Form 56 1 2001

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส (ADVANC)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)…………………………………………………………………………………..……….

1

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสี่ยง………………………………………………………………………………………………..…………………2 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ…………………………………………………………………………………………………..3 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ………………………………………………………………….…….8 4. การวิจยั และพัฒนา…………………………………………………………………………………………………………….14 5. ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ…………………………………………………………………………………..30 6. โครงการในอนาคต…………………………………………………………………………….………………………………31 7. ขอพิพาททางกฎหมาย…………………………………………………………………………….………………………..37 8. โครงสรางเงินทุน…………………………………………………………………………….………………………………….38 9. การจัดการ…………………………………………………………………………….…………………………………………..47 10. การ ควบคุมภายใน…………………………………………………………………………….………………………………. 54 11. รายการ ระหวางกัน…………………………………………………………………………….……………………………… 55 12. ฐานะ การเงินและผลการดําเนินงาน………………………………………………………………………….…….. 67 13. ขอมูล อื่นที่เกี่ยวของ………………………………………………………………………………………………….…….... 84 สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล เอกสารแนบ 1 เอกสารแนบ 2 เอกสารแนบ 3 เอกสารแนบ 4

รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษทั รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษทั ยอย รายละเอียดสัญญารวมการงาน ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน


เอกสารแนบ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) เปนบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตั้งแตเดือน พฤศจิกายน 2534 บริษัทประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยาน ความถี่ 900 MHz ทั้งระบบอนาลอก NMT (Nordic Mobile Telephone) และ ระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) บริษัทมีการใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (Automatic International Roaming) ซึ่งปจจุบันสามารถนําไปใชไดในกวา 85 ประเทศทั่วโลก นอกจากนั้นบริษัทยังมีบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการ ลวงหนา (Pre-paid) ภายใตชื่อ “1-2Call!” และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 ณ วันที่ 31 มกราคม 2545 บริษัทมี สวนแบงตลาดในสัดสวนประมาณ รอยละ 60 ของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย (ไมรวมสวนแบงตลาดของ DPC อีกรอยละ 4.8) ป จ จุ บั น นอกจากการให บ ริ ก ารเครื อ ข า ยโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ ล ว บริ ษั ท ยั ง มี ก ารลงทุ น ในกิ จ การที่ เ กี่ ย วกั บ โทรคมนาคมดานอื่นๆ โดยบริษัทไดเขาถือหุนในบริษัทยอย 5 บริษัท ดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) ดําเนินธุรกิจเปนผูนําเขาและจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ในระบบอนาลอก NMT 900 และ ดิจิตอล GSM Advance และ GSM 1800 รวมทั้งอุปกรณโทรคมนาคมอื่นๆ และมีระบบการจําหนายแบบ Franchise ที่มีชื่อทางการคาคือ เทเลวิซ และมีการจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ผานตัวแทนจําหนายอื่นๆ ทั่วประเทศ 2. บริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) ดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัวภายใตชื่อ “โฟนลิ้งค” โดย เปนบริการโทรศัพทติดตามตัวระบบแรกของประเทศไทยที่มีพื้นที่ใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศ 3. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท (On-line Data Communication) โดยมีลูกคารายใหญ คือ ธนาคาร คลังน้ํามัน และสายการบิน ปจจุบัน ADC มีพื้นที่ใหบริการและระบบเครือขาย (Backbone Network) ครอบคลุมทั่วประเทศ 4. บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท (On-line Data Communication) ในเขตภูมิภาค 5. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ในเดือนธันวาคม 2544 บริษัทไดเขาไปลงทุนในสัดสวนรอยละ 98.17 ในบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) โดย DPC ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ ดิจิตอล GSM 1800 ปจจุบันมีพื้นที่ใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกและตัว เมืองในจังหวัดใหญๆ โดยการใหบริการในเขตจังหวัดอื่นๆ นั้น DPC จะใหบริการผานโครงขายรวมกับบริษัท โดยมีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming)

1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ทั้งในระบบ ดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) และระบบ อนาลอก NMT (Nordic Mobile Telephone) และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบ ดิจิตอล GSM 1800

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

บมจ. 59

Home Page

:

http://www.ais900.com

โทรศัพท

:

0-2299-6000

โทรสาร

:

0-2615-3330

2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1. ปจจัยความเสี่ยง 1.1 ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายของรัฐบาล จากการที่บริษัทดําเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคมซึ่งเปนธุรกิจที่ตองดําเนินงานภายใตสิทธิของหนวยงาน รัฐ โดยบริษัทไดรับอนุญาต จาก ทศท. ทําใหตองไดรับผลกระทบจากพันธะกรณีที่ประเทศไทยมีกับ องคการการคาโลก (WTO) กลาวคือจะตองมีการดําเนินการเปดเสรีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมขั้น พื้นฐานภายในป พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) รัฐบาลจึงไดมีการเตรียมการเพื่อเปดเสรีขึ้นโดยลําดับ โดย ไดวางแผน แมบทโทรคมนาคมไทยเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2540 ประกอบกับรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 มาตรา 40 ไดกําหนดใหมีการจัดตั้งองคกรอิสระ คือ คณะกรรมการกํากับกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ (กทช.) เพื่อทําหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและวิทยุโทรคมนาคม รวมทั้งทําหนาที่กํากับดูแลการประกอบกิจการและกําหนดกติกาการแขงขันโดยเสรีอยางเทาเทียมและเปน ธรรมระหวาง ผูประกอบการทั้งรายเกาและรายใหม แทนหนวยงานรัฐเดิมโดยมีพระราชบัญญัติประกอบ กิจการ โทรคมนาคม (พรบ.โทรคมนาคม) เปนกฎหมายที่จะใชแทนพระราชบัญญัติโทรเลข โทรศัพท พ.ศ. 2477 พระราชบัญญัติองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย พ.ศ. 2498 พระราชบัญญัติ การสื่อสารแหงประเทศไทย พ.ศ. 2519 และกฎหมายโทรคมนาคมอื่นๆ ที่จะตองสิ้นสุดลงตามพรบ. โทรคมนาคมฉบับนี้ การเปดเสรีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเพื่อใหเกิดการแขงขันโดยเสรีอยางเทาเทียมและเปนธรรมตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญไดนั้นจะตองมีการดําเนินการในเรื่องหลัก 4 เรื่องตอไปนี้ 1. การจัดตั้งคณะกรรมการกํากับกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ตามพระราชบัญญัติจัดสรร คลื่นความถี่ฯ 2. การออกพระราชบัญญัติประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่งดําเนินการเรียบรอยแลว 3. การแปรสัญญารวมการงานของผูประกอบการรายเดิม 4. การแปรรูป ทศท. และ การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) จากประเด็นขางตน สิ่งที่จะมีผลกระทบกับบริษัทและผูประกอบการภายใตสัญญารวมการงานของ หนวยงานรัฐที่เกี่ยวของคือ ความจําเปนในการแปรสัญญารวมการงานที่มีอยู เนื่องจากหลังจากมีการ จัดตั้ง กทช. และบังคับใช พรบ. โทรคมนาคม ผูประกอบกิจการโทรคมนาคมทุกรายทั้งรายเกาและราย ใหมรวมทั้งทศท. และกสท. จะตองอยูภายใตการกํากับดูแลของกทช. และดําเนินกิจการภายใตกฎและ ขอบังคับของ กทช. อยางเทาเทียมกัน ในเรื่องการแปรสัญญารวมการงานนั้นมีประเด็นในเรื่องการคํานวณสวนแบง รายไดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตภายหลังจากการแปรสัญญารวมการงาน ซึ่งประเด็นดังกลาวยังไมสามารถหา ขอสรุปได อยางไรก็ตามแนวทางการศึกษาดังกลาวจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับ นโยบายแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (กนร.) อีกทั้งยังตองขึ้นอยูกับการเจรจาระหวางเอกชนผูไดรับสัญญารวมการ งาน และหนวยงานรัฐผูใหสัญญารวมการงานอีกดวย นอกจากนี้ยังมีประเด็นจาก พรบ. ประกอบกิจการโทรคมนาคม ที่ประกาศใชเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 ในเรื่องของสัดสวนการถือหุนในบริษัทโทรคมนาคมใด ๆ ของชาวตางชาติ จะตองไมเกินรอยละ 25 และการไมสามารถเก็บเงินคาประกันการใชบริการและเงินลวงหนาจากผูใชบริการได ซึ่งในสวนนี้

3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทไดหารือรวมกับหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของแลวพบวาไมนาจะเกิดปญหาใด ๆ ตอการดําเนินงานของ บริษัทเพราะตามหลักกฎหมายทั่วไปเมื่อประกาศใชจะไมมีผลบังคับยอนหลังกับเหตุการณที่เกิดขึ้นกอน อยางใดก็ตาม เพื่อมิใหเกิดขอโตแยงทางกฎหมายขึ้นในภายหลัง ทางรัฐบาลก็มีนโยบายที่ชัดเจนที่จะเสนอ แกไข พรบ. ประกอบกิจการโทรคมนาคม ในประเด็นปญหาดังกลาว เพื่อใหเกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ เชน การแกไขเรื่องสัดสวนของการถือหุนในบริษัทโทรคมนาคมใด ๆ ของชาวตางชาติจากที่กําหนดไวเดิม ตองไมเกินรอยละ 25 เปนตองไมเกินรอยละ 49 เปนตน สําหรับประเด็นเรื่องการเก็บเงินคาประกันการใชบริการ บริษัท ก็มิไดเรียกเก็บเงินประกันการใชบริการกับ ลูกคามาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว ในสวนของเงินประกันการใชบริการของลูกคาเดิมที่เก็บไว แมวากฎหมาย จะมิไดกําหนดใหตองคืนใหกับลูกคา บริษัทก็ยังมีแนวทางในการคืนเงินประกันใหกับลูกคา โดยคาดวาจะ ไมมีผลกระทบตอกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน และยังสามารถลดภาระเรื่องสวนแบงรายไดจากดอกผล ของเงินประกันการใชบริการดังกลาวที่ตองสงใหกับ ทศท. ในระยะยาวไดอีกดวย อาจกลาวโดยสรุปไดวา การแปรสัญญารวมการงานและนโยบายการเปดเสรีในอนาคตซึ่งยังไมมีความ ชัดเจนและอาจจะมีผลกระทบตอธุรกิจของบริษัท อยางไรก็ตามแมวาการเปดเสรีจะทําใหมีผูประกอบการ รายใหมสนใจจะเขามาแขงขันเพิ่มขึ้น แตผูประกอบการทุกรายจะตองดําเนินธุรกิจอยูภายใตกฎเกณฑ เดียวกัน นอกจากนั้น ผูประกอบการรายใหมยังจะตองเผชิญกับขอจํากัดในการเขาสูตลาด (Barrier to Entry) เชน การสรางฐานลูกคาและเงินลงทุน เวลาในการพัฒนาระบบเครือขาย และ ชองทางการตลาด 1.2 ความเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับการตลาดและการแขงขัน ในปจจุบันมีผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 2 ราย ไดแก บริษัท และ TAC มีสวนแบงตลาด รวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ประมาณรอยละ 94.5/1 ของสวนแบงตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของ ประเทศไทย ซึ่งนอกเหนือจากผูประกอบการหลัก 2 รายขางตนแลว ยังมีผูประกอบการรายเล็กอีก 3 ราย ในตลาดคือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) กสท. และ ทศท. โดยในจํานวนผูประกอบการรายเล็กนี้ DPC จะมี สวนแบงการตลาดที่สูงที่สุดคือประมาณรอยละ 4.7 ของสวนแบงตลาดรวม ซึ่งหากรวม สวนแบงการตลาดของบริษัท และ DPC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทเขาไวดวยกัน จะทําใหมีสวนแบง การตลาดที่สูงถึงรอยละ 65 และเนื่องจากการเปนผูนําในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่นี้เอง ที่ทําใหบริษัทมี บทบาทคอนขางมากในการกําหนดทิศทางของตลาด นอกจากนี้บริษัทไดมีการสรางระบบเครือขายที่ ครอบคลุมทั้งในแงพื้นที่การ ใหบริการ (Coverage) และความสามารถในการรองรับผูใชบริการ (Capacity) โดยมีพื้นที่ใหบริการ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ ดังนั้นแมมีความเสี่ยงเกี่ยวกับ การแขงขันจากผูประกอบการรายใหม แตการเขาสูตลาดของผูประกอบการรายใหมจะมีปจจัยที่เปน อุปสรรค ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ - เงินลงทุนในการขยายเครือขายใหเทาเทียมกับบริษัท ซึ่งในแตละปทางบริษัทไดมีการลงทุนอยาง ตอเนื่อง เพือ่ ใหสามารถมีพื้นที่ครอบคลุมทั่วประเทศรวมถึงการเพิ่มศักยภาพในการตอบสนอง ฐานลูกคาที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว - ระยะเวลาที่ตองใชสําหรับการสรางและพัฒนาระบบเครือขายใหทัดเทียมกับบริษัท - ขอจํากัดในดานคลื่นความถี่ ในขณะที่ยังไมมีการเปดเสรีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมก็ยังเปน อุปสรรคในการเขาสูตลาดของผูประกอบการรายใหม แตหลังจากมีการเปดเสรีโทรคมนาคม

4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ภายในป 2549 แลว ขอจํากัดดังกลาวก็จะหมดไป เนื่องจากผูประกอบการรายใหมอาจสามารถ เขามาประกอบการได โดยการขอใบอนุญาตการประกอบการจาก กทช. - การที่บริษัทมีฐานลูกคาผูใชบริการจํานวนมากอยูในระบบ ทําใหบริษัทมีความไดเปรียบในเรื่อง การบริหารตนทุนการดําเนินการ (Economy of Scale) - ประสบการณในการดําเนินงานรวมถึงความสัมพันธของบริษัทที่มีกับชองทางการจัดจําหนาย

อยางไรก็ตามในป 2545 บริษัทคาดวาจะมีผูประกอบการที่จะขึ้นมาเปนคูแขงในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่ง ไดแก (ก) บริษัท ทีเอ-ออเรนจ จํากัด (TAO) เปนที่คาดการณวาจะมีการเริ่มเปดใหบริการอยางเปน ทางการภายในไตรมาส 1 ของป 2545 ดวยบริการที่มีทั้งระบบ Postpaid และ Prepaid โดยมีพื้นที่ ครอบคลุมเฉพาะกรุงเทพฯและปริมณฑลในชวงแรก และมีการขยายไปยังหัวเมืองหลักในสวนภูมิภาคในชวง ถัดไป (ข) บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด ซึ่งคาดวาจะมีการเริ่มใหบริการไดในชวงครึ่งปหลัง ของป 2545 โดยคาดวาจะเปนการนําบริการที่ทันสมัยบนเทคโนโลยี CDMA เพื่อเสนอใหกับลูกคา เฉพาะกลุมเทานั้นเนื่องจากจะมีคาบริการคอนขางสูงเมื่อเทียบกับความตองการพื้นฐานในการติดตอสื่อสาร รวมถึง ขอจํากัดทางดานเงินทุนในการขยายเครือขายไปในสวนภูมิภาค (ค) บริษัท ไทยโมบาย จํากัด ที่ใหบริการระบบ GSM 1900 มีแผนในการเปดใหบริการภายในเดือน มีนาคมนี้ โดยบริษัท ไทยโมบาย จํากัด จะทําการเชาโครงขายจากบริษัท เอ. ซี. ที. โมบาย จํากัด (บริษัท รวมทุนระหวาง กสท. และ ทศท.) ซึ่งครอบคลุมพื้นที่การใหบริการเฉพาะในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล สวนการขยายพื้นที่บริการไปยังสวนภูมิภาคนั้นคาดวาจะเปนการเชาโครงขายกับบริษัทเอกชนที่มีการติดตั้ง โครงขายแลว เพราะการติดตั้ง โครงขายเองจะตองใชเงินลงทุนที่สูงและตองใชเวลาในการติดตั้งเพื่อให ครอบคลุม พื้นที่ทั่วประเทศ สําหรับงานดานการตลาดก็ไดมีการมอบหมายใหบริษัทเอกชน เปนผูดําเนินการ ให และนอกเหนือจากผูประกอบการรายใหมที่อยูในอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่แลว ยังมีระบบโทรศัพท PCT ของบริษัท เทเลคอม เอเชีย จํากัด (มหาชน) ซึ่งจากลักษณะของสินคาประเภทนี้ไมสามารถจะเปน สินคา ทดแทนโทรศัพทเคลื่อนที่ไดอยางสมบูรณ เนื่องจาก - ขอจํากัดในดานสถานีรับ-สงสัญญาณ ซึ่งทําใหตองการการลงทุนอีกเปนจํานวนมากเพื่อให สามารถครอบคลุมพื้นที่ใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร - ขอจํากัดในดานเทคนิคเรื่อง Slow hand-off speed ซึ่งทําใหไมสามารถสื่อสารใน ยานพาหนะขณะเคลื่อนที่ดวยความเร็วเกินกําหนดได (ประมาณ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง) จะเห็นไดวาการแขงขันจากผูใหบริการรายใหม และบริการทดแทน อาจจะสงผลใหผูบริโภคชลอการ ตัดสินใจในการซื้อโทรศัพทเคลื่อนที่ในระยะแรก เนื่องจากตองการเปรียบเทียบราคาและรายการสงเสริม การขายและอาจเกิดการขามระบบของกลุมลูกคาปจจุบันที่ใหความสําคัญในดานราคามากกวาคุณภาพ เนื่องจากมีการใชงานที่ไมมากนักและเนนการประหยัดคาใชจายแทน แตอยางไรก็ตามบริษัทคาดวาจะไมมี ผลกระทบตอบริษัทมากนัก เนื่องจากผูใหบริการสวนใหญเนนการใหบริการในเขตกรุงเทพมหานครเปน

5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หลัก และการติดตั้งสถานีฐานมีขอจํากัดทางดานเงินทุนเวลาและการจัดหาสถานที่ นอกจากนี้การที่บริษัท เขาไปถือหุนในบริษัท DPC ทําใหบริษัทสามารถที่จะพัฒนาเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทรวมกับ DPC เพื่อใหสามารถใหบริการไดครอบคลุมพื้นที่และสามารถรองรับจํานวนผูใชบริการไดมากขึ้น การใช เครือขายรวมกันของบริษัท และ DPC จะเปนการเพิ่มคุณภาพเครือขายของทั้งสองบริษัทดวย 1.3 ความเสี่ยงดานเทคโนโลยีและการปฏิบัติการ (1) ความเสี่ยงจากการสูญเสียผูบริหาร ความสํ า เร็ จ ส ว นหนึ่ ง ของการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ นั้ น เกิ ด จากความมุ ง มั่ น และความสามารถในการ ดําเนินงานของผูบริหารของบริษัท ซึ่งสวนใหญจะเปนผูมีความชํานาญเฉพาะดาน ดังนั้นหากเกิดการ สูญเสีย

ผูบริหารเหลานั้น อาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท อยางไรก็ตามบริษัทมีนโยบายใน การพัฒนาฝกอบรมผูบริหารอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถทํางานทดแทนกันได เพื่อลดผลกระทบ ดังกลาว (2) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การที่บริษัทดําเนินธุรกิจอยูในอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่นั้นทําใหบริษัทอาจมีความเสี่ยงตอการ ลงทุนพัฒนาระบบโทรศัพทมือถือใหทันกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยูตลอดเวลา ปจจุบัน บริษัทไดมีการลงทุนอยางตอเนื่องในระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ซึ่งเปนระบบ เดียวกับผูประกอบการรายใหญของโลกโดยสวนใหญกําลังทําการพัฒนาระบบโทรศัพทมือถือโดยใช ระบบดิจิตอล GSM ซึ่งเทคโนโลยีที่ใชในปจจุบันเปนเทคโนโลยียุคที่ 2.5 เปนพื้นฐานในการ พัฒนาไปสู ยุคที่ 3 ตอไป ดังนั้นบริษัทจะสามารถใชระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทเปนพื้นฐาน ของการกาวสูเทคโนโลยีใหมๆ ในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยียุคที่ 3 ทําใหมีความกาวหนาและสนองความตองการของลูกคาที่ตองการการ สื่อสารที่ใชความเร็วสูง เชน Multimedia ตางๆ สงผลกระทบใหบริษัทมีความจําเปนตองใชเงิน ลงทุนเพิ่มขึ้นในการปรับระบบตางๆ โดยเฉพาะระบบโครงขายใหสามารถรองรับเทคโนโลยีใหม หาก เทคโนโลยีดังกลาวเปนที่นิยมในหมูผูบริโภคเปนอยางสูง และทดแทนเทคโนโลยียุค 2.5 จะสงผลให เครือขายของบริษัทในปจจุบันมีความลาสมัยและไมสามารถตอบสนองตอความตองการของลูกคาได อยางเต็มที่ อยางไรก็ดีการพัฒนาไปสูยุคที่ 3 นั้น มีความจําเปนตองใชเงินลงทุนเพิ่มขึ้น แตทั้งนี้เทคโนโลยีใหมๆ ที่เกิดขึ้น เปนการออกแบบและผลิตโดยผูนําตลาดในตางประเทศ ซึ่งเทคโนโลยีบางอยางอาจยัง ไมพรอมสําหรับประเทศไทย เนื่องจากผูบริโภคที่ตองการเทคโนโลยีใหมนี้อาจจํากัดอยูในวงแคบ การนําพัฒนาการใหมๆ มาใชในประเทศไทยอาจจะตองพิจารณาถึงความเหมาะสมและความเปนไป ไดในการลงทุนดวย ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอันเนื่องมาจากมีระบบอื่นมาทดแทน ระบบดิจิตอล GSM นั้น ยังคงไมเกิดขึ้นในระยะเวลาอันใกลนี้ (3) ความเสี่ยงในการเรียกเก็บคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ปจจุบันบริษัทออกใบแจงหนี้เรียกเก็บคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหกับลูกคาเปนรายเดือนสําหรับ ลูกคาระบบ Post-paid ดังนั้นบริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการที่ไมสามารถเก็บคาใชบริการจาก

6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลูกคาได อยางไรก็ตามบริษัทไดมีมาตรการในการบริหารความเสี่ยงนี้ โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ระบบ Fraud Management ทั้งนี้บริษัทจะทําการระงับการใชบริการของลูกคาที่คางชําระเกิน กวากําหนด นอกจากนั้นบริษัทสามารถลดความเสียหายดังกลาวไดโดยกําหนดมูลหนี้สูงสุดของ ลูกคาแตละรายได โดยกําหนดวาถาหากผูใชบริการมีการคางชําระหนี้บริษัทเกินกวาจํานวนดังกลาว ก็จะไมสามารถใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดจนกวาจะมีการชําระเงินเรียบรอย การใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่โดยการเรียกชําระคาใชบริการโทรศัพทลวงหนา (Pre-paid) ภายใตชื่อ 1-2Call! เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยลดปญหาหนี้เสียของบริษัทได ซึง่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัท ไดสรางลูกคาในระบบ Pre-paid หรือ 1-2-Call! มากขึ้นจนมีสัดสวนประมาณรอยละ 48 ของลูกคาทั้งหมดของบริษัท และมีสัดสวนรายไดคิดเปนประมาณรอยละ 11 ของรายได รวมของบริษัท จึงทําใหความเสี่ยงในการเรียกเก็บคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ลดต่ําลงไปอีก

1.4 ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเงินและภาวะเศรษฐกิจ -

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

เนื่องจากลักษณะธุรกิจของบริษัทเกี่ยวของโดยตรงกับเทคโนโลยีจากตางประเทศทําใหไมสามารถหลีกเลี่ยง ภาระคา ใชจายสําหรับการลงทุนในสกุล เงิน ตราตา งประเทศได ซึ่งในกรณีที่อัต ราแลกเปลี่ยนระหวา ง เงินบาทกับสกุลเงินตางประเทศออนตัวลง หมายถึงภาระการลงทุนที่เพิ่มขึ้นของบริษัท ซึ่งจะทําใหตนทุน ของบริษัทเพิ่มขึ้น และสงผลใหกําไรของบริษัทลดลง อยางไรก็ตามบริษัทมีน โยบายปองกัน ความเสี่ยง ดังกลาว ดวยการใชเครื่องมือปองกันความเสี่ยงทางการเงิน (Hedging Instrument) เพื่อลดความเสี่ยงจาก การผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยบริษัทจะทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ลวงหนาเพื่อปดความเสี่ยงดังกลาว ใหเหมาะสมกับสภาวะการณในขณะนั้น บริษัทไดทําสัญญาซื้อขาย เงินตราตางประเทศลวงหนา โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 วันครบกําหนดชําระเงินของสัญญาซื้อขาย เงินตราตางประเทศลวงหนาที่เปดสถานะไวมีอายุระหวาง 6 วันถึง 278 วัน โดยจํานวนเงินที่บริษัทจะ ไดรับเทียบเทาจํานวนเงินบาทประมาณ 8,000 ลานบาท นอกจากนั้นความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน นาจะเปนปจจัยซึ่งเปนผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ จึงเปน ผลกระทบกับผูประกอบการทุกรายไมเฉพาะเพียงบริษัทเทานั้น และการที่บริษัทมีนโยบายในการระดมทุน ภายในประเทศเปนสวนใหญก็สามารถลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศไดในระดับหนึ่ง 1.5 ความเสี่ยงจากการที่บริษัทมีการลงทุนในบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ตามที่บริษัทไดเขาไปลงทุนรอยละ 98.17 ในบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งดําเนินกิจการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในยานคลื่นความถี่ 1800 MHz ตามมติที่ประชุมกรรมการ บริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 โดยคิดเปนเงินลงทุนประมาณ 20,300 ลาน บาทนั้น เมื่อพิจารณาถึงขนาดของการลงทุนแลวจะเห็นวาเปนจํานวนเงินลงทุนที่คอนขางสูงซึ่งอาจสงผล กระทบตอฐานะทางการเงินของบริษัทได ถาในกรณีที่การลงทุนนั้นใหผลตอบแทนต่ําหรือไมสามารถให ผลตอบแทนไดเลย โดย ณ สิ้นป 2544 DPC มีผลประกอบการที่ขาดทุนอยูประมาณ 1,412 ลาน

7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บาท แตอยางไรก็ตามการเขาไปลงทุนดังกลาว จะชวยใหบริษัทสามารถดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น โดยจะเปนบริษัทแรกที่มีการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ใน 2 ยานความถี่และจะมีขอตกลงในการใชเครือขายรวมกัน (Network Roaming) ซึ่งจะ ทําใหสามารถใหบริการไดครอบคลุมพื้นที่ไดมากขึ้นและมีความสามารถในการรองรับจํานวนผูใชบริการได มากกวาเดิม ทั้งสองบริษัทยังสามารถวางแผนการลงทุนขยายเครือขาย (Network) รวมกันเพื่อ ประหยัดเงินลงทุน และสามารถใชเครือขายไดอยางมีประสิทธิภาพโดยเกิดการซ้ําซอนกันนอยที่สุด และมี การใชประโยชนจากเครือขายไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งยังเปนการรองรับการเปดเสรี โทรคมนาคม ซึ่งธุรกิจของ DPC จะเอื้อตอธุรกิจของบริษัท และเปนธุรกิจที่มีศักยภาพและสามารถให ผลตอบแทนที่ดีตอบริษัทในอนาคต นอกจากนั้นยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาบริการเสริมเพื่อตอบสนองความตองการ และ สามารถ จัดวางตําแหนงของผลิตภัณฑ (Product Positioning) ใหตรงกับความตองการของผูใชบริการแตละ กลุม มากยิ่งขึ้น หลังจากมีการเขาไปถือหุนใน DPC แลว บริษัทไดวางตําแหนงของสินคาของ DPC ใหมคือโทรศัพท เคลื่อนที่ “GSM 1800” ซึ่งจะเปนระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีพื้นที่ใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศ เทียบเทากับเครือขายการใหบริการของระบบดิจิตอล GSM Advance ทั้งนี้กลุมลูกคาเปาหมายของ DPC จะเปนลูกคาที่มีความตองการใชโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อการติดตอสื่อสารขั้นพื้นฐานและตองการใช โทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีเครือขายการใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศ

