20170404 advanc form561 2016 th

Page 1

แบบ 56-1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2559

บริ ษัท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)


สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. ปั จจัยความเสี่ยง 4. ทรัพย์สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอื่น

1 10 33 44 49 62

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 8. โครงสร้ างการจัดการ 9. การกากับดูแลกิจการ 10. การดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน 11. การบริ หารจัดการความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวสอบภายใน 12. รายการระหว่างกัน

1 3 24 37 38 48

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 14. คาอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร ประจาปี 2559 การรั บรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 ประวัติกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุม เลขานุการบริษัท หัวหน้ าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษัท เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริษัทย่อย และบริษัทที่เกี่ยวข้ อง (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย เอกสารแนบ 3 (1) ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน (2) รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ (3) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

1 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 1.

2559

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์ เป็ นผู้นาสร้ างสรรค์ตลาดการสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศไทย และมุ่งหมายที่จะเป็ นผู้ให้ บริ การเทคโนโลยีดิจิทลั ที่ได้ รับ การยอมรับสูงสุด พันธกิจ 

 

เอไอเอสมุง่ มัน่ ที่จะส่งมอบบริ การที่เหนือกว่า และสร้ างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ด้ วยความรับผิดชอบที่สง่ เสริ มการดาเนิน ชีวิตประจาวัน และเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจของผู้ใช้ บริ การให้ ดีขึ ้น เอไอเอสมุง่ มัน่ ใส่ใจบริ การลูกค้ า เพื่อสร้ างความผูกพันกับผู้ใช้ บริ การ เอไอเอสมุง่ มัน่ ที่จะเสริ มสร้ างวัฒนธรรมการทางานที่กระฉับกระเฉง ให้ บคุ ลากรมีความเป็ นมืออาชีพ และมีแนวคิดใน การแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ เพื่อการเติบโตขององค์กร เอไอเอสมุง่ มัน่ สร้ างการเติบโตร่วมกันอย่างยัง่ ยืนกับผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกฝ่ าย

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) หรื อ เอไอเอส ก้ าวเข้ าสูก่ ารเป็ น “ผู้ให้ บริ การด้ านดิจิทลั ไลฟ์ ” ด้ วยการ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ หลัก 3 ธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ บริ ก ารโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ บริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สูง และบริ ก ารดิ จิ ทัล คอนเทนต์ ณ สิ ้นปี 2559 เอไอเอสในฐานะผู้นาด้ านการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย มีสว่ นแบ่งทางการตลาดเชิงรายได้ อยู่ที่ ประมาณร้ อยละ 50 และมีผ้ ใู ช้ บริ การจานวน 41 ล้ านรายทัว่ ประเทศ เอไอเอสได้ ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่มาเป็ นระยะเวลากว่า 26 ปี โดยรายได้ จากบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ยงั คงเป็ นรายได้ ส่วนใหญ่ของบริ ษัท และด้ วยคลื่นความถี่ ที่เอไอเอสถือครองใน ปั จจุบนั จึงสามารถให้ บริ การโครงข่ายที่มีคณ ุ ภาพทังเทคโนโลยี ้ 2G 3G และ 4G ตลอดจนบริ การคุณภาพอื่นๆ นอกจากนี ้ จากการที่เอไอเอสได้ รับใบอนุญาตคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ มาเมื่อเดือนมิถนุ ายน 2559 และใบอนุญาตจะสิ ้นสุดในปี 2574 ทาให้ สามารถใช้ คลืน่ เพื่อให้ บริ การเทคโนโลยี 2G ควบคู่ไปกับการใช้ เพื่อเสริ มความแข็งแกร่ งให้ กบั เทคโนโลยี 3G และ 4G ในปั จจุบนั เทคโนโลยี 3G ของเอไอเอสดาเนินงานอยู่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งใบอนุญาตจะสิ ้นสุดในปี 2570 โดยเครื อข่าย 3G มีความครอบคลุมมากกว่าร้ อยละ 98 ของประชากรไทย ส่วนเทคโนโลยี 4G ของเอไอเอส ดาเนินงานอยู่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตคลืน่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และใบอนุญาตจะสิ ้นสุดในปี 2576 โดย ณ สิ ้นปี 2559 เครื อข่าย 4G มีความครอบคลุม แล้ วทัว่ ประเทศโดยคิดเป็ นร้ อยละ 98 ของประชากรไทยและคาดว่าจะเพิ่มความสามารถในการใช้ งานและขยายโครงข่ายต่อไปใน ปี 2560 นอกจากนีแ้ ล้ ว เอไอเอสยังให้ บริ การอื่นๆ ได้ แก่ บริ การการโทร อินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือ ดิจิทลั คอนเทนต์ วีดีโอสตรี มมิ่ง ธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ บริ การโทรศัพท์ทางไกล และบริ การข้ ามแดนอัตโนมัติ นอกเหนือจากบริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่แล้ ว ในปี 2558 เอไอเอสได้ เริ่ มดาเนินธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงภายใต้ แบรนด์ ‘เอไอเอส ไฟเบอร์ ’ ต่อมาในปี 2559 ซึ่งเป็ นปี ที่สองของการดาเนินธุรกิจ เอไอเอส ไฟเบอร์ ได้ เติบโตอย่างรวดเร็ วเนื่องมาจากการ ขยายความครอบคลุมอย่างต่อเนื่องและการมีผ้ ใู ช้ บริ การเพิ่มขึ ้น โดยที่ตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงขยายตัวเช่นกันเนื่องจาก ความต้ องการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ต ในครั วเรื อนที่เพิ่มสูงขึน้ ทาให้ เอไอเอส ไฟเบอร์ สามารถใช้ จุดเด่น ด้ านความแตกต่างของ เทคโนโลยีใยแก้ วนาแสง (FTTx) พร้ อมด้ วยราคาที่เหมาะสมจูงใจให้ ผ้ ใู ช้ บริ การเทคโนโลยี ADSL มาใช้ เทคโนโลยีใยแก้ วนาแสง ส่งผลให้ ปีนี ้รายได้ จากธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงเพิ่มขึ ้น 616% จากเมื่อปี ก่อน และจานวนผู้ใช้ บริ การเพิ่มขึ ้นเป็ น 7 เท่า จาก ผู้ใช้ บริ การ 44,000 ราย เมื่อสิ ้นปี ที่แล้ ว เป็ น 301,500 ราย และครอบคลุม 5.2 ล้ านครัวเรื อน ณ สิ ้นปี นี ้ พร้ อมกันนี ้ เอไอเอสจะ ยังคงดาเนินการต่อยอดธุรกิจในปี หน้ าและตังเป ้ ้ าหมายที่จะเป็ นผู้ให้ บริ การรายหลักในตลาดภายใน 3 ปี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ธุรกิจหลักส่วนสุดท้ ายของเอไอเอสคือ ธุรกิจดิจิทลั คอนเทนต์ ซึ่งการก้ าวเข้ าสู่การเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ยุคดิจิทลั ทาให้ เอไอเอสในฐานะที่เป็ นผู้ให้ บริ การด้ านดิจิทัลไลฟ์ ได้ มี การคิด ค้ น และพัฒนาดิ จิทัลคอนเทนต์ แ ละบริ การต่า งๆ ให้ แ ก่ลูกค้ า โดยเอไอเอสได้ ร่วมมือกับผู้สร้ างและให้ บริ การคอนเทนต์ในการพัฒนาระบบนิเวศของการทาธุรกิจแบบเชื่อมโยงร่ วมกับพันธมิตร เพื่อการเติบโตไปพร้ อมๆ กัน ทังนี ้ ้ เอไอเอสได้ เน้ นการทาดิจิทลั คอนเทนต์ใน 5 ด้ าน ได้ แก่ วิดีโอ เกม ธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ คลาวด์ และการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (M2M) โดยตัวอย่างของความสาเร็ จในปี 2559 ได้ แก่ AIS PLAY ซึง่ เป็ นแอปพลิเคชันบน มือถือที่ให้ บริ การวิดีโอคอนเทนต์และการเปิ ดตัวบริ การคลาวด์สาหรับองค์กร ทังนี ้ ้ ในท้ ายที่สดุ ธุรกิจดิจิทลั คอนเทนต์ของเอไอ เอสจะสามารถยกระดับและขยายธุรกิจในทุกๆ ด้ านแบบองค์รวม พร้ อมกับการผลักดันให้ เอไอเอส สามารถเติบได้ อย่างแข็งแกร่ ง ในยุคดิจิทลั 1.1. การปฏิบัติตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ ท่ เี กี่ยวกับการประกอบกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย การประกอบกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย อยู่ภายใต้ การกากับดูแลโดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งถูกจัดตัง้ โดยพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกากับการ ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553) โดยภายใต้ ข้อกาหนดแห่งพรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 กสทช.มีอานาจหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องกับการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ซึง่ สามารถสรุปสาระสาคัญได้ ดงั ต่อไปนี ้  จัดทาแผนแม่บทการบริ หารคลื่นความถี่ ตารางกาหนดคลื่นความถี่แห่งชาติ แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม และแผน เลขหมายโทรคมนาคม และจัดสรรคลืน่ ความถี่ที่ใช้ ในกิจการโทรคมนาคม  พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการใช้ คลืน่ ความถี่และเครื่ องวิทยุคมนาคมในการประกอบกิจการโทรคมนาคม  พิจารณาอนุญาตและกากับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม และกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการอนุญาต เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการอนุญาต  กาหนดโครงสร้ างอัตราค่าธรรมเนียมและโครงสร้ างอัตราค่าบริ การในกิจการโทรคมนาคม และการกระจายบริ การด้ าน โทรคมนาคมให้ ทวั่ ถึงและเท่าเทียมกัน  กาหนดมาตรการเพื่อป้องกันการผูกขาดหรื อความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม รวมถึงคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภาพของประชาชนที่เกี่ยวข้ องกับกิจการโทรคมนาคม โดยภายหลังจากที่บริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ตเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) บริ ษัทย่อยของเอไอเอส ได้ รับใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่ 2100/1800/900 เมกะเฮิรตซ์ ทาให้ ปัจจุบนั การดาเนินงานบนระบบสัญญาสัมปทานสิ ้นสุดลงและเปลีย่ นมาเป็ นระบบ ใบอนุญาต ทังนี ้ ้ ภายใต้ ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม บริ ษัทในกลุม่ เอไอเอสที่ได้ รับใบอนุญาตมีหน้ าที่ต้องปฏิบตั ิตาม กฎหมายและหลักเกณฑ์ในการประกอบกิจการโทรคมนาคมของกสทช. ต่างๆ ซึ่งรวมถึงการจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตในการ ประกอบกิจการ ค่าธรรมเนียมในการใช้ คลืน่ และการใช้ เลขหมาย การสบทบเงินเข้ ากองทุนวิจยั และพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อ ประโยชน์สาธารณะ การจัดให้ มีโครงข่ายโทรคมนาคมครอบคลุมพื ้นที่ตามที่ใบอนุญาตกาหนด และการคิดค่าบริ การตามที่ กสทช. กาหนด เป็ นต้ น

ส่วนที่ 1 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

1.2 พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในปี 2559 มกราคม  บริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) บริ ษัทย่อย ประกาศเปิ ดให้ บริ การ 4G อย่างเป็ นทางการ ภายใต้ ชื่อ 4G ADVANCED ด้ วยพื ้นที่ให้ บริ การครอบคลุม 42 จังหวัด โดยนาเอาเทคโนโลยี LTE ADVANCED มาใช้ เป็ นรายแรก ของประเทศไทย ภายหลังจากการได้ รับใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ เมื่อเดือนธันวาคม 2558 กุมภาพันธ์  เอไอเอส ประกาศงบลงทุน 40,000 ล้ านบาท สาหรับปี 2559 เพื่อขยายโครงข่าย 4G และการปรับปรุ งคุณภาพของโครงข่าย 3G การขยายธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงด้ วยเทคโนโลยีไฟเบอร์ และการขยายร้ านเอไอเอส ช็อป มีนาคม  เอไอเอส เปิ ดตัว 4.5 G เชิงพาณิชย์ เป็ นรายแรกของโลก โดยร่ วมมือกับ“หัวเว่ย” พันธมิตรทางธุรกิจ คิดค้ นและผสมผสาน นวัตกรรมเครื อข่ายอัจฉริ ยะเข้ าด้ วยกัน สามารถใช้ งานที่ความเร็ วสูงสุดถึง 550 เมกะบิตต่อวินาที และจะพัฒนาสูค่ วามเร็ ว 1 กิกะบิตต่อวินาทีในอนาคต โดย 4.5G จะทาให้ ผ้ บู ริ โภคชาวไทยสามารถใช้ งานวิดีโอความละเอียดสูง และรองรับการใช้ งานแอปพลิเคชันที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต เช่น Virtual Reality ได้  ศูน ย์ บ ริ ก ารเอไอเอส ดาต้ า เซ็ น เตอร์ ทุก แห่ง ได้ รั บ ใบรั บ รองมาตรฐานระบบบริ หารจัด การความปลอดภัย ของข้ อ มูล ISO 27001:2013 จากบริ ษัท บูโร เวอริ ทสั เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งยืนยันถึงมาตรฐานการบริ หารจัดการ ความปลอดภัยข้ อมูล และการก่อสร้ างดาต้ า เซ็นเตอร์ ที่ได้ มาตรฐานสากลและเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม  เอไอเอส เปิ ดตัวแคมเปญ “ที่สดุ จากใจ ที่ 1 การให้ บริ การ” ต่อยอดแนวคิดการบริ การและการดูแลลูกค้ า “AIS Live 360º” ด้ วยการนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาช่วยออกแบบงานบริ การที่สามารถตอบสนองความต้ องการที่แตกต่างกันของลูกค้ า การเพิ่ม ช่องทางในการให้ บริ การบนโซเชียลมีเดียมากขึ ้น และการเปิ ดบริ การถามอุน่ ใจ (Ask Aunjai) ซึง่ เป็ น Virtual Agent ทาหน้ าที่ คล้ ายพนักงานจริ งที่คอยตอบคาถามลูกค้ า 24 ชัว่ โมง ผ่านช่องทางเว็บไซต์ การจัดให้ มีพนักงานผู้เชี่ยวชาญที่พร้ อมจะให้ การดูแลลูกค้ ากว่า 5,000 คน และการมอบสิทธิประโยชน์ที่ตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ าครบทัง้ 360 องศาการใช้ ชีวิต เมษายน  เอไอเอสประกาศให้ บริ การ AIS 4G ครอบคลุมทัง้ 77 จังหวัดทัว่ ประเทศไทย หลังจากการเริ่ มต้ นเปิ ดให้ บริ การใน 42 จังหวัด เมื่อเดือนมกราคม พฤษภาคม  เอไอเอสร่ วมมือกับพันธมิตรในการต่อยอดพัฒนามือถือเอไอเอส ลาวา โดยนาเทคโนโลยีใหม่ลา่ สุดโวลเต้ (VoLTE) ที่ใช้ ใน มือถือระดับราคาสูง มาเปิ ดให้ บริ การกับมือถือในระดับราคากลางถึงล่าง โดย VoLTE บนเครื อข่าย 4G ให้ คณ ุ ภาพเสียง คมชัดระดับ Full HD มีเสียงรบกวนต่า การเชื่อมต่อคูส่ ายที่เร็ วกว่าเดิม และมีความเสถียรมากกว่าเทคโนโลยีทวั่ ไป  เอดับบลิวเอ็น บริ ษัทย่อย เข้ าร่ วมการประมูลใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ และเป็ นผู้ชนะการประมูลคลื่น ความถี่ จ านวน 1 ชุด ในแถบย่า นความถี่ 895เมกะเฮิ ร ตซ์ - 905 เมกะเฮิ ร ตซ์ คู่กับ 940 เมกะเฮิ ร ตซ์ - 950 เมกะเฮิรตซ์ คิดเป็ นแถบความกว้ าง 2 x 10 เมกะเฮิรตซ์ ด้ วยราคาประมูล 75,654 ล้ านบาท และได้ รับใบอนุญาตมีผลตังแต่ ้ วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 และมีระยะเวลาอนุญาต 15 ปี  เอไอเอส ไฟเบอร์ เปิ ดประสบการณ์ใหม่ของวงการบรอดแบนด์อินเทอร์ เน็ต ด้ วยบริ การ “เน็ตหอ” บริ การอินเทอร์ เน็ตรู ปแบบ เติมเงินเป็ นครัง้ แรกในประเทศไทย เพื่อรองรับการใช้ ชีวิตที่แตกต่างและเพิ่มโอกาสในการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงที่ใช้ เทคโนโลยีไฟเบอร์ ออฟติก 100% ของกลุม่ นิสติ นักศึกษา และผู้อยูอ่ าศัยหอพัก ส่วนที่ 1 | หน้ า 3


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

มิถุนายน  เอไอเอส เปิ ดตัว “SIM2FLY” ซิมโรมมิ่งรู ปแบบใหม่ ที่รองรับการเดินทางถึง 8 ประเทศยอดนิยมในโซนเอเชีย ได้ แก่ ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้ หวัน ลาว มาเลเซีย และอินเดีย ด้ วยราคาเริ่ มต้ น 399 บาท ทังนี ้ ้ ปั จจุบนั SIM2FLY ได้ ขยาย การให้ บริ การครอบคลุมโซนยุโรปและอเมริ การ และประเทศอื่นๆ อีกกว่า 50 ประเทศทัว่ โลก กรกฎาคม  เอไอเอส แถลงวิสยั ทัศน์และนโยบายการให้ การสนับสนุนภาคธุรกิจไทย ก้ าวสูก่ ารเป็ น “Digital Enterprise” ด้ วยการเป็ น “ผู้ให้ บริ การคลาวด์ อันดับ 1 ของไทย” จากการร่ วมมือกับพันธมิตรระดับโลก ได้ แก่ Microsoft, VMware NSX, NetApp, Check Point เพื่อเปิ ดให้ บริ การ “คลาวด์เพื่อธุรกิจ (AIS Business Cloud)” อย่างเต็มรูปแบบ  เอไอเอสร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) นาจุดแข็งในฐานะผู้ให้ บริ การเทคโนโลยี ดิจิทลั ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยที่อาศัยอยู่ตามแนวชายแดน ใน “โครงการระบบไอซีที และพลังงานทดแทน แบบบูรณาการสาหรับชุมชนชายขอบ ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ” โดยพัฒนาและ ติดตังระบบพลั ้ งงานทดแทนแบบบูรณาการ ด้ วยการสร้ างระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้ าแบบผสมผสานระหว่างพลังงานจาก แสงอาทิตย์และพลังงานน ้า พร้ อมระบบตรวจวัดข้ อมูลสังเกตการณ์ระยะไกล (Remote Monitoring) สาหรับใช้ งานภายใน ศูนย์การเรี ยนตารวจตระเวนชายแดนบ้ านคีรีล้อม จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ สิงหาคม  เอไอเอส 4G ประกาศความเป็ นผู้นาด้ านเครื อข่ายโรมมิ่งทัว่ โลก ด้ วยบริ การ 4G โรมมิ่ง ที่ครอบคลุม มากถึง 74 ประเทศ 121 เครื อข่าย ทุกทวีปทัว่ โลก ภายใต้ การทางานร่วมกับพันธมิตรชันน ้ า  เอไอเอส เปิ ดประสบการณ์ถ่ายทอดสด “โอลิมปิ ค ริ โอเกมส์ 2016” บนมือถือผ่านแอปพลิเคชัน “AIS PLAY” เป็ นครัง้ แรกใน อาเซียน ให้ คนไทยได้ ชมสด ครบทุกคู่ ทุกสนาม กว่า 12 ช่อง ด้ วยความคมชัดระดับ Full HD พร้ อมรับชมย้ อนหลังได้ กันยายน  เอไอเอส ได้ ลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดและชมย้ อนหลัง การแข่งขันมหกรรมกีฬาคนพิการ “พาราลิมปิ ค เกมส์ 2016” ณ เมืองริ โอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ให้ ลกู ค้ าสามารถรับชมฟรี ผ่านแอปพลิเคชัน่ AIS PLAY บนมือถือ และกล่องทีวีอินเทอร์ เน็ต AIS PLAYBOX ตุลาคม  เอไอเอส ร่ วมกับบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) เปิ ดให้ บริ การเทคโนโลยีโวลเต้ ( VoLTE) ข้ ามเครื อข่ายเป็ น ครัง้ แรกในไทยและอาเซียน โดยลูกค้ าระบบเติมเงินและรายเดือนของทังสองเครื ้ อข่ายสามารถใช้ งาน VoLTE เพื่อใช้ บริ การ โทร 4G ทังภาพและเสี ้ ยงด้ วยคุณภาพระดับ Full HD ได้ ทกุ พื ้นที่บนโครงข่าย 4G ทัว่ ประเทศ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 4


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

1.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มอินทัช ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ส่วนที่ 1 | หน้ า 5

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

โครงสร้ างการถือหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

( 4,997.46

99.99%

99.99%

99.99%

99.99%

) 2,973.10

99.99%

99.99%

99.99% 29.00%

272

200 100

250

(ISP)

75

50

50 14.5

2)

300 (IPLC & IP VPN)

60.00%

(Voice over IP)

98.55%

(IP Television)

99.99%

2.1

51.00% 1)

99.99%

1800

99.98% 100 25

20.00%

(IT) 300 (Content Aggregator)

Optical Fiber

3,655.47

10.00% (Mobile Number Portability: MNP)

1 957.52

50

1,350 1) 2) 3)

2

49 30

2559 ABN

(AN)

15

8

2559

ABN

ส่วนที่ 1 | หน้ า 6

(

75

)

2558

9

3)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

1.4 รางวัลแห่ งความภาคภูมิใจ ประจาปี 2559 รางวัลด้ านองค์ กรยอดเยี่ยม 

รางวัล “Thailand’s Top Corporate Brands 2016” จากการเป็ นบริ ษัทที่มีมลู ค่าแบรนด์องค์กรสูงสุด ในกลุม่ ธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจาปี 2559 ด้ วยมูลค่าแบรนด์องค์กรที่ 582,434 ล้ านบาท และยังเป็ นมูลค่าที่ สูงสุดในทุกกลุ่ม ธุรกิ จ โดยเอไอเอสได้ รับต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 5 จากคณะพาณิ ชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย รางวัล “สุดยอดนายจ้ างดีเด่น และนายจ้ างดีเด่นแห่งประเทศไทย ประจาปี 2559” ซึ่งจัดขึ ้นโดย บริ ษัท เอออน ฮิววิท (ประเทศไทย) ร่วมกับสถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเอไอเอส รับรางวัล สุดยอด นายจ้ างดีเด่นแห่งประเทศไทย ประจาปี 2559 และแอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ รับรางวัล นายจ้ างดีเด่นแห่งประเทศ ไทย ประจาปี 2559โดยรางวัลดังกล่าวมอบให้ กับบริ ษัทที่มีการสร้ างและรักษาความเป็ นเลิศด้ านการบริ หารบุคลากร การเป็ นผู้นาที่มีประสิทธิภาพ การสร้ างวัฒนธรรมองค์กรที่ม่งุ เน้ นผลลัพธ์ และการมีภาพลักษณ์ของนายจ้ างที่โดดเด่น และน่าเชื่อถือ สะท้ อนการเป็ นองค์กรที่พนักงานมีความพึงพอใจ และมีความผูกพันกับองค์กร รางวัล “บริ ษัทยอดเยี่ยมแห่งปี 2559 และบริ ษัทยอดเยี่ยมแห่งปี 2559 ประเภทกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ” จาก วารสารการเงินธนาคาร ซึ่งมอบให้ กบั บริ ษัทจดทะเบียนที่มีผลประกอบการยอดเยี่ยมในรอบปี และยอดเยี่ยมในแต่ละ กลุม่ อุตสาหกรรม ในงาน Money & Banking Awards 2016 รางวัล “Thailand Top Company Awards 2016” ในกลุม่ อุตสาหกรรมการสื่อสารและโทรคมนาคม จากการเป็ นบริ ษัท ที่มีผลการดาเนินงานยอดเยี่ยม มีการบริ หารจัดการที่โดดเด่น และเป็ นองค์กรตัวอย่างในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งจัดโดย นิตยสาร Business+ ในเครื อ เออาร์ ไอพี ร่วมกับ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นบริ ษัทสื่อสารโทรคมนาคมของไทยรายแรกและรายเดียวที่มีรายชื่ออยู่ใน “ดัชนีความยัง่ ยืนดาวน์ โจนส์” Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) เป็ นปี ที่ 2 ติดต่อกัน (2558 - 2559) จากการยอมรับในระดับโลกว่า เป็ นองค์กรที่มีการดาเนินงานธุรกิจเพื่อความเติบโตขององค์กรในระยะยาวอย่างยัง่ ยืน มีแนวทางการดาเนินงานเพื่อให้ สามารถส่งมอบผลตอบแทนให้ แก่ผ้ ูถือหุ้นอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลสร้ างการเชื่ อมต่อและ ยกระดับสังคมไทย โดยส่ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมน้ อยที่สดุ เอไอเอสเป็ น 1 ในเพียง 17 บริ ษัทโทรคมนาคมทัว่ โลกที่ ได้ รับการคัดเลือกให้ มีมีรายชื่อติดอยูใ่ นดัชนีดงั กล่าว จากบริ ษัทโทรคมนาคมที่ได้ รับการประเมินทังหมด ้ 90 บริ ษัท ได้ รับคัดเลือกให้ ติดอยู่ใน “MSCI Global Sustainability Indexes” ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 2 จากผลการดาเนินงานที่ โดดเด่นทังเชิ ้ งผลการดาเนินงานในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม โดยการถูกคัดเลือกให้ มีชื่ออยู่ในดัชนีดงั กล่าว ถื อ เป็ นอี ก ก้ าวหนึ่ ง ของการด าเนิ น งานเพื่ อ การพัฒ นาอย่ า งยั่ง ยื น ขององค์ ก รที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในระดับ สากล นอกเหนือจากการมีชื่ออยูใ่ นดัชนีความยัง่ ยืนดาวน์โจนส์ เป็ น 1 ใน 33 บริ ษัทโทรคมนาคมจากทัว่ โลกที่มีรายชื่ออยู่ในดัชนี “FTSE4Good Emerging Index” ซึ่งจัดทาโดย FTSE Group บริ ษัทผู้ออกแบบและจัดหาดัชนีระดับโลก ทีม่ ีการทางานร่วมกันกับตลาดหลักทรัพย์ในหลายประเทศ ทังในยุ ้ โรป และเอเชีย แปซิฟิค โดย FTSE4Good เป็ นดัชนีที่คดั เลือกบริ ษัทที่ผลการดาเนินงานและฐานะการเงินที่แข็งแกร่ ง ควบคู่ กับผลการดาเนินงานในสังคม และสิง่ แวดล้ อมที่ได้ รับการยอมรับ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 7


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 

2559

รางวัลบริ ษัทยอดเยี่ยมในอุตสาหกรรมสื่อสาร (Best in Sector: Communications) จากงาน IR Magazine Awards & Conference - South East Asia 2016 จัดขึ ้นโดย IR Magazine ร่ วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อมอบ รางวัลให้ แก่บริ ษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นด้ านงานนักลงทุนสัมพันธ์ โดยการตัดสินวัดจากผลสารวจความเห็นของ นักวิเคราะห์ และนักลงทุนสถาบันในภูมิภาค ทังฟิ ้ ลปิ ปิ นส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และไทย รางวัล “รายงานความยัง่ ยืนดีเด่น ประจาปี 2559” ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 2 ในฐานะองค์กรที่เผยแพร่ ข้อมูลอย่างโปร่ งใส ครบถ้ วน และมีนโนบายการจัดทารายงานด้ านความยัง่ ยืน ที่เป็ นประโยชน์ต่อกลุม่ ผู้ลงทุนดีเด่น จากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย

รางวัลด้ านผู้บริหารยอดเยี่ยม 

รางวัล “Best CEO กลุม่ อุตสาหกรรมเทคโนโลยี” จากสมาคมนักวิเคราะห์การลงทุน ในฐานะที่นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของเอไอเอส ได้ รับการยอมรับจากกลุม่ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้จัดการกองทุน ให้ เป็ น ผู้บริ หารซึง่ มีวิสยั ทัศน์กว้ างไกล มีความรู้ความสามารถในการบริ หารองค์กรให้ ประสบความสาเร็ จ และเติบโตอย่างยัง่ ยืน โดยรางวัลดังกล่าวได้ มอบให้ ในเวที IAA Awards for Listed Companies 2015/2016

รางวัลด้ านงานบริการยอดเยี่ยม 

รางวัล “The Most Fastest Response Brand on Pantip” จากเวที Thailand Zocial Awards 2016 ซึ่งจัดอันดับโดย เว็บไซด์พนั ทิป มอบให้ กบั บริ ษัทที่สามารถตอบข้ อซักถามของผู้ใช้ บริ การที่โพสต์บนเว็บไซต์พนั ทิปได้ อย่างรวดเร็ วที่สดุ สะท้ อนให้ เห็นถึงการเป็ นผู้นาด้ านการให้ บริ การลูกค้ าของเอไอเอส

รางวัลด้ านแบรนด์ ยอดเยี่ยม 

รางวัล “Thailand’s Most Admired Brand 2016” จากการเป็ นแบรนด์ผ้ ใู ห้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับ 1 ที่ได้ รับ ความนิยม และความน่าเชื่ อถื อ ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 5 จากผลสารวจความนิยมของผู้บริ โภคทั่วประเทศโดยนิตยสาร แบรนด์เอจ รางวัล “Brand of the Year” จากเวที World Branding Awards 2016-2017 โดยเอไอเอส เป็ นบริ ษัทสื่อสาร โทรคมนาคมรายเดียวของไทยที่ได้ รับรางวัลดังกล่าว โดยรางวัล Brand of the Year จัดขึ ้นเพื่อยกย่องความสาเร็ จของ แบรนด์ที่มีความเป็ นเลิศทัว่ โลก ในแต่ละกลุม่ อุตสาหกรรม ซึ่งจะพิจารณาจาก คุณค่าของแบรนด์ (brand valuation) การวิจยั ตลาดกับผู้บริ โภค (consumer market research) และการลงคะแนนโหวตจากผู้ใช้ บริ การผ่านช่องทางออนไลน์ (public online voting)

รางวัลด้ านนวัตกรรมยอดเยี่ยม 

รางวัล “Champion of WSIS Prize 2016 สาขา ICT Application : e-Agriculture” จากโครงการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ City - to- Farm Agriculture Assisting (CFAA) ซึ่งเป็ นการเสนอแนวคิดที่จะนาเทคโนโลยีดิจิทลั เข้ ามาช่วยยกระดับ คุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทย ด้ วยการสร้ างแพลตฟอร์ มให้ เกษตรกรในชนบทสามารถเชื่อมโยงกับผู้บริ โภคที่อาศัยอยู่ ในเมืองได้ โดยงานมอบรางวัลดังกล่าวจัดขึ ้นในงานการประชุมสุดยอดสังคมสารสนเทศ (WSIS Forum ) เพื่อร่ วมกัน พัฒนา และลดความเหลื่อมล ้าในการเข้ าถึงข้ อมูลสารสนเทศของประชากรโลก ซึ่งเป็ นความร่ วมมือระหว่างสหภาพ โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union :ITU) และสหประชาชาติ (United Nation :UN)

ส่วนที่ 1 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

รางวัลด้ านกิจกรรมเพื่อสังคม 

รางวัล Corporate Social Responsibility Award 2016 ในฐานะองค์กรที่ทาประโยชน์เพื่อสังคมดีเด่นในภูมิภาคเอเชีย จากงานประกาศรางวัล 15th Asia Business Leaders Award 2016 ซึง่ จัดขึ ้นโดย CNBC โดยภายในงานมีการประกาศ ผล 6 รางวัล ได้ แก่ Asia Business Leader Award, Asia Disruptor Of The Year Award, Asia Talent Management Award, Lifetime Achievement Award, Indonesia Business Leader Of The Year Award และ Corporate Social Responsibility Award โดยมี 66 บริ ษัทในภูมิภาคเอเชีย ที่ได้ รับการเสนอชื่อ และเอไอเอสเป็ นบริ ษัทไทยเพียงรายเดียวที่ ได้ รับรางวัล ในครัง้ นี ้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 โครงสร้ างรายได้ ท่ เี กิดจากการให้ บริการและขายผลิตภัณฑ์ ของบริษัทและบริษัทในเครือให้ บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์/บริการ

ดาเนินการโดย

ร้ อยละการถือหุ้น ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 59

ปี 2557 ล้ านบาท

ปี 2558 ร้ อยละ

ล้ านบาท

ปี 2559 ร้ อยละ

ล้ านบาท

ร้ อยละ

ธุรกิจโทรศัพท์ เคลื่อนที่ - บริการและให้ เช่าอุปกรณ์และศูนย์ให้ ข่าวสารทางโทรศัพท์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส บจ. แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม บจ. แอดวานซ์ เอ็มเปย์ บจ.แฟกไลท์ บจ. แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์

- ค่าก่อสร้ างภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส

99.99 98.55 99.99 99.99 99.98 99.99

รวม การขายโทรศัพท์ เคลื่อนที่

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส บจ. แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค บจ. ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย

99.99 99.99

รวม

ส่วนที่ 1 | หน้ า 10

26,708.27 94,478.94 27.19 2,873.93 368.75 3.90

17.88 63.27 0.02 1.92 0.25 -

7,466.95 117,370.25 3.69 1,272.30 224.59 30.37 3.52

4.81 75.60 0.82 0.14 0.02 -

413.61 124,922.33 369.46 189.92 149.12 1.30

0.27 82.11 0.24 0.12 0.10 -

600.26

0.40

63.59

0.04

-

-

125,061.24

83.74

126,435.26

81.43

126,045.74

82.84

8.38 15,877.15 7,528.74

0.01 10.63 5.04

0.19 23,736.29 4,090.35

15.29 2.63

23,197.03 749.90

15.25 0.50

23,414.27

15.68

27,826.83

17.92

23,946.93

15.75


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ผลิตภัณฑ์/บริการ ธุรกิจบริการสื่อสารข้ อมูลผ่ าน สายโทรศัพท์ และอินเทอร์ เน็ตความเร็ว สูง

ดาเนินการโดย บจ. แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์1) บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค บจ. แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค บจ.แอดวานซ์ อินเทอร์ เน็ต เรโวลูชนั่ 2)

ร้ อยละการถือหุ้น ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 59 51.00 99.99 99.99 99.99

รวม รวมทัง้ หมด หมายเหตุ: 1) 2)

บริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด เป็ นบริ ษัทย่อยทางอ้ อม วันที่ 19 ตุลาคม 2558 บริ ษัท แอดวานซ์ อินเทอร์ เน็ต เรโวลูชนั่ จากัด เสร็ จสิ ้นการชาระบัญชี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 11

ปี 2557 ล้ านบาท

ปี 2558 ร้ อยละ

ล้ านบาท

2559

ปี 2559 ร้ อยละ

ล้ านบาท

ร้ อยละ

24.40 786.18 42.96

0.02 0.53 0.03

3.60 883.63 127.12 -

0.57 0.08 -

3.46 595.62 1,558.12 -

0.39 1.02 -

853.54

0.58

1,014.35

0.65

2,157.20

1.41

149,329.05

100.00

155,276.44

100.00

152,149.87

100.00


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2.2 ลักษณะผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ปั จจุบนั ความต้ องการของผู้บริ โภคในการใช้ งานโทรศัพท์ มือถือได้ เปลี่ยนแปลงไป ด้ วยเทคโนโลยีที่ทนั สมัยขึ ้น เครื อข่าย ครอบคลุม ทั่ว ถึ ง และใช้ ง านได้ ดี ยิ่ ง ขึน้ ด้ ว ยความเร็ ว สูง กว่ า เดิ ม อี ก ทัง้ สมาร์ ท โฟนมี ร าคาถูก ลง พร้ อมกับ มี ค อนเทนต์ แ ละ แอปพลิเคชันที่หลากหลายให้ ลกู ค้ าได้ เลือกใช้ ดังนัน้ การใช้ งานโทรศัพท์มือถือจึง เน้ นไปที่การใช้ อินเทอร์ เน็ตมากยิ่งขึ ้น ดังจะเห็น ได้ จากการเติบโตของรายได้ จากการให้ บริ การข้ อมูลที่มีสดั ส่วนสูงกว่ารายได้ จากการโทร นอกจากนี ้ เอไอเอสยังขยายสู่ธุรกิ จ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงและให้ บริ การดิจิทลั คอนเทนต์ เพื่อให้ สามารถบริ การลูกค้ าได้ อย่างครบวงจร ตามรู ปแบบการใช้ งานของ ลูกค้ าในยุคดิจิทลั ธุรกิจหลักของเอไอเอส สามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ส่วนดังต่อไปนี ้ 1. ธุรกิจให้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ปั จ จุบัน เอไอเอสได้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ บ นคลื่น ความถี่ ย่า น 2.1 กิ ก ะเฮิ ร ตซ์ 1800 เมกะเฮิ ร ตซ์ และ 900 เมกะเฮิรตซ์ โดยให้ บริ การทังเทคโนโลยี ้ 2G 3G และ 4G ทังหมดนี ้ ้พร้ อมรองรับลูกค้ ารวมกว่า 41 ล้ านราย โดยเป็ นลูกค้ า ระบบเติมเงินประมาณ 34.6 ล้ านราย และมีลกู ค้ าระบบรายเดือนประมาณ 6.4 ล้ านราย ในปี 2559 เอไอเอสได้ ขยายสถานี ฐาน 3G ไปทัว่ ประเทศ รวมทังสิ ้ ้นกว่า 51,200 สถานี ครอบคลุมร้ อยละ 98 ของประชากร และสถานีฐาน 4G มีจานวน 42,100 สถานี ครอบคลุมร้ อยละ 98 ของประชากร ระบบเติมเงิน ลูกค้ าสามารถเลือกเติมเงินผ่านทางช่องทางต่างๆ เช่น ผ่าน เอไอเอสช็อป mPAY ธนาคาร เครื่ องเอทีเอ็ม ร้ านสะดวกซื ้อ ฯลฯ เพื่อให้ มีเงิ นคงอยู่ในระบบ จากนัน้ จึงสามารถใช้ บริ การโดยเลือกจากแพ็กเกจที่หลากหลาย ภายใต้ แบรนด์เอไอเอส วันทูคอล! เพื่อให้ ตรงตามลักษณะการใช้ งานมากที่สดุ โดยทัว่ ไปแล้ ว เมื่อจดทะเบียนซิม ลูกค้ าจะเลือก แพ็คเกจหลักซึ่งมีทงแบบรวมการใช้ ั้ งานโทรศัพท์และอินเทอร์ เน็ต ซึ่งมักจะรวมบริ การ AIS WiFi ไว้ ด้วย หรื อแพ็คเกจ NET SIM ที่ให้ บริ การเฉพาะอินเทอร์ เน็ตซึง่ ได้ รับความนิยมเพื่อนาไปใช้ กบั อุปกรณ์อื่นๆ ที่ต้องการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตเท่านัน้ เช่น แท็บเล็ต หรื อแบบสุดท้ ายคือ แบบใช้ งานโทรศัพท์เพียงอย่างเดียว ที่มีอตั ราค่าโทรแตกต่างกันไปทังในเครื ้ อข่ายและ นอกเครื อข่ายเอไอเอส และนอกจากนี ้ ยังมีรูปแบบค่าโทรราคาพิเศษสาหรับผู้บกพร่องทางการได้ ยินและทางสายตา ระบบรายเดือน เป็ นรู ปแบบที่ลูกค้ าใช้ บริ การก่อนแล้ วจึง ชาระค่าใช้ จ่ายเมื่อสิ ้นสุดรอบการใช้ โดยสามารถเลือ ก แพ็คเกจที่สามารถแบ่งประเภทได้ เช่นเดียวกับระบบเติมเงิน แบบรวมการใช้ งานโทรศัพท์และอินเทอร์ เน็ต ซึ่งมีบริ การ AIS WiFi รวมอยู่ หรื อรูปแบบการใช้ บริ การเฉพาะอินเทอร์ เน็ต หรื อรูปแบบการใช้ งานโทรศัพท์เพียงอย่างเดียว ลูกค้ าในระบบราย เดือนมีแพ็คเกจการใช้ งานให้ เลือกอย่างหลากหลายเช่นเดียวกัน แต่จะมีข้อแตกต่างจากระบบเติมเงินคือการชาระเงินหลัง รอบการใช้ บริ การในแต่ละเดือน ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ลกู ค้ าจานวนมาก พึงพอใจกับความสะดวกสบายในแง่นี ้ นอกเหนือไปจากแพ็คเกจการใช้ งานหลักของทังระบบเติ ้ มเงินและระบบรายเดือนแล้ ว ลูกค้ าสามารถซื ้อแพ็ คเกจเสริ ม เพื่อใช้ งานเพิ่มเติม ซึ่งสามารถควบคุมค่าใช้ จ่ายได้ ตามความต้ องการ เช่น เพิ่มจานวนนาทีในการโทร เพิ่มปริ มาณการใช้ อินเทอร์ เน็ต หรื อเพิ่มความเร็ วอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น โดยสามารถเลือกซื ้อเป็ นแพ็ คเกจเสริ มใช้ ครัง้ เดียว หรื อใช้ ต่อเนื่อง เป็ น ป ร ะ จ า ช่ อ ง ท า ง ก า ร ซื ้อ ที่ ใ ห้ ค ว า ม ส ะ ด ว ก ส บ า ย แ ก่ ลู ก ค้ า นั ้น มี ทั ้ง ก า ร ส มั ค ร แ พ็ ค เ ก จ เ ส ริ ม ด้ ว ย การกดรหัส หรื อสมัครผ่านช่องทางออนไลน์ อื่นๆ เช่น eService AIS Online store หรื อผ่านแอปพลิเคชันอื่นๆ เช่น AIS App หรื อ LINE เป็ นต้ น  แพ็กเกจและซิมใหม่ ในปี 2559 เอไอเอสยังคงมุง่ ให้ บริ การและนาเสนอสินค้ าที่ตรงตามความต้ องการของลูกค้ า ในปี 2559 จึงได้ มีการศึกษา วิเคราะห์ พฤติกรรมการใช้ งานของผู้บริ โภค เพื่อนามาพัฒนาแพ็กเกจในรู ปแบบใหม่ๆ ทังในระบบรายเดื ้ อนและระบบเติมเงิน เพื่อให้ สอดคล้ องและเหมาะกับการใช้ งานบนเครื อข่าย 4G เพื่อให้ การใช้ งานของลูกค้ าเป็ นไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่วนที่ 1 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ระบบรายเดือน 4G Max Speed เป็ นแพ็ ค เกจที่ เ หมาะกับ กลุ่ม ลูก ค้ า ที่ เ น้ น การใช้ ง านอิ น เทอร์ เ น็ ต ซึ่ ง ครอบคลุม ทุก การใช้ งานไม่ ว่ า จะเป็ นวิ ดี โ อ ความละเอียดสูง หรื อดิจิทลั คอนเทนต์อื่นๆ โดยแพ็กเกจ 4G Max Speed ทาให้ ลกู ค้ าสามารถใช้ อินเทอร์ เน็ตที่ความเร็ ว สูงสุดของ 4Gได้ ตลอดปริ มาณการใช้ งานที่กาหนด ซึ่งถือว่าเป็ นปริ มาณมากกว่าหากเทียบกับแพ็กเกจแบบไม่จากัดการใช้ งาน (unlimited) อื่นๆ ที่ราคาเดียวกัน และเมื่อใช้ อินเทอร์ เน็ตครบปริ มาณที่กาหนด ลูกค้ าจะต้ องซื ้อแพ็กเกจเพิ่มเพื่อให้ สามารถใช้ งานต่อได้ นอกจากนี ้ยังมีบริ การ Multi SIM ที่ลกู ค้ าระบบรายเดื อนสามารถสมัครใช้ เพียงแพ็กเกจเดียวเพื่อ เล่นเน็ตพร้ อมกันได้ ถึง 5 เครื่ อง iEntertain Non-Stop แพ็คเกจรู ปแบบใหม่ที่พฒ ั นาขึ ้นมาสาหรับกลุม่ ลูกค้ าสมัยใหม่ที่สนุกกับการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตเพื่อความบันเทิงต่างๆ เช่น ดูคลิป ดูหนัง ดูดิจิทลั ทีวี และ ฟั งเพลง แพ็กเกจนี ้รวมการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตต่อเนื่อง และให้ ลกู ค้ าสามารถดูหนัง ฟั งเพลงไปกับแอปพลิเคชันชันน ้ า AIS PLAY, YouTube, JOOX, Atime Online, Coolism และ Seed ได้ ทกุ ที่ทกุ เวลา ระบบเติมเงิน ซิม Super Play เดือนสิงหาคม 2559 เอไอเอสออกแบบซิมเติมเงินใหม่ “Super Play ” ซึ่งเหมาะกับการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตความเร็ ว 4G สาหรั บรับชมความบันเทิงต่างๆ เช่น การใช้ งานสตรี มมิ่งสาหรั บวิดีโอ และมัลติมีเดียอื่น ความพิเศษของซิมนี ้ คือ ลูกค้ า สามารถรับชมความบันเทิงผ่าน YouTube และ AIS Play จานวน 1 กิกะไบต์ ต่อสัปดาห์ นาน 52 สัปดาห์ หรื อ 1ปี รวมถึง ฟั งเพลงผ่านแอปพลิเคชันชันน ้ าเช่น Joox , Seed , A Time , Coolism ได้ ตอ่ เนื่อง ซิม EASY FREE NET เดือนกันยายน 2559 เอไอเอสออกซิมเติมเงินใหม่ “EASY FREE NET” ซิมแรกและซิมเดียวของเมืองไทย ที่ทาให้ คนไทย ได้ เข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตฟรี ได้ ทกุ ที่ ทุกเวลา แบบต่อเนื่อง และไม่จากัด ด้ วยความเร็ ว 64 กิกะบิตต่อวินาที ตอบโจทย์ลกู ค้ า กลุ่มที่ไม่เคยใช้ งานอินเทอร์ เน็ต หรื อกลุ่มที่เพิ่งเริ่ มต้ นใช้ งาน ให้ ได้ ใช้ งาน และได้ รับประโยชน์จากการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต โดยสามารถเล่นได้ ไม่ต้องกังวลกับค่าใช้ จ่ายเพิ่มเติม พร้ อมอัตราค่าโทรราคาประหยัดตลอด 24 ชัว่ โมง นอกจากแพ็คเกจและซิมสาหรับการใช้ งานโทรศัพท์และอินเทอร์ เน็ตสาหรับลูกค้ าในระบบเติมเงินและระบบรายเดือน แล้ ว เอไอเอสยังได้ ออกโปรโมชัน่ เครื่ องโทรศัพท์ คณ ุ ภาพดี ในราคาที่ค้ มุ ค่าให้ ลกู ค้ าเลือกใช้ ตามความต้ องการที่หลากหลาย โดยเฉพาะสมาร์ ทโฟนซึง่ เป็ นที่นิยมมากยิ่งขึ ้นในปั จจุบนั สอดคล้ องกับการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือที่เพิ่มขึ ้นตามรู ปแบบ การใช้ ชีวิต เอไอเอสซุปเปอร์ คอมโบ นาเสนอสมาร์ ทโฟนคุณภาพดี ราคาคุ้มค่าหลากหลายรุ่ น ภายใต้ แบรนด์เอไอเอส Super Combo LAVA ที่เป็ นแบรนด์ พิเศษที่พัฒนาร่ วมกันโดยเอไอเอสกับผู้ผลิตมือถือ มีกลุ่มเป้าหมายเป็ นลูกค้ าในระบบเติมเงิ น โดยโทรศัพท์ ที่นามาจัด แคมเปญนี ้ มีทงโทรศั ั้ พท์ที่รองรับเทคโนโลยี 3G/4G และยังรวมถึงโทรศัพท์รุ่นใหม่ที่รองรั บเทคโนโลยี 4G VoLTE HD Voice ที่สามารถใช้ งาน VoLTE ให้ เสียงคมชัด โทรติดเร็ ว 

ท่านสามารถหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้ าภายใต้ แบรนด์เอไอเอส LAVA ได้ ที่ www.ais.co.th/supercombo

ส่วนที่ 1 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

เอไอเอสฮอทดีล นาเสนอสมาร์ ท โฟนแบรนด์ ดัง หลากหลายรุ่ น พร้ อมส่ว นลดค่า เครื่ อ งในราคาพิ เ ศษ เมื่ อ สมัค รแพ็ ก เกจรายเดื อ น พร้ อมชาระค่าบริ การล่วงหน้ า โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็ นลูกค้ าในระบบรายเดือน ทังลู ้ กค้ าเปิ ดเบอร์ ใหม่ ย้ ายค่ายเบอร์ เดิม เปลีย่ นจากเติมเงินเป็ นรายเดือน และลูกค้ าปั จจุบนั ในระบบรายเดือน ท่านสามารถหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแคมเปญ ได้ ที่ www.ais.co.th/hotdeal 

บริการโรมมิ่งและบริการโทรศัพท์ ระหว่ างประเทศ เอไอเอสมีบริ การโรมมิ่งหรื อบริ การข้ ามแดนอัตโนมัติ ซึง่ ลูกค้ าสามารถนาโทรศัพท์เคลือ่ นที่ไปใช้ เมื่อเดินทางต่างประเทศ ได้ ทนั ทีเมื่อเปิ ดบริ การและไม่ต้องเปลีย่ นซิม โดยใช้ เครื อข่ายของผู้ให้ บริ การในประเทศนันๆ ้ เอไอเอสได้ ตกลงทาสัญญากับ ผู้ให้ บริ การระหว่างประเทศ 432 รายในทุกทวีป กับ 464 เครื อข่าย และมีเครื อข่าย 4G โรมมิ่งครอบคลุม 82 ประเทศ กับ 140 เครื อข่าย มากที่สดุ เป็ นอันดับ 1 ในเอเชีย อีกทังยั ้ งมีบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เพื่อการโทรจากประเทศไทยไป ยังประเทศปลายทางกว่า 240 ประเทศ ในปี 2559 เอไอเอสได้ เปิ ดตัวแพ็กเกจโรมมิ่งใหม่ลา่ สุด ชื่อว่า “Roam Like Home” ที่ลกู ค้ าซึ่งเดินทางอยู่ต่างประเทศ สามารถโทรกลับประเทศไทยและโทรในประเทศนันๆ ้ ได้ ไม่จากัด พร้ อมทังใช้ ้ บริ การโรมมิ่งอินเทอร์ เน็ตได้ ตอ่ เนื่องด้ วยแพ็คเกจ เดียวกันในประเทศยอดนิยม 40 ประเทศ แพ็คเกจนี ้ยังทาให้ ลกู ค้ าสามารถใช้ งานโรมมิ่งทังการโทรและใช้ ้ อินเทอร์ เน็ตได้ โดย ไม่ต้องกังวล และไม่ต้องเปลีย่ นเบอร์ โทรศัพท์ นอกจากนี ้ เอไอเอส ยังเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ SIM2FLY เพื่อเป็ นทางเลือกให้ แก่ลกู ค้ า แทนที่จะใช้ ซิมแบบเติมเงิ น และพ็อคเก็ตไวไฟของประเทศปลายทาง โดยมีจานวนวันและปริ มาณการใช้ งานให้ เลือกตามความต้ องการ และสามารถใช้ งานได้ ในหลากหลายประเทศที่ลกู ค้ านิยมเดินทางไป ทังโซนเอเชี ้ ย ยุโรป และอเมริ กา มอบความสะดวกสบายและความ คุ้มค่าให้ กบั ลูกค้ า โดยสามารถซื ้อซิมได้ จากเมืองไทยก่อนเดินทาง และเมื่อถึงประเทศปลายทางก็สามารถใช้ งานได้ ทนั ที 

2. ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง เอไอเอสได้ ให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตบ้ านความเร็ วสูง ภายใต้ แบรนด์ “เอไอเอส ไฟเบอร์ ” โดยให้ บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตผ่านโครงข่ายใยแก้ วนาแสงอย่างเต็มรู ปแบบ เข้ าตรงสูบ่ ้ าน (FTTH) และอาคาร (FTTB) ด้ วยความมุ่งมัน่ ใน การเป็ นผู้นาด้ าน Digital Home Service Infrastructure และสามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่าง เต็มประสิทธิภาพ ทังในด้ ้ านความเร็ วและความเสถียรในการใช้ งาน โดยมาพร้ อม AIS PLAYBOX กล่องทีวีอินเทอร์ เน็ตที่ช่วย สร้ างความบันเทิงได้ อย่างครบครัน ในปี 2559 เอไอเอสมีผ้ ใู ช้ บริ การ 301,500 ราย ด้ วยพื ้นที่บริ การครอบคลุม 28 จังหวัด ได้ แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสาคร ชลบุรี ขอนแก่น อุดรธานี นครราชสีมา เชียงใหม่ ภูเก็ ต พระนครศรี อยุธยา ระยอง อุบลราชธานี บุรีรัมย์ หนองคาย เชียงราย พิษณุโลก สุราษฎร์ ธานี สงขลา สระบุรี สุรินทร์ ราชบุรี สกลนคร มหาสารคาม นราธิวาส และนครศรี ธรรมราช โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็ นผู้ให้ บริ การหลักในตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงภายในระยะเวลา 3 ปี แพ็คเกจของเอไอเอสไฟเบอร์ ที่ให้ ลกู ค้ าเลือกใช้ บริ การ แบ่งเป็ น 3 ประเภท เพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การที่ แตกต่างกัน ได้ แก่  แพ็กเกจ PowerHome เหมาะสาหรับการใช้ งานตามบ้ านทัว่ ไป มาพร้ อมกับความเร็ วในการอัพโหลดที่สงู ทาให้ ผ้ ใู ช้ งาน สามารถท่องโลกออนไลน์ โซเชียลมีเดีย เกมส์ออนไลน์ อัพโหลดและดาวน์โหลดรู ปภาพ รวมถึงการดูวิดีโอสตรี มมิ่งและ อัพโหลดคลิปหรื อดู YouTube ได้ อย่างไม่ติดขัด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 14


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 

2559

แพ็กเกจ PowerPRO เหมาะสาหรับการใช้ งานตามบ้ าน หรื อองค์กรขนาดเล็ก ที่ต้องการความพิเศษของช่องทางผ่าน โครงข่า ยที่ มี อัต ราการแชร์ ต่ า เพิ่ ม ศัก ยภาพในการท างาน ไม่ติ ด ขัด แม้ ใ นช่ ว งที่ มี ผ้ ูใ ช้ บ ริ ก ารจ านวนมาก รวมถึ ง ช่องทางการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตต่างประเทศด้ วยแบนด์วิดธ์ที่มากกว่าเพื่อการเชื่อมต่อที่รวดเร็ ว แพ็กเกจ PowerBiz เหมาะสาหรับการใช้ งานในระดับองค์กร สามารถตอบโจทย์ทางธุรกิจได้ อย่างหลากหลาย มีจดุ เด่น อยู่ที่มีการให้ บริ การไอพีสาหรับการติดตังเซิ ้ ร์ฟเวอร์ และสามารถใช้ บริ การเชิงธุรกิจต่างๆ ผ่านอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง ระดับองค์กร เช่น การประชุมผ่านวิดีโอคุณภาพระดับ Full HD และได้ รับบริ การหลังการขายที่รวดเร็ ว เพื่อให้ ธุรกิจ สามารถดาเนินต่อไปได้ โดยไม่ติดขัด

ผลิตภัณฑ์ และการบริการในปี ที่ผ่านมา เน็ตหอ เอไอเอสไฟเบอร์ เ ปิ ดให้ บริ การ “เน็ตหอ โดยเอไอเอสไฟเบอร์ ” มิติ ใหม่ของอิน เทอร์ เ น็ตความเร็ ว สูง แบบเติม เงิ น ครัง้ แรกของไทย ตอบสนองไลฟ์ สไตล์ของกลุม่ นิสติ นักศึกษา ที่พกั อาศัยตามหอพักบริ เวณรอบมหาวิทยาลัย 

การร่ วมมือกับผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เอไอเอสไฟเบอร์ จับมือร่ วมกันกับ ผู้พัฒนาอสังหาริ มทรั พย์ หลายโครงการ เช่น บริ ษัท พร็ อพเพอร์ ตี ้ เพอร์ เฟค จากัด (มหาชน) บริ ษัทเอ็น.ซี. เฮ้ าส์ซิ่ง จากัด บริ ษัท ดีเวล แกรนด์ แอสเสท จากัด และบริ ษัทมัน่ คงเคหะการ จากัด (มหาชน) เพื่อ วางโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง เพื่อให้ ผ้ พู กั อาศัยสามารถใช้ งานได้ ทนั ทีที่เข้ าอยูใ่ นโครงการ 

3. ธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต์ นอกจากการพัฒนาคุณภาพเครื อข่ายเพื่อรองรับการใช้ งานของลูกค้ าแล้ ว อีกสิ่งที่เอไอเอสได้ พฒ ั นามาโดยตลอด คือ บริ การเสริ มที่ทาให้ ผ้ ใู ช้ บริ การสามารถใช้ บริ การได้ นอกเหนือจากการรับสายเข้ าหรื อโทรออก ซึ่งเป็ นสิ่งที่ทาให้ เอไอเอสเป็ น ผู้นาในการให้ บริ การเสริ มมาโดยตลอด ไม่วา่ จะเป็ นบริ การเสียงเพลงรอสาย (Calling Melody) บริ การหนังสืออิเลคทรอนิคส์ (E-Book) และบริ การเสริ มอื่นๆ ที่ได้ ร่วมทากับพันธมิตรทางธุรกิจจนทาให้ ตลาดบริ การเสริ มมีการเติบโตมาโดยลาดับ ในปั จจุบนั เครื อข่ายมีประสิทธิภาพสูงขึ ้น สามารถรองรับเทคโนโลยีที่ดียิ่งขึ ้น ทัง้ 3G 4G และ Super WiFi อีกทังการใช้ ้ งานสมาร์ ทโฟนก็ขยายตัวเพิ่มมากขึ ้น เอไอเอสจึงพัฒนาบริ การในแบบดิจิทลั และดิจิทลั คอนเทนต์เพื่อตอบสนองรู ปแบบการ ใช้ ชีวิตของผู้บริ โภคได้ ดียิ่งขึ ้น โดยเน้ นไปที่ 5 แกนหลักที่จะสามารถตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ าในยุคปั จจุบนั ได้ ครอบคลุมยิ่งขึ ้น ได้ แก่ วิดีโอ เกม ธุรกรรมทางการเงินผ่านมือถือ คลาวด์ และการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (Machine-toMachine หรื อ M2M) วิดีโอ เอไอเอสได้ ให้ ความสาคัญกับการพัฒนาแพลตฟอร์ มเพื่อให้ ลู กค้ าสามารถชมคอนเทนต์ วิดีโอ ทัง้ รายการโทรทัศ น์ ภาพยนตร์ กีฬา และคาราโอเกะ เพื่อสร้ างความสะดวกสบายในการรับชมความบันเทิงหลากหลายรู ปแบบ นอกจาก AIS PLAYBOX ที่เป็ นอุปกรณ์ Set top box สาหรับลูกค้ าเอไอเอส ไฟเบอร์ แล้ ว ในปี 2559 เอไอเอสยังได้ พฒ ั นาแพลตฟอร์ มเพื่อ การรับชมคอนเทนต์ผ่านมือถือ ชื่อว่า AIS PLAY ซึ่งเป็ นแอปพลิเคชันบนมือถือที่เพิ่มความสะดวกสบาย ให้ ลกู ค้ าสามารถ รับชมรายการต่างๆ ได้ ทกุ ที่ทกุ เวลา และในปี นี ้ เอไอเอสยังได้ ร่วมมือกับพันธมิตรผู้พฒ ั นาคอนเทนต์ เพื่อสรรหาคอนเทนต์ที่ หลากหลายมาให้ ลกู ค้ าได้ รับชม เช่น การร่วมมือกับจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ เพื่อนาเสนอการถ่ายทอดคอนเสิร์ต อีกทังยั ้ งมีคอนเทนต์ กีฬา เช่น โอลิมปิ ค พาราลิมปิ ค ที่ลกู ค้ าสามารถเลือกรับชมได้ หลากหลายกว่าการถ่ายทอดทางช่องฟรี ทีวี 

ส่วนที่ 1 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

เกม เอไอเอสได้ ร่วมมือกับผู้พฒ ั นาเกมเพื่อให้ บริ การแก่ผ้ ทู ี่นิยมการเล่นเกม โดยได้ พฒ ั นาช่องทางการชาระเงินผ่านทางการ หักเงินจากเครื อข่าย และการชาระเงินผ่านทางบัตรเติมเงินวันทูคอล 

ธุรกรรมทางการเงินผ่ านมือถือ เอไอเอสยังได้ พัฒนาบริ การด้ านธุรกรรมทางการเงิน เพื่อเพิ่มความสะดวกให้ กับลูกค้ า ทาให้ ลูกค้ าสามารถโอนเงิ น ถอนเงิน ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ อย่างง่ายดาย ผ่านแอปพลิเคชัน AIS mPAY และในปี 2559 นี ้ ยังเพิ่มความสะดวกสบายด้ วย บริ การ “AIS mPAY MasterCard” บัตร MasterCard แบบเติมเงินเป็ นรายแรกของไทย เพื่อซื ้อสินค้ าออนไลน์ได้ ทกุ สกุลเงิน ทัว่ โลก ซึง่ ทาให้ ลกู ค้ าสามารถซื ้อของออนไลน์ได้ อย่างสบายใจและมัน่ ใจในความปลอดภัย 

คลาวด์ ในปี 2559 นี ้ เอไอเอสได้ เปิ ดตัว “AIS Business Cloud” ซึง่ เป็ นบริ การคลาวด์สาหรับลูกค้ าองค์กร ตามแนวโน้ มที่องค์กร ธุรกิจของไทยกาลังเปลี่ยนหันมาใช้ ระบบคลาวด์เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในยุคปั จจุบนั โดยให้ บริ การครบวงจร นับตังแต่ ้ ศนู ย์ข้อมูล ให้ บริ การโครงสร้ างพื ้นฐาน (Infrastructure-as-a-Service) เช่น virtual machine พื ้นที่จดั เก็บการสารอง ข้ อมูล การรักษาความปลอดภัยของเครื อข่าย ไปจนถึงบริ การซอฟต์แวร์ (Software-as-a-Service) เช่น Office365, Mobile Threat Prevention App, Enterprise Storage Box รวมทังบริ ้ การการจัดการคลาวด์ และบริ การให้ คาปรึ กษาจากมืออาชีพ อีกทังยั ้ งมีโครงสร้ างพื ้นฐาน ศูนย์ข้อมูลมาตรฐานระดับโลก สามารถรองรับธุรกิจได้ ทกุ ระดับ เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ บริ การสามารถมัน่ ใจ ได้ กบั ระบบความปลอดภัย และยังได้ ร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจระดับสากลที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของบริ การคลาวด์ให้ แข็งแกร่งยิ่งขึ ้น 

การเชื่อมต่ อระหว่ างอุปกรณ์ (M2M) บริ ก าร M2M ของเอไอเอส ได้ มี ก ารท าตลาดในหลากหลายอุต สาหกรรม เช่ น ลอจิ ส ติ ก ส์ การเงิ น และธนาคาร สาธารณูปโภค เป็ นต้ น และมีการร่ วมมือเป็ นพันธมิตรกับผู้ให้ บริ การชันน ้ า ช่วยให้ ลกู ค้ าสามารถบริ หารจัดการการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ M2M ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ ในการพัฒนาคอนเทนต์ โดยเฉพาะการสร้ างสรรค์แอปพลิเคชันใหม่ๆ เอไอเอสได้ ให้ การสนับสนุนและผลักดัน ผู้ประกอบการยุคใหม่ หรื อที่เรี ยกว่า “สตาร์ ทอัพ” อย่างต่อเนื่อง ผ่านโครงการ AIS the StartUp CONNECT ซึ่งเป็ นการ ส่งเสริ มให้ Startup ทังหลายทั ้ ว่ ประเทศสามารถส่งผลงานผ่านระบบออนไลน์เพื่อให้ คณะกรรมการพิจารณาร่ วมให้ บริ การบน เครื อข่ายของเอไอเอส พร้ อมทังการใช้ ้ ประโยชน์จากระบบ Enablers ต่างๆ ของบริ ษัท ไม่วา่ จะเป็ นระบบการให้ บริ การ ระบบ การเรี ยกเก็บค่าใช้ จ่ายและออกบิล รวมถึงการเข้ าถึงลูกค้ าทังระบบเติ ้ มเงินหรื อรายเดือน 

2.3 การจาหน่ ายและช่ องทางการจัดจาหน่ าย ช่องทางการจัดจาหน่ายเป็ นหนึง่ ในปั จจัยสาคัญที่สง่ เสริ มกลยุทธ์ของเอไอเอส เนื่องจากเป็ นจุดส่งผ่านสินค้ าและบริ การต่างๆ ของเอไอเอสไปยังลูกค้ าที่กระจายตัวอยู่ทวั่ ทุกภูมิภาคของประเทศ เอไอเอสให้ ความสาคัญในการรักษาความสัมพันธ์ อนั ดีกับ ตัวแทนจาหน่าย รวมถึงการพัฒนาและจัดหาตัวแทนจาหน่ายเพิ่มเติม เพื่อตอบรับกับพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปของลู กค้ า ทาให้ เอไอเอสมีรูปแบบของช่องทางการจัดจาหน่ายที่หลากหลายเพื่อตอบสนองรูปแบบการดาเนินชีวิตของลูกค้ าทุกกลุม่ โดยร้ อยละ 97 เป็ นการจาหน่ายผ่านตัวแทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพในการดาเนินธุรกิจและสามารถดูแลลูกค้ าได้ อย่างต่อเนื่อง ด้ วยหลักเกณฑ์การ พิจารณาทังจากท ้ าเลที่ ตงั ้ ผลงานที่ผ่านมา รวมทังสถานะทางการเงิ ้ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวแทนจาหน่ายในพื ้นที่ต่างจังหวัด จะต้ องเป็ นผู้ที่มีความคุ้นเคยในพื ้นที่และเป็ นนักธุรกิจที่มีศกั ยภาพภายในพื ้นที่เพื่อสร้ างความน่าเชื่อถือและส่งมอบบริ การที่ดี ให้ กบั ลูกค้ าได้ โดยตัวแทนจาหน่ายของธุรกิจมือถือของเอไอเอส มีดงั รายละเอียดต่อไปนี ้ ส่วนที่ 1 | หน้ า 16


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

1. เอไอเอส ช็อป เอไอเอสมีการขยายสาขาเอไอเอส ช็อป เพื่อให้ สามารถบริ การลูกค้ าได้ ในพื ้นที่ที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ยังมีการ พัฒนากระบวนการให้ บริ การที่ทาให้ คล่องตัว เพื่อความรวดเร็ ว อีกทังยั ้ งปรับปรุ งการจัดพื ้นที่และแสดงสินค้ าในช็อป ซึ่งจะมีสว่ น ช่วยสร้ างประสบการณ์ที่ดีให้ กบั ลูกค้ า โดยในปี 2559 มีเอไอเอส ช็อป 310 สาขา ซึ่งจานวน 43 สาขาจากทังหมดนี ้ ้ เอไอเอสได้ เปิ ดโอกาสให้ ตวั แทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพเข้ าร่วมเป็ นส่วนหนึง่ ในการบริ หารร้ านเอไอเอส ช็อป โดยเรี ยกว่า AIS Shop by Partner โดยมีมาตรฐานการให้ บริ การที่เหมือนกับ AIS Shop ที่ทาง AIS ควบคุมเอง เพื่อช่วยให้ การขยายสาขาเข้ าถึงลูกค้ าได้ มากยิ่งขึ ้น โดยเอไอเอส ช็อปที่บริ หารโดยตัวแทนจาหน่ายนี ้จะมีมาตรฐานการขายและการให้ บริ การอย่างมี คณ ุ ภาพเช่นเดียวกับการบริ หาร โดยเอไอเอสเอง ซึง่ กระบวนการคัดเลือกพนักงานและการฝึ กอบรมถูกจัดขึ ้นโดยทีมงานพัฒนาบุคคลของเอไอเอส เพื่อให้ เกิดความ เป็ นมาตรฐานเดียวกันในแต่ละสาขา 2. ตัวแทนจาหน่ าย “เทเลวิซ” เอไอเอสมีตวั แทนจาหน่ายเทเลวิซจานวนทังสิ ้ ้นกว่า 100 ราย และมีร้านเทเลวิซ และเทเลวิซพลัส กว่า 430 แห่งทัว่ ประเทศ โดยตัวแทนจาหน่ายเทเลวิซมีสิทธิในการจาหน่ายสินค้ าและบริ การ ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าของเอไอเอส รวมถึงมีสิทธิในการ ให้ บริ การรับจดทะเบียนรายเดือน ให้ บริ การเกี่ยวกับงานทะเบียนต่างๆ และเป็ นผู้ให้ บริ การรั บชาระค่าบริ การหรื อให้ บริ การด้ าน อื่นๆ โดยนอกเหนือจากรายได้ จากการขายโดยทัว่ ไปแล้ ว ตัวแทนจาหน่ายเทเลวิซจะได้ รับค่าตอบแทนจากการลงทะเบียนให้ ลกู ค้ า ใช้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ของเอไอเอส รวมถึงได้ รับการสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาดในอัตราที่เอไอเอสกาหนด ทังนี ้ ้ เอไอเอส จะเป็ นผู้กาหนดเงื่อนไข ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของการให้ บริ การ รวมถึงแนวทางในการดาเนินการของตัวแทนจาหน่าย เช่ น การเลือ กและพัฒ นาสถานที่ การโฆษณาและส่ง เสริ ม การขาย รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารต่า งๆ เพื่ อ ให้ ได้ ร ะดับ มาตรฐาน ในปี 2559 เอไอเอสได้ จัดทาแผนยกระดับคุณภาพร้ านเทเลวิซ จานวน 20 สาขา โดยเน้ นพัฒนามาตรฐานการการขาย และ การให้ บริ การ ให้ ดียิ่งขึ ้นเพื่อพร้ อมสูก่ ารเป็ น “เอไอเอส ช็อป” 3. ตัวแทนจาหน่ ายแอดวานซ์ ค้ าส่ ง (Advanced Distribution Partnership หรือ ADP) ตัวแทนจาหน่ายแอดวานซ์ ค้ าส่งได้ รับการคัดเลือกจากตัวแทนจาหน่ายเทเลวิซ และตัวแทนจาหน่ายทัว่ ไปที่มีศกั ยภาพใน การกระจายสินค้ าในพื ้นที่ได้ เป็ นอย่างดี และยังสามารถคงสถานะทางการเงินที่ดี รวมถึงมีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญในการจัด จาหน่ายสินค้ าให้ กบั ตัวแทนค้ าปลีกในเขตพื ้นที่ของตนเองได้ อย่างรวดเร็ ว และสามารถทากิจกรรมทางการตลาดในพื ้นที่นนได้ ั ้ อีก ด้ วย 4. ตัวแทนจาหน่ าย “เอไอเอส บัดดี”้ ตัวแทนจาหน่ายเอไอเอส บัดดี ้ ได้ รับการคัดเลือกจากตัวแทนจาหน่ายค้ าปลีกที่มีศกั ยภาพในการขายและอยู่ในพื ้นที่สาคัญ ต่างๆในแต่ละจังหวัด เพื่อเป็ นร้ านจุดจาหน่ายสินค้ าและให้ บริ การอื่นๆ ของเอไอเอส ไม่ว่าจะเป็ นการให้ บริ การรับจดทะเบียน รายเดือน ให้ บริ การเกี่ ยวกับงานทะเบียนต่างๆ และให้ บริ การรั บชาระค่าบริ การหรื อค่าใช้ จ่ายอื่นๆ ซึ่งสามารถให้ บริ การได้ ใกล้ เคียงกับตัวแทนจาหน่ายเทเลวิซ ในปี 2559 เอไอเอสได้ เปิ ดตัวแทนจาหน่ายเอไอเอส บัดดี ้เพิ่มจานวนเป็ นกว่า 1,100 ร้ านค้ า กระจายตัวอยู่ในตามแต่ละอาเภอ ทัว่ ประเทศ และมุ่งขยายสาขามากขึ ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อการขยายตัวของกลุ่ม ลูกค้ าเอไอเอสที่มีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ ้นในอนาคต พร้ อมทังพั ้ ฒนาแอปพลิเคชัน “Easy App” เพื่อรองรับการทางานบริ การต่างๆ ผ่านสมาร์ ทโฟน ทาให้ ตวั แทนจาหน่ายสามารถทางานบริ การได้ สะดวกสบายยิ่งขึ ้น และเพิ่มศักยภาพในการให้ บริ การอย่างเต็ม รูปแบบ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 17


