Advanc ar2006 th

Page 1

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ข้อมูลสำคัญทางการเงิน

0


หน่วย : ล้านบาท

รายได้รวม 96,437.49

2547 2548

92,516.65

2549

91,428.16

140,000

130,000

120,000

110,000

100,000

90,000

80,000

70,000

60,000

50,000

40,000

30,000

20,000

กำไรสุทธิ 21,166.29

2547

0

18,725.19

2548

16,256.02

2549

40,000

35,000

30,000

25,000

20,000

15,000

10,000

ปี

สินทรัพย์รวม 130,207.84

2547

127,959.50

2548

134,300.77

2549

160,000

150,000

140,000

130,000

120,000

110,000

ปี 100,000

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

10,000

ปี


สารจากประธานกรรมการ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

0

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ตลอดปี 2549 ทีผ่ า่ นมาได้เกิดเหตุการณ์สำคัญๆ ในประเทศไทย ที่มีผลต่อแทบทุกอุตสาหกรรม เช่น ปัญหาราคาน้ำมันแพง ความ ไม่แน่นอนทางการเมือง อัตราดอกเบี้ยพุ่งสูงขึ้น ซึ่งส่งผลต่อความ เชื่อมั่นในการบริโภค ทำให้ธุรกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต้องมีการปรับตัวกันอย่างรวดเร็วในเชิงการแข่งขันทางการตลาดก็ทวี ความเข้มข้นยิ่งขึ้น โดยบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) สามารถรักษาความเป็นผู้นำตลาดและเป็นที่ไว้วางใจของ ผู้ใช้บริการทั้งในด้านคุณภาพเครือข่ายและบริการ ทำให้มีจำนวน ผู้ใช้บริการตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้น 3.1 ล้าน เลขหมาย จากจำนวนเพิ่มขึ้นทั้งสิ้นของตลาด 9.8 ล้านเลขหมาย โดย ณ สิ้นปี 2549 มีผู้ใช้บริการรวมทั้งสิ้น 19.5 ล้านเลขหมาย แบ่งเป็นบริการแบบชำระค่าบริการหลังการใช้ (เอไอเอส จีเอสเอ็ม และจีเอสเอ็ม 1800) 2.2 ล้านเลขหมาย และบริการแบบชำระ ค่าบริการล่วงหน้า (เอไอเอส วัน-ทู-คอล! และเอไอเอส สวัสดี) 17.3 ล้านเลขหมาย ทำให้ในปี 2549 บริ ษั ท ฯ สามารถทำรายได้ ร วม 91,428 ล้านบาท และมีผลกำไรสุทธิจำนวน 16,256 ล้านบาท โดยเป็น รายได้จากบริการเสริมร้อยละ 16.5 เพิ่มขึ้นจากในปีที่แล้วคิดเป็น ร้อยละ 12.8 ของรายได้จากการให้บริการ ทัง้ นีจ้ ากผลการดำเนินงาน ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ทำให้บริษัทฯ ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสาร Forbes ให้เป็นบริษทั ทีม่ มี ลู ค่าตามราคาตลาดหลักทรัพย์ลำดับที่ 1338 ของโลก ประจำปี 2549 ซึ่งเป็นบริษัทสื่อสารโทรคมนาคมของไทย รายเดียวที่ติดอันดับ 1 ใน 2000 บริษัทระดับโลก (Forbes Global 2000) ในครั้งนี้ ในปี 2549 บริษทั ฯ ได้จดั สรรงบประมาณลงทุนในการพัฒนา

ด้านเครือข่ายอีกกว่า 33,000 ล้านบาท เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการ รองรับการใช้งานที่เพิ่มสูงขึ้น และได้ขยายการประกอบกิจการด้าน โทรคมนาคมเพิม่ เติม โดยบริษทั เอไอเอส อินเตอร์เนชัน่ แนล เน็ทเวิรค์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ได้รบั ใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กทช. ให้ประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone Service / International Telephone Gateway) ซึ่งใช้งบลงทุน ในขั้นต้นเป็นจำนวน 300 ล้านบาท เพื่อเป็นทางเลือกที่เพิ่มขึ้น ให้กับผู้ใช้บริการในการใช้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และเป็น ช่องทางในการสร้างรายได้เพิ่มเติมให้แก่บริษัทฯ

สรรค์สร้างบริการที่มีคุณภาพเพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของทุกคน

บริษทั ฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะดำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพ โดยตัง้ มัน่ อยู่ในหลักธรรมาภิบาล มีจริยธรรม คุณธรรม ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับและหน้าทีท่ ตี่ อ้ งปฏิบตั ิ และดำรงตนเป็นบริษทั ทีเ่ ป็นแบบอย่าง ที่ดีของสังคม หรือ Good Corporate Citizen ด้วยความมุ่งหมาย ที่ต้องการเจริญเติบโตแบบมีรากฐานและมั่นคงในทุกด้าน ดังนั้น บริษัทฯ จึงมุ่งมั่นดำเนินการในทุกส่วนงานอยู่บนพื้นฐานของคุณภาพ และเป็นสิ่งที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดยคุณภาพนั้นจะต้อง เป็นรูปธรรมที่ผู้ใช้บริการสามารถจับต้องได้ คือ Network Quality และ Service Quality ทีม่ พี นื้ ฐานความต้องการของลูกค้าเป็นศูนย์กลาง บริษัทฯ จึงมุ่งมั่นสร้างสรรค์ คิดค้น และพัฒนาบริการใหม่ๆ บนระบบเครือข่ายที่มีคุณภาพ สามารถเติมเต็มทุกความต้องการของ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารได้ อ ยู่ เ สมอ เพื่ อ เป็ น ทางเลื อ กที่ ห ลากหลายในการใช้


ทิศทางของธุรกิจสื่อสารไร้สาย

ในปี 2549 อุ ต สาหกรรมโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ โ ดยภาพรวม มีจำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของทั้งอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ประมาณ 9.8 ล้ า นคนจากปี 2548 คิ ด เป็ น จำนวนผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ตอ่ จำนวนประชากรอยูท่ รี่ อ้ ยละ 62 หรือประมาณ

40 ล้านคน เนือ่ งจากมีการแข่งขันสูง โดยนอกจากการแข่งขันพัฒนา คุณภาพเครือข่ายและบริการแล้ว ผูใ้ ห้บริการรายเล็กยังให้ความสำคัญ ในการแข่งขันด้านราคาเป็นหลัก และเมือ่ ผูใ้ ห้บริการทุกรายมีแนวทาง การตอบโต้และการแข่งขันด้านราคา ก็เป็นเหตุให้เกิดปัญหาการ ใช้งานด้านเครือข่ายตามมา โดยเฉพาะเมื่อมีการโทรข้ามเครือข่าย ซึ่งหลังจากนั้นผู้ให้บริการต่างได้ร่วมมือกันเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยการ ลงทุนเพิ่มการเชื่อมต่อวงจรระหว่างเครือข่าย เพื่อให้ผู้ใช้บริการ สามารถใช้งานได้สะดวกมากขึ้น และเพื่อพร้อมรองรับการใช้ระบบ การคิดค่าเชื่อมโยงโครงข่าย หรือ Interconnection Charge (IC) ตามแนวทางของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ซึง่ คาดว่าจะมีการเริม่ ใช้ได้จริงในปี 2550 รวมถึงการพิจารณาหลักเกณฑ์ การให้ใบอนุญาตธุรกิจ 3G ซึง่ มีแนวโน้มที่ กทช. จะรอให้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ก่อน ซึ่งปัจจุบันกระบวนการคัดเลือกยังล่าช้าอยู่ ถึงแม้ว่า

ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีต่ า่ งมีความพร้อมแล้วก็ตาม อย่างไรก็ตาม ในปี 2549 ซึ่งเป็นปีที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง จึงอาจทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสื่อสาร โทรคมนาคมด้วย เช่น การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม แนวคิดการปรับส่วนแบ่งรายได้และอายุสัมปทาน การจัดสรรคลื่น ความถี่ที่เป็นธรรม ซึ่งประเด็นต่างๆ เหล่านี้น่าจะมีความชัดเจนมาก ขึ้นในปี 2550 และจะเป็นสิ่งผลักดันที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในการแข่งขันของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อไป ในโอกาสนี้ บริษัทฯ ขอขอบพระคุณท่านผู้ถือหุ้น ผู้ใช้บริการ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ มี ส่ ว นสนั บ สนุ น ให้ บ ริ ษั ท ฯ เติ บ โตขึ้ น อย่ า ง ต่อเนื่อง บริษัทฯ มั่นใจว่าการดำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพโดยตั้งมั่น

อยู่ในหลักธรรมาภิบาลและการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร อย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการดำเนินนโยบายความรับผิดชอบต่อ สังคม จะทำให้คนในสังคมมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และบริษทั ฯ ตลอดจน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ ประสบความ สำเร็จในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ สั ง คมที่ มี คุ ณ ภาพได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ตลอดไป

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ

สมประสงค์ บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริการและสอดคล้องกับการดำเนินชีวิตประจำวัน ช่วยให้ลูกค้ามี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจของ กลุม่ ลูกค้าองค์กรให้สงู ขึน้ ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ต้องการให้บริการ ทีด่ แี ก่ลกู ค้า เข้าใจและตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทนั ท่วงที ในเวลาทีเ่ หมาะสม สามารถให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่ลกู ค้า ได้อย่างรวดเร็วและตรงใจ เป็นสิ่งที่ลูกค้าพึงพอใจ พร้อมๆกับการ สร้างสัมพันธภาพทีด่ กี บั ผูใ้ ช้บริการด้วยการให้บริการทีพ่ เิ ศษ นำเสนอ กิจกรรมหรือสิทธิพเิ ศษต่างๆ สร้างการยอมรับและเป็นทีร่ จู้ กั ให้ลกู ค้า สร้างประสบการณ์ทางบวกให้แก่ลูกค้าในการรับบริการจากทุกจุดให้ บริการของบริษทั ฯ โดยทุกส่วนงานของบริษทั ฯ ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ และนำความต้องการของลูกค้ามาคิดวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาบริการ ออกมาตอบสนองความต้องการได้อย่างตรงใจ และติดตามความต้องการ ของลูกค้าอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาบริการให้ลูกค้าได้มีทางเลือกที่ หลากหลาย เมื่อลูกค้าได้รับประโยชน์จากการใช้บริการ ได้รับความ คุม้ ค่า เกิดความผูกพัน เชือ่ ถือไว้วางใจในบริการ ลูกค้าก็จะใช้บริการ ของบริษัทฯ ตลอดไป บริษัทฯ ก็จะมีความเจริญก้าวหน้าและเติบโต อย่างมีเสถียรภาพ ซึง่ พนักงานในองค์กร คูค่ า้ หรือผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย จากกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ (Stakeholders) กลุ่มต่างๆ ก็มี ความเจริญเติบโตอย่างเข้มแข็งไปพร้อมๆ กัน นอกจากความตัง้ ใจดำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพด้วยการยึดมัน่ ในธรรมาภิบาล ซึ่งถือเป็นหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติของการเป็น Good Corporate Citizen แล้ว บริษทั ฯ ยังมีความตัง้ ใจทีจ่ ะดำเนินนโยบาย การสร้างสังคมไทยเพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน เนือ่ งมาจากความสำนึก ที่มีต่อความรับผิดชอบของสังคม จึงได้วางแนวคิดเรื่องการช่วยเหลือ สังคม เป็นนโยบายหลักด้าน Corporate Social Responsibility (CSR) ของบริษทั ฯ อีกด้านหนึง่ และนำมาเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการภายใต้กจิ กรรมต่างๆ ทัง้ ทีอ่ าศัยปัจจัยหลักของการดำเนินธุรกิจ เช่น เครือข่ายและบริการทางธุรกิจของบริษทั ฯ และกิจกรรมทางสังคม ทีม่ ไิ ด้เกีย่ วข้องกับกิจกรรมทางธุรกิจของบริษทั ฯ โดยมีโครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัว การสนับสนุนคนดีให้เป็นแบบอย่างทีด่ ขี อง เยาวชน โครงการเพือ่ ส่วนรวม กิจกรรมสาธารณกุศล สาธารณประโยชน์ กิจกรรมบรรเทาสาธารณภัย การดำเนินโครงการทีช่ ว่ ยให้เกิดกิจกรรม ในชุมชนเพื่อเกิดการยกระดับในชุมชน เป็นต้น บริษัทฯ มีความมุ่งหวังว่า นโยบายการรับผิดชอบต่อสังคม และกิจกรรมที่บริษัทฯ ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบแทน สั ง คม จะสนั บ สนุ น ให้ ค นในสั ง คมมี ค วามสุ ข มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ด ี

มีความเข้มแข็ง และก่อให้เกิดสังคมไทยที่มีคุณภาพที่ดีอย่างยั่งยืน

0


โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ลำดับที่ รายชื่อผู้ถือหุ้น 1 บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 1/ 2 SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD AND SINGTEL INVESTED BY THAI TRUST FUND 2/ 3 LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED 4 THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED 5 HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 6 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 7 HSBC BANK PLC-CLIENTS GENERAL A/C 8 CHASE NOMINEES LIMITED 1 9 MELLON BANK, N.A. 10 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด รวม 010

จำนวนหุ้น % ถือหุ้น 1,263,712,000 42.79 632,039,000 120,033,523 90,678,344 58,709,214 51,418,662 47,077,070 46,623,600 44,319,312 44,158,771 2,398,769,496

21.40 4.06 3.07 1.99 1.74 1.59 1.58 1.50 1.50 81.22

หมายเหตุ : ข้อมูลจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2549

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

1/

กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายการจัดการหรือการดำเนินงานของบริษัท

คือ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น โดยผู้ถือหุ้นใหญ่ ของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ได้แก่ ลำดับที่

รายชื่อผู้ถือหุ้น

1 บริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด* 2 บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำกัด* 3/ รวม 3/

จำนวนหุ้น

% ถือหุ้น

1,742,407,239 1,334,354,825 3,076,762,064

54.53 41.76 96.29

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำกัด ถือหุ้นจำนวน 9,096 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท

หมายเหตุ : ข้อมูลจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2549 2/

ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SingTel Strategic Invesments Pte Ltd คือ

ลำดับที่ 1

รายชื่อผู้ถือหุ้น SingTel Telecommunications Limited*

ที่มา : SingTel Annual Report 2005/2006 as of 31 May 2006

% ถือหุ้น 100.00


*

Aspen เป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทยและเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (Temasek)

Cedar เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งถือหุ้นโดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ร้อยละ 5.78 บริษัท

กุหลาบแก้ว จำกัด (กุหลาบแก้ว) ร้อยละ 45.22 และบริษัท ไซเพรส โฮลดิ้ง จำกัด (ไซเพรส) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยโดย

ทางอ้อมของ Temasek ร้อยละ 48.99 โดยรายละเอียดโครงสร้างผู้ถือหุ้นมีดังนี้ K.Surin 68.00% Cypress 29.90% K.Pong 1.27% K.Suphadej 0.82% Siam Commercial Bank

Cypress 48.99%

5.78%

KularbKaew 45.22%

Cedar 54.53%

Aspen

41.76%

Shin Corp

As of Dec 29, 2006

011

* ผู้ถือหุ้นของ SingTel Telecommunications Limited คือ ลำดับที่ รายชื่อผู้ถือหุ้น 1 Temasek Holdings (Private) Limited 2 DBS Nominees Pte Ltd

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

จำนวนหุ้น 9,066,895,692 1,983,834,598

% ถือหุ้น 54.27 11.87

ที่มา : SingTel Annual Report 2005/2006 as of 31 May 2006

ทั้งนี้ ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลผู้ถือหุ้นที่เป็นปัจจุบันได้จากเว็บไซต์ของบริษัทก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

เนื่องจากบริษัทมีหุ้นกู้ที่ยังไม่ครบกําหนดไถ่ถอน ที่ประชุมผู้ถือหุ้นกู้ของบริษัทเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2548 และ

วันที่ 22 กันยายน 2548 มีมติอนุมัติให้บริษัทแก้ไขข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้ได้ โดยระบุว่า บริษัท จะสามารถจ่ายเงินปันผลในแต่ละปีให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั เป็นจํานวนเกินกว่าร้อยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปีนนั้ ๆ ได้ ภายใต้ เงื่อนไขคือ บริษัทจะต้องมีอันดับความน่าเชื่อถือ (credit rating) ซึ่งได้รับจากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่สํานักงาน กลต. ให้ความเห็นชอบในอันดับไม่ตำ่ กว่า AA และได้รบั ภายในระยะเวลาไม่เกินกว่า 45 วันก่อนหน้าวันทีค่ ณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลดังกล่าว ทั้งนี้ ในกรณีที่บริษัทผิดนัดชําระหนี้เงินต้น หรือดอกเบี้ยหุ้นกู้ไม่ว่างวดใดๆ บริษัท

จะไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั และบริษทั ย่อย มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี หากไม่มีเหตุจําเป็นอื่นใดและการจ่ายเงินปันผลนั้นไม่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานปกติของบริษัทและบริษัทย่อยอย่าง มีนัยสําคัญ โดยบริษัทคํานึงถึงอัตราการจ่ายเงินปันผลต่อหุ้นและอัตราการเจริญเติบโตของการจ่ายเงินปันผลให้ใกล้เคียง กับบริษัทอื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันในภูมิภาคนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท

012

1 2 3 4 5


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

6

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

7

8

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ นางทัศนีย์ มโนรถ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นายวาสุกรี กล้าไพรี นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ นายบุญคลี ปลั่งศิริ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นายฮุย เว็ง ชีออง นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายสมประสงค์ บุญยะชัย

9

10

11

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

013


รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2549

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม อายุ 65 ปี

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ อายุ 58 ปี

กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟ้า Iowa State University, U.S.A. ประกาศนียบัตร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 3 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2542 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2543 - 2548 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย 2542 - 2545 รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2536 - 2541 กรรมการและกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น 2535 - 2536 ที่ปรึกษา องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2531 - 2535 ผู้อำนวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

014

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 8/2544 ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ กรรมการ บจ. ทุนลดาวัลย์ กรรมการ บจ. วังสินทรัพย์ 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ไอทีวัน 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เทเวศประกันภัย 2546 - 2548 ผู้จัดการใหญ่ บมจ. ซิเมนต์ไทยพร็อพเพอร์ตี้ (2001) 2538 - 2546 ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ & Chief of Financial Officer บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย 2533 - 2538 President บริษัท ไทส์เซอรา อิงค์ (อเมริกา) 2523 - 2533 กรรมการผู้จัดการ บจ. เซรามิคอุตสาหกรรมไทย 2520 - 2523 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บจ. สยามคราฟท์อุตสาหกรรม 2512 - 2520 เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี * นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ อายุ 53 ปี

กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 32/2546 ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2545 - 2548 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านบริหารการเงินและบัญชี บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั่น 2544 - 2548 กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2543 - 2545 รองผู้อำนวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2542 - 2543 ผู้ช่วยผู้อำนวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2539 - 2542 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการเงินและงบประมาณ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี ไม่มี เนติบัณฑิต

สำนักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

หลักสูตร DAP 2549 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2540 - ปัจจุบัน 2547 - 2549 2547 - 2548 2524 - 2531

Directors Accreditation Program รุ่น 29/2547 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผู้บริหาร บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยมส์ (ไทยแลนด์) กรรมการ บริษัท ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์ จำกัด กรรมการและกรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บริษัท คูแดร์ บราเธอร์ส จำกัด ผู้พิพากษาศาล จังหวัดบุรีรัมย์ เพชรบูรณ์ และกรุงเทพมหานคร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

นางทัศนีย์ มโนรถ อายุ 61 ปี

015

ไม่ม ี

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

016

นายวาสุกรี กล้าไพรี อายุ 58 ปี

กรรมการ

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ อายุ 56 ปี

กรรมการ

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เอ ซี ที โมบาย กรรมการ บจก. ไทย-อะมาดิอุส เซาท์อีสต์เอเชีย รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานขายและบริการลูกค้าภูมภิ าค บมจ. ทีโอที กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2547 - 2548 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านสื่อสารไร้สาย บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั่น 2546 - 2547 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ด้านปฏิบตั กิ ารภาคกลาง บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชัน่ 2542 - 2546 ผู้อำนวยการฝ่ายโทรศัพท์ภาคกลาง องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2540 - 2541 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการฝ่ายโทรศัพท์นครหลวง องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2536 - 2538 หัวหน้าส่วนอำนวยการวิสาหกิจ สำนักกิจกรรมวิสาหกิจ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2533 - 2535 รักษาการหัวหน้าศูนย์พาณิชย์ ฝ่ายบริหารผู้ใช้โทรศัพท์ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Master of Science, University of Wisconsin, U.S.A. การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 8/2547 ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ทุนธนชาต กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค รีสอร์ท กรรมการ บจก. ธนชาตประกันภัย ประธานกรรมการบริหาร ธนาคาร ธนชาต จำกัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. สยามพิวรรธน์ กรรมการ บจก. ธนชาตประกันชีวิต กรรมการ บจก. แปลน เอสเตท 2532 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค 2541 - 2549 ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2533 - 2549 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บง. ธนชาติ จำกัด (มหาชน) 2535 - 2541 กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี * นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


นางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค 1) อายุ 36 ปี

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี ไม่มี ปริญญาตรี

Bachelor of Commerce, The University of Melbourne

ไม่มี 2550 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2542 - 2548 2542 - 2542 2537 - 2542

กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส Group Financial Controller, Singapore Telecommunications Ltd. Vice President (Finance), Far East Organisation-Yeo Hiap Seng Ltd. Analyst, Goldman Sachs Assistant Audit Manager, PricewaterhouseCoopers

ไม่ม ี

กรรมการ และกรรมการบริหาร

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 1) ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนายฮุย เว็ง ชีออง ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2550

2 5 4 9

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Science (Management) Massachusetts Institute of Technology, U.S.A. การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน Chief Executive Officer, Singapore Director, Advanced Info Service Plc. 2548 - 2549 Managing Director-Consumer (Optus) 2544 - 2548 Managing Director-Mobile (Optus) 2542 - 2544 Chief Operating Officer, Advanced Info Service Plc. 2538 - 2542 Chief Operating Officer, Singapore Telecom International ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

นายแอเลน ลิว ยง เคียง อายุ 51 ปี

กรรมการ

017


นายบุญคลี ปลั่งศิริ อายุ 55 ปี

กรรมการ และกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม

นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ อายุ 58 ปี

กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Computer Engineering, University of Illinois (Urbana Champaign), U.S.A. การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 40/2548 ประสบการณ์ทำงาน 2547 - 2550 ประธานกรรมการ บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 2544 - 2550 ประธานกรรมการ บมจ. ไอทีวี 2542 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2540 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ 2544 - 2545 ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2540 - 2543 กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ 2538 - 2539 รองประธานกรรมการบริหารด้านปฏิบัติการ กลุ่มชินวัตร 2536 - 2537 กรรมการผู้อำนวยการกลุ่มชินวัตร ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

018

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Wichita State University, Wichita, Kansas, U.S.A. การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Directors Certification Program รุ่น 33/2546 ประสบการณ์ทำงาน 2547 - 2550 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 2544 - 2550 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2543 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทุนธนชาต กรรมการผู้อำนวยการและหัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการเงิน กลุ่ม บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2541 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ 2541 - 2543 รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโสด้านการเงิน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2537 - 2541 กรรมการผู้อำนวยการสายงานบริหารและการเงิน กลุ่มชินวัตร 2534 - 2536 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการด้านการเงิน กลุ่มชินวัตร ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


นายสมประสงค์ บุญยะชัย อายุ 51 ปี

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

2 5 4 9

กรรมการบริหาร สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟ้า Massachusetts Institute of Technology, U.S.A. การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 2/2546 ประสบการณ์ทำงาน 2547 - 2550 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2547 - ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2542 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ 2540 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ 2537 - 2543 กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท์ 2538 - 2540 รองประธานกรรมการบริหารด้านนโยบาย กลุ่มชินวัตร 2536 - 2537 รองกรรมการผู้อำนวยการ IBC Cable TV 2534 - 2535 ผู้จัดการทั่วไป IBC Cable TV ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กลุ่มชินวัตร 2532 - 2534 ผู้อำนวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, U.S.A. 2529 - 2532 ผูจ้ ดั การฝ่ายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษทั Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey U.S.A. ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี ดร.ดำรงค์ เกษมเศรษฐ์ อายุ 52 ปี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * 0.0000 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม หลักสูตร DCP Directors Certification Program รุ่น 65/2548 สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 30/2547 ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระราม 9 2547 - 2550 กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2543 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2542 - ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2540 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง 2540 - 2541 รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย กลุ่มชินวัตร 2538 - 2539 กรรมการผู้อำนวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2537 - 2538 กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2536 - 2537 กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ 2536 - 2536 กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2535 - 2536 รองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานปฏิบัติการที่ 4 กลุ่มชินวัตร ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่ม ี

019


นายวิกรม ศรีประทักษ์ อายุ 54 ปี

หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านเทคโนโลยี

นางสุวิมล แก้วคูณ 2) อายุ 51 ปี

หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการบริการลูกค้าและธุรกิจเครื่องลูกข่าย

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * 0.0139 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2545 - ปัจจุบัน หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2543 - ปัจจุบัน กรรมการผู้อำนวยการ บจ. ดิจิตอล โฟน 2541 - 2543 รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2538 - 2541 รองกรรมการผู้อำนวยการ บจ. ชินวัตรอินเตอร์เนชั่นแนล ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

020

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * 0.0134 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน 2545 - 2550 2538 - 2545 2525 - 2537 2523 - 2524 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

บริหารธุรกิจ เอเซียนอินสติติวท์ออฟแมเนจเม้นท์ ประเทศฟิลิปปินส์ กรรมการ บจ. แคปปิตอล โอเค หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้าและธุรกิจเครื่องลูกข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้จัดการ บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติ้ง กรรมการผู้จัดการ บมจ. โรบินสันดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ ทีป่ รึกษาอาวุโสด้านธุรกิจ บจ. อัลลายด์แมเนจเม้นท์คอนซัลแตนท์ออฟเอเชีย

นายสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล อายุ 54 ปี หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการตลาด สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ปริญญาโท การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน 2547 - 2549 2547 - 2547 2545 - 2547 2544 - 2545 2540 - 2544 2539 - 2540 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย Director Accreditation Program รุ่น 35/2548 หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. สามารถ ไอ-โมบาย กรรมการผู้จัดการ บจ. แคปปิตอล โอเค กรรมการและรองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการผู้จัดการ บมจ. ไอทีวี รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส สายงานการตลาดและการขาย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้จัดการ บจ. ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส์

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2) ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้าและธุรกิจเครื่องลูกข่าย โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550


นายวิเชียร เมฆตระการ อายุ 52 ปี

กรรมการผู้อำนวยการ

นายฮุย เว็ง ชีออง 3) อายุ 51 ปี

กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองกรรมการผูอ้ ำนวยการ สายงานปฏิบตั กิ าร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการ ส่วนงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการ ส่วนงานด้านเทคนิค บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานปฏิบัติการและบำรุงรักษาเครือข่าย เขตนครหลวง บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการ ส่วนงานปฏิบตั กิ ารและบำรุงรักษาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผู้จัดการสำนักพัฒนาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส บริหารธุรกิจ University of Southern California รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส CEO SingNet, SingNet Pte Ltd. กรรมการ PT Bukaka SingTel International กรรมการ PT Telekomunikasi Selular กรรมการ Digital Newrork Access Communications Pte. Ltd. Vice President (Consumer Products), Singapore Telecommunications Ltd. CEO (SingTel Paging), Singapore Telecom Paging Pte Ltd. Managing Director, Shinawatra Paging Thailand Deputy Managing Director, Singapore Telecom Paging Pte Ltd.

หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * 0.0000 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2544 - ปัจจุบัน 2541 - 2544 2537 - 2541 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการ ส่วนงานการเงินและบัญชี บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Co., Ltd. Financial Director, Shinawatra Paging Co., Ltd. Financial Director, Pager Sales Co., Ltd.

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3) ดำรงตำแหน่งเป็นรองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส มีผลตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 และลาออกจากตำแหน่งกรรมการ มีผลตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2550

2 5 4 9

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจุบัน 2548 - 2550 2547 - 2549 2546 - 2549 2543 - 2549 2542 - 2549 2539 - 2542 2537 - 2538 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์ อายุ 44 ปี

วิศวกรรมไฟฟ้า (เกียรตินิยม) California Polytechnic State University

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

สัดส่วนการถือหุ้น (%) * 0.0002 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน 2549 - ปัจจุบัน 2546 - 2549 2543 - 2546 2542 - 2543 2540 - 2542 2539 - 2540 2538 - 2539 ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

021


รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการ ประจำปี 2549

ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 1) หมายเหตุ จำนวนหน่วย * หุ้นกู้ครบกำหนดไถ่ถอนเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2549

ชื่อย่อ ADVANC MFA ADC DNS DPC ACC DLT AMP AMC AWCN AWN AIN

31/12/2549

31/12/2548

31/12/2548

ADC หุ้นสามัญ

31/12/2548

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

022

ประธานกรรมการ - - ประธานกรรมการตรวจสอบ - - กรรมการตรวจสอบ - - กรรมการตรวจสอบ - - กรรมการ - - กรรมการ - - กรรมการ - - กรรมการ 79 29 กรรมการ - - กรรมการ - - กรรมการ - -

MFA หุ้นสามัญ 31/12/2549

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ นางทัศนีย์ มโนรถ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นายวาสุกรี กล้าไพรี นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นายฮุย เว็ง ชีออง นายแอเลน ลิว ยง เคียง

31/12/2549

ADVANC ตำแหน่ง หุ้นสามัญ หุ้นกู้ 1) 31/12/2548

รายชื่อ

31/12/2549

- * 5,000 - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1 - - - - * 5,000 1 - - - - - -

- - - - - - 1 - 1 - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

บริษัท บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท ดาต้า ลายไทย จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด บริษัท เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค จำกัด


31/12/2548

31/12/2549

31/12/2548

31/12/2549

31/12/2548

31/12/2549

31/12/2548

31/12/2549

31/12/2548

- - - - - - 1 1 1 - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - 1 - 1 - -

- - - - - - 1 - 1 - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

- - - - - - - - - - -

2 5 4 9

- - - - - - 1 1 1 - -

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

31/12/2549

AIN หุ้นสามัญ

31/12/2548

AWN หุ้นสามัญ

31/12/2549

AWCN หุ้นสามัญ

31/12/2548

AMC หุ้นสามัญ

31/12/2549

AMP หุ้นสามัญ

31/12/2548

DLT หุ้นสามัญ

31/12/2549

ACC หุ้นสามัญ

31/12/2548

DPC หุ้นสามัญ

31/12/2549

DNS หุ้นสามัญ

023


ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทในเครือ ข้อมูล ณ 2 มีนาคม 2550

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนชำระแล้ว สัดส่วน (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) การถือหุน้ (%)

บริษทั บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ สำนักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน ระบบ Digital GSM แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ทีย่ า่ นความถี่ 900 MHz โทรศัพท์ : (66) 2299-5000 โทรสาร : (66) 2615-3330

4,997.46

1

2,954.59

-

24

10

240

99.99

บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ ผู้ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่าน จำกัด สายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต สำนักงานเลขที่ 500 ชั้น 17 ความเร็วสูง อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2256-9461-80 โทรสาร : (66) 2256-9922 Home Page : www.adc.co.th

95.75

10

957.52

51.00

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด สำนักงานเลขที่ 500 ชั้น 9 อาคารอัมรินทร์พลาซ่า ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2256-9461-80 โทรสาร : (66) 2256-9922

0.10

10

1

49.00

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

024

สำนักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-6000 โทรสาร : (66) 2299-6005 Home Page : www.ais.co.th

บริษทั ในเครือ บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด ปัจจุบันหยุดดำเนินงาน สำนักงานเลขที่ 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2502-5899 โทรสาร : (66) 2502-5800

ผู้ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์


ปัจจัยความเสี่ยง

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2502-5100 โทรสาร : (66) 2299-5455

ประเภทธุ รกิจ

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนชำระแล้ว สัดส่วน (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) การถือหุน้ (%)

ผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์ 1,462.19 เคลื่อนที่ อุปกรณ์โทรคมนาคม ให้บริการเช่าโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800 MHZ

10

14,621.86

98.55

27.2

10

272

99.99

บริษัท ดาต้า ลายไทย จำกัด ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-5000 โทรสาร : (66) 2615-3330

1.5

10

15

65.00

บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด ผู้ให้บริการชำระค่าสินค้าหรือ สำนักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส บริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2687-4808 โทรสาร : (66) 2687-4788

30

10

300

69.99

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด ผู้จัดจำหน่ายบัตรเงินสด สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-5000 โทรสาร : (66) 2615-3330

25

10

250

99.99

บริษทั เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ เน็ทเวอร์ค ปัจจุบันยังไม่ดำเนินการ จำกัด สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-5000 โทรสาร : (66) 2615-3330

0.01

100

1

99.93

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด ผู้ให้บริการศูนย์ให้ข่าวสาร สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน ทางโทรศัพท์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-6000 โทรสาร : (66) 2299-5959

025


ข้อมูล ณ 2 มีนาคม 2550

ประเภทธุ รกิจ

บริษัท เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด ปัจจุบันยังไม่ดำเนินการ สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-5000 โทรสาร : (66) 2615-3330

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

026

บริษทั เอไอเอส อินเตอร์เนชัน่ แนล เน็ทเวอร์ค จำกัด ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550) สำนักงานเลขที่ 408/127 ชั้น 29 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299-5000 โทรสาร : (66) 2278-7030

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนชำระแล้ว สัดส่วน (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) การถือหุน้ (%) 0.01

100

1

99.93

2

100

100

99.99


ข้อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2/7 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต กม.27 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : (66) 2596-9000 โทรสาร : (66) 2832-4994 - 6 บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (66) 2229-2800 โทรสาร : (66) 2359-1259 นายสุชาติ เหลืองสุรสวัสดิ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2807 บริษัท ไพร้ซวอร์เตอร์เฮ้าส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด เลขที่ 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี้ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (66) 2286-9999, (66) 2344-1000 โทรสาร : (66) 2286-5050 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : (66) 2256-2326 ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) เลขที่ 3000 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : (66) 2299-1111, (66) 2617-9111

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

นายทะเบียนหลักทรัพย์หุ้นสามัญ ผู้สอบบัญชี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ / นายทะเบียนหลักทรัพย์หุ้นกู ้ นายทะเบียนหลักทรัพย์หุ้นกู ้

027


โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท

บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 1), 2)

ทุนจดทะเบียน 5,000 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 3,196.31 ล้านบาท บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) 2) ทุนจดทะเบียน 4,997.46 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 2,954.59 ล้านบาท

42.77%

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 240 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 240 ล้านบาท 99.99% บริษทั แอดวานซ์ ดาด้าเน็ทวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 957.52 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 957.52 ล้านบาท 51.00%

ทุนจดทะเบียน 5,660.41 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 5,455.35 ล้านบาท

บริษทั ชิน บรอดแบนด์ อินเตอร์เนต (ประเทศไทย) จำกัด ทุนจดทะเบียน 947.29 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 947.29 ล้านบาท 99.99% บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำกัด (มหาชน) 2) ทุนจดทะเบียน 649.02 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 625 ล้านบาท

40.02%

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด (มหาชน)

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด ทุนจดทะเบียน 14,621.86 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 14,621.86 ล้านบาท

บริษทั ล็อกซเล่ย์ อินฟอร์เมชัน่ เซอร์วสิ จำกัด

98.55%

บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 272 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 272 ล้านบาท 99.99% บริษัท ดาต้า ลายไทย จำกัด ทุนจดทะเบียน 15 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 15 ล้านบาท บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 300 ล้านบาท บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด ทุนจดทะเบียน 250 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 250 ล้านบาท

41.32%

บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้นท์ส พีทีอี จำกัด 1) ทุนจดทะเบียน 15 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ทุนชำระแล้ว 14.66 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ 100% บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จำกัด

ทุนจดทะเบียน 19.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทุนชำระแล้ว 19.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 100%

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 1 ล้านบาท 49.00%

030 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) 2)

ทุนจดทะเบียน 173.534 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 173.534 ล้านบาท 99.99% ทุนจดทะเบียน 260.10 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 260.10 ล้านบาท 96.04%

บริษัท ไอพีสตาร์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทุนชำระแล้ว 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

98.89%

บริษัท ไอพีสตาร์ ออสเตรเลีย พีทีวาย จำกัด

บริษัท เอดี เวนเจอร์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 550 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 550 ล้านบาท

ทุนจดทะเบียน 96.84 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทุนชำระแล้ว 96.84 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 49.00%

99.99%

ทุนจดทะเบียน 0.1 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ทุนชำระแล้ว 0.1 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย 100%

บริษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จำกัด บริษัท ชินนี่ดอทคอม จำกัด

65.00%

ทุนจดทะเบียน 190 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 190 ล้านบาท 70.00%

ทุนจดทะเบียน 2.5 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ ทุนชำระแล้ว 1.88 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ 100%

บริษัท ไอพีสตาร์ ดู บราซิล จำกัด 3)

ทุนจดทะเบียน 0.10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

100%

69.99% บริษัท สตาร์ นิวเคลียส จำกัด ทุนจดทะเบียน 0.05 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทุนชำระแล้ว 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 70.00% 99.99%

บริษทั เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ เน็ทเวอร์ค จำกัด ทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 1 ล้านบาท 99.93% บริษัท เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด ทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 1 ล้านบาท 99.93% บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค จำกัด ทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 100 ล้านบาท 99.99%

สเปซโคด แอล แอล ซี ทุนชำระแล้ว 4.29 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 70.00% บริษัท ไอพีสตาร์ อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด ทุนจดทะเบียน 0.02 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ 100% บริษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์วิส จำกัด ทุนจดทะเบียน 0.02 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 100%


บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) 2)

ทุนจดทะเบียน 7,800 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 6,033.49 ล้านบาท 52.92% บริษัท อาร์ตแวร์ มีเดีย จำกัด ทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 20 ล้านบาท 99.99%

บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จำกัด ทุนจดทะเบียน 410 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 410 ล้านบาท

บริษทั ไอ.ที. แอพพลิเคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์วสิ จำกัด 49.00%

บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด ทุนจดทะเบียน 400 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 400 ล้านบาท 50.00%

ทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท

ทุนชำระแล้ว 10 ล้านบาท

99.99%

บริษทั ชินวัตร อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำกัด ทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 100 ล้านบาท 99.99%

บริษัท มีเดีย คอนเน็คซ์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาท 60.00%

ทุนจดทะเบียน 9 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 9 ล้านบาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษัท เอสซี แมทซ์บอกซ์ จำกัด

บริษัท แคปปิตอล โอเค จำกัด 99.96%

ทุนจดทะเบียน 4,050 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 4,050 ล้านบาท

99.99%

บริษัท เพย์เมนท์ โซลูชั่น จำกัด ทุนจดทะเบียน 550 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 550 ล้านบาท 99.99% บริษัท โปรเฟสชันแนล คอลเลคชั่น จำกัด ทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 10 ล้านบาท 99.99%

031

1) Holding Company 2) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) อยู่ระหว่างการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท

ณ วันที่ 2 มีนาคม 2550


* เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550

โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

032


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษัท

ลักษณะการประกอบกิจการ

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์โทรคมนาคม ให้บริการเช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 MHz บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ ผูใ้ ห้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง จำกัด (เอดีซี) บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด (เอซีซ)ี ผู้ให้บริการศูนย์ให้ข่าวสารทางโทรศัพท์ บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนั่ ส์ จำกัด (ดีเอ็นเอส) ผู้ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด (ดีแอลที) ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี) ผู้ให้บริการชำระค่าสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด (เอเอ็มซี) ผู้จัดจำหน่ายบัตรเงินสด บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ จำกัด (เอไอเอ็น) (เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550) บริษทั เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ เน็ทเวอร์ค ปัจจุบันยังไม่ดำเนินการ จำกัด (เอดับบลิวซีเอ็น) บริษทั เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวเอ็น) ปัจจุบันยังไม่ดำเนินการ บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด (เอ็มเอฟเอ) ปัจจุบันไม่ได้ดำเนินธุรกิจ

สัดส่วนที่ถือ 98.55% 51.00% 99.99% 49.00% 65.00% 69.99% 99.99% 99.99%

99.93% 99.93% 99.99%

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (เอไอเอส) เป็นหนึ่งในกลุ่มของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (SHIN) ภายใต้ธรุ กิจสือ่ สารโทรคมนาคมไร้สาย บริษทั มีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่คอื บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ และ SingTel Strategic Investment PTE Ltd. ในสัดส่วนผู้ถือหุ้น ร้อยละ 43 และ 21 ตามลำดับ โดยสัดส่วนที่เหลือถือโดยบุคคลทั่วไป และ นักลงทุนสถาบัน เอไอเอส มี มูลค่าตามราคาตลาดอยู่ที่ประมาณ 270 พันล้านบาท (7.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งถือเป็นบริษัทจดทะเบียนที่ใหญ่ที่สุดหนึ่งใน ห้าอันดับแรกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) เอไอเอสได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เพื่อประกอบกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นรายแรกของประเทศไทย ปัจจุบันบริษัท เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ที่สุดในประเทศ โดยมีฐานลูกค้ามากกว่า 19 ล้านคน บริษัทได้ขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ผ่านบริษทั ในเครือซึง่ ได้ครอบคลุมการให้บริการสือ่ สารไร้สายอย่างกว้างขวาง ทัง้ นีร้ วมถึงเป็นการจัดจำหน่ายซิมการ์ดและเครือ่ งโทรศัพท์ เคลื่อนที่ บริการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ บริการบรอดแบรนด์ทีวี บริการชำระสินค้าและบริการผ่านมือถือแทนการใช้ เงินสดหรือบัตรเครดิต บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call center) และบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ปัจจุบันเอไอเอสได้ลงทุนกับบริษัทในเครือทั้งหมด 11 บริษัท และมีพนักงานในเครือประมาณ 8,000 คน (รวมพนักงานชั่วคราว) ณ สิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 รายละเอียดของบริษัทในเครือมีดังต่อไปนี้

033


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (เอไอเอส)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

034

เอไอเอสได้เริม่ ต้นประกอบธุรกิจเป็นผูใ้ ห้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ซลลูลาร์ในระบบอนาลอก (Analog) NMT ทีย่ า่ นความถี่ 900 MHz ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2536 ได้เปลี่ยนแปลงไปให้บริการในระบบ GSM ปัจจุบันเอไอเอสให้บริการในระบบ ดิจิตอล (digital) GSM ที่ย่านความถี่ 900 MHz โดยใช้เทคโนโลยี GPRS และ EDGE เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล ให้รวดเร็วขึน้ บริษทั ประกอบธุรกิจโดยการเข้าร่วมทำสัญญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO : Build-Transfer-Operate) กับ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) (ทีโอที) เป็นระยะเวลา 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึง ปี พ.ศ. 2558 ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบบีทโี อ เอไอเอสมีหน้าทีเ่ ป็นผูล้ งทุนในการสร้างเครือข่ายเซลลูลาร์และรับผิดชอบในการหาเงินลงทุน รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทัง้ หมด และโอนกรรมสิทธิใ์ นเครือข่ายให้แก่ผใู้ ห้สญ ั ญา (ทีโอที) โดยบริษทั มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบและหาแหล่ง เงินทุนสำหรับงานวิศวกรเครือข่าย วางแผนงานด้านเครือข่าย จัดหาอุปกรณ์พร้อมทั้งติดตั้ง บำรุงดูแลรักษาเครือข่าย ตลอดจนดำเนิน กิจกรรมทางธุรกิจ การตลาดและการให้บริการ ทัง้ นี้ บริษทั จะต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในรูปแบบของส่วนแบ่งรายได้ทไี่ ด้รบั จากการ ให้บริการให้แก่ ทีโอที โดยรายได้จากการให้บริการแบบชำระค่าบริการหลังการใช้ (Postpaid) บริษัทได้จัดแบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ ทีโอทีและส่งภาษีสรรพสามิต รวมเป็นร้อยละ 30 ของรายได้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ส่วนรายได้จากบริการแบบชำระค่าใช้บริการล่วงหน้า (Prepaid) บริษทั ได้จดั แบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ ทีโอที และส่งภาษีสรรพสามิต รวมเป็นร้อยละ 20 ของรายได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2550 เห็นชอบให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เมี่อวันที่ 28 มกราคม 2546 ที่ กำหนดให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิตและนำค่าภาษีไปหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ที่ต้องนำส่งให้แก่ทีโอที ต่อมาวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 กระทรวงการคลังได้ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 79) โดยให้ลดอัตราการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต สำหรับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่จากเดิมซึ่งจัดเก็บในอัตราร้อยละ 10 ให้เหลือในอัตราร้อยละศูนย์ และให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2550 ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยกเลิกการนำค่าภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามสัญญาสัมปทาน และกระทรวงการคลังได้ลดอัตราการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตให้เหลือในอัตราร้อยละศูนย์ มีผลทำให้ เอไอเอส จึงมีหน้าที่ต้องนำส่ง ส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ทีโอทีเต็มจำนวนตามอัตราร้อยละเดิมที่กำหนดไว้ในสัญญา

บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) ดีพีซี ประกอบธุรกิจให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ภายใต้สัญญาร่วมการงาน แบบบีทีโอ (BTO : Build-Transfer-Operate) กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (กสท.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นระยะเวลา 16 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2556 โดย ดีพีซี ต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนเป็นร้อยละของรายได้จากการให้บริการให้แก่ กสท. ซึ่งปัจจุบัน บริษัทได้จัดแบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ กสท. และส่งภาษีสรรพสามิต รวมร้อยละ 25 ของรายได้ นอกจากนี้ ดีพซี ี มีสญ ั ญาการใช้บริการเครือข่ายร่วม (Network roaming) ระหว่าง เอไอเอส กับ ดีพซี ี ซึง่ จะทำให้ผใู้ ช้โทรศัพท์ เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM 1800 สามารถใช้งานได้ทวั่ ประเทศเหมือนกับผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM advance นอกจากนี ้ ดีพีซี ยังเป็นผู้จัดจำหน่ายซิมการ์ดและเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ สำหรับเอไอเอสด้วย

บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด (เอดีซี) บริษัท เอดีซี ประกอบธุรกิจให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ โดยเป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่าง เอไอเอส และ ทีโอที ใน สัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 51 และ 45.34 ตามลำดับ บริษทั ดำเนินธุรกิจให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ (Online Data Communication) โดยให้บริการหลากหลายในด้านการเชือ่ มข้อมูลระบบ Wide Area Network (WAN) ด้วยเทคโนโลยี Gigabit Ethernet, ATM, Frame Relay และ Legacy Protocols อืน่ ๆ โดยมีพนื้ ทีใ่ ห้บริการและระบบเครือข่าย (Backbone network) ครอบคลุมทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2548 เอดีซี ได้เปิดให้บริการใหม่ ภายใต้ ชื่อ “บัดดี้ บรอดแบรนด์ (Buddy Broadband)” ซึ่งรวมบริการ ด้านบรอดแบนด์ทีวี อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และโทรศัพท์ผ่านทางเทคโนโลยี ADSL

บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด (เอซีซี) เอซีซี ดำเนินธุรกิจให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call center) ทัง้ ในด้านการตอบคำถาม การให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่ลกู ค้า ของ เอไอเอส และ ดีพีซี รวมถึงบริษัทอื่นๆ ในเครือที่ต้องการใช้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์


บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี) เอเอ็มพี เป็นบริษทั ร่วมลงทุนระหว่าง เอไอเอส ในสัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 69.99 และ NTT DoCoMo ในสัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 30 โดยบริษัทได้รับอนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ประกอบธุรกิจให้บริการชำระสินค้าและบริการผ่านมือถือแทนการใช้ เงินสดหรือ บัตรเครดิต ภายใต้ชอื่ “เอ็มเปย์ (mPAY)” ซึง่ เพิม่ ความสะดวกและปลอดภัยแก่ลกู ค้าเอไอเอส ในการทำธุรกรรมทางการเงิน ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยลูกค้าสามารถใช้เอ็มเปย์ ซือ้ สินค้า online ชำระค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เติมเงินระบบ วัน-ทู-คอล! และชำระ ค่าสินค้าและบริการต่างๆ

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด (เอเอ็มซี) เอเอ็มซี ได้รับอนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้จำหน่าย บัตรแทนเงินสด (Cash card) โดยจุดมุ่งหมายของบัตร แทนเงินสดคือ เป็นสือ่ กลางระหว่างธุรกิจต่างๆ ในกลุม่ ชินคอร์ป ให้การชำระค่าบริการผ่านบัตรใบเดียว โดยลูกค้าสามารถใช้บตั รแทน เงินสดนีช้ ำระค่าบริการต่างๆ เช่น บัตรเติมเงิน วัน-ทู-คอล! ค่าบริการ CS Loxinfo Internet บัดดี้ บรอดแบนด์ และ Shinee เกมส์ออนไลน์

บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอไอเอ็น)

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด (ดีเอ็นเอส) ดีเอ็นเอส ถือหุน้ โดย เอไอเอส ในสัดส่วนร้อยละ 49 และ อีกร้อยละ 51 ถือโดยบริษทั บางกอกเทเลคอมเอ็นจิเนียริง่ จำกัด แต่เดิม ดีเอ็นเอสให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ทั่วประเทศ (Online data communication) โดยเน้นการขายและให้เช่าอุปกรณ์

แก่ลกู ค้าเฉพาะในเขตภูมภิ าคเนือ่ งจากเดิม บริษทั เอดีซี สามารถให้บริการได้เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครเท่านัน้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ทีโอทีได้อนุญาตให้ ดีเอ็นเอส เพิ่มพื้นที่บริการได้ครอบคลุมทั่วประเทศ ปัจจุบัน ดีเอ็นเอส จึงให้บริการเฉพาะลูกค้าเดิมและจำหน่าย อุปกรณ์เพิ่มเติมเท่านั้น

บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด (ดีแอลที) ดีแอลที ถือหุน้ โดยเอไอเอส ในสัดส่วนร้อยละ 65 และอีกร้อยละ 32 ถือโดยบริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจ เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ (ISP) โดยได้รับสิทธิ์ในการให้บริการจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2540 เป็นระยะเวลา 10 ปี สิน้ สุดปี พ.ศ. 2550 ทัง้ นีบ้ ริษทั ไม่ได้มจี ดุ มุง่ หมายจะต่อใบอนุญาตกับ กสท. ปัจจุบนั ดีแอลที กำลัง อยู่ในกระบวนการปิดการดำเนินงาน

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด (เอ็มเอฟเอ) เอ็มเอฟเอ เดิมชื่อบริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติ้ง จำกัด แต่เดิมดำเนินธุรกิจนำเข้าและเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ปัจจุบันได้หยุดดำเนินกิจการแล้วตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 และธุรกิจดังกล่าวได้ให้ ดีพีซี เป็นผู้ดำเนินการ

บริษัท เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวซีเอ็น) บริษัท เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวเอ็น) เอซีเอ็น และ เอดับบลิวเอ็น เป็นบริษทั ทีก่ อ่ ตัง้ ใหม่ในปี พ.ศ. 2548 โดยแต่ละบริษทั มีทนุ จดทะเบียนชำระแล้ว 1 ล้านบาท จุดมุง่ หมาย ในการก่อตัง้ บริษทั ทัง้ สองคือ เพีอ่ ใช้ขออนุญาตและประกอบธุรกิจ 3G และ โทรศัพท์พนื้ ฐาน (Fixed-line) ปัจจุบนั บริษทั ทัง้ สองยังไม่ได้เริม่ การดำเนินงาน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เอไอเอ็น เป็นบริษัทเอกชนแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินธุรกิจให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ โดยบริษัท

ได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2548 และ ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 แบบมีโครงข่ายเป็นของ ตัวเองเพือ่ ประกอบกิจการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เมือ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ทั้งนี้ใบอนุญาตมีอายุ 20 ปี สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2569 ภายใต้ระเบียบใบอนุญาตทีไ่ ด้รบั จาก กทช. เอไอเอ็น มีหน้าทีต่ อ้ งจ่ายค่าธรรมเนียมให้กบั กทช. ทัง้ สิน้ ร้อยละ 7 จากรายได้จากการ ให้บริการ ทั้งนี้แบ่งเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรายปี ร้อยละ 3 และค่าบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (Universal Service Obligation – USO) ร้อยละ 4

035


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษัท

ลักษณะการประกอบกิจการ

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์โทรคมนาคม ให้บริการเช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 MHz บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ ผูใ้ ห้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง จำกัด (เอดีซี) บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด (เอซีซ)ี ผู้ให้บริการศูนย์ให้ข่าวสารทางโทรศัพท์ บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนั่ ส์ จำกัด (ดีเอ็นเอส) ผู้ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด (ดีแอลที) ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี) ผู้ให้บริการชำระค่าสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด (เอเอ็มซี) ผู้จัดจำหน่ายบัตรเงินสด บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ จำกัด (เอไอเอ็น) (เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550) บริษทั เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ เน็ทเวอร์ค ปัจจุบันยังไม่ดำเนินการ จำกัด (เอดับบลิวซีเอ็น) บริษทั เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวเอ็น) ปัจจุบันยังไม่ดำเนินการ บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด (เอ็มเอฟเอ) ปัจจุบันไม่ได้ดำเนินธุรกิจ

สัดส่วนที่ถือ 98.55% 51.00% 99.99% 49.00% 65.00% 69.99% 99.99% 99.99%

99.93% 99.93% 99.99%

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (เอไอเอส) เป็นหนึ่งในกลุ่มของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (SHIN) ภายใต้ธรุ กิจสือ่ สารโทรคมนาคมไร้สาย บริษทั มีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่คอื บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ และ SingTel Strategic Investment PTE Ltd. ในสัดส่วนผู้ถือหุ้น ร้อยละ 43 และ 21 ตามลำดับ โดยสัดส่วนที่เหลือถือโดยบุคคลทั่วไป และ นักลงทุนสถาบัน เอไอเอส มี มูลค่าตามราคาตลาดอยู่ที่ประมาณ 270 พันล้านบาท (7.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งถือเป็นบริษัทจดทะเบียนที่ใหญ่ที่สุดหนึ่งใน ห้าอันดับแรกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) เอไอเอสได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เพื่อประกอบกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นรายแรกของประเทศไทย ปัจจุบันบริษัท เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ที่สุดในประเทศ โดยมีฐานลูกค้ามากกว่า 19 ล้านคน บริษัทได้ขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ผ่านบริษทั ในเครือซึง่ ได้ครอบคลุมการให้บริการสือ่ สารไร้สายอย่างกว้างขวาง ทัง้ นีร้ วมถึงเป็นการจัดจำหน่ายซิมการ์ดและเครือ่ งโทรศัพท์ เคลื่อนที่ บริการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ บริการบรอดแบรนด์ทีวี บริการชำระสินค้าและบริการผ่านมือถือแทนการใช้ เงินสดหรือบัตรเครดิต บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call center) และบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ปัจจุบันเอไอเอสได้ลงทุนกับบริษัทในเครือทั้งหมด 11 บริษัท และมีพนักงานในเครือประมาณ 8,000 คน (รวมพนักงานชั่วคราว) ณ สิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 รายละเอียดของบริษัทในเครือมีดังต่อไปนี้

033


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (เอไอเอส)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

