Advanc ar2014 th

Page 1

Leading The Way to

Digital Life

รายงานประจำป 2557

บร�ษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร ว�ส จำกัด (มหาชน)


Embracing The

Digital Life

มุ งมั่น สร างสรรค ที่สุดแห งนวัตกรรมดิจ�ทัลเต็มรูปแบบ เพ�่อตอบรับการใช ชีว�ตที่หลากหลาย ให คุณใช ชีว�ตได ดียิ�งกว า


/

001

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

สารบัญ ภาพรวมในการลงทุน

สารจากประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ข้อมูลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ นโยบายการจ่ายเงินปันผล

ธุรกิจของเรา

นโยบาย และภาพรวมการประกอบธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญในปี 2557 รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ โครงสร้างการถือหุ้นของเอไอเอสและกลุ่มอินทัช รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรกของเอไอเอส โครงสร้างรายได้ ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันในปี 2557 และแนวโน้มในปี 2558 เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจใน 3-5 ปี ผลิตภัณฑ์และบริการ ปัจจัยความเสี่ยง

การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

ประวัติคณะกรรมการ ผู้บริหาร เลขานุการบริษัท หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน้าหน่วยงานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และผู้บริหารในปี 2557 โครงสร้างการจัดการ การก�ำกับดูแลกิจการ การด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน รายการระหว่างกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจ�ำปี 2557

รายงานทางการเงิน

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน ค�ำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายบริหารประจ�ำปี 2557

ข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น

ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือ www.ais.co.th

004 006 008 009 011 012 014 016 020 021 022 023 024 027 032 042 044 056 063 064 066 067 073 079 083 084 085 182 193


002

Creating The Best Solution

BANKING & PAYMENT

ร วมมือกับพันธมิตรและคู ค าที่มีศักยภาพ ในการสร างสรรค นวัตกรรมใหม รองรับรูปแบบการใช ชีว�ตดิจ�ทัล เพ�อ่ ต อยอดการเติบโตทางธุรกิจอย างเข มแข็ง

Bill

Bill Payments

Credit Card

Scan to Pay

Providing The Best Digital Expertise

เตร�ยมความพร อมให กับพนักงานทุกส วนขององค กร เพ�่อตอบรับทุกความต องการของลูกค าได อย างทันท วงที ปลูกฝ งแนวคิดเพ�่อการให บร�การทีเป นเล�ศ รวมถึงการให ความรู เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม ๆ ที่จำเป นสำหรับการทำความเข าใจให กับลูกค า

MOVIE & MUSIC 00.00

04.30


/

003

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

HEALTH & MEDICAL > HEALTH Test

GUIDE & MAP

NEWS & INFO

NEWS LIVE

Business Technology Sport

Delivering The Best Experience

ส งมอบที่สุดของประสบการณ การใช ชีว�ตดิจ�ทัลให ลูกค าได สัมผัส อย างทั่วถึง ผ านเทคโนโลยี และ คอนเทนต ที่ตอบสนองทุกการใช งาน

097 BPM

GO!!!MAP

EDUCATION & GAME START


004

สารจากประธานกรรมการ

ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา ผมเห็นว่าการด�ำเนินธุรกิจด้านโทรคมนาคม ในภาวะปัจจุบนั ได้เปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก กล่าวคือ เราก�ำลังก้าวเข้า สู่ยุคดิจิทัลอย่างเต็มตัว และแนวโน้มของบริษัทโทรคมนาคมทั่วโลก ก็ มีทิศทางไปในทางเดียวกัน เราเห็นพฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์มือ ถือของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไป มีความต้องการใช้บริการอินเทอร์เน็ตผ่าน สมาร์ทโฟน และมีการใช้โซเชียลมีเดียอย่างก้าวกระโดด รวมไปถึงธุรกิจ อืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามาพึง่ พิงโครงข่ายโทรคมนาคมในการให้บริการ ไม่วา่ จะเป็น ธุรกิจ M2M การให้บริการผ่านคลาวด์ รวมไปถึงธุรกิจบริการเสริม (OTT) อื่นๆ ซึ่งยังอยู่ในช่วงต้น และจะเติบโตขึ้นอีกมากในอนาคตอันใกล้ สิง่ เหล่านีท้ ำ� ให้เห็นชัดว่าการใช้บริการด้านดาต้ามีการขยายตัวในอัตราสูง ดังนั้นการพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม จึงต้องอาศัยการจัดสรร คลื่นความถี่เพิ่มเติม เพื่อให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ และต้อง ผลักดันการใช้งานคลืน่ ความถี่ ให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพือ่ รองรับการ เติบโตและการใช้งานที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นสูง เอไอเอสมีการบริหารงานอย่างโปร่งใส โดยคณะกรรมการและ คณะผูบ้ ริหารทีม่ คี วามช�ำนาญ จาการเป็นผูน้ ำ� ในตลาดมาอย่างยาวนาน การด�ำเนินธุรกิจทัง้ ในด้านการด�ำเนินการ และด้านการเงิน เป็นไปอย่าง รอบคอบ มีคุณภาพ และเป็นไปตามบรรษัทภิบาลที่ดี นอกจากนั้น เอไอเอสยังมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่งเมื่อเปรียบเทียบกับองค์กร อื่นๆในอุตสาหกรรมเดียวกัน ดังนั้น เอไอเอสจึงมีศักยภาพที่จะลงทุน ขยายโครงข่าย และพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การเติบโตและการเตรียมความ พร้อมในการแข่งขัน ขณะเดียวกันเอไอเอสยังคงยึดนโยบายการสร้าง ผลตอบแทนให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกท่านอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย โดยมีนโยบาย จ่ายเงินปันผลที่ร้อยละ 100 เช่นเดิม ตลอดจนยังมีความมุ่งมั่นที่จะ สร้างธุรกิจให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นในระยะยาว นอกจากเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจดังกล่าวแล้ว เรายังมีเป้าหมาย ในการพัฒนาที่เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างสังคม ชุมชน และผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่าย โดยเราจัดให้มีช่องทางและกระบวนการ เพื่อเปิดรับฟัง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของทัง้ ลูกค้า คูค่ า้ พนักงาน รวมทัง้ ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน และชุมชนอย่างทั่วถึง ข้อเสนอแนะเหล่านี้จะถูกส่งต่อไป ยังฝ่ายจัดการ คณะกรรมการชุดย่อยที่เกี่ยวข้อง และคณะกรรมการ บริษัท เพื่อด�ำเนินการพิจารณาขั้นตอน การแก้ไขหรือพัฒนาปรับปรุง ให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย และเพื่อลด ผลกระทบที่จะเกิดกับสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด ตาม รายละเอียดซึ่งท่านสามารถศึกษาได้ จากรายงานการพัฒนาความ ยั่งยืนปี 2557 ทั้งนี้ ในฐานะประธานกรรมการ ผมมีความเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า เอไอเอสจะสามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่องในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง อย่างก้าวกระโดดนี้ โดยจะเป็นบริษัทที่มีส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อน ประเทศไทยให้มีความทัดเทียมกับนานาประเทศ เพื่อประโยชน์ของ คนไทยในอนาคตสืบไป

คุณวิทิต ลีนุตพงษ์

ประธานกรรมการ


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ในวันที่ 1 กรกฎาคม ที่ผ่านมาผมได้รับการแต่งตั้งให้มาเป็น CEO ต่อจากคุณวิเชียร เมฆตระการ โดยนโยบายหลักของผมที่จะพาองค์กร ของเราให้เติบโตไปข้างหน้าอย่างยั่งยืนคือการเปลี่ยนแปลงตัวเองจาก Telecom Service Provider เป็น Digital Life Service Provider โดย แบ่งเป็นสามส่วนหลักทีเ่ ราต้องพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งคือ 1. โครงข่าย 3G และเทคโนโลยี 4G ทีก่ ำ� ลังรอการประมูล 2. ธุรกิจ Fixed Broadband ที่ เราจะเริม่ เปิดให้บริการเต็มรูปแบบในต้นปี 2558 และ 3. Digital Content ต่างๆทีเ่ ราจะร่วมมือกับพันธมิตรเพือ่ ให้บริการของเราตอบโจทย์ลกู ค้า ได้มากที่สุด การที่จะท�ำให้บรรลุเป้าหมาย ผมได้วางแนวทางไว้ สามอย่าง คือ ความใส่ใจและเข้าใจลูกค้า ให้ความส�ำคัญและพัฒนาบุคลากร ในบริษทั และให้ความส�ำคัญกับพันธมิตรทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับเอไอเอส ด้วยระยะเวลาเพียง 1 ปีครึ่งที่เราได้เปิดให้บริการ 3G บนคลื่น 2.1GHz อย่างเป็นทางการ ผมมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ใน ปี 2557 เอไอเอสได้สร้างโครงข่ายคุณภาพ 3G-2.1GHz ให้มีความ ครอบคลุมทั่วประเทศ และเรายังคงวางแผนพัฒนาโครงข่ายของเรา อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการใช้งานที่หนาแน่นเพื่อให้ลูกค้า ของเราได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุด โดยในปี 2558 เอไอเอส ได้เตรียมงบลงทุนเป็นจ�ำนวน 40,000 ล้านบาท ด้วยความแข็งแกร่ง ของโครงข่าย 3G-2.1GHz ท�ำให้ในปี 2557 เอไอเอสสามารถเพิม่ ส่วนแบ่ง การตลาดเชิ ง รายได้ โ ดยมี ผ ลจากบริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นมื อ ถื อ เติบโต 57 % ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสภาวะของตลาดที่มีความต้องการใช้ บริการข้อมูลผ่านมือถือที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องท�ำให้เราคาดการณ์ ว่ารายได้จากการให้บริการจะเพิ่มขึ้น 3-4% ในปี 2558 เอไอเอสมี ความมุ่งมั่นที่จะมอบประโยชน์และบริการที่มีคุณภาพให้กับลูกค้า ในยุ ค Digital Life และหั ว ใจหลั ก ของเราคื อ ความเข้ า ใจใน ความต้ อ งการของลู ก ค้ า และสามารถมอบสิ่ ง ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการได้ ในฐานะที่ผมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย ผมมีความเชื่อมั่นว่า การประมูลคลืน่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในปี 2558 จะเป็นอีกก้าวส�ำคัญของการพัฒนา อุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย ท�ำให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงบริการ ใหม่ๆที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในยุคของ Digital Life ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คุณสมชัย เลิศสุทธิวงค์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

005


006

ข อมูลการดำเนินงานที่สำคัญ คงความเป นผู ให บร�การโทรศัพท มือถืออันดับ 1 ส วนแบ งการตลาดเชิงรายได

เพ��มข�้น จากความพร อมของโครงข าย 3G-2.1GHz

ความต องการใช งาน อินเทอร เน็ตเติบโตรวดเร็ว

52%

สัดส วนจำนวนผู ใช บร�การอินเทอร เน็ตผ านมือถือ

44% 34%

ส วนแบ งการตลาด เชิงจำนวนผู ใช บร�การ

46%

ให บร�การกว า 44 ล านเลขหมาย

สัดส วนรายได ที่มาจาก บร�การอินเทอร เน็ตผ านมือถือ

21%

2557 2556

ปร�มาณการใช งานดาต า เพ��มข�้น 3 เท า ใน 1 ป ปร�มาณการใช งานดาต า (เมกะไบต /เลขหมาย/เดือน)

ครอบคลุม

97%

2556

รายได บร�การอินเทอร เน็ต ผ านมือถือ เติบโตก าวกระโดด

33% โครงข ายคุณภาพ 3G-2.1GHz

2557

ของประชากร หลังให บร�การเพ�ยง 1.5 ป

1,600MB 620MB

2557 2556


/

007

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ข อมูลทางการเง�นที่สำคัญ

รายได ยงั คงเติบโต แม วา เศรษฐกิจชะลอตัว

EBITDA เติบโตจากผูใ ช บร�การ 3G เพ�ม� ข�น้

รายได จากการให บร�การ* (ล านบาท)

EBITDA (ล านบาท)

112,435

116,556

2555

2556

117,990 2557

61,437

63,691

2555

2556

66,428 2557

* ไม รวมค าเชื่อมโยงโครงข าย

การดำเนินธุรกิจยังสร างผลกำไร อย างสม่ำเสมอ

ลงทุนโครงข าย 3G อย างต อเนือ่ ง ตอบสนองการใช งานทีส่ งู ข�น้

กำไรสุทธิ (ล านบาท)

งบลงทุน (ล านบาท)

34,884

36,274

2555

2556

36,033 2557

9,598

28,460

2555

2556

จ ายป�นผลไม นอ ยกว า 100% ของกำไรสุทธิ

ฐานะการเง�นยังคงแข็งแกร ง แม มกี ารลงทุนสูงข�น้

เง�นป�นผล (บาท/หุ น)

หนี้ส�นสุทธิต อ EBITDA (เท า)

10.9

12.2

12.0

2555

2556

2557

เง�นสดสุทธิ 2555

32,562 2557

0.14

0.28

2556

2557


008

ว�สัยทัศน

เป นผู นำสร างสรรค ตลาดการส�่อสาร โทรคมนาคมในประเทศไทย และมุ งหมาย ที่จะเป นผู ให บร�การเทคโนโลยีดิจ�ทัล ที่ได รับการยอมรับสูงสุด

พันธกิจ

• เอไอเอสมุ งมั่นที่จะส งมอบบร�การที่เหนือกว าและสร าง นวัตกรรมที่ส งเสร�มการดำเนินชีว�ตประจำวันของผู ใช บร�การให ดีข�้น • เอไอเอสมุ งมั่นใส ใจบร�การลูกค า เพ�่อสร างความผูกพัน กับผู ใช บร�การ • เอไอเอสมุ งมั่นที่จะเสร�มสร างวัฒนธรรมการทำงานที่กระฉับ กระเฉงให บุคลากรมีความเป นมืออาชีพและมีแนวคิดในการ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจ เพ�่อการเติบโตขององค กร • เอไอเอสมุ งมั่นในการพัฒนาสู ความยั่งยืนและสร างคุณค า ร วมกับสังคมด วยการใส ใจดูแลผลประโยชน อย างเป น ธรรมต อผู มีส วนได ส วนเส�ยของบร�ษัททุกกลุ ม


/

009

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 100 ของ ก�ำไรสุทธิตามงบการเงินรวม โดยจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผล ให้แก่ผู้ถือหุ้นปีละ 2 ครั้ง ครั้งแรกเป็นเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่ ง พิ จ ารณาจากผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ในงวดครึ่ ง ปี แ รก ซึ่งต้องผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และรายงานต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในครั้งถัดไป ส่วนการจ่ายเงินปันผลครั้งที่สองเป็น เงินปันผลประจ�ำปีซึ่งพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของบริษัท ในงวดครึ่งปีหลัง และต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ทัง้ นี้ การจ่ายเงินปันผลในทุกกรณี จะขึน้ อยูก่ บั กระแสเงินสดและ แผนการลงทุน รวมถึงความจ�ำเป็นและความเหมาะสมอื่นๆในอนาคต ของบริษัท และ/หรือบริษัทย่อย และการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะ ต้องไม่เกินก�ำไรสะสมทีป่ รากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั และ/หรือ มีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานปกติของ บริษัทและบริษัทย่อย

ส� ำ หรั บ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่ อ ยจะพิ จ ารณาจาก ผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย สถานะการเงินและปัจจัยส�ำคัญ อื่นของบริษทั ย่อยนัน้ ๆ ข้อมูลการจ่ายเงินปันผลของบริษัทในรอบ 5 ปี มีดังนี้

รายละเอียด

การจ่ายเงินปันผล (บาท : หุ้น) 1. เงินปันผลระหว่างกาล 2. เงินปันผลประจ�ำปี 3. เงินปันผลพิเศษ อัตราส่วนการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ

2553

2554

2555

2556

2557

12.92 3.00 3.92 6.00 187%

8.43 4.17 4.26 - 113%

10.90 5.90 5.00 - 93%

12.15 6.40 5.75 - 99.58%

12.00 6.04 5.96 99.01%


010

ธุรกิจของเรา


/

011

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส เป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเคลือ่ นที่ โดยประกอบธุรกิจหลัก ได้แก่ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นประเทศ บริการโทรออกระหว่างประเทศ และ บริการโรมมิง่ ต่างประเทศ ในปี 2557 เอไอเอสให้บริการลูกค้า กว่า 44 ล้านเลขหมาย และมีสว่ นแบ่งการตลาดในเชิงรายได้ 52% และ ในปี 2558 เอไอเอสจะเปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพือ่ ทีจ่ ะสามารถบริการลูกค้าในรูปแบบ Convergence ได้และตอบรับ พฤติกรรมการใช้งานของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไปในยุคดิจทิ ลั

นโยบายหลั ก ของเอไอเอสเพื่ อ พั ฒ นาธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น คื อ การปรับเปลีย่ นองค์กรจาก “ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที”่ เป็น “ผูใ้ ห้ บริการด้านดิจิทัลไลฟ์” เพื่อสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของการ ด�ำเนินชีวติ ของผูค้ นในปัจจุบนั ทีเ่ ข้าสู่ ยุคดิจทิ ลั โดยเอไอเอสจะเน้น การด�ำเนินงานผ่าน 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1. บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ โดยการขยายและพัฒนาโครงข่าย 3G และ 4G เพือ่ รองรับ การเติบโตของปริมาณการใช้ดาต้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2. การ ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพือ่ ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภคในการเชื่อมต่อภายในที่อยู่อาศัย 3. ดิจิทัลคอนเทนต์ ปัจจุบนั เอไอเอสเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีบ่ นระบบเทคโนโลยี โดยเอไอเอสจะจั บ มื อ กั บ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ มี 2G และ 3G โดยให้บริการ 2G บนคลืน่ ความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ การสร้างสรรค์บริการคอนเทนต์ใหม่ๆในรูปแบบดิจิทัล เช่น เกมส์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ตามสัญญาร่วมการงานทีม่ กี บั ทีโอทีและกสท ธุรกรรมทางการเงิน และ M2M เป็นต้น ซึง่ มีสญั ญาถึงปี 2558 และ 2556* ตามล�ำดับ และให้บริการ 3G บน คลืน่ ความถี่ 2100 เมกะเฮิรตซ์ โดยได้รบั ใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึง่ ได้รบั อนุญาตถึงปี 2570 โดยปัจจุบนั เอไอเอสให้บริการ 3G ครอบคลุมทัว่ ประเทศไทย หรือคิดเป็น 97% ของจ�ำนวนประชากร และเรายังคงมุ่งมั่นที่จะเพิ่มจ�ำนวนสถานีฐานเพื่อรองรับการเติบโต ของการใช้งานบริการข้อมูล

ผใู หบ รก� ารโทรศพั ท เ คล อ�่

ผู ให บร�การ ด านดิจ�ทัลไลฟ

ดิจ�ท ัล

ามเรว็ สงู ต็ คว รเ น ทอ

อนิ เ

ี่ นท

ค อ น เ ท น ต

*หมายเหตุ: การให้บริการบนคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ ตามสัญญาร่วมการงานสิ้นสุดในปี 2556 แต่กสทช. ขยายมาตรการคุ้มครองชั่วคราวในการให้บริการต่อไปเป็นการชั่วคราวถึง กรกฎาคม 2558


012

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการ ที่สำ�คัญในปี 2557 มกราคม

เมษายน

• เอไอเอส 3G 2100 จับมือกับบริษัทการสื่อสารโทรคมนาคม และไปรษณีย์พม่าเปิดให้บริการดาต้า โรมมิ่งในประเทศพม่าเป็น รายแรกในโลก • เอไอเอสร่วมกับผู้ให้บริการมือถือชั้นน�ำ ใน 11 ประเทศ จัดตั้ง “เครือข่าย M2M” (Machine to Machine) ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟิก เพื่อให้บริการ M2M แบบ “One Stop Shop” ที่ครบวงจร ให้กับลูกค้าในกลุ่มประเทศสมาชิก

• เอไอเอส กลุ่มสิงค์เทล และซัมซุง ประกาศความร่วมมือระดับ ภูมิภาคในด้านแผนการค้าปลีกที่ให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อมือถือ ซัมซุงพร้อมแพ็คเกจการใช้งานของเอไอเอสหรือเครือสิงค์เทล ในร้ า นซั ม ซุ ง หรื อ การเรี ย กเก็ บ ค่ า ซื้ อ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ซั ม ซุ ง ผ่านใบแจ้งหนี้ค่าโทรศัพท์สำ� หรับลูกค้ารายเดือน หรือ หักออกจาก ยอดเงินในโทรศัพท์ส�ำหรับลูกค้าเติมเงิน รวมทั้งร่วมกันพัฒนา โมบายแอพพลิเคชั่นที่ตอบโจทย์ความต้องการและไลฟ์สไตล์ของ ลูกค้าแต่ละภูมิภาค ซึ่งจะลงไว้บนหน้าจอมือถือซัมซุง ท�ำให้ลูกค้า ไม่ต้องเข้าไปดาวน์โหลดเอง

กุมภาพันธ์

• เอไอเอส 3G รายเดือน ออกนวัตกรรม MULTISIZE SIM ซิมใหม่ ที่มีความพิเศษและแตกต่างจากซิมปกติในตลาด เพราะสามารถ พฤษภาคม • เอไอเอส ประกาศความส�ำเร็จการขยายเครือข่าย AIS 3G 2100 ใช้งานได้กับ สมาร์ทดีไวซ์ ทุกประเภทและทุกรุ่น ครอบคลุมทั่วประเทศและมากกว่าโครงข่าย 2G เดิม โดยเป็ น โอเปเรเตอร์รายแรกที่ใช้เวลาเพียง 1 ปีในการพัฒนาโครงข่ายให้ มีนาคม • เปิดตัว “AIS mPAY Rabbit Shop” บนสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ครอบคลุมดังกล่าว ซึ่งเร็วกว่าข้อก�ำหนดของคณะกรรมการกิจการ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ลกู ค้าสามารถเปลีย่ นใช้ซมิ ปัจจุบนั ให้เป็น กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซิม Rabbit หรือซื้อเครื่องมือถือที่รองรับการใช้งาน AIS mPay มิถุนายน Rabbit โดยปัจจุบัน เปิดให้บริการแล้วใน 5 สถานี ได้แก่ สถานี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, สยาม, ช่องนนทรี, พญาไท และศาลาแดง • เอไอเอสและกลุม่ สิงค์เทล เปิดตัว “AIS Future Cube” ทีศ่ นู ย์การค้า • เอไอเอส เปิดตัวแคมเปญ “AIS Let’s Goal Brazil 2014” ให้ลูกค้า เซ็นทรัลเวิลด์ ให้ผู้ใช้บริการสัมผัสประสบการณ์ในการติดต่อสื่อสาร เอไอเอสทีม่ แี พ็คเกจดาต้า 199 บาทขึน้ ไปสามารถรับชมฟุตบอลโลก เสมื อ นจริ ง แบบ 3D แม้ ว ่ า ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารจะอยู ่ กั น คนละสถานที่ แบบสดๆ บนมื อ ถื อ ได้ ฟ รี ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ครบทั้ ง 64 แมทช์ • เอไอเอส จับมือ เอ็กซ์เซกคิวทีฟ ซีนิม่า เปิดตัวโรงภาพยนตร์ ระดับ 6 ดาว “เอ็มบาสซี่ ดิโพลแมทสกรีน” ยกระดับประสบการณ์ โดยไม่ต้องสมัครแพ็คเกจเพิ่ม ความบันเทิงให้แก่คนไทย โดยลูกค้าเอไอเอสและพันธมิตรจะได้รับ สิทธิพิเศษและส่วนลดเพิ่มเติม • เอไอเอส 3G 2100 มอบสิทธิพิเศษให้ลูกค้าที่มีแพ็คเกจดาต้า 199 บาทขึ้นไป สามารถชมการถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก บนมือถือ บนแอพพลิเคชั่น “AIS ON AIR” ครบ 64 แมทช์ ด้วยความคมชัดระดับ HD • คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั แิ ต่งตัง้ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ให้ดำ� รง ต�ำแหน่งกรรมการและกรรมการบริหารแทนนายวิเชียร เมฆตระการ ซึ่งขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนด


/

013

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

กรกฎาคม

พฤศจิกายน

• คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั แิ ต่งตัง้ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ให้ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารแทน นายวิเชียร เมฆตระการ ซึ่งขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนด • เอไอเอส เปิดตัว “เซเรเนด เอมเมอรัลด์” ส�ำหรับลูกค้าบุคคลที่ มียอดค่าใช้บริการ 900 บาทต่อเดือนขึ้นไป หรือลูกค้าที่สามารถ จับกลุม่ สูงสุด 3 ราย และมีคา่ ใช้บริการรวมกันตัง้ แต่ 900 บาทขึน้ ไป ได้สมั ผัสประสบการณ์จากบริการเซเรเนด และขยายความร่วมมือกับ พาร์ทเนอร์ด้านสิทธิพิเศษ กว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ

• เอไอเอส เปิดตัว “YOU! Mobile” นวัตกรรม การให้บริการมือถือออนไลน์แนวคิดใหม่ เป็นรายแรก ในโลกทีล่ กู ค้าระบบเติมเงินสามารถออกแบบแพ็คเกจ และสลับค่าโทร-ค่าเน็ตไปมาได้เองตลอดเวลา • เอไอเอส เปิดศูนย์คอลล์เซ็นเตอร์ผู้พิการเพิ่มอีกเป็นแห่งที่ 5 ณ จังหวัดหนองคาย เพือ่ ยืนยันความสามารถ และศักยภาพของผูพ้ กิ าร โดยพร้อมที่จะสนับสนุนและสร้างงานแด่ผู้พิการอย่างต่อเนื่อง • เอไอเอสร่วมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) เปิดตัวโครงการ “Digital Life by AIS @ABAC” และแอพพลิเคชัน่ “ABAC Connect” ที่ให้นักศึกษาสนทนากันเป็นกลุ่มได้โดยไม่จ�ำกัดจ�ำนวนสมาชิก รวมทั้งเปิดบริการ AIS Wifi ให้ชาว ABAC ใช้งานได้เต็มพื้นที่และ ในทุกวิทยาเขต • เอไอเอส เปิดตัว “Roam Fair” ระบบงานบริการทีจ่ ะคืนเงินค่าแพ็คเกจ ให้โดยอัตโนมัติส�ำหรับลูกค้าทั้งระบบรายเดือนและเติมเงินที่สมัคร แพ็คเกจทุกประเภททัง้ บริการเสียงและบริการข้อมูล แต่ไม่ได้ใช้งาน • เอไอเอส จับมือ อุค๊ บี เดินหน้าขยายตลาด e-book เปิดขาย หนังสือ พูดได้ (Audio Book) เป็นครั้งแรกในประเทศไทยบนแอพพลิเคชั่น AIS Bookstore เพือ่ มอบประสบการณ์ใหม่ในการอ่านหนังสือออนไลน์ ธันวาคม

• เอไอเอส เอาใจนักเดินทางในช่วงเทศกาลท่องเที่ยวปลายปี ด้วย การเพิ่มจ�ำนวนประเทศในการให้บริการดาต้าโรมมิ่งถึง 80 ประเทศ • เอไอเอส ลงนามความร่วมมือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับธนาคาร เพื่อให้ลูกค้าสามารถเล่นเน็ตไม่อั้นด้วยแพ็คเกจ “Unlimited Data ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) เปิดตัวบริการ “Beat Banking” บริการ Roaming” ได้ครอบคลุมมากทีส่ ดุ พร้อมด้วยบริการ “AIS No Worry ธนาคารรูปแบบใหม่บนมือถือที่ยกระดับการท�ำธุรกรรมทางการ Data Roaming” เพื่อให้ลูกค้าสบายใจจากปัญหาเน็ตรั่ว เงินให้เกิดความสะดวกสบายมากขึ้น พร้อมด้วยสิทธิประโยชน์จาก บริการเงินฝากอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี มากกว่า ออมทรัพย์ปกติ นอกจากนี้ ลูกค้ายังสามารถช�ำระค่าใช้จ่ายต่างๆ โอนเงิน หรือถอนเงินได้ตลอด 24 ชั่วโมง • เอไอเอส ลงนามความร่วมมือกับ ไมโครซอฟท์ เพื่อให้บริการ “คลาวด์ แพลตฟอร์ม สาธารณะ” (Public Cloud Platform) แก่ลกู ค้า องค์กรและผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในราคาประหยัดและปลอดภัยกับการบริหารจัดการ IT Infrastructure ด้วยมาตรฐานระดับโลกจากไมโครซอฟท์ สิงหาคม

กันยายน

• เอไอเอส ประกาศความร่วมมือกับม็อกซ์ทร่า เพื่อให้บริการ “Mobile Collaboration Tools by Moxtra” ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วย ให้ลูกค้าองค์กรและผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สามารถสือ่ สารธุรกิจ แบ่งปันข้อมูล และท�ำงานร่วมกัน ผ่านอุปกรณ์ สื่อสารเคลื่อนที่แบบครบวงจร


014

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ รางวัลด้านความไว้วางใจในแบรนด์

• “รางวัล Superbrands 2014” โดยสถาบันซุปเปอร์แบรนด์ จากการที่ • “รางวัลองค์กรที่มีมูลค่าแบรนด์สูงสุด” ประจ�ำปี 2557 ส�ำหรับ

เอไอเอสได้รบั การยอมรับจากผูบ้ ริโภคให้เป็นสุดยอดแบรนด์คณ ุ ภาพ กลุ่มเทคโนโลยี จากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์ ที่ผู้บริโภคเชื่อมั่นและไว้วางใจ โดยเอไอเอสเป็นบริษัทผู้ให้บริการ มหาวิทยาลัย โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ายเดียวที่ได้รับรางวัลนี้

• “รางวัลองค์กรที่แข็งแกร่งและทรงพลังที่สุดในกลุ่มสินค้า Mobile • รางวัล “The Most Innovative Implementation of Automatic Network” จากคณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี จุ ฬ าลงกรณ์ Service in IVR 2014” ในระดับเอเชียแปซิฟิก จาก AVAYA User

มหาวิทยาลัย

Conference ประเทศสหรัฐอเมริกา และรางวัล “Best Customer Experience Management of the Year 2013” จากสถาบัน Asia Pacific Customer Service Consortium (APCSC) ประเทศฮ่องกง


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

015

รางวัลด้านการบริหารและผลการด�ำเนินงาน

• รางวัล “ผูใ้ ห้บริการด้านการสือ่ สารและโทรคมนาคมดีเด่น และรางวัล ผูใ้ ห้บริการด้านโทรศัพท์เคลือ่ นทีด่ เี ด่นแห่งประเทศไทย” ประจ�ำปี 2014 จากบริษทั ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน บริษทั ด้านการวิจยั ทางการตลาด และที่ปรึกษาด้านธุรกิจและการลงทุนชั้นน�ำระดับโลก

• รางวั ล บริ ษั ท จดทะเบี ย นด้ า นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ย อดเยี่ ย ม (Best Investor Relations Awards) งาน SET Awards 2014 จัด โดยตลาดหลักทรัพย์ร่วมกับวารสารการเงินการธนาคาร ซึ่งได้รับ ติดต่อกันมาตั้งแต่ปี 2012 ท�ำให้ในปีนี้เราได้รับ “รางวัลเกียรติยศ แห่งความส�ำเร็จ ” (SET Award of Honor) ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งมอบให้แก่หน่วยงานของ บริษัทที่แสดงถึงความเป็นเลิศต่อเนื่องติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปีซ้อน

• รางวัลยอดเยี่ยม จากโครงการขับเคลื่อนธุรกิจ ประเภทระบบ • รางวัลบริษทั ยอดเยีย่ มแห่งปี 2557 (Best Public Companies 2014) การคิดเงินแบบออนไลน์ควบคุมความเร็วและแจ้งเตือนอัจฉริยะ เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน และบริษัทยอดเยี่ยมแห่งปี 2557 ของกลุ่ม ส� ำ หรั บ ระบบมาตรฐานโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ยุ ค ที่ 3 Supernova อุตสาหกรรมเทคโนโลยี จากวารสารการเงินธนาคาร (Thailand’s ICT Excellence Awards) และโครงการนวัตกรรม อิ ค วิ น อคแอพพลิ เ คชั่ น แพลตฟอร์ ม อั จ ฉริ ย ะส� ำ หรั บ พั ฒ นา ระบบประมวลผลบนโครงข่ายมือถือและไอทีที่มีประสิทธิภาพสูง จากสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย


016

โครงสร างการถือหุน บร�ษทั แอดวานซ อินโฟร เซอร วส� จำกัด (มหาชน) บร�ษทั แอดวานซ อินโฟร เซอร วส� จำกัด (มหาชน) ทุนจดทะเบียน 4,997.46 ล านบาท และ ทุนชำระแล ว 2,973.10 ล านบาท

99.99%

99.99%

99.99%

99.99%

บร�ษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จำกัด

บร�ษัท แอดวานซ เอ็มเปย จำกัด

บร�ษัท แอดวานซ เมจ�คการ ด จำกัด

บร�ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด

ให บร�การข อมูลทางโทรศัพท

ให บร�การชำระส�นค าและบร�การ ผ านโทรศัพท เคล�่อนที่แทนการ ใช เง�นสดหร�อบัตรเครดิต

จำหน ายบัตรแทนเง�นสด (Cash Card)

ให บร�การโทรศัพท ระหว างประเทศ ทุนจดทะเบียน

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

272 ล านบาท

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

300 ล านบาท

99.99%

99.99%

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

250 ล านบาท

บร�ษัท ไมโม เทค จำกัด

บร�ษัท ดิจ�ตอล โฟน จำกัด

ให บร�การโทรคมนาคม บร�การโครงข าย โทรคมนาคม และบร�การระบบคอมพ�วเตอร โดยป�จจ�บัน AWN ได รับใบอนุญาตให บร�การ อินเทอร เน็ต (ISP) แบบที่ 1 และใบอนุญาต ให บร�การโทรคมนาคมแบบที่ 3 และใบอนุญาต ให ใช คล�่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรต จาก กสทช.

พัฒนาระบบข อมูลสารสนเทศ (IT) และบร�การรวบรวมข อมูลบน โทรศัพท เคล�่อนที่ (Content Aggregator)

ให บร�การโทรศัพท เคล�่อนที่ ระบบ GSM 1800

1,350 ล านบาท

50 ล านบาท

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

ทุนเร�ยกชำระแล ว

100 ล านบาท

98.55%

บร�ษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จำกัด

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

200 ล านบาท

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

3,655.47 ล านบาท

51.00%1) บร�ษัท แอดวานซ ดาต าเน็ทเวอร ค คอมมิวนิเคชั่นส จำกัด

ให บร�การส�่อสารข อมูลผ านเคร�อข าย สายโทรศัพท และสาย Optical Fiber

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

957.52 ล านบาท

หมายเหตุ : 1) ส่วนที่เหลือร้อยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้งกัน 2) ขั้นตอนการยกเลิกบริษัท แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น จ�ำกัด ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2557 เมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2557 ปัจุจบันอยู่ระหว่างกระบวนการช�ำระบัญชี 3) ปัจุจบันกระบวนการช�ำระบัญชีและกระบวนทางกฎหมายเพื่อยกเลิก บริษัท โมบาย บรอดแบนด์ บิสชิเนส จ�ำกัด และ บริษัท แอดวานซ์ โมบาย บรอดแบนด์ จ�ำกัด ซึ่งบริษัทได้เคยแจ้งมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2556 นั้น ได้ดำ� เนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว 4) บริดจ์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (BMB) ได้ลดทุนจดทะเบียนจาก 23 ล้านหุ้น เป็น 9 ล้านหุ้น และทุนช�ำระแล้วจาก 23 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็น 9 ล้านเหรียญสหรัฐ ตามข้อมูล ณ วันที่ 14 พ.ย. 2557 จาก Accounting and Corporate Regulatory Authority (ACRA) ทั้งนี้การลดทุนดังกล่าวไม่กระทบ สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทแต่อย่างใด 5) เมื่อวันที่ 16 ก.ย. 2557 บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด ได้โอนหุ้นที่เข้าร่วมทุนกับบริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จ�ำกัด ทั้งหมดร้อยละ 29 ให้แก่ บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด 6) จดทะเบียนเพิ่มทุนจาก 1 ล้านบาท เป็น 15 ล้านบาท เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558


/

017

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ณ วันที่ 19 มกราคม 2558

99.99%

99.99%

99.99%

99.98%

บร�ษัท ซุปเปอร บรอดแบนด บร�ษัท ไวร เลส ดีไวซ เน็ทเวอร ค จำกัด ซัพพลาย จำกัด

บร�ษัท แอดวานซ บร�ษัท แฟกซ ไลท จำกัด 2) อินเทอร เน็ต เรโวลูชน่ั จำกัด

ให บร�การโทรคมนาคมระหว างประเทศ และบร�การโครงข ายโทรคมนาคม ระหว างประเทศ เช น บร�การชุมสาย อินเทอร เน็ตระหว างประเทศ เป นต น

นำเข าและจัดจำหน ายโทรศัพท เคล�่อนที่ อุปกรณ โทรคมนาคม

ให บร�การอินเทอร เน็ต

จัดหา และ/หร�อ ให เช า ที่ดิน อาคาร และ ส��งอำนวยความสะดวกต างๆ ที่จำเป น ต อการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

300 ล านบาท

50 ล านบาท

99.98%

ทุนจดทะเบียน

50 ล านบาท ทุนเร�ยกชำระแล ว

12.5 ล านบาท

10.00%

20.00% บร�ษัท ศูนย ให บร�การคงส�ทธิ เลขหมายโทรศัพท จำกัด

ป�จจ�บันยังมิได ประกอบธุรกิจ

ให บร�การเกี่ยวกับเคร�อข ายโทรศัพท เคล�่อนที่ในภาคพ�้นเอเชียแปซิฟ�ค เพ�่อให บร�การเคร�อข ายโทรคมนาคม ระหว างประเทศ

ศูนย ให บร�การระบบสารสนเทศและ ฐานข อมูลกลาง ประสานงาน การโอนย ายผู ให บร�การโทรคมนาคม เพ�่อการคงส�ทธิเลขหมายโทรศัพท (Mobile Number Portability:MNP)

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

ทุนจดทะเบียนและเร�ยกชำระแล ว

29.00%

ให เช าโครงข ายส�อ่ สัญญาณโทรคมนาคม

1 ล านบาท

บร�ษทั แอดวานซ บรอดแบนด บร�ดจ โมบาย พ�ทอี ี แอลทีดี เน็ทเวอร ค จำกัด 5)

บร�ษทั อินฟอร เมชัน่ ไฮเวย จำกัด

240 ล านบาท

15 ล านบาท 6)

9 ล านเหร�ยญสหรัฐ 4)

2 ล านบาท


018

โครงสร างการถือหุน กลุม อินทัช บร�ษัท อินทัช โฮลดิ�งส จำกัด (มหาชน) 1),2) บร�ษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร ว�ส จำกัด (มหาชน) 2)

40.45%

บร�ษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน)2)

ดาวเทียม

โทรศัพท ในต างประเทศ

บร�ษทั แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จำกัด

99.99%

บร�ษทั ไอพ�สตาร จำกัด

100%

บร�ษทั เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พ�ทอี ี ล�มเิ ต็ด1)

51%

บร�ษทั แอดวานซ ดีไวซ ซัพพลาย จำกัด

99.99%

บร�ษทั ไอพ�สตาร นิวซีแลนด จำกัด

100%

บร�ษทั ลาว เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส จำกัด

49%

บร�ษทั แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จำกัด

99.99%

บร�ษทั ไอพ�สตาร ออสเตรเล�ย พ�ทวี าย จำกัด

100%

บร�ษทั แอดวานซ เอ็มเปย จำกัด

99.99%

บร�ษทั โอไรอ อน แซทเทลไลท ซิสเทม พ�ทวี าย จำกัด

100%

บร�ษทั แอดวานซ เมจ�คการ ด จำกัด

99.99%

บร�ษทั ไอพ�สตาร อินเตอร เนชัน่ แนล พ�ทอี ี จำกัด

100%

บร�ษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด

99.99%

บร�ษทั ไอพ�สตาร โกลเบิล เซอร วส� จำกัด

100%

บร�ษทั ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จำกัด 99.99%

บร�ษทั ไอพ�สตาร เจแปน จำกัด

100%

บร�ษทั ไมโม เทค จำกัด

99.99%

บร�ษทั สตาร นิวเคล�ยส จำกัด

100%

บร�ษทั แฟกซ ไลท จำกัด

99.98%

สเปซโคด แอล แอล ซี

บร�ษทั แอดวานซ อินเทอร เน็ต เรโวลูชน่ั จำกัด3) 99.99%

บร�ษทั ทีซี บรอดคาสติง� จำกัด

บร�ษทั แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จำกัด 99.98%

บร�ษทั อินเตอร เนชัน่ แนล แซทเทลไลท จำกัด

บร�ษทั อินฟอร เมชัน่ ไฮเวย จำกัด บร�ษทั ดิจต� อล โฟน จำกัด บร�ษทั แอดวานซ ดาต าเน็ทเวอร ค คอมมิวนิเคชัน่ ส จำกัด

70% 99.99% 100%

29% 98.55% 51%

บร�ษทั ศูนย ให บร�การคงส�ทธิ เลขหมายโทรศัพท จำกัด

20%

บร�ดจ โมบาย พ�ทอี ี แอลทีดี

10%

ธุรกิจส�อ่ สารโทรคมนาคมไร สายในประเทศ

ธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต างประเทศ


/

019

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

41.14% อินเทอร เน็ตและส�่ออื่น 24%

บร�ษัท แมทช บอกซ จำกัด 5)

99.96%

บร�ษัท อุ คบี จำกัด

22.26%

บร�ษัท ไอ.ที.แอพพล�เคชั่นส แอนด เซอร ว�ส จำกัด

99.99%

บร�ษัท คอมพ�วเตอร โลจ� จำกัด

25.01%

บร�ษัท อินทัช มีเดีย จำกัด

99.99%

บร�ษทั เทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด (มหาชน) 99.99%

บร�ษัท ทัช ทีว� จำกัด

99.99%

บร�ษัท เอดี เวนเจอร จำกัด (มหาชน)

99.99%

กิจการร วมค า กันตนาและอินทัช

บร�ษัท แคมโบเดียน ดีทีว� เน็ตเว�ร ค จำกัด

100%

บร�ษัท ดีทีว� เซอร ว�ส จำกัด

99.99%

บร�ษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำกัด (มหาชน)2)

42.07%

บร�ษัท เมดิเทค โซลูชั่น จำกัด

บร�ษัท ไอทีว� จำกัด (มหาชน) 4) บร�ษัท อาร ตแวร มีเดีย จำกัด

50%

52.92% 99.99%

หมายเหตุ : 1) Holding Company 2) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) อยู่ระหว่างการช�ำระบัญชีบริษัท 4) คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีมติเพิกถอนหุ้นสามัญของ ITV จากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2557 เป็นต้นไป ปัจจุบัน ITV ยังคงมีคดีความกับส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีที่ยังอยู่ในกระบวนการ พิจารณาจากสถาบันอนุญาโตตุลาการ 5) แมทช์บอกซ์มีแผนที่จะยุติการด�ำเนินงาน เนื่องจากประสบปัญหาขาดทุนจากการด�ำเนินงาน อย่างต่อเนื่อง

ธุรกิจอืน่ ๆ Venture Capital

อืน่ ๆ


020

รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรกของเอไอเอส รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2557 (วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดเพื่อสิทธิในการได้รับเงินปันผล) ล�ำดับ

รายชื่อผู้ถือหุ้น

จ�ำนวน (หุ้น)

% ถือหุ้น

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED STATE STREET BANK EUROPE LIMITED HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED THE BANK OF NEW YORK MELLON ส�ำนักงานประกันสังคม (2 กรณี) CHASE NOMINEE LIMITED 15 รวม

1,202,712,000 693,359,000 152,130,471 78,659,800 50,852,638 50,122,604 42,596,730 39,940,300 26,570,900 26,308,489 2,363,252,932

40.45 23.32 5.12 2.65 1.71 1.69 1.43 1.34 0.89 0.88 79.49

ที่มา : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการก�ำหนดนโยบายการจัดการหรือการด�ำเนินงานของบริษัท 1. บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ โดยผู้ถือหุ้นใหญ่ของบมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ ได้แก่

รายชื่อผู้ถือหุ้น

จ�ำนวน (หุ้น)

% ถือหุ้น

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 1) 1,334,354,825 2) 41.62 1) ข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

ส�ำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 ของบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด เป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย ถือหุ้นโดยบริษัท แอนเดอร์ตั้น อินเวสเม้นท์ พีทีอี แอลทีดี สัญชาติสิงคโปร์ ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 2) ข้อมูล ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2557

2. SingTel Strategic Investments Pte Ltd ถือหุ้นในบริษัททางตรงร้อยละ 23.31 และถือผ่าน OCBC Nominees ร้อยละ 0.01 โดยผู้ถือหุ้นของ SingTel Strategic Investments Pte Ltd ได้แก่

รายชื่อผู้ถือหุ้น

Singtel Asian Investments Pte Ltd *

% ถือหุ้น

100.00

*Singtel Asian Investments Pte Ltd ถือหุ้นโดย Singapore Telecommunications Limited ในอัตราร้อยละ 100 (ที่มา: Accounting and Corporate Regulatory Authority (ARCA), Singapore ณ วันที่ 19 มกราคม 2558)

ข้อตกลงระหว่างกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือ การบริหารงานของบริษัท โดยที่ข้อตกลง ดังกล่าวมีบริษัทร่วมลงนามด้วย - ไม่มี -


/

021

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ที่เกิดจากการให้บริการและขายผลิตภัณฑ์ของบริษัท และบริษัทในเครือให้บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์ / บริการ

ด�ำเนินการโดย

ร้อยละการถือหุน้ ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ

ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ • บริการและให้เช่าอุปกรณ์ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส และศูนย์ให้ข่าวสารทาง บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค บจ. ดิจิตอล โฟน โทรศัพท์ บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม บจ. แอดวานซ์ เอ็มเปย์ บจ. แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ • ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญา บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส อนุญาตให้ดำ� เนินการ บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์*

99.99 98.55 99.99 99.99 99.99 98.55 51.00

รวม

81.02 - 0.46 2.24 0.11 - 3.68 0.36 0.01

99,504.58 23,216.54 441.47 3,455.66 309.55 4.94 3,639.60 126.84 -

66.08 26,708.27 17.88 15.42 94,478.94 63.27 0.29 27.19 0.02 2.30 2,873.93 1.92 0.21 368.75 0.25 - 3.90 2.42 600.26 0.40 0.08 - - - -

133,379.97 87.88 130,699.18 86.80 125,061.24 83.74

การขายโทรศัพท์เคลื่อนที่ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย

99.99 99.99

รวม ธุรกิจบริการสื่อสารข้อมูล ผ่านสายโทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง

122,971.08 - 702.85 3,393.72 170.25 4.97 5,584.22 543.12 9.76

519.18 0.34 516.32 0.34 8.38 0.01 - - 3,484.89 2.31 15,877.15 10.63 17,241.80 11.36 15,113.31 10.04 7,528.74 5.04 17,760.98 11.70 19,114.52 12.69 23,414.27 15.68

บจ. แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์* บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค บจ. แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น

51.00 99.99 99.99

รวม รวมทั้งหมด หมายเหตุ : *บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จ�ำกัด เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม

260.96 0.17

155.43 0.10

24.40

0.02

308.28 0.20 75.24 0.05

416.31 0.28 192.38 0.13

786.18 42.96

0.53 0.03

644.48 0.42

764.12 0.51

853.54

0.58

151,785.43 100.00 150,577.82 100.00 149,329.05 100.00


022

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ในปี 2557 และแนวโน้มในปี 2558 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันในปี 2557

แนวโน้มตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2558

ปี 2557 ถือเป็นปีที่ 2 ที่ผู้ให้บริการในอุตสาหกรรมได้ให้บริการผ่าน คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ในระบบใบอนุญาต นอกเหนือจากคลื่น ความถี่อื่นๆ ที่อยู่ภายใต้ระบบสัญญาร่วมการงาน ท�ำให้เกิดความ พยายามอย่างต่อเนื่องในการติดต่อกับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าไปใช้งาน บนคลืน่ ความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ โดยมีการให้บริการมือถือทัง้ ในระบบ 3G และ 4G โดยมีการสนับสนุนและจูงใจให้ลูกค้าเปลี่ยนโทรศัพท์ มือถือมาเป็นโทรศัพท์ทสี่ ามารถรองรับระบบ 3G ได้ ท�ำให้การแข่งขัน มีความเข้มข้นมากขึ้นจากแคมเปญทางการตลาด โดยเฉพาะใน กลุม่ ลูกค้าระดับกลางลงไป โดยผูใ้ ห้บริการแต่ละรายได้สรรหามือถือ ในระดับราคาพันบาทเข้ามาสูต่ ลาด ซึง่ มิได้เป็นยีห่ อ้ ทีอ่ ยูใ่ นตลาดหรือ เป็นที่รู้จักมาก่อน แต่สามารถสร้างยอดขายได้เกินกว่าที่คาด ท�ำให้ สามารถทราบถึงความต้องการใช้งานของลูกค้าที่มีสูง โดยเฉพาะ การใช้งานด้านดาต้าที่เพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าตัวจากปีก่อน อย่างไรก็ตาม จากการแข่งขันดังกล่าว ท�ำให้แนวโน้มของรายได้ต่อเลขหมาย ในอุตสาหกรรมโดยเฉลี่ยลดลงไปด้วย จากการจูงใจขอผู้ให้บริการ เพือ่ ดึงส่วนแบ่งการตลาด ทัง้ การลดค่าบริการต่อหน่วยลง รวมถึงการ จับคู่ลดราคาค่ามือถือที่ผูกกับแพ็คเกจ อีกทั้งภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศในปี 2557 ที่มีผลกระทบจากด้านการเมืองในช่วงครึ่งปีแรก ท�ำให้อุตสาหกรรม โดยรวมโตน้อยกว่า 2% ซึ่งต�ำ่ กว่าช่วงหลายปี ที่ผ่านมา

แนวโน้มตลาดในปี 2558 คาดว่าจะยังคงมีการแข่งขันสูง อย่างต่อเนื่อง เนื่องด้วยความพยายามในการติดต่อกับลูกค้าเพื่อ ชักจูงให้ลูกค้าไปใช้งานบนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ และการ ท�ำการตลาดเพื่อให้มีการใช้งาน 3G เข้าถึงกลุ่มลูกค้าฐานล่าง มากขึ้น ซึ่งเป็นคนกลุ่มใหญ่ของประเทศ โดยจะมีการเน้นการ น�ำเสนอมือถือราคาถูกที่ผูกกับแพ็คเกจมากขึ้น ทั้งมือถือแบบ สมาร์ทโฟนและมือถือธรรมดาที่ไม่ใช่สมาร์ทโฟน อย่างไรก็ตาม ทิศทางการแข่งขันน่าจะมีความสมเหตุสมผล จากที่ผู้ให้บริการมี ความเข้าใจในพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้ามากขึ้น เนื่องจาก ความต้องการใช้งานของลูกค้าที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง บริษัท คาดว่าอุตสาหกรรมจะมีการลงทุนในการขยายความจุโครงข่ายเพื่อ รองรับความต้องการดังกล่าวมากขึ้น รวมไปถึงการลงทุนในธุรกิจ ด้านดิจิทัลคอนเทนต์ ซึ่งจะเป็นตัวช่วยในการตอบโจทย์ชีวิตใน ยุคดิจิทัลไลฟ์ และจะเป็นแหล่งรายได้รูปแบบใหม่ของผู้ให้บริการ

อีกส่วนส�ำคัญในอุตสาหกรรมที่มีความเคลื่อนไหวอย่างต่อ เนื่องในปีที่ผ่านมา คือด้านกฎระเบียบ โดยมีการเลื่อนการประมูล คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ในช่วงเดือน กรกฎาคมที่ผ่านมา ซึ่งก่อให้เกิดการขยายระยะเวลาการเยียวยา ของคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ออกไปจนถึงเดือนกรกฎาคม ปี 2558 เพือ่ ให้มคี วามต่อเนือ่ งในการให้บริการ การคุม้ ครองประโยชน์ สาธารณะ และคุม้ ครองผูใ้ ช้บริการให้ได้รบั ประโยชน์และใช้บริการได้ อย่างต่อเนื่อง ในระหว่างที่การจัดสรรคลื่นความถี่ยังไม่แล้วเสร็จ

นอกจากนั้น บริษัทคาดว่าช่วงกลางปี ทาง กสทช. จะสามารถ จั ด ประมู ล คลื่ น ความถี่ ที่ ถู ก เลื่ อ นออกไปได้ ทั้ ง คลื่ น ความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ที่ขณะนี้อยู่ในช่วงระยะเวลาเยียวยา และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่จะหมดอายุสัญญาร่วมการงานในเดือนกันยายน ปี 2558 การประมูลคลืน่ ดังกล่าวจะสร้างพลวัตใหม่ให้กบั อุตสาหกรรม ท�ำให้ผู้ให้บริการสามารถขยายการลงทุนในการติดตั้งโครงข่ายเพิ่ม เติมได้ โดยเน้นไปทีก่ ารให้บริการ 4G ทีย่ งั คงใหม่ในตลาด และคาดว่า จะมีสัดส่วนมือถือที่สามารถรองรับระบบ 4G ในจ�ำนวนมือถือที่ขาย ใหม่ประมาณ 10 % ในปีหน้า เสริมกับการให้บริการ 3G ที่มีอยู่เดิม โดยการลงทุ น ขยายโครงข่ า ยจากคลื่ น ความถี่ ที จ ะถู ก ประมู ล นี้ นอกจากจะท� ำ ให้ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารได้ รั บ บริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพมากขึ้ น ยังสามารถช่วยกระตุ้นการสร้างบริการ การสร้างงานและรายได้ ทั้งในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้าให้มีการเข้าถึงเทคโนโลยี และน�ำเทคโนโลยีมาพัฒนาประสิทธิภาพและขีดความสามารถใน การแข่งขัน


/

023

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจใน 3-5 ปี ภายใน 3-5 ปีข้างหน้านี้ การด�ำเนินธุรกิจโทรคมนาคมของ ประเทศไทยจะมีโฉมหน้าที่แตกต่างไปจากเดิม เนื่องจากพฤติกรรม ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปเข้าสู่ยุคดิจิทัลเพิ่มขึ้น ในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร ความบันเทิง และความต้องการในด้านต่างๆ ผ่านระบบ และโครงข่ายของผู้ให้บริการที่ง่ายและสะดวกรวดเร็ว เอไอเอส เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ และก�ำลังผัน ตัวเองไปสู่การเป็น “ผู้ให้บริการด้านดิจิทัลไลฟ์” ที่รวมเอาทุกองค์ ประกอบในการตอบสนองต่อพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ต้องเชื่อมต่อ อยูต่ ลอดเวลามาให้บริการลูกค้า ผ่านโครงข่ายคุณภาพทีเ่ ป็นฐานอัน แข็งแกร่งของเอไอเอส โดยจะเน้นการด�ำเนินงานผ่าน 3 องค์ประกอบ หลัก ได้แก่ การบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ การบริการอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ และการบริการด้านดิจิทัลคอนเทนต์

สร้างนวัตกรรมที่หลากหลายผ่านดิจิทัลคอนเทนต์

ความหลากหลายด้านดิจิทัลคอนเทนต์จะเป็นตัวขับเคลื่อน ส�ำคัญให้กบั เอไอเอสในการเป็นผูใ้ ห้บริการด้านดิจทิ ลั ไลฟ์ โดยดิจทิ ลั คอนเทนต์จะเป็นตัวกลางทีท่ ำ� ให้บริษทั สามารถสร้างรายได้รปู แบบใหม่ ต่างจากรายได้ที่เกิดจากการให้บริการเสียงหรือดาต้าโดยปกติ โดย ทางเอไอเอสจะมุง่ เน้นการจับมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ เพือ่ ส่งเสริม ให้มีการสร้างดิจิทัลคอนเทนต์ใหม่ๆ ให้ครบวงจร ตัวอย่างเช่น คอนเทนต์การรับชมฟุตบอลพรีเมียร์ลีกผ่านมือถือ หรือคอนเทนต์ การอ่านหนังสือผ่านแท็บเล็ต เป็นต้น ซึ่งเปลี่ยนรูปแบบการใช้งาน ดาต้าอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน จากแนวโน้มการใช้ดาต้าที่เติบโตขึ้น อย่างมากในปีที่ผ่านมา เป็นข้อบ่งชี้ที่ส�ำคัญที่เอไอเอสจะต้องหา คอนเทนต์เพือ่ มารองรับลูกค้าเพิม่ เติม ทัง้ ในด้านสือ่ บันเทิง เกม คลาวด์ การท�ำธุรกรรมทางการเงินผ่านมือถือ และการเชือ่ มต่อระหว่างอุปกรณ์ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีย่ งั คงเป็นแกนส�ำคัญของเอไอเอส (M2M) เป็นต้น โดยคอนเทนต์ต่างๆ จะตอบโจทย์ผู้ใช้งาน โดยการ ปัจจุบนั อัตราการใช้งานมือถือของประชากรไทยเพิม่ สูงถึง 140% เป็นตัวช่วยให้ชีวิตประจ�ำวันมีความสะดวกสบาย และง่ายมากขึ้น และยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้การให้บริการมือถือยังคงเป็นสิ่ง การด�ำเนินธุรกิจต่อจากนี้ เอไอเอสทั้งองค์กรจะมุ่งเน้นการ จ�ำเป็นเพื่อรองรับการใช้งานของลูกค้าที่เติบโตในอัตราเร่ง ซึ่งเป็น แรงผลักดันให้เอไอเอสมุ่งมั่นในการพัฒนาโครงข่าย 3G บนคลื่น เปลี่ยนแปลงใน 3 ด้านหลัก ได้แก่ 1) ด้านลูกค้า ซึ่งเป็นหัวใจหลัก 2.1 กิกะเฮิรตซ์ พร้อมเพิ่มความจุการใช้งานอยู่ตลอดเวลา อย่างไร ของการด�ำเนินกิจการของบริษทั โดยตัง้ เป้าหมายให้ลกู ค้า “หลงรัก” ก็ตาม ด้วยพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่เปลี่ยนไปนี้ ท�ำให้ เอไอเอสจากคุณภาพและบริการต่างๆ รวมถึงสิทธิพิเศษที่เอไอเอส เทคโนโลยี 4G เข้ามามีบทบาทในปัจจุบนั และจะมีบทบาทมากยิง่ ขึน้ มอบให้ด้วยความตั้งใจ 2) ด้านบุคลากร เอไอเอสจะมุ่งเน้นให้ ในอนาคตอันใกล้นี้ ซึง่ เน้นให้เห็นถึงความส�ำคัญในการน�ำคลืน่ ความถี่ พนักงานพัฒนาตนเองและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการท�ำงาน ให้ ที่ว่างมาใช้งานเพิ่มเติม โดยเฉพาะคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ มีความตื่นตัว เต็มไปด้วยจินตนาการ และท�ำงานอย่างมีความสุข และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ทีจ่ ะพร้อมส�ำหรับน�ำมาประมูลภายในปีหน้านี้ เพื่อให้เอไอเอสเป็นองค์กรชั้นน�ำที่รวบรวมเหล่ามืออาชีพในการ สร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้แก่สังคมในยุคดิจิทัลนี้ 3) ด้านพันธมิตร โดย เอไอเอสยังคงให้ความส�ำคัญกับ “Ecosystem” ซึง่ เปรียบเสมือนระบบ เสริมความแข็งแกร่งด้วยอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ นิเวศวิทยาด้านโทรคมนาคม ทีบ่ รู ณาการความสามารถของพันธมิตร ในต้นปี 2558 เอไอเอสจะก้าวเข้าสูธ่ รุ กิจการให้บริการอินเทอร์เน็ต ทางธุรกิจแต่ละรายให้เข้ากับความต้องการของลูกค้าของเอไอเอส บรอดแบนด์ทเี่ ข้าถึงครัวเรือน เพือ่ ให้การบริการสอดคล้องกับการใช้ เพือ่ ให้ทงั้ เอไอเอสและพันธมิตรทางธุรกิจเติบโตไปด้วยกันอย่างยัง่ ยืน งานของลูกค้าที่ครอบคลุมทั้งในและนอกที่อยู่อาศัย โดยเอไอเอส จะใช้ประโยชน์จากโครงข่ายใยแก้วน�ำแสง (FTTx) คุณภาพสูงที่ สิ่งเหล่านี้คือรากฐานใหม่ของเอไอเอส เพื่อการก้าวสู่การเป็น กระจายอยู่ทั่วประเทศจากการวางโครงข่าย 3G-2.1 กิกะเฮิรตซ์ องค์กรชัน้ น�ำด้านการให้บริการด้านดิจทิ ลั ไลฟ์ การเติบโตขององค์กร ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง สามารถให้ ค วามเร็ ว ในการเชื่ อ มต่ อ สู ง ทั้ ง ด้ า น ทีเ่ อไอเอสก�ำลังจะสร้างขึน้ ในอีก 3-5 ปีนี้ ถือเป็นการพัฒนาไปข้างหน้า การอัพโหลดและดาวน์โหลดข้อมูล ผนวกกับความต้องการใช้งาน ในระยะยาว โดยยึดมั่นปรัชญา Quality DNAs ที่ประกอบไปด้วย ในตลาดที่ยังมีสูง โดยธุรกิจนี้จะเป็นแหล่งรายได้สำ� คัญแก่บริษัทอีก นวัตกรรมที่ทันสมัย ผ่านโครงข่ายที่ครอบคลุมทั่วประเทศ ร่วม แหล่งหนึง่ จากการวางเป้าหมายในการเป็นหนึง่ ในผูน้ ำ� การให้บริการ กับแอพพลิเคชั่นกับการบริการที่อยู่บนพื้นฐานด้าน “คุณภาพ” ในตลาด และเป็นการเสริมความแข็งแรงแก่ธุรกิจมือถือที่เอไอเอสมี ฐานลูกค้าขนาดใหญ่ต่อไปในอนาคต


024

ผลิตภัณฑ์และบริการ ในปี 2557 เอไอเอสก้ า วเข้ า สู ่ ยุ ค 3G อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ นอกจากนี้ ในปลายปี 2557 เราได้นำ� เสนอนวัตกรรม โดยได้ขยายสถานีฐานไปทุกจังหวัดทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้นกว่า ทางสินค้าและบริการใหม่ คือ “YOU! Mobile” บริ ก ารออนไลน์ ที่ ลู ก ค้ า ซึ่ ง มี ซิ ม เติ ม เงิ น YOU! 21,300 สถานี ครอบคลุมร้อยละ 97 ของประชากร ท�ำให้ปัจจุบัน สามารถออกแบบแพ็คเกจการใช้งานของตัวเอง เรามีฐานลูกค้าของทั้งระบบเติมเงินและรายเดือนรวมทั้งสิ้นกว่า 44 รวมทัง้ สลับและปรับเปลีย่ นระหว่างการใช้งานบริการเสียงและบริการ ล้านราย โดยในจ�ำนวนนี้เป็นลูกค้าระบบเติมเงินถึงร้อยละ 89 ข้อมูลได้ด้วยตนเองตลอดเวลาโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม ในปีที่ผ่านมา เราเห็นความต้องการใช้งานบริการอินเทอร์เน็ต ผ่านสมาร์ทโฟนที่เพิ่มมากขึ้นในกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่ม เราจึงได้พัฒนา โซเชียลซิม สินค้าและบริการทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการใช้งานในรูปแบบ ด้ ว ยความนิ ย มของการติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นทางโซเชี ย ล ทีแ่ ตกต่างกันของลูกค้า ซึง่ สินค้าและบริการหลักๆ ทีส่ ำ� คัญในปีทผี่ า่ นมา แอพพลิ เ คชั่ น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เอไอเอสเล็ ง เห็ น ถึ ง โอกาสในการ สามารถสรุปได้ดังนี้ เพิ่มรายได้ เราจึงได้ออกแบบซิมการ์ดให้ตรงกับความต้องการ ใช้งาน อาทิเช่น “Unlimited Social SIM” ส�ำหรับผู้ใช้งาน เอไอเอส ซุปเปอร์คอมโบ โซเชียลแอพพลิเคชั่น “Smartphone SIM” ส�ำหรับผู้ต้องการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตบนสมาร์ทโฟน “Facebook SIM” ส�ำหรับ ผู ้ ใ ช้ ง านเฟสบุ ๊ ค ในสมาร์ ท โฟน โดยลู ก ค้ า สามารถเลื อ กซื้ อ และใช้งานซิมการ์ดที่เหมาะกับพฤติกรรมการใช้งานของตนเอง และมีความคุ้มค่า เอไอเอสต้องการสนับสนุนการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ทโฟน ที่มีคุณภาพในราคาที่คุ้มค่าเพื่อเจาะกลุ่มลูกค้าระดับกลาง จึงได้มี แนวคิดในการน�ำเสนอสมาร์ทโฟนที่รองรับเทคโนโลยี 3G ภายใต้ คอนเซ็ปต์ “เอไอเอส ซุปเปอร์คอมโบ” โดยการท�ำแบรนด์พเิ ศษระหว่าง เอไอเอสกับผู้ผลิตมือถือพร้อมกับการผูกแพ็คเกจทั้งระบบเติมเงิน และเหมาจ่ายรายเดือน การขายพ่วงแพ็คเกจและมือถือ

เนื่ อ งจากลู ก ค้ า มี ค วามต้ อ งการเปลี่ ย น โทรศัพท์มือถืออยู่เสมอ เอไอเอสจึงเล็งเห็น ถึ ง โอกาสในการขายมื อ ถื อ พร้ อ มกั บ การผู ก แพ็ ค เกจทั้ ง บริ ก ารเสี ย งและบริ ก ารข้ อ มู ล ไว้ ด ้ ว ยกั น โดยเราได้ น� ำ เสนอสมาร์ ท โฟน ที่รองรับเทคโนโลยี 3G หลากหลายระดับจากผู้ผลิตมือถือ เช่ น Apple, Samsung และ Nokia ภายใต้แคมเปญ “เอไอเอส ซุปเปอร์ดลี ” โดยลูกค้าสามารถเลือกซื้อสมาร์ทโฟนรุ่นที่ต้องการในราคาพิเศษ และเลือกแพ็คเกจที่ต้องการกับการใช้งานของตนเอง ซิมแบบเฉพาะกลุ่ม

เอไอเอสได้มีการเสนอซิมการ์ด แพ็คเกจ และบริการ ที่แตกต่าง กันสูก่ ลุม่ ลูกค้า ตามความหลากหลายของกลุม่ ลูกค้า เช่น กลุม่ นักเรียน กลุม่ ผูใ้ ช้แรงงานต่างด้าว กลุม่ นักท่องเทีย่ ว ทีม่ พี ฤติกรรมการใช้งาน ทีแ่ ตกต่างกัน เช่น การโทรหาและแชทกันในกลุม่ โดยออกผลิตภัณฑ์ “เอสคูลซิม” ส�ำหรับลูกค้าเด็กนักเรียน “ยูซมิ ” ส�ำหรับลูกค้านักศึกษา “ซิมมิงกะลาบา” ส�ำหรับลูกค้าชาวพม่า “ซิมซัวสะเดย” ส�ำหรับลูกค้า ชาวกัมพูชา และ “ทราเวลเลอร์ซมิ ” ส�ำหรับลูกค้ากลุม่ นักท่องเทีย่ ว ในไทย โดยมีการท�ำซิมการ์ด แพ็คเกจ และเพิ่มบริการเสริม ทีแ่ ตกต่างกัน เช่น การท�ำ IVR เพือ่ รองรับภาษาพม่าในซิมมิงกะลาบา

บริการโรมมิ่ง

เอไอเอสได้พัฒนาบริการโรมมิ่งอย่างต่อเนื่องทั้งในส่วนของ บริการเสียงและบริการข้อมูล โดยในปีที่ผ่านมาเราได้พัฒนาระบบ ป้องกันเน็ตรั่วและบิลช็อกอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อให้ลูกค้ามีความ สบายใจในการใช้บริการโรมมิ่งในต่างประเทศ เอไอเอสยังน�ำเสนอ แพ็คเกจโรมมิ่งที่มีความหลากหลาย ด้วยราคาที่เหมาะสมและ มีความคุ้มค่า โดยลูกค้าสามารถเลือกแพ็คเกจได้ตามการใช้งาน ในปัจจุบันเอไอเอสเปิดให้บริการโรมมิ่ง 217 ประเทศทั่วโลก


/

025

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า เอไอเอสมี ก ารพั ฒ นาบริ ก ารคอนเทนท์ แ ละแอพพลิ เ คชั่ น และประสบการณ์ลูกค้า คอนเทนต์และแอพพลิเคชั่นร่วมกับพันธมิตร

ที่หลากหลาย เพื่อตอบโจทย์การใช้งานของลูกค้าในยุคดิจิทัล และ ยังเป็นอีกหนึง่ แนวทางในการหารายได้ใหม่ โดยมีการจับมือร่วมเป็น พันธมิตรกับองค์กรชัน้ น�ำ เช่น จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ซีทเี อช อาร์เอส และ ธนาคารซีไอเอ็มบี เพือ่ น�ำเสนอคอนเทนท์พเิ ศษ และการบริการให้กบั ลูกค้า เช่น การรับชมฟุตบอลโลกสดบนมือถือ การรับชมฟุตบอล พรีเมียร์ลกี การรับชมซีรยี ช์ อื่ ดังฮอร์โมน และบริการธนาคารรูปแบบใหม่ บนมือถือ Beat - Banking เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้านความบันเทิง และความสะดวกสบายในการใช้บริการผ่านทางมือถือ

เพือ่ รองรับการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของตลาดสมาร์ทโฟน และ การใช้งาน 3G อย่างเต็มรูปแบบ เอไอเอสได้เดินหน้าพัฒนางานบริการ เพื่อยกระดับเอไอเอส ช็อป สู่การเป็น เอ็กซ์พีเรียนซ์ เซ็นเตอร์ (Experience center) โดยขยายสาขาเป็น 68 แห่งทั่วประเทศ ด้วยแนวคิดที่มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าในยุคดิจิทัล แบบวันสต็อปเซอร์วสิ ทัง้ จากพนักงานสมาร์ทกูรทู จี่ ะคอยให้ค�ำแนะน�ำ ในการใช้สินค้าและบริการ และจากนวัตกรรมงานบริการต่างๆ โดยปีนี้ เอไอเอสได้ต่อยอดนวัตกรรมงานบริการแบบ Self-service เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ลกู ค้ามากขึน้ ซึง่ นอกจากตูช้ �ำระค่าบริการ อัตโนมัติ (Payment kiosk) และโต๊ะอัจฉริยะ (Smart table)

การจ�ำหน่ายและช่องทางการจัดจ�ำหน่าย

ที่ลูกค้าสามารถสัมผัสเพื่อดูรายละเอียดของมือถือแต่ละรุ่น และ น�ำมาเปรียบเทียบกันได้อย่างเห็นภาพแล้ว เรายังเปิดตัว “ตู้บริการ อัจฉริยะ” (Service vending kiosk) เป็นรายแรกในประเทศไทย ที่ลูกค้าจะสามารถเลือกเบอร์สวย เบอร์มงคล พร้อมรับซิมใหม่ ท� ำ รายการซิ ม ใหม่ เ บอร์ เ ดิ ม หรื อ เปลี่ ย นขนาดซิ ม ส� ำ หรั บ สมาร์ทดีไวซ์รุ่นต่างๆ ด้วยตนเอง ลงทะเบียนผู้ใช้งานระบบเติมเงิน และอัพเกรดเป็น 3G ได้ทันทีส�ำหรับซิมทุกประเภท โดยปัจจุบัน ได้ขยายช่องทางตู้บริการอัจฉริยะดังกล่าวครอบคลุม เอไอเอส ช็อป ถึง 40 สาขาทั่วประเทศ นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาพนักงานให้เป็น ผู้เชี่ยวชาญอีกกว่า 251 คน โดยเน้นวัฒนธรรมปลูกฝังให้พนักงาน มีความรัก เข้าใจ ใส่ใจในการให้ความช่วยเหลือลูกค้าอย่างรอบด้าน

เอไอเอสใช้ชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่ายผ่านศูนย์บริการของเอไอเอส กว่า 55 แห่ง ร่วมกับตัวแทนจ�ำหน่ายในรูปแบบ แฟรนไชส์ ภายใต้ชอื่ “เทเลวิซ” และ “เทเลวิซพลัส” กว่า 450 แห่งทั่วประเทศ และ ตัวแทนจ�ำหน่ายค้าปลีกทั่วไปอีกกว่า 25,000 ราย ตัวแทนจ�ำหน่าย กลุม่ ร้านค้าอุปกรณ์โทรศัพท์และร้านค้าไอทีขนาดใหญ่ เช่น เจมาร์ท ทีจี บานาน่าไอที ไอทีซติ ี้ และร้านค้าปลีกสมัยใหม่ เช่น เทสโก้ โลตัส บิ๊กซี เพาเวอร์บาย และเซเว่นอีเลเว่น ซึ่งมีสาขารวมกันอีกกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ นอกจากนี้ ยังมีช่องทางการเติมเงิน ผ่านตัวแทนเติมเงินออนไลน์ เอทีเอ็ม และแอพพลิเคชั่นเอ็มเปย์ รวมทั้งสิ้นกว่า 400,000 จุด เอไอเอสมุ ่ ง เน้ น การเพิ่ ม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ ช่ อ งทาง “3G เซอร์วสิ พอยท์” ซึง่ ยกระดับจากตัวแทนค้าปลีกเดิมทีม่ ศี กั ยภาพ โดยเพิ่มจ�ำนวนจาก 500 แห่งในปีก่อน เป็น 1,000 แห่งในปี 2557 เพือ่ ให้ครอบคลุมทุกอ�ำเภอทัว่ ประเทศมากขึน้ นอกจากนี้ ที่ “เทเลวิซ” และ “เทเลวิซ พลัส” เราเปิดโอกาสให้ลูกค้าได้สัมผัสและทดลอง ใช้งานสมาร์ทโฟนยอดนิยมของจริงก่อนตัดสินใจซือ้ หรือการอ�ำนวย ความสะดวกแก่ลูกค้าที่เข้ามารับบริการด้วยระบบคิวและตู้รับช�ำระ ค่าบริการอัตโนมัติ (Payment kiosk)


026

ส�ำหรับเอไอเอส คอนแทค เซ็นเตอร์ เราได้พฒ ั นาระบบเมนูตอบรับ อัตโนมัติที่สามารถให้บริการลูกค้าแบบตรงตามกลุ่มและตามการ ใช้งาน (Dynamic IVR menu service) เช่น การออกแบบให้ระบบ สามารถแนะน�ำแพ็คเกจอินเทอร์เน็ตตามการใช้งานของลูกค้า อย่างเหมาะสม หรือการพัฒนาระบบที่จะกล่าวทักทายชื่อลูกค้า แต่ละคน (Personalized greeting) เมื่อลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ เทคโนโลยีต่างๆ ที่พัฒนาขึ้นเหล่านี้ ช่วยให้เอไอเอสสามารถรองรับ ปริมาณการติดต่อของลูกค้าเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 12 จากปีที่ผ่านมา คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 72 ของจ�ำนวนสายทั้งหมดที่ให้บริการ ขณะเดียวกัน ยังสามารถสร้างรายได้จากการสมัครใช้บริการเสริม และแพ็คเกจอินเทอร์เน็ตผ่านระบบตอบรับโนมัติเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก ่ อ น และมี ร ะดั บ ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า จาก การใช้งานระบบอัตโนมัติเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 64 เป็นร้อยละ 67

ในปีนี้ เป็นปีที่ “เอไอเอส เซเรเนด” ครบรอบ 10 ปี จึงได้เปิด มิติใหม่ของการยกระดับความพิเศษส�ำหรับลูกค้า ในอีก 2 ด้าน คือ 1. ขยายฐานการดูแลลูกค้าและมอบสิทธิพิเศษอีกระดับกับ “เซเรเนด เอมเมอรัลด์” ส�ำหรับลูกค้าทีใ่ ช้บริการตัง้ แต่ 6 เดือนขึน้ ไป ซึ่งมียอดค่าใช้บริการตั้งแต่ 900 บาทขึ้นไป และ 2. เปิดโอกาส การสัมผัสประสบการณ์พิเศษกับ “Serenade Group Privilege” ส�ำหรับลูกค้าปัจจุบันที่ยังไม่ได้เป็นเซเรเนด เพียงรวมกลุ่มกันสูงสุด 3 เลขหมาย ให้ยอดค่าใช้บริการรวมทุกเลขหมาย 3,000 บาท ขึ้นไป ส�ำหรับการอัพเกรดเป็นเซเรเนดแพลททินัม, 1,500 บาท ขึ้นไปส�ำหรับ เซเรเนดโกลด์, และ 900 บาทขึ้นไป ส�ำ หรั บ เซเรเนดเอมเมอรัลด์

นอกจากนี้ เอไอเอส ยังได้เปิด ตัว LINE Official ในชื่อ “AIS Privilege” ทีช่ ว่ ยน�ำเสนอสิทธิพเิ ศษต่างๆ ให้แก่ลกู ค้าอีกทางหนึง่ พร้อมจัดความพิเศษและกิจกรรมมอบรางวัลเป็นประจ�ำทุกเดือน อาทิ รับฟรีไอศกรีมซันเดย์ที่ร้าน McDonald’s, ฟรี Pretzel ที่ร้าน Auntie Anne’s, และฟรีเครื่องดื่มที่ร้าน Black Canyon เป็นต้น โดยปัจจุบนั “AIS Privilege” มีลกู ค้าให้การตอบรับถึง 8.06 ล้านราย เอไอเอสยังเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายแรกในประเทศไทย ทีเ่ ปิดตัวสติก๊ เกอร์ไลน์เคลือ่ นไหว (Animated sticker) “อุน่ ใจ ดุก๊ ดิก๊ ” ด้วยหวังว่าจะช่วยสร้างสีสันและมอบวิธีการส่งความสุข ความสนุก ผ่านทางโลกโซเชียลให้แก่ลกู ค้า ส�ำหรับโครงการตอบแทนการใช้งาน ให้กับลูกค้าซึ่งจัดต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 6 ปีนี้ เราได้มอบความพิเศษ ด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรมการให้บริการที่โดดเด่น ท�ำให้ปีนื้ ยิง่ ขึน้ โดยการมอบโชค 2 ชัน้ ภายใต้โครงการ “อุน่ ใจ ปี 6 โชค 2 ชัน้ เอไอเอส คอนแทคท์ เซ็นเตอร์ ได้รับรางวัล “The Most Innovative ลุ้นทองแลกพอยท์” Implementation of Automatic Service in IVR 2014” ในระดับ เอเชียแปซิฟกิ จาก AVAYA User Conference Experience ประเทศ สหรัฐอเมริกา และรางวัล “Best Customer Management of the Year 2013” สถาบัน Asia Pacific Customer Service Consortium (APCSC) ประเทศฮ่องกง


