนอแนะ และร่ วมพิจารณาตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลง ที่สาคัญต่าง ๆ - สิทธิในการแต่งตังและถอดถอนกรรมการบริ ้ ษัท การประชุมผู้ถือหุ้น สาหรับการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละปี บริ ษัทได้ ยดึ ถือแนวปฏิบตั ิด้วยเคารพในสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น ดังนี ้  ก่อนวันประชุม 1. เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่วนน้ อยสามารถเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ ได้ ลว่ งหน้ าตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2558 - 31 ธันวาคม 2558 โดยได้ ประกาศและเผยแพร่ หลักเกณฑ์และวิธีการเสนอผ่าน เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์และเว็บไซต์บริ ษัท ทังนี ้ ้ เมื่อถึงกาหนดการปิ ดรับ ปรากฎว่าไม่มีผ้ ถู ือหุ้นเสนอเรื่ องดังกล่าว แต่อย่างใด 2. ให้ สิทธิ ผ้ ูถือหุ้นเป็ นผู้แต่งตัง้ กรรมการ และกาหนดนโยบายและค่าตอบแทนของกรรมการ รวมทังแต่ ้ งตัง้ ผู้สอบบัญชี และ กาหนดค่าสอบบัญชี สิทธิในการอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล และการอนุมตั ิเรื่ องอื่นๆ ตามที่กฎหมายกาหนด 3. จัดทาหนังสือเชิญประชุมซึง่ มีคาชี ้แจงวัตถุประสงค์ของแต่ละวาระ หนังสือมอบฉันทะแบบ ข. และเอกสารประกอบการ ประชุมทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ เพื่อเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริ ษัทล่วงหน้ า 30 วันก่อนวันประชุม โดยได้ ประกาศ ให้ ทราบถึงการเผยแพร่ ดงั กล่าวผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์บริ ษัท นอกจากนี ้ได้ จดั ส่งชุดเอกสารให้ ผู้ถือหุ้นล่วงหน้ า 21 วันก่อนวันประชุม 4. เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถื อ หุ้น ส่ง ค าถามล่ว งหน้ า ตามหลัก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ ก าหนดเป็ นระยะเวลาล่ว งหน้ า 30 วัน ก่อนวันประชุม โดยเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์บริ ษัทและแจ้ งผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ 5. นอกจากหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ที่จดั ส่งให้ ผ้ ถู ือหุ้นพร้ อมหนังสื อเชิญประชุมแล้ ว บริ ษัทยังจัดให้ มีหนังสือมอบฉันทะ ทังแบบ ้ ก. และค. ไว้ บนเว็บไซต์ เพื่ออานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ูถือหุ้นที่ไม่สามารถมาเข้ าร่ วมประชุมได้ ด้วยตนเอง สามารถดาวน์ โ หลดแบบฟอร์ มและมอบฉั น ทะให้ บุ ค คลอื่ น หรื อกรรมการอิ ส ระที่ บ ริ ษั ท แจ้ งรายชื่ อ ไว้ ใน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 27


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

หนังสือเชิญประชุมมาเข้ าร่ วมแทนได้ ทังนี ้ ้ในส่วนของกรรมการอิสระ บริ ษัทได้ เสนอรายชื่อไว้ จานวน 2 ราย เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมีสทิ ธิเลือกมอบฉันทะตามความพึงพอใจได้ 6. ประสานงานกับผู้ถือหุ้นประเภทสถาบัน เป็ นระยะเวลาอย่างน้ อย 14 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อตรวจสอบรายละเอียด การถือครองหลักทรัพย์ และพยายามติดต่อเพื่อขอความร่ วมมือ ให้ มีการส่งตัวแทนเข้ าร่ วมการประชุมหรื อมอบฉันทะ ให้ กรรมการอิสระ วันประชุม 1. ส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกราย รวมทังผู ้ ้ ถือหุ้นประเภทสถาบันเข้ าร่ วมประชุมผู้ถือหุ้น โดยเลือกสถานที่จัดประชุมที่โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้ าว ซึ่งสะดวกต่อการเดินทาง และจัดเตรี ยมสิ่งอานวยความสะดวกให้ แก่ ผู้ถือหุ้นไม่วา่ จะเป็ นเครื่ องถ่ายเอกสาร ป้ายบอกขันตอนการลงทะเบี ้ ยน ระบบการลงทะเบียนและลงคะแนนแบบบาร์ โค้ ด รวมถึงบุคลากรที่เพียงพอ นอกจากนี ้ยังจัดให้ มีจุดลงทะเบียนกองทุนโดยเฉพาะเพื่ออานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ที่เป็ นนักลงทุนสถาบัน 2. ประธานกรรมการบริ ษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ ประธานกรรมการ พัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน และประธานกรรมการบริ หาร รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงพร้ อมใจกันเข้ าร่ วม ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อตอบข้ อซักถามต่างๆ ของผู้ถือหุ้น 3. จัดให้ มีที่ปรึ กษากฎหมายอิสระเพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบความถูกต้ องและความโปร่ งใสของการนับคะแนน ในแต่ละวาระ การประชุม 4. ประธานที่ประชุมได้ ดาเนินการประชุมตามลาดับ วาระและเรื่ องที่ได้ ระบุไว้ ในเอกสารเชิญประชุม โดยไม่มีการเพิ่มเติม แต่อย่างใด พร้ อมทังจั ้ ดสรรเวลาสาหรับการซัก ถามของผู้ถือหุ้นในแต่ละวาระให้ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยก่อน เริ่ มประชุม ผู้แทนของบริ ษัทจะแจ้ งขันตอนและวิ ้ ธีการออกเสียงลงคะแนนให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบ 5. จัดให้ มีบตั รลงคะแนนสาหรับการออกเสียงในแต่ละวาระ และสาหรับวาระเลือกตังกรรมการจั ้ ดให้ มีการลงคะแนนเป็ น รายบุคคล โดยนาระบบบาร์ โค้ ดมาใช้ เพื่อให้ การนับคะแนนแต่ละวาระเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว 6. ประธานที่ประชุมได้ แจ้ งผลคะแนนแต่ละวาระและมติของที่ประชุมให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกท่านทราบภายในช่วงการจัดประชุมทันที โดยไม่มีผ้ ถู ือหุ้นท่านใดยกมือคัดค้ านหรื อไม่เห็นด้ วยกับมตินนั ้ 7. จัด ให้ มีแ บบประเมิ นคุณภาพการจัด ประชุม ผู้ถื อหุ้น เพื่ อน าข้ อมูลมาใช้ ในการพัฒ นาการจัด ประชุมครั ง้ ถัดไปให้ มี ประสิทธิภาพมากขึ ้น ภายหลังการประชุม 1. บริ ษัทได้ แจ้ งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นพร้ อมผลการลงคะแนนเสียงของทุกวาระต่อตลาดหลักทรัพย์ ภายหลังการปิ ดประชุม ทันที รวมทังได้ ้ เผยแพร่มติดงั กล่าวไว้ บนเว็บไซต์บริ ษัท 2. เลขานุก ารบริ ษั ท ได้ จัด ท ารายงานการประชุม และเผยแพร่ บ นเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ภายใน 14 วัน หลัง จากวัน ประชุม โดยรายงานดังกล่าวมีการบันทึก รายละเอียดและสาระสาคัญไว้ อย่างครบถ้ วนตามแนวทางของหลักการกากับดูแล กิ จ การที่ ดีข องตลาดหลัก ทรั พ ย์ และได้ เ ผยแพร่ รายงานการประชุมดัง กล่าวไว้ บนเว็บ ไซต์ ข องบริ ษั ท พร้ อมแจ้ ง การเผยแพร่ดงั กล่าวผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์

ส่วนที่ 2 | หน้ า 28


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ เสีย ผู้มีสว่ นได้ เสียสามารถติดต่อสือ่ สารเพื่อแสดงความคิดเห็นต่อคณะกรรมการ หรื อแจ้ งเบาะแสในกรณีที่พบเห็นการกระทาที่ ไม่ชอบด้ วยกฎหมายหรื อจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทของกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อพนักงาน โดยผ่าน 2 ช่องทาง ดังนี ้ 1. ส่ งจดหมายถึง ส่ วนงานเลขานุการบริษัท เลขที่ 414 ชัน้ 28 อาคารเอไอเอส 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ (66) 2029 5352 โทรสาร (66) 2029 5108 E-mail: companysecretary@ais.co.th 2. คณะกรรมการตรวจสอบที่ E-mail: AuditCommittee@ais.co.th 3. ส่ วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ (66) 2029 5117 โทรสาร (66) 2029 5165 E-mail: investor@ais.co.th โดยข้ อเสนอแนะหรื อข้ อร้ องเรี ยนจะถูกส่งต่อให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการ เพื่อให้ มีการชีแ้ จง แก้ ไข ปรับปรุ ง และ สรุปผลเพื่อรายงานต่อคณะกรรมการต่อไป บทบาทต่ อผู้มีส่วนได้ เสีย บริ ษัทตระหนักถึงสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ไม่ว่าจะเป็ นลูกค้ า คู่ค้า พนักงาน ชุมชน สังคม หรื อสิ่งแวดล้ อม จึงกาหนด นโยบายให้ มีแนวทางปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียตามสิทธิแห่งกฎหมายและตามแนวทางของการอยู่ร่วมกันอย่างยัง่ ยืน ไว้ ในนโยบาย การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน คูม่ ือประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ นโยบายการบริ หารบุคคล ตลอดจนนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง นอกจากนี ้ได้ กาหนดให้ มีแนวปฏิบตั ิและระบบการควบคุมภายในที่ดี รวมทังนโยบายการต่ ้ อต้ านการให้ สินบนและการคอร์ รัปชัน่ เพื่อป้องกัน การทุจริ ตคอรัปชัน่ ในองค์กร การมอบหมายให้ คณะกรรมการจริ ยธรรมเป็ นผู้ดาเนินมาตรการหรื อกิจกรรมสร้ างความตระหนักใน เรื่ องดังกล่าวให้ กบั พนักงานและคูค่ ้ า ทังนี ้ ้ ผู้ถือหุ้นสามารถศึกษาแนวปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียได้ จากรายงานพัฒนาความยัง่ ยืน ปี 2558 นอกจากนี ้ บริ ษัทยังเน้ นการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ เสียเพื่อช่วยกันตรวจสอบความโปร่งใสในการดาเนินธุรกิจ การประพฤติ ตามนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ประมวลจริ ยธรรม ตลอดจนแนวปฏิบตั ิเรื่ องการต่อต้ านการทุจริ ตคอรัปชัน่ โดยผู้ที่พบเห็น การละเมิด ถ้ าเป็ นพนักงานในบริ ษัทจะสามารถแจ้ งผ่านช่องทางประมวลจริ ยธรรมธุรกิจออนไลน์ (Ethic Online) และระบบการให้ ข้ อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต (Whistle Blowing) สาหรับผู้มีสว่ นได้ เสียภายนอก สามารถแจ้ ง การพบเห็นดังกล่าวต่อ คณะกรรมการบริ ษัทผ่านช่องทางของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ที่ AuditCommittee@ais.co.th ทังนี ้ ้ เรื่ องที่ถกู แจ้ งเข้ ามาจะถูก นาเข้ าสู่กระบวนการตรวจสอบข้ อเท็จจริ งต่อไปและผู้รายงานจะได้ รับการคุ้มครองจากบริ ษัทอย่างดีที่สดุ โดยผู้ถือหุ้นสามารถ ศึกษาข้ อมูลเพิ่มเติมได้ จาก “นโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล (Whistle Blower Policy)” ซึง่ เผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์บริ ษัทที่ http://investor.ais.co.th

ส่วนที่ 2 | หน้ า 29


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่ งใส 1. บริ ษัทให้ ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัท ทังข้ ้ อมูลทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินแก่ผ้ ถู ือหุ้นและผู้ลงทุน เช่น ข้ อบังคับบริ ษัท หนังสือบริ คณห์สนธิ นโยบายการบริ หารความเสีย่ ง ข้ อมูลงบการเงิน และบทวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ฯลฯ อย่างถูกต้ อง เพียงพอ ทันเวลา เท่าเทียม และเป็ นไปตามกฎหมายและกฏระเบียบต่างๆ ทังนี ้ ้ เพื่อส่งเสริ มความเชื่อมัน่ ของผู้ ลงทุนเกี่ยวกับความเชื่อถื อได้ และซื่อตรงของบริ ษัท โดยส่วนหนึ่งได้ จดั ทานโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศเพื่อบังคับใช้ แก่ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย 2. บริ ษัทมีสว่ นงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพื่อเป็ นตัวแทนในการสื่อสารข้ อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ให้ แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้มีสว่ นได้ เสีย และมีสว่ นงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน (Compliance) เพื่อดูแล การเปิ ดเผยข้ อมูลที่สาคัญของบริ ษัทผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์บริ ษัท เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ รายงานประจาปี เป็ นต้ น โดยการสือ่ สารข้ อมูลและการเปิ ดเผยข้ อมูลจะยึดหลักตามนโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศและนโยบายการกากับดูแลกิจการ ของบริ ษัท ทังนี ้ ้ ช่องทางในการติดต่อส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ และส่วนงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน มีดงั นี ้ โทรศัพท์ (66) 2029 5117 โทรสาร (66) 2029 5165 E-mail: investor@ais.co.th Website: http://investor.ais.co.th 3. บริ ษัทกาหนดช่วงเวลางดติดต่อสือ่ สารกับนักวิเคราะห์และนักลงทุน เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับผลประกอบการของบริ ษัทในแต่ละ ไตรมาส (Silent period) โดยครอบคุลมถึงการให้ ข่าวและการเปิ ดเผยข้ อมูลเชิงการเงินต่อสาธารณะของทังผู ้ ้ บริ หารและ เจ้ าหน้ าที่หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ล่วงหน้ าเป็ นเวลา 30 วัน ก่อนวันประกาศผลประกอบการรายไตรมาสและรายปี เพื่อ หลีกเลีย่ งการให้ ข้อมูลอย่างไม่เป็ นธรรมซึง่ อาจนาไปสูผ่ ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์บริ ษัท การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการเห็นถึงความสาคัญของการมีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ หารความเสี่ยงที่ดี เป็ น สิง่ จาเป็ นในการปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของบริ ษัท จึงได้ กาหนดให้ มีนโยบาย มาตรการ และหน่วยงานกากับ ดูแล โดยผู้ถือหุ้นสามารถดูรายละเอียดได้ ทหี่ วั ข้ อ “บริ หารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน” หน้ า 36 จริยธรรมธุรกิจ บริ ษัทส่งเสริ มให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ปฏิบตั ิงานและตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจใดๆ ของบริ ษัทอย่างโปร่ งใส ตรงไปตรงมา เป็ นไปตามกฎหมาย ยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริ ยธรรม จึงได้ จัดทาประมวลจริ ยธรรมธุรกิจเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของ นโยบายการกากับดูแลกิจการ ให้ เป็ นแนวทางและมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานของทุกคนในองค์กร โดยได้ มีการเผยแพร่ ข้อมูล ให้ กบั ผู้บริ หารและพนักงานได้ ทาความเข้ าใจผ่านช่องทางอินทราเน็ตในหน้ า AIS Ethics (ประมวลจริ ยธรรมทางธุรกิจ) พร้ อมทัง้ พนักงานทุกคนต้ องลงนามรับทราบจริ ยธรรมธุรกิจนี เ้ มื่อเข้ าเป็ นพนักงานใหม่และมีหน้ าที่รับทราบ ทาความเข้ าใจเมื่อประมวล จริ ยธรรมธุรกิจดังกล่าวมีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ บริ ษัทจะดาเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ ทราบผ่านช่องทางต่างๆ ของบริ ษัทที่พนักงาน สามารถเข้ าถึงได้ รวมถึงได้ มีการวางแนวทางเพื่อให้ การปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรมธุรกิจกลายเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและ นโยบายระดับองค์กร ทังนี ้ ้ ผู้ถือหุ้นสามารถศึกษารายละเอียดของประมวลจริ ยธรรมธุรกิจฉบับเต็มได้ ที่ http://investor.ais.co.th คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ ถกู แต่งตังขึ ้ ้นตังแต่ ้ ปี 2549 เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานด้ านจริ ยธรรมให้ มีประสิทธิ ภาพ สอดคล้ องกับนโยบายการกากับดูแลกิ จการ รวมทัง้ สร้ างความตระหนักและรณรงค์ ให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานต้ อง ปฏิบตั ิงานด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและคานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษัทและผู้มีส่วนได้ เสียเป็ นหลัก โดยในปี 2558 ที่ผ่านมา คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตอ่ ไปนี ้ ส่วนที่ 2 | หน้ า 30


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

1) การจัดให้ มีการรณรงค์ให้ ผ้ บู ริ หาร พนักงานและคูค่ ้ าตระหนักถึง ความสาคัญของจริ ยธรรมธุรกิจ การปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานให้ กบั บริ ษัทอาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ จริ ยธรรมธุรกิจซึง่ ได้ ดาเนินการรณรงค์เพื่อให้ ผ้ บู ริ หาร พนักงานและคู่ค้าตระหนักถึงความสาคัญของจริ ยธรรมธุรกิจ และได้ มีการ เพิ่มการรณรงค์แบบการสร้ างจิตสานึก เพื่อปลูกฝั งค่านิยมให้ พนักงานสามารถใช้ วิจารณญาณของตนเองพิจารณาได้ ว่า สมควร ปฏิบตั ิอย่างไร โครงการรณรงค์ได้ ดาเนินการในหลากหลายวิธีการ ได้ แก่ - การทาความเข้ าใจกับผู้บริ หารและพนักงานโดยการบรรยายและตอบข้ อซักถามในห้ องประชุม - การรณรงค์ด้วยวิธีการสือ่ สารกับพนักงานในวงกว้ างผ่านสือ่ โปสเตอร์ ซงึ่ ติดไว้ ในที่สาธารณะต่างๆ ภายในบริ ษัท - การส่งหนังสือถึงคู่ค้าต่างๆ ของบริ ษัทให้ ตระหนักถึงนโยบายของบริ ษัทที่ไม่สนับสนุนให้ พนักงานรับของขวัญ ของกานัล และ/หรื อรับการเลี ้ยงรับรองที่เกินกว่าเหตุหรื อไม่เหมาะสม ภายหลังจากโครงการดังกล่าวสิ ้นสุดลง คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ กาหนดแนวทางการประเมินความเข้ าใจของพนักงาน ต่อประมวลจริ ยธรรมธุรกิจที่ได้ ดาเนินการรณรงค์ โดยจะจัดให้ มีการตอบแบบสอบถามผ่านช่องทางสื่อสารภายในบริ ษัทเพื่อ ประเมินความเข้ าใจของพนักงานในจริ ยธรรมธุรกิจและประสิทธิภาพของแนวทางและวิธีการการรณรงค์เพื่อปรับปรุ งแนวทางการ ส่งเสริ มให้ พนักงานตระหนักถึงจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทในปี ต่อไป โดยในปี 2558 พนักงานและผู้บริ หารได้ ให้ ความร่ วมมือในการ ตอบแบบสอบถามในอัตราร้ อยละ 96.04 ของพนักงานทังหมด ้ โดยผลคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 88.2 จากคะแนนรวมทังหมด ้ ซึ่ง สูงกว่าเป้าหมายที่ตงไว้ ั ้ ทรี่ ้ อยละ 80 จากคะแนนรวมทังหมด ้ นอกเหนือจากการรณรงค์ดังกล่าวข้ างต้ นแล้ ว คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิ จยังได้ สร้ างช่องทางเพื่อให้ พนักงานสามารถ สอบถามข้ อ สงสัย ต่ า งๆ ที่ ต นได้ พ บเห็ น ในระหว่ า งการปฏิ บัติ ง านอัน เกี่ ย วกับ ประมวลจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เพื่ อ ให้ คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ ชี ้แจง ผ่าน E-mail: aisbusinessethics@ais.co.th 2) การสอบสวนลงโทษผู้ที่ละเมิดจริ ยธรรมธุรกิจ การบังคับใช้ ประมวลจริ ยธรรมธุรกิจกับผู้ที่ละเมิดเป็ นเรื่ องที่หลีกเลีย่ งมิได้ และมีความสาคัญเพื่อจรรโลงไว้ ซงึ่ ธรรมาภิบาลของ บริ ษัทในการดาเนินธุรกิจ โดยได้ กาหนดให้ มีบทลงโทษ และมาตรการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูลเรื่ องการปฏิบตั ิที่อาจขัดต่อ จริ ยธรรม ธุรกิจเป็ นข้ อความแนบท้ ายประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

โดยในปี 2558 มีการละเมิดจริ ยธรรมธุรกิจ 2 กรณี ดังนี ้ กรณีท่ ี

ข้ อมูลการกระทาผิด

แนวทางการดาเนินการ

1

พนักงานใช้ ตาแหน่งหรื ออานาจหน้ าที่ ในการว่าจ้ าง หน่วยงานตรวจสอบภายใน และหน่วยงานบริ หาร บริ ษัทของญาติมาทาการรับเหมางานจากบริ ษัท โดยไม่ ทรัพยากรบุคคล ร่ วมกันสอบสวน และเมื่อปรากฎ แจ้ งให้ บริ ษัททราบ โดยมีเจตนาเพื่อปกปิ ดการมีสว่ นได้ ว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีการลงโทษทางวินยั กับพนักงาน ส่วนเสีย

2

ผู้กระทาผิดตามระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัท

พนักงานร่ วมกับบุคคลภายนอกแสวงหาประโยชน์จาก หน่วยงานตรวจสอบภายใน และหน่วยงานบริ หาร เจ้ า ของที่ ดิ น ที่ ต กลงท าสัญ ญาให้ บ ริ ษั ท เช่ า ที่ ดิ น เพื่ อ ทรัพยากรบุคคล ร่ วมกันสอบสวน และเมื่อปรากฎ ก่อสร้ างสถานีฐาน โดยมีพฤติการณ์ร่วมกันเรี ยกเก็บเงิน ว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีการลงโทษทางวินยั กับพนักงาน ผู้กระทาผิดตามระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัท ค่านายหน้ าในการทาสัญญาเช่าที่ดิน

9.3 นโยบายต่ อต้ านการให้ หรือรับสินบน และการคอร์ รัปชั่น บริ ษัทยึดมัน่ ที่จะดาเนินธุรกิจด้ วยความซื่อสัตย์ โปร่ งใส และเป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี บริ ษัทต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ ทุกรู ปแบบด้ วยตระหนักดีว่าการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ นัน้ เป็ นภัยร้ ายแรงที่ทาลาย การแข่งขันอย่างเสรี และเป็ นธรรม รวมทังก่ ้ อให้ เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ ตระหนักถึงความสาคัญและพิจารณากาหนดนโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ เพื่อเป็ นอีกหนึ่งแนวทางใน การปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัท ให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิ อีกทัง้ เพื่อป้องกันมิให้ บริ ษัทฯ อันรวมไปถึงกรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้ อง ฝ่ าฝื นกฎหมายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชั่น โดยได้ เผยแพร่นโยบายไว้ ใน http://investor.ais.co.th 9.4 การเป็ นสมาชิกของแนวร่ วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่ อต้ านทุจริต ตามที่บริ ษัทได้ ลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์เพื่อเข้ าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านทุจริ ต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption - CAC) เพื่อร่ วมแสดงเจตนารมณ์ต่อต้ าน การคอรั ปชั่น และไม่ยอมรั บให้ มีการเกิ ดการทุจริ ตใดๆ ขึน้ จากการดาเนินธุรกิ จของบริ ษัทหรื อจากการปฏิบัติงานในองค์ กร เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2556 บริ ษัทมุ่งมัน่ ในการดาเนินธุรกิจด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต และโปร่ งใส เป็ นไปตามกฏหมายทังหมดที ้ ่ เกี่ยวข้ องกับการต่อต้ านการให้ สนิ บนและการคอร์ รัปชัน่ และการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษัท เนื่องจากการทุจริ ตในองค์กรเป็ น ประเด็นความเสีย่ งต่อการดาเนินธุรกิจให้ เติบโตอย่างยัง่ ยืนของบริ ษัท โดยบริ ษัทตระหนักและยึดมัน่ ในการต่อต้ านการคอร์ รั ปชัน่ ในทุกรู ปแบบและไม่มีข้อยกเว้ น ตลอดจนไม่เข้ าไปมีส่วนร่ วมในการคอร์ รัปชั่นทังทางตรงและทางอ้ ้ อม กรรมการ ผู้บริ หารและ พนักงานทุกคนจะต้ องยึดถือและต้ องปฏิบตั ิตาม นอกจากนี ้บริ ษัทยังรณรงค์สื่อสารและให้ ความรู้ กบั ผู้เกี่ยวข้ องทังภายในองค์ ้ กร และภายนอกองค์กรอย่างต่อเนื่องผ่านทางคณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจ ทังนี ้ ้ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2558 บริ ษัทได้ ดาเนินการยื่น เอกสารเพื่อขอรับการรับรองเข้ าเป็ นแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านทุจริ ต และบริ ษัทได้ รับหนังสือแจ้ งอย่างเป็ น ทางการเพื่อรับรองฐานะสมาชิก ในวันที่ 22 มกราคม 2559

