Advanc ar2008 th

Page 1



สารบัญ i. 018 020 022 024 027 028 030 032 034 035 036 037 046 048 051 051 054 055 056 064 067 078 078 079 086 095 096 100 104 105 106 109 110 112 115 165 175 176

กิจกรรมเพื่อสังคม จุดเด่นทางฐานะการเงินและการดำเนินงาน สารจากประธานกรรมการ สารจากหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำปี 2551 รายละเอียดหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่ ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ นโยบายการจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการบริษัท รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการประจำปี 2551 เหตุการณ์สำคัญประจำปี 2551 ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ เป้าหมายการดำเนินธุรกิจใน 3-5 ปี ผลิตภัณฑ์และบริการ ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ปี 2551 ปัจจัยความเสี่ยง การจัดการและการกำกับดูแลกิจการ โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ การกำกับดูแลกิจการ การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน ระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายใน รายการเกี่ยวโยง รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน ข้อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ


0

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

0


0

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

0


0

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

0


0

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

0


010

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

011


012

รายงานประจำปี 2551

CORPORATE Social Responsibility (CSR)

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

กว่า 18 ปี ของการดำเนินธุรกิจ เอไอเอสยังคงยืนยัน

ในเจตนารมณ์ที่ชัดเจน มีความมุ่งมั่นตั้งใจดำเนิน ธุ ร กิ จ

ภายใต้ ห ลั ก ธรรมาภิ บ าล ทั้ ง พร้ อ มตอบแทนสั ง คมไทย ด้วยเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างกำลังใจให้กับทุกคนในสังคม ให้ ส ามารถใช้ ชี วิ ต และดำรงชี พ ได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข

ซึ่งเอไอเอสพร้อมที่จะยืนหยัดอยู่เคียงข้างคุณทุกคน

ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารดำเนิ น งานเพื่ อ สั ง คมมี ค วาม

แข็ ง แกร่ ง ชั ด เจน

เอไอเอสจึ ง วางแนวทางในการ

ดำเนิ น งานเป็ น 4 แนวทาง คื อ การสนั บ สนุ น สถาบั น ครอบครัว, การเป็นแบบอย่างที่ดีในสังคม, การให้โอกาส ช่ ว ยเหลื อ สั ง คมด้ า นต่ า งๆ และการปลู ก จิ ต สำนึ ก ให้ พนั ก งานช่ ว ยเหลื อ สั ง คม ซึ่ ง จาก 4 แนวทางที่ ว างไว้ สามารถตอบสนองและดู แ ลสั ง คมได้ โ ดยผ่ า นกิ จ กรรม ต่างๆ ภายใต้โครงการต่อไปนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

การสนับสนุนสถาบันครอบครัว บ น ส ภ า พ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ที่ มี ก า ร พั ฒ น า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว กอรปกับระบบการสื่อสารเทคโนโลยีใหม่ๆที่มีการพัฒนาตลอดเวลา เหตุนี้ส่งผลให้เกิดช่องว่าง ระหว่ า งกั น โดยเฉพาะกั บ สถาบั น ครอบครั ว พบว่ า ทุ ก วั น นี้ เ ด็ ก และเยาวชนไทยส่ ว นใหญ่ ถูกเทคโนโลยีกลืนชีวิต กลืนความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ระหว่างพ่อ แม่ และลูก ขณะที่ พ่ อ แม่ มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งทำงานหารายได้ เ ลี้ ย งดู ค รอบครั ว เอไอเอสในฐานะที่ เ ป็ น บริ ษั ท ผู้ให้บริการด้านสื่อสารโทรคมนาคม มองว่าน่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการเชื่อมความสัมพันธ์ที่เริ่ม

จางหายให้หวนคืนกลับมา เราเห็นความสำคัญของปัญหานี้จึงจัด โครงการสานรัก สนับสนุน สถาบันครอบครัว โดยมีกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

• ภาพยนตร์โฆษณา เพื่อจุดประกายความคิดในเรื่องครอบครัวโดยปีนี้เสนอ ชุด “ความ

ทรงจำดีๆ” ที่นำเสนอแนวคิดที่ว่า “ในวันที่ไม่เหลืออะไร คุณยังมีครอบครัวอยู่เคียงข้าง เสมอ” ซึ่งเป็นการสะท้อนชีวิตของคนไทยที่ประสบปัญหาจากสภาวะเศรษฐกิจ จึงเกิดความท้อแท้ และหาทางออกคิ ด สั้ น ฆ่ า ตั ว ตาย แต่ ก็ ฉุ ก คิ ด ว่ า แม้ จ ะลำบากเพี ย งใด คุ ณ ก็ ยั ง มี ค รอบครั ว ที่คอยเป็นกำลังใจให้สู้กับปัญหานั้นๆ • “เอไอเอส แฟมิลี่ แรลลี่ เพื่อสายใจไทย” ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อสานความสัมพันธ์แก่กันของคนในครอบครัว ซึ่งรายได้จากกิจกรรมนี้ ได้นำขึ้นทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อมูลนิธิสายใจไทย • “เอไอเอส แฟมิ ลี่ วอล์ ค แรลลี่ เพื่ อ มู ล นิ ธิ อ านั น ทมหิ ด ล” ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รายได้จากการจัดกิจกรรมนี้ ได้นำขึ้นทูลเกล้า ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อมูลนิธิอานันทมหิดล • จัดทำจุลสารสำหรับครอบครัว โดยสอดแทรกสาระความรู้ทางวิชาการ เกี่ยวกับกลยุทธ์ การสร้างบรรยากาศแห่งความรักภายในครอบครัว และเทคนิคการเลี้ยงลูกด้วยวิธีการสมัยใหม่ เพื่อให้ความรู้กับสมาชิกภายในครอบครัว โดยเฉพาะคุณพ่อคุณแม่ ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อม สู่การสร้างครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ

013


014

รายงานประจำปี 2551

การเป็นแบบอย่างที่ดีในสังคม ขณะที่วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมก้าวเข้าสู่ยุคของสังคมเมือง สังคมเทคโนโลยี ภาพของ การแข่งขันในการหารายได้กลายเป็นสังคมวัตถุนิยม ขาดความอดทน แต่ยังมีอีกมุมหนึ่งของคน ในสังคมนี้ ที่แตกต่างและตรงข้ามกันอย่างสิ้นเชิงเมื่อพบว่ามีเด็กและเยาวชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ต้องการ การสนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ ทั้ ง ด้ า นชี วิ ต ความเป็ น อยู่ รวมถึ ง การศึ ก ษา โดยเขาเหล่ า นี้ เ ป็ น คนดี ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ซึ่งเอไอเอสเห็นความสำคัญของคนกลุ่มนี้ และมองว่าเขาเป็น คนดีที่น่าให้การยกย่องเชิดชูและนำมาเป็นแบบอย่างแก่สังคม จึงเกิดแนวคิดที่จะสนับสนุนบุคคล ตัวอย่าง ผ่านโครงการดังต่อไปนี้ • ผลิตสารคดีชีวิตทางโทรทัศน์ ภายใต้ชื่อรายการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” เพื่อเชิดชู และสนับสนุนเยาวชนที่ดี ใฝ่รู้ มีความกตัญญู ให้เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม โดยโครงการนี้จะ ให้เงินช่วยเหลือครอบครัวและให้ทุนการศึกษาแก่เด็กได้เรียนจนจบปริญญาตรี ล่าสุดมีเยาวชน เรี ย นจบระดั บ นี้ แ ล้ ว 20 คน ปั จ จุ บั น มี เ ยาวชนอยู่ ใ นโครงการและกำลั ง ศึ ก ษาอยู่ ทุ ก ระดั บ ชั้ น

มากกว่า 365 คน • กิจกรรม “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่งสัญจร” เพื่อสร้างขวัญและเพิ่มกำลังใจให้เยาวชน ด้วยการนำตัวอย่างเยาวชนจากโครงการสานรักคนเก่งหัวใจแกร่ง ไปพูดคุยและแลกเปลี่ยนแนวคิด แก่ เ ยาวชนในสถานที่ ต่ า งๆ อาทิ สถานพิ นิ จ และคุ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน สถาบั น การศึ ก ษา สถานสงเคราะห์ต่างๆ • จั ด ทำ “ซี ดี ส านรั ก คนเก่ ง หั ว ใจแกร่ ง ” โดยรายการที วี ที่ อ อกอากาศไปแล้ ว จะทำ บันทึกลง CD เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนโดยนำไปมอบให้แก่หน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น สถาบันการศึกษา สำนักงานพุทธศาสนา อัครสังฆมณฑล สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน สถานสงเคราะห์ต่างๆ เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนด้านจริยธรรม คุณธรรมซึ่งมอบไปแล้ว จำนวนกว่า 2 แสนแผ่น • โครงการจั ด ทำซี ดี เ พลงพระราชนิ พ นธ์ การจั ด ทำซี ดี เ พลงพระราชนิ พ นธ์ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในรูปแบบของเพลง เมดเล่ย์ประสานเสียงครั้งแรกของประเทศไทย บรรเลงเดี่ยวเปียโน และบรรเลง Big band ชุด H.M. Compositions “Music for All Time” เพื่อเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางดนตรีและเผยแพร่ บทเพลงอันทรงคุณค่าในพระองค์ท่านในแบบอย่างที่ถูกต้องตามต้นฉบับ จำนวน 10,000 แผ่น โดยมอบเป็นสื่อการศึกษาด้านดนตรีแก่ห้องสมุดของสถาบันการศึกษาที่มีการเรียนการสอนวิชา ดนตรี โรงเรียนสอนคนตาบอด สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย เป็นต้น • โครงการ Company Visit เพื่อเปิดโอกาสให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงสถาบันการศึกษาเข้าเยี่ยมชมกิจการขององค์กรและแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ โดยมี เจตนารมณ์ในการถ่ายทอดข้อมูลเพื่อเป็นองค์ความรู้แก่ผู้เข้าเยี่ยมชม


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

การให้โอกาสและช่วยเหลือสังคม

เอไอเอส มีความเชื่อในเรื่องของการให้โอกาสและการช่วยเหลือสังคมเพื่อให้ทุกคนในสังคม ดำรงชีพอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ดังนั้นเมื่อสังคมมีความลำบาก เอไอเอส ก็พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือ ดังเช่น • โครงการ “ถังน้ำใจ เอไอเอส เพื่อไทยไม่ขาดน้ำ” เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงครองศิริราชย์ครบ 60 ปี เอไอเอส และชาวไทยทั้งประเทศตั้งใจที่จะทำความดี และเดิ น ตามรอยพระราชดำริ ข องพระองค์ ท่ า นในเรื่ อ งของทรั พ ยากรน้ ำ ปั ญ หาภั ย แล้ ง และ เพื่อเป็นการสนองแนวพระราชดำริ โครงการนี้จึงเกิดขึ้น โดยจัดมอบถังน้ำชนิดพิเศษที่ทำจากวัสดุ เอลิเซอร์ แข็งแรง ทนทาน ไม่เป็นสนิม ไม่มีตะไคร่น้ำ เพื่อใช้เก็บกักน้ำไว้ใช้ยามขาดแคลนน้ำ และได้ ด ำเนิ น การต่ อ เนื่ อ ง ถึ ง ปี 2551 ติ ด ต่ อ กั น มา 3 ปี โดยมอบถั ง น้ ำ ไปแล้ ว 10,000 ถั ง ไปยังตำบล หมู่บ้านต่างๆ ทั่วประเทศ • โครงการบรรเทาทุกข์แก่พี่น้องไทยที่ประสบภัยหนาว ประสบภัยน้ำท่วม โดยจัด

ขบวนคาราวานมอบผ้ า ห่ ม มอบถุ ง ยั ง ชี พ แก่ ผู้ ป ระสบเหตุ ดั ง กล่ า วทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ จากภัยหนาวและภัยน้ำท่วมโดยตลอดอย่างต่อเนื่องทุกปี • โครงการ “เอไอเอส สร้างอาชีพ Call Center แด่ผู้พิการทางสายตาและผู้พิการ ทางการได้ ยิ น (หู ห นวก)” เอไอเอส ตั้ ง ใจที่ จ ะให้ โ อกาสแก่ เ ยาวชนผู้ พิ ก ารทั้ ง ทางสายตา และทางการได้ยิน (หูหนวก) ได้มีอาชีพสามารถเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัวไม่เป็นภาระของ สั ง คม ด้ ว ยการรั บ เข้ า เป็ น พนั ก งาน AIS Call Center และได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ สวั ส ดิ ก าร เช่นเดียวกันกับพนักงานปกติของบริษัทฯ • กองทุ น เอไอเอส เพื่ อ ผู้ สู ง อายุ ในมู ล นิ ธิ ร าชประชานุ เ คราะห์ ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ ในส่ ว นนี้ ไ ด้ จั ด มอบเงิ น จำนวน 5 ล้ า นบาท เป็ น ประจำทุ ก ปี เ พื่ อ สมทบทุ น ใน กองทุนเพื่อผู้สูงอายุ ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน มอบเงินไปแล้วเป็นจำนวน 35 ล้านบาท

015


016

รายงานประจำปี 2551

• โครงการ เอไอเอส แนะแนวว่ า ที่ บั ณ ฑิ ต ให้ ชี วิ ต ไม่ เ ตะฝุ่ น เป็นการจัดกิจกรรม ที่เปิดโอกาสให้นิสิตนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 4 จากสถาบันการศึกษาต่างๆ ร่วมรับฟัง ความรู้การเตรียมความพร้อมในการสมัครงานและพัฒนาตนเองเพื่อเข้าสู่โลกแห่งการทำงานจริง สำหรับโครงการดังกล่าว เริ่มตั้งแต่ปี 2550 มีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั้งของภาครัฐและเอกชน ทั่วประเทศเข้าร่วมแล้วกว่า 2,000 คน • โครงการ “ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก เอไอเอส-สานรั ก ” โครงการนี้ มี เ ป้ า หมายเพื่ อ แบ่งเบาภาระให้กับพ่อ แม่ ผู้ปกครอง โดยเฉพาะพื้นที่ชนบทห่างไกลเมือง ที่ต้องการทำงานหาเงิน เลี้ยงชีพเลี้ยงครอบครัว แต่มีลูกเล็กที่ต้องดูแล โดยศูนย์นี้จะเปิดรับเด็กเล็กที่มีอายุระหว่าง 3-6 ปี จั ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาเพื่ อ เด็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย น ซึ่ ง เอไอเอสจะสร้ า งและส่ ง มอบให้ อ งค์ ก ารบริ ห าร ส่วนตำบล (อบต.) ในพื้นที่นั้นๆ ดูแล ซึ่งดำเนินการจัดสร้างแล้วที่ บ้านท่างาม จังหวัดกาฬสินธุ์ บ้านหาดใหญ่ จังหวัดพิษณุโลก และบ้านแม่สาว จังหวัดเชียงใหม่ • โครงการ ลานกี ฬ า เอไอเอส จั ด ทำขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ยาวชนและประชาชนได้ มี โ อกาส ใช้ ส ถานที่ แ ห่ ง นี้ ใ นการออกกำลั ง กายและเล่ น กี ฬ ากลางแจ้ ง เพื่ อ สุ ข ภาพและอนามั ย ที่ ดี ข อง ประชาชนทั้ ง เป็ น การใช้ เ วลาว่า งให้ เ กิด ประโยชน์ ช่ ว ยลดปั ญหายาเสพติ ด โดยจั ด ทำในพื้น ที่ สาธารณะตามแหล่งชุมชน พร้อมติดตั้งไฟส่องสว่าง รวม 6 แห่งทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด • โครงการ เอไอเอส จั ด หาอุ ป กรณ์ ส นั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านตำรวจจราจร

เป็ น การดำเนิ น การร่ ว มกั บ สำนั ก งานตำรวจแห่ ง ชาติ ด้ ว ยเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของอุ ป กรณ์

ในการปฏิบัติงานที่ส่งผลให้การปฏิบัติงานจราจรมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้จัดทำตู้ควบคุม สัญญาณไฟจราจรตามจุดแยกต่างๆ 96 แห่ง ทั่วประเทศ • เอไอเอส ยิ้ ม หวานวั น เด็ ก เป็ น การจั ด กิ จ กรรมวั น เด็ ก ให้ กั บ เยาวชนที่ บ กพร่ อ ง ทางร่างกายและปัญญา เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนกลุ่มนี้ได้ร่วมแสดงออกและสนุกกับกิจกรรม ต่างๆ กับเด็กปกติทั่วไปในวันเด็ก เพื่อให้เด็กเหล่านี้ได้รับประสบการณ์เช่นเดียวกัน • โครงการห้ อ งสมุ ด เคลื่ อ นที่ ส านรั ก ในพื้ น ที่ ช ายแดนภาคใต้ เอไอเอส ได้ ริ เ ริ่ ม การดำเนินโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ สานรักในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ โดยทำการมอบห้องสมุด เคลื่อนที่ให้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนประถมศึกษา ในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ แ ก่ จั ง หวั ด ยะลา, นราธิ ว าส, ปั ต ตานี ,สงขลา และสตู ล รวม 200 แห่ ง เพื่ อ เปิ ด โอกาส ในการศึกษาและสร้างเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาให้แก่เด็กๆ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

การปลูกจิตสำนึกให้พนักงานช่วยเหลือสังคม จากการที่ เอไอเอส ได้ ร ณรงค์ ใ ห้ พ นั ก งานมี จิ ต สำนึ ก ในเรื่ อ ง CSR จึ ง ส่ ง ผลให้ พ นั ก งาน ได้คิดและร่วมมือกันทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคมดังนี้ • กิจกรรมพัฒนาโรงเรียนในชนบท เป็นกิจกรรมสาธารณประโยชน์ที่พนักงานเอไอเอส ได้ร่วมแรง ร่วมใจช่วยกันตกแต่ง ซ่อมแซมโรงเรียนและโรงอาหารให้น่าอยู่และสะอาด อีกทั้ง

ยังได้มอบอุปกรณ์กีฬาให้แก่เด็กๆ เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับชาวบ้านที่อยู่ในชุมชนใกล้เคียง ที่มาร่วมกันพัฒนาโรงเรียน • กิ จ กรรมบำเพ็ ญ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ สถานสงเคราะห์ โดยนำพนั ก งานไปร่ ว มทำบุ ญ

ด้วยการบริจาคเงิน สิ่งของ และทำกิจกรรมบันเทิง เพื่อบำเพ็ญประโยชน์ให้แก่สถานสงเคราะห์ ต่างๆ อาทิ โรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพฯ บ้านนนทภูมิ บ้านพักคนชราบางแค เป็นต้น • กิ จ กรรมรวมพลั ง เอไอเอสลดภาวะโลกร้ อ น การปลู ก ป่ า เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ ก ของการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน ล่าสุด เอไอเอส ได้นำเพื่อนพนักงานไปปลูกป่าที่จังหวัดเพชรบุรี วัดพระพุทธบาท เขาลูกช้าง เพื่อร่วมลดปัญหาดังกล่าว พร้อมทั้งรณรงค์ให้พนักงานใช้ถุงผ้า

แทนถุงพลาสติกใส่ของด้วย • กิ จ กรรมมอบแสงสว่ า ง มอบทานทางปั ญ ญา พนั ก งานได้ ผ ลั ด เปลี่ ย นกั น ไปสอน การบ้านและอ่านหนังสือให้เด็กๆ ที่โรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพฯ ซึ่งกิจกรรมมอบแสงสว่าง มอบทานทางปัญญานี้ เป็นการต่อยอดโครงการเอไอเอส สนับสนุนการสร้างอาชีพให้คนตาบอด • กิจกรรม AIS Sport Charity เป็นกิจกรรมที่ เอไอเอส นำอุปกรณ์การเรียนและกีฬา ไปมอบให้แก่น้องๆ ในโรงเรียนที่ขาดแคลนในพื้นที่ทุรกันดาร รวมทั้งจัดแข่งกีฬาสามัคคีสัมพันธ์ ที่ผ่านมา ได้จัดกิจกรรมดังกล่าว ณ วัดหนองตามิ่ง จังหวัดลพบุรี • เอไอเอส สวพ.FM 91 พัฒนาบริการรับแจ้งเหตุด่วน เหตุร้าย และจราจร ผ่าน

โทร. 1644 โดย เอไอเอส ร่วมกับ สวพ.FM.91 ขยายเครือข่ายในการช่วยเหลือสังคม ด้วยการจัด อบรมพนักงาน และพัฒนาขีดความสามารถของ AIS Call Center 1175 ในการดูแลผู้ใช้บริการ เอไอเอส ที่โทรแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย รวมทั้งสอบถามเส้นทางจราจร นอกจากนั้น ยังเปิดรับอาสา สมัครจากพนักงานและผู้ใช้บริการ เอไอเอส จำนวนกว่า 26 ล้านราย ในการเป็นเหยี่ยวข่าว เพื่อแจ้งเหตุข้อมูลข่าวสารและความปลอดภัยไปยัง สวพ FM.91 ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ 1644 ฟรี ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมากว่ า 18 ปี ที่ เอไอเอส บริษัทของคนไทยมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการ มีส่วนช่วยเหลือสังคม ตอบแทนสังคมไทยอย่างต่อเนื่องจากการทุ่มเทแรงกาย แรงใจ ส่งเสริมสนับสนุน สร้างสรรค์จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคมแก่พี่น้องชาวไทยทั่วประเทศผ่านโครงการต่างๆ ตลอดปี 2551 เอไอเอส ได้รับกำลังใจจากสังคมโดยได้รับรางวัลต่างๆมากมาย อาทิ จาก กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุ ข มอบรางวั ล สื่ อ สร้ า งสรรค์ สุ ข ภาพจิ ต ประจำปี 2551 สาขาโฆษณาโทรทั ศ น์ ดี เ ด่ น จากภาพยนตร์โฆษณาชุด โอกาส และรางวัลคนดี คิดดี สังคมดี ประจำปี 2551 ที่นำเสนอเรื่องราว เยาวชนตัวอย่างผ่านทางรายการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งจากกำลังใจที่หน่วยงาน องค์กรต่างๆ มอบให้กับ เอไอเอส นั้น จะเป็นอีกหนึ่ง แรงใจในการขับเคลื่อนให้เกิดการสร้างสรรค์โครงการใหม่ๆ พร้อมกับพัฒนาโครงการปัจจุบัน เพื่อ ตอบแทนและคืนกำไรสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง สมกับปณิธานของ เอไอเอส ที่พร้อมจะ “อยู่เคียงข้างคุณ”

017


018

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สรุปฐานะการเงิน

2549

2550

2551

76,053 -6% 15,375 28% 91,428 -1% 42,284 -12% 46% 16,256 -13%

94,810 25%* 13,644 -11% 108,454 19%* 43,684 3% 40%* 16,290 0.2%

99,586 5% 11,206 -18% 110,792 2% 46,406 6% 42% 16,409 0.7%

22,893 88,893 134,301 56,702 52,330 77,599

20,586 87,088 128,942 53,481 49,999 75,461

26,958 81,189 128,081 54,646 47,755 73,436

35,027 20,097 13,825

35,698 17,105 18,748

36,721 12,586 25,395

15 3.3 0.48 0.43 0.73 4.8% 21%

15 4.5 0.50 0.40 0.71 6.8% 21%

17 3.7 0.39 0.47 0.74 10.3% 22%

(ล้านบาท) รายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ % การเติบโต รายได้จากการขายเครื่องโทรศัพท์และซิมการ์ด % การเติบโต รายได้รวม % การเติบโต %กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อม (EBITDA) % การเติบโต กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อม (EBITDA margin) กำไรสุทธิ % การเติบโต สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม กำไรสะสม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน เงินลงทุนในสินทรัพย์โครงข่าย กระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน (Free Cash Flow)** อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย - Interest coverage (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้ - Debt Service Coverage (เท่า) อัตราส่วนเงินกู้สุทธิต่อกำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อม (เท่า) อัตราส่วนเงินกู้ต่อส่วนของผู้ถือห้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) Free Cash Flow Yield (%) อัตราส่วนผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น - Return on Equity (%)

*รายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ตั้งแต่ปี 2550 มีการบันทึกรายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่ายรวมอยู่ด้วย **กรแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน (Free cash flow) = กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีและค่าเสือม (EBITDA) - ภาษี – เงินลงทุนในสินทรัพย์โครงข่าย

019


020

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

021


022

รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

023


024

รายงานประจำปี 2551

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำปี 2551 เรียน ท่านผู้ถือหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบของ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงิน การบัญชี กฎหมาย และการบริหาร จัดการ ได้แก่ นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นางทัศนีย์ มโนรถ และ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสุวิมล กุลาเลิศ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามทีก่ ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทุกท่านมีคณ ตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติที่ดีสำหรับคณะกรรมการตรวจสอบของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขตความรับผิดชอบในภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท ในการกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่า ผู้บริหารและ กรรมการบริหาร ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นั จะพึงมีตอ่ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความรับผิดชอบ และได้บริหารกิจการตามนโยบายของบริษัทฯ ในรอบปี 2551 ได้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้นจำนวน 12 ครั้ง1/ ซึ่งกรรมการ ตรวจสอบทุกท่านได้เข้าร่วมประชุมครบทุกครัง้ โดยได้มกี ารหารือ และแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็นกับผูบ้ ริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีในเรื่องที่เกี่ยวข้อง สรุปสาระสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินและงบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประจำรายไตรมาส และประจำปี 2551 ซึ่งผ่านการสอบทานและตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว และ นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยได้เชิญผู้บริหารและผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุม ก่อนทีจ่ ะให้ความเห็นชอบงบการเงิน เพือ่ สอบทานความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน รายการปรับปรุง บัญชีที่มีผลกระทบต่องบการเงินอย่างมีนัยสำคัญ และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาข้อเสนอแนะต่อระบบการควบคุมภายใน (Management Letter) และรับทราบแผนการ สอบบัญชีของผู้สอบบัญชี รวมถึงเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย จำนวน 1 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า กระบวนการจัดทำรายงานทางบัญชีและการเงิน

ของบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีเพียงพอ ที่ทำให้มั่นใจได้ว่า รายงานทางการเงินแสดงฐานะ ทางการเงินและผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ อย่างถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ฎหมาย กำหนด รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์กับ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน หรือผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจลงทุน หมายเหตุ : 1/ ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2551 - กุมภาพันธ์ 2552


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

2. คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานและให้ ค วามเห็ น ต่ อ การเข้าทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ รวมถึ ง สอบทานการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วให้ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน เป็นไปตามประกาศ ข้อกำหนด และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า ฝ่ายจัดการได้ทำรายการ ดังกล่าวด้วยความเป็นธรรม และเป็นการดำเนินการเพื่อผลประโยชน์

ของบริษัทฯ เป็นสำคัญ ดังเช่นที่ทำกับบุคคลภายนอกทั่วไปด้วยราคา ที่สมเหตุสมผล รวมถึงมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ถูกต้อง และ ครบถ้วน 3. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ ร่วมกับนักกฎหมายและหน่วยงาน Compliance ของบริษทั ฯ อาทิเช่น พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนด ของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์

พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ประกาศและกฎระเบียบของคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ ประมวลรัษฎากร กฎหมายแรงงานและสัญญา จ้างแรงงาน ภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นจากสัญญาที่กระทำกับบุคคล ภายนอก และข้อเรียกร้องอื่นๆ

025

80 รายงาน ซึ่งได้มีการประเมินระบบการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงตามแนวทางมาตรฐานสากล COSO-ERM (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission-Enterprise Risk Management) โดยผู้ตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ได้สอบทานระบบการควบคุมภายในในระบบงานที่สำคัญ ของบริษัทฯ เช่น ระบบการรักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ และ ข้อมูลสารสนเทศ ระบบการบริหารจัดการทางการตลาด ระบบการควบคุม คุณภาพเครือข่ายและการให้บริการ เป็นต้น รวมทั้งได้ประเมินระบบการ ควบคุมภายในด้านการบริหาร การเงิน และการปฏิบัติตามกฎหมาย ตามแนวทางที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์

และตลาดหลักทรัพย์ ทั้ ง นี้ ไ ม่ พ บจุ ด อ่ อ นหรื อ ข้ อ บกพร่ อ งที่ เ ป็ น สาระสำคั ญ ซึ่ ง สอดคล้องกับผลการประเมินของผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบ จึงมีความเห็นว่า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล ซึ่งประกอบด้วยสภาพแวดล้อมภายใน การประเมิน ความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูลที่ดี และระบบการติดตามผลการดำเนินงานที่ชัดเจน 5. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการมีระบบการบริหาร ความเสี่ ย งที่ เ พี ย งพอ โดยได้ รั บ รายงานจากคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย งและได้ ใ ห้ ข้ อ เสนอแนะอย่ า งสม่ ำ เสมอ ทั้ ง นี้ ความเสี่ ย ง ที่สำคัญของบริษัทฯ ได้แสดงไว้ในรายงานประจำปีแล้ว

จากการประชุมกับฝ่าย Compliance และกฎหมาย ทัง้ หมด 9 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ต าม กฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเหมาะสม สำหรับบางเรือ่ งทีม่ ี ข้ อ โต้ แ ย้ ง อยู่บ้าง ซึ่งผู้บริหารเชื่อว่าผลการพิจารณาของผู้เกี่ยวข้องต่อ ข้อโต้แย้งดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดีต่อบริษัทฯ นั้น ได้ร่วมกับ

ผู้ ส อบบั ญ ชี ให้ มี ก ารเปิ ด เผยในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น อย่ า ง เพียงพอและเหมาะสมแล้ว

6. คณะกรรมการตรวจสอบได้กำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การดำเนิ น กิ จ กรรมตรวจสอบภายในเป็ น ไปอย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท และ ผู้ถือหุ้น โดยได้สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน และภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของหน่วยงานตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ได้พิจารณา และอนุมตั แิ ผนงานตรวจสอบภายในประจำปี 2552 ทีจ่ ดั ทำขึน้ ตามความ เสี่ยงที่มีสาระสำคัญของบริษัทฯ

4. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานประสิทธิผลของระบบ การควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การดำเนิ น งานของบริ ษั ท เป็ น ไป อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยพิจารณาจากรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปี 2551 จำนวน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานผลการตรวจสอบ และสอบทานผลการปฏิบัติงานภาพรวมของหน่วยงานตรวจสอบภายใน เปรี ย บเที ย บกั บ ตั ว วั ด ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ไ ด้ ตั้ ง ไว้ รวมทั้ ง ได้ ป ระเมิ น ผล การปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ ยังได้


026

รายงานประจำปี 2551

สอบทานคุณภาพของหน่วยงานตรวจสอบภายในจากผลการประเมิน คุ ณ ภาพภายในและการประเมิ น คุ ณ ภาพโดยตนเองของหน่ ว ยงาน ตรวจสอบภายใน ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ผู้บริหาร และผู้รับการตรวจสอบทุกระดับ รวมถึงแผนการ พัฒนาความรู้ ความสามารถของผู้ตรวจสอบภายในรายบุคคลด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า ระบบการตรวจสอบ ภายในของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปอย่ า งอิ ส ระ เพี ย งพอ และมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล สอดคล้องกับเป้าหมายและความเสี่ยงของบริษัทฯ รวมทั้งมีการพัฒนา คุณภาพการตรวจสอบทั้งในด้านบุคลากร และการปฏิบัติงานตรวจสอบ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพสากลอย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ผู้สอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด มีความเป็นอิสระ มีความรู้และ ประสบการณ์เพียงพอในการปฏิบัติงานสอบบัญชี รวมถึงค่าตอบแทน มีความเหมาะสม จึงมีมติเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ให้แต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีประจำปี 2552 10. คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของ ตนเอง เกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุม ผลงาน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารและผู้สอบบัญชีภายนอกตาม แนวทางการปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ

7. คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบให้กบั คณะกรรมการบริษทั ทราบทุกไตรมาส โดยได้ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานของฝ่ายจัดการ ซึง่ ฝ่ายจัดการได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม

ผลการประเมิน พบว่า คณะกรรมการตรวจสอบ มีขอบเขต และผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส อดคล้ อ งตามแนวทางการปฏิ บั ติ ที่ ดี และ กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ อันมีส่วนช่วยเสริมสร้างการกำกับดูแล กิจการที่ดีได้อย่างมีประสิทธิผล

8. คณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนและเสนอแก้ไขกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ เกี่ยวกับคุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตและอำนาจ หน้าที่ และการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายการกำกับดูแลที่ดีของกิจการ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทย และพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ง านตามหน้ า ที่ แ ละความ รั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย โดยใช้ ค วามรู้ ความสามารถประกอบ กับความรอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ โดยไม่มีข้อจำกัด

ในการได้รับข้อมูลทั้งจากผู้บริหาร พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน

9. คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีประจำปี 2552 โดยได้ประเมิน ความเป็นอิสระ คุณภาพของผลงานการตรวจสอบปี 2551 ทักษะความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ใ นการตรวจสอบธุ ร กิ จ ในอุ ต สาหกรรม โทรคมนาคม และทีมสนับสนุนของสำนักงานสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ปั จ จุ บั น นอกจากนี้ ไ ด้พิจารณาความเหมาะสมของค่าตอบแทนเป็น ประการสำคัญด้วย

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ

โดยสรุ ป ในภาพรวมแล้ ว คณะกรรมการตรวจสอบเห็ น ว่ า คณะกรรมการบริษัทตลอดจนผู้บริหารและกรรมการบริหารของบริษัทฯ มีจริยธรรมและความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ของบริษัทฯ อย่างมีคุณภาพเยี่ยงมืออาชีพ ได้ให้ความสำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานภายใต้ระบบการกำกับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล โปร่งใส และเชื่อถือได้ รวมทั้งมีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบ การควบคุมภายในที่รัดกุมเหมาะสมเพียงพอ

นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบ

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

รายละเอียดหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย์

: บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ชื่อย่อหลักทรัพย์

: ADVANC

วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ : 5 พฤศจิกายน 2534 มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด

: 235 พันล้านบาท หรือ 6.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551)

ทุนจดทะเบียน

: 4,997,459,800.00 บาท

ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว

: 2,961,739,547.00 บาท

จำนวนผู้ถือหุ้นทั้งหมด

: 6,554 ราย (ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2551)

% Free float

: 35.99% (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551)

ประเภทธุรกิจ

: ประกอบธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในย่านความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่

: 414 อาคารชินวัตร ทาวเวอร์ 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท

เลขทะเบียนบริษัทฯ

: บมจ. 0107535000265 (เดิมเลขที่ บมจ. 59)

Home Page

: http://www.ais.co.th

โทรศัพท์

: (66) 2299-6000

โทรสาร

: (66) 2299-5165

GSM (Global System for Mobile Communication) และมีบริษัทย่อย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (DPC) ซึ่งให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในย่านความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 นอกจากนี้ ยังมีบริษัทย่อยเป็นผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับ

กิจการโทรคมนาคมด้านอื่นๆ อีกด้วย ได้แก่ นำเข้าและจัดจำหน่ายอุปกรณ์โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และสาย Optical Fiber ให้บริการ ชำระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ จำหน่ายบัตรแทนเงินสด ศูนย์ให้บริการ ข้อมูลทางโทรศัพท์ และให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงเทพมหานคร 10400

American Depositary Receipt: ชื่อย่อของหลักทรัพย์

: AVIFY

วิธีการซื้อขาย

: ซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter : OTC)

นายทะเบียน

: The Bank of New York Mellon

อัตราส่วน (ADR to ORD)

: 1:1

หมายเลข ADR CUSIP

: 00753G103

027


028

รายงานประจำปี 2551

โครงสร้างการถือหุ้น

กลุ่มบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital GSM คลื่นความถี่ 900 MHz. ทุนจดทะเบียน 4,997.46 ล้านบาท และทุนชำระแล้ว 2,961.74 ล้านบาท

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด 1/

99.99%

ปัจจุบันไม่ได้ดำเนินธุรกิจ ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 240 ล้านบาท

49.00%

เซ็นเตอร์ จำกัด

ให้บริการการสื่อสารข้อมูลผ่าน เครือข่ายสายโทรศัพท์ ในเขตต่างจังหวัด ปัจจุบันหยุดดำเนินงานและ อยู่ระหว่างการชำระบัญชี ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 1 ล้านบาท

บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด 3/

99.99%

ให้บริการโทรคมนาคม และ บริการโครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเตอร์เน็ตระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเตอร์เน็ต บริการเสียงผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต บริการโทรทัศน์ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 300 ล้านบาท

1/ 2/ 3/ 4/

บริษัท แอดวานซ์คอนแท็ค ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 272 ล้านบาท

บริษัท เอไอเอ็น

โกลบอลคอม จำกัด

99.99%

บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ 99.99%

ให้บริการโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ ทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท ทุนเรียกชำระแล้ว 100 ล้านบาท

ซัพพลาย จำกัด

99.99%

นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ อุปกรณ์โทรคมนาคม ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 50 ล้านบาท

บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ ได้จดทะเบียนเลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 และขณะนี้อยู่ระหว่างการชำระบัญชี บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากเดิม 1 ล้านบาท เป็น 350 ล้านบาท เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2551 โดยการออกและเสนอขายหุ้นให้แก่บริษัทฯ ทั้งจำนวน ซึ่งภายหลังจากการเพิ่มทุน ทำให้บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากเดิม 1 ล้านบาท เป็น 300 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2551 โดยการออกและเสนอขายหุ้นให้แก่บริษัทฯ ทั้งจำนวน ซึ่งภายหลังจากการเพิ่มทุน ทำให้บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ส่วนที่เหลือร้อยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้งกัน


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด

99.99%

จำกัด

ให้บริการชำระสินค้าหรือ บริ ก าร ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่แทนการใช้ เงินสดหรือบัตรเครดิต ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 300 ล้านบาท

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส

99.99%

จำหน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card) ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 250 ล้านบาท

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด

เน็ทเวอร์ค จำกัด

99.99%

ให้บริการโทรคมนาคม บริการโครงข่ายโทรคมนาคม และบริการระบบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้รับอนุญาตให้บริการ อินเตอร์เน็ต (ISP) แบบที่ 1 และใบอนุญาตให้บริการ โทรคมนาคม แบบที่ 3 จาก กทช. ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 350 ล้านบาท

บริษัท แอดวานซ์ ดาต้า

98.55%

เน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด 4/ 51.00%

ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 MHz ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 14,621.86 ล้านบาท

ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่าน เครือข่ายสายโทรศัพท์ และ Optical Fiber ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว 957.52 ล้านบาท

029


030

รายงานประจำปี 2551

โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 1), 2)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) 2)

42.67%

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด 98.55%

บริษทั แอดวานซ์ ดาด้าเน็ทเวอร์ค

คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด 3) 51.00%

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด 99.99%

บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบรนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด 99.99%

บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด 99.99%

บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด 99.99%

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด 99.99%

บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด 99.99%

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด 99.99%

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด 99.99%

1) Holding Company 2) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) ส่วนที่เหลือ 49% ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้งกัน 4) อยู่ระหว่างการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท 5) จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2551 และขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่าง การชำระบัญชีบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด5) 49.00%


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษทั ดีทวี ี เซอร์วสิ จำกัด

99.99%

บริษัท เอ็ม โฟน จำกัด

บริษัท ไอพีสตาร์ จำกัด

99.68% บริษทั ไอพีสตาร์ ออสเตรเลีย พีทวี าย จำกัด 100%

บริษัท ชินนี่ดอทคอม จำกัด 99.99% บริษัท หรรษาดอทคอม จำกัด 99.99%

บริษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จำกัด 100%

บริษัท โซดาแม็ก คอร์ป จำกัด 99.99%

บริษัท ไอพีสตาร์ ดู บราซิล จำกัด 4) 100%

บริษัท วัฏฏะ คลาสสิฟายด์ส จำกัด 60.00%

บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จำกัด 88.52%

100%

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด 49.00%

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด (มหาชน) 99.99% บริษัท เอดี เวนเจอร์ จำกัด 1) 99.99%

บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้นท์ส พีทีอี ลิมิเต็ด 1) 51.00%

บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำกัด (มหาชน) 2) 39.74%

บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) 2) 41.14%

บริษัท สตาร์ นิวเคลียส จำกัด 70.00% สเปซโคด แอล แอล ซี 70.00%

บริษัท ไอพีสตาร์ อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำกัด 100% บริษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์วิส จำกัด 100%

บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิร์ค จำกัด 100%

บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) 2) 52.92%

บริษัท อาร์ตแวร์ มีเดีย จำกัด 99.99%

บริษัท มีเดีย คอนเน็คซ์ จำกัด 5) 60.00%

บริษัท แมทช์บอกซ์ จำกัด

99.96%

บริษทั ไอ.ที. แอพพลิเคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์วสิ จำกัด 99.99%

031


032

รายงานประจำปี 2551

โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ลำดับ

รายชื่อผู้ถือหุ้น

1

บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 1/

2

จำนวน (หุ้น)

% ถือหุ้น

1,263,712,000

42.67

SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD AND SINGTEL INVESTED BY THAI TRUST FUND 2/

632,039,000

21.34

3

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD.

116,894,242

3.95

4

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

45,329,125

1.53

5

MELLON NOMINEES (UK) LIMITED

43,469,400

1.47

6

LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED

37,004,800

1.25

7

NORTRUST NOMINEES LTD

32,596,737

1.10

8

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY, FOR LONDON

29,197,201

0.99

9

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

26,723,623

0.90

10

CHASE NOMINEES LIMITED 1

25,379,000

0.86

2,252,345,128

76.05

รวม

หมายเหตุ : ข้อมูลจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2551 1/

กลุ่ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ที่ โ ดยพฤติ ก ารณ์ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การกำหนดนโยบายการจั ด การหรื อ การดำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ คื อ

บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น โดยผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ได้แก่ ลำดับ

รายชื่อผู้ถือหุ้น

จำนวน (หุ้น)

% ถือ

1

บริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด *

1,742,407,239

54.43

2

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำกัด * 3/

1,334,354,825

41.68

3,076,762,064

96.11

3/

รวม

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำกัด ถือหุ้นจำนวน 9,096 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ

หมายเหตุ : ข้อมูลจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2551

*

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้ง จำกัด เป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทยและเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (Temasek) บริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้ง จำกัด เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งถือหุ้นโดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ในสัดส่วน ร้อยละ 5.78 บริษัท กุหลาบแก้ว จำกัด (กุหลาบแก้ว) ร้อยละ 45.22 และบริษัท ไซเพรส โฮลดิ้ง จำกัด (ไซเพรส) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย โดยทางอ้อมของ Temasek ร้อยละ 48.99


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

โดย ณ วันที่ 20 มกราคม 2552 บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) มีโครงสร้างการถือหุ้นดังนี้ นายสุรินทร์ อุปพัทธกุล

68.00% 29.90% 1.27%

บจ. ไซเพรส โฮลดิ้งส์

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

48.99%

บจ. แอสเพน โฮลดิ้งส์

5.78%

นายพงส์ สารสิน

บจ. กุหลาบแก้ว 45.22%

บจ. ซีดาร์ โฮลดิ้งส์

41.68%

บจ. ไซเพรส โฮลดิ้งส์

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์

0.82%

54.43%

บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น

2/

SingTel Strategic Investments Pte Ltd ถือหุน้ ในบริษทั ทางตรงร้อยละ 19.18 และผ่าน THAI TRUST FUND อีกร้อยละ 2.16 ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SingTel Strategic Investments Pte Ltd คือ ลำดับ

1

รายชื่อผู้ถือหุ้น

% ถือ

Singapore Telecommunications Limited *

100.00

ที่มา : Singapore Telecommunications Limited Annual Report 2007/2008 as of 30 May 2008

* ผู้ถือหุ้นของ Singapore Telecommunications Limited คือ ลำดับ รายชื่อผู้ถือหุ้น

1 2

Temasek Holdings (Private) Limited DBS Nominees Pte Ltd.

จำนวน (หุ้น) 8,613,550,910 1,947,815,287

ที่มา : Singapore Telecommunications Limited Annual Report 2007/2008 as of 30 May 2008 หมายเหตุ : ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลผู้ถือหุ้นที่เป็นปัจจุบันได้จากเว็บไซต์ของบริษัทฯ ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีได้ที่ http://www.investorrelations.ais.co.th

% ถือ 54.11 12.24

033


034

รายงานประจำปี 2551

ข้อมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทในเครือ

ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2551

บริษ ัท

ประเภทธุ รกิจ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ สำนักงานใหญ่เลขที่ : 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน Digital GSM ที่ย่านความถี่ 900 MHz เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 Home Page : www.ais.co.th

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการ (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) ถือหุ้น (%) 4,997.46

1

2,961.74

-

24

10

240

99.99

1,462.19

10

14,621.86

98.55

95.75

10

957.52

51.00

0.10

10

1

49.00

27.2

10

272

99.99

30

10

300

99.99

25

10

250

99.99

3.5

100

350

99.99

บริษัทในเครือ

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด ปัจจุบันไม่ได้ดำเนินธุรกิจ สำนักงานเลขที่ 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5200 บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800 สำนักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ MHz ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5455 บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด ให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่าย (บริษัทย่อยโดยอ้อมผ่าน DPC) สายโทรศัพท์ และสาย Optical Fiber สำนักงานเลขที่ 408/157 ชั้น 38 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2270 1900 โทรสาร : (66) 2270 1860 Home Page : www.adc.co.th บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด 1/ ให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่าย สำนักงานเลขที่ 408/157 ชั้น 38 อาคารพหลโยธินเพลส สายโทรศัพท์ ปัจจุบนั หยุดการดำเนินงาน ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร และอยู่ระหว่างการชำระบัญชี โทรศัพท์ : (66) 2270 1900 โทรสาร : (66) 2270 1860 บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5959 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด ให้บริการชำระสินค้าและบริการผ่าน สำนักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 โทรศัพท์เคลื่อนที่แทนการใช้เงินสดหรือ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร บัตรเครดิต โทรศัพท์ : (66) 2687 4808 โทรสาร : (66) 2687 4788 บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด จำหน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card) สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2615 3330 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด ให้บริการโทรคมนาคม บริการโครงข่าย สำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน โทรคมนาคม และบริการระบบคอมพิวเตอร์ เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันบริษัทได้รับใบอนุญาตให้บริการ โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 อินเตอร์เน็ต (ISP) แบบที่ 1 และใบอนุญาต โทรสาร : (66) 2687 4986 ให้บริการโทรคมนาคมแบบที่ 3 จาก กทช.


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัทในเครื อ

ประเภทธุ รกิจ

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการ (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) ถือหุ้น (%)

บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด 3/ ให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่าย สำนักงานเลขที่ 1, 1293/9 ชั้น 3 อาคารอีเอสวี ทาวเวอร์ โทรคมนาคม เช่น บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศและ โทรศัพท์ : (66) 2270 1110 บริการชุมสายอินเตอร์เน็ต (International โทรสาร : (66) 2619 8777 & National Internet Gateway) บริการ

3

100

300

99.99

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ สำนักงานเลขที่ 408/127 ชั้น 29 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2278 7030 บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ สำนักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ อุปกรณ์โทรคมนาคม ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 5777 โทรสาร : (66) 2299 5200

2

100

100

99.99

0.5

100

50

99.99

035

โครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการ โทรทัศน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television)

1/

บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ ได้จดทะเบียนเลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 และขณะนี้อยู่ระหว่างการชำระบัญชี บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากเดิม 1 ล้านบาท เป็น 350 ล้านบาท เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2551 โดยการออกและเสนอขายหุ้นให้แก่บริษัทฯ ทั้งจำนวน ซึ่งภายหลังจากการเพิ่มทุน ทำให้บริษัทฯ ถือหุ้นเพิ่มจากร้อยละ 99.93 เป็นร้อยละ 99.99 3/ บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากเดิม 1 ล้านบาท เป็น 300 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2551 โดยการออกและเสนอขายหุ้นให้แก่บริษัทฯ ทั้งจำนวน ซึ่งภายหลังจากการเพิ่มทุน ทำให้บริษัทฯ ถือหุ้นเพิ่มจากร้อยละ 99.93 เป็นร้อยละ 99.99 2/

นโยบายการจ่ายเงินปันผล เนื่องจากบริษัทฯ มีหุ้นกู้ที่ยังไม่ครบกำหนดไถ่ถอน ที่ประชุมผู้ถือหุ้นกู้ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2548 และวันที่ 22 กันยายน 2548 มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ แก้ไขข้อกำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้ได้ โดยระบุว่า บริษัทฯ จะสามารถจ่ายเงินปันผลในแต่ละปี ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เป็นจำนวนเกินกว่าร้อยละ 40 ของผลกำไรสุทธิในปีนนั้ ๆ ได้ ภายใต้เงือ่ นไขคือ บริษทั ฯ จะต้องมีอนั ดับความน่าเชือ่ ถือ (credit rating) ซึ่งได้รับจากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่สำนักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบในอันดับไม่ต่ำกว่า AA และได้รับภายใน ระยะเวลาไม่เกินกว่า 45 วันก่อนหน้าวันทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลดังกล่าว ทัง้ นี้ ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ ผิดนัดชำระหนีเ้ งิน ต้น หรือดอกเบี้ยหุ้นกู้ไม่ว่างวดใดๆ บริษัทฯ จะไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีตามงบการเงินรวม หากไม่มีเหตุจำเป็นอื่นใดและการจ่ายเงินปันผลนั้นต้องไม่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานปกติของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างมีนัยสำคัญ และการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดและภาระการลงทุนของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ รวมถึงความจำเป็นและความ เหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะต้องไม่เกินกำไรสะสมที่ปรากฏอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทฯ


036

รายงานประจำปี 2551

คณะกรรมการบริษัท

1/ 2/ 3/

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ

นายสมประสงค์ บุญยะชัย 1/ รองประธานกรรมการ

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ กรรมการ

นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 2/ กรรมการ

นายแอเลน ลิว ยง เคียง กรรมการ

นายยืน ควน มูน กรรมการ

นายวิกรม ศรีประทักษ์ กรรมการ

นายฮิวเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ 3/ กรรมการ

ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองประธานกรรมการเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2551 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทน นายวาสุกรี กล้าไพรี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 ได้รับเลือกเป็นกรรมการแทน นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

037

รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร

01

02

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม

อายุ 67 ปี

นายสมประสงค์ บุญยะชัย 1/

• ประธานกรรมการ • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี

• รองประธานกรรมการ • กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

• ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟ้า Iowa State University, U.S.A. • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 3 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน

ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

อายุ 53 ปี

ไม่มี ไม่มี

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD)

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท • หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 65/2548, • หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 30/2547 ไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน - ประสบการณ์ทำงาน 2541-ปัจจุบัน 2543-2548 2542-2545 2536-2541 2535-2536 2531-2535

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการและกรรมการบริหาร กลุม่ บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ ที่ปรึกษา องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผู้อำนวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

2551-ปัจจุบัน 2550-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2547-ปัจจุบัน 2543-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน 2540-ปัจจุบัน 2543-2551 2542-2551 2537-2551 2547-2550 2543-2550 2540-2541 2538-2539 2537-2538 2536-2537 2536-2536 2535-2536

รองประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ไทยคม กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้า กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง กรรมการบริหาร บมจ. ชิแซทเทลไลท์ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย กลุ่มชินวัตร กรรมการผูอ้ ำนวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองกรรมการผูอ้ ำนวยการ สายงานปฏิบตั กิ ารที่ 4 กลุม่ ชินวัตร

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี 1)

ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นรองประธานกรรมการ เมือ่ วันที่ 8 ตุลาคม 2551

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


038

รายงานประจำปี 2551

03

04

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

อายุ 60 ปี

นางทัศนีย์ มโนรถ

อายุ 63 ปี

• กรรมการ • ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี

• กรรมการ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) บริ ษั ท ไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 8/2544

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 32/2546

บทบาทคณะกรรมการในการกำหนดนโยบายค่าตอบแทน

ประสบการณ์ทำงาน

ประสบการณ์ทำงาน

2549-ปัจจุบัน 2545-2548 2544-2548 2543-2545 2542-2543 2539-2542

2551-ปัจจุบัน 2550-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2546-ปัจจุบัน 2538-ปัจจุบัน 2548-2551 2544-2551 2546-2548 2538-2546 2533-2538 2523-2533 2520-2523 2512-2520

ที่ปรึกษา สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ประธานกรรมการ บจ. หินอ่อน ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะอนุกรรมการจัดการลงทุน กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ที่ปรึกษา บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภณ ั ฑ์ กรรมการ และกรรมการบริหาร บจ. ทุนลดาวัลย์ กรรมการ บจ. วังสินทรัพย์ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. เทเวศประกันภัย ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ สำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย ์ ประธานกรรมการ บจ. ไอทีวัน ผู้จัดการใหญ่ บมจ. ซิเมนต์ไทยพร็อพเพอร์ตี้ (2001) ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ & Chief of Financial Officer, บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย President, บริษัท ไทส์เซอรา อิงค์ (อเมริกา) กรรมการผู้จัดการ บจ. เซรามิคอุตสาหกรรมไทย ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บจ. สยามคราฟท์อุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี * นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านการเงินและบัญชี บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองผู้อำนวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผู้ช่วยผู้อำนวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผู้อำนวยการฝ่ายการเงินและงบประมาณ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

05

039

06

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

อายุ 55 ปี

นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 2)

• กรรมการ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี

กรรมการ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

เนติบัณฑิต สำนักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อายุ 60 ปี ไม่มี ไม่มี

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) บริ ษั ท ไทย (IOD) หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 29/2547

-

ประสบการณ์ทำงาน

ประสบการณ์ทำงาน

2549-ปัจจุบัน 2548-ปัจจุบัน 2540-2551 2547-2549 2547-2548 2524-2531

2551-ปัจจุบัน 2551-ปัจจุบัน 2548-2551 2546-2548 2543-2546

กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผู้บริหาร บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยมส์ (ไทยแลนด์) กรรมการ บจ. ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์ กรรมการและกรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บจ. คูแดร์ บราเธอร์ส ผู้พิพากษาศาล จังหวัดบุรีรัมย์ เพชรบูรณ์ และ กรุงเทพมหานคร

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ทีโอที ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ทีโอที ผู้จัดการฝ่ายโทรศัพท์ นครหลวงที่ 4 บมจ. ทีโอที ผู้จัดการฝ่ายโทรศัพท์ ภาคเหนือ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี 2)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการแทนนายวาสุกรี กล้าไพรี ตัง้ แต่วนั ที่ 16 ธันวาคม 2551

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


040

รายงานประจำปี 2551

07

08

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์

อายุ 58 ปี

กรรมการ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

• กรรมการ ไม่มี • ประธานกรรมการบริหาร ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

อายุ 53 ปี

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท Master of Science, University of Wisconsin, U.S.A.

ปริญญาโท Science (Management) การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ Massachusetts Insitiute of Technology, U.S.A. หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 8/2547

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ทำงาน

-

2548-ปัจจุบัน 2546-ปัจจุบัน 2540-ปัจจุบัน 2535-ปัจจุบัน 2529-ปัจจุบัน 2533-2549

ประสบการณ์ทำงาน

บริ ษั ท ไทย (IOD)

กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค รีสอร์ท กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บจ. ธนชาตประกันภัย รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคาร ธนชาต จำกัด (มหาชน) กรรมการ บจ. สยามพิวรรธน์ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บจ. ธนชาตประกัน ชีวิต กรรมการ บจ. แปลน เอสเตท กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานกรรมการบริหาร บ มจ. ทุนธนชาต กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองประธานกรรมการ บมจ. เอ็มบีเค กรรมการผู้จัดการใหญ่ บง. ธนชาติ จำกัด (มหาชน)

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

2551-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2549-2551 2548-2549 2544-2548 2542-2544 2538-2542

ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส Chief Executive Officer - Singapore, Singapore Telecom Pte. Ltd. กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส Managing Director - Consumer (Optus) Managing Director - Mobile (Optus) Chief Operating Officer, บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Chief Operating Officer, Singapore Telecom International

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

09

041

10

นายยืน ควน มูน 3)

อายุ 41 ปี

กรรมการ สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

นายฮิวเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ 4)

อายุ 59 ปี

• กรรมการ ไม่มี • กรรมการบริหาร ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท Master of Science Degree in Management Stanford University in California, U.S.A.

ปริญญาตรี Art in Business Administration Chinese University of Hong Kong

ไม่มี ไม่มี

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) บริ ษั ท ไทย (IOD) -

-

ประสบการณ์ทำงาน

ประสบการณ์ทำงาน

2552-ปัจจุบัน 2551-2552 2550-2551 2548-2550 2547-2548 2546-2547 2545-2546 2545-2545 2543-2545 2543-2543 2541-2543 2539-2541 2538-2539

2551-ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร

Chief Consumer Group, SingTel กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส Vice President, Regional Operations, SingTel Director of Commerce,Telkomsel Vice President, Sales & Products, Telkomsel Head, Customer Relations Management, Telkomsel Senior Director, Retail & Channel Sales in Consumer, SingTel Covering Senior Director, Retail & Channel sales in Consumer, SingTel Director, Channel Sales, SingTel Director, Sales & Channels, SingTel Director, Sales, SingTel Assistant Director, Business Development, SingTel Assistant Marketing Manager, Pager Marketing, SingTel

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี 3)

ลาออกจากการเป็นกรรมการ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

2543-2550 2542-2543 2539-2542 2539-2539 2536-2539 2527-2536 2518-2526

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ, ConvenientPower Hong Kong CEO, CSL (Hong Kong) Managing Director, PCCW Mobile CEO, Smartone Mobile Communications Ltd. CEO, Mobile One Singapore Managing Director, Hong Telecom Mobile Business Unit Director, Hong Kong Telecom Sale Manager, NCR (Hong Kong)

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี 4)

ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข

ตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2551


042

รายงานประจำปี 2551

11

12

นายวิกรม ศรีประทักษ์ • กรรมการ • กรรมการบริหาร • กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม • หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

อายุ 56 ปี

นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข 5) กรรมการบริหาร สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

0.0091 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อายุ 43 ปี 0.0001 ไม่มี

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริ ษั ท ไทย (IOD) บริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 104/2551

• หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 66/2550,

ประสบการณ์ทำงาน

• หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 105/2551

2550-ปัจจุบัน 254 -ปัจจุบัน 2543-2550 2541-2543 2538-2541

ประสบการณ์ทำงาน

กรรมการ กรรมการบริหาร และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้อำนวยการ บจ. ดิจิตอล โฟน รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส รองกรรมการผู้อำนวยการ บจ. ชินวัตรอินเตอร์เนชั่นแนล

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

2550-ปัจจุบัน 2550-2551 2546-2550 2543-2546 2541-2542 2540-2541 2536-2539

กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการบริหาร และกรรมการผู้อำนวยการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ อ ำนวยการ ส่ ว นงานบริ ห ารการลงทุ น บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ผูอ้ ำนวยการส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินอาวุโส บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการด้านการเงิน บล. เจ เอฟ ธนาคม ผู้จัดการฝ่ายจัดหาเงินทุนโครงการ บมจ. ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี 5)

ลาออกจากการเป็นกรรมการ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2551

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

13

043

14

ดร.ดำรงค์ เกษมเศรษฐ์

อายุ 54 ปี

กรรมการบริหาร สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

นายวิเชียร เมฆตระการ

กรรมการผู้อำนวยการ ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

อายุ 54 ปี 0.0000 ไม่มี

ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟ้า Massachusetts Institute of Technology, ปริ ญ ญาตรี วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า (เกี ย รติ นิ ย ม) California Polytechnic U.S.A. State University

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริ ษั ท ไทย (IOD) บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 2/2546

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 107/2551

• หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 108/2551

ประสบการณ์ทำงาน

ประสบการณ์ทำงาน

2549-ปัจจุบัน กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 2546-2549 รองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานปฏิบัติการ บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2543-2546 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานวิศวกรรม กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2542-2543 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานด้านเทคนิค ประธานกรรมการบริ ห าร สายธุ ร กิ จ ดาวเที ย มและธุ ร กิ จ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ต่างประเทศ 2540-2542 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานปฏิบัติการและบำรุง กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี รักษาเครือข่าย เขตนครหลวง บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท์ เซอร์วิส รองประธานกรรมการบริหารด้านนโยบาย กลุ่มชินวัตร 2539-2540 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานปฏิบัติการและบำรุง รองกรรมการผู้อำนวยการ IBC Cable TV รักษาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผู้จัดการทั่วไป IBC Cable TV 2538-2539 ผู้จัดการสำนักพัฒนาเครือข่าย ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กลุ่มชินวัตร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ผู้อำนวยการโครงการ Integrated Optoelectronics ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, U.S.A. ไม่มี ผู้จัดการฝ่ายผลิตวัสดุ Ga As IC

2547-ปัจจุบัน 2543-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน 2540-ปัจจุบัน 2547-2550 2537-2543 2538-2540 2536-2537 2534-2535 2532-2534 2529-2532 บริษัท Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey U.S.A.

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี * นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


044

รายงานประจำปี 2551

15

16

นายสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล

อายุ 56 ปี

หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

นางสุวิมล แก้วคูณ

หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้า ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

อายุ 53 ปี 0.0037 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ เอเชียน อินสติตวิ ท์ ออฟ แมเนจเม้นท์ ฟิลปิ ปินส์ • ประกาศนี ย บั ต ร หลั ก สู ต รผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ฮาร์ ว าร์ ด บิ ส ซิ เ นส สคู ล การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บอสตัน สหรัฐอเมริกา หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 35/2548

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ทำงาน

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 102/2551

2550-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2547-2549 2547-2547 2545-2547 2544-2545 2540-2544 2539-2540

ประสบการณ์ทำงาน

บริ ษั ท ไทย (IOD)

กรรมการผู้จัดการ บจ. ดิจิตอล โฟน หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. สามารถ ไอ-โมบาย กรรมการผู้จัดการ บจ. แคปปิตอล โอเค กรรมการ และรองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการผู้จัดการ บมจ. ไอทีวี รองกรรมการผู้อำนวยการอาวุโส สายงานการตลาดและ การขาย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้จัดการ บจ. ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส์

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

2550-ปัจจุบัน 2550-2551 2549-2550 2545-2549 2538-2545 2525-2537 2523-2524

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้า บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บจ. เพย์เม้นท์ โซลูชั่น กรรมการผู้จัดการ บจ. แคปปิตอล โอเค หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้าและธุรกิจเครื่อง ลูกข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการผู้จัดการ บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติ้ง กรรมการผู้จัดการ บมจ. โรบินสัน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ ที่ ป รึ ก ษาอาวุ โ ส ด้ า นธุ ร กิ จ บจ. อั ล ลายด์ แมเนจเม้ น ท์

คอนซัลแตนท์ ออฟ เอเชีย


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

17 นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน สัดส่วนการถือหุ้น (%) * ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

อายุ 46 ปี 0.0000 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่ า นหลั ก สู ต รอบรมของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริ ษั ท ไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 109/2551

ประสบการณ์ทำงาน 2544-ปัจจุบัน 2541-2544 2537-2541

หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Co., Ltd. Financial Director, Shinawatra Paging Co., Ltd. Financial Director, Pager Sales Co., Ltd.

ประวัติการทำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ไม่มี

* นับรวมจำนวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

045


046

รายงานประจำปี 2551

31/12/2550

31/12/2551

31/12/2550

31/12/2551

31/12/2550

1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม

ประธานกรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

-

2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย

รองประธานกรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

-

3. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ

-

-

-

-

-

-

-

-

4. นางทัศนีย์ มโนรถ

กรรมการตรวจสอบ

-

-

-

-

-

-

-

-

5. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

กรรมการตรวจสอบ

-

-

-

-

-

-

-

-

6. นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 2)

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

-

7. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

-

8. นายยืน ควน มูน

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

-

9. นายแอเลน ลิว ยง เคียง

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

-

10. นายวิกรม ศรีประทักษ์

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

11. นายฮิวเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ 3)

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2551

1)

จดทะเบียนเลิกบริษัท เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 ขณะนี้อยู่ระหว่างการชำระบัญชี ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนายวาสุกรี กล้าไพรี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 3) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 2)

269,354 100,000

-

-

31/12/2551

ตำแหน่ง

ADC หุ้นสามัญ

31/12/2550

รายชื่อ

MFA หุ้นสามัญ

31/12/2551

ADVANC หุ้นสามัญ หุ้นกู้

รายงานการเปลี่ยนแปลง การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการ ประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

31/12/2550

31/12/2551

31/12/2550

31/12/2551

31/12/2550

31/12/2551

31/12/2550

31/12/2551

31/12/2550

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

ขื่อย่อ

ACC ADC ADVANC AIN AMC AMP AWN DNS DPC MFA SBN WDS

บริษัท บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด

31/12/2551

WDS หุ้นสามัญ

31/12/2550

SBN หุ้นสามัญ

31/12/2551

AIN หุ้นสามัญ

31/12/2550

AWN หุ้นสามัญ

31/12/2551

AMC หุ้นสามัญ

31/12/2550

AMP หุ้นสามัญ

31/12/2551

ACC หุ้นสามัญ

31/12/2550

DPC หุ้นสามัญ

31/12/2551

DNS 1) หุ้นสามัญ

047


048

รายงานประจำปี 2551

เหตุการณ์สำคัญในรอบปี 2551 มกราคม

01

• บริษทั ฯ และ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) ร่วมลงนามความเข้าใจ ในการส่งเสริมและพัฒนากิจการโทรคมนาคมไทย (Memorandum of Understanding) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมร่วมกัน โดย ให้โครงข่ายทั้งสองสามารถทำงานร่วมกันได้ในลักษณะ Fixed Mobile Convergence เพื่อนำเสนอบริการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของลูกค้า สร้าง ความหลากหลายและครบวงจร รองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ในอนาคต โดยคำนึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดต่อประเทศชาติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และประชาชนผู้ใช้บริการ • บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 69.99 จากบริษัท เอ็นทีที โดโคโม อินคอร์ปอเรชั่น จำนวน 9,000,000 หุ้น ในมูลค่า 126,000,000 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 30 จากทุนจดทะเบียนของบริษทั เอเอ็มพี โดยภายหลัง จากการซื้อหุ้น สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 99.99 • บริษัทฯ เปิดแนวคิด “AIS Smart SMEs ทุกธุรกิจจัดการได้” โดย มุ่ ง เน้ น การเสริ ม ศั ก ยภาพผู้ ป ระกอบการ SMEs ไทยที่ มี จ ำนวนกว่ า 2.2 ล้านรายทัว่ ประเทศ โดยเน้นเป็นศูนย์รวมสิง่ ทีจ่ ะสนับสนุนผูป้ ระกอบการ SMEs อย่างครบวงจร ใน 6 เครื่องมือ ประกอบด้วย การบริการเพื่อเพิ่ม โอกาสทางการตลาด, การบริการการสือ่ สารเพือ่ ธุรกิจ, การบริการหลังการขาย, การบริการจาก AIS Smart Solutions, การบริการด้านข้อมูลข่าวสารผ่าน SMEs Hot Line 1149 และ สิทธิพิเศษจากเอไอเอสและพันธมิตรทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน • โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบจีเอสเอ็ม แอดวานซ์ และวัน-ทู-คอล! ได้รับ การจั ด อั น ดั บ ให้ เ ป็ น ระบบโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ที่ สุ ด อั น ดั บ ที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ประจำปี 2551 จากผลสำรวจของนิตยสาร BrandAge • โครงการสานรัก จากเอไอเอส ได้รับมอบโล่รางวัลกิตติคุณสัมพันธ์ “สั ง ข์ เ งิ น ” ประจำปี 2550 ประเภทโครงการที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ด้ า นการ ประชาสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คมโดยรวม จาก สมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย • รายการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” ของเอไอเอส ได้รับรางวัล เชิดชูเกียรติ “คิดส์ อวอร์ด” ด้านพิทกั ษ์สทิ ธิเด็ก จากสภาคริสตจักรเครือข่าย เยาวชนเพือ่ การพัฒนาและสำนักกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.)

กุมภาพันธ์

02

• บริษัทฯ เปิดตัวเครือข่ายประหยัดพลังงานภายใต้แนวคิด “Green Network” เพื่ อ ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการรณรงค์ ล ดภาวะโลกร้ อ น โดย คัดเลือกวิธีการหลากหลายเข้ามาผสมผสานในการทำงานด้านเครือข่าย เพื่อให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น • เอไอเอส Call Center ได้เปิดตัว 3 บริการใหม่ ได้แก่ บริการภาษา ต่างประเทศ 5 ภาษา ประกอบด้วย ภาษาจีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ฝรั่งเศส และอังกฤษ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าชาวต่างชาติทั้งที่อยู่ใน

ประเทศไทยและทีเ่ ดินทางเข้ามาท่องเทีย่ ว บริการภาษาท้องถิน่ ทัง้ ภาคเหนือ ใต้ และอีสาน เพื่อสร้างความรู้สึกคุ้นเคยเป็นกันเองให้กับลูกค้าต่างจังหวัด ทีไ่ ม่นยิ มใช้ภาษากลาง และบริการคุยผ่านกล้อง Web cam เพือ่ เพิม่ ความรูส้ กึ

ใกล้ชดิ ของการให้บริการสำหรับลูกค้าทีต่ ดิ ต่อ Call Center ผ่านอินเตอร์เน็ต

มีนาคม

03

• บริ ษั ท ทริ ส เรทติ้ ง จำกั ด ประกาศคงอั น ดั บ เครดิ ต องค์ ก รของ เอไอเอส ในระดับ “AA” ด้วยแนวโน้ม “Stable” หรือ “คงที่” ซึ่งสะท้อนถึง ความเป็นผู้นำตลาดในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของไทยและคณะผู้บริหารที่ ดำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพและมีความสามารถในการบริหารงานท่ามกลาง ภาวะการแข่งขันที่รุนแรง โดยสามารถนำพาองค์กรให้มีความมั่นคงและ เจริญเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง • ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 3/2551 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก าร เพิ่มทุนในบริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอสบีเอ็น) ซึ่งเป็น บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.93 โดยเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 1,000,000 บาท เป็น 300,000,000 บาท ทั้งนี้ภายหลังจากเพิ่มทุนแล้ว บริษัทฯ จะถือหุ้นในเอสบีเอ็น เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 99.99 โดยทุนที่เพิ่มขึ้น จะนำไปใช้ลงทุนในโครงข่ายพืน้ ฐานมุง่ เน้นทางด้านการเชือ่ มโยงการส่งข้อมูล

ระหว่างโครงข่าย

เมษายน

04

• ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2551 ของบริษัทฯ มีมติอนุมัติจ่าย เงินปันผลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังของปี 2550 (1 กรกฎาคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2550) ในอัตราหุ้นละ 3.30 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้น ทัง้ หมดจำนวนประมาณ 2,960 ล้านหุน้ คิดเป็นเงินประมาณ 9,769 ล้านบาท โดยบริษัทฯ กำหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 • บริษัทฯ เสนอขายหุ้นกู้ไม่มีประกันให้แก่บุคคลทั่วไป อายุ 5 ปี จำนวน 4,000 ล้านบาท ในอัตราดอกเบี้ย 4.0% สำหรับ 2 ปีแรก และ 4.9% สำหรับ 3 ปีหลัง โดยได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ระดับ “AA” จากบริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด

พฤษภาคม

05

• บริ ษั ท ดิ จิ ต อล โฟน จำกั ด (ดี พี ซี ) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยที่ บ ริ ษั ท ฯ ถือหุน้ อยู่ ร้อยละ 98.55 ได้ทำข้อตกลงยุตขิ อ้ พิพาทกับบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (ดีแทค) ในกรณีที่ ดีแทค เรียกร้องให้ ดีพีซี ชำระค่ า ตอบแทนจากการรั บ โอนสิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ใ นการให้ บ ริ ก ารวิ ท ยุ โทรคมนาคมแบบเซลลูลา่ ร์ Digital PCN 1800 ค่าใช้สงิ่ อำนวยความสะดวก และอุ ป กรณ์ และค่ า ตอบแทนการใช้ โ ครงข่ า ยร่ ว ม ตามสั ญ ญา The Agreement to Unwind the Service Provider Agreement (“Unwind Agreement”) โดยในวัน ที่ 30 พฤษภาคม 2551 ดีพีซี ตกลงชำระเงิน จำนวน 3,000 ล้านบาท ให้แก่ ดีแทค


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

• บริ ษั ท ฯ ขายหุ้ น สามั ญ ของ บริ ษั ท แอดวานซ์ ดาต้ า เน็ ท เวอร์ ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด (เอดีซี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 51.00 ให้บริษทั ดิจติ อล โฟน จำกัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 98.55 โดยซื้อขายในราคามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 จำนวน 199,240,761.60 บาท โดยภายหลังจากการ ขายหุ้นดังกล่าว เอดีซียังคงเป็นบริษัทย่อยโดยทางอ้อมของบริษัทฯ โดย ผ่านทางดีพซี ี การทำรายการดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นการปรับโครงสร้าง ของบริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ประกอบกับจะเป็นการผนวกจุดแข็ง ของเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกับเครือข่าย บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กิจการของดีพีซีในอนาคต • บริษทั ดาต้า ลายไทย จำกัด (ดีแอลที) บริษทั ย่อยที่ บริษทั ฯ ถือหุน้ อยู ่

ร้ อ ยละ 65.00 ได้ จ ดทะเบี ย นเสร็ จ การชำระบั ญ ชี กั บ กระทรวงพาณิ ช ย์ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2551 มีผลให้สิ้นสภาพเป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ บริษัท ดาต้า ลายไทย จำกัด ไม่ได้มธี รุ กรรมใดๆ ตัง้ แต่ปี 2550 ดังนัน้ การเลิกบริษทั ย่อยดังกล่าว จึงไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แต่อย่างใด • จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการรักษาสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณการใช้กระดาษให้กับโลก ด้วยการเชิญชวนผู้ใช้บริการสมัคร ใช้บริการ “GSM e-Statement” บริการรับใบแจ้งค่าใช้บริการทางอีเมล์ • เอไอเอส และ จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ เปิดให้บริการ 3GSM advance : อิ น เตอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง บนมื อ ถื อ และโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เห็ น หน้ า ได้ ด้ ว ย เทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 900MHz ที่จังหวัดเชียงใหม่เป็นแห่งแรก ของประเทศไทย

049

ที่ ข อลาออกจากตำแหน่ ง ประธานกรรมการบริ ห าร โดยมี ผ ลตั้ ง แต่ วั น ที ่ 1 มิถนุ ายน 2551 เป็นต้นไป • นิตยสาร Asian Mobile News ได้คัดเลือกให้บริษัทฯ เป็นผู้ให้ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีย่ อดเยีย่ มแห่งเอเชีย ประจำปี 2008 (Asian Mobile Operator of the Year 2008) และผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีย่ อดเยีย่ มของ ไทย ประจำปี 2008 (Mobile Operator of the Year, Thailand 2008) • หนังสือพิมพ์วอลล์สตรีท เจอร์นัล เอเชีย (The Wall Street Journal Asia) ได้คัดเลือกให้บริษัทฯ เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เพียงรายเดียว ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 บริษัทชั้นนำของไทย โดยอยู่ในลำดับที่ 7 ซึ่งการ จัดอันดับครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดอันดับบริษัทที่น่าชื่นชมที่สุด 200 แห่งของเอเชีย นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังได้รับการยอมรับให้เป็นผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่รายเดียวที่มีสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ (Quality of Goods and Services)

กรกฎาคม

07

• บริษัทฯ ขยายโอกาสสร้างอาชีพให้แก่ผู้พิการทางสายตาในเขต ภูมภิ าค โดยร่วมกับโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ เปิดศูนย์ปฏิบัติการ Call Center “เอไอเอส สร้างอาชีพ

Call Center แด่ ผู้ พิ ก ารทางสายตา” หลั ง จากที่ ไ ด้ เ ปิ ด ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร ดังกล่าวที่กรุงเทพมาแล้วในปี 2550

สิงหาคม

08

• ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 5/2551 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก าร จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี 2551 • คณะกรรมการบริ ษั ท มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง นายแอเลน ลิ ว ยง เคี ย ง งวดการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน 2551 ในอัตรา ดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร แทนนายสมประสงค์ บุญยะชัย หุ้นละ 3.00 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งหมดจำนวนประมาณ 2,962 ล้านหุ้น

มิถุนายน

06


050

รายงานประจำปี 2551

คิดเป็นเงินประมาณ 8,885 ล้านบาท โดยบริษัทฯ กำหนดจ่ายเงินปันผล ในวันที่ 10 กันยายน 2551 • บริษัทฯ พัฒนาระบบให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถส่ง SMS ไปยัง ศูนย์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบประวัติบุคคลที่โดนหมายจับ ตรวจสอบรถสูญหาย โดยจะมีข้อความตอบกลับมาแบบ Real Time อันจะทำให้กระบวนการ ติดตามจับกุมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยแนวคิด “สายสืบมือถือ”

ทั้งนี้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหุ้น โดยบริษัทฯ ยังคงจำนวนหุ้นและ อัตราส่วนถือหุ้นในดีพีซีเท่าเดิม เหตุผลในการลดทุนเพื่อปรับปรุงโครงสร้าง เงินทุนของดีพีซีให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นโดยการคืนส่วนเกินเงินสดให้แก่ ผู้ถือหุ้น

• คณะกรรมการบริษัท มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนในบริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เ ลส เน็ ท เวอร์ ค จำกั ด (เอดั บ บลิ ว เอ็ น ) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยที่ บ ริ ษั ท ฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 99.93 โดยเพิ่มทุนจดทะเบียน จากเดิม 1,000,000 บาท กันยายน เป็ น ทุ น จดทะเบี ย น 350,000,000 บาท ทั้ ง นี้ ภ ายหลั ง จากเพิ่ ม ทุ น แล้ ว • โครงการสานรั ก คนเก่ ง หั ว ใจแกร่ ง ของบริ ษั ท ฯ ได้ รั บ มอบโล่ บริษัทฯ จะถือหุ้นใน เอดับบลิวเอ็น เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 99.99 โดยเงินทุน ประกาศเกียรติคุณจากโครงการคนดี คิดดี สังคมดี ประจำปี 2551 จาก ที่ได้จากการเพิ่มทุนจะเตรียมไว้ใช้ในการลงทุนในอนาคต กระทรวงวั ฒ นธรรม ในฐานะที่ บ ริ ษั ท ฯ เป็ น องค์ ก รที่ ร่ ว มส่ ง เสริ ม คนดี

• คณะกรรมการบริษัท มีมติอนุมัติการเลิกบริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โซลูชนั่ ส์ จำกัด (ดีเอ็นเอส) ผูใ้ ห้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ ตุลาคม ในเขตต่างจังหวัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 49.00 ทั้งนี้ • ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท (วาระพิเศษ) มีมติอนุมัติการแต่งตั้ง ดี เ อ็ น เอส ไม่ ไ ด้ ป ระกอบธุ ร กรรมใดๆ มาเป็ น เวลานานแล้ ว ดั ง นั้ น การ นายสมประสงค์ บุญยะชัย ดำรงตำแหน่งเป็น รองประธานกรรมการ โดยให้ เลิกบริษัทย่อยดังกล่าวจึงไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แต่อย่างใด มีผลตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2551 เป็นต้นไป • บริษัท สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ จำกัด หรือ S&P สถาบันคงอันดับ • บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล สื่ อ สร้ า งสรรค์ สุ ข ภาพจิ ต ประจำปี 2551 ความน่าเชื่อถือทางการเงินระหว่างประเทศ ประกาศยกอันดับแนวโน้มของ สาขาโฆษณาโทรทัศน์ ชุด “โอกาส” จากกรมสุขภาพจิต เนือ่ งในงานสัปดาห์ เอไอเอส จาก “Negative” เป็น “Stable” และประกาศคงอันดับความน่าเชือ่ ถือ สุขภาพจิตแห่งชาติ องค์กรทีร่ ะดับ “A-“ สะท้อนถึงความสามารถในการยืนหยัดเป็นทีห่ นึง่ ทางด้าน รายได้ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทย ความแข็งแกร่งของแบ ธันวาคม รนด์ คุ ณ ภาพโครงข่ า ยที่ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ คุ ณ ภาพการบริ ก าร • บริษัทฯ เปิดให้บริการ 3G ด้วยเทคโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ ที่เหนือกว่า และโครงสร้างทางการเงินที่เข้มแข็งของบริษัทฯ 900MHz เป็นรายแรกในกรุงเทพ ซึ่งเป็นการดำเนินงานต่อเนื่องมาจาก • บริษทั ฯ ขยายโอกาสทางอาชีพให้แก่ผพู้ กิ ารทางการได้ยนิ (หูหนวก) การเปิดบริการ 3G ในจังหวัดเชียงใหม่ก่อนหน้านี้ในเดือนพฤษภาคม โดย ด้วยการรับผู้พิการทางการได้ยินเข้าเป็นพนักงานประจำของบริษัทฯ ปฏิบัติ บริการที่เปิดให้ลูกค้าได้ใช้งาน ได้แก่ Video call, บริการข้อมูลผ่าน AIS หน้าที่ Call Center ให้บริการตอบคำถามข้อมูลต่างๆ ผ่านบริการ Real Talk Mobile Internet และการใช้งาน Wireless Hi-speed Internet สำหรับ ภาษามือ (iSign) บนเว็บแคม พร้อมมอบสิทธิและสวัสดิการต่างๆ เช่นเดียวกับ ลูกค้าระบบเติมเงินและระบบรายเดือน พนักงานปกติ • นิตยสาร The Asset ได้จดั อันดับให้บริษทั ฯ เป็นบริษทั ทีม่ กี ารกำกับ • บริ ษั ท ฯ เปิ ด ตั ว แนวคิ ด ใหม่ เ พิ่ ม ความสดใส เติ ม พลั ง และสร้ า ง ดู แ ลกิ จ การดี ที่ สุ ด ของประเทศไทย ประจำปี 2551 (The Best in ความแตกต่างให้กบั แบรนด์ ภายใต้แนวคิด “อยูเ่ คียงข้างคุณ (With you, Corporate Governance in Thailand 2008) อันดับที่ 4 ซึ่งเป็นบริษัท Always)” โดยมี Animation ชื่อ “น้องอุ่นใจ” ทำหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ โทรคมนาคมของไทยเพียงรายเดียวที่ติดอันดับในครั้งนี้ ถ่ายทอดความเป็นเพือ่ นอยูเ่ คียงข้างลูกค้าใน 5 ด้าน ได้แก่ เครือข่ายคุณภาพ • บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ สถานประกอบการดี เ ด่ น บริการลูกค้าที่เป็นเลิศ นวัตกรรมใหม่ๆ สิทธิพิเศษ และการตอบแทนสังคม ด้านการจ้างงานคนพิการ เนื่องในงานวันคนพิการสากล ประจำปี 2551 จากสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ พฤศจิกายน

09

10

12

11

• ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 6/2551 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก าร ลดทุนของ บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 98.55 โดยลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 14,621,861,680 บาท เป็น 4,386,558,504 บาท หรือจากมูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้เดิม 10 บาท เป็น 3 บาท

• บริษัทฯ ได้รับรางวัลนวัตกรรมดีเด่นจากมหาชน (Popular Vote Award 2008) จากงานประกาศผลรางวัล Thailand’s Most Innovative Company ซึ่งจัดขึ้นโดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ นสพ. กรุงเทพธุรกิจ เครือเนชั่นกรุ๊ป


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

051

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษั ท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์ วิส จำกัด (มหาชน) (“บริ ษั ทฯ” หรือ “เอไอเอส” หรือ “ADVANC”) เป็นผู้ให้บริการสื่อสารโทรคมนาคม ไร้ ส ายอั น ดั บ หนึ่ ง ของประเทศไทย โดยเปิ ด ดำเนิ น การมา 18 ปี และมี

โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพที่ครอบคลุมกว่าร้อยละ 97 ของพื้นที่ ที่ มี ป ระชากรอาศั ย ทั่ ว ประเทศ ให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า กว่ า 27 ล้ า นคน โดยมี

ส่วนแบ่งตลาดของจำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ประมาณร้อยละ 45 ในขณะที่ส่วนแบ่งตลาดของรายได้เท่ากับร้อยละ 52 ทั้งนี้ บริษัทฯ รวมถึง บริษัทย่อยประกอบธุรกิจการให้บริการโทรคมนาคมในด้านต่างๆ ดังนี้

บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ GSM บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ ดิจติ อล GSM ย่านความถี่ 900 และ 1800 เมกกะเฮิรต์ (MHz) ภายใต้สญ ั ญา ร่วมการงานแบบสร้าง-โอน-ดำเนินงาน (BTO : Build-Transfer-Operate) ดังนี ้ ระบบดิจิตอล GSM ย่านความถี่ 900 MHz ดำเนินงานโดย เอไอเอส ซึ่งทำสัญญาร่วมกับบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (ทีโอที) โดย มีอายุสัญญาตั้งแต่ปี 2533 และสิ้นสุดปี 2558 รวมทั้งสิ้นเป็นระยะเวลา 25 ปี ซึ่งภายใต้สัญญามีข้อกำหนดดังนี้

• เอไอเอส จะต้ อ งเป็ น ผู้ ล งทุ น สร้ า งเครื อ ข่ า ยเซลลู ล าร์ รวมถึ ง

รั บ ผิ ด ชอบในการหาเงิ น ลงทุ น และค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น ทั้ ง หมด และ โอนกรรมสิทธ์ในเครือข่ายแก่ผู้ให้สัมปทาน คือ ทีโอที

• เอไอเอส จะต้องจ่ายผลตอบแทนในรูปแบบของส่วนแบ่งรายได้

จากการบริการให้แก่ทีโอที แบ่งเป็น

1) ส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการแบบชำระค่าบริการหลัง การใช้ (Postpaid) ปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ 30 ของรายได้ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม

บริการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย

2) ส่วนแบ่งรายได้จากบริการแบบชำระค่าใช้บริการล่วงหน้า (Prepaid) ปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ 20 ของรายได้ก่อนหักภาษี

มูลค่าเพิ่ม

บริ ษั ท ฯ ได้ ล งนามในสั ญ ญาการใช้ อั ต ราเชื่ อ มโยงโครงข่ า ย (Inter-connection Charge) ร่วมกับ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (ดีแทค) และ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด ในปี 2549 และ 2550 ตามลำดับ ซึ่งเป็นค่าตอบแทนที่ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมต้องจ่ายเพื่อ ตอบแทนการเชื่อมต่อระหว่างโครงข่ายโทรคมนาคมของอีกฝ่าย โดยเก็บ ในอัตรานาทีละ 1 บาท

ธุรกิจโทรคมนาคมของกลุ่มบริษัท

บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ GSM

บริการโทรออกต่างประเทศ

สายโทรศัพท์

บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ Call Center

ธุรกิจจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซิมการ์ดและบัตรเติมเงิน

ให้บริการชำระสินค้าและบริการ ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่


052

รายงานประจำปี 2551

ระบบดิจิตอล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ดำเนินงานโดย บริษัทย่อย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) (เอไอเอส ถือหุ้นร้อยละ 98.55) ภายใต้สัญญาร่วมการงานแบบสร้าง-โอน-ดำเนินงาน (BTO : Build-Transfer-Operate) กับบริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (กสท.) เป็นระยะเวลา 16 ปี ตัง้ แต่ปี 2540 สิน้ สุดปี 2556 โดย ดีพซี ี ต้องจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นร้อยละของรายได้จากการให้บริการให้แก่ กสท. ปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ 25 ของรายได้ ทั้งนี้ ดีพีซี ยังมีสัญญาการใช้บริการ เครือข่ายร่วม (Network Roaming) ระหว่าง เอไอเอส กับ ดีพีซี ซึ่งจะทำให้ ผู้ ใ ช้ โ ทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ร ะบบดิ จิ ต อล GSM 1800 สามารถใช้ ง านได้ ทั่ ว ประเทศเหมือนกับผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM advance อีกด้วย

บริการโทรออกต่างประเทศ บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด (เอไอเอ็น) (เอไอเอส ถือหุ้นร้อยละ 99.99) เอไอเอ็น ได้รับใบอนุญาตเพื่อประกอบกิจการให้ บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เป็นระยะเวลา 20 ปี ตัง้ แต่ปี 2549 สิน้ สุดในปี 2569 ภายใต้ระเบียบ ใบอนุญาตที่ได้รับจาก กทช. เอไอเอ็น ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมให้กับ กทช. ทัง้ สิน้ ร้อยละ 7 จากรายได้จากการให้บริการ แบ่งเป็นค่าธรรมเนียมใบอนุญาต รายปีร้อยละ 2.5 และค่าบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการ เพื่อสังคม (Universal Service Obligation – USO) ร้อยละ 4

ธุรกิจบริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call Center) บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด (เอซีซี) (เอไอเอส ถือหุ้นร้อยละ 99.99) ประกอบธุรกิจบริการข้อมูลทางโทรศัพท์เน้นการ ให้บริการลูกค้าสัมพันธ์เป็นหลัก ซึ่งถือเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้ เอไอเอส แตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น เพราะเหนือกว่าการให้บริการก่อนหรือ หลังการขายหรือตอบปัญหาทัว่ ไป เช่น เรือ่ งการชำระค่าบริการ หรือสอบถาม ข้อมูลบริการ พนักงานของ เอซีซี ยังมีบทบาทสำคัญในการช่วยโปรโมท กิจกรรมการตลาดของกลุม่ บริษทั ฯ และแนะนำสินค้าและบริการให้ทงั้ ลูกค้า ปัจจุบนั และลูกค้าใหม่ดว้ ย นอกจากนี้ เอซีซี ยังขยายโอกาสทางอาชีพให้แก่ ผู้พิการทางสายตาและผู้พิการทางการได้ยิน ด้วยการรับผู้พิการทางสายตา และทางการได้ยินเข้าเป็นพนักงานประจำในคอลเซ็นเตอร์โดยให้สิทธิและ สวัสดิการเท่าเทียมกับพนักงานประจำปกติ

ธุรกิจนำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซิมการ์ดและ บัตรเติมเงิน

บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด (ดับบลิวดีเอส) (เอไอเอส ถือหุน้ ร้อยละ 99.99) ดำเนินธุรกิจจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์ โทรคมนาคม โดยจำหน่ายให้แก่ตัวแทนจำหน่ายโดยทั่วไป โดยไม่ได้จำกัด เพียงการขายให้แก่ลูกค้าของเอไอเอสเท่านั้น นอกจากนี้ ดับบลิวดีเอส ได้ประกอบธุรกิจขายส่งซิมการ์ดและบัตรเติมเงินของ เอไอเอส ผ่านร้าน เทเลวิ ซ ที่ เ ป็ น ระบบแฟรนไชน์ จ ำนวนมากกว่ า 350 สาขา ร้ า นเทเลวิ ซ ธุรกิจการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ เอ็กเพรส ทีเ่ ป็นสาขาย่อยมากกว่า 280 แห่ง และผ่านตัวแทนจำหน่ายทั่วไป บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอสบีเอ็น) กว่ า 10,000 สาขา โดยในปี 2551 รายได้ ที่ ม าจากธุ ร กิ จ นำเข้ า และ (เอไอเอส ถือหุ้นร้อยละ 99.99) ประกอบธุรกิจให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน จัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์โทรคมนาคมคิดเป็นอัตราส่วน โดยมุ่งเน้นเรื่องการให้บริการด้านข้อมูล โดย เอสบีเอ็น ได้รับใบอนุญาต ร้อยละ 10.1 ของรายได้รวมบริษัทฯ จาก กทช. ในปี 2550 เพื่อประกอบธุรกิจให้บริการโทรคมนาคม และบริการ โครงข่ายโทรคมนาคม ได้แก่ ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ต ธุรกิจให้บริการชำระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี) (เอไอเอส ถือหุ้น เกตเวย์ระหว่างประเทศและบริการชุมสายอินเตอร์เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ร้อยละ 99.99) เป็นธุรกิจให้บริการชำระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice over IP) แทนการใช้เงินสด หรือบัตรเครดิต (Mobile payment) เอเอ็มพี ได้รบั อนุญาต และบริการโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television) เป็นต้น จาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ประกอบธุรกิจให้บริการชำระสินค้า บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด และบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่แทนการใช้เงินสดหรือบัตรเครดิต ภายใต้ (เอดีซี) (เอไอเอส ถือหุ้นร้อยละ 51 โดยทางอ้อมผ่านดีพีซี) ประกอบธุรกิจ ชื่อ “เอ็มเปย์ (mPAY)” ซึ่งเพิ่มความสะดวกและปลอดภัยแก่ลูกค้าเอไอเอส บริการสื่อสารข้อมูลผ่านทางเครือข่ายสายโทรศัพท์ และสาย Optical Fiber ในการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยลูกค้าสามารถใช้ เป็นธุรกิจร่วมลงทุนกับบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) มีอายุสัญญาการให้ เอ็มเปย์ ซื้อสินค้า online ชำระค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เติมเงินระบบ บริการสิ้นสุดในปี 2565 บริการของ เอดีซี ได้แก่ บริการสื่อสารข้อมูลผ่าน วัน-ทู-คอล! และชำระค่าสินค้าและบริการต่างๆ ทั้งนี้ในปี 2551 เอไอเอส ทางเครือข่ายสายโทรศัพท์และสาย Optical fiber, บริการรับฝาก Server ได้ซื้อหุ้น ในส่วนของบริษัท NTT DoCoMo ที่ถืออยู่จำนวนร้อยละ 30 คืน และรับฝากข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต, บริการให้เช่าใช้พื้นที่ (Hosting) ทำ ทั้งจำนวน ทำให้ปัจจุบันสัดส่วนที่ เอไอเอส ถือหุ้นใน เอเอ็มพี เพิ่มจากเดิม ร้อยละ 69.99 เป็นร้อยละ 99.99 เว็บไซต์ รวมถึงการให้บริการอินเตอร์เน็ตอย่างครบวงจร


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

โครงสร้างบริษัทฯ และบริษัทในเครือ

ปัจจุบันบริษัทฯ ได้ลงทุนกับบริษัทในเครือทั้งหมด 11 บริษัท และมีพนักงานในเครือประมาณ 8,926 คน (รวมพนักงานชั่วคราว)

ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2551 รายละเอียดของบริษัทในเครือมีดังต่อไปนี้

บริษัท

ลักษณะการประกอบกิจการ

สัดส่วนที่ถือ

บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี)

ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 MHz

98.55%

บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด (เอดีซี)*

ให้บริการการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ และสาย Optical Fiber

51.00%

บริษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำกัด (เอซีซี)

ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call center service)

99.99%

บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด (ดีเอ็นเอส)**

ให้บริการการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ ปัจจุบันหยุดการดำเนินงาน และอยู่ระหว่างการชำระบัญชี

49.00%

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด (เอ็มเอฟเอ)

ปัจจุบันไม่ได้ดำเนินธุรกิจ

99.99%

บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด (เอเอ็มพี)***

ให้บริการชำระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่แทนการใช้เงินสด หรือบัตรเครดิต

99.99%

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด (เอเอ็มซี)

จำหน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card)

99.99%

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด (เอไอเอ็น)

ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

99.99%

ให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศและบริการชุมสายอินเตอร์เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงข่ายโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศน์ผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television)

99.99%

บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด (ดับบลิวดีเอส)

นำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์โทรคมนาคม

99.99%

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอดับบลิวเอ็น)

ให้บริการโทรคมนาคม บริการโครงข่ายโทรคมนาคมและบริการระบบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันบริษัทได้รับใบอนุญาตให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) แบบที่ 1 และ ใบอนุญาตให้บริการโทรคมนาคมแบบที่ 3 จาก กทช.

99.99%

*

บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอสบีเอ็น)

ถือหุ้นโดยทางอ้อมผ่าน บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด

** บริษัท ดีเอ็นเอส ได้จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 ขณะนี้อยู่ระหว่างการชำระบัญชี *** เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2551 เอไอเอส ได้ซื้อหุ้นสามัญ บริษัท เอเอ็มพี คืนทั้งหมดจากบริษัท NTT DoCoMo โดยหลังจากการซื้อหุ้นคืน สัดส่วนการถือหุ้นของ เอไอเอส เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 69.99 เป็นร้อยละ 99.99

053


054

รายงานประจำปี 2551

โครงสร้างรายได้

โครงสร้างรายได้ที่เกิดจากการให้บริการและขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือให้บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา

ผลิตภัณฑ์/บริการ ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที ่ - บริการและให้เช่าอุปกรณ์ - การขาย รวม ธุรกิจบริการสื่อสารข้อมูลผ่านสาย โทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง รวม ธุรกิจบริการให้ข้อมูลทางโทรศัพท์ รวม

ดำเนินการโดย

ร้อยละ ปี 2549 การถือหุน้ ของบริษทั ฯ ณ 31 ธ.ค. 51 ล้านบาท ร้อยละ

ปี 2550 ล้านบาท

ปี 2551

ร้อยละ

ล้านบาท

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย

98.55 99.99 99.99 98.55 99.99

75,223.00 98.36 - - 15,362.54 - 90,683.90

บจ. แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ บจ. ดาต้า ลายไทย บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค

51.00 49.00 65.00 99.99

728.81

737.63

0.81

840.33

0.77

820.36

0.73

บจ. แอดวานซ์คอนแท็ค เซ็นเตอร์ รวม

99.99

6.63

0.01

4.59

0.01

5.76

0.01

6.63

0.01

4.59

0.01

5.76

0.01

7.36 1.46 -

82.27 91,991.78 84.82 94,878.81 0.11 962.77 0.89 926.00 - 27.55 0.02 52.71 - 984.31 0.91 2,902.73 16.80 9,503.76 8.76 173.48 - 4,138.96 3.82 11,031.65 99.18 107,609.13 99.22 109,965.38

ร้อยละ

0.80 0.01 - -

838.75 1.58 - -

0.77 - - -

794.47 - - 25.89

85.63 0.84 0.05 2.62 0.16 9.96 99.26 0.71 - - 0.02

91,428.16 100.00 108,454.05 100.00 110,791.50 100.00

หมายเหตุ : 1) บริษัทฯ เข้าถือหุ้นในบริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ในเดือนมิถุนายน 2550 2) บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด เริ่มการดำเนินงานธุรกิจในปี 2550 และเปลี่ยนชื่อจากเดิม บริษัท เอไอเอส อินเตอร์เนชั่นแนล เน็ทเวอร์ค จำกัด ในเดือนมีนาคม 2550 1) บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด เสร็จสิ้นการชำระบัญชีวันที่ 13 พฤษภาคม 2551 2) บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด จากการขายหุ้นทั้งหมดร้อยละ 51 ให้แก่บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด 3) บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด เริ่มการดำเนินงานในปี 2551 และเพิ่มทุนเป็น 300 ล้านบาทในเดือนเมษายน 2551 4) บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด ได้จดทะเบียนเลิกกิจการในวันที่ 16 ธันวาคม 2551 และอยู่ระหว่างการชำระบัญชี


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

055

เป้าหมายการดำเนินธุรกิจใน 3-5 ปี เนื่องจากตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยมีแนวโน้มเข้าสู่ จุดอิ่มตัวในไม่ช้า อัตราการเติบโตของบริการทางเสียงจะเริ่มลดน้อยลง ในขณะที่บริการด้านข้อมูลจะทวีความสำคัญมากขึ้น เพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมที่ครบวงจร (Total Telecom Service provider) เอไอเอส ได้ขยายการให้บริการต่างๆ ซึง่ รวมถึง บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ, บริการอินเตอร์เน็ตระหว่างประเทศ, บริการ ด้านข้อมูลผ่านโทรศัพท์พื้นฐาน และเชื่อมต่อผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ซึง่ บริการเหล่านี้ เอไอเอส ได้รบั ใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจจากคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) และจะเป็นสายธุรกิจหลักที่ เอไอเอส จะมุ่งเน้นไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้านี้ บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด (เอไอเอ็น) ได้เริ่มให้บริการ โทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตัง้ แต่ปี 2550 ซึง่ อัตราการเติบโตของธุรกิจดังกล่าว เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในปี 2551 นอกจากนี้ บริษัท ซุปเปอร์บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (เอสบีเอ็น) ได้เริม่ ให้บริการข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์พนื้ ฐาน และบริการให้เช่าอินเตอร์เน็ตเกตเวย์แก่ลูกค้าองค์กร ในอีก 3-5 ปี ข้างหน้า เอไอเอส มีแผนจะขยายธุรกิจด้านการสื่อสาร ข้อมูลไร้สายความเร็วสูง ซึง่ ไม่เพียงแต่ผา่ นโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ท่านัน้ แต่รวมถึง

คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค และคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานตามบ้าน เนื่องจาก เอไอเอส เล็งเห็นว่า การสื่อสารทางเสียงจะเข้าสู่จุดอิ่มตัวในไม่ช้านี้ ในทางกลับกัน การสือ่ สารทางข้อมูลเพิง่ เข้าสูร่ ะยะเริม่ ต้นเท่านัน้ อัตราส่วนรายได้จากบริการ ด้านข้อมูลต่อรายได้จากการให้บริการอยู่ที่เพียงร้อยละ 13 ในขณะที่รายได้ จากบริการด้านข้อมูล ไม่รวม SMS มีอตั ราเพียงร้อยละ 8 ดังนัน้ ตลาดบริการ ด้านข้อมูลจึงมีทางเติบโตได้อกี มาก นอกจากนี้ ตลาดการให้บริการอินเตอร์เน็ต

ความเร็วสูง เพิง่ เข้าสูร่ ะยะเริม่ ต้นเท่านัน้ โดยอัตราการใช้บริการอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูงผ่านโทรศัพท์พนื้ ฐาน (ADSL) มีเพียง 16 ล้านครัวเรือน หรือเท่ากับ เพียงร้อยละ 6 ต่อครัวเรือนทัง้ หมด ทัง้ นี้ เอไอเอส มีแผนทีจ่ ะพัฒนาเทคโนโลยี การสื่อสารข้อมูลไร้สาย เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจในตลาดการบริการด้าน ข้อมูล และเพิ่มพื้นที่ครอบคลุมการให้บริการมากขึ้น โดยเฉพาะในตลาด ต่างจังหวัดซึ่งอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านโทรศัพท์พื้นฐานยังเข้าไปไม่ถึง อย่างไรก็ตาม ในแง่การเลือกเทคโนโลยีทจี่ ะเข้ามาให้บริการนัน้ ว่าจะเป็น 3G หรือ ไวแมกซ์ ขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้งทางด้านความพร้อมของเทคโนโลยี และ ข้อกำหนดในเชิงกฎระเบียบของ กทช. เทคโนโลยีเหล่านีจ้ ะทำให้ผใู้ ห้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ รวมถึงเพิ่ม บริการใหม่ๆ ด้านมัลติมเี ดีย และช่วยให้สร้างความแตกต่างของบริการมากขึน้ ปัจจุบัน เอไอเอส สามารถให้บริการที่ความเร็วมากกว่า 100 Kbps (ความเร็วเฉลีย่ ต่อคน) บนเทคโนโลยี EDGE (Enhanced Data Rate for GSM Evolution) ซึ่งได้เริ่มให้บริการตั้งแต่ต้นปี 2550 ทำให้สามารถเพิ่มความเร็ว สูงกว่าเทคโนโลยีเดิม หรือ GPRS (General Packet Radio Service) ถึง 3 เท่า

และเป็นผลให้อัตราการเติบโตด้านข้อมูลในปี 2551 สูงถึงร้อยละ 28.2 เมื่อเทียบกับปี 2550 ในปี 2551 เอไอเอส ก้าวไปอีกระดับ โดยการเริ่มให้บริการ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ซึ่งใช้คลื่น 900 MHz ในพื้นที่จำกัด ที่จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดกรุงเทพฯ

เทคโนโลยี HSPA ทำให้ผใู้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีส่ ามารถให้บริการ ด้านข้อมูลความเร็วสูงในอัตราที่เทียบเคียงได้กับอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ผ่านโครงข่ายโทรศัพท์พนื้ ฐาน หรือ ADSL ทีใ่ ช้ผา่ นคอมพิวเตอร์โน๊ตบุค๊ และ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานตามบ้าน เอไอเอส เชื่อมั่นว่าปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริม ให้การให้บริการข้อมูลมีอัตราการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องได้ในระยะยาวนั้น ต้องอาศัยปัจจัยหลายด้าน ทั้งเทคโนโลยีใหม่ๆที่เพิ่มความเร็วในการส่งผ่าน ข้อมูล รวมถึงความหลากหลาย และราคาที่ถูกลงของอุปกรณ์สื่อสาร ในอนาคต การให้บริการ 3G บนคลื่น 900 MHz และ 2.1 GHz จะ ทำให้การลงทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากคลื่น 900 MHz สามารถ ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารได้ ใ นระยะไกล ซึ่ ง เหมาะกั บ พื้ น ที่ ห่ า งไกลใน ต่างจังหวัดของประเทศไทย โดยในปัจจุบัน ประเทศในทวีปยุโรปเริ่มที่จะนำ เอาคลืน่ 900 MHz มาให้บริการ 3G ทัง้ นี้ สัดส่วนการลงทุนในคลืน่ ทัง้ สองนัน้ ขึ้นอยู่กับว่าข้อกำหนดเงื่อนไขของใบอนุญาตหรือสัมปทานมีข้อแตกต่างกัน อย่างใดบ้าง ซึง่ ในปัจจุบนั การให้บริการ 3G บนคลืน่ 900 MHz ของผูใ้ ห้บริการ ในประเทศไทยยังอยู่บนเงื่อนไขของสัญญาสัมปทานเดิม (build-transferoperate) ในขณะทีใ่ บอนุญาตให้บริการ 2.1 GHz จะอยูบ่ นเงือ่ นไขใหม่ทอี่ อก โดย กทช. เนือ่ งจากหลายๆ ประเทศทัว่ โลก รวมถึงประเทศในภูมภิ าคตะวันออก เฉียงใต้ ได้ให้บริการ 3G หรือออกใบอนุญาตการให้บริการ 3G เอไอเอส คาดว่า ประเทศไทยจะออกใบอนุญาตการให้บริการในไม่ช้านี้ ซึ่งจะเป็น ย่างก้าวสำคัญที่จะทำให้ เอไอเอส สามารถให้บริการ 3G ที่ไม่เพียงแต่ จะกระตุ้นอัตราการเติบโตของบริการด้านข้อมูล และสามารถให้บริการ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงตามบ้านแต่ยังจะช่วยส่งเสริมความยั่งยืนทางธุรกิจ ให้กบั เอไอเอส ในอีก 20 ปีขา้ งหน้า ในปัจจุบนั สัญญาร่วมการงานระหว่าง เอไอเอส และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) จะถึงกำหนดอายุในปี 2558 โดยระหว่างปี 2551 ทีผ่ า่ นมา กทช. ได้รา่ งกฎระเบียบใบอนุญาตการให้บริการ 3G รวมถึงจัดการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะเป็นจำนวน 4 ครัง้ ทัว่ ประเทศ ซึ่ง เอไอเอส คาดว่าการออกใบอนุญาตการให้บริการ 3G จะมีความคืบหน้า อย่างมากในปี 2552 นี้ ไวแมกซ์ (WiMAX) จะช่วยเพิ่มความเร็วในการเชื่อมต่อข้อมูลจาก พื้นที่ครอบคลุมที่กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ เอไอเอส สามารถนำเสนอบริการ ให้ลูกค้าที่ใช้บริการด้านข้อมูลผ่านอุปกรณ์สื่อสารไร้สายได้มากขึ้น โดยเป็น ทางเลือกให้ลูกค้าที่ใช้งานตามบ้านหรือสำนักงาน โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับ สายโทรศั พท์ หรื อ สามารถให้ บ ริ การเชื่ อ มต่ อ ระหว่า งสถานีฐ านภายใน โครงข่ายโทรคมนาคมได้ ไวแมกซ์ ยังช่วยให้ เอไอเอส สามารถให้บริการ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงตามบ้านโดยที่บริษัทฯ ไม่ต้องลงทุนในการสร้าง โครงข่ายโทรศัพท์พื้นฐาน ซึ่งไม่สามารถเข้าถึงได้ในบางพื้นที่ อีกทั้งยัง ใช้การลงทุนที่มากกว่าการใช้บริการอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย นอกจากนี้ ไวแมกซ์ ยังช่วยให้การวางโครงข่ายโทรศัพท์มอื ถือ และการเชือ่ มโยงระหว่าง โครงข่ายเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม มาตรฐานทางเทคโนโลยีของ ไวแมกซ์ยังไม่ได้รับการรับรองในเชิงพาณิชย์ ซึ่ง เอไอเอส ยังคงศึกษา ติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดังกล่าวอย่างใกล้ชิด และพิจารณาถึง การนำไปใช้ในเชิงเปรียบเทียบกับเทคโนโลยีอื่นๆ


056

รายงานประจำปี 2551

ผลิตภัณฑ์และการบริการ เอไอเอส ได้ให้ความสำคัญกับลูกค้าทุกกลุ่มอายุด้วยการสร้างความแตกต่างทางภาพลักษณ์ของแต่ละแบรนด์ โดยนำเสนอ 4 แบรนด์สินค้า (Product Brand) ได้แก่ 1) GSM advance สำหรับกลุม่ คนทำงาน 2) GSM 1800 สำหรับลูกค้าทีเ่ น้นรับสาย โทรเข้า โทรออกเป็นหลัก 3) 1-2-Call! สำหรับ กลุ่มวัยรุ่น และ 4) สวัสดี สำหรับลูกค้าในต่างจังหวัด ช่วยให้ เอไอเอส สามารถสร้างสรรค์บริการซึ่งตอบโจทย์การดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันของลูกค้า แต่ละกลุ่มได้ยิ่งขึ้น โดยแบรนด์สินค้านี้พัฒนาขึ้นจาก 5 แกนหลักของการให้บริการ โดยมีเป้าหมายที่จะตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าที่แตกต่างกัน ได้แก่

GSM advance GSM advance มีกลุ่มเป้าหมายเป็นคนทำงานรุ่นใหม่ นักธุรกิจและเจ้าของกิจการที่มีความคิดทันสมัย ชื่นชอบเทคโนโลยี ต้องการคุณภาพ ในการติดต่อสือ่ สาร โดยในปี 2551 GSM advance นำเสนอบริการภายใต้แนวคิด ชีวติ ต่อติด ชีวติ แอดวานซ์ (Stay Connect Stay advance) เพือ่ ตอกย้ำ คุณภาพบริการที่ส่งมอบให้กับลูกค้าในทุกรูปแบบของการติดต่อสื่อสาร ความต้องการใช้งานที่ต่อเนื่องให้กับลูกค้าในทุกช่วงเวลาของชีวิต และพร้อม ที่จะอยู่เคียงข้างเพื่อก้าวเดินไปอย่างมั่นใจ ผ่านทางบริการที่ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมค่าโทร บริการเสริมที่ตอบสนองการใช้งาน ที่แตกต่างในแต่ละกลุ่ม สิทธิพิเศษต่างๆ ที่สอดคล้องกับคนรุ่นใหม่ นอกจากนี้ยังได้เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายในเชิงรุกผ่านจุดบริการเคลื่อนที่ (GSM van) รวมถึงผ่านโครงการฐานลูกค้าเดิม (Member get member) ในปีนี้ GSM advance ได้เน้นการดูแลลูกค้าทั้งในกลุ่มลูกค้าใหม่และกลุ่มลูกค้าปัจจุบันผ่านโปรแกรมค่าโทรซึ่งมีนวัตกรรมใหม่ๆ สนอง ความต้องการและพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าที่แตกต่างกันดังนี้

โปรแกรมสำหรับลูกค้าใหม่

GSM Double ตอบสนองความต้องการติดต่อสื่อสารอย่างต่อเนื่องสำหรับกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงินที่ต้องการเปลี่ยนมาใช้ ระบบรายเดือนด้วยค่าเหมาจ่ายที่ต่ำกว่า รับสิทธิ์โทรได้ 2 เท่าหรือโทรได้ถูกสุดเพียงนาทีละ 75 สตางค์

ทุกเครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยเหมาจ่ายขั้นต่ำที่ 200 บาท โทรได้ 400 นาที

GSM Buffet คุ้มกับการโทรฟรีในเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดด้วยจำนวนลูกค้ากว่า 27 ล้านเลขหมาย ด้วยโปรแกรม โทรฟรี 12 ชั่วโมง สำหรับลูกค้าใหม่และโปรแกรมโทรฟรี 18 ชั่วโมงสำหรับลูกค้าทั้งฐาน

GSM ตามใจ ลดเงื่อนไขของอัตราค่าโทรด้วยโปรแกรมที่มอบความคุ้มค่าให้ลูกค้าโทรได้ไม่จำกัดเครือข่ายและช่วงเวลา ด้วยโปรแกรมเหมาจ่าย 4 ทางเลือก เริม่ ต้นขัน้ ต่ำที่ 250 บาท โทรได้ 200 นาที และสูงสุดที่ 1,000 บาท โทรได้ 800 นาที


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

057

GSM FIT ตอบสนองการใช้ชีวิตของลูกค้ากลุ่มคนทำงาน ด้วยโปรแกรมเดียวที่รวมค่าโทรพร้อมบริการเสริม

หลากหลายรูปแบบได้แก่ SMS, MMS, GPRS, SMS NEWS และ AIS PUSH MAIL ที่ให้ลูกค้ามีชีวิต ที่สะดวกสบายมากขึ้น โดยไม่ต้องสมัครแพ็คเกจบริการเสริมต่างๆ เพิ่มเติมเพื่อเข้าใช้บริการด้านข้อมูล (Non-voice)

GSM Every 1 ให้ลกู ค้าสามารถสือ่ สารด้วยอัตราค่าโทรและบริการเสริม SMS, MMS และ GPRS ทีค่ มุ้ ค่าและเข้าใจได้งา่ ย เพียงแค่ 1 บาทต่อนาที

ON-TOP PROMOTION และ เอไอเอส ยังได้นำเสนอโปรโมชั่นเสริม (On-Top Promotion) เพือ่ เป็นทางเลือกให้กบั ลูกค้าทีม่ ีการ ใช้ ง านที่ แ ตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะกลุ่ ม ได้ แ ก่ คุ ย ไม่ อั้ น คนพิ เ ศษ ที่ ใ ห้ ลู ก ค้ า โทรหา 1 เบอร์ พิ เ ศษฟรี

ได้ ไ ม่ จ ำกั ด , บุ ฟ เฟต์ ก ลางวั น ให้ ลู ก ค้ า สามารถโทรภายในเครื อ ข่ า ย เอไอเอส ได้ ไ ม่ จ ำกั ด เวลาใน ช่วงเวลากลางวัน, Extra Text ที่ให้ลูกค้าสามารถใช้บริการ SMS MMS และ GPRS ได้คุ้มกว่า 2,500 บาท เป็นต้น

ในปีนี้ เอไอเอส ยังได้เปิดให้บริการใหม่บนเทคโนโลยี 3G เป็นรายแรกของประเทศไทย ภายใต้บริการ 3GSM advance ซึ่งจะสามารถรองรับ

การใช้งานรับ-ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงขนาด 7200 กิโลบิทต่อวินาที ซึ่งแตกต่างจาก GPRS หรือ EDGE ปัจจุบันที่ให้ความเร็วเพียง 160 กิโลบิท

ต่อวินาที จึงทำให้ลกู ค้าได้รบั บริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ โดย เอไอเอส เริม่ นำเสนอบริการ 3G ได้แก่ โทรศัพท์แบบเห็นหน้า (Video Call) และ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงบนมือถือ (High Speed Internet) ในจังหวัดเชียงใหม่เป็นพื้นที่แรก เนื่องจากเป็นจังหวัดที่มีความต้องการใช้อินเตอร์เน็ต ความเร็วสูงรองจากกรุงเทพมหานคร และมีรูปแบบการดำเนินชีวิต (Life Style) ที่ใกล้เคียงกัน อีกทั้งเป็นการแสดงศักยภาพทางด้านเครือข่าย ในพื้นที่ต่างจังหวัด และในปลายปีได้เริ่มเปิดตัว 3G ในกรุงเทพที่เซ็นทรัลเวิร์ดและสยามพารากอน เพื่อให้ลูกค้าได้ลองใช้บริการ ทั้งนี้ เอไอเอส มีแผนที่จะเปิดให้บริการ 3G เพิ่มเติมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ชลบุรี และเชียงใหม่ ในกลางปี 2552


058

รายงานประจำปี 2551

GSM 1800 แบรนด์ GSM 1800 มีกลุม่ เป้าหมายหลักคือ ผูท้ ไี่ ม่ตอ้ งการความยุง่ ยากในการใช้งานโดยเน้นการโทรออก และรับสายเป็นหลัก (Basic Phone) และในปีนี้ GSM 1800 ได้นำเสนอโปรแกรมค่าโทรเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างดังนี้

โปรแกรมสำหรับลูกค้าใหม่ บุฟเฟต์ 12 และ 16 ชั่วโมง มี ช่ ว งเวลาที่ ใ ห้ ลู ก ค้ า สามารถโทรได้ น านเท่ า ที่ ต้ อ งการในเครื อ ข่ า ย เอไอเอส ซึ่ ง ถู ก นำเสนอภายใต้ เหมาจ่ายที่ขั้นต่ำที่ 125 บาท และ 300 บาท

GSM 1800 89 บาท โปรแกรมที่มอบความคุ้มค่ากับค่าเหมาจ่ายเพียง 89 บาทต่อเดือน และอัตราค่าโทรพิเศษที่ให้ลูกค้าจ่าย เพียง 3 นาที แต่สามารถใช้งานได้นานถึง 30 นาที

โปรแกรมสำหรับลูกค้าปัจจุบัน โทรถูกใจ ที่ให้ความสะดวกสบายแก่ลูกค้าด้วยค่าโทรอัตราเดียวทั้งในและนอกเครือข่าย พร้อมทั้ง 4 ทางเลือกเหมาจ่ายขั้นต่ำที่ 300 บาท

1-2-Call! แบรนด์ 1-2-Call! มีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นวัยรุ่นและคนรุ่นใหม่ กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก เป็นตัวของตัวเอง ในปี 2551 เอไอเอส ได้ขยายกลุ่มเป้าหมายของแบรนด์ 1-2-Call! จากกลุ่มวัยรุ่นไปถึง กลุ่มพรีทีน (Preteen) หรือกลุ่มเด็กประถมและมัธยมศึกษาตอนต้นที่เพิ่งเริ่มใช้งานมือถือ โดย เอไอเอส ได้นำเสนอแบรนด์ 1-2-Call! ภายใต้แนวคิด “อิสระทีจ่ ะมองโลกในแง่ดี (Freedom to Enjoy the World)” ที่สนับสนุนเยาวชนให้มองโลกในด้านบวก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องเรียน หรือสังคม ซึ่งจะช่วยให้วัยรุ่น สามารถดำเนิ น ชี วิ ต มี ค วามสุ ข ในทุ ก สถานการณ์ อี ก ทั้ ง ได้ จั ด หลากหลายรู ป แบบกิ จ กรรมทั้ ง กี ฬ า ภาพยนตร์และดนตรีทสี่ ามารถตอบสนองลูกค้าทีช่ นื่ ชอบความบันเทิง นอกจากนีย้ งั ได้จดั กิจกรรม 1-2-Call! iD Showcase ที่เปิดให้นักศึกษาจากสถาบันต่างๆ เข้าร่วมออกร้านจำหน่ายสินค้าแสดงผลงานไอเดีย สร้างสรรค์ตา่ งๆ โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย และโครงการ “MISSION I’m POSSIBLE” ทีใ่ ห้นกั ศึกษาทัว่ ประเทศ เข้าร่วมประกวดสร้างแผนการตลาดแนวใหม่ ซึ่งจะสร้างประสบการณ์ที่ดีต่อแบรนด์ 1-2-Call! นอกจากกิจกรรมทางการตลาด 1-2-Call! ได้นำเสนอโปรแกรมค่าโทรสำหรับลูกค้าใหม่และ ลูกค้าปัจจุบัน ได้แก่


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

059

เอาไปเลย เสนอค่าโทรตามความต้องการของตลาด เช่น นาทีละ 75 สตางค์, 50 สตางค์ และได้ขยายระยะเวลา โปรโมชั่นเป็น 6 เดือน เพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจและเกิดการทดลองใช้บริการของเอไอเอส

ซิม ฟรีดอม ซิมการ์ดราคาพิเศษเพียง 50 บาทพร้อมให้ลูกค้าสามารถเลือกโปรแกรมค่าโทรได้เองถึง 4 ทางเลือกได้แก่ โปรแกรมค่าโทรสำหรับคนชอบโทรสั้น โทรยาว โทรในเครือข่าย และโทรประหยัด 20 ชั่วโมง

ลูกค้าที่โทรสั้นหรือโทรยาว โปรแกรมโทรสั้น – โปรแกรมโทรยาว –

สำหรั บ ลู ก ค้ า ที่ โ ทรบ่ อ ยแต่ ไ ม่ คุ ย นาน ด้ ว ยอั ต ราค่ า โทร 1 บาทต่ อ นาที ไม่ จ ำกั ด

เครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมง สำหรั บ ลู ก ค้ า ที่ ช่ า งคุ ย ก็ ส ามารถสนทนาได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยอั ต ราค่ า โทรพิ เ ศษ เพียง 25 สตางค์ต่อนาที

ลูกค้าที่โทรหาเบอร์ประจำไม่กี่เบอร์ ถูกแล้วเพื่อน 2 เบอร์ / 5 เบอร์ – รับความคุ้มค่ากับโปรแกรมค่าโทรอัตราพิเศษเพียง 25 สตางค์ต่อนาที สำหรับ 2 เบอร์คนสนิท หรือ 50 สตางค์ต่อนาทีสำหรับ 5 เบอร์คนสนิท เพื่อให้ลูกค้าติดต่อกับคนพิเศษ ได้ทุกเวลาที่ต้องการ

ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม (Segment SIM)

ซิม นักท่องเที่ยว ซิมสำหรับนักท่องเที่ยวที่ให้ส่วนลดพิเศษสำหรับการโทรทางไกลต่างประเทศผ่านรหัส 005 เป็นระยะเวลา นานถึง 1 ปี

ON-TOP PROMOTION นอกจากนี้เอไอเอสยังได้นำเสนอโปรโมชั่นเสริมแบบเหมาจ่ายถึง 8 ทางเลือก (On-Top Promotion) สำหรับผู้ที่ต้องการโทรออกด้วยเสียงเพิ่มขึ้น (Voice) หรือเพิ่มการใช้งานด้าน ข้อมูล (VAS) เริ่มต้นขั้นต่ำเพียง 20 บาท สามารถโทรออกได้ 25 นาที หรือ ส่ง SMS ได้ 30 ข้อความ


060

รายงานประจำปี 2551

สวัสดี มีกลุ่มเป้าหมายหลักคือ ผู้ที่เริ่มใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นครั้งแรก (First Time User) กลุ่มวัยทำงาน หรือผู้ใหญ่ที่ใช้งานน้อย เน้นรับสายหรือ ผู้ที่มีงบประมาณจำกัด โดยนำเสนอภาพลักษณ์ที่ส่งเสริมความเป็นไทยผ่านชื่อ “สวัสดี” ซึ่งกิจกรรมทางการตลาดส่วนใหญ่จะลงไปสู่ระดับอำเภอ และหมู่บ้านโดยตรง สำหรับจุดขายของสวัสดี คือ เติมเงินน้อยก็สามารถใช้งานได้นาน ในปี 2552 เอไอเอส ยังคงใช้กลยุทธ์ Localize Marketing ที่จัดโปรแกรมค่าโทรที่คุ้มค่าสำหรับลูกค้าแต่ละภูมิภาค ควบคู่ไปกับกลยุทธ์การสื่อสารแนวใหม่ที่ใช้ “กระแสนิยมท้องถิ่น” ผ่านบทเพลงลูกทุ่ง ที่สะท้อนสภาพสังคม และวัฒนธรรมไทยได้อย่างชัดเจนเพื่อสื่อไปยังลูกค้าเป้าหมายในพื้นที่ต่างจังหวัด

โดย เอไอเอส ได้นำเสนอหลากหลายโปรแกรมค่าโทรได้แก่

1) โปรแกรมสำหรับลูกค้าทั่วไป

ซิมแม่ยก โปรแกรมที่ให้ความคุ้มค่าด้วยซิมราคา 50 บาท โดยลูกค้าจะได้รับค่าโทร 2 บาทต่อนาทีสำหรับการ โทรออกไปทุกเครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมง

2) โปรแกรมค่าโทรตามภูมิภาค

ซิมจาวเหนือ โปรแกรมสำหรับลูกค้าภาคเหนือ 18 จังหวัด โดยจะได้รับค่าโทรอัตราพิเศษเพียง 1 บาท สำหรับการ ใช้งานตั้งแต่นาทีที่ 2 เป็นต้นไป นาทีแรก 2 บาท สำหรับการโทรจากพื้นที่ภาคเหนือไปทุกพื้นที่ทั่วไทย และทุกเครือข่ายตลอด 24 ชั่วโมง

บริการสำหรับลูกค้านิติบุคคล (Corporate Business Service) เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น เป็นบริการสำหรับกลุ่มลูกค้านิติบุคคล กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ (Key Account) และกลุ่มธุรกิจ เอสเอ็มอี (SME) โดยเน้นแนวคิดในการมีส่วนช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจของลูกค้า ในปี 2551 ที่ผ่านมา เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น ได้ทำการพัฒนา ด้านโซลูชั่นของลูกค้า องค์กรได้มีการพัฒนาโซลูชั่นใหม่และปรับปรุงโซลูชั่นเดิมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับความต้องการใช้งานของลูกค้า ที่หลากหลายและให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจของลูกค้าสูงสุด

• Virtual PBX เป็นโซลูชนั่ ทีช่ ว่ ยลดค่าใช้จา่ ยในการลงทุนตูส้ าขาโทรศัพท์ชองลูกค้าองค์กร โดยเฉพาะลูกค้า เอสเอ็มอี ทีอ่ าจจะมีเงินลงทุน เริ่มต้นจำกัด สามารถที่จะใช้งานโทรศัพท์เพื่อติดต่อธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้เครือข่ายคุณภาพของ เอไอเอส

• Smart Media เป็นโซลูชั่นซึ่งประกอบด้วยบริการ Calling Melody, Voice2U และ Mobile Advertising ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนอง ต่อลูกค้าองค์กรที่ต้องการใช้สื่อทางการตลาดที่หลากหลายและมีความคุ้มค่า โดยอาศัยข้อได้เปรียบของโทรศัพท์มือถือที่จะทำให้สื่อ ทางการตลาดขององค์กรต่างๆ ส่งตรงไปถึงมือของผู้บริโภคปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

061

• Biz Live (Mobile Paging version3) เป็นโซลูชั่นซึ่งได้พัฒนาประสิทธิภาพการใช้งานของ Mobile Paging เดิม ให้มีความสามารถ ในการสื่อสาร 2 ทาง (2 Ways Communication) โดยที่ผู้รับ SMS ปลายทางสามารถทำการตอบกลับได้ ซึ่งจะทำให้องค์กรต่างๆ นำไป ประยุกต์ใช้ในการทำตลาดที่หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น การทำแบบสอบถามหรือการทำโปรโมชั่น เป็นต้น

การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าองค์กร

• สิทธิพิเศษสำหรับลูกค้าองค์กร : เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่นได้ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว) จัดการสัมมนาสำหรับผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ให้มีความพร้อมในการดำเนินการธุรกิจ และให้สามารถเติบโตอย่างมีศักยภาพ โดยทาง เอไอเอส สมาร์ท โซลูชั่น มีนโยบายสนับสนุนธุรกิจ เอสเอ็มอี ในการนำเทคโนโลยีไร้สายมาใช้ในด้านการตลาด การผลิต และการจัดส่ง

สินค้า เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจเอสเอ็มอีให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