/

027

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง เอไอเอสจึงให้ความส�ำคัญกับการมีระบบบริหารจัดการความเสีย่ ง ทีด่ ี เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินงานต่อไปได้ในทุกสภาวการณ์ โดยก�ำหนด ให้มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งมีประธานกรรมการบริหาร เป็นประธาน และผู้บริหารระดับสูงจากแต่ละสายงานเป็นกรรมการ ได้มีการประชุมร่วมกันทุกไตรมาส เพื่อพิจารณาประเด็นความเสี่ยง ทีอ่ าจเกิดขึน้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญกับการด�ำเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการด�ำรงอยู่ของเอไอเอสและบริษัทในเครือ การก�ำหนดมาตรการควบคุมและบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ อันจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และการทบทวนประเด็นความเสี่ยงของ เอไอเอส โดยได้นำ� เสนอผลการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทเพื่อ รับทราบในทุกไตรมาส ทั้งนี้รายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องการบริหาร ความเสี่ยงของเอไอเอส ปรากฎอยู่ในหัวข้อ “การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน” หน้า 67

ทั้งนี้ หากการแก้ไขสัญญาร่วมการงานของบริษัท ถูกเพิกถอน อาจมีผลให้อายุสัญญาร่วมการงานสั้นลงและ/หรืออาจมีต้นทุน ในส่วนแบ่งรายได้ของบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเติมเงินที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม เอไอเอสมีความเชื่อมั่นในหลักการและเหตุผลของ การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญา โดยได้ปฏิบัติตามสัญญาร่วมการงานและ ข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องทุกประการ ตลอดจนตัง้ อยูใ่ นหลักธรรมาภิบาล จึงเชื่อว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อบริษัทอย่างมี นัยส�ำคัญ ข้อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax)

(1) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) ได้ยนื่ ค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำ ที่ 9/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม เรียกร้องให้บริษัทช�ำระค่าผลประโยชน์ โดยในปี 2557 มีปัจจัยความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบอย่างมี ตอบแทนเพิ่มจ�ำนวน 31,463 ล้านบาท นัยส�ำคัญ ดังนี้ โดยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้มี มติเป็นเอกฉันท์ชขี้ าดให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาททัง้ หมด โดยให้เหตุผล ความเสี่ยงด้านกฎ ระเบียบ และข้อบังคับ สรุปได้วา่ บริษทั ได้ชำ� ระหนีโ้ ดยชอบด้วยกฎหมายแล้วจึงไม่เป็นฝ่าย สัญญาร่วมการงานระหว่างรัฐกับเอกชนทีก่ ำ� หนดในพระราชบัญญัติ ผิดสัญญา ไม่ต้องช�ำระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือด�ำเนินการในกิจการของรัฐ ให้แก่ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) ดังนั้น ทีโอทีจึงได้ยื่นค�ำร้อง ขอเพิกถอนค�ำชีข้ าดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางในเวลาต่อมาและ พ.ศ. 2535 ขณะนี้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาซึ่งอาจใช้เวลาหลายปี (1) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริษัท กับ บริษัท ทั้งนี้ หากบริษัทเป็นฝ่ายแพ้คดี บริษัทอาจต้องช�ำระเงินตามที่ ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (ทีโอที) ทีโอทีเรียกร้อง แต่อย่างไรก็ตามผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าผลของ ตามทีก่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารได้มหี นังสือ คดีน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเงินส่วนแบ่งรายได้ดังกล่าว ถึงส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาขอความเห็นเกี่ยวกับการแก้ไข เป็นจ�ำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่บริษัทได้น�ำส่งแล้วตาม เพิ่มเติมสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่าง ทีโอที ซึ่งคณะอนุญาโตตุลาการได้พิจารณาและมีมติเอกฉันท์ยกค�ำเสนอ กั บ บริษัทภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชน ก่อนหน้านี้ เข้าร่วมงานหรือด�ำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บังคับแล้ว ว่าได้ด�ำเนินการถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ และ (2) บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท หากการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ด�ำเนินการไม่ถูกต้องตาม แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท พระราชบัญญัติดังกล่าว จะมีแนวทางการปฏิบัติต่อไปอย่างไร โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (กสท) และส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีบันทึกให้ความเห็นว่า การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญามิได้ด� ำเนินการให้ถูกต้องตามพระราช กสท ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 3/2551 ต่อสถาบัน บัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ เนือ่ งจากมิได้เสนอเรือ่ งการ อนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม แก้ไขเพิม่ เติมให้คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา เพือ่ เรียกร้องให้ ดีพซี ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ช�ำระเงินส่วนแบ่ง และเสนอให้คณะรัฐมนตรีซงึ่ เป็นองค์กรทีม่ อี ำ� นาจพิจารณาเห็นชอบ รายได้เพิ่มเติมอีกจ�ำนวน 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาให้ดำ� เนินการ แต่อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอันเป็นนิติกรรม ให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ พร้อมเรียกเบี้ยปรับในอัตรา ทางปกครอง สามารถแยกออกจากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจ�ำนวนเงินทีค่ า้ งช�ำระในแต่ละปี นับตัง้ แต่ ที่ทำ� ขึ้นได้ และข้อตกลงต่อท้ายที่ท�ำขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ วันผิดนัดจนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้นรวมเป็นเงินทั้งหมดจ�ำนวน 3,410 ล้านบาท ซึง่ จ�ำนวนเงินส่วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็นจ�ำนวนเดียวกันกับ ยังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น ภาษีสรรพสามิตที่ดีพีซีได้น�ำส่งตั้งแต่ 16 กันยายน 2546 ถึง วันที่ 15 กันยายน 2550 และได้นำ� มาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้


028

อันเป็นการปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ทั้งนี้ หากบริษัทแพ้คดี บริษัทอาจต้องช�ำระเงินตามที่ ทีโอที ถูกต้องครบถ้วนแล้ว และมีการปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งอุตสาหกรรม เรียกร้อง แต่อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของบริษทั เชือ่ ว่าค�ำวินจิ ฉัยชีข้ าด โทรศัพท์เคลื่อนที่ ของคณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนือ่ งจากบริษทั ได้ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว โดยในวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้มคี ำ� ชีข้ าด ให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาททั้งหมดของกสท โดยให้เหตุผลสรุปได้ว่า ข้อพิพาทระหว่างบริษทั ดิจติ อล โฟน จ�ำกัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย การช�ำระหนีเ้ ดิมเสร็จสิน้ และระงับไปแล้ว กสท ไม่อาจกลับมาเรียกร้อง ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ส่วนที่อ้างว่าขาดไปได้อีก ดีพีซี จึงไม่เป็นผู้ผิดสัญญา ดังนั้น กสท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (กสท) กรณีการปรับลดอัตรา จึงได้ยื่นค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชี้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ค่า Roaming ระหว่างดีพีซี - บริษัท ในเวลาต่อมา และขณะนี้อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาซึ่งอาจใช้ ดี พี ซี ไ ด้ เ สนอข้ อ พิ พ าทต่ อ ส� ำ นั ก ระงั บ ข้ อ พิ พ าท สถาบั น เวลาหลายปี อนุญาโตตุลาการเป็นข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 27/2553 เรียกร้องให้ กสท เพิกถอนการกล่าวหาว่า ดีพีซี เป็นฝ่ายผิดสัญญาเนื่องจาก ทั้งนี้ หากดีพีซีแพ้คดี อาจต้องช�ำระเงินตามที่ กสท เรียกร้อง แต่อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของบริษทั เชือ่ ว่าผลของคดีนา่ จะคลีค่ ลาย การท�ำสัญญาการใช้โครงข่ายระหว่าง บริษัท - ดีพีซี ไม่ได้รับ ไปในทางทีด่ ี เนือ่ งจากเงินส่วนแบ่งรายได้ตามที่ กสท เรียกร้องดังกล่าว ความยินยอมจาก กสท จึงจะแจ้งเลิกสัญญากับดีพีซี พร้อมกันนี้ เป็นจ�ำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่บริษัทได้น�ำส่งไปแล้ว ยังเรียกร้องให้ กสท ชดใช้ค่าเสียหายเป็นเงิน 50 ล้านบาทด้วย ตามซึ่งคณะอนุญาโตตุลาการได้พิจารณาและมีมติยกค�ำเสนอก่อน ต่อมา กสท จึงได้เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบัน หน้านี้ อนุญาโตตุลาการเป็นข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 62/2553 เรียกร้องให้ ข้อพิพาทกรณีเงินผลประโยชน์ตอนแทนจากรายได้ค่าเชื่อมต่อ ดีพีซี ช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มปีด�ำเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการที่ดีพีซีปรับลดอัตราอัตราค่าใช้โครงข่ายโทรคมนาคม โครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) (Roaming) ระหว่างดีพซี ี - บริษทั จาก 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท สืบเนือ่ งจากพระราชบัญญัตกิ ารประกอบการกิจการโทรคมนาคม ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2550 - 31 ธันวาคม 2551 โดย พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มิได้รับอนุมัติจาก กสท ก่อน โดยมูลฟ้องคิดเป็นเงินรวมทั้งสิ้น ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 2,000 ล้านบาท และเบี้ยปรับอีกในอัตรา 1.25 ต่อเดือน นับแต่ ได้ ก� ำ หนดให้ บริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ท� ำ สั ญ ญาการเชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ย เดือนเมษายน 2553 เป็นต้นไป นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 1 กันยายน โทรคมนาคมกับผู้รับใบอนุญาตรายอื่น โดยบริษัทเสนอจะน�ำส่ง 2554 กสทได้เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบัน เงินผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม อนุญาโตตุลาการเป็นข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 89/2554 เพิ่มเติม ซึ่งค�ำนวณจากรายได้สุทธิตามอัตราและวิธีคิดค�ำนวณของบริษัท ในส่วนปีดำ� เนินการที่ 12 เป็นเงินอีกจ�ำนวน 113,211,582.68 บาท ให้แก่ทีโอที แต่ทีโอทีต้องการให้บริษัท ช�ำระเงินส่วนแบ่งรายได้จาก ซึ่งภายหลังสถาบันอนุญาโตตุลาการได้มีค�ำสั่งให้รวมพิจารณาทั้ง ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่บริษัทได้รับทั้งจ�ำนวนตามอัตรา 3 ข้อพิพาทเข้าด้วยกัน โดย ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ระหว่าง ร้อยละที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาอนุญาตฯ โดยมิให้บริษัทน�ำค่าเชื่อมต่อ การพิจารณาซึ่งอาจใช้เวลาหลายปี โครงข่ายโทรคมนาคมที่บริษัทถูกผู้ประกอบการรายอื่นเรียกเก็บมา หักออกก่อน ทั้งนี้ หากดีพีซีแพ้คดี อาจต้องช�ำระเงินตามที่ กสท เรียกร้อง แต่อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารของบริษัทเชื่อว่าค�ำวินิจฉัยชี้ขาดของ ดังนั้น เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอทีจึงได้มีหนังสือแจ้ง คณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากดีพีซี ให้ บ ริ ษั ท ช� ำ ระเงิ น ส่ ว นแบ่ ง รายได้ จ ากค่ า เชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ย ได้มหี นังสือแจ้งการใช้อตั ราค่า Roaming ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท โทรคมนาคมที่บริษัทได้รับทั้งจ�ำนวนตามอัตราร้อยละที่ก�ำหนดไว้ ต่อ กสท นับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2549 เรื่อยมา และกสท ในสัญญาอนุญาตฯ ของปีด�ำเนินการที่ 17-20 เป็นเงินรวม 17,803 ได้มหี นังสือตอบอนุมตั นิ บั แล้วตัง้ แต่เวลาดังกล่าวจนถึงเดือนมีนาคม ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน แต่บริษัท 2550 รวมทัง้ ได้มหี นังสืออนุมตั ติ งั้ แต่เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ไม่เห็นด้วยจึงได้มีหนังสือโต้แย้งคัดค้านไปยังทีโอที รวมทั้งได้เสนอ 2552 ด้วย ซึ่งถึงแม้ว่าในช่วงระยะเวลาที่เป็นข้อพิพาทนั้น กสท ข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็น ก็มไิ ด้มหี นังสือตอบปฏิเสธหรือคัดค้านมายังดีพซี แี ต่อย่างใด แต่อตั รา ข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 19/2554 เพือ่ ให้มคี ำ� ชีข้ าดว่าทีโอทีไม่มสี ทิ ธิ ค่าใช้โครงข่ายโทรคมนาคม (Roaming) ดังกล่าวเป็นอัตราทีเ่ หมาะสม เรียกร้องเงินผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว โดยขณะนี้อยู่ระหว่าง ตามราคาตลาด ณ ขณะนัน้ ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ กระบวนการพิจารณาซึ่งอาจใช้เวลาหลายปี กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติแล้ว


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

029

ข้อพิพาทระหว่างบริษทั ดิจติ อล โฟน จ�ำกัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (กสท) กรณีกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง และอุปกรณ์แหล่งจ่ายก�ำลังงาน

ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนของอนุญาโตตุลาการ โดยฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าผลของข้อพิพาทดังกล่าวไม่น่าจะ มีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่องบการเงินของบริษัท เพราะบริษัท ได้ปฎิบัติถูกต้องตามข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว

กสท ได้ เ สนอข้ อ พิ พ าทต่ อ ส� ำ นั ก ระงั บ ข้ อ พิ พ าท สถาบั น อนุญาโตตุลาการเป็นข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 8/2552 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 เรียกร้องให้ดีพีซีส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จ�ำนวน 3,343 ต้น พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่าย ก�ำลังงาน (Power Supply) จ�ำนวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาให้ ด�ำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ หากไม่สามารถ ส่งมอบได้ให้ชดใช้เงินจ�ำนวน 2,230 ล้านบาท ซึ่งดีพีซีเห็นว่า เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายก�ำลังงาน (Power Supply) มิใช่เครือ่ งหรืออุปกรณ์ตามทีก่ �ำหนดให้ตอ้ งส่งมอบ ตามที่ระบุไว้ในสัญญาซึ่งกระท�ำระหว่างกัน

ข้อพิพาทกรณีบริษัทไม่ด�ำเนินการจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้บริการ แบบช�ำระค่าบริการล่วงหน้า

ตามที่ ค ณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้อาศัยอ�ำนาจตาม ในประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดสรร และบริการเลขหมาย โทรคมนาคมฯ มีค�ำสั่งให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีการ ให้บริการแบบช�ำระค่าบริการล่วงหน้าทุกราย รวมทั้งบริษัทต้อง จัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้บริการแบบช�ำระค่าบริการล่วงหน้าทุกราย ให้ครบถ้วนเสร็จสิ้นภายในระยะที่ก�ำหนดไว้ และต่อมาได้มีค�ำสั่ง ก�ำหนดค่าปรับทางปกครองจ�ำนวนวันละ 80,000 บาท ต่อบริษทั และ ให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ายใหญ่ในตลาดอีก 2 ราย เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 6 กรกฎาคม 2555 จนกว่าจะปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ อย่างครบถ้วน เนือ่ งจาก พิจารณาเห็นว่าผู้ประกอบการทั้ง 3 รายดังกล่าว ยังมิได้ปฏิบัติตาม ค�ำสั่งอย่างครบถ้วน ซึ่งบริษัทได้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อให้มีการเพิกถอนค�ำสั่งทั้ง 2 ฉบับ เป็นคดีหมายเลขด�ำที่ 1858/2554 และ หมายเลขด�ำที่ 252/2556 ตามล�ำดับ ขณะนี้อยู่ใน ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

โดยคณะอนุญาโตตุลาการได้มีมติเป็นเอกฉันท์วินิจฉัยชี้ขาด ให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาททั้งหมดของ กสท ในเวลาต่อมา โดยให้ เหตุผลสรุปได้ว่าสิทธิของ กสท ในอันจะเรียกร้องให้ดีพีซีส่งมอบ ทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งสัญญานั้น ต้องกระท�ำภายหลังวันสิ้นสุด สัญญาไปแล้ว 60 วัน ดังนั้น การที่ กสท ท�ำค�ำเสนอข้อพิพาท จึงนับว่าเป็นการใช้สิทธิเรียกร้องก่อนครบก�ำหนดระยะเวลาที่อาจ ให้สทิ ธิตามสัญญาได้ ดังนัน้ กสท ได้ยนื่ ค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชีข้ าด ดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางในเวลาต่อมาและขณะนี้อยู่ระหว่าง ทัง้ นี้ หากบริษทั แพ้คดี บริษทั อาจต้องช�ำระเงินค่าปรับทางปกครอง การพิจารณาซึ่งกระบวนการพิจารณาซึ่งอาจใช้เวลาหลายปี จ�ำนวนวันละ 80,000 บาท เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 6 กรกฎาคม 2555 จนกว่า ทัง้ นี้ หากดีพซี เี ป็นผูแ้ พ้คดี อาจต้องช�ำระเงินตามที่ กสท เรียกร้อง จะปฏิบัติตามค�ำสั่งของ กสทช. โดยครบถ้วนถูกต้อง อย่างไรก็ ต าม อย่างไรก็ตามจากข้อโต้แย้งของ ดีพซี ี ตามทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น ผูบ้ ริหาร ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท เชื่ อ ว่ า ข้ อ พิ พ าทในกรณี นี้ น ่ า จะคลี่ ค ลาย ไปในทางที่ดี เนื่องจากที่ผ่านมา กสทช. และผู้ประกอบการทุกราย จึงเชื่อว่าผลของคดีน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดีกับบริษัท ได้มีความพยายามร่วมกันในการจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้บริการแบบ ช�ำระค่าบริการล่วงหน้า ให้เกิดความสะดวกในการปฏิบตั มิ าโดยตลอด ข้อพิพาทกรณีผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่โอนย้ายผู้ให้บริการ ซึ่ ง ล่ า สุ ด กสทช. และผู ้ ป ระกอบการทุ ก รายได้ ร ่ ว มกั น พั ฒ นา จากบริษัท ไปยัง บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด แอพพลิเคชัน่ “2 แชะ” ให้ผใู้ ช้บริการแบบช�ำระเงินล่วงหน้า สามารถ (เอดับเบิ้ลยูเอ็น) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ขอลงทะเบียนข้อมูลผูใ้ ช้บริการผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายเพิม่ เติมจากการ ในวันที่ 25 กันยายน 2557 บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) จัดเก็บในรูปของการกรอกแบบค�ำขอลงทะเบียนและส�ำเนาเอกสาร (“ทีโอที”) ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบัน ประจ�ำตัว โดยข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่งเข้าระบบของผู้ให้บริการ อนุญาโตตุลาการ เป็น ข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 80/2557 เรียกร้อง เครือข่ายโดยตรง ให้บริษัทช�ำระค่าเสียหายนับแต่วันที่ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทจ�ำนวน 9,126 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี รวมถึง ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในกระบวนการพิจารณาในชั้น อนุญาโตตุลการ โดยอ้างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณี ที่บริษัทด�ำเนินการโอนย้ายผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 900 เมกะเฮิรตซ์ จากบริษทั ไปยังระบบ 2100 เมกะเฮิรตซ์ ทีใ่ ห้บริการ โดยเอดับเบิ้ลยูเอ็น เป็นการผิดสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการระหว่าง ทีโอที กับ บริษัท


030

ความเสี่ยงด้านการด�ำเนินงาน ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของสารสนเทศ

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ท�ำให้ผใู้ ช้บริการสามารถเข้าถึง ข้อมูลที่ต้องการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้จากทุกที่ทั่วโลก และ สามารถท�ำธุรกรรมทางการเงินผ่านอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ นอกจากนี้การเกิดเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อช่วยให้ผู้บริโภคมีพื้นที่ ในการเก็บรักษาข้อมูลที่ส� ำคัญมากขึ้นนอกเหนือจากการเก็บไว้ บนหน่วยความจ�ำของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น Cloud computing อาจท�ำให้เกิดความเสี่ยงเรื่องการรั่วไหลของข้อมูลได้ เอไอเอสจึงให้ความส�ำคัญในการป้องกันความเสี่ยงจากภัย คุกคามทางด้านเทคโนโลยีและความปลอดภัยของข้อมูล ด้วยการ ออกระเบียบบริษัทเรื่องการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลสารสนเทศ และหลักเกณฑ์การปฏิบตั เิ รือ่ งการรับ-ส่งข้อมูล ของบริษัทผ่านอุปกรณ์พกพาด้วย Exchange ActiveSync เพื่อใช้ บังคับต่อผูบ้ ริหารและพนักงานทุกระดับในองค์กร จัดหลักสูตรอบรม รวมทั้งประชาสัมพันธ์ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของพนักงานเพื่อ สร้างความตระหนักในเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ก�ำหนดให้มีการ ประเมินความเสีย่ งด้านความปลอดภัยของข้อมูลในระบบงานส�ำคัญ ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะ เกิดขึ้นจากความจงใจในการโจรกรรมข้อมูลของผู้ประสงค์ร้าย หรือ จากความบกพร่องของตัวระบบเอง โดยในปี 2557 เอไอเอสได้นำ� มาตรฐานระบบบริหารความมัน่ คงปลอดภัยสารสนเทศ (ISO 27001) มาประยุกต์ใช้ในบริษัทเพื่อเพิ่มความมั่นใจในความปลอดภัยของ ข้อมูล รวมทั้งบริหารจัดการความปลอดภัยของสารสนเทศอันเนื่อง มาจากบุคลากร กระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อย่างมีระบบ และเพียงพอต่อการด�ำเนินธุรกิจของเอไอเอส


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ประวัตคิ ณะกรรมการ ผูบ ร�หาร เลขานุการบร�ษทั หัวหน าหน วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน าหน วยงานกำกับดูแล การปฏิบตั งิ านของบร�ษทั

031


032

ประวัติคณะกรรมการและผู้บริหาร

นายวิทิต ลีนุตพงษ์

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 27 มีนาคม 2556 อายุ 59 ปี • ประธานกรรมการ • ประธานกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 28 มีนาคม 2537 อายุ 59 ปี • รองประธานกรรมการ • กรรมการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Southern California, สหรัฐอเมริกา

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 34/2557 • หลักสูตร Successful Formulation and Execution of Strategy (SFE) รุ่น 3/2552 • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่น 7/2551 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 5/2548 • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 16/2545

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน่ 21/2552 • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ 65/2548 • หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุน่ 30/2547

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2557 - ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการ ประธานกรรมการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� และ ก�ำหนดค่าตอบแทน และ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ / บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ 2544 - 2557 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ / บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ / สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร / บจ. ไทยยานยนตร์ กรรมการ / หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรรมการ / บมจ. สหไทยสตีลไพพ์ กรรมการ / มูลนิธิธนาคารกรุงเทพ 2538 - 2556 กรรมการ / บจ. บาเซโลนา มอเตอร์ 2545 - 2553 กรรมการ / หอการค้าเยอรมัน-ไทย

ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2553 - ปัจจุบนั รักษาการกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ / บมจ. อินทัช โฮลดิง้ ส์ 2551 - ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการบริหาร / บมจ. อินทัช โฮลดิง้ ส์ รองประธานคณะกรรมการ กรรมการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� และก�ำหนด ค่าตอบแทน และ กรรมการสรรหา และก�ำกับดูแลกิจการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2550 - ปัจจุบนั กรรมการ / บมจ. อินทัช โฮลดิง้ ส์ 2549 - ปัจจุบนั กรรมการ / บมจ. ไทยคม 2545 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ / บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริง่ 2552 - 2554 ประธานคณะกรรมการบริหาร / บมจ. ไทยคม บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2547 - ปัจจุบนั กรรมการ / บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้า ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


/

033

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 12 กรกฎาคม 2549 อายุ 66 ปี • ประธานกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน • กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 8/2544 • หลักสูตรบทบาทคณะกรรมการ ในการก�ำหนดค่าตอบแทน ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ� และก�ำหนด ค่าตอบแทน และ กรรมการอิสระ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2553 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ / บมจ. เอส แอนด์ พี ซินดิเคท 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ / บมจ.ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร / บมจ. เทเวศประกันภัย 2549 - 2557 ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ� และก�ำหนด ค่าตอบแทน และ กรรมการอิสระ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2552 - 2554 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ / บมจ. ธนาคารทหารไทย

นางทัศนีย ์ มโนรถ

วันที่ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 24 เมษายน 2549 อายุ 69 ปี • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 32/2546 ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2557 - ปัจจุบนั กรรมการตรวจสอบ กรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน และ กรรมการอิสระ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2549 - พ.ค. 2557 กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2551 - ปัจจุบนั ทีป่ รึกษา / ส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ / บจ.ทุนลดาวัลย์ กรรมการ / บจ.วังสินทรัพย์ ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


034

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

นางสาวจีน โล เงี้ยบ จง

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 10 พฤษภาคม 2549 อายุ 61 ปี • กรรมการตรวจสอบ • ประธานกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 27 มีนาคม 2556 อายุ 54 ปี • กรรมการ

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • เนติบัณฑิต ส�ำนักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 29/2547 ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน ก.พ. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และก�ำกับดูแลกิจการ และ กรรมการตรวจสอบ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2551 - ก.พ. 2557 กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ และ กรรมการอิสระ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาตรี บัญชี National university of Singapore การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2551 - ปัจจุบนั Group Chief Financial Officer / Singapore Telecommunications Ltd ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2557 - ปัจจุบนั Manging partner / Rajah & Team 2548 - 2557 ผู้บริหาร / บจ.ฮันตัน แอนด์ วิลเลี่ยมส์ (ไทยแลนด์) ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


/

035

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

นายนฤาชา จิตรีขันธ์

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 5 พฤศจิกายน 2556 อายุ 57 ปี • กรรมการ

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

วันที่ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 20 มีนาคม 2549 อายุ 59 ปี • ประธานกรรมการบริหาร • กรรมการ • กรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทน สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Direct Certificate Program (DCP) รุ่น 162/2555

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท Science (Management) Massachusetts Institute of Technology, สหรัฐอเมริกา การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2551 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ และ กรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำ และก�ำหนดค่าตอบแทน / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2549 - ปัจจุบนั กรรมการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Chief Executive Officer (Singapore) / Singapore Telecommunications Ltd. 2555 - ก.ย. 2557 Executive Officer Group Digital Life and Country Chief Officer (Singapore) / Singapore Telecommunications Ltd.

บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2555 - ปัจจุบนั รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่สายงานพัฒนาธุรกิจ / บมจ. ทีโอที ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น ต.ค. 2557 - ปัจจุบนั Chief Executive Officer Consumer Australia and Chief Executive Officer / SingTel Optus Pty Ltd. ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


036

นายอึ้ง ชิง-วาห์

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 10 เมษายน 2551 อายุ 65 ปี • กรรมการและกรรมการบริหาร

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 26 มีนาคม 2557 อายุ 60 ปี • ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ • กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาตรี Art in Business Administration Chinese University of Hong Kong

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ North Texas State University, สหรัฐอเมริกา

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Direct Certificate Program (DCP) รุ่น 59/2548 • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 16/2550

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2551 - ปัจจุบนั กรรมการและกรรมการบริหาร / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2554 - 2555 กรรมการอิสระ / Pacific Textiles Holdings Ltd. 2554 - 2555 กรรมการ/ China Digital TV Group Holding Ltd. 2550 - 2553 กรรมการอิสระ / HKC International Holdings Ltd. บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2555 - ปัจจุบนั Member of the Communication Authority / Communication Authority (CA) 2550 - ปัจจุบนั กรรมการ / ConvenientPower Hong Kong ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ และ กรรมการอิสระ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2554 - 2555 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ / บมจ. ปตท. 2549 - 2555 ประธานคณะกรรมการบริษัท และประธานคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง / บมจ. หลักทรัพย์ จัดการกองทุนกรุงไทย บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2541 - ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการ / บริษัท วี กรุ๊ป ฮอนด้าคาร์ส จ�ำกัด ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


/

037

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์

วันที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท 27 มิถุนายน 2557 อายุ 52 ปี • กรรมการ • กรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน • กรรมการบริหาร • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม • หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

0.0027 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 114/2552 ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้มีอำ� นาจลงนาม และ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส มิ.ย. 2557 - ก.ค. 2557 กรรมการและหัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการตลาด / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2555 - ก.ค. 2557 หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2550 - 2555 รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ สายงานการตลาด / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

นายคิมห์ สิริทวีชัย อายุ 46 ปี • กรรมการบริหาร

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 116/2552 ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2557 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ สายงานบริหาร การลงทุน / บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2554 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ� นวยการอาวุโส ส่วนงานบริหารการลงทุน / บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ 2551 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ� นวยการ ส่วนงาน บริหารการลงทุน / บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ / บจก. ไอ.ที.แอพพิเคชั่น แอนด์ เซอร์วิส 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ / บจก. อินทัช มีเดีย กรรมการ / บจก. ทัชทีวี 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ / บจ. อุ๊คบี ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


038

นางศุภจี สุธรรมพันธุ์

นางสุวิมล แก้วคูณ

อายุ 50 ปี • กรรมการบริหาร

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจสาขาการเงินและการบัญชี ระหว่างประเทศ, Northrop University California, สหรัฐอเมริกา

อายุ 59 ปี • หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการพัฒนาองค์กร

ไม่มี ไม่มี

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 89/2550 ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2555 - ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการบริหาร / บมจ. ไทยคม 2554 - ปัจจุบนั กรรมการบริหาร และประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจใหม่ / บมจ. อินทัช โฮลดิ้งส์ 2554 - ปัจจุบนั กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / บมจ. ไทยคม กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร ประธานคณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน และ ประธานกรรมการสรรหาและ ก�ำกับดูแลกิจการ / บมจ. ซีเอส ล็อกซ์อินโฟ กรรมการบริหาร / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ส.ค. - ธ.ค. 2554 กรรมการบริหาร / บมจ. ไทยคม 2553 - 2554 General Manager, Global Technology Services / IBM ASEAN 2552 - 2553 Client Advocacy Executive, Chairman’s Office / IBM Headquaters

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

0.0035 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, เอเชียน อินสติตวิ ท์ ออฟ แมเนจเม้นท์ ฟิลปิ ปินส์ การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 102/2551 ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบนั หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการพัฒนาองค์กร / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2550 - ปัจจุบนั กรรมการบริหาร / บมจ. อินทัช โฮลดิง้ ส์ 2550 - 2555 หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้า / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


/

039

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

นายฮุย เว็ง ชอง

นางวิลาสินี พุทธิการันต์

อายุ 59 ปี • หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านปฏิบัติการ

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

อายุ 59 ปี • หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านลูกค้าและบริการ

ไม่มี ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

0.0001 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Southern California สหรัฐอเมริกา

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์, East Texas State University, สหรัฐอเมริกา

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 134/25531

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบัน หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านปฏิบัติการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2553 - 2555 CEO International / Singapore Telecommunications Ltd. 2552 - 2553 หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านปฏิบัติการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2549 - 2552 รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบัน หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านลูกค้าและบริการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2555 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริการลูกค้า / บมจ. ท่าอากาศยานไทย 2549 - 2555 รองกรรมการผู้อ�ำนวยการส่วนงานบริหาร ลูกค้าและบริการ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


040

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ์

นายเกรียงศักดิ์ วาณิชย์นที

อายุ 52 ปี • หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการเงิน

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

อายุ 54 ปี • หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี

0.0002 ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท Science in Electrical Engineering University of Southern California, สหรัฐอเมริกา

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 109/2551

การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2544 - ปัจจุบนั หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการเงิน / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบนั หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2555 - 2556 รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส สายงาน Mobile Network Implementation / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2549 - 2554 รองกรรมการผู้อำ� นวยการ สายงาน Nationwide Operations & Support / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


/

041

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ประวัติเลขานุการบริษัท, หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน และหัวหน้าหน่วยงานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท นายชวิน ชัยวัชราภรณ์

นางสาวนัฐิยา พัวพงศกร

ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2556 อายุ 42 ปี • เลขานุการบริษัท สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2556 อายุ 39 ปี • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนักลงทุนสัมพันธ์ ไม่มี ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท กฎหมาย มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย, สหรัฐอเมริกา การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) • หลักสูตร Director Certification (DCP 192/2557) • หลักสูตร Role of Chairman (RCP) • หลักสูตรการต่อต้านการทุจริต ส�ำหรับผู้บริหาร (ACEP 10/2557) • หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท (FPCS 29/2557) • หลักสูตรเลขานุการบริษัท รุ่น 51/2556 ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบนั เลขานุการบริษทั / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2553 - 2556 ผู้อำ� นวยการส�ำนักกฎหมาย / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส บริษัทจ�ำกัด / องค์กรอื่น 2546 - 2553 Associate / บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลีย่ ม ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้น (%)* ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร

0.00025 ไม่มี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท Technology Management, Washington State University, สหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท การเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ� งานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2556 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักนักลงทุนสัมพันธ์ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2554 - 2556 รักษาการผู้อ�ำนวยการส�ำนักลงทุนสัมพันธ์ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2551 - 2554 ผู้จัดการฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

นางสุวิมล กุลาเลิศ

ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2542 อายุ 54 ปี • ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการอาวุโส • ส่วนงานตรวจสอบภายใน สัดส่วนการถือหุ้น (%)* 0.0001 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด • ปริญญาโท MBA Track Management Information System, Oklahoma City University, สหรัฐอเมริกา • คุณวุฒิทางวิชาชีพ Certified Public Account, Certified Internal Auditor, Certificate in Risk Management Assurance การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 136/2553 ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี บริษัทจดทะเบียน 2542 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยกรรมการอาวุโส ส่วนงานตรวจสอบภายใน / บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ประวัติการท�ำผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


042

รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการ และผู้บริหารในบริษัทและบริษัทย่อยสำ�หรับรอบปีที่ผ่านมา ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2557 รวมการถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ADVANC

AIR

DPC

ADC

ACC

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น)

ได้รับจัดสรร เพิ่มขึ้น ระหว่างปี

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2557

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น)

ซื้อ(+)/ขาย (-) ระหว่างปี

ใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ(หน่วย)6)

31/12/2557

ชื่อ-นามสกุล ต�ำแหน่ง

หุ้นสามัญ (หุ้น)

1. นายวิทิต ลีนุตพงษ์ 1) ประธานกรรมการ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

3. นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย 2)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4. นางทัศนีย์ มโนรถ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

5. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

6. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ 3)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

8. นางสาวจีน โล เงี้ยบ จง

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

9. นายอึ้ง ชิง-วาห์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

10. นายนฤาชา จิตรีขันธ์ กรรมการ 11. นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 4)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

80,126

-

80,126 49,640 29,816 19,824

-

-

-

-

-

-

-

-

12. นายวิเชียร เมฆตระการ5) 17,025 กรรมการ กรรมการบริหาร และประธาน

-

17,025 72,600 42,700 29,900

-

-

-

-

-

-

-

-

13. นายคิมห์ สิริทวีชัย กรรมการบริหาร 14. นางศุภจี สุธรรมพันธุ ์ กรรมการบริหาร 15. นางสุวิมล แก้วคูณ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รองประธานกรรมการ

กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ

กรรมการและประธานกรมการบริหาร

กรรมการ

กรรมการและกรรมการบริหาร

กรรมการ กรรมการบริหารและประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (ปัจจุบนั )

เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (เดิม)

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการพัฒนาองค์กร

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านปฏิบตั กิ าร

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านลูกค้าและบริการ

หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี

105,357 +1,000 104,357 45,180 27,116 18,064

16. นายฮุย เว็ง ชอง

-

-

-

17. นางวิลาสินี พุทธิการันต์

3,327

-

3,327 50,580 29,816 20,764

-

-

-

-

-

-

-

-

18. นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์ 60,000 - หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการเงิน 19. นายเกรียงศักดิ์ วาณิชย์นที - -

60,000 51,480 29,816 21,664

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

38,780 31,216 7,564

ชื่อย่อ

บริษัท

ชื่อย่อ

บริษัท

ADVANC AIR DPC ADC ACC AMP AMC

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น จ�ำกัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จ�ำกัด บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จ�ำกัด บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จ�ำกัด

SBN AIN WDS AWN MMT FXL ABN

บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จ�ำกัด บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จ�ำกัด บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด บริษัท ไมโม่เทค จ�ำกัด บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จ�ำกัด บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด


/

043

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

AMP

AMC

SBN

AIN

WDS

AWN

MMT

FXL

ABN

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

31/12/2557

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2557

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2557

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2557

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2557

หุ้นสามัญ (หุ้น)

31/12/2556

หุ้นสามัญ (หุ้น) 31/12/2557

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

หมายเหตุ: 1) ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการแทนดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม เมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2557 2) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนดร.ไพบูลย์ ลิมปยอม โดยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการตรวจสอบแทนคุณอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ที่ขอลาออกไปด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาสู่ความยั่งยืนมือ่ วันทื่ 6 พ.ค. 2557 3) คุณอวิรท ุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ ได้ขอลาออกจากการเป็นประธานกรรมการตรวจสอบเพือ่ ไปด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน โดยมีผลวันที่ 6 พ.ค. 2557 4) ได้รบ ั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการและกรรมการบริหารแทนคุณวิเชียร เมฆตระการ ซึง่ ขอลาออก มีผลวันที่ 27 มิ.ย. 2557 และได้รบั แต่งตัง้ เป็นประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารแทนคุณวิเชียร เมฆตระการ มีผลวันที่ 1 ก.ค. 2557 5) ได้ขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนดจากการเป็นกรรมการและกรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 2557 และจากการเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เมื่อวันที่ 1 ก.ค. 2557 6) การเปลี่ยนแปลงจ�ำนวนการถือครองใบส�ำคัญแสดงสิทธิเป็นไปตามมติอนุมัติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นซึ่งให้ออกและจัดสรรรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2556 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2557 โดยรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้จาก หน้า 55


044

โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการบริหารงานของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบร�ษัท

คณะกรรมการสรรหาและ กำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการพัฒนา ความเป นผู นำและกำหนดค าตอบแทน

คณะกรรมการบร�หาร

คณะกรรมการการพัฒนาสู ความยั่งยืน 2)

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการบร�หาร นายแอเลน ลิว ยงเคียง

ประธานเจ าหน าที่บร�หาร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค 1)

หัวหน าคณะผู บร�หาร ด านการตลาด นายสมชัย เลิศสุทธิวงค

หัวหน าคณะผู บร�หาร ด านปฏิบัติการ นายฮุย เว็ง ชอง

หัวหน าคณะผู บร�หาร ด านเทคโนโลยี นายเกรียงศักดิ์ วาณิชยนที

หัวหน าคณะผู บร�หาร ด านลูกค าและบร�การ นางวิลาสิน� พุทธิการันต

หัวหน าคณะผู บร�หาร ด านการพัฒนาองค กร นางสุวิมล แกวคูณ

หัวหน าคณะผู บร�หาร ด านการเง�น นายพงษอมร นิม� พูลสวัสดิ์

ผู ช วยกรรมการผู อำนวยการ อาวุโส ส วนงานตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ หมายเหตุ : 1) ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2557 แทนนายวิเชียร เมฆตระการ ซึ่งขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนด 2) ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2557


/

045

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยของบริษัท โครงสร้างการจัดการบริษัทประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืน และคณะกรรมการบริหาร โดยรายชื่อกรรมการ ข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่ง และรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมในปี 2557 ปรากฎดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม / จ�ำนวนการจัดประชุมทั้งปี

ชื่อ-นามสกุล

ต�ำแหน่ง

คณะกรรมการ พัฒนาความเป็น คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ฒนา สรรหาและ บริษัท ตรวจสอบ ก�ำกับดูแลกิจการ ผู้นำ� และก�ำหนด บริหาร สูการพั ค ่ วามยั ง่ ยืน ค่าตอบแทน

นายวิทิต ลีนุตพงษ์ 1) • ประธานกรรมการ • ประธานกรรมการพัฒนา ความเป็นผู้นำ� และ ก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการผูม้ อี ำ� นาจ ลงนาม นายสมประสงค์ บุญยะชัย • รองประธานกรรมการ • กรรมการพัฒนา ความเป็นผู้นำ� และ ก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการสรรหาและ ก�ำกับดูแลกิจการ นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ 2) • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการการ พัฒนาสู่ความยั่งยืน • กรรมการพัฒนา ความเป็นผู้นำ� และ ก�ำหนดค่าตอบแทน นางทัศนีย์ มโนรถ 3) • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการการพัฒนา สู่ความยั่งยืน นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการสรรหา และก�ำกับดูแลกิจการ • กรรมการตรวจสอบ นางสาวจีน โล เงีย้ บ จง 3) • กรรมการ นายนฤาชา จิตรีขันธ์ • กรรมการ นายแอเลน ลิว ยง เคียง 4) • กรรมการ • ประธานกรรมการบริหาร • กรรมการการพัฒนา ความเป็นผู้นำ� และ ก�ำหนดค่าตอบแทน

10/10

-

-

9/9

-

-

10/10

-

4/4

9/9

-

-

8/10

5/13

-

9/9

-

4/4

9/10

13/13

-

-

-

4/4

10/10

13/13

4/4

-

-

-

7/10 5/10 6/10

- - -

- - -

- - 7/9

- - 14/14

-


046

จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม / จ�ำนวนการจัดประชุมทั้งปี

ชื่อ-นามสกุล

ต�ำแหน่ง

คณะกรรมการ พั ฒนาความเป็น คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและ ฒนา บริษัท ตรวจสอบ ก�ำกับดูแลกิจการ ผู้นำ� และก�ำหนด บริหาร สูการพั ค ่ วามยั ง่ ยืน ค่าตอบแทน

นาย อึ้ง ชิง-วาห์ • กรรมการ • กรรมการบริหาร นายไกรฤทธิ์ อุชกุ านนท์ชยั 5) • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการ ตรวจสอบ • กรรมการสรรหา และก�ำกับดูแลกิจการ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 4)6) • กรรมการ • กรรมการบริหาร • กรรมการการพัฒนา สู่ความยั่งยืน • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร • กรรมการผูม้ อี ำ� นาจ ลงนาม นายวิเชียร เมฆตระการ 4)7) • กรรมการ (เดิม) • กรรมการบริหาร (เดิม) • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (เดิม) นางศุภจี สุธรรมพันธุ์ • กรรมการบริหาร นายคิมห์ สิริทวีชัย • กรรมการบริหาร

9/10

-

-

-

12/14

-

7/10

8/13

2/4

-

-

-

4/10

-

-

-

8/14

2/4

6/10

-

-

-

6/14

1/4

- -

- -

- -

- -

7/14 12/14

-

หมายเหตุ : 1) ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ แทนดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ซึ่งได้ลาออก มีผลวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 2) นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ ได้ขอลาออกจากต�ำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบเพื่อไปด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการพัฒนาสู่ความยั่งยืน มีผลวันที่ 6 พฤษภาคม 2557 โดยขณะนั้นมีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบผ่านไปแล้ว 5 ครั้ง 3) นางทัศนีย์ มโนรถ และนางสาวจีน โล เงี้ยบ จง เป็นกรรมการที่มีประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน โดยรายละเอียดประวัติการศึกษาและประสบการณ์ท�ำงานปรากฎตามหัวข้อประวัติคณะกรรมการและ ผู้บริหาร หน้า 33-34 4) นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ และนายวิเชียร เมฆตระการ เป็นกรรมการที่มีประสบการณ์ด้านกิจการโทรคมนาคมอย่างยาวนาน รายละเอียดประวัติการศึกษา และประสบการณ์การท�ำงานปรากฏตามประวัติคณะกรรมการและผู้บริหาร หน้า 32, 35 และ 37 5) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2557 โดยขณะนั้นได้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทผ่านไป 3 ครั้งแล้ว จึงท�ำให้จ�ำนวนการเข้าร่วมประชุมเป็นดังข้างต้น นอกจากนี้ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบแทนนายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ มีผลวันที่ 6 พฤษภาคม 2557 และได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการมีผลในวันเดียวกัน ซึ่งขณะนั้นมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบไปแล้ว 5 ครั้ง และมีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการไปแล้ว 2 ครั้ง 6) ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารแทนนายวิเชียร เมฆตระการ ซึ่งขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนด มีผลวันที่ 1 กรกฏาคม 2557 และได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการการ พัฒนาสู่ความยั่งยืน แทนนายวิเชียร เมฆตระการ ซึ่งขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนด เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2557 โดยขณะนั้นได้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทผ่านไป 6 ครั้งแล้ว 7) ได้ขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนดจากต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2557 และจากต�ำแหน่งกรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2557 8) จ�ำนวนครั้งในการเข้าร่วมประชุมที่แสดงในตารางด้านบน นับจากการมาแสดงตนในที่ประชุม แต่กรณีของนางสาวจีน โล เงียบ จง และ นายแอเลน ลิว ยง เคียง ถึงแม้จะไม่ได้มาแสดงตนโดยตรง แต่จะเข้าร่วมการพิจารณาโดยการประชุมทางไกลผ่านโทรศัพท์ (Video Conference) หรือการเสนอแนะผ่านประธานกรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมเป็นประจ�ำ


/

047

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม คือ นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ กรรมการ สองคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษัท

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีจ�ำนวน 11 คน ประกอบด้วยกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์หลากหลายในแต่ละสาขาวิชาชีพ ซึ่งมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านกิจการ โทรคมนาคม และมีกรรมการ 2 คน ที่มีประสบการณ์ด้านบัญชีและ การเงิน (รายละเอียดปรากฎในหน้า 33-34) โดยประธานกรรมการ ไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเพือ่ ให้มกี ารแบ่งแยก บทบาทอย่างชัดเจนและมีการถ่วงดุลอ�ำนาจในการด�ำเนินงาน และมี กรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน คิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 3 ของกรรมการ ทั้งคณะ รวมทั้งมีกรรมการที่เป็นเพศหญิงจ�ำนวน 2 ท่าน ทัง้ นี้ คณะกรรมการเป็นตัวแทนผูถ้ อื หุน้ โดยรวมมิใช่เป็นตัวแทน ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จึงก�ำหนดนโยบายให้มีจ�ำนวนกรรมการ ที่เป็นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นซึ่งมี อ�ำนาจควบคุม (Controlling shareholders)

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ตลอดจนมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ย ความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2. ก�ำหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการด�ำเนินงานของบริษทั และก�ำกับดูแลให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่า สูงสุดให้แก่บริษัทและผู้ถือหุ้น 3. พิจารณาอนุมัติรายการที่ส�ำคัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่ การซือ้ ขายทรัพย์สนิ ฯลฯ และการด�ำเนินการใดๆ ทีก่ ฎหมายก�ำหนด 4. พิจารณาอนุมตั แิ ละ/หรือให้ความเห็นชอบต่อรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ของบริษทั และบริษทั ย่อยให้เป็นไปตามประกาศ ข้อก�ำหนด และ แนวทางปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ บริหารอย่างสม�่ำเสมอ และก�ำหนดค่าตอบแทน 6. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร โดยให้มีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 7. ด�ำเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทาง การเงิ น และการสอบบั ญ ชี ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ รวมทั้ ง ดู แ ลให้ มี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุม ภายใน และการตรวจสอบภายในให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทาง การเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มี ส่วนได้เสียของบริษัท

9. ก�ำกับดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม 10. ทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั และประเมินผล การปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าวเป็นประจ�ำอย่างน้อย ปีละ 1 ครัง้ 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดท�ำรายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงานประจ�ำปี และครอบคลุมในเรื่องส�ำคัญๆ ตามนโยบายเรื่องข้อพึงปฏิบัติ ที่ดีส�ำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย

การสงวนสิทธิเรื่องที่เป็นอ�ำนาจอนุมัติ ของคณะกรรมการบริษัท แม้วา่ คณะกรรมการบริษทั ได้กระจายอ�ำนาจให้แก่ คณะกรรมการ ชุดย่อย ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง คณะกรรมการ บริ ษั ท สงวนสิ ท ธิ เ รื่ อ งที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ไว้ เ ป็ น อ� ำ นาจอนุ มั ติ ของคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ รั ก ษาประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ บริ ษั ท และผู้ถือหุ้น อาทิ - กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณ - ค่าใช้จา่ ยฝ่ายทุน และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กินกว่าวงเงินทีค่ ณะกรรมการ ชุดย่อย หรือผู้บริหารได้รับมอบหมายให้อนุมัติได้ - การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการขายเงินลงทุน - นโยบายที่ส�ำคัญ - การตกลงเข้าท�ำสัญญาที่ส�ำคัญ - การฟ้องร้อง และด�ำเนินคดีที่ส�ำคัญ - นโยบายการจ่ายปันผล

กรรมการอิสระ เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์และเป็นการถ่วงดุล อ�ำนาจของคณะกรรมการอย่างเหมาะสม บริษัทจึงได้ก�ำหนดให้ กรรมการอิสระมีคุณสมบัติเข้มข้นกว่าที่ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ� หนด กล่าวคือ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจ�ำ นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ให้นับรวมการถือหุ้นของ ผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุม ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับ เดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ส�ำหรับกรรมการ ตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง 3. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ


048

ของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือ ผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ส�ำหรับกรรมการตรวจสอบที่ได้รับการแต่งตั้งในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการท�ำรายการค้า ที่ ก ระท� ำ เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ รายการที่เกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือ การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กยู้ มื ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึง พฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทหรือคู่สัญญา มีภาระหนี้ที่ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสามของ สินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั หรือตัง้ แต่ยสี่ บิ ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าว ให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณา ภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 4. ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ความสัมพัน ธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็น ผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย 5. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการบริ ษั ท ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุมหรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ ส�ำหรับกรรมการ ตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ น ได้รับการแต่งตั้ง 7. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และ ไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุมหรือหุ้นส่วนของผู้ให้ บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย ส�ำหรับกรรมการตรวจสอบที่ได้รับ การแต่งตั้งในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการ มีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นได้รบั การแต่งตัง้ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วน ที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน

ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ ีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย 9. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท ภายหลังได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไป ตามข้อ 1 ถึง 9 แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือ นิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแย้งโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้

การแบ่งแยกหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีก่ ำ� กับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษทั มติของ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น และนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท ทั้งนี้ ในการก�ำกับดูแล กรรมการจะต้องใช้ดุลพินิจในการตัดสินในทาง ธุรกิจ และปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีต่ นเองเชือ่ อย่างมีเหตุผลว่า จะเป็นประโยชน์ สูงสุดต่อบริษัทและผู้ถือหุ้น ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการน�ำกลยุทธ์ และเป้าหมาย การด�ำเนินงานไปปฏิบัติให้ประสบความส�ำเร็จ ตลอดจนท�ำหน้าที่ บริหารจัดการงานประจ�ำวันและธุรกิจของบริษัท

การแบ่งแยกต�ำแหน่งประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารต้องเป็นผู้ที่ มีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์และคุณสมบัติที่เหมาะสม ไม่เป็นบุคคลเดียวกัน เพือ่ ให้มกี ารถ่วงดุลอ�ำนาจ โดยแยกหน้าทีก่ าร ก�ำกับดูแล และการบริหารงานออกจากกัน ประธานกรรมการเป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นผู้น�ำของ คณะกรรมการ โดยท�ำหน้าที่กำ� กับดูแลในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ดูแลและประสานงานให้คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ มีการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิผล รวมถึง ส่งเสริมการพัฒนาความรู้และทักษะด้านต่างๆ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับ การปฏิบัติหน้าที่กรรมการของบริษัท 2. หารือร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหารและเลขานุการบริษัท ในการก�ำหนดวัน เวลา สถานที่และวาระการประชุม 3. เป็นประธานเพื่อด�ำเนินการประชุมคณะกรรมการบริษัทและ ประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยต้องส่งเสริมให้กรรมการบริษทั และ/หรือผูถ้ อื หุน้ ได้อภิปราย ตั้งค�ำถามและแสดงความคิดเห็น ในประเด็นต่างๆ ระหว่างการประชุม


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

4. ดูแลให้บริษทั มีการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ สาธารณชน และหน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิผล 5. ส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์ที่สร้างสรรค์ระหว่างคณะกรรมการ บริษัทกับฝ่ายบริหาร โดยร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหารสร้าง การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้การด�ำเนินการตามกุลยทธ์ นโยบาย ทิศทาง และเป้าหมาย การด�ำเนินงานต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติไว้ประสบ ผลส�ำเร็จ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นหัวหน้าและผู้น�ำคณะผู้บริหาร ของบริษัท รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทในการบริหารจัดการ บริษัทให้มีการด�ำเนินการตามกลยุทธ์ นโยบาย ทิศทาง และ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทให้ส�ำเร็จบรรลุ ตามเป้ า หมาย โดยมี ข อบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ ภ ายใต้ ก ฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติคณะกรรมการ บริษัทและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวจสอบ

1. สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการบั ญ ชี ที่ ก ฎหมายก� ำ หนด และมี ก ารเปิ ด เผย อย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิผล และ พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง และการพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความดีความชอบ ของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำ หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และ เสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มี ฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณานโยบายของบริษัทเกี่ยวกับการใช้บริการอื่นที่มิใช่การ สอบบัญชีจากส�ำนักงานสอบบัญชีเดียวกัน 6. พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วาม ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าว สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 7. สอบทานให้บริษทั มีระบบบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 8. สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนงานตรวจสอบภายในประจ�ำปี การปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี

049

9. จั ด ท� ำ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ด เผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน ของบริษัท (3) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (6) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และ การเข้าร่วม ประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) (8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท 10. ด�ำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี เกีย่ วกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผูจ้ ดั การ หรือ บุคคล ซึง่ รับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษทั ได้กระท�ำความผิดตาม ที่กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด และ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้น ให้ แ ก่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี 11. รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการตรวจสอบให้ คณะกรรมการบริษทั ทราบอย่างน้อยปีละ 4 ครัง้ โดยในการปฏิบตั ิ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่า มีรายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมี นัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัท ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัท เพื่ อ ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร (1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญ ในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจ หากคณะกรรมการของบริษทั หรือผูบ้ ริหารไม่ดำ� เนินการให้มกี าร ปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบ รายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำนั้นต่อ


050

ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 12. ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ มีอำ� นาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน ของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสาร ตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 13. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคล ภายนอกตามระเบียบของบริษัทมาให้ความเห็น หรือค�ำปรึกษา ในกรณีจ�ำเป็น 14. สอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามนโยบายการให้ขอ้ มูลการกระท�ำผิด และการทุจริต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล และ พิจารณาข้อร้องเรียนรวมถึงพิจารณาผลการสอบสวนของบริษทั ทุกไตรมาส รวมทั้งเป็นช่องทางหนึ่งของบริษัทในการรับแจ้ง ข้ อ ร้ อ งเรี ย นตามนโยบายการให้ ข ้ อ มู ล การกระท� ำ ผิ ด และ การทุจริต การสอบสวนและการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล 15. พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นประจ�ำทุกปี 16. พิจารณาสอบทานกฎบัตรนี้เป็นประจ�ำทุกปีและเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลงหากมีความ จ�ำเป็น 17. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ด้วยความ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

ผู้สืบทอดต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท รวมทั้ง ผู้บริหารระดับสูงซึ่งรายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ดังกล่าว และรายงานแผนการสืบทอดต�ำแหน่งของผูบ้ ริหารระดับสูง ให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจ�ำทุกปี 9. ร่ ว มกั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารของบริ ษั ท จั ด ท� ำ นโยบาย แผนการสืบทอดต�ำแหน่งส�ำหรับต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหารของบริษัท รวมทั้งผู้บริหารระดับสูงซึ่งรายงานตรงต่อ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารดังกล่าว 10. ท�ำหน้าทีด่ แู ลกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและผู้บริหารระดับสูง 11. ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็น หรือค�ำแนะน�ำตามความจ�ำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการ พัฒนาความเป็นผู้นำ� 12. คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทน รั บ ผิ ด ชอบต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท และมี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค� ำ ชี้ แ จง ตอบค�ำถามใดๆ เกี่ยวกับค่าตอบแทนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 13. พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง 14. รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านที่ ส� ำ คั ญ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท รับทราบเป็นประจ�ำ รวมทัง้ ประเด็นส�ำคัญต่างๆ ทีค่ ณะกรรมการ บริษัทควรได้รับทราบ 15. มีอ�ำนาจเชิญฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข้อง ของบริษทั มาให้ความเห็น เข้าร่วมประชุมหรือให้ขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้อง 16. ด� ำเนินการอื่นๆใดหรือตามอ�ำนาจและความรับผิดชอบ ตามที่ คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน 1. ก�ำหนดค่าตอบแทนที่จำ� เป็นและเหมาะสม ทั้งที่เป็นตัวเงินและ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน้าที่ให้เป็นคราวๆ ไป มิใช่ตวั เงิน ของกรรมการ กรรมการชุดย่อยและผูบ้ ริหารระดับสูง ของบริษทั ในแต่ละปี เพือ่ ประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั โดยรวม คณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ 2. จัดท�ำหลักเกณฑ์และนโยบายในการก�ำหนดค่าตอบแทนของ 1. ก�ำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและ คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงเพื่อเสนอให้คณะ กรรมการชุดย่อยของบริษัท กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติและ/หรือน�ำเสนอต่อที่ประชุม 2. ก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของ ผู้ถือหุ้นอนุมัติตามแต่กรณี บริ ษั ท พิ จ ารณาทบทวนนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี 3. พิจารณาสอบทานและอนุมตั ผิ ลการด�ำเนินงานของบริษทั เพือ่ ใช้ ของบริษทั ทุกๆ ปี รวมทัง้ เสนอปรับปรุงแก้ไขนโยบายการก�ำกับ ประกอบการพิจารณาอนุมตั จิ า่ ยเงินโบนัสประจ�ำปีตามผลตัวชีว้ ดั ดูแลกิจการของบริษัทให้คณะกรรมการพิจารณา การปฏิบัติงานและพิจารณาปรับเพิ่มเงินเดือนประจ�ำปี 3. พิจารณาสรรหากรรมการ และกรรมการชุดย่อยโดยพิจารณา 4. พิจารณาและอนุมัติโครงการค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term บุคคลที่เหมาะสมที่จ ะมาด� ำรงต�ำแหน่งกรรมการเพื่อเสนอ Incentive Plan) รวมถึงแนวทางปฎิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติ 5. พิจารณาและอนุมัติผลการประเมินการปฏิบัติงานเพื่อก�ำหนด ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี เงินโบนัสประจ�ำปี การปรับขึน้ เงินเดือนประจ�ำปี และค่าตอบแทน 4. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ระยะยาว (Long Term Incentive Plan) ให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารของบริษัท รวมทั้งผู้บริหารระดับสูงซึ่งรายงานตรงต่อ คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารดังกล่าว พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมายการด�ำ เนินงาน และ 6. พิจารณาและอนุมตั กิ ารจ่ายเงินโบนัสประจ�ำปีให้กบั กรรมการของ 1. งบประมาณทีเ่ พียงพอ ตลอดจนการใดๆทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนา บริษัท ่ความยั่งยืน เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 7. รายงานนโยบายด้านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและ 2. สูเสนอประเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ บริ ษั ท อั น เกี่ ย วเนื่ อ ง วัตถุประสงค์ของนโยบายเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี กั บ การพั ฒ นาสู 8. ร่วมกับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของบริษทั ประเมินและก�ำหนด บริษัทพิจารณาค่ วามยัง่ ยืน เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ


/

051

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

3. สอบทานผลการปฏิบัติงานตามนโยบายและกลยุทธ์ด้านการ พัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 4. ให้คำ� ปรึกษาและสนับสนุนประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอันเกีย่ วเนือ่ ง กับการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาสู่ความยั่งยืน 5. รายงานผลการด� ำ เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาสู ่ ค วามยั่ ง ยื น ต่ อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6. สอบทานและให้ความเห็นชอบต่อรายงานการพัฒนาสู่ความ ยัง่ ยืน เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ 7. การปฏิบัติอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

ผู้บริหาร1)

นายแอเลน ลิว ยง เคียง ประธานกรรมการบริหาร นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ 2) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด นางสุวิมล แก้วคูณ หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการพัฒนาองค์กร นางวิลาสินี พุทธิการันต์ หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านลูกค้าและบริการ นายฮุย เว็ง ชอง หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านปฏิบัติการ นายพงษ์อมร นิม่ พูลสวัสดิ ์ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการเงิน คณะกรรมการบริหาร 1. ก�ำหนดทิศทางกลยุทธ์ โครงสร้างการบริหารงาน แผนธุรกิจ นายเกรียงศักดิ์ วาณิชย์นที หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทเพื่อเสนอให้คณะกรรมการ หมายเหตุ : 1) รายชื่อผู้บริหาร 4 รายแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ตามค�ำนิยามของส�ำนักงานคณะกรรมการ บริษัทอนุมัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. ก�ำกับและติดตามผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินของบริษทั 2) ได้ก�ำรกั​ับบการแต่ งตั้งเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารแทนนายวิเชียร เมฆตระการ ซึ่งขอเกษียณอายุ และรายงานผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินให้แก่กรรมการ ก่อนก�ำหนด ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 บริษัทรับทราบเป็นประจ�ำทุกเดือน 3. พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ยวกับการลงทุนและ การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง จ�ำหน่ายทรัพย์สิน การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ การบริหารเงิน การบริหารงานทัว่ ไป และรายการอืน่ ใดทีเ่ กีย่ วกับ 1. คณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ จะท�ำการสรรหา ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ภายในขอบเขตอ� ำ นาจที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คัดเลือก บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมและเสนอให้คณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท บริษัทพิจารณาแต่งตั้งหรือเสนอขออนุมัติแต่งตั้งต่อที่ประชุม 4. คณะกรรมการบริ ห ารอาจมอบอ� ำ นาจช่ ว งให้ ผู ้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้ถือหุ้นตามข้อบังคับของบริษัท โดยในการสรรหาบุคคลผู้มี บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง มี อ� ำ นาจในการด� ำ เนิ น การในเรื่ อ งใด คุณสมบัติเหมาะสมนั้น จะพิจารณาจากช่องทางดังต่อไปนี้ เรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณา - การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ สมบัตคิ รบถ้วน เห็นสมควรได้ การอนุมัติรายการของคณะกรรมการบริหารและ ตามที่บริษัทก�ำหนดเพื่อเข้ารับคัดเลือกเป็นุ กรรมการบริ ษัท หรือการมอบอ�ำนาจช่วงต้องไม่เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ล่วงหน้า หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการ - บุคคลทีไ่ ด้รบั การแนะน�ำจากกรรมการบริษทั และทีป่ รึกษาอิสระ ที่คณะกรรมการบริหารมีส่วนได้เสียตามที่ก�ำหนดในข้อบังคับ ภายนอก ของบริษัท และตามที่ก� ำหนดโดยคณะกรรมการบริษัทและ - ฐานข้อมูลของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หน่วยงานก�ำกับดูแล คณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ จะพิจารณาทบทวน 5. รายงานผลการปฏิบัติงานที่ส�ำคัญของคณะกรรมการบริหารให้ 2. กษะและคุณลักษณะของกรรมการ (Skill and Characteristic) คณะกรรมการบริษทั รับทราบเป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส ในวาระการ ทัและองค์ ประกอบโดยรวมของคณะกรรมการบริษัท เปรียบเทียบ รายงานของประธานกรรมการบริหาร ศทางในการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบันและอนาคต โดยจัดท�ำ 6. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองและประเมินความเพียงพอ กัเป็บนทิตาราง Skill Matrix เพื่อก�ำหนดเกณฑ์ในการสรรหา ของกฎบัตรเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งอาจท�ำพร้อมกับการประเมินผล กรรมการทีBoard ่ต้องการเป็นประจ�ำทุกปี ในการทบทวนดังกล่าว การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและก� ำกับดูแลกิจการยังได้พิจารณาถึง ชุดย่อยอื่น บ่ ริษทั ต้องการ รวมทัง้ ความหลากหลาย 7. ด�ำเนินการอื่นๆ ใด หรือ ตามอ�ำนาจและความรับผิดชอบตามที่ ทัทัก้ งษะและความสามารถที ในด้ า นทั ก ษะ ประสบการณ์ ความรู ้ ความเชี่ ย วชาญ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน้าที่ให้เป็นคราวๆ ไป ความเป็นอิสระ อายุ และเพศของกรรมการ ในการพิจารณาแต่งตัง้ กรรมการเดิมเป็นกรรมการต่ออีกวาระหนึง่ นอกเหนื อ จากคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการ 3. ำกับดูแลกิจการจะพิจารณาปัจจัย ชุดย่อยแล้ว บริษทั ยังก�ำหนดให้มผี บู้ ริหารระดับสูงเพือ่ คอยสนับสนุน คณะกรรมการสรรหาและก� ต่ า งๆ ซึ ่ ง รวมถึ ง ผลการปฏิ บัติงาน ประวัติการเข้าร่วมและ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ดังรายชื่อต่อไปนี้ การมีส่วนร่วมในการประชุม และการสนับสนุนในกิจกรรม ของคณะกรรมการบริ ษั ท โดยหากเป็ น กรรมการอิ ส ระ จะพิจารณาถึงความเป็นอิสระของกรรมการท่านดังกล่าวด้วย


052

4. การแต่งตัง้ กรรมการให้เป็นไปตามข้อบังคับบริษทั และข้อก�ำหนด ของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะต้องมีความโปร่งใสและชัดเจน โดยหลักเกณฑ์และวิธกี ารเลือกตัง้ กรรมการในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ดังนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจ�ำนวนหุ้นที่ถือ คือ หนึ่งหุ้นเท่ากับหนึ่งเสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลื อ กตั้ ง บุ ค คลคนเดี ย วหรื อ หลายคนเป็ น กรรมการก็ ไ ด้ ในกรณี ที่ เ ลื อกตั้งบุค คลหลายคนเป็น กรรมการ จะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจ�ำนวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็น ผู้ออกเสียงชี้ขาด กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเนือ่ งจากสาเหตุอนื่ นอกจากการ ครบวาระออกจากต�ำแหน่งกรรมการ ให้คณะกรรมการพิจารณา แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการความถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการทีพ่ น้ จากต�ำแหน่งเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดย บุคคลทีเ่ ข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่า วาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน ทัง้ นี้ มติการแต่งตัง้ บุคคล เข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ ทัง้ นี้ บริษทั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสว่ นร่วมในการเสนอชือ่ บุคคล เพือ่ เข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการได้ลว่ งหน้าไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือน ก่อนวันสิน้ สุดรอบปีบญั ชี โดยแจ้งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และเว็บไซด์ของบริษัท ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับ วิธีการเสนอและขั้นตอนการพิจารณา โดยในปี 2557 ไม่มีผู้ถือหุ้น รายใดเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ การสรรหาผู้บริหารระดับสูง

คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมมาด�ำรงต�ำแหน่งประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและผู้บริหารระดับสูงที่มีหน้าที่รายงานตรงต่อ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รวมถึงจัดท�ำแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) โดยในการพิจารณาจะคัดเลือกจากผูท้ รงคุณวุฒิ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยคณะกรรมการพัฒนาความเป็น ผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทนอาจพิจารณาว่าจ้างที่ปรึกษาอิสระเพื่อ เข้ามาช่วยในการสรรหาดังกล่าวด้วย ในต�ำแหน่งผูบ้ ริหารระดับสูง บริษทั ได้จดั ท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) รองรับผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้อ�ำนวยการฝ่าย

ขึ้นไป โดยได้ระบุตัวบุคคลที่จะท�ำหน้าที่แทน พร้อมกันนี้ บริษัท ได้จดั ให้มรี ะบบพัฒนาบุคลากรในล�ำดับรองลงมาเพือ่ เตรียมความพร้อม ส�ำหรับการขึ้นไปด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าวด้วย โดยในปี 2557 มีการ พิจารณาผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ตามกระบวนการ สรรหาและสืบทอดต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ซึ่งมีมติ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2557 เห็นชอบกับข้อเสนอ แนะของคณะกรรมการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน

วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัท

1. ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัดและข้อบังคับของบริษทั ก� ำ หนดให้ ใ นการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี ทุ ก ครั้ ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการ ทัง้ หมด ถ้าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรงสามส่วนไม่พอดี ให้ออกจ�ำนวนใกล้เคียงที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยให้กรรมการ คนที่ อ ยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง นานที่ สุ ด เป็ น ผู ้ อ อกจากต� ำ แหน่ ง และ กรรมการทีอ่ อกจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั เลือกเข้ามาด�ำรง ต�ำแหน่งใหม่อีกได้โดยไม่จ�ำกัดจ�ำนวนครั้ง 2. กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเนือ่ งจากสาเหตุอนื่ นอกจากการ ครบวาระออกจากต�ำแหน่งกรรมการ ให้คณะกรรมการพิจารณา แต่ ง ตั้ ง บุ ค คลซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า ม ตามกฎหมาย มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ ความถัดไป โดยบุคคลที่เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในต�ำแหน่ง กรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการตรวจสอบ

1. กรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละไม่เกิน 3 ปี กรรมการที่พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระมีสิทธิได้รับเลือกกลับ เข้ามาใหม่ได้ ทั้งนี้ส�ำหรับผู้ที่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งมาแล้วเป็นระยะ เวลา 9 ปี หรือ 3 วาระติดต่อกัน คณะกรรมการบริษทั จะทบทวน ความเป็นอิสระทีแ่ ท้จริงของกรรมการผูน้ นั้ เป็นการประจ�ำทุกๆ ปี 2. กรรมการตรวจสอบท่านใดประสงค์จะลาออกก่อนครบวาระ ต้องยืน่ หนังสือลาออกต่อประธานกรรมการบริษทั โดยการลาออก มีผลตั้งแต่วันที่ใบลาออกมาถึงที่บริษัทเพื่อให้คณะกรรมการ บริ ษั ท พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการอื่ น ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว น ทดแทนกรรมการที่ลาออก โดยให้ด�ำรงต�ำแหน่งเท่าวาระที่ยัง เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน คณะกรรมการบริษัทจะต้อง แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบให้ครบถ้วนภายใน 90 วัน นับแต่ วันที่กรรมการตรวจสอบคนนั้นลาออก ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบพ้นจากต�ำแหน่งทั้งคณะ เพราะ เหตุ อื่ น นอกจากขาดคุ ณ สมบั ติ หรื อ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า ม ตามกฎหมาย ให้คณะกรรมการตรวจสอบที่พ้นจากต�ำแหน่ง ยังคงต้องอยู่รักษาการในต�ำแหน่งเพียงเท่าที่จ�ำเป็นจนกว่า คณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่จะเข้ารับหน้าที่


/

053

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการชุดย่อยอื่นๆ

ตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ให้แก่ กรรมการบริษทั กรรมการชุดย่อย ประธาน 1. ให้ ก รรมการชุ ด ย่ อ ยอื่ น ๆ มี ว าระอยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง ตามวาระ เจ้าหน้าที่บริหาร รวมถึงผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานตรงต่อประธาน การด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ และกรรมการชุดย่อยอื่นๆ เจ้าหน้าที่บริหาร โดยในการพิจารณานอกจากนโยบายการจ่าย ค่าตอบแทนที่กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว จะมีการน�ำผลส�ำรวจค่าตอบแทน ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้ 2. นอกจากการพ้นจากต�ำแหน่งตาม (1) กรรมการชุดย่อยอื่นๆ กรรมการที่จัดท�ำโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคม ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทยมาประกอบการพิ จ ารณา พ้นจากต�ำแหน่งเมื่อ เป็นประจ�ำทุกปี - ตาย - ลาออก ทั้ ง นี้ ส� ำ หรั บ ค่ า ตอบแทนกรรมการและกรรมการชุ ด ย่ อ ย - ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการก� ำ หนดค่ า ตอบแทนจะน� ำ เข้ า เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม - คณะกรรมการบริษัทมีมติให้พ้นจากต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ขอมติเห็นชอบ และทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปีเพื่อขออนุมัติ เป็นประจ�ำทุกปี

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาจัดสรร ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนคณะกรรมการ

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินส�ำหรับประธานกรรมการ กรรมการ อิสระ และกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จ�ำนวน 8 ราย รวมจ�ำนวนเงิน 24.94 ล้านบาท โดยจ่ายจากผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2557 และมีการพิจารณาจัดสรรตามนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนและ กรอบวงเงิน 25 ล้านบาท ซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2557 ทั้งนี้ นโยบายการจ่าย ค่าตอบแทนดังกล่าว บริษัทใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับปี 2556 และ คณะกรรมการการพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน ค่าตอบแทนที่จัดสรรอยู่ภายในกรอบของวงเงิน อันประกอบด้วย เป็นผู้พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนที่จ�ำเป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็น ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุมและโบนัส บริษัทมีนโยบายในการก�ำหนดค่าตอบแทนให้กรรมการในอัตรา ที่เทียบได้กับอุตสาหกรรมเดียวกัน และสูงเพียงพอที่จะจูงใจและ รักษากรรมการที่มีคุณภาพไว้ และจะค�ำนึงถึงความเป็นธรรมและ เหมาะสมส�ำหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหาร จะสอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงาน ของผู้บริหารแต่ละท่าน

นโยบายการจ่ายตอบแทนคณะกรรมการประจ�ำปี 2557 กรรมการ

ค่าตอบแทนในรูปตัวเงิน (บาท)

ค่าตอบแทนรายเดือน

ค่าเบี้ยประชุม

โบนัส

300,000 75,000

x 25,000

P P

คณะกรรมการตรวจสอบ • ประธานกรรมการ • กรรมการ

25,000 x

25,000 25,000

P P

คณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ • ประธานกรรมการ • กรรมการ

10,000 x

25,000 25,000

P P

คณะกรรมการ • ประธานกรรมการ • กรรมการ

หมายเหตุ : 1) กรรมการที่เป็นผู้บริหาร / พนักงานของบริษัท หรือผู้ถือหุ้น ไม่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ หรือกรรมการชุดย่อย 2) ประธานกรรมการไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน หรือเบี้ยประชุม หากเป็นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย


054

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทเป็นรายบุคคลที่ได้รับในฐานะกรรมการบริษัทจ�ำนวน 7 ราย ในปี 2557 มีดังนี้ ชื่อ - นามสกุล

ต�ำแหน่ง

นายวิทิต ลีนุตพงษ์ 1)

• ประธานกรรมการ

ดร.ไพบูลย์ ลิบปพยอม1)

• ประธานกรรมการ (เดิม)

โบนัสจากผล ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม การด� ำเนินงาน รายเดือน (บาท) (บาท) ปี 2557 (บาท)

อื่นๆ 3)

3,100,000

100,000

2,400,000

51,356

264,286

-

-

-

1,007,419

675,000

2,200,000

-

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ • ประธานกรรมการสรรหา และก�ำกับดูแลกิจการ • กรรมการตรวจสอบ

903,387

725,000

1,900,000

42,018

นางทัศนีย์ มโนรถ

• กรรมการตรวจสอบ • กรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน

825,000

675,000

1,900,000

51,356

นายอึ้ง ชิง-วาห์

• กรรมการ • กรรมการบริหาร

825,000

525,000

1,500,000

51,356

นายนฤาชา จิตรีขันธ์

• กรรมการ

825,000

125,000

1,000,000

-

885,484

425,000

1,900,000

59,793

8,635,576

3,250,000

12,800,000

255,878

นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ • ประธานกรรมการ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน • กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ� และก�ำหนดค่าตอบแทน

นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย 2) • ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ รวม

หมายเหตุ : 1) นายวิทิต ลีนุตพงษ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ แทนดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ซึ่งขอลาออก มีผลวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 2) นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2557 และได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการตรวจสอบแทน นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ มีผลวันที่ 6 พฤษภาคม 2557 3) ค่าตอบแทนอื่นๆ หมายถึง เบี้ยเลี้ยงในกรณีเดินทางไปปฏิบัติงานให้บริษัท ซึ่งจะคิดในอัตราเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และเป็นไปตามระเบียบบริษัท

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ค่าตอบแทนรวมของคณะผู้บริหารจ�ำนวน 8 ราย เท่ากับ 75.48 คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทน ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.28 ของค่าตอบแทนของบุคลากรทั้งหมด เป็นผู้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการก�ำหนดค่าตอบแทน ของบริษัท ประกอบด้วยเงินเดือน โบนัส และกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้บริหารระดับสูง เป็นประจ�ำทุกปี และผลตอบแทนอื่นๆ รวมทั้งพิจารณาอนุมัติโครงการค่าตอบแทนระยะยาว (Long Term Incentive Plan) ให้แก่ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและผูบ้ ริหารระดับสูง ค่าตอบแทนอื่นๆ โดยวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องนโยบายก�ำหนดค่าตอบแทนของประธาน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าต่อบริษัทได้ เจ้าหน้าที่บริหารและผู้บริหารแต่ละคน จะสอดคล้องกับผลการ ปฏิบัติงานให้แก่องค์กรอย่างต่อเนื่อง อันเป็นการส่งเสริมให้บริษัท ด�ำเนินงานของบริษทั ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และสะท้อนถึงการ เติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาวเป็นประโยชน์ร่วมกันระหว่างบริษัท ปฏิบัติงาน ตลอดจนแนวปฏิบัติและมาตราฐานของกลุ่มธุรกิจชั้นน�ำ ผูถ้ อื หุน้ และผูบ้ ริหาร บริษทั ได้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ โดยจะต้องสามารถแข่งขันได้ และเพือ่ ดึงดูด จูงใจ และรักษาผูบ้ ริหาร (Warrant) ให้แก่ผู้บริหาร ตามโครงการจ่ายค่าตอบแทนระยะยาว ที่ส�ำคัญต่อความส�ำเร็ของบริษัทในระยะยาว (Performance Share Plan) เป็นจ�ำนวน 2 ครัง้ โดยมีรายละเอียดดังนี้