ส่วนที่ 2 | หน้ า 32


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

9.5 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม คณะกรรมการบริ ษัทได้ กากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของ บริ ษัท ดังนี ้ 1. ส่งเสริ มให้ บริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วมนาหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีมาปฏิบตั ิ 2. คณะกรรมการบริ ษัทคัดเลือกบุคคลเป็ นตัวแทนของบริ ษัทเข้ าไปเป็ นกรรมการ และผู้บริ หารในบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วม ตามสัดส่วนของการถือหุ้น เพื่อควบคุมดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อย ตามสัดส่วนการถือครองหุ้นของบริ ษัท 3. กากับดูแลโดยผ่านกรรมการตัวแทนและผู้บริ หาร และนโยบายที่กาหนดโดยบริ ษัทใหญ่ 4. พิจารณาเรื่ องที่มีความสาคัญ เช่น กลยุทธ์ แผนธุรกิจ การเพิ่มทุนหรื อลดทุน การเลิกบริ ษัท รวมทังนโยบายที ้ ่สาคัญ ต่างๆ 5. ติดตามผลการดาเนินงาน โดยฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทของบริ ษัท 6. ดูแลให้ บริ ษัทย่อย และบริ ษัทร่ วมปฏิบตั ิตามกฏระเบียบที่เกี่ ยวข้ องของหน่วยงานกากับดูแล ได้ แก่ การทารายการ ระหว่างกัน การได้ มาและจาหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและทันเวลา รวมทังดู ้ แลให้ มีการ จัดทาบัญชีและรายงานทางการเงินถูกต้ องตามที่ควร ตามกฏหมายที่เกี่ยวข้ องและมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 7. การพิจารณาทาธุรกรรมใดๆ ของบริ ษัทย่อยที่มีนยั สาคัญต่อการดาเนินธุรกิจหรื อฐานะการเงินของบริ ษัท ได้ กาหนดให้ ธุรกรรมดังกล่าวต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการของบริ ษัทใหญ่ทกุ ครัง้ 8. ตรวจสอบโดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีการควบคุมภายในที่กาหนดไว้ เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 9. การเปิ ดเผยข้ อ มูลทางการเงิ น และผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ได้ ว่ า จ้ างผู้สอบบัญ ชี จ ากส านัก งาน สอบบัญชีเดียวกันกับบริ ษัทเพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบและรวบรวมข้ อมูลทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินมาเปิ ดเผยใน งบการเงินรวมของบริ ษัท ทังนี ้ ้ รายละเอียดของการดารงตาแหน่งของกรรมการและผู้บริ หารในบริ ษัทย่อย ปรากฎตามเอกสารแนบ 2 9.6 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษั ท ให้ ความส าคั ญ กั บ การดู แ ลการใช้ ข้ อมู ล ภายในให้ เป็ นไปตามหลัก การก ากั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี โดยยึ ด มั่น ใน หลักธรรมาภิบาล ความซื่อสัตย์สจุ ริ ตในการดาเนินธุรกิจ และเพื่อให้ แน่ใจว่านักลงทุนในหลักทรัพย์ของบริ ษัทได้ รับสารสนเทศที่ เชื่อถือได้ อย่างเท่าเทียมและทันท่วงที จึงได้ กาหนดระเบียบการกากับดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน และระเบียบการซื ้อขายหลักทรัพย์ ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ให้ สอดคล้ องกับกฎหมายที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ และมุ่งเน้ นความโปร่ งใสในการประกอบ ธุรกิจ สรุปสาระสาคัญได้ ดงั นี ้ • กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกระดับต้ องไม่ใช้ ข้อมูลภายในของบริ ษัทที่มีสาระสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของ หลักทรัพย์ที่ยงั มิได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชนหรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัท อันนามาซึ่งผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น โดยควรหลีกเลี่ยงหรื องดการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทในช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิ ดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน • บริ ษัทมีหน้ าที่เปิ ดเผยสารสนเทศเกี่ยวกับการดาเนินงานที่สาคัญของบริ ษัทให้ สาธารณชนทราบโดยทันทีและอย่างทัว่ ถึง โดยผ่านสื่อและวิธีการของตลาดหลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย และนโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัท รวมถึงผ่าน สื่อ อื่ น ๆ ของฝ่ ายนัก ลงทุน สัม พัน ธ์ และประชาสัม พัน ธ์ เพื่ อ ให้ แ น่ใ จว่า ข้ อมูลข่า วสารได้ เ ข้ า ถึ ง นักลงทุน ทุก กลุ่ม อย่างทันท่วงทีและเท่าเทียม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 33


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี •

2558

กรรมการและผู้บริ หาร มีหน้ าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษัทของตน คู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุ นิติภาวะ ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และรายงานถือครองหลักทรัพย์ที่ออกโดย บริ ษัทต่อคณะกรรมการบริ ษัทเป็ นประจาทุกไตรมาส บริ ษัทมีกฎระเบียบการรักษาความปลอดภัยทางด้ านระบบคอมพิวเตอร์ และข้ อมูลสารสนเทศอย่างเข้ มงวด เพื่อป้องกัน ไม่ให้ ข้อมูลข่าวสารที่สาคัญถูกเปิ ดเผย กรณีที่กรรมการ ผู้บริ หารหรื อพนักงานนาข้ อมูลภายในของบริ ษัท ไปใช้ ในทาง มิชอบ บริ ษัทได้ กาหนดบทลงโทษหากผู้ใดฝ่ าฝื นจะถือเป็ นความผิดอย่างร้ ายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินยั และตามที่ กฎหมายกาหนด ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ มีนโยบายในการหลีกเลี่ยงการคาดการณ์ในอนาคต หรื อให้ ความคิดเห็นใดๆ เกี่ยวกับข้ อมูลที่มี ระยะเวลาล่วงหน้ าต่ากว่า 6 เดือน เพื่อให้ เป็ นไปตามนโยบายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหลักสากล ทังนี ้ ้ นักลงทุนยังคงสามารถพบปะพูดคุยกับเจ้ าหน้ าที่นกั ลงทุนสัมพันธ์เพื่อสอบถามความคิดเห็นและมุมมองต่อธุรกิจในระยะ ยาว ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์จะประกาศช่วงเวลางดติดต่อกับนักลงทุนเป็ นเวลา 1 เดือนล่วงหน้ าก่อนวันการเปิ ดเผยงบการเงิน ต่อสาธารณชน โดยในช่วงเวลางดติดต่อกับนักลงทุนนัน้ บริ ษัทจะงดการตอบคาถามที่เกี่ยวข้ องกับผลประกอบการและ การคาดการณ์ ทังนี ้ ้ยกเว้ นในกรณีที่เป็ นการตอบคาถามต่อ ข้ อเท็จจริ งหรื อชี ้แจงข้ อมูลที่ได้ มีการเปิ ดเผยแล้ ว หรื อชี ้แจง เหตุการณ์ขา่ วสารใดๆ ที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น หรื อสอบถามมุมมองต่อธุรกิจในระยะยาวเท่านัน้ โดยบริ ษัทจะงดการ จัดประชุมกับนักวิเคราะห์หรื อผู้ลงทุนในช่วงเวลาดังกล่าว หรื อหากมีความจาเป็ นการนัดประชุม ในช่วงเวลาดังกล่าว แล้ ว จะมีการกล่าวถึงการดาเนินธุรกิจในระยะยาวเท่านัน้

บริ ษัทได้ จัดทานโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลซึ่งระบุขนตอนในการเปิ ั้ ดเผยข้ อมูลในเรื่ องต่างๆ ไว้ อย่างเป็ นทางการ นโยบาย ดังกล่าวพัฒนาบนหลักการที่ว่า การเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทจะต้ องสอดคล้ องกับแนวปฏิบตั ิของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ อีกทังข้ ้ อมูลที่เปิ ดเผยต้ องมีความถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลาและสม่าเสมอไม่วา่ ข้ อมูลเหล่านันจะเป็ ้ นเรื่ องบวกหรื อลบต่อบริ ษัทต่อ นักลงทุนหรื อตลาดทุน ข้ อมูลที่มีความสาคัญและปกติมิได้ เปิ ดเผยเป็ นการทัว่ ไปจะถูกเปิ ดเผยอย่างเท่าเทียมให้ กบั ผู้ลงทุนทุกราย นโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลดังกล่าวจะทาให้ บริ ษัทมีมาตรฐานการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ดีได้ มาตรฐาน และส่งเสริ มให้ เกิ ดตลาดมี ประสิทธิภาพในการรับรู้ข้อมูลอย่างเท่าเทียม 9.7 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ในปี 2558 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ดังนี ้  ค่าสอบบัญชี และค่าสอบทานรายไตรมาสของบริ ษัทจานวน 4.48 ล้ านบาท ค่าสอบบัญชี และค่าสอบทานรายไตรมาสของ บริ ษัทย่อย จานวนทังสิ ้ ้น 4.96 ล้ านบาท  ค่าตอบแทนของงานบริ ษัทอื่น (Non-audit fee) ของบริ ษัทให้ สานักงานสอบบัญชีที่ผ้ ส ู อบบัญชีสงั กัด จานวน 4.16 ล้ าน บาท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 34


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

10. การดาเนินธุรกิจอย่ างยั่งยืน ภายใต้ การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคมที่รวดเร็ ว ส่งผลถึงการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการใช้ งานและความ ต้ องการของผู้บริ โภคในการใช้ งานที่ตอบโจทย์วิถีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิม และก่อให้ เกิดสภาวะการแข่งขันที่หมุนเปลี่ยนรู ปแบบ มากขึ ้น ส่งผลต่อบริ ษัทในการเปลี่ยนแปลงของผู้มีสว่ นได้ เสียที่ขยายวงออกไปยังหลากหลายอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง สิง่ สาคัญที่จะทาให้ บริ ษัทสามารถดาเนินธุรกิจได้ เติบโตอย่างยัง่ ยืน คือ การได้ รับการยอมรับจากผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย เราจึงให้ ความสาคัญในการกาหนดกลยุทธ์ และทิศทางการดาเนินธุรกิจ ที่ยืนอยู่บนพื ้นฐานขององค์ประกอบ 3 สิ่ง คือ การเติบโตทางธุรกิจด้ วยการบริ หารงานตามหลักธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม และ การผลิตสินค้ าและบริ การ ที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม เราได้ จัดทารายงานพัฒนาความยัง่ ยืน (AIS Sustainability Report) มาตังแต่ ้ ปี 2555 ตามกรอบการรายงานสากล (Global Reporting Initiatives: GRI) โดยรายงานเล่มปี 2558 นี ้ เป็ นเล่มที่ 4 ตามกรอบ GRI เวอร์ ชนั่ G4 เพื่อแสดงให้ ผ้ ถู ือหุ้น ทราบถึงแนวทางการดาเนินงานตามกลยุทธ์ที่จะทาให้ เราพัฒนาและเติบโตอย่างยัง่ ยืน ประเด็นที่เราและผู้มีสว่ นได้ เสียมองว่ามี นัยสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจและการบริ หารจัดการ อันจะทาให้ เราสามารถส่งมอบผลตอบแทนให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ อย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้ สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ ทงจากรายงานที ั้ ่เป็ นรูปเล่ม และบนเว็บไซต์ http://investor.ais.co.th

ส่วนที่ 2 | หน้ า 35


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

11. การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การบริ หารความเสี่ยงเป็ นกระบวนการสาคัญที่จะช่วยส่งเสริ มให้ บริ ษัทสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของ องค์กร รวมทังสามารถตอบสนองความต้ ้ องการของผู้มีสว่ นได้ เสียต่างๆได้ อย่างเหมาะสม บริ ษัทมีการดาเนินงานตามนโยบายและ กรอบแนวทางการบริ หารความเสี่ยงแบบทัว่ ทังองค์ ้ กร (Enterprise Risk Management: ERM) ซึ่งครอบคลุมทังในระดั ้ บองค์กร และระดับปฏิบตั ิงาน เพื่อบริ หารจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทังก ้ าหนดให้ พนักงานมีการวัดประสิทธิผลของ การควบคุมด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) ซึง่ เป็ นการส่งเสริ มให้ พนักงานมีความรับผิดชอบในการประเมินความ เสีย่ ง และพัฒนาระบบการควบคุมภายในด้ วยตนเองอย่างต่อเนื่อง รวมทังก ้ าหนดกรอบโครงสร้ างและกระบวนการบริ หารความ เสีย่ ง อ้ างอิงตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ทังนี ้ ้ รายละเอียดเพิ่มเติมในเรื่ องการประเมินความเสีย่ ง สามารถศึกษาได้ จากหน้ า 41 - 42 กรอบโครงสร้ างและกระบวนการบริหารความเสี่ยงของเอไอเอส 1.กาหนด

วัตถุประสงค์หรือ เป้าหมาย 6.ติดตามและรายงาน ผลอย่างสม่าเสมอ

2.ระบุเหตุการณ์หรื อ

ปั จจัยเสี่ยง

5.กาหนดกิจกรรม ควบคุม

3.ประเมินความเสี่ยง

4. ตอบสนองต่อ ความเสี่ยง

กระบวนการบริ หารความเสีย่ ง ประกอบด้ วย 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ในระดับบริษัท และหน่วยงานให้ สอดคล้ องกับความเสีย่ งที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ซึง่ กาหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัท และมีการทบทวนความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ในการดาเนินงานเป็ นประจาทุกปี 2. การระบุเหตุการณ์หรื อปั จจัยเสีย่ ง ที่อาจจะเกิดขึ ้นแล้ วส่งผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายของ บริ ษัท ทังที ้ ่เกิดจากปั จจัยภายใน เช่น กระบวนการทางาน บุคลากร และปั จจัยภายนอกต่างๆ เช่น ความต้ องการของ ลูกค้ า ปั จจัยทางด้ านเศรษฐกิจและการเมือง การเปลีย่ นแปลงกฎ ระเบียบต่างๆ เป็ นต้ น 3. การประเมินระดับความเสีย่ งโดยพิจารณาจากผลกระทบของความเสีย่ ง และโอกาสที่จะเกิดความเสีย่ งนันๆ ้ 4. การตอบสนองต่อความเสีย่ ง ด้ วยวิธีการที่เหมาะสมโดยคานึงถึงต้ นทุนและผลประโยชน์ที่จะได้ รับจากการดาเนินการ 5. การกาหนดกิจกรรมควบคุม หรื อแผนงานเพื่อจัดการความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 6. การติดตามให้ มีการดาเนินการตามกิจกรรมควบคุมที่ได้ กาหนดไว้ อย่างเหมาะสม และมีการรายงานผลการบริ หาร ความเสีย่ งให้ กบั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจา ส่วนที่ 2 | หน้ า 36


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ทังนี ้ ้ บริ ษัทได้ จดั ให้ มีคณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งที่ประกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงจากแต่ละสายงาน และมีประธาน กรรมการบริ หาร เป็ นประธาน เพื่อทาหน้ าที่รับผิดชอบในการกาหนดนโยบายและวางกรอบแนวทางการบริ หารความเสี่ยงของ องค์กร รวมทังพิ ้ จารณาแจกแจงความเสี่ยงขององค์กร ประเมินและจัดอันดับความเสี่ ยง กาหนดแนวทางการบริ หารความเสี่ยง มอบหมายผู้รับ ผิดชอบเพื่อจัด ให้ มีมาตรการควบคุม และจัด การความเสี่ย งให้ อยู่ในระดับที่ยอมรั บได้ เพื่อให้ สามารถบรรลุ เป้าหมายและกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ และเพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ผู้ถือหุ้นและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย โดยโครงสร้ างการกากับดูแลเรื่ องการบริ หารความเสีย่ ง เป็ นดังนี ้

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รั บผิดชอบในการนานโยบาย และกรอบการบริ หารความเสี่ยงไปประยุกต์ ใช้ ทวั่ ทังองค์ ้ กร ผ่า นทางผู้บ ริ หารของแต่ละสายงาน และพนัก งานทุก ระดับ ในการก าหนดวัต ถุประสงค์ ระบุและจัด การความเสี่ย งภายใต้ ความรั บผิดชอบของแต่ละสายงาน ซึ่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารยังมีการติดตามให้ เกิ ดการนาไปใช้ อย่างมีประสิทธิ ภาพและ ประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อการบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ คณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งมีการประชุมเพื่อทบทวนความเสี่ยง และติดตามความสาเร็ จของการบริ หารความเสี่ยง อย่างสม่าเสมอเป็ นประจาทุกไตรมา ซึ่งในปี 2558 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงมี การพิจารณาทบทวนความเสี่ยงครบ ทุกไตรมาส นอกเหนือจากนี ้ คณะกรรมการบริ หารความเสีย่ ง ยังได้ มีการติดตามผลสาเร็ จของการบริ หารความเสีย่ ง โดยพิจารณา จากแผนงานของฝ่ ายจัดการที่รับผิดชอบในปั จจัยความเสี่ยงต่างๆ และผลของการวัดผลที่เชื่ อถือได้ ของการปฏิบัติงานตาม แผนงาน และในการประชุมทุกครัง้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงจะกาหนดให้ ฝ่ายจัดการที่รับผิดชอบรายงานผลการบริ หาร ความเสี่ยงที่ได้ แจกแจงไว้ จากรอบการประชุมครั ง้ ก่อน รวมทัง้ มีการพิจารณาว่าระดับความเสี่ยง มีการเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ ทังนี ้ ้เพื่อให้ การบริ หารความเสีย่ งมีประสิทธิผลอย่างแท้ จริ ง

ส่วนที่ 2 | หน้ า 37


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ นาเสนอผลการบริ หารความเสี่ยงให้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทได้ รับทราบเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อให้ มีการติดตามอย่างใกล้ ชิด และมัน่ ใจได้ วา่ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับ ที่ยอมรับได้ รวมทังบริ ้ ษัทสามารถบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ในปี 2558 บริ ษัทได้ จดั อบรมให้ ความรู้ในเรื่ องการบริ หารความเสี่ยงให้ กบั บุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้ สามารถ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ให้ เกิดกระบวนการบริ หารความเสี่ยงภายใต้ งานที่ตนเองรับผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยแบ่งเป็ น  หลักสูตรสาหรั บผู้ประสานงานการบริ หารความเสี่ยงประจาหน่ วยงานต่ างๆ โดยการเรี ยนรู้ ในห้ องเรี ยน และ ทดลองฝึ กปฏิบตั ิ เพื่อให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจ ในกระบวนการบริ หารความเสี่ยง สามารถนาความรู้ ที่ได้ รับไปปฏิบตั ิ เพื่ อให้ เ กิ ด กระบวนการบริ หารความเสี่ย งภายในหน่ว ยงาน รวมทัง้ สามารถถ่ ายทอดความรู้ ให้ กับผู้ร่ว มงาน และ ผู้ใต้ บงั คับบัญชาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ในปี 2558 มีผ้ ผู า่ นการอบรม จานวน 126 คน  หลั ก สู ต รส าหรั บ พนั ก งานในระดั บ ผู้ ช านาญการ และผู้ จั ด การ โดยการการเรี ย นรู้ ผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ (e-Learning) เพื่อให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจในกระบวนการบริ หารความเสี่ยง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ กับงาน ภายใต้ ความรับผิดชอบของตนเองได้ โดยในปี 2558 มีผ้ เู ข้ าเรี ยนและผ่านการประเมินผล จานวน 406 คน  การถ่ ายทอดความเข้ าใจ (Knowledge Sharing) ให้ กับผู้บริ หาร เพื่อสื่อสารกรอบการบริ หารความเสี่ยง และ แผนการดาเนินการในเรื่ องนี ้ของบริ ษัท เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารสามารถนากระบวนการบริ หารความเสี่ยงไปดาเนินการให้ เกิดขึ ้น ภายใต้ หน่วยงานที่กากับดูแล ตลอดจนสามารถดาเนินการให้ สอดคล้ องกับแนวทางที่หน่วยงานภายนอก ใช้ ในการ กากับดูแลบริ ษัท การบริหารความต่ อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ (Business Continuity Management) บริ ษัทมีการบริ หารจัดการเพื่อรับมือหากเกิดเหตุการณ์ต่างๆ เช่นกรณีที่เกิดภัยพิบตั ิ ภัยธรรมชาติ หรื อเหตุการณ์ความ ผิดพลาดต่างๆที่ไม่อยูใ่ นความควบคุม ซึง่ เหตุการณ์ดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบให้ เกิดการหยุดชะงักของระบบปฏิบตั ิงานหลัก และ อาจก่อให้ เกิดความสูญเสีย เสียหายต่อทรัพย์สนิ และบุคลากร โดยจัด ให้ มีค ณะกรรมการบริ หารความต่อ เนื่ องทางธุร กิ จ (Business Continuity Management Committee) ประกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงของแต่ละสายงาน โดยมีประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นประธาน เพื่อกากับดูแลให้ การบริ หารความ ต่อเนื่องของธุรกิจเป็ นไปอย่างมีประสิทธิผลและยัง่ ยืน กระบวนการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ จะประกอบไปด้ วย 4 กระบวนการหลัก ดังนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 38


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

1. การออกแบบและจัดทาแผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจ: นาเป้าหมายด้ านการบริ หารความต่อเนื่องในการดาเนินธุรกิจ ของกระบวนธุรกิจหลัก มาออกแบบและจัดทาแผน ความต่อเนื่องทางธุรกิจที่สามารถรองรับภัยพิบตั ิที่อาจเกิดขึ ้น 2. การนาแผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจไปปฏิบัติ: นาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจที่อนุมตั ิแล้ วไปดาเนินการตามระบุในแผนงาน และการแจกจ่ายแผน บริ หาร ความต่อเนื่องทางธุรกิจพร้ อมทาความเข้ าใจกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง 3. การซ้ อมแผน และทาให้ แผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจเป็ นปั จจุบัน: จัดการฝึ กซ้ อมแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจตามกาหนดเวลาและเป้าหมายที่กาหนดไว้ พร้ อมทาการปรับปรุง แผนงาน ให้ เป็ นปั จจุบนั และรายงานผลการซ้ อมแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ต่อผู้บงั คับบัญชาผู้รับผิดชอบ แผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจนัน้ รวมทังรายงานต่ ้ อคณะกรรมการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ให้ รับทราบ 4. การทบทวน และปรับปรุ งระบบการบริหารความต่ อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ: การปรับปรุ งแก้ ไขการบริ หารจัดการความต่อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้ มีประสิทธิภาพและสอดรับกับ ระดับความเสีย่ งที่บริ ษัทเผชิญอยูใ่ นเวลานัน้ การบริ หารความต่อเนื่องของธุรกิจ ของเอไอเอส กาหนดให้ ผ้ บู ริ หารระดับสูงและหัวหน้ าสายงานที่เกี่ยวข้ อง ต้ องจัดทา แผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ เพื่อรองรับกระบวนธุรกิจหลัก (Critical Business Processes) ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการส่ง มอบบริ การหลัก (Critical Services) และถือเป็ นความรับผิดชอบของผู้บงั คับบัญชาทุกระดับและพนักงานทุกคนที่จะต้ องให้ ความร่ ว มมื อ ในกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ กระบวนการบริ ห ารความต่อ เนื่ อ งทางในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ เช่ น การจัด ท าแผน การจัดเตรี ยมโครงสร้ างพื ้นฐานตามแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึ กซ้ อม และการทบทวนปรับปรุ ง แก้ ไขแผนงานเพื่อให้ มนั่ ใจในประสิทธิผลของแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ในปี 2558 ได้ มีการฝึ กซ้ อมตามแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจในกระบวนการหลัก เช่น การเกิดภาวะฉุกเฉิ น ที่ชุมสายส่งผลให้ โครงข่ายไม่สามารถให้ บริ การได้ รวมทังได้ ้ มีการทบทวน และปรับปรุ งแผนงานให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ ปั จจุบัน และเพื่อให้ มั่นใจว่าบริ ษัทจะสามารถตอบสนองและบริ หารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิ จเมื่อประสบกับเหตุการณ์ ไม่คาดคิดต่างๆได้ อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 39