034

เอไอเอสได้เริม่ ต้นประกอบธุรกิจเป็นผูใ้ ห้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ซลลูลาร์ในระบบอนาลอก (Analog) NMT ทีย่ า่ นความถี่ 900 MHz ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2536 ได้เปลี่ยนแปลงไปให้บริการในระบบ GSM ปัจจุบันเอไอเอสให้บริการในระบบ ดิจิตอล (digital) GSM ที่ย่านความถี่ 900 MHz โดยใช้เทคโนโลยี GPRS และ EDGE เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล ให้รวดเร็วขึน้ บริษทั ประกอบธุรกิจโดยการเข้าร่วมทำสัญญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO : Build-Transfer-Operate) กับ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) (ทีโอที) เป็นระยะเวลา 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึง ปี พ.ศ. 2558 ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบบีทโี อ เอไอเอสมีหน้าทีเ่ ป็นผูล้ งทุนในการสร้างเครือข่ายเซลลูลาร์และรับผิดชอบในการหาเงินลงทุน รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทัง้ หมด และโอนกรรมสิทธิใ์ นเครือข่ายให้แก่ผใู้ ห้สญ ั ญา (ทีโอที) โดยบริษทั มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบและหาแหล่ง เงินทุนสำหรับงานวิศวกรเครือข่าย วางแผนงานด้านเครือข่าย จัดหาอุปกรณ์พร้อมทั้งติดตั้ง บำรุงดูแลรักษาเครือข่าย ตลอดจนดำเนิน กิจกรรมทางธุรกิจ การตลาดและการให้บริการ ทัง้ นี้ บริษทั จะต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในรูปแบบของส่วนแบ่งรายได้ทไี่ ด้รบั จากการ ให้บริการให้แก่ ทีโอที โดยรายได้จากการให้บริการแบบชำระค่าบริการหลังการใช้ (Postpaid) บริษัทได้จัดแบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ ทีโอทีและส่งภาษีสรรพสามิต รวมเป็นร้อยละ 30 ของรายได้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ส่วนรายได้จากบริการแบบชำระค่าใช้บริการล่วงหน้า (Prepaid) บริษทั ได้จดั แบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ ทีโอที และส่งภาษีสรรพสามิต รวมเป็นร้อยละ 20 ของรายได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2550 เห็นชอบให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เมี่อวันที่ 28 มกราคม 2546 ที่ กำหนดให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิตและนำค่าภาษีไปหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ที่ต้องนำส่งให้แก่ทีโอที ต่อมาวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 กระทรวงการคลังได้ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 79) โดยให้ลดอัตราการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต สำหรับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่จากเดิมซึ่งจัดเก็บในอัตราร้อยละ 10 ให้เหลือในอัตราร้อยละศูนย์ และให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2550 ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยกเลิกการนำค่าภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามสัญญาสัมปทาน และกระทรวงการคลังได้ลดอัตราการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตให้เหลือในอัตราร้อยละศูนย์ มีผลทำให้ เอไอเอส จึงมีหน้าที่ต้องนำส่ง ส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ทีโอทีเต็มจำนวนตามอัตราร้อยละเดิมที่กำหนดไว้ในสัญญา

บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) ดีพีซี ประกอบธุรกิจให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ภายใต้สัญญาร่วมการงาน แบบบีทีโอ (BTO : Build-Transfer-Operate) กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (กสท.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นระยะเวลา 16 ปี สิ้นสุดปี พ.ศ. 2556 โดย ดีพีซี ต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนเป็นร้อยละของรายได้จากการให้บริการให้แก่ กสท. ซึ่งปัจจุบัน บริษัทได้จัดแบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ กสท. และส่งภาษีสรรพสามิต รวมร้อยละ 25 ของรายได้ นอกจากนี้ ดีพซี ี มีสญ ั ญาการใช้บริการเครือข่ายร่วม (Network roaming) ระหว่าง เอไอเอส กับ ดีพซี ี ซึง่ จะทำให้ผใู้ ช้โทรศัพท์ เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM 1800 สามารถใช้งานได้ทวั่ ประเทศเหมือนกับผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM advance นอกจากนี ้ ดีพีซี ยังเป็นผู้จัดจำหน่ายซิมการ์ดและเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ สำหรับเอไอเอสด้วย

บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด (เอดีซี) บริษัท เอดีซี ประกอบธุรกิจให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ โดยเป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่าง เอไอเอส และ ทีโอที ใน สัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 51 และ 45.34 ตามลำดับ บริษทั ดำเนินธุรกิจให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ (Online Data Communication) โดยให้บริการหลากหลายในด้านการเชือ่ มข้อมูลระบบ Wide Area Network (WAN) ด้วยเทคโนโลยี Gigabit Ethernet, ATM, Frame Relay และ Legacy Protocols อืน่ ๆ โดยมีพนื้ ทีใ่ ห้บริการและระบบเครือข่าย (Backbone network) ครอบคลุมทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2548 เอดีซี ได้เปิดให้บริการใหม่ ภายใต้ ชื่อ “บัดดี้ บรอดแบรนด์ (Buddy Broadband)” ซึ่งรวมบริการ ด้านบรอดแบนด์ทีวี อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และโทรศัพท์ผ่านทางเทคโนโลยี ADSL

บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด (เอซีซี) เอซีซี ดำเนินธุรกิจให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call center) ทัง้ ในด้านการตอบคำถาม การให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่ลกู ค้า ของ เอไอเอส และ ดีพีซี รวมถึงบริษัทอื่นๆ ในเครือที่ต้องการใช้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์


บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี) เอเอ็มพี เป็นบริษทั ร่วมลงทุนระหว่าง เอไอเอส ในสัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 69.99 และ NTT DoCoMo ในสัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 30 โดยบริษัทได้รับอนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ประกอบธุรกิจให้บริการชำระสินค้าและบริการผ่านมือถือแทนการใช้ เงินสดหรือ บัตรเครดิต ภายใต้ชอื่ “เอ็มเปย์ (mPAY)” ซึง่ เพิม่ ความสะดวกและปลอดภัยแก่ลกู ค้าเอไอเอส ในการทำธุรกรรมทางการเงิน ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยลูกค้าสามารถใช้เอ็มเปย์ ซือ้ สินค้า online ชำระค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เติมเงินระบบ วัน-ทู-คอล! และชำระ ค่าสินค้าและบริการต่างๆ

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด (เอเอ็มซี) เอเอ็มซี ได้รับอนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้จำหน่าย บัตรแทนเงินสด (Cash card) โดยจุดมุ่งหมายของบัตร แทนเงินสดคือ เป็นสือ่ กลางระหว่างธุรกิจต่างๆ ในกลุม่ ชินคอร์ป ให้การชำระค่าบริการผ่านบัตรใบเดียว โดยลูกค้าสามารถใช้บตั รแทน เงินสดนีช้ ำระค่าบริการต่างๆ เช่น บัตรเติมเงิน วัน-ทู-คอล! ค่าบริการ CS Loxinfo Internet บัดดี้ บรอดแบนด์ และ Shinee เกมส์ออนไลน์

บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอไอเอ็น)

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด (ดีเอ็นเอส) ดีเอ็นเอส ถือหุน้ โดย เอไอเอส ในสัดส่วนร้อยละ 49 และ อีกร้อยละ 51 ถือโดยบริษทั บางกอกเทเลคอมเอ็นจิเนียริง่ จำกัด แต่เดิม ดีเอ็นเอสให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ทั่วประเทศ (Online data communication) โดยเน้นการขายและให้เช่าอุปกรณ์

แก่ลกู ค้าเฉพาะในเขตภูมภิ าคเนือ่ งจากเดิม บริษทั เอดีซี สามารถให้บริการได้เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครเท่านัน้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ทีโอทีได้อนุญาตให้ ดีเอ็นเอส เพิ่มพื้นที่บริการได้ครอบคลุมทั่วประเทศ ปัจจุบัน ดีเอ็นเอส จึงให้บริการเฉพาะลูกค้าเดิมและจำหน่าย อุปกรณ์เพิ่มเติมเท่านั้น

บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด (ดีแอลที) ดีแอลที ถือหุน้ โดยเอไอเอส ในสัดส่วนร้อยละ 65 และอีกร้อยละ 32 ถือโดยบริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจ เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ (ISP) โดยได้รับสิทธิ์ในการให้บริการจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2540 เป็นระยะเวลา 10 ปี สิน้ สุดปี พ.ศ. 2550 ทัง้ นีบ้ ริษทั ไม่ได้มจี ดุ มุง่ หมายจะต่อใบอนุญาตกับ กสท. ปัจจุบนั ดีแอลที กำลัง อยู่ในกระบวนการปิดการดำเนินงาน

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด (เอ็มเอฟเอ) เอ็มเอฟเอ เดิมชื่อบริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติ้ง จำกัด แต่เดิมดำเนินธุรกิจนำเข้าและเป็นตัวแทนจัดจำหน่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ ปัจจุบันได้หยุดดำเนินกิจการแล้วตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 และธุรกิจดังกล่าวได้ให้ ดีพีซี เป็นผู้ดำเนินการ

บริษัท เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวซีเอ็น) บริษัท เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวเอ็น) เอซีเอ็น และ เอดับบลิวเอ็น เป็นบริษทั ทีก่ อ่ ตัง้ ใหม่ในปี พ.ศ. 2548 โดยแต่ละบริษทั มีทนุ จดทะเบียนชำระแล้ว 1 ล้านบาท จุดมุง่ หมาย ในการก่อตัง้ บริษทั ทัง้ สองคือ เพีอ่ ใช้ขออนุญาตและประกอบธุรกิจ 3G และ โทรศัพท์พนื้ ฐาน (Fixed-line) ปัจจุบนั บริษทั ทัง้ สองยังไม่ได้เริม่ การดำเนินงาน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เอไอเอ็น เป็นบริษัทเอกชนแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินธุรกิจให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ โดยบริษัท

ได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2548 และ ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 แบบมีโครงข่ายเป็นของ ตัวเองเพือ่ ประกอบกิจการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เมือ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ทั้งนี้ใบอนุญาตมีอายุ 20 ปี สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2569 ภายใต้ระเบียบใบอนุญาตทีไ่ ด้รบั จาก กทช. เอไอเอ็น มีหน้าทีต่ อ้ งจ่ายค่าธรรมเนียมให้กบั กทช. ทัง้ สิน้ ร้อยละ 7 จากรายได้จากการ ให้บริการ ทั้งนี้แบ่งเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรายปี ร้อยละ 3 และค่าบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (Universal Service Obligation – USO) ร้อยละ 4

035


โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑ์หรือบริการของบริษัทและบริษัทย่อยให้บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

036

ผลิตภัณฑ์ /บริการ

ดำเนินการโดย

ร้อยละ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 การถือหุ้น ของบริษัท ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ณ 31 ธ.ค. 49

ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที ่ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ การขายและให้เช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวม

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. ดิจิตอล โฟน

- 98 . 55 98 . 55

ธุรกิจบริการสื่อสารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง รวม

บจ. แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ บจ. ดาต้า ลายไทย

51 . 00 49 . 00 65 . 00

455 . 85 0 . 48 30 . 95 0 . 03 0 . 85 - 487 . 65 0 . 51

539 . 61 0 . 58 16 . 18 0 . 02 1 . 76 - 557 . 55 0 . 60

728 . 81 0 . 80 7 . 36 0 . 01 1 . 46 - 737 . 63 0 . 81

ธุรกิจบริการให้ข้อมูลทางโทรศัพท์

บจ. แอดวานซ์ คอนแทค เซ็นเตอร์

99 . 99

5 .64 0 . 01

4 . 72 0 . 01

6 . 63 0 . 01

5 . 64 0 . 01

4 . 72 0 . 01

6 . 63 0 . 01

รวม

รวม

81,221 . 17 2,598 . 77 12,124 . 26 95,944 . 20

84 . 22 2 . 69 12 . 57 99 . 48

78,101 . 22 1,785 . 28 12,067 . 88 91,954 . 38

84 . 42 75,223 . 00 1 . 93 98 . 36 13 . 04 15,362 . 54 99 . 39 90,683 . 90

82 . 27 0 . 11 16 . 80 99 . 18

96,437 . 49 100 . 00 92,516 . 65 100 . 00 91,428 . 16 100 . 00

เป้าหมายการดำเนินธุรกิจ อีก 3-5 ปีข้างหน้า เอไอเอส มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาศักยภาพที่จะเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมที่ครอบคลุมบริการสื่อสารไร้สายอย่างเต็มรูปแบบ (Integrated wireless solutions) พร้อมตอบสนองความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงของลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง บริษทั มีวสิ ยั ทัศน์ในการให้บริการ สื่อสารเคลื่อนที่ที่มีความแตกต่างและเป็นบริการที่เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินชีวิตของลูกค้าอย่างแท้จริง ตามแนวคิดในการเป็น “Total Solutions for Better life” หรือการบริการที่ครอบคลุมและตอบสนองคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น เอไอเอส มุ่งเน้นในการดำเนินงานเพื่อให้ ลูกค้าได้รับบริการที่ตรงต่อความต้องการและช่วยเสริมให้การดำเนินชีวิตในรูปแบบต่างๆ มีความสะดวกสบาย คล่องตัว และง่ายมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทมีความมุ่งมั่นในการตอบแทนผลประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ กับบริษัทด้วย รวมถึง ผู้ถือหุ้น พันธมิตร ทางธุรกิจ ผู้จัดจำหน่าย และต่อสังคมไทยโดยรวม ในปัจจุบัน เอไอเอส มีลูกค้ากว่า 19 ล้านรายจากอัตราผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วประเทศไทย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 62 ของจำนวน ประชากร โดยในระยะยาวบริษัทมุ่งหวังที่จะเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมอย่างครบวงจร (Integrated telecom operator) นอกเหนือ


ไปจากการใช้ synergy ในกลุ่มบริษัท ชินคอร์ป ในการส่งเสริมการดำเนินงานแล้ว บริษัทได้มีการลงทุนในหลากหลายธุรกิจ ซึ่ง ครอบคลุมถึง การให้บริการสื่อสารไร้สาย (Wireless network) บริการผ่านระบบสายโทรศัพท์พื้นฐาน (Wire network) และ บริการ โทรศัพท์ระหว่างประเทศ โดยบริการสื่อสารไร้สาย (Wireless network) นั้นหมายรวมถึง การให้บริการสื่อสารทั้งทางเสียงและ ทางข้อมูล บริการชำระค่าสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ และบริการเสริมในรูปแบบต่างๆ (Valued-added service) ในส่วน บริการผ่านระบบสายโทรศัพท์พื้นฐานนั้นรวมถึงการให้บริการข้อมูลสื่อสารผ่านสายโทรศัพท์ (on-line data communication) บริการ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และบริการทีวีบรอดแบนด์ ทั้งนี้บริษัทยังได้มีการลงทุนในธุรกิจใหม่ คือการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ซึ่งถือเป็นทางเลือกสำหรับลูกค้าให้สามารถใช้บริการโทรติดต่อระหว่างประเทศได้ในราคาที่เหมาะสม ในอีก 3-5 ปีข้างหน้า เอไอเอสคาดว่าตลาดการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังมีศักยภาพในการเติบโตสูงขึ้น เกิดจากการขยายตัว ของจำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วประเทศที่สูงขึ้น รวมถึงการที่ผู้บริโภคมีความต้องการบริการในด้านการสื่อสารในการดำเนินชีวิต

ที่มากขึ้นและมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น ในการพัฒนาตามจุดมุ่งหมายที่จะเป็น “Total Solutions for Better Life” บริษัทมีแนวกลยุทธ์

ในการดำเนินธุรกิจเพื่อพัฒนาการเติบโตในอนาคตโดยมองถึง 4 ปัจจัย ดังนี้ บริษัทมองเห็นถึงศักยภาพในการเติบโตของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศไทยในระยะยาว และคาดว่าอัตราผู้ใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วประเทศไทยจะสามารถเติบโตได้ถึงร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร เนื่องจากปัจจุบันผู้ใช้บริการจำนวนมากยังอยู่ ในเขตตัวเมืองและจังหวัดใหญ่ๆ เป็นหลัก เมื่อเทียบกับอัตราผู้ใช้บริการในตลาดต่างจังหวัดและในพื้นที่ห่างไกลซึ่งยังคงต่ำกว่า บริษัทจึง มีแนวกลยุทธ์ที่จะพัฒนาการเติบโตในพื้นที่ที่ยังคงมีอัตราผู้ใช้บริการค่อนข้างต่ำ เช่น ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีอัตรา ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่ำกว่า 40% โดยมุ่งเน้นการตลาดที่เข้าถึงความต้องการของผู้ใช้บริการในแต่ละพื้นที่ให้มากขึ้น

• การเติบโตของผู้ ใช้บริการและรายได้จากบริการเสริม

บริการเสริมในรูปแบบต่างๆ ที่นอกเหนือจากบริการสื่อสารด้านเสียง ถือเป็นส่วนสำคัญสำหรับการใช้บริการสื่อสารไร้สาย ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ปัจจุบันรายได้จากบริการเสริมคิดเป็นสัดส่วนของรายได้จากการให้บริการโดยรวมแล้วแม้ว่าจะยังน้อยกว่า หนึ่งในห้า แต่มีอัตราการเติบโตต่อปีสูงถึงร้อยละ 20-30 การที่บริษัทมุ่งเน้นการพัฒนาบริการเสริมในรูปแบบใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา อีกทั้ง การร่วมทำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ให้บริการด้านคอนเทนต์ (Content provider) จะช่วยให้ผู้ใช้บริการมีทางเลือกที่หลากหลายในการ สื่อสาร และส่งผลให้มีการใช้บริการเสริมเพิ่มสูงขึ้น และช่วยกระตุ้นให้เกิดการทดลองใช้อีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทมีจุดมุ่งหมายที่จะ ขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่องในเทคโนโลยี EDGE เพื่อให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงบริการเสริม

ได้รวดเร็วขึ้น และ ส่งเสริมมีคุณภาพการให้บริการที่ดีขึ้นอีกด้วย • การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในยุคที่ 3 (3G) บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G จะเป็นบริการที่ช่วยส่งเสริมให้การสื่อสารทั้งทางเสียงและข้อมูลให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สูงขึ้น รวมถึงมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันแม้ว่าจำนวนผู้ใช้บริการสื่อสารด้านข้อมูลยังคงมีไม่มากนัก แต่การพัฒนาบริการเสริม ทางข้อมูลอย่างต่อเนื่อง และการปรับปรุงวิธีการใช้งานด้านข้อมูลให้คล่องตัวและง่ายมากขึ้น รวมถึงการเติบโตของจำนวนผู้ใช้บริการ อย่างต่อเนื่อง ทำให้บริการด้านข้อมูลมีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้น เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถรับส่งบริการด้านข้อมูลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น บริการมัลติมีเดีย อีเมล์ อินเตอร์เน็ต ดาวน์โหลดเพลงและวีดีโอ ซึ่งล้วนแต่เป็นบริการที่ต้องอาศัยศักยภาพในการรองรับของเครือข่ายที่สูงขึ้นเพื่อให้ลูกค้าสามารถใช้บริการเหล่านี้ได้อย่างรวดเร็ว บริษัท เห็นว่าการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่ 3 ในอนาคตจะช่วยให้บริษัท สามารถสนองตอบต่อความต้องการ ที่มากขึ้นและซับซ้อนขึ้นของผู้บริโภคได้

• บริการที่ครอบคลุมและการหลอมรวมของบริการ (Service convergence)

ในปัจจุบันการดำเนินธุรกิจและการใช้ชีวิตประจำวันของบุคคล ส่งผลให้ความต้องการต่อบริการทางด้านโทรคมนาคม ต้องตอบสนองต่อความสะดวกสบายสูงขึ้น และสามารถให้บริการเข้าถึงผู้บริโภคได้อย่างง่ายมากขึ้น ทำให้การให้บริการที่ครอบคลุมและ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

• การขยายฐานผู้ ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

037


โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑ์หรือบริการของบริษัทและบริษัทย่อยให้บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

036

ผลิตภัณฑ์ /บริการ

ดำเนินการโดย

ร้อยละ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 การถือหุ้น ของบริษัท ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ณ 31 ธ.ค. 49

ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที ่ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ การขายและให้เช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวม

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. ดิจิตอล โฟน

- 98 . 55 98 . 55

ธุรกิจบริการสื่อสารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง รวม

บจ. แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ บจ. ดาต้า ลายไทย

51 . 00 49 . 00 65 . 00

455 . 85 0 . 48 30 . 95 0 . 03 0 . 85 - 487 . 65 0 . 51

539 . 61 0 . 58 16 . 18 0 . 02 1 . 76 - 557 . 55 0 . 60

728 . 81 0 . 80 7 . 36 0 . 01 1 . 46 - 737 . 63 0 . 81

ธุรกิจบริการให้ข้อมูลทางโทรศัพท์

บจ. แอดวานซ์ คอนแทค เซ็นเตอร์

99 . 99

5 .64 0 . 01

4 . 72 0 . 01

6 . 63 0 . 01

5 . 64 0 . 01

4 . 72 0 . 01

6 . 63 0 . 01

รวม

รวม

81,221 . 17 2,598 . 77 12,124 . 26 95,944 . 20

84 . 22 2 . 69 12 . 57 99 . 48

78,101 . 22 1,785 . 28 12,067 . 88 91,954 . 38

84 . 42 75,223 . 00 1 . 93 98 . 36 13 . 04 15,362 . 54 99 . 39 90,683 . 90

82 . 27 0 . 11 16 . 80 99 . 18

96,437 . 49 100 . 00 92,516 . 65 100 . 00 91,428 . 16 100 . 00

เป้าหมายการดำเนินธุรกิจ อีก 3-5 ปีข้างหน้า เอไอเอส มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาศักยภาพที่จะเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมที่ครอบคลุมบริการสื่อสารไร้สายอย่างเต็มรูปแบบ (Integrated wireless solutions) พร้อมตอบสนองความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงของลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง บริษทั มีวสิ ยั ทัศน์ในการให้บริการ สื่อสารเคลื่อนที่ที่มีความแตกต่างและเป็นบริการที่เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินชีวิตของลูกค้าอย่างแท้จริง ตามแนวคิดในการเป็น “Total Solutions for Better life” หรือการบริการที่ครอบคลุมและตอบสนองคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น เอไอเอส มุ่งเน้นในการดำเนินงานเพื่อให้ ลูกค้าได้รับบริการที่ตรงต่อความต้องการและช่วยเสริมให้การดำเนินชีวิตในรูปแบบต่างๆ มีความสะดวกสบาย คล่องตัว และง่ายมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทมีความมุ่งมั่นในการตอบแทนผลประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ กับบริษัทด้วย รวมถึง ผู้ถือหุ้น พันธมิตร ทางธุรกิจ ผู้จัดจำหน่าย และต่อสังคมไทยโดยรวม ในปัจจุบัน เอไอเอส มีลูกค้ากว่า 19 ล้านรายจากอัตราผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วประเทศไทย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 62 ของจำนวน ประชากร โดยในระยะยาวบริษัทมุ่งหวังที่จะเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมอย่างครบวงจร (Integrated telecom operator) นอกเหนือ


ไปจากการใช้ synergy ในกลุ่มบริษัท ชินคอร์ป ในการส่งเสริมการดำเนินงานแล้ว บริษัทได้มีการลงทุนในหลากหลายธุรกิจ ซึ่ง ครอบคลุมถึง การให้บริการสื่อสารไร้สาย (Wireless network) บริการผ่านระบบสายโทรศัพท์พื้นฐาน (Wire network) และ บริการ โทรศัพท์ระหว่างประเทศ โดยบริการสื่อสารไร้สาย (Wireless network) นั้นหมายรวมถึง การให้บริการสื่อสารทั้งทางเสียงและ ทางข้อมูล บริการชำระค่าสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ และบริการเสริมในรูปแบบต่างๆ (Valued-added service) ในส่วน บริการผ่านระบบสายโทรศัพท์พื้นฐานนั้นรวมถึงการให้บริการข้อมูลสื่อสารผ่านสายโทรศัพท์ (on-line data communication) บริการ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และบริการทีวีบรอดแบนด์ ทั้งนี้บริษัทยังได้มีการลงทุนในธุรกิจใหม่ คือการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ซึ่งถือเป็นทางเลือกสำหรับลูกค้าให้สามารถใช้บริการโทรติดต่อระหว่างประเทศได้ในราคาที่เหมาะสม ในอีก 3-5 ปีข้างหน้า เอไอเอสคาดว่าตลาดการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังมีศักยภาพในการเติบโตสูงขึ้น เกิดจากการขยายตัว ของจำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วประเทศที่สูงขึ้น รวมถึงการที่ผู้บริโภคมีความต้องการบริการในด้านการสื่อสารในการดำเนินชีวิต

ที่มากขึ้นและมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น ในการพัฒนาตามจุดมุ่งหมายที่จะเป็น “Total Solutions for Better Life” บริษัทมีแนวกลยุทธ์

ในการดำเนินธุรกิจเพื่อพัฒนาการเติบโตในอนาคตโดยมองถึง 4 ปัจจัย ดังนี้ บริษัทมองเห็นถึงศักยภาพในการเติบโตของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศไทยในระยะยาว และคาดว่าอัตราผู้ใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วประเทศไทยจะสามารถเติบโตได้ถึงร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร เนื่องจากปัจจุบันผู้ใช้บริการจำนวนมากยังอยู่ ในเขตตัวเมืองและจังหวัดใหญ่ๆ เป็นหลัก เมื่อเทียบกับอัตราผู้ใช้บริการในตลาดต่างจังหวัดและในพื้นที่ห่างไกลซึ่งยังคงต่ำกว่า บริษัทจึง มีแนวกลยุทธ์ที่จะพัฒนาการเติบโตในพื้นที่ที่ยังคงมีอัตราผู้ใช้บริการค่อนข้างต่ำ เช่น ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีอัตรา ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่ำกว่า 40% โดยมุ่งเน้นการตลาดที่เข้าถึงความต้องการของผู้ใช้บริการในแต่ละพื้นที่ให้มากขึ้น

• การเติบโตของผู้ ใช้บริการและรายได้จากบริการเสริม

บริการเสริมในรูปแบบต่างๆ ที่นอกเหนือจากบริการสื่อสารด้านเสียง ถือเป็นส่วนสำคัญสำหรับการใช้บริการสื่อสารไร้สาย ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ปัจจุบันรายได้จากบริการเสริมคิดเป็นสัดส่วนของรายได้จากการให้บริการโดยรวมแล้วแม้ว่าจะยังน้อยกว่า หนึ่งในห้า แต่มีอัตราการเติบโตต่อปีสูงถึงร้อยละ 20-30 การที่บริษัทมุ่งเน้นการพัฒนาบริการเสริมในรูปแบบใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา อีกทั้ง การร่วมทำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ให้บริการด้านคอนเทนต์ (Content provider) จะช่วยให้ผู้ใช้บริการมีทางเลือกที่หลากหลายในการ สื่อสาร และส่งผลให้มีการใช้บริการเสริมเพิ่มสูงขึ้น และช่วยกระตุ้นให้เกิดการทดลองใช้อีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทมีจุดมุ่งหมายที่จะ ขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่องในเทคโนโลยี EDGE เพื่อให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงบริการเสริม

ได้รวดเร็วขึ้น และ ส่งเสริมมีคุณภาพการให้บริการที่ดีขึ้นอีกด้วย • การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในยุคที่ 3 (3G) บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G จะเป็นบริการที่ช่วยส่งเสริมให้การสื่อสารทั้งทางเสียงและข้อมูลให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สูงขึ้น รวมถึงมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันแม้ว่าจำนวนผู้ใช้บริการสื่อสารด้านข้อมูลยังคงมีไม่มากนัก แต่การพัฒนาบริการเสริม ทางข้อมูลอย่างต่อเนื่อง และการปรับปรุงวิธีการใช้งานด้านข้อมูลให้คล่องตัวและง่ายมากขึ้น รวมถึงการเติบโตของจำนวนผู้ใช้บริการ อย่างต่อเนื่อง ทำให้บริการด้านข้อมูลมีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้น เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถรับส่งบริการด้านข้อมูลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น บริการมัลติมีเดีย อีเมล์ อินเตอร์เน็ต ดาวน์โหลดเพลงและวีดีโอ ซึ่งล้วนแต่เป็นบริการที่ต้องอาศัยศักยภาพในการรองรับของเครือข่ายที่สูงขึ้นเพื่อให้ลูกค้าสามารถใช้บริการเหล่านี้ได้อย่างรวดเร็ว บริษัท เห็นว่าการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่ 3 ในอนาคตจะช่วยให้บริษัท สามารถสนองตอบต่อความต้องการ ที่มากขึ้นและซับซ้อนขึ้นของผู้บริโภคได้

• บริการที่ครอบคลุมและการหลอมรวมของบริการ (Service convergence)

ในปัจจุบันการดำเนินธุรกิจและการใช้ชีวิตประจำวันของบุคคล ส่งผลให้ความต้องการต่อบริการทางด้านโทรคมนาคม ต้องตอบสนองต่อความสะดวกสบายสูงขึ้น และสามารถให้บริการเข้าถึงผู้บริโภคได้อย่างง่ายมากขึ้น ทำให้การให้บริการที่ครอบคลุมและ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

• การขยายฐานผู้ ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

037


ครบวงจรมีความสำคัญยิ่งขึ้น โดยเอไอเอสมีความสนใจที่จะลงทุนให้บริการผ่านระบบสายโทรศัพท์พื้นฐาน โดยมุ่งเน้นเรื่องการให้บริการ ด้านข้อมูล เพื่อส่งเสริมธุรกิจบรอดแบนด์ที่ปัจจุบันดำเนินการอยู่แล้ว และสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจบริการชำระเงินผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ (mPAY) ซึ่งกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเป็นอย่างมากในตลาดทั่วโลก นอกจากนี้ บริษัทยังคงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาบริการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมแบบครบวงจรต่อไปในอนาคต บริษัท คาดว่าปัจจัยต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้น จะช่วยเสริมสร้างรายได้และผลกำไรให้แก่บริษัทในระยะยาว โดยการพัฒนา บริการในด้านต่างๆ ให้สนองตอบต่อความต้องการของลูกค้าทั้งในชีวิตประจำวันและในการดำเนินธุรกิจ

ผลิตภัณฑ์และการบริการ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

038

ในปี 2549 เอไอเอสยังคงมุง่ เน้นทีจ่ ะคิดค้น และพัฒนาบริการในมิตใิ หม่ๆ โดยยึดมัน่ ในคุณภาพเครือข่ายเป็นสำคัญ เพือ่ ให้ลกู ค้า มีทางเลือกทีห่ ลากหลายในการใช้บริการทีส่ อดคล้องกับความต้องการ และการดำเนินชีวติ ซึง่ ทำให้ลกู ค้ามีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และเพือ่ ให้ เข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าในเชิงลึก (Customer insight) อย่างแท้จริง เอไอเอสจึงได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศ และสถิติประยุกต์ มาวิเคราะห์ฐานข้อมูลลูกค้าและพฤติกรรมการใช้งานตลอดจนเพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตประจำวันของลูกค้า ศึกษา ความต้องการสำหรับการพัฒนาสินค้าหรือบริการใหม่ๆ วัดความพึงพอใจหลังจากใช้บริการจริงเพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงสินค้าและบริการ ให้ดียิ่งขึ้นอยู่เสมอ นอกจากนี้ เอไอเอส ยังคงให้ความสำคัญกับการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้าผ่านช่องทางบริการต่างๆ ซึ่งจะ ส่งผลให้ลูกค้ารับรู้ถึงความคุ้มค่า และไว้วางใจที่จะใช้บริการของบริษัทตลอดไป บริการต่างๆ ของเอไอเอสประกอบด้วย • บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชำระค่าบริการรายเดือน และชำระค่าบริการล่วงหน้า (Postpaid and prepaid subscription service) • บริการสื่อสารไร้สาย/บริการสื่อสารด้วยข้อมูล (Wireless/Non-voice communications service) • บริการสำหรับลูกค้านิติบุคคล (Enterprise business service) • การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer relationship management)

บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชำระค่าบริการรายเดือนและชำระค่าบริการล่วงหน้า (Postpaid and prepaid subscription service) เอไอเอส ได้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งแบบชำระค่าบริการรายเดือนภายใต้แบรนด์ GSM Advance และ GSM 1800 และ แบบชำระค่าบริการล่วงหน้า ภายใต้แบรนด์ One-2-Call และ สวัสดี และในปี 2549 เอไอเอส ได้ใช้ 3 กลยุทธ์หลักสำหรับการขยายตลาด ซึ่งประกอบไปด้วย 1) การพัฒนาเครือข่าย 2) การพัฒนาบริการ 3) การสร้างจุดแข็งของแบรนด์ โดยเน้น Emotional Marketing หรือ การสร้างความผูกพันและความรูส้ กึ ทีด่ ขี องลูกค้าทีม่ ตี อ่ แบรนด์ ผ่านทางสือ่ และกิจกรรมต่างๆ ควบคูก่ บั Customer Centric Marketing คือ การตลาดที่ให้ลูกค้าเป็นศูนย์กลางเพื่อจะพัฒนาแคมเปญที่ตรงใจและใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน ส่งผลให้ลูกค้าตัดสินใจที่จะใช้บริการ ของ เอไอเอส ตลอดไป (Brand loyalty) สินค้าที่ เอไอเอส จัดจำหน่ายได้แก่ ซิมการ์ด บัตรเติมเงิน บริการเสริม รวมทั้งบริการอื่นๆ ทัง้ สำหรับลูกค้าทีเ่ ป็นบุคคลธรรมดา และลูกค้า SMEs ผ่านทางร้านเทเลวิซ (Telewiz) จำนวน 355 ร้าน (Outlet) และเทเลวิซเอ็กซ์เพรซ (Telewiz Express) ทีม่ มี ากกว่า 280 ร้าน ตัวแทน (Agent) ซึง่ ประกอบด้วย DPC, Samart, M-link นอกจากนี้ ยังมีตวั แทนจำหน่ายหลัก (Dealer) 500 ราย ตัวแทนจำหน่ายรายย่อย (Sub Dealer) ทีม่ มี ากกว่า 12,000 ราย กระจายอยูท่ วั่ ประเทศ และช่องทางอืน่ ๆ เช่น Jay Mart,


Blisstel, IEC, TG นอกจากนีเ้ อไอเอสยังเพิม่ เติมช่องทางอืน่ ๆ ในการจำหน่ายบัตรเติมเงินเพือ่ ช่วยอำนวยความสะดวกให้กบั ลูกค้า เช่น ร้าน สะดวกซือ้ , ห้างสรรพสินค้า, ซุปเปอร์สโตร์, สถานีบริการน้ำมัน, ร้านหนังสือ, ทีท่ ำการไปรษณีย,์ ธนาคาร, เอทีเอ็ม และบริการ mPay เป็นต้น

GSM Advance

GSM 1800 เป็นบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชำระค่าบริการรายเดือน (Postpaid) ในระบบดิจิตอล ซึ่งใช้เทคโนโลยี GSM ในย่านความถี่ 1800 MHz บริการของ GSM 1800 เหมาะสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการใช้บริการแบบพื้นฐาน ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และต้องการชำระ ค่าบริการแบบรายเดือน

One-2-Call! บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชำระค่าบริการล่วงหน้า ผู้ใช้บริการสามารถเปิดเลขหมาย และใช้บริการได้เองทันทีที่ซื้อ เอไอเอส ได้เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายบัตรเติมเงินให้หาซื้อได้ง่ายและเพิ่มช่องทางอื่นๆ เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเติมเงินได้สะดวกรวดเร็วขึ้น โดยแบรนด์ One-2-Call! มีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นวัยรุ่นและคนรุ่นใหม่มีความคิด มีสไตล์เป็นของตัวเอง กล้าคิด กล้าทำ กล้า แสดงออก ในปี 2549 เอไอเอส ยังคงเน้นที่จะสร้างความแข็งแกร่งของแบรนด์ One-2-Call! ภายใต้แนวความคิด “อิสระ” (Freedom) ผ่านแคมเปญโฆษณา “ระวังหมดอายุ” มีกระแสตอบรับที่ดีจากลูกค้า แนวคิดที่สร้างแรงบันดาลใจให้คนในสังคม โดยเฉพาะเยาวชน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เป็นบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชำระค่าบริการรายเดือน (Postpaid) โดยค่าใช้บริการโทรศัพท์ (Airtime) ค่าใช้บริการสื่อสาร ด้วยข้อมูล ค่าธรรมเนียมรายเดือน และค่าใช้บริการต่างๆ จะถูกเรียกเก็บเมื่อสิ้นรอบการใช้บริการแล้ว โดยสามารถชำระค่าใช้บริการ ผ่านช่องทางการชำระเงินที่มีหลากหลาย GSM advance มีกลุ่มเป้าหมายเป็นคนทำงานรุ่นใหม่และนักธุรกิจและเจ้าของกิจการที่มีความคิดทันสมัย ชื่นชอบเทคโนโลยี ต้องการคุณภาพในการติดต่อสื่อสาร โดยในปี 2549 เอไอเอส ได้ปรับแนวคิดทางการตลาดของแบรนด์ GSM advance ใหม่ จากเดิมที่ เน้นทางด้านการใช้งาน (Functional) และการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่ไม่หยุดยั้ง ซึ่งอยู่ภายใต้ GSM Advance Evolution เปลี่ยนไปสู่ GSM Advance Let’s GO ทีส่ ร้างแรงบันดาลใจ และสนับสนุนให้ทกุ คน กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก เพือ่ จะบรรลุถงึ เป้าหมายในชีวติ ซึ่งเป็นการสร้างมิติทางด้านอารมณ์ และความรู้สึกผูกพันกับแบรนด์ GSM advance มากขึ้น โดยที่มาของแนวคิดนี้ได้มาจากการมอง ลึกลงไปถึงความต้องการในมุมมองลูกค้า (Consumer insight) ที่มีเป้าหมายและต้องการประสบความสำเร็จในชีวิตทุกๆ ด้าน เอไอเอส ยังได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาโปรแกรมค่าโทรซึง่ มีนวัตกรรมใหม่ๆ ทีต่ รงต่อความต้องการ และพฤติกรรมการใช้งาน ของลูกค้าที่แตกต่างกันดังนี้ • ลูกค้าที่มีความต้องการในการใช้งานมาก Unlimit – มีช่วงเวลาที่ให้ลูกค้าสามารถโทรได้นานเท่าที่ต้องการโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายต่อนาที Love package – ให้ลูกค้าโทรได้ไม่จำกัดตลอด 24 ชั่วโมง สำหรับเบอร์พิเศษที่กำหนดได้เอง โดยมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเพียง 149 บาทต่อเบอร์ เพื่อให้สิทธิพิเศษกับลูกค้าในการติดต่อกับคนพิเศษได้ทุกเวลาที่ต้องการ • ลูกค้าที่มีปริมาณการใช้งานต่อเดือนที่แตกต่างกัน GSM S, M, L, XL – โปรแกรมค่าโทรแบบเหมาจ่ายให้เลือกตามพฤติกรรมการใช้งาน ประกอบด้วย S – สำหรับผูใ้ ช้งานน้อย, M – สำหรับผู้ใช้งานปานกลาง, L – สำหรับผู้ใช้งานมาก, XL - สำหรับผู้ใช้งานมากเป็นพิเศษ • ลูกค้าปัจจุบันที่ใช้บริการอยู่และต้องการแนะนำสมาชิกใหม่พร้อมรับสิทธิพิเศษ Member get member – ลูกค้าปัจจุบันสามารถแนะนำสมาชิกใหม่มาจดทะเบียนซิมการ์ดเบอร์ใหม่ได้ถึง 2 หมายเลข โดยทัง้ ผูแ้ นะนำ และผูถ้ กู แนะนำจะได้สทิ ธิพเิ ศษสามารถโทรหากันฟรีได้ถงึ 600 นาที พร้อมรับโปรแกรมการโทรแบบไม่จำกัด

นาที

039


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

040

ให้กล้าฝันเพือ่ ค้นหาสิง่ ทีเ่ หมาะกับตนเองและกล้าลงมือทำฝันให้เป็นจริง นอกจากนีย้ งั ได้ใช้กลยุทธ์ Innovative marketing โดยจัดกิจกรรม (Event marketing) “โครงการคัน้ กะทิ” ให้นกั ศึกษามหาวิทยาลัยประกวดความคิดสร้างสรรค์ดา้ นการตลาด, โฆษณา, จัดอีเวนท์ เป็นต้น เพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้โดยตรงและสร้างประสบการณ์ที่ดีกับแบรนด์ One-2-Call! เอไอเอสได้เสนอโปรแกรมค่าโทรรูปแบบใหม่ภายใต้ One-2-Call! ที่หลากหลายเพื่อตอบโจทย์พฤติกรรมของลูกค้าที่มีพฤติกรรม ที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1) ลูกค้าใหม่นำเสนอแพ็คเกจ “เอาไปเลย” ซึ่งเป็นโปรแกรมค่าโทรระยะสั้น 1-2 เดือน ที่ให้อัตราค่าโทรพิเศษ และทดลองใช้ บริการเสริมที่หลากหลายฟรีมูลค่ากว่า 500 บาท เพื่อให้ลูกค้ามีประสบการณ์ที่ดีกับเครือข่ายคุณภาพของเอไอเอสก่อนที่จะตัดสินใจเลือก ใช้โปรแกรมการใช้งานที่ตรงกับความต้องการและพฤติกรรมการใช้งานของตนเองมากที่สุด 2) ลูกค้าทั่วไปปัจจุบัน • ลูกค้าที่ใช้งานมาก คุยไม่อั้น – โปรแกรม Unlimit มีช่วงเวลาที่ให้ลูกค้าสามารถโทรได้นานเท่าที่ต้องการโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย ต่อนาที ติดหนึบ – ให้ลูกค้าโทรได้ไม่จำกัดตลอด 24 ชั่วโมง สำหรับเบอร์พิเศษที่กำหนดได้เอง โดยมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเพียง 99 บาทต่อหมายเลข เพื่อให้สิทธิพิเศษกับลูกค้าในการติดต่อกับคนพิเศษได้ทุกเวลาที่ต้องการ • ลูกค้าที่คุยนาน ชัวร์ ชัวร์ – โปรแกรมค่าโทรที่ได้รับความนิยมอย่างสูงเพราะให้ความคุ้มค่ากับอัตราค่าโทรพิเศษต่ำสุดเพียง 25 สตางค์ ทุกเครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมง • ลูกค้าที่ต้องการด้านสิทธิประโยชน์ Up2U – เป็นโปรแกรมค่าโทรที่ให้ลูกค้าสะสมแต้มเพื่อเลือกรับรางวัลที่ต้องการได้ (ทุก 1 บาทจะได้คะแนนสะสม 1 คะแนน โดย 10 คะแนน สามารถเลือกเป็น ค่าโทร วันใช้งานหรือ SMS) Freedom Reward – เป็นการมอบความคุ้มค่าให้กับลูกค้า One-2-Call! และ สวัสดี โดยจะได้รับส่วนลด 30% สำหรับการโทรครั้งต่อไปเมื่อมีการใช้งานทุก 20 บาท U got friends – เป็นโปรแกรมที่มอบความพิเศษให้กับเพื่อนสนิท โดยเมื่อลูกค้า One-2-Call! แนะนำเพื่อนมาเป็น

ลูกค้าของ One-2-Call! จะได้รับสิทธิพิเศษค่าโทรฟรีถึง 600 บาท อัตราค่าโทรพิเศษสำหรับโทรหาผู้แนะนำและรับ ค่าโทรอีก 10% เมื่อเติมเงินผ่านทุกช่องทาง อีกทั้งผู้แนะนำก็ยังได้รับสิทธิพิเศษนี้ด้วยเช่นกัน 3) ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม (Niche market) U SIM – สำหรับนักศึกษาซึ่งมีงบประมาณจำกัดแต่ต้องการใช้งานในปริมาณมาก ทั้งการโทรปกติและบริการเสริม โดยจะ ได้รับอัตราค่าโทรพิเศษเพียง 1 บาทต่อครั้ง พร้อมรับบริการเสริมฟรีรวมมูลค่ากว่า 3,600 บาท ซิมเข้าใจ – เพื่อให้ผู้บกพร่องทางการได้ยินสามารถสื่อสารได้ประหยัดขึ้นด้วยค่าบริการเสริมอัตราพิเศษสำหรับส่ง SMS และ MMS เพียงครั้งละ 50 สตางค์ และ GPRS นาทีละ 50 สตางค์ นอกเหนือจากโปรแกรมค่าโทรแล้วเอไอเอสยังได้นำเสนอบริการอื่นๆ ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมใหม่ให้กับลูกค้า บริการเติมให้นะ – บริการเติมเงินโดยบัตรเติมเงินให้หมายเลขอืน่ ลูกค้า-เอไอเอส ทัง้ ระบบรายเดือนและเติมเงินสามารถเติมเงิน

ให้คนที่รัก และเป็นห่วงซึ่งอาจไม่สะดวกที่จะเติมเงินได้ด้วยตนเองในขณะนั้น เช่น ในกรณีที่พ่อแม่เติมเงินให้ลูก เป็นต้น

สวัสดี บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบชำระค่าบริการล่วงหน้าซึง่ มีกลุม่ เป้าหมายหลักได้แก่ ผูท้ ใี่ ช้โทรศัพท์เป็นเครือ่ งแรก (First-time user) กลุ่มคนทำงานหรือผู้ใหญ่ที่ใช้งานน้อย เน้นรับสายเป็นส่วนใหญ่ หรือผู้ที่มีงบประมาณจำกัด โดยเน้นการสร้างภาพลักษณ์ในการส่งเสริม


บริการสื่อสารไร้สาย/บริการสื่อสารด้วยข้อมูล (Wireless/Non-voice communications service) ในปี 2549 เอไอเอส ยังคงเป็นผู้นำในตลาดบริการเสริม โดยรายได้จากบริการเสริมของ เอไอเอส มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งจากบริการที่มีอยู่เดิม และบริการใหม่ สำหรับบริการเสริมที่สร้างรายได้หลักประกอบไปด้วยบริการส่งข้อความ (SMS), บริการเสียง รอสาย (Calling Melody) และการบริการด้านข้อมูล (Data & GPRS) ทั้งนี้ เอไอเอส ได้พัฒนาต่อยอดบริการที่เกี่ยวกับเพลงภายใต้ชื่อ Mobile Music ซึง่ เป็นการเพิม่ ช่องทางการกระจายเพลงสำหรับโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ได้แก่ การร่วมมือกับค่ายเพลง และบริษทั ผูผ้ ลิตโทรศัพท์ เคลือ่ นทีใ่ นการเปิดตัวบริการ Mobile Music พร้อมโทรศัพท์รนุ่ ใหม่ การให้บริการดาวน์โหลดเพลงแบบเต็มเพลง (Full Song Download) ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมาก และยังพัฒนาบริการเสริมด้านอื่นๆ เกี่ยวกับเพลงต่อไปอีกด้วย การให้บริการด้านข้อมูล (Data & GPRS) เพื่อให้บริการนี้เข้าถึงผู้ใช้บริการมากขึ้น เอไอเอส จึงได้ปรับปรุง mobileLIFE Plaza (AIS Wap Portal) ให้เป็นการจัดกลุ่มตามเนื้อหา (Content centric) ซึ่งง่ายต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น การให้บริการด้านอินเตอร์เน็ท ได้ผนวกการใช้บริการ Web community ให้เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของการใช้งานบนโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ การให้บริการ Enterprise Solution สำหรับลูกค้าองค์กรเป็นสิ่งที่เน้นในปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะบริการ AIS PushM@il (Push e-mail) ซึ่งเป็นบริการอีเมล์ไร้สายที่ให้ลูกค้าสามารถเชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลอีเมล์ขององค์กรตนเองได้ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศหรือ

ต่างประเทศ โดยในปีที่ผ่านมา เอไอเอส ได้พัฒนาบริการบนระบบ Server platform ทั้งของ BlackBerry และ Microsoft Mobile v5 รวมทั้งจัดหาเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ใหม่หลากหลายรุ่นสำหรับบริการ Push e-mail เช่น BlackBerry 7290, 7100g, 8700g, Nokia E series, O2 XDA Atom, HP hw6915, Dopod เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ลูกค้าองค์กรที่มีความต้องการที่แตกต่างกัน ได้เลือกใช้บริการ ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ เอไอเอส ยังได้พัฒนาบริการเสริมเฉพาะกลุ่ม (Segmentation) ณ ระดับราคาที่คุ้มค่า หลากหลาย และตรงความ ต้องการ โดยได้ร่วมมือกับบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละด้าน เช่น การบริการดูหุ้นผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ การให้บริการด้านข่าวสาร และความบันเทิง ตลอดจนบริการเสริมสำหรับผู้บกพร่องทางการได้ยิน สำหรับปี 2550 เอไอเอส ยังคงให้ความสำคัญกับการเติบโต ของบริการเสริมต่อไป โดยใช้แนวทางการต่อยอดบริการเสริมที่ประสบความสำเร็จในปีที่ผ่านมา รวมทั้งสร้างสรรค์บริการเสริมใหม่ๆ

ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เอกลักษณ์ไทยผ่านชื่อ “สวัสดี” และกิจกรรมทางการตลาดส่วนใหญ่ประกอบด้วยโรดโชว์และกิจกรรมสู่ระดับอำเภอและหมู่บ้านโดยตรง สำหรับจุดขายของสวัสดีคือ ระยะเวลาการใช้งานที่นาน และในปี 2549 นี้ เอไอเอส ได้ขยายระยะเวลาการใช้งานของสวัสดีสำหรับการ เติมเงินทุกมูลค่าจะสามารถใช้งานได้นานถึง 1 ปี และยังได้ใช้กลยุทธ์ Localized marketing ที่จัดโปรแกรมค่าโทรที่คุ้มค่าสำหรับลูกค้า แต่ละภูมิภาคโดยได้เริ่มที่ภาคอีสานเป็นภาคแรก และเนื่องจากเอไอเอสได้ตระหนักถึงพฤติกรรมของลูกค้าที่แม้จะมีการใช้งานน้อย แต่ก็ยังมีความต้องการที่แตกต่างกัน ดังนั้น

เอไอเอส จึงได้มีการพัฒนาแพ็คเกจใหม่ๆ ที่ตรงความต้องการของลูกค้ามากขึ้น ดังเช่น สวัสดี ดี๊ ดี – ซิมสำหรับการรับสายที่ให้ลูกค้าไม่ต้องเติมเงิน ไม่ต้องกังวลเรื่องระยะเวลาใช้งาน และยังสามารถรับสาย ได้ฟรีจากเบอร์ในเครือข่าย เอไอเอส กว่า 19 ล้านเลขหมาย นอกจากนี้ยังสามารถโทรออกไปยังเบอร์ในระบบเติมเงินของ เอไอเอส ได้โดยใช้บริการ “ออกให้นะ” ซึ่งจะเรียกเก็บเงินปลายทางโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม สวัสดีทั่วไทย – โปรแกรมใหม่จากสวัสดีที่เติมเงินเท่าไหร่ก็ใช้งานได้นาน 1 ปี เพื่อให้ลูกค้าที่โทรออกน้อย เน้นรับสายได้

ใช้บริการที่มีคุณภาพและในราคาที่เหมาะสมกับกำลังซื้อ สวัสดีชาวอีสาน – เป็นโปรแกรมใหม่จากสวัสดีสำหรับลูกค้าภาคอีสาน 19 จังหวัด โดยจะได้รับอัตราค่าโทรพิเศษเพียง 1 บาทต่อนาที สำหรับการโทรออกไปทุกพื้นที่ทั่วไทย และทุกเครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมง

041


บริการสำหรับลูกค้านิติบุคคล (Enterprise business service)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

042

เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น ในฐานะผู้ให้บริการกลุ่มลูกค้านิติบุคคล ได้มีส่วนในการช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจของ ทั้งลูกค้าองค์กร และกลุ่มธุรกิจเอสเอ็มอี ในปี 2549 เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น ใช้กลยุทธ์ทั้งการขยายฐานลูกค้า และรักษาฐานลูกค้า โดยผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขันให้สามารถตอบสนองความต้องการลูกค้า ในระดับทีเ่ กินความคาดหวัง และเพือ่ สานสัมพันธ์ระหว่าง เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ กับลูกค้านิตบิ คุ คลให้เหนียวแน่นผ่านการจัดกิจกรรม ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์มากกว่าการแข่งทางด้านราคา ในปี 2549 เอไอเอส แบ่งประเภทธุรกิจ (Industry segmentation) ของกลุ่มลูกค้านิติบุคคลออกเป็นหลากหลายกลุ่ม เพื่อจะ นำเสนอบริการของเอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น ทั้งในรูปแบบเสียง และข้อมูลให้สอดคล้องกับการดำเนินธุรกิจแต่ละประเภท เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ ได้มงุ่ ขยายฐานลูกค้าไปยังกลุม่ ลูกค้านิตบิ คุ คลในต่างจังหวัด (Up-country segment) ในแต่ละภูมภิ าค (Region SMEs) และยังร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจในการพัฒนาสมาร์ทโซลูชั่นสำหรับลูกค้าขนาดกลาง (size M) เพื่อให้ได้รับความ คุ้มค่า และได้รับประโยชน์สูงสุดจากบริการที่สอดคล้องกับขนาดและการดำเนินธุรกิจ การพัฒนาโซลูชั่นของลูกค้าองค์กร จะเน้นการพัฒนาโซลูชั่นเดิมให้มีประสิทธิภาพ และตรงกับความต้องการใช้งานของลูกค้า มากขึ้น เช่น Mobile EDC, Corporate connect & Mobile VPN, Cheque clearance • Mobile EDC : เป็นบริการเครือ่ งรูดบัตรแบบไร้สาย ซึง่ เหมาะกับร้านค้าทีต่ อ้ งเคลือ่ นที่ หรืออยูท่ หี่ า่ งไกล ซึง่ ไม่มสี ายโทรศัพท์ ให้เชื่อมต่อ หรือมีสายโทรศัพท์ไม่เพียงพอ เพียงติดตั้งอุปกรณ์เครื่องรูดบัตรไร้สาย (Electronic Data Capture) พร้อมซิมการ์ดในระบบ เอไอเอส ก็สามารถใช้งานผ่านเครือข่ายข้อมูลไร้สาย GPRS เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับระบบของธนาคารที่ร้านค้าเปิดบัญชีอยู่ ซึ่งจะเพิ่มความ สะดวก และคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจของร้านค้า ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการรับชำระค่าสินค้าในงานแสดงสินค้า ในศูนย์การค้า หรือ สถานที่อื่นๆ ก็ทำได้อย่างง่ายดาย หรือธุรกิจบริการจัดส่งสินค้าก็สามารถใช้อุปกรณ์ดังกล่าวเพื่อรับชำระผ่านบัตรเครดิตของลูกค้าได้ทันที ณ จุดส่งมอบ • Cheque Clearance : เป็นบริการสำหรับลูกค้าองค์กรที่สามารถตรวจสอบสถานะบัญชีเช็ค ผ่านทาง SMS ซึ่งสามารถ ช่วยลดความเสี่ยงของสถานะเช็คที่ได้รับอย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว • Education SMS U SIM : เอไอเอส ได้พัฒนาบริการซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่างๆ เช่น การลงทะเบียนเรียน, แจ้งตารางสอบ ห้องสอบ แจ้งผลสอบ และแจ้งข่าวสารของสถาบันการศึกษานั้นๆ ผ่านทาง SMS • Employee Package : เนื่องจากรูปแบบการดำเนินชีวิตปัจจุบัน การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่มีบทบาทสำคัญ มากยิ่งๆ ขึ้น เอไอเอส จึงได้จัดทำโครงการ Corporate Bonus Package ขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการ และส่งเสริมสวัสดิการให้กับ บุคลากรในหน่วยงานของลูกค้านิตบิ คุ คลโดยการจัดจำหน่ายสินค้าและบริการในราคาพิเศษ อาทิ เครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ตรวจเช็คสภาพ เครือ่ งฟรี และซิมการ์ดทัง้ ระบบจ่ายล่วงหน้า (Pre-paid) และระบบจดทะเบียน (Post-paid) พร้อมเสนอโปรโมชัน่ พิเศษสำหรับพนักงาน ในองค์กรต่างๆ

การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าองค์กร และกลุ่มนิติบุคคล • การบริการลูกค้า : เนือ่ งจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติกำหนดให้ผใู้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ กุ ระบบ ทำการ ปรับเปลีย่ นเลขหมายโทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ าก 9 หลักเป็น 10 หลัก โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 ธันวาคม 2549 เป็นต้นไป เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ จึงได้จัดตั้งทีม 10 digit ออกไปยังสถานที่ประกอบการต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับพนักงานของลูกค้าองค์กรและกลุ่มนิติบุคคล ในการแก้ไข และปรับเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เก็บไว้ในซิมการ์ด และโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่จำกัดเฉพาะลูกค้าในเครือข่าย ของ เอไอเอส


• กิจกรรมสำหรับลูกค้าองค์กร : เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ ได้ดแู ลลูกค้าแต่ละกลุม่ อุตสาหกรรมอย่างเป็นกันเอง เสมือนครอบครัว ใหญ่ โดยในปี 2549 ได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การจัดชมภาพยนตร์รอบปฐมทัศน์ โบว์ลิ่งสานสัมพันธ์ และการแข่งขันกอล์ฟ ระหว่างกลุม่ ลูกค้าองค์กรกับ เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ เป็นต้น นอกจากนี้ เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ ร่วมกับมหาวิทยาลัยหอการค้า จัดการ สัมมนาสำหรับผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ให้มีความพร้อมในการดำเนินการธุรกิจ และเติบโตอย่างมีศักยภาพ โดยทาง เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น มีนโยบายสนับสนุนเอสเอ็มอี ในการนำเทคโนโลยีไร้สายมาใช้ในด้านการตลาด การผลิต และการจัดส่งสินค้า (Logistics) เพื่อ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันต่อไป • กิจกรรมระหว่างองค์กร : เป็นการจัดกิจกรรมระหว่างกันในระดับองค์กร เพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดในการดำเนินธุรกิจ ร่วมกันในฐานะพันธมิตร อีกทั้งยังกระชับความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าองค์กร กับผู้บริโภคทั่วไป เช่น เทคนิคการเปล่งเสียงเพื่อบุคลิกภาพ ร่วมกับบริษัทอาร์เอส จำกัด (มหาชน), Executive Wine Tasting 2006, AIS ชวนขับปลอดภัยมั่นใจไปกับมิชชิลิน, L’oreal “Make up your life” เป็นต้น

เอไอเอส เป็นองค์กรที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งเน้นความสำคัญของลูกค้าเป็นหลักตลอดมา การครองใจลูกค้าทั้ง 19 ล้านคนให้อยู่กับ องค์กรในระยะยาวได้นั้น นับว่าเป็นหนึ่งในความสำเร็จหลักอย่างยิ่งขององค์กร ดังนั้นการเข้าใจความต้องการส่วนลึกของลูกค้าจึงเป็น

สิ่งสำคัญอย่างยิ่ง โดย เอไอเอส ได้ลงทุนในระบบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Data mining) และจัดตั้งทีมงานรวบรวมความคิดเห็นจาก ลูกค้า (Voice of customers) เพื่อเป็นพื้นฐานในการออกแบบสินค้า และบริการต่างๆ ซึ่งจะช่วยสร้างจุดแข็งให้กับ เอไอเอส ในการนำ เสนอสิ่งที่แตกต่าง และตรงใจกลุ่มลูกค้าเป้าหมายแต่ละกลุ่มที่แตกต่างกันได้อย่างครอบคลุม เอไอเอส ได้พัฒนาโปรแกรม “เอไอเอส พลัส” (AIS Plus) ที่ให้สิทธิประโยชน์โดยมอบส่วนลด และสิทธิพิเศษอื่นๆ จากร้านค้า มากกว่า 12,000 แห่งทั่วประเทศ รวมทั้งการจัดทำแคมเปญและกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อให้ตรงกับ ความต้องการในชีวิตประจำวันของลูกค้าทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด อาทิ AIS GSM Let’s go shopping@central, ช้อปโทรฟรี กับบิก๊ ซี เป็นต้น นอกจากการบริหารความสัมพันธ์ลกู ค้า (CRM) อย่างเป็นระบบเพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ความคุม้ ค่าสูงสุดจากการใช้บริการของ เอไอเอส แล้ว วันนี้เราได้ก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง จากการบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (CRM) ไปเป็นการบริหารประสบการณ์ของลูกค้า (CEM) ซึง่ จะทำให้ลกู ค้าเกิดความผูกพันในระยะยาวกับ เอไอเอส ได้ การรักษาความพึงพอใจของลูกค้าอย่างเดียวไม่เพียงพอแล้วสำหรับการรักษา ความได้เปรียบทางการแข่งขัน แต่การบริหารจัดการให้ลูกค้ารู้สึกผูกพันกับเรา และแบรนด์ของ เอไอเอส เป็นยุทธศาสตร์ที่ท้าทาย และ เอไอเอส มุ่งมั่นที่จะไปถึง เอไอเอส มุ่งเน้นการส่งมอบบริการด้วยความมีชีวิตจิตใจเป็นสำคัญ และด้วยคำมั่นสัญญาขององค์กร (Brand promise) ที่ว่า “ชีวิตที่ดีขึ้นของคุณเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ของเราเสมอ” (“Your better life is always our inspiration”) เอไอเอส จึงได้สร้างสรรค์ และผสมผสานปรัชญาแบบ ‘LIFE’ ลงในทุกๆ ส่วนขององค์กร ตั้งแต่การออกแบบแนวคิดของสินค้า และบริการ การออกแบบขัน้ ตอน และกระบวนการต่างๆ เพือ่ ทีจ่ ะส่งมอบประสบการณ์ทดี่ ใี ห้กบั ลูกค้าตลอดสายการให้บริการ (Service value chain) ความหมายของปรัชญาแบบ ‘LIFE’ นัน้ จะสะท้อนถึง ความมีชวี ติ ชีวา (Lively), ความใกล้ชดิ (Inviting), ความไว้วางใจทีไ่ ด้รบั การบริการ ที่เป็นธรรม (Fair), การคิดค้นสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ (Explorative), และให้อำนาจแก่ลูกค้าในการแสดงความต้องการ (Empowering) ซึ่ง สิ่งเหล่านี้ถูกถ่ายทอดผ่าน 1) การให้บริการผ่านผู้ที่เป็นตัวแทนของ เอไอเอส (Human Touch Point) ได้แก่ เจ้าหน้าที่คอลล์เซ็นเตอร์, สำนักงานบริการ เอไอเอส, พนักงานขาย และพนักงานเอไอเอส

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า (Customer relationship management)

043


2) การให้บริการผ่านช่องทางบริการอื่นๆ ของเอไอเอส (Non-Human Touch Point) เช่น ข้อความ SMS, ระบบเสียงตอบรับ อัตโนมัติ (IVR), งานโฆษณา, กิจกรรมส่งเสริมการขาย, บัตรเติมเงิน ฯลฯ ดังนั้นลูกค้าจะได้รับบริการที่มีคุณภาพเท่าเทียมกันในแต่ละ ช่องทางการให้บริการ มีโอกาสได้ทดลองใช้บริการก่อนตัดสินใจซื้อ และมีทางเลือก ในปี 2549 เอไอเอส ได้ออกสื่อโฆษณาที่สะท้อน LIFE ในเชิง Emotional เพื่อจะบอกกับผู้บริโภคของเราว่า “ความรู้สึกของคนที่เราแคร์ สำคัญเสมอ” เอไอเอส เชื่อมั่นว่า การให้บริการ ตามแนวทางนี้จะสามารถครองใจลูกค้า และเปลี่ยนจากผู้ใช้บริการมาเป็นผู้ที่พร้อมให้การสนับสนุนและเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว เอไอเอสซึ่งยากที่ผู้ให้บริการรายอื่นจะสามารถแย่งชิงได้

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2549 มีอัตราเจริญเติบโตของผู้ใช้บริการของตลาดโดยรวมประมาณร้อยละ 32 คิดเป็นจำนวน ผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นประมาณ 10 ล้านคน จากปี 2548 ณ สิ้นปี 2549 ผู้ใช้บริการทั้งสิ้นในตลาดมีจำนวนประมาณ 40 ล้านคน หรือมี อัตราผู้ใช้บริการต่อจำนวนประชากร (Penetration rate) ร้อยละ 62

ส่วนแบ่งการตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ปี 2548

ส่วนแบ่งการตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ปี 2549

อื่นๆ 0.7 ล้านคน

อื่นๆ 0.7 ล้านคน

2%

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

044

เอไอเอส 16.4 ล้านคน 54%

ทรูมูฟ 4.5 ล้านคน 15%

ดีแทค 8.7 ล้านคน 29%

อัตราผู้ ใช้บริการร้อยละ 48 ต่อจำนวนประชากรทั้งประเทศ

1.5%

เอไอเอส 19.5 ล้านคน 49%

ทรูมูฟ 7.6 ล้านคน 19%

ดีแทค 12.2 ล้านคน

30.5%

อัตราผู้ ใช้บริการร้อยละ 62 ต่อจำนวนประชากรทั้งประเทศ

ในครึ่งปีแรกของปี 2549 สภาวะการแข่งขันในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่เน้นกลยุทธ์ด้านราคาเป็นหลักในการทำตลาด โดยผู้ให้ บริการแต่ละรายต่างนำเสนอโปรโมชั่นพิเศษได้แก่ บุฟเฟ่ต์แบบเหมาจ่ายเป็นช่วงเวลา, เป็นเบอร์ หรือต่อครั้ง ซึ่งเปลี่ยนพฤติกรรม การโทรของผู้บริโภคให้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านเครือข่ายในช่วงไตรมาสที่สอง โดยเฉพาะการโทรข้ามเครือข่าย ในช่วงเวลาเร่งด่วนทีม่ ปี ริมาณผูใ้ ช้งานพร้อมกันจำนวนมาก เอไอเอส ให้ความสำคัญกับประสิทธิภาพทีด่ ขี องเครือข่ายจึงได้เพิม่ การลงทุน เพื่อขยายเครือข่าย และพัฒนาคุณภาพอย่างเร่งด่วน ทำให้ปัญหาดังกล่าวคลี่คลายอย่างรวดเร็วโดยเครือข่ายมีคุณภาพที่ดีขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในไตรมาสที่สาม การแข่งขันที่รุนแรงในช่วงครึ่งปีแรกทำให้จำนวนลูกค้าใหม่ขยายตัวอย่างมากแต่ส่วนใหญ่เป็นการขยายตัวภายในกลุ่มผู้ที่เคย ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่แล้ว (Experience user) โดยแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่กลุ่มที่อ่อนไหวต่อราคา (Price sensitive) ซึง่ จะยกเลิกเบอร์เดิมเพือ่ ใช้เบอร์ใหม่ทเี่ สนอโปรโมชัน่ ทีน่ า่ สนใจกว่า และกลุม่ ทีใ่ ช้โทรศัทพ์เคลือ่ นทีม่ ากกว่า 1 เบอร์ (Multiple SIM user) ซึง่ เป็นกลุม่ ทีเ่ จอปัญหาด้านการโทรข้ามเครือข่าย หรือกลุม่ ทีม่ กี ารใช้จา่ ยปานกลางถึงมากทีต่ อ้ งการลดค่าใช้จา่ ย ขณะทีก่ ารเติบโตในกลุม่ ผู้ใช้บริการรายใหม่ที่ยังไม่เคยใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใดๆ มาก่อน (New user) เป็นสัดส่วนน้อยโดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ ที่มีอัตราส่วนผู้ใช้บริการต่อจำนวนประชากรที่ค่อนข้างสูงมาก การแข่งขันด้านราคา และปัญหาด้านเครือข่ายดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อ


ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2550 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ตลาดที่อิ่มตัว (Saturated market) และตลาดที่ยังไม่อิ่มตัว (Unsaturated market) สำหรับตลาดทีอ่ มิ่ ตัว เป็นตลาดทีม่ จี ำนวนผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลือ่ นทีต่ อ่ ประชากรในอัตราทีส่ งู (High penetration rate) ซึง่ ส่วนมาก จะอยู่ในเขตเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพฯ มีการแข่งขันด้านราคาอย่างรุนแรงเพื่อแย่งชิงฐานลูกค้า และมีการเปลี่ยนระบบ

ทีค่ อ่ นข้างสูง เนือ่ งจากลูกค้ามีความอ่อนไหวต่อราคา (Price sensitive) และไม่คอ่ ยยึดติดกับแบรนด์ (Low brand loyalty) ตลาดทีอ่ มิ่ ตัว จะประกอบด้วยลูกค้า 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มลูกค้าหมุนเวียน (Replacement SIM) เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีความอ่อนไหวต่อระดับราคา (Price sensitive) จึงเลือกใช้เบอร์ใหม่ซึ่งมีโปรโมชั่นถูกกว่าแทนเบอร์เดิม เนื่องจากมีงบประมาณจำกัดหรือมีโทรศัพท์เคลื่อนที่เพียง เครือ่ งเดียว กลุม่ ลูกค้าทีม่ โี ทรศัพท์เคลือ่ นทีม่ ากกว่า 1 เบอร์ (Multiple SIM user) มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากปัญหาการโทรข้ามเครือข่าย ในช่วงทีม่ กี ารใช้งานสูงยังไม่หมดไป ในขณะทีก่ ารโทรภายในเครือข่ายเดียวกันมีปญ ั หาน้อยกว่า การแจกซิมการ์ดฟรี หรือการพ่วง (Bundle) ซิมการ์ดไปกับบริการอืน่ เพือ่ ใช้เฉพาะกิจพร้อมโปรโมชัน่ ทีน่ า่ สนใจ จะจูงใจให้ลกู ค้าสนใจทีจ่ ะถือมากกว่า 1 เบอร์ อย่างไรก็ตามเมือ่ มีการ ประกาศใช้ค่าเชื่อมโยงเครือข่าย (Interconnection charge) แล้ว โครงสร้างหรือรูปแบบในการเสนอราคาต่อลูกค้าจะเปลี่ยนแปลงไป โดยคาดว่าผู้ให้บริการจะหันมาทำโปรโมชั่นที่รองรับค่าเชื่อมโยงเครือข่ายและการโทรภายในเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น สำหรับตลาดที่ยังไม่อิ่มตัว เป็นตลาดที่ยังมีศักยภาพในการเติบโต ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชานเมืองในต่างจังหวัดที่การสื่อสาร

ยังเข้าไม่ถึง และการแข่งขันยังไม่รุนแรงเท่าตลาดอิ่มตัว สำหรับปัจจัยหลักในการตัดสินใจเลือกใช้บริการของลูกค้ากลุ่มนี้ คือเครือข่าย

ที่ครอบคลุมผูใ้ ห้บริการทุกรายจึงได้ลงทุนขยายเครือข่ายอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เข้าถึงความต้องการของลูกค้า นอกเหนือจากนีย้ งั ต้องการอัตรา ใช้คา่ บริการที่เหมาะสมโดยลดจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องเติมต่อเดือนเพื่อรักษาเบอร์ (Recurring cost) เอไอเอสมีศักยภาพที่จะขยายตลาด ไปยังลูกค้ากลุ่มนี้โดยเน้นการขยายการลงทุนด้านเครือข่ายให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งถือเป็นโยบายหลักในปี 2550 พร้อมทั้งบริการ

หลังการขายทีม่ คี ณ ุ ภาพ ณ ระดับราคาทีค่ มุ้ ค่า แบรนด์ทแี่ ข็งแกร่ง ช่องทางการจัดจำหน่ายทีห่ ลากหลาย และเข้าถึงลูกค้า สำหรับการ ขยายฐานลูกค้าในตลาดนี้ ผู้ให้บริการจะใช้กลยุทธ์ Localized marketing เพื่อตอบสนองพฤติกรรมที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค อีกทั้ง กิจกรรมทางการตลาดในระดับอำเภอและหมู่บ้าน นอกจากนี้ การใช้ค่าเชื่อมโยงเครือข่าย (Interconnection) จะช่วยให้การลงทุนของ

ผู้ให้บริการในตลาดที่ยังไม่อิ่มตัวคุ้มค่ามากขึ้น เนื่องจากผู้ให้บริการมีต้นทุนที่เป็นธรรมมากขึ้นจากการให้บริการกลุ่มลูกค้าที่มีพฤติกรรม การใช้โทรออกน้อย และเน้นรับสายเป็นส่วนใหญ่

2 5 4 9

แนวโน้มตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในปี 2550

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

ภาพลักษณ์ของแบรนด์ เอไอเอส จึงได้ตอกย้ำความแข็งแกร่งของแบรนด์ ภายใต้เครือข่าย เอไอเอส ให้แก่ GSM Advance, One-2-Call! และสวัสดี ผ่านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์และกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งได้นำแนวคิดพรีเซ็นเตอร์ที่สามารถสะท้อนภาพลักษณ์ของแบรนด์

ได้อย่างชัดเจนมาใช้ เพื่อจะสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคทั้งด้านคุณภาพเครือข่าย บริการ และโปรโมชั่น ผลกระทบจากการแข่งขันทางด้านราคา ทั้งในเรื่องของคุณภาพของการให้บริการ และรายได้ที่ลดลงทำให้ผู้ประกอบการทุกราย ชะลอความรุนแรงในด้านโปรโมชัน่ ของราคา แต่หนั มาเน้นในเรือ่ งของการสร้างแบรนด์ และปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ รวมทัง้ เปลีย่ น กลยุทธ์ของการแข่งขันกันในระดับ Mass มาเป็นการเจาะตลาดเฉพาะกลุ่ม เช่น อัตราค่าโทรพิเศษสำหรับการใช้งานภายในเครือข่าย เดียวกัน และสำหรับการโทรในกลุ่มเดียวกัน กลยุทธ์ดังกล่าวนี้ได้ถูกใช้กับการขยายตลาดในส่วนภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอีสาน โดย เอไอเอส ได้นำเสนอโปรโมชั่นค่าโทรตามพื้นที่ในเขตภาคอีสานเป็นแห่งแรกโดยใช้ชื่อ “สวัสดีชาวอีสาน” และเพื่อสนับสนุนการ ขยายตลาดไปสูต่ า่ งจังหวัด เอไอเอส ได้จดั Caravan และกิจกรรมทางการตลาดสูร่ ะดับอำเภอ และหมูบ่ า้ นเพือ่ ให้สามารถนำเสนอสินค้า และบริการให้กับลูกค้าได้โดยตรงซึ่งเป็นการสร้างสัมพันธ์อันดีกับลูกค้าสามารถประชาสัมพันธ์โปรโมชั่นและความก้าวหน้าด้านเครือข่าย เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า นอกจากเป้าหมายที่จะสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าแล้ว เอไอเอส ยังได้คำนึงถึงการตอบแทนประโยชน์กลับคืนสู่สังคม ซึ่งถือเป็นนโยบายหลักตลอดมา โดยได้ริเริ่มโครงการสนับสนุนสถาบันครอบครัว “สานรัก” ขึ้นในปี 2542 เพราะตระหนักดีว่าครอบครัว คือ รากฐานทีส่ ำคัญของสังคมในการสร้างคนให้เป็นคนดี และยังได้ขยายไปสูโ่ ครงการเพือ่ สังคมอืน่ ๆ เช่น การให้ทนุ การศึกษาแก่เยาวชน “คนเก่งหัวใจแกร่ง”, โครงการแจกถังบรรจุนำ้ ให้พนื้ ทีป่ ระสบปัญหาภัยแล้ง, แจกผ้าห่มกันหนาว และให้การผ่าตัดผูป้ ว่ ยโรคลมชัก เป็นต้น

045




กิจกรรมเพื่อสังคม รวมพลังสร้างสรรค์ เพื่อสังคมไทย ตลอดระยะเวลาของการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญและยึดมั่น ในหลักธรรมาภิบาล ด้วยความโปร่งใส เป็นธรรมและตรวจสอบได้ ควบคูก่ บั การดำเนิน กิจกรรมเพื่อสังคมด้วยสำนึกของการเป็นบริษัทฯ ที่เติบโตควบคู่กับสังคมไทย และ ต้องการตอบแทนคืนสู่สังคมไทย ตลอดจนต้องการมีส่วนร่วมในการสนับสนุนให้

คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งไม่เพียงแต่เรื่องของการติดต่อสื่อสารเท่านั้น หากแต่ ต้องดีขึ้นในทุกๆ ด้าน เพื่อรอยยิ้มและเสียงหัวเราะแห่งความสุข อันเป็นพื้นฐานของ ชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต เพื่อให้สังคมไทยเข้มแข็งอย่างยั่งยืน บริษัทฯ จึงได้กำหนดให้ การดำเนินกิจกรรมเพือ่ ตอบแทนสังคมเป็นนโยบายหลักอีกด้านหนึง่ ควบคูไ่ ปกับนโยบาย การดำเนินธุรกิจ โดยบริษัทฯ ได้สร้างสรรค์กิจกรรมทางด้านสังคมในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแบ่งได้เป็นกิจกรรมภายนอกและกิจกรรมภายใน

กิจกรรมภายนอก

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

048

กิจกรรม สานรัก - เอไอเอส สัมมนา ครอบครัว

กิจกรรม สานรักวัยทีน

Always Smile

1. โครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัว โครงการที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ข องสมาชิ ก ในครอบครัว เพราะบริษทั ฯ มีความเชือ่ มัน่ ว่า ครอบครัวเป็นจุดเริม่ ต้นของการพัฒนา ไปสู่สังคมที่ดี ถ้าครอบครัวไทยแข็งแรงย่อมส่งผลให้ประเทศชาติแข็งแรงไปด้วย โครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัว จึงได้เริ่มต้นด้วยความมุ่งหวังที่จะทำให้ คนไทยทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัวมากยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงได้ กำหนดแผนงานรณรงค์โครงการสานรัก แบ่งเป็น 4 ขั้นตอนดังนี้ 1.1 จุดประกายความคิดของคนไทย ให้ตระหนักถึงความสำคัญของสถาบัน ครอบครัวด้วยการถ่ายทอดมุมมอง และแนวคิดอันเป็นประโยชน์ต่อการรณรงค์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว โดยการถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์โฆษณา ชุดต่างๆ อาทิ ชุด “กอด” ปี 2547 ภายใต้แนวคิด “กอดกันทุกวัน ครอบครัวอบอุ่นแข็งแรง” เพราะเชื่อว่า การทีส่ มาชิกครอบครัวได้แสดงความรัก ความอบอุน่ ให้กนั และกัน ด้วยการ “กอด” สามารถสื่อสารความรักที่มีต่อกัน และสร้างให้เกิดความใกล้ชิด ภายในครอบครัวได้มากขึ้น ชุด “แสงสว่าง” ปี 2548 ภายใต้แนวคิด “ความรักที่มีต่อกันในครอบครัว คือ พลังที่ยิ่งใหญ่” ต้องการสื่อสารให้เห็นถึง ความรักที่มีต่อกันในครอบครัว คือ พลังที่ ยิ่งใหญ่ ที่จะสามารถต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้ ชุด “Always Smile” ปี 2549 ภายใต้แนวคิด “กำลังใจ” ที่มีให้กันในครอบครัว ... คือพลังที่ยิ่งใหญ่ สื่ อ สารให้ ส มาชิ ก ในครอบครั ว ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของการ ให้กำลังใจซึ่งกันและกันมากขึ้น เพื่อการดำรงชีวิตต่อไปในสังคมได้อย่าง เข้มแข็ง และไม่ท้อถอย


1.2 การให้สาระความรู้เกี่ยวกับครอบครัว 1.2.1 จัดทำจุลสารสำหรับครอบครัว 1.2.2 จัดกิจกรรม สานรัก - เอไอเอส สัมมนาครอบครัว 1.2.3 จั ด กิ จ กรรม สานรั ก วั ย ที น ให้ ค วามรู้ แ ละข้ อ คิ ด สำหรั บ วั ย รุ่ น ในสังคมไทย ในการแสดงความรักที่ถูกวิธีและเหมาะสม 1.3 สร้างแบบอย่างเยาวชนที่ดีของสังคมไทย 1.3.1 ผลิตสารคดีชวี ติ ทางโทรทัศน์ ภายใต้ชอื่ รายการ “สานรัก คนเก่ง หัวใจแกร่ง” นำเสนอเรื่องราวชีวิตของเยาวชนที่มีสายใยความรักความ ผูกพันในครอบครัวแน่นแฟ้น ทำให้เยาวชนเหล่านี้มีความกตัญญู มีความ มุ่งมั่นในการทำงานเพื่อช่วยเหลือครอบครัว และมีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน โดยบริษทั ฯ ได้มอบทุนการศึกษาจนกระทัง่ จบปริญญาตรี ซึง่ ขณะนีม้ เี ยาวชน ที่อยู่ในโครงการแล้วกว่า 300 คน

1.4 จัดกิจกรรมสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีของคนในครอบครัว 1.4.1 เอไอเอส ยิ้มหวานวันเด็ก จัดกิจกรรมวันเด็กให้กับเด็กบกพร่อง ทางร่างกายและปัญญาตามสำนักงานเอไอเอสทั่วประเทศ 1.4.2 เอไอเอส แฟมิลี่ แรลลี่ เพื่อสายใจไทย ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1.4.3 เอไอเอส แฟมิลี่ วอล์ค แรลลี่ เพื่อมูลนิธิอานันทมหิดล ชิงถ้วย พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

(ซ้าย) “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” มอบ ทุนการศึกษา (กลาง,ขวา) กิจกรรมวันเด็กเพือ่ เด็กบกพร่อง ทางร่างกายและปัญญา

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

049

(บน) เอไอเอส แฟมิลี่ แรลลี่ เพือ่ สายใจไทย (ล่าง) เอไอเอส แฟมิลี่ วอล์ค แรลลี ่


“ถังน้ำใจ เอไอเอส เพื่อไทยไม่ขาดน้ำ”

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

050

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เอไอเอส

2. โครงการสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่บริษัทฯ มุ่งหวังที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมไทย และ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนไทยให้ ดี ขึ้ น ในทุ ก ๆ ด้ า น ด้ ว ยการจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สาธารณประโยชน์รูปแบบต่างๆ ดังนี้ 2.1 โครงการถังน้ำใจ เอไอเอส เพื่อไทยไม่ขาดน้ำ บริ ษั ท ฯ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของพี่ น้ อ งประชาชน ที่ประสบปัญหาภัยแล้งและขาดแคลนน้ำ เพื่อใช้ในการอุปโภค-บริโภค จึงได้จัด โครงการ “ถังน้ำใจ เอไอเอส เพื่อไทยไม่ขาดน้ำ” เพื่อให้สอดคล้องกับโครงการ พระราชดำริและถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดยได้นำถังเก็บน้ำขนาด 2,200 ลิตร จำนวน 1,218 ถังไปมอบให้แก่หมู่บ้าน และชุมชนในพื้นที่ห่างไกลที่ประสบปัญหาภัยแล้งและขาดแคลนน้ำ เพื่อจะได้มีถัง

ไว้กักเก็บน้ำ ณ พื้นที่ส่วนกลางของชุมชน ซึ่งสามารถช่วยเหลือและบรรเทาความ เดือดร้อนของพี่น้องประชาชนได้ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ รวม 109,982 ครัวเรือน 2.2 โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เอไอเอส –สานรัก 2.3 โครงการลานกีฬา เอไอเอส 2.4 โครงการ เอไอเอส จัดหาอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานตำรวจจราจร 2.5 โครงการสายลับดิจิตอล แจ้งเหตุด่วนเหตุร้ายถึงตำรวจ ผ่าน MMS บนมือถือ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 2.6 โครงการรับนักศึกษาฝึกงานภาคฤดูร้อน 2.7 โครงการ Company Visit เพือ่ เปิดโอกาสให้หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน รวมถึงสถาบันการศึกษา เข้าเยี่ยมชมกิจการขององค์กร และแลกเปลี่ยน ความรู้ประสบการณ์ โดยมีเจตนารมณ์ในการถ่ายทอดข้อมูลเพื่อเป็นองค์ความรู้แก่ ผู้เข้าเยี่ยมชม 3. โครงการสาธารณกุศล เป็นอีกหนึง่ โครงการทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ นำเงินบริจาคสมทบทุนมูลนิธิ องค์กรการกุศล ต่างๆ เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนี้ 3.1 กองทุนเอไอเอส เพื่อผู้สูงอายุในมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ 3.2 คอนเสิร์ตการกุศล เอไอเอส รายได้โดยเสด็จพระราชกุศล ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อทรงใช้สอยตามพระราชอัธยาศัย

ลานกีฬา เอไอเอส

4. โครงการบรรเทาสาธารณภัย ด้วยความห่วงใยคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของพี่น้องชาวไทยที่ประสบ ปัญหาจากภัยธรรมชาติ บริษัทฯ จึงได้แบ่งปันน้ำใจเพื่อช่วยเหลือ และบรรเทาความ เดือดร้อนให้แก่พนี่ อ้ งคนไทยทีป่ ระสบปัญหาจากภัยธรรมชาติในทุกพืน้ ทีข่ องประเทศ ดังนี้ 4.1 เอไอเอส รวมใจบรรเทาภัยหนาว 4.2 เอไอเอส รวมใจบรรเทาภัยน้ำท่วม


กองทุน เอไอเอส เพื่อผู้สูงอายุ ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห์

ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

4.3 โครงการเดือนแห่งการร่วมใจ 15 ล้านไทยช่วยใต้เข้มแข็ง เป็นการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบธรณีพิบัติภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิใน 6 จังหวัดภาคใต้ โดยได้ ร่วมบริจาคเงินจำนวน 120 ล้านบาท และพนักงานบริษัทฯ ได้ร่วมแรงร่วมใจเป็น อาสาสมัครไปปฏิบัติงานในพื้นที่เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย เอไอเอส รวมใจบรรเทาภัยหนาว กิจกรรมภายใน 1. โครงการพัฒนาบุคลากรให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์ต่อ องค์กรและสังคม บริษัทฯ มุ่งเน้นให้ความสำคัญด้านบุคลากร ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามาก ที่สุดขององค์กร ด้วยการจัดฝึกอบรม เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถให้เกิดความ เชีย่ วชาญในวิชาชีพต่างๆ การพัฒนาเชิงการจัดการ รวมถึงการพัฒนาทัศนคติ วิธคี ดิ การปลูกฝังการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง พร้อมกันนี้ บริษทั ฯ ได้สง่ เสริม ให้บคุ ลากรศึกษาหาความรูจ้ ากแหล่งความรูภ้ ายนอกเพิม่ เติมด้วยงบประมาณและทุน ของบริษัทฯ 2. งานสัมมนา People Excellence Day งานสัมมนาวิชาการที่บริษัทฯ ได้จัดขึ้นเพื่อเปิดโลกทัศน์แก่บุคลากร โดยได้มี การเชิญวิทยากรระดับแนวหน้าของประเทศในด้านต่างๆ มาแลกเปลีย่ นประสบการณ์ และมุมมองทีม่ ปี ระโยชน์อย่างยิง่ และล้วนเป็นเรือ่ งทีม่ อิ าจหาอ่านได้จากหนังสือวิชาการ เล่มใดๆ เอไอเอส รวมใจบรรเทาภัยน้ำท่วม 3. โครงการให้ทุนการศึกษาบุตรพนักงาน เพื่อเป็นการช่วยเหลือและสนับสนุนบุตรของพนักงานที่เรียนดีให้เติบโตเป็น บุคลากรของสังคมที่มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาประเทศชาติ ด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างสรรค์สงั คม เพือ่ ให้คนไทยมีชวี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ เอไอเอส จะดำเนินตามนโยบายการตอบแทนสังคมทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่อง และ พร้อมเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้สังคมไทยเติบโตอย่างมีคุณภาพ และยั่งยืนต่อไป

051


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ปี 2549 นิตยสาร Forbes

- บริษทั ทีม่ มี ลู ค่าตามราคาตลาดหลักทรัพย์ลำดับที่ 1338 ของโลก ประจำปี 2549 ซึง่ เป็นบริษทั สือ่ สารโทรคมนาคม

ของไทยรายเดียวที่ติดอันดับ 1 ใน 2000 บริษัทระดับโลก (Forbes Global 2000) SET Awards 2006 โดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร - บริษัทที่มีฐานะการเงินและผลการดำเนินงานดีเด่น (Best Performance) ในหมวดเทคโนโลยี - บริษทั ทีส่ ามารถรักษามาตรฐานด้านการรายงานการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นปีทสี่ องติดต่อกัน

(Distinction in Maintaining Excellent Corporate Governance Report) สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) - ภาพยนตร์โฆษณาชุด Life Signal ของเอไอเอส ได้รับรางวัลชมเชยประเภทบริการ - ภาพยนตร์โฆษณาชุด Glow In The Dark ของเอไอเอสได้รบั รางวัลชมเชยประเภทส่งเสริมสังคมศิลปวัฒนธรรม

และสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย - ภาพยนตร์โฆษณาชุด Always Smile ของเอไอเอส ได้รบั รางวัลสือ่ มวลชนดีเด่น ประเภทภาพยนตร์โฆษณา

ปี 2548 SET Awards 2005 โดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

052

- บริษัทที่มีการประกอบการธุรกิจดีเด่น (Best Performance) ในหมวดเทคโนโลยี - บริษัทที่มีความโดดเด่นด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (Best Investor) - บริษทั ทีเ่ ปิดเผยข้อมูลผลประกอบการดีเด่นตามหลักธรรมาภิบาล (Best Corporate Governance Awards) Thailand Corporate Excellence Award 2004 โดย สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทยและสถาบัน

บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - รางวัลการให้ความสำคัญต่อการสร้างนวัตกรรมและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ - รางวัลความเป็นเลิศด้านการตลาด สถาบันจัดอันดับ Standard & Poor (S&P) - บริษัทได้รับการปรับอันดับความน่าเชื่อถือและการพัฒนาคุณภาพองค์กรจาก BBB+ เป็น A- สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย - ภาพยนตร์โฆษณาชุดแสงสว่าง ของเอไอเอส ได้รับรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น ประเภทภาพยนตร์โฆษณา

ปี 2547 นิตยสาร Business Week

- บริษทั ทีม่ มี ลู ค่าสูงสุดหรือเป็นบริษทั ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ อันดับที่ 840 จากจำนวน 1000 บริษทั ทัว่ โลก (The Global 1000 :

The World’s Most Valuable Companies) บริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด - บริษัทได้รับอันดับเครดิตภายในประเทศระยะยาวที่ระดับ AA (tha) แนวโน้มมีเสถียรภาพ - บริษัทได้รับอันดับเครดิตภายในประเทศระยะสั้นที่ระดับ F1+ (tha) บริษัท ไทยเรทติ้ง แอนด์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จำกัด (ทริส) - บริษัทได้รับอันดับความน่าเชื่อถือขององค์กรและหุ้นกู้คงที่ที่ระดับ AA สถาบัน Institutional Investor Research Group - รางวัล Best CEO (นายสมประสงค์ บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร) - รางวัล Best Investor Relations สถาบันจัดอันดับ Standard & Poor (S&P) - บริษัทได้รับการปรับอันดับความน่าเชื่อถือและการพัฒนาคุณภาพองค์กร จาก BBB เป็น BBB+


นิตยสาร asiamoney - รางวัล Best Chief Executive Officer in Thailand - รางวัล Overall Best Managed Company with a market capitalization of over US$ 700 million นิตยสาร Euromoney - รางวัล Best Managed Company in Thailand - รางวัล Best Managed Cellular Telecommunications Company in Asia นิตยสาร Deloitte - รางวัลบริษทั ประกอบการด้านเทคโนโลยีทมี่ ผี ลประกอบการดีเยีย่ ม 500 อันดับแรกของภูมภิ าคเอเชีย (Deloitte Asia Pacific Technology Fast 500) โดยเป็นอันดับที่ 417 สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - โครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัวจากเอไอเอส ได้รบั รางวัลดีเด่นกลุม่ ธุรกิจทีส่ ง่ เสริมสถาบันครอบครัว ประเภทโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสถาบันครอบครัว สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย - ภาพยนตร์โฆษณาชุดพ่อกับลูกชาย ของเอไอเอสได้รับรางวัลดีเด่นอันดับ 3 ประเภทภาพยนตร์โฆษณา

ปี 2546 SET Awards 2003 โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร

- บริษทั จดทะเบียนทีม่ ฐี านะการเงินและผลการดำเนินงานในปี 2545 ดีเด่น สำหรับบริษทั หมวดเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) - บริษทั ทีม่ กี ารเปิดเผยข้อมูลดีในสายตาของนักวิเคราะห์และผูจ้ ดั การกองทุน (DISCLOSURE Report Award 2003) นิตยสาร Institutional Investor - บริษัทที่นักวิเคราะห์และผู้จัดการกองทุนในภูมิภาคเอเชียเห็นว่ามีการพัฒนาศักยภาพด้านนักลงทุนสัมพันธ์

สูงสุดของไทย (Most Improved Company IR, Buy-side View) นิตยสาร THE ASSET - บริษัทที่มีการเปิดเผยข้อมูลผลประกอบการดีเด่นตามหลักธรรมาภิบาล อันดับที่ 3 ของไทย (The 3rd Best in Corporate Governance 2003) นิตยสาร Far Eastern Economic Review - บริษัทชั้นนำแห่งปีของไทย (Thailand’s Leading Companies) อันดับที่ 2 ประจำปี 2546 บริษัท ไทยเรทติ้ง แอนด์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จำกัด (ทริส) - ปรับอันดับความน่าเชื่อถือขององค์กรและหุ้นกู้จากระดับ AA- เป็น AA สถาบันการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA) ร่วมกับสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย - รางวัลการเป็นองค์กรที่ให้ความสำคัญต่อการสร้างนวัตกรรมและความเป็นเลิศด้านการตลาด สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - รางวัลผูส้ ง่ เสริมสถาบันครอบครัว ประจำปี 2546 ในฐานะองค์กรทีใ่ ห้การสนับสนุนสถาบันครอบครัวอย่างต่อเนือ่ ง

ปี 2545 นิตยสาร FinanceAsia

-

บริษทั ดีเด่นอันดับหนึง่ ของประเทศไทย ใน 6 ด้านคือ การจัดการ (Best Managed Company), การยึดถือหลัก

ของบรรษัทภิบาลอย่างสูงสุด (Most committed to Corporate Governance), การรักษาข้อผูกพันในการสร้าง มูลค่าทางธุรกิจให้แก่ผถู้ อื หุน้ (Strongest Commitment to Enhancing Shareholder Value), ความสัมพันธ์ ต่อนักลงทุน (Best in Investor Relations), การบริหารจัดการด้านการเงิน (Best Financial Management) และการมีผู้บริหารด้านการเงินที่มีความสามารถมากที่สุด (Best CFO)

2 5 4 9

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

053


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

054

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) - บริษัทจดทะเบียนที่มีการเปิดเผยข้อมูลดีเด่น (DISCLOSURE Award 2002) นิตยสาร asiamoney - บริษัทที่มีการบริหารจัดการด้านการเงินดีที่สุด (Best Financial Management) - บริษัทที่เปิดโอกาสให้นักลงทุนเข้าถึงผู้บริหารระดับสูงได้ดีที่สุด (Best Access to Senior Management) เป็นอันดับหนึ่งของประเทศไทย - บริษทั ทีม่ กี ารบริหารจัดการด้านตรวจสอบประเมินผลภายในองค์กรทีด่ ี (Corporate Governance : Company Self Assessment) นิตยสาร Far Eastern Economic Review - บริษัทชั้นนำแห่งปีของไทย (Thailand’s Leading Companies) - บริษทั ทีอ่ งค์กรต่างๆ สามารถยึดถือแนวทางการบริหารงานเป็นแบบอย่างได้ เป็นอันดับที่ 1 (Companies that others try to emulate) นิตยสาร The Asset - บริษทั ทีม่ กี ารกำกับดูแลกิจการดีทสี่ ดุ เป็นอันดับหนึง่ ของประเทศไทย (Best in Corporate Governance in Thailand) สถาบันกรรมการบริษัทไทย (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์

และตลาดหลักทรัพย์) - เอไอเอสเป็น 1 ใน 50 บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทีม่ กี ารกำกับดูแลกิจการทีด่ ที สี่ ดุ ของไทย ประจำ ปี 2545 Thailand Corporate Excellence Awards 2002 โดย สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย - เอไอเอสเป็น 1 ใน 5 องค์กรทีม่ คี วามเป็นเลิศด้านบริหารการเงิน (Financial Management), การให้ความสำคัญ

ต่อการสร้างนวัตกรรมและการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ (Commitment to Innovation), ความเป็นเลิศด้านการตลาด (Marketing Excellence), และคุณภาพของสินค้าและบริการ (Commitment to Product Quality and/or Service Quality) สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย - รายการสารคดี “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” ของเอไอเอสได้รบั รางวัลสือ่ มวลชนดีเด่น ประเภทรายการสารคดี

สำหรับครอบครัว

ปี 2544 นิตยสาร FinanceAsia

- บริษัทดีเด่นด้านการจัดการ (Best Managed Company) - บริษทั ดีเด่นด้านการรักษาข้อผูกพันในการสร้างมูลค่าทางธุรกิจแก่ผถู้ อื หุน้ (Most Commitment to Shareholder Value) - บริษัทที่นำกลยุทธ์ด้านพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์มาประยุกต์ใช้ เป็นอันดับที่ 2 (Best E-commerce Strategy) - บริษัทที่มีความสัมพันธ์ต่อนักลงทุนเป็นอันดับที่ 3 นิตยสาร Investor Relations - เอไอเอสเป็นบริษัทชั้นนำแห่งหนึ่งในเอเชีย (ASIA 2001 AWARDS) - บริษัทที่มีความสัมพันธ์กับนักลงทุนที่ดีที่สุดของไทย (Best IR by Thai Company) นิตยสาร asiamoney - บริษัทที่มีการบริหารจัดการที่ดีที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของไทย


- บริษทั ดีเด่นใน 7 ด้านคือ Overall Best Investor, Investor Relations, Corporate Governance, Corporate Strategy, Management of Financial Accounts, Treatment of Minority Shareholders และ Best Annual Report นิตยสาร Far Eastern Economic Review - เอไอเอสเป็น 1 ใน 10 บริษัทชั้นนำที่สุดในประเทศไทย (Asia’s Leading Companies Award) - เอไอเอสเป็นอันดับที่ 2 ในด้าน High Quality Services / Products และ Financial Soundness Thailand Corporate Excellence Awards 2001 โดย สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย - เอไอเอสเป็น 1 ใน 5 องค์กรทีม่ คี วามเป็นเลิศด้านการให้ความสำคัญต่อการสร้างนวัตกรรมและการสร้างสรรค์

สิง่ ใหม่ๆ (Commitment to Innovation), ความเป็นเลิศด้านการตลาด (Marketing Excellence), คุณภาพของ สินค้าและบริการ (Commitment to Product Quality and/or Service Quality) และผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ กว้างไกล (Visionary Leadership) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ (ส.ย.ช.) - รายการสารคดี “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” ของเอไอเอส ได้รับรางวัลผลงานสื่อมวลชนดีเด่นเพื่อเยาวชน ประเภทรายการโทรทัศน์สำหรับเยาวชนอายุระหว่าง 15-25 ปี

ปี 2543 นิตยสาร asiamoney

- บริษัทที่มีการบริหารจัดการที่ดีที่สุดในประเทศไทย นิตยสาร Far Eastern Economic Review - บริษัทชั้นนำ 1 ใน 10 บริษัทของประเทศไทย สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย - แผนการตลาด วัน-ทู-คอล! ของเอไอเอส เป็นแผนงานการตลาดดีเด่น GOLD AWARD ประเภทสินค้าบริการ สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย - ภาพยนตร์โฆษณาชุด Everyday และชุด Mother Day ของเอไอเอส ได้รบั รางวัลสือ่ มวลชนดีเด่น ประเภทภาพยนตร์

โฆษณาในโครงการการส่งเสริมความผูกพันในครอบครัว

ปี 2542 นิตยสาร asiamoney

- บริษัทที่มีการวางกลยุทธ์ในการบริหารองค์กรยอดเยี่ยมที่สุดในประเทศไทย - บริษัทที่มีการวางกลยุทธ์ในการบริหารการจัดการได้ดีที่สุด เป็นอันดับ 2 ในประเทศไทย - บริษัทที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับนักลงทุน เป็นอันดับ 3 ในประเทศไทย - บริษัทชั้นนำ 1 ใน 100 บริษัทที่มีการจัดองค์กรที่ดีที่สุดในภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค (อันดับที่ 24) นิตยสาร Far Eastern Economic Review - บริษัทชั้นนำ 1 ใน 10 ของเอเชีย (Review 200 : Asia’s Leading Companies Winners Program) และ ได้รับการกล่าวถึงในฐานะของบริษัท Flying High ท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจที่กำลังมีปัญหาในเอเชีย - บริษัทชั้นนำ 1 ใน 10 ของไทย สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย - แผนการตลาดของ ดิจติ อล จีเอสเอ็ม 2 วัตต์ ของเอไอเอส ได้รบั รางวัลแผนการตลาดยอดเยีย่ ม GOLD AWARD ประเภทสินค้าบริการ สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย - ภาพยนตร์โฆษณาชุด Friday Night ของเอไอเอส ได้รับรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น ประเภทภาพยนตร์โฆษณา

2 5 4 9

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

055


เหตุ ก ารณ์ ส ำคั ญ ในรอบปี การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการสำคัญ (Key Events) ในปี 2549 มกราคม 2549

• • •

เอไอเอส โมบายไลฟ์ สานต่อแนวคิด Industry Convergence โดยนำเทคโนโลยี 2D Barcode ประยุกต์ใช้บนมือถือ ผ่านบริการ “Barcode Access” เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันที เอไอเอส สวัสดี นำเสนอบริการ “ดี๊ดี” เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถรับสายในเครือข่ายเอไอเอสได้โดยไม่ต้องเติมเงิน และ ไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2549 กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน) (“SHIN”) ได้ขายหุน้ SHIN ให้แก่บริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ ส์ จำกัด (“Cedar”) และบริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จำกัด (“Aspen”) ส่งผลให้ Cedar และ Aspen ต้องเข้าถือหลักทรัพย์ของบริษัทเพื่อครอบงำกิจการโดยสมัครใจ (Voluntary Tender Offer) ในราคา 72.31 บาทต่อหุ้น นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ของ SHIN ครัง้ ที่ 1/2549 เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2549 มีมติจะไม่ขายหุน้ สามัญ

ของบริษทั ที่ SHIN ถืออยูท่ งั้ จำนวน เนือ่ งจาก คณะกรรมการบริษทั ของ SHIN พิจารณาแล้วมีความเห็นว่าธุรกิจของบริษทั เป็นธุรกิจที่ก่อให้เกิดรายได้หลักของบริษัทและประกอบกับการที่บริษัทมีผลประกอบการที่ดีมาโดยตลอด

กุมภาพันธ์ 2549

• •

เอไอเอส ร่วมมือกับ บริษทั โนเกีย และอวาย่า ในการออกแบบ จัดสร้างและบริหารเครือข่ายด้านการสือ่ สาร โดยใช้โซลูชนั่ Enterprise Fixed Mobile Convergence เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการดำเนินงานของกลุ่มลูกค้าองค์กร เอไอเอส เปิดสถาบันพัฒนาและอบรมพนักงานเทเลวิซ หรือ Telewiz Academy เพื่อพัฒนาให้เป็นนักบริการอย่าง มืออาชีพ พร้อมมอบบริการที่ดีที่สุดเพื่อผู้ใช้บริการเอไอเอส

มีนาคม 2549 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

056

• เอไอเอส ร่วมกับบริษทั อีรคิ สัน, หัวเหว่ย, เอ็นอีซ,ี โนเกีย และ ซีเมนส์ ประกาศแผนพัฒนาเครือข่าย ปี 2549 โดยมุง่ เน้น คุณภาพเครือข่าย เพือ่ ความสามารถในการรองรับการใช้งาน ขยายความครอบคลุมในพืน้ ทีก่ ารใช้งาน และพัฒนาคุณภาพ การใช้งานข้อมูลบนมือถือให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อมอบบริการที่ดีที่สุดแก่ผู้ใช้บริการทั่วประเทศ

เมษายน 2549 • เอไอเอส ร่วมกับโนเกีย เปิดบริการ “Music Portal” ร้านขายเพลงบนมือถือโนเกีย 3250 Music Phone เพือ่ เป็นทางเลือก ให้กับทั้งศิลปินนักร้องและคนฟังเพลง

พฤษภาคม 2549 • เอไอเอสนำนวัตกรรมเสียงเรียกเข้าแบบมัลติมีเดียเข้ามาให้บริการด้วย “วิดีโอริงโทน” เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับทั้งภาพ และเสียง เมื่อมีคนโทรเข้ามา

มิถุนายน 2549 • เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั่ ร่วมกับโนเกีย เปิดให้บริการอีเมล์ไร้สายบนโนเกีย E61 สำหรับองค์กรและนักธุรกิจ ซึง่ สามารถ รองรับโซลูชั่นอีเมล์ไร้สาย อาทิ BlackBerry และ Microsoft ActiveSync for Exchange เพื่อให้ผู้ใช้บริการกลุ่ม นักธุรกิจสามารถเชื่อมต่อและใช้งานอีเมล์ รวมทั้งทำงานบนเอกสารต่างๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา

กรกฎาคม 2549

• •

เอไอเอสเปิดแนวคิด “เคียงข้างทุกย่างก้าว เพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของคุณ” ผ่านนวัตกรรมทางความคิดและเทคโนโลยี ในงาน Bangkok International ICT Expo 2006 พร้อมเปิดตัว บัตรเติมเงินวัน-ทู-คอล! ทองคำ ชุด “เฉลิมพระเกียรติครองราชย์ 60 ปี” จำนวน 36 แบบ เอไอเอสสร้าง “วัน สต๊อป เพย์เมนท์ เซอร์วสิ ” ให้ลกู ค้าสามารถชำระค่าใช้บริการต่างๆ กว่า 20 รายการได้ในทีเ่ ดียว ทีจ่ ดุ

รับชำระค่าบริการ “เพย์ สเตชั่น” ภายในสำนักงานบริการเอไอเอส และร้านเทเลวิซ กว่า 700 สาขาทั่วประเทศ

สิงหาคม 2549 • เอไอเอส จีเอสเอ็ม จัดโปรโมชั่น 4 รูปแบบ ได้แก่ S M L และ XL เพื่อเป็นทางเลือกแก่ผู้ใช้บริการและตอบสนอง พฤติกรรมการโทรของผู้ใช้บริการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย


• • • •

เอไอเอส สวัสดี จัดโปรแกรม “อุ๊น อุ่น” ให้ผู้ใช้บริการสามารถโทรหาคนในเครือข่ายเดียวกันได้เพียงนาทีละ 2 บาท ตลอด 24 ชั่วโมง และเติมเงินเท่าไรก็ใช้งานได้ 1 ปี เอไอเอส วัน-ทู-คอล! จับมือ OK CASH เปิดตัวบริการ “วัน-ทู-คอล! วีซ่าการ์ด” บัตรเดียวที่เป็นทั้งบัตรเติมเงิน และ บัตรเงินสดที่ใช้ในการจับจ่าย เอไอเอส โมบายไลฟ์ เปิดบริการ “แบ็คกราวน์ เมโลดี้ *955” ให้ผู้ใช้บริการได้รับประสบการณ์การโทรรูปแบบใหม่

ด้วยเสียงเอฟเฟกต์และเพลงไพเราะตลอดระหว่างคุยสาย ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) (บริษทั ฯ) ครัง้ ที่ 7/2549 เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม 2549 อนุมัติให้ลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 99.93 ของทุนจดทะเบียน โดยการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทย่อยดังกล่าวจาก 1 ล้านบาท เป็น 200 ล้านบาท และเพิ่มทุนเรียกชำระแล้วจาก 1 ล้านบาท เป็น 100 ล้านบาท โดยเป็นการเรียกทุนชำระแล้วอีกเพียง 99 ล้านบาท

กันยายน 2549 เอไอเอสตอบสนองนโยบายของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ในการปรับเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพท์

เคลื่อนที่จาก 9 หลักเป็น 10 หลัก เอไอเอส วัน-ทู-คอล! สานต่อแนวคิดพลังเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่ เปิดตัวโครงการ “คั้นกะทิ” เชิญชวนนักศึกษาหัวกะทิรุ่นใหม่ แตกมันส์ความคิดอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ชิงทุนการศึกษา 100,000 บาท จำนวน 12 รางวัล พร้อมเข้าเรียนรูก้ ารทำงานจริง

กับผู้บริหารระดับสูงจาก 3 วงการธุรกิจ ได้แก่ เอไอเอส วัน-ทู-คอล!, เอสซี แมทบ็อกซ์ และอินเด็กซ์ อีเวนท์ เอเจนซี่ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2549 ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (บริษัทฯ) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2549 ได้มีมติอนุมัติแผนการจัดหาแหล่งเงินกู้ของบริษัทฯ เพื่อใช้ในการลงทุนขยายระบบเครือข่าย ชำระคืนหนี้ หุ้นกู้ที่ครบกำหนดไถ่ถอน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ โดยการกู้ยืมเงิน และ/หรือ การออกและเสนอขาย หุ้นกู้ รวมกันในวงเงินไม่เกิน 25,000 ล้านบาท หรือเงินสกุลอื่นที่มีจำนวนเทียบเท่า เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2549 บริษัทฯ จึงดำเนินการออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ รวม 3 ชุด จำนวนเงิน 11,427.10 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท

ตุลาคม 2549

• •

เอไอเอสเปิดตัว “พิ้งกี้ สาวิกา ไชยเดช” ในฐานะพรีเซ็นเตอร์คนแรกของ “สวัสดี” พร้อมจัดแคมเปญรณรงค์ให้คนไทย พูดทักทายกันด้วยคำว่า “สวัสดี” ภายใต้สโลแกน “อยู่เมืองไทย ใครๆ ก็พูดสวัสดี” เอไอเอส จีเอสเอ็ม นำกลยุทธ์คอนซูเมอร์มายด์มาร์เก็ตติ้ง (Consumer Mind Marketing) สร้างรูปแบบแบรนด์ใหม่ ภายใต้ชื่อ “Let’s Go GSM advance”

พฤศจิกายน 2549

• • •

เอไอเอส ร่วมกับโรงพยาบาลทั่วประเทศ มอบความใส่ใจแก่ลูกค้า ด้วยการให้ส่วนลดโครงการดูแลสุขภาพ เมื่อเข้ารับ การตรวจสุขภาพ และแสดงบัตร เอไอเอส พลัส เอไอเอสเปิดตัวเว็บไซต์ www.connect.ais.co.th เพื่อเป็นชุมชนของลูกค้าเอไอเอส และเป็นศูนย์รวมการแลกเปลี่ยน ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้มือถือ, แนะนำข้อมูล หรือเทคนิคพิเศษใหม่ๆ ติ ชมบริการ เฉพาะผู้ใช้บริการเอไอเอส เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใช้อัตราเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection Charge) ร่วมกับ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่น (ดีแทค)

ธันวาคม 2549

• •

เอไอเอส ร่วมกับ 5 สำนักข่าว เปิดตัวบริการ “News on Demand” บนโนเกีย E61 เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถอ่านข่าว สรุปบนมือถือได้เหมือนอ่านบนเว็บไซต์ เอไอเอส ร่วมมือกับ เทสโก้ โลตัส จัดบริการการเติมเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ชื่อ “เทสโก้ โลตัส อี ท็อปอัพ” ซึ่งผู้ใช้ บริการสามารถเติมเงินผ่านเคาน์เตอร์ชำระเงินของเทสโก้ โลตัสได้

2 5 4 9

• • •

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

057


โครงสร้ า งการจั ด การ

โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการ

คณะอนุกรรมการสรรหา

คณะอนุกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

ประธานกรรมการบริหาร

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ

058 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการตลาด

นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล*

หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านเทคโนโลยี

นายวิกรม ศรีประทักษ์

หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านบริการลูกค้าและ ธุรกิจเครื่องลูกข่าย

กรรมการผู้อำนวยการ

นายวิเชียร เมฆตระการ**

นางสุวิมล แก้วคูณ****

ผู้บริหาร 4 รายแรก ตามคำนิยามของสำนักงาน กลต. * ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 ** ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้อำนวยการ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2549 *** ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 **** ลาออกจากตำแหน่ง มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550 ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2550