/

055

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ครั้งที่ 1 ออกปี 2556 ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 0 บาท อายุใบส�ำคัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขาย ราคาการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้น : 206.672 บาท ต่อหุน้ (เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้อก�ำหนดทีร่ ะบุไว้ในเอกสารข้อก�ำหนดสิทธิและเงือ่ นไข ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ) วันทีส่ ามารถใช้สทิ ธิได้ครัง้ แรก : 1 มิถุนายน 2559 ทั้งนี้กำ� หนดให้ใช้สิทธิได้ปีละ 1 ครั้ง ครั้งที่ 2 ออกปี 2557 ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 0 บาท อายุใบส�ำคัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขาย ราคาการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้น : 211.816 บาท ต่อหุน้ (เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามข้อก�ำหนดทีร่ ะบุไว้ในเอกสารข้อก�ำหนดสิทธิและเงือ่ นไข ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ) วันทีส่ ามารถใช้สทิ ธิได้ครัง้ แรก : 1 มิถุนายน 2560 ทั้งนี้กำ� หนดให้ใช้สิทธิได้ปีละ 1 ครั้ง ทัง้ นีผ้ บู้ ริหารตามค�ำนิยามของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทไี่ ด้รบั ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ (Warrant) มีรายชื่อและจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) ที่ได้รับดังนี้ ล�ำดับที่

1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายชื่อผู้บริหารได้รับ

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ นายวิเชียร เมฆตระการ 1) นางสุวิมล แก้วคูณ นางวิลาสินี พุทธิการันต์ นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์ นายเกรียงศักดิ์ วาณิชย์นที

จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) (หน่วย) ปี 2556 (จ�ำนวนหุ้น)

ร้อยละของจ�ำนวน ใบส�ำคัญแสงสิทธิ ทั้งหมดที่ออก

ปี 2557 (จ�ำนวนหุ้น)

ร้อยละของจ�ำนวน ใบส�ำคัญแสงสิทธิ ทั้งหมดที่ออก

รวม

19,824 29,900 18,064 20,764 21,664 7,564

4.89 7.37 4.45 5.12 5.34 1.86

29,816 42,700 27,116 29,816 29,816 31,216

4.38 6.28 3.99 4.38 4.38 4.59

49,640 72,600 45,180 50,580 51,480 38,780

หมายเหตุ : 1) ได้ขอเกษียณอายุก่อนก�ำหนด ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2557

เลขานุการบริษัท

หัวหน้าหน่วยงานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน

คือ นายชวิน ชัยวัชราภรณ์ มีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ (1) จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และการประชุมผู้ถือหุ้น (2) จัดการประชุมของคณะกรรมการและการประชุมผู้ถือหุ้น ของบริษัทย่อยทุกบริษัท (3) จัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการพิจารณา รวมทัง้ ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันเสมอ (4) จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารต่างๆ ตามทีก่ ฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ก�ำหนด (5) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท และคณะ กรรมการชุดย่อยมอบหมาย

คือ นางสาวนัฐยิ า พัวพงศกร ซึง่ มีหน้าทีก่ ำ� กับดูแลในฐานะบริษทั จดทะเบียนในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องของส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) รวมทั้งกฎหมายบริษัท มหาชนจ�ำกัด ทั้งนี้ข้อมูลประวัติและรายละเอียดของเลขานุการบริษัท และ หัวหน้าหน่วยงานก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ าน ปรากฎในหน้า 41


056

การก�ำกับดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ

บริษัทมีการแบ่งแยกอ�ำนาจหน้าที่ของประธานกรรมการและ นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของเอไอเอสแบ่ ง ออกเป็ น ประธานเจ้าหน้าที่บริหารอย่างชัดเจน รวมทั้งได้สงวนสิทธิในการ พิจารณาเรือ่ งทีม่ นี ยั ส�ำคัญซึง่ จะกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั 5 หมวด คือ อย่างมากให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการเท่านั้นด้วย 1. คณะกรรมการบริษัท 2. สิ ท ธิ แ ละความเท่ า เที ย มกั น ของผู ้ ถื อ หุ ้ น และบทบาทต่ อ ทั้งนี้ รายละเอียดเรื่องชื่อและองค์ประกอบของคณะกรรมการ ผู้มีส่วนได้เสีย หลักเกณฑ์การสรรหาและวิธีพิจารณาคัดเลือก การแต่งตั้ง นิยาม 3. การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส ของกรรมการอิสระ และการแบ่งแยกหน้าที่ของประธานกรรมการ 4. การควบคุมและการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ปรากฎอยู่ในหัวข้อ “โครงสร้าง 5. ประมวลจริยธรรมธุรกิจ การจัดการ” หน้า 44 โดยถูกก�ำหนดจากคณะกรรมการบริษัทและเริ่มบังคับใช้กับ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับมาตั้งแต่ปี 2545 รวมทั้ง เผยแพร่บนเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและบุคคลภายนอกได้รับทราบ และช่วยกันตรวจสอบที่ http://investor.ais.co.th โดยคณะกรรมการ บริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ ต้องมีการทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการให้มคี วามเหมาะสม กั บ ธุ ร กิ จ และสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยเป็นประจ�ำทุกปี ซึง่ ในปีทผี่ า่ นมาขอบเขตการพิจารณา ได้ครอบคลุมถึงหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทางของ ASEAN Scorecard ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้สอื่ สารนโยบายดังกล่าวให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานรับทราบผ่านช่องทางและกิจกรรมทีห่ ลากหลาย พร้อมทั้งก�ำหนดให้มีช่องทางส�ำหรับบุคคลทั้งภายในและภายนอก เพื่ อ แจ้ ง เรื่ อ งการพบเห็ น การกระท� ำ ที่ เ ป็ น การละเมิ ด นโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ซึ่งครอบคลุมถึง มาตรการคุ้มครองผู้รายงาน (Whistle Blower Policy) ด้วย

รายงานการปฏิบัติตามนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการ หมวด 1 : คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น บุ ค คลที่ มี ภ าวะผู ้ น� ำ และวิ สั ย ทั ศ น์ ในการมุ่งมั่นให้บริษัทเป็นผู้น�ำในเรื่องการสื่อสารโทรคมนาคมของ ประเทศและเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นโดยรวม มิใช่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 11 ท่าน ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายก�ำหนด และมีประสบการณ์ หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่างๆ รวมทั้งประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจโทรคมนาคม โดยมีสัดส่วนของกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด และมีคุณสมบัติตามที่กำ� หนด ไว้ในนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการซึ่งมากกว่าขั้นต�่ำที่กฎหมาย ก�ำหนด นอกจากนี้ มากกว่ากึ่งหนึ่งขององค์ประกอบคณะกรรมการ เป็นกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหาร ทั้งนี้ เพื่อให้มีความเป็นอิสระในการ ตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และผู้ถือหุ้น โดยประธาน กรรมการบริษัทไม่ใช่บุคคลคนเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รวมถึงต้องไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือทางธุรกิจระหว่างกัน

คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วย ศึกษาและกลั่นกรองงานในด้านอื่นๆ อีก 5 ชุด โดยรายละเอียด โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย รายชื่อและ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการแต่ละชุดปรากฎอยูใ่ นหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 44 การประชุมคณะกรรมการ

ก�ำหนดการประชุมของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ทุกชุดจะถูกก�ำหนดล่วงหน้าเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 เดือน ก่ อ นวั น สิ้ น สุ ด รอบปี บั ญ ชี เ พื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า กรรมการแต่ ล ะท่ า น จะสามารถจัดสรรเวลาเข้าร่วมประชุมได้อย่างพร้อมเพรียงกัน โดยหนังสือเชิญประชุมซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดวาระการประชุม และเอกสารประกอบการประชุมจะถูกส่งออกให้กรรมการล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการแต่ละท่านได้มี เวลาศึกษาข้อมูลก่อนล่วงหน้า ทัง้ นี้ ส�ำหรับในเดือนใดทีไ่ ม่ได้มกี ารประชุม ส�ำนักเลขานุการบริษทั จะจัดส่งรายงานสรุปผลการด�ำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ในเดือนนั้นๆ ให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบ โดยรายละเอียด จ�ำนวนครั้งของการจัดประชุมและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการ แต่ละท่าน ปรากฎอยู่ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 44 ในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นแต่ละวาระ ประธานกรรมการ ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นประธานที่ประชุมจะจัดสรรเวลาให้อย่างเพียงพอ และเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ บ ริ ห ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งของแต่ ล ะวาระสามารถ น� ำ เสนอข้ อ มู ล เพื่ อ ประกอบการพิ จ ารณาและการตั ด สิ น ใจได้ โดยรายงานการประชุมจะถูกจัดท�ำโดยเลขานุการบริษทั ภายใน 14 วัน นับแต่วันประชุมเสร็จสิ้น การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการ ประชุมกันเองอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยไม่มกี รรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร หรือฝ่ายบริหารเข้าร่วมการประชุม เพือ่ เปิดโอกาสให้อภิปรายปัญหา ต่างๆ ทั้งที่ เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท รวมทั้งเรื่องที่อยู่ในความสนใจ


/

057

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง

คณะกรรมการก�ำหนดให้มแี ผนการสืบทอดต�ำแหน่งของประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และผู้บริหารระดับสูงของบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทจะสามารถด�ำเนินธุรกิจต่อไปได้หากต�ำแหน่งส�ำคัญดังกล่าว ว่างลง โดยมอบหมายให้คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำและ ก�ำหนดค่าตอบแทนท�ำหน้าที่พิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์และจัดท�ำ แผนการสืบทอดดังกล่าว รวมทั้งก�ำหนดให้ประธานคณะกรรมการ พั ฒ นาความเป็ น ผู ้ น� ำ และก� ำ หนดค่ า ตอบแทนต้ อ งรายงานให้ คณะกรรมการบริษัททราบถึงแผนการสืบทอดต�ำแหน่งดังกล่าว รวมทั้งให้มีการทบทวนเป็นประจ�ำทุกปี

เที ย บได้ กั บ บริ ษั ท ในอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น และบริ ษั ท ที่ มี ข นาด ใกล้เคียงกัน โดยการพิจารณาจะเชื่อมโยงกับผลการปฏิบัติงาน รายบุคคลและผลการด�ำเนินงานของบริษัทด้วย โดยคณะกรรมการ พัฒนาความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทนจะเป็นผู้พิจารณา ก�ำหนดนโยบายในการจ่ายค่าตอบแทน ประเภทของค่าตอบแทน และจ� ำ นวนค่ า ตอบแทน เพื่ อ เสนอขอความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการบริ ษั ท ก่ อ นน� ำ ไปขออนุ มั ติ ใ นที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็นประจ�ำทุกปี ทั้งนี้ รายละเอียดของนโยบายการจ่ายค่าตอบแทน และจ�ำนวนค่าตอบแทนที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหารในปี 2557 ปรากฎอยู่ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 44

การติดต่อสื่อสารกับฝ่ายบริหาร

การอบรมและพัฒนาความรู้กรรมการ

บริษัทจัดให้มีส�ำนักเลขานุการบริษัทเพื่อท�ำหน้าที่เป็นตัวกลาง การติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งกรรมการและฝ่ า ยบริ ห าร รวมทั้ ง มีสำ� นักงานตรวจสอบภายในเป็นตัวกลางระหว่างกรรมการตรวจสอบ กับฝ่ายบริหาร ทัง้ นี้ บริษทั ไม่มกี ารปิดกัน้ การเข้าถึงและติดต่อสือ่ สาร ระหว่างกรรมการและฝ่ายบริหารโดยตรง แต่การติดต่อสื่อสารนั้น จะต้องไม่เป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงต่อการด�ำเนินธุรกิจปกติ ของบริษัท

กรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่แต่ละท่านจะได้รบั การปฐมนิเทศ เพื่อรับทราบข้อมูลทั่วไปและข้อมูลการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างเพียงพอก่อนปฏิบัติหน้าที่

นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ ทั้ ง กรรมการ เลขานุ ก าร บริษัท และผู้บริหารต้องเข้ารับการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้ อย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด ซึ่งการพัฒนา ความรูข้ องกรรมการประกอบด้วยหลากหลายรูปแบบ เช่น หลักสูตร การอบรมทั้งภายในและภายนอก การศึกษาดูงานต่างประเทศ ค่าตอบแทนของกรรมการ การเยี่ยมชมธุรกิจต่างๆ ของกลุ่มบริษัท เป็นต้น โดยในปี 2557 บริษัทมีนโยบายก�ำหนดค่าตอบแทนของกรรมการให้สอดคล้อง มีการเข้าร่วมหลักสูตรดังต่อไปนี้ กับหน้าที่ความรับผิดชอบ และอยู่ในระดับที่สามารถจูงใจและ เดือน / ปี ที่เข้ารับการฝึกอบรม

หลักสูตร

สถาบันที่จัดหลักสูตร

ประธานกรรมการบริษัท มิถุนายน 2557 (2 วัน)

หลักสูตร Role of Chairman (RCP)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

เลขานุการบริษัท

เมษายน 2557 (2 วัน)

หลักสูตรต่อต้านการทุจริตส�ำหรับ ผู้บริหาร (ACEP 10/2557)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

มิถุนายน 2557 (4 วัน)

หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานเลขานุการ บริษัท (FPCS 29/2557)

สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

กรกฎาคม 2557 (2 วัน)

หลักสูตร Director Certification (DCP 192/2557)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

ตุลาคม 2557 (2 วัน)

หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย


058

หมวด 2 : สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น และ คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท

ตนเอง (Board Self-Assessment) แบบรายคณะเป็นประจ�ำทุกปี เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบในการตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการบริษัทว่าได้ด�ำเนินการตามนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการที่ได้อนุมัติไว้และ/หรือตามแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) หรื อ ไม่ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายที่ก�ำหนดไว้ และเพื่อทบทวนปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา • หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายคณะน�ำแนวทาง จากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) มาปรั บ ใช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะและโครงสร้ า งของ คณะกรรมการ ซึ่งการประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ

สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการเคารพในสิ ท ธิ แ ละมี ห น้ า ที่ ใ นการดู แ ลรั ก ษา ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าผู้ถือหุ้นนั้น จะเป็นนักลงทุนสถาบัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นรายย่อย และ ไม่ว่าสัญชาติใด โดยผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกัน ตามที่กำ� หนดไว้ในข้อบังคับบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อาทิ - สิทธิในการรับทราบสารสนเทศ ผลการด�ำเนินงาน นโยบาย การบริหารงานอย่างสม�ำ่ เสมอและทันเวลา - สิทธิในการรับส่วนแบ่งก�ำไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม โดยผูถ้ อื หุน้ ทุ ก รายจะได้ รั บ ส่ ว นแบ่ ง ก� ำ ไรในรู ป ของเงิ น ปั น ผลอย่ า ง เท่าเทียมกันตามจ�ำนวนหลักทรัพย์ที่ตนถือครอง และบริษัท ยังได้จ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้ให้ผู้ถือหุ้นกู้ตามก�ำหนดการและอัตรา ที่ก�ำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวนทุกครั้ง - สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ แสดงความเห็น ให้ขอ้ เสนอแนะ และร่วมพิจารณาตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญต่าง ๆ - สิทธิในการแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัท - สิทธิในการเข้าร่วมตัดสินใจ และทราบถึงผลของการตัดสินใจ ของบริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงในปั จ จั ย พื้ น ฐาน ของบริษัท เป็นต้น

ส่วนที่ 1 คณะกรรมการประเมินระดับคะแนนความเห็นหรือระดับ การด�ำเนินการใน 6 หัวข้อประเมิน ได้แก่ - โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ - บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ - การประชุมคณะกรรมการ - การท�ำหน้าที่กรรมการ - ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ การประชุมผู้ถือหุ้น - การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร ส�ำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละปี บริษัทได้ยึดถือแนวปฏิบัติ ส่วนที่ 2 คณะกรรมการให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ หรือสิ่งที่ให้ ด้วยเคารพในสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น ดังนี้ ความสนใจเป็นกรณีพิเศษส�ำหรับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ หรือการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ของบริษัท • ก่อนวันประชุม 1. เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถเสนอวาระการประชุมและ • ขั้นตอนในการประเมิน เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะจั ด ส่ ง แบบประเมิ น ให้ ก รรมการบริ ษั ท เสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการได้ ทุกท่านประเมินตนเองในทุกสิ้นปี จากนั้นจะน�ำมารวบรวมและ ล่วงหน้าตัง้ แต่วนั ที่ 1 ต.ค. 2556 - 31 ธ.ค. 2556 โดยได้ประกาศ รายงานสรุ ป ผลต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ รั บ ทราบ และเผยแพร่ ห ลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารเสนอผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข อง ตลาดหลักทรัพย์และเว็บไซต์บริษัท ทั้งนี้ เมื่อถึงก�ำหนดการ รวมทั้งหารือถึงแนวทางในการพัฒนาต่อไป ปิดรับ ปรากฎว่าไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องดังกล่าวแต่อย่างใด 2. ให้สิทธิผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ และก�ำหนดนโยบายและ การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั รวมทัง้ แต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและ คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทน ก� ำ หนดค่ า สอบบั ญ ชี สิ ท ธิ ใ นการอนุ มั ติ ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผล มีหน้าทีใ่ นการก�ำหนดเป้าหมายการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี และระยะยาว และการอนุมัติเรื่องอื่นๆ ตามสิทธิที่กฎหมายก�ำหนด ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. จัดท�ำหนังสือเชิญประชุมซึ่งมีค�ำชี้แจงวัตถุประสงค์ของแต่ละ ดังกล่าว เปรียบเทียบกับเป้าหมายดังกล่าวเป็นประจ�ำทุกปี ผลของการ วาระ หนังสือมอบฉันทะแบบ ข. และเอกสารประกอบการประชุม ประเมินดังกล่าวจะถูกน�ำมาใช้ประกอบในการพิจารณาค่าตอบแทน ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพือ่ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ล่วงหน้า 30 วันก่อนวันประชุม โดยได้ประกาศให้ทราบถึง การเผยแพร่ดังกล่าวผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์และ เว็บไซต์บริษทั นอกจากนีไ้ ด้จดั ส่งชุดเอกสารให้ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้า 21 วันก่อนวันประชุม


/

059

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

4. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กำ� หนดเป็นระยะเวลาล่วงหน้า 30 วัน ก่อนวันประชุม โดยเผยแพร่ ไ ว้ บ นเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท และแจ้ ง ผ่ า นช่ อ งทาง ของตลาดหลักทรัพย์ 5. นอกจากหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ที่จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อม หนังสือเชิญประชุมแล้ว บริษัทยังจัดให้มีหนังสือมอบฉันทะ ทัง้ แบบ ก. และ ค. ไว้บนเว็บไซต์บริษทั เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถมาเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเอง สามารถดาวน์ โ หลดแบบฟอร์ ม และมอบฉั น ทะให้ บุ ค คลอื่ น หรือกรรมการอิสระที่บริษัทแจ้งรายชื่อไว้ในหนังสือเชิญประชุม มาเข้าร่วมแทนได้ ทัง้ นีใ้ นส่วนของกรรมการอิสระบริษทั ได้เสนอ รายชื่อไว้จ�ำนวน 2 ราย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเลือกมอบฉันทะ ตามความพึงพอใจได้ 6. ประสานงานกับผูถ้ อื หุน้ ประเภทสถาบันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 14 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อตรวจสอบรายละเอียดการถือครอง หลักทรัพย์ และพยายามติดต่อเพื่อขอความร่วมมือให้มีการส่ง ตัวแทนเข้าร่วมการประชุมหรือมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ • วันประชุม 1. ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกราย รวมทั้งผู้ถือหุ้นประเภทสถาบัน เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น โดยเลือกสถานที่จัดประชุมที่โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้าว ซึ่งสะดวกต่อ การเดินทาง และจัดเตรียมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ไม่ว่าจะเป็นเครื่องถ่ายเอกสาร ป้ายบอกขั้นตอนการลงทะเบียน ระบบการลงทะเบียนและลงคะแนนแบบบาร์โค้ด รวมถึงบุคลากร ทีเ่ พียงพอ นอกจากนีย้ งั จัดให้มจี ดุ ลงทะเบียนกองทุนโดยเฉพาะ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ที่เป็นนักลงทุนสถาบัน 2. ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ ประธานกรรมการพัฒนา ความเป็นผู้น�ำและก�ำหนดค่าตอบแทน และประธานกรรมการ บริหาร รวมทั้งผู้บริหารระดับสูงพร้อมใจกันเข้าร่วมประชุม ผู้ถือหุ้น เพื่อตอบข้อซักถามต่างๆ ของผู้ถือหุ้น 3. จัดให้มีที่ปรึกษากฎหมายอิสระเพื่อท�ำหน้าที่ตรวจสอบความ ถูกต้องและความโปร่งใสของการนับคะแนน ในแต่ละวาระ การประชุม 4. ประธานที่ ป ระชุ ม ได้ ด� ำ เนิ น การประชุ ม ตามล� ำ ดั บ วาระและ เรื่องที่ได้ระบุไว้ในเอกสารเชิญประชุม โดยไม่มีการเพิ่มเติม แต่อย่างใด พร้อมทัง้ จัดสรรเวลาส�ำหรับการซักถามของผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละวาระให้อย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยก่อนเริม่ ประชุม ผู้แทนของบริษัทจะแจ้งขั้นตอนและวิธีการออกเสียงลงคะแนน ให้ผู้ถือหุ้นทราบ 5. จัดให้มีบัตรลงคะแนนส�ำหรับการออกเสียงในแต่ละวาระ และ ส�ำหรับวาระเลือกตั้งกรรมการจัดให้มีการลงคะแนนเป็นราย บุคคล โดยน�ำระบบบาร์โค้ดมาใช้เพือ่ ให้การนับคะแนนแต่ละวาระ เป็นไปอย่างรวดเร็ว

6. ประธานที่ ป ระชุ ม ได้ แ จ้ ง ผลคะแนนแต่ ล ะวาระและมติ ข อง ที่ประชุมให้ผู้ถือหุ้นทุกท่านทราบภายในช่วงการจัดประชุมทันที โดยไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดยกมือคัดค้านหรือไม่เห็นด้วยกับมตินั้น 7. จัดให้มแี บบประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ น�ำข้อมูล มาใช้ในการพัฒนาการจัดประชุมครั้งถัดไปให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น • ภายหลังการประชุม 1. บริษทั ได้แจ้งมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พร้อมผลการลงคะแนนเสียงของ ทุกวาระต่อตลาดหลักทรัพย์ภายหลังการปิดประชุมทันที รวมทัง้ ได้เผยแพร่มติดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์บริษัทด้วย 2. เลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ จั ด ท� ำ รายงานการประชุ ม และเผยแพร่ บนเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ภายใน 14 วั น หลั ง จากวั น ประชุ ม โดยรายงานดังกล่าวมีการบันทึกรายละเอียดและสาระส�ำคัญ ไว้อย่างครบถ้วนตามแนวทางของหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของตลาดหลักทรัพย์ โดยได้เผยแพร่รายงานการประชุมดังกล่าว ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท และแจ้งเรื่องการเผยแพร่ดังกล่าว ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ด้วย การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสีย

ผู้มีส่วนได้เสียสามารถติดต่อสื่อสารเพื่อแสดงความคิดเห็น หรือแจ้งเบาะแสในกรณีที่พบเห็นการกระท�ำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือจริยธรรมธุรกิจของบริษทั ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงาน โดยผ่าน 2 ช่องทาง ดังนี้ 1. ส�ำนักเลขานุการบริษัท เลขที่ 414 ชั้น 28 อาคารอินทัช ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 หรือ E-mail : companysecretary@ais.co.th 2. คณะกรรมการตรวจสอบที ่ E-mail : AuditCommittee@ais.co.th 3. หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ : (66) 2299 5117 โทรสาร : (66) 2299 5165 E-mail : investor@ais.co.th โดยข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียนจะถูกส่งต่อให้หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องด�ำเนินการ เพือ่ ให้มกี ารชีแ้ จง แก้ไข ปรับปรุง และสรุปผล เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการต่อไป


060

บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย

เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์, รายงานประจ�ำปี เป็นต้น โดยการ บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็น สื่อสารข้อมูลและการเปิดเผยข้อมูลจะยึดหลักตามนโยบายการ ลูกค้า คู่ค้า พนักงาน ชุมชน สังคม หรือสิ่งแวดล้อมจึงก�ำหนด เปิดเผยสารสนเทศและนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท นโยบายให้มแี นวทางปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียตามสิทธิแห่งกฎหมาย ทั้งนี้ ช่องทางในการติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ มีดังนี้ และตามแนวทางของการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน ไว้ในนโยบาย โทรศัพท์ : (66) 2299 5117 การพัฒนาอย่างยั่งยืน คู่มือประมวลจริยธรรมธุรกิจ นโยบาย โทรสาร : (66) 2299 5165 การบริหารบุคคล ตลอดจนนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของบริษัท E-mail : investor@ais.co.th นอกจากนี้ยังก�ำหนดให้มีแนวปฏิบัติและระบบการควบคุมภายใน Website : http://investor.ais.co.th ที่ดีเพื่อป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์กร รวมทั้งมอบหมาย ให้คณะกรรมการจริยธรรมเป็นผู้ด�ำเนินมาตรการหรือกิจกรรม 3. บริษัทก�ำหนดช่วงเวลางดติดต่อสื่อสารกับนักวิเคราะห์และ สร้างความตระหนักในเรือ่ งดังกล่าวให้กบั พนักงานและคูค่ า้ ของบริษทั นักลงทุน เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัท ทัง้ นี้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถศึกษาแนวปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียหลัก 4 กลุม่ ในแต่ละไตรมาส (Silent period) โดยครอบคุลมถึงการให้ข่าว ของบริษัท คือ ชุมชน คู่ค้า พนักงาน ลูกค้า และแนวปฏิบัติเรื่อง และการเปิดเผยข้อมูลเชิงการเงินต่อสาธารณะของทั้งผู้บริหาร สิ่งแวดล้อม ได้จากรายงานพัฒนาความยั่งยืน ปี 2557 และเจ้าหน้าที่หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ล่วงหน้าเป็นเวลา 30 วัน ก่อนวันประกาศผลประกอบการรายไตรมาสและรายปี นอกจากนี้ บริษัทยังเน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อหลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลอย่างไม่เป็นธรรมซึ่งอาจน�ำไปสู่ เพือ่ ช่วยกันตรวจสอบความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ การประพฤติ ผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์บริษัท ตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ประมวลจริยธรรม ตลอดจน แนวปฏิบัติเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยผู้ที่พบเห็น การละเมิด ถ้าเป็นพนักงานในบริษัทจะสามารถแจ้งผ่านช่องทาง หมวด 4 : การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง Ethic Online และระบบ Nokweed ส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสียภายนอก คณะกรรมการเห็นถึงความส�ำคัญของการมีระบบควบคุมภายใน สามารถแจ้งการพบเห็นดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษทั ผ่านช่องทาง การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่ดีเป็นสิ่งจ�ำเป็น ของคณะกรรมการตรวจสอบได้ที่ AuditCommittee@ais.co.th ทัง้ นี้ ในการปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของบริษัท จึงได้ เรื่องที่ถูกแจ้งเข้ามาจะถูกน�ำเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบข้อเท็จจริง ก�ำหนดให้มนี โยบาย มาตรการและหน่วยงานก�ำกับดูแล โดยผูถ้ อื หุน้ ต่อไปและผู้รายงานจะได้รับการคุ้มครองจากบริษัทอย่างดีที่สุด สามารถดูรายละเอียดได้ที่หัวข้อ “บริหารความเสี่ยง การควบคุม โดยผู้ถือหุ้นสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก “นโยบายการให้ ภายใน และการตรวจสอบภายใน” หน้า 67 ข้อมูลการกระท�ำผิดและการทุจริต การสอบสวนและการคุ้มครอง ผูใ้ ห้ขอ้ มูล” ซึง่ เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์บริษทั ที่ http://investor.ais.co.th หมวด 5 : ประมวลจริยธรรมธุรกิจ บริษทั ส่งเสริมให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ปฏิบตั งิ านและ หมวด 3 : การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส ตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจใดๆ ของบริษทั อย่างโปร่งใสตรงไปตรงมา 1. บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลของบริษัท ทั้งข้อมูล เป็นไปตามกฎหมาย ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม จึงได้จัดท�ำ ทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินแก่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุน เช่น ประมวลจริยธรรมธุรกิจเพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของนโยบายการก�ำกับดูแล ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท หนั ง สื อ บริ ค ณห์ ส นธิ นโยบายการบริ ห าร กิจการ ให้เป็นแนวทางและมาตรฐานในการปฏิบัติงานของทุกคน ความเสีย่ ง ข้อมูลงบการเงิน และบทวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน ฯลฯ ในองค์กร และให้พนักงานทุกคนต้องลงนามรับทราบจริยธรรมธุรกิจนี้ อย่างถูกต้องเพียงพอ ทันเวลา เท่าเทียม และเป็นไปตาม ตั้งแต่วันปฐมนิเทศพนักงานใหม่และ/หรือเมื่อประมวลจริยธรรม กฎหมายและกฏระเบียบต่างๆ ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมความเชื่อมั่น ธุรกิจ ดังกล่าวมีการเปลี่ย นแปลง รวมถึงได้มีการวางแนวทาง ของผู ้ ล งทุ น เกี่ ย วกั บ ความเชื่ อ ถื อ ได้ แ ละซื่ อ ตรงของบริ ษั ท เพื่อให้การปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมธุรกิจกลายเป็นส่วนหนึ่ง โดยส่วนหนึ่งได้จัดท�ำนโยบายการเปิดเผยสารสนเทศเพื่อบังคับ ของวัฒนธรรมและนโยบายระดับองค์กร ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถ ใช้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั และบริษทั ย่อย ศึ ก ษารายละเอี ย ดของประมวลจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ฉบั บ เต็ ม ได้ ที่ http://investor.ais.co.th 2. บริษัทมีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพื่อ เป็นตัวแทนในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ให้แก่ คณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจได้ถูกแต่งตั้งขึ้นตั้งแต่ปี 2549 ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้มีส่วนได้เสีย เพื่ อ ก� ำ กั บ ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานด้ า นจริ ย ธรรมให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมีหน่วยงาน Compliance เพื่อดูแลการเปิดเผยข้อมูล สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ รวมทั้งสร้างความ ที่ส�ำคัญของบริษัทผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์บริษัท, ตระหนักและรณรงค์ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานต้องปฏิบตั งิ าน


/

061

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทและ ภายหลังจากโครงการดังกล่าวสิน้ สุดลง คณะกรรมการจริยธรรม ผู้มีส่วนได้เสียเป็นหลัก โดยในปี 2557 ที่ผ่านมาคณะกรรมการ ธุรกิจ ได้ก�ำหนดแนวทางการประเมินความเข้าใจของพนั ก งาน จริยธรรมธุรกิจได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปนี้ ต่อประมวลจริยธรรมธุรกิจทีไ่ ด้ดำ� เนินการรณรงค์ โดยจะจัดให้มกี าร ตอบแบบสอบถามผ่านช่องทางสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในบริษัท • การจัดให้มีการรณรงค์ให้ผู้บริหาร พนักงาน และคู่ค้าตระหนักถึง (Intranet) เพื่อประเมินความเข้าใจของพนักงานในจริยธรรมธุรกิจ ความส�ำคัญของจริยธรรมธุรกิจ และประสิทธิภาพของแนวทางและวิธีการการรณรงค์เพื่อปรับปรุง การปฏิ บั ติ ง านของกรรมการ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานให้ กั บ แนวทางการส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานตระหนั ก ถึ ง จริ ย ธรรมธุ ร กิ จ บริษัทอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ ของบริษัทในปีต่อไป จริยธรรมธุรกิจซึ่งได้ด�ำเนินการรณรงค์เพื่อให้ผู้บริหาร พนักงาน และคูค่ า้ ตระหนักถึงความส�ำคัญของจริยธรรมธุรกิจ และได้มกี ารเพิม่ นอกเหนือจากการรณรงค์ดังกล่าวข้างต้นแล้ว คณะกรรมการ การรณรงค์แบบการสร้างจิตส�ำนึก เพื่อปลูกฝังค่านิยมให้พนักงาน จริยธรรมธุรกิจยังได้สร้างช่องทางเพื่อให้พนักงานสามารถสอบถาม ทีจ่ ะสามารถใช้วจิ ารณญาณของตนเองพิจารณาได้วา่ สมควรปฏิบตั ิ ข้อสงสัยต่างๆ ที่ตนได้พบเห็นในระหว่างการปฏิบัติงานอันเกี่ยวกับ ประมวลจริยธรรมธุรกิจของบริษัทเพื่อให้คณะกรรมการจริยธรรม อย่างไร ธุรกิจได้ชี้แจง ผ่าน E-mail: aisbusinessethics@ais.co.th โครงการรณรงค์ได้ด�ำเนินการในหลากหลายวิธีการ ได้แก่ • การสอบสวนลงโทษผู้ที่ละเมิดจริยธรรมธุรกิจ - การท�ำความเข้าใจกับผู้บริหารและพนักงานโดยการบรรยาย การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมธุรกิจกับผู้ที่ละเมิดเป็นเรื่องที่ และตอบข้อซักถามในห้องประชุม - การรณรงค์ด้วยวิธีการสื่อสารกับพนักงานในวงกว้างผ่านสื่อ หลี ก เลี่ ย งมิ ไ ด้ แ ละมี ค วามส� ำ คั ญ เพื่ อ จรรโลงไว้ ซึ่ ง ธรรมาภิ บ าล ของบริ ษั ท ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ คณะกรรมการได้ ก� ำ หนดให้ มี โปสเตอร์ซึ่งติดไว้ในที่สาธารณะต่างๆ ภายในบริษัท บทลงโทษ และมาตรการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลเรื่องการปฏิบัติที่อาจ - การส่งหนังสือถึงคู่ค้าต่างๆ ของบริษัทให้ตระหนักถึงนโยบาย ของบริษัทที่ไม่สนับสนุนให้พนักงานรับของขวัญ ของก�ำนัล ขัดต่อจริยธรรมธุรกิจของบริษัทแนบท้ายประมวลไว้ด้วย และ/หรือรับการเลี้ยงรับรองที่เกินกว่าเหตุหรือไม่เหมาะสม โดยในปี 2557 มีการละเมิดจริยธรรมธุรกิจเพียงแค่ 1 กรณี ลดลงจาก 2 กรณี ในปีที่ผ่านมา ตามรายละเอียด ดังนี้ กรณีที่

1.

ข้อมูลการกระท�ำผิด

แนวทางการด�ำเนินการ

พนักงานรับของขวัญจากลูกค้าเกินมูลค่าที่บริษัท ก�ำหนดและไม่ได้ส่งมอบให้เป็นทรัพย์สินของบริษัท รวมทั้งไม่ได้แจ้งต่อผู้บังคับบัญชา

โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption - CAC) ตามที่บริษัทได้ลงนามในค�ำประกาศเจตนารมณ์เพื่อเข้าร่วม โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption - CAC) เพือ่ ร่วมแสดงเจตนารมณ์ตอ่ ต้านการคอร์รปั ชัน่ และไม่ยอมรับให้มีการเกิดการทุจริตใดๆ ขึ้นจากการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทหรือจากการปฏิบัติงานในองค์กร เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2556 บริษัทมุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และ

คณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ หน่วยงานตรวจสอบภายใน และหน่วยงานบริหารทรัพยากรบุคคล ร่วมกันสอบสวน และเมื่อปรากฎว่าเป็นจริงจึงได้มีการลงโทษทางวินัย กับพนักงานผู้กระท�ำผิดตามระเบียบข้อบังคับของบริษัท

โปร่งใส เป็นไปตามกฏหมายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการ ให้สนิ บนและการคอร์รปั ชัน่ และการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั เนื่องจากการทุจริตในองค์กรเป็นประเด็นความเสี่ยงต่อการด�ำเนิน ธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท โดยบริษัทตระหนักและยึดมั่น ในการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ในทุกรูปแบบและไม่มขี อ้ ยกเว้น ตลอดจน ไม่ เ ข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มในการคอร์ รั ป ชั่ น ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนจะต้องยึดถือและต้องปฏิบตั ติ าม นอกจากนี้บริษัทยังรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้กับผู้เกี่ยวข้อง ทั้ ง ภายในองค์ ก รและภายนอกองค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ งผ่ า นทาง คณะกรรมการจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ โดยปั จ จุ บั น บริ ษั ท อยู ่ ร ะหว่ า ง กระบวนการพิจารณาเพื่อขอรับการรับรองเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็น ทางการต่อไป


062

การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย และบริษัทร่วม คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� กับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย และบริษัทร่วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริษัท ดังนี้ 1. ส่งเสริมให้บริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีมาปฏิบัติ 2. คณะกรรมการบริษทั คัดเลือกบุคคลเป็นตัวแทนของบริษทั เข้าไป เป็ น กรรมการ และผู ้ บ ริ ห ารในบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว ม ตามสัดส่วนของการถือหุ้น เพื่อควบคุมดูแลการด�ำเนินงาน ของบริษัทย่อย ตามสัดส่วนการถือครองหุ้นของบริษัท 3. ก�ำกับดูแลโดยผ่านกรรมการตัวแทนและผู้บริหาร และนโยบาย ที่ก�ำหนดโดยบริษัทใหญ่ 4. พิจารณาเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญ เช่น กลยุทธ์ แผนธุรกิจ การเพิม่ ทุน หรือลดทุน การเลิกบริษัท รวมทั้งนโยบายที่สำ� คัญต่างๆ 5. ติดตามผลการด�ำเนินงาน โดยฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัทของบริษัท

6. ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ย่ อ ย และบริ ษั ท ร่ ว มปฏิ บั ติ ต ามกฏระเบี ย บ ที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานก�ำกับดูแล ได้แก่ การท�ำรายการ ระหว่างกัน การได้มาและจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ การเปิดเผย ข้อมูลอย่างเพียงพอและทันเวลา รวมทัง้ ดูแลให้มกี ารจัดท�ำบัญชี และรายงานทางการเงิ น ถู ก ต้ อ งตามที่ ค วร ตามกฏหมาย ที่เกี่ยวข้องและมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 7. การพิจารณาท�ำธุรกรรมใดๆ ของบริษทั ย่อยทีม่ นี ยั ส�ำคัญต่อการ ด�ำเนินธุรกิจหรือฐานะการเงินของบริษัท ได้ก�ำหนดให้ธุรกรรม ดังกล่าวต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการของบริษทั ใหญ่ทกุ ครัง้ 8. ตรวจสอบโดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้มั่นใจว่ามีการ ควบคุมภายในที่กำ� หนดไว้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 9. การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ทางการเงิ น และผลการด� ำ เนิ น งานของ บริษัทย่อย บริษัทได้ว่าจ้างผู้สอบบัญชีจากส�ำนักงานสอบบัญชี เดียวกันกับบริษัทเพื่อท�ำหน้าที่ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล ทางการเงินและที่มิใช่ทางการเงินมาเปิดเผยในงบการเงินรวม ของบริษัท


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

การด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เอไอเอสให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงสังคม ส่วนรวม สิง่ แวดล้อม และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ทัง้ ชุมชน คูค่ า้ ลูกค้า และพนักงาน จึงได้ก�ำหนดเป็นนโยบายและกลยุทธ์ในการด�ำเนิน ธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นกรอบแนวทางให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับปฏิบัติ ในอันที่จะบรรลุเป้าหมาย การเป็น The Most Admired Company ซึ่งได้รับการยอมรับและ ไว้วางใจจากคนทุกกลุ่มในสังคม ทั้งนี้ บริษัทได้จัดท�ำรายงานพัฒนาความยั่งยืน ตามกรอบของ Global Reporting Initiatives เวอร์ชนั่ 4 (GRI G4) แยกต่างหากจาก รายงานประจ�ำปี เพือ่ แสดงกรอบกลยุทธ์ดา้ นการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ประเด็นที่เป็นสาระส�ำคัญของเอไอเอสและผู้มีส่วนได้เสียคนส�ำคัญ รวมทั้งแนวทางการบริหารจัดการของฝ่ายบริหารต่อประเด็นนั้นๆ ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ทั้งจากรายงานที่ เป็นรูปเล่ม และบนเว็บไซต์ http://investor.ais.co.th

063


064

ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน บริษัทมุ่งมั่นสร้างความสัมพันธ์กับนักลงทุนและรักษาระดับ มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ถือหุ้นและกลุ่มนักลงทุนต่างๆ โดย อยู่บนหลักการของความความเท่าเทียมและสม�ำ่ เสมอ ถูกต้องและ ครบถ้วนตามความเป็นจริง ทั่วถึง โปร่งใส และทันเวลา จึงได้จัดตั้ง ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อดูแลในเรื่องนี้โดยเฉพาะ

ฝ่ า ยนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ไ ด้ จั ด ท� ำ เว็ บ ไซต์ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ (http://investor.ais.co.th) และมีการปรับปรุงดูแลอย่างสม�ำ่ เสมอโดย เว็บไซต์จะประกอบด้วยข้อมูลบริษทั ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่นกั ลงทุนและ นักวิเคราะห์ อาทิเช่น ผลประกอบการย้อนหลัง งบการเงิน รายงาน ประจ�ำปี แบบ 56-1 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ข่าวสาร แจ้งตลาดหลักทรัพย์ ปฏิทนิ นักลงทุน แจ้งก�ำหนดการจัดการประชุม หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของเอไอเอสรายงานโดยตรงต่อ ผู้ถือหุ้น ข้อมูลหุ้น การจ่ายเงินปันผล หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน โดยท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลาง กิจกรรมช่วยเหลือสังคม เป็นต้น ประชาสัมพันธ์และเปิดเผยข้อมูลบริษัทที่ส�ำคัญและเป็นประโยชน์ ในการประกอบการตัดสินใจลงทุนต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน เช่น ในส่ ว นของการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ข้อมูลผลการด�ำเนินงาน รายงานงบการเงิน มุมมองของผูบ้ ริหารต่อ ประเทศไทยและส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักหลักทรัพย์และ ทิศทางอุตสาหกรรม รายงานการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร ซึ่งชี้แจง ตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) บริษัท ได้จัดตั้งฝ่าย Compliance ซึ่งดูแล รายละเอียดของผลการด�ำเนินงานรายไตรมาส เหตุการณ์ส�ำคัญที่ ก�ำกับและตรวจสอบเพื่อให้บริษัทปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของ ส่งผลกระทบต่อสถานะทางการเงินของบริษัท แนวโน้มในอนาคต กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน และดูแลการแจ้งสารสนเทศที่ รวมถึงข้อมูลที่ส�ำคัญอื่นๆ ทั้งนี้ ในส่วนของมุมมองของผู้บริหาร ส�ำคัญของบริษัทต่อตลาดหลักทรัพย์อย่างทันท่วงที ต่อการคาดการณ์ตัวเลขเชิงการเงินในอนาคต จะมีการพิจารณา เป็นระยะในระหว่างช่วงปี และอาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้สะท้อน นอกจากที่ บ ริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ ข ้ อ มู ล ตามสื่ อ ต่ า งๆ ตามที่ ผลการด�ำเนินงานในปัจจุบนั และมุมมองหรือทิศทางทีเ่ ปลีย่ นไปตาม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนดแล้ว บริษัทได้มีการจัด สภาวะการณ์ กิจกรรมต่างๆ ซึ่งเข้าร่วมโดยผู้บริหารของบริษัทให้แก่นักลงทุน ดังต่อไปนี้ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทได้ตระหนักและให้ความส�ำคัญกับ การสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อนักลงทุน โดยได้จัดสรรเวลาในการ เข้าร่วมกิจกรรมด้านนักลงทุนสัมพันธ์ เพือ่ แถลงนโยบายและทิศทาง ของบริษัท รวมถึงพบปะนักลงทุนอย่างสม�ำ่ เสมอทั้งในประเทศและ ต่ า งประเทศ เช่ น งานประชุ ม ร่ ว มกั บ นั ก ลงทุ น งานประกาศ ผลประกอบการประจ�ำไตรมาส รวมถึงการเดินทางพบปะนักลงทุน ทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น

กิจกรรมที่เกี่ยวกับการแถลงผลประกอบการประจ�ำไตรมาส

กิจกรรม

2557

แถลงผลประกอบการ ประจ�ำไตรมาส

รายไตรมาส (4 ครั้ง)

วัตถุประสงค์

กลุ่มนักลงทุนที่เข้าร่วม

ผู้บริหารที่เข้าร่วม

แถลงผลการด�ำเนินงานประจ�ำ นักวิเคราะห์และนักลงทุน หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านปฏิบัติการ/ ไตรมาสและตอบข้อซักถาม สถาบันทั้งในและ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ต่างประเทศ

แถลงทิศทางการด�ำเนิน วาระกลางปี ชี้แจงผลการด�ำเนินงาน นักวิเคราะห์และนักลงทุน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ สถาบันในประเทศ ธุรกิจและกลยุทธ์ วาระสิ้นปี (2 ครั้ง) แนวทางและกลยุทธ์ในการ ผู้บริหารในสายงานอื่นๆ ด�ำเนินงานในรอบครึ่งปีและ รอบสิ้นปีและตอบข้อซักถาม บริษัทจดทะเบียนพบ นักลงทุน

รายไตรมาส (4 ครั้ง)

แถลงผลการด�ำเนินงานประจ�ำ ไตรมาสและตอบข้อซักถาม

นักลงทุนรายบุคคล และนักวิเคราะห์

ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์


/

065

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรมพบปะนักลงทุน

กิจกรรม

2557

วัตถุประสงค์

กลุ่มนักลงทุนที่เข้าร่วม

ผู้บริหารที่เข้าร่วม

ออกพบนักลงทุน ในและนอกประเทศ (Roadshow)

18 ครั้ง

สื่อสารในด้านภาพรวม การด�ำเนินงาน ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัท

นักลงทุนสถาบันทั้งใน และต่างประเทศ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

นักลงทุน เข้ามาพบที่บริษัท (Company Visit)

140 ครั้ง

นักวิเคราะห์และนักลงทุน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ เปิดโอกาสให้นักลงทุน เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน สถาบันทั้งในและ นัดหมายเพื่อเข้าพบและ ต่างประเทศ ซักถามการด�ำเนินงาน ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัท

ในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทได้รับรางวัลเกียรติคุณที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ได้แก่ รางวัลเกียรติยศแห่งความส�ำเร็จ (SET Award of Honor) ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมอบให้แก่หน่วยงานของบริษัทที่แสดงถึง ความเป็นเลิศต่อเนื่องติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปีซ้อน ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสามารถติดต่อเจ้าหน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์ได้โดยตรง ผ่านทางโทรศัพท์ 02 615 3112 หรือ 02 299 5014 ทางโทรสาร 02 299 5165 และทางอีเมล์ investor@ais.co.th


066

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทให้ความส�ำคัญกับการดูแลการใช้ข้อมูลภายในให้เป็น ไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยยึดมัน่ ในหลักธรรมาภิบาล ความซือ่ สัตย์สจุ ริตในการด�ำเนินธุรกิจ และเพือ่ ให้แน่ใจว่านักลงทุน ในหลักทรัพย์ของบริษัทได้รับสารสนเทศที่เชื่อถือได้อย่างเท่าเทียม และทันท่วงที บริษัทจึงได้ก�ำหนดระเบียบการก�ำกับดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน และระเบียบการซื้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ให้สอดคล้องกับกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับหลักทรัพย์ และมุง่ เน้นความโปร่งใสในการประกอบธุรกิจ สรุปสาระส�ำคัญได้ดงั นี้ • • • •

ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์มีนโยบายในการหลีกเลี่ยงการคาดการณ์ ในอนาคต หรือให้ความคิดเห็นใดๆ เกี่ยวกับข้อมูลที่มีระยะ เวลาล่วงหน้าต�่ำกว่า 6 เดือน เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและหลั ก สากล ทั้ ง นี้ นั ก ลงทุ น ยั ง คงสามารถพบปะพู ด คุ ย กั บ เจ้ า หน้ า ที่ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ เ พื่ อ สอบถามความคิ ด เห็ น และมุ ม มองต่ อ ธุ ร กิ จ ใน ระยะยาว

• ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์จะประกาศช่วงเวลางดติดต่อกับนักลงทุน เป็นเวลา 1 เดือนล่วงหน้าก่อนวันการเปิดเผยงบการเงินต่อ สาธารณชน โดยในช่วงเวลางดติดต่อกับนักลงทุนนัน้ บริษทั จะงด การตอบค�ำถามทีเ่ กีย่ วข้องกับผลประกอบการและการคาดการณ์ ทัง้ นีย้ กเว้นในกรณีทเี่ ป็นการตอบค�ำถามต่อข้อเท็จจริงหรือชีแ้ จง ข้อมูลที่ได้มีการเปิดเผยแล้ว หรือชี้แจงเหตุการณ์ข่าวสารใดๆ ที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น หรือสอบถามมุมมองต่อธุรกิจใน ระยะยาวเท่านั้น โดยบริษัทจะพยายามหลีกเลี่ยงการนัดประชุม กับนักวิเคราะห์หรือผูล้ งทุนในช่วงเวลาดังกล่าว หรือหากมีความ บริษัทมีหน้าที่เปิดเผยสารสนเทศเกี่ยวกับการด�ำเนินงานที่ จ�ำเป็นการนัดประชุมในช่วงเวลาดังกล่าวแล้ว จะมีการกล่าวถึง ส�ำคัญของบริษัทให้สาธารณชนทราบโดยทันทีและอย่างทั่วถึง การด�ำเนินธุรกิจในระยะยาวเท่านั้น โดยผ่านสือ่ และวิธกี ารของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ นโยบายการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของบริ ษั ท รวมถึ ง ผ่ า นสื่ อ อื่ น ๆ บริ ษั ท ได้ จั ด ท� ำ นโยบายการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ซึ่ ง ระบุ ขั้ น ตอน ของฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แน่ใจว่า ในการเปิดเผยข้อมูลในเรื่องต่างๆ ไว้อย่างเป็นทางการ นโยบาย ข้อมูลข่าวสารได้เข้าถึงนักลงทุนทุกกลุ่มอย่างทันท่วงทีและ ดังกล่าวพัฒนาบนหลักการทีว่ า่ การเปิดเผยข้อมูลของบริษทั จะต้อง เท่าเทียม สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ อีกทั้ง ข้อมูลทีเ่ ปิดเผยต้องมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและสม�ำ่ เสมอ กรรมการและผู้บริหาร มีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ ไม่ว่าข้อมูลเหล่านั้นจะเป็นเรื่องบวกหรือลบต่อบริษัท ต่อนักลงทุน ที่ออกโดยบริษัทของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือตลาดทุน ข้อมูลที่มีความส�ำคัญและปกติมิได้เปิดเผยเป็นการ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทัว่ ไปจะถูกเปิดเผยอย่างเท่าเทียมให้กบั ผูล้ งทุนทุกราย นโยบายการ และรายงานถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ที่ อ อกโดยบริ ษั ท ต่ อ คณะ เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวจะท�ำให้บริษัทมีมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล กรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกไตรมาส ที่ดีได้มาตรฐาน และส่งเสริมให้เกิดตลาดมีประสิทธิภาพในการรับรู้ ข้อมูลอย่างเท่าเทียม บริ ษั ท มี ก ฎระเบี ย บการรั ก ษาความปลอดภั ย ทางด้ า นระบบ คอมพิวเตอร์และข้อมูลสารสนเทศอย่างเข้มงวด เพื่อป้องกัน ไม่ให้ขอ้ มูลข่าวสารทีส่ ำ� คัญถูกเปิดเผย กรณีทกี่ รรมการผูบ้ ริหาร หรือพนักงานน�ำข้อมูลภายในของบริษัท ไปใช้ในทางมิชอบ บริษทั ได้กำ� หนดบทลงโทษ หากผูใ้ ดฝ่าฝืนจะถือเป็นความผิดอย่าง ร้ายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัยและตามที่กฎหมายก�ำหนด ทั้งนี้ บริษัทได้จ�ำกัดการเข้าถึงข้อมูลภายในซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อ สาธารณชนไว้แต่เพียงผูม้ หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องเท่านัน้ ทีร่ บั ทราบ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชีและการเงิน เจ้าหน้าที่ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ และ Compliance กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับ ต้องไม่ใช้ขอ้ มูลภายใน ของบริ ษั ท ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงราคาของ หลักทรัพย์ที่ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชนหรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทอันน�ำมา ซึ่งผลประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น โดยให้หลีกเลี่ยงหรืองด การซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนการ เปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน


/

067

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง เอไอเอสมีการด�ำเนินงานตามนโยบายและกรอบแนวทางการ บริหารความเสีย่ งแบบทัว่ ทัง้ องค์กร (Enterprise Risk Management: ERM) ซึ่งครอบคลุมทั้งในระดับองค์กรและระดับปฏิบัติงาน เพื่อ บริหารจัดการความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ ก�ำหนดให้ พนักงานมีการจัดประสิทธิผลของการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) ซึ่ ง เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานมี

ความรับผิดชอบในการประเมินความเสี่ยง (รายละเอียดปรากฎ ในหน้า 70) และพัฒนาระบบการควบคุมภายในด้วยตนเองอย่างต่อเนือ่ ง รวมทั้งก�ำหนดกรอบโครงสร้างและกระบวนการบริหารความเสี่ยง อ้างอิงตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO)

กรอบโครงสร้างและกระบวนการบริหารความเสี่ยงของเอไอเอส

1. ก�ำหนดวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย

6.

2. ระบุเหตุการณ์ หรือ ปัจจัยเสี่ยง

ติดตาม และรายงานผล อย่างสม�ำ่ เสมอ

5. ก�ำหนด กิจกรรมควบคุม

3. ประเมิน ความเสี่ยง

4. ตอบสนอง ความเสี่ยง

ทั้งนี้ เอไอเอสได้จัดให้มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงที่ ประกอบด้วยผูบ้ ริหารระดับสูงจากแต่ละสายงานเพือ่ ท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการก�ำหนดนโยบายและวางกรอบแนวทางการบริหารความเสี่ยง ขององค์กร รวมทัง้ พิจารณาแจกแจงความเสีย่ งขององค์กร ประเมิน และจัดอันดับความเสี่ยง ก�ำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง

มอบหมายผู้รับผิดชอบเพื่อจัดให้มีมาตรการควบคุมและจัดการ ความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ เพือ่ ให้สามารถบรรลุเป้าหมาย และกลยุทธ์ที่ก�ำหนดไว้ และเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย โดยคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้มกี าร ทบทวนความเสี่ยงของบริษัทอย่างสม�ำ่ เสมอ


068

โดยโครงสร้างการก�ำกับดูแลเรื่องการบริหารความเสี่ยง เป็นดังนี้ คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (RMC)

คณะกรรมการบริหาร

ประธานกรรมการบริหาร (ประธานคณะกรรมการ) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (รองประธานคณะกรรมการ)

ส�ำนักบริหารจัดการ ความเสี่ยงองค์กร (เลขานุการ)

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร รับผิดชอบในการน�ำนโยบาย และกรอบ การบริหารความเสี่ยงไปประยุกต์ใช้ทั่วทั้งองค์กร ผ่านทางผู้บริหาร ของแต่ละสายงาน และพนักงานทุกระดับในการก�ำหนดวัตถุประสงค์ ระบุ และจัดการความเสีย่ งภายใต้ความรับผิดชอบของแต่ละสายงาน ซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารยังมีการติดตามให้เกิดการน�ำไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ การบรรลุผลส�ำเร็จ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำ� หนดไว้

หัวหน้าคณะ ผู้บริหารด้านต่างๆ (กรรมการ)

ส�ำนักงานกฎหมาย (กรรมการ)

การควบคุมภายใน

ในปัจจุบันที่สภาพแวดล้อมและสภาพธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วตลอดเวลา เอไอเอสมีความมุ่งมั่นในการออกแบบและ น�ำระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งก�ำกับ ดูแลให้ระบบการควบคุมภายในนั้นมีการปฏิบัติอย่างจริงจังและ มีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้สามารถตอบสนองต่อ ความเสีย่ งทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็วทันเวลา เพือ่ สนับสนุน ให้บริษัทสามารถขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกเหนือจากนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงยังได้มีการ และประสิทธิผลสูงสุด ติดตามผลส�ำเร็จของการบริหารความเสีย่ ง โดยพิจารณาจากแผนงาน ของฝ่ายจัดการที่รับผิดชอบในปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ และผลของ ระบบการควบคุมภายในที่ดีถือเป็นกลไกที่ส�ำคัญต่อการบรรลุ การวัดผลทีเ่ ชือ่ ถือได้ของการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน และในการประชุม วัตถุประสงค์และความส�ำเร็จของบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัท ทุกครั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะก�ำหนดให้ฝ่ายจัดการ ได้มอบหมายให้ฝ่ายจัดการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนมีหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบรายงานผลการบริหารความเสีย่ งทีไ่ ด้แจกแจงไว้จากรอบ ความรับผิดชอบร่วมกัน ในการเลือก การพัฒนา และการน�ำ การประชุมครั้งก่อน รวมทั้งมีการพิจารณาว่าระดับความเสี่ยงลดลง มาตรการควบคุมต่างๆทีส่ ำ� คัญเหมาะสมมาปรับใช้ในการปฏิบตั งิ าน หรือไม่ ทั้งนี้เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง โดยค�ำนึงถึงต้นทุนและประโยชน์ที่จะได้รับ ครอบคลุมมาตรการ ควบคุ ม ด้ า นการด� ำ เนิ น งานการปฏิ บั ติ ก าร การรายงาน และ ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้น�ำเสนอ การปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อระบุและจัดการความเสี่ยง ผลการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่าง บริหาร และคณะกรรมการบริษัทได้รับทราบ เพื่อให้มีการติดตาม สมเหตุสมผลว่าบริษัทจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามพันธกิจ อย่างใกล้ชิด และมั่นใจได้ว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และกลยุทธ์ของเรา รวมทั้งบริษัทสามารถบรรลุเป้าหมายที่กำ� หนดไว้


/

069

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

เราได้นำ� กรอบแนวทางการควบคุมภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ซึง่ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบและ 17 หลักการมาประยุกต์ ใช้ กั บ ระบบการควบคุ ม ภายใน กระบวนการปฏิ บั ติ ง าน และ การบริหารงานของบริษัท โดยในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 คณะกรรมการบริษัท ได้ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท โดยใช้แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ตามแนวทางที่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ก�ำหนด โดยผลการประเมินสรุปได้ว่า เรามีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ในปี 2557 ผูส้ อบบัญชีของบริษทั คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีภายนอกได้ประเมิน ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในขององค์กร และสรุปได้ว่า ไม่มจี ดุ อ่อนของระบบการควบคุมภายในทีม่ สี าระส�ำคัญแต่ประการใด

ระบบการควบคุมภายในของเอไอเอสประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ และ 17 หลักการ ดังนี้ สภาพแวดล้อมภายในองค์กร (Control Environment)

1. เอไอเอสแสดงถึงความยึดมั่นในคุณค่าของความซื่อตรงและ จริยธรรม โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ และ จัดให้มีประมวลจริยธรรมธุรกิจ (Code of Business Ethics) เป็นลายลักษณ์อักษรครอบคลุมการปฏิบัติงานและการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างซือ่ ตรงโปร่งใสและมีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุ่มรวมไปถึงสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างเท่าเทียมและ ได้มีข้อก�ำหนดห้ามการกระท�ำการใดๆที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ที่อาจส่งผลเสียหายต่อองค์กร คณะกรรมการจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ได้ ด� ำ เนิ น การสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก จัดอบรมตอบข้อซักถามและตีความหากมีข้อสงสัยใดๆเกี่ยวกับ ประมวลจริยธรรมธุรกิจ เพือ่ ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทัง้ มีกระบวนการสือ่ สาร การประชาสัมพันธ์ตา่ งๆ เกีย่ วกับข้อก�ำหนด และบทลงโทษหากมีการฝ่าฝืนให้แก่พนักงาน และบุ ค คลภายนอกรั บ ทราบ นอกจากนี้ เ รามี น โยบายการ รับแจ้งข้อมูลการกระท�ำผิดและการท�ำทุจริต การสอบสวนและ การคุม้ ครองผูใ้ ห้ขอ้ มูล (Whistle Blowing Policy) โดยมีชอ่ งทาง การรับแจ้งจากทั้งบุคคลภายในและภายนอก ผ่าน Nokweed และ AuditCommittee@ais.co.th เพื่อให้สามารถตรวจพบได้ ภายในเวลาทีเ่ หมาะสม โดยเมือ่ ได้รบั แจ้งจะจัดให้มคี ณะท�ำงาน เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง และรายงานผลต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบและ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษั ท รวมทั้ ง ก� ำ หนด บทลงโทษทีเ่ หมาะสมต่อไป นอกจากนีย้ งั ได้ปรับปรุงแก้ไขระบบ การควบคุมภายในให้สามารถป้องกันการกระท�ำผิดและการทุจริต ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต

เราได้ ม อบหมายให้ ห น่ ว ยงานตรวจสอบภายในท� ำ หน้ า ที่ ติดตามประเมินผลความเข้าใจและการปฏิบัติตามประมวล จริยธรรมธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และมอบหมายให้คณะกรรมการ จริยธรรมธุรกิจเป็นผู้ทบทวนและปรับปรุงประมวลจริยธรรม ให้เป็นปัจจุบนั ครอบคลุมปัจจัยหรือเหตุการณ์ทอี่ าจจะก่อให้เกิด การกระท�ำผิด รวมทั้งมีการรายงานผลการปฏิบัติงานเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารทราบเป็นประจ�ำทุกปี

2. คณะกรรมการบริษทั ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลระบบการควบคุมภายใน ด้วยความอิสระ โดยมีสัดส่วนกรรมการอิสระมากกว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทัง้ คณะ ซึง่ เป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ และ มีคุณสมบัติที่เหมาะสมในการท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลและพัฒนา การด�ำเนินงานต่างๆ ครอบคลุมถึงสภาพแวดล้อมภายในองค์กร การประเมิ น ความเสี่ ย ง การควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง าน ระบบ สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูลและระบบการติดตาม โดย บริษัทได้กำ� หนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่คณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการย่อยอย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยแยก หน้าที่ออกจากฝ่ายบริหาร 3. เอไอเอสได้ก�ำหนดโครงสร้างสายการรายงานและอ�ำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ชัดเจนและเหมาะสม โดยสอดคล้องกับสภาพ ทางธุรกิจและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้การด�ำเนินงาน และการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีการ แบ่งแยกหน้าที่ในส่วนงานที่ส�ำคัญเพื่อให้เกิดการตรวจสอบ ถ่ ว งดุ ล ระหว่ า งกั น รวมทั้ ง มี ก ารก� ำ หนดและจ� ำ กั ด อ� ำ นาจ การด�ำเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบตั กิ ารไว้อย่างชัดเจน 4. เอไอเอสมีความมุ่งมั่นในการจัดหา พัฒนา และรักษาบุคลากร ที่มีความรู้และความสามารถ โดยมีนโยบายและวิธีการปฏิบัติ ด้านบุคลากรทีช่ ดั เจน รวมทัง้ มีการสอบทานความมีประสิทธิผล ของการด� ำเนินงานตามนโยบายและวิธีการปฏิบัตินั้ น อย่ า ง สม�ำ่ เสมอ บริษทั มีการจัดระบบให้หวั หน้างานสามารถเป็นทีป่ รึกษา ให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและมีการก�ำหนดแผนและกระบวนการ สรรหาผู้สืบทอดต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ (Succession Plan) 5. เอไอเอสก� ำ หนดให้ บุ ค ลากรทุ ก คนมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ ต่อผลส�ำเร็จของการควบคุมภายในทีต่ นได้รบั มอบหมาย โดยผ่าน การบังคับบัญชาตามสายงาน การก�ำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติ ต่างๆ ที่ชัดเจนเพื่อให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด รวมทั้ ง ก� ำ หนดให้ หั ว หน้ า งานเป็ น ผู ้ ป ระเมิ น และรั บ รอง ประสิ ท ธิ ผ ลของมาตรการควบคุ ม ด้ ว ยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) คณะกรรมการและผูบ้ ริหารยังได้กำ� หนดและสือ่ สารกระบวนการ วั ด ผลการปฏิ บั ติ ง านที่ ชั ด เจนเพื่ อ สร้ า งแรงจู ง ใจให้ ร างวั ล ต่อพนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานดี และบริหารจัดการหาก ผลงานไม่บรรลุเป้าหมาย โดยตัวชี้วัดมีทั้งเรื่องการปฏิบัติตาม


070

ประมวลจริยธรรมธุรกิจ ผลส�ำเร็จของการควบคุมภายใน การบรรลุ วัตถุประสงค์ระยะสั้นและวัตถุประสงค์ระยะยาว รวมถึงมีการ พิจารณาไม่ให้ผบู้ ริหารและพนักงานมีแรงกดดันทีม่ ากเกินไปจน มีความเสี่ยงต่อการท�ำทุจริตหรือการละเลยการควบคุมภายใน บางส่วนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

6. เอไอเอสก�ำหนดวัตถุประสงค์ไว้อย่างชัดเจนเพียงพอ เพื่อให้ สามารถระบุและประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการบรรลุ วัตถุประสงค์ในด้านต่างๆไว้อย่างเหมาะสม เช่น • มีการก�ำหนดเป้าหมายทีช่ ดั เจนซึง่ สามารถน�ำมาปฏิบตั ไิ ด้จริง โดยสอดคล้องและสนับสนุนพันธกิจและกลยุทธ์ของบริษัท • มีการบริหารทรัพยากรของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพและ คุ้มค่า เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ • มีการป้องกันทรัพย์สิน ข้อมูล ชื่อเสียง บุคลากรของเราให้มี ความปลอดภัย • มีการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล • การรายงานทางการเงินและรายงานทีม่ ใิ ช่ทางการเงิน มีความ ถูกต้อง เชื่อถือได้และทันเวลา โดยรายงานทางการเงินมีการ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป แสดงสถานะ ทางการเงิน สิทธิหรือภาระผูกพัน มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน สามารถสะท้อนถึงกิจกรรมและผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทได้อย่างแท้จริง • มีการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ นโยบาย ข้อก�ำหนดตามกฎหมาย และข้อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ทั้งภายในและภายนอก • มีการประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในด้วยตนเอง ในระบบงานที่ส�ำคัญ 7. เอไอเอสได้ระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงทุกประเภทที่อาจส่ง ผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ไว้อย่างเหมาะสมครอบคลุม ทั้งความเสี่ยงระดับองค์กรและระดับปฏิบัติงาน โดยพิจารณา จากปั จ จั ย และเหตุ ก ารณ์ ภ ายในและภายนอกครอบคลุ ม ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การด�ำเนินงาน การรายงาน การปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัทได้ประเมินระดับความเสี่ยงจากผลกระทบและโอกาส ทีเ่ หตุการณ์จะเกิดขึน้ โดยผูบ้ ริหารและพนักงานมีสว่ นร่วมในการ ก�ำหนดมาตรการในบริหารความเสีย่ งโดยเป็นการยอมรับความเสีย่ ง (Acceptance) การลดความเสี่ยง (Reduction) การหลีกเลี่ยง ความเสี่ยง (Avoidance) หรือการร่วมรับความเสี่ยง (Sharing) ทัง้ นี้ บริษทั ส่งเสริมและพัฒนาให้หน่วยงานต่างๆมีความตระหนักถึง และบริหารความเสี่ยงได้ด้วยตนเอง โดยใช้ ERM และ CSA เป็นเครื่องมือ

8. เอไอเอสได้ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดทุจริต (Fraud Risk Assessment) และได้กำ� หนดมาตรการควบคุมเพื่อป้องกัน และ ตรวจพบการทุจริตโดยเฉพาะในระบบงานทีส่ มุ่ เสีย่ งต่อการทุจริต เช่น ระบบงานทีเ่ กีย่ วข้องกับเงินสด สินค้า การจัดซือ้ การรายงาน ทางการเงิน เป็นต้น โดยได้จัดให้มีการวิเคราะห์อัตราส่วน ทางการเงินที่ผิดปกติ การใช้ระบบวิเคราะห์ความผิดปกติของ รายการธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง มาตรการรักษาทรัพย์สนิ และช่องทาง แจ้งเบาะแสการท�ำทุจริต นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจิ ารณาข้อมูลและสอบถามผูบ้ ริหารเกีย่ วกับโอกาสในการเกิด ทุจริตและมาตรการที่บริษัทด�ำเนินการเพื่อป้องกันตรวจพบ หรือแก้ไขการทุจริต ทัง้ นี้ เอไอเอสอยูใ่ นระหว่างด�ำเนินการให้มกี ารบริหารความเสีย่ ง ต่อการเกิดทุจริตอย่างเป็นระบบ เพือ่ ให้มกี ารจัดการการท�ำทุจริต ครอบคลุมทุกรูปแบบทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร เช่น การท�ำให้ สูญเสียทรัพย์สนิ การจัดท�ำรายงานทางการเงินเท็จ การคอร์รปั ชัน การทีผ่ บู้ ริหารสามารถฝ่าฝืนระบบควบคุมภายใน (Management Override) การได้มาหรือการใช้ทรัพย์สินโดยไม่ถูกต้อง เป็นต้น 9. เอไอเอสได้ระบุและประเมินความเปลี่ยนแปลงที่มีสาระส�ำคัญ จากปัจจัยภายนอกองค์กร รูปแบบการท�ำธุรกิจ และผู้น�ำองค์กร ที่อาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ การควบคุมภายใน และ รายงานทางการเงิน ตลอดจนได้กำ� หนดมาตรการตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเหมาะสมรัดกุม การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities)

10. เอไอเอสได้ เ ลื อ กและพั ฒ นามาตรการควบคุ ม ให้ เ หมาะสม สอดคล้องกับความเสี่ยงและลักษณะเฉพาะของบริษัท เช่น สภาพแวดล้อม ความซับซ้อนของงาน ลักษณะงาน ขอบเขต การด�ำเนินงาน และลักษณะเฉพาะอื่นๆ ครอบคลุมกระบวนการ ทุกระดับของบริษัท โดยมีการพิจารณารูปแบบกิจกรรมการ ควบคุมต่างๆ ทีเ่ หมาะสมในการจัดการแต่ละความเสีย่ งพิจารณา ความสมดุลระหว่างการควบคุมแบบใช้บคุ คล (Manual Control) และแบบอัตโนมัติ (Automated Control) ผสมผสานการควบคุม ทัง้ แบบป้องกัน (Preventive Control) และแบบตรวจพบ (Detective Control) รวมทั้งจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่ขัดแย้งออกจากกัน เช่น หน้าที่การอนุมัติหน้าที่การบันทึก รายการ และหน้าทีก่ ารดูแลจัดเก็บทรัพย์สนิ เพือ่ ให้มกี ารตรวจสอบ ซึ่งกันและกันอย่างเหมาะสม 11. เอไอเอสได้เลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทัว่ ไปของระบบ เทคโนโลยีอย่างหลากหลายและรัดกุมเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่า ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศของบริษัทพร้อมใช้งานได้ตลอด เวลา ปลอดภัยจากการเข้าถึงของผูท้ ไี่ ม่เกีย่ วข้อง และสนับสนุน การบรรลุวัตถุประสงค์ ได้แก่


/

071

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

• การควบคุมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การออกแบบและดูแล อุปกรณ์โครงสร้างพืน้ ฐานแบบศูนย์รวม การบริหารและควบคุม การเปลี่ยนแปลงของระบบงานคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ (Change Management) การก� ำ หนดแผนป้ อ งกั น การ หยุดชะงัก เป็นต้น • การควบคุมด้านความปลอดภัย เช่น การก�ำหนดสิทธิในการ เข้าถึงระบบ มาตรการรักษาความปลอดภัย การเฝ้าตรวจจับ ความผิดปกติของระบบและเครือข่าย การตรวจสอบความมัน่ คง ปลอดภัยโดยผู้เชี่ยวชาญภายนอก เป็นต้น • การควบคุมกระบวนการได้มา การพัฒนา และการบ�ำรุงรักษา เช่น กระบวนการจัดซื้อระบบที่รัดกุม การบริหารจัดการและ พัฒนาผู้พัฒนาระบบทั้งภายในและภายนอก (Outsource) การสอบทานการปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การพัฒนาระบบ การควบคุม รหัสต้นฉบับ (Source Code) ของระบบเป็นต้น 12. เอไอเอสจัดให้มีกิจกรรมการควบคุม โดยการก�ำหนดนโยบาย และวิธปี ฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนเพือ่ ให้พนักงานทราบสิง่ ทีผ่ บู้ ริหารคาดหวัง และสามารถน�ำกิจกรรมการควบคุมไปปฏิบตั จิ ริงได้อย่างถูกต้อง โดยมีการก�ำหนดพนักงานทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถเป็นผูร้ บั ผิดชอบ ขั้นตอนและเวลาที่ต้องปฏิบัติ และกระบวนการแก้ไขหากพบ ข้อผิดพลาดไว้อย่างชัดเจน รวมถึงมีการทบทวนนโยบายและ วิธีปฏิบัติให้มีความเหมาะสมอยู่เสมอ เอไอเอสได้ก�ำหนดนโยบายต่างๆเพื่อให้มีการพิจารณาอนุมัติ ธุรกรรมของบริษทั ทีค่ ำ� นึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริษทั เป็นส�ำคัญ โดยถือเสมือนเป็นรายการทีก่ ระท�ำกับบุคคลภายนอก (At Arms’ Length Basis) รวมทัง้ มีกระบวนการติดตามดูแลการด�ำเนินงาน ของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม รวมทั้งก�ำหนดแนวทางให้บุคคล ที่ บ ริ ษั ท แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการหรื อ ผู ้ บ ริ ห ารในบริ ษั ท ย่ อ ย หรือร่วมนั้น ถือปฏิบัติ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication)

13. เอไอเอสใช้ข้อมูลที่ตรงประเด็นและมีคุณภาพเพื่อสนับสนุน การควบคุมภายใน โดยพิจารณารวบรวมข้อมูลจากภายใน และ ภายนอก บนพืน้ ฐานการพิจารณาต้นทุนและประโยชน์ทจี่ ะได้รบั โดยบริษัทใช้ระบบสารสนเทศในการประมวลและจัดเก็บข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้การควบคุมภายในสามารถด�ำเนินไปได้ตามที่ ก�ำหนด นอกจากนี้ เอไอเอสได้ด�ำเนินการให้คณะกรรมการได้รับข้อมูล ทีเ่ พียงพอต่อการตัดสินใจล่วงหน้าก่อนการประชุมเป็นระยะเวลา ตามที่กฎหมายก�ำหนด คือ 7 วัน และ/หรือ 14 วันล่วงหน้า ก่อนวันประชุม เช่น รายละเอียดของเรื่องที่เสนอให้พิจารณา ที่มาและผลกระทบต่อบริษัท ทางเลือกต่างๆ เป็นต้น รวมถึง มีการบันทึกความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต ข้อซักถาม และ การไม่เห็นด้วยพร้อมเหตุผลของกรรมการในการประชุมทุกครัง้ เพื่อให้สามารถตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการได้ ย้อนหลัง

14. เอไอเอสมีกระบวนการสื่อสารข้อมูลภายในองค์กร โดยมีการ สือ่ สารวัตถุประสงค์ นโยบายและวิธปี ฏิบตั ิ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายในไปยังบุคลากรทุกระดับในทุก หน่วยงานครอบคลุมทั่วประเทศ รวมทั้งมีการเลือกช่องทางการ สื่อสารที่หลากหลายเหมาะสม เช่น จัดให้มีการสื่อสารผ่าน Intranet ผ่านจดหมายข่าว ผ่านประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ในรายการ ‘CEO Talk Weekly คุยสบายสไตล์พี่สมชัย’ รวมทัง้ จัดให้มชี อ่ งทางให้พนักงานสามารถแจ้งเบาะแสทีเ่ กีย่ วกับ การกระท�ำผิดและการท�ำทุจริต (Whistle-blower Hotline) แก่บริษัทได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้มีการรายงานข้อมูลที่ส�ำคัญต่อคณะกรรมการ บริษัทอย่างสม�่ำเสมอ โดยคณะกรรมการบริษัทสามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลสารสนเทศทีจ่ ำ� เป็นต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ หรือสอบทาน รายการต่างๆ ได้ตามที่ต้องการ เช่น การก�ำหนดบุคคลที่เป็น ศูนย์ตดิ ต่อเพือ่ ให้สามารถได้รบั ข้อมูลอืน่ ๆนอกเหนือจากผูบ้ ริหาร รวมทั้งการติดต่อสอบถามข้อมูลจากผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบ ภายใน การจัดให้มกี ารประชุมระหว่างคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร ตามทีค่ ณะกรรมการร้องขอ การจัดกิจกรรมพบปะหารือระหว่าง คณะกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารนอกเหนื อ จากการประชุ ม คณะกรรมการ เป็นต้น 15. เอไอเอสมีกระบวนการสื่อสารข้อมูลกับผู้มีส่วนได้เสียภายนอก องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพผ่านช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน เช่น จัดให้มีการสื่อสารผ่าน Internet ผ่าน Social Media จัดให้มหี น่วยงาน นักลงทุนสัมพันธ์ จัดให้มีศูนย์รับเรื่องร้องเรียนคุณภาพการให้บริการ จัดให้มี ช่องทางให้บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเบาะแสที่เกี่ยวกับการ กระท�ำผิดและการท�ำทุจริตได้อย่างปลอดภัยมายังคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ AuditCommittee@ais.co.th เป็นต้น ระบบการติดตาม (Monitoring Activities)

