Form 56 1 2002

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2545

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสีย่ ง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 9. การจัดการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ขอมูลอื่นที่เกีย่ วของ

1 2-5 6 - 12 13 - 29 30 31 - 38 39 - 40 41 42 - 54 55 - 71 72 73 - 83 84 - 97 98

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษทั ใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษทั ที่เกี่ยวของ เอกสารแนบ 3 รายละเอียดสัญญารวมการงาน เอกสารแนบ 4 ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบ ริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของ


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 3 รายละเอียดสัญญารวมการงาน


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 4 - ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน - รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ - รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) เปนบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยตั้งแตวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 บริษัทประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ทั้งระบบอนาลอก NMT (Nordic Mobile Telephone) และ ระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) บริษัทมีการใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (Automatic International Roaming) ซึ่งปจจุบัน สามารถนําไปใชไดในกวา 95 ประเทศทั่วโลก นอกจากนั้นบริษัทยังมีบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการ ลวงหนา (Prepaid) ภายใตชื่อ “1-2-Call!” และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทมีสวนแบง ตลาดในสัดสวนประมาณรอยละ 59.3 ของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย (ไมรวมสวนแบงตลาดของ DPC อีก รอยละ 1.7) ป จ จุ บั น นอกจากการให บ ริ ก ารเครื อ ข า ยโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ ล ว บริ ษั ท ยั ง มี ก ารลงทุ น ในกิ จ การที่ เ กี่ ย วกั บ โทรคมนาคมดานอื่นๆ โดยบริษัทไดเขาถือหุนในบริษัทยอยซึ่งมีการดําเนินธุรกิจอยู 4 บริษัท ดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท (On-line Data Communication) โดยมีลูกคารายใหญ คือ ธนาคาร คลังน้ํามัน และสายการบิน ปจจุบัน ADC มีพื้นที่ใหบริการและระบบเครือขาย (Backbone Network) ครอบคลุมทั่วประเทศ 2. บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท (Online Data Communication) ในเขตภูมิภาค 3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ปจจุบันมีพื้นที่ใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกและตัวเมืองในจังหวัด ใหญๆ โดยการใหบริการในเขตจังหวัดอื่นๆ นั้น DPC จะใหบริการผานโครงขายรวมกับบริษัท โดยมีสัญญา การใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) นอกจากนี้ ตั้งแตเดือนกันยายน 2545 DPC ไดเริ่มดําเนิน ธุรกิจนําเขาโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบดิจิตอล GSM Advance และ GSM 1800 รวมถึงการจัดจําหนายอุปกรณ อื่นๆ เชน ชุด SIM Card และบัตรเติมเงิน 4. บริษัท แอดวานซคอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด (ACC) ประกอบธุรกิจศูนยบริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) โดยมุงเนนการใหบริการแกผูใชบริการและคูคาของบริษัทเปนหลัก โดยในป 2545 บริษัทมีผลการดําเนินงานที่เติบโตขึ้นกวาป 2544 กลาวคือ มีรายไดรวมจํานวน 81,366 ลานบาท เพิ่มจาก 60,670 ลานบาท ในป 2544 คิดเปนจํานวน 20,696 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 34.1 โดยมีผลกําไรสุทธิจํานวน 11,430 ลานบาท ในป 2545 เพิ่มขึ้นจาก 3,851 ลานบาท ในป 2544 คิดเปนจํานวน 7,579 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 196.8

สวนที่ 1 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ทั้งในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) และระบบ อนาลอก NMT (Nordic Mobile Telephone) และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบ ดิจิตอล GSM 1800

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

บมจ. 59

Home Page

:

http://www.ais900.com

โทรศัพท

:

0-2299-6000

โทรสาร

:

0-2615-3330

สวนที่ 2 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

1.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปจจัยความเสี่ยง

ปจจัยความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นไดกับบริษัทสามารถจําแนกได 3 ประเภทดังนี้ 1.1

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายของรัฐบาล จากการที่บริษัทดําเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคมซึ่งเปนธุรกิจที่ตองดําเนินงานภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐ ใน รูปแบบของสัญญารวมการงานในปจจุบัน และตองถูกกํากับดูแลโดยคณะกรรมการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ในอนาคต ซึ่งเปนไปตามรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2540 มาตรา 40 ที่กําหนดใหมีการจัดตั้งองคกรอิสระ เพื่อทํา หนาที่จัดสรรคลื่นความถี่วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศนและวิทยุโทรคมนาคม รวมทั้งทําหนาที่กํากับดูแลการ ประกอบกิจการ และกําหนดกติกาการแขงขันโดยเสรีอยางเทาเทียมและเปนธรรมระหวางผูประกอบการทั้งรายเกา รายใหมแทนหนวยงานรัฐเดิม โดยมีพระราชบัญญัติประกอบกิจการโทรคมนาคม เปนกฎหมายที่จะใชแทน พระราชบัญญัติโทรเลขโทรศัพท พ.ศ. 2477 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2517 ที่จะตองสิ้นสุดลงตาม พ.ร.บ. โทรคมนาคมฉบับนี้ จากประเด็นขางตน สิ่งที่จะมีผลกระทบกับบริษัทและผูประกอบการภายใตสัญญารวมการงานของหนวยงานรัฐที่ เกี่ยวของคือ การตองแปรสัญญารวมการงานที่มีอยูใหเปนที่เรียบรอยกอนการเปดเสรีโทรคมนาคม เพื่อใหผู ประกอบกิจการโทรคมนาคมทุกรายทั้งรายเกาและรายใหม (รวมทั้งองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ซึ่งแปรรูป เปน บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) ในวันที่ 31 ก.ค. 2545 และการสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) ซึ่งจะแปรรูปเปนบริษัทมหาชนในอนาคตอันใกลนี้) อยูภายใตการกํากับดูแลของ กทช. และดําเนินกิจการ ภายใตกฎและขอบังคับของ กทช. อยางเทาเทียมกัน เนื่องจากการแปรสัญญารวมการงานนั้นมีประเด็นในเรื่อง หลักการและแนวทางในการแปรสัญญารวมการงาน ซึ่งยังไมสามารถหาขอสรุปไดในปจจุบัน ประกอบกับ พ.ร.บ. ประกอบกิจการโทรคมนาคม ที่ประกาศใชเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 ยังมีประเด็นในเรื่องของสัดสวนการถือ หุนของชาวตางชาติในบริษัทโทรคมนาคมใดๆ จะตองไมเกินรอยละ 25 และ การไมสามารถเก็บเงินคาประกัน การใชบริการ และเงินลวงหนาจากผูใชบริการที่ยังเปนปญหาในทางปฏิบัติอยูในปจจุบัน รวมถึงการจะนําคา เชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge) มาประกาศใช ก็ยังไมทราบชัดเจน วาจะนํามาใชเมื่อใด และใน อัตราเทาใด อยางไรก็ตามแมวาบริษัทจะมีความเสี่ยงเบื้องตนจากประเด็นการแปรสัญญารวมการงาน ตลอดจนประเด็นตางๆ จาก พ.ร.บ. ประกอบกิจการโทรคมนาคมที่ยังไมมีความชัดเจนนั้น บริษัทก็ไดบริหารความเสี่ยงดังกลาวโดยมี ผูรับผิดชอบเรื่องนี้อยางจริงจัง ทั้งในดานการติดตามขาวสารอยางใกลชิด และการใหขอมูลตาง ๆ ที่ถูกตองกับ ภาครัฐ เพื่อใหภาครัฐกําหนดกฎเกณฑใหมไดอยางถูกตอง อันกอใหเกิดการแขงขันที่เสรีและเปนธรรม กระนั้นก็ดี เมื่อเปดเสรีโทรคมนาคมแลว ผูประกอบการทุกรายจะตองดําเนินการธุรกิจอยูภายใตกฎเกณฑเดียวกัน และ แมวา จะมีผูประกอบการรายใหมสนใจจะเขามาแขงขันเพิ่มขึ้นก็ตาม ผูประกอบการรายใหมก็อาจจะตองเผชิญกับ ขอจํากัดในการเขาสูตลาด (Barrier to Entry) เชน การสรางฐานลูกคาและเงินลงทุน เวลาในการพัฒนาระบบ เครือขาย และชองทางการตลาด ดังนั้นปจจัยเสี่ยงในเรื่องนี้ของบริษัทจึงไมนากังวลเทาใดนัก

1.2

ความเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับสถานการณการตลาดและการแขงขัน 1.2.1 ความเสี่ยงจากการแขงขันที่ไมสมเหตุสมผล สําหรับอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งยังไมถึงจุดอิ่มตัว สิ่งที่นากังวลที่สุด เกิดจากการแขงขันที่ไมสมเหตุสมผล จากผูประกอบการรายใหม โดยปกติในสภาพการตลาดที่มีผูประกอบการนอยราย และยังมีอัตราการใชบริการที่ สวนที่ 2 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ต่ํา ยอมเปนที่สนใจ และดึงดูดใหผูประกอบการรายใหมเขามาแขงขันในตลาด และกลยุทธที่งายที่สุด เพื่อใหลูกคา เกิดการรับรู ก็คือ กลยุทธดานราคา โดยการเสนอราคาที่ต่ํากวาผูประกอบการรายอื่น ในป พ.ศ. 2545 อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยไดเขาสูภาวการณดังกลาว จากการที่บริษัท ที-เอ ออเรนจ จํากัด (TAO) เริ่มเปดใหบริการอยางเปนทางการ และใชยุทธวิธีดานราคา โดยการเสนอสินคาและบริการ ในราคาต่ําหลายรูปแบบ เพื่อขยายฐานการตลาดและเขามาแบงสวนแบงทางการตลาดจากผูประกอบการรายเกา การตอบโตจากผูประกอบการรายเกาโดยเขาสูสงครามราคา ทายที่สุดก็จะนําไปสูการแขงขันที่ไมสมเหตุสมผล และ ไมเปนผลดีตอผูประกอบการรายใด ในระยะยาว ถึงแมความเสี่ยงจากการแขงขันที่ไมสมเหตุสมผลจะเปนปจจัยภายนอก ที่ไมสามารถควบคุมได บริษัทมีความเห็น วากลยุทธการใชราคาต่ํากอใหเกิดการรับรูในตัวสินคาเทานั้น คุณภาพของเครือขายและคุณภาพของการใหบริการ จึงจะเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหบริษัทประสบความสําเร็จในการสรางความนิยม และเพิ่มความภักดีของลูกคา (Customer Loyalty) นอกจากนั้น ผูป ระกอบการไมสามารถนํากลยุทธการใชราคาต่ํามาใชไดอยูตลอดไป เนื่องจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนธุรกิจที่ตองใชเงินลงทุนสูง ผูประกอบการรายใหมตองใชเงินลงทุน มหาศาล รวมทั้งตองใชเวลาเพื่อการวางแผนขยายเครือขาย ใหมีคุณภาพและครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ การตั้ง ราคาในเชิงของการแขงขัน และการโหมโฆษณา จะเปนเพียงการดึงดูดใจลูกคาใหเขาสูการใชบริการโดยไมคํานึงถึง ความสามารถของเครือขายไดเพียงในระยะสั้นๆ เทานั้น หากแตจะสงผลกระทบตอผลิตภัณฑ ความไววางใจ และ ความเชื่อมั่นของลูกคา ในทายที่สุด เอไอเอส ยังคงนโยบายการมุงเนนที่คุณภาพ และสามารถสรางความนิยมของผลิตภัณฑสําหรับลูกคาที่คํานึงถึง คุณภาพ และคุณคาเพิ่มเปนสําคัญ ในปพ.ศ. 2545 ไดเปนที่ประจักษแลววา คุณภาพเปนสิ่งสําคัญอยางมาก ดังจะเห็นไดวาชวงทายของป ถึงแมวาการสงเสริมการขายในรูปแบบของการลดราคา จะนอยลงก็ตาม แตการ เพิ่มขึ้นของการลงทะเบียนเขาสูระบบเครือขายของเอไอเอสยังคงเปนไปอยางตอเนื่อง สงผลใหสวนแบงทาง การตลาดของเอไอเอสมีมากกวารอยละ 60 อยางไรก็ตาม เอไอเอสยังคงติดตามดูแลการพัฒนาของตลาดอยาง ใกลชิดและตอเนื่อง เพื่อประเมินสถานการณอยางถูกตอง และวางกลยุทธที่เหมาะสมในการแขงขัน ดวย วัตถุประสงคหลักในการเพิ่มมูลคาใหแกผูถือหุน 1.2.2 ความเสี่ยงของการรับรูของตลาดในเรื่องของบริการในรูปแบบที่ไมใชเสียง (non-voice communications) ในประเทศไทย การสื่อสารไรสายในรูปแบบของเสียงถือไดวาถึงภาวะเติบโตเต็มที่ กระแสตอไปของการเติบโตและ การแขงขัน คือการสื่อสารในรูปแบบที่ไมใชเสียง (non-voice communication) ในภาวะที่ตลาดของการสื่อสาร ดวยเสียงเพียงอยางเดียวเติบโตอยางเต็มที่นั้น รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ (ARPU) กลับเริ่มมีแนวโนมลดลง ดังนั้น เพื่อเปนการเพิ่มรายได และดํารงความเปนผูนําในการคิดคนสิ่งใหม บริการทางดานการสื่อสารที่ไมใชเสียงตอง ไดรับการพัฒนาอยางจริงจัง แตอยางไรก็ดี ดวยการยอมรับของตลาดซึ่งอยูในระดับที่คอนขางต่ํา การลงทุนใน บริการที่ไมใชเสียงก็ไมอาจเปนแหลงสรางรายไดตามที่คาดหวัง และอาจกระทบตอผลตอบแทนของการลงทุน โดยรวม การแบงตลาด และฐานลูกคาจะชวยลดความเสี่ยงดังกลาวลงได ดวยการวิเคราะหตลาดที่ถูกตองแมนยํา และการ แบงกลุมที่ละเอียดชัดเจน เอไอเอสสามารถที่จะพัฒนาบริการที่ตอบสนองความจําเปน และความตองการ ของลูกคา ในแตละรูปแบบของการดําเนินชีวิต (lifestyle) กอนที่บริการใหมทุกบริการจะถูกเสนอตอตลาด กลุมผูเชี่ยวชาญ และนักวิเคราะหธุรกิจมืออาชีพจะรวมกันตรวจสอบ และศึกษากลุมเปาหมาย เพื่อใหแนใจถึงความเปนไปไดในเชิง

สวนที่ 2 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ธุรกิจ และการเงิน ดังนั้น บริการใหมที่ไมใชเสียงสวนใหญที่ไดรับการพัฒนาจึงมีความเปนไปไดสูงที่จะเปนที่ ยอมรับของตลาด และเพิ่มคุณคาใหแกธุรกิจโดยรวม 1.3

ความเสี่ยงดานเทคโนโลยีและการปฏิบัติการ 1.3.1 ความเสี่ยงในการรับประกันคุณภาพของบริการเสริมที่ดําเนินการโดยผูใหบริการรวม การที่บริษัทนําเทคโนโลยีใหมๆ ที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่เชน GPRS และ Location Based Service มาเปดใหบริการ เปนการเปดโอกาสใหบริษัทตางๆ เขามารวมมือกับเอไอเอสในการใหบริการเสริมที่แปลก ใหมและหลากหลายใหกับลูกคา ความรวมมือดังกลาวนี้กอใหเกิดการเชื่อมตอกันเปนเครือขายระหวางบริษัทผู ใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทผูใหบริการเสริม และบริษัทผูผลิตเนื้อหา ในการทํางานรวมกันภายใต ขอตกลงในการใหบริการอยางเครงครัด ความผิดพลาด ณ จุดใดจุดหนึ่งยอมสงผลกระทบตอคุณภาพของบริการ เสริมที่ลูกคาไดรับ ดังนั้นการควบคุมขอตกลงในการใหบริการ และการประกันคุณภาพของบริการอยางครบวงจร จึงเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งตอการรักษาความพึงพอใจของลูกคา อยางไรก็ตาม ในขณะนี้หนวยงาน GSMA (GSM Association) ซึ่งเปนหนวยงานกลางในอุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM ไดกําหนด Open Architecture Platform เพื่อใหเปนมาตรฐานในการเชื่อมตอ ระหวางระบบของผูใหบริการเสริมตางๆ ซึ่งมาตรฐานดังกลาวจะชวยใหการควบคุมคุณภาพของบริการเหลานี้ทํา ไดงายขึ้น 1.3.2 ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ถึงแมวาเทคโนโลยีในระบบโทรศัพทเคลื่อนที่กําลังเปลี่ยนแปลงไปสูการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง และ การสื่อสาร ขอมูลแบบมัลติมีเดีย แตเทคโนโลยีดังกลาวอาจไมสงผลกระทบตอบริษัทมากนักในอนาคตอันใกล เนื่องจากลูกคา สวนใหญ โดยเฉพาะลูกคาในสวนภูมิภาค ยังนิยมเพียงการใชงานขั้นพื้นฐานของโทรศัพทเคลื่อนที่เทานั้น อยางไร ก็ตาม บริษัทผูผลิตอุปกรณเครือขาย และ ผูผลิตเครื่องลูกขาย เริ่มปรับเปลี่ยนความสนใจ และโอนยาย ผูเชี่ยวชาญที่มีความสามารถเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑในเทคโนโลยียุคที่ 3 (3G) การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลใหบริษัท ไดรับประโยชนในการไดรับบริการหลังการขายที่ดี เพื่อสนับสนุนอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีทันสมัยตอไปในระยะยาว บริษัทมีแนวโนมที่จะพัฒนาเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในปจจุบันเพื่อปรับเปลี่ยนใหรองรับกับ เทคโนโลยี 3G โดยการปรับปรุงระบบชุมสายและระบบสื่อสัญญาณเดิมที่มีอยู อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีดังกลาว อาจยังไมพรอมสําหรับประเทศไทย เนื่องจากลูกคาที่ตองการใชเทคโนโลยีดังกลาวอาจจํากัดอยูในวงแคบ ดังนั้น บริษัทจึงตองติดตามศึกษาความพรอมของตลาด และพิจารณาความคุมคาในการลงทุนอยางใกลชิด จากการ ติดตามความคืบหนาของเทคโนโลยี 3G อยางตอเนื่อง จะเห็นไดวาเทคโนโลยี 3G เริ่มไดรับการยอมรับวาเปน รูปแบบการใหบริการของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ในอนาคต ซึ่งบริษัทก็พรอมที่จะนําเทคโนโลยี 3G มาใหบริการ ในเวลาที่เหมาะสม 1.3.3 ความเสี่ยงที่เกิดจากการเรียกเก็บคาใชบริการไมได ถึงแมวาลูกคาสวนใหญของบริษัทเปนลูกคาที่ใชบริการในระบบ Prepaid แตรายไดหลักของบริษัทยังคงเปนรายได ที่ไดรับจากลูกคาที่ใชบริการในระบบ Postpaid รวมถึงรายไดจากการใชบริการโทรขามแดนอัตโนมัติ ซึ่งปจจุบัน บริษัทเรียกเก็บคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่จากลูกคาระบบ Postpaid เปนรายเดือน ดังนั้นบริษัทยังคงมีความ เสี่ยงในเรื่องหนี้สูญอันเนื่องมาจากการเรียกเก็บคาใชบริการไมได อยางไรก็ตาม บริษัทไดมีมาตรการในการบริหารความเสี่ยงนี้โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรระบบ Fraud Management ทั้งนี้บริษัทจะทําการระงับการใชบริการของลูกคาที่คางชําระเกินกวากําหนด นอกจากนั้น บริษัทสามารถลดความ สวนที่ 2 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เสียหายดังกลาวไดโดยกําหนดมูลหนี้สูงสุดของลูกคาแตละรายได โดยกําหนดวาถาหากผูใชบริการมีการคางชําระ หนี้บริษัทเกินกวาจํานวนดังกลาว ก็จะไมสามารถใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดจนกวาจะมีการชําระเงินเรียบรอย ดังจะเห็นไดจาก บริษัทมียอดหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญลดลงมากจาก 2,769 ลานบาทในครึ่งปแรก เหลือเพียง 1,483 ลานบาทในครึ่งปหลัง นอกเหนือจากการใชระบบ Fraud Management มาใชในการปองกันความเสี่ยงแลว บริษัทยังไดเนนใหทุก หนวยงานภายในที่เกี่ยวของใหเพิ่มความเขมงวดในการตรวจสอบ และปองกันปญหาดังกลาว โดยมีมาตรการ ปองกัน อาทิ 1. การเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบ CDR (Call Detail Record) ใหสามารถตรวจสอบรายละเอียดของ การใชโทรศัพทไดทันที ในกรณีพบวามีการใชโทรศัพทที่ผิดปกติ บริษัทสามารถยกเลิกการใหบริการได 2. การสามารถตรวจสอบประวัติของลูกคากอนการรับจดทะเบียน (Black List Verification) เปนการตรวจสอบ วาลูกคาเคยมีประวัติการถูกปฏิเสธการใหบริการจากบริษัทหรือไม 3. มีการตรวจสอบเพิ่มเติมภายหลังการจดทะเบียน (Post Audit) เพื่อเปนการยืนยันสถานะภาพของผูใชบริการ รายนั้นๆ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่โดยการเรียกชําระคาใชบริการโทรศัพทลวงหนา (Prepaid) ภายใตชื่อ 1-2-call! เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยลดปญหาหนี้เสียของบริษัทได ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทมีลูกคาในระบบ Prepaid หรือ 1-2-Call! มากขึ้นจนมีสัดสวนประมาณรอยละ 80 ของลูกคาทั้งหมด จึงทําใหความเสี่ยงในการไม สามารถเรียกเก็บคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ลดต่ําลงไปอีก 1.3.4 ความเสี่ยงจากการสูญเสียผูบริหารและพนักงาน บริษัทตระหนักดีวา ความสําเร็จของการดําเนินธุรกิจตั้งอยูบนพื้นฐานของการมีผูบริหารและพนักงานที่มีความรู ความสามารถ และมีความมุงมั่นในการทํางานใหบรรลุตามเปาหมายที่วางไว ในชวงปที่ผานมา บริษัทเผชิญกับการ สูญเสียดานทรัพยากรบุคคลในระดับผูบริหารและพนักงานที่มีทักษะความชํานาญ อันเปนผลมาจากการแขงขันจาก ผูใหบริการรายใหม แตอยางไรก็ตาม ไมไดมผี ลกระทบตอบริษัทมากนัก โดยบริษัทไดกําหนดแผนงานรองรับไวแต แรก โดยทําการพัฒนาฝกอบรมพนักงาน เพื่อใหสามารถทํางานทดแทนกันได และสรรหาผูมีความรูความสามารถ มาเสริมทีมงานอยางตอเนื่องเพื่อลดผลกระทบดังกลาว 1.3.5 ความเสี่ยงจากการที่จะพัฒนาบุคลากรไมทันตอการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ภาวะการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องทางธุรกิจ สงผลใหการพัฒนาบุคลากรของบริษัทใหมีความรูความสามารถเพื่อ ตอบรับตอการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจเปนเรื่องยาก ดังนั้นบริษัทจึงมุงเนนการพัฒนาบุคลากรตามลักษณะหนาที่งาน ที่รับผิดชอบใหมีคุณภาพ (People Excellence) เยี่ยงมืออาชีพ (Professionals) โดยอาศัยเทคโนโลยีทางการศึกษา ที่ทันสมัย อาทิ E-Learning ซึ่งชวยสงเสริมการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง และการสรางวัฒนธรรมในการ ปฏิบัติงานในแนวทาง AIS Way เพื่อใหเกิดสภาพแวดลอมในการทํางานที่ดี นอกจากนี้ยังไดสรางระบบการบริหาร องคความรู (Knowledge Management) เพื่อใหมีการถายทอดความรูใหคงอยูในวิถีการทํางานขององคกรตลอดไป 1.4

