20190521 advanc form561 2018 th

Page 1

แบบ 56-1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561

บริ ษัท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)


สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. ปัจจัยความเสี่ยง 4. ทรัพย์สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอื่น

1 9 24 31 33 50

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 8. โครงสร้ างการจัดการ 9. การกากับดูแลกิจการ 10. การดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน 11. การบริ หารจัดการความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน 12. รายการระหว่างกัน

1 4 22 38 39 61

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 14. คาอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร ประจาปี 2561 การรั บรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 ประวัติกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุม เลขานุการบริษัท หัวหน้ าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษัท เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริษัทย่อย และบริษัทที่เกี่ยวข้ อง (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริ ษัทย่อย เอกสารแนบ 3 (1) ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน (2) รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ (3) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

1 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ อินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูง คค

ผู้ให้ บริการ ด้ านดิจิทัลไลฟ์ โทรศัพท์ เคลื่อนที่

ดิจิทลั เซอร์ วิส

เอไอเอส ผู้ให้ บริการด้ านดิจทิ ลั ไลฟ์ บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) หรื อ เอไอเอส ดาเนินธุรกิจด้ านบริ การโทรคมนาคมมา 28 ปี ปั จ จุบัน เป็ น “ผู้ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นดิ จิ ทัลไลฟ์ ” โดยด าเนิ น ธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจ ได้ แก่ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ บริ การ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง และบริ การดิจิทลั เซอร์ วิส โดยเอ ไอเอสเป็ น ผู้ใ ห้ บ ริ ก ารและวางโครงสร้ างพื น้ ฐานด้ า น โทรคมนาคมในพื ้นที่ทั่วประเทศ ในปี 2561 เอไอเอสมี สิ น ทรั พ ย์ ร วมทัง้ สิ น้ 290,505 ล้ า นบาท และมี มู ล ค่ า หลักทรัพย์ตามราคาตลาด 512,860 ล้ านบาท ซึ่งสูงเป็ น ลาดับที่ 5 ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้นาในตลาดโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ส่ วนแบ่ งตลาดเชิง รายได้ ในปี 2561

48%

ส่ วนแบ่ งตลาดเชิง ผู้ใช้ บริการในปี 2561

45%

“ผู้ให้ บริ การรายอื่นในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้ แก่ ดีแทคและทรู มฟู ”

ณ สิ ้น ปี 2561 เ อ ไ อ เ อ ส ยั ง ค ง เ ป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในประเทศไทยรายใหญ่ที่สดุ มีสว่ นแบ่ง ทางการตลาดเชิงรายได้ อยูท่ ี่ร้อยละ 48 และมีผ้ ใู ช้ บริ การ จ านวน 41.2 ล้ า นเลขหมายทั่ว ประเทศ เอไอเอสได้ ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่มาเป็ นระยะเวลากว่า 28 ปี

โดยรายได้ จากบริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่ยังคงมีสดั ส่วน กว่าร้ อยละ 94 ของรายได้ รวม และในปี ที่ผา่ นมามีรายได้ เติบโตร้ อยละ 1.3 ด้ วยคลื่นความถี่ ที่เอไอเอสมีสิทธิ ใช้ งานในปั จจุบนั สามารถให้ บริ การโครงข่ายที่มีคณ ุ ภาพทัง้ เทคโนโลยี 4G, 3G และ 2G ครอบคลุมกว่า ร้ อยละ 98 ของประชากร และมีการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี ร่วมกับคู่ ค้ า ในการพัฒ นาโครงข่ า ยให้ รองรั บ การใช้ งานและ บริ การใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นรากฐานสาคัญในการ สานต่อความเป็ นผู้นาในยุค 5G ที่จะมาถึง โดยบริ การ ด้ านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของเอไอเอสครอบคลุมถึงบริ การ การโทร บริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นมื อ ถื อ บริ ก าร WiFi บริ การโทรศัพท์ทางไกล และบริ การข้ ามแดนอัตโนมัติ เติบโตในตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง ในปี 2558 เอไอเอสได้ เริ่ ม ด าเนิ น ธุ ร กิ จ อิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สูง ภายใต้ แ บรนด์ ‘เอไอเอส ไฟเบอร์ ’ โดยมี เป้าหมายเพื่อสร้ างรายได้ ใหม่และต่อยอดบริ การเพิ่มเติม จ า ก โ ค ร ง ข่ า ย ไ ฟ เ บ อ ร์ ที่ ล ง ทุ น อ ยู่ แ ล้ ว ใ น ธุ ร กิ จ โทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ แ ละจากฐานลูก ค้ า ที่ มี อ ยู่ ปั จ จุ บัน ให้ บริ ก ารในกว่ า 57 จั ง หวัด มี ค วามครอบคลุม ถึ ง 7 ครัวเรื อน เอไอเอส ไฟเบอร์ ทาตลาดด้ วยจุดเด่นที่เป็ นผู้ ให้ บริ การเทคโนโลยีไฟเบอร์ ถึงบ้ าน (FTTH) เพื่อเชื่อมต่อ อินเทอร์ เน็ตสูค่ รัวเรื อน และพร้ อมรองรับลูกค้ าที่ยงั ใช้ งาน เทคโนโลยี ADSL ที่ ต้ อ งการเปลี่ย นเป็ น เทคโนโลยี ที่ มี คุณภาพสูงขึ ้นและความเร็ วที่ให้ บริ การได้ สงู สุดถึง 1 กิกะ บิตต่อวินาที ทังนี ้ ้ รายได้ จากธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ ว สูงในปี 2561 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 42 จากปี ก่อน และคิดเป็ น ร้ อยละ 3 ของรายได้ ก ารให้ บ ริ ก ารรวม โดยปั จ จุบัน มี จ านวนผู้ใช้ บริ การอยู่ที่ 730,500 ราย คิ ด เป็ น ส่วนแบ่ง ตลาดเชิงผู้ใช้ บริ การกว่าร้ อยละ 8 ของตลาดอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ส่ วนแบ่ งตลาดเชิงผู้ใช้ บริการในปี 2561 8%

“ผู้ให้ บริ การรายอื่นในตลาดอินเทอร์ เน็ตบ้ าน ได้ แก่ ทรู ทีโอที และ 3BB”

ต่ อยอดธุรกิจหลัก ผ่ านบริการดิจิทัลเซอร์ วิส ธุ ร กิ จ ส่ว นที่ สามของเอไอเอส คื อ ธุ ร กิ จ ดิ จิ ทัลเซอร์ วิส (Digital Service) คื อ การพัฒนาบริ การด้ วยเทคโนโลยี ดิจิทลั ในหลากหลายรู ปแบบตังแต่ ้ โครงข่าย แพลตฟอร์ ม การให้ บริ การ และโซลูชนั่ เพื่อสร้ างบริ การดิจิ ทลั ให้ แก่ทงั ้ ลูกค้ าทัว่ ไปและลูกค้ าองค์กร ผ่านการร่ วมมือและพัฒนา ระบบนิ เ วศของการท าธุ ร กิ จ แบบเชื่ อ มโยงร่ ว มกั บ พันธมิตรเพื่อการเติบโตไปพร้ อมกัน ทังนี ้ ้ เอไอเอสได้ เน้ น การท าดิ จิ ทั ล เซอร์ วิ ส ใน 5 ด้ านหลั ก ได้ แก่ วิ ดี โ อ แพลตฟอร์ ม (VDO Platform) คลาวด์ ส าหรั บ องค์ ก ร (Business Cloud) ธุ ร กรรมทางการเงิ น บนมื อ ถื อ (Mobile Money) บริ การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (IoT) และบริ การแพลตฟอร์ มอื่นๆ ทังนี ้ ้ ธุรกิจดิจิทลั เซอร์ วิสจะ เป็ นส่วนสนับสนุนสาคัญที่ช่วยให้ เอไอเอสสามารถสร้ าง แหล่งรายได้ แหล่งใหม่ในอนาคตนอกเหนือจากการคิด ค่าบริ การการใช้ อินเทอร์ เน็ตบนมือถือในปั จจุบนั และทา ให้ เอไอเอสสามารถเป็ นผู้ ให้ บริ ก ารแบบครบวงจร (Integrated Player) ผ่านการผนวกสินค้ าและบริ การจาก ธุรกิจหลักทัง้ 3 ธุรกิจเข้ าด้ วยกัน (Convergence) ดาเนิ นงานภายใต้ ระบบใบอนุ ญาตผ่ านการกากับ ดูแลของ กสทช. ธุ ร กิ จ ของเอไอเอสในส่ ว นใหญ่ โ ดยเฉพาะธุ ร กิ จ โทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ แ ละธุ ร กิ จ อิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สูง ดาเนินการอยู่ภายใต้ การกากับดูแลของคณะกรรมการ กิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การ โทรคมนาคมแห่ ง ชาติ ห รื อ กสทช. ซึ่ ง ถู ก จั ด ตัง้ โดย พระราชบัญญัติองค์ กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553

2561

ทั ง้ นี ้ เอไอเอส ผ่ า นบริ ษั ท ย่ อ ย ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตให้ ประกอบกิจการโทรคมนาคมและมีใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่น ความถี่ ได้ แก่ ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ 2100, 1800 และ 900 เมกะเฮิรตซ์ รวมทังเป็ ้ นพันธมิตรในการใช้ งาน คลืน่ ความถี่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ของทีโอที ทาให้ เอไอเอสมี คลื่ น ความถี่ ใ ช้ งานรวม ณ สิ น้ ปี 2561 ทั ง้ สิ น้ 2x60 เมกะเฮิรตซ์ เอไอเอสมีหน้ าที่ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ในการจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาต การสบทบเงินเข้ า กองทุนวิจยั และพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์ สาธารณะ และค่าธรรมเนียมการใช้ เลขหมายแก่ กสทช. คิดเป็ นประมาณร้ อยละ 4 ของรายได้ การให้ บริ การในแต่ ละปี จ่ ายเงินปั นผลไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 70 ของกาไรสุทธิ เอไอเอสมีนโยบายจ่ายเงิ นปั น ผลไม่ต่ากว่า ร้ อยละ 70 ของกาไรสุทธิ ตามงบการเงิ นรวม โดยจะพิจารณาการ จ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นปี ละ 2 ครัง้ การจ่ายเงินปั น ผลครัง้ แรกจะพิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัท ในงวดครึ่ ง ปี แ รก และการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลครั ง้ ที่ สองจะ พิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี หลัง ซึ่งจานวนเงินปั นผลรวมประจาปี จะต้ องได้ รับการ อนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น สาหรั บการจ่ายเงิ นปั น ผลของบริ ษั ทย่อย จะพิจารณา จากผลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อย สถานะการเงินและ ปั จจัยสาคัญอื่นๆ ของบริ ษัทย่อยนันๆ ้ ทัง้ นี ้ การจ่ายเงิ นปั นผลในทุกกรณี จะขึน้ อยู่กับกระแส เงินสดและแผนการลงทุน รวมถึงความจาเป็ นและความ เหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตของบริ ษัทและ/หรื อบริ ษัทย่อย และการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวจะต้ องไม่เกินกาไรสะสมที่ ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัท และ/หรื อมี ผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อการดาเนินงานปกติ ของ บริ ษั ท และบริ ษัท ย่อ ย โดยข้ อ มูลการจ่ายเงิ นปั น ผลใน รอบ 5 ปี ที่ผา่ นมามีดงั นี ้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

การจ่ายเงินปั นผล (บาท : หุ้น) 1. เงินปั นผลระหว่างกาล 2. เงินปั นผลประจาปี อัตราการจ่ายเงินปั นผล (ร้ อยละ)

2557 12.00 6.04 5.96 99

2558 12.99 6.50 6.49 99

ส่วนที่ 1 | หน้ า 3

2559 10.08 5.79 4.29 98

2560 7.08 3.51 3.57 70

2561

2561 7.08 3.78 3.30 71


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

พัฒนาการที่สาคัญเพื่อการเติบโตทางธุรกิจอย่ างยั่งยืน การเป็ นผู้นาด้ านเครือข่ าย  ร่ วมลงนามทาสัญญาเป็ นพันธมิตรกับทีโอทีสาหรับการใช้ คลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ จานวน 2x15 เมกะเฮิรตซ์ เพื่อรองรับจานวนผู้ใช้ งานด้ านดาต้ าที่มากขึ ้นทังบนเทคโนโลยี ้ 4G และ 3G  ชนะการประมูลใบอนุญาตคลืน่ ความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ จานวน 2x5 เมกะเฮิรตซ์ ทาให้ เอไอเอสเป็ นผู้ให้ บริ การที่มี ช่วงคลื่นความถี่รวม 2x60 เมกะเฮิรตซ์ มากที่สดุ ในอุตสาหกรรม และมีคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ติดต่อกันถึง 2x20 เมกะเฮิรตซ์ ส่งผลให้ ผ้ ใู ช้ บริ การ 4G สามารถใช้ งานดาต้ าบนโทรศัพท์เคลือ่ นที่ด้วยความเร็ วเพิ่มขึ ้นร้ อยละ1530  ขยายการให้ บริ การเครื อข่าย AIS NEXT G ซึ่งเป็ นการควบรวมเทคโนโลยี AIS 4G ADVANCED และ AIS SUPER WiFi เข้ าด้ วยกัน สูร่ ะบบปฏิบตั ิการ iOS บน iPhone ทาให้ ปัจจุบนั สามารถให้ บริ การครอบคลุมทังระบบปฏิ ้ บตั ิการ iOS และ Android ด้ วยความเร็ วถึงระดับ 1 กิ กะบิตต่อวินาที ซึ่ งเป็ นการสร้ างความแตกต่างด้ วยการให้ บริ การ ความเร็ วที่สงู ที่สดุ ในอุตสาหกรรม  ร่ วมกับโนเกีย หัวเหว่ย และแซดทีอี เปิ ดทดสอบเทคโนโลยี 5G บนคลื่นความถี่ 26.5-27.5 GHz เพื่อกระตุ้นให้ ภาค ธุรกิจเตรี ยมความพร้ อมและเห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ ้นจาก 5G โดยอยู่ระหว่างการพัฒนาบริ การ (Use Case) เพื่อ นามาใช้ ในเชิงพาณิชย์  ขยายโครงข่าย NB-IoT และแพลตฟอร์ มแบบครบวงจร ครอบคลุมทั่วประเทศ พร้ อมทางานร่ วมกับพันธมิตรใน หลากหลายอุตสาหกรรม เช่น พร็ อพเพอร์ ตี ้ เพอร์ เฟค และซัมซุง เพื่อพัฒนาโซลูชันส์ด้าน Smart Home รวมทัง้ องค์กรการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อให้ บริ การจักรยานสาธารณะอัจฉริ ยะหรื อ “โมไบค์” และระบบ บริ หารจัดการพื ้นที่และทรัพยากรของมหาวิทยาลัย การสร้ างสินค้ าและบริการสาหรับยุคดิจทิ ัล 

เปิ ดให้ บริ การ “NU MOBILE” ซิมโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบออนไลน์ครบวงจร ทังการซื ้ ้อซิม การยืนยันตัวตน และการ ช าระค่า บริ ก าร เพื่ อ ส่ง เสริ ม การให้ บ ริ ก ารดิ จิ ทัลเต็ มรู ป แบบ (Full Service Digitization) ตอบโจทย์ ก ลุ่ม ลูก ค้ า สมัยใหม่ที่ไม่ต้องการติดต่อหน้ าร้ าน และใช้ งานออนไลน์อย่างเป็ นประจา ขยายการให้ บริ การเข้ าสู่ตลาดลูกค้ าองค์ กร โดยเข้ าซือ้ กิ จการของบริ ษั ท ซีเอสล็อกซ อินโฟ (CSL) เสริ มความ แข็งแกร่ งให้ แก่เอไอเอสในด้ านฐานลูกค้ า สินค้ าและบริ การ และบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อให้ บริ การด้ าน ดิจิทัลโซลูชั่นส์แบบครบวงจร (End-to-End) เช่น คลาวด์ ดาต้ าเซ็นเตอร์ และระบบการบริ หารจัดการ พร้ อมให้ คาปรึกษาลูกค้ าองค์กรตลอด 24 ชัว่ โมง เข้ าร่ วมลงทุนในบริ ษัทร่ วม (JV) ของแรบบิท-ไลน์เพย์ (RLP) โดยถือสัดส่วนผู้ถือหุ้นร้ อยละ 33.33 เพื่อให้ บริ การ แพลตฟอร์ มกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยแก่ทงลู ั ้ กค้ าเอไอเอสและลูกค้ าทัว่ ไป และร่วมมือกับสิงเทล เปิ ด ให้ บริ การกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศภายใต้ ชื่อ “ VIA” อานวยความสะดวกให้ ผ้ ใู ช้ บริ การแรบบิท-ไลน์ เพย์สามารถชาระสินค้ าและบริ การจากร้ านค้ าที่ร่วมรายการในสิงคโปร์ ได้ โดยไม่จาเป็ นต้ องแลกเงิน ขยายช่องทางจัดจาหน่ายเพื่อเข้ าถึงลูกค้ าแต่ละกลุม่ ผ่านความร่วมมือกับพันธมิ ตรชันน ้ าในด้ านโมเดิร์นเทรดและไอ ที เช่น เทสโก้ โลตัส และเจมาร์ ท ให้ ลกู ค้ าเข้ าถึงสินค้ าและบริ การทังโทรศั ้ พท์เคลื่อนที่และอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง พร้ อมเสริ มภาพลักษณ์ของแบรนด์ผา่ นสาขาของพันธมิตรทัว่ ประเทศ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 4


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561

โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท 1. โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุม่ อินทัช ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ส่วนที่ 1 | หน้ า 5


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 2. โครงสร้ างการถือหุ้นของเอไอเอส ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ส่วนที่ 1 | หน้ า 6


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561

รางวัลแห่ งความภาคภูมิใจ ประจาปี 2561 ด้ านองค์ กรและแบรนด์  รางวั ล “Thailand’s Most Admired Brand & Company” โดย Thailand’s Most Admired Brand 2018 ในฐานะ แบรนด์ที่ครองใจผู้บริ โภคและได้ รับความน่าเชื่อถือเป็ นอันดับ 1  รางวัล Superbrands 2017 ต่ อเนื่องเป็ นปี ที่ 14 ในฐานะสุดยอดแบรนด์คณ ุ ภาพในสาขาเทคโนโลยีและการสือ่ สาร ที่ผ้ บู ริ โภคเชื่อมัน่ และไว้ วางใจ  รางวั ล No.1 Brand Thailand 2018 รางวั ล แบรนด์ ย อดนิ ย มอั น ดั บ 1 ด้ าน Mobile Operator โดยนิ ต ยสาร Marketeer  รางวัล สุดยอดแบรนด์ ทรงพลังบนโลกโซเชียลมีเดียอันดับ 1 ในกลุม่ Mobile Operator จาก Thailand’s Most Social Power Brand 2018 โดยนิตยสาร BrandAge และ ไวซ์ไซท์  รางวัลหุ้นยอดนิยมประจากลุ่มเทคโนโลยี ต่ อเนื่องเป็ นปี ที่ 2 จัดโดยหนังสือพิมพ์ขา่ วหุ้นธุรกิจ ด้ านสินค้ า บริการ และการตลาด  รางวั ล 2018 Thailand IoT Solutions Provider of the Year และ 2018 Thailand Cloud Services Innovative Company of the Year โดย 2018 Frost & Sullivan Thailand Excellence Awards จากการตอบโจทย์ความต้ องการ ของลูกค้ าอย่างครบวงจรด้ วยเครื อข่าย NB-IoT และ Ecosystems และพัฒนา Cloud Platform สาหรับการใช้ งานเชิง ธุรกิจ  รางวัล Contact Center of the Year และ CEO of the Year Award จากสถาบัน Asia Pacific Customer Service Consortium (APCSC) ในฐานะเป็ นองค์กรที่โดดเด่นด้ านคุณภาพงานบริ การ และความเป็ นเลิศด้ านการดูแลลูกค้ า  รางวัลพระราชทาน “ความเป็ นเลิศด้ านการตลาด (Marketing Excellence)” และรางวัลดีเด่นอีก 3 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านสินค้ าและบริ การ ด้ านนวัตกรรม และด้ านการจัดการทรัพยากรบุคคล โดยสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศ ไทยร่วมกับสถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  รางวัล แบรนด์ ท่ ีทาผลงานบนโซเชียล มีเดียยอดเยี่ยมบนพันทิป ด้ าน Fast Response ในฐานะแบรนด์ที่ สามารถตอบคาถามให้ แก่ลกู ค้ าบนเว็บไซต์พนั ทิปได้ อย่างรวดเร็ วที่สดุ  รางวั ล แบรนด์ ที่ ท าผลงานบนโซเชี ย ล มี เ ดี ย ยอดเยี่ ย มกลุ่ มธุ ร กิ จ โทรคมนาคม (The Best Brand Performance Awards by Category “Telecom") ในฐานะแบรนด์ ที่ใช้ โซเชี ยล มีเดีย สื่อสารกับลูกค้ าได้ อย่างดี เยี่ยมและมีการเพิ่มขึ ้นของจานวนลูกค้ าที่กดติดตามอย่างต่อเนื่อง ด้ านการบริหารทรัพยากรบุคคล  รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ IDC's Digital Transformation Awards 2018 สาขา Talent Accelerator ในฐานะ องค์ ก รที่ สามารถน าเอา Data analytics มาเพิ่ ม ความสามารถในการท างานได้ อ ย่า งมี ป ระสิท ธิ ภาพ ด้ ว ยการ ขับเคลือ่ นองค์กรสูก่ ารเป็ น Data-Driven Organization ภายใน 1 ปี  รางวัลชนะเลิศ "องค์ กรส่ งเสริมสุขภาพในสถานที่ทางานที่ยอดเยี่ยมที่สุด (Winner of Healthiest Employer)" ในหมวดองค์กรขนาดใหญ่ จากโครงการ Thailand's Healthiest Workplace จัดโดย AIA

ส่วนที่ 1 | หน้ า 7


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 ด้ านสังคมและความยั่งยืน  รางวัล Distinguished Award สาขาโครงการนวัตกรรม จาก Thailand ICT Excellence Awards 2018 จากการใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ ออกแบบธุรกิจโดยมีโครงสร้ างพื ้นฐาน ICT สนับสนุนและสร้ างประโยชน์ ให้ กับองค์ กรอย่าง ชัดเจน  รางวั ล “Thailand Sustainability Investment” หรื อรางวัลหุ้นยั่งยืนประจาปี 2561 ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 4 โดยตลาด หลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย ซึ่งมอบให้ กับบริ ษัทจดทะเบียนที่ดาเนินธุร กิ จโดยคานึงถึงสิ่งแวดล้ อม สังคม และ บรรษัทภิบาล เพื่อพัฒนาธุรกิจสูค่ วามยัง่ ยืนอย่างมีประสิทธิภาพ  รางวัลสุ ดยอดแคมเปญการตลาด ประเภทธุ รกิจเพื่อสังคม จากโครงการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ ง ” และ แคมเปญ “Think Before Social มือถือจะสร้ างสรรค์หรื อทาลายขึ ้นอยูก่ บั เรา” จัดโดยสมาคมการตลาดแห่งประเทศ ไทย

ส่วนที่ 1 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้ างรายได้ แบ่ งตามประเภทบริการ 2559 รายได้ จากธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่ รายได้ จากธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง รายจากได้ การให้ บริ การอื่นๆ รายได้ จากการให้ บริการหลัก รายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่ายและค่าเช่าเครื่ อง และอุปกรณ์ รายได้ จากการให้ บริการ รายได้ จากการขายซิมและอุปกรณ์ รายได้ รวม

2560

2561

ล้ านบาท 119,493 860 2,208 122,561 5,665

ร้ อยละ 78.54 0.57 1.45 80.55 3.72

ล้ านบาท 122,979 3,128 2,476 128,583 4,364

ร้ อยละ 77.97 1.98 1.57 81.53 2.77

ล้ านบาท 124,601 4,436 4,391 133,429 10,576

ร้ อยละ 73.36 2.61 2.59 78.55 6.23

128,226 23,924 152,150

84.28 15.72 100.00

132,947 24,775 157,722

84.29 15.71 100.00

144,005 25,851 169,856

84.78 15.22 100.00

ส่วนที่ 1 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ ธุรกิจหลักของเอไอเอส สามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ส่วนดังต่อไปนี ้ ธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่

ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง

• ให้ บริ การโครงข่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่ 4G/3G/2G • บริ การระบบเติมเงินและราย เดือน • การขายโทรศัพท์มือถือ • บริ การโรมมิ่งและโทรออก ต่างประเทศ

• บริ การอินเทอร์ เน็ตด้ วย เทคโนโลยีไฟเบอร์ สาหรับ ลูกค้ าครัวเรื อนทัว่ ไปและ สาหรับผู้ประกอบการรายย่อย

ธุรกิจดิจิทลั เซอร์ วิส

• • • • •

วิดีโอแพลตฟอร์ ม ธุรกิจคลาวด์สาหรับองค์กร ธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ Internet of Things แพลตฟอร์ มอื่นๆ

1. ธุรกิจให้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ เ อ ไ อ เ อ ส ใ ห้ บ ริ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ เ ค ลื่ อ น ที่ ผ่ า น โ ค ร ง ข่ า ย 4G, 3G แ ล ะ 2G โ ด ย ไ ด้ รั บ ใ บ อ นุ ญ า ต ใ ห้ ใ ช้ คลื่นความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมที่ได้ รับ อนุญาตจาก กสทช. และมีคลื่นความถี่ให้ บริ การรวมทังสิ ้ ้น 2x60 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่ง ประกอบด้ วยคลื่นย่านความถี่ 2100, 1800 และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ปั จจุบนั โครงข่ายของเอไอเอสครอบคลุมกว่าร้ อยละ 98 ของ ประชากร อีกทัง้ มีการติดตัง้ AIS Super WiFi กว่า 97,000 จุด ในปี นีเ้ อไอเอสได้ นาเทคโนโลยีใหม่ที่ผนวก 4G และ Wifi โดย เรี ยกชื่อทางการค้ าว่า Next G เพื่อให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตได้ ความเร็ วสูงสุดถึง 1 กิกะบิตต่อวินาที เอไอเอสให้ บริ การทังการโทรและการใช้ ้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือ ในรูปแบบบริ การรายเดือนและระบบเติมเงิน ปั จจุบนั เอไอ เอสมีฐานลูกค้ าทังสิ ้ ้น 41.2 ล้ านเลขหมายทัว่ ประเทศ เป็ นลูกค้ าระบบรายเดือน 8.2 ล้ านเลขหมาย และระบบเติมเงิน 33 ล้ านเลข หมาย โดยลูกค้ าให้ ความนิยมกับแพ็กเกจดาต้ า และแพ็กเกจรายเดือนที่ขายคู่กบั สมาร์ ทโฟนรุ่ นใหม่ในหลากหลายระดับราคา นอกจากนี ้ เอไอเอสมีบริ การโรมมิ่งหรื อบริ การข้ ามแดนอัตโนมัติ รวมถึง SIM2Fly ซิมโรมมิ่งเติมเงินราคาประหยัด ที่เน้ นการใช้ งาน อินเทอร์ เน็ต อีกทังยั ้ งมีบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เพื่อโทรจากประเทศไทยไปยังประเทศปลายทาง ข้ อมูลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ สามารถดูเพิ่มเติมได้ จาก www.ais.co.th 2. ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง เอไอเอสได้ เริ่ มให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตบ้ านความเร็ วสูง ภายใต้ แบรนด์ เอไอเอส ไฟเบอร์ ตังแต่ ้ ปี 2558 โดยให้ บริ การด้ วย เทคโนโลยีไฟเบอร์ (ใยแก้ วนาแสง) ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีใหม่ในอุตสาหกรรม จากการลงทุนที่ต่อยอดจากไฟเบอร์ ที่มีบ นธุ ร กิ จ โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ทาให้ เอไอเอส ไฟเบอร์ สามารถขยายโครงขยายได้ อย่างรวดเร็ ว โดยปั จจุบันครอบคลุมกว่า 57 จังหวัดทัว่ ประเทศ และมีจานวนผู้ใช้ บริ การกว่า 730,500 ราย เอไอเอส ไฟเบอร์ มีการออกแพ็กเกจในหลากหลายระดับราคา ทังเพื ้ ่อดึงดูดลูกค้ าที่สนใจเปลี่ยนจากเทคโนโลยี ADSL และ VDSL มาเป็ นเทคโนโลยีไฟเบอร์ และแพ็กเกจที่ให้ ความเร็ วตังแต่ ้ 100 เมกะบิตต่อวินาที ขึ ้นไปสาหรับครอบครัว รวมทังได้ ้ นา แพ็กเกจคอนเทนต์ระดับโลกเข้ ามาผนวก เพื่อให้ ลูกค้ ารั บชมภาพยนตร์ กี ฬา ความบันเทิงผ่านกล่อง AIS PLAYBOX และมุ่ง นาเสนอครบทุกบริ การในแพ็กเกจเดียวทังอิ ้ นเทอร์ เน็ตบ้ าน อินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ การรับชมคอนเทนท์ระดับโลก และการ ใช้ งาน AIS Super WiFi แบบไม่จากัด รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูได้ ที่ www.ais.co.th/fibre

ส่วนที่ 1 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

3. ธุรกิจดิจิทัลเซอร์ วิส สาหรับปี 2561 เอไอเอสยังคงมุง่ พัฒนาการให้ บริ การด้ านดิจิทลั อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้ างรายได้ ในรูปแบบใหม่ๆ และมุง่ สูก่ าร เป็ นผู้ให้ บริ การด้ านดิจิทลั ไลฟ์ อย่างเต็มรูปแบบโดยเน้ นการเป็ นพันธมิตรกับคูค่ ้ าที่มีความเชี่ยวชาญในบริ การแต่ละประเภท ธุรกิจ ดิจิทลั เซอร์ วิสของเอไอเอสเน้ นใน 5 ด้ าน ดังนี ้  วิดีโอแพลตฟอร์ ม เอไอเอสได้ เปิ ดให้ บริ การเผยแพร่ โทรทัศน์และวิดีโอ รวมถึง ความบันเทิงต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ ละคร เพลง คาราโอเกะ และ เกมส์ ผ่านแอปพลิเคชัน AIS PLAY บนโทรศัพท์ เคลื่อนที่และแท็บเล็ต รวมทังในรู ้ ปแบบผ่านกล่อง AIS PLAYBOX สาหรับผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตบ้ านผ่านบริ การเอไอเอส ไฟเบอร์ ทังนี ้ ้ ในปี 2561 เอไอเอสได้ เพิ่มความน่าสนใจในการนาเสนอบริ การให้ กบั ลูกค้ ามาก ขึ ้น โดยลูกค้ าสามารถเลือกรับชมแพ็กเกจแบบรายวันได้ ในราคาวันละ 5 บาท ทาให้ การรับชมตามช่วงวันเวลาที่ต้องการสามารถ ทาได้ อย่างสะดวกและคุ้มค่ามากขึ ้น เอไอเอสร่ วมกับพันธมิตรเปิ ดให้ บริ การ OTT ที่มีความหลากหลายของคอนเทนต์ เช่น ภาพยนตร์ และซีรีส์ฮอลลีว้ ดู HOOQ Netflix รายการและซีรีส์เกาหลีผา่ น ViU และกีฬาบาสเก็ตบอลระดับโลก NBA รวมถึงช่องฟรี ทีวี (Free TV) ช่องดิจิทลั และ ดาวเทียม ทังในรู ้ ปแบบของการถ่ายทอดสดและแบบวิดีโอออนดีมานด์ (Video On-Demand) เช่น HBO GO ที่ทางเอไอเอสคัด สรรมาให้ ลกู ค้ าได้ เลือกรับชมตามความต้ องการผ่านทังแพลตฟอร์ ้ ม AIS PLAY และ PLAYBOX รายละเอียดของบริ การสามารถดู ได้ จากเว็ปไซต์ http://www.ais.co.th/aisplay/ และ http://www.ais.co.th/playbox/

 คลาวด์ สาหรับองค์ กร ในปี 2561 เอไอเอสได้ ตอ่ ยอดการให้ บริ การคลาวด์และดิจิทลั โซลูชนั่ ส์อื่นๆ แก่ลกู ค้ าองค์กร โดยได้ เข้ าซื ้อกิจการของบริ ษัทซี เอสล็อกซ อินโฟร์ เพื่อเสริ มความสามารถในการให้ บริ การลูกค้ าองค์กร ทังด้ ้ านสินค้ าและบริ การ บุคลากรและความเชี่ยวชาญ รวมทังฐานลู ้ กค้ าที่แตกต่างกัน โดยแนวโน้ มธุรกิจลูกค้ าองค์กรในประเทศไทยมีการตื่นตัวในการเปลีย่ นมาใช้ ดิจิทลั โซลูชนั่ ส์มากขึ ้น เนื่องจากใช้ เงินลงทุนต่า รวมถึงไม่ต้องลงทุนในระบบโครงสร้ างพื ้นฐานเองในยุคที่เทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ ว เอไอเอสให้ บ ริ ก ารครบวงจร โดยการให้ บริ การที่ ครอบคลุมตัง้ แต่โครงสร้ างพื น้ ฐานทางไอที (Infrastructure-as-aService) เช่น Virtual Machine พื ้นที่จดั เก็บการสารองข้ อมูล และการให้ บริ การเช่าศูนย์ข้อมูล (Colocation) ไปจนถึงการให้ บริ การ การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ งาน (Big data analytics-as-a-service) ที่ช่วยให้ ลกู ค้ าองค์กรขนาดกลาง สามารถเข้ าถึงความต้ องการ เชิงลึก และนาผลการวิเคราะห์มาออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ยังได้ มี บริ การใหม่ เช่น Disaster Recovery-as-a-Service ที่ให้ บริ การการรักษาข้ อมูลหากเกิดภัยพิบตั ิ ทาให้ ลกู ค้ ายังคงดาเนินธุรกิจได้ อย่างไม่สะดุด และการให้ บริ การ Database-as-a-Service เพื่อการบริ หารฐานข้ อมูล โดยลูกค้ าสามารถบริ หารค่าใช้ จา่ ยได้ อย่างมี ประสิทธิภาพจากข้ อดีของระบบคลาวด์ รวมถึงการให้ บริ การ Enterprise Resource Planning Solution (ERP) โดยเฉพาะสาหรับ ลูกค้ าองค์กรขนาดเล็ก เพื่อวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรแบบองค์รวม ให้ สามารถใช้ ทรัพยากรที่มีให้ เกิดประโยชน์สงู สุด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บริ การคลาวด์ จากเอไอเอสมีการรั กษาความปลอดภัยแบบครบวงจร ตังแต่ ้ เครื อข่ายไปจนถึงระบบคลาวด์ ด้ วยการ รับรองมาตรฐานระดับ ISO27001 พร้ อมการบริ การให้ คาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญตลอด 24 ชัว่ โมง ด้ วยศูนย์ข้อมูลมาตรฐาน (Data Center) ระดับโลก (Tier-4) ทังในกรุ ้ งเทพฯ และปริ มณฑล ทาให้ สามารถรองรับธุรกิจได้ ทกุ ระดับ นักลงทุนสามารถศึกษาข้ อมูล เพิ่มเติมได้ ที่ https://business.ais.co.th/enterprise.html

 ธุรกรรมทางการเงินผ่ านมือถือ เอไอเอสให้ บริ การด้ านแพลตฟอร์ มธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ (Mobile Money) แก่ทงลู ั ้ กค้ าองค์กรผ่านบริ ษัท mPAY และ แก่ลกู ค้ าทัว่ ไปผ่านการลงทุนในบริ ษัทร่ วมค้ า แรบบิท ไลน์ เพย์ (Rabbit LINE Pay) โดยการให้ บริ การลูกค้ าองค์กร mPAY เน้ น นาเสนอแพลตฟอร์ มการชาระเงินแบบครบวงจร เพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถมีกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์สาหรับรับชาระสินค้ าและบริ การ โดยไม่ ต้ องลงทุ น ในระบบหรื อขอใบอนุ ญ าตการด าเนิ น งานด้ วยตนเอง ทั ง้ นี ้ สามารถดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ www.ais.co.th/mPAY/gateway ส่วนการให้ บริ การลูกค้ าทัว่ ไป ในต้ นปี 2561 เอไอเอสได้ ร่วมลงทุน กับบริ ษัท วีจีไอ (VGI) และไลน์ (LINE) ซึ่งให้ บริ การ กระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ภายได้ ชื่อ “Rabbit LINE Pay” ซึ่งช่วยให้ ผ้ ใู ช้ บริ การสามารถชาระสินค้ าตามร้ านค้ าต่างๆ ที่ร่วมรายการ ผ่านทาง QR Code ได้ โดยไม่จาเป็ นต้ องพกเงินสด อีกทังยั ้ งมีกิจกรรมส่งเสริ มการขายและโปรโมชัน่ ฟรี ค่าธรรมเนียมต่างๆ เมื่อ ชาระสินค้ าผ่าน Rabbit LINE Pay เพื่อเชิญชวนให้ ลกู ค้ ามาใช้ บริ การ และยังเป็ นการสนับสนุนการเข้ าสูส่ งั คมไร้ เงินสด (Cashless Society) ตามนโยบายภาครัฐที่เน้ นเรื่ องการพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานของระบบการชาระเงิ นแบบอิเล็กทรอนิกส์ (National ePayment) นอกจากนี ้ ยังมีการขยายขอบเขตการให้ บริ การ โดยปั จจุบันลูกค้ าสามารถผูกบัญชี Rabbit LINE Pay เข้ ากับบัตร โดยสารรถไฟฟ้า Rabbit Card ได้ โดยเป็ นการรวมกระเป๋ าเงินทังในบั ้ ตรโดยสารและใน Rabbit LINE Pay เข้ าไว้ ด้วยกัน เพื่อ อานวยความสะดวกให้ กบั ผู้ใช้ บริ การ นอกจากนี ้ เอไอเอสยังได้ ร่วมมือกับบริ ษัท สิงเทล เปิ ดตัวแพลตฟอร์ ม “VIA” ซึ่งเป็ นแพลตฟอร์ มกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ ข้ ามประเทศ โดยลูกค้ าที่ใช้ Rabbit LINE Pay สามารถซื ้อสินค้ าผ่าน QR code ของร้ านค้ าที่ร่วมรายการในประเทศสิงคโปร์ ได้ โดย ไม่จาเป็ นต้ องพกเงินสดหรื อแลกเงิน

 IoT หรือ Internet of Things เอไอเอสให้ บริ การ NB-IoT (Narrow-Band Internet of Thing) ซึ่งเป็ นโซลูชนั่ การให้ บริ การสาหรับเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ หลากหลายประเภทผ่านโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตของเอไอเอส และเป็ นหนึ่งในบริ การสาคัญที่จะรองรับโดยเทคโนโลยี 5G ในอนาคต โดยในปี 2561 เอไอเอสได้ ขยายโครงข่าย NB-IoT ครอบคลุม 77 จังหวัดทัว่ ประเทศ และได้ รับรางวัลจากทาง Frost & Sullivan ให้ เป็ น Thailand IoT Solutions Provider of the Year โดยเน้ นตอบสนองรูปแบบบริ การใหม่ๆ ในยุคดิจิทลั ที่นอกเหนือจากการใช้ งาน ส่วนที่ 1 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

อินเทอร์ เน็ตบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานระดับสากล และจุดประกายนักพัฒนา มหาวิทยาลัย สตาร์ ท อัพ และภาคเอกชนต่างๆ ให้ สามารถสร้ างสรรค์ผลงาน IoT โซลูชนั่ ที่เป็ นประโยชน์กบั ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และประชาชน เอไอเอสให้ ความสาคัญในการสร้ าง IoT ecosystem ในปี 2561 เอไอเอสมีความพร้ อมทังด้ ้ านเครื อข่าย NB-IoT และ eMTC (Enhanced Machine-Type Communication) พร้ อมแพลตฟอร์ มและ ecosystem ผ่านการทางานของ AIS IoT Alliance Program (AIAP) จึ ง ได้ มี ส่ว นร่ วมในการน าโซลูชั่ น IoT เข้ า ไปเปลี่ย นแปลงรู ป แบบการท างานของภาคธุร กิ จในหลากหลาย อุตสาหกรรมที่เริ่ มนามาใช้ งานจริ ง ทังในองค์ ้ กรขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก เช่น การนาโซลูชนั่ จักรยานอัจฉริ ยะ Mobike ไปใช้ ใน สถานที่ต่างๆ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงสาธารณะสุข และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อให้ ลูกค้ าสามารถเช่าใช้ จกั รยานผ่านการชาระเงินจากกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ อีกทังได้ ้ ริเริ่ มพัฒนาโซลูชนั่ เพื่อตอบโจทย์ด้าน Smart City เพื่อเน้ นการอานวยความสะดวกด้ านความปลอดภัยและดูแลสิ่งแวดล้ อม เช่น การร่ วมมือกับโครงการเพอร์ เฟค สมาร์ ทซิตี ้ ของ บมจ.พร็ อพเพอร์ ตี ้ เพอร์ เฟค และโครงการ AMATA Smart City ของนิคมอุตสาหกรรมอมตะ เป็ นต้ น นอกจากนัน้ ยังร่วมส่งเสริ มการพัฒนานวัตกรรมในภาคธุรกิจ เช่น การนา IoT ไปใช้ ในระบบบารุงรักษาท่อก๊ าซธรรมชาติ ของ บมจ.ปตท และการนาเสนอโซลูชนั่ IoT ในระบบป้องกันน ้าท่วมโรงงานของ บจ.บุญรอด พร้ อมร่ วมพัฒนาขีดความสามารถใหม่ ให้ กบั ธุรกิจขนาดย่อย เช่น การร่วมมือกับ บจ.โครตรอน และ บจ.เซอร์ บ็อกซ์ ในการใช้ IoT เพื่อเปลีย่ นธุรกิจเครื่ องหยอดเหรี ยญให้ เป็ น Smart Kiosk เป็ นต้ น นักลงทุนสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริ การด้ าน IoT ได้ จากเว็บไซต์ http://www.ais.co.th/nb-iot/

 บริการแพลตฟอร์ มอื่นๆ การให้ บริ การแพลตฟอร์ มเป็ นวิสยั ทัศน์ของเอไอเอสในการทางานร่ วมกับพันธมิตรเพื่อสร้ างบริ การที่ก่อให้ เกิดมูลค่าเพิ่มแก่ ลูกค้ า โดยอาศัยความแข็งแกร่งของฐานลูกค้ ากว่า 41 ล้ านรายของเอไอเอส และความร่วมมือกับคูค่ ้ าทางธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้ า น สร้ างให้ เ กิ ด แพลตฟอร์ ม การให้ บ ริ ก ารใหม่ ที่ เ น้ น เจาะกลุ่ม ลูก ค้ า ได้ เ ฉพาะกลุ่ม โดยสร้ างรายได้ ทัง้ ในรู ป แบบ ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ จากการให้ บริ การ ในปี ที่ผ่านมาเอไอเอสมี แพลตฟอร์ ม ที่เริ่ มให้ บริ การในเชิ งพาณิ ชย์ เช่น แพลตฟอร์ มเกม แพลตฟอร์ มการโฆษณา และแพลตฟอร์ มการขายประกันภัย เป็ นต้ น ส่วนที่ 1 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การจาหน่ ายและช่ องทางการจัดจาหน่ ายและบริการ เอไอเอสมีช่องทางการจาหน่ายและบริ การแบ่งเป็ น 4 ประเภทหลัก ดังต่อไปนี ้

เอไอเอส ช็อป

ตัวแทนจาหน่าย

ช่องทางจาหน่ายตรง

ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ และบริ การ self-service

1. เอไอเอส ช็อป เป็ นศูนย์บริ การที่บริ หารโดยเอไอเอสและตัวแทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพสูงในการให้ บริ การรวมกว่า 160 สาขา มีการจัดจาหน่ายสินค้ า และบริ การ รวมถึงบริ การหลังการขายที่ครอบคลุมที่สุดเมื่อเทียบกับช่องทางทัง้ หมด เน้ นการ จาหน่ายให้ ลกู ค้ าในเขตเมืองที่มีประชากรอยู่อย่างหนาแน่น และเป็ นศูนย์บริ การที่เน้ นการสร้ างภาพลักษณ์แก่สินค้ า และบริ การ ของเอไอเอส 2. ตัวแทนจาหน่ าย เอไอเอสได้ ร่วมมือกับตัวแทนจาหน่ายหลากหลายประเภท เพื่อให้ ครอบคลุมถึงกลุม่ ลูกค้ าที่หลากหลาย ในพื ้นที่ทวั่ ประเทศ เช่น ตัวแทนจาหน่ าย “เอไอเอส เทเลวิซ” (AIS Telewiz) ซึ่งมีกว่า 430 แห่ง มีศกั ยภาพแข็งแรงในพื ้นที่ตวั เมืองและให้ บริ การในภาพลักษณ์ของแบรนด์เอไอเอส ไปจนถึงตัวแทนจาหน่าย “เอไอเอส บัดดี ้” กว่า 1,100 สาขา ที่เข้ าถึงพื ้นที่ใน ระดับอาเภอและตาบล พร้ อมขยายไปสูต่ วั แทนจาหน่ายค้ าปลีกรายย่อยอื่นๆ รวมไปถึงกลุม่ ตัวแทนจาหน่ายประเภทห้ างค้ าปลีก ขนาดใหญ่และร้ านค้ าปลีกสมัยใหม่ ได้ แก่ กลุม่ เจมาร์ ท คอมพิวเตอร์ ซิสเทม ไอบิส พลัส เน็ทเวอร์ ค และ ห้ าง Tesco Lotus 3. การจาหน่ ายตรง (Direct Sales) โดยทีมงาน AIS Direct Sales ซึ่งเน้ นลูกค้ าระบบรายเดือน เป็ นช่องทางที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิ ภาพการจัดจาหน่ายให้ สามารถนาเสนอสินค้ าและบริ การได้ ตรงถึงกลุ่มลูกค้ า เช่น การออกบูธจาหน่ายหรื อการจัด กิจกรรมในพื ้นที่ที่เป็ นกลุม่ เป้าหมายต่างๆ โดยเอไอเอสยังคงเน้ นเพิ่มขีดความสามารถและส่งเสริ มการขายผ่านการใช้ แอปพลิเค ชัน “AIS Easy App” ทาให้ ทีมงานสามารถขายสินค้ าและบริ การ จดทะเบียน และบริ การอื่นๆ ให้ แก่ลกู ค้ าได้ ทนั ที ช่วยให้ บริ การมี ความสะดวกรวดเร็ วมากขึ ้น 4. การจาหน่ ายและบริ การผ่ านช่ องทางออนไลน์ (Online Channel) เป็ นช่องทางที่สง่ เสริ มให้ ลกู ค้ าทารายการได้ ด้วย ตนเอง (Self-Service) ได้ แ ก่ เว็ บ ไซต์ AIS Online Store, แอพปลิเ คชั่น myAIS ตู้ Kiosk รวมถึ ง การท ารายการผ่า นช่ อ งทาง อิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ เช่น ATM, USSD, Chatbot, IVR และโซเชียลมีเดีย เป็ นต้ น

การบริหารความสัมพันธ์ กับลูกค้ า เอไอเอสเป็ นผู้นาในการให้ บริ การด้ านดิจิทลั ตอกย ้าแนวคิด “ที่ 1 ดูแลด้ วยใจ ให้ ชีวิตดิจิทลั ” โดยใช้ ทงความเข้ ั้ าใจและความ ใส่ใจลูกค้ าในทุกรายละเอียดมาออกแบบงานบริ การที่สร้ างสรรค์ ด้วยการผสานเทคโนโลยี และ Human Touch เข้ าด้ วยกัน เพื่อทัง้ ตอบโจทย์เทคโนโลยีดิจิทัลที่ก้าวหน้ าและเข้ ามามีบทบาทกับชีวิตเรามากขึ ้น และให้ ความสาคัญในเรื่ องความรวดเร็ ว ความ สะดวกสบาย ความปลอดภัยของข้ อมูลส่วนบุคคล ความต้ องการจัดการสิ่งต่างๆ ด้ วยตนเอง ทุกที่ ทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง รวมทังความชื ้ ่นชอบบริ การที่ตรงกับความต้ องการของแต่ละคน (Personalization) เพื่อให้ ลกู ค้ าได้ รับประสบการณ์ที่ดีที่สดุ และ สร้ างความแตกต่างให้ กบั งานบริ การและเสริ มศักยภาพในการดาเนินงาน ซึง่ สามารถแบ่งการบริ หารความสัมพันธ์ ออกเป็ น 5 ด้ าน ได้ แก่ ส่วนที่ 1 | หน้ า 14


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

1. การให้ บริ การด้ วยเทคโนโลยีดิจิทลั โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทลั เข้ ามาช่วยในการให้ บริ การลูกค้ า เพื่อยกระดับงานบริ การ ในด้ านต่างๆ ได้ แก่ 1.1 บริ การ “Full-E” ยกระดับความสะดวกสบายที่ครบทัง้ เช็ค จ่าย รับ บิลและใบเสร็ จในแอปพลิเคชัน myAIS เพียงแอปพลิเคชันเดียว ช่วยคลายความกังวลของลูกค้ า เช่น กรณีบิลค่าใช้ บริ การสูญหาย การชาระค่าบริ การไม่ทนั ตาม ก าหนด ไม่สะดวกไปที่ จุด ช าระเงิ น รวมถึ ง ไม่สามารถเรี ย กดูร ายการย้ อ นหลัง โดยบริ ก าร “Full-E” ช่ ว ยให้ ลูก ค้ า สะดวกสบายเพิ่มมากขึ ้น ประหยัดทังเวลาและลดการใช้ ้ กระดาษ ซึง่ ประกอบไปด้ วย  eBill ให้ ลกู ค้ าสามารถเช็คบิลค่าใช้ บริ การผ่านมือถือ พร้ อม SMS แจ้ งเตือน และเปิ ดดูบิลได้ ทนั ที  ePay เพิ่ ม ช่ อ งทางการช าระบิ ลออนไลน์ ใ ห้ แ ก่ ลูก ค้ า ทัง้ ผ่า นแอปพลิเ คชัน ของธนาคาร กระเป๋ าเงิ น อิเล็กทรอนิกส์ Rabbit LINE Pay และผูกตัดอัตโนมัติกบั บัตรเครดิตทุกธนาคาร  eReceipt ให้ ลกู ค้ าสามารถเรี ยกดูใบเสร็ จย้ อนหลังจากแอปพลิเคชันได้ สงู สุดถึง 3 เดือน 1.2 การดูแลเรื่ องความปลอดภัยข้ อมูลส่วนบุคคลของลูกค้ าอย่างดีที่สุด ด้ วยด้ วยระบบแสดงตนแบบพิสจู น์อตั ลัก ษณ์ (Face Recognition) ที่ มี ป ระสิท ธิ ภาพ และความถูก ต้ อ งแม่น ยาสูง สุด ปลดล็อ กความกัง วลใจเรื่ อ งความ ปลอดภัยของข้ อมูลส่วนตัว สาหรับการเปิ ดเบอร์ ใหม่ครบทุกช่องทางการจาหน่ายทังที ้ ่ เอไอเอส ช็อป เทเลวิซ และเอไอ เอส บัดดี ้ กว่า 20,000 แห่งทั่วประเทศ อีกทัง้ เอไอเอสเป็ นผู้ให้ บ ริ การรายแรกในประเทศไทยที่ พัฒนาระบบ Face Recognition บนตู้ Service Kiosk 80 ตู้ เพื่อให้ บริ การจดทะเบียนเลขหมายใหม่ที่เอไอเอส ช็อป 67 สาขาอีกด้ วย 1.3 “Ask Aunjai” Virtual Agent ผู้ช่ ว ยอัจ ฉริ ย ะ ที่ พัฒ นามาจากการผสานเทคโนโลยี อัจ ฉริ ย ะ ทัง้ Artificial Intelligence (AI), Chatbot และ Smart Knowledge Base ทาให้ สามารถตอบคาถามลูกค้ าบน Online, Social Media อาทิ เว็บไซต์เอไอเอส และบนแอปพลิเคชัน myAIS ได้ ทกุ คาถาม ตลอด 24 ชัว่ โมง รวมทังเพิ ้ ่มความเป็ น Humanity มาก ขึ ้น ทาให้ ลกู ค้ ารู้ สกึ ใกล้ ชิดเหมือนได้ คยุ กับพนักงาน ซึ่งช่วยให้ การให้ บริ การลูกค้ ามีความรวดเร็ ว ตรงปั ญหา และทาให้ ใช้ บคุ ลากรอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น 2. “AIS Privileges” ถือเป็ นหัวใจสาคัญในการตอบแทนลูกค้ าทุกคนที่ไว้ วางใจใช้ บริ การของเอไอเอสมาโดยตลอด เอไอเอ สจึงมุ่งมัน่ ในการพัฒนาและคัดสรรความพิเศษให้ แก่ลกู ค้ ามาอย่างต่อเนื่อง ผ่านโปรแกรมสิทธิประโยชน์สาหรับลูกค้ าเอไอเอส และลูกค้ า เอไอเอส ไฟเบอร์ ทัว่ ประเทศ กับ “7 ช่วงเวลาดีๆ กับ AIS Privileges” เพื่อตอบรับทุกไลฟ์ สไตล์ของลูกค้ าในทุกมิติการ ใช้ ชีวิต ทังร้​้ านอาหาร ร้ านกาแฟ ช็อปปิ ง้ บันเทิง และท่องเที่ยว ด้ วยสิทธิพิเศษส่วนลดที่มีอยู่ทกุ ที่ และในทุกช่วงเวลา ปั จจุบนั มี พาร์ ทเนอร์ ร่วมมอบสิทธิพิเศษมากกว่า 25,000 ร้ านค้ าทัว่ ประเทศ และมีการใช้ สิทธิพิเศษมากกว่า 15 ล้ านสิทธิต่อปี นอกจากนี ้ ลูกค้ ายังสามารถนา AIS Points ที่สะสมจากยอดค่าใช้ บริ การ มาแลกส่วนลดเพิ่มเติม เช่น แลกส่วนลดสินค้ าประเภทอาหาร เครื่ องดื่ม 30-50% จากพาร์ ทเนอร์ แบรนด์ดงั แลกส่วนลดซื ้อบัตรชมภาพยนตร์ จากเครื อ Major ทุกโรงทัว่ ประเทศ แลกแพ็กเกจ อินเทอร์ เน็ตฟรี โทรฟรี แลกส่วนลดมือถือ เป็ นต้ น ซึง่ ปั จจุบนั มีลกู ค้ าสมัครสะสม AIS Points จานวน 9 ล้ านเลขหมาย 3. “เอไอเอส เซเรเนด” เป็ นโปรแกรมมอบสิทธิพิเศษให้ กบั ลูกค้ า เอไอเอสกลุ่มที่มียอดการใช้ งานสูง รวมถึงระยะเวลาที่ใช้ บริ การเอไอเอสนานตามเกณฑ์ที่กาหนด มุง่ รักษาความสัมพันธ์กบั ลูกค้ าในระยะยาว เซเรเนดเป็ นสิง่ ที่ เอไอเอสทามาอย่างต่อเนื่อง ตลอด 14 ปี ยกระดับงานบริ การและสิทธิพิเศษภายใต้ แนวคิด “ที่สดุ ของประสบการณ์ พิเศษ” (The Ultimate Life Experience) มอบความพิเศษให้ ลกู ค้ าเซเรเนดมากยิ่งขึ ้น ด้ วย 4 ความเป็ นที่สดุ ทังการบริ ้ การ กิจกรรมความบันเทิง ด้ านธุรกิจ และสิทธิพิเศษ เช่น สิทธิพิเศษร้ านอาหาร สถานที่ทอ่ งเที่ยว ที่จอดรถพิเศษ บริ การห้ องพักที่สนามบิน รวมทังผู ้ ้ ช่วยส่วนตัว เป็ นต้ น โดยในปี ที่ผ่าน มา เอไอเอสได้ ขยายจานวนเซเรเนด คลับ เป็ น 13 สาขา ครอบคลุมกรุงเทพ และตัวเมืองใหญ่ เพื่อรองรับการให้ บริ การลูกค้ าเซเร เนดที่มีจานวนเพิ่มมากขึ ้นจาก 4.5 ล้ านราย เป็ น 5.2 ล้ านราย ส่วนที่ 1 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

4. การส่งมอบประสบการณ์ที่เหนือกว่าด้ วยการวิเคราะห์และเข้ าใจพฤติกรรมของลูกค้ าเชิงลึก เอไอเอสปรับเปลีย่ นวิถีการทา การตลาดและการนาเสนอสินค้ าและบริ การ โดยเน้ นการให้ กบั ลูกค้ า “สร้ างคุณค่า” โดยใช้ เครื่ องมือที่เรี ยกว่า Customer Value Management (CVM) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ งานของลูกค้ า เพื่อให้ ทราบถึงความต้ องการของลูกค้ าที่แท้ จริ ง และสามารถเสนอ บริ การแบบครบวงจรที่ตอบโจทย์ลกู ค้ าแต่ละกลุม่ มากยิ่งขึ ้น ช่วยเน้ นการเพิ่มระดับความพึงพอใจและบริ หารความสัมพันธ์ ของ ลูกค้ าที่ใช้ บริ การของเอไอเอส 5. การประเมินความพึงพอใจในการรับบริ การต่างๆ ของลูกค้ าผ่านหลายช่องทาง เช่น การประเมินผ่านทางโทรศัพท์ การกด ให้ คะแนนความพึงพอใจผ่านหน้ าร้ าน หรื อการสอบถามผ่านการจ้ างบริ ษัทภายนอก โดยมีการประเมินตังแต่ ้ คณ ุ ภาพงานบริ การ ของเอไอเอสช็อป ร้ านค้ าตัวแทนจาหน่าย การทารายการผ่านตู้อตั โนมัติ รวมถึงการประเมินโดยวัดอัตราการบอกต่อของลูกค้ า เพื่อ นาข้ อมูลกลับมาพัฒนาคุณภาพการให้ บริ การในทุกช่องทางอย่างต่อเนื่อง โดยมีผลความพึงพอใจจากการประเมินดังนี ้ ผลความพึงพอใจในรูปแบบ Human touch point ผลความพึงพอใจในรูปแบบ Non-Human touch point

ปี 2561 ร้ อยละ 83* ร้ อยละ 72*

ปี 2560 ร้ อยละ 88 ร้ อยละ 76

* ผลความพึงพอใจในปี 2561 ไม่สามารถเปรี ยบเทียบกับผลของปี 2560 ได้ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการวัดผล โดยในปี 2560 ให้ คะแนน 3 ระดับ (1 = ดีมาก 2 = ดี 3 = ควรปรับปรุ ง) และใช้ คะแนนดีมากและดีในการคานวณ ส่วนปี 2561 เปลี่ยนเป็ น 5 ระดับ (5 = พอใจมาก 4 = พอใจ 3 = ปานกลาง 2 = ไม่พอใจ 1 = ไม่ พอใจมาก) และใช้ คะแนนเฉพาะพอใจมากในการคานวณเท่านัน้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 16


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขันในปี 2561 และแนวโน้ มในปี 2562 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขันในปี 2561 ส่วนแบ่งตลาดเชิงผู้ใช้ บริ การของธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่และธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง

45% 8% ธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่

ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง

“ผู้ให้ บริ การรายอื่นในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้ แก่ ดีแทคและทรู มฟู ”

“ผู้ให้ บริ การรายอื่นในตลาดอินเทอร์ เน็ตบ้ าน ได้ แก่ ทรู ทีโอที และ 3BB”

อุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่ านจากระบบสัมปทานไปสู่ระบบใบอนุญาตอย่ างสมบูรณ์ ในเดือนสิงหาคมและตุลาคม กสทช. ได้ จดั ประมูลใบอนุญาตคลืน่ ความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ตามลาดับ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็ นคลื่นความถี่ล็อตสุดท้ ายที่หมดอายุจากระบบสัมปทานเดิม โดยเอไอเอสและดีแทคเป็ นผู้ชนะ การประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ ทาให้ อตุ สาหกรรมโทรคมนาคมไทยเปลี่ยนจากระบบสัมปทานไปสูร่ ะบบใบอนุญาต อย่างสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากการใช้ คลื่นความถี่ผ่านการประมูลจาก กสทช. แล้ วนัน้ ผู้ให้ บริ การทังสาม ้ รายได้ มีการทาสัญญาร่ วมพันธมิตรทางธุรกิจกับรัฐวิสากิจ (ทีโอทีและกสท.) ในการร่ วมใช้ ประโยชน์จากคลื่นความถี่ที่ รัฐวิสาหกิจถือครองบางส่วน รวมทังสิ ้ นทรัพย์ที่ได้ สง่ มอบภายใต้ สมั ปทาน เช่น เสาโทรคมนาคม และอุปกรณ์โครงข่ายอืน่ ๆ เพื่อใช้ ประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ยงั มีอายุการใช้ งาน ชะลอการลงทุนซ ้าโดยไม่จาเป็ น และเสริ มการให้ บริ การโครงข่ายอย่าง มีประสิทธิภาพ การใช้ งาน 4G เติบโตต่ อเนื่อง แต่ รายได้ ถกู กดดันด้ วยแพ็กเกจแบบใช้ งานดาต้ าไม่ จากัด ณ สิ ้นปี 2561 ลูกค้ าที่ใช้ งานเทคโนโลยี 4G คิดเป็ นประมาณร้ อยละ 60 ของฐานลูกค้ ารวมในตลาด เติบโตจากปี ก่อนที่อยู่ต่ากว่าร้ อยละ 50 อย่างไรก็ตาม รายได้ ของอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่มีอตั ราการเติบโตประมาณร้ อยละ 3 ลดลงจากปี ก่อนที่เติบโตร้ อยละ 6 โดยอัตราการใช้ งานโทรศัพท์เคลือ่ นที่ตอ่ จานวนประชากร (Penetration Rate) ของไทย อยู่ในช่วงร้ อยละ 130-140 สะท้ อนถึงตลาดที่ค่อนข้ างอิ่มตัวในเชิงจานวนผู้ใช้ งาน ทาให้ ผ้ ใู ห้ บริ การต่างแข่งขันในการ รั กษาฐานลูกค้ าเดิมและแย่งชิง ส่วนแบ่งลูกค้ าในตลาดอย่างต่อเนื่อง การแข่งขันด้ านราคาในปี ที่ผ่านมาเน้ นไปที่การ นาเสนอแพ็กเกจแบบใช้ งานดาต้ าไม่จากัดด้ วยความเร็ วคงที่ (Fixed-speed Unlimited) ตังแต่ ้ 1-6 เมกะบิตต่อวินาที เป็ น ต้ น ซึง่ ได้ รับความนิยมจากลูกค้ าเพิ่มขึ ้น เนื่องจากลูกค้ าสามารถใช้ ดาต้ าได้ อย่างไม่ต้องกังวล อย่างไรก็ตาม ลักษณะของ แพ็กเกจดังกล่าวกดดันการเติบโตของรายได้ ของอุตสาหกรรม ทาให้ ผ้ ใู ห้ บริ การเริ่ มลดทอนการนาเสนอแพ็กเกจดัง กล่าว ในช่วงปลายปี โดยทดแทนด้ วยการเน้ นนาเสนอแพ็กเกจที่ให้ ความเร็ ว 4G สูงสุด พร้ อมปริ มาณดาต้ าที่เหมาะสมตาม ระดับราคาแพ็กเกจที่ลกู ค้ าเลือก การให้ ส่วนลดค่าเครื่ องโทรศัพท์เคลื่อนที่ยงั คงเป็ นกลยุทธ์ สาคัญที่ผ้ ใู ห้ บริ การใช้ ดึงดูดลูกค้ าที่ ต้องการซื ้อเครื่ อง โทรศัพท์ มือถือผูกแพ็กเกจ (Bundled) โดยเฉพาะการทาแคมเปญในกลุ่มลูกค้ าระบบรายเดือน อย่างไรก็ตาม เม็ดเงิน