16. เอไอเอสได้กำ� หนดให้ผบู้ ริหารและหัวหน้างานของทุกหน่วยงาน ประเมินประสิทธิผลและหาข้อบกพร่องของการควบคุมภายใน อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ ก�ำหนดให้มรี อบการประเมินจากผูป้ ระเมิน อิสระเช่น ผู้ตรวจสอบภายใน หรือ ผู้เชี่ยวชาญการประเมิน คุณภาพอิสระจากภายนอก เป็นต้น โดยความถีข่ องการประเมิน มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษทั ทัง้ 5 องค์ประกอบ 17 หลักการ นั้นยังด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล 17. เมื่อพบข้อบกพร่องของการควบคุมภายใน เอไอเอสได้ประเมิน ระดับความมีสาระส�ำคัญของข้อบกพร่อง เพื่อสื่อสารไปยัง ผูร้ บั ผิดชอบให้มกี ารแก้ไขอย่างทันท่วงที รวมทัง้ ก�ำหนดให้รายงาน ข้อบกพร่องที่มีสาระส�ำคัญและความคืบหน้าของการแก้ไข ต่อคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารระดับสูง ตามความเหมาะสม รวมทั้งก�ำหนดให้มีการรายงานเบาะแสหรือเหตุการณ์ทุจริต การฝ่าฝืนกฎหมาย หรือการกระท�ำทีผ่ ดิ ปกติอนื่ ๆ ซึง่ อาจกระทบ ต่อชื่อเสียงและฐานะการเงินของบริษัทอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ คณะกรรมการบริษัทโดยทันที


072

การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ โดยรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบในด้านการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหารในด้าน งานบริหารหน่วยงาน โดยหน่วยงานตรวจสอบภายในมีหน้าที่ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน การประเมินความเสีย่ ง และการก�ำกับดูแลกิจการ รวมทัง้ เป็นทีป่ รึกษา เพือ่ สนับสนุนให้บริษทั สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจ แผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปีของหน่วยงานได้รบั การอนุมตั ิ จากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยใช้หลักเกณฑ์ การตรวจสอบตาม ผลการประเมินความเสี่ยง (Risk Based Audit Approach) โดย เน้นการตรวจประเด็นที่ยังมีระดับความเสี่ยงสูงต่อวัตถุประสงค์และ กลยุทธ์ขององค์กร และจุดควบคุมที่สำ� คัญ (Key Control Points) และเน้นให้มีการควบคุมด้านการป้องกันทุจริต รวมทั้งประยุกต์ ใช้เทคนิคการตรวจสอบตามมาตรฐานสากลเทียบเคียงกับผูต้ รวจสอบ ภายในในภูมิภาคอาเซียน

หน่วยงานตรวจสอบภายในยึดถือกรอบโครงสร้างการปฏิบตั งิ าน วิชาชีพตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล และกฎบัตรของ หน่วยงาน รวมทั้งมีการทบทวนคู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบ มีการประเมินคุณภาพการตรวจสอบภายในด้วยตนเองเป็นประจ�ำ ทุกปี และได้รับการประเมินโดยองค์กรอิสระจากภายนอกทุก 5 ปี โดยผลการประเมินครั้งล่าสุดเมื่อปลายปี 2554 พบว่าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในได้ปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล และมีคุณภาพ โดดเด่นเมื่อเทียบเคียงกับส่วนงานตรวจสอบภายในอื่นทั่วโลกที่เป็น มืออาชีพ ทัง้ นีเ้ พือ่ จะช่วยส่งเสริมให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง และ ระบบการก�ำกับดูแลที่ดีสามารถ เพิ่มคุณค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียและพัฒนาองค์กรสู่ความยั่งยืน

หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการ ของคณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบสามารถด� ำ เนิ น การตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ได้ มอบหมายให้ และเป็นที่ปรึกษาเพื่อให้ค�ำแนะน�ำแก่บริษัทในด้าน ต่างๆ เช่น ด้านการควบคุมภายใน ด้านการบริหารความเสี่ยง ด้านจริยธรรมธุรกิจ ด้านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เป็นต้น หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในเป็ น อี ก หนึ่ ง ช่ อ งทางในการ (ทั้งนี้ข้อมูลประวัติและรายละเอียดของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ รับข้อร้องเรียนการกระท�ำผิดและการท�ำทุจริตจากพนักงานภายใน ภายใน ปรากฎในหน้า 41) และบุคคลภายนอก เพื่อด�ำเนินการตาม Whistle Blowing Policy โดยมีการรายงานผลให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาทุกไตรมาส หน่วยงานตรวจสอบภายในส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของ ทีมงานตรวจสอบภายในให้สามารถตรวจสอบได้ทกุ ด้าน (Integrated ในบทบาทด้านการน�ำแนวทาง COSO 2013 มาใช้กับระบบ Audit) เช่น ด้านระบบธุรกิจ ด้านระบบสารสนเทศ และด้านระบบ ควบคุมภายในขององค์กรนั้น หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จัด วิศวกรรม และมีการมุ่งเน้นพัฒนาให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน อบรมให้แก่กลุ่มบริษัทและหน่วยงานต่างๆในเรื่องระบบการควบคุม มีค่านิยมในการสร้างสรรค์แนวทางการตรวจสอบรูปแบบใหม่ๆ ภายในตามกรอบแนวทาง COSO 2013 รวมทัง้ ให้คำ� ปรึกษาเกีย่ วกับ ที่มีประสิทธิผลยิ่งขึ้นอยู่เสมอ รวมทั้งมีการพัฒนาให้เป็นมืออาชีพ ุ บิ ตั รทางวิชาชีพ แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแนวทาง โดยปัจจุบนั บริษทั มีเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบภายในทีม่ วี ฒ ที่ ก.ล.ต. ก�ำหนด หากผู้บริหารมีข้อซักถาม นอกจากนี้หน่วยงาน ต่างๆ ได้แก่ วุฒบิ ตั ร CIA (Certified Internal Auditor) จ�ำนวน 8 ท่าน ตรวจสอบภายใน ได้ทำ� การประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุม วุฒบิ ตั ร CISA (Certified Information System Auditor) จ�ำนวน 5 ท่าน ภายในของทุกระบบงานทีเ่ ข้าตรวจ ตามกรอบแนวทาง COSO 2013 วุฒิบัตร CISSP (Certified Information Systems Security Professional) จ�ำนวน 1 ท่าน วุฒิบัตร CRMA (Certification in ในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับ CSA หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ Risk Management Assurance) จ�ำนวน 11 ท่าน วุฒิบัตร CPA สนับสนุนการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการน�ำ CSA ไปใช้ปฏิบัติ (Certified Public Accountant) จ�ำนวน 3 ท่าน วุฒิบัตร TA (Tax (CSA Facilitator) และท�ำการตรวจประเมินประสิทธิผลของการน�ำ Auditor) จ�ำนวน 1 ท่าน รวมทั้งหมด 29 วุฒิบัตร โดยพนักงาน อีกจ�ำนวนหนึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาให้มีวุฒิบัตร CIA, CISA, CSA ไปใช้ปฏิบัติของหัวหน้างาน (CSA Validation) CRMA, CCSA (Certification in Control Self - Assessment), ในบทบาทด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยงานตรวจสอบ และ CFE (Certified Fraud Examiners) อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ สนับสนุน ภายในได้ให้ค�ำแนะน�ำเพื่อให้มั่นใจว่ามีการพัฒนาระบบเทคโนโลยี งานตรวจสอบภายในให้มีมาตรฐานสากลและทันสมัยอยู่เสมอ สารสนเทศที่มีมาตรการควบคุมภายในที่รัดกุมก่อนจะน�ำระบบ ไปใช้จริง รวมทัง้ ได้มกี ารประเมินระบบการบริหารจัดการความมัน่ คง ของข้อมูลสารสนเทศและอุปกรณ์รักษาความมั่นคงปลอดภัยต่างๆ ในบริ ษั ท เพื่ อ ให้ มี ค วามปลอดภั ย ตามข้ อ ก� ำ หนดของมาตรฐาน ISO 27001:2013


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

073

รายการระหว่างกัน บริษัทและบริษัทย่อยได้มีการตกลงเข้าท�ำรายการกับบุคคล ระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยกั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการตามธุรกิจปกติ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส เพื่อขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริษัทโดยรวมเป็นส�ำคัญ ของบริษัทและบริษัทย่อย และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป เพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ บริ ษั ท มี น โยบายเปิ ด เผยรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ เ ข้ า ข่ า ย และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม เงื่อนไข และวิธีการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท 2551 ให้ฝ่ายจัดการมีอ�ำนาจเข้าท�ำรายการระหว่างกันที่มีเงื่อนไข จดทะเบียน การค้าทัว่ ไป โดยฝ่ายจัดการสามารถท�ำธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรม เหล่ า นั้ น มี ข ้ อ ตกลงทางการค้ า ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ ที่ วิ ญ ญู ช น ส�ำหรับงวดบัญชีสนิ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษทั จะพึงกระท�ำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจ และบริษทั ย่อยมีรายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยผูต้ รวจสอบบัญชี ต่ อ รองทางการค้ า ที่ ป ราศจากอิ ท ธิ พ ลในการที่ ต นมี ส ถานะ ของบริษัทได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบ และคณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าทีส่ อบทานแล้ว และมีความเห็นว่า เป็นกรรมการผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง รายการระหว่างกันทุกรายการเป็นการท�ำรายการอย่างสมเหตุสมผล ขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันนั้น บริษัทจะยึด และเป็นไปในทางการค้าปกติ โดยบริษัทได้คิดราคาซื้อ-ขายสินค้า แนวปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันกับการท�ำรายการอืน่ ๆ ทัว่ ไป โดยมี การก�ำหนด และบริการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันด้วยราคาที่สมเหตุสมผล มีการ อ� ำ นาจของผู ้ มี สิ ท ธิ อ นุ มั ติ ต ามวงเงิ น ที่ ก� ำ หนด นอกจากนั้ น เปรียบเทียบกับราคากลางของตลาดในธุรกิจนัน้ ๆ แล้ว โดยมีเงือ่ นไข คณะกรรมการตรวจสอบยังท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบทานการท�ำรายการ ต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ความสัมพันธ์กับบริษัท 1. บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) (อินทัช)/ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ในสัดส่วนร้อยละ 40.45 และ มีกรรมการร่วมกันคือ • นายสมประสงค์ บุญยะชัย • นายวิทิต ลีนุตพงษ์

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน ส�ำหรับงวดสิ้นสุด ส�ำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท)

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม บริษัทและบริษัทย่อยเรียกเก็บ บริษัทและบริษัทย่อยได้ให้ บริการโทรศัพท์ และจ�ำหน่าย ค่าบริการและจ�ำหน่ายโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลื่อนที่แก่อินทัช เคลือ่ นทีใ่ นอัตราเดียวกับลูกค้า ทั่วไปที่ใช้บริการ 1.รายได้จากการให้บริการ 0.02 0.67 0.42 0.80 - 0.45 0.19 0.43 2. รายได้อื่น 3.62 3.57 1.71 1.71 3. ค่าบริการอื่น - 0.42 - 4. ดอกเบี้ยจ่าย 0.78 0.78 0.04 0.09 5. เจ้าหนี้อื่น 0.01 0.24 1.71 1.71 6. ลูกหนี้การค้า


074

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ความสัมพันธ์กับบริษัท 2. บริษัท ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน) (ไทยคม)/ มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วนร้อยละ 41.14 และมีกรรมการร่วมกันคือ • นายสมประสงค์ บุญยะชัย

ลักษณะรายการ

มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วนร้อยละ 99.96 และมีกรรมการร่วมกันคือ • นายสมประสงค์ บุญยะชัย

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม ไทยคมเป็นผู้ให้บริการเช่า บริษัทได้เช่าช่องสัญญาณ ช่องสัญญาณดาวเทียมรายเดียว ดาวเทียม (Transponder) ในประเทศไทย โดยบริษัท บนดาวเทียมไทยคม 1A จาก ช�ำระค่าบริการในอัตรา ไทยคม สัญญามีผลถึงวันที่ เดียวกับลูกค้าทัว่ ไปทีใ่ ช้บริการ 21 มิถุนายน 2558 โดยบริษัท ต้องช�ำระค่าตอบแทนในอัตรา 1,700,000 USD/ปี นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อยมีการ ให้บริการโทรศัพท์ทั้งภายใน ประเทศและระหว่างประเทศ จ�ำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้บริการพืน้ ทีส่ ำ� หรับติดตัง้ อุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียม แก่ไทยคม 1. รายได้จากการให้บริการ 2. รายได้อื่น 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่น 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 5. ลูกหนี้การค้า 6. รายได้ค้างรับ

3. บริษัท แมทช์บอกซ์ จ�ำกัด (แมทช์บอกซ์)/

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน ส�ำหรับงวดสิ้นสุด ส�ำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท)

0.73 - 58.26 9.03 - -

2.73 0.46 66.37 9.03 0.01 0.03

1.62 - 51.30 4.51 0.05 -

2.90 0.24 51.30 4.51 0.10 0.10 แมทช์บอกซ์เป็นบริษทั โฆษณา ที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดีและ มีความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และ บริการของกลุ่มบริษัทเป็น อย่างดี รวมทั้งเป็นการ ป้องกันการรั่วไหลของข้อมูล

บริษัทและบริษัทย่อย ว่าจ้าง แมทช์บอกซ์ เป็นตัวแทนในการ จัดท�ำโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ โดยจะเป็นการว่าจ้างครัง้ ต่อครัง้ ในขณะที่บริษัทและบริษัทย่อย ได้ให้บริการโทรศัพท์ และ จ�ำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่แก่ แมทช์บอกซ์ 1. ค่าโฆษณาและค่าบริการอื่น 2. เจ้าหนี้อื่น 3. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 4. ลูกหนี้การค้า

25.05 283.72 470.92 1,340.77 0.61 29.38 15.35 55.99 9.67 65.88 45.49 325.47 - - 0.01 0.01

อัตราค่าบริการที่แมทช์บอกซ์ เรียกเก็บเทียบเคียงได้กบั ราคา ตลาดที่บริษัทโฆษณาอื่นๆ เสนอให้บริการ


/

075

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ความสัมพันธ์กับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน ส�ำหรับงวดสิ้นสุด ส�ำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท)

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม 4. บริษทั เทเลอินโฟ มีเดีย จ�ำกัด บริษัทและบริษัทย่อยมีการ - ทีเอ็มซีเป็นผู้ให้บริการที่มี (ทีเอ็มซี)/ ความเชี่ยวชาญในการจัดท�ำ ว่าจ้างทีเอ็มซี 1) จัดท�ำข้อมูลส�ำหรับบริการ เนื้อหาและช่วยค้นหาข้อมูล เสริมของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่างๆ รวมทั้งการให้บริการ มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ เช่น การจัดหาข้อมูล Outsource call center โดยทางอ้อม ทางโหราศาสตร์ ข้อมูล สลากกินแบ่งรัฐบาล และ - บริษัทและบริษัทย่อยช�ำระ เรื่องตลกขบขัน เป็นต้น ค่าบริการเสริม (Content) 2) Outsource call center ในอัตราร้อยละของรายได้ โดยช�ำระค่าใช้บริการเป็น ที่บริษัทได้รับ ซึ่งเป็นอัตรา รายเดือน ในขณะที่บริษัท เดียวกันกับผู้ให้บริการ และบริษัทย่อยมีการ ข้อมูลประเภทเดียวกัน ให้บริการโทรศัพท์ และ จ�ำหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ - ค่าบริการ outsource call แก่ทีเอ็มซี center ที่ชำ� ระเทียบเคียง ได้กับราคาของผู้ให้บริการ 1. รายได้จากการให้บริการ 1.18 1.81 2.85 2.89 รายอื่น - - - 0.61 2. รายได้อื่น 3.13 39.12 15.54 50.36 3. ค่าบริการ 0.12 2.11 0.71 2.20 4. เจ้าหนี้การค้า - - - 0.02 5. เจ้าหนี้อื่น - 4.97 - 4.29 6. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 0.47 0.47 0.68 0.73 7. ลูกหนี้การค้า 5. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ บริษัทและบริษัทย่อยว่าจ้าง แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (ไอทีเอเอส)/ ไอทีเอเอสในการดูแลจัดการ และพัฒนาระบบ SAP รวมทั้ง มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้อยละ ออกแบบและลงโฆษณาบน 100 และมีกรรมการร่วมกันคือ เว็บไซต์ต่างๆให้กับกลุ่มบริษัท • นายสมประสงค์ บุญยะชัย ในขณะที่บริษัทมีการให้บริการ โทรศัพท์แก่ไอทีเอเอส 1. รายได้จากการให้บริการ 2. รายได้อื่น 3. ค่าบริการ 4. เจ้าหนี้การค้า 5. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6. ลูกหนี้การค้า

ไอทีเอเอสให้บริการเกี่ยวกับ การพัฒนาโปรแกรม และ การดูแลจัดการระบบ SAP มีบริการที่ดี รวดเร็ว และ ราคาสมเหตุสมผล - - 0.03 - - -

0.01 - 88.13 3.06 15.33 -

0.01 0.08 - - - 0.03

0.01 0.08 69.05 7.01 0.03

ไอทีเอเอสคิดค่าบริการใน อัตราใกล้เคียง กับราคาของ บริษัทที่ปรึกษาระบบ SAP รายอื่น โดยอัตราค่าบริการ ขึ้นอยู่กับลักษณะงานและ ระดับของที่ปรึกษา


076

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ความสัมพันธ์กับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน ส�ำหรับงวดสิ้นสุด ส�ำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท)

งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม

6. กลุ่มบริษัท SingTel Strategic บริษัทและบริษัทย่อยท�ำสัญญา Investments Private Limited กับบริษัทในกลุ่ม SingTel (SingTel)/ ในการเปิดให้บริการข้ามแดน อัตโนมัติร่วมกัน (Joint เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท International Roaming) ร้อยละ 23.32 และบริษัทจ่ายเงินเดือนและ ผลตอบแทนให้แก่ Singapore Telecom International Pte Ltd. (STI) ในการส่งพนักงาน มาปฏิบัติงานที่บริษัทโดยจะ เรียกเก็บค่าใช้จ่ายตามที่เกิด ขึ้นจริง 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าบริการ 3. เงินเดือนและผลตอบแทนอืน่ 4. เจ้าหนี้การค้า 5. เจ้าหนี้อื่น 6. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 7. ลูกหนี้การค้า 8. ลูกหนี้อื่น 9. รายได้ค้างรับ

77.67 434.59 514.20 593.26 32.72 470.84 233.21 468.97 84.41 84.41 57.38 57.38 20.34 21.37 - 21.74 - - 11.61 11.61 10.07 11.80 23.62 56.78 - 16.62 93.80 95.77 0.11 0.11 - 0.02 2.41 2.41 28.48 30.18

7. บริษทั ซีเอส ล็อกซอินโฟ จ�ำกัด บริษัทและบริษัทย่อยได้ว่าจ้าง (มหาชน) (ซีเอสแอล)/ ซีเอสแอลในการให้บริการด้าน อินเทอร์เน็ต โดยเชื่อมโยงผ่าน มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ โครงข่ายทั้งภายในประเทศและ โดยทางอ้อม ต่างประเทศ และเป็นช่องทาง จ�ำหน่ายบัตรเติมเงินส�ำหรับ การใช้บริการอินเทอร์เน็ต ในขณะที่บริษัทและบริษัทย่อย มีการให้บริการโทรศัพท์จำ� หน่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ และให้เช่า อุปกรณ์และบริการเกี่ยวกับ Datanet แก่ซีเอสแอล 1. รายได้จากการให้บริการ 2. รายได้อื่น 3. ค่าเช่าและค่าบริการ 4. เจ้าหนี้การค้า 5. เจ้าหนี้อื่น 6. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 7. ลูกหนี้การค้า 8. ลูกหนี้อื่น 9. รายได้ค้างรับ

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ การท�ำสัญญา International Roaming กับกลุ่ม SingTel เป็นการท�ำสัญญาทางธุรกิจ ตามปกติ โดยราคาที่เรียกเก็บ เป็นราคาทีต่ า่ งฝ่ายต่างก�ำหนด ในการเรียกเก็บจากลูกค้าแต่ละ ฝ่ายที่ไปใช้บริการข้ามแดน อัตโนมัติหักก�ำไรที่บวกจาก ลูกค้าซึง่ เป็นมาตรฐานเดียวกับ ทีบ่ ริษทั คิดจาก ผูใ้ ห้บริการ รายอื่น ค่าใช้จ่ายที่ STI ส่ง พนักงานมาให้ความช่วยเหลือ ทางด้านการบริหารงานและ ด้ า นเทคนิ ค ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ซึ่งบริษัทจ่ายตามค่าใช้จ่าย ที่ตกลงกันตามที่เกิดจริง

ซีเอสแอลมีความเชี่ยวชาญ และเป็นผู้ให้บริการทางด้าน อินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถ เชื่อมต่อข้อมูลภายในประเทศ ผ่านโครงข่ายไปยังผู้ใช้บริการ ทั่วโลก ทั้งนี้บริษัทและบริษัทย่อย ช�ำระค่าบริการเช่นเดียวกับ ที่เรียกเก็บจากลูกค้ารายอื่น 0.65 - 3.75 0.34 - - 0.05 - -

12.55 5.81 8.25 0.39 0.04 0.34 2.42 - 0.99

1.17 - 3.81 0.36 - - 0.05 - -

41.73 1.32 4.15 0.36 0.04 6.28 0.01 2.06


/

077

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ความสัมพันธ์กับบริษัท 8. บริษัท เอดี เวนเจอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (เอดีวี)/ มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้อม

ลักษณะรายการ

งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม บริษัทและบริษัทย่อย ได้ว่าจ้าง เอดีวีในการให้บริการเสริมของ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น เกมส์ เสียงเรียกเข้า Wallpaper โดยช�ำระค่าบริการเป็นรายเดือน ในขณะที่บริษัทและบริษัทย่อย ได้ให้บริการโทรศัพท์, ด�ำเนิน การจัดท�ำแหล่งรวมโปรแกรม บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (software mall) และจ�ำหน่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่แก่เอดีวี 1. รายได้จากการให้บริการ 2. รายได้อื่น 3. ค่าบริการ 4. เจ้าหนี้การค้า 5. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6. ลูกหนี้การค้า 7. รายได้ค้างรับ

9. บริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จ�ำกัด (ดีทีวี)/ มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยทางอ้อม

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน ส�ำหรับงวดสิ้นสุด ส�ำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท)

18.89 19.48 - 0.72 - 332.23 - 22.77 - 22.06 1.19 1.19 - -

16.30 16.32 - 1.46 0.03 481.91 - 38.03 - 39.03 1.65 2.47 - 0.02

0.06 0.90 -

10. บริษทั ลาว เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ บริษัทและบริษัทย่อยร่วมมือ จ�ำกัด (แอลทีซี)/ กับแอลทีซีในการให้บริการ โรมมิ่งระหว่างประเทศอัตโนมัติ มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ (International Roaming) โดยทางอ้อม 1. รายได้จากการให้บริการ 0.33 2.07 2. ค่าบริการ - 3. เจ้าหนี้การค้า - 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 0.07 5. ลูกหนี้การค้า - 6. รายได้ค้างรับ

0.06 0.90 0.01

5.27 12.98 0.28 0.28 1.16 4.16

0.13 1.20 0.01

0.89 3.98 - 0.07 1.28 -

เอดีวีมีความเชี่ยวชาญ ในการ ออกแบบเว็บไซต์ และมีความ หลากหลายของเนื้อหา ซึ่งตรงกับความต้องการ ของบริษัท และบริษัทย่อย บริษัทและบริษัทย่อยช�ำระ ค่าบริการเสริม (Content) ในอัตราร้อยละของรายได้ที่ บริษัทได้รับ ซึ่งเป็นอัตรา เดียวกันกับผู้ให้บริการข้อมูล ประเภทเดียวกัน

ดีทีวีมีความเชี่ยวชาญ ในด้าน การสื่อสารผ่านดาวเทียม ซึ่งให้บริการจ�ำหน่ายอุปกรณ์ จานรับสัญญาณดาวเทียม โดยใช้งานผ่านทางโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต

บริษัทว่าจ้างให้ดีทีวีลงโฆษณา ทางโทรทัศน์ผ่านจานรับ สัญญาณดาวเทียมในขณะที่ บริษัทและบริษัทย่อยมีการ ให้บริการโทรศัพท์แก่ดีทีวี 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าบริการ 3. ลูกหนี้การค้า

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

0.13 1.40 ทั้งนี้บริษัทช�ำระค่าบริการเช่น 0.01 เดียวกับที่เรียกเก็บจากลูกค้า รายอื่น

5.37 8.95 0.52 0.79 1.63 0.36

แอลทีซดี ำ� เนินธุรกิโทรคมนาคม ในประเทศลาว ให้บริการ โทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์ เคลื่อนที่ โทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ และบริการเครือข่าย อินเทอร์เน็ต อัตราค่าโรมมิ่งที่คิดเป็นอัตรา เทียบเคียงได้กับราคาตลาด ที่คิดกับผู้ให้บริการรายอื่น


078

บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ ความสัมพันธ์กับบริษัท 11. กลุ่มบริษัทไทยยานยนต์ จ�ำกัด (ทีวายวาย)/ มีประธานกรรมการบริษทั ร่วมกันคือ • นายวิทิต ลีนุตพงษ์

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกัน มูลค่ารายการระหว่างกัน ส�ำหรับงวดสิ้นสุด ส�ำหรับงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท) (ล้านบาท)

งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะ รวม เฉพาะ รวม บริษทั และบริษทั ย่อยได้ใช้บริการ ทีวายวายส�ำหรับดูแลและซ่อม บ�ำรุงรถยนต์ รวมทั้งเช่าพื้นที่ ส�ำหรับใช้เป็นสถานีฐาน ในขณะที่บริษัทและบริษัทย่อย ได้ให้บริการโทรศัพท์แก่ ทีวายวาย 1. รายได้จากการบริการ 2. ค่าบริการ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. ลูกหนี้การค้า

0.50 0.08 - 0.05

2.48 0.41 - 0.27

1.77 0.60 - 0.25

1.91 0.85 0.03 0.27

12. บริษัท อุ๊คบี จ�ำกัด (อุ๊คบี)/

13. บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ ไอเอชให้บริการโครงข่าย จ�ำกัด (ไอเอช)/ สื่อสัญญาณโทรคมนาคม แก่กลุ่มบริษัท มีเอไอเอสเป็นผูถ้ อื หุน้ โดยทางอ้อม 1. ดอกเบี้ยรับ 2. เงินให้กู้ยืมระยะสั้น

ทีวายวายเป็นผู้แทนจ�ำหน่าย รถยนต์ รวมทัง้ มีความเชีย่ วชาญ ในการให้บริการดูแล ซ่อมบ�ำรุง รถยนต์ บริษัทและบริษัทย่อยช�ำระ ค่าบริการเช่นเดียวกับที่ เรียกเก็บจากลูกค้ารายอื่น และอัตราค่าเช่าพื้นที่ส�ำหรับ ใช้เป็นสถานีฐานเทียบเคียง ได้กับอัตราของผู้ให้เช่า รายอื่น ที่อยู่ในบริเวณพื้นที่ ใกล้เคียงกัน อุ๊คบีด�ำเนินธุรกิจน�ำเสนอ สิ่งตีพิมพ์ดิจิทัล (Digital Publication) และหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เช่น หนังสือ นิตยสาร หรือ หนังสือพิมพ์บนสมาร์ทโฟน, แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์

บริษัทย่อย (เอ็มเอ็มที) ได้ ว่าจ้าง อุ๊คบีสำ� หรับการให้ มีอินทัชเป็นผู้ถือหุ้น โดยทางตรง บริการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในสัดส่วนร้อยละ 22.06 (e-book) ผ่านบนสมาร์โฟน หรือแท็บเล็ต โดยช�ำระค่าบริการ เป็นรายเดือน และให้บริการ โทรศัพท์แก่อุ๊คบี 1. รายได้จากการบริการ 2. ค่าบริการ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 5. ลูกหนี้การค้า

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

- - - - -

- -

0.05 11.77 0.73 0.73 -

1.82 95.00

- - - - -

- -

0.02 10.42 0.24 0.27 0.01

-

เอ็มเอ็มทีช�ำระค่าบริการเสริม (Content) ในอัตราร้อยละของ รายได้ที่บริษัทได้รับ ซึ่งเป็น อัตราเดียวกันกับผู้ให้บริการ ข้อมูลประเภทเดียวกัน ไอเอช ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับ การให้บริการโครงข่าย สื่อสัญญาณ โดยจัดหาพื้นที่ ในการติดตั้งอุปกรณ์ และ วางสายใยแก้วน�ำแสง


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

079

รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบประจ�ำปี 2557 เรียน ท่านผู้ถือหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ราย ซึง่ เป็นผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นการเงิน การบัญชี กฎหมาย และการบริหาร จัดการ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจัดท�ำตามแนวทางและข้อก�ำหนดของส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) โดยมีรายชื่อปรากฎดังนี้ 1. นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย1/ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสุวิมล กุลาเลิศ หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ โดย รายละเอียด การประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบในปี 2557 ปรากฎในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทในการตรวจสอบและ สอบทานให้บริษทั มีการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกราย รวมทั้งดูแลให้ผู้บริหารปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายของบริษัท ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ โดยในปี 2557 การปฏิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความถูกต้อง ครบถ้วนและเชื่อถือได้ของงบการเงินและงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ทั้งรายไตรมาสและประจ�ำปี 2557 ซึ่งผ่านการสอบทานและตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทแล้ว ตลอดจนได้หารือร่วมกับ ฝ่ายบริหารและผูส้ อบบัญชีเพือ่ พิจารณาถึงนโยบายการบัญชีทสี่ ำ� คัญ การประมาณการทางบัญชีและการใช้ดลุ ยพินจิ ต่างๆ เพือ่ ใช้ในการจัดท�ำ งบการเงิน รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ก่อนที่จะให้ความเห็นชอบและน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 2. คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาข้อเสนอแนะต่อระบบการควบคุมภายใน และรับทราบแผนการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี รวมถึง เข้าร่วมประชุมเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วม เพื่อปรึกษาหารือกันอย่างอิสระถึงข้อมูลที่มีความส�ำคัญในการ จัดท�ำงบการเงิน รวมทั้งประเด็นที่พบจากการสอบทานและตรวจสอบงบการเงิน และมีความเห็นว่ากระบวนการจัดท�ำรายงานทางบัญชี และการเงินของบริษัท มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม ที่ท�ำให้มั่นใจได้ว่า รายงานทางการเงินได้แสดงฐานะทางการเงินและ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 3. คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษัท และเห็นว่า ฝ่ายบริหารได้ตัดสินใจท�ำรายการดังกล่าวเพื่อประโยชน์ของบริษัทเป็นส�ำคัญ ดังเช่นที่ท�ำกับบุคคลภายนอกทั่วไป มีเงื่อนไขการค้าปกติ ด้วยราคาที่สมเหตุสมผล และ มีการเปรียบเทียบกับราคากลางของตลาดในธุรกิจนั้นๆ แล้ว 4. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎระเบียบ และข้อก�ำหนดของ กลต.และตลท. และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้งภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นจาก สัญญาที่กระท�ำกับบุคคลภายนอกและข้อเรียกร้องอื่นๆ และเห็นว่าบริษัทได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ ดังกล่าวได้อย่าง ถูกต้อง ส�ำหรับบางเรื่องที่มีข้อโต้แย้งอยู่บ้าง ซึ่งผู้บริหารเชื่อว่าผลการพิจารณาของผู้เกี่ยวข้องต่อข้อโต้แย้งดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไป ในทางที่ดีต่อบริษัทนั้น ได้ร่วมกับผู้สอบบัญชีให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่มีสาระส�ำคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างเหมาะสมแล้ว 5. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานประสิทธิผลและความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาจากรายงานผลการตรวจสอบ ภายในประจ�ำปี 2557 และผลการประเมินระบบการควบคุมภายในตามกรอบแนวปฏิบัติด้านการควบคุมภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) 2013 และแนวทางของกลต. รวมทั้งพิจารณาและติดตาม ผลการปฏิบตั ติ ามข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบของผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ รับทราบสาเหตุและเสนอ แนวทางในการป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อฝ่ายบริหาร นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เยี่ยมชมการปฏิบัติงานจริง เพื่อให้ เกิดความเข้าใจในระบบงานของบริษัท และให้ข้อแนะน�ำที่เป็นประโยชน์อันจะท�ำให้ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยจากการสอบทานดังกล่าวไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ จึงเห็นว่าบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม


080

6. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยงของบริษัทจากการประชุมร่วมกับตัวแทนของคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงทั้งหมดจ�ำนวน 4 ครั้ง ในปี 2557 รวมทั้งได้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้ระบบการบริหารความเสี่ยงของบริษัทมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น และเห็นว่าบริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 7. คณะกรรมการตรวจสอบมีการสอบทานและก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการให้ข้อมูลการกระท�ำผิดและการทุจริต การสอบสวน และการคุม้ ครองผูใ้ ห้ขอ้ มูล ครอบคลุมถึงการรับทราบข้อร้องเรียนและผลการสอบสวนตามกระบวนการของบริษทั เป็นประจ�ำในทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อให้มีการจัดการข้อร้องเรียนอย่างเหมาะสมเป็นธรรม และสอดคล้องกับนโยบาย การก�ำกับดูแลที่ดีของบริษัท ทั้งนี้ ในปี 2557 มีข้อร้องเรียนทั้งหมด 5 เรื่อง ซึ่งภายหลังจากการสอบสวนข้อเท็จจริงแล้ว พบว่า เป็นเรื่อง ที่เข้าข่ายการทุจริตจ�ำนวน 1 เรื่อง อนึง่ คณะกรรมการตรวจสอบยังเป็นช่องทางหนึง่ ของบริษัทในการรับแจ้งข้อร้องเรียนจากบุคคลภายใน และภายนอกด้วย 8. คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งได้ประชุมเป็นการเฉพาะกับหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน อย่างเป็นทางการ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการด�ำเนินกิจกรรมตรวจสอบภายในและบทบาทในการเป็นทีป่ รึกษาของหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล บรรลุตามเป้าหมายทีก่ �ำหนด โดยได้พจิ ารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน พิจารณา รายงานผลการตรวจสอบภายในตามแผนงานประจ�ำปี 2557 และ ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบภายในโดยเปรียบเทียบ กับตัววัดประสิทธิภาพที่ได้ตั้งไว้ รวมทั้งได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนได้พิจารณาแนวทาง ในการปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบภายในจากการทีห่ น่วยงานตรวจสอบภายในเปิดโอกาสให้หน่วยงานต่างๆ ได้ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของผู้ตรวจสอบใน และเสนอความเห็นเพื่อปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบได้อย่างเป็นอิสระ นอกจากนีใ้ นการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบได้อนุมตั แิ ผนงานตรวจสอบภายในประจ�ำปี 2558 ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ตามความเสีย่ งทีม่ สี าระ ส�ำคัญของบริษัท และมุ่งเน้นให้ตรวจประสิทธิผลของการปฎิบัติงานที่เป็นจุดควบคุมที่สำ� คัญ และตรวจประสิทธิผลของระบบการประเมิน การควบคุมโดยตนเองของผู้รับการตรวจ รวมถึงได้พิจารณาขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ งบประมาณประจ�ำปี ความเพียงพอของบุคลากร ความรู้ความสามารถของบุคลากร และ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบของหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการตรวจสอบภายในของบริษทั มีเหมาะสม มีประสิทธิผล และมีความเป็นอิสระ แผนงาน ตรวจสอบประจ�ำปีสอดคล้องกับเป้าหมายและความเสี่ยงของบริษัท ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบภายในบรรลุตามเป้าหมาย ที่วางไว้ บุคลากรและเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบมีความเพียงพอและได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ของการปฎิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง 9. คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้กับคณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส โดยได้ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานของฝ่ายบริหาร ซึ่งต่อมามีการด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ อย่างเหมาะสม 10. คณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ เสนอแก้ไขต่อคณะกรรมการบริษทั โดยได้ปรับปรุงให้สอดคล้อง ตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั และประกาศของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ หน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายตามนโยบายการให้ขอ้ มูล การกระท�ำผิดและการทุจริต การสอบสวน และการคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลของบริษัท 11. คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และ เสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2558 โดยได้ประเมิน จากความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ผลการด�ำเนินงานในปี 2557 ทักษะความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการตรวจสอบธุรกิจ ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ทีมงาน และความเหมาะสมของค่าสอบบัญชีที่เสนอ ตลอดจนได้พิจารณาให้มีการหมุนเวียนผู้สอบบัญชี ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และมีความเห็นว่า ผูส้ อบบัญชีจากบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด มีความเป็นอิสระ มีความรู้และประสบการณ์ในระดับแนวหน้าของการปฏิบัติงานสอบบัญชี ผลการปฎิบัติงานในปีที่ผ่านมาพบว่ามีความน่าเชื่อถือ และ เป็นที่น่าพอใจ ส่งผลให้ค่าตอบแทนที่ผู้สอบบัญชีได้รับตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 มีความเหมาะสม


/

081

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

12. คณะกรรมการตรวจสอบมีการประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ โดยการประเมินตนเองและการประเมินในมุมมองของคณะกรรมการบริษัท ผู้สอบบัญชี และ ผู้บริหาร ซึ่งครอบคลุมในเรื่ององค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ อ�ำนาจหน้าที่ ความเป็นอิสระ การประชุม การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสอบทานและให้ความเห็น และหรือค�ำแนะน�ำอันเป็นประโยชน์ต่อบริษัทในด้านการควบคุมภายในและระบบ การบริหารความเสี่ยง การจัดท�ำรายงานทางการเงิน การตรวจสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชี ระบบการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติตาม กฎระเบียบและข้อบังคับ และการจัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ตามแนวทางการปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องกลต.และกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยผลการประเมินแสดงได้ว่า คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย โดยใช้ ความรู้ ความสามารถประกอบกับความระมัดระวังรอบคอบและมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ โดยไม่มขี อ้ จ�ำกัดในการเข้าถึงข้อมูลทัง้ จาก ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน โดยสรุปในภาพรวมแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า คณะกรรมการบริษัท ตลอดจนผู้บริหารและกรรมการบริหารของบริษัท มีจริยธรรมและความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของบริษัทอย่างมีคุณภาพเยี่ยงมืออาชีพ ได้ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่ง ต่อการด�ำเนินงานภายใต้ระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล โปร่งใส รวมทั้งมีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุม ภายในที่รัดกุมเหมาะสม

นายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย

นางทัศนีย์ มโนรถ

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ : 1/ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2557 วันที่ 6 พฤษภาคม 2557 มีมติแต่งตั้งนายไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย เป็นกรรมการตรวจสอบ


082

รายงาน ทางการเง�น


/

083

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวม ของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดท�ำ รวมทั้งให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง และให้มีและด�ำรงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะด�ำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดการทุจริต หรือการด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ในการนีค้ ณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ เพือ่ ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลสอบทานคุณภาพ ของรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูล รายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ ในรายงานประจ�ำปีแล้ว งบการเงินของบริษัทฯ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ในการตรวจสอบนั้นทางคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชี สามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับดีเป็นที่น่าพอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผล ได้ว่างบการเงินของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และ งบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(นายวิทิต ลีนุตพงษ์)

(นายแอเลน ลิว ยง เคียง)

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการบริหาร


084

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ย่อย (กลุ่มบริษัท) และของเฉพาะบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัท) ตามล�ำดับ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการบัญชีที่สำ� คัญและเรื่องอื่น ๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท� ำและการน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควร ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู้ ริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพือ่ ให้สามารถจัดท�ำงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการทีป่ ราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผน และปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักฐานการสอบบัญชีเกีย่ วกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการ ควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามทีค่ วรของกิจการ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสม กับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึง การประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่ม บริษัทและบริษัท ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวม และกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

(นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ)

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4068 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 5 กุมภาพันธ์ 2558


/

085

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

งบแสดงฐานะทางการเงิน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริ ษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน

สินทรัพย์

สินทรั พย์

สินทรั พย์ หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็ นการเฉพาะ เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้ การค้า ลูกหนี้ อื่น เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน

รวมสิ นทรัพย์

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2557

2556

(บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ 31 ธันนเฉพาะกิ วาคมจการ 2557 31 ธันวาคม 2556 2557

2556

(บาท) 6 7 8 5,9 5,10 5 11

14,258,066,402 3,709,327,905 1,542,448,983 10,415,388,789 5,900,650,118 95,000,000 2,519,497,229 686,131,869 39,126,511,295

11,473,120,876 3,781,141,127 1,576,941,592 10,264,184,371 4,851,425,229 2,864,932,209 153,136,150 34,964,881,554

1,679,292,348 9,944,049,122 1,987,196,143 35,589,760,000 52,163,408 140,976,544 49,393,437,565

3,964,630,780 11,529,604,208 1,205,237,858 35,386,900,000 80,021,810 52,166,394,656

12 13 8 14 3(ข),15 16 17 18 37 19 5

58,399,310 60,702,586,423 8,738,038,803 34,930,692 12,624,410,361 2,504,683,294 568,880,941 1,441,855,941 550,265,957 87,224,051,722

104,360,750 35,922,236,163 20,499,802,732 34,930,692 13,600,648,306 2,178,034,730 653,397,782 3,557,332,641 510,084,969 77,060,828,765

7,912,145,488 46,999,310 1,103,188,064 8,738,038,803 112,532,688 568,880,941 667,900,342 999,138,724 20,148,824,360

7,912,143,008 93,160,750 1,580,204,790 20,491,416,123 159,337,759 653,397,782 3,216,666,321 671,294,457 34,777,620,990

126,350,563,017

112,025,710,319

69,542,261,925

86,944,015,646

รายงานทางการเงิน

สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ ค่าความนิยม ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่น ลูกหนี้ ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

หมายเหตุ หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงิ นรวม 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556


086

งบแสดงฐานะทางการเงิน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริ ษทั แอดวานซ์ บริ ษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ อิเซอร์ นโฟร์วิสเซอร์ จากัวดิส(มหาชน) จากัด (มหาชน) และบริ ษและบริ ทั ย่ อยษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิ งบแสดงฐานะการเงิ น น

หนีหนี ส้ ิ น้สและส่ หนี ส้ ิ นวนของผู และส่ วนของผู ้ ถือหุ้น้ถือ้ ถือหุหุ้น้ น ินและส่ วนของผู หนี้สินหมุ หนีน้สเวีินยหมุ น นเวียน เงินกูร้ ะยะสั เงินกู้ นร้ จากสถาบั ะยะสั้นจากสถาบั นการเงิน การเงิน เจ้าหนี้ กเจ้ารค้ าหนี า ้ การค้า เจ้าหนี้ อเจ้ื่นาหนี้ อื่น เงินกูย้ ืมเงิจากกิ นกูย้ จืมการที จากกิ่เกีจ่ยการที วข้อง่เกี่ยวข้อง ส่ วนของเงิ ส่ วนนของเงิ กูย้ ืมระยะยาวที นกูย้ ืมระยะยาวที ่ถึงกาหนดช ่ถึงการะภายในหนึ าหนดชาระภายในหนึ ่ งปี ่ งปี ใบอนุญใบอนุ าตให้ใญช้าตให้ คลื่นความถี ใช้คลื่น่โความถี ทรคมนาคมค้ ่โทรคมนาคมค้ างจ่าย างจ่าย ที่ถึงกาหนดช ที่ถึงการะภายในหนึ าหนดชาระภายในหนึ ่ งปี ่ งปี ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ ตอบแทนรายปี ตอบแทนรายปี ค้างจ่าย ค้างจ่าย ่าบริ การโทรศั รายได้ครายได้ ค่าบริ การโทรศั พท์เคลื่อพนที ท์เคลื ่รับ่อล่นที วงหน้ ่รับาล่วงหน้า เงินรับล่เงิวงหน้ นรับาล่จากลู วงหน้กาค้จากลู า กค้า ภาษีเงินภาษี ได้คเา้ งิงจ่นได้ าย คา้ งจ่าย หนี้สินหมุ หนีน้ สเวีิ นยหมุ นอืน่ เวียนอื่น รวมหนีสรวมหนี ้ ิ นหมุนส้ เวีิ นยหมุ น นเวียน หนี้สินไม่หนีหมุ้สินไม่ เวียหนมุนเวียน เงินกูย้ ืมเงิระยะยาว นกูย้ ืมระยะยาว ภาระผูกภาระผู พันผลประโยชน์ กพันผลประโยชน์ พนักงานพนักงาน ใบอนุญใบอนุ าตให้ใญช้าตให้ คลื่นความถี ใช้คลื่น่โความถี ทรคมนาคมค้ ่โทรคมนาคมค้ างจ่าย างจ่าย หนี้ สินไม่ หนีห้ สมุิ นไม่ เวียหนอื มุน่ เวียนอื่น รวมหนีสรวมหนี ้ ิ นไม่ หมุส้ ิ นไม่ เวียหนมุนเวียน รวมหนีสรวมหนี ้ ิ น ส้ ิ น ส่ วนของผู ส่ ว้ถนของผู อื หุ้น ้ถอื หุ้น ทุน้นเรื อนหุ ้น ทุนเรื อนหุ ทุนจดทะเบี ทุนจดทะเบี ยน ยน ทุนที่ออกและช ทุนที่ออกและช าระแล้วาระแล้ว ส่ วนเกินส่ทุวนนเกินทุน ส่ วนเกินส่มูวลนเกิ ค่าหุน้นมูสามั ลค่าหุญ้นสามัญ กาไรสะสม กาไรสะสม จัดสรรแล้ จัดวสรรแล้ว ทุนสารองตามกฎหมาย ทุนสารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ยัจงดั ไม่ สรร ได้จดั สรร องค์ประกอบอื องค์ประกอบอื ่นของส่ ว่นนของผู ของส่วถ้ นของผู ือหุ้น ถ้ ือหุ้น รวมส่ วนของผู รวมส่ ว้ถนของผู ือหุ้ นเฉพาะบริ ้ถือหุ้นเฉพาะบริ ษทั ษทั ส่ วนได้เส่สีวยนได้ ที่ไม่เมสี​ีอยานาจควบคุ ที่ไม่มีอานาจควบคุ ม ม รวมส่ วนของผู รวมส่ ว้ถนของผู ือหุ้น ้ถือหุ้น

นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิงบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงิงบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ จการ 31 วาคม ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธัธันน วาคม 31 ธันวาคม 3131 ธันวาคม 2557 2557 2556 2556 2556 2557 2557 2557 2556 2556 2556 หมายเหตุหมายเหตุ 2557 หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท) 20 20 -4,000,000,000 4,000,000,000 -4,000,000,000 4,000,000,000 5,21 5,21 11,903,114,252 11,903,114,25211,718,205,683 11,718,205,6831,285,824,610 1,285,824,6101,621,377,526 1,621,377,526 5,22 5,22 11,188,941,077 11,188,941,0779,536,172,211 9,536,172,2112,824,131,920 2,824,131,9204,925,418,639 4,925,418,639 5 5 -4,400,000,000 4,400,000,000 20 20 2,571,630,615 2,571,630,6155,303,408,757 5,303,408,7572,560,792,322 2,560,792,3225,297,776,745 5,297,776,745 17 1

17 3,656,250,000 3,656,250,0003,656,250,000 3,656,250,000 1 5,130,156,868 5,130,156,8683,534,750,009 3,534,750,0094,989,582,697 4,989,582,6973,394,175,838 3,394,175,838 2,183,175,400 2,183,175,4001,599,664,604 1,599,664,604 628,770,725 628,770,7251,134,085,114 1,134,085,114 3,709,327,905 3,709,327,9052,985,927,727 2,985,927,727 2,195,545,817 2,195,545,8172,816,611,446 2,816,611,446 -1,923,263,743 1,923,263,743 367,976,407 367,976,407 340,245,305 340,245,305 330,908,064 330,908,064 304,012,947 304,012,947 42,906,118,341 42,906,118,34145,491,235,742 45,491,235,74212,620,010,338 12,620,010,33827,000,110,552 27,000,110,552

20 23 17

20 34,478,291,366 34,478,291,36615,354,770,702 15,354,770,70212,869,374,320 12,869,374,32015,339,346,797 15,339,346,797 23 1,499,743,034 1,499,743,0341,361,376,034 1,361,376,034 406,012,895 406,012,895 767,853,695 767,853,695 17 -3,656,250,000 3,656,250,000 601,655,751 601,655,751 269,491,753 269,491,753 33,268,900 33,268,900 55,861,060 55,861,060 36,579,690,151 36,579,690,15120,641,888,489 20,641,888,48913,308,656,115 13,308,656,11516,163,061,552 16,163,061,552 79,485,808,492 79,485,808,49266,133,124,231 66,133,124,23125,928,666,453 25,928,666,45343,163,172,104 43,163,172,104

24

24 4,997,459,800 4,997,459,8004,997,459,800 4,997,459,8004,997,459,800 4,997,459,8004,997,459,800 4,997,459,800 2,973,095,330 2,973,095,3302,973,095,330 2,973,095,3302,973,095,330 2,973,095,3302,973,095,330 2,973,095,330

24

24 22,372,276,085 22,372,276,08522,372,276,085 22,372,276,08522,372,276,085 22,372,276,08522,372,276,085 22,372,276,085

25

25

26

รวมหนีสรวมหนี ้ ิ นและส่ส้ วิ นนของผู และส่ ว้ถนของผู ือหุ้น ้ถือหุ้ น

500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 500,000,000 20,710,294,423 20,710,294,42319,729,332,548 19,729,332,54817,742,315,443 17,742,315,44317,928,485,775 17,928,485,775 26 194,732,371 194,732,371 173,403,605 173,403,605 25,908,614 25,908,614 6,986,352 6,986,352 46,750,398,209 46,750,398,20945,748,107,568 45,748,107,56843,613,595,472 43,613,595,47243,780,843,542 43,780,843,542 114,356,316 114,356,316 144,478,520 144,478,520 46,864,754,525 46,864,754,52545,892,586,088 45,892,586,08843,613,595,472 43,613,595,47243,780,843,542 43,780,843,542 126,350,563,017 126,350,563,017 112,025,710,319 112,025,710,31969,542,261,925 69,542,261,92586,944,015,646 86,944,015,646

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนนหนึ เป็ นส่​่ งของงบการเงิ วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้ นนี้

4

4


/

087

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริ ษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ บริ ษเซอร์ ทั แอดวานซ์ วิส จากัดอิ(มหาชน) นโฟร์ เซอร์ และบริ วิส จษากัทั ดย่ อ(มหาชน) ย และบริ ษทั ย่ อย งบกาไรขาดทุน งบกาไรขาดทุน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ส�ำหรังบการเงิ บปีสิ้นนสุรวม ดวันงบการเงิ ที่ นเฉพาะกิจการส�งบการเงิ ำหรับนปีเฉพาะกิ สิ้นสุดจวัการ นที่ สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31สธัาหรั นวาคม บปี31 สิ้นธัสุ ดนวัวาคม นที่ ส31าหรั ธันบวาคม ปี สิ้นสุ ดวันที่ 31สธัาหรั นวาคม บปี31 สิ้นสุธัดนวันวาคม ที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 2557หมายเหตุ 2556 2557 2557 2556 2556 2557 2556 หมายเหตุ (บาท) (บาท) (บาท)

หมายเหตุ

125,396,923,290 5 23,331,862,141 5 600,261,701 3(ข) 149,329,047,132

127,816,101,491 125,396,923,290 18,995,274,129 23,331,862,141 3,766,442,977 600,261,701 150,577,818,597 149,329,047,132

106,024,435,809 62,030,056,662 516,324,259 8,379,611 3,639,599,320 600,261,701 110,180,359,388 62,638,697,974

106,024,435,809 516,324,259 3,639,599,320 110,180,359,388

ต้ นทุน ต้ นทุน ต้นทุนการให้บริ การและให้ ต้นทุเช่นาการให้ อุปกรณ์บริ การและให้เช่าอุปกรณ์ 32 ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี 1 ต้นทุนขาย ต้นทุนขาย ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้ต้สนญ ั ทุญาอนุ นค่าก่ญอสร้ าตให้ างภายใต้ ดาเนินสการ ญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนิน3(ข) การ รวมต้ นทุน รวมต้ นทุน

(45,206,190,813) 32 (14,593,801,827) 1 (23,148,015,893) (600,261,701) 3(ข) (83,548,270,234)

(43,136,095,291) (45,206,190,813) (27,065,167,097) (43,136,095,291) (37,444,665,645) (27,065,167,097) (24,273,347,402) (14,593,801,827) (14,593,801,827) (24,273,347,402) (22,864,248,043) (14,593,801,827) (17,760,269,921) (23,148,015,893) (17,760,269,921) (8,295,132) (515,767,375) (8,295,132) (3,766,442,977) (600,261,701) (3,766,442,977) (600,261,701) (3,639,599,320) (600,261,701) (88,936,155,591) (83,548,270,234) (42,267,525,757) (88,936,155,591) (64,464,280,383) (42,267,525,757)

(37,444,665,645) (22,864,248,043) (515,767,375) (3,639,599,320) (64,464,280,383)

กาไรขั้นต้ น

65,780,776,898

61,641,663,006 65,780,776,898

20,371,172,217 61,641,663,006

45,716,079,005 20,371,172,217

45,716,079,005

(6,219,705,961) 32 (12,640,674,559) 32 (18,860,380,520)

(4,331,356,643) (6,219,705,961) (10,545,060,955) (12,640,674,559) (14,876,417,598) (18,860,380,520)

(4,331,356,643) (647,636,036) (1,819,177,988) (647,636,036) (4,727,020,237) (10,545,060,955) (8,735,287,401) (4,727,020,237) (5,374,656,273) (14,876,417,598) (10,554,465,389) (5,374,656,273)

(1,819,177,988) (8,735,287,401) (10,554,465,389)

กาไรจากการขาย การให้กบาไรจากการขาย ริการและการให้การให้ เช่ าอุปบกรณ์ ริการและการให้ เช่ าอุปกรณ์ รายได้จากการลงทุน รายได้จากการลงทุน 5,13,29 รายได้ดาเนินงานอื่น รายได้ดาเนินงานอื่น 30 ส่ วนแบ่งขาดทุนจากเงินส่ลงทุ วนแบ่ นในบริ งขาดทุ ษทั นร่จากเงิ วม นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม 12 ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ ขาดทุนนทรัจากการด้ พย์ อยค่าของสิ นทรัพย์ 13,16 กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี กาไร (ขาดทุ ่ยนสุน)ทจากอั ธิ ตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร 5 ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน 5,33

46,920,396,378 370,107,076 5,13,29 329,786,099 30 (3,625,000) 12 (11,972,822) 13,16 188,934,345 (183,866,171) 5 (1,526,869,915) 5,33

46,765,245,408 46,920,396,378 548,204,710 370,107,076 322,552,869 329,786,099 (3,625,000) (11,972,822) (233,001,951) 188,934,345 (163,084,715) (183,866,171) (1,002,278,159) (1,526,869,915)

14,996,515,944 46,765,245,408 24,132,238,049 548,204,710 857,938,259 322,552,869 --(233,001,951) 16,760,622 (183,076,171) (163,084,715) (1,002,278,159) (902,333,098)

35,161,613,616 14,996,515,944 9,544,154,772 24,132,238,049 627,814,405 857,938,259 -(216,000,000)57,558,526 16,760,622 (162,774,715) (183,076,171) (1,017,269,330) (902,333,098)

35,161,613,616 9,544,154,772 627,814,405 (216,000,000) 57,558,526 (162,774,715) (1,017,269,330)

กาไรก่อนภาษีเงินได้ กาไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี กาไรสาหรับปี

46,082,889,990 (10,079,716,669) 34 36,003,173,321

46,237,638,162 46,082,889,990 (10,007,635,247) (10,079,716,669) 36,230,002,915 36,003,173,321

38,918,043,605 46,237,638,162 (4,052,010,256) (10,007,635,247) 34,866,033,349 36,230,002,915

43,995,097,274 38,918,043,605 (7,347,112,959) (4,052,010,256) 36,647,984,315 34,866,033,349

43,995,097,274 (7,347,112,959) 36,647,984,315

36,033,165,556 (29,992,235) 36,003,173,321

36,274,127,624 36,033,165,556 (44,124,709) (29,992,235) 36,230,002,915 36,003,173,321

34,866,033,349 36,274,127,624 (44,124,709) 34,866,033,349 36,230,002,915

36,647,984,315 34,866,033,349 -36,647,984,315 34,866,033,349

36,647,984,315 36,647,984,315

35 12.12 12.12

12.12 12.20 12.20 12.12

12.20 11.73 11.73 12.20

11.73 12.33 12.33 11.73

12.33 12.33

กาไรขั้นต้ น

ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริ ค่าใช้หาร จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวมค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ รวมค่าใช้หาร จ่ายในการขายและบริหาร

32 32

34

การแบ่ งปันกาไร การแบ่ งปันกาไร ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ส่วนทีษ่เป็ทั นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสีส่ยวทีนที ่ไม่​่เมป็ีอนานาจควบคุ ของส่ วนได้มเสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรสาหรับปี กาไรสาหรับปี กาไรต่ อหุ้ น กาไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กาไรต่อหุ้นปรับลด กาไรต่อหุ้นปรับลด

35

หมายเหตุ ประกอบการเงิ นนหนึ เป็่นงของงบการเงิ ส่วนหนึ นนีน้ นี้ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ นเป็ นส่ปวระกอบงบการเงิ นเป็่งนนของงบการเงิ ส่นีว้ นหนึ่งของงบการเงิ

5

5

62,030,056,662 127,816,101,491 18,995,274,129 8,379,611 3,766,442,977 600,261,701 62,638,697,974 150,577,818,597

รายงานทางการเงิน

รายได้ รายได้ รายได้จากการให้บริ การและให้ รายได้จเากการให้ ช่าอุปกรณ์บริ การและให้เช่าอุปกรณ์ 5 รายได้จากการขาย รายได้จากการขาย 5 รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้รายได้ สญ ั ญาอนุ ค่าก่ญอสร้ าตให้ างภายใต้ ดาเนินสการ ญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนิน3(ข) การ รวมรายได้ รวมรายได้


088

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริ ษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ

งบการเงินรวม

กาไรสาหรับปี

36,003,173,321

งบการเงิ ส�ำหรับนปีเฉพาะกิ สิ้นสุดวัจนการ ที่ 31 ธั น วาคม สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2557 2556 2556 (บาท) 2557 2556 (บาท) 36,230,002,915 34,866,033,349 36,647,984,315

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุ ทธิ ของเงินลงทุนเผือ่ ขาย กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี - สุ ทธิจากภาษี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

2,428,205 2,428,205 36,005,601,526

2,863,186 2,863,186 36,232,866,101

34,866,033,349

36,647,984,315

การแบ่ งปันกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั ส่ วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

36,035,572,060 (29,970,534) 36,005,601,526

36,276,953,775 (44,087,674) 36,232,866,101

34,866,033,349 34,866,033,349

36,647,984,315 36,647,984,315

หมายเหตุ หมายเหตุ

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงิ ส�ำหรั บปีสิ้นนสุรวม ดวันที่ 31 ธั น วาคม สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557 2557


5,36

26

ทุนเรื อนหุน้ ที่ออกและ ชาระแล้ว

2,973,095,330

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

-

2,973,095,330

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไร กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี

รายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เงินจ่ายคืนจากการชาระบัญชี ของบริ ษทั ย่อย เงินปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั รวมรายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556

หมายเหตุ

หมายเหตุ

22,372,276,085

-

-

22,372,276,085

ส่ วนเกิน มูลค่าหุน้

500,000,000

-

-

500,000,000

ทุนสารองตาม กฎหมาย

19,729,332,548

36,274,127,624 36,274,127,624

(33,888,991,222) (33,888,991,222)

17,344,196,146

ยังไม่ได้ จัดสรร

ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน ที่ออกและ มูลค่าหุ้น ทุนส�ำรองกาไรสะสมยังไม่ได้ ช�ำระแล้ว ทางกฎหมาย จัดสรร

ก�ำไรสะสม

6,986,352

-

6,986,352 6,986,352

-

การจ่ายโดย ใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์

2,404,439

-

2,826,151 2,826,151 5,230,590

161,186,663

-

161,186,663

173,403,605

2,826,151 2,826,151

6,986,352 6,986,352

163,591,102

การลดสัดส่วน มูลค่ายุติธรรมสุทธิ อื่นของส่วนของ (บาท) ของเงินลงทุน ของเงินลงทุนเผื่อขาย ผูถ้ ือหุน้ (บาท)

ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

ที่ไม่มีอานาจ ควบคุม

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้

45,748,107,568

36,274,127,624 2,826,151 36,276,953,775

6,986,352 (33,888,991,222) (33,882,004,870)

43,353,158,663

43,541,851,303

144,478,520

(44,124,709) 37,035 (44,087,674)

45,892,586,088

36,230,002,915 2,863,186 36,232,866,101

6,986,352 (610) (610) (125,836) (33,889,117,058) (126,446) (33,882,131,316)

188,692,640

งบการเงินรวม ผลต่างจากการ รวมส่วน ส่วนของส่วน รวมส่วนของ รวมองค์ ส�ำรองส�ำหรับ ก�ำไรจากการ เปลี ย ่ นแปลงใน องค์ ป ระกอบอื ่ น ของส่ ว นของผู ถ ้ ื อ หุ น ้ ของผู ้ถือหุ้น ได้เสียที่ไม่มี ผู้ถือหุ้น ประกอบอื่น การจ่าย ลค่าายุงจากการ ติธรรม ของส่ ลดสัดส่วน มูผลต่ ของบริษัท อ�ำนาจควบคุ ส่วนของ ม โดยใช้หุ้น ของเงิ ว นของ สุ ท ธิ ข องเงิ น น ลงทุ น นเกณฑ์ ผู้ถือปหุระกอบ ้น สเป็ารองส าหรับ กาไรจาก เปลี่ยนนแปลงใน รวมส่วนของ ส่ วนได้เสี ย ลงทุ เผื่อขาย รวมองค์

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

/

รายงานทางการเงิน

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

089


ทุนเรื อนหุน้ ที่ออกและ ชาระแล้ว

-

-

รวมรายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไร กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2,973,095,330

-

การเปลี่ยนแปลงในส่ วนได้ เสี ยในบริษทั ย่อย การได้มาซึ่งส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมโดยอานาจควบคุมไม่เปลี่ยนแปลง รวมการเปลี่ยนแปลงในส่ วนได้ เสียในบริษทั ย่อย

2,973,095,330

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

ก�ำไรสะสม

22,372,276,085

-

-

-

-

22,372,276,085

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้

500,000,000

-

-

-

-

500,000,000

ทุนสารองตาม กฎหมาย

8

20,710,294,423

36,033,165,556 36,033,165,556

(35,052,203,681)

-

(35,052,203,681) (35,052,203,681)

19,729,332,548

ยังไม่ได้ จัดสรร

ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน ที่ออกและ มูลค่าหุ้น ทุนส�ำรองกาไรสะสมยังไม่ได้ ช�ำระแล้ว ทางกฎหมาย จัดสรร

รายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนทีไ่ ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ 26 เงินปั นผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั 5,36 รวมเงินลงทุนทีไ่ ด้ รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู ือหุ้น

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557

หมายเหตุ

หมายเหตุ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

25,908,614

-

18,922,262

-

18,922,262 18,922,262

6,986,352

การจ่ายโดย ใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์

161,186,663

-

-

-

-

161,186,663

7,637,094

2,406,504 2,406,504

-

-

-

5,230,590

194,732,371

2,406,504 2,406,504

18,922,262

-

18,922,262 18,922,262

173,403,605

การลดสัดส่ วน มูลค่ายุติธรรมสุทธิ อื่นของส่วนของ (บาท) ของเงินลงทุน ของเงินลงทุนเผื่อขาย ผูถ้ ือหุน้ (บาท)

ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

ที่ไม่มีอานาจ ควบคุม

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้

46,750,398,209

36,033,165,556 2,406,504 36,035,572,060

(35,033,281,419)

-

18,922,262 (35,052,203,681) (35,033,281,419)

45,748,107,568

45,892,586,088

(2,480) (2,480)

114,356,316

(29,992,235) 21,701 (29,970,534)

46,864,754,525

36,003,173,321 2,428,205 36,005,601,526

(151,670) (35,033,433,089)

(2,480) (2,480)

18,922,262 (149,190) (35,052,352,871) (149,190) (35,033,430,609)

144,478,520

งบการเงินรวม ผลต่างจากการ รวมส่วน ส่วนของส่วน รวมองค์ ส�ำรองส�ำหรับ ก�องค์ วนของ เปลีวนของผู ่ยนแปลงใน ำ ไรจากการ ประกอบอื่นของส่ ถ้ ือหุน้ ของผู้ถือหุ้น ได้เสียที่ไม่มี รวมส่ ประกอบอื น ่ การจ่าย ผู ถ ้ อ ื หุ้น ค่าายุงจากการ ติธรรม ของส่วนของ ของบริษัท อ�ำนาจควบคุ ลดสัดส่วน มูลผลต่ ส่ วนของ ม โดยใช้หุ้น ของเงิ สุ ท ธิ ข องเงิ น น ลงทุ น นเกณฑ์ ้น สเป็ารองส าหรับ กาไรจาก เปลี่ยนแปลงใน รวมองค์ รวมส่วนของ ส่วนได้เสี ย ลงทุ นเผื่อขาย ผู้ถือปหุระกอบ

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

090


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไร รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี

รายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ เงินปั นผลให้ผถู ้ ือหุ้นของบริ ษทั รวมรายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น

26 5,36

หมายเหตุ หมายเหตุ

2,973,095,330

-

-

2,973,095,330

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช� ทุนเรืำอระแล้ นหุ ้นว ที่ออกและ ชาระแล้ว

9

22,372,276,085

-

-

22,372,276,085

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น ส่ วนเกิน มูลค่าหุ ้น

15,169,492,682

(33,888,991,222) (33,888,991,222)

36,647,984,315 36,647,984,315 17,928,485,775

-

500,000,000

(บาท)

ยังไม่ได้ ยัจังดไม่สรรได้ จัดสรร

500,000,000

ทุนส�ำรอง ทุทางกฎหมาย นสารองตาม (บาท) กฎหมาย

ก�ำไรสะสม กาไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิจการ

6,986,352

-

6,986,352 6,986,352

-

43,780,843,542

36,647,984,315 36,647,984,315

6,986,352 (33,888,991,222) (33,882,004,870)

41,014,864,097

องค์ประกอบอื่นของ องค์ประกอบอื่น ส่ วนของผู ถ้ ือ้ถหุือ้นหุ้น รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ของส่ วนของผู ของบริ ษัท สารองส บ าย รวมส่ วนของ ส�ำรองส� ำหรับาหรั การจ่ โดยใช้ ห น ้ ุ เป็ น เกณฑ์ การจ่ายโดย ผูถ้ ือหุน้ ใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ของบริ ษทั

/

รายงานทางการเงิน

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

091


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไร รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับปี

รายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ เงินปั นผลให้ผถู้ ือหุ้นของบริ ษทั รวมรายการกับผู้ถือหุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น

26 5,36

หมายเหตุ หมายเหตุ

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

2,973,095,330

-

-

2,973,095,330

ทุนเรือนหุ้นที่ออก ทุนเรืำอระแล้ นหุ ้นว และช� ที่ออกและ ชาระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

10

22,372,276,085

-

-

22,372,276,085

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น ส่ วนเกิน มูลค่าหุ ้น (บาท)

500,000,000

-

-

500,000,000

ทุนส�ำรอง ทางกฎหมาย ทุนสารองตาม (บาท) กฎหมาย

17,928,485,775

ยังไม่ได้ ยัจังดไม่สรร ได้ จัดสรร

17,742,315,443

34,866,033,349 34,866,033,349

(35,052,203,681) (35,052,203,681)

ก�ำไรสะสม กาไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

25,908,614

-

18,922,262 18,922,262

6,986,352

องค์ประกอบอื่นของ องค์ประกอบอื่น ส่ วนของผู ถ้ ือ้ถหุือ้นหุ้น ของส่ วนของผู สารองส บ าย ส�ำรองส� ำหรัาหรั บการจ่ โดยใช้ หุ้นาเป็ยโดย นเกณฑ์ การจ่ ใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์

43,613,595,472

34,866,033,349 34,866,033,349

18,922,262 (35,052,203,681) (35,033,281,419)

43,780,843,542

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริ ษัท รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ้น ของบริ ษทั

092


/

093

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด

บริ ษษทั ัทแอดวานซ์ เซอร์เซอร์ วิส จากั และบริษทั และบริ ย่ อย ษัทย่อย บริ แอดวานซ์อินโฟร์ อินโฟร์ วิสด (มหาชน) จ�ำกัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

งบการเงินน รวม งบการเงิ รวม

งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จการ

าหรับบปีปีสสิ​ิ้น้นสุดวัวันนทีที่ 31 าหรั ส�ำสหรั ่ 31ธันธัวาคม นวาคม ส�ำสหรั บปีบปีสสิ​ิ้น้นสุสุดดวัวันนทีที่ ่ 3131ธันธัวาคม นวาคม 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ (บาท) (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสาหรับปี

36,003,173,321

36,230,002,915

34,866,033,349

36,647,984,315

6,224,630,590

3,037,080,038

496,367,600

607,516,902

12,697,121,500

13,504,064,271

11,354,678,791

11,111,915,640

รายการปรั บปรุ ง ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน 13,14,15

11,972,822

-

-

216,000,000

รายได้จากการลงทุน

5,13,29

(370,107,076)

(548,204,710)

(24,132,238,049)

(9,544,154,772)

5,33

1,526,869,915

1,002,278,159

902,333,098

1,017,269,330

9

1,240,096,982

786,761,009

37,392,229

359,749,826

26

18,922,262

6,986,352

18,922,262

6,986,352

และตัดจาหน่ายสิ นค้าคงเหลือ

60,996,823

72,978,456

2,341,242

14,139,273

ขาดทุนจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์

864,996,826

562,133,543

834,544,090

556,336,656

19,719,184

(3,342,575)

(37,711,641)

(20,246,438)

ต้นทุนทางการเงิน หนี้ สงสัยจะสู ญและหนี้ สูญ การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ค่าเผือ่ สิ นค้าล้าสมัย การลดมูลค่าของสิ นค้า

(กาไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้น ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

12

3,625,000

-

-

-

ภาษีเงินได้ เงินสดได้มาจากการดาเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง

34

10,079,716,669

10,007,635,247

4,052,010,256

7,347,112,959

68,381,734,818

64,658,372,705

28,394,673,227

48,320,610,043

ในสิ นทรัพย์และหนี้สินดาเนินงาน

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานทางการเงิน

ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์


094

งบกระแสเงินสด บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2557 2556 หมายเหตุ 2557 (บาท) การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรั พย์ และหนีส้ ิ นดาเนินงาน 71,813,222

(83,289,728)

-

-

(1,402,917,732)

(2,968,007,766)

1,542,974,551

(2,311,658,520)

ลูกหนี้อื่น

(293,262,059)

(989,977,626)

180,562,435

45,227,749

สิ นค้าคงเหลือ

284,438,157

(1,511,529,346)

25,517,160

177,101,062

สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(392,022,582)

(74,169,116)

-

23,791,727

(24,199,251)

(8,053,509)

(24,756,405)

(8,054,636)

(40,180,987)

(8,380,164)

(327,844,267)

(241,377,526)

880,463,011 1,530,805,592 1,595,406,859

474,589,788 2,135,419,423 (1,319,943,269)

121,040,262 (2,048,496,459) 1,595,406,859

(1,596,514,056) (2,174,492,655) (512,347,632)

583,510,796

(99,680,385)

(505,314,389)

(791,705,677)

เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า

723,400,178

189,893,206

-

-

หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

190,894,611

66,508,915

190,892,751

137,501,526

84,478,109

91,621,954

(363,647,909)

(69,153,440)

เงินสดได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน

72,174,362,742

60,553,375,082

28,781,007,816

40,998,927,965

จ่ายภาษีเงินได้

(9,353,964,849)

(9,224,648,109)

(4,124,735,021)

(6,878,534,223)

เงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน

62,820,397,893

51,328,726,973

24,656,272,795

34,120,393,742

372,803,497

558,886,730

1,015,193,520

1,316,239,515

(31,731,849,208)

(23,013,592,746)

(281,229,371)

(513,837,398)

27,409,559

15,618,332

236,965,039

41,228,357

(830,272,648)

(5,446,556,296)

(830,272,648)

(5,158,865,300)

(3,656,250,000)

-

-

-

(95,000,000)

-

(202,860,000)

(16,081,900,000)

เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็ นการเฉพาะ ลูกหนี้ การค้า

เจ้าหนี้ (ลูกหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ค้างจ่าย รายได้คา่ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รับล่วงหน้า

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย ซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เงินสดรับจากการจาหน่ายอาคาร และอุปกรณ์ ซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ จ่ายชาระใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม การเพิ่มขึ้นในเงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมสุ ทธิ การ (เพิ่มขึ้น) ลดลงในเงินลงทุนอื่น

8

82,882,254

(230,973,505)

46,161,440

-

ลงทุนเพิ่มในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม

13

(3,625,000)

-

(2,480)

(1,135,000,000)

รับเงินปันผล

5

10,000,000

-

22,852,750,810

8,215,574,164

(35,823,901,546)

(28,116,617,485)

22,836,706,310

(13,316,560,662)

เงินสดสุ ทธิได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


/

095

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด

เซอร์เซอร์ วิส จากั และบริษทั และบริ ย่ อย ษัทย่อย บริษทั ัท แอดวานซ์ แอดวานซ์อินโฟร์ อินโฟร์ วิสด (มหาชน) จ�ำกัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม งบการเงิ นรวม

งบการเงินนเฉพาะกิ จการจการ งบการเงิ เฉพาะกิ

ธันวาคม ธันวาคม ส�สำาหรั หรับปีปี สิส้นิ้นสุสุดดวันวัทีน่ ที31่ 31 ธันวาคม ส�สำาหรั หรับปีปี สิส้นิ้นสุสุดดวัวันนที่ ที31่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ (บาท) (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย

(1,229,812,193)

(959,556,015)

(918,388,407)

(995,143,957)

(124,185,478)

(20,384,781)

(11,680,623)

(14,392,840)

(35,511,069)

(29,829,880)

(25,549,603)

(23,876,887)

(4,000,000,000)

4,000,000,000

(4,000,000,000)

4,000,000,000

-

-

(4,400,000,000)

4,400,000,000

การเพิ่มขึ้นในเงินกูย้ ืมระยะยาว

21,600,400,000

7,812,480,000

-

7,812,480,000

การลดลงในเงินกูย้ ืมระยะยาว

(5,370,463,286)

(8,485,647,730)

(5,370,463,286)

(8,486,147,730)

-

(610)

-

-

(2,480)

-

-

-

จ่ายเงินปันผล

(35,052,352,871)

(33,889,117,058)

(35,052,203,681)

(33,888,991,222)

เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(24,211,927,377)

(31,572,056,074)

(49,778,285,600)

(27,196,072,636)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ

2,784,568,970

(8,359,946,586)

(2,285,306,495)

(6,392,239,556)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม

11,473,120,876

19,833,022,300

3,964,630,780

10,356,825,174

376,556

45,162

(31,937)

45,162

14,258,066,402

11,473,120,876

1,679,292,348

3,964,630,780

10,781,561,867

11,528,914,889

128,246,485

585,507,328

จ่ายต้นทุนทางการเงินอื่น จ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน การเพิ่มขึ้น (ลดลง) ในเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินสุทธิ การเพิ่มขึ้น (ลดลง) ในเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบริ ษทั ย่อยสุทธิ

จ่ายชาระเงินคืนให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม จากการชาระบัญชีของบริ ษทั ย่อย

ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ข้ อมูลเพิ่มเติมสาหรั บงบกระแสเงินสด รายการทีไ่ ม่ ใช่ เงินสด ยอดหนี้ คา้ งชาระจากการลงทุนในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการและ ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม

หมายเหตุประกอบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานทางการเงิน

การได้มาซึ่ งส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม


096

หมายเหตุประกอบการเงิน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43

สารบัญ

ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สำ� คัญ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็นการเฉพาะ เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ค่าความนิยม ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส�ำรองตามกฎหมาย องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนงานด�ำเนินงาน รายได้ของบริษัทภายใต้ข้อบังคับของ กสทช. รายได้จากการลงทุน รายได้ดำ� เนินงานอื่น กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไรต่อหุ้น เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณ์สำ� คัญ ข้อพิพาททางการค้าและคดีความที่สำ� คัญ เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่


/

097

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558

1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2534 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ได้แก่ บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 40.45 (2556: ร้อยละ 40.45) ของทุนจดทะเบียน ของบริษัทและเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 23.32 (2556: ร้อยละ 23.32) ของทุนจดทะเบียนของบริษัทและเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศสิงคโปร์ การประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) ที่สำ� คัญ สรุปได้ดังนี้

ปีที่ อัตราร้อยละของรายได้

1-5 6-10 11-15 16-20 21-25

15 20 25 30 30

ผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�ำ่ ต่อปี (ล้านบาท)

13 ถึง 147 253 ถึง 484 677 ถึง 965 1,236 ถึง 1,460 1,460

2) การเป็นผู้ด�ำเนินงานและให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ด้วยระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH โดยบริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จ�ำกัด (“ADC”) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อม ได้รบั อนุญาตจากบริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ตามสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH ในเขตชุมสาย โทรศัพท์ นครหลวง ตามสัญญาฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2532 ภายใต้สญั ญาดังกล่าวข้างต้น ADC มีสทิ ธิและหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและข้อตกลงโดยต้องโอนกรรมสิทธิใ์ นบรรดาเครือ่ งมือและอุปกรณ์ ต่างๆ หรือทรัพย์สินที่ได้กระท�ำขึ้น หรือจัดหามาไว้ส�ำหรับด�ำเนินการระบบ DATAKIT ให้แก่ทีโอทีทันทีที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อย และ การจ่ายเงินผลประโยชน์ตามสัญญาเป็นรายปีให้แก่ทีโอที ในอัตราร้อยละของรายได้จากการให้บริการของระบบ DATAKIT VIRTUAL CIRCUIT SWITCH ตามสัญญาและผลประโยชน์อื่นใดที่พึงได้รับในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใดๆ หรืออย่างน้อยเท่ากับ ผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำต่อปีตามที่ระบุไว้ในสัญญา ADC และ ทีโอที ได้ตกลงแก้ไขสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ โดยท�ำสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมฉบับลงวันที่ 25 กันยายน 2540 ขยายระยะเวลา การอนุญาตให้ด�ำเนินการออกไปอีกจาก 10 ปี เป็น 25 ปี (สิ้นสุดสัญญาวันที่ 24 กันยายน 2565) และยกเว้นการเรียกเก็บเงิน