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเงินและภาวะเศรษฐกิจ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เนื่องจากลักษณะธุรกิจของบริษัทเกี่ยวของโดยตรงกับ เทคโนโลยีจากตางประเทศทําใหไมสามารถหลีกเลี่ยงภาระคาใชจายสําหรับการลงทุนในสกุลเงินตราตางประเทศได ซึ่งในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยนระหวางเงินบาทกับสกุลเงินตางประเทศออนตัวลง หมายถึงภาระการลงทุนที่เพิ่มขึ้น ของบริษัท ซึ่งจะทําใหตนทุนของบริษัทเพิ่มขึ้นและสงผลใหกําไรของบริษัทลดลง อยางไรก็ตาม บริษัทมีนโยบาย สวนที่ 2 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปองกันความเสี่ยงดังกลาว ดวยการใชเครื่องมือปองกันความเสี่ยงทางการเงิน (Hedging Instrument) เพื่อลดความ เสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยบริษัทจะทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ลวงหนาเพื่อปดความเสี่ยงดังกลาว ใหเหมาะสมกับสภาวะการณในขณะนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทได ทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาที่เปดสถานะไวมีวันครบกําหนดในวันที่ 24 มีนาคม 2546 โดยจํานวน เงินที่บริษัทจะไดรับเทียบเทาจํานวนเงินบาทประมาณ 1,400 ลานบาท นอกจากนั้นความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน นาจะเปนปจจัยซึ่งเปนผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ จึงเปน ผลกระทบกับผูประกอบการทุกรายไมเฉพาะเพียงบริษัทเทานั้น และการที่บริษัทมีนโยบายในการระดมทุน ภายในประเทศเปนสวนใหญ ก็สามารถลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศได ในระดับหนึ่ง

สวนที่ 2 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเปนบริษัทจํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกในการดําเนินธุรกิจใหเชาและใหบริการคอมพิวเตอร ตอมาในป 2532 บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งปจจุบนั ไดเปลี่ยน ชื่อเปน บริษัท ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (SHIN) ไดเขามาเปนผูถือหุนของบริษัทในสัดสวนรอยละ 60 ของทุนจดทะเบียน และไดเปลี่ยนวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจเปนการใหบริการโทรคมนาคม เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 หุนสามัญของบริษัท ไดเขาเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และในวันที่ 19 กุมภาพันธ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึ่งเปน บริษัทในกลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร ซึ่งดําเนินธุรกิจเทคโนโลยี สื่อสารและโทรคมนาคม ไดเขาถือหุนในบริษัท และปจจุบัน SHIN และ SingTel เปนผูถือหุนในบริษัท ทั้งสิ้นรอยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ นอกเหนือจากธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทยังไดขยายการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับโทรคมนาคม โดยในเดือนธันวาคม 2541 บริษัทไดเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) ในสัดสวนรอยละ 99.99 ซึ่งดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมใหดียิ่งขึ้น ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 ธุรกิจการนําเขา และการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทไดถูกปรับโครงสราง โดยในปจจุบันการดําเนินงานของ AWM ไดถกู รวมเขากับการดําเนินงานของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่ง ของบริษัท ในสวนของการนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่เปนที่เรียบรอยแลว เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2542 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) (เดิมชื่อ บริษัท ชินวัตร เพจจิ้ง จํากัด) ซึ่งดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัว จากเดิมรอยละ 60.00 เปนรอยละ 99.99 แตจากการที่บริการโทรศัพทติดตามตัวไดรับความนิยมลดลงเปนอยางมาก ประกอบกับ การปรับตัวลดลงของราคาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่เปนสิ่งที่สามารถซื้อหาได งายขึ้น การดําเนินงานของ APG จึงไดยุติลง พรอมกับมีการคืนสัญญารวมการงานใหแก ทศท. เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2545 ตอมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ไดถูกขายใหแกบริษัทอื่น ดังนั้น APG จึงไมไดเปนบริษัทในเครือของเอไอเอสอีกตอไป ในเดือนตุลาคม 2542 บริษัทเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) (เดิมชื่อบริษัท ชินวัตร ดาตาคอม จํากัด) ในสัดสวนรอยละ 67.95 และบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ในสัดสวนรอยละ 49.00 ซึ่งทั้งสองบริษัทดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ในสัดสวนรอยละ 99.99 หรือมูลคาการลงทุนรวม 540 ลานบาท จาก SHIN และ Singtel บริษัท SDT ในขณะนั้น เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) สวนที่ 2 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ซึ่งเปนผูประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 และเปนผูนําเขาและจัดจําหนาย โทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริษัทไดใหการสนับสนุนทางการเงินแก SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ลานบาท เพื่อใชชําระหนี้ใหแก SHIN และ SingTel ทั้งนี้ บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญ ที่ยังมิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN จํานวน 17 ลานหุน และ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน คิดเปนมูลคารวมทั้งสิ้น 10,024 ลานบาท เพื่อเปนเงินทุนสวนหนึ่งในการลงทุนดังกลาว ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดมีการลงทุนในกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ของ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 8,556 ลานบาท โดยบริษัทไดเขาไปลงทุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ในบริษัท ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) ซึ่ง SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน DPC ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดสวนรอยละ 98.17 หรือมูลคาการลงทุนรวม 20,300 ลานบาท จากบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) เพื่อใชหนี้คืนใหแกบริษทั และลดภาระภาษีดานรายไดคาดอกเบี้ย โดยไดเขาไปซื้อหุน DPC เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึ่งจะทําใหบริษัทเปนผูถือหุนใน DPC โดยตรง ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2545 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ไดอนุมัติใหบริษัทลงทุนเพิ่ม ใน DPC จํานวน 300 ลานหุน เปนจํานวนเงิน 3,000 ลานบาท ซึ่งเปนผลทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน DPC เปนรอยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 ธุรกิจการนําเขา และการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ AWM ไดถูกรวมเขากับ การดําเนินงานของ DPC เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมใหดียิ่งขึ้นดังที่ กลาวไปแลวขางตน 2.2

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัทเปนบริษัทหนึ่งในกลุมของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ซึ่งเปนบริษทั ที่ประกอบ ธุรกิจการเขาลงทุนและมีสวนรวมในการบริหารในบริษัทที่ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม และมัลติมีเดีย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 ธุรกิจของกลุม SHIN แบงไดเปน 4 สายธุรกิจหลัก สรุปสาระสําคัญไดดังนี้

สวนที่ 2 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545 สายธุรกิจหลัก สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย

ดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ

สื่อและโฆษณา ธุรกิจอิเล็คทรอนิกส

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บริษัทผูประกอบธุรกิจ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (“DPC”) บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเกตติ้ง จํากัด (“AWM”) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“ADC”) บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (“DNS”) บริษัท แอดวานซคอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด (“ACC”) บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (“SATTEL”) บริษัท ชิน บรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด (SBI) บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (“CSL”) บริษัท ซี.เอส. แซทเทลไลท โฟน จํากัด (CSP) Shenington Investments Pte. Ltd. (SHEN) Cambodia Shinawatra Co., Ltd. (“CAM”) Lao Telecommunication Co., Ltd. (“LTC”) iPSTAR Co., Ltd. (iPSTAR) บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด (“SMB”) บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (“ITV”) บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด (ART) บริษัท เทเลอินโฟมีเดีย จํากัด (“TMC”) บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (“ADV”) บริษัท ไอที แอพพลิเคฃั่นส เซอรวิส จํากัด (“ITAS”) บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (SIT) บริษัท ชินนี่ดอทคอม (SHINEE) จํากัด บริษัท อารค ไซเบอร (ArcCyber) จํากัด

บริษัทประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยานความถี่ 900 MHz ทั้งระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM โดยไดรับอนุญาตใหดําเนินงานจาก ทศท. ตามสัญญารวมการงาน ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 และขอตกลงตอทายสัญญาที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นภายหลัง โดยบริษัทจะตองจายเงิน ผลประโยชนตอบแทนรายปให ทศท. ในอัตรารอยละ 25-30 ของรายไดคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (รายละเอียดของสัญญาในเอกสารแนบ 3) หรืออยางนอยเทากับเงินขั้นต่ําที่ระบุในสัญญาฯ ดังกลาว สัญญารวมการงานที่ไดรับอนุญาตจาก ทศท. เปนสัญญาประเภทบีทีโอ (BTO: Build–Transfer–Operate) DPC ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ยานความถี่ 1800 MHz โดยไดรับสัญญารวมการงานใหดําเนินกิจการโทรคมนาคมจาก กสท. ตามสัญญาลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และขอตกลงตอทายสัญญาที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นภายหลัง โดย DPC จะตองจายเงินผลประโยชน ตอบแทนรายปให กสท. เปนอัตรารอยละ 20-30 ของรายไดคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (รายละเอียดของ สัญญาในเอกสารแนบ 3) หรืออยางนอยเทากับเงินขั้นต่ําที่ระบุในสัญญา สัญญารวมการงานดังกลาวเปน สัญญาประเภทบีทีโอ (BTO: Build–Transfer–Operate) นอกจากนี้ DPC ยังใหบริการโทรศัพทมือถือผาน เครือขายรวมกับบริษัท โดยมีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง บริษัท กับ DPC ซึ่งจะทําใหผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 สามารถใชงานไดทั่วประเทศเหมือนกับ ผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM Advance ปจจุบัน DPC ไดยังทําธุรกิจอีกอยางหนึ่ง คือเปนผู นําเขาและจัดจําหนายเครื่องลูกขาย อีกดวย โครงสรางการถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น และของบริษัท สามารถแสดงไดในแผนผังโครงสรางการถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น และของบริษัท ดังนี้

สวนที่ 2 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น

43.06%

51.53%

38.25%

/2

บจก. แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง

67.95%

บจก. แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส

/4

99.99%

บจก. ชิน บรอดแบนด อินเตอรเน็ต (ประเทศไทย)

50.02%

94.19%

80.00%

บจก. ดิจิตอล โฟน

99.99%

บจก. แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร

บจก. เทเลอินโฟ มีเดีย

บจก. ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส

บจก. ซีเอส ล็อกซอินโฟ

100% /5

บจก. ลอกซเลย อินฟอรเมชั่น เซอรวิส บจก. ซี.เอส. แซทเทลไลท โฟน

Shenington Investments Pte. Ltd.

100%

49.00%

Cambodia Shinawatra Co., Ltd. Lao Telecommunication Co., Ltd.

บมจ. ไอทีวี

Merry International Investment Corp.

99.93% 99.99%

99.99%

บจก. ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส

100% /2

บมจ. ชินแซทเทลไลท

99.99%

98.55%

55.53%

/2, / 3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

49.00%

/1, / 2

90.91%

บจก. ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี

บจก. อารตแวร มีเดีย

99.96%

บจก. เอสซี แมทชบอกซ

บจก. เอดี เวนเจอร

60.00%

บจก. ชินนีด ่ อทคอม

47.50%

บจก. อารคไซเบอร

/1 Holding Company /2 บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พยแหงประเทศไทย

100%

iPSTAR Co., Ltd.

/3 SHIN ถือหุนตรงใน SATTEL ในสัดสวนร อยละ 37.09 ที่เหลือสัดสวนร อยละ 14.44 ถือหุนโดยออมผาน Merry International Investment Corp. ซึ่งเปนบริ ษัทยอยของ SHIN 100% /4 เมื่อเดือนธันวาคม 2545 ไดปรั บโครงสร างโดยโอนธุร กิจรวมเขากับ DPC ปจจุ บันไมไดดําเนินการธุร กิจแลว

ชอมูล ณ วันที่ 20 มีนาคม 2546

/5 เปลี่ยนชื่อจาก บจก. ชิน ดิจิตอล เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2545

สวนที่ 2 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางกลุม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ดําเนินธุรกิจ สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ADVANC

99.99 %

AWM

67.95 %

ADC

49.00 %

DNS

- นําเขาและเปนตัวแทน จําหนายโทรศัพท เคลื่อนที่

- ใหบริการสื่อสาร ขอมูลผานสายโทรศัพท

- ใหบริการสื่อสารขอมูล

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 240 ลานบาท

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 457.52 ลานบาท

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 1 ลานบาท

ผานสายโทรศัพท ในเขตภูมิภาค

* ปจจุบันไมไดดําเนินธุรกิจ

สวนที่ 2 หนา 10

98.55 %

DPC - ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ดิจิตอล GSM 1800 และนําเขา และเปนตัวแทนจําหนายโทรศัพท เคลื่อนที่ - ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 14,621.86 ลานบาท

99.99 %

ACC - ใหบริการศูนยบริการ ขอมูลทางโทรศัพท

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 272 ลานบาท


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

2.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางรายได

โครงสรางรายไดที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑหรือบริการของบริษัทและบริษัทยอยใหบุคคลภายนอก สําหรับป 2543 - 2545 ผลิตภัณฑ/บริการ

ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ รวม ธุรกิจโทรศัพทติดตามตัว บริการโทรศัพทติดตามตัว คาเชาโทรศัพทติดตามตัว การขายโทรศัพทติดตามตัว รวม ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท รวม ธุรกิจบริการใหขอมูลทางโทรศัพท รวม

ดําเนินการโดย

รอยละการถือ หุนของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 45

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บจ. ดิจิตอล โฟน บจ.แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง บจ. ดิจิตอล โฟน

บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง บจ. แอดวานซ เพจจิง้

ป 2544 ลานบาท รอยละ

ป 2545 ลานบาท รอยละ

98.55 99.99 98.55

24,622.03 10,718.97 35,341.00

64.90 28.25 93.16

39,122.91 1,397.68 17,635.47 86.71 58,242.77

64.48 2.30 29.07 0.14 96.00

55,371.69 4,736.36 17,790.54 1,880.96 79,779.55

68.05 5.82 21.86 2.31 98.05

-

1,144.32 3.59 193.92 1,341.83 209.06

3.02 0.01 0.51 3.54 0.55

537.45 1.10 70.05 608.60 293.80

0.89 0.00 0.12 1.00 0.48

72.45 6.81 79.25 357.57

0.09 0.01 0.10 0.44

66.75 275.81

0.18 0.73

44.59 338.39

0.07 0.56

30.19 387.77 4.83 4.83

0.04 0.48 0.01 0.01

บจ.แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส บจ. ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส

67.95

บจ. แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร

99.99

อื่น ๆ

ป 2543 ลานบาท รอยละ

49.00

978.78 2.58 1,480.79 2.44 1,114.96 1.37 รวม 37,937.42 100.00 60,670.55 100.00 81,366.36 100.00 หมายเหตุ : 1) บริษัทไดขายหุนทั้งหมดในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด ใหแกบุคคลภายนอก ในเดือนกันยายน 2545 2) บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน บริษัท แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร จํากัด ในเดือนสิงหาคม 2545 โดยใหบริการการใหขอมูลทางโทรศัพท 3) บริษัทเขาถือหุนในบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด ในสัดสวนรอยละ 98.17 ในเดือนธันวาคม 2544 และเพิ่มสัดสวนเปนรอยละ 98.55 ในเดือนตุลาคม 2545 4) รายไดอื่น ๆ ไดแก รายไดดอกเบี้ย และรายไดอื่น ๆ ไมรวมกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

สวนที่ 2 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

2.4

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปาหมายการดําเนินธุรกิจ เพื่อครองความเปนผูนําในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยไดอยางตอเนื่อง และอยูในฐานะที่ จะรักษาการเปนผูนําตอไปในอนาคต โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือการเพิ่มมูลคาการลงทุนใหแกผูถือหุน บริษัทมีปรัชญาในการดําเนินธุรกิจและกลยุทธสําคัญ ที่สรางความสําเร็จใหแกบริษัท คือ การสรางแนวคิด “Care for Excellence” ซึ่งทางบริษัทไดมีการเสนอความเปนเลิศของบริษัทในดาน บุคลากร เทคโนโลยี บริการ และ เครือขาย ซึ่งประกอบกันเปน “4 Excellence” หรือ “4 E” ซึ่งเปนกลยุทธที่ทําใหบริษัทประสบ ความสําเร็จดังนี้ - ความเปนเลิศดานเครือขาย (Network Excellence) คือ วิศวกรรมทางเครือขายที่ชาญฉลาด เพื่อความเยี่ยมยอดทางดานคุณภาพของเครือขาย พรอมทั้ง มีพื้นที่การใหบริการที่กวางไกลและทั่วถึง ทั้งกวา 300 ภายในอาคาร ทั่วกรุงเทพมหานคร 795 อําเภอทั่วประเทศไทย และ 6 ทวีป 95 ประเทศทั่วโลก กับบริการขามแดนอัตโนมัติ ที่ชวยให เครือขายสัญญาณสามารถติดตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพ - ความเปนเลิศดานเทคโนโลยี (Technology Excellence) คือ การเลือกใชเทคโนโลยีระดับสากลที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความตองการของผูใชบริการ ไดอยางแทจริง ในปจจุบัน โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถสนองตอบความตองการสื่อสารสวนบุคคลได หลากหลายรูปแบบ ไมจะเปน เสียง (Voice) หรือ ขอมูล (Non voice) รวมถึงการเชื่อมตอ อินเตอรเน็ต บริษัทไดเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เขามารวมพัฒนาบริการอยางตอเนื่อง เพื่อมอบ บริการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดตอลูกคา - ความเปนเลิศดานบริการ (Service Excellence) คือการใหบริการแบบทั่วถึง มีไหวพริบ เพื่อความเยี่ยมยอดทางดานคุณภาพของการใหบริการ 1) บริษัทมีสํานักงานบริการเอไอเอส 27 สาขาทั่วประเทศไทยที่พรอมใหบริการอยางครบวงจร และบริษัทยังไดนําเครื่องสอบถามขอมูลอัตโนมัติ (Auto Service Kiosk) มาใชบริการ เพื่อใหผูใชบริการสามารถดูขอมูลและทําธุรกรรมไดดวยตนเอง 2) ราน Telewiz ที่มีอยูมากกวา 350 สาขาทั่วประเทศไทย เพื่อรองรับความตองการจาก ผูใชบริการทั่วประเทศไทย 3) AIS Call Center 1175 ใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง ดวยพนักงานที่ไดรับการฝกอบรมมาเปน อยางดี 4) www. ais900.com ซึ่งตอบรับชีวิตยุคใหมดวย Web Service ที่มขี อมูลครบทุกเรื่อง ไดทุกที่ ซึ่งใหทั้งขอมูลและบริการ - ความเปนเลิศในดานบุคลากร (People Excellence) คือการมุงมั่นพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางจริงจังและสมํ่าเสมอ เพื่อปรับปรุงความสามารถ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในการทํางานของพนักงาน บริษัทใชมาตรฐานในการพัฒนาบุคลากร ทั่วประเทศ เพื่อไปสูเปาหมายเดียวกัน คือ สรางสรรคสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อความพึงพอใจของลูกคา ความเปนเลิศใน 4 ดานดังกลาว มีสวนชวยในการเพิ่มมูลคาการลงทุนใหแกผูถือหุนเปนอยางมากในชวง หลายปที่ผานมา ผูใชบริการใหมที่เขาสูระบบเครือขายของ เอไอเอส มาอยางตอเนื่องนั้น สวนใหญแลวจะ เปนผูใชบริการที่มีคุณภาพดีทั้งสิ้น สวนที่ 2 หนา 12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

3.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ ธุรกิจหลักของกลุมบริษัทไดแกธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการที่เกี่ยวของ โดยมีรายละเอียดการประกอบธุรกิจ ดังนี้ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ ลักษณะการใหบริการของบริษัท สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลักๆ ไดแก (1) การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยมีบริษัท และบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท เปนผูใหบริการ รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม มีสัดสวนประมาณรอยละ 75 ของรายไดจาก ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทในป 2545 (2) การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตางๆ ที่เกี่ยวของ รายได จากการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และการใหบริการตางๆ คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 25 ของรายไดจากธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทในป 2545 (1) การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ผูใหบริการตองไดรับอนุญาต และมีสัญญารวมการ งานของ ทศท. หรือ กสท. เทานั้น โดยบริษัทนั้น ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ในยานความถี่ 900 MHz ทั้งระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM ทั่วประเทศแบบคูขนานกันไป เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2558 สวน DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการวิทยุ โทรคมนาคม ระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 หรือ ระบบดิจิตอล GSM 1800 ทั่วประเทศ เปน ระยะเวลาเริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 บริษัทใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ซึ่งเปนคลื่นความถี่ต่ํา โดยมี ลักษณะเฉพาะ คือ ครอบคลุมพื้นที่ไดกวางกวาคลื่นความถี่สูง ทั้งนี้ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัท แบงตามระบบที่ใชไดเปน 2 ระบบ คือ ระบบดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT 900 สําหรับ DPC ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 1800 MHz หรือ GSM 1800 ซึ่งมีลักษณะการใหบริการเหมือนกับโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบดิจิตอล GSM Advance แตกตาง กันเพียงเปนโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ใชคลื่นความถี่สูง มีลักษณะเฉพาะคือ ครอบคลุมพื้นที่ไดแคบกวา คลื่นความถี่ต่ํา แตสามารถใหบริการไดดีในพื้นที่ที่มีความตองการใชบริการที่หนาแนน ปจจุบัน เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 สามารถใหบริการในเขตพื้นที่ใหบริการในเขต กรุงเทพมหานคร และตัวเมืองในจังหวัดใหญ เชน เชียงใหม นครราชสีมา หาดใหญ เปนตน การ ใหบริการในเขตจังหวัดอื่นๆ DPC จะใหบริการผานเครือขายรวมกับเครือขายของบริษัท และในเขต กรุงเทพมหานครบริษัทจะใหบริการผานเครือขายรวมกับเครือขายของ DPC โดยมีสัญญาการใช บริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง DPC กับบริษัท

สวนที่ 2 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะสําคัญของทั้งระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM มีดังนี้ - ระบบอนาลอก NMT เปนการสงสัญญาณในลักษณะเดียวกันกับการสงคลื่นวิทยุทั่วไป ระบบอนาลอก NMT เหมาะสําหรับ ลูกคาที่ตองการใชเพียงบริการขั้นพื้นฐาน และมีพื้นที่ครอบคลุมทั่วประเทศ กลุมลูกคาเปาหมายของ ระบบนี้ คือ ลูกคาในพื้นที่ตางจังหวัดเปนสวนใหญ อยางไรก็ตาม เนื่องจากระบบนี้เปนระบบที่ลาสมัย อีกทั้งยากแกการจัดหาอุปกรณมาบํารุงรักษา รวมถึงคุณภาพที่สูระบบ Digital ไมได ทําใหตองมีการ Migrate ลูกคาใหมาใชระบบ GSM Advance ที่มีคุณภาพดีกวามาก ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545 ผูใชบริการในระบบนี้เหลืออยูเพียงแค 3,400 ราย - ระบบดิจิตอล GSM ระบบดิจิตอล GSM เปนระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอลที่ไดมาตรฐาน และมีจํานวนประเทศที่ ใหบริการมากที่สุดในโลกคือกวา 95 ประเทศ บริษัทและบริษัทยอยมีการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบดิจิตอล GSM ในสองยานคลื่นความถี่ คือ 900 MHz (GSM Advance) และ 1800 MHz (GSM 1800) ซึ่งโดยปกติแลวโทรศัพทระบบดิจิตอล GSM สามารถใหบริการเสริมในรูปแบบตางๆ ที่ นอกเหนือจากการบริการทางดานเสียง ไดหลากหลายตามวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี บริษัทคาดวา ลูกคาที่จะใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในทั้งสองคลื่นความถี่ คือ ลูกคาที่ตองการ ใชบริการที่มากกวาการใหบริการขั้นพื้นฐานเพียงอยางเดียว แตอยางไรก็ตาม บริการตางๆ ที่ นําเสนอโดยบริษัทนั้น จะมีความแตกตางกันตามความเหมาะสมของกลุมลูกคาเปาหมายของสินคา แตละชนิด ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545 ผูใชบริการในระบบ GSM Advance มีอยูประมาณ 2.23 ลาน ราย และในระบบ GSM 1800 มีอยูประมาณ 2.89 แสนราย โดยมี ARPU เฉลี่ยทั้งป อยูที่ 1,170 บาท 1,043 บาทตามลําดับ นอกเหนือจากคุณสมบัติดังกลาวแลว ระบบดิจิตอล GSM ยังมีจุดเดนอื่นๆ อนาลอก NMT ดังตอไปนี้