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน เอไอเอสเล็งเห็นความสาคัญของระบบการควบคุมภายในซึ่งเป็ นกลไกสาคัญต่อการป้องกัน บริ หาร จัดการความเสี่ยง หรื อความเสียหายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ ้นกับบริ ษัทและผู้มีส่วนได้ เสีย ทังนี ้ ้เพื่อให้ สามารถบรรลุผลสาเร็ จของการดาเนินธุรกิจทังใน ้ ด้ านการบริ หารงานที่มีประสิทธิผล โดยมีการใช้ ทรัพยากรและการดูแลรักษาทรัพย์สินอย่างคุ้มค่าปลอดภัย (Operations) มีการ จัดทารายงานทางการเงินและรายงานการปฏิบตั ิงานต่างๆ ด้ วยความถูกต้ องเชื่อถือได้ (Reporting) รวมถึงการปฏิบตั ิตาม กฏหมาย ระเบียบข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด (Compliance) โดยคณะกรรมการบริ ษัทมีการกากับดูแล ให้ บริ ษัทมีการพัฒนาระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีการนามาปฏิบตั ิอย่างจริ งจังอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริ ษัทได้ นาระบบการควบคุมภายในตามกรอบแนวทางการควบคุมภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ซึ่งประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบและ 17 หลักการมา ประยุกต์ใช้ เป็ นแนวทางระบบการควบคุมภายในสาหรับกระบวนการบริ หารงานของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย เพื่อให้ การบริ หารจัดการ อย่างเป็ นมาตรฐานบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ในทุกระดับการปฏิบตั ิงาน ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมีคณะกรรมการอิสระทัง้ 4 ท่าน เข้ า ร่วมประชุมด้ วย คณะกรรมการบริ ษัทได้ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทโดยใช้ แบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทางที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กาหนด โดยผลการประเมินสรุปได้ วา่ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี ้ ผู้สอบบัญชีของบริ ษัท คือ บริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด ซึ่งเป็ นผู้สอบบัญชีภายนอกได้ ประเมิน ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของปี 2558 และให้ ความเห็นว่าบริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเพียงพอ และเหมาะสม ระบบการควบคุมภายในของเอไอเอสประกอบด้ วย 5 องค์ ประกอบและ 17 หลักการ ดังนี ้ สภาพแวดล้ อมภายในองค์กร (Control Environment) คณะกรรมการบริ ษัทตระหนักถึงการมีสภาพแวดล้ อมของการควบคุมภายในที่ดีซึ่ง เป็ นรากฐานเพื่อสนับสนุนให้ เอไอเอสมี ระบบการควบคุม ภายในที่ มีประสิทธิ ผลทั่วทัง้ องค์ กร ซึ่ง เกิ ดจากการส่ง เสริ ม คุณ ค่าความซื่ อตรงและจริ ยธรรม ในการเป็ น แบบอย่างที่ดีทงการประพฤติ ั้ ตนและการปฏิบตั ิงาน ผ่านการบริ หารจัดการตามลาดับสายการรายงาน และการมอบหมายหน้ าที่ ความรับผิดชอบอย่างชัดเจนเพื่อให้ พนักงานสามารถปฏิบตั ิตนได้ ตามที่บริ ษัทคาดหวัง คณะกรรมการบริ ษัทมีความอิสระจากฝ่ ายบริ หาร มีความรู้ ความสามารถอย่างเพียงพอในการกากับดูแลการบริ หารจัดการ โดยจัดโครงสร้ างสายการรายงานแยกเป็ นส่วนปฏิบตั ิงานธุรกิจหลัก ที่มีสว่ นงานตรวจทานคุณภาพการปฏิบตั ิงานแยกต่างหากอีก ลาดับเพื่อให้ เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างกัน โดยการกาหนดและจากัดอานาจการดาเนินการในระดับบริ หารและระดับ ปฏิบตั ิการไว้ อย่างชัดเจน นอกจากนันฝ่ ้ ายบริ หารได้ มีการกาหนดเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ผลการปฏิบตั ิงานที่ชัดเจนจัดทาเป็ นแผน ธุรกิจประจาปี และจัดประชุมแจ้ งผู้บริ หารและพนักงานรับทราบเป็ นประจาทุกปี โดยทุกครึ่งปี จะมีการพิจ ารณาทบทวนเป้าหมาย องค์กรให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์การแข่งขันและเพื่อไม่ให้ เกิดแรงกดดันต่อพนักงานมากเกินไป รวมถึงการแจ้ งผลสาเร็ จการ ปฏิบตั ิงานและการพิจารณาให้ รางวัลตอบแทนที่สอดคล้ องตามข้ อกาหนดแผนธุรกิจของบริ ษัท บุคคลากรของเอไอเอสเป็ นผู้ที่มีค วามรู้ ความสามารถ ความเชี่ ยวชาญที่เหมาะสมเพี ยงพอต่อหน้ าที่ ความรั บผิ ดชอบ คณะกรรมการบริ ษัทมีการกาหนดแผนและกระบวนการสรรหาผู้สืบทอดตาแหน่งที่สาคัญ (Succession Plan) เพื่อให้ บริ ษัท สามารถดาเนินธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการกาหนดนโยบายส่งเสริ มการพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานซึ่งจัดทา ส่วนที่ 2 | หน้ า 40


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

เป็ นกรอบการพัฒนาบุคคลากรตามสายวิชาชีพที่ประกอบด้ วยการฝึ กอบรมด้ านธุรกิจควบคู่กบั ทักษะการบริ หารบุคคลากร (Soft Skill) นอกจากนัน้ บริ ษัทมีการส่งเสริ มการได้ รับวุฒิบตั รทางวิชาชีพ เช่น ระบบความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคนิค วิทยาการทันสมัย เพื่อการปฏิบตั ิงานที่มีคณ ุ ภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล บริ ษัทมุ่งเน้ นให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานมีการปฏิบตั ิตนอย่างชื่อตรงและยึดมัน่ ต่อคุณค่าของจริ ยธรรม จึงได้ จัดทาประมวล จริ ยธรรมธุรกิจ (Code of Business Ethics) เป็ นแนวทางการดาเนินงานหลักที่ผ้ บู ริ หารและพนักงานทุกคนยึดถือปฏิบตั ิเป็ น มาตรฐานเดียวกัน นอกจากนี ้ ยังมีนโยบายการรับแจ้ งข้ อมูลการกระทาผิดและการทาทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้ อมูล (Whistle Blower Policy) ซึ่งได้ จัดทาช่องทางพิเศษสาหรับ การรับแจ้ งข้ อมูลทังภายในและภายนอก ้ นามาตรวจสอบ ข้ อเท็จจริ ง สรุ ปผลการพิจารณาและการปรับปรุ งระบบการควบคุมภายใน รายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบและ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษัท ทังนี ้ ้เพื่อเน้ นย ้าถึงการบริ หารงานที่ยึดมัน่ ต่อความซื่อตรงโปร่ งใส และมีความรับผิดชอบต่อผู้มีสว่ นได้ เสีย ทุกกลุม่ ในแต่ละปี หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการประเมินความเข้ าใจและการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ และรายงานผล ต่ อ คณะกรรมการจริ ยธรรมธุ ร กิ จ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง กระบวนการส่ ง เสริ มจริ ยธรรม รวมทั ง้ รายงานผลการประเมิ น ต่ อ คณะกรรมการบริ หารรับทราบ โดยในปี 2558 หน่วยงานตรวจสอบภายในจัดทาแบบสอบถามผ่านช่องทางการสื่อสารภายใน สอบถาม ผู้บริ หาร พนักงานของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และจัดส่งแบบสอบถามให้ กบั พนักงานภายนอกผู้ให้ บริ การ ( Outsource) และคู่ค้า เพื่อประเมินความเข้ าใจและการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ สรุ ปผลว่าพนักงานที่ประมาณ 11,000 ที่ตอบ แบบสอบถาม มีความเข้ าใจประมวลจริ ยธรรมธุรกิจอย่างเหมาะสม รวมถึงพนักงาน Outsource และ คู่ค้าก็มีความเข้ าใจอย่าง เหมาะสม การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) ด้ วยสภาวการณ์การดาเนินธุรกิจที่มีเหตุการณ์ความไม่แน่นอนเกิดขึ ้น ไม่ว่าจะเกิดจากภายใน หรื อภายนอก ซึ่งอาจเป็ น เหตุการณ์ที่สร้ างโอกาสที่ดี หรื ออาจเป็ นเหตุการณ์ที่ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อบริ ษัท ดังนัน้ เพื่อให้ สามารถดาเนินธุรกิจภายใต้ สภาวะการณ์ที่มีความผันแปรได้ อย่างต่อเนื่อง และบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด เอไอเอสจึงจัดทานโยบายการบริ หาร ความเสีย่ ง ซึง่ กาหนดกรอบแนวทางการบริ หารความเสีย่ ง หน้ าที่และความรับผิดชอบ รวมทังจั ้ ดทาคูม่ ือกระบวนการบริ หารความ เสีย่ งเป็ นแนวทางการบริ หารความเสีย่ งให้ ผ้ บู ริ หาร พนักงาน ทุกระดับ สาหรับบริ หารจัดการความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบตั ิงาน ของตนเองให้ อยูในระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนัน้ ยังได้ จัดทากรอบแนวทางการบริ หารความเสี่ยงด้ านทุจริ ต เป็ นแนวทางการ จัดการความเสีย่ งด้ านทุจริ ตทังจากปั ้ จจัยภายในและปั จจัยภายนอก เอไอเอสกาหนดวัตถุประสงค์การดาเนินงานไว้ ในแผนธุรกิจประจาปี อย่างชัดเจนครอบคลุมทังด้ ้ านรายได้ ค่าบริ การ คุณภาพเครื อข่ายโทรคมนาคม การดูแลลูกค้ า การจัดการด้ านการรับ -จ่ายเงิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล ทรัพย์สินของบริ ษัท และการปฏิบตั ิตามกฏหมาย ข้ อบังคับของหน่วยงานกากับดูแลกิจการที่เกี่ยวข้ อง ฝ่ ายจัดการมี การกาหนดวัตถุประสงค์ทงใน ั้ ระดับหน่วยงาน และระดับปฏิบตั ิงานไว้ อย่างชัดเจน สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ของบริ ษัท สือ่ สารให้ พนักงานรับทราบและมอบหมายหน้ าที่รับผิดชอบที่ชดั เจนทาให้ พนักงานสามารถปฏิบตั ิงานได้ จริ งตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ผู้บริ หารและพนักงานทุกระดับในองค์กร รับผิดชอบในการระบุ ประเมินความเสี่ยง ตามกระบวนการที่กาหนดในคู่มือ กระบวนการบริ หารความเสี่ยง รวมทัง้ กาหนดระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรั บได้ ทงั ้ ระดับองค์ กรและระดับหน่วยงานเพื่อกาหนด มาตรการจัดการที่เหมาะสม และติดตามประเมินผลการจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทังนี ้ ้เพื่อให้ มีการบริ หาร ความเสี่ยงอย่างเป็ นระบบครอบคลุมทุกระดับ มีการแต่งตังผู ้ ้ ประสานงานการบริ หารความเสี่ยง (ERM Facilitator) ประจา หน่วยงาน ซึง่ ได้ รับการอบรมความรู้กระบวนการบริ หารความเสีย่ ง ระบบการควบคุมภายในอย่า งครบถ้ วน ทาหน้ าที่ให้ คาแนะนา ประสานงานการประเมินความเสีย่ งภายในหน่วยงานของตนเอง นามาจัดทาแผนการบริ หารความเสี่ยงของหน่วยงานให้ ผ้ บู ริ หาร ส่วนที่ 2 | หน้ า 41


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ใช้ เป็ นเครื่ องมือในการติดตามผลการดาเนินงาน และเป็ นการสนับสนุนให้ เกิดการควบคุมภายในโดยการประเมินตนเอง (Control Self-Assessment) ทุกกระบวนการปฏิบัติงานในองค์กร โดยแผนการบริ หารความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานต้ องจัดส่งให้ กับ หน่วยงานบริ หารความเสีย่ งขึ ้นทะเบียนเป็ นความเสีย่ งระดับหน่วยงาน การจัดทากรอบการบริ หารความเสีย่ งด้ านทุจริ ตครอบคลุมถึง การกาหนดกระบวนการ หน้ าที่ความรับผิดชอบ วิธีการประเมิน ความเสี่ยงด้ านทุจริ ต และได้ รวบรวมประเด็นความเสี่ยงด้ านทุจริ ตจากปั จจัยภายใน และปั จจัยภายนอก (Fraud Risk Scheme and Scenario – Internal & External Fraud) ซึง่ เป็ นการกาหนดประเภทการทุจริ ตตามกรอบแนวทางของ ACFE ใช้ เป็ นข้ อมูล สาหรับผู้ปฏิบตั ิงานหน่วยงานต่างๆ เช่น Security Team, Fraud Management, หน่วยงานจัดซื ้อ, หน่วยงานบัญชี เป็ นต้ น พิจารณาประกอบการระบุความเสีย่ งด้ านทุจริ ตได้ อย่างครอบคลุมทุกลักษณะ สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในธุรกิจโทรคมนาคม บริ ษัทได้ มีการนามาพิจารณาประกอบการประเมินความเสี่ยงขอ ง บริ ษัทอย่างรัดกุมเพื่อกาหนดแผนจัดการอย่างเหมาะสมทันเวลา ตัวอย่างเช่น คลื่นความถี่ 4G ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่จะมีการ นามาใช้ ในอนาคตอันใกล้ ผู้บริ หารเล็งเห็นว่าเป็ นเหตุการณ์สาคัญอันจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน จึงได้ นามาพิจารณาหารื อ ประเมินความเสีย่ งในระดับองค์กร และได้ กาหนดมาตรการจัดการอย่างเป็ นระบบ การควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Control Activities) เอไอเอสได้ เลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมให้ เหมาะสมสอดคล้ องกับความเสีย่ งและลักษณะเฉพาะของบริ ษัท เช่น สภาพแวดล้ อม ความซับซ้ อนของงาน ลักษณะงาน ขอบเขตการดาเนินงาน และลักษณะเฉพาะอื่นๆ โดยพิจารณารู ปแบบ กิจกรรมการควบคุมที่หลากหลายระหว่างการควบคุมแบบใช้ บคุ คล (Manual Control) และแบบอัตโนมัติ (Automated Control) ซึ่งออกแบบให้ มีกิจกรรมการควบคุมที่ผสมผสานทังแบบป ้ ้ องกัน (Preventive Control) และแบบตรวจพบ (Detective Control) โดยมีการคานึงถึงการแบ่งแยกหน้ าที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้ าน คือ หน้ าที่การอนุมตั ิ หน้ าที่บนั ทึกรายการบัญชีและข้ อมูล สารสนเทศ หน้ าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สนิ ออกจากกันเพื่อให้ มีการตรวจสอบซึง่ กันและกันอย่างเหมาะสม สาหรับกระบวนการปฏิบตั ิงานบนระบบเทคโนโลยี ได้ เลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทัว่ ไปที่หลากหลายและรัดกุม เหมาะสม เพื่อให้ มนั่ ใจว่าระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศของบริ ษัทพร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลา ปลอดภัยจากการเข้ าถึงของ ผู้ที่ไม่ เกี่ยวข้ อง ซึง่ รวมถึงกิจกรรมการควบคุมโครงสร้ างพื ้นฐานระบบสารสนเทศ กิจกรรมการควบคุมด้ านความปลอดภัยในการเข้ าถึง ระบบสารสนเทศ และกิจกรรมการควบคุมกระบวนการพัฒนระบบสารสนเทศ โดยได้ นากิจกรรมการควบคุมจัดทาเป็ นนโยบายและวิธีปฏิบตั ิงานเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ซึ่งระบุ ผ้ รู ับผิดชอบ ระยะเวลา การปฏิบตั ิงาน และวิธีการแก้ ไขหากพบข้ อผิดพลาดไว้ อย่างชัดเจนเพื่อให้ พนักงานสามารถปฏิบตั ิตามกิจกรรมการควบคุมได้ อย่าง ถูกต้ อง รวมถึงมีการทบทวนนโยบายและวิธีปฏิบตั ิให้ มีความเหมาะสมอยูเ่ สมอ บริ ษัทได้ กาหนดนโยบายต่างๆ เพื่อให้ มีการพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมของบริ ษัทที่คานึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทเป็ นสาคัญ โดยถือเสมือนเป็ นรายการที่กระทากับบุคคลภายนอก (At Arms’ Length Basis) โดยมีกระบวนการติดตามดูแลการดาเนินงาน ของบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วม ซึง่ ได้ กาหนดแนวทางให้ บคุ คลที่บริ ษัทแต่งตังให้ ้ เป็ นกรรมการหรื อผู้บริ หารในบริ ษัทย่อยหรื อร่ วมนัน้ ถือปฏิบตั ิ ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้ อมูล (Information & Communication) การใช้ ข้อมูลที่ตรงประเด็นและมีคุณภาพเพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน โดยพิจารณารวบรวมข้ อมูลจากภายในและ ภายนอก บนพื ้นฐานการพิจารณาต้ นทุนและประโยชน์ที่จะได้ รับ โดยใช้ ระบบสารสนเทศในการประมวลผลและจัดเก็บข้ อมูลเพื่อ สนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไปได้ ตามที่กาหนด

ส่วนที่ 2 | หน้ า 42


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

บริ ษัทมีกระบวนการสื่อสารข้ อมูลภายในองค์กร เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ นโยบายและวิธีปฏิบตั ิ งาน หน้ าที่ความรับผิดชอบ ไปยังผู้บริ หารและพนักงานทุกระดับ รวมทังมี ้ การเลือกช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเหมาะสม เช่น จัดให้ มีการสื่อสารผ่าน Intranet ผ่านจดหมายข่าว ผ่านประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารในรายการ ‘CEO Talk Weekly’ รวมทังจั ้ ดให้ มีช่องทางพิเศษให้ พนักงาน สามารถแจ้ งข้ อมูลเกี่ยวกับการกระทาผิดและการทาทุจริ ตแก่บริ ษัทได้ อย่างปลอดภัย เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ยังได้ มีการรายงานข้ อมูลที่สาคัญต่อคณะกรรมการบริ ษัทอย่างสม่าเสมอ โดยคณะกรรมการบริ ษัทสามารถเข้ าถึง แหล่งข้ อมูลสารสนเทศที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ หรื อสอบทานรายการต่างๆ ได้ ตามที่ต้องการ เช่น การกาหนดบุคคลที่เป็ น ศูนย์ติดต่อเพื่อให้ สามารถได้ รับข้ อมูลอื่นๆ นอกเหนือจากผู้บริ หาร รวมทังการติ ้ ดต่อสอบถามข้ อมูลจากผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบ ภายใน การจัดให้ มีการประชุมระหว่างคณะกรรมการและผู้บริ หารตามที่คณะกรรมการร้ องขอ การจัดกิจกรรมพบปะหารื อระหว่าง คณะกรรมการและผู้บริ หารนอกเหนือจากการประชุมคณะกรรมการ เป็ นต้ น บริ ษัทจัดให้ มีกระบวนการสื่อสารข้ อมูลกับผู้มีส่วนได้ เสียภายนอกองค์กรอย่างมีประสิทธิ ภาพผ่านช่องทางการสื่อสารที่ เหมาะสม เช่น จัดให้ มีการสือ่ สารผ่าน Internet ผ่านโซชียล มีเดีย จัดให้ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ จัดให้ มีศนู ย์รับเรื่ องร้ องเรี ยน คุณภาพการให้ บริ การ จัดให้ มีช่องทางให้ บุคคลภายนอกสามารถแจ้ งข้ อมูลเกี่ยวกับการกระทาผิดและการทาทุจริ ตได้ อย่าง ปลอดภัยมายังคณะกรรมการตรวจสอบที่ AuditCommittee@ais.co.th เป็ นต้ น ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) เพื่อให้ ระบบการควบคุมภายในเกิดประสิทธิผลอย่างจริ งจัง บริ ษัทได้ มอบหมายให้ ผ้ บู ริ หารและหัวหน้ างานของทุกหน่วยงาน ทาการประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในทัง้ 5 องค์ประกอบ และ 17 หลักการอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาว่าได้ มี กาหนดไว้ (Present) และได้ มีการนามาปฏิบตั ิอย่างมีประสิทธิผลจริ ง (Functioning) อย่างสอดคล้ องสัมพันธ์ กนั เพื่อวิเคราะห์หา ข้ อบกพร่ องของระบบการควบคุมภายใน สาเหตุและแนวทางแก้ ไข รวมทังการก ้ าหนดให้ มีรอบการประเมินจากผู้ประเมินอิสระ เช่ น ผู้ต รวจสอบภายใน หรื อ ผู้เ ชี่ ย วชาญการประเมิ น คุณ ภาพอิ สระจากภายนอก เป็ นต้ น โดยความถี่ ข องการประเมิ น มี ความสัมพันธ์กบั การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ ้น ทังนี ้ ้เพื่อให้ มนั่ ใจได้ วา่ ระบบการควบคุมภายในยังดาเนินไปอย่างมีประสิทธิผล เมื่อพบข้ อบกพร่ องของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสาคัญ ผู้บริ หารต้ องมีการวิเคราะห์หาต้ นเหตุของข้ อบกพร่ อง เพื่อแจ้ งผู้รับผิดชอบดาเนินการแก้ ไขอย่างทันท่วงที พร้ อมทังรายงานข้ ้ อบกพร่องที่มีสาระสาคัญและความคืบหน้ าของการแก้ ไขต่อ คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บริ หารระดับสูง ตามความเหมาะสม นอกจากนี ้ได้ กาหนดให้ มีการรายงานเบาะแสหรื อเหตุการณ์ทจุ ริ ต การฝ่ าฝื นกฎหมาย หรื อการกระทาที่ผิดปกติอื่นๆ ซึ่งอาจกระทบต่อชื่อเสียงและฐานะการเงิ นของบริ ษัทอย่างมีนัยสาคัญต่อ คณะกรรมการบริ ษัทโดยทันที การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายใน รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งกากับดูแลให้ การปฏิบตั ิงานตรวจสอบมีความเป็ น อิสระ เที่ยงธรรม มีจรรยาบรรณ ปฏิบตั ิหน้ าที่เยี่ยงมืออาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธาน เจ้ าหน้ าที่บริ หารในด้ านงานบริ หารหน่วยงาน หน่วยงานตรวจสอบภายในทาหน้ าที่ให้ ความเชื่อมัน่ (Assurance Service) และให้ คาปรึกษา (Consulting Service) โดยการ ประเมินประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสี่ยง และการกากับดูแลกิจการ เพื่อ สนับสนุนให้ บริ ษัทสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจ โดยมีกฏบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ ได้ กาหนด ภารกิจ ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน อานาจ และหน้ าที่ความรับผิดชอบ และแนวทางการปฏิบตั ิงานไว้ อย่างชัดเจนและมีการทบทวนให้ เหมาะสมอยูเ่ สมอ หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ปฏิบตั ิหน้ าที่เป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อสนับสนุนให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบสามารถดาเนินการตามที่ค ณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ และเป็ นที่ปรึ กษาเพื่อให้ คาแนะนาแก่ เราในด้ านต่างๆ ส่วนที่ 2 | หน้ า 43