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

5. ตัวแทนแอดวานซ์ ค้ าปลีก (Advanced Retail Shop หรือ ARS) ตัวแทนแอดวานซ์ ค้ าปลีกเป็ นร้ านค้ าปลีกที่จาหน่ายโทรศัพท์ทวั่ ไปที่กระจายอยูห่ ลากหลายพื ้นที่ สามารถเข้ าถึงลูกค้ าได้ เป็ น อย่างดี นับเป็ นช่องทางสาคัญเพราะเป็ นตัวแทนจาหน่ายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าโดยตรง ปั จจุบนั มีมากกว่า 22,000 ราย และมีแนวโน้ ม ที่จะเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของชุมชน และในปี 2559 มีการพัฒนารู ปแบบการขายให้ สะดวกยิ่งขึ ้น โดยตัวแทน จาหน่ายค้ าปลีกสามารถทางานบริ การผ่านแอปพลิเคชัน่ “AIS Easy App” เพื่อตอบสนองความต้ องการลูกค้ าให้ มากยิ่งขึ ้น 6. ตัวแทนจาหน่ ายขนาดใหญ่ (Key Account and Modern Trade) เอไอเอสได้ จดั จาหน่ายสินค้ าและบริ การต่างๆ เช่น การให้ บริ การลงทะเบียนแบบเติมเงิน และรายเดือน การรับชาระค่าบริ การ รายเดือน รวมไปถึงการเติมเงิน ผ่านตัวแทนจาหน่ายขนาดใหญ่ซึ่งมีสาขาหรื อร้ านค้ าของตนเองอยู่ทวั่ ประเทศ ได้ แก่ เจมาร์ ท ทีจีโฟน บางกอกเทเลคอม ซีเอสซี กลุม่ ร้ านค้ าปลีกสมัยใหม่ เช่น เทสโก้ โลตัส บิ๊กซี เพาเวอร์ บาย เซเว่นอีเลเว่น กลุม่ ช่องทางขาย อุปกรณ์ไอที ตัวแทนจาหน่ายไอที กลุม่ ไอทีค้าปลีก เช่น ไอสตูดิโอ ไอทีซิตี ้ แอดไวซ์ ไอที เป็ นต้ น โดยกระจายอยู่ทวั่ ประเทศเป็ น จานวนทังสิ ้ ้นมากกว่า 50 ราย และเป็ นสาขามากกว่า 10,000 แห่ง รวมถึงได้ เพิ่มจานวนพนักงานส่งเสริ มการขาย เป็ น 350 คน คอยทาหน้ าที่แนะนาสินค้ าและบริ การแก่ลกู ค้ า พร้ อมทังมี ้ การเพิ่มประสิทธิภาพของช่องทางจาหน่ายโดยเพิ่มความสามารถในการ ขายสินค้ า และให้ บริ การของเอไอเอส ตลอดจนการเพิ่มสื่อต่างๆ ในสาขาของตัวแทนจาหน่ายเพื่อเป็ นการส่งเสริ มการขายและ สร้ างภาพลักษณ์ให้ กบั เอไอเอส ในปี 2559 นี ้ เอไอเอสได้ ร่วมมือกับตัวแทนจาหน่ายกลุม่ ไอสตูดิโอจานวน 3 ราย ได้ แก่ บริ ษัท เอส พี วี ไอ จากัด บริ ษัท คอปเปอร์ ไวร์ ด จากัด บริ ษัท ยูฟิคอน จากัด โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อนาประสบการณ์ของการให้ บริ การ เครื อข่าย ผสานรวมกับความเชี่ยวชาญสินค้ าของแอปเปิ ล้ ทาให้ ตอบรับกับความต้ องการของกลุม่ ลูกค้ าแอปเปิ ล้ ได้ ดียิ่งขึ ้น 7. การจาหน่ ายทางตรง เป็ นช่องทางที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดจาหน่ายให้ สามารถนาเสนอสินค้ าและบริ การได้ เข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ าโดยตรง เช่น การออกบูธ ซึง่ ดาเนินการโดยการคัดสรรจากตัวแทนจาหน่ายที่มีศกั ยภาพและความชานาญในแต่ละพื ้นที่ และโดยจัดตังที ้ มงาน AIS Direct Sales เพื่อรองรับการเติบโตและขยายตัวของตลาดในอนาคต โดยมีการพัฒนาอุปกรณ์ และเครื่ องมือการทางานที่ เรี ยกว่า “AIS Easy App” ให้ พนักงานขายสามารถดาเนินการขายสินค้ า จดทะเบียน และทาบริ การต่างๆ ให้ ลกู ค้ าในทันทีจึงทาให้ การบริ การทาได้ สะดวก รวดเร็ ว และทันสมัยมากขึ ้น 8. การจาหน่ ายผ่ านช่ องทางอิเล็กทรอนิกส์ เอไอเอส ส่งเสริ มให้ ตวั แทนจาหน่ายระบบ วัน ทู คอล ! ให้ บริ การเติมเงินผ่านตัวแทนหน่วยเติมเงิน AIS Online top-up ช่วย ให้ ลกู ค้ าเอไอเอสสะดวกยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ยังพัฒนาวิธีการเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น ผ่านเครื่ อง เติมเงิ นอัตโนมัติ เอทีเอ็ม ธุรกรรมการเงินผ่านมือถือ อินเทอร์ เน็ต เอ็ มเปย์ โดยปั จจุบันเอไอเอสมีการจาหน่ายผ่านช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์กว่า 500,000 จุด ปั จจุบนั การเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมาก โดยมีสดั ส่วนกว่า ร้ อยละ 80 ของมูลค่า การเติมเงินทังหมด ้ รวมถึงยังช่วยลดต้ นทุนในการผลิตบัตรเติมเงินและบัตรเงินสดอีกด้ วย ช่ องทางการจัดจาหน่ ายของธุรกิจอินเทอร์ เน็ ตบรอดแบนด์ เอไอเอสจัดช่องทางการจัดจาหน่ายสาหรับบริ การเอไอเอส ไฟเบอร์ เพื่อให้ สามารถบริ หารจัดการได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ สามารถนาเสนอบริ การให้ เข้ าถึงกลุ่มลูกค้ าทังในกรุ ้ งเทพฯ ปริ มณฑล และภูมิภาคต่างๆ เพื่อรองรับการเติบโตอย่างรวดเร็ วของ จานวนลูกค้ าที่จะเพิ่มขึ ้นอีกจากการขยายเครื อข่ายการให้ บริ การในอนาคต ในปี 2559 ช่องทางหลักที่ให้ บริ การจัดจาหน่ายสาหรับลูกค้ าในพื ้นที่ให้ บริ การ โดยมีทงเอไอเอสช็ ั้ อป และร้ านค้ าเทเลวิซ กว่า 440 แห่งใน 28 จังหวัดพื ้นที่ให้ บริ การของเอไอเอสไฟเบอร์ รวมทังมี ้ การจัดจาหน่ายผ่านตัวแทนจาหน่ายที่ได้ รับการแต่งตังและ ้ ตัวแทนขายตรงในแต่ละพื ้นที่ให้ บริ การ เพื่อให้ สามารถเข้ าถึงลูกค้ าได้ มากยิ่งขึ ้น ซึง่ ในปี 2560 จะมีการขยายช่องทางต่างๆ รวมทัง้ เพิ่มประสิทธิภาพให้ มากยิ่งขึ ้น โดยมุ่งเน้ นช่องทางออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็ น เว็บไซต์ หรื อโมบายแอปพลิเคชัน ในการให้ ข้อมูลและ ส่วนที่ 1 | หน้ า 18


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

อานวยความสะดวก เพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า โดยสามารถสมัคร ตรวจสอบสถานะการใช้ บริ การต่างๆ ได้ อย่าง สะดวกและรวดเร็ ว ทังนี ้ ้ กลยุทธ์ ที่เอไอเอสใช้ ในการบริ หารช่องทางการจัดจาหน่าย สามารถศึกษาได้ เพิ่มเติมจาก รายงานพัฒนาความยัง่ ยืน ปี 2559 หัวข้ อ “พันธมิตรทางธุรกิจ” 2.4 การบริหารความสัมพันธ์ ลูกค้ า และประสบการณ์ ลูกค้ า เอไอเอสตระหนักดีวา่ การบริ การลูกค้ าเป็ นสิง่ สาคัญที่จะสร้ างความประทับใจให้ กบั ลูกค้ า และสามารถรักษาความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อให้ ลกู ค้ าพึงพอใจ ดังนันเอไอเอสจึ ้ งทุ่มเทเพื่อมาตรฐานบริ การที่ยอดเยี่ยม และเพื่อตอกย ้าการเป็ นผู้นาด้ านการดูแลลูกค้ า ในปี 2559 นี ้ เอไอเอส ได้ ต่อยอดแนวคิด AIS LIVE 360º ด้ วยแคมเปญ "ที่สุดจากใจ ที่ 1 การให้ บริ การ” เพื่อส่งมอบบริ การ ด้ วยใจ พร้ อมคัดสรรสิทธิ พิเศษที่ตรงใจให้ แก่ลกู ค้ าในยุค 4G ด้ วยการนาเทคโนโลยีที่ออกแบบมาด้ วยความเข้ าใจและใส่ใจใน ทุกรายละเอียด ยกระดับการดูแลลูกค้ าให้ เป็ นที่สดุ ในทุกด้ าน โดยประกอบไปด้ วย 4 กลยุทธ์ คือ 1. เร็วที่สุด โดยเอไอเอส ได้ รับรางวัลในฐานะผู้ให้ บริ การด้ านโซเชียล มีเดีย ที่ให้ ข้อมูลลูกค้ าบนพันทิปเร็ วที่สดุ ในประเทศ ไทย 2. สะดวกที่สุด ด้ วยบริ การที่จดั การได้ ด้วยตนเอง (Self Service) ที่หลากหลาย 3. ทันสมัยที่สุด ด้ วยการนาเทคโนโลยีมาออกแบบงานบริ การที่ตรงใจลูกค้ า 4. หลากหลายที่สุด กับสิทธิประโยชน์ทเี่ ติมเต็มครบทัง้ 360 องศาการใช้ ชีวิต พร้ อมยกระดับพัฒนาศักยภาพพนักงาน อย่างต่อนื่อง เอไอเอสมีการบริ หารความสัมพันธ์และประสบการณ์ลกู ค้ าผ่านแคมเปญและรูปแบบบริ การที่หลากหลาย โดยมีช่องทางหลัก ดังต่อไปนี ้ เอไอเอส คอลเซ็นเตอร์ เอไอเอส คอลเซ็นเตอร์ เป็ นช่องทางการให้ บริ การสาคัญ ที่ลกู ค้ าสามารถเข้ าได้ โดยสะดวก ผ่านการโทร 1175 หรื อ 1148 สาหรับลูกค้ าเซเรเนด และยังสามารถติดต่อด้ วยวิธีการออนไลน์ได้ ด้วย โดยเจ้ าหน้ าที่คอลเซ็นเตอร์ สามารถให้ บริ การด้ านการตอบ คาถาม แก้ ปัญหา ให้ คาแนะนา และยังสามารถขายแพ็คเกจต่างๆ ได้ เช่นกัน ปั จจุบนั เอไอเอสมีคอลเซ็นเตอร์ 4 แห่ง ใน 2 จังหวัด โดยมีพนักงานประมาณ 2,700 คน และล่าสุดได้ เริ่ มก่อสร้ าง “AIS Contact Center - Development & Training Arena” สานักงานถาวรแห่งใหม่ที่ จ.นครราชสีมา คาดแล้ วเสร็ จไตรมาสที่ 3 ปี 2560 โดยจะสร้ างงานให้ แก่บคุ ลากรท้ องถิ่นมากกว่า 1,000 ตาแหน่ง รองรั บ ปริ มาณการติ ด ต่อ ร้ อยละ 50 ของจ านวนสายทัง้ หมด และเป็ นศูน ย์ อ บรม-พัฒ นาการให้ บริ ก าร บริ ห าร ความสัมพันธ์ลกู ค้ าให้ แก่ บริ ษัทในเครื อ หน่วยงานภายใน คูค่ ้ าธุรกิจ ด้ วย และยังได้ จดั ตัง้ “1185 AIS Fibre Call Center” ขึ ้น เพื่อ รองรับบริ การใหม่ล่าสุดจากเอไอเอส ไฟเบอร์ อินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูงผ่านไฟเบอร์ ออพติก 100% ด้ วยพนักงานซึ่งมีความรู้ ความสามารถด้ านเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต (IP Knowledge) และการใช้ งานในยุคดิจิทลั (Digital Age Usage) ไม่ต่ากว่า 120 คน นอกจากนี ้ พบว่าจานวนลูกค้ าติดต่อผ่านช่ องทางมัลติมีเดีย เช่น อีเมล์ โซเชียลมีเดีย และโปรแกรมแชท "Ask Aunjai" เพิ่มขึ ้น จากปี ที่แล้ วถึงร้ อยละ 54 จึงได้ เตรี ยมเพิ่มจานวนพนักงานบริ การในส่วนนี ้จาก 80 คนเป็ น 160 คนในปี 2560 และยังได้ ต่อยอด ความสามารถของ “Ask Aunjai” โปรแกรมแชทแบบพนักงานเสมือน (Virtual Agent) ด้ วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent Agent หรื อ AI) เพื่อให้ สามารถให้ บริ การสอบถามเกี่ยวกับสินค้ าและบริ การของเอไอเอส รวมถึงแชทโต้ ตอบอัตโนมัติได้ ครอบคลุมเนื ้อหามากยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้ยังได้ ริ เริ่ มระบบ Customer Track & Trace ให้ ความสะดวกสูงสุดแก่ลกู ค้ า ในการ สอบถามติดตามสถานะต่างๆ ได้ ด้วยตนเอง ในเรื่ องที่ลูกค้ าแจ้ งไว้ หรื อ ที่เจ้ าหน้ าที่รับเรื่ องดาเนินการให้ ผ่านระบบตอบรั บ อัตโนมัติ (IVR) และแจ้ งผลทาง SMS อัตโนมัติ เช่น การตรวจสอบแก้ ไขปั ญหาการใช้ งานเครื อข่าย หรื ออิน เทอร์ เน็ต เอไอเอส ไฟเบอร์ การขอสาเนาใบแจ้ งค่าบริ การ เป็ นต้ น 

ส่วนที่ 1 | หน้ า 19


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ด้ วยความมุง่ มัน่ ยกระดับงานบริ การอย่างต่อเนื่อง บจ. แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ ได้ รับรางวัล “Best Employer Thailand 2016” สุดยอดนายจ้ างดีเด่นแห่งประเทศไทย จากเอออน ฮิววิท บริ ษัทที่ปรึ กษาด้ านการบริ หารงานบุคคล ร่ วมกับสถาบันบัณฑิต บริ หารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในส่วนด้ านการบริ การ ได้ รับรางวัล “The Most Fastest Response Brand on Pantip” จาก Thailand Zocial Awards 2016 ในฐานะแบรนด์ที่ตอบคาถามลูกค้ าบนเว็บไซต์พนั ทิป ได้ เร็ วที่สดุ ด้ วยสถิติจานวน กระทู้กว่า 17,383 กระทู้ เวลาเฉลีย่ ในการตอบคาถาม กระทู้ละ 32.5 นาที และในด้ านนวัตกรรม ได้ รับรางวัลผู้นาด้ านเทคโนโลยี “The Best Innovation [Honorary Mention] 2016” ในฐานะสุดยอดนวัตกรรมจากงาน Crest Award สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ และ “Best Customer Self-Service Innovation Award 6102” จาก AVAYA ผู้นาระดับโลกทางด้ านซอฟต์แวร์ การสือ่ สารทางธุรกิจ ใน งาน AVAYA Technology Forum ประเทศไทย เอไอเอส ช็อป เอไอเอส ช็อป เป็ นอีกหนึง่ ช่องทางบริ การเพื่ออานวยความสะดวกให้ กบั ลูกค้ า นับตังแต่ ้ การทาธุรกรรม จดทะเบียนซิม ชาระ ค่าใช้ จ่าย แก้ ปัญหา ให้ คาแนะนาที่เกี่ยวกับการใช้ งาน รวมไปถึงการขายเครื่ องโทรศัพท์ แพ็กเกจต่างๆ ปั จจุบนั เอไอเอสช็อปมี 130 สาขา และในปี 2560 คาดว่าจะขยายรวมเป็ นประมาณ 160 สาขา ในปี 2559 ที่ผ่านมา เอไอเอส ช็อป ได้ นาเทคโนโลยีมา ออกแบบงานบริ การที่ตรงใจลูกค้ า ยิ่งขึน้ ยกระดับ ให้ เป็ น ดิจิทัล ช็อป (Digital Shop) ด้ วยเทคโนโลยีการบริ การ โดยเป็ น ผู้ให้ บริ การรายแรกที่เปิ ดตัว การให้ บริ การโดยพนักงานแบบเคลื่อนที่ (Service Mobility) ผ่านอุปกรณ์ แท็บเล็ต (Tablet) พูดคุย และดูแลลูกค้ าได้ ใกล้ ชิด ด้ วยความคล่องตัวในทุกพื ้นที่ของสาขาแบบไร้ ขีดจากัด พร้ อมทังพั ้ ฒนาทักษะและเพิ่มขีดความสามารถ ของพนักงานสูก่ ารเป็ น ผู้เชี่ยวชาญด้ านอุปกรณ์ ส่ ือสารและระบบปฏิบัติการ (Digital Guru) อย่างเต็มรู ปแบบ โดยในปี นี ้ได้ เพิ่มจานวน Digital Guru ขึ ้นอีกกว่าร้ อยละ 30 เพื่อให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ าในยุคดิจิทลั โดยปั จจุบนั มีพนักงาน Device Guru (ผู้เชี่ยวชาญฯ) และพนักงาน Device Advance (ผู้ชานาญการฯ) จานวน 955 คน นอกจากนี ้ AIS Flagship Store สาขาเวสเกตส์ ยังได้ นาเทคโนโลยี Interactive Magic Wall ขนาด 3 x 6 เมตร มาให้ ลกู ค้ าได้ สมั ผัสความล ้าหน้ า ผ่านการร่ วม เล่นเกมส์บน Magic Wall และ AIS Flagship Store สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลสาขาปิ่ นเกล้ า ยังได้ เปิ ดตัว AIS HyperReality Experience อีกขันของ ้ Virtual Reality สุดยอดเทคโนโลยีแห่งอนาคต สัมผัสภาพเสมือนจริ งได้ มากกว่าเพียงแค่ใส่แว่น มอง แต่สามารถตอบโต้ ในสิ่งที่เห็นได้ ทงตั ั ้ ว ให้ ผ้ ใู ช้ บริ การสามารถทดลองเล่นเกมส์ ดูหนัง และท่องโลกเสมือนจริ ง กับ Hyper Reality ได้ เป็ นครัง้ แรกในประเทศไทย นอกจากนี ้ ยังได้ ขยายขีดความสามารถของ ตู้บริ การอัจฉริ ยะ (Service Kiosk) ให้ ทารายการอัตโนมัติได้ หลากหลาย ยิ่ง ขึน้ ด้ วยฟั ง ก์ ชั่น ใหม่ๆ อาทิ การเปลี่ย นจากระบบเติ มเงิ นเป็ นรายเดือ น การย้ า ยค่า ยเบอร์ เ ดิม มายังเอไอเอส การสมัค ร/ เปลี่ยนแปลงบริ การระบบข้ ามแดนอัตโนมัติหรื อโทรทางไกลต่างประเทศ และยังมีแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยปั จจุบนั เปิ ด ให้ บริ การแล้ ว 80 ตู้ทวั่ ประเทศ และยังได้ ขยายจุดบริ การ ตู้รับชาระอัตโนมัติ (Payment Kiosk) ไปยังสถานที่ที่ลกู ค้ าจะได้ รับความ สะดวกที่สดุ อาทิ ศูนย์การค้ าใหม่ๆ ร้ านเทเลวิซ สถานีรถไฟฟ้ า BTS และ MRT สายใหม่ๆ โดยปั จจุบนั เปิ ดให้ บริ การแล้ ว 300 ตู้ 

บริการอื่นๆ สาหรับลูกค้ า จากเอไอเอส เอไอเอสยังมีโปรแกรมการดูแลลูกค้ า เพื่อรักษาฐานลูกค้ า และสร้ างประสบการณ์ สุดพิเศษให้ กับลูกค้ าเอไอเอส โดยมี แคมเปญหลักดังต่อไปนี ้ AIS Privileges เอไอเอสมอบสิทธิพิเศษต่อเนื่อง โดยร่วมกับร้ านค้ าหลากหลายกว่า 15,000 แห่ง ทังร้​้ านอาหาร ช้ อปปิ ง้ บันเทิง และท่องเที่ยว ตลอดจนส่วนลดมือถือพร้ อมแพ็กเกจสุดคุ้ม

ส่วนที่ 1 | หน้ า 20


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

AIS Rewards ในปี นี ้ ยังได้ สานต่อ โครงการ “AIS LIVE 360 โชคทองถล่มทับ ปี 8” เล่นเกมลุ้นรางวัลทองคา รวมมูลค่าสูงสุด 15 ล้ านบาท AIS Points ลูกค้ าสามารถนายอดค่าใช้ บริ การมาแลกรับพอยท์ เพื่อใช้ เป็ นค่าโทร อินเทอร์ เน็ต กินฟรี ดูหนังฟรี และสิทธิพิเศษอื่นๆ AIS Experience เอไอเอส เดินหน้ ามอบประสบการณ์การท่องเที่ยวสุดพิเศษสาหรับลูกค้ า และยังขยายโครงการ “มื ้อนี ้ฟิ น วันนี ้ฟรี ” ให้ ลกู ค้ า อิ่มอร่อยฟรี ทวั่ ประเทศ เอไอเอส เซเรเนด เอไอเอส เซเรเนด เป็ นโปรแกรมการบริ หารความสัมพันธ์ลกู ค้ าที่เอไอเอสจัดขึ ้นเพื่อรักษาฐานลูกค้ าที่มีการใช้ งานสม่าเสมอ มี ยอดค่าใช้ บริ การตามลาดับขัน้ มีทงเซเรเนด ั้ แพลทินมั โกลด์ และเอ็มเมอรัลด์ โดยลูกค้ าเซเรเนดจะได้ รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตาม รูปแบบการใช้ ชีวิต เช่น หมายเลขคอลเซ็นเตอร์ เฉพาะสาหรับลูกค้ าเซเรเนด สิทธิในการเข้ าใช้ เซเรเนดคลับ บริ การผู้ช่วยส่วนตัว ของขวัญวันเกิด บริ การที่จอดรถ ณ ศูนย์การค้ า ส่วนลดร้ านค้ าต่างๆ ฯลฯ ปี นี ้เอไอเอสได้ ฉลองครอบรอบ 12 ปี เซเรเนด ด้ วยแคมเปญ “The Ultimate Pride” ภายใต้ แนวคิด “ยิ่งกว่าที่สดุ คือความ ประทับใจไม่ร้ ูจบ” โดยยกระดับการมอบความพิเศษที่มากยิ่งขึ ้น ครอบคลุมทัง้ 360 องศา ประกอบไปด้ วย 1. Ultimate Digital Life สิทธิพิเศษหลากหลายเพื่อตอบโจทย์ชีวิตดิจิตอล ทังส่ ้ วนลดพิเศษสาหรับมือถือ และเอไอเอส ไฟเบอร์ รวมถึงบริ การเสริ มอื่นๆ 2. Ultimate Pretty and Lucky Number เลือกรับเบอร์ สวยหรื อเบอร์ มงคล พร้ อมรับสิทธิ Serenade Platinum และผู้ช่วย ส่วนตัว 3. Ultimate Wealth & Investment ร่ วมกับพาร์ ทเนอร์ เพื่อมอบสิทธิพิเศษความคุ้มค่าในด้ านการเงินการลงทุน และด้ าน ประกันภัย 4. Ultimate Surprises ให้ ลกู ค้ าลุ้นรับของขวัญประสบการณ์พิเศษ อาทิ ทริ ปสาหรับลูกค้ าคนพิเศษ 5. Ultimate Lifestyle Privileges มอบประสบการณ์เหนือระดับ ด้ วยสิทธิพิเศษ อาทิ ส่วนลดร้ านค้ า สิทธิพิเศษที่จอดรถ บริ การเครื่ องดื่มฟรี ที่สนามบิน 6. Ultimate Dining ที่สดุ ของประสบการณ์ความอร่อย ด้ วยส่วนลดหรื อสิทธิพิเศษหลากหลายจากร้ านอาหารชื่อดัง โดยตลอด 12 ปี ที่ผ่านมา เอไอเอส เป็ นผู้ให้ บริ การรายแรก ที่ส่งมอบบริ การและสิทธิ พิเศษเหนือระดับให้ กับลูกค้ ามาโดย ตลอด ซึง่ การคัดสรรสิทธิพิเศษต่าง ๆ เกิดจากความมุง่ มัน่ ศึกษาพฤติกรรมของลูกค้ าในเชิงลึก เพื่อออกแบบเป็ นบริ การที่เหมาะกับ ลูกค้ าแต่ละกลุม่ (Segmentation) และพัฒนาต่อยอดไปสูก่ ารดูแลลูกค้ าที่เหมาะกับแต่ละบุคคล (Personalization) ทาให้ ลกู ค้ า เอไอเอส เซเรเนด เกิดความผูกพัน รู้สกึ ถึงความเป็ นคนพิเศษ และด้ วยตัวเลขที่แสดงความพึงพอใจของลูกค้ าในไตรมาส 1 ปี 2559 ที่สงู ถึงร้ อยละ 88 และมี Net Promoter Score (NPS) เป็ นบวกอย่างต่อเนื่อง เป็ นสิง่ ที่พิสจู น์ถึงความสาเร็ จของการดูแลลูกค้ าคน พิเศษด้ วยโปรแกรม เอไอเอส เซเรเนด ถือได้ วา่ เอไอเอสเป็ นผู้ให้ บริ การที่สร้ างความแตกต่างในงานบริ การด้ านการดูแลลูกค้ าและ สิทธิพิเศษให้ กบั ตลาดโทรคมนาคมไทย

ส่วนที่ 1 | หน้ า 21


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2.5 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขันในปี 2559 และแนวโน้ มในปี 2560 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขันในปี 2559 ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2559 มีการแข่งขันที่รุนแรงกว่าปี ที่ผ่านมา เนื่องจากผู้ให้ บริ การแต่ละรายได้ เร่ งลงทุนพัฒนา โครงข่ายของตนเอง และพยายามสร้ างความแตกต่างด้ านคุณภาพทังเทคโนโลยี ้ 3G และ 4G โดยแข่งขันผ่านการออกแพ็คเกจ แบบใหม่ ๆ รวมถึ ง การท าแคมเปญการตลาดหลากหลายรู ป แบบ และสร้ างความเชื่ อ มั่น ให้ กับ ผู้บ ริ โ ภคด้ ว ยการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผ่านทังสื ้ ่อโฆษณาหลักและสื่อออนไลน์ โดยเฉพาะการแข่งขันในด้ านความเป็ นผู้นาทังด้ ้ านความเร็ วและความ ครอบคลุมของเทคโนโลยี 4G ซึ่งถูกสนับสนุนด้ วยเครื่ องโทรศัพท์มือถือที่รองรับการใช้ งาน 4G ที่สามารถหาซื ้อได้ ง่ายขึ ้น และ ความต้ องการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตบนมือถือที่เติบโตขึ ้นมากจากปี ก่อน จากความแข็งแกร่ งด้ านโครงข่ายของผู้ให้ บริ การแต่ละราย ทาให้ ผู้ให้ บริ การมีเป้าหมายหลักทังในการรั ้ กษาฐานลูกค้ าเดิม และขยายฐานลูกค้ าใหม่ จึงต้ องมีกลยุทธ์ เพื่อสร้ างความผูกพันกับลูกค้ าปั จจุบนั รวมถึงจูงใจลูกค้ าใหม่ให้ มาใช้ บริ การ โดยลักษณะ ของแคมเปญการตลาดที่ทา จะเน้ น การแจกเครื่ องโทรศัพท์มือถือฟรี หรื อการนาเสนอสมาร์ ทโฟนราคาพิเศษเมื่อสมัครแพ็คเกจ ที่กาหนด รวมถึงการนาเสนอแพ็คเกจค่าโทรหรื ออินเทอร์ เน็ตราคาพิเศษให้ กบั ลูกค้ าปั จจุบนั ที่จดทะเบียนเลขหมายใหม่เพิ่ม เป็ น ต้ น นอกจากนี ้ผู้บริ โภคมีพฤติกรรมการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ สูงขึ ้นอย่างก้ าวกระโดด ทาให้ แพ็คเกจการใช้ งาน อินเทอร์ เน็ตมีบทบาทมากยิ่งขึ ้นต่อการตัดสินใจใช้ บริ การของลูกค้ า ผู้ให้ บริ การแต่ละรายจึงได้ นาเสนอแพ็ คเกจที่หลากหลายเพื่อ ตอบโจทย์รูปแบบการชีวิตที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น เช่น แพ็ คเกจสาหรับผู้ที่ชื่นชอบความบันเทิง แพ็ คเกจสาหรับใช้ งานเครื อข่ายสังคม ออนไลน์ แพ็คเกจสาหรับผู้ที่มีอุปกรณ์สื่อสารหลายๆ เครื่ อง แพ็คเกจสาหรับครอบครัวที่สามารถแชร์ ค่าโทรและค่าอินเทอร์ เน็ต ร่วมกันได้ เป็ นต้ น ในส่วนโครงสร้ างราคาการคิดค่าบริ การในปี ที่ผ่านมานัน้ ผู้ให้ บริ การให้ เริ่ มออกแพ็คเกจการคิดค่าบริ การของอินเทอร์ เน็ตหรื อ ดาต้ าแบบใช้ งานจากัด (limited) เพิ่มเติมจากโครงสร้ างราคาแบบใช้ งานไม่จากัด (non-stop) โครงสร้ างราคาแบบใช้ งานจากัดนัน้ ถูกออกแบบเพื่อให้ ลกู ค้ ารู้สกึ ยินดีในการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตมากขึ ้น เนื่องจากการให้ ปริ มาณอินเทอร์ เน็ตที่เยอะกว่า ความเร็ วของ อินเทอร์ เน็ตจากเครื อข่าย 4G และการตอบสนองกับพฤติกรรมการใช้ งานคอนเทนต์ที่ต้ องใช้ อินเทอร์ เน็ตมากกว่าสมัยก่อน ทังนี ้ ้ ผู้ให้ บริ การยังคงต้ องให้ ความรู้ แก่ลกู ค้ าในการสนับสนุนให้ ลกู ค้ าเห็นประโยชน์ และใช้ งานแพ็ คเกจที่มีการคิดราคาแบบใช้ งาน จากัดมากขึ ้น ซึง่ จะส่งผลดีทงในด้ ั ้ านประสบการณ์การใช้ งานของลูกค้ าและเป็ นการคิดค่าบริ การในรู ปแบบที่เหมาะสมสอดคล้ อง กับต้ นทุนของผู้ให้ บริ การได้ ดีขึ ้น ส่วนตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง การแข่งขันในปี ที่ผ่ านมามีความเข้ มข้ นกว่าปี ก่อน เนื่องจากการมีผ้ ใู ห้ บริ การรายใหม่ คือ เอไอเอส ไฟเบอร์ ที่เปิ ดให้ บริ การอย่างเต็มตัวเป็ นปี ที่สอง ทาให้ ผ้ เู ล่นรายเดิมพยายามปรับกลยุทธ์ เพื่อรักษาฐานลูกค้ าเดิมไว้ ทังนี ้ ้ ด้ วยรูปแบบการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีจานวนลูกค้ าที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตที่บ้าน มากขึ ้น และต้ องการความเร็ วในการเชื่อมต่อที่สงู กว่าเดิม เพื่อบริ โภคคอนเทนต์ที่ต้องการความละเอียดสูงขึ ้น ทาให้ เทคโนโลยี ADSL แบบสายทองแดงเริ่ มมีข้อจากัดในการให้ บริ การ และทาให้ เทคโนโลยีใยแก้ วนาแสงเป็ นที่ต้องการสาหรับลูกค้ าที่ต้องการ เลือกติดตังอิ ้ นเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงเป็ นครัง้ แรก รวมถึง ลูกค้ าที่ต้องการเปลี่ยนจากเทคโนโลยี ADSL เดิม เนื่องด้ วยเอไอเอส ไฟเบอร์ ทาการตลาดด้ วยเทคโนโลยีใยแก้ วนาแสงเพียงอย่างเดียว และจากการขยายความครอบคลุมพื ้นที่การให้ บริ การอย่าง ต่อเนื่อง ทาให้ เอไอเอส ไฟเบอร์ สามารถเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดของผู้ใช้ บริ การที่เพิ่มขึ ้นประมาณร้ อยละ 40 ในไตรมาส 4/2559 โดยผู้ให้ บริ การรายเดิม ได้ เริ่ มอัพเกรดเทคโนโลยีมาเป็ นใยแก้ วนาแสงเพิ่มขึ ้น พร้ อมทังน ้ าเสนอแพ็คเกจที่ให้ ความเร็ วสูงขึ ้นในราคา เดิม ทาให้ ปัจจุบนั ลูกค้ าสามารถใช้ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงแบบใยแก้ วนาแสงด้ วยความเร็ ว 20 เมกะบิตต่อวินาที ด้ วยราคา เริ่ มต้ นที่ 590 บาท เป็ นต้ น นอกจากนัน้ ผู้ให้ บริ การได้ ทาสัญญาเพื่อให้ ลกู ค้ าใช้ งานเป็ นระยะเวลา 1 ปี และมีการให้ สว่ นลดสาหรับ ส่วนที่ 1 | หน้ า 22


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ลูกค้ าที่เปลี่ยนผู้ให้ บริ การ ควบคู่กับการเริ่ มเน้ นการพ่วงบริ การอื่น เช่น การได้ รับส่วนลดเมื่อสมัครพร้ อมบริ การโทรศัพท์มือถือ การให้ รับชมคอนเทนต์ที่หลากหลายผ่านกล่องคอนเทนต์ที่ติดตังให้ ้ ฟรี เป็ นต้ น จากความแข็งแกร่ งในด้ านเครื อข่ายไร้ สายในการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ และเครื อข่ายมีสายของบริ การอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูง ทาให้ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมถูกต่อยอดไปยังการพัฒนาดิจิทลั คอนเทนต์ในรู ปแบบต่างๆ โดยในปี ที่ผ่านมา ความนิยมของการใช้ โซเชียลมีเดียอย่างเช่น เฟสบุค ไลน์ อินสตาแกรม ยังคงเป็ นปั จจัยส่งเสริ มให้ ผ้ บู ริ โภคเรี ยนรู้ และสนใจใช้ งาน คอนเทนต์รูปแบบต่างๆมากขึ ้น ผู้ให้ บริ การโทรศัพท์มือถือได้ มีความร่วมมือกับผู้ให้ บริ การคอนเทนต์ในการหารายได้ ร่วมกันมากขึ ้น รวมถึงมีการสนับสนุนธุรกิจสตาร์ ทอัพ เพื่อหาคอนเทนต์ที่ตรงกับความต้ องการของลูกค้ าโดยตรง โดยคอนเทนต์ด้านวิดีโอเป็ น คอนเทนต์ที่ได้ รับความสนใจสูง นอกจากนี ้การทาธุรกรรมทางการเงิ นผ่านมือถือก็ได้ รับความสนใจมากขึ ้นโดยเฉพาะเป็ นผล จากการสนับสนุนโนยบายของภาครัฐในเรื่ องพร้ อมเพย์ แนวโน้ มอุตสาหกรรมในปี 2560 สาหรับธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในปี 2559 ที่ผ่านมา ผู้ให้ บริ การทุกรายต่างเร่ งขยายโครงข่าย 4G และ 3G เพื่อตอบสนองต่อ การใช้ งานด้ านดาต้ าของลูกค้ าที่เพิ่มขึ ้น ซึ่งส่ งผลให้ งบลงทุนต่อรายได้ ของอุตสาหกรรมอยู่ในสัดส่วนที่สงู กว่าในปี ที่ผ่านๆ มา ประกอบกับการมีค่าใบอนุญาตการใช้ งานคลื่นความถี่ 1800 และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่ต้องชาระแก่ กสทช.จนถึงปี 2563 สาหรับ ในปี 2560 เอไอเอสคาดว่าแนวโน้ มของอุตสาหกรรมจะหันมาเน้ นที่การทาให้ รายได้ และกาไรของอุตสาหกรรมมีทิศทางที่ดีขึ ้น รวมถึงการลดลงของแคมเปญการตลาดในการอุดหนุนค่าเครื่ องโทรศัพท์ และการออกแพ็คเกจบริ การใหม่ๆ ที่เจาะจงลูกค้ าแต่ละ กลุม่ มากขึ ้น โดยผู้ให้ บริ การจะหันมาให้ ความสาคัญกับการสร้ างความแตกต่างในด้ านคุณภาพของเครื อข่าย โดยเฉพาะการใช้ งาน ดาต้ า ความสะดวกสบายในการเข้ าถึงและใช้ งานสินค้ าและบริ การ รวมถึงการให้ บริ การลูกค้ าเพื่อสร้ างประสบการณ์ ที่ดีต่อ เครื อข่าย ทังนี ้ ้ การขยายตัวของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2560 คาดว่าจะใกล้ เคียงกับการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (GDP) โดยมีแรงขับเคลือ่ นจากการใช้ งานโทรศัพท์เคลือ่ นที่ที่ยงั คงเติบโต และอัตราการใช้ งานสมาร์ ทโฟนที่สงู ขึ ้น ในขณะที่ตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงในปี 2560 มีแนวโน้ มการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากรู ปแบบการดาเนินชีวิตของ ผู้บริ โภคที่เข้ าสูย่ คุ ดิจิทลั ซึง่ ต้ องการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตภายในที่อยูอ่ าศัยเพิ่มสูงขึ ้น เพื่อให้ เข้ าถึงข้ อมูลต่างๆ ได้ อย่างรวดเร็ วและ มีประสิทธิภาพ โดยเอไอเอสคาดว่าผู้ให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงจะเน้ นการแข่งขันด้ านความเร็ วในการให้ บริ การ และมุง่ เน้ น พัฒนาขยายพื ้นที่ให้ บริ การผ่านโครงข่ายใยแก้ วนาแสงเพิ่มมากขึน้ นอกจากนัน้ ดิจิทลั คอนเทนต์จะเริ่ มมีบทบาทในชีวิตประจาวันของผู้บริ โภคมากขึ ้น โดยการสนับสนุนจากภาครัฐบาลที่มี นโยบายชัดเจนในการพัฒนาประเทศภายใต้ โมเดลไทยแลนด์ 4.0 ซึง่ เน้ นการพัฒนาสินค้ าในเชิงนวัตกรรม และความคิดสร้ างสรรค์ รวมถึงการผลักดันธุรกิจจากภาคผลิตไปสูภ่ าคบริ การ คอนเทนต์ด้านวิดีโอจะยังคงเป็ นตัวนาหลักในการเติบโตตามการขยายตัว ของการใช้ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ และการเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงภายในบ้ านมากขึ ้น คอนเทนต์เกี่ยวกับการทาธุรกรรมผ่านทาง ออนไลน์ รวมไปถึงการซื ้อขายสินค้ าออนไลน์ (e-Commerce) มีแนวโน้ มที่จะเป็ นช่องทางการชาระเงินและการจัดจาหน่ายสินค้ าที่ ได้ รับความนิยมสูงขึ ้น จากความสะดวกสบายในการเลือกซื ้อสินค้ า และความหลากหลายของสินค้ าจากการเข้ าถึงของผู้ผลิตทัง้ รายใหญ่และรายย่อย เป็ นต้ น นอกจากนัน้ การใช้ งานบริ การพื ้นที่เก็บข้ อมูลคลาวด์ (Cloud storage) มีแนวโน้ มที่จะแพร่ หลาย มากขึ ้น จากการเติบโตของข้ อมูลในการให้ บริ การของบริ ษัททังขนาดกลางและขนาดใหญ่ ้ ซึ่งทาให้ การเก็บและเรี ยกใช้ ข้อมูลผ่าน บริ การคลาวด์ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้ สงู ขึ ้น ทัง้ นี ้ ยังคงมีปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่มีส่วนสาคัญ ต่อการดาเนิน ธุรกิ จ สาหรั บ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมในปี 2560 เช่ น การประกาศใช้ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฉบับใหม่ การเลือกตังที ้ ่ประเมินว่าจะเกิดขึ ้นในปลายปี 2560 รวมถึง ทิศทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็ นต้ น โดยทุกไตรมาส เอไอเอสจะสื่อสารกับผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับปั จจัย สาคัญดังกล่าว เพื่ออธิบายถึง ทิศทางและกลยุทธ์ของเอไอเอสอย่างชัดเจน ส่วนที่ 1 | หน้ า 23


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2.6 เป้าหมายการดาเนินธุรกิจใน 3-5 ปี ก้ าวผ่ านความเปลี่ยนแปลง สู่การเป็ นผู้นาด้ านบริการดิจิทัลเพื่อคนไทย โลกในปั จจุบนั นี ้ ได้ ก้าวเข้ าสูย่ คุ ดิจิทลั อย่างชัดเจน อุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทยยังเกิดความเปลี่ยนแปลงอย่าง ต่อเนื่อง ตามพฤติกรรมผู้บริ โภคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยความต้ องการในการใช้ งานไม่ได้ จากัดแค่เพียงการติดต่อสื่อสารระหว่าง บุคคล แต่ได้ รวมไปถึงการเชื่อมต่อกับอินเทอร์ เน็ตตลอดเวลา เพื่อสื่อสาร รับข่าวสาร ข้ อมูลได้ จากทัว่ โลก และยังสามารถใช้ งาน คอนเทนต์ที่มีหลากหลายเพื่อตอบโจทย์ความต้ องการในแง่มมุ ต่างๆ ทังคอนเทนต์ ้ ด้านสาระประโยชน์ ความบันเทิง ธุรกรรมทาง การเงิน รวมทังแอปพลิ ้ เคชันอื่นๆ ที่ช่วยให้ ชีวิตสะดวกสบายยิ่งขึ ้น เอไอเอสตระหนักถึงแนวโน้ มนี ้เป็ นอย่างดี เราจึงมองว่าการให้ บริ การโทรคมนาคมเพียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอที่จะตอบ โจทย์ความต้ องการของลูกค้ าส่วนใหญ่ เอไอเอสได้ ปรับวิสยั ทัศน์ พัฒนาตัวเองเพื่อก้ าวไปสูก่ ารเป็ น “ผู้ให้ บริ การด้ านดิจิทลั ไลฟ์ ” พร้ อมให้ บริ การในทุกมิติ สามารถตอบรับรู ปแบบการใช้ ชีวิตของลูกค้ าในยุคดิจิทัล อีกทัง้ ยังมุ่งมัน่ ที่จะให้ บริ การที่ครอบคลุม เพื่อช่วยยกระดับชีวิตของคนไทยทัว่ ประเทศในทุกแง่มมุ เช่น สื่อบันเทิง สุขภาพ การศึกษา การเกษตร และการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทางาน ด้ วยประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และการวางรากฐานอันแข็งแกร่ งที่พฒ ั นามากว่า 26 ปี เพื่อให้ บริ การใน 3 ธุรกิจหลัก ได้ แก่ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง และบริ การดิจิทลั คอนเทนต์ คงความเป็ นผู้นาในธุรกิจโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ด้ วยเครือข่ ายและบริการคุณภาพ ปั จจุบนั ความต้ องการใช้ งานโทรศัพท์เคลือ่ นที่ของลูกค้ าได้ เปลี่ยนแปลงไป จากที่ใช้ การโทรเป็ นหลัก กลายมาเป็ นใช้ บริ การ อิน เทอร์ เน็ ต ผ่า นมือ ถื อ เพิ่ มมากขึน้ อย่า งรวดเร็ ว ด้ วยความนิย มในแอปพลิเ คชัน ต่า งๆ ที่ ช่ ว ยให้ ก ารติ ด ต่อ สื่อ สารง่ า ยดาย มีประสิทธิภาพมากขึ ้น รวมทังอั ้ ตราการใช้ งานสมาร์ ทโฟนที่สงู ขึ ้น ควบคู่ไปกับ ความนิยมใช้ เทคโนโลยี 4G ที่มีความเร็ วสูง ทาให้ การสื่อสารและใช้ คอนเทนต์ ต่างๆ รวดเร็ ว มีประสิท ธิ ภาพมากยิ่งขึน้ สาหรั บฐานลูกค้ าเอไอเอส ส่วนใหญ่ แล้ วเป็ นผู้ใช้ งาน สมาร์ ทโฟน และอัตราผู้ใช้ งานเครื่ องโทรศัพท์ 4G ร้ อยละ 29 ของผู้ใช้ บริ การทัง้ หมด นอกจากนี ้ รัฐบาลก็ มีส่วนผลักดันด้ วย เป้าหมายที่จะสร้ างระบบบริ หารงานแบบดิจิทลั เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยบริ การโทรคมนาคมจะเป็ นปั จจัยสนับสนุนที่สาคัญ ด้ วยเหตุนี ้ เครื อข่ายที่รองรับการให้ บริ การจึงต้ องมีประสิทธิภาพที่ดี สามารถใช้ งานได้ เพียงพอต่อความต้ องการของลูกค้ า อันเป็ นรากฐานสาคัญในการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ เอไอเอสมุ่งพัฒนาเครื อข่ายให้ มีคณ ุ ภาพ มีความเสถียร และไว้ วางใจได้ ด้ วยทีมงานที่มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญในการออกแบบโครงข่าย และพร้ อมพัฒนาเพื่อนวัตกรรมในการให้ บริ การคุณภาพ กับลูกค้ า นับตังแต่ ้ การวางโครงข่ายให้ ครอบคลุมพร้ อมสาหรั บการติดต่อสื่อสารในทุกพืน้ ที่ ซึ่งเอไอเอสยังคงเดินหน้ าพัฒนา เครื อข่ายด้ วยการลงทุนเพื่อขยายโครงข่าย 4G ให้ เข้ าถึงพื ้นที่เพิ่มเติม ในช่วง 1-2 ปี ข้ างหน้ า และไม่หยุดพัฒนาเครื อข่าย 3G เพื่อรองรับการใช้ งานที่เพิ่มมากขึ ้น นอกจากนี ้ เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ ามากยิ่งขึ ้น ลูกค้ าจะมีความต้ องการใช้ งานที่หลากหลายไปกว่าเดิม เช่น คอนเทนต์วิดีโอ ความละเอียดสูงระดับ Ultra HD เทคโนโลยีภาพเสมือนจริ ง Virtual Reality และ Augmented reality ไปจนถึง Internet of Things (IoT) หรื อการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ผ่านอินเทอร์ เน็ต เพื่ออานวยความสะดวก นับตังแต่ ้ อุปกรณ์ ใกล้ ตวั อาทิ โทรศัพท์มือถือ นาฬิกา รถยนต์ หรื อเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าอื่นๆ อย่างเครื่ องปรับอากาศ ตู้เย็น ฯลฯ ซึ่งจะผสมผสานการใช้ งานจนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของ ชีวิตประจาวัน เมื่อความต้ องการเหล่านี ้ ผนวกรวมเข้ ากับเทคโนโลยีมาตรฐานใหม่ อย่างเช่น 5G ทีค่ าดว่าจะเริ่ มพัฒนามาตรฐาน สาหรับเชิงพาณิชย์ ในอีกประมาณ 4-5 ปี ข้ างหน้ า ยิ่งทาให้ เอไอเอสต้ องเตรี ยมการพัฒนาให้ ทันกับลูกค้ าและสภาพแวดล้ อม การมีคลืน่ ให้ เพียงพอและการพัฒนาเครื อข่ายอย่างไม่หยุดยัง้ จึงเป็ นหัวใจสาคัญสาหรับการแข่งขันในอนาคต

ส่วนที่ 1 | หน้ า 24


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

สิง่ สาคัญที่ช่วยสร้ างความแตกต่างให้ กบั เอไอเอสเพื่อมุง่ สูก่ ารเป็ นผู้นาในอุตสาหกรรม คือ การให้ ความสาคัญกับการบริ การ ซึ่งช่วยรักษาฐานลูกค้ า ก่อให้ เกิดรายได้ ที่ดีและยัง่ ยืน ทังนี ้ ้ เอไอเอสได้ ม่งุ พัฒนามาตรฐานบริ การเพื่อตอบรับความต้ องการของ ลูกค้ า โดยทิ ศทางในการนาพาองค์ กรเข้ าสู่ ยุคดิ จิทัลคื อการนาเทคโนโลยีเ ข้ ามาใช้ ป ระโยชน์ ม ากขึน้ ช่ วยในการเก็ บข้ อมูล ประมวลผล และวิ เ คราะห์ เพื่ อ ให้ บริ ก ารลู ก ค้ าได้ ตรงใจยิ่ ง ขึ น้ และยั ง น าอุ ป กรณ์ ดิ จิ ทัล มาช่ ว ยอ านวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในขันตอนการให้ ้ บริ การ อีกทังยั ้ งนาเสนอสิทธิพิเศษที่หลากหลาย ครอบคลุมทุกความต้ องการและทุกไลฟ์ สไตล์ ของลูกค้ า เพื่อครองความเป็ นที่หนึง่ ในใจลูกค้ าต่อไป ขยายธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงต่ อเนื่อง มุ่งให้ บริการครบวงจร จากความต้ องการของลูกค้ าในยุคดิจิทลั ที่ต้องการเชื่อมต่อกับโลกอินเทอร์ เน็ตตลอดเวลา ทาให้ อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงใน ที่พกั อาศัยเป็ นสิ่งจาเป็ นสาหรับลูกค้ ายุคใหม่จานวนมาก และด้ วยเทคโนโลยี ADSL ของเดิมนัน้ เริ่ มล้ าสมัยและมีข้อจากัดทาง เทคนิคในเรื่ องความเร็ วและความเสถียร จึงทาให้ ลกู ค้ าเริ่ มมองหาบริ การใหม่สาหรับอินเทอร์ เน็ตความเร็ ว สูงที่มีประสิทธิภาพใช้ งานได้ ดียิ่งขึ ้น กสทช. คาดการณ์ จานวนครัวเรื อนที่ใช้ บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงที่ ประมาณร้ อยละ 33 และหรื อมีผ้ ใู ช้ งาน ประมาณ 7 ล้ านราย ณ สิ ้นปี 2559 ซึ่งแสดงให้ เห็นถึง ศักยภาพในการเติบโตได้ อีกจากที่เคยมีพื ้นที่หลายแห่งที่บริ การยังไม่ สามารถเข้ าถึง ด้ วยเหตุนี ้ เอไอเอสจึงเห็นโอกาสที่จะนาเสนอบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงผ่านโครงข่ายใยแก้ วนาแสงหรื อ ไฟเบอร์ อ อพติก ภายใต้ แบรนด์ เอไอเอสไฟเบอร์ โดยสามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากโครงข่ายไฟเบอร์ ของธุร กิ จโทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่ ที่กระจายอยูท่ วั่ ประเทศ สาหรับปี ที่ผา่ นมา นับเป็ นก้ าวแรกๆ ของธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง เอไอเอสไฟเบอร์ แต่ด้วยการวางรากฐานให้ แข็งแกร่ ง ในปี แรก ด้ วยการพัฒนาขันตอนการท ้ างาน ทังหน่ ้ วยงานขาย การติดตัง้ และบริ การหลังการขาย รวมทังการมี ้ เงินลงทุนสนับสนุน ทาให้ เอไอเอสสามารถขยายบริ การธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงได้ ดี และในอนาคตข้ างหน้ า เอไอเอสยังคงมุ่งมัน่ กับเป้าหมายที่ จะมีสว่ นแบ่งการตลาดอย่างมีนยั สาคัญในอีก 3 ปี โดยเน้ นที่การหาลูกค้ าทังที ้ ่เป็ นผู้ที่เคยใช้ งานอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงมาก่อน หรื อเป็ นลูกค้ าใหม่ ดังนัน้ สิง่ สาคัญในการดาเนินธุรกิจจึงอยูท่ ี่การขยายพื ้นที่บริ การด้ วยการลงทุนวางโครงข่าย โดยขยายจากพื ้นที่ ตัวเมืองและจังหวัดหลักๆ ในประเทศไทย ให้ เข้ าถึงลูกค้ าในพื ้นที่ใหม่ๆ ได้ มากขึ ้น และมุ่งที่การหาลูกค้ าด้ วยโปรแกรมการตลาดที่ ดึงดูดใจ แพ็คเกจราคาที่สามารถแข่งขันได้ และยังนาเสนอบริ การควบคู่ไปกับดิจิทลั คอนเทนต์ ผ่านอุปกรณ์ AIS PLAYBOX โดย คาดว่าธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงจะมีการเติบโตที่ดี เป็ นแหล่งรายได้ ใหม่สาหรับเอไอเอส รวมทังเสริ ้ ม ความแข็งแกร่ งให้ กับ ธุรกิจมือถือ ตอบกลยุทธ์การเป็ นผู้ให้ บริ การดิจิทลั ไลฟ์ เพื่อคนไทย เดินหน้ าสร้ างนวัตกรรมผ่ านดิจิทัลคอนเทนต์ สาหรับลูกค้ าทั่วไปและลูกค้ าธุรกิจ จากความเปลีย่ นแปลงเพื่อเข้ าสูย่ คุ ดิจิทลั จะเห็นได้ วา่ อุปกรณ์ประเภทสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ตมีความนิยมและเข้ าถึงได้ ง่าย ยิ่งขึ ้น ด้ วยราคาที่ถกู ลง และความสามารถที่ หลากหลาย พร้ อมไปกับแอปพลิเคชันที่เพิ่มขึ ้นอย่างมากเพื่อตอบสนองการใช้ งาน ในไลฟ์ สไตล์ของผู้บริ โภคยุคใหม่ และเมื่อผนวกกับแพ็ คเกจอินเทอร์ เน็ตที่มีราคาดึงดูดใจ ยิ่งทาให้ ลกู ค้ าปรับพฤติกรรม หันมาใช้ ดิจิทลั คอนเทนต์มากขึ ้น เป็ นที่มาของการพัฒนาคอนเทนต์ให้ หลากหลาย ตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ าได้ ตรงใจยิ่งขึ ้น เอไอเอสได้ ให้ ความสาคัญกับดิจิทลั คอนเทนต์เช่นกัน โดยมองว่าจะเป็ นแหล่งรายได้ ใหม่ และเป็ นรายได้ ที่มีคุณภาพ เพิ่ม มูลค่าให้ กับธุรกิ จโดยรวม และยังช่วยเสริ มการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตทัง้ ในแพลตฟอร์ มผ่านมือถื อและการใช้ งานในที่พกั อาศัย เอไอเอสมีแนวทางที่ชดั เจนสาหรับธุรกิจนี ้ โดยมุง่ เน้ นดิจิทลั คอนเทนต์ใน 5 แกนหลัก ได้ แก่ วิดีโอ เกม ธุรกรรมทางการเงิน คลาวด์ และ M2M มีกลยุทธ์ หลักคือการพัฒนาระบบหรื อแพลตฟอร์ มเพื่อเชื่อมต่อกับผู้พฒ ั นาและให้ บริ การคอนเทนต์ เข้ าถึงพันธมิตร หลากหลายกลุม่ พร้ อมจะสร้ างการเติบโตไปด้ วยกัน อีกทังยั ้ งมีการขยายบริ การให้ ตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ า ในยุคดิจิทลั มากยิ่งขึ ้น โดยมุง่ ขยายแพลตฟอร์ มการให้ บริ การจากลูกค้ าทัว่ ไป ไปสูก่ ลุม่ ธุรกิจองค์กรมากยิ่งขึ ้น ส่วนที่ 1 | หน้ า 25


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

สาหรั บวิดีโอและเกมนัน้ เป็ นคอนเทนต์ ที่ผ้ ูบริ โภคมีความคุ้นเคยดี และเริ่ มปรั บเปลี่ยนพฤติกรรม หันมาใช้ งานมากขึน้ เอไอเอสจึงยังคงมุง่ พัฒนา โดยหาคอนเทนต์ใหม่ๆ ที่หลากหลายยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะคอนเทนต์ที่คดั สรรเฉพาะสาหรับลูกค้ าเอไอเอส เท่านัน้ เพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถรับชมความบันเทิงด้ วยแพลตฟอร์ ม AIS PLAY ผ่านมือถือ และ AIS PLAYBOX ผ่านอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสูงในที่พกั อาศัย ส่วนธุรกรรมทางการเงิน เอไอเอสได้ ขยายการใช้ งานระบบ mPAY ทังการหาลู ้ กค้ าเพิ่ม และหาร้ านค้ า ที่รองรับการจ่ายผ่าน mPAY สาหรับธุรกิจคลาวด์ เอไอเอสได้ ให้ บริ การทังพื ้ ้นที่สาหรับเก็บข้ อมูลบนระบบคลาวด์สาหรับลูกค้ า ทัว่ ไป และยังจับกลุม่ ลูกค้ าธุรกิจ ด้ วยการเปิ ดตัว AIS Cloud for Business เพื่อให้ บริ การลูกค้ าองค์กรทุกระดับที่ต้องการใช้ งาน ระบบคลาวด์ แทนการสร้ างระบบและอุปกรณ์ ไอทีที่ต้องลงทุนสูง นอกจากนี ้ การพัฒนาคอนเทนต์ด้าน M2M ยังช่วยให้ เข้ าถึง กลุม่ ลูกค้ าองค์กรได้ มากขึ ้นด้ วยการนาเสนอโซลูชนั่ ส์ที่เหมาะกับการใช้ งานของลูกค้ าที่แตกต่างกันไป ดาเนินธุรกิจบนความสมดุลสาหรับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย สร้ างความเติบโตอย่ างยั่งยืน เอไอเอสได้ ให้ ความสาคัญกับระบบการพัฒนาธุรกิจแบบเชื่อมโยง หรื อ ecosystem ซึ่งเปรี ยบเสมือนระบบนิเวศวิทยาด้ าน โทรคมนาคมที่ผนวกรวมความสามารถของพันธมิตรทางธุรกิจให้ เข้ ากับความต้ องการของลูกค้ า และพร้ อมจะเกื ้อกูลกันเพื่อให้ ทงั ้ เอไอเอสและพันธมิตรทางธุรกิจเติบโตไปด้ วยกันอย่างยัง่ ยืน นอกจากนี ้ เรายังมุ่งพัฒนาบุคลากรและปรับโครงสร้ างภายในให้ เหมาะสมเพื่อให้ ทนั กับความเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทลั โดยมีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทางานให้ มีความตื่นตัว เต็มไปด้ วย ความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ และยังมีการบริ หารผลตอบแทนที่เป็ นธรรม มีการพัฒนาและฝึ กอบรม เพิ่มความรู้ ความเชี่ยวชาญในการ ให้ บริ การดิจิทัล เพื่อให้ สามารถรั กษาบุคลากรที่มีคุณภาพอยู่กับองค์ กรได้ ในระยะยาว และในการสร้ างองค์กรอย่างยั่งยืนนี ้ เอไอเอสก็ไม่ได้ ละเลยการวางแผนบุคลากรเพื่อสืบต่อตาแหน่ง หรื อ Succession plan เพื่อให้ การปรับเปลี่ยนองค์กรในอนาคต เป็ นไปอย่างราบรื่ น ในปี 2559 นับเป็ นอีกครัง้ ที่เอไอเอสได้ รับคัดเลือกให้ รวมอยู่ในดัชนีความยัง่ ยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรื อ DJSI) ในกลุ่มตลาดเกิดใหม่ เป็ นปี ที่สองติดต่อกัน แสดงถึงความมุ่งมัน่ อย่างต่อเนื่องในการพัฒนาองค์กรเพื่อ ดาเนินงานได้ อย่างยัง่ ยืน โดยสร้ างสมดุลในการดาเนินงานที่ไม่ได้ ม่งุ เน้ นเพียงกาไรเป็ นสาคัญ แต่คานึงถึงผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียกับ องค์กรด้ วย กล่าวคือสามารถสร้ างการเติบโตของผลประกอบการ ก่อให้ เกิดผลตอบแทนที่ดีต่อผู้ถือหุ้น ทังยั ้ งสามารถอยู่ร่วมกับ ชุมชนและสังคมได้ ดี พร้ อมทังด ้ าเนินธุรกิจโดยไม่สง่ ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม ซึ่งสิ่งเหล่านี ้จะช่วยขับเคลื่อนธุรกิจบนพื ้นฐานของ ความยัง่ ยืนระยะยาว เป็ นรากฐานของเอไอเอสที่จะ “ก้ าวเข้ าสู่การเป็ นองค์ กรชัน้ นาด้ านการให้ บริการดิจิทัลไลฟ์สาหรั บคน ไทยทุกคน” 2.7 การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ คลื่นความถี่ ปั จจุบัน คลื่นความถี่ ที่เ อไอเอสถื อครอง อยู่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตผ่า นการประมูลคลื่นความถี่ โดย กสทช. โดยบริ ษั ท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อย ถือหุ้นโดยเอไอเอสร้ อยละ 99.99 ได้ รับสิทธิ ในการดาเนินงานบนคลื่น ความถี่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตรวม 3 ชุดคลืน่ ความถี่ดงั ต่อไปนี ้ คลื่นความถี่ท่ ใี ช้ สาหรับบริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ภายใต้ ระบบใบอนุญาตจากกสทช. คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์

ระยะเวลาใบอนุญาต 7 ธันวาคม 2555 - 6 ธันวาคม 2570

900 เมกะเฮิรตซ์

ช่ วงกว้ าง แถบย่ านความถี่ เทคโนโลยี 15 x 2 1950-1965 เมกะเฮิ ร ตซ์ คู่ กั บ 2140-2155 3G/4G เมกะเฮิรตซ์ 10 x 2 895-905 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 940-900 เมกะเฮิรตซ์ 2G/3G/4G

1800 เมกะเฮิรตซ์

15 x 2

25 พฤศจิกายน 2558 - 15 กันยายน 2576

1725-1740 คูก่ บั 1820-1835 เมกะเฮิรตซ์ ส่วนที่ 1 | หน้ า 26

4G

1 กรกฎาคม 2559 - 30 มิถนุ ายน 2574


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

อุปกรณ์ โครงข่ าย เอไอเอสมีนโยบายในการจัดหาอุปกรณ์โครงข่ายโดยกระจายการสัง่ ซื ้อเพื่อที่จะไม่ต้องพึ่งพิงซัพพลายเออร์ รายใดรายหนึ่ง เท่านัน้ หรื อเรี ยกว่า Multi-vendor Policy การดาเนินนโยบายเช่นนี ้ ทาให้ เอไอเอสและผู้ผลิตสามารถวางแผนการพัฒนา เทคโนโลยีและบริ การให้ สอดคล้ องกัน เพื่อให้ ได้ ทางเลือกที่เหมาะสมที่สดุ และยังช่วยลดความเสี่ยงในการจัดหาและส่งมอบ อุปกรณ์ได้ ในเวลาที่กาหนด ในการคัดเลือกผู้ผลิตอุปกรณ์ บริ ษัทมีการจัดตัง้ คณะทางานด้ านต่างๆ เพื่อประเมินความเหมาะสมโดยมีปัจจัยในการ พิจารณาเลือกหลายประการ เช่น ด้ านราคา ทางเทคนิค และแผนงานการพัฒนาของผู้ผลิตเอง เพื่อให้ มนั่ ใจว่าเอไอเอสจะสามารถ ดาเนินธุรกิจที่ต้องคานึงถึงการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีได้ อย่างเหมาะสมในระยะยาว เอไอเอสเลือกใช้ อปุ กรณ์เครื อข่ายจากผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมชันน ้ า เช่น Nokia, Huawei และ ZTE เป็ นยี่ห้อหลัก และยัง มีอปุ กรณ์สว่ นอื่นๆ ในโครงข่ายที่เลือกจากซัพพลายเออร์ อื่น เช่น CISCO และ Juniper เป็ นต้ น เครื่องโทรศัพท์ สาหรับธุรกิจการขายเครื่ องโทรศัพท์เคลื่อนที่ เอไอเอสได้ ร่วมมือกับผู้ผลิตอุปกรณ์ ชนั ้ นาทัว่ โลก เช่น Apple, Samsung, Sony, Huawei, Oppo, Vivo, LAVA เป็ นต้ น เพื่อให้ มนั่ ใจว่าจะมีอปุ กรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่หลากหลายรุ่ น สอดคล้ องกับความ ต้ องการของตลาดแต่ละกลุม่ โดยปั จจุบนั นี ้ เทคโนโลยี 4G ได้ เข้ ามามีบทบาทมากขึ ้น เอไอเอสจึงขยายการสัง่ ซื ้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่รองรับ 4G มากขึ ้น นอกจากนี ้ เอไอเอสได้ สรรหาผู้ผลิตโทรศัพท์ที่คุณภาพดีสามารถตอบโจทย์กลุ่มลูกค้ าที่ต้องการสินค้ าที่ค้ ุมค่าด้ วยราคา พอเหมาะ และช่วยให้ เอไอเอสสามารถควบคุมต้ นทุนสินค้ าได้ เพื่อใช้ ในการทาตลาดผลิตภัณฑ์ภายใต้ แบรนด์ร่วมกัน เอไอเอสได้ คัดเลือก LAVA ซึง่ เป็ นผู้ผลิตโทรศัพท์เคลือ่ นที่คณ ุ ภาพดี คุ้มราคา เพื่อให้ ผลิตโทรศัพท์เพื่อทาแบรนด์ร่วมกัน มีการดีไซน์รูปลักษณ์ และการใช้ งานโดยเฉพาะสาหรับแบรนด์ พร้ อมทังใส่ ้ แอปพลิเคชันของเอไอเอสมาจากโรงงาน นามาทาตลาดด้ วยแพ็ คเกจ AIS Super Combo LAVA ซึง่ ได้ รับความนิยมจากลูกค้ าเป็ นอย่างดี บริการโรมมิ่งและบริการโทรศัพท์ ระหว่ างประเทศ ในด้ านการจัดหาผู้ให้ บริ การโรมมิ่งในต่างประเทศ เอไอเอสได้ ทาข้ อตกลงกับผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในจานวน 232 ประเทศ ทุกทวีปทัว่ โลก ครอบคลุม 464 เครื อข่าย เพื่อให้ บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติกบั ลูกค้ าทังสองฝ่ ้ าย อีกทังยั ้ งจัดให้ มีบริ การ โทรศัพท์ระหว่างประเทศมากกว่า 240 ประเทศปลายทางทัว่ โลก ดิจิทัลคอนเทนต์ ในการปรับตัวเพื่อเป็ นผู้ให้ บริ การดิจิทลั นัน้ เอไอเอสมีทิศทางทางธุรกิจที่ชดั เจนที่จะเติบโตพร้ อมไปกับพันธมิตรทางธุรกิจ ด้ วยการนาความสามารถและเชี่ยวชาญที่แตกต่างกัน เพื่อมาพัฒนาร่ วมกัน ทาให้ ได้ บริ การที่มีคุณภาพและมีความหลากหลาย ยิ่งขึ ้น โดยเอไอเอสมีการร่วมมือกับพันธมิตรในหลากหลายอุตสาหกรรมทังในเชิ ้ งสินค้ าและบริ การ เพื่อตอบสนองความต้ องการทัง้ ในรูปแบบสาระ ความบันเทิง และสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ นอกเหนือจากพันธมิตรทางธุรกิจที่เอไอเอสมี ในปี นี ้เอไอเอสยังได้ ร่วมส่งเสริ มนโยบายของภาครั ฐในการพัฒนาการร่ วม ให้ บริ การกับกลุม่ Startup ผ่านโครงการ AIS The Startup Connect โดยถือว่ากลุม่ Startup เหล่านี ้จะเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจที่ สาคัญในอนาคตที่จะช่วยผลักดันการพัฒนาประเทศตามนโยบาย 2.8 งานที่ยงั ไม่ ได้ ส่งมอบ ไม่มี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 27