ส่วนที่ 1 | หน้ า 17


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

โดยรวมที่ผ้ ใู ห้ บริ การใช้ ในการทาแคมเปญการตลาด รวมทังการให้ ้ สว่ นลดดังกล่าว มีแนวโน้ มลดลงจากปี ที่ก่อน โดยเน้ น การทาการตลาดแบบรายพื ้นที่มากขึ ้น ซึง่ สะท้ อนถึงการควบคุมประสิทธิผลของแคมเปญและค่าใช้ จ่ายที่เข้ มงวดขึ ้น ลูกค้ าเปลี่ยนมาใช้ ระบบรายเดือนต่ อเนื่อง สนับสนุนด้ วยการใช้ งานสมาร์ ทโฟนและโซเชียลมีเดียที่เพิ่มขึน้ ในปี 2561 อัตราการใช้ งานดาต้ าของตลาดรวมยังคงเพิ่มขึ ้น โดยลูกค้ ามีการใช้ งานเกินกว่า 10 กิกะไบต์/เลขหมาย ที่ใช้ งานดาต้ า/เดือน ซึ่งแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียและการเติบโตของตลาด e-commerce รวมถึงอัตราการใช้ สมาร์ ทโฟน ที่เติบโตขึน้ มาอยู่ที่ประมาณร้ อยละ 77 ช่วยสนับสนุนให้ ลกู ค้ ามีความต้ องการเชื่อมต่อ อินเทอร์ เน็ตตลอดเวลา ทาให้ แนวโน้ มการย้ ายจากระบบเติมเงินมาเป็ นระบบรายเดือนยังคงเกิดขึ ้นต่อเนื่องในปี ที่ผ่าน โดยสัดส่วนเลขหมายระบบราย เดือนต่อเลขหมายรวมได้ เติบโตจากร้ อยละ 22 ในปี ก่อน มาเป็ นร้ อยละ 26 ในปี นี ้ และทาให้ รายได้ เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อ เดือน (ARPU) ของทังอุ ้ ตสาหกรรมเติบโตขึ ้นประมาณร้ อยละ 2 จากปี ก่อน มาอยูท่ ปี่ ระมาณ 240 บาทในช่วงปี นี ้ ตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงขยายตัวตามความต้ องการใช้ งานไฟเบอร์ ในปี ที่ผา่ นมาตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงยังคงมีการเติบโตของรายได้ กว่าร้ อยละ 10 ตามปริ มาณความต้ องการ ใช้ งานอินเทอร์ เน็ตในที่อยูอ่ าศัยที่ยงั คงเพิ่มขึ ้น ซึง่ ตลาดโดยรวมเติบโตจาก 8.2 ล้ านครัวเรื อนในปี 2560 เป็ นกว่า 9.3 ล้ าน ครัวเรื อนในปี 2561 หรื อคิดเป็ นอัตราส่วนครัวเรื อนที่มีอินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูงอยูท่ ี่ประมาณร้ อยละ 43 โดยผู้ให้ บริ การทุก รายยังคงเน้ นขยายความครอบคลุมของบริ การไฟเบอร์ มากขึ ้น และพยายามหาลูกค้ าใหม่ พร้ อมรักษาฐานลูกค้ าเดิม โดย ใช้ กลยุทธ์ด้านราคาที่เข้ มข้ นมากขึ ้น เช่น การออกแพ็กเกจไฟเบอร์ ความเร็ ว 10 เมกะบิตต่อวินาที ด้ วยราคาเริ่ มต้ นที่ 250 บาท และผู้ใ ห้ บ ริ การพยายามเสนอส่วนลดที่ จูงใจแก่ ลูกค้ าเดิม ในกรณี ที่ลูกค้ ามีความต้ องการยกเลิก หรื อเปลี่ยนผู้ ให้ บริ การ ด้ วยเหตุนี ้ ภาพรวมรายได้ ตอ่ ราย (ARPU) ของอุตสาหกรรมจึงลดลงในปี ก่อนมาอยูท่ ี่ประมาณ 580 บาท อย่างไร ก็ตาม เพื่อตอบโจทย์กลุ่มครัวเรื อนที่มีความต้ องการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต กับหลายสมาชิกในครอบครัว หรื อเชื่อมต่อกับ หลายอุปกรณ์ ผู้ให้ บริ การยังคงนาเสนอแพ็กเกจไฟเบอร์ ที่มีความเร็ วสูง เช่น แพ็กเกจระดับความเร็ ว 1 กิกะบิตต่อวินาที ใน ราคา 2,999 บาท รวมถึงผู้ให้ บริ การที่มีบริ การอื่นๆ นอกเหนือ จากอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ยังคงทยอยนาเสนอแพ็กเกจ แบบคอนเวอร์ เจนซ์ (Convergence) ทีร่ วมหลายบริ การไว้ ในแพ็กเกจเดียวกัน ทังอิ ้ นเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ซิมอินเทอร์ เน็ต สาหรั บโทรศัพท์ เคลื่อนที่ และคอนเทนต์ โดยชูจุดเด่นด้ านมูลค่าของแพ็กเกจโดยรวมที่มากกว่าแพ็กเกจอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูงเพียงอย่างเดียว ซึง่ ในปั จจุบนั ได้ รับความนิยมจากผู้บริ โภคมากขึ ้น แนวโน้ มในปี 2562 ตลาดโทรศัพท์ เคลื่อนที่ยงั คงขยายตัวจากบริการ 4G และมีการแข่ งขันต่ อเนื่อง สาหรับปี 2562 คาดว่าตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นที่จะยังคงขยายตัวจากการใช้ งาน 4G เพื่อรับชมคอนเทนต์ด้านวิดีโอและ การใช้ งานโซเชียลมีเดีย ทังนี ้ ้ จากการทยอยลดการนาเสนอแพ็กเกจประเภทใช้ งานดาต้ าได้ ไม่จากัดด้ วยความเร็ วคงที่ คาดว่ า จะช่ ว ยสนับ สนุน ให้ ก ารหารายได้ ของผู้ใ ห้ บ ริ ก ารค่ อ ยๆ ปรั บ ตัว ดี ขึ น้ อย่ า งไรก็ ต าม การแข่ ง ขัน ในตลาด โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในปี 2562 ยังคงมีตอ่ เนื่อง โดยคาดว่าผู้ให้ บริ การแต่ละรายมีแนวโน้ มการทาการตลาดโดยเน้ นลูกค้ าที่มี คุณภาพ เพื่อควบคุมต้ นทุนและค่าใช้ จ่าย และสร้ างกระแสเงินสดเพื่อรองรับการชาระค่าใบอนุญาตและการลงทุนใน อนาคต คุณภาพโครงข่าย 4G ทังด้ ้ านความครอบคลุมและความเร็ ว ยังคงเป็ นปั จจัยสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้ บริ การ ของลูกค้ า รวมถึงภาพลักษณ์ ของแบรนด์และสิทธิ พิเศษต่างๆ ที่จะมีความสาคัญมากขึ ้นสาหรั บการแข่งขันในพื ้นที่ที่

ส่วนที่ 1 | หน้ า 18


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คุณภาพโครงข่ายของผู้ให้ บริ การไม่แตกต่างกันมาก โดยผู้ให้ บริ การมีแนวโน้ มการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการเรี ยนรู้ พฤติกรรมของลูกค้ าเข้ ามาปรับใช้ ซึง่ จะช่วยให้ การนาเสนอสินค้ าและบริ การตอบโจทย์ลกู ค้ าแต่ละรายได้ ดีมากขึ ้น ในด้ านความต้ องการใช้ คลื่นความถี่เพื่อให้ บริ การ เมื่อพิจารณาจากการจัดสรรคลื่นความถี่ในปี ที่ผ่านมาและการ แสดงความสนใจในการเข้ าประมูลที่คอ่ นข้ างน้ อย แสดงให้ เห็นว่าผู้ให้ บริ การแต่ละรายมีคลืน่ ความถี่ที่คอ่ นข้ างเพียงพอใน การให้ บริ การลูกค้ าในระยะเวลาหนึ่ง รวมถึงเงื่อนไขและราคาประมูลอาจยังไม่เป็ นที่จูงใจหรื อสร้ างมูลค่าเพิ่มที่เหมาะสม เพียงพอในการดาเนินธุรกิจ อีกทังปั ้ จจุบนั มีลกู ค้ าที่เปลีย่ นจากการใช้ งาน 3G มาสู่ 4G มากขึ ้น ทาให้ สามารถจัดสรรความถี่ ระหว่างเทคโนโลยีได้ เพิ่มเติม ดังนัน้ ความต้ องการคลื่นความถี่โดยการประมูลเพิ่มเติมสาหรับบริ การ 4G นันจึ ้ งอาจมีความไม่ ชัดเจนนักในปี 2562 เตรียมความพร้ อมสาหรับเทคโนโลยี 5G ในอีก 2-3 ปี แนวโน้ มการใช้ งานเทคโนโลยี 5G จะเริ่ มมีความชัดเจนมากขึ ้น โดยความร่ วมมือระหว่างองค์กรทัง้ ภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้ างความตื่นตัวและเรี ยนรู้ เกี่ยวกับเทคโนโลยี พร้ อมร่ วมกันหารู ปแบบทางธุรกิจใหม่ร่วมกัน จะ เป็ นปั จจัยสาคัญในการนาเทคโนโลยี 5G มาใช้ ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด รวมทังความชั ้ ดเจนด้ านการจัดสรรคลื่นความถี่ สาหรับใช้ งานเทคโนโลยี 5G เพิ่มเติม โดยหากมีเงื่อนไขการจัดสรรคลืน่ ความถี่ที่มีความเหมาะสม จะช่วยสนับสนุนให้ การ ลงทุน ในเทคโนโลยี 5G เป็ น ไปอย่า งมี ป ระสิท ธิ ภาพ และส่ง เสริ ม การเติ บ โตของประเทศในหลากหลายธุ ร กิ จ และ อุตสาหกรรม โดยย่านความถี่ที่สามารถนามาให้ บริ การเทคโนโลยี 5G ตามมาตรฐานปั จจุบนั ประกอบด้ วย ย่านความถี่ต่า กว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ (Low Band) เช่น 700 เมกะเฮิรตซ์ ย่านความถี่ ระหว่าง 1 กิกะเฮิรตซ์ และ 6 กิกะเฮิรตซ์ (Mid Band) เช่น 2.6 กิกะเฮิรตซ์ 3.4-3.8 กิกะเฮิรตซ์ รวมถึงย่านความถี่สงู กว่า 24 กิกะเฮิรตซ์ (High Band) เช่น 26-28 กิกะเฮิรตซ์ เป็ น ต้ น ทังนี ้ ้ คาดว่าผู้ให้ บริ การจะเริ่ มเตรี ยมความพร้ อมด้ านโครงข่ายให้ รองรับเทคโนโลยี 5G มากขึ ้น ผ่านการทางาน ร่ วมกับคู่ค้า เช่น การวางแผนการลงทุนใน Massive MIMO ซึ่งเป็ นรู ปแบบการรับส่งสัญญาณโดยใช้ เสาอากาศหลายต้ น พร้ อมทังสื ้ อ่ สารกับ กสทช. เพื่อเปิ ดโอกาสให้ มีการเริ่ มทดสอบเทคโนโลยี 5G เบื ้องต้ นในบางพื ้นที่ ก่อนจะมีการลงทุนเพื่อ เปิ ดให้ ใช้ งานจริ งเชิงพาณิชย์ และให้ ข้อมูลแก่ กสทช. ถึงภาวะของอุตสาหกรรมและภาระทางการเงินของผู้ให้ บริ การใน ปั จจุบนั เพื่อสนับสนุนให้ กสทช. สามารถวางแผนการใช้ งานคลืน่ ความถี่ของประเทศได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ขยายพืน้ ที่ให้ บริการไฟเบอร์ ต่อเนื่อง สร้ างข้ อได้ เปรียบจากบริการคอนเวอร์ เจนซ์ ตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงคาดว่ายังคงมีแนวโน้ มการเติบโตที่ ใกล้ เคียงกับปี ก่อนที่ประมาณร้ อยละ 10 จาก ความต้ องการใช้ งานเพื่อเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตในบ้ าน และอัตราส่วนครัวเรื อนที่มีอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงที่ยงั สามารถ ขยายตัวได้ จากระดับปั จจุบนั ที่ร้อยละ 43 โดยคาดว่าผู้ให้ บริ การจะยังคงเน้ นขยายพื ้นที่ให้ บริ การไฟเบอร์ และเร่งอัพเกรด ลูกค้ าที่ใช้ เทคโนโลยีเดิมให้ มาใช้ งานเทคโนโลยีไฟเบอร์ ในขณะที่ความน่าสนใจและความคุ้มค่าของแพ็กเกจ รวมทังการ ้ บริ การหลังการขายที่มีประสิทธิภาพ จะมีสว่ นสาคัญต่อการตัดสินใจของลูกค้ ามากขึ ้น โดยคาดว่าผู้ให้ บริ การที่สามารถ นาเสนอแพ็กเกจที่มีหลากหลายบริ การ (Convergence) จะสามารถสร้ างข้ อได้ เปรี ย บในการดึงดูดลูกค้ าได้ มากกว่าผู้ ให้ บริ การที่นาเสนอบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงเพียงอย่างเดียว

ส่วนที่ 1 | หน้ า 19


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

เป้ าหมายการดาเนินธุรกิจใน 3 ปี ปั จจุบนั เทคโนโลยีดิจิทลั ได้ พฒ ั นาไปอย่างรวดเร็ ว ขณะที่ผ้ บู ริ โภคยุคใหม่มีความต้ องการที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น เป็ น ปั จจัยสาคัญที่ผลักดันให้ ผ้ ใู ห้ บริ การโทรคมนาคมต้ องปรับเปลี่ยนโครงสร้ างธุรกิจ (Digital Transformation) เพื่อขยาย โอกาสในการสร้ างสรรค์บริ การไปสู่ตลาดใหม่ๆ ให้ สอดคล้ องกับพฤติกรรมผู้บริ โภคที่เปลี่ยนแปลงไปในหลากหลายมิติ โดยเอไอเอสตระหนักถึงแนวโน้ มดังกล่าวและได้ ปรั บตัวจากการเป็ นผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปสู่ผ้ ใู ห้ บริ การด้ าน ดิจิทัลไลฟ์ (Digital Life Service Provider) ที่ดาเนิน 3 ธุรกิ จหลัก ได้ แก่ บริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่ บริ การอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูง และดิจิทลั เซอร์ วิส เพื่อตอบโจทย์การใช้ ชีวิตประจาวัน พัฒนาศักยภาพทางธุรกิจ และขยายขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ โดยเน้ นการนาเอาเทคโนโลยีเข้ ามาส่งเสริ มศักยภาพและประสิทธิภาพขององค์กรเพื่อมุง่ สูก่ าร เติบโตอย่างยัง่ ยืน สร้ างโครงข่ ายที่มีคุณภาพ เพื่อส่ งมอบประสบการณ์ ใช้ งานที่เหนือกว่ า ผู้บริ โภคมีแนวโน้ มการใช้ งานสมาร์ ทโฟนเพิ่มสูงขึ ้นและสามารถเชื่อมต่อข้ อมูลได้ อย่างรวดเร็ วผ่านโครงข่าย 4G โดยคาดว่าการเติบโตของการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตเคลื่อนที่ดังกล่าวจะดาเนินต่อไป และเพิ่มบทบาทมากกว่าเป็ นการ เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตเพื่อรับส่งข้ อมูลพื ้นฐาน โดยดิจิทลั แพลตฟอร์ มจะเข้ ามาเป็ นช่องทางหลักในการใช้ งานของผู้บริ โภค ทังในชี ้ วิตประจาวันและการทางาน ในฐานะผู้นาตลาด เอไอเอสจะยังคงมุ่งพัฒนาคุณภาพของโครงข่าย 4G ผ่านการ ค้ นคว้ าและพัฒนาร่ วมกับคู่ค้า เพื่อนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ เพิ่มประสิทธิ ภาพโครงข่ายทัง้ ด้ านความครอบคลุม (coverage) และความจุ (capacity) รวมถึงด้ านการให้ บริ การลูกค้ าอย่างต่อเนื่อง อีกทังในอี ้ ก 3-5 ปี มาตรฐานของเทคโนโลยี 5G จะมีความชัดเจนมากขึ ้น ทังในด้ ้ านคลืน่ ความถี่และรูปแบบบริ การ ที่ตอบโจทย์ด้านความเร็ ว (Enhanced Mobile Broadband) เวลาในการรับส่งข้ อมูลที่สนั ้ (Ultra Low Latency) รวมทัง้ ความสามารถในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ในปริ มาณมาก (Massive Machine-Type Communications) พร้ อมทังการใช้ ้ งานโครงข่ายบนระบบคลาวด์และซอฟต์แวร์ (Network Function Virtualization หรื อ NFV) ที่จะทาให้ โครงข่ายมีความ คล่องตัว ยืดหยุ่นและมีต้นทุนต่อหน่วยลดลง ด้ วยเหตุนี ้ เทคโนโลยี 5G จะเปิ ดโอกาสให้ บริ ษัทเข้ าไปช่วยสนับสนุนการ ดาเนินธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรมนอกเหนือจากโทรคมนาคม เช่น การให้ บริ การ NB-IoT (Narrow-Band Internet of Things) ซึง่ เป็ นหนึง่ ในบริ การสาคัญที่จะได้ รับการพัฒนาอย่างเต็มรูปแบบเมื่อมีการเปิ ดให้ บริ การ 5G เป็ นต้ น โดยเอไอ เอสได้ เริ่ มสร้ างการรับรู้ ถึงการเปลี่ยนแปลงด้ านเทคโนโลยีดงั กล่าวแก่ทกุ ภาคส่วน และพร้ อมสนับสนุนการให้ บริ การ 5G เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อประเทศ โดยปริ มาณคลื่นความถี่ที่สามารถนามาให้ บริ การ อุปกรณ์ที่รองรับ รวมทังแอป ้ พลิเคชันและรูปแบบการหารายได้ ใหม่ๆ จะเป็ นปั จจัยสาคัญในการกาหนดการลงทุนที่เหมาะสมในระยะยาว ตอบโจทย์ ความต้ องการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงด้ วยเทคโนโลยีไฟเบอร์ (โครงข่ ายใยแก้ วนาแสง) นอกเหนือจากการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่านโครงข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ความต้ องการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ ตใน ครัวเรื อนมีเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดยดิจิทลั เซอร์ วิสในยุคอนาคตมีแนวโน้ มที่จะพัฒนาขีดจากัดและคุณภาพของบริ การให้ สูงขึน้ ตัวอย่างเช่น คอนเทนต์ ที่มีความละเอียดสูงในการแสดงผลบนหน้ าจอโทรทัศน์ เช่น 4K และ 8K จะต้ องอาศัย ความเร็ วอินเทอร์ เน็ตที่สงู ขึ ้นกว่าการสตรี มคอนเทนต์แบบ Full HD ซึ่งเป็ นที่นิยมในปั จจุบนั ซึ่งโครงข่ายไฟเบอร์ นบั เป็ น เทคโนโลยีที่สามารถตอบโจทย์การใช้ งานดังกล่าว ด้ วยความเร็ วและความเสถียรในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตที่เหนือกว่า เทคโนโลยี ADSL เอไอเอสได้ เล็งเห็นศักยภาพในการเติบโตของตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงและตังเป้ ้ าหมายที่จะก้ าวไป เป็ นหนึ่งในผู้ให้ บริ การรายหลักภายในปี 2563 ซึ่งเอไอเอส ไฟเบอร์ จะขยายบริ การไปสู่พืน้ ที่ใหม่ๆ ในเขตเมือง เพื่อ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 20


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ให้ บริ การครอบคลุมพื ้นที่ที่ยงั ขาดการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงที่มีคุณภาพ รวมไปถึงพื ้นที่ที่ยงั ใช้ อินเทอร์ เน็ตผ่ าน เทคโนโลยี เ ดิม อย่าง ADSL โดยเน้ น การให้ บ ริ การที่ แ ตกต่างผ่านรู ป แบบบริ ก ารแบบคอนเวอร์ เจนซ์ (Fixed-Mobile Convergence หรื อ FMC) ที่เอไอเอสสามารถนาเสนอบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง พร้ อมทังแพ็ ้ กเกจโทรศัพท์เคลือ่ นที่ และคอนเทนต์ที่นา่ สนใจ เพื่อตอบโจทย์การใช้ งานในครอบครัวแบบครบวงจร ทังนี ้ ้ การลงทุนในโครงข่ายไฟเบอร์ ของเอไอ เอสเป็ นการต่อยอดจากโครงข่ายที่ใช้ สาหรับบริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ซงึ่ มีอยูท่ วั่ ประเทศ ทาให้ การขยายพื ้นที่ให้ บริ การและ ฐานลูกค้ าจะส่งผลให้ เอไอเอสส่งมอบบริ การเพื่อสร้ างโอกาสในการเติบโตสอดคล้ องกับแนวโน้ มในอนาคต และยังส่งผล ให้ เอไอเอสมีต้นทุนต่อหน่วยที่ลดลงจากขนาดของธุรกิจที่ขยายตัว (Economies of Scale) สร้ างแหล่ งรายได้ ใหม่ จากดิจิทัลเซอร์ วิสสาหรั บลูกค้ าทั่วไป และส่ งเสริมศักยภาพองค์ กรธุรกิจ ด้ วยบริการไอซี ทีโซลูช่ นั แบบครบวงจร จากคุณภาพของสมาร์ ทโฟนที่พฒ ั นาแบบก้ าวกระโดดทังด้ ้ านฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ รวมทังโครงข่ ้ าย 4G ที่มี คุณภาพของเอไอเอส ทาให้ สมาร์ ทโฟนกลายเป็ นอุปกรณ์หลักในชีวิตประจาวันของผู้บริ โภคทัว่ ไป รวมทังการเป็ ้ นช่องทาง เพื่อรับชมคอนเทนต์ตา่ งๆ และการชาระสินค้ าและบริ การผ่านแอปพลิเคชัน บริ ษัทคาดว่าแนวโน้ มดังกล่าวจะยังคงมีอตั รา เพิ่มขึ ้นตามพฤติกรรมผู้บริ โภคที่เปลี่ยนไป เอไอเอสจึงยังคงเน้ นการพัฒนาแพลตฟอร์ มสาหรับการให้ บริ การวิดีโอคอน เทนต์ (AIS PLAY) และการชาระเงินผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Rabbit LINE Pay) อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้ างสินค้ าและบริ การที่ ลูกค้ าต้ องการใช้ งาน และเปิ ดโอกาสให้ บริ ษัทได้ ตอ่ ยอดการหารายได้ เพิ่มจากรูปแบบธุรกิจใหม่ๆ โดยใช้ ประโยชน์จากฐาน ลูกค้ าและข้ อมูลบนแพลตฟอร์ ม ในขณะเดียวกัน โลกธุรกิจได้ ตอบรับเทคโนโลยีดิจิทลั มากขึ ้น ระบบคลาวด์และไอซีทีโซลูชนั่ นับเป็ นปั จจัยสาคัญใน การช่วยให้ องค์กรธุรกิจก้ าวเข้ าสูก่ ารเปลี่ยนแปลงด้ านดิจิทลั และมีบทบาทในการสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กบั องค์กรตังแต่ ้ ขนาด เล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ด้ วยเหตุนี ้ เอไอเอสจึงต่อยอดบริ การเพื่อตอบสนองความต้ องการของตลาดลูกค้ าองค์กร โดยเข้ า ซื ้อกิจการของซีเอส ล็อกซอินโฟ และร่วมมือกับพันธมิตรแนวหน้ าในอุตสาหกรรมไอซีที พร้ อมทังขยายการให้ ้ บริ การดาต้ า เซ็นเตอร์ ไปสูพ่ ื ้นที่ใหม่ โดยอาศัยจุดเด่นด้ านการให้ บริ การครบวงจรที่รองรับการเติบโตของตลาดลูกค้ าองค์กร เช่น ไอซีที โซลูชนั่ ดาต้ าเซ็นเตอร์ และระบบคลาวด์ พร้ อมข้ อได้ เปรี ยบจากการมีโครงข่ายโทรศัพท์เ คลื่อนที่ที่ครอบคลุม ซึ่งบริ การ เหล่านี ้จะช่วยสนับสนุนศักยภาพของธุรกิจ ส่งเสริ มประสิทธิภาพของต้ นทุน ด้ วยมาตรฐานความปลอดภัยระดับสูงให้ แก่ ลูกค้ าองค์กร นอกจากนี ้ การพัฒนาด้ านไอซีทีดงั กล่าวยังเป็ นปั จจัยในการช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศท่ามกลางสภาพแวดล้ อมที่เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ ว พัฒนาบุคลากรเข้ าสู่ยุคดิจิทัล ปรับใช้ เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงาน เอไอเอสมีเป้าหมายในการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร โดยการนาเทคโนโลยีมาใช้ ในการดาเนินงานและ การให้ บริ การลูกค้ าอย่างเต็มประสิทธิ ภาพ เอไอเอสเชื่อว่าพนักงานเป็ นหัวใจสาคัญที่จะขับเคลื่อนให้ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวไปสูค่ วามสาเร็ จที่ยงั่ ยืน และได้ เปิ ด เอไอเอส อินโนเวชัน่ เซ็นเตอร์ (AIS Innovation Centre) เพื่อสร้ างวัฒนธรรม ดิ จิ ทัล และแพลตฟอร์ ม ในการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น การพัฒ นาทัก ษะและกรอบความคิ ด ของ พนัก งานเพื่ อ ตอบรั บ กับ การ เปลี่ย นแปลงที่ ร วดเร็ ว ในอนาคตอัน ใกล้ นี ้ การน าเทคโนโลยี ที่ เ รี ย นรู้ จากข้ อ มูลเพื่ อ ท านายพฤติ ก รรม ( Predictive Analytics Tools) และการบริ หารจัดการคุณค่าของลูกค้ า (Customer Value Management หรื อ CVM) ซึ่งผนวกรวม เทคโนโลยีด้านแมชชีน เลิร์นนิ่ ง (Machine learning) และปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรื อ AI) จะถูกนามา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินธุรกิจ และทาให้ บริ ษัทสามารถนาเสนอสินค้ าและบริ การได้ ตรงตามความต้ องการของ ลูกค้ าแต่ละรายมากขึ ้น ส่วนที่ 1 | หน้ า 21


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ คลื่นความถี่ ปั จจุบนั เอไอเอสใช้ งานคลืน่ ความถี่เพื่อให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่รวมทังสิ ้ ้น 2x60 เมกะเฮิรตซ์ โดย 2x45 เมกะเฮิรตซ์ อยูภ่ ายใต้ ระบบใบอนุญาตที่ได้ รับจากการประมูลคลืน่ ความถี่โดย กสทช. และอีก 2x15 เมกะเฮิรตซ์ อยูภ่ ายใต้ สญ ั ญาการ เป็ นพันธมิตรกับทีโอที เอดับบลิวเอ็น ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อย ได้ รับสิทธิในการดาเนินงานบนคลื่นความถี่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตรวม 4 ชุดคลื่น ความถี่ดงั ต่อไปนี ้ คลื่นความถี่ท่ ใี ช้ สาหรับบริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตจาก กสทช. คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ 900 เมกะเฮิรตซ์ 1800 เมกะเฮิรตซ์

ช่ วงกว้ าง แถบย่ านความถี่ 2 x 15 1950-1965 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 2140-2155 เมกะเฮิรตซ์ 2 x 10 2 x 15 2x5

895-905 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 940-900 เมกะเฮิรตซ์ 1725-1740 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 1820-1835 เมกะเฮิรตซ์ 1740-1745 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 1835-1840 เมกะเฮิรตซ์

เทคโนโลยี 3G/4G

ระยะเวลาใบอนุญาต 7 ธ.ค. 2555 - 6 ธ.ค. 2570

2G/3G/4G 4G

1 ก.ค. 2559 - 30 มิ.ย. 2574 25 พ.ย. 2558 - 15 ก.ย. 2576

4G

24 ก.ย. 2561 - 15 ก.ย. 2576

นอกจากนันในเดื ้ อนมกราคม 2561 ที่ผา่ นมา เอดับบลิวเอ็นได้ เซ็นสัญญาอย่างเป็ นทางการในการเป็ นพันธมิตรกับที โอทีเพื่อใช้ งานคลืน่ ความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ที่ทีโอทีมีใบอนุญาตในการใช้ งาน โดยมีรายละเอียดดังนี ้ คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์

ช่ วงกว้ าง แถบย่ านความถี่ 2 x 15 1965-1980 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 2155-2170 เมกะเฮิรตซ์

เทคโนโลยี 3G/4G

ระยะเวลาตามสัญญา 1 มี.ค. 2560 - 3 ส.ค. 2568

อุปกรณ์ โครงข่ าย เอไอเอสมี นโยบายในการจัดหาอุปกรณ์ โครงข่ายโดยกระจายการสั่งซื อ้ เพื่ อ ไม่ต้อ งพึ่งพิ งซัพ พลายเออร์ รายใด รายหนึ่งเท่านัน้ (Multi-vendor Policy) ทาให้ เอไอเอสและผู้ผลิตสามารถวางแผนการพัฒนาเทคโนโลยีและบริ การให้ สอดคล้ องกัน และช่วยลดความเสีย่ งในการจัดหาและส่งมอบอุปกรณ์ได้ ในเวลาที่กาหนด ในการคัดเลือกผู้ผลิตอุปกรณ์ บริ ษัทมีการจัดตังคณะท ้ างานด้ านต่างๆ เพื่อประเมินความเหมาะสมโดยมีปัจจัยใน การพิจารณาเลือกหลายประการ เช่น ด้ านราคา ด้ านเทคนิค และแผนงานการพัฒนาของผู้ผลิต เพื่อให้ มนั่ ใจว่าเอไอเอสจะ สามารถดาเนินธุรกิจที่ต้องคานึงถึงการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีได้ อย่างเหมาะสมในระยะยาว เอไอเอสเลือกใช้ อปุ กรณ์เครื อข่ายจากผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมชันน ้ า เช่น Huawei Nokia และ ZTE เป็ นยี่ห้อหลัก และยังมีอปุ กรณ์สว่ นอื่นๆ ในโครงข่ายที่เลือกจากซัพพลายเออร์ อื่น เช่น CISCO และ Juniper เป็ นต้ น

ส่วนที่ 1 | หน้ า 22


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

เครื่องโทรศัพท์ เคลื่อนที่ สาหรั บ ธุ ร กิ จ การขายเครื่ อ งโทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ เอไอเอสได้ ร่ ว มมื อ กับ ผู้ผลิต อุป กรณ์ ชัน้ น าทั่ว โลก เช่ น Apple, Samsung, Xiaomi, Huawei, Oppo, Vivo เป็ นต้ น เพื่อเพิ่มความหลากหลายและให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของตลาด แต่ละกลุ่ม นอกจากนี ้ เอไอเอสได้ ร่ ว มมื อ กับ ผู้ผลิต โทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ ได้ แ ก่ LAVA, ZTE และ Kingcomm เพื่ อ ผลิต โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ภายใต้ แบรนด์ และการรั บประกันจากเอไอเอส (Co-branded handset) สนับสนุนการทาแคมเปญ การตลาดและตอบโจทย์กลุม่ ลูกค้ าที่ต้องการใช้ งานสมาร์ ทโฟนในระดับราคา 2,000 – 3,000 บาท

งานที่ยังไม่ ได้ ส่งมอบ ไม่มี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 23


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561

ปั จจัยเสี่ยง เอไอเอสตระหนักถึงความสาคัญ ของการบริ หารความเสี่ยงภายใต้ การเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจทังจาก ้ ปั จจัยภายในและภายนอก โดยมีการพิจารณาปั จจัยเสี่ยงต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจของเอไอเอส หรื อ อาจทาให้ สญ ู เสียโอกาสที่สาคัญทางธุรกิจ จากหลายๆ ปั จจัย ดังนี ้ 1. ปั จจัยภายในและภายนอกในการดาเนินธุรกิจ เช่น บุคลากร การเปลี่ยนแปลงทางด้ านเทคโนโลยีและกฎระเบียบของ หน่วยงานกากับดูแล พฤติกรรมและความต้ องการของลูกค้ า และสภาพแวดล้ อมในการทาธุรกิจ 2. เหตุการณ์ที่อาจจะส่งผลกระทบเชิงลบอย่างมีนยั สาคัญ เช่น อุทกภัย การเกิดไฟป่ า หรื อภัยธรรมชาติตา่ งๆ หรื อสถานการณ์ ใดๆ ที่เป็ นมาอย่างต่อเนื่อง ซึง่ ทาให้ เอไอเอสไม่สามารถดาเนินธุรกิจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หรื อกระทบต่อความสามารถใน การแข่งขัน 3. เหตุการณ์ในอดีต ปั จจุบนั และที่กาลังจะเกิดขึ ้นในอนาคต 4. การเปลีย่ นแปลงทางธุรกิจ สังคม และสิง่ แวดล้ อม ที่มีนยั สาคัญ 5. สาเหตุ/ที่มาที่ไปของเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดขึ ้น 6. โครงการหรื อสินค้ าและบริ การใหม่ๆ ที่เอไอเอสต้ องการพัฒนาขึน้ 7. โอกาสที่จะสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กบั กิจกรรมทางธุรกิจในปั จจุบนั 3.1 กระบวนการกาหนดและพิจารณาปั จจัยเสี่ยง

ผู้บ ริ ห ารและพนัก งาน พิ จ ารณาระบุป ระเด็ น ความเสี่ยงในระดับ สายงาน

คณะท างานด้ า นบริ ห ารความเสี่ ย ง พิจารณาประเด็นที่ถูกระบุขึน้ มาจาก แต่ละสายงานเพื่อระบุความเสี่ยงที่มี นัยสาคัญระดับองค์กรและนาเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ยงพิจารณากาหนดประเด็น ความเสี่ยง โดยคานึงถึงผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดขึ ้น และ ประเมิน ความเสี่ยงตามระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับ ได้ (Risk appetite and risk tolerance) พร้ อมก าหนดวิ ธี ก ารป้อ งกัน และบริ หารความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว จากนั น้ น าเสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ/ให้ ความเห็น

ปั จจัยเสี่ยงที่เป็ นความเสี่ยงต่อเนื่องและปั จจัยเสี่ยงใหม่ที่จะเกิดขึ ้นภายใต้ สิ่งแวดล้ อมที่เปลี่ยนแปลงไปสามารถจาแนก เป็ นความเสีย่ งดังนี ้ ปั จจัยเสี่ยงที่มนี ัยสาคัญ ความเสี่ยงด้ านกฎ ระเบียบ และข้ อบังคับ 1. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ กฎ ระเบียบข้ อบังคับของหน่ วยงานกากับดูแล เอไอเอสประกอบกิจการภายใต้ การกากับดูแลของ กสทช. ซึ่ง กสทช. มีบทบาทหน้ าที่ในฐานะองค์กรผู้กากับดูแลการ ประกอบกิจการโทรคมนาคมของผู้ได้ รับใบอนุญาต ทังนี ้ ้ การออกหรื อการเปลีย่ นแปลงกฎ ระเบียบหรื อข้ อบังคับในบางกรณีของ กสทช. อาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิ จ ทาให้ ความสามารถในการทากาไรของบริ ษัทลดลง และ/หรื อ ต้ นทุนในการ ให้ บริ การสูงขึ ้น

ส่วนที่ 1 | หน้ า 24


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 ทัง้ นี ้ เอไอเอสมี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ กสทช. โดยตรง ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ใ นการติ ด ตามการออกและ เปลี่ยนแปลงกฎระเบียบอยู่อย่างสม่าเสมอเพื่อรายงานและประสานงานกับผู้บริ หารและหน่วยงานอื่นๆ ในองค์กรที่เกี่ยวข้ องให้ รับทราบอย่างทันท่วงทีและพร้ อมต่อการตอบสนอง รวมถึงการประสานงานกับ กสทช.เพื่อให้ กสทช. ได้ รับข้ อมูลผลกระทบจาก การออกกฎระเบียบต่อธุรกิจ ในกรณีที่มี กฎ ระเบียบ ที่จะประกาศเพื่อใช้ บงั คับในอนาคตและอาจกระทบสิทธิของกลุม่ เอไอเอส เอไอเอสจะส่งตัวแทนเข้ าร่วมรับฟั งและแสดงความคิดเห็นอย่างสม่าเสมอ ซึ่งในกรณีที่เห็นว่ากฎ ระเบียบนันๆ ้ กระทบสิทธิ และ ได้ รับการปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรม อาจจะพิจารณาฟ้องร้ องเพื่อให้ เพิกถอนการประกาศใช้ ตลอดจนเรี ยกร้ องค่าเสียหายที่เกิดขึ ้น ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว การดาเนินธุรกิจ รายได้ และต้ นทุน และภาพลักษณ์ชื่อเสียง

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 ไม่เปลีย่ นแปลง

2. ความเสี่ยงที่เกิดจากข้ อพิพาทกับหน่ วยงานรัฐ ในอดีตเอไอเอสประกอบกิจการให้ บริ การโทรคมนาคมภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตหรื อสัมปทานกับหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ที่มี ข้ อกาหนดให้ ต้องโอนทรัพย์สนิ ที่ได้ ลงทุนเพื่อใช้ ในการประกอบกิจการให้ แก่ค่สู ญ ั ญาภาครัฐ ตลอดจนนาส่งส่วนแบ่งรายได้ ตาม อัตราที่กาหนด ซึ่งที่ผ่านมาเอไอเอสมีข้อพิพาทหลายคดีอนั เกิดจากการตีความข้ อสัญญาที่ไม่ตรงกัน ส่วนใหญ่เป็ นประเด็น พิพาทในเรื่ องจานวนส่วนแบ่งรายได้ รวมทังในบางกรณี ้ กสทช. ได้ ใช้ อานาจออกประกาศ ระเบียบ ข้ อบังคับหรื อคาสัง่ ที่เป็ น อุปสรรคต่อการประกอบธุรกิจที่อาจทาให้ ความสามารถในการทากาไรของบริ ษัทลดลง และ/หรื อต้ นทุนในการให้ บริ การสูงขึ ้น ซึง่ ในหลายกรณีเอไอเอสได้ ใช้ สทิ ธิฟอ้ งร้ องต่อศาลเพื่อให้ พิจารณาถึงความชอบด้ วยกฎหมายในการดาเนินการต่างๆ ของ กสทช. (ข้ อมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมแสดงไว้ ตามรายงานหัวข้ อ ข้ อพิพาทที่สาคัญในแบบ 56-1) เอไอเอสมีหน่วยงานที่รับผิดชอบงานในการประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐเพื่อให้ บริ ษัทในฐานะคูส่ ญ ั ญาได้ ปฏิบตั ิอย่าง ถูกต้ องครบถ้ วนตามสัญญาที่เกี่ยวข้ อง หากมีประเด็นข้ อขัดแย้ งเกิดขึ ้น ก็จะดาเนินการเจรจาหาข้ อยุติโดยเร็ ว ซึ่งหากไม่ประสบ ผล ข้ อพิพาทนี ้จะเข้ าสูก่ ระบวนการระงับข้ อพิพาทโดยคณะอนุญาโตตุลาการตามที่กาหนดไว้ ในสัญญาฯ ตลอดจนศาลที่มีเขต อานาจเพื่อพิจารณาตัดสินให้ เป็ นที่ยตุ ิตอ่ ไป ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว ฐานะการเงินและภาพลักษณ์ชื่อเสียง

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 ไม่เปลีย่ นแปลง

ความเสี่ยงด้ านการดาเนินงาน 1. ความเสี่ยงด้ านความปลอดภัยของข้ อมูล ระบบสารสนเทศและภัยคุกคามทางไซเบอร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริ การต่างๆ ของเอไอเอส เพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การ และเพื่อเพิ่มความ สะดวกสบายให้ กับ ผู้ใ ช้ บ ริ ก าร จ าเป็ น ต้ อ งอาศัย เทคโนโลยี ต่า งๆ เพื่ อ น ามาพัฒ นาและปรั บ ปรุ ง การให้ บ ริ ก ารให้ ดียิ่งขึน้ ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีสง่ ผลให้ อาจมีโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงทางด้ านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศเพิ่มขึ ้นด้ วย เช่นกัน ทังที ้ ่เกิดจากความซับซ้ อนของเทคโนโลยีเอง และความรู้ ความสามารถของพนักงานที่จะต้ องได้ รับการพัฒนาให้ ทนั ต่อ การเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความบกพร่ องของระบบที่อาจเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ไู ม่ประสงค์ดีสามารถเข้ าถึงข้ อมูลในระบบหรื อจาก ภัยคุกคามทางด้ านเทคโนโลยีตา่ งๆ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 25


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561  ระบบความปลอดภัยของสารสนเทศหากไม่เพียงพอหรื อไม่สมบูรณ์ อาจก่อให้ เกิดความเสียหายร้ ายแรงได้ โดยเฉพาะ ความปลอดภัยของข้ อมูลสาคัญ รวมทังข้ ้ อมูลส่วนบุคคลที่อยูใ่ นระบบ  ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ต่างๆ เช่น การก่อกวนเครื อข่าย (DDoS Attack) การปลอมหน้ าเว็บไซต์ (Phishing) การติดตัง้ โปรแกรมประสงค์ร้าย (Malware/Virus) เป็ นต้ น อาจก่อให้ เกิดการหยุดชะงักทางธุรกิจได้ เอไอเอสมีการทบทวนและปรั บปรุ ง นโยบายการรั กษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ และข้ อมูลสารสนเทศอย่า ง สม่าเสมอ เพื่อให้ มนั่ ใจว่าเอไอเอสสามารถรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศและภัยคุกคามทางไซเบอร์ ได้ ดังนี ้  การประยุกต์ใช้ มาตรฐานสากลต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องเช่น PCI-DSS, ISO 27001:2013 ISMS เป็ นต้ น  ขยายและพัฒนาเครื่ องมือรักษาความปลอดภัยทางสารสนเทศให้ ครอบคลุมระบบงานที่สาคัญทังหมดของบริ ้ ษัท  เพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยทางด้ านสารสนเทศ เช่น กาหนดสิทธิการเข้ าถึงข้ อมูลสาคัญในระบบ ปรับปรุงพื ้นที่ ทางานที่มีการเข้ าถึงข้ อมูลของลูกค้ าเป็ นแบบปิ ด สร้ างความตระหนักด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT Awareness) แก่พนักงานทุกระดับชัน้ ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว รายได้ ทางการเงิ น การหยุดชะงั กทางธุรกิ จและ/หรื อระบบ สารสนเทศของบริ ษัท และภาพลักษณ์ชื่อเสียง

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 เพิ่มขึ ้นและคาดว่าจะมีผลกระทบในระยะยาว (Emerging risk)

2. ความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของระบบการให้ บริการโครงข่ ายและระบบงานสาคัญ กรณีเกิดภัยพิบตั ิ ภัยธรรมชาติ หรื อเหตุการณ์ความผิดพลาดต่างๆ ที่ไม่อยู่ในการควบคุมของบริ ษัท อาจส่งผลให้ เกิดการ หยุดชะงักของระบบปฏิบตั ิงานหลัก และเกิดการหยุดชะงักทางธุรกิจ เอไอเอสมีการสร้ างระบบสารองที่จาเป็ นในบางส่วนเพื่อรองรับ (redundancy) สาหรับระบบปฏิบตั ิงานหลักที่สาคัญ และ จาเป็ นในการให้ บริ การลูกค้ า รวมทังก ้ าหนดนโยบายการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM Policy) ทังระดั ้ บองค์กรและระดับหน่วยงาน โดยให้ มีการซักซ้ อมและทบทวนแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างสม่าเสมอ นอกเหนือจากนี ้ ในปี 2561 เอไอเอสได้ รับการรับรองมาตรฐานสากลด้ านการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ISO 22301:2012 Business Continuity Management System ในฐานะที่ได้ พฒ ั นาระบบการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างสมบูรณ์และมี ประสิทธิ ภาพ พร้ อมรั บมือกับเหตุวิกฤติหรื อภัยภิบัติ ซึ่งก่อให้ เกิดการบริ หารความยั่งยืน (Sustainable Development) ของ องค์กรได้ อย่างแท้ จริ ง ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว ภาพลักษณ์ชื่อเสียง และการดาเนินการไม่ได้ ตามแผนงาน

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 ไม่เปลีย่ นแปลง

3. ความเสี่ยงจากการแข่ งขันทางการตลาดที่รุนแรง จากการแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่อยู่ในระดับสูง ผู้ให้ บริ การต่างก็ ม่งุ ขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ สามารถส่งมอบบริ การได้ ตามที่ลกู ค้ าคาดหวัง รวมทังการเสนอโปรโมชั ้ น่ ที่หลากหลาย โดยเฉพาะการเสนอแพ็กเกจการใช้ งาน ข้ อมูลผ่านเครื อข่ายแบบไม่จากัดปริ มาณ (Unlimited package) และการเสนอโปรโมชั่นพร้ อมดีไวซ์ที่หลากหลาย เพื่อดึงดูด ผู้ใช้ บริ การ ทาให้ เกิดการแข่งขันทางด้ านราคามากขึ ้น ส่วนที่ 1 | หน้ า 26


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 เอไอเอสมีแผนจัดการความเสีย่ ง ดังนี ้  การขยายโครงข่ า ยการให้ บริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สูง เพื่ อ น าเสนอผลิ ต ภัณ ฑ์ ใ นรู ป แบบ Fixed Mobile Convergence (FMC) เพื่อนาเสนอบริ การที่ลกู ค้ าสามารถใช้ งานได้ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น  การพัฒนาคุณภาพของบริ การหลังการขายเพื่อรักษาฐานลูกค้ าเดิมและดึงดูดลูกค้ าใหม่ โดยเฉพาะการเสนอสิทธิ ประโยชน์ เซเรเนด (Serenade Privileges Program) บริ ษัทได้ กาหนดกลยุทธ์ พัฒนาสิทธิ ประโยชน์ และมูลค่าของ เซเรเนดในหลายด้ าน เช่น ขยายพื ้นที่ให้ บริ การลูกค้ าเซเรเนด การเสนอส่วนลดค่าเครื่ องโทรศัพท์พิเศษแก่ลกู ค้ าเซเร เนด ขยายสิท ธิ ป ระโยชน์ การให้ บ ริ ก ารแก่ ลูกค้ าเซเรเนดโดยร่ วมกับ พาร์ ท เนอร์ ชื่อ ดังด้ า นต่างๆ เช่ น ร้ านอาห าร ท่องเที่ยว เอนเตอร์ เทนเมนท์  พัฒนากลยุทธ์เพื่อรักษาฐานลูกค้ าและนาเสนอผลิตภัณฑ์และบริ การของบริ ษัทให้ ตรงตามความต้ องการของลูกค้ าโดย ใช้ เครื่ องมือการวิเคราะห์ (Advanced Analytics Tools) ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว รายได้ ทางการเงิน ส่วนแบ่งการตลาด ภาพลักษณ์ชื่อเสียง

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 เพิ่มขึ ้น

4. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลในปั จจุบันที่เอือ้ ให้ เกิดสินค้ าบริ การใน รู ปแบบใหม่ๆ จากผู้ให้ บริ การหน้ าใหม่ที่ทาธุรกิจต่างรู ปแบบ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกค้ าในการใช้ สินค้ าและ บริ การ เนื่องจากลูกค้ ามีทางเลือกกว้ างขวางในโลกดิจิทลั สาหรับบริ การในรู ปแบบใหม่ๆ ส่งผลให้ บริ ษัทต้ องปรับตัวและพัฒนา แผนการดาเนินธุรกิจเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ที่จะเกิดขึ ้น เพื่อรักษาฐานลูกค้ า สร้ างรายได้ ในช่องทางใหม่ และรักษาการเติบโตในระยะยาว โดยเอไอเอสมีแผนจัดการความเสี่ยง ดังนี ้  กาหนดกลยุทธ์ทงในระยะสั ั้ นและระยะยาวเพื ้ ่อตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมผู้บริ โภคและเทคโนโลยี  พัฒนาระบบการให้ บริ การแก่ลกู ค้ าด้ วยระบบดิจิทลั เต็มรู ปแบบ เช่น การเลือกใช้ สินค้ าและบริ การผ่านระบบออนไลน์ ติดตังช่ ้ องทางการให้ บริ การผ่าน AI หรื อ Chatbot การประยุกต์ใช้ กระบวนการทางานอัตโนมัติโดยหุ่นยนต์ (Robotic Process Automation) ในการให้ บริ การลูกค้ า  นาเสนอสินค้ าและบริ การของโทรศัพท์เคลื่อนที่ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง และดิจิทลั คอนเทนต์ ในรู ปแบบใหม่ที่ให้ มลู ค่าเพิ่ม เพื่อลดความซับซ้ อนและประหยัดค่าใช้ จ่ายแก่ลกู ค้ า และยังเป็ นการเพิ่มสิทธิประโยชน์เพื่อดึงดูดลูกค้ า  เพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าด้ วยเครื่ องมือ Data Analytics เพื่อเสนอผลิตภัณฑ์และ บริ การที่ตรงตามความต้ องการของลูกค้ าอย่างเหมาะสม  พัฒนาระบบโครงข่ายการให้ บริ การ ระบบการบริ การลูกค้ าและระบบสนับสนุนให้ อยู่บนเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น คลาวด์เทคโนโลยี  พัฒนาการเติบโตในธุรกิจลูกค้ าองค์กร (Corporate) และธุรกิจดิจิทลั คอนเทนต์ (Content) เช่น ขยายการให้ บริ การ เกี่ยวกับ IoT พัฒนาระบบ Cloud Business Ecosystem  ปรั บปรุ งโครงสร้ างองค์ กรและพัฒ นาความรู้ ความสามารถของพนักงานเพื่อให้ พร้ อมสาหรั บการดาเนินการหรื อ สนับสนุนกลยุทธ์ของบริ ษัท ส่วนที่ 1 | หน้ า 27


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว รายได้ ทางการเงิ น , ภาพลัก ษณ์ ชื่ อ เสี ย ง และส่ ว นแบ่ ง การตลาด

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 เพิ่มขึ ้นและคาดว่าจะมีผลกระทบในระยะยาว (Emerging risk)

5. ความเสี่ยงจากการเตรียมความพร้ อมด้ านบุคลากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่ านไปสู่ยุคดิจิทัล จากการเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี อ ย่า งรวดเร็ ว รวมถึ ง การเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมของผู้บ ริ โ ภค ผู้ใ ห้ บ ริ ก ารใน อุตสาหกรรมโทรคมนาคมจาเป็ นต้ องพัฒนาขีดความสามารถในการให้ บริ การเพื่อตอบสนองต่อความต้ องการของผู้บริ โภคอย่าง รวดเร็ ว ซึง่ หากบริ ษัทไม่สามารถพัฒนาทักษะหรื อความสามารถของพนักงานที่จะให้ บริ การแก่ลกู ค้ าได้ อย่างทันท่วงที บริ ษัทอาจ สูญเสียความได้ เปรี ยบทางการแข่งขันทางธุรกิจในปั จจุบนั รวมถึงธุรกิจที่จะเกิดขึ ้นใหม่ในอนาคต เอไอเอสมีกระบวนจัดการความเสีย่ ง ดังนี ้  สรรหาพนักงานที่มีทกั ษะตรงตามความต้ องการของบริ ษัท รวมถึงการเสนอทุนการศึกษาแก่พนักงานที่มีศกั ยภาพใน การพัฒนาทักษะใหม่เพื่อประยุกต์ใช้ กบั การดาเนินธุรกิจขององค์กรในอนาคต  ร่ วมมือกับสถาบันระดับโลกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน เพื่อวางรากฐาน พัฒนาความรู้ และเตรี ยมความพร้ อมแก่ พนักงานเฉพาะกลุม่ ในการดาเนินธุรกิจด้ านดิจิทลั รวมถึงสืบทอดตาแหน่งที่สาคัญ (Succession plan) พร้ อมทังการ ้ เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร (Culture Transformation) ไปสูย่ คุ ดิจิทลั ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ ้นและมีผลกระทบในระยะ ยาว (Emerging risk) ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว ภาพลักษณ์ชื่อเสียง และส่วนแบ่งการตลาด

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 ไม่เปลีย่ นแปลง

6. ความเสี่ยงจากการต้ องพึ่งพาบุคคลภายนอกในห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) เอไอเอสต้ องซื ้ออุปกรณ์โครงข่ายและสถานีฐานจากผู้ขายหลักน้ อยราย เนื่องด้ วยข้ อจากัดในการพัฒนาทางด้ านเทคโนโลยี ของผู้ขาย ซึ่งรวมไปถึงการใช้ บริ การบารุ งรักษาและซ่อมแซมอุปกรณ์ ของสถานีฐาน ทาให้ อาจมีความเสี่ยงจากการที่ผ้ ขู าย/ผู้ ให้ บริ การ ไม่สามารถส่งมอบสินค้ าและบริ การได้ ตามที่ตกลงไว้ เอไอเอสมีกระบวนการจัดการความเสีย่ ง ดังนี ้  กาหนดนโยบายการจัดซื ้อ/จัดจ้ าง จากผู้ขาย/ผู้ให้ บริ การแบบ Multi-vendor สาหรับอุปกรณ์ และการบริ การที่สาคัญ เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดการพึง่ พาผู้ขาย/ผู้ให้ บริ การรายใดรายหนึง่ เป็ นหลัก  จัดเตรี ยมรายชื่อผู้ขาย/ผู้ให้ บริ การ ที่ผ่านกระบวนการคัดเลือกตามมาตรฐานที่บริ ษัทกาหนดเพื่อให้ สามารถเลือกใช้ บริ การได้ หากผู้ขาย/ผู้ให้ บริ การหลักไม่สามารถให้ บริ การได้  ควบคุมปริ มาณอุปกรณ์สารอง อะไหล่ และ/หรื อ สินค้ าคงคลัง ให้ อยู่ปริ มาณที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดปั ญหา การขาดแคลนอุปกรณ์/สินค้ าหลักที่สาคัญ ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว รายได้ ทางการเงิน การหยุดชะงักทางธุรกิจและ/หรื อระบบ สารสนเทศของบริษัท และภาพลักษณ์ชื่อเสียง ส่วนที่ 1 | หน้ า 28

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 เป็ นความเสีย่ งใหม่ในปี 2561


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 7. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศถือเป็ นปั ญหาระดับสากล ที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนินการ, โครงสร้ าง รวมทังผู ้ ้ ที่เกี่ยวข้ องในห่วงโซ่อุปทานของบริ ษัท เอไอเอสในฐานะผู้ให้ บริ การโทรคมนาคมเล็งเห็นความสาคัญของการบริ หาร จัด การการเปลี่ ย นแปลงสภาพภูมิ อ ากาศ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่า จะสามารถส่ง มอบบริ ก ารให้ กับ ลูก ค้ า ได้ อย่า งต่อ เนื่ อ งและมี ประสิทธิภาพ เช่น การติดตังเสาสั ้ ญญาณตามมาตรฐานการออกแบบ EIA-222C ให้ สามารถรองรับความแรงลมในระดับที่ สงู กว่าข้ อมูลความแรงลมที่เคยเกิดขึ ้นในประเทศไทย การยกความสูงของสถานีฐานโดยใช้ ข้อมูลอ้ างอิงจากอุทกภัยร้ ายแรงสุดในปี 2554 รวมทังในฐานะส่ ้ วนหนึ่งของประเทศ บริ ษัทถือเป็ นบทบาทหน้ าที่อย่างหนึ่งในการบริ หารจัดการกระบวนการที่อาจส่งผล ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศให้ สอดคล้ องกับแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และเป็ นไปในแนวทางตามมาตรฐานสากล โดยในปี 2561 เอไอเอสมีการดาเนินการเพื่อบริ หารจัดการผ่านคณะทางานด้ านสิง่ แวดล้ อม ดังนี ้  กาหนดเป้าหมายปริ มาณการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกทังทางตรงและทางอ้ ้ อม  เพิ่มสัดส่วนการใช้ งานพลังงานทดแทนของบริ ษัท เช่นพลังงานจากแสงอาทิตย์ เป็ นต้ น ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว การหยุดชะงักทางธุรกิจและ/หรื อระบบสารสนเทศของบริษัท และภาพลักษณ์ชื่อเสียง

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 มีผลกระทบในระยะยาว (Emerging risk)

8. ความเสี่ยงจากปั จจัยทางเศรษฐกิจและการเมือง การแปลี่ยนแปลงทางด้ านเศรษฐกิจและการเมือง อาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริ ษัท ได้ ทงในเชิ ั้ งของโอกาส และอุปสรรค เนื่องด้ วยการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานภายในระบบเศรษฐกิจของประเทศ ที่มีผลกระทบต่อกาลังการ ซื ้อของผู้ใช้ บริ การ แต่อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั การใช้ ง านการสื่อสารผ่านทางโทรศัพท์ไร้ สายไม่ว่าจะเป็ นการสื่อสารผ่านเสียง หรื อการสื่อสาร ผ่านข้ อมูลต่างๆ ถือเป็ นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของคนในประเทศ รวมทังค่ ้ าบริ การในการใช้ งานที่ผ้ ใู ห้ บริ การกาหนดอยู่ใน ระดับที่สามารถจับจ่ายได้ (Affordable price) ทาให้ บริ ษัทได้ รับผลกระทบจากความเสี่ยงทางด้ านเศรษฐกิจและการเมืองใน ระดับที่ยอมรับได้ ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว รายได้ ค่าใช้ จ่ายทางการเงิน

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 มีผลกระทบในระยะยาว (Emerging risk)

ความเสี่ยงด้ านการเงิน 1. ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่ างประเทศ เอไอเอสมี ร ายรั บ และรายจ่ า ยบางส่ว นในสกุล เงิ น ต่า งประเทศจากการให้ บ ริ ก ารข้ า มแดนอัต โนมัติ ( International Roaming) และจากการซื ้ออุปกรณ์ โครงข่ายต่างๆ ดังนันความผั ้ นผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจึง อาจส่งผล กระทบต่อรายรับและรายจ่ายของบริ ษัท

ส่วนที่ 1 | หน้ า 29


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 เอไอเอสมีกระบวนการจัดการความเสีย่ ง ดังนี ้  การทาสัญญาซื ้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า (Forward Contract) โดยกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้ าไว้ ณ วันที่ ทาสัญญาเพื่อการส่งมอบในอนาคตตามจานวนเงิน สกุลเงิน ในระยะเวลาที่ระบุไว้  การชาระค่าสินค้ าและบริ การที่เป็ นสกุลเงินต่างประเทศด้ วยการใช้ เงินฝากในสกุลเงินตราต่างประเทศที่มีอยู่ (Natural Hedge) ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว รายได้ ค่าใช้ จ่ายทางการเงิน

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 ไม่เปลีย่ นแปลง

2. ความเสี่ยงจากการจัดหาเงินทุนเพื่อการรักษาสภาพคล่ อง เอไอเอสมีหนีส้ ินทางด้ านการค้ าและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและการออกหุ้นกู้ รวมถึงยังมีการลงทุนในการขยาย โครงข่ายอย่างต่อเนื่อง จึงอาจมีความเสีย่ งด้ านสภาพคล่องซึง่ เกิดจากการที่บริ ษัทไม่สามารถจัดหาเงินทุนหมุนเวียนมาใช้ ในการ ดาเนินธุรกิจได้ อย่างเพียงพอในเวลาที่ต้องการ เอไอเอสได้ มีการบริ หารความเสี่ยงด้ านสภาพคล่องโดยมีการจัดทาประมาณการเงินสดและมีการปรับปรุงข้ อมูลประมาณ การทางการเงินอย่างสม่าเสมอ การเตรี ยมวงเงินสินเชื่อล่วงหน้ าทังแบบผู ้ กพันและไม่ผกู พัน รวมถึงการจัดให้ มีวงเงินกู้ระยะสัน้ เพื่อใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียน การมีแหล่งเงินทุนที่หลากหลาย และการดารงเงินสดสารองส่วนเกินให้ เพียงพอต่อการดาเนินธุรกิจ ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากความเสี่ยงดังกล่ าว ความน่าเชื่อถือ การดาเนินธุรกิจ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 30

การเปลี่ยนแปลงระดับความเสี่ยงจากปี 2560 ไม่เปลีย่ นแปลง


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ ในการประกอบธุรกิจการเป็ นผู้ให้ บริ การด้ านดิจิ ทลั ไลฟ์ ของเอไอเอสในปั จจุบนั ทรัพย์สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนหลัก คือ 1) สินทรัพย์ถาวร ได้ แก่ อุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคม สานักงานบริ การลูกค้ า อาคารสานักงาน ที่ดิน 2) ใบอนุญาตประกอบกิจการ เช่น ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ โทรคมนาคม รวมถึงใบอนุญาตให้ ประกอบกิ จการ ประเภทต่างๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายละเอียดของทรัพย์สนิ หลักที่มีสาระสาคัญ มีดงั ต่อไปนี ้ สินทรัพย์ ถาวร ของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย ประเภท/ลักษณะทรัพย์สิน

ลักษณะกรรมสิทธิ์

เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการให้ บริ การโครงข่าย โทรคมนาคมและบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ ในการดาเนินงาน โครงข่ายการให้ บริ การโทรคมนาคมและบริ การ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงที่อยู่ระหว่างก่อสร้ างและติดตัง้ สินทรัพย์อื่นๆ รวม หัก ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม รวม - สุทธิ

กลุ่มบริ ษัทเป็ นเจ้ าของ

ประมาณอายุ การใช้ งาน (ปี ) 2 - 20

กลุ่มบริ ษัทเป็ นเจ้ าของ กลุ่มบริ ษัทเป็ นเจ้ าของ

5-10 -

หน่วย: ล้ านบาท 200,857 10,713 4,483 5,668 221,722 (91,510) 130,212

ทังนี ้ ้มูลค่าสินทรัพย์ถาวรของเอไอเอสและบริ ษัทย่อยตามตารางข้ างต้ น ได้ รวมสินทรัพย์ภายใต้ สญ ั ญาเช่าทางการเงิน ในส่วนของเครื่ องมือและอุปกรณ์ในการดาเนินกิจการ และยานพาหนะ เป็ นมูลค่าจานวน 273 ล้ านบาทไว้ แล้ ว นอกเหนือจากสินทรั พย์ถาวรหลักตามที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว เอไอเอสและบริ ษัทย่อยยังมีการเช่าพืน้ ที่อาคาร สานักงานและสานักงานบริ การสาขาเพื่อประกอบกิจการ ซึง่ สามารถสรุปสาระสาคัญ ได้ ดงั ต่อไปนี ้ ประเภท/ลักษณะสินทรัพย์ ลักษณะกรรมสิทธิ์ อัตราค่าเช่าต่อเดือน (ล้ านบาท) ภาระผูกพัน สัญญาเช่าพื ้นที่อาคารสานักงาน ทาสัญญาเช่า 1-3 ปี ประมาณ 75 ล้ านบาท ไม่มี 9 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร และ สานักงานสาขาบริการใน 28 จังหวัด* หมายเหตุ: *จังหวัดเชียงใหม่, สุราษฏร์ ธานี , นครสวรรค์ , นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, สงขลา, ชลบุรี, อยุธยา, ระยอง, ภูเก็ต, อุดรธานี, ขอนแก่น, อุบลราชธานี , สมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, เชียงราย, ลาปาง, แพร่, ตาก, สุรินทร, ร้ อยเอ็ด, มหาสารคาม, มุกดาหาร, ประจวบคีรีขนั ธ์, ปราจีนบุรี, สระบุรี และกรุงเทพมหานคร

ส่วนที่ 1 | หน้ า 30


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการ ปั จจุบนั เอไอเอสและบริ ษัทย่อยมี การให้ บริ การโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G, 3G และ 4G และบริ การทางด้ าน สื่อสารโทรคมนาคมอื่นๆ ภายใต้ ใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการจากสานักงาน กสทช. ได้ แก่ ใบอนุญาตประกอบกิจการ โทรคมนาคมแบบที่หนึ่ง ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สอง ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาแบบที่ สาม ใบอนุญาตให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตแบบที่หนึง่ ใบอนุญาตการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ และบริ การ ชุมสายอินเทอร์ เน็ตแบบที่สองที่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง โดยมีขอบเขตและเงื่อนไขการอนุญาตเป็ นไปตาม ประกาศของ กสทช. ดังแสดงที่ https://www.nbtc.go.th/Business/commu/telecom/telecom_licensing.aspx นอกจากนี ้ กลุม่ บริ ษัทได้ รับหนังสืออนุญาตให้ ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ และใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจ เป็ นผู้ให้ บริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการดาเนินธุรกิจด้ านธุรกรรมทางการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Money) ซึง่ รวมถึงการขายบัตรเติมเงินบนระบบเติมเงิม และกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกซ์ (e-wallet) สรุปใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการที่มีนยั สาคัญต่อกลุม่ บริ ษัท เรี ยงตามวันหมดอายุใบอนุญาต ผู้ออก ใบอนุญาต สานักงาน กสทช.

ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข สิทธิในการใช้ คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคม  ย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์  ความกว้ าง 2x15 เมกะเฮิรตซ์  จัดให้ มีโครงข่ายโทรคมนาคม ครอบคลุมไม่น้อย กว่าร้ อยละ 50 ของจานวนประชากรภายใน 2 ปี และไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 ภายใน 4 ปี สิทธิในการใช้ คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน

ผลประโยชน์ ตอบแทน ชาระค่าตอบแทน การใช้ ความถี่วิทยุ ตามอัตราและ กาหนดเวลาที่ สานักงาน กสทช. กาหนด

วันที่ได้ รับ ใบอนุญาต 7 ธ.ค. 2555

อายุ ใบอนุญาต 15 ปี

6 ธ.ค. 2570

30 มิ.ย. 2559

15 ปี

30 มิ.ย. 2574

25 ธ.ค. 2558

18 ปี

15 ก.ย. 2576

21 ก.ย. 2561

15 ปี

15 ก.ย. 2576

หมดอายุ

  

ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ ความกว้ าง 2x10 เมกะเฮิรตซ์ จัดให้ มีโครงข่ายโทรคมนาคม ครอบคลุมไม่น้อย กว่าร้ อยละ 50 ของจานวนประชากรภายใน 4 ปี และไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 ภายใน 8 ปี สิทธิในการใช้ คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน  ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์  ความกว้ าง 2x15 เมกะเฮิรตซ์  จัดให้ มีโครงข่ายโทรคมนาคม ครอบคลุมไม่น้อย กว่าร้ อยละ 40 ของจานวนประชากรภายใน 4 ปี และไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ภายใน 8 ปี สิทธิในการใช้ คลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน  ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์  ความกว้ าง 2x5 เมกะเฮิรตซ์  จัดให้ มีโครงข่ายโทรคมนาคม ครอบคลุมไม่น้อย กว่าร้ อยละ 40 ของจานวนประชากรภายใน 4 ปี และไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ภายใน 8 ปี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การทาสัญญาเชิงพาณิชย์ ทางธุรกิจกับทีโอที 1. สัญญาการใช้ บริ การข้ ามโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ภายในประเทศ ผู้ทาสัญญา

เอดับบลิวเอ็น

ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข

ผลประโยชน์ ตอบแทน

เป็ นการใช้ บริ การข้ ามโครงข่ ายโทรศัพท์ เคลื่ อนที่ (roaming) บนคลื่ น ความถี่ 2100 เมกะเฮิ ร ตซ์ จานวน 2x15 เมกะเฮิรตซ์ ของทีโอทีตามเงื่อนไข ที่กาหนดไว้ ในสัญญา

ชาระค่าตอบแทนในอัตราต่อ จานวนผู้ใช้ บริการเป็ นรายเดือน ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญา

อายุสัญญา

หมดอายุ

7 ปี 5 เดือน

3 ส.ค. 2568

อายุสัญญา

หมดอายุ

2. สัญญาเช่าเครื่ องและอุปกรณ์เพื่อให้ บริ การโทรคมนาคม ผู้ทาสัญญา

เอสบีเอ็น

ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข

ผลประโยชน์ ตอบแทน

เป็ นผู้ให้ เช่าเครื่ องและอุปกรณ์ โทรคมนาคมแก่ที โอที เพื่ อ ให้ ที โ อที น าไปใช้ ในการให้ บริ การ โ ท ร ศั พ ท์ เ ค ลื่ อ น ที่ บ น ค ลื่ น ค ว า ม ถี่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ของทีโอที

เอสบี เอ็ นได้ รั บ ค่ า เช่า เครื่ อ งและ 7 ปี 5 เดือน อุป กรณ์ จากทีโอที ตามอัตราและ ปริ มาณการใช้ งานที่กาหนดไว้ ใน สัญญา

3 ส.ค. 2568

นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม เอไอเอสมีการลงทุนในบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วมเพื่อสนับสนุนธุรกิจหลักของเอไอเอส และเพื่อประกอบธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวเนื่องหรื อเป็ นประโยชน์กบั ธุรกิจของเอไอเอส โดยมีการแต่งตังกรรมการและผู ้ ้ บริ หารที่มีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับ บริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วมแต่ละแห่งเพื่อทาหน้ าที่เป็ นตัวแทนของบริ ษัทในการกากับดูแลการดาเนินงานให้ มีประสิทธิภาพ และรักษาผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้น และกาหนดให้ ต้องมีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้ อ ยไตรมาสละครัง้ และการ ประชุมผู้ถือหุ้นปี ละ 1 ครัง้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 32


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อพิพาทที่สาคัญ ในอดีตเอไอเอสเป็ นผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 900 เมกะเฮิรตซ์ ตามสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินกิจการ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Cellular Mobile Telephone) (“สัญญาอนุญาต 900”) กับ ทีโอที เป็ นระยะเวลา 25 ปี นับแต่ที่ เริ่ มเปิ ดให้ บริ การ (1 ตุลาคม 2553 - 30 กันยายน 2558) ขณะที่ดีซีพี บริ ษัทย่อย เป็ นผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบ 1800 เมกะเฮิ ร ตซ์ ตามสั ญ ญาให้ ด าเนิ น การให้ บริ การวิ ท ยุ ค มนาคมระบบเซลลู ล่ า Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 (“สัญญาให้ ดาเนินการ 1800”) กับกสท ตังแต่ ้ วนั ที่ 19 พฤศจิกายน 2539 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 ซึ่งตลอดระยะเวลาดาเนินการ เอไอเอสและดีพีซีมีหน้ าที่ลงทุนจัดหาเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ ใช้ ในการให้ บริ การและส่งมอบให้ เป็ นกรรมสิทธิ์ของทีโอที/ กสท และต้ องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราร้ อยละของ รายได้ ตามที่กาหนดไว้ ต่อมามีการจัดตัง้ คณะกรรมการกิ จการโทรคมนาคมแห่งชาติ (“กทช.”) ตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่น ความถี่และกากับการประกอบกิจการกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (“กสทช.”) ตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่น ความถี่และกากับการประกอบกิจการกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ในที่นี ้เรี ยกรวมกัน ว่า “พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ ” การให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่และบริ การโทรคมนาคมอื่นๆ ของบริ ษัท รวมถึงของ บริ ษัทย่อยต่างๆ จึงอยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของ กทช. และ กสทช. ตามลาดับ ทังนี ้ ้จากการดาเนินงานภายใต้ สญ ั ญาอนุญาต 900 สัญญาให้ ดาเนินการ 1800 และ พรบ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่เอไอเอ สและดีพีซีมีข้อพิพาทที่เป็ นสาระสาคัญ ดังต่อไปนี ้ 1. กรณีข้อพิพาททางกฎหมายจากการดาเนินงานภายใต้ สัญญาอนุญาต 900 คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที 9 มี.ค. 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม 7 พ.ย. 2561 ศาลปกครองกลาง เอไอเอสเป็ นผู้ยื่นข้ อพิพาท  วันที่ 26 ม.ค. 2554 เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดว่าทีโอทีไม่มีสทิ ธิ เรี ยกร้ องเงินผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญาอนุญาต 900 จากรายได้ คา่ เชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ของปี ดาเนินการที่ 17-20 เป็ นเงินรวม 17,803 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน เนื่องจาก เหตุที่เอไอเอสนาค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่ถกู ผู้ประกอบการรายอื่นเรี ยกเก็บมาหักออกก่อน คานวณส่วนแบ่งรายได้ ให้ แก่ทีโอที  วันที่ 23 ส.ค. 2559 เอไอเอสได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาท ให้ คณะอนุญาโตตุลาการ มีคาชี ้ขาดว่าทีโอทีไม่มี สิทธิเรี ยกร้ องเงินผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติมจากรายได้ ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของปี ที่ 2325 เป็ นจานวนเงิน 8,367.90 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ทีโอทีเป็ นผู้ยื่นข้ อพิพาท  วันที่ 29 ก.ค. 2557 ทีโอทีได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ เอไอเอสชาระ ผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติมสาหรับปี ดาเนินการที่ 21-22 เป็ นจานวนเงิน 9,984 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ย ปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน

ส่วนที่ 1 | หน้ า 34


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คู่ความ

เอไอเอส และทีโอที วันที่ 17 ส.ค. 2561 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ยกข้ อเรี ยกร้ องแย้ งของทีโอทีที่ให้ เอไอเอสชาระ เงินผลประโยชน์ตอบแทนจากรายได้ คา่ เชื่อมต่อโครงช่ายโทรคมนาคมของปี ดาเนินการที่ 17 – 20 กรณี ผลการพิจารณาคดี ปี ดาเนินการที่ 21 – 22 ให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาทของทีโอที และชี ้ขาดให้ ทีโอทีชาระคืนผลประโยชน์ตอบ แทนจากกรณีพิพาทนี ้ที่เอไอเอสชาระเกินไว้ เป็ นจานวนเงิน 110.08 ล้ านบาทภายใน 60 วันนับแต่ได้ รับคาชี ้ขาด ข้ อพิพาทของปี ดาเนินการที่ 23 – 25 อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ วันที่ 7 และ 16 พ.ย. 2561 ทีโอที ได้ ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอให้ ศาลเพิกถอนคาชี ้ขาดของ ความคืบหน้ าของคดี คณะอนุญาโตตุลการในข้ อพิพาทของปี ดาเนินการที่ 17 – 20 และ 21 – 22 ขณะนี ้คดีอยูใ่ นระหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที 1. 16 ม.ค. 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม 2. 17 ก.ค. 2560 ศาลปกครองกลาง เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ทีโอทีชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จาก การให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศตามข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาต 900 ครัง้ ที่ 3 และครัง้ ที่ 4 พร้ อมดอกเบี ้ย ซึ่งทีโอทีผิดนัดชาระให้ แก่บริ ษัทตังแต่ ้ เดือนพ.ย. 2551 - ก.ย. 2555 รวมเป็ นเงิน 1,528 ล้ านบาท

วัน ที่ 1 พ.ค. 2560 คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการมี ค าวิ นิ จ ฉั ย ให้ ที โ อที ช าระเงิ น ส่ ว นแบ่ ง รายได้ จาก การให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศในช่วงเดือน พ.ย. 2551 – ก.ย. 2555 เป็ นเงินรวม 1,354 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี พร้ อมดอกเบีย้ ร้ อยละ 7.5 ต่อปี หากพ้ นกาหนดเวลา 60 วันนับแต่ได้ รับคาชี ข้ าดให้ ทีโอทีชาระเงิน ส่วนแบ่งรายได้ ฯ ตังแต่ ้ เดือน ต.ค. 2555 เป็ นต้ นไปจนกว่าจะหมดภาระผูกพันตามสัญญาอนุญาต 900 และเมื่อวันที่ 17 ก.ค. 2560 ทีโอที ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดต่อศาลปกครองกลาง ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที 21 ก.ค. 2557 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชีข้ าดว่าเสาสัญญาณจานวน 13,198 ต้ น มิใช่ทรัพย์สินที่เอไอเอสจะต้ องส่งมอบกรรมสิทธิ์ให้ แก่ทีโอทีตามสัญญาอนุญาตและขอคืนเงินส่วนแบ่ง รายได้ จากค่าเช่าใช้ เสาจานวน 516.31 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 12 มี.ค. 2558 ทีโอที ยื่นคาคัดค้ านและข้ อเรี ยกร้ องแย้ งให้ เอไอเอส ส่งมอบเสาเพิ่มเติมจานวน ความคืบหน้ าของคดี 1,429 ต้ น หากไม่สามารถส่งมอบได้ ให้ ชดใช้ เป็ นเงิน 1,200 ล้ านบาท ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณา ของคณะอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 35


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที

2561

25 ก.ย. 2557 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชีข้ าดให้ เอไอเอสหยุดการให้ ลกู ค้ าย้ ายผู้ให้ บริ การไปยังเอดับบลิวเอ็น โดยวิธีการ กด *988* เนื่องจากเป็ นการผิดสัญญาอนุญาต และเรี ยกร้ อง ค่าเสียหาย 9,126 ล้ านบาท (ตังแต่ ้ พ.ค. 2556 - มิ.ย. 2557) พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี ในวันที่ 25 มี.ค. 2559 ทีโอทีได้ ยื่นคาร้ องขอแก้ ไขจานวนค่าเสียหายใหม่ โดยคานวณตังแต่ ้ พ.ค. 2556 จนถึงวันสิ ้นสุดสัญญาอนุญาต 900 (30 ก.ย. 2558) เป็ นเงินจานวน 32,813 ล้ านบาท วันที่ 14 ก.พ. 2562 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาทของทีโอที ทังหมด ้ โดยเห็น ผลการพิจารณาคดี ว่าเอไอเอสมิได้ ปฏิบตั ิผิดสัญญาอนุญาต 900 ตามที่ทีโอที กล่าวอ้ าง ทีโอที มีสทิ ธิยื่นคาร้ องเพื่อขอเพิกถอนคาชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการภายใน 90 วันนับแต่ได้ รับคาชี ้ ความคืบหน้ าของคดี ขาดฯ

30 ก.ย. 2558 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ข้อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาต 900 ให้ ดาเนินกิจการบริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ครัง้ ที่ 6 และครัง้ ที่ 7 มีผลผูกพันเอไอเอสและทีโอที และ เอไอเอสไม่มีหน้ าที่ต้องชาระผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติม จานวน 72,036 ล้ านบาท ตามที่ทีโอที กล่าวอ้ างว่าข้ อตกลงท้ ายสัญญาดังกล่าวเป็ นการแก้ ไขในสาระสาคัญที่ทาให้ ทีโอทีได้ ผลประโยชน์ ตอบแทนต่ากว่าที่กาหนดในสัญญาหลัก ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 30 พ.ย. 2558 ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทในประเด็นเดียวกัน โดยเรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระ ผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติมในกรณีข้างต้ นเป็ นเงินจานวน 62,774 ล้ านบาท ซึ่งคณะอนุญาโตตุลาการ ความคืบหน้ าของคดี มี ค าสั่ ง ให้ รวมการพิ จ ารณาข้ อพิ พ าททั ง้ สอง ข้ อพิ พ าทอยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาของคณะ อนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 36


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และทีโอที

2561

30 ก.ย. 2558 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดให้ เอไอเอสดาเนินการเช่าสถานที่ จานวน 11,883 สถานีฐาน ที่ใช้ เป็ นสถานที่ติดตัง้ เสาและอุปกรณ์ ในการให้ บริ การตามสัญญาอนุญาตฯ ต่อเนื่องไปอีก 2 ปี หลังจากสัญญาอนุญาต 900 สิ ้นสุดลง หากไม่สามารถปฏิบตั ิได้ ให้ เอไอเอสชาระเงิน ค่าเช่าสถานที่ พร้ อมค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องตลอดระยะเวลา 2 ปี นบั แต่สิ ้นสุดสัญญาอนุญาต 900 คิดเป็ นเงิน 1,911 ล้ านบาท หรื อนาเงินจานวนดังกล่าวมาวางทีศ่ าล ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ

15 ธ.ค. 2560 และ 12 ม.ค. 2561 สถาบันอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ เอไอเอสชาระผลประโยชน์ตอบแทน เพิ่มเติมจากรายได้ คา่ เช่าเคเบิ ้ลใยแก้ วและค่าเช่าวงจรที่เอไอไอสได้ รับจากผู้ประกอบการต่างๆ ในช่วง ไตรมาสที่ 1 ของปี 2554 ถึงไตรมาสที่ 3 ของปี 2555 รวมเป็ นเงิน 19.54 ล้ านบาท และในช่วงไตรมาส ที่ 4 ของปี 2555 ถึงไตรมาสที่ 3 ของปี 2558 รวมเป็ นเงิน 1,121.91 ล้ านบาท พร้ อมภาษี มูลค่าเพิ่ม และดอกเบี ้ย 1.25 ต่อเดือน ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ

15 ก.พ. 2561 สถาบันอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดให้ เอไอเอสชาระเงิ นค่าใช้ พืน้ ที่ แ ละ ทรัพย์สนิ ของทีโอที ในช่วงระยะเวลาของมาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 900 MHz เป็ นเงินจานวน 171.48 ล้ านบาท พร้ อมภาษี มลู ค่าเพิ่มและดอกเบี ้ยผิดนัด ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 37


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2561

เอไอเอส และทีโอที 27 ก.ย. 2561 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ เอไอเอสชาระผลประโยชน์ตอบแทน เพิ่มเติมจากการให้ เอดับบลิวเอ็น ใช้ บริ การเครื อข่ายร่วมซึง่ ให้ สว่ นลดค่าร่วมเครื อข่ายโดยไม่ได้ รับความ เห็นชอบจากทีโอทีก่อน ในช่วงเดือน ก.ค. 2556 ถึงเดือน ก.ย. 2558 รวมเป็ นเงิน 16,252.66 ล้ านบาท พร้ อมภาษี มลู ค่าเพิ่มและดอกเบี ้ย ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ 2. กรณีข้อพิพาททางกฎหมายจากการดาเนินงานภายใต้ สญ ั ญาให้ ดาเนินการ 1800 คู่ความ

ดีพีซี และ กสท 1. 9 ม.ค. 2551 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม วันเริ่ มคดีและ 2. 3 มิ.ย. 2554 ศาลปกครองกลาง ผู้พิจารณาคดี 3. 3 ก.ย. 2558 ศาลปกครองสูงสุด ข้ อพิพาท กสท ยื่ นค าเสนอข้ อพิ พาทเรี ยกร้ องให้ ดี พี ซี ช าระค่าผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่ มเติ มจากกรณี ภาษี สรรพสามิต จานวน 2,449 ล้ านบาท ตามสัญญาให้ ดาเนินการ 1800 พร้ อมเรี ยกเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือนของจานวนเงิ นที่ค้างชาระในแต่ละปี นับตังแต่ ้ วนั ผิดนัดจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ ้น รวมเป็ นเงิ น 3,949 ล้ านบาท โดยดีพีซีชี ้แจงว่าเงินส่วนแบ่งรายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่ดี พีซีได้ นาส่งไปแล้ วตังแต่ ้ 16 ก.ย. 2546 - 15 ก.ย. 2550 และได้ นามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ น การปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2546  วัน ที่ 1 มี . ค. 2554 คณะอนุญ าโตตุลาการมีคาวินิ จฉัยชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อ พิพ าททัง้ หมด เนื่องจากเห็นว่าการชาระหนี ้เดิมเสร็ จสิ ้นและระงับไปแล้ ว ดีพีซีจึงไม่เป็ นผู้ผิดสัญญา  วันที่ 3 มิ.ย. 2554 กสท ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง  วันที่ 28 ก.ค. 2558 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท เนื่องจากเห็นว่า กสท ผลการพิจารณาคดี เป็ นผู้มีหนังสือแจ้ งความประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จาก การชาระภาษี สรรพสามิตตามมติคณะรัฐมนตรี และได้ ยอมรับเงินส่วนแบ่งรายได้ คงเหลือพร้ อม กับคืนหนังสือค ้าประกันให้ แก่ดีพีซีมาโดยตลอด โดยมิได้ ทกั ท้ วงแต่อย่างใด คาวินิจฉัยของคณะ อนุญาโตตุลาการจึงเป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายและข้ อสัญญา วันที่ 25 ส.ค. 2558 กสท ได้ ยนื่ อุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุด ดีพีซียื่นคาคัดค้ านคาอุทธรณ์ตอ่ ศาล ความคืบหน้ าของคดี ปกครองสูงสุดเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2559 ขณะนี ้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 38


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี

2561

ดีพีซี และกสท 1. 29 ก.ค. 2551 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม 2. 25 มิ.ย. 2555 ศาลปกครองกลาง 3. 15 ต.ค. 2557 ศาลปกครองสูงสุด

ข้ อพิพาท

กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ที่ดีพีซีหกั ไว้ และ ไม่ได้ นาส่งให้ ดังนี ้  ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 7-10 เป็ นเงินต้ นรวมภาษี มลู ค่าเพิ่ม 165 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน คานวณถึงวันที่ 31 ก.ค. 2551 รวม 222 ล้ านบาท  ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 11 เป็ นต้ นเงินและภาษี มลู ค่าเพิ่ม 23 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน คานวณถึงวันที่ 15 ต.ค. 2552 รวมเป็ นเงิน 26 ล้ านบาท รวม 2 ข้ อพิพาทเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 248 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี  วันที่ 23 มี.ค. 2555 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททัง้ หมด เนื่องจากเห็นว่า กสท ยังมิได้ ชาระค่าเชื่ อมโยงโครงข่ายในส่วนที่ดีพีซีต้องชาระแก่ทีโอทีตาม บันทึกข้ อตกลงค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรคมนาคม จึงถือว่า กสท ยังไม่มีสิทธิ เรี ยกร้ องดังกล่าว และในทางนาสืบของ กสท ฟั งไม่ได้ วา่ การที่ดีพีซีชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้ แก่ กสท ในแต่ละ ปี เป็ นการชาระไม่ครบถ้ วน  วันที่ 25 มิ.ย. 2555 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ต่อมา ในวันที่ 16 ก.ย. 2557 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท ความคืบหน้ าของคดี วัน ที่ 15 ต.ค. 2557 กสท ได้ ยื่ น อุท ธรณ์ ต่อ ศาลปกครองสูง สุด ซึ่ง ขณะนี ค้ ดี อ ยู่ร ะหว่า งการ พิจารณาศาลปกครองสูงสุด คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กสท 7 เม.ย. 2553 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม ดีพีซียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ กสท ยกเลิกการกล่าวหาว่าดีพีซีเป็ น ฝ่ ายผิดสัญญา อันเนื่องมาจากการทาสัญญาการใช้ โครงข่ายระหว่างเอไอเอส - ดีพีซีที่ไม่ได้ รับความ ยินยอมจาก กสท พร้ อมทังชดใช้ ้ คา่ เสียหายแก่ดีพีซีเป็ นเงินจานวน 50 ล้ านบาท โดยในวันที่ 15 ก.ค. 2553 กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วน เพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการปรับลดอัตราค่าใช้ โครงข่ายร่ วม (Roaming) ระหว่างดีพีซี เอไอเอส จาก 2.10 บาทต่อนาที เป็ น 1.10 บาทต่อนาที ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เม.ย. 2550 - 31 ธ.ค. 2551 โดยไม่ ได้ รั บ อนุมัติจ าก กสท ก่ อ น ซึ่ง คิ ด เป็ นเงิ นจ านวน 1,640 ล้ า นบาท พร้ อมเบี ย้ ปรั บที่ คานวณถึงเดือนมี.ค. 2553 อีก 365 ล้ านบาท รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 2,000 ล้ านบาท และเบี ้ยปรับในอัตรา ร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน นับแต่เดือนเม.ย. 2553 เป็ นต้ นไป และเมื่อวันที่ 12 ก.ย. 2554 กสท ได้ ยื่น คาเสนอข้ อพิพาทเพิ่มเติมในกรณีดงั กล่าวในส่วนปี ดาเนินการที่ 12 (1 เม.ย. 2552 - 15 มิ.ย. 2552) เป็ นเงิน 113 ล้ านบาท

ส่วนที่ 1 | หน้ า 39


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คู่ความ ดีพีซี และ กสท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี สถาบันอนุญาโตตุลาการได้ มีคาสัง่ ให้ รวมพิจารณาทัง้ 3 ข้ อพิพาทเข้ าด้ วยกัน ขณะนีข้ ้ อพิพาทอยู่ ระหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กสท 1. 8 เม.ย. 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม 2. 6 ก.ย. 2556 ศาลปกครองกลาง กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระเงินจานวน 33 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 15 ต่อปี ของเงิ นต้ นดังกล่าว รวมเป็ นเงิ นทัง้ สิ ้น 35 ล้ านบาท โดย กสท อ้ างว่า ดีพีซีผิด สัญญาให้ ดาเนินการ 1800 เนื่องจากสัญญาเช่าใช้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ระหว่างดีพีซีกบั ผู้ใช้ บริ การ ในระหว่างปี 2540 - 2546 จานวน 1,209 เลขหมาย มีการปลอมแปลงเอกสาร/ลายมือชื่อ เป็ นเหตุให้ กสท ได้ รับความเสียหายเนื่องจากไม่สามารถเรี ยกเก็บค่าใช้ บริ การระหว่างประเทศได้ เมื่อเลขหมาย ดังกล่าวมีการใช้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศของ กสท ในวันที่ 28 พ.ค. 2556 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมดของ ้ กสท เนื่องจากเห็นว่าข้ อพิพาทในคดีนี ้เป็ นเรื่ องพิพาททางละเมิด มิได้ เป็ นการกระทาอันเกิดจากการ ผลการพิจารณาคดี ผิ ด สั ญ ญาให้ ด าเนิ น การ 1800 ดั ง นั น้ ข้ อพิ พ าทในคดี นี จ้ ึ ง ไม่ อ ยู่ ใ นอ านาจพิ จ ารณาของ อนุญาโตตุลาการ วันที่ 6 ก.ย. 2556 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ขณะนี ้คดีอยู่ ความคืบหน้ าของคดี ในขันตอนการพิ ้ จารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ ทีโอที 9 พ.ค. 2554 ศาลปกครองกลาง

ทีโอทียื่นฟ้อง กสท และดีพีซี ต่อศาลปกครองกลาง ให้ ร่วมกันชาระค่า Access Charge ตามข้ อตกลง เรื่ องการเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ของดีพีซี ลงวันที่ 8 ก.ย. 2540 ซึง่ ประกอบด้ วย  ค่า Access Charge ซึง่ คานวณจากจานวนเลขหมายที่ดีพีซมี ีการให้ บริ การในแต่ละเดือนในอัตรา 200 บาทต่อเลขหมาย เป็ นเงินรวม 1,289 ล้ านบาท  ค่า Access Charge ซึ่ง กสท ต้ องชาระให้ แก่ทีโอทีโดยคานวณจากครึ่ งหนึ่งของจานวนเงินส่วน แบ่งรายได้ ที่ กสท ได้ รับจากดีพีซี เป็ นเงินรวม 3,944 ล้ านบาท  ค่า Access Charge ซึ่ง กสท ชาระให้ แก่ทีโอทีไม่ครบถ้ วนเนื่องจาก กสท และดีพีซีนาส่วนลด ค่า Access Charge ในอัตรา 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนมาหักออกก่อน เป็ นเงินรวม 222 ล้ านบาท รวม 3 รายการ เป็ นเงินทังสิ ้ ้น 5,454 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ย ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 40


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2561

ดีพีซี และ กสท 24 ส.ค. 2555 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ มีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซี ชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-14 เพิ่มเติมจากรายได้ คา่ เชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (IC) ที่ได้ รับทังหมด ้ (ขารับ) ก่อนหักค่า IC ที่จ่ายออกไปเป็ นจานวน 183 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ต่อมา ในวันที่ 1 เม.ย.2557 กสท เรี ยกร้ องให้ ชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 15 เพิ่มเติมเป็ นจานวน 114 ล้ านบาท และปี ดาเนินการที่ 16 จานวน 88.80 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อ เดือน รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 324 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ คู่ความ

ดีพีซี และ กสท

1. 8 ต.ค. 2555 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม 2. 15 ก.ย. 2558 ศาลปกครองกลาง 3. 11 ต.ค.2561 ศาลปกครองสูงสุด ข้ อพิพาท ดี พี ซี ยื่ น ค าเสนอข้ อ พิ พ าทเรี ย กร้ องให้ กสท คื น หนัง สือ ค า้ ประกัน ผลประโยชน์ ต อบแทนขัน้ ต่ า ปี ดาเนินการที่ 10-14 และห้ ามมิให้ เรี ยกร้ องเงินใดๆ จากธนาคาร พร้ อมทังช ้ าระค่าเสียหายในส่วนของ ค่าธรรมเนียมหนังสือค ้าประกัน และค่าเสียหายจากความเสียหายแก่ชื่อเสียงและเครดิตทางการเงิน อีก 109 ล้ านบาทให้ กบั ดีพีซี วันที่ 28 พ.ค. 2558 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ กสท คืนหนังสือค ้าประกันและชดใช้ ค่าธรรมเนียมธนาคารแก่ดีพีซี ผลการพิจารณาคดี วันที่ 15 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ต่อมาในวันที่ 13 ก.ย. 2561 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท วันที่ 11 ต.ค.2561 กสท ได้ ยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุด คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาล ความคืบหน้ าของคดี ปกครองสูงสุด วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 41


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กสท 1. 28 ส.ค. 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม 2. 8 ธ.ค. 2560 ศาลปกครองกลาง กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซี ส่งมอบหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าปี ดาเนินการที่ 15 - 16 ฉบับใหม่ โดยอ้ างว่าหนังสือค ้าประกันที่ดีพีซีสง่ มอบให้ นนั ้ มีข้อความไม่ถกู ต้ อง และไม่เป็ นไปตามสัญญาให้ ดาเนินการ 1800 ผลการพิจารณาคดี วันที่ 30 ส.ค. 2560 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาทของ กสท ในวันที่ 8 ธ.ค. 2560 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึง่ ขณะนี ้ ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กสท 20 พ.ค. 2558 ศาลปกครองกลาง 

กสท ยื่นฟ้องสานักงาน กสทช. กทค. กสทช. ทรู มฟู และดีพีซี ให้ ชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการ ใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท ช่วงระยะเวลาคุ้มครอง ตามประกาศ กสทช. เรื่ อ ง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บ ริ การเป็ น การชั่วคราวในกรณี สิน้ สุดการ อนุญาตสัมปทานหรื อสัญญาการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ช่วงระยะเวลาคุ้มครองนับแต่วนั ที่ 16 ก.ย. 2556 ถึ ง 15 ก.ย. 2557 โดยในส่วนของดีพี ซี ร่ ว มกับ สานัก งาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 6,083 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี วันที่ 11 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นคาฟ้องให้ ผ้ ถู กู ฟ้องชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและ อุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท นับแต่วนั ที่ 16 ก.ย. 2557 ถึง 17 ก.ค. 2558 เพิ่มเติม โดยในส่วนของดีพีซี ร่ วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 1,635 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี วันที่ 30 มิ.ย. 2559 กสท ได้ ยื่นคาฟ้องให้ ผ้ ถู กู ฟ้องชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและ อุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท นับแต่วนั ที่ 18 ก.ค. 2558 ถึงวันที่ 25 พ.ย. 2558 เพิ่มเติม โดยในส่วนของดีพีซี ร่ วมกับ สานักงาน กสทช.กทค. และ กสทช. จานวน 673 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 42


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และ กสท 29 เม.ย. 2559 ศาลปกครองกลาง 19 มี.ค. 2561 ศาลแพ่ง กสท ยื่นคาฟ้องต่อศาลปกครองกลางเรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระค่าเสียหายจากกรณีที่ไปติดตังอุ ้ ปกรณ์ โทรคมนาคมของเอไอเอส ณ สถานีฐานของดีพีซี จานวน 95 แห่ง ซึ่งได้ ส่งมอบเป็ นกรรมสิทธิ์ให้ แก่ กสท ตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ โดยมิได้ รับความยินยอมจาก กสท ตังแต่ ้ เดือนม.ค. 2556 - เม.ย. 2559 เป็ นเงิน 125.52 ล้ านบาท และค่าเสียหายนับแต่วนั ฟ้องอีกเดือนละ 2.83 ล้ านบาท จนกว่าจะมีการรื อ้ ถอน อุปกรณ์ออกไป ผลการพิจารณาคดี วันที่ 19 มี.ค. 2561 ศาลปกครองกลางมีคาสัง่ ให้ โอนคดีนี ้ไปศาลแพ่ง โดยขณะนี ้คดีดงั กล่าวอยู่ใน ความคืบหน้ าของคดี ขันตอนของการพิ ้ จารณาของศาลแพ่ง คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอดับบลิวเอ็น และ กสท 30 มิ.ย. 2559 ศาลปกครองกลาง 19 มี.ค. 2561 ศาลแพ่ง กสท ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางให้ เอดับบลิวเอ็นชาระค่าเสียหายจากกรณี ที่ ไปติดตัง้ อุป กรณ์ โทรคมนาคมของเอดดับบลิวเอ็น ณ สถานีฐานของดีพีซี จานวน 67 แห่ง ที่ได้ ส่งมอบเป็ นกรรมสิทธิ์ ให้ แก่ กสท ตามสัญญาให้ ดาเนินการ 1800 โดยมิได้ รับความยินยอมจาก กสท ตังแต่ ้ เดือน ม.ค. 2556 - มิ.ย. 2559 เป็ นเงินจานวน 57.531 ล้ านบาท รวมดอกเบี ้ยผิดนัดจานวน 5.205 ล้ านบาท เป็ นเงิน จานวนทังสิ ้ ้น 62.736 ล้ านบาท และค่าเสียหายนับแต่วนั ฟ้องอีกเดือนละ 2 ล้ านบาท จนกว่าจะมีการ รื อ้ ถอนอุปกรณ์ออกไป ผลการพิจารณาคดี วัน ที่ 19 มี . ค. 2561 ศาลปกครองกลางมี คาสั่งให้ โอนคดี นีไ้ ปศาลแพ่ง โดยขณะนี ค้ ดีดังกล่าวอยู่ ความคืบหน้ าของคดี ระหว่างการพิจารณาของศาลแพ่ง คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กสท 30 มิ.ย. 2559 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม กสท ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ มีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซีรือ้ ถอนอุปกรณ์โทรคมนาคมของเอไอเอสและเอ ดับบลิวเอ็น บริ ษัทย่อยของเอไอเอส ที่ติดตังอยู ้ ่บนโครงข่ายของดีพีซี ที่ได้ สง่ มอบเป็ นกรรมสิทธิ์ให้ แก่ กสท ตามสัญญาให้ ดาเนินการ 1800 จานวน 97 แห่ง โดยไม่ได้ รับอนุญาตจาก กสท ตังแต่ ้ เดือน ม.ค. 2556 ถึงเดือนมิ.ย. 2559 และเรี ยกร้ องให้ ชาระค่าเสียหาย รวมเป็ นเงิน 175.19 ล้ านบาท

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 43


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2561

ดีพีซี และ กสท 28 มี.ค. 2561 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ มีคาชีข้ าดให้ ดีพีซี ส่งมอบเสาโทรคมนาคมจานวน 4,657 ต้ น ตู้ container จานวน 3,012 ตู้ ระบบ Call Center, ระบบจ่ายไฟ และระบบงานคงสิทธิเลขหมายที่ ดีพีซี ขอใช้ งานร่ วมกับเอไอเอส หากส่งมอบไม่ได้ ให้ ชดใช้ เป็ นเงินและชาระค่าเสียหาย ค่าเสียโอกาสทาง ธุรกิจรวมเป็ นเงิน 13,431.45 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยผิดนัดร้ อยละ 7.5 ต่อปี

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กสท 31 ต.ค. 2561 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ มีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซี ส่งมอบเสาโทรคมนาคมจานวน 155 ต้ น หากส่ง มอบไม่ได้ ให้ ชดใช้ เป็ นเงินและชาระค่าเสียหาย ค่าเสียโอกาสทางธุรกิจรวมเป็ นเงิน 501.42 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยผิดนัดร้ อยละ 7.5 ต่อปี ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ 3. กรณีข้อพิพาททางกฎหมายจากการดาเนินงานภายใต้ พรบ.องค์ กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ และ พ.ร.บ.การ ประกอบกิจการโทรคมนาคม คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส กสทช. และเลขาธิการ กสทช. 1. 13 ก.ย. 2554 ศาลปกครองกลาง 2. 18 ธ.ค. 2558 ศาลปกครองสูงสุด เอไอเอสยื่นฟ้อง กทช. (ปั จจุบนั คือ กสทช.) และเลขาธิการ กทช. (ปั จจุบนั คือ เลขาธิการ กสทช.) ต่อศาล ปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ ที่ให้ เอไอเอสดาเนินการจัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การระบบ เติมเงิน (Pre-Paid) ที่ให้ บริ การอยู่ก่อนวันที่ประกาศ กทช. เรื่ องหลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมาย โทรคมนาคม พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2551 ทังหมดให้ ้ แล้ วเสร็ จภายใน 180 วันนับตังแต่ ้ วันที่ประกาศ กทช. ฉบับดังกล่าวมีผลใช้ บงั คับ และคาสัง่ ที่กาหนดให้ เอไอเอสชาระค่าปรับทางปกครองวันละ 80,000 บาท เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 6 ก.ค. 2555 จนกว่าจะดาเนินการให้ แล้ วเสร็ จ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 44


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ

ผลการพิจารณาคดี

ความคืบหน้ าของคดี คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ผลการพิจารณาคดี

ความคืบหน้ าของคดี

2561

เอไอเอส กสทช. และเลขาธิการ กสทช. ในวันที่ 19 พ.ย. 2558 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ ของ กทช. ตามข้ อเรี ยกร้ อง ของเอไอเอส เนื่องจากเห็นว่า  เป็ นการบังคับให้ ผ้ ปู ระกอบการต้ องจัดเก็บข้ อมูล ผู้ใช้ บริ การย้ อนหลัง ซึ่งผู้ใช้ บริ การจะต้ องเปิ ดเผย ข้ อมูลส่วนบุคคล โดยที่ กทช. มิได้ มีมาตรการบังคับให้ ผ้ ูประกอบการระงับหรื อยกเลิกบริ การได้ อีกทังจ ้ านวนผู้ใช้ บริ การมีมาก ดังนัน้ หากไม่ได้ รับความร่ วมมือจะดาเนินการได้ ยาก มติและคาสัง่ ดังกล่าวจึงไม่ชอบด้ วยกฎหมาย เพราะเป็ นการใช้ ดุลยพินิจในการกากับดูแลเกินขอบเขตความ จาเป็ น และเป็ นการสร้ างภาระให้ แก่ผ้ ปู ระกอบการ ในวันที่ 18 ธ.ค. 2558 กสทช. ได้ ยื่นอุทธรณ์ ต่อศาลปกครองสูงสุด ขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของศาลปกครองสูงสุด เอไอเอส และ กสทช. 1. 27 พ.ค. 2554 ศาลปกครองกลาง 2. 9 ธ.ค. 2559 ศาลปกครองสูงสุด เอไอเอสยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนคาสัง่ กทช. (ปั จจุบนั คือ กสทช.) ที่ให้ เอไอเอสแก้ ไขแบบร่างสัญญาให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นระบบจ่ายเงินล่วงหน้ า (Pre-paid) โดยห้ ามไม่ให้ มีเงื่อนไขเกี่ยวกับวันหมดอายุการใช้ งาน (Validity) ในวันที่ 10 พ.ย. 2559 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้องเอไอเอส เนื่องจากเห็นว่าเป็ นการนาคดี มาฟ้องเมื่อพ้ นกาหนดระยะเวลาฟ้องคดี และการที่ผ้ ฟู ้องคดีนาคดีมาฟ้องล่าช้ าดังกล่าว ไม่ได้ เกิดจาก เหตุจ าเป็ นอื่ น และไม่เป็ น การฟ้องเพื่ อ ประโยชน์ สาธารณะ หากแต่เ ป็ น การฟ้องเพื่ อ ประโยชน์ ของ เอไอเอสเอง และเนื่องจากประกาศดังกล่าวยังคงมีผลบังคับใช้ มิได้ ถกู ยกเลิกเพิกถอน ดังนัน้ คาสัง่ ที่ออก ตามประกาศดังกล่าวจึงชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว วั น ที่ 9 ธ . ค . 2559 เ อ ไ อ เ อ ส ยื่ น อุ ท ธ ร ณ์ ต่ อ ศ า ล ป ก ค ร อ ง สู ง สุ ด ข ณ ะ นี ค้ ดี อ ยู่ ร ะ หว่ า ง การพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 45


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2561

เอไอเอส กสทช. และเลขาธิการ กสทช. 1. 2 ก.ค. 2555 ศาลปกครองกลาง 2. 21 เม.ย. 2560 ศาลปกครองสูงสุด เอไอเอสยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ องอัตราขันสู ้ งของ ค่าบริ การโทรคมนาคมสาหรับบริ การประเภทเสียงภายในประเทศ พ.ศ. 2555 ที่ให้ เรี ยกเก็บค่าบริ การ ประเภทเสียงภายในประเทศได้ ไม่เกิน 0.99 บาทต่อนาที โดยมีผลบังคับใช้ เฉพาะกับผู้มีอานาจเหนือ ตลาดอย่างมีนยั สาคัญ เนื่องจากเห็นว่าเป็ นคาสัง่ ที่มิชอบและเป็ นการเลือกปฏิบตั ิ

วันที่ 24 มี.ค. 2560 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้อง เอไอเอสยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2560 ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด ผลการพิจารณาคดี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และ กสทช. 18 ธ.ค. 2558 ศาลปกครองกลาง

เอไอเอส ยื่นฟ้อง กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้ เพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครอง ผู้ใช้ บริ การชัว่ คราว (ฉบับที่ 2) ภายหลังสิ ้นสุดสัญญาสัมปทาน ในส่วนที่กาหนดเพิ่มเติมให้ ต้องนาส่ง รายได้ ในช่วงคุ้มครอง อย่างน้ อยไม่ต่ากว่าจานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ ตามสัญญาอนุญาต 900 เพราะ เป็ นประกาศที่ไม่เป็ นธรรมและเลือกปฏิบตั ิ เนื่องจากประกาศฉบับก่อนหน้ าไม่ได้ มีข้อกาหนดในเรื่ อง ดังกล่าว ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และสานักงาน กสทช. กสทช. กทค. 1 พ.ค. 2560 ศาลปกครองกลาง

เอไอเอส ยื่นฟ้องสานักงาน กสทช. กสทช. และ กทค. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้ เพิกถอนหนังสือ สานักงาน กสทช. และมติ กทค.ที่มีคาสัง่ ให้ เอไอเอส นาส่งรายได้ ในช่วงระยะเวลาคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ ภายหลังสิ ้นสุดสัญญาสัมปทานระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2558 - 30 มิ.ย. 2559 ตามประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การชั่วคราวเป็ นจานวนเงิ น 7,221 ล้ านบาท เนื่องจากเห็นว่าบริ ษัทฯ มี รายจ่ายมากกว่ารายได้ ในช่วงระยะเวลาคุ้มครองผู้ใช้ บริ การคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ จึงไม่มี รายได้ คงเหลือที่จะต้ องนาส่งให้ แก่สานักงาน กสทช. แต่อย่างใด ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 46


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และสานักงาน กสทช.กทค. และ กสทช.

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และสานักงาน กสทช.และ กสทช.

2561

16 พ.ย. 2558 ศาลปกครองกลาง

ดี พี ซี ยื่ น ฟ้ อ งต่ อ ศาลปกครองกลางให้ เพิ กถอนมติ และค าสั่ง ที่ ให้ ดี พี ซี ด าเนิ นการส่งรายได้ จาก การให้ บริ การโทรศัพท์ เคลื่ อนที่ ในระยะเวลาความคุ้มครองผู้ ใช้ บริ การ นับแต่ วันที่ เข้ าสู่มาตรการ การคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ ตามประกาศ กสทช. เรื่ องมาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชัว่ คราวฯ พ.ศ. 2556 ช่วงระหว่างวันที่ 16 ก.ย. 2556 - 17 ก.ค. 2557 เป็ นเงินจานวน 628 ล้ านบาท พร้ อมดอกผลที่เกิดขึ ้น ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 16 ก.ย. 2559 คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ได้ ยื่นคาฟ้องต่อศาลปกครอง กลางให้ ดีพีซีนาส่งรายได้ จากการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในระยะเวลาความคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ นับ แต่วัน ที่ เ ข้ าสู่ม าตรการการคุ้มครองผู้ใช้ บ ริ ก าร ตามประกาศ กสทช. เรื่ อ งมาตรการคุ้มครอง ความคืบหน้ าของคดี ผู้ใช้ บริ การเป็ นการชัว่ คราวฯ พ.ศ. 2556 จนถึงวันที่มีคาสัง่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ช่วง ระหว่า งวันที่ 16 ก.ย. 2556 - 17 ก.ค. 2557 จ านวน 628 ล้ า นบาท พร้ อมดอกเบี ย้ ขณะนี ค้ ดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

7 ธ.ค. 2561 ศาลปกครองกลาง

ดี พี ซี ยื่ น ฟ้ อ งต่ อ ศาลปกครองกลางให้ เพิ ก ถอนมติ แ ละค าสั่ ง ที่ ใ ห้ ดี พี ซี น าส่ ง รายได้ จาก การให้ บริ การโทรศัพท์ เคลื่ อนที่ ในระยะเวลาความคุ้มครองผู้ ใช้ บริ การ นับแต่ วันที่ เข้ าสู่มาตรการ การคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ ตามประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชั่วคราวฯ พ.ศ. 2556 ช่วงระหว่างวันที่ 16 ก.ย. 2556 - 25 พ.ย. 2558 เป็ นเงินจานวน 869.51 ล้ านบาท โดยที่ กสทช. ได้ เคยมีคาสัง่ ให้ ดีพีซี นาส่งรายได้ ช่วงที่หนึ่ง (16 ก.ย. 2556 – 17 ก.ค.57) เป็ นจานวน 627.63 บาท ไปแล้ ว จึงมีเงินรายได้ ที่ต้องนาส่งเพิ่มเติมเป็ นเงิน 241.87 ล้ านบาท พร้ อมดอกผลที่เกิดขึ ้น ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ขณะนี ้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 47


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

4. กรณีข้อพิพาททางกฎหมายอื่น ๆ คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

เอไอเอส และกรมสรรพากร 10 พ.ย. 2559 ศาลภาษี อากรกลาง

เอไอเอส ยื่นฟ้องกรมสรรพากรต่อศาลภาษี อากรกลางขอให้ เพิกถอนการประเมินของเจ้ าพนักงาน ประเมิน และเพิกถอนคาวินิจฉัยอุทธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และลดหรื องดเงินเพิ่ม ทังหมดกรณี ้ ที่เจ้ าพนักงานประเมินมีคาสัง่ ให้ เอไอเอสชาระเงินเพิ่มจานวนรวมทังหมด ้ 128.21 ล้ านบาท เนื่องจากหักและนาส่งภาษี หกั ณ ที่จ่ายจากเงินผลประโยชน์ตอบแทนที่ต้องจ่ายให้ ทีโอทีไม่ถกู ต้ อง โดยนาภาษี สรรพสามิตไปหักออกก่อนตามมติคณะรัฐมนตรี ผลการพิจารณาคดี วันที่ 29 ก.ย.2560 ศาลภาษี อากรกลางพิพากษายกฟ้อง ความคืบหน้ าของคดี วันที่ 20 ก.ค. 2561 เอไอเอสยื่นอุทธรณ์ตอ่ ฎีกา ขณะนี ้คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ดีพีซี และ กรมสรรพากร 1. 22 ก.ค. 2558 ศาลภาษี อากรกลาง 2. 28 มิ.ย. 2559 ศาลฎีกา ดีพีซี ได้ ยื่นฟ้องกรมสรรพากรต่อศาลภาษี อากรกลางขอให้ เพิกถอนการประเมินของเจ้ าพนักงาน ประเมิน และเพิกถอนคาวินิจฉัยอุทธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และลดหรื องดเงินเพิ่ม ทังหมดกรณี ้ ที่เจ้ าพนักงานประเมินมีคาสัง่ ให้ ดีพีซี ชาระเงินเพิ่มจานวนรวมทังหมด ้ 5.59 ล้ านบาท เนื่องจากหักและนาส่งภาษี หกั ณ ที่จ่ายจากเงินผลประโยชน์ตอบแทนที่ต้องจ่ายให้ กสท ไม่ถูกต้ อง โดยนาภาษี สรรพสามิตไปหักออกก่อนตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 29 เม.ย. 2559 ศาลมีคาพิพากษายกฟ้อง ดีพีซี โดยให้ เหตุผลว่า เงินค่าภาษี สรรพสามิตถือ ว่าเป็ นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์ตอบแทนที่โจทก์จะต้ องชาระให้ แก่ กสท ตามสัญญาสัมปทาน ดังนัน้ ผลการพิจารณาคดี ดีพีซี จึงมีหน้ าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายและนาส่งซึง่ เมื่อไม่ได้ หกั และนาส่ง จึงต้ องรับผิดชาระเงินเพิ่มร้ อยละ 1.5 ต่อเดือน รวมเป็ นเงินเพิ่มจานวน 5.59 ล้ านบาท วันที่ 28 มิ.ย. 2559 ดีพีซียื่นอุทธรณ์ตอ่ ต่อศาลฎีกา ความคืบหน้ าของคดี วันที่ 20 เม.ย. 2561 ศาลฎีกามีคาพิพากษายืนให้ ดีพซี ี ชาระเงินเพิ่มดังกล่าว คดีเป็ นที่ยตุ ิ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 48


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2561

เอดับบลิวเอ็น และ ทีโอที 31 ม.ค. 2560 ศาลแพ่ง

ทีโอทีได้ ยื่นฟ้องเอดับบลิวเอ็น ต่อศาลแพ่ง เรี ยกร้ องให้ เอดับบลิวเอ็น ชาระค่าใช้ เครื่ องและอุปกรณ์ โทรคมนาคม ค่าบริ การระบบสื่อสัญญาณในอาคารและค่าร่ วมใช้ ไฟฟ้าในระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2558 ถึง วันที่ 30 มิ.ย. 2559 เป็ นเงินจานวน 559.62 ล้ านบาท และดอกเบี ้ยผิดนัดร้ อยละ 7.5 ต่อปี วัน ที่ 31 พ.ค. 2561 ศาลแพ่งมี คาพิพ ากษาให้ เอดับบลิวเอ็ น ช าระเงิ นให้ แก่ ที โอที ตามฟ้องพร้ อม ผลการพิจารณาคดี ดอกเบี ้ยผิดนัด วันที่ 31 พ.ค. 2561 เอดับบลิวเอ็น ยื่นอุทธรณ์ คาพิพากษาของศาลแพ่ง ขณะนี ้คดีอยู่ในระหว่างการ ความคืบหน้ าของคดี พิจารณาของศาลอุทธรณ์

ส่วนที่ 1 | หน้ า 49


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสาคัญอื่น ข้ อมูลทั่วไปของบริษัท ชื่อบริ ษัทที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อย่อหลักทรัพย์ วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชาระแล้ ว จานวนผู้ถือหุ้นทังหมด ้ สัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นราย ย่อย (Free float) ประเภทธุรกิจ

: : : : : : :

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) ADVANC 5 พฤศจิกายน 2534 512,858 ล้ านบาท (ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561) 4,997,459,800 บาท 2,973,095,330 บาท 41,478 ราย (ณ วัน ที่ 16 สิงหาคม 2561 วัน กาหนด Record Date ล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้ รับเงินปั นผล) : 36.22%

เลขทะเบียนบริ ษัท เว็บไซต์ เว็บไซต์นกั ลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ โทรสาร

: ให้ บ ริ ก า รสื่ อ ส า รโท รค ม น า ค ม โด ย รว ม ถึ งธุ รกิ จ ให้ บ ริ ก า ร โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ธุรกิจดิจิทลั เซอร์ วิส : เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ ง เทพฯ 10400 : 0107535000265 : http://www.ais.co.th : http://investor.ais.co.th/ : (66) 2029 5000 : (66) 2029 5165

American Depositary Receipt ชื่อย่อของหลักทรัพย์ วิธีการซื ้อขาย นายทะเบียน อัตราส่วน (ADR to ORD) หมายเลข ADR CUSIP

: : : : :

ที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่

AVIFY ซื ้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter: OTC) The Bank of New York Mellon 1:1 00753G103

ส่วนที่ 1 | หน้ า 50


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลทั่วไปของบริษัทย่ อย บริษัทร่ วม กิจการร่ วมค้ า และบริษัทที่เข้ าร่ วมลงทุน ลาดับ

บริษัทย่ อย

1,350

สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 99.99

10

957.52

51.00 1)

91.39

10

913.86

98.55

ให้ บริ การการชาระเงินค่าสินค้ าและบริการ ทางอิเล็กทรอนิกส์และบัตรเงินสด

30

10

300

99.99

ให้ บริ การโทรคมนาคม และบริ การ โครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการ อินเตอร์ เน็ต (ISP) บริ การอินเทอร์ เน็ต ระหว่างประเทศและบริการชุมสาย อินเตอร์ เน็ต บริ การโครงข่ายโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริ การ เสียงผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต (Voice over IP) และบริ การโทรทัศน์ผ่าน เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต (IP Television)

3

100

300

99.99

27.2

10

272

99.99

ประเภทธุรกิจ

ทุน จดทะเบียน (ล้ านหุ้น) 13.5

มูลค่ าที่ตรา ไว้ ต่อหุ้น (บาท) 100

1

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019

ให้ บริ การโทรคมนาคมที่ใช้ คลื่นความถี่ ใน ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ผู้จดั จาหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ให้ บริ การ โทรศัพท์ระหว่างประเทศ ให้ บริการ โทรคมนาคม บริ การโครงข่าย โทรคมนาคม และบริ การโครงข่ายกระจาย เสียงและโทรทัศน์ ที่ไม่ใช้ คลื่นความถี่

2

บริษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จากัด (เอดีซี) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน ดีพีซ)ี สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.adc.co.th บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (เอเอ็มพี) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอสบีเอ็น) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.sbn.co.th

ให้ บริ การสื่อสารข้ อมูลผ่านเครื อข่าย สายโทรศัพท์ และ สาย Optical Fiber

95.75

ปั จจุบนั ยุตกิ ารให้ บริ การ เนื่องจากสิ ้นสุด ระยะเวลาตามสัญญาให้ ดาเนินการ ให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ Digital PCN 1800

บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด (เอซีซี) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019

ให้ บริ การศูนย์ให้ ข้อมูลทางโทรศัพท์

3

4

5

6

ส่วนที่ 1 | หน้ า 51

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลาดับ

บริษัทย่ อย

7

บริษัท แอดวานซ์ ดิจิทัล ดิสทริ บิวชั่น จากัด (เอดีดี) 2) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จังหวัด กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5157 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ ด จากัด (เอเอ็มซี) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (มหาชน) (ทีเอ็มซี) 3) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน ซีเอสแอล) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8899 เว็บไซต์ : ww.teleinfomedia.co.th บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) 3) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน เอดับบลิวเอ็น) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2263 8000 โทรสาร : (66) 2263 8132 เว็บไซต์ : www.csloxinfo.com บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (เอไอเอ็น) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.ain.co.th บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอบีเอ็น) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019

8

9

10

11

12

2561

4

สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 99.99

10

250

99.99

15.65

10

156.54

99.99

594.51

0.25

148.63

99.11

ให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

2

100

100

99.99

ให้ บริ การจัดอบรมแก่บริษัทในกลุม่

0.75

100

75

99.99

ทุน จดทะเบียน (ล้ านหุ้น) 0.04

มูลค่ าที่ตรา ไว้ ต่อหุ้น (บาท) 100

25

จัดพิมพ์และโฆษณา สมุดรายนามผู้ใช้ โทรศัพท์ฉบับธุรกิจ

ให้ บริ การด้ านอินเทอร์ เน็ต คอมพิวเตอร์ และการสื่อสารที่ตอบสนองความต้ องการ ของลูกค้ าองค์กรธุรกิจ

ประเภทธุรกิจ ประกอบธุรกิจนายหน้ าประกันวินาศภัย

จาหน่ายบัตรเงินสดอิเล็คทรอนิกส์

ส่วนที่ 1 | หน้ า 52

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลาดับ

บริษัทย่ อย

50

สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 99.99

100

50

99.99

1.07

10

10.75

99.99

ให้ เช่าและบริ การพื ้นที่ ที่ดนิ และอาคาร และสิง่ อานวยความสะดวกต่างๆ

0.01

100

1

99.98

ประกอบกิจการเกี่ยวกับการโฆษณาและ เผยแพร่ ธรุ กิจ กิจกรรม ของบุคคล คณะ บุคคล นิตบิ คุ คลและหน่อยงานของรัฐ โดยใช้ สื่โฆษณาทุกประเภท และประกอบ กิจการจาหน่าย จัดหา เป็ นตัวแทน จาหน่าย ตัวแทนจัดหา งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ทางธุรกิจโดยสื่อโฆษณา ทุกประเภท

0.01

10

0.1

99.94

ประเภทธุรกิจ

13

บริษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด (ดับบลิวดีเอส) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019

นาเข้ าและจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่

14

บริษัท ไมโม่ เทค จากัด (เอ็มเอ็มที) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) (เอดีวี) 3) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน ซีเอสแอล) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8877 เว็บไซต์ : www.shinee.com บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด (เอฟเอ็กซ์ แอล) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท เยลโล เพจเจส คอมเมอร์ ส จากัด (วายพีซี) 3) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน ทีเอ็มซี) เลขที่ 1126/2 อาคารวานิช 2 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8823

พัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศ (IT) บริการ รวบรวมข้ อมูลสาหรับบริ การเสริมบน โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator) และให้ บริการในการเรี ยกเก็บและรับชาระ เงินจากลูกค้ า คัดสรรและนาเสนอข้ อมูลข่าวสาร และ สาระความบันเทิงที่ตรงกับความต้ องการ ของผู้ใช้ บริ การผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Content Provider) และ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต (Community Portal) รวมถึงบริ การแอพพลิเคชัน่ ต่าง ๆ ผ่านระบบ IOS และ Android

15

16

17

2561

ทุน จดทะเบียน (ล้ านหุ้น) 0.5

มูลค่ าที่ตรา ไว้ ต่อหุ้น (บาท) 100

0.5

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

หมายเหตุ: 1) สัดส่วนการถือหุ้นในเอดีซี ที่เหลืออีกร้ อยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างกัน 2) เอดีดีจดทะเบียนจัดตั ้งเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 3) เอดับบลิวเอ็นเข้ าถือหุ้นในซีเอสแอลผ่านการทาคาเสนอซื ้อหลักทรัพย์คิดเป็ นร้ อยละ 99.11 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ วทั ้งหมดของซีเอสแอล เป็ นผลให้ ทีเอ็มซี, เอดีวี และวายพีซี มีสถานะเป็ นบริ ษัทย่อยโดยอ้ อม ผ่านซีเอสแอล

ส่วนที่ 1 | หน้ า 53


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ลาดับ 1

บริษัทร่ วม บริษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด (ไอเอช) 52/1 หมู่ที่ 5 ถนนบางกรวย-ไทรน้ อย ตาบลบางสีทอง อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี โทรศัพท์ : (66) 2029 5055 โทรสาร : (66) 2029 5019

ประเภทธุรกิจ ให้ เช่าอุปกรณ์โครงข่ายสื่อสัญญาณ โทรคมนาคม

ลาดับ

กิจการร่ วมค้ า

ประเภทธุรกิจ

1

บริษัท อมตะ เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอเอ็น) 700/2 หมู่ที่ 1 ตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมือง ชลบุรี จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ : (66) 2029 5055 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด (อาร์ แอลพี) 4) 127 อาคารเกษรทาวเวอร์ ชัน18 ้ ห้ อง A,B ถนนราชดาริ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2026 3779 เว็บไซต์ : https://contact-cc.line.me/th/

ให้ บริ การโครงข่ายเส้ นใยแก้ วนาแสง ภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ

2

ทุน จดทะเบียน (ล้ านหุ้น) 0.5

มูลค่ าที่ตรา ไว้ ต่อหุ้น (บาท) 100

ทุนจด ทะเบียน (ล้ านหุ้น) 1

มูลค่ าที่ตรา ไว้ ต่อหุ้น (บาท) 100

6

100

บริ การเงินอิเล็กทรอนิกส์และการ ชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

2561

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท) 50

สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 29.00

100

สัดส่ วน การถือหุ้น (%) 60.00

600

33.33

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

หมายเหตุ: 4) อาร์ แอลพี เป็ นกิจการร่ วมค้ าระหว่าง เอเอ็มพี กับ บริ ษัท แรบบิทเพย์ ซิสเทม จากัด และ ไลน์ เพย์ คอร์ ปอเรชั่น ตั ้งแต่วันที่ 5 มีนาคม 2561

ลาดับ

บริษัทที่เข้ าร่ วมลงทุน

ประเภทธุรกิจ

1

บริดจ์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี) 750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, ประเทศสิงคโปร์ โทรศัพท์ : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 บริษัท ศูนย์ ให้ บริการคงสิทธิเลข หมายโทรศัพท์ จากัด (ซีแอลเอช) สานักงานเลขที่ 98 อาคารสาทร สแควร์ ออฟฟิ ศ ทาวเวอร์ ห้ องเลขที่ 403 ชันที ้ ่4 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744

ให้ บริ การเกี่ยวกับเครื อข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาคพื ้นเอเชีย แปซิฟิก เพื่อให้ บริ การเครื อข่ายโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ

2

ศูนย์ให้ บริ การระบบสารสนเทศและ ฐานข้ อมูลกลาง ประสานงานการโอนย้ าย ผู้ให้ บริ การโทรคมนาคมเพื่อการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท์ (Mobile Number Portability: MNP)

ส่วนที่ 1 | หน้ า 54

ทุนจด ทะเบียน (ล้ านหุ้น) 9

มูลค่ าที่ตรา ไว้ ต่อหุ้น (บาท) 1 เหรี ยญ สหรัฐ

0.02

100

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วน การถือหุ้น (%)

9 ล้ าน เหรี ยญสหรัฐ

10.00

2

20.00


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลของบุคคลอ้ างอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ห้ นุ สามัญ

บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : (66) 2009 9383 โทรสาร : (66) 2009 9476

ผู้สอบบัญชี

ดร. ศุภมิตร เตชะมนตรี กลุ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3356 บริ ษัท ดีลอยท์ ทู้ช โทมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จากัด อาคาร เอไอเอ สาทร เทาวเวอร์ ชัน้ 23-27 11/1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (66) 2034 0000 โทรสาร : (66) 2034 0100

ส่วนที่ 1 | หน้ า 55


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลหลักทรั พย์ และผู้ถือหุ้น จานวนทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบด้ วย หุ้นสามัญจานวน 4,997,459,800 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชาระแล้ ว : 2,973,095,330 บาท ประกอบด้ วย หุ้นสามัญจานวน 2,973,095,330 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ผู้ถอื หุ้น (ก) รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2561 (วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้ รับเงินปั นผล) ลาดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด1) South East Asia UK (Type C) Nominee Limited สานักงานประกันสังคม State Street Bank Europe Limited State Street Bank And Trust Company GIC Private Limited กองทุนรวมวายุภกั ษ์ หนึ่ง โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จากัด (มหาชน) กองทุนรวมวายุภกั ษ์ หนึ่ง โดย บลจ.กรุงไทย จากัด (มหาชน) รวม

จานวน (หุ้น) 1,202,712,000 693,359,000 172,311,185 123,721,953 81,587,800 52,949,864 18,601,776 13,484,873 11,076,400 11,076,400 2,380,881,251

สัดส่ วนการถือหุ้น (%) 40.45 23.32 5.80 4.16 2.74 1.78 0.63 0.45 0.37 0.37 80.08

หมายเหตุ : 1) ผู้ถือหุ้นสามารถทราบข้ อมูลนักลงทุนในบริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด ได้ ในเว็บไซต์ www.set.or.th ทัง้ นี ้ ผู้ถือหุ้นในบริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด ณ 16 สิงหาคม 2561 มีดงั นี ้ รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. 2.

จานวนหน่วย NVDR

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY STATE STREET EUROPE LIMITED รวม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 1

33,779,637 19,676,561 53,456,198

สัดส่วนการ การถือหน่วย (%) 1.14 0.66 1.80


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

(ข) กลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกาหนดนโยบายการจัดการหรื อการดาเนินงานของบริษัท 1. บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ โดยผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 รายแรก ของบมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ ได้ แก่ รายชื่อผู้ถือหุ้น

จานวน (หุ้น)

สัดส่ วนการถือหุ้น (%)

3. 4. 5. 6.

SINGTEL GLOBAL INVESTMENT PTE LTD 1) THE HONGKONG AND SHANGHAI BANGKING CORPORATION LIMITED บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 2) SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED บริษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด 3) สานักงานประกันสังคม

7. 8. 9.

กองทุนเปิ ด กรุงศรีห้ นุ ระยะยาวปั นผล กองทุนเปิ ด ธนชาตหุ้นปั นผล นายเพิ่มศักดิ์ เก่งมานะ

32,018,900 31,001,700 26,879,500

1.00 0.97 0.84

10.

STATE STREET EUROPE LIMITED

18,453,828

0.58

1. 2.