8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเปน บริษัทจํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกในการดําเนินธุรกิจใหเชาและ ใหบริการคอมพิวเตอร ตอมาในป 2532 บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปนบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ไดเขามาเปนผูถือหุนของ บริษัทในสัดสวนรอยละ 60 ของทุนจดทะเบียน และไดเปลี่ยนวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจเปนการ ใหบริการโทรคมนาคม เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 หุนสามัญของบริษัทไดเขาเปนหลักทรัพยจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และในวันที่ 19 กุมภาพันธ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึ่งเปนบริษัทในกลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปรซึ่งดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสื่อสารและ โทรคมนาคมไดเขาถือหุนในบริษัท ปจจุบัน SingTel เปนผูถือหุนในบริษัททั้งสิ้นรอยละ 19.35 นอกเหนือจากธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทยังไดขยายการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับโทรคมนาคมโดย ในเดือนธันวาคม 2541 บริษัทไดเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) ใน สัดสวนรอยละ 99.99 ซึ่งดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ จากนั้นในเดือนกุมภาพันธ 2542 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) (เดิมชื่อ บริษัท ชินวัตร เพ จจิ้ง จํากัด) ซึ่งดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัว จากเดิมรอยละ 60.00 เปนรอยละ 99.99 และใน เดือนตุลาคม 2542 บริษัทเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) (เดิมชื่อบริษัท ชินวัตร ดาตาคอม จํากัด) ในสัดสวนรอยละ 67.95 และบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ในสัดสวนรอยละ 49.00 ซึ่งทั้งสองบริษัทดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุน บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ในสัดสวนรอยละ 99.99 หรือมูลคาการลงทุนรวม 540 ลานบาท จาก บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) และ Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึ่งเปนบริษัทในกลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. บริษัท SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ผูประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 โดยบริษัทไดใหการสนับสนุนทางการเงินแก SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ลานบาท เพื่อใชชําระหนี้ ใหแก SHIN และ SingTel ทั้งนี้บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกจําหนายจํานวน 23.5 ลานหุนเปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN จํานวน 17 ลานหุน และ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน คิดเปนมูลคารวมทั้งสิ้น 10,024 ลานบาท เพื่อเปนเงินทุนสวนหนึ่งในการลงทุนดังกลาว ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ไดอนุมัติใหบริษัท ซื้อหุนบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดสวนรอยละ 98.17 หรือมูลคาการลงทุนรวม 20,300 ลานบาท จากบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) เพื่อใชหนี้คืนใหแกบริษัทและลดภาระภาษีดานรายไดคา ดอกเบี้ย โดยไดเขาไปซื้อหุน DPC เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึ่งจะทําใหบริษัทเปนผูถือหุนใน DPC โดยตรง

8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัทเปนบริษัทหนึ่งในกลุมของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ซึ่งเปนบริษัท ที่ประกอบธุรกิจการเขาลงทุนและมีสวนรวมในการบริหารในบริษัทที่ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมสื่อสาร โทรคมนาคมและมัลติมีเดีย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ธุรกิจของกลุม SHIN แบงไดเปน 4 สายธุรกิจหลัก สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ สายธุรกิจหลัก

บริษัทผูประกอบธุรกิจ

สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (“DPC”) ลงทุนผานทาง บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (“SDT”) บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเกตติ้ง จํากัด (“AWM”) บริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (“APG”) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“ADC”) บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (“DNS”)

ดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ

บริษัท ชิน แซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (“SATTEL”) บริษัท ชิน บรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ซี.เอส. คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“CSC”) Cambodia Shinawatra Co., Ltd. (“CAM”) Lao Telecommunications Co., Ltd. (“LAO”)

สื่อและโฆษณา

บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด (“SMB”) บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (“ITV”)

ธุรกิจอี-บิสสิเนส

บริษัท เทเลอินโฟมีเดีย จํากัด (“TMC”) บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (“ADV”) บริษัท ไอที แอพพลิเคฃั่นส เซอรวิส จํากัด (“ITAS”)

บริษัทประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยานความถี่ 900 MHz ทั้งระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM โดยไดรับอนุญาตใหดําเนินงานจาก ทศท. ตามสัญญารวมการงานลง วันที่ 27 มีนาคม 2533 และขอตกลงตอทายสัญญาที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นภายหลัง โดยบริษัทจะตอง จายเงินผลประโยชนตอบแทนรายปให ทศท. ในอัตรารอยละ 25-30 ของรายไดคาบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ (รายละเอียดของสัญญาในเอกสารแนบ 3) หรืออยางนอยเทากับเงินขั้นต่ําที่ระบุใน สัญญาฯ ดังกลาว สัญญารวมการงานที่ไดรับอนุญาตจาก ทศท. เปนสัญญาประเภทบีทีโอ (BTO: Build–Transfer–Operate) ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดมีการลงทุนในกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 8,556 ลานบาท โดยบริษัทไดเขา ไปลงทุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ในบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ซึ่ง SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน DPC ในเดือน ธันวาคม 2544 บริษัท ไดเขาซื้อหุน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด ( DPC ) จากบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด ( SDT ) ซึ่งทําใหบริษัทเปนผูถือหุนใน DPC โดยตรงในสัดสวนรอย ละ 98.17

9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

DPC ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ยานความถี่ 1800 MHz โดยไดรับสัญญารวมการงานใหดําเนินกิจการโทรคมนาคมจาก กสท. ตามสัญญาลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และขอตกลงตอทายสัญญาที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นภายหลัง โดย DPC จะตองจายเงิน ผลประโยชนตอบแทนรายปให กสท. เปนอัตรารอยละ 20-30 ของรายไดคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (รายละเอียดของสัญญาในเอกสารแนบ 3) หรืออยางนอยเทากับเงินขั้นต่ําที่ระบุในสัญญา สัญญารวมการ งานดังกลาวเปนสัญญาประเภทบีทีโอ (BTO: Build–Transfer–Operate) นอกจากนี้ DPC จะใหบริการโทรศัพทมือถือผานเครือขายรวมกับบริษัท โดยมีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง บริษัท กับ DPC ซึ่งจะทําใหผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 สามารถใชงานไดทั่วประเทศเหมือนกับผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM Advance หลังจากที่บริษัทไดเขาถือหุนใน DPC แลว โครงสรางการถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น และของบริษัท จะมีการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถแสดงไดในแผนผังโครงสรางการถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น และของบริษัท ดังนี้

10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น/1,/3

43.06 %

51.53%

บมจ.ชินแซทเทลไลท/3

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส/3

99.99% 99.99%

67.95%

49%

98.17%

บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด

90.91%

99.99%

Shenington Investments Pte Ltd.

บริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด

100%

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

49% 99.99%

บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

99.99%

บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด

Lao Telecommunications Co., Ltd.

บริษัท ซี เอส คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

80% 100%

บริษัท ซี เอส แซทเทลไลท โฟน จํากัด

iPSTAR Co., Ltd.

11

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด

99.99% บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น

เทคโนโลยี จํากัด

บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด 60.007% บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด

Cambodia Shinawatra Co., Ltd.

บริษัท ชิน บรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด

99.49%

/2

38.25%

79.47% 47.5%

55.53%

99.99%

บริษัท ไอที แอพพลิเคชั่นส เซอรวิส จํากัด

100%

Merry International Investment Corp. /2

บริษัท อารคไซเบอร จํากัด

บริษัท เอส ซี แมทชบอกซ จํากัด บมจ. ไอทีว/3ี

ขอมูล ณ 15 มีนาคม 2545 /1 บริษัท Holding /2 SHIN ถือหุนตรงใน SATTEL ในสัดสวนรอยละ 37.09 ที่เหลือ สัดสวนรอยละ 14.44 ถือหุนโดยออมผาน Merry International Investment Corp. ซึ่งเปนบริษัทยอยของ SHIN 100% /3 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.3 โครงสรางรายได โครงสรางรายไดที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑหรือบริการของบริษัทและบริษัทยอยใหบุคคลภายนอกในระยะ 3 ปที่ผานมา และสําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2544 หนวย : ลานบาท ผลิตภัณฑ/บริการ

ดําเนินการโดย

ป 2542

รอยละการถือ หุน ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 44

รายได

ป 2543 รอยละ

รายได

ป 2544 รอยละ

รายได

รอยละ

ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการและการขายโทรศัพทเคลื่อนที่ การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ รวม

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง

98.17 99.99

16,687.92 6,747.89 23,435.81

64.50 26.08 90.58

24,622.03 10,718.97 35.341.00

64.90 28.25 93.16

38,713.72 1,484.38 18,112.13 58,310.23

63.74 2.44 29.82 96.00

ธุรกิจโทรศัพทติดตามตัว บริการโทรศัพทติดตามตัว คาเชาโทรศัพทติดตามตัว การขายโทรศัพทติดตามตัว รวม

บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง

99.99 99.99 99.99

1,350.12 6.67 250.32 1,607.11

5.22 0.03 0.97 6.22

1,144.32 3.59 193.92 1,341.83

3.02 0.01 0.51 3.54

537.45 1.1 70.05 608.6

0.88 0.00 0.12 1.00

บจ. แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส บจ. ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส

67.95

157.46

0.61

209.06

0.55

293.81

0.48

49.00

13.29 170.75

0.05 0.66

66.75 275.81

0.18 0.73

0.08 0.56

659.03

2.55

978.78

2.58

44.59 338.4 1,480.79

2.44

25,872.70

100.00

37,937.42

100.00

61,798.82

100.0

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท รวม อื่นๆ

รวม

หมายเหตุ : 1) บริษัทเขาถือหุนใน บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด ในสัดสวนรอยละ 99.99 ในเดือนธันวาคม 2541 2) บริษทั เขาถือหุนใน บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ในสัดสวนรอยละ 67.95 และ บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด ในสัดสวนรอยละ 49.00 ในเดือน ตุลาคม 2542 3) บริษัทเขาถือหุนใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด ในสัดสวนรอยละ 98.17 ในเดือนธันวาคม 2544 4) รายไดอื่นๆ ไดแก รายไดดอกเบี้ย และอื่นๆ ไมรวมกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.4 เปาหมายการดําเนินธุรกิจ เพื่อใหบริษัทสามารถครองความเปนผูนําในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยไดอยาง ตอเนื่อง และอยูในฐานะที่จะรักษาการเปนผูนําตอไปในอนาคต โดยบริษัทมีกลยุทธสําคัญที่สราง ความสําเร็จใหแกบริษัท คือ การสรางแนวคิด “ Care for Excellence” ซึ่งทางบริษัทไดมี การเสนอความเปนเลิศของบริษัทในดาน บุคลากร, เทคโนโลยี, บริการ และ เครือขาย ซึ่ง ประกอบกันเปน “4 Excellence” หรือ “4 E” ซึ่งเปนกลยุทธที่ทําใหบริษัทประสบ ความสําเร็จดังนี้ - ความเปนเลิศดานเครือขาย (Network Excellence) กวา 300 แหงในอาคารทั่ว กรุงเทพมหานคร 795 อําเภอทั่วประเทศไทย และ 6 ทวีป 85 ประเทศทั่วโลกกับบริการ ขามแดนอัตโนมัติ ที่ชวยใหเครือขายสัญญาณสามารถติดตอการไดอยางมีประสิทธิภาพ - ความเปนเลิศดานเทคโนโลยี (Technology Excellence) ในปจจุบันโทรศัพทเคลื่อนที่ สามารถสนองตอบความตองการสื่อสารสวนบุคคลไดหลากหลายรูปแบบ ไมจะเปน เสียง (Voice) หรือ ขอมูล (Non voice) รวมถึงการเชือ่ มตออินเตอรเน็ต บริษัทไดมีการ นําเอาเทคโนโลยีระดับสากลเขามารวมพัฒนาบริการอยางตอเนื่อง เพื่อมอบบริการที่มี ประสิทธิภาพสูงสุดอันจะสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบริการได - ความเปนเลิศดานบริการ (Service Excellence) 1) บริษัทมีสํานักงานบริการเอไอเอส 23 สาขาทั่วประเทศไทยที่พรอมใหบริการอยางครบ วงจร โดยลาสุดบริษัทไดนําเครื่องสอบถามขอมูลอัตโนมัติ (Auto Service Kiosk) มาใชบริการ เพือ่ ใหผูใชบริการสามารถดูขอมูลและทําธุรกรรมไดดวยตนเอง 2) ราน Telewiz ที่มีอยูมากกวา 280 รานทั่วประเทศไทย เพื่อรองรับความตองการจาก ผูใชบริการทั่วประเทศไทย 3) AIS Call Center 1175 ใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง ดวยพนักงานที่ไดรับการ ฝกอบรมมาเปนอยางดี 4) www. Ais900.com ซึ่งตอบรับชีวิตยุคใหมดวย Web Service ที่มีขอมูลครบ ทุกเรื่อง ไดทุกที่ ซึ่งใหทั้งขอมูลและบริการ - ความเปนเลิศในดานบุคลากร (People Excellence) บริษัทใชมาตรฐานเดียวกันใน การพัฒนาบุคลากรทั่วประเทศ เพื่อไปสูเปาหมายเดียวกัน คือสรางสรรคสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อความ พึงพอใจของลูกคา

13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ ธุรกิจหลักของกลุมบริษัทไดแกธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการที่เกี่ยวของ ประกอบธุรกิจดังนี้

โดยมีรายละเอียดการ

3.1 ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ ผูประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของกับโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมบริษัทนอกเหนือจากบริษัท ไดแก บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) และบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งทั้ง สองบริษัทเปนบริษัทยอยของบริษัท โดยบริการหลักของบริษัทสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก (1) การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่มีสัดสวน กวารอยละ 67 ของรายไดรวมของบริษัท ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2544 (2) การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Cardและการใหบริการตางๆ ที่ เกี่ยวของ รายไดจากการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และการใหบริการตางๆ คิด เปนสัดสวนประมาณรอยละ 29 ของรายไดรวมของบริษัท ณ สิ้นงวดเดือนธันวาคม 2544 (1) การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ผูใหบริการตองไดรับอนุญาตจากสัญญา รวมการงานของ ทศท. หรือ กสท. เทานั้น โดยบริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนิน กิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ในยานความถี่ 900 MHz ทั้งระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM ทั่วประเทศแบบ คูขนานกันไป เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2558 สวน DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 หรือ ระบบดิจิตอล GSM 1800 ทั่วประเทศ เปนระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 บริษัทใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ซึ่งเปนคลื่นความถี่ต่ํา โดยมี ลักษณะเฉพาะ คือ ครอบคลุมพื้นที่ไดกวางกวาคลื่นความถี่สูง ทั้งนี้ การใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท แบงตามระบบที่ใชไดเปน 2 ระบบ คือ ระบบดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT 900 สําหรับ DPC ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 1800 MHz หรือ GSM 1800 ซึ่งมีลักษณะการใหบริการเหมือนกับโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ ดิจิตอล GSM Advance แตกตางกันเพียงเปนโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชคลื่นความถี่สูง มี ลักษณะเฉพาะคือ ครอบคลุมพื้นที่ไดแคบกวาคลื่นความถี่ต่ํา แตสามารถใหบริการไดดีใน พื้นที่ที่มีความตองการใชบริการที่หนาแนน ปจจุบันเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล

14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

GSM 1800 สามารถใหบริการในเขตพื้นที่ใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร และตัว เมืองในจังหวัดใหญ เชน เชียงใหม นครราชสีมา หาดใหญ เปนตน การใหบริการในเขต จังหวัดอื่นๆ DPC จะใหบริการผานเครือขายรวมกับเครือขายของบริษัท โดยมีสัญญาการ ใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง DPC กับบริษัท ลักษณะสําคัญของทั้งระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM มีดังนี้ - ระบบอนาลอก NMT เปนการสงสัญญาณในลักษณะเดียวกันกับการสงคลื่นวิทยุทั่วไป ปจจุบันไดมีการติดตั้ง ชุมสาย และสถานีฐานเพื่อรองรับการใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศแลว ระบบอนาลอก NMT เหมาะสําหรับลูกคาที่ตองการใชเพียงบริการขั้นพื้นฐานและมีพื้นที่ครอบคลุม ทั่วประเทศ กลุมลูกคาเปาหมายของระบบนี้คือ ลูกคาในพื้นที่ตางจังหวัดเปนสวนใหญ โดย ในเดือนมกราคม 2545 รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการตอเดือน (Average Revenue Per Unit : ARPU) ของระบบอนาลอก NMT เทากับ 767 บาท - ระบบดิจิตอล GSM ระบบดิจิตอล GSM เปนระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอลที่ไดมาตรฐานและมีจํานวน ประเทศที่ใหบริการมากที่สุดในโลกคือกวา 85 ประเทศ บริษัทและบริษัทยอยมีการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในสองยานคลื่นความถี่ คือ 900 MHz และ 1800 MHz ซึ่งโดยปกติแลวโทรศัพทระบบดิจิตอล GSM สามารถ ใหบริการเสริมในรูปแบบตางๆ ที่นอกเหนือจากการบริการทางดานเสียงไดหลากหลายตาม วิวัฒนาการทางเทคโนโลยี บริษัทคาดวาลูกคาที่จะใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ ดิจิตอล GSM ทั้งสองคลื่นความถี่ คือ ลูกคาที่ตองการใชบริการที่มากกวาการใหบริการ ขั้นพื้นฐานเพียงอยางเดียว แตอยางไรก็ตาม บริการตางๆ ที่เสนอโดยบริษัทนั้นจะมีความ แตกตางกันตามความเหมาะสมของกลุมลูกคาเปาหมายของสินคาแตละชนิด โดยในเดือน มกราคม 2545 ARPU ของ GSM Advance เทากับ 1,170 บาท สวน ARPU ของ GSM 1800 เทากับ 1,204 บาท นอกเหนือจากคุณสมบัติดังกลาวแลว ระบบดิจิตอล GSM ยังมีจุดเดนอื่นๆ ที่แตกตาง จากระบบอนาลอก NMT ดังตอไปนี้ (ก) การสื่อสารระบบไอเอสดีเอ็น (ISDN – Integrated Service Digital Network) โทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบดิจิตอล GSM ไดรับการออกแบบใหอยูบนพื้นฐาน เดียวกันกับระบบไอเอสดีเอ็นอันเปนวิวัฒนาการขั้นตอไปของระบบโทรศัพทในอนาคต ซึ่งสามารถตอเขากับสื่อผสม (Multimedia) ประเภทตางๆ ได เชน สามารถใช โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ตอโดยตรงกับเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อสงขอมูล

15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

และภาพไดในเวลาเดียวกันดวยความเร็วในการสงสูง หรือตอเขากับเครื่องโทรสารเพื่อ สงหรือรับ ขอความได เปนตน (ข) บริการพิเศษ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM มีบริการเสริมพิเศษที่ใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย อาทิ การรับ-สง E-Mail ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยไมจําเปนตองเปนสมาชิก เครือขายอินเตอรเน็ตใดๆ (Internet Integration) การรับขอความจากสมาชิก เครือขายอินเตอรเน็ตทั่วโลก (Web Messaging) และการสงขอความขนาดสั้น ผานหนาจอของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ (Short Message Service) เปนตน ในขณะที่บริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบอนาลอก NMT เปนบริการเสริมที่ เปนลักษณะพื้นฐาน อาทิ การฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mail Service) การประชุมทางโทรศัพท (Conference Call) และการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) เปนตน (ค) บริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) ผูใชบริการในระบบดิจิตอล GSM สามารถนําเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และ SIM Card ไปใชบริการขามเขตพรมแดนในประเทศอื่นๆ เพียงแจงขอเปดใชบริการขาม แดนอัตโนมัติกับบริษัทเทานั้น ปจจุบันโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM Advance สามารถใชบริการขามแดนอัตโนมัติไดกวา 85 ประเทศ 200 เครือขายทั่วโลก (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544) สวน GSM 1800 นั้นคาดวาจะสามารถ เปดใหบริการไดในอนาคต นอกจากการแบงประเภทของการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามระบบที่ใชเปน ระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM แลว บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท และ DPC ยังสามารถแบงตามวิธีการเรียกเก็บคาบริการออกเปน 2 ประเภท คือ - การเรียกเก็บคาบริการแบบ Post-paid เปนการเรียกเก็บคาบริการภายหลังจากที่ผูใชบริการไดใชบริการเปนที่เรียบรอยแลว โดยจะ เรียกเก็บในเดือนถัดไป โดยมีการเก็บคาบริการแรกเขา คาบริการรายเดือน และ คาบริการ ตอนาทีตามระยะเวลาที่ใชโทรศัพทเคลื่อนที่ - การเรียกเก็บคาบริการแบบ Pre-paid เปนการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM แบบเรียกเก็บคาบริการใช ลวงหนาภายใตชื่อ “1-2-Call!” ซึ่งเริ่มใหบริการตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2542 โดยเปน โทรศัพทในระบบดิจิตอล GSM ที่ใชรวมกับบัตรเติมเงิน (Scratch Card) ผูใชบริการ ไมตองลงทะเบียน ไมมีการเก็บคาบริการแรกเขา ไมมีคาบริการรายเดือน และไมตองเสียคา ประกันการใชโทรศัพท นอกจากนี้ยังหาซื้อไดสะดวก คือ สามารถซื้อไดที่รานขายหนังสือ

16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รานสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ํามัน การเรียกเก็บคาบริการแบบนี้เปนการลดภาระคาใชจาย ในการดําเนินงานตางๆ เชน คาใบแจงหนี้ ใบเสร็จรับเงิน เปนตน ตลอดจนเปนการลดความ เสี่ยงในการเรียกเก็บคาใชบริการของบริษัทไดอีกทางหนึ่ง (2) การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ ในการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งระบบ Post-paid และ Pre-paid (1-2Call!) รวมถึงชุด Starter Kit และบัตรเติมเงินของสินคา Prepaid นั้น บริษัทมิได เปนผูดําเนินการเองโดยตรง แตจะเปนหนาที่ของผูจัดจําหนายไดแก AWM ซึ่งเปนบริษัท ยอยของบริษัท โดยจะรับผิดชอบในดานการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่สามารถนํามาจด ทะเบียนใชในระบบของบริษัท ไมวาจะเปนการขายผานตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” การขายผานตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) การขายตรง (Direct Sales) และการขายใหแกลูกคากลุมบริษัทตางๆ (Corporate Sales) นอกจากนี้ยังมีผูจัดจําหนายทั่วไป ที่ขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนในระบบดิจิตอล GSM ไดแก บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด และ บริษัท สามารถ อี-เทรดดิ้ง จํากัด สวนการจําหนายบัตรเติมเงินของระบบ Pre-paid นั้น จะมีการเพิ่มชองทางไปยังกลุมของ รานคาที่ไมใชรานขายอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง (Non Telecom Shop) เพื่อใหสามารถเขาถึงผูใชบริการของ 1-2-Call! ไดดียิ่งขึ้น ทําใหผูใชบริการมีความ สะดวกสบายในการซื้อบัตรเติมเงินเพิ่มขึ้น ชองทางดังกลาวจะประกอบไปดวย 1. รานคาขายสง (Wholesalers) ทําหนาที่เปนตัวแทนจําหนายในแตละพื้นที่โดยจะ ทําการกระจายบัตรเติมเงินไปใหกับรานคายอยในพื้นที่ของตัวเอง 2. กลุมรานคา Key Accounts จะเปนรานคาที่มีรานสาขา (Chain Store) หลายๆ สาขา เชน รานสะดวกซื้อ (Convenience Store) ปมน้ํามัน โดยกลุมรานคา Key Accounts จะเปนผูกระจายบัตรเติมเงินไปยังรานสาขาของตัวเอง 3. ตู ATM โดยผูใชบริการสามารถเติมเงินดวยตนเองโดยใชบริการตัดชําระบัญชีผาน ทางตู ATM ของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน), ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย (จํากัด) และ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (จํากัด) 4. Electronic Payment Service (EPS) ลูกคา 1-2-Call! สามารถเติม เงินผานทางอุปกรณ EPS ไดตามจุดชําระเงินตางๆเชน Power Buy, 1-2-Call! shop เปนตน 5. Internet เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคา บริษัทจึงไดเปดบริการทาง Internet ผานทาง web site: www.One-2-Call!.com เพื่อเปนอีกทางเลือกหนึ่ง สําหรับการชําระเงิน ซึ่งในระยะแรกไดเปดใหบริการเฉพาะกับลูกคาธนาคารกสิกรไทย (จํากัด) เทานัน้

17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สําหรับการใหบริการอื่นๆ บริษัทมีสํานักงานบริการซึ่งเปนสาขาของบริษัทเพื่ออํานวยความ สะดวกใหกับผูใชบริการเกี่ยวกับงานทะเบียนตางๆ และรับชําระคาบริการจากผูใชบริการ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัทมีสํานักงานบริการทั้งสิ้น 23 แหง อยูในเขต กรุงเทพมหานคร จํานวน 12 แหง และในพื้นที่ตางจังหวัดอีก 11 แหง ซึ่งสํานักงานบริการ บางแหงใหบริการตรวจเช็คสภาพและซอมเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการแลกเปลี่ยน เครื่องโทรศัพทและจําหนายเครื่องโทรศัพทพรอมทั้งอุปกรณเสริมอีกดวย 3.2 การตลาดและภาวะการแขงขัน (1) กลยุทธทางการตลาดและกลุมลูกคาเปาหมาย บริษัทดําเนินธุรกิจเปนผูใหบริการเครือขายระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งมีรายไดจากการที่ลูกคา ใชบริการติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายของบริษัทตามระยะเวลาและจํานวนครั้งที่ใช ดังนั้น แนวทางในการเพิ่มรายไดใหบริษัทคือ การเพิม่ จํานวนผูใชบริการในระบบใหมากขึ้น และการ ทําใหลูกคาเพิ่มระยะเวลาและจํานวนครั้งในการใชบริการเครือขาย กลยุทธทางการตลาดที่ บริษัทใชเพื่อใหบรรลุแนวทางขางตนมีดังนี้ (ก) การสราง Brand Identity และ Brand personality ใหกับสินคาของบริษัท เพื่อสื่อใหผูบริโภคไดทราบถึงจุดเดนของสินคาแตละตัวที่มีคุณสมบัติแตกตางกันเพื่อ เสนอเปนทางเลือกของผูบริโภคที่มีความตองการแตกตางกัน (ข) การขยายฐานลูกคาใหม บริษัทใหความสําคัญในการขยายฐานลูกคาใหม โดยบริษัทไดกําหนดแนวทางสําหรับแต ละผลิตภัณฑไว ดังนี้ - GSM Advance ระบบดิจิตอล GSM Advance เปนระบบที่มเี ทคโนโลยีสูงกวาระบบอนาลอก NMT ทําใหสามารถใหบริการไดมากกวาการสื่อสารทางเสียง ซึ่งกลุมลูกคา เปาหมายคือลูกคาทั่วประเทศที่รักความทันสมัยและตองการใชบริการที่มีคุณภาพสูง และบริการเสริมที่หลากหลาย ซึ่งบริษัทจะเนนการขยายฐานลูกคาใหมสําหรับระบบ ดิจิตอล GSM Advance โดยเพิ่มบริการเสริมพิเศษตางๆ - 1-2-Call! เนื่องจากจุดขายของโทรศัพท 1-2-Call! คือ บริการสําหรับลูกคาที่ตองการความ อิสระในการควบคุมคาใชจาย โดยจะไมมีการจายคาบริการรายเดือน และไมตอ งจด ทะเบียนเลขหมาย บริษัทจึงจัดกลุมลูกคาเปาหมายเปนคนละกลุมกับกลุมลูกคาที่ เปนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในลักษณะ Post-paid โดยกลุมลูกคาเปาหมาย ของโทรศัพท 1-2-Call! ไดแก ลูกคาประเภทวัยรุนที่เริ่มใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ลูกคาที่ใช Airtime ในระดับคอนขางต่ํา และลูกคาที่ไมประสงคจะระบุชื่อในการ ขอจดทะเบียนเลขหมาย

18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- GSM 1800 บริษัทไดวางตําแหนงของผลิตภัณฑของ GSM 1800 ซึ่งดําเนินกิจการโดย DPC เปนโทรศัพทเคลื่อนที่สําหรับลูกคาที่ตองการการติดตอที่มีประสิทธิภาพสูง ทั้งพื้นที่บริการ และ คุณภาพของเครือขาย แตเปนความตองการการสื่อสารขั้น พื้นฐาน เชน การ สื่อสารดวยเสียงหรือบริการเสริมขั้นพืน้ ฐานที่ไมตองการการใช งานที่ซับซอน ซึ่งกลุมลูกคาเปาหมายนี้มีเปนจํานวนมากโดยเฉพาะในตลาดภูมิภาคที่ ยังมีจํานวนผูใชมือถือไมสูงมากนัก นอกเหนือจากการกําหนดแนวทางของแตละผลิตภัณฑแลว ทางบริษัทยังไดกําหนด แนวทางดานการมุงเนนขยายฐานลูกคาในตลาดภูมิภาค ซึ่งเปนจุดที่ทางบริษัทมีความ ไดเปรียบในการแขงขันเหนือผูประกอบการอื่นๆ จากการที่บริษัทมีโครงขายที่มีพื้นที่ ครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นบริษัทจึงสามารถทํากิจกรรมทางการตลาดอยางตอเนื่อง เพื่อขยายฐานลูกคาไดทันที ซึ่งเปนการยึดตลาดกอนการเขามาของคูแขงขัน ในขณะที่ ผูประกอบการรายอื่นจะมุงเนนการทําตลาดเฉพาะในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลซึ่งมี ผูแขงขันมากราย ประกอบกับเปนตลาดที่มีจํานวนผูใชมือถือคอนขางสูงเมื่อเทียบกับ ประชากรที่อาศัยอยูในเขตนี้ (ค) การมุงรักษาฐานลูกคาเกา บริษัทเนนการใหบริการที่มีประสิทธิภาพ มีการดําเนิน กิจกรรมทางการตลาดในชวงระยะเวลาตางๆ เพื่อสนองความตองการของลูกคาและสราง ความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคา โดยบริษัทไดมีการเสนอสิทธิพิเศษตางๆ ใหกับลูกคา อยางตอเนื่อง ซึ่งบริษัทจะมีการจัดกลุมลูกคาออกเปนกลุมยอยและเสนอสิทธิพิเศษที่ แตกตางกันเพื่อใหสามารถตอบสนองไดตรงตามความตองการของลูกคาแตละประเภท รวมถึงพิจารณาปจจยทางดาน Profitability ประกอบกันดวย นอกจากนี้บริษัทยังมี การจัดรายการสงเสริมการขายโดยเสนอเครื่องโทรศัพทราคาพิเศษใหสําหรับลูกคาเกาที่ ตองการเปลี่ยนเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมโดยยังสามารถรักษาเบอรเดิมเอาไว รวมไป ถึงการตอบแทนลูกคาโครงการสิทธิพิเศษตางๆ มากมาย เชน โครงการ Minute Plus ที่ทางบริษัทจัดทํารวมกับบริษัทชั้นนําตางๆ เพื่อมอบรางวัลและสิทธิพิเศษใหกับ ผูใชบริการ ไมวาจะเปนสวนลดโรงแรม รานอาหาร หรือ โรงพยาบาล เปนตน (ง) การพัฒนารูปแบบบริการเสริมพิเศษ บริษัทยังคงมุงมั่นในการพัฒนารูปแบบบริการเสริมพิเศษใหมๆ ใหกับผูใชบริการ เพื่อ ตอบสนองความตองการของลูกคาอยางตอเนื่อง รวมถึงการเพิ่มรายไดใหกับบริษัท นอกจากนั้น บริษัทยังไดมีนโยบายที่จะพัฒนาการใหบริการแบบ Non-Voice รูปแบบอื่นๆ สําหรับระบบดิจิตอล GSM ซึ่งถือไดวาเปนเทคโนโลยีชั้นสูงที่ใหบริการ แกลูกคาในหลายรูปแบบ เพื่อรักษาภาพลักษณของผูนําในดานเทคโนโลยีและบริการ รูปแบบใหม และเปนการสรางความพึงพอใจใหแกลูกคา บริการ Non-Voice GPRS