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

เช่น ด้ านการควบคุมภายใน ด้ านการบริ หารความเสี่ยง ด้ านจริ ยธรรมธุรกิจ ด้ านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เป็ นต้ น (ทังนี ้ ้ ข้ อมูลประวัติและรายละเอียดของหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ปรากฎตามเอกสารแนบ 1 หน้ า 3) หน่วยงานตรวจสอบภายในจัดทาแผนการตรวจสอบภายในประจาปี สอดคล้ องตามทิศทางกลยุทธ์ ของบริ ษัท ครอบคลุม กระบวนการดาเนินงานของบริ ษัทและบริ ษัทในเครื อ โดยโดยใช้ หลักการความเสี่ยงเป็ นพื ้นฐาน (Risk-based approach) ซึ่ง มุ่งเน้ นความเสี่ยงสาคัญที่สง่ ผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ ของบริ ษัท ตลอดจนการตรวจสอบด้ านการ ป้องกันทุจริ ต แผนการตรวจสอบได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบ การติดตามการ ผลการปฏิบตั ิตามข้ อเสนอแนะที่พบจากการตรวจสอบให้ แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี ้ หน่วยงานตรวจสอบภายในยังเป็ นอีกหนึ่งช่องทางในการรับข้ อร้ องเรี ยนการกระทาผิดและการทาทุจริ ตจาก พนักงานภายในและบุคคลภายนอก ดาเนินการรวบรวมข้ อมูลตรวจสอบข้ อเท็จจริ งเป็ นไปตาม Whistle Blowing Policy และ รายงานผลให้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาทุกไตรมาส หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการส่งเสริ มให้ )บริ ษัทและบริ ษัทในเครื อมีความเข้ าใจและสามารถนาระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทาง COSO 2013 มาปรับใช้ อย่างจริ งจังและมีประสิทธิผล โดยการจัดอบรมให้ ความรู้ ให้ แก่หน่วยงานต่างๆ ของบริ ษัท และบริ ษัทในเครื อ รวมทังให้ ้ คาปรึ กษาเกี่ยวกับแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่ ก.ล.ต. กาหนด หากผู้บริ หารมีข้อซักถาม และการนามาประยุกต์ในวิธีการประเมินระบบการควบคุมภายใน การให้ ข้อเสนอแนะสาหรับ งานตรวจสอบทุกระบบงาน ในบทบาทที่เกี่ยวข้ องกับ Control Self-Assessment (CSA) หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ สนับสนุนการฝึ กอบรมเชิ ง ปฏิบตั ิการในการนา CSA ไปใช้ ปฏิบตั ิ(CSA Facilitator) และทาการตรวจประเมินประสิทธิผลของการนา CSA ไปใช้ ปฏิบตั ิของ หัวหน้ างาน (CSA Validation) จากการที่ เอไอเอสมีวิสยั ทัศน์การนาเสนอสินค้ าและบริ การที่ทนั สมัยรู ปแบบดิจิทลั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ นส่วน สาคัญในการสนับสนุนการดาเนินงานของบริ ษัทและบริ ษัทในเครื อ จึงมีการพัฒนา ปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ ก้าวทัน รองรับการปฏิบตั ิงานอยู่เสมอ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ เข้ าร่ วมในคณะทางานการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ สาคัญในบทบาทให้ คาแนะนาเพื่อให้ มนั่ ใจว่าการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีมาตรการควบคุมภายในที่รัดกุมก่อนนา ระบบไปใช้ จริ ง รวมทังมี ้ ทีมงานตรวจสอบด้ าน IT เข้ าปฏิบตั ิงานตรวจสอบอีกครัง้ หลังจากการติดตังและใช้ ้ งานแล้ ว นอกจากนี ้ มีการประเมินระบบการบริ หารจัดการความมัน่ คงของข้ อมูลสารสนเทศและอุปกรณ์ รักษาความมัน่ คงปลอดภัยต่างๆในองค์กร เพื่อให้ มีความปลอดภัยตามข้ อกาหนดของมาตรฐาน ISO 27001:2013 หน่วยงานตรวจสอบภายในยึดถือกรอบโครงสร้ างการปฏิบตั ิงานวิชาชีพตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล และกฎบัตร ของหน่วยงาน รวมทังมี ้ การทบทวนคู่มือการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ มีการประเมินคุณภาพการตรวจสอบภายในด้ วยตนเองเป็ น ประจาทุกปี และได้ รับการประเมินโดยองค์กรอิสระจากภายนอกทุก 5 ปี ซึ่งผลการประเมินครัง้ ล่าสุดเมื่อปลายปี 2554 พบว่า หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานสากล และมีคณ ุ ภาพโดดเด่นเมื่อเทียบเคียงกับส่วนงานตรวจสอบภายใน อื่นทัว่ โลกที่เป็ นมืออาชีพ ทังนี ้ ้เพื่อจะช่วยส่งเสริ มให้ เรามีระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสี่ยง และระบบการ กากับดูแลที่ดีสามารถเพิ่มคุณค่าให้ แก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียและพัฒนาองค์กรสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อพัฒนาวิชาชีพงานตรวจสอบภายในของบริ ษัทให้ ทนั สมัย หน่วยงานตรวจสอบภายในจึงได้ มีการติดตามแนวปฏิบตั ิด้าน มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสี่ยง ระบบการกากับดูแลที่ดี และแนวปฏิบัติอื่นที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท ของสถาบันวิชาชีพชันน ้ าทัง้ ในและต่างประเทศ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบของ บริ ษัทให้ เป็ นไปตามมาตรฐานสากลและทันสมัย

ส่วนที่ 2 | หน้ า 44


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

หน่ว ยงานตรวจสอบภายในส่ง เสริ มและพัฒ นาศักยภาพของทีมงานตรวจสอบภายในให้ สามารถตรวจสอบได้ ทุก ด้ า น (Integrated Audit) เช่น ด้ านระบบธุรกิจ ด้ านระบบสารสนเทศ และด้ านระบบวิศวกรรม และมีการมุ่งเน้ นพัฒนาให้ เจ้ าหน้ าที่ ตรวจสอบภายในมีคา่ นิยมในการสร้ างสรรค์แนวทางการตรวจสอบรูปแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิผลยิ่งขึ ้นอยู่เสมอ โดยการสนับสนุน ให้ เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ มีความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่จาเป็ นสอดคล้ องกับการปฏิบตั ิงาน รวมทังการพั ้ ฒนาตนเองให้ เกิ ดความเชี่ ยวชาญด้ านวิชาชี พตรวจสอบภายในเยี่ยงมืออาชีพด้ วยการสอบวุฒิบตั รทางวิชาชี พ ตรวจสอบหรื อวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้ อง ปั จจุบนั บริ ษัทมีเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในที่มีวุฒิบัตรทางวิชาชีพต่างๆ รวมทังหมด ้ 32 วุฒิบตั ร ได้ แก่ วุฒิบตั ร CIA (Certified Internal Auditor) จานวน 7 ท่าน วุฒิบตั ร CISA (Certified Information System Auditor) จานวน 5 ท่าน วุฒิบตั ร CISSP (Certified Information Systems Security Professional) จานวน 1 ท่าน วุฒิบตั ร CRMA (Certification in Risk Management Assurance) จานวน 10 ท่าน วุฒิบตั ร CPA (Certified Public Accountant) จานวน 3 ท่าน วุฒิบตั ร TA (Tax Auditor) จานวน 1 ท่าน วุฒิบตั ร Information Security Management Systems Auditor/Lead Auditor (ISO/IEC 27001:2013) จานวน 4 ท่าน และ วุฒิบตั ร Business Continuity Management System Auditor/Lead Auditor (ISO 22301) จานวน 1 ท่าน โดยเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในอีกจานวนหนึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาให้ ได้ รับวุฒิบตั ร CIA, CISA, CRMA, CCSA (Certification in Control Self - Assessment), และ CFE (Certified Fraud Examiners) เพิ่มขึ ้นอย่าง ต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนงานตรวจสอบภายในแบบมืออาชีพตามมาตรฐานสากล

ส่วนที่ 2 | หน้ า 45


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

12. รายการระหว่ างกัน บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ มีการตกลงเข้ าทารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการตามธุรกิจปกติ ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และเป็ นไปตามเงื่อนไขการค้ าทัว่ ไป เพื่อให้ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับ ที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมตั ิในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ให้ ฝ่ายจัดการมีอานาจเข้ าทารายการระหว่ างกันที่มีเงื่อนไข การค้ าทัว่ ไปหากธุรกรรมเหล่านันมี ้ ข้อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทากับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง ขันตอนการอนุ ้ มตั ิการทารายการระหว่างกันนัน้ บริ ษัทจะยึดแนวปฏิบตั ิเช่นเดียวกันกับการทารายการอื่น ๆ ทัว่ ไป โดยมีการ กาหนดอานาจของผู้มีสทิ ธิอนุมตั ิตามวงเงินที่กาหนด นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทาหน้ าที่เป็ น ผู้สอบทานการทา รายการระหว่างกันของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อขจัดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริ ษัทโดยรวมเป็ นสาคัญ สาหรับงวดบัญชีสิ ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยผู้ ตรวจสอบบัญชีของบริ ษัทได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบและคณะกรรมการตรวจสอบทาหน้ าที่สอบทาน แล้ ว และมีความเห็นว่ารายการระหว่างกันทุกรายการเป็ นการทารายการอย่างสมเหตุสมผลและเป็ นไปในทางการค้ าปกติ โดย บริ ษัทได้ คิดราคาซื ้อ-ขายสินค้ า และบริ การกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันด้ วยราคาที่สมเหตุสมผล มีการเปรี ยบเทียบกับราคากลางของ ตลาดในธุรกิจนันๆ ้ แล้ ว โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้

ส่วนที่ 2 หน้ า 46


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 1. บริษัท อินทัช โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) (อินทัช)/ เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทใน สัดส่วนร้ อยละ 40.45 และมี กรรมการร่วมกันคือ 1) นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2) นายวิทิต ลีนตุ พงษ์

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การและ จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่อินทัช ขณะที่ บริ ษัทย่อยมีการชาระดอกเบี ้ยจ่ายให้ แก่อินทัช จากรายการหุ้นกู้ของบริ ษัทย่อย

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อืน่ ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ดอกเบี ้ยจ่าย 3. หุ้นกู้ 4. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อืน่

0.02 0.56 -

0.22 -

ส่วนที่ 2 หน้ า 47

0.93 1.23 0.13

0.24 1.34 37.00 -

0.02 0.01

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.67 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตรา 0.45 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.24

3.62 0.78

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการและ 3.57 ดอกเบี ้ยจ่ายให้ แก่อินทัชในอัตราเดียวกัน 0.42 กับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น 17.00 0.78


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 2. บริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) (ไทยคม)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วน ร้ อยละ 41.14 และมีกรรมการ ร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

ลักษณะรายการ บริ ษั ท ย่ อ ยได้ เช่ า ช่ อ งสัญ ญาณดาวเที ย ม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม 7 จาก ไทยคม สัญ ญามี ผลถึ ง วัน ที่ 19 พฤศจิ ก ายน 2560 โดยต้ อ งช าระค่ า ตอบแทนในอัต รา 1,700,000 USD/ปี แ ล ะ มี ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร อุ ป กรณ์ รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย ม และพื น้ ที่ สาหรับติดตังอุ ้ ปกรณ์ดาวเทียม ขณะที่ บ ริ ษั ท และบริ ษั ท ย่อ ยมี ก ารให้ บริ ก าร โทรศัพ ท์ ทัง้ ในประเทศและระหว่า งประเทศ รวมถึงได้ จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ไทยคม ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ไทยคมเป็ นผู้ใ ห้ บ ริ การเช่า ช่องสัญ ญาณ ดาวเทียมรายเดียวในประเทศไทย

1.53 -

3.54 0.38 0.15

0.73 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 2.73 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ไทย 0.46 คมในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.04

6.87 -

67.19 59.19 69.11

58.26 9.03

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการให้ แก่ 66.37 ไทยคมในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไปและ - ซื ้อสินทรัพย์ด้วยราคาประมูล 9.03

ส่วนที่ 2 หน้ า 48


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 3. บริษัท แมทช์ บอกซ์ จากัด (แมทช์ บอกซ์ )

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทและบริ ษัทย่อย ว่าจ้ างแมทช์บอกซ์ เป็ น ตัวแทนในการจัดทาโฆษณาผ่านสือ่ ต่างๆ โดย จะเป็ นการว่าจ้ างครัง้ ต่อครัง้

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ แ ม ท ช์ บอ ก ซ์ เ ป็ น บ ริ ษั ท โ ฆ ษ ณ า ที่ มี ความคิดสร้ างสรรค์ที่ดีและมีความเข้ าใจ ในผลิต ภัณ ฑ์ แ ละบริ ก ารของกลุ่ม บริ ษั ท เป็ นอย่า งดี และจากการที่ เ ป็ นบริ ษั ท ใน กลุ่มอินทัชจึงสามารถในเรื่ องการป้องกัน การรั่วไหลของข้ อมูล

มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วน ร้ อยละ 99.96 และมีกรรมการ ร่วมกันคือนายสมประสงค์ บุญยะชัย ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าโฆษณาและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2558

10.95 -

*ทังนี ้ ้ ปั จจุบนั แมทช์บอกซ์ได้ หยุดดาเนิน กิจการแล้ ว โดยรายการที่เกิดขึ ้นดังกล่าว เป็ นรายการที่เกิดขึ ้นช่วงหกเดือนแรกของ ปี 58 ก่อนหยุดดาเนินกิจการ

ส่วนที่ 2 หน้ า 49

26.08 -

25.05 10.28

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าโฆษณาและ 283.72 ค่าบริ การอื่นให้ แก่แมทซ์บอกซ์ในอัตรา 95.26 เดียวกันกับบริษัทโฆษณาอื่นๆ


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 4. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (ทีเอ็มซี)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่โดย ทางอ้ อม

ลักษณะรายการ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการว่าจ้ างทีเอ็มซี จั ด ท า ข้ อ มู ล ส า ห รั บ บ ริ ก า ร เ ส ริ ม ข อ ง โทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ เช่ น การจัด หาข้ อ มูลทาง โหราศาสตร์ ข้ อมูลสลากกินแบ่งรั ฐบาล และ บริ การบันเทิงต่างๆผ่าน SMS รวมทังค่ ้ าบริ การ ว่างจ้ างคอลเซ็นเตอร์ โดยได้ ชาระค่าบริ การ เป็ นรายเดือน ขณะที่ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมี การให้ บริ การทางโทรศั พ ท์ แ ละจ าหน่ า ย โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ทีเอ็มซี ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ทีเอ็มซีเป็ นผู้ให้ บริ การที่มีความเชี่ยวชาญ ในการจัดทาเนือ้ หาและช่วยค้ นหาข้ อมูล ต่างๆ รวมทังการให้ ้ บริ การคอลเซ็นเตอร์

0.42 -

0.42 0.04 0.76

1.18 0.47

0.99 0.04

65.31 7.35

3.13 0.12

ส่วนที่ 2 หน้ า 50

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 1.81 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตรา - เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.47 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการเสริ ม 39.12 (Content) ในอัตราร้ อยละของรายได้ ที่ 7.08 บริ ษัทได้ รับ และค่าบริ การคอลเซ็นเตอร์ ให้ แก่ทีเอ็มซี ในอัตราเดียวกันกับการจ่าย ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

5. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์ วิส จากัด (ไอทีเอเอส)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้ อยละ 100 และมีกรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยว่าจ้ างไอทีเอเอสในการ ดูแลจัด การและพัฒ นาระบบ SAP รวมทัง้ ออกแบบต่างๆให้ กบั กลุม่ บริ ษัท ขณะที่บ ริ ษัท มีก ารให้ บ ริ การทางโทรศัพท์ แ ก่ ไอทีเอเอส ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ไอทีเอเอสให้ บริ การเกี่ยวกับการพัฒนา โปรแกรม และการดูแลจัดการระบบ SAP มีบริ การที่ดี รวดเร็ว และราคา สมเหตุสมผล

-

0.01

-

0.08 0.33

99.60 60.73

0.30 -

ส่วนที่ 2 หน้ า 51

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.01 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ า ทัว่ ไป บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าที่ปรึกษา 88.13 ให้ แก่ไอทีเอเอสโดยอัตราค่าบริ การขึ ้นอยู่ 18.39 กับลักษณะงานและระดับของทีป่ รึกษา โดยเป็ นอัตราเดียวกันกับราคาของบริ ษัทที่ ปรึกษาระบบ SAPรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 6. กลุ่มบริษัท SingTel Strategic Investments Private Limited (SingTel)/ เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริ ษัทร้ อยละ 23.32

ลักษณะรายการ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยทาสัญญากับบริ ษัทใน กลุม่ SingTel ในการเปิ ดให้ บริ การข้ ามแดน อัตโนมัติระหว่างประเทศร่วมกัน (Joint International Roaming), บริ การโครงข่าย โทรคมนาคมระหว่างประเทศ(IPLC) ขณะทีบ่ ริ ษัทจ่ายเงินเดือนและผลตอบแทน ให้ แก่ Singapore Telecom International Pte Ltd. (STI) ซึง่ เป็ นบริ ษัทในกลุม่ SingTel ใน การส่งพนักงานมาปฏิบตั ิงานที่บริ ษัทโดยจะ เรี ยกเก็บค่าใช้ จา่ ยตามที่เกิดขึ ้นจริ ง ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ การทาสัญญา ให้ บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติ ระหว่างประเทศ (IR) กับกลุม่ SingTel เป็ นการทาสัญญาทางธุรกิจตามปกติ โดย ราคาทีเ่ รี ยกเก็บเป็ นราคาที่ตา่ งฝ่ ายต่าง กาหนดในการเรี ยกเก็บจากลูกค้ าแต่ละ ฝ่ ายที่ไปใช้ บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติหกั กาไรที่บวกจากลูกค้ าซึง่ เป็ นมาตรฐาน เดียวกับที่บริ ษัทคิดจากผู้ให้ บริ การรายอื่น

150.37 -

1.27 72.93 83.35

ส่วนที่ 2 หน้ า 52

648.84 5.43

463.64 72.93 259.59

77.67 2.52

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ IR 434.59 ในอัตราเดียวกันกับผู้ให้ บริ การรายอื่น 19.14

32.72 84.41 30.41

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่า IPLC ใน 470.84 อัตราเดียวกันกับผู้ให้ บริ การรายการอื่น 84.41 และจ่ายเงินเดือนและผลตอบแทนให้ แก่ 33.17 STI ด้ วยราคาที่ตกลงกันตามจริ ง


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 7. บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดย ทางอ้ อม

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ วา่ จ้ างซีเอสแอลในการ ให้ บริ การด้ านอินเทอร์ เน็ต โดยเชื่ อมโยงผ่าน โครงข่ายทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ในขณะที่บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การ และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้ เช่า อุปกรณ์และบริ การเกี่ยวกับ Datanet แก่ ซีเอสแอล ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริการ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ซีเอสแอลมีความเชี่ยวชาญและเป็ น ผู้ให้ บริ การทางด้ านอินเทอร์ เน็ต ซึง่ สามารถเชื่อมต่อข้ อมูลภายในประเทศ ผ่านโครงข่ายไปยังผู้ใช้ บริ การทัว่ โลก

0.36 -

2.97 0.29

ส่วนที่ 2 หน้ า 53

12.62 6.63 3.08

5.22 0.38

0.65 0.05

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 12.55 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตรา 5.81 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 3.41

3.75 0.34

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการแก่ 8.25 ซีเอสแอลในอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ 0.77 ผู้ให้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 8. บริษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) (เอดีว)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่อ ยได้ ว่า จ้ า งเอดี วี ใ นการ ให้ บริ การเสริ มของโทรศัพท์เคลื่อนที่เช่น เกมส์ เสียงเรี ยกเข้ า Wallpaper โดยชาระค่าบริ การ เป็ นรายเดือน ขณะที่บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ ดาเนินการจัดทาแหล่งรวม โปรแกรมบนโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ( software mall)และจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่เอดีวี

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ เอดี วี มี ค วามเชี่ ย วชาญ ในการออกแบบ เว็บไซต์ และมีความหลากหลายของเนื ้อหา ซึ่ ง ตรงกั บ ความต้ องการของบริ ษั ท และ บริ ษัทย่อย

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

6.02 -

9.40 0.04 0.02

18.89 1.19

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

240.14 40.54

-

ส่วนที่ 2 หน้ า 54

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 19.48 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตรา 0.72 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 1.19 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเสริ ม 332.23 (Content) ให้ แก่เอดีวี ในอัตราร้ อยละของ 44.83 รายได้ ที่บริ ษัทได้ รับ ซึ่งเป็ นอัตราเดียวกัน กับผู้ให้ บริ การข้ อมูลประเภทเดียวกัน


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 9. บริษัท ดีทีวี เซอร์ วิส จากัด (ดีทีว)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัท และบริ ษั ทย่อยว่าจ้ างให้ ดีที วี เ ป็ นสื่อ โฆษณาผ่ า นช่ อ งสัญ ญาณจานดาวเที ย ม ใ นข ณ ะ ที่ บ ริ ษั ท แ ล ะ บริ ษั ทย่ อ ย มี ก า ร ให้ บริ การและจัด จาหน่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ แก่ดีทีวี

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2558

งบการเงินรวม ดี ที วี มี ค วามช านาญในการบริ ก ารสื่ อ โฆษณา บริ ก ารขายเนื อ้ หา (Content) ผ่านช่องสัญญาณจานดาวเทียม รวมถึง เป็ นผู้จาหน่า ยอุปกรณ์ จานรั บสัญญาน ดาวเทียม

0.03 -

0.10 -

ส่วนที่ 2 หน้ า 55

0.07 0.03 0.01

1.31 0.17

0.06 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.06 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ใน - อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.01

0.90 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าสือ่ โฆษณา 0.90 ให้ แก่ดีทวี ีในเอัตราเดียวกันกับการจ่าย - ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 10. บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิ เคชั่นส์ จากัด (แอลทีซ)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยร่วมมือกับแอลทีซีใน การให้ บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติระหว่าง ประเทศ(IR)

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2558

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ แอลที ซี ด าเนิ น ธุ ร กิ จ โทรคมนาคมใน ประเทศลาว ให้ บริ การโทรศัพท์ พื ้นฐาน โทรศัพท์ เคลื่อ นที่ บริ การอินเตอร์ เน็ ต และบริ ก ารข้ า มแดนอัต โนมัติ ร ะหว่ า ง ประเทศ โดยอัต ราค่า โรมมิ่งที่คิ ดเป็ น อัตราเทียบเคียงได้ กบั ราคาตลาด

0.25 -

0.95 0.13

ส่วนที่ 2 หน้ า 56

6.62 1.26

5.68 1.09

0.33 0.07

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 5.27 IR ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 5.32

2.07 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่า IR ให้ แก่ 12.96 แอลทีซีในเอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ 0.56 ผู้ให้ บริ การรายอื่น


บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 11. กลุ่มบริษัทไทยยานยนต์ จากัด (ทีวายวาย) / มีประธานกรรมการบริษัทร่วมกัน คือ นายวิทติ ลีนตุ พงษ์

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ใช้ บริ การทีวายวาย สาหรับดูแลและซ่อมบารุ งรถยนต์ รวมทังเช่ ้ า พื ้นที่สาหรับใช้ เป็ นสถานีฐาน ขณะที่บริ ษัท และบริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์แก่ ทีวายวาย ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ

2558

งบการเงินรวม ทีวายวายเป็ นผู้แทนจาหน่ายรถยนต์ และผู้เชี่ยวชาญในการให้ บริ การดูแล ซ่อมบารุงรถยนต์

0.16 0.05

-

ส่วนที่ 2 หน้ า 57

2.11 0.31

0.35

0.05 0.05

0.08

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 2.48 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 0.27 ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าเช่าพื ้นที่ 0.41 สาหรับใช้ เป็ นสถานี ให้ แก่ทีวายวายใน อัตราที่เทียบเคียงได้ ของผู้ให้ เช่ารายอื่น ที่อยูใ่ นบริ เวณพื ้นที่ใกล้ เคียง


บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 12. บริษัท อุ๊คบี จากัด (อุ๊คบี) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 22.26

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยได้ วา่ จ้ างอุ๊คบีสาหรับการให้ บริ การ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ผ่านบน สมาร์ ทโฟน หรื อแท็บเล็ต โดยชาระค่าบริ การ เป็ นรายเดือน ขณะทีบ่ ริ ษัทย่อยให้ บริ การ โทรศัพท์แก่อ๊ คุ บี ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริ การ 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2558

อุ๊ คบี ด าเนิ น ธุ ร กิ จ น าเสนอสิ่ ง ตี พิ ม พ์ ดิจิ ตอล (Digital Publication) และ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-book) เช่ น หนังสือ นิตยสาร หรื อ หนังสือพิมพ์ บน สมาร์ ทโฟน, แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์

-

-

ส่วนที่ 2 หน้ า 58

0.12 0.01

8.24 1.32

-

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.05 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ - ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเสริ ม 11.77 (Content) ให้ แก่อ๊ คุ บี ในอัตราร้ อยละ 1.46 ของรายได้ ที่บริษัทได้ รับ ซึง่ เป็ นอัตรา เดียวกันกับผู้ให้ บริ การข้ อมูลประเภท เดียวกัน


บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 13. บริษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด (ไอเอช) / มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นโดยทางอ้ อม

2558

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

ไอเอชให้ บริ การโครงข่ า ยสื่ อ สั ญ ญาณ โทรคมนาคมและรวมถึงให้ บริ การสิ่งอานวย ความสะดวกในพืน้ ที่ ในการติดตังโครงข่ ้ าย เคเบิลใยแก้ วนาแสงแก่กลุม่ บริ ษัท ขณะที่ บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์แก่ไอเอช

ไอเอช ให้ บริ การโครงข่ายสือ่ สัญญาณ โทรคมนาคมรวมถึงจัดหาพื ้นที่และ บริ การสิง่ อานวยความสะดวกในการ ติดตังโครงข่ ้ ายและเคเบิลใยแก้ วนาแสง

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ 2. ดอกเบี ้ยรับ 3. เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสัน้ 4. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ าทัว่ ไปและรับดอกเบี ้ยจากเงินให้ กู้ยืมแก่ไอเอชในอัตราเดียวเทียบเคียงได้ กับธนาคารพาณิชย์อื่น

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าบริการ 2. ดอกเบี ้ยจ่าย 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 4. เจ้ าหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงิน

-

ส่วนที่ 2 หน้ า 59

0.03 2.31 0.01

42.61 2.79 15.14 72.00

-

-

1.82 95.00 -

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การโครงข่ายสือ่ - สัญญาณโทรคมนาคมแก่ไอเอสในอัตรา - เดียวกันกับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น -


บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 14. บริษัท คอมพิวเตอร์ โลจี จากัด (ซีโอเอ็มแอล) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 25.01

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์แก่ซีโอเอ็ม แอล

*ทังนี ้ ้ ปั จจุบนั อินทัชได้ จาหน่ายเงิน ลงทุนทังหมดในซี ้ โอเอ็มแอลแล้ ว โดย รายการที่เกิดขึ ้นดังกล่าวเป็ นรายการที่ เกิดขึ ้นก่อนการจาหน่ายเงินลงทุน ดังกล่าว

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ

15. บริษัท ไฮ ช็อปปิ ้ ง จากัด (ไฮ ช็อปปิ ้ ง) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์แก่ ไฮ ช็อปปิ ง้

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

2558

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม ซีโอเอ็มแอลประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการ การผลิตซอฟต์แวร์ และพัฒนาโปรแกรม เกี่ยวกับบริ การการจัดการติดตามความ เคลือ่ นไหวบนสือ่ ออนไลน์ ต่างๆ

-

0.09

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ - โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ าทัว่ ไป ไฮ ช็ อ ปปิ ้ ง ประกอบธุ ร กิ จ ทางด้ าน ดิจิตอลคอนเทนต์ที่นาเสนอให้ ผ้ บู ริ โภค เข้ าถึงรายละเอียดของสินค้ าและบริ การ โด ย ใ ช้ สื่ อ ที วี โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ แ ละ อินเตอร์ เน็ต

ส่วนที่ 2 หน้ า 60

0.03 0.03

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ - โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ - ลูกค้ าทัว่ ไป


บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 16.ธนาคารกรุ งไทย จากัด (มหาชน) (เคทีบ)ี / นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั ดารงตาแหน่งกรรมการอิสระและ ประธานกรรมการตรวจสอบของ บริ ษั ทและด ารงต าแหน่ง ประธาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร บ ม จ . ธนาคารกรุ ง ไทย ตั ง้ แต่ วั น ที่ 12 ตุลาคม 2558

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

ธนาคารกรุงไทยให้ บริ การทางการเงิน แก่ บริ ษัทและบริ ษัทย่อย ในขณะที่บริ ษัทย่อยมี การให้ บริ การโทรศัพท์แก่ธนาคารกรุงไทย

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ดอกเบี ้ยรับจากเงินฝากธนาคาร 2. เงินฝากธนาคาร

2558

ธนาคารกรุงไทยประกอบธุรกิจให้ บริ การ ทางการเงิ น เช่ น ด้ า นการรั บ ฝากเงิ น การให้ สนิ เชื่อ เป็ นตัวกลางการชาระเงิน และบริ การอื่นๆ

-

-

ส่วนที่ 2 หน้ า 61

25.54 9.73

0.08 198.91

-

บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ใน - อัตราเดียวกับลูกค้ าทัว่ ไปที่ใช้ บริการ -

-

บริ ษัทย่อยรับดอกเบี ้ยเงินฝากธนาคาร - จากเคทีบีโดยเป็ นอัตราทีเ่ ทียบเคียงได้ - กับธนาคารพาณิชย์อื่น


บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 17.บริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย จากัด (มหาชน) (เอสซีจ)ี / นายกานต์ ตระกูลฮุน ด ารงต าแหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การ ใหญ่ ของ บมจ.ปูนซิเมนต์ ไทย และ ด ารงต าแหน่ ง กรรมการอิ ส ระของ บริ ษัท ตังแต่ ้ วนั ที่ 3 สิงหาคม 2558

2558

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์และ จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ปนู ซีเมนต์ไทย ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

0.03 -

ส่วนที่ 2 หน้ า 62

1.89 0.19 0.40

-

บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ - และจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตรา - เดียวกับลูกค้ าทัว่ ไป -


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 13.1 งบการเงิน 13.1.1

รายงานการสอบบัญชี

จากรายงานของผู้สอบบัญชีในช่วงระยะเวลา 3 ปี ที่ (2556 - 2558) ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข โดยมี ความเห็นว่างบการเงินรวมของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และงบการเงินของบริ ษัท แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ ของบริ ษัท ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะของบริ ษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของ บริ ษัท โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 13.1.2

ตารางสรุ ปงบการเงินรวม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะทางการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จานวนเงิน

หน่วย : พันบาท 2558 จานวนเงิน %

%

2557 จานวนเงิน

%

11,473,121 3,781,141 1,576,942 13,947,990 2,864,932 660,085 34,304,211

10.24 3.37 1.41 12.45 2.56 0.59 30.62

14,258,066 3,709,328 1,542,449 14,545,609 95,000 2,519,497 1,288,943 37,958,892

11.29 2.94 1.22 11.51 0.08 1.99 1.02 30.04

9,864,913 4,447,280 304,674 16,388,529 5,059,252 1,942,221 38,006,869

5.43 2.45 0.17 9.01 2.78 1.07 20.91

104,361

0.09

58,399

0.05

58,399

0.03

653,398 35,922,236 20,499,803 34,931 13,600,648 2,178,035 3,557,332 1,170,755 77,721,499 112,025,710

0.58 32.07 18.30 0.03 12.14 1.94 3.18 1.05 69.38 100.00

568,881 60,702,587 8,738,039 34,931 12,624,410 2,504,683 1,441,856 1,717,885 88,391,671 126,350,563

0.45 48.04 6.92 0.03 9.99 1.98 1.14 1.36 69.96 100.00

795,449 84,291,103 34,931 51,790,574 3,192,332 1,251,588 2,340,028 143,754,404 181,761,273

0.44 46.37 0.02 28.49 1.76 0.69 1.29 79.09 100.00

สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้ เป็ นการเฉพาะ เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี ้การค้ า และลูกหนี ้อื่น เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ้ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี ้ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยน ล่วงหน้ า ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ ค่าความนิยม ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่น ๆ สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

ส่วนที่ 3 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะทางการเงินรวม (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จานวนเงิน

%

2557 จานวนเงิน

%

หน่วย : พันบาท 2558 จานวนเงิน %

หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เจ้ าหนี ้การค้ า และเจ้ าหนี ้อื่น ส่วนของเงินกู้ระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคมค้ างจ่าย ที่ถึง กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ค้างจ่าย รายได้ รับล่วงหน้ า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ า ภาษีเงินได้ ค้างจ่าย หนี ้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคมค้ างจ่าย หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนที่ออกจาหน่ายและชาระแล้ วเต็มมูลค่า สารอง : ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กาไรสะสม : จัดสรรแล้ ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่ วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

4,000,000 21,254,378 5,303,409

3.57 18.97 4.73

23,092,055 2,571,631

18.27 2.04

8,500,000 27,750,538 4,355,627

4.68 15.26 2.40

3,656,250 3,534,750 1,599,665 2,985,928 2,816,611 340,245 45,491,236

3.26 3.16 1.43 2.67 2.51 0.30 40.60

3,656,250 5,130,157 2,183,175 3,709,328 2,195,546 367,976 42,906,118

2.89 4.06 1.73 2.94 1.74 0.29 33.96

5,364,085 2,331,763 4,447,280 4,761,208 22,792 57,533,293

2.95 1.28 2.45 2.62 0.01 31.65

15,354,770 1,361,376 3,656,250 269,492 20,641,888

13.71 1.22 3.26 0.24 18.43

34,478,291 1,499,743 601,656 36,579,690

27.29 1.19 0.47 28.95

52,576,667 2,293,784 19,902,471 962,076 75,734,998

28.93 1.26 10.95 0.53 41.67

66,133,124

59.03

79,485,808

62.91

133,268,291

73.32

2,973,095

2.65

2,973,095

2.35

2,973,095

1.64

22,372,276

19.97

22,372,276

17.71

22,372,276

12.31

500,000 19,729,332 173,404 45,748,107 144,479 45,892,586

0.45 17.61 0.16

0.40 16.39 0.15 37.00 0.09 37.09

500,000 22,313,204 217,757 48,376,332 116,650 48,492,982

0.27 12.28 0.12

40.84 0.13 40.97

500,000 20,710,295 194,732 46,750,398 114,357 46,864,755

112,025,710

100.00

126,350,563

100.00

181,761,273

100.00

ส่วนที่ 3 | หน้ า 2

26.62 0.06 26.68


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

งบกาไรขาดทุนรวม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกาไรขาดทุนรวม สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จานวนเงิน รายได้ รายได้ จากการให้ บริการและให้ เช่าอุปกรณ์ รายได้ จากการขาย รายได้ คา่ ก่อสร้ างภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ รวมรายได้ ต้ นทุน ต้ นทุนการให้ บริการและให้ เช่าอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ต้ นทุนขาย ต้ นทุนค่าก่อสร้ างภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ รวมต้ นทุน กาไรขัน้ ต้ น ค่าใช้ จา่ ยในการขาย ค่าใช้ จา่ ยในการบริหาร รวมค่าใช้ จา่ ยในการขายและการบริหาร กาไรจากการขาย การให้ บริการและการให้ เช่ า อุปกรณ์ รายได้ จากการลงทุน รายได้ ดาเนินงานอื่น ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ขาดทุนจากการด้ อยค่าสินทรัพย์ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา – สุทธิ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ต้ นทุนทางการเงิน กาไรก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี ส่วนของกาไร : ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนที่เป็ นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรสาหรับปี กาไรสุทธิตอ่ หุ้นขันพื ้ ้นฐาน (บาท) กาไรสุทธิตอ่ หุ้นปรับลด (บาท)

%

2557 จานวนเงิน

%

หน่วย : พันบาท 2558 จานวนเงิน %

127,816,102 18,995,274 3,766,443 150,577,819

84.88 12.62 2.50 100.00

125,396,923 23,331,862 600,262 149,329,047

83.97 15.63 0.40 100.00

127,414,763 27,798,086 63,591 155,276,440

82.06 17.90 0.04 100.00

43,136,095 24,273,348 17,760,270 3,766,443 88,936,156 61,641,663

28.65 16.12 11.79 2.50 59.06 40.94

45,206,190 14,593,802 23,148,016 600,262 83,548,270 65,780,777

30.28 9.77 15.50 0.40 55.95 44.05

50,020,302 6,716,228 28,018,892 63,591 84,819,013 70,457,427

32.21 4.33 18.04 0.04 54.62 45.38

4,331,357 10,545,061 14,876,418

2.88 7.00 9.88

6,219,706 12,640,674 18,860,380

4.17 8.46 12.63

6,900,983 13,190,402 20,091,385

4.44 8.50 12.94

46,765,245 548,205 322,553 (233,002) (163,085) (1,002,278)

31.06 0.37 0.21 -0.15 -0.11 -0.67

46,920,397 370,107 329,786 (3,625) (11,973) 188,934 (183,866) (1,526,870)

31.42 0.25 0.22 -0.01 0.13 -0.13 -1.02

50,366,042 291,108 447,705 (10,875) 228,780 (209,178) (1,959,563)

32.44 0.19 0.29 -0.01 0.15 -0.14 -1.26

46,237,638 (10,007,635) 36,230,003

30.71 -6.65 24.06

46,082,890 (10,079,717) 36,003,173

30.86 -6.75 24.11

49,154,019 (9,999,167) 39,154,852

31.66 -6.44 25.22

36,274,128 (44,125)

24.09 -0.03

36,033,165 (29,992)

24.13 -0.02

39,152,410 2,442

25.21 0.01

36,230,003

24.06

36,003,173

24.11

39,154,852

25.22

12.20 12.20

ส่วนที่ 3 | หน้ า 3

12.12 12.12

13.17 13.17


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

งบกระแสเงินสดรวม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสดรวม สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสุทธิสาหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ รายได้ จากการลงทุน ต้ นทุนทางการเงิน หนี ้สงสัยจะสูญและหนี ้สูญ การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ ค่าเผื่อสินค้ าล้ าสมัย การลดมูลค่าของสินค้ า และตัดจาหน่ายสินค้ าคงเหลือ ขาดทุนจากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายสินทรัพย์ ขาดทุน (กาไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจริง ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ภาษีเงินได้ เงินสดได้ มาจากการดาเนินงานก่ อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์ และหนีส้ ินดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ และหนีส้ ินดาเนินงาน เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้ เป็ นการเฉพาะ ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ค้ างจ่าย รายได้ รับล่วงหน้ า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ า เจ้ าหนี ้ (ลูกหนี ้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้ า หนี ้สินหมุนเวียนอื่น หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน

ส่วนที่ 3 | หน้ า 4

หน่วย : พันบาท 2558

2556

2557

36,230,003

36,003,173

39,154,852

3,037,080 13,504,064 (548,205) 1,002,278 786,761 6,986 72,979 562,134 (3,342) 10,007,635

6,224,631 12,697,121 11,973 (370,107) 1,526,870 1,240,097 18,922 60,997 864,997 19,719 3,625 10,079,717

10,153,064 10,342,114 (291,108) 1,959,563 1,315,294 30,661 206,635 302,482 25,736 10,875 9,999,167

64,658,373

68,381,735

73,209,335

(83,290) (3,957,986) (1,511,529) (74,169) (8,380) 2,610,009 (1,319,943) (99,680) 189,893 (8,054) 66,509 91,622 60,553,375 (9,224,648) 51,328,727

71,813 (1,403,349) 284,438 (156,062) (568,973) 2,411,269 1,595,407 583,511 723,400 (24,199) 190,895 84,478 72,174,363 (9,353,965) 62,820,398

(737,952) (2,046,091) (2,714,490) (146,712) (622,142) 2,018,695 233,928 148,588 737,952 90,217 (344,346) 97,008 69,923,990 (8,294,588) 61,629,402


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสดรวม (ต่ อ) สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี ้ย ซื ้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เงินสดรับจากการจาหน่ายอาคาร และอุปกรณ์ ซื ้อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ จ่ายชาระใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่โทรคมนาคม การเพิม่ ขึ ้นในเงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ้ บริษัทย่อยและบริษัทร่วม สุทธิ การ (เพิ่มขึ ้น) ลดลงในเงินลงทุนอื่น ลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม รับเงินปั นผล เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี ้ย จ่ายต้ นทุนทางการเงินอื่น จ่ายชาระหนี ้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน การเพิ่มขึ ้น (ลดลง) ในเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน สุทธิ การเพิ่มขึ ้นในเงินกู้ยืมระยะยาว การลดลงในเงินกู้ระยะยาว การได้ มาซึง่ ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม จ่ายเงินปั นผล เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 5

2556

2557

หน่วย : พันบาท 2558

558,887 (23,013,593) 15,618 (5,446,556) (230,973) (28,116,617)

372,803 (31,731,849) 27,410 (830,273) (3,656,250) (95,000) 82,882 (3,625) 10,000 (35,823,902)

282,277 (32,107,980) 22,120 (146,548) (24,159,783) 95,000 1,230,043 (10,875) 40,000 (54,755,746)

(959,556) (20,385) (29,830) 4,000,000 7,812,480 (8,485,648) (33,889,117) (31,572,056) (8,359,946) 19,833,022 45 11,473,121

(1,229,812) (124,186) (35,511) (4,000,000) 21,600,400 (5,370,463) (2) (35,052,353) (24,211,927) 2,784,569 11,473,121 376 14,258,066

(1,612,269) (178,230) (42,625) 8,500,000 21,500,000 (2,392,023) (37,042,102) (11,267,249) (4,393,593) 14,258,066 440 9,864,913


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

11.1.3

2558

ตารางแสดงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย สรุ ปอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญสาหรับงบการเงิน สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ (เท่า) ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน) วงจรเงินสด (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability Ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น (%) อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (%) อัตรากาไรอื่น (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร (%) อัตรากาไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น เฉลี่ย (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ณ วันสิ ้นงวด อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%) ข้ อมูลต่ อหุ้น มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุ้น (บาท) กาไรสุทธิตอ่ หุ้น (บาท) เงินปั นผลต่อหุ้น (บาท)

ส่วนที่ 3 | หน้ า 6

2556

2557

2558

0.75 0.51 1.13 14.84 24 8.28 43 6.39 56 11

0.88 0.61 1.46 13.26 27 8.60 42 5.79 62 7

0.66 0.37 1.07 13.23 27 7.39 49 5.94 61 15

40.94% 31.06% 0.58% 49.64% 24.09% 81.12% 79.04%

44.05% 31.42% 0.47% 57.54% 24.13% 77.69% 76.89%

45.38% 32.44% 0.48% 13.65% 25.21% 82.12% 80.74%

34.06% 72.11% 1.41

30.23% 55.20% 1.25

25.41% 49.12% 1.01

1.44 47.33 4.95 99.58%

1.70 32.79 13.28 99.01%

2.75 28.27 3.87 98.64%

15.44 12.20 12.15

15.76 12.12 12.00

16.31 13.17 12.99


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย สรุ ปอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญสาหรับงบการเงิน (ต่ อ) สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

2556

อัตราการเติบโต สินทรัพย์รวม (%) หนี ้สินรวม (%) รายได้ จากการขายหรือบริการ (%) ค่าใช้ จา่ ยดาเนินงาน (%) กาไรสุทธิ (%)

10.95% 15.16% (0.80%) 24.41% 3.99%

ส่วนที่ 3 | หน้ า 7

2557 12.79% 20.19% (0.83%) 26.78% (0.66%)

2558 43.85% 67.66% 3.98% 6.53% 8.66%


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ 14.1 คาอธิบายและบทวิเคราะห์ ของฝ่ ายบริหารประจาปี 2557 บทวิ เคราะห์สาหรับผู้บริ หาร เอไอเอสมีรายได้จากการให้ บริ การเติ บโตใกล้เคียงกับประมาณการ ในปี 2558 สภาวะเศรษฐกิ จ ของประเทศฟื้ น ตัว ค่ อ นข้า งช้ า แม้ ก ารบริโ ภค ภายในประเทศและการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ เริม่ ในไตรมาส 4/2558 มีแนวโน้ มดีขน้ึ จากสภาวะเศรษฐกิจดังกล่าว ทาให้ รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) เติบโต 2.2% ซึ่งต่ ากว่า ประมาณการที่ 3% เล็กน้อย การเติบโตดังกล่าวมาจากการให้บริการแบบราย เดือน ซึ่งลูกค้ามีความต้องการในการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึน้ ชดเชยกับ ผลกระทบจากการลงทะเบียนเลขหมายบนระบบเติมเงิน แม้มีการอุดหนุนค่าเครื่องมือถือ โครงสร้างต้ นทุน 3G ที่ ตา่ กว่า ผลักดัน กาไรให้ เติ บโต บริษทั ยังคงสามารถทากาไรจากการขายมือถือในช่วงครึง่ แรก ของปี 2558 อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึง่ ปี หลัง เอไอเอสได้เริม่ ทาแคมเปญอุดหนุ น ค่าเครื่องมือถือในโครงการเก่าแลกใหม่ เพื่อให้ลูกค้า 2G มาใช้บริการ 3G ทาให้ อัตราขาดทุนมือถือของปี 2558 อยู่ท่ี 0.8% การย้า ยมาใช้งานบริการ 3G2.1GHz ของลูกค้า จะทาให้ต้นทุนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ลดลงเมื่อ เทียบกับโครงสร้างต้นทุนโครงข่าย 2G บนคลื่น 900MHz ในระบบสัมปทาน โดยอัต ราส่ ว นต้ น ทุ น ค่ า ธรรมเนี ย มและส่ ว นแบ่ ง รายได้ ต่ อ รายได้ จ ากการ ให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) ของปี 2558 ลดลงมาอยู่ท่ี 11.7% เทียบกับ 16.5% ในปี 2557 ทัง้ นี้ EBITDA ในปี น้ีเติบโตขึน้ 6.5% เป็ น 70,776 ล้านบาท หรือคิดเป็ นอัตรากาไรจากการให้บริการที่ 55.7% เติบโตจาก 52.8% ซึง่ สูงกว่าทีป่ ระมาณการว่าจะเติบโตที่ 200bps กาไรสุทธิเติบโตขึน้ 8.7% มาอยู่ ที่ 39,152 ล้านบาท ในไตรมาส 4/2557 เอไอเอสได้บนั ทึกค่าตัดจาหน่ า ย สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจานวน 664 ล้านบาท เมื่อตัดรายการพิเศษ

ดังกล่าว กาไรสุทธิอยู่ในปี ทผ่ี า่ นมาจะเติบโต 6.7% เอไอเอสเปิ ดให้บริ การ 4G บนระบบใบอนุญาตคลื่น 1800MHz และมุ่งเน้ น การพัฒนาคุณภาพโครงข่ าย 3G หลังจากได้รบั ใบอนุ ญาตคลื่น 1800MHz จากการประมูลในเดือนพฤศจิกายน 2558 เอไอเอสได้เปิ ดให้บริการ 4G อย่าง เป็ นทางการในวันที่ 26 มกราคม 2559 โดยมีโครงข่ายครอบคลุม 42 จังหวัด และยังคงขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่อง อีกทัง้ บริษัทตัง้ เป้าให้ลูกค้าที่ยงั คงใช้ บริการ 2G บนระบบสัญญาร่วมการงานของคลื่น 900MHz หันมาใช้บริการ 3G โดยบริษทั ยังคงพัฒนาคุณภาพของโครงข่าย 3G-2.1GHz บนระบบใบอนุ ญาต ทัง้ ด้านความจุและความครอบคลุมของโครงข่ายเพื่อรองรับลูกค้า 2G ทีจ่ ะย้าย มาใช้งาน บริษทั ได้กาหนดพืน้ ทีท่ จ่ี ะต้องลงทุนเพื่อวางโครงข่ายเพิม่ เติม เพื่อให้ โครงข่าย 3G-2.1GHz สามารถทดแทนโครงข่าย 2G-900MHz ได้อย่างสมบูรณ์ ประมาณการสาหรับปี 2559 บริษทั คาดการณ์ว่ารายได้จากการให้บริการ (ไม่ รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) สาหรับปี 2559 จะคงที่ เนื่องจากการเปิ ดให้บริการ 4G บนคลื่น 1800MHz รวมถึงการรุกในธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง จะส่งผล ให้รายได้เพิม่ สูงขึน้ แต่การปิ ดการให้บริการบนระบบ 2G อาจทาให้สูญเสีย รายได้บางส่วน และคาดว่าอัตรา EBITDA margin รวมจะอยู่ในช่วง 37-38% เนื่องจากผลกระทบของการปิ ดบริการ 2G และต้นทุนการทาธุรกิจร่วมกับทีโอที ในปี 2559 บริษัทตัง้ งบลงทุนไว้ท่ี 40,000 ล้า นบาท เพื่อใช้ใ นการขยาย โครงข่าย 4G และการเพิม่ คุณภาพของโครงข่าย 3G เป็ นหลัก ทัง้ นี้ นโยบาย การจ่ายเงิน ปนั ผลยังคงอยู่ ท่ี 100% ของกาไรสุ ทธิ (ประมาณการฉบับ เต็ม สามารถดูได้ในหน้า 8)