673,348,264 509,766,840

21.00 15.90

381,063,676 137,520,271 102,130,520 44,200,100

11.88 4.29 3.19 1.38

หมายเหตุ: 1) Singtel Global Investment Pte. Ltd. เป็ นบริ ษัทย่อยทางอ้ อมของ Singapore Telecommunications Ltd. 2) สามารถทราบข้ อมูลนักลงทุนในบริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด ได้ ในเว็บไซต์ www.set.or.th. 3) ข้ อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ สาเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2562 ของบริ ษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด เป็ นบริ ษัท จดทะเบียนในประเทศไทย ถือหุ้นโดยบริ ษัท แอนเดอร์ ตนั ้ อินเวสเม้ นท์ พีทีอี แอลทีดี สัญชาติสิงคโปร์ ในสัดส่วนร้ อยละ 99.99

2. Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. ถือหุ้นในบริ ษัททางตรงร้ อยละ 23.32 โดยผู้ถือหุ้นของ Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. ได้ แก่ รายชื่อผู้ถือหุ้น

สัดส่ วนการถือหุ้น (%)

Singtel Asian Investments Pte. Ltd. *

100.00

* Singtel Asian Investments Pte. Ltd. ถื อ หุ้ นโดย Singapore Telecommunications Limited ในอั ต ราร้ อยละ 100 (ที่ ม า: Accounting and Corporate Regulatory Authority (ARCA), Singapore ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561)

(ค) ข้ อตกลงระหว่างกลุม่ ผู้ถือหุ้นใหญ่ในเรื่ องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรื อการบริ หารงานของ บริ ษัท โดยที่ข้อตกลงดังกล่าวมีบริ ษัทร่วมลงนามด้ วย - ไม่มี นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล เอไอเอสมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลไม่ต่ากว่าร้ อยละ 70 ของกาไรสุทธิตามงบการเงินรวม โดยจะพิจารณาการจ่ายเงิน ปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นปี ละ 2 ครัง้ การจ่ายเงินปั นผลครัง้ แรกจะพิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี แรก และการจ่ายเงินปั นผลครัง้ ที่สองจะพิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี หลัง ซึ่งจานวนเงินปั นผลรวม ประจาปี จะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น สาหรับการจ่ายเงิ นปั น ผลของบริ ษั ทย่อ ยจะพิ จารณาจากผลการดาเนิ นงานของบริ ษั ทย่อย สถานะการเงินและ ปั จจัยสาคัญอื่นๆ ของบริ ษัทย่อยนันๆ ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ทังนี ้ ้ การจ่ายเงินปั นผลในทุกกรณี จะขึ ้นอยู่กบั กระแสเงินสดและแผนการลงทุน รวมถึงความจาเป็ นและ ความ เหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตของบริ ษัทและ/หรื อบริ ษัทย่อย และการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวจะต้ องไม่เกินกาไรสะสมที่ ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัท และ/หรื อ มีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ ต่อการดาเนินงานปกติของ บริ ษัทและบริ ษัทย่อย โดยข้ อมูลการจ่ายเงินปั นผลในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมา มีดงั นี ้จาก รายละเอียด การจ่ายเงินปั นผล (บาท : หุ้น) 1. เงินปั นผลระหว่างกาล 2. เงินปั นผลประจาปี อัตราส่วนการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ

2557

2558

2559

2560

2561

12.00 6.04 5.96 99.01%

12.99 6.50 6.49 98.64%

10.08 5.79 4.29 97.72%

7.08 3.51 3.57 70%

7.08 3.78 3.30 71%

หมายเหตุ: ข้ อมูลในปี 2557-2559 จ่ายตามนโยบายเดิมทื่ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 100 แต่ตงแต่ ั ้ ปี 2560 จ่ายตามนโยบายปันผลใหม่ที่ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 70

ส่วนที่ 2 | หน้ า 3


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

โครงสร้ างการจัดการ คณะกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่ าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน ประธานกรรมการบริหาร นายแอเลน ลิว ยง เคียง

คณะกรรมการตรวจสอบ*

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านกลยุทธ์ องค์ กร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ (รักษาการ)

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านการเงิน นายธีร์ สีอมั พรโรจน์

สายงานปฏิบตั กิ าร ส่วนภูมภิ าค

สายงาน เทคโนโลยี

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านทรั พยากรบุคคล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม

กรรมการผู้อานวยการ นายฮุย เว็ง ชอง

สายงาน โซลูชนส์ ั่

สายงาน บริการลูกค้า

สายงานบริหาร กลุ่มลูกค้าทัวไป ่

*คณะกรรมการบริ ษัทได้มีมติเปลีย่ นชือ่ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับความเสีย่ ง โดยมีผลเมือ่ วันที ่ 1 มกราคม 2562

ส่วนที่ 2 | หน้ า 4

สายงานบริหาร กลุ่มลูกค้าองค์กร

สายงานบริหารธุรกิจ อินเตอร์ความเร็วสูง

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านธุรกิจสัมพันธ์ และองค์ กร นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร

หัวหน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน

นางสุวิมล กุลาเลิศ


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่ อย

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ

-

-

นายสมประสงค์ บุญยะชัย1) นายประสัณห์ เชื ้อพานิช2) นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง1) 2) นายแอเลน ลิว ยง เคียง1)

ประธานกรรมการบริษัท และกรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร

คณะกรรมการชุดย่ อย คณะกรรมการพัฒนาความ เป็ นผู้นาและกาหนด ค่ าตอบแทน ประธานและกรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ -

ประธานและกรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร -

นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 2) นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์ 1) 2) นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์1) นายฮุย เว็ง ชอง1) นายเอนก พนาอภิชน3)

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร -

ประธานและกรรมการอิสระ -

กรรมการอิสระ -

รายชื่อ

นายกานต์ ตระกูลฮุน

หมายเหตุ 1) 2) 3) 4)

คณะกรรมการการพัฒนาสู่ ความยั่งยืน

คณะกรรมการบริหาร

-

-

กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร

ประธานและกรรมการอิสระ -

-

กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร -

ประธานและกรรมการที่ ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหาร

นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายแอเลน ลิว ยง เคียง นางสาวจี น โล เงีย้ บ จง นายเฆราร์ โด ซี . อบลาซา จูเนียร์ นายสมชัย เลิ ศสุทธิ วงค์ และนายฮุย เว็ง ชองเป็ นกรรมการทีม่ ีประสบการณ์ดา้ นกิ จการโทรคมนาคม รายละเอียดปรากฏตามประวัติคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารในเอกสารแนบ 1 นายประสัณห์ เชือ้ พานิช นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั นายเฆราร์ โด ซี อลบาซา จูเนียร์ และนางสาวจี น โล เงีย้ บ จง เป็ นกรรมการทีม่ ีประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน รายละเอียดปรากฎตามหัวข้อประวัติคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารในเอกสารแนบ 1 นายเอนก พนาอภิ ชน ได้รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการบริ หาร เมือ่ วันที ่ 21 มกราคม 2562 แทนนายอนันต์ แก้วร่ วมวงค์ทีข่ อลาออก ผูล้ งทุนสามารถศึกษาคุณสมบัติของกรรมการอิ สระได้ที่ http://advanc-th.listedcompany.com/misc/cg/20171122-advanc-qualification-independent-th.pdf โดยเอไอเอสกาหนดคุณสมบัติของกรรมการอิ สระเข้มข้นกว่าทีส่ านักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกาหนด

ส่วนที่ 2 | หน้ า 5


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลการเข้ าร่ วมประชุมของกรรมการ

รายชื่อ

นายกานต์ ตระกูลฮุน นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายประสัณห์ เชื ้อพานิช นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายฮุย เว็ง ชอง นายเอนก พนาอภิชน1)

คณะกรรมการบริษัท

9/9 9/9 9/9 9/9 8/9 7/9 7/9 9/9 9/9 9/9 -

คณะกรรมการตรวจสอบ

13/13 13/13 13/13 -

จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วมประชุม/จานวนครัง้ ที่จัดประชุม คณะกรรมการสรรหาและ คณะกรรมการพัฒนาความ กากับดูแลกิจการ เป็ นผู้นาและกาหนด ค่ าตอบแทน 5/5 4/5 4/4 4/4 2/5 4/4 --

หมายเหตุ: 1) นายเอนก พนาอภิ ชน ได้รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการบริ หาร เมือ่ วันที ่ 21 มกราคม 2562 แทนนายอนันต์ แก้วร่ วมวงค์ทีข่ อลาออก

ส่วนที่ 2 | หน้ า 6

คณะกรรมการการพัฒนาสู่ ความยั่งยืน

คณะกรรมการบริหาร

4/4 4/4 4/4 -

11/11 9/11 11/11 -


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

กรรมการผู้มีอานาจลงนาม นายสมประสงค์ บุญ ยะชัย นายสมชัย เลิศสุทธิ วงค์ นายฮุย เว็ง ชอง กรรมการสองในสามคนนีล้ งลายมือชื่อร่ วมกัน และ ประทับตราสาคัญของบริ ษัท ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการแต่ ละชุด 1. คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นตัวแทนผู้ถือหุ้นโดยรวมมิใช่เป็ นตัวแทนผู้ถือหุ้นกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ และกาหนดนโยบายให้ มีสดั ส่วนกรรมการ อย่างยุติธรรมตามเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นซึง่ มีอานาจควบคุม (Controlling shareholders) โดยมีขอบเขตหน้ าที่ดงั นี ้ (1) ต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความซื่อสัตย์ สุจริ ต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท (2) กาหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดาเนินงานของบริ ษัท และกากับดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดาเนินการให้ เ ป็ นไปตามนโยบายที่ กาหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้ แก่บริ ษัทและผู้ถือหุ้น (3) พิจารณาอนุมตั ิรายการที่สาคัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่ การซื ้อขายทรัพย์สนิ ฯลฯ และการดาเนินการใดๆ ที่กฎหมาย กาหนด (4) พิจารณาอนุมตั ิและ/หรื อให้ ความเห็นชอบต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยให้ เป็ นไปตามประกาศ ข้ อกาหนด และ แนวทางปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องของหน่วยงานที่กากับดูแล (5) ประเมินผลงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูงอย่างสม่าเสมอ และกาหนดค่าตอบแทน (6) รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร ด้ วยความตังใจและความระมั ้ ดระวังในการปฏิบตั ิงาน (7) ดาเนินการให้ ฝ่ายบริ หารจัดให้ มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทังดู ้ แลให้ มีกระบวนการใน การประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริ หารจัดการ ความเสีย่ ง การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล (8) ดูแลไม่ให้ เกิดปั ญหาความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีสว่ นได้ เสียของบริ ษัท (9) กากับดูแลกิจการให้ มีการปฏิบตั ิงานอย่างมีจริ ยธรรม (10) ทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท และประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ (11) รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผู้สอบบัญชีไว้ ในรายงานประจาปี และครอบคลุมในเรื่ องสาคัญ ๆ ตามนโยบายเรื่ องข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดีสาหรับกรรมการบริ ษั ทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย การสงวนสิทธิเรื่องที่เป็ นอานาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทสงวนสิทธิเรื่ องที่มีความสาคัญไว้ เป็ นอานาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อรักษาประโยชน์สงู สุดต่อเอ ไอเอสและผู้ถือหุ้น อาทิ - กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณประจาปี - ค่าใช้ จ่ายฝ่ ายทุน และค่าใช้ จ่ายที่เกินกว่าวงเงินที่คณะกรรมการชุดย่อย หรื อผู้บริ หารได้ รับมอบหมายให้ อนุมตั ิได้ - การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการขายเงินลงทุน - นโยบายที่สาคัญ - การตกลงเข้ าทาสัญญาที่สาคัญ - การฟ้องร้ อง และดาเนินคดีที่สาคัญ - นโยบายการจ่ายเงินปั นผล ส่วนที่ 2 | หน้ า 7


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การแบ่ งแยกบทบาทหน้ าที่ระหว่ างคณะกรรมการบริษัทและฝ่ ายบริหาร คณะกรรมการบริ ษัทมีหน้ าที่กากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์และข้ อบังคับของบริ ษัท มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และนโยบายการกากับดูแลกิจการของเอไอเอส ทังนี ้ ้ ในการกากับดูแล กรรมการจะต้ องใช้ ดุล ยพินิจในการ ตัดสินในทางธุรกิจ และปฏิบตั ิในสิ่งที่ตนเองเชื่ออย่างมีเหตุผลว่าจะเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อ เอไอเอสและผู้ถือหุ้น ขณะที่ฝ่ายบริ หารมี หน้ าที่รับผิดชอบในการนากลยุทธ์ วัตถุประสงค์ของเอไอเอสไปปฏิบตั ิให้ ประสบความสาเร็ จ ตลอดจนบริ หารจัดการงานประจาวันและ ธุรกิจขององค์กร ทังนี ้ ้ ประธานกรรมการเป็ นกรรมการอิสระ และไม่มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัท การแบ่ งแยกตาแหน่ งประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ประธานกรรมการบริ ษั ท และประธานเจ้ า หน้ าที่ บ ริ ห าร เป็ นผู้ที่ มีค วามรู้ ความสามารถ มี ป ระสบการณ์ และคุณ สมบัติ ที่ เหมาะสม โดยต้ องไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้ มีการถ่วงดุลอานาจที่เหมาะสม บทบาทและหน้ าที่ของประธานกรรมการบริษัท  

 

 

บทบาทหน้ าที่ของประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร

เป็ นผู้นาของคณะกรรมการบริ ษัท ทาหน้ าที่เป็ นประธานการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท การ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และการประชุ ม ของกรรมการที่ ไม่ เป็ น ผู้บริ หาร ร่ วมกั บ ประธานเจ้ าหน้ าที่ บ ริ ห ารและเลขานุ ก ารบริ ษั ท กาหนดวาระการประชุมของคณะกรรมการบริ ษัท สนัน สนุ น ให้ ค ณะกรรมการมี ส่ว นร่ วมในการส่งเสริ ม ให้ เกิดวัฒธรรมองค์กรที่มีจริ ยธรรม และการกากับดูแลกิจการ ที่ดี สนันสนุนให้ กรรมการได้ อภิ ปรายและแสดงความเห็ นใน ประเด็นต่างๆ ระหว่างการประชุม เป็ นผู้ประสานระหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายบริ หาร เพื่อ เสริ มสร้ างความสัมพันธ์อนั ดี

  

ก าหนดและจัดท าวิ สัย ทัศน์ พัน ธกิ จ กลยุทธ์ แผนธุ รกิ จ งบประมาณและตัวชี ้วัดผลการดาเนินงานประจาปี เสนอให้ คณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาอนุมัติ ตลอดจนติ ด ตาม ความคืบหน้ าเปรี ยบเทียบกับงบประมาณและแผนงานและ รายงานให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบความก้ าวหน้ าเป็ น ประจา บริ หารและควบคุมธุรกิจของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ แผนธุรกิจของบริ ษัท แสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ซึ่งสอดคล้ องกับวิสยั ทัศน์ และทิศทางกลยุทธ์ของบริ ษัท เสริ มสร้ างศักยภาพและรักษาทีมผู้บริ หารที่มีความสามารถ ในการปฏิบตั ิงานให้ เป็ นไปตามกลยุท ธ์ และเป้าหมายของ บริ ษัทอย่างมีประสิทธิผล ตลอดจนระบุและสรรหาบุคคลที่ มี ค วามสามารถ เพื่ อ ให้ การสื บ ทอดต าแหน่ ง ผู้ บริ ห าร ระดับสูงเป็ นไปอย่างมีประสิทธิผล ท าหน้ าที่ เป็ นผู้ ประสานงานระหว่ า งฝ่ ายบริ ห ารและ คณะกรรมการบริ ษัท

2. คณะกรรมการตรวจสอบ (1) สอบทานให้ บริ ษัทมีรายงานทางการเงินถูกต้ องตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กฎหมาย กาหนด และมีการเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ (2) สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิ ผล และ พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ าย เลิกจ้ าง และการพิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน ความดีความชอบของหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

(3) สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท (4) พิจารณาผลการปฏิบตั ิงานของผู้สอบบัญชี และ ให้ ข้อเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อเสนอขออนุมตั กิ ารแต่งตัง้ เลือกกลับมาใหม่ เลิกจ้ างและ กาหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีของบริ ษัทจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น (5) ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่วมประชุมด้ วยอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ (6) พิจารณานโยบายของบริ ษัทเกี่ยวกับการใช้ บริ การอื่นที่มิใช่การสอบบัญชีจากสานักงานสอบบัญชีเดียวกัน (7) พิจารณารายการที่เกี่ ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และข้ อกาหนดของ หน่วยงานกากับดูแล ทังนี ้ ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัท (8) สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบบริ หารความเสีย่ ง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล (9) สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนงานตรวจสอบภายในประจาปี การปฏิบัติงานของหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี (10) สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบัติตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล และ พิจารณาข้ อร้ องเรี ยนรวมถึงพิจารณาผลการสอบสวนของบริ ษัททุกไตรมาส รวมทังเป็ ้ นช่องทางหนึ่งของบริ ษัทในการรับแจ้ งข้ อ ร้ องเรี ยนตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล (11) กากับดูแลนโยบายและมาตรการต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ เพื่อให้ มนั่ ใจว่า บริ ษัทได้ ปฏิบตั ิตามภาระหน้ าที่ตาม กฎหมายและจริ ยธรรมที่กาหนดไว้ (12) จัด ให้ มี ก ารสอบทานคุ ณ ภาพของระบบการตรวจสอบภายในโดยผู้ป ระเมิ น อิ ส ระจากภายนอกองค์ ก รอย่ า งน้ อ ยทุก 5 ปี (Independent Quality Assessment Review) (13) จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ด เผยไว้ ในรายงานประจาปี ของบริ ษั ท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้ องลงนามโดย ประธานกรรมการตรวจสอบ และต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี ้

ก. ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัท ข. ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท ค. ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท ง. ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี จ. ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ฉ. จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ* และ การเข้ าร่ วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ช. ความเห็นหรื อข้ อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ รับจากการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามกฎบัตร (charter) ซ. รายการอื่ น ที่ เห็ น ว่ าผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ ล งทุ น ทั่ วไปควรทราบภายใต้ ข อบเขตหน้ าที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท (14) ดาเนินการตรวจสอบข้ อเท็จจริ งตามที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จดั การ หรื อ บุคคล ซึง่ รับผิดชอบในการดาเนินงานของบริ ษัทได้ กระทาความผิดตามที่กฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาหนด และให้ คณะกรรมการตรวจสอบ* รายงานผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นให้ แก่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี

ส่วนที่ 2 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

(15) รายงานผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และ เสนอข้ อเสนอแนะที่จาเป็ นให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบอย่างน้ อยปี ละ 4 ครัง้ โดยในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรื อมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรื อการกระทาดังต่อไปนี ้ ซึ่งอาจมี ผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัท ให้ คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่อคณะกรรมการ ของบริ ษัทเพื่อดาเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร ก. รายการที่เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ข. การทุจริ ตหรื อมีสงิ่ ผิดปกติหรื อมีความบกพร่องที่สาคัญในระบบควบคุมภายใน ค. การฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง กับธุรกิจ หากคณะกรรมการของบริ ษัทหรื อผู้บริ หารไม่ดาเนินการให้ มีการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบ* รายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรื อการกระทานันต่ ้ อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (16) ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขตอานาจหน้ าที่ให้ คณะกรรมการตรวจสอบ มีอานาจเชิญให้ ฝ่ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อพนักงานของ บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องมาให้ ความเห็น ร่วมประชุม หรื อส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้ องจาเป็ น (17) ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขต อานาจ หน้ าที่ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบ มีอานาจว่าจ้ างที่ปรึ กษา หรื อเชิญบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ เพื่อให้ ความเห็น หรื อคาแนะนา เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานตามความจาเป็ น (18) พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบ* ด้ วยตนเองทังในภาพรวมเป็ ้ นรายคณะและรายบุคคลเป็ นประจา ทุกปี (19) พิจารณาสอบทานของกฎบัตรนี ้เป็ นประจาทุกปี และเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณาอนุมตั ิเปลี่ยนแปลงหากมีความ จาเป็ น (20) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย ด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่ าตอบแทน (1) กาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสม ทังที ้ ่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ของกรรมการ กรรมการชุดย่อย และผู้บริ หารระดับสูง ของบริ ษัทในแต่ละปี เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทโดยรวม (2) จัดทาหลักเกณฑ์และนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทและผู้บริ หารระดับสูง เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการ บริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิและ/หรื อนาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมตั ิตามแต่กรณี (3) พิจารณาสอบทานและอนุมตั ิผลการดาเนินงานของบริ ษัท เพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาอนุมตั ิจ่ายเงินโบนัสประจาปี ตามผลตัวชี ้วัด การปฏิบตั ิงานและพิจารณาปรับเพิ่มเงินเดือนประจาปี (4) พิจารณาและอนุมตั ิโครงการค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) รวมถึงแนวทางปฎิบตั ิตา่ งๆที่เกี่ยวข้ อง (5) พิจารณาและอนุมตั ิผลการประเมินการปฏิบตั ิงานเพื่อกาหนดเงินโบนัส ประจาปี การปรับขึ ้นเงินเดือนประจาปี และค่าตอบแทน ระยะยาว (Long Term Incentive Plan) ให้ แก่ประธานเจ้ าหน้ าที่บ ริ หารของบริ ษั ท รวมทัง้ ผู้บ ริ ห ารระดับ สูงซึ่งรายงานตรงต่อ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว (6) พิจารณาและอนุมตั ิการจ่ายเงินโบนัสประจาปี ให้ กบั กรรมการของบริ ษัท (7) รายงานนโยบายด้ านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผล และวัตถุประสงค์ของนโยบายเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี (8) ร่ วมกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท ประเมินและกาหนดผู้สืบทอดตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท รวมทัง้ ผู้บริ หารระดับสูงซึง่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว และรายงานแผนการสืบทอดตาแหน่งของผู้บริ หารระดับสูงให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกปี ส่วนที่ 2 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

(9) ร่วมกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัทจัดทานโยบายแผนการสืบทอดตาแหน่งสาหรับตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของ บริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงซึง่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว (10) ทาหน้ าที่ดแู ลกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูง (11) ว่าจ้ างที่ปรึ กษาหรื อบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ เพื่อให้ ความเห็นหรื อคาแนะนาตามความจาเป็ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้ านการ พัฒนาความเป็ นผู้นา (12) คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทและมีหน้ าที่ให้ คาชี แ้ จงตอบคาถาม ใดๆ เกี่ยวกับค่าตอบแทนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น (13) พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณาอนุมตั ิเปลีย่ นแปลง (14) รายงานผลการปฏิบตั ิงานที่สาคัญให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ น ประจา รวมทังประเด็ ้ นสาคัญต่างๆ ที่คณะกรรมการบริ ษัท ควรได้ รับทราบ (15) มีอานาจเชิญฝ่ ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลใดที่เกี่ยวข้ องของบริ ษัทมาให้ ความเห็น เข้ าร่วมประชุม หรื อให้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้ อง (16) ดาเนินการอื่นๆ ใดหรื อตามอานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายหน้ าที่ให้ เป็ นคราวๆ ไป คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ (1) กาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริ ษัท (2) กากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท พิจารณาทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท ทุกๆ ปี รวมทังเสนอปรั ้ บปรุงแก้ ไขนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทให้ คณะกรรมการพิจารณา (3) พิ จ ารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุด ย่อ ย โดยพิ จ ารณาบุค คลที่ เหมาะสมที่ จ ะมาด ารงต าแหน่ งกรรมการ เพื่ อ เสนอ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ และ/หรื อเสนอขออนุมตั ิตอ่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น แล้ วแต่กรณี (4) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน (1) พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมายการดาเนินงาน และงบประมาณที่เพียงพอ ตลอดจนการใดๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาสูค่ วาม ยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ (2) เสนอประเด็นสาคัญที่มีผลกระทบต่อบริ ษัท อันเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณา (3) สอบทานผลการปฏิบตั ิงานตามนโยบายและกลยุทธ์ด้านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อให้ เป็ นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ (4) ให้ คาปรึกษาและสนับสนุนประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารอันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบตั ิงานด้ านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน (5) รายงานผลการดาเนินงานด้ านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืนต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท (6) สอบทานและให้ ความเห็นชอบต่อรายงานการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ (7) การปฏิบตั ิอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย คณะกรรมการบริหาร (1) กาหนดทิศทางกลยุทธ์ โครงสร้ างการบริ หารงาน แผนธุรกิจ และงบประมาณประจาปี ของบริ ษัท เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัท อนุมตั ิ (2) บริ หารการดาเนินธุรกิจใดๆ ของบริ ษัทให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้ วางไว้ (3) กากับและติดตามผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของบริ ษัท และรายงานผลการดาเนินงานและฐานะการเงินให้ แก่กรรมการ บริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกเดือน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

(4) แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ (5) พิจารณาและให้ ความเห็นแก่คณะกรรมการบริ ษัทเกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษัท (6) พิจารณาสอบทานและอนุมตั ิรายการเกี่ยวกับการลงทุนและจาหน่ายทรัพย์สิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การเงินและการบริ หารเงิน การบริ หารงานทัว่ ไป และรายการอื่นใดที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษัท ภายในขอบเขตอานาจที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท (7) พิจารณาและให้ ความเห็นต่อเรื่ องที่ต้องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ยกเว้ นในกิจกรรมใดๆ ซึ่งคณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการชุดย่อยอื่นเป็ นผู้ดาเนินการไว้ แล้ ว (8) คณะกรรมการบริ หารอาจมอบอานาจช่วงให้ ผ้ บู ริ หารหรื อบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอานาจในการดาเนินการในเรื่ องใด เรื่ องหนึ่งหรื อ หลายเรื่ องตามที่คณะกรรมการบริ หารพิจารณาเห็นสมควรได้ การอนุมตั ิรายการของคณะกรรมการบริ หารและ/หรื อการมอบอานาจ ช่วงต้ องไม่เป็ นการอนุมตั ิรายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ หรื อรายการที่คณะกรรมการ บริ หารมีส่วนได้ เสียตามที่กาหนดในข้ อบังคับของบริ ษัท และตามที่กาหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัทและหน่วยงานกากับดูแล ที่ เกี่ยวข้ อง (9) ว่าจ้ างที่ปรึกษาหรื อบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ เพื่อให้ ความเห็นหรื อคาแนะนาตามความจาเป็ น (10) มีอานาจเชิญฝ่ ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลใดที่เกี่ยวข้ องของบริ ษัทมาให้ ความเห็น เข้ าร่วมประชุม หรื อให้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้ องตามที่ จาเป็ น (11) รายงานผลการปฏิบตั ิงานที่สาคัญของคณะกรรมการบริ หารให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกไตรมาส ในวาระการ รายงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร (12) ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรเป็ นประจาทุกปี ซึ่งอาจทาพร้ อมกับการประเมินผลการ ปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยอื่น โดยอยู่ภายใต้ การดูแลของคณะกรรมการสรรหาและกากับดูแล กิจการ (13) ดาเนินการอื่นๆ ใด หรื อตามอานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายหน้ าที่ให้ เป็ นคราวๆ ไป ผู้บริหาร นอกจากคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุด ย่อ ยแล้ ว เอไอเอสก าหนดให้ มี ผ้ ูบ ริ ห ารระดับ สูงเพื่ อ สนับ สนุน การ ปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ ดังรายชื่อต่อไปนี ้ (1) นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และ รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกลยุทธ์องค์กร (2) นายฮุย เว็ง ชอง กรรมการผู้อานวยการ (3) นายธีร์ สีอมั พรโรจน์ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน (4) นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร (5) นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล หมายเหตุ : นายธีร์ สีอมั พรโรจน์ ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561 แทนนางสาวสุนิธยา ชินวัตร ซึง่ ขอเกษียณอายุ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง 1. การสรรหากรรมการ กระบวนการสรรหา ปั จจัยนาเข้ าเพื่อพิจารณา  ทักษะและคุณสมบัติของกรรมการชุด ปั จจุบนั  ทิศทางการดาเนินธุรกิจ  องค์ประกอบของความเป็ นอิสระ  ความหลากหลาย ในเรื่องเพศ อายุ และ ประสบการณ์

คณะกรรมการบริษัทพิจารณา เสนอรายชื่อต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น

    

ประวัติการกระทาผิดทางกฎหมาย การเสนอแนะจากกรรมการบริษัท การเสนอชื่อบุคคลโดยผู้ถือหุ้น บริษัทที่ปรึกษาภายนอก ฐานข้ อมูลกรรมการของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย *โดยคณ ะกรรมการสรรหาและก ากั บ ดู แ ล กิจการเป็ นผู้พิจารณาในเบือ้ งต้ นก่อนนาเสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณา

ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมตั ิ

ผลลัพธ์ รายชื่อบุคคล ดารงตาแหน่ง คณะกรรมการ บริ ษัท

สาหรับการพิจารณาต่อวาระกรรมการ จะพิจารณาถึง ผลการปฏิบตั ิงาน ประวัติการเข้ าร่วมและการมีสว่ นร่วมในการประชุม และการ สนับสนุนในกิจกรรมของคณะกรรมการ ฯลฯ กรณีที่เป็ นกรรมการอิสระ จะพิจารณาถึงความเป็ นอิสระด้ วย วิธีการเลือกตังกรรมการในการประชุ ้ มผู้ถือหุ้น เป็ นดังนี ้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับจานวนหุ้นที่ถือ คือ หนึง่ หุ้นเท่ากับหนึง่ เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงที่มีอยูท่ งหมดตาม ั้ (1) เลือกตังบุ ้ คคลคนเดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ ในกรณีที่เลือกตัง้ บุคคลหลายคนเป็ นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมา เป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึง เลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บคุ คลซึง่ ได้ รับการเลือกตังในล ้ าดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อพึง จะเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ให้ ผ้ เู ป็ นประธานเป็ นผู้ออกเสียงชี ้ขาด กรณีที่ตาแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากสาเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตาแหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการพิจารณา แต่งตังบุ ้ คคลซึง่ มีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายเข้ าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ เว้ นแต่วาระของ กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งเหลือน้ อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการแทนจะอยู่ในตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยั ง เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน ทังนี ้ ้ มติการแต่งตังบุ ้ คคลเข้ าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวต้ องได้ รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ จานวนกรรมการที่ยงั เหลืออยู่

ส่วนที่ 2 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ทังนี ้ ้ เอไอเอสเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีสว่ นร่วมในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการได้ ล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนวันสิ ้นสุดรอบปี บญ ั ชี โดยแจ้ งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของเอไอเอส โดยในปี 2561 ไม่มีผ้ ถู ือหุ้นรายใดเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณา การสรรหาประธานเจ้ าหน้ าที่บริหารและผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการพัฒ นาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้พิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมทังจากภายในและ ้ ภายนอกองค์กร รวมถึงจัดทาแผนการสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan) โดยมีหลักในการพิจาณาจากผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและ ภายนอกองค์กร และอาจพิจารณาว่าจ้ างที่ปรึกษาอิสระเพื่อเข้ ามาช่วยในการสรรหาดังกล่าว แผนสืบทอดตาแหน่งผู้บริ หารระดับสูง (Succession Plan) รองรับผู้บริ หารตังแต่ ้ ระดับหัวหน้ าแผนกงานขึ ้นไป โดยมีการระบุ ผู้ที่จะทาหน้ าที่แทน พร้ อมทัง้ จัดให้ มี กระบวนการพัฒ นาบุคลากรในลาดับรองลงมาเพื่อเตรี ยมความพร้ อมสาหรับการขึ ้นไปดารง ตาแหน่งดังกล่าวด้ วย วาระการดารงตาแหน่ ง 1. วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการบริษัท (1) ตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และข้ อบังคับบริ ษัท กาหนดให้ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี ทกุ ครัง้ ให้ กรรมการออกจากตาแหน่ง 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทังหมด ้ ถ้ าจานวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ ตรงสามส่วนไม่พอดี ให้ ออก จานวนใกล้ เคียงที่สดุ กับส่วน 1 ใน 3 โดยกรรมการคนที่อยู่ในตาแหน่งนานที่สดุ เป็ นผู้ออกจากตาแหน่งและกรรมการที่ออกจาก ตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับเลือกเข้ ามาดารงตาแหน่งใหม่อีกได้ (2) กรณีทีตาแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากสาเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตาแหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการพิจารณาแต่งตัง้ บุคคลซึ่งมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมาย มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 เข้ าเป็ น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการแทนจะอยู่ในตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ ของกรรมการที่ตนแทน 2. วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการตรวจสอบ (1) คราวละไม่เกิ น 3 ปี กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งตามวาระมีสิทธิ ได้ รับเลือกกลับเข้ ามาใหม่ได้ ทัง้ นี ้ สาหรับผู้ที่ได้ ดารงตาแหน่ง มาแล้ วเป็ นระยะเวลา 9 ปี หรื อ 3 วาระติดต่อกัน คณะกรรมการบริ ษัทจะทบทวนความเป็ นอิสระของกรรมการท่านนันเป็ ้ นประจา ทุกปี (2) กรรมการที่ประสงค์จะลาออกก่อนครบวาระต้ องยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการบริ ษัท โดยจะมีผลตังแต่ ้ วนั ที่ใบลาออก มาถึงที่บริ ษัท ทังนี ้ ้ การพิจารณาแต่งตังกรรมการอื ้ ่นที่มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนทดแทนกรรมการที่ลาออก กาหนดให้ ดารงตาแหน่งเท่า วาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่มาปฏิบตั ิหน้ าที่แทน และคณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องแต่งตัง้ กรรมการตรวจสอบให้ ครบถ้ วน ภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่กรรมการตรวจสอบคนนันลาออก ้ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบพ้ นจากตาแหน่งทังคณะเพราะเหตุ ้ อื่นนอกจากขาดคุณสมบัติ หรื อมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมาย ให้ คณะกรรมการตรวจสอบที่พ้นจากตาแหน่งยังคงต้ องอยู่รักษาการในตาแหน่งเพียงเท่าที่จาเป็ นจนกว่าคณะกรรมการตรวจสอบ ชุดใหม่จะเข้ ารับหน้ าที่ 3. วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการชุดย่ อยอื่นๆ (1) ให้ ก รรม ก า รชุ ด ย่ อ ย อื่ น ๆ มี ว าระ อ ยู่ ใน ต า แ ห น่ งต า ม วา ระก ารด ารงต า แ ห น่ งข อ งก รรม ก า ร แ ล ะ ก รรม ก า ร ชุดย่อยอื่นๆ ซึง่ พ้ นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ อีกได้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 14


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

(2) นอกจากการพ้ นจากตาแหน่งตาม (1) กรรมการชุดย่อยอื่นๆ พ้ นจากตาแหน่งเมื่อ - ตาย - ลาออก - ขาดคุณสมบัติการเป็ นกรรมการชุดย่อย - คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง หลักเกณฑ์ ในการพิจารณาจัดสรรค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร เอไอเอสมีนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนให้ กรรมการ โดยสอดคล้ องกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และเมื่อ เทียบกับบริ ษัทใน อุตสาหกรรมเดียวกันและบริ ษัทที่มีขนาดใกล้ เคียงกันแล้ ว ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอที่จะจูงใจและรักษา กรรมการที่มีคณ ุ ภาพไว้ และจะคานึงถึงความเป็ นธรรมและเหมาะสมสาหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร โดยสอดคล้ อง กับผลการดาเนินงานของบริ ษัทและผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการและผู้บริ หารแต่ละท่าน คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน เป็ นผู้พิจารณากาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสมทังที ้ ่เป็ น ตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ให้ แก่ กรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมถึงผู้บริ หารระดับสูงที่มีหน้ าที่รายงานตรง ต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร โดยในการพิจารณานอกจากนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนที่กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว จะมีการนาผลสารวจ ค่าตอบแทนกรรมการที่จัดทาโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทยมาประกอบการ พิจารณา ทังนี ้ ้ สาหรับค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนจะนาเข้ า เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อขอมติเห็นชอบ และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมตั ิเป็ นประจาทุกปี ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงินสาหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารจานวน 7 ราย รวมจานวนเงิน 29.66 ล้ านบาท โดยจ่ายจากผลการดาเนินงานประจาปี 2561 และมีการพิจารณาจัดสรรตามนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนและกรอบ วงเงิน 36 ล้ านบาท ซึ่งได้ รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจาปี 2561 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 ทังนี ้ ้ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทน ดังกล่าว บริ ษัทใช้ หลักเกณฑ์ เดิมตังแต่ ้ ปี 2558 และค่าตอบแทนที่จดั สรรอยู่ภายในกรอบของวงเงิน อันประกอบด้ วย ค่าตอบแทนราย เดือน ค่าเบี ้ยประชุมและโบนัส

ส่วนที่ 2 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

นโยบายการจ่ ายตอบแทนคณะกรรมการประจาปี 2561 กรรมการ คณะกรรมการ  ประธานกรรมการบริ ษัท  กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ3)/คณะกรรมการบริหาร  ประธานกรรมการ  กรรมการ คณะกรรมการชุดย่ อยอื่นๆ  ประธานกรรมการ  กรรมการ

ค่ าตอบแทนในรูปตัวเงิน (บาท) ค่ าตอบแทนรายเดือน

ค่ าเบีย้ ประชุม

โบนัส

300,000

x

75,000

25,000

25,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

หมายเหตุ : 1) กรรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริ หาร / พนักงานของบริ ษัท หรื อของบริ ษัทผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ ไม่มีสิทธิ ได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ หรื อกรรมการชุดย่อย 2) ประธานกรรมการไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน หรื อเบีย้ ประชุม ในฐานะประธานในคณะกรรมการชุดย่อย 3) คณะกรรมการบริ ษัทได้มีมติเปลีย่ นชือ่ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับความเสีย่ ง โดยมีผลเมือ่ วันที ่ 1 มกราคม 2562

ส่วนที่ 2 | หน้ า 16

2561


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ค่ าตอบแทนกรรมการบริษัทเป็ นรายบุคคลที่ได้ รับในฐานะกรรมการบริษัทจานวน 7 ราย ในปี 2561 มีดังนี ้ ชื่อ - นามสกุล นายกานต์ ตระกูลฮุน

ตาแหน่ ง

- กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการพัฒนา ความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน นายสมประสงค์ บุณยะชัย - รองประธานกรรมการ - กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร - กรรมการพัฒนาความเป็ น ผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการสรรหาและกากับ ดูแลกิจการ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ - กรรมการตรวจสอบ นายประสัณห์ เชื ้อพานิช - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการการพัฒนา สูค่ วามยัง่ ยืน - กรรมการตรวจสอบ นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์ - กรรมการอิสระ - กรรมการการพัฒนาสูค่ วาม ยัง่ ยืน - กรรมการบริหาร 2) นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ รวม1)

ค่ าตอบแทนราย เดือน (บาท) 3,600,000

ค่ าเบีย้ ประชุม (บาท) -

โบนัส (บาท) 3,150,000

ค่ าตอบแทน อื่นๆ -

900,000

325,000

2,253,600

-

1,200,000

600,000

3,150,000

-

1,020,000

650,000

2,289,000

-

1,013,333

650,000

2,289,000

-

900,000

550,000

2,253,600

-

765,000 9,398,333

175,000 2,950,000

1,935,224 17,320,424

-

หมายเหตุ 1) ค่าตอบแทนกรรมการที่ปรากฎตามตารางข้ างต้ นเป็ นรายการที่เกิดขึ ้นในปี 2561 รวมถึงโบนัสจากผลปฏิบตั ิงานระหว่างปี 2561 ที่จ่ายในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 2) นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ ขอลาออกจากตาแหน่งกรรมการของบริ ษัท มีผลวันที่ 6 พฤศจิกายน 2561

ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ปรัชญาในการจ่ายค่าตอบแทนของบริ ษัท มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ ตอบแทนความสาเร็ จในการดาเนินงานตามกลยุทธ์ของบริ ษัท และตอบแทนผลงานที่ผ้ บู ริ หารได้ สร้ างให้ กบั บริ ษัท และตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการพัฒนาความเป็ น ผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนได้ ทาการทบทวนและอนุมัติน โยบายค่าตอบแทนผู้บริ หารเป็ นประจาทุกปี โดยการก าหนดระบบบริ หาร ค่าตอบแทนจะพิจารณาถึงด้ านต่างๆ ดังนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 17


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การบริหารค่ าตอบแทน โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน  ค่าตอบแทนของผู้บริ หาร จะแปรผันตรงกับการบรรลุผลสาเร็ จของเป้าหมายตามกลยุทธ์ ของบริ ษัท  การประเมินผลการปฏิบตั ิงานจะอยูบ ่ นพื ้นฐานของตัวชี ้วัดความสาเร็ จในการดาเนินงาน ทังตั ้ วชี ้วัดทางด้ านการเงินและ ด้ านอื่นๆ การบริหารค่ าตอบแทน ให้ สอดคล้ องกับความคาดหวังของผู้ถอื หุ้น  การคัดเลือกระบบการวัดผลการปฏิบต ั ิงานที่เหมาะสมกับแผนการดาเนินงานของบริ ษัททังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ เพื่อให้ สอดคล้ องกับกลยุทธ์ของบริ ษัท และการสร้ างมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่องให้ กบั ผู้ถือหุ้น  การทาให้ เกิ ด ความมัน ่ ใจว่าตัวชีว้ ดั ความสาเร็ จที่ตงขึ ั ้ ้น มีความเหมาะสมกับขีดความสามารถในการดาเนินงานของ บริ ษัท เป้าหมายของบริ ษัท และระดับผลการปฏิบตั ิงานที่มากขึ ้น การบริหารค่ าตอบแทน ให้ สามารถแข่ งขันได้  การบริ หารค่าตอบแทนให้ สามารถแข่งขันได้ ในกลุ่มธุรกิ จที่เกี่ ยวข้ อง เพื่อทาให้ เกิ ดความมัน ่ ใจว่าบริ ษัทสามารถที่จะ ดึงดูด และรักษาพนักงานที่ดี มีฝีมือ ให้ มาทางาน และอยูส่ ร้ างผลงานให้ กบั บริ ษัทอย่างต่อเนื่อง  การเชื่ อมโยงสัด ส่ว นระหว่างค่าตอบแทนและผลการปฏิ บัติ งานอย่างมี นัยสาคัญ สาหรั บทัง้ ผลตอบแทนรายปี และ ผลตอบแทนระยะยาว โครงสร้ างการจ่ ายค่ าตอบแทนของบริษัท ค่าตอบแทนซึง่ จ่ายให้ กบั ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หาร โดยผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทจะประกอบด้ วย องค์ประกอบ ดังนี ้ ค่าตอบแทนและผลประโยชน์แบบคงที่

ค่าตอบแทนตามผลปฏิบตั ิงาน +

เงินเดือน

ผลประโยชน์

โบนัสตามผลงาน

ค่าตอบแทนระยะยาว

ค่ าตอบแทนและผลประโยชน์ แบบคงที่ เงินเดือน ระดับของค่าตอบแทนที่ได้ รับ เป็ นไปตามหน้ าที่ ความรับผิดชอบตามตาแหน่งงาน ประสบการณ์และทักษะความชานาญเฉพาะตัว บุคคล ซึ่งทาการจ่ายเป็ นเงินสดเข้ าบัญชีทกุ เดือน โดยจะมีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี จากการพิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน และอัตรา การขึ ้นเงินเดือนในตลาดแรงงาน ผลประโยชน์ อ่ ืน และผลประโยชน์ พิเศษ วัตถุประสงค์ ห ลักของการให้ ผลประโยชน์ อื่น และผลประโยชน์ พิ เศษ คื อการสร้ างความมั่น คงปลอดภัยให้ กับ พนัก งาน และ ช่วยเหลือในกรณีพนักงานสูงอายุ ประสพปั ญหาด้ านสุขภาพ ทุพพลภาพ หรื อเสียชีวิต โดยกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ แผนประกันสุขภาพ และสวัสดิการต่างๆ สอดคล้ องกับแนวปฏิบตั ิในตลาดแรงงาน และตามที่กฎหมายกาหนด ค่ าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน โบนัสตามผลงาน  เป็ นรางวัลตอบแทนที่แปรผันตามความสาเร็ จของผลงานในระยะสัน้ เมื่อเทียบกับแผนงานประจาปี ที่ได้ กาหนดไว้ โดยเทียบเคียง กับค่าตอบแทนในตลาดแรงงานในธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง เงินโบนัสตามผลงานนี ้จะผูกกับดัชนีชี ้วัดความสาเร็ จ (KPI) ประจาปี ซึ่งเป็ น ผลรวมจากตัววัดผลที่หลากหลาย และมีการถ่วงน ้าหนักตามความสาคัญของแต่ละปั จจัย โดยเป็ นการตัดสินผลการปฏิบตั ิงาน โดยรวมของบริ ษัท และของพนักงานรายบุคคล ส่วนที่ 2 | หน้ า 18


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ค่ าตอบแทนระยะยาว (Long Term Value Sharing Compensation) 

ค่าตอบแทนระยะยาว เป็ นรู ปแบบค่าตอบแทนที่สง่ เสริ มการสร้ างการเติบโตของธุรกิจอย่างยัง่ ยืนและสร้ างมูลค่าแก่ผ้ ถู ือหุ้น รวมถึง เป็ น การรั กษาต าแหน่งผู้บ ริ หารที่ สาคัญ โดยเน้ น ให้ เกิ ด ผลประกอบการที่ ดี ของบริ ษั ท และมีก ารตัด สิน ใจทางธุ รกิ จที่ คานึงถึ ง ผลประโยชน์ตอ่ ผู้ถือหุ้น การให้ ผลตอบแทนจะพิจารณาจากมูลค่าทางเศรษฐกิจของบริ ษัท (Economic Profit) มูลค่าผลตอบแทนต่อผู้ ถื อ หุ้น ทัง้ ในเชิ งมูลค่ า รวม (Absolute total shareholder return) และมูลค่ า ในเชิ ง เปรี ย บเที ย บ (Relative total shareholder return) การ คานวณผลตอบแทนจะพิจารณาจากผลการดาเนินงานในกรอบเวลา 3 ปี และทยอยจ่ายผลตอบแทนออกไปอีก 3 ปี ทังนี ้ ้ การจ่าย ผลตอบแทนอาจมีการเรี ยกคืนหรื องดจ่าย (Clawback policy) ในกรณีที่มีการกระทาผิดทางวินยั การลาออกหรื อการเลิกจ้ าง

การจ่ ายค่ าตอบแทนของบริษัท CEO

ผู้บริหาร

พนักงานทุกคน

รูปแบบการจ่าย

จุดประสงค์และการเชื่อมโยงกับหลักการ ค่าตอบแทน จูงใจและรักษาพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถ และตอบแทนการปฏิบตั ิงาน ตามหน้ าที่ และความรับผิดชอบตาม ตาแหน่งงาน

เงินสด แก่ พนักงานทุกคน

เงินโบนัสตามผลงาน (Performance Bonus)

กองทุนสารอง เลี ้ยงชีพ ประกันชีวิต และสุขภาพ เงินสด แก่ พนักงานทุกคน

ค่าตอบแทนระยะยาว (Value-Sharing Compensation)

เงินเดือน (Base Salary)

ผลประโยชน์อื่น

เงินสด แก่ ผู้บริหาร

สร้ างความมัน่ คงปลอดภัยให้ กบั พนักงาน

เพื่อเป็ นรางวัลตอบแทนตามความสาเร็จ ของผลงานที่ได้ กาหนดไว้ ประจาแต่ละปี

ผลักดันให้ เกิดผลการดาเนินงาน โดย พิจารณาจากมูลค่าผลตอบแทนรวมแก่ ผู้ถือหุ้น (Total shareholder return) และ มูลค่ารวมทางเศรษฐกิจของบริษัท (Economic Profit) เพื่อสร้ างความ สอดคล้ องของผลประโยชน์ร่วมระหว่าง ผู้บริหารและผู้ถือหุ้น

ค่าตอบแทนรวมของคณะผู้บริ หารจานวน 4 ราย เท่ากับ 52.54* ล้ านบาท ประกอบด้ วยเงินเดือน โบนัสตามผลงาน กองทุน สารองเลี ้ยงชีพ และผลประโยชน์อื่นๆ หมายเหตุ : *ค่าตอบแทน 52.54 ล้ านบาท รวมค่าตอบแทนของนางสาวสุนิธยา ชินวัตร ซึง่ ดารงตาแหน่งหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2561 – 30 กันยายน 2561

ส่วนที่ 2 | หน้ า 19


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บริ ษัทได้ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) ตามโครงการจ่ายค่าตอบแทนระยะยาวให้ แก่ผ้ บู ริ หาร เป็ นจานวน 5 ครั ง้ ตัง้ แต่ ปี 2556-2560 โดยมี ผ้ ูบ ริ ห ารตามคานิ ย ามของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพ ย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ ที่ ได้ รับ ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) มีรายชื่อและจานวนใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) ที่ได้ รับดังนี ้ ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก

ปี 2559

ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก

จานวน

88,700

6.3

56,800

6.87

51,600

5.92

29,816

จานวน

35,440

2.5

11,900

1.44

11,890

1.36

จานวน

44,300

3.1

30,200

3.65

30,174

จานวน

44,300

3.1

33,200

4.01

0

รายชื่อผู้บริหารได้ รับ

1. 2.

3.

4.

นายสมชัย เลิศ สุทธิวงค์ นางสาวสุนิธยา ชินวัตร นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร นางสาวกานติ มา เลอเลิศ ยุติธรรม

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิท่ จี ะซือ้ หุ้นสามัญ (Warrant) (หน่ วย) ปี 2558 ปี 2557 ร้ อยละของจานวน ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก ทังหมดที ้ ่ออก

ปี 2560

ปี 2556

ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก

รวม

4.38

19,824

4.89

246,740

11,020

1.62

6,864

1.69

77,114

3.46

27,116

3.99

19,864

4.90

151,654

-

0

-

0

-

77,500

เลขานุ การบริ ษัท คือ นายชวิน ชัยวัชราภรณ์ ผู้ที่ได้ รับมอบหมายให้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามมาตรา 89/15 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึง เป็ นที่ปรึ กษาให้ คาแนะนาแก่กรรมการในการปฎิบตั ิตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับหน้ าที่ ความรั บ ผิด ชอบของกรรมการประสานงานให้ มี ก ารปฎิ บัติ ต ามมติ ค ณะกรรมการตลอดจนปฎิ บัติ หน้ า ที่ ในการดูแลกิ จกรรมของ คณะกรรมการ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้ อบังคับต่างๆ ได้ อย่างถูกต้ อง หัวหน้ าหน่ วยงานกากับดูแลการปฏิบัติงาน คือ นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร ซึ่งมีหน้ าที่ กากับดูแลในฐานะบริ ษัทจดทะเบียนในการ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (ตลท.) รวมทังกฎหมายบริ ้ ษัทมหาชนจากัด ทังนี ้ ้ข้ อมูลประวัติและรายละเอียดของเลขานุการบริ ษัท และหัวหน้ าหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน ปรากฎตามเอกสารแนบ 1 หน้ า 3

ส่วนที่ 2 | หน้ า 20


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทและบริ ษัทย่อย มีพนักงานทังสิ ้ ้น 12,552 คน (รวมพนักงานชัว่ คราว) โดยแบ่งตามสายงานหลัก ได้ ดงั นี ้ เอไอเอส สายงานหลัก การเงินและบัญชี ทรัพยากรบุคคล ตรวจสอบภายใน กลยุทธ์องค์กร สานักผู้บริ หาร เลขานุการบริ ษัท ธุรกิจสัมพันธ์และพัฒนา กฎหมาย ความปลอดภัยไซเบอร์ และสารสนเทศ โครงการ Organization Transformation รวม

จานวนพนักงาน 243 211 49 54 17 8 20 40 40 17 699

เอซีซี สายงานหลัก จานวนพนักงาน สานักกรรมการผู้จดั การ 4 สานักลูกค้ าสัมพันธ์ – กรุ งเทพมหานคร 1.384 สานักลูกค้ าสัมพันธ์ – นครราชสีมา 684 สานักลูกค้ าสัมพันธ์ – Operation Development 66 สานักลูกค้ าสัมพันธ์ – Platform 38 สานักบริ หารทรัพยากรบุคคลลูกค้ าสัมพันธ์ 33 ฝ่ ายประกันคุณภาพและงานบริ การ 73 พัฒนาทรัพยากรบุคคล 578 Strategic Planning & Analysis 23 รวม 2,883

เอเอ็มพี / เอดีซี / เอไอเอ็น / ดับบลิวดีเอส / เอสบีเอ็น / เอดับบลิวเอ็น / เอฟเอ็กซ์ แอล / เอ็มเอ็มที / เอดีดี /เอบีเอ็น จานวนพนักงาน เอเอ็มพี 39 เอดีซี เอไอเอ็น 22 ดับบลิวดีเอส 380 เอสบีเอ็น 39 เอดับบลิวเอ็น 6,840 เอฟเอ็กซ์แอล 131 เอ็มเอ็มที 1,507 เอดีดี 2 เอบีเอ็น 7 รวม 8,967 ดีพีซี สายงานหลัก สานักผู้บริ หาร

รวม

จานวนพนักงาน 3

3

สาหรับปี 2561 ค่าตอบแทนรวมของบุคลากรของบริ ษัท และบริ ษัทย่อย ประกอบด้ วย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสารอง เลี ้ยงชีพ มีจานวนทังสิ ้ ้น 7,537.66 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนให้ แก่พนักงานสามารถศึกษาได้ จากรายงานพัฒนา ความยัง่ ยืนปี 2561

ส่วนที่ 2 | หน้ า 21


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การกากับดูแลกิจการ ความสาเร็จในปี 2561  คะแนน Corporate Governance Report ระดับ “ดีเลิศ” จากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย  รางวัลบริ ษัทจดทะเบียนด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ดีเด่น ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 7 จากงาน SET Awards 2018  คะแนนเต็ม 100 คะแนน จากการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยสมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทย  ได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นหนึง่ ใน “หุ้นยัง่ ยืน” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 4 นโยบายการกากับดูแลกิจการ นโยบายการกากับดูแลกิจการ ยึดถือการปฏิบตั ิตามกฎหมายเป็ นขันพื ้ ้นฐาน และพัฒนาให้ มีความโปร่ งใส น่าเชื่อถือ และเป็ นที่ยอมรับ ตามแนวทางการดาเนินธุรกิจที่ยอดเยี่ยม ด้ วยธรรมภิบาลและการเติบโตอย่างยัง่ ยืนทังในระดั ้ บประเทศ และระดับสากล โดยครอบคลุมแนวปฏิบตั ิ 5 หมวด 1. คณะกรรมการบริ ษัท 2. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ ้ นและบทบาทต่อผู้มีสว่ นได้ เสีย 3. การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส 4. การควบคุมและบริ หารความเสีย่ ง 5. ประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ นโยบายการกากับดูแลกิจการจัดทาขึ ้นตามแนวทางของหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) การกากับดูแลกิจการบริ ษัทจดทะเบียนไทยโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบั นกรรมการบริ ษั ทไทย (CGR) ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) และดัชนีความยัง่ ยืนดาวน์โจนส์ (DJSI) และมีกระบวนการ กากับดูแล ดังนี ้  กากับดูแลโดยคณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ  อนุมตั ิโดยคณะกรรมการบริ ษัท  บังคับใช้ กบั กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของเอไอเอสและบริ ษัทในเครื อทุกแห่ง  ทบทวนอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ ทังนี ้ ้ คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการได้ พิจารณาทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2561 และคณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณาและอนุมตั ินโยบายดังกล่าวเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2561 โดยมีสาระสาคัญ ดังต่อไปนี ้ 1. การกาหนดจานวนบริ ษัทจดทะเบียนอื่นที่กรรมการแต่ละท่านสามารถไปดารงตาแหน่งได้ ไม่เกิน 4 แห่ง 2. การประเมินผลปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษัทโดยที่ปรึกษาภายนอกอย่างน้ อยทุกๆ 3 ปี 3. การเข้ าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านไม่น้อยกว่าร้ อยละ 75 ของจานวนการประชุมทังปี ้ 4. การเพิ่มขอบเขตความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ*ให้ ครอบคลุมการกากับดูแลความเสีย่ ง

ส่วนที่ 2 | หน้ า 22


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

5. การก าหนดองค์ ป ระกอบของคณะกรรมการบริ ษั ทให้ มี ความหลากหลายโดยเฉพาะในด้ านเพศ เชื อ้ ชาติ สัญชาติ และถิ่นกาเนิด ในการสรรหากรรมการอิสระแต่ละครัง้ คณะกรรมการสรรหาฯ จะพิจารณาสุภาพสตรี ที่ มีคณ ุ สมบัติเหมาะสมด้ วย 6. กาหนดสัดส่วนกรรมการอิสระให้ เป็ นเสียงส่วนใหญ่ รวมถึงประธานของคณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นา และกาหนดค่าตอบแทนเป็ นกรรมการอิสระ 7. การสื่อ สารเรื่ อ งประมวลจริ ย ธรรมธุ รกิ จ และนโยบายต่ อ ต้ า นการให้ แ ละรั บ สิ น บนและการคอ ร์ รั ป ชั่น ให้ ครอบครัวของพนักงาน รวมถึงการส่งเสริ มให้ กิจการบริ ษัทร่ วมค้ าปฏิบัติตามแนวทางของการดาเนินธุรกิ จ อย่างมีจริ ยธรรม ท่านสามารถศึกษานโยบายเพิ่มเติมได้ ที่ http://advanc-th.listedcompany.com ภายใต้ หวั ข้ อบรรษัทภิบาล รายงานการปฏิบัติตามนโยบายการกากับดูแลกิจการในปี ที่ผ่านมา หมวด 1 คณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นบุคคลที่มีภาวะผู้นาและวิสยั ทัศน์ในการมุ่งมัน่ ให้ กลุ่มเอไอเอสเป็ นผู้ให้ บริ การเทคโนโลยีดิจิทลั ที่ ได้ รับการยอมรับสูงสุด โดยกาหนดให้ เป็ นวิสยั ทัศน์ และพันธกิจของบริ ษัท เพื่อส่งต่อให้ ฝ่ายจัดการนาไปกาหนดเป็ นกลยุทธ์ และตังเป้ ้ าหมายในระยะยาว และมีการทบทวนและติดตามความคืบหน้ าเป็ นประจาทุกปี คณะกรรมการบริ ษัทได้ ติตตาม ดูแลให้ มีการนากลยุทธ์ ของบริ ษัทไปปฏิบตั ิ โดยในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัททุกไตรมาส ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ ติดตามผลการดาเนินงานของฝ่ ายจัดการ โดยกาหนดให้ มีการรายงานผลการดาเนินงานและผลประกอบการของบริ ษั ท โดยเฉพาะในส่วนของเป้าหมายทางการเงินและแผนงานต่างๆ เพื่อให้ เป็ นไปตามกลยุทธ์ ที่กาหนดไว้ นอกจากนี ้ ในปี 2561 คณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณาทบทวนวิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ ของบริ ษัท (Strategic direction) เพื่อให้ สอดคล้ อง สภาวะการณ์ที่เปลีย่ นแปลงไปและการดาเนินธุรกิจของบริ ษัท 2. องค์ประกอบของคณะกรรมการบริ ษัทมีความหลากหลายทังทางด้ ้ านประสบการณ์ทางาน การศึกษา เพศ เชื ้อชาติ สัญชาติ ถิ่ นกาเนิด รวมถึง มีสดั ส่วนกรรมการอิ สระ และกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของกรรมการทัง้ หมด เพื่ อให้ สามารถตัดสินใจได้ อย่างอิสระในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้นทังหมด ้ และเป็ นการถ่วงดุลอานาจในการบริ หารงานที่ดี

*คณะกรรมการบริ ษัทได้มีมติเปลีย่ นชือ่ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับความเสีย่ ง โดยมีผลเมือ่ วันที ่ 1 มกราคม 2562

ส่วนที่ 2 | หน้ า 23


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

3. ประธานกรรมการบริ ษัท คือ คุณกานต์ ตระกูลฮุน เป็ นกรรมการอิสระและไม่ใช่บคุ คลคนเดียวกันกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมถึงไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรื อทางธุรกิจระหว่างกัน และมีการแบ่งแยกการดารงตาแหน่งและอานาจหน้ าที่ของ ประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารอย่างชัดเจนไว้ ในนโยบายการกากับดูแลกิจการ เอไอเอสยังกาหนดให้ มีการแบ่งแยกบทบาทหน้ าที่ระหว่างคณะกรรมการบริ ษัทกับฝ่ ายจัดการ และสงวนสิทธิในการพิจารณา เรื่ อ งที่มี นัยสาคัญ ต่อการดาเนินธุรกิ จให้ เป็ นอานาจหน้ าที่ ของคณะกรรมการบริ ษั ท ตามรายละเอียดที่ ปรากฎในหัวข้ อ โครงสร้ างการจัดการ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริ ษัทสนับสนุนให้ กรรมการและฝ่ ายจัดการมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ผ่านการสร้ างวัฒนธรรมการเคารพบทบาทหน้ าที่ของแต่ละฝ่ าย และการทางานร่วมกันตามหลักธรรมาภิบาล 4. คุณสมบัติของกรรมการอิสระได้ กาหนดให้ มีความเข้ มข้ นกว่าหลักเกณฑ์ขนต ั ้ ่าที่กฎหมายกาหนด อาทิ ต้ องถือหุ้นไม่เกินร้ อย ละ 0.5 ของจานวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษั ทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ นิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ ง โดยให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ ข้ อกาหนดเรื่ องคุณสมบัติกรรมการอิสระศึกษาได้ จาก http://advancth.listedcompany.com ภายใต้ หวั ข้ อบรรษัทภิบาล “นโยบายบรรษัทภิบาลและเอกสารที่เกี่ยวกับบริ ษัท” 5. วันประชุมคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยถูกกาหนดไว้ ล่วงหน้ า และส่วนงานเลขานุการบริ ษัท จะจัดส่ง หนังสือเชิญประชุมพร้ อมเอกสารประกอบให้ กรรมการแต่ละท่านล่วงหน้ าไม่น้อ ยกว่า 7 วัน เพื่อให้ กรรมการมีเวลาศึกษา ประธานกรรมการทาหน้ าที่เป็ นประธานที่ประชุม และได้ ดาเนินการให้ แต่ละวาระมีการจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอ เปิ ดโอกาส ให้ กรรมการแต่ละท่านแสดงความคิดเห็นอย่างมีอิสระ พร้ อมทังสนั ้ บสนุนให้ ผ้ บู ริ หารระดับสูงเข้ าร่ วมประชุม เพื่อรับทราบ ข้ อเสนอแนะจากคณะกรรมการทุกครัง้ เอไอเอสได้ นาเทคโนโลยีการประชุมทางไกลผ่านวิดีโอ (Video conference) และการพัฒ นาช่องทางการส่งเอกสารการ ประชุมผ่าน Board portal ที่ มีความปลอดภัยสูง เข้ ามาช่วยเพิ่มประสิทธิ ภาพในการประชุมและอานวยความสะดวกให้ กรรมการ สาหรับในเดือนใดที่ไม่ได้ มีการจัดประชุม ส่วนงานเลขานุการบริ ษัทจะจัดส่งรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานของ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยในเดือนให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบ 6. ในปี ที่ผา่ นมา กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร มีการประชุมร่ วมกันอย่างเป็ นอิสระโดยไม่มีกรรมการที่เป็ นผู้บริ หารและฝ่ ายจัดการ เข้ าร่ วม 1 ครัง้ โดยมีการอภิปรายในประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาการดาเนินงานด้ านการบริ หารความเสี่ยง การแข่งขันทาง ธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง รวมถึงการพัฒนาในด้ านทรัพยากรบุคคล และภายหลังการประชุมได้ มีการรายงานผลการประชุมให้ คณะกรรมการบริ ษัทและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารรับทราบ 7. กรรมการและผู้บริ หารมีการรายงานให้ บริ ษัททราบส่วนได้ เสีย ที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารจัดการของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อยเมื่อ เข้ า ด ารงต าแหน่ง เป็ น กรรมการหรื อ ผู้บ ริ ห าร และรายงานเมื่ อ มี ก ารเปลี่ย นแปลงข้ อ มูลดังกล่า ว เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท มี ข้ อ มูล ประกอบการดาเนินการตามข้ อกาหนดเกี่ ยวกับการทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน ทัง้ นี ้ ส่วนงานเลขานุการบริ ษั ทจะนาเสนอ รายงานการเปลี่ย นแปลงส่วนได้ เสีย รวมถึ งการถื อ ครองหลัก ทรั พ ย์ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท และผู้บ ริ ห ารให้ ที่ ป ระชุม คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบในทุกไตรมาสและทุกครัง้ ที่กรรมการหรื อผู้บริ หารได้ รายงานการมีสว่ นได้ เสียของตน 8. คณะกรรมการกาหนดให้ มีแผนการสืบทอดตาแหน่งของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัท ตังแต่ ้ ระดับ หัวหน้ าฝ่ ายงาน เพื่ อ ให้ มั่น ใจว่าบริ ษั ท จะสามารถด าเนิ น ธุรกิ จ ต่อ ไปได้ หากต าแหน่ งสาคัญ ดังกล่า วว่างลง โดย มอบหมายให้ คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้กาหนดหลักเกณฑ์และจัดทาแผนการสืบทอด ดังกล่าว และรายงานให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบ รวมทังให้ ้ มีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี

ส่วนที่ 2 | หน้ า 24


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

9.