ที่แตกตางจากระบบ

(ก) บริการพิเศษ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM มีบริการเสริมพิเศษที่ใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย อาทิ การรับสง E-Mail ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยไมจําเปนตองเปนสมาชิกเครือขายอินเตอรเน็ตใดๆ (Internet Integration) การรับขอความจากสมาชิกเครือขายอินเตอรเน็ตทั่วโลก (Web Messaging) และการสงขอความสั้นผานหนาจอของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ (Short Message Service) เปนตน ในขณะที่บริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบอนาลอก NMT เปนบริการ เสริมที่เปนลักษณะพื้นฐาน อาทิ การฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mail Service) การประชุม ทางโทรศัพท (Conference Call) และการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) เปนตน (ข) บริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) ผูใชบริการในระบบดิจิตอล GSM สามารถนําเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และ SIM Card ไปใช บริการขามเขตพรมแดนในประเทศอื่นๆ เพียงแจงขอเปดใชบริการขามแดนอัตโนมัติกับบริษัท เทานั้น ปจจุบันโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM Advance สามารถใชบริการขามแดนอัตโนมัติไดกวา 95

สวนที่ 2 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ประเทศ 220 เครือขายทั่วโลก (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545) สวน GSM 1800 นั้นคาดวา จะสามารถเปดใหบริการไดในอนาคต นอกจากการแบงประเภทของการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามระบบที่ใชเปนระบบอนาลอก NMT และระบบดิจิตอล GSM แลว บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทและ DPC ยังสามารถแบง ตามวิธีการเรียกเก็บคาบริการออกเปน 2 ประเภท คือ บริการที่ชําระคาบริการรายเดือน Postpaid เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ผูใชบริการมีพันธกรณี โดยตองจดทะเบียน และชําระคาธรรมเนียมรายเดือน (Monthly Fee) รวมถึงคาใชบริการ โทรศัพทซึ่งมีการคิดเปนนาที (Airtime) ผูใชบริการ จะชําระคาบริการรายเดือน และคาใชบริการ โทรศัพททุกสิ้นเดือน หลังจากที่มีการใช บริการแลว เครือขายที่ใหบริการแบบ Postpaid มี ดังตอไปนี้ o Cellular 900 เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบอนาลอก ซึ่งใชเทคโนโลยีเอ็นเอ็มที (NMT Technology) ในป พ.ศ. 2545 “Cellular 900” ไดถกู วางตําแหนงทางการตลาดให เปนบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่แบบพื้นฐาน กลาวคือ เปนการใหบริการสื่อสารทางเสียงเปน สวนใหญ ภายใตเครือขายที่ครอบคลุมทั่วประเทศ อยางไรก็ตามในชวงป พ.ศ. 2545 ผูใชบริการของ เอไอเอส ในเครือขาย Cellular 900 จํานวนมาก ไดเปลี่ยนมาใชบริการใน เครือขาย GSM ของ AIS ที่ใหบริการดวยระบบดิจิตอล ซึ่งสามารถตอบสนองความตองการ การใชงานในชีวิตประจําวันไดมากกวา ดวยเหตุนี้ ผูใชบริการในระบบ Cellular 900 จึง เหลืออยูนอยมาก และเอไอเอสไดยุติกิจกรรม สงเสริมการขายในระบบ Cellular 900 ลงแลว o GSM Advance เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล ซึ่งใชเทคโนโลยี GSM ในยาน ความถี่ 900MHz “GSM Advance” เหมาะสําหรับกลุมผูใชบริการที่มีความตองการในการ สื่อสารที่ มากกวาการโทรออกและรับสาย เนื่องจาก ‘GSM Advance’ เปนการใหบริการ ในระบบดิจิตอล digital ที่มปี ระสิทธิภาพสูงกวา และสามารถใชบริการเสริมตางๆ (Value Added Service) โดยเฉพาะบริการทางดาน non-voice ที่หลากหลาย ทําใหผูใชบริการ สามารถดําเนินชีวิตประจําวันไดอยาง เหนือระดับ และสมบูรณแบบ ทั้งในดานสวนตัวและ การทํางาน o GSM 1800 เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบดิจิตอล ซึ่งใชเทคโนโลยี GSM ในยาน ความถี่ 1800MHz ดําเนินการใหบริการโดย DPC “GSM 1800” ไดถูกวางตําแหนง ทางการตลาดใหเปนบริการที่เหมาะสม กับผูใชบริการขั้นพื้นฐานที่ตองการชําระคาบริการ แบบ Postpaid โดยเซ็นสัญญาการใชบริการ ตอนจดทะเบียนและชําระคาบริการหลังการใช บริการแลว บริการที่ชําระคาบริการลวงหนา Prepaid นั้น ไมตองมีการลงทะเบียนและไมตองมีการชําระ คาธรรมเนียมรายเดือน ผูใชบริการสามารถเปดเลขหมาย และใชบริการไดทันทีหลังการซื้อ และ สามารถเติมจํานวนเงินไดอยางสะดวกสบาย ไมวาจะเปนการซื้อบัตรเติมเงินจากตัวแทน จําหนายที่มีอยูทั่วประเทศ หรือ โดยการบริการเติมเงินผานเครื่อง ATM ของเกือบทุกธนาคาร ทั่วประเทศ บริการ Prepaid มีชื่อบริการวา “1-2-Call!” ที่มีจุดขายคือ ‘อิสระแหงการสื่อสารของ คุณ’ ผูใชบริการมีอิสระในการจัดการคาใชจาย และคาใชบริการไดตามตองการ

สวนที่ 2 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

(2)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งระบบ Postpaid และ Prepaid (1-2-Call!) รวมถึงชุด Starter Kit และบัตรเติมเงินของสินคา Prepaid นั้น ทางบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด จะเปนผูจ ําหนาย ใหกับตัวแทนจําหนายของบริษัท ทั้งตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” ตัวแทน จําหนายทั่วไป (Dealer) การจําหนายตรง (Direct Sales) และการจําหนายใหแกลูกคากลุมบริษัท ตางๆ (Corporate Sales) นอกจากนี้ยังมีผูจัดจําหนายทั่วไป ที่ขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนในระบบ ดิจิตอล GSM ไดแก บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด และ บริษัท สามารถ อี-เทรดดิ้ง จํากัด สวนการจําหนายบัตรเติมเงินของระบบ Prepaid นั้น จะมีการเพิ่มชองทางไปยังกลุมของรานคาที่ไมใช รานขายอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง (Non-telecom Shop) เพื่อใหสามารถเขาถึงผูใชบริการ ของ 1-2-Call! ไดดียิ่งขึ้น ทําใหผูใชบริการมีความสะดวกสบายในการซื้อบัตรเติมเงินเพิ่มขึ้น ชองทาง ดังกลาวจะประกอบไปดวย 1. รานคาขายสง (Wholesalers) ทําหนาที่เปนตัวแทนจําหนายในแตละพื้นที่โดยจะทําการกระจาย บัตรเติมเงินไปใหกับรานคายอยในพื้นที่ของตัวเอง เชน รานหนังสือ, ราน VDO 2. กลุมรานคา Key Accounts จะเปนรานคาที่มีรานสาขา (Chain Store) หลายๆ สาขา เชน ราน สะดวกซื้อ (Convenience Store) และ ปมน้ํามัน โดยกลุมรานคา Key Accounts จะเปนผูกระจายบัตร เติมเงินไปยังรานสาขาของตัวเอง 3. ตู ATM โดยผูใชบริการสามารถเติมเงินดวยตนเองโดยใชบริการตัดชําระบัญชีผานทางตู ATM ของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน), ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน), ธนาคารทหารไทย (จํากัด), ธนาคารเอเซีย จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (จํากัด) 4. Electronic Payment Service (EPS) ลูกคา 1-2-Call! สามารถเติมเงินผานทางอุปกรณ EPS ไดตามจุดชําระเงินตางๆเชน Power Buy, 1-2-Call! shop เปนตน 5. Internet เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคา บริษัทจึงไดเปดบริการทาง Internet ผานทาง web site: www.One-2-Call!.com เพื่อเปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับการชําระเงิน ซึ่งในระยะแรกไดเปด ใหบริการเฉพาะกับลูกคาธนาคารกสิกรไทย (จํากัด) เทานั้น

สําหรับการใหบริการอื่นๆ บริษัทมีสํานักงานบริการซึ่งเปนสาขาของบริษัทเพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการเกี่ยวกับงาน ทะเบียนตางๆ และรับชําระคาบริการจากผูใชบริการ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทมีสํานักงาน บริการทั้งสิ้น 27 แหง อยูในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 15 แหง และในพื้นที่ตางจังหวัดอีก 12 แหง นอกจากนั้น สํานักงานบริการบางแหงใหบริการตรวจเช็คสภาพและซอมเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการ แลกเปลี่ยนเครื่องโทรศัพทและจําหนายเครื่องโทรศัพทพรอมทั้งอุปกรณเสริมอีกดวย

สวนที่ 2 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

3.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การตลาดและภาวะการแขงขัน (1) กลยุทธทางการตลาดและกลุมลูกคาเปาหมาย บริษัทดําเนินธุรกิจเปนผูใหบริการเครือขายระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งมีรายไดจากการที่ลูกคาใชบริการ ติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายของบริษัทตามระยะเวลาและจํานวนครั้งที่ใช ดังนั้นแนวทางในการเพิ่ม รายไดใหบริษัทคือ การเพิ่มจํานวนผูใชบริการในระบบใหมากขึ้น และการทําใหลูกคาเพิ่มระยะเวลาและ จํานวนครั้งในการใชบริการเครือขาย กลยุทธทางการตลาดที่บริษัทใชเพื่อใหบรรลุแนวทางขางตนมีดังนี้ (ก) การสราง Brand Identity และ Brand personality ใหกับสินคาของบริษัท เพื่อสื่อใหผูบริโภคได ทราบถึงจุดเดนของสินคาแตละตัวที่มีคุณสมบัติแตกตางกันเพื่อเสนอเปนทางเลือกของผูบริโภคที่มี ความตองการแตกตางกัน (ข) การขยายฐานลูกคาใหม บริษัทใหความสําคัญในการขยายฐานลูกคาใหม โดยบริษัทไดกําหนดแนวทางสําหรับแตละผลิตภัณฑไว ดังนี้ -

GSM Advance ระบบดิจิตอล GSM Advance เปนระบบที่มีเทคโนโลยีสูงกวาระบบอนาลอก NMT ทําให สามารถใหบริการไดมากกวาการสื่อสารทางเสียง ซึ่งกลุมลูกคาเปาหมายคือลูกคาทั่วประเทศที่ รักความทันสมัยและตองการใชบริการที่มีคุณภาพสูงและบริการเสริมที่หลากหลาย ซึ่งบริษัทจะ เนนการขยายฐานลูกคาใหมสําหรับระบบดิจิตอล GSM Advance โดยเพิ่มบริการเสริมพิเศษ ตางๆ

- 1-2-Call! เนื่องจากจุดขายของโทรศัพท 1-2-Call! คือ บริการสําหรับลูกคาที่ตองการความอิสระในการ ควบคุมคาใชจาย โดยจะไมมกี ารจายคาบริการรายเดือน และไมตองจดทะเบียนเลขหมาย บริษัทจึงจัดกลุมลูกคาเปาหมายเปนคนละกลุมกับกลุมลูกคาที่เปนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในลักษณะ Postpaid โดยกลุมลูกคาเปาหมายของโทรศัพท 1-2-Call! ไดแก ลูกคาประเภท วัยรุนที่เริ่มใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ลูกคาที่ใช Airtime ในระดับคอนขางต่ํา และลูกคาที่ไม ประสงคจะระบุชื่อในการขอจดทะเบียนเลขหมาย - GSM 1800 บริษัทไดวางตําแหนงของผลิตภัณฑของ GSM 1800 ซึง่ ดําเนินกิจการโดย DPC เปน โทรศัพทเคลื่อนที่สําหรับลูกคาที่ตองการการติดตอที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งพื้นที่บริการ และ คุณภาพของเครือขาย แตเปนความตองการการสื่อสารขั้นพื้นฐาน เชน การสื่อสารดวยเสียง หรือบริการเสริมขั้นพื้นฐานที่ไมตองการการใชงานที่ซับซอน ซึ่งกลุมลูกคาเปาหมายนี้มเี ปน จํานวนมากโดยเฉพาะในตลาดภูมิภาคที่ยังมีจํานวนผูใชมือถือไมสูงมากนัก นอกเหนือจากการกําหนดแนวทางของแตละผลิตภัณฑแลว ทางบริษัทยังไดกําหนดแนวทาง ดานการมุงเนนขยายฐานลูกคาในตลาดภูมิภาค ซึ่งเปนจุดที่ทางบริษัทมีความไดเปรียบในการ แขงขันเหนือผูประกอบการอื่นๆ จากการที่บริษัทมีโครงขายที่มีพื้นที่ครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นบริษัทจึงสามารถทํากิจกรรมทางการตลาดอยางตอเนื่องเพื่อขยายฐานลูกคาไดทันที ซึ่ง สวนที่ 2 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปนการยึดตลาดกอนการเขามาของคูแขงขัน ในขณะที่ ผูประกอบการรายอื่นจะมุงเนนการ ทําตลาดเฉพาะในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลซึ่งมี ผูแขงขันมากราย ประกอบกับเปนตลาดที่ มีจํานวนผูใชมือถือคอนขางสูง เมื่อเทียบกับประชากรที่อาศัยอยูในเขตนี้ (ค) การมุงรักษาฐานลูกคาเกา เพื่อเปนการรักษาฐานลูกคาเกา บริษัทจึงเนนการใหบริการที่มีประสิทธิภาพ มีการดําเนินกิจกรรม ทางการตลาดในชวงระยะเวลาตางๆ เพื่อสนองความตองการของลูกคาและสรางความพึงพอใจ สูงสุดใหกับลูกคา โดยบริษัทไดมีการเสนอสิทธิพิเศษตางๆ ใหกับลูกคาอยางตอเนื่อง ซึ่งบริษัท จะมีการจัดกลุมลูกคาออกเปนกลุมยอยและเสนอสิทธิพิเศษที่แตกตางกัน เพื่อใหสามารถ ตอบสนองไดตรงตามความตองการของลูกคาแตละประเภท (Segmentation) โดยพิจารณาถึง ระบบที่ใชบริการ, วิธีการดํารงชีวิต, พฤติกรรมการใชบริการและการชําระเงิน ฯลฯ รวมถึง พิจารณาปจจัยดาน Profitability ประกอบกันดวย ซึ่งปที่ผานมานี้ การขยายบริการใหลูกคาไดรับ ความสะดวกขึ้น โดยใหรานเทเลวิซเขามามีสวนรวมในงานบริการตางๆ รวมถึงการดูแลลูกคา ทั้งหมด (ง) การพัฒนารูปแบบบริการเสริมพิเศษ บริษัทยังคงมุงมั่นในการพัฒนารูปแบบบริการเสริมพิเศษใหมๆ ใหกับผูใชบริการ เพื่อตอบสนอง ความตองการของลูกคาอยางตอเนื่อง รวมถึงการเพิ่มรายไดใหกับบริษัท นอกจากนั้น บริษัทยัง ไดมีนโยบายที่จะพัฒนาการใหบริการแบบ Non-Voice รูปแบบอื่นๆ สําหรับระบบดิจิตอล GSM ซึ่งถือไดวาเปนเทคโนโลยีชั้นสูงที่ใหบริการแกลูกคาในหลายรูปแบบ เพื่อรักษาภาพลักษณของ ผูนําในดานเทคโนโลยีและบริการรูปแบบใหม และเปนการสรางความพึงพอใจใหแกลูกคาบริการ Non-Voice GPRS การนําเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) มาใชกับเครือขาย GSM จะสามารถ เชื่อมโยงเครือขาย GSM กับเครือขาย Internet Protocol (IP) ภายนอกได และ ทําการสงขอมูลได สูงถึงระดับ 40 Kbps. (Kilobit per Second) วิธีการคิดคาใชบริการ ก็จะ คิดตามปริมาณการรับ-สง ขอมูลผานเครือขาย MMS เปนการสงขอความรูปแบบใหมที่สามารถสงขอความไดหลากหลายรูปแบบมากขึ้นไมวาจะเปน รูปภาพสี ตัวอักษร และเสียง ไปยังโทรศัพทมือถือหรือ E-mail address ของบุคคลที่ตองการ (จ) การขยายและพัฒนาระบบเครือขาย เนื่องจากคุณภาพและพื้นที่บริการของเครือขายเปนปจจัยที่สําคัญสําหรับ ธุรกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ดังนั้น บริษัทจึงมุงมั่นที่จะขยาย และพัฒนาเครือขายเพื่อสรางความแตกตาง จากคูแขงขัน โดยบริษัทไดเรงขยาย เครือขายของระบบดิจิตอล GSM ใหครอบคลุมพื้นที่ใหมาก ขึ้น ซึ่งนอกเหนือจากการขยายพื้นที่ภายนอกอาคารแลว บริษัทยังใหความสําคัญกับการขยาย พื้นที่การใหบริการรวมทั้งเพิ่มความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาในอาคาร (In-building

สวนที่ 2 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Coverage) ดวยเชนกัน โดยเฉพาะอาคารที่เปนจุดสาธารณะตางๆ เชน อาคารสํานักงาน ศูนยการคา รวมไปถึง ที่จอดรถยนต และ โรงแรมชั้นนําตางๆ เปนตน นอกจากนี้การที่บริษัทไดเขาไปถือหุนใน DPC และมีการอนุญาตใหใชเครือขายรวม (Network Roaming) กันไดทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM Advance และ GSM 1800 ซึ่งจะทําให คุณภาพของ การใหบริการของทั้งสองระบบดีขึ้น นอกจากนี้ บริษัทยังสมารถประหยัดเงินลงทุนที่ใชในการขยาย เครือขายไดจากการวางแผนการขยายเครือขายรวมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถใน การรองรับของเครือขายใหมากที่สุด มีการใชความถี่ของทั้งสองระบบใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่ง เปนการลดความซ้ําซอนของการลงทุน และไดประโยชนจากการประหยัดตอขนาด (Economy of Scale) ในการจัดซื้ออุปกรณ และการใชสถานที่ตั้ง (Location) สถานีฐาน (Base Station) รวมกัน เปนตน (ฉ) การใหความสําคัญกับบริการหลังการขาย บริษัทไดจัดใหมีโครงการที่จะใหบริการหลังการขายใหกับลูกคาอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเชน -

-

-

-

-

Call Center เปนศูนยกลางขาวสารขอมูลที่มีประโยชนไดมาตรฐานและถูกตอง สําหรับ ผูใชบริการดวยบริการที่สะดวกสบาย รวดเร็ว โดยผูใชบริการสามารถติดตอสอบถามหรือ ใหคําแนะนําเกี่ยวกับการใชบริการ เครือขายการใหบริการ บริการเสริม หรือรายละเอียด ตางๆ รวมถึงการใชงานมือถือในแตละรุน เปนตน Service Dealer จัดโครงการอบรมใหตัวแทนจําหนาย และพัฒนาศักยภาพของตัวแทน จําหนายใหมีความสามารถบริการซอมโทรศัพทเคลื่อนที่ใหกับลูกคาโดยจะใหมตี ัวแทน จําหนายที่ใหบริการ (Service Dealer) กระจายอยูทุกจังหวัดทั่วประเทศ Temp-O-Phone ในกรณีที่ลูกคาตองนําเครื่องเขาตรวจซอม ศูนยบริการของบริษัทจะมี บริการเครื่องทดแทนใหใชชั่วคราว ในกรณีที่ไมสามารถซอมเครื่องเสร็จภายใน 24 ชั่วโมง Service Caravan เปนศูนยบริการเคลื่อนที่เพื่อใหบริการตรวจซอมตัวเครื่องโทรศัพท เคลื่อนที่ใหกับลูกคาในจังหวัดหลักทั่วประเทศ การพัฒนาระบบการลงทะเบียน บริษัทไดพัฒนาระบบการลงทะเบียนเพื่อใหผูใชบริการ ไดรับความสะดวกมากขึ้น ผูใชบริการสามารถจดทะเบียนไดทุกวัน ซึ่งเมื่อลงทะเบียน แลวภายใน 3 ชั่วโมง ก็สามารถใชโทรศัพทโทรออกหรือรับสายเขาไดทันที และทาง บริษัทยังไดอํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ โดยการเพิ่มงานบริการงานทะเบียน กวา 30 รายการ เชน การเปลี่ยน SIM Card และ การใหบริการขามแดนอัตโนมัติ เปน ตน ผานทาง Telewiz ที่มสี าขาตางๆ กระจายอยูทั่วประเทศ ตลอดจน บริการรับ เปลี่ยนแปลงทะเบียนทางไปรษณียสําหรับผูใชบริการที่ไมสะดวกที่จะมาติดตอกับ ศูนยบริการหรือสํานักงานสาขาของบริษัท การอํานวยความสะดวกดานการรับชําระเงิน บริษัทไดทําการขยายจุดรับชําระเงินและ เพิ่มวิธีการชําระเงิน เพื่อใหผูใชบริการมีชองทาง ในการชําระคาใชบริการไดตรงตาม ความตองการและไดรับความสะดวกมากที่สุด โดย ผูใชบริการสามารถชําระคาบริการ ดวยเงินสดและบัตรเครดิตผานสํานักงานบริการ สํานักงานสาขาของบริษัท ศูนยบริการ เทเลวิซ การชําระคาบริการดวยเงินสด ที่เคานเตอรธนาคารพาณิชย การชําระคาบริการ

สวนที่ 2 หนา 19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดวยบัตรเอทีเอ็ม การชําระเงินในบัตร Prepaid Card หรือการเติมเงินโดยการตัดชําระ บัญชีธนาคารโดยผานตูเอทีเอ็ม การชําระ คาบริการทางโทรศัพท (Telepayment) การ ชําระเงินผานทาง Internet การชําระเงินผาน ทางอุปกรณ Electronic Payment Service ซึ่งตั้งอยูตามจุดชําระเงิน ของรานคาชั้นนําตางๆ หรือ โดยหักบัญชีธนาคาร นอกจากนั้น ผูใชบริการยัง สามารถชําระคาบริการ ณ ที่ทําการไปรษณีย หรืออาจจะชําระคาบริการ ทางไปรษณีย โดยตั๋วแลกเงินไปรษณีย ธนาณัติ หรือเช็ค นอกจากนี้ชองทางการชําระ เงินใหมไดแก ชําระทางอินเตอรเน็ตผานทาง Service on the net ชําระผาน GSM mobileLIFE ชําระผานจุดรับชําระเงินอัตโนมัติ (KIOSK) ซึ่งตั้งอยู ณ สํานักงานบริการ AIS ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) การจําหนายและชองทางการจําหนาย ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหลูกคาเขาใชบริการในระบบเครือขาย สวนใหญจะ ดําเนินการไปพรอมกับการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งบริษัทมีชองทางการจําหนายสําหรับ เครื่องโทรศัพทในระบบดิจิตอล GSM Advance ระบบอนาลอก NMT ระบบ 1-2-Call! และ ระบบดิจิตอล GSM 1800 ดังนี้ (ก) การจําหนายผานตัวแทนจําหนาย บริษัทมีหลักเกณฑในการแตงตั้งตัวแทนจําหนายโดยพิจารณาจากทําเลที่ตั้งศักยภาพ และสถานะ ทางการเงินเปนสําคัญ เพื่อใหบริษัทมีความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งวาตัวแทนจําหนายนั้นมีศักยภาพ เพียงพอในการดําเนินธุรกิจและดูแลลูกคาไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้สําหรับพื้นที่ตางจังหวัด การ แตงตั้งตัวแทนจําหนายจะแตงตั้งผูที่มีความคุนเคยในพื้นที่และเปนนักธุรกิจรายใหญของพื้นที่ เปน สําคัญ ตัวแทนจําหนายจะแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ ตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทมีตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชสจํานวนทั้งสิ้นมากกวา 100 รายโดยมีรานคายอยมากกวา 300 แหงทั่วประเทศ โดยบริษัทจะใหสิทธิตัวแทนจําหนาย ในระบบ แฟรนไชสในการดําเนินการ ภายใตสัญญาใหสิทธิใชเครื่องหมายการคาจําหนายสินคา และบริการ โดยมีอายุสัญญา 1 ป ดังนี้ 1) สิทธิในการจําหนายสินคา ภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัท 2) สิทธิในการใหบริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ใหบริการเกี่ยวกับงานทะเบียนตางๆ และ เปนผูใหบริการรับชําระคาบริการหรือคาใชจายอื่นใด บริษัทจะเปนผูกําหนดเงื่อนไข และควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของการใหบริการ แนวทางใน การดําเนินการของตัวแทนจําหนาย เชน การเลือกและพัฒนาสถานที่ การโฆษณาและสงเสริม การ ขาย วิธีการรับชําระเงิน เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่บริษัทกําหนด ในการเขาเปนตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตองมีการชําระคาสิทธิในการใชเครื่องหมาย การคาเริ่มแรก 100,000 บาท และถามีการขยายเขตการจําหนายตองชําระคาสิทธิเพิ่มอีกจํานวน 50,000 บาทตอเขตจําหนาย