รองกรรมการ ผู้อำนวยการอาวุโส

นายฮุย เว็ง ชีออง***

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานการเงินและบัญชี นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์


การจัดการและการกำกับดูแลกิจการ

โครงสร้างการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการบริษทั ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหาร รวมทัง้ คณะอนุกรรมการชุดย่อย อีก 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

(1) คณะกรรมการบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 11 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (ได้รบั เลือกเป็นประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทนนายอรุณ เชิดบุญชาติ เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2549) 3. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (ได้รบั เลือกเป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2549) 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (ได้รบั เลือกเป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทนนายบุญชู ดิเรกสถาพร เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549) 5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ กรรมการ 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี กรรมการ 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง กรรมการ (ได้รบั เลือกเป็นกรรมการแทนนางจีน โล เงีย๊ บ จง เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2549) 8. นางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค กรรมการ (ได้รบั เลือกเป็นกรรมการแทนนายฮุย เว็ง ชีออง เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2550) 9. นายบุญคลี ปลั่งศิริ กรรมการ 10. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการ 11. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท คือ “นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการสองในสามคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำคัญของบริษัท” เลขานุการคณะกรรมการบริษัท อยู่ในระหว่างการสรรหาและแต่งตั้ง คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมวาระปกติเป็นประจำทุกไตรมาส โดยในปี 2549 มีการประชุมรวม 9 ครั้ง ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ให้คณะกรรมการมีอำนาจกำหนด และแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทได้ 2. คณะกรรมการต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทตลอดจนมติที่ประชุม

ผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่ในเรือ่ งทีต่ อ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนดำเนินการ เช่น เรือ่ งทีก่ ฎหมายกำหนดให้ตอ้ งได้รบั มติทปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้น การทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพย์ที่สำคัญตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตามที่หน่วยงานราชการอื่นๆ กำหนด เป็นต้น

059


3. คณะกรรมการอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดำเนินกิจการของบริษัทภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจ มอบอำนาจเพื่อให้บุคลดังกล่าวมีอำนาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำนาจนั้นๆ ได้ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารมีอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานต่างๆ โดยมีรายละเอียด การมอบอำนาจตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้การมอบอำนาจดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจ หรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้คณะกรรมการบริหาร หรือ ผู้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใด (ตามที่สำนักงาน กลต. ประกาศกำหนด) ทำกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติ รายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้

(2) คณะกรรมการบริหาร

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

060

รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการและผู้บริหาร จำนวน 4 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร 2. ดร.ดำรงค์ เกษมเศรษฐ์ กรรมการบริหาร 3. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการบริหาร 1/ 4. นายแอเลน ลิว ยง เคียง กรรมการบริหาร 1/ ดำรงตำแหน่งแทน นางสาวจีน โล เงี๊ยบ จง ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2549 คณะกรรมการบริหารมีการประชุมวาระปกติเป็นประจำทุกเดือน โดยในปี 2549 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง ประชุม เฉพาะกิจ 1 ครั้ง และมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัททุกเดือน ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารงาน หลักเกณฑ์ในการดำเนินธุรกิจของบริษัทที่กำหนด ให้สอดคล้องและสนับสนุนต่อสภาพทางเศรษฐกิจและการแข่งขันที่ได้กำหนดและแถลงไว้ต่อผู้ถือหุ้น โดยได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทแล้ว 2. กำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอำนาจการบริหารต่างๆ ของบริษัทที่กำหนด 3. ตรวจสอบ ติดตามการดำเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษัทที่กำหนด ให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพเอื้อต่อสภาพการดำเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดำเนินงานของบริษัทที่กำหนดให้เป็นไปตามแผนธุรกิจที่ได้รับอนุมัติไว้ 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของบริษัทที่กำหนด 6. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายเป็นคราวๆ ไป 7. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอำนาจช่วงให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอำนาจในการดำเนินการ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือ หลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได้ โดยการมอบอำนาจดังกล่าว ไม่รวมถึงการมอบอำนาจให้บุคคล ดังกล่าวสามารถอนุมัติการทำรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อื่นใด (ตามที่สำนักงาน กลต. ประกาศกำหนด) ทำกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ยกเว้นรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้


อำนาจในการอนุมัติการดำเนินการทางการเงิน ให้คณะกรรมการบริหารของบริษัทมีอำนาจในการอนุมัติการดำเนินการทางการเงินในวงเงินไม่เกิน 800 ล้านบาท โดยอำนาจอนุมัติทางการเงินดังกล่าวจะรวมถึงการอนุมัติค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดำเนินการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนในสินทรัพย์ฝา่ ยทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพย์ถาวร การกูย้ มื เงิน การให้กยู้ มื เงิน การจัดหา วงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้ รวมถึง การให้หลักประกันการค้ำประกันเงินกู้หรือสินเชื่อ เป็นต้น ยกเว้นการดำเนินการ ด้านการเงินการธนาคารของคณะกรรมการบริหารเฉพาะด้านการฝากเงิน การกู้เงิน การจัดทำเครื่องมือบริหารความเสี่ยงของ อัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีอำนาจในวงเงินไม่เกิน 5,000 ล้านบาท ทั้งนี้การอนุมัติรายการดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะเป็นอนุมัติที่ทำให้คณะกรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบอำนาจจาก คณะกรรมการบริ ห ารสามารถอนุ มั ติ ร ายการที่ ต นหรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์อื่นใด (ตามที่สำนักงาน กลต. ประกาศกำหนด) ทำกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการ ที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้

2 5 4 9

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กำหนดโดยตลาดหลักทรัพย์และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงิน การบัญชี และการบริหารจัดการ มีรายชื่อดังนี ้ 1. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ 2/ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 5 ครั้ง) 3/ 2. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 7 ครั้ง) 4/ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 6 ครั้ง) 2/ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2549 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุมัติให้นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทนนายอรุณ เชิดบุญชาติ 3/ ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549 4/ ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2549 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมวาระปกติเป็นประจำทุกเดือน โดยในปี 2549 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง และมีการ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ5/ 1. ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทให้เกิดความชัดเจนในด้านการบริหารงานด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบของกรรมการบริหารหรือผู้บริหารอันจะพึงมีต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท ตลอดจนดำเนินการ ให้เป็นที่มั่นใจว่ากรรมการบริหาร และผู้บริหารของบริษัทได้บริหารกิจการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และมีมาตรฐาน 2. ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่และความรับผิดชอบในภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากกรรมการบริษัทดังต่อไปนี้ 2.1 สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกำหนด และมีการ เปิดเผยอย่างเพียงพอ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

(3) คณะกรรมการตรวจสอบ

061


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

062

2.2 สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 2.3 สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 2.4 พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งและเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัท 2.5 พิจารณาสอบทานและให้ความเห็นต่อการเข้าทำรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท และบริษัทย่อยให้เป็นไปตาม ประกาศ ข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2.6 พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องครบถ้วน 2.7 สอบทานให้บริษัทมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 2.8 ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง โยกย้าย ถอดถอน และการพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความดี ความชอบของ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน 2.9 สอบทานและอนุมตั กิ ฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนตรวจสอบภายใน การปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี 2.10 จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 2.11 รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง 2.12 ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการตรวจสอบ มีอำนาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจำเป็น 2.13 ให้มอี ำนาจว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษทั มาให้ความเห็นหรือคำปรึกษาในกรณีจำเป็น 2.14 พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำทุกปี 2.15 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 5/ มีการแก้ไขและได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 (4) คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการ จำนวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 6/ 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 3. นายบุญคลี ปลั่งศิริ กรรมการ 6/ ได้รับเลือกเป็นกรรมการกำหนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ในปี 2549 คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนมีการประชุมรวม 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาโครงการ ESOP ครั้งที่ 5 และ ให้ความเห็นชอบจัดสรร ESOP ครั้งที่ 5 ให้แก่กรรมการและพนักงานที่มีสิทธิได้รับการจัดสรร ESOP เกินกว่าร้อยละ 5 ของ จำนวน ESOP ที่ออกและเสนอขาย นอกจากนี้ยังได้พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการเฉพาะตำแหน่งประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการภายนอก รวมถึงกำหนดนโยบายและค่าตอบแทนกรรมการประจำปี 2549 และมีการรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัท


ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน 1. กำหนดค่าตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และประธานกรรมการบริหารของบริษัทในแต่ละปี 2. จัดทำหลักเกณฑ์ และนโยบายการกำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ และประธานกรรมการบริหารเพื่อเสนอให้ คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติและหรือนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติตามแต่กรณี 3. คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ให้คำชี้แจง ตอบคำถามเกี่ยวกับ ค่าตอบแทนของกรรมการและประธานกรรมการบริหารในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 4. รายงานนโยบายด้านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงค์ของนโยบายเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปี 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

(5) คณะกรรมการสรรหา

รายชื่อคณะผู้บริหาร (ตามคำนิยามของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์) โครงสร้างการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 มีดังต่อไปนี้ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร 8/ 2. นายวิเชียร เมฆตระการ กรรมการผู้อำนวยการ 3. นายวิกรม ศรีประทักษ์ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี 9/ 4. นางสุวิมล แก้วคูณ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้า และธุรกิจเครื่องลูกข่าย 10/ 5. นายสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด 6. นายฮุย เว็ง ชีออง 11/ รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย

2 5 4 9

(6) คณะผู้บริหาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการสรรหา ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ กรรมการ 7/ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 7/ ได้รับเลือกเป็นกรรมการสรรหา เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ในปี 2549 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อพิจารณาเสนอแต่งตั้งกรรมการและกำหนดอำนาจ กรรมการ แทนกรรมการที่ต้องพ้นจากตำแหน่งตามกำหนดวาระตามข้อบังคับของบริษัท 3 ท่าน และพิจารณาสรรหาประธาน กรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบโดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา 1. กำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริษัท 2. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดย่อยโดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสม ที่จะมาดำรงตำแหน่งกรรมการเพื่อ เสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี 3. พิจารณาสรรหาผูท้ เี่ หมาะสมทีจ่ ะดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหาร ในกรณีทมี่ ตี ำแหน่งว่างลง รวมทัง้ หลักเกณฑ์ ในการสืบทอดตำแหน่ง 4. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

063


7. นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงินสายธุรกิจ สื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย 8/ ได้รับการแต่งตั้งมีผลตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม 2549 9/ ลาออกจากตำแหน่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550 10/ ได้รับการแต่งตั้งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2549 11/ ได้รบั การแต่งตั้งมีผลตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2549

การสรรหากรรมการ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

064

บริษัทได้กำหนดแนวทางการสรรหาและแต่งตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง กรรมการต้องลาออกจากตำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำนวนกรรมการที่จะแบ่งออก ให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนที่ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากตำแหน่งในปีแรกและปีที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้ใช้วธิ จี บั ฉลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นตำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผู้ออกจากตำแหน่งกรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจเลือกเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่ก็ได้ (2) ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใด บุคคลหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 เข้าเป็น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปเว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็น กรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน อย่างไรก็ดี บริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ทำหน้าที่พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ และนโยบายในการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่จะมาดำรงตำแหน่งกรรมการ ทั้งนี้กำหนดให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้ง กรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดอยู่ในข้อบังคับของบริษัท ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ถือ (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้

ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจำนวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด ทั้งนี้โดยเงื่อนไขของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างบริษัทและ บมจ. ทีโอที ระบุให้ ตัวแทนของ บมจ. ทีโอที เข้าเป็นกรรมการของบริษัท 1 ท่าน และตามเงื่อนไขในข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึ่งได้แก่ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (SHIN) และ SingTel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ที่ระบุให้ SHIN แต่งตั้งกรรมการได้ 4 ท่าน และ STI แต่งตั้งกรรมการได้ 2 ท่าน

นิยามของกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและมีความเป็นอิสระตามที่คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดไว้ใน นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัท และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กล่าวคือ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของทุนชำระแล้วของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้นับรวม หุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. เป็นกรรมการที่ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ถือหุ้น

รายใหญ่ของบริษัท และเป็นกรรมการที่ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำจากบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท


3. เป็นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงินและการบริหารงาน ของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท และเป็นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย

ในลักษณะข้างต้นมาก่อนในระยะเวลา 1 ปี ก่อนได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการตรวจสอบ เว้นแต่คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณา อย่างรอบคอบแล้วเห็นว่า การเคยมีผลประโยชน์หรือส่วนได้สว่ นเสียนัน้ จะไม่มผี ลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการให้ความเห็น ที่เป็นอิสระ 4. เป็นกรรมการที่ไม่ใช่เป็นผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือญาติสนิทของผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 5. เป็นกรรมการที่ไม่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ

ผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6. สามารถปฏิบัติหน้าที่ แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั โดยไม่อยูภ่ ายใต้การควบคุมของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง้ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องหรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว

การกำกับดูแลกิจการที่ดี ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษัทได้กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการ เพื่อให้บริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่ดี คณะกรรมการและผู้บริหารมี วิสยั ทัศน์และมีความรับผิดชอบต่อหน้าทีเ่ พือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน และเพิม่ ความเชือ่ มัน่ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และ ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมถึงการมีกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอำนาจเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ ตลอดจนการเคารพในสิทธิความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น และความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการ เพิ่มมูลค่า และผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทในระยะยาว บริษัทได้ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแล บริษัทได้เล็งเห็นความสำคัญและเชื่อมั่นว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดี จะนำบริษัทไปสู่การดำเนินธุรกิจอย่างมั่นคง สามารถเพิ่มคุณค่าให้แก่องค์กร เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน รวมถึงการมีประสิทธิภาพในการจัดการ ที่ส่งผลถึงความเชื่อมั่นของ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นตั้งแต่ปี 2545 คณะกรรมการบริหารโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท จึงได้ กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ขึ้น ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำหนด โดยครอบคลุมหลักสำคัญดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั มีความมุง่ มัน่ ในการบริหารงานทีเ่ ป็นเลิศในคุณภาพด้านเครือข่ายด้านเทคโนโลยี ด้านบุคลากร และด้านมาตรฐานการให้บริการ รวมทั้งการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยผู้บริหารที่มีความรู้ ความสามารถ และมีการจัดการที่ดี 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย 3. มีการเปิดเผยสารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้และทันเวลา แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 4. ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนปฏิบตั งิ านโดยคำนึงการบริหารความเสีย่ งอยูเ่ สมอ รวมถึงการจัดให้มรี ะบบการควบคุม ภายในที่รัดกุมเหมาะสม 5. บริษัทมีการกำหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับยึดถือและ นำไปปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน 2. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น บริษัทตระหนักถึงสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น โดยผู้ถือหุ้นมีสิทธิในการรับทราบข้อมูลผลการดำเนินงาน และนโยบายการบริหารงานมีสิทธิในการรับส่วนแบ่งกำไรและสิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นทุกราย ยังได้รับสิทธิอย่างเท่าเทียมตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเพื่อเป็นการให้ความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้น

065


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

066

ทุกรายจะได้สิทธิอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทได้จัดให้มีกระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ มีมาตรการดูแล การใช้ข้อมูลภายใน มีการควบคุมและดูแลการทำรายการระหว่างกันรวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่เพียงพอ ในการประชุมผู้ถือหุ้นทุกคราว บริษัทจะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งข้อมูลประกอบการประชุมในวาระต่างๆ อย่างเพียงพอ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ มีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระ และมีการบันทึกการประชุมถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ หนังสือเชิญประชุมจะแจ้งรายละเอียดให้ผู้ถือหุ้น นำเอกสารหลักฐานที่จำเป็นมาให้ครบถ้วนในวันประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อรักษาสิทธิในการเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น ส่วนในวันประชุม ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าได้ก่อนการ ประชุม 1 ชั่วโมง การประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเองอาจแต่งตั้งกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้รับมอบอำนาจเข้าร่วมประชุมแทนซึ่งได้แจ้งข้อความไว้ในหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ บริษัทยังได้อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นในการมาร่วมประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดเตรียมห้องประชุมที ่

เข้าถึงได้สะดวก และมีขนาดเหมาะสมรองรับผู้เข้าร่วมประชุมได้อย่างเพียงพอ และในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถมาร่วมประชุม ด้วยตนเอง ก็สามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุมและลงมติแทนได้ 3. สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ และมีนโยบายที่จะดูแลให้ความมั่นใจ โดยจัดให้ลำดับความสำคัญ

แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งผู้ถือหุ้น พนักงาน ผู้บริหาร ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง ตลอดจนสาธารณชนและสังคมโดยรวมอย่างเหมาะสม และจะให้มีการร่วมมือกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกลุ่มต่างๆ ตามบทบาทและหน้าที่ เพื่อให้กิจการของบริษัทดำเนินไปด้วยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชน์ที่เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย เช่น ผู้ถือหุ้น : บริษัทมุ่งมั่นเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำเนินธุรกิจเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษัทในระยะยาว ด้วยผลตอบแทนที่ดีและต่อเนื่อง รวมทั้ง การดำเนินการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และเชื่อถือได้ พนักงาน : บริษัทมุ่งมั่นพัฒนาเสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการทำงานที่ดีงาม รวมทั้งส่งเสริมการทำงาน เป็นทีม และสร้างโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การใช้ทรัพยากร บุคคลเกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัท สังคม : บริษัทในฐานะเป็นบริษัทของคนไทย มีจิตสำนึก และตระหนักในความเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ซึ่งต้อง มีหน้าที่รับผิดชอบในการช่วยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์แก่ชุมชน ตลอดจน การสนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่นที่บริษัทมีการดำเนินธุรกิจ ลูกค้า : บริษทั มีความมุง่ มัน่ ในการสร้างความพึงพอใจและความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าทีจ่ ะได้รบั ผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ดีมีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปิดเผยข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการอย่าง ครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง คู่ค้า : การดำเนินธุรกิจกับคูค่ า้ ใดๆ ต้องไม่นำมาซึง่ ความเสือ่ มเสียต่อชือ่ เสียงของบริษทั หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มีการคำนึงถึงความเสมอภาค ในการดำเนินธุรกิจ และผลประโยชน์ร่วมกันกับคู่ค้า การคัดเลือกคู่ค้า ต้องทำอย่างยุตธิ รรม ทัง้ นี้ บริษทั ถือว่าคูค่ า้ เป็นปัจจัยสำคัญในการร่วมสร้าง Value Chain ให้กบั ลูกค้า คู่แข่ง : บริษทั สนับสนุนและส่งเสริมนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรมไม่ผกู ขาด หรือกำหนด ให้คู่ค้าต้องขายสินค้าของบริษัทเท่านั้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

4. การประชุมผู้ถือหุ้น ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้กำหนดให้กรรมการบริษัททุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประธานกรรมการบริษัท และ ประธานคณะกรรมการชุดย่อยเข้าร่วมประชุมเพื่อตอบคำถามต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผู้ถือหุ้น ทุกครั้งจะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระร่วมอยู่ด้วย โดยประธานที่ประชุมหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจาก ประธานที่ประชุม มีหน้าที่จัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้มีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเท่าเทียมกันในการตรวจสอบการดำเนินงานของบริษัท ให้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ รวมทั้ง

มีการบันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่สำคัญไว้ในรายงานการประชุม ในปี 2549 บริษทั ได้จดั ให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ 1 ครัง้ เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2549 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. และการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2549 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. ณ อาคารชินวัตร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการพิจารณาลงคะแนนเสียงเรียงลำดับตามวาระ ที่กำหนดไว้ และได้รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้นทุกวาระ 5. ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการของบริษัทมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ นโยบายทิศทางการดำเนินงานของบริษัท และมีความ เป็นอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม ตลอดจนกำกับดูแล ในฝ่ายจัดการดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผนธุรกิจ และงบประมาณที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ รับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการกับฝ่ายบริหาร และแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างคณะกรรมการกับผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน รวมทั้งดูแล ให้มีกระบวนการประเมินความมีประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน ระบบกำกับดูแลกิจการ การตรวจสอบภายใน การบริหาร ความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และคณะกรรมการได้จัดให้มีกลไกในการกำกับดูแลติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน ของฝ่ายบริหารให้บรรลุตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการได้กำหนดไว้ ตลอดจนมีการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั เป็นประจำ และสนับสนุนให้กรรมการบริษัทเข้ารับการอบรมหลักสูตรของสถาบันกรรมการบริษัทไทย หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2. กำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทและกำกับดูแล ให้ฝ่ายบริหารดำเนินการเป็นไปตามนโยบาย ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่บริษัทและผู้ถือหุ้น 3. ทบทวนและให้ความเห็นชอบในการดำเนินการใดๆ ที่กฎหมายกำหนด 4. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอย่างสม่ำเสมอและกำหนดค่าตอบแทน 5. กำหนดวิสัยทัศน์ของกิจการ และรับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร โดยให้มีความตั้งใจ และความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 6. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการในการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล 7. ดูแลไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท 8. กำกับดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม

067


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

068

6. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการได้ดูแลอย่างรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ โดยกำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันก่อนการทำรายการไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งกำหนดนโยบายและวิธีการดูแลไม่ให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง นำข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ในเรือ่ งรายการทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์และรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน คณะกรรมการได้พจิ ารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ ทุกครั้ง โดยคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำคัญ รวมทั้งมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์โดยราคา และเงือ่ นไขเสมือนทำรายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) และได้เปิดเผยรายละเอียดมูลค่ารายการ คูส่ ญ ั ญาเหตุผล / ความจำเป็น ไว้ในรายงานประจำปี และแบบ 56-1 แล้ว 7. จริยธรรมธุรกิจ บริษัทกำหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ให้กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานทุกระดับ ยึดถือและนำไปปฏิบตั ใิ นแนวทางเดียวกัน เพือ่ ให้การปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภารกิจของบริษทั เป็นไปด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต และเทีย่ งธรรม ทัง้ การปฏิบตั ติ อ่ บริษทั และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมทัง้ สาธารณชน และสังคม รวมถึงกำหนดบทลงโทษ ทางวินัยไว้ด้วย ตั้งแต่ 2546 เป็นต้น บริษัทได้เผยแพร่คู่มือจริยธรรมธุรกิจและได้ประกาศลงในระบบ Intranet ของบริษัท เพื่อให้ พนักงานทุกระดับรับทราบอย่างทั่วถึง รวมทั้งได้มีการอบรมทำความเข้าใจให้กับผู้บริหาร โดยมีการติดตามผลปฏิบัติตามแนวทาง ดังกล่าวอย่างจริงจังเป็นประจำทุกปี ซึ่งผู้บริหารและผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ในการสอดส่อง ดูแล และส่งเสริมผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กำหนด และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร การแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั เป็นไปตามกฎหมาย และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนเป็นไปตามข้อตกลงของ ผูถ้ อื หุน้ ที่กำหนดให้กรรมการบริษัทมีตัวแทนจากผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการบริษัทมีกรรมการจำนวน 11 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการ ที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ถือหุ้น และกรรมการอื่นรวม 6 ท่าน กรรมการผู้แทน บมจ. ทีโอที ตามสัญญาสัมปทาน จำนวน 1 ท่าน และกรรมการทีม่ คี วามเป็นอิสระ จำนวน 4 ท่าน หรือคิดเป็นร้อยละ 40 ของกรรมการทัง้ คณะ เพือ่ ช่วยรักษาสมดุล ของการกำกับและการบริหาร กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการผูกพันบริษัท กำหนดโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญ ประจำปีทุกๆ ปี 9. การรวมหรือแยกตำแหน่ง ประธานกรรมการของบริษทั มิได้เป็นบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหาร และไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหาร เพื่อแบ่งแยกหน้าที่ในการกำหนดนโยบายกำกับดูแลและการบริหารงานประจำ โดยโครงสร้างคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็นอิสระมากกว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทัง้ คณะ เพือ่ ให้เกิดความสมดุลของการกำกับและการบริหาร โดยบริษทั ได้กำหนดบทบาท อำนาจ และหน้าที่ความรับผิดชอบที่แยกชัดเจนระหว่างประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 10. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัทมีนโยบายในการกำหนดค่าตอบแทนให้กรรมการในอัตราที่เทียบได้กับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะจูงใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว้ สำหรับผู้บริหาร การจ่ายค่าตอบแทนจะสอดคล้องกับผลการดำเนินงานของบริษัทและผลการ ปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละท่าน โดยทั้งนี้ คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน จะเป็นผู้กำหนดค่าตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็นตัวเงินและ มิใช่ตัวเงินให้แก่ กรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทโดยนำเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ในการประชุมสามัญประจำปี เป็นประจำทุกปี


(1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงินสำหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จำนวน 6 ราย รวม จำนวนเงิน 6,710,000 บาท ซึง่ เป็นการจ่ายจากผลการดำเนินงานประจำปี 2549 ประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน โบนัส และ เบีย้ ประชุม ส่วนกรรมการบริษทั ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารจะไม่ได้รบั ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษทั ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทรายบุคคลที่ได้รับในฐานะกรรมการบริษัทจำนวน 6 ราย ในปี 2549 ดังนี้ ค่าตอบแทนประจำปี 2549 1/ (บาท) 1,500,000 900,000 750,000 800,000 805,000 700,000

* นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ ได้รบั เลือกเป็นประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทน นายอรุณ เชิดบุญชาติ เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ** นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทน นายบุญชู ดิเรกสถาพร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2549 *** นางทัศนีย์ มโนรถ ได้รับเลือกเป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549 1/ ค่าตอบแทนรายเดือน และเบีย้ ประชุมทีจ่ า่ ยระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2549 และโบนัสจ่ายในเดือนมีนาคม 2550 (ซึง่ เป็นไปตามเกณฑ์คงค้าง)

(2) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ค่าตอบแทนรวมของคณะผู้บริหารจำนวน 6 ราย สำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 เท่ากับ 50.61 ล้านบาท ซึ่ง ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะผู้บริหาร หมายถึง กรรมการบริหารและ ผูบ้ ริหารของบริษทั ตามนิยามของสำนักงาน กลต. โดยไม่รวมค่าตอบแทนของประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหารอีก 2 ท่าน และผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการส่วนงานการเงินและบัญชี

(3) ค่าตอบแทนอื่นๆ บริษัทมีโครงการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทแก่กรรมการและพนักงาน โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เป็นแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบตั งิ านของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพือ่ ให้บคุ คลดังกล่าวมีความตัง้ ใจ ในการทำงานและเป็นแรงจูงใจให้กรรมการและพนักงานทำงานให้กับบริษัทต่อไปในระยะยาวและสร้างประโยชน์สูงสุดแก่บริษัท บริษัทจะออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญทุกๆ ปี ระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปี ทั้งนี้บริษัทจะต้องขออนุมัติ การออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นรายปี ณ สิ้นปี 2549 มีโครงการที่ดำเนินการแล้ว 5 โครงการ สรุปได้ดังนี้

2 5 4 9

810,000 445,000 6,710,000

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

รายชื่อ ตำแหน่ง กรรมการปัจจุบัน 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ * ประธานกรรมการตรวจสอบ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ ** กรรมการตรวจสอบ 4. นางทัศนีย์ มโนรถ *** กรรมการตรวจสอบ 5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ กรรมการ 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี กรรมการ กรรมการที่ออกระหว่างปี 1. นายอรุณ เชิดบุญชาติ กรรมการตรวจสอบ 2. นายบุญชู ดิเรกสถาพร ประธานกรรมการตรวจสอบ รวม

069


รายละเอียดโครงการ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

070

โครงการ 1

โครงการ 2

โครงการ 3

โครงการ 4

โครงการ 5

14,000,000 8,467,200 8,999,500 9,686,700 - 0 - ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขาย 1 หน่วย ต่อ 1.07512 หุ้น 1 : 1.06173 1 : 1.04841

10,138,500

จำนวนที่เสนอขาย ราคาเสนอขาย (บาท) อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สิทธิ * ราคาการใช้สิทธิ * (บาทต่อหุ้น) วันที่ออกและเสนอขาย

44.620 40.349 86.453 101.737 90.045 27 มีนาคม 2545 30 พฤษภาคม 2546 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549

ระยะเวลาการใช้สิทธิ

กรรมการ และพนักงานของบริษัทสามารถใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ ปีที่ 1 กรรมการและพนักงานของบริษัทสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ในจำนวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของ ใบสำคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการและพนักงานของบริษัทแต่ละคนได้รับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการและพนักงานของบริษัทจะสามารถใช้สิทธิดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อครบระยะเวลา 1 ปีนับจาก วันที่บริษัทได้ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะทำให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถึงจำนวนเต็มของหน่วยการซื้อ ขายหุ้น (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไปใช้สิทธิ ในการใช้สิทธิในปีถัดไป

ปีที่ 2 กรรมการและพนักงานของบริษทั สามารถใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญได้อกี ในจำนวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของ

ปีที่ 3 กรรมการและพนักงานของบริษัทสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตามสิทธิของตนในส่วนที่เหลือทั้งหมด

ระยะเวลาแสดงความ จำนงการใช้สิทธิ

ภายใน 5 วันทำการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใช้สทิ ธิ ยกเว้น การแสดงความจำนงในการใช้สทิ ธิ

ซือ้ หุน้ สามัญตามใบสำคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดท้าย กำหนดให้แสดงความจำนงในการใช้สทิ ธิได้ในช่วงระยะเวลา 15 วันก่อนวันกำหนดการใช้สิทธิ

วันกำหนดการใช้สิทธิ

ภายใน 5 วันทำการ วันทำการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ สุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของ ใบสำคัญแสดงสิทธิ

1 : 1.01577

ใบสำคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการและพนักงานของบริษัทแต่ละคนได้รับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการและพนักงานของบริษัทจะสามารถใช้สิทธิดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อครบระยะเวลา 2 ปีนับจาก วันที่บริษัทได้ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะทำให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถึงจำนวนเต็มของหน่วยการซื้อ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สิทธิในการ ใช้สิทธิในปีถัดไป ได้เมื่อครบระยะเวลา 3 ปีนับจากวันที่บริษัทได้ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะทำให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถึงจำนวนเต็มของหน่วยการซื้อ ขายหุ้น (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไปใช้สิทธิ ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย

* บริษทั มีการปรับสิทธิ อันเป็นผลมาจาก บริษทั จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราสูงกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี ตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุ

ไว้ในหนังสือชี้ชวน โดยได้ปรับทั้งอัตราการใช้สิทธิและราคาการใช้สิทธิ ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม 2549 เป็นต้นมา


รายชื่อกรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยที่ได้รับจัดสรรเกินกว่า 5% ของโครงการ รายชื่อ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร * 3. นางสุวมิ ล แก้วคูณ 4. นายวิกรม ศรีประทักษ์ 5. นายกฤษณัน งามผาติพงศ์ * 6. นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล

โครงการ 1 จัดสรร % (หน่วย) 1,471,800 10.51 1,250,000 8.93 1,197,800 8.56 1,128,600 8.06 - - - -

โครงการ 2 จัดสรร % (หน่วย) 609,400 7.20 786,000 9.28 786,000 9.28 579,000 6.84 - - 420,000 4.96

โครงการ 3 จัดสรร % (หน่วย) 914,300 10.16 676,000 7.51 676,000 7.51 606,400 6.74 537,000 5.97 487,100 5.41

โครงการ 4 จัดสรร % (หน่วย) 735,500 7.51 650,000 6.64 580,000 5.92 500,000 5.10 - - - -

โครงการ 5 จัดสรร (หน่วย) % 538,500 5.31 - - 591,400 5.83 547,600 5.40 - - - -

* ลาออกจากกรรมการ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550

2 5 4 9

11. การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการบริษัท กำหนดให้มีไตรมาสละ 1 ครั้ง เป็นอย่างน้อย หรือประธานกรรมการ จะพิจารณา เห็นสมควรเรียกประชุมเป็นวาระพิเศษเพิม่ เติมตามความจำเป็น โดยมีการกำหนดวาระการประชุมล่วงหน้าทีช่ ดั เจน เป็นระเบียบ วาระพร้อมเอกสารประกอบการประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสือเชิญประชุมให้แก่กรรมการทุกท่านก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการ ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนการประชุม เว้นแต่กรณีมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน และมีการบันทึกรายงานการ ประชุม และจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรองแล้ว เพื่อใช้ในการอ้างอิง และสามารถตรวจสอบได้ ในการประชุม ประธานกรรมการได้จัดสรรเวลาให้อย่างเพียงพอ สำหรับกรรมการที่จะอภิปราย ซักถาม ชี้แนะ ในประเด็นสำคัญแก่ฝ่ายบริหาร และกรรมการทุกท่านมีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็นทุกประการ ในปี 2549 คณะกรรมการบริษัทได้มีการประชุมทั้งวาระปกติรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง มีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุม ของกรรมการดังต่อไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม เข้าร่วมประชุม 9 ครั้ง 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ เข้าร่วมประชุม 2 ครั้ง 3. นางทัศนีย์ มโนรถ เข้าร่วมประชุม 5 ครั้ง 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ เข้าร่วมประชุม 4 ครั้ง 5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ เข้าร่วมประชุม 7 ครั้ง 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี เข้าร่วมประชุม 8 ครั้ง 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง เข้าร่วมประชุม 2 ครั้ง 8. นายฮุย เว็ง ชี ออง* เข้าร่วมประชุม 5 ครั้ง 9. นายบุญคลี ปลั่งศิริ เข้าร่วมประชุม 9 ครั้ง 10. นายสมประสงค์ บุญยะชัย เข้าร่วมประชุม 9 ครั้ง 11. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ เข้าร่วมประชุม 8 ครั้ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

* นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ลาออกจากบริษัทฯ เดือนมีนาคม 2549 นายกฤษณัน งามผาติพงศ์ ลาออกจากบริษัทฯ เดือนมีนาคม 2548 ปัจจุบัน ไม่มีสิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรร

071


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

072

12. การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายกำหนดให้เฉพาะกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ได้ประชุมระหว่างกันเองเป็นประจำเพื่อ เปิดโอกาสให้อภิปรายปัญหาต่างๆ ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทและเรื่องที่อยู่ในความสนใจ โดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมด้วย และ รายงานผลให้คณะกรรมบริษัทรับทราบ โดยในปี 2549 บริษัทยังมิได้เริ่มดำเนินการ 13. การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดเป็นนโยบายให้มีการประชุมพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการ บริษัททั้งคณะเป็นประจำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อพิจารณาทบทวนผลงาน ปัญหา อุปสรรคต่างๆ ที่ผ่านมาและ เสริมสร้างการทำงานของคณะกรรมการบริษทั ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยเนือ้ หาในการประเมินจะครอบคลุมในเรือ่ ง ทิศทาง กลยุทธ์ การกำกับดูแลและติดตามผล หน้าที่และความรับผิดชอบ การทำงานเป็นทีม โครงสร้าง นโยบาย การประชุม และ การอบรมและพัฒนา 14. การเข้าถึงสารสนเทศ กรรมการของบริษัทมีอิสระในการเข้าถึงและติดต่อสื่อสารกับฝ่ายบริหารและเลขานุการบริษัทได้โดยตรง ในกรณีที่ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของบริษัทและข้อมูลอื่นๆ นอกเหนือจากที่ได้รับจากการประชุมตามวาระปกติ ประจำทุกไตรมาส นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้จดั ทำรายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ของบริษทั และบริษทั ในกลุม่ คูแ่ ข่งทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรม เดียวกันให้กับกรรมการบริษัทเพื่อที่จะได้รับทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำคัญอย่างทันเวลา 15. ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน บริษัทให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทั่วถึงและทันเวลา ทั้งข้อมูลทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และข้อมูลอื่นใด เพื่อให้นักลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผ่านช่องทางและสื่อ การเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ที่ www.investorrelations.ais.co.th พร้อมทั้งมีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ทำหน้าที่สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ ทัง้ นี้ ผูส้ นใจสามารถติดต่อขอข้อมูลต่างๆ จากหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ที่ โทร. 0 2299 5116 หรือ Email : investor@ais.co.th หรือที่เว็บไซต์ของแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ www.investorrelations.ais.co.th อีกทั้งมีหน่วยงาน Compliance ของกลุม่ บริษทั ดูแลในด้านการเปิดเผยข้อมูลแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่าได้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน บริษทั มีการเปิดเผยข้อมูลผลการดำเนินงาน รายงานงบการเงิน และ รายงานการวิเคราะห์ของผูบ้ ริหาร เป็นรายไตรมาส พร้อมมีการจัดประชุมแถลงข้อมูลผลการดำเนินงานปีละสองครั้ง ในวาระกลางปี และวาระสิ้นปี ให้แก่นักลงทุน นักวิเคราะห์ โดยมีผู้บริหารระดับสูงของบริษัทร่วมประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานรวมทั้งแนวทางและกลยุทธ์ในการดำเนินงาน พร้อมทั้ง

เปิดโอกาสให้นกั ลงทุน นักวิเคราะห์ ผูจ้ ดั การกองทุน ตลอดจนผูท้ สี่ นใจได้ซกั ถามข้อมูลต่างๆ นอกจากนี้ บริษทั จัดให้มวี นั นักลงทุน ประจำปี (annual investor day) เพื่อเปิดโอกาสผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ได้มีความเข้าใจต่อการดำเนินธุรกิจ และการ ปฏิบัติงานในแต่ละส่วนงานของบริษัทได้มากขึ้น

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายในเรื่องเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายใน โดยยึดมั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย์ และความสุจริตในการดำเนิน ธุรกิจต่อลูกค้า คูค่ า้ ผูล้ งทุน และผูถ้ อื หุน้ โดยได้กำหนดแนวทางไว้ในจรรยาบรรณของบริษทั (Code of Conduct) และระเบียบ การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลสารสนเทศ ให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือและนำไป


ปฏิบัติ เพื่อป้องกันมิให้ข้อมูลและข่าวสารที่สำคัญถูกเปิดเผย หรือมีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารโดยพลการ หรือ โดยมีเจตนาที่ ไม่บริสุทธิ์ ในกรณีที่กรรมการ พนักงานหรือผู้บริหารนำข้อมูลบริษัทไปเปิดเผยหรือนำไปใช้ส่วนตน หรือกระทำการที่อาจขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ถือเป็นความผิดอย่างร้ายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัย บริษัทมีนโยบายห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทำการซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทฯ โดยใช้ข้อมูลภายใน ของบริษัทฯ ที่มีสาระสำคัญและยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อประโยชน์ตนเองและผู้อื่น รวมทั้งกำหนดไว้ในจรรยาบรรณ ของบริษัทให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทในช่วงเวลา 1 เดือน ก่อน การเปิดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน นอกจากนี้ กรรมการและผู้บริหารของบริษัทมีหน้าที่จัดทำรายการถือหลักทรัพย์และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ของบริษัทของตน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ตามแบบและภายในเวลาที่กำหนดในข้อบังคับว่าด้วยการ รายงานการถือหลักทรัพย์ และกำหนดให้ผู้บริหารส่งสำเนารายงานดังกล่าวให้บริษัทในวันเดียวกับวันที่รายงานต่อสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.)

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

2 5 4 9

บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติเป็นขั้นตอนอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของบริษัทฯ ตั้งแต่ คณะกรรมการผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคน มีบทบาทและความรับผิดชอบร่วมกัน มีการกำหนดภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบอำนาจ การดำเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน โดยการควบคุมภายในจะครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดำเนินงาน การบริหาร การกำกับดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการบริหารความเสี่ยง เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ผลสำเร็จของงานจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ขององค์กรที่ตั้งไว้ดังต่อไปนี้ 1. กลยุทธ์และเป้าหมายของบริษัทฯ ในระดับภาพรวมและกิจกรรมในระดับปฏิบัติการ ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจน โดย สอดคล้องและสนับสนุนพันธกิจ (Mission) ขององค์กร 2. ผลการปฏิบัติงานของแผนงานและโครงการต่างๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยมีการบริหารทรัพย์สินและ ทรัพยากรของบริษัทให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพคุ้มค่า 3. ข้อมูลที่มีสาระสำคัญ ทั้งด้านการเงิน การบริหาร และการดำเนินงาน มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นข้อมูลเพื่อ

สนับสนุนการตัดสินใจได้อย่างทันเวลา 4. การดำเนินงานของบริษทั ฯ และการปฏิบตั งิ านของพนักงาน เป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบและข้อกำหนดของบริษทั ฯ โดยสอดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับอื่นที่เกี่ยวข้อง 5. มีการบริหารความปลอดภัยของทรัพย์สิน บุคลากร รวมทั้งข้อมูลในระบบสารสนเทศ ให้มีความปลอดภัยอย่างรัดกุม เพียงพอ 6. มีการกำกับดูแลและการบริหารจัดการที่เหมาะสมมีประสิทธิผล 7. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องในทุกกระบวนการและกิจกรรมควบคุม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลง รูปแบบและเทคโนโลยี เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

ระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายใน

073


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

074

บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ตามกรอบงานการบริหารความเสีย่ ง โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน สากลของ The Committee Of Sponsoring Organizations Of The Treadway Commission-Enterprise Risk Management (COSO-ERM) ซึ่งสัมพันธ์กับการดำเนินธุรกิจและกระบวนการบริหารงานตามองค์ประกอบ 8 ข้อ ดังนี้ 1. มีสภาพแวดล้อมภายในบริษัทฯ ที่ดี (Internal Environment) บริษัทฯ ปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลที่ดี และยึดมั่นในจริยธรรมทางธุรกิจ โดยพนักงานทุกระดับปฏิบัติและ ยึดมัน่ ในปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั ฯ ทีม่ ขี อ้ กำหนดและแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร (Code of conduct) อีกทั้งยังมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจรรยาบรรณ เพื่อดูแลการสร้างจิตสำนึก และการอบรมพนักงานให้มีความรู้ความเข้าใจใน จรรยาบรรณ และเสริมสร้างให้ทุกคนยึดถือและปฏิบัติ ซึ่งผู้บริหารนั้นได้เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความซื่อสัตย์และจริยธรรม และ มีการจัดโครงสร้างการบริหาร การกำหนดนโยบาย ระเบียบ ขัน้ ตอนหรือวิธกี ารปฏิบตั งิ าน ทัง้ ด้านการเงิน การบริหารทัว่ ไป และ ระบบสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องไว้อย่างเหมาะสม ตลอดจนมีการระบุอำนาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน มีระบบการจัดการ และการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทีด่ ี เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ โี ดยคำนึงถึงความเป็นธรรมต่อพนักงาน ลูกค้า เจ้าหนี้ การค้า คู่แข่งขัน ตลอดจนผู้ถือหุ้น สังคมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ไว้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญในเรื่องบุคลากร โดยจัดให้มีการบริหารที่เหมาะสมและการพัฒนาความรู้ ความสามารถในแต่ละบุคคลอย่างจริงจังและต่อเนื่อง รวมถึงความเข้าใจในเรื่องแนวทางการบริหารความเสี่ยง โดยกำหนดให้ มีนโยบายและปรัชญาในการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนกิจกรรมการบ่งชี้ การประเมินและการจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง อีกทั้งฝ่ายบริหารได้ระบุระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ไว้อย่างเหมาะสมแล้ว 2. มีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (Objective Setting) บริษัทฯ มีการกำหนดวัตถุประสงค์การปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ทั้งด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการรายงาน รวมทั้งด้านการปฏิบัติตามนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆ โดยบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร และสอดคล้องกับเป้าหมายหลัก หรือพันธกิจในภาพรวมและระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ นอกจากนีฝ้ า่ ยบริหารมีการปรับเปลีย่ นแผนงาน กลยุทธ์และวัตถุประสงค์ ที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับสถานการณ์หรือปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างสม่ำเสมอ 3. มีการระบุตัวบ่งชี้เหตุการณ์หรือปัจจัยเสี่ยงอย่างครบถ้วนเหมาะสม (Event Identification) บริษัทฯ ได้กำหนดหรือระบุตัวบ่งชี้เหตุการณ์หรือปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นทางด้านลบที่จะส่งผลเสียหายต่อ วัตถุประสงค์นนั้ ๆ ในแต่ละกิจกรรม และจัดประเภทปัจจัยเสีย่ งไว้อย่างครบถ้วน รวมทัง้ ระบุเหตุการณ์ทอี่ าจจะเกิดขึน้ ทีเ่ อือ้ อำนวย ต่อวัตถุประสงค์ทางด้านบวกไว้ด้วยเช่นกัน โดยพิจารณาจากแหล่งความเสี่ยงภายในและภายนอกบริษัทฯ ได้แก่ ความเสี่ยงด้าน การกลยุทธ์ ด้านการเงิน ด้านบุคลากร ด้านการปฏิบัติงาน ด้านระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ด้านการตลาด ด้านการลงทุนและด้านกฎระเบียบและข้อปฏิบัติต่างๆ เป็นต้น นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมีการติดตามผล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ มีการกำหนดหรือระบุปจั จัยเสีย่ งอย่างเหมาะสมทีค่ รอบคลุม ต่อการเปลี่ยนแปลงของแต่ละกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป และมีการรายงานต่อผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องให้รับทราบอย่างสม่ำเสมอ 4. มีกระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม (Risk Assessment) บริษัทฯ ได้กำหนดหลักเกณฑ์ของการประเมินความเสี่ยงทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยแบ่งเป็นความเสี่ยงระดับ องค์กรและระดับปฏิบัติการ ซึ่งทำการประเมินทั้ง 2 ด้าน คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง (Likelihood) และผลกระทบ ต่อความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น (Impact) เพื่อพิจารณาระดับค่าของความเสี่ยงที่อาจเป็นระดับสูง กลาง หรือต่ำ โดย บริษทั ฯ ได้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ในปี 2548 โดยจัดทำการประเมินระดับของความเสีย่ งจากตัวบ่งชีเ้ หตุการณ์ หรือปัจจัยเสีย่ งทีส่ ำคัญทีไ่ ด้ระบุไว้และทำการประเมินอย่างเป็นระบบและสม่ำเสมอ รวมทัง้ มีการจัดทำคูม่ อื การบริหารความเสีย่ ง อย่างเป็นระบบ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

5. มีการตอบสนองต่อความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิผล (Risk Response) บริษัทฯ มีกระบวนการจัดการหรือบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ โดยพิจารณาทางเลือกที่มีประสิทธิผลและความ คุ้มค่าที่สุด เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงและลดผลกระทบต่อความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณ์นั้นให้อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ รวมทั้งยังมีการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับมาตรการควบคุมภายใน ให้มีความสัมพันธ์เหมาะสมกับ ความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา โดยเลือกจัดการกับความเสี่ยงระดับสูงเป็นอันดับแรก ซึ่งทางบริษัทฯ มีกลยุทธ์ในการ บริหารความเสี่ยง ดังนี้ • การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) ในกรณีที่ฝ่ายบริหารพิจารณาเห็นชอบว่า ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบไม่เกินระดับที่ยอมรับได้ • การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) โดยการหลีกเลี่ยงหรือหยุดกระทำกิจกรรม หรือเปลี่ยนรูปแบบ การทำกิจกรรม ที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยง • การลดหรือควบคุมความเสีย่ ง (Risk Reduction) เป็นการดำเนินการเพือ่ ลดโอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ความเสีย่ ง และผลกระทบต่อความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงนั้นให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เช่น การกำหนดแผน สำรองฉุกเฉิน การทบทวนปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรอยู่เสมอ การปรับปรุงระบบ คอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เป็นต้น • การกระจายหรือโอนความเสี่ยง (Risk Sharing) โดยการแบ่งโอนหรือกระจายความเสี่ยงให้กับผู้อื่นแทน เช่น จัดให้มีการประกันภัยทรัพย์สิน การประกันภัยอุบัติเหตุ เป็นต้น 6. มีกิจกรรมการควบคุมที่ดี (Control Activities) บริษัทฯ ได้กำหนดกิจกรรมการควบคุมที่มีสาระสำคัญของแต่ละระบบงานไว้อย่างเหมาะสม โดยให้ความสำคัญต่อ กิจกรรมควบคุมแบบป้องกันเป็นหลัก รวมทั้งนโยบาย วิธีการปฏิบัติ และการรายงานผลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่า วิธีการ จัดการความเสีย่ งทีไ่ ด้กำหนดไว้ หรือกิจกรรมการควบคุมนัน้ ได้มกี ารนำไปปฏิบตั จิ ริง โดยผลการปฏิบตั งิ านสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ได้ ซึ่งมุ่งเน้นให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพสูงสุดและมีความรวดเร็วควบคู่ไปด้วยกัน นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีการกำหนด บุคลากรภายในองค์กร เพื่อดูแลรับผิดชอบระบบการควบคุมภายในของแต่ละระบบงานและแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบอย่าง ชัดเจน พร้อมทั้งกำหนดระยะเวลาการบริหารความเสี่ยงและการรายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้เกี่ยวข้อง 7. มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูลที่ดี (Information and Communication) บริษัทฯ มีระบบสารสนเทศที่สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทั่วถึง เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องทันเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่สามารถ ตรวจสอบความถูกต้องย้อนหลังได้ (Audit Trail) อีกทั้งยังมีระบบที่สามารถวิเคราะห์หรือบ่งชี้จุดที่อาจจะเกิดความเสี่ยงในเชิง สถิติได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งทำการประเมินและจัดการความเสี่ยงพร้อมทั้งบันทึกหรือรายงานผลไว้อย่างครบถ้วน บริษัทฯ มีช่องทางการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในลักษณะสองทางและสื่อสารทั้งภายในและ ภายนอก เช่น ผู้บริหารสู่พนักงาน พนักงานสู่พนักงาน พนักงานสู่ผู้บริหาร พนักงานสู่ลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น เจ้าหนี้ การค้า นักกฎหมาย และผู้ถือหุ้น เป็นต้น นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมีการสือ่ สารข้อมูลพันธกิจ และแนวทางการบริหารความเสีย่ งลงสูพ่ นักงานทุกระดับ เพือ่ รับทราบ และทำความเข้าใจก่อนการปฏิบัติงานจริง และยังมีช่องทางการสื่อสารจากระดับพนักงานขึ้นสู่ระดับผู้บริหารอย่างเหมาะสม เพียงพอ เพื่อช่วยให้บุคคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือสามารถ ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการควบคุมให้สามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้อย่างทันเวลา

075


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

076

8. มีระบบการติดตามผลที่ดี (Monitoring) บริษัทฯ มีระบบการประเมินและติดตามผลการดำเนินงานที่ดีโดยใช้ระบบ Balance Scorecard ดัชนีวัดผล การดำเนินงาน Key Performance Indicator การกำหนดเป้าหมายและการเปรียบเทียบกับวิธีการปฏิบัติที่ดี Benchmarking and Best Practices เป็นเครือ่ งมือในการวัดผลการดำเนินงาน และให้มกี ารติดตามผลอย่างสม่ำเสมอต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ มาตรการและระบบการควบคุมภายในนั้นมีประสิทธิผลและได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา นอกจากนี้บริษัทฯ ได้จัดให้มีการตรวจประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระ ผู้สอบบัญชี และผู้ประเมินอิสระจากภายนอก นอกจากนี้บริษัทฯ มีระบบการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงที่ดีและมีการกำหนดสัญญาณเตือนภัย เพื่อให้มั่นใจ ได้ว่า การบริหารและการจัดการความเสี่ยงมีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ ซึ่งความเสี่ยงนั้นอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยให้มีการ รายงานผลต่อหัวหน้างานทุกระดับและต่อผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่ำเสมอ และจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ มีการประชุมผู้บริหารอย่างสม่ำเสมอ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการดำเนินงานของฝ่ายบริหารว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2550 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2550 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ จากการสอบทานการประเมินระบบ การควบคุมภายใน และจากการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร ผลการประเมินจากแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายใน สรุปได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบ งบการเงินประจำปี 2549 ได้ประเมินประสิทธิผลระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ตามทีเ่ ห็นว่าจำเป็น โดยพบว่า ไม่มจี ดุ อ่อน ของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสำคัญแต่ประการใด

การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ (Independence) รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบในด้านงานตรวจสอบ ภายใน และรายงานต่อประธานกรรมการบริหารในด้านงานบริหารหน่วยงาน โดยมีกฎบัตรของหน่วยงาน ซึ่งกำหนดภารกิจ ขอบเขต วัตถุประสงค์และภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการปฏิบตั งิ านตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน และมีการจัดทำคูม่ อื การปฏิบตั งิ านตรวจสอบสำหรับเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบไว้อา้ งอิงในการปฏิบตั งิ าน โดยกฎบัตรและคูม่ อื การตรวจสอบภายใน จะมีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่ตรวจประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง และการกำกับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ตามแผนงานการตรวจสอบประจำปี ซึ่งได้พิจารณาจากปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง (Risk based Approach) โดยผ่านการอนุมัติสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการให้คำปรึกษาแนะนำในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่า การปฏิบัติงานของบริษัทฯ จะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ อีกทั้งยังทำการติดตามประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความมั่นใจในระบบที่วางไว้ได้ดำเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และได้รับการแก้ไขปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงที โดยหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ใช้วิธีการ ตรวจสอบอย่างเป็นระบบตามมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing), CobiT, COSO-ERM, AS/NZ 4360, ITIL, ISO 17799 เป็นต้น ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ดำเนินการสอบทาน ตัวบ่งชี้เหตุการณ์หรือปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ และแนวทางการบริหารความเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้มั่นใจ ว่ามีการระบุและประเมินความเสี่ยงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นระบบ สามารถจัดการความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และมีการรายงานความเสี่ยงต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วนทันเวลา พร้อมทั้งยังมีการติดตามสอบทาน ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัดทำแบบประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของแต่ละระบบงาน รวมทัง้ ได้ทำการสอบทานผลการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด และรายงานทางการเงินมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ ในการตรวจประเมินการกำกับดูแลกิจการ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ตรวจประเมินการกำกับดูแลกิจการตามหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดีขององค์กรเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development Centre : OECD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นเกณฑ์ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ มีโครงสร้างและการ สนับสนุนของกระบวนการที่จำเป็นในการนำไปสู่ผลสำเร็จของการกำกับดูแลที่ดีและโปร่งใส และให้ความเป็นธรรมแก่ผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่ายเท่าเทียมกัน นอกจากนี้หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสนับสนุน ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบทุกหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับมอบหมายมาจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้มี ประสิทธิผล โดยจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เฉลี่ยเดือนละ 1 ครั้ง และมีบทบาทในการให้คำปรึกษาแนะนำ ในด้านต่างๆ โดยร่วมเป็นคณะกรรมการด้านความปลอดภัยระบบสารสนเทศของบริษัทฯ เพื่อให้ข้อเสนอแนะในด้านการรักษา ความปลอดภัยด้านสารสนเทศในองค์กร ตลอดจนมีบทบาทในการสนับสนุนส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับชั้น เกิดความตระหนัก ถึงความสำคัญของการรักษาความปลอดภัยในระบบสารสนเทศ และผลักดันให้เกิด Security Mind ให้เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรม องค์กร โดยกำหนดให้กรรมการมีการประชุมกันอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง หน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้ยดึ ถือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านวิชาชีพการตรวจสอบ เป็นกรอบหรือแนวทางในการปฏิบตั งิ าน โดยมุ่งเน้นให้มีการปฏิบัติงานที่มีความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และให้ความสำคัญอย่างจริงจัง ในเรือ่ งคุณภาพ และเน้นการพัฒนาการฝึกอบรมอย่างต่อเนือ่ ง โดยจัดให้มแี ผนการฝึกอบรมทีเ่ หมาะสมเป็นรายบุคคล (Individual Coaching Plan) รวมถึงการพัฒนาเจ้าหน้าที่ตรวจสอบให้สอบวุฒิบัตร CIA (Certified Internal Auditor), CISA (Certified Information System Auditor), CISSP (Certified Information Systems Security Professional) และ CISM (Certified Information Security Manager) โดยปัจจุบัน มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบที่มีวุฒิบัตร CIA จำนวน 5 ท่าน, วุฒิบัตร CISA 3 ท่าน, วุฒิบัตร CISM จำนวน 1 ท่าน วุฒิบัตร CISSP จำนวน 1 ท่าน, วุฒิบัตร CPA (Certified Public Accountant) จำนวน 3 ท่าน, วุฒิบัตร TA (Tax Auditor) จำนวน 1 ท่าน โดยเจ้าหน้าที่อีกจำนวนหนึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาให้มีวุฒิบัตร CIA, CISA, CISSP และ CISM อย่างต่อเนื่อง