10.

11.

12.

2561

นอกเหนือจากกรรมการและผู้บริ หาร ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลยังมีการจัดทาแผนและกลยุทธ์ ในบริ หารจัดการด้ านทรัพยากร บุคคลสาหรับบุคลากรที่มีศกั ยภาพสูง (Talent) ร่วมกับการกาหนดเป้าหมายและตัวชี ้วัดในการปฏิบตั ิงาน (Corporate KPI) รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนการสืบทอดตาแหน่ง สามารถศึกษาได้ จากรายงานการพัฒนาธรกิจอย่างยัง่ ยืน เอไอเอสมอบหมายให้ ส่วนงานเลขานุก ารบริ ษั ท เป็ น ตัวกลางในการติด ต่ อระหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการ หรื อ คณะกรรมการกับ ผู้ถือ หุ้น และก าหนดให้ ส่วนงานตรวจสอบภายใน เป็ น ตัวกลางในการติ ด ต่อ ระหว่างคณะกรรมการ ตรวจสอบกับฝ่ ายจัดการ อย่างไรก็ตาม เอไอเอสไม่มีการปิ ดกันการเข้ ้ าถึงและติดต่อสื่อสารระหว่างกรรมการและฝ่ ายจัดการ โดยตรง ซึง่ ที่ผา่ นมา ได้ เปิ ดให้ ทงสองฝ่ ั้ ายมีเวลาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นก่อน/หรื อหลังการประชุม โดยการพูดคุยแลกเปลี่ยน ดังกล่าวจะต้ องไม่เป็ นการเข้ าไปแทรกแซงการดาเนินธุรกิจปกติ หรื อก้ าวล่วงขอบเขตอานาจหน้ าที่ระหว่างกัน คณะกรรมการพัฒ นาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ในการพิจารณา นโยบายและโครงสร้ างการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการก่อนนาเสนอให้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมตั ิ โดยนโยบายและ โครงสร้ างค่า ตอบแทนของกรรมการ จะพิ จารณาจากหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ระดับ การจ่า ยค่าตอบแทนของบริ ษั ท ใน อุตสาหกรรมเดียวกัน และบริ ษั ทที่ มี ขนาดใกล้ เคี ยงกัน ผลประกอบการของบริ ษั ท เป้าหมายและผลการปฏิ บัติงานของ กรรมการรายบุคคล รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้ จาก หัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” กรรมการที่ได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ จะได้ รับการปฐมนิเทศเพื่อรับทราบข้ อมูลทัว่ ไปและภาพรวมข้ อมูลการดาเนินธุรกิจที่ สาคัญ และสรุ ปการดาเนินงานของแต่ละสายธุรกิจ การปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบียบข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ อง เช่น บทบาทหน้ าที่ของ กรรมการในบริ ษัทจดทะเบียน นโยบายการซื ้อขายหลักทรัพย์ของเอไอเอส โดยผู้บริ หารระดับสูง เป็ นผู้นาเสนอ ทังนี ้ ้ ในปี 2561 บริ ษัทไม่ได้ สรรหากรรมการใหม่แต่อย่างใด เอไอเอสส่งเสริ มให้ กรรมการ เลขานุการบริ ษัท และผู้บริ หารให้ เข้ ารับการฝึ กอบรมและพัฒนาความรู้ อย่างต่อเนื่องและใน หลากหลายรู ปแบบ โดยเอไอเอสจะเป็ นผู้สนับสนุน ค่าใช้ จ่ายทัง้ หมด โดยในปี 2561 มีกิจกรรมและหลักสูตรฝึ กอบรมที่ กรรมการเข้ าร่วมดังนี ้

ชื่อหลักสูตร/กิจกรรม วัตถุประสงค์ การศึกษาดูงานที่ประเทศสาธารณรัฐ เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ เรี ย นรู้ การ เกาหลี แ ละสหรั ฐ อเมริ ก าเกี่ ย วกั บ พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ นวัตกรรมใหม่ๆ

รายชื่อกรรมการทีเ่ ข้ าร่วม คุณกานต์ ตระกูลฮุน คุณสมประสงค์ บุญยะชัย คุณไกรฤทธิ์ อุชกุ กานนท์ชยั คุณสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ คุณประสัณห์ เชื ้อพานิช คุณแอเลน ลิว ยง เคียง คุณจีน โล เงี ้ยบ จง คุณสมชัย เลิศสุทธิวงค์ คุณฮุย เว็ง ชอง Director Accreditation Program เพื่อให้ กรรมการได้ รับความรู้และความเข้ าใจ คุณเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์ (DAP 146/2561) จั ด โด ย ส ม า ค ม ถึงหลักการของการกากับดูแลกิจการที่ดีและ ส่ง เสริ ม สถาบัน กรรมการบริ ษั ท ไทย กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจน บทบาทและ (IOD) หน้ าที่ ข องกรรมการบริ ษั ท ในการน าการ กากับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบตั ิ ส่วนที่ 2 | หน้ า 25


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ชื่อหลักสูตร/กิจกรรม วัตถุประสงค์ รายชื่อกรรมการทีเ่ ข้ าร่วม Chairman Forum 2018: " Digital เพื่ อ ให้ ก รรม ก ารได้ รั บ ค วาม รู้ ใน เรื่ อ ง คุณกานต์ ตระกูลฮุน Transformation – A Must for all นวัตกรรมการใหม่ๆ และเทคโนโลยีใหม่ คุณประสัณห์ เชื ้อพานิช Companies" 13. คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดให้ มกี ารประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด (Board Self-Assessment) เป็ นรายบุคคลและทังคณะด้ ้ วยตนเองเป็ นประจาทุกปี ครอบคลุมการประเมินทังเรื ้ ่ องโครงสร้ าง และคุณสมบัติของกรรมการ บทบาทหน้ าที่และความรับผิดชอบ การเข้ าร่วมประชุม การปฏิบตั ิหน้ าที่ การพัฒนาตนเอง และ ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังนี ้ 1) เพื่อช่วยให้ มีการพิจารณาทบทวนผลงาน ปั ญหา และอุปสรรคต่างๆ ในปี ที่ผา่ นมา 2) เพื่อใช้ ในการพัฒนาการทางานของคณะกรรมการให้ มีประสิทธิผล และตระหนักถึงความรับผิดชอบของตนได้ อย่างชัดเจน 3) เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคณะกรรมการบริ ษัทกับฝ่ ายจัดการ ขันตอนในการประเมิ ้ น 1. ส่วนงานเลขานุการบริ ษัทจะเป็ นผู้จดั ส่งแบบประเมินให้ กรรมการทุกท่านประเมินทุกปี 2. รวบรวมแบบประเมินและผลคะแนน รวมถึงจัดทารายงานผลการประเมินดังกล่าวเสนอต่อประธานกรรมการ และประธาน กรรมการชุดย่อยแต่ละชุด เพื่อศึกษา วิเคราะห์ผลการประเมินร่วมกัน และกาหนดวิธีการพัฒนาการปฏิบตั ิงานของกรรมการต่อไป ทังนี ้ ้ ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุดทังแบบองค์ ้ รวมและแบบรายบุคคล ประจาปี 2561 คณะกรรมการเห็นว่าได้ ปฏิบตั ิงานครบถ้ วน เหมาะสมตามขอบเขตอานาจหน้ าที่ และเป็ นไปตามหลักการกากับดูแล กิ จการที่ ดี นอกจากนี ้ ในปี 2561 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ เห็ น ชอบนโยบายให้ ที่ ป รึ ก ษาภายนอกด าเนิ น การประเมิน การ ปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อนาผลการประเมินมาเป็ นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบตั ิหน้ าที่ของคณะกรรมการ บริ ษัทให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น 14. การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ น ผู้ป ระเมิ น และก าหนดเป้าหมายการปฏิ บัติ งานประจาปี แ ละเป้า หมายระยะยาว ซึ่ง ผลของการประเมิ น จะถูก น ามาใช้ ประกอบการพิจารณาค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ทังนี ้ ้ โครงสร้ างค่าตอบแทนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จาก หัวข้ อโครงสร้ างการจัดการ หมวด 2 สิทธิและความเท่ าเทียมกันของผู้ถอื หุ้น เอไอเอสเคารพสิทธิ และให้ ความเท่าเทียมกับผู้ถือหุ้นทุกราย ทังสิ ้ ทธิ ในการอนุมัติและรับเงินปั นผลในอัตราการจ่ายต่อหุ้นที่เท่า เทียมกัน การให้ สิทธิ ในการซื ้อ ขาย โอน รับโอน หลักทรัพย์ที่ตนถืออยู่อย่างเป็ นอิสระ การไม่เข้ าแทรกแซงธุรกรรมในตลาด ซื ้อขาย หลักทรัพย์ การให้ สิทธิในการเสนอชื่อ แต่งตัง้ และถอดถอนกรรมการ การแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีอิสระและกาหนดค่าสอบบัญชีประจาปี การแสดงความเห็นในที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างเป็ นอิสระ และการเปิ ดโอกาสให้ มีส่วนร่ วมตัดสินใจและอนุมัติธุรกรรมที่มีนยั สาคัญต่อ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของเอไอเอส โดยนอกเหนือจากสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานดังกล่าวแล้ ว เอไอเอสยังดาเนินกิจกรรมเพื่อสนับสนุน ให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีการใช้ สทิ ธิของตน และกิจกรรมอื่นๆ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ทาหน้ าที่ในฐานะเจ้ าของกิจการ ซึง่ สรุปได้ ดงั ต่อไปนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 26


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

1. เผยแพร่ข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานและการเข้ าทาธุรกรรมต่างๆ ข้ อมูลผลประกอบการรายไตรมาสและประจาปี ผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ บริ ษัท เพื่ออานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเข้ าถึง ข้ อมูลผลการดาเนินงานของบริ ษัทได้ หลากหลายช่องทางและทันเวลา 2. จัดตัง้ ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็ นศูนย์ กลางการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ถือหุ้นกับบริ ษั ท เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถือหุ้น ทัง้ ผู้ถือหุ้นรายย่อย และผู้ถือหุ้นสถาบัน สามารถสอบถามและเสนอแนะเรื่ องที่เป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินงานไปยังฝ่ ายจัดการ รวมถึงให้ ข้อมูลการดาเนินงานที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การพิจารณาตัดสินใจลงทุน ของผู้ถือหุ้น รวมทังการเข้ ้ าร่ วมกิจกรรมบริ ษัท จดทะเบียนพบผู้ลงทุนซึ่งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในทุกไตรมาส เพื่อพบปะและนาเสนอผลประกอบการกับ ผู้ถือหุ้นรายย่อย และเดินสายพบนักลงทุนสถาบันทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ 3. จัดทา “นโยบายการซื ้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน” เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับ การซื ้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน และป้องกันการนาข้ อมูลภายในที่ยงั ไม่ได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณะไป ใช้ เพื่อประโยชน์ของตนเองและ/หรื อ บุคคลที่เกี่ยวข้ อง โดยนโยบายฉบับนี ้ ครอบคลุม ถึงหลักทรัพย์ของเอไอเอสและบริ ษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) (อินทัช) ซึง่ เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเอไอเอส นอกจากนี ้ ยังกาหนดบุคคลที่มีตาแหน่งหรื อหน้ าที่ซึ่งสามารถล่วงรู้ หรื อครอบครองข้ อมูลภายในได้ มากกว่าพนักงานทัว่ ไป (Designated person) ให้ ถือว่าเป็ นกลุม่ บุคคลที่มีความสุม่ เสีย่ ง จึงห้ ามซื ้อขาย โอน และรับโอนหลักทรัพย์ของเอไอเอสและ อินทัชในช่วงเวลา 30 วัน ก่อนการเปิ ดเผยงบการเงินประจาไตรมาสและประจาปี และช่วงเวลาอื่นที่จะกาหนดเป็ นครัง้ คราว รวมทังให้ ้ มีการรายงานการถือครองและการเปลี่ยนแปลงหลักทรั พย์ของเอไอเอสและอินทัชของตนเอง คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อส่วนงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน (Compliance Department) ทุกครัง้ ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วนั ที่ มีการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว 4. การดาเนินงานที่เกี่ยวข้ องกับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ต.ค. 60

พ.ย. 60

ธ.ค. 60

มี.ค. 61

27 ก.พ.

8 มี.ค.

5 เม.ย.

ส่งเอกสารเชิญประชุม

เผยแพร่รายงานการประชุม

(ล่วงหน้ า 21 วัน)

(7 วัน นับแต่วนั ประชุม)

- เผยแพร่เอกสารเชิญประชุม ประกาศผ่าน SET เปิ ดให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอวาระ และชื่อบุคคลเพื่อคัดเลือกเป็ นกรรมการ

เม.ย 61

ก.พ. 61

(ล่วงหน้ า 30 วัน) - เปิ ดให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งคาถามล่วงหน้ า

29 มี.ค. (วันประชุมผู้ถือหุ้น) แจ้ งมติที่ประชุมต่อ SET

ส่วนที่ 2 | หน้ า 27


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

4.1 หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุมจัดทาขึ ้นทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกกลุม่ สามารถเข้ าถึ งข้ อมูลได้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยเอกสารประกอบการประชุมที่เป็ น คาชี แ้ จงเกี่ ยวกับเอกสารและ หลักฐานซึ่งผู้ถือหุ้นจะต้ องนามาในวันประชุมหรื อเตรี ยมเพื่อประกอบการมอบฉันทะ เอไอเอสได้ จัดทาเนื ้อหาใน รู ปแบบที่เข้ าใจง่าย โดยจาแนกเป็ นการมาด้ วยตนเองและมอบฉันทะ และจาแนกเป็ นกรณีบคุ คลธรรมดาและนิติ บุคคล ข้ อกาหนดเรื่ องเอกสารหลักฐานที่ต้องนามาแสดงเป็ นไปตามแนวทางที่กฎหมายกาหนด เพื่อไม่ให้ ไปจากัด สิทธิหรื อเป็ นภาระต่อผู้ถือหุ้นจนเกินความจาเป็ น 4.2 แต่งตังกรรมการอิ ้ สระที่จานวน 3 ท่าน ได้ แก่ คุณไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย และคุณสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ และคุณประ สัณห์ เชื ้อพานิช เพื่อเป็ นผู้รับมอบอานาจแทนผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกมาเข้ าร่วมประชุมด้ วยตนเอง 4.3 จัดให้ มีกระบวนการตรวจสอบเอกสารและลงทะเบียนล่วงหน้ า ให้ กบั ผู้ถือหุ้นสถาบันและคัสโตเดียน เพื่ออานวย ความสะดวก เนื่องจากกลุม่ บุคคลดังกล่าว มีปริ มาณผู้ถือหุ้น ที่อยู่ภายใต้ การดาเนินงานเป็ นจานวนมาก โดยหากมี การมอบฉันทะให้ กรรมการอิสระ จะมีการส่งสาเนาใบมอบฉันทะที่มีลายเซ็นของกรรมการอิสระผู้รับมอบ กลับไปให้ ผู้ถือหุ้นภายหลังจากการประชุมเพื่อใช้ เป็ นเอกสารประกอบการตรวจสอบผู้ถือหุ้นของหน่วยงานกากับดูแลใน ภายหลัง 4.4 เอไอเอสใช้ ระบบบาร์ โค้ ดในการลงทะเบียนและการนับคะแนนเพื่อความรวดเร็ วและแม่นยา และจัดให้ มีการแบ่งจุด ลงทะเบียนระหว่างผู้ถือหุ้นซึง่ เป็ นบุคคลธรรมดาและผู้ถือหุ้นสถาบันแยกออกจากกัน โดยได้ เตรี ยมบุคลากรและสิ่ง อานวยความสะดวกไว้ อย่างเพียงพอ อาทิ เครื่ องถ่ายเอกสาร อากรแสตมป์ และป้ายชี ้แจงขันตอนการลงทะเบี ้ ยน โดยละเอียด รวมถึงจัดให้ มีการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ถือหุ้นต่อ คุณภาพการจัดประชุม เพื่อนามาใช้ ในการ พัฒนาในปี ถดั ไป 4.5 คณะกรรมการกาหนดวันประชุมเป็ นวันที่ 29 มีนาคม 2561 เวลา 14:00 น. ซึ่งไม่ตรงกับวันหยุดสุดสัปดาห์และ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลาในการประชุมมีความเหมาะสม สาหรับสถานที่จัดประชุมที่ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ เซ็น ทรัล พลาซา ลาดพร้ าว มีค วามสะดวกต่อการเดิน ทาง เนื่ องจากมีระบบขนส่งมวลชนที่ห ลากหลาย ราคา สมเหตุสมผล และมีสงิ่ อานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นครบครัน 4.6 ประธานกรรมการบริ ษัท และประธานกรรมการชุดย่อยทุกชุด รวมถึงหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน และผู้บริ หาร ระดับสูงจากทุกสายงานหลัก เข้ าร่วมประชุมเพื่อตอบข้ อซักถามต่างๆ ของผู้ถือหุ้น 4.7 ประธานกรรมการบริ ษัท ทาหน้ าที่เป็ นประธานในที่ประชุมได้ ดาเนินการประชุมตามลาดับวาระและเรื่ องที่ได้ ระบุไว้ ในหนังสือเชิญประชุม โดยไม่มีการเพิ่มเติม และแก้ ไข พร้ อมทังจั ้ ดสรรเวลาสาหรับการซักถามของผู้ถือหุ้นในแต่ละ วาระอย่างเหมาะสมและเพียงพอก่อนการลงมติ 4.8 เลขานุการบริ ษัท ในฐานะโฆษกของการประชุม ได้ แจ้ งจานวนและสัดส่วนของผู้ถือหุ้นที่เข้ าร่วมประชุมด้ วยตนเอง และมอบฉันทะ ขัน้ ตอนและวิธีการประชุม การออกเสียงลงคะแนน และการนับคะแนนให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบก่อนเริ่ ม ประชุม 4.9 ในการลงคะแนนเสียง เอไอเอสได้ จดั เตรี ยมบัตรลงคะแนนสาหรับทุกวาระ และสาหรับวาระเลือกตังกรรมการจั ้ ดให้ มีการลงคะแนนเป็ นรายบุคคล รวมทังได้ ้ แต่งตังที ้ ่ปรึกษากฎหมายอิสระให้ ทาหน้ าที่ตรวจสอบการนับคะแนนเสียง เพื่อความโปร่งใสและความน่าเชื่อถือ 4.10 ประธานที่ ป ระชุม เป็ น ผู้แ จ้ ง ผลการลงคะแนนและมติ ของที่ ป ระชุม ในแต่ล ะวาระ แบ่ งเป็ น คะแนนที่ เห็ น ด้ ว ย ไม่เห็นด้ วย งดออกเสียง และบัตรเสีย โดยพบว่าไม่มีผ้ ถู ือหุ้นคัดค้ านหรื อไม่เห็นด้ วยกับมติดงั กล่าว

ส่วนที่ 2 | หน้ า 28


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

4.11 เลขานุการบริ ษัทได้ จดั ทารายงานการประชุม เพื่อนาส่งให้ หน่วยงานกากับดูแลที่เกี่ยวข้ อง และเผยแพร่ บนเว็บไซต์ บริ ษัทรวมถึงแจ้ งผ่านช่องทางตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 7 วัน หลังจากวันประชุม โดยมีการบันทึกรายละเอียดและ สาระสาคัญ ไว้ อย่างครบถ้ วนตามแนวทางของหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี ของตลาดหลักทรัพย์ เช่น รายชื่ อ กรรมการและผู้บริ หารที่เข้ าร่ วม มติที่ป ระชุม ประเด็นคาถามและข้ อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นและคาอธิ บายของ กรรมการ/ผู้บริ หาร 5. เอไอเอสเปิ ดช่ อ งทางให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เสี ย สามารถสอบถาม เสนอแนะความคิ ด เห็ น หรื อ ร้ องเรี ย นในเรื่ อ งต่ า งๆ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษัท ผ่านช่องทาง ดังนี ้ ผู้รับผิดชอบ ส่วนงานเลขานุการบริ ษัท กากับ ดูแลปฏิบตั ิงานและจริ ยธรรม

ช่ องทาง 414 ชัน้ 28 อาคารเอไอเอส 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ (66) 2029 5352 โทรสาร (66) 2029 5108 อีเมล์: companysecretary@ais.co.th

โดยส่วนงานเลขานุการบริ ษัท ฯ จะรวบรวมและส่งต่อให้ หน่วยงานที่เกี่ ยวข้ อง ตลอดจนการรายงานให้ ฝ่ายจัดการหรื อ คณะกรรมการรับทราบ และแจ้ งผลกลับไปยังผู้มีสว่ นได้ เสีย หากเป็ นกรณีการกระทาผิดการทุจริ ต และการละเมิดจริ ยธรรมใน การดาเนินงาน จะนาเข้ าสู่กระบวนการสอบสวนและคุ้มครองผู้ที่แจ้ งเบาะแสตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการ ทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล สาหรับเรื่ องอื่นๆ เอไอเอสได้ จดั ให้ มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงเพื่อเป็ นตัวกลางระหว่างบริ ษัทกับผู้มีสว่ นได้ เสีย อาทิ ส่วน งานชุมชนสัมพันธ์ ทาหน้ าที่รับฟั งข้ อเสนอแนะและสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่างบริ ษัทกับชุมชนและองค์กรไม่แสวงหากาไร ส่วนงาน ธุรกิ จสัมพันธ์ และพัฒ นา ทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางและเป็ นกระบอกเสียงระหว่างบริ ษัทกับหน่วยงานกากับดูแลทางด้ านกิ จการ โทรคมนาคม 6. เอไอเอสตระหนักถึงสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็ นลูกค้ า คูค่ ้ า พนักงาน ชุมชน สังคม หรื อสิง่ แวดล้ อม จึงกาหนด นโยบายให้ มีแนวทางปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ เสียตามสิทธิแห่งกฎหมายและตามแนวทางของการอยู่ร่วมกันอย่างยัง่ ยืน ไว้ ในกลยุทธ์ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ นโยบายการบริ หารบุคคล ตลอดจนนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง และได้ กาหนดให้ มี แนวปฏิบตั ิและระบบการควบคุมภายในที่ดี รวมทังนโยบายการต่ ้ อต้ านการให้ สินบนและการคอร์ รัปชั่น เพื่อป้องกันการทุจริ ต คอรัปชัน่ ในองค์กรและตอบสนองผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมแก่ทกุ ฝ่ าย โดยรายละเอียดการดาเนินงานในปี ที่ผ่านมา สามารถศึกษา เพิ่มเติมได้ จากรายงานหมวดที่ 5 ประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ และรายงานพัฒนาความยัง่ ยืน ประจาปี 2561 หมวด 3 การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่ งใส 1.

เอไอเอสมุ่งมัน่ ที่จะเปิ ดเผยสารสนเทศ ทังข้ ้ อมูลทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินแก่ผ้ ถู ือ หุ้นและผู้ลงทุน เช่น ข้ อบังคับ บริ ษัท หนังสือบริ คณห์สนธิ นโยบายการบริ หารความเสี่ยง ข้ อมูลงบการเงิน และบทวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ฯลฯ อย่าง ถูกต้ อง เพียงพอ ทันเวลา เท่าเทียม และเป็ นไปตามกฎหมายและกฏระเบียบต่างๆ เพื่อส่งเสริ มความเชื่อมัน่ ของผู้ถือหุ้นและผู้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 29


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ลงทุนเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ และซื่อตรงของเอไอเอส “นโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศ” ของเอไอเอส ให้ มีความสอดรับกับ บริ บทของสังคมที่เปลีย่ นไป โดยเอไอเอสยึด 3 หลักการในเปิ ดเผยสารสนเทศ กล่าวคือ 1.1 การปฏิบตั ิตามกฏหมายและกฏระเบียบเกี่ยวกับการเปิ ดเผยสารสนเทศ 1.2 ความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการเปิ ดเผยสารสนเทศ 1.3 ความเป็ นธรรมและเท่าเทียมในการเข้ าถึงสารสนเทศ 2.

3.

4.

5.

6.

ส่วนงานนักลงทุนสัม พันธ์ เพื่อเป็ น ศูนย์ กลางประชาสัม พันธ์ และเปิ ดเผยข้ อมูลสารสนเทศของบริ ษั ทที่สาคัญ และเป็ น ประโยชน์ในการประกอบการตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและในการวิเ คราะห์หลักทรัพย์ผ่านช่องทาง ต่างๆ ให้ เป็ นไปตามนโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลและจรรยาบรรณนักลงทุนสัมพันธ์ ที่ต้องเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ อง เพียงพอ ทันเวลา และสม่าเสมอ รวมทังต้ ้ องไม่เปิ ดเผยหรื อบอกกล่าวสารสนเทศที่เป็ นความลับหรื อข้ อมูลภายในให้ แก่บคุ คลใดก่อน การเปิ ดเผยข้ อมูลสู่สาธารณะผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทังนี ้ ้รายละเอียดเพิ่มเติมปรากฎในหัวข้ อ “ความสัมพันธ์กบั ผู้ลงทุน” ในรายงายประจาปี 2562 เอไอเอสกาหนดให้ มีช่วงเวลางดติดต่อสื่อสารกับนักวิเคราะห์และนักลงทุน เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับผลประกอบการ (Silent period) เป็ นระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการประกาศผลประกอบการในทุกไตรมาส และห้ ามผู้บริ หารและพนักงานที่เข้ าข่ายอาจ เข้ าถึงหรื อล่วงรู้ข้อมูลภายในของบริ ษัท ซื ้อ ขาย โอนหรื อรับโอนหลักทรัพย์ของบริ ษัท ในระหว่างช่วงเวลา 30 วัน ก่อนที่บริ ษัท จะประกาศผลประกอบการรายไตรมาสหรื อผลประกอบการประจาปี และต้ องจัดทารายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริ ษัท ของตน คู่สมรส บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ และผู้ที่อยู่กินด้ วยกันฉันสามีภรรยา (คู่สมรสที่ไม่ได้ จดทะเบียน) รวมถึงจัดทา รายงานทุกครัง้ ที่มีการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ดงั กล่าว ส่งให้ สว่ นงานการกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน ภายใน 3 วัน ทาการ คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดให้ มี “หลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการมีสว่ นได้ เสียของกรรมการและผู้บริ หาร” มาตังแต่ ้ ปี 2551 เพื่อให้ เอไอเอสมีข้อมูลที่จาเป็ นในการติดตามดูแลการมีสว่ นได้ เสียและรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ของกรรมการและผู้บริ หาร ซึ่งจะช่วยให้ บริ ษัท กรรมการ และผู้บริ หาร สามารถทาหน้ าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สจุ ริ ต และป้องกันมิให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยกรรมการและผู้บริ หาร ต้ องเปิ ดเผยส่วนได้ เสียของตน และบุคคลที่เกี่ยวข้ อง เมื่อเข้ าตกลงทารายการใดๆ กับเอไอเอสและบริ ษัทย่อย และจะไม่สามารถให้ ความเห็นและออกเสียง ได้ เมื่อมีการพิจารณาการทารายการดังกล่าว คณะกรรมการและผู้บริ หารระดับสูงของเอไอเอส ถือเป็ นแนวปฏิบตั ิในการเปิ ดเผยข้ อมูลการถือครองหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะและที่อยู่กินด้ วยกันฉันสามีภรรยา (คู่สมรสที่ไม่ได้ จดทะเบียน) ไว้ ในรายงานประจาปี ทุก ครัง้ ในการทารายการระหว่างกัน เอไอเอสยึดถือหลักปฏิบตั ิตามแนวทางของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและการเปิ ดเผยข้ อมูล ตามข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและมาตรฐานการบัญชี เพื่อให้ สามารถนาไปปฏิบตั ิใช้ ได้ อย่างถูกต้ อง การทารายงานเป็ นไปอย่างโปร่ งใส สมเหตุสมผลและคานึงถึงผลประโยชน์ สูงสุดของบริ ษัทเป็ นสาคัญ เสมือนกับการทา รายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s length basis) รวมทังสอดคล้ ้ องตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริ ษัท จึงได้ อนุมตั ิ “นโยบายการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน” และมอบหมายให้ สว่ นงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน เป็ นผู้รับผิดชอบใน การสื่อสาร กากับดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตาม และเปิ ดเผยข้ อมูลเมื่อมีการทารายการต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ เปิ ดเผยข้ อมูลไว้ ในรายงานประจาปี ดังรายละเอียดที่แสดงไว้ ในหน้ า 35-36

ส่วนที่ 2 | หน้ า 30


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

หมวด 4 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ ษัทเห็นถึงความสาคัญของการมีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ หารความเสีย่ งที่ดี เป็ นสิ่งจาเป็ นในการปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สิน ของบริ ษัท จึงได้ กาหนดให้ มีนโยบาย มาตรการ และหน่วยงาน กากับดูแล ในปี 2561 คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมตั ิให้ คณะกรรมการตรวจสอบขยายขอบเขตการทางานให้ ครอบคลุมงานในด้ าน การบริ หารความเสี่ยง โดยเปลีย่ นชื่อใหม่เป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับความเสีย่ ง โดย ผู้ถือหุ้นสามารถดูรายละเอียดได้ ทีห่ วั ข้ อ “การบริ หารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน” การกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วม คณะกรรมการบริ ษัทได้ กากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของ เอไอเอส ดังนี ้ 1. ส่งเสริ มให้ บริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วมนาหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีมาปฏิบตั ิ 2. คณะกรรมการบริ ษัทคัดเลือกบุคคลเป็ นตัวแทนของบริ ษัทเข้ าไปเป็ นกรรมการ และผู้บริ หารในบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วม ตามสัดส่วนของการถือหุ้น เพื่อควบคุมดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อย ตามสัดส่วนการถือครองหุ้นของบริ ษัท 3. กากับดูแลโดยผ่านกรรมการตัวแทนและผู้บริ หาร และนโยบายที่กาหนดโดยเอไอเอส 4. พิจารณาเรื่ องที่มีความสาคัญ เช่น กลยุทธ์ แผนธุรกิจ การเพิ่มทุนหรื อลดทุน การเลิกบริ ษัท รวมทังนโยบายที ้ ่สาคัญ ต่างๆ 5. ติดตามผลการดาเนินงาน โดยฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทของเอไอเอส 6. ดูแลให้ บริ ษัทย่อย และบริ ษั ทร่ วมปฏิบัติตามกฏระเบียบที่ เกี่ ยวข้ องของหน่วยงานกากับดูแล ได้ แก่ การทารายการ ระหว่างกัน การได้ มาและจาหน่ายไปซึ่ งสินทรัพย์ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและทันเวลา รวมทังดู ้ แลให้ มีการ จัดทาบัญชีและรายงานทางการเงินถูกต้ องตามที่ควร ตามกฏหมายที่เกี่ยวข้ องและมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 7. การพิจารณาทาธุรกรรมใดๆ ของบริ ษัทย่อยที่มีนยั สาคัญต่อการดาเนินธุรกิจหรื อฐานะการเงินของเอไอเอส ได้ กาหนดให้ ธุรกรรมดังกล่าวต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการของเอไอเอสทุกครัง้ 8. ตรวจสอบโดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีการควบคุมภายในที่กาหนดไว้ เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 9. การเปิ ด เผยข้ อ มูลทางการเงิ น และผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อย เอไอเอสได้ ว่าจ้ างผู้สอบบัญ ชี จ ากส านัก งาน สอบบัญชีเดียวกันเพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบและรวบรวมข้ อมูลทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินมาเปิ ดเผยในงบการเงิน รวมของเอไอเอส 10. สือ่ สารจริ ยธรรมธุรกิจและนโยบายต่อต้ านการรับและให้ สนิ บนไปยังบริ ษัทย่อยและบริ ษัทกิจการร่วมค้ า ทังนี ้ ้ รายละเอียดของการดารงตาแหน่งของกรรมการและผู้บริ หารในบริ ษัทย่อย ปรากฎตามเอกสารแนบ 2 หมวด 5 ประมวลจริยธรรมธุรกิจ เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานของเอไอเอสและการปฏิ บัติ ห น้ าที่ ข องทุก คนในองค์ ก รเป็ นไปอย่ า งถูก ต้ องตามกฎหมาย ตรงไปตรงมา และเพี ย บพร้ อมด้ วยคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม อั น เป็ นหั ว ใจส าคั ญ ของการด าเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น คณะกรรมการบริ ษัทจึงกาหนดให้ มี “ประมวลจริยธรรมธุรกิจ” ที่ประกอบด้ วยแนวปฏิบตั ิ 12 หมวด ครอบคลุมตังแต่ ้ เรื่ องความ รับผิดชอบต่อผู้มีสว่ นได้ เสีย การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ การเคารพสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้ อบังคับต่างๆ และจัดให้ มีคณะกรรมการจริ ยธรรม ซึ่ง มีประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นประธาน และมีผ้ บู ริ หาร

ส่วนที่ 2 | หน้ า 31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ระดับสูงจากสายงานหลักเป็ นคณะกรรมการ รับผิดชอบในการขับเคลื่อนและกากับดูแลจนเกิดเป็ นวัฒนธรรมองค์กร โดยท่าน สามารถศึกษาประมวลจริ ยธรรมธุรกิจได้ จาก http://advanc-th.listedcompany.com/governance_policy.html เอไอเอสจัดให้ มีช่องทางลับสาหรับพนักงานและบุคคลภายนอก เพื่อแจ้ งเรื่ องการกระทาที่อาจจะเข้ าข่ายการละเมิด จริ ยธรรมต่อคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีกระบวนการสอบสวนและมาตรการคุ้มครองผู้แจ้ งข้ อมูลตาม “นโยบายการให้ ข้อมูล การกระท าผิ ด และการทุ จริ ต การสอบสวน และการคุ้ ม ครองผู้ ให้ ข้ อ มู ล ” โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ คณะกรรมการจริ ยธรรม สื่อสารนโยบายให้ ทุกคนทุกฝ่ ายรับทราบผ่านช่องทางและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น อีเมล์ อินทราเน็ต แผ่นป้ายประกาศ และการรณรงค์ภายใน การดาเนินงานเพื่อส่งเสริ มให้ เกิดจริ ยธรรมในการประกอบธุรกิจในปี 2561 สรุปได้ ดงั นี ้ 5.1 สือ่ สารและจัดให้ มีการฝึ กอบรมทังทางออนไลน์ ้ สือ่ ประชาสัมพันธ์ และผ่านตัวแทนพนักงาน/ตัวแทนทีต่ ิดต่อคูค่ ้ า โดยเน้ นการ สร้ างความตระหนักใน 3 เรื่ อง คือ การให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ แนวทางปฏิบตั ิในการการรับทรัพย์สิน จากคู่ค้าหรื อผู้ที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจ การทาธุรกิจส่วนตัวทังทางตรงและทางอ้ ้ อมกับบริ ษัท โดยสือ่ สารให้ พนักงาน คูค่ ้ าและบริ ษัทร่วมทุน จานวนพนักงาน/บริ ษัท ที่ได้ รับการสือ่ สารหรื อฝึ กอบรม (ร้ อยละ) การแจ้ งผ่านจดหมายหรื อสื่อ ก ารเข้ าร่ วม ฝึ ก อ บ รม ทั ้ง การสื่อสารผ่านช่ องทางอื่ น ๆ ประชาสัมพันธ์ ออนไลน์และออฟไลน์ อาทิ การแจ้ งผ่ า นตั ว แทนที่ ติดต่อกับคูค่ ้ า พนักงานเอไอเอส 100 99.08 บริ ษัทคูค่ ้ า 100 90.44 ผ่านตัวแทนที่ต้องติดต่อกับคู่ ค้ าเป็ นประจา บริ ษัทย่อย 100 99.08 บริ ษัทร่วม 60 40 นาเสนอเป็ นวาระการประชุม เพื่อรับทราบ 5.2 จัดให้ การประเมินความเข้ าใจเรื่ องการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรมธุรกิ จ ของพนักงานคู่ค้าและบริ ษัทร่ วมทุน เพื่อทดสอบ ความเข้ าใจและวัดประสิทธิภาพของการดาเนินโครงการ สาหรับนามาพัฒนาและปรับปรุงต่อไป 5.3 คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจเปิ ดโอกาสให้ พนักงานสามารถสอบถามข้ อสงสัยต่างๆ ที่ตนได้ พบเห็นในระหว่างการปฏิบตั ิงาน ซึ่งเกี่ยวกับประมวลจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัท ผ่านอีเมล์ ethicclinic@ais.co.th ทังนี ้ ้ ในปี ที่ผ่านมา พบว่ามีการกระทาที่เข้ าข่าย ละเมิดจริ ยธรรมธุรกิจ 4 ประเภท ดังนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 32


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

กรณีท่ ี 1

2

3

4

2561

ข้ อมูลการกระทาผิด แนวทางการดาเนินการ พนั ก งานรั บ ผลประโยชน์ เ ป็ นค่ า ส่ ว นลดแพ็ ค เกจ หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานกฎหมาย และหน่ ว ยงานบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล ร่ ว มกั น ท่องเที่ยวจากคูค่ ้ าของบริ ษัทเป็ นการส่วนตัว สอบสวน และเมื่ อปรากฎว่ าเป็ นจริ ง จึงได้ มีก าร ลงโทษทางวิ นั ย กั บ พนั ก งานผู้ กระท าผิ ด ตาม ระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัท โดยการตักเตือนเป็ น ลายลักษรณ์และการพักงานโดยไม่จ่ายค่าจ้ าง พนักงานมีส่วนได้ เสียในธุรกรรมที่บริ ษัทตกลงกับคู่ค้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานกฎหมาย โดยมิได้ แจ้ งให้ บริ ษั ท ทราบ ทัง้ ที่ พ นัก งานนัน้ ๆ มี ส่ว น และหน่ ว ยงานบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล ร่ ว มกั น สอบสวน และเมื่ อปรากฎว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีก าร เกี่ยวข้ องในกระบวนการจัดซื ้อจัดจ้ างหรื อไม่ก็ตาม ลงโทษทางวิ นั ย กั บ พนั ก งานผู้ กระท าผิ ด ตาม ระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัท โดยการตักเตือนด้ วย วาจา การตักเตือนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร การลด ผลการประเมิ น ประจ าปี การหั ก ลดเงิ น โบนั ส ประจาปี และพักงานโดยไม่จ่าย พนักงานน าข้ อ มูล ของลูก ค้ า ไปเปิ ด เผยเพื่ อ ประโยชน์ หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานกฎหมาย ส่วนตัว โดยไม่ ได้ รับ อนุญ าตจากลูก ค้ า รวมถึ งมี ก รณี และหน่ ว ยงานบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล ร่ ว มกั น พนั ก งานน าเสนอข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ าและบริ ก าร สอบสวน และเมื่ อปรากฎว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีก าร ลงโทษทางวิ นั ย กั บ พนั ก งานผู้ กระท าผิ ด ตาม อิน เตอร์ เน็ ต ที่ ไม่มี อ ยู่จ ริ งต่ อลูก ค้ า และเมื่ อ ขายสิน ค้ า ระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัทด้ วยการเลิกจ้ างโดยไม่ และบริ การดังกล่าวได้ แล้ วก็นาเงินจากลูกค้ ามาใช้ เป็ น จ่ายค่าจ้ าง การส่วนตัว พนัก งานน าทรั พ ย์ สิ น ของบริ ษั ท ไปใช้ เพื่ อ ประโยชน์ หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานกฎหมาย และหน่ ว ยงานบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล ร่ ว มกั น ส่วนตัว สอบสวน และเมื่ อปรากฎว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีก าร ลงโทษทางวิ นั ย กั บ พนั ก งานผู้ กระท าผิ ด ตาม ระเบี ย บข้ อบั ง คั บ ของบริ ษั ท โดยการด้ วยการ ตัก เตื อนด้ วยวาจา การตัก เตือ นเป็ น ลายลักษณ์ อักษร การพักงานโดยไม่จ่ายค่าจ้ าง การเลิกจ้ าง โดยไม่ จ่า ยค่า ชดเชยหรื อ ค่าบอกกล่าวล่วงหน้ า หรื องดการจ่ายโบนัสประจาปี

ส่วนที่ 2 | หน้ า 33


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

นโยบายด้ านสิทธิมนุษยชน เอไอเอสตระหนักถึงความสาคัญและเคารพต่อสิทธิ เสรี ภาพ และความเท่าเทียมกันของบุคคลทุกคน อันเป็ นคุณธรรมพื ้นฐาน ของการทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคม ในปี ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริ ษัทได้ ออกนโยบายด้ านสิทธิมุนษยชน เพื่อเป็ นแนว ปฎิบตั ิในการดาเนินงานของเอไอเอส คูค่ ้ า และผู้ที่เกี่ยวข้ องตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่าทางธุรกิ จ (Business value chain) ครอบคลุมทัง้ เรื่ องหน้ าที่ความรับผิดชอบของบุคคลแต่ละกลุม่ การปฏิบตั ิต่อพนักงาน การใช้ แรงงานที่ถกู กฎหมาย การไม่เข้ าไปมีสว่ นร่ วมใน การกระทาใดๆ ที่เป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเด็ดขาด และการกาหนดแนวปฏิบตั ิเรื่ องการตรวจสอบกิจกรรมดาเนินงานและ การประเมินความเสีย่ งด้ านสิทธิมนุษยชนในการดาเนินธุรกิจ นโยบายด้ านสิทธิ มนุษ ยชนของเอไอเอสสอดคล้ องตามปฎิญ ญาสากลว่าด้ วยสิทธิ มนุษยชนของสหประชาชาติ (United Nations Universal Declaration of Human Rights - UNDHR) และปฏิญญาว่าด้ วยหลักการและสิทธิพื ้นฐานในการทางานของ องค์ ก ารแรงงานระหว่ า งประเทศ (The International Labor Organization - ILO) ซึ่ ง ท่ า นสามารถศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ http://www.ais.co.th/sustainability/policy/thai/Human_Rights_Policy_TH.pdf นโยบายต่ อต้ านการให้ หรือรับสินบนและการคอร์ รัปชั่น บริ ษัทยึดมัน่ ที่จะดาเนินธุรกิจด้ วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส และเป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี บริ ษัทต่อต้ านการ ให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ ทุกรูปแบบ ด้ วยตระหนักดีวา่ การให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ นัน้ เป็ นภัยร้ ายแรงที่ทาลาย การแข่งขันอย่างเสรี และเป็ นธรรม รวมทังก่ ้ อ ให้ เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ ตระหนักถึงความสาคัญและพิจารณากาหนดนโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ เพื่อเป็ นอีกหนึ่งแนวทางใน การปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัท ให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ และแนวปฏิบตั ิ อีกทัง้ เพื่อป้องกันมิให้ บริ ษัทฯ อันรวมไปถึงกรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้ อง ฝ่ าฝื นกฎหมาย ต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ โดยได้ เผยแพร่นโยบายไว้ ใน http://advanc-th.listedcompany.com/anti_bribery.html ในปี 2561 เอไอเอส ได้ รับการรับรองต่ออายุการรับ รองเป็ นสมาชิ กโครงการแนวร่ วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการ ต่อ ต้ านการทุจ ริ ต ( Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption: CAC) เป็ น ที่ เรี ย บร้ อย เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2561 โดยใบรับรองดังกล่าวจะมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่มีมติให้ การรับรอง ทังนี ้ ้ การรับรองเป็ นสมาชิก ดังกล่าวเป็ นการตอกย ้าและแสดงถึงว่าบริ ษัทและกลุม่ บริ ษัทได้ นาขันตอนและหลั ้ กการสาคัญของแนวปฏิบตั ิของนโยบายต่อต้ าน การให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชั่นไปปฏิบตั ิใช้ ได้ ทงหมดซึ ั้ ่งครอบคลุมกระบวนการดาเนินงานต่าง ๆ อย่างจริ งจัง เช่น การ บริ จาคเพื่อการกุศลและการเป็ นผู้ให้ การสนับสนุน การบริ หารทรัพยากรบุคคล เป็ นต้ น นอกจากนี ้ เอไอเอส ได้ สื่อสารตามนโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบน และการคอร์ รัปชัน่ ไปยังบริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วมทุน บริ ษั ท อื่ น ใดที่ มี อ านาจในการควบคุม คู่ ค้ า ทางธุ รกิ จ และผู้มี ส่ว นได้ ส่วนเสีย รวมทัง้ สาธารณชน ผ่า นช่ อ งทางการสื่ อ สารที่ หลากหลาย เช่น จดหมาย อีเมล์ เว็บไซต์ Social Intranet การจัดนิทรรศการ หรื อการนาเข้ าไปบรรจุเป็ นวาระหนึง่ ในการประชุม คณะกรรมการบริ ษัท เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ เพื่อให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ รับทราบและนาไปปฏิบตั ิให้ สอดคล้ องกับแนวทางที่บริ ษัทกาหนด เอไอเอส ได้ จัดให้ มีการสื่อสารและฝึ กอบรมอย่างต่อเนื่องแก่บุคลากร เพื่อให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจอย่างแท้ จริ งเกี่ยวกับ มาตรการต่อต้ านการคอร์ รัปชัน่ ความคาดหวังของบริ ษัทฯ และบทลงโทษหากไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการนี ้ เช่น การอบรมหัวข้ อการ ต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบน และการคอร์ รัปชั่นแก่พนักงานที่เข้ าใหม่และเป็ นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการปฐมนิเทศ การจัดอบรม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 34


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

หลักสูตรทางจริ ยธรรมธุรกิจผ่านสื่อสารสนเทศ (LearnDi) รวมทังจั ้ ดให้ มีการประเมินการรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับแนวปฎิบตั ิตาม ประมวลจริ ยธรรมธุรกิจและการต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบน และการคอร์ รัปชัน่ กับคูค่ ้ า ผู้บริ หาร และพนักงานเป็ นประจาทุกปี เอไอเอสได้ ประกาศแนวปฎิบตั ิ “งดรับของขวัญ (No Gift Guideline)” ในเทศกาลปี ใหม่ รวมถึงได้ ปรับปรุ งและประกาศใช้ นโยบายการต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบน และการคอร์ รัปชัน่ แนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการรับทรัพย์สนิ ของผู้บริ หารและพนักงาน จากคู่ ค้ าหรื อผู้ที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทเพื่อเป็ นการสร้ างมาตรฐานที่ดีในการปฏิบั ติงานของบุคลากรโดยมุ่งหวังให้ บุคลากรทุก ระดับปฏิบตั ิงานอย่างเต็มความสามารถโดยไม่หวังผลประโยชน์ตอบแทนและเป็ นการตอกย ้าการปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแล กิจการที่ดี เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการร้ องเรี ยนและแจ้ งเบาะแสการทุจริ ตต่อหน้ าที่ (Whistleblowing) ให้ มี ความเหมาะสมและเป็ น ไปในทิศทางเดียวกันทังองค์ ้ กร อีกทังมี ้ มาตรการคุ้มครองและให้ ความเป็ นธรรมแก่ผ้ รู ้ องเรี ยน หรื อผู้ให้ ความร่ วมมือในการให้ ข้อมูลเบาะแสที่เกี่ยวข้ องด้ วย โดย Whistleblowing จะเป็ นเครื่ องมือในแง่ของการเป็ นสัญญาณเตือนภัย ล่วงหน้ าและเป็ นช่องทางในการปราบปรามการทุจริ ต เนื่องจากจะช่วยแก้ ไขปั ญหาได้ ทนั ท่วงทีก่อนที่ปัญหานันจะบานปลายและ ้ อาจเกิดผลกระทบต่อภาพพจน์และฐานะทางการเงินขององค์กรอย่างรุนแรงในภายหลังได้ นโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศ ในฐานะที่เป็ นบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เอไอเอสมุง่ มัน่ ที่เปิ ดเผยสารสนเทศ ทังที ้ ่เป็ นสารสนเทศ ทางการเงินและมิใช่ทางการเงิน ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นและผู้ลงทุนอย่างถูกต้ อง เพียงพอ ทันเวลา เท่าเทียม และเป็ นไปตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้ อง เพื่อส่งเสริ มความเชื่อมัน่ ของผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ และซื่อตรงของบริ ษัท นโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศ ตังอยู ้ ่บนหลักสาคัญ 3 ประการ คือ การปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง ความ โปร่งใสและความรับผิดชอบในการเปิ ดเผยสารสนเทศ และความเป็ นธรรมและเท่าเทียมในการเข้ าถึงสารสนเทศ โดยสาระสาคัญ ของนโยบายกาหนดตังแต่ ้ บทบาทหน้ าที่ความรับผิดชอบของผู้บริ หารในฐานะโฆษกผู้รับมอบอานาจ (spokespersons) แนวทาง ในการเปิ ดเผยสารสนเทศที่มีสาระสาคัญ การเก็บรักษาความลับของข้ อมูล การดาเนินการเมื่อมีข่าวลือหรื อการซื ้อขายหลักทรัพย์ ที่ผิดไปจากสภาวะปกติ การขอหยุดพักการซื ้อขายหลักทรัพย์เป็ นการชัว่ คราว การกาหนดช่วงระยะเวลาห้ ามเผยแพร่สารสนเทศ ก่อนประกาศผลประกอบการ และการสือ่ สารกับผู้ลงทุนในประเด็นต่างๆ รวมถึงกาหนดบทลงโทษกรณีพบการฝ่ าฝื นนโยบาย นโยบายการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อให้ การทารายการที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษัทเป็ นไปตามกฎหมาย ประกาศ ข้ อกาหนด และแนวปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องของหน่วยงานกากับดูแล ตังอยู ้ บ่ นพื ้นฐานของความโปร่งใสและคานึงถึงผลประโยชน์สงู สุด ของบริ ษัทเป็ นสาคัญ เอไอเอสจึงกาหนดให้ มีนโยบายการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยมีผลบังคับใช้ กบั การทารายการที่เกี่ยวโยง กันของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษัท สาหรับรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ของบริ ษัทย่อย ให้ มีแนวปฏิบตั ิเป็ นไปตามนโยบายและระเบียบปฏิบตั ิการจัดซื ้อและประมวลจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัท โดยมีการกาหนดบทบาทหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ ส่วนงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน มีหน้ าที่ พิจารณาความสมเหตุสมผลของการท ารายการและก ากับ ดูแลให้ มี การปฏิ บัติ ตามกฎหมาย และกาหนดให้ ทุกหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้ องกับการทารายการหรื อที่อาจจะรับ ทราบการเกิ ดขึน้ ของรายการต้ องมีห น้ าที่แจ้ งข้ อมูลต่อหน่วยงานกากับดูแลการ ปฏิบตั ิงานก่อนตกลงเข้ าทารายการ สาระสาคัญของนโยบายมุง่ เน้ นให้ ในการตกลงเข้ าทารายการที่เกี่ยวโยงกัน บริ ษัทและบริ ษัทย่อยต้ องกระทาโดยถือเสมือนการ ตกลงทารายการกับบุคคล ภายนอกภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไป (Arm's length Basis) เพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท โดยมีการ ส่วนที่ 2 | หน้ า 35


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

กาหนดขัน้ ตอนในการพิจารณาการเข้ าทารายการที่เกี่ยวโยงกัน และข้ อห้ ามกรรมการและผู้บริ หารที่มีส่วนได้ เสียหรื อมีความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์เข้ าร่วมพิจารณาการทารายการที่เกี่ยวโยงกันซึง่ ตนมีสว่ นได้ เสีย และ/หรื อเป็ นผู้อนุมตั ิรายการดังกล่าว นอกจากนี ้ ยังกาหนดให้ กรรมการและผู้บริ หาร มีหน้ าที่รายงานการมีสว่ นได้ เสียของตนตามหลักเกณฑ์และวิธีการรายงานส่วน ได้ เสียของกรรมการและผู้บริ หารเป็ นประจาทุกปี และเมื่อมีการเปลีย่ นแปลง นโยบายการซือ้ ขายหลักทรัพย์ ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน คณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณาและอนุมตั ินโยบายการซื ้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน โดยมี วัต ถุป ระสงค์ ห ลัก เพื่ อด ารงความเชื่ อมั่น ของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนในหลักทรัพ ย์ ของบริ ษั ท และบริ ษั ท อิน ทัช โฮลดิ ง้ ส์ จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นโยบายฉบับนี ้มีหวั ใจสาคัญหลักคือการห้ ามมิให้ บคุ ลากรของบริ ษัทอาศัยข้ อมูลภายใน เพื่อ ประโยชน์ในการซื ้อขายหลักทรัพย์ของเอไอเอสและบริ ษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) ไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้ อม อันเป็ นการ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับแก้ ไขล่าสุด) รวมไปถึงประกาศฉบับอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้ อง หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่กาหนดครอบคลุมกลุ่มบุคคลต่างๆ ได้ แก่ กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงานนอกจากนี ้ยังระบุ หน้ าที่พิเศษให้ กลุม่ บุคคลที่บริ ษัทกาหนดไว้ โดยเฉพาะ ได้ แก่ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานที่โดยตาแหน่งหน้ าที่สามารถเข้ าไป ข้ อมูลภายในได้ ต้องเปิ ดเผยการถือครองหลักทรัพย์ของเอไอเอสและบริ ษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) ต่อฝ่ ายกากับดูแลการ ปฏิบตั ิงาน รวมถึงรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ทุกครัง้ ที่มีการซื ้อขายหรื อโอนหลักทรัพย์ เพื่อประโยชน์ในการ กากับดูแลและความโปร่ งใส นอกจากนี ้ กลุม่ บุคคลที่บริ ษัทกาหนดไว้ โดยเฉพาะดังกล่าวยังห้ ามซื ้อขายหลักทรัพย์ ในช่วงเวลา สามสิบวัน (30) วัน ก่อนวันที่เปิ ดเผยงบการเงินประจารายไตรมาสและประจาปี (Blackout Period) ท่านสามารถดูรายละเอียดของนโยบายการซื ้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ได้ ที่ http://advancth.listedcompany.com/governance_policy.html แนวปฏิบัติการใช้ อินเตอร์ เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ การพัฒนาเทคโนโลยีได้ เปลีย่ นแปลงวิธีการสือ่ สารของคนในสังคมปั จจุบนั คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจจึ งได้ เห็นชอบ แนวปฏิบตั ิที่ถกู ต้ องเหมาะสมเป็ นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ องให้ แก่พนักงานในการใช้ งานอินเตอร์ เน็ตและสือ่ สังคมออนไลน์ หัวใจ หลักของแนวปฏิบัตินีค้ ือการตระหนักถึงผลกระทบต่างๆ ที่อาจเกิ ดขึ ้นจากการใช้ งานอินเตอร์ เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ในกิ จ ส่วนตัวและในหน้ าที่การงานโดยปราศจากความระมัดระวัง รวมถึงการหลีกเลี่ยงการละเมิดกฎหมายคอมพิวเตอร์ ฉบับใหม่ด้วย เช่น พนักงานต้ องใช้ งานอินเตอร์ เน็ตและสือ่ สังคมออนไลน์ โดยเคารพในทรัพย์สนิ ทางปั ญญาของผู้อื่น เป็ นต้ น ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ในปี 2561 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ดังนี ้ ค่าสอบบัญชีของบริ ษัท ค่าสอบบัญชีของบริ ษัท (บาท) 1,714,000 ค่าสอบบัญชีงบการเงินรวมประจาปี และ 712,000 ค่าสอบทานงบการเงิน รวมรายไตรมาส ของบริ ษัท (บาท) รวม (บาท) 2,426,000 ส่วนที่ 2 | หน้ า 36


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ค่าสอบบัญชีของบริ ษัทข้ างต้ นไม่รวมค่าบริ การอื่น (Non-audit fee) ซึ่งจ่ายเป็ นค่าสอบทานแนวปฏิบตั ิการต่อต้ านการให้ หรื อรับ สินบนและการคอร์ รัปชัน่ ของบริ ษัทตามโครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านทุจริ ต (CAC) จานวน 400,000 บาท และค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ที่เบิกตามจริ ง (Out of pocket expense) จานวน 44,186 บาท ค่าสอบบัญชีของบริ ษัทย่อย ค่าสอบบัญชีของบริ ษัทย่อย (บาท) 8,991,600 จานวนบริ ษัทย่อย (บริ ษัท) 17 ค่าสอบบัญชีของบริ ษัทย่อยข้ างต้ นไม่รวมค่าบริ การอื่น (Non-audit fee) ซึง่ จ่ายเป็ นค่าที่ปรึกษาในการจัดทาโปรแกรมเพื่อป้องกัน ข้ อมูลสูญหายและอื่น ๆ รวม 5,742,500 บาท และค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ที่เบิกตามจริ ง (Out of pocket expense) จานวน 154,961 บาท ให้ แก่สานักงานสอบบัญชีที่ผ้ สู อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกับผู้สอบบัญชี การปฎิบัติตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ บริ ษั ท พิ จ ารณาการน าหลัก ปฏิ บั ติ ต ามหลัก การก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส าหรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นปี 2560 หรื อ Corporate Governance Code (CG Code) ที่ออกโดยสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มาปรับใช้ ตามความ เหมาะสมของธุรกิจของเอไอเอสแล้ ว โดยปี 2561 มีเรื่ องที่บริ ษัทยังไม่ได้ ปฏิบตั ิและมีมาตรการทดแทนที่เหมาะสมและได้ บนั ทึกไว้ เป็ นส่วนหนึง่ ของมติคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อให้ มีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี ดังต่อไปนี ้ 

บริ ษัทมีกรรมการอิสระ 1 ท่านที่ดารงตาแหน่งต่อเนื่องเกิน 9 ปี โดยคณะกรรมการได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ากรรมการอิสระ คนดังกล่าวเป็ นกรรมการซึ่งมีคุณ สมบัติเป็ นกรรมการอิสระที่สามารถให้ ความเห็นได้ อย่างเป็ นอิสระและเป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง รวมทังเป็ ้ นกรรมการที่ได้ นาประสบการณ์ ความรู้ และความเชี่ยวชาญมาให้ ข้อเสนอแนะอันเป็ น ประโยชน์ในการกาหนดยุทธ์และการดาเนินธุรกิจของบริ ษัท

สมาชิ ก ของคณะกรรมการพัฒ นาความเป็ นผู้น าและก าหนดค่ า ตอบแทนส่ว นใหญ่ ไม่ เป็ นกรรมการอิ ส ระ ทัง้ นี ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมตั ินโยบายกากับดูแลกิจการโดยกาหนดให้ สดั ส่วนกรรมการอิสระเป็ นเสียงส่วนใหญ่ รวมถึง ประธานกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน และจะดาเนินการเรื่ องนี ้ภายหลังที่ได้ จดั การประชุม สามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ต่อไป

ส่วนที่ 2 | หน้ า 37


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การพัฒนาธุรกิจอย่ างยั่งยืน ปี 2561 ถือเป็ นปี ที่สาคัญของเอไอเอส ด้ วยการกาหนดกลยุทธ์ ในการประกอบธุรกิจให้ มีการพัฒนาและเติบโต อย่างยั่งยืนใหม่ จากเดิม ที่มองในมุมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ เสียหลัก 5 กลุ่ม คือ สังคมชุม ชน ลูกค้ า คู่ค้า พนักงาน และ สิ่งแวดล้ อม ซึ่งใช้ มาเป็ นระยะเวลา 5 ปี เปลี่ยนเป็ นกลยุทธ์ 7 ด้ าน ตามลักษณะการประกอบธุรกิ จที่มุ่งสู่การเป็ นผู้ ให้ บริ การดิจิทลั ไลฟ์ โดยกลยุทธ์ 7 ด้ าน ให้ ความสาคัญต่อการสร้ างความแข็งแกร่ งทางธุรกิจ การตอบสนองต่อความท้ าทายหรื อ โอกาสที่ ค าดว่า จะเกิ ด ขึน้ และส่งผลกระทบต่อ เอไอเอสอย่างมี นัย สาคัญ และการใช้ ป ระโยชน์ จ ากเทคโนโลยี สร้ าง ผลกระทบเชิงบวกในทุกมิติ กลยุทธ์ 7 ด้ านสู่การดาเนินธุรกิจอย่ างยั่งยืน

เอไอเอสผนวกกลยุทธ์ 7 ด้ านสู่การดาเนินธุรกิ จอย่างยั่งยืน เข้ าสู่กระบวนการดาเนินธุรกิ จ ตังแต่ ้ การกาหนดทิศ ทางการดาเนินงาน การพัฒนาสินค้ าและบริ การ การบริ หารจัดการนวัตกรรมและบุคลากร โดยวางเป้าหมายในระยะสัน้ และระยะยาว พร้ อมกาหนดตัวชี ้วัดที่ชดั เจน ซึ่งท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ จากรายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยัง่ ยืน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 38


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงทั่วทัง้ องค์ กร การบริ หารความเสี่ยงเป็ นกระบวนการสาคัญ ที่จะช่วยส่งเสริ มให้ เอไอเอสสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายของ องค์กร รวมทังสามารถตอบสนองความต้ ้ องการของผู้มีสว่ นได้ เสียต่าง ๆได้ อย่างเหมาะสม เอไอเอสมีการดาเนินงานตามนโยบาย และกรอบแนวทางการบริ หารความเสี่ย งแบบทั่วทัง้ องค์ กร (Enterprise Risk Management: ERM) ซึ่งครอบคลุม ทัง้ ในระดับ องค์กรและระดับปฏิบตั ิงาน เพื่อบริ หารจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) โดยปั จจุบนั โครงสร้ างการ บริ หารความเสีย่ งทัว่ ทังองค์ ้ กรของเอไอเอส มีองค์ประกอบหลักดังนี ้ การบริหารความเสี่ยงทั่วทัง้ องค์ กร (Enterprise Risk Management: ERM)

การบริหารความต่ อเนื่องทาง ธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM)

การบริหารความเสี่ยงด้ าน ธุรกิจ (Business Risk Management) ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้ านปฏิบัตกิ าร (Operational Risk) ความเสี่ยงด้ านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงด้ านการปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบ (Compliance Risk)

ส่วนที่ 2 | หน้ า 39

การบริหารความเสี่ยงด้ าน ทุจริต (Fraud Risk Management) ความเสี่ยงด้ านทุจริต (Fraud Risk)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

1. กรอบโครงสร้ างและกระบวนการบริหารความเสี่ยงของเอไอเอส กระบวนการบริ หารความเสี่ยงของเอไอเอส ประยุกต์ใช้ หลักการบริ หารความเสีย่ งตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) โดยประยุกต์ใช้ กบั การบริ หารความเสี่ยงด้ านธุรกิจและ การบริ หารความเสีย่ งด้ านทุจริ ต ซึง่ ประกอบด้ วย 1. การกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้ าหมาย ในระดับ 1.กาหนด องค์กร และหน่วยงานให้ สอดคล้ องกับความเสีย่ งที่ยอมรับ วัตถุประสงค์หรื อ เป้าหมาย ได้ (Risk Appetite) ซึง่ กาหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัท 6.ติดตามและ 2.ระบุเหตุการณ์ และมีการทบทวนความเสีย่ งที่ยอมรับได้ วัตถุประสงค์ และ รายงานผลอย่าง หรือปั จจัยเสี่ยง เป้าหมายในการดาเนินงานเป็ นประจาทุกปี สม่าเสมอ 2. การระบุ เหตุการณ์ หรื อปั จจัยเสี่ยง ที่อาจจะเกิ ดขึน้ แล้ วส่งผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมาย ขององค์ กร ทัง้ ที่เกิ ด จากปั จจัยภายใน เช่น กระบวนการ 5.กาหนดกิจกรรม 3.ประเมินความ ท างาน บุ ค ลากร และปั จ จัย ภายนอกต่ า งๆ เช่ น ความ ควบคุม เสี่ยง ต้ องการของลูกค้ า ปั จจัยทางด้ านเศรษฐกิจและการเมือง 4. ตอบสนองต่อ การเปลีย่ นแปลงกฎ ระเบียบต่างๆ เป็ นต้ น ความเสี่ยง 3. การประเมิ น ระดั บ ความเสี่ ย ง โดยพิ จ ารณาจาก 2 มุม มอง ได้ แ ก่ ผลกระทบที่ จะเกิ ด ขึน้ หากเกิ ด เหตุก ารณ์ ความเสีย่ ง ร่ วมกับโอกาสที่จะเกิดของความเสี่ยงนันๆ ้ และ การประเมินความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบของความเสีย่ ง ใดๆ ที่อาจส่งผลต่ออีกความเสีย่ งหนึง่ 4. การตอบสนองต่ อความเสี่ยง ตามแต่ละระดับของ ความเสี่ยงด้ วยวิธีการที่เหมาะสมโดยคานึงถึงต้ นทุนและ ผลประโยชน์ที่จะได้ รับจากการดาเนินการ 5. การกาหนดกิจกรรมควบคุม หรื อแผนงานเพื่อจัดการ ความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 6. การติดตามให้ มีการดาเนินการตามกิจกรรมควบคุมที่ ได้ ก าหนดไว้ อ ย่ า งเหมาะสม และมี ก ารรายงานผลการ บริ หารความ เสี่ ย งให้ กั บ คณ ะกรรมการต รวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบ เป็ นประจา