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2.9 โครงการวิจัย พัฒนา และ นวัตกรรมของเอไอเอส กรอบการพัฒนานวัตกรรม เอไอเอสได้ ริเริ่ มดาเนินโครงการ “AIS Innovation Transformation” ขึ ้นในปี พ.ศ. 2558 เพื่อเป็ นการรวบรวมและติดตาม การทาโครงการเกี่ยวกับนวัตกรรมต่างๆ อย่างเป็ นระบบและเกิดความสะดวกต่อการส่งเสริ มให้ เกิดนวัตกรรมในองค์กรจากเดิมที่ การคิ ด ค้ น และพัฒ นานวัต กรรมจะถูก กระจายอยู่ใ นแต่ ล ะสายงานตาม เอไอเอสใช้ งบประมาณในการวิจยั พัฒนาและ ความรับผิดชอบ โครงการ AIS Innovation Transformation ยังมีเป้าหมาย สร้ างนวัตกรรม ประมาณ 50 ล้ านบาท ในปี ในการสร้ างให้ เอไอเอสเป็ น “องค์กรแห่งนวัตกรรม” กระตุ้นให้ พนักงานมีการ 2559 ซึง่ ถือว่าเป็ นต้ นทุนการดาเนินงานที่มี คิดค้ น พัฒนา และสร้ างสรรค์นวัตกรรมเชิ งบวกใหม่ๆ ซึ่งจะทาให้ เป็ นการ ประสิทธิภาพ อันเกิดจากการเน้ นความร่วมมือ เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และสร้ างช่องทางการจัดหารายได้ ในรูปแบบ กับพันธมิตรทางธุรกิจ ใหม่ โดยกรอบการดาเนินงานภายใต้ AIS Innovation Transformation เป็ นดังต่อไปนี ้

กรอบการด าเนิ น งานทางด้ านนวัต กรรมจะถู ก ขับ เคลื่ อ นโดยส านั ก ความร่ ว มมื อ ทางด้ านนวั ต กรรม ( Innovation Collaboration Office) โดยครอบคลุมตังแต่ ้ 1. การก าหนดแหล่งที่ มาของความคิดสร้ างสรรค์ หรื อ creativity ที่เ ปิ ดกว้ างทัง้ จากภายในและภายนอก ผ่า น การดาเนินงานด้ วยเอไอเอสและบริ ษัทย่อยเอง หรื อผ่านการร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ มหาวิทยาลัย และองค์กร ภาครัฐต่างๆ 2. การนาความคิดสร้ างสรรค์ที่ได้ มาทาการคัดเลือก ปรับปรุ ง และทดสอบ/ทดลองเบื ้องต้ น เพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ โดยเอไอเอสจัดให้ มีศนู ย์การศึกษาวิจยั และพัฒนานวัตกรรม (Innovation Center) เป็ นผู้ดาเนินการ ส่วนที่ 1 | หน้ า 28


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

3. การนาเสนอผลการทดสอบ/ทดลองต่อ คณะกรรมการก ากับการดาเนิ นงานโครงการพัฒนาความสามารถใน การแข่งขันด้ านนวัตกรรม (Innovation Competitive Development Steering Committee) ซึ่งประกอบไปด้ วย ตัวแทน ผู้บริ หารจากสายงานต่างๆ โดยมีหวั หน้ าคณะผู้บริ หารด้ านเทคโนโลยี เป็ นประธานเพื่อพิจารณาว่า แนวคิด ดังกล่าวสมควรนาไปใช้ งาน หรื อพัฒนาต่อยอดเป็ นสินค้ าและ/หรื อบริ การของเอไอเอสต่อไปหรื อไม่ สาหรับ ศูนย์การศึกษาวิจยั และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งเป็ นแกนกลางของกรอบการดาเนินงานนัน้ นอกจากจะทาหน้ าที่ศึกษา ความเป็ นไปได้ และทดสอบ/ทดลองนวัตกรรมที่มีการคิดค้ นขึ ้นมาแล้ ว ยังถูกกาหนดให้ เป็ นศูนย์รวมของการสร้ างและส่งเสริ ม นวัตกรรมขององค์ กร โดยการทางานของศูนย์ การศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรม จะประกอบไปด้ วย คณะทางานที่ มาจาก สายงานต่างๆ เช่น วิศวกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ การตลาด และการบริ การลูกค้ า เป็ นต้ น และใช้ หลักการทางานแบบ หน่วยงานเสมือนจริ ง กล่าวคือ พนักงานจะรวมกลุ่มกันและสร้ างทีมงานขึน้ มา โดยมีรูปแบบการทางานร่ วมกันเสมือนเป็ น หน่วยงานหนึ่งในองค์กร โดยสมาชิกแต่ละท่านก็ยงั คงมีหน้ าที่ รับผิดชอบหลักตามหน่วยงานที่สงั กัดอยู่เช่นเดิม แต่จะมาร่ วมกัน ศึกษา ทดลอง ในเรื่ องที่เกี่ยวกับนวัตกรรมด้ านต่างๆ ตามที่แต่ละคณะทางานจะได้ รับมอบหมาย และจะเรี ยกแต่ละคณะทางานนี ้ ว่า Lab ปั จจุบนั นี ภายใต้ ศนู ย์การศึกษาวิจยั และพัฒนานวัตกรรม มี Lab ทังหมดดั ้ งนีั ้ 1. เทคโนโลยีสอื่ สารไร้ สาย 2. โครงข่ายโทรคมนาคม 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การเกษตรอัจฉริ ยะ 5. บ้ านอัจฉริ ยะ 6. ระบบการศึกษาอัจฉริ ยะ 7. ระบบการแพทย์และสุขภาพอัจฉริ ยะ 8. ระบบขนส่งอัจฉริ ยะ 9. พลังงานอัจฉริ ยะ 10. ธุรกิจค้ าปลีกอัจฉริ ยะ โดยนอกจาก 10 Labs ดังกล่าว ซึง่ จะอยู่ในรู ปของนวัตกรรมด้ านเทคโนโลยีใหม่ หรื อ นวัตกรรมด้ านสินค้ าและบริ การ แล้ ว ศูนย์การศึกษาวิจยั และพัฒนานวัตกรรมยังให้ การสนับสนุนการสร้ างนวัตกรรมด้ านกระบวนการทางานใหม่อีกด้ วย โดยจะมอง เป็ นรายโครงการ ซึง่ อาจจะไม่ได้ ถกู จัดอยูใ่ น 10 Labs ข้ างต้ น ตัวอย่างนวัตกรรม 1. นวัตกรรมทางด้ านสินค้ าและบริการ เพื่อนามาให้ บริ การและสร้ างฐานรายได้ ใหม่ให้ กบั เอไอเอส ชื่อโครงการ : Digital Agriculture Platform Phase I คาอธิบาย : การสร้ างระบบทีเ่ ป็ นตัวกลางการเชื่อมต่อระหว่างคนในเมืองกับเกษตรกร เพื่อการ ขายสินค้ าการเกษตร รวมถึงการสนับสนุนเกษตรประณีต นอกจากนี ้ ยังได้ มกี ารนา ระบบ IOT มาใช้ เพื่อเป็ นการสร้ างพื ้นฐานความเข้ าใจเรื่ องเทคโนโลยี Internet Of Things ให้ กบั ทังผู ้ ้ พฒ ั นาโครงการและผู้ใช้ บริ การ งบประมาณ : 2 ล้ านบาท (ส่วนของปี พ.ศ. 2559) สถานะโครงการ : อยูใ่ นช่​่วงดาเนินการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 29


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2. นวัตกรรมที่เป็ นเทคโนโลยีใหม่ เป็ นการได้ มาซึง่ เทคโนโลยีใหม่เพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้ บริ การที่มีการ ผนวกกลยุทธ์ ทางด้ านการสร้ างสรรค์นวัตกรรมที่เป็ นมิตรสิ่งแวดล้ อมของเอไอเอสเข้ าไปด้ วย โดยเทคโนโลยีใหม่นี ้ สามารถทดแทนเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิม ซึ่งนอกจากจะช่วยให้ เอไอเอสสามารถลดต้ นทุนการดาเนิน งานและ สร้ างฐาน รายได้ จากการให้ บริ การในรูปแบบใหม่แล้ ว ยังสร้ างความสามารถในการแข่งขันใหม่ๆ ให้ กบั เอไอเอส ชื่อโครงการ คาอธิบาย

: :

งบประมาณ สถานะโครงการ

: :

SQream, fast SQL database to reduce HW footprint ศึกษาและพัฒนารูปแบบการนาเทคโนโลยีใหม่ มาใช้ กบั งานฐานข้ อมูล ที่ให้ ความ รวดเร็วสูงขึ ้น ลดความต้ องการของอุปกรณ์และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อมมากขึ ้น เพื่อ เพิ่ม ความสามารถให้ การดาเนินงานที่เกี่ยวกับฐานข้ อมูลซึง่ มีประมาณมาก ด้ วยการ ใช้ ต้นทุนที่ตา่ ลง 4.5 ล้ านบาท (ส่วนของปี พ.ศ. 2559) อยูใ่ นช่​่วงดาเนินการ

3. นวัตกรรมที่เป็ นการปรับปรุ งและพัฒนากระบวนการทางานใหม่ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ช่วยลดระยะเวลาการ ดาเนินงานและต้ นทุนการดาเนินงาน และสามารถนามาทดแทนกระบวนการของเดิมที่มีอยูไ่ ด้ รวมทังสามารถสร้ ้ าง ฐานรายได้ ใหม่ในการให้ บริ การ หรื อสร้ างความสามารถในการแข่งขันรูปแบบใหม่ให้ กบั เอไอเอส ชื่อโครงการ คาอธิบาย

: :

งบประมาณ สถานะโครงการ

: :

Equinox App Server เป็ นการสร้ าง Software Platform ที่เป็ นตัวกลางช่วยแก้ ปัญหาความซับซ้ อนและการ เข้ ากันไม่ได้ ในการเชื่ อมต่อโปรแกรมต่างๆ เข้ ากับระบบโทรคมนาคม ช่วยให้ การ พัฒนา ซอฟต์แวร์ แอพพลิเคชัน่ ทาได้ รวดเร็ วยิ่งขึ ้น 40 ล้ านบาท (ส่วนของปี พ.ศ. 2559) อยูใ่ นช่​่วงดาเนินการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 30


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การสร้ างความร่ วมมือกับหน่ วยงานภายนอก

ถึงแม้ ว่าเอไอเอสจะมีความเชี่ยวชาญในเรื่ องเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมและมีพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถในด้ าน ต่างๆ มากมาย แต่ก็ยงั อยูใ่ นระดับของผู้ใช้ เทคโนโลยี และจากัดอยูแ่ ค่ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ น หลัก ดังนัน้ เพื่อเติมเต็มความสามารถทังในด้ ้ านการสร้ างนวัตกรรม และการขยายความรู้ ออกไปสู่อตุ สาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เอไอเอสจึงให้ ความสาคัญต่อการสร้ างนวัตกรรมผ่านความร่วมมือกับพันธมิตรในหลากหลายรูปแบบ 1. การร่ วมมือกับ พันธมิตรทางธุ รกิจ ที่มีความเชี่ยวชาญ ซึ่งทาให้ เอไอเอสสามารถเข้ าถึง บุคลากร นักวิจัย และ เทคโนโลยีใหม่ๆ ของพันธมิตร รวมทังได้ ้ ประโยชน์จากความสามารถในการทาวิจยั และพัฒนาขันสู ้ งของพันธมิตร โดย ไม่ก่อให้ เกิดต้ นทุนการดาเนินงานที่สงู ขณะเดียวกัน พันธมิตรก็จะได้ ประโยชน์จากการรับทราบมุมมองใหม่ๆ และ ความคิดสร้ างสรรค์ในมุมของผู้ให้ บริ การด้ านดิจิทลั ไลฟ์ จากเอไอเอส เพื่อนาไปต่อยอดแนวทางการดาเนินธุรกิจและ พัฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องพั น ธมิ ต ร รวมทั ง้ พั น ธมิ ต รสามารถน าผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ดั ง กล่ าวมาทดลองใช้ งานใน สภาพแวดล้ อมจริ งกับเอไอเอสและลูกค้ าของเอไอเอสได้ ซึ่งจะช่วยให้ พนั ธมิตรสามารถนาไปขยายผลกับลูกค้ ารายอื่น ของพันธมิตรต่อไป ยกตัวอย่างเช่น โครงการความร่ ว มมื อศูนย์ นวัตกรรมร่ วมกับหัวเหว่ย ผู้ใ ห้ บริ การสื่อสารและ เทคโนโลยีโทรคมนาคมชันน ้ า ในชื่อโครงการว่า Joint Innovation Center หรื อ JIC ที่เริ่ มมาตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2555 ในส่วน ของเทคโนโลยีสอื่ สารไร้ สาย (Mobile Innovation Center: MIC) ซึง่ ตัวอย่างของความสาเร็ จที่ได้ เคยกล่าวไปแล้ วเมื่อปี ที่ ผ่านมา คือ การพัฒนานวัตกรรม “3G 2100MHz 6 Sectors” ที่ถกู นามาใช้ งานจริ งในการรองรับปริ มาณการใช้ งาน ดาต้ าของลูกค้ าที่เพิ่มขึ ้น โดยที่เอไอเอสไม่จาเป็ นต้ องเพิ่มความถี่หรื อจานวนสถานีฐาน ทาให้ เกิดการประหยัดต้ นทุนการ ดาเนินงาน ต่อมา ในปี พ.ศ. 2558 เอไอเอสและหัวเหว่ย ได้ ขยายความร่ วมมือไปครอบคลุมถึง เทคโนโลยีโครงข่าย (Network Innovation Center: NIC) เทคโนโลยีด้านไอซีที และแอพพลิเคชั่น (Application Innovation Center: APIC) รวมเป็ น 3 แกนหลักของความร่ วมมือ โดยตัวอย่างโครงการที่อยู่ในช่วงของการศึกษาทดลอง เช่น โครงการ พัฒนา เทคโนโลยีการใช้ งานอุปกรณ์เซิร์ฟเวอร์ สาหรับโครงข่ายหลักที่มีประสิทธิภาพสูงและมีความเรี ยบง่าย เป็ นต้ น 2. การร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยต่ างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ ในอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวเนื่องกันและอุตสาหกรรมอื่นๆ นอกเหนือจากโทรคมนาคม ซึง่ เอไอเอสไม่มีความถนัด โดยเอไอเอสได้ ประโยชน์จาก การนาความรู้ มาใช้ ต่อยอดในการพัฒนานวัตกรรมสินค้ าและบริ การใหม่ๆ เพื่อขยายฐานลูกค้ าไปสูอ่ ตุ สาหกรรมอื่นๆ สร้ างฐานรายได้ ใหม่ รวมทังสร้ ้ างการเชื่อมต่อระหว่างบุคลากรและนักศึกษาจากมหาวิยาลัยและสถาบันวิจยั ดังกล่าว ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย ก็จะได้ ประโยชน์จากการนางานวิจัยที่ดาเนินการอยู่มาพัฒนาให้ เกิดเป็ น ธุรกิจจริ ง หรื อได้ รับงบประมาณสนับสนุนงานวิจยั และข้ อมูลที่สาคัญต่างๆ จากเอไอเอส เป็ นต้ น ทาให้ งานวิจยั ดังกล่าว ได้ รับการยอมรับในเชิงปฏิบตั ิและเป็ นรู ปธรรมมากขึ ้น ยกตัวอย่างเช่น โครงการความร่ วมมือกับสถาบัน Knowledge Exchange (KX) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้ า ธนบุรี ชื่อโครงการ “Internet Of Things for Farm” ส่วนที่ 1 | หน้ า 31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การดาเนินกิจกรรมภายในองค์ กรเพื่อส่ งเสริมการเป็ นองค์ กรแห่ งนวัตกรรม ในปี 2559 เอไอเอสได้ ดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี ้ เพื่อกระตุ้นให้ พนักงานเกิดความคิดสร้ างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อ ยกระดับประสิทธิภาพการทางานและต้ นทุนการดาเนินงาน และต่อยอดสูก่ ารพัฒนาสินค้ าและบริ การใหม่ๆ ให้ แก่องค์กร 1. นิทรรศการนวัตกรรม “InnoLympic” กิจกรรมที่เปิ ดพืน้ ที่ให้ พนักงานเอไอเอสจากทุกภาคส่วนได้ นาผลงานด้ าน นวัตกรรมของตนเอง กลุม่ เพื่อน หรื อสายงาน มาจัดแสดง และสร้ างแรงบันดาลใจให้ กับพนักงานรายอื่นๆ มีการเปิ ด โอกาสให้ พนักงานสามารถแลกเปลี่ยนแนวคิด ความรู้ และเชื่ อมต่อนวัตกรรมที่แต่ละหน่วยงานได้ พฒ ั นาขึน้ มาเข้ า ด้ วยกันเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพมากขึ ้น และเกิดการเชื่อมโยงของพนักงานจากแต่ละสายงาน นอกจากนี ้ ยังได้ รับเกียรติ จากผู้บริ หาร พนักงานตัวอย่าง และผู้เชี่ยวชาญภายนอกองค์กรในการบรรยายหัวข้ อที่นา่ สนใจในเชิงนวัตกรรมที่จะช่วย กระตุ้นให้ พนักงานกล้ าที่จะนาเสนอไอเดี ยใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ของตนเองและองค์กรได้ โดยนิทรรศการนวัตกรรม InnoLympic จัดขึ ้นเป็ นระยะเวลา 2 วัน และมีพนักงานเข้ าร่ วมงานกว่า 1,000 คน รวมทังได้ ้ รับเสียงโหวตให้ มีการจัด ขึ ้นอีก โดยหมุนเวียนสถานที่จดั งานไปตามสานักงานส่วนภูมิภาคด้ วย 2. การจัดกิจกรรมสัมมนาย่ อย (InnSpire Talk) เป็ นการนาเรื่ องราวทางเทคโนโลยีนวัตกรรมที่อยู่ในความสนใจ มา นาเสนอผ่านการบรรยายกลุม่ ย่อย เพื่อให้ พนักงานรับทราบ ผ่านผู้บรรยายที่เป็ นพนักงานของเอไอเอส และสร้ างเวทีให้ เกิดการปฏิสมั พันธ์กนั อันจะนาไปสูก่ ารรวมกลุม่ สร้ างสรรค์โครงการใหม่ๆ โดยกิจกรรมนี ้ถูกจัดขึ ้นเป็ นประจาทุกเดือนใน แต่ละครัง้ มีพนักงานผู้สนใจเข้ าร่วมประมาณ 50-150 คน

ส่วนที่ 1 | หน้ า 32


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

3. ปั จจัยความเสี่ยง เอไอเอสให้ ความสาคัญกับการมีระบบบริ หารจัดการความเสี่ยงที่ดี เพื่อให้ สามารถดาเนินงานต่อไปได้ ในทุกสภาวการณ์ โดยกาหนดให้ มีคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง ซึ่งมีประธานกรรมการบริ หาร เป็ นประธาน และผู้บริ หารระดับสูงจากแต่ละ สายงานเป็ นกรรมการ ได้ มีการประชุมร่วมกันทุกไตรมาส เพื่อพิจารณาประเด็นความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ ้น ซึง่ อาจส่งผลกระทบอย่าง มีนยั สาคัญกับการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรื อการดารงอยู่ของเอไอเอสและบริ ษัทในเครื อ การกาหนดมาตรการควบคุมและ บริ หารจัดการความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ อันจะเป็ นการสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ผู้ถือหุ้นและผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย และ การทบทวนประเด็นความเสี่ยงของเอไอเอส โดยได้ นาเสนอผลการบริ หารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อรับทราบในทุก ไตรมาส ทังนี ้ ้รายละเอียดเพิ่มเติมเรื่ องการบริ หารความเสี่ยงของเอไอเอส ปรากฎอยูใ่ นหัวข้ อ “การบริ หารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ส่วนที่ 2 หน้ า 38-40 โดยในปี 2559 มีปัจจัยความเสีย่ งที่อาจส่งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญ ดังนี ้ 1. ความเสี่ยงด้ านกฎ ระเบียบ และข้ อบังคับ 1.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับของหน่ วยงานกากับดูแล เอไอเอสประกอบกิจการ ภายใต้ การกากับดูแลของคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิ จการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึง่ กสทช. ในฐานะองค์กรผู้กากับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม มีอานาจตามกฎหมายใน การออกกฎ ระเบียบ หรื อข้ อบังคับเพื่อกากับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคมของผู้ได้ รับใบอนุญาต ซึ่งการออกกฎ ระเบียบ หรื อข้ อบังคับในอนาคตของ กสทช. เช่น การกาหนดโครงสร้ างและอัตราค่าบริ การ หรื อการกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้บริ โภค อาจทาให้ ความสามารถในการทากาไรของบริ ษัทลดลง และ/หรื อ ต้ นทุนในการให้ บริ การของ บริ ษัทสูงขึ ้น อย่างไรก็ตาม เอไอเอสมีสิทธิที่จะฟ้ องร้ องให้ หน่วยงานผู้ออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ เพิกถอนการ ประกาศใช้ ตลอดจนเรี ยกร้ องค่าเสียหายจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องได้ ในกรณีที่บริ ษัทมีความเห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/ หรื อข้ อบังคับนัน้ ๆ กระทบสิทธิ ของเอไอเอส หรื อเอไอเอสได้ รับการปฏิบัติอย่างไม่เป็ นธรรม นอกจากนี ้ ในกรณีที่ เอไอเอสมี ความเห็ นว่า ร่ างกฎหมาย กฎ ระเบี ย บ และ/หรื อ ข้ อ บัง คับ ที่จ ะประกาศเพื่ อใช้ บัง คับในอนาคตโดยหน่ว ยงานที่เ กี่ ยวข้ อ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กสทช. เอไอเอสในฐานะผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมถือเป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียโดยตรง ย่อมจะได้ รับเชิญให้ ร่วม แสดงความคิดเห็นก่อนการออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ ดังนัน้ เอไอเอสจะใช้ โอกาสดังกล่าวแสดงความเห็น เสนอแนะ และ/หรื อ คัดค้ าน หากการออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับที่จะส่งผลกระทบต่อการประกอบกิจการของ บริ ษัทอย่างร้ ายแรง หรื อหากการออกกฎ ระเบียบ และ/หรื อ ข้ อบังคับ กระทาไปโดยไม่ชอบด้ วยกฎหมาย 1.2 ข้ อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) (1) บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) (เอไอเอส) กับ บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 9/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการสานักระงับ ข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม เรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มจานวน 31,463 ล้ านบาท โดยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้ มีมติเป็ นเอกฉันท์ชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมด ้ โดยให้ เหตุผลสรุ ปได้ ว่า เอไอเอสได้ ชาระหนี ้โดยชอบด้ วยกฎหมายแล้ วจึงไม่เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา ไม่ต้องชาระเงินค่าผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ให้ แก่ บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ดังนัน้ ทีโอทีจึงได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ข้ าดดังกล่าวต่อศาล ปกครองกลาง ซึง่ ต่อมาในวันที่ 11 สิงหาคม 2559 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาร้ องของทีโอที โดยศาลได้ ให้ เหตุผลสรุ ป ได้ ว่า ไม่มีกรณีที่ปรากฎต่อศาลว่าการยอมรับหรื อการบังคับตามคาชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการเป็ นการขัดต่อความสงบ ส่วนที่ 1 | หน้ า 33


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

เรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน จึงไม่มีเหตุที่ศาลจะมีคาพิพากษาให้ เพิกถอนคาชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ และ ทีโอทีได้ ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ซึง่ กระบวนการพิจารณาอาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากเอไอเอสเป็ นฝ่ ายแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ทีโอทีเรี ยกร้ อง แต่อย่างไรก็ตามผู้ บริ หารเชื่อว่าผลของคดี น่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเงินส่วนแบ่งรายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่บริ ษัทได้ นาส่งแล้ วตาม ซึง่ คณะอนุญาโตตุลาการได้ พิจารณาและมีมติเอกฉันท์ยกคาเสนอก่อนหน้ านี ้ (2) บริ ษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่ อยของเอไอเอส กับบริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กสท ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 3/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงาน ศาลยุติธรรม เพื่อเรี ยกร้ องให้ ดีพีซี ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยของเอไอเอส ชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ เพิ่มเติมอีกจานวน 2,449 ล้ านบาท ตามสัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ พร้ อมเรี ยกเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือนของจานวนเงิน ที่ค้างชาระในแต่ละปี นับตังแต่ ้ วนั ผิดนัดจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ ้นรวมเป็ นเงินทังหมดจ ้ านวน 3,410 ล้ านบาท ซึง่ จานวนเงินส่วนแบ่ง รายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่ดีพีซีได้ นาส่งตังแต่ ้ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และได้ นามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ นการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว และ มีการปฏิบตั ิเช่นเดียวกันทังอุ ้ ตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยในวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้ มีคาชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททัง้ หมดของกสท โดยให้ เหตุผลสรุปได้ วา่ การชาระหนี ้เดิมเสร็ จสิ ้น และระงับไปแล้ ว กสท ไม่อาจกลับมาเรี ยกร้ องส่วนที่อ้างว่าขาดไปได้ อีก ดีพีซี จึงไม่เป็ น ผู้ผิดสัญญา ดังนัน้ กสท จึงได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางในเวลาต่อมา เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท ที่ฟ้องขอให้ เพิกถอนคาชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการที่วินิจฉัยให้ ยกคาร้ องของ กสท โดยศาลได้ ให้ เหตุผลว่า กสท เป็ นผู้มีหนังสือแจ้ งความประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การชาระเงิน ส่วนแบ่งตามมติ คณะรัฐมนตรี และได้ ยอมรับเงินส่วนแบ่งรายได้ คงเหลือพร้ อมกับการคืนหนังสือค ้าประกันให้ แก่ดีพีซีมาตลอด โดยมิได้ ทกั ท้ วงแต่อย่างใด คาวินิจฉัยของคณะอนุญาโตตุลาการจึงเป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายและข้ อสัญญา ขณะนี ้ คดี ดังกล่าวอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด ทังนี ้ ้ หากดีพีซีแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ กสท เรี ยกร้ อง แต่อย่างไรก็ ตาม ผู้บริ หารเชื่อว่าผลของคดีน่าจะคลี่คลาย ไปในทางที่ดี เนื่องจากเงินส่วนแบ่งรายได้ ตามที่ กสท เรี ยกร้ องดังกล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่บริ ษัทได้ นาส่งไป แล้ วตามซึง่ คณะอนุญาโตตุลาการได้ พิจารณาและมีมติยกคาเสนอ รวมถึงศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท ก่อนหน้ านี ้ 1.3 ข้ อพิพาทกรณีเงินผลประโยชน์ ตอนแทนจากรายได้ ค่าเชื่อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติการประกอบการกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิ จการ โทรคมนาคมแห่งชาติว่าด้ วยการใช้ และเชื่อมต่อโครงข่ ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ได้ กาหนดให้ เอไอเอสมีหน้ าที่ทาสัญญาการ เชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้รับใบอนุญาตรายอื่น โดยเอไอเอสเสนอจะนาส่งเงินผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคม ซึ่งคานวณจากรายได้ สุทธิ ตามอัตราและวิธีคิดคานวณของเอไอเอสให้ แก่ทีโอที แต่ทีโอทีต้องการให้ เอไอเอสชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่ เอไอเอสได้ รับทังจ ้ านวนตามอัตราร้ อยละที่กาหนดไว้ ใน สัญญาอนุญาตฯ โดยมิให้ เอไอเอสนาค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่ถกู ผู้ประกอบการรายอื่นเรี ยกเก็บมาหักออกก่อน ดังนัน้ เมื่อ วัน ที่ 26 มกราคม 2554 ที โอทีจึ งได้ มีห นัง สือแจ้ ง ให้ เอไอเอสชาระเงิ น ส่วนแบ่งรายได้ จ ากค่าเชื่ อ มต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมที่เอไอเอสได้ รับทังจ ้ านวนตามอัตราร้ อยละที่กาหนดไว้ ในสัญญาอนุญาตฯ ของปี ดาเนินการที่ 17-20 เป็ น ส่วนที่ 1 | หน้ า 34


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

เงินรวม 17,803 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน แต่เอไอเอสไม่เห็นด้ วยจึงได้ มีหนังสือโต้ แย้ งคัดค้ านไปยัง ทีโอที รวมทังได้ ้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 19/2554 เพื่อให้ มีคา ชี ้ขาดว่าทีโอทีไม่มีสทิ ธิเรี ยกร้ องเงินผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว ต่อมา ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2557 ทีโอที ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 55/2557 เรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระเงิน ส่วนแบ่งรายได้ จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของปี ดาเนินการที่ 21-22 เป็ นเงินรวม 9,984 ล้ านบาท และต่อมาเมื่อ ทีโอที ได้ มีหนังสือทวงถามให้ เอไอเอสชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของปี ดาเนินการที่ 23-25 เป็ นเงิน รวม 8,368 ล้ านบาท เอไอเอสจึงได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 83/2559 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2559 พร้ อมกับยื่นคาร้ อง ให้ รวมการพิจารณาข้ อพิพาททังสามเข้ ้ าด้ วยกัน ขณะนี ้อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากเอไอเอสแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ ทีโอที เรี ยกร้ อง แต่อย่างไรก็ตาม ผู้บริ หารเชื่อว่าคาวินจิ ฉัยชี ้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเอไอเอสได้ ปฏิบตั ิตามกฎหมายอย่างถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว 1.4 ข้ อพิพาทระหว่ างบริษัท ดิจติ อล โฟน จากัด (ดีพีซ)ี ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อยของเอไอเอส กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กรณีการปรับลดอัตราค่ าใช้ โครงข่ ายร่ วม (Roaming) ระหว่ างดีพีซี - บริษัท ดีพีซีได้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 27/2553 เรี ยกร้ อง ให้ กสท เพิ กถอนการกล่าวหาว่า ดีพีซี เป็ นฝ่ ายผิด สัญ ญาเนื่องจากการทาสัญญาการใช้ โครงข่ายระหว่าง เอไอเอส - ดีพี ซี ไม่ได้ รั บความยินยอมจาก กสท จึ งจะแจ้ งเลิกสัญญากับ ดีพีซี พร้ อมกันนีย้ ัง เรี ยกร้ องให้ กสท ชดใช้ ค่าเสียหายเป็ นเงิ น 50 ล้ านบาทด้ วย ต่อ มา กสท จึ ง ได้ เ สนอข้ อ พิ พาทต่อ สานักระงับ ข้ อพิ พ าท สถาบัน อนุญ าโตตุลาการเป็ นข้ อ พิ พาทหมายเลขด าที่ 62/2553 เรี ยกร้ องให้ ดีพีซี ชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการที่ดีพีซีปรับลดอัตราอัตราค่าใช้ โครงข่ายร่ วม (Roaming) ระหว่างดีพีซี – เอไอเอส จาก 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2550 31 ธันวาคม 2551 โดยมิได้ รับอนุมตั ิจาก กสท ก่อน โดยมูลฟ้ องคิดเป็ นเงินรวมทังสิ ้ ้น 2,000 ล้ านบาท และเบี ้ยปรับอีกในอัตรา ร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน นับแต่เดือนเมษายน 2553 เป็ นต้ นไป นอกจากนี ้ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 กสท ได้ เสนอข้ อพิพาทต่อ สานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 89/2554 เพิ่มเติมในส่วนปี ดาเนินการที่ 12 เป็ นเงินอีก จานวน 113,211,582.68 บาท ซึ่งภายหลังสถาบันอนุญาโตตุลาการได้ มีค าสัง่ ให้ ร วมพิ จารณาทัง้ 3 ข้ อ พิพาทเข้ าด้ ว ยกัน โดยขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากดีพีซีแพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ กสท เรี ยกร้ อง แต่อย่างไรก็ตาม ผู้บริ หารเชื่อว่าคาวินิจฉัยชี ้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี เนื่องจากดีพีซีได้ มีหนังสือแจ้ งการใช้ อตั ราค่า ใช้ โครงข่ายร่ วม ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ต่อ กสท นับตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม 2549 เรื่ อยมา และ กสท ได้ มีหนังสือตอบอนุมตั ินบั แล้ วตังแต่ ้ เวลาดังกล่าวจนถึง เดือนมีนาคม 2550 รวมทังได้ ้ มีหนังสืออนุมตั ิตงแต่ ั ้ เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม 2552 ด้ วย ซึ่งถึงแม้ ว่าในช่วงระยะเวลาที่เป็ น ข้ อพิพาทนัน้ กสท ก็มิได้ มีหนังสือตอบปฏิเสธหรื อคัดค้ านมายังดีพีซีแต่อย่างใด แต่อตั ราค่าใช้ โครงข่ายร่ วม ดังกล่าวเป็ นอัตรา ที่เหมาะสมตามราคาตลาด ณ ขณะนัน้ ซึง่ ได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติแล้ ว

ส่วนที่ 1 | หน้ า 35


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

1.5 ข้ อพิพาทระหว่ างบริษัท ดิจติ อล โฟน จากัด (ดีพีซ)ี ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อยของเอไอเอส กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กรณีกรรมสิทธิ์เสาอากาศ/เสาสูง และอุปกรณ์ แหล่ งจ่ ายกาลังงาน กสท ได้ เ สนอข้ อ พิ พ าทต่อ ส านัก ระงับ ข้ อ พิ พ าท สถาบัน อนุญ าโตตุลาการเป็ นข้ อ พิ พ าทหมายเลขด าที่ 8/2552 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จานวน 3,343 ต้ น พร้ อม อุปกรณ์ แหล่งจ่ายกาลังงาน (Power Supply) จานวน 2,653 เครื่ อง ตามสัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลา่ ร์ หากไม่สามารถส่งมอบได้ ให้ ชดใช้ เงินจานวน 2,230 ล้ านบาท ซึ่งดีพีซีเห็นว่าเสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้ อมอุปกรณ์ แหล่งจ่ายกาลังงาน (Power Supply) มิใช่เครื่ องหรื ออุปกรณ์ตามที่กาหนดให้ ต้องส่งมอบตามที่ระบุไว้ ในสัญญาซึง่ กระทาระหว่าง กัน โดยคณะอนุญาโตตุลาการได้ มีมติเป็ นเอกฉันท์วินิจฉัยชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมดของ ้ กสท ในเวลาต่อมา โดยให้ เหตุผลสรุปได้ วา่ สิทธิของ กสท ในอันจะเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีสง่ มอบทรัพย์สนิ อันเป็ นวัตถุแห่งสัญญานัน้ ต้ องกระทาภายหลังวัน สิ ้นสุดสัญญาไปแล้ ว 60 วัน ดังนัน้ การที่ กสท ทาคาเสนอข้ อพิพาทจึงนับว่าเป็ นการใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องก่อนครบกาหนดระยะเวลาที่ อาจให้ สทิ ธิตามสัญญาได้ ดังนัน้ กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางในวันที่ 25 ตุลาคม 2555 และขณะนี ้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาซึง่ กระบวนการพิจารณาซึง่ อาจใช้ เวลาหลายปี ทังนี ้ ้ หากดีพีซีเป็ นผู้แพ้ คดี อาจต้ องชาระเงินตามที่ กสท เรี ยกร้ อง อย่างไรก็ตามจากข้ อโต้ แย้ งของ ดีพีซี ตามที่กล่าวไว้ ข้ างต้ น ผู้บริ หารจึงเชื่อว่าผลของคดีนา่ จะคลีค่ ลายไปในทางที่ดี 1.6 ข้ อพิพาทกรณีผ้ ใู ช้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่โอนย้ ายผู้ให้ บริการจากบริษัท ไปยัง บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อยของเอไอเอส ในวันที่ 25 กันยายน 2557 บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที ) ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็ น ข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 80/2557 เรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระค่าเสียหายสาหรับการโอนย้ ายที่เกิดขึ ้น ในระหว่างเดือนพฤษภาคม 2556 ถึงเดือนมิถนุ ายน 2557 จานวน 9,126 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี โดยอ้ างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีที่เอไอเอสดาเนินการโอนย้ ายผู้ใช้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในระบบ 900 เมกะเฮิรตซ์ จากเอไอเอสไปยังระบบ 2100 เมกะเฮิรตซ์ ที่ให้ บริ การโดยเอดับ บลิวเอ็น เป็ นการผิดสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการระหว่าง ทีโอที กับ เอไอเอส และต่อมาในวันที่ 25 มีนาคม 2559 ทีโอที ได้ ยื่นคาร้ องขอแก้ ไขจานวนเงินค่าเสียหายใหม่โดยระบุวา่ มีความเสียหาย จากการกระทาของเอไอเอสนับตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคม 2556 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2558 อันเป็ นวันสิ ้นสุดสัญญาอนุญาตรวมเป็ น เงินทังสิ ้ ้น 32,813 ล้ านบาท ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขันตอนของอนุ ้ ญาโตตุลาการ โดยผู้บริ หารเชื่อว่าผลของข้ อพิพาทดังกล่าวไม่น่าจะมี ผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่องบการเงิน เพราะเอไอเอสได้ ปฏิบตั ิถกู ต้ องตามข้ อสัญญาที่เกี่ยวข้ องทุกประการแล้ ว 1.7 ข้ อพิพาทกรณีบริษัทไม่ ดาเนินการจัดเก็บข้ อมูลของผู้ใช้ บริการแบบชาระค่ าบริการล่ วงหน้ า ตามที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้ อาศัยอานาจ ตามในประกาศ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรร และบริ การเลขหมายโทรคมนาคมฯ มีคาสัง่ ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มี การให้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ าทุกรายรวมทังเอไอเอสต้ ้ องจัดเก็บข้ อมูลของผู้ใช้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ า ทุกรายให้ ครบถ้ วนเสร็ จสิ ้นภายในระยะที่กาหนดไว้ และต่อมาได้ มีคาสัง่ กาหนดค่าปรับทางปกครองจานวนวันละ 80,000 บาท ต่อเอไอเอสและผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่รายใหญ่ในตลาดอีก 2 ราย เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 6 กรกฎาคม 2555 จนกว่าจะปฏิบตั ิตาม คาสัง่ อย่างครบถ้ วน เนื่องจากพิจารณาเห็นว่าผู้ประกอบการทัง้ 3 รายดังกล่าว ยังมิได้ ปฏิบตั ิตามคาสัง่ อย่างครบถ้ วน ซึ่ง เอไอเอส ได้ ยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางเพื่อให้ มีการเพิกถอนคาสัง่ ทัง้ 2 ฉบับ เป็ นคดีหมายเลขดาที่ 1858/2554 และ หมายเลขดาที่ 252/2556 ตามลาดับ ส่วนที่ 1 | หน้ า 36


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ต่อมาในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ กสทช. กาหนดค่าปรับ ทางปกครอง เนื่องจากเห็นว่าการบังคับให้ ผ้ ปู ระกอบการต้ องจัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การย้ อนหลัง ซึ่งผู้ใช้ บริ การจะต้ องเปิ ดเผยข้ อมูล ส่วนบุคคล โดย กสทช. มิได้ ออกมาตรการบังคับให้ ระงับหรื อยกเลิกบริ ก ารได้ อีกทังมี ้ จานวนของผู้ใช้ บริ การเป็ นจานวนมาก ซึ่งเป็ นการยากที่จะกระทาได้ หากไม่ได้ รับความร่ วมมือจากผู้ใช้ บริ การ มติและคาสัง่ ดังกล่าวจึงไม่ชอบด้ วยกฎหมาย เพราะเป็ น การใช้ ดลุ ยพินิจในการกากับดูแลเกินขอบเขตความจาเป็ น ก่อให้ เกิดภาระแก่ผ้ ปู ระกอบการเป็ นอย่างมาก กรณีที่ กสทช. อ้ างเรื่ อง ประเด็นเพื่อความมัน่ คงหรื อความปลอดภัยนัน้ มิใช่อานาจหน้ าที่ของ กสทช. โดยในวันที่ 18 ธันวาคม 2558 กสทช. ได้ ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด ซึ่งขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสูงสุด ทัง้ นี ้ หากเอไอเอสแพ้ ค ดี อาจต้ อ งช าระเงิ น ค่ า ปรั บ ทางปกครองจ านวนวัน ละ 80,000 บาท เริ่ ม ตัง้ แต่ วัน ที่ 6 กรกฎาคม 2555 จนกว่าจะปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของ กสทช. โดยครบถ้ วนถูกต้ อง อย่างไรก็ตามผู้บริ หารเชื่อว่าข้ อพิพาทในกรณีนี ้ น่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากที่ผ่านมา กสทช. และผู้ประกอบการทุกรายได้ มีความพยายามร่ วมกันในการจัดเก็บข้ อมูล ของผู้ใช้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ า ให้ เกิดความสะดวกในการปฏิบตั ิมาโดยตลอด ซึ่งล่าสุด กสทช. และผู้ประกอบการ ทุกรายได้ ร่วมกันพัฒนาแอปพลิเคชัน “2 แชะ” ให้ ผ้ ใู ช้ บริ การแบบชาระเงินล่วงหน้ า สามารถขอลงทะเบียนข้ อมูลผู้ใช้ บริ การผ่าน ตัวแทนจาหน่ายเพิ่มเติมจากการจัดเก็บในรูปของการกรอกแบบคาขอลงทะเบียนและสาเนาเอกสารประจาตัว โดยข้ อมูลดังกล่าว จะถูกส่งเข้ าระบบของผู้ให้ บริ การเครื อข่ายโดยตรง แต่อย่างไรก็ตามข้ อมูลของผู้ใช้ บริ การแบบชาระค่าบริ การล่วงหน้ าที่ได้ จดั เก็บอยู่ในขณะนี ้นัน้ อาจมีความไม่ถกู ต้ อง สมบูรณ์ทงหมดตามประกาศของ ั้ กทช. อันเนื่องมาจากตัวแทนจาหน่ายของบริ ษัทที่มีอยู่ทวั่ ประเทศบางรายมิได้ ดาเนินการตาม ขันตอนและวิ ้ ธีการจัดเก็บอย่างเคร่ งครั ด อีกทังโดยข้ ้ อจากัดของแอปพลิเคชัน “2 แชะ” ที่พฒ ั นาขึ ้นมานัน้ ไม่สามารถจาแนก ประเภทของภาพถ่ายบัตรประจาตัวที่ผ้ ูใช้ บริ การถ่ายเพื่อลงใช้ ทะเบียนได้ อย่างแม่นยา รวมทัง้ ผู้ประกอบการยังไม่สามารถ ตรวจสอบประเภทของภาพถ่ายที่ส่งเข้ ามาในระบบได้ ทนั ที ส่งผลให้ ข้อมูลส่วนหนึ่ งที่ได้ รับเข้ ามาในระบบเป็ นข้ อมูลที่ไม่ถูกต้ อง สมบูรณ์ เช่น เป็ นภาพถ่ายอื่นๆ เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ เอไอเอสมีความพยายามที่จะดาเนินการตรวจสอบและป้องกันปั ญหาดังกล่าวทังที ้ ่ เกิดจากตัวบุคลากร และ ระบบแอปพลิเคชัน โดยเอไอเอสได้ พฒ ั นาแอพพลิเคชั่นในการตรวจจับภาพถ่ายแบบออนไลน์ เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้ องของภาพถ่ายให้ ตรงกับภาพถ่ายที่ได้ รับอนุญาตก่อนที่จะบันทึกข้ อมูลลงในระบบ รวมทังได้ ้ ปรับปรุ งวิธีการ ลงทะเบียนสาหรับเอไอเอสช็ อปมาใช้ Smart Card Reader แทนการถ่ายภาพ และได้ ทาการประชาสัมพันธ์ และปรั บเพิ่ม ผลตอบแทนให้ ตวั แทนจาหน่ายเพื่อจูงใจให้ มีการลงทะเบียนด้ วยข้ อมูลที่มีความถูกต้ อง ครบถ้ วนสมบูรณ์ และจะให้ ความร่ วมมือ อย่างเต็มที่กบั สานักงาน กสทช. ที่มีดาริ ในการพัฒนาและปรับปรุงการจัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้นต่อไป 1.8 ข้ อพิพาทกรณีเงินผลประโยชน์ ตอบแทนจากรายได้ จากการให้ บริการเครือข่ ายร่ วม (National Roaming) สืบเนื่องจากข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครัง้ ที่ 7 บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) ตกลงให้ เอไอเอสนาโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ไปให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่นเข้ ามาร่วมใช้ โครงข่ายร่วมได้ โดยเอไอเอส ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ แก่ทีโอทีตามอัตราร้ อยละของสัญญาข้ อ 30 เอไอเอสจึงได้ ตกลงทาสัญญาการใช้ โครงข่าย โทรคมนาคมกับบริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) และเรี ยกเก็บอัตราค่าตอบแทนการใช้ โครงข่ายจาก เอดับบลิวเอ็น ตามที่ตกลงไว้ ในสัญญา และเอไอเอสก็ได้ นารายได้ จากค่าตอบแทนการใช้ บริ การที่เรี ยกเก็บจากเอไอเอส คานวณ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ แก่ทีโอทีตามอัตราร้ อยละที่กาหนดไว้ ในสัญญาอนุญาตฯ ต่อมาทีโอที ได้ มีหนังสือแจ้ งมายังเอไอเอสว่านับตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม 2556 เอไอเอสชาระเงินผลประโยชน์ตอบแทน จากรายได้ จากการให้ บริ การเครื อข่ายร่ วมไม่ครบถ้ วน โดยทีโอทีเห็นว่า เอไอเอสเรี ยกเก็บค่าใช้ เครื อข่ายร่ วมจากเอดับบลิวเอ็นใน อัตราค่าบริ การที่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ในสัญญาการใช้ โครงข่ายโทรคมนาคม โดยที่ เอไอเอสมิได้ แจ้ งให้ ทีโอทีเห็นชอบก่อนเป็ น ส่วนที่ 1 | หน้ า 37


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ลายลักษณ์อกั ษร ทีโอทีจึงให้ บริ ษัทชาระเงินผลประโยชน์เพิ่มเติมจากรายได้ จากการให้ บริ การเครื อข่ายร่ วมให้ แก่ทีโอทีนบั ตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือน มิถนุ ายน 2558 เป็ นเงินจานวน 13,341 ล้ านบาท แต่เอไอเอสไม่เห็นด้ วยและได้ มีหนังสือชีแ้ จง โต้ แย้ งทีโอที โดยเอไอเอสเห็นว่าการที่บริ ษัทเรี ยกเก็บค่าบริ การใช้ โครงข่ายจากเอดับบลิวเอ็น ต่ากว่าอัตราค่าบริ การที่กาหนดไว้ ใน สัญญาการใช้ โครงข่ายเป็ นกรณีที่ เอไอเอสจัดทารายการส่งเสริ มการให้ กับผู้ใช้ บริ ก ารที่ปริ มาณการเข้ ามาใช้ โครงข่ายร่ วมเป็ น จานวนมาก ซึ่งรายการส่งเสริ มการขายในลักษณะที่ให้ แก่ เอดับบลิวเอ็น เอไอเอสก็ได้ แจ้ งให้ แก่ผ้ ใู ช้ บริ การโครงข่ายร่ วมของ เอไอเอสทุกรายที่มีปริ มาณการใช้ ถงึ ตามที่กาหนดไว้ และอัตราค่าบริ การตามรายการส่งเสริ มการขายดังกล่าวเป็ นอัตราค่าบริ การที่ ไม่เกินกว่าอัตราค่าใช้ เครื อข่ายร่วมที่กาหนดไว้ ในข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 7 ดังนัน้ การกาหนดอัตราค่าใช้ เครื อข่าย ร่วมตามรายการส่งเสริ มการขายดังกล่าวจึงไม่ต้องได้ ความเห็นชอบจากทีโอที กรณีนี ้หากทีโอทีนาเรื่ องเข้ าสูก่ ระบวนอนุญาโตตุลาการ ผู้บริ หารเชื่อว่าจะสามารถโต้ แย้ งได้ เพราะเอไอเอสได้ ปฏิบตั ิ ถูกต้ องตามข้ อสัญญาที่เกี่ยวข้ องทุกประการแล้ ว อีกทัง้ ณ ปั จจุบนั การกากับดูแลในเรื่ องของการกาหนดอัตราค่าบริ การต่างๆ อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของ กสทช. 1.9 ข้ อพิพาทระหว่ างเอไอเอส กับ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) กรณีกรรมสิทธิ์เสาอากาศ/เสาสูง เอไอเอสได้ เสนอข้ อพิพาทต่อสานักระงับข้ อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็ นข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 53/57 เมื่อ วันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ขอให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดว่าเสาอากาศมิใช่ เครื่ องมืออุปกรณ์และทรัพย์สินที่ต้องส่งมอบ ให้ แก่ทีโอที และให้ เอไอเอสเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ ในเสาอากาศและขอให้ ทีโอที คืนเงิ นส่วนแบ่งรายได้ จากการนาเสาไปหา ประโยชน์ที่เอไอเอสชาระไปแล้ วให้ คืน เนื่องจากเอไอเอสเห็นว่าเสาอากาศมิใช่เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการดาเนินกิจการระบบ เซลลูลา่ ร์ 900 ตามสัญญาให้ ดาเนินกิจการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ดังนันจึ ้ งไม่มีหน้ าที่ต้อง ส่งมอบให้ แก่ทีโอที ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขันตอนของอนุ ้ ญาโตตุลาการ โดยผู้บริ หารเชื่อว่าข้ อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไป ในทางที่ดี เนื่องจากเอไอเอสและทีโอทีอยูร่ ะหว่างการเจรจาตกลงดาเนินการทางธุรกิจเป็ นพันธมิตรร่วมกัน 1.10 ข้ อพิพาทกรณีบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) เรียกร้ องให้ เอไอเอสส่ งมอบกรรมสิทธิ์อุปกรณ์ ระบบใน การให้ บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร์ 900 ตามที่ทีโอทีได้ เรี ยกร้ องให้ เอไอเอสส่งมอบกรรมสิทธิ์อุปกรณ์ ระบบในการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร์ 900 ได้ แก่ ระบบ Billing ระบบ Intelligence Network (IN) ระบบบริ การเสริ ม (Value Added Service) ระบบการบริ หาร ความสัมพันธ์ กบั ลูกค้ า (Customer Relation Management) ระบบ Systems Application and Product (SAP) ระบบรับชาระ เงิ น เครื่ องมือและอุปกรณ์ ช่าง ระบบผลิตและควบคุมการใช้ งานบนบัตรเติมเงิ น ระบบบริ การลูกค้ า และการออกใบแจ้ งหนี ้ ติ ด ตามหนี ้ ระบบบริ ห ารจัด การร้ านเทเลวิ ซ และดี ล เลอร์ ระบบการจัด การโครงข่า ย ระบบเก็ บ ฐานข้ อ มูล ลูก ค้ า อุป กรณ์ คอมพิวเตอร์ และซอฟแวร์ บริ การเสริ ม สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน และอะไหล่บารุงรักษา ให้ แก่ทีโอทีตามสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินกิจการ บริ การโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยที โอทีเห็นว่าทรั พย์ สินดังกล่าวทัง้ หมด เป็ นเครื่ องมือและอุปกรณ์ ที่ เอไอเอสจัดหามาไว้ สาหรั บ ดาเนินการระบบ เซลลูลาร์ 900 ซึ่งเอไอเอสมีหน้ าที่ต้องส่งมอบให้ เป็ นกรรมสิทธิ์ แก่ทีโอทีตามสัญญาอนุญาต แต่บริ ษัทเห็นว่า อุปกรณ์ระบบดังกล่าว ตามที่ทีโอทีเรี ยกร้ องมานัน้ มิใช่เครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ในการให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ระบบเซลลูลาร์ 900 ตามที่ระบุไว้ ในสัญญาอนุญาตฯ ที่เอไอเอสจะต้ องส่งมอบให้ แก่ทีโอที โดยเอไอเอสเห็นว่าระบบดังกล่าวเป็ นเครื่ องมือที่บริ ษัทใช้ สนับสนุนในการให้ บริ การให้ แก่ผ้ ใู ช้ บริ การเท่านัน้ ในกรณีหากทีโอทีใช้ สิทธินาข้ อพิพาทเข้ าสู่กระบวนการอนุญาตุลาการ ผู้บริ หารเชื่อว่าข้ อพิพาทดังกล่าวจะสามารถ เจรจาไกล่เกลีย่ ยุติข้อพิพาทดังกล่าวได้ เนื่องจากปั จจุบนั เอไอเอสกับทีโอทีอยูร่ ะหว่างดาเนินการทางธุรกิจเพื่อเป็ นพันธมิตรกัน

ส่วนที่ 1 | หน้ า 38


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

1.11 ข้ อพิพาทกรณีการเรียกร้ องผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มเติมจากการทาข้ อตกลงต่ อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 6 และ 7 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 เอไอเอสได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทหมายเลขดาที่ 78/2558 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานัก ระงับ ข้ อ พิ พ าท ส านัก งานศาลยุติ ธ รรม เพื่ อ มี ค าชี ข้ าดให้ ข้ อ ตกลงต่ อ ท้ า ยสัญ ญาอนุญ าตให้ ด าเนิ น กิ จ การบริ ก าร โทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Cellular Mobile Telephone) ครัง้ ที่ 6 ซึ่งกระทาขึ ้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 และ ครัง้ ที่ 7 ซึ่งกระทาขึ ้น เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 มีผลผูกพันเอไอเอสและบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที ) ให้ ต้องปฏิบตั ิตามจนกว่าสัญญาจะ สิ ้นสุด และเอไอเอสไม่มีหน้ าที่ต้องชาระผลประโยชน์ตอบแทนตามที่ ทีโอที ได้ มีหนังสือลงวันที่ 29 กันยายน 2558 เรื่ องขอให้ ชาระ ผลประโยชน์ตอบแทน แจ้ งมายังเอไอเอสให้ ชาระเงินเพิ่มจานวน 72,036 ล้ านบาท โดยกล่าวอ้ างว่าการทาข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญา ครัง้ ที่ 6 และ 7 เป็ นการแก้ ไขสัญญาในสาระสาคัญทาให้ ทีโอที ได้ ผลประโยชน์ตอบแทนต่ากว่าที่กาหนดในสัญญาหลัก ต่อมาวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 ทีโอที ยื่นคาเสนอข้ อพิพาท คดีเลขที่ 122/2558 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานัก ระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรมเพื่อแก้ ไขจานวนเงินที่เรี ยกร้ องผลประโยชน์ตอบแทนลดลงเป็ น 62,773 ล้ านบาท เนื่องจาก การปรับปรุงอัตราร้ อยละในการคานวณส่วนแบ่งรายได้ ข้ อพิพาทนี ้เป็ นเรื่ องเดียวกับข้ อพิพาทที่ 78/2558 ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยูใ่ นขันตอนของอนุ ้ ญาโตตุลาการ โดยผู้บริ หารของบริ ษัทเชื่อว่าข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาครัง้ ที่ 6 และครัง้ ที่ 7 มีผลผูกพันจนกระทัง่ สิ ้นสุดสัญญาเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 และบริ ษัทได้ ปฎิบตั ิถูกต้ องตามข้ อสัญญา ที่เกี่ ยวข้ องทุกประการแล้ ว อีกทัง้ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ เคยให้ ความเห็นต่อกรณี การแก้ ไขสัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการฯ ระหว่างทีโอที กับบริ ษัท เรื่ องเสร็ จที่ 291/2550 ความตอนหนึ่งว่า “... กระบวนการแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาอันเป็ นนิติ กรรมทางปกครอง สามารถแยกต่างหากออกจากข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทาขึ ้นได้ และข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาต ฯ ที่ทาขึ ้นนันยั ้ งคงมีผลอยูต่ ราบเท่าที่ยงั ไม่มีการเพิกถอนหรื อสิ ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรื อเหตุอื่น...” นอกจากนี ้ ข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาครัง้ ที่ 6 และครัง้ ที่ 7 มิได้ ถกู เพิกถอนหรื อแก้ ไขเพิ่มเติมจนกระทัง่ สิ ้นสุดลงในวันที่ 30 กันยายน 2558 ดังนัน้ ผลของข้ อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดีและไม่นา่ จะมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญ 1.12 ข้ อพิพาทระหว่ างบริ ษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่ อยของเอไอเอส กับ บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) กรณีค่าใช้ โครงข่ ายในระหว่ างดาเนินการตามมาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การใน ระบบ 1800 เมกะเฮิรตซ์ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (กสท) ได้ ยื่นฟ้ องสานักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สานักงาน กสทช.), คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.), คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.), บริ ษัท ทรู มูฟ จากัด (ทรูมฟู ) และ บริ ษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี) ต่อศาลปกครองกลาง เป็ นคดีหมายเลขดาที่ 918/2558 เพื่อให้ ชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการ ใช้ เครื่ องและอุปกรณ์ โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท ช่ว งระยะเวลาคุ้มครองตามประกาศ กสทช. เรื่ อ ง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณีสิ ้นสุดการอนุญาต สัมปทานหรื อสัญญาการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ง คานวณตังแต่ ้ วนั ที่ 16 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2557 เป็ นจานวนเงินดังนี ้ (1) สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 24,117 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี (2) ทรูมฟู ร่วมกับ สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 18,025 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี (3) ดีพีซีร่วมกับ สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 6,083 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 39


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ต่อมาเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558 กสท ได้ ยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางเป็ นคดีหมายเลขดาที่ 1651/2558 เพื่อ เรี ยกร้ องให้ ชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท. ตังแต่ ้ วนั ที่ 16 กันยายน 2557 ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 เพิ่มเติมเป็ นจานวนเงินดังนี ้ (1) สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 6,521 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี (2) ทรูมฟู ร่วมกับ สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 4,991 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อ ปี (3) ดีพีซีร่วมกับ สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 1,635 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมาเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2559 กสท. ได้ ยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางเป็ นคดีหมายเลขดาที่ 741/2559 เพื่อ เรี ยกร้ องให้ ชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท. ตังแต่ ้ วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 (วันสิ ้นสุดมาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ) เพิ่มเติมเป็ นจานวนเงินดังนี ้ (1) สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 2,857 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี (2) ทรูมฟู ร่วมกับ สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 2,184 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อ ปี (3) ดีพีซีร่วมกับ สานักงาน กสทช., กทค. และ กสทช. จานวน 673 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี ขณะนี ้ข้ อพิพาทดังกล่าวอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง โดยผู้บริ หารเชื่อว่า ดีพีซีไม่มีหน้ าที่ ต้ องชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมตามที่ กสท เรี ยกร้ อง เนื่องจากดี พีซีได้ ปฏิบตั ิถกู ต้ องตามประกาศ กสทช. แล้ วทุกประการ ดังนันผลของข้ ้ อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางที่ดีและไม่นา่ จะมี ผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่องบการเงินรวมของกลุม่ เอไอเอส 1.13 ข้ อ พิ พ าทกรณี ก ารน าส่ ง เงิ น รายได้ ใ ห้ แ ก่ กสทช. ตามมาตรการคุ้ ม ครองผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารในระบบ 1800 เมกะเฮิรตซ์ เป็ นการชั่วคราว วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 บริ ษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (ดีพีซี ) ยื่นฟ้ องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ต่อศาลปกครองกลางที่ 1997/2558 เรื่ อง ขอให้ เพิกถอนมติ กทค. ให้ นาส่ง รายได้ ช่วงเยียวยา เนื่ องจากสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิ จการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สานักงาน กสทช.) เรี ยกร้ องให้ ดีพีซีนาส่งเงินรายได้ จากการให้ บริ การในช่วงเยียวยาลูกค้ า ระหว่างวันที่ 16 กันยายน 2556 ถึง วันที่ 17 กรกฎาคม 2557 จานวน 628 ล้ านบาท ในเรื่ องเดียวกันนี ้ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2559 กสทช. และ สานักงาน กสทช. ได้ ยื่นคาฟ้ องต่อศาลปกครองกลางเป็ น คดีหมายเลขดาที่ 1441/2559 ขอให้ เอไอเอสนาส่งรายได้ ช่วงเยียวยา ระหว่างวันที่ 16 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 จานวน 680 ล้ านบาท (รวมดอกเบี ้ยคานวณถึงวันที่ฟ้อง 52 ล้ านบาท) พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี ของต้ นเงิน นับแต่ วันถัดจากวันฟ้ องจนกว่าจะนาส่งรายได้ พร้ อมดอกผลและดอกเบี ้ยเสร็ จสิ ้น ขณะนี ้คดีดงั กล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง โดยผู้บริ หารเห็นว่าดีพีซีได้ ปฏิบตั ิตามประกาศ เรื่ อ ง มาตรการคุ้ มครองผู้ ใช้ บริ ก ารเป็ นการชั่ ว คราว ในกรณี สิ น้ สุ ด การอนุ ญ าต สัม ปทาน หรื อ สัญ ญาการให้ บริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 ซึ่งกาหนดให้ ดีพีซีต้องนาส่งเงินรายได้ หลังหักรายจ่ายให้ แก่สานักงาน กสทช. เนื่องจากในช่วง ระยะเวลาดังกล่าวดีพีซีมรี ายจ่ายมากกว่ารายได้ จากการให้ บริ การแก่ผ้ ใู ช้ บริ การ ดีพีซีจึงไม่มีรายได้ คงเหลือที่จะนาส่งให้ แก่ กสทช. ตามที่ประกาศดังกล่าวกาหนดไว้

ส่วนที่ 1 | หน้ า 40


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

1.14 ข้ อ พิ พาทกรณี ก ารน าส่ ง รายได้ ขั น้ ต่ า ให้ แ ก่ กสทช. ตามมาตรการคุ้ ม ครองผู้ใ ช้ บริ ก ารในระบบ 900 เมกะเฮิรตซ์ เป็ นการชั่วคราว ในวัน ที่ 18 ธั น วาคม 2558 เอไอเอสได้ ยื่ น ฟ้ องคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทัศ น์ แ ละกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ต่อศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดาที่ 2230/2559 เพื่อให้ เพิกถอนความในข้ อ 4. ของประกาศ กสทช. เรื่ อ ง มาตรการคุ้ม ครองผู้ใ ช้ บ ริ ก ารเป็ นการชั่ว คราวในกรณี สิน้ สุด การอนุญ าต สัม ปทานหรื อ สัญญาการให้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 17 กันยายน 2558 ซึ่งให้ ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้ อ 7 ของประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณีสิ ้นสุดการอนุญาต สัมปทานหรื อสัญญาการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 โดยมีสาระสาคัญที่กาหนดให้ ผ้ ใู ห้ บริ การในช่วงระยะเวลาคุ้มครองนาส่งเงินรายได้ หลังหักรายจ่ายให้ แก่สานักงาน กสทช. แต่ทงนี ั ้ ้ เงินรายได้ ที่ต้องนาส่งดังกล่าวจะต้ องมีจานวนไม่น้อยกว่าอัตราร้ อยละของส่วนแบ่งรายได้ ที่ผ้ ใู ห้ บริ การเคยนาส่งภายใต้ สัญญาสัมปทาน ณ วันสุดท้ ายก่อนสิ ้นสุดสัญญาสัมปทาน ขณะนี ้คดีดงั กล่าวอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง โดยผู้บริ หารเห็นว่าข้ อกาหนดดังกล่าวเป็ นการเลือก ปฏิบตั ิที่ไม่เท่าเทียมกันในระหว่างผู้ให้ บริ การที่สิ ้นสุดสัญญาสัมปทานไปก่อนที่ประกาศ กสทช.ฯ (ฉบับที่ 2) มีผลใช้ บงั คับ อีกทัง้ เป็ นข้ อกาหนดที่ไม่เป็ นธรรม เป็ นภาระเกินสมควรแก่บริ ษัทที่จะต้ องนาส่งเงินรายได้ ให้ แก่ กสทช. อย่างน้ อยเท่ากับหลักเกณฑ์ที่ กาหนดไว้ ในสัญญาสัมปทาน ทังที ้ ่สญ ั ญาสัมปทานสิ ้นสุดไปแล้ วซึง่ มิใช่เจตนารมณ์ของการออกมาตรการเพื่อคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ 2. ความเสี่ยงด้ านการดาเนินงาน 2.1 ความเสี่ยงด้ านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เอไอเอสในฐานะผู้ให้ บริ การซึง่ จาเป็ นต้ องพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การต่างๆเพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การ และเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้ กบั ผู้ใช้ บริ การ จาเป็ นต้ องอาศัยเทคโนโลยีตา่ งๆเพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงการให้ บริ การให้ ดี ยิ่งขึ ้น ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีที่มีการเปลีย่ นแปลงและเติบโตอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ อาจมีโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงทางด้ าน ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศเพิ่มขึ ้นด้ วยเช่นกัน ทังที ้ ่เกิดจากความซับซ้ อนของเทคโนโลยีเอง และความรู้ความสามารถของ พนักงานที่จะต้ องได้ รับการพัฒนาให้ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนความบกพร่ องของระบบที่อาจเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูไม่ประสงค์ดี สามารถเข้ าถึงข้ อมูลในระบบหรื อจากภัยคุกคามทางด้ านเทคโนโลยีตา่ งๆ ในปี ที่ผา่ นมา เอไอเอสได้ รับผลกระทบจากเหตุการณ์ทจุ ริ ตในการเข้ าถึงข้ อมูลของลูกค้ า ซึ่งส่งผลกระทบให้ ได้ รับความ เสียหายทางด้ านชื่อเสียง และความเชื่อมัน่ รวมทังหน่ ้ วยงานกากับดูแลได้ เข้ ามาตรวจสอบอย่างเข้ มงวด ซึง่ เหตุการณ์ดงั กล่าวเกิด จากเจตนาในการทุจริ ตของพนักงานที่มีสทิ ธิ์เข้ าถึงข้ อมูลดังกล่าวโดยที่บริ ษัทไม่มีสว่ นรู้เห็น เอไอเอสมีการกาหนดมาตรการในการ ป้องกันความเสีย่ งด้ านความปลอดภัยของสารสนเทศต่างๆที่อาจเกิดขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นการกาหนดนโยบายการรักษาความปลอดภัย ระบบคอมพิวเตอร์ และข้ อมูลสารสนเทศ ที่ใช้ เป็ นกรอบแนวทางในการป้องกันและจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้ องกับความปลอดภัย ของข้ อมูลในทุกๆด้ าน การออกระเบียบและหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิภายในสาหรับผู้บริ หารและพนักงานทุกระดับเพื่อป้องกันความ เสีย่ งจากการรับ-ส่งข้ อมูลผ่านอุปกรณ์พกพา การกาหนดให้ มีการประเมินความเสี่ยงด้ านความปลอดภัยของข้ อมูลในระบบงาน สาคัญตามแผนที่กาหนด ตลอดจนการนาระบบมาตรฐานสากลต่างๆมาประยุกต์ใช้ เช่น มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยระบบ สารสนเทศของการให้ บริ การด้ านบัตรเครดิต (Payment Card Industry - Data Security Standard: PCI-DSS) มาตรฐานระบบ บริ หารความมัน่ คงปลอดภัยสารสนเทศ (ISO 27001) อย่างไรก็ ตาม เอไอเอสได้ มีการทบทวนและยกระดับการควบคุมการทางานภายในเพื่อเป็ นการป้องกันการกระทา ความผิดและการทุจริ ตภายในองค์กร โดยเพิ่มมาตรการรักษาระบบรักษาความปลอดภัยทางด้ านสารสนเทศของเอไอเอสประกอบ ด้ วย การกาหนดการเข้ าถึงข้ อมูลบนระบบสารสนเทศที่มีการเข้ าถึงข้ อมูลส่วนบุคคลของลูกค้ าในแต่ละครัง้ จะต้ องทาโดยพนักงาน ผู้มีสทิ ธิ์ 2 คน ในการกรอกพาสเวิร์ดเข้ าสูร่ ะบบ (Double Password) ปรับปรุ งพื ้นที่ทางานที่มีการเข้ าถึงข้ อมูลของลูกค้ าเป็ นแบบ ส่วนที่ 1 | หน้ า 41