19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การนําเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) มาใชกับ เครือขาย GSM จะสามารถเชื่อมโยงเครือขาย GSM กับเครือขาย Internet Protocol (IP) ภายนอกได และทําการสงขอมูลไดสูงถึงระดับ 40 Kbps. (Kilobit per Second) วิธีการคิดคาใชบริการ ก็จะคิดตามปริมาณการรับ-สง ขอมูลผานเครือขาย mobileLIFE บริการ WAP (Wireless Application Protocol) ที่รวบรวมบริการ หลากหลายรูปแบบเพื่อกลุมลูกคา ดิจิตอล GSM ในการทองโลกอินเตอรเน็ตผานทาง โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ โดยมีบริการตางๆ ไดแก ดังนี้ E-Mail บริการคนหาเวบไซต การเลนเกมส การซื้อสินคา การธุรกรรมกับธนาคาร บริการขาวสารและความบันเทิง เปนตน mUP2DATE บริการรับขอมูลตามความตองการของกลุมลูกคาระบบดิจิตอล GSM เปนการเลือกรับ เฉพาะขอมูลขาวสารที่ผูใชบริการสนใจเชน การบริการขอมูลจากตลาดหลักทรัพย จับตา ดูความเคลื่อนไหวของหลักทรัพยที่สนใจ บริการขอมูลผลการแขงขันการกีฬา และขอมูล ดานความบันเทิง เชน ตารางการฉายภาพยนตร

20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Location Base Service Location Base Service คือ บริการคนหาเสนทางผานทางโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยจะมี 2 บริการหลักสําหรับผูที่ตองการทราบเสนทางอยางเรงดวน โดยผานทาง โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ไดแก บริการ mCLOSE2ME คือการ ใหบริการขอมูลของสถานที่และเสนทางอยางคราว ๆ ของสถานที่ที่ผูใชบริการตองการ ทราบภายใน รัศมี 5 กิโลเมตรจากจุดที่อยูในปจจุบัน และ mLOOK4FRIEND คือบริการคนหาเพื่อนผานทางโทรศัพทเคลื่อนที่โดยผูใชบริการสามารถทราบตําแหนงที่ อยูของผูที่ตองการติดตอผานทางโทรศัพทเคลื่อนที่ (ง) การขยายและพัฒนาระบบเครือขาย เนื่องจากคุณภาพ และพื้นที่บริการของเครือขายเปนปจจัยที่สําคัญสําหรับธุรกิจใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ดังนั้นบริษัทจึงมุงมั่นที่จะขยายและพัฒนาเครือขายเพื่อสรางความ แตกตางจากคูแขงขัน โดยบริษัทไดเรงขยายเครือขายของระบบดิจิตอล GSM ให ครอบคลุม พื้นที่ใหมากขึ้น ซึ่งนอกเหนือจากการขยายพื้นที่ภายนอกอาคารแลว บริษัท ยังใหความสําคัญกับการขยายพื้นที่ใหบริการรวมทั้งเพิ่มความสามารถในการรองรับ จํานวนลูกคาในอาคาร (In Building Coverage) ดวยเชนกัน โดยเฉพาะอาคาร ที่เปนจุดสาธารณะตางๆ เชน อาคารสํานักงาน, ศูนยการคา รวมไปถึงที่จอดรถยนต และ โรงแรมชั้นนําตางๆ เปนตน นอกจากนี้การที่บริษัทไดเขาไปถือหุนใน DPC และจะมีการอนุญาตใหใชเครือขายรวม (Network Roaming) กันไดทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM Advance และ GSM 1800 ซึ่งจะทําใหคุณภาพของการใหบริการของทั้งสองระบบดีขึ้น นอกจากนี้ บริษัทยังสามารถประหยัดเงินลงทุนที่ใชในการขยายเครือขายไดจากการวางแผนการ ขยายเครือขายรวมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการรองรับของเครือขาย ใหมากที่สุด มีการใชความถี่ของทั้งสองระบบใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเปนการลดความ ซ้ําซอนของการลงทุน และไดประโยชนจากการประหยัดตอขนาด (Economy of Scale) ในการจัดซื้ออุปกรณ และการใชสถานที่ตั้ง (Location) สถานีฐาน (Base Station) รวมกัน เปนตน (จ) การใหความสําคัญกับบริการหลังการขาย บริษัทไดจัดใหมีโครงการที่จะใหบริการหลังการขายใหกับลูกคาอยางมีประสิทธิภาพมาก ขึ้นเชน -

Call Center เปนศูนยกลางขาวสารขอมูลที่มีประโยชนไดมาตรฐานและ ถูกตองสําหรับผูใชบริการดวยบริการที่สะดวกสบาย รวดเร็ว โดยผูใชบริการ สามารถติดตอสอบถามหรือใหคําแนะนําเกี่ยวกับการใชบริการ เครือขายการ ใหบริการ, บริการเสริม หรือรายละเอียดตางๆ รวมถึงการใชงานมือถือในแตละ รุน เปนตน

21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

-

Service Dealer จัดโครงการอบรมใหตัวแทนจําหนาย และพัฒนา ศักยภาพของตัวแทนจําหนายใหมีความสามารถบริการซอมโทรศัพทเคลื่อนที่ ใหกับลูกคาโดยจะใหมีตัวแทนจําหนายที่ใหบริการ (Service Dealer) กระจายอยูทุกจังหวัดทั่วประเทศ

-

Temp-O-Phone ในกรณีที่ลูกคาตองนําเครื่องเขาตรวจซอม ศูนยบริการ ของบริษัทจะมีบริการเครื่องทดแทนใหใชชั่วคราว ในกรณีที่ไมสามารถซอม เครื่องเสร็จภายใน 24 ชั่วโมง

-

Service Caravan เปนศูนยบริการเคลื่อนที่เพื่อใหบริการตรวจซอม ตัวเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ใหกับลูกคาในจังหวัดหลักทั่วประเทศ

-

การพัฒนาระบบการลงทะเบียน บริษัทไดพัฒนาระบบการลงทะเบียนเพื่อให ผูใชบริการไดรับความสะดวกมากขึ้น ผูใชบริการสามารถจดทะเบียนไดทุกวันซึ่ง เมื่อลงทะเบียนแลวภายใน 3 ชั่วโมง ก็สามารถใชโทรศัพทโทรออกหรือรับสาย เขาไดทันที นอกจากนี้บริษัทยังเปดรับตอบริการ (Reconnect) ในกรณีที่ โทรศัพทเคลื่อนที่ถูกระงับการใชบริการใหใชงานไดภายใน 1 ชั่วโมง และทาง บริษัทยังไดอํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ โดยการเพิ่มจุดบริการงาน ทะเบียนผานทาง Telewiz ที่มีสาขาตางๆ กระจายอยูทั่วประเทศ ตลอดจน บริการรับเปลี่ยนแปลงทะเบียนทางไปรษณียสําหรับผูใชบริการที่ไมสะดวกที่จะ มาติดตอกับศูนยบริการหรือสํานักงานสาขาของบริษัท

-

การอํานวยความสะดวกดานการรับชําระเงิน บริษัทไดทําการขยายจุดรับชําระ เงินและเพิ่มวิธีการชําระเงิน เพื่อใหผูใชบริการมีชองทางในการชําระคาใช บริการไดตรงตามความตองการและไดรับความสะดวกมากที่สุด โดยผูใชบริการ สามารถชําระคาบริการดวยเงินสดและบัตรเครดิตผานสํานักงานบริการ สํานักงานสาขาของบริษัท ศูนยบริการเทเลวิซ การชําระคาบริการดวยเงินสดที่ เคานเตอรธนาคารพาณิชย การชําระคาบริการดวยบัตรเอทีเอ็ม การชําระ เงินในบัตร Prepaid Card หรือการเติมเงินโดยการตัดชําระบัญชีธนาคาร โดยผานตูเอทีเอ็ม การชําระคาบริการทางโทรศัพท (Telepayment) การ ชําระเงินผานทาง Internet การชําระเงินผานทางอุปกรณ Electronic Payment Service ซึ่งตั้งอยูตามจุดชําระเงินของรานคาชั้นนําตางๆ หรือ โดยหักบัญชีธนาคาร นอกจากนั้นผูใชบริการยังสามารถชําระคาบริการ ณ ที่ทํา การไปรษณีย หรืออาจจะชําระคาบริการทางไปรษณีย โดยตั๋วแลกเงินไปรษณีย ธนาณัติ หรือเช็ค นอกจากนี้ชองทางการชําระเงินใหมไดแก ชําระทาง อินเตอรเน็ตผานทาง Service on the net ชําระผาน GSM mobileLIFE ชําระผานจุดรับชําระเงินอัตโนมัติ (KIOSK) ซึ่งตั้งอยู ณ สํานักงานบริการ AIS ในเขตกรุงเทพมหานคร

(2) การจําหนายและชองทางการจําหนาย

22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหลูกคาเขาใชบริการในระบบเครือขาย สวน ใหญจะดําเนินการไปพรอมกับการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งบริษัทมีชองทางการ จําหนายสําหรับเครื่องโทรศัพทในระบบดิจิตอล GSM Advance ระบบอนาลอก NMT ระบบ 1-2-Call! และ ระบบดิจิตอล GSM 1800 ดังนี้

(ก) การจําหนายผานตัวแทนจําหนาย บริษัทมีหลักเกณฑในการแตงตั้งตัวแทนจําหนายโดยพิจารณาจากทําเลที่ตั้ง ศักยภาพ และสถานะทางการเงินเปนสําคัญ เพื่อใหบริษัทมีความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งวาตัวแทน จําหนายนั้นมีศักยภาพเพียงพอในการดําเนินธุรกิจและดูแลลูกคาไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้สําหรับพื้นที่ตางจังหวัดการแตงตั้งตัวแทนจําหนายจะแตงตั้งผูที่มีความคุนเคย ในพื้นที่และเปนนักธุรกิจรายใหญของพื้นที่เปนสําคัญ ตัวแทนจําหนายจะแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ ตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัทมีตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชสจํานวนทั้งสิ้น มากกวา 100 รายโดยมีรานคามากกวา 280 แหง ทั่วประเทศ โดยบริษัทจะใหสิทธิ ตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชสในการดําเนินการ ภายใตสัญญาใหสิทธิใช เครื่องหมายการคาจําหนายสินคาและบริการ โดยมีอายุสัญญา 1 ป ดังนี้ 1) สิทธิในการจําหนายสินคา ภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัท 2) สิทธิในการใหบริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ใหบริการเกี่ยวกับงานทะเบียน ตางๆ และเปนผูใหบริการรับชําระคาบริการหรือคาใชจายอื่นใด บริษัทจะเปนผูกําหนดเงื่อนไข และควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของการใหบริการ แนวทางในการดําเนินการของตัวแทนจําหนาย เชน การเลือกและพัฒนาสถานที่ การ โฆษณาและสงเสริมการขาย วิธีการรับชําระเงิน เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่บริษัทกําหนด ในการเขาเปนตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตองมีการชําระคาสิทธิในการใช เครื่องหมายการคาเริ่มแรก 100,000 บาท และถามีการขยายเขตการจําหนายตอง ชําระคาสิทธิเพิม่ อีกจํานวน 50,000 บาทตอเขตจําหนาย ตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัทมีตัวแทนจําหนายจํานวนทั้งสิ้นกวา 790 ราย โดย ตัวแทนจําหนายทั่วไปนี้ไดรับแตงตั้งใหเปนผูจําหนายสินคาของบริษัท ไดแก เครื่อง โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว, ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทั้ง อุปกรณเสริมตางๆ นอกเหนือจากรายไดจากการจําหนายสินคาและบริการแลว ตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภท จะไดรับคาตอบแทนจากการลงทะเบียน ใหลูกคาเปนสมาชิกการใชบริการ

23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โทรศัพทเคลื่อนที่ในดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT ตาม อัตราที่บริษัทกําหนด ตัวแทนจําหนายระบบ 1-2-Call! นอกเหนือจากการจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call! ผานระบบตัวแทนจําหนายเดียวกัน กับดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT แลว บริษัทยังไดจําหนาย บัตรเติมเงินผานชองทางการจําหนายรูปแบบใหม เพื่ออํานวยคามสะดวกใหกับลูกคาใน การหาซื้อบัตรเติมเงินโดยการขยายชองทางการจัดจําหนายไปในธุรกิจอื่นๆ ที่ไมใชราน ขายโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง เชน รานขายหนังสือ รานสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ํามัน รานจําหนายซีดี-เทป เปนตน โดยบริษัทจัดทําสัญญาแตงตั้งตัวแทนจําหนายใหจําหนาย ผลิตภัณฑ 1-2-Call! จํานวนตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภทของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 มีดังนี้ จํานวนตัวแทนจําหนาย เครื่องโทรศัพท ระบบแฟรนไชส ทั่วไป

จํานวนตัวแทนจําหนาย บัตรเติมเงินระบบ 1-2-Call! Key Wholesaler Accounts s 24 4

รวม

กรุงเทพมหานคร

45

242

จังหวัดอื่น ๆ

64

548

-

40

652

รวม

109

790

24

44

967

ตัวแทนจําหนายระบบ GSM 1800 ณ 31 ธันวาคม 2544 DPC มีการจําหนายผลิตภัณฑโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 ผานตัวแทนจําหนายจํานวนกวา 500 ราย ซึ่งสวนใหญจะเปนตัวแทน จําหนายรายเดียวกับที่ไดกลาวขางตน อยางไรก็ตาม จะมีตัวแทนจําหนายของ GSM 1800 จํานวน 12 รายซึ่งจําหนายเฉพาะระบบ GSM 1800 อยางไรก็ตามคาดวาในอนาคต บริษัท DPC จะใชชองทางการจําหนายและบริการ ตางๆ รวมกับบริษัทมากขึ้น เพื่อเปนการขยายขอบเขตการจําหนายผลิตภัณฑและบริการ ไดอยางทั่วถึง (ข) การขายตรง บริษัทไมมุงเนนการแขงขันกับตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตัวแทนจําหนายทั่วไป แตจะเนนการบริการใหแกกลุมลูกคาสถาบันซึ่งอาจมีความตองการใชงานโทรศัพท เพิ่มเติม โดยมีการซื้อเปนจํานวนมากภายใตเงื่อนไขที่แตกตางกันตามลักษณะธุรกิจ โดย มีการจดทะเบียนในนามนิติบุคคล เปนตน

24

315


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3) ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน (ก) ภาวะอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยอยูภายใตการควบคุมของหนวยงานหลัก 2 หนวยงาน คือ ทศท. และ กสท. โดยหนวยงานทั้งสองดังกลาวสังกัดกระทรวงคมนาคม โดยงานดานการควบคุมคลื่นความถี่อยูในความรับผิดชอบของกรมไปรษณียโทรเลข ทศท. นอกจากจะมีฐานะเปนผูดูแลและควบคุมอุตสาหกรรมแลว ยังเปนผูใหบริการ โทรศัพทพื้นฐานสําหรับการสื่อสารภายในประเทศ และระหวางประเทศเพื่อนบานที่มี พรมแดนติดตอกับประเทศไทย ในขณะที่ กสท. ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ นอกจากนี้ทั้ง ทศท. และ กสท. ยังใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แตภายใตเครือขายที่ จํากัด อัตราคาใชบริการ คามัดจํา และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ เรียกเก็บจากผูเปดใชบริการนั้นอยูภายใตการควบคุมของ ทศท. และ กสท. ผูใหสัญญา รวมการงานนั้นๆ รายไดสวนใหญของผูประกอบการมาจากคาธรรมเนียมการจดทะเบียน (Registration fee) คาบริการรายเดือน (Monthly fee) และคาใชโทรศัพท (Airtime) ซึ่งคิดเปนรายนาทีเฉพาะการโทรออกเทานั้น ปจจุบันยังไมมีการคิด คาบริการสําหรับผูรับโทรศัพทปลายทางไมวาจะเปนการโทรในประเทศเขตพืน้ ที่เดียวกัน ตางพื้นที่หรือการโทรทางไกลทั้งในและตางประเทศยกเวนในกรณีที่เปนการใหบริการ ขามแดน (International Roaming) ผูประกอบการจะไดรับรายไดทั้งจากการ รับสายเขาและโทรออก สัญญารวมการงานที่ ทศท. และ กสท. โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถสรุปไดดังตอไปนี้ ผูใหสัมปทาน

ทํากับเอกชนสําหรับการใหบริการ

บริษัทที่ไดรับสัมปทาน

1. ทศท.

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

2. กสท.

บริษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) บริษัท ทีเอ-ออเรนจ จํากัด (TA Orange) บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด

นอกเหนือจากบริษัทที่ไดทําสัญญารวมการงานกับ ทศท. และ กสท. ขางตนแลว ยังมี ผูประกอบการในภาครัฐอีก 2 ราย ไดแก ทศท. และ กสท. ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่มีการขยายตัวคอนขางสูงตั้งแตป 2542 เปนตนมา โดยอัตรา การเจริญเติบโตของผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มสูงขึ้นเปนรอยละ 22 ป 2543 เพิ่มขึ้น ในอัตรารอยละ 20 และมีการขยายตัวเพิ่มอยางมากถึงรอยละ 118 ในป 2544 สงผล ใหอัตราสวนของจํานวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยตอจํานวนประชากร 100

25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คน (Penetration Rate) สูงขึ้นจากอัตรารอยละ 4.3 ในป 2542 เพิ่มขึ้นเปน รอยละ 5.85 ในป 2543 และรอยละ 12.69 ณ สิ้นป 2544 ซึ่งเปนระดับที่ต่ําเมื่อ เทียบกับประเทศอื่นที่มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจใกลเคียงกัน เปนเครื่องชี้วา อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยยังคงมีแนวโนมที่จะเติบโตตอไปได (ข) การแขงขัน ผูประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่หลักมี 2 รายคือ บริษัท และ TAC ทั้งสองรายมี สวนแบงการตลาดรวมกันสูงถึงรอยละ 94.5/2 ผูประกอบการรายอื่นๆ ไดแก DPC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท รวมทั้งหนวยงานรัฐอยาง ทศท. และ กสท. ในป 2543 จํานวนของผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มสูงขึ้นมาก โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 20 เนื่องจาก มีการเสนอรายการสงเสริมการขายที่จูงใจ และการปรับลดราคาโทรศัพทเคลื่อนที่ของ ผูประกอบการหลักทั้ง 2 ราย ภาวะการแขงขันในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่มีการแขงขันไม รุนแรงมากนัก เนื่องจากตลาดมีการขยายตัวอยางมากในขณะที่มีผูประกอบการนอยราย อยางไรก็ตามบริษัทคาดวาการแขงขันมีแนวโนมที่จะรุนแรงมากขึ้น เนือ่ งจากจะมี ผูประกอบการรายใหมเขามาในตลาดคือ บริษัท ทีเอ-ออเรนจ จํากัด (TAO) ซึ่ง ใหบริการในระบบ GSM 1800 และ บริษัท ไทยโมบาย จํากัด ที่ใหบริการในระบบ GSM 1900 โดยคาดวาทั้งสองบริษัทจะมีการเปดบริการอยางเปนทางการภายใน ไตรมาส 1 และครึ่งปหลังของป 2545 ตามลําดับ นอกไปจากการมีผูประกอบการราย ใหมเขามาในตลาดแลว ในป 2545 นี้จะมีการกลับเขามาใหมของบริษัทที่เคยหยุด กิจกรรมทางการตลาดไปแลวคือบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด ที่เปนผู ใหบริการในระบบ CDMA สวนคูแขงขันหลักของบริษัท คือ TAC ซึ่งมีฐานะ การเงินที่แข็งแกรงมากขึ้น โดยไดมีการขยายเครือขายและปรับปรุงการใหบริการอยาง ตอเนื่องเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหมากขึ้น จึงทําใหเห็นไดวาการแขงขันในป 2545 จะมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งทําใหผูประกอบการปจจุบันจําเปนตองมีการปรับกล ยุทธใหสอดคลองกับการแขงขันและสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป นอกจากนี้การดําเนินการ เพื่อเปดเสรีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในป 2549 ก็เปนอีกปจจัยที่กระตุนใหมีการ แขงขันในตลาดมากขึ้นในอนาคต การแขงขันสวนใหญจะเกิดขึ้นระหวางผูประกอบการ เอกชนมากกวาหนวยงานรัฐ โดยผูประกอบการเอกชนจะแขงขันการขยายเครือขายการ ใหบริการใหครอบคลุมพื้นที่ใหมากขึ้น รวมถึงการปรับปรุงการใหบริการหลังการขาย ตางๆ โดยมีจุดมุงหมายในการเพิ่มจํานวนผูใชบริการของตนเองเพื่อใหมีสวนแบงทาง การตลาดใหมากที่สุด กลยุทธทางการแขงขันที่นํามาใชไดแก การลงทุนขยายเครือขาย อยางตอเนื่องและการปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือขาย และการลงทุนในดานงาน บริการที่อํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทเปนผูประกอบกิจการ ที่มีความพรอมทางดานเครือขายสัญญาณและชองทางการจัดจําหนายสินคา ซึ่งทําให สามารถตอบสนองความตองการของตลาดที่เติบโตไดอยางรวดเร็ว สวนผูประกอบการที่ /2

รายละเอียดแสดงใน ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ของผูประกอบการแตละราย หนา 26

26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เหลือนั้นมีฐานลูกคาคอนขางนอย ประกอบกับมีขอจํากัดทางการเงิน จึงทําใหสามารถ แขงขันไดในระดับที่จํากัด สวนการเพิ่มจํานวนผูใชบริการนั้น ผูประกอบการจะมีการจัด รายการสงเสริมการขายอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ชองทางการจัดจําหนายและบริการหลัง การขายก็มีสวนสําคัญตอการแขงขันที่ผูใหบริการรายปจจุบันใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง และผลจากความพยายามในการเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการทําให ณ วันที่ 31 มกราคม 2545 บริษัทและ TAC ซึ่งเปนผูนําตลาดมีสวนแบงตลาดรอยละ 60.8 และ 34.0 ของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ตามลําดับ ในชวงป 2544 ราคาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และคาใชโทรศัพทยังคงลดลงอยาง ตอเนื่อง ทําใหตลาดของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่มีการขยายตัวมากซึ่งเกือบทั้งหมด เปนการขยายตลาดเพิ่มขึ้นของผูประกอบการเอกชนคือ บริษัท, TAC และ DPC ทํา ใหผูประกอบการทั้งสามรายมีสวนแบงการตลาดเพิ่มมากขึ้นขณะที่สวนแบงทาง การตลาดของทั้ง ทศท. และ กสท. กลับลดลง

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของผูประกอบการแตละราย รายชื่อ ผูประกอบการ ADVANC/1 TAC/2 DPC/3 ทศท./4 กสท./5 รวม จํานวนประชากร อัตรารอยละของจํานวนผูใช โทรศัพทเคลื่อนที่ตอจํานวนประชากร

ธันวาคม 2543 ธันวาคม 2544 ผูใชบริการ สวนแบงการตลาด ผูใชบริการ สวนแบงการตลาด 1,977,400 54.0 % 4,812,900 60.3% 1,403,300 38.0 % 2,737,598 34.2% 216,000 6.0 % 390,300 4.9% 20,204 1.0 % 15,061 0.2% 36,507 1.0 % 30,000 0.4% 3,653,411 100.0 % 7,985,859 100.0 % 62,648,000 62,914,000 5.83% 12.69%

/6

จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ สิ้นป 2543 มีจํานวน ทั้งสิ้น 3,653,411 คนหรือคิดเปน Penetration Rate ประมาณรอยละ 5.83 จากการแขงขันในดาน ราคาของคาใชบริการและราคาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ต่ําลง ทําใหจํานวนผูใชบริการมี

/1

ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก บริษัท ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก Web Site ของ TAC ที่ www.dtac.co.th /3 ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก บริษัท และ DPC /4 ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก Web Site ของ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ที่ www.tot.or.th เปนตัวเลขจํานวนผูใชบริการลาสุดของ TOT ณ เดือนตุลาคม 2544 โดยประมาณการใหคงที่ในเดือน ธันวาคม 2544 /5 ตัวเลขจํานวนผูใชบริการของ CAT จากการสอบถามเจาหนาที่จาก กองพาณิชย การสื่อสารแหงประเทศไทย โดยตัวเลขจํานวนผูใชบริการของ CAT ณ เดือนตุลาคม 2544 มีจํานวนลดลงเหลือประมาณ 30,000 โดยประมาณการใหคงที่ในเดือน ธันวาคม 2544 /6 ประมาณการ Penetration Rate จากการคํานวณโดยใชตัวเลขจํานวนประชากร ณ สิ้นป /2

27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การเพิ่มขึ้นอยางมากตั้งแตชวงตนป 2544 เปนตนมา จํานวนผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ณ ธันวาคม 2544 มีจํานวนทั้งสิ้น 7,985,859 ราย หรือคิดเปน Penetration Rate ประมาณรอยละ 12.69 ซึ่งมีอัตราการขยายตัวประมาณรอย ละ 118 จากป 2543 บริษัทมียอดรวมของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มมากที่สุด คือรอยละ 143 รองลงมาคือ TAC มีผูใชบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 95 จํานวนยอดรวม ของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท ณ สิ้นเดือน ธันวาคม 2544 มีจํานวน 4,812,900 ราย และ 5,202,900 รายในกรณีที่รวมบริษัทยอยดวย ขณะที่ TAC นั้นมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้น 2,737,598 คน/2

28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(ค) การแขงขันจากอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ถึงแมวาโครงการโทรศัพทพื้นฐาน 4.1 ลานเลขหมายจะแลวเสร็จ บริษัทคาดวา อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ยังสามารถขยายตัวตอไปไดอีก ทั้งนี้เนื่องจากขอจํากัดของ โทรศัพทพื้นฐานเมื่อเทียบกับโทรศัพทเคลื่อนที่ อาทิ - ความสามารถในการเขาถึงของโทรศัพทพื้นฐาน เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศไม เอื้ออํานวยหรือไมคุมตนทุนในการขยาย ดังนั้นการใชงานจึงยังไมสามารถ ครอบคลุมไดทุกพื้นที่ ซึ่งเปนขอไดเปรียบของโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีระบบสื่อ สัญญาณหลายวิธี เชน ไมโครเวฟ เคเบิลใยแกว และดาวเทียม ที่สามารถ เลือกใชไดตามความเหมาะสมของภูมิประเทศและสภาวะแวดลอมที่แตกตาง จึง ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่สามารถครอบคลุมพื้นที่ไดทั่วประเทศไทย - การติดตั้งระบบโทรศัพทพื้นฐานเปนไปไดชากวาโทรศัพทเคลื่อนที่มาก สามารถตอบสนองความตองการไดทันทวงที

ไม

- โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถพกพาไปไดและใชบริการไดทันทีเมื่อตองการ ในขณะ ที่โทรศัพทพื้นฐานสามารถพกพาไดเฉพาะผูทใี่ ช PCT เทานั้น ซึ่ง PCT มี ขอจํากัดในการใชเฉพาะเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเทานั้น 3.3 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ (1) ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาของระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบดิจิตอล GSM Advance ระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM 1800 ขึ้นอยู กับความสามารถในการดําเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณของบริษัทและบริษัทยอย เพื่อ ขยายความสามารถในการรองรับจํานวนผูใชบริการและขยายพื้นที่การใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ใหมากขึ้น ตารางแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของระบบและเงินลงทุนรวมของบริษัท 2542

2543

2544

NMT

GSM Advance*

NMT

GSM Advance*

NMT

จํานวนสถานีฐานสะสม จํานวนชุมสายสะสม จํานวนลูกคา (ราย)

1,475 29 611,00 0

1,573 17 619,000

1,543 28 465,60 0

2,497 19 1,511,700

1,551 4,194 28 35 264,800 4,548,100

ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา (ราย)**

919,00 0

936,000

919,00 0

2,152,000

558,000 6,033,000

เงินลงทุนสะสม (ลานบาท)