ส่วนที่ 2 | หน้ า 40


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บทบาทหน้ าที่ในการบริหารความเสี่ยงของเอไอเอส   

คณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการตรวจสอบ

กาหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงทัว่ ทังองค์ ้ กร กากับดูแลให้ มีการดาเนินการบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม มอบหมายหน้ าที่การบริหารความเสี่ยงให้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการตรวจสอบ  สอบทานความเหมาะสมและ ประสิทธิภาพของระบบการบริหาร ความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

ผูบ้ ริหารสายงาน

พนักงาน ส่วนที่ 2 | หน้ า 46

คณะกรรมการบริหาร  กากับดูแลและติดตามสถานะความ เสี่ยงที่สาคัญขององค์กร

  

กาหนดกรอบแนวทางการบริหารความเสี่ยงทัว่ ทังองค์ ้ กร มอบหมายให้ ผ้ รู ับผิดชอบดาเนินการบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ติดตามการบริหารความเสี่ยงให้ อยูใ่ นระดับที่องค์กรยอมรับได้

  

รับมอบนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงไปประยุกต์ใช้ ทวั่ ทังองค์ ้ กร ติดตามการบริหารความเสี่ยงให้ บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย สร้ างความวัฒนธรรมการตระหนักรู้ถึงความเสี่ยงให้ แก่พนักงานทุกระดับชัน้

  

กาหนดกลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยงภายใต้ หน่วยงาน รับผิดชอบในการระบุ ประเมินและจัดการความเสี่ยงในหน่วยงาน สร้ างความวัฒนธรรมการตระหนักรู้ถึงความเสี่ยงให้ แก่หน่วยงาน

 

เรียนรู้และตระหนักรู้ถึงความสาคัญในการบริหารความเสี่ยง นานโยบายและกรอบกระบวนการบริหารความเสี่ยงไปประยุกต์ใช้ กบั การทางาน ประจาวัน


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คณะกรรมการบริ หารความเสี่ย งประกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงจากแต่ละสายงาน และมีประธานกรรมการบริ หาร เป็ นประธาน คณะกรรมการ โดยมีการประชุมเป็ นรายไตรมาส เพื่อพิจารณาประเด็นความเสี่ยงใหม่ ประเมินระดับความเสี่ยง พร้ อมทังพิ ้ จารณา ความสัมพันธ์ จากผลกระทบของความเสี่ยงแต่ละเรื่ อง ทบทวนระดับของความเสี่ยงเดิมที่ได้ ระบุไว้ แล้ ว และติดตามความสาเร็ จของ การบริ หารความเสี่ยง โดยพิจารณาจากแผนงานของฝ่ ายจัดการที่รับผิดชอบในปั จจัยความเสี่ยงต่างๆ และผลสาเร็ จของตัววัดผลที่ เชื่อถือได้ จากการปฏิบตั ิงานตามแผนงานนัน้ ในปี 2561 เอไอเอสได้ กาหนดให้ มีการรายงานผลของการดาเนินการบริ หารความเสี่ยงในระดับ สายงานในการประชุมซึ่งมี ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นประธานในการประชุม เพื่อรับทราบประเด็นความเสี่ยงต่างๆ รวมทังแนวทางในการจั ้ ดการความเสีย่ งของ แต่ละสายงาน เพื่อให้ มนั่ ใจว่าการบริ หารความเสี่ยงของแต่ละสายงานดาเนินไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างแท้ จริ ง รวมทังเพื ้ ่อเป็ นการเฝ้าระวังว่าความเสีย่ งในทุกระดับ มีการบริ หารจัดการอย่างเหมาะสม อยูภ่ ายใต้ ความเสีย่ งที่ยอมรับได้ ตามที่บริ ษัท กาหนดไว้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ นาเสนอผลการบริ หารความเสี่ยงให้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และ คณะกรรมการบริ ษัทได้ รับทราบเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อให้ มีการติดตามอย่างใกล้ ชิด และมั่นใจได้ ว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ รวมทังสามารถบรรลุ ้ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การบริหารความเสี่ยงจากการทุจริต เอไอเอสได้ ประกาศใช้ นโยบายการบริ หารความเสีย่ งจากการทุจริต เพื่อป้องกัน ตรวจสอบ รายงานและบริ หารจัดการประเด็น เรื่ องทุจริ ต โดยนโยบายฉบับนี ้ได้ กาหนดแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการบริ หารความเสีย่ งจากการทุจริตไว้ 3 ด้ าน คือ 1. การป้องกัน เป็ นการระบุ ประเมิน ทบทวนและตอบสนองต่อการทุจริ ตที่อาจจะเกิดขึ ้นในองค์กรและสื่อสารให้ พนักงานทุก ระดับชันตระหนั ้ กถึงปั ญหาและความสาคัญของการรายงานเหตุทจุ ริ ต การฉ้ อโกงและการประพฤติมิชอบ 2. การตรวจสอบ เป็ นการตรวจและสอบสวนการประพฤติมิชอบหรื อการทุจริ ตใดๆ หรื อเหตุที่อนั ควรสงสัยว่าจะเกี่ยวข้ องกับ กรณีดงั กล่าว 3. การตอบสนอง เป็ นการดาเนินการกระบวนการสอบสวนรวมถึงกระบวนการลงโทษ เอไอเอสคาดหมายว่ากรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานพึงตระหนักถึงความเสี่ยงของการเกิดการทุจริ ต รวมถึงการแจ้ งเตือนเหตุ ต่างๆ ที่อาจเกี่ยวข้ องกับการทุจริ ตในทันที และให้ ความร่ วมมือในการสอบสวนเรื่ องทุ จริ ตอย่างเต็มที่ ทังนี ้ ้ เอไอเอสได้ มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงด้ านทุจริ ต (Fraud Risk Management Committee: FRMC) เพื่อทาหน้ าที่กากับดูแลนโยบายและ ขันตอนการบริ ้ หารจัดการความเสีย่ งด้ านทุจริ ต รวมถึงสนับสนุนให้ หน่วยงานต่างๆ มีระบบการบริ หารความเสีย่ งด้ านทุจริ ต เพื่อทาการ บริ หารและควบคุมความเสีย่ งด้ วยตนเองอย่างเป็ นระบบ การบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management) เอไอเอสนาระบบบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ภายใต้ กรอบการดาเนินงานตามหลักมาตรฐานสากลทางด้ านการบริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจมาใช้ เพื่อเตรี ยมการรับมือหากเกิดเหตุการณ์ตา่ งๆ เช่นกรณีที่เกิดภัยพิบตั ิ ภัยธรรมชาติ หรื อเหตุการณ์ความผิดพลาด ต่างๆ ที่ไม่อยูใ่ นความควบคุม ซึง่ เหตุการณ์ดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบให้ เกิดการหยุดชะงักของระบบปฏิบตั ิงานหลัก และอาจก่อให้ เกิด ความสูญ เสีย เสี ย หายต่ อ ทรั พ ย์ สิน และบุค ลากร ซึ่งครอบคลุม ถึ ง กระบวนการธุ รกิ จ ที่ สาคัญ (Critical Business Process) ทัง้ ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมถึงบริ ษัทต่างๆ ในกลุม่ เอไอเอส และบริ ษัทในเครื อ ส่วนที่ 2 | หน้ า 47


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

โดยกาหนดให้ มีนโยบายและคู่มือการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ และให้ มีคณะกรรมการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิ จ (Business Continuity Management Committee) ทีป่ ระกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงของแต่ละสายงาน มีประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ น ประธาน เพื่อกากับดูแลให้ การบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจเป็ นไปอย่างมีประสิทธิผลและยัง่ ยืน กระบวนการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ประกอบไปด้ วย 4 กระบวนการหลัก ดังนี ้

 การออกแบบและจัดทาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ: นาเป้าหมายด้ านการบริ หารความต่อเนื่องในการดาเนินธุรกิ จของกระบวนธุรกิ จหลัก มาออกแบบและจัดทาแผนความ ต่อเนื่องทางธุรกิจที่สามารถรองรับภัยพิบตั ิที่อาจเกิดขึ ้น โดยพิจารณาจากวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis: BIA) ประกอบกับการพิจารณาความเสี่ยงของเหตุการณ์ ต่างๆ ที่อาจเกิ ดขึ ้น เพื่อระบุบริ การหรื อกระบวนการ ทางานที่สาคัญ และผลกระทบจากการหยุดชะงักของบริ การหรื อกระบวนการดังกล่าว รวมถึงกาหนดช่วงเวลาหยุดชะงักและ ระดับการดาเนินงานที่ยอมรับได้ ของแต่ละบริ การ/กระบวนการ  การนาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจไปปฏิบตั ิ: นาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจที่อนุมตั ิแล้ วไปดาเนินการตามที่ระบุในแผนงาน และสื่อสารแผน บริ หารความต่อเนื่อง ทางธุรกิจพร้ อมทาความเข้ าใจกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง รวมทังจั ้ ดเตรี ยมทรัพยากรทังจากภายในและภายนอกที ้ ่จาเป็ นในการ ดาเนินการตามแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจให้ เพียงพอ  การซ้ อมแผน และทาให้ แผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจเป็ นปั จจุบนั : จัดการฝึ กซ้ อมแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจตามกาหนดเวลาและเป้าหมายที่กาหนดไว้ พร้ อมทาการปรับปรุ งแผนงาน ให้ เป็ นปั จจุบนั และรายงานผลการซ้ อมแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ต่อผู้บงั คั บบัญชาผู้รับผิดชอบแผนบริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจนัน้ รวมทังรายงานต่ ้ อคณะกรรมการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ให้ รับทราบ  การทบทวน และปรับปรุงระบบการบริ หารความต่อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ: การปรับปรุ งแก้ ไขแผนการบริ หารจัดการความต่อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้ มีประสิทธิภาพและสอดรับกับระดับ ความเสีย่ งที่องค์กรเผชิญอยูใ่ นเวลานัน้ ส่วนที่ 2 | หน้ า 48


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ภาพรวมการดาเนินงานตามกรอบการบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจ เอไอเอสดาเนิ นกระบวนการบริ หารความต่ อเนื่ องทางธุรกิจโดยครอบคลุมตัง้ แต่ ระดับองค์ กร ระดับหน่ วยงาน และ ระบบงานสาคัญต่างๆ โดยพิจารณาจากความเสี่ยงของภัยคุกคามต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ ้น ทังในแง่ ้ ของโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ นนๆ ั้ และผลกระทบหากเหตุการณ์นนเกิ ั ้ ดขึ ้น เพื่อดาเนินการจัดทาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจในระดับองค์กร เพื่อรองรับเหตุฉกุ เฉิน หรื อภาวะวิกฤติ ที่อาจส่งผลเสียหายต่ออาคารสานักงาน หรื อความสูญเสีย เสียหายต่อทรัพย์สนิ และบุคลากรของเอไอเอส การจัดทาแผนความต่ อเนื่ องทางธุ รกิจในระดับหน่ วยงาน จากการประเมินผลกระทบทางธุรกิจหากไม่สามารถดาเนิน กิจกรรมต่างๆ ในแต่ละหน่วยงานได้ เพื่อจัดทาแผนความต่อเนื่องในการดาเนิ นธุรกิจสาหรับกระบวนการธุรกิ จที่สาคัญ ของแต่ละ หน่วยงาน ซึง่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความต่อเนื่องในการให้ บริ การแก่ลกู ค้ า การจัดทาแผนการกู้คืนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรวบรวมกลยุทธ์และขันตอนในการกู ้ ้ คืนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ สนับสนุนการดาเนินงานของกระบวนการธุรกิจที่สาคัญ ตลอดจนทรัพยากรที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการกู้คืนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใน ภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ บริ การหลักที่สาคัญของเอไอเอสสามารถกลับมาใช้ งานได้ ตามกาหนดเวลาและระดับการดาเนินงานที่ยอมรับได้ ของแต่ละบริ การ/กระบวนการ การจั ด ท าแผนบริ ห ารความต่ อ เนื่ องทางธุ รกิ จ เพื่ อ รองรั บ กระบวนธุ รกิ จ หลั ก (Critical Business Processes) ที่ มี ผลกระทบโดยตรงต่อการส่งมอบบริ การหลัก (Critical Services) และถือเป็ นความรับผิดชอบของผู้บงั คับบัญชาทุกระดับและพนักงาน ทุกคนที่จะต้ องให้ ความร่ วมมือในกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการบริ หารความต่อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ เช่น การจัดทา แผนการจัดเตรี ยมโครงสร้ างพื ้นฐานตามแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึ กซ้ อม และการทบทวนปรับปรุ ง แก้ ไขแผนงานเพื่อให้ มนั่ ใจในประสิทธิผลของแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ การสร้ างวัฒนธรรมเรื่องการบริหารความเสี่ยงในองค์ กร นอกเหนือจากการกาหนดกรอบการแนวทางการบริ หารความเสี่ยงทัว่ ทังองค์ ้ กรและบทบาทหน้ าที่ของพนักงานทุกระดับแล้ วเอไอ เอสยังมุง่ ส่งเสริ มและปลูกฝั งวัฒนธรรมการบริ หารความเสีย่ ง เพื่อสร้ างความตระหนักและความเข้ าใจที่ตรงกันในเรื่ องของความเสี่ยง ต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร และผลกระทบที่จะเกิดขึ ้น โดยเอไอเอสดาเนินมาตรการเพื่ อสร้ างวัฒนธรรมองค์กร ในการบริ หารความเสีย่ งทัว่ ทังองค์ ้ กร ดังนี ้  ประกาศใช้ นโยบายการบริ หารความเสี่ยง คู่มือการบริ หารความเสี่ยง และขัน้ ตอนในการบริ หารความเสี่ยง เผยแพร่ บน โซเซียล อินทราเน็ต เพื่อให้ พนักงานสามารถเข้ าไปอ่านและทาความเข้ าใจได้  จัดทาแผนบริ หารความเสี่ยงระดับองค์กรและระดับสายงาน ครอบคลุมถึงกระบวนการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายในที่มีประสิทธิภาพ  สือ่ สารผ่านการจัดงานประกาศผลประกอบการทุกครึ่งปี เพื่อให้ พนักงานทุกระดับมีความเข้ าใจที่ตรงกันและรับทราบทิศทาง และอุปสรรค/ความท้ าทาย ในการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทในระยะสันและระยะยาว ้  ให้ ความรู้ เรื่ องหลักการบริ หารความเสี่ยงกับพนักงาน โดยจัดทาเป็ นเอกสารนาเสนอในรู ปแบบที่เข้ าใจว่า และเผยแพร่ บน โซเซียล อินทราเน็ต

ส่วนที่ 2 | หน้ า 49


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ผลการปฏิบัติงานในปี ที่ผ่านมา และเป้ าหมายในปี 2562 ในปี 2561 เอไอเอสได้ รับ การรับ รองมาตรฐานสากล ISO 22301:2012 ระบบการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิ จ (Business Continuity Management System: BCMS) ในธุรกิ จบริ ก ารคลาวด์ (Cloud Service) ในฐานะที่ บ ริ ษั ท ได้ พัฒ นาระบบการบริ ห าร ความต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ พร้ อมรับมือกับเหตุวิกฤติหรื อภัยภิบตั ิ ซึ่งก่อให้ เกิดการบริ หารความยัง่ ยืน (Sustainable Development) ขององค์ กรได้ อย่างแท้ จริ ง นอกเหนือจากนี ้ บริ ษัทยังได้ ดาเนินการฝึ กซ้ อมตามแผนการบริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในปี 2561 มีการฝึ กซ้ อมตามสถานะการณ์ การเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threat) ที่ศนู ย์ จัดเก็ บข้ อมูลหลักของบริ ษั ท ส่งผลให้ เกิ ดการหยุด ชะงัก ของการส่งมอบบริ การบางประเภท โดยที่เอไอเอสได้ จัดเตรี ยมแผนการ ปฏิบตั ิงานต่างๆ เพื่อเตรี ยมการรับมือกับเหตุการณ์ฉกุ เฉินที่จะทาให้ เอไอเอสสามารถให้ บริ การได้ อย่างต่อเนื่องตามแผนบริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจที่ได้ กาหนดไว้ และให้ มนั่ ใจว่า เอไอเอสจะสามารถตอบสนองและบริ หารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจเมื่อประสบ กับเหตุการณ์ไม่คาดคิดต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม การควบคุมภายใน เอไอเอสสร้ างระบบการควบคุมภายในขึ ้นอย่างรัดกุม ตามกรอบการควบคุมภายในแบบบูรณาการ หรื อ COSO Internal Control - Integrated Framework 2013 (COSO 2013) ข อ ง The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission ซึ่งประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบ และ 17 หลักการ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วยให้ บริ ษัทบรรลุวตั ถุประสงค์ที่สาคัญด้ าน การดาเนินงาน การรายงานทางการเงินและการปฏิบัติตามกฎระเบียบข้ อบังคับ ที่เกี่ยวข้ อง สามารถสนับสนุนและปรับปรุ งผลการ ดาเนินงานให้ ดีขึ ้น และปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สนิ ของบริ ษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที1่ /2562 เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2562 คณะกรรมการบริ ษัทได้ ประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในตามแบบประเมินของสานักงานกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยมีกรรมการอิสระ 4 ท่าน ซึง่ เป็ นกรรมการตรวจสอบ * 2 ท่าน เข้ าร่วมประชุมด้ วย คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่า บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิ ผลและเหมาะสมเพียงพอในการดูแลการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ กฎหมายข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ อง สามารถป้องกันและนาทรัพย์สนิ ไปใช้ เพื่อประโยชน์ของบริ ษัท รวมทังมี ้ การจัดทารายงานทางการเงินที่ถกู ต้ องน่าเชื่อถือ โดยในปี 2561 การดาเนินกิจกรรมควบคุมภายในสามารถสรุปได้ ดงั นี ้ 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment)  เอไอเอสยึดมัน่ ในคุณค่าความซื่อตรงและจริ ยธรรม โดยคณะกรรมการบริ ษัทได้ กาหนด นโยบายการกากับดูแล กิ จการ ประมวลจริ ยธรรมธุรกิ จ และ นโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรั บสินบนและการคอร์ รัปชั่น เพื่ อให้ กรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน ยึดมัน่ ในคุณธรรม จริ ยธรรม ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ความรับผิดชอบ และดาเนินธุรกิจอย่างโปร่ งใส ตรงไปตรงมา เป็ นไปตามกฎหมาย โดยยึดถื อประโยชน์ร่วมกันของคู่ค้า ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้ อม โดยมอบหมายให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบทาหน้ าที่กากับดูแลนโยบายและมาตรการต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชั่น และ มอบหมายให้ คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจ ซึ่งมีประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร เป็ นประธาน ทาหน้ าที่รณรงค์ เผยแพร่ และ สร้ างความเข้ าใจให้ ผู้บริ หารพนักงาน และผู้เกี่ยวข้ อง ซึ่งรวมถึงพนักงาน Outsource และ กลุ่มคู่ค้า อีกทังได้ ้ จัดให้ มีการประเมินความรู้ ความ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 50


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

เข้ าใจเรื่ องการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ และ นโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ เป็ นประจาทุก ปี ติดต่อกันเป็ นปี ที่ 7 นอกจากนี ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กาหนด “นโยบายการรับแจ้ งข้ อมูลการกระทาผิดและการทาทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล” และช่องทางรับแจ้ งข้ อมูลการกระทาผิด มาตังแต่ ้ ปี 2557 เพื่อเป็ นแนวปฏิบตั ิในการรับแจ้ งข้ อมูล การเก็บรักษาข้ อมูลเป็ นความลับ การคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล รวมถึงการสอบสวน และการลงโทษผู้กระทาผิด  คณะกรรมการบริ ษัท ทาหน้ าที่กากับดูแลฝ่ ายจัดการ ซึง่ มีความเป็ นอิสระจากฝ่ ายจัดการ ประกอบด้ วยกรรมการทีม่ ี ความรู้ ความสามารถที่หลากหลาย โดยประธานกรรมการเป็ นกรรมการอิสระ และมีองค์คณะที่ประกอบด้ วยกรรมการอิสระ มากกว่า 1 ใน 3 หรื อคิ ดเป็ นร้ อยละ 45 ของกรรมการทัง้ คณะ ซึ่งท่านสามารถศึก ษารายละเอีย ดเพิ่ ม เติม ได้ จากหัวข้ อ โครงสร้ างการจัดการ นอกจากนี ้ ได้ กาหนดให้ มีคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของฝ่ าย จัดการในเรื่ องการตรวจสอบภายใน การบริ หารความเสี่ยง การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน การกากับดูแลกิจการที่ดี การพัฒนาและ กาหนดค่าตอบแทนของกรรมการ โดยให้ มีการรายงานผลการปฏิบัติต่อคณะกรรมการบริ ษั ททุกไตรมาส รายละเอียด สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จากหัวข้ อโครงสร้ างการจัดการ  ฝ่ ายจัดการกาหนดโครงสร้ างและสายการรายงานของบริ ษั ท ที่ เหมาะสมต่อ การบรรลุวัต ถุป ระสงค์ ด้านต่างๆ ภายใต้ การกากับดูแลของคณะกรรมการบริ ษัท โดยเน้ นการสร้ างสมดุลและความคล่องตัวในการปฏิบตั ิงาน สอดคล้ องต่อ สภาวะการเปลี่ยนแปลงในปั จจุบนั มีการมอบหมายอานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบบนพื ้นฐานของความรู้ ความสามารถ ของพนักงานแต่ละคน การกาหนดขอบเขตอานาจหน้ าที่มีความชัดเจน มีการแบ่งแยกหน้ าที่ งานเพื่อให้ เกิ ดการถ่วงดุล ระหว่างกัน บุคลากรทุกคนมีหน้ าที่และความรับผิดชอบในการควบคุมภายใน โดยมีหน่วยงานตรวจสอบภายในซึ่งมีความ เป็ นอิสระ ทาหน้ าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน  เอไอเอสให้ ความสาคัญต่อบุคคลากรเป็ นอย่างยิ่ง โดยกาหนดเป็ นพันธกิจหลักในการผลักดันให้ เกิดวัฒ นธรรม องค์กรที่พนักงานมีการปฏิบตั ิงานอย่างมืออาชีพเสมือนเป็ นเจ้ าของกิจการ และมีความสมดุลในชีวิตการทางาน เป็ นการจูงใจ ให้ พนักงานเกิดความผูกพันต่อองค์กร และรักษาไว้ ซงึ่ บุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถเพื่อให้ บริ ษัทเกิดความยัง่ ยืน รวมทัง้ ส่งเสริ มให้ พนักงานเกิดความคิดสร้ างสรรค์ การสร้ างนวัตกรรมใหม่เพื่อสร้ างเอไอเอสให้ เป็ นองค์กรแห่งนวัตกรรม ผ่านการ สื่อสาร การจัดกิจกรรมและการสนับสนุนจากผู้บริ หาร ซึ่งรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้ จากหัวข้ อ “มุ่งมัน่ พัฒนา นวัตกรรมด้ านดิจิทลั ” ในรายงานการพัฒ นาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน โดยมีหน่วยงานเอไอเอส อะคาเดมี่ รับผิดชอบการพัฒ นา ความรู้ความสามารถด้ านการบริ หารจัดการและสร้ างความเป็ นผู้นาที่เป็ นมาตรฐานทัว่ ทังองค์ ้ กร จัดหาหลักสูตรการเรี ยนรู้ใน รูปแบบต่างๆ เช่น การเรี ยนรู้ระหว่างปฏิบตั ิงาน การจัดสัมมนาทังภายในและภายนอก ้ และการสร้ างบทเรี ยนออนไลน์  คณะกรรมการบริ ษัทได้ จดั ให้ มีนโยบายและการวางแผนสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan) เพื่อเตรี ยมหาผู้สืบ ทอดตาแหน่งรับมอบหมายความรับผิดชอบ ตังแต่ ้ ผ้ บู ริ หารระดับสูง เช่น ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร หรื อหัวหน้ าหน่วยงาน ธุรกิจหลัก ซึ่งได้ มีการจัดทาแผนการสืบทอดตาแหน่งและแผนการอบรมเพื่อเตรี ยมความพร้ อมให้ แก่ผ้ บู ริ หาร รวมถึงให้ คาแนะนาสาหรับผู้ที่จะมาดารงตาแหน่งนัน้ นอกจากนีย้ งั ได้ พิจารณาหน้ าที่งานที่มีความสาคัญ โดยเฉพาะงานพัฒนา

ส่วนที่ 2 | หน้ า 51


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ระบบด้ านวิศวกรรม และระบบสารสนเทศซึ่งมีการว่าจ้ างผู้ให้ บริ การภายนอกดาเนินการ โดยได้ กาหนดมาตรการในการ แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้และระบบการจัดเก็บเอกสารอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยให้ การส่งมอบงานเป็ นไปอย่างราบรื่ น  ในแต่ละปี คณะกรรมการบริ ษัทร่วมกับผู้บริ หารระดับสูงเพื่อกาหนดตัวชี ้วัดและเป้าหมายขององค์กร (Balanced Scorecard) โดยเชื่อมโยงเป้าหมายกับมาตรวัดผลที่เกิดขึ ้นจริ ง เพื่อสนับสนุนการกากับดูแลการดาเนินงานให้ เป็ นไปตาม ทิศทางที่กาหนด นอกจากนี ้ ได้ กาหนดให้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานที่เกิดขึ ้นในระดับต่างๆ ตังแต่ ้ ระดับคณะกรรมการ ผู้บริ หาร พนักงานประจา พนักงานชัว่ คราว และ Outsource ซึ่งหัวหน้ างานมีการชี ้แจงให้ พนักงานทราบผลการประเมินทัง้ ด้ านเชิงบวกและเชิงลบเพื่อปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานให้ ดียิ่งขึ ้น โดยแบ่งการประเมินผลเป็ น การประเมินการปฏิบตั ิงานตาม เป้าหมายงาน และการประเมินคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของบุคลากรที่สอดคล้ องตามวัฒนธรรมองค์กร 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)  เอไอเอสให้ ความสาคัญในการบริ หารจัดการความเสีย่ งที่เกี่ยวข้ องกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร โดยจัดให้ มี การบริ หารความเสี่ยงทังในระดั ้ บองค์กรและระดับ ปฏิบตั ิงาน ภายใต้ การกากับดูแลของคณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งและ การประสานงานของหน่วยงานบริ หารความเสีย่ ง ซึง่ รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้ จากหัวข้ อ “การบริ หารความเสีย่ ง” ทังนี ้ ้ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2562 คณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบและกากับความเสี่ยงทา หน้ า ที่ ก ลั่น กรองกรอบความเสี่ ย ง (Risk Framework) ซึ่ ง ประกอบด้ วย นโยบาย ระดับ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ (Risk Appetite) และ ความเบี่ยงเบนของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) รวมถึงแนวทางการบริ หารความเสี่ยงใน ภาพรวม ตลอดจนทบทวนความเพียงพอของนโยบายและแนวทางการบริ หารความเสีย่ ง ซึง่ กาหนดโดยคณะกรรมการบริ หาร ความเสี่ยงก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษัท อีกทัง้ มีหน้ าที่กลัน่ กรองและให้ คาปรึกษาต่อคณะกรรมการบริ ษัทในการกากับ ดูแลความเสีย่ งในภาพรวม และประเมินความเพียงพอ เหมาะสม ของการนาความเสีย่ งไปบริ หารในเชิงกลยุทธ์ 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)  เอไอเอสกาหนดมาตรการควบคุมที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ให้ เหมาะสมกับความเสี่ยง และ คุณลักษณะเฉพาะของ องค์กร โดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้ อม ความซับซ้ อน ลักษณะและขอบเขตการปฏิบตั ิงาน ครอบคลุมกระบวนการต่างๆ เช่น นโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานด้ านการเงิน การจัดซื ้อ การทารายการระหว่างกัน การซื ้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริ ห ารและพนัก งาน เป็ นต้ น ตลอดจนกาหนดอานาจอนุมัติในการทารายการของฝ่ ายจัดการแต่ละระดับ โดยมี การ ผสมผสานกิจกรรมควบคุมทังประเภทที ้ ่ปฏิบตั ิโดยบุคลากร (Manual Control) และ ระบบอัตโนมัติ (Automated Control) ทัง้ ในเชิงป้องกัน (Preventive Control) และ เชิงตรวจหารายการความเสีย่ ง (Detective Control) รวมถึงการแบ่งแยกหน้ าที่งาน การบันทึกรายการ การอนุมตั ิให้ ความเห็นชอบ และการจัดการดูแลทรัพย์สินที่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นการตรวจสอบซึง่ กันและกัน ทังนี ้ ้นโยบายและระเบียบวิธีปฏิบตั ิงานต่างๆ มีการทบทวนให้ เหมาะสมอยูเ่ สมอ  เอไอเอสคัดเลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมด้ วยระบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้ ระบบสารสนเทศสามารถ ประมวลผลได้ อย่างถูกต้ อ งครบถ้ วนและต่อเนื่อง มีค วามปลอดภัยจากผู้ที่ไม่เกี่ ยวข้ อง รวมถึงมีการจัดหา พัฒ นา และ ส่วนที่ 2 | หน้ า 52


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บารุ งรักษาระบบสารสนเทศอย่างเหมาะสม โดยมีหน่วยงานกลางรับผิดชอบต่อโครงสร้ างระบบสารสนเทศและซอฟต์แวร์ นอกจากนี ้ มี ก ารแต่งตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย ข้ อ มูลและระบบสารสนเทศ เพื่ อก าหนดนโยบาย กากับ ดูแลให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดเรื่ องความปลอดภัยของข้ อมูล การพิจารณาคัดเลือกเทคโนโลยี อุปกรณ์ที่ทนั สมัย ดูแลให้ บริ ษัทมีการติดตามข่าวสารการบุกรุ ก การละเมิด เพื่อแจ้ งเตือนให้ กับหน่วยงานต่างๆ รวมถึงบุคคลากรได้ รับการ ฝึ กอบรมที่จาเป็ นให้ เข้ าใจหลักปฏิบตั ิที่ถกู ต้ อง โดยรายละเอียดเพิ่มเติม ศึกษาได้ จากหัวข้ อ “การปกป้องระบบสารสนเทศ และการควบคุมข้ อมูลส่วนบุคคลของลูกค้ า” ในรายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน นอกจากนี ้ มีการกาหนดสิทธิการเข้ าถึง ระบบสารสนเทศที่สาคัญ เช่น ระบบเครื อข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบฐานข้ อมูล เป็ นแนว ปฏิบตั ิอย่างชัดเจน รวมถึงจัดให้ มีหน่วยงานเฉพาะในการติดตามตรวจจับการละเมิดสิทธิ การบุกรุ กเข้ าระบบต่างๆ ด้ วย เครื่ องมือลักษณะอัตโนมัติเพื่อให้ มีการติดตามได้ อย่างต่อเนื่อง รวมทังการแจ้ ้ งเหตุให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องรับทราบและดาเนินการได้ อย่างเหมาะสม  คณะกรรมการ ผู้บริ หาร และหัวหน้ างาน มีหน้ าที่ชี ้แจงจุดมุง่ หมายและวิธีการปฏิบตั ิตามมาตรการควบคุมต่างๆ ให้ บุคลากรที่รับผิดชอบรับทราบและนาไปปฏิบตั ิ โดยทุกหน่วยงานของฝ่ ายจัดการในฐานะปราการด่านที่ 2 (Second Line of Defense) และ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ในฐานะปราการด่านที่ 3 (Third Line of Defense) ในการป้องกันความเสีย่ งของ องค์กร ทาหน้ าที่ให้ คาปรึกษาแนะนาการออกแบบระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (information & Communication)  เอไอเอสให้ ความสาคัญ ต่อสารสนเทศที่มีคุณ ภาพ เพื่ อสนับสนุนการควบคุมภายใน โดยระบบสารสนเทศและ ฐานข้ อมูลสามารถรวบรวมและประมวลข้ อมูลที่ต้องการได้ อย่างถูกต้ องครบถ้ วนและทันเวลารวมทังจั ้ ดให้ มีระบบเทคโนโลยีที่ มีคณ ุ ภาพ ทันสมัย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในการประมวลข้ อมูลจานวนมากเป็ นข้ อมูลเพื่อการบริ หารจัดการที่ใช้ ได้ ทันเวลา และ ทันต่อการแข่งขัน (Big Data Analysis) โดยคานึงถึงต้ นทุนและประโยชน์ที่จะได้ รับ  เอไอเอสจัดทารายงานข้ อมูลที่สาคัญเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอย่างเพียงพอสาหรับใช้ ประกอบการ ตัดสินใจ หรื อ พิจารณาก่อนการประชุม คณะกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าตามที่กฎหมายกาหนดอย่างสม่าเสมอ รวมทัง้ จัดให้ มี รายงานการประชุมคณะกรรมการที่มีรายละเอียดตามสมควรและจัดเก็บเอกสารสาคัญโดยเลขานุการบริ ษัท เพื่อให้ สามารถ ตรวจสอบย้ อนหลังได้  เอไอเอสจัดให้ มีระบบการสื่อสารภายในบริ ษัทที่มีคุณภาพผ่านช่องทางที่หลากหลาย อาทิ โซเชียล อินทราเน็ต แอปพลิเคชัน่ การสื่อสารผ่าน SMS หรื อ อีเมล์ และผ่านตัวแทน (People Champion) ของแต่ละสายงาน การจัด CEO ชิด & CHAT ทุกเดือน และ การจัด งาน Half Year Business Plan โดยกาหนดให้ มีห น่วยงานกลางที่รับผิ ดชอบในการสื่อสาร เพื่อให้ มีการแบ่งปั นและได้ รับข้ อมูลที่จาเป็ นทัว่ ทังองค์ ้ กร นอกจากนี ้ ยังจัดให้ มีช่องทางการสื่อสารผ่านระบบ Board Portal และหน่วยงานเลขานุการบริ ษัท ให้ กบั คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการชุดย่อย  เมื่อพนักงานพบเห็นการกระทาผิดและการทาทุจริ ต สามารถแจ้ งข้ อมูลผ่าน “นกหวีด ฮอตไลน์ ” 3333 หรื อแจ้ งไป ยังคณะกรรมการตรวจสอบที่ AuditCommittee@ais.co.th ** โดยพนักงานจะได้ รับการคุ้มครองภายใต้ นโยบายการให้ ข้อมูล การกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล ทังนี ้ ้ เอไอเอสมีการสือ่ สารเรื่ องราวเป็ นการ์ ตนู ของการ ส่วนที่ 2 | หน้ า 53


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

กระทาผิดและการทุจริ ตที่เคยเกิดขึ ้นพร้ อมบทลงโทษโดยไม่ได้ ระบุชื่อผู้กระทาผิด เพื่อให้ พนักงานตระหนักถึงผลของการ กระทาผิดและการทุจริ ต  เอไอเอสจัดให้ มี กระบวนการสื่อสารข้ อมูลกับผู้มีส่วนได้ เสียภายนอกองค์กรผ่านหน่วยงานเลขานุการบริ ษัท และ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ รวมถึงมีกลไกในการติดตามการแก้ ไขความผิดปกติหรื อข้ อร้ องเรี ยนต่างๆ ที่ได้ รับจากทุกช่องทาง นอกจากนี ้ ได้ ก าหนดให้ มี ช่ อ งทางการแจ้ งข้ อ มูลเกี่ ยวกับ การกระท าผิ ด หรื อ การทุจ ริ ต ไปยังคณะกรรมการบริ ษั ท ผ่า น ค ณ ะก รรม ก ารต รวจสอ บ ที่ AuditCommittee@ais.co.th * หรื อ หั ว ห น้ าหน่ วย งานต รวจสอ บ ภ าย ใน e-mail: nokweed@ais.co.th หรื อ หัว หน้ าหน่วยงานทรั พ ยากรบุคคล e-mail: human-resource@ais.co.th และ Ethics hotline หมายเลข 020293333 ซึง่ ผู้แจ้ งข้ อมูลจะได้ รับการคุ้มครองตามนโยบายการรับแจ้ งข้ อมูลการกระทาผิดและการทาทุจริ ต การ สอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล 5. กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring Activities)  ฝ่ ายจัดการและหัวหน้ างานของเอไอเอสมีห น้ าที่ กาหนดกลไกต่าง ๆ ในการติดตามประสิท ธิ ผลของระบบการ ควบคุมภายใน เช่น การประชุมติดตาม การสอบทานข้ อมูลที่ผิดปกติ รวมถึงการประเมินการควบคุมภายในด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment) โดยมี หน่วยงานตรวจสอบภายในทาหน้ าที่ตรวจประเมินประสิท ธิ ผลของระบบการควบคุม ภายในอย่างเป็ นอิสระ และ รายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจาทุกเดือน โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบเสนอรายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบรวมทังประชุ ้ มร่ วมกับผู้สอบบัญชี เพื่อประเมิน ความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในเป็ นประจาทุกไตรมาส  เมื่ อพบข้ อ บกพร่ อ งของระบบการควบคุม ภายในที่ มี สาระสาคัญ ฝ่ ายจัด การจะมี การวิ เคราะห์ ห าสาเหตุข อง ข้ อบกพร่อง และกาหนดผู้รับผิดชอบเพื่อดาเนินการแก้ ไขอย่างทันท่วงที โดยคณะกรรมการบริ ษัทได้ กาหนดเกณฑ์ของระดับ ความผิดปกติที่ฝ่ายจัดการและ หน่วยงานตรวจสอบภายในต้ องสื่อสารให้ คณะกรรมการทราบทันทีไว้ อย่างชัดเจน เช่น ประเด็นที่มีมลู ค่าความเสียหายจานวนมาก กระทบต่อชื่อเสียงของบริ ษัท การฝ่ าฝื น กฎหมาย การไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการ ควบคุมที่สาคัญ หรื อประเด็นที่อาจเกิดจากการทุจริ ต เป็ นต้ น โดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน และหน่วยงานอื่นที่ได้ รับ มอบหมายมีหน้ าที่ติดตามความคืบหน้ าการแก้ ไขของฝ่ ายจัดการต่อความผิดปกติที่ตรวจพบ และรายงานต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบจนกว่าจะมีการแก้ ไขเสร็ จสิ ้น

** ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2562 ได้ เปลีย่ น E-mail Address : AuditCommittee@ais.co.th เป็ นAuditandRiskCommittee@ais.co.th

ส่วนที่ 2 | หน้ า 54


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ ได้ รับการแต่งตังให้ ้ เป็ นหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน (Chief Audit Executive) เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2542 โดยเป็ นผู้ที่มีความเข้ าใจในกิจกรรมและการดาเนินงานของบริ ษัทเพียงพอที่จะปฏิบัติหน้ าที่ดังกล่าวได้ อย่างเหมาะสม ทัง้ นี ้ การ พิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ ายผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ ท่านสามารถศึกษาประวัติหวั หน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในเพิ่มเติมได้ จากเอกสารแนบ 1 หน้ าที่และความรับผิดชอบของหัวหน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายในและหน่ วยงานตรวจสอบภายใน 1. หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ กากับดูแลให้ หน่วยงานตรวจสอบภายในปฏิบตั ิงาน อย่างเป็ นอิสระ เที่ยงธรรม มีจรรยาบรรณ และปฏิบตั ิหน้ าที่เยี่ยงมืออาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน และรายงาน ต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารในด้ านงานบริ หารหน่วยงาน 2. หน่วยงานตรวจสอบภายในเป็ นหน่วยงานที่มีความอิสระ โดยปฏิบัติงานภายใต้ ก ฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายในซึ่งได้ กาหนดภารกิจ ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน อานาจ และหน้ าที่ความรับผิดชอบ และแนวทางการปฏิบตั ิงานไว้ อย่างชัดเจน โดยมีการ ทบทวนให้ เหมาะสมอยูเ่ สมอ 3. หน่วยงานตรวจสอบภายในทาหน้ าที่ให้ ความเชื่ อมั่น (Assurance Service) และให้ คาปรึ กษา (Consulting Service) โดยการ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสี่ยง และการกากับดูแลกิจการ เพื่อ สนับสนุนให้ บริ ษัทสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจ 4. หน่วยงานตรวจสอบภายในจัดทาแผนงานตรวจสอบภายในประจาปี สอดคล้ องกับทิศทางกลยุทธ์ ของบริ ษัท ระดับความเสี่ยงที่ เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็ นไปตามหลักการใช้ ความเสี่ยงเป็ นพืน้ ฐาน (Risk-based approach) ที่มุ่งเน้ นความเสี่ยงสาคัญ ที่ส่งผล กระทบต่อการดาเนินธุรกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ของบริ ษัท โดยในปี 2561 แผนงานตรวจสอบภายในมุง่ เน้ นตรวจประสิทธิผล ของการปฏิบตั ิงานที่เป็ นจุดควบคุมที่สาคัญในเชิงป้องกัน การตรวจสอบด้ านการป้องกันการทุจริ ต ตลอดจนเน้ นบทบาทการให้ คาปรึ กษาโดยจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) ซึ่งเพิ่มคุณค่าของงานตรวจสอบ โดยแผนงานตรวจสอบได้ รับการอนุมตั ิจาก คณะกรรมการตรวจสอบ และหน่ วยงานตรวจสอบภายในมี ห น้ าที่ รายงานผลการตรวจสอบและติ ด ตามผลการปฏิ บัติ ต าม ข้ อเสนอแนะที่พบจากการตรวจสอบให้ แก่คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาอย่างสม่าเสมอเป็ นประจาทุกเดือน 5. นอกจากนี ้ หน่วยงานตรวจสอบภายในยัง ปฏิบตั ิหน้ าที่เป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสนับสนุนให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบ สามารถดาเนินการตามที่คณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมาย และปฏิบตั ิ หน้ าที่ในการรับข้ อร้ องเรี ยนการกระทาผิดและ การทาทุจริ ตจากพนักงานภายในและบุคคลภายนอก ดาเนินการรวบรวมข้ อมูลตรวจสอบข้ อเท็จจริ งเป็ นไปตาม นโยบายการรับแจ้ ง ข้ อ มูลการกระทาผิดและการท าทุ จริ ต การสอบสวนและการคุ้ม ครองผู้ให้ ข้อมูล และรายงานผลให้ คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาทุกเดือน 6. นอกเหนือจากกิจกรรมการตรวจสอบภายใน หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในยังปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นๆ เช่น การให้ คาปรึกษาแนะนา แก่ฝ่ายจัดการ ในด้ านการควบคุมภายใน ด้ านจริ ยธรรมธุรกิจ ด้ านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เป็ นต้ น ทังนี ้ ้คณะกรรมการ ตรวจสอบ กากับดูแลการปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นที่นอกเหนือจากการตรวจสอบภายในของหัวหน้ า คณะผู้บริ หารงานตรวจสอบภายในเพื่อ ป้องกันการบัน่ ทอนความเป็ นอิสระจากฝ่ ายจัดการ ส่วนที่ 2 | หน้ า 55


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

7. หน่วยงานตรวจสอบภายในประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอก เพื่อให้ ขอบเขตของงานตรวจสอบครอบคลุมทุกความเสี่ยงที่มี สาระสาคัญอย่างเหมาะสม 8. หน่วยงานตรวจสอบภายในยึดถือกรอบโครงสร้ างการปฏิบตั ิงานวิชาชี พตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล และมีการทบทวน กฎบัตรและคู่มือการปฏิบตั ิงานตรวจสอบอย่างสม่าเสมอ โดยมีการประเมินคุณภาพการตรวจสอบภายใน โดยการประเมินด้ วย ตนเองเป็ นประจาทุกปี และได้ รับการประเมินโดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอกทุก 5 ปี ทังนี ้ ้เพื่อตรวจสอบว่าหน่วยงานได้ ปฏิบตั ิงาน เพิ่มมูลค่าให้ แก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียและพัฒนาองค์กรสู่ความยัง่ ยืน โดยส่งเสริ มให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หาร ความเสี่ยง และระบบการกากับดูแลที่ดี ซึ่งผลการประเมินรอบล่าสุดจากผู้ประเมินอิสระภายนอก สรุ ปได้ ว่าหน่วยงานตรวจสอบ ภายในของเอไอเอสได้ ปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานสากล และมีคณ ุ ภาพในระดับมาตรฐานเมื่อเทียบกับหน่วยงานตรวจสอบภายในอื่น ทัว่ โลกที่เป็ นมืออาชีพ กิจกรรมตรวจสอบภายในในปี ที่ผ่านมา และแผนงานในอนาคต 1. การสนับสนุ นฝ่ ายจัดการนาระบบการควบคุมภายในมาปรับใช้ อย่ างมีประสิทธิภาพและกระตุ้นให้ มีการตรวจสอบการ ปฏิบัติงานด้ วยตนเอง ในปี 2561 หน่วยงานตรวจสอบภายในส่งเสริ มให้ เอไอเอสและบริ ษัทย่อยมีความเข้ าใจและสามารถนาระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทาง COSO 2013 และแนวทางการป้องกัน ความเสี่ยง 3 ระดับ (Three Line of Defense) มาปรับใช้ อย่างจริ งจังและมี ประสิทธิผล โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) ร่วมกับฝ่ ายจัดการเพื่อหาแนวทางจัดการประเด็นข้ อบกพร่ องของระบบ การควบคุมภายใน เป็ นการสนับสนุนให้ ฝ่ายจัดการเป็ นผู้ตรวจสอบการปฏิบัติงานด้ วยตนเอง (Self-Business Audit) รวมทัง้ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ พฒ ั นาเครื่ องมือให้ กับฝ่ ายจัดการใช้ ในกาตรวจสอบได้ ด้วยตนเอง ตามหลักการการประเมินการ ควบคุมภายในด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment) 2. ปรับเปลี่ยนกระบวนการตรวจสอบภายในเพื่อปรับตัวเข้ าสู่ยุคดิจิตอล หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในได้ เริ่ ม พัฒ นาระบบการตรวจสอบโดยใช้ กระบวนการท างานแบบอัต โนมัติ (Robotic Process Automation: RPA) ตังแต่ ้ ปี 2560 เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้ อมูลต่างๆ ของบริ ษัทแทนเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบ ภายในโดยใช้ Big Data Analytic เพื่อให้ กิจกรรมการตรวจสอบภายในมีความรวดเร็ วและแม่นยามากยิ่งขึ ้น รวมทัง้ ช่วยเตือนภัย ทางธุรกิจล่วงหน้ าให้ กบั บริ ษัทฯ เมื่อพบข้ อบ่งชี ้ความเสี่ยงและข้ อบกพร่องของระบบการควบคุมภายใน 3. สร้ าง Risk Center เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานตรวจสอบ หน่วยงานตรวจสอบภายในมุ่งเน้ นการสร้ างความตระหนักเรื่ องการบริ หารความเสีย่ งให้ กบั พนักงานโดยการสร้ าง Proactive Risk Center รวบรวมและวิเคราะห์ประเด็นความเสีย่ งสาหรับการวางแผนการตรวจสอบในงานที่มีความเสี่ยงสูง ทังความเสี ้ ย่ งจากการ ดาเนินงาน และความเสี่ยงด้ านทุจริ ต โดยนาแนวทางการบริ หารความเสี่ยงแบบบูรณาการตามแนวทาง COSO ERM 2017 และ Fraud Risk Management Policy มาปรับใช้ และกระตุ้นให้ พนักงานเข้ าใจในการหาแนวทางควบคุมเชิงป้องกัน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 56


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

4. ปรับเปลี่ยนบทบาทสู่การเป็ น Trusted Advisor ในปี 2561 หน่วยงานตรวจสอบภายใน ให้ ความสาคัญกับลักษณะงานให้ คาปรึ กษามากขึ ้น ครอบคลุม การสอบทานให้ ครบทุก ระบบงานทัง้ ด้ านประกัน รายได้ (Revenue Assurance) ด้ านรายจ่า ย รวมถึ งการปฏิบัติ ต ามระเบี ยบกฎเกณฑ์ ข้อ บังคับ ของ หน่วยงานกากับดูแล เช่น ระบบงานขายและการตลาด ระบบ Billing และการจัดเก็บเงิน ระบบงานวิศวกรรม เป็ นต้ น โดยการใช้ RPA เป็ นเครื่ องมือการวิเคราะห์ ข้อมูลสนับ สนุน และสร้ างความเข้ ม แข็งให้ กับ ปราการด่านที่ 2 ขององค์ กร (Second Line of Defense) ให้ เป็ นพื ้นฐานการปฏิบตั ิงานมากยิ่งขึ ้น เพื่อมุง่ ไปสูก่ ารเป็ น Trusted Advisor ตาม Internal Audit Roadmap การฝึ กอบรมและพัฒนาด้ านการตรวจสอบภายใน 1. ติดตามความรู้ แนวปฏิบัติงานที่เป็ นมาตรฐานสากลที่ทันสมัย ที่มีการประกาศใหม่ นามาปรับใช้ ในการทางาน เพื่อพัฒ นาวิชาชี พงานตรวจสอบภายในของบริ ษัท ให้ ทันสมัย หน่วยงานตรวจสอบภายในจึงได้ มีการติดตามแนวปฏิบัติด้าน มาตรฐานการปฏิบัติงาน ระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสี่ยง ระบบการกากับดูแลที่ดี และแนวปฏิบัติอื่นที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท ของสถาบันวิชาชีพชันน ้ าทังในและต่ ้ างประเทศ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบของ บริ ษัทให้ เป็ นไปตามมาตรฐานสากลและทันสมัย 2. ส่ งเสริ มการปฏิบัติงานแบบบูรณาการ (Integrated Audit) และค่ านิ ยมการสร้ างสรรค์ แนวทางการตรวจสอบรู ปแบบ ใหม่ ๆ หน่วยงานตรวจสอบภายในส่งเสริ มและพัฒนาศักยภาพของทีมงานตรวจสอบภายในให้ สามารถตรวจสอบได้ ทกุ ด้ าน (Integrated Audit) และมีการมุ่งเน้ นพัฒนาให้ เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในมีค่านิยมในการสร้ างสรรค์แนวทางการตรวจสอบรู ปแบบใหม่ๆ ที่มี ประสิทธิผลยิ่งขึ ้นอยูเ่ สมอ 3. การพัฒนาตนเองตามกรอบแนวทางการพัฒนาความรู้ความสามารถด้ านตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในสนับสนุนให้ เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ มีความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่จาเป็ นสอดคล้ องกับการปฏิบัติงาน ในปี ที่ผ่านมา ได้ จัดทาแผนพัฒ นาพนักงานตามบทบาทหน้ าที่ความรับผิดชอบของงาน ตรวจสอบภายใน อ้ า งอิ ง ตามกรอบการพัฒ นาความรู้ และความสามารถ ของ The Institute of Internal Auditors (The IIA) แบ่งเป็ น 3.1 ความรู้ความสามารถพื ้นฐานการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ Core Competency 3.2 ความรู้ความสามารถเฉพาะบทบาทหน้ าที่ Essential Competency โดยตังเป้ ้ าหมายให้ พนักงานแต่ละคนได้ รับการอบรมเฉลีย่ ปี ละ 11 วัน ตามกลยุทธ์ที่กาหนดไว้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 57


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

4. การได้ รับวุฒบิ ัตรวิชาชีพตรวจสอบหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้ องเพื่อสร้ างมืออาชีพด้ านงานตรวจสอบภายใน นอกจากนี ้มีการกระตุ้น และสนับสนุนให้ พนักงานเกิดความเชี่ยวชาญด้ านวิชาชีพตรวจสอบภายในเยี่ยงมืออาชีพด้ วยการสอบ วุฒิ บัต รทางวิ ชาชี พ ตรวจสอบหรื อ วิ ชาชี พ อื่น ที่ เกี่ ย วข้ อ ง ในปี 2561 ก าหนดเป้ าหมายให้ พ นัก งานได้ รับ วุฒิ บัต รวิช าชี พ เป็ น ร้ อยละ 50 ของจานวนพนักงานในหน่วยงาน ปั จจุบนั บริ ษัทมีเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในที่มีวฒ ุ ิบตั รทางวิชาชีพต่างๆ รวม 15 คน จากเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในทังหมด ้ 53 คน คิดเป็ นร้ อยละ 28 วุฒิบตั ร

รายละเอียดหลักสูตรโดยสังเขป

จ า น ว น เจ้ า ห น้ า ที่ ต รวจ ส อ บ ภ าย ใน ที่ ได้ รับการรับรอง (คน)

ผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล (Certified Internal Auditor :CIA) ประเทศสหรัฐอเมริ กา

เป็ น วุฒิ บัตรวิชาชี พ ด้ านการตรวจสอบภายใน ซึ่งทดสอบ ความรู้ ด้ า นการปฏิ บัติ ง านตรวจสอบภายใน และความ เข้ าใจในงานตรวจสอบภายใน ความเสี่ยง และเรื่ องต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ องในปั จจุบนั

8

ผู้ตรวจสอบระบบสารสนเทศสากล (Certified Information System Auditor:CISA) ประเทศสหรัฐอเมริ กา

เป็ นวุฒิบตั รสาหรับผู้ที่ประกอบวิชาชีพด้ านการตรวจสอบ ควบคุม และรับรองระบบการรักษาความปลอดภัยของ ระบบสารสนเทศ ที่ต้องการยกระดับมาตรฐานวิชาชีพให้ เป็ นที่รับรู้ตอ่ บุคคลในวงการในระดับสากล

4

ผู้เชี่ยวชาญระบบรักษาความมัน่ คง ปลอดภัยข้ อมูลคอมพิวเตอร์ (Certified Information Systems Security Professional:CISSP) ประเทศสหรัฐอเมริ กา

เป็ นวุฒิบัตรสาหรับผู้ที่มีความเข้ าใจศาสตร์ ด้านการรักษา ความปลอดภัยทัง้ 10 ด้ าน เรี ยกว่า CBK หรื อ “Common Body of Knowledge” ได้ แก่ Access Control, Telecom & Network Security, Application & System Development Security, Security Management, Cryptography, Security Management, Operation Security, Business Continuity Planning & Disaster Recovery Planning, Law Investigation & Ethic และ Physical Security

1

ส่วนที่ 2 | หน้ า 58


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

วุฒิบตั ร

รายละเอียดหลักสูตรโดยสังเขป

ผู้เชี่ยวชาญให้ ความเชื่อมัน่ ด้ านการ บริ หารความเสีย่ ง

จ า น ว น เจ้ า ห น้ า ที่ ต รวจ ส อ บ ภ าย ใน ที่ ได้ รับการรับรอง (คน)

วุฒิบตั รที่ออกแบบสาหรับผู้ตรวจสอบภายในหรื อเจ้ าหน้ าที่ บริ หารความเสี่ยงที่มีหน้ าที่รับผิดชอบและประสบการณ์ ใน การให้ ความเชื่อมัน่ ด้ านการบริ หารความเสี่ยง กระบวนการ (Certification in Risk Management ก ากั บ ดู แ ล การให้ ความเชื่ อ มั่ น ด้ านคุ ณ ภาพ หรื อ การ Assurance:CRMA) ประเมินการควบคุมด้ วยตนเอง ซึ่งเป็ นการแสดงให้ เห็นถึง ประเทศสหรัฐอเมริ กา ความสามารถในการประเมินสภาพแวดล้ อมที่เกี่ยวข้ องกับ การก ากับ ดูแ ลองค์ ก ร และการประเมิ น ความเสี่ย งทั่ว ทัง้ องค์กร รวมถึงการให้ คาปรึ กษาและการให้ ความเชื่อมัน่ ใน เรื่ องดังกล่าว

9

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Certified Public Accountant:CPA) ประเทศไทย

ผู้ส อบบัญ ชี รับ อนุญ าตที่ ได้ รั บ การขึ น้ ทะเบี ย นและได้ รั บ ใบอนุญ าต เป็ น ผู้ที่ มี ค วามรู้ ด้ า นวิ ช าการบัญ ชี การสอบ บัญชี กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี ความรู้ เรื่ อ งระบบสารสนเทศ การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ในการ จัดทาและตรวจสอบบัญชี

5

ผู้สอบบัญชีภาษี อากร (Tax Auditor:TA) ประเทศไทย

เป็ นผู้ที่มีความรู้วิชาการบัญชี วิชาการสอบบัญชี และความรู้ เกี่ ย วกั บ ประมวลรั ษ ฎากร ประมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์

1

ผู้ตรวจ/ผู้นาการตรวจมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 ระบบบริ หาร จัดการความมัน่ คงปลอดภัยสาหรับ สารสนเทศ (Information Security Management Systems Auditor/Lead Auditor: ISO/IEC 27001:2013)

วุฒิบตั รรับรองมาตรฐานสาหรับผู้ที่มีความรู้ ความเข้ าใจใน ข้ อกาหนดในมาตรฐานระบบการบริ หารจัดการความมัน่ คง ปลอดภัยสาหรับสารสนเทศ ISO/IEC 27001:2013 รวมถึง หลัก การปฏิ บั ติ เพื่ อ รั ก ษาความมั่น คงปลอดภัย ส าหรั บ สารสนเทศ และหลักการพื ้นฐานของการตรวจประเมินต่างๆ เพื่ อ ด าเนิ น การตรวจสอบกระบวนการตามมาตรฐาน ISO27001:2013

3

ส่วนที่ 2 | หน้ า 59

2561


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

วุฒิบตั ร

รายละเอียดหลักสูตรโดยสังเขป

จ า น ว น เจ้ า ห น้ า ที่ ต รวจ ส อ บ ภ าย ใน ที่ ได้ รับการรับรอง (คน)

ผู้ตรวจ/ผู้นาการตรวจมาตรฐาน ISO/IEC 22301:2012 ระบบบริ หาร จัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management System Auditor/Lead Auditor : ISO 22301:2012)

วุฒิ บัต รรับ รองมาตรฐานสาหรับผู้ที่ มีความรู้ ความเข้ าใจ และจั ด ล าดั บ ความส าคั ญ ภั ย คุ ก คามต่ อ ธุ ร กิ จ ตาม มาตรฐานสากลเพื่ อ ความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ และเพื่ อ ด าเนิ น การตรวจสอบกระบวนการตามมาตรฐาน ISO 22301:2012

1

โดยเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในอีกจานวนหนึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาให้ ได้ รับวุฒิบตั ร CIA CISA และ CFE (Certified Fraud Examiners) เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนงานตรวจสอบภายในแบบมืออาชีพตามมาตรฐานสากล

ส่วนที่ 2 | หน้ า 60


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

รายการระหว่ างกัน บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ มีการตกลงเข้ าทารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการตาม ธุรกิจปกติของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และเป็ นไปตามเงื่อนไขการค้ าทัว่ ไป เพื่อให้ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับ ที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ให้ ฝ่ายจัดการมีอานาจเข้ าทารายการ ระหว่างกันที่มีเงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปหากธุรกรรมเหล่านันมี ้ ข้อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทากับ คูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง ขันตอนการอนุ ้ มตั ิการทารายการระหว่างกันนัน้ บริ ษัทจะยึดแนวปฏิบตั ิเช่นเดียวกันกับการทารายการอื่น ๆ ทัว่ ไป โดยมีการกาหนดอานาจของผู้มีสิทธิ อนุมตั ิตามวงเงินที่กาหนด นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทาหน้ าที่เป็ น ผู้สอบทานการทารายการระหว่างกันของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อขจัดความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริ ษัทโดยรวมเป็ นสาคัญ สาหรับงวดบัญชีสิ ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกั น โดยผู้ ตรวจสอบบัญชีของบริ ษัทได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบและคณะกรรมการตรวจสอบทาหน้ าที่ สอบทานแล้ ว และมีความเห็นว่ารายการระหว่างกันทุกรายการเป็ นการทารายการอย่างสมเหตุสมผลและเป็ นไปในทาง การค้ าปกติ โดยบริ ษั ท ได้ คิ ดราคาซื อ้ -ขายสิน ค้ า และบริ การกับบุคคลที่เกี่ ย วโยงกันด้ วยราคาที่ สมเหตุสมผล มีก าร เปรี ยบเทียบกับราคากลางของตลาดในธุรกิจนันๆ ้ แล้ ว โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมีรายละเอียดดัง ต่อไปนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 61


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 1. บริษัท อินทัช โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) (อินทัช)/ เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทใน สัดส่วนร้ อยละ 40.45 - กรรมการบริษัทร่วมกัน: 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง 3. นายกานต์ ตระกูลฮุน

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ

บริ ษัทย่อยมีการชาระค่าบริ การและชาระ ดอกเบี ้ยจ่ายจากรายการหุ้นกู้ระยะยาวแก่ อินทัช ขณะทีบ่ ริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การและจาหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่อินทัช ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

1.11 0.48

0.91 1.50 1.54

1.20 0.01 0.11

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 3. ดอกเบี ้ยจ่าย 4. หุ้นกู้

-

1.13 1.10 21.00

1.37 1.63 -

ส่วนที่ 2 | หน้ า 62

3.09 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 0.13 จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นอัตราเดียวกัน 0.60 กับลูกค้ าทัว่ ไป

1.49 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การและชาระ 9.51 ดอกเบี ้ยจ่ายให้ แก่อินทัชในอัตราเดียวกัน 1.71 กับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น 62.50


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 2. บริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) (ไทยคม)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ใน สัดส่วนร้ อยละ 41.13 - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายสมประสงค์ บุญยะชัย

ลักษณะรายการ บริษัทย่อยต้ องชาระค่าตอบแทนในอัตรา 1,400,000 USD/ปี สาหรับเช่าช่องสัญญาณ ดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม 7 จากไทยคม สัญญามีผลถึงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563 และมีการใช้ บริการอุปกรณ์รับสัญญาณ ดาวเทียม และพื ้นที่สาหรับติดตังอุ ้ ปกรณ์ ดาวเทียม ขณะที่บริษัทย่อยมีการให้ บริการโทรศัพท์ทงใน ั้ ประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงได้ จาหน่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่แก่ไทยคม ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 3. ดอกเบี้ ยจ่าย 4. หุ้นกู้ 5. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ไทยคมเป็ นผู้ให้ บริ การเช่าช่อ งสัญ ญาณ ดาวเทียมรายเดียวในประเทศไทย

-

1.40 0.48 0.13

-

4.27 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 0.33 จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ไทยคมใน 1.92 อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

-

59.93 6.38 0.02

-

47.12 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การให้ แก่ไทยคมใน 9.00 อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.11 5.90 2.90

ส่วนที่ 2 | หน้ า 63


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 3. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์ วิส จากัด (ไอทีเอเอส)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้ อยละ 100

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างไอทีเอเอสในการดูแลจัดการ และพัฒนาระบบ SAP ขณะที่บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์แก่ ไอทีเอเอส

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ไอทีเอเอสให้ บริ การเกี่ยวกับการพัฒนา โปรแกรม และการดูแลจัดการระบบ SAP รวมถึงค่าบารุ งรักษา มีบริ การทีด่ ี รวดเร็ ว และราคาสมเหตุสมผล

-

0.75

-

-

0.08

-

1.51 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ 0.17 เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

-

0.01

-

0.21

-

81.86

-

-

24.46

-

-

14.50

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 64

109.90 บริ ษัทย่อยชาระค่าที่ปรึกษาให้ แก่ไอทีเอ 10.21 เอสโดยอัตราค่าบริ การขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะ 23.08 งานและระดับของที่ปรึกษาโดยเป็ นอัตรา เดียวกันกับราคาของบริษัทที่ปรึกษาระบบ SAPรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