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ปิ ด (Close working environment) และห้ ามพนักงานที่ต้องทาหน้ าที่นี ้นาโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์บนั ทึกข้ อมูล เข้ าไปใน บริ เวณสถานที่ปฏิบตั ิงาน รวมทังมี ้ การสื่อสารและอบรมภายในเพื่อสร้ างความตระหนักในเรื่ องนี ้อย่ างต่อเนื่อง เพื่อเป็ นการป้องกันความเสี่ยงที่ อาจจะเกิดขึ ้นจากความบกพร่ องของระบบ หรื อจากความจงใจในการโจรกรรมข้ อมูลของผู้ไม่ประสงค์ดี เพื่อเพิ่มความมัน่ ใจใน ความปลอดภัยของข้ อมูลสารสนเทศให้ กบั ผู้ใช้ บริ การ โดยรายละเอียดของมาตรการที่เอไอเอสมีการยกระดับเพิ่มเติม สามารถศึกษาได้ จากรายงานพัฒนาความยัง่ ยืน หัวข้ อ “ลูกค้ าของเรา” 2.2 ความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของระบบการให้ บริการโครงข่ าย และระบบงานสาคัญ กรณีเกิดภัยพิบตั ิ ภัยธรรมชาติ ภัยจากความไม่สงบทางการเมือง ภัยจากการก่อการร้ าย หรื อเหตุการณ์ความผิดพลาด ต่างๆทีไ่ ม่อยูใ่ นความควบคุมของบริ ษัท เหตุการณ์ดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบให้ เกิดการหยุดชะงักของระบบปฏิบตั ิงานหลัก และ อาจก่อให้ เกิดความสูญเสีย เสียหายต่อทรัพย์สนิ และบุคลากรของเอไอเอส ซึง่ อาจส่งผลกระทบให้ เกิดการหยุดชะงักของการ ดาเนินธุรกิจ เพื่อเป็ นการเตรียมพร้ อมรับมือกับเหตุการณ์ตา่ งๆ เอไอเอสมีการประเมินความเสีย่ งของภัยคุกคามต่างๆที่อาจจะเกิดขึ ้น ทังในแง่ ้ ของโอกาสในการที่จะเกิดเหตุการณ์นนๆ ั ้ รวมทังผลกระทบที ้ ่อาจเกิดขึ ้นหากเกิดภัยคุกคามต่างๆ เพื่อพิจารณาถึงสาเหตุ สาคัญที่อาจส่งผลกระทบทาให้ การดาเนินธุรกิจหยุดชะงัก พร้ อมทังการประเมิ ้ นและจัดระดับความสาคัญของแต่ละระบบงานที่ เกี่ยวข้ องกับการให้ บริ การ เพือ่ ให้ สามารถจัดสรรทรัพยากรที่มอี ยูไ่ ด้ อย่างเหมาะสม และดาเนินการได้ อย่างต่อเนื่องโดยที่สง่ ผล กระทบต่อการใช้ บริการของลูกค้ าน้ อยที่สดุ เอไอเอสได้ นาระบบการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจมาประยุกต์ใช้ เพื่อเตรี ยมพร้ อมรับมือหากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าว โดยจัดทาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ สาหรับระบบงานที่สาคัญ มีการซักซ้ อมและทบทวนความเหมาะสมของแผนงาน อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ สามารถบริ หารทรัพยากรองค์กรให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด และให้ สามารถรับมือกับพิบัติภยั ที่ร้ายแรงในระดับ ที่ยงั ความเสียหายต่ออาคารสานักงาน หรื อศูนย์ปฏิบตั ิการ จนต้ องมีการเปิ ดใช้ งานสถานที่ทาการฉุกเฉิน (Alternate Sites) รวมทังมี ้ การสื่อสารให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานทุกระดับที่เกี่ยวข้ องต้ องตระหนักถึงการมีส่วนร่ วม และปฏิบตั ิตามนโยบายความ ต่อเนื่องทางธุรกิจของบริ ษัท เพื่อให้ เกิดความต่อเนื่องทางธุรกิจอย่างเป็ นระบบ เมื่อเกิดความบกพร่ องใดๆขึ ้นจะไม่สง่ ผลกระทบ ต่อการให้ บริ การเครื อข่ายโทรศัพท์ของบริ ษัทในวงกว้ าง หรื อในระยะเวลานาน ทังนี ้ ้เพื่อให้ มนั่ ใจว่าเอไอเอสจะสามารถรักษาความ เป็ นผู้นาด้ านระบบเครื อข่ายคุณภาพ และสร้ างความมัน่ ใจให้ ลกู ค้ าในยามประสบพิบตั ิภยั ร้ ายแรง โดยรายละเอียดของกรอบบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ สามารถศึกษาได้ จากรายงานหัวข้ อ “การบริ หารความเสี่ยง การ ควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน” ส่วนที่ 2 หน้ า 40 2.3 ความเสี่ยงจากการขาดความเข้ าใจที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับปั ญหาสุขภาพที่เกิดจากคลื่นวิทยุ เอไอเอสมีการขยายและสร้ างสถานีฐานเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับการเติบโตของการใช้ งานด้ านการรับ-ส่งข้ อมูล ของลูกค้ า ส่งผลให้ ปัจจัยเสีย่ งที่อาจทาให้ ไม่สามารถดาเนินการได้ ตามแผนงานจากปั ญหาด้ านความเข้ าใจจากชุมชนโดยรอบ เพิ่มขึ ้น โดยชุมชนอาจยังมีความเข้ าใจคลาดเคลือ่ น หรื อความกังวลใจเกี่ยวกับปั ญหาด้ านสุขภาพที่เกิดจากคลืน่ วิทยุบริ เวณ โดยรอบสถานีฐาน และนาไปสูก่ ารต่อต้ าน คัดค้ านการก่อสร้ าง หรื อมีการร้ องเรี ยนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ทาให้ เอไอเอสไม่ สามารถขยายการติดตังอุ ้ ปกรณ์สง่ สัญญาณ หรื อสร้ างสถานีฐานใหม่ได้ เอไอเอสมีแนวทางในการรับมือและจัดการความเสีย่ งที่ อาจจะเกิดขึ ้น โดยกาหนดทีมงานในการสือ่ สารเพื่อสร้ างความเข้ าใจก่อนการก่อสร้ างสถานีฐานตามแนวทางที่สอดคล้ องกับ ข้ อกาหนดของสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) โดยการลง พื ้นที่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นจากกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในชุมชน การหารื อกับผู้นาในชุมชน และประชาชนในพื ้นที่ที่ต้องการจะ ส่วนที่ 1 | หน้ า 42


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ก่อสร้ างสถานีฐานใหม่ โดยวางแผนขันตอนการท ้ างานให้ สามารถสือ่ สารเพื่อสร้ างความเข้ าใจกับชุมชนตังแต่ ้ กระบวนการหา สถานที่ ทาให้ เอไอเอสสามารถวิเคราะห์แนวโน้ มความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษัทและชุมชนได้ จึงสามารถลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการ ต่อต้ านและยังมีข้อมูลในการวางแผนเพื่อทาความเข้ าใจหากพบในภายหลังว่ามีข้อกังวลใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของเสา สัญญาณโทรศัพท์ โดยเอเอสเปิ ดโอกาสให้ ชมุ ชนสามารถเข้ ามามีสว่ นร่วมในทุกขันตอนการท ้ างานตังแต่ ้ ร่วมกันหาสถานทีก่ ่อสร้ าง เสาสัญญาณ เมื่อได้ สถานที่สาหรับการก่อสร้ างสถานีฐานใหม่แล้ ว บริ ษัทจะจัดทาแบบการติดตังสถานี ้ ฐานซึง่ รับรองโดยวิศวกร ระดับสามัญวิศวกรโยธาขึ ้นไปและเป็ นไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยเพื่อเสนอต่อสานักงานเขต หรื อเทศบาลขออนุมตั ิการก่อสร้ าง และหลังจากได้ ใบอนุญาตแล้ วทีมงานด้ านวิศวกรรมจะควบคุมการก่อสร้ างให้ เป็ นไปตามแบบ ที่ได้ รับการอนุมตั ิและเป็ นไปตามมาตรฐานอย่างเคร่งครัดเพื่อความปลอดภัยของทังผู ้ ้ ทางานและชุมชนโดยรอบ 2.4 ความเสี่ยงจากการไม่ สามารถตอบสนองต่ อเครือข่ ายสังคมออนไลน์ ได้ อย่ างทันท่ วงที ปั จจุบนั เครื อข่ายสังคมออนไลน์มีการเชื่อมต่อกันอย่างไม่จากัด การติดต่อสือ่ สารหรื อการส่งต่อข้ อมูลเป็ นไปได้ อย่าง รวดเร็ว และกระจายไปในวงกว้ างได้ ง่ายดายยิง่ ขึ ้น โดยเฉพาะข้ อมูลที่สง่ ผลเสียหายต่อความน่าเชื่อถือ และภาพลักษณ์ขององค์กร การตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การทีต่ ิดต่อผ่านช่องทางสือ่ สารสังคมออนไลน์ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นความต้ องการข้ อมูล ผลิตภัณฑ์และบริ การ การสอบถามปั ญหาการใช้ งานต่างๆ ตลอดจนการร้ องเรี ยนการใช้ บริ การ จาเป็ นต้ องมีการตอบสนองที่ รวดเร็วด้ วยข้ อมูลที่ถกู ต้ องแม่นยา และสามารถรับมือจัดการแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าได้ อย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการบอกต่อ ข้ อมูลที่คลาดเคลือ่ นซึง่ อาจส่งผลในทางลบต่อภาพลักษณ์ เอไอเอสได้ นาเครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการตรวจติดตามข้ อมูลทีเ่ กี่ยวข้ องกับบริ ษัทที่มีการกล่าวถึงในเครื อข่ายออนไลน์ตา่ งๆ รวมทังมี ้ ทีมงานที่ทาหน้ าที่เฝ้ าติดตามและตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้ บริ การผ่านช่องทางออนไลน์โดยเฉพาะ เพื่อให้ มนั่ ใจว่า ผู้ใช้ บริ การจะได้ รับการตอบสนอง และได้ รับข้ อมูลที่ถกู ต้ องอย่างทันท่วงที รวมทังเพื ้ ่อสร้ างประสบการณ์ที่ดีที่สดุ ให้ แก่ลกู ค้ า

ส่วนที่ 1 | หน้ า 43


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

4. ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ ในการประกอบธุรกิจการเป็ นผู้ให้ บริ การด้ านดิจทัลไลฟ์ ของเอไอเอสในปั จจุบนั ทรัพย์สนิ ที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจแบ่ง ออกเป็ น 2 ส่วนหลัก คือ 1) สินทรัพย์ถาวร ได้ แก่ อุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคม สานักงานบริ การลูกค้ า อาคารสานักงาน ที่ดิน และ 2) ใบอนุญาตประกอบกิจการ เช่น ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่โทรคมนาคม รวมถึงใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการประเภท ต่างๆ ซึง่ รายละเอียดของทรัพย์สนิ ต่างๆ มีดงั ต่อไปนี ้ 4.1 สินทรัพย์ ถาวรหลักๆ ของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้ วย ที่ดิน อาคารดาต้ า เซ็นเตอร์ และส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์และเครื่องใช้ ในสานักงาน ส่วนปรับปรุงสานักงานบริการลูกค้ า ยานพาหนะ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการให้ บริการโครงข่าย โทรคมนาคมและบริการอินเทอร์ เน็ตความเร็วสูง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ ในการดาเนินงาน โครงข่ายการให้ บริการโทรคมนาคมและบริการอินเทอร์ เน็ต ความเร็วสูงที่อยูร่ ะหว่างก่อสร้ างและติดตัง้ อุปกรณ์ router ของเอดีซีเพื่อให้ เช่า รวม หัก ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม รวม - สุทธิ

ประมาณอายุการใช้ (ปี ) 5 และ 20 2-5 5 และ 10 5 2 - 20 5-10 อายุสญ ั ญาเช่าไม่เกิน 3 ปี

หน่วย: ล้ านบาท 524.68 443.53 1,205.40 1,595.32 211.61 142,318.78 9,014.81 9,943.99 7.48 165,265.60 (46,994.16) 118,271.44

โดยเมื่อรวมสินทรัพย์ถาวรหลักของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย และสินทรัพย์ ภายใต้ สญ ั ญาเช่าทางการเงินที่ในส่วนของอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ สานักงาน เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการดาเนินกิจการ และยานพาหนะ จะเป็ นจานวน 293.34 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 นอกเหนือจากสินทรัพย์ถาวรหลักตามที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว เอไอเอสและบริ ษัทย่อยยังมีการเช่าพื ้นที่อาคารสานักงานและ สานักงานบริ การสาขาเพื่อประกอบกิจการ ซึง่ สามารถสรุปสาระสาคัญ ได้ ดงั ต่อไปนี ้ ประเภท/ลักษณะสินทรัพย์ ลักษณะกรรมสิทธิ์ อัตราค่าเช่าต่อเดือน (ล้ านบาท) ภาระผูกพัน สัญญาเช่าพื ้นที่อาคาร ทาสัญญาเช่า 1-3 ปี ประมาณ 69 ล้ านบาท ไม่มี สานักงาน 8 แห่ง ใน กรุงเทพมหานคร และ สานักงานสาขาบริการสาขา ใน 28 จังหวัด* หมายเหตุ: *จังหวัดเชียงใหม่, สุราษฏร์ ธานี, นครสวรรค์, นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, หาดใหญ่, ชลบุรี, อยุธยา, ระยอง, ภูเก็ต, อุดรธานี, ขอนแก่น, อุบลราชธานี, สมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, เชียงราย, ลาปาง, แพร่ , แม่สอด, สุรินทร, ร้ อยเอ็ด, มหาสารคาม, มุกดาหาร, หัวหิน, ปราจีนบุรี, สระบุรี และกรุงเทพมหานคร

ส่วนที่ 1 | หน้ า 44


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

4.2 ใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการ การดาเนินงานภายใต้ สญ ั ญาร่วมการงานเพื่อประกอบธุรกิจให้ บริ การโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G กว่า 25 ปี ที่ผ่านมา ใน ปั จจุบนั ได้ สิ ้นสุดลงแล้ ว โดยสินทรั พย์ที่ ใช้ ในการประกอบธุรกิ จเป็ นการลงทุนโดยเอไอเอสและบริ ษัทย่อย และจะต้ องโอน กรรมสิทธิ์ให้ แก่หน่วยงานรัฐผู้เป็ นเจ้ าของสัญญาร่วมการงานเมื่อหมดอายุสญ ั ญา ได้ แก่ บริ ษัท กสท โทรคมคม จากัด (มหาชน) ผู้ เป็ นคู่สญ ั ญาการให้ บริ การคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งสิ ้นอายุสญ ั ญาไปเมื่อ วันที่ 30 กันยายน 2558 และบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ผู้เป็ นคู่สญ ั ญาการให้ บริ การคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งสิ ้นอายุไปเมื่อ วันที่15 กันยายน 2556 ปั จจุบนั บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการดาเนินกิจการตามสัญญาอนุญาตและใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการจาก กสทช. ซึ่งครอบคลุมถึงคลื่น ความถี่หลากหลายย่านในการให้ บริ การโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 2G, 3G และ 4G โดยมีรายการดังต่อไปนี ้ การดาเนินงานภายใต้ สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินกิจการ 1. สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการกิจการบริ การสื่อสารข้ อมูลโดยระบบ Data kit Virtual Circuit Switch ระหว่างบริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด (เอดีซี) กับบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (ทีโอที) อายุของสัญญา : 25 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 25 กันยายน 2540 - 24 กันยายน 2565 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : 1. เอดี ซี ได้ รั บ อนุญ าตให้ ด าเนิ น กิ จ การบริ ก ารสื่อ ข้ อ มูลทุก ประเภท โดยใช้ ร ะบบ Frame Relay และ Data kit Virtual Circuit Switch และ/หรื อ ระบบสื่อสารข้ อมูล อื่นๆ เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเครื อข่ายผู้ให้ บริ การและผู้ใช้ บริ การทัว่ ประเทศให้ รองรับ บริ การสือ่ สารข้ อมูลประเภทต่างๆ ซึง่ กาหนดให้ ต้องเช่าวงจรสือ่ สัญญาณจากทีโอที หรื อจากผู้ร่วมการงานกับทีโอทีเท่านัน้ เว้ นแต่ในกรณีที่ทีโอทีไม่สามารถจัดหา วงจรสื่อสัญญาณให้ ได้ เอดีซีถึงจะมีสิทธิ ลงทุนสร้ างเครื อข่ายเอง หรื อมีสิทธิ เช่า จากผู้ให้ บริ การรายอื่นๆ ได้ 2. เอดีซีมีสิทธิขยายบริ การไปสูเ่ ขตภูมิภาค โดยต้ องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ให้ ทีโอทีในอัตราที่กาหนดในข้ อตกลง 3. ทีโอทีตกลงให้ เอดีซีปรับปรุ งระบบการให้ บริ การ โดยใช้ ระบบ ADSL และ ATM Switch เพิ่มเติมจากระบบเดิมที่ได้ รับอนุญาต ทังนี ้ ้ การกาหนดอัตราค่าเช่าบริ การ สื่ อ สารข้ อมู ล อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย ม หรื อ เรี ย กเงิ น อื่ น ใดจากผู้ เช่ า ใช้ บริ ก าร ให้ เป็ นไปตามความเหมาะสมกั บ สภาวะของตลาด โดยบริ ษั ท ไม่ ต้ องขอ ความเห็นชอบจากทีโอทีก่อน 4. เอดีซีสามารถให้ บริ การข้ อมูลเสริ มทางธุรกิ จต่างๆ (contents) ได้ โดยต้ องขอ ความเห็นชอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากทีโอทีก่อน ผลประโยชน์ ตอบแทน : หุ้ นเพิ่ ม ทุ น ของเอดี ซี จ านวน 107.52 ล้ านบาท ซึ่ ง คิ ด เป็ นร้ อยละ 23.5 ของ ทุนจดทะเบียน โดย ทีโอที ไม่ต้องชาระเงินค่าหุ้นแต่อย่างใด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 45


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การดาเนินงานภายใต้ ใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการ 1. ใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจเป็ นผู้ให้ บริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างบริ ษัท แอดวานซ์ เมจิค การ์ ด จากัด (เอเอ็มซี) กับคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยมีระยะเวลา 10 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 13 พฤษภาคม 2552 - 12 พฤษภาคม 2562 2. ใบอนุญาตของบริ ษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (เอเอ็มพี) 2.1 หนังสืออนุญาตให้ ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ ผู้อนุญาต : กระทรวงการคลัง อายุใบอนุญาต : ตังแต่ ้ วนั ที่ 24 มิถนุ ายน 2548 เป็ นต้ นไป ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เอเอ็มพีได้ สทิ ธิในการให้ บริ การบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ ชาระค่าสินค้ าหรื อ ค่าบริ การแทนเงินสด 2.2 ใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจเป็ นผู้ให้ บริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้อนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร อายุใบอนุญาต : 10 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 13 พฤษภาคม 2552 - 12 พฤษภาคม 2562 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เอเอ็มพีได้ รับอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจบริ การการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 3. ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม ของ บริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (เอไอเอ็น) ซึง่ ได้ รับจาก คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) อายุใบอนุญาต : 20 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2549 - 25 กรกฎาคม 2569 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : เอไอเอ็นได้ รับอนุญาตให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone service) บริ การเสริ มบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริ การที่เกี่ยวเนื่องกับ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตลอดจนบริ การโครงข่ายบริการโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอไอเอ็นมีหน้ าทีต่ ้ องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามอัตรา และกาหนดเวลาทีก่ สทช. กาหนด 4. ใบอนุญาตของบริ ษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอสบีเอ็น) ซึง่ ได้ รับจาก กสทช. 4.1 ใบอนุญาตการให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ และบริ การชุมสายอินเทอร์ เน็ต แบบที่สอง ที่มีโครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้ บริ การจากัดเฉพาะกลุม่ บุคคล อายุใบอนุญาต : 5 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 15 ตุลาคม 2555 - 14 ตุลาคม 2560 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : สิทธิในการให้ บริ การทีเ่ กี่ยวข้ องกับอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ และ บริ การ ชุมสายอินเทอร์ เน็ต ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอสบีเอ็นมีหน้ าทีต่ ้ องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกาหนดเวลา ที่กสทช. กาหนด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 46


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

4.2 ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม : 20 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 16 สิงหาคม 2550 - 15 สิงหาคม 2570 อายุใบอนุญาต ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : สิทธิในการให้ บริ การโทรคมนาคมแก่บคุ คลทัว่ ไป ประเภทบริ การโทรศัพท์ ประจาที่ บริ การวงจรร่วมดิจิตอล บริ การพหุสอื่ ความเร็ วสูงและบริ การเสริม มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอสบีเอ็นมีหน้ าทีต่ ้ องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกาหนดเวลา ที่กสทช. กาหนด 5. ใบอนุญาตของบริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึง่ ได้ รับจาก กสทช. 5.1 ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สาม อายุใบอนุญาต : 19 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2551 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2570 ลักษณะสาคัญและเงื่อนไข : สิทธิในการให้ บริ การโทรคมนาคมแก่บคุ คลทัว่ ไป ประเภทบริ การโทรศัพท์ประจา ที่ บริ การอินเทอร์ เน็ตไร้ สายความเร็ วสูง บริ การพหุสอื่ ความเร็ วสูง บริ การ โทรคมนาคมแบบครบวงจร บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมทางสายและไร้ สาย มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง และได้ รับอนุญาตเพิ่มเติมกิจการ โทรคมนาคม เคลือ่ นที่สากล (International Mobile Telecommunications IMT) ย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ โดยมีอายุตงแต่ ั ้ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึง วันที่ 6 ธันวาคม 2570 ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดับบลิวเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและ กาหนดเวลาทีก่ สทช. กาหนด 5.2 ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (3G) อายุใบอนุญาต : 15 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2570 ลักษณะสาคัญและ : 1. ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (3G) เงื่อนไข จานวน 3 ชุด ในแถบย่านความถี่ 1950 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1965 เมกะเฮิรตซ์ คูก่ บั 2140 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 2155 เมกะเฮิรตซ์ 2. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องประกอบกิจการด้ วยตนเอง จะมอบการบริ หารจัดการ ทังหมดหรื ้ อบางส่วน หรื อยินยอมให้ บคุ คลอื่นเป็ นผู้มีอานาจประกอบกิจการ แทนมิได้ 3. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขก่อนเลิกกิจการตามที่กาหนด 4. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องจัดให้ มีโครงข่ายโทรคมนาคมครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ของจานวนประชากรทังหมดภายใน ้ 2 ปี นับแต่วนั ที่ได้ รับอนุญาต และไม่ น้ อยกว่าร้ อยละ 80 ของจานวนประชากรทังหมดภายใน ้ 4 ปี นับแต่วนั ที่ได้ รับ ใบอนุญาต ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดับบลิวเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าตอบแทนการใช้ ความถี่วิทยุตามอัตราและ กาหนดเวลาทีก่ สทช. กาหนด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 47


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

5.3 ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ (4G) อายุใบอนุญาต : 18 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2576 ลักษณะสาคัญและ : 1. ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 1800 MHz ความถี่ เงื่อนไข ช่วง 1725 - 1740MHz คูก่ บั 1820 - 1835 MHz 2. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องประกอบกิจการด้ วยตนเอง จะมอบการบริ หารจัดการ ทังหมดหรื ้ อบางส่วน หรื อยินยอมให้ บคุ คลอื่นเป็ นผู้มีอานาจประกอบกิจการ แทนมิได้ 3. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขก่อนเลิกกิจการตามที่กาหนด 4. เอดับ บลิว เอ็ น จะต้ อ งจัดให้ มี โครงข่า ยโทรคมนาคมครอบคลุม ไม่น้ อ ยกว่า ร้ อยละ 40 ของจานวนประชากรทังหมดภายใน ้ 4 ปี นับแต่วนั ที่ได้ รับอนุญาต และครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้ อย 50 ของจานวนประชากรทังหมดภายใน ้ 8 ปี นับแต่วนั ที่ได้ รับอนุญาต ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดับบลิวเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าตอบแทนการใช้ ความถี่วิทยุตามอัตราและ กาหนดเวลาทีก่ สทช. กาหนด 5.4 ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ อายุใบอนุญาต : 15 ปี นับ ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2559 ถึง 30 มิถนุ ายน 2574 ลักษณะสาคัญและ : 1. ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมย่าน 900 MHz ความถี่ เงื่อนไข ช่วง 895MHz - 905MHz คูก่ บั 940MHz - 950MHz 2. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องประกอบกิจการด้ วยตนเอง จะมอบการบริ หารจัดการ ทังหมดหรื ้ อบางส่วน หรื อยินยอมให้ บคุ คลอื่นเป็ นผู้มีอานาจประกอบกิจการ แทนมิได้ 3. เอดับบลิวเอ็นจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขก่อนเลิกกิจการตามที่กาหนด 4. เอดับ บลิว เอ็ น จะต้ อ งจัดให้ มี โครงข่า ยโทรคมนาคมครอบคลุม ไม่ น้ อ ยกว่า ร้ อยละ 50 ของจานวนประชากรทังหมดภายใน ้ 4 ปี นับแต่วนั ที่ได้ รับอนุญาต และไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 ของจานวนประชากรทังหมดภายใน ้ 8 ปี นับแต่วนั ที่ ได้ รับใบอนุญาต ผลประโยชน์ ตอบแทน : เอดับบลิวเอ็นมีหน้ าที่ต้องชาระค่าตอบแทนการใช้ ความถี่วิทยุตามอัตราและ กาหนดเวลาทีก่ สทช. กาหนด 4.3 นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม เอไอเอสมีการลงทุนในบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วมเพื่อสนับสนุนธุรกิ จหลักของเอไอเอส และเพื่อประกอบธุรกิ จอื่นที่ เกี่ยวเนื่องหรื อเป็ นประโยชน์กบั ธุรกิจของเอไอเอส โดยมีการแต่งตังกรรมการและผู ้ ้ บริ หารที่มีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับบริ ษัท ย่อยและบริ ษัทร่ วมแต่ละแห่งเพื่อ ทาหน้ าที่เป็ นตัวแทนของบริ ษัทในการกากับดูแลการดาเนินงานให้ มีประสิทธิ ภาพและรักษา ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และกาหนดให้ ต้องมีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้ อยไตรมาสละครัง้ และการประชุมผู้ถือหุ้นปี ละ 1 ครัง้ ส่วนที่ 1 | หน้ า 48


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 5.1 กรณีข้อพิพาททางกฎหมายของเอไอเอส คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 1. 22 ม.ค. 2551 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 22 ก.ย. 2554 ศาลปกครองกลาง

คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี

กสท 1. 7 มี.ค. 2551 ศาลแพ่ง 2.10 มี.ค. 2553 ศาลอุทธรณ์ 3. 16 เม.ย. 2556 ศาลฎีกา กสท ยื่นฟ้ องเอไอเอสเป็ นจาเลยที่ 1 และบริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (เอไอเอ็น) บริ ษัทย่อยเป็ น จาเลยที่ 2 ต่อศาลแพ่ง ให้ ร่วมกันชดใช้ ค่าเสียหายเป็ นเงินรวม 583 ล้ านบาท โดยอ้ างว่าเอไอเอสกับ เอไอเอ็นละเมิดสิทธิของ กสท โดยเปลี่ยนแปลงการส่งทราฟฟิ คการให้ บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศ ผ่านเครื่ องหมาย + จากรหัส 001 ของ กสท เป็ นรหัส 005 ของเอไอเอ็น ในช่วงวันที่ 1 มี.ค. 2550 ถึง 7 มี.ค. 2551  วันที่ 17 ธ.ค. 2552 ศาลแพ่งมีคาพิพากษายกฟ้ อง กสท เนื่องจากข้ อเท็จจริ งรั บฟั งไม่ได้ ว่า การกระทาของเอไอเอสเป็ นการละเมิดสิทธิ ใด ๆ ของ กสท และส่งผลให้ เอไอเอ็นมิได้ กระทาการ ละเมิดตามทีฟ่ ้ องด้ วย กสท จึงได้ ยื่นอุทธรณ์ตอ่ ศาลอุทธรณ์  วันที่ 27 มิ.ย. 2556 ศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษายืนตามศาลแพ่ง โดยให้ ยกฟ้ อง กสท  วันที่ 13 ก.ย. 2559 ศาลฎีกาพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์ให้ ยกฟ้ อง กสท คดีเป็ นอันยุติ

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม เรี ยกร้ องให้ เ อไอเอสช าระค่าผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่ ม เติ มตามสัญญาอนุญาตฯ จานวน 31,463 ล้ านบาทของรายได้ ในช่วงเดือน ม.ค. 2546 ถึงเดือน ก.ย. 2550 ซึง่ เอไอเอสได้ นาส่งเงินจานวนดังกล่าว เป็ นภาษี สรรพสามิต และได้ นามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ นการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2546 ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 20 พ.ค. 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้ มีคาชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมด ้ เนื่องจากเห็น ว่าเอไอเอสได้ ชาระหนี ้โดยชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว จึงไม่เป็ นฝ่ ายผิดสัญญาอนุญาตฯ ความคืบหน้ าของคดี  วันที่ 22 ก.ย. 2554 ทีโอทียื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง  วันที่ 11 สิงหาคม 2559 ศาลปกครองกลางพิพากษายกคาร้ องของทีโอที โดยศาลปกครองกลาง ให้ เหตุผลว่า การที่คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดว่า เอไอเอสไม่ได้ เป็ นผู้ผิดสัญญานัน้ อยู่ใน ขอบเขตอานาจของคณะอนุญาโตตุลาการ และไม่มีกรณีปรากฎต่อศาลว่า การยอมรับ หรื อการ บังคับตามคาชี ้ขาดดังกล่าว เป็ นการขัดต่อความสงบเรี ย บร้ อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน จึง ยังไม่มีเหตุที่ศาลจะมีคาพิพากษา หรื อคาบังคับให้ เพิกถอนคาชีข้ าดตามคาร้ องของทีโอที ทังนี ้ ้ ทีโอที มีสทิ ธิยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้ มีคาพิพากษา

ข้ อพิพาท

ผลการพิจารณาคดี

ส่วนที่ 1 | หน้ า 49


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสทช. และเลขาธิการกสทช. 1. 13 ก.ย. 2554 ศาลปกครอกลาง 2. 18 ธ.ค. 2558 ศาลปกครองสูงสุด เอไอเอสยื่นฟ้ อง กทช. (ปั จจุบนั คือ กสทช.) และเลขาธิการ กทช. (ปั จจุบนั คือ เลขาธิ การ กสทช.) ต่อ ศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ ที่ให้ เอไอเอสดาเนินการจัดเก็บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การ ระบบเติมเงิน (Pre-Paid) ที่ให้ บริ การอยูก่ ่อนวันที่ 24 ต.ค. 2551 ซึ่งประกาศ กทช. เรื่ องหลักเกณฑ์การจัดสรร และบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้ ทังหมดให้ ้ แล้ วเสร็ จภายใน 180 วันนับประกาศ กทช. ฉบับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ และคาสัง่ ที่กาหนดให้ เอไอเอสชาระค่าปรับทางปกครองวันละ 80,000 บาท เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 6 ก.ค. 2555 จนกว่าจะดาเนินการให้ แล้ วเสร็ จ ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 19 พ.ย. 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษาเพิกถอนมติและคาสัง่ กทช. ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่า  การบังคับให้ ผ้ ปู ระกอบการต้ องจัดเก็ บข้ อมูลผู้ใช้ บริ การย้ อนหลัง ซึ่ง ผู้ใช้ บริ การจะต้ องเปิ ดเผย ข้ อมูลส่วนบุคคล โดยที่ มิได้ มีมาตรการบังคับให้ ระงับหรื อยกเลิกบริ การได้  ผู้ใช้ บริ การมีจานวนมาก ดังนัน้ หากไม่ได้ รับความร่ วมมือจากผู้ใช้ บริ การจะดาเนินการได้ ยาก มติ แ ละค าสั่ง ดัง กล่า วจึ ง ไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย เพราะเป็ นการใช้ ดุล ยพิ นิ จ ในการก ากับ ดูแ ล เกินขอบเขตความจาเป็ น และเป็ นการสร้ างภาระให้ แก่ผ้ ปู ระกอบการอย่างมาก ความคืบหน้ าของคดี ในวันที่ 18 ธ.ค. 2558 กสทช. ได้ ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด ขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของศาลปกครองสูงสุด คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 9 มี.ค. 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 

วันที่ 26 ม.ค. 2554 เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดว่าทีโอทีไม่มีสิทธิ เรี ยกร้ องเงินผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตฯ จากรายได้ ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ของปี ดาเนินการที่ 17-20 เป็ นเงินรวม 17,803 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน โดยเหตุที่ เอไอเอสนาค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่ถกู ผู้ประกอบการรายอื่นเรี ยกเก็บมาหักออกก่อนคานวณ ส่วนแบ่งรายได้ ให้ แก่ทีโอที วันที่ 29 ก.ค. 2557 ทีโอทีได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ เอไอเอสชาระ ผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 21-22 เพิ่มเติม เป็ นจานวนเงิน 9,984 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับ ในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ต่อมาเมื่อวันที่ 23 ส.ค.2559 เอไอเอสได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการ มีคาชี ้ขาดว่า ทีโอทีไม่มีสิทธิเรี ยกร้ องเงินผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติมจากรายได้ ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ของปี ที่ 23-25 เป็ นจานวนเงิน 8,367.90 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 50


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 1. 11 พ.ค. 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 19 พ.ค. 2557 ศาลปกครองกลาง เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ทีโอที คืนหนังสือ คา้ ประกันผลประโยชน์ ตอบแทนขัน้ ต่า ปี ดาเนินการที่ 17 - 21 และห้ ามไม่ให้ เรี ยกร้ องเงินใด ๆ จากธนาคาร พร้ อมทังช ้ าระค่าเสียหายในส่วนของ ค่าธรรมเนียมหนังสือค ้าประกันและค่าเสียหายจากการเสื่อมเสียชื่อเสียงและเครดิตทางการเงิน สาหรับ หนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าปี ดาเนินการที่ 17-21 เป็ นเงิน 30 ล้ านบาท และอีก 20 ล้ านบาท สาหรับหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าดาเนินการปี ที่ 21 ผลการพิจารณาคดี วันที่ 10 ก.พ. 2557 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดให้ ทีโอทีคืนหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบ แทนขันต ้ ่า และให้ ชาระเงิน 6.65 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ที่เอไอเอส ชาระให้ แก่ธนาคาร ความคืบหน้ าของคดี เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2557 เอไอเอสยื่นคาร้ องต่อศาลปกครองกลางขอบังคับตามคาชี ้ขาดอนุญาโตตุลาการ โดย ทีโอทีได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางเช่นกัน ศาลจึงมีคาสัง่ ให้ รวม พิจารณา ขณะนี ้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ผลการพิจารณาคดี

กสทช. 1. 27 พ.ค. 2554 ศาลปกครองกลาง 2. 9 ธ.ค. 2559 ศาลปกครองสูงสุด เอไอเอสยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนคาสัง่ กทช. (ปั จจุบนั คือ กสทช.) ที่ให้ เอไอเอสแก้ ไขแบบร่างสัญญาให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นระบบจ่ายเงินล่วงหน้ า (Pre-paid) โดยห้ ามไม่ให้ มีเงื่อนไขเกี่ยวกับวันหมดอายุการใช้ งาน (Validity) ในวันที่ 10 พ.ย. 2559 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกฟ้ องเอไอเอส เนื่องจากเห็นว่าเป็ นการนา คดีมาฟ้ องเมื่อพ้ นกาหนดระยะเวลาฟ้ องคดี และการที่ผ้ ฟู ้ องคดีนาคดีมาฟ้ องล่าช้ าดังกล่าว ไม่ ได้ เกิด จากเหตุจาเป็ นอื่นและไม่เป็ นการฟ้ องเพื่อประโยชน์สาธารณะหากแต่เป็ นการฟ้ องเพื่อประโยชน์ของ เอไอเอสเอง และเนื่องจากประกาศดังกล่าวยังคงมีผลบังคับใช้ มิได้ ถูกยกเลิกเพิกถอน ดังนัน้ คาสัง่ ที่ออกตามประกาศดังกล่าวจึงชอบด้ วยกฎหมายแล้ ว

ความคืบหน้ าของคดี เมื่อวันที่ 9 ธ.ค.2559 เอไอเอสได้ ดาเนินการยื่นอุทธรณ์ ต่อศาลปกครองสูงสุด ขณะนีค้ ดีอยู่ระหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด

ส่วนที่ 1 | หน้ า 51


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2559

กสทช. และเลขาธิการ กสทช. 2 ก.ค. 2555 ศาลปกครองกลาง เอไอเอสยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ มีคาพิพากษาเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ องอัตราขันสู ้ งของ ค่าบริ การโทรคมนาคมสาหรับบริ การประเภทเสียงภายในประเทศ พ.ศ. 2555 ที่ให้ เรี ยกเก็บค่าบริ การ ประเภทเสียงภายในประเทศได้ ไม่เกิน 0.99 บาท/นาที โดยมีผลบังคับใช้ เฉพาะกับผู้มีอานาจเหนือตลาด อย่างมีนยั สาคัญ เนื่องจากเห็นว่าเป็ นคาสัง่ ที่มิชอบและเป็ นการเลือกปฏิบตั ิ

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง คู่ความ วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 16 ม.ค. 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการ เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ทีโอทีชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จาก การให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศตามข้ อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 3 และครัง้ ที่ 4 ซึ่ง ทีโอที ผิดนัดชาระให้ แก่เอไอเอสตังแต่ ้ เดือนพ.ย. 2551 - ก.ย. 2555 รวมเป็ นเงิน 1,528 ล้ านบาท

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 25 ก.ย. 2557 สถาบันอนุญาโตตุลาการ

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ เอไอเอสหยุดการให้ ลกู ค้ าย้ ายค่าย โดยวิธีการ กด *988* เนื่องจากเป็ นการผิดสัญญาอนุญาตฯ และเรี ยกร้ องค่าเสียหาย 9,126 ล้ านบาท (ตังแต่ ้ พ.ค 56 - มิ.ย. 57) พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ในวันที่ 25 มีนาคม 2559 ทีโอทีได้ ยื่นคาร้ องขอแก้ ไขจานวนค่าเสียหายใหม่ โดยคานวณตังแต่ ้ พ.ค. 2556 จนถึงวันสิ ้นสุดสัญญาอนุญาต (30 ก.ย. 58) เป็ นเงินจานวน 32,813 ล้ านบาท ข้ อพิพาทอยู่ ระหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 52


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 30 ก.ย. 2558 สถาบันอนุญาโตตุลาการ

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ทีโอที 30 ก.ย. 2558 สถาบันอนุญาโตตุลาการ

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 29 เม.ย. 2559 ศาลปกครองกลาง

2559

เอไอเอสยื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ ข้อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตฯ ครัง้ ที่ 6 และครัง้ ที่ 7 มีผลผูกพันเอไอเอสและทีโอที และเอไอเอสไม่มีหน้ าที่ต้องชาระผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มเติม จานวน 72,036 ล้ านบาท ตามที่ทีโอทีกล่าวอ้ างว่าข้ อตกลงท้ ายสัญญาดังกล่าวเป็ น การแก้ ไขในสาระสาคัญทีท่ าให้ ทีโอทีได้ ผลประโยชน์ตอบแทนต่ากว่าที่กาหนดในสัญญาหลัก ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ในวันที่ 30 พ.ย. 2558 ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทในประเด็นเดียวกัน โดยเรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระ ผลประโยช น์ ต อบแทนเ พิ่ ม เติ มใ นก รณี ข้ า งต้ นเ ป็ นเงิ นจ านวน 62,774 ล้ า นบาท ซึ่ ง คณะอนุญาโตตุลาการมีคาสัง่ ให้ รวมการพิจารณาข้ อพิพาททังสอง ้ ข้ อพิพาทอยู่ระหว่างการพิจารณา ของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ทีโอทียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ข้ าดให้ เอไอเอสดาเนินการเช่าสถานที่ จานวน 11,883 สถานีฐาน ที่ใช้ เป็ นสถานที่ติดตัง้ เสา และอุปกรณ์ ในการให้ บริ การตามสัญญา อนุญาตฯ ต่อเนื่องไปอีก 2 ปี หลังจากสัญญาอนุญาตฯ สิ ้นสุดลง หากไม่สามารถปฏิบตั ิได้ ให้ เอไอเอส ชาระเงินค่าเช่าสถานที่ พร้ อมค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องตลอดระยะเวลา 2 ปี นับแต่สิ ้นสุดสัญญา อนุญาตฯ คิดเป็ นเงิน 1,911 ล้ านบาท หรื อนาเงินจานวนดังกล่าวมาวางทีศ่ าล ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

กสท ยื่นคาฟ้ องต่อศาลปกครองเรี ยกร้ องให้ เอไอเอสชาระค่าเสียหายจากกรณีที่ไปติดตังอุ ้ ปกรณ์ โทรคมนาคมของเอไอเอส ณ สถานีฐานของดีพีซี จานวน 95 แห่ง ซึ่งได้ สง่ มอบเป็ นกรรมสิทธิ์ให้ แก่ กสท ตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ โดยมิได้ รับความยินยอมจาก กสท ตังแต่ ้ เดือนม.ค 56 - เม.ย. 59 เป็ นเงิน 125.525 ล้ านบาท และค่าเสียหายนับแต่วนั ฟ้ องอีกเดือนละ 2.83 ล้ านบาท จนกว่าจะมีการ รื อ้ ถอนอุปกรณ์ออกไป ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 53


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสทช. 18 ธ.ค. 2558 ศาลปกครองกลาง

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กรมสรรพากร 10 พ.ย. 2559 ศาลภาษี อากรกลาง

2559

เอไอเอสยื่นฟ้ อง กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้ เพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครอง ผู้ใช้ บริ การชั่วคราว (ฉบับที่ 2)ภายหลังสิ ้นสุดสัญญาสัมปทาน เนื่องจากเป็ นประกาศที่ไม่เป็ นธรรม และเลือกปฏิบตั ิเมื่อเทียบกับประกาศฉบับก่อนหน้ านี ้ โดยกาหนดเพิ่มเติมให้ ต้องนาส่งรายได้ ในช่วง คุ้มครองฯ อย่างน้ อยไม่ต่ากว่าจานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ ตามสัญญาอนุญาตฯ ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ขณะนี ้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

เอไอเอสยื่นฟ้ องกรมสรรพากรต่อศาลภาษี อากรกลางขอให้ เพิกถอนการประเมินของเจ้ าพนักงาน ประเมิน และเพิกถอนคาวินิจฉัยอุทธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และลดหรื องดเงินเพิ่ม ทัง้ หมดกรณี ที่ เ จ้ าพนัก งานประเมิ น มี ค าสั่ง ให้ เอไอเอส ช าระเงิ น เพิ่ ม จ านวนรวมทัง้ หมด 128,215,149.73 บาท เนื่องจากหักและนาส่งภาษี หกั ณ ที่จ่ายจากเงินผลประโยชน์ตอบแทนที่ต้อง จ่ายให้ ทีโอทีไม่ถกู ต้ อง โดยนาภาษี สรรพสามิตไปหักออกก่อนตามมติคณะรัฐมนตรี ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ขณะนี ้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลภาษี อากรกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 54


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

5.2 กรณีข้อพิพาททางกฎหมายของ ดีพีซี ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อย คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

ผลการพิจารณาคดี

กสท 1. 9 ม.ค. 2551 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 3 มิ.ย. 2554 ศาลปกครองกลาง 3. 3 ก.ย. 2558 ศาลปกครองสูงสุด กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซี ชาระค่าผลประโยชน์ ตอบแทนเพิ่มเติม จากกรณี ภาษี สรรพสามิต จานวน 2,449 ล้ านบาท ตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ พร้ อมเรี ยกเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อ เดือนของจานวนเงินที่ค้างชาระในแต่ละปี นับตัง้ แต่วนั ผิดนัดจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ ้น รวมเป็ นเงิ น 3,949 ล้ านบาท โดยดีพีซีชี ้แจงว่าเงินส่วนแบ่งรายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตที่ ดีพีซีได้ นาส่งไปแล้ วตังแต่ ้ 16 ก.ย. 2546 - 15 ก.ย. 2550 และได้ นามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ นการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2546

วันที่ 1 มี.ค. 2554 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททัง้ หมด เนื่องจากเห็นว่าการชาระหนี ้เดิมเสร็ จสิ ้นและระงับไปแล้ ว ดีพีซีจึงไม่เป็ นผู้ผิดสัญญา  วันที่ 3 มิ.ย. 2554 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง  วันที่ 28 ก.ค. 2558 ศาลปกครองกลางได้ มีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท เนื่องจากเห็นว่า กสท เป็ นผู้มีหนังสือแจ้ งความประสงค์ในการเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑ์การชาระเงินส่วนแบ่งรายได้ จาก การชาระภาษี สรรพสามิตตามมติคณะรัฐมนตรี และได้ ยอมรับเงินส่วนแบ่งรายได้ คงเหลือพร้ อม กับคืนหนังสือค ้าประกันให้ แก่ดีพีซีมาโดยตลอด โดยมิได้ ทักท้ วงแต่อย่างใด คาวินิจัจฉัยของ คณะอนุญาโตตุลาการจึงเป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายและข้ อสัญญา ความคืบหน้ าของคดี วันที่ 3 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด ขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสูงสุด คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 1. 29 ก.ค. 2551 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 25 มิ.ย. 2555 ศาลปกครองกลาง 3. 15 ต.ค. 2557 ศาลปกครองสูงสุด กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ที่ดีพีซีหกั ไว้ และ ไม่ได้ นาส่งให้ ดังนี ้  ผลประโยชน์ ต อบแทนส่ว นเพิ่ ม ของปี ด าเนิ น การ 7-10 เป็ นเงิ น ต้ น รวมภาษี มูลค่ า เพิ่ ม 165 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน คานวณถึงวันที่ 31 ก.ค. 2551 รวม 222 ล้ านบาท  ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 11 เป็ นต้ นเงินและภาษี มลู ค่าเพิ่ม 23 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน คานวณถึงวันที่ 15 ต.ค. 2552 รวมเป็ นเงิน 26 ล้ านบาท รวม 2 ข้ อพิพาทเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 248 ล้ านบาท

ส่วนที่ 1 | หน้ า 55


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ผลการพิจารณาคดี

2559

วันที่ 23 มี.ค. 2555 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชีข้ าดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมด ้ เนื่องจากเห็นว่า กสท ยังมิได้ ชาระค่าเชื่ อมโยงโครงข่ายในส่วนที่ดีพีซีต้องชาระแก่ทีโอทีตาม บันทึกข้ อตกลงค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรคมนาคม จึงถือว่ากสท ยังไม่มีสทิ ธิเรี ยกร้ องดังกล่าว และ ในทางนาสืบของ กสท ฟั งไม่ได้ ว่าการที่ดีพีซีชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้ แ ก่ กสท ในแต่ละปี เป็ นการชาระไม่ครบถ้ วน  วันที่ 25 มิ.ย. 2555 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง  วันที่ 16 ก.ย. 2557 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาร้ องของ กสท ความคืบหน้ าของคดี วันที่ 15 ต.ค. 2557 กสท ได้ ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด ซึ่ง ขณะนี ้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ศาลปกครองสูงสุด คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี

กสท

1. 3 ก.พ. 2552 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 25 ต.ค. 2555 ศาลปกครองกลาง ศาลปกครองกลาง ข้ อพิพาท กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จานวน 3,343 ต้ น และอุปกรณ์ แหล่งจ่ายกาลังงาน (Power Supply) จานวน 2,653 เครื่ อง ตาม สัญญาให้ ดาเนินการฯ โดยหากไม่สามารถส่งมอบได้ ดีพีซีต้องชดใช้ เงินจานวน 2,230 ล้ านบาท ซึ่งดี พีซีชี ้แจงว่าทรัพย์สินดังกล่าว ไม่ใช่เครื่ องหรื ออุปกรณ์ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญาข้ อ 2.1 ที่กาหนดให้ ดีพีซีต้องส่งมอบ ในวันที่ 18 ก.ค. 2555 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมดของ ้ กสท เนื่องจากเห็นว่าตามสัญญาข้ อ 12 สิทธิ ของ กสท ในอันที่จะเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีส่งมอบทรัพย์สิน ผลการพิจารณาคดี อันเป็ นวัตถุแห่งสัญญานัน้ ต้ องกระทาภายหลังวันสิ ้นสุดสัญญา 60 วัน ดังนันการที ้ ่ กสท ทาคาเสนอ ข้ อพิพาทจึงถือว่าเป็ นการใช้ สทิ ธิเรี ยกร้ องก่อนกาหนดระยะเวลา วันที่ 25 ต.ค. 2555 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึ่ง ขณะนี ้ ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 56


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

2559

กสท 7 เม.ย. 2553 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 

ดีพีซียื่นคาเสนอข้ อพิพาทให้ คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดให้ กสท ยกเลิกการกล่าวหาว่าดีพีซี เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา อันเนื่องมาจากการทาสัญญาการใช้ โครงข่ายระหว่างเอไอเอส - ดีพีซีที่ไม่ได้ รับความยินยอมจาก กสท พร้ อมทังชดใช้ ้ คา่ เสียหายแก่ดีพีซีเป็ นเงินจานวน 50 ล้ านบาท วันที่ 15 ก.ค. 2553 กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วน เพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการปรับลดอัตราค่าใช้ โครงข่ายร่วม (Roaming) ระหว่างดีพีซี - เอไอเอส จาก 2.10 บาท เป็ น 1.10 บาท ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เม.ย. 2550 - 31 ธ.ค. 2551 โดย ไม่ได้ รับอนุมตั ิจาก กสท ก่อน ซึง่ คิดเป็ นเงินจานวน 1,640 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับที่คานวณถึง เดือนมี.ค. 2553 อีก 365 ล้ านบาท รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 2,000 ล้ านบาท และเบี ้ยปรับในอัตราร้ อย ละ 1.25 ต่อเดือน นับแต่เดือนเม.ย. 2553 เป็ นต้ นไป วันที่ 12 ก.ย. 2554 กสท ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพิ่มเติมในกรณีดงั กล่าวในส่วนปี ดาเนินการที่ 12 (1 เม.ย. 2552 - 15 มิ.ย. 2552) เป็ นเงิน 113 ล้ านบาท

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี สถาบันอนุญาโตตุลาการได้ มีคาสัง่ ให้ รวมพิจารณาทัง้ 3 ข้ อพิพาทเข้ าด้ วยกัน ขณะนี ้ข้ อพิพาทอยู่ ระหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 1. 8 เม.ย. 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 6 ก.ย. 2556 ศาลปกครองกลาง กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซีชาระเงินจานวน 33 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อย ละ 15 ต่อปี ของเงินต้ นดังกล่าว รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 35 ล้ านบาท โดย กสท อ้ างว่า ดีพีซีผิดสัญญาให้ ดาเนินการฯ เนื่องจากสัญญาเช่าใช้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ระหว่างดีพีซี กับผู้ใช้ บริ การ ใน ระหว่างปี 2540 - 2546 จานวน 1,209 เลขหมาย มีการปลอมแปลงเอกสาร/ลายมือชื่อ เป็ นเหตุให้ กสท ได้ รับความเสียหายเนื่องจากไม่สามารถเรี ยกเก็บค่าใช้ บริ การระหว่างประเทศได้ เมื่อเลขหมาย ดังกล่าวมีการใช้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศของ กสท ในวันที่ 28 พ.ค. 2556 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ ยกคาเสนอข้ อพิพาททังหมดของ ้ ผลการพิจารณาคดี กสท เนื่องจากเห็นว่าข้ อพิพาทในคดีนี ้เป็ นเรื่ องพิพาททางละเมิด มิได้ เป็ นการกระทาอันเกิดจากการ ผิดสัญญาให้ ดาเนินการ ดังนันข้ ้ อพิพาทในคดีนี ้จึงไม่อยูใ่ นอานาจพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ วันที่ 6 ก.ย. 2556 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ขณะนี ้คดีอยู่ ความคืบหน้ าของคดี ในขันตอนการพิ ้ จารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 57


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

คู่ความ

ทีโอที

วันเริ่ มคดี และ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

9 พ.ค. 2554 ศาลปกครองกลาง

คู่ความ

กสท

วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

24 ส.ค. 2555 สถาบันอนุญาโตตุลาการ

คู่ความ

กสท

วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

1. 8 ต.ค. 2555 สถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. 15 ก.ย.2558 ศาลปกครองกลาง ดีพีซี ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ กสท คืนหนัง สือคา้ ประกันผลประโยชน์ ตอบแทนขัน้ ต่า ปี ดาเนินการที่ 10-14 และห้ ามมิให้ เรี ยกร้ องเงินใด ๆ จากธนาคาร พร้ อมทังช ้ าระค่าเสียหายในส่วนของ ค่าธรรมเนียมหนังสือค ้าประกัน และค่าเสียหายจากความเสียหายแก่ชื่อเสียงและเครดิตทางการเงิน อีก 109 ล้ านบาทให้ กบั ดีพีซี

ทีโอทียื่นฟ้ อง กสท และดีพีซี ต่อศาลปกครองกลาง ให้ ร่วมกันชาระค่า Access Charge ตามข้ อตกลง เรื่ องการเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ของดีพีซี ลงวันที่ 8 ก.ย. 2540 ซึง่ ประกอบด้ วย  ค่า Access Charge ที่ทีโอที ขอเพิ่มเรี ยกร้ องจากเดิมที่คานวณไว้ จนถึงวันที่ยื่นฟ้ อง (9 พ.ค. 2554) เป็ นวันที่ 15 ก.ย. 2556 (วันที่สิ ้นสุดสัมปทานของ และ ดีพีซี) ค่า Access Charge ซึง่ ดีพีซี ต้ องชาระให้ แก่ทีโอทีโดยคานวณจากจานวนเลขหมายที่ดีพีซีมีการให้ บริ การ ในแต่ละเดือนใน อัตรา 200 บาทต่อเลขหมาย เป็ นเงินรวม 1,289 ล้ านบาท  ค่า Access Charge ซึ่ง กสท ต้ องชาระให้ แก่ทีโอทีโดยคานวณจากครึ่ งหนึ่งของจานวนเงิ น ส่วนแบ่งรายได้ ที่ กสท ได้ รับจากดีพีซี เป็ นเงินรวม 3,944ล้ านบาท  ค่า Access Charge ซึ่ง กสท ชาระให้ แก่ทีโอทีไม่ครบถ้ วนเนื่องจาก กสท และดีพีซีนาส่วนลด ค่า Access Charge ในอัตรา 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนมาหักออกก่อน เป็ นเงินรวม 222 ล้ านบาท รวม 3 รายการ เป็ นเงินทังสิ ้ ้น 5,454 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ย ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ มีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซี ชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 10-14 เพิ่มเติมจากรายได้ คา่ เชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (IC) ที่ได้ รับทังหมด ้ (ขารับ) ก่อนหักค่า IC ที่จ่ายออกไปเป็ นจานวน 183 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน ต่อมา กสท เรี ยกร้ องให้ ชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปี ดาเนินการที่ 15 เพิ่มเติมเป็ นจานวน 141 ล้ านบาท พร้ อมเบี ้ยปรับในอัตราร้ อยละ 1.25 ต่อเดือน รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 324 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 58


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

วันที่ 28 พ.ค. 2558 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยชี ้ขาดให้ กสท คืนหนังสือค ้าประกันและชดใช้ ค่าธรรมเนียมธนาคารแก่ดีพีซี ในวันที่ 15 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ซึ่งขณะนี ้ ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูใ่ นขันตอนการพิ ้ จารณาของศาลปกครองกลาง ผลการพิจารณาคดี

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 28 ส.ค. 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการ

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 20 พ.ค. 2558 ศาลปกครองกลาง

กสท ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเรี ยกร้ องให้ ดีพีซี ส่งมอบหนังสือค ้าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันต ้ ่าปี ดาเนินการที่ 15 - 16 ฉบับใหม่ โดยอ้ างว่าหนังสือค ้าประกันที่ดีพีซีสง่ มอบให้ นนั ้ มีข้อความไม่ถกู ต้ อง และไม่เป็ นไปตามสัญญาให้ ดาเนินการฯ ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

กสท ยื่นฟ้ องสานักงาน กสทช. กทค. กสทช. ทรูมฟู และดีพีซี ให้ ชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการ ใช้ เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท. ช่วงระยะเวลาคุ้มครอง ตามประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชั่ว คราวในกรณี สิ ้นสุด การ อนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ช่วงระยะเวลาคุ้มครอง นับแต่วนั ที่ 16 ก.ย. 2556 ถึง 15 ก.ย. 2557 โดยในส่วนของดีพีซี ร่ วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 6,083 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี วันที่ 11 ก.ย. 2558 กสท ได้ ยื่นคาฟ้ องให้ ผ้ ถู กู ฟ้ องชาระค่าใช้ /ค่าตอบแทนจากการใช้ เครื่ องและ อุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท นับแต่วนั ที่ 16 ก.ย. 2557 ถึง 17 ก.ค. 2558 เพิ่มเติม โดยในส่วนของดีพีซี ร่ วมกับ สานักงาน กสทช. กทค. และ กสทช. จานวน 1,635 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 กสท ได้ ยื่นคาฟ้ องให้ ผ้ ถู กู ฟ้ องชาระค่าใช้ /ค่ตอบแทนจากการใช้ เครื่ อง และอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่ายโทรคมนาคมของ กสท นับแต่วนั ที่ 18 ก.ค. 2558 ถึงวันที่ 25 พ.ย. 2558 เพิ่ ม เติม โดยในส่ว นของดี พี ซี ร่ ว มกับ สานัก งาน กสทช.กทค. และ กสทช. จานวน 673 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยร้ อยละ 7.5 ต่อปี

ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1 | หน้ า 59


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

สานักงาน กสทช.กทค. และ กสทช. 16 พ.ย. 2558 ศาลปกครองกลาง

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 30 มิ.ย. 2559 สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้ อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม

คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กรมสรรพากร 1. 22 ก.ค. 2558 ศาลภาษี อากรกลาง 2. 28 มิ.ย. 2559 ศาลฎีกา ดีพีซี ได้ ยื่นฟ้ องกรมสรรพกรต่อศาลภาษี อากรกลางขอให้ เพิกถอนการประเมินของเจ้ าพนักงาน ประเมิน และเพิกถอนคาวินิจฉัยอุทธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และลดหรื องดเงินเพิ่ม ทังหมดกรณี ้ ที่เจ้ าพนักงานประเมินมีคาสัง่ ให้ ดีพีซี ชาระเงินเพิ่มจานวนรวมทังหมด ้ 5,596,595.48 บาท เนื่ อ งจากหัก และน าส่ง ภาษี หัก ณ ที่ จ่ า ยจากเงิ น ผลประโยชน์ ต อบแทนที่ ต้ อ งจ่ า ยให้ กสท ไม่ถกู ต้ องโดยนาภาษี สรรพสามิตไปหักออกก่อนตามมติ ครม.

ดีพีซี ยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ เพิกถอนมติและคาสัง่ ที่ให้ ดีพีซีดาเนินการส่งรายได้ จากการ ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระยะเวลาความคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ นับแต่วนั ที่เข้ าสู่มาตรการการคุ้มครอง ผู้ใช้ บริ การ ตาม ประกาศ กสทช. เรื่ องมาตรการคุ้มครองผู้ใช้ บริ การเป็ นการชั่วคราวฯ พ.ศ. 2556 ช่วง ระหว่างวันที่ 16 ก.ย. 2556 - 17 ก.ค. 2557 เป็ นเงินจานวน 628 ล้ านบาท พร้ อมดอกผลที่เกิดขึ ้น ผลการพิจารณาคดี ในวันที่ 16 ก.ย. 2559 คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ กสทช. ได้ ยื่นคาฟ้ องต่อศาลปกครอง กลางให้ ดีพีซีนาส่งรายได้ จากการให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในระยะเวลาความคุ้มครองผู้ใช้ บริ การ นับแต่วันที่เ ข้ าสู่มาตรการการคุ้มครองผู้ใช้ บริ ก าร ตาม ประกาศ กสทช. เรื่ องมาตรการคุ้ม ครอง ความคืบหน้ าของคดี ผู้ใช้ บริ การเป็ นการชัว่ คราวฯ พ.ศ. 2556 จนถึงวันที่มีคาสัง่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ช่วง ระหว่างวันที่ 16 ก.ย. 2556 - 17 ก.ค. 2557 จานวน 679 ล้ านบาทพร้ อมดอกเบี ้ย ขณะนี ้ คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

กสท. ได้ ยื่นคาเสนอข้ อพิพาทเพื่อให้ มีคาชี ้ขาดให้ ดีพีซีรือ้ ถอนอุปกรณ์โทรคมนาคมของเอไอเอสและ บริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (เอดับบลิวเอ็น) บริ ษัทย่อยของเอไอเอส ที่ติดตังอยู ้ ่บน โครงข่ายของดี พีซี ที่ได้ ส่งมอบเป็ นกรรมสิทธิ์ ให้ แก่ กสท.ตามสัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลา่ (Digital PCN (Personal Communication Network)) 1800 จานวน 97 แห่ง โดยไม่ได้ รับอนุญาตจาก กสท. ตังแต่ ้ เดือน ม.ค.56 ถึงเดือนมิ.ย. 59 รวมเป็ นเงิน 175.19 ล้ านบาท ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี ข้ อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1 | หน้ า 60


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ผลการพิจารณาคดี

เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 ศาลมีคาพิพากษายกฟ้ อง ดีพีซี โดยให้ เหตุผลว่า เงินค่าภาษี สรรพสามิต ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์ ตอบแทนที่โจทก์ จะต้ องชาระให้ แก่ กสท ตามสัญญาสัมปทาน ดังนัน้ ดีพีซี จึงมีหน้ าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายและนาส่งซึง่ เมื่อไม่ได้ หกั และนาส่ง จึงต้ องรับผิดชาระเงินเพิ่ม ร้ อยละ 1.5 ต่อเดือน รวมเป็ นเงินเพิ่มจานวน 5,596,595.48 บาท ความคืบหน้ าของคดี ดีพีซี ได้ ยื่ นอุทธรณ์ คาพิพากษาดัง กล่าวแล้ วเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2559 ขณะนี ้ คดีอยู่ระหว่า ง การพิจารณาของศาลฏีกา 5.3 กรณีข้อพิพาททางกฎหมายของ เอดับบลิวเอ็น ซึ่งเป็ นบริษัทย่ อย คู่ความ วันเริ่ มคดีและ ผู้พิจารณาคดี ข้ อพิพาท

กสท 30 มิ.ย. 2559 ศาลปกครองกลาง

กสท ยื่นฟ้ องต่อศาลปกครองกลางให้ เอดับบลิวเอ็นชาระค่าเสียหายจากกรณีที่ไปติดตังอุ ้ ปกรณ์โทรคม นามคมของ เอดับบลิวเอ็น ณ สถานีฐานของดีพีซี จานวน 67 แห่ง ที่ได้ สง่ มอบเป็ นกรรมสิทธิ์ให้ แก่ กสท ตามสัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า (Digital PCN (Personal Communication Network)) 1800 โดยมิได้ รับความยินยอมจาก กสท ตังแต่ ้ เดือน ม.ค. 56 - มิ.ย. 59 เป็ นเงิ น 62.736 ล้ านบาท และค่าเสียหายนับแต่วันฟ้ องอีกเดือนละ 2 ล้ านบาท จนกว่าจะมีการ รื อ้ ถอนอุปกรณ์ออกไป ผลการพิจารณาคดี ความคืบหน้ าของคดี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง หมายเหตุ คาเต็ม 1. บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ชื่อย่อ เอไอเอส

2. บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด

ดีพีซี

3. บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด

เอดับบลิวเอ็น

4. บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

ทีโอที

5. บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)

กสท

6. สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่าง ทีโอที กับ เอไอเอส

สัญญาอนุญาตฯ

7. สัญญาให้ ดาเนินการให้ บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ระหว่างกสทกับเอไอเอส

สัญญาให้ ดาเนินการฯ

8. สานักงานคณะคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

สานักงาน กสทช.

9. คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

กสทช.

10. เลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

เลขาธิการ กสทช.

11. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

กทค.