077


ปัจจัยความเสี่ยง

ในปี 2549 ทีผ่ า่ นมา คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมเป็นประจำทุกไตรมาส เป็นจำนวน 4 ครัง้ โดยพิจารณา เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร โดยมีการแจกแจงความเสี่ยงและกำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง มอบหมาย ผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินการ รวมทั้งได้จัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยง สำหรับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้บริหาร และ พนักงานในองค์กรใช้เป็นแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้ ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้นำเสนอผลการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทาน และรายงานให้คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารได้รบั ทราบ ซึง่ สรุปปัจจัยความเสีย่ งทีอ่ าจส่งผลกระทบ ต่อผลการดำเนินงานของบริษัท ได้ดังต่อไปนี้

1. ความเสี่ยงทางด้านสถานการณ์การตลาดและการแข่งขัน

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

078

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้บริโภค (Customer Lifestyle Change) โทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ในการดำรงชีวติ ประจำวันของผูบ้ ริโภค ดังนัน้ รูปแบบการใช้ชวี ติ และความต้องการ ของผู้บริโภคที่ซับซ้อนขึ้นย่อมส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ตัวอย่างเช่น - ความกังวลเรื่องความปลอดภัย ทำให้ใช้ชีวิตนอกบ้านเพื่อความบันเทิงน้อยลง - ปัญหาจราจร และราคาน้ำมัน การใช้โทรศัพท์จึงเป็นทางเลือกที่ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง - อินเตอร์เน็ทเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้น ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้ง่าย และสะดวกขึ้น - ลูกค้ามีทางเลือกมากขึ้น และมีความคาดหวังต่อสินค้า และบริการที่สูงขึ้นเรื่อยๆ - ให้ความสำคัญกับครอบครัวมากขึ้น และแสวงหาความสุขในชีวิต เอไอเอส มีความพร้อมทีจ่ ะนำเสนอสินค้าและบริการทีห่ ลากหลาย ให้เหมาะกับความต้องการของทุกรูปแบบการดำเนินชีวติ เอไอเอส ได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาวิเคราะห์ฐานข้อมูลลูกค้า มีการศึกษาประสบการณ์ความสำเร็จของธุรกิจ โทรคมนาคมในต่างประเทศ ซึง่ จะสามารถนำมาประยุกต์ใช้กบั วิถชี วี ติ ของคนไทย การทำวิจยั กับผูบ้ ริโภคในเชิงลึก เพือ่ ทีจ่ ะเข้าใจ พฤติกรรม และความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ จะถูกนำมาพัฒนาสินค้าที่มีนวัตกรรมใหม่ๆ (Innovative Product) อย่างต่อเนื่อง ให้ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก เพื่อมอบบริการที่สร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้าของ เอไอเอส อาทิเช่น การเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลบริการเสริมต่างๆ ผ่านทาง เอไอเอส คอลล์ เซ็นเตอร์ 1175 กด 9 การให้บริการสื่อสารไร้สาย และโมบายออฟฟิศ ซึ่งทำให้ลูกค้า เอไอเอส สามารถใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา และ สามารถทำงานนอกสถานที่ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทาง จึงทำให้มีเวลาสำหรับครอบครัวมากขึ้น รวมทั้ง การมอบสิทธิพิเศษ เอไอเอส พลัส (AIS Plus) ซึ่งสอดคล้องกับชีวิตประจำวันของลูกค้า และมีโอกาสได้ใช้สิทธิประโยชน์เหล่านั้นมากยิ่งขึ้น การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ (Economy Recession) เศรษฐกิจไทยในปี 2550 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวลดลงจากปี 2549 ที่มีอัตราการขยายตัวอยู่ที่ประมาณ 5.1% (จากการ คาดการณ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย) ซึ่งเป็นผลมาจากแนวโน้มการส่งออกที่ลดลงตามสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ราคาน้ำมันที่ยังอยู่ในระดับสูง อัตราแลกเปลี่ยนที่ผันผวน อัตราดอกเบี้ย ภาวะเงินเฟ้อ ปัญหาความเชื่อมั่นจากสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่ชัดเจน ปัญหาการก่อการร้าย โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ภัยแล้ง น้ำท่วม และไข้หวัดนก สำหรับตลาดทุนในประเทศ อาจจะใช้เวลานานในการฟื้นตัว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการระดมทุน ของภาคธุรกิจทั้งที่ผ่านตลาดหุ้น และตราสารหนี้ ทำให้ภาคเอกชนชะลอการลงทุน เกิดการว่างงาน ในขณะที่ค่าครองชีพที่สูงขึ้น ทำให้ผบู้ ริโภคจำเป็นต้องประหยัดมากขึน้ โดยดำเนินชีวติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และสำหรับผูม้ รี ายได้นอ้ ย จำเป็นต้องหา รายได้เสริม เพื่อให้เพียงพอต่อการดำรงชีพ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

สิ่งต่างๆ เหล่านี้ อาจจะส่งผลบ้างต่อการใช้จ่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เอไอเอส จึงได้ปรับรูปแบบโปรโมชั่นให้คุ้มค่า และสอดคล้องกับความต้องการใช้งานของผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม ตั้งแต่โปรแกรมการโทรสำหรับกลุ่มนักธุรกิจ ที่มีปริมาณการ ใช้งานมาก สามารถติดต่อธุรกิจได้อย่างไม่ขาดตอน จนกระทั่งโปรแกรมสำหรับผู้ที่โทรออกน้อย ซึ่งได้ขยายระยะเวลาการ ใช้งานเป็น 1 ปี สำหรับผู้มีรายได้น้อย และเป็นการขยายตลาดไปยังกลุ่มลูกค้าใหม่ในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งไม่เคยใช้งานโทรศัพท์ เคลื่อนที่มาก่อน การแข่งขันด้านราคา (Price Competition) การแข่ ง ขั น ด้ า นราคาในช่ ว งที่ ผ่ า นมา ส่ ง ผลกระทบอย่ า งมากต่ อ ภาพรวมของอุ ต สาหกรรมโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณภาพของเครือข่ายซึ่งไม่สามารถรองรับการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมกันของผู้ใช้บริการในช่วงเวลา เร่งด่วน ทั้งการโทรภายในเครือข่ายเดียวกัน และการโทรข้ามเครือข่าย ซึ่งทำให้เกิดพฤติกรรมการถือโทรศัพท์เคลื่อนที ่

มากกว่า 1 หมายเลข เพือ่ ทีจ่ ะติดต่อกรณีทอี่ กี หมายเลขหนึง่ ไม่สามารถโทรติดต่อได้ อย่างไรก็ตาม เอไอเอส สามารถปรับปรุง คุณภาพเครือข่ายให้ดดี งั เดิมได้ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยปี 2549-2550 นี้ เอไอเอส ได้จดั สรรงบประมาณในการลงทุน เครือข่ายทั่วประเทศ 33,000 ล้านบาท เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ ในปี 2549 มีการแข่งขันด้านราคาสูงมาก ทำให้กลุ่มลูกค้าที่อ่อนไหวต่อราคา (Price Sensitive) ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ลูกค้าที่มีปริมาณการใช้งานมาก ถือโทรศัพท์เคลื่อนที่มากกว่า 2 หมายเลข เพื่อลดค่าใช้จ่ายโดยใช้หมายเลขที่ค่าโทรถูกกว่า ในการโทรออก และยังเกิดพฤติกรรมการเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่บ่อย โดยยกเลิกหมายเลขเดิมหลังจากหมด โปรโมชั่น โดยในช่วงไตรมาสที่สองของปี 2549 ผู้ประกอบการแต่ละรายได้ลดค่าบริการอย่างมีนัยสำคัญ รวมทั้งขยาย ระยะเวลาการส่งเสริมการขายออกไป ซึง่ การลดค่าบริการดังกล่าวส่งผลกระทบในทางลบต่อรายได้และกำไรของผูป้ ระกอบการ โดยส่งผลให้รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือนรวม (ARPU) ต่ำลง และต่อมาในไตรมาสที่สี่ของปี 2549 ผู้ประกอบการ ต่างออกรายการส่งเสริมการขายอีกครั้งหนึ่ง โดยการลดค่าบริการลงและทำให้รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือนรวมลดลงอีก ซึ่งการแข่งขันด้านราคาดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อรายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือนรวมและรายได้ที่ลดลง ของ เอไอเอส รวมทัง้ อาจส่งผลให้ฐานลูกค้า มีการเติบโตช้าลง และ Churn Rate ทีส่ งู ขึน้ ซึง่ อาจทำให้ตน้ ทุนในการได้มาซึง่ ผูใ้ ช้บริการสูงขึน้ หรือการเติบโตของรายได้ลดลง ดังนั้น เอไอเอส จึงได้ปรับตัวโดยออกโปรแกรมการใช้บริการในราคาที่แข่งขันได้มากขึ้น เพื่อจูงใจผู้บริโภคที่ถือซิมการ์ดมากกว่า 1 หมายเลข ให้หันมาโทรออกโดยใช้หมายเลขของเอไอเอสมากขึ้น หรือกลับมาถือ ซิมการ์ดของเอไอเอสเพียงหมายเลขเดียว แต่ทั้งนี้ การแข่งขันด้านราคาในปี 2550 น่าจะลดความรุนแรงลง เมื่อประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทช.) เรื่อง ใช้อัตราค่าเชื่อมโยงเครือข่าย (Interconnection Charge) ถูกนำมาปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการป้องกันมิให้เกิด การตัดราคาอย่างไม่มีเหตุผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการโทรข้ามระหว่างเครือข่าย ดังนั้น ลูกค้าเอไอเอส จึงจะได้รับประโยชน์ จากการโทรหาเลขหมายภายในเครือข่ายเอไอเอสกว่า 19 ล้านเลขหมายในอัตราพิเศษ นอกจากนี้ เพือ่ หลีกเลีย่ งจากสงครามราคา เอไอเอส จึงได้สร้างความแตกต่างจากผูใ้ ห้บริการรายอืน่ โดยเน้นคุณภาพ ของบริการในทุกๆ ด้าน ได้แก่ เครือข่ายทีโ่ ทรติดง่าย และครอบคลุมแม้ในพืน้ ทีห่ า่ งไกล การนำเสนอบริการทีห่ ลากหลาย ซึง่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทัง้ บริการหลังการขาย (Service Operation) และบริการเสริม (Service & Application) ตลอดจนการคิดค่าบริการรูปแบบใหม่ๆ (Innovative Tariff) ที่เหมาะกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้า นอกจากนี้ ยังรองรับ โครงสร้างต้นทุนในด้านต่างๆ โดยอยู่บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างต้นทุนในการลงทุน กับรายได้ที่ได้รับ เอไอเอส มองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า และความเสี่ยงต่างๆ ให้เป็นโอกาสทางธุรกิจ โดยจะหลอมรวม สินค้าและบริการจากหลากหลายภาคอุตสาหกรรม เพื่อสร้างธุรกิจต่อเนื่อง ซึ่งจะทำให้เอไอเอส และพันธมิตรทางธุรกิจ ได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตของลูกค้าที่ไม่หยุดนิ่ง

079


2. ความเสี่ยงทางด้านการลงทุนในเทคโนโลยี 2G และ 3G

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

080

เนื่องจากในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การสื่อสาร ข้อมูลความเร็วสูงและการสื่อสารข้อมูลแบบมัลติมีเดียจากเทคโนโลยี 2G โดยมีอายุสัญญาระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558 ไปสู่เทคโนโลยี 3G ซึ่งอาจมีความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับ เอไอเอส อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เอไอเอส เล็งเห็นถึงความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จึงได้กำหนดมาตรการรองรับความเสีย่ งดังกล่าวโดย ในกรณีการรักษาสมดุล ระหว่างการลงทุนในเทคโนโลยี 2G และ 3G นั้น เอไอเอส ใช้ข้อมูลทางสถิติในการพิจารณาระดับคุณภาพของการให้บริการ ของระบบเครือข่าย เพือ่ มุง่ รักษาคุณภาพเครือข่าย รองรับการเติบโตของจำนวนลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ และเป็นข้อมูลในการพิจารณา ตัดสินใจทีจ่ ะลงทุนในเครือข่าย 2G โดยในปี 2549-2550 นี้ เอไอเอส ได้จดั สรรงบประมาณในการลงทุนเครือข่ายทัว่ ประเทศ เป็นเงิน 33,000 ล้านบาท เพือ่ ให้ลกู ค้าของ เอไอเอส กว่า 19 ล้านรายสามารถสือ่ สารถึงกันได้อย่างต่อเนือ่ งและรองรับลูกค้า ได้ประมาณ 24 ล้านเลขหมายในอนาคต ซึง่ ประมาณการตามอัตราการใช้งานเฉลีย่ ของลูกค้าปี 2549 ซึง่ สิง่ ทีเ่ อไอเอสยึดเป็น นโยบายในการทำงานเสมอมา คือ การพัฒนาเครือข่ายให้ดที สี่ ดุ ตลอดเวลา โดยสัดส่วนการโทร.สำเร็จในเครือข่ายยังคงอยู่ที่ 98% และการโทร.สำเร็จระหว่างเครือข่ายยังคงอยู่ที่ 96% รวมถึงการเดินหน้าพัฒนาเครือข่ายครอบคลุม 76 จังหวัด ให้มี Capacity รองรับการใช้งานของลูกค้าอย่างเพียงพอ ลูกค้าจึงสามารถโทร.ติดได้ง่าย สายไม่หลุด ในทุกครั้งของการใช้งาน นอกจากนี้ ในปี 2549 เอไอเอส มีความพร้อมในการให้บริการ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้มาใช้บริการสนามบิน สุวรรณภูมิ โดยจะสามารถรองรับปริมาณการใช้งานได้กว่า 35,000 ราย ใน 3 ส่วนหลักๆ คือ ความพร้อมด้านเครือข่าย, ความพร้อมด้านการให้บริการผ่านเคาน์เตอร์บริการโฟนเร้นท์ตลอด 24 ชั่วโมง และการโทรข้ามแดนอัตโนมัติ รวมถึงบริการ ผ่านเครือข่ายรูปแบบต่างๆ ซึ่งในด้านเครือข่ายนั้น เอไอเอสได้ร่วมมือกับผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกราย ติดตั้งเครือข่าย เทคนิคพิเศษเพื่อให้บริการลูกค้า สำหรับเทคโนโลยี 3G เอไอเอส ได้มกี ารเตรียมความพร้อมทางด้านบุคลากร และเทคโนโลยี โดยจัดให้มี 3G Project Team และสร้างโปรแกรม 3G E-Learning สำหรับพัฒนา Competency ด้านเทคโนโลยี 3G สำหรับบุคลากรของเอไอเอส ทัง้ หมด นอกจากนี้ Working Team ได้เตรียมการวางแผนเกีย่ วกับ การประมาณการลูกค้า ลักษณะและประเภท 3G service ที่จะให้บริการลูกค้า ซึ่งเมื่อ กทช. กำหนดหลักเกณฑ์และรูปแบบการพิจารณาให้ใบอนุญาตแก่ผู้ที่จะลงทุนให้บริการ 3G อย่างชัดเจนแล้ว เอไอเอส พร้อมที่จะสามารถให้บริการลูกค้าได้เป็นอย่างดี

3. ความเสี่ยงทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เอไอเอส ตระหนักถึงความสำคัญ และคุณค่าของบุคลากรที่มีต่อบริษัท จึงมุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนาให้บุคลากร ของบริษัทมีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้นอยู่ตลอดเวลา สามารถรองรับการขยายตัวของบริษัทในอนาคตและหากมีการ ปรับเปลี่ยนบุคลากรในตำแหน่งงานที่มีความสำคัญ บริษัทก็จะมีผู้ทดแทนตำแหน่งงานนั้นได้เพื่อให้การดำเนินงานของบริษัท เป็นไปอย่างราบรื่น ต่อเนื่อง และมีคุณภาพ เอไอเอส เล็งเห็นถึงความจำเป็นและความสำคัญในการเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยเฉพาะในตำแหน่งงาน ที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงานหรือการเจริญเติบโตของบริษัท ในปี 2549 นี้ เอไอเอส จึงได้จัดเตรียมแผนการสืบทอด ตำแหน่ง และจัดตัง้ คณะทำงานซึง่ ประกอบด้วยผูบ้ ริหารระดับสูงของสายงานต่างๆ เพือ่ จัดวางแนวทางในการคัดสรร และเตรียม ความพร้อมด้านบุคลากร สำหรับตำแหน่งงานระดับผู้บริหาร จำนวน 75 ตำแหน่ง และตำแหน่งงานหลัก (Key Positions) อีกจำนวน 247 ตำแหน่ง เพื่อทำการพิจารณากลั่นกรองผู้ที่ได้รับการคัดเลือก อีกทั้งจัดให้มีการประเมินความพร้อมของผู้ที่ ได้รับการพิจารณาเหล่านัน้ ทัง้ ในด้าน People Management และ Task Management เพือ่ นำมาจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล ซึ่งจะเน้นการพัฒนาโดยใช้วิธีการ Coaching เป็นหลัก และจะมีการติดตามผลการพัฒนา พร้อมทั้งทำการประเมินผลผู้ที่ ได้รับการพัฒนา เพื่อรายงานให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบความก้าวหน้าเป็นรายไตรมาส ซี่งจะทำให้เกิดความ เชื่อมั่นได้ว่าการดำเนินงานของบริษัทในอนาคต จะเป็นไปอย่างราบรื่น และต่อเนื่องด้วยบุคลากรที่มีศักยภาพสูง


4. ความเสี่ยงทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบาย

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

• นโยบายและกฎระเบียบ โดย กทช. สืบเนือ่ งจาก คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เป็นหน่วยงานทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ใหม่ เพือ่ เป็นหน่วยงานอิสระ ทีม่ หี น้าทีก่ ำกับดูแลอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศ โดย กทช. ได้ออกกฎต่างๆ เกีย่ วกับอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ทัง้ นี้ คาดว่า กทช. จะออกนโยบายและกฎเกณฑ์ต่างๆ เพิ่มเติม ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ของบริษัท ซึ่งรวมถึงกฎเกณฑ์และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุและทรัพยากรโทรคมนาคมอื่นๆ และ การส่งเสริมบริการทางโทรคมนาคมบางประเภทซึ่งได้พิจารณาว่าเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เอไอเอส จึงไม่อาจคาดการณ์ได้ว่า ลักษณะและขอบเขตของนโยบายและกฎระเบียบที่ กทช. จะออกในอนาคต หรือ กทช. จะกำกับดูแลการบังคับใช้นโยบายและกฎระเบียบทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั และทีจ่ ะมีขนึ้ ในอนาคตได้อย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบอันเกิดจากระบบใบอนุญาตแบบใหม่หรือกฎระเบียบอืน่ ๆ ทีจ่ ะมีผลต่อสิทธิตามสัญญาร่วมการงานทีใ่ ห้แก่ เอไอเอส ยกตัวอย่างการประกาศใช้เรื่อง Number portability ซึ่งอาจจะมีในอนาคต • การจัดสรรและจัดการคลื่นความถี่วิทยุในประเทศ ความล่าช้าในการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ซึ่งเป็นหน่วยงาน ต่างหากอีกแห่งหนึง่ ซึง่ มีหน้าทีค่ วบคุมดูแลกิจการวิทยุ โทรทัศน์ และการกระจายเสียงอืน่ ๆ ได้นำไปสูค่ วามไม่แน่นอนอย่างมีนยั สำคัญต่อการจัดสรรและจัดการคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุในประเทศ ซึง่ รวมถึงธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมไร้สายของ เอไอเอส เนือ่ งจาก ผู้ประกอบการสื่อสารโทรคมนาคมจำเป็นต้องมีคลื่นความถี่วิทยุในการให้บริการ 3G แต่ กทช. อาจไม่ออกใบอนุญาตใดๆ ให้ ดำเนินการโครงข่าย 3G หรือในการให้บริการ 3G ในประเทศจนกว่าจะมี กสช. เอไอเอสจึงไม่อาจคาดการณ์ได้ว่า กทช. จะ เริ่มออกใบอนุญาต 3G เมื่อใด หรือเอไอเอสจะได้รับใบอนุญาตดังกล่าวหรือไม่ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อเอไอเอส เนื่องจาก สัญญาร่วมการงานกับทีโอทีจะสิ้นสุดลงในปี 2558 • การใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ได้ออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมให้แก่ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) และ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในฐานะทีบ่ ริษทั เป็นผูป้ ระกอบการภายใต้สญ ั ญาร่วมการงาน ของบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) บริษัทยังคงมีสิทธิดำเนินธุรกิจตามสัญญาดังกล่าว จนกระทั่งสิ้นสุดสัญญา ในปี 2549 กทช. ได้ประกาศหลักการและแนวทางในการกำกับกิจการโทรคมนาคมว่าด้วย หลักเกณฑ์การใช้และเชือ่ มต่อ โครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2549 ซึ่งในข้อ 126 ของประกาศ กทช. ได้ กำหนดให้ผปู้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการโทรคมนาคมทุกรายทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาต สัมปทานหรือสัญญา ภายใต้การกำกับดูแลของ กทช. จะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบดังกล่าว ภายใต้หลักเกณฑ์นี้บนพื้นฐานของหลักการแข่งขันโดยเสรีและเป็นธรรม และให้ถือว่า ผูน้ นั้ มีสทิ ธิหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเช่นเดียวกับผูร้ บั ใบอนุญาตตามกฎหมายด้วย ซึง่ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) มีความเห็น โต้แย้งว่า ข้อ 126 ในประกาศฯ เป็นการใช้อำนาจเกินขอบเขต ไม่ตรงตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย รัฐธรรมนูญปี 2540 มาตรา 40 และมาตรา 335(2) พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พศ. 2543 และพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2544 การเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของบริษัทสัมปทานกับผู้ประกอบการรายอื่นใด ยังไม่สามารถ กระทำได้ เนือ่ งจากบริษทั มิใช่เป็นผูท้ ไี่ ด้รบั ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจาก กทช. และมิได้มโี ครงข่ายเป็นของตนเอง ซึ่งการโต้แย้งดังกล่าวนี้ อาจจะส่งผลให้บริษัทเอกชนภายใต้สัญญาร่วมการงาน ไม่มีสิทธิเชื่อมต่อโครงข่ายหรือเรียกเก็บ

ค่าเชือ่ มต่อโครงข่าย ซึง่ อาจทำให้การใช้และเชือ่ มต่อโครงข่ายของภาคเอกชนทีเ่ ป็นบริษทั สัมปทานต้องหยุดชะงักหรือเลือ่ นออกไป อย่างไรก็ตาม เอไอเอสซึง่ เป็นผูป้ ระกอบกิจการโทรคมนาคม ทีต่ อ้ งอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ตาม พรบ. การประกอบกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และตามเงือ่ นไขที่ กทช. กำหนดบนพืน้ ฐานของหลักการการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม เอไอเอส

081


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

082

จึงมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายโดยได้จัดส่งข้อเสนอการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมให้แก่ กทช. โดยที่ผ่านมา กทช. ได้ให้ความเห็นชอบในหลักการและข้อเสนอการใช้และเชือ่ มต่อโครงข่ายและอัตราค่าตอบแทนการใช้โครงข่ายโทรคมนาคม ของเอไอเอส และผู้ประกอบการรายอื่นไปแล้ว เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2549 และให้เอไอเอสสามารถเจรจาเกี่ยวกับสัญญา การเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ประกอบการรายอื่นได้ ขณะนี้เอไอเอสได้ร่วมลงนามในสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่าย กับ บริษัท โทเทิล่ แอ๊คเซ็ส คอมมูนเิ คชัน่ จำกัด (มหาชน) ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549, บริษทั ทรูมฟู จำกัด ในวันที่ 16 มกราคม 2550 และส่วนผู้ประกอบการรายอื่น เช่น บริษัท ทริปเปิล ที บรอดแบนด์ จำกัด อยู่ในระหว่างการเจรจาทำสัญญา เชื่อมต่อระหว่างกัน ทัง้ นี้ การประกาศใช้หลักเกณฑ์ดงั กล่าวจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผูบ้ ริโภคตลอดจนอุตสาหกรรมสือ่ สารโทรคมนาคมโดยรวม เนื่องจากผู้ประกอบการแต่ละรายสามารถเชื่อมโครงข่ายได้โดยตรง โดยมีการเรียกเก็บค่าเชื่อมต่อระหว่างกันตามปริมาณ การใช้งานระหว่างโครงข่ายของแต่ละราย ค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายจะสะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริง ทีเ่ กิดจากปริมาณการใช้งานระหว่าง โครงข่ายของแต่ละผู้ประกอบการ ส่งผลให้ผู้ประกอบการทุกรายต้องแข่งขันพัฒนาคุณภาพเครือข่ายและการให้บริการ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อผู้บริโภค และเนื่องจาก เอไอเอสมีสัดส่วนของผู้ที่ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศในอัตราสูงสุด จำนวนลูกค้าทัง้ สิน้ ประมาณ 19 ล้านราย ดังนัน้ เอไอเอสมีโอกาสทีจ่ ะได้รบั รายได้คา่ ตอบแทนการใช้โครงข่ายจากผูป้ ระกอบ การรายอื่นมากกว่า หลักเกณฑ์ในการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมนี้ จะเป็นจุดเริ่มต้นของการทำตลาดการแข่งขัน

ของผู้ประกอบการทุกรายให้เป็นไปอย่างเสรีและเป็นธรรมภายใต้กรอบกติกาเดียวกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและ สังคมโดยรวม • ข้อกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาร่วมการงานที่ทำขึ้นระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2550 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติอนุมัติในเรื่องต่างๆ ซึ่งรวมถึงการให้กฤษฎีกาพิจารณาประเด็น ข้อกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาร่วมการงานที่ทำขึ้นระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ให้พิจารณาว่าคู่สัญญา ได้ปฏิบัติตามกระบวนการที่ระบุไว้ใน พรบ. การให้เอกชนเข้าร่วมงานในกิจการของรัฐหรือไม่ และอย่างไร ความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นในระหว่างการปฏิรูปกฎระเบียบที่เกี่ยวกับธุรกิจโทรคมนาคมที่สำคัญในครั้งนี้ของประเทศ อาจส่งผลกระทบต่อ เอไอเอส ในด้านต่างๆ ซึ่งรวมถึงด้านการดำเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัท เพื่อปรับตัวให้เท่าทัน สภาพการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดได้อย่างประสบผลสำเร็จ และสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ามากที่สุด

5. ความเสี่ยงทางด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมสือ่ สารโทรคมนาคมไร้สายได้มกี ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วและมีนยั สำคัญ เอไอเอส ซึง่ เป็น ผูป้ ระกอบธุรกิจโทรคมนาคมรายหนึง่ อาจประสบภาวะการแข่งขันด้านเทคโนโลยีสอื่ สารโทรคมนาคมและจะยังคงประสบกับ สิ่งดังกล่าวต่อไปในอนาคตจากเทคโนโลยีอื่นๆ เพิ่มเติม ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันซึ่งยังไม่เป็นที่แพร่หลาย ในประเทศ เช่น 3G และ WiMax เทคโนโลยีทอี่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนาในปัจจุบนั และเทคโนโลยีในอนาคตซึง่ ยังไม่มกี ารประดิษฐ์ คิดค้นขึ้น ทำให้เอไอเอส มีความเสี่ยงในเรื่องของการปรับปรุง พัฒนาเทคโนโลยีให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ความซับซ้อนของเทคโนโลยีมีมากขึ้น ตลอดจนความต้องการของลูกค้าที่ต้องการผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ หลากหลาย เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แต่ทั้งนี้ เอไอเอส ได้คำนึงถึงความเสี่ยงที่จะกระทบกับลูกค้า 19 ล้านราย เป็นสำคัญ เอไอเอส ได้มีการเตรียมความพร้อมตลอดเวลา โดย เอไอเอส ได้พยายามหาเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ใช้เทคนิคพิเศษเพื่อขยาย ช่องสัญญาณเพื่อให้โทรติดง่ายในช่วงเวลาที่มีการใช้หนาแน่น ติดตั้งเครือข่ายที่ออกแบบมาเป็นพิเศษสำหรับใช้ในบริเวณ ลานจอดรถและอาคารต่างๆ มีระบบตรวจสอบปัญหาของเครือข่ายล่วงหน้า ระบบเครือข่ายสำรองฉุกเฉิน รวมถึงการตรวจเช็ค สัญญาณด้วยระบบ Automatic Network Testing System (ANTS) ซึง่ จะทำหน้าทีต่ รวจสอบสัญญาณเครือข่ายทัว่ ประเทศ 24 ชั่วโมง รวมทั้งสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้


รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง โดยรายการดังกล่าวล้วนเป็นการดำเนินธุรกิจ ปกติของบริษัท บริษัทย่อย และบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สำหรับขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหว่างกัน นอกจาก บริษทั จะยึดแนวปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับการทำรายการอืน่ ๆ ทัว่ ไป โดยจะกำหนดอำนาจของผูม้ สี ทิ ธิอนุมตั ติ ามวงเงินทีก่ ำหนดแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบยังทำหน้าที่เป็นผู้สอบทานการทำรายการระหว่างบริษัทหรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน

เป็นประจำทุกไตรมาส เพือ่ ดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์อกี ด้วย ในกรณีรายการระหว่างกันทีเ่ ข้าข่ายเป็นการทำ รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบจะทำหน้าทีส่ อบทานและให้ความเห็นต่อรายการก่อนนำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท และเนื่องจากรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นเป็นรายการที่ดำเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหว่างกันกับบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคำนึงถึงความเหมาะสมในการทำรายการ และเป็นรายการที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปสามารถเทียบเคียงได้กับราคาตลาดเป็นหลัก

ขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการระหว่างกันและนโยบายการทำรายการระหว่างกัน ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ขั้นตอนการทำรายการระหว่างกัน บริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเช่นเดียวกับการทำรายการกับบุคคลอื่นๆ และเปรียบเทียบ กับราคาตลาดทั่วไป โดยจะมีการกำหนดอำนาจอนุมัติตามวงเงินที่กำหนดไว้แล้ว และหากรายการระหว่างกันอื่นใดที่เข้าข่าย ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท

จดทะเบียน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎดังกล่าวอย่างเคร่งครัด ในการทำรายการระหว่างกันของบริษัท ได้มีการนำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสอบทานการ ทำรายการระหว่างกันของบริษัท บริษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันทุกๆ ไตรมาส เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางประโยชน์ ซึ่งกันและกัน เนื่องจากรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นเป็นรายการที่ดำเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหว่างกันกับบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคำนึงถึงความเหมาะสมในการทำรายการและ เป็นรายการที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปสามารถเทียบเคียงได้กับราคาตลาดเป็นหลัก ใน ปี 2548 และ ปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยผู้ตรวจสอบ บัญชีของบริษัทได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบแล้ว สำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ของปี 2548 และ 2549 ว่ารายการดังกล่าวเป็นรายการค้าตามปกติ โดยบริษัทได้คิดราคาซื้อ-ขายสินค้า และบริการกับบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งตามราคาที่เทียบเท่ากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจ ในกรณีที่ไม่มีราคา ดังกล่าว บริษัทจะว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระมืออาชีพ ในกรณีที่เป็นการประเมินราคาประเภทการเช่าอสังหาริมทรัพย์ จะเป็นผู้ประเมินที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน กลต. มาทำการประเมินราคาของรายการระหว่างกัน เพื่อใช้เป็น แนวทางเปรียบเทียบก่อนที่จะให้คณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่สอบทาน รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งในช่วงระยะเวลาดังกล่าวมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

083


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

084

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ธ.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

1. บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น บริษัท และ DPC ว่าจ้าง SHIN เป็น เป็นนโยบายในการกำกับดูแลบริษัท ในกลุ่มของบริษัทใหญ่ ซึ่งประกอบ จำกัด (มหาชน) (SHIN)/ ที่ปรึกษาและบริหารงาน โดยบริษัท เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท จ่ายค่าที่ปรึกษาจำนวน 14,876,736 ธุรกิจในการเข้าถือหุน้ และบริหารงาน ร้อยละ 42.79 บาทต่อเดือน ส่วนค่าบริหารงาน เพือ่ ให้การควบคุมเป็นประโยชน์สงู สุด และมีกรรมการร่วมกัน จ่ายตามรายการที่เกิดขึ้นจริง สำหรับบริษทั และผูถ้ อื หุน้ ค่าทีป่ รึกษา 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 1. รายได้จากการให้บริการ 0.39 0.39 0.64 0.64 เรี ย กเก็ บ รายเดื อ นโดยคิ ด คำนวณ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. รายได้อื่น 0.01 0.01 0.20 0.20 รายปี เ ป็ น สั ด ส่ ว นต่ อ สิ น ทรั พ ย์ ร วม 3. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 3. ค่าที่ปรึกษาและบริหารการเงิน 97.40 98.12 201.06 202.26 ณ วันสิน้ ปีในอัตราร้อยละ 0.15 โดย 4. เงินปันผลจ่าย 7,961.39 7,961.39 7,076.79 7,076.79 ทาง SHIN ได้ปรึกษาบริษทั Boston 5. ค่าเช่าและบริการอื่นๆ 5.15 6.00 5.41 8.13 Consulting Group (Thailand) – 6. เจ้าหนี้การค้า - - - 0.03 BCG ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษา เป็น

7. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน - - 2.38 2.49 ผู้ ป ระเมิ น วิ ธี ก ารคิ ด ค่ า ธรรมเนี ย ม 8. ลูกหนี้การค้า - - - 0.06 และค่าที่ปรึกษา ค่าบริหารการเงิน 9. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.14 0.14 - - โดยกำหนดราคาเทียบเคียงกับราคา ตลาดตามรายการที่เกิดขึ้นจริง สัญญาการจ้างดังกล่าวได้ถูกยกเลิก ไป 1 กรกฎาคม 2549 เนื่องจากมี การปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารกำกั บ ดู แ ล บริษัท เนื่ อ งจากเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารรายเดี ย ว 2. บริษัท ชินแซทเทลไลท์ บริษัทเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม จำกัด (มหาชน) (SATTEL) (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม ในประเทศ บริษัทชำระค่าบริการใน /มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 1A จาก SATTEL โดยบริษัทต้อง อั ต ราเดี ย วกั บ ลู ก ค้ า ทั่ ว ไปที่ ไ ปใช้ ร้อยละ 41.32 ชำระค่าตอบแทนในอัตรา 1,700,000 บริการ และมีกรรมการร่วมกัน USD/ปี 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 1. รายได้จากการให้บริการ 1.99 1.99 2.83 2.84 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 2. รายได้อื่น - - 0.72 0.72 3. ค่าเช่าและบริการอื่นๆ 63.04 63.04 68.61 68.61 4. เจ้าหนี้การค้า - - 5.83 5.83 5. ลูกหนี้การค้า 0.28 0.31 - 0.03 6. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 1.10 1.10 0.01 0.01 3. บริษทั ชินวัตร อินฟอร์เมชัน่ บริษัทว่าจ้าง SIT เป็นที่ปรึกษาและ เป็ น บริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร โปรแกรม เทคโนโลยี จำกัด (SIT)/ บริหารระบบคอมพิวเตอร์ของ SIT คอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ ประมวลผลทาง มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยสัญญาสิน้ สุด 31 กรกฎาคม 2550 บั ญ ชี เ ฉพาะบริ ษั ท ในเครื อ SHIN (โดยทางอ้อม) ร้อยละ 99.99 1. ค่าที่ปรึกษาและบริหารระบบ SIT คิดค่าบริการในอัตราใกล้เคียง และมีกรรมการร่วมกัน คอมพิวเตอร์ 2.63 2.63 2.63 2.63 กับราคาของบริษัทที่ปรึกษารายอื่น 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ ที่ให้บริการในลักษณะเดียวกัน 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ธ.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

4. บริษัท เอสซี แมทช์บอกซ์ บริษัท และบริษัทย่อย ว่าจ้าง SMB เป็นบริษัทโฆษณาที่มีความคิดริเริ่ม

จำกัด (SMB)/ เป็นตัวแทนในการจัดทำโฆษณาผ่าน ที่ ดี แ ละมี ค วามเข้ า ใจในผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ สื่อต่างๆ โดยจะเป็นการว่าจ้างครั้ง และบริ ก ารของบริ ษั ท เป็ น อย่ า งดี ร้อยละ 99.96 ต่อครั้ง รวมทั้ ง เป็ น การป้ อ งกั น การรั่ ว ไหล และมีกรรมการร่วมกัน 1. รายได้จากการให้บริการ 1.33 1.34 1.51 1.54 ของข้อมูลค่าโฆษณาเป็นการว่าจ้าง 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 2. รายได้อื่น - - - - ครั้งต่อครั้งบริษัทมีการเปรียบเทียบ 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 3. ค่าเช่าและบริการอื่น 3.41 3.42 11.02 11.02 ราคาตลาดกับบริษัทอื่น 4. ค่าโฆษณา Agency Fee - ค่าโฆษณา (NET) 569.39 617.02 502.25 528.80 - SMB Media - ค่าโฆษณา (GROSS) 1,679.81 1,854.17 1,311.38 1,333.97 (Full Service) 10.00% 5. เจ้าหนี้การค้า - 5.23 - 5.45 SMB Production 12.00% 6. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 459.27 486.02 307.53 314.94 - Third party Media 7. ลูกหนี้การค้า - 0.04 - 0.49 (Full Service) and Production 12.00%-17.65% 5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย บริษทั ว่าจ้าง TMC ในการจัดทำข้อมูล เป็นผู้ให้บริการที่มีความเชี่ยวชาญ จำกัด (TMC)/ สำหรับบริการเสริมของโทรศัพท์ ในการจัดทำเนื้อหาของข้อมูลต่างๆ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ เคลื่อนที่ เช่น การจัดหาข้อมูลทาง บริษทั ชำระค่าบริการ ในอัตราร้อยละ ร้อยละ 99.99 โหราศาสตร์ ข้อมูลสลากกินแบ่ง ของรายได้ ที่บริษัทได้รับจากลูกค้า และมีกรรมการร่วมกัน รัฐบาลและเรื่องตลกขบขัน เป็นต้น ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของบริการทีล่ กู ค้าใช้ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย โดยชำระค่าใช้บริการตามทีเ่ กิดขึน้ จริง ซึ่ ง อั ต ราที่ จ่ า ยเป็ น อั ต ราเดี ย วกั บ 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ เป็นรายเดือน Content Provider ทั่วไปซึ่งอยู่ใน 1. รายได้จากการให้บริการ 1.50 2.21 0.84 0.94 อัตราร้อยละ 40-60 2. รายได้อื่น - - 0.09 0.09 3. ค่าบริการ 48.05 48.42 46.65 47.07 4. ค่าโฆษณา - - 1.95 1.95 5. เจ้าหนี้การค้า 4.79 4.83 7.59 7.61 6. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน - 0.02 - 0.04 7. ลูกหนี้การค้า 0.20 0.20 0.14 0.18 8. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.12 0.12 - -

085


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

086

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ธ.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

6. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ บริษัท และบริษัทย่อย ว่าจ้าง ITAS เป็ น บริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเกี่ ย วกั บ แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ในการปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์เฉพาะบริษัท (ITAS)/ คอมพิวเตอร์เป็นครัง้ ต่อครัง้ นอกจากนี ้ ในเครือ รวมทั้งมีบริการที่ดี รวดเร็ว มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทและบริษัทในเครือได้ทำสัญญา และราคาสมเหตุสมผล ITAS คิด

ร้อยละ 99.99 การใช้บริการระบบคอมพิวเตอร์ ค่าบริการในอัตราใกล้เคียง กับราคา และมีกรรมการร่วมกัน (SAP) ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2547 ของบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษารายอื่ น ที่ ใ ห้ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 1. รายได้จากการให้บริการ 0.01 0.01 0.03 0.03 บริการในลักษณะเดียวกัน อัตราค่า 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 2. รายได้อื่น - - 0.26 0.26 บริ ก ารขึ้ น อยู่ กั บ ลั ก ษณะงานและ 3. ค่าที่ปรึกษาและบริหารงาน ระดับของที่ปรึกษา ระบบคอมพิวเตอร์ 0.68 0.93 - - 4. เจ้าหนี้การค้า - - 0.72 0.72 5. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 3.59 4.16 8.28 8.28 6. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 43.36 62.44 42.92 59.22 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.01 0.01 - - 7. กลุ่มบริษัท Singtel บริษัททำสัญญากับบางบริษัทในกลุ่ม กลุ่ ม บริ ษั ท SingTel เป็ น หนึ่ ง ใน Strategic Investments SingTel ในการเปิดให้บริการข้ามแดน ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ใ น Pte. Ltd (SingTel)/ อัตโนมัติ (International Roaming) ต่ า งประเทศ ราคาที่ เ รี ย กเก็ บ เป็ น เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ร่วมกัน และบริษทั จ่ายเงินเดือนและ ราคาที่ต่างฝ่ายต่างกำหนด ในการ ร้อยละ 21.40 ผลตอบแทนให้แก่ Singapore เรียกเก็บจากลูกค้าแต่ละฝ่าย ที่ไป Telecom International Pte. Ltd ใช้บริการข้ามแดนอัตโนมัติหักกำไร (STI) ในการส่งพนักงานมาปฏิบัติงาน ที่บวกจากลูกค้า ซึ่งเป็นมาตรฐาน ที่บริษัทโดยจะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายตาม เดียวกับที่บริษัทคิดจากผู้ให้บริการ ที่เกิดขึ้นจริง รายอื่น ในขณะที่ STI ส่งพนักงาน 1. รายได้จากการให้บริการ 693.54 693.54 612.19 612.19 มาให้ความช่วยเหลือ ทางด้านการ 2. รายได้อื่น 0.12 0.12 - - บริ ห ารงานและด้ า นเทคนิ ค ให้ แ ก่ 3. ค่าบริการโรมมิ่งระหว่างประเทศ 331.59 331.59 283.94 283.94 บริ ษั ท ซึ่ ง บริ ษั ท จ่ า ยเงิ น ตามค่ า ใช้ 4. เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น 25.53 25.53 22.23 22.23 จ่ายที่เกิดจริงจากการที่ STI ส่งคน 5. เงินปันผลจ่าย 3,578.40 3,578.40 3,180.80 3,180.80 มาทำงานให้ หรื อ เรี ย กเก็ บ ตาม 6. เจ้าหนี้การค้า 47.67 47.67 46.44 46.44 อัตราที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา 7. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 16.50 16.50 11.60 11.60 8. ลูกหนี้การค้า 133.60 133.60 124.61 124.61


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

110.53 1.84 23.28 - 0.48 12.93 8.13 0.93

2.29 0.01 16.93 - 1.51 1.37 0.01 -

0.45 0.41 85.83 7.25 0.59 0.03

3.32 0.41 85.86 7.27 0.63 0.09

2.49 - 70.90 7.56 - 0.47

- 1.48

- 1.48

37.00 2.16

69.81

76.69

58.37

2 5 4 9

* ลาออกจากกรรมการ บจ.ธนชาตประกันภัย เมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2250

1.33 0.09 17.33 - 0.48 3.94 0.01 0.09

เป็นบริษัทในเครือ ที่ให้บริการทาง ด้านอินเตอร์เน็ต และกำหนดราคา เช่ น เดี ย วกั บ ที่ เ รี ย กเก็ บ จากลู ก ค้ า 77.83 รายอื่น 8.81 26.42 67.87 7.97 1.38 6.20 1.07 เป็ น บริ ษั ท ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ ใน การออกแบบ website และมีความ หลากหลายของเนื้ อ หา ซึ่ ง ตรงกั บ 4.58 ความต้องการของบริษทั - 70.95 บริษัทชำระค่าบริการ ในอัตราร้อย 7.59 ละของรายได้ที่บริษัทได้รับจากลูกค้า - ขึ้นอยู่กับประเภทของบริการที่ลูกค้า 0.66 ใช้ซึ่งอัตราที่จ่ายเป็นอัตราเดียวกัน กับ Content Provider ทั่วไป ซึ่ง อยู่ในอัตราร้อยละ 40-60 บริษัทออก และเสนอขายหุ้นกู้ให้แก่ ประชาชนทั่วไป โดยเสนอขายหุ้นกู้ 37.00 ในราคาเดี ย วกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น รายอื่ น

2.16 หุ้ น กู้ ข องบริ ษั ท ได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ ความน่าเชื่อถือในระดับ AA และให้ ผลตอบแทนระดับที่ดีแก่ผู้ถือหุ้นกู้ เป็ น บริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ดี และมี

การติ ด ต่ อ กั บ บริ ษั ท มาโดยตลอด 63.98 บริษัทชำระค่าเบี้ยประกันภัยต่างๆ ในอั ต ราตามที่ เ ปรี ย บเที ย บได้ กั บ บุคคลภายนอก

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

8. บริษทั ซีเอส ล็อกซอินโฟ บริษัท ว่าจ้าง CSL ในการให้บริการ จำกัด (มหาชน) (CSL)/ ด้าน Internet ในขณะที่ ADC มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ให้บริการ Datanet แก่ CSL ร้อยละ 40.02 (โดยทางอ้อม) 1. รายได้จากการให้บริการ และมีกรรมการร่วมกัน 2. รายได้อื่น 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 4. รายได้จากการให้บริการรับล่วงหน้า 5. เจ้าหนี้การค้า 6. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 7. ลูกหนี้การค้า 8. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 9. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จำกัด บริษัทว่าจ้าง Shinee ในการให้ (Shinee)/ บริการเสริมของโทรศัพท์เคลื่อนที ่ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยชำระค่าบริการเป็นรายเดือน ร้อยละ 70.00 (โดยทางอ้อม) 1. รายได้จากการให้บริการ 2. รายได้อื่น 3. ค่าบริการอื่นๆ 4. เจ้าหนี้การค้า 5. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 6. ลูกหนี้การค้า 10. กลุ่มกรรมการของบริษัท กลุม่ กรรมการของบริษทั มีการถือหุน้ กู ้ ของบริษัท 1. เงินลงทุนในหุ้นกู้ของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจ่าย 11. บริษัท ธนชาตประกันภัย บริษทั จ่ายค่าเบีย้ ประกันภัยสถานีฐาน จำกัด/ และเบี้ยประกันภัยอุปกรณ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ของ 1. ค่าเบี้ยประกันภัย กลุ่มธนชาตเป็นกรรมการ ของบริษัท คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ กรรมการร่วมคือ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ*

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ธ.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

087


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

088

12. บริษัททุนธนชาต จำกัด บริษัทจ่ายค่าเช่าซื้อคอมพิวเตอร์และ (มหาชน) (TCAP)/ ค่าเช่าพื้นที่, ค่าน้ำประปา, ค่าไฟฟ้า กรรมการผู้จัดการใหญ่ของ 1. ค่าเช่าซื้อคอมพิวเตอร์ กลุ่มธนชาตเป็นกรรมการ 2. ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเช่าอาคาร ของบริษัท คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ กรรมการร่วม คือ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 13. บริษัท ไอทีวีจำกัด (มหาชน) บริษัทลงโฆษณาและเช่าเวลาสถานี (ITV)/ โทรทัศน์จาก ITV ในขณะที่ ITV ได้ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ใช้บริการโทรศัพท์มือถือของบริษัท ร้อยละ 52.92 1. รายได้จากการให้บริการ และมีกรรมการร่วมกัน 2. รายได้อื่น 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 4. เจ้าหนี้การค้า 3. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 5. ลูกหนี้การค้า 6. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 14. บริษัท เพย์เมนท์ โซลูชั่น บริษทั และบริษทั ย่อย ร่วมมือกับ PSC จำกัด (PSC)/ ในการให้บริการชำระเงินค่าโทรศัพท์ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ เคลื่อนที่ และอินเตอร์เน็ตผ่านบัตร ร้อยละ 99.99 (โดยทางอ้อม) เติมเงินของ PSC เนื่องจากมีกลุ่ม ลูกค้าที่เป็นเป้าหมายเหมือนกัน 1. รายได้จากการให้บริการ 2. เจ้าหนี้การค้า 3. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 4. ลูกหนี้การค้า 5. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ธ.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม - -

- -

89.52 0.39

1.89 1.56 26.10 - 0.20 0.19

2.08 1.56 26.12 0.02 0.23 0.19

2.65 3.18 7.48 - 0.02 -

1.88 - 0.01 - 0.34

3.59 5.02 0.01 1.62 0.34

1.33 - - - -

เป็นบริษัทที่ให้บริการที่ดี และมีการ ติดต่อกับบริษัทมาโดยตลอด บริษัท 89.52 ชำระค่าบริการต่างๆ ในอัตราตามที่ 0.39 เปรี ย บเที ย บได้ กั บ บุ ค คลภายนอก ในส่วนของการเช่าซื้อคอมพิวเตอร์ สัญญาสิ้นสุดในวันที่ 27 กรกฎาคม 2548 และวั น ที่ 27 พฤศจิ ก ายน 2548 ตามลำดับ เป็ น บริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ สถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ร ะบบ ยู เอช เอฟ แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็น 2.90 ผู้ดำเนินการผลิตรายการและจัดหา 3.18 รายการ ขายเวลาโฆษณา ให้ เ ช่ า 7.48 เวลาออกอากาศ และแพร่ ภ าพ - ส่ ง สั ญ ญาณออกอากาศ ให้ ผู้ ช ม 0.10 รายการทั่วประเทศ - บริ ษั ท ชำระค่ า บริ ก ารต่ า งๆ ตาม อั ต ราค่ า บริ ก ารที่ เ ป็ น ไปตามราคา ตลาด เสมือนทำรายการกับบุคคล ภายนอก เป็ น บริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ออก บั ต รเติ ม เงิ น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื่ อ ใช้ ช ำระค่ า สิ น ค้ า และ/หรื อ บริ ก าร แทนเงินสด อัตราการคิดค่าบริการ ระหว่ า งกั น เป็ น ไปตามราคาตลาด 2.00 เสมือนทำรายการกับบุคคลภายนอก 0.45 - 0.67 -


เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็นกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่เดิม ได้ขายหุ้นสามัญในส่วนที่ถืออยู่ ใน Shin ทั้งหมดร้อยละ 49.60 ให้แก่บริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด (“Cedar”) และบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำกัด (“Aspen”) ทำให้ครอบครัวชินวัตรและกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับครอบครัวชินวัตร ไม่เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท นับจากวันที่ขายหุ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทเปิดเผยรายการระหว่างกันกับครอบครัวชินวัตรจนถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2549 มีรายละเอียดของ แต่ละบริษัท ดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

- 3.92 -

0.02 37.06 -

- 22.95 - - -

- 23.93 - - -

0.02 272.72 1.12 13.70 -

- 1.10 - -

- 1.10 - -

0.14 13.10 0.57 0.06

2 5 4 9

- 3.27 -

เป็นบริษทั ลีสซิง่ ทีใ่ ห้บริการเช่าเฉพาะ บริษัทในเครือ และราคาเทียบเคียง กับบริษัทลีสซิ่งอื่น รวมทั้งมีบริการ 0.02 ที่ดีและรวดเร็ว 44.75 0.07 บริษัทได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน กลต. มาทำการประเมินราคา โดยได้ พิจารณา ทำเลที่ตั้ง สิ่งอำนวยความ สะดวก ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายและ ตกแต่ง สำหรับการพิจารณาราคา ตามสั ญ ญา ซึ่ ง คิ ด ราคาในอั ต รา 0.02 เทียบเคียงกับราคาตลาด 283.86 1.15 14.00 1.16 บริษัทได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน กลต. มาทำการประเมินราคา เพือ่ ใช้ เป็นแนวทางประกอบร่วมกับทำเลทีต่ งั้ สิ่ ง อำนวยความสะดวก ค่ า ใช้ จ่ า ย ในการขนย้ายและตกแต่ง สำหรับ การพิจารณาราคาตามสัญญา ซึง่ เป็น อัตราที่เทียบเคียงกับราคาตลาด 0.14 13.10 0.57 0.06

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

15. บริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จำกัด บริษัท และ ADC เช่ารถยนต์เพื่อ (OAIL)/ ใช้งานประจำสาขาต่างๆ จำนวนรวม กลุ่มครอบครัวชินวัตรเป็น 258 คัน จาก OAIL ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ SHIN 1. รายได้จากการให้บริการ ถือหุ้น OAIL ร้อยละ 45.00 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 3. เจ้าหนี้การค้า 16. บริษัท เอสซี ออฟฟิซ ปาร์ค บริษัท เช่าพื้นที่สำนักงานในอาคาร จำกัด (SOP)/ ชินวัตรทาวเวอร์ 1, 2 และพื้นที่ กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น จอดรถ รวม 29,589.81 ตร.ม. และ ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN พื้นที่จอดรถในซอยพหลโยธิน 13 ถือหุ้น SOP ร้อยละ 99.99 และ DPC เช่าพื้นที่เพื่อเก็บสินค้า 2,708 ตร.ม. และ ACC เช่าพื้นที่ ประมาณ 684.9 ตร.ม. 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 5. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 17. บริษัท พี.ที. คอร์ปอเรชั่น บริษัทเช่าพื้นที่คลังสินค้า แขวง จำกัด (PT)/ คันนายาว/เช่าพื้นที่อาคารสำนักงาน กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น และพืน้ ทีด่ าดฟ้า แขวงถนนนครไชยศรี/ ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN เช่าพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี/เช่า ถือหุ้น PT ร้อยละ 99.98 พื้นที่ในอาคารแขวงทุ่งสองห้อง เขตบางเขน และพื้นที่ดาดฟ้า/เช่า พื้นที่ติดตั้งอุปกรณ์สถานีฐานของ โครงการวังหินคอนโดทาวน์ 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ม.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

089


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

090

18. บริษัท เวิร์ธ ซัพพลายส์ บริษัทเช่าพื้นที่สำนักงานในอาคาร จำกัด (WS)/ กลุ่ม ชินวัตร (เชียงใหม่) 2,391.30 กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น ตร.ม. ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN 1. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ ถือหุ้น WS ร้อยละ 68.17 2. เจ้าหนี้การค้า 3. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 19. บริษัท อัพคันทรีแลนด์ บริษัทเช่าพื้นที่อาคารสำนักงาน จำกัด (UP)/ และสถานที่สำหรับติดตั้งสถานีฐาน กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น ทั้งในกรุงเทพมหานครและในเขต ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN ภูมิภาค รวม 103 แห่ง ถือหุ้น UP ร้อยละ 99.99 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 20. บริษัท เอสซี แอสเสท บริษัท เช่าพื้นที่สำนักงาน 9,974.25 คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน) ตร.ม. และ DPC เช่าพื้นที่สำนักงาน (SC ASSET)/ 1,024 ตร.ม. ในอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น 1. รายได้จากการให้บริการ ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN 2. รายได้อื่น ถือหุ้น (OPP) ร้อยละ 60.82 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 4. เจ้าหนี้การค้า 5. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 6. ลูกหนี้การค้า 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ม.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