4. กลุ่มบริษัท SingTel Strategic Investments Private Limited (SingTel)/ เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริ ษัทร้ อยละ 23.32

บริ ษัทย่อยทาสัญญากับบริษัทในกลุม่ SingTel ดังนี ้ - บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติระหว่างประเทศ (IR) - บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (IPLC) และบริ การเสริ ม (Content)

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ การทาสัญญาให้ บริ การ ซึง่ เป็ นราคาทีต่ า่ ง ฝ่ ายต่างกาหนดในการเรี ยกเก็บจากลูกค้ า ซึง่ บริ ษัทคิดจากผู้ให้ บริ การรายอืน่

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

41.80 25.98

0.42

191.91 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ IR และ 0.67 ค่าบริ การเสริ ม(Content) ในอัตราเดียวกัน 151.46 กับผู้ให้ บริ การรายอื่น

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

139.26 20.96

19.69

268.53 บริ ษัทย่อยชาระค่า IPLC, ค่า IR, 60.79 ค่าบริ การเสริ ม(Content) ในอัตราเดียวกัน กับผู้ให้ บริ การรายอื่น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 65


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 66

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 5. บริษัท ไทย แอดวานซ์ อิน โนเวชั่น จากัด (ทีเอไอ)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างให้ ทีเอไอเป็ นสื่อโฆษณาผ่าน ช่องสัญญาณจานดาวเทียม ขณะทีบ่ ริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์ เคลือ่ นที่แก่ทีเอไอ

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

2561

งบการเงินรวม ทีเอไอมีความชานาญในการบริ การสื่อ โฆษณา บริ ก ารขายเนื อ้ หา(Content) ผ่ า นช่ อ งสั ญ ญ าณ จานดาวเที ย ม รวมถึง เป็ นผู้จาหน่ายอุปกรณ์ จานรั บ สัญญานดาวเทียม

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 67

0.06 0.04 0.04

-

0.04 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ - เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ า 0.01 ทัว่ ไป


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 6. บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิ เคชั่นส์ จากัด (แอลทีซ)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทย่อยร่วมมือกับแอลทีซีในการให้ บริ การข้ าม แดนอัตโนมัติระหว่างประเทศ(IR)

งบการเงินรวม แอลที ซี ด าเนิ น ธุ ร กิ จ โทรคมนาคมใน ประเทศลาว ให้ บริ การโทรศัพท์พื ้นฐาน โทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่ บริ ก ารอิ น เตอร์ เน็ ต และบริ ก ารข้ ามแดนอัต โนมัติ ระหว่าง ประเทศ โดยอัตราค่าโรมมิ่งที่คิดเป็ น อัตราเทียบเคียงได้ กบั ราคาตลาด

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

14.32 26.69

-

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

5.91 0.39

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 68

26.81 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ IR 2.23 ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

3.73 บริ ษัทย่อยชาระค่า IR ให้ แก่แอลทีซีใน 0.37 อัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การ รายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 7. บริษัท อุ๊คบี จากัด (อุ๊คบี)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 20.94

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างอุ๊คบีสาหรับการให้ บริ การ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ผ่านบน สมาร์ ทโฟน หรื อแท็บเล็ต โดยชาระค่าบริ การ เป็ นรายเดือน ขณะที่บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์แก่อ๊ คุ บี ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2561

งบการเงินรวม อุ๊คบีดาเนินธุรกิจนาเสนอสิง่ ตีพิมพ์ ดิจิตอล (Digital Publication) และ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เช่น หนังสือ นิตยสาร หรื อ หนังสือพิมพ์บน สมาร์ ทโฟน, แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 69

1.80 0.22

23.71 6.47

-

1.29 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ 0.19 เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

-

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเสริ ม 4.27 (Content) ให้ แก่อ๊ คุ บี ในอัตราร้ อยละของ 1.17 รายได้ ที่บริ ษัทได้ รับ ซึง่ เป็ นอัตราเดียวกัน กับผู้ให้ บริ การข้ อมูลประเภทเดียวกัน


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 8. บริษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด (ไอเอช)/ มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นโดย ทางอ้ อม

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

ไอเอช ให้ บริ การสิง่ อานวยความสะดวก ภายใต้ สญ ั ญาเช่าทางการเงินและโครงข่าย สือ่ สัญญาณ โทรคมนาคมแก่บริษัทย่อย ขณะที่บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์แก่ไอเอช

ไอเอชให้ บริ การสิง่ อานวยความสะดวก ภายใต้ สญ ั ญาเช่าทางการเงินและ โครงข่ายสือ่ สัญญาณโทรคมนาคม

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ

-

0.04

-

0.04

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 4. ดอกเบี ้ยจ่าย 5. เจ้ าหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงิน

-

241.14 14.48 22.15 6.37 76.70

-

88.61 33.95 4.63 53.58

ส่วนที่ 2 | หน้ า 70

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การโครงข่ายสือ่ สัญญาณโทรคมนาคมแก่ไอเอชในอัตรา เดียวกันโดยเป็ นอัตราทีเ่ ทียบเคียงได้ กบั ผู้ ให้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 9.บริษัท ธนาคารกรุ งไทย จากัด(มหาชน) (เคทีบี) / - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

ธนาคารกรุงไทยให้ บริ การทางการเงินแก่ บริ ษัทย่อย ขณะทีบ่ ริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์แก่ ธนาคารกรุงไทย ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. เงินฝากธนาคารและดอกเบี ้ยรับ 2. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 4. หุ้นกู้ 5. เงินกู้ยืมระยะยาวและดอกเบี ้ยจ่าย

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม ธนาคารกรุงไทยประกอบธุรกิจให้ บริ การ ทางการเงิน เช่น ด้ านการรับฝากเงิน การ ให้ สนิ เชื่อ เป็ นตัวกลางการชาระเงิน และ บริ การอื่นๆ

-

86.47 0.47

-

0.49 -

101.30 0.14 0.08 29.00 11.85

0.87 -

ส่วนที่ 2 | หน้ า 71

17.50 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 1.75 จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นอัตรา 3.39 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 167.37 0.10 27.18 3,040.68

บริ ษัทย่อยรับดอกเบี ้ยเงินฝากธนาคาร จากเคทีบีและดอกเบี ้ยจ่ายจากการกู้ยืม โดยเป็ นอัตราทีเ่ ทียบเคียงได้ กบั ธนาคาร พาณิชย์อื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 10. บริษัท ไฮ ช็อปปิ ้ ง จากัด (ไฮ ช็อปปิ ้ ง)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การและจาหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ไฮ ช็อปปิ ง้

ไฮ ช็อปปิ ง้ ประกอบธุรกิจทางด้ านดิจิตอล คอนเทนต์ที่นาเสนอให้ ผ้ บู ริ โภคเข้ าถึง รายละเอียดของสินค้ าและบริ การโดยใช้ สือ่ ทีวี โทรศัพท์มือถือ อินเตอร์ เน็ตและ ช่องทางสือ่ โฆษณาอื่น

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

0.73 0.08

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 3.33 จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นอัตรา 0.88 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น

-

-

-

0.03

ส่วนที่ 2 | หน้ า 72


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 11.บริษัท ทีซี บรอดคาสติง้ จากัด (ทีซบี ี) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

ทีซีบีให้ บริ การอุปกรณ์ระบบดาวเทียมและ สัญญาณโทรทัศน์แก่บริ ษัทย่อย ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 73

5.65 0.36

-

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การอุปกรณ์ระบบ 12.01 ดาวเทียมและสัญญาณโทรทัศน์แก่ทีซีบี 0.49 ในอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 12.บริษัท กอล์ ฟดิกก์ จากัด (GOLFD) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 25.00

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์แก่ กอล์ฟดิกก์

กอล์ฟดิกก์เป็ นผู้ให้ บริ การแพลตฟอร์ ม การจองสนามกอล์ฟผ่านแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

0.08 0.01

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.09 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 0.02 ลูกค้ าทัว่ ไป

-

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 2. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น

-

0.35

-

0.42

-

0.02

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 74


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 13. บริษัท อมตะ เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอเอ็น) / มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นโดย ทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เอเอ็นให้ บริการค่าเช่าวงจรโทรคมนาคมแก่ บริ ษัทย่อย ขณะที่บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การด้ านการ บริ หารงานและมีการให้ บริ การโทรศัพท์ แก่เอเอ็น ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น 4. ขายสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2561

งบการเงินรวม เอเอ็นเป็ นผู้ให้ บริ การโครงข่าย โทรคมนาคมภายในนิคมอุตสาหกรรม อมตะ

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 75

0.04 1.78 7.55 6.60

0.26 0.88

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.29 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 6.00 ลูกค้ าทัว่ ไปและให้ บริ การค่าบริ หารงาน 0.56 ในอัตราทีต่ กลงกัน -

-

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเช่าวงจร 16.11 โทรคมนาคมแก่เอเอ็นในอัตราเดียวกัน 1.96 กับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 14.บริษัท วงใน มีเดีย จากัด (วงใน) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 9.54

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างวงในเพือ่ ให้ บริการสร้ าง และออกแบบเว็บไซต์บนสมาร์ ทโฟน ขณะที่บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ แก่วงใน ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น

15.บริษัท ดิจิโอ (ประเทศไทย) จากัด (ดิจิโอ) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 8.05

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม วงในเป็ นผู้ให้ บริ การแอพพลิเคชัน่ บน สมาร์ ทโฟนเกี่ยวกับร้ านอาหาร ความ สวยความงาม และสปา ในประเทศไทย

-

0.01

-

-

2.41

-

-

0.06 0.01

-

บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์แก่ดิจิโอ

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

2561

ส่วนที่ 2 | หน้ า 76

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ 0.02 เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การ ค่าโฆษณา 3.36 และค่าส่งเสริ มการตลาดแก่วงใน ในอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น ดิจิโอเป็ นผู้ให้ บริ การในการชาระเงินผ่าน บัตรเครดิต โดยใช้ อปุ กรณ์เชื่อมต่อผ่าน บนสมาร์ ทโฟน 1.41 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ 0.81 เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 16.บริษัท บีอีซี เวิลด์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (บีอีซ)ี / - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายสมประสงค์ บุญยะชัย

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างบีอีซีในการให้ บริ การเสริ ม ของโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ขณะที่บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ แก่บีอีซี

งบการเงินรวม บริ ษัทย่อยของบริ ษัทบีอีซเี วิลด์ ได้ ให้ บริ การรายการโทรทัศน์และเอ็นเตอร์ เท นเม้ นท์อื่นผ่านแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ ท โฟน

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

0.56 0.07

-

8.56 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ 1.65 เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

12.66 0.40

-

9.35 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเสริ ม 0.98 (Content) ให้ แก่บีอีซี ในอัตราร้ อยละ ของรายได้ ที่บริษัทได้ รับ ซึง่ เป็ นอัตรา เดียวกันกับผู้ให้ บริ การข้ อมูลประเภท เดียวกัน

ส่วนที่ 2 | หน้ า 77


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 17.การรถไฟฟ้ าขนส่ งมวลชน แห่ งประเทศไทย และบริษัท ย่ อย (เอ็มอาร์ ทีเอ) / - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เอ็มอาร์ ทเี อบริ การให้ เช่าแก่บริ ษัทย่อย ขณะที่บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ แก่เอ็มอาร์ ทีเอ

งบการเงินรวม กลุม่ บริ ษัทเอ็มอาร์ ทีเอเป็ นองค์กรชันน ้ า ในการให้ บริ การขนส่งมวลชนที่มี ประสิทธิภาพและครบถ้ วนเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

0.10 0.05

-

0.37 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 0.26 จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นอัตรา 0.03 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

9.00 0.32

-

54.09 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเช่า (ค่าเช่า 0.51 พื ้นทีส่ ถานีฐานและค่าไฟ) ให้ แก่ เอ็มอาร์ ทเี อในอัตราเดียวกันกับ ผู้ให้ เช่ารายอื่น

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 78


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 18.บริษัทปูนซิเมนต์ ไทย จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เอสซีจ)ี / - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายกานต์ ตระกูลฮุน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

เอสซีจีบริ การให้ เช่าแก่บริ ษัทย่อย ขณะที่บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์และ จัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่เอสซีจี

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 3. หุ้นกู้ 4. ดอกเบี้ ยจ่าย

2561

กลุม่ บริ ษัทเอสซีจีเป็ นบริษัทปูนซีเมนต์ และวัสดุก่อสร้ างที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศ ไทยและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ -

42.85 0.46 4.47

-

50.81 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด - จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นอัตรา 6.37 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

-

1.01

-

-

-

-

-

-

-

0.09 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเช่า (ค่าเช่า 2.39 พื ้นที่สถานีฐานและค่าไฟ) ให้ แก่เอสซีจี 255.00 ในอัตราเดียวกันกับผู้ให้ เช่ารายอืน่

-

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 79

7.96


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 19.บริษัทแรบบิท – ไลน์ เปย์ จากัด (อาร์ แอลพี) / มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นโดย ทางอ้ อม * วันที่ 5 มีนาคม 2561 บริ ษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด ได้ ลงทุนบริ ษัทแรบบิท– ไลน์ เปย์ จากัด มีสดั ส่วนการถือหุ้นร้ อย ละ 33.33

2561

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

อาร์ แอลพีให้ บริ การเงินอิเล็กทรอนิคส์แก่ บริ ษัทย่อย ขณะที่บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ เคลือ่ นที่แก่อาร์ แอลพี

งบการเงินรวม อาร์ แอลพีให้ บริ การเงินอิเล็กทรอนิคส์ เพื่อรองรับการให้ บริ การแก่ลกู ค้ าใน เศรษฐกิจแบบดิจิทลั

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

-

-

1.55 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 1.45 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

-

-

18.30 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การ (เงิน 17.79 อิเล็กทรอนิคส์, ระบบการจ่ายเงิน อิเล็กทรอนิคส์) ให้ แก่อาร์ แอลพีในอัตรา เดียวกันกับผู้ให้ บริ การรายอื่น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 80


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560

สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 20.บริษัท โอสถสภา จากัด (มหาชน) (โอเอสพี) / - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษัทย่อยได้ให้บริการโทรศัพท์แก่โอเอสพี

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น

2561

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 81

0.19 0.07

0.10

-

-

งบการเงินรวม โอเอสพีประกอบธุรกิจสินค้ าอุปโภค บริ โภค โดยเน้ นทางด้ านผลิตภัณฑ์ เครื่ องดื่มที่ไม่ผสมแอลกอฮอล์และ ผลิตภัณฑ์ของใช้ สว่ นบุคคลบางชนิด 5.07 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.68 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเช่า (ค่าเช่า 0.20 พื ้นที่สถานีฐานและค่าไฟ) ให้ แก่โอเอสพี ในอัตราเดียวกันกับผู้ให้ เช่ารายอืน่


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 21. บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล)/ มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่โดย ทางอ้ อม * วันที่ 23 มกราคม 2561 บริ ษัท แอด วานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด ซึง่ เป็ น บริ ษัทย่อย ได้ ลงทุนกับบริ ษัทซีเอส ล็อกซ อินโฟ จากัด (มหาชน) มีสดั ส่วนการถือหุ้น ร้ อยละ 99.11 ดังนันรายการระหว่ ้ างกันมี ผลตังแต่ ้ วนั ที่ 1-31 มกราคม 2561

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างซีเอสแอลในการให้ บริ ก ารด้ าน อิ น เทอร์ เน็ ต โดยเชื่ อ มโยงผ่ า นโครงข่ า ยทั ง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ขณ ะที่ บ ริ ษั ทย่ อ ยมี ก ารให้ บริ ก ารและจั ด จาหน่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ และให้ เช่าอุปกรณ์ และบริ การเกี่ยวกับ Datanet แก่ซีเอสแอล

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ซีเอสแอลมีความเชี่ยวชาญและเป็ น ผู้ให้ บริ การทางด้ านอินเทอร์ เน็ต ซึง่ สามารถเชื่อมต่อข้ อมูลภายในประเทศ ผ่านโครงข่ายไปยังผู้ใช้ บริ การทัว่ โลก

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

13.60 6.79 2.13

-

3.22 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 2.02 จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นอัตราเดียวกัน - กับลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

4.52 2.05

-

0.57 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การแก่ซเี อสแอล - ในอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การ รายอื่น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 82


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 22. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (ทีเอ็มซี)/ มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่โดย ทางอ้ อม

* วันที่ 23 มกราคม 2561 บริ ษัท แอด วานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด ซึง่ เป็ น บริ ษัทย่อย ได้ ลงทุนกับบริ ษัทซีเอส ล็อกซ อินโฟ จากัด (มหาชน) มีสดั ส่วนการถือหุ้น ร้ อยละ 99.11 ซึง่ ทีเอ็มซีเป็ นบริ ษัทย่อย ของซีเอสแอล ดังนันรายการระหว่ ้ างกันมี ผลตังแต่ ้ วนั ที่ 1-31 มกราคม 2561

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างทีเอ็มซีจดั ทาข้ อมูลสาหรับ บริ การเสริ มของโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เช่น การ จัดหาข้ อมูลทางโหราศาสตร์ ข้ อมูลสลาก กินแบ่งรัฐบาล และ บริ การบันเทิงต่างๆผ่าน SMS รวมทังค่ ้ าบริ การว่าจ้ างคอลเซ็นเตอร์ โดย ได้ ชาระค่าบริ การเป็ นรายเดือน ขณะทีบ่ ริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การทางโทรศัพท์ และจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ทีเอ็มซี

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ทีเอ็มซีเป็ นผู้ให้ บริ การทีม่ ีความเชี่ยวชาญ ในการจัดทาเนื ้อหาและช่วยค้ นหาข้ อมูล ต่างๆ รวมทังการให้ ้ บริ การคอลเซ็นเตอร์

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

1.06 0.26

-

0.30 บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การโทรศัพท์ - เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

-

61.79 11.15

-

31.76 บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเสริ ม (Content) - ในอัตราร้ อยละของรายได้ ที่บริ ษัทได้ รับ และค่าบริ การคอลเซ็นเตอร์ ให้ แก่ทีเอ็มซี ในอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การ รายอื่น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 83


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 23. บริษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) (เอดีวี)/ มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่โดย ทางอ้ อม * วันที่ 23 มกราคม 2561 บริ ษัท แอด วานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด ซึง่ เป็ น บริ ษัทย่อย ได้ ลงทุนกับบริ ษัทซีเอส ล็อกซ อินโฟ จากัด (มหาชน) มีสดั ส่วนการถือหุ้น ร้ อยละ 99.11 ซึง่ เอดีวีเป็ นบริ ษัทย่อยของ ซีเอสแอล ดังนันรายการระหว่ ้ างกันมีผล ตังแต่ ้ วนั ที่ 1-31 มกราคม 2561

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างเอดีวีในการให้ บริ การเสริ มของ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เช่น เกมส์ เสียงเรี ยกเข้ า Wallpaper โดยชาระค่าบริ การเป็ นรายเดือน ขณะทีบ่ ริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ ดาเนินการจัดทาแหล่งรวมโปรแกรมบน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ (software mall) และ จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่เอดีวี ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2561

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ เอดี วี มี ค วามเชี่ ย วชาญ ในการออกแบบ เว็บไซต์ และมีความหลากหลายของเนื ้อหา ซึ่ ง ตรงกั บ ความต้ องการของบริ ษั ท และ บริ ษัทย่อย

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 84

0.50 0.01

143.74 17.95

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ, ซอฟท์แวร์ 0.03 มอลล์และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ใน - อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

-

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การเสริ ม (Content) 50.07 ให้ แก่เอดีวี ในอัตราร้ อยละของรายได้ ที่ - บริ ษัทได้ รับ ซึง่ เป็ นอัตราเดียวกันกับผู้ ให้ บริ การข้ อมูลประเภทเดียวกัน


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ งบการเงิน 1.

2.

รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผู้สอบบัญ ชีในช่วงระยะเวลา 3 ปี (2559 – 2561) ที่ผ้ ูสอบบัญชี แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข โดยมี ความเห็นว่างบการเงินรวมของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย และงบการเงินของบริ ษัทฯ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงิน เฉพาะของบริ ษัท ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะของบริ ษัทฯ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะของบริ ษัทฯ โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ตารางสรุ ปงบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงินรวม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย : พันบาท 2559 จานวนเงิน

%

2560 จานวนเงิน

2561 จานวนเงิน

%

11,226,141 2,963,183 14,116,309 3,085,252 366,770 236,418 272,036 32,266,109

4.07 1.08 5.12 1.12 0.13 0.09 0.10 11.71

10,650,407 2,642,634 17,071,012 3,950,535 197,610 82,917 245,744 34,840,859

3.75 0.93 6.01 1.39 0.07 0.03 0.09 12.27

9,066,888 2,220,542 19,241,654 3,822,985 116,987 5,772 429,844 34,904,673

3.12 0.76 6.62 1.32 0.04 0.00 0.15 12.02

24,235 14,662 59,399 118,271,443 34,931 115,378,418 4,099,208 2,617,832 577,660 2,326,454 243,404,242 275,670,351

0.01 0.01 0.02 42.90 0.01 41.85 1.49 0.95 0.21 0.84 88.29 100.00

30,729 58,536 59,399 132,579,259 34,931 107,523,564 4,499,186 2,562,436 1,878,455 249,226,495 284,067,354

0.01 0.02 0.02 46.67 0.01 37.85 1.59 0.90 0.66 87.73 100.00

17,794 735,996 59,976 130,211,974 2,881,700 111,749,059 5,091,829 3,210,340 1,641,645 255,600,312 290,504,985

0.01 0.25 0.02 44.82 0.99 38.47 1.75 1.11 0.57 87.98 100.00

%

สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้ เป็ นการเฉพาะ เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี ้การค้ า และลูกหนี ้หมุนเวียนอื่น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์ภาษีเงินได้ ของงวดปั จจุบนั สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียนอื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในการร่วมค้ า เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ ค่าความนิยม ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

ส่วนที่ 3 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะทางการเงินรวม (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จานวนเงิน

2560 จานวนเงิน

%

หน่วย : พันบาท 2561 จานวนเงิน %

%

หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เจ้ าหนี ้การค้ า และเจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ค้างจ่าย รายได้ คา่ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รับล่วงหน้ า เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ า ส่วนของหนี ้สินระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคมค้ างจ่าย ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ ค้างจ่าย หนี ้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี ้สินระยะยาว ประมาณการหนี ้สินสาหรับผลประโยชน์พนักงาน ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคมค้ างจ่าย หนี ้สินทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนที่ออกจาหน่ายและชาระแล้ วเต็มมูลค่า ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนตา่ จากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ย่อย กาไรสะสม : จัดสรรแล้ ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่ วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

9,200,000 34,292,055 5,360,787 3,208,043 2,963,183 2,484,704

3.34 12.44 1.94 1.16 1.08 0.90

6,500,000 32,140,894 5,361,819 3,409,682 2,642,633 3,075,569

2.29 11.31 1.89 1.20 0.93 1.08

5,900,000 37,679,695 5,361,819 3,963,531 2,220,542 11,203,599

2.03 12.97 1.85 1.36 0.76 3.86

10,017,157 1,756,301 45,799 69,328,029

3.63 0.64 0.02 25.15

13,988,911 2,456,516 24,751 69,600,775

4.93 0.86 0.01 24.50

3,971,753 2,412,565 50,953 72,764,456

1.37 0.83 0.02 25.05

87,273,400 2,554,403 72,180,038 1,626,147 163,633,988

31.66 0.93 26.18 0.59 59.36

100,101,850 1,855,646 59,960,851 117,673 2,003,771 164,039,791

35.24 0.65 21.11 0.04 0.71 57.75

92,029,626 2,253,764 63,516,141 2,272,418 160,071,949

31.68 0.78 21.86 0.78 55.10

232,962,017

84.51

233,640,566

82.25

232,836,405

80.15

2,973,095 22,388,093

1.08 8.12

2,973,095 22,372,276

1.05 7.87

2,973,095 22,372,276

1.02 7.70

-

-

-

-

(668,455)

-0.23

500,000 16,471,015 236,680 42,568,883 139,451 42,708,334 275,670,351

0.18 5.97 0.09 15.44 0.05 15.49 100.00

500,000 24,174,743 300,241 50,320,355 106,433 50,426,788 284,067,354

0.18 8.51 0.11 17.71 0.04 17.75 100.00

500,000 32,005,108 339,016 57,521,040 147,541 57,668,581 290,504,985

0.17 11.02 0.12 19.80 0.05 19.85 100.00

ส่วนที่ 3 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

งบกาไรขาดทุนรวม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกาไรขาดทุนรวม สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม %

2560 จานวนเงิน

%

หน่วย : พันบาท 2561 จานวนเงิน %

128,226,137 23,923,730

84.28 15.72

132,946,615 24,775,185

84.29 15.71

144,004,928 25,850,920

84.78 15.22

152,149,867

100.00

157,721,800

100.00

169,855,847

100.00

ต้ นทุน ต้ นทุนการให้ บริการและให้ เช่าอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ต้ นทุนขาย ต้ นทุนค่าก่อสร้ างภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ

58,069,918 3,989 24,917,977 -

38.17 16.38 -

66,603,293 1,033 25,654,313 -

42.23 16.27 -

76,700,067 26,755,622 -

45.16 15.75 -

รวมต้ นทุน กาไรขัน้ ต้ น

82,991,884 69,157,983

54.55 45.45

92,258,639 65,463,161

58.50 41.50

103,455,689 66,400,158

60.91 39.09

ต้ นทุนในการจัดจาหน่าย ค่าใช้ จา่ ยในการบริหาร รวมค่าใช้ จา่ ยในการขายและการบริหาร กาไรจากการขาย การให้ บริการและการให้ เช่ า อุปกรณ์ รายได้ จากดอกเบี ้ยและเงินปั นผล รายได้ อื่น ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และ การร่วมค้ า กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา – สุทธิ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ต้ นทุนทางการเงิน

16,012,373 13,763,455 29,775,828

10.52 9.05 19.57

9,990,160 15,087,573 25,077,733

6.33 9.57 15.90

9,549,510 16,745,333 26,294,843

5.62 9.86 15.48

39,382,155 203,951 364,176

25.88 0.13 0.24

40,385,428 174,795 575,202

25.60 0.11 0.37

40,105,315 164,949 695,878

23.61 0.10 0.41

23,897 277,161 (150,257) (4,236,139)

0.02 0.18 (0.10) (2.78)

5,368 224,917 (142,727) (5,301,632)

0.14 (-0.09) (3.36)

(122,974) 118,631 (177,470) (5,147,685)

-0.07 0.07 (0.10) (3.03)

35,864,944 (5,175,300) 30,689,644

23.57 (3.40) 20.17

35,921,351 (5,843,428) 30,077,923

22.77 (3.70) 19.07

35,636,644 (5,922,539) 29,714,105

20.98 (3.49) 17.49

30,666,538 23,106 30,689,644

20.15 0.02 20.17

30,077,312 611 30,077,923

19.07 19.07

29,682,178 31,927 29,714,105

17.47 0.02 17.49

รายได้ รายได้ จากการให้ บริการและให้ เช่าอุปกรณ์ รายได้ จากการขาย รวมรายได้

กาไรก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี ส่วนของกาไร : ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนที่เป็ นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรสาหรับปี กาไรสุทธิตอ่ หุ้นขันพื ้ ้นฐาน (บาท) กาไรสุทธิตอ่ หุ้นปรับลด (บาท)

2559 จานวนเงิน

10.31 10.31 ส่วนที่ 3 | หน้ า 3

10.12 10.12

9.98 9.98


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

งบกระแสเงินสดรวม

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสดรวม สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสาหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน รายได้ จากการดอกเบี ้ยและเงินปั นผล ต้ นทุนทางการเงิน หนี ้สงสัยจะสูญและหนี ้สูญ การจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ (กลับรายการ) ค่าเผื่อสินค้ าล้ าสมัย การลดมูลค่าของสินค้ า และตัดจาหน่ายสินค้ า คงเหลือ ขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ค่าเผื่ออุปกรณ์ที่ยกเลิกการใช้ งาน (กาไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ ้นจริง ส่วนแบ่ง (กาไร) ขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้ า ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเงินได้ เงินสดได้ มาจากการดาเนินงานก่ อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์ และหนีส้ ินดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ และหนีส้ ินดาเนินงาน เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้ เป็ นการเฉพาะ ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้หมุนเวียนอืน่ สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ค้างจ่าย รายได้ คา่ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รับล่วงหน้ า เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ า หนี ้สินหมุนเวียนอื่น (เจ้ าหนี ้) ลูกหนี ้ ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้ า หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน จ่ายผลประโยชน์พนักงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน ส่วนที่ 3 | หน้ า 4

2561

หน่วย : พันบาท 2561

2559

2560

30,689,644

30,077,923

29,714,105

15,464,345 6,202,968 (203,951) 4,236,139 1,537,700 34,741

21,487,351 8,663,344 (174,795) 5,301,632 2,198,933 47,744

24,821,824 9,057,267 (164,949) 5,147,685 2,174,515 38,776

301,549

(392,008)

(151,790)

23,070 135,773 (29,634) (23,897) 213,606 5,175,300

7,117 722,517 (247,518) (5,368) 261,759 5,843,428

2,255 635,294 201,914 122,974 188,449 5,922,539

63,757,353

73,792,059

77,710,858

1,484,097 731,904 1,672,451 1,022,641 2,601 3,289,463 (3,298) 876,280 (1,484,097) 23,006 102,802 94,722 71,569,925 (32,221) (9,902,247) 61,635,457

320,549 (5,153,675) (473,275) 69,938 814,768 1,504,332 1,032 201,640 (320,549) (21,047) 324,994 29,822 71,090,588 (29,082) (5,532,987) 65,528,519

422,091 (3,889,749) 307,111 7,246 260,385 1,344,423 553,849 (422,091) 3,450 (401,038) 23,411 75,919,946 (25,552) (6,762,700) 69,131,694


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสดรวม (ต่ อ) สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ซื ้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่น จาหน่ายอุปกรณ์ จ่ายชาระใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่โทรคมนาคม เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทร่วม การร่วมค้ า และบริษัทย่อย เงินสดจ่ายสุทธิในการซื ้อธุรกิจ เงินลงทุนอื่น (เพิ่มขึ ้น) ลดลง สุทธิ รับดอกเบี ้ย เงินสดสุทธิ(ใช้ ไป)ในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี ้ย จ่ายต้ นทุนทางการเงินอื่น จ่ายชาระหนี ้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงินเพิ่มขึ ้น (ลดลง) สุทธิ การเพิ่มขึ ้นในหนี ้สินระยะยาว จ่ายชาระหนี ้สินระยะยาว เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อบริษัทย่อยจากส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม จ่ายชาระเงินคืนให้ สว่ นได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมจากการคืนทุนของบริษัทย่อย จ่ายเงินปั นผล เงินสดสุทธิ(ใช้ ไป)ในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ข้ อมูลเพิ่มเติมสาหรับงบกระแสเงินสด รายการที่ไม่ ใช่ เงินสด ยอดหนี ้ค้ างชาระจากการลงทุนในรายจ่ายฝ่ ายทุนและใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 5

2559

2560

หน่วย : พันบาท 2561

(47,554,102) 17,398 (8,069,267) (15,000) 303,674 215,750 (55,101,547)

(41,107,895) 121,136 (10,246,500) (45,000) 169,264 (51,108,995)

(20,197,788) 847,167 (20,535,811) (787,499) (3,375,340) (577) 173,094 (43,876,754)

(2,568,103) (201,233) (47,304) 700,000 41,153,737 (7,699,136) (36,508,870) (5,170,909) (1,773) 1,361,228 9,864,913 11,226,141

(3,055,219) (71,905) (56,363) (2,700,000) 16,307,475 (2,190,461) (33,428) (23,190,302) (14,990,203) (5,055) (575,734) 11,226,141 10,650,407

(3,290,108) (17,105) (55,686) (850,000) 3,000,000 (2,887,954) (879,085) (21,852,479) (26,832,417) (6,042) (1,583,519) 10,650,407 9,066,888

94,784,549

82,929,856

80,209,168


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

3.

2561

ตารางแสดงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย สรุ ปอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญสาหรับงบการเงิน สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ (เท่า) ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน) วงจรเงินสด (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability Ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น (%) อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (%) อัตรากาไรอื่น (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร (%) อัตรากาไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น เฉลี่ย (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ณ วันสิ ้นงวด อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) /1 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%) ข้ อมูลต่ อหุ้น มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุ้น (บาท) กาไรสุทธิตอ่ หุ้น (บาท) เงินปั นผลต่อหุ้น (บาท) /1

ไม่รวมใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 6

2559

2560

2561

0.47 0.33 0.89 12 29 6 59 5 70 19

0.50 0.36 0.94 11 32 7 49 6 63 19

0.48 0.35 0.95 10 35 7 52 6 58 30

45% 26% 0.4% 17% 20% 67% 72%

42% 26% 0.5% 36% 19% 65% 60%

39% 24% 0.5% 63% 18% 55% 51%

13% 29% 0.67

11% 23% 0.56

10% 22% 0.59

5.45 13.90 3.35 98%

4.63 12.45 4.40 70%

4.04 11.94 2.88 71%

14.36 10.31 10.08

16.96 10.12 7.08

19.40 9.98 7.08


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย สรุ ปอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญสาหรับงบการเงิน (ต่ อ) สาหรับปี สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม

2559

อัตราการเติบโต สินทรัพย์รวม (%) หนี ้สินรวม (%) รายได้ จากการขายหรือบริการ (%) ค่าใช้ จา่ ยดาเนินงาน (%) กาไรสุทธิ (%)

2560 52% 75% -2% 48% -22%

ส่วนที่ 3 | หน้ า 7

2561 3% 0.29% 4% -16% -2%

2% -0.34% 8% 5% -1%


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

4.

2561

สูตรการคานวณอัตราส่ วนทางการเงิน

อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity Ratio) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี ้สินหมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + เงินลงทุนระยะสัน้ + ลูกหนี ้การค้ า) / หนี ้สินหมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว (เท่า) กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน (หลังหักภาษี ) / สินทรัพย์หมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) รายได้ รวม / ลูกหนี ้การค้ าเฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า (เท่า) 360 / อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย (วัน) ต้ นทุนขาย / สินค้ าคงคลังเฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ (เท่า) 360 / อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี่ย (วัน) (ต้ นทุนรวม – ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทน) / เจ้ าหนี ้การค้ าเฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ (เท่า) 360 / อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน) ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย + ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี่ย - ระยะเวลาชาระหนี ้ วงจรเงินสด (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability Ratio) กาไรขันต้ ้ น / รายได้ รวม อัตรากาไรขันต้ ้ น (ร้ อยละ) กาไรจากการดาเนินงาน / รายได้ รวม อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (ร้ อยละ) (รายได้ จากการลงทุน + รายได้ จากการดาเนินงานอื่นๆ) / รายได้ รวม อัตรากาไรอื่น (ร้ อยละ) (เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดาเนินงาน +/- เงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน) / กาไรจากการดาเนินงาน อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร (ร้ อยละ) กาไรสุทธิ / รายได้ รวม อัตรากาไรสุทธิ (ร้ อยละ) กาไรสุทธิ / ส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น เฉลี่ย (ร้ อยละ) กาไรสุทธิ / ส่วนของผู้ถือ ณ วันสิ ้นงวด อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ณ วันสิ ้นงวด อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้ อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้ อยละ) /1

กาไรสุทธิ / สินทรัพย์รวมเฉลีย่ กาไรสุทธิ / (ที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ + สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน + สินทรัพย์ภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ) รายได้ รวม / สินทรัพย์รวมเฉลี่ย

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) หนี ้สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) กาไรจากการดาเนินงาน / ค่าใช้ จ่ายดอกเบี ้ย อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย (เท่า) กาไรก่อนดอกเบี ้ย ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย / (ค่าใช้ จ่ายดอกเบี ้ย + หนี ้สินที่ต้องชาระใน 1 อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน (เท่า) ปี ) เงินปั นผลต่อหุ้น / กาไรต่อหุ้น อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%) ข้ อมูลต่ อหุ้น (Data on per Share Capital) มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุ้น (บาท) กาไรสุทธิตอ่ หุ้น (บาท) เงินปั นผลต่อหุ้น (บาท) อัตราการเติบโต (Percentage Growth) สินทรัพย์รวม (ร้ อยละ) หนี ้สินรวม (ร้ อยละ) รายได้ จากการขายหรื อบริ การ (ร้ อยละ) ค่าใช้ จ่ายดาเนินงาน (ร้ อยละ) กาไรสุทธิ (ร้ อยละ) /1 ไม่รวมใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่โทรคมนาคม

ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม / จานวนหุ้น กาไรสุทธิ / จานวนหุ้น (สินทรัพย์รวมปี ลา่ สุด - สินทรัพย์รวมปี ก่อน) / สินทรัพย์รวมปี ก่อน (หนิ ้สินรวมปี ลา่ สุด - หนี ้สินรวมปี ก่อน) / หนี ้สินรวมปี ก่อน (รายได้ รวมปี ลา่ สุด - รายได้ รวมปี ก่อน) / รายได้ รวมปี ก่อน (ค่าใช้ จ่ายดาเนินงานปี ลา่ สุด - ค่าใช้ จ่ายดาเนินงานปี ก่อน) / ค่าใช้ จา่ ยดาเนินงานปี ก่อน (กาไรสุทธิปีลา่ สุด – กาไรสุทธิปีก่อน) / กาไรสุทธิปีก่อน

ส่วนที่ 3 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

คาอธิบายและบทวิเคราะห์ ของฝ่ ายบริหาร ประจาปี 2561 บทวิเคราะห์ สาหรับผู้บริ หาร รักษาความเป็ นผู้นาในตลาดโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ภาพรวมการแข่งขันในปี 2561 ยังคงเข้ มข้ น โดยเฉพาะการแข่งขันด้ าน ราคาจากการนาเสนอแพ็กเกจแบบใช้ งานไม่จากัด ด้ ว ยความเร็ วคงที่ (Fixed-Speed Unlimited) ในขณะที่ ก ารท าแคมเปญส่ ว นลดเครื่ อ ง โทรศัพท์มือถือค่อนข้ างจากัดอยู่เฉพาะบางพื ้นที่เมื่อเทียบกับปี ก่อน ด้ วย ความนิ ยมของลูกค้ า ที่ หัน มาใช้ งานแพ็ กเกจแบบใช้ งานไม่จ ากัด ด้ ว ย ความเร็ วคงที่มากขึ ้น ทาให้ กดดันการเติบโตของรายได้ และ ARPU ของ อุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ตังแต่ ้ ไตรมาส 3/2561 เป็ นต้ นมา ผู้ให้ บริการ ทุกรายได้ เริ่มลดการนาเสนอแพ็กเกจดังกล่าวลงเพื่อควบคุมผลกระทบต่อ รายได้ ด้ วยภาพการแข่งขันที่กล่าวมาทาให้ ในปี 2561 เอไอเอสมีรายได้ จากธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่เท่ากับ 124,601 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 1.3 เทียบกับปี ก่อน นอกจากนี ้ ด้ วยการใช้ งาน 4G ที่เติบโตขึน้ ต่อเนื่อง เอไอ เอสได้ ประมูล ใบอนุ ญ าตคลื่ น ความถี่ 1800 เมกะเฮิ ร ตซ์ เพิ่ ม เพื่ อ เสริ มสร้ างความเป็ นผู้นาด้ านดาต้ า ทาให้ เอไอเอสมีคลื่นความถี่เพื่อให้ บริ ก ารลู ก ค้ ากว้ างที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรม คิ ด เป็ นความกว้ าง 2x60 เมกะเฮิรตซ์ ซึง่ หลังจากเปิ ดใช้ งานคลื่นความถี่เพิ่มเติม ผลการวัดคุณภาพ แสดงให้ เห็นว่าคุณภาพโครงข่าย 4G ของเอไอเอสดีขึน้ อย่างชัดเจนเมื่อ เทียบกับ ผู้ใ ห้ บ ริ การรายอื่น โดยเอไอเอสยังคงท าการตลาดเพื่ อ เสริ ม ภาพลักษณ์ ของแบรนด์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ มีลกู ค้ าเพิ่มขึน้ ถึง 1 ล้ าน เลขหมายจากช่วงครึ่งปี หลังของปี ที่ผ่านมา ขยายธุ ร กิ จ อิ น เทอร์ เน็ ต ความเร็ ว สู ง และเสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง บริการดิจิทลั เซอร์ วิส ด้ า นธุรกิ จเอไอเอส ไฟเบอร์ มีการเติ บ โตอย่า งต่อเนื่ อ งท่า มกลางการ แข่งขันในตลาด โดยมีรายได้ เติบโตร้ อยละ 42 เทียบกับปี ก่อน มาอยู่ที่ 4,436 ล้ า นบาท และมี ลูก ค้ า เพิ่ ม ขึ น้ ทัง้ ปี 209,300 ราย หรื อ คิ ด เป็ น ประมาณร้ อยละ 20 ของจานวนลูกค้ าที่เพิ่มขึน้ ทังอุ ้ ตสาหกรรม ทาให้ ณ สิ ้นปี เอไอเอส ไฟเบอร์ มีลูกค้ ารวมทัง้ สิน้ 730,500 ราย ด้ านธุรกิจดิจิทลั เซอร์ วิ ส ในปี ที่ผ่า นมา เอไอเอสได้ ข ยายแพลตฟอร์ มดิ จิทัล ที่ ส าคัญ ทั ง้ สาหรับกลุ่มลูกค้ าทั่วไปและลูกค้ าองค์กร ได้ แก่ แพลตฟอร์ มวิดีโอ AIS PLAY ของเอไอเอสซึ่งได้ รับการตอบรับจากลูกค้ าเป็ นอย่างดี ทาให้ มียอด ลูกค้ าใช้ งานอย่างต่อเนื่องกว่า 1.7 ล้ านราย และติดหนึ่งในห้ าแอปพลิเค ชั น การรั บ ชมคอนเทนต์ ที่ ลูก ค้ า เลื อ กใช้ อี ก แพลตฟอร์ ม ส าคัญ คื อ แพลตฟอร์ มการทาธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ (Mobile Money) โดย ในช่วงต้ นปี เอไอเอสได้ เข้ าร่วมลงทุนผ่านบริ ษัทร่วมค้ าแรบบิท ไลน์ เพย์ และได้ ขยายช่องทางการชาระเงินไปยังรถไฟฟ้า ซึง่ ปั จจุบนั

มีผ้ ใู ช้ งานแรบบิท ไลน์ เพย์ อย่างต่อเนื่องกว่า 850,000 ราย นอกจากนี ้ การเข้ าซือ้ กิจการของซีเอสลอกซ์ (CSL) ทาให้ เอไอเอสมีศักยภาพใน การให้ บ ริ ก ารลูก ค้ า องค์ ก รดี ขึ น้ ในหลายด้ า น เช่ น การให้ บ ริ ก าร อินเทอร์ เน็ตแก่ลกู ค้ าองค์กร (EDS) รวมถึงบริ การคลาวด์ (Cloud) ซึ่งมี อัตราการเติบโตในอัตราเลขสองหลักเมื่อเทียบกับปี ก่อน ในขณะที่แบ รนด์ของเอไอเอสและ CSL ยังคงมีความแข็งแกร่งในตลาด บริหารต้ นทุนในทุกส่ วนขององค์ กร ด้ วยสภาวะตลาดโทรคมนาคมที่มีอตั ราการเติบโตลดน้ อยลง เอไอเอส ได้ ให้ ความสาคัญกับการบริการต้ นทุน โดยการพัฒนากระบวนการและ การนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ ทังในระบบการบริ ้ หารโครงข่ายและงาน บริ การให้ มีประสิทธิภาพมากขึน้ ทาให้ ในปี 2561 เอไอเอสมีค่าใช้ จ่าย โครงข่าย (ไม่รวมต้ นทุนการเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจกับทีโอที) ที่คงที่เมื่อ เทียบกับปี ก่อน หรือคิดเป็ นร้ อยละ 8 ของรายได้ และการให้ ความสาคัญ กับประสิทธิผลของการใช้ จ่ายเงิน ทาให้ ค่าใช้ จ่ายการตลาดในปี ที่ผ่าน มาลดลงร้ อยละ 4 ในส่วนงบลงทุนของปี 2561 ลดลงมาอยู่ที่ 20,198 ล้ านบาท ซึง่ ใช้ สาหรับขยายความจุโครงข่ายของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ และธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงเป็ นหลัก หลังจากที่ได้ ขยายความ ครอบคลุมของบริการ 4G ทัว่ ประเทศไปแล้ วก่อนหน้ า คาดการณ์ ปี 2562 รายได้ การให้ บริ การเติบโตอัตราเลขตัวเดียว ระดับกลาง (mid-single digit growth) โดยสรุป ในปี 2561 เอไอเอสมีรายได้ การให้ บริ การหลักอยู่ที่ 133,429 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ น้ ร้ อยละ 3.8 เที ย บกับ ปี ก่อ น EBITDA อยู่ที่ 73,792 ล้ า นบาท เติ บ โตร้ อยละ 4.7 เที ยบกับ ปี ก่อน หรื อคิ ด เป็ นอัต รากาไร EBITDA (ไม่รวมรายได้ ค่าเช่าเครื่ องและอุปกรณ์) เท่ากับร้ อยละ 45.2 เพิ่มขึน้ จากร้ อยละ 44.7 ในปี ก่อน กาไรสุท ธิ อยู่ที่ 29,682 ล้ า นบาท ลดลงร้ อยละ 1.3 เทียบกับปี ก่อน จากการลงทุนในโครงข่ายต่อเนื่ อง ส าหรั บ ปี 2562 เอไอเอสคาดการณ์ รายได้ จากการให้ บ ริ การหลัก จะ เติบโตในอัตราเลขตัวเดียวระดับกลางจากการเติบโตของทุกธุรกิจ และ คาดว่าจะมีอตั รากาไร EBITDA ใกล้ เคียงกับปี ก่อน พร้ อมวางแผนใช้ งบ ลงทุนประมาณ 20,000 – 25,000 ล้ านบาท (ดูรายละเอียดคาดการณ์ หน้ า 9)

ส่วนที่ 3 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

เหตุการณ์ สาคัญในปี 2562 ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2562 เอไอเอสได้ เริ่มใช้ มาตรฐานบัญชีไทยฉบับที่ 15 (TFRS 15) เกี่ยวกับรายได้ จากสัญญากับลูกค้ า โดยมาตรฐานบัญชีฉบับนี ้ มีผลต่อวิธีการบันทึกบัญชีของแคมเปญโทรศัพท์มือถือที่มีการผูกสัญญากับแพ็กเกจรายเดือน โดยก่อนหน้ าปี 2562 เอไอเอสได้ บนั ทึกค่าใช้ จา่ ยการทา แคมเปญโทรศัพท์มือถือเต็มจานวน โดยบันทึกเป็ นต้ นทุนค่าเครื่ องโทรศัพท์หรื อเป็ นค่าใช้ จา่ ยการตลาด ด้ วยมาตรฐานบัญชีฉบับใหม่ รายการทางการ เงินที่สาคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงมีดงั นี ้ ก) ค่าใช้ จ่ายแคมเปญโทรศัพท์มือถือที่เคยบันทึกเป็ นต้ นทุนค่าเครื่ องโทรศัพท์ จะถูกนาไปแบ่งระหว่างรายได้ คา่ เครื่ องโทรศัพท์และรายได้ การ ให้ บริ การ ถ่วงนา้ หนักด้ วยราคาตลาด (fair market value) ของค่าเครื่ องโทรศัพท์และค่าแพ็กเกจตลอดสัญญา ซึ่งจะมีผลให้ รายได้ ค่า เครื่องโทรศัพท์เพิ่มขึ ้น และรายได้ การให้ บริการลดลง ส่วนค่าใช้ จา่ ยที่เคยบันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายการตลาด จะถูกนาไปบั นทึกเป็ นสินทรัพย์รอ ตัดจาหน่ายตามสัญญา (Contract Asset) และจะถูกตัดจาหน่ายออกจากรายได้ การให้ บริการตลอดช่วงระยะเวลาของสัญญา ข) บนงบดุล จะปรากฏรายการสินทรัพย์รอตัดจาหน่ายตามสัญญา (Contract Asset) ซึ่งแสดงส่วนต่างระหว่างรายได้ ที่บนั ทึก ณ ตอนทา สัญญา กับเงินสดที่รับจริงจากลูกค้ า รวมถึงค่าใช้ จา่ ยที่ถกู นาไปบันทึกเป็ นสินทรัพย์ ทังนี ้ ้ หากพิจารณาตลอดระยะเวลาสัญญา มาตรฐานบัญชีฉบับใหม่จะไม่สง่ ผลกระทบต่อกาไรของแต่ละสัญญา อย่างไรก็ตาม คาดการณ์ของปี 2562 ในหน้ า 9 ไม่ได้ รวมผลกระทบของมาตรฐานบัญชีฉบับใหม่ เพื่อให้ สามารถเปรี ยบเทียบกับผลการดาเนินงานของปี 2561 ได้ (รายละเอียดเพิ่มเติมของ TFRS 15 อยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ 2) สภาวะตลาดและการแข่ งขัน จากภาวะรายได้ ของอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ชะลอตัวลงในใตรมาส 3/2561 ส่งผลให้ ผ้ ใู ห้ บริการต่างทยอยหยุดการนาเสนอแพ็กเกจแบบใช้ งาน ไม่ จ ากั ด ด้ ว ยความเร็ ว คงที่ (Fixed-Speed Unlimited) โดยคาดว่ า ARPU จะค่ อ ยๆ ปรั บ ตัว ดี ขี น้ อย่ า งไรก็ ต าม การท าแคมเปญให้ ส่ว นลด โทรศัพท์มือถือยังคงดาเนินต่อเนื่องในไตรมาส 4/2561 ด้ วยช่วงปลายปี ที่มีกิจกรรมทางการตลาดมากกว่าปกติสอดรับการจับจ่ายใช้ สอย รวมทังยั ้ งมี แคมเปญการตลาดเชิงรุกต่อเนื่องในบางพื ้นที่ โดยหลังจากการประมูลคลื่นความถี่ในไตรมาส 3/2561 ส่งให้ คณ ุ ภาพโครงข่าย 4G โดยรวมดีขึ ้นจากการ เปิ ดใช้ งานคลื่นความถี่เพิ่มเติม ซึง่ คาดว่าจะช่วยผู้ให้ บริการในการบริหารควบคุมงบลงทุนได้ ดีขึ ้นในปี ตอ่ ๆ ไป การแข่งขันในตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงยังคงดาเนินต่อเนื่อง โดยมีระดับราคาของแพ็กเกจค่อนข้ างคงที่จากไตรมาสก่อน อย่างไรก็ตาม ภาพรวมใน ปี ที่ผ่านมา แพ็กเกจมาตรฐานที่ราคา 600 บาท ได้ มีการปรับความเร็วเพิ่มขึ ้นจาก 30 เมกะบิตต่อวินาทีในปี 2560 เป็ น 50 เมกะบิตต่อวินาทีในปี 2561 และผู้ให้ บริการที่มีบริการอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงเพียงอย่างเดียวเน้ นใช้ กลยุทธ์ด้านราคาในการทาตลาดเป็ นหลัก ในขณะที่ผ้ ใู ห้ บริการที่มีหลายบริการ ได้ เน้ นนาเสนอแพ็กเกจที่รวมหลายบริ การ (Convergence) เพื่อดึงดูดลูกค้ าจากความคุ้มค่าของแพ็กเกจรวมที่สงู ขึน้ ส่งผลให้ ราคาแพ็กเกจแบบมี บริการอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงเพียงอย่างเดียวและแบบที่รวมหลายบริการมีสว่ นต่างลดลง สรุ ปผลการดาเนินงานในไตรมาส 4/2561 ในไตรมาส 4/2561 รายได้ จากการให้ บริการหลักอยู่ที่ 33,683 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3.3 เทียบกับปี ก่อน และร้ อยละ 1.7 เทียบกับไตรมาสก่อน จาก การเติบโตของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่และธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ในด้ านการเติบโตของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีจานวนลูกค้ า เพิ่มขึ ้น 522,200 ราย ซึง่ กว่าร้ อยละ 66 เป็ นลูกค้ าระบบเติมเงิน ด้ วยการปรับรูปแบบแพ็กเกจเป็ นการคิดค่าดาต้ าตามปริมาณการใช้ งาน และมีจานวนลูกค้ าที่ใช้ งาน 4G เพิ่มขึ ้นต่อเนื่องเป็ นร้ อยละ 59 ของฐานลูกค้ ารวม ทาให้ รายได้ จากธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในไตรมาส 4/2561 เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 1.1 เทียบกับปี ก่อน และ ร้ อยละ 1.6 เทียบกับไตรมาสก่อน มาอยูท่ ี่ 31,364 ล้ านบาท โดยมีรายได้ ตอ่ เลขหมาย (ARPU) ลดลงร้ อยละ 0.7 เทียบกับปี ก่อน แต่เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 0.2 เทียบกับไตรมาสก่อน ลูกค้ าบนระบบรายเดือนยังคงขยายตัวต่อเนื่อง และคิดเป็ นร้ อยละ 20 ของฐานลูกค้ ารวม เพิ่มขึน้ จากร้ อยละ 18 ในปี ก่อน สาหรับธุรกิจเอไอเอส ไฟเบอร์ ยังคงเน้ นการขยายฐานลูกค้ าในพื ้นที่ 57 จังหวัด และมีลกู ค้ าเพิ่มขึ ้นในไตรมาส 53,800 ราย ใกล้ เคียงกับไตรมาสที่แล้ ว อย่างไรก็ตาม จากการแข่งขันด้ านราคาในตลาด ทาให้ ARPU ลดลงมาอยูท่ ี่ 574 บาท จาก 635 บาท ในไตรมาส 4/2560 แต่คงที่จากไตรมาส 3/2561 ด้ านต้ นทุนการให้ บริการ มีคา่ ธรรมใบอนุญาตอยูท่ ี่ 1,420 ล้ านบาท หรือคิดเป็ นร้ อยละ 4.2 ของรายได้ การให้ บริการ ซึง่ คงที่จากไตรมาสก่อน ค่าใช้ จา่ ย โครงข่ายอยู่ที่ 7,366 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 47 เทียบกับปี ก่อน และเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 2 เทียบกับไตรมาสก่อน โดยเพิ่มขึน้ จากการทาสัญญาการเป็ น พันธมิตรกับทีโอที หากไม่รวมผลกระทบทางบัญชีจากการทาสัญญาดังกล่าว จากการบริหารต้ นทุนอย่างต่อเนื่อง ค่าใช้ จา่ ยโครงข่ายจะเพิ่มขึ น้ ร้ อยละ 6.5 เทียบกับปี ก่อน และร้ อยละ 2.1 เทียบกับไตรมาสก่อน ค่าใช้ จา่ ยการตลาดและขาดทุนจากการขายโทรศัพท์มือถืออยูท่ ี่ 3,045 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อย ละ 27 เทียบกับปี ก่อน และร้ อยละ 11 เทียบกับไตรมาสก่อน จากการทาแคมเปญโทรศัพท์มือถือและเสริ มภาพลักษณ์ของแบรนด์ ทาให้ ค่าใช้ จ่ายใน การขายและบริหารโดยรวมเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 9.9 เทียบกับปี ก่อน และร้ อยละ 2.6 เทียบกับไตรมาสก่อน มาอยูท่ ี่ 6,968 ล้ านบาท ส่วนที่ 3 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

EBITDA อยูท่ ี่ 18,071 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 2.1 เทียบกับปี ก่อน แต่เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.4 เทียบกับไตรมาสก่อน หรือคิดเป็ นอัตรากาไร EBITDA ร้ อยละ 42.6 (ไม่รวมรายได้ คา่ เช่าเครื่ องและอุปกรณ์) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ายอยูท่ ี่ 8,767 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 9 เทียบกับปี ก่อน และร้ อยละ 4.4 เทียบกับไตรมาสก่อน จากการตัดจาหน่ายใบอนุญาต 1800 เมกะเฮิรตซ์ที่ประมูลมาในไตรมาสก่อน และการลงทุนขยายโครงข่าย 4G และอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูง ทาให้ โดยสรุป เอไอเอสมีกาไรสุทธิในไตรมาส 4/2561 เท่ากับ 6,839 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 11 เทียบกับปี ก่อน แต่เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 0.6 เทียบกับไตรมาสก่อน ธุรกิจมือถือ จานวนผู้ใช้ บริ การ ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจานวนผู้ใช้ บริการ จานวนผู้ใช้ บริ การที่เพิ่มขึ ้น ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจานวนผู้ใช้ บริการ

ไตรมาส 4/2560

ไตรมาส 1/2561

ไตรมาส 2/2561

ไตรมาส 3/2561

ไตรมาส 4/2561

7,390,100 32,665,400 40,055,500

7,617,100 32,432,900 40,050,000

7,822,600 32,272,100 40,094,700

8,014,700 32,632,300 40,647,000

8,189,900 32,979,300 41,169,200

163,300 -294,100 -130,800

227,000 -232,500 -5,500

205,500 -160,800 44,700

192,100 360,200 552,300

175,200 347,000 522,200

581 183 256

578 184 257

574 183 258

562 178 253

571 176 254

ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย VOU (กิกะไบต์/เลขหมายที่ใช้ อินเทอร์ เน็ต/เดือน)

257 151 170

251 148 168

242 136 156

241 124 147

244 121 145

ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย อัตราการใช้ เครื่ องโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ 4G ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง จานวนผู้ใช้ บริ การ จานวนผู้ใช้ บริ การที่เพิ่มขึ ้น ARPU (บาท/ราย/เดือน)

8.3 6.2 6.7

9.2 7.0 7.6

10.9 8.2 8.9

12.7 9.2 10.1

14.0 9.8 10.9

46%

50%

54%

57%

59%

521,200 39,700 635

571,800 50,600 618

623,400 51,600 610

676,700 53,300 573

730,500 53,800 574

ARPU (บาท/เลขหมาย/เดือน) ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย MOU (นาที/เลขหมาย/เดือน)

สรุ ปงบการเงินประจาปี 2561 รายได้ ในปี 2561 เอไอเอสมีรายได้ รวมเท่ากับ 169,856 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อย ละ 7.7 เทียบกับปี ก่อน จากการเติบโตของรายได้ การให้ บริ การ การรวม รายได้ ข อง CSL จากการควบรวมกิ จการ และรายได้ ค่า เช่า เครื่ องและ อุปกรณ์จากการเป็ นพันธมิตรกับทีโอที รายได้ จากการให้ บริการ อยูท่ ี่ 144,005 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 8.3 เทียบ กับปี ก่อน หากไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่ายและค่าเช่าเครื่ องและอุปกรณ์ รายได้ การให้ บริ การหลักจะอยู่ที่ 133,429 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 3.8 เทียบกับปี ก่อน ตามกรอบที่คาดการณ์ ไว้ จากการใช้ งาน 4G ที่สูงขึน้ และ จานวนลูกค้ าธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงที่เพิ่มขึน้  รายได้ จากธุรกิจโทรศัพท์ เคลื่อนที่ อยู่ที่ 124,601 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 1.3 แม้ ยงั คงมีแรงกดดันจากการแข่งขันทางด้ านราคา ในขณะที่

การใช้ งานดาต้ ายังคงเพิ่มขึน้ เป็ น 11 กิกะไบต์/เลขหมายที่ใช้ งานดาต้ า/ เดือน โดยจากการพัฒนาคุณภาพด้ านเครื อข่ายและภาพลักษณ์ของแบ รนด์เอไอเอส ส่งผลให้ ในปี ที่ผ่านมาเอไอเอสมีจานวนลูกค้ าเพิ่มขึ ้น 1.1 ล้ านเลขหมาย โดยกว่าร้ อยละ 72 เป็ นลูกค้ าระบบรายเดือน  รายได้ จากธุ รกิ จอิ นเทอร์ เน็ ตความเร็ วสู ง อยู่ที่ 4,436 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 42 เทียบกับปี ก่อน ในปี 2561 เอไอเอส ไฟเบอร์ มีลกู ค้ า เพิ่มขึน้ 209,300 ราย ทาให้ ในปั จุบันมีจานวนลูกค้ าทัง้ หมด 730,500 ราย จากการแข่งขันด้ านราคาและการให้ ส่วนลดเพื่อรักษาฐานลูกค้ า ทาให้ ในไตรมาส 4/2561 ARPU อยู่ที่ 574 บาท ลดลงจาก 635 บาท ใน ไตรมาส 4/2560  รายได้ การให้ บริ การอื่นๆ ซึง่ รวมรายได้ ของ CSL รายได้ การให้ บริ การ อินเทอร์ เน็ตแก่ลูกค้ าองค์กร (EDS) และรายได้ อื่นๆ อยู่ที่ 4,391 ล้ าน

ส่วนที่ 3 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

บาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 77 เทียบกับปี ก่อน จากการรับรู้ รายได้ ของ CSL เต็มปี ในปี 2561  ค่ าเชื่อมโยงโครงข่ าย (IC) และรายได้ ค่าเช่ าเครื่ องและอุ ปกรณ์ อยู่ที่ 10,576 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 142 เทียบกับปี ก่อน จากการ รับรู้รายได้ จากค่าเช่าเครื่ องและอุปกรณ์ในการเป็ นพันธมิตรกับทีโอที ซึ่ ง เริ่ ม บัน ทึ ก ตัง้ แต่ เ ดื อ นมี น าคม 2561 ชดเชยด้ ว ยค่ า เชื่ อ มโยง โครงข่ายที่ลดลงตามการปรับอัตราค่าเชื่อมโยงโครงข่าย

การขยายและปรับปรุงช่องทางจัดจาหน่าย รวมถึงการบันทึกรายการ พิเศษจานวน 134 ล้ า นบาท จากข้ อเรี ยกร้ องของกรมสรรพากรใน กรณีภาษี หัก ณ ที่จ่ายในไตรมาส 3/2561 ทัง้ นี ้ ในปี 2561 สัดส่วน ค่าใช้ จ่ายการตัง้ สารองหนีส้ ูญต่อรายได้ ระบบรายเดือนลดลงอยู่ที่ ร้ อยละ 3.8 เทียบกับร้ อยละ 4.3 ในปี 2560 จากการเน้ นขยายฐาน ลูกค้ าที่มีคณ ุ ภาพทังลู ้ กค้ าโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์ เน็ตความเร็ว สูง

รายได้ การขายซิมและอุ ปกรณ์ อยู่ที่ 25,851 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 4.3 เทียบกับปี ก่อน โดยอัตราขาดทุนจากการขายซิมและอุปกรณ์ ใ นปี 2561 อยูท่ ี่ร้อยละ 3.5 คงที่จากปี ก่อน จากการทาแคมเปญโทรศัพท์มือถือ อย่างต่อเนื่อง

กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ อยูท่ ี่ 119 ล้ านบาท ลดลงจาก 225 ล้ าน บาทในปี 2560 โดยกาไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากงบลงทุน ค้ างจ่าย ซึ่งเป็ นผลจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ทังนี ้ ้ บริ ษัทมี การทาสัญญาป้องกันความเสี่ยงสาหรับหนีใ้ นสกุลเงินต่างประเทศเต็ม จานวน