รายงานทางการเงิน

1) การเป็นผู้ด�ำเนินงานและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 900-MHz CELLULAR โดยบริษัทได้รับอนุญาตจากบริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ตามสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ฉบับลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 ให้มสี ทิ ธิดำ� เนินกิจการ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ CELLULAR ระบบอนาลอก NMT 900 และระบบดิจิทัล GSM ทั่วประเทศ แบบคู่ขนานกันไป เป็นระยะ เวลา 25 ปี นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเป็นวันแรกที่เปิดด�ำเนินการ สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558 โดยบริษัทผูกพันจะต้อง ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดต่างๆ และจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญา ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น บริษัทมีสิทธิและหน้าที่ปฏิบัติตามเงือ่ นไขและข้อตกลงโดยต้องโอนกรรมสิทธิใ์ นบรรดาเครือ่ งมือและอุปกรณ์ ต่างๆ หรือทรัพย์สินที่ได้กระท�ำขึ้น หรือจัดหามาไว้ส�ำหรับด�ำเนินการระบบ Cellular 900 ให้แก่ทีโอทีทันทีที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อย และการจ่ายเงินผลประโยชน์ตามสัญญาเป็นรายปีให้แก่ ทีโอที ในอัตราร้อยละของรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีต่ ามสัญญา และผลประโยชน์อื่นใดที่พึงได้รับในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใดๆ หรืออย่างน้อยเท่ากับผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำต่อปี ตามที่ระบุไว้ในสัญญา ทั้งนี้ ตามสัญญาไม่ได้ระบุให้ต้องช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำรวมตลอดอายุของสัญญา อัตราร้อยละ ของรายได้ค่าบริการและผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำในแต่ละปีมีดังนี้


098

ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2540 ทั้งนี้ ADC ได้ออกหุ้นสามัญจ�ำนวน 10.75 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ 10 บาทให้กับ ทีโอที ในวันที่ 17 มีนาคม 2541 (ร้อยละ 11.23 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด) เพื่อแลกกับสิทธิดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ทีโอที มีสดั ส่วนถือหุ้นใน ADC คิดเป็นร้อยละ 48.12 (2556: ร้อยละ 48.12) 3) การเป็นผู้ด�ำเนินการและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital PCN 1800 โดย บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด (“DPC”) บริษัทย่อย ได้รบั อนุญาตจาก บริษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ให้เป็นผูด้ ำ� เนินการและให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ Digital PCN 1800 (“สัญญาอนุญาตฯ”) ช่วงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคมระหว่าง 1747.9 MHz-1760.5 MHz และ 1842.9 MHz-1855.5 MHz ตามสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital PCN 1800 ฉบับลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 โดย DPC ได้รับสิทธิตามสัญญา เริ่มตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ผูกพันจะต้องปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดต่างๆ และจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญา ภายใต้สัญญาดังกล่าวข้างต้น DPC มีสิทธิและหน้าที่ปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อตกลงโดยต้องโอนเครื่องและอุปกรณ์ทั้งหมด รวมทั้ง อะไหล่ของเครื่องมือและอุปกรณ์ส�ำหรับการให้บริการ ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณ์แล้วเสร็จเรียบร้อย และต้องจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทนให้ กสท. ในอัตราร้อยละของรายได้ตามเกณฑ์สทิ ธิจากการให้บริการ ก่อนหักค่าใช้จา่ ย ค่าภาษีและค่าธรรมเนียม ซึ่งผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำตลอดอายุสัญญารวมเป็นจ�ำนวนเงินไม่ตำ�่ กว่า 5,400 ล้านบาท โดยแบ่งช�ำระเป็นรายปี ดังนี้ ปีที่ อัตราร้อยละของรายได้

1 2-9 10-14 15-16

25 20 25 30

ผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�ำ่ ต่อปี (ล้านบาท)

9 60 ถึง 320 350 ถึง 650 670

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 DPC ได้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ กสท. แล้วเป็นจ�ำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 15,853 ล้านบาท (2556: 15,853 ล้านบาท) ตามสัญญาอนุญาตฯ สิน้ สุดวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยเมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2556 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (“กสทช”) ได้ออกประกาศ เรื่องมาตรการคุ้มครองผู้ใช้บริการเป็นการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุด การอนุญาตฯ หรือสัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ก�ำหนดให้ผู้ให้บริการมีหน้าที่ให้บริการแก่ผู้ใช้บริการต่อไปเป็นการชั่วคราว ภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับจากวันสิ้นสุดสัญญาอนุญาตฯ โดยผู้ให้บริการจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำ� หนดไว้ใน ประกาศ ต่อมาเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (“คสช”) มีค�ำสั่ง ฉบับที่ 94/2557 เรื่อง “การระงับ การด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และก�ำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ กิจการ โทรคมนาคม” โดยให้ กสทช. ชะลอการด�ำเนินการเกี่ยวการประมูลคลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคมออกไปเป็นระยะเวลา 1 ปี นับแต่วนั ทีม่ คี ำ� สัง่ นี้ โดยในระหว่างชะลอการด�ำเนินการ ผูใ้ ห้บริการมีหน้าทีต่ อ้ งปฎิบตั ติ ามประกาศ กสทช เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2556 เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้บริการต่อไป กสทช. ยังไม่ได้ชี้แจงในรายละเอียดเกี่ยวกับข้อบังคับและเงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้ในประกาศ (รวมถึง ค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นก่อนที่จะน�ำส่งรายได้ให้กับรัฐ) ดังนั้น ผลกระทบจากการต้องปฏิบัติตามการขยายระยะเวลาของ DPC จึงยังไม่สามารถประเมินได้แน่นอนในขณะนี้

4. การเป็นผู้ด�ำเนินการและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้คลื่นความถี่ 2.1 GHz โดย บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (“AWN”) บริษัทย่อย ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (“กสทช”) ให้เป็นผู้ด�ำเนินการและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้ช่วงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคมระหว่าง 1950 MHz-1965 MHz และ 2140 MHz-2155 MHz ตามใบอนุญาตเลขที่ NBTC/FREQ/TEL/55/1 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2555 โดย AWN ได้รับสิทธิตามใบอนุญาต ดังกล่าว เริ่มตั้งแต่วันที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึง 6 ธันวาคม 2570 AWN ผูกพันจะต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดต่างๆ และจ่ายค่าธรรมเนียม ตามที่กำ� หนดในใบอนุญาต


โทรทัศน์และกิ จการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (“กสทช”) ให้เป็ นผูด้ าเนิ นการและให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายใต้ช่วงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคมระหว่าง 1950 MHz - 1965 MHz และ 2140 MHz - 2155 MHz ตาม รายงานประจำ�ปี 2557 / บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) ใบอนุ ญาตเลขที่ NBTC/FREQ/TEL/55/1 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2555 โดย AWN ได้รับสิ ทธิ ตามใบอนุ ญาต ดังกล่าว เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึง 6 ธันวาคม 2570 AWN ผูกพันจะต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดต่าง ๆ และจ่ายค่าธรรมเนียมตามที่กาหนดในใบอนุญาต

099

รายละเอียดของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้

รายละเอียดของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ ลักลัษณะธุ รกิรจกิจ ชืชื่อ่อกิกิจจการ การ กษณะธุ บริ ษทั แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต อยูร่ ะหว่างการชาระบัญชี เรโวลูชนั่ จากัด

ประเทศที่ ประเทศ อยละ กิจทีการจั ดตั ้ง บริบริษษัทัทถือถืหุอ้ นหุร้​้นอร้ยละ ่กิจการ 2557 2556 จัดตั้ง 2557 2556 ไทย 99.99 99.99

ผูใ้ ห้บริ การสื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์ และ Optical Fiber

ไทย

51.00

51.00

บริ ษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จากัด

ผูใ้ ห้บริ การข้อมูลทางโทรศัพท์

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จำกัด

ผูใ้ ห้บริ กำรโทรศั19 พท์เคลื่ อนที่ ระบบ 1800 MHz

ไทย

98.55

98.55

บริ ษทั แอดวำนซ์ เมจิคกำร์ด จำกัด

ผูจ้ ดั จำหน่ำยบัตรเงินสด

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั แอดวำนซ์ เอ็มเปย์ จำกัด

ผูใ้ ห้บริ กำรกำรชำระเงินสิ นค้ำและบริ กำรทำง อิเล็กทรอนิ กส์และบัตรเงินสด

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด

ผูใ้ ห้บริ กำรโทรศัพท์ระหว่ำงประเทศ

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั แอดวำนซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำกัด

ผูใ้ ห้บริ กำรโทรศัพท์เคลื่ อนที่ บนคลื่นควำมถี่ 2.1 -GHz ผูจ้ ดั จำหน่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ ให้บริ กำรโทรศัพท์ระหว่ำงประเทศ

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ ค จำกัด

ให้ บริ กำรโทรคมนำคม และบริ กำรโครงข่ ำ ย โทรคมนำคม เช่ น บริ ก ำรอิ น เตอร์ เ น็ ต (ISP) บริ กำรอิ นเทอร์ เ น็ ตระหว่ำงประเทศและบริ กำร ชุ ม ส ำ ย อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต บ ริ ก ำ ร โ ค ร ง ข่ ำ ย โทรคมนำคมระหว่ำงประเทศ (IPLC & IP VPN) บริ กำรเสี ย งผ่ำนเครื อ ข่ำยอิ น เตอร์ เ น็ ต (Voice over IP) และบริ กำรโทรทัศ น์ ผ่ำ นเครื อข่ำ ย อินเตอร์เน็ต (IP Television)

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั ไวร์ เลส ดี ไวซ์ ซัพพลำย จำกัด

ผูน้ ำเข้ำและจัดจำหน่ำย โทรศัพท์เคลื่อนที่ และ อุปกรณ์

ไทย

99.99

99.99

บริ ษทั โมบำย บรอดแบนด์ บิสสิ เนส จำกัด* (* บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม) บริ ษทั แอดวำนซ์ โมบำย บรอดแบนด์ จำกัด* (* บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม) บริ ษทั แฟกซ์ ไลท์ จำกัด

เสร็ จกำรชำระบัญชี เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2557

ไทย

-

-

เสร็ จกำรชำระบัญชี เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2557

ไทย

-

-

ให้เช่ำและบริ กำรพื้นที่ ที่ ดินและอำคำร และสิ่ ง

ไทย

99.98

99.97

รายงานทางการเงิน

บริ ษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด* (*บริ ษทั ย่อยทางอ้อม)


จำกัด

100

โทรคมนำคม เช่ น บริ ก ำรอิ น เตอร์ เ น็ ต (ISP) บริ กำรอิ นเทอร์ เ น็ ตระหว่ำงประเทศและบริ กำร ชุ ม ส ำ ย อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต บ ริ ก ำ ร โ ค ร ง ข่ ำ ย โทรคมนำคมระหว่ำงประเทศ (IPLC & IP VPN) บริ กำรเสี ย งผ่ำนเครื อ ข่ำยอิ น เตอร์ เ น็ ต (Voice over IP) และบริ กำรโทรทัศ น์ ผ่ำ นเครื อข่ำ ย อินเตอร์เน็ต (IP Television)

บริ ษทั ไวร์ เลส ดี ไวซ์ ซัพพลำย จำกัด

ผูน้ ำเข้ำและจัดจำหน่ำย โทรศัพท์เคลื่อนที่ และ อุปกรณ์ ชื่อกิจการ ลักษณะธุรกิจ

ไทย 99.99 99.99 ประเทศ บริษทั ถือหุ้นร้อยละ ที่กิจการ 2556 จัดตั้ง 2557 ไทย -

บริ ษทั โมบำย บรอดแบนด์ บิสสิ เนส เสร็ จกำรชำระบัญชี เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2557 จำกัด* (* บริ ษทั ย่อยทำงอ้ อม)เซอร์ วส บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ ิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย บริ ษทั แอดวำนซ์ โมบำย บรอดแบนด์ เสร็ จกำรชำระบัญชี เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2557 ไทย หมายเหตุประกอบงบการเงิน จำกัด* (* บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม) บริ ษทั แฟกซ์ ไลท์ จำกัด ให้เช่ำและบริ กำรพื้นที่ ที่ ดินและอำคำร และสิ่ ง ประเทศที ไทย ่ ชื่อกิจการ ลักษณะธุ กิจการจัดตั้ง อำนวยควำมสะดวกต่ ำงๆ รกิจ

บริ ษทั ไมโม่เทค จากัด

พัฒนาระบบข้อ มูลสารสนเทศ (IT), บริ การ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ส า หรั บ บ ริ ก า ร เ ส ริ ม บ น โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator) และ ให้บ ริ การในการเรี ยกเก็บ และรั บชาระเงิน จาก ลูกค้า บริ ษทั แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค ปัจจุบนั ยังไม่ได้ประกอบธุรกิจ จากัด บริษัทร่ วม บริ ษทั อินฟอร์เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด

2

ให้บริ การโครงข่ายสื่ อสัญญาณโทรคมนาคม

-

-

ไทย

99.98 99.97 บริษัทถือหุ้นร้ อยละ 2557 2556 99.99 99.99

ไทย

99.98

99.97

ไทย

29.00

-

เกณฑ์ การจัดทางบการเงิน

(ก) เกณฑ์ การถือปฏิบัติ งบการเงิ นนี้ จดั ทาขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น รวมถึงแนวปฏิ บตั ิทางการบัญชี ที่ประกาศใช้โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้อง สภาวิชาชี พบัญชี ได้ออกและปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่ งเกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงาน ของกลุ่มบริ ษ ทั /บริ ษ ทั และมี ผลบังคับใช้ต้ งั แต่ ร อบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2555)

การนาเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้

เรื่อง


/

101

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

2 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน (ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ

งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึง่ เกีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั /บริษทั และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังต่อไปนี้

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

การน�ำเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ส่วนงานด�ำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะและหนี้สิน ที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ข้อตกลงสัมปทานบริการ โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า สิ่งจูงใจสัญญาเช่าด�ำเนินงาน การประเมินเนือ้ หาของรายการทีเ่ กีย่ วกับรูปแบบของกฎหมายตามสัญญาเช่า การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน – ต้นทุนเว็บไซต์

รายงานทางการเงิน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32

เรื่อง


102

ในเบื้องต้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้นนั้น มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีของกลุม่ บริษทั /บริษทั ในบางเรือ่ ง ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 3 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้น สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐาน การรายงานทางการเงินใหม่ฉบับอืน่ ๆ ซึง่ มีผลบังคับส�ำหรับงบการเงินทีเ่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป และไม่ได้มกี ารน�ำ มาใช้สำ� หรับการจัดท�ำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ทเี่ กีย่ วกับการด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั /บริษทั ได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 42 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า

งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ โดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นรายการทีส่ ำ� คัญทีแ่ สดงในงบแสดงฐานะทางการเงินดังต่อไปนี้ - ตราสารอนุพันธ์ วัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม - เครื่องมือทางการเงินที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก�ำไรหรือขาดทุนวัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม - สินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขายวัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม

(ค) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและน�ำเสนองบการเงิน

งบการเงินนี้จัดท�ำและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาทซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัท ข้อมูลทางการเงิน ทั้งหมดมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักล้านบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น (ง) การประมาณการและดุลยพินิจ

ในการจัดท�ำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารต้องใช้ดลุ ยพินจิ การประมาณการและข้อสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการก�ำหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจ�ำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดท�ำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึก ในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่ส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบส�ำคัญต่อการรับรู้ จ�ำนวนเงินในงบการเงินซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 (ถ) หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 14 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13, 16 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 39, 40

ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย การใช้ประโยชน์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนภายใต้สญั ญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ข้อสมมติฐานส�ำหรับการประมาณการในการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต การใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน การวัดมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน ประมาณการหนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น / เหตุการณ์สำ� คัญ ข้อพิพาททางการค้าและคดีความที่สำ� คัญ


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

103

3 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) ภาพรวม

ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2557 ผลจากการถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ ดังทีก่ ล่าวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 2 กลุ่มบริษัท/บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในส่วนที่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัท/บริษัท อย่างเป็นสาระส�ำคัญดังนี้ • การบัญชีส�ำหรับข้อตกลงสัมปทานบริการ รายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและผลกระทบได้แสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 3 (ข) ดังนี้ (ข) การบัญชีส�ำหรับข้อตกลงสัมปทานบริการ

ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัท/บริษัทถือปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (TFRIC 12) เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริการ

กลุ่มบริษัท/บริษัท บันทึกเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ เมื่อมีสิทธิเรียกเก็บค่าบริการจากการใช้งาน โครงสร้างพื้นฐานของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้รับเป็นค่าตอบแทนในการก่อสร้าง หรือยกระดับการให้บริการจากสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการจะรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ภายหลังจากนั้นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน จะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุน ซึ่งรวมถึงต้นทุนการกู้ยืมที่รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ หักด้วยค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและผลขาดทุน จากการด้อยค่าสะสม รายได้ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างหรือการยกระดับการบริการภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการจะรับรู้ตามขั้นความส�ำเร็จของงาน รายได้จากการด�ำเนินงานหรือให้บริการจะรับรูใ้ นงวดบัญชีทกี่ ลุม่ บริษทั /บริษทั ให้บริการ เมือ่ กลุม่ บริษทั /บริษทั ให้บริการตามสัญญาอนุญาต ให้ด�ำเนินการมากกว่าหนึ่งบริการ สิ่งตอบแทนที่ได้รับจะถูกปันส่วนโดยอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของบริการที่ส่งมอบ กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่ได้รับรู้ก�ำไรจากรายได้ดังกล่าว เนื่องจาก (i) รูปแบบของสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการรับรู้กำ� ไรจากการให้บริการ แต่ไม่ได้รับรู้ก�ำไรจากการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน (ii) กลุ่มบริษัท/บริษัทด�ำเนินการก่อสร้างโดยการว่าจ้างบุคคลภายนอกเป็นหลัก และ (iii) กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีการก�ำหนดก�ำไรจากการก่อสร้างโครงสร้างขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ผู้บริหารเชื่อว่า ไม่มีก�ำไรที่เกี่ยวข้องและ ไม่มีต้นทุนที่จะต้องน�ำมาพิจารณาในการรับรู้รายได้ดังกล่าว ดังนั้น รายได้และต้นทุนจากการก่อสร้างจะแสดงในงบก�ำไรขาดทุน ด้วยจ�ำนวนเดียวกัน

รายงานทางการเงิน

TFRIC 12 ให้แนวทางในการบันทึกบัญชีส�ำหรับผู้ประกอบการเกี่ยวกับข้อตกลงสัมปทานบริการระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน ผูใ้ ห้สมั ปทานเป็นผูค้ วบคุมหรือก�ำกับดูแลประเภทของบริการทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องด�ำเนินการ และราคาการให้บริการ และควบคุมส่วนได้เสีย คงเหลือทีส่ ำ� คัญในโครงสร้างพืน้ ฐานเมือ่ สิน้ สุดระยะเวลาของข้อตกลง ผูป้ ระกอบการรับรูส้ ว่ นได้เสียในสัมปทาน ซึง่ อาจเป็นสิทธิในสินทรัพย์ ทางการเงินหรือสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกิดจากข้อตกลงสัมปทาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขตามที่กำ� หนดใน TFRIC 12 แต่มิใช่ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ นโยบายการบัญชีสำ� หรับข้อตกลงสัมปทานบริการของกลุ่มบริษัท/บริษัทเป็นดังนี้


104

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจะปรับปรุงย้อนหลังในงบการเงิน ผลกระทบต่องบการเงินมีดังนี้ งบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ก�ำไร (ขาดทุน)

งบการเงินรวม

2557 งบการเงินรวม 2556

600 (600) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ล้านบาท)

3,766 (3,766) -

2557 งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ

600 (600) -

3,640 (3,640) -

4 นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ นโยบายการบัญชีที่น�ำเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอส�ำหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน ยกเว้นที่ได้กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) เกณฑ์ในการท�ำงบการเงินรวม

งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) การรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัท/บริษัท บันทึกบัญชีส�ำหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ ยกเว้นในกรณีที่เป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน การควบคุม หมายถึงอ�ำนาจในการก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรม ของกิจการนั้น ในการพิจารณาอ�ำนาจในการควบคุม กลุ่มบริษัท/บริษัทต้องน�ำสิทธิในการออกเสียงที่เกิดขึ้นมารวมในการพิจารณาวันที่ ซื้อกิจการคือวันที่อ�ำนาจในการควบคุมนั้นได้ถูกโอนไปยังผู้ซื้อ การก�ำหนดวันที่ซื้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการโอนอ�ำนาจควบคุม จากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่งต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามาเกี่ยวข้อง ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งรวมถึงการรับรู้จ�ำนวนส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ หักด้วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี้สินที่กลุ่มบริษัท/บริษัทก่อขึ้นเพื่อจ่ายช�ำระให้แก่เจ้าของเดิม และส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของที่ออกโดยกลุ่มบริษัท/บริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนให้ยังรวมถึงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และมูลค่าของโครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ออกแทนโครงการของผู้ถูกซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หากการรวมธุรกิจมีผลให้สิ้นสุดความ สัมพันธ์ของโครงการเดิมระหว่างกลุม่ บริษทั /บริษทั และผูถ้ กู ซือ้ ให้ใช้ราคาทีต่ ำ�่ กว่าระหว่าง มูลค่าจากการยกเลิกสัญญาตามทีร่ ะบุในสัญญา และมูลค่าองค์ประกอบนอกตลาด ไปหักจากสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น หากมีการออกโครงการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ (โครงการทดแทน) เพือ่ แลกเปลีย่ นกับโครงการทีพ่ นักงานของผูถ้ กู ซือ้ ถืออยู่ (โครงการ ผู้ถูกซื้อ) ขึ้นอยู่กับต้นทุนบริการในอดีต ผู้ซื้อต้องวัดส่วนของโครงการทดแทนด้วยมูลค่าตามราคาตลาดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งตอบแทน ที่โอน หากมีข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการท�ำงานในอนาคต ผลต่างระหว่างมูลค่าซึ่งรวมอยู่ในสิ่งตอบแทนที่โอนไป และ ราคาตลาดของโครงการ ทดแทน รับรู้เป็นผลตอบแทนพนักงานภายหลังการรวมธุรกิจ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรู้เป็นหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริษัท/บริษัทวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุมตามอัตราส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากผู้ถูกซื้อ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อของกลุ่มบริษัท/บริษัทที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุรกิจ เช่น ค่าที่ปรึกษากฎหมาย ค่าธรรมเนียม วิชาชีพและค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

105

การรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีเสมือนว่าเป็นวิธีการรวมส่วนได้เสีย และตามแนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2552 บริษัทย่อย บริษทั ย่อยเป็นกิจการทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุม่ บริษทั การควบคุมเกิดขึน้ เมือ่ กลุม่ บริษทั มีอำ� นาจควบคุมทัง้ ทางตรงหรือทางอ้อม ในการก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการนัน้ เพือ่ ได้มาซึง่ ประโยชน์จากกิจกรรมของบริษทั ย่อย งบการเงินของบริษทั ย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจ�ำเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท ผลขาดทุนในบริษัทย่อย จะต้องถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมแม้ว่าการปันส่วนดังกล่าวจะท�ำให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมมียอดคงเหลือ ติดลบก็ตาม การสูญเสียอ�ำนาจควบคุม

บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญโดยมีอ�ำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงิน และการด�ำเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจ ในการออกเสียงในกิจการอื่นในอัตราตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 เงินลงทุนในบริษทั ร่วมบันทึกในงบการเงินรวมโดยใช้วธิ สี ว่ นได้เสีย (เงินลงทุนตามวีธสี ว่ นได้เสียของบริษทั ทีถ่ กู ลงทุน) โดยรับรูร้ ายการ เริ่มแรกด้วยราคาทุน รวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่เกิดจากการท�ำรายการดังกล่าว งบการเงินรวมได้รวมส่วนแบ่งของกลุ่มบริษัทในก�ำไรหรือขาดทุนและก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทที่ถูกลงทุน ภายหลังจาก การปรับปรุงนโยบายการบัญชีให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญ จนถึงวันที่การมีอิทธิพล อย่างมีนยั ส�ำคัญนัน้ สิน้ สุดลง เมือ่ ส่วนแบ่งผลขาดทุนทีก่ ลุม่ บริษทั ได้รบั มีจำ� นวนเกินกว่าส่วนได้เสียในบริษทั ทีไ่ ปลงทุนนัน้ มูลค่าตามบัญชี ของส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัท จะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และจะไม่รับรู้ส่วนแบ่งผลขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพัน ตามกฎหมายหรือต้องจ่ายเงินเพื่อช�ำระภาระผูกพันแทนในนามของผู้ถูกลงทุน การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการระหว่าง กิจการในกลุม่ ถูกตัดรายการในการจัดท�ำงบการเงินรวม ขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับก�ำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น

รายงานทางการเงิน

เมือ่ มีการสูญเสียอ�ำนาจควบคุมกลุม่ บริษทั ตัดรายการสินทรัพย์และหนีส้ นิ ในบริษทั ย่อย ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมและส่วนประกอบ อื่นในส่วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยนั้น ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อยรับรู้ในก�ำไร หรือขาดทุน ส่วนได้เสียในบริษัทย่อยเดิมที่ยังคงเหลืออยู่ให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอ�ำนาจควบคุม และจัดประเภท เงินลงทุนเป็นเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่


106

(ข) เงินตราต่างประเทศ

รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด� ำเนินงานของกลุ่มบริษัท (บาท) โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ก�ำไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีไ่ ม่เป็นตัวเงินซึง่ เกิดจากรายการบัญชีทเี่ ป็นเงินตราต่างประเทศซึง่ บันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นสกุลเงิน ที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์

กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและ อัตราดอกเบี้ย เครื่องมือทางการเงินเหล่านี้ประกอบด้วยสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ซึ่งบันทึกในงบการเงิน ณ วันที่ตามสัญญา วัตถุประสงค์ของเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้คือการลดความเสี่ยง กลุ่มบริษัท/บริษัทท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน โดยการก�ำหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่จะใช้ในการช�ำระหนี้ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการซื้อขายเงินตราต่างประเทศบันทึกเป็นลูกหนี้และ เจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ตามสัญญา ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูก แปลงค่าตามอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ งวดบัญชี ก�ำไรหรือขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึก ในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนเกินหรือส่วนลดที่เกิดขึ้นในการท�ำสัญญาจะถูกตัดจ�ำหน่ายตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญา สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ผลต่างที่จะได้รับหรือต้องจ่ายช�ำระ ตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของรายได้หรือค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยตลอดอายุของสัญญา ก�ำไรหรือขาดทุน จากการยกเลิกสัญญาหรือการช�ำระคืนเงินกู้ยืมก่อนก�ำหนดได้บันทึกไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุน ระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูงและมีอายุคงเหลือนับแต่วันออกตราสารจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลาสามเดือนหรือต�ำ่ กว่า (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�ำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้ จะถูกตัดจ�ำหน่ายจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ฉ) สินค้าคงเหลือ

สินค้าคงเหลือประกอบด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่ บัตรเติมเงิน ซิมการ์ด พรีเมี่ยมและอะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมแซมและการให้บริการ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ต้นทุนของสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนแปลงสภาพหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ต้นทุนสินค้า ค�ำนวณโดยใช้วิธีดังต่อไปนี้


/

107

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

สินค้าส�ำเร็จรูป อะไหล่ (โทรศัพท์เคลื่อนที่ และเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่) อุปกรณ์ดาต้าเน็ท

- วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�ำ้ หนักเคลื่อนที่ - วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�ำ้ หนักเคลื่อนที่ - วิธีเข้าก่อนออกก่อน

มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการด�ำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำ� เป็นในการขาย ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงจะถูกบันทึกขึ้นส�ำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ เสียหาย ล้าสมัยและค้างนาน (ช) เงินลงทุน

เงินลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุนหักขาดทุนจากการ ด้อยค่า ส่วนการบันทึก บัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น เงินฝากธนาคารประเภทประจ�ำที่แสดงเป็นส่วนหนึ่งในเงินลงทุนระยะสั้น มีอายุครบก�ำหนดมากกว่าสามเดือนแต่ไม่เกินหนึ่งปี

ตราสารหนี้ซึ่งกลุ่มบริษัท/บริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบก�ำหนดจัดประเภทเป็นเงินลงทุนที่จะถือจนครบก�ำหนด เงินลงทุนที่จะถือ จนครบก�ำหนด แสดงในราคาทุนตัดจ�ำหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมากับมูลค่าไถ่ถอน ของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้เพื่อค้าหรือตั้งใจถือไว้จนครบก�ำหนด จัดประเภทเป็นเงินลงทุนเผื่อขาย ภายหลังการรับรู้มูลค่าในครั้งแรกเงินลงทุนเผื่อขายแสดงในมูลค่ายุติธรรม และการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ใช่ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าและผลต่างจากสกุลเงินตราต่างประเทศของรายการทีเ่ ป็นตัวเงิน บันทึกโดยตรงในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนผลขาดทุน จากการด้อยค่าและผลต่างจากการแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศรับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุน เมือ่ มีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน จะรับรูผ้ ลก�ำไรหรือ ขาดทุนสะสมทีเ่ คยบันทึกในส่วนของผูถ้ อื หุน้ โดยตรงเข้าก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีทเี่ ป็นเงินลงทุนประเภททีม่ ดี อกเบีย้ จะต้องบันทึกดอกเบีย้ ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินส�ำหรับหลักทรัพย์เพื่อค้าและหลักทรัพย์เผื่อขายจะใช้ราคาเสนอซื้อ ณ วันที่รายงาน การจ�ำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคา หลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัท/บริษัทจ�ำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การค�ำนวณต้นทุนส�ำหรับเงินลงทุนที่จ�ำหน่ายไปและเงินลงทุน ที่ยังถืออยู่ใช้วิธีเข้าก่อนออกก่อนปรับใช้กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยู่ทั้งหมด

รายงานทางการเงิน

ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดซึ่งถือไว้เพื่อค้า จัดประเภทเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนและแสดง ในมูลค่ายุติธรรม ก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์บันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน


108

(ซ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรง ที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ที่กิจการก่อสร้างเอง รวม ถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อม จะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรือ้ ถอน การขนย้าย การบูรณะสถานทีต่ งั้ ของสินทรัพย์และต้นทุนการกูย้ มื ส�ำหรับเครือ่ งมือทีค่ วบคุม โดยลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์ซงึ่ ไม่สามารถท�ำงานได้โดยปราศจากลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์นนั้ ให้ถอื ว่า ลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์ดงั กล่าวเป็นส่วนหนึง่ ของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละส่วนประกอบ ที่มีนัยส�ำคัญแยกต่างหากจากกัน ก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่า ตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการขายสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ จ�ำนวนเงินที่บันทึกอยู่ใน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพย์จะถูกโอนไปยังก�ำไรสะสม สินทรัพย์ที่เช่า การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัท/บริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จัดประเภท เป็นสัญญาเช่าการเงิน ส่วนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยท�ำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่า ปัจจุบันของจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ช�ำระจะแยกเป็นส่วนที่เป็นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อท�ำให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตรา คงที่ส�ำหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลีย่ นแทนส่วนประกอบจะรับรูเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของมูลค่าตามบัญชีของรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัท/บริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้น ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ ชิน้ ส่วนทีถ่ กู เปลีย่ นแทนจะถูกตัดจ�ำหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในการซ่อมบ�ำรุงทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาค�ำนวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุนในการ เปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุน ค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของส่วนประกอบ ของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร 5, 20 ปี ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า 5, 10 ปี คอมพิวเตอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ 2-20 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์สำ� นักงาน 2-5 ปี อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อให้เช่า 3 ปี อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อให้เช่าส�ำหรับลูกค้ารายใหญ่ที่เป็นกิจการ อายุสัญญาเช่า ยานพาหนะ 5 ปี


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

109

กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและติดตั้ง วิธกี ารคิดค่าเสือ่ มราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยทีส่ ดุ ทุกสิน้ รอบปีบญั ชี และปรับปรุง ตามความเหมาะสม (ฌ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ สินทรัพย์ภายใต้สญั ญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ประกอบด้วยต้นทุนเกีย่ วกับอุปกรณ์และสินทรัพย์อนื่ ซึง่ ได้โอนหรือต้องโอนให้กบั ผูอ้ นุญาต ให้ด�ำเนินการ และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าความนิยม ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยม ได้อธิบาย ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 4(ก) ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า ส�ำหรับตราสารทุน - การบัญชีด้านผู้ลงทุนมูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน และ ผลขาดทุน จากการด้อยค่าในเงินลงทุนต้องไม่ถูกปันส่วนให้สินทรัพย์ใด ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนรวมถึงค่าความนิยม

ใบอนุญาตส�ำหรับสิทธิในการด�ำเนินการบนคลืน่ ความถีส่ ำ� หรับกิจการโทรคมนาคมได้แก่ ต้นทุนเพือ่ การได้มาซึง่ ใบอนุญาตในการด�ำเนิน งานให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้ความถี่ 2.1 GHz สิทธิภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ สิทธิในสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการของบริษทั ย่อยได้แก่ ต้นทุนเพือ่ การได้มาซึง่ สิทธิและภาระผูกพันบางอย่างในการด�ำเนินงานให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ที่กลุ่มบริษัท/บริษัทซื้อมาและมีอายุใช้งานจ�ำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและผลขาดทุน จากการด้อยค่า รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ที่สามารถ ระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�ำนวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงซึง่ โดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบทีค่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์ในอนาคตจากสินทรัพย์นนั้ ตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตัวตนซึ่งไม่รวมค่าความนิยม โดยเริ่มตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์

รายงานทางการเงิน

ใบอนุญาตส�ำหรับสิทธิในการด�ำเนินการบนคลื่นความถี่ส�ำหรับกิจการโทรคมนาคม


110

ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์สำ� หรับปีปัจจุบันและปีเปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ - ต้นทุนของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 10 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ - ต้นทุนของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการด�ำเนินการดาต้าเน็ท 10 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ - ระบบคอมพิวเตอร์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1800-MHz 5 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์และต้นทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ 5, 10 ปี ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ส�ำหรับกิจการโทรคมนาคม อายุใบอนุญาต สิทธิภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ อายุสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ กลุม่ บริษทั /บริษทั ไม่คดิ ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าและสินทรัพย์ทอี่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างของสินทรัพย์ภายใต้สญั ญาอนุญาต ให้ดำ� เนินการ วิธีการตัดจ�ำหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุง ตามความเหมาะสม (ญ) สินทรัพย์อื่น

ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ค่าใช้จา่ ยรอการตัดบัญชี ประกอบด้วยค่าธรรมเนียมสัญญาเงินกูย้ มื ระยะยาว ต้นทุนของการเช่าสถานทีต่ งั้ สถานีฐานระยะยาว ค่าใช้จา่ ย เกี่ยวกับการขยายก�ำลังการใช้ไฟฟ้าที่สถานีฐาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และแสดงด้วย ราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�ำนวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงซึง่ โดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบทีค่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์ในอนาคตจากสินทรัพย์ นั้นตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตัวตนซึ่งไม่รวมค่าความนิยม โดยเริ่มตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์สำ� หรับปีปัจจุบันและปีเปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ ค่าธรรมเนียมสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว อายุสัญญาเงินกู้ยืม ต้นทุนในการออกหุ้นกู้ อายุหุ้นกู้ ต้นทุนของการเช่าสถานที่ตั้งสถานีฐานระยะยาว อายุสัญญาเช่า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขยายก�ำลังการใช้ไฟฟ้าที่สถานีฐาน ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 4 ปี ค่าสิทธิในการด�ำเนินงานการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ 10 ปี แต่ไม่เกินอายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ (ฎ) การด้อยค่า

ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัท/บริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มี ข้อบ่งชีจ้ ะท�ำการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ทคี่ าดว่าจะได้รบั คืน ส�ำหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบ แน่นอน หรือ ยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

111

ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสดสูงกว่ามูลค่า ที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ ดังกล่าวมีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในก�ำไรหรือขาดทุน การค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของหลักทรัพย์ทถี่ อื ไว้จนกว่าจะครบก�ำหนดและลูกหนีท้ บี่ นั ทึกโดยวิธรี าคาทุนตัดจ�ำหน่าย ค�ำนวณโดยการหา มูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ส�ำหรับลูกหนี้ระยะสั้นไม่มีการคิดลด มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินส�ำหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย ค�ำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม

การปรับลดการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกปรับลด เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้น สัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ส�ำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่าย และตราสารหนี้ที่จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การปรับลดการด้อยค่าจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงิน ที่เป็นตราสารทุนที่จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การปรับลดจะถูกรับรู้โดยตรงในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการปรับลด ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกปรับลด หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกปรับลดเพียงเท่าที่มูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจ�ำหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุน จากการด้อยค่ามาก่อน (ฏ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี้สินที่มีภาระ ดอกเบี้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบก�ำหนดไถ่ถอน จะบันทึกในก�ำไร หรือขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฐ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน

รายงานทางการเงิน

มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์หกั ต้นทุนในการขายแล้วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดทีจ่ ะได้รบั ในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ ส�ำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณา มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย


112

(ฑ) ผลประโยชน์พนักงาน

กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัท/บริษัทจัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพซึ่งเป็นลักษณะของแผนการจ่ายสมทบตามที่ได้กำ� หนดการจ่ายสมทบไว้แล้ว สินทรัพย์ ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกไปจากสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัท/บริษัทและได้รับการบริหารโดยผู้จัดการกองทุนภายนอก กองทุน ส�ำรองเลีย้ งชีพดังกล่าวได้รบั เงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากกลุม่ บริษทั /บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง เงินจ่ายสมทบกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น ผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานและผลประโยชน์จากการให้บริการระยะยาว ภาระผูกพันเกี่ยวกับผลประโยชน์หลังออกจากงานที่ต้องชดเชยตามกฎหมายแรงงานและผลประโยชน์จากการให้บริการระยะยาว กลุ่มบริษัท/บริษัทรับรู้ในงบการเงินด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ซึ่งค�ำนวณโดยใช้หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย กลุ่มบริษัท/บริษัทรับรู้ก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และรับรู้ค่าใช้จ่ายของผลประโยชน์พนักงานในก�ำไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมือ่ เลิกจ้างรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ กลุม่ บริษทั /บริษทั แสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกีย่ วกับการเลิกจ้าง และไม่มคี วามเป็นไปได้ ที่จะยกเลิก มีรายละเอียดอย่างเป็นทางการทั้งการเลิกจ้างก่อนวันเกษียณตามปกติ หรือการสนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัท/บริษัทเสนอให้มีการออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการ ตอบรับข้อเสนอนั้น และสามารถประมาณจ�ำนวนของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลา การจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อพนักงานท�ำงานให้ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระส�ำหรับการจ่ายโบนัสเป็นเงินสดระยะสั้นหรือการปันส่วนก�ำไร หากกลุ่มบริษัท/บริษัทมีภาระ ผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานทีจ่ ะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการทีพ่ นักงานได้ทำ� งานให้ในอดีตและภาระผูกพันนีส้ ามารถ ประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล (ฒ) ประมาณการหนี้สิน

ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัท/บริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจาก เหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพือ่ ช�ำระภาระหนีส้ นิ ดังกล่าว ประมาณการ หนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนค�ำนึงถึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อน จ�ำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลา ที่ผ่านไปรับรู้เป็นต้นทุนทางการเงิน


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

113

(ณ) รายได้

รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยส�ำคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และ จะไม่รับรู้รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยส�ำคัญในการได้รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนัน้ ไม่อาจวัดมูลค่าของจ�ำนวนรายได้และต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ หรือมีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ รายได้ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และค่าบริการ ศูนย์ให้ข่าวสารบริการทางโทรศัพ์รับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว รายได้จากการให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์รับรู้ เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่าจากอุปกรณ์รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าใช้จ่ายเริ่มแรกที่เกิดขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดสัญญาเช่ารับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญา

รายได้ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างหรือการยกระดับการบริการภายใต้ข้อตกลงสัมปทานบริการจะรับรู้ตามขั้นความส�ำเร็จของงาน รายได้จากการด�ำเนินงานหรือให้บริการจะรับรูใ้ นงวดบัญชีทกี่ ลุม่ บริษทั /บริษทั ให้บริการเมือ่ กลุม่ บริษทั /บริษทั ให้บริการตามข้อตกลงสัมปทาน บริการมากกว่าหนึ่งบริการ สิ่งตอบแทนที่ได้รับจะถูกปันส่วนโดยอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของบริการที่ส่งมอบ การลงทุน รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยเงินปันผลและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัท/บริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบีย้ รับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ด) ต้นทุนทางการเงิน

ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบีย้ จ่ายของเงินกูย้ มื และประมาณการหนีส้ นิ ส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเวลาทีผ่ า่ นไป และสิง่ ตอบแทน ทีค่ าดว่าจะต้องจ่าย ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ทางการเงินทีถ่ อื ไว้เพือ่ ขาย ขาดทุนจากมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทางการเงินทีร่ บั รู้ ในก�ำไรหรือขาดทุน หรือขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน (นอกเหนือลูกหนี้การค้า) และ ขาดทุนจากเครื่องมือป้องกัน ความเสี่ยง รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือ การผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน โดยใช้วิธีอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริง

รายงานทางการเงิน

ข้อตกลงสัมปทานบริการ


114

(ต) สัญญาเช่า

รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ประโยชน์ที่ได้รับตามสัญญาเช่า จะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญาตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องน�ำมารวมค�ำนวณจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับการยืนยัน การปรับค่าเช่า การจ�ำแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันทีเ่ ริม่ ต้นข้อตกลง กลุม่ บริษทั /บริษทั จะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสญั ญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบัติตามข้อตกลงนั้นขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะน�ำไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าท�ำให้กลุ่มบริษัท/บริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง หรือ มีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุ่มบริษัท/บริษัทแยกค่าตอบแทนส�ำหรับสัญญาเช่า และส่วนที่เป็น องค์ประกอบอื่นโดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริษัท/บริษัทสรุปว่าเป็นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยก จ�ำนวนดังกล่าวได้อย่างน่าเชื่อถือ ให้รับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในจ�ำนวนที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจ�ำนวนหนี้สินจะลดลงตามจ�ำนวนที่จ่าย และต้นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู้โดยใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่ม ของกลุ่มบริษัท/บริษัท (ถ) ภาษีเงินได้

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้องในการรวมธุรกิจ หรือ รายการที่รับรู้โดยตรง ในส่วนของผู้ถือหุ้นหรือก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระหรือได้รับช�ำระ โดยค�ำนวณจากก�ำไรหรือขาดทุนประจ�ำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยค�ำนวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ และจ�ำนวน ที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้หากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการใช้ประโยชน์ในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีต้องพิจารณาถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุ่มบริษัท/บริษัทคาดว่า จะได้รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์หรือจะจ่ายช�ำระหนี้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีทคี่ าดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมือ่ มีการปรับปรุงโดยใช้อตั ราภาษีทปี่ ระกาศใช้ หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก�ำหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัท/บริษัทต้องค�ำนึงถึงผลกระทบ ของสถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจท�ำให้จ�ำนวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องช�ำระ กลุ่มบริษัท/บริษัท เชื่อว่า ได้ตงั้ ภาษีเงินได้คา้ งจ่ายเพียงพอส�ำหรับภาษีเงินได้ทจี่ ะจ่ายในอนาคต ซึง่ เกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความ ทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจเกีย่ วกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะท�ำให้กลุม่ บริษทั /บริษทั เปลีย่ นการตัดสินใจโดยขึน้ อยูก่ บั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

115

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะน�ำ สินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้นี้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันส�ำหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกัน ส�ำหรับหน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายช�ำระหนี้สิน และสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายช�ำระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าก�ำไรเพือ่ เสียภาษีในอนาคตจะมีจำ� นวนเพียงพอ กับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับ ลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (ท) ก�ำไรต่อหุ้น

กลุม่ บริษทั /บริษทั แสดงก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานและก�ำไรต่อหุน้ ปรับลดส�ำหรับหุน้ สามัญ ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไร หรือขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุ่มบริษัท/บริษัท ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ออกจ�ำหน่ายระหว่างปีปรับปรุงด้วย จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ซื้อคืน ก�ำไรต่อหุ้นปรับลดค�ำนวณโดยการหารก�ำไรหรือขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญที่ปรับปรุงด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ออกจ�ำหน่ายและปรับปรุงด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญที่ซื้อคืน และผลกระทบของตราสารที่อาจเปลี่ยนเป็นหุ้นสามัญ ปรับลดทั้งหมดและสิทธิซื้อหุ้นของพนักงาน (ธ) รายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน

5 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัทหรือถูกควบคุมโดยบริษัทหรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือทางอ้อมไม่ว่าจะ โดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทย่อยล�ำดับถัดไป บุคคลทีเ่ ป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษทั ซึง่ ท�ำให้ผเู้ ป็นเจ้าของดังกล่าวมีอทิ ธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญเหนือกิจการ ผูบ้ ริหาร ส�ำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริษัทและสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดเป็นบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันซึง่ อาจมีขนึ้ ได้ ต้องค�ำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่า รูปแบบทางกฎหมาย ในระหว่างปี กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ด�ำเนินการค้าตามปกติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยกลุ่มบริษัท/บริษัทได้คิดราคาซื้อ-ขายสินค้า และบริการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันด้วยราคาทีส่ มเหตุสมผล มีการเปรียบเทียบกับราคากลางของตลาดในธุรกิจนัน้ ๆ แล้ว โดยมีเงือ่ นไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจ ส�ำหรับรายการค่าที่ปรึกษาและบริหารงานคิดราคาตามที่ตกลงร่วมกัน โดยค�ำนวณตามอัตราร้อยละของสินทรัพย์

รายงานทางการเงิน

ผลการด�ำเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหารของกลุ่มบริษัท (ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากส่วนงานด�ำเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ได้รับการปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล


116

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มี กบั บุ คคลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันซึ่ งมีการควบคุม หรื อควบคุ มร่ วมกันใน บริ ษทั หรื อเป็ นกิ จการที่ บริ ษทั ควบคุม หรื อควบคุมร่ วมกัน หรื อเป็ นบุ คคลหรื อกิ จการที่ มีรายการบัญชี กบั กลุ่ม ความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริษัท/บริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในบริษัท หรือเป็นกิจการ บริ ษมทั หรื /บริอษควบคุ ทั มีดมงั นีร่ว้ มกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท/บริษัท มีดังนี้ ที่บริษัทควบคุ ชื่อกิจการ ชื่อกิจการ

ประเทศที่จ่ตดั ั้งตั/ ้ง ลักษณะความสั มพัลันกธ์ษณะความสัมพันธ์ ประเทศที สัญชาติ /สั ญชาติ บริ ษทั ย่อย ไทย เป็ นกลุ่มบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ 50 หรื อมีอานาจในการควบคุม บริ ษทั อินทัช โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) ไทยและลาว บริ ษทั อินทัช โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) (“อิ นทัช”) และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็ นผูถ้ ือหุ น้ ในบริ ษทั ร้อยละ 40.45 และมีกรรมการ (“กลุ่มอินทัช”) ร่ วมกัน SingTel Strategic Investments Pte Ltd. สิ งคโปร์ SingTel Strategic Investments Pte Ltd. (“SingTel”) และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็ นผูถ้ ือหุน้ ในบริ ษทั ร้อยละ 23.32 (“กลุ่ม SingTel”) ไทย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั อินฟอร์เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ไทย เป็ นบุ คคลที่ เกี่ ยวข้องกับกรรมการของบริ ษ ทั หรื อ กิจการที่มีกรรมการบริ ษทั ร่ วมกัน

รายการที่สาคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม สรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2557 2556

สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ล้ านบาท)

รายได้ จากการให้ บริ การ บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช กลุ่ม SingTel บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น รวม

42 434 2 478

45

70 593 2 665

36,172 22 77 1 36,272

13,522 24 514 2 14,062


และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (“กลุ่ม SingTel”) บริ ษ�ทั ปี อิ2557 นฟอร์ ไฮเวย์ จากั ไทย รายงานประจำ อินดโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) / บริเมชัษัทน่ แอดวานซ์ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ไทย

เป็ นผูถ้ ือหุน้ ในบริ ษทั ร้อยละ 23.32 บริ ษทั ร่ วม เป็ นบุ คคลที่ เกี่ ยวข้อ งกับ กรรมการของบริ ษ ทั หรื อ กิจการที่มีกรรมการบริ ษทั ร่ วมกัน

117

รายการที่สาคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม สรุ ปได้ดงั นี้

รายการที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท) รายได้ จากการให้ บริ การ บริษัทบริ แอดวานซ์ ษทั ย่อย อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย 36,172 13,522 หมายเหตุ น 22 42 24 70 กลุ่มปอิระกอบงบการเงิ นทัช กลุ่ม SingTel 77 593 514 434 งบการเงิ นรวม 2 งบการเงิ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น 1 นเฉพาะกิจการ2 2 2557478 2556665 2557 2556 สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม รวม 36,272 14,062 (ล้ านบาท)

-

-

-

137

-

-

-

28

ขายสินทรั พย์ ถาวรและสินทรั พย์ อื่นๆ บริ ษทั ย่อย

-

-

227

24

เงินปันผลรั บ บริ ษทั ย่อย

-

-

22,848

8,216

ดอกเบี้ยรั บ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม รวม

2 2

-

1,220 1,220

1,102 1,102

กลุ่มอินทัช

7

4

704 -

731 -

รวม

7

4

704

731

ค่ าเช่ าและค่ าบริ การอื่น บริ ษทั ย่อย

-

-

11,411

21,128

563 555 -

674 526 1

72 117 -

72 290 1

รายได้ จากการเติมเงินผ่ านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ บริ ษทั ย่อย

รายได้ อื่น บริ ษทั ย่อย

กลุ่มอินทัช กลุ่ม SingTel บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น

45

รายงานทางการเงิน

รายได้ จากการขายบัตรโทรศัพท์ เคลื่อนที่ที่จ่าย ค่ าบริ การล่ วงหน้ า (prepaid card) บริ ษทั ย่อย


ดอกเบี้ยรั บ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม รวม

-

1,220 1,220

4

704 731 - นเฉพาะกิจการ งบการเงิ

4(ล้านบาท)

2557

2556

-

-

11,411

21,128

กลุ่มอินทัช 563 ่ม SingTelอินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อ555 บริษัท กลุ แอดวานซ์ ย บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยนวข้องกันอื่น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ รวม 1,118

674 526 1

118

2 2

รายได้ อื่น บริ ษทั ย่อย

7 นรวม งบการเงิ

กลุ่มอินทัช ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม รวม

2557

ค่ าเช่ าและค่ าบริ การอื่น บริ ษทั ย่อย

46

เงินปันผลจ่ าย อินทัช SingTel รวม

731

72 72 117 290 1 11,600 21,491 งบการเงินเฉพาะกิจการ 255725 2556475

1 1

36 36

136 1 137

-

-

1,234

4,188

184

163

183

163

-

-

41

272

1

1 -

168 -

42 1 -

1

1

168

43

14,180

13,711

14,180

13,711

8,175 22,355

7,904 21,615

8,175 22,355

7,904 21,615

ซื้อสินทรั พย์ ถาวรและสินทรั พย์ อื่นๆ บริ ษทั ย่อย ต้ นทุนทางการเงิน บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น รวม

704

1 1

ค่ าคอมมิชชั่น บริ ษทั ย่อย ค่ าตอบแทนผู้บริ หาร

2556

1,201 งบการเงินรวม 2557285 2556 1,345 (ล้ านบาท)

ค่ าโฆษณา สาหรั ่มอิบนปีทัสิช้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม กลุ ค่ าใช้ จ่ายในการส่ งเสริ มการขาย บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช รวม

7

1,102 1,102


184

ค่ าตอบแทนผู้บริ หาร ซื้อสิ�นปีทรั พย์ ถาวรและสิ นทรั พอิย์นอโฟร์ ื่นๆเซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ 2557 บริษัท แอดวานซ์ บริ ษทั ย่อย

/

ต้ นทุนทางการเงิน บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น รวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

163

-

-

1 งบการเงินรวม

2557

1

เงินปันผลจ่ าย นษัททัชแอดวานซ์ โฟร์ วเซอร์ วสิ ดจ(มหาชน) ากัด (มหาชน) บริษัทบริอิแอดวานซ์ อินโฟร์อินเซอร์ สิ จากั และบริและบริ ษัทย่ อษ14,180 ยัทย่ อย SingTel 8,175 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น รวม 22,355

183

163

41

1 -

272

168 42 1 งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557 168

255643

13,711

14,180

13,711

7,904 21,615

8,175 22,355

7,904 21,615

2556

119

1

(ล้านบาท)

ยอดคงเหลื บบุคคลหรื อกิจ่การที วันธัทีน่ 31วาคม ธันวาคม ยอดคงเหลื อกับบุอคกัคลหรื อกิจการที เกี่ยวข้่เกีอ่ยงกัวข้นอณงกัวันนณ ที่ 31 มีดงั นีมี้ ดงั นี้

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

รายได้รายได้ ค้างรั บค้างรั บ บริ ษทั บริ ย่อษยทั ย่อย กลุ่มอิกลุ นทั่มชอินทัช กลุ่ม SingTel กลุ่ม SingTel รวม รวม

ลูกหนีลู้อกื่นหนี้อื่น - ลูอ้ กื่ นหนีอ้ ื่ น - ลูกหนี บริ ษทั บริ ย่อษยทั ย่อย - ดอกเบี - ดอกเบี ย้ ค้ างรัย้ บค้ างรั บ บริ ษทั บริ ย่อษยทั ย่อย รวม รวม

ก้ ยู มื ระยะสั กจิ ่เการที เงินให้เงิกน้ ยู มืให้ระยะสั ้นแก่ ก้นจิ แก่ การที กีย่ วข้่เกีอย่ งกัวข้นองกัน บริ ษทั บริ ย่อษยทั ย่อย บริ ษทั บริ ร่ วษมทั ร่ วม รวม รวม

- 5 5 17 17 22 22

- 11 11 96 96 107 107

5,0495,049 2 2 - 5,0515,051

3,9623,962 4 4 93 93 4,0594,059

5 3 8

5 3 8

- 3 3 30 30 33 33

2,2922,292 - 3 3 2,2952,295

2,9132,913 - 29 29 2,9422,942

-

-

-

-

-

-

-

-

444 444 444 444

176 176 177 177

- 95 95 95 95

-

-

35,59035,590 - 35,59035,590

35,38735,387 - 35,38735,387

47

-

-

1

1

วันนทีที่ธั่ 31 วาคม 2557 มีมีเงิเกนงิยู้ นให้ กกยู้ ู้ยืมืมระยะสั ออตั ัตราดอกเบี อต่ปีอปีและ ้ ย้ยร้ร้อ5.25 วันณณทีวั่ 31 ธัธันนวาคม กลุษ่มทั่มบริมีบริเษงิษนทั ัทให้ ระยะสั ษทั ัทร่อร่วตวั มมี มมี ราดอกเบี อยละ ยละ5.25 และบริษัท ณ น31วาคม 2557 2557 กลุ่มบริกลุ ืมให้ ระยะสั ษแก่ทั บบร่ริวริษมมี ราดอกเบี ต่5.25 อปี ต่และ ้ ยร้อยละ ้ นแก่บ้ น้นริแก่ มีเงิษนทั บริ ให้มีเกงิษนู้ยทั ให้ ืมมีระยะสั บ้ นริแก่ ษัทบ้ นย่ริแก่ อษยเป็ ตัทั ๋วย่นสัอตัยเป็ ญว๋ ญาใช้ ยกคืยกคื นเมืนยเมื่อกคืทวงถามซึ ่ง่ งมีมีออัตตั ราดอกเบี ยละ 3.83 ต่อปี เงิกนยู้ ให้ ก้นยู้ แก่ ืมระยะสั ว๋ สัเงิญนญาใช้ เงินประเภทเรี นเมื่อทวงถามซึ ่ งราดอกเบี มีอตั ราดอกเบี ้ ยร้อยละ บริ ืมระยะสั ทั บย่ริอนษยเป็ สันญตัญาใช้ เประเภทเรี งินประเภทเรี ่อทวงถามซึ ้​้ยยร้ร้ออยละ (2556:3.83ร้อต่ยละ 3.73 ต่ อ ปี ) อปี (2556: ยละต่3.73 3.83 ต่อปี (2556: ร้ อยละร้ อ3.73 อปี )ต่ อปี )

รายงานทางการเงิน

หนีา้การค้ า ลูกหนีลู้กการค้ บริ ษทั บริ ย่อษยทั ย่อย กลุ่มอิกลุ นทั่มชอินทัช กลุ่ม SingTel กลุ่ม SingTel รวม รวม

งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นรวมนรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2557 2557 2557 2556 2556 2557 2557 2556 2556 2557 2556 านบาท) (ล้(ล้านบาท) (ล้ านบาท)


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

120

ืมแก่ กิจการที่เกี่ยและบริ วข้องกัษนัทสย่าหรั บริษัท รายการเคลื แอดวานซ์่ออินไหวของเงิ นโฟร์ เซอร์นวให้สิ กจยู้ ากั ด (มหาชน) อย บแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ หมายเหตุประกอบงบการเงิน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กยู้ ืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ (ล้ านบาท) รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้นแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ งบการเงินเฉพาะกิ19,305 จการ ณ วันที่ 1 มกราคม - นรวม 35,387 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 เพิ่มขึ้น 100 - (ล้านบาท) 14,648 19,240 (ล้ านบาท) ลดลง (5) (14,445) (3,158) เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้นแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 95 35,590 35,387 35,387 19,305 ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น 100 14,648 19,240 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (14,445) (3,158) ลดลง (5) 2557 2556 2557 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 95 35,590 35,387 (ล้ านบาท) เงินมัดจาค่ าเช่ าระยะยาว บริ ษทั ย่อย

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 655 265 2557 2556 2557 2556 (ล้ านบาท)

เจ้ าหนี้การค้ า เงินมัดจาค่ าเช่ าระยะยาว บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช กลุ่ม SingTel เจ้ าหนี้การค้ า รวม บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช กลุ่ม SingTel รวม

30 21 51 30 21 51

49

49

41 22 63 41 22 63

886 655 1 20 907 886 1 20 907

500 265 1 501 500 1 501


/

121

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

เจ้ าหนี้อื่น - เจ้ าหนีอ้ ื่ น บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช กลุ่ม SingTel

รวม เงินกู้ยมื ระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย

57 12 69

308 1 309

829 17 12 858

118 12 130 160

381 57 438 507

810 19 10 839 1,148

1,522 50 24 1,596 2,454

-

-

-

4,400

ณ วัณนทีวั่น31ที่ 31ธันธัวาคม นวาคม2556 2556เงิเงินกูนย้กูืม้ยืมระยะสั ระยะสั้ น้นจากกิ จการที่เกี่ยวข้ เงินเงิซึน่งซึมี่ งกมีำ� หนดระยะเวลาช� ำระคืน วข้อองกั งกันนเป็เป็นนตัตั๋วสัว๋ ญ สัญญาใช้ ญาใช้ กาหนดระยะเวลา เมืชาระคื ่อทวงถามและมี อ ต ั ราดอกเบี ย ้ ร้ อ ยละ 2.49 ต่ อ ปี นเมื่อทวงถามและมีอตั ราดอกเบียร้อยละ 2.49 ต่อปี ้

รายการเคลื่อนไหวของเงินกูย้ ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ล้ านบาท) เงินกู้ยมื ระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

4,400 14,200 (18,600) 50

5,500 (1,100) 4,400

รายงานทางการเงิน

- ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย บริ ษทั ย่อย กลุ่มอินทัช กลุ่ม Singtel

30 30


-

บริ ษทั ย่อย

122

-

-

4,400

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิ จการที่เกี่ยวข้องกันเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิ นซึ่ งมีกาหนดระยะเวลา ชาระคืนเมื่อทวงถามและมีอตั ราดอกเบี้ยร้อยละ 2.49 ต่อปี รายการเคลื่อนไหวของเงินกูย้ ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้

รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

เงินกู้ยมื ระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น บริษัท ลดลง แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุ ณ วัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวาคม น 50

หุ้นกู้ระยะยาว กลุ่มอินทัช บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท)

4,400 14,200 (18,600) -

5,500 (1,100) 4,400

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท) 17 17 34

3 3

-

3 3

สัญำญาส กิจการที ่เกีย่ อวข้ สัญญาส� คัญาคั ที่ทญ�ำกัทีบ่ทกิากัจบการที ่เกี่ยวข้ งกัอนงกัน

กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ท�ำสัญญากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน และมีภาระผูกพันที่จะต้องรับเงินและจ่ายเงินตามอัตราและเงื่อนไข ตามที่รกลุ ะบุ่มไว้บริในสัษทั ญ/บริ ญาษสัทั ญได้ญาส� ที่ท�ำบกับุบคบุคลหรื คคลหรือกิอจกิการที จการที่เกี่เ่กียวข้ ่ยวข้อองกังกันนและมี มีดังต่ภอาระผู ไปนี้ กพันที่จะต้องรับเงินและจ่ายเงินตาม ทาสัำคัญญญากั ่

่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาสาคัญที่ทากับบุคคลหรื อกิจการที่เกียวข้องกันมีดงั ต่อไปนี้ 1) กลุอั่มตบริราและเงื ษัทได้ท่อ�ำนไขตามที สัญญาการเชื ่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมและสัญญาการใช้โครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างกัน การยกเลิกและการระงับ สัญญาเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 1) กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมและสัญญาการใช้โครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างกัน

2) กลุ่มบริษัทมีการท�ำสัญญาระหว่างกันในการให้บริการพื้นที่และระบบพื้นฐานในการติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคมและอุปกรณ์ทางไอที บ สัโญดยแจ้ ญาเป็งเป็นไปตามหลั ก เกณฑ์ ละเงืาเป็ ่ อ นไขของส จการ โดยคู่สัญการยกเลิ ญามีสิทธิกบและการระงั อกเลิกสัญญาได้ นหนังสือบอกกล่ าวล่วแงหน้ นเวลาไม่น้อานั ยกว่ก งานคณะกรรมการกิ า 60 วัน โทรคมนาคมแห่งชาติ

3) กลุ่มบริษัทได้รับการให้บริการข้อมูลข่าวสารทางโทรศัพท์จากบริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (“ACC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย โดย ACC จะให้บริการข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งให้ค�ำแนะน�ำและแก้ไขปัญหาในการใช้บริการแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท 2) กลุ่ ม บริ ษัท มี ก ารท าสั ญ ญาระหว่ า งกัน ในการให้ บ ริ การพื้ น ที่ แ ละระบบพื้ น ฐานในการติ ด ตั้ง อุ ป กรณ์ 4) บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค ปเซ็กรณ์ นเตอร์ จ�ำกัด ซึโดยคู ่งเป็น่ สบริัญษญามี ัทย่อสยิ ทได้ธิทบ�ำอกเลิ สัญญาจ้ ษัท โเทเลอิ มีเดียงจ�สืำอกับอกกล่ ด (มหาชน) โทรคมนาคมและอุ ทางไอที ก สัาญงบริ ญาได้ ดยแจ้นงโฟ เป็ นหนั า ว (“TMC”) ซึ่งเป็นกิล่จวการที องกันนอ้ โดย งหน้า่เเป็กี่ยนวข้ เวลาไม่ ยกว่าTMC 60 วันจะเป็นผู้จัดหาบุคลากรและสถานที่ เพื่อด�ำเนินการให้บริการข้อมูลข่าวสารทางโทรศัพท์

ข้อตกลงยังคงมีผลบังคับต่อไป เว้นแต่คสู่ ญั ญามีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน 3) กลุ่มบริ ษทั ได้รับการให้บริ การข้อมูลข่าวสารทางโทรศัพท์จากบริ ษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็ นเตอร์ จากัด (“ACC”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย โดย ACC จะให้บริ การข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งให้คาแนะนาและแก้ไขปั ญหาในการ ใช้บริ การแก่ลกู ค้าของกลุ่มบริ ษทั 4) บริ ษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้ทาสัญญาจ้างบริ ษทั เทเลอินโฟ มีเดีย จากัด


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

123

5) บริษัทและกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้ท�ำสัญญาจ้างบริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จ�ำกัด และบริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อย ในการให้บริการช�ำระค่าสินค้าหรือบริการ ผ่านการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์และบัตรเงินสด โดยคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิก สัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน 6) บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จ�ำกัด และบริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้เข้าท�ำสัญญากับบริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ในการจ�ำหน่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์และบัตรเงินสด โดยคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดย แจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน 7) บริษัทและบริษัทย่อย ได้ทำ� สัญญาจ้าง บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ในการบรรจุภัณฑ์บัตร โดยคู่สัญญา มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน 8) บริษัทและบริษัทย่อย ได้ทำ� สัญญาบริการเครือข่ายระหว่างประเทศกับกลุ่ม SingTel บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิก สัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน 9) บริษทั และบริษทั ย่อย ได้ทำ� สัญญากับบริษทั ไมโม่เทค จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ในการให้บริการรวบรวมข้อมูลบริการเสริมบนโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ หรืออุปกรณ์ไร้สาย (Content Aggregator) โดยคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็น เวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน

11) บริษัทได้ท�ำสัญญาเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมจากบริษัท ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยบริษัทตกลงช�ำระ บริการเป็นรายเดือน ตามอัตราและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีผลถึงวันที่ 21 มิถุนายน 2558 บริ ษัทค่าแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย 12) บริษัทประกอบงบการเงิ ไมโม่เทค จ�ำกัด นซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้ท�ำสัญญาบริการระบบคอมพิวเตอร์และบริการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาโปรแกรมและ หมายเหตุ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์กับ บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่น แอนด์ เซอร์วิซ จ�ำกัด ซึ่งเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยสัญญามีก�ำหนด 1 ปี และต่ออายุได้อีกคราวละ 1 ปี คู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 เดือน 6 เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด

6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท) เงินสดในมือ 16 16 13 15 เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน 716 736 38 87 13,797 1,628 3,160 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ 17,149 เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง 86 705 703 15,254 1,679 3,965 17,967 หั ก เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็ นการเฉพาะ 7 (3,709) (3,781) รวม 14,258 11,473 1,679 3,965

ณณวันวันที่ที31่ 31ธัธันนวาคม าเงิานเงิสดมี อัตอราดอกเบี ้ยที่แ้ ยท้ทีจ่แริท้งจในอั ราระหว่ างร้อยละ งร้อยละ 2.44 วาคม2557 2557เงิเงินนสดและรายการเที สดและรายการเทียบเท่ ยบเท่ นสดมี ตั ราดอกเบี ริ งตในอั ตราระหว่ างร้อ0.06 ยละ ถึ0.06 ต่อปี (2556: ร้ อ ยละ 0.01 ถึ ง ร้ อ ยละ 2.60 ต่ อ ปี ) ถึงร้อยละ 2.44 ต่อปี (2556: ร้ อยละ 0.01 ถึงร้ อยละ 2.60 ต่ อปี ) 7

เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้ เป็ นการเฉพาะ

รายงานทางการเงิน

10) บริษัท และบริษัทย่อย ได้ท�ำสัญญาในการให้บริการรวบรวมข้อมูลบริการเสริมส�ำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator) กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยคู่สัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งเป็นหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน


124

7 เงินฝากธนาคารที่สามารถใช้เป็นการเฉพาะ

บริ ัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์งวประเทศไทยที สิ จากัด (มหาชน) ษัทย่ อยรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ บริษัทย่อยต้องฝากเงินสดที่รับล่วงหน้า ษตามประกาศของธนาคารแห่ ่บังคับใช้และบริ กับผู้ประกอบธุ จากลูกค้าไว้ ในธนาคารเป็นจ�ำนนวนไม่น้อยกว่ามูลค่าคงเหลือของเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าของบริษัทย่อย และไม่สามารถน�ำไปใช้ส�ำหรับ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ วัตถุประสงค์อนื่ นอกจากช�ำระให้แก่ผใู้ ห้บริการเท่านัน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินฝากธนาคารทีส่ ามารถใช้เป็นการเฉพาะมีจ�ำนวนเงิน 3,709 ล้านบาท (2556: 3,781 ล้านบาท) 8

เงินลงทุนอืน่

8 เงินลงทุนอื่น

งบการเงินรวม

เงินลงทุนระยะสั้น เงินฝากประจากับสถาบันการเงิน หลักทรัพย์เผื่อขาย เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินฝากประจากับสถาบันการเงินที่ถูกจากัดการใช้ ตราสารทุนที่ไม่อยูใ่ นความต้องการของตลาด รวม

งบการเงินรวม 2557 2556 2557 2556

นบาท) (ล้(ล้าานบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556

1,542 1,542

92 1,485 1,577

-

-

11 47 58 1,600

11 93 104 1,681

47 47 47

93 93 93

เงินฝากประจากับสถาบันการเงิน

เงินฝากประจ�ำกับสถาบันการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงิ นฝากประจากับสถาบันการเงิ นของกลุ่มบริ ษทั มี อตั ราดอกเบี้ ยร้ อยละ 1.50 ต่ อปี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินฝากประจ�ำกับสถาบันการเงินของกลุ่มบริษัท มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.50 ต่อปี (2556: ร้อยละ 2.25 (2556: ถึงร้อยละ 3.13ร้ อต่ยละ อปี)2.25 ถึงร้ อยละ 3.13 ต่ อปี ) ตราสารหนี ้ที่เป็นหลัท้ ี่เกป็ทรั พย์กเผืทรั่อขาย ตราสารหนี นหลั พย์ เผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีเงินลงทุนประเภทตราสารหนี้ซึ่งได้ลงทุนผ่านกองทุนส่วนบุคคลที่บริหารโดยบริษัทจัดการ ่มบริ ษถึทั งร้มีอเงิยละ นวาคม ้ย2557 นลงทุ นประเภทตราสารหนี ได้ลงทุ านกองทุ กองทุนณอิสวันระทีมี่ 31อัตธัราดอกเบี ร้อยละกลุ0.37 5.63 ต่อปี (2556: ร้อยละ้ ซ่ึ ง0.50 ถึงนร้อผ่ยละ 4.00นต่ส่อวปีนบุ ) คคลที่บริ หาร โดยบริ ษทั จัดการกองทุนอิสระ มีอตั ราดอกเบี้ยร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 5.63 ต่อปี (2556: ร้ อยละ 0.50 ถึงร้ อยละ 4.00 ต่ อปี )


/

125

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม ของหลักทรัพย์เผื่อขายซึ่ งเป็ นตราสารทุนและตราสารหนี้ ที่ อยูใ่ นความต้องการของตลาดมีดงั นี้

รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ของหลักทรัพย์เผื่อขายซึ่งเป็นตราสารทุนและตราสารหนี้ที่อยู่ในความต้องการ ของตลาดมีดังนี้ งบการเงินรวม

งบการเงินรวม 2557 2556 2557 2556

เงินลงทุนระยะสั้น หลักทรัพย์ เผือ่ ขาย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม

1,485 1,940 (1,883) 1,542

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

นบาท) (ล้(ล้าานบาท)

751 1,680 (946) 1,485

2557

2556

-

-

ตราสารทุ ่ ไม่ อยู่ในความต้ องการของตลาด ตราสารทุ นที่ไม่อนยูที่ในความต้ องการของตลาด

ล้านบาท)) เป็ น 0.8 ล้านหุ น้ (1.30 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (47 ล้านบาท)) โดยบริ ษทั ยังคงมีสัดส่ วนการถือหุ น้ ร้อย

เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีของบริษัท ศูนย์ให้บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จ�ำกัด ผู้ถือหุ้น ของทุ นจดทะเบี ษทั ดังตกล่ าว้นละ 2,500 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2557 เป็นจ�ำนวนเงิน มีมติอละ นุมัต10ิการจั ดสรรก� ำไรเป็ยนนของบริ เงินปันผลในอั ราหุ ทั้งสิ้น 10 ล้านบาท และ 5 ล้านบาท ส�ำหรับกลุ่มบริษัทและบริษัท ตามล�ำดับ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ที่ ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี ของบริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์

เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 บริษัทได้โอนขายหุ้นบริษัท ศูนย์ให้บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จ�ำกัด ให้กับบริษัท แอดวานซ์ ื อหุ ้นมี มซีติ่งอเป็นุนมบริ ตั ิ กษารจั สรรกาไรเป็ นปั2,000 นผลในอั ราหุ ้นลละ ก่ ผูถ้ ื อบหุริษ้นัทณมีสวั​ัดนส่วทีนการถื ่ 19 อหุ้นจาก ไวร์เลสจากั จ�ำดกัดผูถ้(“AWN”) ัทย่อดยของบริ ษัท จ�นเงิ ำนวน หุ้นตรวมมู ค่า 2,500 0.2 ล้าบาท นบาทให้ส่งแผลให้ ร้อยละพฤษภาคม 20 เป็นร้อ2557 ยละ 10 นจดทะเบี ษัท (กลุและ ่มบริ5ษล้ัทานบาท มีสัดส่วสนการถื 20) ษทั ตามลาดับ เป็ นของทุ จานวนเงิ นทั้งสิย้ นนของบริ 10 ล้านบาท าหรับอกลุหุ้น่มร้บริอยละ ษทั และบริ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 บริ ษทั ได้โอนขายหุ น้ บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จากัด ให้กบั บริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์ เลส จากัด (“AWN”) ซี่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั จานวน 2,000 หุ น้ รวมมูลค่า 0.2 ล้านบาท ส่ งผล ให้บริ ษทั มีสดั ส่ วนการถือหุน้ จากร้อยละ 20 เป็ นร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริ ษทั (กลุ่มบริ ษทั มีสัดส่ วนการ ถือหุน้ ร้อยละ 20)

55

รายงานทางการเงิน

เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของ Bridge Mobile Pte. Ltd. ได้อนุมัติให้ลดทุนในแต่ละผู้ถือหุ้น เงินลงทุนของ เมื่อBridge วันที่ 30Mobile กันยายน ระชุมวิสามั ญผูถ้ 2.20 ือหุ น้ ของ Pte.ยญสหรั Ltd. ได้ฐอเมริ อนุมกตั าิให้(23 ลดทุล้นานบาท)) ในแต่ละผู บริษัทใน Pte.2557 Ltd.ที่ปลดลงจากจ� ำนวน ล้านหุBridge ้น (2.70Mobile ล้านเหรี เป็ถ้นือ0.8 ล้านหุ้น เงินลงทุ นของบริ Bridge Mobile โดยบริ Pte. Ltd.ษัทลดลงจากจ 2.20อหุล้​้นานหุ น้ (2.70 านเหรีนจดทะเบี ยญสหรัยฐนของบริ อเมริ กา ษ(23ัทดังกล่าว (1.30 หุล้าน้ นเหรี ยญสหรั ฐอเมริษกทั าใน(47 ล้านบาท)) ยังคงมีสัดส่านวน วนการถื ร้อยละ 10 ล้ของทุ


บริ126 ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 9 9

ลูกหนีก้ ารค้ า ลูกหนีก้ ารค้ า

9 ลูกหนี้การค้า บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนีอ้ กิกจารค้ า ่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรื การที รายได้ า้ งรับา ลูกหนี้กคารค้ รายได้คา้ งรับ บุคคลหรื อกิจการอื่นๆ ลูกหนีอ้ กิกจารค้ า ่นๆ บุคคลหรื การอื รายได้ า้ งรับา ลูกหนี้กคารค้ รายได้คา้ งรับ รวม หัรวม ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุหัทกธิค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุ ทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสาหรับปี หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสาหรับปี การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดงั นี้ การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดงั นี้

บุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน ครบก นกนาหนด บุยังคไม่ คลหรื อกิาหนดช จการทีาระถึ ่เกีย่ วข้งเกิ องกั อยกว่า 3าระถึ เดือนงเกินกาหนด ยังไม่ชคาระน้ รบกาหนดช เกินกว่ า 3 อยกว่แต่ ชาระน้ า 3ไม่เดืเอกิน 6 เกินกว่า 36 แต่ไม่เกิน 612 เกินกว่า 6 แต่ไม่เกิน 12

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557งบการเงินรวม 2556 2557 นเฉพาะกิ2556 งบการเงิ จการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท) 2557 หมายเหตุ 2557 2557 2556 2556 2556 2557 2556 หมายเหตุ นบาท) 5 (ล้(ล้าานบาท) 22 107 5,051 4,059 5 33 2,295 2,942 228 107 5,051 4,059 308 140 7,346 7,001 33 2,295 2,942 30 140 7,346 7,001 5,889 5,930 1,038 2,579 5,478 4,966 1,795 2,331 5,889 5,930 1,038 2,579 11,367 10,896 2,833 4,910 5,478 4,966 1,795 2,331 11,397 11,036 10,179 11,911 11,367 10,896 2,833 4,910 (982) (772) (235) (381) 11,397 11,036 10,179 11,911 10,415 10,264 9,944 11,530 (982) (772) (235) (381) 10,415 10,264 9,944 11,530 1,240 787 37 360 1,240 787 37 360

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557งบการเงินรวม 2556 2557 งบการเงิ นเฉพาะกิ2556 จการ 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ นบาท) 2557 2556 (ล้(ล้าานบาท) 2557 2556 (ล้ านบาท) 30 303030