• กิจกรรมระหว่างองค์กร : เป็นการจัดกิจกรรมระหว่างกันในระดับองค์กร เพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์สงู สุดในการดำเนินธุรกิจ ร่วมกันในฐานะ พันธมิตรทางธุรกิจ อีกทั้งยังกระชับความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าองค์กรกับผู้บริโภคทั่วไป เช่น การทำขนมอบกับทางน้ำตาลมิตรผล และ การทำ Workshop แนะนำการดูแลรักษารถยนต์ รวมถึงเทคนิคการขับขี่ปลอดภัยและประหยัดน้ำมันกับทาง Goodyear เป็นต้น

บริการด้านข้อมูล (Non-Voice Service) รายได้ บ ริ ก ารด้ า นข้ อ มู ล มี อั ต ราการขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 28.2 จากปี ที่ แ ล้ ว และคิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 11.1 จากรายได้การให้บริการ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 9.1 ในปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เอไอเอส คาดว่าตลาดบริการด้านข้อมูลยังมีแนวโน้มเติบโต ได้อีกมาก เนื่องจากสัดส่วนรายได้การบริการด้านข้อมูลที่ไม่รวม SMS ของผู้ให้บริการในประเทศไทยยังอยู่ที่ระดับที่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ รายได้รวม ซึ่งต่ำกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ นอกจากนี้ ตลาดบริการเสริมฯ มีการแข่งขันด้านราคาไม่มากนัก เมื่อเทียบ กับตลาดบริการด้านเสียงซึ่งเป็นบริการที่สร้างความแตกต่างได้ยากกว่าการบริการด้านข้อมูล ดังนั้น ผู้ให้บริการแต่ละรายจึงหันมาให้ความสำคัญกับ ตลาดบริการด้านข้อมูล และผลักดันส่วนบริการเสริมมากขึ้นเพื่อสร้างความแตกต่าง โดยตลาดบริการด้านข้อมูลจะแข่งกันที่คุณภาพการให้บริการ เช่น การนำเสนอ Content ใหม่ๆ ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้ามากขึ้น ความเร็วในการให้บริการด้านข้อมูล เป็นต้น ในปี 2551 ที่ผ่านมา บริษัทได้นำเสนอบริการด้านข้อมูลใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยบริการที่ได้รับความนิยมอย่างมาก โดยเฉพาะบริการ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและความบันเทิง เช่น บริการ SMS, Mobile Internet และ Calling Melody

SMS และ MMS

เป็นบริการเสริมที่มีสัดส่วนของรายได้บริการด้านข้อมูลสูงสุด โดยในปีที่ผ่านมา บริษัทได้สร้างบริการ และแพ็คเกจแปลกใหม่ เช่น การนำเสนอบริการข้อความข่าวผ่าน SMS และ MMS ซึ่ง เอไอเอส ได้มีการ ร่วมมือกับ content partner เช่น Nation Channel, CNBC และรอยเตอร์ เป็นต้น


062

รายงานประจำปี 2551

Mobile Internet เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี อั ต ราการเติ บ โตอย่ า งมาก ในปี ที่ ผ่ า นมา โดยเฉพาะรายได้ จ ากการ ใช้บริการ GPRS และ EDGE ทัง้ นี้ เอไอเอส ใช้ จุ ด แข็ ง ในการวิ จั ย และพั ฒ นาสร้ า ง ซอฟท์แวร์พิเศษบนมือถือที่ทำให้หน้าจอ มือถือรุ่นต่างๆ ง่ายในการเข้าสู่การใช้งาน ทางอิ น เตอร์ เ น็ ต , สร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นา แอพลิเคชั่นใหม่ๆ ออกสู่ตลาด เพื่อสร้าง ประสบการณ์ ใ หม่ ๆ ในการใช้ ง านให้ กั บ ผู้ใช้มือถือ และเพื่อเป็นการเตรียมรองรับ การมาเยือนของเทคโนโลยี 3G

คอลลิ่ง เมโลดี้ (Calling Melody)

ถือเป็นบริการเสริมที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องโดยมีอัตราการเติบโต เพิ่มขึ้นทุกปี โดยมีปัจจัยสนับสนุนการเติบโตมาจากไลฟ์สไตล์ของลูกค้าที่ชื่นชอบ เสียงเพลง กระแสความนิยมในศิลปินนักร้อง และกลยุทธ์การทำการตลาดมาอย่าง ต่อเนื่อง โดย เอไอเอส ได้ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการและการดาวน์โหลดเพลง ของลูกค้าแต่ละกลุ่ม แล้วออกแบบช่องทางต่างๆ ออกมา เป็นทางเลือกในการเข้าถึง บริการให้ครอบคลุมลูกค้าทุกประเภท


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

063

การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (Customer Relationship Management) เอไอเอส ให้ความสำคัญกับการครองใจลูกค้าในระยะยาวโดย ออกแบบแนวคิดในการเข้าถึงลูกค้า ด้วยการพัฒนาระบบการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงลึก (Data Mining and Customer Insights) การรวบรวม ความคิดเห็นจากลูกค้า (Voice of Customer) งานวิจัย (Research) การตรวจสอบบริ ก ารโดยการทดลองบริ ก าร (Mystery Shopper) การสั ม ผั ส งานบริ ก ารและพู ด คุ ย กั บ ลู ก ค้ า ของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง (Management Visit) รวมถึ ง การนำระดั บ ความผู ก พั น ของลู ก ค้ า (Customer Engagement) มาเป็นตัวชี้วัดคุณภาพในการส่งมอบบริการ ถึงลูกค้า เพื่อพัฒนาสินค้าและบริการทั้งที่จับต้องได้ (Tangible Benefit) และที่ตอบสนองด้านอารมณ์ (Emotional Benefit) ซึ่งเหมาะสมกับ ความต้องการและตรงใจลูกค้าตั้งแต่เริ่มต้นการใช้บริการ (Life Cycle Campaign) โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ทั้งนี้ได้นำเสนอสินค้าและบริการทั้งจาก เอไอเอส และพันธมิตรธุรกิจ ซึ่งสามารถใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ภายใต้โปรแกรม “เอไอเอส พลัส” ทำให้สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าร้อยละ 30 จากปี 2550 1) การพัฒนาบุคลากรเพือ่ ให้บริการให้คำปรึกษาและดูแลทางด้าน โปรโมชัน่ (Promotion Consultancy) และครอบคลุมถึงบริการให้คำปรึกษา และดูแลการใช้บริการด้านข้อมูล (Non-Voice Consultancy) ในการให้ ข้อมูลและคำแนะนำแก่ลกู ค้าในการเลือกใช้แพ็คเกจทีเ่ หมาะสมที่สุดตาม พฤติ ก รรมการใช้ ง านและความต้ อ งการด้ ว ยความสบายใจ รวมถึง

ให้คำปรึกษาและแนะนำการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่ถูกต้องเพื่อใช้บริการ ด้านข้อมูล ผ่านทาง AIS Call Center และ เอไอเอส ช็อป นอกจากนี้ หากลูกค้ามีพฤติกรรมการใช้งานที่เปลี่ยนแปลงไปพนักงานก็จะดูแลโดย แนะนำแพ็คเกจการใช้งานที่เหมาะสมยิ่งขึ้น 2) การขยายงานบริการที่มีคุณภาพเดียวกับ เอไอเอส ช็อป ไปสู่ ร้านเทเลวิซ เพือ่ อำนวยความสะดวกแก่ลกู ค้าซึง่ กระจายตัวอยูท่ วั่ ประเทศ โดยให้ความสำคัญกับสิ่งที่เป็นคุณค่าหลัก (Core Value) ในใจลูกค้า คือ ความสะดวก ความถูกต้องสมบูรณ์ ความเป็นผู้ให้คำแนะนำช่วยเหลือ ด้ ว ยความเป็ น มิ ต ร ความรู้ จั ก รู้ ใ จลู ก ค้ า และความใส่ ใ จ โดยมี ก าร ปรับเปลี่ยนระบบการจัดการภายใน มีการลดขั้นตอนให้ง่ายและสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพิ่มความยืดหยุ่นในการให้บริการ รวมทั้งส่งเสริมภาพ ลักษณ์การให้บริการด้วยความเป็นมิตรให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 3) การสร้างสรรค์นวัตกรรมการให้บริการใหม่ๆ เพื่อสร้างความ รู้สึกใกล้ชิดแก่ลูกค้า

Face-to-Face Call Center Service via Web Cam บริการที ่ ลูกค้าสามารถสนทนาผ่าน e-mail (Chat) กับพนักงานแบบ เห็นหน้าตา และเป็นช่องทางพิเศษสำหรับผู้พิการทางการ ได้ยิน สามารถใช้ภาษามือในการสนทนากับพนักงานด้วย

• บริการ Multi-Language เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของลูกค้า

ต่างชาติ โดยเฉพาะชาวพม่า เอไอเอส ได้เพิม่ การให้บริการ ภาษาพม่า นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ จีน (แมนดาริน) เกาหลี ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส รวมทั้งภาษาท้องถิ่น ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ 4) การนำเสนอสิทธิพเิ ศษ (Privilege) ทีห่ ลากหลายรูปแบบ ใช้ได้จริง ในชีวติ ประจำวันและครอบคลุมทัว่ ประเทศ ภายใต้โครงการ “เอไอเอส พลัส” โดยเน้นตอบสนองรูปแบบการใช้ชีวิตของลูกค้าซึ่งอยู่ภายใต้ 4 แกนหลัก • แกน Shopping ให้คปู องส่วนลดหรือส่วนลดพิเศษเพิม่ เติม ทีห่ า้ งสรรพสินค้า Central, The Mall, The Emporium และ Siam Paragon • แกน Dining ได้ ข ยายพั น ธมิ ต รไปยั ง ร้ า นค้ า ที่ มี ส าขา ครอบคลุมทัว่ ประเทศ (Chain Restaurant) เช่น ร้านสเวนเซ่น (Swensens) ร้านแมคโดนัลด์ (McDonald’s) มิสเตอร์โดนัท (Mister Donut) จากเดิมที่มีอยู่มากกว่า 2,500 ร้านค้า ใน 76 จังหวัดทัว่ ประเทศ พร้อมจัดแคมเปญ “อิม่ อร่อยมือ้ นี ้ ลุ้นทานฟรีกับ เอไอเอส พลัส” เพื่อลุ้นบัตรทานอาหารฟรี

อย่างต่อเนื่องและมีการขยายแคมเปญไปยังเมืองใหญ่ ในต่างจังหวัด เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี และภูเก็ตเป็นต้น • แกน Entertainment จัดแคมเปญ “Movie 60 บาท” เพือ่ ให้สทิ ธิ

พิเศษแก่ ลู ก ค้ า ในการชมภาพยนตร์ เ รื่ อ งดั ง อย่ า งน้ อ ย เดือนละ 1 เรื่อง ในราคาเพียง 60 บาท ทุกเดือน ตลอดปี • แกน Transportation มอบส่วนลด 60 บาทในการซื้อตั๋ว

โดยสารรถทัวร์ และรถไฟ ระหว่างกรุงเทพและต่างจังหวัด ทั่วทุกภาคของประเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีการคัดสรรสิทธิพิเศษ นอกเหนือจาก 4 แกนหลัก ข้างต้น ให้กับลูกค้าเอไอเอสอีก ได้แก่ สิทธิพิเศษเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ และความงาม ณ โรงพยาบาล และสถานเสริมความงาม สิทธิพิเศษด้าน กีฬา เช่น ส่วนลดอุปกรณ์กฬี า กอล์ฟ หรือสนามกอล์ฟ สิทธิพเิ ศษเกีย่ วกับ การท่องเที่ยว อาทิ ส่วนลด ณ โรงแรม และรีสอร์ท ชั้นนำมากมาย อีกรวมกว่า 500 แห่งทั่วประเทศ นอกจากนี้ มี ก ารคั ด สรรสิ ท ธิ พิ เ ศษสำหรั บ ลู ก ค้ า กลุ่ ม สำคั ญ ภายใต้โปรแกรม “เซเรเนด” ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าที่มีการใช้งานสูงหรือมีอายุ การใช้บริการยาวนาน เป็นต้น จะได้รับสิทธิพิเศษที่มีมูลค่ามากกว่า (On-Top) สิทธิพิเศษที่เป็นเอกสิทธิ์เฉพาะ (Exclusive) หรือสิทธิพิเศษ ที่ได้รับก่อนลูกค้าทั่วไป (Priority) ผ่านทั้ง 4 แกนดังกล่าว โดย เอไอเอส เชื่อมั่นว่าความมุ่งมั่นทั้งหมดที่มอบให้ลูกค้าจะทำให้เกิดความไว้วางใจ มีความรู้สึกที่ดีและภูมิใจในแบรนด์ของ เอไอเอส ซึ่งจะพัฒนาไปสู่ความ ผูกพันของลูกค้ามีต่อ เอไอเอส ในระยะยาวได้ในที่สุด


064

รายงานประจำปี 2551

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ปี 2551 ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2551 มีอัตราเจริญเติบโตของรายได้ตลาดโดยรวมคาดว่าน้อยกว่าร้อยละ 4 โดยมีจำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น ประมาณ 8 ล้านคน จากปี 2550 ทำให้ ณ สิ้นปี 2551 มีจำนวนผู้ใช้บริการทั้งสิ้นประมาณ 61 ล้านคน หรือคิดเป็นอัตราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่อจำนวนประชากร (penetration rate) ร้อยละ 94 โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ใช้บริการมากกว่า 1 หมายเลข (Multiple SIM user) จากการแจกซิมการ์ดหรือแลกซื้อได้ในราคาพิเศษ ความนิยมในการโทรออกจากเบอร์ที่มีโปรโมชั่นถูกกว่า รวมถึงการโทร ภายในเครือข่าย อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจำนวนผู้ใช้บริการต่อจำนวนประชากร (human penetration rate) แล้ว จากการสำรวจของบริษัทฯ พบว่ามีอัตราเพียงร้อยละ 65 แม้ว่าอัตราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจำนวนประชากรของทั้งประเทศ จะเข้าใกล้ร้อยละ 100 ซึ่งถือว่าเป็นอัตราที่เข้าใกล้จุดอิ่มตัว (saturation point) แต่เมือ่ พิจารณาในแต่ละพืน้ ทีข่ องประเทศไทย พบว่ามีความแตกต่างในแต่ละพืน้ ที่ โดยกรุงเทพฯ และหัวเมืองใหญ่เป็นพืน้ ทีห่ ลัก ที่มีอัตราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจำนวนประชากรสูงใกล้เคียงร้อยละ 100-120 ในขณะที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังมีอัตรา หมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจำนวนประชากรเพียงร้อยละ 50-60 เท่านั้น ดังนั้นผู้ให้บริการจึงให้ความสำคัญต่อตลาดภูมิภาคเหล่านี้มากขึ้นในปี 2551 ที่ผ่านมา โดยจะเห็นได้จากการเพิ่มจำนวนสถานีฐานในพื้นที่ดังกล่าว และการทำการตลาดที่มากขึ้น เนื่องจากผู้ให้บริการต่างเล็งเห็น ศักยภาพในเชิงพาณิชย์ของพื้นที่ดังกล่าว ผู้ให้บริการรายใหญ่ในประเทศไทยมีจำนวนสามราย ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดรวมมากกว่าร้อยละ 97 ทั้งนี้ เอไอเอส ยังคงเป็นผู้นำส่วนแบ่ง การตลาดทั้งในด้านจำนวนผู้ใช้บริการ และด้านรายได้ โดย ณ สิ้นปี 2551 เอไอเอส ยังครองส่วนแบ่งตลาดของผู้ใช้บริการอยู่ประมาณร้อยละ 45 ในขณะที่มีส่วนแบ่งตลาดด้านรายได้ประมาณร้อยละ 52

ส่วนแบ่งการตลาด (ด้านผู้ใช้บริการ) เอไอเอส ดีแทค ทรูมูฟ ฮัทช์

45% 31% 23% 1%

ส่วนแบ่งการตลาด (รายได้รวมค่าเชื่อมโยง โครงข่ายสุทธิ) เอไอเอส ดีแทค ทรูมูฟ ฮัทช์

52% 32% 13% 3%

ด้านการแข่งขันทางด้านราคาโดยรวมในปี 2551 ทีผ่ า่ นมา ถือว่ามีแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ เนือ่ งจากผูใ้ ห้บริการต้องมีภาระผูกพันจากการจ่ายค่าเชือ่ มโยง เครือข่าย (Interconnection Charge) ให้ผบู้ ริการรายอืน่ ทำให้ผใู้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ น้นใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาเฉพาะการใช้งานภายในเครือข่าย (on-net promotion) เป็นหลัก นอกจากนี้ ผูใ้ ห้บริการส่วนใหญ่ได้มกี ารปรับราคาขึน้ สำหรับลูกค้าเดิม ทีโ่ ปรโมชัน่ เก่าได้หมดอายุลงในช่วงครึง่ ปีแรก อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวิกฤตการทางเศรษฐกิจทั่วโลก ซึ่งกระทบถึงเศรษฐกิจไทย อีกทั้งสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมือง และทำให้ดัชนี ความเชื่อมั่นผู้บริโภคลดต่ำลง ทำให้ ในช่วงครึ่งปีหลัง ผู้ให้บริการจึงได้ชะลอการปรับขึ้นราคาค่าโทรศัพท์ โดยพยายามรักษาราคาในระดับเดิม


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

065

กลยุทธ์การตลาดของเอไอเอส เอไอเอส มุ่ ง เน้ น ในการรั ก ษาส่ ว นแบ่ ง การตลาดในเชิ ง รายได้ (Revenue market share) มากกว่าส่วนแบ่งการตลาดในแง่จำนวนฐาน ลูกค้า โดยในปี 2551 เอไอเอส สามารถเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาดของรายได้ เท่ากับร้อยละ 52 จากร้อยละ 51 ในปี 2550 ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากความแข็งแกร่ง

ของตราสินค้า (Brand) ของแต่ละบริการของ เอไอเอส ที่เจาะกลุ่มลูกค้า เฉพาะแต่ละกลุ่มที่ต่างกันผ่านแบรนด์สามแบรนด์ รวมถึงเครือข่ายที่ ครอบคลุมโดยเฉพาะในต่างจังหวัด โดยมีคณ ุ ภาพสัญญาณเสียงทีช่ ดั เจน อีกทั้งกลยุทธ์ทางการตลาดต่างๆ และช่องทางการจัดจำหน่ายที่เข้มแข็ง ของ เอไอเอส ทีส่ ามารถเพิม่ จำนวนลูกค้าใหม่ และรักษาฐานลูกค้าเดิมได้

แลกรั บ ซิ ม การ์ ด ฟรี ห รื อ แลกซื้ อ ได้ ใ นราคาพิ เ ศษ ทั้ ง หมดนี้ ส่ ง ผลให้ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป โดยจำนวนผู้ที่ใช้บริการมากกว่า 1 หมายเลข (Multiple SIM user) มีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของจำนวนซิมการ์ดที่ไม่มีการใช้งาน (Inactive user) และออกจากระบบไปในที่สุด (Churn user) สำหรับ เอไอเอส ยังคงเน้น การหาลู ก ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพซึ่ ง มี ค วามต้ อ งการใช้ ง านโดยผ่ า นช่ อ งทาง การจัดจำหน่ายทั่วไป มากกว่าเน้นขยายฐานลูกค้าจำนวนมากจากการ แจกซิมการ์ดแต่ไม่มีการใช้งาน

ในปี 2551 เอไอเอส มุ่งเน้นการตลาดแบบฟังก์ชั่นนอลมาร์เก็ตติ้ง (Functional Marketing) ที่จะส่งมอบคุณภาพใน 5 แกนหลักของการ ให้บริการ ซึ่งนำเสนอภายใต้แบรนด์ เอไอเอส ในฐานะแบรนด์องค์กร (Corporate Brand) ได้แก่ 1) เครือข่ายที่มีคุณภาพ 2) บริการหลังการ ขายที่ ไ ว้ ว างใจได้ ต ลอด 24 ชั่ ว โมงผ่ า นทุ ก ช่ อ งทาง 3) บริ ก ารที่ เ ป็ น นวัตกรรมใหม่ 4) สิทธิพิเศษที่ให้ชีวิตสะดวกสบาย 5) สาธารณประโยชน์ เพื่อตอบแทนสังคม รวมทั้งให้ความสำคัญกับการตลาดแบบอีโมชั่นนอล มาร์เก็ตติ้ง (Emotional Marketing) ที่จะถ่ายทอดทั้ง 5 ด้านหลักของ การให้บริการสู่ลูกค้าผ่านมิติทางด้านอารมณ์ ภายใต้แนวคิด “อยู่เคียง ข้างคุณ” เปรียบเสมือนเพือ่ นสนิททีพ่ ร้อมจะสนับสนุนลูกค้าในทุกรูปแบบ การใช้ชีวิต เอไอเอส เชื่อมั่นว่าการทำการตลาดทั้ง 2 ส่วนควบคู่กัน ทั้งด้านเหตุผลและอารมณ์จะสามารถสร้างความผูกพันกับลูกค้าได้อย่าง ยั่งยืน ทั้งนี้กลยุทธ์การตลาดของ เอไอเอส ในปี 2551 ที่ผ่านมา ได้แก่

ตลาดในส่วนภูมิภาคจัดเป็นอีกตลาดหนึ่งที่ยังมีศักยภาพในการ เติบโตอีกมาก ซึ่งบริษัทฯ ได้มีการขยายเครือข่ายให้มีพื้นที่ให้บริการ คลอบคลุมมากขึ้น รวมทั้งใช้กลยุทธ์ Localize Marketing ที่นำเสนอ โปรแกรมค่าโทรเฉพาะพื้นที่ เช่น โปรแกรมค่าโทรอัตราพิเศษสำหรับ

ภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และกิ จ กรรมทางการตลาด เช่น คาราวาน (Caravan) ไปสู่ระดับอำเภอ และหมู่บ้าน โดย เอไอเอส มีความได้เปรียบเหนือคูแ่ ข่งในพืน้ ทีส่ ว่ นภูมภิ าคด้วยเครือข่ายทีแ่ ข็งแกร่ง และครอบคลุมมากที่สุดในประเทศ และยังมีกิจกรรมทางการตลาดที่ ตรงใจลูกค้ากลุม่ นีผ้ า่ นคอนเสิรต์ สวัสดีลกู ทุง่ ทัว่ ไทยทีจ่ ดั ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ในทุกภูมิภาคของประเทศอีกด้วย

เจาะตลาดกลุ่มต่างๆ ที่มีศักยภาพ

นอกจากนี้ เอไอเอส ยังดึงลูกค้าพรีเพด เด็กจบใหม่ที่เริ่มก้าวสู ่

วัยทำงาน หรือที่เรียกว่ากลุ่มลูกค้า First Jobber มาใช้ จีเอสเอ็ม เช่น การออกโปรโมชั่น “Fit” หรือการใช้กลยุทธ์สื่อสารการตลาดรูปแบบใหม่ เรียกว่า “Online Activation” ที่ผสมผสานเทคโนโลยีมัลติมีเดียยุคใหม่ นำเสนอโปรแกรมค่ า โทรที่ มี รู ป แบบแปลกใหม่ ซึ่ ง ผสมผสานกั บ ซึ่งรวม VDO และ Inter Active Game เข้าด้วยกัน ซึ่งได้รับผลตอบรับ สิทธิประโยชน์จากสินค้าและบริการต่างๆ เพื่อสร้างความแตกต่าง เป็นอย่างดีจากกลุ่มเป้าหมาย จากคู่แข่งขัน เอไอเอส มองเห็นโอกาสจากพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลง การเพิ่ ม ความจงรั ก ภั ก ดี กั บ แบรนด์ ใ ห้ ม ากขึ้ น โดยใช้ ก ารบริ ห าร ความสัมพันธ์กับลูกค้า (Brand Loyalty) จึ ง ได้ น ำเสนอโปรแกรมค่ า โทรที่ เ หมาะกั บ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่มีมากกว่า 1 เลขหมาย (Multiple SIM user) ซึ่งไม่เพียงแต่เพื่อรักษา จากการแข่งขันด้านราคาที่ผ่านมา ประกอบกับการถือซิมมากกว่า ฐานลูกค้าเอาไว้ได้ แต่ยงั จูงใจให้ลกู ค้าในระบบอืน่ หันมาใช้งานซิมการ์ด หนึ่ ง ซิ ม (Multi SIM) ทำให้ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารต้ อ งหั น มาให้ ค วามสำคั ญ กั บ

ของ เอไอเอส เพิ่มเติมอีกด้วย โดยนำเสนอแพคเก็จค่าโทรในรูปแบบ การส่งเสริมความจงรักภักดีต่อแบรนด์ (Brand Loyalty) เพิ่มขึ้น รวมถึง ต่างๆ หลากหลายทีเ่ หมาะสมกับพฤติกรรมการใช้งาน เช่น การเหมาจ่าย การสร้างความพึงพอใจและความผูกพันกับลูกค้าเพื่อลดจำนวนลูกค้า ยกเลิกเลขหมายด้วยการมอบโปรโมชั่นพิเศษสำหรับการเติมเงิน เช่น ในช่วงเวลาจำกัด การโทรภายในเครือข่าย การโทรสั้นยาว เป็นต้น เพิ่มระยะเวลาใช้งาน หรือได้รับเงินเพิ่ม เมื่อเติมเงินผ่านตัวแทนเติมเงิน เน้นการหาลูกค้าที่มีคุณภาพซึ่งมีความต้องการใช้งานอย่างแท้จริง ออนไลน์ ไฮเปอร์มาร์เก็ต หรือโบนัสโทรฟรีจากการซื้อสินค้าที่เข้าร่วม นอกเหนือจากการใช้โปรโมชั่นค่าโทรเพื่อขยายฐานลูกค้าแล้ว รายการ นอกจากนี้นำเสนอบริการใหม่เพื่อลูกค้าสามารถบริหารเงิน

ผู้ให้บริการยังปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการแจกซิมจากเดิมที่เน้นแจกตาม คงเหลือและระยะเวลาใช้งานได้ดว้ ยตัวเอง เช่น บริการโอนเงินหรือโอนวัน ที่สาธารณะ ไปสู่การร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจโดยให้ลูกค้าสามารถ บริการแลกเงินคงเหลือเป็นระยะเวลาใช้งาน เป็นต้น


066

รายงานประจำปี 2551

เอไอเอส ได้นำการบริหารความสัมพันธ์กบั ลูกค้าผ่านทางโปรแกรม CRM (Customer Relation Management) และ CEM (Customer Experience Management) มาใช้โดยนำเสนอหลากหลายสิทธิประโยชน์ต่างๆ ซึ่ง คำนึงถึงการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวติ ประจำวันและเพิม่ ความสะดวก ในการใช้งานของลูกค้าโดยไม่ต้องพกบัตรเพราะเพียงแสดงโทรศัพท์ เคลื่อนที่ก็สามารถรับสิทธิพิเศษได้ทันที ตลอดจนได้ลงทุนพัฒนาบริการ ทั้งด้านบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ลูกค้าได้รับการบริการที่รวดเร็วและ มีคุณภาพมาตรฐานเดียวกันในทุกช่องทาง

(Multiple SIM user) จะยังคงมีอยู่เป็นจำนวนพอสมควร หากพิจารณา จำนวนผู้ใช้บริการต่อจำนวนประชากร (Human penetration rate) แล้ว คาดว่าจะอยู่ในระดับอัตราร้อยละ 70-80 โดยมาจากการเติบโตของผูใ้ ช้ บริการในตลาดต่างจังหวัดเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตในเชิง รายได้ ข องตลาดการให้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ น่ า จะอยู่ ใ นระดั บ

น้อยกว่าร้อยละ 4 เนื่องจากเศรษฐกิจไทยที่คาดว่าจะเติบโตลดน้อยลง อย่ า งมาก ตามภาวะเศรษฐกิ จ ทั่ ว โลก รวมถึ ง สถานการณ์ ค วามไม่ แน่นอนทางการเมือง ซึ่งต่างกดดันการบริโภคภายในประเทศ

เพิ่มความแข็งแกร่งด้านช่องทางการจัดจำหน่าย

นอกจากนี้ การเปิดให้บริการคงสิทธิเลขหมาย (Number Portability) ที่ลูกค้าสามารถเปลี่ยนผู้ให้บริการได้โดยใช้เลขหมายเดิม โดย เอไอเอส ในฐานะผู้นำในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่มีความพร้อมที่จะเติบโตต่อไป ในปีหน้าท่ามกลางสถานการณ์ดังกล่าว ด้วยเครือข่ายที่แข็งแกร่งและ ครอบคลุมทุกพืน้ ที่ มีคณ ุ ภาพทีโ่ ดดเด่นกว่า และมีโครงการสิทธิประโยชน์ มากมายทีท่ ำมายาวนานในการบริหารความสัมพันธ์กบั ลูกค้า นอกจากนี้ เอไอเอส ยังได้ปรับตัวเพื่อรองรับการเปิดให้บริการคงสิทธิเลขหมาย (Number Portability) โดยพยายามปรับเปลี่ยนความคิดเห็นของลูกค้า

ที่มองว่าค่าบริการของ เอไอเอส “แพงกว่าผู้ให้บริการรายอื่น” โดยออก แคมเปญ “เครื อ ข่ า ยคุ ณ ภาพ ราคาพอกั น ” เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภครั บ รู้ ถึ ง

ความคุ้มค่าจากการใช้บริการของ เอไอเอส ซึ่งจะได้รับประสบการณ์ที่ดี ในทุกๆ ด้านและส่งผลให้ลูกค้ามีความผูกพันกับแบรนด์มากยิ่งขึ้น

ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารยั ง ได้ ข ยายช่ อ งทางใหม่ ใ นการเข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า วั ย รุ่ น

ผ่านทางเว็บไซต์ (Website) ซึ่งจะจูงใจด้วยการแจกซิมการ์ด หรือสิทธิ ประโยชน์ต่างๆ เช่น วันใช้งานฟรี สิทธิในการส่ง SMS หรือ MMS ฟรี เป็นต้น โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างคอมมูนิตี้ (Community) และเพื่อสร้าง ความผู ก พั น กั บ แบรนด์ ใ นที่ สุ ด นอกจากนี้ เอไอเอส ยั ง ได้ จ ำหน่ า ย บัตรเติมเงินผ่านช่องทางการจำหน่ายรูปแบบใหม่เพือ่ อำนวยความสะดวก ให้กบั ลูกค้า โดยการแต่งตัง้ ตัวแทนจำหน่ายผ่านช่องทางการจัดจำหน่าย ในธุรกิจอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ได้เกีย่ วข้องกับการสือ่ สารโดยตรง เช่น ร้านขายหนังสือ ร้านสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ำมัน ร้านจำหน่ายซีดี-เทป ห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์สโตร์ ที่ทำการไปรษณีย์ และธนาคาร เป็นต้น รวมทั้งพัฒนา วิธีการเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ผ่านเครื่องเติมเงิน อัตโนมัติ, ATM, Phone Banking, อินเตอร์เน็ต, M-Pay รวมถึงบริการ เติมเงินรูปแบบใหม่ผ่านตัวแทนเติมเงินออนไลน์ (Refill on mobile หรือ ROM) ซึ่ ง จะช่ ว ยลดต้ น ทุ น ของการผลิ ต บั ต รเติ ม เงิ น อี ก ทั้ ง ยั ง ทำให้ การเติมเงินของ เอไอเอส สามารถเข้าถึงผู้บริโภคทุกกลุ่มได้ดียิ่งขึ้น

แนวโน้มตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2552 ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ ะต้องเผชิญกับเงือ่ นไขทางการตลาด ที่ท้าทายในปีหน้า ได้แก่ การชะลอตัวทางเศรษฐกิจทั้งในระดับโลกและ วิกฤตเศรษฐกิจภายในประเทศ ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งเข้าสู่จุดอิ่มตัว (Saturated Market) โดยมีจำนวนผู้ใช้มือถือต่อประชากรในอัตราสูง (High Penetration Rate) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตเมือง โดยในปี 2552 บริษัทฯ คาดว่า ตลาดจะมีจำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ประมาณ 5 ล้านเลขหมาย หรือคิดเป็นการเติบโตที่อัตราร้อยละ 8 จาก ปี 2551 ซึ่งจะทำให้อัตราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจำนวนประชากร ประมาณร้อยละ 100-110 โดยจำนวนผู้ใช้บริการมากกว่า 1 หมายเลข

ผู้ให้บริการมุ่งเน้นให้ความสำคัญมากขึ้นในการเพิ่มรายได้จาก บริการเสริม (Non-voice) ซึง่ มีการแข่งขันด้านราคาไม่สงู นักและยังมีอตั รา การขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะบริ ก ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ดนตรี และความบันเทิง นอกจากนี้ ในปีหน้าผู้ให้บริการแต่ละรายจะนำเสนอ บริ ก ารใหม่ ที่ ห ลากหลายและรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น บนเทคโนโลยี 3G เช่ น อิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส ายความเร็ ว สู ง บนมื อ ถื อ (High Speed Wireless Internet), โทรศัพท์แบบเห็นหน้า (Video Call) หรือบริการดาวน์โหลด ไฟล์ข้อมูลขนาดใหญ่ในลักษณะของ Video Clip, Video Streaming, Full Song, Music Video และขยายธุรกิจไปสู่การให้บริการบรอดแบนด์ (Broadband) ซึ่งมีโอกาสในการเติบโตจากจำนวนผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ในประเทศไทยที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมากกว่า 13 ล้านคน เอไอเอส ในฐานะผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารบนเทคโนโลยี 3G เป็ น รายแรกในประเทศไทย ซึ่งฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่งและมีประสบการณ์อันยาวนานในการ พัฒนาหลากหลายรูปแบบบริการเสริมที่เป็นนวัตกรรมจะสามารถก้าวไป สู่ผู้นำในตลาด 3G ได้อย่างมั่นคง


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

067

ปัจจัยความเสี่ยง ในปัจจุบันสถานการณ์ต่างๆ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากและรวดเร็ว การบริหารความเสี่ยงจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญช่วยให้บริษัทฯ สามารถอยู่รอดได้เมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่บริษัทฯ ต้องมีกลไกการบริหารงานสร้างความแข็งแกร่ง และเตรียมการเพื่อรับมือไว้รอบด้านเป็นการล่วงหน้าเพื่อให้บริษัทฯ สามารถดำรงอยู่ได้ตลอดไป ในปี 2551 ที่ผ่านมา การดำเนินธุรกิจด้านโทรคมนาคมในประเทศไทยมีเหตุการณ์ความผันผวนจากปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ ปัญหา ทางด้านเศรษฐกิจจากราคาน้ำมันที่ขึ้นสูงในช่วง 3 ไตรมาสแรก ปัญหาทางด้านการเมือง วิกฤตทางการเงินโลก เป็นต้น บริษัทฯ ในฐานะที่มี สัดส่วนทางการตลาดมากเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย ได้มุ่งให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยงขององค์กร โดยมีคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ซึ่งมีประธานกรรมการบริหารของบริษัทฯ เป็นประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหารและผู้บริหาร ระดับสูงเป็นกรรมการ รวม 13 ท่าน ซึ่งในปี 2551 คณะกรรมการได้มีการประชุม 4 ครั้ง โดยพิจารณาแจกแจงความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองค์กร จัดอันดับความเสี่ยง กำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง มอบหมายผู้รับผิดชอบจัดให้มีมาตรการควบคุมและจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ

ที่ยอมรับได้ เพื่อให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายและกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ และสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งได้มี การทบทวนความเสี่ยงของบริษัทฯ อย่างสม่ำเสมอว่า บริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านใดบ้างที่เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น

ได้ส่งผลกระทบอย่างไรต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ของบริษัทฯ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการติดตามผลสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาจากแผนงานของฝ่ายจัดการที่รับผิดชอบ ในปัจจัยความเสีย่ งต่างๆ และผลของการวัดผลทีเ่ ชือ่ ถือได้ของการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน และในการประชุมทุกครัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง จะกำหนดให้ฝ่ายจัดการที่รับผิดชอบรายงานผลการบริหารความเสี่ยงที่ได้แจกแจงไว้จากรอบการประชุมครั้งก่อน รวมทั้งมีการพิจารณาว่าระดับ ความเสี่ยงลดลงหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้นำเสนอผลการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการบริหารได้รับทราบ เพื่อให้มีการจัดการความเสี่ยงและติดตามอย่างใกล้ชิด และมั่นใจได้ว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทั้ง บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งสรุปปัจจัยความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ได้ดังต่อไปนี้

1. ความเสี่ยงทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบาย 1.1 การจัดสรรคลื่นความถี่สำหรับการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT2000 หรือ 3G คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) มีนโยบายในการดำเนินการจัดสรรคลื่นความถี่ในช่วง 1920 MHz – 1965 MHz คู่กับ 2110 MHz – 2155 MHz และ 2010 MHz – 2025 MHz เพื่อนำมาใช้ในการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMT2000 หรือ 3G โดยได้ดำเนินการ ว่าจ้างที่ปรึกษาโครงการเพื่อศึกษาและเสนอแนะหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสำหรับประเทศไทย ซึ่ง กทช. ได้ดำเนินการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นสาธารณะจากผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเสร็จสิ้น ไปแล้วหลายครัง้

ทั้งนี้ คณะที่ปรึกษาโครงการได้เสนอรายงานผลการศึกษาให้แก่ กทช. พิจารณาโดยมีสาระสำคัญดังนี้

1. วิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ เสนอให้ใช้วิธีการประมูล (Auction) แก่ผู้ที่เสนอราคาสูงสุด แต่ผู้ที่จะมีสิทธิเข้าประมูลจะต้องผ่าน การพิจารณาถึงคุณสมบัติเบื้องต้นตามเกณฑ์ที่กำหนด (Pre Qualification) เสียก่อน ได้แก่ การมีสถานภาพทางกฎหมาย (Legal Personality Requirements), ความแข็งแกร่งทางการเงินที่เพียงพอ (Financial Ability) และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของ อำนาจในการควบคุม และบุคคลเกี่ยวโยง (Associational Ties) 2. จำนวนใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เสนอให้มีใบอนุญาตแก่ผู้ประกอบการ 4 ราย โดยแบ่งตามจำนวนคลื่นความถี่ที่ได้รับ

การจัดสรร 2 X 10 MHz จำนวน 3 ราย และ 2 X 15 MHz จำนวน 1 ราย แต่ทั้งนี้ การพิจารณาว่าจะใช้วิธีใดในการจัดสรรคลื่นความถี่ จำนวนของใบอนุญาต ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่างๆ ย่อมขึ้นอยู่ กับการพิจารณาของ กทช. ซึ่งคาดว่า กทช. จะพิจารณาและออกประกาศว่าด้วยวิธีการจัดสรรและหลักเกณฑ์การให้ใบอนุญาตได้ประมาณ ต้นปี 2552 และดำเนินการจัดสรรคลื่นความถี่ให้แล้วเสร็จได้ประมาณกลางปี 2552


068

รายงานประจำปี 2551

บริษัทฯ คาดการณ์ว่าจะมีผู้ประกอบการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปัจจุบันรวมทั้งบริษัทฯ เอง และผู้ประกอบการรายใหม่หลายราย สนใจเข้าร่วมขอรับการจัดสรรคลื่นความถี่สำหรับบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G จาก กทช. ซึ่งบริษัทฯ มีความเชื่อมั่นในศักยภาพและสถานะ ทางการเงินของบริษัทฯ ว่ามีคุณสมบัติเพียงพอที่จะเข้าร่วมการจัดสรรคลื่นความถี่ตามหลักเกณฑ์ที่ กทช. จะกำหนดในครั้งนี้ได้ อย่างไรก็ตาม หากบริษัทฯ มิได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่ในครั้งนี้ย่อมส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคต ซึ่งตาม สัญญาอนุญาตให้บริการฯ ที่ได้รับจาก บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (ทีโอที) จะสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน 2558 หากสัญญาฉบับดังกล่าวมิได้

มีการขยายระยะเวลาของสัญญาออกไปอีก แต่ถ้าบริษัทฯ ได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่จาก กทช. ในครั้งนี้จะเป็นผลทำให้บริษัทฯ สามารถ ประกอบธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G ได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตซึ่งจะอยู่ในระหว่าง 15 ปีถึง 25 ปี

1.2 องค์กรที่ทำหน้าที่กำกับดูแลกิจการด้านโทรคมนาคมและกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2551 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. .... เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ที่กำหนดไว้ว่า ให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระองค์กรหนึ่ง ทำหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ กำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในมาตราดังกล่าวประกอบกับมาตรา 305 (1) ของรัฐธรรมนูญฯ ทำให้มีการตรากฎหมาย เพื่อจัดตั้งองค์กรที่ทำหน้าที่กำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมซึ่งต่อไปจะมีเพียงองค์กรเดียว คือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในการประชุมคณะรัฐมนตรีดังกล่าวมีประเด็นสำคัญหลายประการที่ต้องทำให้ศึกษาและทบทวนใหม่ เนื่องจากต้องมีความชัดเจนในเรื่องอำนาจหน้าที่ การสรรหา การตรวจสอบ และการคานอำนาจขององค์กร โดยขณะนี้ร่างพระราชบัญญัติ ดังกล่าวอยู่ในระหว่างการดําเนินการเพื่อนําเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งคาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งในการจัดตั้งองค์กรดังกล่าว อันจะ ส่งผลต่อความชัดเจนในการกำหนดทิศทางกิจการโทรคมนาคมและวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ของประเทศ อย่างไรก็ตาม กทช. ซึง่ เป็นองค์กรอิสระทีท่ ำหน้าทีก่ ำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ยังคงอยูแ่ ละมีอำนาจตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการโทรคมนาคม และพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2543 ในการกำหนดนโยบายและออกกฎระเบียบต่างๆ ประกอบกับ มาตรา 305 (1) ของรัฐธรรมนูญฯ ยังกำหนดมิให้กฎหมายที่จะบัญญัติออกมานั้น กระทบกระเทือนถึงการอนุญาตสัญญาร่วมการงาน หรือสัญญาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ได้กระทำขึ้นก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ จนกว่าการอนุญาตสัญญาร่วมการงานหรือสัญญานั้นจะสิ้นผล ซึ่งล่าสุดมีการเสนอให้ใช้วิธีการออกพระราชบัญญัติฉบับใหม่ หรือแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 แทนการร่างกฎหมายขึ้นมาทั้งฉบับ บริษัทฯ ไม่สามารถคาดการณ์เกี่ยวกับระยะเวลาในการออกพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. .... หรือการแก้ไขพระราชบัญญัติฉบับเดิม และการใช้อำนาจกำกับดูแลและขอบเขต ของการกำหนดนโยบายและกฎระเบียบของ กสทช. ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และไม่อาจคาดการณ์ได้ว่าการจัดตั้งองค์กรกำกับดูแลอื่นๆ รวมทั้ง การปฏิรูปเปลี่ยนแปลงกฎหมายและการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อการประกอบกิจการโทรคมนาคมในขอบข่าย ที่เป็นอยู่รวมทั้งฐานะการเงิน การดำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ หรือไม่

1.3 สั ญ ญาร่ ว มการงานระหว่ า งรั ฐ กั บ เอกชนที่ ก ำหนดในพระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการให้ เ อกชนเข้ า ร่ ว มงานหรื อ ดำเนิ น การ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 1.3.1 การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) กับ บริษทั ทีโอที จำกัด

(มหาชน) ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับ

การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (ทีโอที) ซึ่งในขณะนั้นมีสถานะเป็นองค์การ โทรศัพท์แห่งประเทศไทย กับ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำกัด (มหาชน) ภายหลังจากวันทีพ่ ระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บังคับแล้วว่าได้ดำเนินการถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ และหากการแก้ไขเพิ่มเติม สัญญาอนุญาตฯ ดำเนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จะมีแนวทางการปฏิบัติต่อไปอย่างไร


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

069

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีบันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (กรณีสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระหว่างบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)) เรื่องเสร็จที่ 291/2550 ให้ความเห็นดังนี้ “…ทีโอทีเข้าเป็นคูส่ ญ ั ญาในเรือ่ งนีเ้ ป็นการกระทำแทนรัฐโดยอาศัยอำนาจหน้าทีต่ ามกฎหมายว่าด้วยองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย สัญญาอนุญาตฯ ที่เกิดขึ้นจึงเป็นสัญญาระหว่างรัฐกับเอกชนเพื่อมอบหมายให้เอกชนดำเนินการให้บริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหน้าที่ปฏิบัติ ตามข้อกำหนดในสัญญาดังกล่าว แต่เมือ่ การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีขอ้ หารือดำเนินการไม่ถกู ต้องตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ ซึง่ มีผลใช้บงั คับในขณะทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ เนือ่ งจากมิได้เสนอเรือ่ งการแก้ไขเพิม่ เติมให้คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22

พิจารณา และเสนอให้คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรที่มีอำนาจพิจารณาเห็นชอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติ ดังกล่าวดังที่ได้วินิจฉัยข้างต้น การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ โดย ทีโอที เป็นคู่สัญญา จึงกระทำไปโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอันเป็นนิติกรรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำขึ้นได้ และข้อตกลง

ต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น หากคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็น

ผู้มีอำนาจตามกฎหมายได้พิจารณาถึงเหตุแห่งการเพิกถอน ผลกระทบ และความเหมาะสม โดยคำนึงถึงประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะ แล้วว่า การดำเนินการที่ไม่ถูกต้องนั้นมีความเสียหายอันสมควรจะต้องเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำขึ้น คณะรัฐมนตรีก็ชอบ

ที่จะเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้วมีเหตุผลความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ และเพื่อความต่อเนื่องของการให้บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีก็อาจใช้ดุลพินิจพิจารณาให้ความเห็นชอบให้มีการดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติม สัญญาอนุญาตฯ ดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการและคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 เป็นผู้ดำเนินการ เสนอข้อเท็จจริง เหตุผล และความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี” ขณะนีไ้ ด้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ขึน้ แล้ว และอยูใ่ นระหว่างการดำเนินการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วย

การให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ และจะได้ทำหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดต่อไป บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นในหลักการและเหตุผลของการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญา หน้าที่การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ของทีโอที และ

การดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตแิ ละข้อตกลงอย่างถูกต้อง จะส่งผลให้ประเด็นความเสีย่ งนีส้ ามารถคลีค่ ลายไปในทางที่ ดี และเชื่อว่าไม่น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อบริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตาม หากการแก้ไขสัญญาร่วมการงานของบริษัทฯ

ถูกเพิกถอนอาจมีผลให้อายุสัญญาร่วมการงานสั้นลงและ/หรืออาจมีต้นทุนในส่วนแบ่งรายได้ของบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเติมเงินที่สูงขึ้น เป็นต้น 1.3.2 สัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับ

การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะหว่างบริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (กสท.) กับบริษทั ดิจติ อล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บังคับแล้วว่าได้ดำเนินการ ถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ และหากการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดำเนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าว

จะมีแนวทางการปฏิบัติต่อไปอย่างไร สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเรื่องการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ

ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 กรณีสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ กสท. กับ ดีพีซี โดยจากบันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เรื่องเสร็จที่ 294/2550 ให้ความเห็นโดยสรุปว่า


070

รายงานประจำปี 2551

“...การที่ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) โอนสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูล่าร์ ให้แก่ ดีพีซี และ ดีพีซี กับ กสท. ได้มีการทำสัญญาระหว่างกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 ว่า กสท. ได้อนุญาตให้สิทธิเอกชนรายใหม่ ในการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า โดย กสท. และ ดีพีซี เป็นคู่สัญญาและไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการดำเนินการใช้บริการวิทยุ คมนาคมฯ ที่ กสท. อนุญาตให้แก่ ดีแทค แต่อย่างใด ดีพีซี จึงเป็นคู่สัญญาที่อยู่ภายใต้การดูแลกำกับของ กสท. และจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ กสท. ดีพีซี ในฐานะที่เป็นเอกชนผู้เข้าร่วมงาน หรือดำเนินงานในกิจการของรัฐจึงต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ เนื่องจาก กสท. ได้มีการกำหนดขอบเขตของโครงการและเอกชนผู้ดำเนินการให้บริการเป็นการเฉพาะเจาะจง รวมทั้งได้มีการให้บริการโครงการไปแล้ว จึงไม่มีกรณี ที่จะต้องประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐและการคัดเลือกเอกชนด้วยวิธีประมูลตามที่บัญญัติไว้ในหมวด 3 การดำเนินโครงการ แต่เป็นการทีต่ อ้ งนำบทบัญญัตใิ นหมวด 3 นีม้ าใช้บงั คับโดยอนุโลมเท่าทีไ่ ม่ขดั ต่อสภาพแห่งข้อเท็จจริง โดย กสท. ต้องดำเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มาตรา 13 เพื่อดำเนินการตามมาตรา 21 คือให้คณะกรรมการนำผลการคัดเลือกพร้อมเหตุผล ประเด็นที่เจรจา

ต่อรองเรือ่ งผลประโยชน์ของรัฐ ร่างสัญญาและเอกสารทัง้ หมดเสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัดเพือ่ นำเสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาภายในเก้าสิบวัน นับจากวันที่คณะกรรมการตัดสินโดยอนุโลมต่อไป ดังนั้น การดำเนินการจึงอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการตามมาตรา 13 ที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควรได้ และ ดีพีซี

ผูไ้ ด้รบั โอนสิทธิและหน้าทีจ่ ากบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซส คอมมูนเิ คชัน่ จำกัด (มหาชน) ตามสัญญาให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ระหว่าง กสท. กับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) แล้ว ดีพีซี ย่อมเป็นผู้มีสิทธิดำเนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมฯ ได้ตาม สิทธิและหน้าที่ที่ได้รับโอน แม้ว่าสัญญาให้ดำเนินการระหว่าง กสท. กับ ดีพีซี ที่ทำขึ้นใหม่มิได้ดำเนินการหรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วย การให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ แต่อย่างไรก็ตาม สัญญาที่ทำขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลา หรือเหตุอื่น ดังนั้น กสท. และ ดีพีซี จึงยังต้องมีภาระหน้าที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ได้กระทำไว้แล้ว” ขณะนี้ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามมาตรา 13 ขึ้นแล้ว และอยู่ในระหว่างการดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ

ให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ และจะได้ทำหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดต่อไป ดีพีซี มีความเชื่อมั่นว่าประเด็นความเสี่ยงนี้สามารถคลี่คลายไปในทางที่ดี โดย กสท. และ ดีพีซี ยังคงมีภาระหน้าที่ในการปฏิบัติ ตามสัญญาที่ได้กระทำไว้แล้ว อย่างไรก็ตาม สัญญาร่วมการงานของ ดีพีซี อาจสิ้นสุดลง หากประเด็นดังกล่าวเป็นไปในอีกทางหนึ่ง

1.4 กฎหมายว่าด้วยการใช้และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) ตามพระราชบัญญัติการประกอบการกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติว่าด้วย

การใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 และบริษัท ทรู มูฟ จำกัด ณ วันที่ 16 มกราคม 2550 ซึ่งสัญญาดังกล่าวได้ผ่าน

การเห็ น ชอบจากคณะกรรมการกิ จ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติ แ ล้ ว ในระหว่ า งปี 2550 บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ บ ริ ก ารตามสั ญ ญาเชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ย โทรคมนาคมดังกล่าว โดย ณ ขณะนั้นบริษัทฯ ยังมิได้เรียกเก็บค่าเชื่อมโครงข่ายโทรคมนาคมจากคู่สัญญาทั้งสอง และมิได้บันทึกรายการ

ที่เกี่ยวข้องกับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมในงบการเงินระหว่างกาล เนื่องจากทีโอทีซึ่งเป็นผู้ให้อนุญาตได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัทฯ ทราบว่า บริษัทฯ มิใช่ผู้รับใบอนุญาตที่มีโครงข่ายโทรคมนาคมตามกฎหมาย จึงไม่มีสิทธิเข้าทำสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามประกาศ

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 วันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอทีได้ยื่นฟ้อง กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนประกาศฯ ดังกล่าว และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอที ได้มหี นังสือแจ้งให้บริษทั ฯ ทราบว่า บริษทั ฯ ควรรอให้ศาลมีคำพิพากษาเพือ่ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั ติ อ่ ไป และหากบริษทั ฯ ดำเนินการ ตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติก่อนศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุด ทีโอทีจะไม่รับรู้และบริษัทฯ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ

ในการดำเนินการดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้พิจารณาหนังสือของทีโอทีดังกล่าวและกฎหมายที่เกี่ยวข้องประกอบกับความเห็นของที่ปรึกษากฎหมาย ผู้บริหาร ของบริษัทฯ เห็นว่าการไม่ปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมข้างต้น อาจถือได้ว่าเป็นการขัดต่อประกาศ กทช. ว่าด้วยการใช้และ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

071

เชื่อมต่อโครงข่าย บริษัทฯ จึงได้ตัดสินใจปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่าย ซึ่งเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่

ในปัจจุบัน โดยออกใบแจ้งหนี้เพื่อเรียกเก็บค่าเชื่อมต่อโครงข่ายจากคู่สัญญา และบันทึกรายการที่เกี่ยวข้องกับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตามสัญญาที่ได้ทำไว้ข้างต้นไว้ในงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ซึ่งต่อมาได้มีการชำระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างกันแล้ว ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่กำหนดให้บริษัทฯ ต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ทีโอทีเป็นรายปี

โดยจ่ายเป็นจำนวนเงินขั้นต่ำตามที่สัญญากำหนดในแต่ละปี หรือในอัตราร้อยละของรายได้ และผลประโยชน์อื่นใดที่บริษัทฯ พึงได้รับในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใดๆ ทั้งสิ้น จำนวนไหนมากกว่าให้ถือเอาจำนวนนั้น อย่างไรก็ตาม ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นรายการ

ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และทีโอทีต้องการรอคำพิพากษาถึงที่สุดในเรื่องขอเพิกถอนประกาศฯ จากศาลปกครอง จึงเป็นรายการที่บริษัทฯ

คาดว่าจะมีการเจรจาตกลงเรื่องวิธีการคำนวณผลประโยชน์ตอบแทนรายปีในเวลาต่อมา ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามหลักความระมัดระวัง บริษัทฯ จึงคำนวณค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปีจากรายได้สุทธิตามที่ปฏิบัติในทางเดียวกันทั้งอุตสาหกรรมกิจการโทรคมนาคม ส่วนจำนวนผลประโยชน์ ตอบแทนที่บริษัทฯ ต้องจ่ายให้แก่ทีโอทีนั้น ขึ้นอยู่กับผลการตัดสินจากศาลปกครองในเรื่องขอเพิกถอนประกาศฯ และการเจรจาตกลงระหว่าง บริษัทฯ กับทีโอทีในภายหลัง โดยบริษัทฯ จะปรับปรุงรายการในงบการเงินในงวดที่การเจรจาตกลงสิ้นสุดลง ซึ่งผู้บริหารของบริษัทฯ มีความมั่นใจ ว่าจะไม่เกิดค่าใช้จ่ายมากไปกว่าจำนวนที่บันทึกไว้อย่างมีสาระสำคัญ ต่อมา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 ทีโอที ได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัทฯ ทราบว่าเนื่องจากผลการเจรจาเกี่ยวกับอัตราและวิธีการคำนวณ

ส่วนแบ่งรายได้ระหว่างบริษัทฯ และทีโอทียังไม่ได้ข้อยุติ จึงให้บริษัทฯ นำส่งเงินผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม

ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ถึงเดือนมิถุนายน 2551 จำนวนเงิน 761 ล้านบาท ตามอัตราและวิธีคิดคำนวณของบริษัทฯ ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 และบริษัทฯ ได้นำส่งให้แก่ทีโอทีแล้วเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 โดยใช้เกณฑ์คำนวณตามที่บริษัทฯ เสนอ สำหรับค่าเชื่อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคมตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2551 เป็นต้นไปจนถึงปัจจุบัน บริษัทฯ และทีโอทีจะจัดตั้งคณะทำงานเจรจาเพื่อให้ได้ข้อยุติโดยเร็ว

1.5 ข้อพิพาท อันเนื่องจาก ภาษีสรรพสามิต (Excise Tax)

1.5.1 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)

เมื่ อ วั น ที่ 22 มกราคม 2551 บริ ษั ท ที โ อที จำกั ด (มหาชน) ได้ ยื่ น คำเสนอข้ อ พิ พ าทหมายเลขดำที่ 9/2551 ต่ อ สถาบั น อนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม เรียกร้องให้บริษัทฯ ชำระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมอีกจำนวน 31,463 ล้านบาท ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินดังกล่าว นับตั้งแต่วันที่

10 มกราคม 2550 อันเป็นวันผิดนัดจนกว่าจะชำระเสร็จสิ้น บริษัทฯ ได้ยื่นคำคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2551

และได้ แ ต่ ง ตั้ ง อนุ ญ าโตตุ ล าการฝ่ า ยของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ดำเนิ น กระบวนการพิ จ ารณาข้ อ พิ พ าทเรี ย บร้ อ ยแล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 20 สิ ง หาคม 2551

ซึง่ กระบวนการพิจารณาข้อพิพาทดังกล่าวอาจใช้เวลาพิจารณาหลายปีและขณะนีย้ งั ไม่เริม่ กระบวนการพิจารณา แต่อย่างไรก็ตามผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เชื่อว่าผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเห็นว่าจำนวนเงินดังกล่าวเป็นจำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่บริษัทฯ ได้ นำส่งตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 และบริษัทฯ ได้นำมาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติคณะรัฐมนตรี

เมื่ อ วั น ที่ 11 กุ ม ภาพั น ธ์ 2546 ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นแล้ ว และเป็ น การปฏิ บั ติ ที่ เ หมื อ นกั น ทั้ ง อุตสาหกรรมสำหรับกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นทีห่ รือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ตามมติคณะรัฐมนตรี นอกจากนี้ ทีโอที ได้เคยมีหนังสือตอบเลขที่ ทศท. บย./843 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2546 ระบุว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติถูกต้องตามมติคณะรัฐมนตรีแล้ว และบริษัทฯ มีภาระเท่าเดิมตามอัตราร้อยละ

ที่กำหนดไว้ในสัญญาซึ่งการดำเนินการยื่นแบบชำระภาษีสรรพสามิตดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่อข้อสัญญาแต่ประการใด 1.5.2 บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (กสท.) ได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 3/2551

ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุตธิ รรม เพือ่ เรียกร้องให้ ดีพซี ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ชำระเงินส่วนแบ่งรายได้


072

รายงานประจำปี 2551

เพิม่ เติมอีกจำนวน 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ พร้อมเรียกเบีย้ ปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน ของจำนวนเงินที่ค้างชำระในแต่ละปีนับตั้งแต่วันผิดนัดจนกว่าจะชำระเสร็จสิ้น ซึ่งคำนวณถึง ณ เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็นเบี้ยปรับทั้งสิ้น 1,500 ล้านบาท รวมเป็นเงินทั้งหมดจำนวน 3,949 ล้านบาท และต่อมาในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 กสท. ได้ยื่นขอแก้ไขจำนวนทุนทรัพย์รวมเบี้ยปรับลดลง เหลือ 3,410 ล้านบาท ดีพีซี ได้ยื่นคำคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรมแล้ว เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2551 และได้แต่งตั้งอนุญาโตตุลาการฝ่ายของ ดีพีซี เพื่อดำเนินกระบวนการพิจารณาข้อพิพาทแล้วเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 ซึ่งกระบวนการ พิจารณาข้อพิพาทดังกล่าวอาจใช้เวลาหลายปีและขณะนี้ยังไม่มีการเริ่มกระบวนการพิจารณาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารของบริษัทฯ เชื่อว่า ผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเห็นว่าจำนวนเงินส่วนแบ่งรายได้ดังกล่าวเป็นจำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิต

ที่ ดีพีซี ได้นำส่งตั้งแต่ วันที่ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และ ดีพีซี ได้นำมาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติคณะรัฐมนตรี

เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 อีกทั้ง กสท. เคยมีหนังสือแจ้งให้ ดีพีซี ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ดังนั้น ดีพีซี ได้ปฏิบัติตามมติ

คณะรัฐมนตรีถูกต้องครบถ้วนแล้ว และเป็นการปฏิบัติที่เหมือนกันทั้งอุตสาหกรรมสำหรับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลู ล่าตามมติคณะรัฐมนตรี

1.6 ข้อพิพาทระหว่างบริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) วันที่ 7 มีนาคม 2551 บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (กสท.) ได้ยนื่ ฟ้อง บริษทั ฯ เป็นจำเลยที่ 1 และ บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด (เอไอเอ็น) เป็นจำเลยที่ 2 คดีหมายเลขดำที่ 1245/2551 ต่อศาลแพ่ง เรียกร้องให้รว่ มกันชดใช้คา่ เสียหาย พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อ ปีจนถึงวันฟ้อง รวมเป็นเงิน 130 ล้านบาท โดยอ้างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีที่บริษัทฯ กับบริษัทย่อย เปลี่ยนแปลงการส่งทราฟฟิค

การให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ในช่วงเวลาวันที่ 1 ถึง 27 มีนาคม 2550 ที่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของบริษัทฯ ใช้บริการ

ผ่านเครื่องหมาย + จากเดิมที่เป็น 001 ของ กสท. มาเป็น 005 ของบริษัทย่อยโดยไม่แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบก่อน เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2551 กสท. ได้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องในส่วนของค่าเสียหายเป็นเงินรวม 583 ล้านบาท (รวมดอกเบี้ย)

โดยอ้างว่าการกระทำดังกล่าวเป็นเหตุให้ กสท. ได้รับความเสียหายเป็นระยะเวลาต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงวันที่ 7 มีนาคม 2551 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลได้มคี ำส่งยกคำร้องของ กสท. ทีย่ นื่ เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 ทีข่ อให้ศาลมีคำสัง่ คุม้ ครองชัว่ คราวมิให้บริษทั ฯ และเอไอเอ็น ทำการโยกย้าย ทราฟฟิค 001 หรือ เครื่องหมาย + ของ กสท. ไปยังทราฟฟิค 005 ของเอไอเอ็น ผู้บริหารของบริษัทฯ เชื่อว่าผลของคดีดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเครื่องหมาย + เป็นเครื่องหมายสากล และเป็นการ ปฏิบัติโดยทั่วไปของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่จะกำหนดให้เครื่องหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสการเรียกออกของบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ จึงเป็นสิทธิของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่ละรายที่จะกำหนดให้เครื่องหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสเรียกของผู้ใช้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศรายใด บริษัทฯ จึงมิได้กระทำละเมิด และทำให้ กสท. เสียหายแต่อย่างใด

1.7 ข้อพิพาทระหว่างบริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ได้เสนอข้อพิพาทต่อสำนักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 8/2552 เพือ่ เรียกร้องให้บริษทั ดิจติ อล โฟน จำกัด ส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จำนวน 3,343 ต้น พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกำลังงาน (Power Supply) จำนวน 2,653 เครือ่ ง ตามสัญญาให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ หากไม่ สามารถส่งมอบได้ให้ชดใช้เงินจำนวน 2,230 ล้านบาท ซึ่งดีพีซีเห็นว่า เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกำลังงาน (Power Supply) มิใช่เครือ่ งหรืออุปกรณ์ตามที่กำหนดไว้ในสัญญาข้อ 2.1 ที่ดีพีซีจะมีหน้าที่จัดหาและส่งมอบตามสัญญา ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนเตรียมยื่นคำคัดค้านภายใต้กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ซึ่งผู้บริหารของบริษัทฯ เชื่อว่าผลของ คดีดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจาก ดีพีซี ได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

073

2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์การตลาดและการแข่งขัน 2.1 การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ (Economic Recession) เศรษฐกิจประเทศไทยในปี 2552 มีแนวโน้มที่จะชะลอตัว โดยคาดการณ์ล่าสุด ณ เดือนธันวาคม 2551 ของธนาคารแห่งประเทศไทย

การเติบโตทางเศรษฐกิจในปี 2552 จะเติบโตที่ประมาณร้อยละ 0 – 2 เมื่อเปรียบเทียบกับประมาณการของปี 2551 ที่ร้อยละ 4 - 4.5 และมี