สวนที่ 2 หนา 20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทมีตัวแทนจําหนายจํานวนทั้งสิ้นกวา 700 ราย โดย ตัวแทนจําหนายทั่วไปนี้ไดรับแตงตั้งใหเปนผูจําหนายสินคาของบริษัท ไดแก เครื่องโทรศัพท เคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว, ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทั้งอุปกรณเสริมตางๆ นอกเหนือจากรายไดจากการจําหนายสินคาและบริการแลว ตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภท จะได รับคาตอบแทนจากการลงทะเบียนใหลูกคา เปนสมาชิกการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ ดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT ตามอัตราที่บริษัทกําหนด ตัวแทนจําหนายระบบ 1-2-Call! นอกเหนือจากการจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call! ผานระบบตัวแทนจําหนายเดียวกันกับดิจิตอล GSM Advance และระบบอนาลอก NMT แลว บริษัทยังไดจําหนายบัตรเติมเงิน ผานชองทางการ จําหนายรูปแบบใหม เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคาในการหาซื้อบัตรเติมเงิน โดยการขยาย ชองทางการจัดจําหนายไปในธุรกิจอื่นๆ ที่ไมใชรานขายโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง เชน รานขาย หนังสือ รานสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ํามัน รานจําหนายซีดี-เทป เปนตน โดยบริษัทจัดทําสัญญา แตงตั้งตัวแทนจําหนายใหจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call! จํานวนตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภทของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 มีดังนี้ จํานวนตัวแทนจําหนาย เครื่องโทรศัพท ระบบแฟรนไชส ทั่วไป กรุงเทพมหานคร

47 ราย

165

จํานวนตัวแทนจําหนาย บัตรเติมเงินระบบ 1-2-Call! Key Wholesalers Accounts 27 5

รวม

244

(138 สาขา) จังหวัดอื่น ๆ

65 ราย

516

-

52

633

681

27

57

877

(217 สาขา) รวม

112 ราย (355 สาขา)

ตัวแทนจําหนายระบบ GSM1800 ณ 31 ธันวาคม 2545 DPC มีการจําหนายผลิตภัณฑโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 ผาน ตัวแทนจําหนายจํานวนกวา 500 ราย ซึ่งสวนใหญ จะเปนตัวแทนจําหนายรายเดียว กับที่ไดกลาว ขางตน อยางไรก็ตาม คาดวาในอนาคต บริษัท DPC จะใชชองทางการจําหนายและ บริการตางๆ รวมกับบริษัทมากขึ้น เพื่อเปนการขยายขอบเขตการจําหนายผลิตภัณฑและบริการ ไดอยางทั่วถึง

สวนที่ 2 หนา 21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(ข) การขายตรง บริษัทไมมุงเนนการแขงขันกับตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตัวแทนจําหนายทั่วไป แตจะ เนนการบริการใหแกกลุมลูกคาสถาบันซึ่งอาจมีความตองการใชงานโทรศัพทเพิ่มเติม โดยมีการซื้อ เปนจํานวนมากภายใตเงื่อนไขที่แตกตางกันตามลักษณะธุรกิจ โดยมีการจดทะเบียนในนามนิติ บุคคล เปนตน (3) ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน (ก) ภาวะอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยอยูภายใตการควบคุมของหนวยงานหลัก 2 หนวยงาน คือ ทศท. และ กสท. โดยหนวยงานทั้งสองดังกลาวสังกัดกระทรวงคมนาคม โดยงานดานการ ควบคุมคลื่นความถี่อยูในความรับผิดชอบของกรมไปรษณียโทรเลข ทศท. นอกจากจะมีฐานะเปนผูดูแลและควบคุมอุตสาหกรรมแลว ยังเปนผูใหบริการโทรศัพท พื้นฐานสําหรับการสื่อสารภายในประเทศ และระหวางประเทศเพื่อนบานที่มีพรมแดนติดตอกับ ประเทศไทย ในขณะที่ กสท. ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ นอกจากนี้ทงั้ ทศท. และ กสท. ยังใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แตภายใตเครือขายที่จํากัด ในชวงป 2545 อัตราคาใชบริการ และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่เรียก เก็บจากผูเปดใชบริการนั้นอยูภายใตการควบคุมของ ทศท. และ กสท. ผูใหสัญญารวมการงาน นั้นๆ รายไดสวนใหญของผูประกอบการมาจากคาบริการรายเดือน (Monthly fee) และคาใช โทรศัพท (Airtime) ซึ่งคิดเปนรายนาทีหรือรายวินาทีเฉพาะการโทรออก เทานั้น ณ สิ้นป 2545 ยัง ไมมีการคิดคาบริการสําหรับผูรับโทรศัพทปลายทาง ไมวาจะเปนการโทรในประเทศเขตพื้นที่ เดียวกัน ตางพื้นที่ หรือการโทรทางไกลทั้งในและตางประเทศ ยกเวนในกรณีที่เปนการใหบริการ ขามแดน (International Roaming) ผูประกอบการจะไดรับ รายไดทั้งจากการรับสายเขาและโทร ออก สัญญารวมการงานที่ ทศท. และ กสท. ทํากับเอกชนสําหรับการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ สามารถสรุปไดดังตอไปนี้ ผูใหสัมปทาน

บริษัทที่ไดรับสัมปทาน

1. ทศท.

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กิจการรวมคาไทย โมบาย

2. กสท.

บริษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) (DTAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) บริษัท ทีเอ-ออเรนจ จํากัด (TAO) บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (HUTCH)

นอกเหนือจากบริษัทที่ไดทําสัญญารวมการงานกับ ทศท. และ กสท. ขางตนแลว ยังมี ผูประกอบการในภาครัฐอีก 2 ราย ไดแก ทศท. และ กสท. ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่มีการขยายตัวคอนขางสูง ป 2543 เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 20 และมีการ ขยายตัวเพิ่มอยางมากถึงรอยละ 118 ในป 2544 และ สูงขึ้นรอยละ 120 ในป 2545 สงผลให อัตราสวนของจํานวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยตอจํานวนประชากร 100 คน สวนที่ 2 หนา 22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(Penetration Rate) สูงขึ้นจากอัตรารอยละ 5.85 ในป 2543 เปน รอยละ 12.69 ณ สิ้นป 2544 และรอยละ 27.5 ณ สิ้นป 2545 ซึ่งเปนระดับที่ คอนขางสูงเมื่อเทียบกับปที่ผานมา อยางไรก็ตาม อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ยังคงมีแนวโนมที่จะเติบโตตอไปได (ข) การแขงขัน ธุรกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยในป 2545 นับวาเปนธุรกิจที่มีการแขงขัน สูงมากธุรกิจหนึ่งในภูมิภาคนี้ ผูใหบริการรายใหม 3 ราย ซึง่ ไดแก TAO, Thai Mobile และ HUTCH ไดเขาสูตลาดอยางเปนทางการ เพื่อแขงขันกับผูใหบริการเดิมอีก 2 ราย นั่นก็คือ บริษัท (ADVANC) และ DTAC ในการใหบริการลูกคาพรอมๆกับการพัฒนาธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ประเทศไทย ณ สิ้นป พ.ศ. 2545 ตลาดการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ไดประสบกับภาวะการ เติบโตที่สูงอยางเปนประวัติการณ โดยมีจํานวนผูใชบริการ รวมทั้งสิ้นเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 120 แมกระนั้นก็ตาม ผูใหบริการเดิม 2 รายยังคงรักษาสวนแบงการตลาดไวไดสูง โดยมีสวนแบงตลาด รวมกันแลว มากกวารอยละ 90 ในบรรดาผูใหบริการรายใหมทั้ง 3 ราย TAO ไดกาวเขามามีบทบาทอยางมาก ในการทําใหสภาพ การแขงขันทางธุรกิจพลิกโฉมไปอยางมีสาระสําคัญในป พ.ศ. 2545 ในชวงที่ TAO เขาสูตลาดใน ไตรมาสแรกของป กลยุทธการตลาด ที่นํามาใชในการแขงขัน คือ กลยุทธทางดาน ราคา สงคราม ทางดานราคาเริ่มปะทุขึ้น เมื่อมีการขายเครื่องลูกขาย ในราคาที่ตํ่ากวาทุน (Handset Subsidy) ขึ้น เปนครั้งแรกในประเทศไทย จากนั้น ผูใหบริการรายหนึ่งไดตอบโต โดยทําการ เปดเสรีเครื่องลูก ขายดวยการปลดล็อค IMEI อันมีผลทําให เครื่องลูกขายที่ซื้อมาจากที่ใดก็ตาม สามารถนํามาใชใน เครือขายของผูใหบริการรายนั้นได พรอมกันนี้ ผูใหบริการทุกรายยังมีการขาย SIM Card เปลาใน ราคาที่ถูกลง เพื่อเปนทางเลือกใหแกผูใชบริการรายใหมที่ไมตองการซื้อ SIM Card พรอมกับ เครื่องลูกขายในชุดเดียวกัน ในขณะเดียวกันนั้น การสงเสริมการขาย ก็เปนไปอยางรุนแรงเชนกัน โดยมีการลดราคาคาใชบริการโทรศัพทใหแกทั้งลูกคาใหมที่ซื้อ SIM Card พรอมเครื่องลูกขายใน ชุดเดียวกัน และลูกคาใหมที่ซื้อ SIM Card เปลาเชนกัน กิจกรรมทางการตลาดตางๆ ดังกลาว เหลานี้ ลวนแลวแตมีผลทําใหเกิดการขยายฐานผูใชบริการ ไปยังกลุมคนตางๆ ไดอยางรวดเร็ว ความนิยมของในการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดแพรขยาย ออกไปสูภูมิภาคตางๆทั่วประเทศ ซึ่ง กอใหเกิดการแขงขันที่ขยายวงกวางออกไปนอกจากเขต กรุงเทพฯ ซึ่งเริ่มเขาสูภาวะใกลถึงจุด อิ่มตัวแลว ในชวงไตรมาสที่สามของป ผูใหบริการตางก็ตระหนักถึงผลลัพทจากการแขงขันทางดานราคาที่ เปนไปอยางรุนแรง ณ เวลานั้น ถึงแมวาผูใหบริการตางก็มีผูใชบริการรายใหมเพิ่มขึ้นในระบบเปน จํานวนมาก แตผลกําไรจากการ ใหบริการนั้น กลับไมเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการ แขงขันทางดานราคาที่รุนแรงนั่นเอง ผูใหบริการจึงเริ่มมุงเนนไปทํากิจกรรม และสงเสริมธุรกิจที่ ชวยเพิ่มรายไดและยังมีกําไรที่สูงอยู

สวนที่ 2 หนา 23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตัวอยางเชน ความพยายามในการขยายและรักษาฐานลูกคาองคกรทั้งใหญและเล็กที่ยังมีคุณภาพที่ สูง เพื่อเปนการพยุงรายไดตอผูใชบริการ (ARPU) ที่มีแนวโนมลดลงอยางเห็นไดชัดเจน นอกจากนั้น เพื่อเปนการเพิ่มกําไรจากการประกอบการ ยังมีการใชเทคโนโลยีทางดานการสื่อสาร ขอมูลความเร็วสูง หรือที่เรียกวา GPRS เขามาชวย เพิ่มยอดการใชงาน โดยผูใหบริการบางรายนั้น มุงเนนไปที่การพัฒนาในกระแส “Digital Convergence” และบริการทางดานการสื่อสารไรสายอื่นๆ เชน Mobile Data และ Multimedia เปนตน ในชวงปลายป 2545 การแขงขันทางดานราคาหลงเหลืออยูเพียงเล็กนอย ถึงแมวา ตลาดเครื่องลูก ขายยังคงเปนตลาดเสรีอยู แตความรุนแรงของการแขงขันในสวนของ คาใชบริการ นั้นลดลงอยาง เห็นไดชัด ราคา SIM เปลา ไดถูกปรับขึ้น และถึงแมวาขอเสนอนั้นจะจูงใจนอยลง รวมถึงอัตรา การเติบโตของผูใชบริการในไตรมาสสุดทายนั้นไมสูงเทาใน 3 ไตรมาสแรกของปก็ตาม แตอัตรา การเติบโตของผูใชบริการก็ยังคงถือวาอยูในเกณฑดี ซึ่งสามารถชี้ใหเห็นวาธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ของประเทศไทยนั้น ยังไมนาจะถึงจุดอิ่มตัว และยังมีโอกาสในการเติบโตตอไป ถึงแมวาอัตราการเติบโตโดยรวมของฐานผูใชบริการเพิ่มสูงขึ้นเปนอันมาก แตธุรกิจโทรศัพท เคลื่อนที่ของไทย ณ สิ้นปพ.ศ. 2545 ยังมีอัตราผูใชบริการตอจํานวนประชากร (Penetration Rate) เพียงแครอยละ 27 ถึงแมวาอัตราผูใชบริการตอจํานวนประชากรนี้ ไดเพิ่มขึ้นมากกวาสองเทาจาก รอยละ 13 ในปกอนหนา แตโอกาสทางการตลาดยังคงมีอยู เนื่องจากประเทศไทยยังเปนประเทศ หนึ่งในภูมิภาคที่ยังคงมีอัตราผูใชบริการที่ต่ํากวาขนาดของประชากรอยูมาก หากการฟนฟูทาง เศรษฐกิจของประเทศยังคงดําเนินตอไปอยางตอเนื่อง และผูใหบริการรายใหมตองการที่จะมี บทบาทและสรางชื่อเสียงในตลาด อัตราการเติบโตนาจะยังคงมีอยูตอ ไป อยางไรก็ตาม โอกาสที่ ตลาดจะเห็นอัตราการเติบโตของฐานผูใชบริการที่เพิ่มขึ้นสูงกวารอยละ 100 นั้นไมนาจะเกิดขึ้นได งายๆ อีกตอไป พัฒนาการที่สําคัญอื่นๆ ในป พ.ศ. 2545 ซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ในดาน กฎระเบียบและขอบังคับ คือการแปรรูปของรัฐวิสาหกิจโทรคมนาคม 2 แหง และการจัดตั้ง กระทรวงใหมเพื่อทําหนาที่กํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม นัน่ คือ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที) ซึ่งมีภาระหนาที่ ที่สําคัญมากประการหนึ่ง ในการบริหารและกํากับดูแล กิจการโทรคมนาคม และเตรียมความพรอมใหกับ ธุรกิจโทรคมนาคม ของไทยเพื่อการแขงขันเสรีที่ กําลังจะเกิดขึ้น ในขณะเดียวกัน องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ก็ไดรับการแปรรูป และจด ทะเบียนเปนบริษัท มหาชน จํากัด ภายใตชื่อ บริษัท ทศท. คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในสวน ของการสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) นั้น ณ สิ้นป พ.ศ. 2545 กําลังอยูในขั้นตอนของการ ดําเนินการแปรรูปเพื่อเปนบริษัทมหาชนเชนกัน เหตุการณสําคัญอีกประการหนึ่งที่ทําใหการพัฒนาทางดานกฎระเบียบขอบังคับนั้นชะงักลง คือ การที่ศาลปกครองชั้นสูง ไดพิพากษาวา กระบวนการสรรหาและคัดเลือกคณะกรรมการกํากับดูแล กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) นั้นขัดตอรัฐธรรมนูญ จากคําพิพากษาดังกลาวมีผลทําให คณะกรรมการสรรหาหลายทานลาออก ซึ่งทําใหกระบวนการจัดตั้ง กทช. นั้นตองยอนกลับมา เริ่มตนใหมโดยจะตองจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาขึ้นใหมอีกครั้ง นอกจากนั้น จากการที่รัฐวิสาหกิจ ทั้งสองแหง ไดรับการแปรรูปหรือกําลังอยูในขั้นตอนของการแปรรูปใหเปนบริษัท มหาชน จํากัด

สวนที่ 2 หนา 24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โดยที่ยังไมมี กทช. นั้น สงผลให กระทรวงไอซีที เสนอแนวทางใหมของการแบงสวนแบงรายได โดยใหผูรับสัมปทานจัดแบงสวนแบงรายไดจากการดําเนินงานในเครือขายใหแกกระทรวงการคลัง ในรูปแบบของภาษีสรรพสามิตแทน อยางไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ยังไมมีขอ สรุป ที่ชัดเจนในเรื่องภาษีสรรพสามิตทางดานโทรคมนาคม รวมทั้งคาชดเชยสําหรับทั้ง ทศท. และ กสท. แมกระนั้นก็ตาม กระทรวงไอซีที ไดแสดงจุดยืนที่มั่นคงวา กิจการโทรคมนาคมตองไดรับการเปด เสรี และการใหสัญญารวมการงาน รวมถึงแนวทางของการแบงสวนแบงรายไดตองเอื้ออํานวยให เกิดการแขงขันอยางเสรีและ เปนธรรมสําหรับทั้งผูใหบริการรายใหมและรายเดิม ดวยเหตุนี้ การ จัดตั้ง กทช. คาดวานาประสบผลสําเร็จในปพ.ศ. 2546 ซึ่งจะมีผลทําใหทั้ง ทศท. และ กสท. ไดรับ การแปรสภาพเปนผูประกอบการอยางเต็มตัว ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของผูประกอบการแตละราย รายชื่อ ผูประกอบการ

ธันวาคม 2543 ผูใชบริการ สวนแบงการตลาด

ADVANC/1 TAC/2 DPC/3 TAO ทศท./4 กสท./5 รวม จํานวนประชากร อัตรารอยละของจํานวนผูใช โทรศัพทเคลื่อนที่ตอจํานวน ประชากร/6

ธันวาคม 2544 ธันวาคม 2545 ผูใชบริการ สวนแบงการตลาด ผูใชบริการ สวนแบงการตลาด

1,977,400 1,403,300 216,000

54.0 % 38.0 % 6.0 %

4,812,900 2,737,598 390,300

60.3% 34.2% 4.9%

20,204 36,507 3,653,411 62,648,000 5.83%

1.0 % 1.0 % 100.0 %

15,061 30,000 7,985,859 62,914,000 12.69%

0.2% 0.4% 100.0 %

10,370,400 5,454,600 289,200 1,336,200 11,373 15,000 17,476,773 63,430,000 27.55%

59.3% 31.2% 1.7% 7.6% 0.1% 0.1% 100.0 %

จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ สิ้นป 2544 มีจํานวน ทั้งสิ้น 7,985,859 คนหรือคิดเปน Penetration Rate ประมาณรอยละ 12.69 จากการแขงขันในดานราคาของคาใชบริการ และราคา เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ต่ําลง ทําใหจํานวนผูใชบริการมีการเพิ่มขึ้นอยางมากตั้งแตชวงตนป 2545 เปนตนมา จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ ธันวาคม 2545 มีจํานวนทั้งสิ้น 17,476,773 ราย หรือคิดเปน Penetration Rate ประมาณรอยละ 27.55 ซึ่งมีอัตราการ ขยายตัว ประมาณรอยละ 120 จากป 2544 โดยที่ TAO สามารถครองสวนแบงตลาดไดรอยละ 7.6 โดยมี ฐานลูกคาทั้งสิ้น 1,336,200 ราย

/1

ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก บริษัท ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก Web Site ของ TAC ที่ www.dtac.co.th /3 ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก บริษัท และ DPC /4 ตัวเลขจํานวนผูใชบริการจาก Web Site ของ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ที่ www.tot.or.th เปนตัวเลขจํานวนผูใชบริการลาสุดของ TOT ณ เดือน สิงหาคม 2545 โดยประมาณการใหคงที่ในเดือน ธันวาคม 2545 /5 ตัวเลขจํานวนผูใชบริการของ CAT จากการคาดคะเนของบริษัท /6 ประมาณการ Penetration Rate จากการคํานวณโดยใชตัวเลขจํานวนประชากร ณ สิ้นป /2

สวนที่ 2 หนา 25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(ค) การแขงขันจากอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ถึงแมวาโครงการโทรศัพทพื้นฐาน 4.1 ลานเลขหมายจะแลวเสร็จ บริษัทคาดวาอุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ยังสามารถขยายตัวตอไปไดอีก ทั้งนี้เนื่องจากขอจํากัดของโทรศัพทพื้นฐานเมื่อ เทียบกับโทรศัพทเคลื่อนที่ อาทิ - ความสามารถในการเขาถึงของโทรศัพทพื้นฐาน เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศไม เอื้ออํานวยหรือไมคุมตนทุนในการขยาย ดังนั้นการใชงานจึงยังไมสามารถครอบคลุมได ทุกพื้นที่ ซึ่งเปนขอไดเปรียบของโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีระบบสื่อสัญญาณหลายวิธี เชน ไมโครเวฟ เคเบิลใยแกว และดาวเทียม ที่สามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมของภูมิ ประเทศและสภาวะแวดลอมที่แตกตาง จึงทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่สามารถครอบคลุมพื้นที่ ไดทั่วประเทศไทย - การติดตั้งระบบโทรศัพทพื้นฐานเปนไปไดชากวาโทรศัพทเคลื่อนที่มาก ไมสามารถ ตอบสนองความตองการไดทันทวงที - โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถพกพาไปไดและใชบริการไดทันทีเมื่อตองการ ในขณะที่ โทรศัพทพื้นฐานสามารถพกพาไดเฉพาะผูที่ใช PCT เทานั้น ซึ่ง PCT มีขอจํากัด ในการ ใชเฉพาะเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเทานั้น 3.3

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ (1)

ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาของระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ขึ้นอยูกับความสามารถ ในการดําเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณของบริษัทและบริษัทยอย เพื่อขยายความสามารถในการ รองรับจํานวนผูใชบริการและขยายพื้นที่การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมากขึ้น จากการที่บริษัทไดรับอนุญาตใหสามารถดําเนินการใหบริการผานเครือขายรวม (Network Roaming) ได บริษัท และ DPC จึงไดรวมกันปรับแตง และพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทั้ง 2 บริษัท ใหเสมือนเปน เครือขายรวมที่สามารถรองรับการใชบริการไดทั้งในระบบ GSM 900MHz และ GSM 1800MHz (Dual-band Network) ไดอยางราบรื่น โดยใชขอดีของทั้งสองระบบ และทั้งสองคลื่น ความถี่ ใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของการใหบริการตอ ผูใชบริการ ที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก

สวนที่ 2 หนา 26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของเครือขาย GSM ของบริษัทและ DPC 12.0 ลานราย 10.0 8.0 6.0 4.0 2.0 0.0

ธันวาคม 2543

ธันวาคม 2544

ลูกคา GSM advance ลูกคา 1-2-Call!