37,600

48,820

* รวมผูใชบริการระบบ Pre-paid

29

GSM Advance*

75,070


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

** ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคาคํานวณจากความสามารถของสถานีฐานทั้งหมด

30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของระบบ GSM 1800 และเงินลงทุนรวมของ DPC จํานวนสถานีฐานสะสม จํานวนชุมสายสะสม จํานวนลูกคา (ราย) ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา(ราย)* เงินลงทุนสะสม (ลานบาท)**

2542

2543

2544

140

352

1,082

2 134,000 166,000

3 216,000 250,000

7 390,300 780,000

3,290

5,743

9,903

* ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคาป 2541-2543 คํานวณจากความสามารถของ Mobile Switching Center สวนชวง ม.ค. – ธ.ค. 2544 คํานวณจากความสามารถของสถานีฐานทั้งหมด **เงินลงทุนสะสมมีการปรับปรุงโดยรวมเงินลงทุนสะสมขอระบบและงอุปกรณระหวางติดตั้งที่ตองสงมอบใหแกการสื่อสารแหงประเทศไทย เชน Billing System

(2) วิธีการจัดหาและแหลงที่มาของผลิตภัณฑ (ก) อุปกรณเครือขายของบริษัทและ DPC อุปกรณเครือขายสวนใหญจะนําเขาจากตางประเทศ โดยทีมวิศวกรที่เชี่ยวชาญ ทางดานโทรคมนาคมและอุปกรณสื่อสาร ทั้งบริษัทและ DPC ตางจะพิจารณาถึง ความเหมาะสมในการเลือกอุปกรณเครือขายที่ใชประกอบกันเพื่อใหบริการที่มี คุณภาพแกผูใชและใหเกิดประโยชนสูงสุด ปจจุบันทั้งบริษัทและ DPC จัดหา อุปกรณเครือขายหลักจากผูจําหนาย (Supplier) โดยตรงทั้งสิ้นรวม 7 ราย ดังนี้ ผูจําหนาย

ยี่หออุปกรณเครือขาย

Ericsson (Thailand) Limited

Ericsson

Nokia (Thailand) Limited

Nokia

Mitsui Company Limited

NEC

Siemens Limited

Siemens

Nortel Network Singapore Pte Limited

Nortel

Digital Corporation

DMC

Microwave

Huawei Technology Company Limited

Huawei

โดยบริษัทและ DPC จะทําการติดตั้งอุปกรณแบงตามเขตพื้นที่ คือ ติดตั้งอุปกรณที่ จัดหาจากผูผลิตเดียวกันไวในเขตพื้นที่เดียวกัน เพื่อความสะดวกและงายตอการบริหาร และดูแลรักษาระบบ รวมทั้งยังเปนการสรางความรับผิดชอบรวมกันระหวางบริษัทกับ

31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทผูผลิต ใหมีสวนรวมโดยตรงตอประสิทธิภาพของระบบเครือขาย ในการใหบริการ ในพื้นที่ที่รับผิดชอบรวมกัน บริษัทและ DPC มีกลยุทธในการใชผูผลิตหลายราย เนื่องจากตองการสรางความ สมดุลระหวางผูผลิต คือ ไมใหผูผลิตรายหนึ่งรายใดมีอํานาจตอรองมากเกินไป ในทาง กลับกัน เนื่องจากสินคาเหลานี้เปนสินคาที่สามารถใชทดแทนกันได ทําใหบริษัทและ DPC สามารถเจรจาตอรองในดานราคาและบริการตางๆ ไดเปนอยางดี อีกทั้งในกรณี ที่ผูผลิตรายใดรายหนึ่งไมสามารถปฏิบัติตามขอตกลงได ผูผลิตที่รับผิดชอบในเขต ใกลเคียงจะสามารถทดแทนไดโดยทันที บริษัทและ DPC จึงไมมีผลกระทบใดๆ ตอ การสูญเสียผูผลิตรายใดรายหนึ่ง อยางไรก็ตาม บริษัทและ DPC มีนโยบายที่จะรักษา ความสัมพันธอันดีกับผูผลิตทุกราย ในการวาจางผูผลิตนั้น บริษัทและ DPC จะทําสัญญาซื้อขายแยกเปนแตละสัญญา สําหรับการลงทุนขยายเครือขายในแตละชวง (phase) ของการลงทุน และผูผลิตจะ รับประกันในเรื่องตอไปนี้ - รับประกันการซอมแซมและบํารุงรักษาการทํางานของระบบเครือขายเปนระยะเวลา 1 ป (Warranty Period) นับจากวันที่ตรวจรับงานเสร็จสมบูรณ หลังจากนั้น บริษัทสามารถทําสัญญาวาจาง (Maintenance Contract) กับผูผลิตแตละ ราย ใหทําการซอมแซมและบํารุงรักษาไดตอ ไป - รับประกันการจัดหาชิ้นสวนอะไหลอุปกรณตางๆ (Spare parts) สําหรับใชใน การปรับปรุงเครือขายตอไปอีกเปนระยะเวลา 10 ป นอกจากนี้บริษัทยังมีผูเชี่ยวชาญทางเทคนิคจากบริษัทผูผลิต (Supplier) ทั้งจาก ERICSSON NOKIA SIEMENS MITSUI และ Huawei มาประจํา และใหคําปรึกษาแนะนําชวยเหลือทางเทคนิค เพื่อเพิ่มศักยภาพใหกับบุคลากรบริษัท ทั้ง ทางดานเทคนิคและวิธีการทํางาน (ข) เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ สําหรับการจัดหาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อจําหนายใหกับลูกคา สวนใหญ AWM จะ นําเขาจากตางประเทศ รายชื่อผูนําเขาและจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ โทรคมนาคมระบบดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT ของบริษัท มีดังนี้ บริษัทผูจําหนาย บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท วิคตอรี่ คอมมูนิเคชั่น จํากัด บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท สามารถ อี-เทรดดิ้ง จํากัด

32

ยี่หอสินคา Ericsson, Nokia, Philips, Siemens, Alcatel, Bosch, Panasonic, Samsung Mitsubishi Motorola, Alcatel, Mitsubishi Siemens, Audio Vox, Sagem


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายชื่อผูนําเขาและจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคมระบบ ดิจิตอล GSM 1800 ของ DPC มีดังนี้ บริษัทผูจําหนาย บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท สามารถ อี-เทรดดิ้ง จํากัด บริษัท ล็อกซเลย จํากัด (มหาชน)

3.4 งานที่ยังไมไดสงมอบ

- ไมมี –

33

ยี่หอสินคา Ericsson, Nokia, Panasonic Motorola, Alcatel Siemens, Sagem Sewon

Siemens,

Alcatel,


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

4. การวิจัยและพัฒนา เนื่องจากธุรกิจหลักของบริษัทคือการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ดังนั้นบริษัทจึงไดเล็งเห็นความสําคัญใน การพัฒนาประสิทธิภาพของการบริการเพื่อสรางความพึงพอใจแกลูกคา โดยนอกเหนือจากการพัฒนาบริการเสริม ในรูปแบบตางๆ (Value Added Services) และ WAP แลว บริษัทยังไดมีระบบ Customer Administration and Billing Computer System (CUBICS) ซึ่งใชในการจัดเก็บฐานขอมูลของลูกคาอยางมีประสิทธิภาพ ทําให ผูใชบริการมั่นใจในคุณภาพการใหบริการของบริษัท ทั้งนี้บริษัทมีคาใชจายในการวิจัยและพัฒนาดังรายละเอียด ตอไปนี้ ประเภทของคาใชจายในการวิจัยและพัฒนา 1. Value Added Services (VAS) 2. CUBICS 3. WAP รวมคาใชจายในการวิจัยและพัฒนา

ป 2541

ป 2542

หนวย : ลานบาท ป 2543 ป 2544

7.24

25.64

99.31

103.70 0.00 110.94

101.85 0.00 127.49

27.15 0.00 126.46

30

1,297.6 6 160.13 93.54 1,551.3 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 5.1 สินทรัพยถาวรหลัก ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร และสวนปรับปรุงอาคารเชา ของบริษัทและบริษัทยอยนั้น จะเปน ของบริษัท และ APG เปนหลัก เนื่องจากทั้งบริษัท และ APG มีสํานักงานสาขาซึ่งกระจายอยูเปนทั่ว ประเทศ รวมไปถึงสิทธิการเชาของสํานักงานสาขาบางสาขา สวนเครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องมือ อุปกรณนั้นจะประกอบดวยอุปกรณเครื่องมือชาง อุปกรณและโปรแกรมคอมพิวเตอร ตลอดจนอุปกรณ ตางๆ ที่ใชสําหรับบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ และโทรศัพทติดตามตัว สินทรัพยถาวรหลักของบริษัท และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ประกอบดวย ประมาณอายุการใช (ป)

หนวย: ลานบาท ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2544

สินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและ บริษัทยอย ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร 5-20 5-15 สวนปรับปรุงอาคารเชา/1 /2 ตามอายุสัญญาเชา สิทธิการเชา 5-10 เครื่องตกแตง, ติดตั้งและเครื่องใช สํานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ 5 ยานพาหนะ 5 /3 5 ยานพาหนะภายใตสัญญาเชาการเงิน สินทรัพยระหวางกอสรางและติดตั้ง โทรศัพทติดตามตัวและ 2-5 โทรศัพทเคลื่อนที่ใหเชา รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ หัก คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี สะสม หัก คาเผื่ออุปกรณเสื่อมสภาพ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ

3.40 119.57 334.32 21.43 1,116.10 6,178.84 101.80 9.67 1,645.08 75.13 9,605.28 (3,372.10) (0.06) 6,233.12

นอกจากนี้บริษัทและบริษัทยอยยังมีการเชาพื้นที่อาคารสํานักงานเพื่อใชในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2544 สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียดดังนี้ 1. บริษัท และ AWM เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 13,481 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟชปารค จํากัด โดยมี การทําสัญญาเชาปตอป สัญญาเชาฉบับปจจุบันจะหมดอายุสิ้นป 2545 สัญญาเชาจะมีการตออายุ โดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบัน บริษัท และ AWM มีการตออายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 2. บริษัท AWM และ APG เชาพื้นที่สาํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 2 เลขที่ 1291/1 ถนน พหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 15,066 ตารางเมตร จากบริษัท โอเอไอ แอสเซท จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชาปตอป สัญญาเชาฉบับปจจุบันจะหมดอายุสิ้นป 2545 สัญญาเชาจะตอ /1

สวนปรับปรุงอาคารเชาเปนคาใชจายในการปรับปรุงตกแตงสํานักงานบริการของบริษทั เปนเงินชําระครั้งเดียวในการทําสัญญาเชาระยะยาวของที่ทําการสํานักงานใหบริการของ APG โดยที่มีการตัดจําหนายตามอายุสัญญา /3 เปนรถยนตประจําตําแหนงของผูบริหารที่มีทําสัญญาเชาจากบริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จํากัด /2

31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัท AWM และ APG มีการตออายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 3. บริษัท และ AWM เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดี รังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 6,426 ตารางเมตร จากบริษัท โอเอไอ พร็อพเพอรตี้ จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชาปตอป สัญญาฉบับปจจุบันจะหมดอายุสิ้นป 2545 ซึ่งสัญญาเชาจะตอ อายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัท และ AWM มีการตออายุสัญญาเชาทุกปมาเปนเวลากวา 3 ป 4. บริษัท และ AWM เชาพื้นที่สํานักงานอาคารมณียา เลขที่ 1 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 4,330 ตารางเมตร จากบริษัทเงินทุนหลักทรัพย ธนชาติ จํากัด (มหาชน) โดยมีการทําสัญญาเชาอายุ 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันจะหมดอายุสิ้นป 2548 การตอสัญญาเชาจะตอง มีการแจง 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา 5.2 สัญญารวมการงาน ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานเปนสินทรัพยที่ลงทุนโดยบริษัทและบริษัทยอย และโอน กรรมสิทธิ์ใหแกหนวยงานรัฐผูเปนเจาของสัญญารวมการงานนั้น โดยบริษัท และบริษัทยอยจะไดสิทธิใน การใชสินทรัพยนั้นในการดําเนินกิจการตลอดอายุสัญญารวมการงานนั้น สัญญารวมการงานของบริษัท บริษัทยอย และ DPC ประกอบไปดวยสัญญารวมการงานที่ทํากับหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสามารถ ดําเนินธุรกิจภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐนั้นๆ ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ประกอบดวย ประเภทสินทรัพย ตนทุนโครงการของบริษัท อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM อุปกรณเครือขายระบบอนาลอก NMT อุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ อื่นๆ ตนทุนโครงการของ APG ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ตนทุนโครงการของ ADC เครื่องมือและอุปกรณ รวม ตนทุนโครงการของ DPC อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM และอุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ รวมตนทุนโครงการของบริษัท บริษัท ยอย และ DPC

/1

ตนทุน (ลานบาท)

จํานวนป ตัดจําหนาย

จํานวนปที่ตัด จําหนายแลว

48,788.84 13,735.31 9,481.92 3,062.33

10 ป ไมเกินป 2558 10 ป ไมเกินป 2548 10 ป ไมเกินป 2558 10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10 1 – 10 1 – 10 1 – 10

38,918.88 645.07 6,757.17 2,389.27

1,326.21

12/1

1 –12

-

1,195.08 77,589.69

10

1 – 10

620.09 49,330.48

8,519.03

10

2

86,108.72

มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางบัญชีโดยเปลี่ยนการตัดจําหนายตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานจาก 15 ป เปน 12 ป

32

มูลคาทางบัญชี (ลานบาท)

7,003.65 56,334.13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญารวมการงานหลักๆของบริษัท บริษัทยอย และ DPC สามารถสรุปไดดังนี้ (รายละเอียดของ สัญญารวมการงานอยูในเอกสารแนบ 3) (1) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) คูสัญญา อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

: องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) : 25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558 : 1. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 MHz ทั่วประเทศ โดยตองจาย ผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 2. บริษัทไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจากการ ใชงานของบริษัทได โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 3. บริ ษัท ได รั บ อนุ ญ าตจาก ทศท. ในการให บ ริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Pre-paid Card) โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตรารอยละ 20 ของรายได

(2) บริษัท แอดวานซเพจจิ้ง จํากัด ( APG ) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทติดตามตัวระบบ Digital Display Paging คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซเพจจิ้ง จํากัด (APG) อายุของสัญญา : 15 ป (12 มิถุนายน 2533 ถึง 11 มิถุนายน 2548) ลักษณะสัญญา : APG ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพท ติดตามตัวระบบ Digital Display Paging (DDP) ทั่วประเทศ โดย APG ตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราปละ 1,000,000 บาท (3) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ( ADC ) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) อายุของสัญญา : 25 ป (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 )

33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

ลักษณะของสัญญา

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint)

(4) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 คูสัญญา : การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) อายุของสัญญา : 16 ป (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556) ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนิ น การใหบริก าร ลักษณะของสัญญา : DPC โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 บางสวนที่ไดรับโอน สิทธิจาก TAC โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให กสท. ตาม อัตราที่ตกลง สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา

:

วันที่ทําสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

:

การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดยไดรับความยินยอมจาก กสท. โดย DPC ตกลงจาย ผลตอบแทนใหแก TAC ตามอัตราที่ตกลง

บันทึกขอตกลงรวมระหวางบริษัท และ DPC (Memorandum of Understanding) คูสัญญา วันที่ทําสัญญา ลักษณะของสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) : วันที่ 16 สิงหาคม 2543 : บริ ษั ท และ DPC มี ข อ ตกลงร ว มกั น ในการใช โ ครงข า ยร ว มโดย มีการตกลงชําระคาใชจายในการใชโครงขายรวม (Roaming Fee) ในอัตรารอยละ 70 ของคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ต อนาที (Service Charge) ที่ใชเรียกเก็บจากผูใชบริการของแตละบริษัท

34


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญาการใชบริการโครงขายรวม (Network Roaming) คูสัญญา วันที่ทําสัญญา อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) : วันที่ 2 มีนาคม 2544 มีผลบังคับใช 1 กุมภาพันธ 2544 : สัญญามีผลบังคับใชไปจนกวาจะมีการบอกเลิกโดยคูสัญญา (มีการ แจงเปนลายลักษณอักษร 6 เดือนลวงหนา) : บริษัทและ DPC มีขอตกลงรวมกันในการใชโครงขายรวมโดย DPC สามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC บนโครงขายของ บริษัทโดยที่บริ ษัทอาจวางขอจํากัดการใหบริการในบางพื้น ที่ไ ด และบริ ษั ท สามารถให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ข องบริ ษั ท บน โครงขายของ DPC โดยที่ DPC อาจวางขอจํากัดการใหบริการใน บางพื้นที่ไดเชนเดียวกัน บริษัท และ DPC ตกลงชําระคาใชจายใน การใช โ ครงข า ยร ว มในอั ต ราร อ ยละ 70 ของค า บริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ตอนาที (Service Charge)

5.3 นโยบายการลงทุนและบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโนบายการลงทุนโดยเลือกลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และธุรกิจที่ เกี่ยวของกับธุรกิจดังกลาว โดยมุงเนนที่จะลงทุนในบริษัทที่ใหผลตอบแทนที่ดีหรือมีการดําเนินธุรกิจที่ สามารถเสริมประโยชนกับธุรกิจหลักของบริษัทไดในระยะยาว ณ สิ้นป 2544 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทยอย 6 บริษัท คือ AWM APG ADC DNS DPC และ SDT บริษัทมีแผนที่จะยังคงสัดสวนการถือหุนและมีสวนสําคัญในการบริหารงานในบริษัทยอยตามที่กลาวมา ขางตนตอไป ปจจุบันบริษัทมีนโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยโดยการสงตัวแทนของบริษัทไปเปน กรรมการในบริษัทยอยทุกบริษัท

35


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

6. โครงการในอนาคต โครงการในอนาคตของบริษัท ประกอบดวยการลงทุนในการขยายเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการเสริมเพื่อ รองรับจํานวนผูใชบริการที่เพิ่มขึ้น โครงการลงทุนขยายเครือขาย Phase 10 มีมูลคาประมาณ 20,000 ลาน บาท และ โครงการ C-Care Project ซึ่งเปนโครงการพัฒนาระบบการใหบริการลูกคาใหไดมาตราฐานสากล (World Class) มีมูลคาการลงทุนประมาณ 2,100 ลานบาท

36


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

7. ขอพิพาททางกฎหมาย บริษัทไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่เปนสาระสําคัญตอการดําเนินกิจการของบริษัท

37


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัทฯ (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ทุนจดทะเบียน

: 5,000,000,000 (หาพันลานบาท) ประกอบดวยหุนสามัญ จํานวน 5,000,000,000 หุน (หาพันลานหุน) มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท

ทุนที่ออกและชําระแลว : 2,935,000,000 (สองพันเการอยสามสิบหาลานบาท) ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 5,000,000,000 หุน (สอง พันเการอยสามสิบหาลานหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท (2) โครงการออกและเสนอขายหุนใหกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 3/2542 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมัติให บริษัทเขารวมโครงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund – TTF) และยินยอมใหกองทุนรวมดังกลาวลงทุนในหุนหรือมีไวซึ่งหุนของบริษัท ใน อัตราสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ซึ่งคิดเปน จํานวนหุนประมาณ 6.75 ลานหุนของจํานวนหุนที่ชําระแลว 270 ลานหุน ทั้งนี้ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวที่ซื้อหนวยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะไดรับเฉพาะผลประโยชนใน รูปตัวเงินเทานั้น โดยที่อํานาจการบริหารงานยังคงอยูกับผูบริหารชาวไทยเชนเดิม โดยในเดือน กุมภาพันธ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไดอนุมัติใหกองทุนรวมดังกลาวเขาซื้อขายหุนของบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยได จากการประชุมผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุมัติการจัดสรรหุน สามัญที่ยังมิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN และ SingTel และลดมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เหลือหุนละ 1 บาท จากการจัดสรร หุนและการลดมูลคาหุนดังกลาว สงผลกระทบใหจํานวนหุนที่บริษัทยินยอม TTF ลงทุนในหุน ของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม 6.75 ลานหุน เปนจํานวน 73.375 ลานหุน ตามสัดสวนการ ยินยอมให TTF ลงทุนในหุนของบริษัทในสัดสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของจํานวนหุนที่เรียก ชําระแลว ณ 18 กุมภาพันธ 2545 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวโดยลงทุนในหุนของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํานวน 64,039,000 หุน (ขอมูลจากการปดสมุดทะเบียนผูถือ หุนครั้ง ลาสุด ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2545)

38


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3) ใบสําคัญแสดงสิทธิ ตามที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 4/2544 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2544 มีมติอนุมัติโครงการ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และเปนบําเหน็จตอบแทนการ ปฏิบัติงานของกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัท อันจะกอใหเกิดประโยชนสงู สุดแก บริษัทในระยะยาว โดยโครงการนี้มีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุนทุกๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป โดยมีจํานวนรวมทั้งสิ้น ตลอดโครงการ 5 ปประมาณ 51,400,000 หนวย และจํานวนหุนสามัญที่ตองจัดสรรเพื่อ รองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิมีจํานวนประมาณ 51,400,000 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) หรือคิดเปนประมาณ รอยละ 1.75 ของทุนที่ชําระแลวทั้งหมด โดยบริษัทฯ จะตองขออนุมัติจัดสรรการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิตอที่ประชุมผูถือหุนเปนรายป โดยในปแรกนี้ที่ประชุมผูถือหุนมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ จํานวน 14 ลานหนวย และอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิจํานวน 14 ลาน หุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท จากจํานวนหุนสามัญที่ยังมิไดนํามาจัดสรรทั้งสิ้น 2,065 ลานหุน มูล คาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ซึ่งจะทําใหบริษัทฯ มีหุนสามัญที่ยังมิไดจัดสรรคงเหลือ จํานวน 2,051 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ทั้งนี้ มอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย มีอํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งดําเนินการตางๆ อันจําเปนและ สมควรอันเกี่ยวเนื่องกับหุนสามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาว ตลอดจนการนําหุน สามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาวเขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยดวย

39


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4) หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัทฯ มีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอนดังนี้ (4.1) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 9 ครบกําหนด ไถถอนป 2545 ดังรายละเอียดตอไปนี้ : หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ และไมมี หลักประกัน และไมมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 1,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 5 มีนาคม 2542 วันครบกําหนดไถถอน : 5 มีนาคม 2545 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 8.25 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 5 มีนาคม และ 5 กันยายนของทุกป จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 857,450 หนวย 31 ธันวาคม 2544 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 857,450,000 บาท 31 ธันวาคม 2544 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : ไมมี ประเภทหุนกู

40


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4.2) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2543 ครบกําหนด ไถถอนป 2546 ดังรายละเอียดตอไปนี้ : หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ และไมมี หลักประกันชนิดทยอยคืนเงินตน และมีผูแทน ผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 8,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 8,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 20 มีนาคม 2543 วันครบกําหนดไถถอน : 20 มีนาคม 2546 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.50 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 20 มีนาคม และ 20 กันยายนของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตน โดยจะชําระคืน งวดแรกเมื่อหุนกูมีอายุครบ 18 เดือน และจะ ชําระคืนเปนเวลา 4 งวด ๆ ละเทา ๆ กัน คือ รอยละ 25 ของจํานวนหุนกูที่เสนอขาย ในวันที่ ดังตอไปนี้ (1) 20 กันยายน 2544 (2) 20 มีนาคม 2545 (3) 20 กันยายน 2545 (4) 20 มีนาคม 2546 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 8,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2544 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 6,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2544 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AAประเภทหุนกู

41


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4.3) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กําหนดไถถอนป 2546 ดังรายละเอียดตอไปนี้

ครั้งที่ 2/2543 ครบ

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และไมมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 31 มีนาคม 2543 วันครบกําหนดไถถอน : 31 มีนาคม 2546 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.25 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 31 มีนาคม 30 มิถุนายน 30 กันยายน และ 31 ธันวาคมของ ทุกป จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2544 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2544 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : ไมมี ประเภทหุนกู

42


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4.4) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2544 กําหนดไถถอนป 2549 ดังรายละเอียดตอไปนี้ : หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 12,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 12,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 23 มีนาคม 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 23 มีนาคม 2549 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.30 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มีนาคม และ 23 กันยายนของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตน โดยจะชําระคืน งวดแรกเมื่อหุนกูมีอายุครบ 18 เดือน และจะ ชําระคืนเปนเวลา 8 งวด งวดละเทา ๆ กัน คือ รอยละ 12.5 ของจํานวนหุนกูที่เสนอขาย ในวันที่ ดังตอไปนี้ (1) 23 กันยายน 2545 (2) 23 มีนาคม 2546 (3) 23 กันยายน 2546 (4) 23 มีนาคม 2547 (5) 23 กันยายน 2547 (6) 23 มีนาคม 2548 (7) 23 กันยายน 2548 (8) 23 มีนาคม 2549 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 12,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2544 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 12,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2544 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AAประเภทหุนกู

43

ครบ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4.5) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2544 กําหนดไถถอนป 2547 ดังรายละเอียดตอไปนี้ : หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 28 พฤศจิกายน 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 28 พฤศจิกายน 2547 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 4.70 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 พฤษภาคม และ 28 พฤศจิกายนของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2544 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2544 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AAประเภทหุนกู

44

ครบ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4.6) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2544 กําหนดไถถอนป 2549 ดังรายละเอียดตอไปนี้ : หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 10,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 10,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 28 พฤศจิกายน 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 28 พฤศจิกายน 2549 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.85 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 กุมภาพันธ 28 พฤษภาคม 28 สิงหาคม และ 28 พฤศจิกายน ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2544 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2544 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AAประเภทหุนกู

45

ครบ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(5) ขอตกลงระหวางกลุมผูถือหุนรายใหญในเรื่องที่มีผลกระทบตอการออกและเสนอขายหลักทรัพย หรือการบริหารงานของบริษัทฯ โดยที่ขอตกลงดังกลาวมีบริษัทฯ รวมลงนามดวย - ไมมี 8.2 ผูถือหุน

รายชื่อผูถือหุน 1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 2. Singtel Strategic Investments Pte Ltd

จํานวนหุน 1,263,712,00 0 568,000,000

รอยละ 43.06 19.35

3. State Street Bank and Trust Company 4. HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd 5. กองทุนรวม เพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวโดยลงทุนในหุน ของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 6. Littledown Nominees Limited 9 7. Chase Nominees Limited 1 8. HSBC Bank Plc. 9. Government of Singapore Investment Corporation C 10. Boston Safe Deposit and Trust Company

81,819,747 73,892,730 64,039,000

2.79 2.52 2.18

53,706,500 43,046,360 40,690,450 34,273,070

1.83 1.47 1.39 1.17

31,999,050

1.09

ที่มา : รายงานรายชื่อผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2545 ซึ่งจัดทําโดย บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

8.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทและบริษัทยอยมีนโยบายในการจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี หากไมมี เหตุจําเปนอื่นใด และการจายเงินปนผลนั้น ไมมีผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทและบริษัทยอย อยางมีนัยสําคัญ

46


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสรางกรรมการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการจํานวน 3 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบ (1) คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 คน ดังนี้ 1. นายไพบูลย ลิมปพยอม/1 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ/1 3. นายสมประสงค บุญยะชัย/1 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ/1 5. นายลัม ฮอน ฟาย 6. นายเชา วิง เคียง ลูคัส 7. นางทัศนีย มโนรถ 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 10. นางชรินทร วงศภูธร /1

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ใหคณะกรรมการมีอํานาจกําหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัทได 2. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของ บริษัทตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน กอนดําเนินการ เชน เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การทํา รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญตามกฏเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน 3. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัท ภายใตการควบคุมของ คณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจเพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจ ตามที่คณะกรรมการ เห็นสมควรและภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้คณะกรรมการบริษทั ไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการ ปฏิบัติงานตางๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะ กรรมการบริหาร

47


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทั้งนี้การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจหรือมอบอํานาจชวงที่ทํา ใหคณะกรรมการบริหารหรือผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติ รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน อื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัทและตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติที่เกี่ยวของกับการจัดการภายในของบริษัท หรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (2) คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการจํานวน 5 คน ดังนี้ ประธานกรรมการบริหาร 1. นายสมประสงค บุญยะชัย กรรมการบริหาร 2. ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ กรรมการบริหาร 3. นายอารักษ ชลธารนนท กรรมการบริหาร 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการบริหาร 5. นายเชา วิง เคียง ลูคัส ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงาน หลักในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทที่กําหนดใหสอดคลองและสนับสนุนตอสภาพทางเศรษฐกิจ และการแขงขันที่ได กําหนดและแถลงไวตอผูถือหุน เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัทที่กําหนด เพื่อเสนอ ใหคณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานดานตางๆ ของบริษัทที่ กําหนดใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทที่กําหนดใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับ อนุมัติไว 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญของบริษัทที่กําหนด 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายเปนคราวๆ ไป 7. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได โดย การมอบอํานาจดังกลาวไมรวมถึงการมอบอํานาจใหบุคคลดังกลาวสามารถอนุมัติการทํา รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนอื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัทและตามที่สํานักงาน กลต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบายและ หลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว

48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงิน ใหคณะกรรมการบริหารของบริษัทมีอํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงินในวงเงิน ไมเกิน 800 ลานบาท โดยอํานาจอนุมัติทางการเงินดังกลาวจะรวมถึง การอนุมัติคาใชจาย ตางๆ ในการดําเนินการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนใน สินทรัพยฝายทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพยถาวร การกูยืมเงิน การใหกูยืม เงิน การจัดหา วงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้รวมถึงการใหหลักประกัน การค้ํา ประกันเงินกูหรือสินเชื่อ เปนตน ยกเวนการดําเนินการดานการเงินการธนาคารของคณะ กรรมการบริหารเฉพาะดานการฝากเงิน การกูเงิน การจัดทําเครื่องมือบริหารความเสี่ยงของ อัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีอํานาจในวงเงินไมเกิน 2,500 ลานบาท ทั้งนี้ใหคณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหพนักงานระดับบริหารของบริษัทมีอํานาจ อนุมัติทางการเงินเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็น สมควรก็ได ทั้งนี้การอนุมัติรายการดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนอนุมัติที่ทําใหคณะกรรมการบริหารหรือ ผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัท และตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเปนการอนุมัติ รายการที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัติไว (3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2544 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายศุภเดช พูนพิพัฒน กรรมการตรวจสอบ 2. นายอรุณ เชิดบุญชาติ กรรมการตรวจสอบ 3. นางชรินทร วงศภูธร ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่กํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัท ใหเกิดความชัดเจน ในดานการบริหารงานดานความซื่อสัตยสุจริต และความรับผิดชอบของกรรมการบริหารหรือ ผูบริหาร อันจะพึงมีตอผูถือหุนของบริษัท ตลอดจนดําเนินการใหเปนที่มั่นใจวา กรรมการบริหาร และผูบริหารของบริษัทไดบริหารกิจการตามนโยบายของคณะกรรมการ บริษัท อยางถูกตองครบถวนและมีมาตรฐาน 2. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ และความรับผิดชอบในภาระกิจที่ไดรับมอบหมายจาก กรรมการบริษัท ดังตอไปนี้ 2.1 ดูแลกระบวนการจัดทําและการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงินของบริษัท และ บริษัทยอยใหมีความถูกตอง ครบถวนเปนที่เชื่อถือได โดยการประสานงานกับผูสอบ บัญชีบริษัท และผูบริหารที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและ ประจําป

49


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.2 ดู แ ลให บ ริ ษั ท มี ร ะบบการตรวจสอบและการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสมและมี ประสิทธิภาพ โดยสอบทานรวมกับผูตรวจสอบอิสระภายนอกและผูตรวจสอบภายใน ถึงความเพียงพอของระบบการตรวจสอบและการควบคุมภายในของบริษัท 2.3 ดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน โดยการสอบทานการทํารายการระหวาง บริษัท หรือบริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน 2.4 ดูแลใหบริษัทปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 2.5 สอบทานหลักฐานการไตสวนภายใน เมื่อมีขอสงสัยหรือสันนิษฐานวาอาจมีการทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพรองสําคัญในระบบการควบคุมภายใน และนําเสนอ คณะกรรมการบริษัท พิจารณาตอไป 2.6 สั่งการและสอบทานหลักฐานหากมีขอสงสัยวา อาจมีการฝาฝนกฎหมายหรือ ขอกําหนดใดๆ ของตลาดหลักทรัพย ซึ่งมีหรืออาจมีผลกระทบตอฐานะการเงินและผล การดําเนินงานของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ 2.7 พิจารณาทบทวนแผนงานการตรวจสอบประจําปของสํานักตรวจสอบภายใน 2.8 พิจารณาผลการตรวจสอบ และขอเสนอแนะของผูสอบบัญชี และสํานักตรวจสอบ ภายในรวมทั้งติดตามผลการดําเนินการตามขอเสนอแนะดังกลาว 2.9 เสนอแนะใหผูสอบบัญชีสอบทาน หรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นวาจําเปนและเปน เรื่องสําคัญในระหวางการตรวจสอบบัญชีของบริษัท และบริษัทยอยได 2.10 กําหนดสาระสําคัญในการพิจารณาแตงตั้งผูสอบบัญชี และคาสอบบัญชีบริษัท ประจําป ตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อประกอบความเห็นตอที่ประชุมผูถือหุน 2.11 เมื่อสิ้นสุดปการเงิน ใหคณะกรรมการตรวจสอบจัดทํา รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบและเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวใหลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2.12 คณะกรรมการตรวจสอบมีอํานาจเชิญกรรมการบริหาร ผูบริหารหรือผูที่เกี่ยวของมา ใหถอยคํา หรือขอมูลอันเปนประโยชน หรือเขารวมประชุมตลอดจนสามารถเชิญ นักกฎหมาย หรือผูสอบบัญชี หรือผูตรวจสอบภายในเขารวมประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบได 2.13 ภาระกิจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท กําหนดหรือมอบหมาย (4) คณะผูบริหาร โครงสรางการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 มีดังตอไปนี้ 1. นายสมประสงค บุญยะชัย 2. นายลัม ฮอน ฟาย 3. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายงานวางแผน ธุรกิจ รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานการตลาด รักษาการรองกรรมการผูอํานวยการ สายงาน ปฏิบัติการดานบริการ

4. นายทรงศักดิ์ เปรมสุข 5. นายวลัญช นรเศรษฐภักดิ์

50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

6. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานบัญชีและ การเงิน

ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 เลขานุการบริษัท ไดแก นายวิวัฒน สงสะเสน 9.2 การสรรหากรรมการ บริษัทไดกําหนดแนวทางการสรรหาและแตงตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง กรรมการตองลาออกจากตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวน กรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวิธี จับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้นเปน ผูออกจากตําแหนง กรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได (2) ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการ เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ.2535 เขาเปนกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปน ก ร ร ม ก า ร แ ท น ดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน อยางไรก็ดีบริษัทไมมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหากรรมการ (Nominating Committee) ทั้งนี้ ขอบังคับของบริษัทกําหนดใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัทรตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ถือ (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคน เปนกรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใด มากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทา จํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งใน ลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นให ผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด ตามที่สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางบริษัทและ ทศท. ระบุใหตัวแทน ของ ทศท. เขาเปนกรรมการของบริษัท 1 คน และตามเงื่อนไขในขอตกลงระหวางผูถือหุนรายใหญ ซึ่ง ไดแกบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ Singapore Telecom International Private Limited (STI) ที่ระบุให SHIN แตงตั้งกรรมการได 4 คน และ STI แ ต ง ตั้ ง ก ร ร ม ก า ร ไ ด 2 คน สงผลให ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 คณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวย 10 คน ดังนี้ 1. นายไพบูลย ลิมปพยอม

ตัวแทนของ SHIN

51


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. นายสมประสงค บุญยะชัย 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 5. นางทัศนีย มโนรถ 6. นายลัม ฮอน ฟาย 7. นายเชา วิง เคียง ลูคัส 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 10. นางชรินทร วงศภูธร

ตัวแทนของ SHIN ตัวแทนของ SHIN ตัวแทนของ SHIN ตัวแทนของ ทศท. ตัวแทนของ SingTel ตัวแทนของ SingTel ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

9.3 คาตอบแทนผูบริหาร (1) คาตอบแทนรวมคณะกรรมการบริษัท จํานวน 5 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2544 เทากับ 9.68 ลานบาท เปนการจายใหกับประธานกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการตัวแทนของ ทศท. * คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โบนัส และเบี้ยประชุม (คาตอบแทนนี้ไมรวม คาตอบแทนที่จายใหกรรมการที่เปนตัวแทนจาก SHIN จํานวน 3 ทาน ซึ่งไดรับคาตอบแทนจาก SHIN โดยตรง)

(2) คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหารจํานวน 4 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2544 เทากับ 35.36 ลานบาท * คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะ ผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริหารและผูบริหารของบริษัท โดยคาตอบแทนดังกลาวของคณะผูบริหารไม รวมคาตอบแทนของประธานกรรมการบริหาร ซึ่งรับคาตอบแทนจาก SHIN และผูชว ยกรรมการ ผูอํานวยการ สวนงานบัญชีและการเงิน

9.4 การกํากับดูแลกิจการ ตามที่ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2545 วันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 โดยมีกรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการอิสระเขารวม โดยไดประเมินความเพียงพอของการกํากับดูแลกิจการ เกี่ยวกับ 7 องคประกอบ ไดแก องคประกอบของคณะกรรมการ บทบาท หนาที่ และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการ การแตงตั้งกรรมการและคณะกรรมการตรวจสอบ การดํารงตําแหนง กรรมการ คาตอบแทนกรรมการ การประชุมคณะกรรมการและผูถือหุน และการรายงานขอมูล โดยสรุปไดวา บริษัทมีการกํากับดูแลกิจการที่ดี อยางเหมาะสม เพียงพอ บริษัทไดใหความสําคัญในดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบริษัทไดปฏิบัติตาม แนวทางของขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน ( Code of Best Practice ) ของตลาดหลัก-ทรัพยแหงประเทศไทย ไดกําหนดขอบังคับที่พนักงานตองถือปฏิบัติ กําหนด จรรยาบรรณของบริษัท ( Code of Conduct ) ใชคานิยมในการทํางานแบบเดียวกัน ( Value ) การจัดใหมีระบบการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งใหมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอตามกฎเกณฑของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

52


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.5 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทใหความสําคัญอยางยิ่งเกี่ยวกับการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดย จรรยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) ไดกําหนดแนวทางเพื่อใหผูบริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือและนําไป ปฏิบัติเกี่ยวกับ “การใชขอมูลภายในเพื่อประโยชนของตนเองหรือผูอื่น” ซึ่งระบุวา ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับตองไมใชขอมูลภายใน (Insider Information) ของบริษัทที่มี สาระสําคัญและยังไมไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเองหรือผูอื่น เชน การนําขอมูล การเขาซื้อกิจการของบริษัทเพื่อประโยชนในการซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท โดยกําหนดวา หาก มีการกระทําดังกลาวเกิดขึ้นใหถือวาเปนความผิดรายแรงและถูกลงโทษทางวินัย ในจรรยาบรรณของบริษัทยังไดกําหนดใหผูบริหารและพนักงานซึ่งอยูในหนวยงานที่ทราบขอมูลภายใน หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวงระยะเวลา 1 เดือน กอนการเปดเผยงบการเงิน ใหแกสาธารณชน นอกจากนี้ผูบริหารของบริษัทมีหนาที่จัดทํารายงานการถือหลักทรัพย และรายงานการเปลี่ยนแปลงการ ถือหลักทรัพยของบริษัทของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตามแบบและภายในเวลาที่ กําหนดในขอบังคับวาดวยการรายงานการถือหลักทรัพย และกําหนดใหผูบริหารสงสําเนารายงาน ดังกลาวใหบริษัทในวันเดียวกับวันที่รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย

53


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.6 บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัทมีพนักงานทั้งสิ้น 2,858 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน 752

1. วิศวกรรม

1,065

2. ปฏิบัติการดานบริการ 3.

191

การตลาด

4. วางแผนธรุกิจ

24

5. การเงินและการบัญชี

134

6. สนับสนุนระบบสารสนเทศ

195

7. สนับสนุน

187

8. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคเหนือ

201

9. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคตะวันออก

109

บริษัทมีนโยบายที่จะควบรวมพนักงานของ DPC เขามาเปนสวนหนึ่งของบริษัท โดยเนนที่สายงาน หลักเชน สายงานดานวิศวกรรมเพื่อใหทั้งบริษัท และ DPC ไดรับประโยชนจากการวางแผนขยาย เครือขายรวมกันอยางเต็มที่ นอกจากนั้นบริษัทยังมีนโยบายรวมฝายการตลาด และปฏิบัติงานดานการ บริการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนการตลาดและการใหบริการทั้งกอนและหลังการขายของ ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งสองระบบใหมากขึ้น 9.7 นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทจัดใหมีการอบรมและพัฒนาพนักงานทุกคนจากทุกฝายอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหทั้งองคกรรวมสราง ศักยภาพไปพรอมๆ กัน โดยมีฝายพัฒนาทรัพยากรบุคคลรับผิดชอบดูแล ลักษณะการฝกอบรมแบงได เปน 3 ประเภท ไดแก 1. Corporate Introduction เปนหลักสูตรฝกอบรมใหแกพนักงานทั่วทั้งองคกร เชน หลักสูตร We are AIS, The AIS Way for Corporate 2. Functional Training เปนหลักสูตรฝกอบรมเฉพาะตามสายงานหรือความรับผิดชอบ เชน Leading the Service Team หรือ English for Customer Services 3. Management Training เปนหลักสูตรฝกอบรมพนักงานระดับผูบริหาร เชน Problem Solving and Decision Making, First Line Manager และ Internet for Executives เปนตน

54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

10. การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2545 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2545 โดยมีกรรมการอิสระ และคณะกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมดวย คณะกรรมการไดประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุม ภายในโดยการซักถามขอมูลจากฝายบริหารแลวสรุปไดวา จากการประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุม ภายในของบริษัทในดานตางๆ 5 องคประกอบ คือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการ ปฏิบัติงานของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลและระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นวาบริษัทมี ระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสมเพียงพอ โดยทุกองคประกอบมีการปฏิบัติตามอยางมีประสิทธิผล บริษัทฯ ไดมีการจัดการบริหารงานและระบบการควบคุมภายในที่ดีเพียงพอ โดยผูบริหารไดสนับสนุนใหตระหนัก ถึงความจําเปนในการควบคุมภายใน และสงเสริมใหทุกหนวยงานมีการนําระบบการบริหารความเสี่ยง มาวิเคราะหและหา แนวทางควบคุมเพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นใหอยูในระดับที่เหมาะสม มีการกํากับดูแลองคกรที่ดี โดยกําหนด หนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจน ไดกําหนดระเบียบ ขอบังคับ นโยบาย ระดับอํานาจการบริหารและระดับการอนุมัติ รายการที่เหมาะสมอยางเปนลายลักษณอักษร รวมทั้งมีระบบสารสนเทศและระบบการรักษาความปลอดภัยของขอมูล เพื่อใหมีขอมูลที่ถูกตองสมบูรณและเปนปจจุบัน บริษัทไดจัดใหมีสํานักตรวจสอบภายในที่ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล เพื่อสอบทานระบบการ ปฏิบัติงานของกิจกรรมตางๆใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรโดยรวม โดยผลการตรวจสอบที่ผานมา ไมพบวามีขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญตอระบบการควบคุมภายในแตประการใด นอกจากนี้ผูสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ซึ่งเปนผูตรวจสอบงบ การเงินประจํางวดป 2544 ไดประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในของบริษัทตามที่เห็นวาจําเปน ซึ่งพบวา ไมมี จุดออนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแตประการใด

54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11. รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยรายการดังกลาวลวนเปนการ ดําเนินธุรกิจปกติของบริษัท บริษัทยอย และบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทั้งสิ้น สําหรับขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการ ระหวางกัน นอกจากบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกําหนดอํานาจของผูมีสิทธิ อนุมัติตามวงเงินที่กําหนดแลว คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหนาที่เปนผูสอบทานการทํารายการระหวางบริษัทหรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนอีกดวย และเนื่องจากรายการระหวาง กันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้นรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่ จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความเหมาะสมและราคาที่เปนธรรมเปนหลัก ในป 2543 และ 2544 บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยผูตรวจสอบ บัญชีของบริษัทไดแสดงความเห็นไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดปบัญชี 2543 และ งบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับปบัญชี 2544 วารายการดังกลาวเปนรายการคาตามปกติ โดยบริษัทไดคิดราคา ซื้อ-ขายสินคาและบริการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตามราคาที่เทียบเทากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมี เงื่อนไขตางๆ ตามปกติธุรกิจ ในกรณีที่ไมมีราคาดังกลาว บริษัทจะวาจางผูประเมินราคาอิสระมืออาชีพ ในกรณีที่เปน การประเมินราคาประเภทการเชาอสังหาริมทรัพยจะเปนผูประเมินที่ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการ ประเมินราคาของรายการระหวางกัน เพื่อใชเปนแนวทางเปรียบเทียบกอนที่จะใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่ สอบทาน รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในชวงระยะเวลาดังกลาวมีรายละเอียดดังตอไปนี้

55


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) / เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และมีกรรมการรวมกัน

2. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (SATTEL) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญและ มีกรรมการรวมกัน

บริษัทวาจาง SHIN ใหเปนที่ปรึกษาและบริหารงาน โดยบริษัทตองจายคาที่ปรึกษาจํานวน 3,795,000 บาทตอเดือน สวนคาบริหารงานจาย ตามรายการที่เกิดขึ้นจริง 1. คาที่ปรึกษาและบริหารการเงิน

2. ดอกเบี้ยจายสําหรับหุนกู 3. เงินปนผลจาย 3. คาเชาและบริการอื่น 4. รายไดจากการใหบริการ 5. ซื้อ อุปกรณสํานักงาน และคอมพิวเตอร บริษัทเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บน ดาวเทียมไทยคม 1A จาก SATTEL โดยบริษัทตอง ชําระคาตอบแทนในอัตรา 1,700,000 USD/ป 1. คาเชาและบริการอื่น 2. รายไดจากการใหบริการ 3. ซื้ออุปกรณระบบสื่อสาร

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

82.80

82.80

140.48

0.55 1.80 0.91 0.55

0.55 2.77 1.92 1.11

0.00 437.48 4.36 0.90 0.00

78.93 1.36 0.50

78.93 1.94 0.50

76.19 1.28 2.55

56

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

156.29 เปนนโยบายในการกํากับดูแลบริษัท ยอยของบริษัทใหญซึ่งประกอบธุรกิจ ในการเขาถือหุนและบริหารงาน เพื่อใหการควบคุมเปนประโยชนสูงสุด สําหรับบริษัทใหญและผูถือหุน รายไดคาที่ปรึกษาคิดเปนรายเดือน โดยกําหนดจากตนทุนของผูบริหารที่ ใหคําปรึกษา คาบริหารการเงินกําหนดจากราคา ตลาดตามรายการที่เกิดขึ้นจริง 0.00 437.48 5.26 1.17 0.00

76.19 1.53 2.55

เปนผูประกอบการรายเดียวในประเทศ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

3. บริษัท ชินวัตร อินฟอร เมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (SIT) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 99.99 และมี กรรมการรวมกัน 4. บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด (SMB) /มี SHIN เปนผู ถือหุนใหญ รอยละ 74.97 และมีกรรมการรวมกัน

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

บริษัท ใชบริการระบบคอมพิวเตอรของ SIT โดยจาย คาตอบแทน 750,000 บาทตอเดือน 1. คาที่ปรึกษาและบริหารระบบคอมพิวเตอร 2. รายไดจากการใหบริการ 3. คาเชาและคาบริการอื่น 4. ซื้ออุปกรณสํานักงานและคอมพิวเตอร บริษัท และ AWM วาจาง SMB เปนตัวแทนในการ จัดทําโฆษณาผานสื่อตางๆ โดยจะเปนการวาจางครั้ง ตอครั้ง 1. คาโฆษณา

2. ซื้ออุปกรณสํานักงาน

7.97 0.08 1.42 0.09

7.97 0.15 6.40 0.09

9.00 0.00 0.00 0.99

9.00 0.00 18.48 0.99

66.89

801.65

564.84

1,470.91

0.00

0.00

5.71

5.73

57

เปนบริษัทโฆษณาที่มีความคิดริเริ่มที่ ดีและมีความเขาใจในผลิตภัณฑและ บริการของบริษัทเปนอยางดี รวมทั้ง เปนการปองกันการรั่วไหลของขอมูล


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (TMC) /มี SHIN เปนผู ถือหุนใหญและมีกรรมการ รวมกัน

บริษัทวาจาง TMC ในการจัดทําขอมูลสําหรับบริการ เสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การจัดหาขอมูลทาง โหราศาสตร ขอมูลสลากกินแบงรัฐบาล และเรื่องตลก ขบขัน เปนตน โดยชําระคาใชบริการตามที่เกิดขึ้นจริง เปนรายเดือน 1. คาบริการ 2. คาโฆษณา

6. บริษัท โอเอไอ แอส เสท จํากัด (OAIA)/กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผู ถือหุนใหญของ SHIN ถือ หุน OAIA รอยละ 100.00

บริษัทมีการเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตรทาว เวอร 2 /เชาสํานักงานและพื้นที่จอดรถในอาคาร White House /เชาพื้นที่สํานักงานและพื้นที่จอดรถใน อาคารการประปานครหลวง/เชาพื้นที่คลังสินคาและ พื้นที่จอดรถในอาคารพหลโยธิน ซอย 13 - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

30.89

30.89

52.24

0.80

4.80

1.98

124.73

58

142.92

150.80

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

52.24 มีความเชี่ยวชาญในการจัดทําเนื้อหา ของบริการเสริมใหบริษัท 6.15 เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ หากมีการเปลี่ยน 166.72 แปลงพื้นที่เชาดังกลาวจะสงผลใหบริษัทมี ภาระตนทุนเพิ่มขึ้น ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณา การทําสัญญาเชา และการตอสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

7. บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด (SOP) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน SOPรอยละ 60.00

บริษัท และ AWM เชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตร ทาวเวอร 1 รวม 13,197 ตารางเมตร เปนเงินรวม ทั้งสิ้นประมาณ 6,316,575.73 บาทตอเดือน - คาเชาและคาบริการอื่น

30.54

43.28

87.21

8. บริษัท เอสซี แอสเสท จํากัด (AST) /กลุมครอบครัว ดามาพงศซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุนรอยละ 99.99

บริษัทและ AWM เชาพื้นที่ในอาคารชินวัตรทาวเวอร 1 รวม 13,197 ตารางเมตร และระบบสาธารณูปโภคใน พื้นที่สวนกลางจาก AST ตอมาในปลายป 2543 AST ไดโอนสัญญาการใหบริการระบบสาธารณูปโภคใน พื้นที่สวนกลางใหแก SOP 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. รายไดจากการใหบริการ 3. ซื้ออุปกรณสํานักงาน

32.72 1.27 0.00

54.17 2.04 0.00

1.49 2.07 1.23

59

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

117.47 เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ หากมีการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เชาดังกลาวจะสงผลให บริษัทมีภาระตนทุนเพิ่มขึ้น ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณา การทําสัญญาเชา และการตอสัญญา

2.63 2.30 1.23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

9. บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด (WS) /กลุมครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน WS รอยละ 72.19

บริษัทเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารกลุมชินวัตร (เชียงใหม) 3,937.80 ตารางเมตร - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

10. บริษัท พี.ที. คอรปอเร ชั่น จํากัด (PT) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน PT รอยละ 70.00

บริษัทเชาพื้นที่คลังสินคา แขวงคันนายาว/เชาพื้นที่ อาคารสํานักงานและพื้นที่ดาดฟา แขวงถนนนครไชย ศรี/เชาพื้นที่ในอาคารแขวงทุงสองหอง เขตบางเขน และพื้นที่ดาดฟา/เชาพื้นที่ติดตั้งอุปกรณสถานีฐานของ โครงการวังหินคอนโดทาวน/ APG เชาพื้นที่อาคาร Mini-office (ตึก D) แขวงทุงสองหอง - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

12.67

15.85

17.24

9.28

21.08

10.41

60

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ 19.56 สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ หากมีการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เชาดังกลาวจะสงผลให บริษัทมีภาระตนทุนเพิ่มขึ้น ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณา การทําสัญญาเชา และการตอสัญญา เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ หากมีการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เชาดังกลาวจะสงผลให 19.88 บริษัทมีภาระตนทุนเพิ่มขึ้น ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณา การทําสัญญาเชา และการตอสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

11. บริษัท อัพคันทรีแลนด จํากัด (UL) /กลุมครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน UL รอยละ 99.98

12. บริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จํากัด (OAIL) /กลุมครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน OAIL รอยละ 45.00

13. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด (ITAS) /มี SHIN เปนผูถือ หุนใหญและมีกรรมการรวม กัน

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

บริษัทเชาพื้นที่อาคารสํานักงานและสถานที่สําหรับ ติดตั้งสถานีฐาน ทั้งในกรุงเทพมหานครและในเขต ภูมิภาค รวม 93 แหง

- คาเชาและคาบริการอื่นๆ

93.26

93.26

112.25

บริษัท AWM และ APG เชารถยนตเพื่อใชงานประจํา สาขาตางๆ จํานวน รวม 83 คัน จาก OAIL 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ

33.41

35.92

22.92

23.72

2. ซื้อยานพาหนะ บริษัท AWM และ APG วาจางใหการปรับปรุงและ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนครั้งตอครั้ง

1.97

1.97

0.65

0.93

1. คาที่ปรึกษาและบริหารงาน 2. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 3. ซื้ออุปกรณสํานักงาน และคอมพิวเตอร

6.27 0.00 1.20

6.27 13.96 6.74

14.93 0.00 0.70

14.93 0.00 0.70

61

112.58 เปนบริษัทที่มีประสบการณในการจัดหา พื้นที่เชาทั่วประเทศไทย ไดตรงตาม เสนทางที่ตองการและทันตาม กําหนดเวลา

เปนบริษัทลีสซิ่งที่ใหบริการเชาเฉพาะ บริษัทในเครือ และราคา สมเหตุสมผล รวมทั้งมีบริการที่ดีและ รวดเร็ว


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

14. บริษัท โอเอไอ พร็อพ เพอรตี้ จํากัด (OPP) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน (OPP) รอยละ 49.96

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษัท และ AWM เชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตร ทาวเวอร 3 รวม 4,912 ตารางเมตร /บริษัทยังไดเชา พื้นที่บางสวนในอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 อีกรวม 689.90 ตารางเมตร 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ

5.53

16.27

19.70

2. คาตกแตงสํานักงาน

1.93

1.93

0.00

62

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

93.40 เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ หากมีการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เชาดังกลาวจะสงผลให บริษัทมีภาระตนทุนเพิ่มขึ้น ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณา การทําสัญญาเชา และการตอสัญญา 0.00


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

15. Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd./ เปนบริษัท ในกลุมเดียวกับ SingTel Strategic Investments Pte. Ltd. (SingTel) ซึ่ง เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท

บริษัททําสัญญากับ Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd ในการเปดใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) รวมกัน - รายไดจากการใหบริการ

157.23

157.23

157.84

16. Singapore Telecom International Pte. Ltd. (STI)/ เปนบริษัทในกลุม เดียวกับ SingTel ซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของบริษัท

1. บริษัทเขาซื้อหุนสามัญ ADC และ DNS จาก STI เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2542 คิดเปนมูลคารวม ประมาณ 281ลานบาท ทําใหบริษัทถือหุน ADC และ DNS คิดเปนรอยละ 67.95 และ 49.00 2. APG ทําสัญญา Technical Service Agreement เพื่อวาจาง STI ในการเปนที่ปรึกษาในดานเทคนิค เกี่ยวกับ Digital Display Paging โดยจาย คาตอบแทนเปนรายป 3. บริษัท จายเงินเดือนและผลตอบแทนใหแก STI ใน การสงพนัก งานมาปฏิบัติงานที่บริษัทโดยจะเรียกเก็บ คาใชจายตามที่เกิดขึ้นจริง - เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น

30.62

49.34

39.62

63

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินรวม

157.84 เปนการดําเนินธุรกิจตามปกติในการ ขยายการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในตางประเทศ ระหวางบริษัทกับผู ใหบริการรายอื่น โดย Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd เปนหนึ่งใน ผูใหบริการเหลานั้น

43.79

เปนสวนหนึ่งในสัญญาของการรวม ลงทุนระหวางบริษัทกับ Singapore Telecom International Pte. Ltd. ที่จะ มีตัวแทนเขามารวมบริหาร


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

17. บริษัท ซี.เอส.คอมมิวนิ เคชั่นส จํากัด (CSC) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ (โดย ทางออม) และมีกรรมการ รวมกัน

18. บริษัท โอเอไอ คอนซัล แตนท แอนด แมนเนจเมนท จํากัด (OCM) /กลุมครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน OCM รอย ละ 84.21 19. บริษัท บี.พี.พร็อพเพอรตี้ จํากัด (BP) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน BP รอยละ 78.22

ADC ใหบริการ Datanet แกบริษัท และ CSC AWM และ APG วาจาง CSC ในการใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต โดยชําระคาบริการเปนรายเดือน 1. รายไดจากการใหบริการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

0.16

23.97

0.19

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

75.62 เปนรายไดจากการใหเชาสื่อสัญญาณ เชื่อมโยงซึ่งครอบคลุมในพื้นที่ที่ CSC ใหบริการอยู 5.22

2. คาเชาและคาบริการอื่น บริษัทใชบริการหองจัดเลี้ยงจาก OCM ในการจัด สัมมนา และฝกอบรมพนักงาน โดยเปนการชําระ คาบริการตอครั้ง - คาเชาและคาบริการอื่น

2.97

5.07

2.47

4.52

4.53

3.50

3.50

บริษัทเชาพื้นที่ดาดฟาและพื้นที่บางสวนของอาคาร เอสซี สาธรแมนชั่น ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร เพื่อติดตั้งอุปกรณสถานีฐาน - คาเชาและคาบริการอื่น

0.60

0.60

0.60

0.60

64


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2543 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

20. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด (Shinee) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ (โดย ทางออม) และมีกรรมการ รวมกัน

บริษัทวาจาง Shinee ในการใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต โดยชําระคาบริการเปนรายเดือน - คาเชาและคาบริการอื่น

21. บริษัท อินโฟลิงค จํากัด (IFL) / STI เปนบริษัทในกลุม เดียวกับ SingTel ซึ่งเปนผูถือหุน ใหญของบริษัท นอกจากนี้ บริษัท และ IFL ยังมีกรรม การรวมกัน