ความเป็นไปได้ที่เศรษฐกิจประเทศไทยอาจจะเติบโตต่ำกว่าที่คาดการณ์ เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐที่เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก กำลังเข้าสู่ภาวะถดถอยอย่างรุนแรงในปีหน้า โดยเริ่มเห็นสัญญาณจากการรายงานตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ในไตรมาส 3 ของ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐอเมริกาที่ลดลงร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้จ่ายของผู้บริโภคที่ลดลงมากที่สุด ในรอบ 28 ปี และนับเป็นตัวเลขทีต่ ำ่ ทีส่ ดุ ตัง้ แต่เศรษฐกิจสหรัฐหดตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาส 3 ของปี 2544 ขณะเดียวกันตัวเลขว่างงานยังเพิม่ สูงขึน้ เช่นเดียวกับการลดต่ำลงของราคาหุ้นกับมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ และวิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกายังได้ขยายลุกลามต่อไปทั้งในยุโรปและเอเชีย สำหรับประเทศไทยจะได้รับผลกระทบนี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้โดยเฉพาะในภาคการส่งออก เนื่องจากสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่นเป็นคู่ค้าหลัก ของประเทศ โดยมีการคาดการณ์การจ้างงานในภาคการผลิตที่จะลดลงมากกว่า 1 ล้านคนในปีหน้า รวมทั้งภาคการท่องเที่ยวที่มีการชะลอตัว

จากการใช้จ่ายที่ลดลง สำหรับการบริโภคและการลงทุนในประเทศของภาคเอกชนมีแนวโน้มที่ต่ำลง ซึ่งเป็นผลมาจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภค

อยู่ในระดับที่ต่ำทั้งจากปัญหาการเมืองภายในประเทศ ประกอบกับการวิตกผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ขณะที่ตลาดทุนมีความผันผวน

เป็นอย่างมากจากการเคลื่อนย้ายเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติและกองทุนที่ขายหุ้นทั่วโลกเพื่อระดมเงินสดรองรับการไถ่ถอนหน่วยลงทุน และ

เพื่อบรรเทาวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นรัฐบาลจึงได้ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจซึ่งประกอบไปด้วย โครงการขนาดใหญ่ (Mega Project) โครงการ เพื่อประชาชนในระดับรากหญ้า มาตรการทางด้านภาษี รวมถึงการเร่งการเบิกจ่ายงบประมาณ เป็นต้น บริษัทฯ ในฐานะผู้ให้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ได้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ดังกล่าวด้วยการยืนหยัดที่จะนำเสนอโปรแกรมค่าโทรที่คุ้มค่าและพัฒนาบริการนวัตกรรมใหม่ๆ ที่อำนวย ความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชีวิตประจำวันและการทำธุรกิจต่างๆ ของลูกค้า เช่น โมบายอินเตอร์เน็ต เอ็มเปย์ ซึ่งช่วยประหยัดเวลา

ในการหาข้อมูล วางแผนการเดินทาง และทำธุรกรรมต่างๆ ได้เองผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น อีกทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้กลายเป็นสินค้าจำเป็น ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเชื่อมั่นว่าจะสามารถผ่านพ้นสถานการณ์การชะลอตัวทางเศรษฐกิจไปได้ด้วยดี

2.2 ประกาศว่าด้วยการกำหนดให้มี Number Portability จากพระราชบัญญัติประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 12 ที่กำหนดให้ มี “การใช้เลขหมายเดียวทุกระบบ” หรือ Number Portability โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการใช้เบอร์เดียวทุกระบบและเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการมีสิทธิในการใช้เลขหมายเดิมของตนเองเพื่อคุ้มครอง ผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการ และทำให้ใช้เลขหมายซึ่งเป็นทรัพยากรของประเทศได้อย่างคุ้มค่ามากขึ้น เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ได้มีคำสั่งที่ 37/2550 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษา

และเตรียมการการดำเนินการของโครงการ Mobile Number Portability เพื่อให้มีการกำหนดรูปแบบและแนวทางการบริหารของการใช้เลขหมาย เดียวทุกระบบ การกำหนดรูปแบบทางเทคนิคและระบบฐานข้อมูล ตลอดจนรูปแบบการลงทุนเพื่อให้การดำเนินงานในทางปฏิบัติเป็นไปอย่าง

มีประสิทธิภาพ ซึง่ กทช. ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการศึกษาและเตรียมการดำเนินการ นอกจากนี้ กทช. ได้เปิดโอกาสให้ผใู้ ห้บริการทุกรายได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการศึกษาข้อมูล จัดทำข้อเสนอ และวิธีการดำเนินการร่วมกัน ซึ่งขณะนี้อยู่ในขั้นตอนของการศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ โดยประชุม

มาแล้ว 4 ครั้ง นั้น จากประกาศคำสั่งดังกล่าว จะเป็นการสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันกันมากขึ้นระหว่างผู้ให้บริการแต่ละราย เนื่องจากระบบ Number Portability ดังกล่าวจะเปิดโอกาสให้ลูกค้าสามารถเปลี่ยนเครือข่ายผู้ให้บริการได้ตลอดเวลา หากผู้ให้บริการไม่ปรับปรุงทั้งเรื่องคุณภาพบริการและ แผนการตลาดหรือโปรโมชั่นเพื่อดึงดูดลูกค้าไว้ ซึ่งเป็นความเสี่ยงองค์รวมของภาคอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่ผู้ให้บริการไม่สามารถคาดการณ์ได้ ถึงพฤติกรรมของลูกค้าภายหลังจากที่มีการนำระบบ Number Portability มาใช้งาน บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่า บริษัทฯ มีความพร้อมและสามารถดำเนินการได้ทันทีเมื่อมีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ เนื่องจากบริษัทฯ ได้ มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ไม่เพียงแต่คุณภาพของเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วประเทศมากกว่าผู้ให้บริการรายอื่น บริษัทฯ ยังได้ดำเนิน


074

รายงานประจำปี 2551

กลยุทธ์ที่จะสร้างความแข็งแกร่งของแบรนด์เพื่อให้ลูกค้ารับรู้ถึงความคุ้มค่าและไว้วางใจที่จะใช้บริการของบริษัทฯ ตลอดไป ด้วยการบริหาร จัดการลูกค้าตาม Life Cycle และการดูแลลูกค้าแบบเฉพาะกลุ่ม (Customization) การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง (Customer Relation Management - CRM) บริการหลังการขายที่มีคุณภาพ และปรับปรุงคุณภาพในทุกช่องทางการให้บริการทั้งผ่านตัวแทนและสำนักงาน บริการ ซึง่ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและสถิตปิ ระยุกต์เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสามารถส่งมอบสินค้า

และบริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญกับการสร้างความผูกพันกับแบรนด์ผ่านมิติทางด้านอารมณ์ (Emotional) ด้วยแนวคิด “อยู่เคียงข้างคุณ” ที่ให้ลูกค้าสัมผัสกับเครือข่ายคุณภาพ การบริการลูกค้าที่ไว้วางใจ นวัตกรรมใหม่ สิทธิพิเศษต่างๆ

และการตอบแทนสังคมผ่านทุกช่องทางการให้บริการ จากความมุ่งมั่นที่จะนำเสนอบริการที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้าทำให้บริษัทฯ ได้รับ 2 รางวัลใหญ่ ระดับเอเชียซึ่งประกอบไปด้วย ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย ประจำปี 2008 (Asian Mobile Operator of the Year 2008) และ รางวัลผูใ้ ห้บริการยอดเยีย่ มของไทย ประจำปี 2008 (Mobile Operator of the Year Thailand 2008) จากนิตยสาร “Asian Mobile News” ประเทศสิงคโปร์

3. ความเสี่ยงทางด้านระบบปฏิบัติการ (Operation Risk) บริษทั ฯ เป็นผูน้ ำของผูป้ ระกอบการธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่ มีเครือข่ายขนาดใหญ่ตดิ ตัง้ ให้บริการครอบคลุมทัว่ ประเทศ อีกทัง้ มีบริการเสริมต่างๆ

ประกอบไปด้วย บริการส่งข้อความ (SMS) บริการส่งข้อความภาพและเสียง (MMS) บริการเสียงรอสาย (Calling Melody) บริการดาวน์โหลด และ บริการด้านข้อมูล (Data & Portal) เพื่อรองรับความต้องการของผู้ใช้บริการที่หลากหลาย ดังนั้น การที่ระบบปฏิบัติการของเครือข่ายซึ่งมีขนาดใหญ่ และมีความหลากหลาย จะสามารถให้บริการลูกค้าทุกประเภทตามทีล่ กู ค้าต้องการได้อย่างต่อเนือ่ ง จึงต้องมีระบบการควบคุมดูแลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยมีหน่วยงาน Network Operation Center (NOC) ทำหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบ การทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมทั้ง

มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่บำรุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ที่พร้อมออกปฏิบัติการได้ทันที เพื่อให้เหตุขัดข้องที่อาจจะเกิดขึ้นสามารถแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว นอกเหนือจากการให้บริการได้อย่างต่อเนื่องแล้ว บริษัทฯ ยังได้มีการตรวจสอบดูแลทางด้านคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ มีการติดตาม

ตรวจสอบข้อมูลจากสถิติคุณภาพการใช้งานในด้านต่างๆ มีการใช้อุปกรณ์ทดสอบคุณภาพ ติดตั้งและวัดคุณภาพอยู่ทั่วประเทศ และมีทีมงาน

ทำหน้าทีใ่ นการตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพกระจายอยูใ่ นทุกๆ ภาค บริษทั ฯ ยังคงมีแผนทีจ่ ะพัฒนาการให้บริการให้ครอบคลุมพืน้ ทีต่ า่ งๆ มากขึน้ ด้วยการเพิ่มสถานีฐานกว่า 1,800 สถานี ด้วยงบลงทุน ในปี 2551 เป็นเงินรวม 13,000 ล้านบาท อีกทั้งยังมีการนำเทคนิคพิเศษ (Features) ที่จะ ช่วยทำให้สามารถพัฒนาคุณภาพการใช้งานให้ดีขึ้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทฯ ได้ให้บริการที่มีคุณภาพกับลูกค้า และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีการนำข้อมูลคุณภาพการใช้งานไปเปรียบเทียบกับผู้ให้บริการในต่างประเทศอยู่เสมอ เพื่อเป็นตัววัดให้มีการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง และไม่หยุดนิ่งที่จะพัฒนาคุณภาพให้ดียิ่งๆ ขึ้น บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่าจากประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของเจ้าหน้าที่ที่ดูแลรับผิดชอบระบบปฏิบัติงานขนาดใหญ่จะสามารถ ทำให้คุณภาพของการให้บริการมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

4. ความเสี่ยงทางด้านเทคโนโลยี (Technology Risk) 4.1 เทคโนโลยี 3 จี การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีเป็นปัจจัยสำคัญต่อการแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม การทีผ่ ปู้ ระกอบการไม่สามารถ ปรับตัวได้ทันต่อเทคโนโลยีที่เข้ามาใหม่ อาจส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันได้ในระยะยาว การแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้น

ในอนาคตอันใกล้สำหรับประเทศไทยนั้นจะรวมไปถึงเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 หรือ 3G ซึ่งบริษัทฯ เป็นผู้ให้บริการรายแรกในประเทศ

ที่มีการเปิดการใช้งานอย่างเป็นทางการ ภายใต้ชื่อ “3GSM” (900 เมกะเฮิร์ตซ) โดยเปิดให้บริการที่จังหวัดเชียงใหม่เมื่อเดือนพฤษภาคม 2551

ซึ่งทำให้ลูกค้าและพนักงานได้มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีนี้เป็นอย่างดี อันจะช่วยให้การเปิดให้บริการในกรุงเทพมหานคร และเมืองหลักๆ รวมถึงการขยายพื้นที่ให้บริการต่อไปในอนาคตเป็นไปได้อย่างราบรื่น นอกจากการขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการ 3G แล้ว บริษทั ฯ ยังคงมีการขยายเครือข่ายเพือ่ รองรับการใช้บริการสือ่ สารด้านข้อมูลสำหรับลูกค้าเดิม เพื่อเพิ่มประสบการณ์ในการใช้งานรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่อง


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

075

สำหรับเทคโนโลยี 3G บนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิร์ตซ นั้น บริษัทฯ ได้มีการเตรียมความพร้อมในเรื่องนี้ 2 ส่วน คือ ความพร้อมของ

การดำเนินการขอใบอนุญาตให้บริการผ่านคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิรต์ซ โดยคาดว่า กทช. น่าจะเริ่มกระบวนการคัดเลือกได้ประมาณกลาง

ปี 2552 ส่วนที่สองคือความรู้ภายในบริษัทฯ ที่ได้เตรียมการมาแล้วไม่ต่ำกว่า 5 ปี ตั้งแต่มีบริการนี้ในเขตทวีปยุโรป อีกทั้ง การที่บริษัทฯ ได้ทำ

การทดสอบและเริ่มให้บริการ 3GSM (900 เมกะเฮิร์ตซ) ที่จังหวัดเชียงใหม่และในเขตพื้นที่สำคัญหลักๆ ทำให้เจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ มีการพัฒนา ความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่องทั้งทางด้านเครือข่ายและการให้บริการ 3G ซึ่งจะสามารถนำประสบการณ์ต่างๆ มาวางแผนการทำงาน พัฒนา แผนรองรับเหตุการณ์ อุปสรรค ข้อขัดข้องที่อาจจะเกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ จึงเชื่อมั่นได้ว่า บริษัทฯ มีความพร้อมทั้งในเรื่องคุณสมบัติของบริษัทที่จะได้รับใบอนุญาตจาก กทช. และความพร้อมของบุคลากรที่จะให้ บริการ 3G บนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิร์ตซ ได้ทันที หาก กทช. ได้พิจารณาจัดสรรคลื่นความถี่และออกใบอนุญาตการให้บริการต่อไป

4.2 เทคโนโลยี WiMAX WiMAX เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารบรอดแบนด์แบบไร้สาย ที่เป็นทางเลือกใหม่สำหรับการส่งผ่านข้อมูลหรือบริการต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว รองรับแอปพลิเคชั่นต่างๆ ที่ต้องการความเร็วสูงได้อย่างหลากหลาย ซึ่งในอนาคต WiMAX เป็นเทคโนโลยีที่อาจสามารถทดแทนเทคโนโลยีสื่อสาร บรอดแบนด์แบบมีสายได้ ซึ่ง กทช. ได้ดำเนินการศึกษาอย่างต่อเนื่องที่จะนำมาใช้งานในประเทศ และได้อนุญาตให้หลายบริษัทและหน่วยงาน

ที่สนใจนำเข้าอุปกรณ์ WiMAX เพื่อทดสอบ บริษัทฯ ได้คำนึงถึงเรื่องนี้ และได้ทำการติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้รับอนุญาตในการนำเข้าอุปกรณ์ WiMAX เพื่อทดสอบ และได้ทำการทดลองเทคโนโลยีในเชิงปฏิบัติการ รวมถึงการพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับเทคโนโลยีดังกล่าวแล้ว จึงเชื่อมั่นได้ว่า บริษัทฯ มีความพร้อมที่จะยื่นขอใบอนุญาตในการให้บริการ WiMAX

ได้ทันที หาก กทช. ได้พิจารณาจัดสรรคลื่นความถี่และออกใบอนุญาตการให้บริการ WiMAX ต่อไป

5. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk)

- ผลกระทบทางอ้อมจากสถานการณ์ทางการเงินของโลกต่อสภาพคล่องภายในประเทศ

จากวิกฤตการเงินของโลกซึ่งลุกลามมาจากปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพที่เรียกว่า ซับไพร์ม ซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปลายปี 2550 อีกทั้ง ผลของการล้มละลายของสถาบันการเงินที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา การเข้ารับประกันเงินฝากของสถาบันการเงินต่างๆ ทั้งในสหรัฐอเมริกา

และประเทศในเขตทวีปยุโรปที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลก ซึ่งอาจส่งผลกระทบทำให้กองทุนต่างๆ รวมถึงนักลงทุนต่างชาติในประเทศไทยมีการปิด ความเสี่ยงสภาพคล่อง (Liquidate) ด้วยการดึงเงินกลับประเทศเพื่อนำเงินไปลงทุนหรือหาแหล่งในการลงทุนหรือฝากเงินในที่มีความปลอดภัยกว่า ซึ่งอาจทำให้เศรษฐกิจในประเทศไทยเข้าสู่สภาวะเงินตึงตัว อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ มีแหล่งเงินทุนทีห่ ลากหลายทัง้ จากสถาบันการเงิน ตลาดทุน (ตลาดหุน้ กูภ้ าคเอกชน) ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งสินเชื่อจาก Suppliers ทำให้บริษัทฯ สามารถจัดหาแหล่งเงินทุนภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และได้มีการศึกษา วางแผน ทางการเงินอย่างรอบคอบระมัดระวังในการใช้เงินลงทุน รวมทั้งการหาแหล่งเงินทุนที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ มากที่สุด โดยบริษัทฯ ได้วางแผนเตรียมการลงทุนและการกู้เงินต่างๆ ตั้งแต่ปี 2550 และได้ทยอยใช้เงินทุนตามแผนงานที่วางไว้อย่างเหมาะสมด้วยการทยอยลงทุน

ในพื้นที่ที่จำเป็นต่อการใช้งานแทนที่จะลงทุนครั้งเดียวทั่วประเทศ อันเป็นแผนการลงทุนที่ตั้งอยู่บนความไม่ประมาท ซึ่ง ณ สิ้นปี 2551 บริษัทฯ

มีกระแสเงินสดที่เหมาะสม และมีเงินกู้ยืมระยะยาว (ปรับมูลค่าด้วยผลสุทธิจากการปิดความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน) เป็นเงินจำนวนรวมทั้งสิ้น 36,812 ล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นเงินสกุลต่างประเทศ 30,568 ล้านเยนหรือประมาณ 9,485 ล้านบาท และ 177 ล้านเหรียญสหรัฐหรือประมาณ 6,166 ล้านบาท บริษัทฯ ได้ทำการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ในสกุลต่างประเทศ แนวทางหนึ่งที่บริษัทฯ นำมาใช้คือการเข้าทำสัญญา SWAP เพื่อเปลี่ยนภาระหนี้ในสกุลเงินตราต่างประเทศมาเป็นสกุลเงินบาท รวมถึงการเข้าทำสัญญา SWAP

อัตราดอกเบี้ย ซึ่งบริษัทฯ จะพิจารณากำหนดตามภาวะตลาดในขณะนั้นๆ โดยส่วนใหญ่จะกำหนดเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ทำให้บริษัทฯ สามารถ ลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยลงได้ ณ สิ้นปี 2551 บริษัทฯ มีอัตราส่วนเงินกู้ที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (float rate) คิดเป็นร้อยละ 2.19 ของเงินกู้ทั้งหมด (และจะปิดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินกู้เมื่อสภาวะตลาดเอื้ออำนวย)


076

รายงานประจำปี 2551

6. ความเสี่ยงทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

- ยกระดับความพร้อมของบุคลากรด้านทักษะการทำงานและด้านการบริหาร

การบริหารงานบุคคลในยุคปัจจุบันได้เปลี่ยนแนวคิดและรูปแบบ โดยจะเน้นในการคิดวิเคราะห์ การวางแผน ปรับระบบงานบุคคล

ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุทธ์ เป้าหมายและวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ และการพัฒนาความสามารถของบุคลากรของบริษัทฯ ให้เท่าทันกับกระแส

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันและในอนาคต บริษัทฯ เป็นผู้นำในการประกอบธุรกิจโทรคมนาคมของประเทศไทย มีพนักงานทั่วประเทศประมาณ 8,000 คน (รวมพนักงานสัญญาจ้าง ชั่วคราว) ที่ให้บริการลูกค้าทั่วประเทศกว่า 27 ล้านราย การที่ลักษณะงานขยายเพิ่มมากขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การปรับตำแหน่งของ พนักงานให้สูงขึ้น หน้าที่และขอบเขตงานที่รับผิดชอบเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด บริษัทฯ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้พนักงานของ

บริษัทฯ มีความรู้ความสามารถ มีศักยภาพ และมีทักษะในการทำงานให้ก้าวทันสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถปฏิบัติงานได้ในทุก สภาวการณ์ และในปริมาณงานที่เพิ่มมากขึ้น โดยพนักงานทุกคนสามารถค้นคว้าหาความรู้ ผ่าน Smart E-Learning, แหล่งข้อมูล Knowledge Base ทั้งทางด้านธุรกิจ และความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและเครือข่าย นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญกับบุคลากร และมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ ให้มีแนวคิดและการปฏิบัติงานที่เน้นกลยุทธ์

เชิงรุก มีแรงบันดาลใจ มีความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาความสามารถในเชิงการบริหาร เน้นทักษะในการจัดการ วางแผนงาน (Planning) ความคิด เชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making) และความเป็นผูน้ ำ (Leadership) เป็นต้น

โดยฝ่ายพัฒนาบุคลากรได้พัฒนาหลักสูตรการอบรม และเตรียมความพร้อมในเชิงการบริหารให้กับผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารใหม่ หรือให้กับ พนักงานที่จะก้าวขึ้นเป็นผู้บริหารในอนาคต ได้แก่ หลักสูตรเพื่อพัฒนาการเป็นผู้นำ “Great Leaders, Great Teams and Great Results” หลักสูตรการประเมินคุณลักษณะความเป็นผู้นำแบบ 360 องศา หลักสูตรเพื่อพัฒนาความเป็นผู้บริหารระดับต้น กลาง และระดับสูง รวมทั้ง

ส่งเสริมให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกระดับเรียนรูอ้ ย่างเต็มที่ มีการถ่ายทอดความรู้ สอนงาน “Coaching” ทีป่ ฏิบตั อิ ย่างสืบเนือ่ งและกลายเป็นส่วนหนึง่

ในวัฒนธรรมองค์กร

7. ความเสี่ยงหากบริษัทฯ กลายเป็น “คนต่างด้าว” ตามที่พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 กำหนดคุณสมบัติของบริษัทไทยและสัดส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าว ในบริษัทไทย และมีการนำคำนิยามของ “คนต่างด้าว” ในพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ไปใช้ในพระราชบัญญัติประกอบ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ด้วย ในส่วนคุณสมบัติของผู้ที่ยื่นขอใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 2 และแบบที่ 3 รวมทั้ง

ในพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามคนไทยถือหุ้นแทนคนต่างด้าวในการประกอบกิจการที่ต้องได้รับ อนุญาตตามที่กำหนดไว้ ในปี 2549 กระทรวงพาณิชย์ได้ทำการตรวจสอบการถือหุ้นแทนต่างด้าวของบริษัทต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบการถือหุ้นของผู้ถือหุ้น

รายใหญ่ใน บจ. กุหลาบแก้ว ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติไทยที่ถือหุ้นในบจ. ซีดาร์ โฮลดิ้ง (Cedar) (Cedar เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่รายหนึ่งของ บมจ.

ชิน คอร์ปอเรชั่น) ในประเด็นว่าผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยรายใหญ่ของ บจ. กุหลาบแก้วถือหุ้นแทนคนต่างด้าว ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ได้สรุปผลและส่งไป ยังพนักงานเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ พิจารณา และขณะนีอ้ ยูใ่ นระหว่างการดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ดังนัน้ หาก บจ. กุหลาบแก้ว ถูกฟ้องร้องดำเนิน คดีและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดตัดสินว่าเป็นคนต่างด้าวแล้ว Cedar อาจกลายเป็นคนต่างด้าวไปด้วย และอาจส่งผลให้ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น บริษัทฯ และ ดีพีซี อาจกลายเป็นคนต่างด้าวด้วยเช่นกัน และศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ถือหุ้นแทนคนต่างด้าวเลิกถือหุ้นแทน

โดย บริษทั ฯ และ ดีพซี ี เข้าใจว่าบริษทั ฯ ไม่ได้เป็นผูก้ ระทำผิดกฎหมายดังกล่าว ดังนัน้ บริษทั ฯ และ ดีพซี ี จึงมีสทิ ธิทจี่ ะดำเนินการเพือ่ หาผูถ้ อื หุน้ ใหม่ แทนบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นแทนคนต่างด้าวนั้น หากบริษัทฯ และ ดีพีซี ไม่สามารถดำเนินการได้ก็อาจส่งผลต่อการขอใบอนุญาตต่างๆ ของบริษัทฯ และ ดีพีซี


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ทั้งนี้ การให้บริการของบริษัทฯ ที่อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการในปัจจุบันนั้นไม่ได้มีข้อกำหนดเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นของ

คนต่างด้าวไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ไม่อาจรับรองได้ว่าผลจากคดีความข้างต้นจะไม่กระทบต่อสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ และใบอนุญาตต่างๆ ของ บริษัทฯ และ ดีพีซี ที่มีอยู่ในปัจจุบัน

8. ความเสี่ยงที่บริษัทฯไม่ได้เป็นคู่ความโดยตรง เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2549 นายศาสตรา โตอ่อน ได้ยื่นฟ้องกระทรวงเทคโนโลยีฯ กระทรวงคมนาคม และสำนักงานปลัดสำนักนายก รัฐมนตรี (“สปน.”) ต่อศาลปกครองกลาง โดยขอให้ศาลมีคำสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดียกเลิกสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการของบริษัทฯ และกำหนด มาตรการชั่วคราวมิให้ผู้ถือหุ้นรายใหม่ดำเนินการใดๆ หรือรับผลประโยชน์ใดๆ จากกิจการตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการดังกล่าว นายศาสตรา ได้กล่าวหาในคำฟ้องว่าผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสามละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยการไม่ใช้อำนาจหน้าที่ในการยกเลิกสัญญาอนุญาต

ให้ดำเนินการภายหลังจากมีการโอนหุ้นของบริษัทฯ ให้แก่ผู้ถือหุ้นรายใหม่ โดยการโอนหุ้นดังกล่าว ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการถือหุ้น ของบริ ษั ท ทั้ ง สามแห่ ง อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ก ลุ่ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหม่ มี อ ำนาจควบคุ ม บริ ษั ท ดั ง กล่ า วซึ่ ง ประกอบธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น ทรั พ ยากร

ของประเทศเพื่อประโยชน์สาธารณะ ศาลปกครองกลางได้ตัดสินว่านายศาสตราไม่มีสิทธิที่จะยื่นฟ้อง เพราะมิได้เป็นคู่สัญญาในสัญญาอนุญาต

ให้ดำเนินการ อย่างไรก็ตาม นายศาสตราได้ยนื่ คำร้องอุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุด และในวันที่ 12 กันยายน 2549 ศาลปกครองสูงสุดได้วนิ จิ ฉัยว่า นายศาสตราถือเป็นผู้มีส่วนได้เสียจึงมีอำนาจฟ้อง โดยศาลให้เหตุผลว่าหากธุรกิจของบริษัทฯ อยู่ภายใต้การควบคุมของคนต่างด้าว จะก่อให้เกิด ความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของประเทศซึง่ จะมีผลกระทบต่อนายศาสตราอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ ศาลปกครองสูงสุดจึงมีคำสัง่

ให้ศาลปกครองกลางดำเนินการรับฟ้องและดำเนินการต่อไปตามรูปคดี และต่อมาในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ศาลปกครองกลางมีคำสัง่ ไม่รบั คำขอ

ให้ศาลกำหนดมาตรการหรือวิธกี ารคุม้ ครองเพือ่ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราวของนายศาตราทีข่ อให้ผถู้ กู ฟ้องคดีทงั้ สามทำการสัง่ ห้ามมิให้กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหม่ ดำเนินการใดๆ เกี่ยวข้องกับกิจการโทรคมนาคมตามสัญญาสัมปทานทั้งสามฉบับ เนื่องจากศาลเห็นว่ามูลเหตุแห่งการฟ้องคดียังไม่เพียงพอ

ที่จะดำเนินการตามคำขอของผู้ฟ้องคดีและคดีนี้เป็นข้อพิพาทที่เกี่ยวกับหน้าที่การตรวจสัญญาสัมปทานของผู้ถูกฟ้องคดีซึ่งมีข้อกำหนดให้ปฏิบัติ และความรับผิดตามสัญญาดังกล่าวอยู่ ซึ่งคำสั่งของศาลปกครองกลางนี้เป็นที่สุด ส่วนกรณีตามฟ้องที่กล่าวข้างต้นอยู่ในระหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ บริษัทฯ จะไม่ได้รับผลกระทบใดๆ ตราบเท่าที่ยังไม่มีคำตัดสินว่าผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ อยู่ภายใต้การควบคุมของคนต่างด้าว อีกทั้ง

การยกเลิกสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการของบริษัทฯ จะต้องพิจารณาเงื่อนไขและข้อกำหนดในสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการนั้นๆ ด้วยว่าสามารถ ทำได้หรือไม่

9. ความเสี่ยงจากการดำเนินธุรกิจโทรคมนาคมภายหลังสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในปี 2558 บริษัทฯ ไม่สามารถรับประกันได้ว่า บริษัทฯ จะได้รับใบอนุญาตโทรคมนาคมจาก กทช. หรือการขยายอายุสัญญาจาก ทีโอที หรือได้รับ อนุญาตให้ดำเนินการบริการโทรคมนาคมหลังจากสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญาฯ โดยเงื่อนไขในสัญญาเป็นที่พึงพอใจต่อผู้ลงทุน

077


078

รายงานประจำปี 2551

การจัดการและการกำกับดูแลกิจการ โครงสร้างการจัดการของ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการสรรหา และกำกับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ กำหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร

ประธานกรรมการบริหาร นายแอเลน ลิว ยง เคียง*

หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร นายวิกรม ศรีประทักษ์

หั วหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการตลาด นายสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล

(รักษาการ) หัวหน้า คณะผู้บริหาร ด้านเทคโนโลยี

นายวิกรม ศรีประทักษ์

หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการบริการลูกค้า นางสุวิมล แก้วคูณ

ผู้บริหาร 4 รายแรก ตามคำนิยามของสำนักงาน ก.ล.ต.

* ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551

กรรมการผู้อำนวยการ นายวิเชียร เมฆตระการ

หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านการเงิน

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการ ส่วนงานตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

079

โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ คณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งคณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน และ คณะกรรมการสรรหาและกำกับดูแลกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท

1. ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ

ข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความ

ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ

2. กำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดำเนินงานของ

บริษทั ฯ และกำกับดูแลให้ฝา่ ยบริหารดำเนินการให้เป็นไปตาม

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท นโยบายที่ ก ำหนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น กรรมการจำนวน 11 ท่าน ดังนี้ 3. พิจารณาอนุมตั ริ ายการทีส่ ำคัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่,

การซื้อขายทรัพย์สิน ฯลฯ และการดำเนินการใดๆ ที่กฎหมาย

1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ และ กำหนด กรรมการอิสระ 4. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ละ/หรื อ ให้ ค วามเห็ น ชอบต่ อ รายการที่

2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย รองประธานกรรมการ (ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นรองประธานกรรมการเมือ่ วันที่ 8 ตุลาคม 2551) เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยให้เป็นไปตามประกาศ

ข้อกำหนด และแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์

3. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ แห่งประเทศไทย และกรรมการอิสระ 5. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการ

4. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบ และ บริหารอย่างสม่ำเสมอและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ 6. รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลประกอบการและการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ย

5. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ และ บริ ห าร โดยให้ มี ค วามตั้ ง ใจและความระมั ด ระวั ง ในการ

กรรมการอิสระ ปฏิบัติงาน 6. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ กรรมการ 7. ดำเนิ น การให้ ฝ่ า ยบริ ห ารจั ด ให้ มี ร ะบบบั ญ ชี การรายงาน

ทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทั้งดูแลให้มี

7. นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ กรรมการ (ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทน นายวาสุกรี กล้าไพรี เมื่อวันที่ กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุม

ภายในและการตรวจสอบภายในให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ

16 ธันวาคม 2551) ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทาง

8. นายแอเลน ลิว ยง เคียง กรรมการ การเงินและการติดตามผล 9. นายยืน ควน มูน กรรมการ 8. ดูแลไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง

10. นายวิกรม ศรีประทักษ์ กรรมการ ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ 11. นายฮิวเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ กรรมการ 9. กำกับดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม (ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข 10. ทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ และประเมิน

(1) คณะกรรมการบริษัท

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551)

ผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวเป็นประจำอย่างน้อยปีละ

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท คือ นายสมประสงค์ 1 ครั้ง บุ ญ ยะชั ย นายวิ ก รม ศรี ป ระทั ก ษ์ กรรมการสองคนนี้ ล งลายมื อ ชื่ อ 11. รายงานความรั บ ผิ ด ชอบของตนในการจั ด ทำรายงานทาง

ร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษัทฯ การเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงาน

ประจำปี และครอบคลุมในเรื่องสำคัญๆ ตามนโยบายเรื่องข้อ

เลขานุการบริษัท คือ นายองอาจ ทองพิทักษ์สกุล คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมวาระปกติเป็นประจำทุกไตรมาส พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี ส ำหรั บ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในปี 2551 มีการประชุมรวม 7 ครัง้ และมีการประชุมวาระพิเศษ 3 ครัง้


080

รายงานประจำปี 2551

คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารมีอำนาจ หน้าที่ในการปฏิบัติงานต่างๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอำนาจตาม ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้การมอบอำนาจ

ดังกล่าวต้องไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบอำนาจ หรือมอบอำนาจช่วงทีท่ ำให้

คณะกรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใด (ตามที่สำนักงาน ก.ล.ต. ประกาศกำหนด) ทำกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมัติ รายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติไว้

(2) คณะกรรมการบริหาร

4.

5. รายงานผลการปฏิบัติงานที่สำคัญของคณะกรรมการบริหาร

ให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบเป็นประจำทุกไตรมาส ในวาระ

การรายงานของประธานกรรมการบริหาร

รายชือ่ คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการ 6. บริหาร ประกอบด้วยกรรมการและผูบ้ ริหาร จำนวน 5 ท่าน มีรายชือ่ ดังนี ้ ประธานกรรมการบริหาร 1. นายแอเลน ลิว ยง เคียง1/ 2. ดร.ดำรงค์ เกษมเศรษฐ์ กรรมการบริหาร

3. นายวิกรม ศรีประทักษ์

กรรมการบริหาร

4. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข

กรรมการบริหาร

5. นายฮิวเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ 2/

กรรมการบริหาร

1/

ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นประธานกรรมการบริหารเมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2551 ได้รบั การแต่งตัง้ แทนนายสมประสงค์ บุญยะชัย เมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2551

2/

คณะกรรมการบริ ห ารอาจมอบอำนาจช่ ว งให้ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ

บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง มี อ ำนาจในการดำเนิ น การในเรื่ อ งใด

เรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณา

เห็นสมควรได้ การอนุมตั ริ ายการของคณะกรรมการบริหารและ

หรื อ การมอบอำนาจช่ ว งต้ อ งไม่ เ ป็ น การอนุ มั ติ ร ายการที่

เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

หรือรายการที่คณะกรรมการบริหารมีส่วนได้เสียตามที่กำหนด

ในข้อบังคับของบริษัทฯ และตามที่กำหนดโดยคณะกรรมการ

บริษัทและหน่วยงานกำกับดูแล

ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองและประเมินความเพียงพอ

ของกฎบัตรเป็นประจำทุกปี ซึง่ อาจทำพร้อมกับการประเมินผล

การปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ

ชุดย่อยอื่น

7. ดำเนินการอืน่ ๆ ใด หรือตามอำนาจและความรับผิดชอบ ตามที ่ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน้าที่ให้เป็นคราวๆ ไป * ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน

2551

(3) คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหารมีการประชุมวาระปกติเป็นประจำทุกเดือน รายชื่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551

โดยในปี 2551 มีการประชุมรวม 12 ครัง้ และการประชุมเฉพาะกิจ 3 ครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามที่กำหนดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ

โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัททุกเดือน ด้านการเงิน การบัญชี กฎหมาย และการบริหารจัดการ มีรายชื่อดังนี้

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร *

2.

1. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ 1/ กำหนดทิศทางกลยุทธ์ โครงสร้างการบริหารงาน แผนธุรกิจ (เข้าร่วมประชุม 13 ครั้ง) และงบประมาณประจำปีของบริษทั ฯ เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการ

2. นางทัศนีย์ มโนรถ1/ บริษัทอนุมัติ (เข้าร่วมประชุม 13 ครั้ง) กำกับและติดตามผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของ

3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ บริษทั ฯ และรายงานผลการดำเนินงานและฐานะการเงินให้แก่ (เข้าร่วมประชุม 13 ครั้ง) กรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจำทุกเดือน 1/

จำหน่ายทรัพย์สิน การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมวาระปกติเป็นประจำทุกเดือน การบริหารเงิน การบริหารงานทัว่ ไป และรายการอืน่ ใดทีเ่ กีย่ วกับ โดยในปี 2551 มีการประชุมรวม 13 ครัง้ และมีการรายงานต่อคณะกรรมการ ธุรกิจของบริษัทฯ ภายในขอบเขตอำนาจที่ได้รับอนุมัติจาก บริษัททุกไตรมาส คณะกรรมการบริษัท

1.

ประธานกรรมการตรวจสอบ

และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

มี ค วามรู้ แ ละประสบการณ์ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถทำหน้ า ที่ ใ นการ 3. พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ยวกับการลงทุนและ สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ* 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

081

ฉ. จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วม

ประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ช. ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ

ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) ซ. รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ

ภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

จากคณะกรรมการบริษัท 9. ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามทีไ่ ด้รบั แจ้งจากผูส้ อบบัญชี

เกีย่ วกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผูจ้ ดั การ หรือบุคคล

ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทฯ ได้กระทำความผิด

ตามที่กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนด

และให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบ

ในเบือ้ งต้นให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ

ตลาดหลักทรัพย์ และผูส้ อบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่

วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี 10. รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการตรวจสอบให้

คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง โดยในการ

ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรื อ มี

ข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมี

นัยสำคัญต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทฯ

ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่ อ คณะกรรมการของ

บริษทั เพือ่ ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการ

ตรวจสอบเห็นสมควร หากคณะกรรมการของบริษัทหรือผู้บริหารไม่ดำเนินการให้มี

การปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบ

รายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำนั้นต่อ

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 11. ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการ

ตรวจสอบ มีอำนาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน

ของบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่ง

เอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจำเป็น 12. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคล

ภายนอกตามระเบี ย บของบริ ษั ท ฯ มาให้ ค วามเห็ น หรื อ

คำปรึกษาในกรณีจำเป็น 13. พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของ

คณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำทุกปี 14. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ด้วย

ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

สอบทานให้บริษัทฯ มีรายงานทางการเงินถูกต้องตามที่ควร

ตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกำหนด และมีการเปิดเผย

อย่างเพียงพอ สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control)

และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและ

มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล และพิจ ารณาความเป็ นอิ ส ระของหน่วยงาน

ตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา

แต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้าง และการพิจารณาผลการปฏิบัติงาน

ความดีความชอบของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์

และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อ

ทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทน

ของบุ ค คลดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง เข้ า ร่ ว มประชุ ม กั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี

โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

ทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของ

ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุ

สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบบริหารความเสีย่ ง (Risk Management)

ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน

แผนงานตรวจสอบภายในประจำปี การปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน

ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ใน

รายงานประจำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม

โดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล

อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก. ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้

ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ข. ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน

ของบริษัทฯ ค. ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์

และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ง. ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี จ. ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

* ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 29 มกราคม 2552


082

รายงานประจำปี 2551

(4) คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

(5) คณะกรรมการสรรหาและกำกับดูแลกิจการ

รายชื่อคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม รายชือ่ คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการ

2551 คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน สรรหาและกำกับดูแลกิจการ ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 3 ท่าน

มีรายชื่อดังนี้ 3 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ กรรมการ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการ 3. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ ในปี 2551 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อ ในปี 2551 คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนมีการประชุมรวม พิจารณาเสนอแต่งตั้งกรรมการ แทนกรรมการที่ต้องพ้นจากตำแหน่ง 4 ครัง้ เพือ่ พิจารณา และให้ความเห็นชอบ โครงการ Economic Value Plan ตามกำหนดวาระตามข้อบังคับของบริษทั 4 ท่าน กำหนดอำนาจกรรมการ for Employees นอกจากนีย้ งั ได้พจิ ารณาการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ และพิจารณาปรับปรุงนโยบายกำกับดูแลกิจการและหลักเกณฑ์การให้ รวมถึงกำหนดนโยบายและค่าตอบแทนกรรมการประจำปี 2551 และมี ผู้ถือหุ้นเสนอวาระในที่ประชุมใหญ่ โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัท การรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท

ขอบเขตอำนาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการสรรหาและกำกั บ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน* ดูแลกิจการ* 1.

กำหนดค่าตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมในแต่ละปีทั้งที่เป็น

ตัวเงินและมิใช่ตวั เงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย

ประธานกรรมการบริหาร หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร รวมถึง

ผู้บริหารที่รายงานตรงต่อหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร

พิจารณาให้ความเห็นชอบโครงการ Economic Value Plan for

Employees (EV) และหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการดำเนินการตาม

โครงการ EV รวมทั้งให้ความเห็นชอบการจัดสรรโบนัสตาม

โครงการ EV ประจำปีให้กับผู้บริหารของบริษัท

2.

3. กำกับดูแลการดำเนินการตามโครงการ EV และมีอำนาจวินจิ ฉัย

ชี้ขาดในกรณีที่มีปัญหา หรือข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการดำเนินการ

ตามโครงการ EV

1. 2. 3. 4. 5.

กำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการ

และกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ กำกับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการของ

บริษัทฯ พิจารณาทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี

ของบริษัทฯ ทุกๆ ปี รวมทั้งเสนอปรับปรุงแก้ไขนโยบายการ

กำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการพิจารณา พิจารณาสรรหากรรมการ และกรรมการชุดย่อยโดยพิจารณา

บุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดำรงตำแหน่งกรรมการเพื่อเสนอ

คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติ

ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี พิ จ ารณาสรรหาผู้ ที่ เ หมาะสมที่ จ ะดำรงตำแหน่ ง ประธาน

กรรมการบริหาร ในกรณีที่มีตำแหน่งว่างลง รวมทั้งหลักเกณฑ์

ในการสืบทอดตำแหน่ง ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

4. พิจารณาอนุมัติการกำหนดค่าตอบแทนประจำปีของกรรมการ

5. จัดทำหลักเกณฑ์ และนโยบายในการกำหนดค่าตอบแทนของ

คณะกรรมการ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติและ * ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2551 หรือนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติตามแต่กรณี

6. รายงานนโยบายด้านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผล (6) คณะผู้บริหาร และวัตถุประสงค์ของนโยบาย เปิดเผยไว้ในรายงานประจำปี รายชื่อคณะผู้บริหาร (ตามคำนิยามของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย โครงสร้างการบริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มี

* ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2551 ดังต่อไปนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

(1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ถือ (2) ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะคนจะใช้ ค ะแนนเสี ย งที่ มี อ ยู่ ทั้ ง หมดตาม (1) 2. นายวิกรม ศรีประทักษ์ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร และ (รักษาการ) เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ ในกรณีทเี่ ลือกตัง้ บุคคลหลายคนเป็นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อย หัวหน้าคณะผู้บริหาร เพียงใดไม่ได้ ด้านเทคโนโลยี (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผู้ได้รับ 3. นายวิเชียร เมฆตระการ กรรมการผู้อำนวยการ การเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการเท่ า จำนวนกรรมการที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง

เลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมา 4. นายสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล หัวหน้าคณะผู้บริหาร มีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้ง ด้านการตลาด ในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 5. นางสุวิมล แก้วคูณ หัวหน้าคณะผู้บริหาร ตามเงื่อนไขของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์ ด้านการบริการลูกค้า เคลื่อนที่ระหว่างบริษัทฯ และ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ระบุให้ 6. นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหาร ตัวแทนของ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) เข้าเป็นกรรมการของบริษทั ได้ ด้านการเงิน 1 ท่าน และตามเงื่อนไขในข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึ่งได้แก่ 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารเมื่อวันที 1 มิถุนายน บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน) (SHIN) และ SingTel Strategic

2551 Investments Pte. Ltd. (STI) ระบุให้ SHIN แต่งตั้งกรรมการได้ 4 ท่าน และ STI แต่งตั้งกรรมการได้ 2 ท่าน การสรรหากรรมการ

1. นายแอเลน ลิว ยง เคียง1/

083

ประธานกรรมการบริหาร

บริษัทฯ ได้กำหนดแนวทางการสรรหาและแต่งตั้งกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ มีนโยบายในการกำหนดค่าตอบแทนให้กรรมการในอัตรา ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง กรรมการต้องลาออก ที่เทียบได้กับอุตสาหกรรมเดียวกัน และสูงเพียงพอที่จะจูงใจและรักษา กรรมการที่มีคุณภาพไว้ สำหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหาร จากตำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำนวนกรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วน และผูบ้ ริหาร จะสอดคล้องกับผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ และผลการ ไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนที่ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะออก ปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละท่าน ตามวาระนี้อาจได้รับเลือกเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่ก็ได้ คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณากำหนดค่า (2) ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึง ตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมที่เป็นตัวเงิน ให้แก่ กรรมการบริษัท คราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่ง กรรมการชุดย่อย โดยนำเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ และ มีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัต ิ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ในการประชุมสามัญประจำปี เป็นประจำทุกปี บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุม 1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า สองเดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตำแหน่ง ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินสำหรับประธานกรรมการ กรรมการ อิสระ และกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จำนวน 8 ราย รวมจำนวนเงิน กรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน 13,062,000 บาท ซึ่งเป็นการจ่ายจากผลการดำเนินงานประจำปี 2551 อย่างไรก็ดี บริษัทฯ มีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำกับ ประกอบด้ ว ย ค่ า ตอบแทนรายเดื อ น เบี้ ย ประชุ ม และโบนั ส

ดูแลกิจการ (Nomination and Corporate Governance Committee) ส่ ว นกรรมการบริ ษั ท ที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารจะไม่ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทนในฐานะ ทำหน้าที่พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาบุคคล กรรมการบริษัท ที่ มี ค วามเหมาะสมที่ จ ะมาดำรงตำแหน่ ง กรรมการ ทั้ ง นี้ ก ำหนดให้ ค่ า ตอบแทนกรรมการที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนด ประจำปี 2551 ไม่เกิน 15,000,000 บาท มีโครงสร้างดังต่อไปนี ้ อยู่ในข้อบังคับของบริษัทฯ ดังต่อไปนี้


084

รายงานประจำปี 2551

นโยบายค่าตอบแทนกรรมการปี 2551 กรรมการ

ค่าตอบแทนรูปตัวเงิน (บาท) ปี 2551 ค่าตอบแทน รายเดือน เบี้ยประชุม กรรมการรายปี

คณะกรรมการ - ประธานกรรมการ - กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำกับดูแลกิจการ - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการบริหาร - ประธาน - กรรมการ

200,000 50,000

˚ 25,000

¸ ¸

25,000 ˚

25,000 25,000

¸ ¸

10,000 ˚

25,000 25,000

¸ ¸

10,000 ˚

25,000 25,000

¸ ¸

10,000 ˚

25,000 25,000

¸ ¸

หมายเหตุ : 1) กรรมการที่เป็นผู้บริหาร / พนักงานของบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้น ไม่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ หรือกรรมการชุดย่อย 2) ประธานกรรมการไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน หรือเบี้ยประชุม หากเป็นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทเป็นรายบุคคลที่ได้รับในฐานะกรรมการบริษัทจำนวน 8 ราย ในปี 2551 มีดังนี้ รายชื ตำแหน่ ่อ ง

1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ 4. นางทัศนีย์ มโนรถ 5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์ 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี 1) 7. นายฮิว เบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ 2) 8. นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 1) รวม

1)

2)

2) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ค่าตอบแทนประจำปี 2551 (บาท) 2,600,000 2,505,000 2,000,000 1,900,000 1,500,000 1,225,000 1,260,000 72,000 13,062,000

นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทน นายวาสุกรี กล้าไพรี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 นายฮิงเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551

ค่าตอบแทนรวมของคณะผู้บริหารจำนวน 7 ราย สำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เท่ากับ 83.5 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วย

เงินเดือน โบนัส และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะผู้บริหาร หมายถึง กรรมการบริหารและผู้บริหารของบริษัทฯ ตามนิยามของ สำนักงาน ก.ล.ต.


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

085

3) ค่าตอบแทนอื่นๆ บริษัทฯ มีโครงการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ แก่กรรมการและพนักงาน โดยมีวัตถุประสงค์

เพื่อเป็นแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีความตั้งใจในการทำงานและเป็น

แรงจูงใจให้กรรมการและพนักงานทำงานให้กับบริษัทฯ ต่อไปในระยะยาวและสร้างประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ บริษัทฯ จะออกและเสนอขาย

ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญทุกๆ ปี ระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปี ทั้งนี้บริษัทฯ จะต้องขออนุมัติการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ

ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นรายปี ณ สิ้นปี 2551 มีโครงการที่ดำเนินการ 3 โครงการสรุปได้ดังนี ้

รายละเอียดโครงการ

โครงการ 3

โครงการ 4

โครงการ 5

จำนวนที่เสนอขาย (หน่วย) 8,999,500 9,686,700 10,138,500 ราคาเสนอขาย (บาท) - 0 - อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขาย อัตราการใช้สิทธิ* 1 : 1.15247 1 : 1.13801 1 : 1.10259 ราคาการใช้สิทธิ* (บาทต่อหุ้น) 79.646 93.728 82.956 วันที่ออกและเสนอขาย 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549 ระยะเวลาการใช้สิทธิ กรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ สามารถใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

ปีที่ 1

กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญได้ในจำนวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่กรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ แต่ละคนได้รับจัดสรรจากบริษัทฯ ทั้งนี้ กรรมการ และพนักงาน ของ บริษัทฯ จะสามารถใช้สิทธิดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อครบระยะเวลา 1 ปีนับจากวันที่บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายใบสำคัญ แสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะทำให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จำนวนเต็มของหน่วยการซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปีถดั ไป

ปีที่ 2

กรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญได้อีกในจำนวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสำคัญ แสดงสิทธิทงั้ หมดทีก่ รรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ แต่ละคนได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการ และพนักงาน ของบริษัทฯ จะสามารถใช้สิทธิดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อครบระยะเวลา 2 ปีนับจาก วันที่บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ หากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะทำให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถึงจำนวนเต็มของหน่วยการซื้อขายหุ้น (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปีถดั ไป

ปีที่ 3

กรรมการ และพนักงาน ของบริษัทฯ สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตามสิทธิของตนในส่วนที่เหลือทั้งหมด ได้เมื่อครบ ระยะเวลา 3 ปีนับจากวันที่บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสำคัญแสดง สิทธิ หากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจะทำให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถึงจำนวนเต็มของหน่วยการซื้อขายหุ้น (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย

ระยะเวลาแสดงความจำนงการใช้สิทธิ วันกำหนดการใช้สิทธิ

ภายใน 5 วันทำการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใช้สิทธิ ยกเว้น การแสดงความจำนงในการใช้สิทธิซอื้ หุน้ สามัญตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดท้าย กำหนดให้แสดงความจำนงในการใช้สทิ ธิได้ในช่วงระยะเวลา 15 วันก่อนวันกำหนดการใช้สิทธิ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทำการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ

* บริษัทฯ มีการปรับสิทธิอันเป็นผลมาจากบริษัทฯ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราสูงกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน โดยได้ปรับทั้งอัตราการใช้สิทธิและราคาการใช้สิทธิ ตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป

รายชื่อกรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยที่ได้รับจัดสรรเกินกว่าร้อยละ 5 ของโครงการ โครงการ 3 โครงการ 4 รายละเอียดโครงการ จัดสรร (หน่วย) % จัดสรร (หน่วย) %

1. 2. 3. 4.

นายสมประสงค์ บุญยะชัย นางสุวิมล แก้วคูณ นายวิกรม ศรีประทักษ์ นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล

914,300 676,000 606,400 487,100

10.16 7.51 6.74 5.41

735,500 580,000 500,000 -

* นางอาภัทรา ศฤงคารินกุลได้รับจัดสรร ESOP ในโครงการ 4 และ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 5 ของโครงการ

7.51 5.92 5.10 -

โครงการ 5 จัดสรร (หน่วย)

%

538,500 591,400 547,600 -

5.31 5.83 5.40 -


086

รายงานประจำปี 2551

การกำกับดูแลกิจการ นโยบายการกำกับดูแลกิจการ บริ ษั ท ฯ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ว่ า ระบบการบริ ห ารจั ด การที่ ดี การมี

คณะกรรมการและผูบ้ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอำนาจเพื่อให้การบริหารงานเป็นไป อย่างโปร่งใสตรวจสอบได้ การเคารพในสิทธิความเท่าเทียมกันของ

ผู้ถือหุ้น และมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จะเป็นปัจจัย สำคัญในการเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัตินโยบายการกำกับดูแลกิจการเป็น ลายลักษณ์อกั ษร โดยมีหลักการและแนวปฏิบตั ทิ สี่ อดคล้องกับหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งได้ถือ ปฏิ บั ติ ม าตั้ ง แต่ วั น ที่ 14 พฤศจิ ก ายน 2545 คณะกรรมการบริ ษั ท

ได้ประชุมทบทวนปรับปรุงนโยบายการกำกับดูแลกิจการเป็นประจำทุกปี ซึ่งได้ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2551 ทั้งนี้ได้มีการสื่อสาร ให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ ได้รับทราบและ

ถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ที่จะกำกับดูแลการบริหารงานของฝ่ายบริหารและมีการแบ่งแยกหน้าที่ ระหว่างคณะกรรมการและฝ่ายบริหารไว้อย่างชัดเจน

1.2 องค์ประกอบของคณะกรรมการ การแต่งตั้งและความ เป็นอิสระ 1.2.1 คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ประสบการณ์หลากหลายในสาขาต่างๆ และมีจำนวนกรรมการอย่าง เพียงพอที่จะกำกับดูแลธุรกิจของบริษัท รวมกันไม่น้อยกว่า 5 คนตาม กฎหมาย โดยอย่ า งน้ อ ยหนึ่ ง คนเป็ น ผู้ มี ป ระสบการณ์ ด้ า นกิ จ การ โทรคมนาคมและอย่างน้อยหนึง่ คนมีประสบการณ์ ด้านบัญชีและการเงิน 1.2.2 คณะกรรมการเป็ น ตั ว แทนของผู้ ถื อ หุ้ น ทั้ ง หมดโดยรวม มิใช่เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

1.2.3 คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นอิสระอย่างน้อย

หนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งคณะ และมีจำนวนอย่างน้อย 4 คน นโยบายดังกล่าวแบ่งออกเป็น 5 หมวดครอบคลุมหลักการกำกับ และมีกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร อย่างน้อยกึง่ หนึง่ ของกรรมการทัง้ คณะ ดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ เพือ่ ให้มกี ารถ่วงดุลระหว่างกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารกับกรรมการทีเ่ ป็น ผู้บริหาร 1. คณะกรรมการบริษัท

1.2.4 คณะกรรมการมีนโยบายให้มีจำนวนกรรมการให้เป็นไป 2. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น และบทบาทต่อผู้มี ตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นที่มีอำนาจควบคุม ส่วนได้ส่วนเสีย (Controlling shareholders) ในบริษัทฯ 3. การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส

4. การควบคุมและบริหารความเสี่ยง

1.2.5 การแต่งตั้งกรรมการให้เป็นไปตามข้อบังคับบริษัท และข้อ กำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้จะต้องมีความโปร่งใสและชัดเจน 5. ประมวลจริยธรรมธุรกิจ ในการสรรหากรรมการให้ดำเนินการผ่านกระบวนการของคณะกรรมการ (ผู้ ที่ ส นใจสามารถ download นโยบายการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ได้ ที่ สรรหาและกำกับดูแลกิจการ และการพิจารณาจะต้องมีประวัตกิ ารศึกษา www.ais.co.th) และประสบการณ์การประกอบวิชาชีพของบุคคลนัน้ ๆ โดยมีรายละเอียด ที่เพียงพอ เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจของคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น 1. คณะกรรมการบริษัท 1.2.6 กรรมการมี ว าระการดำรงตำแหน่ ง ตามที่ ก ำหนดไว้ ใ น

คณะกรรมการมี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะให้ บ ริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย ข้อบังคับบริษัท กรรมการที่พ้นจากตำแหน่งอาจได้รับเลือกเข้ามาดำรง (“บริษัทฯ”) เป็นองค์กรชั้นนำที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ว่าเป็น ตำแหน่งใหม่อีกได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ยกเว้นกรรมการอิสระ ให้มี บริษัทที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประเทศไทย โดยดำเนินธุรกิจที่ วาระการดำรงตำแหน่งติดต่อกันได้ไม่เกิน 3 วาระ มีความหลากหลาย ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย ด้วยการบริหารจัดการที่ 1.3 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร แข็งแกร่งและด้วยบุคลากรที่ล้วนแต่มีความสามารถและมีส่วนร่วมใน ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริ ห ารต้ อ งเป็ น ผู้ ที่ มี วิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ ความรู้ความสามารถมีประสบการณ์และคุณสมบัติที่เหมาะสม ไม่เป็น คณะกรรมการมีภาวะผูน้ ำ วิสยั ทัศน์ มีความอิสระในการตัดสินใจ บุคคลเดียวกัน เพื่อให้มีการถ่วงดุลอำนาจโดยแยกหน้าที่การกำกับดูแล และรับผิดชอบตามหน้าทีใ่ นการกำกับดูแลกิจการให้เกิดประโยชน์สงู สุด และการบริหารงานออกจากกัน ต่อผู้ถือหุ้นโดยรวม

1.1 ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ประธานกรรมการเป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นผู้นำของ คณะกรรมการ และมีหน้าทีใ่ นฐานะเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ และการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานกรรมการบริหารเป็นหัวหน้าและผู้นำคณะผู้บริหารของ บริษทั ฯ รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษทั ในการบริหารจัดการ เพือ่ ให้ บรรลุตามแผนที่วางไว้ 1.4 คุณสมบัติของคณะกรรมการ 1.4.1 กรรมการต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีความ ซื่อสัตย์สุจริต มีจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ และมีเวลาอย่างเพียงพอ

ที่จะอุทิศความรู้ ความสามารถและปฏิบัติหน้าที่ให้แก่บริษัทฯ ได้ 1.4.2 มีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วย บริษัทมหาชนจำกัดและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.4.3 กรรมการสามารถดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นได้ แต่ทั้งนี้ในการเป็นกรรมการดังกล่าวต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติ หน้าที่กรรมการของบริษัทฯ 1.4.4 กรรมการอิสระต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามทีต่ ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กำหนด และต้องสามารถดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ทุกรายได้เท่าเทียมกัน และไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นอกจากนั้นยังต้องสามารถเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทโดยให้ ความเห็นอย่างเป็นอิสระได้

087

กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มีความ

สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม

หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง สำหรับกรรมการตรวจสอบ

ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้น

จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นได้รบั

การแต่งตั้ง ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการทำรายการค้า

ที่ ก ระทำเป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า

อสังหาริมทรัพย์ รายการที่เกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือ

การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือ

ให้กู้ยืม ค้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน

รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ

หรื อ คู่ สั ญ ญามี ภ าระหนี้ ที่ ต้ อ งชำระต่ อ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ตั้ ง แต่

ร้อยละสามของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั ฯ หรือตัง้ แต่

ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ทั้งนี้การ

คำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคำนวณมูลค่า

ของรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามประกาศคณะกรรมการ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วยการเปิดเผยข้อมูล

และการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน

โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวม

ภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์

ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

4) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ

1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด จดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะทีเ่ ป็น บิดามารดา คูส่ มรส

พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น

ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทัง้ นีใ้ ห้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง รายใหญ่ ผูม้ อี ำนาจควบคุม หรือ บุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้

เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือ บริษทั ย่อย ของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย

กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้

2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง

พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจำ หรือผูม้ อี ำนาจควบคุม

ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย

ลำดับเดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สำหรับ

กรรมการตรวจสอบที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ในหรื อ หลั ง วั น ที่ 1

กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว

ไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง

3) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่

บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่าง

อิ ส ระของตน รวมทั้ ง ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่

5) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ

กรรมการบริ ษั ท ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่

เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ

6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย

บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้

รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วน

ผู้จัดการของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความ

ขัดแย้งสังกัดอยู่ สำหรับกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลกั ษณะ

ดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง


088

รายงานประจำปี 2551

7) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้

บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั

ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย

บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ในกรณีที่

ผู้ให้บริการวิชาชีพเป็นนิติบุคคล ให้รวมถึงการเป็นผู้ถือหุ้น

รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วน

ผู้จัดการ ของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย สำหรับกรรมการ

ตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553

ต้องพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี

ก่อนได้รับการแต่งตั้ง

1.5.7 ดำเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มีระบบบัญชี การรายงาน ทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการ ในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายในให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 1.5.8 ดู แ ลไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ

1.5.9 กำกับดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม

1.5.10 ทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ และประเมิน ผลการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกล่าวเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

8) ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สินใจ

1.5.11 รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทำรายงานทาง

ในการดำเนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ร่ ว ม บริษทั ย่อย ลำดับเดียวกัน หรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง การเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงานประจำปี และครอบคลุมในเรือ่ งสำคัญๆ ตามนโยบายเรือ่ งข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ สี ำหรับ 9) ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือบริษัทย่อย

กรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลำดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

10) สามารถปฏิบัติหน้าที่ แสดงความเห็นหรือรายงานผลการ

ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ

บริษัท โดยไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็น

อย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ

1.6 การประชุมคณะกรรมการ

คณะกรรมการกำหนดให้มีการประชุมอย่างน้อย 6 ครั้งต่อปี โดย กำหนดวันประชุมไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปี และอาจมีการประชุมวาระ พิเศษเพิ่มตามความจำเป็น ในการจัดประชุมคณะกรรมการ ให้ประธาน หรือรองประธานกรรมการที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ดูแลให้ความเห็นชอบ 1.5 หน้าที่ความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการ กำหนดวาระการประชุม โดยทำหน้าที่จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อม 1.5.1 ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ระเบี ย บวาระการประชุ ม และเอกสารประกอบการประชุ ม ไปให้ ข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มีเวลาศึกษามา สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ ก่อนล่วงหน้า 1.5.2 กำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดำเนินงานของ ประธานกรรมการบริษัททำหน้าที่เป็นประธานที่ประชุม มีหน้าที่ บริษัทฯ และกำกับดูแลให้ฝ่ายบริหารดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ดูแลและจัดสรรเวลาแต่ละวาระให้อย่างเพียงพอสำหรับกรรมการที่จะ ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุด อภิปราย แสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระในประเด็นที่สำคัญโดย ให้แก่บริษัทฯและผู้ถือหุ้น คำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างเป็นธรรม 1.5.3 พิจารณาอนุมัติรายการที่สำคัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจ รวมทั้งให้ฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้องนำเสนอข้อมูลประกอบการอภิปราย ใหม่, การซือ้ ขายทรัพย์สนิ ฯลฯ และการดำเนินการใดๆ ทีก่ ฎหมายกำหนด ปัญหาสำคัญ เลขานุการบริษัททำหน้าที่ในการจดบันทึกและจัดทำรายงานการ 1.5.4 พิจารณาอนุมัติและ/หรือให้ความเห็นชอบต่อรายการที่ เกีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้เป็นไปตามประกาศ ข้อกำหนด ประชุมภายใน 14 วัน จัดเก็บรายงานการประชุม เอกสารประกอบการ ประชุม สนับสนุนติดตามให้คณะกรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้เป็น และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งประสานงาน 1.5.5 ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการ กับผู้ที่เกี่ยวข้อง บริหารอย่างสม่ำเสมอและกำหนดค่าตอบแทน ในปี 2551 คณะกรรมการบริษัทได้มีการประชุมทั้งวาระปกติและ 1.5.6 รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝ่าย วาระพิเศษรวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง มีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของ บริหาร โดยให้มีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน กรรมการดังต่อไปนี ้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม

2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

3. นางทัศนีย์ มโนรถ

4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน์

6. นายวาสุกรี กล้าไพรี 1/

7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง

8. นายยืน ควน มูน

9. นางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค2/

เข้าร่วมประชุม 10 ครั้ง 1.8 แผนการสืบทอดตำแหน่ง คณะกรรมการกำหนดให้มีแผนการสืบทอดตำแหน่งของประธาน เข้าร่วมประชุม 8 ครั้ง กรรมการบริหารและผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ทั้งนี้ เพื่อรักษาความ เข้าร่วมประชุม 10 ครั้ง เชื่อมั่นให้กับผู้ลงทุน องค์กร ตลอดจนพนักงานว่าการดำเนินงานของ

เข้าร่วมประชุม 10 ครั้ง บริษัทฯ จะได้รับการสานต่ออย่างทันท่วงที เข้าร่วมประชุม 7 ครั้ง คณะกรรมการมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและกำกับดูแล กิ จ การทำหน้ า ที่ พิ จ ารณากำหนดหลั ก เกณฑ์ แ ละแผนการสื บ ทอด เข้าร่วมประชุม 8 ครั้ง ตำแหน่ง หากตำแหน่งประธานกรรมการบริหารว่างลง รวมทั้งจัดให้มี เข้าร่วมประชุม 3 ครั้ง การทบทวนแผนการสืบทอดตำแหน่งเป็นประจำทุกปี และให้ประธาน เข้าร่วมประชุม 6 ครั้ง กรรมการบริ ห ารรายงานให้ ค ณะกรรมการเพื่ อ ทราบเป็ น ประจำถึ ง แผนการพัฒนาและสืบทอดตำแหน่งงาน เข้าร่วมประชุม 1 ครั้ง

10. นายวิกรม ศรีประทักษ์

เข้าร่วมประชุม 9 ครั้ง

กรรมการสามารถเข้าถึงและติดต่อสื่อสารกับฝ่ายบริหารและ 11. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข3/ เข้าร่วมประชุม 4 ครั้ง เลขานุการบริษทั ได้โดยตรง ตามความเหมาะสม แต่การเข้าถึงและติดต่อ 12. นายสมประสงค์ บุญยะชัย เข้าร่วมประชุม 10 ครั้ง สื่อสารนั้นต้องไม่เป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงต่อการดำเนินธุรกิจ ปกติของบริษัทฯ. 13. นายฮิวเบิร์ท อึ้ง ชิง-วาห์ 4/ เข้าร่วมประชุม 4 ครั้ง

14. นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 5/

เข้าร่วมประชุม - ครั้ง

1/ 2/ 3/ 4/ 5/

ออกจากการเป็นกรรมการ มีผลวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2551 ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการแทนนางสาวนิ จ จนั น ท์ แสนทวี สุ ข

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนายวาสุกรี กล้าไพรี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551

1.7 การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการกำหนดให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการประชุม กันเองตามความเหมาะสม โดยไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารหรือฝ่าย บริหารเข้าร่วมการประชุม เพื่อเปิดโอกาสให้อภิปรายปัญหาต่างๆ ทั้งที่ เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ เรื่องที่อยู่ในความสนใจและให้มีการรายงาน ผลการประชุมให้ประธานกรรมการบริหารและคณะกรรมการทราบ ในการประชุม ให้ประธานกรรมการเป็นประธานของการประชุม หากประธานกรรมการไม่สามารถเข้าร่วมการประชุมได้ ให้ที่ประชุม

คัดเลือกกรรมการหนึ่งท่านเพื่อทำหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุมแทน และให้บริษัทฯ จัดให้มีเลขานุการของการประชุมของกรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหารด้วย

ในปี 2551 ได้มีการประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 ครั้ง

1.9 การติดต่อสื่อสารกับฝ่ายบริหาร

1.10 ค่าตอบแทนของกรรมการ

ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ จะสอดคล้อง กับหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และเมือ่ เปรียบเทียบค่าตอบแทนกับอุตสาหกรรม

เดียวกันแล้ว ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอ

ทีจ่ ะจูงใจและรักษากรรมการทีม่ คี ณ ุ ภาพไว้ ทัง้ นี้ คณะกรรมการกำหนด ค่าตอบแทนเป็นผูพ้ จิ ารณากลัน่ กรองและเสนอค่าตอบแทนของกรรมการ ในแต่ละปีเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ

1.11 การอบรมและพัฒนาความรู้กรรมการ กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่แต่ละท่านจะได้รับทราบข้อมูล

ของบริษัทฯ กฎระเบียบและข้อมูลธุรกิจของบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องอย่าง เพียงพอก่อนปฏิบัติหน้าที่และกรรมการจะได้รับการอบรมและพัฒนา ความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้กรรมการสามารถทำหน้าที่และกำกับ ดูแลกิจการของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพ

1.12 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ กำหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการ (Self Assessment) เพื่อใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบการปฏิบัติงานใน หน้าทีข่ องคณะกรรมการอย่างสม่ำเสมอ ในการประเมินผลคณะกรรมการ

มีการเปรียบเทียบว่าได้ดำเนินการตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการ

ที่ได้อนุมัติไว้และ/หรือตามแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) หรือไม่ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของคณะกรรมการให้สอดคล้องกับแนว นโยบายที่กำหนดไว้

089


090

รายงานประจำปี 2551

2. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นและบทบาท นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ อ ำนวยความสะดวกให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น

ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ในการมาร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดเตรียมห้องประชุมทีเ่ ข้าถึงได้สะดวก 2.1 สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการเคารพในสิทธิและมีหน้าที่ในการดูแลรักษาผล ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าผู้ถือหุ้นนั้นจะเป็น รายย่อยหรือชาวต่างชาติ นักลงทุนสถาบันหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดย

ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกัน ดังนี้

1) สิทธิในการได้รับใบหุ้น โอนหุ้นและสิทธิในการรับทราบข้อมูล

ผลการดำเนินงาน นโยบายการบริหารงาน อย่างสม่ำเสมอ

และทันเวลา

2) สิทธิในการรับส่วนแบ่งกำไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม

3) สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น แสดงความเห็น ให้ข้อ

เสนอแนะ และร่วมพิจารณาตัดสินใจ ในการเปลี่ยนแปลงที่

สำคัญต่างๆ

4) สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการบริษัท

นอกจากนี้แล้ว ผู้ถือหุ้นทุกรายยังได้รับสิทธิอย่างเท่าเทียมตามที่ กำหนดไว้ในข้อบังคับบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

2.2 การประชุมผู้ถือหุ้น

และมีขนาดเหมาะสมรองรับผูเ้ ข้าร่วมประชุมได้อย่างเพียงพอ และในกรณี ที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถมาร่วมประชุมด้วยตนเองก็สามารถมอบฉันทะให้

ผู้อื่นเข้าประชุมและลงมติแทนได้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้กำหนดให้กรรมการบริษทั ทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการชุดย่อย

เข้าร่วมประชุมเพือ่ ตอบคำถามต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ จะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ เป็นกรรมการ อิสระร่วมอยู่ด้วย โดยประธานที่ประชุมหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย จากประธานที่ประชุม มีหน้าที่จัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้ มีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมี สิทธิเท่าเทียมกันใน การตรวจสอบการดำเนินงานของบริษัทฯ ให้แสดง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ รวมทั้งมีการบันทึกประเด็นซักถาม และข้อคิดเห็นที่สำคัญไว้ในรายงานการประชุม ในปี 2551 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. ณ อาคารชินวัตร 3

เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการพิจารณาลงคะแนนเสียงเรียงลำดับตามวาระที่กำหนดไว้ และ ได้รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้นทุกวาระ

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็นไปตาม 2.3 บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย กฎหมายและแนวทางการประชุมผู้ถือหุ้นที่กำหนดโดยหน่วยงานกำกับ บริษัทฯ ตระหนักถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ และมีนโย ดูแล ทีจ่ ะดูแลให้ความมัน่ ใจโดยจัดลำดับความสำคัญให้แก่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย

ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกคราว บริษทั ฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุม ทั้งผู้ถือหุ้น พนักงาน ผู้บริหาร ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ ตลอดจนสาธารณชน พร้อมทัง้ ข้อมูลประกอบการประชุมในวาระต่างๆ อย่างเพียงพอ ให้ผถู้ อื หุน้ และสังคมโดยรวมอย่างเหมาะสมและจะให้มีการร่วมมือกันระหว่าง

ทราบในทันทีทแี่ ล้วเสร็จ หรือล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน ก่อนวันประชุม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกลุ่มต่างๆ ตามบทบาทและหน้าที่เพื่อให้กิจการ ผูถ้ อื หุน้ โดยเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.investorrelations. ของบริษัทฯ ดำเนินไปด้วยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชน์ ais.co.th เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงและศึกษาได้กอ่ นวันประชุม รวมทัง้ ที่เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย มีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระ และมีการบันทึกการประชุม ถูกต้องครบถ้วนเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบได้ โดยในปี 2551 บริษทั ฯ 3. การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปิดเผยสารสนเทศ นำหนังสือนัดประชุมไปไว้ที่เว็บไซต์ของบริษัทฯ ก่อนวันประชุม 31 วัน ส่วนรายงานการประชุม บริษทั ฯ ได้นำไปไว้ทเี่ ว็บไซต์หลังวันประชุม 14 วัน และความโปร่งใส 1) คณะกรรมการมี ห น้ า ที่ ใ นการเปิ ด เผยสารสนเทศทั้ ง ที่ เ ป็ น

หนังสือเชิญประชุมจะแจ้งรายละเอียดให้ผู้ถือหุ้นนำเอกสารหลัก ฐานที่จำเป็นมาให้ครบถ้วนในวันประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อรักษาสิทธิในการ สารสนเทศทางการเงินและที่ไม่ใช่ทางการเงินอย่างครบถ้วนเพียงพอ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ของผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นในวั น ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถลง เชื่อถือได้และทันเวลา เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ

ได้รับสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน ทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าได้ก่อนการประชุม 2 ชั่วโมง 2) กำหนดให้มีหน่วยงานผู้ลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) การประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ด้วยตนเองสามารถแต่งตัง้ กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผูร้ บั มอบ เพื่อเป็นตัวแทนบริษัทฯ ในการสื่อสารสารประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง อำนาจเข้าร่วมประชุมแทนซึ่งได้แจ้งข้อความไว้ในหนังสือนัดประชุม


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ได้รับทราบข้อมูลของบริษัทฯ ซึ่งผู้สนใจสามารถติดต่อขอข้อมูลต่างๆ จากหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ที่ โทร. 0-2299-5116 หรือ Email: investor@ais.co.th หรือที่เว็บไซต์ของแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ www. investorrelations.ais.co.th อีกทัง้ มีหน่วยงาน Compliance ของบริษทั ฯ ดูแลในด้านการเปิดเผยข้อมูลแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อให้มั่นใจว่าได้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมายที่เกีย่ วข้อง อย่ า งครบถ้ ว น นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี วั น นั ก ลงทุ น ประจำปี (Annual Investor Day) เพือ่ เปิดโอกาสผูจ้ ดั การกองทุนและนักวิเคราะห์ ได้มีความเข้าใจต่อการดำเนินธุรกิจ และการปฏิบัติงานในแต่ละส่วน งานของบริษัทฯ ได้มากขึ้น 3) บริษัทฯ มีนโยบายเปิดเผยสารสนเทศที่สำคัญต่อสาธารณชน ดังนี้ 3.1) วัตถุประสงค์ของบริษัทฯ 3.2) ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ โครงสร้าง

การถือหุ้น และสิทธิในการออกเสียง 3.3) รายชื่อกรรมการ กรรมการชุดต่างๆ ประธานกรรมการ

บริหาร กรรมการผู้อำนวยการ และค่าตอบแทน 3.4) ปั จ จั ย และนโยบายเกี่ ย วกั บ การจั ด การความเสี่ ย งที่

สามารถมองเห็ น ได้ ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ การดำเนิ น งานและ

การเงิน (Material foreseeable risk factors) 3.5) นโยบายและโครงสร้างการกำกับดูแลกิจการ (Governance

structures and policies) รวมทั้งความรับผิดชอบของ

คณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงาน

ของประธานกรรมการตรวจสอบ เป็นต้น 3.6) เปิดเผยในรายงานประจำปีเกีย่ วกับจำนวนครัง้ ทีก่ รรมการ

และ/หรือกรรมการชุดย่อยแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม โดย

เปรียบเทียบกับจำนวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการ

และ/หรือคณะกรรมการชุดย่อยในแต่ละปี นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังคงต้องเปิดเผยข้อมูลตามกฎหมายหรือ

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นผู้ถือหุ้น และผูท้ สี่ นใจจะถือหุน้ ในอนาคตได้ใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผ่าน ช่องทางและสือ่ การเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.investorrelations.ais.co.th

คณะกรรมการมีหน้าที่สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบ การควบคุมภายในอย่างน้อยปีละครั้งและรายงานให้ผู้ถือหุ้นทราบว่า ได้กระทำการดังกล่าวแล้ว การสอบทานต้องครอบคลุมในทุกเรื่องรวม

ทั้งการควบคุมทางการเงิน การดำเนินงานการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Controls) และการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management)

4.2 การตรวจสอบภายใน บริษทั ฯ มีการจัดตัง้ หน่วยงานตรวจสอบภายในโดยเป็นหน่วยงาน หนึง่ ในบริษทั ฯ และรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและผูบ้ ริหาร ระดับสูง มีหน้าที่ในการให้คำปรึกษา ตรวจสอบและประเมินระบบการ ควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสี่ยงและระบบการกำกับดูแลกิจการ

4.3 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) บริษัทฯ มีนโยบายที่จะบริหารความเสี่ยงต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อ บริษทั ฯ ทัง้ ปัจจัยภายในและภายนอก ให้มคี วามเสีย่ งทีเ่ หลืออยูใ่ นระดับ ที่เหมาะสมและยอมรับได้ โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ซึ่งมีประธานกรรมการบริหารเป็นประธาน และตัวแทนของทุกฝ่ายในบริษัทฯ เพื่อดำเนินการประเมินและสอบทาน ผลการประเมินความเสี่ยงจากหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งทบทวนและเสนอ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงอย่างน้อยปีละครั้ง การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการจัดทำ Business Plan ประจำปี เพือ่ ให้การกำหนดแนวทางการจัดการความเสีย่ งนัน้ สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนกลยุทธ์ต่างๆ ของบริษัทฯ ทั้งนี้

ผู้บริหารและพนักงานทุกคนในบริษัทฯ เป็นเจ้าของความเสี่ยง และ มีหน้าที่ในการประเมินความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานและกระบวนการ ทำงานประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู่นำเสนอแผน และวิธีการในการลดความเสี่ยง และรายงานให้ผู้บริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท โปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมในส่วนที่ 1 เรื่อง ปัจจัยเสี่ยง และส่วนที่ 10 เรื่อง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในและ

การบริหารความเสี่ยง

5. ประมวลจริยธรรมธุรกิจ

บริษัทฯ ได้จัดทำประมวลจริยธรรมธุรกิจ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ นโยบายการกำกับดูแลกิจการเพื่อเป็นแนวทาง และ ข้อพึงปฏิบัติที่ดีให้ 4. การควบคุมและบริหารความเสี่ยง กรรมการ ผู้บริหาร ตลอดจนพนักงานทุกๆ คนของบริษัทฯ ได้ยึดมั่น ปฏิบัติงาน ดำเนินธุรกิจบริษัทฯ อย่างซื่อสัตย์ มีจริยธรรม ทั้งนี้ บริษัทฯ 4.1 การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการต้องจัดให้มีและรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายใน ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจตั้งแต่ปี 2549 โดยประมวล จริยธรรมธุรกิจบริษัทฯมีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่อง ดังนี้ เพื่อปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของบริษัท

091


092

รายงานประจำปี 2551

บริษัทฯ เคารพในความเป็นส่วนตัวของพนักงาน ไม่นำข้อมูลส่วน ตั ว เช่ น เงินเดือน ประวัติการรักษาพยาบาล ครอบครัว ไปเปิดเผยให้กับ บริษัทฯ มุ่งมั่นเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำเนินธุรกิจเพื่อ บุคคลภายนอกหรือผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผย

สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโต ต่อบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องตามบทบังคับของกฎหมาย ของมูลค่าบริษัทฯ ในระยะยาวด้วยผลตอบแทนที่ดีและต่อเนื่อง รวมทั้ง 5.5 การแข่งขันทางการค้ากับคู่แข่งขัน การดำเนินการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และเชื่อถือได้ต่อผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า 5.2 ความรับผิดชอบต่อลูกค้า อย่างเสรีและเป็นธรรม บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจ บริษัทฯ ไม่มีนโยบายในการแข่งขันทางการค้าโดยใช้วิธีการใดๆ ให้กับลูกค้าที่จะได้รับผลิตภัณฑ์และบริการที่ดีมีคุณภาพ ในระดับราคา ให้ได้มาซึ่งข้อมูลของคู่แข่งขันอย่างผิดกฎหมายและขัดต่อจริยธรรม ที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดี จึงได้กำหนดแนวทางปฏิบัติ 5.6 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ไว้ดังต่อไปนี้ บริ ษั ท ฯ ในฐานะเป็ น บริ ษั ท ไทย ตระหนั ก และมี จิ ต สำนึ ก ใน

• ผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ โดยมุ่งมั่นที่จะยกระดับ มาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและจริงจังเปิดเผยข่าวสารข้อมูลเกี่ยว บุญคุณของประเทศและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ซึ่งต้องรับผิดชอบช่วย กับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง เหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่นที่บริษัทฯ มีการดำเนินธุรกิจ

5.1 ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น

• กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับจะไม่เปิดเผยข้อมูล ของลูกค้า โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากลูกค้าหรือจากผูม้ อี ำนาจของบริษทั ฯ ก่อน เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องตาม บทบังคับของกฎหมาย

5.3 ความรับผิดชอบต่อคู่ค้าและเจ้าหนี้ การดำเนินธุรกิจกับคู่ค้าใดๆ ต้องไม่นำมาซึ่งความเสื่อมเสียต่อ ชื่อเสียงของบริษัทฯ หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มีการคำนึงถึงความเสมอ ภาคในการดำเนินธุรกิจและผลประโยชน์รว่ มกันกับคูค่ า้ การคัดเลือกคูค่ า้ ต้องทำอย่างยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทฯ ถือว่าคู่ค้าเป็นปัจจัยสำคัญในการ ร่วมสร้างมูลค่าให้กับลูกค้า

บริษัทฯ มีนโยบายผลิตสินค้าและให้บริการใดๆ ที่เป็นมิตรต่อ

สิ่งแวดล้อมและปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ส่งเสริมกิจกรรมการดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรักษ์ พลังงาน และมีนโยบายที่จะคัดเลือกและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม

5.7 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interests) ในการทำงานให้กับบริษัทฯ อาจเกิดสถานการณ์ที่ผลประโยชน์ ส่ ว นตนของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ พนั ก งานอาจขั ด แย้ ง กั บ ผล ประโยชน์ของบริษัทฯ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์นั้นอาจเกิดขึ้นได้ ในหลายรูปแบบ ดังนั้นบริษัทฯ จึงได้กำหนดแนวทางที่ทุกคนพึงถือ ปฏิบัติ ดังนี้

บริษัทฯ ยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้ 1) การรับเงินหรือประโยชน์ตอบแทน เป็นสำคัญ ในการชำระคืนเงินต้น ดอกเบีย้ และการดูแลหลักประกันต่างๆ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องไม่รับเงินหรือประโยชน์

5.4 ความรับผิดชอบต่อพนักงาน ตอบแทนใดๆ เป็นการส่วนตัวจากลูกค้า คู่ค้า ของบริษัทฯ

หรือจากบุคคลใดอันเนื่องจากการทำงานในนามบริษัทฯ พนั ก งานเป็ น ทรั พ ยากรอั น มี ค่ า สู ง สุ ด และเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ สู่ ความสำเร็จของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงได้มุ่งพัฒนาเสริมสร้างวัฒนธรรม กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน จะต้องไม่ให้กู้หรือกู้ยืมเงิน

และบรรยากาศการทำงานที่ดี รวมทั้งส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ปฏิบัติ หรื อ เรี่ ย ไรเงิ น สิ่ ง ของจากลู ก ค้ า หรื อ ผู้ ท ำธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ

ต่อพนักงานด้วยความสุภาพและให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชน เว้นแต่เป็นการกูย้ มื เงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินในฐานะ

การว่าจ้าง แต่งตั้งและโยกย้ายพนักงาน จะพิจารณาบนพื้นฐานของ ของลูกค้าของธนาคารหรือสถาบันการเงินดังกล่าว คุณธรรมและการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ 2) การประกอบธุรกิจอื่นนอกบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษัทฯ มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการ การทำธุรกิจส่วนตัวใดๆ ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน

ทำงานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอ ต้องไม่กระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละเวลาทำงานของบริษทั ฯ

และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด และห้ามประกอบธุรกิจหรือมีส่วนร่วมในธุรกิจใดอันเป็นการ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

แข่งขันกับธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ไม่ว่ากรรมการ

ผู้บริหาร หรือพนักงานดังกล่าวจะได้รับประโยชน์โดยตรงหรือ

โดยทางอ้อมก็ตาม 3) การทำธุรกิจใดๆ กับบริษัทฯ และบริษัทย่อย การทำธุรกิจใดๆ กับบริษทั ฯ ทัง้ ในนามส่วนตัว ครอบครัว หรือ

ในนามนิติบุคคลใดๆ ที่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน นั้น

มีส่วนได้ส่วนเสีย จะต้องเปิดเผยส่วนได้ส่วนเสียต่อบริษัทฯ

ก่อนเข้าทำรายการ ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ที่มีส่วนได้เสียเป็น

ผูอ้ นุมตั ใิ นการตกลงเข้าทำรายการหรือกระทำการใดๆ ในนาม

บริษัทฯ ผูท้ ำรายการในนามบริษทั ฯ มีหน้าทีต่ อ้ งตรวจสอบความสัมพันธ์

ของคูค่ า้ ว่าเกีย่ วข้องกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน หรือไม่

ก่อนทำรายการเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใดๆ

ที่อ าจเกิด ขึ้น ทั้งนี้ นิยามของความสัมพันธ์ให้เป็นไปตาม

หลักเกณฑ์เรือ่ ง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั

จดทะเบี ย นในรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ของคณะกรรมการ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4) การดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทภายนอกบริษัทฯ บริษัทฯ ไม่มีนโยบายที่จะส่งผู้บริหาร เข้าไปเป็นกรรมการ

ในบริษทั อืน่ นอกบริษทั ฯ ในกรณีทผี่ บู้ ริหารของบริษทั ฯ จะเข้า

ดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ต้องได้รับการอนุมัติจาก

ผู้มีอำนาจของบริษัทฯ ยกเว้นการดำรงตำแหน่งกรรมการใน

องค์กรการกุศลที่ไม่แสวงหากำไร ทั้งนี้ การดำรงตำแหน่ง

ดังกล่าวจะต้องไม่ขดั ต่อบทบัญญัตขิ องกฎหมาย หรือข้อบังคับ

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และต้องไม่ใช้

ตำแหน่งงานในบริษทั ฯ ไปใช้อา้ งอิงเพือ่ ส่งเสริมธุรกิจภายนอก 5) การรับของขวัญและการรับเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน พึงหลีกเลีย่ งการรับของขวัญ

ทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินจาก คู่ค้าหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับ

ธุรกิจของบริษทั ฯ เว้นแต่ในเทศกาลหรือประเพณีนยิ ม แต่ตอ้ ง

มี มู ล ค่ า ไม่ เ กิ น 5,000 บาท ในกรณี ที่ มี เ หตุ จ ำเป็ น ต้ อ งรั บ

ของขวัญหรือทรัพย์สินอื่นใดในมูลค่าที่สูงกว่า 5,000 บาท

ให้รายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อดำเนินการตามความเหมาะสม กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน สามารถรับการเลี้ยงรับรอง

ทางธุรกิจได้ เพือ่ ประโยชน์ในธุรกิจของบริษทั ฯ และพึงหลีกเลีย่ ง

การรับการเลี้ยงรับรองในลักษณะที่เกินกว่าเหตุความสัมพันธ์

ปกติจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทฯ หรือจะเป็นคู่ค้า

ในอนาคต

093

6) การเดินทางไปสัมมนา ดูงาน ทัศนศึกษา กรรมการ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานสามารถรั บ เชิ ญ ไปดู ง าน

สัมมนาและทัศนศึกษา ซึ่งคู่ค้าเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเดินทาง

ให้ได้ ทั้งนี้ เฉพาะเพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจและต้องผ่านการ

อนุมัติจากผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจเท่านั้น แต่ห้ามรับเงิน

หรือประโยชน์อื่นใดจากคู่ค้า

5.8 การเสนอเงิน สิ่งจูงใจหรือรางวัล บริษัทฯ ไม่มีนโยบายเสนอเงิน สิ่งจูงใจของกำนัล สิทธิประโยชน์ พิเศษ ในรูปแบบใดๆ แก่ลกู ค้า คูค่ า้ ของบริษทั ฯ หน่วยงานภายนอกหรือ บุคคลใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจ ยกเว้นการให้การเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ ตามประเพณีนยิ ม ส่วนลดการค้า และโครงการส่งเสริมการขายของบริษทั ฯ

5.9 กิจกรรมทางการเมือง บริษทั ฯ มีนโยบายเป็นกลางทางการเมือง โดยไม่บริจาคเงินสนับสนุน หรือกระทำการอันเป็นการฝักใฝ่พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึง่ และ หลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทำให้เกิดความเข้าใจว่าบริษัทฯ มีส่วน เกี่ยวข้องหรือฝักใฝ่พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับสามารถมีส่วนร่วม

ในกิจกรรมทางการเมืองภายใต้บทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญ แต่กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ พนั ก งาน ต้ อ งไม่ แ อบอ้ า งความเป็ น พนั ก งานหรื อ นำ

ทรัพย์สิน อุปกรณ์ เครื่องมือใดๆ ของบริษัทฯ ไม่ใช้เพื่อประโยชน์ในการ ดำเนินการใดๆ ในทางการเมืองและพึงหลีกเลีย่ งกิจกรรมใดๆ ทีอ่ าจทำให้ เกิดความเข้าใจว่าบริษทั ฯ ได้ให้การสนับสนุนหรือฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใด พรรคหนึ่ง กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ต้องลาออกจากการเป็นพนักงาน หากจะดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือลงสมัครรับเลือกตั้งในระดับ

ท้องถิ่นหรือระดับประเทศ

5.10 การปกป้อง ดูแลรักษาทรัพย์สินของบริษัท กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก ระดั บ มี ห น้ า ที่ แ ละความ

รับผิดชอบในการดูแลรักษา การใช้ทรัพย์สนิ ของกลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯ โดยไม่นำไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือผู้อื่น บริษทั ฯ มีนโยบายจะจัดทำเอกสารทางธุรกิจ บันทึกข้อมูทางการเงิน และบัญชี และจัดทำรายงานทางการเงิน ด้วยความสุจริต ทันเวลา ถูกต้อง ครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี

ที่รับรองโดยทั่วไป กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานทุกคนต้องควบคุมข้อมูลความลับ อย่างเหมาะสมและต้องไม่สื่อสารข้อมูลอันมีสาระสำคัญและยังมิได้ เปิดเผยสู่สาธารณชน ซึ่งได้รับรู้มาจากหน้าที่งาน ไปยังหน่วยงานอื่นๆ และบุคคลภายนอกที่ไม่สมควรต้องรับรู้ข้อมูลนั้น และมีหน้าที่ต้องใช้ ความพยายามอย่างดีทสี่ ดุ เพือ่ ป้องกันไว้ซงึ่ ข้อมูลทีเ่ ป็นความลับดังกล่าว ทั้งนี้ รวมไปถึงการจัดเก็บเอกสารข้อมูลที่เป็นความลับ


094

รายงานประจำปี 2551

5.11 การใช้ขอ้ มูลภายในและการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั

3) ผูบ้ ริหารและผูบ้ งั คับบัญชาต้องเป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการปฏิบตั ิ

กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับต้องไม่ใช้ข้อมูลภายใน ตามจริยธรรมธุรกิจ และมีหน้าทีใ่ นการสอดส่องดูแลและส่งเสริม

(Inside Information) ของบริษัทฯ ที่มีสาระสำคัญ และยังไม่ได้เปิดเผย ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจที่กำหนด ต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น 4) กำหนดให้มคี ณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ ประกอบด้วย กรรมการ

กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ มีสิทธิเสรีภาพใน ผูอ้ ำนวยการของบริษทั เป็นประธาน หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ

การลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัทฯ แต่เพื่อป้องกันมิให้เกิด ภายใน หัวหน้าหน่วยงานกฎหมาย หัวหน้าหน่วยงานทรัพยากร

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ควร บุคคล และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ โดยมี

หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัท ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน • ดูแลปรับปรุงจริยธรรมธุรกิจให้มคี วามเหมาะสมและทันสมัย

5.12 การให้ข้อมูลข่าวสาร หรือให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชน โดยได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ

หรือต่อสาธารณชน

• รับเรื่องร้องเรียนการกระทำที่อาจจะฝ่าฝืนจริยธรรมธุรกิจ

การให้ข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับบริษัทฯ ต้องอยู่บนพื้นฐานข้อมูลที่เป็น รวมทั้งดำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริง จริง ถูกต้อง และปฏิบัติด้วยความระมัดระวัง • ตอบชี้แจงข้อซักถามและตีความในกรณีที่มีข้อสงสัย ผูท้ ไี่ ม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้องหรือไม่ได้รบั มอบหมาย ไม่สามารถให้ขอ้ มูล • จัดทำรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ

ข่าวสารหรือให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนหรือต่อสาธารณชนใดๆ เกี่ยวกับ บริหาร และคณะกรรมการบริษัททราบเป็นประจำทุกปี หรือพาดพิงบริษทั ฯ ไม่วา่ ในด้านใด อันอาจส่งผลกระทบต่อชือ่ เสียง และ • ดูแลการสร้างจิตสำนึกและการอบรมพนักงานให้มีความรู้

การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ความเข้าใจจริยธรรมธุรกิจและเสริมสร้างให้พนักงานทุกคน

5.13 รายการระหว่างกัน ยึดถือและปฏิบัติ ในกรณี ที่ มี ก ารทำรายการระหว่ า งกั น บริ ษั ท ฯ จะปฏิ บั ติ ต าม

• แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการตามที่คณะกรรมการ

หลักเกณฑ์และขัน้ ตอนในการพิจารณาอนุมตั ิ โดยคำนึงถึงประโยชน์สงู สุด จริยธรรมธุรกิจมอบหมาย ของบริษทั ฯ เป็นสำคัญ โดยถือเสมือนหนึง่ เป็นรายการทีก่ ระทำกับบุคคล ภายนอก (On an arms’ length basis) 5) ในการขอยกเว้นการปฏิบตั ติ ามจริยธรรมธุรกิจนีใ้ ห้แก่ผบู้ ริหาร

5.14 การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ

และกรรมการ จะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั

กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานต้องปฏิบตั ติ นให้อยูใ่ นกรอบของ 5.16 การรายงานการไม่ปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และต้องไม่มีส่วนรู้เห็น ช่วยเหลือ หรือ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน มีหน้าที่ต้องรายงานการปฏิบัติ กระทำการใดๆ อันเป็นการละเมิด ฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่อาจขัดต่อจริยธรรมธุรกิจ ในกรณีที่พบเห็นหรือถูกกดดัน/บังคับให้

5.15 การจัดการและการรักษาจริยธรรมธุรกิจ กระทำใดๆ ที่เป็นการขัดต่อจริยธรรมธุรกิจ ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชา 1) กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามจริยธรรม หรือผู้บริหารระดับสูง หรือคณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ แล้วแต่กรณี ธุรกิจอย่างเคร่งครัด หากพบว่ามีการฝ่าฝืนหรือกระทำการใดๆ

บริษั ทฯ มี นโยบายที่จะรักษาข้อมูลความลับและคุ้มครองผู้ที่ ที่ขัดต่อจริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ จะพิจารณาและดำเนินการ

รายงานเป็นอย่างดี และผู้รายงานไม่ต้องรับโทษใดๆ หากกระทำโดย ตามความเหมาะสม และในกรณีที่การกระทำดังกล่าวขัดต่อ

เจตนาดี ระเบียบ และข้อบังคับการทำงานด้วยแล้ว บริษทั ฯ จะพิจารณา

ลงโทษตามลักษณะแห่งความผิดตามควรแก่กรณี

2) กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนมีหน้าทีล่ งนามรับทราบ

จริยธรรมธุรกิจนี้ เมือ่ เข้าเป็นพนักงานและเมือ่ มีการเปลีย่ นแปลง


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

095

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ให้ความสำคัญกับการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อ

ส่ ง เสริ ม ให้ ก ารปฏิ บั ติ ต ามหลักการกำกับ ดูแ ลกิจ การที่ดี โดยยึด มั่ น

ในหลักธรรมาภิบาล ความซื่อสัตย์สุจริตในการดำเนินธุรกิจ และเพื่อให้ แน่ใจว่านักลงทุนในหลักทรัพย์บริษัทได้รับสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ จึงได้กำหนดระเบียบการกำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน และ ระเบียบการซื้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน

ให้สอดคล้องกับกฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์ สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ •

กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับต้องไม่ใช้ข้อมูล

ภายในของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ส าระสำคั ญ ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง

ราคาของหลักทรัพย์ที่ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชนหรือ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์

ของบริษัทฯ อันนำมาซึ่งผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น

โดยให้หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ

ในช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน

บริษัทฯ มีหน้าที่เปิดเผยสารสนเทศเกี่ยวกับการดำเนินงาน

ที่ ส ำคั ญ ของบริ ษั ท ฯ ให้ ส าธารณชนทราบโดยทั น ที แ ละ

อย่ า งทั่ ว ถึ ง โดยผ่ า นสื่ อ และวิ ธี ก ารที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ

กำหนด และผ่านสื่ออื่นๆ ของฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ และ

ประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า ข้ อ มู ล ข่ า วสารได้ เ ข้ า ถึ ง

ประชาชนทุกกลุ่มอย่างทันเวลาและเท่าเทียม

กรรมการ ผู้บริหาร มีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์

ที่ออกโดยบริษัทฯ ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุ

นิติภาวะต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ

ตลาดหลักทรัพย์ และรายงานถือครองหลักทรัพย์ที่ออกโดย

บริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัทเป็นประจำทุกไตรมาส

บริ ษั ท ฯ มี ก ฎระเบี ย บการรั ก ษาความปลอดภั ย ทางด้ า น

ระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลสารสนเทศอย่างเข้มงวด เพื่อ

ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ส ำคั ญ ถู ก เปิ ด เผย กรณี ที่

กรรมการ ผู้บริหารหรือพนักงานนำข้อมูลภายในของบริษัทฯ

ไปใช้ในทางมิชอบ โดยบริษัทฯ ได้กำหนดบทลงโทษ หาก

ผู้ ใ ดฝ่ า ฝื น จะถื อ เป็ น ความผิ ด อย่ า งร้ า ยแรงและอาจถู ก

ลงโทษทางวินัยและตามที่กฎหมายกำหนด


096

รายงานประจำปี 2551

ระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดำเนินธุรกิจให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน

จึ ง ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร

ความเสี่ยงเป็นอย่างยิ่ง โดยพนักงานทุกคนของบริษัทฯ มีบทบาทและ ความรับผิดชอบร่วมกัน ซึ่งได้มีการกำหนดภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ อำนาจการดำเนิ น การในระดั บ บริ ห ารและระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารไว้ เ ป็ น

ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดำเนินงาน การบริหาร และการกำกับดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไป ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจอย่าง สมเหตุสมผลว่า ผลสำเร็จของงานจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของ

บริษัทฯ ดังนี้

บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลที่ดี ยึดมั่นใน ปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจ ที่มีข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติที่เป็น ลายลักษณ์อักษร (Code of conducts) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ จรรยาบรรณ โดยผู้บริหารได้เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความซื่อสัตย์และ จริยธรรม มีการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย เป็นไปตามหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี โดยคำนึงถึงความเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย มีการจัดโครงสร้าง การบริหารทีด่ มี กี ารกำหนดอำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบแต่ละระดับ อย่างชัดเจน รวมถึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเป็น ลายลักษณ์อักษร และกำหนดบทบาทหน้าที่รวมถึงแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อให้ มั่นใจได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและระบบการบริหาร ความเสี่ยงที่ดี สามารถป้องกันหรือลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น อย่างมีประสิทธิผล ตลอดจนมีระดับของความเสี่ยงในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้

1. กลยุทธ์และเป้าหมาย ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนสามารถนำมา ปฏิบตั ไิ ด้จริง โดยสอดคล้องและสนับสนุนพันธกิจ (Mission) ของบริษทั ฯ

1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร

2. ผลการปฏิบัติงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมี ประสิทธิผล โดยมีการบริหารทรัพยากรของบริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญในเรื่องบุคลากร โดย คุ้มค่า ั นธรรม 3. รายงานข้อมูลที่มีสาระสำคัญ ทั้งด้านการเงิน การบริหาร และ สนับสนุนให้มสี ภาพแวดล้อมการทำงานทีด่ ี มีการกำหนดให้มวี ฒ องค์กร (Culture) ตลอดจนกำหนดมาตรฐานในการประเมินผลและ

การดำเนินงาน มีความถูกต้องทันเวลา และสามารถเชื่อถือได้ ผลตอบแทนที่ชัดเจนเป็นธรรม พร้อมทั้งจัดให้มีการฝึกอบรมพัฒนา 4. การดำเนินงานและการปฏิบัติงาน เป็นไปตามนโยบาย กฎ ความรู้ให้กับพนักงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอตามแผนการฝึกอบรม

ระเบี ย บและข้ อ กำหนดที่ ส อดคล้ อ งกั บ กฎหมายและข้ อ บั ง คั บ อื่ น ที่ รายบุคคล (Individual Development Plan) เพื่อส่งเสริมและพัฒนา เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ศักยภาพของพนักงานไปสู่ความเป็นเลิศและเป็นมาตรฐานสากล 5. มีระบบการควบคุมดูแลป้องกันทรัพย์สนิ บุคลากร รวมทัง้ ข้อมูล 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ ในระบบสารสนเทศอย่างปลอดภัยเหมาะสม 6. มี ก ารกำกั บ ดู แ ลอย่ า งใกล้ ชิ ด ตลอดเวลาและมี ก ารบริ ห าร บริษทั ฯ มีการกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการปฏิบตั งิ าน ในแต่ละระดับอย่างชัดเจน ทัง้ ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบตั งิ าน ด้านการ จัดการที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล รายงาน รวมทัง้ ด้านการปฏิบตั ติ ามนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อปฏิบตั ติ า่ งๆ 7. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบตั งิ านทัง้ ด้านบุคลากร ทรัพย์สนิ โดยบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร และสอดคล้องกับเป้าหมายหลักหรือ อุปกรณ์ และระบบปฏิบัติการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง พันธกิจในภาพรวม ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นแผนงาน กลยุ ท ธ์ แ ละวั ต ถุ ป ระสงค์

เหมาะสมมีประสิทธิผล โดยปฏิบัติตามกรอบงานการควบคุมภายใน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง และการบริ ห ารความเสี่ ย ง ซึ่ ง อ้ า งอิ ง ตามมาตรฐานสากลของ The สม่ำเสมอ Committee Of Sponsoring Organizations Of The Treadway 3. การบ่งชี้เหตุการณ์ Commission-Enterprise Risk Management (COSO-ERM) ซึ่ง สัมพันธ์กับการดำเนินธุรกิจและกระบวนการบริหารงานของบริษทั ฯ ตาม บริษัทฯ ได้ระบุตัวบ่งชี้เหตุการณ์หรือปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่อาจ ส่ ง ผลเสี ย หายต่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นระดั บ องค์ ก รและระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร

องค์ประกอบทัง้ 8 ประการ ดังนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ของบริษัทฯ ไว้อย่างเหมาะสม รวมทั้งระบุเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น

ที่เอื้ออำนวยต่อวัตถุประสงค์ทางด้านบวกไว้ด้วย โดยพิจารณาจาก แหล่งความเสี่ยงภายในและภายนอกบริษัทฯ และยังมีการติดตามผล

อย่างสม่ำเสมอ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า บริษทั ฯ มีการระบุปจั จัยเสีย่ งทีค่ รอบคลุม ต่อการเปลี่ยนแปลงของแต่ละระดับ รวมทั้งมีการรายงานต่อผู้บริหาร หรือผู้เกี่ยวข้องให้รับทราบอยู่เสมอ

4. การประเมินความเสี่ยง

นอกจากนี้ผู้บริหารระดับสูง ยังได้มีการทบทวนนโยบายและ ระเบียบปฏิบตั เิ ป็นระยะๆ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลง ไปอยู่เสมอ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ ที่กำหนดไว้

7. ข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร

บริษัทฯ มีระบบสารสนเทศและข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกัน

ได้อย่างทั่วถึงทั้งองค์กร เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง

ทันเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศและข้อมูล

ที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ตลอดจนมีการกำหนดแผนสำรองฉุกเฉิน สำหรับป้องกันในเรื่องความปลอดภัยของระบบสารสนเทศขณะที่มี

อุบัติภัยร้ายแรงจนระบบไม่สามารถปฏิบัติงานได้ รวมไปถึงการซักซ้อม แผนสำรองฉุกเฉินไว้เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีระบบการ

จัดเก็บข้อมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องย้อนหลังได้ (Audit Trail) และมีระบบข้อมูลทีส่ ามารถวิเคราะห์หรือบ่งชีจ้ ดุ ทีอ่ าจจะเกิดความเสีย่ ง ในเชิงสถิติได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งทำการประเมินและจัดการความเสี่ยง พร้อมทั้งบันทึกหรือรายงานผลไว้อย่างครบถ้วน

บริษัทฯ มีเครื่องมือและวิธีการประเมินความเสี่ยงอย่างเป็น ระบบ อีกทั้งยังมีการจัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยงเพื่อเป็นแนวทาง การปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน และได้กำหนดหลักเกณฑ์ของการประเมิน ความเสีย่ งในแต่ละระดับไว้อย่างเหมาะสม ทัง้ ในระดับระดับองค์กรและ ระดับปฏิบตั กิ าร ตลอดจนทำการประเมินในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยพิจารณาจากระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ขององค์กร ซึ่งจะทำการ ประเมินทัง้ 2 ด้าน คือ โอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ความเสีย่ ง (Likelihood) และผลกระทบต่อความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น (Impact) เพื่อ พิจารณาระดับค่าของความเสี่ยงที่อาจเป็นระดับสูง กลาง หรือต่ำ นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 5. การตอบสนองความเสี่ยง ประสิทธิผล สามารถติดต่อสือ่ สารกันได้ทวั่ ถึงทัง้ องค์กรโดยข้อมูลทีส่ ำคัญ บริษทั ฯ มีกระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็นระบบต่อเนือ่ ง จะถูกถ่ายทอดจากผู้บริหารระดับสูงลงสู่พนักงานได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้ง ตลอดจนได้กำหนดแนวทางในการยกเลิก การลด การโอนให้ผู้อื่นและ มีช่องทางการสื่อสารจากพนักงานขึ้นตรงสู่ผู้บริหารระดับสูงได้ด้วย

การยอมรับความเสีย่ งไว้อย่างชัดเจน เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ ได้มกี าร เช่นกัน พิจารณาทางเลือกทีม่ ปี ระสิทธิผลและความคุม้ ค่าทีส่ ดุ และเลือกจัดการ กับความเสี่ยงระดับสูงเป็นอันดับแรก เพื่อลดโอกาสและผลกระทบใน ภาพรวมที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น รวมทั้งยังมีมาตรการควบคุมภายในที่ดี ที่มีความสัมพันธ์เหมาะสมกับความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไป

6. กิจกรรมการควบคุม

8. การติดตามผล

บริษทั ฯ มีขนั้ ตอนการติดตามและการกำกับดูแลการปฏิบตั งิ าน ในแต่ละระดับอย่างต่อเนื่อง เหมาะสม และมีระบบการประเมินและ

ติดตามผลการดำเนินงานที่ดี เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามาตรการและระบบ

การควบคุมภายในนั้นมีประสิทธิผลอยู่เสมอ สามารถตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา และบริษัทฯ ได้จัดให้พนักงาน ระดับหัวหน้างานมีการติดตามผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา และยั ง จั ด ให้ มี ก ารตรวจประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน โดยหน่ ว ยงาน

ตรวจสอบภายใน ซึง่ เป็นหน่วยงานอิสระ ผูส้ อบบัญชี และผูป้ ระเมินอิสระ จากภายนอก

บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานในแต่ละ ระดับไว้อย่างชัดเจน ตลอดจนกำหนดกิจกรรมการควบคุมทีม่ สี าระสำคัญ

ในแต่ละระดับไว้อย่างเหมาะสม โดยเน้นกิจกรรมการควบคุมแบบป้องกัน เป็นหลัก รวมทั้งมีการประเมินและรายงานผลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ มัน่ ใจว่า วิธกี ารจัดการความเสีย่ งหรือกิจกรรมการควบคุมนัน้ ได้มกี ารนำ ไปปฏิบัติจริง สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ รวมถึงคุณภาพและ บริษัทฯ มีระบบการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงที่ดีและ

มีการกำหนดสัญญาณเตือนภัย เพื่อให้มั่นใจได้ว่า การบริหารและการ ความรวดเร็วที่ควบคู่กันไปด้วย

097


098

รายงานประจำปี 2551

จัดการความเสี่ยงมีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ ซึ่งความเสี่ยงนั้น

อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยให้มีการรายงานผลต่อหัวหน้างานทุกระดับ และต่ อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง อย่ า งสม่ ำ เสมอ และจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม

คณะกรรมการบริษัท และมีการประชุมผู้บริหารอย่างสม่ำเสมอ เพื่อ พิจารณาและติดตามผลการดำเนินงานของฝ่ายบริหารว่าเป็นไปตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้

ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้นำเสนอ

ผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารได้รบั ทราบ เพือ่ ให้มกี ารจัดการความเสีย่ งและ ติดตามอย่างใกล้ชิด และมั่นใจได้ว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทั้งบริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งสรุปปัจจัยความ เสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ไว้ในส่วน

ในปัจจุบนั สถานการณ์ตา่ งๆ ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก ของปัจจัยเสี่ยงเรียบร้อยแล้ว และรวดเร็ว การบริหารความเสีย่ งจึงเป็นสิง่ ทีม่ คี วามสำคัญ ช่วยให้บริษทั ฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 18 สามารถอยู่รอดได้เมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ดังนั้นจึงมีความ กุมภาพันธ์ 2552 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมด้วย จำเป็นอย่างยิ่ง ที่บริษัทฯ ต้องมีกลไกการบริหารงาน เพื่อสร้างความ คณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ แข็งแกร่งและเตรียมการเพื่อรับมือไว้อย่างรอบด้านเป็นการล่วงหน้า จากการสอบทานการประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และจากการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร ผลการประเมินจากแบบ เพื่อให้บริษัทฯ สามารถดำรงอยู่ได้ตลอดไป ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน สรุปได้ว่า บริษัทฯ เอไอเอส มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยงของ มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ องค์กร โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งมีประธานกรรมการ บริหารของบริษัท เป็นประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และ นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง เป็นกรรมการ รวม สอบบัญชี จำกัด ซึง่ เป็นผูต้ รวจสอบงบการเงินประจำปี 2551 ได้ประเมิน 13 ท่าน ซึ่งในปี 2551 คณะกรรมการได้มีการประชุม 4 ครั้ง โดยได้ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ตามทีเ่ ห็นว่าจำเป็น พิจารณาแจกแจงความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองค์กร จัดอันดับความเสี่ยง โดยพบว่า ไม่มีจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสำคัญ

กำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง มอบหมายผู้รับผิดชอบเพื่อจัด แต่ประการใด ให้มีมาตรการควบคุมและจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การตรวจสอบภายใน เพื่อให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายและกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ และ หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ รายงานตรงต่อคณะ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งได้มี กรรมการตรวจสอบในด้านงานตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธาน การทบทวนความเสีย่ งของบริษทั ฯ อย่างสม่ำเสมอว่า บริษทั ฯ มีความเสีย่ ง กรรมการบริหารในด้านงานบริหารหน่วยงาน โดยมีกฎบัตรของหน่วยงาน ด้ า นใดบ้ า งที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ เปลี่ ย นแปลงไป วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึง่ กำหนดภารกิจ ขอบเขต วัตถุประสงค์และภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ได้ส่งผลกระทบอย่างไร ต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ของบริษัทฯ รวมถึงสิทธิในการปฏิบัติงานตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน และมีการจัดทำ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง มี ก ารติ ด ตามผลสำเร็ จ

ของการบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาจากแผนงานของฝ่ายจัดการที่ รับผิดชอบในปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ และผลของการวัดผลที่เชื่อถือได้ ของการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน และในการประชุมทุกครัง้ คณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย งจะกำหนดให้ ฝ่ า ยจั ด การที่ รั บ ผิ ด ชอบรายงานผล

การบริหารความเสีย่ งทีไ่ ด้แจกแจงไว้จากรอบการประชุมครัง้ ก่อน รวมทัง้ มีการพิจารณาว่าระดับความเสี่ยงลดลงหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อให้การบริหาร ความเสี่ยงมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง

คู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบที่ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อใช้ อ้างอิงการปฏิบัติงานให้เป็นทิศทางเดียวกัน หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่ตรวจประเมินประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสีย่ ง และการกำกับ ดูแลกิจการของบริษทั ฯ ตามแผนงานการตรวจสอบประจำปี ซึง่ ได้พจิ ารณา จากวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ พันธกิจในระดับภาพรวม ตลอดจนพิจารณา จากปัจจัยเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง (Risk Based Audit Approach) โดยผ่านการ อนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการให้คำปรึกษาแนะนำ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

099

ในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่า การปฏิบัติงานของบริษัทฯ

จะบรรลุ ผ ลตามกลยุ ท ธ์ แ ละวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ก ำหนดไว้ อี ก ทั้ ง ยั ง ทำ

การติดตามประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความมั่นใจในระบบ

ที่ ว างไว้ ว่ า ได้ ด ำเนิ น การเป็ น ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และได้ รั บ การแก้ ไ ข ปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

ความรับผิดชอบทุกหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย มาจากคณะกรรมการบริษัทให้มีประสิทธิผล โดยจัดให้มีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบเดือนละ 1 ครั้ง และยังมีบทบาทในการให้คำ ปรึกษาแนะนำในด้านต่างๆ โดยร่วมเป็นกรรมการของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการด้านความปลอดภัยระบบสารสนเทศ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทฯ เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ดำเนินการสอบทานตัวบ่งชี้เหตุการณ์ หน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน ได้ ยึ ด ถื อ แนวทางหรื อ กรอบการ

หรือปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ และแนวทางการบริหาร ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน ความเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้มั่นใจว่ามีการระบุและประเมินความ (The International Standards for the Professional Practice of Internal เสี่ยงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นระบบ Auditing), COSO-ERM, AS / NZS 4360 ส่วนในด้านระบบสารสนเทศ

สามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และมีการรายงาน ได้รวมแนวทาง CobiT, ITIL, ISO 17799 เป็นกรอบการปฏิบัติงาน

อย่างครบถ้วนทันเวลาพร้อมทั้งยังมีการติดตามสอบทานความเสี่ยง เพิ่มเติม เพื่อให้มั่นใจว่า ระบบสารสนเทศของบริษัทฯ มีความปลอดภัย อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และมีการกำกับดูแลที่ดี อีกทั้งได้ยังมุ่งเน้นการพัฒนางานตรวจสอบ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ภายในให้ มี คุ ณ ภาพเที ย บเท่ า มาตรฐานสากล โดยมี ก ารประเมิ น หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัดทำแบบประเมินความเพียงพอของ คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง ตลอดจนพนักงานตรวจสอบ ระบบการควบคุมภายในของแต่ละระบบงาน รวมทั้งได้ทำการสอบทาน ภายในทุกคนมีการปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นอิสระ เที่ยงธรรม สอดคล้องกับ ผลการปฏิบตั งิ าน และสนับสนุนให้แต่ละหน่วยงานมีการประเมินตนเอง ประมวลจรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบภายใน (Code of Ethics) ในแต่ละขั้นตอน เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ นอกจากนี้พนักงานของหน่วยงานตรวจสอบภายในยังได้รับการ

ที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ตามแผนการฝึกอบรมแบบรายบุคคล ข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด และรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง (Individual Development Plan) รวมถึงการพัฒนาสอบวุฒิบัตรต่างๆ น่าเชื่อถือ โดยปัจจุบัน หน่วยงานตรวจสอบภายในมีผู้มีวุฒิบัตร CIA (Certified

ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการกำกับดูแลกิจการ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ตรวจประเมินการกำกับดูแลกิจการตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีขององค์กรเพื่อความร่วมมือและพัฒนา ทางเศรษฐกิจ (The Organization for Economic Co-operation and Development : OECD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีโครงสร้างและการสนับสนุนของกระบวนการ ที่จำเป็นในการนำไปสู่ผลสำเร็จของการกำกับดูแลที่ดีและโปร่งใสและ ให้ความเป็นธรรมเท่าเทียมกัน ตลอดจนมีการนำทรัพยากรไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงค์ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย นอกจากนี้หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็น เลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสนับสนุนภาระหน้าที่และ

Internal Auditor) จำนวน 4 ท่าน, วุฒบิ ตั ร CISA (Certified Information System Auditor) จำนวน 5 ท่าน, วุฒบิ ตั ร CISM (Certified Information Security Manager) จำนวน 1 ท่ า น, วุ ฒิ บั ต ร CISSP (Certified Information Systems Security Professional) จำนวน 1 ท่ า น,

วุฒิบัตร CPA (Certified Public Accountant) จำนวน 3 ท่าน, วุฒิบัตร TA (Tax Auditor) จำนวน 1 ท่ า น โดยเจ้ า หน้ า ที่ อี ก จำนวนหนึ่ ง

อยู่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นาให้ มี วุ ฒิ บั ต ร CIA และ CISA อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน จะ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ อีกทัง้ ยังสามารถสนับสนุนการกำกับ ดูแลที่ดีและเพิ่มคุณค่าให้แก่บริษัทฯ อย่างมีประสิทธิผล


100

รายงานประจำปี 2551

รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้มีการตกลงเข้าทำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ

และบริษัทย่อย และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการ บริษัทได้อนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ให้ฝ่ายจัดการมีอำนาจเข้าทำรายการระหว่างกันที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป โดยฝ่ายจัดการ สามารถทำธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรมเหล่านั้นมีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้วยอำนาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันนัน้ บริษทั ฯ จะยึดแนวปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันกับการทำรายการอืน่ ๆ ทัว่ ไป โดยมีการกำหนดอำนาจ ของผู้มีสิทธิอนุมัติตามวงเงินที่กำหนด นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบยังทำหน้าที่เป็นผู้สอบทานการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเป็นประจำทุกไตรมาส เพื่อขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริษัทฯ โดยรวมเป็นสำคัญ บริษัทฯ มีนโยบายเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ เปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน สำหรับงวดบัญชีรายปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยผู้ตรวจสอบ บัญชีของบริษัทฯ ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบและคณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่สอบทานแล้ว และมีความเห็นว่า รายการที่เกี่ยวโยงกันทุกรายการเป็นการทำรายการอย่างสมเหตุสมผลและเป็นไปในทางการค้าปกติ โดยบริษัทฯ ได้คิดราคาซื้อ-ขายสินค้า และ บริการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามราคาที่เทียบเท่าราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลั ก ษณะรายการ ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน สำหรับงวดสิ้นสุด สำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2550 (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม 1. บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด บริษัทฯ มีเงินปันผลจ่ายให้ SHIN (มหาชน) (SHIN)/ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ 1. รายได้จากการให้บริการ 0.37 0.37 0.31 0.32 ในสัดส่วนร้อยละ 42.67 และมี 2. รายได้อื่น 0.03 0.03 0.03 0.11 กรรมการร่วมกันคือ 3. เงินปันผลจ่าย 7,961.39 7,961.39 7,961.39 7,961.39 นายสมประสงค์ บุญยะชัย 4. ลูกหนี้การค้า 0.02 0.02 0.03 0.09 5. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.02 0.02 - -

เหตุผลและความจำเป็น ของการทำรายการ บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลให้ SHIN ตาม อัตราส่วนการถือหุน้ ทัง้ นีก้ ารเสนอจ่าย เงินปันผลดังกล่าวของคณะกรรมการ บริษัทจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุม สามัญประจำปีผู้ถือหุ้น

2. บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) (THCOM)/ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วนร้อยละ 41.14 และมี กรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

บริษัทฯ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม1A จาก THCOM โดยบริษัทฯ ได้ชำระค่าบริการ ล่วงหน้าสำหรับระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน 2549 ถึงวันที่ 21 มิถุนายน 2552 (ค่าตอบแทน ในอัตรา US$ 1,700,000/ปี) 1. รายได้จากการให้บริการ 5.31 5.88 4.74 5.21 2. รายได้อื่น 0.04 0.07 - 0.04 3. ค่าเช่าและบริการอื่นๆ 57.08 57.08 57.66 57.67 4. ลูกหนี้การค้า 0.39 0.54 0.28 0.59 5. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.04 0.04 - -

THCOM เป็นผู้ให้บริการรายเดียวใน ประเทศไทย โดยบริษทั ฯ ชำระค่าบริการ ในอัตราเดียวกับลูกค้าทัว่ ไปทีใ่ ช้บริการ

3. กลุ่มบริษัท ธนชาต (NAT) / กรรมการผู้จัดการใหญ่ของกลุ่ม ธนชาตเป็นกรรมการของบริษัทฯ คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน์

บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าเบี้ยประกันภัย สถานีฐาน เบีย้ ประกันภัยอุปกรณ์ และดอกเบีย้ 1. ดอกเบี้ยรับ 9.79 17.10 1.33 1.33 2. ค่าเบี้ยประกันภัย 35.25 38.52 62.40 65.81 3. ดอกเบี้ยจ่าย 2.81 3.20 1.81 2.10

เป็นกลุ่มบริษัทที่ให้บริการที่ดี และ มีการติดต่อกับบริษัทฯ มาโดยตลอด บริษัทฯ ชำระค่า เบี้ยประกันภัยต่างๆ ในอัตราที่ เทียบเคียงได้กับราคาตลาด

เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) (SATTEL) เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) (THCOM)


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลั ก ษณะรายการ ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน สำหรับงวดสิ้นสุด สำหรับงวดสิ้นสุด เหตุผลและความจำเป็น 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2550 (ล้านบาท) (ล้านบาท) ของการทำรายการ งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม 4. บริษทั แมทช์บอกซ์ จำกัด (MB)/ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ว่าจ้าง MB เป็นตัวแทน เป็นบริษัทโฆษณาที่มีความคิดริเริ่มที่ดี มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในการจัดทำโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ โดยจะเป็น และมีความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการ ในสัดส่วนร้อยละ 99.96 และมี การว่าจ้างครั้งต่อครั้ง ของบริษทั ฯ เป็นอย่างดี รวมทัง้ เป็นการ กรรมการร่วมกันคือ 1. รายได้จากการให้บริการ 0.38 0.43 0.68 0.69 ป้องกันการรั่วไหลของข้อมูล นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. รายได้อื่น 0.03 0.05 - 0.05 3. ค่าใช้จ่ายทางการตลาดและบริการอื่นๆ 241.67 246.94 359.62 379.28 บริษทั ฯ ได้เปรียบเทียบอัตราค่าบริการ 4. ค่าโฆษณา ที่ MB เรียกเก็บกับราคาตลาดทีบ่ ริษทั - ค่าโฆษณา (NET) 427.77 456.70 445.16 477.79 โฆษณาอื่นๆ เสนอมาดังนี้ - ค่าโฆษณา (GROSS) 1,074.43 1,149.89 998.34 1,062.92 5. เจ้าหนี้การค้า - 2.28 - - - Agency Fee 6. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 382.94 392.67 257.95 281.94 MB Media 9.00% * 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.01 0.01 0.04 0.04 MB Production 12.00% * เปลี่ยนจาก 6% เป็น 9% เมื่อ 1 มิถุนายน 2551 - Third party Media and Production 9.00%-17.65% 5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด บริษทั ฯ ว่าจ้าง TMC ในการจัดทำข้อมูลสำหรับ เป็นผู้ให้บริการที่มีความเชี่ยวชาญ (TMC)/ บริการเสริมของโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เช่น การจัด ในการจัดทำเนื้อหาของข้อมูลต่างๆ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ร้อยละ หาข้อมูลทางโหราศาสตร์ ข้อมูลสลากกินแบ่ง 99.99 (โดยทางอ้อม) รัฐบาล และเรื่องตลกขบขัน เป็นต้น โดยชำระ บริษทั ฯ ชำระค่าบริการ ในอัตราร้อยละ ค่าใช้บริการตามที่เกิดขึ้นจริงเป็นรายเดือน ของรายได้ที่บริษัทฯ ได้รับจากลูกค้า 1. รายได้จากการให้บริการ 1.76 1.76 1.48 1.51 ขึ้นอยู่กับประเภทของบริการที่ลูกค้าใช้ 2. รายได้อื่น 0.03 0.03 - 0.04 โดยอัตราที่จ่ายเป็นอัตราเดียวกับ 3. ค่าบริการอื่นๆ 46.91 46.96 62.27 62.41 Content Provider ประเภทเดียวกัน 4. เจ้าหนี้การค้า 4.96 4.99 4.68 4.71 ซึง่ ในปัจจุบนั อยูใ่ นอัตราร้อยละไม่เกิน 50 5. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.01 0.01 1.11 1.14 6. ลูกหนี้การค้า 0.26 0.26 0.34 0.34 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.02 0.02 - - 6. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ว่าจ้าง ITAS ในการ แอนด์ เซอร์วิส จำกัด (ITAS)/ ปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้อยละ เป็นครั้งต่อครั้ง 99.99 และมีกรรมการร่วมกันคือ 1. รายได้จากการบริการ 0.01 0.01 0.01 0.01 นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. รายได้อื่น 0.01 0.01 - - 3. ค่าที่ปรึกษาและบริหารงานระบบ คอมพิวเตอร์ - - 0.08 0.26 4. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 57.14 81.36 40.78 67.90 5. เจ้าหนี้การค้า - 1.70 - - 6. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 8.75 8.75 0.51 4.74 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.01 0.01 - -

เป็นบริษัทที่ให้บริการเกี่ยวกับการ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เฉพาะ บริษัทในเครือ มีบริการที่ดี รวดเร็ว และราคาสมเหตุสมผล ITAS คิดค่าบริการในอัตราใกล้เคียง กับราคาของบริษัทที่ปรึกษารายอื่น ที่ให้บริการในลักษณะเดียวกัน อัตรา ค่าบริการขึ้นอยู่กับลักษณะงานและ ระดับของที่ปรึกษา

101


102

รายงานประจำปี 2551

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลั ก ษณะรายการ ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน สำหรับงวดสิ้นสุด สำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2550 (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม 7. กลุ่มบริษัท Singtel Strategic บริษัทฯ ทำสัญญากับบริษัทในกลุ่ม Singtel Investments Pte.Ltd. ในการเปิดให้บริการข้ามแดนอัตโนมัติร่วมกัน (Singtel)/ (Joint International Roaming) และบริษทั ฯ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทร้อยละ จ่ายเงินเดือนและผลตอบแทนให้แก่ Singapore 21.34 Telecom International Pte.Ltd. (STI) ในการส่งพนักงานมาปฏิบัติงานที่บริษัทฯ โดยจะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายตามที่เกิดขึ้นจริง และมีเงินปันผลจ่ายตามสัดส่วนการถือหุ้น 1. รายได้จากการให้บริการ 637.26 650.80 774.47 774.47 2. ค่าบริการโรมมิ่งระหว่างประเทศ 316.70 359.26 312.08 312.08 3. เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น 49.06 49.06 42.14 42.14 4. เงินปันผลจ่าย 3,578.40 3,578.40 3,578.40 3,578.40 5. เจ้าหนี้การค้า 68.82 75.64 71.84 71.84 6. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 79.80 79.80 58.43 58.43 7. ลูกหนี้การค้า 181.37 184.57 230.89 230.89

8. บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำกัด (มหาชน) (CSL)/ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้อยละ 39.74 (โดยทางอ้อม)

เหตุผลและความจำเป็น ของการทำรายการ การทำสัญญา International Roaming กับกลุ่ม SingTel เป็นการ ทำสัญญาทางธุรกิจตามปกติ โดย ราคา ที่เรียกเก็บเป็นราคาที่ต่างฝ่าย ต่างกำหนดในการเรียกเก็บจากลูกค้า แต่ละฝ่ายที่ไปใช้บริการข้ามแดน อัตโนมัติหักกำไรที่บวกจากลูกค้า ซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกับที่บริษัทฯ คิดจากผู้ให้บริการรายอื่น ค่าใช้จ่ายที่ STI ส่งพนักงานมาให้ความช่วยเหลือ ทางด้านการบริหารงานและด้านเทคนิค ให้แก่บริษัทฯ บริษัทฯ จ่ายตาม ค่าใช้จ่ายที่ตกลงกันตามที่เกิดจริง

บริษัทฯ ว่าจ้าง CSL ในการให้บริการด้าน เป็นบริษัทในเครือที่ให้บริการทางด้าน Internet ในขณะที่ ADC ให้บริการ Datanet อินเตอร์เน็ต และกำหนดราคาเช่นเดียว แก่ CSL กับที่เรียกเก็บจากลูกค้ารายอื่น 1. รายได้จากการให้บริการ 1.27 141.21 1.05 154.41 2. รายได้อื่น 0.07 8.56 0.01 3.32 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 52.87 53.41 18.57 20.35 4. เจ้าหนี้การค้า 0.77 0.77 0.32 0.32 5. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 4.94 5.11 0.13 14.14 6. ลูกหนี้การค้า 0.26 12.40 0.03 15.37 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน - 0.34 - 0.39

9. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จำกัด บริษทั ฯ ว่าจ้าง Shinee ในการให้บริการเสริม (Shinee)/ ของโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เช่น เกมส์ เสียงเรียกเข้า มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ Wall paper โดยชำระค่าบริการเป็นรายเดือน ร้อยละ 99.99 (โดยทางอ้อม) 1. รายได้จากการให้บริการ 2.56 4.19 0.29 2.17 2. รายได้อื่น 0.41 0.43 1.10 1.22 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 45.44 45.47 73.87 73.88 4. เจ้าหนี้การค้า 6.15 6.16 4.08 4.09 5. เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน - 0.01 0.84 0.85 6. ลูกหนี้การค้า 0.88 0.99 0.89 1.07 10. บริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จำกัด บริษัทฯ ได้ว่าจ้างให้ DTV สร้าง website (DTV)/ 1. รายได้จากการให้บริการ 0.49 0.49 0.17 0.17 มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 5.08 5.08 0.99 0.99 ร้อยละ 99.99 (โดยทางอ้อม) 3. เจ้าหนี้การค้า 0.10 0.10 2.59 3.58 4. ลูกหนี้การค้า 0.05 0.05 - - 5. ลูกหนี้ที่เกี่ยวข้องกัน 0.01 0.01 - -

เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการ ออกแบบ website และมีความ หลากหลายของเนือ้ หา ซึง่ ตรงกับความ ต้องการของบริษัทฯ บริษัทฯ ชำระค่าบริการในอัตราร้อยละ ของรายได้ที่บริษัทฯ ได้รับจากลูกค้า ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของบริการทีล่ กู ค้าใช้ ซึ่งอัตราที่จ่ายเป็นอัตราเดียวกันกับ Content Provider ประเภทเดียวกัน ซึ่งอยู่ในอัตราร้อยละไม่เกิน 50 เป็นบริษทั ทีม่ คี วามชำนาญในการบริการ ทางด้านอินเตอร์เน็ตและกำหนดราคา ที่เทียบเคียงได้กับผู้ให้บริการรายอื่น วันที่ 23 เมษายน 2551 บริษัท ชิน บรอดแบนด์ อินเตอร์เนต (ประเทศไทย) จำกัด (SBI) เปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จำกัด (DTV)”


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ลั ก ษณะรายการ ความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน สำหรับงวดสิ้นสุด สำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2550 (ล้านบาท) (ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม 11. บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิ- บริษัทฯ และบริษัทย่อยร่วมมือกับ LTC เคชั่นส์ จำกัด (LTC)/ ในการให้บริการโรมมิ่งระหว่างประเทศ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 1. รายได้จากการให้บริการ 6.43 8.48 8.34 9.40 ร้อยละ 49.00 (โดยทางอ้อม) 3. ค่าบริการโรมมิ่งระหว่างประเทศ 14.94 21.00 15.00 15.43 2. เจ้าหนี้การค้า 4.85 5.36 1.44 1.83 4. ลูกหนี้การค้า 1.58 2.31 0.97 1.36

เหตุผลและความจำเป็น ของการทำรายการ LTC ดำเนินธุรกิจโทรคมนาคมใน ประเทศลาว ให้บริการโทรศัพท์พนื้ ฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ และบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อัตราค่าโรมมิง่ ทีค่ ดิ เป็นอัตราเทียบเคียง ได้กับราคาตลาดที่คิดกับผู้ใช้บริการ รายอื่น

12. บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จำกัด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยร่วมมือกับ CamShin CamShin ได้รับสัมปทานในการ (CamShin)/ ในการให้บริการโรมมิ่งระหว่างประเทศ ดำเนินกิจการโทรศัพท์ในประเทศ มี SHIN เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 1. รายได้จากการบริการ 0.27 0.27 0.20 0.20 กัมพูชาให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน ร้อยละ 100.00 (โดยทางอ้อม) 2. ค่าบริการโรมมิ่งระหว่างประเทศ 11.80 11.80 8.42 8.42 โทรศัพท์ เคลื่อนที่ รวมถึงโทรศัพท์ 3. เจ้าหนี้การค้า 1.21 1.21 2.36 2.36 ระหว่างประเทศ 4. ลูกหนี้การค้า 0.03 0.03 0.07 0.07 อัตราค่าโรมมิง่ ทีค่ ดิ เป็นอัตราเทียบเคียง ได้กับราคาตลาดที่คิดกับผู้ใช้บริการ รายอื่น * วันที่ 12 มกราคม 2552 บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จำกัด (CamShin) เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เอ็ม โฟน จำกัด (Mfone)

103


104

รายงานประจำปี 2551

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าว

จัดทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ และใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้งให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง และให้มีและดำรงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อให้ไม่ให้เกิด

การทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำคัญ ในการนี้คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำหน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชี และคุณภาพของรายงาน

ทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลรายการ ระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงาน

ประจำปีแล้ว งบการเงินของบริษัทฯ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ในการตรวจสอบนั้นทางคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบ และแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งแสดงไว้ในรายงาน

ประจำปีแล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับดีเป็นที่น่าพอใจและสามารถสร้างความเชื่อมั่น

อย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม) ประธานกรรมการ

(นายแอเลน ลิว ยง เคียง) ประธานกรรมการบริหาร


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

105

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษัท

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงิน เหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า งบกำไรขาดทุนรวมและ

งบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และ

งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น ซึ่งแสดง ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้

ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบ

หลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และ ประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการ ที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่

31 ธันวาคม 2551 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษัทและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกันของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ดังที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 31 บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับค่าความนิยมในงบการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 โดยใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป

กรุงเทพมหานคร 18 กุมภาพันธ์ 2552

(วินิจ ศิลามงคล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด


106

รายงานประจำปี 2551

งบดุล บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5 16,300,921,776 8,316,665,598 2,665,329,168 3,713,234,654 เงินลงทุนชั่วคราว 6 226,357,684 123,443,246 - - ลูกหนี้การค้า 4, 7 5,790,416,245 8,054,187,522 9,678,541,104 11,176,551,179 ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 437,429 770,301 489,688,860 85,018,724 สินค้าคงเหลือ 8 1,592,504,878 1,236,245,758 95,094,854 137,111,582 ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างรับ 240,915,152 136,762,816 240,915,152 136,762,816 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 9 2,806,767,830 2,717,539,291 1,609,574,799 1,727,883,958 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 26,958,320,994 20,585,614,532 14,779,143,937 16,976,562,913 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 10 - - 20,223,107,035 19,457,107,035 เงินลงทุนระยะยาวอื่น 6 92,760,750 92,760,750 92,760,750 92,760,750 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 11 8,143,678,476 8,560,947,065 6,447,755,661 7,619,071,129 สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ 12 73,045,439,009 78,527,308,962 69,084,401,479 73,445,126,881 ลูกหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า 32 2,483,941,226 - 2,483,941,226 - สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 13 6,537,923,048 10,593,151,459 1,069,453,456 1,173,298,555 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 14 10,075,260,360 10,031,066,153 9,203,866,150 9,128,181,830 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 15 743,964,974 550,802,889 660,144,640 445,380,506 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 101,122,967,843 108,356,037,278 109,265,430,397 111,360,926,686 รวมสินทรัพย์ 128,081,288,837 128,941,651,810 124,044,574,334 128,337,489,599

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

107

งบดุล (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

หนี้สินและส่วนกลางของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 16 - 3,492,241,668 - 3,492,241,668 เจ้าหนี้การค้า 4, 17 4,263,083,838 4,218,177,264 3,664,297,481 3,915,050,194 เจ้าหนี้และเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 486,336,292 361,241,537 6,427,554,970 13,386,152,303 ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี 16 7,037,683,209 1,544,583,472 7,033,270,481 1,535,228,721 ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีค้างจ่าย 1 2,719,080,693 3,634,359,407 2,281,050,614 3,161,189,348 เจ้าหนี้ค่าตอบแทนการโอนสิทธิ 19 - 4,738,868,207 - - รายได้รับล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3,408,291,449 3,468,898,797 3,933,683,479 4,437,359,674 เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า 983,236,860 1,014,350,112 - - ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 2,859,374,572 3,232,483,027 2,203,959,032 2,943,264,613 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 18 3,102,748,788 2,451,353,594 2,906,117,181 2,211,921,940 รวมหนี้สินหมุนเวียน 24,859,835,701 28,156,557,085 28,449,933,238 35,082,408,461 หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า 32 - 382,836,809 - 382,836,809 เงินกู้ยืมระยะยาว 16 29,774,425,791 24,929,192,172 29,767,173,002 24,920,136,689 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 11,382,426 12,265,872 - - รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 29,785,808,217 25,324,294,853 29,767,173,002 25,302,973,498 รวมหนี้สิน 54,645,643,918 53,480,851,938 58,217,106,240 60,385,381,959

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


108

รายงานประจำปี 2551

งบดุล (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 20 ทุนจดทะเบียน 4,997,459,800 4,997,459,800 4,997,459,800 4,997,459,800 ทุนที่ออกและชำระแล้ว 2,961,739,547 2,958,123,252 2,961,739,547 2,958,123,252 สำรอง 22 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 21,545,336,219 21,250,963,792 21,545,336,219 21,250,963,792 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - 15,376,627 - 15,376,627 กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการลดสัดส่วนการลงทุน 161,186,663 161,186,663 - - กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย 22 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 ยังไม่ได้จัดสรร 47,754,800,293 49,998,651,867 40,820,392,328 43,227,643,969 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท 72,923,062,722 74,884,302,201 65,827,468,094 67,952,107,640 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 512,582,197 576,497,671 - - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 73,435,644,919 75,460,799,872 65,827,468,094 67,952,107,640 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 128,081,288,837 128,941,651,810 124,044,574,334 128,337,489,599

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

109

งบกำไรขาดทุน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

รายได้ รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รวมรายได้

4 4

99,585,776,140 94,810,423,614 11,205,724,471 13,643,627,957 110,791,500,611 108,454,051,571

95,477,238,292 91,879,003,667 - - 95,477,238,292 91,879,003,667

ต้นทุน ต้นทุนการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ (41,484,656,880) (38,441,061,520) (41,348,476,001) (39,468,879,891) ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต 1 (20,020,521,692) (19,691,093,644) (18,782,202,115) (18,196,405,243) ต้นทุนขาย (10,533,664,209) (12,624,415,196) - - รวมต้นทุน (72,038,842,781) (70,756,570,360) (60,130,678,116) (57,665,285,134) กำไรขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

25

38,752,657,830 37,697,481,211 35,346,560,176 34,213,718,533 (11,205,399,071) (12,767,492,454) (11,000,119,659) (12,142,052,036)

กำไรจากการขาย การให้บริการ และการให้เช่าอุปกรณ์ รายได้อื่น 4, 24 ขาดทุนจากการด้อยค่าค่าความนิยม 13 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ค่าตอบแทนกรรมการ 4 กำไรจากการดำเนินงาน เงินปันผลรับ 4, 10

27,547,258,759 24,929,988,757 24,346,440,517 22,071,666,497 2,565,136,120 661,584,025 558,626,198 599,702,086 (3,553,000,000) - - - (74,950,358) (56,062,535) (78,792,699) (73,477,784) (13,452,636) (10,399,789) (13,122,636) (10,094,789) 26,470,991,885 25,525,110,458 24,813,151,380 22,587,796,010 - - 27,195,000 2,878,158,203

กำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี

26,470,991,885 25,525,110,458 24,840,346,380 25,465,954,213 (1,625,254,054) (1,720,706,270) (1,896,764,882) (2,050,327,343) (8,381,243,025) (7,562,357,091) (6,697,945,593) (6,309,048,717) 16,464,494,806 16,242,047,097 16,245,635,905 17,106,578,153

4, 27 28

ส่วนของกำไรที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท 16,409,035,972 16,290,466,659 16,245,635,905 17,106,578,153 ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 55,458,834 (48,419,562) - - กำไรสำหรับปี 16,464,494,806 16,242,047,097 16,245,635,905 17,106,578,153 กำไรต่อหุ้น 29 ขั้นพื้นฐาน 5.54 5.51 5.49 5.79 ปรับลด 5.54 5.51 5.49 5.79 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น บาท

2,953,546,816 20,978,563,672

14,503,874

161,186,663

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น บาท

661,055,515 77,599,008,488

รวมส่วนของ ส่วนของ ผู้ถือหุ้นเฉพาะ ผู้ถือหุ้นส่วน บริษัท น้อย บาท บาท

500,000,000 52,330,151,948 76,937,952,973

ยังไม่ได้ จัดสรร บาท

กำไรสะสม

กำไรที่ยังไม่ เกิดขึ้นจากการ จัดสรรเป็น เงินรับล่วงหน้า ลดสัดส่วน สำรองตาม ค่าหุ้น กฎหมาย การลงทุน บาท บาท บาท

สำรอง

งบการเงินรวม

-

- -

4, 30

21, 22

21, 22

22

โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

ทุนเรือนหุ้นที่ออกเพิ่ม

เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย

เงินปันผล

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ

1 มกราคม 2551

-

-

258,229,532

14,170,588

-

-

15,376,627

-

15,376,627

-

(14,503,874)

-

-

161,186,663

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

15,376,627

262,472,682

-

500,000,000 49,998,651,867 74,884,302,201

-

-

-

-

- (18,621,966,740) (18,621,966,740)

- 16,290,466,659 16,290,466,659

(36,138,282)

15,376,627

262,472,682

-

576,497,671 75,460,799,872

(36,138,282)

-

-

-

- (18,621,966,740)

(48,419,562) 16,242,047,097

-

4, 30

21, 22

21, 22

เงินปันผล

โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

ทุนเรือนหุ้นที่ออกเพิ่ม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

-

279,214,289

15,158,138

-

-

2,961,739,547 21,545,336,219

-

เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

-

ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยลดลงจากการซื้อหุ้นเพิ่ม

3,397,806

218,489

-

กำไรสำหรับปี

-

-

-

-

(15,376,627)

-

-

161,186,663

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

282,612,095

-

500,000,000 47,754,800,293 72,923,062,722

-

-

-

-

- (18,652,887,546) (18,652,887,546)

- 16,409,035,972 16,409,035,972

(28,305,000)

(91,069,308)

282,612,095

-

512,582,197 73,435,644,919

(28,305,000)

(91,069,308)

-

-

- (18,652,887,546)

55,458,834 16,464,494,806

การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นสำหรับปี 2551

2,958,123,252 21,250,963,792

4,243,150

333,286

-

กำไรสำหรับปี

การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นสำหรับปี 2550

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ หมายเหตุ ชำระแล้ว บาท

สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

110 รายงานประจำปี 2551

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น


หมายเหตุ 2,953,546,816 20,978,563,672

14,503,874

500,000,000 44,743,032,556 69,189,646,918

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำรอง กำไรสะสม รวมส่วนของ เงินรับล่วงหน้า จัดสรรเป็นสำรอง ผู้ถือหุ้นเฉพาะ ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก ส่วนเกิน ค่าหุ้น ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บริษัท และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น บาท บาท บาท บาท บาท บาท

-

4, 30 21, 22 21, 22 22

เงินปันผล

โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

ทุนเรือนหุ้นที่ออกเพิ่ม

เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551

-

258,229,532

14,170,588

-

-

15,376,627

15,376,627

-

(14,503,874)

-

-

-

-

-

15,376,627

262,472,682

-

500,000,000 43,227,643,969 67,952,107,640

-

-

-

- (18,621,966,740) (18,621,966,740)

- 17,106,578,153 17,106,578,153

21, 22

ทุนเรือนหุ้นที่ออกเพิ่ม

279,214,289

2,961,739,547 21,545,336,219

3,397,806

15,158,138

-

-

-

-

(15,376,627)

-

-

-

-

282,612,095

- 500,000,000 40,820,392,328 65,827,468,094

-

-

- (18,652,887,546) (18,652,887,546)

- 16,245,635,905 16,245,635,905

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

21, 22

โอนจากเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

-

4, 30

เงินปันผล 218,489

-

กำไรสำหรับปี

การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นสำหรับปี 2551

2,958,123,252 21,250,963,792

-

4,243,150

333,286

-

กำไรสำหรับปี

การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นสำหรับปี 2550

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550

สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

111

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


112

รายงานประจำปี 2551

งบกระแสเงินสด บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสำหรับปี

16,409,035,972 16,290,466,659 16,245,635,905 17,106,578,153

รายการปรับปรุง รายได้เงินปันผลจากบริษัทย่อย

-

-

ค่าเสื่อมราคา

3,028,785,839

3,174,150,633

ค่าตัดจำหน่าย

(27,195,000) (2,878,158,203) 2,857,504,187

3,033,760,090

15,927,242,412 15,792,480,346 14,147,083,733 12,827,174,398

ดอกเบี้ยรับ

(404,426,846)

(375,935,521)

(140,038,853)

(159,024,769)

ดอกเบี้ยจ่าย

1,625,254,054

1,720,706,270

1,896,764,882

2,050,327,343

(กลับรายการ) ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์

670,320

(69,000,000)

-

(53,000,000)

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

530,193,671

1,347,187,994

550,241,210

1,346,153,083

77,132,127

(170,872)

50,930,720

14,235,130

และอุปกรณ์

69,533,579

(14,166,701)

54,414,552

(10,526,947)

ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง

172,657,801

39,114,505

170,258,377

39,082,462

ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน

-

-

8,000,000

448,933,469

ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายค่าความนิยมและอืน่ ๆ

15,140,331

146,470

-

146,470

ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย (กลับรายการ) และขาดทุน จากการตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ (กำไร) ขาดทุนจากการจำหน่ายที่ดิน อาคาร

ขาดทุนจากการด้อยค่าค่าความนิยม

13

3,553,000,000

-

-

-

กำไรจากการหักกลบเจ้าหนี้จากการโอนสิทธิ

19

(1,738,868,207)

-

-

-

ส่วนแบ่งผลกำไร (ขาดทุน) ในบริษัทย่อยของ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

55,458,834

(48,419,562)

-

-

ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

(44,194,207)

(268,464,844)

(75,684,320)

(314,959,845)

ภาษีเงินได้

8,425,437,232

7,830,821,935

6,773,629,913

6,624,008,562

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

47,702,052,912 45,418,917,312 42,511,545,306 40,074,729,396


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

113

งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำเนินงาน เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็นการเฉพาะ 179,318,316 149,847,096 - - ลูกหนี้การค้า 1,747,848,485 (4,522,007,025) 962,116,997 (7,252,617,163) ลูกหนี้จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 332,872 2,202,623 1,329,864 20,293,934 สินค้าคงเหลือ (480,958,349) 819,391,476 (8,219,289) (37,983,081) ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างรับ (104,152,336) 326,794,652 (104,152,336) 326,794,652 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 11,649,443 (112,724,722) 126,479,896 9,387,681 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (279,911,801) (73,658,153) (279,571,209) (53,818,663) เจ้าหนี้การค้า 76,517,497 303,669,532 (96,932,862) (5,091,652) เจ้าหนี้จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 125,094,755 (161,968,034) 280,982,777 (39,286,634) ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีค้างจ่าย (915,278,714) 1,217,886,285 (880,138,733) 1,109,238,219 เจ้าหนี้ค่าตอบแทนการโอนสิทธิ (3,000,000,000) - - - รายได้รับล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (60,607,348) (189,901,138) (503,676,195) 365,084,845 เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า (31,113,251) (76,628,503) - - เจ้าหนี้ (ลูกหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและ อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (32,210,952) 60,716,535 (32,210,952) 60,716,535 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 609,533,841 123,435,695 651,247,458 157,260,988 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น (883,447) (242,929) - - จ่ายภาษีเงินได้ (8,825,742,267) (7,587,510,595) (7,512,461,210) (6,257,067,139) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 36,721,489,656 35,698,220,107 35,116,339,512 28,477,641,918 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย 324,059,465 409,088,718 125,794,184 176,916,601 รับเงินปันผลจากบริษัทย่อย - - 27,195,000 2,878,158,203 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสุทธิ - - (406,000,000) (18,200,000) การเปลี่ยนแปลงในเงินลงทุนชั่วคราวสุทธิ (102,914,439) (5,256,608) - - ลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อย 10 (126,000,000) - (774,000,000) (50,000,000) เงินสดจ่ายสุทธิจากการซื้อเงินลงทุนทั่วไป - (92,760,750) - (92,760,750) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ (2,761,357,943) (4,474,940,882) (1,840,447,322) (3,987,489,164) ขายอาคารและอุปกรณ์ 132,211,534 27,115,197 142,762,472 20,825,282 ซื้อสินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ (9,825,104,101) (12,630,489,918) (9,768,871,374) (12,588,450,270) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (12,359,105,484) (16,767,244,243) (12,493,567,040) (13,661,000,098) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


114

รายงานประจำปี 2551

งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 2550 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 บาท บาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย (1,580,469,442) (1,782,076,963) (1,891,560,280) (1,943,372,930) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - 7,367,734,438 - 7,367,734,438 จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (3,500,000,000) (5,000,000,000) (3,500,000,000) (5,000,000,000) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย - - 8,400,000,000 9,500,000,000 จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย - - (15,600,000,000) (1,000,000,000) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว 9,013,521,646 1,132,646,869 9,013,521,646 1,132,646,869 จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะยาว (1,631,189,287) (6,500,000,300) (1,631,189,287) (6,500,000,300) จ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (30,236,446) (22,871,772) (19,318,887) (19,473,941) เงินสดรับจากการออกหุ้น 282,612,095 262,472,682 282,612,095 262,472,682 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - 15,376,627 - 15,376,627 จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท (18,652,887,546) (18,621,966,740) (18,652,887,546) (18,621,966,740) จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (28,305,000) (36,138,282) - - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (16,126,953,980) (23,184,823,441) (23,598,822,259) (14,806,583,295) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา ต่างประเทศคงเหลือสิ้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

8,235,430,192 6,822,084,530

(4,253,847,577) 11,097,789,676

(976,049,787) 3,713,234,654

10,058,525 3,725,033,698

(71,855,699) 14,985,659,023

(21,857,569) 6,822,084,530

(71,855,699) 2,665,329,168

(21,857,569) 3,713,234,654

ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่รวมอยู่ในงบกระแสเงินสดสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงิ งบการเงินเฉพาะกิจการ นรวม 2551 2550 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 7,362 4,387 2,266 2,205 เงินลงทุนระยะสั้นที่ครบกำหนดไถ่ถอนน้อยกว่า หรือเท่ากับสามเดือน 8,939 3,930 399 1,508 5 16,301 8,317 2,665 3,713 หัก เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็นการเฉพาะ 5 (1,315) (1,495) - - รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 14,986 6,822 2,665 3,713 รายการที่ไม่ใช่เงินสด ยอดหนี้ค้างชำระจากการลงทุนในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ภายใต้ สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ 1,802 1,647 1,406 1,563

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

115

หมายเหตุประกอบงบการเงินและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่

414 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 1 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2534 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในระหว่างปีได้แก่ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 42.67 (2550 : ร้อยละ 42.72) ของทุนจด ทะเบียนของบริษัท และ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 19.18 (2550 : ร้อยละ 19.20) ของทุนจดทะเบียนของบริษัท การประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท สรุปได้ดังนี้ 1) การเป็นผู้ดำเนินงานและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 900-MHz CELLULAR โดยบริษัทได้รับอนุญาตจากบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ฉบับลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 ให้มีสิทธิดำเนินกิจการให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ CELLULAR ระบบอนาลอก NMT 900 และระบบดิจิตอล GSM ทั่วประเทศ แบบคู่ขนานกันไป เป็นระยะเวลา 25 ปี นับจาก

วันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเป็นวันแรกที่เปิดดำเนินการ สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558 โดยบริษัทผูกพันจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดต่างๆ และจ่าย

ผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญา ภายใต้ สั ญ ญาดั ง กล่ า วข้ า งต้ น บริ ษั ท มี สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขและข้ อ ตกลงโดยต้ อ งโอนกรรมสิ ท ธิ์ ใ นบรรดาเครื่ อ งมื อ

และอุปกรณ์ต่างๆ หรือทรัพย์สินที่ได้กระทำขึ้น หรือจัดหามาไว้สำหรับดำเนินการระบบ Cellular 900 ให้แก่ทีโอทีทันทีที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อย และ การจ่ า ยเงิ น ผลประโยชน์ ตามสัญญาเป็นรายปีให้แก่ทีโอที ในอัตราร้อยละของรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามสัญญาและ

ผลประโยชน์อื่นใดที่พึงได้รับในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใดๆ หรืออย่างน้อยเท่ากับผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำต่อปีตามที่ระบุไว้

ในสัญญา อัตราร้อยละของรายได้ค่าบริการและผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำในแต่ละปีมีดังนี ้

ปีที่

อัตราร้อยละของรายได้

ผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำต่อปี (ล้านบาท)

1 - 5 6 - 10 11 - 15 16 - 20 21 - 25

15 20 25 30 30

13 ถึง 147 253 ถึง 484 677 ถึง 965 1,236 ถึง 1,460 1,460

2) การเป็นผู้ดำเนินงานและให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ด้วยระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH โดยบริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด (“ADC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้รับอนุญาตจากบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”)

ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการสื่อสารข้อมูลโดยใช้ระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH ในเขตชุมสายโทรศัพท์นครหลวง ตามสัญญาฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2532 ภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวข้างต้น ADC มีสทิ ธิและหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและข้อตกลงโดยต้องโอนกรรมสิทธิใ์ นบรรดาเครือ่ งมือและอุปกรณ์

ต่างๆ หรือทรัพย์สินที่ได้กระทำขึ้น หรือจัดหามาไว้สำหรับดำเนินการระบบ DATAKIT ให้แก่ทีโอทีทันทีที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อย และการจ่ายเงิน

ผลประโยชน์ตามสัญญาเป็นรายปีให้แก่ทีโอที ในอัตราร้อยละของรายได้จากการให้บริการของระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH

ตามสัญญาและผลประโยชน์อื่นใดที่พึงได้รับในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใดๆ หรืออย่างน้อยเท่ากับผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำต่อปี ตามที่ระบุไว้ในสัญญา ADC และ ทีโอที ได้ตกลงแก้ไขสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ โดยทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมฉบับลงวันที่ 25 กันยายน 2540 ขยายระยะเวลา การอนุญาตให้ดำเนินการออกไปอีกจาก 10 ปี เป็น 25 ปี (สิ้นสุดสัญญาวันที่ 24 กันยายน 2565) และยกเว้นการเรียกเก็บเงินผลประโยชน์ ตอบแทนรายปี ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2540 ทั้งนี้ ADC ได้ออกหุ้นสามัญจำนวน 10.75 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ 10 บาทให้กับ ทีโอที ในวันที่

17 มีนาคม 2541 เพื่อแลกกับสิทธิดังกล่าว


116

รายงานประจำปี 2551

3) การเป็นผู้ดำเนินการและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital PCN 1800 โดย บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (“DPC”) บริษัทย่อย ได้รับ อนุญาตจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ให้เป็นผู้ดำเนินการและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital PCN 1800

ช่วงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคมระหว่าง 1747.9 MHz - 1760.5 MHz และ 1842.9 MHz - 1855.5 MHz ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการให้บริการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN 1800 ฉบับลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 โดย DPC ได้รับสิทธิตามสัญญาเริ่มตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ผูกพันจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดต่างๆ และจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญา ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น DPC มีสิทธิและหน้าที่ปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อตกลงโดยต้องโอนเครื่องและอุปกรณ์ทั้งหมด รวมทั้งอะไหล่ ของเครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับการให้บริการ ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณ์แล้วเสร็จเรียบร้อย และต้องจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ กสท. ในอัตราร้อยละของรายได้ตามเกณฑ์สิทธิจากการให้บริการ ก่อนหักค่าใช้จ่าย ค่าภาษีและค่าธรรมเนียม หรืออย่างน้อยเท่ากับ ผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำต่อปีตามที่ระบุไว้ในสัญญา อัตราร้อยละของรายได้ค่าบริการและผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำในแต่ละปีมีดังนี้

ปีที่

อัตราร้อยละของรายได้

ผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำต่อปี (ล้านบาท)

1 2 - 9 10 - 14 15 - 16

25 20 25 30

9 60 ถึง 320 350 ถึง 650 670

4) การเป็นผู้ดำเนินงานศูนย์ให้ข่าวสารการบริการทางโทรศัพท์ 5) การเป็นผู้ดำเนินงานให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงโดยได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) 6) การเป็นผู้ดำเนินงานจัดจำหน่ายบัตรเงินสด โดยได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง 7) การเป็นผู้ดำเนินงานให้บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง 8) การเป็นผู้ดำเนินงานให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ โดยได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2549 โดยใบอนุญาตดังกล่าวสิ้นสุดวันที่ 26 กรกฎาคม 2569 9) การเป็นผู้ดำเนินงานนำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์โทรคมนาคม 10) การเป็นผู้ดำเนินงานให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ (Internet gateway) บริการเสียงผ่านเครือข่าย

อินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศน์ผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television) โดยได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) รายละเอียดของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้

ชื่อกิจการ บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด* (*บริษทั ย่อยทางอ้อม) บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด

ลักษณะธุรกิจ ปัจจุบันหยุดดำเนินงาน ผู้ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง อยู่ระหว่างชำระบัญชีเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 ผู้ให้บริการศูนย์ให้ข่าวสารทางโทรศัพท์ ผูน้ ำเข้าและจัดจำหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีอ่ ปุ กรณ์โทรคมนาคม ให้บริการเช่าโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ ระบบ 1800 MHZ เสร็จการชำระบัญชี ผู้จัดจำหน่ายบัตรเงินสด ผู้ให้บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ให้บริการโทรคมนาคม บริการโครงข่ายโทรคมนาคม และ บริการระบบคอมพิวเตอร์

ประเทศที่ บริษัทถือหุ้นร้อยละ กิจการจัดตั้ง 2551 2550 ไทย ไทย

99.99 51.00

99.99 51.00

ไทย ไทย ไทย

49.00 99.99 98.55

49.00 99.99 98.55

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

- 99.99 99.99 99.99 99.99

65.00 99.99 69.99 99.99 99.93


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ชื่อกิจการ บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด

ลักษณะธุรกิจ ให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเตอร์เน็ต บริการโครงข่ายโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต บริการโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้นำเข้าและจัดจำหน่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่อุปกรณ์โทรคมนาคม ให้บริการเช่าโทรศัพท์เคลื่อนที ่

ประเทศที่ บริษัทถือหุ้นร้อยละ กิจการจัดตั้ง 2551 2550 ไทย

99.99

99.93

ไทย

99.99

99.99

2. เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน งบการเงินนีน้ ำเสนอเพือ่ วัตถุประสงค์ของการรายงานเพือ่ ใช้ในประเทศไทย และจัดทำเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จดั ทำขึน้ เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้

โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย กลุ่มบริษัทได้ใช้มาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหม่โดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2550 ต่อไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงิน ที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51 เรื่อง การใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่และฉบับปรับปรุงเหล่านี้ ไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะ กิจการ ยกเว้นที่เปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 31 การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีที่จะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีเริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 และไม่เกี่ยวข้อง

กับบริษัท มีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่ในงบดุล เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ดังกล่าว กำหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก บริษัทคาดว่าการกำหนดให้ใช้มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ดังกล่าวข้างต้น จะไม่มีผลกระทบต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะ กิจการอย่างมีสาระสำคัญ งบการเงินนี้แสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท และมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักล้านบาท งบการเงินนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายการบัญชี

117


118

รายงานประจำปี 2551

ในการจัดทำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบ

ต่อการกำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่าย การประมาณและข้อสมมติฐานมาจาก ประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยต่างๆ รวมถึงการประเมินผลกระทบที่สำคัญต่อผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกลุ่มบริษัท อันเนื่องมาจาก วิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลกผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึก

ในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวด

ในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปัจจุบันและอนาคต ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่สำคัญในการกำหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบสำคัญต่อการรับรู้ จำนวนเงินในงบการเงินซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ • การวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดซึ่งรวมค่าความนิยม (หมายเหตุ 13) • การใช้ประโยชน์ของขาดทุนทางภาษีเงินได้ (หมายเหตุ 28) • รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ (หมายเหตุ 23) • การใช้ประโยชน์ของอาคารและอุปกรณ์ (หมายเหตุ 11) • การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ (หมายเหตุ 12) • การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (หมายเหตุ 13) • การวัดมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน (หมายเหตุ 32) • สำรองสำหรับหนี้สงสัยจะสูญ (หมายเหตุ 7) • สำรองสำหรับสินค้าเสื่อมสภาพ (หมายเหตุ 8)

3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ (ก) เกณฑ์ในการทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) รายการที่มีสาระสำคัญซึ่งเกิดขึ้นระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยได้ถูกตัดรายการในการทำงบการเงินรวม บริษัทย่อย บริษทั ย่อยเป็นกิจการทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของบริษทั การควบคุมเกิดขึน้ เมือ่ บริษทั มีอำนาจควบคุมทัง้ ทางตรงหรือทางอ้อมในการกำหนด นโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษัทนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่

ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง การรวมธุรกิจ การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยวิธีซื้อธุรกิจ ต้นทุนการซื้อธุรกิจบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ส่งมอบตราสารทุนที่ออก และหนี้สินที่ เกิดขึ้นจนถึง ณ วันที่มีการแลกเปลี่ยน รวมถึงรายจ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อธุรกิจ การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีเสมือนว่าเป็นวิธีการรวมส่วนได้เสีย

(ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีไ่ ม่เป็นตัวเงินซึง่ เกิดจากรายการบัญชีทเี่ ป็นเงินตราต่างประเทศซึง่ บันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

119

(ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ กลุ่มบริษัทได้ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย

เครื่องมือทางการเงินเหล่านี้ประกอบด้วยสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ซึ่งบันทึกในงบการเงิน ณ วันที่ตามสัญญา วัตถุประสงค์ของเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้คือการลดความเสี่ยง กลุ่มบริษัททำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยการกำหนด อัตราแลกเปลี่ยนที่จะใช้ในการชำระหนี้ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการซื้อขายเงินตราต่างประเทศบันทึกเป็นลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามสัญญา

ซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันทีต่ ามสัญญา ลูกหนีต้ ามสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันสิ้นงวดบัญชี กำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ส่วนเกินหรือ ส่วนลดที่เกิดขึ้นในการทำสัญญาจะถูกตัดจำหน่ายตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ผลต่างที่จะได้รับหรือต้องจ่ายชำระตาม สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของรายได้หรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยตลอดอายุของสัญญา กำไรหรือขาดทุนจากการยกเลิก สัญญาหรือการชำระคืนเงินกู้ยืมก่อนกำหนดได้บันทึกไว้ในงบกำไรขาดทุน

(ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียก และเงินลงทุนระยะสัน้

ที่มีสภาพคล่องสูงและมีอายุคงเหลือนับแต่วันออกตราสารจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลาสามเดือนหรือต่ำกว่า และไม่รวมถึงเงินฝากธนาคาร

ที่สามารถใช้เป็นการเฉพาะ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้องชำระคืนเมื่อทวงถามถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด

(จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะ ถูกตัดจำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ

(ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือประกอบด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ บัตรเติมเงิน 1-2-Call! ซิมการ์ดและอะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมแซมและการให้บริการ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ต้นทุนของสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ต้นทุนสินค้า คำนวณโดยใช้วิธีดังต่อไปนี้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ บัตรเติมเงิน 1-2-Call! และซิมการ์ด - วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักเคลื่อนที่ อะไหล่ (โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่) - วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักเคลื่อนที่ อุปกรณ์ดาต้าเน็ท - วิธีเข้าก่อนออกก่อน มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการขาย ค่าเผื่อขาดทุนจากมูลค่าสินค้าลดลงจะถูกบันทึกขึ้นสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ เสียหาย ล้าสมัยและค้างนาน

(ช) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนีซ้ งึ่ กลุม่ บริษทั ตัง้ ใจและสามารถถือจนกว่าครบกำหนด แสดงในราคาทุนตัดจำหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ


120

รายงานประจำปี 2551

ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้เพื่อค้าหรือตั้งใจถือไว้จนครบกำหนด

จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขายและแสดงในมูลค่ายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง ยกเว้นขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จะรับรู้ในงบกำไรขาดทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน จะรับรู้

ผลกำไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่เป็นเงินลงทุนประเภทมีดอกเบี้ยจะบันทึกดอกเบี้ย

ในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคา

หลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัทจำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การคำนวณต้นทุนสำหรับเงินลงทุนที่จำหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยู่

ใช้วิธีเข้าก่อนออกก่อน

(ซ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า สินทรัพย์ที่เช่า การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จัดประเภทเป็นสัญญาเช่า การเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยทำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำ

ที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ชำระจะแยกเป็นส่วนที่เป็น ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และส่วนทีจ่ ะหักจากหนีต้ ามสัญญา เพือ่ ทำให้อตั ราดอกเบีย้ แต่ละงวดเป็นอัตราคงทีส่ ำหรับยอดคงเหลือของหนีส้ นิ ค่าใช้จา่ ย

ทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำไรขาดทุน ค่าเสื่อมราคา ค่ า เสื่ อ มราคาบั น ทึ ก เป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในงบกำไรขาดทุ น คำนวณโดยวิ ธี เ ส้ น ตรงตามเกณฑ์ อ ายุ ก ารใช้ ง านโดยประมาณของสิ น ทรั พ ย์

แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า เครื่องมือและอุปกรณ์ (รวมโปรแกรมคอมพิวเตอร์) เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์สำนักงาน อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อให้เช่า อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อให้เช่าสำหรับลูกค้ารายใหญ่ที่เป็นกิจการ ยานพาหนะ

5, 20 ปี 5, 10 ปี 3, 5, 10 ปี 2 - 5 ปี 3 ปี อายุสัญญาเช่า 5 ปี

กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง การซ่อมแซมและบำรุงรักษาจะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการขึ้น ต้นทุนของการปรับปรุงให้ดีขึ้นที่สำคัญจะบันทึก รวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าการปรับปรุงนั้นจะทำให้บริษัทได้ประโยชน์กลับคืนมามากกว่าการใช้ ประโยชน์โดยไม่มีการปรับปรุงสินทรัพย์ที่ได้มา การปรับปรุงหลักจะตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้ประโยชน์ที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ค่าซ่อมแซมและค่าบำรุงรักษารับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

121

(ฌ) สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ ประกอบด้วยต้นทุนเกี่ยวกับอุปกรณ์และสินทรัพย์อื่น ซึ่งได้โอนหรือต้องโอนให้กับผู้อนุญาต ให้ดำเนินการ และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าตัดจำหน่าย ค่าตัดจำหน่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการ ซึ่งจะไม่เกิน ระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการที่เหลืออยู่ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ ต้นทุนของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต้นทุนของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการดำเนินการดาต้าเน็ท ระบบคอมพิวเตอร์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800-MHz

10 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ 10 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ 5 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ

(ญ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมจากการรวมธุรกิจ ได้แก่ ต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ส่วนที่เกินกว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธินั้น

ค่าความนิยมติดลบจากการรวมธุรกิจ ได้แก่ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ ส่วนที่เกินกว่าต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สุทธินั้น

กลุ่มบริษัทได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับค่าความนิยม ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 31 ค่าความนิยมที่ได้มาก่อนวันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมทีไ่ ด้รบั รูไ้ ว้กอ่ นหน้า แสดงในราคาทุนหักด้วยค่าตัดจำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าความนิยมติดลบในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รับรู้ทั้งจำนวนในยอดกำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมที่ได้มาในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมแสดงในราคาทุน ค่าความนิยมติดลบรับรู้ทันทีในงบกำไรขาดทุน การวัดมูลค่าหลังการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ในกรณีเงินลงทุนบันทึกตามวิธีส่วนได้เสีย ค่าความนิยมได้ถูกรวมในมูลค่า ตามบัญชีของเงินลงทุน สิทธิภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ สิทธิในสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการของบริษัทย่อยได้แก่ ต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งสิทธิและภาระผูกพันบางอย่างในการดำเนินงานให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุใช้งานจำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าตัดจำหน่าย ค่าตัดจำหน่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนแต่ละประเภทยกเว้นค่าความนิยม ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี้


122

รายงานประจำปี 2551

ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์และต้นทุนในการพัฒนาซอฟท์แวร์ สิทธิภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ

5, 10 ปี อายุสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ

(ฎ) สินทรัพย์อื่น ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ประกอบด้วยค่าธรรมเนียมสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว ต้นทุนของการเช่าสถานที่ตั้งสถานีฐานระยะยาว ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการขยายกำลังการใช้ไฟฟ้าที่สถานีฐาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และแสดงด้วยราคาทุน หักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าตัดจำหน่าย ค่าตัดจำหน่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ของค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี ้ ค่าธรรมเนียมสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว ต้นทุนของการเช่าสถานที่ตั้งสถานีฐานระยะยาว ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขยายกำลังการใช้ไฟฟ้าที่สถานีฐาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ค่าสิทธิในการดำเนินงานการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์

อายุสัญญาเงินกู้ยืม อายุสัญญาเช่า ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ 5 ปี 10 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ

(ฏ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทำ

การประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่มีอายุการใช้งานไม่จำกัดและสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนซึ่งยังไม่ได้ใช้ จะมีการทดสอบการด้อยค่า ทุกปีและเมื่อมีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกัน

ที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมาในกรณีนี้ให้รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าว

มีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในงบกำไรขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่าของ สินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในงบกำไรขาดทุน การคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของหลักทรัพย์ทถี่ อื ไว้จนกว่าจะครบกำหนดและลูกหนีท้ บี่ นั ทึกโดยวิธรี าคาทุนตัดจำหน่าย คำนวณโดยการหามูลค่า ปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง สำหรับลูกหนี้ระยะสั้นไม่มีการคิดลด มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินสำหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย คำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง ราคาขายสุทธิของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้ของ สินทรัพย์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่าในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลด

เป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนคำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยง


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ทีม่ ตี อ่ สินทรัพย์ สำหรับสินทรัพย์ทไี่ ม่กอ่ ให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อนื่ ให้พจิ ารณามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์

ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน จะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้น สัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ สำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจำหน่ายและตราสารหนี้ที่จัดประเภท เป็นหลักทรัพย์เผือ่ ขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารทุนทีจ่ ดั ประเภทเป็นหลักทรัพย์เผือ่ ขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มกี ารปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทไี่ ม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงินอืน่ ๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมี การเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชี ของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจำหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน

(ฐ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ บันทึกเริม่ แรกในมูลค่ายุตธิ รรมหักค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับการเกิดหนีส้ นิ ภายหลังจากการบันทึกหนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ จะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบกำหนดไถ่ถอน จะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอด อายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

(ฑ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน

(ฒ) ผลประโยชน์พนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ได้แก่ ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นที่บริษัทออกให้กับกรรมการและพนักงานภายในกลุ่มบริษัท จำนวนเงินที่ได้รับจากการใช้สิทธิในใบสำคัญแสดงสิทธิ จะถูกรับรู้ในทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้นเมื่อมีการใช้สิทธิในใบสำคัญแสดง สิทธิเพื่อซื้อหุ้นแล้ว

(ณ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ในงบดุลก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจาก เหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชำระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถ ประมาณจำนวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจำนวนที่เป็นสาระสำคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลด กระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคำนึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน

(ด) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รบั รูใ้ นงบกำไรขาดทุนเมือ่ ได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าทีม่ นี ยั สำคัญไปให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว และจะไม่รบั รู้ รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสำคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ

จากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจำนวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอน

123


124

รายงานประจำปี 2551

ที่จะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ รายได้ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และค่าบริการศูนย์ให้ข่าวสารบริการทาง

โทรศัพท์รบั รูเ้ ป็นรายได้เมือ่ ได้ให้บริการแก่ลกู ค้าแล้ว รายได้จากการให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์รบั รูเ้ ป็นรายได้เมือ่ ได้ให้บริการแก่ลกู ค้าแล้ว รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่าจากอุปกรณ์ที่ให้เช่ารับรู้ในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าใช้จ่ายเริ่มแรกที่เกิดขึ้นเป็นการเฉพาะ

เพื่อให้เกิดสัญญาเช่ารับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญา ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล

(ต) ค่าใช้จ่าย สัญญาเช่าดำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกำไร ขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกล่าว รายจ่ายทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้นในกรณีที่มีการบันทึก เป็นต้นทุนส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ดังกล่าวก่อนที่จะนำมาใช้เอง หรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ต้นทุนค่าโฆษณา ต้นทุนค่าโฆษณาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น

(ถ) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากกำไรหรือขาดทุนสำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รับรู้ในงบกำไร

ขาดทุนเว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น ภาษีเงินได้ปัจจุบัน ภาษีเงินได้ปัจจุบันได้แก่ ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชำระโดยคำนวณจากกำไรประจำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่

ในงบดุล ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คำนวณภาษีเงินได้ ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีโดยวิธีหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยคำนวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์และหนี้สินและจำนวนที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี โดยผลต่างชั่วคราวต่อไปนี้ไม่ได้ถูกนำมาร่วมพิจารณา ได้แก่ ค่าความนิยมซึ่ง

ไม่สามารถถือเป็นค่าใช้จา่ ยทางภาษี การรับรูส้ นิ ทรัพย์และหนีส้ นิ ในครัง้ แรกซึง่ ไม่กระทบต่อทัง้ กำไรทางบัญชีหรือกำไรทางภาษี และผลต่างทีเ่ กีย่ วกับ เงินลงทุนในบริษทั ย่อย หากเป็นไปได้วา่ จะไม่มกี ารกลับรายการในระยะเวลาอันใกล้ จำนวนภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีพจิ ารณาจากรายการทีค่ าดว่า จะเกิดขึ้นจริง หรือมูลค่าหรือประโยชน์ของสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับและหนี้สินที่คาดว่าจะต้องชำระโดยใช้อัตราภาษีที่มีการประกาศใช้ ณ วันที่ ในงบดุล สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่ากำไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจำนวนเพียงพอ

กับการใช้ประโยชน์จากการตั้งสินทรัพย์ดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง

4. รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัทหรือถูกควบคุมโดยบริษัทหรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือทางอ้อมไม่ว่าจะโดย ทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทย่อยลำดับถัดไป บริษัทร่วม และบุคคลที่เป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษัทซึ่งทำให้ผู้เป็นเจ้าของดังกล่าวมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญเหนือกิจการ ผู้บริหาร


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริษัทและสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดเป็นบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจมีขึ้นได้ ต้องคำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่า

รูปแบบทางกฎหมาย ในระหว่างปี กลุ่มบริษัทได้ดำเนินการค้าตามปกติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยที่กลุ่มบริษัทได้คิดราคาซื้อ/ขายสินค้าและบริการกับกิจการ ดังกล่าวตามราคาที่เทียบเท่ากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจ สำหรับรายการค่าที่ปรึกษาและบริหารงาน

คิดราคาตามที่ตกลงร่วมกัน โดยคำนวณตามอัตราร้อยละของสินทรัพย์ ความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในบริษัท หรือเป็นกิจการที่บริษัท ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี ้ ประเทศที่จัดตั้ง / สัญชาติ บริษัทย่อย ไทย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่นและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไทย ลาวและกัมพูชา บริษัท SingTel Strategic Investments สิงคโปร์ Pte Ltd. และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ไทย

ลักษณะความสัมพันธ์

ชื่อกิจการ

เป็นกลุ่มบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 หรือมีอำนาจ ในการควบคุม ผู้ถือหุ้นในบริษัทร้อยละ 42.67 และมีกรรมการร่วมกันในบริษัท ผู้ถือหุ้นในบริษัทร้อยละ 19.18 และมีกรรมการร่วมกันในบริษัท กรรมการผู้จัดการของกลุ่มธนชาติ (NAT) เป็นกรรมการของบริษัท

รายการที่สำคัญสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสรุปได้ดังนี ้

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท รายได้จากการให้บริการ บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. รายได้จากการขายบัตรโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่จ่าย ค่าบริการล่วงหน้า (prepaid card) บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ รายได้อื่น บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าเช่าและค่าบริการอื่น บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

- 163 651 814

- 191 774 965

1,351 19 637 2,007

634 31 775 1,440

-

-

28,716

33,921

- 17 17

- 1 1

8 10 18

7 1 8

- 9 9

- 5 5

106 1 107

211 1 212

- 322

- 309

4,913 291

5,600 269

125


126

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ ค่าโฆษณา - สุทธิ* กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น ค่าโฆษณา ** กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

408 39 769

396 66 771

366 35 5,605

396 63 6,328

457

478

428

445

1,153

1,067

1,077

1,002

* ค่าโฆษณาสุทธิ หมายถึง จำนวนเงินที่จ่ายสำหรับค่าผลิตโฆษณา และกำไรขั้นต้นจากงานสื่อโฆษณาที่บริษัทโฆษณาได้รับ ** ค่าโฆษณา หมายถึง ค่าโฆษณาทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับกลุ่มบริษัท โดยที่กลุ่มบริษัทได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในงบกำไรขาดทุน

ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น ค่านายหน้า บริษัทย่อย ผลตอบแทนกรรมการ ดอกเบี้ยจ่าย บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ เงินปันผลจ่าย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น SingTel Strategic Investments Pte Ltd.

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

- 244 244

- 379 379

155 239 394

287 370 657

- 13

- 10

1,317 13

1,345 10

- 3 3

- 2 2

272 3 275

333 2 335

7,961 3,579 11,540

7,961 3,579 11,540

7,961 3,579 11,540

7,961 3,579 11,540

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท ลูกหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

- 17

- 20

5,283 4

4,571 3

184 201

231 251

181 5,468

231 4,805


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

- - -

- 1 1

25 - 25

26 - 26

- -

- 1

465 490

59 85

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อยเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.37 ต่อปี (2550 : ร้อยละ 6.15 ต่อปี) โดยมีกำหนดระยะเวลาชำระคืนเมื่อทวงถาม รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันของบริษัทสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี ้

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

59 570 (164) 465

เจ้าหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. รวม เจ้าหนี้และเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น บริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันกับ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. เงินกู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

41 244 (226) 59

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

- 22

- 12

367 18

466 15

76 98

72 84

69 454

72 553

- 406

- 303

451 397

367 261

80 486

58 361

80 928

58 686

- 486

- 361

5,500 6,428

12,700 13,386

127


128

รายงานประจำปี 2551

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อยเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.45 ต่อปี (2550 : ร้อยละ 3.08 ต่อปี) โดยไม่มีกำหนดระยะเวลาชำระคืน รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันของบริษัทสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี ้ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

12,700 8,400 (15,600) 5,500

หุ้นกู้ระยะยาว กรรมการของบริษัทและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 1

4,200 9,500 (1,000) 12,700

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 1

1

1

สัญญาสำคัญที่ทำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทได้ทำสัญญากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง และมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายเงินตามอัตราและเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาสำคัญที่ทำกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันมีดังต่อไปนี้ 1) บริษทั ได้ทำสัญญาให้บริการด้านการบริหารและจัดการทัว่ ไปกับกลุม่ บริษทั ย่อย โดยบริษทั จะให้บริการและให้คำปรึกษาทางด้านการเงิน

กฎหมาย งานบุคคล การตลาด และสนับสนุนหรือให้คำปรึกษาด้านเทคนิค โดยสัญญามีกำหนด 1 ปี และต่ออายุได้อีกคราวละ 1 ปี

คู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 เดือน 2) บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งในการใช้บริการเครือข่ายร่วมระหว่างกัน คู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้ง

เป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน 3) บริษทั มีการทำสัญญาให้บริการพืน้ ทีแ่ ละระบบพืน้ ฐานในการติดตัง้ อุปกรณ์โทรคมนาคมกับบริษทั ย่อยบางแห่ง คูส่ ญ ั ญามีสทิ ธิบอกเลิก

สัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน 4) บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งได้ทำสัญญาจ้างบริษัทย่อยแห่งหนึ่งในการให้บริการข้อมูลข่าวสารทางโทรศัพท์ โดยบริษัทย่อย

ให้บริการข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งให้คำแนะนำและแก้ไขปัญหาในการใช้บริการแก่ลูกค้าของบริษัท ข้อตกลงยังคงมีผลบังคับต่อไป

เว้นแต่คู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน 5) บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัทย่อยบางแห่งในการให้บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการด้วยบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์และโทรศัพท์เคลื่อนที่

แก่ลูกค้า คู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน 6) บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งได้ทำสัญญาบริการเครือข่ายระหว่างประเทศกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันบางแห่ง เพื่อให้บริการโทรศัพท์

ระหว่างประเทศแก่ลูกค้า โดยคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน 7) บริษัทได้ทำสัญญาเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยบริษัทได้ชำระค่าบริการล่วงหน้าตั้งแต่วันที่

22 มิถุนายน 2549 ถึง 21 มิถุนายน 2552


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

8) กลุ่มบริษัทได้ทำสัญญาบริการระบบคอมพิวเตอร์และบริการซ่อมแซมและบำรุงรักษาโปรแกรมและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์กับกิจการ

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น แห่ ง หนึ่ ง โดยสั ญ ญามี ก ำหนด 1 ปี และต่ อ อายุ ไ ด้ อี ก คราวละ 1 ปี คู่ สั ญ ญามี สิ ท ธิ บ อกเลิ ก สั ญ ญาได้ โ ดยแจ้ ง

เป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 เดือน ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (“SHIN”) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้จัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญให้แก่ กรรมการของบริษัทในราคาศูนย์บาท กรรมการบางคนของบริษัทเป็นกรรมการของ SHIN ด้วย ซึ่งใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นที่ได้จัดสรรให้แก่กรรมการเหล่านี้ (กรรมการของ บริษัทและของบริษัท SHIN) สรุปได้ดังนี้ วันที่จัดสรร

การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิ และอัตราส่วนการใช้สิทธิ (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป) ราคา อัตราส่วน 31.21 1:1.16663

ใบสำคัญแสดงสิทธิ

ราคาใช้สิทธิ ต่อหน่วย

(อัตราส่วน) การใช้สิทธิ

ล้านหน่วย 8.82

36.41

1:1

8.33

41.76

1:1

36.27

1:1.15134

6.99

37.68

1:1

33.76

1:1.11608

31 พฤษภาคม 2547 (ครั้งที่ 3) 31 พฤษภาคม 2548 (ครั้งที่ 4) 31 กรกฎาคม 2549 (ครั้งที่ 5)

การเปลี่ยนแปลงของจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท SHIN มีดังนี้

ล้านหน่วย 26.00 (0.58) (22.97) 2.45

ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ใช้สิทธิ ยกเลิก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ในระหว่ า งปี สิ้ น สุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 กรรมการของบริษัทได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นจำนวนทั้งหมด 0.58 ล้านหน่วยเพื่อซื้อหุ้นสามัญ

จำนวน 0.65 ล้านหุ้นของ SHIN

5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 10 278 7,074 8,939 16,301

20 591 3,756 3,950 8,317

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 8 89 2,169 399 2,665

8 122 1,917 1,666 3,713

129


130

รายงานประจำปี 2551

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินฝากธนาคารประเภทระยะสั้นมีอัตราดอกเบี้ยในอัตราระหว่างร้อยละ 0.46 ถึงร้อยละ 3.47 ต่อปี

(2550 : ร้อยละ 0.13 ถึงร้อยละ 6.88 ต่อปี) เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็นการเฉพาะ บริษัทย่อยต้องฝากเงินสดที่รับล่วงหน้าจากลูกค้าไว้ในธนาคารเป็นจำนวนไม่น้อยกว่ามูลค่าคงเหลือของเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า

ของบริษทั ย่อยจำนวนเงิน 1,315 ล้านบาท (2550 : 1,495 ล้านบาท) และไม่สามารถนำไปใช้สำหรับวัตถุประสงค์อนื่ นอกจากชำระให้แก่ผใู้ ห้บริการ

เท่านั้น ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยที่บังคับใช้กับผู้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์

6. เงินลงทุนอื่น

เงินลงทุนชั่วคราว กองทุนส่วนบุคคล เงินฝากประจำกับสถาบันการเงินที่ถูกจำกัดการใช้ เงินฝากประจำกับสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

115 11 100 226

111 12 - 123

- - - -

- - - -

93 93 319

93 93 216

93 93 93

93 93 93

เงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กองทุนส่วนบุคคลกับสถาบันการเงินและเงินฝากประจำกับสถาบันการเงิน มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.92 และ ร้อยละ 3.85 ต่อปี ตามลำดับ (2550 : ร้อยละ 4.38 และร้อยละ 1.25 ต่อปี ตามลำดับ) เงินลงทุนระยะยาวอื่น เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน และ 30 ตุลาคม 2550 บริษัทได้ลงทุนใน Bridge Mobile Pte Ltd. ซึ่งจัดตั้งในประเทศ - สิงคโปร์ โดยเป็นการลงทุน ร่วมกันของ 10 ผู้ให้บริการเกี่ยวกับเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิค เพื่อให้บริการเครือข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ

เป็นจำนวน 2.20 ล้านหุ้น รวมมูลค่า 2.70 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (เทียบเท่ากับ 92.76 ล้านบาท) โดยบริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 10 ของ

ทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกล่าว

7. ลูกหนี้การค้า หมายเหตุ

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รายได้ค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 201 3,838 2,194 6,233 (443) 5,790

251 3,604 4,643 8,498 (444) 8,054

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 5,468 2,517 2,093 10,078 (399) 9,679

4,805 2,216 4,569 11,590 (413) 11,177


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดังนี ้

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่เกิน 3 เดือน 198 เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน 3 เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน - เกินกว่า 12 เดือน - 201 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สุทธิ 201 บุคคลภายนอก ไม่เกิน 3 เดือน 5,752 เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน 161 เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน 65 เกินกว่า 12 เดือน 54 6,032 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (443) สุทธิ 5,589 รวม 5,790

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

251 - - - 251 - 251

5,143 47 96 182 5,468 - 5,468

4,452 45 93 215 4,805 - 4,805

7,997 177 45 28 8,247 (444) 7,803 8,054

4,406 132 62 10 4,610 (399) 4,211 9,679

6,571 158 45 11 6,785 (413) 6,372 11,177

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 14 วันถึง 30 วัน

8. สินค้าคงเหลือ

สินค้าสำเร็จรูป วัสดุและอะไหล่ อะไหล่เพื่อการซ่อมแซมเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ หัก ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัยและการลดมูลค่าของสินค้า รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 1,568 14 891 2,473 (880) 1,593

1,148 13 881 2,042 (806) 1,236

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท - - 739 739 (644) 95

- - 730 730 (593) 137

131


132

รายงานประจำปี 2551

9. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้ – บัตรเงินสด ลูกหนี้อื่น อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 1,364 599 376 468 2,807

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

1,479 600 376 263 2,718

1,350 - 49 211 1,610

1,464 - 74 190 1,728

10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน จำหน่าย เลิกกิจการ ค่าเผื่อการด้อยค่า กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 19,457 774 (598) (2) (8) 600 20,223

19,856 50 - - (449) - 19,457

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2550 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำกัด (“WDS”) จำนวน 499,993 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้

100 บาท ต่อหุ้น จำนวนรวมทั้งสิ้น 50 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจำนวนร้อยละ 99.99 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2551 บริษัทได้ลงทุนเพิ่มใน บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท จากการซื้อหุ้นสามัญ จำนวน 9,000,000 หุ้น จากบริษัท NTT Docomo, Inc. ด้วยราคาหุ้นละ 14 บาทต่อหุ้น มูลค่าทั้งหมด 126 ล้านบาท บริษัทย่อยดังกล่าว

ได้จดทะเบียนการเปลี่ยนแปลงในผู้ถือหุ้นกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที่ 24 มกราคม 2551 ส่งผลให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นจากร้อยละ 69.99 เป็นร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ล้านบาท ราคาที่ตกลงซื้อขายเงินลงทุน 126 มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มา (92) ค่าความนิยม 34


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

133

มูลค่าตามบัญชีซึ่งมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 ของสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้มาจากการซื้อเงินลงทุนเพิ่ม ของบริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด สรุปได้ดังนี้ ล้านบาท เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินลงทุนระยะสั้น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น อุปกรณ์ – สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

72 123 12 98 54

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และหนี้สินหมุนเวียนอื่น มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิ ส่วนได้เสียที่ได้รับมา (ร้อยละ) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้รับมา

(7) (8) (30) (9) 305 30 92

เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2551 บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด (“SBN”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทได้จดทะเบียนเพิ่มทุน

จาก 1 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) เป็น 300 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 3,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) กับ กระทรวงพาณิชย์ การเพิ่มทุนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ลงทุนในโครงข่ายพื้นฐาน มุ่งเน้นทางด้านการเชื่อมโยงการส่งข้อมูลระหว่างโครงข่าย บริษัทได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มในราคา 100 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงิน 299 ล้านบาท ซึ่งทำให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นเป็น ร้อยละ 99.99 ของ

ทุนจดทะเบียนในบริษัทย่อยนี้ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2551 บริษัท ดาต้า ลายไทย จำกัด (“DLT”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นร้อยละ 65.00 ซึ่งได้จดทะเบียน

เลิกบริษัทไว้กับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ตั้งแต่วันที่ 29 พฤศจิกายน 2550 แล้วนั้น ปัจจุบันบริษัทได้จดทะเบียนเสร็จการชำระ บัญชีแล้ว มีผลให้บริษัท ดาต้า ลายไทย จำกัด สิ้นสภาพเป็นนิติบุคคล เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 บริษัทได้ขายหุ้นทั้งหมดในบริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด (“ADC”) ซึ่งบริษัท

ถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 51.00 ให้กับบริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (“DPC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท โดยซื้อขายในราคามูลค่าตามบัญชี

ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 จำนวน 199 ล้านบาท และกลุ่มบริษัทได้บันทึกการตัดจำหน่ายค่าความนิยมของ ADC จำนวน 15 ล้านบาท

เป็นขาดทุนจากการตัดจำหน่ายค่าความนิยมในงบการเงินรวม เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2551 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด (“AWN”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ได้ไปจดทะเบียนเพิ่มทุน จาก 1 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) เป็น 350 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 3,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท)

กับกระทรวงพาณิชย์ การเพิ่มทุนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปใช้ลงทุนในอนาคต บริษัทได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มในราคา 100 บาทต่อหุ้น รวมเป็น เงิน 349 ล้านบาท ซึ่งทำให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นเป็น ร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนในบริษัทย่อยนี ้


บริษัทย่อย บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จำกัด บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จำกัด บริษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด บริษัท ดาต้าลายไทย จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำกัด บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำกัด บริษัท ไวร์เลส ดีไลซ์ ซัพพลาย จำกัด รวม 99.99 - 49.00 99.99 98.55 - 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 240 240 600 600 (335) (335) 265 265 51.00 - 958 - 598 - (598) - - 49.00 1 1 8 8 (8) - - 8 99.99 272 272 811 811 - - 811 811 98.55 14,622 14,622 23,300 23,300 (5,539) (5,539) 17,761 17,761 65.00 - 15 - 2 - (2) - - 99.99 250 250 250 250 - - 250 250 69.99 300 300 336 210 - - 336 210 99.99 100 100 100 100 - - 100 100 99.93 350 1 350 1 - - 350 1 99.93 300 1 300 1 - - 300 1 99.99 50 50 50 50 - - 50 50 16,485 16,810 26,105 25,931 (5,882) (6,474) 20,223 19,457

- - 27 - - - - - - - - - 27

19 - - 147 2,450 - 262 - - - - - 2,878

สัดส่วนความเป็น ทุนชำระแล้ว วิธรี าคาทุน การด้อยค่า วิธรี าคาทุน - สุทธิ เงินปันผลรับ เจ้าของ 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 ร้อยละ ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทย่อยทางอ้อม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 และเงินปันผลสำหรับแต่ละปี มีดังนี้

134 รายงานประจำปี 2551


(166) (43) - 23 (186) (44) (1) - - (231) 305 - 305

- - - - - - - - - - 1 - 1 1 - 1

ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

236 - 236

315 - 315

(427) (119) - - (546) (116) - - 18 (644)

750 80 31 - 861 49 (2) (28) 880

6,104 11 6,115

6,821 21 6,842

(17,966) (2,684) 2 23 (20,625) (2,498) - (71) 119 (23,075)

24,173 3,184 139 (29) 27,467 1,661 361 (299) 29,190

ล้านบาท

470 - 470

463 - 463

(1,453) (282) - 219 (1,516) (323) - - 204 (1,635)

1,855 343 1 (220) 1,979 328 6 (208) 2,105

7 6 13

8 7 15

(16) (5) - 10 (11) (5) - - 4 (12)

25 11 - (10) 26 3 - (4) 25

78 41 119

90 31 121

(124) (41) - 48 (117) (43) - - 30 (130)

247 45 - (54) 238 45 - (34) 249

ยานพาหนะ

916 - 916

499 - 499

- - - - - - - - - -

435 412 (348) - 499 542 (125) - 916

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง และติดตั้ง

8,085 58 8,143

8,502 59 8,561

(20,152) (3,174) 2 323 (23,001) (3,029) (1) (71) 375 (25,727)

27,950 4,105 (157) (336) 31,562 2,641 240 (573) 33,870

รวม

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

มีจำนวนเงิน 1,676 ล้านบาท (2550 : 1,509 ล้านบาท)

273 - 273

464 30 20 (23) 491 13 - - 504

1 - - - 1 - - - 1

ที่ดิน

งบการเงินรวม อาคารและ ส่วนปรับปรุง เครื่องมือ เครื่องตกแต่ง อุปกรณ์ ติดตั้ง และ การสือ่ สาร ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า และอุ ป กรณ์ อุปกรณ์ อาคาร สำนักงาน เพื่อให้เช่า

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ขาดทุนการด้อยค่า โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

135


(139) (36) - - (175) (38) - - (213) 227 - 227 197 - 197

ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

213 - 213

288 - 288

(418) (112) - - (530) (109) - - (639)

720 68 30 - 818 34 - - 852

ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า

5,320 6 5,326

6,329 15 6,344

(17,781) (2,588) 2 7 (20,360) (2,378) (70) 112 (22,696)

23,474 3,110 132 (12) 26,704 1,260 352 (294) 28,022

400 - 400

394 - 394

(970) (259) - 190 (1,039) (294) - 172 (1,161)

1,294 327 3 (191) 1,433 306 1 (179) 1,561

ล้านบาท

72 36 108

85 26 111

(114) (38) - 43 (109) (39) - 28 (120)

226 42 - (48) 220 43 - (35) 228

เครื่องตกแต่ง เครื่องมือ ติดตั้ง และ และอุปกรณ์ อุปกรณ์สำนักงาน ยานพาหนะ

204 - 204

255 - 255

- - - - - - - - -

375 163 (283) - 255 101 (152) - 204

สินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง และติดตั้ง

6,406 42 6,448

7,578 41 7,619

(19,422) (3,033) 2 240 (22,213) (2,858) (70) 312 (24,829)

26,444 3,736 (97) (251) 29,832 1,752 201 (508) 31,277

รวม

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

มีจำนวนเงิน 1,118 ล้านบาท (2550 : 977 ล้านบาท)

355 26 21 - 402 8 - - 410

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร

งบการเงินเฉพาะกิจการ

136 รายงานประจำปี 2551


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

12. สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ งบการเงินรวม ต้นทุนของ เครือข่าย โทรศัพท์ เคลื่อนที ่

ล้านบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 155,750 เพิ่มขึ้น 16,222 โอน - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 171,972 เพิ่มขึ้น 10,813 โอน (238) จำหน่าย (1,293) 181,254 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 (82,959) ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี (13,417) กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า 67 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 (96,309) ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี (14,911) โอน 71 จำหน่าย 1,289 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (109,860) มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 75,663 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 71,394

เงินจ่ายล่วงหน้า เงินจ่ายล่วงหน้า และงานระหว่าง ต้นทุนของเครื่องมือ และงานระหว่าง ก่อสร้างของต้นทุน และอุปกรณ์ในการ ก่อสร้างของต้นทุน ของเครื่องมือ ดำเนินการดาต้าเน็ท ของเครือข่าย และอุปกรณ์ในการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ดำเนินการดาต้าเน็ท

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

รวม

ล้านบาท

1,491 - 45 1,536 3 (1) - 1,538

7,837 (5,369) - 2,468 (1,111) - - 1,357

15 32 (45) 2 - (2) - -

165,093 10,885 - 175,978 9,705 (241) (1,293) 184,149

(1,038) (104) - (1,142) (102) - - (1,244)

- - - - - - - -

- - - - - - - -

(83,997) (13,521) 67 (97,451) (15,013) 71 1,289 (111,104)

394 294

2,468 1,357

2 -

78,527 73,045

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมของสินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ ซึ่งได้คิดค่าตัดจำหน่ายเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวนเงิน 21,190 ล้านบาท (2550: 19,633 ล้านบาท)

137


138

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ ต้นทุนของเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่

ล้านบาท

เงินจ่ายล่วงหน้า และงานระหว่าง ก่อสร้างของต้นทุน ของเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่

รวม

ล้านบาท

ล้านบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

141,261 16,222 157,483 10,650 (238) (1) 167,894

7,837 (5,369) 2,468 (1,111) - - 1,357

149,098 10,853 159,951 9,539 (238) (1) 169,251

ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

(74,335) (12,222) 51 (86,506) (13,731) 71 (100,166)

- - - - - - -

(74,335) (12,222) 51 (86,506) (13,731) 71 (100,166)

70,977 67,728

2,468 1,357

73,445 69,085

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ราคาทรัพย์สินของบริษัทก่อนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมของสินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ ซึ่งได้คิดค่าตัดจำหน่ายเต็มจำนวน แล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวนเงิน 18,962 ล้านบาท (2550 : 16,576 ล้านบาท)


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

13. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี ขาดทุนจากการด้อยค่า จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ล้านบาท

งบการเงินรวม สิทธิในการ ค่าลิขสิทธิ์ ดำเนินการ ซอฟท์แวร์ ล้านบาท ล้านบาท

139

รวม ล้านบาท

14,399 - - 14,399 35 - (82) 14,352

6,993 - - 6,993 - - - 6,993

3,503 299 157 3,959 241 39 - 4,239

24,895 299 157 25,351 276 39 (82) 25,584

(6,562) (1,167) (7,729) - (3,553) 67 (11,215)

(3,942) (455) (4,397) (455) - - (4,852)

(2,194) (438) (2,632) (347) - - (2,979)

(12,698) (2,060) (14,758) (802) (3,553) 67 (19,046)

6,670 3,137

2,596 2,141

1,327 1,260

10,593 6,538

กลุ่มบริษัทได้สอบทานมูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมของการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital PCN 1800 โดยเปรียบเทียบ ระหว่างมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดรวมทั้งค่าความนิยม

โดยสมมติฐานว่าสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการสิ้นสุดวันที่ 15 กันยายน 2556 และใช้วิธีการคำนวณมูลค่าจากการใช้

ผลการสอบทานพบว่า กลุม่ บริษทั บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าค่าความนิยมจำนวนเงิน 3,553 ล้านบาทในงบกำไรขาดทุนของงบการเงินรวม


140

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ล้านบาท ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 ค่าตัดจำหน่ายระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

3,418 264 96 3,778 186 36 4,000 (2,184) (421) (2,605) (326) (2,931) 1,173 1,069

14. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีภายหลังจากการนำมาหักกลบกันตามความเหมาะสม ได้แสดงรวมไว้ในงบดุลโดยมี

รายละเอียดดังนี ้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สุทธิ

10,424 (349) 10,075

10,432 (401) 10,031

9,496 (292) 9,204

9,462 (334) 9,128


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปีมีดังนี้ งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน

วันที่ 1 มกราคม 2551

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า (หนี้สงสัยจะสูญ) สินค้าคงเหลือ (ค่าเผื่อการลดมูลค่า) สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ (ผลแตกต่างของค่าตัดจำหน่าย) รายได้รับล่วงหน้า – ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ผลแตกต่างของรายได้) อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต จ่ายล่วงหน้า (ผลแตกต่างของค่าใช้จ่าย) ภาษีอากรตามอัตราเร่ง (ผลแตกต่างของค่าตัดจำหน่าย) อื่นๆ รวม สุทธิ

ล้านบาท

งบกำไรขาดทุน (หมายเหตุ 28) ล้านบาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น

วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ล้านบาท

ล้านบาท

129 242

(2) 26

- -

127 268

8,652

112

-

8,764

1,331 78 10,432

(151) 7 (8)

- - -

1,180 85 10,424

(302) (67) (32) (401) 10,031

34 10 8 52 44

- - - - -

(268) (57) (24) (349) 10,075

งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน

วันที่ 1 มกราคม 2550

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า (หนี้สงสัยจะสูญ) สินค้าคงเหลือ (ค่าเผื่อการลดมูลค่า) สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ (ผลแตกต่างของค่าตัดจำหน่าย) รายได้รับล่วงหน้า – ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ผลแตกต่างของรายได้) อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต จ่ายล่วงหน้า (ผลแตกต่างของค่าใช้จ่าย) ภาษีอากรตามอัตราเร่ง (ผลแตกต่างของค่าตัดจำหน่าย) อื่นๆ รวม สุทธิ

ล้านบาท

งบกำไรขาดทุน (หมายเหตุ 28) ล้านบาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น

วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ล้านบาท

ล้านบาท

122 242

7 -

- -

129 242

8,520

132

-

8,652

1,221 47 10,152

110 31 280

- - -

1,331 78 10,432

(280) (79) (31) (390) 9,762

(22) 12 (1) (11) 269

- - - - -

(302) (67) (32) (401) 10,031

141


142

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน

วันที่ 1 มกราคม 2551

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า (หนี้สงสัยจะสูญ) สินค้าคงเหลือ (ค่าเผื่อการลดมูลค่า) สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ (ผลแตกต่างของค่าตัดจำหน่าย) รายได้รับล่วงหน้า – ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ผลแตกต่างของรายได้) อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต จ่ายล่วงหน้า (ผลแตกต่างของค่าใช้จ่าย) อื่นๆ รวม สุทธิ

ล้านบาท

งบกำไรขาดทุน (หมายเหตุ 28) ล้านบาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น

วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ล้านบาท

ล้านบาท

120 178

(3) 18

- -

117 196

7,764

163

-

7,927

1,331 69 9,462

(151) 7 34

- - -

1,180 76 9,496

(302) (32) (334) 9,128

34 8 42 76

- - - -

(268) (24) (292) 9,204

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน

วันที่ 1 มกราคม 2550

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า (หนี้สงสัยจะสูญ) สินค้าคงเหลือ (ค่าเผื่อการลดมูลค่า) สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ (ผลแตกต่างของค่าตัดจำหน่าย) รายได้รับล่วงหน้า – ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ผลแตกต่างของรายได้) อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปีและภาษีสรรพสามิต จ่ายล่วงหน้า (ผลแตกต่างของค่าใช้จ่าย) อื่นๆ รวม สุทธิ

ล้านบาท

งบกำไรขาดทุน (หมายเหตุ 28) ล้านบาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น

วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ล้านบาท

ล้านบาท

108 174

12 4

- -

120 178

7,580

184

-

7,764

1,221 41 9,124

110 28 338

- - -

1,331 69 9,462

(280) (31) (311) 8,813

(22) (1) (23) 315

- - - -

(302) (32) (334) 9,128


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

143

15. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชีสุทธิ อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 434 298 310 253 744 551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 420 280 240 165 660 445

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

16. หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี - สุทธิ 397 หุ้นกู้ระยะยาวส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี - สุทธิ 6,621 หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี 19 7,037 ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ 17,744 หุ้นกู้ระยะยาว - สุทธิ 11,989 หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน 42 29,775 รวม 36,812

3,492

-

3,492

28

397

28

1,494

6,621

1,494

23 5,037

15 7,033

13 5,027

10,270 14,618 41 24,929 29,966

17,744 11,989 34 29,767 36,800

10,270 14,618 33 24,921 29,948

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจ่ายชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ครบกำหนดภายในหนึ่งปี ครบกำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกำหนดหลังจากห้าปี รวม

7,018 25,492 4,241 36,751

5,014 20,008 4,880 29,902

7,018 25,492 4,241 36,751

5,014 20,008 4,880 29,902


144

รายงานประจำปี 2551

เงินกู้ยืมระยะยาว ในระหว่างปี 2551 บริษัทได้กู้ยืมเงินจาก Export Credit Agency เป็นจำนวนเงิน 147.80 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ อัตราดอกเบี้ย USD LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มที่กำหนดไว้ในข้อตกลงระหว่างบริษัทและสถาบันการเงิน

รายละเอียดของเงินกู้ยืมระยะยาวสรุปได้ดังนี ้ วันที่กู้ยืม

จำนวนเงิน ล้าน

อัตราดอกเบี้ยต่อปี

กำหนดชำระ คืนดอกเบี้ย

กำหนดชำระคืนเงินต้น

20 พฤศจิกายน 2549 JPY 30,568.20 JPY LIBOR บวกด้วยส่วนเพิม่ ร้อยละ 0.22 ทุกงวดครึ่งปี

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2554

3 ธันวาคม 2550

USD 16.74 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.29

ทุกงวดครึ่งปี

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557

12 ธันวาคม 2550

USD 14.28 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.15

ทุกงวดครึ่งปี

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทั้งหมด 20 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561

12 ธันวาคม 2550

USD

2.52 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.55

ทุกงวดครึ่งปี

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทั้งหมด 20 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561

30 กรกฎาคม 2551

USD 30.71 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.29

ทุกงวดครึ่งปี

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557

30 กรกฎาคม 2551

USD 52.01 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.15

ทุกงวดครึ่งปี

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทั้งหมด 20 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561

30 กรกฎาคม 2551

USD

9.18 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.55

ทุกงวดครึ่งปี

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทั้งหมด 20 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561

10 พฤศจิกายน 2551 USD 18.42 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.29

ทุกงวดครึ่งปี

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557

23 ธันวาคม 2551

USD

4.13 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.29

ทุกงวดครึ่งปี

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557

23 ธันวาคม 2551

USD 28.35 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.15

ทุกงวดครึ่งปี

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทั้งหมด 19 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561

23 ธันวาคม 2551

USD

ทุกงวดครึ่งปี

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กันทั้งหมด 19 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561

5.00 LIBOR บวกด้วยส่วนเพิ่มร้อยละ 0.55


จำนวนหน่วย จำนวนเงิน ล้าน ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยต่อปี

กำหนดชำระคืน ดอกเบีย้

3,427 4,000 4,000 -

16,127 (15) 16,112

4,000 4,000 4,000

18,627 (17) 18,610

2,250

ทยอยชำระคืนเงินต้นเป็นงวดจำนวนเท่าๆ กัน 750 ทั้งหมด 6 งวด โดยจะเริ่มชำระคืนเงินต้นในเดือน ที่ห้าสิบสี่ภายหลังจากวันที่จำหน่ายแล้ว จนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 3,427

2,450

2550 ล้านบาท

2,450

2551 ล้านบาท

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 21 มีนาคม 2552*

กำหนดชำระคืนเงินต้น

7 กันยายน 2549 3.43 3,427 ร้อยละ 5.80 ทุกงวดครึ่งปี ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 7 กันยายน 2552 7 กันยายน 2549 4.00 4,000 ร้อยละ 5.90 ทุกงวดครึ่งปี ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 7 กันยายน 2554 7 กันยายน 2549 4.00 4,000 ร้อยละ 6.00 ทุกงวดครึ่งปี ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 7 กันยายน 2556 30 เมษายน 2551 4.00 4,000 ร้อยละ 4.00 สำหรับ 2 ปีแรก ทุกไตรมาส ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในวันที่ 30 เมษายน 2556 และ ร้อยละ 4.90 สำหรับ 3 ปีสุดท้าย รวมหุ้นกู้ หัก ต้นทุนในการออกหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม สุทธิ

21 มีนาคม 2545 2.50 2,500 ร้อยละ 6.25 ทุกงวดครึ่งปี 21 มีนาคม 2545 4.50 4,500 เงินฝากประจำสูงสุดหกเดือน ทุกงวดครึ่งปี ถัวเฉลี่ยบวกด้วย ส่วนเพิ่มร้อยละ 2.10

วันที่จำหน่าย

หุ้นกู้ระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทออกหุ้นกู้ระยะยาวประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี ้

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

145


146

รายงานประจำปี 2551

*เมือ่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 บริษทั ได้จา่ ยชำระคืนหุน้ กู้ จำนวน 50,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท เป็นจำนวนเงิน 50 ล้านบาท

ซึ่งเป็นหุ้นกู้ที่ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2545 และมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6.25 ต่อปี ต้นทุนสำหรับการจ่ายชำระคืนก่อนกำหนด

ของหุ้นกู้ดังกล่าวจำนวนเงิน 4.11 ล้านบาท ถูกบันทึกไว้ในงบกำไรขาดทุนปี 2546 บริษัทมีข้อจำกัดที่ต้องปฏิบัติตาม รวมทั้งการรักษาอัตราส่วนทางการเงินที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้ และผู้ถือหุ้นกู้ ในวันที่ 30 เมษายน 2551 บริษัทได้ออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกันจำนวน 4 ล้านหุ้น มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท

เป็นจำนวนเงิน 4,000 ล้านบาท หุ้นกู้ดังกล่าวมีดอกเบี้ยในอัตราคงที่ร้อยละ 4.00 ต่อปี สำหรับปีที่ 1-2 และอัตราร้อยละ 4.90 ต่อปี สำหรับปี

ที่ 3-5 โดยมีกำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุกงวดรายไตรมาสนับจากวันออกจำหน่าย หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวนในวันที่ 30 เมษายน 2556 ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ระยะยาว (ยอดรวมก่อนหักค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้) ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ราคาตามบัญชี 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

18,627

หุ้นกู้ระยะยาว

16,127

มูลค่ายุติธรรม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท

19,207

16,463

มูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ที่มีการซื้อขายในตลาดหุ้นกู้คำนวณจากราคาซื้อขายที่ประกาศอยู่ในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย โดยใช้ราคาปิด ณ วันที่ในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจำนวนเงินรวม 29 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ (2550 : 177 ล้าน เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ)

รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี ้

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น จ่ายชำระคืน ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ตัดจำหน่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ ตัดจำหน่ายส่วนลดของตั๋วแลกเงินจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 29,966 9,040 (5,161) 2,952 7 8 36,812

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ณ วันที่ในงบดุล มีดังนี ้

33,011 8,528 (11,523) (184) 9 125 29,966

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 29,948 9,036 (5,151) 2,952 7 8 36,800

33,000 8,517 (11,519) (184) 9 125 29,948


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม 2551 2550 ร้อยละต่อปี ร้อยละต่อปี เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

- 4.63 5.50 10.20

3.98 5.07 5.74 9.23

147

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 ร้อยละต่อปี ร้อยละต่อปี - 4.63 5.50 10.21

3.98 5.07 5.74 9.03

17. เจ้าหนี้การค้า หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

98 4,165 4,263

84 4,134 4,218

2551 ล้านบาท 454 3,210 3,664

2550 ล้านบาท 553 3,362 3,915

18. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

โบนัสค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่านายหน้าค้างจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น ภาษีหัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท 777 373 109 - 1,020 173 651 3,103

2550 ล้านบาท 467 343 114 158 644 104 621 2,451

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 ล้านบาท 686 373 101 223 892 171 460 2,906

2550 ล้านบาท 410 343 107 284 529 102 437 2,212

19. เจ้าหนี้ค่าตอบแทนการโอนสิทธิ ตามที่บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (“DTAC”) ได้เสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักงานระงับ

ข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม เรียกร้องให้บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (“DPC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ชำระเงินต้นและดอกเบี้ย

ตามสัญญา The Agreement to Unwind the Service Provider Agreement (“Unwind Agreement”) สำหรับการโอนสิทธิและหน้าที่ในการ

ให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ Digital PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 และสิทธิในการใช้อปุ กรณ์ เครือ่ งมือ และการใช้เครือข่ายร่วม พร้อมดอกเบี้ยผิดนัดชำระในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปีของจำนวนเงินที่ผิดนัดชำระ นับจากวันเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะชำระ เสร็จ ดังนี้ 1) ข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 36/2546 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2546 เรียกให้ชำระเงินตาม Unwind Agreement ในงวดที่ 5 เป็นเงิน

18 ล้านเหรียญสหรัฐฯ


148

รายงานประจำปี 2551

2) ข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 62/2546 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2546 เรียกให้ชำระเงินตาม Unwind Agreement ในงวดที่ 6 เป็นเงิน

19 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 3) ข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 55/2549 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2549 เรียกให้ชำระเงินตาม Unwind Agreement ในงวดที่ 7-8 เป็นเงิน

87 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่ อ วั น ที่ 25 มี น าคม 2551 คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการมี ค ำชี้ ข าดตามข้ อ พิ พ าทหมายเลขดำที่ 62/2546 และ 55/2549 (“คำชี้ ข าด”)

ให้ DPC ชำระเงิน 85 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จากจำนวนที่ DTAC เรียกร้องเป็นเงินทั้งสิ้น 106 ล้านเหรียญสหรัฐฯ พร้อมดอกเบี้ยผิดนัดชำระ

ในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปีนับจากวันผิดนัดชำระจนกว่าจะชำระเสร็จสิ้น เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 DPC และ DTAC ได้ตกลงยินยอมที่จะระงับข้อพิพาททั้ง 3 เรื่อง และยุติข้อเรียกร้อง และยกเลิกสัญญา Unwind Agreement ตลอดจนสละสิทธิและปลดเปลื้องภาระหน้าที่ใดๆ ของแต่ละฝ่ายภายใต้สัญญา Unwind Agreement ทั้งที่มีอยู่เดิม และ

ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งภาระหน้าที่ตามคำชี้ขาดข้อพิพาทที่ 62/2546 และ 55/2549 และ DTAC ได้ถอนคำเสนอข้อพิพาทหมายเลขดำเลข ที่ 36/2546 ในวันที่ 30 มิถุนายน 2551 โดย DPC ได้ตกลงชำระเงินเจ้าหนี้ค่าตอบแทนการโอนสิทธิให้แก่ DTAC จำนวน 3,000 ล้านบาท

ซึ่ง DPC ได้บันทึกค่าสิทธิดังกล่าวไว้ในงบการเงินเป็นจำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 4,739 ล้านบาท ผลแตกต่างจากจำนวนเงินที่จ่ายจริง เป็นจำนวนเงิน 1,739 ล้านบาทรับรู้เป็นรายได้อื่นในงบกำไรขาดทุนในงบการเงินเฉพาะของ DPC และงบการเงินรวมของบริษัท

20. ทุนเรือนหุ้น มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น บาท ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ ทุนที่ออกและชำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

2551 จำนวนหุ้น

2550 จำนวนเงิน จำนวนหุ้น ล้านหุ้น / ล้านบาท

จำนวนเงิน

1

4,997

4,997

4,997

4,997

1

4,997

4,997

4,997

4,997

1 1

2,958 4

2,954 4

2,954 4

2,954 4

1

2,962

2,958

2,958

2,958

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เป็นจำนวนหุ้นสามัญ 3.62 ล้านหุ้น จากการที่

ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นจำนวน 3.26 ล้านหน่วย ได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญจำนวนดังกล่าว ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 0.19 ล้านหน่วย จากจำนวนดังกล่าวข้างต้นได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญไปในระหว่างไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผลจากการจดทะเบียนดังกล่าวทำให้ทุน

ที่ออกและชำระแล้วและส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 4 ล้านบาทและ 294 ล้านบาทตามลำดับ

21. ใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิจัดสรรแก่กรรมการและพนักงาน บริษัทได้จัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นในราคาศูนย์บาทให้แก่กรรมการและพนักงาน ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือ และโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิไม่เกิน 5 ปี รายละเอียดของใบสำคัญแสดงสิทธิ มีดังนี ้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

วันที่จัดสรร ใบสำคัญแสดงสิทธิ (ล้านหน่วย) ราคาใช้สิทธิต่อหน่วย อัตราส่วนการใช้สิทธิ การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 8 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม 2550 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 9 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 10 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2551 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน การเปลี่ยนแปลงราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิ ครั้งที่ 11 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป) - ราคา - อัตราส่วน

30 พฤษภาคม 2546 (ครั้งที่ 2)

31 พฤษภาคม 2547 (ครั้งที่ 3)

31 พฤษภาคม 2548 (ครั้งที่ 4)

31 พฤษภาคม 2549 (ครั้งที่ 5)

8.47 43.38 1 : 1

9.00 91.79 1 : 1

9.69 106.66 1 : 1

10.14 91.46 1 : 1

39.13 1 : 1.10857

83.84 1 : 1.09477

98.67 1 : 1.08103

87.33 1 : 1.04738

38.32 1 : 1.13197

82.11 1 : 1.11788

96.63 1 : 1.10385

85.52 1 : 1.06949

37.61 1 : 1.15356

80.57 1 : 1.13920

94.82 1 : 1.12490

83.92 1 : 1.08989

- -

79.65 1 : 1.15247

93.73 1 : 1.13801

82.96 1 : 1.10259

149

การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 8 ของราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2550 ได้มมี ติเปลีย่ นแปลงราคาใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3

ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 จากราคา 40.35 บาทต่อหน่วยเป็น 39.13 บาทต่อหน่วย จาก 86.45 บาทต่อหน่วยเป็น 83.84 บาทต่อหน่วย จาก 101.74 บาทต่อหน่วยเป็น 98.67 บาทต่อหน่วย และจาก 90.05 บาทต่อหน่วยเป็น 87.33 บาทต่อหน่วย ตามลำดับ นอกจากนี้อัตราส่วนการใช้สิทธิ

ได้เปลีย่ นจาก 1 ต่อ 1.07512 เป็น 1 ต่อ 1.10857 สำหรับการจัดสรรครัง้ ที่ 2 จาก 1 ต่อ 1.06173 เป็น 1 ต่อ 1.09477 สำหรับการจัดสรรครัง้ ที่ 3

จาก 1 ต่อ 1.04841 เป็น 1 ต่อ 1.08103 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 4 และจาก 1 ต่อ 1.01577 เป็น 1 ต่อ 1.04738 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 5

ราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิที่เปลี่ยนแปลงใหม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม 2550 เป็นต้นไป การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 9 ของราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2550 ได้มมี ติเปลีย่ นแปลงราคาใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 จากราคา 39.13 บาทต่อหน่วยเป็น 38.32 บาทต่อหน่วย จาก 83.84 บาทต่อหน่วยเป็น 82.11 บาทต่อหน่วย จาก 98.67 บาท ต่อหน่วยเป็น 96.63 บาทต่อหน่วย และจาก 87.33 บาทต่อหน่วยเป็น 85.52 บาทต่อหน่วย ตามลำดับ นอกจากนี้อัตราส่วนการใช้สิทธิได้เปลี่ยน จาก 1 ต่อ 1.10857 เป็น 1 ต่อ 1.13197 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 2 จาก 1 ต่อ 1.09477 เป็น 1 ต่อ 1.11788 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 3 จาก 1 ต่อ 1.08103 เป็น 1 ต่อ 1.10385 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 4 และจาก 1 ต่อ 1.04738 เป็น 1 ต่อ 1.06949 สำหรับการจัดสรร ครั้งที่ 5 ราคาตามสิทธิ และอัตราส่วนการใช้สิทธิที่เปลี่ยนแปลงใหม่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 เป็นต้นไป การเปลีย่ นแปลงครัง้ ที่ 10 ของราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครัง้ ที่ 4 และครัง้ ที่ 5 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2551 ได้มมี ติเปลีย่ นแปลงราคาใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครัง้ ที่ 4 และครัง้ ที่ 5 จากราคา 38.32 บาทต่อหน่วยเป็น 37.61 บาทต่อหน่วย จาก 82.11 บาทต่อหน่วยเป็น 80.57 บาทต่อหน่วย จาก 96.63 บาท

ต่อหน่วยเป็น 94.82 บาทต่อหน่วย และจาก 85.52 บาทต่อหน่วยเป็น 83.92 บาทต่อหน่วย ตามลำดับ นอกจากนี้อัตราส่วนการใช้สิทธิได้

เปลี่ยนจาก 1 ต่อ 1.13197 เป็น 1 ต่อ 1.15356 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 2 จาก 1 ต่อ 1.11788 เป็น 1 ต่อ 1.13920 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 3

จาก 1 ต่อ 1.10385 เป็น 1 ต่อ 1.12490 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 4 และจาก 1 ต่อ 1.06949 เป็น 1 ต่อ 1.08989 สำหรับการจัดสรร ครั้งที่ 5

ราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิที่เปลี่ยนแปลงใหม่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2551 เป็นต้นไป การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 11 ของราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อ ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 และครั้งที่ 5 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติเปลีย่ นแปลงราคาใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ ครัง้ ที่ 3 ครัง้ ที่ 4 และครั้งที่ 5 จากราคา 80.57 บาทต่อหน่วยเป็น 79.65 บาทต่อหน่วย จาก 94.82 บาทต่อหน่วยเป็น 93.73 บาทต่อหน่วย และจาก 83.92 บาท


150

รายงานประจำปี 2551

ต่อหน่วยเป็น 82.96 บาทต่อหน่วย ตามลำดับ นอกจากนี้อัตราส่วนการใช้สิทธิได้เปลี่ยนจาก 1 ต่อ 1.13920 เป็น 1 ต่อ 1.15247 สำหรับ

การจัดสรรครั้งที่ 3 จาก 1 ต่อ 1.12490 เป็น 1 ต่อ 1.13801 สำหรับการจัดสรรครั้งที่ 4 และจาก 1 ต่อ 1.08989 เป็น 1 ต่อ 1.10259 สำหรับการ จัดสรร ครั้งที่ 5 ราคาตามสิทธิและอัตราส่วนการใช้สิทธิที่เปลี่ยนแปลงใหม่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป การเปลี่ยนแปลงของจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญ มีดังนี้ กรรมการ

ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ใช้สิทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 1 มกราคม 2551 ใช้สิทธิ ยกเลิก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

6.88 (0.41) 6.47 (0.33) - 6.14

พนักงาน ล้านหน่วย 23.52 (3.65) 19.87 (2.73) (0.31) 16.83

รวม

30.40 (4.06) 26.34 (3.06) (0.31) 22.97

การใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 กรรมการและพนักงานของบริษัทได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเป็นจำนวนทั้งหมด 0.33 ล้านหน่วย และ 2.73 ล้ า นหน่ ว ย ตามลำดั บ (2550 : 0.41 ล้ า นหน่ ว ย และ 3.65 ล้ า นหน่ ว ย ตามลำดั บ ) การใช้ สิ ท ธิ จ ำนวน 3.06 ล้ า น หน่ ว ยในระหว่ า งปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551 (2550 : 3.87 ล้ า นหน่ ว ย) มี ผ ลทำให้ ทุ น ที่ ช ำระแล้ ว และส่ ว นเกิ น มู ล ค่ า หุ้ น เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น จำนวน 4 ล้านบาท และ 294 ล้านบาท ตามลำดับ (2550 : 4 ล้านบาท และ 272 ล้านบาท ตามลำดับ) การใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อกำหนดในการออกใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ซึ่งได้รับอนุมัติจาก

ผู้ถือหุ้นของบริษัท

22. สำรอง ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน ไว้ บริษัทต้องนำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสำรอง (“สำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสำรองดังกล่าวมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ

ทุนจดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้

23. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทนำเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานโดยแสดงส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงาน โดยพิจารณาจาก โครงสร้างการบริหารและการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการกำหนดส่วนงาน ส่วนงานธุรกิจ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สำคัญ ดังนี้ ส่วนงาน 1 บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และศูนย์ให้ข่าวสารทางโทรศัพท์ ส่วนงาน 2 ขายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนงาน 3 บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านั้น ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่า กลุ่มบริษัทมีส่วนงานทางภูมิศาสตร์เพียงส่วนงานเดียว


26,174 (1,625) (8,189)

16,360

21,029 99,416 120,445

24,199 29,769 53,968 11,580 2,908 15,809

กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้

กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

รายจ่ายฝ่ายทุน

ค่าเสื่อมราคา

ค่าตัดจำหน่าย 58

(60,944) (14,047) (74,991)

ต้นทุนขาย ต้นทุนค่าบริการและ การให้เช่าอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รวมค่าใช้จ่าย

กำไร (ขาดทุน) จากการจำหน่ายสินทรัพย์

98,713 - 2,452 101,165

รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รายได้จากการดำเนินงานอื่น รวมรายได้

(14)

15,666

3,082

14,719

27,488 25,306 52,794

16,179 107,227 123,406

15,992

25,144 (1,720) (7,432)

(57,199) (12,193) (69,392)

93,894 - 642 94,536

บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และศูนย์ให้ข่าวสารทางโทรศัพท์ 2551 2550

ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจ

-

3

17

21

366 - 366

5,600 164 5,764

(43)

149 - (192)

(10,576) (579) (11,155)

53 11,205 46 11,304

-

1

5

121

319 - 319

4,142 130 4,272

238

368 - (130)

(12,981) (389) (13,370)

76 13,643 19 13,738

12

115

104

745

295 17 312

329 1,543 1,872

147

147 - -

(519) (221) (740)

820 - 67 887

-

125

87

150

350 18 368

265 999 1,264

12

13 (1) -

(577) (252) (829)

840 1 1 842

งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ขายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 2551 2550 2551 2550 ล้านบาท

70

15,927

3,029

12,346

24,860 29,786 54,646

26,958 101,123 128,081

16,464

26,470 (1,625) (8,381)

(72,039) (14,847) (86,886)

99,586 11,205 2,565 113,356

2551

(14)

15,792

3,174

14,990

28,157 25,324 53,481

20,586 108,356 128,942

16,242

25,525 (1,721) (7,562)

(70,757) (12,834) (83,591)

94,810 13,644 662 109,116

2550

งบการเงินรวม

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

151


152

รายงานประจำปี 2551

24. รายได้อื่น

หมายเหตุ

ดอกเบี้ยรับ หนี้สูญได้รับคืน รายได้ค่าบริหารจัดการ รายได้จากการหักกลบ เจ้าหนี้ค่าตอบแทนการโอนสิทธิ 19 อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

2551 ล้านบาท

2550 ล้านบาท

404 149 -

376 134 -

140 144 94

159 125 185

1,739 273 2,565

- 152 662

- 181 559

- 131 600

25. กำไรจากการดำเนินงาน

รายการบางรายการที่รวมอยู่ในการคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน สามารถนำมาแยกตามลักษณะได้ดังนี ้

ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ (หมายเหตุ 11) ค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาต ให้ดำเนินการ (หมายเหตุ 12) ค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (หมายเหตุ 13) ค่าตัดจำหน่ายของสินทรัพย์อื่น (หมายเหตุ 15) ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายอุปกรณ์และอะไหล่ เพื่อการซ่อมแซมเครือข่ายเสื่อมสภาพ หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551 ล้านบาท 3,029

2550 ล้านบาท 3,174

2551 ล้านบาท 2,858

2550 ล้านบาท 3,033

15,013 801 86

13,521 2,060 78

13,731 326 64

12,222 421 50

51 530 3,252 4,710

14 1,347 3,535 3,956

51 550 3,085 3,467

14 1,346 3,458 2,879

26. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็นสมาชิกของ

กองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 7 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3

ถึงอัตราร้อยละ 7 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามข้อกำหนดของ

กระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

27. ดอกเบี้ยจ่าย หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

ดอกเบี้ยจ่ายและค้างจ่ายกับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 3 สถาบันการเงิน 1,622 รวม 1,625

2551 ล้านบาท

2 1,719 1,721

2550 ล้านบาท

275 1,622 1,897

335 1,715 2,050

28. ภาษีเงินได้ หมายเหตุ

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน สำหรับปีปัจจุบัน สำหรับปีก่อนๆ ที่บันทึกสูงไป ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 14 การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว รวม

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

2551 ล้านบาท

2550 ล้านบาท

8,458 (33) 8,425

7,831 - 7,831

6,795 (21) 6,774

6,628 (4) 6,624

(44) (44) 8,381

(269) (269) 7,562

(76) (76) 6,698

(315) (315) 6,309

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง งบการเงินรวม 2550

2551

อัตราภาษี ร้อยละ

กำไรก่อนภาษีเงินได้ จำนวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ 30 การลดภาษีเงินได้ รายการปรับปรุงทาภาษี ผลกระทบจากการตัดรายการกับบริษัทย่อย การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บันทึก รวม 34

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง

ล้านบาท

อัตราภาษี ร้อยละ

24,846 7,454 30 (15) (147) 1,117 (28) 8,381 32

ล้านบาท 23,804 7,141 - 211 210 - 7,562

153


154

รายงานประจำปี 2551

2551 อัตราภาษี ร้อยละ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 อัตราภาษี ร้อยละ

ล้านบาท

กำไรก่อนภาษีเงินได้ จำนวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ 30 การลดภาษีเงินได้ รายได้เงินปันผลที่ไม่ต้องเสียภาษี รายการปรับปรุงทางภาษี รวม 29

ล้านบาท

22,944 6,883 30 (15) (8) (162) 6,698 27

23,416 7,025 - (863) 147 6,309

พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544

ให้สิทธิทางภาษีแก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 สำหรับกำไรสุทธิทางภาษีเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็นเวลาห้ารอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่ม

ในหรือหลังวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ และยังได้รับสิทธิในการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลแห่งพระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 475 แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 475 พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2551

ให้สิทธิแก่บริษัทที่มีหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยลดอัตรา ภาษีเงินได้จากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 สำหรับกำไรสุทธิเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็นเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน

นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลัง 1 มกราคม 2551

29. กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2551 และ 2550 คำนวณจากกำไรสำหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท และจำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วระหว่างปีในแต่ละปี โดยแสดงการคำนวณดังนี ้

กำไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จำนวนหุ้นสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากหุ้นที่ออกจำหน่ายระหว่างเดือน มกราคมถึงเดือนสิงหาคม จำนวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ขั้นพื้นฐาน) กำไรต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท)

งบการเงินรวม 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 2551 ล้านบาท/ล้านหุ้น

2550

16,409 2,958

16,290 2,953

16,246 2,958

17,107 2,953

3

3

3

3

2,961 5.54

2,956 5.51

2,961 5.49

2,956 5.79


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

155

กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรต่อหุ้นปรับลดสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 คำนวณจากกำไรสำหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท และจำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วระหว่างปีในแต่ละปี โดยถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักหลังจากที่ได้ปรับปรุงผลกระทบของหุ้นปรับลด ดังนี ้ กำไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) กำไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ปรับลด) จำนวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการออกสิทธิที่จะเลือกซื้อหุ้น จำนวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ปรับลด) กำไรต่อหุ้น (ปรับลด) (บาท)

งบการเงินรวม 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 2551 ล้านบาท/ล้านหุ้น

2550

16,409

16,290

16,246

17,107

16,409

16,290

16,246

17,107

2,961 -

2,956 1

2,961 -

2,956 1

2,961 5.54

2,957 5.51

2,961 5.49

2,957 5.79

30. เงินปันผล ที่ประชุมสามัญประจำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 ได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผล จำนวนหุ้นละ 3.30 บาท รวมเป็น

เงินจำนวนทั้งสิ้น 9,770 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล จำนวนหุ้นละ 3.00 บาท รวมเป็นเงิน จำนวนทั้งสิ้น 8,883 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในวันที่ 10 กันยายน 2551 ที่ประชุมสามัญประจำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2550 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรสำหรับหุ้นสามัญจำนวน 2,955.46 ล้านหุน้ ในอัตราหุน้ ละ 3.30 บาท เป็นเงินจำนวนทัง้ สิน้ 9,753.03 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวจำนวน 9,752.39 ล้านบาทให้แก่ผถู้ อื หุน้

แล้วในวันที่ 10 พฤษภาคม 2550 สำหรับส่วนที่เหลือจำนวน 0.64 ล้านบาท เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผล และบริษัทไม่ได้จ่าย เงินปันผลจำนวนดังกล่าว ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2550 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรสำหรับหุ้นสามัญจำนวน 2,957.16 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 3.00 บาท เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 8,871.47 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวจำนวน 8,869.58 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในวันที่

10 กันยายน 2550 สำหรับส่วนที่เหลือจำนวน 1.89 ล้านบาท เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผล และบริษัทไม่ได้จ่ายเงินปันผล

จำนวนดังกล่าว

31. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัทต่อไปนี้ไม่มีผลกระทบต่องบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทแสดงค่าความนิยมที่เกิดจากการรวมธุรกิจในราคาทุนหักด้วยค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผื่อ

การด้อยค่าสะสม ค่าตัดจำหน่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เป็นเวลา 15 ปี ในระหว่างปี 2550 สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ ซึ่งให้ถือปฏิบัติ

กับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) กำหนดให้ ณ วัน


156

รายงานประจำปี 2551

ที่ซื้อ ผู้ซื้อต้องวัดมูลค่าค่าความนิยมจากการรวมธุรกิจที่บันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยราคาทุน หลังการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วย ราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงนี้ใช้สำหรับค่าความนิยมยกมาในงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มแรก ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 ที่เกิดจากการรวมธุรกิจซึ่งวันที่ตกลงรวมธุรกิจก่อนวันที่ 1 มกราคม 2551 การถือปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลง ให้หยุดการตัดจำหน่ายค่าความนิยม ล้างบัญชีค่าตัดจำหน่ายค่าความนิยมสะสม และลดมูลค่าของค่าความนิยม และตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชี แรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 ให้ทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทั้งหมดที่เกิดจากการรวมธุรกิจตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ กลุ่มบริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับค่าความนิยมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป งบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ไม่มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีนี้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีของงบการเงินรวมของกลุ่ม บริษัทสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 คือ - การลดลงของค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนซึ่งเป็นผลมาจากการหยุดการตัดจำหน่ายค่าความนิยม ซึ่งจะถูกรับรู้ภายใต้นโยบาย

การบัญชีเดิมประมาณ 1,167 ล้านบาท ส่งผลให้กำไรสำหรับปีเพิ่มขึ้น

32. เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และ จากการไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็ง กำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่สำคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับความเสี่ยง

ที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการ

การจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ หมายถึง ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบีย้ ในตลาด ซึง่ ส่งผลกระทบ

ต่อการดำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท เนื่องจากดอกเบี้ยของหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารหนี้และเงินกู้ยืมบางส่วนมีอัตราลอยตัว

กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม (ดูหมายเหตุข้อ 16) กลุ่มบริษัทได้ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยทำให้แน่ใจว่าดอกเบี้ย

ที่เกิดจากหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารหนี้และเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มีอัตราคงที่ และใช้เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสัญญา แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย เพื่อใช้ในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารหนี้และเงินกู้ ยืมเป็นการเฉพาะ ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากค่าใช้จ่ายและเงินกู้ยืมที่เป็นเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัท

ได้ทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อป้องกันความเสี่ยงของหนี้สินทางการเงินที่เป็น

เงินตราต่างประเทศและสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงของเงินกู้ยืมระยะยาวที่เป็นเงินตรา

ต่างประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ในงบดุลเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับเงินกู้ยืมที่เป็นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และ

หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี ้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

สินทรัพย์ เงินเหรียญสหรัฐฯ เงินยูโร หนี้สิน เงินเหรียญสหรัฐฯ เงินเยนญี่ปุ่น เงินเหรียญสิงคโปร์ เงินยูโร ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

2551 ล้านบาท

2550 ล้านบาท

569 472 1,041

2,270 - 2,270

558 472 1,030

2,256 - 2,256

(6,762) (11,993) (46) (48) (18,849)

(1,874) (9,171) (23) (39) (11,107)

(6,553) (11,930) (46) (20) (18,549)

(1,710) (9,171) (23) (39) (10,943)

14,492 1,160 (2,156)

9,485 1,189 1,837

14,492 1,160 (1,867)

9,485 1,189 1,987

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าสุทธิ มีดังนี้

สัญญาแลกเปลี่ยน ลูกหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยน เจ้าหนี้ตามสัญญาแลกเปลี่ยน รวมลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยน หัก : ลูกหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยน ล่วงหน้าที่ถึงกำหนดภายในหนึ่งปี แสดงในสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนสุทธิ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ลูกหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า เจ้าหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า รวมลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาอัตรา แลกเปลี่ยนล่วงหน้า หัก : เจ้าหนี้ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยน ล่วงหน้าที่ถึงกำหนดภายในหนึ่งปี แสดงในหนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า สุทธิ รวมลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าสุทธิ

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

2551 ล้านบาท

2550 ล้านบาท

16,994 (14,492) 2,502

9,162 (9,485) (323)

16,994 (14,492) 2,502

9,162 (9,485) (323)

(5) 2,497

- (323)

(5) 2,497

- (323)

1,147 (1,160)

1,128 (1,189)

1,147 (1,160)

1,128 (1,189)

(13)

(61)

(13)

(61)

-

1

-

1

(13)

(60)

(13)

(60)

2,484

(383)

2,484

(383)

157


158

รายงานประจำปี 2551

ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี ้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า รวม

ราคาตามบัญชี 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 14,492 9,485 1,160 1,189 15,652 10,674

มูลค่ายุติธรรม* 2551 2550 ล้านบาท ล้านบาท 16,056 9,032 1,150 1,196 17,206 10,228

*มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนถือตามราคาอ้างอิงของนายหน้าหรือราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุล ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชำระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบกำหนด ฝ่ายบริหารได้กำหนดนโยบายทางด้านสินเชือ่ เพือ่ ควบคุมความเสีย่ งทางด้านสินเชือ่ ดังกล่าวโดยสม่ำเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ของลูกค้าทุกรายทีข่ อวงเงินสินเชือ่ ในระดับหนึง่ ๆ ณ วันทีใ่ นงบดุลไม่พบว่ามีความเสีย่ งจากสินเชือ่ ทีเ่ ป็นสาระสำคัญ ความเสีย่ งสูงสุดทางด้านสินเชือ่

แสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการ ณ วันที่ในงบดุล อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้าจำนวนมาก

ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระสำคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอ

ต่อการดำเนินงานของกลุ่มบริษัทและเพื่อทำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือชำระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีการและข้อสมมติฐานในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินแต่ละชนิด ดังนี้ • มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้และเจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้และเจ้าหนี้อื่น เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี

• มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารทุนและตราสารหนี้ที่จะถือไว้จนครบกำหนด เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคา

ที่บันทึกในบัญชี มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากส่วนใหญ่

ของเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้มีดอกเบี้ยในอัตราตลาด มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะยาวและเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มูลค่าที่แสดงในงบดุลมีจำนวนใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม

เนื่องจากส่วนใหญ่ของเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้มีดอกเบี้ยในอัตราตลาด


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

33. ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ สกุลเงินเยนญี่ปุ่น สกุลเงินยูโร อาคารและอุปกรณ์ สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ สกุลเงินเยนญี่ปุ่น สกุลเงินยูโร ค่าบำรุงรักษา สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ สกุลเงินเยนญี่ปุ่น สกุลเงินเหรียญสิงคโปร์

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดำเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม ภาระผูกพันอื่น เลตเตอร์ออฟเครดิตสำหรับซื้อสินค้าและวัสดุที่ยังไม่ได้ใช้ สัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร รวม

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

2551 ล้านบาท

2550 ล้านบาท

2,101 23 174 1

2,900 34 483 1

2,096 22 174 1

2,889 34 483 1

1,238 19 486 2

300 16 - -

406 7 - -

260 5 - -

1,156 5 31 -

1,444 5 52 1

1,087 3 31 -

1,358 5 52 -

งบการเงินรวม 2551 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 ล้านบาท

2551 ล้านบาท

2550 ล้านบาท

1,209 1,877 7 3,093

1,362 1,730 16 3,108

1,065 1,798 7 2,870

1,066 1,536 16 2,618

112 15,652 5,759 21,523

71 10,674 3,785 14,530

- 15,652 4,368 20,020

- 10,674 2,977 13,651

กลุ่มบริษัทได้ทำสัญญาเช่าและบริการสำหรับที่ทำการสำนักงานสาขา รถยนต์ คอมพิวเตอร์ และสถานีฐาน โดยมีระยะเวลาการเช่าตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 6 ปี 8 เดือน และสามารถต่ออายุได้

34. สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตามพระราชบัญญัติการประกอบการกิจการโทรคมนาคม 2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าด้วยการใช้ และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม 2549 บริษัทได้ทำสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ณ วั น ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2549 และบริ ษั ท ทรู มู ฟ จำกั ด ณ วั น ที่ 16 มกราคม 2550 ซึ่ ง สั ญ ญาดั ง กล่ า วได้ ผ่ า นการเห็ น ชอบ

จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ในระหว่างปี 2550 บริษัทได้ให้บริการตามสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ตาม บริษัทยังไม่ได้เรียกเก็บค่าเชื่อมโครงข่ายโทรคมนาคมจากคู่สัญญาทั้งสอง และในระหว่างไตรมาสที่หนึ่งถึงไตรมาสที่สาม 2550 บริษัทไม่ได้บันทึกรายการที่เกี่ยวข้องกับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมในงบการเงินระหว่างกาล เนื่องจากบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (ทีโอที)

159


160

รายงานประจำปี 2551

ซึ่งเป็นผู้อนุญาตให้ดำเนินการได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัททราบว่าบริษัทไม่ใช่ผู้รับใบอนุญาตที่มีโครงข่ายโทรคมนาคมตามกฎหมาย จึงไม่มีสิทธิ

เข้าทำสัญญาเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าด้วยการใช้และเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคม 2549 ต่อมาเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอทีได้ยื่นคำฟ้องคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอน ประกาศฯ ดังกล่าว และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอที ได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัททราบว่า บริษัทควรรอให้ศาลมีคำพิพากษาเพื่อยึดถือ

เป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อไป และหากบริษัทดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติก่อนศาลปกครองมีคำพิพากษา ถึงที่สุด ทีโอทีจะไม่รับรู้ และบริษัทจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการดังกล่าว บริษัทได้พิจารณาหนังสือของทีโอทีดังกล่าวและกฎหมายที่เกี่ยวข้องประกอบกับความเห็นของที่ปรึกษากฎหมาย ฝ่ายบริหารของบริษัท เห็นว่า การไม่ปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมข้างต้น อาจถือได้ว่าเป็นการขัดต่อประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย บริษัทจึงได้ตัดสินใจปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่าย ซึ่งเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

ทีม่ ผี ลใช้บงั คับอยูใ่ นปัจจุบนั โดยออกใบแจ้งหนีเ้ พือ่ เรียกเก็บค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายจากคูส่ ญ ั ญา และบริษทั ได้บนั ทึกรายการทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าเชือ่ มต่อ

โครงข่ายโทรคมนาคมตามสัญญาที่ได้ทำไว้ข้างต้นไว้ในงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่กำหนดให้บริษัทต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ทีโอทีเป็นรายปีโดยจ่าย เป็นจำนวนเงินขัน้ ต่ำตามทีส่ ญ ั ญากำหนดในแต่ละปี หรือในอัตราร้อยละของรายได้ และผลประโยชน์อนื่ ใดทีบ่ ริษทั พึงได้รบั ในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จา่ ย

และค่าภาษีใดๆ ทั้งสิ้น จำนวนไหนมากกว่าให้ถือเอาจำนวนนั้น อย่างไรก็ตามค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นรายการที่ต้องปฏิบัติ

ตามกฎหมาย และทีโอทีตอ้ งการรอคำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ในเรือ่ ง ขอเพิกถอนประกาศฯ จากศาลปกครอง จึงเป็นรายการทีบ่ ริษทั คาดว่าจะมีการเจรจา ตกลงเรื่องวิธีการคำนวณผลประโยชน์ตอบแทนรายปีในเวลาต่อมา เพื่อให้เป็นไปตามหลักความระมัดระวัง บริษัทจึงคำนวณค่าผลประโยชน์ ตอบแทนรายปีจากรายได้สุทธิตามที่ปฏิบัติในทางเดียวกันทั้งอุตสาหกรรมกิจการโทรคมนาคม ส่วนจำนวนผลประโยชน์ตอบแทนที่บริษัทต้องจ่าย ให้แก่ ทีโอทีนั้น ขึ้นอยู่กับผลการตัดสินจากศาลปกครองในเรื่องขอเพิกถอนประกาศฯ และการเจรจาตกลงระหว่างบริษัทกับทีโอทีในภายหลัง

โดยบริษัทจะปรับปรุงรายการในงบการเงินในงวดที่การเจรจาตกลงสิ้นสุดลง ซึ่งผู้บริหารของบริษัทมีความมั่นใจว่าจะไม่เกิดค่าใช้จ่ายมากไปกว่า จำนวนที่บันทึกไว้อย่างมีสาระสำคัญ ต่อมาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 ทีโอทีได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัททราบว่า เนื่องจากผลการเจรจาเกี่ยวกับอัตราและวิธีการคำนวณ

ส่วนแบ่งรายได้ระหว่างบริษัทและทีโอทียังไม่ได้ข้อยุติ จึงเห็นควรให้บริษัทนำส่งเงินผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ถึงเดือนมิถุนายน 2551 จำนวนเงิน 761 ล้านบาท ตามอัตราและวิธีคิดคำนวณของบริษัท ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 และบริษัทได้นำส่งให้แก่ทีโอทีแล้วเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 สำหรับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2551 เป็นต้น ไปจนถึ ง ปั จ จุ บั น บริ ษั ท และที โ อที จ ะจั ด ตั้ ง คณะทำงานเจรจาเพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ ยุ ติ โ ดยเร็ ว โดยในระหว่ า งที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ข้ อ ยุ ติ ใ ห้ ใ ช้ เ กณฑ์ ค ำนวณ

ตามที่บริษัทเสนอไปก่อน

35. เหตุการณ์สำคัญ เฉพาะบริษัท ตามทีก่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารได้มหี นังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกีย่ วกับการแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะหว่างบริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) ซึง่ ในขณะทีม่ สี ถานะเป็นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (“ทีโอที”) กับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการ ของรัฐ 2535 ใช้บงั คับว่าได้ดำเนินการถูกต้องตามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวหรือไม่ และหากการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ดำเนินการไม่ถกู ต้อง

ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จะมีแนวทางการปฏิบัติต่อไปอย่างไร สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีบันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชน

เข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ 2535 (กรณีสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กับ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)) เรื่อง เสร็จที่ 291/2550 ให้ความเห็นดังนี้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

161

*“… ทีโอทีเข้าเป็นคู่สัญญาในเรื่องนี้เป็นการกระทำแทนรัฐ โดยอาศัยอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย สัญญาอนุญาตฯ ที่เกิดขึ้นจึงเป็นสัญญาระหว่างรัฐกับเอกชนเพื่อมอบหมายให้เอกชนดำเนินการให้บริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหน้าที่ปฏิบัติ ตามข้อกำหนดในสัญญาดังกล่าว แต่เมื่อการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีข้อหารือดำเนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ

ซึง่ มีผลใช้บงั คับในขณะทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ เนือ่ งจากมิได้เสนอเรือ่ งการแก้ไขเพิม่ เติมให้คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอให้คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรที่มีอำนาจพิจารณาเห็นชอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติ ดังกล่าวดังที่ได้วินิจฉัยข้างต้น การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ โดย ทีโอที เป็นคู่สัญญา จึงกระทำไปโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอันเป็นนิติกรรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำขึ้นได้ และข้อตกลง

ต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น หากคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็น

ผู้มีอำนาจตามกฎหมายได้พิจารณาถึงเหตุแห่งการเพิกถอน ผลกระทบและความเหมาะสม โดยคำนึงถึงประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะ แล้วว่า การดำเนินการที่ไม่ถูกต้องนั้นมีความเสียหายอันสมควรจะต้องเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำขึ้น คณะรัฐมนตรีก็ชอบที่จะ เพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้วมีเหตุผลความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะและ เพื่อความต่อเนื่องของการให้บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีก็อาจใช้ดุลพินิจพิจารณาให้ความเห็นชอบให้มีการดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตฯ ดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการและคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 เป็นผู้ดำเนินการเสนอ

ข้อเท็จจริง เหตุผลและความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี” ขณะนี้ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามมาตรา 22 ขึ้นแล้ว และอยู่ในระหว่างการดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้ เอกชน

เข้าร่วมงานฯ และจะได้ทำหน้าที่ตามที่ได้กำหนดต่อไป *ข้อความข้างต้นเฉพาะในเครื่องหมาย “...” เป็นเพียงข้อความที่คัดลอกมาบางส่วนจากบันทึกความเห็นของสำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 291/2550 บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่ม เติมสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท.”) กับบริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (“DPC”) ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ 2535 ใช้บังคับได้ดำเนินการถูกต้องตาม

พระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ และหากการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดำเนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จะมีแนวทาง

การปฏิบัติต่อไปอย่างไร สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเรื่องการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการ ของรัฐ 2535 กรณีสญ ั ญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ กสท. กับ DPC โดยจากบันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งเสร็จที่ 294/2550

ให้ความเห็นโดยสรุปว่า **“.....การที่ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น (“TAC”) โอนสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูล่า ให้แก่ DPC และ DPC กับ CAT ได้มีการทำสัญญาระหว่างกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 ว่า CAT ได้อนุญาตให้สิทธิเอกชน

รายใหม่ในการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า โดย CAT และ DPC เป็นคู่สัญญาและไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการดำเนินการใช้บริการ วิทยุคมนาคมฯ ที่ CAT อนุญาตให้แก่ TAC แต่อย่างใด DPC จึงเป็นคู่สัญญาที่อยู่ภายใต้การดูแลกำกับของ CAT และจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ CAT DPC ในฐานะที่เป็นเอกชนผู้เข้าร่วมงาน หรือดำเนินงานในกิจการของรัฐจึงต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ เนื่องจาก CAT ได้มีการกำหนดขอบเขตของโครงการและเอกชนผู้ดำเนินการให้บริการเป็นการเฉพาะเจาะจง รวมทั้งได้มีการให้บริการโครงการไปแล้ว

จึงไม่มีกรณีที่จะต้องประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐและการคัดเลือกเอกชนด้วยวิธีประมูลตามที่บัญญัติ

ไว้ในหมวด 3 การดำเนินโครงการ แต่เป็นการที่ต้องนำบทบัญญัติในหมวด 3 นี้มาใช้บังคับโดยอนุโลมเท่าที่ไม่ขัดต่อสภาพแห่งข้อเท็จจริง

โดย CAT ต้องดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการตาม พรบ. มาตรา 13 เพื่อดำเนินการตามมาตรา 21 คือให้คณะกรรมการนำผลการคัดเลือก

พร้อมเหตุผล ประเด็นที่เจรจาต่อรองเรื่องผลประโยชน์ของรัฐ ร่างสัญญาและเอกสารทั้งหมดเสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัดเพื่อนำเสนอ

คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในเก้าสิบวันนับจากวันที่คณะกรรมการตัดสินโดยอนุโลมต่อไป


162

รายงานประจำปี 2551

ดังนัน้ การดำเนินการจึงอยูใ่ นอำนาจและหน้าทีข่ องคณะกรรมการตามมาตรา 13 ทีจ่ ะพิจารณาตามทีเ่ ห็นสมควรได้ และ DPC ผูไ้ ด้รบั โอนสิทธิ และหน้าที่จากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ระหว่าง CAT กับบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซส คอมมูนเิ คชัน่ จำกัด (มหาชน) แล้ว DPC ย่อมเป็นผูม้ สี ทิ ธิดำเนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมฯ ได้ตามสิทธิ และหน้าที่ที่ได้รับโอน แม้ว่าสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการระหว่าง CAT กับ DPC ที่ทำขึ้นใหม่มิได้ดำเนินการหรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ

ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ แต่อย่างไรก็ตาม สัญญาที่ทำขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลา

หรือเหตุอื่น ดังนั้น CAT และ DPC จึงยังต้องมีภาระหน้าที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ได้กระทำไว้แล้ว” ขณะนี้ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามมาตรา 13 ขึ้นแล้ว และอยู่ในระหว่างการดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชน

เข้าร่วมงานฯ และจะได้ทำหน้าที่ตามที่ได้กำหนดต่อไป **ข้อความข้างต้นเฉพาะในเครื่องหมาย “...” เป็นเพียงข้อความที่คัดลอกมาบางส่วนจากบันทึกความเห็นของสำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 294/2550 ข้อพิพาททางการค้าและคดีความที่สำคัญ เฉพาะบริษัท ระหว่างบริษัทกับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 9/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร้องให้บริษัทชำระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมอีกประมาณ 31,463 ล้านบาท ตามสัญญา อนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินดังกล่าว นับตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2550 อันเป็นวันผิดนัดจนกว่าจะชำระเสร็จสิ้น ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้กระบวนการอนุญาโตตุลาการดังกล่าวอาจใช้ระยะเวลา

ในการพิจารณาหลายปี โดยผูบ้ ริหารของบริษทั เชือ่ ว่า ผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ แี ละไม่นา่ จะมีผลกระทบอย่างมีนยั สำคัญ ต่องบการเงินของบริษัท เนื่องจากเห็นว่าจำนวนเงินที่ ทีโอที เรียกร้องดังกล่าวเป็นจำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่บริษัทได้นำส่งตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2546 ถึ ง วั น ที่ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2550 และนำมาหั ก ออกจากส่ ว นแบ่ ง รายได้ ซึ่ ง เป็ น การปฏิ บั ติ ต ามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่

11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้องครบถ้วนแล้ว และมีการปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ อีกทั้งบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)