ธันวาคม 2545

ลูกคา GSM 1800 ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา*

ธันวาคม 2543 ธันวาคม 2544 ธันวาคม 2545 ลูกคา GSM advance 1.157 2.260 2.234 ลูกคา GSM 1800 0.216 0.390 0.289 ลูกคา 1-2-Call! 0.355 2.289 8.136 ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา* 2.369 6.811 11.215 จํานวนสถานีฐานสะสม 2,849 5,276 7,893 หนวยลานราย ยกเวนจํานวนสถานีฐานสะสม * ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ณ สิ้นป 2545 คือ คาความสามารถของเครือขายรวม GSM 900-1800MHz

(2)

วิธีการจัดหาและแหลงที่มาของผลิตภัณฑ (ก) อุปกรณเครือขายของบริษัทและ DPC อุปกรณเครือขายสวนใหญจะนําเขาจากตางประเทศ โดยทีมวิศวกรที่เชี่ยวชาญทางดาน โทรคมนาคมและอุปกรณสื่อสารทั้งบริษัทและ DPC ตางจะพิจารณาถึงความเหมาะสม ในการ เลือกอุปกรณเครือขายที่ใชประกอบกันเพื่อใหบริการที่มีคุณภาพแกผูใชและใหเกิดประโยชน สูงสุด ปจจุบันทั้งบริษัทและ DPC จัดหาอุปกรณเครือขายหลักจากผูจําหนาย (Supplier) โดยตรงทั้งสิ้นรวม 7 ราย ดังนี้ ผูจําหนาย

ยี่หออุปกรณเครือขาย

Ericsson (Thailand) Limited

Ericsson

Nokia (Thailand) Limited

Nokia

Mitsui Company Limited

NEC

Siemens Limited

Siemens

Nortel Network Singapore Pte Limited

Nortel

Digital Microwave Corporation

DMC

Huawei Technology Company Limited

Huawei

สวนที่ 2 หนา 27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทและ DPC จะมีกลุมวิศวกรผูเชี่ยวชาญ และมีประสบการณสูงทางดานโทรคมนาคม และการ สื่อสาร เปนผูเลือกเทคโนโลยีและองคประกอบของเครือขายที่เหมาะสม เพื่อนํามาติดตั้งและ ปรับแตง เพื่อกอใหเกิดคุณภาพของเครือขาย และประโยชนที่สูงสุด โดยรวม เครือขายของบริษัท อาจแบงออกไดเปนเครือขายยอยๆ ในแตละภูมิภาค โดยหลักแลว อุปกรณจากผูผลิต อยางนอย 2 ราย จะไดรับการคัดเลือกใหมีการติดตั้งในเครือขายสําหรับ ภูมิภาคหนึ่งๆ ฉะนั้น เมื่อพิจารณาเครือขายทั่วประเทศแลว จะเห็นไดวา บริษัทจะ มีอุปกรณของ ผูผลิตหลายรายประกอบกัน เปนเครือขายใหญที่ครอบคลุมอยูทั่วประเทศ (Multi-vendor Approach) บริษัทไดดําเนินการทางวิศวกรรมเครือขายดังกลาว เพื่อกอใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทางดานตนทุนของการลงทุน ประโยชนของวิธีดังกลาวคือ การรักษาไวซึ่ง บทบาทในการตอรอง ทั้งในดานราคาอุปกรณ และ การเลือกสรรเทคโนโลยีที่เหมาะสม วิธีการทั้งหมดนี้ลวนแลวแตถูก กําหนดขึ้นเพื่อ กอใหเกิดผลตอบแทนที่สูงขึ้นของเงินทุนที่ลงทุนไป ในการวาจางผูผลิตนั้น บริษัทและ DPC จะทําสัญญาซื้อขายแยกเปนแตละสัญญา สําหรับการ ลงทุนขยายเครือขายในแตละชวง (phase) ของการลงทุน และผูผลิตจะรับประกันในเรื่อง ตอไปนี้ - รับประกันการซอมแซมและบํารุงรักษาการทํางานของระบบเครือขายเปนระยะเวลา 1 ป (Warranty Period) นับจากวันที่ตรวจรับงานเสร็จสมบูรณ หลังจากนั้นบริษัทสามารถทํา สัญญาวาจาง (Maintenance Contract) กับผูผลิตแตละราย ใหทําการซอมแซม และ บํารุงรักษาไดตอไป - รับประกันการจัดหาชิ้นสวนอะไหลอุปกรณตางๆ (Spare parts) สําหรับใชในการปรับปรุง เครือขายตอไปอีกเปนระยะเวลา 10 ป นอกจากนี้บริษัทยังมีผูเชี่ยวชาญทางเทคนิคจากบริษัทผูผลิต (Supplier) ทั้งจาก ERICSSON NOKIA SIEMENS MITSUI และ Huawei มาประจําและใหคําปรึกษาแนะนําชวยเหลือทางเทคนิค เพื่อเพิ่มศักยภาพใหกับบุคลากรบริษัท ทั้งทางดานเทคนิคและวิธีการทํางาน (ข) เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ สําหรับการจัดหาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อจําหนายใหกับลูกคา สวนใหญ DPC จะนําเขาจาก ตางประเทศ รายชื่อผูนําเขาและจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคมระบบ ดิจิตอล GSM Advance ของบริษทั มีดังนี้ บริษัทผูจําหนาย

ยี่หอสินคา

บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด

Ericsson, Nokia, Philips, Siemens, Alcatel, Bosch, Panasonic, Samsung Mitsubishi Motorola, Alcatel, Mitsubishi Siemens, Audio Vox, Sagem

บริษัท วิคตอรี่ คอมมูนิเคชั่น จํากัด บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท สามารถ อี-เทรดดิ้ง จํากัด

สวนที่ 2 หนา 28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายชื่อผูนําเขาและจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคมระบบดิจิตอล GSM 1800 ของ DPC มีดังนี้

3.4

บริษัทผูจําหนาย

ยี่หอสินคา

บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด บริษัท เอ็ม ลิ้งค เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท สามารถ อี-เทรดดิ้ง จํากัด บริษัท ล็อกซเลย จํากัด (มหาชน)

Ericsson, Nokia, Siemens, Alcatel, Panasonic Motorola, Alcatel Siemens, Sagem Sewon

งานที่ยังไมไดสงมอบ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 29


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

4.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การวิจัยและพัฒนา ในฐานะที่เปนผูใชเทคโนโลยี บทบาททางการวิจัยและพัฒนาของเอไอเอสนั้น จะมุงเนนไปทีก่ ารจัดหาเทคโนโลยีที่ ไดมีการคิดคนขึน้ มาแลว มาสรางเปนรูปแบบของการใหบริการที่ตอบสนองตอความจําเปนและความตองการ ของลูกคาอยางแทจริง เมื่อมีเทคโนโลยีที่นาจะชวยเพิ่มมูลคาของลงทุนและการใหบริการได กลุมผูเชี่ยวชาญซึ่งมีความชํานาญทาง วิศวกรรม การตลาด และการเงิน จะรวมกันคิดบริการใหมๆ ขึ้น บริการใหมๆที่มีแนวโนมเชิงพาณิชยที่ดี จะไดรับการคัดเลือก เพื่อนําเสนอไปยังกลุมนักวิเคราะหเชิงธุรกิจซึ่งจะทําการศึกษาอยางละเอียดถึงความ เปนไปไดเชิงธุรกิจของบริการใหมนั้น ทั้งนี้บริการใหมเหลานั้นจะตองไดรับการพิจารณาอยางถี่ถวน เพื่อ ความสอดคลองกับบริการอื่นๆ ในแผนแมบทของบริษัท และยังตองไปในแนวทางเดียวกับกลยุทธของบริษัทที่ได ถูกกําหนดไวแลว จากนั้น บริการใหมๆนี้จะเขาสูกระบวนการทดสอบอยางเขมขนโดยคณะทดสอบพิเศษ (Focus Group) เพื่อใหแนใจถึงความเปนไปไดในเชิงธุรกิจ และในขั้นตอนสุดทายคือ การนําไปปฏิบัติและใหบริการ แกลูกคาจริง การวางแผนทางการตลาดและการวางเครือขายนั้นจะทําในพื้นที่ที่กลุมเปาหมายรวมตัวกันอยูอยาง หนาแนนกอนเสมอ แลวคอยๆ ขยายพื้นที่การใหบริการออกไปสูภูมิภาคอื่นๆ หากบริการนั้นๆ ไดแสดงใหเห็นถึง ศักยภาพทางธุรกิจ และไดรับความนิยมสูง บริษทั ไดใหความสําคัญกับการวิจัยและการพัฒนาตลอดป 2545 ที่ผานมา บริษัทไดเนนการวิจัยและพัฒนา ที่สําคัญดังนี้ 1. Customer Segmentation เพื่อใหทราบถึงพฤติกรรมของลูกคาในเชิงลึก รวมถึงความตองการที่แทจริง ของลูกคาในแตละ Segment เพื่อใหสามารถผลิตสินคาและบริการตามความตองการของลูกคา 2. เนนเรื่อง Satisfaction ในดานตางๆ เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกคาและคูคา รวมถึงเพื่อปรับปรุง บริการของบริษัท เพื่อใหไดระดับ World Class 3. การวิจัยและพัฒนาทางดานบริการเสริมใหมๆ ที่เปนที่ตองการของลูกคา และเปนการเพิ่มรายไดใหกับ บริษัทอีกทางหนึ่ง 4. การวิจัยและพัฒนาคุณภาพเครือขาย เพื่อชวยใหเครือขายสัญญาณติดตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด กระบวนการของการวิจัยและพัฒนาเปนสิ่งจําเปนเพื่อใหเกิดความมั่นใจในการเพิ่มมูลคาการลงทุนใหแกผูถือหุน ปจจัยสําคัญ ที่เปนกุญแจสูความสําเร็จในการกอใหเกิดผลตอบแทนสูงสุดในการลงทุน คือกระบวนการประยุกตใช เทคโนโลยี ที่สุขุมรอบคอบในชวงเวลาที่เหมาะสมนั่นเอง

สวนที่ 2 หนา 30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

5.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 5.1

สินทรัพยถาวรหลัก อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร และสวนปรับปรุงอาคารเชา ของบริษัทและบริษัทยอยนั้น จะเปนของบริษัท เปนหลัก เนื่องจากทั้งบริษัทมีสํานักงานสาขาซึ่งกระจายอยูเปนทั่วประเทศ สวนเครื่องตกแตง ติดตั้ง และ เครื่องมืออุปกรณนั้นจะประกอบดวยอุปกรณเครื่องมือชาง อุปกรณและโปรแกรมคอมพิวเตอร ตลอดจน อุปกรณตางๆ ที่ใชสําหรับบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ สินทรัพยถาวรหลักของบริษัท และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 ประกอบดวย ประมาณอายุการใช (ป) สินทรัพยถาวรหลักของบริษทั และบริษัทยอย อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร สวนปรับปรุงอาคารเชา/1 เครื่องตกแตง, ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ ยานพาหนะ สินทรัพยระหวางกอสรางและติดตัง้ โทรศัพทติดตามตัวและโทรศัพทเคลื่อนทีใ่ หเชา รวม อาคาร และอุปกรณ หัก คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม อาคารและอุปกรณ – สุทธิ

5-20 5-10 5-10 5 5 2-5

หนวย: ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 320.24 340.64 1,186.57 12,163.85 146.48 294.00 21.94 14,473.72 (4,726.08) 9,747.64

สําหรับสินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ไดรวมสินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินที่บริษัทและ บริษัทยอยเปนผูเชาอยูในสวนของ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน,เครื่องมือและอุปกรณ และ ยานพาหนะสุทธิ เปนจํานวน 449.56 ลานบาท นอกจากนี้บริษัทและบริษัทยอยยังมีการเชาพื้นที่อาคารสํานักงานเพื่อใชในการประกอบธุรกิจโดย ณ ปจจุบัน สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียดดังนี้ 1. บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 12,712 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟช ปารค จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31ธันวาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทนใน อัตรา 5,367,075 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะมีการตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจง ยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัทและบริษัทยอยมีการตออายุสัญญาเชาอยาง ตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 2. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญา ไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 12,197 ตารางเมตร จากบริษัท โอเอไอ แอสเซท จํากัด โดยมีการทําสัญญา เชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตองจายคา เชาตอบแทนในอัตรา 5,425,219 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแต /1

สวนปรับปรุงอาคารเชาเปนคาใชจายในการปรับปรุงตกแตงสํานักงานบริการของบริษทั

สวนที่ 2 หนา 31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

มีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัทและบริษัทยอยมีการตออายุสัญญาเชา อยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 3. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 371 ตารางเมตร จากบริษัท โอเอไอ พร็อพเพอรตี้ จํากัด โดยมีการทํา สัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตอง จายคาเชาตอบแทนในอัตรา 267,120 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชาจะตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุ สัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา 4. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารสยามพันธุ เลขที่ 1 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 6,326 ตารางเมตร จากบริษัท สยามพันธุวัฒนา จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชา อายุ 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันจะหมดอายุ 29 กุมภาพันธ 2547 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 1,316,547 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 3 เดือนกอนหมดอายุ สัญญา 5. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานพหลโยธิน เพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 8,590 ตารางเมตร จากบริษัท พหล 8 จํากัด,บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี จํากัด(มหาชน),บริษัท เกษรตธนสาร จํากัด,คุณเกวิน ไทยบัญชากิจ และนิติบุคคลอาคารชุด พหลโยธิน เพลส โดยมีการทําสัญญาเชาอายุ 3 ป สัญญาเชาทําแยกในแตละชั้น สัญญาเชาฉบับปจจุบันจะ หมดอายุ 31 มกราคม 2549 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 1,751,000 บาทตอเดือน การตอสัญญา เชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 60 วันกอนหมดอายุสัญญา 6. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 3,351 ตารางเมตร จากบริษัท ทรีพัลส จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชาอายุ 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตองคาเชาตอบแทนใน อัตรา 502,650 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 60 วันกอน หมดอายุสัญญา 7. บริษัทยอย เชาพื้นที่อาคารคลังสินคาสามัคคี เลขที่ 4/45 ถนนสามัคคี ตําบลบางตลาด ปากเกร็ด นนทบุรี เนื้อที่ประมาณ 2,708 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟช ปารค จํากัด โดยทําสัญญาเชาอายุ 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2545 – 31 มีนาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทน ในอัตรา 216,640 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตอไดอีก 2 คราว ๆ ละ 3 ป 8. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่อาคารนาริตะ 1 เลขที่ 47/381 เมืองทองธานี ถนนแจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี เนื้อที่ประมาณ 2,562 ตารางเมตร จากบริษัท บางกอกแลนด เอเจนซี่ จํากัด โดยสัญญาเชาเริ่ม ตั้งแตป 2541 และไมมีระยะเวลาสิ้นสุด และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 475,073บาทตอเดือน การ ยกเลิกสัญญาเชาจะตองแจงความประสงคลวงหนาไมนอยกวา 30 วันกอนหมดอายุสัญญา

สวนที่ 2 หนา 32


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

5.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญารวมการงาน ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานเปนสินทรัพยที่ลงทุนโดยบริษัทและบริษัทยอย และโอนกรรมสิทธิ์ ใหแกหนวยงานรัฐผูเปนเจาของสัญญารวมการงานนั้น โดยบริษัท และบริษัทยอยจะไดสิทธิในการใช สินทรัพยนั้นในการดําเนินกิจการตลอดอายุสัญญารวมการงานนั้น สัญญารวมการงานของบริษัท และบริษัท ยอย ประกอบไปดวยสัญญารวมการงานที่ทํากับหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสามารถดําเนินธุรกิจภายใตสิทธิ ของหนวยงานรัฐนั้นๆ ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 ประกอบดวย ประเภทสินทรัพย

ตนทุน (ลานบาท)

ตนทุนโครงการของบริษทั อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM อุปกรณเครือขายระบบอนาลอก NMT อุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ อื่นๆ ตนทุนโครงการของ ADC เครื่องมือและอุปกรณ รวม ตนทุนโครงการของ DPC อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM และอุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ รวมตนทุนโครงการของบริษทั และ บริษทั ยอย

จํานวนป ตัดจําหนาย

จํานวนปที่ ตัด จําหนาย แลว

มูลคาทาง บัญชี (ลานบาท)

70,153.74 13,735.31 14,232.37 3,432.00

10 ป ไมเกินป 2558 สิ้นสุด กันยายน 2545 10 ป ไมเกินป 2558 10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10 1 – 10 1 – 10 1 – 10

55,105.75 10,309.43 2,431.00

1,254.37 102,807.79

10

1 – 10

589.78 68,435.96

13,836.07

10

1-4

11,359.45

116,643.86

79,795.41

สัญญารวมการงานหลักๆของบริษัท และบริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ (รายละเอียดของสัญญารวมการ งานอยูในเอกสารแนบ 3)

สวนที่ 2 หนา 33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

(1)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) คูสัญญา อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

การยกเลิกสัญญา

: องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) : 25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558 : 1. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 MHz ทั่วประเทศ โดยตองจาย ผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 2. บริษัทไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจากการ ใชงานของบริษัทได โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 3. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Pre-paid Card) โดยตองจาย ผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตรารอยละ 20 ของรายได : ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันทีที่บริษัทลมละลายหรือปฏิบัติผิด สัญญาขอหนึ่งขอใดของสัญญา และขอผิดสัญญาดังกลาวบริษัทมิได ดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึง ขอผิดสัญญาจาก ทศท. เปนลายลักษณอักษร โดยบริษัทไมมีสิทธิ เรียกรองคาเสียหายใด ๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืน จาก ทศท. แตอยางใด

สวนที่ 2 หนา 34


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บันทึกขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) คูสัญญา

(Cellular

Mobile

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทศท)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1. บมจ.ทศท อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตาม สัญญาหลักใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตใหบริษัทเขา ไปใชเ ครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการายอื่นไดเชนเดียวกัน 2. การใชเครือขายรวม (Roaming) บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ และบริษัทมีสิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละ ไม เ กิ น 3 บาททั่ ว ประเทศ โดยต อ งทํ า หนั ง สื อ แจ ง ให บมจ.ทศท ทราบกอน 3. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขาย รวม (Roaming) ให บมจ.ทศท -ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ใน เครือขายของบริษัท บริษัทตกลงจายในอัตรารอยละ(ระบุตามสัญญา หลัก)ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผูใหบริการรายอื่น -ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการ รายอื่น บริษัทตกลงจายในอัตรารอยละ(ระบุตามสัญญาหลัก)ของ รายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หักดวยคา ใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่น

สวนที่ 2 หนา 35


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (Natioal Roaming) คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แกผูใชบริการ ของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัท ตกลงให DPC เขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ของ บริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปน ตนไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการได ใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10บาท (สอง บาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม

การยกเลิกสัญญา

:

คูสัญญาแตละฝายมีสิทธิบอกเลิกบันทึกขอตกลงโดยแจงเปนหนังสือ ใหอีกฝายทราบลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือน

(2) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ( ADC ) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) อายุของสัญญา : 25 ป (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 ) ลักษณะของสัญญา : ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) โดยตองจาย ผลประโยชน ต อบแทนให ทศท.ในลั ก ษณะของการเพิ่ ม ทุ น จด ทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุน เพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของทุน จดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท.ไมตองชําระเงินคาหุนแตอยาง ใด การยกเลิกสัญญา : ทศท. มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ ใหผูอื่นดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อวา ADC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปได ดว ยดี หรื อปฏิ บั ติ ผิ ด สัญ ญาข อ หนึ่ง ข อ ใด โดย ADC ต อ ง รับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆใหตกเปน กรรมสิทธิของ ทศท. ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่ มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได สวนที่ 2 หนา 36


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

(3)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 คูสัญญา อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

การยกเลิกสัญญา

: การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) : 16 ป (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556) ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการใหบริก าร : DPC โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 บางสวนที่ไดรับโอน สิทธิจาก TAC โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให กสท. เปน รอยละของรายไดกอนหักคาใชจาย ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาวตอง ไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา : สัญญานี้สิ้นสุดลงหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ -เมื่อสัญญาครบกําหนด -เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฏิบัติตามสัญญา หรื อ ปฏิ บั ติ ผิ ด สั ญ ญาข อ หนึ่ ง ข อ ใดและทํ า ให กสท. ได รั บ ความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับ แตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. -เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา -เมื่อ DPC ลมละลาย -เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ DPC ตกเปนผูขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท.ได แจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา 90 วัน

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา

:

การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

ลักษณะของสัญญา

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดยไดรับความยินยอมจาก กสท. โดย DPC ตกลงจาย ผลตอบแทนใหแก TAC เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 37


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

5.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นโยบายการลงทุนและบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโนบายการลงทุนโดยเลือกลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และธุรกิจที่ เกี่ยวของกับธุรกิจดังกลาว โดยมุงเนนที่จะลงทุนในบริษัทที่ใหผลตอบแทนที่ดีหรือมีการดําเนินธุรกิจที่ สามารถเสริมประโยชนกับธุรกิจหลักของบริษัทไดในระยะยาว ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2545 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทยอยซึ่งมีการดําเนินธุรกิจอยู 4 บริษัท คือ ADC DNS DPC และ ACC บริษัทมีแผนที่จะยังคงสัดสวนการถือหุนและมีสวนสําคัญในการบริหารงานในบริษัทยอย ตามที่กลาวมาขางตนตอไป ปจจุบันบริษัทมีนโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย โดยการสงตัวแทนของ บริษัทไปเปนกรรมการในบริษัทยอยทุกบริษัท

สวนที่ 2 หนา 38


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

6.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงการในอนาคต จากความเชื่อที่วา การสื่อสารในรูปแบบของเสียงอยางเดียวนั้น กําลังเขาสูภาวะเติบโตเต็มที่แลว โครงการใน อนาคตทั้งหมดที่กําลังอยูในกระบวนการการวิจัยและพัฒนานั้น จึงเปนบริการของการสื่อสารที่ไมใชเสียงเกือบ ทั้งสิ้น โครงการบางสวนที่คาดวาจะสามารถเริ่มใหบริการในป พ.ศ. 2546 มีดังนี้ โครงการ ลักษณะของโครงการ

Operator Wireless LAN (OWLAN) โครงการ OWLAN เปนการใหบริการในการเชื่อมตอกับ Internet และ Intranet LAN ขององคกรดวยความเร็วสูง จุดที่ใหบริการ (hot spots) จะเปนจุดที่ไดรับ การพินิจพิจารณาแลววา มีความตองการในการสื่อสารทางขอมูลดวยความเร็ว สูง ตัวอยางเชน สนามบิน ยานธุรกิจ เปนตน ผลตอบแทนที่คาดหวัง ประมาณ 15-20% ของมูลคาเงินลงทุน ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ การลงทุนเบื้องตนที่สูงสําหรับตลาดเฉพาะทาง (niche market): การติดตั้ง OWLAN ความเร็วสูงตองมีการลงทุนใน hardware และจุดเชื่อมตอ WLAN การลงทุนเบื้องตนที่คอนขางสูงจึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได เพื่อใหไดมา ซึ่งพื้นที่การให บริการที่ครอบคลุมและมีคุณภาพดีในจุดยุทธศาสตรทั้งหมด แตปริมาณความตองการ ในการสื่อสารขอมูลความเร็วสูงนั้น อาจไมเพียงพอ ในการสรางรายไดและกําไร ที่คุมคาการลงทุนในชวงปแรก อยางไรก็ตาม จากฐานลูกคาขนาดใหญของเอไอเอส มีกลุมลูกคากลุมหนึ่งที่มีความตองการ การสื่อสารทางขอมูลความเร็วสูงอยู ในแตละเดือนอยางสม่ําเสมอ การวิเคราะหความเปนไปไดเบื้องตนในกลุมดังกลาว ไดแสดงผลสรุปออกมาใน เชิงบวก นอกจากนั้น นโยบายดานการวางเครือขาย และการใหบริการของ เอไอเอส โดยเฉพาะบริการใหมที่เปน niche คือ ในระยะแรกของการนําเสนอ บริการ จะเนนบริเวณที่กลุมเปาหมายอยูอยางหนาแนนเทานั้น จากนั้น เมื่อ บริการแสดงใหเห็นถึงศักยภาพและมีอัตราการตอบสนองที่ดี พื้นที่การให บริการจึงจะคอยๆถูกขยายออกไป