ส่วนที่ 1 | หน้ า 61


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

6. ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสาคัญอื่น 6.1 ข้ อมูลทั่วไปของบริษัท ชื่อบริ ษัทที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อย่อหลักทรัพย์ วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชาระแล้ ว จานวนผู้ถือหุ้นทังหมด ้

: : : : : : :

สัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free float) ประเภทธุรกิจ

: :

ที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่

:

เลขทะเบียนบริ ษัท เว็บไซต์ เว็บไซต์นกั ลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ โทรสาร

: : : : :

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) ADVANC 5 พฤศจิกายน 2534 437,045.01 ล้ านบาท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559) 4,997,459,800 บาท 2,973,095,330 บาท 54,420 ราย (ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2559 วันปิ ดสมุด ทะเบียนล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้ รับเงินปั นผล) 36.22% ให้ บ ริ ก ารสื่ อ สารโทรคมนาคม โดยรวมถึ ง ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก าร โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ธุรกิ จอิ นเทอร์ เ น็ตความเร็ วสูง และธุรกิ จ ดิจิทลั คอนเทนต์ เลขที่ 414 อาคารเอไอเอส 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสน ใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 0107535000265 http://www.ais.co.th http://investor.ais.co.th/ (66) 2029 5000 (66) 2029 5165

American Depositary Receipt ชื่อย่อของหลักทรัพย์ วิธีการซื ้อขาย นายทะเบียน อัตราส่วน (ADR to ORD) หมายเลข ADR CUSIP

: : : : :

AVIFY ซื ้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter: OTC) The Bank of New York Mellon 1:1 00753G103

ส่วนที่ 1 | หน้ า 62


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

6.2 ข้ อมูลทั่วไปของบริษทั ย่ อย บริษัทย่ อย บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด (DPC) สานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จากัด (ADC) (บริ ษัทย่อยโดยอ้ อมผ่าน DPC)

ทุนจดทะเบียน (ล้ านหุ้น)

มูลค่ าที่ตราไว้ ต่ อหุ้น (บาท)

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%)

ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่และ บริ การโทรคมนาคม

365.55

10

3,655.47

98.55

ให้ บริ การสื่อสารข้ อมูลผ่าน เครื อข่ายสายโทรศัพท์ และ สาย Optical Fiber

95.75

10

957.52

51.001)

ให้ บริ การศูนย์ให้ ข้อมูลทาง โทรศัพท์

27.2

10

272

99.99

ให้ บริ การการชาระเงินค่าสินค้ า และบริ การทางอิเล็กทรอนิกส์และ บัตรเงินสด

30

10

300

99.99

จาหน่ายบัตรเงินสดอิเล็คทรอนิกส์

25

10

250

99.99

ให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

2

100

100

99.99

ประเภทธุรกิจ

สานักงานเลขที่ 408/157 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 38 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.adc.co.th บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด (ACC) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (AMP) สานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ ด จากัด (AMC) สานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (AIN) สานักงานเลขที่ 408/127 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 29 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.ain.co.th

ส่วนที่ 1 | หน้ า 63


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริษัทย่ อย บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (SBN) สานักงานเลขที่ 408/157 ชัน้ 38 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 เว็บไซต์ : www.sbn.co.th

บริษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด (WDS) สานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (AWN) สานักงานเลขที่ 408/60 ชัน้ 15 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019

บริษัท ไมโม่ เทค จากัด (MMT) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด (FXL) สานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2029 5000 โทรสาร : (66) 2029 5019 บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด (ABN)

2559

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ล้ านหุ้น)

มูลค่ าที่ตราไว้ ต่ อหุ้น (บาท)

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%)

ให้ บริ การโทรคมนาคม และบริ การ โครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการ อินเตอร์ เน็ต (ISP) บริ การ อินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศและ บริ การชุมสายอินเตอร์ เน็ต บริ การ โครงข่ายโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการ เสียงผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต (Voice over IP) และบริ การ โทรทัศน์ผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต (IP Television)

3

100

300

99.99

นาเข้ าและจัดจาหน่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์ โทรศัพท์เคลื่อนที่

0.5

100

50

99.99

ให้ บริ การโทรคมนาคมที่ใช้ คลื่น ความถี่ ในย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ผู้จดั จาหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ให้ บริ การโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ ให้ บริ การโทรคมนาคม บริ การโครงข่ายโทรคมนาคม และ บริ การโครงข่ายกระจายเสียงและ โทรทัศน์ ที่ไม่ใช้ คลื่นความถี่

13.5

100

1,350

99.99

พัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศ (IT) บริ การรวบรวมข้ อมูลสาหรับบริการ เสริ มบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator) และ ให้ บริ การในการเรี ยกเก็บและรับ ชาระเงินจากลูกค้ า

0.5

100

50

99.99

ให้ เช่าและบริ การพื ้นที่ ที่ดนิ และ อาคาร และสิง่ อานวยความสะดวก ต่างๆ

0.01

100

1

99.98

ปั จจุบนั ยังมิได้ ประกอบธุรกิจ

0.75

100

75 2)

99.99

สานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร

ส่วนที่ 1 | หน้ า 64


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี บริษัทร่ วมทุน

ประเภทธุรกิจ

2559

ทุนจดทะเบียน (ล้ านหุ้น) 0.02

มูลค่ าที่ตราไว้ ต่ อหุ้น (บาท) 100

ทุนชาระแล้ ว (ล้ านบาท) 2

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%) 20.00

บริษัท ศูนย์ ให้ บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จากัด (CLH) สานักงานเลขที่ 598 อาคารสาทร สแควร์ ออฟฟิ ศ ทาวเวอร์ ห้ องเลขที่ 403 ชันที ้ ่ 4 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744

ศูนย์ให้ บริ การระบบสารสนเทศ และฐานข้ อมูลกลาง ประสานงาน การโอนย้ ายผู้ให้ บริ การ โทรคมนาคมเพื่อการคงสิทธิเลข หมายโทรศัพท์ (Mobile Number Portability: MNP)

บริดจ์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (BMB)

ให้ บริ การเกี่ยวกับเครื อข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาคพื ้นเอเชีย แปซิฟิก เพื่อให้ บริการเครื อข่าย โทรคมนาคมระหว่างประเทศ

9

1 เหรี ยญสหรัฐ

9 ล้ านเหรี ยญ สหรัฐ

10.00

ให้ เช่าอุปกรณ์โครงข่ายสื่อ สัญญาณโทรคมนาคม

0.5

100

14.5

29.00

ให้ บริ การโครงข่ายเส้ นใยแก้ วนา แสง ภายในนิคมอุตสาหกรรม อมตะ

1

100

25

60

750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, ประเทศสิงคโปร์ 469000 โทรศัพท์ : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 บริษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด (IH)) 52/1 หมู่ที่ 5 ถนนบางกรวย-ไทรน้ อย ตาบลบางสีทอง อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี บริษัท อมตะ เน็ทเวอร์ ค จากัด (AN)3) 2126 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้ วยขวาง กรุ งเทพมหานคร หมายเหตุ:

1)

สัดส่วนการถือหุ้นใน ADC ที่เหลืออีกร้ อยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างกัน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 ABN ได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนจากเดิม 15 ล้ านบาท ทาให้ ปัจจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 75 ล้ านบาท 3) บริ ษัท อมตะ เน็ทเวอร์ ค จากัด (AN) เป็ นบริ ษัทร่ วมทุนระหว่าง ABN กับบริ ษัท อมตะ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ตามที่บริ ษัทได้ แจ้ งข่าวต่อตลาดหลักทรัพย์ในเดือนตุลาคม 2558 โดยได้ จดทะเบียนจัดตั ้งแล้ วเสร็ จ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 2)

6.3 ข้ อมูลของบุคคลอ้ างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ห้ นุ สามัญ

บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : (66) 2009 9383 โทรสาร : (66) 2009 9476

ผู้สอบบัญชี

ดร. ศุภมิตร เตชะมนตรี กลุ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3356 บริ ษัท ดีลอยท์ ทู้ช โทมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จากัด อาคาร เอไอเอ สาทร เทาวเวอร์ ชัน้ 23-27 11/1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (66) 2034 0000 โทรสาร : (66) 2034 0100

ส่วนที่ 1 | หน้ า 65


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

7. ข้ อมูลหลักทรั พย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 จานวนทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบด้ วย หุ้นสามัญจานวน 4,997,459,800 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชาระแล้ ว : 2,973,095,330 บาท ประกอบด้ วย หุ้นสามัญจานวน 2,973,095,330 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท 7.2 ผู้ถอื หุ้น (ก) รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2559 (วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้ รับ เงินปั นผล) ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผู้ถอื หุ้น บริ ษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด THE BANK OF NEW YORK MELLON สานักงานประกันสังคม GIC PRIVATE LIMITED STATE STREET BANK EUROPE LIMITED CHASE NOMINEE LIMITED LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD รวม

จานวน (หุ้น) สัดส่ วนการถือหุ้น (%) 1,202,712,000 40.45 693,359,000 23.32 178,170,309 5.99 56,890,400 1.91 46,667,300 1.57 43,861,737 1.48 39,248,508 1.32 37,318,496 1.26 19,059,800 0.64 18,151,877 0.61 2,335,439,427 78.55

หมายเหตุ : ข้ อมูลจากบริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด

(ข) กลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกาหนดนโยบายการจัดการหรื อการดาเนินงานของบริษัท 1. บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ โดยผู้ถือหุ้นใหญ่ของบมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ ได้ แก่ รายชื่อผู้ถอื หุ้น จานวน (หุ้น) สัดส่ วนการถือหุ้น (%) Singtel Global Investment Pte. Ltd. 1), 2) 673,348,264 21.00 1), 3) บริ ษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด 625,251,960 19.50 1) ข้ อมูลการถือหุ้น ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 จากแบบรายงาน 246-2 ของ Singtel Global Investment Pte. Ltd. และบริ ษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด ต่อ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2) Singtel Global Investment Pte. Ltd. (SGI) เป็ นบริ ษัทย่อยทางอ้ อมของ Singapore Telecommunications Ltd. (SingTel) 3) ข้ อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ สาเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2560 ของบริ ษัท แอสเพน โฮลดิ ้งส์ จากัด เป็ น บริ ษัทจดทะเบียนใน ประเทศไทย ถือหุ้นโดยบริ ษัท แอนเดอร์ ตั ้น อินเวสเม้ นท์ พีทีอี แอลทีดี สัญชาติสงิ คโปร์ ในสัดส่วนร้ อยละ 99.99

ส่วนที่ 2 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

2. Singtel Strategic Investments Pte Ltd ถือหุ้นในบริ ษัททางตรงร้ อยละ 23.32 โดยผู้ถือหุ้นของ Singtel Strategic Investments Pte Ltd ได้ แก่ รายชื่อผู้ถอื หุ้น สัดส่ วนการถือหุ้น (%) Singtel Asian Investments Pte Ltd * 100.00 * Singtel Asian Investments Pte Ltd ถือหุ้นโดย Singapore Telecommunications Limited ในอัตราร้ อยละ 100 (ที่มา: Accounting and Corporate Regulatory Authority (ARCA), Singapore ณ วันที่ 26 มกราคม 2560)

(ค) ข้ อตกลงระหว่างกลุม่ ผู้ถือหุ้นใหญ่ในเรื่ องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรื อการบริ หารงานของ บริ ษัท โดยที่ข้อตกลงดังกล่าวมีบริ ษัทร่วมลงนามด้ วย - ไม่มี 7.3 นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติอนุมตั ิให้ เปลีย่ นแปลงนโยบายการจ่ายเงินปั นผล เป็ นดังต่อไปนี ้ บริ ษัทมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลไม่ต่ากว่าร้ อยละ 70 ของกาไรสุทธิตามงบการเงินรวม โดยจะพิจารณาการจ่ายเงินปั นผล ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นปี ละ 2 ครัง้ ครัง้ แรกเป็ นเงินปั นผลระหว่างกาล พิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี แรก ซึ่งต้ องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท และรายงานต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในครัง้ ถัดไป ส่วนการจ่ายเงิ นปั นผลครัง้ ที่ สองเป็ นเงินปั นผลประจาปี ซึ่งพิจารณาจากผลการดาเนินงานของบริ ษัทในงวดครึ่ งปี หลัง และต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้น สาหรั บ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่อ ยจะพิ จ ารณาจากผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ย สถานะการเงิ น และ ปั จจัยสาคัญอื่นๆ ของบริ ษัทย่อยนันๆ ้ ทังนี ้ ้ การจ่ายเงินปั นผลในทุกกรณี จะขึ ้นอยูก่ บั กระแสเงินสดและแผนการลงทุน รวมถึงความจาเป็ นและ ความเหมาะสม อื่น ๆ ในอนาคตของบริ ษั ท และ/หรื อ บริ ษั ท ย่อย และการจ่า ยเงิ นปั น ผลดัง กล่า วจะต้ อ งไม่เ กิ นก าไรสะสมที่ ปรากฏใน งบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัท และ/หรื อ มีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อการดาเนินงานปกติของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย โดยข้ อมูลการจ่ายเงินปั นผลในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมา จากนโยบายการจ่ายเงินปั นผลเดิมทื่ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 100 มีดงั นี ้ รายละเอียด

2555

2556

2557

2558

2559

การจ่ายเงินปั นผล (บาท : หุ้น)

10.90

12.15

12.00

12.99

10.08

1. เงินปั นผลระหว่างกาล

5.90

6.40

6.04

6.50

5.79

2. เงินปั นผลประจาปี

5.00

5.75

5.96

6.49

4.29

อัตราส่วนการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ

93%

99.58%

99.01%

98.64%

97.72%

ส่วนที่ 2 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

8. โครงสร้ างการจัดการ โครงสร้ างการบริหารงานของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่ าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน ประธานกรรมการบริหาร นายแอเลน ลิว ยงเคียง

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายวิเชียร เมฆตระการ หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านกลยุทธ์ องค์ กร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ (รักษาการ)

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านการเงิน1) นางสาวสุนิธยา ชินวัตร

กรรมการผู้อานวยการ 2) นายฮุย เว็ง ชอง

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านทรั พยากรบุคคล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม

หัวหน้ าคณะผู้บริหาร ด้ านธุรกิจสัมพันธ์ และองค์ กร2) นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร

หัวหน้ าคณะผู้บริหารงาน ตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ

1) ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2559 2) ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 2 | หน้ า 3


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

8.1 คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่ อยของบริษัท โครงสร้ างการจัดการเอไอเอสประกอบด้ วยคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อย 5 คณะ ได้ แก่ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน 3. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ 4. คณะกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน 5. คณะกรรมการบริ หาร โดยรายชื่อกรรมการ ข้ อมูลการดารงตาแหน่ง และรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมในปี 2559 ปรากฎดังนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 4

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ชื่อ-นามสกุล นายกานต์ ตระกูลฮุน1)

ตาแหน่ ง

   

นายสมประสงค์ บุญยะชัย2)

   

นางทัศนีย์ มโนรถ3)

  

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

  

นางสาวจีน โล เงีย้ บ จง3)

 

นายแอเลน ลิว ยง เคียง2)

  

นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ ชัย

  

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน รองประธานกรรมการบริ ษัท กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการผู้มีอานาจลงนาม กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแล กิจการ กรรมการ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริ ษัท

8/9

จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วมประชุม / จานวนการจัดประชุมทัง้ ปี คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และกากับดูแลกิจการ พัฒนาความเป็ น บริ หาร ผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน -

2559

คณะกรรมการการพัฒนา สูค่ วามยัง่ ยืน 6/6

8/9

-

6/6

4/5

-

-

9/9

13/14

-

-

-

6/6

9/9

13/14

6/6

-

-

-

9/9

-

6/6

-

-

-

4/94)

-

-

3/54)

13/13

-

9/9

14/14

6/6

-

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 5


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ชื่อ-นามสกุล

ตาแหน่ ง 3) 5)

คณะกรรมการบริ ษัท

จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วมประชุม / จานวนการจัดประชุมทัง้ ปี คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และกากับดูแลกิจการ พัฒนาความเป็ น บริ หาร ผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน 8/9

2559

คณะกรรมการการพัฒนา สูค่ วามยัง่ ยืน

กรรมการ

7/9

นายฟิ ลิป เชียง ชอง แทน 6)

  

1/1

-

-

-

10/11

-

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 2)

    

9/9

-

-

-

13/13

5/6

นายไพบูลย์ ภานุวัฒนวงศ์ 7)

กรรมการ กรรมการบริ หาร กรรมการผู้มีอานาจลงนาม กรรมการ กรรมการบริ หาร กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร กรรมการผู้มีอานาจลงนาม กรรมการบริ หาร

-

-

-

-

9/11

-

นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์

-

หมายเหตุ 1) 2) 3) 4)

5) 6) 7)

นายกานต์ ตระกูลฮุน ได้ รับเลือกตั ้งเข้ าดารงตาแหน่งประธานกรรมการบริ ษัทและประธานคณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 แทนนายวิทิต ลีนตุ พงษ์ ได้ ลาออกจากตาแหน่ง นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายแอเลน ลิว ยง เคียง และนายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ เป็ นกรรมการที่มีประสบการณ์ด้านกิจการโทรคมนาคมอย่างยาวนาน รายละเอียดประวัติการศึกษาและประสบการณ์การทางานปรากฏตามประวัติคณะกรรมการและผู้บริ หาร ในเอกสารแนบ 1 นางทัศนีย์ มโนรถ นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จงและนายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ เป็ นกรรมการทีม่ ีประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน โดยรายละเอียดประวัติการศึกษาและประสบการณ์ทางานปรากฎตามหัวข้ อประวัติคณะกรรมการและผู้บริ หาร ในเอกสารแนบ 1 จานวนครัง้ ในการเข้ าร่ วมประชุมที่แสดงในตารางด้ านบน นับเฉพาะการเข้ าร่ วมประชุมด้ วยตนเอง โดยในกรณีที่ นายแอเลน ลิว ยง เคียง ติดภารกิจในต่างประเทศ ท่านจะเข้ าร่ วมการพิจารณาโดยการประชุมทางไกลผ่านวิดีโอ (Video Conference) หรื อการเสนอความเห็นผ่านประธาน กรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าก่อนวันประชุม นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ ได้ ขอลาออกจากการเป็ นกรรมการบริ หาร มีผลตั ้งแต่วนั ที่ 23 สิงหาคม 2559 นายฟิ ลิป เชียง ชอง แทน ได้ รับการแต่งตั ้งเป็ นกรรมการบริ หารและกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 และวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ตามลาดับ ภายหลังจากที่นายวิทิต ลีนตุ พงษ์ ได้ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริ ษัท นายไพบูลย์ ภานุวฒ ั นวงศ์ได้ รับการแต่งตั ้งเป็ นกรรมการบริ หาร เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559

ส่วนที่ 2 | หน้ า 6


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

กรรมการผู้มีอานาจลงนาม คือ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายฟิ ลปิ เชียง ชอง แทน นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการสองในสามคนนี ้ ลงลายมือชื่อร่ วมกัน และประทับตราสาคัญของบริ ษัท คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท มีจานวน 10 คน ประกอบด้ วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์หลากหลายในแต่ละสาขา วิชาชีพ โดยมีกรรมการ 3 คน เป็ นผู้มีประสบการณ์ด้านกิจการโทรคมนาคม และมีกรรมการ 3 คน ทีม่ ีประสบการณ์ด้านบัญชีและ การเงิ น (รายละเอียดปรากฎในเอกสารแนบ 1) ทังนี ้ ้ ประธานกรรมการบริ ษัทไม่ได้ เป็ นบุคคลเดียวกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร เพื่อให้ มีการแบ่งแยกบทบาทหน้ าที่อย่างชัดเจนและมีการถ่วงดุลอานาจในการดาเนินงาน เอไอเอสมีกรรมการอิสระจานวน 4 ท่าน คิดเป็ นสัดส่วนเกินกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทังคณะ ้ รวมทังมี ้ กรรมการเพศหญิงจานวน 2 ท่าน ทังนี ้ ้ คณะกรรมการเป็ นตัวแทนผู้ถือหุ้นโดยรวมมิใช่เป็ นตัวแทนผู้ถือหุ้นกลุม่ ใดกลุม่ หนึ่ง แต่มีการกาหนดนโยบายให้ มี จานวนกรรมการทีเ่ ป็ นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นซึง่ มีอานาจควบคุม (Controlling shareholders) ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความ ซื่อสัตย์ สุจริ ต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท 2. กาหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดาเนินงานของบริ ษัท และกากับดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดาเนินการให้ เป็ นไปตาม นโยบายที่กาหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้ แก่บริ ษัทและผู้ถือ หุ้น 3. พิจารณาอนุมัติ รายการที่สาคัญ เช่น โครงการลงทุนธุ รกิ จใหม่ การซือ้ ขายทรั พย์ สิน ฯลฯ และการดาเนิน การใดๆ ที่กฎหมายกาหนด 4. พิจารณาอนุมตั ิและ/หรื อให้ ความเห็นชอบต่อรายการที่เกี่ ยวโยงกันของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยให้ เป็ นไปตามประกาศ ข้ อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ องของหน่วยงานที่กากับดูแล 5. ประเมินผลงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูงอย่างสม่าเสมอ และกาหนดค่าตอบแทน 6. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร ด้ วยความตังใจและความระมั ้ ดระวังในการปฏิบตั ิงาน 7. ดาเนินการให้ ฝ่ายบริ หารจัดให้ มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิ น และการสอบบัญชี ที่เชื่อถือได้ รวมทังดู ้ แลให้ มี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้ มีประสิทธิ ภาพและ ประสิทธิผล การบริ หารจัดการความเสีย่ ง การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล 8. ดูแลไม่ให้ เกิดปั ญหาความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีสว่ นได้ เสียของบริ ษัท 9. กากับดูแลกิจการให้ มีการปฏิบตั ิงานอย่างมีจริ ยธรรม 10. ทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท และประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาอย่างน้ อย ปี ละ 1 ครัง้ 11. รายงานความรั บผิดชอบของตนในการจัดทารายงานทางการเงิ น โดยแสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชี ไว้ ใน รายงานประจาปี และครอบคลุมในเรื่ องสาคัญๆ ตามนโยบายเรื่ องข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดสี าหรับกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ส่วนที่ 2 | หน้ า 7


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การสงวนสิทธิเรื่องที่เป็ นอานาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท แม้ วา่ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กระจายอานาจให้ แก่คณะกรรมการชุดย่อย ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และผู้บริ หารระดับสูง คณะกรรมการบริ ษัทสงวนสิทธิเรื่ องที่มีความสาคัญไว้ เป็ นอานาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อรักษาประโยชน์สงู สุดต่อเอไอเอส และผู้ถือหุ้น อาทิ - กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณ - ค่าใช้ จ่ายฝ่ ายทุน และค่าใช้ จ่ายที่เกินกว่าวงเงินที่คณะกรรมการชุดย่อย หรื อผู้บริ หารได้ รับ มอบหมายให้ อนุมตั ิได้ - การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการขายเงินลงทุน - นโยบายที่สาคัญ - การตกลงเข้ าทาสัญญาที่สาคัญ - การฟ้ องร้ อง และดาเนินคดีที่สาคัญ - นโยบายการจ่ายเงินปั นผล กรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริ ษัทมีหลักเกณฑ์ที่เข้ มข้ นกว่าที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกาหนด ทังนี ้ ้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์และเป็ นการถ่วงดุลอานาจ ของคณะกรรมการอย่างเหมาะสม โดยคุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริ ษัท มีดงั นี ้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 0.5 ของจานวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ นิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง ทังนี ้ ้ ให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ องของกรรมการอิสระรายนันๆ ้ ด้ วย 2. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่ได้ เงินเดือนประจา หรื อผู้มีอานาจ ควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลาดับเดียวกัน หรื อ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง สาหรับกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตังในหรื ้ อหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ 3. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง ใน ลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ ้ เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ถือ หุ้นที่มีนยั หรื อผู้มี อานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความ ขัดแย้ งสาหรั บกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตัง้ ในหรื อหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ ความสัมพันธ์ ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทารายการค้ าที่กระทาเป็ นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรื อให้ เช่าอสังหาริ มทรัพย์ รายการที่เกี่ยวกับสินทรัพย์หรื อบริ การ หรื อการให้ หรื อรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้ วยการรับหรื อให้ กู้ยืม คา้ ประกัน การให้ สินทรั พย์ เป็ นหลักประกันหนีส้ ิน รวมถึงพฤติการณ์ อื่นทานองเดียวกัน ซึ่งเป็ นผลให้ บริ ษั ทหรื อ คูส่ ญ ั ญามีภาระหนี ้ที่ต้องชาระต่ออีกฝ่ ายหนึง่ ตังแต่ ้ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของบริ ษัท หรื อตังแต่ ้ 20 ล้ านบาท ขึ ้นไป แล้ วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทังนี ้ ้ การคานวณภาระหนี ้ดังกล่าวให้ เป็ นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยว โยงกันตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้ วยหลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการ พิจารณาภาระหนี ้ดังกล่าว ให้ นบั รวมภาระหนี ้ที่เกิดขึ ้นในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 4. ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ น บิดามารดา คูส่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทังคู ้ ่สมรสของบุตร ผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอานาจควบคุมของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ส่วนที่ 2 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

5. ไม่เ ป็ นกรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ง ตัง้ ขึ น้ เพื่ อ เป็ นตัว แทนของกรรมการบริ ษั ท ผู้ถื อ หุ้น รายใหญ่ หรื อ ผู้ถื อ หุ้น ซึ่ง เป็ น ผู้ที่เกี่ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง และไม่ เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอานาจควบคุมหรื อหุ้นส่วนของสานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัท ย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง สังกัดอยู่ สาหรับกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตังในหรื ้ อหลัง วันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ 7. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ปรึ กษาทางการเงิน ซึ่งได้ รับค่าบริ การเกินกว่า 2 ล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ ง และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอานาจควบคุมหรื อหุ้นส่วนของผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ ้ วย สาหรับกรรมการ ตรวจสอบที่ได้ รับการแต่งตังในหรื ้ อหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้ องพ้ นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า สองปี ก่อนได้ รับการแต่งตัง้ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย หรื อไม่เป็ น หุ้นส่วนที่มีนยั ในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที่มีสว่ นร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่รับเงินเดือนประจา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละ 1 ของจานวนหุ้นที่มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัทอื่น ซึง่ ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย 9. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษัท ภายหลังได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการอิสระที่มีลกั ษณะเป็ นไปตามข้ อ 1 ถึง 9 แล้ ว กรรมการอิสระอาจได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ ตดั สินใจในการดาเนินกิจการของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลาดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ งโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้ เอไอเอสอาจแต่งตังบุ ้ คคลที่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจหรื อการให้ บริ การทางวิชาชีพเกินมูลค่าตามข้ อ 3 หรื อ 7 เป็ นกรรมการอิสระได้ หากคณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณาคุณสมบัติอย่างระมัดระวังและมีความเห็นว่าการแต่งตังบุ ้ คคลดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่และการให้ ความเห็นที่เป็ นอิสระ และให้ เปิ ดเผยข้ อมูลต่อไปนีใ้ นหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นใน วาระพิจารณาแต่งตังกรรมการอิ ้ สระด้ วย (1) ลักษณะความสัมพันธ์ ท างธุรกิ จหรื อการให้ บริ การทางวิช าชี พที่ทาให้ บุคคลดังกล่าวมีคุณสมบัติไม่เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กาหนด (2) เหตุผลและความจาเป็ นที่ยงั คงหรื อแต่งตังให้ ้ บคุ คลดังกล่าวเป็ นกรรมการอิสระ (3) ความเห็นของคณะกรรมการของบริ ษัทในการเสนอให้ มีการแต่งตังบุ ้ คคลดังกล่าวเป็ นกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดเป็ นนโยบายว่ากรรมการอิสระอาจขาดความเป็ นอิสระเมื่อได้ ปฏิบตั ิงานเป็ นระยะเวลา 9 ปี หรื อ 3 วาระติดต่อกัน ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทจะพิจารณาทบทวนความเป็ นอิสระหลังจากนันทุ ้ กๆ ปี การแบ่ งแยกหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัทและฝ่ ายบริหาร คณะกรรมการบริ ษัทมีหน้ าที่กากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์และข้ อบังคับของ บริ ษัท มติข องที่ประชุมผู้ถือหุ้น และนโยบายการกากับดูแลกิ จการของเอไอเอส ทัง้ นี ้ ในการกากับดูแล กรรมการจะต้ องใช้ ดุลยพินิจในการตัดสินในทางธุรกิจ และปฏิบตั ิในสิง่ ที่ตนเองเชื่ออย่างมีเหตุผลว่าจะเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อ เอไอเอสและผู้ถือหุ้น ฝ่ ายบริ หารมีหน้ าที่รับผิดชอบในการนากลยุทธ์ วัตถุประสงค์ของเอไอเอสไปปฏิบตั ิให้ ประสบความสาเร็ จ ตลอดจน บริ หารจัดการงานประจาวันและธุรกิจของเอไอเอส ส่วนที่ 2 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การแบ่ งแยกตาแหน่ งประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ประธานกรรมการบริ ษัทและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารต้ องเป็ นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ และคุณสมบัติ ทีเ่ หมาะสม ไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้ มีการถ่วงดุลอานาจ โดยแยกหน้ าที่การกากับดูแลและการบริ หารงานออกจากกัน ประธานกรรมการบริ ษัทต้ องเป็ นกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร เป็ นผู้นาของคณะกรรมการ และทาหน้ าที่เป็ นประธานการ ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นหัวหน้ าและผู้นาคณะผู้บริ หารของบริ ษัท มีหน้ าที่ความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทใน การบริ หารจัดการบริ ษัทตามทิศทาง กลยุทธ์ และงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทให้ สาเร็ จบรรลุตามเป้าหมาย โดยมีขอบเขตอานาจหน้ าที่ภายใต้ กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติคณะกรรมการบริ ษัทและมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการชุดย่ อย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีรายงานทางการเงินถูกต้ องตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกาหนด และมีการเปิ ดเผย อย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ าย เลิกจ้ าง และการพิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน ความดีความชอบของหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน 3. สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4. พิจารณาผลการปฏิบตั ิงานของผู้สอบบัญชี และให้ ข้อเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อเสนอขออนุมตั ิการแต่งตัง้ เลือก กลับมาใหม่ เลิกจ้ าง และกาหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีของบริ ษัทจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น 5. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่วมประชุมด้ วยอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ 6. พิจารณานโยบายของบริ ษัทเกี่ยวกับการใช้ บริ การอื่นที่มิใช่การสอบบัญชีจากสานักงานสอบบัญชีเดียวกัน 7. พิจ ารณารายการที่ เ กี่ ยวโยงกัน หรื อ รายการที่อ าจมี ค วามขัด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทังนี ้ ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริ ษัท 8. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบบริ หารความเสีย่ ง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 9. สอบทานและอนุมตั ิกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนงานตรวจสอบภายในประจาปี การปฏิบตั ิงานของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี 10. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี ของบริ ษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้ องลงนาม โดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี ้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัท (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ส่วนที่ 2 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

11.

12.

13. 14. 15.

16. 17. 18.

2559

(6) จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้ าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรื อข้ อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับจากการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามกฎบัตร (Charter) (8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษัท ดาเนินการตรวจสอบข้ อเท็จจริ งตามที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จดั การ หรื อ บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการดาเนินงานของบริ ษัทได้ กระทาความผิดตามที่กฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์กาหนด และให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นให้ แก่สานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี รายงานผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบและข้ อเสนอแนะที่จาเป็ นให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบอย่างน้ อย ปี ละ 4 ครัง้ โดยในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรื อมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรื อการกระทา ดังต่อไปนี ้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัท ให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริ ษัทเพื่อดาเนินการปรับปรุ งแก้ ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร (1) รายการที่เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริ ต หรื อมีสงิ่ ผิดปกติ หรื อมีความบกพร่องที่สาคัญในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง กับธุรกิจของบริ ษัท หากคณะกรรมการของบริ ษัทหรื อผู้บริ หารไม่ดาเนินการให้ มีการปรับปรุ งแก้ ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่ง อาจรายงานว่ามี รายการหรื อการกระทานัน้ ต่อสานักงานคณะกรรมการก ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขตอานาจหน้ าที่ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจเชิญให้ ฝ่ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อ พนักงานของบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องมาให้ ความเห็น ร่วมประชุม หรื อส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้ องจาเป็ น ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขต อานาจ หน้ าที่ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจว่าจ้ างที่ปรึ กษาหรื อเชิญบุคคลที่มี ความรู้ความสามารถ เพื่อให้ ความเห็น หรื อคาแนะนา เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานตามความจาเป็ น สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล และพิจารณาข้ อร้ องเรี ยน รวมถึงพิจารณาผลการสอบสวนของบริ ษัททุกไตรมาส รวมทังเป็ ้ นช่องทางหนึ่งของบริ ษัทใน การรับแจ้ งข้ อร้ องเรี ยนตามนโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี พิจารณาสอบทานกฎบัตรนี ้เป็ นประจาทุกปี และเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณาอนุมตั ิเปลี่ยนแปลงหากมี ความจาเป็ น ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย ด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

2. คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่ าตอบแทน 1. กาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสม ทังที ้ ่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ของกรรมการ กรรมการชุดย่อย และผู้บริ หาร ระดับสูงของบริ ษัทในแต่ละปี เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทโดยรวม 2. จัดทาหลักเกณฑ์และนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทและผู้บริ หารระดับสู ง เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิและ/หรื อนาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมตั ิตามแต่กรณี ส่วนที่ 2 | หน้ า 11


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

3. พิจารณาสอบทานและอนุมตั ิผลการดาเนินงานของบริ ษัท เพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาอนุมตั ิจ่ายเงินโบนัสประจาปี ตาม ผลตัวชี ้วัดการปฏิบตั ิงานและพิจารณาปรับเพิ่มเงินเดือนประจาปี 4. พิจารณาและอนุมัติโครงการค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) รวมถึงแนวทางปฎิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 5. พิจารณาและอนุมตั ิผลการประเมินการปฏิบตั ิงานเพื่อกาหนดเงินโบนัส ประจาปี การปรั บขึ ้นเงินเดือนประจาปี และ ค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) ให้ แก่ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูง ซึง่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว 6. พิจารณาและอนุมตั ิการจ่ายเงินโบนัสประจาปี ให้ กบั กรรมการของบริ ษัท 7. รายงานนโยบายด้ านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผล และวัตถุประสงค์ของนโยบายเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี 8. ร่ วมกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท ประเมินและกาหนดผู้สืบทอดตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงซึ่งรายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว และรายงานแผนการสืบทอดตาแหน่งของ ผู้บริ หารระดับสูงให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกปี 9. ร่ วมกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของบริ ษัทจัดทานโยบายแผนการสืบทอดตาแหน่งสาหรับตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่ บริ หารของบริ ษัท รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงซึง่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารดังกล่าว 10. ทาหน้ าที่ดแู ลกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูง 11. ว่าจ้ างที่ปรึ กษาหรื อบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ เพื่อให้ ความเห็นหรื อคาแนะนาตามความจาเป็ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ด้ านการพัฒนาความเป็ นผู้นา 12. คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัทและมีหน้ าที่ให้ คาชี ้แจง ตอบคาถามใดๆ เกี่ยวกับค่าตอบแทนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 13. พิ จ ารณาทบทวนและประเมิ น ความเพี ย งพอของกฎบัต รและเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาอนุมัติ เปลีย่ นแปลง 14. รายงานผลการปฏิ บัติ ง านที่ ส าคั ญ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท รั บ ทราบเป็ นประจ า รวมทั ง้ ประเด็ น ส าคั ญ ต่ า งๆ ที่คณะกรรมการบริ ษัทควรได้ รับทราบ 15. มีอานาจเชิญฝ่ ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลใดที่เกี่ยวข้ องของบริ ษัทมาให้ ความเห็น เข้ าร่ วมประชุม หรื อให้ ข้อมูล ทีเ่ กี่ยวข้ อง 16. ดาเนินการอื่นๆ ใดหรื อตามอานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายหน้ าที่ให้ เป็ นคราวๆ ไป 3. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ 1. กาหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริ ษัท 2. กากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท พิจารณาทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการของ บริ ษัท ทุกๆ ปี รวมทังเสนอปรั ้ บปรุงแก้ ไขนโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทให้ คณะกรรมการพิจารณา 3. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดย่อย โดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดารงตาแหน่งกรรมการ เพื่อเสนอ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ และ/หรื อเสนอขออนุมตั ิตอ่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น แล้ วแต่กรณี 4. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย

ส่วนที่ 2 | หน้ า 12


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

4. คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน 1. พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมายการดาเนินงาน และงบประมาณที่เพียงพอ ตลอดจนการใดๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับ การพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ 2. เสนอประเด็ น ส าคั ญ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ บริ ษั ท อั น เกี่ ยวเนื่ อ งกั บ การพั ฒ นาสู่ ค วามยั่ ง ยื น เพื่ อ เสนอต่ อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณา 3. สอบทานผลการปฏิบตั ิงานตามนโยบายและกลยุทธ์ด้านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อให้ เป็ นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 4. ให้ คาปรึกษาและสนับสนุนประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารอันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบตั ิงานด้ านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน 5. รายงานผลการดาเนินงานด้ านการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืนต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท 6. สอบทานและให้ ความเห็นชอบต่อรายงานการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณา อนุมตั ิ 7. การปฏิบตั ิอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย 5. คณะกรรมการบริหาร 1. ก าหนดทิ ศ ทางกลยุท ธ์ โครงสร้ างการบริ ห ารงาน แผนธุ ร กิ จ และงบประมาณประจ าปี ของบริ ษั ท เพื่ อ เสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ 2. บริ หารการดาเนินธุรกิจใดๆ ของบริ ษัทให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้ วางไว้ 3. กากับและติดตามผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของบริ ษัท และรายงานผลการดาเนินงานและฐานะการเงินให้ แก่ กรรมการบริ ษัทรับทราบเป็ นประจาทุกเดือน 4. แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ 5. พิจารณาและให้ ความเห็นแก่คณะกรรมการบริ ษัทเกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษัท 6. พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ ยวกับการลงทุนและจาหน่ายทรั พย์ สิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การเงินและ การบริ หารเงิน การบริ หารงานทัว่ ไป และรายการอื่นใดที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษัท ภายในขอบเขตอานาจที่ได้ รับอนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษัท 7. พิจารณาและให้ ความเห็นต่อเรื่ องที่ต้องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ยกเว้ นในกิจกรรมใดๆ ซึง่ คณะกรรมการ บริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการชุดย่อยอื่นเป็ นผู้ดาเนินการไว้ แล้ ว 8. พิจารณาและสอบทานการบริ หารความเสีย่ งและระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท 9. คณะกรรมการบริ หารอาจมอบอานาจช่วงให้ ผ้ ู บริ หารหรื อบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอานาจในการดาเนินการในเรื่ องใด เรื่ องหนึง่ หรื อหลายเรื่ องตามที่คณะกรรมการบริ หารพิจารณาเห็นสมควรได้ การอนุมตั ิรายการของคณะกรรมการบริ หาร และ/หรื อ การมอบอ านาจช่ ว งต้ อ งไม่ เ ป็ นการอนุมัติ ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน หรื อ รายการที่ อ าจ มี ค วามขัด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ หรื อรายการที่คณะกรรมการบริ หารมีสว่ นได้ เสียตามที่กาหนดในข้ อบังคับของบริ ษัท และตามที่กาหนดโดย คณะกรรมการบริ ษัทและหน่วยงานกากับดูแลที่เกี่ยวข้ อง 10. ว่าจ้ างที่ปรึกษาหรื อบุคคลที่มีความเป็ นอิสระ เพื่อให้ ความเห็นหรื อคาแนะนาตามความจาเป็ น 11. มีอานาจเชิญฝ่ ายจัดการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลใดที่เกี่ยวข้ องของบริ ษัทมาให้ ความเห็น เข้ าร่ วมประชุม หรื อให้ ข้อมูลที่ เกี่ยวข้ องตามที่จาเป็ น 12. รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านที่ ส าคั ญ ของคณะกรรมการบริ หารให้ คณะกรรมการบริ ษั ท รั บ ทราบเป็ นประจ า ทุกไตรมาส ในวาระการรายงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

ส่วนที่ 2 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

13. ประเมิน ผลการปฏิ บัติง านของตนเองและประเมิน ความเพี ย งพอของกฎบัต รเป็ นประจ าทุกปี ซึ่ง อาจท าพร้ อมกับ การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยอื่น โดยอยู่ภายใต้ การดูแลของ คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ 14. ดาเนินการอื่นๆ ใด หรื อตามอานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายหน้ าที่ให้ เป็ นคราวๆ ไป นอกเหนือจากคณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยแล้ ว เอไอเอสยังกาหนดให้ มีผ้ ูบริ หารระดับสูงเพื่อคอย สนับสนุนการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ ดังรายชื่อต่อไปนี ้ ผู้บริหาร1) 1. นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 2. 3. 4. 5.

นายฮุย เว็ง ชอง2) นางสาวสุนิธยา ชินวัตร3) นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร2) นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และ รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกลยุทธ์องค์กร กรรมการผู้อานวยการ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล

หมายเหตุ : 1) รายชื่อผู้บริ หาร 4 รายแรก ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2559 ตามคานิยามของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2) ได้ รับแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559 3) ได้ รับแต่งตั ้งเมื่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2559

8.2 การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง 8.2.1 หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการ 1. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการมีหน้ าที่ในการสรรหา คัดเลือก บุคคลที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสม และเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาแต่งตังหรื ้ อเสนอขออนุมตั ิแต่งตังต่ ้ อที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามข้ อบังคับของบริ ษัท 2. คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิ จการ จะพิจ ารณาทบทวนทัก ษะและคุณลักษณะของกรรมการ ( Skill and Characteristic) และองค์ ประกอบโดยรวมของคณะกรรมการบริ ษั ท เปรี ย บเที ยบกับ ทิศ ทางในการด าเนิน ธุร กิ จ ในปั จจุบนั และอนาคต โดยจัดทาเป็ นตาราง Board Skill Matrix เพื่อกาหนดเกณฑ์ในการสรรหากรรมการที่ต้องการเป็ น ประจาทุกปี ในการทบทวนดังกล่าว คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการยังได้ พิจารณาถึงความหลากหลาย ทังใน ้ ด้ านทักษะ ประสบการณ์ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความเป็ นอิสระ อายุ และเพศของกรรมการ 3. ในการพิ จารณาแต่งตัง้ กรรมการเดิมเป็ นกรรมการต่ออีกวาระหนึ่ง คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิ จการจะ พิจารณาปั จจัยต่างๆ ซึง่ รวมถึง ผลการปฏิบตั ิงาน ประวัติการเข้ าร่วมและการมีสว่ นร่วมในการประชุม และการสนับสนุน ในกิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษัท โดยหากเป็ นกรรมการอิสระ จะพิจารณาถึงความเป็ นอิสระของกรรมการท่าน ดังกล่าวด้ วย 4. การแต่งตังกรรมการให้ ้ เป็ นไปตามข้ อบังคับบริ ษัทและข้ อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งจะต้ องมีความโปร่ งใสและ ชัดเจน และดาเนินการโดยผ่านคณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ โดยหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตังกรรมการ ้ ในการประชุมผู้ถือหุ้น ดังนี ้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับจานวนหุ้นที่ถือ คือ หนึง่ หุ้นเท่ากับหนึง่ เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงที่มีอยู่ทงหมดตาม ั้ (1) เลือกตังบุ ้ คคลคนเดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ ในกรณีที่เลือกตังบุ ้ คคลหลายคนเป็ นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 14


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

(3) บุคคลซึง่ ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมา เป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะ พึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้ รับการเลือกตัง้ ในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อพึงจะเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ให้ ผ้ เู ป็ นประธานเป็ นผู้ออกเสียงชี ้ขาด กรณีทตี่ าแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากสาเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตาแหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการ พิจารณาแต่งตังบุ ้ คคลซึ่งมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายเข้ าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ เว้ นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจากตาแหน่งเหลือน้ อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการที่ตนแทน ทังนี ้ ้ มติการแต่งตังบุ ้ คคลเข้ าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวต้ อ งได้ รับคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการที่ยงั เหลืออยู่ ทังนี ้ ้ เอไอเอสเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีสว่ นร่ วมในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการได้ ลว่ งหน้ าไม่ น้ อยกว่า 3 เดือนก่อนวันสิ ้นสุดรอบปี บัญชี โดยแจ้ งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของเอไอเอส ซึ่ง มี ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ วิ ธี ก ารเสนอและขัน้ ตอนการพิ จ ารณา โดยในปี 2559 ไม่ มี ผ้ ูถื อ หุ้น รายใดเสนอชื่ อ บุค คลเพื่ อ รั บ การพิจารณาเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ 8.2.2 การสรรหาผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้พิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมมาดารงตาแหน่ง ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารและผู้บริ หารระดับสูงที่มีหน้ าที่รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมถึงจัดทาแผนการสืบทอด ตาแหน่ง (Succession Plan) โดยพิจารณาคัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทงภายในและภายนอกองค์ ั้ กร โดยคณะกรรมการพัฒนา ความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนอาจพิจารณาว่าจ้ างที่ปรึกษาอิสระเพื่อเข้ ามาช่วยในการสรรหาดังกล่าวด้ วย ในตาแหน่งผู้บริ หารระดับสูง บริ ษัทได้ จดั ทาแผนสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan) รองรับผู้บริ หารตังแต่ ้ ระดับ ผู้อานวยการฝ่ ายขึ ้นไป โดยได้ ระบุตวั บุคคลที่จะทาหน้ าที่แทน พร้ อมกันนี ้ เอไอเอสได้ จัดให้ มีระบบพัฒนาบุคลากรในลาดับ รองลงมาเพื่อเตรี ยมความพร้ อมสาหรับการขึ ้นไปดารงตาแหน่งดังกล่าวด้ วย 8.3 วาระการดารงตาแหน่ ง 8.3.1 วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการบริษัท (1) ตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และข้ อบังคับของบริ ษัทกาหนดให้ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี ทุกครัง้ ให้ กรรมการออกจากตาแหน่ง 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทังหมด ้ ถ้ าจานวนกรรมการที่จะแบ่ง ออกให้ ตรงสามส่วนไม่พอดี ให้ ออกจานวนใกล้ เคียงที่สดุ กับส่วน 1 ใน 3 โดยให้ กรรมการคนที่อยู่ในตาแหน่งนาน ที่สดุ เป็ นผู้ออกจากตาแหน่งและกรรมการที่ออกจากตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับเลือกเข้ ามาดารงตาแหน่งใหม่อีก ได้ (2) กรณีทตี าแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากสาเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตาแหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการ พิจารณาแต่งตังบุ ้ คคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมาย มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัท มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 เข้ าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการแทนจะอยู่ใน ตาแหน่งกรรมการได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการที่ตนแทน 8.3.2 วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการตรวจสอบ (1) กรรมการตรวจสอบมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละไม่เกิน 3 ปี กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งตามวาระมีสิทธิได้ รับเลือก กลับเข้ ามาใหม่ได้ ทังนี ้ ้ สาหรับผู้ที่ได้ ดารงตาแหน่งมาแล้ วเป็ นระยะเวลา 9 ปี หรื อ 3 วาระติดต่อกัน คณะกรรมการ บริ ษัทจะทบทวนความเป็ นอิสระที่แท้ จริ งของกรรมการผู้นนเป็ ั ้ นประจาทุกๆ ปี

ส่วนที่ 2 | หน้ า 15


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

(2) กรรมการตรวจสอบท่านใดประสงค์จะลาออกก่อนครบวาระต้ องยื่นหนั งสือลาออกต่อประธานกรรมการบริ ษัท โดยการลาออกมีผลตังแต่ ้ วนั ที่ใบลาออกมาถึงที่บริ ษัทเพื่อให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาแต่งตังกรรมการอื ้ ่นที่มี คุณสมบัติครบถ้ วนทดแทนกรรมการที่ลาออก โดยให้ ดารงตาแหน่งเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องแต่งตังกรรมการตรวจสอบให้ ้ ครบถ้ วนภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่กรรมการตรวจสอบคน นันลาออก ้ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบพ้ นจากตาแหน่งทังคณะ ้ เพราะเหตุอื่นนอกจากขาดคุณสมบัติ หรื อมีลกั ษณะต้ องห้ ามตาม กฎหมาย ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบที่ พ้ น จากต าแหน่ง ยัง คงต้ อ งอยู่รั ก ษาการในต าแหน่ง เพี ย งเท่ า ที่ จ าเป็ นจนกว่ า คณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่จะเข้ ารับหน้ าที่ 8.3.3 วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการชุดย่ อยอื่นๆ (1) ให้ ก รรมการชุ ด ย่อ ยอื่ น ๆ มี ว าระอยู่ใ นต าแหน่ ง ตามวาระการด ารงต าแหน่ ง ของกรรมการ และกรรมการ ชุดย่อยอื่นๆ ซึง่ พ้ นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ อีกได้ (2) นอกจากการพ้ นจากตาแหน่งตาม (1) กรรมการชุดย่อยอื่นๆ พ้ นจากตาแหน่งเมื่อ - ตาย - ลาออก - ขาดคุณสมบัติการเป็ นกรรมการชุดย่อย - คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง 8.4 หลักเกณฑ์ ในการพิจารณาจัดสรรค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร เอไอเอสมีนโยบายในการกาหนดค่าตอบแทนให้ กรรมการ โดยสอดคล้ องกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และเมื่อเทียบกับบริ ษัท ในอุตสาหกรรมเดียวกันและบริ ษัทที่มีขนาดใกล้ เคียงกันแล้ ว ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอที่จะจูงใจ และรักษากรรมการที่มีคณ ุ ภาพไว้ และจะคานึงถึงความเป็ นธรรมและเหมาะสมสาหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร โดยสอดคล้ องกับผลการดาเนินงานของบริ ษัทและผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการและผู้บริ หารแต่ละท่าน คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน เป็ นผู้พิจารณากาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสมทังที ้ ่ เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ให้ แก่ กรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมถึงผู้บริ หารระดับสูงที่มีหน้ าที่ รายงานตรงต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร โดยในการพิจารณานอกจากนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนที่กล่าวไว้ ข้างต้ นแล้ ว จะมีการ นาผลสารวจค่าตอบแทนกรรมการที่จดั ทาโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทยมา ประกอบการพิจารณา ทังนี ้ ้ สาหรับค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนจะนาเข้ าเสนอต่อที่ป ระชุม คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อขอมติเห็นชอบ และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมตั ิเป็ นประจาทุกปี 8.4.1 ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงินสาหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร จานวน 10 ราย รวม จานวนเงิน 30.07 ล้ านบาท โดยจ่ายจากผลการดาเนินงานประจาปี 2559 และมีการพิจารณาจัดสรรตามนโยบายการจ่าย ค่าตอบแทนและกรอบวงเงิน 36 ล้ านบาท ซึ่งได้ รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจาปี 2559 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2559 ทังนี ้ ้ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าว บริ ษัทใช้ หลักเกณฑ์เดียวกันกับปี 2558 และค่าตอบแทนที่จดั สรรอยูภ่ ายในกรอบของวงเงิน อันประกอบด้ วย ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี ้ยประชุมและโบนัส

ส่วนที่ 2 | หน้ า 16


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

นโยบายการจ่ ายตอบแทนคณะกรรมการประจาปี 2559 ค่ าตอบแทนในรูปตัวเงิน (บาท)

กรรมการ

ค่ าตอบแทนรายเดือน

ค่ าเบีย้ ประชุม

โบนัส

คณะกรรมการ 

ประธานกรรมการ

300,000

x

กรรมการ

75,000

25,000

25,000

25,000

x

25,000

10,000

25,000

x

25,000

คณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการบริหาร 

ประธานกรรมการ

กรรมการ คณะกรรมการชุดย่ อยอื่นๆ  

ประธานกรรมการ

กรรมการ

หมายเหตุ :

1) กรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร / พนักงานของบริ ษัท หรื อของบริ ษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ไม่มีสทิ ธิได้ รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ หรื อกรรมการชุดย่อย 2) ประธานกรรมการไม่ได้ รับค่าตอบแทนรายเดือน หรื อเบี ้ยประชุม ในฐานะประธานในคณะกรรมการชุดย่อย

ค่ าตอบแทนกรรมการบริษัทเป็ นรายบุคคลที่ได้ รับในฐานะกรรมการบริษัทจานวน 7 ราย ในปี 2559 มีดังนี ้ ชื่อ - นามสกุล นายกานต์ ตระกูลฮุน1)

นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

ตาแหน่ ง - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการการพัฒนาสู่ ความยัง่ ยืน - ประธานกรรมการพัฒนา ความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการสรรหาและกากับ ดูแลกิจการ - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการสรรหาและ กากับดูแลกิจการ - กรรมการตรวจสอบ

ค่ าตอบแทนราย เดือน (บาท) 1,399,833

ค่ าเบีย้ ประชุม1) (บาท) 325,000

1,200,000

1,020,000

ส่วนที่ 2 | หน้ า 17

2,398,500

ค่ าตอบแทน อื่นๆ -

775,000

3,150,000

-

725,000

2,289,000

-

โบนัส (บาท)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ชื่อ - นามสกุล นางทัศนีย์ มโนรถ

นายสมประสงค์ บุณยะชัย

นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ 2) นายวิทิต ลีนตุ พงษ์ 3) รวม4) หมายเหตุ

ตาแหน่ ง - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการการพัฒนาสูค่ วาม ยัง่ ยืน - รองประธานกรรมการ - กรรมการพัฒนาความเป็ น ผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน - กรรมการสรรหาและกากับ ดูแลกิจการ - กรรมการ

ค่ าตอบแทนราย เดือน (บาท) 900,000

ค่ าเบีย้ ประชุม1) (บาท) 750,000

900,000

900,000 3,080,000 9,399,833

2559

2,178,800

ค่ าตอบแทน อื่นๆ -

525,000

2,253,600

-

450,000 3,550,000

2,253,600 2,604,100 17,127,600

-

โบนัส (บาท)

1) นายกานต์ ตระกูลฮุน ได้ รับแต่งตังเป็ ้ นประธานกรรมการ ประธานกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 2) นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ ได้ ลาออกจากการเป็ นกรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2559 3) นายวิทิต ลีนตุ พงษ์ ได้ ลาออกจากการเป็ นประธานกรรมการและกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 4) การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการที่ปรากฎตามตารางข้ างต้ นเป็ นรายการที่เกิดขึ ้นในปี 2559 รวมถึงโบนัสประจาปี 2560 ที่จ่ายในเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ด้ วย

8.4.2 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ปรัชญาในการจ่ายค่าตอบแทนของบริ ษัท มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ ตอบแทนความสาเร็ จในการดาเนินงานตามกลยุทธ์ ของบริ ษัท และตอบแทนผลงานที่ ผ้ บู ริ หารได้ สร้ างให้ กบั บริ ษัท และตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการ พัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนได้ ทาการทบทวนและอนุมตั ินโยบายค่าตอบแทนผู้บริ หารเป็ นประจาทุกปี โดยการ กาหนดระบบบริ หารค่าตอบแทนจะพิจารณาถึงด้ านต่างๆ ดังนี ้ การบริหารค่ าตอบแทน โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน  ค่าตอบแทนของผู้บริ หาร จะแปรผันตรงกับการบรรลุผลสาเร็ จของเป้าหมายตามกลยุทธ์ ของบริ ษัท  การประเมินผลการปฏิบตั ิงานจะอยูบ ่ นพื ้นฐานของตัวชี ้วัดความสาเร็ จในการดาเนินงาน ทังตั ้ วชี ้วัดทางด้ านการเงิน และด้ านอื่นๆ การบริหารค่ าตอบแทน ให้ สอดคล้ องกับความคาดหวังของผู้ถอื หุ้น  การคัดเลือกระบบการวัดผลการปฏิบต ั ิงานที่เหมาะสมกับแผนการดาเนินงานของบริ ษัททังในระยะสั ้ นและระยะ ้ ยาว เพื่อให้ สอดคล้ องกับกลยุทธ์ของบริ ษัท และการสร้ างมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่องให้ กบั ผู้ถือหุ้น  การทาให้ เกิดความมัน ่ ใจว่าตัวชี ้วัดความสาเร็ จที่ตงขึ ั ้ ้น มีความเหมาะสมกับขีดความสามารถในการดาเนินงานของ บริ ษัท เป้าหมายของบริ ษัท และระดับผลการปฏิบตั ิงานที่มากขึ ้น  การสร้ างการระดมทุนที่มน ั่ คงและมีแบบแผน เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจในความสามารถในการลงทุนของบริ ษัท การบริหารค่ าตอบแทน ให้ สามารถแข่ งขันได้  การบริ หารค่าตอบแทนให้ สามารถแข่งขันได้ ในกลุม ่ ธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง เพื่อทาให้ เกิดความมัน่ ใจว่าบริ ษัทสามารถที่ จะดึงดูด และรักษาพนักงานที่ดี มีฝีมือ ให้ มาทางาน และอยูส่ ร้ างผลงานให้ กบั บริ ษัทอย่างต่อเนื่อง  การเชื่อมโยงสัดส่วนระหว่างค่าตอบแทนและผลการปฏิบตั ิงานอย่า งมีนยั สาคัญ สาหรับทังผลตอบแทนรายปี ้ และ ผลตอบแทนระยะยาว

ส่วนที่ 2 | หน้ า 18


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

8.4.3 โครงสร้ างการจ่ ายค่ าตอบแทนของบริษัท ค่าตอบแทนซึ่งจ่ายให้ กับประธานเจ้ าหน้ าที่บ ริ หารและผู้บริ หาร โดยผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริ ษัทจะ ประกอบด้ วยสามองค์ประกอบ ดังนี ้

ค่าตอบแทนและผลประโยชน์แบบคงที่ เงินเดือน

ผลประโยชน์

ค่าตอบแทนตามผลปฏิบตั ิงาน +

โบนัสตามผลงาน

ค่าตอบแทนที่เป็ นตัว เงิน

ค่าตอบแทนที่เป็ น หุ้น

ค่ าตอบแทนและผลประโยชน์ แบบคงที่ เงินเดือน ระดับของค่าตอบแทนที่ได้ รับ เป็ นไปตามหน้ าที่ ความรับผิดชอบตามตาแหน่งงาน ประสบการณ์ และทักษะความ ชานาญเฉพาะตัวบุคคล ซึง่ ทาการจ่ายเป็ นเงินสดเข้ าบัญชีทกุ เดือน โดยจะมีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี จากการพิจารณาผลการ ปฏิบตั ิงาน และอัตราการขึ ้นเงินเดือนในตลาดแรงงาน ผลประโยชน์ อ่ ืน และผลประโยชน์ พิเศษ วัตถุประสงค์หลักของการให้ ผลประโยชน์อื่น และผลประโยชน์พิเศษ คือการสร้ างความมัน่ คงปลอดภัยให้ กบั พนักงาน และช่วยเหลือในกรณีพนักงานสูงอายุ ประสพปั ญหาด้ านสุขภาพ ทุพพลภาพ หรื อเสียชีวิต โดยกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ แผนประกัน สุขภาพ และสวัสดิการต่างๆ สอดคล้ องกับแนวปฏิบตั ิในตลาดแรงงาน และตามที่กฎหมายกาหนด ค่ าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน โบนัสตามผลงาน  เป็ นรางวัลตอบแทนที่แปรผันตามความสาเร็ จของผลงานในระยะสัน้ เมื่อเทียบกับแผนงานประจาปี ที่ได้ กาหนดไว้ โดยเทียบเคียงกับค่าตอบแทนในตลาดแรงงานในธุรกิ จที่เกี่ ยวข้ อง เงิ นโบนัสตามผลงานนี ้จะผูกกับดัชนีชีว้ ัด ความสาเร็ จ (KPI) ประจาปี ซึง่ เป็ นผลรวมจากตัววัดผลที่หลากหลาย และมีการถ่วงน ้าหนักตามความสาคัญของ แต่ละปั จจัย โดยเป็ นการตัดสินผลการปฏิบตั ิงานโดยรวมของบริ ษัท และของพนักงานรายบุคคล รวมทังโบนั ้ สที่ จะได้ รับ ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน  ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงินพิเศษนอกเหนือจากโบนัสตามผลงาน ค่าตอบแทนพิเศษนี ้เป็ นตัวผลักดันให้ เกิดผลงานที่

เป็ นรากฐานของบริ ษัท โดยยึดหลักมูลค่ารวมทางเศรษฐกิจของบริ ษัท ซึ่งเป็ นผลประโยชน์ร่วมระหว่างผู้บริ หาร และผู้ถือหุ้น ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิ นพิเศษส่วนหนึ่งจะถูกจ่ายออกเป็ นเงินสด ซึ่งถื อเป็ นมูลค่าเชิ งบวกในปี ปั จจุบนั ส่วนเงินรางวัลที่เหลือจะถูกยกไปรวมไว้ ในบัญชีสะสม อย่างไรก็ตามเงินรางวัลสะสมนี ้อยู่ในกฎการเรี ยก คืนที่เชื่อมโยงกับผลการปฏิบตั ิงาน และอาจมีมลู ค่าลดลงหากผลการปฏิบตั ิงานไม่เป็ นไปตามเป้าหมายที่ตงไว้ ั ้ ใน ปี นันๆ ้ ค่ าตอบแทนที่เป็ นหุ้น  การให้ การมีสว่ นในการถือหุ้น มุง่ เน้ นเป็ นค่าตอบแทนในระยะยาวเพื่อส่งเสริ มให้ ผ้ บ ู ริ หารสร้ างความเจริ ญเติบโต ที่ยงั่ ยืนให้ กบั บริ ษัท สร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กบั ผู้ถือหุ้น ทังยั ้ งเป็ นการสนับสนุนให้ เกิดวัฒนธรรมการเป็ นเจ้ าของ และ ส่วนที่ 2 | หน้ า 19


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

รักษาไว้ ซึ่งพนักงานที่ทรงคุณค่าของบริ ษัท บริ ษัทจึงได้ พิจารณาจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื ้อหุ้นสามัญ ให้ กบั ผู้บริ หารที่มีบทบาทสาคัญในการที่จะทาให้ บริ ษัทประสบความสาเร็ จอย่างมัน่ คงได้ ในอนาคต การจัดสรร ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญนี ้ยังเป็ นการแสดงความขอบคุณพนักงาน สาหรับความทุ่มเทในการทางาน ที่มีสว่ นช่วยเป็ นอย่างสูงในการทาให้ บริ ษัทเจริ ญรุ่งเรื องและประสบความสาเร็ จ การจ่ ายค่ าตอบแทนของบริษัท CEO

ผู้บริหาร

พนักงานทุกคน

รูปแบบการจ่าย

จุดประสงค์และการเชื่อมโยงกับหลักการ ค่าตอบแทน

เงินเดือน (Base Salary)

เงินสด แก่ พนักงานทุกคน

จูงใจและรักษาพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถ และตอบแทนการปฏิบตั ิงาน ตามหน้ าที่ และความรับผิดชอบตาม ตาแหน่งงาน

เงินโบนัสตามผลงาน (Performance Bonus)

เงินสด แก่ พนักงานทุกคน

เพื่อเป็ นรางวัลตอบแทนตามความสาเร็จ ของผลงานที่ได้ กาหนดไว้ ประจาแต่ละปี

ค่าตอบแทนที่เป็ นตัว เงิน (Value-Sharing Cash)

เงินสด แก่ ผู้บริหาร

ผลักดันให้ เกิดผลงานที่เป็ นรากฐานของ บริษัท โดยยึดหลักมูลค่ารวมทางเศรษฐกิจ ของบริษัท ซึง่ เป็ นผลประโยชน์ร่วมระหว่าง ผู้บริหารและผู้ถือหุ้น

ค่าตอบแทนที่เป็ นหุ้น (Value-Sharing Equity)

ใบสาคัญแสดง สิทธิที่จะซื ้อหุ้น สามัญ แก่ ผู้บริหาร

เพื่อเป็ นแรงเสริมให้ บริษัทเกิดการ เจริญเติบโตที่ยงั่ ยืน และสร้ างมูลค่าเพิ่ม ให้ กบั ผู้ถือหุ้น

ค่าตอบแทนรวมของคณะผู้บริ หารจานวน 5 ราย เท่ากับ 41.72 ล้ านบาท ประกอบด้ วยเงินเดือน โบนัสตามผลงาน กองทุน สารองเลี ้ยงชีพ และผลประโยชน์อื่นๆ 8.4.4 ใบสาคัญแสดงสิทธิท่ จี ะซือ้ หุ้นสามัญ เพื่อเป็ นการสร้ างแรงจูงใจให้ ทรั พยากรบุคคลที่มีคุณค่าต่อบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิงานให้ แก่องค์ กรอย่างต่อเนื่อง อันเป็ น การส่งเสริ มให้ บริ ษัทเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาวเป็ นประโยชน์ ร่วมกันระหว่างบริ ษัท ผู้ถือหุ้น และผู้บริ หาร บริ ษัทได้ ออก ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) ให้ แก่ผ้ บู ริ หาร ตามโครงการจ่ายค่าตอบแทนระยะยาว (Performance Share Plan) เป็ นจานวน 4 ครัง้ ตังแต่ ้ ปี 2556-2559 ทังนี ้ ้ ผู้บริ หารตามคานิยามของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ได้ รับใบสาคัญแสดง สิ ท ธิ ที่ จ ะซื อ้ หุ้ นสามัญ (Warrant) มี ร ายชื่ อ และจ านวนใบส าคัญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื อ้ หุ้ นสามัญ (Warrant) ที่ ไ ด้ รั บ ดัง นี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 20


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

ปี 2559

รายชื่อผู้บริหารได้ รับ 1. 2. 3. 4.

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นางสาวสุนิธยา ชินวัตร นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม

จานวน จานวน จานวน จานวน

56,800 11,900 30,200 33,200

ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก 6.87 1.44 3.65 4.01

2559

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซือ้ หุ้นสามัญ (Warrant) (หน่ วย) ปี 2558 ปี 2557 ร้ อยละของจานวน ปี 2556 ร้ อยละของจานวน ร้ อยละของจานวน ใบสาคัญแสงสิทธิ ใบสาคัญแสงสิทธิ ใบสาคัญแสงสิทธิ ทังหมดที ้ ่ออก ทังหมดที ้ ่ออก ทังหมดที ้ ่ออก 51,600 5.92 29,816 4.38 19,824 4.89 11,890 1.36 11,020 1.62 6,864 1.69 30,174 3.46 27,116 3.99 19,864 4.90 0 n/a 0 n/a 0 n/a

ส่วนที่ 2 | หน้ า 21

รวม

158,040 41,674 107,354 33,200


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

8.5 เลขานุการบริษัท คือ นายชวิน ชัยวัชราภรณ์ มีหน้ าที่ตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ดังนี ้ (1) จัดการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการชุดย่อย และการประชุมผู้ถือหุ้น (2) จัดการประชุมของคณะกรรมการและการประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทย่อยทุกบริ ษัท (3) จัด ท านโยบายการก ากับ ดูแ ลกิ จ การของบริ ษั ท เพื่ อ เสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและก ากับ ดูแลกิ จ การ พิจารณา รวมทังปรั ้ บปรุงให้ เป็ นปั จจุบนั เสมอ (4) จัดทาและเก็บรักษาเอกสารต่างๆ ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกาหนด (5) ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษัทและคณะกรรมการชุดย่อยมอบหมาย 8.6 หัวหน้ าหน่ วยงานกากั บดูแ ลการปฏิบัติ งาน คือ นางสาวนัฐิ ยา พัวพงศกร ซึ่งมี หน้ า ที่ กากับดูแลในฐานะบริ ษั ท จดทะเบียนในการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) รวมทังกฎหมายบริ ้ ษัทมหาชนจากัด ทังนี ้ ้ข้ อมูลประวัติและรายละเอียดของเลขานุการบริ ษัท และหัวหน้ าหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน ปรากฎตามเอกสาร แนบ 1 หน้ า 3

ส่วนที่ 2 | หน้ า 22


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

8.7 บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทและบริ ษัทย่อย มีพนักงานทังสิ ้ ้น 12,544 คน (รวมพนักงานชัว่ คราว) โดยแบ่งตามสายงาน หลักได้ ดงั นี ้ เอเอ็มพี / เอดีซี / เอไอเอ็น / ดับบลิวดีเอส / เอสบีเอ็น / เอดับบลิวเอ็น / เอฟเอ็กซ์ แอล / เอ็มเอ็มที

เอไอเอส สายงานหลัก การเงินและบัญชี ทรัพยากรบุคคล ธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร ตรวจสอบ กลยุทธ์องค์กร สนับสนุน การตลาด

รวม

จานวนพนักงาน 205 241 101 53 44 19 3

666

เอซีซี สายงานหลัก สานักกรรมการผู้จดั การ สานักลูกค้ าสัมพันธ์ ฝ่ ายประกันคุณภาพและงานบริ การ ฝ่ ายบริ หารกลุ่มลูกค้ าผู้ใช้ บริ การสูง ฝ่ ายบริ หารคูค่ ้ าสัมพันธ์ สานักบริ หารทรัพยากรบุคคล รวม

จานวนพนักงาน 3 1,953 66 408 199 82 2,711

เอเอ็มพี เอดีซี เอไอเอ็น ดับบลิวดีเอส เอสบีเอ็น เอดับบลิวเอ็น เอฟเอ็กซ์แอล เอ็มเอ็มที

จานวนพนักงาน 40 2 22 547 38 6,765 139 1,610

รวม ดีพีซี สายงานหลัก บัญชีและบริ หารสินเชื่อ วิศวกรรม สนับสนุน

รวม

9,163

จานวนพนักงาน 1 1 2

4

สาหรับปี 2559 ค่าตอบแทนรวมของบุคลากรของบริ ษัท และบริ ษัทย่อย ประกอบด้ วย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุน สารองเลี ้ยงชีพ มีจานวนทังสิ ้ ้น 6,667 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนให้ แก่พนักงานสามารถศึกษาได้ จากรายงาน พัฒนาความยัง่ ยืนปี 2559 8.8 นโยบายการพัฒนาพนักงาน รายละเอียดแสดงไว้ ในรายงานพัฒนาความยัง่ ยืน ประจาปี 2559

ส่วนที่ 2 | หน้ า 23


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ นโยบายการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทถูกกาหนดจากคณะกรรมการบริ ษัทและเริ่ มบังคับใช้ กับกรรมการ ผู้บริ หาร และ พนักงานทุกระดับมาตังแต่ ้ ปี 2545 รวมทังเผยแพร่ ้ บนเว็บไซต์เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นและบุคคลภายนอกได้ รับทราบและช่วยกันตรวจสอบ โดยสามารถศึกษาได้ ที่ http://investor.ais.co.th คณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ ต้ องมีการทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการให้ มีความเหมาะสมกับธุรกิจและสอดคล้ องกับข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยเป็ นประจาทุกปี ซึง่ ในปี ที่ผา่ นมาขอบเขตการพิจารณาได้ ครอบคลุมถึงหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทางของ ASEAN Scorecard รวมถึงการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนตามแนวทางของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ สื่อสารนโยบายดังกล่าวให้ ภายในองค์กรรับทราบผ่านช่องทางและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น อีเมล์ อินทราเน็ต แผ่นป้ายประกาศ และการรณรงค์ภายในบริ ษัท เป็ นต้ น เพื่อสร้ างความตระหนักและความเข้ าใจในการปฏิบตั ิ ตามนโยบายของบริ ษัท พร้ อมทังก ้ าหนดให้ มีช่องทางสาหรับบุคคลทังภายในและภายนอกเพื ้ ่อ แจ้ งเรื่ องการพบเห็นการกระทาที่ เป็ นการละเมิดนโยบายการกากับดูแลกิจการดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ซึง่ ครอบคลุมถึงมาตรการคุ้มครองผู้รายงาน ตามนโยบาย การให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล (Whistle Blower Policy) ด้ วย โดยในปี 2559 เอไอเอสได้ รับการคัดเลือกให้ ติดอยู่ใน DJSI กลุม่ Emerging Markets อีกครัง้ เป็ นปี ที่สองติดต่อกัน ซึ่งแสดง ถึงแนวทางการดาเนิน งานอย่า งยั่ง ยืน ครอบคลุมทัง้ มิติท างด้ านเศรษฐกิ จ ธรรมาภิ บาล การคานึงถึ งสิ่ง แวดล้ อม และก าร อยูร่ ่วมกับสังคมอย่างยัง่ ยืน 9.2 รายงานการปฏิบัติตามนโยบายการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นบุคคลที่มีภาวะผู้นาและวิสยั ทัศน์ในการมุง่ มัน่ ให้ บริ ษัทเป็ นผู้นาในเรื่ องการสือ่ สารโทรคมนาคมของ ประเทศและเป็ นตัวแทนของผู้ถือหุ้นโดยรวม มิใช่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยคณะกรรมการบริ ษัท ประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 10 ท่าน ที่มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามที่กฎหมายกาหนด และมีประสบการณ์หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่างๆ รวมทังประสบการณ์ ้ ที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจโทรคมนาคม โดยมีสดั ส่วนของกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทังหมด ้ และมีคณ ุ สมบัติ ตามที่กาหนดไว้ ในนโยบายการกากับดูแลกิจการซึง่ มากกว่าขันต ้ ่าที่กฎหมายกาหนด นอกจากนี ้ มากกว่ากึ่งหนึง่ ขององค์ประกอบ คณะกรรมการเป็ นกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หาร ทังนี ้ ้ ก็เพื่อให้ มีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทและผู้ถือ หุ้น โดยประธานกรรมการบริ ษัทไม่ใช่บคุ คลคนเดียวกันกับประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรื อทาง ธุรกิจระหว่างกัน เอไอเอสมีการแบ่งแยกอานาจหน้ าที่ของประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารอย่างชัดเจน รวมทังได้ ้ สงวนสิทธิ ในการพิจารณาเรื่ องที่มีนยั สาคัญซึ่งจะกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทอย่างมากให้ เป็ นอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการ เท่านันด้ ้ วย ทังนี ้ ้ รายละเอียดและองค์ประกอบของคณะกรรมการ หลักเกณฑ์การสรรหาและวิธีพิจารณาคัดเลือก การแต่งตั ง้ นิยามของ กรรมการอิสระ และการแบ่งแยกหน้ าที่ของประธานกรรมการและประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ปรากฎอยู่ในหัวข้ อ“โครงสร้ างการ จัดการ” หน้ า 4-6 และ หน้ า 8-10 คณะกรรมการบริ ษัทได้ จดั ให้ มีคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยศึกษาและกลัน่ กรองงานในด้ านอื่นๆ อีก 5 ชุด โดยรายละเอียด โครงสร้ างคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการชุดย่อย รายชื่อและขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการแต่ละชุดปรากฎอยู่ใน หัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 3 - 6 และ 10 - 14

ส่วนที่ 2 | หน้ า 24


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดให้ มีการประชุมอย่างน้ อย 6 ครัง้ ต่อปี โดยในปี ที่ผ่านมามีการประชุมทังสิ ้ ้นจานวน 9 ครัง้ โดย กาหนดการประชุมจะถูกพิจารณากาหนดล่วงหน้ าตลอดทังปี ้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ากรรมการทุกท่านจะสามารถจัดสรรเวลาเข้ าร่ วม ประชุมได้ อย่างพร้ อมเพรี ยงกัน โดยหนังสือเชิญประชุมซึ่งประกอบด้ วยรายละเอียดวาระการประชุมและเอกสารประกอบการ ประชุมจะถูกส่งออกให้ กรรมการล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้ กรรมการแต่ละท่านได้ มีเวลาศึกษาข้ อมูลก่อน ล่วงหน้ า โดยรายละเอียดของจานวนครัง้ ที่จดั ประชุมในปี 2559 และจานวนกรรมการที่เข้ าร่วมประชุม ปรากฎในหัวข้ อ “โครงสร้ าง การจัดการ” หน้ า 5 - 6 สาหรับในเดือนใดที่ไม่ได้ มีการประชุม ส่วนงานเลขานุการบริ ษัทจะจัดส่งรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานของบริ ษัท และ บริ ษัทย่อยในเดือนนันๆ ้ ให้ คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบ ในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นแต่ละวาระ ประธานกรรมการซึ่ง ทาหน้ าที่เป็ นประธานที่ประชุมจะจัดสรรเวลาให้ อย่างเพียงพอ พร้ อมทังเปิ ้ ดโอกาสให้ ผ้ บู ริ หารที่เกี่ยวข้ องของแต่ละวาระสามารถ นาเสนอข้ อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาและการตัดสินใจได้ สาหรับรายงานการประชุมจะถูกจัดทาโดยเลขานุการบริ ษัทภายใน 7 วันนับแต่วนั ประชุมเสร็ จสิ ้น การประชุมของกรรมการที่ไม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารมีการประชุมร่ วมกันอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ โดยไม่มีกรรมการที่เป็ น ผู้บริ หารหรื อฝ่ ายบริ หารเข้ าร่วมการประชุม เพื่อเปิ ดโอกาสให้ อภิปรายประเด็นต่างๆ ทังที ้ ่เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษัท และเรื่ องที่อยู่ใน ความสนใจได้ อย่างอิสระ โดยภายหลังจะดาเนินการรายงานผลการประชุมให้ คณะกรรมการบริ ษัทและประธานเจ้ า หน้ าที่บริ หาร ทราบ แผนการสืบทอดตาแหน่ ง คณะกรรมการกาหนดให้ มีแผนการสืบทอดตาแหน่งของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และผู้บริ หารระดับสูง เพื่อให้ มนั่ ใจว่า บริ ษัทจะสามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ หากตาแหน่งสาคัญดังกล่าวว่างลง โดยมอบหมายให้ คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นา และกาหนดค่าตอบแทนทาหน้ าที่พิจารณากาหนดหลักเกณฑ์และจัดทาแผนการสืบทอดดังกล่าว รวมทังก ้ าหนดให้ ประธาน คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนต้ องรายงานให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบถึงแผนการสืบทอดตาแหน่ง ดังกล่าว รวมทังให้ ้ มีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี เอไอเอสตระหนักดีวา่ พนักงานเป็ นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญขององค์กร ไม่ เฉพาะผู้บริ หารระดับสูงเพียงเท่านัน้ ซึ่งสิ่งที่ท้าทาย ต่อการดาเนินธุรกิจ คือ ความเสีย่ งของการขาดบุคคลากรที่มีความรู้ และความสามารถ การเตรี ยมความพร้ อมของพนักงานให้ ทนั ต่อการขยายตัว และการเปลีย่ นแปลงของธุรกิจจึงเป็ นสิง่ สาคัญ เอไอเอสจึงกาหนดให้ การสร้ างผู้สบื ทอดตาแหน่งสาคัญๆ ที่จะว่าง ลง (Succession plan) หรื อผู้ดารงตาแหน่งใหม่ เป็ น Corporate KPI โดยมุ่งเน้ นเพิ่มขีดความสามารถของพนักงานให้ มีความรู้ ความสามารถในการทางาน และเตรี ยมความพร้ อมต่อความก้ าวหน้ าของพนักงานในอนาคตด้ วยการวางแผน Succession plan ของทุกสายงานอย่างให้ ความสาคัญเท่าเทียมกัน และดาเนินการอย่างจริ งจัง โดยได้ รับคาแนะนาจากที่ปรึกษามืออาชีพระดับโลก ทาให้ เอไอเอสมีความพร้ อมในการต่อสู้กบั การแข่งขันด้ วยทีมพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 2 | หน้ า 25


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การติดต่ อสื่อสารกับฝ่ ายบริหาร เอไอเอสจัดให้ มีสว่ นงานเลขานุการบริ ษัทเพื่อทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางการติดต่อสื่อสารระหว่างกรรมการและฝ่ ายบริ หาร โดย เลขานุการบริ ษัทจะใช้ ระบบการจัดเก็บข้ อมูลสาหรับกรรมการ (Board Portal) เป็ นอีกหนึ่งช่องทางเพื่อให้ คณะกรรมการสามารถ เข้ าถึงข้ อมูลและเอกสารที่สาคัญต่างๆ ของเอไอเอสได้ อย่างรวดเร็ วและปลอดภัย อีกทัง้ เอไอเอสมีสว่ นงานตรวจสอบภายในเป็ น ตัวกลางระหว่างกรรมการตรวจสอบกับฝ่ ายบริ หาร ทังนี ้ ้ เอไอเอสไม่มีการปิ ดกันการเข้ ้ าถึงและติดต่อสื่อสารระหว่างกรรมการและ ฝ่ ายบริ หารโดยตรง แต่การติดต่อสื่อสารนันจะต้ ้ องไม่เป็ นการก้ าวก่ายหรื อแทรกแซงต่อการดาเนินธุรกิจปกติของเอไอเอส ค่ าตอบแทนของกรรมการ นโยบายกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการสอดคล้ องกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และอยู่ในระดับที่สามารถจูงใจและเทียบได้ กับบริ ษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันและบริ ษัทที่มีขนาดใกล้ เคียงกัน โดยการพิจารณาจะเชื่อมโยงกับผลการปฏิบตั ิงานรายบุคคล และผลการดาเนินงานของเอไอเอสด้ วย คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทนจะเป็ นผู้พิจารณากาหนด นโยบายในการจ่ายค่าตอบแทน ประเภทของค่าตอบแทนและจานวนค่าตอบแทน เพื่อเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริ ษัท ก่อนนาไปขออนุมตั ิในที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเป็ นประจาทุกปี ทังนี ้ ้ รายละเอียดของนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนและจานวน ค่าตอบแทนที่ให้ แก่กรรมการและผู้บริ หารในปี 2559 ปรากฎอยูใ่ นหัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 16-21 การปฐมนิเทศและพัฒนาความรู้อย่ างต่ อเนื่องของกรรมการ กรรมการที่ได้ รับการแต่งตังใหม่ ้ แต่ละท่านจะได้ รับการปฐมนิเทศเพื่อ รับทราบข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลการดาเนินธุรกิจ ของ บริ ษัทที่สาคัญและจาเป็ นอย่างเพียงพอก่อนปฏิบตั ิหน้ าที่ นอกจากนี ้ เอไอเอสยังส่งเสริ มให้ ทงั ้ กรรมการ เลขานุการบริ ษัท และผู้บริ หารต้ องเข้ า รับการฝึ กอบรมและพัฒนาความรู้ อย่างต่อเนื่อง โดยเอไอเอสเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายทังหมด ้ ซึ่งการพัฒนาความรู้ ของกรรมการประกอบด้ วยหลากหลายรู ปแบบ เช่น หลักสูตรการอบรมทังภายในและภายนอก ้ การศึกษาดูงานต่างประเทศ การเยี่ยมชมธุรกิจต่างๆ ของกลุม่ เอไอเอส เป็ นต้ น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 26


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

รายชื่อกรรมการและผู้บริ หารที่เข้ าร่วม

หลักสูตรผู้บริ หาร ระดับสูงวตท.