เหตุการณ์สาคัญ ในไตรมาส 4/2558 เอไอเอสได้ปรับการจัดกลุม่ รายได้อ่นื ซึง่ เกีย่ วข้องกับรายได้ Wifi และยังปรับการจัดสรรรายได้จากการโทรและรายได้จากบริการข้อมูล รายได้จาก Wifi ถูกแยกออกจากรายได้อ่นื และนาไปรวมกับรายได้จากการบริการแทน การปรับดังกล่าวทาให้ ARPU รวมสูงขึน้ เล็กน้อย จึงมีการปรับปรุง ARPU นับตัง้ แต่ ไตรมาส 4/2556 ซึง่ เป็ นไตรมาสแรกทีบ่ นั ทึกรายได้จาก Wifi ส่วนการจัดสรรรายได้จากการโทรและรายได้จากบริการข้อมูลทาให้รายได้จากการโทรเพิม่ ขึน้ และ รายได้จากบริการข้อมูลลดลง ในขณะทีร่ ายได้จากการบริการโดยรวมไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง รายได้ดงั กล่าวได้ถูกปรับปรุงรายการนับตัง้ แต่ไตรมาส 1/2556 กรุณาดู ข้อมูลการดาเนินงาน เพื่อทราบรายละเอียดเพิม่ เติม นอกจากนี้ ยังมีการปรับปรุงรายการต้นทุนโครงข่ายตัง้ แต่ไตรมาส 1/2556 เนื่องมาจากการจัดกลุ่มรายได้ในส่วนต้นทุนการบริการบางรายการ ให้ไปอยู่ในต้นทุน โครงข่าย ซึง่ ทาให้เกิดผลกระทบเพียงเล็กน้อย

สภาวะตลาดและการแข่งขันในปี 2558 ในปี 2558 เศรษฐกิจของประเทศค่อนข้างฟื้ นตัวได้ชา้ กดดันการจับจ่ายใช้สอยของผูบ้ ริโภค อีกทัง้ เหตุการณ์ระเบิดกลางกรุงเทพฯ ในไตรมาส 3/2558 ทีผ่ า่ นมายิง่ ส่งผลให้ความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคลดลงในระยะสัน้ การท่องเทีย่ วปรับตัวดีขน้ึ เนื่องจากช่วงท่องเทีย่ วในเดือนธันวาคม และทาให้จานวนนักท่องเทีย่ วโดยรวมเพิม่ ขึน้ จากปี 2557 อย่างไรก็ตาม นโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลทีเ่ ริม่ ในไตรมาส 4/2558 ช่วยส่งผลบวกต่อการใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภค แนวโน้มการใช้งานการโทรทีล่ ดลงยังคงต่อเนื่องในปี น้ี แต่การใช้งานอินเทอร์เน็ตบนมือถือทีย่ งั คงเพิม่ ขึน้ ช่ว ยชดเชยให้รายได้ยงั คงเติบโต โดยมีปจั จัยหลักมาจาก อัตราการใช้งานสมาร์ทโฟนทีเ่ พิม่ ขึน้ ในภาพรวมของอุตสาหกรรม การใช้งานในระบบรายเดือนยังคงมีการเติบโตโดยได้แรงหนุนจากความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ต ผนวกกับการนาเสนอแพ็กเกจทีใ่ ช้งานได้ไม่จากัดของผูใ้ ห้บริการแต่ละราย ในขณะทีร่ ายได้จากการใช้งานระบบเติมเงินลดลงเล็กน้อย จากแนวโน้มการเปลีย่ นไปใช้ งานระบบรายเดือน นอกจากนี้ การลงทะเบียนเลขหมายบนระบบเติมเงินในปี ทผ่ี า่ นมาทาให้จานวนเลขหมายบนระบบเติมเงินลดลง แต่เป็ นผลกระทบชัว่ คราวและ คาดว่าอัตราการเติบโตของลูกค้าระบบเติมเงินต่อไปจะปรับตัวสู่ระดับปกติ

ส่วนที่ 3 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

ในช่วงครึง่ ปีแรกทีผ่ า่ นมา ผูใ้ ห้บริการใช้กลยุทธ์การอุดหนุนค่าเครื่องมือถือให้แก่ลูกค้า โดยเริม่ จากการแจกเครื่องมือถือแบบปุม่ กดฟรี และขยายเข้าสู่การแจกมือถือ สมาร์ทโฟนราคาต่ า ทัง้ นี้ ในเดือนกรกฏาคมทีผ่ า่ นมา เอไอเอสได้เริม่ แคมเปญเก่าแลกใหม่ ซึง่ ช่วยอุดหนุนค่าเครื่องมือถือให้แก่ลกู ค้า โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ลกู ค้า ทีย่ งั คงใช้งานบนระบบสัญญาร่วมการงาน 2G-900MHz มาใช้งานบนนระบบใบอนุญาต 3G บนคลื่น 2.1GHz และเพื่อรักษาส่วนแบ่งทางการตลาด ในเดือนธันวาคมปี ทีผ่ า่ นมา หลังจากทีบ่ ริษทั ตัดสินใจไม่ประมูลใบอนุญาตคลื่น 900MHz ต่อด้วยราคาประมูลทีส่ งู เกินไป ทาให้บริษทั ปรับแผนกลยุทธ์การอุดหนุนค่าเครื่องมือถือให้ม ี ประสิทธิภาพมากขึน้ เพื่อรองรับการย้ายมาใช้งาน 3G ของลูกค้าให้ได้มากทีส่ ุดในช่วงระยะเวลาสามเดือน ก่อนทีจ่ ะต้องส่งมอบคลื่น 900MHz ไปยังผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาต รายใหม่ อย่างไรก็ตาม ในเดือนพฤศจิกายนทีผ่ า่ นมา เอไอเอสชนะการประมูลใบอนุญาตคลื่น 1800MHz และได้เปิ ดให้บริการ 4G บนคลื่นดังกล่าวอย่างเป็ นทางการในเดือน มกราคม 2559 ด้วยแถบความกว้างของคลื่นความถี่ (bandwidth) จานวน 15MHz และสถานีฐาน 7,000 สถานี ซึง่ ครอบคลุม 42 จังหวัด ในช่วงก่อนการประมูล ดังกล่าว ผูใ้ ห้บริการรายอื่นๆ ได้พยายามโฆษณาถึงประโยชน์ของบริการ 4G เพื่อดึงดูดลูกค้าผ่านแพ็กเกจทีจ่ งู ใจ และมีการขายมือถือทีร่ องรับ 4G ในตลาดมากขึน้ ด้วยราคาต่อเครื่องทีล่ ดลง ก้าวทีส่ าคัญสาหรับเอไอเอสในปี ทผ่ี า่ นมาคือการเข้าสู่ธรุ กิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในเดือนเมษายน 2558 ซึง่ ทาให้คู่แข่งในตลาดเริม่ ปรับตัว และนาเสนอแพ็กเกจบน เทคโนโลยี FTTx (ใยแก้วนาแสง) มากขึน้ โดยผูใ้ ห้บริการทีม่ ที งั ้ บริการมือถือ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และบริการอื่นๆ พยายามนาเสนอบริการทีค่ รบวงจร (Convergence) เพื่อดึงดูดลูกค้า

สรุปผลการดาเนิ นงาน ณ สิ้นปี 2558 เอไอเอสให้บริการลูกค้าด้วยจานวนเลขหมายรวม 38.5 ล้าน เลขหมาย ทัง้ ระบบเติมเงินและระบบรายเดือน โดยลดลงจากปี 2557 เนื่องจาก การปรับฐานของเลขหมายระบบเติมเงินในไตรมาส 1/2558 รวมถึงผลกระทบ จากการลงทะเบีย นเลขหมายตามประกาศของกสทช. ช่ ว งไตรมาส 2 และ 3/2558 ณ สิน้ ปี 2558 จานวนเลขหมายระบบเติ มเงิ นอยู่ท่ี 33.1 ล้านเลขหมาย หรือเพิม่ ขึน้ 609,400 เลขหมายในไตรมาส 4 ซึ่งทรงตัวหลังจากผลกระทบเรื่อง การลงทะเบียนของเลขหมายระบบเติมเงินใน ไตรมาส 2/2558 และ ไตรมาส 3/2558 จานวนเลขหมายระบบรายเดือนอยู่ท่ี 5.4 ล้านเลขหมาย หรือเพิม่ ขึน้ 68,000 เลขหมายในไตรมาส 4 จากแนวโน้ มของการย้ายจากระบบเติมเงินมา เป็ นระบบรายเดือน รายได้เฉลี่ย/เลขหมาย/เดือน ในไตรมาส 4/2558 จานวนผู้ใช้บริ การ 1) ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz 2) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจานวนผู้ใช้บริ การ จานวนผู้ใช้บริ การที่เพิ่ มขึ้น 1) ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz 2) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจานวนผู้ใช้บริ การที่เพิ่ มขึ้น ARPU (บาท/เลขหมาย/เดือน) 1) ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz 2) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย

ไตรมาส 4/2557 3,546,800 40,754,500 4,940,700 39,360,600 44,301,300

เป็ น 254 บาท เพิม่ ขึน้ จาก 249 บาท ในไตรมาส 3/2558 (ปรับปรุงแล้ว) ปริ มาณการโทรของลูกค้าต่ อเลขหมายต่ อเดือนในไตรมาส เฉลี่ยเพิ่มขึน้ เป็ น 292 นาที และ อัตราการใช้งานอิ นเตอร์เน็ตเฉลี่ย เป็ น 2GB/เลขหมายที่ ใช้งานอินเทอร์เน็ต/เดือน เพิม่ ขึน้ จากทัง้ ระบบเติมเงินและระบบรายเดือน ทัง้ นี้ การใช้งานอินเตอร์เน็ตเติบโตขึน้ จากอัตราการใช้งานมือถือสมาร์ทโฟนทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก 53% เป็ น 59% ซึ่งโดยหลักมาจากแคมเปญมือถือ LAVA สมาร์ทโฟน ที่ ประสบความส าเร็จ รวมถึ ง การมีร าคาดาต้ า ที่น่ า สนใจ จึง ให้อ ัต ราการใช้ อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือเติบโตขึน้

ไตรมาส 1/2558 3,094,800 38,856,000 5,059,500 36,891,300* 41,950,800

ไตรมาส 2/2558 2,727,700 37,333,400 5,219,900 34,841,200 40,061,100

ไตรมาส 3/2558 1,915,900 35,894,800 5,363,200 32,447,500 37,810,700

ไตรมาส 4/2558 653,100 37,835,000 5,431,200 33,056,900 38,488,100

-1,567,800 2,073,900 154,000 352,100 506,100

-452,000 -1,898,500 118,800 -2,469,300* -2,350,500

-367,100 -1,522,600 160,400 -2,050,100 -1,889,700

-811,800 -1,438,600 143,300 -2,393,700 -2,250,400

-1,262,800 1,940,200 68,000 609,400 677,400

216 223 639 173 222

229 228 629 178 228

246 241 627 188 242

230 250 630 192 249

159 257 612 195 254

1Q13

ส่วนที่ 3 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี MOU (นาที/เลขหมาย/เดือน) 1) ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz 2) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย VOU (เมกะไบต์/เลขหมายทีใ่ ช้อนิ เทอร์เน็ต/เดือน) ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย อัตราการใช้เครื่องโทรศัพท์ บนระบบใบอนุญาต 2.1GHz มือถือทีร่ องรับระบบ 3G มือถือสมาร์ทโฟน

2558 1Q13

210 275 373 256 269

218 275 355 260 271

214 289 342 275 283

209 296 339 283 291

154 297 330 286 292

1,620 1,450 1,480

1,740 1,610 1,630

1,990 1,510 1,600

2,150 1,680 1,770

2,360 1,910 2,000

54% 39%

58% 44%

62% 49%

67% 53%

70% 59%

1Q13

1)

ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz หมายถึงการจดทะเบียนเลขหมายบน 900 และ 1800MHz ซึง่ อยู่ภายใต้สมั ปทานสัญญาร่วมการงานแบบ สร้าง) ดาเนินการ-โอน-build-transfer-operate) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz หมายถึงการจดทะเบียนเลขหมายบน 2100MHz ซึง่ อยู่ภายใต้ใบอนุญาตทีอ่ อกโดย กสทช ดยลูกค้าทีถ่ อื อุปกรณ์โ .2G จะใช้บริการโครงข่าย 900MHz * ปรับฐานลูกค้าโดยล้างเลขหมายทีไ่ ม่มกี ารใช้งานเกิน 90 วัน ออกจากระบบ 2)

สรุปผลการดาเนิ นงานสาหรับไตรมาส 4/2558 ในไตรมาส 4/2558 รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) เท่ากับ 29,887 ล้านบาท ลดลง 0.2% จากไตรมาสก่อน และลดลง 0.5% จากปี ก่อน หาก ไม่รวมรายการพิเศษของรายได้จานวน 152 ล้านบาทในไตรมาส 3/2558 จะทาให้รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) ก่อนรายการพิเศษเพิม่ ขึน้ 0.3% จากไตรมาสก่อน สาหรับไตรมาส 4/2558 นี้ เอไอเอสได้เปิ ดตัวแคมเปญโทรศัพท์เคลื่อนทีห่ ลากหลาย ทัง้ LAVA ทีร่ องรับ 4G และ iPhone6s ทาให้รายได้จาก การขายซิมและอุปกรณ์เพิม่ ขึน้ ถึง 57% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ส่วนอัตรากาไรจากการขายเครื่องมือถืออยู่ท่ี -0.8% ปรับตัวขึน้ มาจาก -11% ในไตรมาส 3/2558 ซึง่ เป็ นผลมาจากสินค้าทีม่ อี ตั รากาไรสูงอย่างเช่น iPhone6s และ AIS 4G LAVA เมื่อสัญญาร่วมการงานกับทีโอทีได้สน้ิ สุดลงในไตรมาส 3/2558 จึงไม่มกี ารจ่ายส่วนแบ่งรายได้ให้กบั ทีโอทีหลังจากนัน้ ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ลดลง 20% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และลดลง 31% เมื่อเทียบกับปี ก่อน อยู่ท่ี 2,662 ล้านบาท เนื่องจากการทีล่ ูกค้า 2G ย้ายไปใช้โครงข่าย 3G บนระบบใบอนุ ญาต 2.1GHz มากขึน้ ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้น้คี ดิ เป็ นอัตราส่วน 8.9% ของรายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) เทียบกับ 12.8% ในไตรมาส 4/2557 นอกจากนี้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ายในไตรมาส 4/2558 อยู่ท่ี 3,495 ล้านบาท ลดลงอย่างมากถึง 40% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนและ 31% เมื่อเทียบกับปี ก่อน เนื่องจากได้ตดั จาหน่ ายสินทรัพย์อุปกรณ์ 2G ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานเสร็จสิ้นในไตรมาส 3/2558 ส่วนเครือข่าย 3G บนระบบใบอนุ ญาต 2.1GHz ได้มกี ารขยาย อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ค่าใช้จา่ ยและค่าซ่อมบารุงของสถานีฐานเพิม่ ขึน้ ค่าใช้จา่ ยโครงข่ายอยู่ท่ี 2,672 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 19% จากไตรมาสก่อน และ 19% จากปี ก่อน ค่าใช้จา่ ยการตลาดเพิม่ ขึน้ 27% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และ 18% จากปี ก่อน เป็ น 2,209 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจากการโฆษณาบริการ 4G ผ่านหลากหลาย ช่องทาง และยังมีแคมเปญแลกเครื่องโทรศัพท์ซง่ึ เริม่ ต้นในเดือนธันวาคม 2558 โดยรวม EBITDA เท่ากับ 17,204 ล้านบาท ลดลง 1.3% จากไตรมาสก่อน และลดลง 3% จากปี ก่อน เป็ นผลมาจากค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายการตลาด แม้รายได้จะเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยและมีค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่ง รายได้ลดลง กาไรสุทธิเท่ากับ 10,791 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 25% จากไตรมาสก่อน และ 18% จากปี ก่อน โดยส่วนใหญ่แล้วมาจากค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ท่ี ลดลงมากรวมถึงค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ ายทีล่ ดลงเช่นกัน หากไม่รวมรายการพิเศษการบันทึกค่าตัดจาหน่ ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตั ดบัญชีในไตรมาส 4/2557 กาไรก่อนรายการพิเศษของไตรมาส 4/2558 จะโตขึน้ 10%

ส่วนที่ 3 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

สรุปงบการเงิ น ปี 2558 รายได้ รายได้รวม (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) ของเอไอเอส เท่ากับ 155,213 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 4.4% จากปี ก่อน โดยรวมถึงรายได้จากการบริการ รายได้จากการขายอุปกรณ์ และรายได้ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ รายได้จากการขายซิ มและอุปกรณ์ เท่ากับ 27,798 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 19% จากปี ก่อน มาจากการขายโทรศัพท์เคลื่อนทีถ่ งึ 7.8 ล้านเครื่องในปี 2558 โดยมี AIS LAVA เป็ นหลัก จานวน 6 ล้านเครื่อง และนอกจากนัน้ เป็ นแบรนด์ทวไป ั่ เช่น ซัมซุง ไอโฟน เป็ นต้น การทาแคมเปญแลกเครื่องในช่วงครึง่ ปี หลังของปี 2558 ทาให้มอี ตั ราขาดทุน 0.8% ในปี 2558 รายได้จากการให้ บริ การ (ไม่รวมค่าเชื่ อมโยงโครงข่าย) เท่ากับ 120,621 ล้าน บาท เพิม่ ขึน้ 2.2% เมื่อเทียบกับปี ก่อน เป็ นผลมาจากการใช้อนิ เทอร์เน็ตผ่านมือ ถือทีเ่ พิม่ ขึน้ จึงทาให้รายได้จากบริการข้อมูลเพิม่ ขึน้ ในขณะทีร่ ายได้จากการโทร ลดลงตามพฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป  รายได้จากการโทร เท่ากับ 60,547 ล้านบาท ลดลง 12% เมื่อเทียบกับปี ก่อน ตามแนวโน้มทีล่ ูกค้าใช้งานการโทรลดลง และหันไปใช้อนิ เทอร์เน็ตผ่านมือถือ มากขึน้  รายได้จากบริ การข้อมูล เพิม่ ขึน้ ถึง 27% จากปี ก่อน เป็ น 53,193 ล้าน บาทในปี 2558 จาก 42,043 ล้านบาท ในปี 2557 สาเหตุหลักมาจากการใช้ งานอินเทอร์เน็ตผ่านมือถือมากขึน้ รวมทัง้ อัตราการใช้มอื ถือสมาร์ทโฟนที่ เพิม่ ขึน้ เป็ น 59% ในปี 2558 จาก 39% ในปี 2557 รายได้จากบริการ อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือมีสดั ส่วน 41% ของรายได้จากการบริการ (ไม่รวมค่า เชื่อมโยงโครงข่าย) เทียบกับ 31% ในไตรมาส 4/2557 และ 39% ใน ไตรมาส 3/2558  บริ การข้ามแดน (IR) เติบโต 4.3% จากปี ก่อน เป็ น 2,336 ล้านบาท ตาม แนวโน้มทีเ่ ติบโตขึน้ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2558 แม้จะได้รบั ผลกระทบจาก การปิ ดบริการข้ามแดนสาหรับลูกค้า 2G ทีเ่ ดินทางเข้ามาในประเทศไทย ช่วง ไตรมาส 4/2558  รายได้ จากบริ การโทรทางไกลระหว่ างประเทศและอื่ นๆ รายได้ลดลง 3.1% จากปี ก่อน เป็ น 4,544 ล้านบาทในปี 2558 ค่าเชื่ อมโยงโครงข่ายสุทธิ (IC) อยู่ท่ี 681 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ เล็กน้อย จาก 641 ล้านบาทในปี 2557 ในช่วงครึง่ ปี หลังของ 2558 รายได้ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย และค่าใช้จา่ ยเชื่อมโยงโครงข่ายลดลงในช่วงครึง่ หลังของปี 2558 เนื่องจากมีการ ปรับอัตราค่าเชื่อมโยงโครงข่ายในช่วงไตรมาส 3/2558 ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ในปี 2558 ต้ นทุนการให้ บริ การ (ไม่รวมค่าเชื่ อมโยงโครงข่าย) อยู่ท่ี 50,624 ล้านบาท ลดลง 4.5% จากปี ก่อน โดยสาเหตุหลักมาจากค่าธรรมเนียมและส่วน แบ่งรายได้ทล่ี ดลง แม้ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ ายเพิม่ ขึน้ จากสถานีฐานที่ เพิม่ ขึน้ รวมถึงค่าใช้จา่ ยโครงข่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ สาหรับเครือข่าย 3G และ 4G  ค่าธรรมเนี ยมและส่ วนแบ่งรายได้ อยู่ท่ี 14,116 ล้านบาท ลดลง 27% จาก ปี ก่อน จากการทาแคมเปญให้ลูกค้าเปลี่ยนมือถือให้เป็ นเครื่อง 3G ซึ่งทาให้ม ี