สวนที่ 2 หนา 39


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

โครงการ ลักษณะของโครงการ

ผลตอบแทนที่คาดหวัง ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Customized JAVA Applications จากการวิเคราะหฐานลูกคาอยางละเอียดในเชิงรูปแบบการดําเนินชีวิต (lifestyle) โครงการนี้จะใชเทคโนโลยี JAVA เพื่อพัฒนา application ที่จะตอบสนอง ความตองการของลูกคาในแตละรูปแบบการดําเนินชีวิตได ไมวาจะในดานความบันเทิง หรือดานธุรกิจ ตัวอยาง application ทางดานบันเทิง คือ การเลนเกมผานทางเครือขาย GPRS เปนตน และตัวอยาง application ในเชิงธุรกิจ คือ การรายงานราคาหุน การซื้อขายหุนผานทาง โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนตน หนึ่งใน application ที่ไดวางตลาดไปแลวใน ไตรมาสแรกของป 2546 คือ “AIS Thai Dictionary JAVA” ผานเครือขาย GPRS ซึ่งถือวาเปน JAVA application ในเชิงธุรกิจที่มีการใหบริการ เปนบริการแรกในประเทศไทย ประมาณ 20-25% ของมูลคาเงินลงทุน ความแพรหลายของเครื่องลูกขายที่รองรับ JAVA ได: ที่ผานมา เมื่อเทคโนโลยีใหมถูกนําเสนอ เครื่องลูกขายที่สามารถรองรับ เทคโนโลยีใหม นั้นจะมีอยูอยางจํากัดเพียงไมกี่รุน แตดวยการแขงขันที่รุนแรง ในหมูผูผลิตเครื่อง ลูกขาย ประกอบกับความเชื่อมั่นในศักยภาพของเทคโนโลยี JAVA คอนขางจะเปน ที่แนนอนแลววา ผูผลิตชั้นนําทั่วโลกจะนําเครื่องลูกขาย รุนตางๆ ออกวางตลาดอยาง มากมายในป พ.ศ. 2546 นี้ ปริมาณเครื่องที่ ถูกผลิตขึ้นมาวางจําหนายอยางมากมาย นาจะเปนปจจัยหนึ่ง ที่ทําใหราคา ของเครื่องลูกขายถูกลง และเปนที่หาซื้อไดงาย โดยกลุมลูกคา ขนาดใหญ ซึ่งนาจะเพิ่มความเปนไปไดที่จะมีปริมาณการใชงานที่สูง และรายไดที่มาจาก JAVA applications ก็นาจะสูงตามไปดวย

สวนที่ 2 หนา 40


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

7.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอพิพาททางกฎหมาย บริษัทไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่เปนสาระสําคัญตอการดําเนินกิจการของบริษัท

สวนที่ 2 หนา 41


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

8.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางเงินทุน 8.1

หลักทรัพยของบริษัทฯ (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 ทุนจดทะเบียน

: 5,000,000,000 บาท (หาพันลานบาท) ประกอบดวยหุนสามัญจํานวน 5,000,000,000 หุน (หาพันลานหุน) มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท

ทุนที่ออกและชําระแลว : 2,935,000,000 บาท (สองพันเการอยสามสิบหาลานบาท) ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 2,935,000,000 หุน (สองพันเการอย สามสิบหาลานหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท (2)

โครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2545 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2545 มีมติอนุมัติใหบริษัท ดําเนินโครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน โดยมีรายละเอียดโครงการซื้อหุนคืน ดังนี้

วงเงินสูงสุดในการซื้อหุนคืน จํานวนหุนที่จะซื้อคืน วิธีการในการซื้อหุนคืน กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืน หลักเกณฑในการกําหนดราคาหุนที่จะซื้อคืน

เหตุผลในการซื้อหุนคืน

สิทธิของหุนที่บริษัทซื้อคืน การจําหนายและการตัดหุนที่ซื้อคืน

กําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซื้อคืน

ไมเกิน 3,500 ลานบาท ไมเกิน 90 ลานหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ ไมเกิน 3.07 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด ซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2545 ถึง 1 มิถุนายน 2546 (ภายใน 6 เดือน) บริษัทใชวิธีวิเคราะหอัตราสวนลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow Analysis) รวมถึงการนําราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วันกอนวันที่บริษัทเปดเผยขอมูล ทั้งนี้ ราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วัน ตั้งแตวันที่ 2 ตุลาคม 2545 ถึงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 เทากับ 33.525 บาทตอหุน เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารสภาพคลองของบริษัท และเพิ่ม ผลตอบแทนใหแกสวนของผูถือหุน (ROE) รวมถึงเพิ่มกําไรสุทธิ ตอหุน (EPS) ผูบริหารของบริษัทมีความเชื่อมั่นตอศักยภาพและ การเจริญเติบโตของบริษัทที่จะมีตอไปในอนาคต และเห็นวา ปจจุบันราคาหุน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยของบริษัท อยูในระดับต่ํากวามูลคาที่แทจริง หุนที่บริษัทซื้อคืนจะไมนับเปนองคประชุมในการประชุมผูถือหุน รวมทั้ง ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินปนผล บริษัทอาจทําการจําหนายหุนคืน โดยการขายในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือ เสนอขายตอประชาชนทั่วไป ซึ่งขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมในขณะนั้น ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2546 ถึง วันที่ 1 มิถนุ ายน 2549 (ภายหลัง 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จแตตองไมเกิน 3 ป)

สวนที่ 2 หนา 42


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทไดทําการซื้อหุนคืนแลวจํานวน 2,163,200 หุน คิดเปนรอยละ 0.074 ของทุนชําระแลว มูลคารวม 70,661,413 บาท (รวมคาธรรมเนียมในการซื้อขายหลักทรัพย) (3)

โครงการออกและเสนอขายหุนใหกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 3/2542 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมัติใหบริษัทเขารวม โครงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund – TTF) และยินยอมให กองทุนรวมดังกลาวลงทุนในหุนหรือมีไวซึ่งหุนของบริษัท ในอัตราสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของ จํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 6.75 ลานหุนของ จํานวนหุนที่ชําระแลว 270 ลานหุน ทั้งนี้ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวที่ซื้อหนวยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะไดรับเฉพาะผลประโยชนในรูป ตัวเงินเทานั้น โดยที่อํานาจการบริหารงานยังคงอยูกับผูบริหารชาวไทยเชนเดิม โดยในเดือน กุมภาพันธ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไดอนุมัติใหกองทุนรวมดังกลาวเขาซื้อ-ขายหุน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยได จากการประชุมผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญที่ยัง มิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN และ SingTel และลด มูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เหลือหุนละ 1 บาท จากการจัดสรรหุนและการลดมูลคาหุน ดังกลาว สงผลกระทบใหจํานวนหุนที่บริษัทยินยอม TTF ลงทุนในหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม 6.75 ลานหุน เปนจํานวน 73.375 ลานหุน ตามสัดสวนการยินยอมให TTF ลงทุนในหุนของบริษัทใน สัดสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของจํานวนหุนที่เรียกชําระแลว ณ วันที่ 20 กันยายน 2545 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวโดยลงทุนในหุนของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํานวน 64,039,000 หุน คิดเปนรอยละ 2.18 ของจํานวนหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้งหมดของบริษัท (ขอมูลจากการปดสมุดทะเบียนผูถือหุนครั้ง ลาสุด ณ วันที่ 20 กันยายน 2545)

(4)

ตราสารแสดงสิทธิในผลตอบแทนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง (NVDR) ณ วันที่ 20 มีนาคม 2546 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด มีหนุ สามัญของบริษัทเปนหลักทรัพยอางอิง จํานวน 25,175,320 หุน หรือคิดเปนรอยละ 0.86 ของทุนที่เรียกชําระแลว ซึ่งไมมีสิทธิในการออก เสียงของผูถือหุนอันเนื่องมาจาก บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ไมใชสิทธิในการออกเสียงในการ ประชุมผูถือหุน

สวนที่ 2 หนา 43


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(5) ใบสําคัญแสดงสิทธิ ตามที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 4/2544 เมือ่ วันที่ 19 ธันวาคม 2544 มีมติอนุมัติโครงการออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ พนักงาน และที่ ปรึกษาของบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และเปนบําเหน็จตอบแทนการปฏิบัติงาน ของกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัท อันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัทในระยะ ยาว โดยโครงการนี้มีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุนทุกๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป โดยมีจํานวนรวมทั้งสิ้นตลอดโครงการ 5 ปประมาณ 51,400,000 หนวย และจํานวนหุนสามัญที่ตองจัดสรรเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ มีจํานวนประมาณ 51,400,000 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) หรือคิดเปนประมาณ รอยละ 1.75 ของทุนที่ชําระแลวทั้งหมด โดยบริษัทฯ จะตองขออนุมัติจัดสรรการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดง สิทธิตอที่ประชุมผูถือหุนเปนรายป โดยในปแรกนี้ที่ประชุมผูถือหุนมีมติอนุมัติการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัท ฯ จํานวน 14 ลานหนวย และอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญ แสดง สิทธิจํานวน 14 ลานหุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท จากจํานวนหุนสามัญที่ยังมิไดนํามาจัดสรรทั้งสิ้น 2,065 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ซึ่งจะทําใหบริษัทฯ มีหุนสามัญที่ยังมิไดจัดสรรคงเหลือ จํานวน 2,051 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ทั้งนี้ มอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย มีอํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งดําเนินการตางๆ อันจําเปนและ สมควรอันเกี่ยวเนื่องกับหุนสามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาว ตลอดจนการนําหุน สามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาวเขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยดวย เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2545 บริษัทไดจัดสรรและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ จํานวน 14 ลานหนวย แลว โดย รายละเอียดของโครงการโดยสังเขป ปรากฏอยูในหัวขอคาตอบแทนอื่นๆ

สวนที่ 2 หนา 44


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6) หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทฯ มีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอนดังนี้ (6.1) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2543 ครบกําหนด ไถถอนป 2546 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ และไมมี หลักประกันชนิดทยอยคืนเงินตน และมีผูแทน ผู ถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 8,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 8,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 20 มีนาคม 2543 วันครบกําหนดไถถอน : 20 มีนาคม 2546 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.50 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 20 มีนาคม และ 20 กันยายนของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตน โดยจะชําระคืน งวดแรกเมื่อหุนกูมีอายุครบ 18 เดือน และจะชําระ คืนเปนเวลา 4 งวด ๆ ละเทา ๆ กัน คือ รอยละ 25 ของจํานวนหุนกูที่เสนอขาย ในวันที่ดังตอไปนี้ (1) 20 กันยายน 2544 (2) 20 มีนาคม 2545 (3) 20 กันยายน 2545 (4) 20 มีนาคม 2546 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 8,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA-

สวนที่ 2 หนา 45


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.2) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2543 ครบกําหนดไถถอน ป 2546 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และไมมีผูแทนผูถอื หุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 31 มีนาคม 2543 วันครบกําหนดไถถอน : 31 มีนาคม 2546 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.25 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 31 มีนาคม 30 มิถุนายน 30 กันยายน และ 31 ธันวาคมของทุก ป จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : ไมมี

สวนที่ 2 หนา 46


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.3) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2544 ครบกําหนดไถถอน ป 2549 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูท่เี สนอขาย : 12,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 12,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 23 มีนาคม 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 23 มีนาคม 2549 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.30 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มีนาคม และ 23 กันยายนของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตน โดยจะชําระคืน งวดแรกเมื่อหุนกูมีอายุครบ 18 เดือน และจะชําระ คืนเปนเวลา 8 งวด งวดละเทา ๆ กัน คือ รอยละ 12.5 ของจํานวนหุนกูที่เสนอขาย ในวันที่ ดังตอไปนี้ (1) 23 กันยายน 2545 (2) 23 มีนาคม 2546 (3) 23 กันยายน 2546 (4) 23 มีนาคม 2547 (5) 23 กันยายน 2547 (6) 23 มีนาคม 2548 (7) 23 กันยายน 2548 (8) 23 มีนาคม 2549 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 12,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA-

สวนที่ 2 หนา 47


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.4) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2544 ครบกําหนดไถถอน ป 2547 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 28 พฤศจิกายน 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 28 พฤศจิกายน 2547 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 4.70 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 พฤษภาคม และ 28 พฤศจิกายนของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA-

สวนที่ 2 หนา 48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.5) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2544 ครบกําหนดไถถอน ป 2549 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู

อายุของหุนกู

: 5 ป นับจากวันออกหุนกู

มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย

: 10,000,000,000 บาท

จํานวนหุนกูที่เสนอขาย

: 10,000,000 หนวย

มูลคาที่ตราไวตอหนวย

: 1,000 บาท

ราคาที่เสนอขายตอหนวย

: 1,000 บาท

วันที่ออกหุนกู

: 28 พฤศจิกายน 2544

วันครบกําหนดไถถอน

: 28 พฤศจิกายน 2549

ไมมี

อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.85 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 กุมภาพันธ 28 พฤษภาคม 28 สิงหาคม และ 28 พฤศจิกายนของ ทุกป ผูแทนผูถือหุนกู

: ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน)

จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: AA-

สวนที่ 2 หนา 49


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

(6.6)

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนด ไถถอนป 2552 ดังรายละเอียดตอไปนี้

ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.25 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายนของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,500,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA-

สวนที่ 2 หนา 50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.7) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไถถอนป 2552 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

ครั้งที่ 2/2545 ครบกําหนด

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือ หุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน บวกดวย ชําระดอกเบี้ย อัตรารอยละ 2.10 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจาก วันที่ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายนของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดจํานวน เทาๆ กัน ทั้งหมด 6 งวด โดยจะเริ่มชําระคืนเงิน ตนเมื่อหุนกูมีอายุครบ 54 เดือน นับจากวัน ออกจําหนายจนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 4,500,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 4,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA-

สวนที่ 2 หนา 51


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.8) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไถถอนป 2550 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

ครั้งที่ 3/2545 ครบกําหนด

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 3,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 3,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2550 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.25 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มิถุนายน 21 กันยายน 21 ธันวาคม และ 21 มีนาคม ของ ทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 3,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 3,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA-

สวนที่ 2 หนา 52


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.9) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2545 ครบกําหนด ไถถอนป 2550 ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือ หุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 ตุลาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 ตุลาคม 2550 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 3.65 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 เมษายน และ 21 ตุลาคมของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวด จํานวน งวดละเทาๆ กัน รวมทั้งหมด 5 งวด โดยจะเริ่ม ชําระคืนเงินตนงวดแรกในวันที่ 21 ตุลาคม 2548 และชําระคืนเงินตนคงคางงวดสุดทายในวันที่ 21 ตุลาคม 2550 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2545 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2545 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA(7)

ขอตกลงระหวางกลุมผูถือหุนรายใหญในเรื่องที่มีผลกระทบตอการออกและเสนอขายหลักทรัพย หรือ การบริหารงานของบริษัทฯ โดยที่ขอตกลงดังกลาวมีบริษัทฯ รวมลงนามดวย - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 53


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

8.2

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผูถือหุน บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) Singtel Strategic Investments Pte Ltd. HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd Littledown Nominees Limited 9 บริษัทหลักทรัพยจัดการ กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว โดยลงทุนในหุนของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส State Street Bank and Trust Company HSBC Bank Plc. Chase Nominees Limited 1 Government of Singapore Investment Corporation C Boston Safe Deposit and Trust Company

จํานวนหุน 1,263,712,000 568,000,000 80,477,010 80,322,100 64,039,000

รอยละ 43.06 19.35 2.74 2.74 2.18

58,270,717 44,868,050 40,902,530 30,606,320 29,769,450

1.99 1.53 1.39 1.04 1.01

ที่มา : รายงานรายชื่อผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 20 กันยายน 2545 ซึ่งจัดทําโดย บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

8.3

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทและบริษัทยอยมีนโยบายในการจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี หากไมมีเหตุ จําเปนอื่นใด และการจายเงินปนผลนั้น ไมมผี ลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทและบริษัทยอยอยางมี นัยสําคัญ

สวนที่ 2 หนา 54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการบริหารงาน - บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการบริหาร Chairman – Wireless Communications นายสมประสงค บุญยะชัย

Executive Vice Chairman นายลัม ฮอน ฟาย

Chief Technology Officer นายวิกรม ศรีประทักษ

Chief Customer Champion & Terminal Business Officer นางสุวิมล แกวคูณ

President – Wireless Communication นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

Executive Vice President – Service Operations

คุณวลัญช นรเศรษฐภักดิ์

Executive Vice President – Marketing นายกฤษณัน งามผาติพงศ

ผูบริหาร 4 รายแรก ตามขอกําหนดของสํานักงาน ก.ล.ต.

สวนที่ 2 หนา 55

Chief Finance Officer นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.

การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

9.1

โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสรางกรรมการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งคณะอนุกรรมการชุด ยอยอีก 3 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา มี รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 ทาน ดังนี้ 1. *2. *3. *4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นายลัม ฮอน ฟาย นายเชา วิง เคียง ลูคัส นางทัศนีย มโนรถ นายศุภเดช พูนพิพัฒน นายอรุณ เชิดบุญชาติ นายบุญชู ดิเรกสถาพร

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

*

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท ไดแก นายสมประสงค บุญยะชัย ผูชวยเลขานุการคณะกรรมการบริษัท ไดแก นายวิวัฒน สงสะเสน ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ใหคณะกรรมการมีอํานาจกําหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัทได 2. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอน ดําเนินการ เชน เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยว โยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน 3. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัท ภายใตการควบคุมของ คณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจเพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจ ตามที่คณะกรรมการ เห็นสมควรและภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได สวนที่ 2 หนา 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงาน ตางๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนีก้ ารมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ ทําให คณะกรรมการบริหาร หรือผูร ับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัตริ ายการที่ ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวน เปนการอนุมัติ รายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (2) คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการและผูบริหาร จํานวน 5 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

นายสมประสงค บุญยะชัย ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายเชา วิง เคียง ลูคัส

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงาน หลักในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทที่กําหนดใหสอดคลองและสนับสนุนตอสภาพทางเศรษฐกิจ และการแขงขันที่ไดกําหนด และแถลงไวตอผูถือหุน 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัทที่กําหนด 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานดานตางๆ ของบริษัทที่กําหนดให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทที่กําหนดใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญของบริษัทที่กําหนด 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายเปนคราวๆ ไป 7. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการใน เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได โดยการ มอบอํานาจดังกลาวไมรวมถึงการมอบอํานาจใหบุคคลดังกลาวสามารถอนุมัติการทํารายการที่ ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนรายการที่เปนไป ตามนโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว

สวนที่ 2 หนา 57


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงิน ใหคณะกรรมการบริหารของบริษัทมีอํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงินในวงเงิน ไมเกิน 800 ลานบาท โดยอํานาจอนุมัติทางการเงินดังกลาวจะรวมถึง การอนุมัติคาใชจายตางๆ ในการ ดําเนินการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนในสินทรัพยฝายทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพยถาวร การกูยืมเงิน การใหกูยืมเงิน การจัดหา วงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้รวมถึงการใหหลักประกัน การค้ําประกันเงินกูหรือสินเชื่อ เปนตน ยกเวน การดําเนินการดานการเงินการธนาคารของคณะกรรมการบริหารเฉพาะดานการฝากเงิน การกูเงิน การจัดทําเครื่องมือบริหารความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีอํานาจในวงเงินไม เกิน 2,500 ลานบาท ทั้งนี้ใหคณะกรรมการบริหารเปนผูพิจารณากําหนดลําดับและวงเงินอนุมัติภายในกรอบที่ คณะกรรมการบริษัทกําหนด ทั้งนี้การอนุมัติรายการดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนอนุมัติที่ทําใหคณะกรรมการบริหารหรือผูรับ มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มี สวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มี รายชื่อดังนี้ 1. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 2. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 3. นายบุญชู ดิเรกสถาพร

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่กํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัท ใหเกิดความชัดเจนใน ดานการบริหารงานดวยความซื่อสัตยสุจริต และความรับผิดชอบของกรรมการบริหารหรือ ผูบริหาร อันจะพึงมีตอผูถือหุนของบริษัท ตลอดจนดําเนินการใหเปนที่มั่นใจวากรรมการบริหาร และผูบริหารของบริษัทไดบริหารกิจการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท อยางถูกตอง ครบถวน และมีมาตรฐาน 2. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่และความรับผิดชอบในภารกิจที่ไดรับมอบหมายจากกรรมการ บริษัท ดังตอไปนี้ 2.1 สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป และมีการเปดเผยอยางเพียงพอ 2.2 สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล สวนที่ 2 หนา 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.3

สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพย หรือกฎมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 2.4 พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้งและเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท 2.5 พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน 2.6 สอบทานใหบริษัทมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล 2.7 สอบทานและใหความเห็นตอแผนตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานของสํานักงาน ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผูสอบบัญชี 2.8 จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2.9 รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัททราบอยาง นอย ปละ 4 ครัง้ 2.10 ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการตรวจสอบ มีอํานาจเชิญให ฝายจัดการ ผูบริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน 2.11 ใหมีอํานาจวาจางที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัทมาใหความเห็น หรือคําปรึกษาในกรณีจําเปน 2.12 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ มีการปรับปรุงและนําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546

(4) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. นายอรุณ เชิดบุญชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ใหคณะอนุกรรมการกําหนดคาตอบแทนมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ 1. กําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และประธานกรรมการบริหาร ของบริษัทในแตละป 2. จัดทําหลักเกณฑ และนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการ และประธาน กรรมการบริหาร เพื่อเสนอใหคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติและหรือนําเสนอตอที่ประชุมผูถือ หุนอนุมัติตามแตกรณี

สวนที่ 2 หนา 59


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. คณะอนุกรรมการกําหนดคาตอบแทนรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัท และมีหนาที่ใหคําชีแ้ จง ตอบคําถามเกี่ยวกับคาตอบแทนของกรรมการ และประธานกรรมการบริหารในที่ประชุมผูถือหุน 4. รายงานนโยบายดานคาตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงคของนโยบาย เปดเผยไวในรายงานประจําป 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย หมายเหตุ มีการปรับปรุงและนําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546

(5) คณะกรรมการสรรหา รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 คณะกรรมการสรรหา ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อ ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. นายอรุณ เชิดบุญชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหา ใหคณะอนุกรรมการสรรหามีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. กําหนดหลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดยอยของบริษัท 2. พิจารณาสรรหากรรมการ และกรรมการชุดยอยโดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสม ที่จะมาดํารง ตําแหนงกรรมการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติตอที่ ประชุม ผูถือหุนแลวแตกรณี 3. พิจารณาสรรหาผูที่เหมาะสมที่จะดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร ในกรณีที่มีตําแหนงวาง ลง รวมทั้งหลักเกณฑในการสืบทอดตําแหนง 4. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย หมายเหตุ มีการปรับปรุงและนําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546

(6) คณะผูบริหาร โครงสรางการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 มีดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายสมประสงค บุญยะชัย นายลัม ฮอน ฟาย นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายวิกรม ศรีประทักษ นางสุวิมล แกวคูณ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูอํานวยการ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเครือขายวิศวกรรม หัวหนาคณะผูบริหารดานการคา และการบริการ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงิน

สวนที่ 2 หนา 60


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

9.2

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การสรรหากรรมการ บริษัทไดกําหนดแนวทางการสรรหาและแตงตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ (1)

ในการประชุมสามัญประจําปทกุ ครั้ง กรรมการตองลาออกจากตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่ จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตอง ออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวธิ ี จับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้น เปนผู ออกจากตําแหนง กรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได

(2)

ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการ เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ.2535 เขาเปนกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปน กรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการ ที่ตนแทน

อยางไรก็ดีบริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ทําหนาที่พิจารณากําหนด หลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการ ทั้งนี้กําหนดให ที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท ดังตอไปนี้ (1)

ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ถือ

(2)

ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปน กรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอย เพียงใดไมได

(3)

บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปน ผูออกเสียงชี้ขาด

สวนที่ 2 หนา 61


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตามที่สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางบริษัทและ ทศท. ระบุใหตัวแทนของ ทศท. เขาเปนกรรมการของบริษัท 1 คน และตามเงื่อนไขในขอตกลงระหวางผูถือหุนรายใหญ ซึ่งไดแก บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ที่ร ะบุใ ห SHIN แตงตั้ง กรรมการได 4 ทา น และ STI แตงตั้ง กรรมการได 2 ทา น สงผลให ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 คณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 ทาน มี รายชื่อดังนี้ 1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม ตัวแทนของ SHIN 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ ตัวแทนของ SHIN 3. นายสมประสงค บุญยะชัย ตัวแทนของ SHIN 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ ตัวแทนของ SHIN 5. นางทัศนีย มโนรถ ตัวแทนของ ทศท. 6. นายลัม ฮอน ฟาย ตัวแทนของ STI 7. นายเชา วิง เคียง ลูคัส ตัวแทนของ STI 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 10. นายบุญชู ดิเรกสถาพร กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 9.3

คาตอบแทนผูบริหาร บริษัทมีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะจูง ใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับผูบริหาร การจายคาตอบแทนจะสอดคลองกับผลการดําเนินงานของ บริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โดยทั้งนี้ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน จะเปนผูกําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและ มิใชตัวเงินใหแก กรรมการบริษัท กรรมการชุดยอย และผูบริหารระดับสูงของบริษัทโดยนําเสนอขออนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําป เปนประจําทุกป คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1)

คาตอบแทนรวมคณะกรรมการบริษัท จํานวน 5 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2545 เทากับ 3.805 ลานบาท เปนการจายใหกับประธานกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการตัวแทนของ ทศท. * คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และเบี้ยประชุม (คาตอบแทนนี้ไม รวมคาตอบแทนที่จายใหกรรมการที่เปนตัวแทนจาก SHIN จํานวน 3 ทาน ซึ่งไดรับคาตอบแทนจาก SHIN โดยตรง)

(2) คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหารจํานวน 4 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2545 เทากับ 31.991 ลานบาท * คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะ ผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริหารและผูบริหารของบริษัท โดยคาตอบแทนดังกลาวของคณะผูบริหาร ไมรวมคาตอบแทนของประธานกรรมการบริหาร ซึ่งรับคาตอบแทนจาก SHIN และผูชวยกรรมการ ผูอํานวยการ สวนงานการเงิน สวนที่ 2 หนา 62


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คาตอบแทนอื่นๆ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญใหแกกรรมการ ผูบริหารและที่ปรึกษาของบริษัท ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 4/2544 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2544 มีมติอนุมตั ิโครงการออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท ใหแกกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ เปนแรงจูงใจ และเปนบําเหน็จตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัท อันจะ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัทในระยะยาว โดยโครงการนี้มีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออกและเสนอ ขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญทุกๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป โดยมีจํานวนรวมทั้งสิ้นตลอดโครงการ 5 ปประมาณ 51,400,000 หนวย และจํานวนหุนสามัญที่ตองจัดสรรเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิมี จํานวนประมาณ 51,400,000 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) หรือคิดเปนประมาณรอยละ 1.75 ของทุนที่ชําระ แลวทั้งหมด โดยบริษัทจะตองขออนุมัติจัดสรรการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิตอที่ประชุมผูถือหุนเปนราย ป ในป 2544 ที่ประชุมผูถือหุนมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัท ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ จํานวน 14 ลานหนวย และอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพื่อ รองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 14 ลานหุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.48 ของ ทุนชําระแลวของบริษัท รายละเอียดโครงการโดยสังเขป ชนิดใบสําคัญแสดงสิทธิ จํานวนที่เสนอขาย ราคาเสนอขาย อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใชสิทธิ ราคาการใชสิทธิ วันที่ออกและเสนอขาย ระยะเวลาการใชสิทธิ

ระบุชื่อผูถือหุนและโอนเปลี่ยนมือไมได เวนแตจากผูรับชวงซื้อหลักทรัพยหรือโอน ทางมรดก 14 ลานหนวย -0- บาท ไมเกิน 5 ป นับจากวันที่ออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยตอหุนสามัญ 1 หุน 48 บาทตอหุน 27 มีนาคม 2545 กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษัทสามารถใชสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทไดตามรายละเอียดดังตอไปนี้ ปที่ 1 กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดใน จํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทแตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาวไดก็ ตอเมื่อครบระยะเวลา 1 ปนับจากวันที่บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดง สิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวน เต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย ปที่ 2 กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดอีกใน จํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทแตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท สวนที่ 2 หนา 63


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทั้งนี้ กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาวไดก็ ตอเมื่อครบระยะเวลา 2 ปนับจากวันที่บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดง สิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวน เต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย ปที่ 3 กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามสิทธิ ของตนในสวนที่เหลือทั้งหมดไดเมื่อครบระยะเวลา 3 ปนับจากวันที่บริษัทไดออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวน เต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย ระยะเวลาแสดงความจํานงการใชสิทธิ ใหกรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษัท แสดงความจํานงในการใชสิทธิซื้อ หุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิไดในชวงวันและเวลาที่กําหนดการใชสิทธิ คือ ภายใน 5 วันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสิทธิ ยกเวน การ แสดงความจํานงในการใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งสุดทาย กําหนดใหแสดงความจํานงในการใชสิทธิไดในชวงระยะเวลา 15 วันกอนวัน กําหนดการใชสิทธิและสามารถแสดงความจํานงไดจนถึงวันสุดทายของวัน กําหนดการใชสิทธิในครั้งสุดทายนั้น ทั้งนี้ บริษัทจะแจงขาวเกี่ยวกับระยะเวลาแสดงความจํานงการใชสิทธิ อัตราการใช สิทธิ และราคาการใชสิทธิ ใหกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัททราบ โดยปดประกาศไว ณ ที่ทําการของบริษัทอยางนอย 7 วันกอนระยะเวลาแสดง ความจํานงการใชสิทธิในแตละครั้ง ยกเวนการใชสิทธิครั้งสุดทาย บริษัทจะแจงให ทราบโดยสงจดหมายลงทะเบียนตอบรับ หรือ จัดสงตามหนวยงานที่ กรรมการ พนักงาน หรือที่ปรึกษาสังกัดอยูอยางนอย 7 วันกอนระยะเวลาแสดงความจํานง การใชสิทธิในครั้งสุดทาย วันกําหนดการใชสิทธิ

กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษัท ที่ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใช สิทธิซื้อหุนสามัญไดระหวางเวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ภายใน 5 วันทําการ สุดทายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสิทธิ

สวนที่ 2 หนา 64


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายชื่อกรรมการ ผูบริหารและที่ปรึกษาของบริษัทฯ ที่ไดรับจัดสรร ดังนี้ รายชื่อ 1. นายสมประสงค บุญยะชัย 2. นายวิกรม ศรีประทักษ 3. นางสุวิมล แกวคูณ 4. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร 5. นายทรงศักดิ์ เปรมสุข 9.4

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ ไดรับจัดสรร 1,471,800 1,128,600 1,197,800 1,250,000 1,040,400

รอยละของโครงการ 10.51 8.06 8.56 8.93 7.43

การกํากับดูแลกิจการที่ดี ในป 2545 บริษัทไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เพื่อใหบริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่ดี คณะกรรมการและผูบริหารมีวิสัยทัศนและมีความรับผิดชอบตอหนาที่ รวมถึงการมีกลไกการควบคุมและการถวงดุล อํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบได ตลอดจนการเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผู ถือหุน และความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสีย ถือเปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูงสุดใหแก ผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว 9.4.1 นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแล บริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญและเชื่อมั่นวาการกํากับดูแลกิจการที่ดี จะนําบริษัทไปสูการดําเนินธุรกิจอยางมั่นคง สามารถเพิ่มคุณคาใหแกองคกร เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน รวมถึงการมีประสิทธิภาพในการจัดการ ที่สงผลถึง ความเชื่อมั่นของผูถือหุน นักลงทุน และผูที่เกี่ยวของ ดังนั้นทางคณะกรรมการบริหารโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริษัท จึงไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ขึ้น ตาม แนวทางที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด โดยครอบคลุมหลักสําคัญดังตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท มีความมุง มั่นในการบริหารงานที่เปนเลิศในคุณภาพดานเครือขาย ดานเทคโนโลยี ดานบุคลากร และดานมาตรฐานการใหบริการ รวมทั้งการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุน โดยผูบริหารที่มี ความรู ความสามารถ และมีการจัดการที่ดี 2. การปฏิบัติตอผูถือหุน และผูมีสวนไดสวนเสียอยางเทาเทียมกัน และเปนธรรมตอทุกฝาย 3. มีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอแกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย 4. ผูบริหารและพนักงานทุกคนปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงการบริหารความเสี่ยงอยูเสมอ รวมถึงการจัดใหมีระบบ การควบคุมภายในที่รัดกุมเหมาะสม 5. บริษัทมีการกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานไดถือปฏิบัติ เปนแนวทางเดียวกัน

สวนที่ 2 หนา 65


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.2 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน ในป 2545 บริษัทมีการประชุมผูถือหุนทั้งหมด 3 ครั้ง แบงเปนการประชุมสามัญประจําป 2545 จํานวน 1 ครั้ง และวิสามัญ 2 ครั้ง ในการประชุมผูถ ือหุน ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการับทราบสารสนเทศ การแสดงความเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ โดยประธานที่ประชุมมีหนาที่ จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสมและสงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม การประชุมผูถือหุนทุกครั้งใหแตงตั้งกรรมการอิสระอยางนอย 1 คน เปนผูรับมอบอํานาจแทนผูถือหุนที่ไมสามารถ เขารวมประชุมและแจงความประสงคไวในหนังสือนัดประชุม 9.4.3 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ และมีนโยบายที่จะดูแลใหความมั่นใจ โดยจัดใหลําดับ ความสําคัญแกผมู ีสวนไดสวนเสีย ทั้งผูถือหุน พนักงาน ผูบริหาร ลูกคา คูคา คูแขง ตลอดจนสาธารณชนและสังคม โดยรวมอยางเหมาะสม และจะใหมีการรวมมือกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในกลุมตางๆ ตามบทบาทและหนาที่ เพื่อใหกิจการของบริษัทดําเนินไปดวยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชนที่เปนธรรมแกทุกฝาย เชน ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถอื หุนในการดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูถือหุน โดย คํานึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาบริษัทในระยะยาว ดวยผลตอบแทนที่ดีและตอเนื่อง รวมทั้ง การดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได พนักงาน : บริษัทมุงพัฒนาเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดีงาม รวมทั้งสงเสริมการทํางาน เปนทีม และสรางโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานอยางตอเนื่อง เพื่อใหการใชทรัพยากร บุคคลเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท สังคม

: บริษัท ในฐานะเปนบริษัทของคนไทย มีจิตสํานึก และตระหนักในความเปนสวนหนึ่งของสังคม ซึ่ง ตองมีหนาที่รับผิดชอบในการชวยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนแกชุมชน ตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมของทองถิ่นที่บริษัท มีการดําเนินธุรกิจ

ลูกคา

: บริษัทมีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคาที่จะไดรับผลิตภัณฑและ บริการที่ดีมีคุณภาพ ในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปดเผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการ อยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง

คูคา

: การดําเนินธุรกิจกับคูคาใดๆ ตองไมนํามาซึ่งความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของบริษัทหรือขัดตอ กฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึงความเสมอภาคในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรวมกันกับคูคา การ คัดเลือกคูคาตองทําอยางยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทถือวาคูคาเปนปจจัยสําคัญในการรวมสราง Value Chain ใหกับลูกคา

คูแขง

: บริษัทสนับสนุนและสงเสริม นโยบายการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม ไมผูกขาด หรือ กําหนดใหคูคาตองขายสินคาของบริษัทเทานั้น

สวนที่ 2 หนา 66


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.4 การประชุมผูถือหุน ในการประชุมผูถ ือหุน ประธานที่ประชุมหรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากประธานที่ประชุม มีหนาที่จัดสรรเวลาให อยางเหมาะสม สงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกันใน การตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัท ใหแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ รวมทั้งมีการบันทึกประเด็น ซักถามและขอคิดเห็นที่สําคัญไวในรายงานการประชุม 9.4.5 ภาวะผูนาํ และวิสัยทัศน คณะกรรมการของบริษัทมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน นโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษัท ตลอดจนกํากับดูแลในฝายจัดการดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจและงบประมาณที่กําหนดไวอยางมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รวมทั้งดูแลใหมีกระบวนการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน การ ตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และมีการติดตามผลการดําเนินการอยางสม่ําเสมอ 9.4.6 ความขัดแยงทางผลประโยชน เพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดดูแลอยางรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน โดยกําหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันไวเปนลายลักษณอักษร รวมทั้ง กําหนดนโยบายและวิธีการดูแลไมใหผูบริหารและผูเกี่ยวของนําขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตน คณะกรรมการไดทราบถึงรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนและรายการที่เกี่ยวโยงกัน และไดพิจารณา ความเหมาะสมอยางรอบคอบทุกครั้ง โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญ รวมทั้งมีการปฏิบัติ ตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยโดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) และไดเปดเผยรายละเอียดมูลคารายการ คูสัญญา เหตุผล/ความจําเปน ไวในรายงานประจําป และแบบ 56-1 แลว ในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูลภายใน บริษัทไดกําหนดแนวทางไวในจรรยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) ซึ่ง ระบุวาผูบริหารและพนักงานทุกระดับตองไมใชขอมูลภายใน (Insider Information) ของกลุมบริษัทที่มีสาระสําคัญ และยังไมเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเองหรือผูอื่น โดยเฉพาะผูบริหารและพนักงานซึ่งอยูใน หนวยงานที่ทราบขอมูลภายใน จึงควรหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวง 1 เดือน กอนการ เปดเผยงบการเงินใหแกสาธารณชน นอกจากนี้ผูบริหารของบริษัทมีหนาที่จัดทํารายการถือหลักทรัพย และ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยของบริษัทของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตามแบบและ ภายในเวลาที่กําหนดในขอบังคับวาดวยการรายงานการถือหลักทรัพย และกําหนดใหผูบริหารสงสําเนารายงาน ดังกลาวใหบริษัทในวันเดียวกับวันที่รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 9.4.7 จริยธรรมธุรกิจ บริษัทกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัท เพื่อใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับ ยึดถือและ นําไปปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทเปนไปดวยดวยความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติตอบริษัท และผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รวมทั้งสาธารณชน และสังคม โดยบริษัท มีการติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางจริงจัง รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวย

สวนที่ 2 หนา 67


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.8 การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 40 ของกรรมการทั้งคณะ

10 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ จํานวน 4 ทาน หรือคิดเปน รอยละ

9.4.9 การรวมหรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการมิไดเปนบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหาร และโครงสรางคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระมากกวารอยละ 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งคณะ 9.4.10 การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการบริษทั กําหนดใหมีไตรมาสละ 1 ครั้ง เปนอยางนอย หรือประธานกรรมการจะพิจารณา เห็นสมควรเรียกประชุมเปนวาระพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปน โดยมีการกําหนดวาระการประชุมลวงหนาที่ ชัดเจน เปนระเบียบวาระพรอมเอกสารประกอบการประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสือเชิญประชุมใหแกกรรมการ ทุกทานกอนการประชุมไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูลกอนการประชุม เวนแตกรณีมี เหตุจําเปนเรงดวน และมีการบันทึกรายงานการประชุม และจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรองแลว เพื่อใชใน การอางอิง และสามารถตรวจสอบได ในการประชุม ประธานกรรมการไดจัดสรรเวลาใหอยางเพียงพอ สําหรับกรรมการที่จะอภิปราย ซักถาม ชี้แนะ ใน ประเด็นสําคัญแกฝายบริหารและกรรมการทุกทานมีความเปนอิสระ ในการแสดงความคิดเห็นทุกประการ ในป 2545 คณะกรรมการบริษัทไดมีการประชุมทั้งวาระปกติและวาระพิเศษรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง มีรายละเอียดการเขา รวมประชุมของกรรมการดังตอไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2. คุณทัศนีย มโนรถ 3. คุณบุญคลี ปลั่งศิริ 4. คุณศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 5. คุณศุภเดช พูนพิพัฒน 6. คุณอรุณ เชิดบุญชาติ 7. Mr. Lum Hon Fye 8. Mr. Lucas Chow 9. คุณสมประสงค บุญยะชัย 10.คุณชรินทร วงศภูธร *

เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม

8 ครั้ง 8 ครั้ง 4 ครั้ง 7 ครั้ง 7 ครั้ง 8 ครั้ง 6 ครั้ง (เริ่มตั้งแต Bod. No.2) 1 ครั้ง 7 ครั้ง 7 ครั้ง

* ลาออกเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 โดย คุณบุญชู ดิเรกสถาพร เขามาเปนกรรมการแทนเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2545

9.4.11 ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทไดใหความสําคัญตอระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ จึงได กําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงาน ผูบริหาร ไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน มี การควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทใหเกิดประโยชนและมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม และมีระบบรายงาน ทางการเงินเสนอผูบริหารตามสายงานที่รับผิดชอบ สวนที่ 2 หนา 68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทมีสํานักตรวจสอบภายในซึ่งรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหนาที่ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนํา เพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานของบริษัทบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว โดยการประเมิน ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง และการกํากับดูแลกิจการ บริษัทมีนโยบายที่ชัดเจนในการกําหนดใหการบริหารความเสี่ยง เปนสวนหนึ่งของการบริหารจัดการ เพื่อให วัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท สามารถปฏิบัติไดบรรลุตามที่ไดตั้งไว โดยผูบ ริหาร และพนักงานทุกคนในบริษัท เปนเจาของความเสี่ยง และมีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงานและ กระบวนการทํางาน ประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู พรอมทั้งนําเสนอแผนงานและวิธีการ ใน การลดความเสี่ยง 9.4.12 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินและงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ขอมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป และจัดใหมีระบบบริหาร ความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมอยางมีประสิทธิผล โดยคณะกรรมการบริษัทมีหนาที่ในการแตงตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําหนาที่สอบทานนโยบายการบัญชี และคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทาน ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ตลอดจนระบบการบริหารความเสี่ยง

สวนที่ 2 หนา 69


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.13 ความสัมพันธกับผูลงทุน คณะกรรมการบริษัทใหความสําคัญตอการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส และทั่วถึง ทั้ง รายงานขอมูลทางการเงิน และขอมูลทั่วไป ตลอดจนขอมูลที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของบริษัท โดยได เผยแพรขอมูลใหผูลงทุนและผูที่เกี่ยวของไดรับทราบ ผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาด หลักทรัพย และ web site ของบริษัท ในสวนของงานดานผูลงทุนสัมพันธนั้น ไดมอบหมายใหมีหนวยงาน ทําหนาที่สื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลเปน ประโยชนใหผูถอื หุน นักลงทุน รวมทั้งนักวิเคราะหและภาครัฐที่เกี่ยวของ นอกจากนี้บริษัท ยังไดจัดประชุม แถลงขอมูลผลการดําเนินงานรายป ( Annual Info Meeting) และรายไตรมาส (Mini Info Meeting) ใหแกนัก ลงทุน นักวิเคราะห โดยมีคณะกรรมการบริหารรวมประชุมชี้แจง และเปดโอกาสใหนักลงทุน นักวิเคราะห ผูจัดการกองทุน ตลอดจนผูที่สนใจไดซักถามขอมูลตางๆ ทั้งนี้ผูสนใจสามารถติดตอขอขอมูลตางๆ ผานทางหนวยงานนักลงทุนสัมพันธไดที่โทร. 02 299 5900 หรือ คนหา ขอมูลบน www. shincorp.com 9.5

การดูแลเรื่องของการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและยึดมั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย และความสุจริตใจ ในการดําเนินธุรกิจตอลูกคา บริษัทคูคา และผูถือหุน โดยมีขอบังคับและจรรยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) กําหนดแนวทางเพื่อใหผูบริหารและ พนักงานทุกระดับยึดถือและนําไปปฏิบัติ ในกรณีที่พนักงานหรือผูบริหาร นําขอมูลบริษัทไปเปดเผยหรือนําไปใช สวนตน หรือกระทําการที่อาจขัดแยงทางผลประโยชน ถือเปนความผิดอยางรายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัย ในจรรยาบรรณของบริษัทยังไดกําหนดใหผูบริหารและพนักงานซึ่งอยูในหนวยงานที่ทราบขอมูลภายใน หลีกเลี่ยง หรืองดการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวงระยะเวลา 1 เดือน กอนการเปดเผยงบการเงินใหแกสาธารณชน นอกจากนี้บริษัทไดทําการแจงใหกรรมการ และผูบริหารของบริษัท เกี่ยวกับหนาที่ที่ผูบริหารตองจัดทําและสง รายงานถือหลักทรัพย และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยของบริษัทตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุ นิติภาวะ ตามแบบและภายในระยะเวลาที่กําหนดในขอบังคับวาดวยการรายงานการถือหลักทรัพย และกําหนดให ผูบริหารสงสําเนารายงานดังกลาวใหบริษัท ในวันเดียวกับวันที่รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.

สวนที่ 2 หนา 70


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

9.6

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 บริษัทมีพนักงานทั้งสิ้น 3,280 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

1.

วิศวกรรม

576

2.

ปฏิบัติการดานบริการ

663

3. การตลาด

304

4.

การเงินและการบัญชี

184

5.

สนับสนุนระบบสารสนเทศ

310

6.

สนับสนุนดานอื่นๆ

207

7.

สํานักบริหารสวนภูมิภาค

8.

สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคเหนือ

244

9.

สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคตะวันออก

178

5

10. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

239

11. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคใต

203

12. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคกลาง

167

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 DPC มีพนักงานทั้งสิ้น 369 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

1.

สํานักงานและสนับสนุน

6

2.

ธุรกิจการคาเครื่องลูกขาย (Terminal Business)

132

3. ศูนยบริการซอม (Service Center)

151

4.

บัญชี-บริหารสินเชื่อ

62

5.