56 56

122 16 122 162 1402 140

7,335 7,335117,346 11 7,346

6,778 221 6,778 2212 7,0012 7,001


/

127

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บุคคลหรือกิจการอืน่ ๆ ยังไม่ครบกาหนดชาระถึงเกินกาหนด ชาระน้อยกว่า 3 เดือน เกินกว่า 3 แต่ไม่เกิน 6 เกินกว่า 6 แต่ไม่เกิน 12 เกินกว่า 12

งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุ ทธิ

8,699 262 218 1,717 10,896 (772) 10,124 10,264

834 52 80 1,867 2,833 (235) 2,598 9,944

2,899 131 203 1,677 4,910 (381) 4,529 11,530

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลกู ค้าของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีระยะเวลาตั้งแต่ 14 วัน ถึง 30 วัน โดยปกติ ระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท/บริษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 14 วัน ถึง 30 วัน

ณณวัวันนทีที่ 31 ้คงเหลื อของรายได้ ค้างรัคบา้ ของเงิ นส่วนแบ่ รายได้งรายได้ จากการให้ บริการโทรศัพท์ ่ 31 ธัธันนวาคม วาคม2557 2557 กลุ กลุ่ม่มบริบริษษัททั/บริ/บริษัทษมีทั ยมีอดหนี ยอดหนี อของรายได้ งรับของเงิ นส่ วงนแบ่ จากการ ้ คงเหลื ระหว่างประเทศ International Direct Dial (IDD) จ�ำนวน 1,574 ล้านบาท และ 1,565 ล้านบาท ตามล�ำดับ (2556: 1,526 ล้านบาท ให้บริ กล้ารโทรศั พท์ระหว่ International direct (IDD)นจหนีานวน และ 1,517 านบาท ตามล� ำดับา)งประเทศ ส่วนหนึ่งของยอดคงเหลื อดังกล่dial าวแสดงเป็ ้คงค้า1,574 งนานเกิล้านนบาท 12 เดืและ อน จ�1,565 ำนวนเงิล้านนบาท 1,515 ล้านบาท ตามลาดั (2556:ตามล� 1,526 นบาท และ ล้ านบาท ส่ วนหนึ ่ งของยอดคงเหลื อดังกล่าวแสดงเป็ นหนี้ และ 1,506 ล้าบนบาท ำดับล้า(2556: 1,2801,517 ล้านบาท และตามล 1,272าดัล้บา)นบาท ตามล� ำดับ) คงค้างนานเกิน 12 เดือน จานวนเงิน 1,515 ล้านบาท และ 1,506 ล้านบาท ตามลาดับ (2556: 1,280 ล้ านบาท และ

เมือ่ วันที ่ 16 มกราคม 2556 บริษทั ได้ยนื่ ค�ำเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุญาโตตุลาการเรียกร้องให้บริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) 1,272 ตามลาดั้ยบรวมเป็ ) นเงิน 1,526 ล้านบาท ช�ำระหนี ้ดังกล่ล้าานบาท วพร้อมดอกเบี เมืเมื่อวั่อนวัทีน่ ที26 กายน2556 2556บริบริ ัท ยดิื่นจิตคอล โฟน อจ�พิำกัพดาทต่ ซึ่งอเป็คณะอนุ นบริษัทญย่อาโตตุ ย ได้ลยาการเรี ื่นค�ำเสนอข้ พาทต่ ่ 16พฤศจิ มกราคม ษทั ษได้ าเสนอข้ ยกร้ออพิงให้ บริ ษอศาลปกครองกลางเรี ทั ที โอที จากัด ยกร้อง ให้บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท”) ช�ำระหนี้ดังกล่าวพร้อมดอกเบี้ยรวมเป็นเงิน 11 ล้านบาท (มหาชน) (“ทีโอที”) ชาระหนี้ดงั กล่าวพร้อมดอกเบี้ยรวมเป็ นเงิน 1,526 ล้านบาท

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 บริ ษทั ดิจิตอล โฟน จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อศาลปกครอง กลางเรี ยกร้องให้บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (“กสท”) ชาระหนี้ ดงั กล่าวพร้อมดอกเบี้ยรวมเป็ นเงิน 11 ล้านบาท

57

รายงานทางการเงิน

9,028 305 117 1,917 11,367 (982) 10,385 10,415


128

บริ บริษษัทัท แอดวานซ์ แอดวานซ์ อิอินนโฟร์ โฟร์ เซอร์ เซอร์ ววสิสิ จจากั ากัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษัทัทย่ย่ออยย หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน 10 10

ลูลูกกหนี หนีออ้​้ นื่นื่

10 ลูกหนี้อื่น

่ วงหน้า ค่ค่าาใช้ ใช้จจา่ายล่ ยล่วงหน้า ลูลูกกหนี ้ หนี้ - บับัตตรเงิ รเงินนสด/เติ สด/เติมมเงิเงินนผ่ผ่าานน โทรศั โทรศัพพท์ท์เเคลื คลื่อ่อนที นที่​่ ลูลูกกหนี หนี้​้ -- กรมสรรพากร กรมสรรพากร ่ ภาษี เ งิ น ได้ ภาษีเงินได้ถถกูกู หัหักก ณ ณ ทีที่​่จจา่ายย อือื่น่นๆๆ รวม รวม

งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม งบการเงินรวม2556 2557 2557 2556

งบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ งบการเงินเฉพาะกิ2556 จการ 2557 2557 2556

หมายเหตุ หมายเหตุ 2557 2556 2557 2556 หมายเหตุ (ล้ านบาท) นบาท) (ล้(ล้าานบาท) 1,434 1,038 349 530 1,434 1,038 349 530 969 969 1,454 1,454 807 807 1,237 1,237 5,901 5,901

55

913 913 1,168 1,168 299 299 1,433 1,433 4,851 4,851

--698 698 940 940 1,987 1,987

---675 675 1,205 1,205

11 สิสินนค้ค้ าาคงเหลื ออ 11 คงเหลื 11 สินค้าคงเหลือ

สิสิ นนค้ค้าาสสาเร็ าเร็จจรูรู ปป วัวัสสดุดุแและอะไหล่ ละอะไหล่ อะไหล่ อะไหล่เเพืพื่อ่อการซ่ การซ่ออมแซม มแซม เครื อ ข่ า ยโทรศั พ ท์ เ เครื อข่ายโทรศัพท์เคลื คลื่อ่อนที นที่​่

งบการเงิ งบการเงิ การ งบการเงิน รวม งบการเงิน เฉพาะกิจจจการ งบการเงิ นนรวม รวม งบการเงิ นนเฉพาะกิ เฉพาะกิ การ 2557 2556 2557 2556 2557 2557 2556 2556 2557 2556 (ล้านบาท) 2557 2556 (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท) 2,430 2,711 -44 2,430 2,711 266 280 22 42 266 280 22 42

หัหักก ค่ค่าาเผื เผื่อ่อสิสิ นนค้ค้าาล้ล้าาสมั สมัยย และการลดมู และการลดมูลลค่ค่าาของสิ ของสิ นนค้ค้าา สุสุ ททธิธิ

58 58

468 468 3,164 3,164

679 679 3,670 3,670

468 468 490 490

679 679 725 725

(645) (645) 2,519 2,519

(805) (805) 2,865 2,865

(438) (438) 52 52

(645) (645) 80 80


/

129

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 12

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม

12 เงินลงทุนในบริษัทร่วม

ณ วันที่ 1 มกราคม เงินลงทุนเพิ่มขึ้น รับรู ้ขาดทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2557 งบการเงินรวม2556 2557 2556 านบาท) (ล้ า(ล้นบาท) 4 (4) -

ายน 2557 2557 บริบริษษทั ัทซุซุปปเปอร์ ทเวอร์ ค คจากัจ�ดำกั(“SBN”) ซึ่ งเป็ซึน่งเป็บรินษบริทั ษย่ัอทยแห่ งหนึงหนึ ่ งได้่งได้ ลงทุ วันวัทีน่ ที9่ 9มิมิถถุนุนายน เปอร์บรอดแบนด์ บรอดแบนด์เน็เน็ ทเวอร์ ด (“SBN”) ย่อยแห่ ลงทุนนในบริษัท ทั อินฟอร์ น่ ไฮเวย์ 145,000 น้ ในราคาหุ ้นละ น253.6 บาทล้าเป็นบาท นจานวนเงิ อินฟอร์ในบริ เมชั่นษไฮเวย์ จ�ำกัดเมชั(“IH”) เป็นจ�จำากั นวนด (“IH”) 145,000เป็หุนจ ้น านวน ในราคาหุ ้นละ 25หุบาท เป็นจ�ำนวนเงิ โดยมีสนัดส่3.6 วนการถือหุ้น คิดเป็นล้ร้าอนบาท ยละ 29โดยมีสดั ส่ วนการถือหุน้ คิดเป็ นร้อยละ 29

ซื้ อเงินลงทุนใน IH จาก SBN เป็ นจานวน 145,000 หุ น้ ในราคาหุ น้ ละ 25 บาทเป็ นจานวนเงิน 3.6 ล้านบาท โดยมี สัดส่ วนการถือหุน้ คิดเป็ นร้อยละ 29

59

รายงานทางการเงิน

วันที่ 24 กันยายน 2557 บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (“ABN”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ ซื้อเงินลงทุนใน IH จากวันSBN ำนวน2557 145,000 ในราคาหุ้นบรอดแบนด์ ละ 25 บาทเป็เน็นทจ�เวอร์ ำนวนเงิ ล้านบาท โดยมี ส่วษนการถื อหุ้นงคิหนึ ดเป็่ งได้ นร้อยละ 29 ที่ 24เป็กันจ�ยายน บริ ษทหุั ้นแอดวานซ์ ค จนากั3.6 ด (“ABN”) ซึ่ งเป็ สนัดบริ ทั ย่อยแห่


12

ราคาทุน วิธีส่วนได้เสี ย เงินปันผลรับ 2557 นรวม 2556 2557 2556 2557 2556 งบการเงิ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้านบาท) มูลค่าตาม (ล้ านบาท) ราคาทุน วิธีส่วนได้เสี ย เงินปันผลรับ 2557 2557 2556 4 2556 - 2557 - 2556 (ล้ านบาท)

เงินปันผลรับ

ซึ่ งกลุ่มบริ12ษทั บันทึกเงิน12ลงทุนในบริ ษ4 ทั ดังกล่าวตามวิ - ธีส่วนได้เสี- ยโดยแสดงเป็ - นยอดรวมไม่ - ปรับปรุ -งตามส่ วนได้เสี ย

ทุนชาระแล้ว 2557 12 2556

ทุนชาระแล้ว 2557 2556 2557 2556

มูลค่าตามวิ ีส่วนได้เสีย มูลค่ธาตาม

บริษทั ร่ วม บริ ษทั อินฟอร์ เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด

ปี 2557 บริษทั ร่ วม บริปี ษ2557 ทั อินฟอร์ เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด

ของกลุ่มบริ ษทั

เจ้าของ (ร้ อยละ) 29

29

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

รายงาน

วันที่ รายงาน

สัดส่ วน ความเป็ น สัดส่วนความ นของ วันที่รายงาน เป็สันดเจ้เจ้ส่าวาของ (ร้ อ ยละ) วันที่ ความเป็ (ร้อยละ)น

66

66

สิ นทรัพย์ หมุนเวียน

สิ นทรัพย์

126

126

สิ นทรัพย์ไม่ หมุนเวียน

สิ นทรัพย์ไม่

สินทรัพนย์เวียน สินทรั พย์ หมุหมุ นเวียน ไม่หมุหมุ นเวีนยเวีนยน

60

60

192

192

สิ นทรัพย์ รวม

สิ นทรัพย์

สินทรัพรวม ย์ รวม

198

198

หมุนเวียน

-

หมุนเวียน (ล้ านบาท)-

หนี้สินไม่

198

หนี้ สินรวม

198

-

รวม

-

รายได้

19

รวม

ค่าใช้จ่าย

(ขาดทุน)

กาไร

19

(19)

(19)

หนี้สิน นเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินหนี้สินรวม รายได้ รวม ค่าใช้จ่าย รวม ก�ำไร (ขาดทุน) (ขาดทุน) หมุนเวีหมุ ยน ไม่หมุนเวียน รวม รวม รวม (ล้ านบาท) ่ หนี้สิน หนี ส ิ น ไม่ รายได้ ค่ า ใช้ จ า ย กาไร ้ (ล้านบาท)

หนี้สิน

ษทั ของกลุ ข้ อ มู่มลบริทางการเงิ น โดยสรุ ป ของเงิ น ลงทุ น ตามวิ ธี ส ่ ว นได้ เ สี ย ในตราสารทุ น ซึ่ ง กลุ ่ ม บริ ษั ท บั น ทึ ก เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ดั ง กล่ า วตามวิ ธี ส ่ ว นได้ เ สี ย โดยแสดงเป็ น ยอดรวมไม่ ป รั บ ปรุ ง ตามส่ ว นได้ เ สี ย ของกลุ ม ่ ัท นลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยในตราสารทุน ซึ่งกลุ่มบริ ษทั บันทึกเงินลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสี ยโดยแสดงเป็ นยอดรวมไม่ปรับปรุ งตามส่ วนได้เสี ย ข้อมูลทางการเงินโดยสรุบริปษของเงิ

บริษทั ร่ วม ข้อษมูทั ลอิทางการเงิ โดยสรุ บริ นฟอร์เมชัน่ น ไฮเวย์ จากัดปของเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยในตราสารทุ 29 -น

บริษทั ร่ วม บริ ษทั อินฟอร์เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด

เป็ นเจ้าของ 2557 2556 2557 2556 อยละ) สัดส่(ร้ว(ร้นความ อยละ) เป็ นเจ้าของ 255729 2556(ร้ อยละ)

สัดส่นวเจ้ นความ ความเป็ าของ

เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และเงินปัสัดนส่ผลรั นั้นสวาหรับแต่ละปี มีดงั นี้ ราคาทุน วน บจากเงินลงทุนทุเหล่ นช�ำาระแล้

งบการเงินรวม

งบการเงินรวม

บริษเงิัท นแอดวานซ์ และบริ ัทย่ อยและเงินปันผลรับจากเงินลงทุนเหล่านั้นส�ำหรับแต่ละปี มีดังนี้ ลงทุนในบริอิษนัทโฟร์ ร่วมเซอร์ ณ วันวสิที่ จ31ากัดธัน(มหาชน) วาคม 2557 และ ษ2556 เงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ท ั ร่ ว ม ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2557 และ 2556 และเงินปั นผลรับจากเงินลงทุนเหล่านั้นสาหรับแต่ละปี มีดงั นี้ หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

130


/

131

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย

13 เงินลงทุนในบริษัทย่อย

ณ วันที่ 1 มกราคม เงินลงทุนเพิ่มขึ้น ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท) 7,912 6,993 1,135 (216) 7,912 7,912

การเลิการเลิ กกิจกการของบริ ษัทย่อษยทั ย่อย กิจการของบริ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น จ�ำกัด (“AIR”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2557 อนุมทีัต่ปิให้ระชุ AIRมวิเลิสกามักิจญการ นเทอร์ น็ตไปบริ บรอดแบนด์ เน็ทษเวอร์ จ�ำ่อกัวัดนซึที่ง่ เป็4 นบริษัทย่อย ผูถ้ ือเนืหุ่อน้ งจากได้ ของบริ ษมทีกั ารโอนการบริ แอดวานซ์ อิกนารอิ เทอร์ เน็ตเเรโวลู ชน่ั ษัทจากัซุปดเปอร์ (“AIR”) ซึ่ งเป็ นบริ ทั ย่อคย เมื อีกแห่สิ งงหนึ ่ง และไม่มีแผนในการด�ำเนินธุรกิจต่อ บริษัทย่อยได้จดทะเบียนเลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2557 หาคม 2557 อนุ มตั ิ ให้ AIR เลิกกิ จการ เนื่ องจากได้มีการโอนการบริ การอินเตอร์ เน็ตไปบริ ษทั ซุ ปเปอร์ บรอด ทะเบียนเลิกบริ ษทั กับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2557

เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2556 บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (“AWN”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ได้ไปจดทะเบียน เพิ่มทุนจาก 350 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 3,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) เป็น 1,350 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 13,500,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละการเพิ 100ม่ บาท) และส่ษวนเกิ ทุนของบริ ทั ย่ อนยมูลค่าหุ้นสามัญ 135 ล้านบาท กับกระทรวงพาณิชย์ การเพิ่มทุนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำไปใช้ลงทุน ในอนาคต บริษัทได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มในราคา 113.5 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงิน 1,135 ล้านบาท ซึ่งท�ำให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นเป็น ร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนในบริษัทย่อยนี้

เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2556 บริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด (“AWN”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ได้ การด้ไปจดทะเบี อยค่าของเงิยนนเพิ ลงทุ่มนทุในบริ ัทย่อล้ยานบาท (หุน้ สามัญ 3,500,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท) เป็ น 1,350 ล้านบาท (หุ น้ นจากษ350 สามั หุน้ มูลค่าอหุยค่ น้ ละ ค่าหุน้ 2556 สามัญเป็135 านบาทน กั216 บกระทรวงพาณิ ชย์ การ บริ ษัทญบัน13,500,000 ทึกขาดทุนจากการด้ าส�ำ100 หรับบาท) ปีสิ้นสุและส่ ดวันทีว่ นเกิ 31 นธัมูนลวาคม นจ�ำล้นวนเงิ ล้านบาท จากการสอบทานมู ลค่า ในครั ตั ถุปษระสงค์ พื่อษนัทาไปใช้ บริ ษโดยเปรี ทั ได้จ่ายยเงิ นเพิา่มงมูในราคา 113.5 ้ งนี้ มนีวในบริ ตามบัเพิญ่มชีทุขนองเงิ นลงทุ ัทย่อย เบริ ดิจิตอลลงทุ โฟนนในอนาคต จ�ำกัด (“DPC”) บเทีนลงทุ ยบระหว่ ลค่าตามบั ญชีบาทต่ และมูอลค่หุาน้ ที่คาดว่าจะได้ รับคืนรวมเป็ จากหน่นเงิวยสิ ทรัพย์ล้ทานบาท กี่ อ่ ให้เกิซึด่ งเงิทนาให้ สดบโดยสมมติ า DPCอหุด�น้ ำเนิ การตามมาตรการคุ ม้ ครองผู ใ้ ช้บริษกทั ารเป็ น น1,135 ริ ษทั มีสดั ฐส่านว่ วนการถื เป็นนการให้ ร้อยละบริ99.99 ของทุนจดทะเบี ยนในบริ ย่อยนการชัว่ คราว (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1.3) และใช้วิธีการค�ำนวณมูลค่าจากการใช้ โดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีร้อยละ 8.9 นี้

61

รายงานทางการเงิน

แบนด์ เน็ ทเวอร์ การเพิ ่มทุนของบริ ษัทย่คอจยากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยอี กแห่ งหนึ่ ง และไม่มีแผนในการด าเนิ นธุ ร กิ จต่ อ บริ ษทั ย่อยได้จด


บริษัทย่ อย บริ ษทั แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชนั่ จากัด บริ ษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จากัด บริ ษทั ดิจิตอล โฟน จากัด บริ ษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จากัด บริ ษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด บริ ษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด บริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จากัด บริ ษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จากัด บริ ษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จากัด บริ ษทั แฟกซ์ ไลท์ จากัด บริ ษทั ไมโม่ เทค จากัด บริ ษทั แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จากัด รวม

99.97

99.98

1

300 50 1 50

99.99 99.99 99.97 99.99

99.99 99.99 99.98 99.99 1

300 50 1 50

63

1 16,477

300 50 1 50

600 811 12,493 250 336 100 1,485

240 272 3,655 250 300 100 1,350

240 272 3,655 250 300 100 1,350

ราคาทุน ราคาทุน

2557

2557

2556

2557 2556 (ร้ อยละ) 99.99 99.99 99.99 99.99 98.55 98.55 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

2557

ทุนช�ำระแล้ว ทุนชาระแล้ว 2557 2556

เป็(ร้นอเจ้ยละ) าของ

2557 2556 สัดส่ วนความ

สัดส่วน ความเป็นเจ้าของ

1 16,477

300 50 1 50

600 811 12,493 250 336 100 1,485

2556

2556

(8,565)

(8,565)

-

2557 2556 (ล้ านบาท) (335) (335) (8,230) (8,230) -

2556

การด้อยค่า(ล้านบาท)

2557

การด้อยค่า งบการเงินเฉพาะกิจการ

จการ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และเงินปั นผลรับจากเงินลงทุนเหล่านั้นสาหรับงบการเงิ แต่ละปี มีนดเฉพาะกิ งั นี้

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย ณ วันนที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และเงินปันผลรับจากเงินลงทุนเหล่านั้นส�ำหรับแต่ละปี มีดังนี้ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ

2556

1 7,912

300 50 1 50

265 811 4,263 250 336 100 1,485

1 7,912

300 50 1 50

265 811 4,263 250 336 100 1,485

ราคาทุน - สุ ทธิ 2557 2556

2557

ราคาทุน -สุทธิ 2556

22,848

2,660 607 683 1,181

547 1,297 15,873

8,216

1,785 860 320 1,230

27 630 1,460 1,904

เงินปันผลรับ 2557 2556

2557

เงินปันผลรับ

132


ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน/จัดประเภท จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน/จัดประเภท จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

500 -

500 (7) 493

175 349 524

952 289 (114) 1,127

796 169 (13)

64

56,531 22,419 7,130 (2,700) 83,380

39,344 14,786 4,013 (1,612) 1,561 87 (33) 1,615

1,520 69 (28)

255 36 (54) 237 52 (50) 239

8 8 8

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง งบการเงิ นรวม อุปกรณ์ อาคารและ เครื่ องมือ ติดตั้ง และ วนปรับบปรุ การสื ่อสารเพื่อ ยานพาหนะ ส่ วอาคารและ นปรับปรุ ง ส่ วส่นปรั ปรุงง คอมพิวเตอร์ และเครื่องมือ เครื่ออุงตกแต่ ปกรณ์งติดตั้ง อุปกรณ์ การสื ่ อสาร ส่วนปรับปรุงอาคาร อาคารเช่า และอุปกรณ์ และอุปกรณ์สำ� นักงาน ให้เช่า อาคาร อาคารเช่า อุปกรณ์ สานักงาน เพื่อให้เช่า ยานพาหนะ (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

139 36 -

ที่ดิน

ที่ดิน

14 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

14

รายงานทางการเงิน

11,679 7,897 (7,130) (19) 12,427

2,932 12,760 (4,013) -

สิ นทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง สินการก่ ทรัพย์อที่อสร้ ยู่ราะหว่ ง าง การก่อสร้างและติดตั้ง และติดตั้ง

71,643 31,093 (2,923) 99,813

45,494 27,856 (1,707)

รวม

รวม

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

/ 133


ค่ าเสื่อมราคาและขาดทุนจาก การด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี โอน/จัดประเภท จาหน่าย ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

ที่ดิน

(375) (26) -

(401) (21) 5 (417)

-

-

ที่ดิน

อาคารและ ส่ วอาคารและ นปรับปรุ ง ส่วนปรับปรุงอาคาร อาคาร

(657) (108) 3 93 (669)

(585) (82) 10

65

(33,055) (6,015) 2,657 (4) (36,417)

(31,785) (2,858) 1,588 (1,434) (46) 39 (1,441)

(1,420) (38) 24 (8) (8)

(8) (139) (35) 43 (131)

(154) (33) 48 (27) (27)

(27) -

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง สิ นทรัพย์ที่อยู่ งบการเงิ น รวม เครื่ องมือ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ ระหว่าง ส่ วส่นปรั ปรุง ง คอมพิวเตอร์ และเครื่องมือ เครื่ออุงตกแต่ ปกรณ์งติดตั้ง อุปกรณ์ การสื ่ อสาร ง าง วนปรับ บปรุ การสื ่อสารเพื่อ ยานพาหนะ สินการก่ ทรัพย์ทอี่อสร้ ยู่ราะหว่ อาคารเช่า และอุปกรณ์ และอุปกรณ์สำ� นักงาน ให้เช่า การก่อสร้างและติดตั้ง อาคารเช่า อุปกรณ์ สานักงาน เพื่อให้เช่า ยานพาหนะ และติดตั้ง (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

(35,721) (6,225) 3 2,837 (4) (39,110)

(34,354) (3,037) 1,670

รวม

รวม

134


ที่ดิน

ที่ดิน

อาคารและ ส่อาคารและ วนปรับปรุ ง ส่วนปรับปรุงอาคาร อาคาร

76 76

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ ของกลุ่มบริ ษทั 524 ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน 524 458 458

295 ส่ วนปรับปรุ- ง อาคารเช่ 295า

46,963 66 46,963

คอมพิวเตอร์ เครื่ อ23,476 งมือ และ อุปกรณ์ 23,476

7,559 7,559

174 174

งบการเงินรวม เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง127 และ อุปกรณ์สานัก127 งาน (ล้ านบาท)

100 100

-

อุปกรณ์ การสื่ อสาร เพื่อให้เช่า -

-

8 100 108

9 89 ยานพาหนะ 98

13 88 101

60,603 100 60,703

35,833 89 รวม 35,922

สิ นทรัพย์ที่อยู่ ระหว่ 11,652าง การก่อสร้- าง และติ ดตั้ง 11,652

12,400 12,400

11,052 88 11,140

รวม

รวม

2,905 2,905

สิ นทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง สิการก่ นทรัพย์อทสร้ ี่อยูา่รงะหว่าง การก่อสร้างและติดตั้ง และติดตั้ง

มีจำ� นวนเงิน 25,179 ล้านบาท (2556: 25,713 ล้านบาท)

/

รายงานทางการเงิน

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่ งได้คิดค่าเสื่ อมราคาเต็มจานวนแล้ว แต่ยงั คงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวน เงิน 25,179 ราคาทรั พย์สล้ินานบาท ของกลุ(2556: ่มบริษ25,713 ัทก่อนหัล้ากนบาท) ค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

อาคารและ 99 ส่ วนปรับปรุ- ง อาคาร99

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ ของกลุ่มบริ ษทั 175 ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ที175 ่ดิน

211 211

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง งบการเงินรวม เครื่ องมือ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ นปรับบปรุปรุง ง คอมพิวเตอร์ การสื ่อสารเพื่อ ยานพาหนะ ส่ส่ววนปรั และเครื่องมือ เครื่ออุงตกแต่ ปกรณ์งติดตั้ง อุปกรณ์ การสื ่ อสาร อาคารเช่า และอุปกรณ์ และอุปกรณ์สำ� นักงาน ให้เช่า อาคารเช่า อุปกรณ์ ส(ล้านัานบาท) กงาน เพื่อให้เช่า ยานพาหนะ (ล้ านบาท)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 กรรมสิ ทธิ์ ของกลุ ษทั วสิ จ139 125 ษัทย่ อย บริภายใต้ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์่มบริ เซอร์ ากัด (มหาชน) และบริ ภายใต้สญ ั ปญาเช่ าการเงิน น หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ 139 125

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

135


จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

โอน/จัดประเภท

ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี (349) (20) (369) (15) 38 (346)

เพิ่มขึ้น โอน/จัดประเภท จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 412 อาคารและ เพิ่มขึ้น ส่ ว นปรั บ ปรุ จาหน่าย (40) ง อาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 372

น อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย บริษัทราคาทุ แอดวานซ์ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 412 หมายเหตุประกอบงบการเงิน

อาคารและ ส่ วอาคารและ นปรับปรุ ง ส่วนปรับปรุงอาคาร อาคาร

(523) (57) 8 (572) (68) 68 3 216 (421)

663 139 (12) 790 183 ส่ วนปรั(400) บปรุ ง อาคารเช่ 573 า

ส่ วส่วนปรั นปรับบปรุปรุง ง อาคารเช่า อาคารเช่า

(24,895) (475) 1,563 (23,807) (361) 2,974 (21,194)

(1,277) (27) 27 (1,277) (26) 163 (1,140)

(137) (28) 47 (118) (26) 57 (87)

26,130 1,351 220 213 41 30 1 งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ (1,607) (30) (54) คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง 24,737 1,362 196 เครื่ องมื176 อ ติดตั้ง และ 31 24 และ อุ ป กรณ์ (3,015) (192) (68) อุป21,898 กรณ์ สานั1,201 กงาน ยานพาหนะ 152 (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง เครื่ องมืองบการเงินติเฉพาะกิ ดตั้ง และจการ และเครื่องมือ เครื่องตกแต่ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ งติดตั้ง และ ยานพาหนะ และอุปกรณ์ อุปกรณ์ส�ำนักงาน อุปกรณ์ สานักงาน ยานพาหนะ (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

-

117 114 (1) (4) สิ นทรัพย์ที่อยู่ 226 ระหว่(122) าง การก่อสร้(9)าง และติด95 ตั้ง

สิ นทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง า ง าง สินการก่ ทรัพย์ทอี่อสร้ ยู่ระหว่ การก่อสร้างและติดตั้ง และติดตั้ง

(27,181) (607) 1,645 (26,143) (496) 3 3,448 (23,188)

28,893 537 (1,707) 27,723 292 (3,724) รวม 24,291

รวม

รวม

136


26 26

อาคารและ 43 ส่ วนปรับปรุ- ง อาคาร43

152 152

218 ส่ วนปรับปรุ -ง อาคารเช่ 218า

140 140

ส่ส่ววนปรั นปรับบปรุปรุ งง อาคารเช่า อาคารเช่า

70

61 61

7 58 65

95 95

สิ นทรัพย์ที่อยู่ ระหว่226 าง การก่อสร้า-ง และติด226 ตั้ง

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง เครื่ องมื ติดตั้ง และ 930อ 85 8 และ อุปกรณ์ 70 อุปกรณ์ สานักงาน ยานพาหนะ 930 85 78 (ล้ านบาท)

704 704

117 117

74 74

11 72 83

1,235 1,235

1,045 58 1,103

1,510 70 รวม 1,580

1,640 72 1,712

รวม

รวม

มีจำ� นวนเงิน 21,564 ล้านบาท (2556: 24,099 ล้านบาท)

/

รายงานทางการเงิน

ราคาทรัพย์สินของบริ ษทั ก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่ งได้คิดค่าเสื่ อมราคาเต็มจานวนแล้ว แต่ยงั คงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวนเงิ น 21,564 ราคาทรั พย์สิน(2556: ของบริ24,099 ษัทก่อล้นหั กค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท านบาท)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั 63 บริษัทภายใต้ แอดวานซ์ อินาโฟร์ สญ ั ญาเช่ การเงิเซอร์ น วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่-อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 63

อาคารและ ส่ วอาคารและ นปรับปรุ ง ส่วนปรับปรุงอาคาร อาคาร

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ เครื่ องตกแต่ง สิ นทรัพย์ที่อยู่ นเฉพาะกิ จการ เครื่ องมืงบการเงิ อ ติดตั้ง และ ระหว่าง และเครื่องมือ เครื่องตกแต่ อุปกรณ์ การก่ า ง าง สินทรั พย์ทอี่อสร้ ยู่ระหว่ คอมพิวเตอร์ งติดตั้ง และ ยานพาหนะ การก่อสร้างและติดตั้ง และอุปกรณ์ อุปกรณ์ส�ำนักงาน อุปกรณ์ สานักงาน ยานพาหนะ และติดตั้ง (ล้านบาท) (ล้ านบาท) รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

137


บริษัท138แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 15

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตนภายใต้ สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการ

งบการเงินรวม ต้นทุนของ ต้นทุนของเครื่ องมือ เงินจ่ายล่วงหน้าและ นรวม างก่อสร้างของ เครื อข่าย และอุปกรณ์งบการเงิ งานระหว่ ต้ น ทุ น ของเครื อ ่ งมื อ และ เงินจ่ายล่วงหน้าและงาน ต้นทุโทรศั นของเครื พท์อข่าย อุในการด าเนิำนเนิการ ต้นางก่ทุนอสร้ของเครื ป กรณ์ ใ นการด� น การ ระหว่ างของต้อนข่ทุนายของ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ดาต้าเน็ต เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เคลื่อนที่ ดาต้าเน็ท โทรศัพท์เคลื่อนที่ (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

15 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ

รวม

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่ายและตัดจาหน่าย โอนให้แก่ กสท. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน/จัดประเภท จาหน่ายและตัดจาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

192,124 3,766 427 (14,294) (14,605) 167,418 600 1,402 (23,997) 145,423

1,548 1,548 (300) 1,248

2,761 (427) 2,334 (1,699) 635

196,433 3,766 (14,294) (14,605) 171,300 600 (297) (24,297) 147,306

ค่ าตัดจาหน่ ายและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจาหน่ายระหว่างปี จาหน่ายและตัดจาหน่าย โอนให้แก่ กสท. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจาหน่ายระหว่างปี ขาดทุนจากการด้อยค่า จาหน่ายและตัดจาหน่าย โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

(165,738) (11,876) 13,748 14,605 (149,261) (11,308) 23,186 63 (137,320)

(1,538) (1) (1,539) (1) (8) 300 (1,248)

-

(167,276) (11,877) 13,748 14,605 (150,800) (11,309) (8) 23,486 63 (138,568)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556

26,386

10

2,761

29,157

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557

18,157

9 -

2,334 635

20,500 8,738

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

8,103

บริษษทั ทัก่อก่นหั อนหั ายสะสมของสิ ทรัพสย์ญั ภญาอนุ ายใต้ญสาตให้ ัญญาอนุ าตให้ซึง่ ดได้าเนิ ่ งได้ ราคาทรั ราคาทรัพพย์สย์สิ นนิ ของกลุ ของกลุม่ ่มบริ กค่ากตัค่ดาจ�ตัำดหน่จาหน่ ายสะสมของสิ นทรัพย์ภนายใต้ ดำ� เนิญนการ ตดั นจ�การ ำหน่าซึยเต็ มจ�ตำดันวน แล้ ว แต่ายยเต็ ังคงใช้ งานจนถึง วณแต่วันยทีงั คงใช้ ่ 31 ธังนานจนถึ วาคม 2557 ล้านบาท (2556: น95,553 จาหน่ มจานวนแล้ ง ณ มีวันจ�ำทีนวนเงิ ่ 31 ธันน70,907 วาคม 2557 มีจานวนเงิ 70,907ล้าล้นบาท) านบาท (2556: 95,553 ล้ านบาท) 72


/

139

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์บริอินษโฟร์ ัท แอดวานซ์ เซอร์ วสิ อิจนากัโฟร์ ด (มหาชน) เซอร์ วสิ และบริ จากัด (มหาชน) ษัทย่ อย และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิ หมายเหตุปนระกอบงบการเงิน

ต้นทุนของ เครื อข่าย โทรศัพท์ เคลื่อนที่

งบการเงินเฉพาะกิจงบการเงิ การ นเฉพาะกิจการ เงิต้นนจ่ทุายล่ นของ วงหน้าและงาน เงินจ่ายล่วงหน้าและงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ ระหว่ เครื อข่างก่ าย อสร้างของระหว่างก่อสร้างของ จ่ายล่วงหน้าและงานระหว่าง ต้นทุต้ นโทรศั ของเครื อท์ข่าย อก่เงิข่อนาสร้ นทุนของเครื น ทุ น พ ของเครื ย ต้านงของต้ ทุนของเครื อข่าอยข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เคลื โทรศั ่อนที พท์่ เคลื่อนที่ โทรศั(ล้พานบาท) ท์เคลืรวม ่อนที่ (ล้ านบาท) (ล้ านบาท)

รวม

รวม

177,889 3,638 427 (14,536) 167,418 600 1,402 (23,997) 145,423

2,761 (427) 2,334 (1,699) 635

180,650 2,761 3,638 (427) (14,536) 169,752 2,334 600 (1,699) (297) (23,997) 146,058 635

180,650 3,638 (14,536) 169,752 600 (297) (23,997) 146,058

ค่ าตัดจาหน่ าย ค่ าตัดจาหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม ณ2556 วันที่ 1 มกราคม 2556 (152,191) ค่าตัดจาหน่ายระหว่ค่าางปีตัดจาหน่ายระหว่างปี (11,064) จาหน่าย จาหน่าย 13,994 ณ วันที่ 31 ธันวาคมณ2556 วันทีและ ่ 31 ธั1นมกราคม วาคม 2556 2557 และ 1 มกราคม(149,261) 2557 ค่าตัดจาหน่ายระหว่ค่าางปีตัดจาหน่ายระหว่างปี (11,308) โอน/จัดประเภท โอน/จัดประเภท 63 จาหน่าย จาหน่าย 23,186 ณ วันที่ 31 ธันวาคมณ2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (137,320)

(152,191) (11,064) 13,994 (149,261) (11,308) 63 23,186 (137,320)

-

(152,191) (11,064) 13,994 (149,261) (11,308) -63 23,186 (137,320) -

(152,191) (11,064) 13,994 (149,261) (11,308) 63 23,186 (137,320)

25,698 2,761 18,157 2,334 8,103 635

2,761 28,459 2,334 20,491 8,738 635

28,459 20,491 8,738

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชีมูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม ณ2556 วันที่ 1 มกราคม 2556 25,698 ณ วันที่ 31 ธันวาคมณ2556 วันทีและ ่ 31 ธั1นมกราคม วาคม 2556 2557 และ 1 มกราคม 2557 18,157 ณ วันที่ 31 ธันวาคมณ2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2557 8,103

73

73

รายงานทางการเงิน

ราคาทุน ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม ณ2556 วันที่ 1 มกราคม 2556 177,889 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 3,638 โอน โอน 427 จาหน่าย จาหน่าย (14,536) ณ วันที่ 31 ธันวาคมณ2556 วันที่ และ 31 ธัน1 วาคม มกราคม 25562557 และ 1 มกราคม167,418 2557 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 600 โอน/จัดประเภท โอน/จัดประเภท 1,402 จาหน่าย จาหน่าย (23,997) ณ วันที่ 31 ธันวาคมณ2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2557 145,423


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

140

ราคาทรัพย์สินของบริ ษทั ก่อนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมของสิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาเนิ นการ ซึ่ งได้คิดค่าตัด จาหน่ายเต็มจานวนแล้ว แต่ยงั คงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวนเงิน 69,861 ล้านบาท (2556: 80,947 ล้ านบาท) ส่ วนหนึ่ งสิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาเนิ นการ เป็ นเสาติดตั้งสายอากาศ จานวน 13,198 ต้นที่บริ ษทั โอนให้แก่

ราคาทรั สินจของบริ ษัทก่อนหัและเป็ กค่าตันดเสาติ จ�ำหน่ดตัางยสะสมของสิ นทรัพย์152 ภายใต้ ัญญาอนุ าตให้จดานวน �ำเนินการ บริ ษทั ทีพโย์อที ากัด (มหาชน) สายอากาศจานวน ต้นสและตู ใ้ ส่ อญ ุปกรณ์ 115 ซึตู่ง้ ทีได้่บคริ ิษดค่ทั าตัดจ�ำหน่าย เต็มจ�ำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธั้ นวาคม 2557 มีจ�ำนวนเงิน 69,861 ล้านบาท (2556: 80,947 ล้านบาท) ดิ จิตอล โฟน จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้โอน ให้แก่ บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (“กสท.”) ซึ่ งกลุ่ม ส่บริ วนหนึ ่งสิทนบทวนสั ทรัพย์ภายใต้ สัญดญาอนุ าตให้ ดำ� เนิจารณาถึ นการ เป็ ดตั้งสายอากาศ 13,198ดตัต้​้ งนสายอากาศ ที่บริษัทโอนให้ แก่ บริษัท ทีโอที ษทั ได้ ญญาให้ าเนิ นญการ และพิ งลันกเสาติ ษณะและหน้ าที่การใช้จ�ำงนวน านของเสาติ (Tower) จ�ำกัดและตู (มหาชน) นเสาติดตัง้ สายอากาศจ� และตูปใ้ ส่กรณ์ อปุ กรณ์ 115ใตูนสั ้ ทีญบ่ ริญาอนุ ษทั ดิจญติ าตให้ อล โฟน ด ซึจึง่ งเป็นบริษทั ย่อย ใ้ ส่ อุปและเป็ กรณ์ (Container) แล้ว เห็นว่ามิำนวน ใช่เครื152 ่ องมืต้อนและอุ ตามทีจ�่กำนวน าหนดไว้ ดาเนิจ�นำกัการ ได้โอน ให้แก่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ซึ่งกลุ่มบริษัทได้ทบทวนสัญญาให้ด�ำเนินการ และพิจารณา มีหน้าที่ตอ้ างส่ มอบเสาติ ดตั้งสายอากาศ (Tower) และตู ใ้ ส่ อุปและตู กรณ์้ใ(Container) ดังกล่าว และได้ าทอและอุปกรณ์ ถึงลักไม่ษณะและหน้ ที่กงารใช้ งานของเสาติ ดตั้งสายอากาศ (Tower) ส่อุปกรณ์ (Container) แล้วยื่นเห็คนาเสนอข้ ว่ามิใช่เอครืพิพ่องมื ตามทีต่​่กอ�ำคณะอนุ หนดไว้ญในสั ญญาอนุ เนินการญาโตตุ จึงไม่ลาการมี มีหน้าทีค่ตาชี้อ้ ขงส่าดว่ งมอบเสาติ (Tower) และตูป้ใกรณ์ ส่อุปตกรณ์ ามที่ (Container) าโตตุ ลาการญเพืาตให้ ่อให้ดค�ำณะอนุ าสิ นทรัพดย์ตัด้งั สายอากาศ กล่าว ไม่ใช่เครื ่ องมือและอุ ดังกล่กาาหนดในสั ว และได้ยญื่นญาอนุ ค�ำเสนอข้ อพิพดาทต่ คณะอนุญอาโตตุ ลาการ เพื ่อให้คณะอนุญาโตตุลาการมีคำ� ชี้ขาดว่าสินทรัพย์ดังกล่าว ไม่ใช่เครื่องมือ ญาตให้ าเนินอการในเดื นกรกฎาคม 2557

และอุปกรณ์ตามที่ก�ำหนดในสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการในเดือนกรกฎาคม 2557

ความนิ 1616 ค่าาความนิ ยม ยม งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ นบาท) (ล้(ล้าานบาท)

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

14,352 14,352 14,352

ค่ าตัดจาหน่ ายและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

(14,317) (14,317) (14,317)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

35 35 35

74


/

141

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 1717 ใบอนุ ใบอนุญญ าตให้ ใช้ คลืในช้ ่ ความถี ่โทรคมนาคม าตให้ คลื่นความถี ่โทรคมนาคม งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

14,644 14,644 14,644 (67) (976) (1,043) (976) (2,019)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

14,577 13,601 12,625

าคม2555 2555 บริ บริษษัททั แอดวานซ์ แอดวานซ์ ไวร์ ไวร์เเลส ลส เน็ เน็ททเวอร์ เวอร์คค จ�จำากั (“AWN”)ซึ่งซึเป็ ่ งเป็นบริ นบริษัทษย่ทั อย่ยอยเป็เป็นผูนผู้ชนะการประมู ช้ นะการ ลใบอนุญาต เมืเมื่อวั่อนวัทีน่ ที16่ 16ตุตุลลาคม กัดด (“AWN”) ลใบอนุ ญาตให้ใ(3G) ช้คลื่นด้ความถี ่ 2.1GHzลรวมทั (3G) ้งด้สิว้นยราคาประมู ่อวันทีAWN ่ 7 ธันวาคม ให้ใช้คประมู ลื่นความถี ่ 2.1GHz วยราคาประมู 14,625 ล้ลารวมทั นบาท้ งสิเมื้ น่อ14,625 วันที่ 7 ล้ธัานนบาท วาคมเมื2555 ได้รับใบอนุญาตให้ใช้ คลืน่ ความถี ่ 2.1GHzได้(3G) (“ใบอนุ ญาตฯ”) งเป็นทางการจากคณะกรรมการกิ จการกระจายเสี ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม 2555 AWN รับใบอนุ ญาตให้ ใช้คอย่ ลื่นาความถี ่ 2.1GHz (3G) (“ใบอนุญาตฯ”) อย่างเป็ นยทางการจากคณะกรรมการ แห่งชาติ (“กสทช.”) ส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น การเป็ น ระยะเวลา 15 ปี ตามเงื อ ่ นไขและข้ อ ก� ำ หนดที ร ่ ะบุ ไ ว้ในการประมูล AWN ได้ช�ำระเงินประมูล กิ จการกระจายเสี ยง กิ จการโทรทัศ น์ และกิ จการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (“กสทช.”) สาหรั บการดาเนิ นการเป็ น คลืน่ ความถีง่ วดทีห่ นึง่ จ�ำนวนร้อยละ 50 ของราคาประมูลและภาษีมลู ค่าเพิม่ รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 7,824 ล้านบาท พร้อมวางหนังสือค�ำ้ ประกัน ระยะเวลา่อค�15้ำประกั ปี ตามเงื ่อนไขและข้ อกาหนดที ประมู2555 ลคลื่นและช� ความถี ่งวดที นึ่ ง 25 ในปีที่สอง จากธนาคารเพื นการช� ำระเงินในส่ วนที่เหลื่รอะบุให้ไกว้ับในการประมู กสทช. แล้ลวAWN เมื่อวันได้ ที่ ช19าระเงิ ตุลนาคม ำระอี กร้อ่หยละ และส่วจนที ่เหลืออในปี าม ของราคาประมู ณ วันที่ 31 ธันลวาคม 2557 ษัทได้นเงิ บันทึนกทัค่้ งาสิประมู ลส่วนที หลือจ�ำพร้ นวนอมวางหนั 3,656 งล้สืานบาท านวนร้ ยละที่ส50 และภาษี มูลค่กลุ าเพิ่ม่มบริรวมเป็ ล้า่เนบาท อค้ า (ไม่รวมภาษี ้ น 7,824 มูลค่าเพิ ม ่ ) เป็ น ค่ า ใบอนุ ญ าตให้ ใ ช้ ค ลื น ่ ความถี โ ่ ทรคมนาคมค้ า งจ่ า ยในงบการเงิ น รวม (2556: 7,313 ล้ า นบาท) ประกันจากธนาคารเพื่อค้ าประกันการชาระเงิ นในส่ วนที่ เหลือให้กบั กสทช. แล้วเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555 และ ชาระอีกร้อยละ 25 ในปี ที่สอง และส่ วนที่เหลือในปี ที่สาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริ ษทั ได้บนั ทึกค่าประมูล ส่ วนที่เหลือจานวน 3,656 ล้านบาท (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิ่ม) เป็ นค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคมค้างจ่าย ในงบการเงินรวม (2556: 7,313 ล้ านบาท)

75

รายงานทางการเงิน

ค่ าตัดจาหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุ 142 ประกอบงบการเงิน 18

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตนอืน่

18 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น สิ ทธิ ในการ สิทธิในการ ำเนินนการ ดด�าเนิ การ

งบการเงินรวม สิ นทรัพย์ งาน ค่าลิขสิงบการเงิ ทธิ์ นรวมระหว่าง ค่าลิขสิทธิ์ สินทรัพย์งาน ซอฟต์แแวร์ ซอฟต์ วร์ ระหว่ติดางติตั้งดตั้ง (ล้านบาท) (ล้ านบาท)

รวม รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน/จัดประเภท จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน/จัดประเภท จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

6,993 (6,993) -

5,581 680 10 (51) 6,220 713 95 (2,410) 4,618

118 (10) 108 25 (95) 38

12,574 798 (7,044) 6,328 738 (2,410) 4,656

ค่ าตัดจาหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

(6,671) (322) 6,993 -

(3,870) (329) 49 (4,150) (412) 2,410 (2,152)

-

(10,541) (651) 7,042 (4,150) (412) 2,410 (2,152)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

322 -

1,711 2,070 2,466

108 38

2,033 2,178 2,504

76


/

143

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ ์ซอฟแวร์แวร์ ค่าลิค่ขาลิสิขทสิทธิ์ธิซอฟต์ (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 2,937 5 (49) 2,893 1 (2,420) 474

ค่ าตัดจาหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

(2,736) (47) 49 (2,734) (47) 2,419 (362)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

201 159 112

77

รายงานทางการเงิน

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


19

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี

19

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี

บริ 144ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุ น เงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ สิ นปทรัระกอบงบการเงิ พย์และหนี้สินภาษี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 สิ นทรัเงิพนย์แได้ละหนี ได้ชีรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ (ล้ านบาท) ้ สินภาษีดเงิบันญ 19 ภาษี รอการตั ทรัพพย์ย์แภละหนี าษีเงิน้สินได้ภาษี รอการตั ญชี ดบัญชี ณ วันที่ 311,509 735 3,327 สิสินนทรั เงินได้ดรบัอการตั ธันวาคม มีดังนี้ 3,667 งบการเงิ งบการเงิ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (67) นรวม (110) (67)นเฉพาะกิจการ (110) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 สุ ทธิ 1,442 3,557 668 3,217 2557 2557 งบการเงินรวม 2556 งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ นบาท) (ล้(ล้าานบาท) สิรายการเคลื นทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตั 1,509 ดบัญชีที่เกิด3,667 3,327 ่อนไหวของสิ นทรัดพบัย์ญแชีละหนี้สินภาษีเงินได้รอการตั ขึ้นในระหว่างปี มีด735 งั นี้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (67) (110) (67) (110) สุ ทธิ 1,442 3,557 3,217 งบการเงินรวม 668 บันทึกเป็ น บันทึกเป็ น าย/ชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปี มีดรายจ่ รายการเคลื่อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัรายจ่ ดบัญ งั นี าย/ รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตั(รายได้ ดบัญชีท)ใน ี่เกิดขึ้นในระหว่างปีมีดังนี(รายได้ ้ ้ )ใน ณ วันที่ 1 ณ วันทีน่ รวม 31 ณ วันที่ 31 งบการเงิ กาไรหรื อ งบการเงิ นรวม กาไรหรื อ บั น ทึ ก เป็ น รายจ่ า ย/ บั น ทึ ก เป็ น รายจ่ า ย/ มกราคม ธัณนวาคม ขาดทุ นนำไร ขาดทุ น ำนไร ธัณนวาคม (รายได้ )กในก� (รายได้ ) กในก� วันที่ วันที่ ณ วันที่ บั น ทึ เป็ บั น ทึ เป็ หรือขาดทุน34) 31 ธัน2556 หรือขาดทุน34) 31 ธัน2557 1 มกราคม วาคม 2556 (หมายเหตุ วาคม 2557 2556 2556 (หมายเหตุ (หมายเหตุ (หมายเหตุ รายจ่าย/34) รายจ่าย/34) (ล้ า นบาท) (ล้ านบาท) (รายได้)ใน (รายได้)ใน สิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน)ณ และบริ วันที่ 1 ษัทย่ อกยาไรหรื อ ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 กาไรหรื อ 125 61น 186 ลูกหนี 129 ้ การค้า (หนีส้ งสัยจะสู มกราคม ธันวาคม ธันวาคม หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น ญ) ขาดทุ(4)น ขาดทุ สิ นค้าคงเหลือ (ค่ าเผื่อสิ นค้ าล้ าสมัยและการ (หมายเหตุ 34) 2556 2556 2557 (หมายเหตุ 34) 175 (25) 150 (36) 114 ลดมูลค่ าของสิ นค้ า) (ล้ านบาท) งบการเงิ นรวม สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี บันทึกเป็ น บั(2,310) นทึกเป็ น ดาเนินการ (ผลแตกต่ างของค่ าตัดจาหน่ าย) 4,242 (1,577) 2,665 355 ลูกหนี้การค้า (หนีส้ งสัยจะสูญ) 129 (4) 125 61าย/ 186 รายจ่าย/ รายจ่ รายได้ค่าบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รับ สิ นค้าคงเหลือ (ค่ าเผื่อสิ นค้ าล้ าสมัยและการ (รายได้)ใน (รายได้)ใน ล่วงหน้า (ผลแตกต่ างของรายได้ ) 385 (65) 320 74 394 175 (25) 150 (36)อ ลดมูลค่ าของสิ นค้ า) ณ วันที่ 1 ณ วันที่ 31 ณ วันที114 ่ 31 ก าไรหรื อ ก าไรหรื 27 277 25 302 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 250 สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ มกราคม ธันวาคม ธันวาคม ขาดทุ ขาดทุ อื่นๆ 290 (160)น 130 28น 158 ดาเนินการ (ผลแตกต่ างของค่ าตัดจาหน่ าย) 4,242 (1,577) 34) 2,665 (หมายเหตุ (2,310) 34) 2556 2557355 (หมายเหตุ รวม 5,471 (1,804) 3,667 (2,158) 1,509 รายได้ค่าบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รับ (ล้านบาท) างของรายได้ 385 (65) 320 74 394 หนีล่้สวงหน้ ินภาษีา เ(ผลแตกต่ งินได้ รอการตั ดบัญชี ) ภาระผู กพันผลประโยชน์ พนักงาน 250 27 277 25 302 ค่าผลประโยชน์ ตอบแทนรายปี อื่นๆ(ผลแตกต่ างของค่ าใช้ จ่าย) 290 (160) 130 28 158 (87) 37 (50) 23 (27) 78 รวม 5,471 (1,804) 3,667 (2,158) 1,509 ภาษีอากรตามอัตราเร่ ง (ผลแตกต่ างของค่ าตัดจาหน่ าย) (6) 6 อื่นๆ (64) 4 (60) 20 (40) รวม (157) 47 (110) 43 (67) สุ ทธิ 5,31478 (1,757) 3,557 (2,115) 1,442


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย รายงานประจำป�ปีระกอบงบการเงิ 2557 / บริษัท แอดวานซ์ หมายเหตุ น อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

145

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น บันทึกเป็ น รายจ่าย/ รายจ่าย/(รายได้) (รายได้)ใน ใน งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ณ วันที่ 1 กาไรหรื อ ณ วันที่ 31 กาไรหรื อ ณ วันที่ 31 บันทึกเป็นรายจ่าย/ บันทึกเป็นรายจ่าย/ มกราคม ขาดทุ น ำไร ธันณวาคม ขาดทุ น ำไร ธัณนวัวาคม (รายได้ ) ในก� (รายได้ ) ในก� วันที่ นที่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 หรือขาดทุน 31 ธันวาคม 2556 หรือขาดทุน 31 ธันวาคม 2557 2556 2556 2557 (หมายเหตุ 34) (หมายเหตุ 34) (หมายเหตุ 34) (หมายเหตุ 34) (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 122

(67)

55

(14)

41

131

(2)

129

(41)

88

4,032

(1,367)

2,665

(2,310)

355

385 166 146 4,982

(158) (8) (53) (1,655)

227 158 93 3,327

(105) (76) (46) (2,592)

122 82 47 735

หนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปี (ผลแตกต่ างของค่ าใช้ จ่าย) อื่นๆ รวม

(87) (64) (151)

37 4 41

(50) (60) (110)

23 20 43

(27) (40) (67)

สุ ทธิ

4,831

(1,614)

3,217

(2,549)

668

80

รายงานทางการเงิน

สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า (หนีส้ งสัยจะสูญ) สิ นค้าคงเหลือ (ค่ าเผื่อสิ นค้ าล้ าสมัยและการ ลดมูลค่ าของสิ นค้ า) สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ ดาเนินการ (ผลแตกต่ างของค่ าตัดจาหน่ าย) รายได้ ค่าบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รับ ล่วงหน้า (ผลแตกต่ างของรายได้ ) ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน อื่นๆ รวม


146ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย บริ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่มีสาระสาคัญที่มิได้รับรู ้ในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557และ 2556 มีรายละเอียดดังนี้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวทีม่ สี าระส�ำคัญทีม่ ไิ ด้รบั รูใ้ นงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิ2556 จการ 2557งบการเงินรวม2556 2557 2557 2556 2557 2556 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ านบาท) (ล้(ล้านบาท) ยอดขาดทุนยกไป 375 337 1,713 1,713 ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาเนินการ 754 102 664 ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายของสัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ 238 238 77 อื่นๆ 63 รวม 1,430 754 2,377 1,713

กลุ่มกลุบริม่ บริ สินทรั พย์พภย์าษีภเาษี งินเได้ อการตั ดบัญชีดเบันืญอ่ งจากยั งไม่มคี วามเป็ ไปได้คอ่ นไปได้ นข้างแน่ ษทั ษยัทั งยัมิงไมิด้ได้รัรบบั รูรู้ รร้ ายการดังกล่ กล่าาวเป็ วเป็นนสิ นทรั งิ นรได้ รอการตั ชี เนื่ องจากยั งไม่มีคนวามเป็ ว่ค่าอกลุ ม ่ บริ ษ ท ั จะมี ก � ำ ไรทางภาษี เ พี ย งพอที จ ่ ะใช้ ป ระโยชน์ ท างภาษี ด ง ั กล่ า ว นข้างแน่วา่ กลุ่มบริ ษทั จะมีกาไรทางภาษีเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ทางภาษีดงั กล่าว

81


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

/

147

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท หนี แอดวานซ์ นโฟร์ เซอร์ 20 ส้ ิ นที่มภี อิาระดอกเบี ย้ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 20

หนีส้ ิ นที่มภี าระดอกเบีย้

20 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ส่ วนที่หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่ วนที่หมุนเวียน ระยะยาวส่ วนที่ถึงกาหนดชาระ เงิเงินนกูกูย้ ย้ ืมืมระยะสั ้ นจากสถาบันการเงิน ่ งปี ่เกี่ยวข้องกัน เงินกูภายในหนึ ย้ ืมจากกิจการที ระยะยาวส่วนที วนที่ถ่ถึงึงกกาหนดช าหนดชาระ าระ เงิหุนน้ กูกูย้ ร้ ืมะยะยาวส่ ภายในหนึ่ ง่ งปีปี ภายในหนึ ภายใต้สวญ ั นทีญาเช่ การเงินาระ ส่ วนที่ถึง หุหนี น้ กู้ สร้ ิ นะยะยาวส่ ่ถึงกาาหนดช กาหนดช่าระภายในหนึ ่ งปี ภายในหนึ งปี

หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2557 2556 งบการเงินรวม 2557งบการเงินรวม2556 2556 2557

งบการเงินรวม

5

-

-

2,775 2,500

- 32

2,500 28

2,572

9,303

เงินกูย้ ืมระยะยาว - สุ ทธิ ส่หุวน้ นที ม่ หมุนเวี-ยสุนทธิ กูร้ ่ไะยะยาว เงินกูย้ ืมระยะยาว - สุ ทธิ หนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน

16,575

17,819 84 16,575 34,478 84 37,050 34,478 37,050

หุน้ กูร้ ะยะยาว - สุ ทธิ หนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน

รวม

รวม

-

15,279 76 15,355 76 24,658 15,355 24,658

4,000 4,400

- 2,540

4,000 4,400 2,775

2,540

-

2,775 2,500

-

21 2,561

2,500

23 13,698

21 23 2,561 12,819 13,698 15,279

-

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่ งไม่รวมหนี้ สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบกาหนดการจ่ายชาระ ณ วัน้ ทีสิ่น31ที่มธัีภนาระดอกเบี วาคม ได้​้ ดยซึงั ่ นีงไม่ ้ รวมหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบกาหนดการจ่ายชาระ ณ หนี

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบก�ำหนดการจ่ายช�ำระ ณ วันที่

นวาคม ได้ดได้ ังนีด้ งั นี้ วั31นทีธั่ 31 ธันวาคม

ครบกาหนดภายในหนึ่งปี ครบก ่ งปี ่ งปี แต่ไม่เกินห้าปี ครบกาหนดภายในหนึ าหนดหลังจากหนึ ครบก ครบกาหนดหลั าหนดหลังจากหนึ งจากห้่ างปีปี แต่ไม่เกินห้าปี ครบก รวม าหนดหลังจากห้าปี รวม

งบการเงินรวม งบการเงินรวม 2557 2556 งบการเงิ 2557 นรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ2557 นเฉพาะกิจการ 2556 2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ (ล้ า นบาท) 2557 2556 2557 2556 (ล้ านบาท) (ล้9,275 านบาท) 2,540 2,540 13,675 2,540 9,27515,279 2,54012,819 13,675 15,279 22,243 22,243 12,151 15,279 - 12,819 - 15,279 12,151 -15,359 - 28,954 36,934 24,554 36,934

82

82

24,554

15,359

-

12,819 50 15,279 60 12,869 15,339 50 60 15,430 29,037 12,869 15,339 15,430 29,037

28,954

รายงานทางการเงิน

28 9,30315,279

32 2,572 17,819

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556

4,000 งบการเงินเฉพาะกิ- จการ -

นบาท) (ล้(ล้าานบาท)

4,000 - 2,775

2,540

หนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินส่ วนที่ถึง กาหนดช ่ งปี ส่ วนที ่ไม่ หมุาระภายในหนึ นเวียน

(ล้ านบาท)

2,540 -

-

5

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556


USD 63.97

USD 125.00

USD 85.00

USD 85.00

-

USD 49.75

USD 125.00

USD 85.00

USD 85.00

-

LIBOR บวกด้วย ส่ วนเพิ่ม LIBOR บวกด้วย ส่ วนเพิ่ม LIBOR บวกด้วย ส่ วนเพิ่ม LIBOR บวกด้วย ส่ วนเพิม่ LIBOR บวกด้วย ส่ วนเพิ่ม อัตรำคงที่ตำมที่ ระบุในสัญญำ

อัตราดอกเบี้ย ต่อปี

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด อัตรำคงที่ตำมที่ ระบุในสัญญำ รวมเงินกู้ หั ก ต้นทุนธุรกรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม สุ ทธิ

USD 70.00

-

บริษัท

(ล้าน)

ยอดเงินกู้คงเหลือ สกุลเงินต่างประเทศ 2557 2556

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในปี 2561

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกงวดครึ่ งปี

ทยอยช ำระคื นเงิ นต้นเป็ นงวดจำนวนเท่ำๆกัน ทั้งหมด 4 งวดเริ่ มปี 2562 – จนถึงปี 2564

ทยอยช ำระคื นเงิ นต้นเป็ นงวดจำนวนเท่ำๆกัน ทั้งหมด 20 งวด เริ่ มปี 2551 จนถึงปี 2561 ทยอยช ำระคื นเงิ นต้นเป็ นงวดจำนวนเท่ำๆกัน ทั้งหมด 2 งวด ในปี 2558 และ ปี 2559 ทยอยช ำระคื นเงิ นต้นเป็ นงวดจำนวนเท่ำๆกัน ทั้งหมด 4 งวด ในปี 2559 และปี 2560 ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในปี 2561

ทุกงวดครึ่ งปี ทุกงวดครึ่ งปี

ครบกำหนดไถ่ถอนทั้งจำนวน ในปี 2557

ก�ำหนดช�ำระ คืนเงินต้น

ทุกงวดครึ่ งปี

ก�ำหนดช�ำระ คืนดอกเบี้ย

เงินกู้ยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม รายละเอียดของเงินกู้ยืมระยะยาวซึ่งสรุปได้ดังนี้

18,134 (80) 18,054

20,416 (57) 20,359

4,000

2,801 2,801

4,118

2,108

2,306

-

15,416 (57) 15,359

-

4,000

2,815 2,815

4,139

1,647

2557

18,134 (80) 18,054

-

4,000

2,801 2,801

4,118

2,108

2,306

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท)

2556

5,000

4,000

2,815 2,815

4,139

1,647

-

2557

งบการเงินรวม

148


2.50

6,638

6.64

11 เมษายน 2557

รวมหุน้ กู้ หั ก ต้นทุนในการออกหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม สุ ทธิ

1,776

1.78

11 เมษายน 2557

7,789

7.79

คงที่ ร้อยละ 4.94

คงที่ ร้อยละ 4.56

คงที่ ร้อยละ 4.17

คงที่ ร้อยละ 3.39

397

11 เมษายน 2557

ร้อยละ 4 สาหรับ 2 ปี แรก ร้อยละ 5 สาหรับปี ที่ 3 และ 4 และ ร้อยละ 6 สาหรับปี สุ ดท้าย

อัตราดอกเบี้ย ต่อปี

2,500

(ล้านบาท)

(ล้าน)

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จากัด 11 เมษายน 2557 0.39

บริษัท 23 มกราคม 2552

วันที่จ�ำหน่าย

จ�ำนวน เงิน

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกงวดครึ่ งปี

ทุกไตรมาส

ก�ำหนดช�ำระ คืนดอกเบี้ย

2,500 2,500

397 7,789 1,776 6,638 16,600 (25) 16,575

ครบกาหนดไถ่ถอนทั้งจานวนใน วันที่ 11 เมษายน 2560 ครบกาหนดไถ่ถอนทั้งจานวนใน วันที่ 11 เมษายน 2562 ครบกาหนดไถ่ถอนทั้งจานวนใน วันที่ 11 เมษายน 2564 ครบกาหนดไถ่ถอนทั้งจานวนใน วันที่ 11 เมษายน 2567

2,500

2,500 2,500

-

-

-

-

-

2,500

2556

-

-

-

-

-

-

2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท)

2556

-

2557

งบการเงินรวม

ครบกาหนดไถ่ถอนทั้งจานวน ใน วันที่ 23 มกราคม 2557

ก�ำหนดช�ำระ คืนเงินต้น

รายงานทางการเงิน

จ�ำนวน หน่วย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทออกหุ้นกู้ระยะยาวประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

หุ้นกู้ระยะยาว

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

/ 149


หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน

150 บริ ษทั มีขอ้ จากัดที่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม รวมทั้งการรักษาอัตราส่ วนทางการเงินที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดว่าด้วยสิ ทธิ และ บริ ษทั มีขอ้ จากัดที่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม รวมทั้งการรักษาอัตราส่ วนทางการเงินที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดว่าด้วยสิ ทธิ และ หน้าที่ของผูอ้ อกหุน้ กูแ้ ละเงินกูย้ ืมระยะยาว หน้าที่ของผูอ้ อกหุน้ กูแ้ ละเงินกูย้ ืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ไม่มีวงเงินกูย้ ืมซึ่ งยังมิได้เบิกใช้ (2556: ไม่ มีวงเงินกู้ยืมซึ่ งยังมิได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ไม่มีวงเงินกูย้ ืมซึ่ งยังมิได้เบิกใช้ (2556: ไม่ มีวงเงินกู้ยืมซึ่ งยังมิได้ เบิกใช้ ) เบิกใช้ )

บริษัทมีข้อจ�ำกัดที่ต้องปฏิบัติตาม รวมทั้งการรักษาอัตราส่วนทางการเงินที่กำ� หนดไว้ในข้อก�ำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่

ของผู้ออกหุญ้นกูชี้และเงิ ราคาตามบั ละมูนลกูค่้ยาืมยุระยะยาว ติธรรมของหุ ้นกูร้ ะยะยาว (ยอดรวมก่ อ นหักค่ า ใช้จ่า ยในการออกหุ ้นกู้) ณ วันที่ 31 ราคาตามบัญ ชี และมูลค่ า ยุติธรรมของหุ ้นกูร้ ะยะยาว (ยอดรวมก่ อ นหักค่ า ใช้จ่า ยในการออกหุ ้นกู้) ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ วันที่ 31 ธัณนวาคม มีดงั ธันีน้ วาคม 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทไม่มีวงเงินกู้ยืมซึ่งยังมิได้เบิกใช้ (2556: ไม่มีวงเงินกู้ยืมซึ่งยังมิได้เบิกใช้)

ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ระยะยาว (ยอดรวมก่อนหักค่าใช้จ่ายในการออกหุ ้นกู้) ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม

หุน้ กูร้ ะยะยาว หุน้ กูร้ ะยะยาว

งบการเงินรวม ราคาตามบัญชี งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม* ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม* 2557ราคาตามบัญชี2556 2557มูลค่ายุติธรรม*2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้(ล้าานบาท) นบาท) (ล้ านบาท) 16,600 2,500 17,734 2,505 16,600 2,500 17,734 2,505

หุน้ กูร้ ะยะยาว หุน้ กูร้ ะยะยาว

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ ราคาตามบั ญ ชี มูมูลลค่ค่าายุยุตติธิธรรม* รรม* ราคาตามบัญญชีชี ราคาตามบั มูลค่ายุติธรรม* 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้านบาท) 2557 2556 (ล้ านบาท) (ล้ านบาท) 2,500 2,505 2,500 2,505

* มูลลค่ค่ายุายุติธตรรมของหุ ้นกู้ที่มน ้นกู้คำ� นวณจากราคาซื ้อขายที่ประกาศอยู้ อ่ในสมาคมตลาดตราสารหนี ้ไทย โดยใช้ราคาปิด ณ วันที่รายงาน *มู ิธรรมของหุ ้ ีกกูารซื ท้ ี่ม้อขายในตลาดหุ ีการซื้ อขายในตลาดหุ น้ กูค้ านวณจากราคาซื ขายที่ประกาศอยูใ่ นสมาคมตลาดตราสาร *มูลค่ายุติธรรมของหุน้ กูท้ ี่มีการซื้ อขายในตลาดหุน้ กูค้ านวณจากราคาซื้ อขายที่ประกาศอยูใ่ นสมาคมตลาดตราสาร หนี้ไทย โดยใช้ราคาปิ ด ณ วันที่รายงาน หนี ราคาปิ ด ณ ้สวัินนทีที่ม่รายงาน ้ ไทย โดยใช้ รายการเคลื ่อนไหวของหนี ีภาระดอกเบี้ยระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ต้นทุนการกูย้ ืม จ่ายชาระคืน ยกเลิกหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจริ ง ตัดจาหน่ายค่าใช้จ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2557 งบการเงินรวม2556

24,658 24,658 (29) (12,406) (10) 152 27 37,050 86 86

(ล้านบาท)

20,350 18,353 (56) (15,015) (7) 1,015 18 24,658

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ

29,037 17,224 (30,996) (10) 152 23 15,430

20,333 23,843 (56) (16,110) (6) 1,015 18 29,037


22 เจ้าหนี้อื่น

หมายเหตุ หมายเหตุ

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ภาษีมลู ค่าเพิ่มค้างจ่าย ภาษีหกั ณ ที่จ่ายค้างจ่าย อื่นๆ รวม 23

5

5

งบการเงินรวม 87 งบการเงินรวม 2557 2556 2557 2556 87 งบการเงินรวม 9,997 244 330 618 11,189

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2557 งบการเงินเฉพาะกิ2556 จ2556 การ

านบาท) (ล้ า(ล้นบาท) 7,759 2,063 349 136 316 38 1,112 587 9,536 2,824

3,413 326 100 1,086 4,925

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีภาระผูกพันเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงานตามข้อกาหนดของพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิ ทธิ และอายุงานและผลประโยชน์จากการให้บริ การ ระยะยาว ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงินมีดงั ต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2557 2556

(ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

151

รายงานทางการเงิน

ขาดทุ จากอั ราแลกเปลี ่ยนทีา่ยการเงิ งั ไม่เนกิดขึ้นจริ ง 152 1,015 152 1,015 ยกเลิกนหนี สญ ั ญาเช่ (10) (7) (10) (6) ้ สินตภายใต้ ตัขาดทุ ดจาหน่ ายค่าตใช้ จ่าย ่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึนจริ ง 27 18 23 18 นจากอั ราแลกเปลี 152 1,015 152 1,015 รายงานประจำ�ปี 2557 / บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์้ วิส จำ�กัด (มหาชน) ณ ที่ 31ายค่ธันาใช้ วาคม 37,050 24,658 15,430 29,037 ตัดวัจนาหน่ จ่าย 27 18 23 18 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 37,050 24,658 15,430 29,037 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ งถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ งถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ 2557งบการเงินรวม2556 2557 นเฉพาะกิ2556 งบการเงิ จการ งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ) 2557 2556(ร้ อยละต่ อปี 2557 2556 2557 งบการเงินรวม2556 2557 2556 งบการเงินเฉพาะกิจการ อยละต่ออปี)ปี ) 3.23 เงินกูย้ ืมระยะยาว 3.50 3.34 3.34 (ร้ อ(ร้ยละต่ หุเงิน้ กูรย้ ะยะยาว 4.50 4.75 4.75 ืมระยะยาว 3.50 3.34 3.233.34 หนี ตามสัญญาเช่าการเงิน 4.86 5.05 4.875.06 หุน้ ้ สกูริ้นะยะยาว 4.50 4.75 4.75 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 4.86 5.05 4.87 5.06 21 เจ้ าหนีก้ ารค้ า 2121 เจ้เจ้าาหนี า า หนีก้ ้การค้ารค้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2556 2557 นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ2556 จการ 2557 งบการเงิ 2556 2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ หมายเหตุ านบาท) 2557 หมายเหตุ 2557 2556 (ล้ า(ล้นบาท) 2556 ่ยวข้อวงกั คคลหรื อกิจอิการที 5 และบริษัทย่51อย 63(ล้ านบาท) 907 501 บริษัทบุแอดวานซ์ นโฟร์่เกีเซอร์ สิ นจากัด (มหาชน) บุคคลหรื อกิจการอื 11,852 11,655 379 1,120 การที่นเกีๆ่ยนวข้องกัน 5 51 63 907 501 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ รวม 11,903 11,718 1,286 1,621 บุคคลหรื อกิจการอื่นๆ 11,852 11,655 379 1,120 รวม 11,903 11,718 1,286 1,621 22 เจ้ าหนีอ้ นื่


152

23

23

อื่นๆ รวม

5

618 11,189

1,112 9,536

587 2,824

1,086 4,925

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีภาระผูกพันเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงานตามข้อกาหนดของพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิ ทธิ และอายุงานและผลประโยชน์จากการให้บริ การ ระยะยาวกพันผลประโยชน์พนักงาน ภาระผู

กลุ่มบริษัท/บริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงานตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ ผลประโยชน์ เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิ ธิและอายุ ภาระผู กพันตามงบแสดงฐานะการเงิ นมีดงั ต่อทไปนี ้ งานและผลประโยชน์จากการให้บริการระยะยาว

บริ ษัท ภาระผู แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัดน(มหาชน) ษัทย่ อย กพันตามงบแสดงฐานะการเงิ มีดังต่อไปนีและบริ ้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษ2557 ัทย่ องบการเงิ ย นรวม 2556 2557 2556 2557 งบการเงินรวม2556 2557 งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ หมายเหตุประกอบงบการเงิน านบาท) (ล้(ล้านบาท) การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพัน 1,500 1,361 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์งบการเงิ พนักงานนรวม

406

768

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557พนักงาน 2556 2557 2556 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์ งบการเงินรวม (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557งบการเงินรวม 2556 2557 2556 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 2557 งบการเงินรวม2556 2557 งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ (ล้านบาท) ณ วันที่ 1 มกราคม 1,361 1,223(ล้ านบาท) 768 810 ภาระผู ก พั น ผลประโยชน์ พ นั ก งาน ผลประโยชน์จ่าย (29) (16) (25) (15) ณ วั น ที ่ 1 มกราคม 1,361 1,223 768 810 ต้นทุนบริ การปัจจุบนั และดอกเบี้ย 168 154 43 83 ่ ผลประโยชน์ จ า ย (29) (16) (25) (15) โอนออก (380) (110) ต้นทุนบริ จจุบนั และดอกเบี 168 154 43 83 ภาระผู กพักนารปั ผลประโยชน์ พนักงาน้ ย โอนออก (380) (110) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 1,500 1,361 406 768 ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน 881,500 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 1,361 406 768 ค่าใช้จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน

ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน

ค่าใช้จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน

งบการเงินรวม

ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน ต้รวม นทุนบริ การปัจจุบนั ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจ2556 งบการเงิ จการ การ านบาท) (ล้(ล้านบาท) 2556 255728 255656 107 47(ล้ านบาท) 15 27 107 28 56 154 43 83 47 15 27 154 43 83

งบการเงินรวม 2557 2556 2557 2556 งบการเงิ งบการเงินรวม นรวม

2557 115 53 115 168 53 168


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย รายงานประจำ่มป�บริ ปีระกอบงบการเงิ 2557 นโฟร์ เซอร์วิส อจำ�ไปนี กัด (มหาชน) หมายเหตุ ษทั /บริ/ ษบริทั ษรั​ัทบแอดวานซ์ ้คน่าใช้จ่าอิยในรายการต่ ้ ในงบกษาไรขาดทุ บริษัทกลุ แอดวานซ์ อินโฟร์ รูเซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริ ัทย่ อย น หมายเหตุประกอบงบการเงิน