อัตราการใช้มอื ถือทีร่ องรับระบบ 3G บนระบบใบอนุ ญาต 2.1GHz เพิม่ ขึน้ เป็ น 69% ในปี 2558 ใกล้เคียงกับเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ท่ี 70% ทัง้ นี้หลังจากสัญญาร่วม การงานบนเครือข่าย 900MHz สิ้นสุดลงในเดือนกันยายน 2558 จึงไม่มกี าร จ่ า ยส่ ว นแบ่ ง รายได้ ใ ห้ ก ับ ทีโ อที แต่ ใ นช่ ว งประกาศมาตรการคุ้ ม ครอง ผูใ้ ช้บริการเป็ นการชัวคราวในกรณี ่ ส้นิ สุดสัมปทาน (มาตรการเยียวยา) เอไอ เอสได้ ต ั ้ง ส ารองค่ า ใช้ จ่ า ยนี้ ต ามข้ อ ก าหนดของกสทช. สั ด ส่ ว นของ ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้เมื่อเทียบกับรายได้จากการบริการ (ไม่รวม ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) ในปี 2558 เท่ากับ 11.7% ลดลงจาก 16.5% ในปี 2557  ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย อยู่ท่ี 20,146 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 8.1% จากปี ก่อน ค่าเสื่อมราคาส่วนใหญ่เกิดจากการขยายโครงข่าย 3G บนระบบ ใบอนุ ญาต 2.1GHz ทัง้ นี้ สินทรัพย์ 2G ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานได้ตดั จาหน่ ายครบแล้วในไตรมาส 3/2558 รวมเป็ น 8,700 ล้านบาท ส่วนค่าตัด จาหน่ายใบอนุญาตของคลื่นความถี่ 2.1GHz และ 1800MHz ซึ่งเพิง่ ได้รบั ใบอนุญาตในเดือนพฤศจิกายน 2558 รวมเป็ น 1,200 ล้านบาท  ต้ นทุนโครงข่ าย เพิ่มขึน้ 12% จากปี ก่อน เป็ น 9,620 ล้านบาท ตาม จานวนสถานีฐาน 3G ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยต้นทุนดังกล่าวรวมถึงค่าเช่าทีส่ าหรับ สถานีฐาน ค่าไฟ และค่าบารุงรักษา  ต้ นทุนการให้ บริ การอื่ น เท่ากับ 6,742 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 5.8% จากปี ก่อน โดยส่วนใหญ่มาจากอุปกรณ์และการติดตัง้ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงไฟ เบอร์ รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยด้านพนักงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ของคอลล์เซ็นเตอร์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร เท่ากับ 20,091 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 6.5% จากปี ก่อน โดยส่วนใหญ่มาจากค่าใช้จา่ ยการตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้  ค่าใช้ จ่ายการตลาด เพิม่ ขึน้ 11% จากปี ก่อน เป็ น 6,901 ล้านบาท โดย ส่วนใหญ่ มาจากค่า ใช้จ่า ยส่งเสริมการขายและโฆษณาเพื่อสร้างแบรนด์ รวมถึงแคมเปญแลกเครื่องโทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงไฟเบอร์  ค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร เท่ากับ 11,526 ล้านบาท เพิ่มขึน้ 3.7% จากปี ก่อน มาจากค่ าใช้จ่ายด้านพนัก งานที่เพิ่มขึน้ ในขณะที่ค่า ใช้จ่ายในการ บริหารลดลง  ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย เท่ากับ 349 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 21% เมื่อ เทียบกับปี ก่ อน เนื่ องจากการขยายและการตกแต่ งเอไอเอสช็อป รวมทัง้ ช่องทางจัดจาหน่ายอื่นๆ  ค่ าใช้ จ่ายการตัง้ สารองหนี้ สูญ เท่ากับ 1,315 ล้านบาท เพิ่มขึน้ 6.1% จากปี ก่อน เนื่ องจากจานวนลูก ค้า ระบบรายเดือนที่เพิ่มขึ้น โดยคิดเป็ น 3.4% ของรายได้จากระบบรายเดือน อยู่ในระดับเดียวกับ 3.5% ในปี 2557 ซึง่ ถึงว่าอยู่ในระดับทีส่ ามารถบริหารจัดการได้ ต้ นทุนทางการเงิ น อยู่ท่ี 1,960 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 28% จากปี ก่อน เนื่องจาก การกูย้ มื ทีเ่ พิม่ ขึน้ สาหรับการชาระค่าใบอนุญาตคลื่นความถี่ 1800MHz กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เท่ากับ 229 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 40 ล้านบาทในปี 2557 เอไอเอสมีนโยบายทีจ่ ะป้องกันความเสี่ยงด้านความผันผวนของค่าเงิน สาหรับเงินกู้ทงั ้ หมดในสกุลเงินต่างประเทศ แต่สาหรับเงินลงทุนโครงข่ายนัน้ สามารถป้ องกัน ความเสี่ย งได้บ างส่ ว น จากการป้ องกัน ความเสี่ย งดัง กล่ า ว เอไอเอสมีกาไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปี 2558

ส่วนที่ 3 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

กาไร ในปี 2558 EBITDA เติบโต 6.5% จากปี ก่อน เป็ น 70,776 ล้านบาท เนื่องจาก ค่า ธรรมเนี ย มและส่ว นแบ่ง รายได้ท่ลี ดลงอย่ างมาก แม้ต้น ทุน โครงข่ายและ ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารจะเพิม่ ขึน้ อัตรา EBITDA margin รวม เพิม่ ขึน้ เป็ น 45.6% หรือเพิม่ 90bps จากปี 2557 และ อัตรา EBITDA margin จากการ บริ การ เพิม่ ขึน้ เป็ น 55.7% เติบโตขึน้ 290bps จากปี 2557 กาไรสุทธิ สาหรับ ปี 2557 อยู่ท่ี 39,152 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 8.7% จากปี ก่อน หากไม่รวมรายการ พิเศษการบันทึกค่าตัดจาหน่ ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในไตรมาส 4/2557 จานวน 664 ล้านบาท กาไรก่อนรายการพิเศษสาหรับปี 2558 นี้เติบโต 6.7% เมื่อเทียบกับปี ก่อน

กระแสเงิ นสด ในปี 2558 เอไอเอสมีเงินสดสุทธิจากการดาเนินงาน 61,629 ล้านบาท ลดลง จาก 62,820 ล้ า นบาทในปี ท่ีผ่ า นมา จากการขยายเครือ ข่ า ยและเพิ่ ม ความสามารถรองรับลูกค้า ทาให้มกี ารใช้งบลงทุนรวม 32,255 ล้านบาทในปี 2558 ซึ่งต่ ากว่าประมาณการที่ 36,000 ล้านบาท กระแสเงินสดอิสระ (เงินสด สุทธิจากการดาเนินงาน หักงบลงทุน) เท่ากับ 29,374 ล้านบาท ส่วนเงินกู้ยมื ใน ปี น้ีเพิ่มขึน้ 27,608 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่แล้ว เพื่อนาไปชาระค่าใบอนุ ญาต คลื่นความถี่ ในปี น้ีเอไอเอสได้ชาระค่าใบอนุ ญาตคลื่นความถี่ 1800MHz งวด แรก เป็ นเงิน 20,500 ล้านบาท และ 3,656 ล้านบาท สาหรับค่าใบอนุ ญาตคลื่น ความถี่ 2.1GHz งวดสุดท้าย เงินปนั ผลจ่ายสาหรับทัง้ ปี อยู่ท่ี 37,042 ล้านบาท

ฐานะการเงิ น เอไอเอสมีสนิ ทรัพย์รวม 181,761 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 44% จากปี ก่อน เนื่องจากมี ใบอนุ ญาตคลื่นความถี่ 1800MHz และการขยายโครงข่าย 3G หนี้สินรวม เพิม่ ขึน้ 68% จากปี ก่อน เป็ น 133,268 ล้านบาท เนื่องจากมีการกูร้ ะยะสัน้ และกู้ ระยะยาวในช่วงครึ่งหลังของปี 2558 ส่วนของผู้ถือหุน้ เพิ่มขึน้ เล็กน้ อย อยู่ท่ี 48,493 ล้านบาท อัตราส่วนสภาพคล่องเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยเป็ น 0.66 เท่า แม้จะมี หนี้สนิ ทีม่ ดี อกเบีย้ เพิม่ ขึน้ แต่อตั ราหนี้สนิ สุทธิต่อ EBITDA ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ที่ 0.72 เท่า โดยมีอตั ราดอกเบีย้ เฉลีย่ 3.6% ต่อปี ลูกหนี้ การค้า เท่ากับ 11,030 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 6% จากปี ก่อน เนื่องจากมี รายได้เติบโต โดยเฉพาะรายได้จากลูกค้าระบบรายเดือน

ภาระผูกพัน ในปี 2558 เอไอเอสมีภาระผูกพันสาหรับการลงทุนและค่าใช้จา่ ยต่างๆ ซึง่ จะต้องชาระในอนาคต โดยมีภาระผูกพันทีเ่ ป็ นรายการสาคัญดังต่อไปนี้

สิ นค้ าคงคลัง อยู่ท่ี 5,059 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ถึง 101% เมื่อเทียบกับปี ก่อน เนื่องจากมีจานวนสินค้า โทรศัพ ท์มอื ถือเพิ่ม ขึน้ เตรียมสาหรับ แคมเปญแลก เครื่องมือถือ เจ้ าหนี้ การค้ า อยู่ท่ี 14,358 ล้านบาท เพิ่ม ขึน้ 21% เมื่อเทีย บกับ ปี ก่อน เนื่องจากมีการสังอุ ่ ปกรณ์โครงข่ายเพิม่ ขึน้

 อาคารและอุปกรณ์ – 21,174 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 18,765 ล้านบาท ในปี 2557 เนื่องจากแผนงานในการลงทุนสาหรับเครือข่ายทีเ่ พิม่ ขึน้  ใบสังซื ่ ้อสิ นค้าและวัสดุคงเหลือ – 25,554 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 6,340 เนื่องจากการสังซื ่ อ้ โทรศัพท์มอื ถือ เพื่อรองรับความต้องการใช้ สมาร์ทโฟนทีเ่ พิม่ ขึน้  สัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้ า – 16,349 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 10,983 ล้านบาท เนื่องจากการซือ้ ตราสารเพื่อ ป้องกันความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น สาหรับเงินลงทุนโครงข่ายที่ เพิม่ ขึน้  หนังสือคา้ ประกันจากธนาคารสาหรับการชาระใบอนุญาตคลื่น ความถี่ – 21,928 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 3,912 ล้านบาท เนื่องจาก การชาระค่าใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 1800MHz ทีไ่ ด้รบั ช่วงปลายปี 2558

ส่วนที่ 3 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

งบกาไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้จากการโทร (Voice) รายได้จากบริการข้อมูล (Non-voice) รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ อื่นๆ (โทรต่างประเทศ, อื่นๆ) รวมรายได้จากการให้ บริ การไม่รวม IC รายรับค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย (IC) รายได้จากการขายซิมและอุปกรณ์ รวมรายได้ (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ ค่าตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายด้านโครงข่าย ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ ต้นทุนการให้ บริ การไม่รวม IC ต้นทุนค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย (IC) ต้นทุนการขายซิมและอุปกรณ์ รวมต้นทุน (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) กาไรขัน้ ต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าใช้จ่ายในการบริหารและพนักงาน ค่าใช้จ่ายการตัง้ สารองหนี้สญ ู ค่าตัดจาหน่ายในการขายและบริหาร กาไรจากการดาเนิ นงาน กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ ส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม กาไรสุทธิ รายได้บริ การ (ล้านบาท) 1)

รายได้จากระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz 2) รายได้จากระบบใบอนุญาต 2.1GHz รวมรายได้จากบริ การ สัดส่วนรายได้จากระบบใบอนุญาต 2.1GHz

ไตรมาส 4/2557 16,651 11,595 650 1,141 30,037 1,953 8,454 40,444 (3,856) (5,040) (2,242) (1,642) (12,780) (1,738) (8,299) (22,816) 17,628 (5,069) (1,866) (2,782) (340) (81) 12,560 (26) 134 (458) (3,100) 11 9,122

ไตรมาส 3/2558 14,478 13,759 653 1,066 29,956 1,456 5,356 36,769 (3,344) (5,861) (2,253) (1,666) (13,124) (1,314) (5,951) (20,389) 16,379 (4,896) (1,733) (2,769) (305) (90) 11,483 (132) 222 (463) (2,495) 1 8,616

ไตรมาส 4/2558 14,085 14,174 494 1,134 29,887 1,475 8,422 39,784 (2,662) (3,495) (2,672) (1,749) (10,578) (1,349) (8,485) (20,412) 19,372 (5,643) (2,209) (3,020) (321) (93) 13,730 196 68 (597) (2,598) (7) 10,791

ไตรมาส 4/2557 2,787 26,108 28,896 90%

ไตรมาส 3/2558 1,623 27,267 28,890 94%

ไตรมาส 4/2558 592 28,162 28,753 98%

%YoY

%QoQ

ปี 2557

ปี 2558 60,547 53,193 2,336 4,544 120,621 6,794 27,798 155,213 (14,116) (20,146) (9,620) (6,742) (50,624) (6,113) (28,019) (84,755) 70,457 (20,091) (6,901) (11,526) (1,315) (349) 50,366 229 519 (1,960) (9,999) (2) 39,152

2558

%YoY

-15% 22% -24% -0.7% -0.5% -25% -0.4% -1.6% -31% -31% 19% 6.5% -17% -22% 2.2% -11% 9.9% 11% 18% 8.6% -5.5% 15% 9.3% -867% -50% 31% -16% -166% 18%

-2.7% 3.0% -24% 6.3% -0.2% 1.3% 57% 8.2% -20% -40% 19% 5.0% -19% 2.7% 43% 0.1% 18% 15% 27% 9.1% 5.3% 3.9% 20% -249% -69% 29% 4.1% -603% 25%

69,015 42,043 2,240 4,691 117,990 7,407 23,332 148,729 (19,427) (18,633) (8,600) (6,374) (53,034) (6,766) (23,148) (82,948) 65,781 (18,860) (6,220) (11,111) (1,240) (289) 46,920 189 500 (1,527) (10,080) 30 36,033

-12% 27% 4.3% -3.1% 2.2% -8.3% 19% 4.4% -27% 8.1% 12% 5.8% -4.5% -9.7% 21% 2.2% 7.1% 6.5% 11% 3.7% 6.1% 21% 7.3% 21% 3.8% 28% -0.8% -108% 8.7%

%YoY

%QoQ

ปี 2557

ปี 2558

%YoY

-79% 7.9% -0.5%

-64% 3.3% -0.5%

24,240 89,059 113,298 79%

6,589 109,488 116,077 94%

-73% 23% 2.5%

1) รายได้จากระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz ถือเป็ นส่วนแบ่งรายได้ให้กบั บมจ ทีโอที โดยเป็ น.20% สาหรับระบบเติมเงิน และ 30% สาหรับระบบเหมาจ่ายรายเดือน 2) รายได้จากระบบใบอนุญาต 2.1GHz ถือเป็ นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้กบั กสทช จานวน .5.25% ส่วนเพิม่ เติมคือรายได้คา่ โรมมิง่ จากการทีล่ ูกค้าใช้บริการโครงข่าย 900MHz ด้วยเครือ่ งโทรศัพท์ 2G ถือเป็ นส่วนแบ่งรายได้จานวน 30% ให้กบั บมจทีโอที.

EBITDA (ล้านบาท) กาไรจากการดาเนินงาน ค่าตัดจาหน่าย (กาไร)/ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ค่าใช้จ่ายการเงินอื่นๆ EBITDA อัตรา EBITDA margin รวม (%) อัตรา EBITDA margin จากการบริการ (%)

ไตรมาส 4/2557 12,560 5,121 110 (38) (26) 17,727 43.8% 54.9%

ไตรมาส 3/2558 11,483 5,951 75 (38) (39) 17,431 47.4% 57.4%

ไตรมาส 4/2558 13,730 3,588 1 (74) (41) 17,204 43.2% 55.1%

%YoY

%QoQ

ปี 2557

ปี 2558

%YoY

9.3% -30% -99% 95% 57% -3.0%

20% -40% -99% 92% 4.7% -1.3%

46,920 18,922 865 (184) (96) 66,428 44.7% 52.8%

50,366 20,495 303 (209) (178) 70,776 45.6% 55.7%

7.3% 8.3% -65% 14% 86% 6.5%

อัตรา EBITDA margin จากการบริการคานวณมาจากส่วนของธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับการให้บริการ โดยไม่รวมธุรกิจการขายโทรศัพท์ อัตรา EBITDA margin จากการบริการ = (EBITDA – รายได้จากการขาย) / (รายได้รวม ส่–วรายได้ นที่ 3จากการขาย) | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

รายได้และต้นทุนค่าก่อสร้าง (ล้านบาท) IFRSI12 รายได้ค่าก่อสร้าง ต้นทุนค่าก่อสร้าง ฐานะการเงิ น (ล้านบาท/ ร้อยละของสินทรัพย์รวม) เงินสด เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ อื่นๆ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ โทรคมนาคม โครงข่าย ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี อื่นๆ สิ นทรัพย์รวม เจ้าหนี้การค้า ส่วนของเงินกูถ้ งึ กาหนดชาระใน 1 ปี ผลตอบแทนค้างจ่าย อื่นๆ รวมหนี้ สินหมุนเวียน หุน้ กูแ้ ละเงินกูร้ ะยะยาว อื่นๆ รวมหนี้ สิน กาไรสะสม อื่นๆ รวมส่วนผู้ถือหุ้น

ไตรมาส 4/2557 18 (18)

ไตรมาส 4/2557 17,967 14% 1,542 1.2% 10,415 8.2% 2,519 2.0% 5,515 4.4% 37,959 30% 12,624 10% 69,441 2,505 1,442 2,380 126,351 11,903 2,572 5,130 23,301 42,906 34,394 2,185 79,486 21,210 25,655 46,865

แหล่งที่มาและแหล่งใช้ไปของเงิ นทุนปี 2558 แหล่งที่มาของเงิ นทุน กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน เงินสดรับจากเงินกูร้ ะยะสัน้ แก่บริษทั เงินสดรับจากเงินกูร้ ะยะยาวแก่บริษทั การเปลีย่ นแปลงของเงินลงทุนสุทธิ เงินปนั ผลและดอกเบี้ยรับ เงินรับจากการขายสินทรัพย์ เงินกูร้ ะยะสัน้ และเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินสดลด รวม

55% 2.0% 1.1% 1.9% 100% 9.4% 2.0% 4.1% 18% 34% 27% 1.7% 63% 17% 20% 37%

ไตรมาส 3/2558 10 (10) ไตรมาส 4/2558 14,312 305 11,030 5,059 7,301 38,007 51,791 84,291 3,192 1,252 3,229 181,761 14,358 12,856 5,364 24,956 57,533 52,416 23,319 133,268 22,813 25,680 48,493

ไตรมาส 4/2558 -

2558

%YoY

%QoQ

ปี 2557

ปี 2558

%YoY

-100% -100%

-100% -100%

600 (600)

64 (64)

-89% -89%

ไตรมาส 3/2558 1.22 0.91 0.50 0.60 27 3.3 79%

ไตรมาส 4/2558 1.32 1.02 0.72 0.66 25 3.7 100%

อัตราส่วนทางการเงิ นที่สาคัญ 7.9% 0.2% 6.1% 2.8% 4.0% 21% 29%

เงินกูต้ ่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เงินกูส้ ุทธิต่อส่วนของผูถ้ อื หุ้น เงินกูส้ ุทธิต่อ EBITDA อัตราส่วนสภาพคล่อง Interest Coverage DSCR กาไรต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (ROE)

46% 1.8% 0.7% 1.8% 100% 21% 7.1% 3.0% 7.1% 32% 29% 13% 73% 13% 14% 27%

ตารางการจ่ายคืนหนี้ ไตรมาส 4/2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ไตรมาส 4/2557 0.78 0.39 0.26 0.88 29 13 93%

หุ้นกู้ 397

(ล้านบาท) เงิ นกู้ยืม 4,953 12,125 1,719

7,789 1,776 6,638

6,963 1,964 20,429 2,679 1,429 -

(ล้านบาท) แหล่งใช้ไปของเงิ นทุน 69,924 8,500 21,500 1,230 322 22 85 4,393 105,976

เงินปนั ผลจ่าย เงินลงทุนในโครงข่ายและสินทรัพย์ถาวร จ่ายชาระใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถีโ่ ทรคมนาคม ภาษีเงินได้ ชาระเงินกูร้ ะยะยาว ชาระต้นทุนทางการเงินและสัญญาเช่าทางการเงิน

รวม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 14

37,042 32,255 24,160 8,294 2,392 1,833

105,976


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

มุมมองของผูบ้ ริ หารต่อแนวโน้ มและกลยุทธ์ในปี 2559 รายได้

อัตรา EBITDA margin เงิ นลงทุนโครงข่าย

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัด จาหน่ าย เงิ นปั นผล

 รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) คาดว่าจะใกล้เคียงกับปีก่อนหน้านี้ เป็ นผลมาจากการปิ ดบริการ โครงข่าย 2G แต่ชดเชยด้วยการเติบโตจากรายได้ 3G และ 4G และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง  คาดว่ารายได้จากการขายเครื่องโทรศัพท์จะใกล้เคียงกับปี ก่อนหน้านี้ โดยมีอตั รากาไร 3-4% โดยทีต่ น้ ทุนแคมเปญการแลก เครื่องโทรศัพท์จะบันทึกในค่าใช้จา่ ยการตลาด  จากการปิดบริการโครงข่าย 2G และต้นทุนจากการเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจกับทีโอที คาดว่าอัตรา EBITDA margin รวมจะ อยู่ประมาณ 37-38%  คาดว่าเงินลงทุนโครงข่ายทีเ่ ป็ นเงินสด จะอยู่ทป่ี ระมาณ 40,000 ล้านบาท สาหรับการวางโครงข่าย 4G การขยายโครงข่าย 3G การขยายธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง การขยายความครอบคลุมของไฟเบอร์สาหรับอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และการ ขยายร้านเอไอเอสช็อป  คาดว่าค่าเสื่อมราคาโครงข่ายลดลง 25% จากการตัดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ 2G ครบเมื่อสิน้ สุดสัญญาร่วมการงานเมื่อเดือน กันยายน 2558  ค่าตัดจาหน่ายใบอนุญาตคลื่นความถีร่ วมทัง้ สิน้ 3,300 ล้านบาท สาหรับใบอนุญาต 1800MHz และ 2100MHz  ยังคงนโนบายจ่ายปนั ผล 100% ของกาไรสุทธิ

ผลกระทบระยะสัน้ จากการปิ ดบริ การโครงข่าย 2G ในการประมูลคลื่น 900MHz ปลายปี ทผ่ี า่ นมา เอไอเอสตัดสินใจยุตกิ ารเคาะราคาประมูลต่อ เนื่องจากเห็นว่าเป็ นราคาทีไ่ ม่เหมาะสมและไม่สร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่บริษั ท ซึง่ ผลกระทบระยะสัน้ จะทาให้บริการโครงข่าย 2G อาจต้องปิ ดลงในปลายเดือนมีนาคม หลังจากนัน้ บริษทั คาดว่าจะสามารถให้บริการโครงข่าย 2G ต่อได้ จากการทา สัญญาโรมมิง่ กับผูใ้ ห้บริการรายอื่นทีย่ งั ให้บริการโครงข่าย 2G อยู่ นอกจากนี้ ในต้นเดือนมกราคมทีผ่ า่ นมา เอไอเอสได้เริม่ ทาแคมเปญอุดหนุนเครื่องมือถือให้ลกู ค้าที่ ยังคงเหลืออยู่ 12 ล้านเลขหมาย เพื่อให้ไปใช้บริการ 3G โดยแคมเปญดังกล่าวจะทาอย่างต่อเนื่องคู่ขนานไปกับการโรมมิง่ โดยบริษทั คาดว่าต้นทุนรวมสาหรับการ อุดหนุนค่าเครื่องมือถือและการโรมมิง่ จะอยู่ทป่ี ระมาณ 8,000 ล้านบาท นอกจากนัน้ บริษทั ได้ประมาณการถึงผลกระทบจากความเป็ นไปได้ในการสูญเสียลูกค้า 2G และรายได้บางส่วนจากการปิ ดโครงข่าย 2G ซึง่ อาจทาให้ลูกค้าบางส่วนไม่สามารถใช้บริการและย้ายไปใช้งานกับผูใ้ ห้บริการรายอื่น เพื่อเป็ นการลดทอนผลกระทบ ดังกล่าว บริษทั ได้เพิม่ งบลงทุนประมาณ 10,000 ล้านบาท ในงบลงทุนรวมของปีน้ี เพื่อขยายโครงข่าย 3G-2.1GHz เพิม่ ให้ครอบคลุมเทียบเท่ากับโครงข่าย 900MHz โดยเฉพาะในพืน้ ทีต่ ่างจังหวัด การเปิ ดให้บริ การ 4G และขยายบริ การ 3G จะช่วยเพิ่ มการใช้งานอิ นเทอร์เน็ตบนมือถือ ในเดือนพฤศจิกายนปี ทแ่ี ล้ว เอไอเอสชนะการประมูลใบอนุญาตบนคลื่น 1800MHz ทีม่ แี ถบความกว้างของช่วงคลื่น 15MHz (bandwidth) และมีอายุใบอนุญาต 18 ปี ต้นเดือนมกราคมทีผ่ า่ นมา เอไอเอสได้เปิ ดให้บริการ 4G บนคลื่น 1800MHz ใน 42 จังหวัด และจะขยายความครอบคลุมในเขตเมืองทัวทั ่ ง้ 77 จังหวัดภายในกลางปี น้ี และขยายต่อเนื่องจนถึงสิน้ ปี เพื่อให้ครอบคลุม 50% ของประชากร การเปิดให้บริการ 4G จะส่งผลให้ประสบการณ์การใช้งานของลูกค้าดีขน้ึ โดยทันที เมื่อเปรียบเทียบ กับการให้บริการ 3G เพียงอย่างเดียวในปี ทแ่ี ล้ว ด้วยแถบความกว้างช่วงคลื่น 15MHz นอกจากนี้ ด้วยแพ็กเกจ 4G ทีใ่ ห้ปริมาณอินเทอร์เน็ตมากขึน้ ปริมาณการใช้งาน อินเทอร์เน็ตต่อเลขหมายของลูกค้าจะเพิม่ ขึน้ สองเท่า ในขณะทีอ่ ตั ราการใช้งานมือถือทีร่ องรับ 4G จะเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน ทัง้ นี้ ในปี น้ี ความต้องการใช้ บริการ 3G จะยังคงมีสูง เนื่องจากผูบ้ ริโภคเปลีย่ นมาใช้สมาร์ทโฟนราคาถูกมากขึน้ และได้รบั ประโยชน์จากการอุดหนุนค่าเครื่องมือถือจากการปิดบริการ 2G ทาให้ บริษทั ยังคงเน้นการลงทุนเพื่อขยายโครงข่าย 3G เพื่อเพิม่ ความจุโครงข่าย และขยายความครอบคลุมให้หนาแน่น ต่อเนื่องจากความครอบคลุมปจั จุบนั ที่ 98% ของ ประชากร โดยงบลงทุนทัง้ หมดจะช่วยเสริมความแข็งแกร่งในด้านคุณภาพและความน่าเชื่อถือของโครงข่าย 3G/4G เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันในตลาด ขยายธุรกิ จอิ นเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมเขตเมืองใน 24 จังหวัด พร้อมให้บริ การ 6.5 ล้านครัวเรือน เอไอเอสได้กาหนดกลยุทธ์ในการทาธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงใหม่ โดยจะทาการตลาดทีเ่ ข้มข้นเพื่อแข่งขันและชนะใจลูกค้าในตลาดนี้ บริษทั ตัง้ งบเงินลงทุน 7,000 ล้านบาท ในปี น้เี พื่อขยายโครงขยายให้ครอบคลุมเขตเมืองใน 24 จังหวัด ซึง่ สามารถให้บริการลูกค้าได้สงู สุดถึง 6.5 ล้านครัวเรือน และตัง้ เป้าหมายการได้ส่วนแบ่ง การตลาดทีม่ นี ยั สาคัญในสามปี ขา้ งหน้า ซึง่ สนับสนุนด้วยงบลงทุนและจานวนพนักงานทีม่ ากขึน้ การเป็ นพันธมิ ตรทางธุรกิ จร่วมกับทีโอที เอไอเอสได้รบั การคัดเลือกจากทีโอทีให้เป็ นพันธมิตรการทาธุรกิจด้านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยภายใต้การเจรจากับทีโอที การร่วมมือประกอบไปด้วยการใช้ประโยชน์จาก คลื่น 2100MHz รวมถึงการใช้เสาโทรคมนาคมทีม่ ขี อ้ พิพาทระหว่างกัน และอุปกรณ์ทส่ี ่งมอบภายใต้สมั ปทาน การเป็ นพันธมิตรกับทีโอทีจะก่อให้เกิดประโยชน์ ในระยะ ยาวต่อบริษทั เพื่อสนับสนุนความสามารถในการแข่งขันและการบริหารต้นทุนทีด่ ใี นระยะเวลา 3-5 ปี ขา้ งหน้า เนื่องจากยังอยู่ในขัน้ ตอนการสรุปเพื่อร่างสัญญา บริษทั ของดเว้นการเปิดเผยข้อมูลโครงสร้างการทาธุรกิจ จนกว่าสัญญาจะเสร็จสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้รวมค่าใช้จา่ ยทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในประมาณการปี น้แี ล้ว