นายกานต์ ตระกูลฮุน นายสมประสงค์ บุญยะชัย นางทัศนีย์ มโนรถ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ นายฟิ ลปิ เชียง ชอง แทน นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายไพบูลย์ ภานุวฒ ั นวงศ์ นายวิทติ ลีนตุ พงษ์ นางสาวสุนิธยา ชินวัตร นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร

การเข้ าร่วมอบรม/สัมมนา/การชมนิทรรศการ/การรับฟั งและแบ่งปั นความรู้ Thailand ความเสีย่ งและการป้องกัน Blockchain สาระสาคัญของพระราชบัญญัติ Economic ความปลอดภัยของระบบ Technology หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ Outlook เทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2559

2559

การปฐมนิเทศ กรรมการ/ผู้บริ หารใหม่

 

      

  

ส่วนที่ 2 | หน้ า 27

 


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทกาหนดให้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตนเอง (Board Self-Assessment) เป็ นรายบุคคลและทัง้ คณะเป็ นประจาทุกปี เพื่อใช้ เป็ นกรอบในการทบทวนการปฏิบัติงานในหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัทว่า ได้ ดาเนินการตาม นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ได้ อนุมตั ิไว้ และ/หรื อตามแนวปฏิบตั ิที่ดี (Good Practices) หรื อไม่ เพื่อปรับปรุงการปฏิบตั ิงานของ คณะกรรมการบริ ษัทให้ สอดคล้ องกับแนวนโยบายที่กาหนดไว้ และเพื่อทบทวนปั ญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ ้นในรอบปี ที่ผา่ นมา  หลักเกณฑ์ ท่ ใี ช้ ในการประเมิน แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ ประกอบด้ วยการประเมินใน 2 ส่วน ดังนี ้ ส่วนที่ 1 คณะกรรมการประเมินระดับคะแนนความเห็นหรื อระดับการดาเนินการใน 6 หัวข้ อประเมิน ได้ แก่ ₋ โครงสร้ างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ ₋ บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ₋ การประชุมคณะกรรมการ ₋ การทาหน้ าที่กรรมการ ₋ ความสัมพันธ์ กบ ั ฝ่ ายจัดการ ₋ การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริ หาร ส่ว นที่ 2 คณะกรรมการให้ ค วามเห็ น ข้ อ เสนอแนะ หรื อ สิ่ ง ที่ ใ ห้ ค วามสนใจเป็ นกรณี พิ เ ศษสาหรั บ การปฏิ บัติ ง านของ คณะกรรมการหรื อการดาเนินงานด้ านต่างๆ ของเอไอเอส ขัน้ ตอนในการประเมิน เลขานุการบริ ษัทจะจัดส่งแบบประเมินให้ กรรมการบริ ษัททุกท่านประเมินตนเองในทุกสิ ้นปี จากนันจะน ้ ามารวบรวมและ รายงานสรุปผลต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อรับทราบรวมทังหารื ้ อถึงแนวทางในการพัฒนาต่อไป 

การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร คณะกรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน มีหน้ าที่ในการกาหนดเป้าหมายการปฏิบตั ิงานประจาปี และ ระยะยาวของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รวมทังประเมิ ้ นผลการปฏิบตั ิงานดังกล่าวเปรี ยบเทียบกับเป้าหมายดังกล่าวเป็ นประจา ทุกปี โดยผลของการประเมินจะถูกนามาใช้ ประกอบการพิจารณาค่าตอบแทนของประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร สิทธิและความเท่ าเทียมกันของผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริ ษัทเคารพในสิทธิ และมีหน้ าที่ในการดูแลรักษาผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่า ผู้ถือหุ้นนันจะเป็ ้ นนักลงทุนสถาบัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นรายย่อย และไม่ว่าสัญชาติใด โดยผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิ และ ความเท่าเทียมกันตามที่กาหนดไว้ ในข้ อบังคับบริ ษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง อาทิ - สิทธิในการได้ รับใบหุ้น โอนหุ้น และสิทธิในการรับทราบข้ อมูล ผลการดาเนินงาน นโยบายการบริ หารงานอย่างสม่าเสมอ และทันเวลา - สิทธิในการรับส่วนแบ่งกาไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม - สิทธิ ในการเข้ าร่ วมประชุมผู้ถือหุ้น แสดงความเห็น ให้ ข้อเสนอแนะ และร่ วมพิจารณาตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลง ที่สาคัญต่าง ๆ - สิทธิในการแต่งตังและถอดถอนกรรมการบริ ้ ษัท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 28


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การประชุมผู้ถือหุ้น สาหรับการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละปี เอไอเอสได้ ยดึ ถือแนวปฏิบตั ิด้วยเคารพในสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น ดังนี ้  ก่อนวันประชุม 1. เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่วนน้ อยสามารถเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ ได้ ลว่ งหน้ าตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2559 - 31 ธันวาคม 2559 โดยได้ ประกาศและเผยแพร่ หลักเกณฑ์และวิธีการเสนอผ่าน เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์และเว็บไซต์บริ ษัท ทังนี ้ ้ เมื่อถึงกาหนดการปิ ดรับ ปรากฎว่าไม่มีผ้ ถู ือหุ้นเสนอเรื่ องดังกล่าว แต่อย่างใด 2. ให้ สิทธิ ผ้ ูถือหุ้นเป็ นผู้แต่งตัง้ กรรมการ และกาหนดนโยบายและค่าตอบแทนของกรรมการ รวมทังแต่ ้ งตัง้ ผู้สอบบัญชี และ กาหนดค่าสอบบัญชี สิทธิในการอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล และการอนุมตั ิเรื่ องอื่นๆ ตามที่กฎหมายกาหนด 3. จัดทาหนังสือเชิญประชุมซึง่ มีคาชี ้แจงวัตถุประสงค์ของแต่ละวาระ หนังสือมอบฉันทะแบบ ข. และเอกสารประกอบการ ประชุมทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ เพื่อเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริ ษัทล่วงหน้ า 30 วันก่อนวันประชุม โดยได้ ประกาศ ให้ ทราบถึงการเผยแพร่ ดงั กล่าวผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์บริ ษัท นอกจากนี ้ได้ จดั ส่งชุดเอกสารให้ ผู้ถือหุ้นล่วงหน้ า 21 วันก่อนวันประชุม 4. เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถื อ หุ้น ส่ง ค าถามล่ว งหน้ า ตามหลัก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ ก าหนดเป็ นระยะเวลาล่ว งหน้ า 30 วัน ก่อนวันประชุม โดยเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์บริ ษัทและแจ้ งผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ 5. นอกจากหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ที่จัดส่งให้ ผ้ ถู ือหุ้นพร้ อมหนังสื อเชิ ญประชุมแล้ ว เอไอเอสยังจัดให้ มี หนังสือมอบ ฉันทะทังแบบ ้ ก. และค. ไว้ บนเว็บไซต์ เพื่ออานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นที่ไม่สามารถมาเข้ าร่ วมประชุมได้ ด้วย ตนเองสามารถดาวน์ โ หลดแบบฟอร์ ม และมอบฉัน ทะให้ บุค คลอื่ น หรื อ กรรมการอิ ส ระที่ บ ริ ษั ท แจ้ งรายชื่ อ ไว้ ใ น หนังสือเชิญประชุมมาเข้ าร่ วมแทนได้ ทังนี ้ ้ในส่วนของกรรมการอิสระ บริ ษัทได้ เสนอรายชื่อไว้ จานวน 2 ราย เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมีสทิ ธิเลือกมอบฉันทะตามความพึงพอใจได้ 6. ประสานงานกับผู้ถือหุ้นประเภทสถาบัน เป็ นระยะเวลาอย่างน้ อย 14 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อตรวจสอบรายละเอียด การถือครองหลักทรัพย์ และพยายามติดต่อเพื่อขอความร่ วมมือ ให้ มีการส่งตัวแทนเข้ าร่ วมการประชุมหรื อมอบฉันทะ ให้ กรรมการอิสระ  วันประชุม 1. ส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกราย รวมทังผู ้ ้ ถือหุ้นประเภทสถาบันเข้ าร่ วมประชุมผู้ ถือหุ้น โดยเลือกสถานที่จัดประชุมที่โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้ าว ซึ่งสะดวกต่อการเดินทาง และจัดเตรี ยมสิ่งอานวยความสะดวกให้ แก่ ผู้ถือหุ้นไม่วา่ จะเป็ นเครื่ องถ่ายเอกสาร ป้ายบอกขันตอนการลงทะเบี ้ ยน ระบบการลงทะเบียนและลงคะแนนแบบบาร์ โค้ ด รวมถึงบุคลากรที่เพียงพอ นอกจากนี ้ยังจัดให้ มีจุดลงทะเบียนกองทุนโดยเฉพาะเพื่ออานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ที่เป็ นนักลงทุนสถาบัน 2. ประธานกรรมการบริ ษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ ประธานกรรมการ พัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน และประธานกรรมการบริ หาร รวมทังผู ้ ้ บริ หารระดับสูงพร้ อมใจกันเข้ าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อตอบข้ อซักถามต่างๆ ของผู้ถือหุ้น 3. จัดให้ มีที่ปรึ กษากฎหมายอิสระเพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบความถูกต้ องและความโปร่ งใสของการนับคะแนน ในแต่ละวาระ การประชุม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 29


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

4. ประธานที่ประชุมได้ ดาเนินการประชุมตามลาดับ วาระและเรื่ องที่ได้ ระบุไว้ ในเอกสารเชิญประชุม โดยไม่มีการเพิ่มเติม แต่อย่างใด พร้ อมทังจั ้ ดสรรเวลาสาหรับการซักถามของผู้ถือหุ้นในแต่ละวาระให้ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยก่อน เริ่ มประชุม ผู้แทนของบริ ษัทจะแจ้ งขันตอนและวิ ้ ธีการออกเสียงลงคะแนนให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบ 5. จัดให้ มีบตั รลงคะแนนสาหรับการออกเสียงในแต่ละวาระ และสาหรับวาระเลือกตังกรรมการจั ้ ดให้ มีการลงคะแนนเป็ น รายบุคคล โดยนาระบบบาร์ โค้ ดมาใช้ เพื่อให้ การนับคะแนนแต่ละวาระเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว 6. ประธานที่ประชุมได้ แจ้ งผลคะแนนแต่ละวาระและมติของที่ประชุมให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกท่านทราบภายในช่วงการจัดประชุมทันที โดยไม่มีผ้ ถู ือหุ้นท่านใดยกมือคัดค้ านหรื อไม่เห็นด้ วยกับมตินนั ้ 7. จัด ให้ มีแ บบประเมิ นคุณภาพการจัด ประชุม ผู้ถื อหุ้น เพื่ อน าข้ อมูลมาใช้ ในการพัฒ นาการจัด ประชุมครั ง้ ถัดไปให้ มี ประสิทธิภาพมากขึ ้น ภายหลังการประชุม 1. เอไอเอสได้ แจ้ งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นพร้ อมผลการลงคะแนนเสียงของทุกวาระต่อตลาดหลักทรัพย์ ภายหลังการปิ ดประชุม ทันที รวมทังได้ ้ เผยแพร่มติดงั กล่าวไว้ บนเว็บไซต์บริ ษัท 2. เลขานุก ารบริ ษั ท ได้ จัด ท ารายงานการประชุม และเผยแพร่ บ นเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ภายใน 14 วัน หลัง จากวัน ประชุม โดยรายงานดังกล่าวมีการบันทึก รายละเอียดและสาระสาคัญไว้ อย่างครบถ้ วนตามแนวทางของหลักการกากับดูแล กิ จ การที่ ดี ข องตลาดหลัก ทรั พ ย์ และได้ เ ผยแพร่ ร ายงานการประชุม ดัง กล่า วไว้ บ นเว็ บ ไซต์ เ อไอเอส พร้ อมแจ้ ง การเผยแพร่ดงั กล่าวผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์

การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ เสีย ผู้มีสว่ นได้ เสียสามารถติดต่อสือ่ สารเพื่อแสดงความคิดเห็นต่อคณะกรรมการหรื อแจ้ งเบาะแสในกรณีที่พบเห็นการกระทาที่ไม่ ชอบด้ วยกฎหมายหรื อจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทของกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อพนักงาน โดยผ่าน 2 ช่องทาง ดังนี ้ 1. ส่ งจดหมายถึง ส่ วนงานเลขานุการบริษัท เลขที่ 414 ชัน้ 28 อาคารเอไอเอส 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ (66) 2029 5352 โทรสาร (66) 2029 5108 E-mail: companysecretary@ais.co.th 2. คณะกรรมการตรวจสอบที่ E-mail: AuditCommittee@ais.co.th 3. ส่ วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ (66) 2029 5117 โทรสาร (66) 2029 5165 E-mail: investor@ais.co.th โดยข้ อเสนอแนะหรื อข้ อร้ องเรี ยนจะถูกส่งต่อให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการ เพื่อให้ มีการชีแ้ จง แก้ ไข ปรับปรุ ง และ สรุปผลเพื่อรายงานต่อคณะกรรมการต่อไป นอกจากช่องทางดังกล่าวแล้ ว ผู้มีสว่ นได้ เสียสามารถติดต่อผ่านหน่วยงานที่เป็ นผู้ดแู ล โดยตรง โดยสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมถึงช่องทางการติดต่อสือ่ สารอื่นๆ ได้ จากรายงานพัฒนาความยัง่ ยืน ประจาปี 2559

ส่วนที่ 2 | หน้ า 30


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

บทบาทต่ อผู้มีส่วนได้ เสีย เอไอเอสตระหนักถึงสิทธิ ของผู้มีส่วนได้ เสีย ทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นลูกค้ า คู่ค้า พนักงาน ชุมชน สังคม หรื อสิ่งแวดล้ อม จึง กาหนดนโยบายให้ มีแนวทางปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียตามสิทธิแห่งกฎหมายและตามแนวทางของการอยู่ร่วมกันอย่างยัง่ ยืน ไว้ ใน นโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืน คู่มือประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ นโยบายการบริ หารบุคคล ตลอดจนนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง นอกจากนี ้ได้ กาหนดให้ มีแนวปฏิบตั ิและระบบการควบคุมภายในที่ดี รวมทังนโยบายการต่ ้ อต้ านการให้ สินบนและการคอร์ รัปชัน่ เพื่อป้องกันการทุจริ ตคอรัปชัน่ ในองค์กร การมอบหมายให้ คณะกรรมการจริ ยธรรมเป็ นผู้ดาเนินมาตรการหรื อกิจกรรมสร้ างความ ตระหนักในเรื่ องดังกล่าวให้ กบั พนักงานและคู่ค้า ทังนี ้ ้ ผู้ถือหุ้นสามารถศึกษาแนวปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ เสียได้ จากรายงานพัฒนา ความยัง่ ยืน ปี 2559 เอไอเอสยังเน้ นการมีส่วนร่ วมของผู้มีสว่ นได้ เสียเพื่อช่วยกันตรวจสอบความโปร่ งใสในการดาเนินธุรกิจ การประพฤติตาม นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ประมวลจริ ยธรรม ตลอดจนแนวปฏิบตั ิเรื่ องการต่อต้ านการทุจริ ตคอรัปชัน่ โดยผู้ที่พบเห็นการ ละเมิด ถ้ าเป็ นพนักงานจะสามารถแจ้ งผ่านช่องทางประมวลจริ ยธรรมธุรกิจออนไลน์ (Ethic Online) และระบบการให้ ข้อมูลการ กระทาผิดและการทุจริ ต (Whistle Blowing) สาหรับผู้มีสว่ นได้ เสียภายนอก สามารถแจ้ ง การพบเห็นดังกล่าวต่อคณะกรรมการ บริ ษัทผ่านช่องทางของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ที่ AuditCommittee@ais.co.th ทังนี ้ ้ เรื่ องที่ถูกแจ้ งเข้ ามาจะถูกนาเข้ าสู่ กระบวนการตรวจสอบข้ อเท็จจริ งต่อไปและผู้รายงานจะได้ รับการคุ้มครองอย่างดีที่สดุ โดยผู้ถือหุ้นสามารถศึกษาข้ อมูลเพิ่มเติม ได้ จาก “นโยบายการให้ ข้อมูลการกระทาผิดและการทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล (Whistle Blower Policy)” ซึ่ง เผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ที่ http://investor.ais.co.th การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่ งใส 1. เอไอเอสให้ ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลของเอไอเอส ทังข้ ้ อมูลทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินแก่ผ้ ถู ือหุ้นและผู้ลงทุน เช่น ข้ อบังคับบริ ษัท หนังสือบริ คณห์สนธิ นโยบายการบริ หารความเสีย่ ง ข้ อมูลงบการเงิน และบทวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ฯลฯ อย่างถูกต้ อง เพียงพอ ทันเวลา เท่าเทียม และเป็ นไปตามกฎหมายและกฏระเบียบต่างๆ ทังนี ้ ้ เพื่อส่งเสริ มความเชื่อมัน่ ของผู้ลงทุนเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ และซื่อตรงของบริ ษัท โดยส่วนหนึ่งได้ จดั ทานโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศเพื่อบังคับใช้ แก่กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย 2. เอไอเอสมีสว่ นงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพื่อเป็ นตัวแทนในการสื่อสารข้ อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ให้ แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้มีสว่ นได้ เสีย และมีสว่ นงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน (Compliance) เพื่อดูแล การเปิ ดเผยข้ อมูลที่สาคัญของเอไอเอสผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ รายงานประจาปี เป็ นต้ น โดยการสือ่ สารข้ อมูลและการเปิ ดเผยข้ อมูลจะยึดหลักตามนโยบายการเปิ ดเผยสารสนเทศและนโยบายการกากับดูแลกิจการ ของบริ ษัท ทังนี ้ ้ ช่องทางในการติดต่อส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ และส่วนงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน มีดงั นี ้ โทรศัพท์ (66) 2029 5117 โทรสาร (66) 2029 5165 E-mail: investor@ais.co.th Website: http://investor.ais.co.th 3. เอไอเอสกาหนดช่วงเวลางดติดต่อสือ่ สารกับนักวิเคราะห์และนักลงทุน เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับผลประกอบการในแต่ละไตรมาส (Silent period) โดยครอบคุลมถึงการให้ ข่าวและการเปิ ดเผยข้ อมูลเชิงการเงินต่อสาธารณะของทังผู ้ ้ บริ หารและเจ้ าหน้ าที่ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ล่วงหน้ าเป็ นเวลา 30 วัน ก่อนวันประกาศผลประกอบการรายไตรมาสและรายปี เพื่อหลีกเลี่ยง การให้ ข้อมูลอย่างไม่เป็ นธรรมซึง่ อาจนาไปสูผ่ ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์เอไอเอส

ส่วนที่ 2 | หน้ า 31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการเห็นถึงความสาคัญของการมีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ หารความเสี่ยงที่ดี เป็ น สิง่ จาเป็ นในการปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของบริ ษัท จึงได้ กาหนดให้ มีนโยบาย มาตรการ และหน่วยงานกากับ ดูแล โดยผู้ถือหุ้นสามารถดูรายละเอียดได้ ทหี่ วั ข้ อ “บริ หารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน” หน้ า 38-47 จริยธรรมธุรกิจ เอไอเอสส่งเสริ มให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ปฏิบตั ิงานและตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจใดๆ ของกลุม่ เอไอเอสอย่าง โปร่งใสตรงไปตรงมา เป็ นไปตามกฎหมาย ยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริ ยธรรม จึงได้ จดั ทาประมวลจริ ยธรรมธุรกิจเพื่อเป็ นส่วนหนึ่ง ของนโยบายการกากับดูแลกิจการ ให้ เป็ นแนวทางและมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานของทุกคนในองค์กร โดยได้ มีการเผยแพร่ ข้อมูล ให้ กบั ผู้บริ หารและพนักงานได้ ทาความเข้ าใจผ่านช่องทางอินทราเน็ตในหน้ า AIS Ethics (ประมวลจริ ยธรรมทางธุรกิจ) พร้ อมทัง้ พนักงานทุกคนต้ องลงนามรับทราบจริ ยธรรมธุรกิจนี เ้ มื่อเข้ าเป็ นพนักงานใหม่และมีหน้ าที่รับทราบ ทาความเข้ าใจเมื่อประมวล จริ ยธรรมธุรกิจดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเอไอเอสจะดาเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ ทราบผ่านช่องทางต่างๆ ของเอไอเอสที่ พนักงานสามารถเข้ าถึงได้ รวมถึง ได้ มีการวางแนวทางเพื่อให้ การปฏิบัติตามประมวลจริ ยธรรมธุรกิ จ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของ วัฒ นธรรมและนโยบายระดับ องค์ ก ร ทัง้ นี ้ ผู้ถื อ หุ้น สามารถศึ ก ษารายละเอี ย ดของประมวลจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ฉบับ เต็ ม ได้ ที่ http://investor.ais.co.th คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ ถกู แต่งตังขึ ้ ้นตังแต่ ้ ปี 2549 เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานด้ านจริ ยธรรมให้ มีประสิทธิ ภาพ สอดคล้ องกับนโยบายการกากับดูแลกิ จการ รวมทัง้ สร้ างความตระหนักและรณรงค์ ให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานต้ อง ปฏิบตั ิงานด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและคานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษัทและผู้มีส่วนได้ เสียเป็ นหลัก โดยในปี 2559 ที่ผ่านมา คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตอ่ ไปนี ้ 1) การจัดให้ มีการรณรงค์ให้ ผ้ บู ริ หาร พนักงานและคูค่ ้ าตระหนักถึง ความสาคัญของจริ ยธรรมธุรกิจ การปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานให้ กบั บริ ษัทอาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ จริ ยธรรมธุรกิจซึง่ ได้ ดาเนินการรณรงค์เพื่อให้ ผ้ บู ริ หาร พนักงานและคู่ค้าตระหนักถึงความสาคัญของจริ ยธรรมธุรกิจ และได้ มีการ เพิ่มการรณรงค์แบบการสร้ างจิตสานึก เพื่อปลูกฝั งค่านิยมให้ พนักงานสามารถใช้ วิจารณญาณของตนเองพิจารณาได้ ว่าสมควร ปฏิบตั ิอย่างไร โครงการรณรงค์ได้ ดาเนินการในหลากหลายวิธีการ ได้ แก่ - การทาความเข้ าใจกับผู้บริ หารและพนักงานโดยการบรรยายและตอบข้ อซักถามในห้ องประชุม - การรณรงค์ด้วยวิธีการสือ่ สารกับพนักงานในวงกว้ างผ่านสือ่ โปสเตอร์ ซงึ่ ติดไว้ ในที่สาธารณะต่างๆ ภายในบริ ษัท - การส่งหนังสือถึงคูค่ ้ าต่างๆ ของเอไอเอสให้ ตระหนักถึงนโยบายของบริ ษัทที่ให้ พนักงานงดรับของขวัญ ของกานัล และ/หรื อ รับการเลี ้ยงรับรองที่เกินกว่าเหตุหรื อไม่เหมาะสม โดยในปี ที่ผา่ นมา คูค่ ้ าทุกราย ได้ รับหนังสือแจ้ งดังกล่าว ภายหลังจากโครงการดังกล่าวสิ ้นสุดลง คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจได้ กาหนดแนวทางการประเมินความเข้ าใจของพนักงาน ต่อประมวลจริ ยธรรมธุรกิจที่ได้ ดาเนินการรณรงค์ โดยจะจัดให้ มีการตอบแบบสอบถามผ่านช่องทางสื่อสารภายในบริ ษัทเพื่อ ประเมินความเข้ าใจของพนักงานในจริ ยธรรมธุรกิจและประสิทธิภาพของแนวทางและวิธีการการรณรงค์เพื่อปรับปรุ งแนวทางการ ส่งเสริ มให้ พนักงานตระหนักถึงจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทในปี ต่อไป โดยในปี 2559 พนักงานและผู้บริ หารได้ ให้ ความร่ วมมือในการ ตอบแบบสอบถามในอัตราร้ อยละ 99.74 ของพนักงานทังหมด ้ โดยผลคะแนนเฉลีย่ อยูท่ ี่ร้อยละ 94.12 จากคะแนนรวมทังหมด ้ ซึ่ง สูงกว่าเป้าหมายที่ตงไว้ ั ้ ทรี่ ้ อยละ 80 จากคะแนนรวมทังหมด ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 32


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

นอกเหนือจากการรณรงค์ดังกล่าวข้ างต้ นแล้ ว คณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิ จยังได้ สร้ างช่องทางเพื่อให้ พนักงานสามารถ สอบถามข้ อสงสัยต่างๆ ที่ตนได้ พบเห็นในระหว่างการปฏิบตั ิงานอันเกี่ยวกับประมวลจริ ยธรรมธุรกิจเพื่อให้ คณะกรรมการจริ ยธรรม ธุรกิจได้ ชี ้แจง ผ่าน E-mail: aisbusinessethics@ais.co.th 2) การสอบสวนลงโทษผู้ที่ละเมิดจริ ยธรรมธุรกิจ การบังคับใช้ ประมวลจริ ยธรรมธุรกิจกับผู้ที่ละเมิดเป็ นเรื่ องที่หลีกเลีย่ งมิได้ และมีความสาคัญเพื่อจรรโลงไว้ ซงึ่ ธรรมาภิบาลของ เอไอเอสในการดาเนินธุรกิจ โดยได้ กาหนดให้ มีบทลงโทษ และมาตรการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูลเรื่ องการปฏิบตั ิที่อาจขัดต่อจริ ยธรรม ธุรกิจเป็ นข้ อความแนบท้ ายประมวลจริ ยธรรมธุรกิจ โดยในปี 2559 มีการละเมิดจริ ยธรรมธุรกิจ 2 กรณี ดังนี ้ กรณีท่ ี

ข้ อมูลการกระทาผิด

แนวทางการดาเนินการ

1

พนักงานใช้ ตาแหน่งและอานาจหน้ าที่ ในการ เรี ยกรั บประโยชน์ จากคู่ค้า เพื่อช่วยเหลือให้ ได้ รับการว่าจ้ างจากบริ ษัท พนั ก งานร่ ว มกั บ บุ ค คลภายนอกแสวงหา ประโยชน์ จากบริ ษัท โดยการร่ วมกันรั บงาน ว่าจ้ างต่างๆ โดยที่มิได้ แจ้ งให้ บริ ษัททราบ

หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานกฎหมาย และหน่วยงานบริ หาร ทรัพยากรบุคคล ร่ วมกันสอบสวน และเมื่อปรากฎว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีการ ลงโทษทางวินยั กับพนักงานผู้กระทาผิดตามระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัท หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานกฎหมาย และหน่วยงานบริ หาร ทรัพยากรบุคคล ร่ วมกันสอบสวน และเมื่อปรากฎว่าเป็ นจริ ง จึงได้ มีการ ลงโทษทางวินยั กับพนักงานผู้กระทาผิดตามระเบียบข้ อบังคับของบริ ษัท

2

9.3 นโยบายต่ อต้ านการให้ หรือรับสินบน และการคอร์ รัปชั่น บริ ษัทยึดมัน่ ที่จะดาเนินธุรกิจด้ วยความซื่อสัตย์ โปร่ งใส และเป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี บริ ษัทต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ ทุกรู ปแบบด้ วยตระหนักดีว่าการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ นัน้ เป็ นภัยร้ ายแรงที่ทาลาย การแข่งขันอย่างเสรี และเป็ นธรรม รวมทังก่ ้ อให้ เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ ตระหนักถึงความสาคัญและพิจารณากาหนดนโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชัน่ เพื่อเป็ นอีกหนึ่งแนวทางใน การปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัท ให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิ อีกทัง้ เพื่อป้องกันมิให้ บริ ษัทฯ อันรวมไปถึงกรรมการ ผู้บริ หาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้ อง ฝ่ าฝื นกฎหมายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชั่น โดยได้ เผยแพร่นโยบายไว้ ใน http://investor.ais.co.th 9.4 การเป็ นสมาชิกของแนวร่ วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่ อต้ านทุจริต ตามที่เอไอเอสได้ ลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์ เพื่อเข้ าร่ วมโครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ าน ทุจริ ต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption - CAC) เพื่อร่ วมแสดงเจตนารมณ์ต่อต้ าน การคอรัปชั่น และไม่ยอมรับให้ มีการเกิดการทุจริ ตใดๆ ขึ น้ จากการดาเนินธุรกิจของเอไอเอสหรื อจากการปฏิบตั ิงานในองค์กร เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2556 แอไอเอสมุง่ มัน่ ในการดาเนินธุรกิจด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต และโปร่งใส เป็ นไปตามกฏหมายทังหมดที ้ ่ เกี่ยวข้ องกับการต่อต้ านการให้ สินบนและการคอร์ รัปชัน่ และการกากับดูแลกิจการที่ดี เนื่องจากการทุจริ ตในองค์กรเป็ นประเด็น ความเสี่ยงต่อการดาเนินธุรกิจให้ เติบโตอย่างยัง่ ยืนของเอไอเอส โดยได้ ตระหนักและยึดมัน่ ในการต่อต้ านการคอร์ รัปชัน่ ในทุก รูปแบบและไม่มีข้อยกเว้ น ตลอดจนไม่เข้ าไปมีสว่ นร่ วมในการคอร์ รัปชัน่ ทังทางตรงและทางอ้ ้ อม กรรมการ ผู้บริ หารและพนักงาน ทุกคนจะต้ องยึดถือและต้ องปฏิบตั ิตาม นอกจากนี เ้ อไอเอสยังรณรงค์สื่อสารและให้ ความรู้ กับผู้เกี่ยวข้ องทังภายในองค์ ้ กรและ ภายนอกองค์กรอย่างต่อเนื่องผ่านทางคณะกรรมการจริ ยธรรมธุรกิจ ทังนี ้ ้ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2558 เอไอเอสได้ ดาเนินการยื่น

ส่วนที่ 2 | หน้ า 33


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

เอกสารเพื่อขอรับการรับรองเข้ าเป็ นแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านทุจริ ต และได้ รับหนังสือแจ้ งอย่างเป็ นทางการ เพื่อรับรองฐานะสมาชิก ในวันที่ 22 มกราคม 2559 9.5 นโยบายการบริหารความเสี่ยงจากการทุจริต ในปี 2559 เอไอเอสได้ ประกาศใช้ นโยบายการบริ หารความเสี่ยงจากการทุจริ ต เพื่อป้องกัน ตรวจสอบ รายงานและบริ หาร จัดการประเด็นเรื่ องทุจริ ต โดยนโยบายฉบับนี ้ได้ กาหนดแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการบริ หารความเสี่ยงจากการทุจริ ตไว้ 3 ด้ าน ด้ วยกัน กล่าวคือ 1. การป้องกันความเสี่ยงจากการทุจริ ต โดยจัดให้ มีการประเมินความเสี่ยงและสื่อสารเพื่อให้ พนักงานตระหนักถึงปั ญหา ดังกล่าว 2. การตรวจสอบ โดยการจัดระบบการแจ้ งและติดตามผลเรื่ องทุจริ ต 3. กระบวนการลงโทษและการแก้ ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบตั ิงานให้ รัดกุมยิ่งขึ ้น เอไอเอสคาดหมายว่ากรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานพึงตระหนักถึงความเสี่ยงของการเกิดการทุจริ ต รวมถึงการแจ้ งเตือน เหตุตา่ งๆ ที่อาจเกี่ยวข้ องกับการทุจริ ตในทันที และให้ ความร่วมมือในการสอบสวนเรื่ องทุจริ ตอย่างเต็มที่ ทังนี ้ ้บริ ษัทได้ มอบหมาย ให้ หน่วยงานหลัก ได้ แก่ หน่วยงานด้ านการบริ หารความเสี่ยงในระดับองค์กร (Enterprise Risk Management) และทีมงาน สอบสวนด้ านบัญชี (Forensic Accounting team) ทาหน้ าที่ดแู ลบริ หารจัดการความเสี่ยงจากการทุจริ ต โดยการประเมินความ เสีย่ ง และเสนอวิธีการลดระดับความเสีย่ งนันอย่ ้ างมีประสิทธิภาพอีกด้ วย 9.6 นโยบายด้ านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เอไอเอสได้ เล็งเห็นความสาคัญด้ านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาโดยตลอดและได้ นามาตรฐานด้ าน การรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาบังคับใช้ ภายในองค์กรรวมไปถึงบริ ษัทย่อยตังแต่ ้ ปี 2558 เป็ นต้ นมา ซึง่ มาตรฐานดังกล่าวมีการกาหนดแนวทางปฏิบตั ิต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของบริ ษัทที่ได้ มาตรฐานสากล อาทิเช่น ระบบการควบคุมการเข้ าออกอาคาร การเข้ ารหัสเพื่อป้องกันการเข้ าถึงข้ อมูล การบริ หารจัดการชื่อผู้ใช้ (username) และ รหัสผ่าน (password) การรับรองและการอนุมตั ิการเข้ า/ออกจากระบบรักษาความปลอดภัยของโครงข่าย (network) การรักษา ความปลอดภัยด้ านการเชื่อมต่อและการเก็บรักษาข้ อมูล รวมถึงข้ อมูลส่วนบุคคลของลูกค้ า เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ ในปี 2559 เอไอเอสได้ ยกระดับการรักษาความปลอดภัยโดยการจากัดบุคคลากรที่สามารถเข้ าออกพื ้นที่สาคัญที่มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศติดตังอยู ้ ่ และมีการตรวจสอบตัวตนของบุคคลากรที่เข้ าพื ้นที่ดงั กล่าวทุกครัง้ พร้ อมทังติ ้ ดตังกล้ ้ องโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV) เพื่อตรวจสอบ และบันทึกภาพพื ้นที่สาคัญที่มีความเสีย่ งตลอดเวลา 9.7 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม คณะกรรมการบริ ษัทได้ กากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของ เอไอเอส ดังนี ้ 1. ส่งเสริ มให้ บริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วมนาหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีมาปฏิบตั ิ 2. คณะกรรมการบริ ษัทคัดเลือกบุคคลเป็ นตัวแทนของบริ ษัทเข้ าไปเป็ นกรรมการ และผู้บริ หารในบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่ วม ตามสัดส่วนของการถือหุ้น เพื่อควบคุมดูแลการดาเนินงานของบริ ษัทย่อย ตามสัดส่วนการถือครองหุ้นของบริ ษัท 3. กากับดูแลโดยผ่านกรรมการตัวแทนและผู้บริ หาร และนโยบายที่กาหนดโดยบริ ษัทใหญ่ 4. พิจารณาเรื่ องที่มีความสาคัญ เช่น กลยุทธ์ แผนธุ รกิจ การเพิ่มทุนหรื อลดทุน การเลิกบริ ษัท รวมทังนโยบายที ้ ่สาคัญ ต่างๆ 5. ติดตามผลการดาเนินงาน โดยฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทของบริ ษัท ส่วนที่ 2 | หน้ า 34


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

6. ดูแลให้ บริ ษัทย่อย และบริ ษัทร่ วมปฏิบตั ิตามกฏระเบียบที่เกี่ ยวข้ องของหน่วยงานกากับดูแล ได้ แก่ การทารายการ ระหว่างกัน การได้ มาและจาหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและทันเวลา รวมทังดู ้ แลให้ มีการ จัดทาบัญชีและรายงานทางการเงินถูกต้ องตามที่ควร ตามกฏหมายที่เกี่ยวข้ องและมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 7. การพิจารณาทาธุรกรรมใดๆ ของบริ ษัทย่อยที่มีนยั สาคัญต่อการดาเนินธุรกิจหรื อฐานะการเงินของบริ ษัท ได้ กาหนดให้ ธุรกรรมดังกล่าวต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการของบริ ษัทใหญ่ทกุ ครัง้ 8. ตรวจสอบโดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีการควบคุมภายในที่กาหนดไว้ เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 9. การเปิ ดเผยข้ อ มูลทางการเงิ น และผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ได้ ว่ า จ้ างผู้สอบบัญ ชี จ ากส านัก งาน สอบบัญชีเดียวกันกับบริ ษัทเพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบและรวบรวมข้ อมูลทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินมาเปิ ดเผยใน งบการเงินรวมของบริ ษัท ทังนี ้ ้ รายละเอียดของการดารงตาแหน่งของกรรมการและผู้บริ หารในบริ ษัทย่อย ปรากฎตามเอกสารแนบ 2 9.8 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน เอไอเอสให้ ค วามส าคัญ กับ การดูแ ลการใช้ ข้ อ มูล ภายในให้ เ ป็ นไปตามหลัก การก ากับ ดูแ ลกิ จ การที่ ดี โดยยึ ด มั่น ใน หลักธรรมาภิบาล ความซื่อสัตย์สจุ ริ ตในการดาเนินธุรกิจ และเพื่อให้ แน่ใจว่านักลงทุนในหลักทรัพย์ของเอไอเอสได้ รับสารสนเทศที่ เชื่อถือได้ อย่างเท่าเทียมและทันท่วงที จึงได้ กาหนดระเบียบการกากับดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน และระเบียบการซื ้อขายหลักทรัพย์ ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ให้ สอดคล้ องกับกฎหมายที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ และมุ่งเน้ นความโปร่ งใสในการประกอบ ธุรกิจ สรุปสาระสาคัญได้ ดงั นี ้ • กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกระดับต้ องไม่ใช้ ข้อมูลภายในที่มีสาระสาคัญต่อการเปลีย ่ นแปลงราคาของหลักทรัพย์ ที่ยงั มิได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชนหรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อการซื ้อขายหลักทรัพ ย์ของบริ ษัท อันนามาซึ่ง ผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น โดยงดการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทในช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิ ดเผยงบการเงิน ต่อสาธารณชน • บริ ษัทมีหน้ าที่เปิ ดเผยสารสนเทศเกี่ยวกับการดาเนินงานที่สาคัญของบริ ษัทให้ สาธารณชนทราบโดยทันทีและอย่างทัว่ ถึง โดยผ่านสื่อและวิธีการของตลาดหลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย และนโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัท รวมถึงผ่าน สื่อ อื่ น ๆ ของฝ่ ายนัก ลงทุน สัม พัน ธ์ และประชาสัม พัน ธ์ เพื่ อ ให้ แ น่ใ จว่า ข้ อมูลข่า วสารได้ เ ข้ า ถึ ง นักลงทุน ทุก กลุ่ม อย่างทันท่วงทีและเท่าเทียม • กรรมการและผู้บริ ห าร มีหน้ าที่รายงานการถื อ ครองหลัก ทรั พ ย์ ที่ออกโดยบริ ษัทของตน คู่สมรส ผู้ที่อ ยู่กิน กันฉันสามี ภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และรายงานถือ ครองหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษัทต่อคณะกรรมการบริ ษัทเป็ นประจาทุกไตรมาส • บริ ษัทมีกฎระเบียบการรักษาความปลอดภัยทางด้ านระบบคอมพิวเตอร์ และข้ อมูลสารสนเทศอย่างเข้ มงวด เพื่อป้องกัน ไม่ให้ ข้อมูลข่าวสารที่สาคัญถูกเปิ ดเผย กรณีที่กรรมการ ผู้บริ หารหรื อพนักงานนาข้ อมูลภายในของบริ ษัท ไปใช้ ในทาง มิชอบ บริ ษัทได้ กาหนดบทลงโทษหากผู้ใดฝ่ าฝื นจะถือเป็ นความผิดอย่างร้ ายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินยั และตามที่ กฎหมายกาหนด • ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ มีนโยบายในการหลีกเลี่ยงการคาดการณ์ ในอนาคต หรื อให้ ความคิดเห็นใดๆ เกี่ยวกับข้ อมูลที่มี ระยะเวลาล่วงหน้ าต่ากว่า 6 เดือน เพื่อให้ เป็ นไปตามนโยบายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหลักสากล ทังนี ้ ้ นักลงทุนยังคงสามารถพบปะพูดคุยกับเจ้ าหน้ าที่นกั ลงทุนสัมพันธ์เพื่อสอบถามความคิดเห็นและมุมมองต่อธุรกิจในระยะ ยาว

ส่วนที่ 2 | หน้ า 35


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี •

2559

ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์จะประกาศช่วงเวลางดติดต่อกับนักลงทุนเป็ นเวลา 1 เดือนล่วงหน้ าก่อนวันการเปิ ดเผยงบการเงิน ต่อสาธารณชน โดยในช่วงเวลางดติดต่อกับนักลงทุนนัน้ บริ ษัทจะงดการตอบคาถามที่เกี่ยวข้ องกับผลประกอบการและ การคาดการณ์ ทังนี ้ ้ยกเว้ นในกรณีที่เป็ นการตอบคาถามต่อข้ อเท็จจริ งหรื อชี ้แจงข้ อมูลที่ได้ มีการเปิ ดเผยแล้ ว หรื อชี ้แจง เหตุการณ์ขา่ วสารใดๆ ที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น หรื อสอบถามมุมมองต่อธุรกิจในระยะยาวเท่านัน้ โดยบริ ษัทจะงดการ จัดประชุมกับนักวิเคราะห์หรื อผู้ลงทุนในช่วงเวลาดังกล่าว หรื อหากมีความจาเป็ นการนัดประชุม ในช่วงเวลาดังกล่าว แล้ ว จะมีการกล่าวถึงการดาเนินธุรกิจในระยะยาวเท่านัน้

เอไอเอสได้ จดั ทานโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลซึ่งระบุขนตอนในการเปิ ั้ ดเผยข้ อมูลในเรื่ องต่างๆ ไว้ อย่างเป็ นทางการ นโยบาย ดังกล่าวพัฒนาบนหลักการที่วา่ การเปิ ดเผยข้ อมูลของเอไอเอสจะต้ องสอดคล้ องกับแนวปฏิบตั ิของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ อีกทังข้ ้ อมูลที่เปิ ดเผยต้ องมีความถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลาและสม่าเสมอไม่ว่าข้ อมูลเหล่านันจะเป็ ้ นเรื่ องบวกหรื อลบต่อ เอไอเอ สต่อนักลงทุนหรื อตลาดทุน ข้ อมูลที่มีความสาคัญและปกติมิได้ เปิ ดเผยเป็ นการทัว่ ไปจะถูกเปิ ดเผยอย่างเท่าเทียมให้ กบั ผู้ลงทุนทุก ราย นโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูลดังกล่าวจะทาให้ บริ ษัทมีมาตรฐานการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ดีได้ มาตรฐาน และส่งเสริ มให้ เกิดตลาดมี ประสิทธิภาพในการรับรู้ข้อมูลอย่างเท่าเทียม 9.9 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ในปี 2559 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ดังนี ้  ค่าสอบบัญชี และค่าสอบทานรายไตรมาสของบริ ษัทจานวน 2.41 ล้ านบาท ค่าสอบบัญชี และค่าสอบทานรายไตรมาสของ บริ ษัทย่อย จานวนทังสิ ้ ้น 6.32 ล้ านบาท  ค่าตอบแทนของงานบริ ษั ทอื่ น (Non-audit fee) ของบริ ษั ทให้ สานักงานสอบบั ญชี ที่ ผ้ ูสอบบัญชี สงั กัด จ านวน 0.67 ล้ านบาท

ส่วนที่ 2 | หน้ า 36


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

10. การดาเนินธุรกิจอย่ างยั่งยืน การเติบโตของการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต ในยุคที่โซเชียลมีเดียเติบโตอย่างกว้ างขวาง ด้ วยพัฒนาการที่รวดเร็ วของเทคโนโลยีที่ อานวยความสะดวกในการติ ด ต่อ สื่อ สาร การใช้ ชีวิ ต และการด าเนิ นธุ ร กิ จ ทาให้ ผู้บริ โภคเกิ ด ความต้ องการที่ แตกต่า งและ หลากหลาย ให้ ความสาคัญต่อเรื่ องคุณภาพและความน่าเชื่อถือของระบบสื่อสารโทรคมนาคมมากยิ่งขึ ้น ผู้ให้ บริ การโครงข่าย สือ่ สารโทรคมนาคมจึงจาเป็ นที่จะต้ องก้ าวให้ ทนั การเปลีย่ นแปลง มีการพัฒนาแนวคิดการดาเนินธุรกิจและทีมงานเพื่อสร้ างสินค้ า บริ การที่ตอบความคาดหวังของผู้บริ โภคที่สงู ขึ ้น และส่งเสริ มขีดความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว นอกจากนี ้ จากการประกาศนโยบายประเทศไทย 4.0 ของภาครัฐ ที่ต้องการนาเทคโนโลยีดิจิทลั เข้ ามาช่วยขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันบนเวทีโลก และลดความเหลือ่ มล ้าของประชากร ภาครัฐจึงมีการ วางแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทลั ระยะที่ 5 (2560-2564) ในการลงทุนในการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานทางด้ าน เทคโนโลยีดิ จิทัลและอิ นเทอร์ เน็ ต หมู่บ้ า นให้ ค รอบคลุมทั่ว ประเทศ เอไอเอส ตระหนักดี ถึง หน้ า ที่ค วามรั บ ผิด ชอบในฐานะ ผู้ให้ บริ การสือ่ สารโทรคมนาคมของประเทศไทย จึงมุง่ มัน่ ในการวางโครงสร้ างพื ้นฐานทางการสื่อสารโทรคมนาคมของประเทศให้ ครอบคลุมและมีคณ ุ ภาพ รวมทังน ้ าเสนอสินค้ าและบริ การที่หลากหลายด้ วยราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ คนไทยทุกคนสามารถเข้ าถึง เทคโนโลยีดิจิทลั อย่างเท่าเทียมกัน ด้ วยความพร้ อมในเชิงทรัพยากรทังด้ ้ านคลื่นความถี่ และการพัฒนาเทคโนโลยี ความแข็งแกร่ งทางด้ านฐานะการเงิน และ ความครอบคลุมของเครื อข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ ทาให้ เอไอเอสยืนหยัดเป็ นผู้นาในธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมมาอย่างต่อเนื่อง และ วางเป้าหมายสู่การเป็ นผู้ให้ บริ การดิจิทัลไลฟ์ สาหรั บคนไทยอันดับ 1 โดยปั จจุบันมีจานวนผู้ใช้ บริ การโทรศัพท์ มือถื อกว่า 41 ล้ านราย และกาลังขยายเข้ าสูธ่ ุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูง เอไอเอส ไฟเบอร์ อย่างรวดเร็ ว ขณะเดียวกัน ด้ วยความพร้ อมทางด้ าน ทีมงานที่มีคณ ุ ภาพ ทาให้ เอไอเอสสามารถส่งมอบบริ การที่เหนือกว่าและสร้ างนวัตกรรมที่สง่ เสริ มการดาเนินชีวิตประจาวัน และ เพิ่มศักยภาพในการประกอบธุรกิจของผู้ใช้ บริ การให้ ดีขึ ้น การวางเป้าหมายสูก่ ารเป็ นผู้ให้ บริ การดิจิทลั ไลฟ์ สาหรับคนไทยมีความท้ าทายหลายด้ าน ทังการแข่ ้ งขันและคู่แข่งที่เกิดขึ ้นใน รูปแบบใหม่ กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ เสียที่ขยายวงออกไปยังหลากหลายอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ ยวเนื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ ความคาดหวังของผู้ใช้ บริ การที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น ดังนัน้ ในการวางกลยุทธ์ และแผนการดาเนิน ธุรกิจ เอไอเอสจึงได้ คานึงถึงบริ บท ต่างๆที่สาคัญที่อาจจะส่งผลต่อความเป็ นผู้นาและความอยู่รอดในระยะยาวของเอไอเอส ซึ่งพิจารณาจากมุมมองของบริ ษัทและ มุมมองของผู้มีสว่ นได้ เสีย ไม่วา่ จะเป็ นชุมชนและสังคม ลูกค้ า พันธมิตรทางธุรกิจ หรื อพนักงาน โดยมองถึงมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม เช่น แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงทางด้ านเทคโนโลยีและการตลาด พฤติกรรมการใช้ งานและความต้ องการของ ลูกค้ า สภาพการแข่งขัน และสภาวะทางสังคมและสิง่ แวดล้ อมที่เปลีย่ นแปลงไป เพื่อให้ ทา่ นผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่มีสว่ นได้ เสีย สามารถศึกษาและเข้ าใจแนวทางการดาเนินธุรกิจของเอไอเอส กรอบวิธีคิด เพื่อสร้ างให้ ธุรกิจเติบโตและพัฒนาไปได้ อย่างยัง่ ยืน เอไอเอสจึงได้ จดั ทารายงานที่เรี ยกว่า “รายงานพัฒนาความยัง่ ยืน” ขึ ้นอีก ฉบับหนึง่ แนบพร้ อมกับรายงานประจาปี ที่จดั ส่งให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น รวมทังได้ ้ เผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ที่ http://www.ais.co.th

ส่วนที่ 2 | หน้ า 37


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

11. การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การบริ หารความเสีย่ งเป็ นกระบวนการสาคัญที่จะช่วยส่งเสริ มให้ เอไอเอสสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของ องค์กร รวมทังสามารถตอบสนองความต้ ้ องการของผู้มีสว่ นได้ เสียต่างๆได้ อย่างเหมาะสม บริ ษัทมีการดาเนินงานตามนโยบายและ กรอบแนวทางการบริ หารความเสี่ยงแบบทัว่ ทังองค์ ้ กร (Enterprise Risk Management: ERM) ซึ่งครอบคลุมทังในระดั ้ บองค์กร และระดับปฏิบตั ิงาน เพื่อบริ หารจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทังก ้ าหนดให้ พนักงานมีการวัดประสิทธิผลของ การควบคุมด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) ซึ่งเป็ นการส่งเสริ มให้ พนักงานมีความรับผิดชอบในการประเมิน ความเสีย่ ง และพัฒนาระบบการควบคุมภายในด้ วยตนเองอย่างต่อเนื่อง รวมทังก ้ าหนดกรอบโครงสร้ างและกระบวนการบริ หาร ความเสี่ยง อ้ างอิงตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ทังนี ้ ้ รายละเอียดเพิ่มเติมในเรื่ องการประเมินความเสีย่ ง สามารถศึกษาได้ จากหน้ า 43-44 กรอบโครงสร้ างและกระบวนการบริหารความเสี่ยงของเอไอเอส 1.กาหนด

6.ติดตามและ รายงานผลอย่าง สม่าเสมอ

วัตถุประสงค์หรือ เป้าหมาย 2.ระบุเหตุการณ์

หรือปั จจัยเสี่ยง

5.กาหนดกิจกรรม ควบคุม

3.ประเมินความ

เสี่ยง 4. ตอบสนองต่อ ความเสี่ยง

กระบวนการบริ หารความเสีย่ ง ประกอบด้ วย 1. การกาหนดวัตถุป ระสงค์ และเป้ าหมาย ในระดับ บริ ษัท และหน่วยงานให้ สอดคล้ องกับความเสี่ยงที่ยอมรับ ได้ (Risk Appetite) ซึ่งกาหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัท และมีการทบทวนความเสีย่ งที่ยอมรับได้ วัตถุประสงค์ และ เป้าหมายในการดาเนินงานเป็ นประจาทุกปี 2. การระบุเหตุการณ์ หรื อปั จจัยเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ ้น แล้ วส่งผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมาย ของบริ ษัท ทังที ้ ่เกิ ดจากปั จจัยภายใน เช่น กระบวนการ ท างาน บุค ลากร และปั จ จัย ภายนอกต่ า งๆ เช่ น ความ ต้ องการของลูกค้ า ปั จจัยทางด้ านเศรษฐกิจและการเมือง การเปลีย่ นแปลงกฎ ระเบียบต่างๆ เป็ นต้ น 3. การประเมินระดับความเสี่ยง โดยพิจารณาจาก 2 มุม มอง ได้ แ ก่ ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึน้ หากเกิ ด เหตุการณ์ ความเสีย่ ง ร่วมกับโอกาสที่จะเกิดของความเสี่ยงนันๆ ้ และ การประเมินความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบของความเสีย่ ง ใดๆที่อาจส่งผลต่ออีกความเสีย่ งหนึง่ 4. การตอบสนองต่ อความเสี่ยง ตามแต่ละระดับของ ความเสี่ยงด้ วยวิธีการที่เหมาะสมโดยคานึงถึงต้ นทุนและ ผลประโยชน์ที่จะได้ รับจากการดาเนินการ 5. การกาหนดกิจกรรมควบคุม หรื อแผนงานเพื่อจัดการ ความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 6. การติดตามให้ มีการดาเนินการตามกิจกรรมควบคุมที่ ได้ ก าหนดไว้ อ ย่า งเหมาะสม และมี ก ารรายงานผลการ บริ หารความเสี่ ย งให้ กั บ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทรั บทราบ เป็ นประจา

ส่วนที่ 2 | หน้ า 38


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

บริ ษัทได้ จัดให้ มีคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงที่ประกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงจากแต่ละสายงาน และมีประธาน กรรมการบริ หาร เป็ นประธานคณะกรรมการ เพื่อทาหน้ าที่รับผิดชอบในการกาหนดนโยบายและวางกรอบแนวทางการบริ หาร ความเสีย่ งขององค์กร รวมทังพิ ้ จารณาแจกแจงความเสีย่ งขององค์กร ประเมินและจัดอันดับความเสีย่ ง กาหนดแนวทางการบริ หาร ความเสีย่ ง มอบหมายผู้รับผิดชอบเพื่อจัดให้ มีมาตรการควบคุมและจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้ สามารถ บรรลุเป้าหมายและกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ และเพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ผู้ถือหุ้นและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย โดยโครงสร้ างการกากับดูแลเรื่ องการบริ หารความเสีย่ ง เป็ นดังนี ้

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รั บผิดชอบในการนานโยบาย และกรอบการบริ หารความเสี่ยงไปประยุกต์ ใช้ ทวั่ ทังองค์ ้ กร ผ่า นทางผู้บ ริ หารของแต่ละสายงาน และพนัก งานทุก ระดับ ในการก าหนดวัต ถุประสงค์ ระบุและจัด การความเสี่ย งภายใต้ ความรั บผิดชอบของแต่ละสายงาน ซึ่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารยังมีการติดตามให้ เกิ ดการนาไปใช้ อย่างมีประสิทธิ ภาพและ ประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อการบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ คณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งมีการประชุมเป็ นรายไตรมาส เพื่อพิจารณาประเด็นความเสี่ยงใหม่ ประเมินระดับความ เสี่ยง พร้ อมทังพิ ้ จารณาความสัมพัน ธ์ จากผลกระทบของความเสี่ยงแต่ละเรื่ อง ทบทวนระดับของความเสี่ยงเดิมที่ได้ ระบุไว้ แล้ ว และติดตามความสาเร็ จของการบริ หารความเสีย่ ง โดยพิจารณาจากแผนงานของฝ่ ายจัดการที่รับผิดชอบในปั จจัยความเสีย่ งต่างๆ และผลสาเร็ จของตัววัดผลที่เชื่อถือได้ จากการปฏิบตั ิงานตามแผนงานนัน้ นอกเหนือจากนี ้ ในปี 2559 บริ ษัทได้ กาหนดให้ มีการรายงานผลของการดาเนินการบริ หารความเสีย่ งในระดับสายงานใน การประชุมซึง่ มีประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นประธานในการประชุม เพื่อรับทราบประเด็นความเสี่ยงต่างๆ รวมทังแนวทางในการ ้ จัดการความเสีย่ งของแต่ละสายงาน เพื่อให้ มนั่ ว่าการบริ หารความเสี่ยงของแต่ละสายงานดาเนินไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลอย่างแท้ จริ ง รวมทังเพื ้ ่อเป็ นการเฝ้ าระวังว่าความเสี่ยงในทุกระดับของบริ ษัทมีการบริ หารจัดการอย่างเหมาะสม และ อยูภ่ ายใต้ ความเสีย่ งที่ยอมรับได้ ตามที่บริ ษัทกาหนดไว้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 39


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ นาเสนอผลการบริ หารความเสี่ยงให้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการบริ ษัทได้ รับทราบเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อให้ มีการติดตามอย่างใกล้ ชิด และมัน่ ใจได้ วา่ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับ ที่ยอมรับได้ รวมทังบริ ้ ษัทสามารถบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ การบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management) เอไอเอสนาระบบบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ภายใต้ กรอบการดาเนินงานตามหลักมาตรฐานสากลทางด้ านการ บริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิ จมาใช้ เพื่อเตรี ยมการรั บมือหากเกิดเหตุการณ์ ต่างๆ เช่นกรณีที่เกิดภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ หรื อ เหตุการณ์ความผิดพลาดต่างๆที่ไม่อยู่ในความควบคุม ซึ่งเหตุการณ์ดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบให้ เกิดการหยุดชะงักของระบบ ปฏิบตั ิงานหลัก และอาจก่อให้ เกิดความสูญเสีย เสียหายต่อทรัพย์สนิ และบุคลากร ซึง่ ครอบคลุมถึงกระบวนการธุรกิจที่สาคัญของ บริ ษัท (Critical Business Process) ทังส่ ้ วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมถึงบริ ษัทต่างๆ ในเครื อที่เกี่ยวข้ อง โดยจัด ให้ มีค ณะกรรมการบริ หารความต่อ เนื่ องทางธุร กิ จ (Business Continuity Management Committee) ประกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงของแต่ละสายงาน มีประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารเป็ นประธาน เพื่อกากับดูแลให้ การบริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจเป็ นไปอย่างมีประสิทธิผลและยัง่ ยืน กระบวนการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ประกอบไปด้ วย 4 กระบวนการหลัก ดังนี ้

1. การออกแบบและจัดทาแผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจ: นาเป้าหมายด้ านการบริ หารความต่อเนื่องในการดาเนินธุรกิจของกระบวนธุรกิจหลัก มาออกแบบและจัดทาแผน ความต่อเนื่องทางธุรกิ จที่สามารถรองรั บภัยพิบัติที่อาจเกิ ดขึน้ โดยพิจารณาจากวิเคราะห์ ผลกระทบทางธุรกิ จ (Business Impact Analysis: BIA) ประกอบกับการพิจารณาความเสีย่ งของเหตุการณ์ ต่างๆที่อาจเกิดขึ ้น เพื่อระบุ บริ การหรื อกระบวนการทางานที่สาคัญ และผลกระทบจากการหยุดชะงักของบริ การหรื อกระบวนการดังกล่าว รวมถึงกาหนดช่วงเวลาหยุดชะงักและระดับการดาเนินงานที่ยอมรับได้ ของแต่ละบริ การ/กระบวนการ 2. การนาแผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจไปปฏิบัติ: นาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจที่อนุมตั ิแล้ วไปดาเนินการตามทีร่ ะบุในแผนงาน และสือ่ สารแผน บริ หารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจพร้ อมทาความเข้ าใจกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อง รวมทังจั ้ ดเตรี ยมทรัพยากรทังจากภายในและภายนอก ้ ที่จาเป็ นในการดาเนินการตามแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจให้ เพียงพอ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 40


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

3. การซ้ อมแผน และทาให้ แผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจเป็ นปั จจุบัน: จัดการฝึ กซ้ อมแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจตามกาหนดเวลาและเป้าหมายที่กาหนดไว้ พร้ อมทาการปรับปรุง แผนงาน ให้ เป็ นปั จจุบนั และรายงานผลการซ้ อมแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ต่อผู้บงั คับบัญชาผู้รับผิดชอบ แผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจนัน้ รวมทังรายงานต่ ้ อคณะกรรมการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ให้ รับทราบ 4. การทบทวน และปรับปรุ งระบบการบริหารความต่ อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ: การปรับปรุงแก้ ไขแผนการบริ หารจัดการความต่อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้ มีประสิทธิภาพและสอดรับกับ ระดับความเสีย่ งที่บริ ษัทเผชิญอยูใ่ นเวลานัน้ เอไอเอสดาเนินกระบวนการบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจโดยครอบคลุมตัง้ แต่ ระดับองค์ กร ระดับหน่ วยงาน และระบบงานสาคัญต่างๆ โดยพิจารณาจากความเสีย่ งของภัยคุกคามต่างๆที่อาจจะเกิดขึ ้น ทังในแง่ ้ ของโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ นันๆ ้ และผลกระทบหากเหตุการณ์นนเกิ ั ้ ดขึ ้น เพื่อดาเนินการจัดทาแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจในระดับองค์กร เพื่อ รองรับ เหตุฉกุ เฉินหรื อภาวะวิกฤติ ที่อาจส่งผลเสียหายต่ออาคารสานักงาน หรื อความสูญเสีย เสียหายต่อทรัพย์สนิ และบุคลากรของเอไอ เอส การจัดทาแผนความต่ อเนื่ องทางธุ รกิจในระดับหน่ วยงาน จากการประเมินผลกระทบทางธุรกิจหากไม่สามารถ ดาเนินกิจกรรมต่างๆในแต่ละหน่วยงานได้ เพื่อจัดทาแผนความต่อเนื่องในการดาเนินธุรกิจสาหรับกระบวนการธุรกิจที่สาคัญ ของ แต่ละหน่วยงาน ซึง่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความต่อเนื่องในการให้ บริ การแก่ลกู ค้ า การจัดทาแผนการกู้คืนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรวบรวมกลยุทธ์ และขันตอนในการกู ้ ้ คืนระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่ สนับสนุนการดาเนิน งานของกระบวนการธุ ร กิ จ ที่สาคัญ ตลอดจนทรั พยากรที่จ าเป็ นต้ องใช้ ใ นการกู้คืน ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศในภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ บริ การหลักที่สาคัญของบริ ษัทสามารถกลับมาใช้ งานได้ ตามกาหนดเวลาและระดับ การดาเนินงานที่ยอมรับได้ ของแต่ละบริ การ/กระบวนการ การจัดทาแผนบริหารความต่ อเนื่องทางธุรกิจ เพื่อรองรั บกระบวนธุรกิจหลัก (Critical Business Processes) ที่ มีผลกระทบโดยตรงต่อการส่งมอบบริ การหลัก (Critical Services) และถือเป็ นความรับผิดชอบของผู้บงั คับบัญชาทุกระดับและ พนักงานทุกคนที่จะต้ องให้ ความร่ วมมือในกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการบริ หารความต่อเนื่องทางในการดาเนินธุรกิจ เช่น การจัดทาแผนการจัดเตรี ยมโครงสร้ างพื ้นฐานตามแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึ กซ้ อม และการ ทบทวนปรับปรุงแก้ ไขแผนงานเพื่อให้ มนั่ ใจในประสิทธิผลของแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ในปี 2559 ได้ มีการฝึ กซ้ อมตามแผนบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจในกระบวนการหลัก ได้ แก่ การเกิดภาวะฉุกเฉิน ที่ อาคารสานักงานใหญ่ ส่งผลให้ ไม่สามารถเข้ าปฏิบตั ิงานระบบงานที่สาคัญได้ พนักงานที่เกี่ยวข้ องจึงจาเป็ นต้ องย้ ายไปปฏิบตั ิงาน ยังสถานที่ปฏิบตั ิงานฉุกเฉินที่ได้ มีการกาหนดไว้ รวมทังการจ ้ าลองเหตุการณ์ฉกุ เฉินกรณีศนู ย์จดั เก็บข้ อมูลหลักของบริ ษัทเสียหาย จนไม่สามารถใช้ งานได้ ซึง่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการให้ บริ การต่างๆของบริ ษัท โดยที่บริ ษัทได้ จดั เตรี ยมแผนการปฏิบตั ิงานต่างๆ เพื่อเตรี ยมการรับมือกับเหตุการณ์ ฉกุ เฉินที่จะทาให้ บริ ษัทสามารถให้ บ ริ การได้ อย่างต่อเนื่องตามแผนบริ หารความต่อเนื่องทาง ธุรกิจที่ได้ กาหนดไว้ เพื่อให้ มนั่ ใจว่าบริ ษัทจะสามารถตอบสนองและบริ หารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจเมื่อประสบกับเหตุการณ์ ไม่คาดคิดต่างๆได้ อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 2 | หน้ า 41


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน เอไอเอสเล็งเห็นความสาคัญของระบบการควบคุมภายในซึง่ เป็ นกลไกสาคัญต่อการป้องกัน บริ หาร จัดการความเสี่ยงหรื อ ความเสียหายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ ้นกับบริ ษัทและผู้มีสว่ นได้ เสีย ทังนี ้ ้เพื่อให้ สามารถบรรลุผลสาเร็ จของการดาเนินธุรกิจทังในด้ ้ านการ บริ หารงานที่มีประสิทธิผล คณะกรรมการบริ ษัทตระหนักถึงความสาคัญของการมีระบบการควบคุมภายในที่ดีของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย เอไอเอสจึง ได้ นาการควบคุมภายในตามกรอบแนวทางCOSO 2013 (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ซึ่งประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบ โดยแบ่งเป็ น 17 หลักการมาประยุกต์ใช้ เป็ นแนวทางในการออกแบบระบบการ ปฏิบตั ิ งานและนาไปปฏิบัติใช้ จริ ง ในการบริ หารงานของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย เพื่อให้ การบริ หารจัดการเป็ นมาตรฐานและ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ในทุกระดับการปฏิบตั ิงาน เอไอเอสมุง่ เน้ นให้ คณะกรรมการ ฝ่ ายบริ หาร และพนักงานตระหนักเรื่ องการควบคุมภายในที่ดี โดยคณะกรรมการบริ ษัท พิจารณาแล้ วเห็นว่าเอไอเอสมีบคุ ลากรที่มีความสามารถและจานวนเพียงพอในการดาเนินการตามระบบการควบคุมภายในที่ได้ กาหนดไว้ รวมทังมี ้ ระบบการควบคุมภายในสาหรับติดตามควบคุมดูแลการดาเนินงานและทรัพย์สินของเอไอเอสและบริ ษัทย่อย จากการที่คณะกรรมการหรื อฝ่ ายบริ หารจะนาไปใช้ โดยมิชอบหรื อไม่มีอานาจ รวมถึงการทาธุรกรรมกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์และบุคคลที่เกี่ยวโยงกันอย่างเพียงพอแล้ ว ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีคณะกรรมการอิสระทัง้ 4 ท่าน เข้ า ร่วมประชุมด้ วย คณะกรรมการบริ ษัทได้ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทโดยใช้ แบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทางที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กาหนด โดยผลการประเมินสรุ ปได้ ว่าบริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิ ผลเหมาะสมเพียงพอต่อการดาเนินธุรกิ จ ทังนี ้ ้ ไม่พบข้ อบกพร่องที่มีสาระสาคัญเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน นอกจากนี ้ ผู้สอบบัญชี ของบริ ษัท คือ บริ ษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี ซึ่งเป็ นผู้สอบบัญชี ภายนอกได้ ประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของปี 2559 และให้ ความเห็นว่าบริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพียงพอและเหมาะสม ระบบการควบคุมภายในของเอไอเอสประกอบด้ วย 5 องค์ ประกอบ โดยแบ่ งเป็ น 17 หลักการ ดังนี ้ สภาพแวดล้ อมภายในองค์กร (Control Environment) คณะกรรมการบริ ษัทตระหนักถึงการมีสภาพแวดล้ อมของการควบคุมภายในที่ดีซึ่ง เป็ นรากฐานเพื่อสนับสนุนให้ เอไอเอสมี ระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลทัว่ ทังองค์ ้ กร ทังนี ้ ้ องค์ประกอบหลักของสภาพแวดล้ อมการควบคุมของเอไอเอส มีดงั นี ้ คณะกรรมการบริ ษัท ส่งเสริ มคุณค่าความซื่อตรงและจริ ยธรรม ในการเป็ นแบบอย่างที่ดีทงั ้ การประพฤติตนและการ ปฏิบัติงาน ผ่านการบริ หารจัดการตามลาดับสายการรายงาน และการมอบหมายหน้ าที่ความรั บผิดชอบอย่างชัดเจนเพื่อ ให้ พนักงานสามารถปฏิบตั ิตนได้ ตามที่บริ ษัทคาดหวัง เอไอเอสยังมุง่ เน้ นให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานมีการปฏิบตั ิตนอย่างซื่อตรงและยึด มัน่ ต่อคุณค่าของจริ ยธรรม จึงได้ จดั ทาประมวลจริ ยธรรมธุรกิจเพื่อใช้ เป็ นแนวปฏิบตั ิให้ แก่ กรรมการ ฝ่ ายบริ หาร และพนักงาน นอกจากนี ้ ยังมีนโยบายการรั บแจ้ งข้ อมูลการกระทาผิดและการทาทุจริ ต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ ข้อมูล (Whistle Blower Policy) ซึง่ ได้ จดั ทาช่องทางพิเศษสาหรับการรับแจ้ งข้ อมูลทังภายในและภายนอก ้ รายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษัทอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี ้ จากการประกาศเจตนารมณ์แนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้ านการทุจริ ต เอไอเอส ได้ รับประกาศนียบัตรรั บรองฐานะสมาชิ กแนวร่ วมปฏิบัติ จากคณะกรรมการแนวร่ วมปฏิบัติของ