90 90

รายงานทางการเงิน

งบการเงิ งบการเงินเฉพาะกิจการ กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั รับรู ้ค่าใช้จ่ายในรายการต่อไปนี้ในงบกาไรขาดทุ น นรวม 2557 2556 2557 2556 กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั รับรู ้ค่าใช้จ่ายในรายการต่อไปนี้ในงบกาไรขาดทุน งบการเงินรวม (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ต้น่มทุบริ นการให้ าอุปกรณ์ อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุ กลุ ษัท/บริบษริัทกรัารและให้ บรู้ค่าใช้จ่าเช่ยในรายการต่ 25578 น 255610 25572556งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ การ ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 105งบการเงินรวม 95(ล้ านบาท) งบการเงิ 26 นเฉพาะกิจจการ 54 2557 2556 2557 2556 ค่ต้านตอบแทนผู าร 2 2557 28 2556 2557 2 - นเฉพาะกิจการ 25562 ทุนการให้บ้ ริริ หการและให้ เช่าอุปกรณ์ 10 งบการเงิ (ล้านบาท) านบาท) (ล้ ต้ค่นาใช้ ทุนจทางการเงิ น หาร 53 4795 1526 2754 ่ายในการบริ 105 ต้รวม นทุนการให้บริ การและให้เช่าอุปกรณ์ 8 10 1682 1542 432 832 ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร 95 26 54 ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 105 ต้นทุนทางการเงิน 53 47 15 27 ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร 2 2 2 2 ขาดทุ รู ้ในกาไรขาดทุน154 เบ็ดเสร็ จอื่น 43 รวม นจากการประมาณตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับ168 83 ต้นทุนทางการเงิน 53 47 15 27 รวม 168 154 43 83 นรวม นเบ็ดเสร็ จอื่นงบการเงินเฉพาะกิจการ ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับงบการเงิ รู ้ในกาไรขาดทุ 2557 2556 2557 2556 ขาดทุนนจากการประมาณตามหลั นภันยภัทีย่รทีับ่รรูับ้ในก� ำไรขาดทุ นเบ็นดเบ็ เสร็ดจเสร็ อื่นจอื่น จากการประมาณตามหลักกคณิ คณิตตศาสตร์ ศาสตร์ประกั ประกั รู ้ในก าไรขาดทุ งบการเงินรวม (ล้ านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ รวมอยูใ่ นกาไรสะสม 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ417 การ งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ณ 1 มกราคม 723 723(ล้(ล้านบาท) านบาท) 417 2557 2556 2557 2556 ณ 31 ธัใ่ นนก วาคม 723 723 417 417 รวมอยู าไรสะสม (ล้ านบาท) ณ 1 มกราคม 723 723 417 417 ่ รวมอยู ใ นก าไรสะสม ข้ณอ31 สมมติ ลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกั723 นภัย ณ วันที723 ่รายงาน (แสดงโดยวิ วง ธันหวาคม 417 ธีถวั เฉลี่ยถ่417 ณ 1 มกราคม 723 723 417 417 น้ าหนัก) ณ 31 ธันวาคม 723 723 417 417 ข้อสมมติหหลัลักกในการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร์ ประกั นภันย ภัณย วันณที่รายงาน ธีถัวเฉลี่ยถ่ธวงน� หนั่ยกถ่) วง ในการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร์ ประกั วันที่ร(แสดงโดยวิ ายงาน (แสดงโดยวิ ี ถวั ำ้ เฉลี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ น้ าหนัก) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ป2557 ระกั นภัย ณ 2556 วั2556 นที่รายงาน 2557 (แสดงโดยวิ ธีถวั 2556 เฉลี2556 ่ยถ่วง 2557 2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้อยละ) น้ าหนัก) งบการเงินรวม (ร้ อยละ) งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด 25573.9 25563.9 25573.9 25563.9 งบการเงิ นรวม 8 งบการเงิ การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต 8 8 นเฉพาะกิจการ 8 (ร้ อยละ) 2557 2556 2557 2556 อัตราคิดลด 3.9 3.9 3.9 3.9 (ร้ อยละ) ข้ อ สมมติ เ กี อั ต รามรณะในอนาคตถื อ ตามข้ ล ทางสถิ เ ่ ี ผยแพร่ ว ่ ั ไปและตารางมรณะซึ ำ นวณจากร้ ข้ อสมมติ เกี่ยวกั บย่ วกั อัตบรามรณะในอนาคตถื อตามข้ อมูอลมูทางสถิ ติทตี่เทิผยแพร่ ทวั่ ทไปและตารางมรณะซึ ่ งง่ คค�านวณจากร้ อยละ 100 การเพิ ขึ้นของเงินเดือนในอนาคต 8 8 8 8 ต่มดราตารางมรณะไทยปี 25512551 (“TMO08”) อัจากอั ตราคิ ลด 3.9 3.9 3.9 3.9 100 จากอั ตราตารางมรณะไทยปี (“TMO08”) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต 8 8 8 8 ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ ทว่ั ไปและตารางมรณะซึ่ งคานวณจากร้อยละ 100 จากอัตราตารางมรณะไทยปี 2551 (“TMO08”) ข้อสมมติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ ทว่ั ไปและตารางมรณะซึ่ งคานวณจากร้อยละ 100 จากอัตราตารางมรณะไทยปี 2551 (“TMO08”) 90

153


154

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 24

ทุนเรือนหุ้น

24 ทุนเรือนหุ้น

มูลค่าหุน้ 2557 2556 2557 2556 มูต่ลอค่หุาน หุ้น ้ จานวนเงิ จานวนหุ ้ ้น จานวนเงิ ต่อหุ้​้น จจ�านวนหุ ำนวนหุ้นน จ�ำนวนเงินน จ�ำนวนหุน จ�ำนวนเงินน (บาท) (ล้า้นหุ านบาท) (บาท) (ล้ านหุ น/ล้​้น /าล้นบาท)

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1

4,997

4,997

4,997

4,997

1

4,997

4,997

4,997

4,997

ทุนที่ออกและชาระแล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1

2,973

2,973

2,973

2,973

1

2,973

2,973

2,973

2,973

31 ธัธันนวาคม 25562556 ทุนทีทุ่ออกของบริ ษทั ประกอบด้ วยหุ น้ วสามั จานวน 2,973 2,973 ล้านหุ น้ ล้ามูนหุ ลค่้นาหุมูน้ ลละ ณณวัวันนทีที่ ่ 31 วาคม2557 2557และและ นที่ออกของบริ ษัท ประกอบด้ ยหุ้นญสามั ญจ�ำนวน ค่าหุ1 ้นละ 1 บาท หุ้นทั้งบาท หมดได้ มมูลค่าาระเต็ แล้ว มมูลค่าแล้ว หุน้ อทัอกและช� ออกและช ้ งหมดได้ำระเต็

ผู้ถือหุ้นสามัญจะได้รับสิทธิในการรับเงินปันผลจากการประกาศจ่ายเงินปันผลและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนหนึ่งเสียงต่อหนึ่งหุ้น ถ้ ือมหุของบริ น้ สามัญษจะได้ ในที่ปผูระชุ ัท รับสิ ทธิ ในการรับเงินปันผลจากการประกาศจ่ายเงินปันผลและมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนหนึ่งเสี ยง ต่อหนึ่ งหุ น้ ในที่ประชุมของบริ ษทั

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

ส่ วนเกินญมูญัลตค่แิ าห่หุง้ นพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีทบี่ ริษทั เสนอขายหุน้ สูงกว่ามูลค่าหุน้ ทีจ่ ดทะเบียนไว้ ตามบทบั บริษัทต้องน�ำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนส�ำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ที่บริ ษทั เสนอขายหุ ้นสู งกว่า มูลค่าหุน้ ที่จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนาค่าหุน้ ส่ วนเกินนี้ต้ งั เป็ นทุนสารอง (“ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ ”) ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ นี้ จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้

91


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

155

25 ส�ำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนส�ำรอง (“ส�ำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองดังกล่าวมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินส�ำรองนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้

26 องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

โครงการ Performance share plan

ครั้งที่ 2 ในเดือนมีนาคม 2557 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ครัง้ ที่ 1/2557 ได้อนุมตั ใิ ห้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน้ สามัญส�ำหรับพนักงาน ของบริษัทและบริษัทย่อย โดยบริษัทได้เสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญโดยจัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ให้แก่พนักงานของบริษทั และบริษทั ย่อยทีเ่ ข้าร่วมโครงการ Performance share plan (“โครงการ”) โดยข้อมูลส�ำคัญของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ซื้อหุ้นสามัญมีดังนี้ วันที่อนุมัติ : 26 มีนาคม 2557 จ�ำนวนหน่วยที่เสนอขาย : 680,000 หน่วย ราคาใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้น : 211.816 บาท/หุ้น จ�ำนวนหุ้นที่ออกเพื่อรองรับ : 680,000 หุ้น อายุของโครงการ : 5 ปี นับจากวันที่มีการเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญครั้งแรก ราคาเสนอขายต่อหน่วย : หน่วยละ 0 บาท (ศูนย์บาท) อัตราการใช้สิทธิ : ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ระยะเวลาเสนอขาย : ภายใน 1 ปี นับจากวันทีท่ ปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 ให้ออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ตามโครงการใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

รายงานทางการเงิน

ครั้งที่ 1 ในเดือนมีนาคม 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ครั้งที่ 1/2556 ได้อนุมัติให้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญส�ำหรับพนักงาน ของบริษัทและบริษัทย่อย โดยบริษัทได้เสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญโดยจัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทให้ แก่พนักงานของบริษัทและบริษัทย่อยที่เข้าร่วมโครงการ Performance share plan (“โครงการ”) โดยข้อมูลส�ำคัญของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ซื้อหุ้นสามัญมีดังนี้ วันที่อนุมัติ : 27 มีนาคม 2556 จ�ำนวนหน่วยที่เสนอขาย : 405,800 หน่วย ราคาใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้น : 206.672 บาท/หุ้น จ�ำนวนหุ้นที่ออกเพื่อรองรับ : 405,800 หุ้น อายุของโครงการ : 5 ปี นับจากวันที่มีการเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญครั้งแรก ราคาเสนอขายต่อหน่วย : หน่วยละ 0 บาท (ศูนย์บาท) อัตราการใช้สิทธิ : ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น


ราคาเสนอขายต่อหน่วย: อัตราการใช้สิทธิ : 156 ระยะเวลาเสนอขาย:

หน่วยละ 0 บาท (ศูนย์บาท) ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วยมีสิทธิ ซ้ื อหุน้ สามัญได้ 1 หุน้ ภายใน 1 ปี นับจากวันที่ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2557 ให้ออก และเสนอขายใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ตามโครงการใบสาคัญแสดงสิ ทธิ

การเปลี่ยนแปลงใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ื อหุน้ สามัญแสดงได้ดงั นี้

การเปลี่ยนแปลงใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญแสดงได้ดังนี้ 1 มกราคม 2557 2557 1 มกราคม

ESOP - Grant I - กรรมการ - พนักงาน ESOP - Grant II - กรรมการ - พนักงาน รวม

ออกให้ ออกให้

รายการระหว่างงวด รายงานระหว่างงวด ใช้ ใช้ส สิทิ ทธิธิ วย) (หน่(หน่วย)

31 ธันวาคม 31 ธั2557 นวาคม 2557

รัรับบคืคืนน

19,824 352,476 372,300

-

-

-

19,824 352,476 372,300

372,300

29,816 611,768 641,584 641,584

-

-

29,816 611,768 641,584 1,013,884

การวัดมูลค่ายุติธรรม

93

กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าของรายจ่ายโครงการ โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ ณ วันที่ให้สิทธิโดยใช้ Monte Carlo Simulation technique โดยมีข้อสมมติฐานที่สำ� คัญดังนี้ ครั้งที่ 1 มูลค่ายุติธรรมถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ณ วันที่ให้สิทธิ ราคาหุ้น ณ วันที่ให้สิทธิ ราคาการใช้สิทธิ ความผันผวนของหุ้นที่คาดหวัง เงินปันผลที่คาดหวัง อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ยง

183.499 บาทต่อหุ้น 262.000 บาทต่อหุ้น 206.672 บาทต่อหุ้น 23.51% 4.16% 3.07%

ครั้งที่ 1 มูลค่ายุติธรรมถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ณ วันที่ให้สิทธิ ราคาหุ้น ณ วันที่ให้สิทธิ ราคาการใช้สิทธิ ความผันผวนของหุ้นที่คาดหวัง เงินปันผลที่คาดหวัง อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ยง

101.617 บาทต่อหุ้น 240.000 บาทต่อหุ้น 211.816 บาทต่อหุ้น 25.15% 5.00% 3.08%

ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุม่ บริษทั และบริษทั บันทึกรายจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ จ�ำนวน 19 ล้านบาท และ 19 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (2556: 7 ล้านบาท และ 7 ล้านบาท ตามล�ำดับ)


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

157

นโยบายการบัญชี กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ของโครงการ โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ ณ วันที่ให้สิทธิ รายจ่ายของโครงการ จะถูกรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในส่วนของก�ำไรขาดทุน และบันทึกเป็นส่วนเพิม่ ในรายการ “ส�ำรองส�ำหรับการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์” ในส่วนของเจ้าของ ตลอดระยะเวลาที่การให้บริการและ/หรือผลงานที่กำ� หนดไว้ในโครงการเป็นตามเงื่อนไข ส่วนเกินจากการลดสัดส่วนของเงินลงทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง

ส่วนเกินจากการลดสัดส่วนของเงินลงทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมการเปลี่ยนแปลงสัดส่วน ของเงินลงทุนจนกระทั่งมีการขายหรือจ�ำหน่าย ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย

ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขายแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการด้อยค่า

27 ส่วนงานด�ำเนินงาน

ข้อมูลผลการด�ำเนินงานของแต่ละส่วนงานทีร่ ายงานได้รวมอยูด่ งั ข้างล่างนี้ ผลการด�ำเนินงานวัดโดยใช้กำ� ไรก่อนภาษีเงินได้ของส่วนงาน ซึ่งน�ำเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัท ผู้บริหาร เชื่อว่าการใช้ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ในการวัดผลการด�ำเนินงานนั้นเป็นข้อมูลที่เหมาะสมในการประเมินผลการด� ำเนินงานของส่วนงาน และสอดคล้องกับกิจการอื่นที่ดำ� เนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน

รายงานทางการเงิน

กลุม่ บริษทั /บริษทั มี 3 ส่วนงานทีร่ ายงาน ดังรายละเอียดข้างล่าง ซึง่ เป็นหน่วยงานธุรกิจทีส่ �ำคัญของกลุม่ บริษทั หน่วยงานธุรกิจทีส่ ำ� คัญนี้ ผลิตสินค้าและให้บริการที่แตกต่างกัน และมีการบริหารจัดการแยกต่างหาก เนื่องจากใช้เทคโนโลยีและกลยุทธ์ทางการตลาดที่แตกต่างกัน ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานสอบทานรายงานการจัดการภายในของแต่ละหน่วยงานธุรกิจที่ส�ำคัญอย่างน้อยทุกไตรมาส การด�ำเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานของกลุ่มบริษัท/บริษัทโดยสรุปมีดังนี้ • ส่วนงาน 1 บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และศูนย์ให้ข่าวสารทางโทรศัพท์ • ส่วนงาน 2 ขายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ • ส่วนงาน 3 บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง


2557

ค่าใช้จ่ายที่มีสาระสาคัญ สิ นทรัพย์ส่วนงาน รายจ่ายฝ่ ายทุน หนี้สินส่ วนงาน 96

19,114

854

764

1,588 7,095 3 3,155

346 7,162 2 1,871

274 3,127 944 451

257 2,267 852 408

บริการสื 19 24 8 ่ อสารข้ อมูล9 (3) ่องโทรศัพท์ (1) (1) ขายเครื ผ่ านสายโทรศั พท์ และ (7)เคลือ่ นที่ (8) (199)เน็ตความเร็(106) อินเตอร์ วสู ง 2557 2556 2557 2556 (1,545) 734 (89) (ล้ านบาท) (42)

23,414

(ล้านบาท)

บริการสื่ อสารข้ อมูล ขายเครื่องโทรศัพท์ ผ่ านสายโทรศัพท์ และ เคลือ่ นที่ อินเตอร์ เน็ตความเร็วสู ง ขายเครื่อง บริการสื่อสารผ่านทางสายโทรศัพท์ ่ และอิ 2557โทรศัพท์เคลื่อนที 2556 2557นเตอร์เน็ตความเร็ 2556วสูง 2557 2556(ล้ านบาท) 2557 2556

กลุ่ม่มบริ บริษษทัทั /บริ /บริษษัททั ด�ดำาเนิ เนินนธุธุรรกิกิจจเฉพาะในประเทศเท่ างประเทศที ่มีส่มาระส� ำคัญาคัญ กลุ เฉพาะในประเทศเท่าานันั้น้ นไม่ ไม่มมีรีรายได้ ายได้จจากต่ ากต่าางประเทศหรื งประเทศหรืออสิสินนทรัทรัพพย์ใย์นต่ ในต่ างประเทศที ีสาระส

ส่ส่ววนงานภู าสตร์ นงานภูมมิศิศาสตร์

11,154 102,597 31,565 63,854

13,044 116,129 31,486 75,880

กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้

รายได้จากการลงทุน ต้นทุนทางการเงิน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย

บริก343 ารโทรศัพท์ เคลือ่ นที 515่ (1,523) (1,001) และศูนย์ ให้ ข่าวสาร (18,716) ทางโทรศัพท์(16,427) 2557 2556 47,670 45,593

130,700

2556

บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ และศูนย์ ให้ ข่าวสาร ทางโทรศัพท์ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และศู นย์ให้ขา่ วสารทางโทรศั 2557 2556พท์

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น รายได้ จากลูกค้าภายนอก 125,061

ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานที่รายงาน

ข้ อมูลเกีย่ วกับส่ วนงานที่รายงาน

150,578

2556

14,906 126,351 32,433 79,486

11,757 112,026 32,419 66,133

370 548 (1,527) (1,002) รวมส่ วนงานที ่ (18,922)รายงาน (16,541) 2557 2556 46,083 46,238

149,329

2557

รวมส่ วนงานที่ รายงาน รวมส่วนงาน 2557 ที่รายงาน 2556

158


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุ น อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำป�ระกอบงบการเงิ ปี 2557 / บริษัท แอดวานซ์ 28

รายได้ ของบริษทั ภายใต้ ข้อบังคับของ กสทช.

159

28

รายได้ ขจองบริ ษทั ภายใต้ ข้อบังคับเช่ของ รายได้ ากการให้ บริ การและให้ าอุปกสทช. กรณ์ของบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สามารถ จาแนกได้ดงั นี้ รายได้จากการให้บริ การและให้เช่าอุปกรณ์ของบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สามารถ จาแนกได้ขดองบริ งั นี้ ษัทภายใต้ข้อบังคับของ กสทช. 28 รายได้ งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ของบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25572557 และ 2556 สามารถจ� 2556ำแนกได้ดังนี้ งบการเงิ เฉพาะกิจการ (ล้ านนบาท) งบการเงิ นเฉพาะกิจการ 2557 1 2556 2557 25561 ใบอนุญาตการให้บริ การอินเทอร์เน็ต แบบที่หนึ่ง (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 106,023 รายได้ค่าบริ การอื่น 62,029 ใบอนุ รวม ญาตการให้บริ การอินเทอร์เน็ต แบบที่หนึ่ง 62,0301 106,0241 รายได้ค่าบริ การอื่น 62,029 106,023 รวม 62,030 106,024 29 รายได้ จากการลงทุน

จากการลงทุ 2929 รายได้ รายได้ จากการลงทุ น น

30 รายได้ด�ำเนินงานอื่น

หมายเหตุ หมายเหตุ

หนี้สูญได้รับคืน รายได้ค่าบริ หารจัดการ อื่นๆ รวม 31

5 5

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจ2556 การ (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 110 99 70 96 163 155 98 220 224 625 377 323 858 628 98 330

กองทุนสารองเลีย้ งชีพ กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ได้จดั ตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พสาหรับพนักงานของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั บนพื้นฐานความสมัครใจ ของพนักงานในการเป็ นสมาชิ กของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 7 ของ

รายงานทางการเงิน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2557 2556 2557 2556 2556 2557 งบการเงินนรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิจจ2556 การ หมายเหตุ งบการเงิ รวม (ล้ า(ล้นบาท) งบการเงิ น การ านบาท) หมายเหตุ 2557 2556 2557 2556 เงินปันผลรั บ (ล้ านบาท) บริ ษทั ย่อย 5,13 22,848 8,216 เงิอื่นนปัๆนผลรั บ 10 5 บริ ษทั ย่อย 5,13 22,848 8,216 10 22,853 8,216 อื่น ๆ 10 5 ดอกเบี้ยรั บ 10 22,853 8,216 กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5 1,220 1,102 ดอกเบี ย ้ รั บ บริ ษทั ร่ วม 5 2 ่ กิ จ การที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น 5 1,220 1,102 บริษัท สถาบั แอดวานซ์ อย นการเงิอินนโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่358 548 59 226 บริ ษ ท ั ร่ ว ม 5 2 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 360 548 1,279 1,328 สถาบันการเงิน 358 548 59 226 รวม 370 548 24,132 9,544 360 548 1,279 1,328 30 รายได้ ดาเนินงานอืน่ รวม 370 548 24,132 9,544


รวม

160

31

330

323

858

628

กองทุนสารองเลีย้ งชีพ

กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ได้จดั ตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พสาหรับพนักงานของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั บนพื้นฐานความสมัครใจ ของพนักงานในการเป็ นสมาชิ กของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 7 ของ เงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 7 ของเงินเดือนของพนักงาน 31 ทุกองทุ ส�ำรองเลี ้ยงชี้ ยพงชี พนี้ ได้จดทะเบียนเป็ นกองทุนสารองเลี้ยงชี พตามข้อกาหนดของกระทรวงการคลัง กเดื อนนกองทุ นสารองเลี กลุและจั ่มบริดษการกองทุ ัท/บริษัทได้นจโดยผู ัดตั้งกองทุ นส�ำรองเลี ำหรัญบาตพนักงานของกลุ่มบริษัท/บริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการ จ้ ดั การกองทุ นที้ย่ไงชี ด้รพับส�อนุ

เป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 7 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัท/บริษัท จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 7 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพนีไ้ ด้จดทะเบียนเป็นกองทุนส�ำรอง ตามข้ อก�ำหนดของกระทรวงการคลั งและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต 32เลี้ยงชีค่พาใช้ จ่ายตามลั กษณะ

32 ค่าใช้จา่ ยตามลักษณะ

งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ได้เปิ ดเผยตามข้อกาหนดในมาตรฐานการ

งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ได้เปิดเผยตามข้อก�ำหนดในมาตรฐานการรายงาน รายงานทางการเงิ ทางการเงิ นฉบับต่างๆ ดันงฉบั นี้ บต่างๆ ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2557 2556 2557 2556 2556 2557 2556 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 14 6,225 3,037 496 607

ค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ค่าตัดจาหน่ายของสิ นทรัพย์ภายใต้ สัญญาอนุญาตให้ดาเนิ นการ 15 11,309 ค่าตัดจาหน่ายของสิ นทรัพย์ที่ไม่มีตวั ตน 17,18 1,388 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 9 1,240 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ค่าใช้จ่ายทางการตลาด 6,220 7,446 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 33 ต้ นทุนทางการเงิน

33 ต้นทุนทางการเงิน

บริ ษทั ย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงิน รวม 34

11,877 1,627 787 4,331 6,639

11,308 47 37 648 1,596

11,064 47 360 1,819 3,401

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2557 2556 2557 2556 2556 2557 2556 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 5 168 42 5 1 1 1 1,526 1,001 734 974 1,527 1,002 902 1,017 99

ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ที่รับรู้ในกาไรหรื อขาดทุน

หมายเหตุ ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบัน สาหรับปี ปัจจุบนั รายการปรับปรุ งสาหรับปี ก่อน

งบการเงินรวม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ล้ านบาท)

7,950 15

8,244 7

1,499 4

5,735 (3)


บริ ษทั ย่อย 5 กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5 1 สถาบั�ปีน2557 การเงิ/น บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) 1,526 รายงานประจำ รวม 1,527 34

1 1,001 1,002

168 734 902

42 1 974 1,017

161

ภาษีเงินได้

ภาษีเงิเนงิได้ ที่รับรู้ในกาไรหรื อขาดทุน 34 ภาษี นได้

ภาษีเงินได้ที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน

ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบัน สาหรับปี ปัจจุบนั รายการปรับปรุ งสาหรับปี ก่อน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2557 2556 2557 2556 2556 2557 2556 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ (ล้านบาท) (ล้ านบาท) 7,950 15 7,965

8,244 7 8,251

1,499 4 1,503

5,735 (3) 5,732

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย 2,115 การเปลี่ยนแปลงของผลแตกต่างชัว่ คราว หมายเหตุประกอบงบการเงิน

1,757

2,549

1,615

10,008

4,052

7,347

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี

รวมภาษีเงินได้

19

10,080

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง

งบการเงินรวม

2557

2556

งบการเงินรวม อัตราภาษี อัตราภาษี 2556 2557 อัตราภาษี (ร้อยละ)

กาไรก่อนภาษีเงินได้ จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี รายการปรับปรุ งสาหรับปี ก่อน ผลกระทบจากการตัดรายการกับบริ ษทั ย่อย ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ตัดจาหน่ายภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวม

(ร้ อยละ) 20 100

(ล้านบาท)

(ล้ านบาท) 46,083 9,217 (2) 155 15 (11) 42 664 10,080

22

2557

กาไรก่อนภาษีเงินได้ จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้เงินปันผลที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

อัตราภาษี (ร้อยละ)

(ร้ อยละ) 20

(ล้านบาท)

(ล้ านบาท) 46,238 9,248

-

173 7 12 282 286 10,008

22

งบการเงินฉพาะกิจการ

(ล้ านบาท) 38,918 7,784 (4,571)

รายงานทางการเงิน

การกระทบยอดเพือ่ หาอัตราภาษีที่แท้ จริ ง

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

2556 (ล้ านบาท) 43,995 8,799 (1,643)


162

ผลกระทบจากการตัดรายการกับบริ ษทั ย่อย ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ตัดจาหน่ายภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวม

22

2557

(11)

12

42 664 10,080

282 286 10,008

22

งบการเงินฉพาะกิจการ

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริอัตษราภาษี ัทย่ อย 2557 อัตราภาษี 2556 อัตราภาษี (ร้อยละ) (ล้านบาท) อัตราภาษี (ร้อยละ) (ล้านบาท) หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ร้ อยละ) (ล้ านบาท) (ร้ อยละ) (ล้ านบาท)

กาไรก่อนภาษีเงินได้ 38,918 43,995 การลดอั ตราภาษี ได้ นิตเิบงินคุ ได้ คล จานวนภาษี ตามอัเงิตนราภาษี 20 7,784 20 8,799 รายได้เงินปันผลที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี (4,571) (1,643) พระราชกฤษฎี าตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้ ค่าใช้จ่ายต้องห้กามทางภาษี 171นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 151ลง วัรายการปรั นที่ 21 ธันบวาคม 2554บปีให้ก่ลอดอั ปรุ งสาหรั น ตราภาษีเงิ นได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ เป็ 4นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบั(3)ญชี ได้ ปี 2555 2556 2557 จากอั ตัดแจก่าหน่ ายภาษี เงินและ ได้รอการตั ดบัญตชีราร้อยละ 30 เหลืออัตราร้อยละ 23 สาหรั 664บรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่ ม-ใน หรื อหลั งวันที่ 1 อมกราคม อยละ ญชี ถดั มา (255643และ ขาดทุ นจากการด้ ยค่าของเงิ2555 นลงทุและร้ นในบริ ษทั 20 ย่อยของกาไรสุ ทธิ สาหรั บสองรอบระยะเวลาบั 2557) กาออกตามความในประมวล รวม ที่ เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามล 10 าดับ พระราชกฤษฎี 4,052 17 7,347 รัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการ ตราภาษี ิบุคคลร้อยละ 20 สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2558 ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 การลดอัลดอั ตราภาษี เงินเงิได้นนได้ิตนิบุคิตคล

พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ่มบริ ษเทั งิน/บริ ได้ทที่ลธิเดลงเหลื อร้อยละ 20 ในการวัดมูลญค่ชีาสิได้นแทรั ย์และหนี ภาษี2557 เงินได้จากอั รอการ ตั ราภาษี ให้ลดอักลุ ตราภาษี ได้ษนทิตั ิบใชุ้คอคลส� ำหรับเก�งิำนไรสุ ป็นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบั ก่ปพี 2555 2556้ สินและ ตราร้อยละ 30 เหลืออัตัตดราร้ ำหรัธับนรอบระยะเวลาบั ชี 2555 ที่เาชี ริ่ม้ แในหรื อหลังวันชทีาชี ่ 1พมกราคม 2555 และร้ บัญอชียละ ณ วั23นทีส�่ 31 วาคม 2557 และญ2556 ตามค จงของสภาวิ บัญชีที่ออกในปี 2555อยละ 20 ของก�ำไรสุทธิสำ� หรับ สองรอบระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือ101 หลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามล�ำดับ พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลา 35การลดอั กาไรต่ อหุ้นเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 20 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2558 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 ตราภาษี กลุ่มบริษัท/บริษัทใช้อัตราภาษีเงินได้ที่ลดลงเหลือร้อยละ 20 ในการวัดมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ าไรต่ อ2557 หุ้นขั้นและ พืน้ 2556 ฐาน ตามค�ำชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชีที่ออกในปี 2555 31 ธันกวาคม

35 ก�กำาไรต่ ไรต่ออหุหุน้ ขั้น้นพื้นฐานสาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 คานวณจากกาไรสาหรับปี ที่เป็ นส่ วนของ ญของบริ ษทั และจานวนหุ น้ สามัญที่ออกจาหน่ายแล้วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก โดย ก�ำไรต่ผูอถ้หุือ้นหุขัน้น้ พืสามั ้นฐาน แสดงการคานวณดังนี้

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ค�ำนวณจากก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ ของบริษัทและจ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้วระหว่างปีในแต่ละปีโดยถัวเฉลี่ยถ่วงน�ำ้ หนัก โดยแสดงการค�ำนวณดังนี้

กาไรที่เป็ นส่ วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษทั (ขั้นพืน้ ฐาน) จานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถ่ วงน้าหนัก (ขั้นพืน้ ฐาน) กาไรต่ อหุ้น (ขั้นพืน้ ฐาน) (บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิ จการ 2557งบการเงินรวม 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท/ล้าานหุ นหุน้ ้ น )) (ล้ านบาท/ล้ 36,033

36,274

34,866

36,648

2,973 12.12

2,973 12.20

2,973 11.73

2,973 12.33


บริษัท กแอดวานซ์ อินบโฟร์ าไรต่ อหุ้นปรั ลด เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย 163 รายงานประจำป�ระกอบงบการเงิ ปี 2557 / บริษัท แอดวานซ์ หมายเหตุ น อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) กาไรต่อหุ น้ ปรับลดสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 คานวณจากกาไรสาหรับปี ที่เป็ นส่ วนของผู ้ กถืาไรต่ หุ้นปรัษบลด อหุน้ อของบริ ทั และจานวนหุ น้ สามัญที่ออกจาหน่ายแล้วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักหลังจาก ที่ได้ปรับปรุ งผลกระทบของหุน้ ปรับลด ดังนี้

กาไรต่อหุ น้ ปรับลดสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 คานวณจากกาไรสาหรับปี ที่เป็ นส่ วนของผู ้ ในแต่ละปี โดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักหลังจาก ก�ำไรต่ถืออหุหุ้นน้ ปรัของบริ บลด ษทั และจานวนหุ น้ สามัญที่ออกจาหน่ายแล้วระหว่างปี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ได้ปรับปรุ งผลกระทบของหุน้ ปรับลด ดังนี้ 2556ำไรส�ำหรับปีท2557 ก�ำไรต่อหุ้นปรับลดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ2557 2556 ค�ำนวณจากก� ี่เป็นส่วนของผู้ถือหุ2556 ้นของบริษัท และจ�ำนวนหุน้ สามัญทีอ่ อกจ�ำหน่ายแล้วระหว่างปีในแต่ละปี โดยวิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักหลั(ล้งจากที ไ ่ ด้ ป รั บ ปรุ ง ผลกระทบของหุ น ้ ปรั บลด ดังนี้ านบาท/ล้ านหุ้น) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม2556 งบการเงิ นเฉพาะกิจ2556 การ 36,648 กาไรที่เป็ นส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั (ขั้นพื้นฐาน) 2557 36,033 36,274 2557 34,866 2557 2556 2557 2556 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท/ล้าานหุ นหุน้ ้ น ) ) 34,866 กาไรที่เป็ นส่ วนของผู้ถือหุ้นของบริษทั (ปรับลด) 36,033 36,648 (ล้ า36,274 นบาท/ล้ 36,033 2,973 36,033 -

หุ้น (ปรับลด) (บาท) เงิกาไรต่ นปันอผล

36,274 36,2742,973 -

34,866 34,8662,973 -

36,648 36,6482,973 -

2,973 2,973 -

2,973 2,973 -

2,973 2,973 -

2,973 -2,973

12.12 2,973

12.20 2,973

11.73 2,973

12.33 2,973

12.12

12.20

11.73

12.33

3636 เงิ เงิทีน่น ปปัระชุ สามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี และคณะกรรมการของบริ ษทั ได้อนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลและเงินปั นผลระหว่างกาล ปันนผลมผล หุน้ ญดัผูง้ถนีือ้ หุ้นประจ�ำปีและคณะกรรมการของบริษัทได้อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลและเงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือหุ้น ดังนี้ ที่ปแก่ ระชุผถูม้ ือสามั ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี และคณะกรรมการของบริ ษทั ได้อนุมตั ิให้จ่ายเงินปั นผลและเงินปั นผลระหว่างกาล ส�ำหรับแก่ปีสผิ้นถู ้ สุือดหุวัน้ นทีดั่ ง31 ธันวาคม 2556 สาหรั บปี สิ้นสุนีด้ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

วันที่ประชุม

วันที่ประชุม

มติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ มติที่ประชุมคณะกรรมการ มติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้

27 าคมม2556 วันทีมี่ปนระชุ 7 สิ งหาคม 2556 27 มีนาคม 2556

มติที่ประชุมคณะกรรมการ

7 สิ งหาคม 2556

อัตราการจ่ อัตราการจ่ ายเงินายปันผล เงินเงินปัปันนผลรวม ผลรวม เงินปันผล (บาท/หุ (ล้ า(ล้นบาท) (บาท/หุน้ ้ น) ) านบาท) อัตราการจ่ ายเงินปันผล เงินปันผลรวม 14,863 (บาท/หุ5.00 ้ น) (ล้ านบาท) 6.40 19,026 5.00 14,863

6.40

33,889 19,026 33,889

103 103

รายงานทางการเงิน

36

านวนหุ ญโดยวิ เฉลี่ยถ่ษวงน ้ าหนั กจาไรที ่เป็ นน้ ส่สามั วนของผู ถ้ ือธหุี ถน้ วั ของบริ ทั (ขั ้ นพืก้ นฐาน) (ขั้นพื่เป็้นนส่ ฐาน) กาไรที วนของผู้ถือหุ้นของบริษทั (ปรับลด) จผลกระทบจากการจ่ านวนหุน้ สามัญโดยวิายโดยใช้ ธีถวั เฉลีห่ยถุ่น้ วเป็งนน้ าเกณฑ์ หนัก จานวนหุ ้ นสามัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถ่ วงน้าหนัก (ขั้นพื้นฐาน) (ปรับลด) ผลกระทบจากการจ่ ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ จานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถ่ วงน้าหนัก กาไรต่ อหุ้น (ปรับลด) (บาท) (ปรับลด)


164 บริษัทบริ แอดวานซ์ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์อินเซอร์ โฟร์วเซอร์ สิ จากัวดสิ (มหาชน) จากัด (มหาชน) และบริและบริ ษัทย่ อยษัทย่ อย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

สาหรั บสปีาหรั สิ้นสุบดปีวัสิน้นทีสุ่ ด31วันธัทีน่ วาคม 31 ธัน2557 วาคม 2557 วันที่ประชุม

วันที่ประชุ วันทีม่ประชุม

อัตราการจ่ ตราการจ่ ายเงิานยเงิปัานนยเงิ เงินปันเงิผลรวม ผลรวม อัตอัราการจ่ ปัผล นน ผลปันผล เงินนปัปัน นผลรวม (บาท/หุ (บาท/หุ ้ น)น้ ) ้ น) (ล้ านบาท) (ล้(ล้าานบาท) (บาท/หุ นบาท)

มติที่ประชุ มติทมี่ปสามั ระชุญมผูสามั ถ้ ือหุญน้ ผูถ้ ือหุ น้ 26 มีนาคม 26 มี2557 นาคม 2557 มติที่ประชุ มติทมี่ปคณะกรรมการ ระชุมคณะกรรมการ 4 สิ งหาคม 4 สิ ง2557 หาคม 2557

5.75 5.75 6.04 6.04

17,09517,095 17,95717,957 35,05235,052

37 เครื่องมือทางการเงิน

37

เครื 37 ่องมืเครื อทางการเงิ ่องมือทางการเงิ น น

นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน นโยบายการจั นโยบายการจั ดการความเสี ดการความเสี งทางด้ นการเงิ นกิจของกลุ น ่มบริษัท/บริษัท กลุ่มบริษัท/บริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุล การจั ดการความเสี ่ยงเป็ นส่ว่ยนที ่ส�ำคั่ยญางทางด้ ของธุารนการเงิ ของระดับความเสี่ยงให้เป็นที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหาร ได้มีกการจั ารควบคุ มกระบวนการการจั ดการความเสี ษบริัทอย่ งต่กลุอษ่มเนืทั บริ่อกลุ งเพื ่อบริให้ษมทั ั่น/บริ ลระหว่ ่มษบริัท/บริ ดการความเสี การจั ดการความเสี ่ ยงเป็ นส่​่ ยงเป็ วนที น่สส่าคั วนที ญของธุ ่สาคั่ยญงของกลุ รของธุ กิจของกลุ ร่มกิบริ จของกลุ ษทั ่ม/บริ ษทั า/บริ ษทั ่ม/บริ มีใจว่ ระบบในการควบคุ ษามีทั คมีวามสมดุ ระบบในการควบคุ มให้างความเสี มให้ ่ยง และการควบคุมความเสี่ยง มีความสมดุ มีความสมดุ ลของระดั ลของระดั บความเสี บความเสี ่ ยงให้เป็่ ยนงให้ ที่ ยเอมรั ป็ นทีบ่ ยได้ อมรัโดยพิ บได้จโดยพิ ารณาระหว่ จารณาระหว่ างต้นทุานงต้ทีน่เกิทุดนจากความเสี ที่เกิดจากความเสี ่ ยงและต้ ่ ยงและต้ นทุน นทุน การบริของการจั หารจัดของการจั การทุ น ดการความเสี ่มบริ ษทั ่ม/บริ ดการความเสี ่ ยง ฝ่ ายบริ ่ ยง หฝ่ ายบริ ารได้หมีการได้ ารควบคุ มีการควบคุ มกระบวนการการจั มกระบวนการการจั ดการความเสี ดการความเสี ่ ยงของกลุ ่ ยงของกลุ บริ ษทั /บริ อย่าษงทั อย่าง ต่อเนื่องเพื ต่อเนื่อให้ ่องเพื มนั่ ่อใจว่ ให้มามีนั่ คใจว่ วามสมดุ ามีความสมดุ ลระหว่ลางความเสี ระหว่างความเสี ่ ยงและการควบคุ ่ ยงและการควบคุ มความเสี มความเสี ่ ยง ่ ยง

กลุ่มบริษัท/บริษัทมีเป้าหมายที่จะบริหารโครงสร้างเงินทุนให้มีความแข็งแกร่งในระดับที่เหนือกว่าบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน และพยายามคงสถานะอันดับเครดิตในระดับทีส่ ามารถลงทุนได้ (Investment Grade) ซึง่ จะท�ำให้กลุม่ บริษทั มีสถานะการเงินทีม่ คี วามพร้อม และมี ความคล่ งตัารจั วสูดงนในการเติ การบริ หการบริ ารจัดอหการทุ การทุน บโตธุรกิจเมื่อเทียบกับคู่แข่ง อันหมายรวมถึงการมีแหล่งเงินทุนที่หลากหลาย ความสามารถในการ จัดหาเงินทุนที่คล่องตัว และมีระดับต้นทุนที่เหมาะสม

• ในระยะ 3-5 ปี กลุ อุษตทั ่มสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยอาจมี การเปลี นเทคโนโลยี ำเป็นงในระดั ต้บอทีงมี กบารลงทุ นอเพิกว่  กลุ  ่มบริ /บริ บริ ษทั /บริ มีเป้ ษาหมายที ทั มีเป้ าหมายที ่จะบริ ห่จารโครงสร้ ะบริ หารโครงสร้ างเงิน่ยทุนแปลงด้ านงเงิให้นมทุีคนาวามแข็ ให้มีความแข็ งแกร่ซงึ่งในระดั งจ�แกร่ ่เหนื อทีกว่​่เหนื าบริ ษ่มทั าเติอืบริ่นม ษกลุทั อื่ม่นบริษัท เชื่อว่าโครงสร้ งเงิ นของกลุ ษัทมีความพร้อมส�นดัำหรั บนการขยายการเติ โตต่ และเชื ่อว่าGrade) กลุ่มบริGrade) ษัท/บริษัท ในอุตาสาหกรรมเดี ในอุนตทุสาหกรรมเดี ยวกั่มนบริและพยายามคงสถานะอั ยษวกั​ัท/บริ น และพยายามคงสถานะอั บเครดิ ดัตบในระดั เครดิตในระดั บที่สบามารถลงทุ บทีอ่สไปในอนาคต ามารถลงทุ นได้ (Investment นได้ (Investment ยังสามารถเพิ่มระดับหนี้ที่มีอยู่ต�่ำในปัจจุบันได้มากขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ่มบริกษลุทั ่มมีบริสถานะการเงิ ซึ่ งจะทซึาให้ ่ งจะท กลุาให้ ษทั มีสถานะการเงิ นที่มีความพร้ นที่มีความพร้ อมและมี อมและมี ความคล่ความคล่ องตัวสูองในการเติ งตัวสูงในการเติ บโตธุ รบกิโตธุ จเมื่อรเที กิจยเมืบกั่อเที บ ยบกับ ความเสี่ยงด้าคูนอั ่แข่ตงราดอกเบี อัคูน่แหมายรวมถึ ข่ง อั้ยนหมายรวมถึ งการมีงแการมี หล่งเงิแนหล่ทุนงเงิทีน่ หทุลากหลาย นที่ หลากหลาย ความสามารถในการจั ความสามารถในการจั ดหาเงิ นดทุหาเงิ นทีน่ คล่ทุอนงตั ที่ ควล่และมี องตัว และมี นตราดอกเบี ทุนบทีต้่เนหมาะสม ทุยน้ ทีหมายถึ ่เหมาะสม ความเสีย่ ระดั งด้าบนอัต้ระดั งความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบีย้ ในตลาด ซึง่ ส่งผลกระทบ

ต่อการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท/บริษัท เนื่องจากดอกเบี้ยของหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารหนี้และเงินกู้ยืมบางส่วนมีอัตรา ลอยตัวกลุม่ ในระยะ บริ ษทั /บริ ษทั ปีมีคอุ3-5 วามเสี านอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากเงินกูกย้ มืารเปลี (ดูหกมายเหตุ อ้ า20) กลุาม่ นเทคโนโลยี บริษทั ซ/บริ ษทั ซได้ ดความเสี ในระยะ 3-5 ตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยอาจมี ปี อุย่ งด้ ตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยอาจมี ่ยารเปลี นแปลงด้ ่ยขนแปลงด้ นเทคโนโลยี ่ ึ งจาเป็ น่ ึ งต้จลอาเป็ งมีนกต้ารองมีย่ งดั การงกล่าว โดยท�ำให้แน่ใจว่าดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากหลักทรัพย์ทเี่ ป็นตราสารหนีแ้ ละเงินกูย้ มื ส่วนใหญ่มอี ตั ราคงที่ และใช้เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสาร ่มบริ ษทั ่ม/บริ นเพิลงทุ กลุ ษทั ่มย่ เชืบริ ทาั โครงสร้ เชื่ อว่าโครงสร้ งเงิอ่ นใช้ทุาในงเงิ ของกลุ นทุนดการความเสี ของกลุ บริย่ ษงทีทั เ่ /บริ มีกิดคจากความผั วามพร้ ษทั มีความพร้ อมสนาหรั อมส บการขยายการ าหรัตบราดอกเบี การขยายการ ่มเติ่มมบริกลุ อนุพนั ธ์ซงึ่ ส่วลงทุ นใหญ่ เป็่มนเติสันญมเพิญาแลกเปลี นอั่ อษตว่ราดอกเบี ย้ าเพื นการจั ผวนของอั ย้ ทีเ่ กิดจาก หลักทรัพย์ทเติี่เป็บนโตต่ ตราสารหนี นกู้ยและเชื ืมเป็น่การเฉพาะ เติอบไปในอนาคต โตต่้แอละเงิ ไปในอนาคต อและเชื ว่ากลุ่ อมว่บริากลุ ษทั ่ม/บริ บริ ษทั /บริ ยังสามารถเพิ ษทั ยังสามารถเพิ ระดั อยู่ต้ ท่าี่ มในปั ีอยู่ตจ่าจุในปั บนั ได้ จจุมบากขึ นั ได้​้ นมากขึ้ น ้ ทบี่ มีหนี ่มระดับ่มหนี เพื่อรองรั เพืบ่อรองรั การขยายธุ บการขยายธุ รกิจ รกิจ

ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ

กลุ่มบริษัท/บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งเกิดจากค่าใช้จ่ายและเงินกู้ยืมที่เป็นเงินตราต่างประเทศ กลุม่ บริษทั /บริษทั ได้ทำ� สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึง่ รายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึง่ ปี เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งของหนีส้ นิ ทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศและสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงของเงินกู้ยืม ระยะยาวที่เป็นเงินตามต่างประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่รายงานเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับเงินกู้ยืม ที่เป็นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป 104 104


/

165

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็ นผลมาจาก ย์และหนี ิ นทีษ่เทั ป็และบริ นเงินตราต่ งนี้ ตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสนิ ทรัพย์ ณการมี วันทีส่ิ น31ทรัธัพนวาคม กลุม่ ้ สบริ ษทั มีคางประเทศดั วามเสีย่ งจากอั

และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้

สินทรั พย์ เงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เงินเหรี ยญสิ งคโปร์ เงินยูโร หนี้สิน

ยอดบัญชีที่มคี วามเสี่ ยงในงบแสดงฐานะการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ ยงคงเหลือสุ ทธิ

397 38 39 474

833 2 835

160 49 15 224

371 1 372

(16,639) (11) (4) (16,654)

(18,280) (102) (39) (17) (3) (121) (18,562)

(11,594) (3) (1) (11,598)

(14,311) (14) (17) (5) (3) (4) (14,354)

10,499 484 (5,197)

12,780 865 (4,082)

10,499 209 (666)

12,780 865 (337)

106

รายงานทางการเงิน

เงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เงินเยนญี่ปุ่น เงินเหรี ยญสิ งคโปร์ เงินยูโร เงินออสเตรเลีย เงินปอนด์สเตอริ ง

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้านบาท) (ล้ านบาท)


166 บริษัทบริแอดวานซ์ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์อินเซอร์ โฟร์ วเซอร์ สิ จากัวสิ ด จ(มหาชน) ากัด (มหาชน) และบริและบริ ษัทย่ อษยัทย่ อย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น ณ วันทีณ่ 31วันธัทีน่ 31 วาคม ธันวาคม ลูกหนีลู้ (เจ้ กหนี าหนี าหนี้) ญตามสั ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยนและสั ่ยนและสั ญญาอัญตราแลกเปลี ญาอัตราแลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าวสุงหน้ ทธิ ามีสุดทงั ธินี้ มีดงั นี้ ้ (เจ้ ้ ) ตามสั

ณ วันที่ 31 ธันวาคม ลูกหนี้ (เจ้าหนี้) ตามสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าสุทธิ มีดังนี้

สัญญาแลกเปลี สัญญาแลกเปลี ่ยน ่ยน ลูกหนีลู้ ตกามสั หนีญ ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ ยน ่ ยน ้ ตามสั เจ้าหนีเจ้ าหนีญ ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยน **่ยน ** ้ ตามสั ้ ตามสั รวมลูกรวมลู หนี้/(เจ้ กหนี าหนี าหนี้) ญตามสั ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยน ่ยน ้ /(เจ้ ้ ) ตามสั

งบการเงิ งบการเงิ นรวมนรวม งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2557 2556 2556 2556 2557 2557 2557 2556 2556 2557 2556 (ล้ า นบาท ) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท)

11,22111,221 13,33313,333 11,22111,221 13,33313,333 (10,499) (10,499) (12,780) (12,780) (10,499) (10,499) (12,780) (12,780) 722 722 553 553 722 722 553 553

สัญญาอั สัญตราแลกเปลี ญาอัตราแลกเปลี ่ยนล่ วงหน้ ่ยนล่าวงหน้ า ลูกหนีลู้ ตกามสั หนีญ ญาอัญตราแลกเปลี ญาอัตราแลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าวงหน้า 471 471 ้ ตามสั เจ้าหนีเจ้ าหนีญ ญาอัญตราแลกเปลี ญาอัตราแลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าว** งหน้า** (484) (484) ้ ตามสั ้ ตามสั รวมเจ้รวมเจ้ าหนี้ตามสั าหนีญ ญาอัญตราแลกเปลี ญาอัตราแลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าวงหน้า (13) (13) ้ ตามสั รวมสัญรวมสั ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยนและอั ่ยนและอั ตราแลกเปลี ตราแลกเปลี ่ยน ่ยน ล่ วงหน้ล่าวงหน้ า ลูกหนีลู้ ตกามสั หนีญ ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยนและอั ่ยนและอั ตรา ตรา ้ ตามสั แลกเปลี แลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าวงหน้า เจ้าหนีเจ้ าหนีญ ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยนและอั ่ยนและอั ตรา ตรา ้ ตามสั ้ ตามสั แลกเปลี แลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าว** งหน้า** รวมลูกรวมลู หนี/้ (เจ้ กหนี าหนี /้ (เจ้)้ ตามสั าหนี)้ ญตามสั ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ย่ น ย่ น และอัตและอั ราแลกเปลี ตราแลกเปลี ย่ นล่ วงหน้ ย่ นล่าวงหน้ า สินทรัสิพนย์ทรั (หนี พย์้สิน(หนี ) หมุ ้สินน)เวีหมุ ยนนเวียน สิ นทรัสิพนย์หทรัมุพนย์เวีหยมุนอื นเวี่นยนอื่น หนี้สินหนี หมุ้ สนิ นเวีหมุ ยนอื นเวี่นยนอื่น รวมสิ นรวมสิ ทรัพนย์ทรั (หนี พย์ส้ ิ น(หนี ) หมุ ส้ ิ นน)เวีหมุ ยนนเวียน สินทรัสิพนย์ทรั (หนี พย์้สิน(หนี ) ไม่้สหินมุ) นไม่เวีหยมุนนเวียน ลูกหนีลู้ ตกามสั หนีญ ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยนและอั ่ยนและอั ตรา ตรา ้ ตามสั แลกเปลี แลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าวงหน้า เจ้าหนีเจ้ าหนีญ ญาแลกเปลี ญญาแลกเปลี ่ยนและอั ่ยนและอั ตรา ตรา ้ ตามสั ้ ตามสั แลกเปลี แลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ่ยนล่าวงหน้า รวมสิ นรวมสิ ทรัพนย์ทรั (หนี พย์ส้ ิ น(หนี ) ไม่ส้ หิ นมุ) นไม่เวีหยมุนนเวียน รวม รวม

11,69211,692

801 801 (865) (865) (64) (64)

197 197 (209) (209) (12) (12)

801 801 (865) (865) (64) (64)

14,13414,134

11,41811,418

14,13414,134

(10,983) (10,983) (13,645) (13,645) (10,708) (10,708) (13,645) (13,645) 709 709

489 489

710 710

489 489

141 141 (1) (1) 140 140

- (164) (164) (164) (164)

141 141 - 141 141

- (164) (164) (164) (164)

569 569

741 741

569 569

741 741

- 569 569 709 709

(88) (88) 653 653 489 489

- 569 569 710 710

(88) (88) 653 653 489 489

107 107


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย รายงานประจำ�ปี 2557 / บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน

167

ราคาตามสัญญาและมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีราคาตามสั ดงั นี้ ญญาและมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ นรวม ราคาตามสัญญาและมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลีงบการเงิ ่ยนล่วงหน้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาแลกเปลี ่ยน ่ยนล่วงหน้า ญาอัตราแลกเปลี สัรวม ญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิน นเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ ราคาตามสัญญา** มูลค่ายุติธรรม* มูลค่ายุติธรรม* ราคาตามสัญญา** ราคาตามสัญญา** มูลค่ายุติธรรม* 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้ า นบาท) 2557 2556 (ล้ านบาท) 2557 2556 10,499 12,780(ล้ านบาท) 10,945 13,153 10,499 12,780 10,945 13,153 209 865 200 817 209 865 200 817 10,708 13,645 11,145 13,970 10,708 13,645 11,145 13,970

* มูลค่ายุ*ตธมูิ รรมของสั ญาแลกเปลีย่ นเงิ นตราต่างประเทศ ญญาซืาอ้ งประเทศ ขายเงินตราต่และสั างประเทศล่ วงหน้​้ อาขายเงิ คือ การปรั บมูลค่าาของสั ญญาทีบ่ ริวษงหน้ ทั ท�ำไว้ากคืบั อธนาคารตั ลค่ายุตญิธรรมของสั ญญาแลกเปลี ่ยนเงิและสั นตราต่ ญญาซื นตราต่ งประเทศล่ การ ง้ แต่เริม่ ต้น ด้วยราคาตลาด ณ วันที่ในรายงานเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าของสัญญา ณ เวลาปัจจุบันมากขึ้น * มูบลญมูค่ญาของสั ธรรมของสั นตราต่ งประเทศ และสั ญญาซืว้ องหน้ ขายเงิ างประเทศล่ ปรั ลายุค่ตาิของสั ญญาทีญ่บ่ยญาแลกเปลี ริ ษนทั ตราต่ ทาไว้ ก่ยบั นเงิ ธนาคารตั ริ่ มต้นนตราต่ ด้วยราคาตลาด ณา วัคืนนอทีตราต่ ่ใมูนรายงานเพื ห็อนการ ถึง ้งแต่เริ่มต้น ้ งาแต่ ** ราคาตามสั ญญาแลกเปลี นเงิ างประเทศและสั ญญาซื ้อเขายเงิ างประเทศล่ ลค่าของสั ญญาที่อ่บสะท้ ริษวัทงหน้ ท�อำนให้ ไว้ากับคืเธนาคารตั และจะต้มู อ งจ่ า ยช� ำ ระคื น เมื อ ่ ถึ ง วั น ครบก� ำ หนดตามสั ญ ญา ปรัลบค่ามูของสั ลค่าของสั ่บริ ษจจุทั บทนั าไว้ กบั นธนาคารตั้งแต่เริ่ มต้น ด้วยราคาตลาด ณ วันที่ในรายงานเพื่อสะท้อนให้เห็นถึง ญญาญณญาที เวลาปั มากขึ

้ ค่าของสั ความเสีมู่ยลงทางด้ านสิญนญา เชื่อณ เวลาปัจจุบนั มากขึ้น ** ราคาตามสัญญาของสัญญาแลกเปลี่ยนเงิ นตราต่างประเทศและสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า คื อ ความเสี ่ยของสั งทางด้ญญาที านสิ น่บเชืริ ษ่อทั ทคืาไว้ ่ยงที่ย่ลนเงิ ูกงค้แต่นาหรื อต้คูนา่สงประเทศและสั ัญและจะต้ ญาไม่สอามารถช� ำระหนี ้แ่อก่ถึกงนลุวั่มตราต่ บริ ษาัทงประเทศล่ /บริ ษัท ตามเงื ่อานไขที ** ราคาตามสั ญญาของสั ญอความเสี ญาแลกเปลี ตราต่ ญาระคื ญาซื วงหน้ คื อ ่ตกลงไว้ ้ นอขายเงิ ั มู ล ค่ า ก บ ธนาคารตั เ ริ ม งจ่ า ยช เมื น ครบก าหนดตามสั ญ ญา ่ ้ เมื่อครบก�ำหนด มูลค่าของสัญญาที่บริ ษทั ทาไว้กบั ธนาคารตั้งแต่เริ่ มต้น และจะต้องจ่ายชาระคืนเมื่อถึงวันครบกาหนดตามสัญญา

ฝ่ายบริหารได้ก�ำหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวอย่างสม�่ำเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะ ทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระส�ำคัญ การบริหารสภาพคล่องส่วนเกิน สภาพคล่องส่วนเกิน (หมายถึง เงินสดส่วนเกินหลังจากการใช้จา่ ยในเงินทุนหมุนเวียนและการลงทุน) หลังจากได้พจิ ารณาความจ�ำเป็น ในโครงการลงทุนใหม่ๆส�ำหรับการเติบโตของธุรกิจ และภาระด้านหนี้สินและ/หรือข้อก�ำหนดอื่นใดแล้ว จะพิจารณาจ่ายเป็นผลตอบแทน ให้แก่ผู้ถือหุ้นต่อไป

108 108

รายงานทางการเงิน

สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาอั ญาแลกเปลี ่ยน ่ยนล่วงหน้า ตราแลกเปลี สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า รวม รวม

ราคาตามสัญญา**งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม* งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม* ราคาตามสัญญา** 2557 2556 2557มูลค่ายุติธรรม*2556 ราคาตามสัญญา** 2557 2556 (ล้ านบาท) 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (ล้านบาท) 10,499 12,780(ล้ านบาท) 10,945 13,153 10,499 12,780 10,945 13,153 484 865 477 817 865 477 817 484 10,983 13,645 11,422 13,970 10,983 13,645 11,422 13,970


168

การก�ำหนดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยของกลุ่มบริษัท/บริษัทก�ำหนดให้มีการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมทั้งสินทรัพย์และหนี้สินทั้งทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือช�ำระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสอง ฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรือการเปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรมถูกก�ำหนดโดยวิธตี อ่ ไปนี้ ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับสมมติฐานในการก�ำหนด มูลค่ายุติธรรมถูกเปิดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ กลุ่มบริษัท/บริษัทใช้วิธีการและข้อสมมติฐานในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินแต่ละชนิด ดังนี้ • มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้และเจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้และเจ้าหนี้อื่น เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี • มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารทุนและตราสารหนี้ที่จะถือไว้จนครบก�ำหนดเป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคา ษทีัท่บแอดวานซ์ ันทึกในบัญชีอินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย บริ • มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากส่วนใหญ่ หมายเหตุ ของเครืป่อระกอบงบการเงิ งมือทางการเงินนเหล่านี้มีดอกเบี้ยในอัตราตลาด • มูลค่ายุตธิ รรมของเงินกูย้ มื ระยะยาว มูลค่าทีแ่ สดงในงบดุลมีจำ� นวนใกล้เคียงกับมูลค่ายุตธิ รรม เนือ่ งจากส่วนใหญ่ของเครือ่ งมือทางการเงิน เหล่ภาระผู านี้มีดกอกเบี ราตลาด 38 พันกั้ยบในอั บุคตคลหรื อกิจการที่ไม่ เกีย่ วข้ องกัน

38 ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินรวม 2557 งบการเงินรวม 2556

2557

ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน สั ญญาที่ ยังไม่ ได้ รับรู้ สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตนภายใต้ สัญญาอนุญาต ให้ ดาเนินการ เงินบาท เงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เงินเยนญี่ปุ่น

2556

(ล้ า(ล้น) าน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิ2556 จการ 2557 2557

2556

69 3 -

453 8 33

69 3 -

453 8 33

อาคารและอุปกรณ์ เงินบาท เงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เงินเยนญี่ปุ่น เงินยูโร

18,765 314 97 -

15,166 268 411 1

30 -

117 -

ค่ าบารุ งรักษา เงินบาท เงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เงินเยนญี่ปุ่น

1,651 16 12

1,043 19 11

607 6 10

372 11 11

งบการเงินรวม 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ล้ านบาท)


เงินเยนญี่ปุ่น เงินยูโร

97 -

ค่ าบารุ งรักษา/ เงินบาท เงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เงินเยนญี่ปุ่น

411 1

-

-

169

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

1,651 16 12

1,043 19 11

607 6 10

372 11 11

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2557 2556 2556 (ล้านบาท) (ล้ านบาท) ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดาเนินงานที่

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย ยกเลิกไม่ ได้ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม

110 10,983

13,645

10,708

13,645

1,460 3,912 1,029 17,384

1,460 7,824 945 23,874

1,460 313 12,481

1,460 418 15,523

่มบริ ญญาเช่ าและบริ ่ ทาการส านักงานสาขา รถยนต์ คอมพิ วเตอร์ และสถานี โดยมี กลุกลุ ่มบริ ษัทษได้ทั ทได้�ำสัทญาสัญาเช่ าและบริ การส�การส ำหรัาหรั บที่ทบ�ำทีการส� ำนักงานสาขา รถยนต์ คอมพิ วเตอร์ และสถานี ฐานฐาน โดยมี ระยะเวลาการเช่า ตั้งแต่ ระยะเวลาการเช่ 1 ปี ถึง 15 ปี และสามารถต่ อ อายุ ไ ด้ าตั้งแต่ 1 ปี ถึง 15 ปี และสามารถต่ออายุได้

39 หนี ้สินที่อาจเกิดขึ้น หนีส้ ิ นที่อาจเกิดขึน้

39

กรมสรรพากรได้มหี นังสือแจ้งให้นำ� ส่งภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลหัก ณ ทีจ่ า่ ย ฉบับลงวันที่ 18 มกราคม 2556 ให้บริษทั และบริษทั ดิจติ อล โฟน จ�ำกัด (“DPC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จ่ายช�ำระเงินเพิ่มจ�ำนวนเงิน 128 ล้านบาท และ 6 ล้านบาทตามล�ำดับ จากกรณีการหักภาษีเงินได้ กรมสรรพากรได้ มีหนังตสือบแทนโดยได้ อแจ้งให้นาส่ งนภาษี นิติสบรรพสามิ ุคคลหัก ณ นที่ 18 มกราคม 2556 ให้บริ ษทั จารณาว่าเงิน ณ จ่ายของเงิ นผลประโยชน์ �ำเงิเนงินค่ได้ าภาษี ตทีที่ไ่จด้่าจย่าฉบั ยไว้บแลงวั ล้วมาหั กออก ซึ่งกรมสรรพากรพิ ค่าภาษีและบริ สรรพสามิ วนหนึจากั ่งของค่ าผลประโยชน์ ตอบแทน นั้นาระเงิ การทีน่บเพิริษ่มัทจและ DPC ักและน�และ ำส่ง6ภาษี ษทั ตดิถืจอิตเป็อลนส่โฟน ด (“DPC”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ดัจ่างยช านวนเงิ น 128มิไล้ด้าหนบาท ล้านจากจ�ำนวนเงิน ภาษีสรรพสามิ ต ที น ่ ำ � มาหั ก ออกเป็ น การน� ำ ส่ ง ภาษี ท ไ ่ ี ม่ ค รบถ้ ว น ต้ อ งรั บ ผิ ด ช� ำ ระเงิ น เพิ ม ่ ตามจ� ำ นวนดั ง กล่ า ว บริ ษ ท ั และ DPC บาทตามลาดับ จากกรณี การหักภาษีเงินได้ ณ จ่ายของเงินผลประโยชน์ตอบแทนโดยได้นาเงินค่าภาษีสรรพสามิตที่ ได้ยนื่ อุทธรณ์ คัดค้านต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ขณะนี้กรณีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ได้จ่ายไว้แล้วมาหักออก ซึ่ งกรมสรรพากรพิจารณาว่าเงินค่าภาษีสรรพสามิตถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของค่าผลประโยชน์ ตอบแทน ดังนั้นการที่ บริ ษทั และ DPC มิได้หักและนาส่ งภาษีจากจานวนเงินภาษีสรรพสามิตที่ นามาหักออกเป็ น การนาส่ งภาษีที่ไม่ครบถ้วน ต้องรับผิดชาระเงินเพิ่มตามจานวนดังกล่าว บริ ษทั และ DPC ได้ยื่นอุทธรณ์คดั ค้านต่อ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ขณะนี้กรณี ดงั กล่าวอยูใ่ นขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์

รายงานทางการเงิน

ภาระผูกพันอื่น สัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาซื้ อขาย เงินตราต่างประเทศ หนังสื อค้ าประกันจากธนาคาร - สัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ - ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม - อื่นๆ รวม

1,722 1,321 292 414 2,073 1,511 262 415 งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ 2 2 2557 2556 2557 2556 2,834 554 831 3,795 (ล้ านบาท)


170

40 เหตุการณ์ส�ำคัญ ข้อพิพาททางการค้าและคดีความที่ส�ำคัญ เฉพาะบริษัท

1) ความเห็นของส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการ ตามทีก่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารได้มหี นังสือถึงส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกีย่ วกับการแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะหว่างบริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ ในขณะทีม่ สี ถานะเป็นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (“ทีโอที”) กับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือ ด�ำเนินการในกิจการของรัฐ 2535 ใช้บังคับว่าได้ด�ำเนินการถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ และหากการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตฯ ด�ำเนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จะมีแนวทางการปฏิบัติต่อไปอย่างไร ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีบันทึกส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมงานหรือด�ำเนินการในกิจการของรัฐ 2535 (กรณีสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างบริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) กับบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน)) เรื่อง เสร็จที่ 291/2550 ให้ความเห็นดังนี ้ * “… ทีโอทีเข้าเป็นคูส่ ญั ญาในเรือ่ งนีเ้ ป็นการกระท�ำแทนรัฐ โดยอาศัยอ�ำนาจหน้าทีต่ ามกฎหมายว่าด้วยองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย สัญญาอนุญาตฯ ที่เกิดขึ้นจึงเป็นสัญญาระหว่างรัฐกับเอกชนเพื่อมอบหมายให้เอกชนด�ำเนินการให้บริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหน้าที่ ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในสัญญาดังกล่าว แต่เมือ่ การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีขอ้ หารือด�ำเนินการไม่ถกู ต้องตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ ซึ่งมีผลใช้บังคับในขณะที่มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ เนื่องจากมิได้เสนอเรื่องการแก้ไขเพิ่มเติมให้คณะกรรมการประสานงาน ตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอให้คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นองค์กรที่มีอ�ำนาจพิจารณาเห็นชอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวดังที่ได้วินิจฉัยข้างต้น การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ โดย ทีโอที เป็นคู่สัญญา จึงกระท�ำไป โดยไม่มีอำ� นาจตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอันเป็นนิติกรรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ท�ำขึ้นได้ และข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ท�ำขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือ เหตุอื่น หากคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมายได้พิจารณาถึงเหตุแห่งการเพิกถอน ผลกระทบและความเหมาะสม โดยค�ำนึงถึง ประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะแล้วว่า การด�ำเนินการที่ไม่ถูกต้องนั้นมีความเสียหายอันสมควรจะต้องเพิกถอนข้อตกลงต่อท้าย สัญญาอนุญาตฯ ที่ท�ำขึ้น คณะรัฐมนตรีก็ชอบที่จะเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ แต่ถ้าคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้วมีเหตุผล ความจ�ำเป็นเพื่อประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะและเพื่อความต่อเนื่องของการให้บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีก็อาจใช้ดุลพินิจ พิจารณาให้ความเห็นชอบให้มกี ารด�ำเนินการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการ และคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 เป็นผู้ด�ำเนินการเสนอข้อเท็จจริง เหตุผลและความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของ คณะรัฐมนตรี” * ข้อความข้างต้นเฉพาะในเครื่องหมาย “...” เป็นเพียงข้อความที่คัดลอกมาบางส่วนจากบันทึกความเห็นของส�ำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 291/2550 ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ได้เสนอความเห็นกรณีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของบริษัท ต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแล้ว 2) กรณีการน�ำภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินส่วนแบ่งรายได้ระหว่างบริษัทกับ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 9/2551 ต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร้องให้บริษัทช�ำระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมอีกประมาณ 31,463 ล้านบาท ตามสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินดังกล่าว นับตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2550 อันเป็นวันผิดนัดจนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น


/

171

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

จ�ำนวนเงินที่ ทีโอที เรียกร้องดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่บริษัทได้น�ำส่งตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2546 ถึง วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 และน�ำมาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ ซึ่งเป็นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้องครบถ้วนแล้ว และมีการปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันทัง้ อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือ่ นที่ อีกทัง้ ทีโอที ได้เคยมีหนังสือตอบ เลขที่ ทศท. บย./843 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2546 โดยระบุวา่ บริษทั ได้ปฏิบตั ถิ กู ต้องตามมติคณะรัฐมนตรีแล้ว และบริษทั มีภาระเท่าเดิมตามอัตราร้อยละทีก่ ำ� หนดไว้ ในสัญญา ซึ่งการด�ำเนินการยื่นแบบช�ำระภาษีสรรพสามิตดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่อข้อสัญญาแต่ประการใด เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคำ� ชี้ขาดให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาทของ ทีโอที โดยให้เหตุผลสรุปได้ว่าบริษัท มิได้เป็นผู้ผิดสัญญา โดยบริษัทได้ช�ำระหนี้ผลประโยชน์ตอบแทนเสร็จสิ้นและหนี้ทั้งหมดได้ระงับไปแล้ว ทีโอทีจึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ บริษัทช�ำระหนี้ซ�้ำ เพื่อเรียกส่วนที่อ้างว่าขาดไป เมือ่ วันที่ 22 กันยายน 2554 ทีโอที ได้ยนื่ ค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเป็นคดีหมายเลขด�ำ ที่ 1918/2554 ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 3) สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (“กทช.”)