IFL ไดมีการติดตอหาลูกคาที่ตองใชบริการผาน โทรศัพทติดตามตัว โดยคิดเฉพาะคาบริการในสวน ของ IFL และยกเวนคาบริการในสวนของ APG กับ ลูกคา ดังนั้น IFL จึงมีภาระตองชําระคาบริการสวนที่ ยกเวนกับลูกคาใหแก APG แทน - คาเชาและคาบริการอื่น บริษัทวาจาง BTE ในการใหบริการติดตั้งอุปกรณ โทรคมนาคม - คาอุปกรณระบบสื่อสารและคาติดตั้ง

22. บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจีเนียริ่ง จํากัด (BTE) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน BTE รอยละ 99.99 23. กลุมครอบครัวชินวัตร

24. กลุมกรรมการของบริษัท

กลุมครอบครัวชินวัตรมีการถือหุนกูของบริษัท - เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท - ดอกเบี้ยจาย กลุมกรรมการของบริษัทมีการถือหุนกูของบริษัท - เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท - ดอกเบี้ยจาย

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

0.00

0.00

14.21

14.21

0.00

0.00

8.38

9.02

0.00

0.00

116.91

465.50

270.00 22.28

270.00 22.28

280.00 22.40

280.00 22.40

31.00 1.58

31.00 1.58

45.08 2.05

45.08 2.05

65

เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการ ออกแบบ Web Site และมีความ หลากหลายของเนื้อหาซึ่งตรงกับความ ตองการของบริษัท

มีความชํานาญในการติดตั้งสถานีฐาน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันและนโยบายการทํารายการระหวางกันในอนาคต ขั้นตอนการทํารายการระหวางกัน บริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการกับบุคคลอื่น ๆ และ เปรียบเทียบกับราคาตลาดทั่วไป โดยจะมีการกําหนดอํานาจอนุมัติตามวงเงินที่กําหนดไวแลว และหากรายการ ระหวางกันอื่นใดที่เขาขายตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเรื่องหลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผย รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎดังกลาวอยางเครงครัด ในการทํารายการระหวางกันของบริษัท ไดมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อสอบ ทานการทํารายการระหวางกันของบริษัท บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันทุกๆ ไตรมาส เพื่อไมใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชนซึ่งกันและกัน

66


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 งบการเงิน 12.1.1

รายงานการสอบบัญชี

จากรายงานของผูสอบบัญชีในชวงระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (2542 –2544) ผูสอบบัญชีมี ความเห็นวางบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะ การเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงาน เฉพาะของบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของบริษัท โดยถูกตองตามที่ ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย นอกจากนี้ รายงานของผูสอบบัญชียังไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัท และบริษัทยอย 2 แหงซึ่ง ไดแก ADC ในระหวางป 2542 และ APG ในงบการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ซึ่งมีรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดังนี้ (1) การบันทึกบัญชีสําหรับตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ภายใตสัญญารวมการงาน ของบริษัท ที่เปลี่ยนจากวิธีตัดจําหนายตนทุนเปนคาใชจายตลอดอายุที่เหลือของ สัญญารวมการงาน เปนวิธีตัดจําหนายตนทุนเปนคาใชจายตลอดอายุการใชงานของ อุปกรณระบบ กลาวคือ ตนทุนของอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ อนาลอก NMT ตัดจําหนายเปนคาใชจายตามวิธีเสนตรงเปนระยะเวลา 10 ป แต ไมเกินเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2546 สําหรับระบบดิจิตอล GSM ตัดจําหนายเปน คาใชจายตามวิธีเสนตรงเปนระยะเวลา 10 ป แตไมเกินอายุที่เหลือของสัญญารวม การงาน ซึ่งจะทําใหคาใชจายตัดจายของตนทุนอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบอนาลอก NMT ในงวดสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 เพิ่มขึ้นอีก 722 ลานบาท (2)

การบันทึกบัญชีสําหรับตนทุนของเครื่องมือและอุปกรณในการดําเนินการดาตาเน็ท ของ ADC ภายใตสัญญารวมการงาน ซึ่งเปลี่ยนจากวิธีตัดจําหนายตนทุนเปน ค า ใช จ า ยตลอดอายุ ที่ เ หลื อ ของสั ญ ญาร ว มการงาน เป น ตั ด จํ า หน า ยต น ทุ น เป น คาใชจายตามวิธีเสนตรงเปนระยะเวลา 10 ป แตไมเกินอายุที่เหลือของสัญญารวม การงาน

(3)

การบันทึกบัญชีสําหรับการเปลี่ยนสถานะจากเงินลงทุนในบริษัทรวมเปนเงินลงทุน ในบริษัทยอย เพื่อสะทอนใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงสถานะของ ADC ที่บริษัทได เพิ่มสวนไดเสียจากรอยละ 40.08 เปน รอยละ 67.95 ของทุนเรือนหุนทั้งหมด เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2542

(4)

การบันทึกบัญชีสําหรับตนทุนเครือขายโทรศัพทติดตามตัวภายใตสัญญารวมการงาน ของ APG ที่เปลี่ยนจากวิธีตัดจําหนายตนทุนโดยใชวิธีเสนตรงเปนคาใชจายตลอด อายุที่เหลือของสัญญารวมการงานแตไมเกินป พ.ศ. 2548 เปนตัดจําหนายตนทุน เปนคาใชจาย ตลอดอายุการใชงานที่จะกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจของตนทุน ของอุปกรณเครือขายโทรศัพทติดตามตัว และเห็นวาควรตัดจําหนายตามอายุการใช งานจนถึงป 2545 ซึ่งจะทําใหคาใชจายตัดจายของตนทุนเครือขายโทรศัพทติดตาม

67


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตัวภายใตสัญญารวมการงาน ของ APG ในงวดสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 เพิ่มขึ้นอีก 164 ลานบาท 12.1.2

ตารางสรุปงบการเงินรวม

งบดุลรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม ณ วันที 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท

ตรวจสอบแลว ป 2543

งบดุลรวม ป 2542

ป 2544

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและเงินฝากธนาคาร

839,647

1,497,298

6,535,537

เงินลงทุนระยะสั้น

2,851,465

10,869,044

8,836,584

ลูกหนี้การคา - สุทธิ

3,848,346

5,445,307

7,674,224

0

0

0

ลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ

548

4,196

1,027

939,473

1,970,366

2,238,469

อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย

0

0

358,586

ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา - สุทธิ

0

220,712

0

เงินจายลวงหนาใหแกผจู ัดจําหนาย

0

988,651

3,168,730

1,090,626 9,570,105

956,635 21,952,210

2,254,533 31,067,691

0

0

0

1,974,811

2,340,189

6,233,122

สินคาคงเหลือ - สุทธิ

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาระยะยาว - สุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัว และตนทุน ของเครื่องมือและอุปกรณในการดําเนินการดาตาเน็ตภายใต

26,812,222

33,947,149

56,334,130

คาใชจายรอตัดบัญชี - สุทธิ

สัญญาสัมปทาน - สุทธิ

535,185

364,956

404,237

คาความนิยม - สุทธิ

812,249

398,885

13,943,788

159,590 30,294,057

131,353 37,182,533

5,555,419 82,470,696

39,864,162

59,134,743 113,538,388

สินทรัพยอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หมายเหตุ 1.เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2542 บริษัทซื้อหุนสามัญของ บริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (“APG”) ในราคารวมประมาณ 950 ลาน บาท สงผลใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน APG เพิ่มขึ้นจากรอยละ 60.00 เปนรอยละ 99.99 2.เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2542 บริษัทซื้อหุนสามัญของ บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“ADC”) ในราคา หุนละ 14.89 บาท รวมเปนเงินประมาณ 273 ลานบาท สงผลใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน ADC เพิ่มขึ้นจากรอยละ 40.08 เปน รอยละ 67.95 นอกจากนี้ บริษัทยังซื้อหุนสามัญของ บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (“DNS”) ในราคาหุนละ 163.15 บาท รวมเปนเงินประมาณ 8 ลานบาท สงผลใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน DNS รอยละ 49.00

68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม (ตอ) ณ วันที 31 ธันวาคม

ตรวจสอบแลว ป 2543

งบดุลรวม ป 2542

ป 2544

หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร

1,950,000

2,049,960

5,456,758

เจาหนี้การคา

2,324,113

7,657,698

10,701,380

0

2,301,267

6,346,124

1,033,127

783

919,763

135,047

294,207

334,271

0

0

0

953,231

1,813,905

2,990,140

57,450

0

5,167

สวนของหุนกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้และเงินกูยืมจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน หุนกูระยะสั้น ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจายที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา - สุทธิ หนี้สินหมุนเวียนอื่น

4,518,769

3,892,835

6,123,684

10,971,737

18,010,655

32,877,287

24,565

0

0

หุนกูระยะยาว

1,500,000

8,834,719

29,402,140

หนี้สินระยะยาว

2,391,869

250,000

4,515,981

0

0

3,073,473

3,450,606

3,914,581

2,648,008

7,367,040

12,999,300

39,639,602

18,338,777

31,009,955

72,516,889

158,964

159,418

260,812

2,700,000

2,700,000

2,935,000

10,215,000

10,215,000

20,004,000

500,000

500,000

500,000

7,951,421

14,550,370

17,321,687

21,525,385

28,124,788

41,021,499

39,864,162

59,134,743 113,538,388

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาระยะยาว - สุทธิ

ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน สวนของผูถ ือหุนสวนนอยในบริษัทยอย ทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคา สวนเกินมูลคาหุน กําไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฏหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

69


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกําไรขาดทุน

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนรวม หนวย : พันบาท

ตรวจสอบแลว

งบกําไรขาดทุนรวม

รายได รายไดคาบริการและการใหเชาอุปกรณ รายไดจากการขาย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สุทธิ ดอกเบี้ยรับ รายไดคาชดเชย รายไดอ่นื รวมรายได คาใชจาย ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและการบริหาร ขาดทุนจากการดอยคาของทรัพยสิน ดอกเบี้ยจาย คาตอบแทนกรรมการ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สุทธิ รวมคาใชจาย กําไรกอนภาษีเงินได และ สวนของผูถ ือหุนสวนนอย ภาษีเงินได กําไรสุทธิกอนพิจารณาสวนของผูถ ือหุนสวนนอยในบริษัทยอย หัก สวนของผูถ ือหุนสวนนอย - สุทธิ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

70

ป 2542

ป 2543

ป 2544

18,327,769 6,885,884 0 231,360 0 427,675 25,872,687

26,196,887 10,761,758 760,640 380,865 1,031,570 597,924 39,729,644

41,331,863 17,925,374 0 389,085 0 1,091,703 60,738,025

11,385,272 4,708,595 4,181,786 0 718,287 5,060 108,654 21,107,654 4,765,033 (1,995,712) 2,769,321 19,260 2,750,062

14,940,630 21,636,240 7,471,908 13,606,504 5,364,287 9,588,686 339,232 4,264,621 729,440 1,572,896 1,659 2,781 0 0 28,847,156 50,671,728 10,882,488 10,066,297 (4,283,084) (6,238,439) 6,599,403 3,827,858 455 (23,459) 6,598,949 3,851,317


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

12.1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ

12.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวสิ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน ตรวจสอบแลว อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ (งบรวม) ป 2544 ป 2542 ป 2543 อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratio) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) 0.87 1.22 0.94 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) 0.69 0.99 0.70 อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) 0.47 0.96 0.46 อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)

/1

อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) /2

อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา) ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ย (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนตอผูถ อื หุน (%) อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย (เทา) อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราสวนหนี้สนิ ตอสวนของผูถ อื หุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน(Cash Basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%) /4 ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไรสุทธิตอหุน ( บาท) เงินปนผลตอหุน (บาท) อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สนิ รวม (%) รายไดจากการขายและบริการ (%) คาใชจา ยดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

/3

7.29 49

7.95 45

9.03 40

5.80

5.14

6.47

62

70

56

2.80 128 (17)

3.42 105 10

3.07 117 (22)

36.17% 39.36% 19.58% 23.93% 2.55% 6.97% 134.22% 187.40% 10.63% 16.61% 16.87% 26.58%

40.53% 24.34% 2.44% 399.14% 6.34% 11.14%

7.06% 24.90% 0.66

13.33% 35.84% 0.80

4.46% 24.12% 0.70

0.85 7.63

1.10 15.92

1.77 7.40

0.62 0.00%

3.25 0.00%

0.59 28.04%

79.72 10.19 0.00

10.42 24.44 0.00

14.79 1.39 0.39

4.69% -32.08% 66.91% 28.57% 90.12%

48.34% 69.09% 46.58% 36.39% 139.96%

92.00% 133.85% 60.33% 78.75% -41.64%

/1 ในทางปฏิบัติ บริษัทจะแจงยอดคาบริการทุกสิ้นเดือน โดยระยะเวลาเก็บหนี้จริงจะนอยกวาทีค่ ํานวณไดขา งตน อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา = รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ+รายไดจากการขาย / ลูกหนี้การคาสุทธิ (เฉลีย่ ) /2 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ = (ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ+ตนทุนขาย-ผลประโยชนตอบแทนรายป) / เจาหนี้การคา(เฉลีย่ ) /3 อัตราสวนความสามารถขําระภาระผูกพัน(Cash Basis) = กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน+ดอกเบี้ยจาย-ดอกเบี้ยรับ/(ดอกเบี้ยจาย+ เงินตน+เงินปนผล) /4 มูลคาหุน สามัญของบริษัททีต่ ราไวไดเปลีย่ นจากเดิมหุน ละ 10 บาท เปน 1 บาทเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ทําใหหนุ ทีอ่ อกจําหนาย แลวเปลีย่ นจาก 293.5 ลานหุน เปน 2,935 ลานหุน หมายเหตุ อัตรากําไรอื่น = รายไดทไี่ มใชรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขาย/รายไดรวม

71


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ณ สิ้นป 2544 บริษัทมีจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบรวม 4.81 ลานราย แบงเปนผูใชบริการในระบบ NMT 264,800 ราย ระบบ GSM Advance 2,259,700 ราย และระบบ 1-2-Call! 2,288,500 ราย โดยมีผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิจากป 2543 จํานวน 2.83 ลานราย หรือ 143 % ทําใหบริษัทมีสวนแบงการตลาดเพิ่มขึ้นจากรอยละ 55 ณ สิ้นป 2543 เปน รอยละ 60 ณ สิ้นป 2544 ทั้งนี้ จากการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาและยกระดับการ บริหารงาน ทั้งในแงของคุณภาพเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และเครือขายการใหบริการ ตลอดจนการ พัฒนาผลิตภัณฑใหม ๆ เพื่อตอบสนองความตองการของผูใชงานอยางตอเนื่อง ทําใหบริษัทมีผลการ ดําเนินงานเติบโตอยางตอเนื่อง ดังจะเห็นไดจาก ในป 2544 บริษัทมีรายไดรวมทั้งสิ้น 60,738 ลาน บาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรายไดรวมป 2543 รอยละ 53 ในขณะที่บริษัทมีกําไรสุทธิเพียง 3,851 ลานบาท ลดลงจากกําไรสุทธิ ป 2543 ในอัตรารอยละ 42 เนื่องจากบริษัทมีการตั้งคาเผื่อการขาดทุนจากการ ดอยคาของทรัพยสินอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบอนาลอก NMT และอุปกรณเครือขาย โทรศัพทติดตามตัวเปนมูลคา 4,265 ลานบาท นอกจากนี้ บริษัทยังไดเล็งเห็นประโยชนในการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทจึงไดเขาไปลงทุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ใน SDT ซึ่งถือ หุนรอยละ 97.54 ใน DPC และในเดือนธันวาคม 2544 บริษัทไดดําเนินการซื้อหุน DPC จาก SDT ทําใหบริษัทถือหุนโดยตรงใน DPC เปนรอยละ 98.17 DPC ซึ่งดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 1800 MHz ซึ่งมียอดผูใชบริการ ณ สิ้นป 2544 จํานวน 390,300 ราย ทําใหบริษัทและ DPC มีสวนแบง การตลาดรวมกันเปนประมาณรอยละ 65 ในขณะที่คูแขงอันดับสองซึ่งไดแก TAC มีสวนแบง การตลาดประมาณรอยละ 34 แมวา DPC จะยังคงมีผลประกอบการขาดทุน โดยในป 2544 DPC มีผลขาดทุนอยู 1,412 ลานบาท เนื่องจากธุรกิจของ DPC อยูในชวงของการนําระบบตางๆ มา ปรับปรุงงานบริการและเครือขายซึ่งตองการเงินลงทุนเปนจํานวนมาก ประกอบกับจํานวนฐานลูกคาของ DPC ยังมีจํานวนไมมากพอที่จะสงผลใหรายไดของ DPC ถึงจุดคุมทุน แตบริษัทเห็นวาธุรกิจของ DPC เปนธุรกิจที่มีศักยภาพ เอื้อตอธุรกิจของบริษัท อันจะกอใหเกิดผลตอบแทนที่ดีตอบริษัทใน อนาคต ซึ่งการเขาไปลงทุนใน DPC ทําใหบริษัทไดรับประโยชนหลายดาน สามารถสรุปไดดังนี้ 1.

ลดเงินลงทุนที่ตองใชในการขยายเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่

ความตองการที่จะลงทุนขยายสถานีฐานแหงใหมลดลง เนื่องจากโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM Advance และระบบ GSM 1800 สามารถใชสถานีฐานรวมกันในพื้นที่เดียวกันได นอกจากนั้นการรวมกันวางแผนการขยายเครือขายและการวางตําแหนงสถานีฐานระหวางบริษัทและ DPC จะทําใหสามารถประหยัดเงินลงทุนที่ใชในการขยายเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ไดมาก โดยเฉพาะ คาใชจายในการเตรียมสถานีฐาน (Site Preparation) การลงทุนในระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง (Transmission System) และคาใชจายในการดําเนินงาน เชนคาไฟ คาเชาสถานที่ เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถแกไขปญหาการตั้งสถานีฐานที่ทับซอนกันไดอีกดวย 2.

ประหยัดเวลาในการสรางเครือขายและสถานีฐานของทั้งสองระบบ

การเพิ่มความสามารถในการรองรับผูใชบริการของเครือขายสามารถทําไดอยางรวดเร็ว โดยการ เพิ่มอุปกรณของระบบ GSM 1800 เขาไปติดตั้งในสถานีฐานเดิมของระบบ GSM Advance

72


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หรือ การเพิ่มอุปกรณของระบบ GSM Advance เขาไปติดตั้งในสถานีฐานเดิมของระบบ GSM 1800 ซึ่งจะลดระยะเวลาในการจัดหาสถานที่ตั้งและการกอสรางสถานีฐานไดมาก 3.

เพิ่มคุณภาพของการสื่อสารของเครือขายใหดียิ่งขึ้น

การที่มีชวงกวางของความถี่ (Frequency Bandwidth) คอนขางจํากัดของระบบ GSM Advance ทําใหการนําความถี่มาใชซ้ํา ( Frequency Reuse) มีขอจํากัด โดยเฉพาะใน เขตพื้นที่ที่มีความตองการใชโทรศัพทเคลื่อนที่สูง การนําความถี่มาใชซ้ํามากครั้งจะทําใหเกิดปญหาการ รบกวนกันของคลื่นที่อยูในยานความถี่ใกลกัน การมีระบบ GSM 1800 เขามาชวยเสริมการทํางาน ของระบบ GSM Advance จะเปนการชวยใหประสิทธิภาพของการนําความถี่มาใชซ้ํา ( Frequency Reuse) ดีขึ้น 4.

เพิ่มความสามารถในการรองรับการใชงานของเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่

การลงทุนในบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) บริษัท จะไดความถี่เพิ่มขึ้นอีก 12.5 MHz ในระบบ GSM 1800 ทําใหเพิ่มความสามารถในการรองรับจํานวนผูใชบริการที่มากขึ้นและสามารถ ตอบสนองตอความตองการใชโทรศัพทที่เพิ่มมากขึ้นของผูใชบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. เครือขายระบบดิจิตอล GSM ยานความถี่ 1800 MHz สามารถใชงานรวมกับ เครือขายระบบดิจิตอล GSM ยานความถี่ 900 MHz ไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมาตรฐานของทั้งระบบ GSM Advance และ ระบบ GSM 1800 ถูกกําหนด โดย European Telecommunication Standard Institute (ETSI) และมีคุณสมบัติ ทางดานเทคนิคที่เหมือนกัน เวนเพียงแตทั้งสองระบบใชงานอยูบนคนละยานความถี่ บริษัทจึงสามารถ รวมการทํางานของระบบ GSM ทั้งสองยานความถี่เขาเปนหนึ่งเดียว และใชงานอยูบนเครือขายเดียวกัน ไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. เสริมความสามารถของระบบในการรองรับโปรแกรมการใชงาน (Application) ที่ ตองใชความเร็วสูงในการรับสงขอมูล ในอนาคตความตองการใชความถี่ของเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่จะเพิ่มมากขึ้น เมื่อการใช บริการเสริมประเภทมัลติมีเดีย (Multimedia) ซึ่งจําเปนตองรับสงขอมูลในแตละครั้งเปนปริมาณ มากไดรับความนิยมมากขึ้น การที่เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของระบบดิจิตอล GSM Advance ไดรับความถี่เพิ่มขึ้นอีก 12.5 MHz จากการลงทุนในบริษัท DPC ทําใหระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัทมีความถี่รวมกันมากถึง 30.0 MHz ซึ่งสามารถรองรับความตองการในการใชบริการเสริม ประเภทนี้ไดอยางพอเพียง 7.

ลดคาใชจายในการบริหาร

บริษัทสามารถประหยัดคาใชจายในการบริหารโดยเฉพาะคาใชจายทางดานการตลาด เนื่องจาก ทั้งสองบริษัทสามารถวางแผนการตลาดรวมกัน ใหสามารถรองรับความตองการของลูกคาแตละกลุม เปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเสนอบริการใหตรงกลุมเปาหมายมากที่สุด อีกทั้งสามารถประหยัด คาใชจายจากการใชชองทางการจําหนายและ การบริการลูกคาหลังการขายรวมกัน จากประโยชนตาง ๆ ที่บริษัทจะไดรับจากการเขาไปลงทุนใน DPC ทําใหบริษัทมีความเชื่อมั่นวา บริษัทจะสามารถรักษาความเปนผูนําในธุรกิจโทรคมนาคม และสามารถรองรับกับการแขงขันที่คาดวาจะ

73


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สูงขึ้น ทั้งจากผูประกอบการรายใหม และจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นสําหรับกระบวนการ แขงขันเสรีในอนาคต 12.2.1 การวิเคราะหผลการดําเนินงาน บริษัทไดเขาไปลงทุนใน DPC ผานทาง SDT ตั้งแตเดือนกันยายน 2544 และในเดือน ธันวาคม 2544 บริษัทไดดําเนินการซื้อหุน DPC จาก SDT ทําใหบริษัทถือหุนโดยตรง ใน DPC เปนรอยละ 98.17 ดังนั้น ตัวเลขที่ปรากฏในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ไดรวมฐานะการเงินและผลประกอบการของ DPC เขาไวดวยแลว นับแตป 2542 เปนตนมา บริษัทมีความสามารถในการทํากําไรเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดย อัตรากําไรสุทธิของบริษัทเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 10.63 ในป 2542 และเปนรอยละ 16.61 ในป 2543 สงผลใหอัตราผลตอบแทนผูถือหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 16.87 ในป 2542 และเปนรอยละ 26.58 ในป 2543 การเพิ่มขึน้ ของความสามารถในการทํากําไร ของบริษัทในป 2542- 2543 เปนผลจากการที่บริษัทมีรายไดจากการขายและบริการ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยรายไดจากการขายและบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 66.91 ในป 2542 และรอยละ 46.58 ในป 2543 ในขณะที่คาใชจายในการดําเนินงานของบริษัทมีอัตราการ เพิ่มขึ้นที่ต่ํากวากลาวคือเพิ่มขึ้นรอยละ 28.57 ในป 2542 และรอยละ 36.39 ในป 2543 อยางไรก็ตาม อัตรากําไรสุทธิในป 2544 ลดลงเหลือรอยละ 6.34 ของ รายไดรวม ในขณะที่อัตราผลตอบแทนผูถือหุนลดลงเหลือรอยละ 11.14 แมวาในป 2544 บริษัทมีรายไดจากการขายและบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 60.33 ทั้งนี้เปนผลมาจากบริษัทมีการ บันทึกรายการพิเศษกลาวคือ ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยสําหรับระบบอนาลอก NMT จํานวน 4,265 ลานบาท และการเรงตัดจําหนายตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบอนาลอก NMT สําหรับงวดปวันที่ 31 ธันวาคม 2544 เพิ่มขึ้นอีกจํานวน 722 ลานบาท 12.2.2

การวิเคราะหรายได

รายไดหลักของบริษัทและบริษัทยอย สามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ (1) รายไดจาก คาบริการและการใหเชาอุปกรณ และ (2) รายไดจากการขาย โดยมีรายละเอียดดังนี้

74


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงโครงสรางรายไดของบริษัท

ตรวจสอบแลว 2542 ลานบาท

2543

รอยละ ลานบาท

รอยละ

2544 ลานบาท รอยละ

รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณ โทรศัพทเคลื่อนที่

16,800 66.60 24,792

โทรศัพทติดตามตัว

40,475

68.30

1,357

5.40

1,148

3.10

539

0.90

171

0.70

257

0.70

318

0.50

18,328 72.70 26,197

70.90

41,331

69.70

6,636 26.30 10,549

28.50

17,835

30.10

ขอมูลผานสายโทรศัพท รวม

67.10

รายไดจากการขาย เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว

250

1.00

194

0.50

70

0.10

0

0.00

19

0.10

20

0.00

6,886 27.30 10,762

29.10

17,925

30.30

25,214 100.00 36,959

100.00

ขอมูลผานสายโทรศัพท รวม ยอดรวม

59,257 100.00

รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณ รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณของบริษัทเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 42.93 ในป 2543 และ รอยละ 57.77 ในป 2544 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน โดย รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่ มีการขยายตัวอยางตอเนื่องจาก 16,800 ลานบาทในป 2542 เปน 24,792 ลานบาทในป 2543 และเปน 40,745 ลานบาท ในของป 2544 ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และรายไดเฉลี่ยสุทธิตอเดือนของผูใชบริการ 1 ราย จํานวนผูใ ชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิ (ราย) จํานวนผูใ ชบริการสะสม (ราย) รายไดเฉลี่ยตอผูใ ชบริการ (บาท/เดือน) NMT-900 GSM Advance 1-2-Call! GSM 1800 NMT-900 GSM Advance 1-2-Call! GSM 1800 NMT-900 GSM Advance GSM 1800 ป 2542

(65,700)

293,000

23,700

n/a

610,500

596,000

23,700 133,073

1,075

1,229

1,437

ป 2543

(144,900)

561,200

330,800

83,040

465,600

1,157,200

354,500 216,113

1,106

1,309

1,295

ป 2544

(200,800) 1,102,500

1,934,000

174,187

264,800

2,259,700 2,288,500 390,300

1,050

1,295

1,035

อนึ่ง การขยายตัวของรายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณนี้ มีสาเหตุสําคัญมาจากการ ที่จํานวนของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยางมาก โดยจํานวนผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจาก 1,230,200 ราย ณ สิ้นป 2542 เปน 1,977,300 ราย ณ สิ้นป 2543 เพิ่มขึ้นเปน 5,203,000 ราย ณ สิน้ ป อันเปนผลมาจากราคาเครื่อง โทรศัพทเคลื่อนที่ที่ปรับตัวลดลงและการดําเนินแผนการตลาดอยางตอเนื่องของบริษัท นอกจากนี้ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา (Pre-paid) ภายใต เครื่องหมายการคา “1-2-Call!” ไดรับความนิยมเปนอยางสูง โดยมีจํานวนผูใชบริการใน