ส่วนที่ 2 | หน้ า 42


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการทุจริ ตในเดือนมกราคม ปี 2559 และได้ จัดทานโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการ คอร์ รัปชัน่ เป็ นแนวทางให้ กบั เอไอเอสและบริ ษัทย่อยปฏิบตั ิ ในปี 2559 หน่วยงานตรวจสอบภายในจัดทาแบบสอบถามเพื่อประเมินความเข้ าใจและการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม ธุรกิจและนโยบายต่อต้ านการให้ หรื อรับสินบนและการคอร์ รัปชั่น สอบถามผู้บริ หาร พนักงานบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และจัดส่ง แบบสอบถามให้ กับพนักงานภายนอกผู้ให้ บริ การและคู่ค้า ผลการประเมินสรุ ปว่า ผู้บริ หาร พนักงาน ที่ตอบแบบสอบถามรวม ประมาณร้ อยละ 99 โดยได้ ค ะแนนความเข้ า ใจถูก ต้ อ งร้ อยละ 94 สาหรั บ พนัก งานภายนอกผู้ใ ห้ บ ริ ก ารและคู่ค้ า ที่ ต อบ แบบสอบถามรวมประมาณร้ อยละ 68 ได้ คะแนนความเข้ าใจถูกต้ องร้ อยละ 89 และได้ รายงานผลการประเมินต่อ คณะกรรมการ จริ ยธรรมธุรกิจรับทราบเป็ นข้ อมูลปรับปรุงกระบวนการส่งเสริ มจริ ยธรรมต่อไป คณะกรรมการบริ ษัทมีความอิสระจากฝ่ ายบริ หาร มีความรู้ความสามารถอย่างเพียงพอในการกากับดูแลการบริ หารจัดการ โดยจัดโครงสร้ างสายการรายงานแยกเป็ นส่วนปฏิบตั ิงานธุรกิจหลัก ที่มีสว่ นงานตรวจทานคุณภาพการปฏิบตั ิงานแยกต่างหากอีก ลาดับเพื่อให้ เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างกัน โดยการกาหนดและจากัดอานาจการดาเนินการในระ ดับบริ หารและระดับ ปฏิบตั ิการไว้ อย่างชัดเจน นอกจากนี ้ ฝ่ ายบริ หารได้ กาหนดเป้าหมายตัวชีว้ ดั ผลการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจนเป็ นแผนธุรกิจประจาปี มีการสือ่ สารทาความเข้ าใจกับผู้บริ หารและพนักงาน เพื่อไม่ให้ เกิดแรงกดดันต่อพนักงานมากเกินไป รวมทังพิ ้ จารณาให้ รางวัลตอบ แทนที่สอดคล้ องกับข้ อกาหนดของแผนธุรกิจ บุคลากรของเอไอเอสเป็ นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถ ความเชี่ ยวชาญที่เหมาะสมเพียงพอต่อหน้ าที่ความรั บ ผิดชอบ คณะกรรมการบริ ษัทมีการกาหนดแผนและกระบวนการสรรหาผู้สืบทอดตาแหน่งที่ สาคัญ (Succession Plan) เพื่อให้ บริ ษัท สามารถดาเนินธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการกาหนดนโยบายส่งเสริ มการพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานซึ่งจัดทา เป็ นกรอบการพัฒนาบุคคลากรตามสายวิชาชีพที่ประกอบด้ วยการฝึ กอบรมด้ านธุรกิจควบคู่กบั ทักษะการบริ หารบุคคลากร (Soft Skill) นอกจากนัน้ บริ ษัทมีการส่งเสริ ม การได้ รับวุฒิบตั รทางวิชาชีพ เช่น ระบบความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคนิค วิทยาการทันสมัย เพื่อการปฏิบตั ิงานที่มีคณ ุ ภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยมีขนตอนในการจู ั้ งใจ การพัฒนา และการรักษา พนักงานที่มีความรู้ความสามารถ โดยมีวิธีการประเมินผลและการให้ คา่ ตอบแทนที่เหมาะสม การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) เอไอเอสได้ จดั ทานโยบายการบริ หารความเสีย่ ง ซึง่ กาหนดกรอบแนวทางการบริ หารความเสีย่ ง หน้ าที่และความรับผิดชอบ รวมทังจั ้ ดทาคูม่ ือกระบวนการบริ หารความเสี่ยงเป็ นแนวทางการบริ หารความเสี่ยงให้ ผ้ บู ริ หาร พนักงาน ทุกระดับ สาหรับบริ หาร จัดการความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบตั ิงานของตนเองให้ อยูในระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนัน้ ยังได้ จดั ทา นโยบายการบริ หาร ความเสีย่ งด้ านทุจริ ต (Fraud Risk Management Policy) เป็ นแนวทางการจัดการความเสี่ยงด้ านทุจริ ตทังจากปั ้ จจัยภายในและ ปั จจัยภายนอก เอไอเอสกาหนดวัตถุประสงค์การดาเนินงานไว้ ในแผนธุรกิจประจาปี อย่างชัดเจนครอบคลุมทังด้ ้ านรายได้ ค่าบริ การ คุณภาพเครื อข่ายโทรคมนาคม การดูแลลูกค้ า การจัดการด้ านการรับ -จ่ายเงิน การบริ หารทรัพยากรบุคคล ทรัพย์สินของบริ ษัท และการปฏิบตั ิตามกฏหมาย ข้ อบังคับของหน่วยงานกากั บดูแลกิจการที่เกี่ยวข้ อง ฝ่ ายจัดการมีการกาหนดวัตถุประสงค์ทงใน ั้ ระดับหน่วยงาน และระดับปฏิบตั ิงานไว้ อย่างชัดเจน สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ของบริ ษัท สือ่ สารให้ พนักงานรับทราบและมอบหมายหน้ าที่รับผิดชอบที่ชดั เจนทาให้ พนักงานสามารถปฏิบตั ิงานได้ จริ งตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ผู้บริ หารและพนักงานทุกระดับในองค์กร รับผิดชอบในการระบุ ประเมินความเสี่ยง ตามกระบวนการที่กาหนดในคู่มือ กระบวนการบริ หารความเสี่ยง รวมทัง้ กาหนดระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรั บได้ ทงั ้ ระดับองค์ กรและระดับหน่วยงานเพื่อกาหนด มาตรการจัดการที่เหมาะสม และติดตามประเมินผลการจัดการความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทังนี ้ ้เพื่อให้ มีการบริ หาร ความเสี่ยงอย่างเป็ นระบบครอบคลุมทุกระดับ มีการแต่งตัง้ ผู้ประสานงานการบริ หารความเสี่ยง (ERM Facilitator) ประจา ส่วนที่ 2 | หน้ า 43


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

หน่วยงาน ซึง่ ได้ รับการอบรมความรู้กระบวนการบริ หารความเสีย่ ง ระบบการควบคุมภายในอย่างครบถ้ วน ทาหน้ าที่ให้ คาแนะนา ประสานงานการประเมินความเสีย่ งภายในหน่วยงานของตนเอง นามาจัดทาแผนการบริ หารความเสี่ยงของหน่วยงานให้ ผ้ บู ริ หาร ใช้ เป็ นเครื่ องมือในการติดตามผลการดาเนินงาน และเป็ นการสนับสนุนให้ เกิดการควบคุมภายในโดยการประเมินตนเอง (Control Self-Assessment) ในกระบวนการปฏิบตั ิงานที่สาคัญขององค์กร โดยแผนการบริ หารความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานต้ องจัดส่ง ให้ กบั หน่วยงานบริ หารความเสีย่ งขึ ้นทะเบียนเป็ นความเสีย่ งระดับหน่วยงาน การจัดทากรอบการบริ หารความเสี่ยงด้ านทุจริ ต ครอบคลุมถึง การกาหนดกระบวนการ หน้ าที่ความรับผิดชอบ วิธีการ ประเมินความเสี่ยงด้ านทุจริ ต และได้ รวบรวมประเด็นความเสี่ยงด้ านทุจริ ตจากปั จจัยภายใน และปั จจัยภายนอก ( Fraud Risk Scheme and Scenario – Internal & External Fraud) ซึง่ เป็ นการกาหนดประเภทการทุจริ ตตามกรอบแนวทางของ Association of Certified Fraud Examiners (ACFE) ใช้ เป็ นข้ อมูลสาหรับผู้ปฏิบตั ิงานหน่วยงานต่างๆ เช่น Security Team, Fraud Management, หน่วยงานจัดซื ้อ, หน่วยงานบัญชี เป็ นต้ นพิจารณาประกอบการระบุความเสี่ยงด้ านทุจริ ตได้ อย่างครอบคลุมทุก ลักษณะ สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในธุรกิจโทรคมนาคม บริ ษัทได้ มีการนามาพิจารณาประกอบการประเมินความเสี่ยงของ บริ ษัทอย่างรัดกุมเพื่อกาหนดแผนจัดการอย่างเหมาะสมทันเวลา ตัวอย่างเช่น การใช้ Data ในยุค Digital Economy ซึ่งเป็ น เทคโนโลยีใหม่ที่จะมีการนามาใช้ ในอนาคตอันใกล้ ผู้บริ หารเล็งเห็นว่าเป็ นเหตุการณ์สาคัญ ซึง่ บริ ษัทต้ องเตรี ยมความพร้ อมและได้ กาหนดมาตรการจัดการความเสีย่ งอย่างเป็ นระบบ การควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Control Activities) เอไอเอสได้ เลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมให้ เหมาะสมสอดคล้ องกับความเสีย่ งและลักษณะเฉพาะของบริ ษัท โดยจัด ให้ มีการควบคุมผ่านทางนโยบายและขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงานต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ มนั่ ใจว่าการควบคุมใดๆ ของฝ่ ายบริ หารที่นาไป ปฏิบตั ินนั ้ สามารถจัดการความเสี่ยงเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของบริ ษัท กิจกรรมการควบคุมของบริ ษัทจะถูกดาเนินการในทุก ระดับ ทุกกระบวนการทางธุรกิจ โดยมีการคานึงถึงอานาจการอนุมตั ิ การสอบทาน การกระทบยอด และการแบ่งแยกหน้ าที่ความ รับผิดชอบอย่างเหมาะสม นอกจากนี ้ ยังได้ สร้ างความตระหนักรู้ และผลักดันแนวทางความรับผิดชอบการบริ หารความเสี่ยงและ การควบคุมที่ดีตามแนวทางป้องกัน 3 ระดับ (Three lines of defense) คือ ระดับที่ 1 แผนกต่าง ๆ ระดับที่ 2 การบริ หารความ เสีย่ งและการกากับดูแล และระดับที่ 3 การตรวจสอบภายใน สภาพแวดล้ อม ความซับซ้ อนของงาน ลักษณะงาน ขอบเขตการดาเนินงาน และลักษณะเฉพาะอื่นๆ ของบริ ษัทเป็ นปั จจัย ในการพิจารณารูปแบบกิจกรรมการควบคุมที่หลากหลายระหว่างการควบคุมแบบใช้ บคุ คล (Manual Control) และแบบอัตโนมัติ (Automated Control) ซึง่ ออกแบบให้ มีกิจกรรมการควบคุมที่ผสมผสานทังแบบป ้ ้ องกัน (Preventive Control) และแบบตรวจพบ (Detective Control) เช่น สร้ างระบบสารสนเทศเพื่อเช็คสอบความผิดปกติของรายการที่สาคัญ เพื่อให้ มีความแม่นยา รวดเร็ ว โดย มีการคานึงถึงการแบ่งแยกหน้ าที่ความรั บผิดชอบในงาน 3 ด้ าน คือ หน้ าที่การอนุมตั ิ หน้ าที่บนั ทึกรายการบัญชี และข้ อมูล สารสนเทศ หน้ าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สนิ ออกจากกันเพื่อให้ มีการตรวจสอบซึง่ กันและกันอย่างเหมาะสม สาหรับกระบวนการปฏิบตั ิงานบนระบบเทคโนโลยี ได้ เลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทัว่ ไปที่หลากหลายและรัดกุม เหมาะสม เพื่อให้ มนั่ ใจว่าระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศของบริ ษัทพร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลา ปลอดภัยจากการเข้ าถึงของผู้ที่ไม่ เกี่ยวข้ อง ซึง่ รวมถึงกิจกรรมการควบคุมโครงสร้ างพื ้นฐานระบบสารสนเทศ กิจกรรมการควบคุมด้ านความปลอดภัยในการเข้ าถึง ระบบสารสนเทศ และกิจกรรมการควบคุมกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ เช่น จัดให้ มีระบบการรักษาความปลอดภัยของ สารสนเทศตามมาตรฐาน ISO27001:2013 และจัดให้ มีกรอบแนวทางการควบคุมของ Data Protection เป็ นต้ น โดยได้ นากิจกรรมการควบคุมจัดทาเป็ นนโยบายและวิธีปฏิบตั ิงานเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ซึ่งระบุ ผ้ รู ับผิดชอบ ระยะเวลา การปฏิบตั ิงาน และวิธีการแก้ ไขหากพบข้ อผิดพลาดไว้ อย่างชัดเจนเพื่อให้ พนักงานสามารถปฏิบตั ิตามกิจกรรมการควบคุมได้ อย่าง ส่วนที่ 2 | หน้ า 44


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ถูกต้ อง รวมถึงมีการทบทวนนโยบายและวิธีปฏิบตั ิให้ มีความเหมาะสมอยูเ่ สมอ เช่น มีการทบทวนระเบียบจัดซื ้อจัดจ้ างให้ มีความ ทันสมัยมากขึ ้น บริ ษัทได้ กาหนดนโยบายต่างๆ เพื่อให้ มีการพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมของบริ ษัทที่คานึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทเป็ นสาคัญ โดยถือเสมือนเป็ นรายการที่กระทากับบุคคลภายนอก (Arms’ Length Basis) โดยมีกระบวนการติดตามดูแลการดาเนินงานของ บริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่วม ซึง่ ได้ กาหนดแนวทางให้ บคุ คลที่บริ ษัทแต่งตังให้ ้ เป็ นกรรมการหรื อผู้บริ หารในบริ ษัทย่อยหรื อร่ วมนัน้ ถือ ปฏิบตั ิ ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้ อมูล (Information & Communication) เอไอเอสใช้ ข้อมูลที่ถกู ต้ องครบถ้ วนและมีคณ ุ ภาพเพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน โดยพิจารณารวบรวมข้ อมูลจากภายใน และภายนอก บนพื ้นฐานการพิจารณาต้ นทุนและประโยชน์ที่จะได้ รับ โดยใช้ ระบบสารสนเทศในการประมวลผลและจัดเก็บข้ อมูล เพื่อสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไปได้ ตามที่กาหนด รวมทังสื ้ อ่ สารข้ อมูลที่จาเป็ นต่อการสนับสนุนให้ การควบคุม ภายในสามารถทาหน้ าที่ได้ ตามที่วางไว้ แก่ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องภายในองค์กร และสือ่ สารข้ อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับบุคคลภายนอก บริ ษัทมีกระบวนการสื่อสารข้ อมูลภายในองค์กร เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ นโยบายและวิธีปฏิบตั ิงาน หน้ าที่ความรับผิดชอบ ไปยังผู้บริ หารและพนักงานทุกระดับ รวมทังมี ้ การเลือกช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเหมาะสม เช่น จัดให้ มีการสื่อสารผ่าน Intranet ผ่านจดหมายข่าว ผ่านประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารในรายการ ‘CEO Talk Weekly 5 Minutes’ รวมทังจั ้ ดให้ มีช่องทางพิเศษ ให้ พนักงานสามารถแจ้ งข้ อมูลเกี่ยวกับการกระทาผิดและการทาทุจริ ตแก่บริ ษัทได้ อย่างปลอดภัย เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ยังได้ มีการรายงานข้ อมูลที่สาคัญต่อคณะกรรมการบริ ษัทอย่างสม่าเสมอ โดยคณะกรรมการบริ ษัทสามารถ เข้ าถึงแหล่งข้ อมูลสารสนเทศที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ หรื อสอบทานรายการต่างๆ ได้ ตามที่ต้ องการ เอไอเอสจัดให้ มีกระบวนการสือ่ สารข้ อมูลกับผู้มีสว่ นได้ เสียภายนอกองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพผ่านช่องทางการสื่อสารที่ เหมาะสม เช่น จัดให้ มีการสือ่ สารผ่าน Internet ผ่านโซเชียลมีเดีย จัดให้ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ จัดให้ มีศนู ย์รับเรื่ องร้ องเรี ยน คุณภาพการให้ บริ การ จัดให้ มีช่องทางให้ บุคคลภายนอกสามารถแจ้ งข้ อมูลเกี่ยวกับการกระทาผิดและการทาทุจริ ตได้ อย่าง ปลอดภัยมายังคณะกรรมการตรวจสอบที่ AuditCommittee@ais.co.th เป็ นต้ น ตามที่กาหนดในนโยบาย Whistle Blower Policy ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) เอไอเอสจัดให้ มีกิจกรรมการติดตามประเมินประสิทธิ ผลของระบบการควบคุมภายใน ทังการประเมิ ้ นผลอย่างต่อเนื่อง (Ongoing Evaluation) ดาเนินการโดยหัวหน้ างานที่มีความรู้ ความสามารถเพียงพอของทุกหน่วยงาน และการประเมินด้ วย บุคคลภายนอกหน่วยงาน (Separate Evaluation) ดาเนินการโดยผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อให้ มนั่ ใจว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ระบบการควบคุมภายในได้ มีกาหนดไว้ และได้ มีการนามาปฏิบตั ิอย่างมีประสิทธิผลจริ ง อย่างสอดคล้ องสัมพันธ์กนั เมื่อพบข้ อบกพร่ องของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสาคัญ ผู้บริ หารต้ องมีการวิเคราะห์หาต้ นเหตุของข้ อบกพร่ อง เพื่อแจ้ งผู้รับผิดชอบดาเนินการแก้ ไขอย่างทันท่วงที พร้ อมทังรายงานข้ ้ อบกพร่องที่มีสาระสาคัญและความคืบหน้ าของการแก้ ไขต่อ คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บริ หารระดับสูง ตามความเหมาะสม นอกจากนี ้ได้ กาหนดให้ มีการรายงานเบาะแสหรื อเหตุการณ์ทจุ ริ ต การฝ่ าฝื นกฎหมาย หรื อการกระทาที่ผิดปกติอื่นๆ ซึ่งอาจกระทบต่อชื่อเสียงและฐานะการเงิ นของบริ ษัทอย่างมีนัยสาคัญต่อ คณะกรรมการบริ ษัทโดยทันที การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายใน รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ กากับดูแลให้ การปฏิบตั ิงานตรวจสอบมีความเป็ น อิสระ เที่ยงธรรม มีจรรยาบรรณ ปฏิบตั ิหน้ าที่เยี่ยงมืออาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธาน เจ้ าหน้ าที่บริ หารในด้ านงานบริ หารหน่วยงาน ส่วนที่ 2 | หน้ า 45


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

หน่วยงานตรวจสอบภายในทาหน้ าที่ให้ ความเชื่อมัน่ (Assurance Service) และให้ คาปรึ กษา (Consulting Service) โดย การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสีย่ ง และการกากับดูแลกิจการ เพื่อ สนับสนุนให้ บริ ษัทสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจ โดยมีกฏบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ ได้ กาหนด ภารกิจ ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน อานาจ และหน้ าที่ความรับผิดชอบ และแนวทางการปฏิบตั ิงานไว้ อย่างชัดเจนและมีการทบทวนให้ เหมาะสมอยูเ่ สมอ หัว หน้ าหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน ปฏิ บัติ ห น้ าที่ เ ป็ นเลขานุ ก ารของคณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ สนับ สนุ น ให้ คณะกรรมการตรวจสอบสามารถดาเนินการตามที่คณะกรรมการบริ ษัทได้ มอบหมายให้ และเป็ นที่ปรึกษาเพื่อให้ คาแนะนาในด้ า น ต่างๆ เช่น ด้ านการควบคุมภายใน ด้ านการบริ หารความเสี่ยง ด้ านจริ ยธรรมธุรกิจ ด้ านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เป็ น ต้ น ทังนี ้ ้ ข้ อมูลประวัติและรายละเอียดของหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ปรากฎตามเอกสารแนบ 1 หน้ า 3 หน่วยงานตรวจสอบภายในจัดทาแผนการตรวจสอบภายในประจาปี สอดคล้ องตามทิศทางกลยุทธ์ ของบริ ษัท ครอบคลุม กระบวนการดาเนินงานของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย โดยใช้ หลักการความเสีย่ งเป็ นพื ้นฐาน (Risk-based approach) ซึง่ มุง่ เน้ นความ เสีย่ งสาคัญที่สง่ ผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ ของบริ ษัท ตลอดจนการตรวจสอบด้ านการป้องกันทุจริ ต แผนการตรวจสอบได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบ การติดตามผลการปฏิบตั ิตาม ข้ อเสนอแนะที่พบจากการตรวจสอบให้ แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี ้ หน่วยงานตรวจสอบภายในยังเป็ นอีกหนึ่งช่องทางในการรับข้ อร้ องเรี ยนการกระทาผิดและการทาทุจริ ตจาก พนักงานภายในและบุคคลภายนอก ดาเนินการรวบรวมข้ อมูลตรวจสอบข้ อเท็จจริ งเป็ นไปตาม Whistle Blowing Policy และ รายงานผลให้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาทุกไตรมาส หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการส่งเสริ มให้ เอไอเอสและบริ ษัทย่อยมีความเข้ าใจและสามารถนาระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทาง COSO 2013 มาปรับใช้ อย่างจริ งจังและมีประสิทธิผล โดยการจัดอบรมให้ ความรู้ ให้ แก่หน่วยงานต่างๆ ของบริ ษัท และบริ ษัทในเครื อ ให้ คาปรึกษาเกี่ยวกับแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่ ก.ล.ต. กาหนด รวมทังให้ ้ ข้อเสนอแนะ ตอบข้ อซักถามแก่ผ้ บู ริ หารเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทุกระบบงาน จากการที่ เอไอเอสมีวิสยั ทัศน์การนาเสนอสินค้ าและบริ การที่ทนั สมัยรู ปแบบ Digital ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ น ส่วนสาคัญในการสนับสนุนการดาเนินงานของบริ ษัทและบริ ษัทในเครื อ จึงมีการพัฒนา ปรับปรุ งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ ก้ าวทันรองรับการปฏิบตั ิงานอยูเ่ สมอ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ เข้ าร่วมในคณะทางานการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สาคัญในบทบาทให้ คาแนะนาเพื่อให้ มนั่ ใจว่าการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีมาตรการควบคุมภายในที่รัดกุมก่อนนา ระบบไปใช้ จริ ง รวมทังมี ้ ทีมงานตรวจสอบด้ าน IT เข้ าปฏิบตั ิงานตรวจสอบหลังจากการติดตังและใช้ ้ งานแล้ ว นอกจากนี ้มีการ ประเมินระบบการบริ หารจัดการความมัน่ คงของข้ อมูลสารสนเทศและอุ ปกรณ์ รักษาความมัน่ คงปลอดภัยทัง้ hardware และ software ต่าง ๆ ในองค์กร เพื่อให้ มีความปลอดภัยตามข้ อกาหนดของมาตรฐาน ISO 27001:2013 และการตรวจประเมินตาม มาตรฐาน Payment Card Industry Data Security Standard (PCI DSS) นอกจากนีห้ น่วยงานตรวจสอบภายในได้ พัฒ นาระบบการตรวจสอบให้ มี ความรวดเร็ วและแม่นยาขึน้ โดยใช้ Digital Automation Audit ให้ มากขึ ้น เพื่อให้ สามารถปฏิ บตั ิงานแทนพนักงาน รวมทังสามารถขยายงานตรวจสอบภายในครอบคลุ ้ มทุก กระบวนการสาคัญขององค์กรได้ มากยิ่งขึ ้น หน่วยงานตรวจสอบภายในยึดถือกรอบโครงสร้ างการปฏิบตั ิงานวิชาชีพตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล และกฎบัตร ของหน่วยงาน รวมทังมี ้ การทบทวนคู่มือการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ มีการประเมินคุณภาพการตรวจสอบภายในด้ วยตนเองเป็ น ประจาทุกปี และได้ รับการประเมินโดยองค์กรอิสระจากภายนอกทุก 5 ปี ทังนี ้ ้เพื่อจะช่วยส่งเสริ มให้ เรามีระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสีย่ ง และระบบการกากับดูแลที่ดีสามารถเพิ่มคุณค่าให้ แก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียและพัฒนาองค์กรสูค่ วามยัง่ ยืน ซึง่ ส่วนที่ 2 | หน้ า 46


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ผลการประเมินครั ง้ ล่าสุดเมื่อปี 2554 โดย บริ ษัท ไพรซ์ ว อเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส์ (PwC) พบว่าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานสากล และมีคณ ุ ภาพโดดเด่นเมื่อเทียบเคียงกับหน่วยงานตรวจสอบภายในอื่นทัว่ โลกที่เป็ นมืออาชีพ โดย การประเมินครัง้ ที่ 2 ในปี 2559 โดยบริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย (KPMG) นัน้ ผลประเมินคาดว่าจะแล้ วเสร็ จภายในไตรมาส 1 ปี 2560 เพื่อพัฒนาวิชาชีพงานตรวจสอบภายในของบริ ษัทให้ ทนั สมัย หน่วยงานตรวจสอบภายในจึงได้ มีการติดตามแนวปฏิบตั ิ ด้ านมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริ หารความเสี่ยง ระบบการกากับดูแลที่ดี และแนวปฏิบตั ิอื่นที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท ของสถาบันวิชาชีพชันน ้ าทังในและต่ ้ างประเทศ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบของ บริ ษัทให้ เป็ นไปตามมาตรฐานสากลและทันสมัย หน่วยงานตรวจสอบภายในส่งเสริ มและพัฒนาศักยภาพของทีมงานตรวจสอบภายในให้ สามารถตรวจสอบได้ ทุกด้ าน (Integrated Audit) และมีการมุ่งเน้ นพัฒนาให้ เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในมีค่านิยมในการสร้ างสรรค์แนวทางการตรวจสอบ รูปแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิผลยิ่งขึ ้นอยูเ่ สมอ หน่วยงานตรวจสอบภายในสนับสนุนให้ เจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้ มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ที่จาเป็ นสอดคล้ องกับการปฏิบตั ิงาน รวมทังการพั ้ ฒนาตนเองให้ เกิดความเชี่ยวชาญ ด้ านวิชาชีพตรวจสอบภายในเยี่ยงมืออาชีพด้ วยการสอบวุฒิบตั รทางวิชาชีพตรวจสอบหรื อวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้ อง ปั จจุบนั บริ ษัทมีเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในที่มีวุฒิบตั รทางวิชาชีพ ต่างๆ รวมทังหมด ้ 37 วุฒิบตั ร ได้ แก่ วุฒิบตั ร CIA (Certified Internal Auditor) จานวน 8 ท่าน วุฒิบตั ร CISA (Certified Information System Auditor) จานวน 7 ท่าน วุฒิบตั ร CISSP (Certified Information Systems Security Professional) จานวน 1 ท่าน วุฒิบตั ร CRMA (Certification in Risk Management Assurance) จานวน 10 ท่าน วุฒิบตั ร CPA (Certified Public Accountant) จานวน 5 ท่าน วุฒิบตั ร TA (Tax Auditor) จานวน 1 ท่าน วุฒิบตั ร Information Security Management Systems Auditor/Lead Auditor (ISO/IEC 27001:2013) จานวน 4 ท่าน และ วุฒิบตั ร Business Continuity Management System Auditor/Lead Auditor (ISO 22301) จานวน 1 ท่าน โดยเจ้ าหน้ าที่ตรวจสอบภายในอีกจานวนหนึง่ อยูร่ ะหว่างการพัฒนาให้ ได้ รับวุฒิบตั ร CIA, CISA, CRMA, CCSA (Certification in Control Self - Assessment), และ CFE (Certified Fraud Examiners) เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนงานตรวจสอบภายใน แบบมืออาชีพตามมาตรฐานสากล

ส่วนที่ 2 | หน้ า 47


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

12. รายการระหว่ างกัน บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ มีการตกลงเข้ าทารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการตามธุรกิจปกติ ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และเป็ นไปตามเงื่อนไขการค้ าทัว่ ไป เพื่อให้ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับ ที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมตั ิในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ให้ ฝ่ายจัดการมีอานาจเข้ าทารายการระหว่ างกันที่มีเงื่อนไข การค้ าทัว่ ไปหากธุรกรรมเหล่านันมี ้ ข้อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทากับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง ขันตอนการอนุ ้ มตั ิการทารายการระหว่างกันนัน้ บริ ษัทจะยึดแนวปฏิบตั ิเช่นเดียวกันกับการทารายการอื่น ๆ ทัว่ ไป โดยมี การกาหนดอานาจของผู้มีสทิ ธิอนุมตั ิตามวงเงินที่กาหนด นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทาหน้ าที่เป็ นผู้สอบทานการทา รายการระหว่างกันของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อขจัดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริ ษัทโดยรวมเป็ นสาคัญ สาหรับงวดบัญชีสิ ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดย ผู้ตรวจสอบบัญชีของบริ ษัท ได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบและคณะกรรมการตรวจสอบทาหน้ าที่สอบ ทานแล้ ว และมีความเห็นว่ารายการระหว่างกันทุกรายการเป็ นการทารายการอย่างสมเหตุสมผลและเป็ นไปในทางการค้ าปกติ โดย บริ ษัทได้ คิดราคาซื ้อ-ขายสินค้ า และบริ การกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันด้ วยราคาที่สมเหตุสมผล มีการเปรี ยบเทียบกับราคากลางของ ตลาดในธุรกิจนันๆ ้ แล้ ว โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้

ส่วนที่ 2 | หน้ า 48


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

1. บริษัท อินทัช โฮลดิง้ ส์ จากัด บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การและจาหน่าย (มหาชน) (อินทัช)/ โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่อินทัช ขณะที่บริ ษัทย่อยมี เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทใน การชาระดอกเบี ้ยจ่ายให้ แก่อินทัชจากรายการ สัดส่วนร้ อยละ 40.45 หุ้นกู้ของบริ ษัทย่อย - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นายฟิ ลปิ เชียง ชอง แทน ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อืน่ ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 3. ดอกเบี ้ยจ่าย 4. หุ้นกู้

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

-

0.58 -

ส่วนที่ 2 | หน้ า 49

1.03 0.48 0.30

0.71 0.09 1.50 37.00

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ

0.02 0.56 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.93 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ใน 1.23 อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.13

0.22 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระดอกเบี ้ยจ่าย 0.24 ให้ แก่อินทัชในอัตราเดียวกันกับการจ่าย - ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น 1.34 37.00


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 2. บริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) (ไทยคม)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ใน สัดส่วนร้ อยละ 41.14 - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: 1.นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2.นายฟิ ลปิ เชียง ชอง แทน

ลักษณะรายการ บริ ษัทย่อยได้ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม 7 จาก ไทยคม สัญญามีผลถึงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2560 โดยต้ องชาระค่าตอบแทนในอัตรา 1,700,000 USD/ปี และมีการใช้ บริ การอุปกรณ์ รับสัญญาณดาวเทียม และพื ้นที่สาหรับติดตัง้ อุปกรณ์ดาวเทียม ขณะทีบ่ ริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การ โทรศัพท์ทงในประเทศและระหว่ ั้ างประเทศ รวมถึงได้ จาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ไทยคม ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ไทยคมเป็ นผู้ให้ บริ การเช่าช่องสัญญาณ ดาวเทียมรายเดียวในประเทศไทย

-

1.65 0.40 0.17

1.53 -

บริษัทและบริษัทย่อยเรี ยกเก็บ 3.54 ค่าบริ การและจัดจาหน่าย 0.38 โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ไทยคมในอัตรา 0.15 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

-

60.03 36.26 5.10

6.87 -

67.19 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการ 59.19 และซื ้อสินทรัพย์ให้ แก่ไทยคมในอัตรา 69.11 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป

ส่วนที่ 2 | หน้ า 50


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 3. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (ทีเอ็มซี)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่โดย ทางอ้ อม

ลักษณะรายการ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการว่าจ้ างทีเอ็มซี จัดทาข้ อมูลสาหรับบริ การเสริ มของ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เช่น การจัดหาข้ อมูลทาง โหราศาสตร์ ข้ อมูลสลากกินแบ่งรัฐบาล และ บริ การบันเทิงต่างๆผ่าน SMS รวมทังค่ ้ าบริ การ ว่างจ้ างคอลเซ็นเตอร์ โดยได้ ชาระค่าบริ การเป็ น รายเดือน ขณะทีบ่ ริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการ ให้ บริ การทางโทรศัพท์และจาหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ทีเอ็มซี ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อืน่

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ที เ อ็ ม ซี เ ป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ที่ มี ค ว า ม เชี่ยวชาญในการจัดทาเนื ้อหาและช่วย ค้ นหาข้ อมูลต่างๆ รวมทังการให้ ้ บริ การ คอลเซ็นเตอร์

-

1.59 0.05 0.24

0.42 -

0.04 -

76.07 12.68

0.99 0.04

ส่วนที่ 2 | หน้ า 51

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.42 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 0.04 ลูกค้ าทัว่ ไป 0.76 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการ 65.31 เสริ ม (Content) ในอัตราร้ อยละของ 7.35 รายได้ ที่บริ ษัทได้ รับ และค่าบริ การคอล เซ็นเตอร์ ให้ แก่ทเี อ็มซี ในอัตราเดียวกัน กับการจ่ายให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 4. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์ วิส จากัด (ไอทีเอเอส)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้ อยละ 100

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยว่าจ้ างไอทีเอเอสในการดูแลจัดการ และพัฒนาระบบ SAP รวมทังออกแบบต่ ้ างๆ ให้ กบั กลุม่ บริษัท ขณะที่บริ ษัทย่อยให้ บริ การ โทรศัพท์แก่ไอทีเอเอส

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ไอทีเอเอสให้ บริ การเกี่ยวกับการพัฒนา โปรแกรม และการดูแลจัดการระบบ SAP มีบริ การที่ดี รวดเร็ ว และราคา สมเหตุสมผล

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 52

0.27

115.28 93.53 19.96

-

0.08 0.33

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.01 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าที่ปรึกษา 99.60 ให้ แก่ไอทีเอเอสโดยอัตราค่าบริ การ - ขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะงานและระดับของที่ 60.73 ปรึกษาโดยเป็ นอัตราเดียวกันกับราคา ของบริ ษัทที่ปรึกษาระบบ SAPรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 5. กลุ่มบริษัท SingTel Strategic Investments Private Limited (SingTel)/ เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริ ษัทร้ อยละ 23.32

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยทาสัญญากับบริ ษัทในกลุม่ SingTel ดังนี ้ - บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติระหว่างประเทศ (IR) - บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (IPLC) และบริ การเสริ ม (Content) ในขณะที่บริ ษัทจ่ายเงินเดือนและผลตอบแทน ให้ แก่กลุม่ Singtel ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น 3. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ การทาสัญญาให้ บริ การ ซึง่ เป็ นราคาที่ ต่างฝ่ ายต่างกาหนดในการเรี ยกเก็บจาก ลูกค้ า ซึง่ บริ ษัทคิดจากผู้ให้ บริ การราย อื่น

1.40 4.20

94.88 34.83

ส่วนที่ 2 | หน้ า 53

402.12 26.96

188.11 94.88 291.01

150.37 -

1.27 72.93 83.35

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 648.84 IR และค่าบริ การเสริ ม(Content) ใน 5.43 อัตราเดียวกันกับผู้ให้ บริ การรายอื่น บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่า IPLC, ค่า 463.64 IR, ค่าบริ การเสริ ม(Content) ในอัตรา 72.93 เดียวกันกับผู้ให้ บริ การรายอื่นและมีการ 259.59 จ่ายเงินเดือน,ผลตอบแทน ด้ วยราคาที่ ตกลงกันตามจริ ง


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 6. บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดย ทางอ้ อม

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ว่าจ้ างซีเอสแอลในการ ให้ บ ริ ก ารด้ า นอิน เทอร์ เน็ ต โดยเชื่ อ มโยงผ่า น โครงข่า ยทัง้ ภายในประเทศและต่ า งประเทศ ในขณะที่บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การ และจัด จ าหน่า ยโทรศัพท์ เคลื่อ นที่ และให้ เ ช่ า อุปกรณ์และบริ การเกี่ยวกับ Datanet แก่ ซีเอสแอล ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริการอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ ซีเอสแอลมีความเชี่ยวชาญและเป็ น ผู้ให้ บริ การทางด้ านอินเทอร์ เน็ต ซึง่ สามารถเชื่อมต่อข้ อมูลภายในประเทศ ผ่านโครงข่ายไปยังผู้ใช้ บริ การทัว่ โลก

-

0.02 -

ส่วนที่ 2 | หน้ า 54

12.05 5.36 2.55

3.15 0.42

0.36 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 12.62 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ใน 6.63 อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 3.08

2.97 0.29

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการแก่ 5.22 ซีเอสแอลในอัตราเดียวกันกับการจ่าย 0.38 ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท 7. บริษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) (เอดีว)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2559 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ ว่ า จ้ างเอดี วี ใ นการ ให้ บริ การเสริ มของโทรศัพท์เคลื่ อนที่เช่น เกมส์ เสียงเรี ยกเข้ า Wallpaper โดยชาระค่า บริ การ เป็ นรายเดือน ขณะที่ บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การโทรศัพท์ ดาเนินการจัดทาแหล่งรวม โปรแกรมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (software mall) และจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่เอดีวี ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

เหตุผลและความจาเป็ น ของการทารายการ เอดีวีมีความเชี่ยวชาญ ในการออกแบบ เว็ บ ไซต์ และมี ค วามหลากหลายของ เนื อ้ หา ซึ่ ง ตรงกั บ ความต้ องการของ บริ ษัทและบริ ษัทย่อย

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 55

0.17 0.03 0.01

223.48 32.43

6.02 -

-

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 9.40 และจัดจาหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ใน 0.04 อัตราเดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.02 บ ริ ษั ท ย่ อ ย ช า ร ะ ค่ า บ ริ ก า ร เ ส ริ ม 240.14 (Content) ให้ แ ก่ เ อดี วี ในอัต ราร้ อยละ 40.54 ของรายได้ ที่ บ ริ ษั ท ได้ รั บ ซึ่ ง เป็ นอัต รา เดี ย วกัน กับ ผู้ใ ห้ บ ริ ก ารข้ อ มูล ประเภท เดียวกัน


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 8. บริษัท ดีทีวี เซอร์ วิส จากัด (ดีทีว)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยว่ า จ้ างให้ ดี ที วี เ ป็ นสื่ อ โฆษณาผ่ า นช่ อ งสั ญ ญาณจานดาวเที ย ม ในขณะที่บริ ษัท และบริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การ โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ดีทีวี

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

งบการเงินรวม ดีที วี มี ความชานาญในการบริ การสื่อ โฆษณา บริ ก ารขายเนื อ้ หา(Content) ผ่ า นช่ อ งสั ญ ญาณจานดาวเที ย ม รวมถึง เป็ นผู้จาหน่ายอุปกรณ์ จานรั บ สัญญานดาวเทียม

0.01 -

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 56

0.06 0.01

1.03 0.12

0.03 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บ 0.07 ค่าบริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตรา 0.03 เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.01

0.10 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าโฆษณา 1.31 ให้ แก่ดีทวี ี ในอัตราเดียวกันกับการจ่าย 0.17 ให้ ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 9. บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิ เคชั่นส์ จากัด (แอลทีซ)ี / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยร่วมมือกับแอลทีซีในการ ให้ บริ การข้ ามแดนอัตโนมัติระหว่างประเทศ(IR)

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

งบการเงินรวม แอลที ซี ด าเนิ น ธุ ร กิ จ โทรคมนาคมใน ประเทศลาว ให้ บริ การโทรศัพท์พื ้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ บริ การอินเตอร์ เน็ต และบริ การข้ ามแดนอัตโนมัติระหว่า ง ประเทศ โดยอัตราค่าโรมมิ่งที่คิดเป็ น อัตราเทียบเคียงได้ กบั ราคาตลาด

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 57

10.76 4.82

7.06 0.69

0.25 -

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บ 6.62 ค่าบริ การIR ในอัตราเดียวกันกับลูกค้ า 1.26 ทัว่ ไป

0.95 0.13

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่า IR ให้ แก่ 5.68 แอลทีซีในอัตราเดียวกันกับการจ่ายให้ 1.09 ผู้ให้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 10. กลุ่มบริษัทไทยยานยนต์ จากัด (ทีวายวาย)/ - กรรมการบริ ษัทร่วมกัน: นายวิทติ ลีนตุ พงษ์ (นายวิทติ ลีนตุ พงษ์ ลาออกจาก ตาแหน่งประธานกรรมการบริ ษัท ซึง่ มีผลตังแต่ ้ วนั ที่ 8/11/2559)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ใช้ บริ การทีวายวาย สาหรับดูแลและซ่อมบารุงรถยนต์ รวมทังเช่ ้ า พื ้นที่สาหรับใช้ เป็ นสถานีฐาน ขณะที่บริ ษัท และบริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การและจัดจาหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ ทีวายวาย ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น

2559

งบการเงินรวม ทีวายวายเป็ นผู้แทนจาหน่ายรถยนต์ และผู้เชี่ยวชาญในการให้ บริ การดูแล ซ่อมบารุงรถยนต์

0.02 -

0.29

ส่วนที่ 2 | หน้ า 58

1.62 0.03 -

0.65

0.16 0.05

-

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บ 2.11 ค่าบริ การและจัดจาหน่าย - โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 0.31 ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าเช่าพื ้นที่ 0.35 สาหรับใช้ เป็ นสถานี ให้ แก่ทีวายวายใน อัตราที่เทียบเคียงได้ ของผู้ให้ เช่าราย อื่นที่อยูใ่ นบริ เวณพื ้นที่ใกล้ เคียงและ ชาระค่าบารุงรักษารถยนต์ ในอัตรา เดียวกันกับผู้ให้ บริ การรายอื่น


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 11. บริษัท อุ๊คบี จากัด (อุ๊คบี)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 22.26

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษัทย่อยได้ วา่ จ้ างอุ๊คบีสาหรับการ ให้ บริ การ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ผ่านบนสมาร์ ทโฟน หรื อแท็บเล็ต โดยชาระ ค่าบริ การเป็ นรายเดือน ขณะที่บริ ษัทย่อย ให้ บริ การโทรศัพท์แก่อ๊ คุ บี

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

2559

งบการเงินรวม อุ๊คบีดาเนินธุรกิจนาเสนอสิง่ ตีพิมพ์ ดิจิตอล (Digital Publication) และ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เช่น หนังสือ นิตยสาร หรื อ หนังสือพิมพ์บน สมาร์ ทโฟน, แท็บเล็ต และ คอมพิวเตอร์

-

0.02 -

ส่วนที่ 2 | หน้ า 59

2.70 0.84

18.28 2.00

-

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.12 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 0.01 ลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทและบริ ษัทย่อยชาระค่าบริการ 8.24 เสริ ม (Content) ให้ แก่อ๊ คุ บี ในอัตรา 1.32 ร้ อยละของรายได้ ที่บริ ษัทได้ รับ ซึง่ เป็ น อัตราเดียวกันกับผู้ให้ บริ การข้ อมูล ประเภทเดียวกัน


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 12. บริษัท อินฟอร์ เมชั่น ไฮเวย์ จากัด (ไอเอช)/ มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นโดย ทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

ไอเอช ให้ บริ การสิง่ อานวยความสะดวก ภายใต้ สญ ั ญาเช่าทางการเงินและโครงข่าย สือ่ สัญญาณ โทรคมนาคม แก่กลุม่ บริ ษัท ขณะที่บริ ษัทย่อยให้ บริ การ โทรศัพท์แก่ไอเอช ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการบริ การ 2. ดอกเบี ้ยรับ 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. ดอกเบี ้ยจ่าย 3. ซื ้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อื่น 4. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 5. เจ้ าหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงิน

2559

งบการเงินรวม ไอเอชให้ บริ การสิง่ อานวยความสะดวก ภายใต้ สญ ั ญาเช่าทางการเงินและ โครงข่ายสือ่ สัญญาณ โทรคมนาคม

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 60

0.04 -

175.79 6.51 26.88 22.99 85.17

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การ 0.03 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ในอัตราเดียวกันกับ 2.31 ลูกค้ าทัว่ ไป 0.01

-

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การโครงข่ายสือ่ 42.61 สัญญาณโทรคมนาคมแก่ไอเอสใน 2.79 อัตราเดียวกันโดยเป็ นอัตราที่ - เทียบเคียงได้ กบั ผู้ให้ บริ การรายอืน่ 15.14 72.00


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 13. บริษัท ไฮ ช็อปปิ ้ ง จากัด (ไฮ ช็อปปิ ้ ง)/ มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

2559

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริ ษั ท ย่ อ ยมี ก ารให้ บริ ก ารและจ าหน่ า ย โทรศัพท์เคลือ่ นที่แก่ ไฮ ช็อปปิ ง้

ไฮ ช็ อ ปปิ ้ ง ประกอบธุ ร กิ จ ทางด้ าน ดิจิตอลคอนเทนต์ที่นาเสนอให้ ผ้ บู ริ โภค เข้ าถึ ง รายละเอี ย ดของสิ น ค้ าและ บริ การโดยใช้ สอื่ ทีวี โทรศัพท์มือถือและ อินเตอร์ เน็ต

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. รายได้ อื่น 3. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

-

0.54 2.26 -

-

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น

-

0.53

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 61

-

บริ ษัทย่อยเรี ยกเก็บค่าบริ การและจัด 0.03 จ าหน่ า ยโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ ใ นอั ต รา เดียวกันกับลูกค้ าทัว่ ไป 0.03

-


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 14.บริษัท ธนาคารกรุ งไทย จากัด(มหาชน) (เคทีบี) / - ก ร รมก า รอิ สระ ข อง บริ ษั ท และกรรมการของเคทีบี: นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

ธนาคารกรุงไทยให้ บริ การทางการเงิน แก่ บริ ษัทและบริ ษัทย่อย ในขณะที่บริ ษัทย่อยมี การให้ บริ การโทรศัพท์แก่ธนาคารกรุงไทย

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ดอกเบี ้ยรับจากเงินฝากธนาคาร 2. เงินฝากธนาคาร 3. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 4. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 5. ดอกเบี ้ยจ่าย

2559

งบการเงินรวม ธนาคารกรุงไทยประกอบธุรกิจ ให้ บริ การทางการเงิน เช่น ด้ านการรับ ฝากเงิน การให้ สนิ เชื่อ เป็ นตัวกลาง การชาระเงิน และบริ การอื่นๆ

-

0.52 5.68

ส่วนที่ 2 | หน้ า 62

115.38 28.34

0.29 113.09 0.05 0.01 26.68

-

บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 25.54 ในอัตราเดียวกับลูกค้ าทัว่ ไปที่ใช้ บริ การ 9.73

-

บริ ษัทและบริ ษัทย่อยรับดอกเบี ้ยเงิน 0.08 ฝากธนาคารจากเคทีบีและดอกเบี ้ย 198.91 จ่ายจากหุ้นกู้โดยเป็ นอัตราทีเ่ ทียบเคียง - ได้ กบั ธนาคารพาณิชย์อื่น -


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 15.บริษัท ทีซี บรอดคาสติง้ จากัด (ทีซบี ี) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้ อม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

ทีซีบีให้ บริ การอุปกรณ์ระบบดาวเทียมและ สัญญาณโทรทัศน์แก่บริ ษัทย่อย

ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น 2. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น 16.บริษัท กอล์ ฟดิกก์ จากัด (GOLFD) / มีอินทัชเป็ นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง ในสัดส่วนร้ อยละ 25.00

2559

-

14.68 2.00

-

บริ ษัทย่อยชาระค่าบริ การอุปกรณ์ - ระบบดาวเทียมและสัญญาณโทรทัศน์ - แก่ทีซีบอี ตั ราเดียวกันกับการจ่ายให้ ผู้ให้ บริ การรายอื่น

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์แก่ กอล์ฟดิกก์

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ ซื ้อสินค้ าและบริ การ 1. เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น

กอล์ฟดิกก์เป็ นผู้ให้ บริ การแพลตฟอร์ ม การจองสนามกอล์ฟผ่านแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน

-

0.05

-

บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ - ในอัตราเดียวกับลูกค้ าทัว่ ไปที่ใช้ บริ การ

-

0.12

-

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 63


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสาหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2558

เหตุผลและความจาเป็ น

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ของการทารายการ

งบการเงินเฉพาะ 17. บริษัท อมตะ เน็ทเวอร์ ค จากัด (AN) / มีเอไอเอสเป็ นผู้ถือหุ้นโดย ทางอ้ อม * วันที่ 6 ธันวาคม 2559 บริ ษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด ซึง่ เป็ นบริ ษัท ย่อย ได้ ลงทุนกับบริ ษัท อมตะ เน็ทเวอร์ ค จากัด มีสดั ส่วนการถือหุ้นร้ อยละ60 ปั จจุบนั บริษัทยังไม่ได้ ดาเนินธุรกิจ

18. บริษัท พฤกษา เรียล เอสเตท จากัด (มหาชน) (PS) / - กรรมการของบริษัทและ กรรมการอิสระของพีเอส: นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริ ษัทย่อยได้ ให้ บริ การด้ านการบริ หารงาน แก่เอเอ็น

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ อื่น 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

เอเอ็นเป็ นผู้ให้ บริ การโครงข่าย โทรคมนาคมภายในนิคมอุตสาหกรรม อมตะ

0.03

0.24 0.52

-

บริ ษัทย่อยมีการให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ แก่พีเอส

ขายสินค้ าและบริ การ 1. รายได้ จากการให้ บริ การ 2. ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น

2559

พีเอสเป็ นผู้ให้ บริ การและพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์ในประเทศไทย

-

ส่วนที่ 2 | หน้ า 64

18.33 3.12

-

บริ ษัทย่อยให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ - ในอัตราเดียวกับลูกค้ าทัว่ ไปที่ใช้ บริ การ -


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 13.1 13.1.1

งบการเงิน รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผู้สอบบัญชีในช่วงระยะเวลา 3 ปี ที่ (2557 - 2559) ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นอย่างไม่มี เงื่อนไข โดยมีความเห็นว่างบการเงินรวมของบริ ษัท และบริ ษัทย่อย และงบการเงินของบริ ษัท แสดงฐานะการเงินรวมและ ฐานะการเงินเฉพาะของบริ ษัท ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะของบริ ษัท และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะของบริ ษัท โดยถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 13.1.2 ตารางสรุ ปงบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงินรวม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะทางการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย : พันบาท 2557 จำนวนเงิ น

%

2558 จำนวนเงิ น

2559 จำนวนเงิ น

%

14,258,066 3,709,328 1,542,449 14,545,609 95,000 2,519,497 1,288,943 37,958,892

11.28 2.94 1.22 11.51 0.08 1.99 1.02 30.04

9,864,913 4,447,280 304,674 16,388,529 5,059,252 1,942,221 38,006,869

5.43 2.45 0.17 9.01 2.78 1.07 20.91

11,226,141 2,963,183 14,116,309 3,085,252 508,454 31,899,339

4.07 1.08 5.12 1.12 0.18 11.57

58,399

0.05

58,399

0.03

24,235 14,662 59,399

0.01 0.01 0.02

568,881 60,702,587 8,738,039 34,931 12,624,410 2,504,683 1,441,856 1,717,885 88,391,671 126,350,563

0.45 48.04 6.92 0.03 9.99 1.98 1.14 1.36 69.96 100.00

795,449 84,291,103 34,931 51,790,574 3,192,332 1,251,588 2,340,028 143,754,404 181,761,273

0.44 46.37 0.02 28.49 1.76 0.69 1.29 79.09 100.00

577,660 118,271,443 34,931 115,378,418 4,099,208 2,617,832 2,693,224 243,771,012 275,670,351

0.21 42.90 0.01 41.85 1.49 0.95 0.98 88.43 100.00

%

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารทีส่ ามารถใช้เป็นการเฉพาะ เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี้การค้า และลูกหนี้อ่นื เงินให้กยู้ มื ระยะสันแก่ ้ กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตราแลกเปลีย่ น ล่วงหน้า ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ ค่าความนิยม ใบอนุญาตให้ใช้คลืน่ ความถีโ่ ทรคมนาคม สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

ส่วนที่ 3 | หน้ า 1


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

บริษทั แอดวำนซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ นรวม (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 จำนวนเงิ น

%

2558 จำนวนเงิ น

%

หน่วย : พันบาท 2559 จำนวนเงิ น %

หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เจ้าหนี้การค้า และเจ้าหนี้อ่นื ส่วนของหนี้สนิ ระยะยาวทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของใบอนุญาตให้ใช้คลืน่ ความถีโ่ ทรคมนาคมค้างจ่าย ทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีคา้ งจ่าย รายได้รบั ล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินหมุนเวียน หนี้ สินไม่หมุนเวียน หนี้สนิ ระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ใบอนุญาตให้ใช้คลืน่ ความถีโ่ ทรคมนาคมค้างจ่าย หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ทุนทีอ่ อกจาหน่ายและชาระแล้วเต็มมูลค่า สารอง : ส่วนเกินมูลค่าหุน้ กาไรสะสม : จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้นเฉพำะบริ ษทั ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น รวมหนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น

23,092,055 2,571,631

18.27 2.04

8,500,000 27,750,538 4,355,627

4.68 15.26 2.40

9,200,000 34,292,055 2,484,704

3.34 12.44 0.90

3,656,250 5,130,157 2,183,175 3,709,328 2,195,546 367,976 42,906,118

2.89 4.06 1.73 2.94 1.74 0.29 33.96

5,364,085 2,331,763 4,447,280 4,761,208 22,792 57,533,293

2.95 1.28 2.45 2.62 0.01 31.65

10,017,157 5,360,787 3,208,043 2,963,183 1,756,301 45,799 69,328,029

3.63 1.95 1.16 1.08 0.63 0.02 25.15

34,478,291 1,499,743 601,656 36,579,690

27.29 1.19 0.47 28.95

52,576,667 2,293,784 19,902,471 962,076 75,734,998

28.93 1.26 10.95 0.53 41.67

87,273,400 2,554,403 72,180,038 1,626,147 163,633,988

31.66 0.93 26.18 0.59 59.36

79,485,808

62.91

133,268,291

73.32

232,962,017

84.51

2,973,095

2.35

2,973,095

1.64

2,973,095

1.08

22,372,276

17.71

22,372,276

12.31

22,388,093

8.12

500,000 20,710,295 194,732 46,750,398 114,357 46,864,755 126,350,563

0.40 16.39 0.15 37.00 0.09 37.09 100.00

500,000 22,313,204 217,757 48,376,332 116,650 48,492,982 181,761,273

0.27 12.28 0.12 26.62 0.06 26.68 100.00

500,000 16,471,015 236,680 42,568,883 139,451 42,708,334 275,670,351

0.18 5.97 0.09 15.44 0.05 15.49 100.00

ส่วนที่ 3 | หน้ า 2


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

งบกำไรขำดทุนรวม บริษทั แอดวำนซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกำไรขำดทุนรวม สำหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวำคม %

2558 จำนวนเงิ น

%

หน่วย : พันบาท 2559 จำนวนเงิ น %

125,396,923 23,331,862 600,262

83.97 15.63 0.40

127,414,763 27,798,086 63,591

82.06 17.90 0.04

128,226,137 23,923,730 -

84.28 15.72 -

149,329,047

100.00

155,276,440

100.00

152,149,867

100.00

45,206,190 14,593,802 23,148,016 600,262

30.28 9.77 15.50 0.40

50,020,302 6,716,228 28,018,892 63,591

32.21 4.33 18.04 0.04

58,069,918 3,989 24,917,977 -

38.17 16.38 -

รวมต้นทุน กำไรขันต้ ้ น

83,548,270 65,780,777

55.95 44.05

84,819,013 70,457,427

54.62 45.38

82,991,884 69,157,983

54.55 45.45

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวมค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร กำไรจำกกำรขำย กำรให้บริ กำรและกำรให้เช่ำ อุปกรณ์

6,219,706 12,640,674 18,860,380

4.17 8.46 12.63

6,900,983 13,190,402 20,091,385

4.44 8.50 12.94

16,012,373 13,763,455 29,775,828

10.52 9.05 19.57

46,920,397

31.42

50,366,042

32.44

39,382,155

25.88

รายได้จากการลงทุน รายได้จากการดาเนินงานอื่น ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และการร่วมค้า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา – สุทธิ ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ต้นทุนทางการเงิน

370,107 329,786

0.25 0.22

291,108 447,705

0.19 0.29

203,951 364,176

0.13 0.24

(3,625) (11,973) 188,934 (183,866) (1,526,870)

-0.01 0.13 -0.13 -1.02

(10,875) 228,780 (209,178) (1,959,563)

-0.01 0.15 -0.14 -1.26

23,897 277,161 (150,257) (4,236,139)

0.02 0.18 -0.10 -2.78

46,082,890 (10,079,717) 36,003,173

30.86 -6.75 24.11

49,154,019 (9,999,167) 39,154,852

31.66 -6.44 25.22

35,864,944 (5,175,300) 30,689,644

23.57 -3.40 20.17

36,033,165 (29,992) 36,003,173

24.13 -0.02 24.11

39,152,410 2,442 39,154,852

25.21 0.01 25.22

30,666,538 23,106 30,689,644

20.15 0.02 20.17

รำยได้ รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ รวมรำยได้ ต้นทุน ต้นทุนการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ต้นทุนขาย ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ

กำไรก่อนภำษี เงิ นได้ ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี ส่วนของกาไร : ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม กาไรสาหรับปี กาไรสุทธิต่อหุน้ ขันพื ้ น้ ฐาน (บาท) กาไรสุทธิต่อหุน้ ปรับลด (บาท)

2557 จำนวนเงิ น

12.12 12.12 ส่วนที่ 3 | หน้ า 3

13.17 13.17

10.31 10.31


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

งบกระแสเงิ นสดรวม บริษทั แอดวำนซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงิ นสดรวม สำหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวำคม งบกระแสเงิ นสดรวม กระแสเงิ นสดจำกกิ จกรรมดำเนิ นงำน กาไรสาหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสือ่ มราคา ค่าตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ รายได้จากการลงทุน ต้นทุนทางการเงิน หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สญ ู การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ ค่าเผือ่ สินค้าล้าสมัย การลดมูลค่าของสินค้า และตัดจาหน่ายสินค้าคงเหลือ ขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ค่าเผือ่ อุปกรณ์ทย่ี กเลิกการใช้งาน (กาไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ส่วนแบ่ง (กาไร) ขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมและการร่วมค้า ภาษีเงินได้ เงิ นสดได้มำจำกกำรดำเนิ นงำนก่อนกำรเปลี่ยนแปลง ในสิ นทรัพย์และหนี้ สินดำเนิ นงำน กำรเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดำเนิ นงำน เงินฝากธนาคารทีส่ ามารถใช้เป็นการเฉพาะ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อน่ื สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อ่นื ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีคา้ งจ่าย รายได้ค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ บั ล่วงหน้า เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น (เจ้าหนี้) ลูกหนี้ ตามสัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้า หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงิ นสดสุทธิ ได้มำจำกกิ จกรรมดำเนิ นงำน

ส่วนที่ 3 | หน้ า 4

หน่วย : พันบาท 2559

2557

2558

36,003,173

39,154,852

30,689,644

6,224,631 12,697,121 11,973 (370,107) 1,526,870 1,240,097 18,922 60,997 864,997 19,719 3,625 10,079,717

10,153,064 10,342,114 (291,108) 1,959,563 1,315,294 30,661 206,635 302,482 25,736 10,875 9,999,167

15,464,345 6,202,968 (203,951) 4,236,139 1,537,700 34,741 301,549 23,070 135,773 (29,634) (23,897) 5,175,300

68,381,735

73,209,335

63,543,747

71,813 (1,403,349) 284,438 (156,062) (568,973) 2,411,269 1,595,407 583,511 723,400 190,895 (24,199) 84,478 72,174,363 (9,353,965) 62,820,398

(737,952) (2,046,091) (2,714,490) (146,712) (622,142) 2,018,695 233,928 148,588 737,952 (344,346) 90,217 97,008 69,923,990 (8,294,588) 61,629,402

1,484,097 731,904 1,672,451 1,022,641 2,601 3,289,463 (3,298) 876,280 (1,484,097) 23,006 102,801 276,108 71,537,704 (9,902,247) 61,635,457


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

บริษทั แอดวำนซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงิ นสดรวม (ต่อ) สำหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวำคม งบกระแสเงิ นสดรวม กระแสเงิ นสดจำกกิ จกรรมลงทุน ซื้อทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนอืน่ จาหน่ายอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ จ่ายชาระใบอนุญาตให้ใช้คลืน่ ความถีโ่ ทรคมนาคม เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง สุทธิ ลงทุนเพิม่ ในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และการร่วมค้า เงินลงทุนอื่น (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง สุทธิ ั รับเงินปนผล รับดอกเบีย้ เงิ นสดสุทธิ (ใช้ไป)ในกิ จกรรมลงทุน กระแสเงิ นสดจำกกิ จกรรมจัดหำเงิ น จ่ายดอกเบีย้ จ่ายต้นทุนทางการเงินอื่น จ่ายชาระหนี้สนิ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ การเพิม่ ขึน้ ในหนี้สนิ ระยะยาว จ่ายชาระหนี้สนิ ระยะยาว การได้มาซึง่ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม จ่ายเงินปนั ผล เงิ นสดสุทธิ (ใช้ไป)ในกิ จกรรมจัดหำเงิ น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นของเงินตราต่างประเทศ เงิ นสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงิ นสด ณ วันที่ 31 ธันวำคม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 5

2557

2558

หน่วย : พันบาท 2559

(31,731,849) 27,410 (830,273) (3,656,250) (95,000) (3,625) 82,882 10,000 372,803 (35,823,902)

(32,107,980) 22,120 (146,548) (24,159,783) 95,000 (10,875) 1,230,043 40,000 282,277 (54,755,746)

(47,554,102) 17,398 (8,069,267) (15,000) 303,674 215,750 (55,101,547)

(1,229,812) (124,186) (35,511) (4,000,000) 21,600,400 (5,370,463) (2) (35,052,353) (24,211,927) 2,784,569 11,473,121 376 14,258,066

(1,612,269) (178,230) (42,625) 8,500,000 21,500,000 (2,392,023) (37,042,102) (11,267,249) (4,393,593) 14,258,066 440 9,864,913

(2,568,103) (201,233) (47,304) 700,000 41,153,737 (7,699,136) (36,508,870) (5,170,909) 1,363,001 9,864,913 (1,773) 11,226,141


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

13.1.3 ตำรำงแสดงอัตรำส่วนทำงกำรเงิ นที่สำคัญ บริษทั แอดวำนซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สรุปอัตรำส่วนทำงกำรเงิ นที่สำคัญสำหรับงบกำรเงิ น สำหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวำคม งบกำรเงิ นรวม อัตรำส่วนสภำพคล่อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้าเฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) ระยะเวลาชาระหนี้ (วัน) วงจรเงินสด (วัน) อัตรำส่วนแสดงควำมสำมำรถในกำรหำกำไร (Profitability Ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น (%) อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (%) อัตรากาไรอื่น (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร (%) อัตรากาไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ เฉลีย่ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ ณ วันสิน้ งวด อัตรำส่วนแสดงประสิ ทธิ ภำพในกำรดำเนิ นงำน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) /1 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตรำส่วนวิ เครำะห์นโยบำยทำงกำรเงิ น (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบีย้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปนั ผล (%) ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท) กาไรสุทธิต่อหุน้ (บาท) ั เงินปนผลต่ อหุน้ (บาท) /1

ไม่รวมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถีโ่ ทรคมนาคม

ส่วนที่ 3 | หน้ า 6

2557

2558

2559

0.88 0.61 1.46 13.26 27 8.60 42 5.79 62 7

0.66 0.37 1.07 13.23 27 7.39 49 5.94 61 15

0.46 0.33 0.89 12.27 29 6.12 59 5.17 70 19

44.05% 31.42% 0.47% 57.54% 24.13% 77.69% 76.89%

45.38% 32.44% 0.48% 13.65% 25.21% 82.12% 80.74%

45.45% 25.88% 0.37% 16.59% 20.16% 67.25% 71.80%

30.23% 55.20% 1.25

25.41% 49.12% 1.01

13.41% 29.23% 0.67

1.70 32.79 13.28 99.01%

2.75 28.27 3.87 98.64%

5.45 13.90 3.35 97.72%

15.76 12.12 12.00

16.31 13.17 12.99

14.36 10.31 10.08


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

บริษทั แอดวำนซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สรุปอัตรำส่วนทำงกำรเงิ นที่สำคัญสำหรับงบกำรเงิ น (ต่อ) สำหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวำคม งบกำรเงิ นรวม

2557

อัตรำกำรเติ บโต สินทรัพย์รวม (%) หนี้สนิ รวม (%) รายได้จากการขายหรือบริการ (%) ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน (%) กาไรสุทธิ (%)

12.79% 20.19% (0.83%) 26.78% (0.66%)

ส่วนที่ 3 | หน้ า 7

2558 43.85% 67.66% 3.98% 6.53% 8.66%

2559 51.67% 74.81% (2.01%) 48.20% (21.67%)


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

14. คาอธิบายและบทวิเคราะห์ ของฝ่ ายบริหาร ประจาปี 2559 บทวิ เคราะห์โดยสรุป สร้างโครงข่าย 4G ครอบคลุม 98% ของประชากรภายในหนึ่ งปี ปี 2559 เป็ นปี ทเ่ี อไอเอสให้ความสาคัญกับการขยายพื้นทีใ่ ห้บริการ 4G และโครงข่าย อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ด้วยเงินลงทุน 47,554 ล้านบาท หลังจากเปิ ดให้บริการ 4G บนคลื่นความถี่ 1800x15 เมกะเฮิรตซ์ ไปเมื่อเดือนมกราคม 2559 เอไอเอส เดิน หน้ า พัฒ นาเครือ ข่า ยอย่ า งต่ อ เนื่ อง โดยได้ด าเนิ น การดัง นี้ 1) ได้ร ับ ใบอนุ ญ าตการใช้ค ลื่น 900x10 เมกะเฮิร ตซ์ 2) น าเทคโนโลยี Carrier Aggregation มาเสริมในพื้นทีใ่ นเมือง 3) ร่วมมือกับทีโอทีเพื่อทดลองให้บริการ เชิงพาณิชย์บนคลื่น 2100x15 เมกะเฮิรตซ์ ขณะที่ภาพรวมของการแข่งขัน ยังคงเน้นการออกแคมเปญแจกและลดราคามือถือเพื่อดึงดูดลูกค้าใหม่และรักษา ฐานลู ก ค้ า เก่ า แม้จะมีแ รงกดดัน จากการแข่ง ขัน รายได้ จากการให้บ ริก าร โทรศัพท์เ คลื่อนปรับ ตัว ดีข้นึ 1% จากปี 2558 เนื่ องจากโครงข่า ย 4G ที่ ครอบคลุมและความนิยมใช้สมาร์ทโฟนทีเ่ พิม่ ขีน้ เดิ น หน้ า สร้ า งธุร กิ จ อิ น เทอร์เน็ ต ความเร็ว สู ง เพื่ อ เป็ นฐานรายได้ ใ หม่ หลังจากทีเ่ อไอเอส ไฟเบอร์เปิ ดให้บริการมาเป็ นปี ทส่ี อง ได้ มผี ใู้ ช้บริการ ณ สิ้น ปี 2559 รวม 301,500 ราย และมีโครงข่ายครอบคลุม 28 จังหวัด การแข่งขันใน ตลาดสูงขึน้ โดยผูใ้ ห้บริการต่างออกแคมเปญทัง้ รูปแบบลดค่าบริการในช่วงสัน้ ๆ และการปรับเพิม่ ความเร็วในอัตราค่าบริการเท่าเดิม เพื่อดึงดูดทัง้ ลูกค้ารายใหม่ และลูกค้าทีต่ อ้ งการเปลีย่ นจาก ADSL มาเป็ นไฟเบอร์ ในระหว่างปี 2559 เอไอ เอสได้พฒ ั นาประสิทธิภาพในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง รวมถึงขยายช่องทาง และตัวแทนจาหน่าย ณ ไตรมาส 4/2559 รายได้จากธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็ว สูงคิดเป็ นสัดส่วน 1.2% ของรายได้จากการให้บริการและมีอตั ราการเติบโตของ ผูใ้ ช้บริการ 35,000 คนต่อเดือน ซึง่ นับได้ว่าอยู่ในระดับ เทียบเท่ากับผูใ้ ห้บริการ หลักในตลาด

รายได้ ป รับ ตั ว ขึ้ น ในช่ ว งครึ่ ง ปี หลัง ท่ า มกลางสภาวะการแข่ ง ขัน ที่ รุนแรง รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) เติบโต 1.6% สอดคล้องกับประมาณการที่คาดไว้ ส่ วนค่าใช้จ่ายทางการตลาดเพิ่มขึน้ เป็ น 10.5% ของรายได้ร วม เนื่องจากแคมเปญแจกและลดราคามือถือ มูล ค่า รวม ประมาณ 10,000 ล้านบาท (รวมแคมเปญอุดหนุ นให้ลูกค้า 2G ไปใช้งาน 3G) ในปี 2559 ต้นทุนโครงข่ายเพิม่ ขึน้ จากการขยายโครงข่ายและค่า ใช้จ่ายการใช้ คลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ เสา และอุปกรณ์โครงข่ายแก่ทโี อทีเป็ นเงิน 3,775 ล้านบาท ส่วนอัตรา EBITDA margin อยู่ท่ี 39.9% สูงกว่าประมาณการ เล็กน้อย เนื่องจากการทาข้อตกลงพันธมิตรทางธุรกิจกับทีโอทีเริม่ ต้นช้ากว่าเดิม ที่ป ระมาณการ และมีก าไรสุ ทธิ อยู่ ท่ี 30,667 ล้า นบาท ลดลง 22% จาก EBITDA ทีอ่ อ่ นตัวลงและค่าตัดจาหน่ายของใบอนุญาตทีเ่ พิม่ ขึน้ เพิ่ มอัตราการทากาไรและรักษาความคล่องตัวทางการเงิ นเพื่อรองรับการ แข่งขันในอนาคต ในปี 2560 เอไอเอสคาดว่ารายได้จากการให้บริการ (ไม่ รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) จะเติบโตประมาณ 4-5% จากการให้บริการโครงข่าย 3G และ 4G ทีค่ รอบคลุม ขณะทีป่ ระมาณการอัตรา EBITDA margin ที่ 4244% และคาดว่าจะใช้เงิ นลงทุนโครงข่ายประมาณ 40,000-45,000 ล้านบาท ซึง่ ส่วนใหญ่จะใช้พฒ ั นาโครงข่าย 4G และขยายบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ในพื้น ที่ท่ีม ีค วามต้อ งการใช้ง าน นอกจากนี้ เ อไอเอสได้ป รับ นโยบายการ จ่ า ยเงิ น ปั น ผล โดยจะจ่ า ยไม่ ต่ า กว่ า 70% ของก าไรสุ ท ธิ เพื่อรัก ษาความ แข็ง แกร่ง และสภาพคล่ องทางการเงิน ให้พ ร้อมรองรับ การเติบ โตในอนาคต (รายละเอีย ดเพิ่ม เติม ของประมาณการฉบับ เต็ม ของปี 2560 ในหน้ า 7)

เหตุการณ์ สาคัญในไตรมาส 4/2559 1.