ผู้ประกอบการ

1) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 2) บริษัท ทรู มูฟ จ�ำกัด 3) บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด 4) บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) 5) บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด 6) บริษัท ดีแทค ไตรเน็ต จ�ำกัด 7) บริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จ�ำกัด

ระยะเวลาการมีผลบังคับใช้

30 พฤศจิกายน 2549 เป็นต้นไป 16 มกราคม 2550 เป็นต้นไป 1 มิถุนายน 2552 เป็นต้นไป 7 เมษายน 2553 เป็นต้นไป 1 เมษายน 2556 เป็นต้นไป 1 กรกฎาคม 2556 เป็นต้นไป 1 กรกฎาคม 2556 เป็นต้นไป

เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ได้ยื่นค�ำฟ้องส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนประกาศฯ ดังกล่าว วันที่ 15 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางได้มีคำ� พิพากษายกฟ้อง กรณี ทีโอที ยื่นฟ้องขอเพิกถอนประกาศของ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ ทีโอที ได้ยื่นอุทธรณ์ ต่อศาลปกครองสูงสุดแล้ว และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอที ได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัททราบว่า บริษัทควรรอให้ศาลมีคำ� พิพากษา เพื่อยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อไป และหากบริษัทด�ำเนินการตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติก่อนศาล มีคำ� พิพากษาถึงที่สุดทีโอทีจะไม่รับรู้ และบริษัทจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการด�ำเนินการดังกล่าว บริษัทได้พิจารณาหนังสือของทีโอทีดังกล่าวและกฎหมายที่เกี่ยวข้องประกอบกับความเห็นของที่ปรึกษากฎหมาย ฝ่ายบริหาร ของบริษัทเห็นว่า การไม่ปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมข้างต้น อาจถือได้ว่าเป็นการขัดต่อประกาศคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย บริษัทจึงได้ตัดสินใจปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่าย ซึ่งเป็นไป ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน ตามสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ก�ำหนดให้บริษัทต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ทีโอทีเป็นรายปี โดยจ่ายเป็นจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำตามที่สัญญาก�ำหนดในแต่ละปี หรือในอัตราร้อยละของรายได้ และผลประโยชน์อื่นใดที่บริษัทพึงได้รับ ในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จา่ ยและค่าภาษีใดๆ ทัง้ สิน้ จ�ำนวนไหนมากกว่าให้ถอื เอาจ�ำนวนนัน้ อย่างไรก็ตาม ค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคม เป็นรายการที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และทีโอทีต้องการรอค�ำพิพากษาถึงที่สุดในเรื่อง ขอเพิกถอนประกาศฯ จากศาล จึงเป็นรายการ

รายงานทางการเงิน

ตามพระราชบัญญัติการประกอบการกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (“กทช.”) ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 บริษัทได้ทำ� สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผู้รับใบอนุญาตราย อื่น โดยได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ดังนี้


172

ที่บริษัทคาดว่าจะมีการเจรจาตกลงเรื่องวิธีการค�ำนวณผลประโยชน์ตอบแทนรายปีในเวลาต่อมา เพื่อให้เป็นไปตามหลักความระมัดระวัง บริษทั จึงค�ำนวณค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปีจากรายได้สทุ ธิตามทีป่ ฏิบตั ใิ นทางเดียวกันทัง้ อุตสาหกรรมกิจการโทรคมนาคม ส่วนจ�ำนวน ผลประโยชน์ตอบแทนที่บริษัทต้องจ่ายให้แก่ ทีโอที นั้น ขึ้นอยู่กับผลการตัดสินจากศาลในเรื่องขอเพิกถอนประกาศฯ และการเจรจาตกลง ระหว่างบริษัทกับทีโอทีในภายหลังโดยบริษัทจะปรับปรุงรายการในงบการเงินในงวดที่การเจรจาตกลงสิ้นสุดลง ซึ่งผู้บริหารของบริษัท มีความมั่นใจว่าจะไม่เกิดค่าใช้จ่ายมากไปกว่าจ�ำนวนที่บันทึกไว้อย่างมีสาระส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม บริษัท ได้พิจารณาหนังสือของ ทีโอที ดังกล่าวและกฎหมายที่เกี่ยวข้องประกอบกับความเห็นของที่ปรึกษากฎหมาย ฝ่ายบริหารของบริษัท เห็นว่าการไม่ปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมข้างต้น อาจถือได้ว่าเป็นการขัดต่อประกาศกทช. ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายฯ บริษัท จึงได้ตัดสินใจปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่าย ซึ่งเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่มีผลใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน โดยออกใบแจ้งหนี้เพื่อเรียกเก็บค่าเชื่อมต่อโครงข่ายจากคู่สัญญา ในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 บริษัทได้น�ำส่งเงินผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ถึงเดือนมิถุนายน 2551 จ�ำนวนเงิน 761 ล้านบาท ซึ่งค�ำนวณจากรายได้สุทธิตามอัตราและวิธีคิดค�ำนวณของบริษัทให้แก่ทีโอที ซึ่งต่อมาได้มีการจัดตั้งคณะท�ำงานเจรจาเกี่ยวกับอัตราผลประโยชน์ตอบแทนจากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างบริษัทกับทีโอที แต่ก็ไม่สามารถมีข้อยุติร่วมกันได้ เนื่องจากทีโอทีต้องการให้บริษัท ช�ำระเงินส่วนแบ่งรายได้จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่บริษัท ได้รบั ทัง้ จ�ำนวนตามอัตราร้อยละทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญาอนุญาตฯ โดยมิให้บริษทั น�ำค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมทีบ่ ริษทั ถูกผูป้ ระกอบการ รายอื่นเรียกเก็บมาหักออกก่อน ในวันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอทีจึงได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัทช�ำระเงินผลประโยชน์จากรายได้ค่าเชื่อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมของปีด�ำเนินการที่ 17 - 20 เป็นเงินรวม 17,803 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน แต่บริษัท ไม่เห็นด้วยโดยได้มีหนังสือโต้แย้งคัดค้านไปยังทีโอที และบริษัทได้เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 19/2554 แล้ว เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2554 เพื่อให้คณะอนุญาโตตุลาการมีคำ� ชี้ขาดว่า ทีโอทีไม่มีสิทธิเรียกร้อง เงินผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว ในวันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ทีโอทีได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาท เลขที่ 55/2557 เรียกร้องให้ บริษัทช�ำระเงินส่วนแบ่งรายได้ของค่าเชื่อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมของปีด�ำเนินการที่ 21 - 22 เป็นเงินรวม 9,984 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจ�ำนวน เงินทีค่ า้ งช�ำระในแต่ละปี นับวันผิดนัดจนกว่าจะช�ำระเสร็จสิน้ และขอรวมพิจารณากับคดีขอ้ พิพาทหมายเลขด�ำที่ 19/2554 ขณะนีข้ อ้ พิพาท ดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ 4) ภาระผูกพันในหนังสือค�้ำประกันจากธนาคารกรณีสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ ตามสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ บริษัทมีหน้าที่ส่งมอบหนังสือค�้ำประกันของธนาคารให้แก่บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) เพื่อเป็นหลักประกันการช�ำระเงินผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำในแต่ละปีดำ� เนินงาน โดยจะได้รับคืนหนังสือค�ำ้ ประกันฉบับของปีดำ� เนินงาน ที่ผ่านมา ทีโอทีมิได้คืนหนังสือค�้ำประกันเงินประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำของปีดำ� เนินงานที่ 17 - 21 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 7,007 ล้านบาท โดยอ้างว่า บริษัทช�ำระเงินผลประโยชน์ตอบแทนไม่ครบถ้วนจากกรณีการน�ำเงินค่าภาษีสรรพสามิตมาหักออกเงินผลประโยชน์ตอบแทนและกรณี รายได้จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมซึ่งเป็นข้อพิพาทที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ ทัง้ นี้ เมือ่ วันที่ 11 พฤษภาคม 2554 และวันที่ 5 ตุลาคม 2555 บริษทั ได้เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขคดีดำ� ที่ 40/2554 และ 119/2555 ให้คณะอนุญาโตตุลาการมีคำ� วินจิ ฉัยชีข้ าดให้ทโี อทีสง่ คืนหนังสือค�ำ้ ประกันดังกล่าว ให้แก่บริษัท เนื่องจากบริษัทได้ช�ำระเงินผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำในแต่ละปีด�ำเนินงานครบถ้วน และได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคำ� ชี้ขาดให้ ทีโอที คืนหนังสือค�ำ้ ประกันเงินประโยชน์ตอบแทนขั้นต�ำ่ ของปี ด�ำเนินงานที่ 17 - 21 ให้บริษัท ต่อมาเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2557 ทีโอทีได้ยื่นค�ำร้องต่อศาลปกครองกลางเป็นคดีดำ� เลขที่ 660/2557 เพื่อขอเพิกถอนค�ำชี้ขาดดังกล่าว


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

173

ต่อมาเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2557 บริษัทยื่นค�ำร้องเป็นคดีดำ� ที่ 666/2557 ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคำ� บังคับให้ ทีโอที คืนหนังสือค�้ำประกันปีที่ 17 - 21 ให้แก่บริษัทตามค�ำชี้ขาดอนุญาโตตุลาการและช�ำระเงินค่าธรรมเนียมที่บริษัทได้ช�ำระให้แก่ธนาคาร ผู้ออกหนังสือค�้ำประกันเป็นเงินรวม 6.65 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วันที่ผู้เรียกร้องช�ำระค่าธรรมเนียม แก่ธนาคารผู้ออกหนังสือค�้ำประกัน ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 5) กรณีผู้ใช้บริการในระบบ 900 MHz โอนย้ายไปใช้บริการในระบบ 3G 2100 MHz ในวันที่ 25 กันยายน 2557 บริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ยืน่ ค�ำเสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาทสถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 80/2557 เพื่อเรียกร้องให้บริษัทช�ำระค่าเสียหายจากกรณีที่มีผู้ใช้บริการในระบบ 900 MHz ได้ขอโอนย้าย ผู้ให้บริการไปยังระบบ 3G 2100 MHz ซึ่งให้บริการโดยบริษัทย่อยของบริษัทเป็นจ�ำนวน 9,126 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วันที่ 25 กันยายน 2557 จนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนของอนุญาโตตุลาการ โดยฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่า บริษัทได้ปฎิบัติถูกต้องตามข้อสัญญา ที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว ดังนั้นผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไม่น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญ ต่องบการเงินของบริษัท บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด

เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 3/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร้องให้บริษัท ดิจิตอลโฟน จ�ำกัด (“DPC”) ช�ำระเงิน ส่วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมอีกประมาณ 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาอนุญาตให้ดำ� เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า พร้อมเรียก เบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจ�ำนวนเงินที่ค้างช�ำระในแต่ละปี นับจากวันผิดนัดจนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น ซึ่งค�ำนวณถึง เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็นเบี้ยปรับทั้งสิ้น 1,500 ล้านบาท รวมเป็นเงินประมาณ 3,949 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 กสท. ได้ยื่นค�ำร้องขอแก้ไขจ�ำนวนทุนทรัพย์รวมเบี้ยปรับลดลงเหลือ 3,410 ล้านบาท ซึ่งค�ำนวณ จากเงินส่วนแบ่งรายได้ค้างช�ำระถึงเดือนมกราคม 2551 ซึ่งได้รวมเบี้ยปรับจ�ำนวน 790 ล้านบาท และภาษีมูลค่าเพิ่ม 171 ล้านบาท จ�ำนวนเงินส่วนแบ่งรายได้ที่ กสท. เรียกร้องดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ DPC ได้นำ� ส่งตัง้ แต่ วันที่ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และได้นำ� มาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ ซึ่งเป็นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้องครบถ้วนแล้ว และมีการปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันทัง้ อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือ่ นที่ อีกทัง้ กสท. เคยมีหนังสือ เลขที่ กสท. 603 (กต.) 739 แจ้งให้ DPC ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีค�ำชี้ขาดให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาทของ กสท. โดยให้เหตุผลสรุปได้ว่า DPC มิได้เป็นผูผ้ ดิ สัญญา โดย DPC ได้ชำ� ระหนีผ้ ลประโยชน์ตอบแทนเสร็จสิน้ และหนีท้ งั้ หมดได้ระงับไปแล้ว กสท. จึงไม่มสี ทิ ธิเรียกร้องให้ DPC ช�ำระหนี้ซ�้ำ เพื่อเรียกส่วนที่อ้างว่าขาดไป รวมถึงเบี้ยปรับและภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่อ้างมา เมือ่ วันที่ 3 มิถนุ ายน 2554 กสท. ได้ยนื่ ค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเป็นคดีหมายเลขด�ำ ที่ 1259/2554 ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 2) กรณีการน�ำค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (Access Charge) มาหักออกจากเงินส่วนแบ่งรายได้ระหว่าง DPC กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ตามมติในที่ประชุมร่วมกันระหว่างบริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด (“DPC”) และ บริษัท ทรู มูฟ จ�ำกัด (“True Move”) โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร เป็นประธาน เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2547 ว่าเพื่อให้มีความเท่าเทียมในการแข่งขันของผู้ประกอบการทั้ง 3 ราย ทีโอที ยินยอมให้ลด

รายงานทางการเงิน

1) กรณีการน�ำภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินส่วนแบ่งรายได้ระหว่าง DPC กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”)


174

ค่าเชือ่ มโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ ากส่วนแบ่งรายได้ที่ ทีโอที ได้รบั จาก กสท. จ�ำนวน 22 บาท/เลขหมาย/เดือน ให้แก่ DPC และ True Move ตั้งแต่ปีการด�ำเนินการปีที่ 6 เช่นเดียวกับที่ ทีโอที ให้ส่วนลดกับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) (“DTAC”) ต่อมาเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2549 ทีโอที มีหนังสือแจ้ง กสท. ว่าไม่สามารถลดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้แก่ DPC และ True Move ได้ และเรียกร้องให้ กสท. ช�ำระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายในส่วนที่ DPC และ True Move ได้หักไว้เป็นส่วนลดค่าเชื่อมโยง โครงข่ายให้ ทีโอที จนครบถ้วน พร้อมดอกเบี้ยตามอัตราที่กฎหมายก�ำหนด นับแต่วันครบก�ำหนดช�ำระจนถึงวันที่ช�ำระครบถ้วน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 กสท. ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม ข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 68/2551 เรียกร้องให้ DPC ช�ำระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ DPC ได้หักไว้จ�ำนวน 154 ล้านบาท (ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปีด�ำเนินการที่ 7 - 10) พร้อมภาษีมูลค่าเพิ่มและเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินต้น ดังกล่าว นับแต่วันพ้นก�ำหนดช�ำระเงินของปีด�ำเนินงานในแต่ละปีตั้งแต่ปีที่ 7 ถึงปีที่ 10 จนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552 กสท. ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม ข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 96/2552 เรียกร้องให้ DPC ช�ำระค่าเชื่อมโยงโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ DPC ได้หักไว้จ�ำนวน 22 ล้านบาท (ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปีด�ำเนินการที่ 11) พร้อมเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน ซึ่งค�ำนวณถึงวันที่ 15 ตุลาคม 2552 รวมเป็นจ�ำนวนเงินที่เรียกร้องทั้งสิ้น 26 ล้านบาท เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2555 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีค�ำชี้ขาดให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาททั้งสองของ กสท. โดยให้เหตุผลสรุปได้ว่า กสท. ยังมิได้ช�ำระค่าส่วนลดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายจ�ำนวน 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนให้แก่ ทีโอที อีกทั้ง กสท. ไม่สามารถน�ำสืบได้ว่า DPC เป็นผู้ผิดสัญญา และช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนไม่ครบถ้วน ดังนั้น กสท. จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ DPC ช�ำระเงินในส่วนที่ขาดไป รวมถึง เบี้ยปรับและภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่อ้างมา เมือ่ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2555 กสท. ได้ยนื่ ค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเป็นคดีหมายเลขด�ำ ที่ 1016/2555 และในวันที่ 16 กันยายน 2557 ศาลปกครองกลางได้มีคำ� พิพากษายกค�ำร้องของ กสท. ต่อมาในวันที่ 15 ตุลาคม 2557 กสท. ได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด 3) กรณีเรียกร้องให้ช�ำระค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (Access Charge) และ การน�ำค่าเชื่อมโยงโครงข่ายมาหักออกจากเงินส่วนแบ่งรายได้ ระหว่าง DPC กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอทีได้ยนื่ ฟ้อง กสท. เป็นผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 1 และ DPC เป็นผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 2 คดีหมายเลขด�ำที่ 1099/2554 ต่อศาลปกครองกลาง เรียกร้องให้ กสท. และ DPC ร่วมกันช�ำระค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย เป็นเงินจ�ำนวน 2,436 ล้านบาทพร้อมภาษีมลู ค่าเพิม่ และดอกเบี้ยซึ่งค�ำนวณถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 รวมเป็นเงินที่เรียกร้องทั้งสิ้นจ�ำนวน 2,954 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยนับจากวันฟ้อง จนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น โดยแบ่งเป็น 1) ส่วนของ DPC ซึ่งค�ำนวณจากจ�ำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ DPC มีการให้บริการ อัตรา 200 บาทต่อเลขหมายต่อเดือน เป็นเงิน 432 ล้านบาท 2) ส่วนของ กสท. ซึ่งค�ำนวณจากครึ่งหนึ่งของส่วนแบ่งรายได้ที่ กสท. ได้รับจาก DPC เป็นเงิน 2,331 ล้านบาท 3) ส่วนลดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายจ�ำนวน 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือน ที่ DPC น�ำมาหักออกจากเงินส่วนแบ่งรายได้ เป็นเงิน 191 ล้านบาท ส่วนหนึ่งนั้นเป็นจ�ำนวนเดียวกันกับที่ กสท. เรียกร้องตามข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 68/2551 ข้างต้น แต่แตกต่างกันที่ จ�ำนวนปีที่เรียกร้องและการค�ำนวณดอกเบี้ย ต่อมาในวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ทีโอทีได้ยนื่ ค�ำร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมค�ำฟ้องต่อศาลปกครองกลาง โดยขอแก้ไขจ�ำนวนเงินค่าเชือ่ มโยง โครงข่ายที่เรียกร้องซึ่งค�ำนวณจนถึงวันที่ 16 กันยายน 2556 อันเป็นวันสิ้นสุดสัญญา พร้อมภาษีมูลค่าเพิ่มและดอกเบี้ยซึ่งค�ำนวณถึงวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 5,454 ล้านบาทพร้อมดอกเบีย้ นับจากวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 จนกว่าจะช�ำระเสร็จสิน้ โดยแบ่งเป็น 1) ส่วนของ DPC ซึ่งค�ำนวณจากจ�ำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ DPC มีการให้บริการ อัตรา 200 บาทต่อเลขหมายต่อเดือน เป็นเงิน 1,289 ล้านบาท 2) ส่วนของ กสท. ซึ่งค�ำนวณจากครึ่งหนึ่งของส่วนแบ่งรายได้ที่ กสท. ได้รับจาก DPC เป็นเงิน 3,944 ล้านบาท 3) ส่วนลดค่าเชือ่ มโยงโครงข่ายจ�ำนวน 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือน ที่ DPC น�ำมาหักออกจากเงินส่วนแบ่งรายได้ เป็นเงิน 221 ล้านบาท


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

175

ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง โดยฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าผลของข้อพิพาทและคดีดังกล่าว น่าจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไม่น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจาก DPC ได้ปฏิบัติถูกต้อง ตามกฎหมายและข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว 4) กรณีสง่ มอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายก�ำลังงาน ระหว่าง DPC กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการ ตามข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 8/2552 เพื่อเรียกร้องให้ DPC ส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จ�ำนวน 3,343 ต้น พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายก�ำลังงาน จ�ำนวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาให้ด�ำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า หากไม่สามารถส่งมอบได้ให้ DPC ชดใช้เงินเป็นจ�ำนวน 2,230 ล้านบาท ซึ่ง DPC เห็นว่า เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์ แหล่งจ่ายก�ำลังงานมิใช่เครื่องหรืออุปกรณ์ตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา เมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม 2555 คณะอนุญาโตตุลาการได้มคี ำ� ชีข้ าดให้ยกค�ำเสนอข้อพิพาทของ กสท. โดยให้เหตุผลสรุปได้วา่ การที่ กสท. เรียกร้องให้ DPC ส่งมอบทรัพย์สินเป็นการใช้สิทธิเรียกร้องก่อนครบก�ำหนดระยะเวลาที่อาจให้สิทธิตามสัญญาได้

5) กรณีปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ระหว่าง DPC กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ตามที่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้อนุมัติให้บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด (“DPC”) บริษัทย่อย ปรับลดอัตรา ค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) จาก 2.10 บาทต่อนาที เหลืออัตรานาทีละ 1.10 บาท เพื่อให้สอดคล้องกับอัตราค่าใช้บริการที่ลดต�ำ่ ลง เรื่อยๆ เป็นเวลา 3 เดือนเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 เป็นต้นไปและ DPC ได้มีหนังสือขยายระยะเวลาต่อไปอีกคราวละ 3 เดือน ซึ่ง กสท. ได้อนุมัติเรื่อยมาจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2550 โดยหลังจากนั้น กสท. มิได้มีหนังสือตอบปฏิเสธให้ DPC ทราบแต่อย่างใด จนกระทั่งในวันที่ 24 มีนาคม 2551 กสท. ได้มีหนังสือแจ้งให้ DPC ใช้อัตราค่าใช้เครือข่ายร่วมในอัตรานาทีละ 2.10 บาท ตั้งแต่ 1 เมษายน 2550 เป็นต้นไป ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 DPC จึงได้มหี นังสือขอให้ กสท. พิจารณาทบทวนการปรับอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วม โดยค�ำนึงถึงสภาวะการแข่งขันของโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นปัจจุบนั ทีม่ อี ตั ราค่าใช้บริการในตลาดทีต่ ำ�่ กว่าอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วมทีก่ ำ� หนดมาก ซึ่งท�ำให้ DPC ไม่สามารถให้บริการเครือข่ายร่วมกับผู้ประกอบการที่มาขอใช้บริการได้ และในระหว่างรอการพิจารณา DPC จะใช้อัตรา ค่าใช้เครือข่ายร่วมในนาทีละ 1.10 บาท ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ได้รับอนุมัติและถือปฏิบัติมา ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2552 กสท.ได้มีหนังสืออนุมัติให้ DPC ใช้อัตราค่าใช้เครือข่ายร่วมในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ในช่วงวันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2552 นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552 DPC และบริษัทได้ทำ� สัญญาการให้ใช้โครงข่ายโทรคมนาคม (Roaming) โดยใช้อัตรา 1.10 บาทต่อนาที และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติแล้ว เมือ่ วันที่ 15 กรกฎาคม 2553 กสท. ได้ยนื่ เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ ตาม ข้อพิพาทหมายเลขด�ำ ที่ 62/2553 เพื่อเรียกร้องให้ DPC ช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปีดำ� เนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการที่ DPC ปรับลดอัตรา ค่าใช้เครือข่ายร่วมจากอัตรานาทีละ 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2550 - 31 ธันวาคม 2551 เป็นเงินรวม 1,636 ล้านบาท พร้อมเบี้ยปรับที่ค�ำนวณถึงเดือน มีนาคม 2553 เป็นจ�ำนวน 364 ล้านบาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,000 ล้านบาท และเรียกเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน นับแต่เดือน เมษายน 2553 จนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น โดยอ้างว่า กสท. ได้อนุมัติการปรับลด อัตราค่าใช้เครือข่ายร่วมดังกล่าวจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2550 เท่านั้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 กสท. ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม ข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 89/2554 เรียกร้องให้ DPC ช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปีดำ� เนินการที่ 12 ที่เกิดจากการที่ DPC ปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วมจากอัตรานาทีละ 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาทในช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2552-15 มิถุนายน 2552 เพิ่มเติม จ�ำนวน 113 ล้านบาท พร้อมเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินต้นดังกล่าว นับตั้งแต่ 1 เมษายน 2552 จนกว่า จะช�ำระเสร็จสิ้น

รายงานทางการเงิน

เมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม 2555 กสท. ได้ยนื่ ค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเป็นคดีหมายเลขด�ำ ที่ 2757/2555 ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง


176

ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ โดยฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าค�ำวินิจฉัยชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับข้อพิพาทดังกล่าวไม่น่าจะมีผลกระทบใด ๆ ต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจาก DPC ได้ปฏิบัติถูกต้อง ตามกฎหมายและข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว 6) กรณีความเสียหายเนื่องจากไม่สามารถเรียกเก็บเงินค่าบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ระหว่าง DPC กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 32/2554 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร้องให้บริษัท ดิจิตอลโฟน จ�ำกัด (“DPC”) ช�ำระเงิน จ�ำนวน 33 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีของเงินต้นดังกล่าว รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 35 ล้านบาท โดย กสท. กล่าวอ้างว่า DPC ผิดสัญญาให้ด�ำเนินการ เนื่องจากสัญญาเช่าใช้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าระหว่าง DPC กับผู้ใช้บริการ ในระหว่างปี 2540 - 2546 จ�ำนวน 1,209 เลขหมาย มีการปลอมแปลงเอกสาร/ลายมือชื่อ เป็นเหตุให้ กสท. ได้รับความเสียหายเนื่องจากไม่สามารถ เรียกเก็บค่าใช้บริการระหว่างประเทศได้ เมื่อเลขหมายดังกล่าวมีการใช้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศของ กสท. เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2556 คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มีคำ� วินิจฉัยชี้ขาดให้ยกค�ำขอของ กสท. โดยชี้ขาดว่า ข้อพิพาทในคดีนี้เป็น เรื่องพิพาททางละเมิด มิได้เป็นการกระท�ำอันเกิดจากการผิดสัญญาให้ดำ� เนินการ ดังนั้น ข้อพิพาทในคดีนี้จงึ ไม่อยูใ่ นอ�ำนาจพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2556 กสท. ได้ยื่นค�ำร้องขอเพิกถอนค�ำชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเป็นคดีหมายเลขด�ำที่ 1767/2556 ขณะนี้คดีดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 7) กรณีส่วนแบ่งรายได้จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่าง DPC กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2555 บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 110/2555 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร้องให้บริษัท ดิจิตอลโฟน จ�ำกัด (“DPC”) ช�ำระ ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิ่มของปีด�ำเนินการที่ 10 - 14 จ�ำนวน 183 ล้านบาท พร้อมเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินต้น ดังกล่าว นับแต่วันพ้นก�ำหนดช�ำระเงินของปีด�ำเนินงานในแต่ละปีจนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2557 กสท. ได้ยื่นค�ำเสนอข้อพิพาทหมายเลขด�ำที่ 26/2557 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ส�ำนักระงับ ข้อพิพาท ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม เพือ่ เรียกร้องให้บริษทั ดิจติ อลโฟน จ�ำกัด (“DPC”) ช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิม่ ของปีด�ำเนินการที่ 15 จ�ำนวน 141 ล้านบาท พร้อมเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินต้นดังกล่าว นับแต่วันพ้นก�ำหนดช�ำระเงินของปีดำ� เนินงาน ในแต่ละปีจนกว่าจะช�ำระเสร็จสิ้น ซึง่ จ�ำนวนเงินดังกล่าว กสท. ค�ำนวณผลประโยชน์ตอบแทนจากรายได้คา่ เชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่ DPC ได้รบั จากผูป้ ระกอบการ รายอื่นทั้งจ�ำนวนตามอัตราร้อยละที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาอนุญาตฯ โดยไม่ให้น�ำรายจ่ายค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมที่ DPC ถูกผู้ประกอบการรายอื่นเรียกเก็บมาหักออก ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนของอนุญาโตตุลาการ โดยฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลี่คลาย ไปในทางที่ดีและไม่น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่องบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจาก DPC ได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและ ข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว 8) ภาระผูกพันในหนังสือค�้ำประกันจากธนาคารกรณีสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ ตามสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการ บริษัทดิจิตอลโฟน จ�ำกัด (“DPC”) มีหน้าที่ส่งมอบหนังสือค�ำ้ ประกันของธนาคารให้แก่บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) เพื่อเป็นหลักประกันการช�ำระเงินผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�ำ่ ในแต่ละปีดำ� เนินงาน โดยจะได้รับ คืนหนังสือค�้ำประกันฉบับของปีด�ำเนินงานที่ผ่านมา


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

177

กสท. มิได้คืนหนังสือค�้ำประกันเงินประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำของปีดำ� เนินงานที่ 10 - 14 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,606 ล้านบาท โดยอ้างว่า DPC ช�ำระเงินผลประโยชน์ตอบแทนไม่ครบถ้วนจากกรณีการน�ำเงินค่าภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินผลประโยชน์ตอบแทนและ กรณีรายได้จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม, ส่วนลดค่าเชื่อมโยงโครงข่าย และกรณีปรับลดอัตราค่า Roaming ซึ่งเป็นข้อพิพาท ที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2555 DPCได้เสนอข้อพิพาทต่อส�ำนักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเป็นข้อพิพาทหมายเลขคดีดำ � 120/2555 เพื่อให้คณะอนุญาโตตุลการมีค�ำวินิจฉัยชี้ขาดให้ กสท. ส่งคืนหนังสือค�ำ้ ประกันดังกล่าวให้แก่ DPC เนื่องจาก DPC ได้ช�ำระ เงินผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำในแต่ละปีด�ำเนินงานครบถ้วน และได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวข้างต้นอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จ�ำกัด (“AIN”)

กรณีการส่งทราฟฟิคการให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศผ่านเครื่องหมาย + ระหว่าง AIN กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”)

ต่อมาวันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 กสท. ได้ยื่นค�ำร้องขอให้ศาลมีคำ� สั่งคุ้มครองชั่วคราวห้ามไม่ให้บริษัทและบริษัทย่อยท�ำการโยกย้าย ทราฟฟิค 001 หรือเครื่องหมาย + ของ กสท. ไปยังทราฟฟิค 005 ของบริษัทย่อย ซึ่งศาลได้มีค�ำสั่งยกค�ำร้องขอคุ้มครองชั่วคราว ของ กสท. เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 และ กสท. ได้ยื่นอุทธรณ์คำ� สั่งยกค�ำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวดังกล่าวในวันที่ 20 มีนาคม 2552 ต่อมา ศาลอุทธรณ์ได้มีค�ำสั่งยืนตามค�ำสั่งของศาลชั้นต้นให้ยกค�ำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวของ กสท.เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2555 และ กสท. ฎีกาค�ำสั่งดังกล่าวเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555 และเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 ศาลฎีกาได้มีคำ� สั่งยืนตามค�ำสั่งของศาลอุทธรณ์ ให้ยกค�ำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวของ กสท. เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2552 ศาลแพ่งได้มีค�ำพิพากษายกฟ้อง กสท. เนื่องจากข้อเท็จจริงรับฟังไม่ได้ว่า กสท. มีสิทธิในการใช้ เครื่องหมาย + ในการให้บริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศแต่ผู้เดียวหรือมีสิทธิหวงห้ามมิให้ บริษัท และ AIN ซึ่งเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์ รายอื่นใช้เครื่องหมาย + และรับฟังไม่ได้ว่าการที่บริษัทกระท�ำการแปลงสัญญาณโทรศัพท์ที่ใช้ผ่านเครื่องหมาย + เป็นผ่านรหัสหมายเลข 005 ของเอไอเอ็น เป็นการท�ำให้ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศเข้าใจผิดว่าเป็นการใช้บริการผ่านรหัสหมายเลข 001 ของ กสท. การกระท�ำของบริษัท ดังกล่าวจึงมิได้เป็นการกระท�ำอันเป็นการละเมิดสิทธิใดๆ ของ กสท. ส�ำหรับ AIN ที่ กสท. ฟ้องอ้างว่าร่วมกระท�ำ ละเมิดกับบริษัทนั้น จึงมิได้กระท�ำการละเมิดต่อ กสท. ตามฟ้องด้วย ซึ่ง กสท. ได้ยื่นอุทธรณ์คำ� พิพากษาดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2553 ต่อมาศาลอุทธรณ์ได้มีค�ำพิพากษายกฟ้อง กสท. ยืนตามศาลชั้นต้น เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 และกสท. ฎีกาค�ำสั่งดังกล่าว เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556 ขณะนี้คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา

รายงานทางการเงิน

เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้ยื่นฟ้องบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นจ�ำเลยที่ 1 และ บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จ�ำกัด (“บริษัทย่อย”) เป็นจ�ำเลยที่ 2 คดีหมายเลขด�ำที่ 1245/2551 ต่อศาลแพ่ง เพื่อเรียกร้องให้ร่วมกันชดใช้ค่าเสียหาย พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีจนถึงวันฟ้อง รวมเป็นเงิน 130 ล้านบาท โดยอ้างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีที่บริษัทกับบริษัทย่อย เปลี่ยนแปลงการส่งทราฟฟิคการให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศ ในช่วงเวลาวันที่ 1 ถึง 27 มีนาคม 2550 ที่ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของบริษัทใช้บริการผ่านเครื่องหมาย + จากเดิมที่เป็น 001 ของ กสท. มาเป็น 005 ของบริษัทย่อย โดยไม่แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบก่อน ต่อมาเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2551 กสท. ได้ยื่นค�ำร้อง ขอแก้ไขเพิม่ เติมฟ้องในส่วนของค่าเสียหาย 583 ล้านบาท (รวมดอกเบีย้ ) โดยอ้างว่าการกระท�ำดังกล่าวเป็นเหตุให้ กสท. ได้รบั ความเสียหาย เป็นระยะเวลาต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงวันที่ 7 มีนาคม 2551


178

41 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน การเพิ่มทุนของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558 บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (“ABN”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ได้จดทะเบียน เพิ่มทุนจาก 1 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) เป็น 15 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 150,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) กับกระทรวงพาณิชย์ การเพิ่มทุนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำไปใช้ลงทุนในอนาคต บริษัทได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มในราคา 100 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงิน 14 ล้านบาท ซึ่งท�ำให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นเป็น ร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนในบริษัทย่อยนี้ เงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 ได้มีมติให้เสนอจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี 2557 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 12.00 บาท ซึ่งบริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวไปแล้วในอัตราหุ้นละ 6.04 บาท ในการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 ทั้งนี้การเสนอดังกล่าวจะต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท

42 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่หลายฉบับได้มีการประกาศและยังไม่มีผลบังคับใช้และไม่ได้น�ำมาใช้ในการ จัดท�ำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้อาจเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัท และถือปฏิบัติกับงบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีแผนที่จะ น�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงินเหล่านี้มาใช้ก่อนวันถือปฏิบัติ

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557)

เรื่อง

การน�ำเสนองบการเงิน สินค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้าง ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกู้ยืม การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน

ปีที่มีผลบังคับใช้

2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558


/

179

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ปีที่มีผลบังคับใช้

การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟ้อรุนแรง ก�ำไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558 2558

การรวมธุรกิจ

2558

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย และการด�ำเนินงานที่ยกเลิก ส่วนงานด�ำเนินงาน

2558

งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น การวัดมูลค่ายุติธรรม สัญญาเช่าด�ำเนินงาน-สิ่งจูงใจให้แก่ผู้เช่า

2558 2558 2558 2558 2558

ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทำ� ขึ้น ตามรูปแบบกฎหมาย

2558

2558

2558

รายงานทางการเงิน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557)

เรื่อง


180

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่อง

ปีที่มีผลบังคับใช้

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557)

การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ

2558

รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา

2558

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-ต้นทุนเว็บไซต์

2558

การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่

2558 2558

สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดล้อม งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า

2558

ข้อตกลงสัมปทานบริการ

2558

โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

2558

ข้อจ�ำกัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อก�ำหนด เงินทุนขั้นต�่ำและปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี้ ส�ำหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ

2558

2558

การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า

2558

2558

กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ประเมินในเบื้องต้นถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ/งบการเงินของบริษัท จากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ ซึ่งคาดว่าไม่มีผลกระทบที่มีสาระส�ำคัญ ต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ


บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วสิ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย รายงานประจำป�ระกอบงบการเงิ ปี 2557 / บริษัท แอดวานซ์ หมายเหตุ น อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) 43

181

การจัดประเภทรายการใหม่ รายการในงบกาไรขาดทุนสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ได้จดั ประเภทใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการ นาเสนอในงบการเงินปี 2557 ดังนี้

43 การจัดประเภทรายการใหม่

รายการในงบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ได้จัดประเภทใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการน�ำเสนอในงบการเงินปี 2557 2556 ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ก่อนจัด ประเภท ก่อนจัด ประเภทใหม่ ใหม่

4,028

127,816

101,353

4,671

106,024

3,766

3,766

-

3,640

3,640

(4,028)

(43,136)

(32,773)

(4,671)

(37,444)

(3,766) -

(3,766)

-

(3,640) -

(3,640)

่มกิจการมากกว่ ดประเภทรายการใหม่ น้ ีเป็ นไปตามที ่ผบู ้ นริว่หาารเห็ นว่ามีความเหมาะสมกั บธุรกิ่มจกิของกลุ า การจัดการจั ประเภทรายการใหม่ นี้เป็นไปตามที ่ผู้บริหารเห็ มีความเหมาะสมกั บธุรกิจของกลุ จการมากกว่ า

130

รายงานทางการเงิน

งบกาไรขาดทุน สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม รายได้จากการให้บริ การ และให้เช่าอุปกรณ์ 123,788 รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้ สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการ ต้นทุนการให้บริ การและ ให้เช่าอุปกรณ์ (39,108) ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้ สัญญาอนุญาตให้ ดาเนินการ -

หลังจัด 2556ก่อนจัด หลังจัด นรวม ประเภท นเฉพาะกิจการ ประเภท จังบการเงิ ดประเภท จัดประเภท ประเภท งบการเงิ จัด หลังจัด ก่อนจัด จัด หลังจัด ใหม่ ใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่ (ล้านบาท) (ล้ านบาท)


182

ค�ำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายผู้บริหาร ประจ�ำปี 2557 บทวิเคราะห์ส�ำหรับผู้บริหาร ในปี 2557 เอไอเอสได้ด�ำเนินการพัฒนาโครงข่าย 3G-2.1GHz ทั้งด้านความครอบคลุมและความจุของโครงข่ายอย่างต่อเนื่อง

โดยเอไอเอสมีโครงข่าย ครอบคลุม 97% ของประชากรตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา และมีจำ� นวน สถานีฐาน 3G-2.1GHz ณ สิ้นปี 2557 จานวน 21,300 สถานีฐาน ซึง่ เกินกว่าเป้าหมายทีบ่ ริษทั ได้ตงั้ ไว้ที่ 20,000 สถานีฐาน ในขณะทีป่ ริมาณการใช้บริการข้อมูลยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้บริษทยังคงดาเนินการติดตั้งสถานีฐานย่อย และ Wifi เพิ่มเติม โดยเฉพาะในสถานที่ที่มีการใช้งานที่หนาแน่น เพื่อให้ ลูกค้าได้รับประสบการณ์ที่ดีจากการใช้งานผ่านโครงข่ายของบริษัท

นับตั้งแต่ไตรมาสแรกเอไอเอสได้ส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น โดยบริษัทจะยังคงพัฒนาโครงข่าย ผลิตภัณฑ์และบริการให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ แม้ว่าเศรษฐกิจโดยรวมในประเทศจะชะลอตัว แต่รายได้จากการให้บริการไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่ายยังคงเพิ่มขึ้น 1.2% จากปีก่อนอยู่ที่ 117,990 ล้านบาท ซึ่งอยู่ในช่วงที่คาดการณ์ไว้ระหว่าง 1-2% โดยปัจจัยหลักมาจากสัดส่วนสมารท์โฟนที่เพิ่มขึ้นเป็น 38% ซึ่งช่วยผลักดันให้รายได้จากการให้บริการดาต้าเติบโตขึ้น 57% จากปีก่อน ในขณะที่ EBITDA อยู่ที่ 66,428 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.3% เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยสาเหตุหลักมาจากค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ที่ลดลง ถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายด้านโครงข่ายและค่าใช้จ่ายในการ ขายและบริหารจะเพิ่มสูงขึ้น ก�ำไรสุทธิ อยู่ที่ 36,033 ล้านบาทลดลง 0.7% เทียบกับปีก่อนซึ่งเป็นผลมาจากต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มขึ้น เอไอเอสคาดการณ์วา่ การแข่งขันในปี 2558 จะเข้มข้นขึน้ ในกลุม่ ลูกค้าระดับกลางถึงล่าง โดยผูใ้ ห้บริการจะจัดหามือถือราคาถูกทีร่ องรับ 3G มาขายในตลาดมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นปัจจัยกดดันก�ำไรจากการขายมือถือ รวมทั้งราคาต่อหน่วยของบริการเสียงและดาต้าและค่าใช้จ่าย ในการขาย เนื่องจากความนิยมในมือ ถือ AIS Super Combo ในปีที่ผ่าน เอไอเอสจะยังคงใช้กลยุทธ์นี้ต่อในปี 2558 ทั้งมือถือสมาร์ทโฟน และไม่ใช่สมาร์ทโฟน ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญที่ท�ำให้ต้นทุนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ลดลง ในปี 2558 เอไอเอสจะเพิ่มขีดความสามารถของการเป็นผูน�ำในตลาด โทรคมนาคม โดยการเปลี่ยนจาก “ผู้ใหบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่” เป็น “ผู้ให้บริการด้านดิจิทัลไลฟ์” ซึ่งจะให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่บริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์และดิจิทัลคอนเทนต์โดยในปี 2558 บริษัทได้ตั้งงบลงทุนไว้ 40,000 ล้านบาท เพื่อเพิ่มความสามารถในการรองรับข้อมูลโดยสร้างสถานีฐานเพิ่มเติม และขยายโครงข่าย ใยแก้วน�ำแสง เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจมือถือและธุรกิจอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์โดยภายในปีแรกของการให้บริการอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ บริษัทตั้งเป้าหมายลูกค้าไว้ 80,000 รายทั้งนี้เอไอเอสคาดการณ์ว่าการประมูลคลื่น 1800MHz จะเกิดขึ้นภายในไตรมาสที่ 3/2558 และจะนาคลื่นมาให้บริการ 4G เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่าย เอไอเอสคาดว่าในปี 2558 รายได้จากการให้บริการไม่รวม ค่าเชื่อมโยงโครงข่ายจะเพิ่มขึ้น 3-4% โดยมีปัจจัยหลักมาจากคุณภาพโครงข่ายที่สูงขึ้นและการนาเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ในขณะที่ EBITDA margin เพิ่มขึ้น 100-200 bps จากค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ที่ลดลงถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายด้านโครงข่ายจะเพิ่มสูงขึ้น จากการขยายโครงข่ายก็ตาม เหตกุารณ์ส�ำคัญ : ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบนงบเฉพาะกิจการและงบรวม

ในไตรมาส 4/2557 เอไอเอสบันทึกค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบนงบการเงินเฉพาะกิจการและงบการเงินรวม จ�ำนวน 664 ล้านบาท สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้จริงทั้งนี้หากไม่รวมค่าตัดจ�ำหน่ายดังกล่าว ก�ำไรสุทธิของปี 2557 บนงบการเงินรวมเท่ากับ 36,697 ล้านบาท สรุปผลการด�ำเนินงาน

ณ สิ้นปี 2557 นี้ เอไอเอสมีจำ� นวนลูกค้าทั้งสิ้น 44.3 ล้านเลขหมาย โดยมีลูกค้าอยู่บนระบบใบอนุญาต 2.1GHz เพิ่มขึ้นเป็น 40.8 ล้านเลขหมาย คิดเป็นสัดส่วน 92% ของจ�ำนวนลูกค้าทั้งหมด ซึ่งเกินเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 85% ทั้งนี้ จ�ำนวนมือถือที่รองรับระบบ 3G บนเครือข่าย 3G-2.1GHz เพิ่มขึ้นจาก 8 ล้านเครื่อง ในปีที่แล้วเป็น 22 ล้านเครื่องในปีนี้ โดยมีส่วนสาคัญมาจากความสาเร็จในการขยาย โครงข่าย 3G-2.1GHz และการออกแพ็คเกจที่น�ำมาผูกกับสมาร์ทโฟน เพื่อจูงใจให้ลูกค้าหันมาใช้มือถือที่รองรับ 3G ปัจจุบันลูกค้าที่อยู่บน สัญญาร่วมการงาน 900MHz ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยอยู่ที่ 3.5 ล้านเลขหมาย รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือน (ARPU) และจ�ำนวนนาทีที่โทรออกต่อเลขหมายต่อเดือน (MOU) มีแนวโน้มลดลงจากจ�ำนวน ซิมต่อคนที่เพิ่มขึ้นโดยในหนึ่งคนมีการถืออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อดาต้ามากกว่าหนึ่งเครื่อง นอกจากนี้ซิมที่สองได้รับโปรโมชั่นที่น่าดึงดูด ในขณะที่เศรษฐกิจโดยรวมในประเทศยังคงชะลอตัวท�ำให้กดดันทั้งราคาของบริการเสียงและดาต้ารวมถึงการออกแพ็คเกจในระดับราคา ที่ต�่ำลงส�ำหรับลูกค้ารายเดือนระดับกลางถึงล่าง ซึ่งเป็นปัจจัยที่กดดัน ARPU ระบบรายเดือนให้ลดลง 2.1% เทียบกับไตรมาสก่อนและ 7.5% จากปีก่อนมาอยูที่ 608 บาท ในขณะที่ ARPU ระบบเติมเงินเพิ่มขึ้น 1.1% จากไตรมาสก่อน แต่ลดลง 11% เมื่อเทียบกับปีก่อน มาอยู่ที่ 170 บาท


/

183

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

จ�ำนวนผู้ใช้บริการ

ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz1) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz 2) ระบบเหมาจ่ายรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจ�ำนวนผู้ใช้บริการ

ไตรมาส 4/2556

24,494,400 16,366,500 4,266,900 36,594,000 40,860,900

ไตรมาส 1/2557

16,098,400 26,264,100 4,463,800 37,898,700 42,362,500

ไตรมาส 2/2557

8,462,300 34,415,900 4,661,100 38,217,100 42,878,200

ไตรมาส 3/2557

ไตรมาส 4/2557

5,114,600 3,546,800 38,680,600 40,754,500 4,786,700 4,940,700 39,008,500 39,360,600 43,795,200 44,301,300

จ�ำนวนผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้น (Net additions)

ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz1) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz2) ระบบเหมาจ่ายรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจ�ำนวนผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้น

-4,159,300 -8,396,000 -7,636,000 -3,347,700 -1,567,800 5,895,100 9,897,600 8,151,700 4,264,700 2,073,900 213,200 196,900 197,300 125,600 154,000 318,400 791,400 352,100 1,522,600 1,304,700 1,735,800 1,501,600 515,700 917,000 506,100

ARPU (บาท/เลขหมาย/เดือน)

203 297 658 191 234

191 256 639 179 225

178 241 647 175 223

188 221 625 169 216

216 216 608 170 216

291 342 429 294 308

255 336 412 283 297

205 306 397 263 277

194 284 387 255 270

210 275 373 256 269

MOU (นาที/เลขหมาย/เดือน)

ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz1) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz2) ระบบเหมาจ่ายรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย 1) 2)

ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz หมายถึงการจดทะเบียนเลขหมายบน 900 และ 1800MHz ซึ่งอยู่ภายใต้สัมปทานสัญญาร่วมการงานแบบ สร้าง-โอน-ด�ำเนินการ (build-transfer-operate) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz หมายถึงการจดทะเบียนเลขหมายบน 2100MHz ซึ่งอยู่ภายใต้ใบอนุญาตที่ออกโดย กสทช. โดยลูกค้าที่ถืออุปกรณ์ 2G จะใช้บริการโครงข่าย 900MHz

ผลการด�ำเนินงานในไตรมาส 4/2557

ในไตรมาส 4/2557 บริษัทมีรายได้จากการให้บริการ ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย อยู่ที่ 30,037 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้น 2.2% เทียบกับ ไตรมาสก่อน เนื่องจากมีผลจากฤดูกาลท่องเที่ยว และเพิ่มขึ้น 3.5% เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องมาจากฐานของรายได้ที่ต�่ำ ในไตรมาส 3/2557 เพราะมีปญั หาทางการเมือง บริษทั ได้ทำ� การพัฒนาโครงข่าย 3G-2.1GHz อย่างต่อเนือ่ งด้วยการเพิม่ จ�ำนวนสถานีฐาน รวมไปถึง small cells และจุดเชื่อมต่อ Wifi ในช่วงเดือนตุลาคม บริษัทได้ออกโทรศัพท์ AIS Super Combo ตัวใหม่ที่มีหน้าจอขนาด 4.5 นิ้ว ซึ่งได้รับการตอบรับจากตลาดเป็นอย่างดี และท�ำให้อัตราการถือเครื่องโทรศัพท์ที่รองรับ 3G เพิ่มขึ้นเป็น 55% จาก 49% ในไตรมาส 3/2557 อีกทั้งรายได้จากการขายโทรศัพท์มือถือยังเพิ่มสูงขึ้น 101% เทียบกับไตรมาสก่อน และ 42% เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน เนื่องจากไอโฟน 6 และไอโฟน 6 พลัส ที่ได้รับความนิยมสูง ในไตรมาส 4/2557 นี้ ต้นทุนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ อยู่ที่ 3,856 ล้านบาท ลดลง 16% เทียบกับไตรมาสก่อน และ 30% เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องมาจากการประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้ามาใช้งานเครือข่าย 3G รวมไปถึงอัตราค่าโรมมิ่งที่ถูกลง อย่างไรก็ตาม ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้น 9.2% เทียบกับ ไตรมาสก่อน และ 14% เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยมาจากค่าใช้จ่ายการตลาดเป็นหลัก ท�ำให้มี EBITDA อยู่ที่ 17,727 ล้านบาท

รายงานทางการเงิน

ระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz1) ระบบใบอนุญาต 2.1GHz2) ระบบเหมาจ่ายรายเดือน ระบบเติมเงิน เฉลี่ย


184

เพิม่ ขึน้ 7.8% เทียบกับไตรมาสก่อน และ 8.7% เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ถึงแม้วา่ บริษทั จะมีตน้ ทุนค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย และภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ดูยอ่ หน้าเหตุการณ์สำ� คัญในหน้า 1) ทีเ่ พิม่ ขึน้ บริษทั ยังคงมีกำ� ไรสุทธิที่ 9,122 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1.9% เทียบกับ ไตรมาสก่อน และ 3.5% เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ถ้าตัดผลของการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจ�ำนวน 664 ล้านบาท ออก จะท�ำให้มกี ำ� ไรสุทธิเท่ากับ 9,786 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 9.3% เทียบกับไตรมาสก่อน และ 7.6% เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น สรุปผลประกอบการเชิงการเงินประจ�ำปี 2557 รายได้ ในปี 2557 เอไอเอสมีรายได้ (ไม่รวมค่าก่อสร้าง) 148,729 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ 1.3% จากปีทผี่ า่ นมา เป็นผลจากการเติบโตของรายได้

จากการบริการข้อมูลและรายได้จากการขายซิมและอุปกรณ์ • รายได้จากการขายซิมและอุปกรณ์ คิดเป็น 16% ของรายได้รวมเท่ากับ 23,332 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ 23% เมือ่ เทียบกับปีทแี่ ล้ว เนือ่ งจาก ความส�ำเร็จในการขายมือถือภายใต้ชื่อ AIS Super Combo โดยสามารถขายได้ 2.5 ล้านเครื่อง ภายในระยะเวลา 8 เดือน ทั้งนี้ ในปีนี้ ก�ำไรจากการขายอยูท่ ี่ 0.8% ลดลงจาก 6.5% เมือ่ เทียบกับปีทแี่ ล้ว ตามกลยุทธ์ทไี่ ด้วางไว้เพือ่ จูงใจให้ลกู ค้าหันมาใช้มอื ถือทีร่ องรับ 3G • รายได้จากการให้บริการไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย เติบโตตามที่คาดการณ์ไว้โดยเพิ่มขึ้น 1.2% จากปีก่อน อยู่ที่ 117,990 ล้านบาท ซึ่งมาจากการเติบโตของรายได้จากการให้บริการดาต้าในขณะที่รายได้จากการบริการเสียงยังคงลดลง ในปี 2557 เอไอเอสได้ขยาย โครงข่าย 3G-2.1GHz ให้ครอบคลุม 97% ของประชากร และมีจ�ำนวนสถานีฐาน 3G ที่มากที่สุดในประเทศ ท�ำให้จ�ำนวนลูกค้า บนใบอนุญาต 2.1GHz เพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้รายได้จากการให้บริการบนใบอนุญาต 2.1GHz เติบโตขึ้นเป็น 78% ของรายได้รวม (ดูตารางรายได้บริการในหน้า 3) - รายได้จากบริการเสียง อยูท่ ี่ 65,382 ล้านบาท ลดลง 14% จากปีกอ่ น เนือ่ งจากมีการใช้งานบริการข้อมูลเพือ่ ทดแทนการโทรมากขึน้ ในกลุ่มลูกค้าบางกลุ่ม และภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในครึ่งปีแรก - ในปีนเี้ อไอเอสได้ลงทุนโครงข่าย 3G ให้มคี วามพร้อมทัง้ ด้านของความครอบคลุมและความจุโครงข่าย ท�ำให้รายได้จากการให้บริการ ข้อมูล เพิม่ ขึน้ 34% จากปีทผี่ า่ นมา อยูท่ ี่ 43,495 ล้านบาท โดยมีความต้องการใช้งานบริการดาต้าทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกทัง้ ราคาของสมาร์ทโฟน ทีถ่ กู ลง และแพ็คเกจทีม่ รี าคาทีน่ า่ สนใจทัง้ ส�ำหรับลูกค้ารายเดือนและเติมเงิน รายได้จากบริการดาต้า ในปีนี้ คิดเป็น 29% ของรายได้ ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย โดยเพิ่มขึ้นจาก 19% ในปีก่อน - รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ อยู่ที่ 2,240 ล้านบาท ลดลง 17% จากปีก่อน ซึ่งเป็นผล มาจากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่น้อยลงจากกฎอัยการศึกที่ยังคงอยู่และมีการแข่งขันด้านราคาในตลาดโลก - รายได้จากบริการโทรทางไกลระหว่างประเทศและอืน่ ๆ อยูท่ ี่ 6,827 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 24% จากปีกอ่ น จากการเติบโตของบริการ Wifi - ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) ทั้งรายรับและต้นทุนลดลงประมาณ 35% จากปีก่อน จากการปรับลดค่า IC จาก 1 บาทต่อนาที เป็น 45 สตางค์ต่อนาที ซึ่งเริ่มมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ในปีนี้รายรับสุทธิจากค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (net IC) อยู่ที่ 641 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ 659 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา ต้นทุนและค่าใช้จ่าย

ในปี 2557 บริษทั มีตน้ ทุนการให้บริการ ไม่รวมค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย เท่ากับ 53,034 ล้านบาท ลดลง 6.6% เทียบกับปีกอ่ น เนือ่ งมาจาก ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ทลี่ ดลง แม้วา่ จะมีตน้ ทุนจากค่าเสือ่ มราคาและค่าใช้จา่ ยโครงข่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการขยายโครงข่าย 3G - ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ อยู่ที่ 19,427 ล้านบาท ลดลง 27% เทียบกับปีก่อน เนื่องจากความส�ำเร็จในการอัพเกรดลูกค้า ให้มาใช้บริการ 3G ซึง่ อยูบ่ นระบบใบอนุญาตทีม่ ตี น้ ทุนค่าธรรมเนียมทีล่ ดลง โดยส่วนส�ำคัญมาจากความนิยมในโทรศัพท์มอื ถือ AIS Super Combo และเป็นปัจจัยหลักให้อัตราการถือเครื่องโทรศัพท์ที่รองรับ 3G เพิ่มสูงขึ้น สัดส่วนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ ต่อรายได้จากการให้บริการ ไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่ายในปี 2557 นี้ อยู่ที่ 16.5% ลดลงจาก 22.7% ในปี 2556 - ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย อยูท่ ี่ 18,633 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 14% เทียบกับปีกอ่ น เนือ่ งจากการขยายโครงข่าย 3G ทัง้ สถานีฐาน และโครงข่ายใยแก้วน�ำแสง ทั้งนี้สินทรัพย์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการบนความถี่ 1800MHz ได้ถูกตัดจ�ำหน่ายจนครบตั้งแต่ ไตรมาส 3/2556 ในขณะที่สินทรัพย์บนความถี่ 900MHz จ�ำนวน 8,700 ล้าน จะถูกตัดจ�ำหน่ายจนครบในไตรมาส 3/2558 เมื่อสัญญาอนุญาตให้ด�ำเนินการสิ้นอายุ


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

185

- ค่าใช้จ่ายด้านโครงข่าย เพิ่มขึ้น 10% เทียบกับปีก่อน มาอยู่ที่ 8,538 ล้านบาท เนื่องจากการขยายโครงข่าย 3G ทั่วประเทศ และ ปัจจุบันครอบคลุม 97% ของประชากร รวมไปถึงการลงทุนในความจุโครงข่ายที่เพิ่มขึ้น เพื่อตอบรับกับความต้องการในการใช้งาน ดาต้าที่เพิ่มสูงขึ้น - ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ อยู่ที่ 6,436 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 2.2% เทียบกับปีก่อน

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร อยู่ที่ 18,860 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 27% เทียบกับปีก่อน เนื่องจากค่าใช้จ่ายด้านการตลาดในการ ประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้ามาใช้ 3G และการสร้างภาพลักษณ์ให้กับแบรนด์เป็นหลัก - ค่าใช้จ่ายการตลาด อยู่ที่ 6,220 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 44% เทียบกับปีก่อน เนื่องจากการออกแคมเปญเพื่อให้ลูกค้าหันมาใช้งานมือถือ ที่รองรับ 3G รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์แบรนด์ในตลาด ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายการตลาดมีสัดส่วน 4.2% ของรายได้รวม สอดคล้องกับที่คาดการณ์ - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร อยู่ที่ 11,111 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 17% เทียบกับปีก่อน เนื่องด้วยจ�ำนวนพนักงานที่เพิ่มมากขึ้น และในปี 2557 มีการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ล้าสมัยเพิ่มขึ้น 49% จาก 549 ล้านบาท ในปี 2556 เป็น 818 ล้านบาท ในปี 2557 - ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย อยู่ที่ 289 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 25% เทียบกับปีก่อน เนื่องจากการปรับปรุงช็อปบริการเอไอเอส - ค่าใช้จา่ ยการตัง้ ส�ำรองหนีส้ ญู อยูท่ ี่ 1,240 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 58% เทียบกับปีกอ่ น เนือ่ งจากจ�ำนวนผูใ้ ช้บริการแบบรายเดือนทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึ่งท�ำให้ค่าใช้จ่ายการตั้งส�ำรองหนี้สูญมีสัดส่วน 3.6% ของรายได้การให้บริการระบบรายเดือน เพิ่มขึ้นจาก 2.5% ในปี 2556

• รายได้จากการลงทุน อยู่ที่ 370 ล้านบาท ลดลง 33% จากปีก่อน เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยรวมถึงเงินต้นที่ลดลง

• ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น อยูท่ ี่ 189 ล้านบาท จากขาดทุน 233 ล้านบาท ในปี 2556 โดยก�ำไรดังกล่าวเป็นก�ำไรทีย่ งั ไม่ได้รบั รูท้ เี่ กิดจาก การลงทุนโครงข่ายในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ในขณะทีห่ นีส้ กุลเงินต่างประเทศอืน่ ๆ บริษทั มีนโยบายใช้ตราสารทางการเงินเพือ่ ป้องกัน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ก�ำไร

ในปี 2557 EBITDA อยู่ที่ 66,428 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.3% จากปีก่อน เพราะมีต้นทุนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ที่ลดลง ถึงแม้ตน้ ทุนค่าโครงข่าย และค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารจะสูงขึน้ EBITDA margin รวม เพิม่ ขึน้ เป็น 44.7% หรือ 130bps จากปี 2556 ส่วน service EBITDA margin เพิ่มขึ้นเป็น 52.8% หรือ 390bps จากปี 2556 ก�ำไรสุทธิในปี 2557 อยู่ที่ 36,033 ล้านบาท ลดลง 0.7% จากปีก่อน ทั้งนี้ ถ้าหักผลจากการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ไม่สามารถใช้ได้จำ� นวน 664 ล้านบาท ก�ำไรสุทธิจะอยู่ที่ 36,697 ล้านบาท หรือทรงตัวเมื่อเทียบกับปีก่อน ฐานะการเงิน

ณ สิ้นปี 2557 เอไอเอสมีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 126,351 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13% จากปีก่อน โดยเพิ่มขึ้นจากการลงทุนในโครงข่าย 3G และเงินสดที่เพิ่มขึ้น หนี้สินรวมอยู่ที่ 79,486 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 20% เทียบกับปีก่อน จากการออกหุ้นกู้ระยะยาวเพิ่มเติม ในขณะที่ ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นเล็กน้อย อยู่ที่ 46,865 ล้านบาท เอไอเอสยังคงมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง โดยสะท้อนจากอัตราส่วนเงินทุน หมุนเวียนอยู่ที่ 0.91 เท่า และมีอัตราหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.39 เท่า เพียงพอส�ำหรับการกู้ยืมเพิ่มเติมได้ ในขณะที่ต้นทุน ดอกเบี้ยเฉลี่ยอยู่ที่ 4% กระแสเงินสด

ในปี 2557 เอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานสุทธิอยู่ที่ 62,820 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจาก 51,329 ล้านบาทในปี 2556 ทั้งนี้ เอไอเอสได้ใช้งบลงทุนไปทั้งสิ้น 32,562 ล้านบาท จากที่คาดการณ์ไว้ 40,000 ล้านบาท เอไอเอสได้จ่ายปันผลในปี 2556 ไปทั้งสิ้น 35,052 ล้านบาท ในขณะที่มีการกู้เงินและช�ำระคืนเงินกู้เท่ากับ 24,658 ล้านบาท และ 12,406 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในไตรมาส 4/2557 เอไอเอส ได้ช�ำระค่าใบอนุญาตคลื่นความถี่ 2.1GHz งวดที่สองแก่ กสทช. เป็นจ�ำนวนเงิน 3,656 ล้านบาท และคงเหลือการช�ำระงวดสุดท้ายอีก 3,656 ล้านบาท ในไตรมาส 4/2558

รายงานทางการเงิน

• ต้นทุนทางการเงิน อยู่ที่ 1,527 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 52% เทียบกับปีก่อน เนื่องมาจากการออกหุ้นกู้ระยะยาวในเดือนเมษายนเป็นหลัก


186

งบก�ำไรขาดทุน (ล้านบาท)

ไตรมาส 4/2556

ไตรมาส ไตรมาส 3/2557 4/2557

รายได้จากบริการเสียง รายได้จากบริการเสริม (VAS) รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ อื่นๆ (โทรต่างประเทศ, อื่นๆ)

18,212 8,563 759 1,476

15,710 11,388 537 1,746

รวมรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC

29,010

%YoY

%QoQ

ปี 2556

ปี 2557

%YoY

15,454 12,051 650 1,882

-15% 41% -14% 28%

-1.6% 5.8% 21% 7.8%

75,969 32,376 2,690 5,521

65,382 43,495 2,240 6,872

-14% 34% -17% 25%

29,382

30,037

3.5%

2.2% 116,556 117,990

1.2%

1,845 5,947

1,765 4,208

1,953 8,454

5.9% 42%

11% 101%

11,260 7,407 18,995 23,332

-34% 23%

36,803

35,355

40,444

9.9%

14% 146,811 148,729

1.3%

ค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายด้านโครงข่าย ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ ต้นทุนการห้บริการไม่รวม IC ต้นทุนค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) ต้นทุนการขายซิมและอุปกรณ์

(5,497) (4,589) (4,147) (4,819) (1,959) (2,354) (1,607) (1,623) (13,210) (13,385) (1,693) (1,602) (5,625) (4,291)

(3,856) (5,040) (2,227) (1,657) (12,780) (1,738) (8,299)

-30% 22% 14% 2.1% -3.3% 2.6% 48%

รวมต้นทุน (ไม่รวมค่าก่อสร้าง)

(20,528) (19,278)

(22,816)

รายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) รายได้จากการขายซิมและอุปกรณ์ รวมรายได้

-16% 4.6% -5.4% 3.1% -4.5% 8.4% 93%

(26,443) (16,309) (7,757) (6,299) (56,809) (10,601) (17,760)

(19,427) (18,633) (8,538) (6,436) (53,034) (6,766) (23,148)

-27% 14% 10% 2.2% -6.6% -36% 30%

11%

18% (85,170) (82,948)

-2.6%

ก�ำไรขั้นต้น

16,275

16,077

17,628

8.3%

9.7%

65,781

6.7%

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าใช้จ่ายในการบริหารและพนักงาน ค่าใช้จ่ายการตั้งส�ำรองหนี้สูญ ค่าตัดจ�ำหน่ายในการขายและบริหาร

(4,440) (1,420) (2,748) (209) (63)

(4,643) (1,414) (2,864) (290) (75)

(5,069) (1,866) (2,782) (340) (81)

14% 31% 1.2% 63% 28%

9.2% (14,876) (18,860) 32% (4,331) (6,220) -2.9% (9,526) (11,111) 17% (787) (1,240) 8.5% (232) (289)

27% 44% 17% 58% 25%

ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน

11,835

11,434

12,560

6.1%

9.8%

46,920

0.3%

ก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน (215) 120 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น 115 176 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (228) (471) ภาษีเงินได้ (2,707) (2,311) ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม 16 7

(26) 134 (458) (3,100) 11

-88% 17% 101% 15% -34%

-121% (233) 189 -24% 708 500 -2.7% (1,002) (1,527) 34% (10,008) (10,080) 61% 44 30

-181% -29% 52% 0.7% -32%

9,122

3.5%

1.9%

36,274

36,033

-0.7%

ไตรมาส ไตรมาส 3/2557 4/2557

%YoY

%QoQ

ปี 2556

ปี 2557

%YoY

ก�ำไรสุทธิ รายได้บริการ (ล้านบาท)

8,816 ไตรมาส 4/2556

8,955

61,642

46,765

รายได้จากระบบสัญญาร่วมการงาน 900MHz 15,787 รายได้จากระบบใบอนุญาต 2.1GHz 11,747

3,760 23,875

2,787 25,368

-82% 116%

-26% 6%

89,131 24,238 21,904 86,879

-73% 297%

รวมรายได้จากบริการ (เสียง,ข้อมูล,บริการข้ามแดนอัตโนมัติ)

27,534

27,636

28,155

2.3%

1.9% 111,035 111,118

0.1%

43%

86%

90%

สัดส่วนรายได้จากระบบใบอนุญาต 2.1GHz

20%

78%


/

187

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

EBITDA (ล้านบาท)

ไตรมาส 4/2556

ไตรมาส ไตรมาส 3/2557 4/2557

ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ค่าตัดจ�ำหน่าย (ก�ำไร)/ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าใช้จ่ายการเงินอื่นๆ

11,835 4,211 323 (44) (8)

11,434 4,893 194 (43) (35)

EBITDA

16,316

อัตรา EBITDA รวม (%) อัตรา EBITDA จากการบริการ (%)

44.3% 51.8%

%YoY

%QoQ

12,560 5,121 110 (36) (26)

6.1% 22% -66% -18% 216%

16,442

17,727

46.5% 53.1%

43.8% 54.9%

ปี 2556

ปี 2557

%YoY

9.8% 4.7% -43% -16% -25%

46,765 46,920 16,541 18,922 562 865 (163) (184) (14) (96)

0.3% 14% 54% 13% 571%

8.7%

7.8%

63,691

66,428

4.3%

43.4% 48.9%

44.7% 52.8%

%YoY

%QoQ

ปี 2556

ปี 2557

%YoY

อัตรา EBITDA จากการบริการค�ำนวณมาจากส่วนของธุรกิจที่เกี่ยวกับการให้บริการ โดยไม่รวมธุรกิจการขายโทรศัพท์ อัตรา EBITDA จากการบริการ = (EBITDA - รายได้จากการขาย) / (รายได้รวม - รายได้จากการขาย) ก�ำไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ

ไตรมาส 4/2556

ไตรมาส ไตรมาส 3/2557 4/2557

8,816

8,955

9,122

3.5%

1.9%

36,274

36,033

-0.7%

282

-

-

-

-

411

-

-

-

-

664

-

-

-

664

-

ก�ำไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ

9,098

8,955

9,792

7.6%

9.3%

36,685

36,697

0.1%

ไตรมาส ไตรมาส 3/2557 4/2557

%YoY

%QoQ

ปี 2556

ปี 2557

%YoY

-94% -94%

-87% -87%

3,766 (3,766)

600 (600)

-84% -84%

รายได้และต้นทุนจากการก่อสร้าง (ล้านบาท) : IFRSI12

รายได้จากค่าก่อสร้าง ต้นทุนค่าก่อสร้าง

ไตรมาส 4/2556

305 (305)

135 (135)

18 (18)

รายงานทางการเงิน

ก�ำไรสุทธิ ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี-DPC ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี-AIS


188

ฐานะการเงิน (ล้านบาท) /ร้อยละของสินทรัพย์รวม

ไตรมาส 3/2557

ไตรมาส 4/2557

เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ

15,254 1,577 10,264 2,865 5,005

14% 1.4% 9.2% 2.6% 4.5%

17,967 1,542 10,415 2,519 6,682

14% 1.2% 8.2% 2% 5.3%

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

34,965

31%

39,126

31%

ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ อื่นๆ

13,601 56,422 2,178 3,557 1,303

12% 50% 1.9% 3.2% 1.2%

12,624 69,441 2,505 1,442 1,213

10% 55% 2% 1.1% 1%

112,026

100%

126,351

100%

เจ้าหนี้การค้า ส่วนของเงินกู้ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี ผลตอบแทนค้างจ่าย อื่นๆ

11,718 9,303 3,535 17,279

11% 8.3% 3.2% 15%

11,903 2,572 5,130 23,301

9.4% 2% 4.1% 16%

รวมหนี้สินหมุนเวียน

45,491

41%

42,906

34%

หนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย อื่นๆ

14,866 5,776

13% 5.2%

33,769 2,811

27% 2.2%

รวมหนี้สิน

66,133

59%

79,486

63%

19,729 26,163

18% 23%

20,710 26,155

16% 21%

45,893

41%

46,865

37%

สินทรัพย์รวม

ก�ำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร อื่นๆ รวมส่วนผู้ถือหุ้น อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ

เงินกู้ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้สุทธิต่อ EBITDA อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน Interest Coverage DSCR ก�ำไรต่อส่วนผู้ถือหุ้น - ROE (%)

ไตรมาส 4/2556

ไตรมาส 3/2557

ไตรมาส 4/2557

0.53 0.19 0.14 0.77 54 5.1 88%

1.11 0.69 0.39 0.86 26 7.0 85%

0.78 0.39 0.26 0.91 29 13 93%


/

189

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

ตารางการจ่ายคืนหนี้ (ล้านบาท)

ไตรมาส 4/2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

เงินกู้ระยะยาว

- - - 397 - 7,789 - 1,776 - - 6,638

5,692 2,399 3,707 1,801 6,799 1,250 2,500 1,250 -

การใช้ไปของเงินทุน

เงินสดจากการด�ำเนินงาน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้น ดอกเบี้ยรับ และเงินปันผลรับ การเปลี่ยนแปลงในเงินลงทุน จ�ำหน่ายอาคาร และอุปกรณ์

72,174 21,600 3,000 383 83 28

ซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินปันผลจ่าย จ่ายคืนเงินกู้ยืม และหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน จ่ายภาษีเงินได้ จ่ายช�ำระใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่โทรคมนาคม จ่ายคืนต้นทุนทางการเงิน และอื่นๆ เงินสดเพิ่ม

32,562 35,052 12,406 9,354 3,656 1,453 2,785

รวม

97,268

รวม

97,268

รายงานทางการเงิน

แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนปี 2557 (ล้านบาท) แหล่งที่มาของเงินทุน

หุ้นกู ้


190

มุมมองของผู้บริหารต่อแนวโน้มและกลยุทธ์ในปี 2558

รายได้จากการให้บริการ • เพิ่มขึ้น 3-4% จากปีที่แล้ว รายได้จากการขายโทรศัพท์มือถือ • เพิ่มขึ้น 10% โดยมีอัตราก�ำไรใกล้เคียงศูนย์ • 70% ของผู้ใช้บริการ 3G-2.1GHz ใช้อุปกรณ์มือถือ 3G EBITDA margin • อัตราก�ำไรรวม (consolidated EBITDA Margin) เพิม่ ขึน้ 100-200bps จากปีที่แล้ว เงินลงทุนโครงข่าย • 40,000 ล้านบาท สถานีฐาน 29,000 แห่ง รวม small cells ขยายโครงข่ายใยแก้วน�ำแสง ปรับปรุงและขยายช็อป เงินปันผล • 100% ของก�ำไรสุทธิ เอไอเอสตั้งเป้าสู่การเป็นผู้ให้บริการด้านดิจิทัลไลฟ์

เอไอเอสมีเป้าหมายชัดเจนในการปรับเปลีย่ นองค์กรจากการเป็นเพียงผูใ้ ห้บริการด้านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ สูก่ ารเป็นผูใ้ ห้บริการด้านดิจทิ ลั ไลฟ์ เพื่อเป็นผู้น�ำตลาดในยุคแห่งดิจิทัลนี้ ทั้งนี้ เอไอเอสจะพัฒนาธุรกิจด้านโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อยกระดับการใช้งานของลูกค้า เริ่มต้นธุรกิจ อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์เพื่อให้ลูกค้าได้เชื่อมต่ออย่างครบวงจรด้วยเทคโนโลยีที่ดีกว่า และผลักดันให้เกิดระบบนิเวศของธุรกิจดิจิทัล คอนเทนต์ผ่านการร่วมมือกับพันธมิตร โดยเอไอเอสจะรักษาและพัฒนาแนวทางของการด�ำเนินธุรกิจ ผ่านองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านลูกค้า ด้านพนักงาน และด้านพันธมิตร ตั้งเป้าเงินลงทุนในปี 2558 ไว้ที่ 40,000 บาท ไม่รวมเงินลงทุนใน 4G

แผนการลงทุนในปี 2558 นั้น จะเน้นในการขยายความจุโครงข่าย 3G โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการใช้งานหนาแน่น เอไอเอสตั้งเป้า ในการติดตั้งสถานีฐานและ small cells เพิ่มขึ้นเป็น 29,000 สถานีฐาน พร้อมทั้งอัพเกรด AIS Wifi ให้เป็น AIS super Wifi ที่สามารถ ให้ความเร็วสูงถึง 650 Mbps และเพื่อตอบรับกับความต้องการในการใช้งานดาต้าที่ยังคงเติบโตสูง เอไอเอสยังคงลงทุนในโครงข่ายใยแก้ว น�ำแสงอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับทั้งธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ ส�ำหรับธุรกิจอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ ในปี 2558 งบลงทุนตั้งไว้ที่ 1,000 ล้านบาท และตั้งเป้าลูกค้า 80,000 ราย โดยให้บริการทั้งเทคโนโลยี FTTx และ VDSL นอกจากนั้น เอไอเอส วางแผนที่จะขยายและปรับปรุง AIS shop เพื่อเพิ่มจุดให้บริการแก่ลูกค้า และเพื่อรองรับผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยตั้งเม็ดเงินลงทุนโครงข่าย และทั้งหมดที่กล่าวมานี้ในปี 2558 รวมไว้ทั้งสิ้น 40,000 ล้านบาท (ไม่รวมเงินลงทุนส�ำหรับ 4G) คาดรายได้จากการให้บริการไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่ายเติบโต 3-4% โดย EBITDA margin โตขึ้น 100-200bps

ในปี 2558 นี้ เอไอเอสคาดว่ารายได้จากการให้บริการไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย จะเติบโตขึ้น 3-4% ทั้งนี้ การเติบโตของการใช้งาน ดาต้า และโครงข่าย 3G-2.1GHz ที่มีคุณภาพดีขึ้น ยังคงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการผลักดันให้รายได้เพิ่มขึ้น และทดแทนรายได้จากการใช้งาน เสียงที่คาดว่ายังคงลดลงในปีนี้ เอไอเอสคาดว่า AIS Super Combo จะยังคงได้รับความนิยมเช่นเดียวกับในปีที่แล้ว และช่วยให้รายได้จาก การขายโทรศัพท์มอื ถือโตขึน้ 10% ด้วยอัตราก�ำไรใกล้เคียงทุน ซึง่ จะช่วยให้อตั ราการใช้โทรศัพท์มอื ถือทีร่ องรับ 3G เพิม่ ขึน้ เป็น 70% และ ท�ำให้ต้นทุนค่าธรรมเนียมและส่วนแบ่งรายได้ลดลง ทั้งนี้ เอไอเอสคาดว่า EBITDA margin รวม จะเพิ่มขึ้น 100-200bps แม้จะมีค่าใช้จ่าย โครงข่ายและค่าใช้จ่ายด้านการขายและบริหารที่เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งเตรียมพร้อมในการออกแคมเปญรวมถึงโปรโมชั่นทางการตลาดต่างๆ เพื่อเสริมสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง โดยเฉพาะในตลาดลูกค้าระดับกลางถึงล่าง อย่างไรก็ตาม เอไอเอสคาดว่าค่าใช้จ่ายด้านการตลาด จะยังคงอยู่ที่ 4% ของรายได้รวม


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

191

คงนโยบายปันผล 100% ของก�ำไรสุทธิ

บริษัทมีเป้าหมายในการคงนโยบายการจ่ายเงินปันผล 100% ของก�ำไรสุทธิจากงบการเงินรวม โดยไม่เกินก�ำไรสะสมในงบการเงิน เฉพาะบริษทั และมีเป้าหมายทีจ่ ะจ่ายเงินปันผลปีละสองครัง้ เนือ่ งจากกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานทีแ่ ข็งแกร่งและระดับหนีท้ ตี่ ำ �่ บริษทั มีแนวทางน�ำเงินสดจากการด�ำเนินงานมาลงทุนในโครงข่ายรวมถึงค่าใบอนุญาตคลืน่ ความถีร่ ว่ มกับเงินกูย้ มื จากภายนอก บริษทั จึงมีความ คล่องตัวพร้อมส�ำหรับโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ หรือมีการเปลีย่ นแปลงในอนาคตทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานรวมทัง้ ฐานะทางการเงิน ของบริษัท ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์เอไอเอส http://investor.ais.co.th; investor@ais.co.th; โทร: (66) 2299 5117 ข้อปฎิเสธความรับผิดชอบ ในเอกสารฉบับนี้อาจจะมีข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ในอนาคตโดยใช้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในหลายด้านซึ่งจะขึ้นอยู่กับความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่างๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวรวมถึง แผนธุรกิจ กลยุทธ์ และความเชือ่ ของบริษทั รวมทัง้ ข้อมูลอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ขอ้ มูลทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต ตัวอย่างของค�ำทีใ่ ช้ในการคาดการณ์ในอนาคต เช่น “อาจจะ”, “จะ”, “คาดว่า”, “ตัง้ ใจว่า, “ประมาณ”, “เชือ่ ว่า”, “ยังคง”, “วางแผนว่า” หรือค�ำใดๆ ที่มีความหมายท�ำนองเดียวกัน เป็นต้น แม้ว่าการคาดการณ์ดังกล่าวจะถูกจัดท�ำขึ้นจากสมมุติฐานและความเชื่อของฝ่ายบริหาร โดยอาศัยข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นพื้นฐานก็ตาม สมมุติฐานเหล่านี้ยังคงมีความเสี่ยง และความไม่แน่นอนต่างๆ ซึ่งอาจจะท�ำให้ผลงาน ผลการด�ำเนินงาน ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างจากที่บริษัท คาดการณ์ไว้ในอนาคต ดังนั้นผู้ใช้ข้อมูลดังกล่าวจึงควรระมัดระวังในการใช้ข้อมูลข้างต้น อีกทั้งบริษัท และผู้บริหาร/ พนักงาน ไม่อาจควบคุมหรือรับรองความเกี่ยวข้อง ระยะเวลาที่จะเกิดขึ้น หรือความถูกต้องของข้อมูลดังกล่าวได้

ในปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ดังนี้ 1. ค่าสอบบัญชีและค่าสอบทานรายไตรมาสของบริษทั จ�ำนวน 5.12 ล้านบาท ค่าสอบบัญชีและค่าสอบทานรายไตรมาสของบริษทั ย่อย จ�ำนวนทั้งสิ้น 4.34 ล้านบาท 2. ค่าตอบแทนของงานบริษัทอื่น (Non-audit fee) ของบริษัทให้ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด จ�ำนวน 2.52 ล้านบาท

รายงานทางการเงิน

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี


192

ข อมูลทั่วไป

และข อมูลสำคัญอื่น


/

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

193

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ : บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) ชื่อย่อหลักทรัพย์ : ADVANC วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ : 5 พฤศจิกายน 2534 มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด : 746,246.93 ล้านบาท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2557) ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว : 2,973,095,330 บาท จ�ำนวนผู้ถือหุ้นทั้งหมด : 45,640 ราย (ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2557 วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด เพื่อสิทธิในการได้รับเงินปันผล) สัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free float) : 36.22% ประเภทธุรกิจ : ให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นย่านความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ในระบบดิจิทัล GSM (Global System for Mobile Communication) และให้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ในระบบดิจิทัล UMTS (Universal Mobile Telecommunications System) ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 เลขทะเบียนบริษัท : 0107535000265 เว็บไซต์ : http://www.ais.co.th โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165

American Depositary Receipt ชื่อย่อของหลักทรัพย์ วิธีการซื้อขาย นายทะเบียน อัตราส่วน (ADR to ORD) หมายเลข ADR CUSIP

: AVIFY : ซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter: OTC) : The Bank of New York Mellon : 1:1 : 00753G103


194

ข้อมูลทั่วไปของบริษัทย่อย บริษัทย่อย ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว สัดส่วนการ (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) ถือหุ้น (%)

บริษัท ดิจิตอล โฟน จ�ำกัด (DPC) ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 ส�ำนักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5455

365.55

10

3,655.47

98.55

บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค ให้บริการการสื่อสารข้อมูล คอมมิวนิเคชั่นส์ จ�ำกัด (ADC) ผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ (บริษัทย่อยโดยอ้อมผ่าน DPC) และสาย Optical Fiber ส�ำนักงานเลขที่ 408/157 ชั้น 38 อาคารพหลโยธินเพลส ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2270 1900 โทรสาร : (66) 2270 1860 เว็บไซต์ : www.adc.co.th

95.75

10

957.52

51.00 1)

ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์

27.2

10

272

99.99

บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (ACC) ส�ำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5959

บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด ให้บริการช�ำระค่าสินค้า (AMP) และบริการผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนที่แทนการใช้เงินสด ส�ำนักงานเลขที่ 408/60 หรือบัตรเครดิต อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2687 4808 โทรสาร : (66) 2687 4788

30

10

300

99.99

บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จ�ำกัด (AMC) ส�ำนักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2615 3330

25

10

250

99.99

จ�ำหน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card)


/

195

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทย่อย ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว สัดส่วนการ (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) ถือหุ้น (%)

ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จ�ำกัด (AIN) ส�ำนักงานเลขที่ 408/127 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 29 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2278 7030 เว็บไซต์ : www.ain.co.th

2

100

100

99.99

บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (SBN) ส�ำนักงานเลขที่ 408/157 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 38 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2619 8777 เว็บไซต์ : www.sbn.co.th

ให้บริการโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ และบริการโครงข่าย โทรคมนาคมระหว่างประเทศ เช่น บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต ระหว่างประเทศ เป็นต้น

3

100

300

99.99

บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จ�ำกัด (WDS) ส�ำนักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 5777 โทรสาร : (66) 2299 5200

น�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์โทรคมนาคม

0.5

100

50

99.99

บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส ให้บริการโทรคมนาคม บริการ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (AWN) โครงข่ายโทรคมนาคม และบริการ ระบบคอมพิวเตอร์ โดยปัจจุบนั ส�ำนักงานเลขที่ 408/60 AWN ได้รบั ใบอนุญาตให้บริการ อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน อินเทอร์เน็ต (ISP) แบบที่หนึ่ง ใบอนุญาตให้บริการโทรคมนาคม เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร แบบที่สาม และใบอนุญาตให้ใช้ โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ โทรสาร : (66) 2687 4986 จาก กสทช.

13.5

100

1,350

99.99


196

บริษัทย่อย ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว สัดส่วนการ (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) ถือหุ้น (%)

บริษัท แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต ให้บริการอินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น จ�ำกัด (AIR) 2) ส�ำนักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5200

บริษัท ไมโม่เทค จ�ำกัด (MMT) ส�ำนักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จ�ำกัด (FXL) ส�ำนักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (ABN) ส�ำนักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

24

10

240

99.99

พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ (IT) และบริการรวบรวมข้อมูล บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator)

0.5

100

50

99.99

จัดหา และ/หรือ ให้เช่า ที่ดิน อาคาร และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการประกอบ ธุรกิจโทรคมนาคม

0.01

100

1

99.98

0.15

100

155)

99.98

ปัจจุบันยังมิได้ประกอบธุรกิจ


/

197

รายงานประจำ�ปี 2557 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทร่วมทุน ประเภทธุรกิจ

บริษัท ศูนย์ให้บริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จ�ำกัด (CLH) ส�ำนักงานเลขที่ 598 ชั้น 6 อาคารคิวเฮ้าส์ เพลินจิต ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744 บริดจ์ โมบาย พีทอี ี แอลทีดี (BMB) 4) 750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, ประเทศสิงคโปร์ 469000 โทรศัพท์ : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จ�ำกัด6) 52/1 หมูท่ ี่ 5 ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ต�ำบลบางสีทอง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ ทุนช�ำระแล้ว สัดส่วนการ (ล้านหุ้น) ต่อหุ้น (บาท) (ล้านบาท) ถือหุ้น (%)

ศูนย์ให้บริการระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลกลาง ประสาน งานการโอนย้ายผู้ให้บริการ โทรคมนาคมเพื่อการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท์ (Mobile Number Portability: MNP)

0.02

ให้บริการเกี่ยวกับเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาคพื้น เอเชีย แปซิฟิก เพื่อให้บริการ เครือข่ายโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ

9

ให้เช่าโครงข่ายสื่อสัญญาณ โทรคมนาคม

0.5

100

2

1 9 เหรียญสหรัฐ ล้านเหรียญสหรัฐ

100

12.5

20.00

10.00

29.00

หมายเหตุ : 1) สัดส่วนการถือหุ้นใน ADC ที่เหลืออีกร้อยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างกัน (Conflict of interests) 2) ขั้นตอนการยกเลิกบริษัท แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น จ�ำกัด ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2557 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2557 ปัจจุบันอยู่ระหว่างกระบวนการช�ำระบัญชี 3) ปัจจุบัน กระบวนการช�ำระบัญชีและกระบวนการทางกฎหมายเพื่อยกเลิก บจ. โมบาย บรอดแบนด์ บิสซิเนส (MBB) และ บจ. แอดวานซ์ โมบาย บรอดแบรนด์ (AMB) ซึ่งบริษัทได้เคยแจ้งในมติที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2556 นั้น ได้ดำ� เนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว 4) บริดจ์ โมบาย พีทอี ี แอลทีดี (BMB) ได้ลดทุนจดทะเบียนจาก 23 ล้านหุน ้ เป็น 9 ล้านหุน้ และทุนช�ำระแล้วจาก 23 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็น 9 ล้านเหรียญสหรัฐ ตามข้อมูล ณ วันที่ 14 พ.ย. 2557 จาก Accounting and Corporate Regulatory Authority (ARCA) ทั้งนี้การลดทุนดังกล่าวไม่กระทบสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทแต่อย่างใด 5) จดทะเบียนเพิ่มทุนจาก 1 ล้านบาท เป็น 15 ล้านบาท เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558 6) บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด ได้รับหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 29 ในบริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จ�ำกัด จากบริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2557


198

ข้อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์หุ้นสามัญ

ผู้สอบบัญชี

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (66) 2229 2800 โทรสาร : (66) 2359 1259 คอลเซ็นเตอร์ : (66) 2229 2888 นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชั้น 48-51 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (66) 2677 2000 โทรสาร : (66) 2677 2222


Digital Life

บร�ษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร ว�ส จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ 414 อาคารอินทัช ถนนพหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 www.ais.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.