75


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แบบ Pre-paid เพิ่มขึ้นจากเพียง 23,700 ราย ณ สิ้นป 2542 เปน 354,500 ราย ณ สิ้นป 2543 เปน 2,288,500 ราย ณ สิ้นป 2544 อยางไรก็ดี ในสวนของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ Post-paid คือ อนาลอก NMT และดิจิตอล GSM Advance นั้น จะพบวาจํานวนผูใชบริการในระบบอนาลอก NMT ไดลดลงอยางตอเนื่อง โดยในป 2544 มีจํานวนผูใชลดลงรวมทั้งสิ้น 200,800 ราย ทั้งนี้ เปนผลจากนโยบายของบริษัทที่พยายามใหผูใชบริการในระบบอนาลอก NMT ใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปลี่ยนไปใชบริการในระบบดิจิตอล GSM Advance แทน เนื่องจากผูผลิตเครื่องโทรศัพทในระบบอนาลอก NMT มีแนวโนมจะเลิกทําการผลิต เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งอะไหลในการบํารุงรักษาเครือขายของระบบในอนาคต ในสวน ของจํานวนผูใชบริการในระบบดิจิตอล GSM Advance นั้น จะพบวามีการเพิ่มขึ้นของ ผูใชบริการอยางตอเนื่อง โดยมียอดผูใชบริการในระบบ GSM Advance เพิ่มขึน้ สุทธิ ทั้งสิ้น 1,102,500 ราย ในป 2544 โดยรวมแลวทําใหมีจํานวนผูใชบริการของทั้งระบบ Pre-paid และ Post-paid เพิ่มขึน้ สุทธิ 3,010,000 ราย ในป 2544 ในดานของรายไดเฉลี่ยสุทธิตอเดือนของผูใชบริการ 1 ราย (Average Revenue per User: ARPU) นั้น พบวา ARPU ของผูใชบริการในระบบดิจิตอล GSM ซึ่งเปน ผูใชบริการสวนใหญของบริษัท มีการเพิ่มขึ้นรอยละ 19.79 ในป 2542 และเพิ่มขึ้นรอยละ 6.5 ในป 2543 แตในป 2544 มีคา ARPU ลดลง รอยละ 1.1 อันเปนผลจากการที่ บริษัทขยายฐานลูกคาออกไปกวางขึ้น โดยครอบคลุมถึงกลุมลูกคาที่มีอัตราการใชบริการ คอนขางนอย (Light users) สืบเนื่องจากการที่ราคาเครื่องโทรศัพทมือถือมีแนวโนมของ ราคาลดลง อยางไรก็ตาม เนื่องจากลูกคาในกลุมดังกลาวเปนกลุมประชากรสวนใหญของ ประเทศ ดังนั้น กลยุทธการตลาดดังกลาวจะเปนการเพิ่มฐานรายไดของบริษัทโดยรวม รายไดจากการขาย การเขาซื้อหุนของ AWM เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2541 ทําใหบริษัทมีรายไดเพิ่มขึ้นจาก การขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่นอกเหนือจากการขายเครื่องโทรศัพทติดตามตัว ซึ่งมีผลทําให รายไดจากการขายของบริษัทเพิ่มขึ้นอยางมากจาก 6,886 ลานบาท ในป 2542 เปน 10,762 ลานบาท ในป 2543 และสูงถึง 17,925 ลานบาท ในป 2544 ตามลําดับ โดยสัดสวนของรายไดจากการขายตอรายไดทั้งหมดของบริษัทเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัดจากอัตรา รอยละ 27.30 เพิ่มเปนรอยละ 29.10 และรอยละ 30.30 ในชวงระยะเวลาดังกลาว ตามลําดับ อัตราการเพิ่มขึ้นของรายไดจากการขายมีการขยายตัวอยางมากโดยเพิ่มขึ้นในอัตรา รอยละ 66.56 ในป 2544 รายไดอื่น รายไดอื่นในงบกําไรขาดทุนรวมของบริษัทและบริษัทยอย มีรายการหลักอันไดแกสวนลดคา โทรศัพททางไกลระหวางประเทศซึ่งบริษัทไดรับจาก กสท. สําหรับบริการโทรศัพทตางประเทศ ของผูใชบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท จากผลประกอบการที่ผานมา จะพบวารายได อื่นของบริษัทเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป 2542 เนื่องจากมีชาวตางประเทศเขามาทําธุรกิจ

76


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

และทองเที่ยวในประเทศไทย และใชบริการ International Roaming ของบริษัทเพื่อ ใชบริการโทรศัพทระหวางประเทศเปนจํานวนมาก ทําใหบริษัทมียอดการใชบริการโทรศัพท ทางไกลระหวางประเทศของ กสท. เพิ่มขึ้น สงผลใหสวนลดที่บริษัทไดรับจาก กสท. มีจํานวน มากขึ้นตามลําดับ โดยบริษัทมีรายไดอื่นในงบกําไรขาดทุนรวมป 2541 จํานวน 123 ลาน บาท เพิ่มขึ้นเปน 428 ลานบาทในป 2542 และ 598 ลานบาทในป 2543 สวนในป 2544 เทากับ 1,092 ลานบาท 12.2.3 การวิเคราะหคาใชจาย ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณของบริษัทประกอบดวย 2 สวนหลักที่สําคัญคือ (1) ผลประโยชนตอบแทนรายปที่บริษัทจะตองนําสงใหกับ ทศท. (Revenue Sharing) โดยคิดเปนอัตรารอยละของรายไดคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และ (2) คาตัดจําหนาย ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัวภายใตสัญญารวมการงาน แมวา บริษัทไดมีการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาในการตัดจําหนายระบบอนาลอก NMT เร็วขึ้นใน เดือนกรกฎาคม 2544 ซึ่งจากเดิมสิ้นสุดป 2548 มาเปนสิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2546 ทําให คาตัดจําหนายสําหรับป 2544 เพิ่มขึ้นจํานวน 722 ลานบาท อยางไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่องของรายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณ รวมทั้งบริษัทสามารถลดคาเชาสื่อ สัญญาณเชื่อมโยงซึ่งเปนสวนหนึ่งของตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณลง โดยลดปริมาณ การเชาใชสื่อสัญญาณเชื่อมโยงจาก ทศท. และใชสื่อสัญญาณเชื่อมโยงของบริษัทเองมากขึ้น จึง สงผลทําใหสัดสวนตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณตอรายไดคาบริการและใหเชาอุปกรณ ปรับตัวลดลงในป 2543 และในชวงป 2544 ซึ่งแสดงถึงประสิทธิภาพการบริหารเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ และโทรศัพทติดตามตัวที่เพิ่มมากขึ้น บริษัทบันทึกตนทุนคาบริการและการ เชาอุปกรณทั้งสิ้น 14,941 ลานบาท และ 21,636 ลานบาทในป 2543 และในป 2544 ตามลําดับ หรือคิดเปนสัดสวนตนทุนตอรายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณรอยละ 57.03 และรอยละ 52.35 ตามลําดับ ตนทุนขาย เนื่องจากการที่จํานวนของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นเปนอยางมาก จึงทําใหบริษัทมี ตนทุนขายที่เพิ่มขึ้นจาก 4,709 ลานบาทในป 2542 เปน 7,472 ลานบาทในป 2543 และ 13,607 ลานบาทในชวงป 2544 ซึ่งทําใหมีอัตรากําไรขั้นตนจากการขายรอยละ 36.17 ในป 2542 รอยละ 39.36 ในป 2543 และรอยละ 40.53 ในป 2544 ตามลําดับ ดอกเบี้ยจาย ดอกเบี้ยจายของบริษัทมีการเพิ่มขึ้นจาก 718 ลานบาทในป 2542 มาเปน 729 ลานบาทในป 2543 และ 1,573 ลานบาท ในป 2544 เนือ่ งมาจากทางบริษัทไดมีการออกหุนกูเพิ่มขึ้น เพื่อ นําเงินที่ไดมาใชเปนแหลงเงินทุนสําหรับการขยายเครือขายของบริษัท กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอยางเครงครัด เนื่องจากตระหนักในความผันผวนของภาวะอัตราแลกเปลี่ยนที่อาจเกิดจากทั้งปจจัยภายในและ

77


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปจจัยภายนอก ทําใหโดยรวมแลวบริษัทไดรับผลกระทบเพียงเล็กนอยจากการลดคาเงินและ การผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน โดยบริษัทมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศจํานวน 109 ลานบาทในป 2542 และผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศจํานวน 761 ลานบาท ในป 2543 สวนในป 2544 นั้น บริษัทมีผลขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยนเปนจํานวน 106 ลานบาท 12.2.5 การวิเคราะหฐานะการเงิน การวิเคราะหสินทรัพย เงินสด เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสั้น โดย ณ สิ้นป 2543 บริษัทมียอดเงินสดและเงินฝากธนาคารทั้งสิ้น 1,497 ลานบาทและมี ยอดเงินลงทุนระยะสั้นทั้งสิ้น 10,869 ลานบาท ขณะที่ยอดเงินสดและเงินฝากธนาคารอยูใน ระดับ 6,536 ลานบาท และเงินลงทุนระยะสั้นลดลงเปน 8,837 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 เนื่องจากบริษัทมีการลงทุนเพิ่มเติมในเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งการเขาไปลงทุนใน DPC โดยในป 2544 บริษัทมีการใชจายเงินเพื่อการลงทุนทั้งสิ้น 29,758 ลานบาท ในขณะที่มีกระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานทั้งสิ้น 11,604 ลานบาท และกระแสเงินสด สุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 20,792 ลานบาท โดยเปนการออกหุนกู 2 ครั้งในป 2544 จํานวน 26,890 ลานบาท มีการกูยืมเงินระยะสั้นและระยะยาวจากธนาคาร 7,084 ลานบาท และมีการเพิ่มทุนในเดือนกันยายน 2544 จํานวน 10,024 ลานบาท นอกจากนั้น ยังมีการจายคืนเงินกูของบริษัทที่เกี่ยวของจํานวน 12,103 ลานบาท การจายคืนเงินกูยืม ระยะสั้นทั้งสิ้นสุทธิ 7,664 ลานบาท จายคืนหุนกูระยะยาว 2,308 ลานบาทและมีการ จายเงินปนผล 1,080 ลานบาท ลูกหนี้การคาสุทธิ ลูกหนี้การคาสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 5,445 ลานบาท ในป 2543 มาอยูที่ระดับ 7,674 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 เนื่องจากยอดรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการ ขายที่เพิ่มขึ้น แตหากพิจารณาอัตราลูกหนี้การคาสุทธิตอรายไดจากการใหบริการและใหเชา อุปกรณและรายไดจากการขายจะพบวาในขณะที่ป 2543 มีอัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา เทากับ 7.95 เทา หรือมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยอยูที่ 45 วัน เทียบกับในป 2544 มี อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคาเทากับ 9.03 เทา หรือมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยอยูที่ 40 วัน ในทางปฏิบัติบริษัทจะแจงยอดคาบริการเดือนละครั้ง โดยระยะเวลาเก็บหนี้จริงจะนอยกวาที่ คํานวณไดขางตน ทั้งนี้ เปนผลมาจากการเพิ่มจํานวนผูใชบริการในแบบ Pre-paid ที่ ผูใชบริการตองจายเงินลวงหนา นอกจากนี้บริษัทไดทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการระงับ บริการชั่วคราวใหสอดคลองกับกลุมเปาหมาย ตลอดจนเพิ่มความเขมงวดในการตรวจสอบการ ทุจริตของการใชบริการ รวมทั้งไดมีการนําระบบ Intelligent Database มาใช เพื่อชวย ใหบริษัทสามารถแบงกลุมลูกคาและบริหารคุณภาพสินทรัพยไดดีขึ้น เชน กรณีที่ลูกคาไมชําระ คาบริการเมื่อถึงกําหนด บริษัทจะจัดใหเจาหนาที่ติดตอเพื่อแจงเตือนใหมีการชําระเงินโดยเร็ว กอนที่จะมีการตัดสัญญาณ (disconnect)

78


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงลูกหนี้การคาของบริษัทและบริษัทยอย แยกตามอายุหนี้ที่คางชําระ

ลูกหนี้ปกติ ลูกหนี้ที่มีปญหาในการชําระหนี้ เกินกวา 3 เดือนแตไมเกิน 6 เดือน เกินกวา 6 เดือนแตไมเกิน 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน รวมลูกหนี้ที่มีปญหา รวมลูกหนี้การคา คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคาสุทธิ

31 ธันวาคม 2542 (ลานบาท) 3,662

31 ธันวาคม 2543 (ลานบาท) 5,251

31 ธันวาคม 2544 (ลานบาท) 7,762

239 191 36 466 4,128 (280) 3,848

316 62 54 432 5,683 (238) 5,445

746 260 304 1,310 9,072 (1,398) 7,674

ในการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้การคาที่คางชําระเกินกวา 3 เดือนนั้น บริษัทได พิจารณาประกอบกับเงินมัดจํารับจากลูกคาที่ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตาม ตัว และในกรณีขายสินคาใหผูแทนจําหนายสินคาไดพิจารณารวมกับหนังสือค้ําประกันการชําระ เงินของผูแทนจําหนายสินคาที่ออกโดยธนาคาร ซึ่งบริษัทเชื่อวายอดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ขางตนเปนจํานวนที่พอเพียงกับความเสี่ยงจากหนี้สูญที่จะอาจเกิดขึ้น สินคาคงเหลือสุทธิ ยอดสินคาคงเหลือสุทธิไดเพิ่มขึ้นจาก 939 ลานบาท ณ สิ้นป 2542 เปน 1,970 ลาน บาท ณ สิ้นป 2543 และเพิ่มขึ้นเปน 2,238 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 โดยการเพิ่มขึ้นของ ยอดสิ น ค า คงเหลื อ สุ ท ธิ ดั ง กล า วเป น การเพิ่ ม ขึ้ น ตามจํ า นวนยอดการขายเครื่ อ ง โทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ลูกหนี้/เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศสุทธิ จากการที่บริษัทไดทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา เพื่อเปนการปองกันความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ทําใหบริษัทตองบันทึกผลตางระหวางอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง กับอัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาซื้อขายลวงหนาเปนลูกหนี้ หรือเจาหนี้ตามสัญญาซื้อขาย เงินตรา ตางประเทศลวงหนาสุทธิ (แลวแตกรณี) ณ สิ้นป 2543 บริษัทมียอดลูกหนี้ตาม สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาสุทธิเปนจํานวน 221 ลานบาท ในขณะที่ ณ สิ้นป 2544 บริษัทไมมียอดลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาสุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจําหนาย เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนายอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทเพิ่มจาก 989 ลานบาทในป 2543 มาเปน 3,169 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 เนือ่ งจากบริษัทมีการ เจรจากับผูจัดจําหนายในการชําระเงินลวงหนา ทั้งนี้เพื่อรับประโยชนในรูปของสวนลดเงินสด รวมทั้งเพื่อเปนการปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยบริษัทมีการทําขอตกลงในการ ปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายอุปกรณเครือขายดังกลาว ประกอบกับผูจัดจําหนายที่บริษัทไดชําระ เงินลวงหนาไปนั้น เปนบริษัทที่มีฐานะการเงินมั่นคงและเปนผูจัดจําหนายที่มีชื่อเสียงดี ทําให บริษัทมีความมั่นใจไดวาผูจัดจําหนายจะปฏิบัติตามเงื่อนไขอยางครบถวน

79


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่นมีจํานวนทั้งสิ้น 1,091 ลานบาท ณ สิ้นป 2542 เปลี่ยนแปลง เล็กนอยเมื่อเทียบกับ 957 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 และปรับตัวเพิ่มขึ้นเปน 2,255 ลาน บาท ณ สิ้นป 2544 ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัวและตนทุนของเครื่องมือและอุปกรณ ในการดําเนินการดาตาเน็ทภายใตสัญญารวมการงานสุทธิ ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัวและตนทุนของเครื่องมือและอุปกรณ ในการดําเนินการดาตาเน็ทภายใตสัญญารวมการงานสุทธิเพิม่ ขึ้นจาก 33,947 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 เปน 56,334 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทไดลงทุนใน เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นโดยเนนการลงทุนในระบบดิจิตอล GSM Advance ทั้ง ในเขตกรุงเทพฯ และตางจังหวัด หากจะประเมินคุณภาพสินทรัพยจากความสามารถในการ สรางรายไดโดยพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย จะพบวาอัตราผลตอบแทนจาก สินทรัพยอยูที่ระดับรอยละ 13.33 ในป 2543 สําหรับในป 2544 มีอัตราผลตอบแทนจาก สินทรัพยอยูที่ระดับรอยละ 4.46 เนื่องจากมีการรวมตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 ของ DPC เขามาในเดือนกันยายน 2544 คาใชจายรอตัดบัญชีและคาความนิยม คาใชจายรอตัดบัญชี เพิ่มขึ้นจาก 365 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 เปน 404 ลานบาท ณ สิ้น ป 2544 ในขณะที่ คาความนิยม เพิ่มขึ้นจาก 399 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 เปน 13,944 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 ทั้งนี้ เปนผลเนื่องจากการเขาไปลงทุนใน DPC ซึ่งเปน บริษัทยอยของบริษัท เปนผลใหเกิดคาความนิยม จํานวน 12,499 ลานบาท และ DPC เปนเจาของคาสิทธิสัมปทานจํานวน 5,325 ลานบาท การวิเคราะหหนี้สิน เจาหนี้การคา เจาหนี้การคา ณ สิ้นป 2542 อยูที่ระดับ 2,324 ลานบาท หรือมีระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยที่ 128 วัน ขณะที่ ณ สิ้นป 2543 เจาหนี้การคาของบริษัทอยูที่ระดับ 7,658 ลานบาท หรือ มีระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยอยูที่ 105 วัน จะเห็นไดวายอดเจาหนี้การคาเพิ่มขึ้นเนื่องจากบริษัท มีการลงทุนขยายเครือขายเพิ่มมากขึ้น แตมีระยะเวลาการชําระหนี้ต่ําลง โดยมีสาเหตุมาจาก การที่บริษัทไดจายเงินลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย เพื่อรับสวนลดจากการชําระเงินลวงหนา ณ สิ้นป 2544 เจาหนี้การคาไดเพิ่มขึ้นเปน 10,701 ลานบาท หรือมีระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยที่ 117 วัน เนื่องจากบริษัทมีการลงทุน ขยายเครือขายมากขึ้น หุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาว บริษัทมียอดหุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาวรวมทั้งสิ้น 4,925 ลานบาท ณ สิ้นป 2542 โดย ณ สิ้นป 2543 บริษัทมียอดหุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาวเพิ่มขึน้ เปน 11,387 ลานบาท ในป 2544 บริษัทไดออกหุนกูอีก 2 ครั้งเปนจํานวนทั้งสิ้น 26,890 ลานบาท

80


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

และไดจายคืนหุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาวเปนจํานวน 23,080 ลานบาท ทําใหมียอด หุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาวรวมทั้งสิ้นจํานวน 41,184 ลานบาท โดยไดบันทึกสวน ของหุนกู ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปเปนจํานวน 6,346 ลานบาท และสวนของหนี้สิน ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปเปนจํานวน 920 ลานบาท ทั้งนี้หนี้สินระยะยาว ดังกลาวเปนหนี้สินของบริษัทยอยซึ่งไมมีการค้ําประกันโดยบริษัท ดังนั้นหนี้สินดังกลาวจึงไมมี ผลตอการดํารงสัดสวนทางการเงินของบริษัทใหตรงตามคํารับรองของบริษัท ในการออกหุนกู (Covenants) รายละเอียดการคํานวณสัดสวนทางการเงินอยูในเอกสารแนบ3 ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย ณ สิ้นป 2544 มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 6,064 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 1,814 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 โดยเปนผลจากการที่บริษัทมียอดรายได เพิ่มขึ้น สงผลใหตองจายผลประโยชนตอบแทนรายปเพิ่มขึ้น ซึ่งปกติบริษัทจะชําระ ผลประโยชนตอบแทนรายปตามจํานวนขั้นต่ําที่ ทศท. กําหนดไวในสัญญารวมการงานกอน โดยแบงจายเปน 4 งวด งวดละเทาๆ กัน ในเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม ของทุกป และจะคํานวณจายสวนเพิ่มจากจํานวนขั้นต่ําดังกลาวแก ทศท. ในเดือนพฤศจิกายน ของทุกป นอกจากนี้ ตัวเลขผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย ณ สิ้นป 2544 ไดรวมของDPC โดย DPC มีผลประโยชนตอบแทนคางจายแกบริษัทอื่นเปนจํานวน 3,528 ลานบาท หนี้สินหมุนเวียนอื่น ยอดหนี้สินหมุนเวียนอื่นมีจํานวน 3,893 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 และเพิ่มเปน 6,124 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 ซึ่งสวนใหญจะเปนยอดหนี้จากการเชาระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง (Transmission System) ที่รอการเรียกเก็บจาก ทศท. และภาษีเงินไดคางจาย การวิเคราะหสวนของผูถือหุน ในเดือนกุมภาพันธของป 2542 บริษัทไดรับเงินจํานวน 8,280 ลานบาท จากการออกหุน เพิ่มทุนและขายใหกับ SingTel เปนจํานวน 36 ลานหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท) ในราคาหุนละ 230 บาท ทําใหบริษัทมีทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคาเพิ่มจาก 2,340 ลานบาท ณ สิ้นป 2541 เปน 2,700 ลานบาท ณ สิ้นป 2542 และมีสวนเกิน มูลคาหุนเพิ่มขึ้นจาก 2,295 ลานบาท ณ สิ้นป 2541 เปน 10,215 ลานบาท ณ สิ้นป 2542 ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดรับเงินจํานวน 10,024 ลานบาท จากการออก หุนเพิ่มทุน โดยแบงขายใหกับ SHIN จํานวน 17 ลานหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท) ในราคาหุนละ 413 บาท และขายใหกับ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท) ในราคาหุนละ 462 บาท ทําใหบริษัทมีทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็ม มูลคาเพิ่มขึ้นเปน 2,935 ลานบาท และมีสวนเกินมูลคาหุนเพิ่มขึ้นเปน 20,004 ลานบาท ณ สิ้นป 2544

81


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การวิเคราะหโครงสรางเงินทุน บริษัทมีนโยบายที่จะรักษาสัดสวนของหนี้สินตอสวนของผูถือหุนใหอยูในระดับที่ไมเกิน 2 ตอ 1 โดย ณ สิน้ ป 2542 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนปรับตัวมาอยูที่ระดับ 0.85 เนื่องจากการออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจํานวน 36 ลานหุน เพื่อขายโดยเฉพาะเจาะจง ใหแก SingTel ในเดือนกุมภาพันธป 2542 ประกอบกับบริษัทมีผลกําไร ในป 2542 ที่ เพิ่มขึ้นจากป 2541 ในอัตรารอยละ 90.12 อันสงผลใหสวนของผูถือหุนในงบดุลของบริษัท เพิ่มขึ้นจํานวน 10,447 ลานบาท นอกจากนี้บริษัทยังไดนําเงินจากการเพิ่มทุนไปใชในการ ชําระคืนหุนกูระยะสั้น หุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาว ทําใหยอดรวมของ หุนกูและหนี้สิน ระยะยาวลดลงจาก 10,647 ลานบาท ณ สิ้นป 2541 เหลือ 4,925 ลานบาท ณ สิน้ ป 2542 สวนในป 2543 บริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้นเปน 1.10 เนื่องจากบริษัทออกหุนกูระยะยาวจํานวน 10,000 ลานบาท ในเดือนมีนาคม 2543 ณ สิ้นป 2544 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นเปน 1.77 เนื่องจากการ ออกหุนกูระยะยาว 2 ครั้งในเดือนมีนาคมและเดือนพฤศจิกายน 2544 จํานวนรวม 26,890 ลานบาท รวมถึงหนี้สินระยะสั้นและระยะยาวที่เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 10,892 ลาน บาท การวิเคราะหสภาพคลอง เนื่องจากบริษัทมีการลงทุนในเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการใหบริการและ เพิ่มประสิทธิภาพในการใหบริการ ทําใหเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานจํานวน 13,950 ลานบาท ในป 2543 ไมเพียงพอแกความตองการใชเงินสดในกิจกรรมลงทุนจํานวน 11,731 ลานบาท และการชําระหนี้ระยะยาวอีก 3,458 ลานบาท ดังนั้นบริษัทจึงไดออก หุนกูระยะยาวจํานวน 10,000 ลานบาทในเดือนมีนาคม 2543 สําหรับป 2544 บริษัทมี ยอดรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ทําใหบริษัทมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน 11,603 ลานบาท ประกอบกับการที่บริษัท ไดรับเงินจากการออกหุนกูระยะยาวเปนจํานวนสุทธิ 26,890 ลานบาท ขณะเดียวกันก็มีการ ชําระคืนหนี้สินระยะสั้นและยาวเปนจํานวน 22,126 ลานบาท เงินรับจากการออกหุนเพิ่ม ทุน 10,024 ลานบาท เงินรับจากการกูยืมและหนี้สินระยะยาว 7,084 ลานบาท และการ จายเงินปนผล 1,080 ลานบาท ทําใหบริษัทมีเงินสดสุทธิในกิจกรรมจัดหาเงินทั้งสิ้น 20,792 ลานบาท ในขณะที่บริษัทใชเงินลงทุนในป 2544 เปนจํานวนทั้งสิ้น 29,392 ลานบาท ทําใหมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 3,004 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 อัตราสวนสภาพคลองปรับตัวสูงขึ้นจาก 0.87 เทา ณ สิ้นป 2542 เปน 1.22 เทา ณ สิ้นป 2543 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน และเงินสดรับจากหุนกูระยะ ยาว และลดลงมาอยูที่ระดับ 0.94 เทา ณ สิ้นป 2544 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นอยางมากของ เจาหนี้การคาและสวนของผลประโยชนตอบแทนรายปคางจายที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปซึ่ง ยังไมถึงกําหนดการชําระหนี้จนกวาจะถึงเดือนพฤศจิกายนของทุกป

82


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในดานความสามารถในการชําระหนี้นั้น ณ สิ้นป 2543 บริษัทมีอัตราสวนความสามารถใน การชําระดอกเบี้ยอยูที่ระดับ 15.92 เทา โดยมีกําไรจากการดําเนินงาน 6,599 ลานบาท และดอกเบี้ยจายมีจํานวน 729 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 บริษัทมีอัตราสวนความสามารถใน การชําระดอกเบี้ยลดลงอยูที่ระดับ 7.40 เทา โดยบริษัทมีกําไรจากการดําเนินงาน 3,851 ลานบาทและมีดอกเบี้ยจายจํานวน 1,573 ลานบาท บริษัทมีอัตราสวนความสามารถในการ ชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) อยูที่ 3.25 ณ สิ้นป 2543 เนื่องจากการจายคืนหุนกู ระยะยาว และหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ 3,792 ลานบาท อัตราสวนความสามารถใน การชําระภาระผูกพันลดลงเปน 0.59 เทา ณ สิ้นป 2544 เนื่องจากการชําระคืนหุนกูและ หนี้สินระยะยาวรวมทั้งสิ้น 19,586 ลานบาท ชวงป 2544 บริษัทมียอดหนี้ระยะสั้นที่มีผลตอสภาพคลองของบริษัท ไดแก เงินกูยืมจาก ธนาคาร สวนของหุนกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป และ ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย รวมเปนจํานวนทั้งสิ้น 15,713 ลานบาท โดยในจํานวนดังกลาว ประกอบดวยผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย จํานวน 2,990 ลานบาท ซึ่งครบกําหนดจายในเดือนพฤศจิกายน 2545 เงินกูยืมระยะสั้น จากธนาคารจํานวน 5,457 ลานบาทและสวนของหุนกู/หนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปจํานวน 7,266 ลานบาท ในสวนของความสามารถในการชําระหนี้ระยะสั้นนั้น บริษัทมีเงินสดและเงินฝากธนาคารรวมทั้งเงินลงทุนระยะสั้นเปนจํานวนทั้งสิ้น 15,372 ลาน บาท เพื่อปองกันปญหาในดานความสามารถชําระคืนเงินกูยืมตาง ๆ อีกทั้งบริษัทมีความ จําเปนตองใชเงินลงทุนในการขยายเครือขายเพิ่มขึ้น ดังนั้นบริษัทจึงไดทําการระดมเงินโดยการ ออกหุนกูระยะยาวจํานวน 27,000 ลานบาท ในป 2544 12.3

ประมาณการความสามารถในการชําระหนี้ในอนาคต

บริษัทไดมีการจัดทําประมาณการผลการดําเนินงานในอนาคต การเงินที่แสดงถึงความสามารถในการชําระหนี้ในอนาคต ไดดังนี้ สําหรับป 2545-2552

โดยสามารถสรุปอัตราสวนทาง

อัตราต่ําสุด 1.56 9.13 0.00 0.11 0.33

อัตราสูงสุด 2.46 165.51 1.31 1.68 2.66

1. อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน(Cash Basis) (เทา) 2. อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) 3. อัตราสวนหนี้สินที่ตองชําระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน (เทา) 4. อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) 5. อัตราสวนหนี้สินตอสวนกําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ย, ภาษี เงินได และ คาเสื่อม (เทา) หมายเหตุ 1. Debt Service Coverage Ratio 2. Interest Coverage ratio 3. Interest Baring Debt/Equity 4. Total Liabilities/Equity 5. Total Liabilities/EBITDA ( Earning before Interest, Tax, Depreciation and Amortization)

83


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ในป 2544 บริษัทไดมีการออกและเสนอขายหุนกูรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง จํานวน 27,000 ลานบาท โดยมี รายละเอียดดังนี้ ครั้งที่ 1/2544 จํานวน 12,000 ลานบาท ออกจําหนายและเสนอขายในวันที่ 12-22 มีนาคม 2544 โดยมีวัตถุประสงคในการออกและเสนอขาย เพื่อนําเงินที่ไดรับไปขยายเครือขายชุมสายและสถานีฐาน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM เพื่อรองรับลูกคาที่เพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งในปจจุบันบริษัทไดมีการใชเงินดังกลาวเปนไปตามวัตถุประสงคเรียบรอยแลว ครั้งที่ 2/2544 และครั้งที่ 3/2544 จํานวน 15,000 ลานบาท ออกจําหนายและเสนอขายในวันที่ 21-27 พฤศจิกายน 2544 โดยมีวัตถุประสงคในการออกและเสนอขาย ดังนี้ 1. ขยายเครือขายชุมสายและสถานีฐาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM เพื่อรองรับลูกคาที่เพิ่มขึ้นในอนาคต จํานวน 12,000 ลาน บาท ในปจจุบัน บริษัทไดมีแผนการใชเงินสวนใหญเปนไปตามวัตถุประสงคแลว และยังคงเหลือเงินสด เพื่อใชเปน Working Capital อยูประมาณ 2,000 ลานบาท 2. ลงทุนใน DPC ในสัดสวนรอยละ 97.54 จํานวน 3,000 ลานบาท ซึ่งบริษัทไดมีการใชเงิน ดังกลาวเมื่อเดือนธันวาคม 2544 ที่ผานมา

84


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดตรวจสอบขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว ขอรับรองวาขอมูลดังกลาวถูกตอง ครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญอันอาจทําใหบุคคลผูเขาซื้อ หลักทรัพยเสียหาย ในกรณีนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใด ไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตอง ของขอมูลไว ชื่อ

ตําแหนง

1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

ประธานกรรมการ

2. นายสมประสงค บุญยะชัย

กรรมการผูมีอํานาจ

3. นายบุญคลี ปลั่งศิริ

กรรมการผูมีอํานาจ

4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

กรรมการผูมีอํานาจ

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

การถือหุน ทางครอบครัว

ประวัติการทําผิด ทางกฎหมายในระยะ

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

60 ประธานกรรมการ

(%) * ไมมี

ระหวางผูบริหาร ไมมี ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟา Iowa State University, USA. วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ( วปอ. รุนที่ 33 )

นายบุญคลี ปลั่งศิริ

50 กรรมการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท Computer Engineering, University of Illinois (Urbana Champaign), USA.