ได้เคยมีหนังสือตอบ เลขที่ ทศท. บย./843 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2546 โดยระบุว่าบริษัทได้ปฏิบัติถูกต้องตามมติคณะรัฐมนตรีแล้ว และบริษัท

มีภาระเท่าเดิมตามอัตราร้อยละที่กำหนดไว้ในสัญญา ซึ่งการดำเนินการยื่นแบบชำระภาษีสรรพสามิตดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่อข้อสัญญา

แต่ประการใด บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด 1) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 3/2551 ต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุตธิ รรม เพือ่ เรียกร้องให้บริษทั ดิจติ อลโฟน จำกัด (“DPC”) ชำระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิม่ เติม อีกประมาณ 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า พร้อมเรียกเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อ เดือนของจำนวนเงินที่ค้างชำระในแต่ละปี นับวันผิดนัดจนกว่าจะชำระเสร็จสิ้น ซึ่งคำนวณถึง เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็นเบี้ยปรับทั้งสิ้น 1,500 ล้านบาท รวมเป็นเงินประมาณ 3,949 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 กสท. ได้ยื่นคำร้องขอแก้ไขจำนวนทุนทรัพย์รวมเบี้ยปรับลดลงเหลือ 3,410 ล้านบาท ซึ่งคำนวณจากเงิน ส่วนแบ่งรายได้ค้างชำระถึงเดือนมกราคม 2551 เป็นจำนวน 790 ล้านบาท และภาษีมูลค่าเพิ่ม 171 ล้านบาท ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้กระบวนการอนุญาโตตุลาการดังกล่าวอาจใช้ระยะเวลา

ในการพิจารณาหลายปี โดยผูบ้ ริหารของบริษทั เชือ่ ว่า ผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ แี ละไม่นา่ จะมีผลกระทบอย่างมีนยั สำคัญ ต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจากเห็นว่าจำนวนเงินส่วนแบ่งรายได้ที่ กสท. เรียกร้องดังกล่าวเป็นจำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ DPC ได้ นำส่ ง ตั้ ง แต่ วั น ที่ 16 กั น ยายน 2546 ถึ ง วั น ที่ 15 กั น ยายน 2550 และได้ น ำมาหั ก ออกจากส่ ว นแบ่ ง รายได้ ซึ่ ง เป็ น การปฏิ บั ติ ต ามมติ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

163

คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้องครบถ้วนแล้ว และมีการปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ อีกทั้ง กสท. เคย

มีหนังสือ เลขที่ กสท. 603 (กต.) 739 แจ้งให้ DPC ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว 2) ตามมติในที่ประชุมร่วมกันระหว่างบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท.”) บริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (“DPC”) และ บริษัท ทรู มูฟ จำกัด (“True Move”) โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสารเป็นประธาน

เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2547 ว่าเพื่อให้มีความเท่าเทียมในการแข่งขันของผู้ประกอบการทั้ง 3 ราย ทีโอที ยินยอมให้ลดค่าเชื่อมโยงโครงข่าย

โทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ ากส่วนแบ่งรายได้ที่ ทีโอที ได้รบั จาก กสท. จำนวน 22 บาท/เลขหมาย/เดือน ให้แก่ DPC และ True Move ตัง้ แต่ปกี ารดำเนินการ

ปีที่ 6 เช่นเดียวกับที่ ทีโอที ให้ส่วนลดกับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (“DTAC”) ต่อมาเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2549 ทีโอที มีหนังสือแจ้ง กสท. ว่าไม่สามารถลดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้แก่ DPC และ

True Move ได้ และเรียกร้องให้ กสท. ชำระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายในส่วนที่ DPC และ True Move ได้หักไว้เป็นส่วนลดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายให้

ทีโอที จนครบถ้วน พร้อมดอกเบี้ยตามอัตราที่กฎหมายกำหนด นับแต่วันครบกำหนดชำระจนถึงวันที่ชำระครบถ้วน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 กสท. ได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม

ข้ อ พิ พ าทหมายเลขดำที่ 68/2551 เรียกร้องให้ DPC ชำระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ DPC ได้หักไว้จำนวน 154 ล้านบาท

(ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปีดำเนินการที่ 7-10) พร้อมภาษีมูลค่าเพิ่มและเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินต้นดังกล่าว

นับแต่วันพ้นกำหนดชำระเงินของปีดำเนินงานในแต่ละปีตั้งแต่ปีที่ 7 ถึงปีที่ 10 จนกว่าจะชำระเสร็จสิ้น ขณะนี้ ข้อพิพาทดังกล่าวอยูใ่ นขัน้ ตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ทัง้ นีก้ ระบวนการอนุญาโตตุลาการอาจใช้ระยะเวลาในการพิจารณา

หลายปี และ DPC ได้คำนวณส่วนแบ่งรายได้ตามข้อเรียกร้องดังกล่าวแล้วมียอดค้างเพียง 122 ล้านบาท ซึ่ง DPC ได้บันทึกเป็นส่วนแบ่งรายได้ ค้างจ่ายไว้ในงบการเงินแล้ว แต่ไม่ได้บันทึกภาษีมูลค่าเพิ่มและเบี้ยปรับจากการผิดนัดชำระ ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่า ผลของข้อพิพาทดังกล่าว

น่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไม่น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจาก DPC ได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้ยื่นฟ้องบริษัท เป็นจำเลยที่ 1 และ บริษัท เอไอเอ็น

โกลบอลคอม จำกั ด (“บริ ษั ท ย่ อ ย”) เป็ น จำเลยที่ 2 คดี ห มายเลขดำที่ 1245/2551 ต่ อ ศาลแพ่ ง เพื่อ เรี ย กร้ อ งให้ ร่ ว มกั น ชดใช้ ค่ า เสี ยหาย

พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีจนถึงวันฟ้อง รวมเป็นเงิน 130 ล้านบาท โดยอ้างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีทบี่ ริษทั กับบริษทั ย่อย เปลีย่ นแปลงการส่งทราฟฟิคการให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ในช่วงเวลาวันที่ 1 ถึง 27 มีนาคม 2550 ทีผ่ ใู้ ช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ของบริษัทใช้บริการผ่านเครื่องหมาย + จากเดิมที่เป็น 001 ของ กสท. มาเป็น 005 ของบริษัทย่อย โดยไม่แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2551 กสท. ได้ยื่นคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องในส่วนของค่าเสียหาย 583 ล้านบาท (รวมดอกเบี้ย) โดยอ้างว่า

การกระทำดังกล่าวเป็นเหตุให้ กสท. ได้รบั ความเสียหายเป็นระยะเวลาต่อเนือ่ งเรือ่ ยมาจนถึงวันที่ 7 มีนาคม 2551 ต่อมาวันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 กสท. ได้ยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวห้ามไม่ให้บริษัทและบริษัทย่อยทำการโยกย้าย ทราฟฟิค 001 หรือเครื่องหมาย + ของ กสท. ไปยังทราฟฟิค 005 ของบริษัทย่อย โดยศาลได้นัดฟังคำสั่งคำร้องดังกล่าวในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลแพ่ง ฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าผลของคดีดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี

และไม่น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจากเครื่องหมาย + เป็นเครื่องหมายสากล และเป็นการปฏิบัติ

โดยทั่วไปของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่จะกำหนดให้เครื่องหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสการเรียกออกของบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ จึงเป็น สิทธิของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่ละราย ที่จะกำหนดให้เครื่องหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสเรียกของผู้ใช้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศรายใด บริษัทจึงมิได้กระทำละเมิด และทำให้ กสท. เสียหายแต่อย่างใด


164

รายงานประจำปี 2551

36. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล

ข้อพิพาททางการค้าและคดีความที่สำคัญ บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้เสนอข้อพิพาทต่อสำนักระงับข้อพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการ ตามข้อพิพาทหมายเลขดำที่ 8/2552 เพื่อเรียกร้องให้ DPC ส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จำนวน

3,343 ต้น พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกำลังงาน จำนวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า หาก

ไม่สามารถส่งมอบได้ให้ DPC ชดใช้เงินเป็นจำนวน 2,230 ล้านบาท ซึง่ DPC เห็นว่า เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกำลังงาน มิใช่เครื่องหรืออุปกรณ์ตามที่กำหนดไว้ในสัญญาข้อ 2.1 ที่ DPC จะมีหน้าที่จัดหาและส่งมอบตามสัญญา ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนเตรียมยื่นคำคัดค้านภายใต้กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ซึ่งฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าผลของ ข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไม่น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจาก DPC ได้ปฏิบัติ

ถูกต้องตามกฎหมายและข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว

การเสนอจ่ายเงินปันผล ทีป่ ระชุมคณะกรรมการเมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 ได้มมี ติให้เสนอจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ จากผลการดำเนินงานของบริษทั ประจำปี 2551 ในอัตราหุ้นละ 6.30 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวไปแล้วในอัตราหุ้นละ 3.00 บาท ในการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลเมื่อวันที่

10 กันยายน 2551 ทั้งนี้การเสนอดังกล่าวจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท

การออกหุ้นกู้ระยะยาว ในวันที่ 23 มกราคม 2552 บริษัทได้ออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน ดังนี้ 1) หุ้นกู้จำนวน 5 ล้านหุ้น มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท เป็นจำนวนเงิน 5,000 ล้านบาท มีดอกเบี้ยในอัตราคงที่ร้อยละ 4.00 ต่อปี

สำหรับปีที่ 1 - 2.5 และอัตราร้อยละ 5.00 ต่อปี สำหรับ 1 ปีทเี่ หลือ โดยมีกำหนดจ่ายดอกเบีย้ ทุกงวดรายไตรมาสนับจากวันออกจำหน่าย

หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวนในวันที่ 23 กรกฎาคม 2555 2) หุ้นกู้จำนวน 2.5 ล้านหุ้น มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท เป็นจำนวนเงิน 2,500 ล้านบาท มีดอกเบี้ยในอัตราคงที่ร้อยละ 4.00 ต่อปี

สำหรับปีที่ 1 - 2 อัตราร้อยละ 5 ต่อปี สำหรับปีที่ 3 – 4 และอัตราร้อยละ 6.00 ต่อปี สำหรับ 1 ปีที่เหลือ โดยมีกำหนดจ่ายดอกเบี้ย

ทุกงวดรายไตรมาสนับจากวันออกจำหน่าย หุ้นกู้ดังกล่าวจะครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวนในวันที่ 23 มกราคม 2557

การเสนอจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัทย่อยได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผล ซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ดังนี้ บริษัท บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำกัด บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด

วันที่ประชุม 16 กุมภาพันธ์ 2552 16 กุมภาพันธ์ 2552 16 กุมภาพันธ์ 2552

เงินปันผล บาท /หุ้น 6.25 8.50 550.00

จำนวนเงิน ล้านบาท 170 213 1,100


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

165

คำอธิบายและบทวิเคราะห์สำหรับผู้บริหาร ปี 2551 ถือเป็นปีที่เอไอเอสพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการเติบโตของรายได้ในอัตรา 6.5% และความสามารถในการรักษาระดับส่วนแบ่ง รายได้ตลาด รวมถึงอัตราผลกำไรที่ดีขึ้น ในช่วง 9 เดือนแรกของปี รายได้ของเอไอเอสเติบโตอย่างแข็งแกร่งที่อัตรา 8.6% ซึ่งสูงกว่าเป้าหมาย

ที่อัตรา 7 - 8% ท่ามกลางสภาวะเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้น ก่อนที่จะถูกผลกระทบจากปัจจัยความกดดันทางการเมือง รวมถึงสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ในช่วงไตรมาส 4 ของปี 2551 ปัจจัยหลักที่ผลักดันการเติบโตของเอเอสในปี 2551 ได้แก่คุณภาพของผู้ใช้บริการใหม่ที่ดีขึ้น ซึ่งสนับสนุนโดยเครือ ข่ายที่แข็งแกร่งของเอไอเอสในต่างจังหวัด และช่องทางการจัดจำหน่ายที่ดีขึ้น รวมถึงอัตราการเติบโตที่แข็งแกร่งของการใช้บริการด้านข้อมูล และ จำนวนผู้ใช้บริการเทคโนโลยี EDGE ที่เพิ่มขึ้น จากความเป็นผู้นำทั้งด้านเครือข่ายที่แข็งแกร่ง และคุณภาพการให้บริการที่ดีกว่า เอไอเอสยังได้ปรับโครงสร้างการบริหารช่องทางการ

จัดจำหน่ายให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งการปรับแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ตัวแทนจำหน่าย โดยการเพิ่มตัวแทนจำหน่ายรายย่อย

ในระบบแทนการพึ่งพิงตัวแทนจำหน่ายรายใหญ่เพียงอย่างเดียว โดยสิ่งเหล่านี้ช่วยให้เอไอเอสสามารถเพิ่มฐานลูกค้าในพื้นที่ห่างไกลที่ยังมีอัตรา การใช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นระดับต่ำได้ เอไอเอสได้กระตุน้ ให้มกี ารเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ตลอดปีทผี่ า่ นมา ทำให้ปริมาณการเติมเงิน ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-refill) ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นสัดส่วน 30% ของยอดการเติมเงินทั้งหมดจากที่เคยมีสัดส่วนอยู่เพียงไม่ถึง 10% ในปี 2550 การเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถเติมเงินได้ในมูลค่าที่น้อยลง และทำให้เพิ่มความถี่ในการเติมเงินมากขึ้น รวมถึง สามารถลดค่าใช้จ่ายในการผลิตบัตรเติมเงินอีกด้วย เอไอเอสยังสามารถรักษาความเป็นผู้นำตลาดโพสต์เพดได้ โดยมีการจัดการในการหาลูกค้าใหม่ๆ ได้ดีขึ้นด้วยการคัดเลือกอย่างรัดกุม

เพื่ อ ให้ ไ ด้ ลู ก ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพดี และมี ค วามเหมาะสมต่ อ พฤติ ก รรมการใช้ ง าน และรู ป แบบการใช้ ชี วิ ต ดั ง นั้ น คุ ณ ภาพของผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารใหม่

จึงมีคุณภาพที่ดีขึ้น ดังจะเห็นได้จากอัตราการออกจากระบบ (churn) และอัตราหนี้สงสัยจะสูญที่ลดลง ในขณะเดียวกัน การแข่งขันด้านราคานั้นก็ลดน้อยลงอย่างต่อเนื่องจากการเริ่มคิดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่

การคิดค่าบริการที่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงมากขึ้น โดยผู้ให้บริการไม่สามารถลดราคาได้เกินต้นทุนค่าเชื่อมโยงโครงข่าย ส่งผลให้อัตราผลกำไรดีขึ้น และลดการลงทุนในโครงข่ายลง จากการที่มีปริมาณสายเข้าที่น้อยลง เอไอเอสได้ประโยชน์จากการเป็นผู้ให้บริการรายใหญ่ โดยสนับสนุนการโทร ในเครือข่าย และการโทรนอกเวลาที่มีการใช้งานสูง (Off-peak) ทำให้เกิดการบริหารการใช้งานโครงข่ายที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังช่วยลด

การลงทุนในโครงข่ายได้อีกด้วย เอไอเอสมีการจัดทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของแบรนด์เพื่อการเติบโตในระยะยาว โดยในปีที่ผ่านมา เอไอเอสได้มีการปรับปรุง ภาพลักษณ์บริษทั โดยนำเสนอแนวคิด “เอไอเอส อยูเ่ คียงข้างคุณ” ผ่านน้องอุน่ ใจ โดยเน้นการสร้างความแข็งแกร่ง และสือ่ ถึงคุณค่าของตราสินค้า โดยเน้นที่แกนหลักทั้งห้า อันได้แก่ เครือข่ายที่ดีกว่า บริการที่เป็นเลิศ สิทธิพิเศษที่เหนือกว่า บริการที่เป็นนวัตกรรมใหม่ และการตอบแทนสังคม งบดุลในปี 2551 ยังแข็งแกร่งด้วยอัตราหนีส้ นิ ต่อทุนทีอ่ ยูใ่ นระดับต่ำเพียง 0.5 เท่า และมีสภาพคล่องในระดับสูง จากการเติบโตของรายได้ และการควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผลการดำเนินงานของเอไอเอสยังมีความแข็งแกร่ง และเพิ่มความสามารถในการสร้าง กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน เพื่อช่วยสนับสนุนการจ่ายเงินปันผล และความพร้อมสำหรับการลงทุนในอนาคต


166

รายงานประจำปี 2551

สรุปผลการดำเนินงาน Rounded Rectangle : จำนวนผู้ใช้บริการ เอไอเอสสามารถเข้าถึงเขตภูมิภาคได้มากขึ้นทำให้ผู้ใช้บริการในตลาดภูมิภาคยังคงเติบโต

อย่างต่อเนื่องทั้งในแง่ปริมาณและคุณภาพ ARPU ลดลงเนื่องจากการใช้ multi-SIM ขณะที่ผู้ใช้บริการรายใหม่มี ARPU ในระดับต่ำ อย่างไรก็ตาม ARPU ลดลงในอัตราที่ช้าลง ปริมาณการใช้งาน เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากกระแสตอบรับที่ดีต่อโปรโมชั่นในช่วง Off-peak แต่มีค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนในโครงข่ายต่ำลง จำนวนผู้ใช้บริการ

ณ สิ้นปี 2551 มีผู้ใช้บริการทั้งสิ้น 27.3 ล้านเลขหมาย โดยเพิ่มขึ้น 3.2 ล้านเลขหมายหรือ 13% อย่างไรก็ตามจำนวน

ผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้นลดลงจาก 4.6 ล้านเลขหมายในปี 2550 เป็นผลจากการทำนโนบายการตลาดซึ่งไม่ได้มุ่งเน้นเพิ่ม

จำนวนผู้ใช้บริการมากเกินไป แต่จะให้ความสำคัญกับคุณภาพของลูกค้า รวมทั้งมีการเติบโตของการใช้ซิมการ์ดมากกว่า

หนึ่งหมายเลข (Multiple SIMs) ลดลง สำหรับส่วนแบ่งตลาดของจำนวนผู้ใช้บริการลดลงเล็กน้อยเป็น 45% จาก 46%

ในปี 2550 ขณะทีส่ ว่ นแบ่งตลาดของรายได้คงที่ ที่ 51% เป็นผลมาจากมีลกู ค้าคุณภาพสูงขึน้ และการพัฒนาประสิทธิภาพ

ของช่องทางการจัดจำหน่ายรวมไปถึงความแข็งแกร่งของแบรนด์เอไอเอสโดยเฉพาะในตลาดต่างจังหวัด

ลูกค้าโพสต์เพด

ในปี 2550 เอไอเอสมีหนี้สูญและลูกค้าออกจากระบบ (Churn) สูงซึ่งเป็นผลจากการตลาดที่มุ่งเน้นเพิ่มจำนวนผู้ใช้

บริการ แต่สำหรับในปี 2551 บริษัทฯ ได้เพิ่มความรอบคอบและเกณฑ์ในการคัดเลือกคุณภาพของผู้ใช้บริการ ส่งผลให้

จำนวนของลูกค้าด้อยคุณภาพลดลง เห็นได้จากในไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 Churn ลดลงเป็น 2% จาก 4.7% ในปี 2550

ลูกค้าพรีเพด

กลุ่มลูกค้าพรีเพดในตลาดภูมิภาคยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาคอีสานซึ่งยังมีอัตราผู้ใช้บริการโทรศัพท์

เคลื่อนที่ต่อจำนวนประชากรต่ำแต่มีโอกาสในการเติบโตสูงจากรายได้และกำลังซื้อของประชากรในภาคที่เพิ่มขึ้นจาก

คุณภาพของเครือข่ายสัญญาณรวมถึงการขยายช่องทางการจำหน่ายส่งผลให้เอไอเอสจึงมีการขยายตัวของรายได้

และฐานลูกค้าที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่เขตภาคอีสาน

ARPU

รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือนลดลงอย่างต่อเนื่องจากปีก่อน โดยมีสาเหตุหลักจากการขยายตัวของจำนวนผู้ใช้บริการ

ในพื้นที่เขตต่างจังหวัดซึ่งมี ARPU ต่ำกว่าพื้นที่ในเขตเมือง ประกอบกับยังคงมีการใช้งานมากกว่าหนึ่งเลขหมาย

(Multiple SIMs) ทั้งนี้ในปี 2551 ARPU มีอัตราการลดลงอยู่ที่ 11% ช้าลงเมื่อเทียบกับ 20% เมื่อปี 2550 เนื่องจาก

มีการอัตราการใช้ Multiple SIMs ลดลง

MOU

เนื่องจากมีจำนวนผู้ใช้บริการบุฟเฟ่ต์ในช่วง Off-peak และโปรโมชั่นที่เพิ่มเติมจากโปรโมชั่นหลัก (on-top) เพิ่มขึ้น

อย่างต่อเนื่อง MOU ในปี 2551 เพิ่มขึ้น 9% จากปีก่อน อย่างไรก็ตามแม้จะมีจำนวนนาทีที่ใช้บริการเพิ่มขึ้น แต่เอไอเอส

ใช้เครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งช่วยให้ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนในโครงข่ายลดลง โดยในปี 2551 มีมูลค่า

เท่ากับ 12,586 ล้านบาท


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

167

เหตุการณ์สำคัญ ไตรมาส 4/2551 การบันทึกค่าการด้อยค่าความนิยมของดีพีซีเป็นมูลค่า 3,553 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุ่มบริษัทฯ ได้บันทึกค่าการด้อยค่าความนิยมจากบริษัทย่อยดีพีซีซึ่งการเป็นผู้ดำเนินการและให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital PCN 1800 เป็นมูลค่า 3,553 ล้านบาท ลงในงบกำไรขาดทุนซึ่งเป็นรายการที่ไม่สามารถนำไปหักภาษีได้

ไม่กระทบต่อกระแสเงินสด และไม่สามารถบันทึกกลับคืนได้ การบันทึกการด้อยค่าความนิยมนีเ้ ป็นเหตุจากการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 43 มีผลตัง้ แต่ 1 มกราคม 2551 โดยตามมาตรฐานใหม่ จะไม่มีการตัดจำหน่ายค่าความนิยม แต่จะต้องทำการทดสอบการด้อยค่าและบันทึกการด้อยค่าในกรณีที่มูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมสูงกว่า มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน (วิธีการตัดค่าของการด้อยค่าได้ระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน) ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนี้

• •

หยุดการตัดจำหน่ายค่าความนิยมมูลค่า 1,167 ล้านบาทต่อปี บันทึกค่าการด้อยค่าความนิยมของดีพซี เี ป็นมูลค่า 3,553 ล้านบาท ด้วยวิธคี ดิ มูลค่าปัจจุบนั ของประมาณการกระแสเงินสดทีจ่ ะได้รบั

ในอนาคตดีพีซี 6,655 ล้านบาท โดยหลังจากหักค่าการด้อยค่าความนิยมของดีพีซี ค่าความนิยมของดีพีซีในงบดุลจะเท่ากับ 3,102

ล้านบาท

ไตรมาสที่ 2/2551 การระงับข้อพิพาทกรณีดีพีซีกับดีแทคโดยชำระค่าตอบแทนการโอนสิทธ์เป็นจำนวนเงิน 3,000 ล้านบาท และบันทึก รายได้ก่อนหักภาษีจำนวน 1,739 ล้านบาท จากข้อพิพาทในกรณี “The Unwind Agreement” (สิทธิและหน้าที่ในการบริหารโทรศัพท์เคลื่อนที่ PCN 1800) ระหว่างดีพีซีและดีแทค

ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2550 ดีพีซีได้บันทึกรายการหนี้สินรวมจำนวน 4,739 ล้านบาท ต่อมาในเดือนมีนาคม 2551 ศาลอนุญาโตตุลาการ

มีคำชี้ขาดในข้อพิพาท โดยสั่งให้ดีพีซีชำระเงินให้ดีแทค จำนวน 85 ล้านเหรียญสหรัฐ พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 9.5 ต่อปี ส่วนข้อพิพาท

ที่เหลือยังอยู่ในขั้นตอนการระงับข้อพิพาท และเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 ดีพีซีได้เจรจาประนีประนอมยอมความกับดีแทค โดยยินยอมจ่ายให้ ดีแทค จำนวน 3,000 ล้านบาท เพื่อยุติการเรียกร้องให้ชำระเงินในหนี้ปัจจุบัน หรือหนี้ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตจากข้อพิพาทดังกล่าว รวมถึงข้อ พิพาทอื่นๆ ระหว่างดีพีซีและดีแทคในกรณี “The Unwind Agreement” ดังนั้นในงบการเงินไตรมาสที่ 2/2551 ของเอไอเอสจึงได้มีการบันทึกราย ได้อื่นก่อนหักภาษีจำนวน 1,739 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้ที่ต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 30 จากกรณีดังกล่าว บริษัทมีเงินสดออกจำนวน 3,000 ล้านบาท ในไตรมาสดังกล่าว (รายละเอียดอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน)

สรุปผลประกอบการเชิงการเงิน รายได้การบริการไม่รวม IC เพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเทียบกับปีก่อน เนื่องจากความแข็งแกร่งของเอไอเอสในตลาดภูมิภาคและการแข่งขัน ด้านราคาลดน้อยลง

ไตรมาส 4/2551 ได้รับผลกระทบจากการเหตุการณ์ปิดสนามบิน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจในขาลง

EBITDA margin ไม่รวม IC เพิ่มขึ้น 300bps เป็น 48.3% โดย normalized profit เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 7.4% เป็นผลจากการเติบโตของ รายได้ควบคู่กับการควบคุมค่าใช้จ่าย


168

รายงานประจำปี 2551

รายได้การให้บริการไม่รวม IC (ล้านบาท) รายได้จากบริการเสียง โพสต์เพด (เสียง) พรีเพด (เสียง) รายได้จากบริการข้อมูล รายได้โรมมิ่งต่างประเทศ อื่นๆ (โทรต่างประเทศและอื่นๆ) รวมรายได้จากการให้บริการ

2550 62,693 17,201 45,491 8,628 3,699 3,261 78,280

80.1% 22.0% 58.1% 11.0% 4.7% 4.2% 100.0%

2551 63,906 15,098 48,808 11,061 3,696 4,710 83,373

76.7% 18.1% 58.5% 13.3% 4.4% 5.6% 100.0%

%เปลี่ยนแปลง เทียบกับปี 2550

1.9% -12.2% 7.3% 28.2% -0.1% 44.4% 6.5%

รายได้การบริการไม่รวม IC ในปี 2551 เท่ากับ 83,373 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเทียบกับ 78,280 ล้านบาท ในปี 2550 ประกอบด้วย รายได้จากบริการจากเสียงในระบบพรีเพดที่เพิ่มขึ้น 7.3% ขณะที่การเติบโตของรายได้จากการบริการข้อมูลสูงขึ้น 28.2% และรายได้จากบริการ การโทรออกต่างประเทศผ่านหรัส 005 เติบโตถึง 90% รายได้ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2551 เติบโตถึง 8.6% ซึ่งเหนือกว่าที่บริษัทคาดการณ์ไว้ ท่ามกลางภาวะที่มีอัตราเงินเฟ้อสูง แต่ในไตรมาส 4 ซึ่งปกติเป็นช่วงที่รายได้ค่อนข้างสูงในปีกลับได้รับผลกระทบจากความไม่มั่นคงทางการเมือง โดยเฉพาะในกรณีเหตุการณ์ปิดสนามบินสุวรรณภูมิ ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจขาลง รวมไปถึงความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลงด้วย ซึ่งมีผลต่อ การบริโภคภายในประเทศและการลดลงของปริมาณนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเห็นได้จากในไตรมาส 4/2551 รายได้จากการให้บริการไม่รวม

ค่า IC เท่ากับ 20,222 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเพียง 0.6% จากไตรมาสเดียวกันในปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 3/2551 แล้วลดลง 2.1% ซึ่งมาจาก การลดลงของรายได้จากการบริการทุกส่วนโดยเฉพาะบริการโรมมิ่ง รายได้จากการบริการเสียง ในปี 2551 เพิ่มขึ้นเล็กน้อย 1.9% จากปีก่อน เนื่องจาก รายได้โพสต์เพดลดลงมากจากปี 2550 ถึง 12.2% ขณะที่พรีเพดยังเติบโตได้ดีที่ 7.3% โดยการลดลงของรายได้โพสต์เพดมีสาเหตุการแก้ปัญหาลูกหนี้ด้อยคุณภาพ ส่วนการแข่งขันทางด้านราคา

ในปี 2551 ลดน้อยลง เนื่องจากการเก็บค่าเชื่อมโยงโครงข่ายทำให้มีต้นทุนการโทรนอกเครือข่าย ดังนั้น ในช่วงครึ่งแรกของปี 2551 ผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ปรับเปลี่ยนอัตราค่าบริการในแบบต่างๆ โดยเฉพาะการเพิ่มอัตราค่าโทรนอกเครือข่าย ขณะเดียวกันก็มุ่งเน้นการปรับอัตรา

ค่าโทรเพื่อเพิ่มการใช้งานภายในเครือข่ายด้วย อย่างไรก็ตามภาวะเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในระหว่างกลางปี 2551 ประกอบกับประชาชนลดการจับจ่าย ใช้สอยลงทำให้การขึ้นอัตราค่าโทรในช่วงครึ่งปีหลังเป็นไปได้ยาก รายได้จากบริการด้านข้อมูล มีมลู ค่า 11,061 ล้านบาท มีการเติบโตทีด่ ี โดยเพิม่ ขึน้ ถึง 28.2% เมือ่ เทียบกับ 8,628 ล้านบาท ในปี 2550

แม้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลงในช่วงท้ายของปี 2551 เอไอเอสยังคงมีการเติบโตของรายได้จากบริการด้านข้อมูลกว่า 20% ใน 5 ไตรมาส

ที่ผ่านมา ปัจจัยสำคัญในการเติบโตของรายได้ดังกล่าวมาจากการใช้บริการอินเตอร์เนทผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เติบโตถึง 75% จากปีก่อน เนื่องจากความเร็วในการรับส่งข้อมูลผ่านเทคโนโลยี EDGE ที่สูงขึ้นทำให้มีผู้ใช้บริการมากขึ้นและมีปริมาณการใช้งานสูงขึ้น ประกอบกับรายได้ จากบริการคอนเทนต์ดาวโหลดที่เพิ่มขึ้น 45% นอกจากนี้ความหลากหลายของโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและราคาเครื่องที่ลดลงยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง

ทีช่ ว่ ยให้เพิม่ การเติบโตของการใช้งานบริการข้อมูล โดยรายได้จากบริการ GPRS/EDGE คิดเป็นสัดส่วนในรายได้บริการข้อมูลเท่ากับ 22% เพิม่ ขึน้ จากเดิมที่ 16% ในปี 2550 ขณะที่รายได้ส่วนใหญ่ยังคงมากจากบริการ SMS โดยคิดเป็น 27% ของรายได้จากบริการด้านข้อมูล ลดลงจากปีก่อน

ที่ 30% ทั้งนี้ในปี 2551 รายได้จากบริการด้านข้อมูลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 11% จากปีก่อนที่ 9% ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (ล้านบาท) รายรับค่า IC รายจ่ายค่า IC สุทธิ รับ / (จ่าย)

2550 16,530 14,054 2,477

2551 16,213 15,476 737


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ (IR) ในปี 2551 มีมูลค่า 3,696 ล้านบาท คงตัวจากปีก่อนหน้า อย่างไรก็ตามในช่วง 9 เดือนแรก ของปี 2551 นี้ เอไอเอสมีรายได้จาก IR เพิ่มขึ้น 12.9% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่เนื่องจากการปิดสนามบินนานถึง 10 วัน ส่งผลให้ ให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลงซึ่งเป็นปัจจัยหลักของรายได้ในส่วนโรมมิ่ง รายได้อื่น เพิ่มขึ้นถึง 44.4% จากปี 2550 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการเติบโตของรายได้จากการโทรออกต่างประเทศผ่านรหัส 005 ที่เพิ่มขึ้น

สูงถึง 90% จากการเปิดให้บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเกตเวย์ของ AIN อย่างเต็มรูปแบบ รายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC revenue) ลดลง 1.9% จากปี 2550 โดย รายจ่ายค่า IC สูงขึ้น 10.1% ส่งผลให้รายรับสุทธิ (net IC) ของปี 2551 ลดลงเหลือ 737 ล้าน จาก 2,477 ล้าน ในปีก่อน ทั้งนี้การปรับอัตราค่าบริการโดยเฉพาะการโทรภายในและการโทรข้ามเครือข่ายเป็น ปัจจัยหลักที่ทำให้ทิศทางของค่า IC สุทธิ ปรับเข้าสู่สมดุลมากขึ้น ในขณะที่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่นเพิ่มราคาอัตราค่าโทรนอกเครือข่าย เพื่อควบคุมรายจ่ายค่า IC เอไอเอสใช้ข้อได้เปรียบจากสัดส่วนของฐานลูกค้าที่ใหญ่กว่ามุ่งเน้นรายได้จากการโทรออกของลูกค้ามากกว่ารายได้จาก การรับสายจากเครือข่ายอื่นควบคู่ไปกับการออกโปรโมชั่นภายในเครือข่าย รายได้จากการขาย เท่ากับ 11,205 ล้านบาท ลดลง 17.9% จาก 13,644 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากในปี 2551 มียอดขายโทรศัพท์ เคลื่อนที่และซิมการ์ดต่ำลงสาเหตุที่ยอดขายโทรศัพท์เคลื่อนที่ลดลงมาจากเศรษฐกิจขาลงในช่วงครึ่งปีหลังทำให้ผู้บริโภคลดความต้องการซื้อลง และหันไปซื้อเครื่องที่มีราคาถูก สะท้อนจากราคาเฉลี่ยที่ลดลงของเครื่องที่ขายได้ สำหรับยอดขายซิมการ์ดที่ลดลงในปี 2551 สืบเนื่องมาจาก จำนวนลูกค้าใหม่ที่ลดลงโดยสิ้นปี 2551 มีจำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นเท่ากับ 3.4 ล้านเลขหมาย เทียบกับปีก่อน 4.6 ล้านเลขหมาย ต้นทุนขาย รายได้จากการขายที่ลดลงส่งผลให้ ต้นทุนขายในปี 2551 ลดลง 16.6% จากปี 2550 โดยมีอัตรากำไรขั้นต้นจากการขาย เท่ากับ 6% ลดลงจาก 7.5% ในปีก่อน ต้นทุนการให้บริการไม่รวม IC (ล้านบาท)

ค่าเสื่อมราคาโครงข่าย ต้นทุนโครงข่าย ค่าซ่อมบำรุงโครงข่าย อื่นๆ

2550

16,686 2,312 1,872 3,517 24,387

2551

% เปลี่ยนแปลง เทียบกับปี 2550

17,898 2,513 1,825 3,773 26,008

7.3% 8.7% -2.5% 7.3% 6.6%

ต้นทุนการให้บริการไม่รวมค่า IC เท่ากับ 26,008 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 6.6% จาก 24,387 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องด้วยระยะเวลา

ในการตัดค่าเสื่อมราคาสั้นลงตามอายุสัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ ทำให้ค่าเสื่อมราคาโครงข่ายสูงขึ้น 7.3% จากปี 2550 ขณะที่ค่าซ่อมบำรุง

โครงข่ายลดลง 2.5% โดยในปี 2551 จากโครงการพัฒนาประสิทธิภาพของการดำเนินงานภายในองค์กร ส่งผลให้ค่าซ่อมบำรุงโครงข่ายลดลง

แม้ว่าบริษัทฯ ได้ขยายโครงข่ายเพิ่มประมาณ 2,000 สถานีฐาน ส่วนต้นทุนการให้บริการอื่นเพิ่มขึ้น 7.3% ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการเปิดให้บริการ

โทรออกต่างประเทศผ่านเกตเวย์ของ AIN ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี (ล้านบาท) ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี % เทียบกับรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC

2550 19,691 25.2%

2551

% เปลี่ยนแปลง เทียบกับปี 2550

20,021 24.0%

1.7%

169


170

รายงานประจำปี 2551

ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี 2551 เพิ่มขึ้น 1.7% เป็น 20,021 ล้านบาท ในปี 2551 คิดเป็น 24% ของรายได้จากการบริการไม่รวม

ค่า IC ซึ่งลดลงจากปีก่อนที่ 25% สาเหตุจากสัดส่วนรายได้จากโพสต์เพดที่ลดลง ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ล้านบาท)

ค่าใช้จ่ายการตลาด สำรองหนี้สูญ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร % ค่าใช้จ่ายการตลาดเมื่อเทียบกับรายได้ (ไม่รวม IC) % ค่าใช้จ่ายการตั้งสำรองหนี้สูญต่อรายได้โพสต์เพด % ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารต่อรายได้ (ไม่รวม IC)

2550

3,535 1,347 12,769 3.8% 6.5% 11.8%

2551

% เปลี่ยนแปลง เทียบกับปี 2550

3,252 530 11,205 3.4% 2.7% 10.1%

-8.0% -60.7% -12.2%

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ลดลง 12.2% เนื่องจากหยุดการบันทึกค่าตัดจ่ายค่านิยม (ตามมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 43 เรื่องการรวม ธุรกิจ) หากไม่รวมส่วนดังกล่าว บริษัทฯ จะมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลง 3.4% จากปีก่อน เนื่องจากการตั้งสำรองหนี้สูญต่ำลง 60.6% และค่าใช้จ่ายทางการตลาดลดลง 8% และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานลดลง 13.5% การตั้งสำรองหนี้สูญคิดเป็น 2.7% ของรายได้โพสต์เพด

ในปี 2551 จาก 6.5% ในปี 2550 เนือ่ งจากบริษทั ได้มนี โยบายทีเ่ คร่งครัดในการคัดเลือกลูกค้ารายใหม่ทจี่ ะเข้ามาใช้บริการโพสต์เพด ส่วนค่าใช้จา่ ย การตลาดปี 2551 นี้เท่ากับ 3.4% ของรายได้ทั้งหมดไม่รวม IC ลดลงเล็กน้อยจาก 3.8% ในปีก่อน ซึ่งน้อยกว่างบประมาณทางการตลาดที่ตั้งไว้

ที่ 4% ซึ่งบริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมในการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับบริษัทฯ และพรีเพดแบรนด์ รายได้อื่น ในปี 2551 เท่ากับ 2,570 ล้านบาท เมื่อเทียบกับในปี 2550 ที่ 662 ล้านบาทแล้ว เพิ่มขึ้นถึง 288% ซึ่งรายได้ส่วนใหญ่มาจาก รายรับจากการระงับข้อพิพาทระหว่างดีพีซีและดีแทคเป็นจำนวน 1,739 ล้านบาท EBITDA (ล้านบาท)

2550

กำไรจากการดำเนินงาน 24,930 ค่าเสื่อมราคาที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ 3,174 ค่าตัดจำหน่ายสินทรัพย์โครงข่าย 14,413 ค่าความนิยมตัดจำหน่าย 1,167 ตัดจำหน่ายค่าความนิยม EBITDA 43,684 EBITDA margin 40.3% 41,668 EBITDA ไม่รวม IC EBITDA margin ไม่รวม IC 45.3%

2551

% เปลี่ยนแปลง เทียบกับปี 2550

27,548 3,029 15,815 15 46,406 41.9% 45,722 48.3%

6.2% 9.7%

อัตรากำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีและค่าเสื่อม (EBITDA margin) ไม่รวมค่า IC ในปี 2551 เท่ากับ 48.3% สูงขึ้นจาก 45.3% ในปี 2550 เนื่องจากรายได้มีการเติบโตสูงขึ้น ขณะที่ค่าใช้จ่ายที่การตั้งสำรองหนี้สูญลดลง ประกอบกับต้นทุนการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ หากรวมค่า IC แล้ว EBITDA margin ในปีนี้จะเท่ากับ 41.9% เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนที่ 40.3% กำไรสุทธิ ในปี 2551 เท่ากับ 16,409 ล้านบาท คงตัวจาก 16,290 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากการตัดการด้อยค่าความนิยมมูลค่า 3,553 ล้านบาท และมีกำไรสุทธิก่อนหักรายการพิเศษ (Normalized net profit) เท่ากับ 18,760 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 17,457 ล้านบาท ในปีก่อน 7.5% โดยผลประกอบการที่ดีขึ้นนี้เป็นผลจากรายได้มีการเติบโตอย่างแข็งแกร่ง ฐานผู้ใช้บริการมีคุณภาพและมีจำนวนหนี้สูญที่ต่ำลง รวมถึง

มีประสิทธิภาพในการควบคุมต้นทุนซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

กำไร (ล้านบาท)

หักภาษี

การบันทึก

กำไรสุทธิ บวก : ค่าความนิยมตัดจ่าย ไม่ได้ ค่าใช้ในการขายและบริหาร การด้อยค่าของค่าความนิยมดีพีซี ไม่ได้ ขาดทุนจากการด้อยค่า ตัดจำหน่ายค่าความนิยม* ไม่ได้ ค่าใช้ในการขายและบริหาร หัก : รายรับจาก DPC หลังหักภาษี ตามที่บันทึก ได้ รายได้อื่น กำไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ (Normalized)

2551

2550 16,290 1,167 - -

% เปลี่ยนแปลง เทียบกับปี 2550

16,409

0.7%

3,553 15

-

-1,217

17,457

18,760

7.5%

* บันทึกลงในไตรมานที่ 1/2551 จากการขายส่วนของหุ้นในบริกษัทย่อย เอดีซ ี

โครงสร้างงบดุล (ล้านบาท) สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการ-สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี อื่นๆ รวมสินทรัพย์

2550 20,586 8,561 78,527 10,593 10,031 644 128,942

% ต่อสินทรัพย์ รวม 16.0% 6.6% 60.9% 8.2% 7.8% 0.5% 100.0%

2551 26,958 8,144 73,045 6,538 10,075 3,321 128,081

% ต่ อสินทรัพย์ รวม 21.0% 6.4% 57.0% 5.1% 7.9% 2.6% 100.0%

สินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2551 มีมูลค่า 128,081 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจาก 128,942 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากสินทรัพย์ภายใต้ สัญญาอนุญาตให้ดำเนินการลดลง เกิดจากการลงทุนในเครือข่ายในปี 2551 การตัดค่าเสื่อมจากการลงทุนโครงข่ายมูลค่าน้อยกว่า เป็นผลจาก ระยะเวลาในการตัดค่าเสือ่ มราคาสัน้ ลงตามอายุสญ ั ญาอนุญาตให้ดำเนินการ ส่วนสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนลดลงจากปีกอ่ น 38.3% เนือ่ งจากการด้อยค่า ของค่าความนิยม 3,553 ล้านบาท ส่วนสินทรัพย์อื่นรวมมูลค่า 3,321 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 644 ล้านบาท ในปี 2550 อันเป็นผลของนโยบาย ป้องกันความเสี่ยง (hedging policy) ปี 2551 การลดค่าของเงินบาททำให้บริษัทฯ บันทึกลูกหนี้จากการทำสัญญาแลกเปลี่ยน (swap/forward) เป็นมูลค่า 2,484 ล้านบาท จากในปี 2550 ที่เป็นการบันทึกเจ้าหนี้จากการทำสัญญาดังกล่าวเป็นมูลค่า 383 ล้านบาท (ล้านบาท)

เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

2550 8,317 123 8,054 1,236 2,855 20,586

% ต่อสินทรัพย์ 2551 รวม 6.4% 16,301 0.1% 226 6.2% 5,790 1.0% 1,593 2.2% 3,048 16.0% 26,958

% ต่ อสินทรัพย์ รวม 12.7% 0.2% 4.5% 1.2% 2.4% 21.0%

171


172

รายงานประจำปี 2551

2550

(ล้านบาท) เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงกำหนดชำระใน 1 ปี ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีค้างจ่าย เจ้าหนี้ตอบแทนการโอนสิทธิ หนี้สินหมุนเวียนอื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน

3,492 4,218 1,545 3,634 4,739 10,528 28,157

% ต่อสินทรัพย์ 2551 รวม 2.7% - 3.3% 4,263 1.2% 7,038 2.8% 2,719 3.7% - 8.2% 10,840 21.8% 24,860

% ต่ อสินทรัพย์ รวม

- 3.3% 5.5% 2.1% - 8.5% 19.4%

สภาพคล่อง สิ้นปี 2551 บริษัทฯ มีสถานะดีขึ้น โดยมีอัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องสูงขึ้นเป็น 1.08 จาก 0.73 ในปี 2550 เนื่องจาก ปริมาณเงินสดเพิม่ ขึน้ และการตกลงค่าตอบแทนการโอนสิทธิด์ พี ซี ตี ามข้อพิพาทกับดีแทค ในเดือนพฤษภาคม 2551 บริษทั มีสภาพคล่องในระดับสูง เห็นได้จากสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าครึ่งเป็นเงินสด ในปี 2551 บริษัทฯ ได้รับค่าเชื่อมโยงโครงข่ายที่เกิดขึ้นระหว่างปี 2550

เป็นมูลค่า 2,477 ล้านบาท จึงส่งผลให้ลูกหนี้การค้าลดลง 28.1% เทียบกับปี 2550 โครงสร้างเงินทุน มีความแข็งแกร่งด้วย Debt ratio ในระดับ 42.7% เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากปีกอ่ นที่ 41.5% และอัตราส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนทุน เพิ่มขึ้น เป็น 74.4% จาก 70.9% ในปี 2550 เนื่องจากมีการกู้ยืมเพิ่มขึ้น โดยส่วนของผู้ถือหุ้นลดลงเล็กน้อยจากที่บริษัทฯ จ่ายปันผลรวมมูลค่า

สูงกว่ากำไรสุทธิ อย่างไรก็ตามเอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานหลังหักการลงทุน (Free cash flow) มากเพียงพอต่อการจ่ายปันผล

โดยระหว่างปี 2551 ได้จ่ายปันผลที่อัตรา 6.3 บาทต่อหุ้น รวมเป็นมูลค่า 18,653 ล้านบาท จากเงินสดที่เพิ่มขึ้นทำให้ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2551 บริษัทฯ มีเงินกู้สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 24.5% ลดลงจาก 29.2% ในปี 2550 (ล้านบาท)

หนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย

หนี้สินรวม รวมส่วนผู้ถือหุ้น เงินกู้สุทธิ / ส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น

2550

2551

30,349 53,481 75,461 29.2% 70.9%

34,328 54,646 73,436 24.5% 74.4%

หุ้นกู้และเงินกู้ยืม ในปี 2551 มีหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยคิดเป็นมูลค่า 34,328 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.1% จาก 30,348 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากในเดือนเมษายน 2551 เอไอเอสได้ออกหุ้นกู้มูลค่า 4,000 ล้านบาท รวมถึงได้กู้เงินเพิ่มเติมระยะยาวเพื่อการลงทุนในเครือข่ายเป็นมูลค่า 5,029 ล้านบาท ทั้งนี้อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยคิดเป็น 5.1% ต่อปี ลดลงจาก 5.3% ในปี 2550 เนื่องจากเงินกู้เพิ่มเติมระหว่างปีมีอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่า อัตราดอกเบีย้ เฉลีย่ ของบริษทั และในเดือนมกราคม 2551 เอไอเอสได้ออกหุน้ กูใ้ หม่ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ รวมมูลค่า 7,500 ล้านบาท แบ่งเป็น 2 ชุด ดังนี้ 1) หุ้นกู้อายุ 3.5 ปี โดยจ่ายอัตราดอกเบี้ย 4% ใน 2.5 ปีแรก และ 5% ในอีก 1 ปีที่เหลือ 2) หุ้นกู้อายุ 5 ปี โดยเสนออัตราดอกเบี้ย 4%

ในปีที่ 1 - 2, 5% สำหรับปีที่ 3 - 4 และ 6% ในปีสุดท้าย หน่วย : ล้านบาท

เงินกู้ระยะสั้น

เงินกู้ระยะยาว หุ้นกู้ระยะยาว(1) รวมเงินกู้ยืมทั้งสิ้น (2)

ณ สิ้นงวด 2550 3,492 10,745 16,111 30,348

ณ สิ้นงวด 2551

- 15,718 18,610 34,328

(1) รวมต้นทุนในการออกหุ้นกู้ ; (2) รวมสัญญาแลกเปลี่ยน swap และ forward

2552 - 411 6,627 7,038

ยอดที่ต้องจ่ายชำระคืน (1) 2553 2554 2555 - - - 408 9,889 400 - 4,000 - 408 13,888 400

2556 - 398 8,000 8,398


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

กระแสเงินสด บริษทั มีสถานะกระแสเงินสดดีขนึ้ เทียบกับปี 2550 เนือ่ งจากมีกระแสเงินสดจากการดำเนินการดีขนึ้ ประกอบกับการลงทุนในเครือข่ายลดลง กระแสเงินสดจากการดำเนินงานที่แข็งแกร่งเป็นผลจาการเติบโตของรายได้ที่ดีและการควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ในปี 2551 บริษัท

มีการลงทุนเครือข่ายรวมจำนวน 12,586 ล้านบาท ลดลงจาก 17,105 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากโปรโมชั่นในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน (Off-peak) ได้รับการตอบรับอย่างดี รวมถึงการแข่งขันด้านราคาเบาบางลงด้วย ทำให้สามารถบริหารการใช้โครงข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยในปี 2551 บริษัทมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (ก่อนหักส่วนเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน) เป็นจำนวน 47,702 ล้านบาท และมีเงินกู้ในระยะ ยาวเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 9,014 ล้านบาท โดยได้จ่ายคืนหนี้สินไปเป็นจำนวน 5,161 ล้านบาท จ่ายเงินปันผล 18,681 ล้านบาท รวมถึงจัดหาเงิน ลงทุนในเครือข่าย 12,586 ล้านบาท โดยกลุ่มบริษัทฯ มีเงินสดเพิ่มขึ้น สุทธิเท่ากับ 8,235 ล้านบาท แหล่งที่มาของเงินทุน

แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุน : ปี 2551

กระแสเงินสดจากการดำเนินงานหลังหักดอกเบี้ยและภาษี 47,702 เงินรับจากหุ้นทุนและส่วนเกินทุน 283 ดอกเบี้ยรับ 324 เงินรับจากการขายสินทรัพย์ 132 เงินรับจากการกู้ยืมระยะยาว 9,014 รวม 57,454

การใช้ไปของเงินทุน

การลงทุนในเครือข่ายและสินทรัพย์ถาวร ชำระคืนเงินกู้ระยะสั้น ดอกเบี้ยจ่าย ส่วนเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน เงินปันผลจ่าย การลงทุนระยะสั้นและเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดเพิ่มขึ้น ชำระคืนเงินกู้ระยะยาว รวม

12,586 3,500 1,580 10,981 18,681 229 8,235 1,661 57,454

มุมมองของผู้บริหารต่อแนวโน้มและกลยุทธ์ปี 2552 ประมาณการเติบโตของผู้ใช้บริการโดยรวมทั้ง อุตสาหกรรม

5 ล้าน เลขหมาย

ส่วนแบ่งตลาด

ส่วนแบ่งตลาดเชิงรายได้ 50%

รายได้จากการให้บริการ

อัตราการเติบโตของรายได้การบริการประมาณ 3 - 4%

ค่าใช้จ่ายทางการตลาด

3% ของรายได้รวม (เท่ากับ 3.5% ของรายได้รวมไม่รวมรายรับค่า IC)

ค่าเสื่อมราคาเครือข่าย

คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 8 - 10% (ค่าเสื่อมราคาโครงข่าย และค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์

ที่บันทึกไว้ในต้นทุนบริการเท่านั้น แต่ไม่รวมที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ที่บันทึกในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารและการตัดจำหน่ายสิทธิตามสัญญา อนุญาตให้ดำเนินการ)

อัตรากำไรก่อนหักดอกเบี้ยภาษีและค่าเสื่อม (EBITDA margin)

41 - 42% (หากไม่รวม IC จะเท่ากับ 48 - 49%)

เงินลงทุนในเครือข่าย

13,000 – 15,000 ล้านบาท รวมงบลงทุนใน 3G บนคลื่นความถี่ย่าน 900 MHz

รายรับค่า IC สุทธิ

400 - 700 ล้านบาท

173


174

รายงานประจำปี 2551

ในปี 2552 คาดว่าอุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีการเติบโตน้อยลง เป็นผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตัง้ แต่ไตรมาสสุดท้ายของปี 2551

ซึ่งจะยังส่งผลให้อุปสงค์และกำลังการซื้อของผู้บริโภคลงลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีหลายหน่วยงานคาดการณ์การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (GDP) ที่ 0 - 2% สำหรับเอไอเอสคาดการเติบโตของรายได้ไว้ที่ประมาณ 3 - 4% โดยมีปัจจัยสำคัญจาก (1) การเติบโตของผู้ใช้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากรในต่างจังหวัด ซึ่งผู้บริโภคยังคงมีรายได้ดีกว่าอันเป็นผลจากรายได้จากภาคเกษตรกรรม (2) ภาวะการแข่งขัน ทรงตัวแต่หันมาเน้นการแข่งขันรักษาฐานลูกค้าเดิมรวมถึงคุณภาพของผู้ใช้บริการมากกว่าการแข่งขันด้านราคา (3) รายได้การบริการข้อมูลเติบโต ได้ดี แม้จะเติบโตน้อยลงด้วยอัตรา 10 - 15% เทียบกับ 28% ในปี 2551 เนื่องจากผู้บริโภคลดการใช้จ่ายลง นอกจากนี้คาดว่ารายได้จากการขาย เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่จะลดลงค่อนข้างมากในปี 2552 นี้ ในปี 2552 คาดการ์ณว่าจำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจำนวนประชากรจะเพิ่มสูงขึ้นถึงกว่า 100% โดยจะมีจำนวนผู้ใช้บริการ

ทั้งอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 5 ล้านเลขหมาย เทียบกับในช่วงปี 2550 - 51 ที่มีจำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นถึงปีละ 8 - 10 ล้านเลขหมาย จากการเพิ่มขึ้น ของการใช้หลายหมายเลข (Multiple SIMs) โดยผู้ใช้หลายหมายเลขโดยมากจะอาศัยอยู่ในเขตตัวเมือง ดังนั้นอัตราการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ต่างจังหวัดจึงน่าจะมีเพียง 50 - 60% ซึ่งทำให้มีโอกาสในการเติบโตได้อีกมากด้วยโครงข่ายที่แข็งแกร่ง คุณภาพที่เหนือกว่า และตราสินค้า ที่มีความโดดเด่นของเอไอเอส ทำให้เอไอเอสครองตลาดในพื้นที่ต่างจังหวัด รวมถึงสามารถรักษาส่วนแบ่งการตลาดเอาไว้ได้ การเริ่ ม คิ ด ค่ า เชื่ อ มโยงโครงข่ า ยที่ ท ำให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงไปสู่ ก ารคิ ด ค่ า บริ ก ารที่ ส ะท้ อ นต้ น ทุ น ที่ แ ท้ จ ริ ง มากขึ้ น และ อุตสาหกรรมฯ มีความมั่นคงขึ้น ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันด้านราคาที่น้อยลงในหกไตรมาสที่ผ่านมา โดยผู้ประกอบการได้สร้างความสมดุล ในการสร้างอัตราการเติบโตของรายได้โดยคำนึงถึงต้นทุนค่าเชื่อมโยงโครงข่าย ทำให้การแข่งขันที่รุนแรงด้านราคาลดน้อยลง โดยมุ่งไปที่การรักษา คุณภาพ การเข้าถึงลูกค้าในแต่ละกลุ่ม และการรักษาความจงรักภักดีของลูกค้า ซึ่งการแข่งขันราคาสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงมากขึ้น ทำให้สามารถ ลดการลงทุนในโครงข่ายลง อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานเนื่องจากรายได้มากจากความต้องการใช้งานที่แท้จริง การทำการตลาด ของเอไอเอสจะมุ่งไปที่การสร้างฐานลูกค้าให้มีคุณภาพที่ดี ท่ามกลางสภาวะที่ผู้บริโภคมีความต้องการใช้จ่ายที่ลดลง ด้วยประโยชน์จากการเป็น

ผู้ประกอบการที่มีโครงข่ายขนาดใหญ่ การดำเนินงานในปี 2552 จึงจะมุ่งไปที่การควบคุมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน โดยเน้นที่การรักษาอัตรา ของผลกำไร รายได้จากการบริการด้านข้อมูลจะเป็นปัจจัยสำคัญของการเติบโตในช่วง 3 – 5 ปีข้างหน้า ในปี 2551 รายได้จากบริการ

ด้านข้อมูลเติบโตถึง 28% โดยมีบริการอินเตอร์เนทไร้สายผ่านเทคโนโลยี EDGE เป็นตัวขับเคลื่อนของการเติบโตทั้งนี้การเติบโตของบริการ

ด้านข้อมูลในปี 2552 โดยที่ 3G ยังไม่เกิดขึ้น จะมีความท้าทายขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคมีแนวโน้มลดน้อยลง ทำให้คาดการณ์ว่า รายได้จากการบริการข้อมูลจะเติบโตเพียง 10 - 15% อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในแง่บวก รายได้ของบริการด้านข้อมูลก็ยังเติบโตสูงกว่า 20%

แม้ในช่วงทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อสูงเมื่อกลางปี 2551 และช่วงที่ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคแย่ลงในช่วงไตรมาส 4 ใบอนุญาต 3G เป็นจุดสำคัญของเอไอเอสในปี 2552 โดยเอไอเอสมีการเตรียมความพร้อมในทุกด้านเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทจะสามารถ ประมูลใบอนุญาต 3G ใหม่ได้ ซึ่งจะทำให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ระหว่างผู้ประกอบการทั้งหลายในอุตสาหกรรมภายใต้โครงสร้าง ต้นทุนที่เท่าเทียมกัน ในแง่ของการดำเนินงาน เอไอเอสได้มีการเตรียมตัวและมีความพร้อมที่จะออกให้บริการโดยเร็ว ในแง่การเงินเอไอเอส

มีความแข็งแกร่งทางการเงินที่เพียงพอ สามารถสนับสนุนการลงทุนได้ โดยส่วนหนึ่งเห็นได้จากความสำเร็จในการออกหุ้นกู้ในช่วงเดือนมกราคม 2552 ที่ผ่านมา แม้ว่าภาพของเศรษฐกิจมหภาคของปี 2552 นี้จะมีความท้าทาย แต่ด้วยประโยชน์จากการเป็นผู้ประกอบการโครงข่ายขนาดใหญ่ และมีความแข็งแกร่งทางการเงิน จะช่วยทำให้เอไอเอสสามารถเติบโตได้ในปีที่ยากลำบากนี ้


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)

175

ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน บริษทั ฯ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) รายงานโดยตรงต่อหัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน โดยทำหน้าทีศ่ นู ย์กลาง ประชาสัมพันธ์ และเปิดเผยข้อมูลบริษัทฯ ที่สำคัญเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุน โดยดูแลกระบวนการจัดทำและเปิดเผยข้อมูลผลการดำเนินงาน

แนวโน้มในอนาคต รายงานงบการเงิน รายงานการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร ตามรายไตรมาส ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึงข้อมูลอื่นใด

ซึ่งเป็นประโยชน์ในการประกอบการตัดสินใจลงทุนต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศ โดยให้ ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วนตามความเป็นจริง และมีความโปร่งใส ทันเวลา รวมถึงให้ข้อมูลแก่กลุ่มนักลงทุนต่างๆ

อย่างทั่วถึง มีความเท่าเทียมและสม่ำเสมอ ในส่วนของการเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ ฝ่าย Compliance ซึง่ ดูแลกำกับและตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างครบถ้วน และดูแลการแจ้งสารสนเทศที่สำคัญของบริษัทฯ ต่อตลาดหลักทรัพย์อย่างทันท่วงที นอกจากที่บริษัทฯ ได้เผยแพร่ข้อมูลตามสื่อต่างๆ ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนดแล้ว บริษัทฯ ได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ

ซึ่งเข้าร่วมโดยผู้บริหารของบริษัทฯ ให้แก่นักลงทุนดังต่อไปนี้

กิจกรรมที่เกี่ยวกับการแถลงผลประกอบการประจำไตรมาส

กิจกรรม

จำนวนครั้งต่อปี

วัตถุประสงค์

กลุ่มนักลงทุนที่เข้าร่วม

Result conference call ทุกไตรมาส 4 ครั้งต่อปี แถลงผลการดำเนินงาน นักวิเคราะห์และนักลงทุน ประจำไตรมาส และตอบข้อซักถาม สถาบันทั้งในและต่างประเทศ Analyst briefing 2 ครั้งต่อปี ได้แก่ ชี้แจงผลการดำเนินงาน แนวทาง นักวิเคราะห์และนักลงทุน วาระกลางปี และวาระสิ้นปี และกลยุทธ์ในการดำเนินงาน สถาบันในประเทศ ในรอบครึ่งปีและ รอบสิ้นปีและตอบข้อซักถาม Opportunity day ทุกไตรมาส 4 ครั้งต่อปี แถลงผลการดำเนินงาน นักลงทุนรายย่อย, ประจำไตรมาส private equity, และตอบข้อซักถาม นักวิเคราะห์

ผู้บริหารที่เข้าร่วม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ ผู้บริหารในสายงานอื่นๆ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ ผู้บริหารในสายงานอื่นๆ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์

กิจกรรมพบปะนักลงทุน

กิจกรรม

จำนวนครั้งต่อปี

Roadshow/ conference 10-13 ครั้งต่อปี ทั้งในและต่างประเทศ Company visit 200-300 ครั้งต่อปี (1-on-1 meeting และ group meeting) Annual investor day ปีละครั้ง

วัตถุประสงค์

กลุ่มนักลงทุนที่เข้าร่วม

สื่อสารในด้านภาพรวม นักลงทุนสถาบันทั้งใน การดำเนินงาน ทิศทาง และต่างประเทศ และกลยุทธ์ของบริษัทฯ เปิดโอกาสให้นักลงทุนนัดหมาย นักวิเคราะห์และนักลงทุน เพื่อเข้าพบและซักถามการดำเนินงาน สถาบันทั้งในและต่างประเทศ ทิศทางและกลยุทธ์ของบริษัทฯ เปิดโอกาสให้นักลงทุนและนักวิเคราะห์ นักวิเคราะห์และนักลงทุน เข้าเยี่ยมชมกิจการและการปฏิบัติงาน สถาบันทั้งในและต่างประเทศ ในส่วนต่างๆ รวมทั้งแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผู้บริหาร

ผู้บริหารที่เข้าร่วม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ ผู้บริหารในสายงานอื่นๆ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ ผู้บริหารในสายงานอื่นๆ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ ผู้บริหารในสายงานอื่นๆ

ช่องทางในการติดต่อฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และรับข้อมูลข่าวสาร มีดังต่อไปนี้ • โทรศัพท์ : (66) 2615 3112, (66) 2299 5014, โทรสาร : (66) 2299 5165 • E-mail (investor@ais.co.th) • จดหมายข่าว (IR News Release) ซึ่งจะมีการแจ้งข่าวสารต่อนักวิเคราะห์และนักลงทุนอย่างสม่ำเสมอ • Website (www.investorrelations.ais.co.th) รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั ฯ รายนามคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร ผลการดำเนินงานและงบการเงิน

ย้อนหลัง รายงานประจำปีย้อนหลัง แจ้งการประชุมผู้ถือหุ้น ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้น หุ้นกู้ และเงินปันผล ข้อมูลด้านบรรษัทภิบาลและโครงการ

เพื่อสังคม และอื่นๆ


176

รายงานประจำปี 2551

ข้อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ

นายทะเบียนหลักทรัพย์หุ้นสามัญ

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด

อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2/7 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต กม. 27

แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

โทรศัพท์ : (66) 2596 9000

โทรสาร : (66) 2832 4994 - 6

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด

อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย

กรุงเทพมหานคร 10110

โทรศัพท์ : (66) 2229 2800

โทรสาร : (66) 2359 1259

นายวินิจ ศิลามงคล

ผู้สอบบัญชี

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378

บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด

เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเอวร์ ชั้น 48-51

ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์ : (66) 2677 2000

โทรสาร : (66) 2677 2222

นายทะเบียนหลักทรัพย์หุ้นกู้ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

3000 พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

โทรศัพท์ : (66) 2299 1111, (66) 2617 9111




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.