0.69 - -

0.69 - -

13.58 0.46 0.11

- 10.82 - -

- 10.82 - -

0.06 130.99 0.65 0.08

0.56 - 7.11 - - - -

0.56 - 8.61 - - - -

9.95 - 80.80 1.03 4.71 1.00 0.21

เป็นผู้ให้บริการ ที่บริษัทได้ใช้บริการ มาโดยตลอด และบริษัทได้ลงทุนใน ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ในพื้นที่ 13.58 เช่าอย่างครบถ้วน และสามารถใช้ 0.46 ระบบดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ 0.11 บริษทั ได้วา่ จ้าง ผูป้ ระเมินราคาอิสระ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน กลต. มาทำการประเมินราคา เพือ่ ใช้ เป็นแนวทางประกอบร่วมกับทำเลทีต่ งั้ สิ่ ง อำนวยความสะดวก ค่ า ใช้ จ่ า ย ในการขนย้ายและตกแต่ง สำหรับ การพิ จ ารณาราคาตามสั ญ ญา ซึ่ ง เป็นอัตราที่เทียบเคียงกับราคาตลาด เป็นบริษัทที่มีประสบการณ์ ในการ จัดหาพืน้ ทีเ่ ช่าทัว่ ประเทศไทย ได้ตรง ตามเส้นทางที่ต้องการ และทันตาม กำหนดเวลา บริษทั ได้วา่ จ้างผูป้ ระเมิน 0.06 ราคาอิสระที่ได้รับความเห็นชอบจาก 130.99 สำนักงาน กลต. มาทำการประเมิน 0.65 ราคา โดยได้ พิ จ ารณาทำเลที่ ตั้ ง

0.08 สิ่ ง อำนวยความสะดวก ค่ า ใช้ จ่ า ย ในการขนย้ายและตกแต่ง สำหรับ การพิจารณาราคาตามสัญญา ซึง่ คิด ราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด บริษัทได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน กลต. มาทำการประเมินราคา เพือ่ ใช้ 9.95 เป็นแนวทางประกอบร่วมกับทำเล - ทีต่ งั้ สิง่ อำนวยความสะดวกค่าใช้จา่ ย 98.96 ในการขนย้ายและตกแต่ง สำหรับ 2.05 การพิจารณาราคาตามสัญญา ซึง่ เป็น 4.96 อัตราที่เทียบเคียงกับราคาตลาด 1.01 0.21


บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลักษณะรายการ ความสั มพันธ์กับบริษัท

- 0.01 - - -

0.12 1.07 0.02 0.02 0.01

- 0.04 -

- 0.04 -

0.02 0.68 0.07

0.06 4.45 - -

0.06 4.46 - -

- 84.78 26.82 0.01

- 0.04

- 0.04

10.00 0.53

2 5 4 9

- 0.01 - - -

เป็นบริษัทที่มีความชำนาญ ในการ บริ ก ารห้ อ งจั ด เลี้ ย ง และมี ร าคา ที่เทียบเคียงกับ Contractor รายอื่น 0.12 1.07 0.02 0.02 0.01 บริษัทได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน กลต. มาทำการประเมินราคา โดยได้ พิจารณา ทำเลที่ตั้ง สิ่งอำนวยความ สะดวก ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายและ 0.02 ตกแต่ง สำหรับการพิจารณาราคา 0.68 ตามสั ญ ญา ซึ่ ง คิ ด ราคาในอั ต รา 0.07 เทียบเคียงกับราคาตลาด เป็นบริษัทที่มีความชำนาญ ในการ ติดตั้งสถานีฐาน และมีราคาที่เทียบ - เคียงกับ Contractor รายอื่น และมี 88.35 การยืน่ ซองประกวดราคาตามระเบียบ 28.89 ปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง 0.01 บริษัทออก และเสนอขายหุ้นกู้ให้แก่ ประชาชนทั่วไป โดยเสนอขายหุ้นกู้ 10.00 ในราคาเดียวกับผู้ถือหุ้นรายอื่น หุ้น 0.53 กู้ของบริษัทได้รับการจัดอันดับความ น่าเชื่อถือในระดับ AA และให้ผล ตอบแทนระดับที่ดีแก่ผู้ถือหุ้นกู้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี

21. บริษทั โอเอไอ คอนซัลแตนท์ บริษทั ใช้บริการห้องจัดเลีย้ งจาก OCM แอนด์ แมนเนจเม้นท์ จำกัด ในการจัดสัมมนา และฝึกอบรม (OCM)/ พนักงาน โดยเป็นการชำระค่าบริการ กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น ต่อครั้ง ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN 1. รายได้จากการให้บริการ ถือหุ้น OCM ร้อยละ 84.21 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 5. ลูกหนี้การค้า 22. บริษัท บี.พี.พร็อพเพอร์ตี้ บริษัทเช่าพื้นที่ดาดฟ้าและพื้นที ่ จำกัด (BP)/ บางส่วนของอาคาร เอสซี สาธร กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น แมนชั่น ถนนสาทรใต้ ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN กรุงเทพมหานคร เพื่อติดตั้งอุปกรณ์ ถือหุ้น BP ร้อยละ 88.22 สถานีฐาน 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 3. เจ้าหนี้การค้า 23. บริษัท บางกอกเทเลคอม บริษทั และ DPC ว่าจ้าง BTE ในการ เอ็นจีเนียริ่ง จำกัด (BTE)/ ให้บริการติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม กลุ่มครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็น 1. ค่าอุปกรณ์ระบบสื่อสาร ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SHIN 2. ค่าบริการอื่นๆ ถือหุ้น BTE ร้อยละ 99.99 3. เจ้าหนี้การค้า 4. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 24. กลุ่มครอบครัวชินวัตร กลุ่มครอบครัวชินวัตรมีการถือหุ้นกู้ ของบริษัท 1. เงินลงทุนในหุ้นกู้ของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจ่าย

มูลค่ารายการ มูลค่ารายการ ระหว่างกันสำหรับ ระหว่างกันสำหรับ งวดสิ้นสุด งวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ม.ค. 2549 31 ธ.ค. 2548 ของการทำรายการ (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

091


คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร

ภาพรวมของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้า ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2549 จำนวน 19.5 ล้านราย โดยมีผู้ ใช้บริการเพิ่มขึ้นสุทธิ 3.1 ล้านราย คิดเป็นอัตรา การเติบโตของผู้ ใช้บริการ 19%

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

092

ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2549 บริษัทและบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) มีจำนวนผู้ใช้บริการรวมทั้งสิ้นประมาณ 19.5 ล้านราย แบ่งเป็นผู้ใช้บริการระบบโพสต์เพด 2.2 ล้านราย (GSM Advance และ GSM 1800) และระบบ พรีเพด One-2-Call! 17.3 ล้านราย คิดเป็นผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นสุทธิจำนวน 3.1 ล้านรายในปี 2549 หรืออัตรา การเติบโตเท่ากับ 19% จากปีก่อน สำหรับไตรมาสที่ 4/2549 กลุ่มบริษัทมีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นสุทธิ 1.8 ล้านราย เพิ่มขึ้นจาก 1.3 ล้านรายใน 9 เดือนแรกของปี 2549 และ 315,700 รายในไตรมาสที่ 4/2548 สำหรับปี 2549 กลุ่มบริษัทมีรายได้รวมเท่ากับ 91,428 ล้านบาท ลดลง 1.2% จาก 92,517 ล้านบาทในปี 2548 รายได้จากการให้บริการมีจำนวน 76,053 ล้านบาทในปี 2549 ลดลง 5.6% จาก 80,534 ล้านบาทในปี 2548 เนื่องจากการแข่งขันที่รุนแรง รายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 28.3% เป็น 15,375 ล้านบาทในปี 2549 จาก 11,983 ล้านบาทในปี 2548 เป็นผลมาจากปริมาณการขายโทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้น สำหรับไตรมาสที่ 4/2549 กลุ่มบริษัท

มีรายได้รวม 22,328 ล้านบาท ลดลง 8% จากไตรมาสที่ 4/2548 แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย 1.9% จากไตรมาสที่ 3/2549 ทัง้ นีต้ ามข้อมูลในอดีตไตรมาสที่ 4 โดยปกติจะเป็นไตรมาสทีม่ รี ายได้จากการให้บริการสูงสุดเนือ่ งจากเป็นช่วงเทศกาล ซึ่งมีการใช้งานสูงที่สุดในปี อย่างไรก็ตามรายได้จากการให้บริการในไตรมาสที่ 4/2549 ค่อนข้างคงที่เมื่อเทียบกับ ไตรมาสก่อนเนื่องจากมีปริมาณการใช้งานของน้อยลงในระหว่างเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน โดยสาเหตุอาจมาจาก ภาวะน้ำท่วมในหลายๆ จังหวัดของประเทศไทยที่เกิดขึ้นตั้งแต่ไตรมาสที่ 3/2549 กลุ่มบริษัทมีต้นทุนรวมในปี 2549 สูงขึ้นเป็น 55,956 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนเพิ่มขึ้น 3.2% จาก 54,198 ล้านบาทในปี 2548 เนือ่ งจากมีตน้ ทุนจากการขายสูงขึน้ ส่วนผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิตคิดเป็น สัดส่วนต่อรายได้จากการให้บริการในปี 2549 เพิ่มขึ้นเป็น 24.7% จาก 23.9% ในปี 2548 เนื่องจากการปรับขึ้นของ อัตราผลตอบแทนรายปีของบริการโพสต์เพดที่จ่ายให้แก่ทีโอที ในด้านค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารในปี 2549 เพิม่ ขึน้ 13.4% เป็น 11,421 ล้านบาท จาก 10,067 ล้านบาทในปี 2548 เป็นผลจากค่าใช้จา่ ยทางการตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมถึงมีค่าใช้จ่ายในการบริหารและผลตอบแทนพนักงานที่สูงขึ้นด้วย นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั มีรายได้อนื่ ๆ ในปี 2549 เพิม่ ขึน้ 74.1% เป็น 1,015 ล้านบาท จาก 583 ล้านบาทในปี 2548 โดยเป็นรายได้ดอกเบีย้ รับเป็นส่วนมาก ทัง้ นี้ กำไรสุทธิสำหรับปี 2549 มีจำนวน 16,256 ล้านบาท ลดลง 13.2% จาก 18,725 ล้านบาทในปี 2548 ผลการดำเนินงานของกลุ่มบริษัท-เปรียบเทียบรายปี หน่วย : ล้านบาท

รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการขาย รายได้รวม ต้นทุนรวม กำไรขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กำไรก่อนหักภาษี กำไรสุทธิ

ปี 2549

76,053 15,375 91,428 55,956 35,473 11,421 23,568 16,256

ปี 2548 (ปรับปรุงใหม่)

เพิ่ม / (ลด) เทียบกับ ปี 2548

80,534 11,983 92,517 54,198 38,318 10,067 27,339 18,725

(5.6% ) 28.3% (1.2% ) 3.2% (7.4% ) 13.4% (13.8% ) (13.2% )


รายได้และกำไร รายได้ รายได้จากการให้บริการ สำหรับปี 2549 ลดลง 5.6% จากปีก่อน แม้ว่าจะมีจำนวน ผู้ ใช้บริการเพิ่มขึ้นถึง 19% เนื่องมาจากการแข่งขันที่รุนแรง

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

รายได้รวมในปี 2549 เท่ากับ 91,428 ล้านบาท ลดลง 1.2% จาก 92,517 ล้านบาทในปี 2548 โดยมีรายได้ จากการให้บริการคิดเป็นสัดส่วน 83.2% ของรายได้รวมทั้งหมด และอีก 16.8% มาจากรายได้จากการขายโทรศัพท์ เคลื่อนที่และซิมการ์ด รายได้จากการให้บริการในปี 2549 เท่ากับ 76,053 ล้านบาท ลดลง 5.6% จาก 80,534 ล้านบาทในปี 2548 แม้ว่ากลุ่มบริษัทจะมีฐานผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น 19% จากปีที่แล้ว อันเป็นผลมาจากการออกโปรโมชั่นราคาถูกใน ภาวการณ์แข่งขันที่รุนแรงในตลาดระหว่างปี สำหรับไตรมาสที่ 4/2549 กลุ่มบริษัทมีรายได้รวม 22,328 ล้านบาท ลดลง 8% จากไตรมาสที่ 4/2548 แต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย 1.9% จากไตรมาสที่ 3/2549 ทั้งนี้ตามข้อมูลในอดีตรายได้ จากการให้บริการในไตรมาสที่ 4 จะเป็นไตรมาสที่มีรายได้จากการให้บริการสูงสุดเนื่องจากเป็นช่วงเทศกาลซึ่งมีการ ใช้งานสูงทีส่ ดุ ในปี อย่างไรก็ตามรายได้จากการให้บริการในไตรมาสที่ 4/2549 ค่อนข้างคงทีเ่ มือ่ เทียบกับไตรมาสก่อน เนื่องจากมีปริมาณการใช้งานของน้อยลงในระหว่างเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน โดยสาเหตุอาจมาจากภาวะน้ำท่วม ในหลายๆ จังหวัดของประเทศไทยที่เกิดขึ้นตั้งแต่ไตรมาสที่ 3/2549 รายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 28.3% เป็น 15,375 ล้านบาทในปี 2549 จาก 11,983 ล้านบาทในปี 2548 เนื่องจากมีปริมาณการขายโทรศัพท์เคลื่อนที่สูงขึ้น ทั้งนี้ รายได้จากการขายคิดเป็นสัดส่วน 16.8% ของรายได้รวม เพิ่มขึ้นจาก 13% ในปี 2548

ต้นทุน ต้นทุนรวมประกอบด้วยต้นทุนจากการให้บริการและขายอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีจากการให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่และภาษีสรรพสามิต โดยในปี 2549 กลุ่มบริษัทมีต้นทุนรวมเท่ากับ 55,956 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3.2% จาก 54,198 ล้านบาทในปี 2548 ต้นทุนจากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ มีจำนวน 23,139 ล้านบาทในปี 2549 ลดลง 4.4% จาก 24,205 ล้านบาท ในปี 2548 เนื่องจากค่าตัดจำหน่ายสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานของกลุ่มบริษัทที่ลดลง เป็นผลมาจาก สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานบางส่วนได้มีการตัดค่าเสื่อมราคาจนหมดมูลค่าแล้ว ทั้งนี้ในปี 2549 กลุ่มบริษัทได้บันทึกค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามประกาศของคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ในอัตรา 1 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนสำหรับเลขหมายที่ได้รับจัดสรรมาก่อน เดือนกันยายน 2549 และในอัตรา 2 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนสำหรับเลขหมายใหม่ที่ กทช. จัดสรรให้ ต้นทุนในส่วนของผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต ในปี 2549 เท่ากับ 18,754 ล้านบาท ลดลง ค่าตอบแทนรายปีและ ภาษีสรรพสามิตคิดเป็นสัดส่วน 2.4% จาก 19,215 ล้านบาทในปี 2548 โดยในปี 2549 ต้นทุนส่วนนี้คิดเป็น 24.7% ของรายได้จากการให้บริการ ต่อรายได้จากการให้บริการเพิ่มขึ้น เพิม่ ขึน้ จาก 23.9% ในปี 2548 เนือ่ งจากการปรับขึน้ ของอัตราผลตอบแทนรายปีของบริการโพสต์เพด โดยผลประโยชน์ เนื่องจากการปรับขึ้นของอัตรา ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิตของระบบ GSM Advance ได้ปรับขึ้นจาก 25% เป็น 30% ตั้งแต่เดือนตุลาคม ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี 2548 และของ GSM 1800 ได้ปรับขึ้นจาก 20% เป็น 25% ตั้งแต่เดือนกันยายน 2549 บริการโพสต์เพดที่จ่ายให้ทีโอที ต้นทุนจากการขายอุปกรณ์ ในปี 2549 เท่ากับ 14,063 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 30.5% จาก 10,778 ล้านบาท ในปี 2548 คิดเป็นกำไรต่อหน่วยที่ 8.5% ในปี 2549 เทียบกับ 10% ในปี 2548 เนื่องจากกำไรต่อหน่วยจากการขาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ลดลง และการลดราคาสินค้าในช่วงสิ้นปี ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ในปี 2549 เท่ากับ 11,421 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 13.4% จาก 10,067 ล้านบาท ในปี 2548 เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายทางการตลาด ค่าใช้จ่ายในการบริหาร และค่าตอบแทนพนักงานที่เพิ่มขึ้น โดยในปี

093


ค่าใช้จ่ายการตลาดต่อรายได้รวม เพิ่มเป็น 3.7% ในปี 2549 เนื่องจากมีกิจกรรมทางการตลาด และการปรับปรุงภาพลักษณ์ แบรนด์ของบริษัท

2549 ค่าใช้จา่ ยทางการตลาดคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้รวมได้เพิม่ ขึน้ เป็น 3.7% จาก 2.9% ในปี 2548 เป็นผลมาจาก มีกิจกรรมทางการตลาดเพิ่มขึ้น และมีค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงภาพลักษณ์ของแบรนด์ทั้งสามของบริษัท คือ GSM Advance, วัน-ทู-คอล! และ สวัสดี ในส่วนของผลตอบแทนพนักงาน ในปี 2549 เพิ่มขึ้น 26% เนื่องจากการตั้ง

ค่าใช้จา่ ยค้างจ่ายสำหรับโบนัสในปี 2548 ทีต่ ำ่ เกินไป เป็นผลให้คา่ ผลตอบแทนพนักงานในปีทแี่ ล้วต่ำกว่าความเป็นจริง และในทางกลับกันทำให้จำนวนผลตอบแทนพนักงานกลับมาสูงกว่าความเป็นจริงในปีนี้ กลุ่มบริษัทมีดอกเบี้ยจ่ายสูงขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,538 ล้านบาทในปี 2549 เพิ่มขึ้นจาก 1,529 ล้านบาทในปี 2548 แม้ว่าจะมียอดเงินกู้ยืมรวมเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลุ่มบริษัทได้ออกหุ้นกู้และกู้เงินระยะยาวในช่วงปลายปี ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทได้ออกหุ้นกู้ระยะยาวเป็นจำนวน 11,427 ล้านบาทในช่วงปลายไตรมาสที่ 3/2549 และกู้เงินระยะยาว เพิม่ ขึน้ เป็นเงินสกุลเยน โดยได้มกี ารทำ swap เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นแล้วทัง้ จำนวน ซึง่ แปลงค่า เป็นเงินบาท ณ วันทำรายการเท่ากับจำนวน 9,485 ล้านบาท ในไตรมาสที่ 4/2549 เพือ่ นำไปใช้ลงทุนขยายเครือข่าย จ่ายคืนเงินกู้บางส่วนที่ครบกำหนด และ ใช้ในการบริหารงาน

กำไรสุทธิ กลุ่มบริษัทมีกำไรสุทธิในปี 2549 เท่ากับ 16,256 ล้านบาท ลดลง 13.2% จาก 18,725 ล้านบาทในปี 2548

สภาพคล่อง

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

094

ณ สิ้นงวดปี 2549 อัตราส่วนสภาพคล่อง (current ratio) สูงขึ้นเป็น 74% จาก 55% ณ สิ้นงวดปี 2548 สภาพคล่องสูงขึ้นจากการที่มี เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีสินค้าคงเหลือ (โทรศัพท์เคลื่อนที่) และ เงินสด สินค้าคงเหลือ และ ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าจากบัตรเติมเงิน ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าจากบัตรเติมเงินเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น

สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 กลุ่มบริษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นจำนวน 22,893 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12.5% จาก 20,347 ล้านบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีสินค้าคงเหลือ และ ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าจากบัตรเติมเงินเพิ่มขึ้น หนี้สินหมุนเวียน หนีส้ นิ หมุนเวียนรวมลดลงเป็น 31,039 ล้านบาท ณ สิน้ งวดธันวาคม 2549 จาก 36,734 ล้านบาท ณ สิน้ งวด ธันวาคม 2548 เนื่องจากส่วนของหุ้นกู้และเงินกู้ระยะยาวที่มีกำหนดชำระภายในหนึ่งปีลดลง

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า ส่วนของหุ้นกู้และเงินกู้ระยะยาว-สุทธิ ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ค่าสิทธิสญ ั ญาสัมปทาน ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี และภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 % ของ % ของ ล้านบาท หนี้สินรวม ล้านบาท หนี้สินรวม 1,000 1.8% - - 5,760 10.2% 4,520 9.4% 6,507

11.5%

14,241

29.7%

7,155 10,616

12.6% 18.7%

7,354 10,619

15.3% 22.1%


สินทรัพย์ สินทรัพย์รวม ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 เท่ากับ 134,301 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 6,341 ล้านบาท สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เงินสด และสินทรัพย์ถาวรสำหรับ จาก 127,960 ล้านบาท ณ สิน ้ งวดธันวาคม 2548 เนือ่ งจากบริษทั มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ รวมทัง้ ใช้ขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนขยายคุณภาพและกำลังการรองรับของโครงข่าย สินทรัพย์หมุนเวียนคิดเป็นสัดส่วน 17.0% ของสินทรัพย์รวม โดยมีรายการหลักดังนี้

โครงสร้างเงินทุน กลุ่มบริษัทยังคงมีโครงสร้าง เงินทุนที่แข็งแกร่ง ทำให้สามารถ จ่ายเงินปันผลได้ ในระดับสูง อย่างต่อเนื่อง

กลุ่มบริษัทยังคงสถานะงบดุลและโครงสร้างเงินทุนที่แข็งแกร่ง ทำให้บริษัทมีความสามารถในการจ่าย เงินปันผลในระดับสูงได้อย่างต่อเนื่อง โดยวัดได้จากอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่ยังค่อนข้างต่ำคิดเป็น 73% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 เทียบกับ 60% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 ทั้งนี้อัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยนั้นมา จากการที่กลุ่มบริษัทได้ออกหุ้นกู้ระยะยาวและมีเงินกู้ระยะยาวในระหว่างปี 2549 อัตราส่วนเงินกู้สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เงินกู้สุทธิหมายถึง หุ้นกู้และเงินกู้ยืม หักด้วย เงินสด) เพิ่มขึ้นเป็น 26% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 จาก 18% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 แม้ว่าจะมีหนี้สินที่สูงขึ้น กลุ่มบริษัทยังคงรักษาระดับอันดับความน่าเชื่อถือที่ AA จากการประเมินของ TRIS และที่ระดับ A- จาก S&P ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้บริษัทยังคงสามารถจ่ายเงินปันผลได้ในระดับสูง

หุ้นกู้และเงินกู้ยืม ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 กลุ่มบริษัทมีหุ้นกู้และเงินกู้ยืมทั้งสิ้นจำนวน 33,149 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 25,451 ล้านบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 โดยกลุ่มบริษัทได้ออกหุ้นกู้ระยะยาวเป็นจำนวน 11,427 ล้านบาทในไตรมาสที่ 3/2549 และกู้เงินระยะยาวเพิ่มขึ้นเป็นเงินสกุลเยนในไตรมาสที่ 4/2549 โดยเงินกู้ระยะยาวได้มีการทำ swap เพื่อ ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนแล้วทั้งจำนวน ซึ่งแปลงค่าเป็นเงินบาท ณ วันทำรายการเท่ากับ 9,485 ล้านบาท จุดมุ่งหมายของการกู้เพิ่มในปีนี้เพื่อนำไปใช้ลงทุนขยายเครือข่าย รวมถึงจ่ายคืนเงินกู้บางส่วนที่ครบกำหนด และใช้ในการบริหารงาน ทั้งนี้หุ้นกู้ระยะยาวที่ออกในปีนี้นั้นมีอายุครบกำหนดไถ่ถอน 3-7 ปี และมีอัตราดอกเบี้ย เฉลี่ยที่ 5.90% ต่อปี ส่วนเงินกู้ระยะยาวมีอายุ 5 ปี และครบกำหนดจ่ายคืนทั้งจำนวนเมื่อสิ้นอายุ โดยมีอัตรา ดอกเบี้ยเฉลี่ย 5.4-5.6% ต่อปี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน-สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 % ต่อ % ต่อ ล้านบาท สินทรัพย์รวม ล้านบาท สินทรัพย์รวม 22,893 17.0% 20,347 15.9% 7,797 5.8% 8,259 6.5% 81,096 60.4% 75,843 59.3% 9,763 7.3% 8,946 7.0% 12,752 9.5% 14,565 11.4%

095


เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนของหุ้นกู้และเงินกู้ระยะยาว-สุทธิ ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ระยะยาวสุทธิ และเงินกู้ยืมระยะยาว รวมเงินกู้

31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 % ต่อ % ต่อ ล้านบาท สินทรัพย์รวม ล้านบาท สินทรัพย์รวม 1,000 1.8% - - 6,507 25,642 * 33,149

11.5% 45.2% 58.5%

14,241 11,210 25,451

29.7% 23.3% 53.0%

* เงินกู้ยืมระยะยาวที่ ได้มีการทำ swap มีมูลค่า 9,485 ล้านบาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 กลุ่มบริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นลดลงเป็น 77,599 ล้านบาท จาก 79,935 ล้านบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 เนื่องจากมีการจ่ายเงินปันผลออกจากกำไรสะสมเป็นจำนวนรวม 18,699 ล้านบาท ในระหว่างปี

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

096

กระแสเงินสด กลุ่มบริษัทยังคงมีกระแสเงินสด เพียงพอต่อการลงทุนเพิ่มเติม

ในปี 2549 กลุ่มบริษัทยังคงสถานะภาพทางการเงินที่ดี โดยมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานหลังจากหัก ดอกเบี้ยจ่าย ภาษี และการเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน จำนวน 35,027 ล้านบาท อีกทั้งกลุ่มบริษัทมีกระแส เงินสดเพิ่มขึ้นจากเงินกู้ระยะสั้น ระยะยาว และหุ้นกู้ระยะยาวรวม 21,895 ล้านบาท ซึ่งกลุ่มบริษัทใช้กระแสเงินสด ไปในการลงทุนเพิม่ เติมทางด้านเครือข่ายจำนวน 20,097 ล้านบาท จ่ายคืนหุน้ กูท้ คี่ รบกำหนดจำนวน 14,250 ล้านบาท จ่ายคืนสัญญาเช่าทางการเงินจำนวน 16.5 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผลจำนวน 18,669 ล้านบาท โดยส่วนที่เหลือ สำรองเป็นเงินสด


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ในปี 2549 คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ กรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน ซึง่ เป็นผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นการเงิน การบัญชี กฎหมาย และการบริหารจัดการ เป็นกรรมการตรวจสอบ แทนกรรมการตรวจสอบเดิมที่ลาออก ปัจจุบันคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นางทัศนีย์ มโนรถ และนายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยทุกท่านมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติที่ดีสำหรับคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีนางสุวิมล กุลาเลิศ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขตความรับผิดชอบในภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ในการ กำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทให้เกิดความชัดเจนในการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบของกรรมการบริหาร หรือผูบ้ ริหาร อันจะพึงมีตอ่ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ตลอดจนดำเนินการให้มนั่ ใจว่า กรรมการบริหารและผูบ้ ริหารได้บริหารกิจการตามนโยบาย ของบริษทั อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และมีมาตรฐาน โดยในรอบปี 2549 ได้จดั ให้มกี ารประชุมทัง้ สิน้ 11 ครัง้ ทัง้ นีไ้ ด้รว่ มประชุมกับผูบ้ ริหาร ผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี เพือ่ ร่วมเสนอข้อมูล หารือ และแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็น ในวาระทีเ่ กีย่ วข้อง สรุปสาระสำคัญได้ดงั นี ้ 1. ให้ความเห็นชอบงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2549 ทีผ่ า่ นการสอบทานและตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ก่อนนำเสนอให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ โดยได้สอบถามผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริหารในเรือ่ งความถูกต้อง ครบถ้วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล นอกจากนีย้ งั ได้พจิ ารณาข้อเสนอแนะต่อระบบการควบคุมภายใน (Management Letter) ของ ผูส้ อบบัญชี และรับทราบแผนการสอบบัญชีประจำปี 2549 คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า กระบวนการรายงานทางบัญชีและ การเงินของบริษัท มีการควบคุมที่เพียงพอให้รายงานทางการเงินแสดงฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทอย่างถูกต้อง ตามทีค่ วร ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ฎหมายกำหนด และมีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลา เพือ่ เป็นประโยชน์ กับนักลงทุนหรือผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจลงทุน 2. สอบทานและให้ความเห็นต่อการเข้าทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึง สอบทานการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวให้ถกู ต้อง ครบถ้วน เป็นไปตามประกาศข้อกำหนด และแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า ฝ่ายจัดการได้ทำรายการดังกล่าวด้วยความเป็นธรรม และเป็นการดำเนินการ เพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั เป็นสำคัญ ดังเช่นทีท่ ำกับบุคคลภายนอกทัว่ ไปด้วยราคาทีส่ มเหตุสมผล รวมถึงมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ถูกต้อง และครบถ้วน 3. สอบทานการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั เช่น พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนด ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน ประกาศและกฎระเบียบของคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ประมวลรัษฎากร กฎหมายแรงงานและสัญญาจ้างแรงงาน รวมถึงข้อกำหนดภาระผูกพันทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากสัญญาทีก่ ระทำกับบุคคลภายนอก และข้อเรียกร้องอืน่ ๆ โดยได้ประชุมร่วมกับนักกฎหมายและหน่วยงาน Compliance ของบริษทั เป็นจำนวน 4 ครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเหมาะสม 4. สอบทานระบบการควบคุมภายใน เพือ่ ประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในทีช่ ว่ ยส่งเสริมให้ การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยพิจารณาจากรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปี 2549 ตามแผนงานที่ได้รับ อนุมตั ิ ซึง่ ครอบคลุมระบบงานทีส่ ำคัญของบริษทั เช่น ระบบการรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์และข้อมูลสารสนเทศ ระบบรายได้ ค่าบริการ ระบบการควบคุมคุณภาพเครือข่าย เป็นต้น ทัง้ นีไ้ ม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระสำคัญ นอกจากนีไ้ ด้ประเมินระบบ การควบคุมภายในตามแนวทางทีก่ ำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในด้านการควบคุมด้านการ บริหาร การเงิน และการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล ซึ่งประกอบด้วยสภาพแวดล้อมภายใน การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ข้อมูลที่ดี และระบบการติดตามผลการดำเนินงานที่ชัดเจน 5. สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการบริหารความเสี่ยงโดยได้ สอบทานนโยบายและคูม่ อื การบริหารความเสีย่ ง ปัจจัยเสีย่ ง แนวทางการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงความคืบหน้าของการบริหารความเสีย่ ง จากคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเป็นประจำทุกไตรมาส คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการบริหารความเสีย่ งมีความ

097


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

098

เหมาะสมเพียงพอ และมีประสิทธิผล โดยมีการกำหนดวัตถุประสงค์ทชี่ ดั เจน ระบุปจั จัยเสีย่ งได้อย่างครบถ้วน มีการกำหนดกระบวนการ ประเมินความเสีย่ งและการตอบสนองต่อความเสีย่ งไว้อย่างเหมาะสม รวมถึงมีการกำหนดผูร้ บั ผิดชอบทีช่ ดั เจนในการติดตามการบริหาร ความเสี่ยงแต่ละด้าน เพื่อควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และมีการทบทวนความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน 6. กำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน โดยได้พจิ ารณาภารกิจ ขอบเขตการปฏิบตั งิ าน ภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ความเป็น อิสระ และสิทธิในการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ รวมถึงการจัดองค์กร และอัตรากำลังคน ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน อีกทัง้ ได้พจิ ารณา และให้ความเห็นชอบต่อคูม่ อื การตรวจสอบภายใน และได้พจิ ารณาทบทวนและอนุมตั กิ ารแก้ไขกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ให้เหมาะสมและสอดคล้องตามมาตรฐานวิชาชีพสากล ได้สอบทานรายงานผลการตรวจสอบทุก 2 เดือน และได้สอบทานผลการปฏิบตั งิ าน ภาพรวมของหน่วยงานตรวจสอบภายในเปรียบเทียบกับตัววัดประสิทธิภาพที่ได้ตั้งไว้ ซึ่งรวมถึงผลการประเมินความพึงพอใจจาก ผูบ้ ริหารและหน่วยงานผูร้ บั การตรวจสอบทุกระดับ รวมถึงได้อนุมตั แิ ผนงานตรวจสอบภายในประจำปี 2550 ทีจ่ ดั ทำขึน้ ตามความเสีย่ ง ของบริษัท ซึ่งรวมถึงแผนการพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบ และการพัฒนาความรู้ ทักษะ และความชำนาญของบุคลากรตรวจสอบ ภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า ระบบการตรวจสอบภายในของบริษัทเป็นไปอย่างอิสระ เพียงพอ และมีประสิทธิผล สอดคล้องกับเป้าหมายทีไ่ ด้ตงั้ ไว้ รวมทัง้ มีการพัฒนาคุณภาพการตรวจสอบทัง้ ในด้านบุคลากร และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ให้สอดคล้อง กับมาตรฐานวิชาชีพสากลอย่างต่อเนื่อง 7. จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้กับคณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส โดยได้เสนอ ความเห็นและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การบริหารงานของฝ่ายจัดการ ซึง่ ฝ่ายจัดการได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ อย่างเหมาะสม 8. ทบทวนและเสนอแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ เกี่ยวกับคุณสมบัติ ของคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตและอำนาจหน้าที่ และ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการ กำกับดูแลทีด่ ขี องกิจการ และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั กิ ารแก้ไขกฎบัตรแล้ว 9. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีประจำปี 2550 เพือ่ นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ให้ขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาความเป็นอิสระ ผลการปฏิบัติงาน และบริการ ของผู้สอบบัญชี รวมถึงความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ว เห็นว่า ผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ในด้านการจัดทำรายงานทางการเงินและการควบคุมภายใน จึงเห็นควรเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้น แต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีประจำปี 2550 ต่อไปอีกวาระหนึ่ง 10. คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินตนเอง ตามแนวทางการปฏิบตั ทิ ดี่ สี ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบ เกีย่ วกับองค์ประกอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุม ผลงาน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารและผู้สอบบัญชีภายนอก ผลการประเมิน พบว่า คณะกรรมการตรวจสอบ มีขอบเขต และผลการปฏิบตั งิ านสอดคล้องตามแนวทางการปฏิบตั ทิ ดี่ ี อันมีสว่ นช่วยเสริมสร้างการกำกับดูแล กิจการที่ดีได้อย่างมีประสิทธิผล ในรอบปี 2549 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้ความรู้ ความ สามารถประกอบกับความรอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ โดยไม่มีข้อจำกัดในการได้รับข้อมูลทั้งจากผู้บริหาร พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน โดยสรุปในภาพรวมแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า คณะกรรมการบริษัทตลอดจนผู้บริหารของบริษัทมีจริยธรรมและ ความมุง่ มัน่ ในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ให้บรรลุเป้าหมายของบริษทั อย่างมีคณ ุ ภาพเยีย่ งมืออาชีพ ได้ให้ความสำคัญอย่างยิง่ ต่อการดำเนินงาน ภายใต้ระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล ภายใต้การบริหารความเสี่ยงที่รัดกุมเหมาะสมและต่อเนื่อง มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี อย่างเพียงพอ โปร่งใสและเชื่อถือได้ รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ

นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบ

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวม ของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ และใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวังและประมาณการทีด่ ที สี่ ดุ ในการจัดทำ รวมทัง้ ให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลทีส่ ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง และให้มีและดำรงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและ มีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อให้ไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำคัญ

งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อยได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด ในการตรวจสอบนั้นทางคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏ ในรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำปีแล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินของบริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการ บัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม) (นายสมประสงค์ บุญยะชัย) ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ในการนี้คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำหน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพของ รายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสีย่ ง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผย ข้อมูลรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำปีแล้ว

099


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอผู้ถือหุ้นของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุน เฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และ งบกระแสเงินสดรวม และงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั สำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อ ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ที่นำมาเปรียบเทียบ (ก่อนปรับใหม่) ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นจากสำนักงานเดียวกับข้าพเจ้าซึ่งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการ ใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของ หลักการบัญชีทกี่ จิ การใช้และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำคัญซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมิน ถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์ อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

100

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษทั และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะบริษทั สำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และของเฉพาะบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

สุชาติ เหลืองสุรสวัสดิ์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 2807

บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด

กรุงเทพมหานคร 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550


งบดุล บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 หมายเหตุ ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ บาท บาท บาท บาท สินทรัพย์

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ - สุทธิ สิทธิในสัมปทาน - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

6 7,33 8 33

12,742,217,840 11,456,372,999 118,186,639 298,840,229 4,898,181,586 4,526,263,753 2,972,924 3,017,020 620,504,812 1,266,493,720 463,557,468 214,745,807

3,725,033,698 - 5,288,900,193 87,112,658 - 463,557,468

1,824,526,104 - 5,450,855,918 40,076,246 - 214,745,807

9 10

2,055,466,362 1,347,140,904 113,363,630 1,991,808,285 1,233,709,101 1,756,240,054 22,892,895,916 20,346,583,533 11,434,207,701

186,223,733 1,016,911,253 8,733,339,061

11 12 13

- - 27,604,346,559 30,977,001,909 7,797,322,809 8,259,476,007 7,021,665,906 7,917,281,797 81,095,902,900 75,842,690,139 74,763,193,336 68,028,652,961

14 15 15 21 16

1,308,758,923 1,440,356,512 1,234,412,300 1,351,641,686 3,051,104,407 3,505,927,447 - - 7,837,042,669 9,003,946,669 - - 9,762,601,310 8,945,615,029 8,813,221,985 8,018,573,935 555,145,028 614,907,761 441,227,263 516,565,973 111,407,878,046 107,612,919,564 119,878,067,349 116,809,718,261

134,300,773,962 127,959,503,097 131,312,275,050 125,543,057,322

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ค่าบัตรเงินสด ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างรับ - บุคคลภายนอก สินค้าคงเหลือ อุปกรณ์และอะไหล่เพื่อการซ่อมแซม เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

101


งบดุล (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 หมายเหตุ ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ บาท บาท บาท บาท หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

102

หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้และเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่วนของหุ้นกู้ระยะยาว - สุทธิและเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ค่าสิทธิสัญญาสัมปทานค้างจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี และภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยน-สุทธิ หุ้นกู้ระยะยาวสุทธิและเงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

18 17 33

1,000,000,000 5,759,710,259 523,209,571

- 4,520,100,077 365,129,112

18

6,507,227,304 14,240,938,545

1,000,000,000 5,662,484,910 4,925,438,937

- 4,482,010,251 8,479,779,899

6,504,184,175 14,240,601,088

20 21 19

7,155,341,329 7,354,234,469 2,051,951,128 2,295,986,824 3,658,799,935 2,198,430,353 4,072,274,829 2,202,184,922 1,090,978,614 3,315,127,670 - - 2,963,490,438 2,992,232,486 2,576,870,420 2,213,434,373 - 92,183,837 - - 2,379,902,994 1,655,828,307 1,947,159,308 1,389,279,070 31,038,660,444 36,734,204,856 28,740,363,707 35,303,276,427

3 18

137,954,287 - 137,954,287 - 25,504,303,725 11,209,805,854 25,496,004,083 11,208,334,444 20,847,018 80,940,545 - - 25,663,105,030 11,290,746,399 25,633,958,370 11,208,334,444

56,701,765,474 48,024,951,255 54,374,322,077 46,511,610,871

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบดุล (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 หมายเหตุ ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ บาท บาท บาท บาท หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน

25 25 25,34

4,997,459,800 5,000,000,000

4,997,459,800 5,000,000,000

2,953,546,816 2,950,639,869 2,953,546,816 2,950,639,869 20,978,563,672 20,729,933,193 20,978,563,672 20,729,933,193 14,503,874 25,257,338 14,503,874 25,257,338 - 161,186,663

17,669,750 161,186,663

- 161,186,663

- 161,186,663

26 27

500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 - 83,129,756 - 83,129,756 52,330,151,948 54,664,429,388 52,330,151,948 54,664,429,388 - (83,129,756 ) - (83,129,756 ) 76,937,952,973 79,049,116,201 76,937,952,973 79,031,446,451

ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น - สุทธิ

661,055,515 885,435,641 - - 77,599,008,488 79,934,551,842 76,937,952,973 79,031,446,451

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

134,300,773,962 127,959,503,097 131,312,275,050 125,543,057,322

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ทุนที่ออกและชำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น ส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่ายุติธรรม ในหลักทรัพย์เผื่อขาย กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการลดสัดส่วนการลงทุน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย จัดสรรแล้ว - สำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืน ยังไม่ได้จัดสรร หุ้นทุนซื้อคืน รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

103


งบกำไร-ขาดทุน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548 ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 หมายเหตุ ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ บาท บาท บาท บาท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

104

รายได้ รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รวมรายได้

76,052,889,453 80,533,632,640 72,067,987,774 74,882,896,572 15,375,267,096 11,983,015,859 - - 91,428,156,549 92,516,648,499 72,067,987,774 74,882,896,572

ต้นทุน ต้นทุนค่าบริการและการให้เช่าอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต ต้นทุนขาย รวมต้นทุน

23,138,518,723 18,753,963,502 14,063,099,404 55,955,581,629

24,205,074,557 23,771,123,151 25,300,070,691 19,215,167,473 17,398,743,344 17,602,350,899 10,778,253,832 - - 54,198,495,862 41,169,866,495 42,902,421,590

กำไรขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กำไรจากการขาย การให้บริการและการให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการดำเนินงานอื่น กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ - สุทธิ ค่าตอบแทนกรรมการ กำไรจากการดำเนินงาน ส่วนแบ่งผลกำไรสุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย กำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ กำไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ขาดทุนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย - สุทธิ กำไรสุทธิสำหรับปี

28 29 33

35,472,574,920 11,420,781,559 24,051,793,361 1,014,972,725 47,513,916 (7,580,000 ) 25,106,700,002 - 25,106,700,002 (1,538,245,937 ) (7,460,290,639 ) 16,108,163,426 (147,852,068 ) 16,256,015,494

38,318,152,637 10,067,021,985 28,251,130,652 582,915,342 39,463,872 (5,986,133 ) 28,867,523,733 - 28,867,523,733 (1,528,663,428 ) (8,618,463,234 ) 18,720,397,071 (4,791,337 ) 18,725,188,408

30,898,121,279 9,914,752,818 20,983,368,461 660,705,449 26,283,862 (6,710,000 ) 21,663,647,772 2,351,686,797 24,015,334,569 (1,775,110,004 ) (5,984,209,071 ) 16,256,015,494 - 16,256,015,494

31,980,474,982 9,088,802,094 22,891,672,888 623,780,532 36,761,028 (5,686,133 ) 23,546,528,315 3,317,599,933 26,864,128,248 (1,537,607,942 ) (6,601,331,898 ) 18,725,188,408 - 18,725,188,408

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิสำหรับปี

30

5.50

6.36

5.50

6.36

กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิสำหรับปี

30

5.50

6.35

5.50

6.35

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


11,051,130 - 11,051,130 - - - (11,051,130 ) - 25,257,338 - - - - 25,257,338

ยอดคงเหลือต้นปี พ.ศ. 2548 2,945,188,074 20,470,525,112 รายการปรับปรุงงบการเงินงวดก่อน (หมายเหตุ 4) - - ยอดคงเหลือต้นงวด - ตามที่ปรับใหม่ 2,945,188,074 20,470,525,112 กำไรสุทธิสำหรับปี (ตามที่ได้ปรับใหม่) - - เงินปันผลจ่าย - - การเพิ่มทุนในบริษัทย่อยจากผู้ถือหุ้นส่วนน้อย - - โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น 252,747 10,798,383 ทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้น 5,199,048 248,609,698 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - - ส่วนเกินทุนจากการตีมลู ค่ายุตธิ รรมในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย - - กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการลดสัดส่วนการลงทุน - - สำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืน - - ขาดทุนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย - - ยอดคงเหลือสิ้นปีวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 2,950,639,869 20,729,933,193

500,000,000 - 500,000,000 - - - - - - - - - - 500,000,000 500,000,000 - 500,000,000 - - - - - - - - - - 500,000,000

25,242,500 161,186,663 (7,572,750 ) - 17,669,750 161,186,663 - - - - - - - - - - (17,669,750 ) - - - - - - - - - - 161,186,663 14,267,500 3,040,468 (4,280,250 ) - 9,987,250 3,040,468 - - - - - - - - - - - - 7,682,500 - - 158,146,195 - - - - 17,669,750 161,186,663

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

25,257,338 - 25,257,338 - - (25,257,338 ) - 14,503,874 - - - - - 14,503,874

ยอดคงเหลือต้นปี พ.ศ. 2549 2,950,639,869 20,729,933,193 รายการปรับปรุงงบการเงินงวดก่อน (หมายเหตุ 4) - - ยอดคงเหลือต้นงวด - ตามที่ปรับใหม่ 2,950,639,869 20,729,933,193 กำไรสุทธิสำหรับปี - - เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) - - โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น (หมายเหตุ 25) 491,439 24,765,899 ทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้น (หมายเหตุ 25) 4,955,708 223,864,580 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น (หมายเหตุ 25,34) - - ส่วนเกินทุนจากการตีมลู ค่ายุตธิ รรมในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย - - การกลับรายการสำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืน - - ตัดหุ้นทุนซื้อคืน (หมายเหตุ 27) (2,540,200 ) - เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย - - ขาดทุนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย - - ยอดคงเหลือสิ้นปีวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 2,953,546,816 20,978,563,672

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

(83,129,756 ) 742,971,652 68,087,167,755 - 13,785,052 9,040,239,765 (83,129,756 ) 756,756,704 77,127,407,520 - - 18,725,188,408 - (23,383,591 ) (16,515,001,393 ) - 315,000,060 315,000,060 - - - - - 253,808,746 - - 25,257,338 - - 7,682,500 - (158,146,195 ) - - - - - (4,791,337 ) (4,791,337 ) (83,129,756 ) 885,435,641 79,934,551,842

รวม

- 43,483,253,575 - 9,030,734,963 - 52,513,988,538 - 18,725,188,408 - (16,491,617,802 ) - - - - - - - - - - - - 83,129,756 (83,129,756 ) - - 83,129,756 54,664,429,388

ส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย

(83,129,756 ) 871,848,318 71,081,120,651 - 13,587,323 8,853,431,191 (83,129,756 ) 885,435,641 79,934,551,842 - - 16,256,015,494 - - (18,592,833,134 ) - - - - - 228,820,288 - - 14,503,874 - - (17,669,750 ) - - - 83,129,756 - - - (76,528,058 ) (76,528,058 ) - (147,852,068 ) (147,852,068 ) - 661,055,515 77,599,008,488

กำไรสะสม หุ้นทุน ยังไม่ได้ ซื้อคืน จัดสรร

83,129,756 45,817,012,770 - 8,847,416,618 83,129,756 54,664,429,388 - 16,256,015,494 - (18,592,833,134 ) - - - - - - - - (83,129,756 ) 83,129,756 - (80,589,556 ) - - - - - 52,330,151,948

สำรอง สำหรับ หุ้นทุนซื้อคืน

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ( บ า ท )

กำไรที่ยัง ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน เงินรับ ส่วนเกินทุน ไม่เกิดขึ้นจาก สำรองตาม ที่ออกและ มูลค่าหุ้น ล่วงหน้า จากการตี การลดสัดส่วน กฎหมาย ชำระแล้ ว ค่ า หุ น ้ มู ล ค่ายุติธรรม การลงทุน

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

105


3,040,468 - 3,040,468 - - - - - 158,146,195 - 161,186,663

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

11,051,130 - 11,051,130 - - (11,051,130 ) - 25,257,338 - - 25,257,338

500,000,000 - 500,000,000 - - - - - - - 500,000,000

2,945,188,074 20,470,525,112 - - 2,945,188,074 20,470,525,112 - - - - 252,747 10,798,383 5,199,048 248,609,698 - - - - - - 2,950,639,869 20,729,933,193

ยอดคงเหลือต้นปี พ.ศ. 2548 รายการปรับปรุงงบการเงินงวดก่อน (หมายเหตุ 4) ยอดคงเหลือต้นงวด - ตามที่ปรับใหม่ กำไรสุทธิสำหรับปี (ตามที่ได้ปรับใหม่) เงินปันผลจ่าย โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น ทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้น เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการลดสัดส่วนการลงทุน สำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืน ยอดคงเหลือสิ้นปีวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548

161,186,663 - 161,186,663 - - - - - - - 161,186,663

500,000,000 - 500,000,000 - - - - - - - 500,000,000

25,257,338 - 25,257,338 - - (25,257,338 ) - 14,503,874 - - 14,503,874

2,950,639,869 20,729,933,193 - - 2,950,639,869 20,729,933,193 - - - - 491,439 24,765,899 4,955,708 223,864,580 - - - - (2,540,200 ) - 2,953,546,816 20,978,563,672 - - - - - - - - - 83,129,756 83,129,756

83,129,756 - 83,129,756 - - - - - (83,129,756 ) - -

สำรองสำหรับ หุ้นทุนซื้อคืน

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท ( บ า ท)

ยอดคงเหลือต้นปี พ.ศ. 2549 รายการปรับปรุงงบการเงินงวดก่อน (หมายเหตุ 4) ยอดคงเหลือต้นงวด - ตามที่ปรับใหม่ กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น (หมายเหตุ 25) ทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้น (หมายเหตุ 25) เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น (หมายเหตุ 25,34) การกลับรายการสำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืน ตัดหุ้นทุนซื้อคืน (หมายเหตุ 27) ยอดคงเหลือสิ้นปีวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

สำรองตาม กฎหมาย

กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้น ทุนเรือนหุ้นที่ออก ส่วนเกิน เงินรับล่วงหน้ า จากการลดสัดส่วน และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น ค่าหุ้น การลงทุน

106

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

43,483,253,575 9,030,734,963 52,513,988,538 18,725,188,408 (16,491,617,802 ) - - - - (83,129,756 ) 54,664,429,388

45,817,012,770 8,847,416,618 54,664,429,388 16,256,015,494 (18,592,833,134 ) - - - 83,129,756 (80,589,556 ) 52,330,151,948

กำไรสะสม ยังไม่ได้จัดสรร

(83,129,756 ) - (83,129,756 ) - - - - - - - (83,129,756 )

(83,129,756 ) - (83,129,756 ) - - - - - - 83,129,756 -

หุ้นทุนซื้อคืน

67,329,928,603 9,030,734,963 76,360,663,566 18,725,188,408 (16,491,617,802 ) - 253,808,746 25,257,338 158,146,195 - 79,031,446,451

70,184,029,833 8,847,416,618 79,031,446,451 16,256,015,494 (18,592,833,134 ) - 228,820,288 14,503,874 - - 76,937,952,973

รวม

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


งบกระแสเงินสด บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548 ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 หมายเหตุ ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ บาท บาท บาท บาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย เงินสดรับจากหุ้นกู้ระยะยาว ชำระคืนหุ้นกู้ระยะยาว เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว ชำระคืนเงินต้นของสัญญาเช่าทางการเงิน เงินสดรับสุทธิจากการออกหุ้นเพิ่มทุน เงินสดรับสุทธิจากส่วนเกินมูลค่าหุ้น เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น เงินสดรับจากการเพิ่มทุนในบริษัทย่อย จากผู้ถือหุ้นส่วนน้อย จ่ายเงินปันผล เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

33 11 11

35,026,603,614 33,590,815,388 30,419,179,447 29,178,918,693 155,411,090 - - 22,120,927 - -

(101,657,614 ) - 56,964,919 11,409,862 - -

- (40,300,000 ) - 17,785,087 - (99,000,000 )

- (500,000 ) 56,964,919 84,287,624 (213,000,000 ) (249,999,940 )

(3,189,262,505 ) (3,399,908,279 ) (16,907,464,799 ) (12,830,441,666 ) - - (19,919,195,287 ) (16,263,632,778 )

(3,085,334,016 ) (3,218,032,812 ) (16,645,911,542 ) (12,373,941,543 ) 5,823,342,146 1,834,941,194 (14,029,418,325 ) (14,079,280,558 )

18 18 33 33 18 18 18

5,850,000,000 - (4,850,000,000 ) - - - - - 11,410,173,330 - (14,250,000,150 ) (4,000,000,000 ) 9,485,312,460 - (16,495,313 ) (102,624,473 ) 4,955,708 5,199,048 223,864,580 248,609,698 14,503,874 25,257,338

5,850,000,000 (4,850,000,000 ) 6,500,000,000 (10,300,000,000 ) 11,410,173,330 (14,250,000,150 ) 9,485,312,460 (15,174,893 ) 4,955,708 223,864,580 14,503,874

31

- 315,000,060 - - (18,592,833,134 ) (16,491,617,802 ) (18,592,833,134 ) (16,491,617,802 ) (76,528,058 ) (23,383,591 ) - - (10,797,046,703 ) (20,023,559,722 ) (14,519,198,225 ) (14,814,760,306 )

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ ยอดคงเหลือต้นปี ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือสิ้นปี

- - 9,500,000,000 (4,000,000,000 ) - (4,000,000,000 ) - (102,208,588 ) 5,199,048 248,609,698 25,257,338

4,310,361,624 (2,696,377,112 ) 1,870,562,897 284,877,829 6,757,483,356 9,449,330,472 1,824,526,104 1,535,118,279 29,944,696 4,529,996 29,944,696 4,529,996 11,097,789,676 6,757,483,356 3,725,033,697 1,824,526,104

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนระยะสั้นเปลี่ยนแปลงสุทธิ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย เงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่ผู้จัดจำหน่ายเปลี่ยนแปลงสุทธิ เงินสดรับจากการจำหน่ายอาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายสุทธิจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนระยะยาวในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

32

107


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดทีร่ วมอยูใ่ นงบกระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548 ประกอบด้วย ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

108

เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะสั้นที่ครบกำหนดไถ่ถอนน้อยกว่าหรือเท่ากับ สามเดือน หัก เงินฝากธนาคารติดภาระผูกพัน (หมายเหตุ 6) รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

3,481.99

10,134.60

1,151.10

1,452.62

9,260.23 12,742.22 (1,644.43 ) 11,097.79

1,321.77 11,456.37 (4,698.89 ) 6,757.48

2,573.93 3,725.03 - 3,725.03

371.91 1,824.53 - 1,824.53

ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ และกิจกรรมการลงทุนที่ไม่เกี่ยวกับงบกระแสเงินสด ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้จ่ายและกิจกรรมการลงทุนที่ไม่เกี่ยวกับงบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548 ประกอบด้วย ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามที่ได้ปรับใหม่ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้จ่าย ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้จ่าย กิจกรรมการลงทุนที่ไม่เกี่ยวกับงบกระแสเงินสด

ยอดหนี้ค้างชำระจากการลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน

1,336.96 8,505.14

1,425.33 9,858.92

1,648.85 6,424.53

1,474.79 7,504.72

3,538.00

2,354.17

3,339.69

2,164.14

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 109 ถึง 156 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548

1. ข้อมูลทั่วไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทมหาชนจำกัดซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทย บริษัท เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ การรายงานข้อมูลจึงรวมเรียกบริษทั และบริษทั ย่อยว่าเป็น “กลุม่ บริษทั ” และมีที่อยู่ตามที่ได้จดทะเบียนดังนี้ 414 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 1 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 การประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท สรุปได้ดังนี้ 1) การเป็นผู้ดำเนินงาน และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 900-MHz CELLULAR โดยได้รับสัมปทานจากบริษัท