นายสมประสงค บุญยะชัย

47 กรรมการและ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ไรสาย

ไมมี

ไมมี

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

1

2531-2535 ผูอํานวยการองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2535-2536 ที่ปรึกษาองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2536-2541 กรรมการและกรรมการบริหารกลุมชิน คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2543-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. ธนาคารทหารไทย 2536-2537 กรรมการผูอํานวยการกลุมชินวัตร 2538-2539 รองประธานกรรมการบริหารดานปฏิบัติการ กลุมชินวัตร 2540-2543 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ. ชินแซทเทลไลท 2542-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหารกลุม ชิน คอรปอเรชั่น 2543-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ. ชินแซทเทลไลท 2544-ปจจุบนั ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2535-2536 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการที่ 4 กลุมชินวัตร 2536 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2536-2537 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2537-2538 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538-2539 กรรมการผูอํานวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540-2541 รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย 2542-ปจจุบนั ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย 2543-ปจจุบนั รองประธานกรรมการบริหาร กลุม ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

การถือหุน ทางครอบครัว

นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

53 กรรมการและ กรรมการบริหาร

นายลัม ฮอน ฟาย

39 กรรมการและ

(%) * ไมมี

ไมมี

ทางกฎหมายในระยะ

ระหวางผูบริหาร ไมมี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Wichita State University, Wichita, Kansas, USA.

ไมมี

รองประธานกรรมการบริหาร

ประวัติการทําผิด

2534-2536 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ-การเงิน กลุมชินวัตร 2537-2541 กรรมการผูอํานวยการสายงานบริหารและการเงิน กลุมชินวัตร 2541-2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสดานการเงิน บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบนั กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ. ชินแซทเทลไลท 2543-ปจจุบนั กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2544-ปจจุบนั กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี

Master of Science in Management, 2541-2542 Chief Executive Officer, SingTel Paging Standford University, USA.

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

2542-2544 Vice President/ Chief Executive Officer - Sales and Channels,

Engineering Science

Telecom Equipment

(1st Class Honours),

2544

University of Oxford, UK.

Vice President - Regional Mobile/Consumer Business, Singapore Telecom Ltd.

2544-ปจจุบนั รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส นายเชา วิง เคียง ลูคัส

48 กรรมการและ กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

นางทัศนีย มโนรถ

57 กรรมการ

ไมมี

ไมมี

2545-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Bachelor of Science (Honours) 2541 Operation Manager of Hewlette University of Aston, Birmingham, 2541-2542 Group Director of Total Quality UK. 2542-ปจจุบนั Vice President (Consumer Marketing) CEO (SingTel Mobile) ปจจุบัน Executive Vice President (Consumer Business Group), กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตรและ 2539-2542 ผูอํานวยการฝายการเงินและงบประมาณ การบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2542-2543 ผูชวยผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบนั รองผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

2

ไมมี

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การถือหุน ทางครอบครัว (%) * ไมมี

นายศุภเดช พูนพิพัฒน

51 กรรมการและ ประธานกรรมการตรวจสอบ

นายอรุณ เชิดบุญชาติ

60 กรรมการและ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

นางชรินทร วงศภูธร

55 กรรมการและ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

47 กรรมการบริหาร

ไมมี

ประสบการณทํางาน

ประวัติการทําผิด ทางกฎหมายในระยะ

ระหวางผูบริหาร 10 ปที่ผานมา ไมมี ปริญญาโท University of Wisconsin, 2533-ปจจุบนั กรรมการผูจัดการใหญ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน) ไมมี USA. 2541-ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ไมมี ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารบริษัทตาง ๆ ในกลุมบริษัท ตรีนิตี้ ไมมี California State University, 2541-ปจจุบนั กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Long Beach, California, USA. ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (วปอ. หลักสูตร ปรอ. รุนที่ 3) ไมมี ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต รองกรรมการจัดการ บริษัทหลักทรัพย กองทุนรวม จํากัด ไมมี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กรรมการกองทุน THAI EQUITY FUND MBA, Cregton University, USA. 2542-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชินแซทเทลไลท Directors Certification Program 2544-ปจจุบนั กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Class 8/2001 ไมมี ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟา 2529-2532 ผูจัดการฝายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษัท Microwave Semiconductor ไมมี Massachusetts Institute of ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey USA. Technology, USA. 2532-2534 ผูอํานวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, USA. 2534-2535 ผูจัดการอาวุโส ฝายพัฒนาธุรกิจ กลุมบริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร ผูจัดการทั่วไป IBC Cable TV 2536-2537 รองกรรมการผูอํานวยการ IBC Cable TV 2537-2543 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท 2538-2540 รองประธานกรรมการบริหารดานนโยบาย กลุมชินวัตร 2540-ปจจุบนั ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ 2543-ปจจุบนั รองประธานกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป) นายอารักษ ชลธารนนท

52 กรรมการบริหาร

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

33 รองกรรมการผูอํานวยการ อาวุโส สายงานวางแผนธุรกิจ

นายทรงศักดิ์ เปรมสุข

44 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานการตลาด

สัดสวน

ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

การถือหุน ทางครอบครัว (%) * ไมมี

ทางกฎหมายในระยะ

ระหวางผูบริหาร ไมมี Electronic Engineering, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ไมมี

ไมมี

0.0005

ไมมี

ประวัติการทําผิด

2534-2535 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2536-2541 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรอินเตอรเนชั่นแนล 2541-ปจจุบนั กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2543-ปจจุบนั ประธานกรรมการบริหารสายธุรกิจ ธุรกิจอิเลคทรอนิคส กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2544-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ปริญญาโท จาก Kentucky State 2534-2537 ผูจัดการ บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด University, USA. 2538-2539 ผูจัดการทั่วไป บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2540-2541 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2542-2544 รองกรรมการผูอํานวยการสายงานปฏิบัติการดานบริการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2544-ปจจุบนั รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสสายงานวางแผนธุรกิจ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ปริญญาตรี คณะสถาปตยกรรมศาสตร 2534-2544 กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 2544-ปจจุบัน รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานการตลาด เจาคุณทหารลาดกระบัง บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประกาศนียบัตร Strategic Marketing Management Program Harvard Business School, USA.

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

4

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป) นายวลัญช นรเศรษฐภักดิ์

39 รักษาการ รองกรรมการ ผูอํานวยการ สายงาน ปฏิบัติการดานบริการ

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

39 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ไรสาย

สัดสวน

ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

การถือหุน ทางครอบครัว (%) * ไมมี

ไมมี

ทางกฎหมายในระยะ

ระหวางผูบริหาร ไมมี ปริญญาโท คณะพาณิชยศาสตร 2534-2536 และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสต 2536-2537 2537-2538 2538-2540 2540-2541

ไมมี

ประวัติการทําผิด

Master of Management, SASIN

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

5

ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ผูจัดการอาวุโส ฝายบัญชีและการเงิน บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส General Manager-Service Provider บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ผูจัดการสํานักการเงินและธุรการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ผูจัดการสํานักสนับสนุนและพัฒนาระบบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2541-2544 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการสวนงานสนับสนุนและพัฒนาระบบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2544-ปจจุบนั รักษาการรองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการดานบริการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2537-2541 Financial Director, Shinawatra Paging Co.,Ltd., Pager Sales Co., Lt 2541-2544 Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Ltd. 2544-ปจจุบนั ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี สายธุรกิจ สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย รายชื่อบริษัท/ รายชื่อกรรมการ นายสมประสงค บุญยะชัย นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายอารักษ ชลธารนนท นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นายอัลเลน ลิว ยง เคียง นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายถกลรัตน แกวกาญจน นายฮุย เว็ง ชีออง นายสิทธิชัย สงพิริยะกิจ นายจํารัส ตันตรีสุคนธ นายสําราญ พงศประยูร นางอภิวรรณ สายประดิษฐ นายวิกรม ศรีประทักษ นายโกวิท สูรพันธ

AWM

APG

ADC

DNS

SDT

DPC

/ / / / / -

/ / / / / / / -

/ / / / / / / -

/ / / / -

/ / / / / /

/, // / // /, // / / / /, //

นายเชา วิง เคียง ลูคัส X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร

1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดสัญญารวมการงาน 1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ภายใตสัญญาสัมปทานจาก ทศท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัทเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอ ตกลงตอทายสัญญาหลัก 4 ครั้ง เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2534 16 เมษายน 2536 28 พฤศจิกายน 2537 และ 20 กันยายน 2539 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

: สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูสัญญา

: องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

วันที่ทําสัญญา

: วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

: 25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการที่ไดรับอนุญาต : บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 MHz (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ Cellular 900”) ทั่วประเทศ แบบคูขนานกันไป มีกําหนด 25 ป นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเปนวันแรกที่เปดดําเนินการ การดําเนินงานและ แผนการดําเนินงาน

: บริษัทตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณระบบ Cellular 900 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสื่อสัญญาณ เชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน 3) รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขาย ที่บริษัทจัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับสัมปทาน

การจัดสรรยานความถี่ : ทศท. ตองจัดหายานความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ใหกับบริษัทสําหรับใหบริการในระบบ Cellular 900 การโอนกรรมสิทธิ

: บริษัทจะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปนกรรม

การสงมอบและรับมอบ

สิทธิของ ทศท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย ทศท. ยินยอมใหบริษัท

ทรัพยสิน

ครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน : บริษัทตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคา ของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัย หมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา บริษัทตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือ นํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุ ไมนอยกวา 30 วัน

1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผลประโยชนตอบแทน : บริษัทตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก ทศท. เปนรอยละของรายไดกอน การใหสัมปทาน หักคาใชจายและภาษี และผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้น ต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา 25 ป ตารางอัตราแสดงผลประโยชน ตอบแทนมีดังนี้ ปที่

การยกเลิกสัญญา

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30

17

30

18

30

19

30

20

30

21

30

22

30

23

30

24

30

25

30

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,00 0 1,304,640,00 0 1,365,120,00 0 1,416,960,00 0 1,460,160,00 0 1,460,160,00 0 1,460,160,00 0 1,460,160,00 0 1,460,160,00 0 1,460,160,00 0

รายไดประจํางวด ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – ก.ย. 54 ต.ค. 54 – ก.ย. 55 ต.ค. 55 – ก.ย. 56 ต.ค. 56 – ก.ย. 57 ต.ค. 57 – ก.ย. 58

: ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น

2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดําเนินการตอโดยบริษัทตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และให ทรัพยสินตาง ๆ ตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ทันที หากการดําเนินงานของ บริษัทมีเหตุให ทศท. เชื่อวาบริษัทไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให ลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด บริษัทไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น บริษัทไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

3

ทําให


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. บริษัท แอดวานซเพจจิ้ง จํากัด APG ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทติดตามตัวตามสัญญาอนุญาตใหดําเนิน กิจการบริการโทรศัพทติดตามตัวระบบ Digital Display Paging เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2532 และ ขอตกลงตอทายสัญญาหลัก 3 ฉบับ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2534 12 ธันวาคม 2534 และ 26 พฤศจิกายน 2542 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา : สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทติดตามตัวระบบ Digital Display Paging คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซเพจจิ้ง จํากัด (APG) วันที่ทําสัญญา : วันที่ 19 ธันวาคม 2532 กิจการที่ไดรับอนุญาต : APG ไดรบั อนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทติดตามตัว ระบบ Digital Display Paging (DDP) ทั่วประเทศ อายุของสัญญา : 15 ป นับตั้งแตวันที่ 12 มิถนุ ายน 2533 ถึง 11 มิถุนายน 2548 การดําเนินกิจการ : 1) APG เปนผูลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ ระบบ DDP ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยเครื่องชุมสาย เครื่องมือ ทดสอบ สถานีเครื่องสงในขาย เสาอากาศ สายอากาศ อะไหล ของเครื่องมือและอุปกรณ โดยกรรมสิทธิในทรัพยสินสําหรับการ ดําเนินการระบบ DDP ที่ APG ลงทุนจะตกเปนกรรมสิทธิ ของ ทศท. หลังติดตั้งเสร็จเรียบรอย ยกเวน โทรศัพทติดตามตัว (Pager) โดย ทศท. ยินยอมให APG เปนผูครอบครอง ทรัพยสินเพื่อใชประโยชนแตผูเดียวตลอดอายุของสัญญาและ APG จะเปนผูรับผิดชอบคาใชจายในการดําเนินการบริการและ คาใชจายในการซอมบํารุงรักษาเครื่องและอุปกรณทั้งหมด 2) ทศท. สงวนสิทธิที่จะใหสิทธิในการบริการ DDP ในลักษณะ เดียวกับสัญญานี้แกผูอื่นไดอีก และ ทศท. จะใหความเสมอภาค กับคูสัญญาทุกรายอยางเทาเทียมกัน 3) APG จะโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญานี้ใหแกผูอื่นไมได เวน แตไดรับความยินยอมจาก ทศท. เปนลายลักษณอักษร การประกันภัยทรัพยสิน : APG ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และ เต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หาก กรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา APG ตอง ตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน การเรียกเก็บคาบริการ : 1) อัตราคาใชบริการโทรศัพทติดตามตัวที่ APG จะเรียกเก็บจาก ผูใชบริการ จะถูกกําหนดโดย APG รวมกับ ทศท. โดย กําหนดเปนอัตราเพดานสูงสุดที่จะเรียกเก็บได ซึ่งจะเปลี่ยนแปลง ได โดยตองแจงให ทศท. ทราบ และทศท. มีสิทธิระงับการ เปลี่ยนแปลงอัตราคาบริการใหมได หากเห็นวาไมเหมาะสม

4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

ผลประโยชนตอบแทน

:

การเลิกสัญญา

:

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2) APG มีสิทธิเรียกเก็บคาประกันการใชบริการในอัตรา 1,000 บาทตอเครื่อง โดย APG จะตองคืนใหผูใชบริการ หากสัญญานี้ สิ้นสุดลงหรือเมื่อผูใชบริการเลิกใชบริการแลวภายใน 60 วันนับ จากวันที่สัญญาสิ้นสุดลงหรือวันที่ไดรับแจงการยกเลิกจาก ผูใชบริการ 3) การเรียกเก็บเงินคาบริการหรือเงินอื่นใด นอกจาก 1) และ 2) รวมทั้งคาบริการสําหรับบริการเสริม ตองไดรับความเห็นชอบ จาก ทศท. เปนลายลักษณอักษรกอน โดย ทศท. สงวนสิทธิที่จะ กําหนดอัตราคาบริการที่จะเรียกเก็บจากผูใชบริการไดใหม ซึ่ง ตองไดรับความเห็นชอบรวมกันกับ APG APG จะตองชําระเงินคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทติดตามตัวของ APG เขากับโครงขายโทรศัพทของ ทศท. เปนรายป เปนจํานวนเงินปละ 1,000,000 บาท ภายใน 30 วันนับแตวันครบกําหนดในรอบปนั้นๆ โดยรอบปใหนับตั้งแตวันที่ 12 มิถุนายนถึงวันที่ 11 มิถุนายน ของป ตอไป ทศท. มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และมีอํานาจมอบกิจการตาม สัญญานี้ใหผูอื่นดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ APG มีเหตุให ทศท. เชื่อวาไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด โดย APG ตองรับผิดชอบคาเสียหาย ใหแก ทศท. และใหทรัพยสินตาง ๆ ตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. และ ในกรณีที่ APG ลมละลายหรือผิดสัญญาขอใดขอหนึ่งของสัญญานี้ และ มิไดดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วันนับแตวันที่ไดรับแจง จาก ทศท. เปนลายลักษณอักษรโดย APG ไมมสี ิทธิเรียกรอง คาเสียหายใดๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืนจาก ทศท. แต อยางใด APG ไมมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให APG ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ADC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินการกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแกไขเพิ่มเติม 2 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540 และ 25 กันยายน 2540 โดยสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา : สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) วันที่ทําสัญญา : วันที่ 19 กันยายน 2532 อายุของสัญญา : 25 ป นับตั้งแตวันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 กิจการที่ไดรับอนุญาต : ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดย ใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุด ตอหลายจุด (Point to Multipoint) ในการใหบริการจัดวงจรเพื่อ เชื่อมตอระหวางเครือขายผูใหบริการและผูใชบริการทั่วประเทศ เพื่อ รับสงขอมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสื่อสารขอมูลประเภทตางๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถพัฒนารูปแบบบริการให สอดคลองกับความตองการของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป การดําเนินงานและ : ADC ตกลงที่จะลงทุนในการจัดหาอุปกรณระบบ Datakit ตาม แผนการดําเนินงาน รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตั้งและ Product Information ของอุปกรณ Datakit และดําเนินการบริการให เปนไปตามที่กําหนด กรรมสิทธิในทรัพยสิน : บรรดาเครื่องมือและอุปกรณตางๆ หรือทรัพยสินที่ ADC ไดกระทําขึ้น หรือจัดหามาไวสําหรับดําเนินการระบบ Datakit เปนกรรมสิทธิของ ทศท. หลังติดตั้งเสร็จเรียบรอย ทศท. ยินยอมให ADC แตเพียงผูเดียว ครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคแหง สัญญานี้ตลอดอายุสัญญา การประกันภัยทรัพยสิน : ADC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และ เต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หาก กรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADC ตอง ตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน ผลประโยชนตอบแทน : ADC จะดําเนินการใหมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลาน การใหสัมปทาน บาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท. ไมตองชําระเงินคาหุนแตอยางใด

6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

การยกเลิกสัญญา

:

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ให ผูอื่นดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อ วา ADC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือ ปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด โดย ADC ตองรับผิดชอบคาเสียหาย ใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆ ใหตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ADC ไมมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADCไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(4) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (มหาชน) DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการโอนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 โดยไดรับการโอนสิทธิในการดําเนินงานจากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรษัพทเคลื่อนที่ของ DPC มี ดังนี้ (4.1) สัญญารวมการงานระหวาง DPC กับ กสท. ภายใตสัญญารวมการงานจาก กสท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เมื่อ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุ โทรคมนาคมระบบเซลลูลา 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงกาคม 2542 (มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เปนตนไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

คูสัญญา

:

วันที่ทําสัญญา อายุของสัญญา

: :

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

การดําเนินงานและแผน การดําเนินงาน

:

การจัดสรรยานความถี่

:

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบ เซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการ ใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 ทั่วประเทศ (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง DPC ไดรับโอนสิทธิ และหนาที่จาก TAC ตามสัญญาโอนสิทธิและหนาที่ ตามสัญญา ใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลาระหวางกสท. TAC และ DPC ไดรับสิทธิ ในการดําเนินการเปนระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ ระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบ ชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานี เครือขาย และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่ จําเปนในการดําเนินงาน - รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขายที่ DPC จัดหามาในชวงเวลา ที่ไดรับอนุญาตใหดําเนินการ กสท. ตองจัดหายานความถี่ระหวาง 1747.9 –

8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การโอนกรรมสิทธิการสงมอบ : และรับมอบทรัพยสิน

การประกันภัยทรัพยสิน

:

ผลประโยชนตอบแทน

:

ปที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

1760.5 MHz และ 1842.9-1855.5 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศใหกับ DPC สําหรับ ใหบริการในระบบ PCN 1800 DPC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปนกรรมสิทธิของ กสท. เมื่อติดตั้ง อุปกรณแลวเสร็จ โดย กสท. ใหสิทธิแก DPC นําไป ใหบริการระบบ PCN 1800 และใชประโยชนตาม วัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา DPC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัย ทุกชนิด และเต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอด ระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุ กอนวันสิ้นสุดของสัญญา DPC ตองตออายุกรมธรรม ฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให กสท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก กสท. เปน รอยละของรายไดกอนหักคาใชจาย/1 ภาษี และ คาธรรมเนียมตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการ ใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํากวา ผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบแทนมีดังนี้

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 รวม

9

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

รายไดประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

การยกเลิกสัญญา

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

สัญญานี้สิ้นสุดหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฎิบัติ ตามสัญญา หรือปฎิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความเสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการ ใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปน หนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีที่ DPC ตกเปนผู ขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจ ของคนตางดาว และ กสท. ไดแจงให DPC ทราบเปน หนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา 90 วัน

(4.2) สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ระหวาง DPC และ TAC ชื่อสัญญา คูสัญญา

: :

วันที่ทําสัญญา กิจการที่ไดรับอนุญาต

: :

ผลประโยชนตอบแทนการโอน : สิทธิและหนาที่

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดย กสท. ยินยอมให 1. TAC โอนสิทธิและหนาที่การใหบริการ PCN 1800/1 บางสวนเฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.501842.90 2. TAC โอนสิทธิการใชชองความถี่ใหแก กสท. และ กสท. ตกลงให DPC ใชความถี่ในชวงดังกลาวได 3. DPC รับโอนลูกคาในระบบ จาก บมจ. สามารค คอร ปอเรชั่น 4. ถาสัญญาระหวาง DPC กับ กสท. สิ้นสุดลงกอนสัญญา รวมการงานสัมปทาน TAC จะไดรับการพิจารณาให ดําเนินการตอจาก DPC กอนผูอื่น DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก TAC แทนคาโอน สิทธิและหนาที่เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2544 DPC มีคาโอนสิทธิคางจายเทากับ ประมาณ 3,230 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายเทากับ

10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ประมาณ 3,230 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายดังกลาวค้ํา ประกันดวยสิทธิในสัญญารวมการงาน อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้น สําหรับคาโอนสิทธิคางจายเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่โดยมีอัตราถัว เฉลี่ยถวงน้ําหนักเทากับอัตรารอยละ 9.50 ตอป

คาโอนสิทธิคางจายดังกลาวมีกําหนดชําระดังนี้ ป 2544 454.37 ลานบาท ป 2545 454.37 ลานบาท ป 2546 454.37 ลานบาท ป 2547 908.67 ลานบาท ป 2548 และภายหลังป 2548 954.72 ลานบาท ยอดรวม 3,266.40 ลานบาท /1

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800 (4.3) บันทึกขอตกลงรวมระหวางบริษัท และ DPC (Memorandum of Understanding) บริษัท และ DPC ไดลงนามบันทึกขอตกลงรวมเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2543 โดยมี สาระสําคัญของบันทึกขอตกลงสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา : บันทึกขอตกลงรวมระหวางบริษัท และ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (Memorandum of Understanding) คูสัญญา : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ทําสัญญา : วันที่ 16 สิงหาคม 2543 รายละเอียดโครงขายรวม : บริษัท และ DPC มีขอตกลงรวมกันในการใชโครงขาย รวมกันดังนี้ 1. บริษัทอนุญาตให DPC สามารถใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 MHz รวมบนโครงขายระบบ GSM 900 MHz ของ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไดทุกพื้นที่ทั่วประเทศยกเวนในเขต กรุงเทพมหานคร 2. DPC อนุญาตให บริษัท สามารถใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 900 MHz รวม บนโครงขาย GSM 1800 MHz ของ DPC ในเขตกรุงเทพมหานครเทานั้น

11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. ทั้งสอบบริษัทตกลงจะเริ่มใหบริการโดยใชโครงขาย รวมกัน (Roaming Fee) ที่ใชเรียกเก็บจาก ผูใชบริการของแตละบริษัท 4. ทั้งสอบบริษัทตกลงจะเริ่มใหบริการโดยใชโครงขาย รวมกันภายในวันที่ 1 มกราคม 2544 5. ทั้งสองบริษัทตกลงจะใหมีการดําเนินการทําสัญญา รวมใชบริการเครือขาย (Roaming Agreement) ระหวางกันหลังจากที่สัญญา ดังกลาวไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของ ทั้งสองบริษัท (4.4) สัญญาการใชบริการโครงขายรวมระหวาง DPC กับบริษัท (National GSM 900/GSM 1800 Roaming Agreement) บริษัท และ DPC ไดลงนามในสัญญาการใชบริการโครงขายรวมกันเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2544 โดยใหถือวาบันทึกขอตกลงรวมระหวางบริษัท และ DPC ที่ไดลงนามวันที่ 16 สิงหาคม 2543 นับเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้ สัญญาการใชบริการโครงขายรวมมี สาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา : สัญญาการใชบริการโครงขายรวม (Network Roaming) คูสัญญา : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัทดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ทําสัญญา : วันที่ 2 มีนาคม 2544 เรื่มมีผลบังคับใช 1 กุมภาพันธ 2544 อายุของสัญญา : สัญญามีผลบังคับใชไปจนกวาจะมีการบอกเลิกโดย คูสัญญา (มีการแจงเปนลายลักษณอักษร 6 เดือน ลวงหนา) รายละเอียดการใชโครงขาย : บริษัท และ DPC มีขอตกลงรวมกันในการใชโครงขาย รวม รวมกันดังนี้ 1. DPC สามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 บนโครงขายระบบ GSM 900 MHz ของบริษัทโดยที่บริษัทอาจวางขอจํากัดการ ใหบริการในบางพื้นที่ได 2. บริษัทสามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 900 MHz บนโครงขายระบบ GSM 1800 MHz ของ DPC โดยที่ DPC อาจ วางขอจํากัดการใหบริการในบางพื้นที่ได เชนเดียวกัน คาใชจายในการใชโครงขาย : บริษัท และ DPC ตกลงชําระคาใชจายในการใช รวม โครงขายรวมกันในอัตรารอยละ 70 ของคาบริการ

12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โทรศัพทเคลื่อนที่ตอนาที (Service Charge) มี รายละเอียดดังนี้ คาบริการตอนาที โทรไปยังเลขหมายปลายทางที่อยูใ นพื้นที่เดียวกัน 3 บาท โทรไปยังเลขหมายปลายทางที่อยูใ นพื้นที่ติดกัน 8 บาท โทรไปยังเลขหมายปลายทางที่อยูใ นพื้นที่ไมติดกัน 12 บาท

การเริ่มการใชบริการ โครงขายรวม

:

การยกเลิกสัญญา

:

การชําระคาบริการการใชโครงขายรวมตองชําระให ภายใน 30 วัน บริษัท และ DPC ตกลงเริ่มในการใชโครงขายรวม ตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2544 ตามที่บันทึกใน MoU บริษัทมีสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีดังตอไปนี้ โดย 1. โดยทั้งสองฝายเห็นพองกัน 2. โดยฝายใดฝายหนึ่ง เมื่อฝายใดฝายหนึ่งมีการทําผิด สัญญาการใชบริการโครงขายรวม

3. โดยฝายใดฝายหนึ่ง เมื่อฝายใดฝายหนึ่งประสบ ปญหาทางการเงิน ลมละลาย หรือมีการเขา กระบวนการปรับโครงสรางหนี้กับเจาหนี้ 4. เมื่อมีการออกหนังสือรองเรียนจากคูสัญญา เรื่อง การใชโครงขายรวม ประสบปญหาทางเทคนิค หรือ ทางดานการคาจนไมสามารถใหบริการโครงขาย รวมไดอยางมีประสิทธิภาพตอไปได และคูสัญญาไม สามารถแกไขปญหานั้นๆ ไดภายใน 60 วัน หลังจากไดรับหนังสือรองเรียน 5. เมื่อคูสัญญาไมมีสิทธิในการใหบริการ โทรศัพทมือถืออยางถูกตองตามกฎหมาย

13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2544

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 4 : ความเห็นของกรรมการอิสระตอรายการระหวางกัน ที่ ออ. 076/2545 25 กุมภาพันธ 2545 เรื่อง

ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกันของบริษัท

เรียน

เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ขาพเจา กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ขอแจงใหทานทราบวา ตามที่บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไดมีรายการกับบุคคลที่มี ผลประโยชนรวมกันและรายการระหวางกัน ตามรายละเอียดแนบนั้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ได พิจารณาแลวมีความเห็นวารายการดังกลาวเปนการดําเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ โดยผูบริหารของ บริษัทฯ ไดดําเนินการเพื่อกรณีดังกลาวอางตอเนื่องในราคาที่เหมาะสมในสถานการณนนั้ ๆ และไมมี สาระสําคัญตอรายไดและสินทรัพยของบริษทั ฯ แตประการใด จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

(นายศุภเดช พูนพิพัฒน) กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ

(นายอรุณ เชิดบุญชาติ) กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ

(นางชรินทร วงศภูธร) กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.