ส่วนที่ 3 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2558

อัตราการทากาไรได้รบั ผลกระทบจากการปิ ดบริ การ 2G และต้นทุนจากการเป็ นพันธมิ ตรทางธุรกิ จกับทีโอที การปิ ดโครงช่าย 2G จะทาให้ตน้ ทุนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ลดลงไปใกล้เคียงร้อยละ 5.25 (ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และค่าใช้จา่ ยเข้ากองทุนวิจยั และพัฒนา จ่ายให้แก่ กสทช.) อย่างไรก็ตาม อัตรากาไร EBITDA รวม จะได้รบั ผลกระทบจากรายได้ทล่ี ดลงในระยะสัน้ จากการสูญเสียลูกค้า 2G บางส่วน รวมถึงค่าใช้จ่ายทาง การตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการอุดหนุนค่าเครื่องมือถือ และค่าใช้จา่ ยโรมมิง่ โครงข่าย 2G เพื่อให้บริการลูกค้า 2G ทีเ่ หลืออยู่ รวมถึงต้นทุนค่าใช้จ่ายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการ เป็ นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับทีโอที ทาให้บริษทั คาดว่าอัตรากาไร EBITDA รวม จะลดลงมาอยู่ท่ี 37-38% คงสัดส่วนการจ่ายเงิ นปันผล 100% ของกาไรสุทธิ จากการทีเ่ อไอเอสตัดสินใจไม่เคาะราคาประมูลคลื่น 900MHz ต่อด้วยราคาทีไ่ ม่เหมาะสม ทาให้ยงั คงสถานะความแข็งแกร่งทางการเงิน และความยืดหยุ่นในการลงทุน เพื่อผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว และทาให้ยงั คงนโยบายการจ่ายเงินปนั ผลทีส่ ดั ส่วน 100% ไว้ได้ โดยมีการจ่ายเงินปนั ผลปี ละสองครัง้ สัดส่วนการจ่ายเงินปนั ผลขึน้ อยู่กบั กาไรสุทธิบนงบการเงินรวม และกาไรสะสมบนงบการเงินเดีย่ ว ซึง่ ความสามารถในการจ่ายเงินปนั ผลดังกล่าวเกิดจากกระแสเงินสดจากการดาเนินงานและ โครงสร้างเงินทุนทีแ่ ข็งแกร่ง ในกรณีทม่ี โี อกาสในการขยายธุรกิจ หรือมีเหตุการณ์สาคัญทีส่ ่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน การลงทุน รวมไปถึ งโครงสร้างเงินทุนของ บริษทั ในอนาคต บริษทั จะชีแ้ จงถึงทิศทางและนโยบายการดาเนินธุรกิจให้นกั ลงทุนทราบต่อไป ติ ดต่อนักลงทุนสัมพันธ์เอไอเอส http://investor.ais.co.th; investor@ais.co.th; Tel: (66) 2029 5117

ส่วนที่ 3 | หน้ า 16



เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่ อเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร เลขานุการบริ ษัท หัวหน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่ วยงานกากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท (ข้ อมูล ณ 1 มกราคม 2559) ชื่อ - สกุล นายวิทติ ลีนตุ พงษ์

อายุ 60

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการ

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒกิ ารศึกษาสูงสุด ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

- หลักสูตร Role of the Chaiman

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- ประธานกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ

University of Southern California,

Program (RCP) รุ่น 34/2557

27 มีนาคม 2556

กาหนดค่าตอบแทน

สหรัฐอเมริกา

- หลักสูตร Successful Formulation

- กรรมการผู้มอี านาจลงนาม

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

60

- รองประธานกรรมการ

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด

28 มีนาคม 2537

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ , สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

2557 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

-ไม่มี-

กรรมการผู้มอี านาจลงนาม ทีป่ รึกษาคณะอนุกรรมการฝ่ ายกิจการระหว่างประเทศ

สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ

รุ่น 3/2552

2557 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บี.วี. โมโต

- หลักสูตร Role of the Compensation

2548 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร

บจ. ไทยยานยนตร์

Committee (RCC) รุ่น 7/2551

กรรมการ

บมจ. สหไทยสตีลไพพ์

- หลักสูตร Audit Committee

กรรมการ

หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

Program (ACP) รุ่น 5/2548

กรรมการ

มูลนิธิธนาคารกรุงเทพ

- หลักสูตร Directors Certification

2544 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

Program (DCP) รุ่น 16/2545

2532 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ไทยประดิษฐ์ อตุ สาหกรรม

2530 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. คอมเมอร์ เชียล มอเตอร์ เวอร์ ค

2516 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. วาย.เอ็ม.ซี. แอสเซ็มบรี ้

2554 - 2558

กรรมการ

สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ

2544 - 2557

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2545 - 2553

กรรมการ

หอการค้ าเยอรมัน-ไทย

2538 - 2556

กรรมการ

บจ. บาเซโลนา มอเตอร์

2553 - 2558

รักษาการกรรมการผู้อานวยการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

- หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 21/2552

2551 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

ค่าตอบแทน

- หลักสูตร Directors Certification

2551 - ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

Program (DCP) รุ่น 65/2548

- กรรมการตรวจสอบ

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

24 เมษายน 2549

- กรรมการอิสระ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- หลักสูตร Director Certification

- ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการตรวจสอบ

10 พฤษภาคม 2549

- กรรมการอิสระ

-ไม่มี-

กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ 2550 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2547 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้ า

2545 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. เพาเวอร์ ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ ง

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

กรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2557 - ปั จจุบนั

Program (DCP) รุ่น 32/2546

-ไม่มี-

กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการอิสระ 2549 - 2557

62

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2558 - ปั จจุบนั

2552 - 2554

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

ประธานคณะกรรมการ ประธานกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน

-หลักสูตร Directors Accreditation

70

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี

and Execution of Strategy (SFE)

Program (DAP) รุ่น 30/2547

นางทัศนีย์ มโนรถ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ไม่มี

ไม่มี

เนติบณ ั ฑิต สานักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

- หลักสูตร Director Accreditation

2557 - ปั จจุบนั

Program (DAP) รุ่น 29/2547

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

กรรมการตรวจสอบ 2557 - ปั จจุบนั

Managing Partner

Rajah & Tann (Thailand) Ltd.

2551 - 2557

กรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ 2548 - 2557 นางสาวจีน โล เงีย้ บ จง

55

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

ปริ ญญาตรี บัญชี

-

National university of Singapore

27 มีนาคม 2556 นายแอเลน ลิว ยง เคียง วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท : 20 มีนาคม 2549

60

- ประธานกรรมการบริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท Science (Management)

- กรรมการ

Massachusetts Institute of

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน

Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

ผู้บริหาร

บจ.ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยมส์ (ไทยแลนด์)

2558 - ปั จจุบนั

Group Chief Corporate Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

2556 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2551 - 2558

Group Chief Financial Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

2557 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer Consumer Australia

Singapore Telecommunications Ltd.

Chief Executive Officer Optus 2551 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

Chief Executive Officer (Singapore)

Singapore Telecommunications Ltd.

Executive Officer Group Digital Life and Country Chief -

Singapore Telecommunications Ltd.

2555 - 2557

Officer (Singapore) * สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

หน้ า 1 / 3

-ไม่มี-

-ไม่มี-


ชื่อ - สกุล นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

อายุ 61

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการตรวจสอบ

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒกิ ารศึกษาสูงสุด ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Direct Certificate Program

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

North Texas State University,

(DCP) รุ่น 59/2548

26 มีนาคม 2557

- กรรมการอิสระ

สหรัฐอเมริกา

- หลักสูตร Role of the Chaiman

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี 2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน)

-ไม่มี-

ประธานกรรมการบริหาร

Program (RCP) รุ่น 16/2550

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2557 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ 2541 - ปั จจุบนั

ประธานคณะกรรมการ

บริษัท วี กรุ๊ ป ฮอนด้ าคาร์ ส จากัด

2554 - 2555

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. ปตท.

2549 - 2555

ประธานคณะกรรมการบริษัท

บมจ. หลักทรัพย์ จัดการกองทุนกรุงไทย

ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์

52

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 1)

- กรรมการบริ หาร

2 มิถนุ ายน 2558

นายกานต์ ตระกูลฮุน

-

Economics and Finance University of New South Wales

60

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการอิสระ

ไม่มี

ไม่มี

- ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

ปริ ญญา

วิศวกรรมศาสตร์

ดุษฎีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กิตติมศักดิ์

3 สิงหาคม 2558

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ และกรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2557 - ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษา

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2556 - 2557

President & COO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2555 - 2556

President & CFO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2553 - 2555

Senior EVP & CFO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2548 - 2553

CFO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

- หลักสูตร Director Certification

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ และประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

Program (DCP) รุ่น 29/2546

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการทีป่ รึกษา

Nomura Holdings Inc.

2554 - ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษา

Kubota Corporation (Japan)

กรรมการผู้จดั การใหญ่

บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

กรรมการ กรรมการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2549 - 2558 นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

53

- กรรมการ

0.0027

ไม่มี

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สาขาการตลาด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- หลักสูตร Director Certification

2557 - ปั จจุบนั

Program (DCP) รุ่น 107/2552

27 มิถนุ ายน 2557

- กรรมการบริ หาร

2555 - 2557

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

วันทีด่ ารงตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร 1 กรกฎาคม 2557

- ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

2550 - 2555

รองกรรมการผู้อานวยการ สายงานการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

- หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการตลาด

2547 - 2550

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานธุรกิจบริการสื่อสารไร้ สาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

นายคิมห์ สิริทวีชยั

47

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- หลักสูตร Directors Certification

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ไฮ ช็อปปิ ง้ ทีวี

Program (DCP) รุ่น 116/2552

2557 - ปั จจุบนั

รองกรรมการผู้อานวยการ สายงานบริหารการลงทุน

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

กรรมการ

บจก. ไอ.ที.แอพพิเคชัน่ แอนด์ เซอร์ วสิ

กรรมการ

บจก. อินทัช มีเดีย

กรรมการ

บจก. ทัชทีวี

2555 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. อุ๊คบี

2553 - ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2554 - 2557

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการอาวุโส ส่วนงานบริหารการลงทุน

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2551 - 2554

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานบริหารการลงทุน

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั กิ าร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2553 - 2555

CEO International

Singapore Telecommunications Ltd.

2552 - 2553

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั กิ าร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2556 - ปั จจุบนั 2555 - 2556

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านเทคโนโลยี ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการอาวุโส

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2556 - ปั จจุบนั

นายฮุย เว็ง ชอง

60

- หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั กิ าร

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

-

University of Southern California สหรัฐอเมริกา นายเกรียงศักดิ์ วาณิชย์นที

55

- หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านเทคโนโลยี

0.0007

ไม่มี

ปริ ญญาโท Science in Electrical Engineering University of Sounthern California, สหรัฐอเมริกา

- หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 198/2557

2556 - ปั จจุบนั

สายงาน Mobile Network Implementation 2549 - 2554

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานปฏิบตั กิ ารและสนับสนุนด้ านเทคนิคทัว่ ประเทศ

* สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

หน้ า 2 / 3

-ไม่มี-

-ไม่มี-

ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการตลาด และ กรรมการผู้มอี านาจลงนาม

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการบริษัท

- กรรมการผู้มอี านาจลงนาม - กรรมการบริ หาร

-ไม่มี-

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-


ชื่อ - สกุล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม

นายชวิน ชัยวัชราภรณ์

อายุ 45

43

ตาแหน่ ง - หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล

เลขานุการบริษัท

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒกิ ารศึกษาสูงสุด

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ปริ ญญาโท Psychology Counseling Rider University รัฐนิวเจอร์ ซ,ี สหรัฐอเมริกา

ปริ ญญาโท กฎหมาย

ได้ รับการแต่งตั ้งเมือ่ วันที่ 3 มกราคม 2556

-

- หลักสูตร Role of the

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี 2558 - ปั จจุบนั 2556 - 2558

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล รองประธานเจ้ าหน้ าทีสายปฏิบตั กิ าร

2554 - 2556

ประธานเจ้ าหน้ าทีส่ ายทรัพยากรบุคคล

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ บมจ. แม็คกรุ๊ป บมจ. พรูเด็นเชียล ประกันชีวติ (ประเทศไทย)

2550 - 2554

ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

บจก. เซ็นทรัล วัตสัน (ประเทศไทย)

2556 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

เลขานุการบริษัท

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย,

Compensation Committee (RCC)

2553 - 2556

ผู้อานวยการสานักกฎหมาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

สหรัฐอเมริกา

- หลักสูตร Director Certification

2546 - 2553

Associate

บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยม

2542 - ปั จจุบนั

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการอาวุโส ส่วนงานตรวจสอบภายใน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

2558 - ปั จจุบนั

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

(DCP 192/2557) - หลักสูตร Role of Chairman (RCP) - หลักสูตรการต่อต้ านการทุจริ ต สาหรับผู้บริหาร (ACEP 10/2557) - หลักสูตรผู้ปฏิบตั งิ านเลขานุการ บริ ษัท (FPCS 29/2557) - หลักสูตรเลขานุการบริษัท รุ่น 51/2556 นางสุวมิ ล กุลาเลิศ

55

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารงานตรวจสอบภายใน

0.0001

ไม่มี

ปริ ญญาโท MBA Track Management Information

ได้ รับการแต่งตั ้งเมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2542

System, Oklahoma City University,

- หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 136/2553

Oklahoma City University, สหรัฐอเมริกา คุณวุฒทิ าง

Certified Public Accountant ปี 2528

วิชาชีพ

นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร ได้ รับการแต่งตั ้งเมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2556

40

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ และกากับดูแลการปฏิบตั งิ าน

0.00025

ไม่มี

Certified Internal Auditor ปี 2543 Certificate in Risk Management Assurance ปี 2556 ปริ ญญาโท Technology Management,

-

Washington State University,

กากับดูแลการปฏิบตั งิ าน

สหรัฐอเมริกา ปริ ญญาโท การเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

* สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

หน้ า 3 / 3

2556 - 2558

ผู้อานวยการสานักนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2554 - 2556

รักษาการผู้อานวยการสานักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2551 - 2554

ผู้จดั การฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ


เอกสารแนบ 2 (1): รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทใหญ่ บริ ษัท บริ ษัทย่ อย บริษัทร่ วม และบริษัทที่เกี่ยวข้ อง

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ข้ อมูล ณ 1 มกราคม 2559 รายชื่อบริ ษัท 1)

บริ ษัทใหญ่

บริ ษัท

รายชื่อกรรมการและผู้บริ หาร

INTUCH

ADVANC

p

1. นายวิทติ ลีนตุ พงษ์ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย

10.นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 11.นายคิมห์ สิริทวีชยั

14.นายฮุย เว็ง ชอง 16.นายเกรี ยงศักดิ์ วาณิชย์นที

-

5. นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง 6. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 7. นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 8. นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ 9. นายกานต์ ตระกูลฮุน

17.นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม

p p p p p p p p     -

p p

-

3. นางทัศนีย์ มโนรถ 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

บริ ษัทย่ อย

บริษัทร่ วม

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง

DPC ADC ACC AMP AMC SBN AIN WDS AWN MMT FXL ABN CLH BMB IH THCOM DTV CSL TMC TCB ISC ADV SHEN CDN LTC IPSTAR IPA OSS IPN STAR SPACE IPI IPG IPJ ITV AM MB ITAS Meditech OOKB

- - - -  -  - - - - - - p p - - p - - - - - - - - - - - - p p - - - - - p p - - - - - - -

-

-  - - - - - - - p p - p p - - -

 p p p -

-

- - - p - - - - - - - - - - - - - - - - - - - p - - - - -

-

-

p -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

- - - - - - - - - - - p - - - -

-

p -

Intouch Media

p -

TTV Computerlogy

p -

= ประธานกรรมการ, p = กรรมการ,  = กรรมการบริหาร,  = ผู้บริ หาร 1) นับรวมทังการถื ้ อหุ้นทางตรงและทางอ้ อม รายชื่อบริษัท

INTUCH ADVANC DPC ADC ACC AMP AMC SBN AIN WDS AWN MMT FXL ABN

บริ ษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ดิจิตอล โฟน จากัด บริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จากัด บริ ษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด บริ ษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด บริ ษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ ด จากัด บริ ษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด บริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด บริ ษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด บริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด บริ ษัท ไมโม่เทค จากัด บริ ษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด บริ ษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด

CLH BMB IH THCOM DTV CSL TMC TCB ISC ADV SHEN CDN LTC IPSTAR IPA

บริ ษัท ศูนย์ให้ บริ การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จากัด บริ จด์ โมบาย พีทอี ี แอลทีดี บริ ษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด บริ ษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) บริ ษัท ดีทวี ี เซอร์ วสิ จากัด บริ ษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (มหาชน) บริ ษัท ทีซี บรอดคาสติ ้ง จากัด บริ ษัท อินเตอร์ เนชั่นแนล แซทเทลไลท์ จากัด บริ ษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้ นท์ส พีทอี ี จากัด บริ ษัท แคมโบเดียน ดีทวี ี เน็ตเวิร์ค จากัด บริ ษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส์ จากัด บริ ษัท ไอพีสตาร์ จากัด บริ ษัท ไอพีสตาร์ ออสเตรเลีย พีทวี าย จากัด

หน้ า 1 / 2

OSS บริ ษัท โอไรอ้ อน แซทเทลไลท์ ซิสเทม พีทวี าย จากัด IPN บริ ษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จากัด STAR บริ ษัท สตาร์ นิวเคลียส จากัด SPACE สเปซโคด แอล แอล ซี IPI บริ ษัท ไอพีสตาร์ อินเตอร์ เนชั่นแนล พีทอี ี จากัด IPG บริ ษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์ วสิ จากัด IPJ บริ ษัท ไอพีสตาร์ เจแปน จากัด ITV บริ ษัท ไอทีวี จากัด (มหาชน) AM บริ ษัท อาร์ ตแวร์ มีเดีย จากัด MB บริ ษัท แมทช์บอกซ์ จากัด ITAS บริ ษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์ วสิ จากัด Meditech บริ ษัท เมดิเทค โซลูชั่น จากัด OOKB บริ ษัท อุ๊คบี จากัด Intouch Media บริ ษัท อินทัช มีเดีย จากัด TTV บริ ษัท ทัช ทีวี จากัด

Computerlogy บริ ษัท คอมพิวเตอร์ โลจี จากัด กิจการร่วมค้ า กันตนาและอินทัช

-

กิจการร่วมค้ า กันตนาและอินทัช

-


เอกสารแนบ 2 (2): ข้ อมูลกรรมการของบริษัทย่ อย

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ข้ อมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 รายชื่อกรรมการ

DPC

ADC

ACC

AMP

AMC

SBN

AIN

WDS

AWN

MMT

FXL

ABN

1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย

-

-

-

-

-

-

-

p

2. นายแอเลน ลิว ยง เคียง

-

-

p

-

-

-

-

-

p

-

-

-

3. นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง

-

p

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4. นายวิเชียร เมฆตระการ

-

-

p

-

p

-

-

-

5. นายฮุย เว็ง ชอง

-

-

-

p

p

-

p

p

-

-

-

p

6. นางสุวมิ ล แก้ วคูณ

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

8. นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

-

-

-

p

p

-

p

p

p

-

-

-

9. นางวิลาสินี พุทธิการันต์

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

10.นางสาวสุนิธยา ชินวัตร

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

11.นายวรุณเทพ วัชราภรณ์

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

12.นายกิตติพงษ์ เมฆวิจิตรแสง

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

13.นายสุทธิศกั ดิ์ กุญทีกาญจน์

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

14.นายอิศระ เดชะไกศยะ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

15.นายสมหมาย สุขสุเมฆ

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

16.นางวรรณพร ลีฬหาชีวะ

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

17.นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร

-

-

-

-

-

-

-

-

p

18.นายวลัญช์ นรเศรษฐ์ ภกั ดิ์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

19.นายปรัธนา ลีลพนัง

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

20.นายอุทยั เพ็ญรัตน์

p

p

-

-

-

p

-

-

-

p

p

-

21.นายสุพจน์ วาทิตต์พนั ธุ์

p

p

-

-

-

p

-

-

-

p

p

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

24.นายประจักษ์ มโนจันทร์ เพ็ญ

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

25.นายเรื องศักดิ์ ชินะโรจน์

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

26.นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

22.นายสุปรี ชา ลิมปิ กาญจนโกวิท 23.นางวรรณภา จิตเขษม

 = ประธานกรรมการ, p = กรรมการ

หน้ า 2 / 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 หน้ า 1

2558


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 หน้ า 2

2558


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 หน้ า 3

2558


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 หน้ า 4

2558


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 หน้ า 5

2558


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 หน้ า 6

2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.