ทีโอที จำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ตามสัญญาลงวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2533 การขายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์ โทรคมนาคม การให้บริการซ่อมแซมโทรศัพท์เคลื่อนที่ และการให้เช่าเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ สัญญาสัมปทานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ระบบ 900-MHz CELLULAR สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 2) การเป็นผู้ดำเนินงาน และให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ด้วยระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH โดยได้รับสัมปทานจาก ทีโอที ตามสัญญาลงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2532 3) การเป็นผู้ดำเนินงาน และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800-MHz CELLULAR TELEPHONE SYSTEM ที่บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท”) ให้สัมปทานไว้แก่ บริษัท โทเทิล แอคเซส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (“TAC”) ตามสัญญาลงวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2539 และวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (“WorldPhone Concession”) สัญญาสัมปทานโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800- MHz CELLULAR TELEPHONE SYSTEM สิ้นสุดวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 4) การเป็นผู้ดำเนินงานศูนย์ให้ข่าวสารการบริการทางโทรศัพท์ 5) การเป็นผู้ดำเนินงานให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงโดยได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) 6) การเป็นผู้ดำเนินงานจัดจำหน่ายบัตรเงินสด 7) การเป็นผู้ดำเนินงานให้บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ 8) การเป็นผูด้ ำเนินงานให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ โดยได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ลงวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยใบอนุญาตดังกล่าวสิ้นสุดวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2569 ภายใต้สัญญาที่ทำกับ ทีโอที เกี่ยวกับการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ด้วยระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH บริษทั และบริษทั ย่อย คือ บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเนทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด จะต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทน รายปีให้แก่ ทีโอที ในอัตราร้อยละของรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และรายได้จากการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ หรืออย่างน้อยเท่ากับเงินขั้นต่ำที่ระบุไว้ในสัญญา ภายใต้สัญญาร่วมทุนระหว่างบริษัทย่อย คือ บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเนทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด และ ทีโอที ลงวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2540 ทีโอที ได้ขยายระยะเวลาของสัญญาดังกล่าวเป็น 25 ปี และยกเว้นการเรียกเก็บเงินผลประโยชน์ตอบแทน รายปีสำหรับการดำเนินงานจากบริษัทย่อยดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2540 ทั้งนี้ บริษัทย่อยดังกล่าวได้ออกหุ้นสามัญ จำนวน 10.75 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ 10 บาทให้กับ ทีโอที ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2541 เพื่อแลกกับสิทธิดังกล่าว ภายใต้สัญญาสัมปทานดังกล่าว บริษัทและบริษัทย่อยข้างต้นต้องโอนกรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์และสินทรัพย์อื่นที่บริษัทและ บริษัทย่อยได้จัดหามาไว้สำหรับดำเนินการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 900-MHz CELLULAR และการให้บริการสื่อสารข้อมูล ผ่านสายโทรศัพท์ดว้ ยระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH ให้กบั ทศท. ทันทีทไี่ ด้ดำเนินการติดตัง้ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว

109


1. ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) ตามสัญญาสัมปทานกับ กสท ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งสิ้นสุดวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 บริษัทย่อยได้แก่ บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด ต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนรายปีแก่ กสท ในอัตราร้อยละของรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ หรืออย่างน้อยเท่ากับจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีร่ ะบุไว้ในสัญญา นอกจากนี้ บริษทั ย่อยดังกล่าวจะต้องเป็นผูจ้ ดั หาอุปกรณ์และระบบ คอมพิวเตอร์ (ต้นทุนระบบคอมพิวเตอร์รวมถึงต้นทุนการพัฒนา Computer Software และต้นทุนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์) ที่ใช้ในการ ดำเนินธุรกิจ การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และจะต้องโอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ดังกล่าวให้แก่ กสท ภายในระยะเวลาที่กำหนด ในสัญญาสัมปทาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั นีไ้ ด้รบั การอนุมตั ใิ ห้เผยแพร่ โดยทีป่ ระชุมกรรมการ เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550

2. นโยบายการบัญชี

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

110

นโยบายการบัญชีที่สำคัญที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้

2.1 เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึง่ หมายถึงมาตรฐานการบัญชีทอี่ อกภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กลุม่ บริษทั ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับภาษีเงินได้กอ่ นวันถือปฏิบตั จิ ริงตามมาตรฐานการบัญชีไทยฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของ งบการเงิน ยกเว้น เรื่องที่อธิบายในนโยบายการบัญชี ในลำดับต่อไป ตัวเลขเปรียบเทียบได้ปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงการนำเสนอข้อมูลในปีปัจจุบันเท่าที่จำเป็น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดทำขึน้ จากงบการเงินตามกฎหมายทีเ่ ป็นภาษาไทย ในกรณี ที่มีความหมายขัดแย้งกันหรือมีความแตกต่างในการตีความระหว่างสองภาษาให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก 2.2 มาตรฐานการบัญชีซึ่งจะมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 26/2549 ลงวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2549 และฉบับที่ 32/2549 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ได้มกี ารแก้ไขมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 เรือ่ ง งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและฉบับที่ 45 เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม โดยกำหนดให้เปลี่ยนวิธีการบัญชีจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน สำหรับเงินลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงไว้ในงบการเงินเฉพาะกิจการตามวิธีราคาทุน โดยรายได้จากเงินลงทุนจะรับรู้เมื่อมีการประกาศจ่าย เงินปันผล โดยประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ทั้งนี้ บริษัทจะใช้วิธีราคาทุนสำหรับการ บันทึกส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าที่แสดงไว้ในงบการเงินเฉพาะบริษัท 2.3 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทย่อย หมายถึง กิจการที่กลุ่มบริษัทมีอำนาจในการควบคุมนโยบายการเงินและการดำเนินงาน บริษัทย่อยดังกล่าว นำมารวมในการจัดทำงบการเงินรวม ในการประเมินว่ากลุ่มบริษัทควบคุมกิจการอื่นใดได้หรือไม่นั้น ให้พิจารณาการปรากฏขึ้นและ ผลของการปรากฏขึน้ ของสิทธิออกเสียงทีม่ ศี กั ยภาพว่าจะเป็นไปได้ในปัจจุบนั ทีจ่ ะใช้สทิ ธิหรือแปลงสภาพทีจ่ ะใช้สทิ ธิออกเสียงดังกล่าว


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อย (ต่อ)

2.4 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ รายการที่รวมอยู่ในงบการเงินของแต่ละกิจการในกลุ่มบริษัทวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินบาท งบการเงินรวมนำเสนอในสกุล เงินบาท กลุ่มบริษัทแปลงค่ารายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ และ แปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุลให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล รายการกำไรและรายการขาดทุนทีเ่ กิดจากรับหรือจ่ายชำระทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศและทีเ่ กิดการแปลงค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็น ตัวเงินดังกล่าวได้บันทึกทันทีในงบกำไรขาดทุน 2.5 เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่แสดงอยู่ในงบดุลได้รวมยอดเงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนีแ้ ละเจ้าหนี้ กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีก้ ารค้า สัญญาเช่าการเงิน และเงินกูย้ มื ซึง่ นโยบายการบัญชีเฉพาะสำหรับแต่ละรายการ ได้เปิดเผยแยกตามแต่ละรายการดังกล่าว กลุ่มบริษัทได้ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและ อัตราดอกเบี้ย เครื่องมือทางการเงินเหล่านี้ประกอบด้วยสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย ซึ่งบันทึกในงบการเงิน ณ วันที่ตามสัญญา วัตถุประสงค์ของเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้คือการลดความเสี่ยง กลุม่ บริษทั ทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ น โดยการกำหนดอัตราแลกเปลีย่ นทีจ่ ะใช้ในการชำระหนีห้ รือการรับชำระหนีท้ เี่ ป็นเงินตราต่างประเทศ รายการซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าบันทึกเป็นลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าหรือเจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ตามสัญญา ลูกหนี้/เจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด บัญชี กำไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ส่วนเกินหรือส่วนลด ที่เกิดขึ้นในการทำสัญญาจะถูกตัดจำหน่ายตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ผลต่างที่จะได้รับหรือต้อง จ่ายชำระตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของรายได้หรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยตลอดอายุของสัญญา กำไร และขาดทุนจากการยกเลิกสัญญาหรือการชำระคืนเงินกู้ยืมก่อนกำหนดได้บันทึกไว้ในงบกำไรขาดทุน การเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับเครือ่ งมือทางการเงิน ซึง่ กลุม่ บริษทั เป็นคูส่ ญ ั ญาได้แสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

บริษทั ย่อยถูกนำรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ใหญ่ได้รบั โอนมาซึง่ อำนาจควบคุมและต้องไม่นำรวมตัง้ แต่วนั ทีอ่ ำนาจควบคุมหมดไป กลุ่มบริษัทใช้วิธีซื้อสำหรับการบันทึกการได้มาซึ่งบริษัทย่อย ต้นทุนการได้มาซึ่งบริษัทย่อยวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ที่ส่งมอบให้ในการได้มา มูลค่าของหุ้นที่ออกให้ หรือหนี้สินที่ต้องรับผิดชอบ ณ วันที่ได้มา และยังรวมถึงต้นทุนที่สัมพันธ์โดยตรงกับ การได้มานัน้ ส่วนของจำนวนต้นทุนการได้มาซึง่ บริษทั ย่อยทีส่ งู กว่ามูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยทีไ่ ด้มาจะบันทึกเป็น ค่าความนิยม หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.14 อธิบายนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับค่าความนิยม สำหรับรายการบัญชี ยอดคงเหลือ และรายการกำไรหรือรายการขาดทุนทีย่ งั ไม่ได้เกิดขึน้ จริงซึง่ เป็นผลจากรายการระหว่างกันของกิจการทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ บริษทั จะถูกตัดบัญชี ออกไปเต็มจำนวน เว้นแต่รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงซึ่งกลุ่มบริษัทจะไม่สามารถได้รับคืนต้นทุนที่เสียไป ในกรณีที่มี ความจำเป็น นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยจะถูกเปลี่ยนให้มีความสม่ำเสมอกับนโยบายที่ใช้โดยกลุ่มบริษัท เงินลงทุนในบริษัทย่อยแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย รายชื่อของบริษัทย่อยหลักของกลุ่มบริษัทได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11

111


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดแสดงในงบดุลด้วยราคาทุน สำหรับการแสดงงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ประเภทจ่ายคืนเมือ่ ทวงถาม และเงินลงทุนระยะสัน้ อืน่ ๆ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ในการเปลี่ยนมือและมีอายุคงเหลือนับแต่วันออกตราสารจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลาสามเดือนหรือต่ำกว่า และไม่รวมถึงเงินฝาก ธนาคารที่ติดภาระผูกพัน

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

112

2.7 เงินลงทุน กลุ่มบริษัทได้จัดประเภทเงินลงทุนที่นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ เงินลงทุนเพือ่ ค้า เงินลงทุนทีถ่ อื ไว้จนครบกำหนด เงินลงทุนเผือ่ ขาย และเงินลงทุนทัว่ ไป การจัดประเภท ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ายบริหารจะเป็นผู้กำหนดการจัดประเภทที่เหมาะสมสำหรับเงินลงทุน ณ เวลาที่ลงทุนและทบทวน การจัดประเภทเป็นระยะ เงินลงทุนที่ได้มาเพื่อเป้าหมายหลักในการหากำไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั้นถูกจัดประเภท เป็นเงินลงทุนเพื่อค้าและแสดงรวมอยู่ในสินทรัพย์หมุนเวียนโดยกำหนดช่วงเวลาสั้นหมายถึงช่วงระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับแต่ เวลาทีล่ งทุน เงินลงทุนทีม่ เี วลาครบกำหนดซึง่ ผูบ้ ริหารตัง้ ใจแน่วแน่และมีความสามารถถือไว้จนครบกำหนดถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุน ที่ถือไว้จนครบกำหนดและแสดงรวมอยู่ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่เป็นเงินลงทุนที่จะครบกำหนดภายใน 12 เดือนนับแต่วันที ่

ในงบดุลจึงจะแสดงไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนทีจ่ ะถือไว้โดยทีไ่ ม่ระบุชว่ งเวลาทีจ่ ะถือไว้และอาจขายเมือ่ ต้องการเสริมสภาพคล่อง หรือเกิดการเปลีย่ นแปลงในอัตราดอกเบีย้ ถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุนเผือ่ ขายและแสดงรวมอยูใ่ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีที่ ฝ่ายบริหารแสดงเจตจำนงเพือ่ ถือเงินลงทุนนัน้ ไว้นอ้ ยกว่า 12 เดือนนับแต่วนั ทีใ่ นงบดุล หรือเว้นแต่ฝา่ ยบริหารมีความจำเป็นทีต่ อ้ งขาย เพือ่ เพิม่ เงินทุนในการดำเนินงาน จึงจะแสดงรวมอยูใ่ นสินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนในตราสารทุนทีไ่ ม่มตี ลาดซือ้ ขายถูกจัดประเภทเป็น เงินลงทุนทั่วไป การซือ้ และขายเงินลงทุนบันทึกข้อมูล ณ วันทีซ่ อื้ ขายซึง่ เป็นวันทีก่ ลุม่ บริษทั ตกลงทีจ่ ะซือ้ ขายเงินลงทุน ต้นทุนของเงินลงทุน ให้รวมถึงต้นทุนการจัดทำรายการด้วย เงินลงทุนเพื่อค้าและเผื่อขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนที่จะถือไว้จน ครบกำหนดวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจำหน่ายด้วยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง รายการกำไรและรายการขาดทุนทั้งที่เกิดขึ้นจริงและ ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเพื่อค้าจะรวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนในงวดที่เกิดขึ้น รายการกำไร และขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงจากการเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนเผือ่ ขายจะรวมอยูใ่ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ มูลค่ายุตธิ รรม ของเงินลงทุนวัดมูลค่าตามราคาเสนอซื้อที่อ้างอิงจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผลสะสมของมูลค่ายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป จะถูกนำไปรวมอยูใ่ นงบกำไรขาดทุนเมือ่ เงินลงทุนเผือ่ ขายเกิดการด้อยค่า โดยแสดงเป็นรายการกำไรและรายการขาดทุนจากเงินลงทุน เงินลงทุนเพือ่ ค้าสามารถซือ้ ขายในตลาดซือ้ ขายคล่องและวัดมูลค่าด้วยราคาตลาด ณ วันทำการสุดท้ายของวันทีใ่ นงบดุล โดยอ้างอิงราคาเสนอซื้อล่าสุดจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายการกำไรและรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุน เพื่อค้ารับรู้รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนแสดงรวมไว้ในรายได้อื่น ส่วนในงบกระแสเงินสดได้แสดงเงินลงทุนเพื่อค้ารวมอยู่ในกิจกรรม ดำเนินงานโดยแสดงเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงเงินทุนดำเนินงานหมุนเวียน (หมายเหตุ 32) เงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า กลุ่มบริษัทจะทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุนนั้นอาจมีการด้อยค่าเกิดขึ้น ถ้าราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะบันทึกรวมอยู่ในงบกำไรขาดทุน ในการจำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจำหน่ายเมื่อเปรียบเทียบกับราคาตามบัญชีของ เงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในงบกำไรขาดทุน


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ)

อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า เครื่องมือและอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์สำนักงาน อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อให้เช่า อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อให้เช่าสำหรับลูกค้ารายใหญ่ที่เป็นกิจการ ยานพาหนะ (รวมยานพาหนะภายใต้สัญญาเช่าการเงิน)

ปี 5 และ 20 5 และ 10 3 และ 5 2 - 5 3 อายุสัญญาเช่า 5

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็นส่วนประกอบที่ไม่สามารถแยกจากอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องรวมอยู่ในเครื่องมือและ อุปกรณ์ ในกรณีทรี่ าคาตามบัญชีสงู กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนทันที การซ่อมแซมและบำรุงรักษาจะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการขึ้น ต้นทุนของการปรับปรุงให้ดีขึ้น

ทีส่ ำคัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าการปรับปรุงนั้นจะทำให้บริษัทได้ประโยชน์ กลับคืนมามากกว่าการใช้ประโยชน์โดยไม่มีการปรับปรุงสินทรัพย์ที่ได้มา การปรับปรุงหลักจะตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้ ประโยชน์ที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ค่าซ่อมแซมและค่าบำรุงรักษารับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

2.8 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงด้วยมูลค่าตามใบแจ้งรายการหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด มูลค่าของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญก็คือผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่า จะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นในระหว่างงวดตัดเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อสามารถระบุได้ 2.9 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือประกอบด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ บัตรเติมเงิน 1-2-Call ซิมการ์ดและอะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมแซมและการ ให้บริการ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าคำนวณตามวิธี ดังต่อไปนี้ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ บัตรเติมเงิน 1-2-Call และซิมการ์ด - วิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักเคลือ่ นที ่ อะไหล่ (โทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่) - วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักเคลื่อนที่ อุปกรณ์ดาต้าเน็ท - วิธีเข้าก่อนออกก่อน กลุม่ บริษทั ประมาณมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั จากราคาขายทีค่ าดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จา่ ยทีจ่ ำเป็นต้องจ่าย เพือ่ ให้สนิ ค้านัน้ สำเร็จรูปและค่าใช้จา่ ยในการขาย กลุม่ บริษทั ได้ตงั้ สำรองเผือ่ สินค้าเสือ่ มคุณภาพเพือ่ ลดมูลค่าสินค้าคงเหลือเมือ่ สินค้า นัน้ เก่า ล้าสมัย หรือเสื่อมคุณภาพ 2.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์รับรู้เมื่อเริ่มแรกตามราคาทุน หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรง เพือ่ ลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุการให้ประโยชน์ทปี่ ระมาณการไว้ของสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ ยกเว้นทีด่ นิ ซึง่ ถือว่า ประมาณการอายุการให้ประโยชน์มีไม่จำกัด

113


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์ที่มีอายุนาน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมทั้งค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนได้มีการทบทวน การด้อยค่า เพื่อพิจารณาผลต่อรายการขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อใดก็ตามที่สถานการณ์หรือข้อเท็จจริงบ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจ ไม่สามารถได้รับประโยชน์คืนกลับมา รายการขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้ด้วยจำนวนที่ราคาตามบัญชีสูงเกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ซึ่งคือจำนวนที่สูงกว่าระหว่างราคาขายสุทธิเมื่อเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ถูกจัดกลุ่มให้อยู่กลุ่มที่เล็กที่สุดที่สามารถระบุได้ว่า

จะเกิดกระแสเงินสดเป็นอิสระจากกลุ่มอื่นเพื่อประโยชน์ในการประเมินพิจารณาเรื่องการด้อยค่า

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

114

2.12 การบัญชีสำหรับสัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่า

ถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเี่ ช่า หรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิ ของจำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มลู ค่าใดจะต่ำกว่าโดยจำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายจะปันส่วนระหว่างหนีส้ นิ และค่าใช้จา่ ยทาง การเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทาง การเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบีย้ จ่ายจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าสินทรัพย์ทไี่ ด้มาตามสัญญา เช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า หรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะต่ำกว่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้ให้เช่าจะจัด เป็นสัญญาเช่าดำเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงาน (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกใน งบกำไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ จากการยกเลิกสัญญาเช่าดำเนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เบีย้ ปรับทีต่ อ้ งจ่ายให้กบั ผูใ้ ห้เช่าจะบันทึก เป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น 2.13 สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน ประกอบด้วยต้นทุนเกี่ยวกับอุปกรณ์และสินทรัพย์อื่น ซึ่งได้โอนหรือต้องโอนให้กับ ผู้ให้สัมปทาน ต้นทุนของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้สัญญาสัมปทานตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 10 ปีแต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาสัมปทาน ต้นทุนของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการดำเนินการดาต้าเน็ทภายใต้สัญญาสัมปทาน ตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามวิธเี ส้นตรงภายในระยะเวลา 10 ปีแต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาสัมปทาน ระบบคอมพิวเตอร์ภายใต้ สัญญาสัมปทานโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800-MHz ตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 5 ปี แต่ไม่เกินอายุ ที่เหลือของสัญญาสัมปทาน 2.14 สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้นทุนทีเ่ กิดจากการพัฒนาและบำรุงดูแลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บนั ทึกเป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ ต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรง กับผลิตภัณฑ์โปรแกรมที่ระบุได้และมีเอกลักษณ์ของโปรแกรมที่กลุ่มบริษัทสามารถควบคุมได้รวมทั้งมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะ ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเกินกว่าต้นทุนสำหรับช่วงระยะเวลามากกว่าหนึ่งปี กลุ่มบริษัทได้บันทึกต้นทุนนั้นเป็นสินทรัพย์ไม่มี ตัวตน ต้นทุนทางตรงรวมไปถึงต้นทุนพนักงานของคณะทำงานพัฒนาโปรแกรมและค่าใช้จา่ ยการผลิต (โสหุย้ การผลิต) ทีเ่ กีย่ วข้องด้วย ซึ่งได้ปันส่วนให้อย่างเหมาะสม รายจ่ายเพือ่ เพิม่ หรือขยายผลการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มคี ณ ุ ค่าเพิม่ ขึน้ จากคุณลักษณะทีก่ ำหนดไว้เมือ่ เริม่ ต้น ให้บันทึกเป็นต้นทุนเพื่อการพัฒนาและบวกรวมไว้ในต้นทุนเมื่อเริ่มต้นของโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น ต้นทุนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะรับรู้เป็น สินทรัพย์และตัดจำหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุการให้ประโยชน์แต่ต้องไม่เกิน 5 และ 10 ปี


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

2.14 สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (ต่อ) สิทธิในสัมปทาน สิทธิในสัมปทานของบริษัทย่อยรวมถึงต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งสิทธิและภาระผูกพันบางอย่างในการดำเนินงานให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบเซลลูลา่ ทีใ่ ช้เทคโนโลยี Digital PCN 1800 สิทธิดงั กล่าวได้แก่สทิ ธิในการใช้สงิ่ อำนวยความสะดวกและอุปกรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การได้สิทธิในย่านความถี่ที่ได้กำหนดไว้ของโทรศัพท์เคลื่อนที่และการใช้เครือข่าย สิทธิดังกล่าวอยู่ภายใต้สัญญา ตัวแทนจาก TAC ซึ่งเป็นผู้ได้รับสัมปทานการดำเนินงานให้บริการวิทยุโทรคมนาคม (โทรศัพท์เคลื่อนที่) ระบบเซลลูลาร์ จาก กสท บริษัทย่อยตัดจำหน่ายสิทธิในสัมปทานตามอายุของสัมปทาน ซึ่งเป็นระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จากสิทธิในสัมปทานนี้ ค่าความนิยม ค่าความนิยมแสดงถึงส่วนของต้นทุนการได้มาทีส่ งู กว่ามูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนทีก่ ลุม่ บริษทั มีสว่ นแบ่งในสินทรัพย์สทุ ธิ ของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม ณ วันที่ได้มาซึ่งบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม ค่าความนิยมจากการได้มาซึ่งบริษัทย่อยแสดงเป็นสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนในงบดุลรวม ค่าความนิยมจากการได้มาซึ่งบริษัทร่วมถูกนำไปรวมไว้ในเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าความนิยมจะตัดจำหน่าย โดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดประมาณอายุการให้ประโยชน์ ฝ่ายบริหารเป็นผู้กำหนดประมาณอายุการให้ประโยชน์ของค่าความนิยมซึ่งจะ มีผลกระทบต่อบริษทั ณ เวลาทีไ่ ด้มาโดยพิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น ส่วนแบ่งทางการตลาดในปัจจุบนั ศักยภาพการเติบโตและปัจจัยอืน่ ที่สืบเนื่องอยู่ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่ได้มา ค่าความนิยมที่เกิดจากการได้มาของกลุ่มบริษัทให้ตัดจำหน่ายภายในระยะเวลาสูงสุดไม่เกิน 15 ปี ณ วันที่ในงบดุลของแต่ละงวดบัญชี กลุ่มบริษัทจะพิจารณาทบทวนว่ามีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าของค่าความนิยมแต่ละ รายการที่ได้รับรู้ไว้หรือไม่ เมื่อมีข้อบ่งชี้ที่แสดงชัดเจนว่าอาจเกิดการด้อยค่าเกิดขึ้น กลุ่มบริษัทจะวิเคราะห์ว่ามูลค่าของค่าความนิยม จะได้รับคืนเต็มจำนวนหรือไม่ ทั้งนี้กลุ่มบริษัทจะปรับลดราคาตามบัญชีไม่ให้เกินกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน 2.15 สินทรัพย์อื่น ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ประกอบด้วยค่าธรรมเนียมสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว ต้นทุนของการเช่าสถานที่ตั้งสถานีฐาน ระยะยาว ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขยายกำลังการใช้ไฟฟ้าที่สถานีฐาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยมีกำหนดการตัดจ่ายดังนี้ - ค่าธรรมเนียมสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว มีกำหนดตัดจ่ายภายในระยะเวลา 5 ปี - ต้นทุนของการเช่าสถานที่ตั้งสถานีฐานระยะยาว มีกำหนดตัดจ่ายตามอายุของสัญญาเช่าแต่ละสัญญา - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขยายกำลังการใช้ไฟฟ้าที่สถานีฐาน มีกำหนดตัดจ่ายตามอายุที่เหลือของสัญญาสัมปทาน - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีกำหนดตัดจ่ายภายในระยะเวลา 5 ปี - ค่าสิทธิในการดำเนินงานการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ มีกำหนดตัดจ่ายภายในระยะเวลา 10 ปี

ไม่เกินอายุของสัมปทานที่เหลืออยู่ 2.16 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิดภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมาย หรือจากการอนุมานอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลให้ต้องเกิดการไหลออกของ ทรัพยากรเพื่อจ่ายชำระภาระผูกพันและจำนวนที่ต้องจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ รายจ่ายที่จะได้รับคืนบันทึกเป็น สินทรัพย์แยกต่างหากก็ต่อเมื่อการได้รับคืนคาดว่าจะได้รับอย่างแน่นอน เมื่อได้จ่ายชำระประมาณหนี้สินไปแล้ว

115


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

116

2.17 ทุนเรือนหุ้น หุ้นสามัญจัดประเภทไว้เป็นส่วนของผู้ถือหุ้น ต้นทุนส่วนเพิ่มที่จ่ายออกไปภายนอกที่มีความสัมพันธ์ส่งผลโดยตรงต่อการออกหุ้นใหม่โดยไม่รวมถึงกรณีที่เป็นการรวม ธุรกิจ แสดงรายการที่สุทธิจากภาษีเป็นรายการหักในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยนำไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการออกหุ้น ต้นทุนการ ออกหุ้นที่เกิดขึ้นโดยตรงอย่างสัมพันธ์กันกับการรวมธุรกิจจะต้องนำไปรวมในต้นทุนการได้มาซึ่งธุรกิจ สิ่งตอบแทนที่จ่ายออกไปซึ่งรวมถึงต้นทุนส่วนเพิ่มที่จ่ายออกไปภายนอกสุทธิจากภาษีเงินได้โดยส่งผลตรงต่อการที่บริษัท หรือบริษัทย่อยซื้อหุ้นสามัญของบริษัท จะรับรู้เป็นหุ้นซื้อคืนแสดงเป็นรายการหักจากยอดรวมของส่วนของผู้ถือหุ้นจนกระทั่งหุ้นซื้อ คืนดังกล่าวถูกยกเลิกไป สิ่งตอบแทนใดๆ ที่ได้รับจากการขายหรือนำหุ้นซื้อคืนออกจำหน่ายใหม่จะแสดงรวมไว้อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้น 2.18 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เป็นรายได้เมื่อมีการส่งมอบสินค้าและลูกค้ายอมรับสินค้านั้นแล้ว รายได้จากการให้เช่าอุปกรณ์รับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาของการให้เช่าและตามอัตราที่กำหนดในสัญญา รายได้ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และค่าบริการศูนย์ให้ข่าวสารบริการทางโทรศัพท์รับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแก่ ลูกค้าแล้ว รายได้จากการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์รับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว รายได้ดอกเบี้ยรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เว้นแต่จะมีความไม่แน่นอนในการรับชำระ 2.19 ต้นทุนค่าโฆษณา ต้นทุนค่าโฆษณาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้นจริง 2.20 ผลประโยชน์ของพนักงาน กลุ่มบริษัทดำเนินการต่อกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่เป็นแผนจ่ายสมทบที่กำหนดการจ่ายสมทบไว้เป็นกองทุนโดยสินทรัพย์ ของกองทุนแยกออกจากสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัทและบริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพดังกล่าวได้รับเงินสมทบ เข้ากองทุนจากทั้งพนักงานและกลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้อง เงินจ่ายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้นตามที่เกี่ยวกับตนเอง 2.21 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตั้งเต็มจำนวนตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน และราคาตามบัญชีทแี่ สดงอยูใ่ นงบการเงิน ผลต่างชัว่ คราวหลักเกิดจากค่าตัดจำหน่ายสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ค่าเสือ่ มราคา ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การบันทึกหนี้สิน และยอดยกมาของผลขาดทุนทางภาษี อัตราภาษี ณ วันที่ในงบดุลเป็นอัตราที่ใช้วัดภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะรับรู้หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มบริษัทจะมีกำไรทางภาษีเพียงพอที่จะ นำจำนวนผลต่างชั่วคราวนั้นมาใช้ประโยชน์ กลุ่มบริษัทได้ตั้งภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่างชั่วคราวของเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเว้นแต่กลุม่ บริษทั ควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชัว่ คราว และการกลับรายการ ผลต่างชั่วคราวมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่เกิดขึ้นได้ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต 2.22 เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่ายบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ เกี่ยวข้องได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล


2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.23 ข้อมูลจำแนกตามส่วนงาน ส่วนงานธุรกิจเป็นการประกอบทีจ่ ดั หาผลิตภัณฑ์หรือให้บริการโดยมีความเสีย่ งและผลตอบแทนทีแ่ ตกต่างไปจากความเสีย่ ง และผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์หรือบริการทีใ่ ห้ของส่วนธุรกิจอืน่ ข้อมูลจำแนกตามส่วนงานแสดงโดยแบ่งตามธุรกิจของการดำเนินงาน ของกลุ่มบริษัทและบริษัท

3. การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน

3.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน

ลูกหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยน เจ้าหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยน รวมเจ้าหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยน - สุทธิ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 9,347.36 - 9,347.36 - (9,485.31 ) - (9,485.31 ) - (137.95 ) - (137.95 ) -

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

กิจกรรมของกลุ่มบริษัทย่อมเกิดความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งได้แก่ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของราคา ตลาดตราสารหนี้ การเปลีย่ นแปลงอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศและการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ แผนการจัดการความเสีย่ ง โดยรวมของกลุ่มบริษัทจึงมุ่งเน้นสิ่งที่คาดการณ์ไม่ได้ของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบทางลบต่อผลการดำเนินงาน ทางการเงินของกลุ่มบริษัทให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ กลุ่มบริษัทจึงใช้เครื่องมืออนุพันธ์ทางการเงิน ตัวอย่างเช่น สัญญาอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตราต่างประเทศ เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น การจัดการความเสีย่ งดำเนินงานโดยฝ่ายบริหารเงินส่วนกลาง (ส่วนงานบริหารเงินของกลุม่ บริษทั ) ภายใต้นโยบายทีอ่ นุมตั ิ โดยคณะกรรมการบริษัท ส่วนงานบริหารเงินของกลุ่มบริษัทจะชี้ประเด็น ประเมิน และป้องกันความเสี่ยงทางการเงินด้วยการทำงาน อย่างร่วมมือกันอย่างใกล้ชดิ กับหน่วยปฏิบตั งิ านต่างๆ ภายในกลุม่ บริษทั คณะกรรมการจัดให้มหี ลักการจัดการความเสีย่ งโดยภาพรวมเป็น ลายลักษณ์อกั ษร ตลอดทัง้ กำหนดนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องเป็นลายลักษณ์อกั ษรเพือ่ ครอบคลุมความเสีย่ งอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ความเสีย่ งอัตราดอกเบีย้ ความเสีย่ งการให้สนิ เชือ่ ตลอดทัง้ การใช้เครือ่ งมืออนุพนั ธ์ทางการเงิน และการนำสภาพคล่องส่วนเกินไปลงทุน 3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุ่มบริษัทมีการดำเนินงานระหว่างประเทศจึงย่อมมีความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งเกิดจากสกุลเงิน ที่หลากหลาย โดยมีสกุลเงินหลักเป็นเยนญี่ปุ่นและเหรียญสหรัฐฯ กิจการในกลุ่มบริษัทใช้สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าและสัญญา การแลกเปลี่ยนสกุลเงินตราต่างประเทศเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในการวัดมูลค่าสกุลเงินอื่น โดยมีคสู่ ญ ั ญาเป็นส่วนงานบริหารเงินของกลุม่ บริษทั ส่วนงานบริหารเงินของกลุม่ บริษทั รับผิดชอบในการป้องกันความเสีย่ งฐานะสุทธิ ในแต่ละสกุลเงินโดยใช้การกู้ยืมเป็นเงินสกุลนั้นและใช้อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าโดยมีคู่สัญญาเป็นบุคคลภายนอก 3.1.2 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ของกลุม่ บริษทั มีลกั ษณะทีไ่ ม่มกี ารกระจุกตัวอย่างมีนยั สำคัญ กลุม่ บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะทำให้ แน่ใจได้วา่ การขายสินค้าและการให้บริการไปยังลูกค้าทีม่ ปี ระวัตสิ นิ เชือ่ อยูใ่ นระดับทีม่ คี วามเหมาะสม คูส่ ญ ั ญาในอนุพนั ธ์และรายการ เงินสดได้เลือกทีจ่ ะทำรายการกับสถาบันการเงินทีม่ คี ณ ุ ภาพความน่าเชือ่ ถืออยูใ่ นระดับสูง กลุม่ บริษทั มีนโยบายจำกัดวงเงินของธุรกรรม การให้สินเชื่อที่มีกับสถาบันการเงินแห่งใดแห่งหนึ่ง 3.2 เครื่องมือทางการเงิน

117


3. การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.2 การบัญชีสำหรับอนุพันธ์ที่เป็นเครื่องมือทางการเงินและกิจกรรมป้องกันความเสี่ยง (ต่อ)

ลูกหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า เจ้าหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า รวมเจ้าหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า - สุทธิ (หมายเหตุ 19)

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 26.25 395.39 - 395.39 (26.65 ) (411.75 ) - (411.75 ) (0.40 )

(16.36 )

-

(16.36 )

ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548 มีดังนี้

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

118

สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2549 ราตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 9,485.31 9,251.01 9,485.31 9,251.01 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2549 26.65 26.35 - - พ.ศ. 2548 395.39 411.01

พ.ศ. 2548 395.39 411.01

4. การปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ก่อนวันถือปฏิบัติ ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุ 2 กลุ่มบริษัทได้ปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ก่อนวันถือปฏิบัติตามมาตรฐาน การบัญชีไทย ฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ในไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2549 โดยใช้วิธีปรับย้อนหลัง กลุ่มบริษัทได้ ปรับปรุงงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 และงบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะ บริษัทสำหรับรอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ซึ่งเป็นข้อมูลเปรียบเทียบขึ้นใหม่ดังนี้


4. การปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ก่อนวันถือปฏิบัติ (ต่อ) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เงินลงทุนระยะยาวเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่ายุติธรรมลดลง กำไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เพิ่มขึ้น กำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 เพิ่มขึ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพิ่มขึ้น

งบกำไรขาดทุนสำหรับรอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548

ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียลดลง ภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น กำไรของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อยลดลง กำไรสุทธิลดลง กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท) กำไรต่อหุ้นปรับลดลดลง (บาท)

ตามที่ได้ปรับใหม่ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท ล้านบาท - 829 8,946 8,019 92 - 8 8,847 9,030 14

- 8,847 9,030 -

ตามที่ได้ปรับใหม่ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท ล้านบาท - 184 - 183 0.06 0.07

106 78 - 183 0.06 0.07

5. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

การประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัทในงบการเงินรวมจำแนกตามส่วนงานได้เป็น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้ 1) การดำเนินงานและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800-MHz DIGITAL และ 900-MHz CELLULAR TELEPHONE SYSTEM การให้บริการศูนย์ให้ข้อมูลข่าวสารทางโทรศัพท์ การจัดจำหน่ายบัตรเงินสดและให้บริการชำระสินค้าหรือ บริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2) การขายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ การให้บริการซ่อมแซมโทรศัพท์เคลื่อนที่ และการให้เช่าเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3) การดำเนินงานสื่อสารข้อมูลและให้บริการอินเตอร์เน็ต

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

119


5. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน (ต่อ)

ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2548 มีดังนี้

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549

บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่และบริการ บริการสื่อสารข้อมูล ศูนย์ให้ข้อมูลข่าวสาร ขายเครื่องโทรศัพท์ ผ่านสายโทรศัพท์และ ทางโทรศัพท์ เคลื่อนที่ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

120

รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รายได้จากการดำเนินงานอื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต้นทุนขายและ ต้นทุนค่าบริการ และการเช่าอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

งบการเงินรวม ล้านบาท

75,229.63 - 379.55 75,609.18

98.36 15,362.54 - 15,460.90

724.90 12.73 0.08 737.71

76,052.89 15,375.27 379.63 91,807.79

(41,326.42 ) (10,651.11 )

(14,080.97 ) (445.81 )

(548.19 ) (331.44 )

(55,955.58 ) (11,428.36 )

23,631.65

934.12

(141.92 )

24,423.85

47.51 635.34 (1,538.24 ) 23,568.46 (7,460.29 ) 16,108.17 (147.85 ) 16,256.02

133,087.48

-

1,213.29

134,300.77

56,376.64

-

325.13

56,701.77

ค่าเสื่อมราคา

3,628.40

-

77.97

3,706.37

ค่าตัดจำหน่าย

14,481.16

-

116.55

14,597.71

กำไรจากการดำเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ - สุทธิ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย กำไรก่อนหักภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ขาดทุนสุทธิของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย กำไรสุทธิ สินทรัพย์รวมของกลุ่มบริษัท หนี้สินรวมของกลุ่มบริษัท


5. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน (ต่อ)

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ตามที่ได้ปรับใหม่ พ.ศ. 2548

บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่และบริการ บริการสื่อสารข้อมูล ศูนย์ให้ข้อมูลข่าวสาร ขายเครื่องโทรศัพท์ ผ่านสายโทรศัพท์และ ทางโทรศัพท์ เคลื่อนที่ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินรวม ล้านบาท

79,891.22 - 332.91 80,224.13

89.14 11,978.74 - 12,067.88

553.27 4.28 0.12 557.67

80,533.63 11,983.02 333.03 92,849.68

(43,030.53 ) (9,554.54 )

(10,805.52 ) (294.04 )

(362.44 ) (224.42 )

(54,198.49 ) (10,073.01 )

27,639.06

968.32

(29.19 )

28,578.18

39.46 249.88 (1,528.66 ) 27,338.86 (8,618.46 ) 18,720.40 (4.79 ) 18,725.19

126,540.59

-

1,418.91

127,959.50

47,645.59

-

379.36

48,024.95

ค่าเสื่อมราคา

4,758.81

-

23.89

4,782.70

ค่าตัดจำหน่าย

15,113.74

-

127.14

15,240.88

กำไรจากการดำเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ - สุทธิ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย กำไรก่อนหักภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ขาดทุนสุทธิของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย กำไรสุทธิ สินทรัพย์รวมของกลุ่มบริษัท หนี้สินรวมของกลุ่มบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รายได้จากการดำเนินงานอื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต้นทุนขายและ ต้นทุนค่าบริการ และการเช่าอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

121


6. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียกและเงินฝากประจำทีค่ รบกำหนด ไถ่ถอนภายใน 3 เดือนหรือน้อยกว่า (สกุลเงินบาท) เงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียกและเงินฝากประจำทีค่ รบกำหนด ไถ่ถอนภายใน 3 เดือนหรือน้อยกว่า (สกุลเงินตราต่างประเทศ) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

122

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 11.33 16.07 9.95 14.17 12,262.96

11,068.39

3,247.15

1,438.45

467.93 12,742.22

371.91 11,456.37

467.93 3,725.03

371.91 1,824.53

เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียกมีอัตราดอกเบี้ยในอัตราระหว่างร้อยละ 0.13 ถึงร้อยละ 7.50 ต่อปี (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 0.35 ถึง ร้อยละ 4.09 ต่อปี) เงินฝากธนาคาร (สกุลเงินตราต่างประเทศ) ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินฝากสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จำนวน 13.01 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ (พ.ศ. 2548 : 9.07 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) กลุ่มบริษัทถือเงินฝากประจำสกุลเหรียญสหรัฐฯ ไว้เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยนที่อาจจะเกิดขึ้นจากการจ่ายชำระหนี้ในอนาคตในสกุลเหรียญสหรัฐฯ เงินฝากธนาคารติดภาระผูกพัน บริษัทย่อยต้องฝากเงินสดที่รับล่วงหน้าจากลูกค้าไว้ในธนาคารเป็นจำนวนไม่น้อยกว่ามูลค่าคงเหลือของเงินรับล่วงหน้าจาก ลูกค้าของบริษัทย่อยจำนวน 1,644.43 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 4,698.89 ล้านบาท) และไม่สามารถนำไปใช้สำหรับวัตถุประสงค์อื่น นอกจากชำระให้แก่ผู้ให้บริการเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยที่บังคับใช้กับผู้ประกอบธุรกิจ

บัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์

7. เงินลงทุนระยะสั้น เงินลงทุนระยะสั้นส่วนใหญ่ประกอบด้วย หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด กองทุนส่วนบุคคลกับสถาบันการเงินและ เงินฝากประจำ บริษทั ขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด คือ เงินลงทุนในหุน้ บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ (พ.ศ. 2548 : 4.39 ล้านหุน้ มีราคาปิดที่หุ้นละ 42.25 บาท) ในปี พ.ศ. 2549 และกองทุนส่วนบุคคลกับสถาบันการเงินแห่งหนึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.61 ต่อปี (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 1.88 ต่อปี) ส่วนเงินฝากประจำมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.50 ต่อปี (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 1.50 ต่อปี) เงินฝากประจำสกุลเงินบาทของกลุม่ บริษทั จำนวน 11.16 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 11.16 ล้านบาท) ได้ใช้เป็นหลักทรัพย์คำ้ ประกัน ในการให้ธนาคารแห่งหนึ่งออกหนังสือค้ำประกัน


8. ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท 3,166.12 146.77 2,019.20 5,332.09 (433.91 ) 4,898.18

2,716.56 137.68 2,288.39 5,142.63 (616.37 ) 4,526.26

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท 1,890.43 1,882.96 1,900.84 5,674.23 (385.33 ) 5,288.90

2,122.77 1,775.75 2,121.07 6,019.59 (568.73) 5,450.86

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า - บุคคลภายนอก ณ วันที่ 31 ธันวาคม สามารถแยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระได้ดังนี้

ไม่เกิน 3 เดือน เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 5,038.69 4,708.53 3,666.58 3,972.52 94.51 167.15 85.25 156.82 8.14 34.66 5.99 31.94 43.98 94.61 33.45 82.56 5,185.32 5,004.95 3,791.27 4,243.84 (433.91 ) (616.37 ) (385.33 ) (568.73 ) 4,751.41 4,388.58 3,405.94 3,675.11

ในการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กลุ่มบริษัทได้พิจารณาประกอบกับหนังสือค้ำประกันการชำระเงินของผู้แทนจำหน่ายสินค้า

ของบริษัทย่อยที่ออกโดยธนาคารซึ่งกรรมการของบริษัทเชื่อว่ายอดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญข้างต้นเป็นจำนวนที่พอเพียงกับความเสี่ยง จากหนี้สูญที่จะเกิดขึ้น กลุ่มบริษัทไม่มีความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของสินเชื่อที่มีนัยสำคัญ เนื่องจากลูกหนี้ส่วนใหญ่เป็นรายย่อยจำนวนมากราย จากปัจจัยดังกล่าวผู้บริหารเชื่อว่าไม่มีความเสี่ยงจากการให้สินเชื่อในลูกหนี้การค้ามากไปกว่าจำนวนที่สำรองไว้เผื่อการเรียกชำระหนี้ ไม่ได้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ลูกหนี้การค้า - ยอดรวม บุคคลภายนอก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 33) รายได้ค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

123


8. ลูกหนี้การค้า - สุทธิ (ต่อ)

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม สามารถแยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระได้ดังนี ้

ไม่เกิน 3 เดือน เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 146.72 137.19 1,635.94 1,685.09 0.01 0.03 247.02 90.66 0.04 - - - - 0.46 - - 146.77 137.68 1,882.96 1,775.75

9. สินค้าคงเหลือและอะไหล่เพื่อการซ่อมแซมเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่คงเหลือ - สุทธิ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

124

สินค้าสำเร็จรูป วัสดุและอะไหล่ อะไหล่เพื่อการซ่อมแซมเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ หัก ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัยและการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ รวมถึงอะไหล่เพื่อการซ่อมแซมเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 2,010.01 1,202.25 - - 9.52 8.32 - - 843.40 798.22 691.84 646.66 2,862.93 2,008.79 691.84 646.66 (807.46 ) 2,055.47

(661.65 ) 1,347.14

(578.48 ) 113.36

(460.44 ) 186.22

10. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่นๆ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 225.80 140.09 98.06 133.75 1,502.08 886.69 1,459.01 833.08 263.93 206.93 199.17 50.08 1,991.81 1,233.71 1,756.24 1,016.91


11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามที่ได้ปรับใหม่ ล้านบาท ล้านบาท ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ ตามที่ได้รายงานไว้เดิม การปรับย้อนหลัง (หมายเหตุ 4) ราคาตามบัญชีต้นงวด ตามที่ได้ปรับใหม่ ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ซื้อเงินลงทุน เงินลงทุนเพิ่ม กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการลดสัดส่วนการลงทุน เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

30,148.16 828.84 30,977.00 2,351.69 - 99.00 - (5,823.34 ) 27,604.35

27,938.77 934.42 28,873.19 3,317.60 213.00 250.00 158.15 (1,834.94 ) 30,977.00

ในวันที่ 11 กันยายน 2549 บริษทั เอไอเอส อินเตอร์เนชัน่ แนล เน็ทเวอร์ค จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ได้ไปจดทะเบียน เพิม่ ทุนจาก 1.00 ล้านบาท (10,000 หุน้ หุน้ ละ 100 บาท) เป็น 200.00 ล้านบาท (2 ล้านหุน้ หุน้ ละ 100 บาท) กับกระทรวงพาณิชย์ การเพิ่มทุนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการดำเนินงานการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ บริษัทได้จ่ายสำหรับเงินลงทุนเพิ่ม ในราคา 49.75 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงิน 99.00 ล้านบาทในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2549 บริษัทยังคงมีสัดส่วนการถือหุ้นเป็น ร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนในบริษัทย่อยนี้ เมื่อรายการเพิ่มทุนเสร็จสิ้น

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

125


ประเภทและมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทย่อยสามารถสรุปได้ดังนี้

บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด ปัจจุบนั หยุดดำเนินงาน บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเนทเวอร์ค ผูใ้ ห้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสาย คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด โทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนั่ จำกัด ผูใ้ ห้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสาย โทรศัพท์ บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ ผูใ้ ห้บริการศูนย์ให้ขา่ วสารทางโทรศัพท์ จำกัด บริษทั ดิจติ อล โฟน จำกัด ผูน้ ำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ อุปกรณ์โทรคมนาคมให้บริการ เช่าโทรศัพท์เคลือ่ นที่ และให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ 1800 MHZ บริษทั ดาต้า ลายไทย จำกัด ผูใ้ ห้บริการอินเตอร์เน็ต บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด ผูจ้ ดั จำหน่ายบัตรเงินสด (เดิมชือ่ บริษทั บริดจ์ โมบาย อัลลายแอนซ์ จำกัด) บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด ผูใ้ ห้บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการ ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ บริษทั เอไอเอส อินเตอร์เนชัน่ แนล ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษทั เอไอเอส ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ เน็ทเวอร์ค จำกัด ปัจจุบนั ยังไม่ดำเนินการ บริษทั เอไอเอส ไวร์ เน็ทเวอร์ค จำกัด ปัจจุบนั ยังไม่ดำเนินการ เงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ

ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้

ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้

ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้

ผูถ้ อื หุน้ ผูถ้ อื หุน้

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ไทย ไทย

ไทย ไทย

ไทย ไทย

1.00 1.00

100.00

300.00

15.00 250.00

14,621.86

272.00

1.00

240.00 957.52

810.96

8.00 (107.40 )

18.55 (176.39 )

17.97

600.00 8,573.91 8,564.92 597.82 (315.98 ) (142.22 )

336.36

26.55

277.59 284.88

-

- -

-

(18.72 ) -

403.37 (136.00 ) (231.20 )

25.97

268.60 458.64

100.00

210.00

2.41 250.00

(4.38 )

(164.61 )

(2.38 ) 658.93

(0.01 )

(95.01 )

(2.09 ) (10.01 )

95.62

203.54

0.03 408.93

0.99

273.14

-

-

0.32 - 239.99 (500.00 )

-

-

- -

99.99 1.00 (0.02 ) (0.01 ) 0.98 0.99 - - 99.99 1.00 (0.02 ) (0.01 ) 0.98 0.99 - - 25,881.03 18,098.01 15,746.32 27,604.35 30,977.00 (5,823.34 ) (1,834.94 )

99.99

69.99

65.00 99.99

98.55 23,299.84 9,441.41 7,589.18 25,968.89 29,304.00 (5,187.34 ) (1,585.02 )

99.99

49.00

99.99 51.00

- - 161.19

-

158.15

- -

-

-

-

- 3.04

- - 161.19

-

158.15

- -

-

-

-

- 3.04

ง บก า รเ งิ นเ ฉพ าะบ ริ ษั ท - วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม พ . ศ . 2 5 4 9 แ ล ะ พ . ศ . 2548 น ผลสะสมของส่วนแบ่ง สัดส่วนของ เงินลงทุ เงินลงทุนตาม กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจาก จั ด ตั ง ้ ขึ น ้ ลั ก ษณะ ทุ น ชำระแล้ ว เงินปันผล บริษัทย่อย ประเภทธุรกิจ การถือหุ้น วิธีราคาทุน ผลกำไร (ขาดทุน) ใน วิธีส่วนได้เสีย ลดสัดส่วนการลงทุน ในประเทศ ความสัมพันธ์ (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) บริษัทย่อย-สุทธิ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามที่ปรับใหม่ ตามที่ปรับใหม่

11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

126


-

จัดประเภทรายการใหม่ - สุทธิ

298.12

-

(166.29 )

464.41

298.12

-

(40.47 )

(0.46 )

-

40.92

28.01

270.12

270.12

(125.99 )

396.11

323.02

-

(426.99 )

750.01

323.02

-

(114.61 )

(2.76 )

-

34.63

77.41

328.35

328.35

(348.59 )

676.94

19.89 (12.32 ) 7.57

7.57 6.55 - - (0.40 ) (5.42 ) - 8.30

24.87 (16.57 ) - 8.30

1,831.41 (1,386.41 ) 445.00

445.00 250.50 (32.56 ) - (4.59 ) (256.12 ) - 402.23

1,854.96 (1,452.73 ) - 402.23

(14,715.76 ) 6,157.65

6,157.65 2,836.96 122.57 341.63 (0.08 ) (3,250.14 ) (2.00 ) 6,206.59

24,172.74 (17,964.15 ) (2.00 ) 6,206.59

122.86

-

(123.75 )

246.61

122.86

-

(39.61 )

(9.35 )

-

0.02

60.10

111.70

111.70

(124.66 )

236.36

อุปกรณ์ การสื่อสาร ยานพาหนะ เพื่อให้เช่า

20,873.41

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์สำนักงาน

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ( ล้ า น บ า ท )

อาคารและ ส่วนปรับปรุง เครื่องมือ ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า และอุปกรณ์ อาคาร

435.13

-

-

435.13

435.13

-

-

-

(109.44 )

(165.58 )

(227.15 )

937.30

937.30

-

937.30

สินทรัพย์ระหว่าง การก่อสร้าง และติดตั้ง

การซื้อสินทรัพย์รวมถึงการได้มาซึ่งสินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน (โดยที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า) จำนวน 49.38 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 7.76 ล้านบาท) และการจำหน่ายสินทรัพย์รวมถึงการขายสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน (โดยทีก่ ลุม่ บริษทั เป็นผูเ้ ช่า) จำนวน 16.16 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 10.24 ล้านบาท)

1.07

-

ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

-

1.07

ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

1.07

-

การด้อยค่า

ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

-

ค่าเสื่อมราคา

(0.72 )

-

โอนสินทรัพย์ - สุทธิ

จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ

-

ซื้อสินทรัพย์

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ

1.79

1.79

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

-

1.79

ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548

ที่ดิน

12. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

127

7,797.32

(2.00 )

(20,150.48 )

27,949.80

7,797.32

(2.00 )

(3,706.37 )

(18.36 )

232.19

-

3,032.38

8,259.48

8,259.48

(16,713.73 )

24,973.21

รวม


182.80 25.76 40.92 - - (33.32 ) - 216.16 355.23 (139.07 ) - 216.16

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์ - สุทธิ จัดประเภทรายการใหม่ - สุทธิ จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา การด้อยค่า ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาทุน ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาตามบัญชี - สุทธิ 719.93 (417.78 ) - 302.15

307.33 71.98 34.63 - (2.58 ) (109.21 ) - 302.15

652.10 (344.77 ) 307.33

23,473.57 (17,779.35 ) (2.00 ) 5,692.22

6,050.73 2,719.39 84.38 - (1.17 ) (3,159.11 ) (2.00 ) 5,692.22

20,679.50 (14,628.77 ) 6,050.73

1,293.54 (969.73 ) - 323.81

337.44 230.88 3.83 - (4.30 ) (244.04 ) - 323.81

1,265.07 (927.63 ) 337.44

226.48 (113.90 ) - 112.58

102.30 56.47 0.02 - (9.09 ) (37.12 ) - 112.58

218.59 (116.29 ) 102.30

374.75 - - 374.75

936.68 (288.71 ) (163.78 ) (109.44 ) - - - 374.75

936.68 - 936.68

สินทรัพย์ระหว่าง การก่อสร้าง และติดตั้ง

การซื้อสินทรัพย์รวมถึงการได้มาซึ่งสินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน (โดยที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า) จำนวน 38.67 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 6.65 ล้านบาท) และการจำหน่ายสินทรัพย์รวมถึงการขายสินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน (โดยที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า) การจำหน่ายจำนวน 16.16 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 10.24 ล้านบาท)

288.55 (105.75 ) 182.80

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ราคาทุน ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ ยานพาหนะ อุปกรณ์สำนักงาน

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท ( ล้ า นบาท)

อาคารและ ส่วนปรับปรุง เครื่องมือ ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า และอุปกรณ์ อาคาร

12. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

128

26,443.50 (19,419.83 ) (2.00 ) 7,021.67

7,917.28 2,815.77 - (109.44 ) (17.14 ) (3,582.80 ) (2.00 ) 7,021.67

24,040.49 (16,123.21 ) 7,917.28

รวม


12. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ) สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าทางการเงินที่กลุ่มบริษัทและบริษัทเป็นผู้เช่าซึ่งรวมแสดงในรายการข้างต้นประกอบด้วย อุปกรณ์ และยานพาหนะ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ราคาทุนของสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 151.77 527.81 70.12 456.87 (94.24 ) (373.19 ) (22.78 ) (304.07 ) 57.53 154.62 47.34 152.80

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ( ล้ า น บ า ท ) ต้นทุนของเครื่องมือ ต้นทุนเครือข่าย และอุปกรณ์ในการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ดำเนินการดาต้าเน็ท

รวม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

13. สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน - สุทธิ

129

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาตามบัญชี - สุทธิ

145,627.27 (66,688.18 ) (3,970.00 ) 74,969.09

1,833.75 (960.15 ) - 873.60

147,461.02 (67,648.33 ) (3,970.00 ) 75,842.69

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จัดประเภทรายการใหม่ - สุทธิ ค่าตัดจำหน่าย การด้อยค่า ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

74,969.09 17,959.53 - (12,233.63 ) (67.00 ) 80,627.99

873.60 51.58 (356.56 ) (100.71 ) - 467.91

75,842.69 18,011.11 (356.56 ) (12,334.34 ) (67.00 ) 81,095.90

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาตามบัญชี - สุทธิ

163,586.81 (78,921.82 ) (4,037.00 ) 80,627.99

1,506.09 (1,038.18 ) - 467.91

165,092.90 (79,960.00 ) (4,037.00 ) 81,095.90


13. สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน - สุทธิ (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

130

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะบริ ษั ท ต้นทุนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าตัดจำหน่าย การด้อยค่า ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาตามบัญชี - สุทธิ

131,268.50 (59,269.85 ) (3,970.00 ) 68,028.65 68,028.65 17,829.74 (11,044.20 ) (51.00 ) 74,763.19 149,098.24 (70,314.05 ) (4,021.00 ) 74,763.19

14. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

3,132.40 (1,692.04 ) 1,440.36

3,040.59 (1,688.95 ) 1,351.64

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จัดประเภทรายการใหม่ - สุทธิ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

1,440.36 244.81 124.37 (500.78 ) 1,308.76

1,351.64 267.94 109.44 (494.61 ) 1,234.41

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

3,503.40 (2,194.64 ) 1,308.76

3,417.97 (2,183.56 ) 1,234.41

งบการเงิ น รวม ล้านบาท

งบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ล้านบาท


15. สิทธิ ในสัมปทานและค่าความนิยม - สุทธิ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ( ล้ า น บ า ท ) สิทธิในสัมปทาน ค่าความนิยม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

6,992.90 (3,486.97 ) 3,505.93

14,398.91 (5,394.96 ) 9,003.95

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

3,505.93 (454.83 ) 3,051.10

9,003.95 (1,166.91 ) 7,837.04

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

6,992.90 (3,941.80 ) 3,051.10

14,398.91 (6,561.87 ) 7,837.04

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

131

16. สินทรัพย์อื่น - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

1,062.23 (447.32 ) 614.91

756.28 (239.71 ) 516.57

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีสิ้นปี - สุทธิ

614.91 49.29 (2.68 ) (106.37 ) 555.15

516.57 11.40 (2.62 ) (84.12 ) 441.23

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ราคาทุน ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

935.20 (380.05 ) 555.15

658.61 (217.38 ) 441.23

งบการเงิ น รวม ล้านบาท

งบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ล้านบาท


17. เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า บุคคลภายนอก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 33)

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท 5,683.77 75.94 5,759.71

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

4,398.70 121.40 4,520.10

5,172.24 490.24 5,662.48

3,754.82 727.19 4,482.01

18. เงินกู้ยืม

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

132

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินกู้ยืมที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 1,000.00 - 1,000.00 - ส่วนของหุ้นกู้ระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี - สุทธิ 6,491.07 14,230.84 6,491.07 14,230.84 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 16.16 10.10 13.11 9.76 7,507.23 14,240.94 7,504.18 14,240.60 เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ระยะยาว - สุทธิ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

9,347.36 16,111.45 45.49 25,504.30

- 11,191.28 18.52 11,209.80

9,347.36 16,111.45 37.19 25,496.00

- 11,191.28 17.05 11,208.33

รวมเงินกู้ยืม

33,011.53

25,450.74

33,000.18

25,448.93

การเปลี่ยนแปลงของเงินกู้ยืมสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ยอดคงเหลือต้นปี - สุทธิ เงินกู้เพิ่ม จ่ายคืนเงินกู้ยืม กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น ค่าตัดจำหน่ายของค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ ยอดคงเหลือสิ้นปี - สุทธิ

งบการเงิ น รวม ล้านบาท

งบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ล้านบาท

25,450.74 26,873.63 (19,116.50 ) (216.57 ) 20.23 33,011.53

25,448.93 26,862.77 (19,115.18 ) (216.57 ) 20.23 33,000.18


18. เงินกู้ยืม (ต่อ) ความเสี่ยงทางด้านอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมก่อนพิจารณาถึงผลของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมของกลุ่ม บริษัทและบริษัท แสดงได้ดังนี้

อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก : - เงินกู้ระยะสั้น - เงินกู้ระยะยาว - หุ้นกู้ระยะยาว - หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

25,669.79 7,341.74 33,011.53

20,957.24 4,493.50 25,450.74

25,658.44 7,341.74 33,000.18

20,955.43 4,493.50 25,448.93

5.10% 5.49% 5.77% 8.05%

- - 5.13% 8.02%

5.10% 5.49% 5.77% 7.94%

- - 5.13% 9.15%

ระยะเวลาครบกำหนดชำระคืนของเงินกูร้ ะยะยาว (ไม่รวมหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั ต่อไปนี ้ ถึงกำหนดชำระ

- ภายใน 1 ปี - ภายใน 2 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี - มากกว่า 5 ปี

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 6,491.07 14,230.84 6,491.07 14,230.84 21,460.42 11,191.28 21,460.42 11,191.28 3,998.39 - 3,998.39 - 31,949.88 25,422.12 31,949.88 25,422.12

เงินกู้ระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 บริษัทมีเงินกู้ในสกุลเยนญี่ปุ่นจำนวน 30,568.20 ล้าน โดยมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ JPY LIBOR บวกส่วนเพิ่มตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทกับธนาคาร เงินกู้เป็นประเภทไม่มีหลักประกัน บริษัทมีข้อจำกัดที่ต้องปฏิบัติตาม รวมทั้งการรักษาอัตราส่วนทางการเงินที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดของเงินกู้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เงินกู้ยืม : - อัตราคงที่ - อัตราลอยตัว

133


18. เงินกู้ยืม (ต่อ)

หุ้นกู้ระยะยาว - สุทธิ ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ระยะยาว (ยอดรวมก่อนหักค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้) มีดังนี้

หุ้นกู้ระยะยาว

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

134

หุ้นกู้ระยะยาว

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ราคาตามบั ญ ชี มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 22,627.10

25,450.00

22,778.38

25,557.90

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท ราคาตามบั ญ ชี มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 22,627.10

25,450.00

22,778.38

25,557.90

มูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ที่มีการซื้อขายในตลาดหุ้นกู้คำนวณจากราคาซื้อขายที่ประกาศอยู่ในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยโดยใช้ ราคาปิด ณ วันที่ในงบดุล


3.43

4.00

4.00

07/09/2549

07/09/2549

07/09/2549

5.00

21/10/2545

3.00

21/03/2545

4.50

21/03/2545

2.50

21/03/2545

4,000.00

4,000.00

3,427.10

5,000.00

3,000.00

4,500.00

2,500.00

10,000.00

12,000.00

จำนวนเงิน ล้านบาท

6.00

5.90

5.80

3.65

5.25

อัตราเฉลี่ยสูงสุดของเงินฝาก ประจำ 6 เดือนบวกด้วยส่วน เพิ่ม 2.10

6.25

5.85

5.30

อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ

25,450.00

3,750.00

3,000.00 2,000.00

3,427.10 4,000.00 4,000.00 22,627.10

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทัง้ หมด 6 งวด โดยจะเริม่ ชำระเงินต้นเมือ่ หุน้ กูอ้ ายุครบห้าสิบสีเ่ ดือน นับจาก วันออกจำหน่ายจนถึงวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2552

ทุกงวดรายไตรมาส ครบกำหนดไถ่ถอนทัง้ จำนวน ในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2550 ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทัง้ หมด 5 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2549 จนถึงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวนในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552 ชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวนในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554 ชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวนในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556

ทุกงวดครึ่งปี

ทุกงวดครึ่งปี

ทุกงวดครึ่งปี

ทุกงวดครึ่งปี

ทุกงวดครึ่งปี

รวมหุ้นกู้ - สุทธิ

หัก ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้คงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

รวมหุ้นกู้

-

2,450.00

กำหนดชำระคืนเงินต้นทัง้ จำนวน ในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2552*

ทุกงวดครึ่งปี

(27.88 ) 25,422.12

(24.58 ) 22,602.52

-

-

4,000.00

3,000.00

4,500.00

2,450.00

10,000.00

-

ทุกงวดรายไตรมาส ชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวนในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549

1,500.00

พ.ศ. 2548 ล้านบาท

-

พ.ศ. 2549 ล้านบาท

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทัง้ หมด 8 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นเมื่อหุ้นกู้มีอายุครบสิบแปดเดือน นับจากวันออกจำหน่ายจนถึงวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2549

ทุกงวดครึ่งปี

กำหนดชำระคืน กำหนดชำระคืนเงินต้น ดอกเบี้ย

* ในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 บริษัทได้ ไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนถึงกำหนด จำนวน 50,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท เป็นจำนวนเงิน 50.00 ล้านบาท หุ้นกู้ดังกล่าวออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2545 โดยมีดอกเบี้ยในอัตราคงที่ร้อยละ 6.25 ต่อปี ค่าธรรมเนียมในการไถ่ถอนหุ้นกู้ดังกล่าวจำนวน 4.11 ล้านบาท ได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนในปี พ.ศ. 2546 บริษัทมีข้อจำกัดที่ต้องปฏิบัติตาม รวมทั้งการรักษาอัตราส่วนทางการเงินที่กำหนดไว้ ในข้อกำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้

10.00

28/11/2544

12.00

23/03/2544

จำนวนหน่วย ล้านหน่วย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 บริษัทออกหุ้นกู้ระยะยาวประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

หุ้นกู้ระยะยาว - สุทธิ

วันที่จำหน่าย

18. เงินกู้ยืม (ต่อ)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

135


18. เงินกู้ยืม (ต่อ)

หนี้สินจากสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 หนีส้ นิ จากสัญญาเช่าการเงินของบริษทั ย่อยดังกล่าวจำนวนศูนย์ลา้ นบาท (พ.ศ. 2548 : จำนวน 0.16 ล้านบาท) ค้ำประกันโดยสินทรัพย์จากการเช่าซื้อตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 12 จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าการเงิน มีดังต่อไปนี้ ไม่เกิน 1 ปี เกินกว่า 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี

19. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

136

โบนัสค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย - สุทธิ เจ้าหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า - สุทธิ (หมายเหตุ 3) เจ้าหนี้อื่น อื่นๆ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 16.16 10.10 13.11 9.76 45.49 18.52 37.19 17.05 61.65 28.62 50.30 26.81

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 429.45 343.96 395.81 287.09 404.60 204.19 404.60 288.54 169.34 234.92 155.50 212.60 0.40 518.08 858.03 2,379.90

16.36 266.43 589.97 1,655.83

- 389.11 602.14 1,947.16

16.36 208.25 376.44 1,389.28

20 ค่าสิทธิสัญญาสัมปทานค้างจ่าย บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (“DPC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยได้ซื้อสิทธิในสัมปทานจากบริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (“TAC”) ภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายสิทธิดงั กล่าว DPC มีหนีส้ นิ ทีต่ อ้ งชำระให้กบั TAC ซึง่ เกีย่ วกับการซือ้ สิทธิในสัญญาสัมปทาน สัญญาดังกล่าวระบุให้ TAC สามารถทีจ่ ะยกเลิกสัญญาในกรณีที่ DPC ไม่จา่ ยชำระหนีส้ นิ ค้างจ่าย ดังทีก่ ล่าวไว้ในงบการเงินสำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 DPC อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาความโดยคณะอนุญาโตตุลาการเกีย่ วกับคำร้องจาก TAC ในเรือ่ ง เงินต้นและดอกเบีย้ คงค้าง เมือ่ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2546 และวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2546 TAC ได้ยนื่ คำร้องต่ออนุญาโตตุลาการ เพือ่ เรียกร้องให้บริษทั ย่อยชำระหนีค้ า่ สิทธิสญ ั ญาสัมปทานค้างจ่ายซึง่ ครบกำหนดชำระในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2546 ซึ่งประกอบด้วยเงินต้นและดอกเบี้ยตามสัญญารวมเป็นเงิน 35.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประกอบกับเรียกร้องให้ชำระดอกเบี้ยเพิ่มเติม จากการผิดนัดชำระจำนวน 1.34 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งคำนวณจนถึงวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2546 และคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปี ของจำนวนเงินที่ผิดนัดชำระจากวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2546 จนกว่าจะชำระครบทั้งจำนวน


20 ค่าสิทธิสัญญาสัมปทานค้างจ่าย (ต่อ)

21. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีคำนวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวทัง้ จำนวนตามวิธหี นีส้ นิ โดยใช้อตั ราภาษีรอ้ ยละ 30 (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 30)

ความเคลื่อนไหวของบัญชีภาษีเงินได้รอตัดบัญชีมีดังนี้

137

หน่วย : ล้านบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม รายการที่บันทึกในงบกำไรขาดทุน รายการที่บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 TAC ได้ยื่นคำร้องเพิ่มเติมต่อคณะอนุญาโตตุลาการเพื่อให้ DPC ชำระหนี้สิน ค่าสิทธิใน สัมปทานค้างจ่ายสำหรับสองงวดสุดท้าย ซึง่ ครบกำหนดชำระในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548 ซึง่ ประกอบด้วยเงินต้น และดอกเบีย้ ตามสัญญารวมเป็นเงิน 87.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประกอบกับเรียกร้องให้ชำระดอกเบีย้ เพิม่ เติมจากการผิดนัดชำระจำนวน 10.29 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งคำนวณจนถึงวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปีของจำนวนเงิน ที่ผิดนัดชำระจากวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 จนกว่าจะชำระครบทั้งจำนวน DPC ได้บนั ทึกค่าสิทธิในสัญญาสัมปทานค้างจ่ายทัง้ เงินต้นและดอกเบีย้ ตามสัญญา (ไม่รวมดอกเบีย้ จากการผิดนัดชำระ) ดังกล่าว ในงบการเงินไว้แล้วทั้งจำนวน (โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง) ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 4,739 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 4,739 ล้านบาท) DPC ได้แต่งตั้งทนายและยื่นคำร้องต่อคณะอนุญาโตตุลาการเพื่อตกลงชำระความกระบวนการพิจารณาโดยคณะอนุญาโตตุลาการ ยังไม่แล้วเสร็จในงวดปัจจุบัน ตามสัญญาซื้อขายสิทธิในสัมปทาน อัตราดอกเบี้ยสำหรับค่าสิทธิสัญญาสัมปทานค้างจ่ายถูกกำหนดใน อัตราคงทีร่ อ้ ยละ 9.50 ต่อปี งบการเงินนีไ้ ด้บนั ทึกรวมค่าสิทธิในสัญญาสัมปทานค้างจ่ายและดอกเบีย้ ภายใต้สญ ั ญาไว้แล้ว ทัง้ จำนวน (โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง) แต่ไม่ได้บันทึกดอกเบี้ยค้างจ่ายจากการผิดนัดชำระ ทั้งนี้ผู้บริหารของ DPC เชื่อว่าผลการพิจารณา ของคณะอนุญาโตตุลาการจะไม่ทำให้มีผลกระทบเชิงลบอย่างมีสาระสำคัญต่องบการเงิน

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ 8,853.43 9,040.24 8,018.57 8,096.31 901.60 (183.52 ) 794.65 (77.74 ) 7.57 (3.29 ) - - 9,762.60 8,853.43 8,813.22 8,018.57


21. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) ความเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ก่อนรายการหักกลบลบกันของยอดดุลที่มีกับหน่วยงาน เก็บภาษีเดียวกัน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ หน่วย : ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม

ค่าเผื่อการลด

อื่นๆ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 รายการที่บันทึกในงบกำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

63.64 9,239.43 (16.68 ) 913.07 46.96 10,152.50

สงสัยจะสูญ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

138

ค่าตัดจำหน่าย รายได้รับล่วงหน้า

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี ้ มูลค่าของอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้ ค่าบริการโทรศัพท์ 167.53 (45.51 ) 122.02

และอะไหล่

สัญญาสัมปทาน

189.10 53.14 242.24

8,158.71 361.17 8,519.88

เคลื่อนที่

660.45 560.95 1,221.40

ค่าผลประโยชน์ ค่านายหน้า ตอบแทนรายปีและ ค่าตัดจำหน่าย กำไรจากการ จ่ายล่วงหน้า ภาษีสรรพสามิต ตามอัตราเร่ง ตีมูลค่ายุติธรรม จ่ายล่วงหน้า

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 รายการที่บันทึกในงบกำไรขาดทุน รายการที่บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

92.18 (92.18 ) - -

156.50 123.19 - 279.69

90.75 (11.84 ) - 78.91

34.15 (26.58 ) (7.57 ) -

รวม

อื่นๆ

รวม

12.42 18.88 - 31.30

386.00 11.47 (7.57 ) 389.90

หน่วย : ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท

ค่าตัดจำหน่าย รายได้รับล่วงหน้า ค่ า เผื อ ่ หนี ้ ค่ า เผื อ ่ การลด สิ นทรัพย์ภายใต้ ค่าบริการโทรศัพท์ อื่นๆ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สงสัยจะสูญ มูลค่าของอะไหล่ สัญญาสัมปทาน เคลื่อนที่

รวม

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 รายการที่บันทึกในงบกำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 รายการที่บันทึกในงบกำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

รวม

154.13 (45.85 ) 108.28

138.13 35.41 173.54

7,177.14 402.77 7,579.91

57.64 8,187.49 (16.56 ) 936.72 41.08 9,124.21

ค่าผลประโยชน์ ตอบแทนรายปีและ อื่นๆ ภาษีสรรพสามิต จ่ายล่วงหน้า

660.45 560.95 1,221.40

156.50 123.19 279.69

12.42 18.88 31.30

168.92 142.07 310.99


21. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีซึ่งสามารถหักกลบลบกันได้ตามกฎหมายถือเป็นภาษีเงินได้ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยจัดเก็บภาษีตามกฎหมายที่เป็นหน่วยเดียวกัน จำนวนเงินต่อไปนี้จะแสดงรายละเอียดของการหักกลบลบกัน ที่แสดงผลลัพธ์อยู่ในงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ง บ ดุ ล ร ว ม ง บ ดุ ล เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ 9,762.60 -

8,945.61 92.18

8,813.22 -

8,018.57 -

22. ภาษีเงินได้

การกระทบยอดของภาษีเงินได้สำหรับรอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

ภาษีเงินได้ในงวดปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (หมายเหตุ 21)

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ 8,361.89 8,434.94 6,778.86 6,523.59 (901.60 ) 183.52 (794.65 ) 77.74 7,460.29 8,618.46 5,984.21 6,601.33

รายการกระทบยอดของภาษีเงินได้และผลของกำไรทางบัญชีคูณกับอัตราภาษีเงินได้สำหรับรอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี ้

หน่วย : ล้านบาท

กำไรก่อนภาษี ภาษีคำนวณจากอัตราภาษีร้อยละ 30 (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 30) ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ผลกระทบจากการตัดรายการระหว่างกันกับบริษัทย่อย ส่วนต่างถาวรอื่น ภาษีเงินได้ที่บันทึก

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ 23,568.45 27,338.86 22,240.22 25,326.52 7,070.54 - 140.74 249.01 7,460.29

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษีเงินได้รอตัดบัญชีแสดงไว้ที่หมายเหตุ 21

8,201.66 - 376.19 40.61 8,618.46

6,672.07 (705.51 ) - 17.65 5,984.21

7,597.96 (995.28 ) - (1.35 ) 6,601.33

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนีส้ ินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

139


23. หนังสือค้ำประกันธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันในการให้ธนาคารภายในประเทศออกหนังสือค้ำประกันแทน เพื่อ

ค้ำประกันภาษีศลุ กากร การใช้ไฟฟ้า และรายการอืน่ ๆ ตามปกติของการดำเนินธุรกิจเป็นจำนวนเงินรวมประมาณ 3,582.42 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : จำนวน 1,856.95 ล้านบาท) สำหรับงบการเงินรวม และ 2,810.61 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : จำนวน 1,447.80 ล้านบาท) สำหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท

24. ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

140

ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็นรายจ่ายฝ่ายทุน รายจ่ายฝ่ายทุนที่เป็นภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด ณ วันที่ในงบดุลแต่ไม่ได้รับรู้ในงบการเงิน มีดังนี้

สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน เงินบาท เหรียญสหรัฐฯ เยนญี่ปุ่น เหรียญยูโร ปอนด์สเตอร์ลิง

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้าน ล้าน

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้าน ล้าน

8,749.56 68.65 1,910.16 0.78 0.10

2,679.40 43.34 1,477.55 1.33 0.03

8,703.38 67.79 1,910.16 0.70 0.10

2,642.00 38.36 1,477.55 1.11 0.03

ที่ดินและอุปกรณ์ เงินบาท เหรียญสหรัฐฯ เหรียญสิงคโปร์

545.53 8.61 0.22

224.32 15.71 0.29

445.56 8.61 0.22

216.79 15.69 0.29

ค่าบำรุงรักษา เงินบาท เหรียญสหรัฐฯ เยนญี่ปุ่น เหรียญยูโร เหรียญสิงคโปร์

1,424.38 7.14 179.22 0.05 0.16

1,064.37 6.59 74.47 0.07 0.06

1,345.03 6.72 179.22 0.05 0.05

1,061.37 6.55 74.47 0.07 0.06


24. ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด (ต่อ) ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดตามสัญญาเช่าดำเนินงาน - กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า กลุ่มบริษัทได้ทำสัญญาเช่าและบริการสำหรับที่ทำการสำนักงานสาขา รถยนต์ คอมพิวเตอร์ และสถานีฐาน โดยมีระยะเวลา การเช่าตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 9 ปี และสามารถต่ออายุได้ ยอดรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดำเนินงาน ที่ไม่สามารถยกเลิกได้ มีดังนี ้ ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 1,082.90 673.06 1,001.41 548.79 2,026.65 597.97 1,947.37 552.47 94.14 0.49 94.14 0.49

25. ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 การออกหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 การออกหุ้น การลดหุ้น-หุ้นทุนซื้อคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

จำนวนหุ้น ล้านหุ้น 2,945.19 5.45 2,950.64 5.45 (2.54 ) 2,953.55

หุ้นสามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ล้านบาท ล้านบาท 2,945.19 20,470.52 5.45 259.41 2,950.64 20,729.93 5.45 248.63 (2.54 ) - 2,953.55 20,978.56

รวม ล้านบาท 23,415.71 264.86 23,680.57 254.08 (2.54 ) 23,932.11

ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 บริษทั จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์เป็นจำนวนหุน้ สามัญ 5.45 ล้านหุน้ จากการที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นจำนวน 5.17 ล้านหน่วยได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญจำนวนดังกล่าว ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 0.47 ล้านหน่วยได้ใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญไปในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 แต่มาจดทะเบียน เพิม่ ทุนในระหว่าง งวดปัจจุบัน ผลจากการจดทะเบียนดังกล่าวทำให้ทุนที่ออกและชำระแล้วและส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 5.45 ล้านบาท และ 248.63 ล้านบาท ตามลำดับ จำนวนหุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดมีจำนวน 2,953.55 ล้านหุ้น (พ.ศ. 2548 : จำนวน 2,950.64 ล้านหุ้น) โดยมีมูลค่าหุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2548 : หุ้นละ 1 บาท) หุ้นทั้งหมดได้ออกและชำระเต็มมูลค่าแล้ว

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ภายใน 1 ปี เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี

141


25. ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

142

ใบสำคัญแสดงสิทธิจัดสรรแก่กรรมการ และพนักงาน การเปลี่ยนแปลงของจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญ มีดังนี้

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ วันต้นปี จัดสรร ใช้สิทธิ ณ วันสิ้นปี

กรรมการ ล้านหน่วย

พนักงาน ล้านหน่วย

4.76 2.41 (0.29 ) 6.88

20.26 7.98 (4.72 ) 23.52

รวม ล้านหน่วย 25.02 10.39 (5.01 ) 30.40

ใบสำคัญแสดงสิทธิครั้งที่ 4 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2549 ได้อนุมตั กิ ารจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ทีจ่ ะออกและเสนอ ในปี พ.ศ. 2549 เพิม่ จำนวน 0.25 ล้านหน่วย มูลค่าศูนย์บาทต่อหน่วย หรือเทียบเท่ากับร้อยละ 0.01 ของจำนวนหุน้ ทีจ่ ดทะเบียนและ เรียกชำระแล้วทัง้ หมดของบริษทั (คิดจากหุน้ สามัญก่อนปรับลด) ใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าว เป็นชนิดระบุชอื่ ผูถ้ อื และโอนเปลีย่ นมือ ไม่ได้ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิไม่เกิน 5 ปี และไม่มรี าคาเสนอขาย ราคาตามสิทธิทกี่ ำหนดไว้มมี ลู ค่า 105.25 บาทต่อหน่วย ซึง่ เป็น ราคาทีก่ ำหนดจากราคาปิดเฉลีย่ 30 วันของหุน้ สามัญของบริษทั ก่อนวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2549 และในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมอนุมัติจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 0.25 ล้านหน่วย ให้แก่พนักงานของบริษัท ใบสำคัญแสดงสิทธิครั้งที่ 5 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปีเมือ่ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2549 ได้อนุมตั กิ ารจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ทีจ่ ะออกและเสนอ ในปี พ.ศ. 2549 เพิม่ จำนวน 10.14 ล้านหน่วย มูลค่าศูนย์บาทต่อหน่วย หรือเทียบเท่ากับร้อยละ 0.34 ของจำนวนหุน้ ทีจ่ ดทะเบียนและ เรียกชำระแล้วทัง้ หมดของบริษทั (คิดจากหุน้ สามัญก่อนปรับลด) ใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าว เป็นชนิดระบุชอื่ ผูถ้ อื และโอนเปลีย่ นมือ ไม่ได้ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิไม่เกิน 5 ปี และไม่มรี าคาเสนอขาย ราคาตามสิทธิทกี่ ำหนดไว้มมี ลู ค่า 91.46 บาทต่อหน่วย ซึง่ เป็น ราคาที่กำหนดจากราคาปิดเฉลี่ย 30 วันของหุ้นสามัญของบริษัทก่อนวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2549 คณะกรรมการบริหารได้ออกและ เสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ เพิม่ จำนวน 2.41 ล้านหน่วย และ 7.73 ล้านหน่วย ให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษทั ตามลำดับ การเปลีย่ นแปลงครัง้ ที่ 6 ของราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 และ ครั้งที่ 4 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ได้มมี ติเปลีย่ นแปลงครัง้ ที่ 6 ของราคาใช้สทิ ธิของใบสำคัญ แสดงสิทธิซื้อหุ้นครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 4 จากราคา 46.16 บาทต่อหน่วยเป็น 45.32 บาทต่อหน่วย จาก 41.74 บาท ต่อหน่วยเป็น 40.99 บาทต่อหน่วย จาก 89.44 บาทต่อหน่วยเป็น 87.82 บาทต่อหน่วย และจาก 105.25 บาทต่อหน่วยเป็น 103.34 บาท ต่อหน่วยตามลำดับ นอกจากนีอ้ ตั ราส่วนการใช้สทิ ธิได้เปลีย่ นจาก 1 ต่อ 1.03927 เป็น 1 ต่อ 1.05843 สำหรับการจัดสรรครัง้ ที่ 1 และ ครัง้ ที่ 2 จาก 1 ต่อ 1.02633 เป็น 1 ต่อ 1.04525 สำหรับการจัดสรรครัง้ ที่ 3 และจาก 1 ต่อ 1.01344 เป็น 1 ต่อ 1.03213 สำหรับการ จัดสรรครั้งที่ 4 ราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิที่เปลี่ยนแปลงใหม่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป การเปลีย่ นแปลงครัง้ ที่ 7 ของราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ได้มีมติเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 7 ของราคาใช้สิทธิของใบสำคัญ แสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครัง้ ที่ 4 และครัง้ ที่ 5 จากราคา 45.32 บาทต่อหน่วยเป็น 44.62 บาทต่อหน่วย จาก 40.99 บาท ต่อหน่วยเป็น 40.35 บาทต่อหน่วย จาก 87.82 บาทต่อหน่วยเป็น 86.45 บาทต่อหน่วย จาก 103.34 บาทต่อหน่วยเป็น 101.74 บาท


25. ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น (ต่อ)

ใบสำคัญแสดงสิทธิจัดสรรแก่กรรมการ และพนักงาน (ต่อ)

ต่อหน่วย และจาก 91.46 บาทต่อหน่วยเป็น 90.05 บาทต่อหน่วย ตามลำดับ นอกจากนี้อัตราส่วนการใช้สิทธิได้เปลี่ยนจาก 1 ต่อ 1.05843 เป็น 1 ต่อ 1.07512 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 จาก 1 ต่อ 1.04525 เป็น 1 ต่อ 1.06173 สำหรับการจัดสรร ครัง้ ที่ 3 จาก 1 ต่อ 1.03213 เป็น 1 ต่อ 1.04841 สำหรับการจัดสรรครัง้ ที่ 4 และจาก 1 ต่อ 1 เป็น 1 ต่อ 1.01577 สำหรับการจัดสรร ครั้งที่ 5 ราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิที่เปลี่ยนแปลงใหม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป 27 มีนาคม 30 พฤษภาคม 31 พฤษภาคม 31 พฤษภาคม 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (ครั้งที่ 1) (ครั้งที่ 2) (ครั้งที่ 3) (ครั้งที่ 4) (ครั้งที่ 5) 14.00 8.47 9.00 9.69 10.14 48.00 43.38 91.79 106.66 91.46 1:1 1:1 1:1 1:1 1:1 47.73 43.14 1:1.00559 1:1.00559

- -

- -

- -

47.40 42.84 1:1.01261 1:1.01261

- -

- -

- -

47.15 42.63 91.35 1:1.01751 1:1.01751 1:1.00484

- -

- -

46.78 42.30 90.64 1:1.02549 1:1.02549 1:1.01272

- -

- -

46.16 41.74 89.44 1:1.03927 1:1.03927 1:1.02633

105.25 1:1.01344

- -

45.32 40.99 87.82 1:1.05843 1:1.05843 1:1.04525

103.34 1:1.03213

- -

44.62 40.35 86.45 1:1.07512 1:1.07512 1:1.06173

101.74 90.05 1:1.04841 1:1.01577

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

วันที่จัดสรร ใบสำคัญแสดงสิทธิ (ล้านหน่วย) ราคาใช้สิทธิต่อหน่วย อัตราส่วนการใช้สิทธิ การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 1 (มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 2 (มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 3 (มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 4 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 5 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 6 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 7 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน

143


25. ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น (ต่อ) ใบสำคัญแสดงสิทธิจัดสรรแก่กรรมการ และพนักงาน (ต่อ) การใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 กรรมการและพนักงานของบริษทั ได้ใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญเป็นจำนวนทัง้ หมด 0.29 ล้านหน่วย และ 4.72 ล้านหน่วยตามลำดับ การใช้สิทธิจำนวน 4.70 ล้านหน่วยในระหว่างปีและจำนวน 0.47 ล้านหน่วย ในระหว่าง ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 มีผลทำให้ทุนที่ออกและชำระแล้วและส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 5.45 ล้านบาท และ 248.63 ล้านบาท ตามลำดับ บริษทั ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์สำหรับการใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญส่วนทีค่ งเหลือจำนวน 0.31 ล้านหน่วยหรือเท่ากับ หุ้นสามัญจำนวน 0.33 ล้านหุ้น เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2550 บริษัทได้รับเงินจ่ายล่วงหน้าจากผู้ถือหุ้นสำหรับหุ้นสามัญจำนวน 0.33 ล้านหุ้น เป็นจำนวน 14.50 ล้านบาท ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 (หมายเหตุ 34) การใช้สทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวเป็นไปตามเงือ่ นไขและข้อกำหนดในการออกใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ซึง่ ได้รบั อนุมตั ิ จากผู้ถือหุ้นของบริษัท

26. สำรองตามกฎหมาย บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

144

ภายใต้พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ต้องจัดสรรสำรองตามกฎหมายไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิ ประจำปีหลังหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสำรองจะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั สำรองตาม กฎหมายไม่สามารถนำมาจ่ายปันผลได้

27. หุ้นทุนซื้อคืน ตามข้อกำหนดของพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ว่าด้วยการซือ้ หุน้ คืน การจำหน่ายหุน้ ทีซ่ อื้ คืน และ การตัดหุ้นที่ซื้อคืนของบริษัท บริษัทต้องจำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืนให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปีนับจากวันที่ซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น

ถ้าบริษัทไม่จำหน่ายหุ้นทุนซื้อคืนภายในระยะเวลา 3 ปี ให้บริษัทลดทุนที่ชำระแล้วโดยตัดกับหุ้นทุนซื้อคืน บริษัทได้ทำการซื้อหุ้นคืน จำนวน 2,540,200 หุ้น ในระหว่างวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ถึงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2546 ณ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2549 บริษัทยังมิได้ขายหุ้นซื้อคืนดังกล่าว และเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในพระราชบัญญัติฯ บริษัทได้ตัดหุ้นที่ซื้อคืน โดยการลดทุน

จดทะเบียนและทุนที่ออกและชำระแล้ว บริษัทได้จดทะเบียนการลดทุนจดทะเบียนและทุนที่ชำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2549


28. กำไรจากการดำเนินงาน

รายการบางรายการที่รวมอยู่ในการคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน สามารถนำมาแยกตามลักษณะได้ดังนี้

จำนวนพนักงาน (คน)

8,310

7,914

4,823

4,600

29. รายได้จากการดำเนินงานอื่น

ดอกเบี้ยรับ หนี้สูญได้รับคืน ค่าบริหารงาน กำไรจากเงินลงทุนเผื่อขาย อื่นๆ

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 635.34 249.88 143.96 65.05 152.21 159.79 136.26 134.95 - - 198.45 207.14 55.97 - - - 171.45 173.25 182.04 216.64 1,014.97 582.92 660.71 623.78

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ (หมายเหตุ 12) 3,706.37 4,782.70 3,582.80 4,695.54 ค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน (หมายเหตุ 13) 12,334.34 12,902.77 11,044.20 10,851.49 ค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (หมายเหตุ 14) 500.78 511.19 494.61 508.13 - ค่าความนิยม (หมายเหตุ 15) 1,166.91 1,166.90 - - - ค่าสิทธิสัญญาสัมปทาน (หมายเหตุ 15) 454.83 454.82 - - ค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์อื่น (หมายเหตุ 16) 106.37 152.04 84.12 133.25 ขาดทุน (กลับรายการ)จากการตัดจำหน่ายอุปกรณ์และอะไหล่ เพื่อการซ่อมแซมเครือข่ายเสื่อมสภาพ 122.53 (107.93 ) 118.04 (126.75 ) หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 339.46 508.30 308.82 490.10 ค่าใช้จ่ายทางการตลาด 3,382.12 2,684.03 3,129.38 2,454.44 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 3,628.82 2,888.23 2,669.24 2,077.39

145


30. กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยที่ถ่วงน้ำหนักที่ถือโดย บุคคลภายนอกในระหว่างปี โดยไม่รวมหุ้นทุนซื้อคืน (หมายเหตุ 27) กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ (ล้านบาท) จำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนัก ทีถ่ อื อยูใ่ นระหว่างปี (ล้านหุน้ ) กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

146

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ 16,256.02

18,725.19

16,256.02

18,725.19

2,953 5.50

2,945 6.36

2,953 5.50

2,945 6.36

สำหรับกำไรต่อหุ้นปรับลด จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกและชำระแล้วได้ปรับปรุงด้วยจำนวนหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลด โดยสมมติวา่ หุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดได้แปลงเป็นหุน้ สามัญทัง้ หมด ซึง่ คำนวณจากจำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักของหุน้ สามัญ ที่บริษัทต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งหมดให้เป็นหุ้นสามัญ โดยสมมติว่า หากนำเงินที่ได้รับจากการใช้สิทธิจาก ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวมาซื้อหุ้นสามัญกลับคืนในราคาตลาด หุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ได้แก่ ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญ ในกรณีที่ราคาตามสิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิมีมูลค่าต่ำกว่าราคาตลาดถัวเฉลี่ยของหุ้นสามัญในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ที่ถืออยู่ในระหว่างปี (ล้านหุ้น) ผลกระทบของจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ใช้คำนวณ กำไรต่อหุ้นปรับลด (ล้านหุ้น) จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ใช้คำนวณกำไรต่อหุ้น ปรับลด (ล้านหุ้น) กำไรต่อหุ้นปรับลด (บาท)

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามที่ได้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ 2,953

2,945

2,953

2,945

-

2

-

2

2,953

2,947

2,953

2,947

5.50

6.35

5.50

6.35

31. เงินปันผลจ่าย ที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2549 ได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลสำหรับหุ้นสามัญจำนวน 2,950.22 ล้านหุ้น จำนวนหุ้นละ 3.30 บาท รวมเป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 9,735.73 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายเงินปันผลจำนวน 9,735.67 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 สำหรับส่วนที่เหลือจำนวน 0.06 ล้านบาท เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับ เงินปันผล และบริษัทไม่ได้จ่ายเงินปันผลจำนวนดังกล่าว


31. เงินปันผลจ่าย (ต่อ) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลสำหรับหุ้นสามัญจำนวน 2,952.55 ล้านหุ้น จำนวนหุ้นละ 3.00 บาท รวมเป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 8,857.64 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายเงินปันผลจำนวน 8,857.16 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2549 สำหรับส่วนที่เหลือจำนวน 0.48 ล้านบาท เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับ เงินปันผล และบริษัทไม่ได้จ่ายเงินปันผลจำนวนดังกล่าว

32. กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

การกระทบยอดกำไรสุทธิเป็นเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน มีดังต่อไปนี้ ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ ตามทีไ่ ด้ปรับใหม่ หมายเหตุ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ 16,256.02 18,725.19 16,256.02 18,725.19 รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา 12 3,706.37 4,782.70 3,582.80 4,695.54 ค่าตัดจำหน่ายสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน 13 12,334.34 12,902.77 11,044.20 10,851.49 ค่าตัดจำหน่ายโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 14 500.78 511.19 494.61 508.13 ค่าเผื่อการด้อยค่า/การตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ 69.00 - 53.00 - ค่าความนิยมตัดจำหน่าย 15 1,166.91 1,166.90 - - ค่าตัดจำหน่ายสิทธิในสัญญาสัมปทาน 15 454.83 454.82 - - ค่าตัดจำหน่ายสินทรัพย์อื่น 16 106.37 152.04 84.12 133.25 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 339.46 508.30 308.82 490.10 ขาดทุน (กลับรายการ) จากสินค้าล้าสมัยและการลดมูลค่า ของสินค้าคงเหลือ 57.49 (37.46 ) - - ขาดทุน (กลับรายการ) จากอุปกรณ์และอะไหล่เพื่อ การซ่อมแซมเครือข่ายที่เสื่อมสภาพ 122.53 (107.93 ) 118.04 (126.75 ) ค่าตัดจำหน่ายส่วนเกินจากสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า และสัญญาแลกเปลี่ยน 14.25 29.01 14.25 28.99 (กำไร) ขาดทุนจากการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (9.02 ) 18.67 (6.81 ) 18.37 ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี 2.62 5.50 2.62 4.57 ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 5.25 6.45 6.16 5.11 (กำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น (22.24 ) 40.42 (22.17 ) 40.49 รายได้รับล่วงหน้าที่เกิดขึ้นแล้ว (59.53 ) (38.09 ) - - ตัดจำหน่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ 18 20.23 24.15 20.23 24.15 ส่วนแบ่งผลกำไรสุทธิในบริษัทย่อย 11 - - (2,351.69 ) (3,317.60 ) ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ลดลง) เพิ่มขึ้น 22 (901.60 ) 183.52 (794.65 ) 77.74 ส่วนแบ่งผลขาดทุนสุทธิในบริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (147.85 ) (4.79 ) - - กำไรสุทธิก่อนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน 34,016.21 39,323.36 28,809.55 32,158.77

147


32. กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

148

กำไรสุทธิก่อนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน (ไม่รวมผลกระทบ ของการซื้อและการจำหน่ายบริษัทย่อย) เงินฝากธนาคารติดภาระผูกพัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ - ค่าบัตรเงินสด ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างรับ - บุคคลภายนอก สินค้าคงเหลือ อะไหล่เพื่อการซ่อมแซมเครือข่าย สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิทธิในสัญญาสัมปทาน ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี และภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินอื่น กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

34,016.21

39,323.36

28,809.55

32,158.77

3,054.46 (737.74 ) 0.04 645.99 (248.81 ) (843.16 ) (45.18 ) (772.30 ) (49.23 ) 116.46 158.08

(4,698.89 ) 724.59 (2.57 ) (1,266.49 ) 231.59 (81.68 ) 162.13 671.30 (130.16 ) (575.72 ) (53.99 )

- (173.22 ) (6.74 ) - (248.81 ) - (45.18 ) (753.52 ) (11.40 ) 55.53 245.66

- 98.77 (13.97 ) - 231.59 - 162.31 771.67 (130.69 ) (22.52 ) (21.71 )

(198.89 ) 1,460.37 (2,224.15 ) (28.74 ) 724.02 (0.83 ) 35,026.60

336.78 (2,413.97 ) 3,315.13 (1,421.66 ) (528.93 ) - 33,590.82

(244.04 ) 1,870.09 - 363.44 557.82 - 30,419.18

174.68 (2,920.93 ) - (981.51 ) (327.54 ) - 29,178.92


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัท หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือทางอ้อม ไม่ว่าจะโดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทย่อย ลำดับถัดไป บริษทั ร่วมและบุคคลทีเ่ ป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษทั ซึง่ ทำให้ผเู้ ป็นเจ้าของดังกล่าวมีอทิ ธิพลอย่างเป็น สาระสำคัญเหนือกิจการ ผู้บริหารสำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริษัทและสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันซึง่ อาจมีขนึ้ ได้ในต้องคำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์ มากกว่ารูปแบบทางกฎหมาย ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท คือ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 42.79 (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 42.83) ของทุนจดทะเบียนของบริษัท และ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 19.23 (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 19.25) ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ผู้ถือหุ้นหลักของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท คือ ครอบครัวชินวัตร รายการค้าที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทที่ครอบครัวชินวัตรเป็นผู้ถือหุ้นหลักหรือเป็นกรรมการถือเป็นรายการระหว่างกันกับบริษัท เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 ครอบครัวชินวัตรซึ่งเป็นกลุ่มผู้ถือหุ้นหลักของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น (“SHIN”) ซึ่งเป็น

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้ขายหุ้นสามัญในส่วนที่ถืออยู่ใน SHIN ทั้งหมดร้อยละ 49.60 ของทุนที่ชำระแล้วให้แก่บริษัท ซีดาร์

โฮลดิ้งส์ จำกัด (“Cedar”) และบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำกัด (“Aspen”) ทำให้ครอบครัวชินวัตรและกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ ครอบครัวชินวัตรไม่เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัทนับจากวันที่ขายหุ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทเปิดเผยรายการระหว่างกันกับครอบครัว ชินวัตร จนถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2549 Aspen เป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทยและเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (“Temasek”) Cedar เป็นกิจการร่วมค้าที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งถือหุ้นโดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ร้อยละ 5.8 บริษัท กุหลาบแก้ว จำกัด (“กุหลาบแก้ว”) ร้อยละ 45.2 และบริษัท ไซเพลส โฮลดิ้ง จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของ Temasek (“ไซเพลส”) ร้อยละ 49.0 กุหลาบแก้วถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นหลักสี่รายซึ่งได้แก่ ไซเพลส ร้อยละ 29.9 คุณสุรินทร์ อุปพัทธกุล ร้อยละ 68.0 คุณพงส์ สารสิน ร้อยละ 1.3 และคุณศุภเดช พูนพิพัฒน์ ร้อยละ 0.8 ในระหว่างปี กลุ่มบริษัทได้ดำเนินการค้าตามปกติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยที่กลุ่มบริษัทได้คิดราคาซื้อ/ขายสินค้าและบริการ กับกิจการดังกล่าวตามราคาที่เทียบเท่ากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจ สำหรับรายการค่าที่ปรึกษา และบริหารงานคิดราคาตามที่ตกลงร่วมกัน โดยคำนวณตามอัตราร้อยละของสินทรัพย์ ค่าจัดการทางการเงินซึ่งรวมอยู่ในค่าที่ปรึกษา และบริหารงาน คิดตามอัตราร้อยละของมูลค่ารายการ SHIN ได้ยกเลิกสัญญาจ้างและหยุดคิดค่าบริการที่ปรึกษาและบริหารงานที่ได้ทำกับบริษัทในกลุ่มโดยมีผลตั้งแต่ไตรมาสสาม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป

149


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)

รายการต่อไปนี้เป็นรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ก) รายการขายสินค้าและบริการ

รายได้จากการให้บริการ บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd.

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

150

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

- 154.38

- 114.04

331.62 38.52

319.55 34.57

693.54 847.92

612.19 726.23

693.54 1,063.68

612.19 966.31

รายได้จากการขายบัตรโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่จ่ายค่าบริการ ล่วงหน้า (prepaid card) บริษัทย่อย

-

-

14,252.30

34,044.49

ดอกเบี้ยรับ บริษัทย่อย

-

-

1.05

0.01

- 4.58

- 18.70

226.16 2.41

207.14 9.55

0.12 4.70

- 18.70

0.12 228.69

- 216.69

รายได้อื่น บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd.


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)

ข) รายการซื้อบริการ

ค่าโฆษณา - สุทธิ * บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ค่าโฆษณา ** - งบการเงินรวม พ.ศ. 2549 : 1,854.17 ล้านบาท พ.ศ. 2548 : 1,766.14 ล้านบาท - งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2549 : 1,718.21 ล้านบาท พ.ศ. 2548 : 1,707.42 ล้านบาท)

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

- 470.79

- 1,048.00

4,933.92 434.33

5,890.55 972.79

357.12 827.91

306.17 1,354.17

357.12 5,725.37

306.17 7,169.51

617.02

528.80

569.39

502.25

151

617.02

528.80

569.39

502.25

* ค่าโฆษณาสุทธิ หมายถึง จำนวนเงินที่จ่ายสำหรับค่าผลิตโฆษณา และกำไรขั้นต้นจากงานสื่อโฆษณาที่บริษัทโฆษณาได้รับ ** ค่าโฆษณา หมายถึง ค่าโฆษณาทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับกลุ่มบริษัท โดยที่กลุ่มบริษัทได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในงบกำไรขาดทุน

ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย บริษัทย่อย ค่าที่ปรึกษาและบริหารงาน บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยจ่าย บริษัทย่อย ผู้ถือหุ้นหลักของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการของกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ค่าเช่าและค่าบริการอื่น บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน SingTel Strategic Investments Pte Ltd. และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

146.03

29.40

101.68

207.42

100.71

206.04

- 0.04 1.48 1.52

- 0.53 2.16 2.69

237.33 0.04 1.48 238.85

126.44 0.53 2.16 129.13


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ค) เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่าย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่นและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน SingTel Strategic Investments Pte Ltd.

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

152

7,961.39 3,578.40 11,539.79

7,076.79 3,180.80 10,257.59

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท 7,961.39 3,578.40 11,539.79

7,076.79 3,180.80 10,257.59

ง) รายการซื้อที่ดิน อุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่

บริษัทย่อย

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท - - 54.35 -

จ) ยอดคงเหลือจากเงินลงทุนระยะสัน้ รายการขาย/ซือ้ สินค้า/บริการ และเงินให้กยู้ มื /เงินกูย้ มื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน

เงินลงทุนระยะสั้น บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น (หมายเหตุ 7) ลูกหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

-

185.48

-

-

- 13.16

- 13.07

1,746.21 3.15

1,647.48 3.66

133.61 146.77

124.61 137.68

133.60 1,882.96

124.61 1,775.75

- 2.97 2.97

- 3.02 3.02

44.17 2.14 46.31

38.79 0.79 39.58

-

-

40.80

0.50


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) จ) ยอดคงเหลือจากเงินลงทุนระยะสัน้ รายการขาย/ซือ้ สินค้า/บริการ และเงินให้กยู้ มื /เงินกูย้ มื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน

(ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เงินกู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อยเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6.65 ต่อปี (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 4.75 ต่อปี) โดยมีกำหนดระยะเวลาชำระคืนเมื่อทวงถาม ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ า ะ บ ริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท

- 28.27

- 74.96

424.63 17.94

622.01 58.74

47.67 75.94

46.44 121.40

47.67 490.24

46.44 727.19

- 506.71

- 353.53

238.65 470.29

125.61 342.57

16.50 523.21

11.60 365.13

16.50 725.44

11.60 479.78

ดอกเบี้ยจ่ายค้างจ่าย บริษัทย่อย

-

-

-

84.37

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย

-

-

4,200.00

8,000.00

เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd.

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อยเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.00 ต่อปี (พ.ศ. 2548 : ร้อยละ 3.25 ต่อปี) โดยมีกำหนดระยะเวลาชำระคืนเมื่อทวงถาม (พ.ศ. 2548 : ชำระคืนในระหว่างงวดสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2549)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

เจ้าหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd.

153


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) จ) ยอดคงเหลือจากเงินลงทุนระยะสัน้ รายการขาย/ซือ้ สินค้า/บริการ และเงินให้กยู้ มื /เงินกูย้ มื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (ต่อ)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

154

ง บ ก า ร เ งิ น ร ว ม พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท หุ้นกู้ระยะยาว ผู้ถือหุ้นหลักของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการของบริษัทและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

- 0.47 0.47

10.00 37.00 47.00

ง บ ก า ร เ งิ น เ ฉ พ าะบริ ษั ท พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2548 ล้านบาท ล้านบาท - 0.47 0.47

10.00 37.00 47.00

ฉ) ผลตอบแทนกรรมการ ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ค่าตอบแทนกรรมการมีจำนวนโดยประมาณ 7.58 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 5.99 ล้านบาท) สำหรับงบการเงินรวม และ 6.71 ล้านบาท (พ.ศ. 2548 : 5.69 ล้านบาท) สำหรับงบการเงินเฉพาะบริษทั ซึง่ มีจำนวน ไม่เกินจำนวนเงินที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อย ค่าตอบแทนกรรมการประกอบด้วย เงินเดือน เบี้ยประชุม และบำเหน็จค่าตอบแทนกรรมการ ช) ภาระผูกพันต่อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 กลุม่ บริษทั ได้ทำสัญญากับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันแห่งหนึง่ โดยบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันดังกล่าว ให้บริการระบบคอมพิวเตอร์และบริการซ่อมแซมและบำรุงรักษาโปรแกรมและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลา 12 เดือน กลุม่ บริษทั มีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องจ่ายค่าบริการภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวเป็นจำนวนเงินประมาณ 1.72 ล้านบาทต่อเดือน (พ.ศ. 2548 : 2.03 ล้านบาท ต่อเดือน) สำหรับงบการเงินรวม และ 1.72 ล้านบาทต่อเดือน (พ.ศ. 2548 : 2.03 ล้านบาทต่อเดือน) สำหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท ซ) ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (“SHIN”) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้จัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น สามัญให้แก่กรรมการของบริษทั SHIN ไม่คดิ ค่าตอบแทนจากบริษทั ในการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ทีไ่ ด้จดั สรรให้แก่กรรมการ บริษัทดังกล่าว


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ซ) ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (ต่อ) กรรมการบางคนของบริษัทเป็นกรรมการของ SHIN ด้วย ซึ่งใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นที่ได้จัดสรรให้แก่กรรมการเหล่านี้ (กรรมการของบริษัทและของบริษัท SHIN) ได้รวมอยู่ในรายละเอียดดังต่อไปนี้

12.78

1:1.06942

34.05

1:1.06942

39.57

1:1.05540

36.83

1:1.02307

155

การเปลี่ยนแปลงของจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท SHIN มีดังนี้

การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วน การใช้สิทธิ (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป) ราคา อั ต ร า ส่ ว น 16.45 1:1.06942

ล้านหน่วย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ วันต้นปี จัดสรร ใช้สิทธิ ณ วันสิ้นปี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี 2 5 4 9

ใบสำคัญแสดง ราคาใช้สิทธิ อัตราส่วน วันที่จัดสรร สิทธิ (ล้านหน่วย) ต่อหน่วย การใช้สิทธิ 27/03/2545 18.34 17.80 1:1 (ครั้งที่ 1) 30/05/2546 12.22 13.67 1:1 (ครั้งที่ 2) 31/05/2547 8.82 36.41 1:1 (ครั้งที่ 3) 31/05/2548 8.33 41.76 1:1 (ครั้งที่ 4) 31/07/2549 6.99 37.68 1:1 (ครั้งที่ 5)

38.00 6.99 (20.03 ) 24.96

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 กรรมการของบริษัทได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นจำนวนทั้งหมด 20.03 ล้านหน่วย เพื่อซื้อหุ้นสามัญจำนวน 20.57 ล้านหุ้น ของ SHIN ฌ) โครงการผลตอบแทนพิเศษ บริษัทย่อยคือบริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด มีโครงการผลตอบแทนพิเศษให้แก่กรรมการ บริษัทย่อย โดยโครงการดังกล่าวจะให้สิทธิเพื่อรับผลตอบแทนพิเศษทุกปีเป็นระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปีโดยสามารถใช้สิทธิได้

หลังจากระยะเวลา 1 ปีแต่ไม่เกิน 3 ปี นับจากวันให้สทิ ธิ วิธกี ารคำนวณผลตอบแทนพิเศษจะคำนวณจากผลต่างของผลการดำเนินงาน ที่เพิ่มขึ้นของบริษัทย่อย ณ วันที่ที่มีการใช้สิทธิกับผลการดำเนินงาน ณ วันให้สิทธิ ทั้งนี้ผลตอบแทนพิเศษทั้งหมดที่กรรมการ ของบริษัทย่อยได้รับจะต้องไม่เกินจำนวนงบประมาณของผลตอบแทนพิเศษที่จัดสรรให้เป็นรายบุคคล รายละเอียดของโครงการ ตอบแทนพิเศษมีดังต่อไปนี้


33. รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ฌ) โครงการผลตอบแทนพิเศษ (ต่อ) โครงการที่ วันที่ให้สิทธิ 1 30 เมษายน พ.ศ. 2545 2 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 3 30 เมษายน พ.ศ. 2547

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

156

จำนวนสิทธิ (ล้านหน่วย) 3.41 1.62 0.81

งบประมาณสูงสุดไม่เกิน ล้านบาท 3.88 2.04 2.34

การเปลี่ยนแปลงของสิทธิตามโครงการผลตอบแทนพิเศษ มีดังนี้ ล้านหน่วย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ วันต้นปี จัดสรร ใช้สิทธิ ยกเลิก ณ วันสิ้นปี

1.08 - (0.81 ) (0.27 ) -

ผู้ถือสิทธิจำนวน 0.81 ล้านหน่วยได้ใช้สิทธิเพื่อรับผลตอบแทนดังกล่าวไปในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 บริษัทย่อยไม่ได้มีค่าใช้จ่ายอันเนื่องจากการใช้สิทธิดังกล่าว

34. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบการเงิน สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตามกฎหมายโทรคมนาคมและประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคม บริษัทได้ทำสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้ให้บริการรายอื่น ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และ 16 มกราคม พ.ศ. 2550 สัญญาดังกล่าว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ใบสำคัญแสดงสิทธิจัดสรรแก่กรรมการและพนักงาน - การใช้สิทธิ ตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ในหมายเหตุ 25 ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ผูถ้ อื ใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 0.23 ล้านหน่วย และ 0.08 ล้านหน่วยของบริษัทได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญในราคา 44.62 บาทต่อหุ้น และราคา 40.35 บาทต่อหุ้น ตามลำดับ บริษัท

ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2550 ในระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวนทั้งหมด 0.37 ล้านหน่วยหรือ 0.29 ล้านหน่วย และ 0.08 ล้านหน่วย ของบริษัทได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญในราคา 44.62 บาทต่อหุ้น และราคา 40.35 บาทต่อหุ้น ตามลำดับ บริษัทได้จดทะเบียน เพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ผลจากทัง้ สองรายการดังกล่าวข้างต้น ทุนทีอ่ อกและชำระแล้วและส่วนเกินมูลค่าหุน้ ของบริษทั จะเพิม่ ขึน้ จาก 2,953.55 ล้านบาท เป็น 2,954.28 ล้านบาท และจาก 20,978.56 ล้านบาท เป็น 21,009.69 ล้านบาท ตามลำดับ การเสนอจ่ายเงินปันผลของบริษัท ทีป่ ระชุมคณะกรรมการเมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ได้มมี ติให้เสนอจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ จากผลการดำเนินงานของ บริษทั ประจำปี 2549 ในอัตราหุน้ ละ 6.30 บาท ซึง่ บริษทั ได้จา่ ยเงินปันผลดังกล่าวไปแล้วในอัตราหุน้ ละ 3.00 บาท ในการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2549 ทั้งนี้การเสนอดังกล่าวจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.