ต้ นทุนและค่ าใช้ จ่าย ในปี 2561 ต้ นทุนการให้ บริการอยูท่ ี่ 76,700 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 15 เทียบกับปี ก่อน จากค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย และค่าใช้ จ่ายการ เป็ นพันธมิตรกับทีโอที ชดเชยด้ วยต้ นทุนค่าธรรมเนียมที่ลดลง  ต้ นทุนค่ าธรรมเนียม อยู่ที่ 5,723 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 8.7 เทียบ กับปี ก่อน ตามที่กสทช.ประกาศอัตราค่าธรรมเนียมรายปี ลดลง โดย ในปี นีต้ ้ นทุนค่าธรรมเนียมต่อรายได้ การให้ บริ การหลักอยู่ที่ร้ อยละ 4.3 ลดลงจากร้ อยละ 4.9 ในปี 2560  ค่ าเสื่อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย อยู่ที่ 33,282 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อย ละ 12 เทียบกับปี ก่อน จากการขยายโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และ อินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง รวมถึงค่าตัดจาหน่ายใบอนุญาตคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ที่ได้ รับในเดือนกันยายนที่ผ่านมา  ค่ าใช้ จ่ายโครงข่ าย อยูท่ ี่ 26,929 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 34 เทียบ กับปี ก่อน จากการเปลี่ยนวิธีการบันทึกบัญชีตามสัญญาการเป็ น พันธมิตรกับทีโอที หากไม่รวมผลกระทบทางบัญชีดงั กล่าว ค่าใช้ จา่ ย โครงข่ายจะเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยที่ร้อยละ 1.6 เทียบกับปี ก่อน เป็ นผลจาก การบริหารต้ นทุนอย่างต่อเนื่อง  ต้ นทุนการให้ บริการอื่นๆ ซึ่งรวมถึงต้ นทุนคอนเทนต์วิดีโอ ค่าคอมมิช ชันระบบเติมเงิน และต้ นทุนค่าเชื่อมโยงโครงข่าย อยูท่ ี่ 10,766 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.9 เทียบกับปี ก่อน จากต้ นทุนคอนเทนต์ที่เพิ่มขึ ้น ชดเชย ด้ วยค่าคอมมิชชันของระบบเติมเงินที่ลดลง ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริ หาร อยู่ที่ 26,295 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 4.9 เทียบกับ ปี ก่อน จากค่า ใช้ จ่ายในการบริ ห าร ชดเชยด้ ว ยค่าใช้ จ่าย การตลาดที่ลดลง  ค่ าใช้ จ่ายการตลาด อยู่ที่ 9,550 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 4.4 เทียบ กับ ปี ก่อน จากการเน้ น ท าแคมเปญโทรศัพท์ มื อถื อในพืน้ ที่ ส าคัญ ส่งผลให้ อตั ราส่วนค่าใช้ จา่ ยการตลาดต่อรายได้ รวมลดลงจากร้ อยละ 6.3 ในปี 2560 เป็ นร้ อยละ 5.6 ในปี 2561  ค่ าใช้ จ่ายในการบริ หารและค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ อยู่ที่ 16,745 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 11 เทียบกับปี ก่อน จากค่าใช้ จ่ายพนักงานที่เพิ่มขึน้

ต้ นทุนทางการเงิน อยู่ที่ 5,148 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 2.9 เทียบกับปี ก่อน จากดอกเบี ้ยรอการตัดบัญชีจากค่าใบอนุญาตคลื่นความถี่ที่ลดลง ทังนี ้ ้ ต้ นทุนทางการเงินเฉลี่ยอยูท่ ี่ร้อยละ 3.1 ต่อปี คงที่จากปี ก่อน กาไร ในปี 2561 เอไอเอสมี EBITDA เท่ากับ 73,792 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 4.7 เทียบกับปี ก่อน จากรายได้ จากการให้ บริ การที่เติบโต และการบริหาร ต้ นทุนอย่างต่อเนื่อง โดย อัตรากาไร EBITDA อยู่ที่ร้อยละ 43.4 อย่างไร ก็ตาม หากไม่ รวมค่ าเช่ าเครื่ องและอุปกรณ์ อัตรากาไร EBITDA จะ เท่ากับร้ อยละ 45.2 ตามกรอบคาดการณ์ที่ร้อยละ 45-47 และเพิ่มขึ ้นจาก ร้ อยละ 44.7 ในปี 2560 โดยสรุ ป เอไอเอสมี กาไรสุ ทธิ เท่า กับ 29,682 ล้ านบาท ลดลงเล็กน้ อยที่ร้อยละ 1.3 เทียบกับปี ก่อน จากค่าเสื่อมราคา โครงข่ายและค่าตัดจาหน่ายใบอนุญาตที่เพิ่มเข้ ามา ฐานะการเงิน ณ สิ ้นเดือนธันวาคม 2561 เอไอเอสมีสินทรัพย์รวมทัง้ สิน้ 290,505 ล้ าน บาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.3 เทียบกับปี ก่อน จากใบอนุญาตคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ที่ ป ระมูล ได้ มาในเดื อนกัน ยายน สิ น ทรั พย์ ห มุน เวี ยนอยู่ที่ 34,905 ล้ านบาท คงที่เมื่อเทียบกับปี ก่อน จากลูกหนีก้ ารค้ าที่เพิ่มขึ ้นตาม การขยายตัวของลูกค้ าระบบรายเดือน ชดเชยกับเงินสดที่ลดลง สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอยู่ที่ 255,600 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 2.6 เทียบกับปี ก่อน จากใบอนุญาตคลื่นความถี่ ค่าความนิยมและเงินลงทุนใน RLP เอไอเอสมีหนี ้สินรวมเท่ากับ 232,836 ล้ านบาท คงที่จากปี 2560 จากการ ชาระค่า ใบอนุญ าตคลื่น ความถี่ เดิ ม ชดเชยด้ ว ยรายจ่า ยค้ า งจ่า ยของ ใบอนุญาตคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ใบใหม่ ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมอยู่ ที่ 57,669 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 14 เทียบกับปี ก่อน จากกาไรสะสมที่ เพิ่ ม ขึ น้ ทัง้ นี ้ สถานะทางการเงิ น ของเอไอเอสยัง คงแข็ ง แกร่ ง โดยมี อัต ราส่ว นสภาพคล่องและอัต ราส่ว น interest coverage อยู่ที่ 0.5 เท่า และ 12 เท่า ตามล าดับ ณ ปลายปี 2561 เอไอเอสมีห นี ส้ ินที่ มีภาระ ดอกเบีย้ รวมทัง้ สิน้ 109,100 ล้ า นบาท และมีอัต ราส่ว นหนี ส้ ิน สุ ท ธิ ต่อ

ส่วนที่ 3 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี EBITDA อยูท่ ี่ 1.3 เท่า คงที่จากปี 2560 รวมทังยั ้ งคงรักษาอันดับเครดิตที่ น่าลงทุนอยูท่ ี่ BBB+ จากการจัดอันดับของ S&P กระแสเงินสด ในปี 2561 เอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการดาเนินงาน (หลังหักภาษี) อยู่ ที่ 69,132 ล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 5.5 เทียบกับปี ก่อน ตามการเติบโต ของ EBITDA และมีการใช้ จา่ ยค่าลงทุนโครงข่าย 20,198 ล้ านบาท ลดลง จาก 41,108 ล้ านบาทในปี 2560 ด้ วยงบลงทุนที่ลดลงและจากการขยาย ระยะเวลาการชาระเงินกับผู้ผลิตอุปกรณ์โครงข่าย นอกจากนี ้ เอไอเอสได้ งบกาไรขาดทุน (ล้ านบาท) รายได้ ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ รายได้ ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง รายได้ การให้ บริ การอื่นๆ รายได้ การให้ บริการหลัก รายได้ ค่าเชื่อมโยงโครงข่ายและค่าเช่า เครื่ องและอุปกรณ์ รายได้ การให้ บริการ รายได้ จากการขายซิมและอุปกรณ์ รวมรายได้ ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าใช้ จ่ายด้ านโครงข่าย ต้ นทุนการให้ บริ การอื่นๆ รวมต้ นทุนการให้ บริการ ต้ นทุนการขายซิมและอุปกรณ์ รวมต้ นทุน กาไรขัน้ ต้ น ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้ จ่ายการตลาด ค่าใช้ จ่ายในการบริ หารและอื่นๆ กาไรจากการดาเนินงาน กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน รายได้ (ค่าใช้ จ่าย) อื่น ค่าใช้ จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ ส่วนที่เป็นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม

กาไรสุทธิ EBITDA (ล้ านบาท) กาไรจากการดาเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย (กาไร)/ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าตอบแทนผู้บริ หาร ค่าใช้ จ่ายการเงินอื่นๆ EBITDA อัตรากาไร EBITDA margin ที่รายงาน (%)

2561

ชาระค่าใบอนุญาตคลื่นความถี่ให้ แก่กสทช. เป็ นเงินทังสิ ้ ้น 20,536 ล้ าน บาท ทาให้ เอไอเอสมีกระแสเงินสดอิสระอยู่ที่ 28,398 ล้ านบาท (กระแส เงินสดจากการดาเนินงาน หักค่าใช้ จ่ายในการลงทุนและค่าใบอนุญาต) เพิ่มขึน้ จาก 14,174 ล้ านบาทในปี 2560 นอกจากนี ้ ระหว่างปี เอไอเอสได้ เข้ าซื ้อกิจการของ CSL และร่วมลงทุนใน RLP เป็ นเงินลงทุนทังสิ ้ ้น 5,042 ล้ านบาท และจ่ายเงินปั นผล 21,852 ล้ านบาท พร้ อมทังจ่ ้ ายชาระเงินกู้ยืม สุทธิจานวน 738 ล้ านบาท เป็ นผลให้ เอไอเอสมีเงินสดคงเหลือ 9,067 ล้ าน บาท

ไตรมาส 4/2560 31,016 956 639 32,611

ไตรมาส 3/2561 30,862 1,117 1,155 33,134

ไตรมาส 4/2561 31,364 1,212 1,107 33,683

%YoY

%QoQ

ปี 2560

ปี 2561

%YoY

1.1% 27% 73% 3.3%

1.6% 8.6% -4.1% 1.7%

122,979 3,128 2,476 128,583

124,601 4,436 4,391 133,429

1.3% 42% 77% 3.8%

1,107

3,111

3,202

189%

2.9%

4,364

10,576

142%

33,717 7,488 41,205 (1,301) (8,044) (5,012) (2,661) (17,018) (7,534) (24,552) 16,653 (6,338) (2,357) (3,982) 10,315 21 223 (1,346) (1,512) (1.4) 7,701

36,245 5,865 42,110 (1,429) (8,401) (7,223) (2,781) (19,835) (6,189) (26,023) 16,087 (6,794) (2,426) (4,368) 9,293 12 119 (1,277) (1,345) (1) 6,800

36,885 7,699 44,584 (1,420) (8,767) (7,366) (2,830) (20,383) (8,032) (28,414) 16,170 (6,968) (2,713) (4,255) 9,202 129 118 (1,288) (1,320) (1) 6,839

9.4% 2.8% 8.2% 9.2% 9.0% 47% 6.3% 20% 6.6% 16% -2.9% 9.9% 15% 6.9% -11% 502% -47% -4.3% -13% -7.7% -11%

1.8% 31% 5.9% -0.6% 4.4% 2.0% 1.7% 2.8% 30% 9.2% 0.5% 2.6% 12% -2.6% -1.0% 939% -0.8% 0.9% -1.8% 39% 0.6%

132,947 24,775 157,722 (6,272) (29,686) (20,080) (10,566) (66,604) (25,654) (92,259) 65,463 (25,078) (9,990) (15,088) 40,385 225 613 (5,302) (5,843) (0.6) 30,077

144,005 25,851 169,856 (5,723) (33,282) (26,929) (10,766) (76,700) (26,756) (103,456) 66,400 (26,295) (9,550) (16,745) 40,105 119 560 (5,148) (5,923) (32) 29,682

8.3% 4.3% 7.7% -8.7% 12% 34% 1.9% 15% 4.3% 12% 1.4% 4.9% -4.4% 11% -0.7% -47% -8.5% -2.9% 1.4% 5125% -1.3%

ไตรมาส 4/2560 10,315 8,164 7 (24) (8) 18,454 44.8%

ไตรมาส 3/2561 9,293 8,556 12 (41) (2) 17,817 42.3%

ไตรมาส 4/2561 9,202 8,919 (20) (32) 2 18,071 40.5%

%YoY

%QoQ

ปี 2560

ปี 2561

%YoY

-11% 9% -377% 35% -123% -2.1%

-1.0% 4.2% -270% -22% -230% 1.4%

40,385 30,151 164 (143) (60) 70,498 44.7%

40,105 33,879 2 (177) (18) 73,792 43.4%

-0.7% 12% -99% 24% -71% 4.7%

ส่วนที่ 3 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ฐานะการเงิน (ล้ านบาท/ร้ อยละ ของสินทรั พย์ รวม)

ไตรมาส 4/2560

ไตรมาส 4/2561

อัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี ้การค้ า สินค้ าคงเหลือ อื่นๆ รวมสินทรั พย์ หมุนเวียน

10,650 2,643 14,179 3,951 3,418 34,841

3.7% 0.9% 5.0% 1.4% 1.2% 12%

9,067 2,221 16,361 3,823 3,433 34,905

3.1% 0.8% 5.6% 1.3% 1.2% 12%

ใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ โครงข่าย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

107,524 132,579

38% 47%

111,749 130,212

38% 45%

เงินกู้ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้สทุ ธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้สทุ ธิต่อ EBITDA อัตราส่วนสภาพคล่อง Interest Coverage Debt Service Coverage Ratio ผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE)

4,499 2,562 2,062

1.6% 0.9% 0.7%

5,092 3,210 5,337

1.8% 1.1% 1.8%

ตารางการชาระหนี ้

สินทรัพย์ รวม

284,067

100%

290,505

เจ้ าหนี ้การค้ า

14,686

5.2%

ส่วนของเงินกู้ถึงกาหนดชาระใน 1 ปี

9,575

ผลตอบแทนค้ างจ่าย

สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี อื่นๆ

ไตรมาส 4/2560 2.2 1.9 1.4 0.5 14 3.4 65%

2561

ไตรมาส 3/2561 2.2 2.0 1.4 0.4 13 4.4 66%

ไตรมาส 4/2561 1.9 1.7 1.3 0.5 12 2.9 55%

ตัวเลขจากงบกาไรขาดทุนเป็ นตัวเลขตัง้ แต่ต้นปี เทียบให้เป็ นเต็มปี ตารางชาระค่ าใบอนุญาตคลื่นความถี่

2562

หุ้นกู้ 7,789

เงินกู้ 9,264

1800MHz -

900MHz 4,020

100%

2563

-

24,829

3,128

59,574

18,422

6.3%

2564

1,776

12,079

3,128

-

3.4%

17,104

5.9%

2565

-

13,440

-

-

5,362

1.9%

5,362

1.8%

2566

7,820

6,550

-

-

อื่นๆ

39,977

14%

31,877

11%

2567

6,638

150

-

-

รวมหนีส้ ินหมุนเวียน

69,601

25%

72,764

25%

2568

-

300

-

-

หุ้นกู้และเงินกู้ระยะยาว

100,102

35%

92,030

32%

2569

7,180

750

-

-

63,938

23%

68,042

23%

2570

9,000

750

-

-

233,641

82%

232,836

80%

2571

-

750

-

-

24,675 25,752 50,427

8.7% 9.1% 18%

32,505 25,163 57,669

11% 8.7% 20%

อื่นๆ รวมหนีส้ ิน กาไรสะสม อื่นๆ รวมส่ วนผู้ถือหุ้น

แหล่ งที่มาและแหล่ งใช้ ไปของเงินทุนประจาปี 2561 แหล่ งที่มาของเงินทุน กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน เงินรับจากการขายสินทรัพย์ ดอกเบี ้ยรับ เงินกู้ระยะสัน้ เงินสดลด

75,895 847 173 3,000 1,577

รวม

81,492

ล้ านบาท

อันดับเครดิต Fitch S&P

National rating: AA+ (THA), แนวโน้ ม: คงที่ BBB+, แนวโน้ มอันดับเครดิต: คงที่ (ล้ านบาท)

แหล่ งใช้ ไปของเงินทุน เงินลงทุนในโครงข่ายและสินทรัพย์ถาวร ชาระค่าใบอนุญาตคลื่นความถี่ เงินปันผลจ่าย ภาษีเงินได้ ชาระต้ นทุนทางการเงินและสัญญาเช่าทางการเงิน ชาระเงินกู้ระยะสัน้ ชาระเงินกู้ระยะยาว เงินลงในบริ ษัทร่วมค้ าและอื่นๆ เงินสดจ่ายสุทธิในการซื ้อธุรกิจ รวม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 14

20,198 20,536 21,852 6,763 3,363 850 2,888 788 4,254 81,492


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

มุมมองของผู้บริหารต่ อแนวโน้ มและกลยุทธ์ ในปี 2562 รายได้ การให้ บริการหลัก

 เติบโตในอัตราเลขตัวเดียวระดับกลาง (ไม่รวมผลจาก TFRS 15)

อัตรากาไร EBITDA margin งบลงทุนโครงข่ ายที่วางแผนจะใช้ นโยบายเงินปั นผล

 ใกล้ เคียงกับปี ก่อน  ประมาณ 20,000 – 25,000 ล้ านบาท  ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 70 ของกาไรสุทธิ

รายได้ การให้ บริการหลักเติบโตอัตราเลขตัวเดียวระดับกลาง (mid-single digit) ในปี 2562 เอไอเอสยังคงมุ่งเน้ นกลยุทธ์เสริ มความแข็งแกร่งให้ กบั ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งเป็ นธุรกิจหลัก และให้ ความสาคัญต่อการขยายการเติ บโตใน ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงและการให้ บริ การลูกค้ าองค์กร พร้ อมผลักดันบริ การดิจิทลั เซอร์ วิสใหม่ๆ ให้ เกิดขึน้ โดยภาพรวม เอไอเอสคาดการณ์รายได้ การให้ บริการหลักจะเติบโตด้ วยอัตราเลขตัวเดียวระดับกลางเมื่อเทียบกับปี ก่อน โดยให้ ความสาคัญกับการเพิ่มส่วนแบ่งตลาดในระดับที่เหมาะสม ทังเพื ้ ่อ การรักษาฐานลูกค้ าและรายได้ ในธุรกิจหลัก และเพื่อการขยายการเติบโตในธุรกิจใหม่ สาหรับธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ คาดว่าการใช้ งาน 4G จะยังคงเติบโตต่อเนื่องจากความต้ องการใช้ งานดาต้ าของลูกค้ า และคุณภาพของโครงข่าย 4G ที่ดี ขึน้ จากความพร้ อมของปริ มาณคลื่นความถี่ในการให้ บริ การ เอไอเอสในฐานะผู้ นาตลาดมีเป้าหมายในการรักษาฐานลูกค้ าและรายได้ รวมถึงมุ่งเน้ น พัฒนาความแตกต่างของสินค้ าและภาพลักษณ์แบรนด์เพื่อการเจาะกลุม่ ลูกค้ า (segment) ที่มีการเติบโต ธุรกิจเอไอเอส ไฟเบอร์ หรืออินเทอร์ เน็ตบ้ าน มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องหลังจากให้ บริการมาเป็ นระยะเวลา 4 ปี และปั จจุบนั มีสว่ นแบ่งตลาดเชิงผู้ใช้ บริการ ร้ อยละ 8 การมุง่ เน้ นเจาะกลุม่ ลูกค้ าที่มีคณ ุ ภาพทาให้ รายได้ จากธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงมีสดั ส่วนเพิ่มขึ ้น และเป็ นกลยุทธ์สาคัญในการเข้ าถึงบริการ ในบ้ านให้ แก่ลูกค้ า ในปี 2562 เอไอเอสมีเป้าหมายที่จะมุ่งเน้ น การทาตลาดแบบ FMC (Fixed-Mobile Convergence) หรื อการผนวกรวมบริ ก ารทัง้ อินเทอร์ เน็ตบรอดแบนด์และโทรศัพท์มือถือเป็ นแพ็กเกจรวมที่ให้ บริ การกับลูกค้ า อาศัยการต่อยอดจากฐานลูกค้ าโทรศัพท์เคลื่อนที่ และการ นาเสนอ แพ็กเกจที่ตอบโจทย์กบั ครอบครัวในบ้ านพักอาศัย โดยมุง่ สร้ างบริการที่เพิ่ มรายได้ ต่อครัวเรือน (ARPH: Average Revenue per Household) และตังเป้ ้ า มีฐานลูกค้ า 1 ล้ านราย หรือคิดเป็ นส่วนแบ่งตลาดประมาณร้ อยละ 10 ด้ านธุรกิจบริ การลูกค้ าองค์กร (Enterprise business) หลังจากที่ได้ เข้ าซื ้อกิจการของซีเอสลอกซ์ในปี ที่แล้ ว ได้ ดาเนินการปรับกระบวนการทางานและ แนวทางกลยุทธ์ ให้ สอดคล้ องและพร้ อมต่อการเติบโต โดยในปี 2562 เอไอเอสคาดว่าจะสามารถเติบโตในการให้ บริการอินเทอร์ เน็ตสาหรับลูกค้ าองค์กร (Enterprise Data Service) ได้ ต่อเนื่อง พร้ อมใช้ ประโยชน์ จากความแข็งแกร่ งของทัง้ เอไอเอสและซีเอสลอกซ์ ในการให้ บริ การคลาวด์ ดาต้ าเซ็นเตอร์ บริการ ICT ครบวงจร (ICT Managed Service) รวมทังสร้ ้ างการเติบโตในการให้ บริการอุตสาหกรรมอื่น โดยสรุป เอไอเอสคาดว่ารายได้ จากการให้ บริ การ ลูกค้ าองค์กร (รวมส่วนที่เป็ นบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่) ซึง่ ปั จจุบนั อยูท่ ี่ร้อยละ 10 ของรายได้ การให้ บริการรวม จะยังคงเติบโตในอัตราเลขตัวเดียวระดับสูง (High single digit) ในปี 2562 EBITDA ขยายตัว โดยมีอัตรากาไร EBITDA ใกล้ เคียงกับปี ก่ อน พร้ อมวางแผนใช้ งบลงทุนประมาณ 20,000 – 25,000 ล้ านบาท เอไอเอสยังคงเน้ นการบริ หารต้ นทุนผ่านการพัฒนากระบวนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ มีโครงสร้ างต้ นทุนที่เหมาะสมกับสภาวะตลาดแล ะการ แข่งขัน ทังนี ้ ้ เพื่อสนับสนุนการเติบโตในปี 2562 เอไอเอสจะยังคงงบการตลาดที่เพียงพอเพื่อรักษาความเป็ นผู้นาในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมถึงการ ขยายการเติบโตในธุรกิ จอื่นๆ นอกจากนี ้ ยังคงแผนการใช้ เทคโนโลยีดิ จิทัล ในการพัฒนาระบบการทางานและการบริ การเพื่อรักษาระดับต้ น ทุน ให้ เหมาะสม ในขณะที่มีการลงทุนขยายโครงข่ายต่อ เนื่องเพื่อรองรับการเติบโต โดยรวมคาดว่าอัตรากาไร EBITDA (คานวณจาก EBITDA หารด้ วยรายได้ รวม) ในปี 2562 จะใกล้ เคียงกับปี ก่อน (ปี 2561 มี EBITDA margin อยู่ที่ ร้ อยละ 43.4) ทัง้ นี ้ ด้ วยปั จจุบันที่เอไอเอสมีคลื่นความถี่หลากหลายในย่าน 900/1800/2100 เมกะเฮิรตซ์ เพื่อพร้ อมรองรับการเติบโตของ 4G/3G จึงตัง้ งบลงทุนสาหรับปี 2562 ใกล้ เคียงกับปี ก่อนที่ 20,000 – 25,000 ล้ านบาท สาหรับเสริ มความจุของ 4G เป็ นหลัก โดยคานึงถึงรูปแบบของการใช้ งานโครงข่าย 5G ในอนาคต และเน้ นรักษาสมดุลระหว่างการลงทุนและการสร้ าง ผลตอบแทน ทังนี ้ ้งบการลงทุนดังกล่าวได้ รวมงบสาหรับการขยายธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง 4,000 – 5,000 ล้ านบาท นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล: จ่ ายไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 70 ของกาไรสุทธิ เอไอเอสมุ่งมัน่ ในการสร้ างการเติบโตของธุรกิจในระยะยาวและส่งมอบผลตอบแทนแก่ผ้ ถู ือหุ้นมาอย่างสม่าเสมอต่อเนื่อง เอไอเอสจึงให้ ความสาคัญต่อ การรักษาสถานะทางการเงินให้ แข็งแกร่งและมีความคล่องตัวเพื่อสร้ างการเติบโตในอนาคต นโยบายการจ่ายเงินปั นผลจะจ่ายไม่ต่ากว่าร้ อยละ 70 ของ กาไรสุทธิ โดยนโยบายการจ่ายเงินปั นผลนี ้จะทาให้ เอไอเอสมีกระแสเงินสดเพื่อเพิ่มความคล่องตัวทางการเงินซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญต่อการเป็ นผู้นาตลาด ความสามารถในการแข่งขัน และโอกาสในการเติบโตของธุรกิจ รวมถึงพร้ อมรับต่อสภาวะการณ์ตา่ งๆ ที่อาจเปลี่ยนแปลง ส่วนที่ 3 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

เอไอเอสยังคงการจ่ายเงินปั นผลปี ละสองครัง้ จากผลการดาเนินงานบริษัทและกาไรสะสมบนงบการเงินเฉพาะกิจการ ทังนี ้ ้การจ่ายเงินปั นผลในทุกกรณี จะ ขึ ้นอยู่กับกระแสเงินสดและแผนการลงทุน รวมถึงความจาเป็ นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตของบริ ษัทและ/หรื อบริษัทย่อย และการจ่ายเงินปั นผล ดังกล่าวจะต้ องไม่เกินกาไรสะสมที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัทและ/หรื อมีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อการดาเนินงานปกติของบริษัท และบริษัทย่อย ข้ อปฎิเสธความรั บผิดชอบ ในเอกสารฉบับนี ้อาจจะมีข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้ องกับการคาดการณ์ ในอนาคตโดยใช้ ปัจจัยที่เกี่ยวข้ องในหลายด้ านซึ่งจะขึ ้นอยู่กับความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่างๆ ซึง่ ข้ อมูลดังกล่าวรวมถึง แผนธุรกิจ กลยุทธ์ และความเชื่อของบริษัทฯ รวมทั ้งข้ อมูลอื่ นที่ ไม่ใช่ข้อมูลที่เกิดขึ ้นในอดีต ตัวอย่างของคาที่ใช้ ในการคาดการณ์ในอนาคต เช่น “อาจจะ”, “จะ”, “คาดว่า”, “ตั ้งใจว่า, “ประมาณ”, “เชื่อว่า”, “ยังคง”, “วางแผนว่า” หรือคาใดๆ ที่มีความหมายทานองเดียวกัน เป็ นต้ น แม้ ว่าการคาดการณ์ ดังกล่าวจะถูกจัดทาขึ ้นจากสมมุติฐานและความเชื่อ ของฝ่ ายบริ หาร โดยอาศัยข้ อมูลที่มีอยู่ในปั จจุบันเป็ นพื ้นฐานก็ตาม สมมุติฐานเหล่านี ้ยังคงมีความเสีย่ งและความไม่แน่นอนต่างๆ ซึง่ อาจจะทาให้ ผลงาน ผลการดาเนินงาน ความสาเร็ จที่ เกิดขึ ้นจริงแตกต่างจากที่บริษัทฯ คาดการณ์ไว้ ในอนาคต ดังนั ้นผู้ใช้ ข้อมูลดังกล่าวจึง ควรระมัดระวังในการใช้ ข้อมูลข้ างต้ น อีกทั ้งบริษัท และผู้บริหาร/พนักงาน ไม่อาจควบคุมหรือรับรองความเกี่ยวข้ อง ระยะเวลาที่จะเกิดขึ น้ หรือความถูกต้ องของข้ อมูลดัง กล่าว

ติดต่ อนักลงทุนสัมพันธ์ เอไอเอส http://investor.ais.co.th; investor@ais.co.th; โทร (66) 2029 5014

ส่วนที่ 3 | หน้ า 16


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่ อเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร เลขานุการบริษัท หัวหน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่ วยงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของบริษัท ข้ อมูล ณ 31 ธันวาคม 2561 ชื่อ - สกุล นายกานต์ ตระกูลฮุน

อายุ 63

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการบริษัท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการอิสระ

3 สิงหาคม 2558

- ประธานกรรมการการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ

วันทีด่ ารงตาแหน่งประธานกรรมการ 8 พฤศจิกายน 2559

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 3 ปี 4 เดือน

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญา ดุษฎีบณ ั ฑิต กิตติมศักดิ์

กาหนดค่าตอบแทน

ปริญญา

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

วิศวกรรมศาสตร์

- Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Program (DCP) รุ่น 29/2546

2559 - ปั จจุบนั

-ไม่มีประธานกรรมการ ประธานกรรมการการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กาหนดค่าตอบแทน วิศวกรรมการผลิต

2558 - ปั จจุบนั

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2558 - 2560

ดุษฎีบณ ั ฑิต

กรรมการอิสระ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

กิตติมศักดิ์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

กรรมการผู้จดั การใหญ่

บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

2561 - ปั จจุบนั

คณะทีป่ รึกษา

รัฐมตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2561 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

2561 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

คณะกรรมการขับเคลื่อนและประสานงานการลงทุน

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการทีป่ รึกษา

Nomura Holdings Inc.

2554 - ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษา

Kubota Corporation (Japan)

รองประธานกรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2549 - 2558 ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

63

- รองประธานกรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร์ ,

- Role of the Chairman

ตาแหน่งในบริษัท

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

Program (RCP) รุ่น 21/2552

2551 - ปั จจุบนั

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร

28 มีนาคม 2537

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด

- Directors Certification

ค่าตอบแทน

Program (DCP) รุ่น 65/2548

2551 - 2560

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

- Directors Accreditation

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 24 ปี 9 เดือน

Program (DAP) รุ่น 30/2547

-ไม่มีกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2550 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2561 - ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

บมจ. โอสถสภา

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีอีซี เวิลด์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ดุสิตธานี

2545 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ ง

2551 - 2559

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2553 - 2558

รักษาการกรรมการผู้อานวยการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2552 - 2554

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ 2560 ด้ านการพัฒนา

2559 - 2561

กรรมการ

บจ. โอสถสภา

2559 - 2560

ทีป่ รึกษาประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2559 - 2559

กรรมการอิสระ

บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท

2547 - 2559

กรรมการ

บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้ า

ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น และเสริมสร้ างศักยภาพและทรัพยากรณ์มนุษย์ฯ


ชื่อ - สกุล นายประสัณห์ เชื ้อพานิช

อายุ 66

ตาแหน่ ง - กรรมการอิสระ

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

0.00006

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญาตรี

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี

- Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการตรวจสอบ*

(เกียรตินิยมอันดับ 2)

Program (DCP) รุ่น 119/2552

2561 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

30 มีนาคม 2560

- ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- Financial Institution Governance

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ*

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล

*เปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับ

2556 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์

ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562

2556 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

บมจ. ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 1 ปี 9 เดือน

Program (FGP) รุ่น 6/2556

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2560 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

2560 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบบริหารงานประจา

มหาวิทยาลัยมหิดล

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการบริหารการเงินและทรัพย์สิน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง

สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ

2557 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ และผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี

ธุรกิจประกันภัย (คปภ.)

2557 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี คณะกรรมการทุม่ ตลาดและ

กระทรวงพาณิชย์

การอุดหนุน 2557 - ปั จจุบนั

กรรมการทีป่ รึกษาด้ านการกากับดูแลกิจการ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2558 - 2560

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2558 - 2560

กรรมการพิจารณาให้ การรับรองบริษัททีม่ ีการวางแนวปฏิบตั ิเพือ่

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ป้องกันการทุจริต

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

65

- กรรมการอิสระ

ไม่มี

ไม่มี

เนติบณ ั ฑิต

สานักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

2555 - 2560

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

กองทุนประกันวินาศภัย กระทรวงการคลัง

2557 - 2560

กรรมการ

IFRS Advisory Council

- หลักสูตร Director Accreditation

ตาแหน่งในบริษัท

Program (DAP) รุ่น 29/2547

-ไม่มี-

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการตรวจสอบ*

2557 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

10 พฤษภาคม 2549

- ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

2550 - ปั จจุบนั

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 13 ปี 7 เดือน

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ* กรรมการอิสระ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

*เปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับ

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562

ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2557 - ปั จจุบนั

นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง

58

- กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

27 มีนาคม 2556

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 6 ปี 9 เดือน

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาตรี

บัญชี National University of Singapore

-

Managing Partner

R&T Asia (Thailand) Limited

2548 - 2557

ผู้บริหาร

บจ.ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยมส์ (ไทยแลนด์)

2540 - 2551

กรรมการ

บจ. ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์

กรรมการ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2558 - ปั จจุบนั

Group Chief Corporate Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

2551 - 2558

Group Chief Financial Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

ตาแหน่งในบริษัท 2556 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2559 - ปั จจุบนั ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น


ชื่อ - สกุล นายแอเลน ลิว ยง เคียง

อายุ 63

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ : 20 มีนาคม 2549

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการบริหาร

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

Science (Management)

-

- กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร

Massachusetts Institute of

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน

Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 13 ปี 9 เดือน

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน ตาแหน่งในบริษัท

-ไม่มี-

2551 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

Chief Executive Officer, Consumer Australia and

Optus Pty Limited

2549 - 2551 ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2557 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer 2555 - 2557

Chief Executive Officer, Group Digital Life and Country Chief

Singapore Telecommunications Ltd.

Officer 2549 - 2555 นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

64

- ประธานกรรมการตรวจสอบ*

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ

- หลักสูตร Direct Certificate Program

ตาแหน่งในบริษัท 2557 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer (Singapore)

-ไม่มี-

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

North Texas State University,

(DCP) รุ่น 59/2548

26 มีนาคม 2557

- กรรมการอิสระ

สหรัฐอเมริกา

- หลักสูตร Role of the Chaiman

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

Program (RCP) รุ่น 16/2550

กรรมการอิสระ

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 5 ปี 9 เดือน

Singapore Telecommunications Ltd.

ประธานกรรมการตรวจสอบ*

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น *เปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับ

2561 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. ปตท.

ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562

2558 - ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการธนาคาร

บมจ. ธนาคารกรุงไทย

ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2554 - 2555

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. ปตท.

2549 - 2555

ประธานกรรมการ

บมจ. หลักทรัพย์ จัดการกองทุนกรุงไทย

ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

56

- กรรมการทีเ่ ป็ นผู้บริหาร

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

27 มิถนุ ายน 2557

- กรรมการบริหาร

0.0027

ไม่มี

ปริญญาโท

2560 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

2541 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. วี กรุ๊ป ฮอนด้ าคาร์ส์

กรรมการ กรรมการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Program (DCP) รุ่น 107/2552

2557 - ปั จจุบนั

-ไม่มีประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการ

- ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

กลยุทธ์ และกรรมการผู้มีอานาจลงนาม

วันทีด่ ารงตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

- รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านกลยุทธ์

2555 - 2557

กรรมการ หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

1 กรกฎาคม 2557

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

2550 - 2555

รองกรรมการผู้อานวยการ สายงานการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 4 ปี 6 เดือน

2547 - 2550

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานธุรกิจบริการสื่อสารไร้ สาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กรรมการอิสระ กรรมการบริหาร กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2560 - ปั จจุบนั 2553 - ปั จจุบนั

กรรมการ กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการบริหาร

Bank of the Philippines Islands

2541 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้จดั การอาวุโส กรรมการบริหาร

Ayala Corporation

2555 - ปั จจุบนั

กรรมการ

AC Energy Holding Inc.

2555 - ปั จจุบนั

กรรมการ

AC Infrastructure Holding Corp.

2553 - 2560

กรรมการผู้อานวยการ ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

Manila Water Company Inc.

2541 - 2552

กรรมการผู้อานวยการ ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

Globe Telecom Inc.

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น ไม่มี นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์

65

- กรรมการอิสระ

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการบริหาร

27 เมษายน 2560

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน - จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 1 ปี 8 เดือน

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาตรี

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์

- หลักสูตร Director Accreditation

ตาแหน่งในบริษัท

De La Salle University, Manila

Program (DAP) รุ่น 146/2561

2560 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น Manila Water Company Inc.


ชื่อ - สกุล นายฮุย เว็ง ชอง

อายุ 63

ตาแหน่ ง - กรรมการทีเ่ ป็ นผู้บริหาร

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญาโท

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

บริหารธุรกิจ

Director Certification Program (DCP)

ตาแหน่งในบริษัท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการผู้อานวยการ

University of Southern California

รุ่นที่ 230/2559

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

27 กรกฎาคม 2560

- หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั ิการ

สหรัฐอเมริกา

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้อานวยการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2556 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2552 - 2553

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2549 - 2552

รองกรรมการผู้อานวยการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

CEO International

Singapore Telecommunications Ltd.

กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2562 - ปั จจุบนั

ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2561 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2553 - ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

2560 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจก. ไฮ ช็อปปิ ง้

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. อินทัช มีเดีย

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ทัชทีวี

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ไฮ ช็อปปิ ง้ ทีวี

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ไอ.ที.แอพพลิเคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์วิส

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการเงิน รองหัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการเงิน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม - จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 1 ปี 5 เดือน

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2553 - 2556 นายเอนก พนาอภิชน

54

- กรรมการบริหาร

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

บริหารธุรกิจ

Director Certification Program

ตาแหน่งในบริษัท

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(DAP) รุ่น 111/2551

2562 - ปั จจุบนั

21 มกราคม 2562

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายธีร์ สีอมั พรโรจน์

42

- หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการเงิน

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561

Management Science and Engineering

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

Stanford University, สหรัฐอเมริกา

Program (DCP)257/2561 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 113/2557

2561 - ปั จจุบนั 2560-2561

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ประธานเจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายการเงิน 2556 – 2559 ผู้ชว่ ยรองกรรมการผู้จดั การ 2545 – 2548 ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2559 – 2560 2556 – 2559 2556 - 2556 2550 – 2556 2548 – 2550

นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559

59

- หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

สาขาคอมพิวเตอร์

- หลักสูตร Capital Market Academy

ตาแหน่งในบริษัท

University of Michigan at Ann Arbor,

สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 19

บริษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ Merrill Lynch Phatra และ บมจ. ทุนภัทร

ประธานเจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายการเงิน ทีป่ รึกษาด้ านการเงิน

บจ. เดอะมอลล์ กรุ๊ป บจ. เดอะมอลล์ กรุ๊ป

รองกรรมการผู้จดั การด้ านการเงิน ประธานเจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายการเงิน international beverage Holding Investment Banking Division

บจ. เดอะมอลล์ กรุ๊ป บมจ. ไทยเบฟเวอเรจ Merrill Lynch -ไม่มี-

2559 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

สหรัฐอเมริกา

2556 - 2559

รองกรรมการผู้อานวยการอาวุโส สายงานปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

บริหารธุรกิจ

2554 - 2558

กรรมการบริษัท

ศูนย์ให้ บริการคงสิทธิหมายเลขโทรศัพท์

2549 - 2556

รองกรรมการผู้อานวยการสายงานปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น ไม่มี

-ไม่มี-


ชื่อ - สกุล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม

อายุ 48

ตาแหน่ ง - หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2558

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

Psychology Counseling Services

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

Rider University รัฐนิวเจอร์ซี, สหรัฐอเมริกา

Program (DCP) 244/2560

2559 - ปั จจุบนั 2558 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2556 - 2558 รองประธานเจ้ าหน้ าทีสายปฏิบตั ิการ ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายชวิน ชัยวัชราภรณ์

46

เลขานุการบริษัท

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2556

2547 - 2550

ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

บมจ. พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) บจ. เซ็นทรัล วัตสัน (ประเทศไทย) บจ. ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)

เลขานุการบริษัท

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ผู้อานวยการสานักกฎหมาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

Associate

บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยม

หัวหน่วยงานตรวจสอบภายใน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

วิทยากรด้ านตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน และ

สภาวิชาชีพบัญชี

- หลักสูตร C-Seminar-Anti Corruption

ตาแหน่งในบริษัท

Seminar 1/2016

2556 - ปั จจุบนั

- หลักสูตร Director Certification (DCP 192/2014)

2553 - 2556

-ไม่มี-

บมจ. แม็คกรุ๊ป

ประธานเจ้ าหน้ าทีส่ ายทรัพยากรบุคคล ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย, สหรัฐอเมริกา

Committee (RCC 19/2014)

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2554 - 2556 2550 - 2554 กฎหมาย

- หลักสูตร Role of the Compensation

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

- หลักสูตร Company and Board

2546 - 2553

Reporting Program (CRP 6/2013, BRP 11/2013) - หลักสูตรการต่อต้ านการทุจริต สาหรับผู้บริหาร (ACEP 10/2557) - หลักสูตรผู้ปฏิบตั ิงานเลขานุการ บริษัท (FPCS 29/2557) - หลักสูตรเลขานุการบริษัท (CSP) รุ่น 51/2556 นางสุวิมล กุลาเลิศ

58

หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน

0.0001

ไม่มี

ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2542

MBA Track Management Information

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

System, Oklahoma City University,

Program (DCP) รุ่น 136/2553

2542 - ปั จจุบนั

Oklahoma City University,

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

สหรัฐอเมริกา คุณวุฒิทาง วิชาชีพ

ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

Certified Public Accountant (2528)

2542 - ปั จจุบนั

Certified Internal Auditor (2543)

การบริหารความเสี่ยง

Certificate in Risk Management 2552 - ปั จจุบนั

Assurance (2556) นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2556

43

หัวหน้ าส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

0.00025

ไม่มี

ปริญญาโท

กากับดูแลการปฏิบตั ิงาน

สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท

อาจารย์พิเศษด้ านตรวจสอบภายใน

มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย

หัวหน้ าฝ่ ายงานนักลงทุนสัมพันธ์และกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัท

Technology Management, Washington State University,

-ไม่มี-

-

2560 - ปั จจุบนั 2558 - 2560

การเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กากับดูแลการปฏิบตั ิงาน 2556 - 2558

ผู้อานวยการสานักนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2554 - 2556

รักษาการผู้อานวยการสานักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2551 - 2554

ผู้จดั การฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น ไม่มี

-ไม่มี-


บริ ษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 (1): รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทใหญ่ บริ ษัท บริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง

ข้ อมูล ณ 31 ธันวาคม 2561 รายชื่อบริษัท 1)

บริษัทใหญ่

บริ ษัท

รายชื่อกรรมการและผู้บริ หาร

INTUCH

ADVANC

1 นายกานต์ ตระกูลฮุน 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 3. นายประสัณห์ เชื ้อพานิช 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

p p p p

บริษัทย่ อย 1

2

3

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

- - - - - - - - - - - - - - - - -  - p p   - - - p p

-

-

-

-

-

p -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p p

-

-

-

-

-

- - p p p - p p p p - p p p p  - - -  - - - - - - - - - - - - - - - - - p  = ผู้บริหาร

-

-

-

-

-

p -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p -

-

-

-

-

บริษัท ทีซี โกลเบิล เซอร์ วิส จากัด บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้ นท์ส พีทอี ี ลิมเิ ต็ด บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด บริษัท ไทย แอดวานซ์ อินโนเวชัน่ จากัด บริษัท แคมโบเดียน ดีทวี ี เน็ตเวิร์ค จากัด บริษัท อุ๊คบี จากัด บริษัท กอล์ฟดิกก์ จากัด บริษัท ช็อคโก้ คาร์ ด เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด บริษัท อีเว้ นท์ ป็ อป โฮลดิ ้งส์ พีทอี ี ลิมเิ ต็ด บริษัท เมดิเทค โซลูชนั่ จากัด บริษัท เพลย์เบสิส พีทอี ี ลิมเิ ต็ด บริษัท อีคาร์ทสตูดโิ อ จากัด

47 48 49 50 51 52 53 54 55

2) นายเอนก พนาอภิชน ได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการบริหาร เมือ่ วันที่ 21 มกราคม 2562 รายชื่อบริษัท INTUCH บริ ษัท อินทัช โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ADVANC บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) 1 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ค จากัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด 2 บริษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด 3 บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด 4 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด 5 บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จากัด 6 บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จากัด 7 บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด 8 บริษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด 9 บริษัท ไมโม่เทค จากัด 10

-

11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

14

15

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง

16 17 18 19 20 21 22 23

 - - - - - - -  p - - - - - - - p p - - - - - - - p p - - - - - - - p p - - - - - - - p p - p - - - - - p p - - p - - - - p p - - - - - - - p pp - -    -   - - p p p - p p p p - - - - - - - 

5.นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์ 6. นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 8. นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 9.นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 10.นายฮุย เว็ง ชอง 2) 11.นายเอนก พนาอภิชน 12.นายธีร์ สีอมั พรโรจน์  13.นาย วีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร  14.นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม   = ประธานกรรมการ, p = กรรมการ,  = กรรมการบริหาร, 1) นับรวมทังการถื ้ อหุ้นทางตรงและทางอ้ อม

บริ ษัทร่ วม p  -

บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด บริษัท แอดวานซ์ ดิจิทลั ดิสทริบวิ ชัน่ จากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (มหาชน) บริษัท เยลโล เพจเจส คอมเมอร์ ส จากัด บริษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) บริษัท ศูนย์ให้ บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จากัด บริจด์ โมบาย พีทอี ี แอลทีดี บริษัท อินฟอร์เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด บริษัท แรบบิท ไลน์ เพย์ จากัด บริษัท อมตะ เน็ทเวิร์ค จากัด

23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34

หน้ า 1 / 2

บริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) บริษัท ไอพีสตาร์ จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ ออสเตรเลีย พีทวี าย จากัด บริษัท โอไรอ้ อน แซทเทลไลท์ ซิสเทม พีทวี าย จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล พีทอี ี จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์ วิส จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ เจแปน จากัด บริษัท สตาร์ นิวเคลียส จากัด บริษัท ทีซี บรอดคาสติ ้ง จากัด บริษัท อินเตอร์ เนชัน่ แนล แซทเทลไลท์ จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ (อินเดีย) ไพรเวท จากัด

35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46

บริษัท วีวีอาร์ เอเซีย จากัด บริษัท วงใน มีเดีย จากัด บริษัท วายดีเอ็ม (ไทยแลนด์) จากัด บริษัท ดิจิโอ (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์ วิส จากัด บริษัท อินทัช มีเดีย จากัด บริษัท ทัช ทีวี จากัด บริษัท ไฮ ช็อปปิ ง้ จากัด บริษัท ไฮ ช็อปปิ ง้ ทีวี จากัด


เอกสารแนบ 2 (2): ข้ อมูลกรรมการของบริษัทย่ อย

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ข้ อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายชื่อกรรมการ

1

2

3

 p p p p p p p p p -

-

p -

13. นายเตชะหัทย์ เหมะกุล

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

14.นายสุทธิศกั ดิ์ กุนทีกาญจน์

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

15.นายอิศระ เดชะไกศยะ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

16. นายศรัณย์ ผโลประการ

-

-

p

-

-

-

p

-

-

-

-

17.นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ถาวร

-

-

-

-

-

-

-

18.นายวลัญช์ นรเศรษฐ์ ภกั ดิ์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

19.นายปรัธนา ลีลพนัง

-

-

-

-

-

-

20.นายอุทยั เพ็ญรัตน์

-

21. นายประพันธ์ ธนสิทธิ์สมบูรณ์

-

-

22. นายเกรียงศักดิ์ วาณิชย์นที

-

23.นายปรง ธาระวานิช

1. นายกานต์ ตระกูลฮุน 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 3. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 4. นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง 5. นายฮุย เว็ง ชอง 6. นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 7.นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 8. นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์ 9. นายประสัณห์ เชื ้อพานิช 10. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ 11.นายธีร์ สีอมั พรโรจน์ 12. นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม

4

5

6

- - - - p - - - p p p 

- - - - - - - - p p p - - -

p p

7

-

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - p p     - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - p p p p - p p p - - - - - - p -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

- - - - p p

p p

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

24. นางสาวใจพร ศรีสกุล

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

25. นายยงสิทธิ์ โรจน์ศรีกลุ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

26. นายอนันต์ เอกวงศ์วิริยะ

-

p

-

-

-

-

p

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

27. นายสุวิทย์ อารยะวิไลพงค์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

28. นายชาญชัย คล้ ายสุขพงษ์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

p p

p p

 = ประธานกรรมการ, p = กรรมการ 1 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด 2 บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด 3 บริษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด 4 บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด 5 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด 6 บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ ด จากัด 7 บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด 8 บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด 9 บริษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด 10 บริษัท ไมโม่เทค จากัด 11 บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด 12 บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด 13 บริษัท แอดวานซ์ ดิจิทลั ดิสทริบิวชัน่

หน้ า 2 / 2

-

 p

14 บริ ษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) 15 บริ ษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (มหาชน) 16 บริ ษัท เยลโล เพจเจส คอมเมอร์ ส จากัด 17 บริ ษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน)


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่ อเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร เลขานุการบริษัท หัวหน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่ วยงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของบริษัท ข้ อมูล ณ 31 ธันวาคม 2561 ชื่อ - สกุล นายกานต์ ตระกูลฮุน

อายุ 63

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการบริษัท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการอิสระ

3 สิงหาคม 2558

- ประธานกรรมการการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ

วันทีด่ ารงตาแหน่งประธานกรรมการ 8 พฤศจิกายน 2559

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 3 ปี 4 เดือน

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญา ดุษฎีบณ ั ฑิต กิตติมศักดิ์

กาหนดค่าตอบแทน

ปริญญา

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

วิศวกรรมศาสตร์

- Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Program (DCP) รุ่น 29/2546

2559 - ปั จจุบนั

-ไม่มีประธานกรรมการ ประธานกรรมการการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กาหนดค่าตอบแทน วิศวกรรมการผลิต

2558 - ปั จจุบนั

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2558 - 2560

ดุษฎีบณ ั ฑิต

กรรมการอิสระ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

กิตติมศักดิ์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

กรรมการผู้จดั การใหญ่

บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

2561 - ปั จจุบนั

คณะทีป่ รึกษา

รัฐมตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2561 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

2561 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

คณะกรรมการขับเคลื่อนและประสานงานการลงทุน

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการทีป่ รึกษา

Nomura Holdings Inc.

2554 - ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษา

Kubota Corporation (Japan)

รองประธานกรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2549 - 2558 ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

63

- รองประธานกรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร์ ,

- Role of the Chairman

ตาแหน่งในบริษัท

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

Program (RCP) รุ่น 21/2552

2551 - ปั จจุบนั

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร

28 มีนาคม 2537

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด

- Directors Certification

ค่าตอบแทน

Program (DCP) รุ่น 65/2548

2551 - 2560

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

- Directors Accreditation

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 24 ปี 9 เดือน

Program (DAP) รุ่น 30/2547

-ไม่มีกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2550 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2561 - ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

บมจ. โอสถสภา

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีอีซี เวิลด์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ดุสิตธานี

2545 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ ง

2551 - 2559

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2553 - 2558

รักษาการกรรมการผู้อานวยการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2552 - 2554

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ 2560 ด้ านการพัฒนา

2559 - 2561

กรรมการ

บจ. โอสถสภา

2559 - 2560

ทีป่ รึกษาประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2559 - 2559

กรรมการอิสระ

บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท

2547 - 2559

กรรมการ

บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้ า

ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น และเสริมสร้ างศักยภาพและทรัพยากรณ์มนุษย์ฯ


ชื่อ - สกุล นายประสัณห์ เชื ้อพานิช

อายุ 66

ตาแหน่ ง - กรรมการอิสระ

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

0.00006

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญาตรี

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี

- Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการตรวจสอบ*

(เกียรตินิยมอันดับ 2)

Program (DCP) รุ่น 119/2552

2561 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

30 มีนาคม 2560

- ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- Financial Institution Governance

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ*

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล

*เปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับ

2556 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์

ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562

2556 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

บมจ. ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 1 ปี 9 เดือน

Program (FGP) รุ่น 6/2556

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2560 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

2560 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบบริหารงานประจา

มหาวิทยาลัยมหิดล

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการบริหารการเงินและทรัพย์สิน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง

สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ

2557 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ และผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี

ธุรกิจประกันภัย (คปภ.)

2557 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี คณะกรรมการทุม่ ตลาดและ

กระทรวงพาณิชย์

การอุดหนุน 2557 - ปั จจุบนั

กรรมการทีป่ รึกษาด้ านการกากับดูแลกิจการ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2558 - 2560

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2558 - 2560

กรรมการพิจารณาให้ การรับรองบริษัททีม่ ีการวางแนวปฏิบตั ิเพือ่

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ป้องกันการทุจริต

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

65

- กรรมการอิสระ

ไม่มี

ไม่มี

เนติบณ ั ฑิต

สานักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

2555 - 2560

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

กองทุนประกันวินาศภัย กระทรวงการคลัง

2557 - 2560

กรรมการ

IFRS Advisory Council

- หลักสูตร Director Accreditation

ตาแหน่งในบริษัท

Program (DAP) รุ่น 29/2547

-ไม่มี-

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการตรวจสอบ*

2557 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

10 พฤษภาคม 2549

- ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

2550 - ปั จจุบนั

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 13 ปี 7 เดือน

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ* กรรมการอิสระ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

*เปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับ

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562

ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2557 - ปั จจุบนั

นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง

58

- กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

27 มีนาคม 2556

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 6 ปี 9 เดือน

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาตรี

บัญชี National University of Singapore

-

Managing Partner

R&T Asia (Thailand) Limited

2548 - 2557

ผู้บริหาร

บจ.ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยมส์ (ไทยแลนด์)

2540 - 2551

กรรมการ

บจ. ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์

กรรมการ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2558 - ปั จจุบนั

Group Chief Corporate Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

2551 - 2558

Group Chief Financial Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

ตาแหน่งในบริษัท 2556 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2559 - ปั จจุบนั ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น


ชื่อ - สกุล นายแอเลน ลิว ยง เคียง

อายุ 63

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ : 20 มีนาคม 2549

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการบริหาร

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

Science (Management)

-

- กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร

Massachusetts Institute of

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน

Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 13 ปี 9 เดือน

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน ตาแหน่งในบริษัท

-ไม่มี-

2551 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

Chief Executive Officer, Consumer Australia and

Optus Pty Limited

2549 - 2551 ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2557 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer 2555 - 2557

Chief Executive Officer, Group Digital Life and Country Chief

Singapore Telecommunications Ltd.

Officer 2549 - 2555 นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

64

- ประธานกรรมการตรวจสอบ*

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ

- หลักสูตร Direct Certificate Program

ตาแหน่งในบริษัท 2557 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer (Singapore)

-ไม่มี-

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

North Texas State University,

(DCP) รุ่น 59/2548

26 มีนาคม 2557

- กรรมการอิสระ

สหรัฐอเมริกา

- หลักสูตร Role of the Chaiman

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

Program (RCP) รุ่น 16/2550

กรรมการอิสระ

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 5 ปี 9 เดือน

Singapore Telecommunications Ltd.

ประธานกรรมการตรวจสอบ*

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น *เปลี่ยนชื่อเป็ น คณะกรรมการตรวจสอบและกากับ

2561 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. ปตท.

ความเสี่ยง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562

2558 - ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการธนาคาร

บมจ. ธนาคารกรุงไทย

ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2554 - 2555

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. ปตท.

2549 - 2555

ประธานกรรมการ

บมจ. หลักทรัพย์ จัดการกองทุนกรุงไทย

ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

56

- กรรมการทีเ่ ป็ นผู้บริหาร

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

27 มิถนุ ายน 2557

- กรรมการบริหาร

0.0027

ไม่มี

ปริญญาโท

2560 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

2541 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. วี กรุ๊ป ฮอนด้ าคาร์ส์

กรรมการ กรรมการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Program (DCP) รุ่น 107/2552

2557 - ปั จจุบนั

-ไม่มีประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการ

- ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

กลยุทธ์ และกรรมการผู้มีอานาจลงนาม

วันทีด่ ารงตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

- รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านกลยุทธ์

2555 - 2557

กรรมการ หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

1 กรกฎาคม 2557

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

2550 - 2555

รองกรรมการผู้อานวยการ สายงานการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

- จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 4 ปี 6 เดือน

2547 - 2550

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานธุรกิจบริการสื่อสารไร้ สาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

กรรมการอิสระ กรรมการบริหาร กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2560 - ปั จจุบนั 2553 - ปั จจุบนั

กรรมการ กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการบริหาร

Bank of the Philippines Islands

2541 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้จดั การอาวุโส กรรมการบริหาร

Ayala Corporation

2555 - ปั จจุบนั

กรรมการ

AC Energy Holding Inc.

2555 - ปั จจุบนั

กรรมการ

AC Infrastructure Holding Corp.

2553 - 2560

กรรมการผู้อานวยการ ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

Manila Water Company Inc.

2541 - 2552

กรรมการผู้อานวยการ ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

Globe Telecom Inc.

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น ไม่มี นายเฆราร์ โด ซี. อบลาซา จูเนียร์

65

- กรรมการอิสระ

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการบริหาร

27 เมษายน 2560

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน - จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 1 ปี 8 เดือน

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาตรี

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์

- หลักสูตร Director Accreditation

ตาแหน่งในบริษัท

De La Salle University, Manila

Program (DAP) รุ่น 146/2561

2560 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น Manila Water Company Inc.


ชื่อ - สกุล นายฮุย เว็ง ชอง

อายุ 63

ตาแหน่ ง - กรรมการทีเ่ ป็ นผู้บริหาร

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญาโท

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

บริหารธุรกิจ

Director Certification Program (DCP)

ตาแหน่งในบริษัท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการผู้อานวยการ

University of Southern California

รุ่นที่ 230/2559

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

27 กรกฎาคม 2560

- หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั ิการ

สหรัฐอเมริกา

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้อานวยการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2556 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2552 - 2553

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2549 - 2552

รองกรรมการผู้อานวยการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

CEO International

Singapore Telecommunications Ltd.

กรรมการบริหาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2562 - ปั จจุบนั

ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2561 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2553 - ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. ไทยคม

2560 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจก. ไฮ ช็อปปิ ง้

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. อินทัช มีเดีย

2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ทัชทีวี

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ไฮ ช็อปปิ ง้ ทีวี

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจก. ไอ.ที.แอพพลิเคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์วิส

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการเงิน รองหัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการเงิน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม - จานวนปี ทดี่ ารงตาแหน่งกรรมการ: 1 ปี 5 เดือน

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2553 - 2556 นายเอนก พนาอภิชน

54

- กรรมการบริหาร

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

วันทีด่ ารงตาแหน่งกรรมการ

บริหารธุรกิจ

Director Certification Program

ตาแหน่งในบริษัท

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(DAP) รุ่น 111/2551

2562 - ปั จจุบนั

21 มกราคม 2562

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายธีร์ สีอมั พรโรจน์

42

- หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านการเงิน

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561

Management Science and Engineering

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

Stanford University, สหรัฐอเมริกา

Program (DCP)257/2561 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 113/2557

2561 - ปั จจุบนั 2560-2561

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ประธานเจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายการเงิน 2556 – 2559 ผู้ชว่ ยรองกรรมการผู้จดั การ 2545 – 2548 ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น 2559 – 2560 2556 – 2559 2556 - 2556 2550 – 2556 2548 – 2550

นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559

59

- หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

สาขาคอมพิวเตอร์

- หลักสูตร Capital Market Academy

ตาแหน่งในบริษัท

University of Michigan at Ann Arbor,

สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 19

บริษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ Merrill Lynch Phatra และ บมจ. ทุนภัทร

ประธานเจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายการเงิน ทีป่ รึกษาด้ านการเงิน

บจ. เดอะมอลล์ กรุ๊ป บจ. เดอะมอลล์ กรุ๊ป

รองกรรมการผู้จดั การด้ านการเงิน ประธานเจ้ าหน้ าทีฝ่ ่ ายการเงิน international beverage Holding Investment Banking Division

บจ. เดอะมอลล์ กรุ๊ป บมจ. ไทยเบฟเวอเรจ Merrill Lynch -ไม่มี-

2559 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

สหรัฐอเมริกา

2556 - 2559

รองกรรมการผู้อานวยการอาวุโส สายงานปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

บริหารธุรกิจ

2554 - 2558

กรรมการบริษัท

ศูนย์ให้ บริการคงสิทธิหมายเลขโทรศัพท์

2549 - 2556

รองกรรมการผู้อานวยการสายงานปฏิบตั ิการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น ไม่มี

-ไม่มี-


ชื่อ - สกุล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม

อายุ 48

ตาแหน่ ง - หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริหาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุ ด ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2558

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

Psychology Counseling Services

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

Rider University รัฐนิวเจอร์ซี, สหรัฐอเมริกา

Program (DCP) 244/2560

2559 - ปั จจุบนั 2558 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล หัวหน้ าคณะผู้บริหารด้ านทรัพยากรบุคคล

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2556 - 2558 รองประธานเจ้ าหน้ าทีสายปฏิบตั ิการ ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

นายชวิน ชัยวัชราภรณ์

46

เลขานุการบริษัท

ไม่มี

ไม่มี

ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2556

2547 - 2550

ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

บมจ. พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) บจ. เซ็นทรัล วัตสัน (ประเทศไทย) บจ. ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)

เลขานุการบริษัท

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ผู้อานวยการสานักกฎหมาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

Associate

บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยม

หัวหน่วยงานตรวจสอบภายใน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

วิทยากรด้ านตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน และ

สภาวิชาชีพบัญชี

- หลักสูตร C-Seminar-Anti Corruption

ตาแหน่งในบริษัท

Seminar 1/2016

2556 - ปั จจุบนั

- หลักสูตร Director Certification (DCP 192/2014)

2553 - 2556

-ไม่มี-

บมจ. แม็คกรุ๊ป

ประธานเจ้ าหน้ าทีส่ ายทรัพยากรบุคคล ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย, สหรัฐอเมริกา

Committee (RCC 19/2014)

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2554 - 2556 2550 - 2554 กฎหมาย

- หลักสูตร Role of the Compensation

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางาน

-ไม่มี-

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

- หลักสูตร Company and Board

2546 - 2553

Reporting Program (CRP 6/2013, BRP 11/2013) - หลักสูตรการต่อต้ านการทุจริต สาหรับผู้บริหาร (ACEP 10/2557) - หลักสูตรผู้ปฏิบตั ิงานเลขานุการ บริษัท (FPCS 29/2557) - หลักสูตรเลขานุการบริษัท (CSP) รุ่น 51/2556 นางสุวิมล กุลาเลิศ

58

หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน

0.0001

ไม่มี

ปริญญาโท

ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2542

MBA Track Management Information

- หลักสูตร Director Certification

ตาแหน่งในบริษัท

System, Oklahoma City University,

Program (DCP) รุ่น 136/2553

2542 - ปั จจุบนั

Oklahoma City University,

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น

สหรัฐอเมริกา คุณวุฒิทาง วิชาชีพ

ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น

Certified Public Accountant (2528)

2542 - ปั จจุบนั

Certified Internal Auditor (2543)

การบริหารความเสี่ยง

Certificate in Risk Management 2552 - ปั จจุบนั

Assurance (2556) นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร ได้ รับการแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2556

43

หัวหน้ าส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

0.00025

ไม่มี

ปริญญาโท

กากับดูแลการปฏิบตั ิงาน

สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท

อาจารย์พิเศษด้ านตรวจสอบภายใน

มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย

หัวหน้ าฝ่ ายงานนักลงทุนสัมพันธ์และกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ผู้ชว่ ยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัท

Technology Management, Washington State University,

-ไม่มี-

-

2560 - ปั จจุบนั 2558 - 2560

การเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กากับดูแลการปฏิบตั ิงาน 2556 - 2558

ผู้อานวยการสานักนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2554 - 2556

รักษาการผู้อานวยการสานักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

2551 - 2554

ผู้จดั การฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ตาแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตาแหน่งในบริษัทอื่น/หน่วยงานอื่น ไม่มี

-ไม่มี-


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ไม่ มี

2561


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ไม่ มี

2561


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2561

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล บริ ษั ทได้ สอบทานข้ อมูลในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี ฉบับนีแ้ ล้ วด้ วยความระมัดระวัง บริ ษั ทขอรับรองว่าข้ อมูล ดังกล่าวถูกต้ องครบถ้ วน ไม่ เป็ นเท็ จ ไม่ท าให้ ผ้ ูอื่นสาคัญ ผิ ด หรื อไม่ขาดข้ อมูลที่ ควรต้ องแจ้ งในสาระสาคัญ นอกจากนี ้ บริ ษั ท ขอรับรองว่า (1) งบการเงิ นและข้ อมูลทางการเงินที่สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี ได้ แสดงข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย แล้ ว (2) บริ ษัทได้ จัดให้ มีระบบการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ดี เพื่อให้ แน่ใจว่าบริ ษัทได้ เปิ ดเผยข้ อมูลในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ ทัง้ ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยอย่างถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว รวมทังควบคุ ้ มดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว (3) บริ ษัทได้ จดั ให้ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว และบริ ษัทได้ แจ้ ง ข้ อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562 ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษัทแล้ ว ซึ่งครอบคลุมถึงข้ อบกพร่องและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทัง้ การกระทาที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย

ชื่อ

ตาแหน่ ง

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

นายฮุย เว็ง ชอง

กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

ลายมือชื่อ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.