2.

ในไตรมาส 4/2559 เอไอเอสเริม่ จ่ายค่าใช้คลื่นความถีใ่ ห้กบั ทีโอทีเป็ นเงินจานวน 975 ล้านบาทต่อไตรมาส ตามข้อตกลงทดลองใช้งานเชิงพาณิชย์บนคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ รวมถึงได้จา่ ยค่าบริการการใช้เสาและอุปกรณ์โครงข่ายเป็ นเงินจานวน 1,400 ล้านบาทต่อไตรมาส ส่วนในปี 2560 เอไอเอสจะมีการชาระเงินทัง้ สาม ส่วนดังกล่าวเป็ นรายเดือนให้กบั ทีโอทีรวม 2,375 ล้านบาทต่อไตรมาส จนกว่าจะมีการลงนามในสัญญา ตามทีพ่ ระราชกฤษฎีกาฯ ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 604) ลงวันที่ 18 เมษายน 2559 ได้กาหนดให้มกี ารยกเว้นภาษีเงินได้ 2 เท่า สาหรับรายจ่ายเพื่อ การลงทุนในเครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ และอาคารถาวร (ไม่รวมถึงทีด่ นิ และอาคารถาวรทีใ่ ช้เพื่อการอยู่อาศัย ) ใน ระหว่างวันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 - 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งสิทธิประโยชน์ ทางภาษีน้ีจะทยอยรับรูเ้ ป็ นระยะเวลา 5 ปี โดยเริม่ ตัง้ แต่ปี 2559 ซึ่งมีการรับรู้สทิ ธิ ประโยชน์ทางภาษีมลู ค่า 835 ล้านบาท และส่วนของสิทธิประโยชน์ในอีก 4 ปี ขา้ งหน้า จะมีมลู ค่าโดยประมาณใกล้เคียงกับปี 2559

สภาวะตลาดและการแข่งขันในไตรมาส 4/2559 ในไตรมาส 4/2559 ผูใ้ ห้บริการต่างเร่งพัฒนาโครงข่าย 4G เพื่อครองความเป็ นผูน้ าในด้านบริการดาต้าและมีการออกแคมเปญแจกมือถือเพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิมและ ขยายฐานลูกค้าใหม่ ทัง้ แคมเปญลดราคากลุ่มสมาร์ทโฟนในระดับราคาสูง (high end) และแคมเปญการเปิ ดตัวไอโฟน 7 ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายทางการตลาดของ อุตสาหกรรมโดยรวมปรับสูงขึน้ นอกจากนี้การเพิม่ ปริมาณดาต้าบนแพ็คแจกแบบไม่จากัดการใช้งาน (Fair Usage Policy) ยังคงเป็ นปจั จัยหลักทีก่ ดดันรายได้ แม้ ปริมาณการใช้งานยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง ขณะที่การหยุดจาหน่ ายซิมเติมเงิน เอไอเอส วัน -ทู-คอล ในร้านเซเว่นอีเลเว่น ส่งผลกระทบต่อรายได้เพียงเล็กน้ อย เนื่องจากผูใ้ ช้บริการได้เปลีย่ นพฤติกรรมไปเติมเงินผ่านช่องทางอื่นๆ เช่น ตูเ้ ติมเงิน ร้านค้าตัวแทนจาหน่าย และแอปพลิเคชัน่ mPAY สาหรับตลาดอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ผูใ้ ห้บริการต่างขยายพืน้ ทีใ่ ห้บริการและนาเสนอแพ็คเกจราคาทีด่ งึ ดูด ซึ่งเทคโนโลยีไฟเบอร์ได้รบั ความนิยมและความพึงพอใจ จากผูใ้ ช้บริการอย่างต่อเนื่อง ขณะทีก่ ารแข่งขันยังคงมุง่ เน้นไปทีก่ ารเพิม่ ความเร็วในแพ็คเกจและออกโปรโมชันในแพ็ ่ คเกจระดับสูง

ส่วนที่ 3 | หน้ า 8


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

สรุปผลการดาเนิ นงาน สาหรับธุรกิจบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นไตรมาส 4/2559 มีผใู้ ช้บริการเพิม่ ขึน้ 1.2 ล้านราย จากไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้มจี านวนผูใ้ ช้บริการทัง้ หมด 41 ล้านราย โดย แบ่งเป็ นระบบรายเดือน 6.4 ล้านราย เพิม่ ขึน้ 320,900 ราย และระบบเติมเงิน 34.6 ล้านราย เพิม่ ขึน้ 836,900 ราย เป็ นผลมาจากการเปิ ดให้บริการ 4G และแคมเปญ มือถือทีห่ ลากหลาย ในช่วงครึง่ หลังของปี 2559 เอไอเอสมุง่ เน้นการออกแคมเปญสมาร์ทโฟนในระดับราคาปานกลางและราคาสูงทาให้อตั ราผูใ้ ช้งานสมาร์ทโฟนเพิม่ ขึน้ เป็ น 69% ของผูใ้ ช้บริการทัง้ หมด รายได้เฉลีย่ /เลขหมาย/เดือน (ARPU) เพิม่ ขึน้ จาก 248 บาท เป็ น 251 บาท จากการเติบโตของผูใ้ ช้งานดาต้าทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ซึ่งคิดเป็ น 57% ของผูใ้ ช้บริการทัง้ หมด ปริมาณการใช้ดาต้าเฉลี่ยเพิม่ ขึน้ จาก 3.0 กิกะไบต์/เลขหมายทีใ่ ช้บริการดาต้า/เดือน เป็ น 3.6 กิกะไบต์ ขณะทีก่ ารใช้บริการเสียงยังคง ลดลงอย่างต่อเนื่องโดยอัตราการโทรเฉลีย่ อยู่ท่ี 215 นาที ลดลงจาก 226 นาที/เลขหมาย/เดือน สาหรับธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เอไอเอส ไฟเบอร์มผี ใู้ ช้บริการเพิม่ ขึน้ 106,500 รายในไตรมาส 4/2559 เมื่อเทียบกับ 80,00 ราย ในไตรมาส 3/2559 และ 18,000 ราย ในไตรมาส 4/2558 โดยส่งผลให้ในไตรมาส 4/2559 มีผใู้ ช้บริการรวม 301,500 ราย และเพิม่ ขึน้ 257,500 รายในปี 2559 และมีรายได้ต่อรายต่อเดือน อยู่ท่ี 510 บาท เพิม่ ขึน้ จาก 498 บาทในไตรมาสทีแ่ ล้ว ธุรกิจมือถือ จานวนผูใ้ ช้บริการ (เลขหมาย) ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจานวนผู้ใช้บริ การ จานวนผูใ้ ช้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ (เลขหมาย)

ไตรมาส 4/2558 5,431,200 33,056,900 38,488,100

ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจานวนผู้ใช้บริ การที่เพิ่ มขึ้น ARPU (บาท/เลขหมาย/เดือน) ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย MOU (นาที/เลขหมาย/เดือน) ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย VOU (เมกะไบต์/เลขหมายทีใ่ ช้อนิ เทอร์เน็ต/เดือน) ระบบรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย อัตราการใช้เครื่องโทรศัพท์ โทรศัพท์มอื ถือ 4G ธุรกิ จอิ นเทอร์เน็ตความเร็วสูง จานวนผูใ้ ช้บริการ จานวนผูใ้ ช้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ ARPU (บาท/ราย/เดือน)

ไตรมาส 1/2559 5,412,400 33,515,900 38,928,300

ไตรมาส 2/2559 5,812,800 33,542,200 39,355,000

ไตรมาส 32559 6,108,700 33,764,700 39,873,400

ไตรมาส 4/2559 6,429,600 34,601,600 41,031,200

68,000 609,400 677,400

-18,800 459,000 440,200

400,400 26,300 426,700

295,900 222,500 518,400

320,900 836,900 1,157,800

612 195 254

608 194 251

608 188 248

597 186 248

600 186 251

1Q13

1Q13

330 286 292

320 272 279

313 234 246

305 213 226

296 201 215

2,360 1,910 2,000

2,680 2,030 2,160

3,430 2,380 2,590

4,090 2,670 2,960

4,970 3,200 3,580

N/A

16%

19%

24%

29%

44,000 18,000 615

72,000 28,000 583

115,000 43,000 520

195,000 80,000 498

301,500 106,500 510

1Q13

สรุปผลประกอบการไตรมาส 4/2559 รายได้ปรับตัวในทิศทางทีด่ ขี น้ึ แม้ตลาดจะออกแคมเปญแจกและลดราคามือถืออย่างต่อเนื่อง ในไตรมาส 4/2559 เอไอเอสมีรายได้รวม 41,319 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3.9% จากปี ก่อน และเพิม่ ขึน้ 11% จากไตรมาสก่อน จากผูใ้ ช้บริการ 4G ทีเ่ พิม่ ขึน้ และการทาแคมเปญมือถือ อัตรากาไรของรายได้จากการขายซิมและโทรศัพท์อยู่ท่ี -3.3% ปรับตัวดีขน้ึ จาก -16% ในไตรมาสก่อน เป็ นผลจากการวางจาหน่ ายสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ทใ่ี ห้อตั รากาไรสูง ในไตรมาสที่ 4/2559 รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่า เชื่อมโยงโครงข่าย) อยู่ท่ี 31,617 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 5.8% จากปี ก่อน และเพิม่ ขึน้ 3.2% จากไตรมาสก่อน จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตทีเ่ พิม่ เป็ น 3.6 กิกะไบต์/เลข หมาย/เดือน ขณะทีร่ ายได้ธรุ กิจอินเทอร์เน็ตไฟเบอร์เติบโต 64% จากไตรมาสก่อน จากทัง้ จานวนผูใ้ ช้บริการและรายได้เฉลีย่ ต่อผูใ้ ช้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ ค่าใช้จ่ายโดยรวมสูงขึน้ เมื่อเทียบกับ ไตรมาสก่อน เนื่องจากเอไอเอสเริม่ จ่ายค่าใช้คลื่นความถี่ให้กบั ทีโอทีตามข้อตกลงทดลองใช้งานเชิงพาณิชย์บนคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ เป็ นมูลค่า 975 ล้านบาทต่อไตรมาส โดยบันทึกเป็ นต้นทุนโครงข่ายตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2559 เป็ นต้นไป หากไม่รวมรายการดังกล่าวต้นทุนโครงข่ายจะ ทรงตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน และมีค่าธรรมเนียมใบอนุญาตคิดเป็ นสัดส่วน 5.8% ของรายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) ทรงตัวจากไตรมาส ก่อน และค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหารเพิม่ ขึน้ 9.6% จากไตรมาสก่อน จากการออกแคมเปญมือถืออย่างต่อเนื่องและค่าใช้จ่ายการตัง้ สารองหนี้สูญ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ใน

ส่วนที่ 3 | หน้ า 9


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

ส่วนการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายโดยรวมกับ งวดเดียวกันของปี ก่อน ค่าใช้จ่ายโดยรวมเพิม่ ขึน้ จากการขยายโครงข่าย การออกแคมเปญมือถือ รวมถึงมีค่าใช้จ่ายตาม ข้อตกลงกับทีโอที และค่าตัดจาหน่ ายใบอนุ ญาตคลื่นความถี่ใหม่ โดยรวมแล้ว EBITDA ปรับตัวลดลง 12% จากปี ก่อน และ 1.3% จากไตรมาสก่อน มาอยู่ท่ี 15,058 ล้านบาท และ EBITDA margin เท่ากับ 36.4% กาไรสุทธิ เท่ากับ 6,468 ล้านบาท ลดลง 40% จากปี ก่อน และลดลง 0.9% จากไตรมาสทีแ่ ล้ว

สรุปผลประกอบการปี 2559 รายได้ รายได้รวม (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) ทัง้ ปี 2559 อยู่ที 152,150 ล้านบาท ลดลง 2% จากปี 2558 เนื่องจากรายได้จากการขายโทรศัพท์ทล่ี ดลง ขณะทีร่ ายได้จากการ ให้บริการขยายตัว

รายได้จากการขายซิมและโทรศัพท์ อยู่ท่ี 23,924 ล้านบาท ลดลง 14% จากปี ก่อน จากแคมแปญแจกและลดราคาโทรศัพท์ ส่งผลให้อตั ราการขาดทุนจากการ ขายซิมและโทรศัพท์สูงขึน้ เป็ น -4.2% เทียบกับ -0.8% ในปี 2558 รายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) เท่ากับ 122,561 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1.6% จากปี ก่อน และสอดคล้องกับที่คาดการณ์ เป็ นผลจากการขยาย โครงข่าย 4G อย่างรวดเร็วในช่วงครึง่ หลังของปี 2559 แม้รายได้ในช่วงครึง่ แรก ของปี จ ะได้ ร ับ ผลกระทบจากความไม่ แ น่ น อนในการให้ บ ริ ก ารคลื่ น 900 เมกะเฮิรตซ์  รายได้จากการโทร อยู่ท่ี 51,250 ล้านบาท ลดลง 15% จากปี ก่อน จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตทดแทนการโทร  รายได้จากการให้บริการข้อมูล อยู่ท่ี 63,857 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 20% จากปี ก่อน จากความนิยมในการใช้สมาร์ทโฟนทีย่ งั คงเพิม่ ขึน้ รวมถึง การใช้งานดาต้าเพิ่มขึน้ จาก 2 กิกะไบต์/เลขหมาย/เดือน ในปี ก่อน เป็ น 3.6 กิกะไบต์ ขณะทีป่ ริมาณผูใ้ ช้งานมือถือ 4G เพิม่ ขึน้ เป็ น 12 ล้านราย และมีรายได้จากการใช้งานดาต้าคิดเป็ น 46% ของรายได้ จากการให้บริการ จาก 37% ในปี ก่อน  รายได้จากธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง อยู่ท่ี 860 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 616% จาก 120 ล้า นบาทในปี ก่ อน และมีฐ านรายได้ใ นไตรมาส 4/2559 คิดเป็ น 1.2% ของรายได้จากการให้บริการ โดยการเติบโต เป็ น ผลจากทัง้ จานวนผู้ใ ช้บริก ารและรายได้เ ฉลี่ย ต่ อผู้ใ ช้บ ริก ารที่ เพิม่ ขึน้  รายได้จากบริการต่างประเทศและรายได้อ่นื ๆ อยู่ท่ี 6,594 ล้านบาท ลดลง 2.5% จากรายได้จากการโทรออกต่างประเทศทีล่ ดลง ขณะที่ รายได้ ข องบริก ารข้า มแดนอัต โนมัติท่ีเ พิ่ ม ขึ้น จากภาพรวมการ ท่องเทีย่ วในประเทศทีป่ รับตัวดีขน้ึ ในปี 2559 ค่าเชื่อมโยงโครงข่ายสุทธิ (Net IC) อยู่ท่ี 285 ล้านบาท ลดลงจาก 681 ล้าน บาทในปี ก่อน โดยรายได้และค่าใช้จ่ายเชื่อมโยงโครงข่ายลดลงจากมีการ ปรับอัตราค่าเชื่อมโยงโครงข่ายตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม 2558 จาก 0.45 บาท/ นาที เป็ น 0.34 บาท/นาที และตัง้ แต่เดือนมกราคม 2560 ค่าเชื่อมโยง โครงข่ายได้ปรับลดลงมาอยู่ท่ี 0.27 บาท/นาที ต้นทุนและค่าใช้จา่ ย ต้นทุนรวม (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) อยู่ท่ี 82,992 ล้านบาท ลดลง 2.1% จากปี ก่อน จากค่าต้นทุนโครงข่ายและการทาแคมเปญมือถือทีเ่ พิ่มขึน้ ขณะที่ม ี ต้นทุนค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและส่วนแบ่งรายได้ลดลง  ต้นทุนค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและส่วนแบ่งรายได้ อยู่ท่ี 10,414 ล้าน บาท ลดลง 26% เทียบกับปี ก่อน จากการดาเนินงานภายใต้ระบบ สัมปทานที่ส้นิ สุดลงในไตรมาส 2/2559 ขณะที่ในไตรมาส 3/2559 ต้นทุนค่าธรรมเนียมได้ลดลงมาอยู่ในระดับ ทีใ่ กล้เคียงค่าธรรมเนียม

ใบอนุ ญาตทีก่ สทช.กาหนด โดยรวมในปี 2559 ต้นทุนค่าธรรมเนียม คิด เป็ น สัด ส่ ว น 8.5% ของรายได้จากการให้บ ริก าร (ไม่ ร วมค่ า เชื่อมโยงโครงข่าย) เมื่อเทียบกับ 11.7% ในปี ก่อน ค่าเสื่อมและค่าตัดจาหน่ าย อยู่ท่ี 21,253 ล้า นบาท เพิ่มขึน้ 5.5% เทียบกับปี ก่อน จากค่าตัดจาหน่ ายใบอนุ ญาตใช้คลื่น 1800 และ900 เมกะเฮิร ตซ์ ที่เ พิ่ม เข้า มาชดเชยกับ ค่ า ตัด จ าหน่ า ยของสิน ทรัพ ย์ ภายใต้สมั ปทานทีส่ ้นิ สุดในไตรมาส 3/2558 โดยรวมในปี 2559 มีค่า ตัดจาหน่ายใบอนุญาตใช้คลื่น 2100 1800 และ 900 เมกะเฮิรตซ์ รวม 5,500 ล้านบาท และมีค่าเสื่อมราคาเพิม่ ขึน้ จากการขยายโครงข่าย 4G อย่างต่อเนื่อง ต้นทุนโครงข่าย อยู่ท่ี 14,810 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 54% เทียบกับปี ก่อน จากค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากข้อตกลงกับทีโอทีและการขยายโครงข่าย 4G ในปี 2559 เอไอเอสเริ่ม ชาระค่ า ใช้ค ลื่น เสาและอุป กรณ์ เป็ น เงิน 3,775 ล้านบาท ให้กบั ทีโอที และสาหรับปี 2560 ค่าใช้จา่ ยดังกล่าวจะ อยู่ท่ี 9,500 ล้านบาทต่อปี ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ อยู่ท่ี 6,216 ล้านบาท ลดลง 7.8% เทียบกับ ปี ก่อน จากการเปลีย่ นวิธบี นั ทึกต้นทุนอุปกรณ์และค่าติดตัง้ ของธุรกิจ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง จากเดิมที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายเปลี่ยนเป็ น สินทรัพย์ทนุ และตัดจาหน่ายตัง้ แต่ไตรมาส 1/2559 เป็ นต้นไป

ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร อยู่ท่ี 29,776 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 48% เทียบ กับปี ก่อน จากค่าใช้จา่ ยการตลาดทีส่ ูงขึน้  ค่าใช้จา่ ยการตลาด อยู่ท่ี 16,012 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 132% เทียบกับปี ก่อน จากการทาแคมเปญแจกและลดราคามือถือ โดยมีสดั ส่วนของ ค่าใช้จา่ ยการตลาดอยู่ท่ี 10.5% ของรายได้รวม เทียบกับ 4.4% ในปี 2558 และหากไม่รวมค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดจากแคมเปญดังกล่าวค่าใช้จ่าย การตลาดปกติจะอยู่ท่ี 4-4.5%  ค่าใช้จ่ายในการบริหาร อยู่ท่ี 11,812 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 2.5% เทียบ กับปี ก่อน  ค่าเสื่อมและค่าตัดจาหน่ าย อยู่ท่ี 414 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 19% จากปี ก่อน เนื่องมาจากการขยายเอไอเอส ช็อป ในการให้บริการลูกค้า  ค่าใช้จ่ายการตัง้ สารองหนี้สูญ อยู่ท่ี 1,538 ล้านบาท เพิ่มขึน้ 17% เทียบกับปี ก่อน สัดส่วนค่าใช้จา่ ยการตัง้ สารองหนี้สูญอยู่ท่ี 3.7% ของ รายได้จากผูใ้ ช้บริการระบบรายเดือน เพิม่ ขึน้ จาก 3.4% ในปี 2558 เนื่องจากมีการขยายผูใ้ ช้บริการระบบรายเดือนเพิม่ ขึน้ ต้นทุนทางการเงิน อยู่ท่ี 4,236 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 116% เทียบกับปี ก่อน จากหนี้สนิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เพื่อชาระค่าใบอนุ ญาตและขยายโครงข่าย ทัง้ นี้ต้นทุน ทางการเงินได้รวมถึงดอกเบี้ยรอตัดบัญชีท่เี กิดจากใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่น ความถีย่ ่าน 900 และ1800 เมกะเฮิรตซ์ มูลค่า 1,200 ล้านบาท ในปี 2559 กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน อยู่ท่ี 277 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 229 ล้านบาท ในปี 2558 ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นกาไรทีร่ บั รูแ้ ล้วจากการชาระเงินลงทุนโครงข่าย ขณะทีม่ กี ารทาสัญญาป้องกันความเสี่ยงสาหรับหนี้ในสกุลเงินต่างประเทศ เต็มจานวน

ส่วนที่ 3 | หน้ า 10


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

งบกาไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้จากการโทร (Voice) รายได้จากบริการข้อมูล (Non-voice) รายได้จากธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ และรายได้อ่นื ๆ รวมรายได้จากการให้ บริ การไม่รวม IC รายรับค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย (IC) รายได้จากการขายซิมและโทรศัพท์ รวมรายได้ (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ ค่าตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายด้านโครงข่าย ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ ต้นทุนการให้ บริ การไม่รวม IC ต้นทุนค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย (IC) ต้นทุนการขายซิมและโทรศัพท์ รวมต้นทุน (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) กาไรขัน้ ต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าใช้จ่ายในการบริหารและพนักงาน ค่าใช้จ่ายการตัง้ สารองหนี้สญ ู ค่าตัดจาหน่ายในการขายและบริหาร กาไรจากการดาเนิ นงาน กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ ส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม กาไรสุทธิ EBITDA (ล้านบาท) กาไรจากการดาเนินงาน ค่าตัดจาหน่าย (กาไร)/ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ค่าใช้จ่ายการเงินอื่นๆ EBITDA

รายการพิเศษค่าธรรมเนียม USO (ก่อนหักภาษี) Normalized EBITDA

อัตรา EBITDA margin (%) อัตรา EBITDA margin ไม่รวมรายการพิเศษ (%)

ไตรมาส 4/2558 14,085 14,174 65 1,563 29,887 1,475 8,422 39,784 (2,662) (3,495) (2,672) (1,749) (10,578) (1,349) (8,485) (20,412) 19,372 (5,643) (2,209) (3,020) (321) (93) 13,729 196 68 (597) (2,598) (7) 10,791

ไตรมาส 3/2559 12,494 16,242 232 1,659 30,626 1,405 5,064 37,096 (1,769) (6,156) (4,094) (1,518) (13,537) (1,354) (5,878) (20,769) 16,327 (7,260) (3,828) (2,976) (350) (106) 9,067 67 94 (1,311) (1,371) (17) 6,529

ไตรมาส 4/2559 12,329 17,265 380 1,643 31,617 1,387 8,315 41,319 (1,834) (6,717) (5,065) (1,539) (15,155) (1,332) (8,592) (25,709) 16,240 (7,961) (3,988) (3,278) (584) (111) 8,279 6 114 (1,331) (594) (6) 6,468

ไตรมาส 4/2558 13,730 3,588 1 (74) (41) 17,204 17,204 43.2% 43.2%

ไตรมาส 3/2559 9,067 6,262 (39) (33) 15,257 15,257 41.1% 41.1%

ไตรมาส 4/2559 8,279 6,828 23 (41) (32) 15,058 15,058 36.4% 36.4%

ส่วนที่ 3 | หน้ า 11

2559

%YoY

%QoQ

ปี 2558

ปี 2559

%YoY

-13% 22% 485% 5.1% 5.8% -6.0% -1.3% 3.9% -31% 92% 90% -12% 43% -1.2% 1.3% 23% -16% 41% 81% 8.5% 82% 19% -40% -97% 69% 123% -77% -16% -40%

-1.4% 6.4% 64% -0.9% 3.2% -1.3% 64% 11% 3.7% 9.1% 24% 1.3% 12% -1.6% 46% 21% -0.5% 9.6% 4.2% 10% 67% 4.4% -8.7% -91% 21% 1.6% -57% -65% -0.9%

60,547 53,193 120 6,760 120,621 6,794 27,798 155,213 (14,116) (20,146) (9,620) (6,742) (50,624) (6,113) (28,019) (84,755) 70,457 (20,091) (6,901) (11,526) (1,315) (349) 50,366 229 518 (1,960) (9,999) (2) 39,152

51,250 63,857 860 6,594 122,561 5,665 23,924 152,150 (10,414) (21,253) (14,810) (6,216) (52,694) (5,380) (24,918) (82,992) 69,158 (29,776) (16,012) (11,812) (1,538) (414) 39,382 277 442 (4,236) (5,175) (23) 30,667

-15% 20% 616% -2.5% 1.6% -17% -14% -2.0% -26% 5.5% 54% -7.8% 4.1% -12% -11% -2.1 -1.8% 48% 132% 2.5% 17% 19% -22% 21% -15% 116% -48% 847% -22%

%YoY

%QoQ

ปี 2558

ปี 2559

%YoY

-40% 90% 2,784% -45% -21% -12% -

-8.7% 9.0% N/A 4.1% -2.3% -1.3% -

50,366 20,495 303 (209) (178) 70,776 70,776 45.6% 45.6%

39,382 21,667 23 (150) (181) 60,741 2,208 62,949 39.9% 41.4%

-22% 5.7% -92% -28% 1.5% -14% -11%


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

กาไรสุทธิ ที่ไม่รวมรายการพิ เศษ (ล้านบาท) กาไรสุทธิ การรับรูค้ ่าธรรมเนียม USO (หลังหักภาษี) การรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี การรับรูส้ ทิ ธิประโยชน์ทางภาษี กาไรสุทธิ ที่ไม่รวมรายการพิ เศษ ฐานะการเงิ น (ล้านบาท/ร้อยละของสินทรัพย์รวม) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ อื่นๆ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ โครงข่าย ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี อื่นๆ สิ นทรัพย์รวม เจ้าหนี้การค้า ส่วนของเงินกูถ้ งึ กาหนดชาระใน 1 ปี ผลตอบแทนค้างจ่าย อื่นๆ รวมหนี้ สินหมุนเวียน หุน้ กูแ้ ละเงินกูร้ ะยะยาว อื่นๆ รวมหนี้ สิน กาไรสะสม อื่นๆ รวมส่วนผู้ถือหุ้น

ไตรมาส 4/2558

ไตรมาส 3/2559

ไตรมาส 4/2559

%YoY

%QoQ

ปี 2558

ปี 2559

%YoY

10,791

6,529

6,468

-40%

-0.9%

39,152

30,667

-22%

-

-

-

-

-

-

1,767

-

-

-

-

-

-

-

(919)

-

-

-

(835)

-

-

-

(835)

-

10,791

6,529

5,633

-48%

-14%

39,152

30,680

-22%

ไตรมาส 4/2558

ไตรมาส 4/2558 1.32 1.02 0.70 0.66 30 3.9 82%

อัตราส่วนทางการเงิ นที่สาคัญ

ไตรมาส 4/2559

เงินกูต้ ่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เงินกูส้ ุทธิต่อส่วนของผูถ้ อื หุ้น เงินกูส้ ุทธิต่อ EBITDA อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย อัตราส่วนความสามารถในการชาระหนี้ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้

ไตรมาส 3/2559 2.94 2.57 1.53 0.49 16 1.7 90%

ไตรมาส 4/2559 2.30 1.97 1.38 0.46 14 3.4 67%

9,865 4,752 11,030 5,059 7,301 38,007

5.4% 2.6% 6.1% 2.8% 4.0% 21%

11,226 2,963 11,377 3,085 3,248 31,899

4.1% 1.1% 3.9% 1.1% 1.2% 12%

51,791 84,291 3,192

28% 46% 1.8%

115,378 118,271 4,099

42% 43% 1.5%

1,252

0.7%

2,618

0.9%

ตารางการชาระหนี้

3,229 181,761

1.8% 100%

3,404 275,670

0.7% 100%

ล้านบาท

หุ้นกู้

เงิ นกู้

1800MHz

900MHz

14,358 12,856 5,364 24,956 57,533

7.9% 7.1% 3.0% 14% 32%

17,737 11,685 5,361 34,545 69,328

6.4% 4.2% 1.9% 13% 25%

52,416 23,319 133,268

29% 13% 73%

87,130 76,504 232,962

32% 28% 85%

22,813 25,680 48,493

12% 14% 27%

16,971 25,737 42,708

6.2% 9.3% 15%

2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569

397 7,789 1,776 7,820 6,638 7,180

11,001 2,799 3,364 23,929 10,129 9,882 5,350 -

10,247 10,247 -

4,020 4,020 59,574 -

แหล่งที่มาและแหล่งใช้ไปของเงิ นทุนใรปี 2559 แหล่งที่มาของเงิ นทุน กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน เงินกูย้ มื ระยะยาว เงินกูย้ มื ระยะสัน้ การเปลีย่ นแปลงของเงินลงทุนสุทธิ ดอกเบี้ยรับ เงินรับจากการขายสินทรัพย์

รวม

ตัวเลขจากงบกาไรขาดทุนเป็ นตัวเลขตัง้ แต่ต้นปี เทียบให้เป็ นเต็มปี

การชาระค่าใบอนุญาตใช้คลื่น

(ล้านบาท) 71,538 41,154 700 303 215 17

113,927

แหล่งใช้ไปของเงิ นทุน เงินลงทุนในโครงข่ายและสินทรัพย์ถาวร เงินปนั ผลจ่าย ชาระค่าใบอนุญาตใช้คลื่น ชาระเงินกูร้ ะยะยาว ภาษีเงินได้ ชาระต้นทุนทางการเงินและสัญญาเช่าทางการเงิน เงินลงทุนในบริษทั ร่วมทุน เงินสดเพิม่ รวม

อันดับเครดิ ต Fitch S&P

2559

National rating: AA+ (THA), Outlook: Stable BBB+, Outlook: Negative

ส่วนที่ 3 | หน้ า 12

47,554 36,509 8,069 7,699 9,902 2,818 15 1,361 113,927


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี กาไร ในปี 2559 EBITDA อยู่ท่ี 60,741 ล้านบาท ลดลง 14% จากปี ทผ่ี ่านมา โดยส่วนใหญ่เนื่องมาจากการชาระค่า ใช้จ่ายตามข้อตกลงให้แก่ทโี อทีและ ค่ า ใช้จ่ า ยการตลาดที่เ พิ่ม ขึ้น จากแคมเปญมือ ถื อ ทัง้ นี้ อ ัต รา EBITDA margin อยู่ท่ี 39.9% สูงกว่าประมาณการที่คาดไว้เล็ก น้ อย แต่ลดลงจาก 45.6% ในปี 2558 กาไรสุทธิอยู่ท่ี 30,667 ล้านบาทลดลง 22% เทียบกับปี 2558 จากค่าเสื่อมราคาและค่ าตัดจาหน่ า ยรวมถึง ต้น ทุนทางการเงิน ที่ เพิม่ ขึน้ แม้ค่าใช้จา่ ยทางภาษีจะลดลง (ดูรายละเอียดเพิม่ เติมใน เหตุการณ์ สาคัญ หน้า 1) หากไม่รวมรายการพิเศษ ได้แก่ 1) การรับรูร้ ายการพิเศษ ต้นทุนค่าธรรมเนียม (USO) และสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีในไตรมาส 1/2559 และ 2) สิทธิประโยชน์ ทางภาษีในไตรมาส 4/2559 แล้ว กาไรสุทธิ จะอยู่ท่ี 30,680 ล้านบาท ลดลง 22% เทียบกับปี 2558 และมีอตั รากาไร สุทธิอยู่ท่ี 20.2% เมื่อเทียบกับ 25.2% ในปี 2558

2559

กระแสเงินสด ในปี 2559 เอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการดาเนินงาน (หลังหักภาษี) รวม 61,635 ล้านบาท ทรงตัวจากปี ก่อนแม้กาไรสุทธิจะปรับตัวลง ขณะทีเ่ งิน ลงทุนโครงข่ายส่วนใหญ่ใช้เพื่อขยายโครงข่าย 4G ให้ครอบคลุมทัวประเทศ ่ และเพิ่มประสิทธิภาพโครงข่าย 3G อยู่ท่ี 47,554 ล้านบาท เทียบกับ 32,108 ล้านบาท ในปี 2558 หรือคิดเป็ นสัดส่วนเงินลงทุนโครงข่าย 39% ต่อรายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย) เพิม่ ขึน้ จาก 27% ในปี ก่อน นอกจากนี้ เอไอเอสยังได้ชาระค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ งวดแรกให้กบั กสทช. เป็ นเงิน 8,069 ล้านบาท ส่งผลให้ม ี กระแสเงินสดอิสระอยู่ท่ี 6,012 ล้านบาท และมีเงินกู้ยมื สุทธิอยู่ท่ี 34,155 ล้านบาท ขณะทีเ่ งินปนั ผลรอบผลประกอบการช่วงครึง่ หลังของปี 2558 ถึง ครึง่ แรกของปี 2559 อยู่ท่ี 36,509 ล้านบาท ทัง้ นี้เอไอเอสมีเงินสดเพิม่ ขึน้ 1,361 ล้านบาท ซึง่ ทาให้มเี งินสดสุทธิจานวน 11,226 ล้านบาท ณ สิน้ เดือน ธันวาคม 2559

ฐานะการเงิน ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2559 เอไอเอสมีสนิ ทรัพย์เพิม่ ขึน้ 52% จากปี ก่อน อยู่ ที่ 275,670 ล้านบาท จากใบอนุญาตให้ใช้คลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์ ทีไ่ ด้รบั ใน เดือนมิถุนายน 2559 และการลงทุนขยายโครงข่าย 4G โดยทีด่ ิน อาคาร อุปกรณ์โครงข่าย และใบอนุญาตมีสดั ส่วนรวมประมาณ 85% ของสินทรัพย์ รวม สินทรัพย์หมุนเวียนอยู่ท่ี 31,899 ล้านบาท ลดลง 16% จากปี ก่อน ส่ ว นใหญ่ เ นื่ อ งจากมีสิน ค้ า คงคลัง ที่เ ป็ น เครื่อ งโทรศัพ ท์ม ือ ถือ ส าหรับ จาหน่ า ยลดลง ในขณะที่ลู กหนี้ ก ารค้า เพิ่ม ขึ้น 3.1% จากปี ก่อน หนี้ สิน รวมอยู่ท่ี 232,962 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 75% เทียบกับปี ก่อน จากการประมูล ใบอนุ ญาตใช้คลื่น 900 เมกะเฮิรตซ์และเงินกู้ยืมที่เพิ่มขึน้ โดยหนี้สินที่ม ี ภาระดอกเบี้ย เพิ่ม ขึน้ จาก 64,000 ล้านบาท ในปี 2558 เป็ นประมาณ 98,000 ล้านบาท เพื่อชาระค่าใบอนุ ญาตและขยายโครงข่าย ส่วนของผูถ้ อื หุน้ อยู่ท่ี 42,708 ล้านบาท ลดลง 12% จากปี ก่อนจากกาไรสุทธิและกาไร สะสมลดลง โดยรวมแล้วเอไอเอสยังมีความสามารถในการจ่ายเงินกูใ้ นระดับ ดีด้วยอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อ EBITDA อยู่ท่ี 1.38 เท่า และอัตราส่วน ความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Interest coverage ratio) ที่ 14 เท่า เอ ไอเอสได้ ร ับ การจัด อัน ดั บ เครดิ ต ที่ BBB+ จัด เป็ น อัน ดั บ ที่ น่ า ลงทุ น (Investment grade) โดย S&P ในส่วนของสภาพคล่องยังอยู่ในระดับดีด้วย อัต ราส่ วนทุน หมุน เวีย นที่ 0.46 เท่า ซึ่งส่ ว นใหญ่ ม าจากเจ้า หนี้ ก ารค้า สาหรับเงินลงทุนโครงข่ายรอจ่าย

ส่วนที่ 3 | หน้ า 13


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

2559

คาดการณ์และมุมมองของผูบ้ ริ หารต่อแนวโน้ มและกลยุทธ์ในปี 2560 รายได้จากการให้บริ การ (ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย)

รายได้จากการขายเครื่องมือถือ

   

อัตรา EBITDA margin เงิ นลงทุนโครงข่าย เงิ นปั นผล

คาดการณ์เพิม่ ขึน้ ประมาณ 4-5% คาดการณ์รายได้จากการขายเพิม่ ขึน้ ด้วยอัตรากาไรใกล้เคียงระดับเท่าทุนหรือใกล้เคียง 0% 42-44% 40,000-45,000 ล้านบาท ไม่ต่ ากว่า 70% ของกาไรสุทธิ

สร้างความเป็ นผู้นาในตลาดการให้บริ การดาต้า ในปี 2559 หลังจากทีไ่ ด้รบั ใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ เอไอเอสได้เร่งขยายโครงข่าย 4G ให้ครอบคลุมกว่า 98% ของจานวนประชากร เพื่อ พัฒนาคุณภาพของบริการดาต้าให้รองรับต่อความต้องการใช้งานทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยบริการ 4G จะช่วยส่งเสริมประสบการณ์ใช้งานของลูกค้าทีต่ อ้ งการความเร็วดาต้าทีส่ ูงขึน้ ทัง้ นี้ ในปี 2560 เอไอเอสยังเน้นสร้างความเป็ นผูน้ าในธุรกิจมือถือโดยเฉพาะการให้บริการดาต้า โดยวางแผนลงทุนเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพของโครงข่าย 4G และขยายการ ใช้เทคโนโลยี 2-Carrier และ 3-Carrier Aggregation ในบริเวณพืน้ ทีต่ วั เมืองหลัก พร้อมกับการส่งเสริมให้ลูกค้าใช้สมาร์ทโฟนเพิม่ ขึน้ และทาแคมเปญมือถือเฉพาะกลุ่ม สาหรับผูใ้ ช้บริการ 2G อย่างต่อเนื่อง เจาะจงการขยายโครงข่ายอิ นเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ที่มีความต้องการสูงและเพิ่ มฐานลูกค้าบนโครงข่ายปัจจุบนั ตัง้ แต่เปิ ดบริการในเดือนเมษายน 2558 เอไอเอส ไฟเบอร์ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ขยายพืน้ ทีใ่ ห้บริการเต็มพิน้ ทีต่ วั เมืองใน 28 จังหวัด และครอบคลุมกว่า 5.2 ล้านครัวเรือน ด้วยเงินลงทุนรวมตัง้ แต่เริม่ ต้นประมาณ 10,000 ล้านบาท และให้บริการลูกค้ากว่า 301,500 ราย ณ สิ้นปี 2559 โดยเป้าหมายในสามปี ขา้ งหน้าเอไอเอส ยังคงมุง่ มันที ่ จ่ ะก้าวขึน้ เป็ นผูใ้ ห้บริการรายหลักในตลาดอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงด้วยการสร้างรากฐานการดาเนินงานทีแ่ ข็งแกร่งและขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง สาหรับปี 2560 ซึง่ นับเป็ นปี ทส่ี ามของการเปิ ดให้บริการ เอไอเอส ไฟเบอร์จะขยายโครงข่ายโดยพิจารณาจากความต้องการใช้งานในแต่ละพืน้ ทีแ่ ละอัตราผลตอบแทนในการลงทุน รวมถึงเพิม่ ฐานลูกค้าบนโครงข่ายปจั จุบนั ด้วยการพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพของตัวแทนและช่องทางจาหน่าย ในขณะทีย่ งั คงกลยุทธ์การแข่งขันด้านราคาเพื่อเพิม่ ฐาน ลูกค้า ในปี 2560 เราคาดว่าจะใช้เงินลงทุนในโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงประมาณ 5,000 ล้านบาท รายได้และ EBITDA เติ บโตอย่างต่อเนื่ อง ประมาณการรายได้จากการให้บริการในปี น้คี าดว่าจะเติบโตประมาณ 4-5% จากปี ก่อน และมีอตั รากาไรจากการขายเครื่องโทรศัพท์ปรับตัวดีขน้ึ ใกล้เคียงระดับเท่าทุน (หรือใกล้เคียง 0%) โดยเน้นการทาแคมเปญกับกลุ่มลูกค้าทีม่ คี ุณภาพ ในส่วนการใช้บริการคลื่นความถี่ เสา และอุปกรณ์โครงข่ายผ่านข้อตกลงกับทีโอทีในปี 2560 จะมี การบันทึกเต็มปี โดยรวมแล้วอัตรา EBITDA margin มีแน้วโน้วปรับตัวดีขน้ึ เป็ น 42-44% และประมาณการงบลงทุนโครงข่ายมือถือและอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (ไม่รวม ค่าใบอนุญาต) โดยรวม 40,000-45,000 ล้านบาท ปรับนโยบายการจ่ายเงิ นปั นผล: จ่ายไม่ตา่ กว่า 70% ของกาไรสุทธิ เอไอเอสมุง่ มันในการสร้ ่ างการเติบโตของธุรกิจในระยะยาวและส่งมอบผลตอบแทนแก่ผถู้ อื หุน้ มาอย่างสม่ าเสมอต่อเนื่อง เอไอเอสจึงให้ความสาคัญต่อการรักษาสถานะ ทางการเงินให้แข็งแกร่งและมีความคล่องตัวเพื่อสร้างการเติบโตในอนาคต นโยบายการจ่ายเงินปนั ผลใหม่จะจ่ายไม่ต่ ากว่า 70% ของกาไรสุทธิ โดยมีผลตัง้ แต่ปี 2560 เป็ น ต้น ไป การปรับ นโยบายการจ่า ยเงิน ป นั ผลนี้ จะทาให้เ อไอเอสมีก ระแสเงิน สดเพื่อ เพิ่ม ความคล่ องตัวทางการเงิน ซึ่ง เป็ น ป จั จัย ส าคัญ ต่ อการเป็ น ผู้น าตลาด ความสามารถในการแข่งขัน และโอกาสในการเติบโตของธุรกิจ รวมถึงพร้อมรับต่อสภาวะการณ์ต่างๆทีอ่ าจเปลีย่ นแปลง เอไอเอสยังคงการจ่ายเงินปนั ผลปี ละสองครัง้ จากผลการดาเนินงานบริษทั และกาไรสะสมบนงบการเงินเฉพาะกิจการ ทัง้ นี้การจ่ายเงินปนั ผลในทุกกรณี จะขึน้ อยู่กบั กระแสเงินสดและแผนการลงทุน รวมถึงความจาเป็ นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตของบริษทั และ/หรือ บริษทั ย่อย และการจ่ายเงินปนั ผลดังกล่าวจะต้องไม่เกิน กาไรสะสมทีป่ รากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั และ/หรือมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อการดาเนินงานปกติของบริษทั และบริษทั ย่อย

ข้อปฎิ เสธความรับผิ ดชอบ ั ยทีเ่ กีย่ วข้องในหลายด้านซึง่ จะขึน้ อยู่กบั ความเสีย่ งและความไม่แน่ นอนต่างๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวรวมถึง แผนธุรกิจ กลยุทธ์ และความเชื่อของบริษทั ฯ รวมทัง้ ข้อมูลอื่นที่ ในเอกสารฉบับนี้อาจจะมีขอ้ มูลบางส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการคาดการณ์ในอนาคตโดยใช้ปจจั ไม่ใช่ขอ้ มูลทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต ตัวอย่างของคาทีใ่ ช้ในการคาดการณ์ในอนาคต เช่น “อาจจะ”, “จะ”, “คาดว่า”, “ตัง้ ใจว่า, “ประมาณ”, “เชือ่ ว่า”, “ยังคง”, “วางแผนว่า” หรือคาใดๆ ทีม่ คี วามหมายทานองเดียวกัน เป็นต้น ั บนั เป็นพื้นฐานก็ตาม สมมุตฐิ านเหล่านี้ยงั คงมีความเสีย่ งและความไม่แน่นอนต่างๆ ซึง่ อาจจะทาให้ผลงาน ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จที่เกิดขึ้น แม้วา่ การคาดการณ์ดงั กล่าวจะถูกจัดทาขึน้ จากสมมุตฐิ านและความเชือ่ ของฝ่ายบริหาร โดยอาศัยข้อมูลทีม่ อี ยู่ในปจจุ จริงแตกต่างจากทีบ่ ริษทั ฯ คาดการณ์ไว้ในอนาคต ดังนัน้ ผูใ้ ช้ขอ้ มูลดังกล่าวจึงควรระมัดระวังในการใช้ขอ้ มูลข้างต้น อีกทัง้ บริษทั และผูบ้ ริหาร/พนักงาน ไม่อาจควบคุมหรือรับรองความเกีย่ วข้อง ระยะเวลาทีจ่ ะเกิดขึน้ หรือความถูกต้องของข้อมูลดังกล่าว

ติ ดต่อนักลงทุนสัมพันธ์เอไอเอส http://investor.ais.co.th; investor@ais.co.th; โทร (66) 2029 5117

ส่วนที่ 3 | หน้ า 14



เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่ อเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร เลขานุการบริ ษัท หัวหน้ าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน้ าหน่ วยงานกากับดูแลการปฏิบัติงานของบริ ษัท (ข้ อมูล ณ 31 ธันวาคม 2559) ชื่อ - สกุล นายกานต์ ตระกูลฮุน

อายุ 61

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการ

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการอิสระ

3 สิงหาคม 2558

- ประธานกรรมการการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่าตอบแทน

วันที่ดารงตาแหน่งประธานกรรมการ

- ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริ ญญา

วิศวกรรมศาสตร์

ดุษฎีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กิตติมศักดิ์

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 29/2546

8 พฤศจิกายน 2559 นายสมประสงค์ บุญยะชัย

61

- รองประธานกรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ , สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี พ.ย. 2559 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการการพัฒนาความเป็ นผู้นาและ กาหนดค่าตอบแทน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. ไทยพาณิชย์

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ ประธานกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการที่ปรึกษา

Nomura Holdings Inc.

2554 - ปั จจุบนั

ที่ปรึกษา

Kubota Corporation (Japan)

2549 - 2558

กรรมการผู้จดั การใหญ่

บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

- หลักสูตร Role of the Chairman

2551 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริ หาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

Program (RCP) รุ่น 21/2552

2551 - ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด

28 มีนาคม 2537

ค่าตอบแทน

- หลักสูตร Directors Certification

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

Program (DCP) รุ่น 65/2548

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม

-หลักสูตร Directors Accreditation

2550 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

Program (DAP) รุ่น 30/2547

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2545 - ปั จจุบนั

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. เพาเวอร์ ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ ง

ม.ค. 2560 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีอีซี เวิลด์

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. โอสถสภา

71

- กรรมการตรวจสอบ

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

24 เมษายน 2549

- กรรมการอิสระ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- หลักสูตร Director Certification

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

กรรมการอิสระ

บมจ. พฤกษา เรี ยลเอสเตท

2553 - 2558

รักษาการกรรมการผู้อานวยการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2552 - 2554

ประธานกรรมการบริ หาร

บมจ. ไทยคม

2547 - 2559

กรรมการ

บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้ า

2557 - ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

Program (DCP) รุ่น 32/2546

63

- ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการตรวจสอบ

10 พฤษภาคม 2549

- กรรมการอิสระ

-ไม่มี-

กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการอิสระ 2549 - 2557

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

-ไม่มี-

กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน

2559

นางทัศนีย์ มโนรถ

-ไม่มี-

ไม่มี

ไม่มี

เนติบณ ั ฑิต สานักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

- หลักสูตร Director Accreditation

2557 - ปั จจุบนั

Program (DAP) รุ่น 29/2547

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

ประธานกรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 2557 - ปั จจุบนั

Managing Partner

R&T Asia (Thailand) Limited

2551 - 2557

กรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ

นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง

56

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

ปริ ญญาตรี บัญชี

-

National University of Singapore

27 มีนาคม 2556 นายแอเลน ลิว ยง เคียง วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ : 20 มีนาคม 2549

61

- ประธานกรรมการบริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท Science (Management)

- กรรมการ

Massachusetts Institute of

- กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนด ค่าตอบแทน

Technology, ประเทศสหรัฐอเมริ กา

-

2550 - 2551

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2549 - 2550

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2548 - 2557

ผู้บริ หาร

บจ.ฮันตัน แอนด์ วิลเลีย่ มส์ (ไทยแลนด์)

2540 - 2551

กรรมการ

บจ. ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2558 - ปั จจุบนั

Group Chief Corporate Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

2556 - ปั จจุบนั

กรรมการ กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2551 - 2558

Group Chief Financial Officer

Singapore Telecommunications Ltd.

2557 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer Consumer Australia

Singapore Telecommunications Ltd.

Chief Executive Officer Optus 2551 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการพัฒนาความเป็ นผู้นาและกาหนดค่าตอบแทน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2549 - ปั จจุบนั

Chief Executive Officer (Singapore)

Singapore Telecommunications Ltd.

Executive Officer Group Digital Life and Country Chief -

Singapore Telecommunications Ltd.

2555 - 2557

Officer (Singapore) 2549 - 2551

* สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะ

หน้ า 1 / 3

กรรมการบริ หาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

-ไม่มี-


ชื่อ - สกุล นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

อายุ 62

ตาแหน่ ง - ประธานกรรมการตรวจสอบ

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Direct Certificate Program

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ

North Texas State University,

(DCP) รุ่น 59/2548

26 มีนาคม 2557

- กรรมการอิสระ

สหรัฐอเมริ กา

- หลักสูตร Role of the Chaiman

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี 2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ธนาคารกรุงไทย

-ไม่มี-

ประธานกรรมการบริ หาร

Program (RCP) รุ่น 16/2550

ประธานกรรมการบริ หารความเสีย่ ง 2557 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

กรรมการสรรหาและกากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ 2541 - ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. วี กรุ๊ป ฮอนด้ าคาร์ ส์

2554 - 2555

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

บมจ. ปตท.

2549 - 2555

ประธานกรรมการ

บมจ. หลักทรัพย์ จัดการกองทุนกรุงไทย

ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสีย่ ง นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์

53

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 1)

- กรรมการบริ หาร

2 มิถนุ ายน 2558

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

-

Economics and Finance University of New South Wales

54

- กรรมการ

0.0027

ไม่มี

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สาขาการตลาด

- กรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- หลักสูตร Director Certification

2558 - ปั จจุบนั

กรรมการ และกรรมการบริ หาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2557 - ปั จจุบนั

ที่ปรึกษา

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2556 - 2557

President & COO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2555 - 2556

President & CFO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2553 - 2555

Senior EVP & CFO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

2548 - 2553

CFO

Singapore Technologies Telemedia, Singapore

กรรมการ กรรมการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน กรรมการบริ หาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2557 - ปั จจุบนั

Program (DCP) รุ่น 107/2552

-ไม่มี-

-ไม่มี-

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร รักาการหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการ กลยุทธ์ และกรรมการผู้มีอานาจลงนาม

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ 27 มิถนุ ายน 2557

- กรรมการบริ หาร

2555 - 2557

กรรมการ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

วันที่ดารงตาแหน่งประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

- ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

2550 - 2555

รองกรรมการผู้อานวยการ สายงานการตลาด

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

1 กรกฎาคม 2557

- รักษาการหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกลยุทธ์

2547 - 2550

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานธุรกิจบริ การสือ่ สารไร้ สาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

- กรรมการผู้มีอานาจลงนาม นายฟิ ลิป เชียง ชอง แทน

51

วันที่ดารงตาแหน่งกรรมการ

- กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท การจัดการ

- กรรมการบริ หาร

สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์

- หลักสูตร Directors Certification

พ.ย. 2559 - ปั จจุบนั

กรรมการ กรรมการบริ หาร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

Program (DCP) รุ่น 175/2556

มี.ค. 2559 - ปั จจุบนั

ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ไทยคม

2557 – ปั จจุบนั

กรรมการสภาที่ปรึกษา

สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

2554 – ปั จจุบนั

Board of Visitors,

University of Maryland

8 พฤศจิกายน 2559

พ.ย. 2558 - มี.ค. 2559 กรรมการผู้อานวยการ ก.ค. - ต.ค. 2558 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ ม.ค. - มิ.ย. 2558

61

- กรรมการผู้อานวยการ

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

- หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั กิ าร

-

University of Southern California สหรัฐอเมริ กา

นางสาวสุนิธยา ชินวัตร ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2559

56

- หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน

0.0005

ไม่มี

ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ สาขาการเงิน - หลักสูตร Director Certification North Texas State University, สหรัฐอเมริ กา Program (DCP)156 /2555

กรรมการเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

กรรมการ (ผู้มีอานาจลงนาม) รักษาการแทนประธานคณะเจ้ าหน้ าที่ บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา ด้ านธุรกิจสินเชื่อยานยนต์ กรรมการผู้จดั การใหญ่ กรรมการบริ หาร ความเสีย่ ง และ ที่ปรึกษาคณะกรรมการกากับดูแลกิจการ

2556 - 2557

รักษาการแทนประธานคณะเจ้ าหน้ าที่ด้านธุรกิจอิเล็กทรอเล็กทรอนิกส์ บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา

57

- หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาโท สาขาคอมพิวเตอร์ University of Michigan at Ann Arbor, สหรัฐอเมริ กา

รองประธานกรรมการเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และที่ปรึกษาคณะกรรมการ พิจารณาสินเชื่อ

บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา

2555

ประธานคณะเจ้ าหน้ าที่ด้านธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์

บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส และประธานคณะเจ้ าหน้ าที่ด้าน บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา สินเชื่อลูกค้ าบุคคล ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บจ. จีอี มันนี่ ประเทศไทย

2559 - ปั จจุบนั

กรรมการผู้อานวยการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2556 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั กิ าร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2553 - 2555

CEO International

Singapore Telecommunications Ltd.

2552 - 2553

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั กิ าร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการอาวุโส ส่วนงานบริ หารการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการ ส่วนงานบริ หารการเงิน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

-ไม่มี-

2559 - ปั จจุบนั 2555 - 2559

- หลักสูตร Capital Market Academy

2559 - ปั จจุบนั

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านธุรกิจสัมพันธ์และองค์กร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

(วตท.) รุ่นที่ 19

2556 - 2559

รองกรรมการผู้อานวยการอาวุโส สายงานปฏิบตั กิ าร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2554 - 2558

กรรมการบริ ษัท กลุม่ จ.

ศูนย์ให้ บริ การคงสิทธิหมายเลขโทรศัพท์

2549 - 2556

รองกรรมการผู้อานวยการสายงานปฏิบตั กิ าร

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

บริ หารธุรกิจ * สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะ

บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา

2556

2549 - 2555 นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร

บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา

ประธานกลุม่ ธุรกิจลูกค้ ารายย่อยและลูกค้ าบุคคล และรักษาการแทน บมจ.ธนาคารกรงุศรี อยุธยา ประธานคณะ

2556 - 2558

2552 - 2553 นายฮุย เว็ง ชอง

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์

2557 - 2558

2553 - 2555

หน้ า 2 / 3

-ไม่มี-

-ไม่มี-


ชื่อ - สกุล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม

นายชวิน ชัยวัชราภรณ์

อายุ 46

44

ตาแหน่ ง - หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล

เลขานุการบริ ษัท

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ปริ ญญาโท Psychology Counseling Services Rider University รัฐนิวเจอร์ ซ,ี สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท กฎหมาย

ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 3 มกราคม 2556

-

- หลักสูตร Role of the

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี 2559 - ปั จจุบนั 2558 - ปั จจุบนั 2556 - 2558

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล รองประธานเจ้ าหน้ าทีสายปฏิบตั กิ าร

2554 - 2556

ประธานเจ้ าหน้ าที่สายทรัพยากรบุคคล

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ บมจ. แม็คกรุ๊ป บมจ. พรูเด็นเชียล ประกันชีวติ (ประเทศไทย)

2550 - 2554

ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

บจ. ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)

2556 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

เลขานุการบริ ษัท

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย,

Compensation Committee (RCC)

2553 - 2556

ผู้อานวยการสานักกฎหมาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

สหรัฐอเมริ กา

- หลักสูตร Director Certification

2546 - 2553

Associate

บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลีย่ ม

2542 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการอาวุโส ส่วนงานตรวจสอบภายใน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

2558 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

(DCP 192/2557) - หลักสูตร Role of Chairman (RCP) - หลักสูตรการต่อต้ านการทุจริ ต สาหรับผู้บริ หาร (ACEP 10/2557) - หลักสูตรผู้ปฏิบตั งิ านเลขานุการ บริ ษัท (FPCS 29/2557) - หลักสูตรเลขานุการบริ ษัท รุ่น 51/2556 นางสุวมิ ล กุลาเลิศ

56

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารงานตรวจสอบภายใน

0.0001

ไม่มี

ปริ ญญาโท MBA Track Management Information

ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 มกราคม 2542

System, Oklahoma City University,

- หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 136/2553

Oklahoma City University, สหรัฐอเมริ กา คุณวุฒิทาง

Certified Public Accountant ปี 2528

วิชาชีพ

นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 เมษายน 2556

41

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ และกากับดูแลการปฏิบตั งิ าน

0.00025

ไม่มี

Certified Internal Auditor ปี 2543 Certificate in Risk Management Assurance ปี 2556 ปริ ญญาโท Technology Management,

-

Washington State University,

กากับดูแลการปฏิบตั งิ าน

สหรัฐอเมริ กา ปริ ญญาโท การเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

* สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะ

หน้ า 3 / 3

2556 - 2558

ผู้อานวยการสานักนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2554 - 2556

รักษาการผู้อานวยการสานักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2551 - 2554

ผู้จดั การฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ


เอกสารแนบ 2 (1): รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริ ษัทใหญ่ บริษัท บริ ษัทย่ อย บริษัทร่ วม และบริษัทที่เกี่ยวข้ อง

บริ ษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ข้ อมูล ณ 31 ธันวาคม 2559 รายชื่อบริ ษัท 1)

บริษัทใหญ่

บริษัท

รายชื่อกรรมการและผู้บริหาร

INTUCH

ADVANC

-

 p p p p p p p

1 นายกานต์ ตระกูลฮุน 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 3. นางทัศนีย์ มโนรถ 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ 5. นางสาวจีน โล เงี ้ยบ จง 6. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 7. นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 8. นายสตีเฟ่ น มิลเลอร์ 9.นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 10.นายฟิ ลปิ เชียง ชอง แทน 11. นายไพบูลย์ ภานุวฒ ั นวงศ์ 12.นายฮุย เว็ง ชอง 13.นาย วีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร 14.นางสาวกานติมา เลอเลิศยุติธรรม 15. นางสาวสุนิธยา ชินวัตร

บริษัทย่ อย

- - - - - - - - -  -  -  - - - - - - - - - - - - - - - p - - - - - p - - p - - - - - - - - - - - - - - - - - - - p  p - p  p - - - - - - - p p - - - - - - -   - - - p p - p p    - - -  -   - - - - - - -  - - - p p - - p p

บริษัทร่ วม

DPC ADC ACC AMP AMC SBN AIN WDS AWN MMT FXL ABN CLH BMB IH

 p p p -

p

 p

 p p -

-

-

บริษัทที่เกี่ยวข้ อง AN THCOM DTV CSL TMC TCB ISC ADV SHEN CDN LTC IPSTAR IPA OSS IPN STAR SPACE IPI

- - - p - - - - - - - - - - -  - - -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

IPG IPJ ITV AM MB ITAS Meditech OOKB

-

-

-

-

- - - - - - - - - - p - - - -

-

p -

Intouch Media

p -

TTV Computerlogy

p -

= ประธานกรรมการ, p = กรรมการ,  = กรรมการบริหาร,  = ผู้บริหาร 1) นับรวมทั ้งการถือหุ้นทางตรงและทางอ้ อม รายชื่อบริษัท

INTUCH ADVANC DPC ADC ACC AMP AMC SBN AIN WDS AWN MMT FXL ABN

บริษัท อินทัช โฮลดิ ้งส์ จากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จากัด บริษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จากัด บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ ด จากัด บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด บริษัท ไวร์ เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด บริษัท ไมโม่เทค จากัด บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จากัด บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จากัด

CLH BMB IH AN THCOM DTV CSL TMC TCB ISC ADV SHEN CDN LTC IPSTAR

บริ ษัท ศูนย์ให้ บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จากัด บริ จด์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี บริ ษัท อินฟอร์ เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด บริ ษัท อมตะ เน็ทเวิร์ค จากัด บริ ษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) บริ ษัท ดีทีวี เซอร์ วสิ จากัด บริ ษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด (มหาชน) บริ ษัท ทีซี บรอดคาสติ ้ง จากัด บริ ษัท อินเตอร์ เนชัน่ แนล แซทเทลไลท์ จากัด บริ ษัท เอดี เวนเจอร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้ นท์ส พีทีอี จากัด บริ ษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิร์ค จากัด บริ ษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด บริ ษัท ไอพีสตาร์ จากัด

หน้ า 1 / 2

OSS IPN STAR SPACE IPI IPG IPJ ITV AM MB ITAS Meditech OOKB Intouch Media TTV

บริษัท โอไรอ้ อน แซทเทลไลท์ ซิสเทม พีทีวาย จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จากัด บริษัท สตาร์ นิวเคลียส จากัด สเปซโคด แอล แอล ซี บริษัท ไอพีสตาร์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล พีทีอี จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์ วสิ จากัด บริษัท ไอพีสตาร์ เจแปน จากัด บริษัท ไอทีวี จากัด (มหาชน) บริษัท อาร์ ตแวร์ มีเดีย จากัด บริษัท แมทช์บอกซ์ จากัด บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์ วสิ จากัด บริษัท เมดิเทค โซลูชนั่ จากัด บริษัท อุ๊คบี จากัด บริษัท อินทัช มีเดีย จากัด บริษัท ทัช ทีวี จากัด

Computerlogy บริษัท คอมพิวเตอร์ โลจี จากัด กิจการร่วมค้ า กันตนาและอินทัช

-

กิจการร่วมค้ า กันตนาและอินทัช

-


เอกสารแนบ 2 (2): ข้ อมูลกรรมการของบริษัทย่ อย

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ข้ อมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 รายชื่อกรรมการ

DPC

ADC

ACC

AMP

AMC

SBN

AIN

WDS

AWN

MMT

FXL

ABN

p -

 p p -

p

-

 p p -

p -

 p p p

p -

p -

 p -

8. นายอนันต์ เอกวงศ์วริ ิยะ

p

-

-

p -

 p p p -

p

7.นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั

-

-

p

-

-

-

-

p

-

9. นายเตชะหัทย์ เหมะกุล

1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 3. นางสาวจีน โล เงีย้ บ จง 4. นายฮุย เว็ง ชอง 5. นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 6.นางสาวสุนิธยา ชินวัตร

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

10.นายสุทธิศกั ดิ์ กุนทีกาญจน์

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

11.นายอิศระ เดชะไกศยะ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

12. นายศรัณย์ ผโลประการ

-

p

-

-

-

p

-

-

-

-

-

-

13. นางศิริรุ่ง สุขศรี

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

14.นายวีรวัฒน์ เกียรติพงษ์ ถาวร

-

-

-

-

-

-

-

p

15.นายวลัญช์ นรเศรษฐ์ ภกั ดิ์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

p

-

16.นายปรัธนา ลีลพนัง

-

-

p

p

-

-

-

p

-

p

-

-

17.นายอุทยั เพ็ญรัตน์

p

p

-

-

-

p

-

-

-

p

p

-

18. นายเดชพร ด่านพิทกั ษ์ กลุ

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

19. นายประจักษ์ มโนจันทร์ เพ็ญ

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

20. นายเรื องศักดิ์ ชินะโรจน์

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

21. นายวีรชัย พัชโรภาสวงศ์

-

-

-

-

-

-

p

-

-

-

-

-

22. นายเกรี ยงศักดิ์ วาณิชย์นที

-

-

-

-

-

p

-

-

-

p

-

p

23. นางบุษยา สถิรพิพฒ ั น์กลุ

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

24. นางใจพร ศรี สกุล

-

-

p

-

-

-

-

-

-

-

-

-

25. นายวีรยุทธ พานิชกุล

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

 = ประธานกรรมการ, p = กรรมการ

หน้ า 2 / 2


ชื่อ - สกุล นางสาวกานติมา เลอเลิศยุตธิ รรม

นายชวิน ชัยวัชราภรณ์

อายุ 46

44

ตาแหน่ ง - หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล

เลขานุการบริ ษัท

สัดส่ วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครั วระหว่ าง กรรมการและผู้บริ หาร

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผ่ านหลักสูตรอบรมของสมาคม ส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ปริ ญญาโท Psychology Counseling Services Rider University รัฐนิวเจอร์ ซ,ี สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท กฎหมาย

ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 3 มกราคม 2556

-

- หลักสูตร Role of the

ประวัติการทาผิด ทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประสบการณ์ ทางานในระยะ 5 ปี 2559 - ปั จจุบนั 2558 - ปั จจุบนั 2556 - 2558

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านทรัพยากรบุคคล รองประธานเจ้ าหน้ าทีสายปฏิบตั กิ าร

2554 - 2556

ประธานเจ้ าหน้ าที่สายทรัพยากรบุคคล

บมจ. อินทัช โฮลดิ ้งส์ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ บมจ. แม็คกรุ๊ป บมจ. พรูเด็นเชียล ประกันชีวติ (ประเทศไทย)

2550 - 2554

ผู้อานวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

บจ. ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)

2556 - ปั จจุบนั

-ไม่มี-

เลขานุการบริ ษัท

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย,

Compensation Committee (RCC)

2553 - 2556

ผู้อานวยการสานักกฎหมาย

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

สหรัฐอเมริ กา

- หลักสูตร Director Certification

2546 - 2553

Associate

บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลีย่ ม

2542 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการอาวุโส ส่วนงานตรวจสอบภายใน

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

2558 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์และ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

-ไม่มี-

(DCP 192/2557) - หลักสูตร Role of Chairman (RCP) - หลักสูตรการต่อต้ านการทุจริ ต สาหรับผู้บริ หาร (ACEP 10/2557) - หลักสูตรผู้ปฏิบตั งิ านเลขานุการ บริ ษัท (FPCS 29/2557) - หลักสูตรเลขานุการบริ ษัท รุ่น 51/2556 นางสุวมิ ล กุลาเลิศ

56

หัวหน้ าคณะผู้บริ หารงานตรวจสอบภายใน

0.0001

ไม่มี

ปริ ญญาโท MBA Track Management Information

ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 มกราคม 2542

System, Oklahoma City University,

- หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 136/2553

Oklahoma City University, สหรัฐอเมริ กา คุณวุฒิทาง

Certified Public Accountant ปี 2528

วิชาชีพ

นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร ได้ รับการแต่งตังเมื ้ ่อวันที่ 1 เมษายน 2556

41

ผู้ช่วยกรรมการผู้อานวยการส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ และกากับดูแลการปฏิบตั งิ าน

0.00025

ไม่มี

Certified Internal Auditor ปี 2543 Certificate in Risk Management Assurance ปี 2556 ปริ ญญาโท Technology Management,

-

Washington State University,

กากับดูแลการปฏิบตั งิ าน

สหรัฐอเมริ กา ปริ ญญาโท การเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

* สัดส่วนการถือหุ้น รวมการถือหุ้นของคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะ

หน้ า 3 / 3

2556 - 2558

ผู้อานวยการสานักนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2554 - 2556

รักษาการผู้อานวยการสานักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ

2551 - 2554

ผู้จดั การฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

รายละเอียดเกี่ยวกับรายการประเมินราคาทรัพย์ สิน ไม่มี

เอกสารแนบ 4

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 | หน้ า 1

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 | หน้ า 2

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 | หน้ า 3

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 | หน้ า 4

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 | หน้ า 5

2559


แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี

เอกสารแนบ 3 | หน้ า 6

2559


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.