Phone rent

18

โดยมีคาตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษัทและบริษัทยอย ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ และผลประโยชนตอบแทนอื่นๆ เชน เบี้ยเลี้ยงการเดินทาง ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 1,709 ลานบาท 9.7

นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทจัดใหมีการอบรมและพัฒนาพนักงานทุกคนจากทุกฝายอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหทั้งองคกรรวมสรางศักยภาพ ไปพรอมๆ กัน โดยมีฝายพัฒนาทรัพยากรบุคคลรับผิดชอบดูแล ลักษณะการฝกอบรมแบงไดเปน 3 ประเภท ไดแก 1. Corporate Introduction เปนหลักสูตรฝกอบรมใหแกพนักงานทั่วทั้งองคกร เชน หลักสูตร We are AIS, The AIS Way for Corporate 2. Functional Training เปนหลักสูตรฝกอบรมเฉพาะตามสายงานหรือความรับผิดชอบ เชน Leading the Service Team หรือ English for Customer Services 3. Management Training เปนหลักสูตรฝกอบรมพนักงานระดับผูบริหาร เชน Problem Solving and Decision Making, First Line Manager และ Internet for Executives เปนตน

สวนที่ 2 หนา 71


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

10. การควบคุมภายใน บริษัทใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายใน เนื่องจากเห็นวาระบบการควบคุมภายในเปนกลไกสําคัญที่ให ความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลตอผูบริหาร ในการชวยลดความเสี่ยงทางธุรกิจใหแกบริษัท ชวยใหบริษัทดําเนิน ธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพโดยมีการจัดสรรทรัพยากรอยางสมประโยชน และบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว รวมทั้งชวย ปกปองคุมครองเงินลงทุนของผูถือหุนของบริษัท ชวยใหรายงานทางการเงินและรายงานดานการปฏิบัติงานของ บริษัทมีความถูกตองนาเชื่อถือ ชวยปกปองคุมครองทรัพยสินของบริษัทไมใหสูญหายหรือรั่วไหล และชวยให บุคลากรของบริษัทปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ บริษัทไดกําหนดใหคณะกรรมการบริษัท ฝายบริหาร และ พนักงานทุกคน มีหนาที่และความรับผิดชอบในการจัด ใหมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล และใหมีการปฏิบัติตามอยางสม่ําเสมอ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2546 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ เขารวมประชุมดวย คณะกรรมการไดประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท ใน 5 องคประกอบ คือ 1. การมีสภาพแวดลอมของการควบคุมที่ดี (Control Environment) 2. การมีกระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม (Risk Assessment) 3. การมีกิจกรรมควบคุมที่ดี (Control Activities) 4. การมีระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลที่ดี (Information and Communication) 5. การมีระบบการติดตามและการประเมินผลที่ดี (Monitoring and Evaluation) ผลการประเมินสรุปไดวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในครบทั้ง 5 ประการดังกลาวขางตน และ ทุกองคประกอบ มีการปฏิบัติตามอยางมีประสิทธิผล นอกจากนี้ผูสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ซึ่งเปนผูตรวจสอบงบ การเงินประจํางวดป 2545 ไดประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในของบริษัทตามที่เห็นวาจําเปน ซึ่งพบวาไมมี จุดออนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแตประการใด

สวนที่ 2 หนา 72


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11. รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยรายการดังกลาวลวนเปนการดําเนิน ธุรกิจปกติของบริษัท บริษัทยอย และบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สําหรับขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน นอกจากบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกําหนดอํานาจของผูมีสิทธิอนุมัติตาม วงเงินที่กําหนดแลว คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหนาที่เปนผูสอบทานการทํารายการระหวางบริษัทหรือบริษัทยอยกับ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนอีกดวย และเนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้น เปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้นรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้น อยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความเหมาะสมและราคาที่เปนธรรมเปนหลัก ในป 2544 และ ป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยผู ตรวจสอบบัญชีของบริษัทไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดปบัญชี 2544 และ งบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 วารายการดังกลาวเปนรายการคาตามปกติ โดย บริษัทไดคิดราคาซื้อ-ขายสินคาและบริการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตามราคาที่เทียบเทากับราคาที่คิดกับ บุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขตางๆ ตามปกติธุรกิจ ในกรณีที่ไมมีราคาดังกลาว บริษัทจะวาจางผูประเมินราคาอิสระมือ อาชีพ ในกรณีที่เปนการประเมินราคาประเภทการเชาอสังหาริมทรัพยจะเปนผูประเมินที่ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคาของรายการระหวางกัน เพื่อใชเปนแนวทางเปรียบเทียบกอนที่จะใหคณะกรรมการ ตรวจสอบทําหนาที่สอบทาน รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในชวงระยะเวลาดังกลาวมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 73


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.1 รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) / เปนผูถือหุนใหญของบริษัทใน อัตรารอยละ 43.06 และมี กรรมการรวมกัน

บริษัท และ AWM และ DPC วาจาง SHIN ใหเปน ที่ปรึกษาและบริหารงาน โดยบริษัทตองจายคาที่ ปรึกษาจํานวน 14,187,016.33 บาทตอเดือน โดย คาบริหารงานจายตามรายการที่เกิดขึ้นจริง 1. คาที่ปรึกษาและบริหารการเงิน 2. เงินปนผลจาย 3. คาเชาและบริการอื่น 4. รายไดจากการใหบริการ 5. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

2. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (SATTEL) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 51.53 และมีกรรมการ รวมกัน

บริษัทเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บน ดาวเทียมไทยคม 1A จาก SATTEL โดยบริษัทตอง ชําระคาตอบแทนในอัตรา 1,700,000 USD/ป 1. คาเชาและบริการอื่น 2. รายไดจากการใหบริการ 3. ซื้ออุปกรณระบบสื่อสาร 4. เจาหนี้การคา

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

140.48 437.48 4.36 0.90 6.19

156.29 437.48 5.26 1.17 6.24

235.27 505.48 0.09 0.73 2.59

248.54 505.48 0.09 0.83 2.59

76.19

76.19

73.37

73.37

1.28 2.55 6.20

1.53 2.55 6.20

1.76 6.15

1.89 6.15

สวนที่ 2 หนา 74

เปนนโยบายในการกํากับดูแลบริษัท ในกลุมของบริษัทใหญ ซึ่งประกอบ ธุรกิจในการเขาถือหุนและบริหารงาน เพื่อใหการควบคุมเปนประโยชนสูงสุด สําหรับบริษัทและผูถือหุน คาที่ปรึกษา เรียกเก็บรายเดือนโดยคิดคํานวณราย ปเปนสัดสวนตอสินทรัพยรวม ณ วัน สิ้นปในอัตรา 0.15% โดยทาง SHIN ไดวาจาง บริษัท Boston Consulting Group ( Thailand ) -BCG ซึ่งเปน บริษัทที่ปรึกษาเปนผูประเมินวิธีการ คิดคาธรรมเนียมและคาที่ปรึกษา คา บริหารการเงินกําหนดจากราคาตลาด ตามรายการที่เกิดขึ้นจริง เนื่องจากเปนผูใหบริการรายเดียวใน ประเทศ บริษัทชําระคาบริการในอัตรา เดียวกับลูกคาทั่วไปที่ไปใชบริการ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

3. บริษัท ชินวัตร อินฟอร บริษัท และ AWM และ APG และ DPC ใชบริการ เมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (SIT) ระบบคอมพิวเตอรของ SIT โดยจายคาตอบแทน 1,093,100 บาทตอเดือน /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 99.99 และมีกรรมการ 1. คาที่ปรึกษาและบริหารระบบคอมพิวเตอร 2. คาเชาและคาบริการอื่น รวมกัน 3. ซื้ออุปกรณสํานักงานและคอมพิวเตอร

4. บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด (SMB) /มี SHIN เปนผู ถือหุนใหญ รอยละ 99.96 และมีกรรมการรวมกัน

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

บริษัท และ AWM และ DPC วาจาง SMB เปนตัวแทน ในการจัดทําโฆษณาผานสื่อตางๆ โดยจะเปนการ วาจางครั้งตอครั้ง 1. -คาโฆษณา -คาโฆษณา (NET)

2. ซื้ออุปกรณสํานักงาน และ โปรแกรมคอมพิวเตอร 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

9.00 0.99

9.00 18.48 0.99

13.25 -

35.81 1.60 -

222.46

448.28

658.89

765.31

5.71 58.99

5.73 191.11

1.19 361.16

1.19 396.32

สวนที่ 2 หนา 75

เปนบริษัทที่ใหบริการ โปรแกรมคอมพิว เตอร เพื่อประมวลผลทางบัญชีเฉพาะ บริษัทในเครือ SIT คํานวณราคาจากตนทุนของ Hardware และ Software Maintenance ในแตละปมาเฉลี่ยตาม CPU usage ที่แต ละบริษัทไดใชงานในปที่แลว เพื่อเรียก เก็บคาบริการในปถัดไป เปนบริษัทโฆษณาที่มีความคิดริเริ่มที่ดี และมีความเขาใจในผลิตภัณฑและบริการ ของบริษัทเปนอยางดี รวมทั้งเปนการ ปองกันการรั่วไหลของขอมูล คาโฆษณาเปนการวาจางครั้งตอครั้ง บริษัทมีการเปรียบเทียบราคาตลาดกับ บริษัทอื่น


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท)

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (TMC) /มี SHIN เปนผู ถือหุนใหญรอยละ 38.25 และ มีกรรมการรวมกัน

6. บริษัท โอเอไอ แอส เสท จํากัด (OAIA) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผู ถือหุนใหญของ SHIN ถือ หุน OAIA รอยละ 100.00

บริษัทวาจาง TMC ในการจัดทําขอมูลสําหรับบริการ เสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การจัดหาขอมูลทาง โหราศาสตร ขอมูลสลากกินแบงรัฐบาล และเรื่องตลก ขบขัน เปนตน โดยชําระคาใชบริการตามที่เกิดขึ้นจริง เปนรายเดือน 1. คาบริการ 2. คาโฆษณา 3. เจาหนี้การคา 4. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน บริษัทมีการเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตรทาว เวอร 2 /เชาสํานักงานและพื้นที่จอดรถในอาคาร White House /เชาพื้นที่สํานักงานและพื้นทีจ่ อดรถในอาคาร การประปานครหลวง/เชาพื้นที่คลังสินคาและพื้นที่จอด รถในอาคารพหลโยธิน ซอย 13 1 คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2 เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

52.24 1.98 8.02 0.22

150.80 0.39

สวนที่ 2 หนา 76

52.24 6.15 8.02 0.22

166.72 0.40

งบการเงินเฉพาะ

40.57 3.00 0.34 3.05

155.29 6.14

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

40.73 3.04 0.34 3.05

เปนผูใหบริการที่มีความเชี่ยวชาญในการ จัดทําเนื้อหาของขอมูลตางๆ บริษัทชําระ คาบริการในอัตรารอยละของรายไดที่ บริษัทไดรับจากลูกคา ขึ้นกับประเภท ของบริการที่ลูกคาใช ซึ่งอัตราที่จายเปน อัตราเดียวกันกับ Content Provider ทั่วไปซึ่งอยูในอัตรารอยละ 10 - 60

เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมาโดย ตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ 158.29 บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ได 6.17 รับความเห็นชอบจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา เพื่อใชเปนแนวทาง ประกอบรวมกับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความ สะดวก คาใชจายในการขนยายและ ตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตาม สัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

7. บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด (SOP) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน SOP รอยละ 60.00

บริษัท และ AWM เชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตร ทาวเวอร 1 รวม 13,197 ตารางเมตร เปนเงินรวม ทั้งสิ้นประมาณ 6,316,575.73 บาทตอเดือน 1 คาเชาและคาบริการอื่น 2 เจาหนี้การคา 3 เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

87.21 0.18

117.47 0.24

130.69 0.87 3.81

133.28 0.87 3.81

8. บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด (WS) /กลุมครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน WS รอยละ 72.19

บริษัทเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารกลุมชินวัตร (เชียงใหม) 3,937.80 ตารางเมตร - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

17.24

19.56

22.96

23.18

สวนที่ 2 หนา 77

เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา เพื่อใชเปนแนวทาง ประกอบรวมกับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความ สะดวก คาใชจายในการขนยายและ ตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตาม สัญญา เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมาโดย ตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตงสถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณาการทํา สัญญาเชา และการตอสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

9. บริษัท พี.ที. คอรปอเร ชั่น จํากัด (PT) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน PT รอยละ 70.00

10. บริษัท อัพคันทรี แลนด จํากัด (UL) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน UL รอยละ 99.98

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

บริษัทเชาพื้นที่คลังสินคา แขวงคันนายาว/เชาพื้นที่ อาคารสํานักงานและพื้นที่ดาดฟา แขวงถนนนครไชย ศรี/เชาพื้นที่ในอาคารแขวงทุงสองหอง เขตบางเขน และพื้นที่ดาดฟา/เชาพื้นที่ติดตั้งอุปกรณสถานีฐานของ โครงการวังหินคอนโดทาวน/ APG เชาพื้นที่อาคาร Mini-office (ตึก D) แขวงทุงสองหอง - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

บริษัทเชาพื้นที่อาคารสํานักงานและสถานที่สําหรับ ติดตั้งสถานีฐาน ทั้งในกรุงเทพมหานครและในเขต ภูมิภาค รวม 95 แหง - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

10.41

19.88

14.01

112.25

112.58

95.08

สวนที่ 2 หนา 78

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมาโดย ตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี 16.98 นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตงสถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณาการทํา สัญญาเชา และการตอสัญญา เปนบริษัทที่มีประสบการณในการจัดหา พื้นที่เชาทั่วประเทศไทย ไดตรงตาม เสนทางที่ตองการและทันตามกําหนดเวลา 95.93 ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตงสถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณาการทํา สัญญาเชา และการตอสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท 11. บริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จํากัด (OAIL) /กลุม ครอบครัว ชินวัตรและครอบครัวดามา พงศ ซึ่งเปนผูถือหุน ใหญ ของ SHIN ถือหุน OAIL รอยละ 99.99 12. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด (ITAS) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญรอยละ 99.96 และมีกรรมการรวมกัน

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ บริษัท และ AWM เชารถยนตเพื่อใชงานประจําสาขา ตางๆ จํานวน รวม 122 คัน จาก OAIL 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ

2. ซื้อยานพาหนะ บริษัท วาจางใหการปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร เปนครั้งตอครั้ง 1. คาที่ปรึกษาและบริหารงาน

2. ซื้ออุปกรณสํานักงาน และคอมพิวเตอร 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 13. บริษัท โอเอไอ พร็อพ เพอรตี้ จํากัด (OPP) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน (OPP) รอยละ 67.00

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

บริษัท และ AWM และ DPC เชาพื้นที่สํานักงานใน อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 รวม 4,912 ตารางเมตร / บริษัทยังไดเชาพื้นที่บางสวนในอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 อีกรวม 689.90 ตารางเมตร 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

22.92

23.72

31.48

0.65

0.93

-

เปนบริษัทลีสซิ่งที่ใหบริการเชาเฉพาะ บริษัทในเครือ และราคาเทียบเคียงกับ 33.52 บริษัทลีสซิ่งอื่นรวมทั้งมีบริการที่ดีและ รวดเร็ว -

14.93

14.93

24.49

24.49

0.70 5.14

0.70 5.14

3.24 3.35

3.24 3.35

19.70 0.36

93.40 1.17 0.76

57.44 0.76 2.06

149.51 0.93 3.13

สวนที่ 2 หนา 79

เปนบริษัททีใหบริการโปรแกรมคอมพิว เตอรเฉพาะบริษัทในเครือ รวมทั้ง มีบริการที่ดี รวดเร็ว และราคาสมเหตุ สมผล ITAS คิดคาบริการในอัตราที่ต่ํา กวาจนถึงใกลเคียงกับราคาของบริษัท ที่ปรึกษารายอื่นที่ใหบริการในลักษณะ เดียวกัน อัตราคาบริการเฉลี่ยประมาณ 800 – 1,000บาทตอชั่วโมง ขึ้นอยูกับ ลักษณะงานและระดับของที่ปรึกษา เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมาโดย ตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ ในการทําสัญญาเชาอาคารบริษัทมี นโยบายเปรียบเทียบราคาตลาดประกอบ กับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สถานที่ เพื่อเปนเกณฑในการพิจารณา การทําสัญญาเชา และการตอสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

14. Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd. / เปนบริษัท ในกลุมเดียวกับ SingTel Strategic Investments Pte. Ltd. (SingTel) ซึ่ง เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท

บริษัททําสัญญากับ Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd ในการเปดใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) รวมกัน 1 รายไดจากการใหบริการ 2 ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน 3 เจาหนี้การคา

157.84 53.76 4.76

157.84 53.76 4.76

159.79 41.24 5.01

159.79 41.24 5.01

15. Singapore Telecom International Pte. Ltd. (STI) / เปนบริษัทในกลุม เดียวกับ SingTel ซึ่งเปนผู ถือหุนใหญของบริษัท

บริษัท จายเงินเดือนและผลตอบแทนใหแก STI ในการ สงพนักงานมาปฏิบัติงานที่บริษัทโดยจะเรียกเก็บ คาใชจายตามที่เกิดขึ้นจริง - เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น - เงินปนผลจาย - เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

39.62 28.12

43.79 28.12

21.94 227.20 11.44

21.94 227.20 11.44

16. บริษัท ซี.เอส.คอมมิวนิ เคชั่นส จํากัด (CSC) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ (โดย ทางออม) และมีกรรมการ รวมกัน

ADC ใหบริการ Datanet แกบริษัท และ CSC AWM และ APG วาจาง CSC ในการใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต โดยชําระคาบริการเปนรายเดือน 1. รายไดจากการใหบริการ 2. คาเชาและคาบริการอื่น 3. ลูกหนี้การคา

0.19 2.47 0.19

75.62 5.22 0.31

0.15 15.48 0.04

79.72 16.53 10.32

สวนที่ 2 หนา 80

เปนการดําเนินธุรกิจตามปกติในการขยาย การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ตางประเทศ ระหวางบริษัทกับผูให บริการรายอื่น โดย Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd เปนหนึ่ง ในผูใหบริการเหลานั้น ราคาที่เรียกเก็บเปนราคาที่ตางฝาย ตางกําหนดในการเรียกเก็บจากลูกคา แตละฝายที่ไปใชบริการขามแดนอัติ โนมัติ หักกําไรที่บวกจากลูกคา เปนไปตามขอตกลงระหวาง STI และ บริษัท โดย STI สงพนักงานมาใหความ ชวยเหลือทางดานการบริหารงานและดาน เทคนิคใหแกบริษัท ซึ่งเปนการจายตาม คาใชจายที่เกิดจริงจากการที่ STI สงคนมา ทํางานให หรือ เรียกเก็บตามอัตราที่ไดตก ลงกันไวในสัญญา เปนบริษัทในเครือที่ใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต และราคาเชนเดียวกับทีเ่ รียก เก็บจากลูกคารายอื่น


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

17. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด (Shinee) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ (โดย ทางออม) และมีกรรมการ รวมกัน

บริษัทวาจาง Shinee ในการใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต โดยชําระคาบริการเปนรายเดือน 1 คาเชาและคาบริการอื่น 2 เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

18. บริษัท บางกอกเทเล คอม เอ็นจีเนียริ่ง จํากัด (BTE) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน BTE รอยละ 99.99 19. กลุมครอบครัวชินวัตร และบริษัทในเครือ

บริษัท และ DPCวาจาง BTE ในการใหบริการติดตั้ง อุปกรณโทรคมนาคม 1 คาอุปกรณระบบสื่อสารและคาติดตั้ง 2 เจาหนี้การคา

20. กลุมกรรมการของ บริษัท

1 เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2 ดอกเบี้ยจาย 3. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 4. รายไดจากการใหบริการ 5. ซื้ออุปกรณสํานักงาน กลุมกรรมการของบริษัทมีการถือหุนกูของบริษัท 1 เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2 ดอกเบี้ยจาย

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

14.21 -

14.21 -

4.14 7.10

4.14 7.10

116.91 8.69

465.50 31.85

181.81 32.65

184.29 33.93

280.00 22.40 5.49 2.07 1.23

280.00 22.40 6.73 2.30 1.23

10.00 4.49 1.65 2.63 -

10.00 4.49 1.65 2.78 -

45.08 2.05

45.08 2.05

51.00 2.53

51.00 2.53

สวนที่ 2 หนา 81

เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการ ออกแบบ website และมีความหลากหลาย ของเนื้อหา ซึ่งตรงกับความตองการของ บริษัท บริษัทชําระคาบริการในอัตรารอย ละของรายไดที่บริษัทไดรับจากลูกคา ขึ้นกับประเภทของบริการที่ลูกคาใช ซึ่ง อัตราที่จายเปนอัตราเดียวกันกับ Content Provider ทั่วไป ซึ่งอยูในอัตรารอยละ1060 เปนบริษัทที่มีความชํานาญในการติดตั้ง สถานีฐาน และมีราคาที่เทียบเคียงกับ Contractor รายอื่น และมีการยื่นซอง ประกวดราคาตามระเบียบปฏิบัติของการ จัดซื้อจัดจาง

บริษัทออกและเสนอขายขายหุนกูแก ประชาชนทั่วไป โดยเสนอขายหุนกูใน ราคาเดียวกับผูถือหุนกูรายอื่น หุนกูของ บริษัทไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ ในระดับ AA- และใหผลตอบแทนในระดับ ที่ดีแกผูถือหุนกู


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2544 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

21. บริษัท ธนชาติ ประกันภัย จํากัด / กรรมการของบริษัท SHIN. เปนผูถือหุนรายใหญ

บริษัทจายคาเบี้ยประกันภัยสถานีฐาน และเบี้ย ประกันภัยอุปกรณ -คาเบี้ยประกันภัย

22. บริษัทเงินทุนธนชาติ จํากัด (มหาชน) (NFS) / กรรมการผูจัดการใหญของ NFS เปนประธาน กรรมการตรวจสอบของ บริษัท

บริษัท จายคาเชาซื้อคอมพิวเตอร และคาเชาพื้นที่ คาน้ําประปา, คาไฟฟา 1. คาเชาซื้อคอมพิวเตอร 2. คาน้ํา คาไฟ คาเชาอาคาร

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

-

3.92

สวนที่ 2 หนา 82

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด งบการเงินเฉพาะ

-

11.88

8.71

90.90 0.35

งบการเงินรวม

8.71

90.90 0.93

เปนบริษัทที่ใหบริการรับประกันภัยที่มี ชื่อเสียง และเพื่อปองกันความเสี่ยงที่ อาจจะเกิดขึ้น โดยบริษัทจายคาเบี้ย ประกันภัยในอัตราตลาด เปนบริษัทที่ใหบริการที่ดีและมีการติดตอ กับบริษัทมาโดยตลอด บริษัทชําระ คาบริการตางๆ ในอัตราตามที่ เปรียบเทียบไดกับบุคคลภายนอก


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.2 ขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันและนโยบายการทํารายการระหวางกัน ขั้นตอนการทํารายการะหวางกันบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการกับบุคคลอื่นๆ และ เปรียบเทียบกับราคาตลาดทั่วไป โดยจะมีการกําหนดอํานาจอนุมัติตามวงเงินที่กําหนดไวแลว และหากรายการระหวาง กันอื่นใดที่เขาขายตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยรายการที่ เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎดังกลาวอยางเครงครัด ในการทํารายการระหวางกันของบริษัท ไดมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสอบ ทานการทํารายการระหวางกันของบริษัท บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันทุกๆ ไตรมาส เพื่อไมใหเกิดความขัดแยง ทางผลประโยชนซึ่งกันและกัน ถึงแมวา บริษัทจะมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงถือหุนในบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด เกินกวา รอยละ 5 ของจํานวนหุนที่จาํ หนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด แตอยางไรก็ตาม บริษัท ไมมีรายการระหวางกันกับบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด ประกอบกับบริษัทไดกําหนดขั้นตอนในการอนุมัติ การทํารายการระหวางกันและนโยบายการทํารายการระหวางกันขางตน เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนซึ่ง กันและกัน

สวนที่ 2 หนา 83


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 งบการเงิน 12.1.1

รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูสอบบัญชีในชวงระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (2543 – 2545) ผูสอบบัญชีแสดง ความเห็นอยางไมมีเงื่อนไข โดยมีความเห็นวางบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และงบ การเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท ผลการดําเนินงานรวม และผลการดําเนินงานเฉพาะของบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของบริษัท โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

12.1.2

ตารางสรุปงบการเงินรวม งบดุลรวม บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หนวย : พันบาท 2543

2544

จํานวนเงิน

%

จํานวนเงิน

2545 %

จํานวนเงิน

%

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้และเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน-สุทธิ สินคาคงเหลือ - สุทธิ อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา-สุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอนื่ อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาสัมปทาน-สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สิทธิในสัญญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพยอนื่ - สุทธิ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

1,497,298 10,869,044 5,445,307 4,196 1,970,366 220,712 988,651 956,635 21,952,210

2.53% 18.38% 9.21% 0.01% 3.33% 0.00% 0.37% 1.67% 1.62% 37.12%

15,284,025 88,097 7,674,224 1,027 2,238,469 358,586 3,168,730 2,254,533 31,067,691

13.46% 0.08% 6.76% 0.00% 1.97% 0.32% 0.00% 2.79% 1.99% 27.36%

4,068,539 61,882 7,238,679 4,445 1,961,215 760,885 1,001 1,530,546 2,754,421 18,381,613

3.23% 0.05% 5.74% 0.00% 1.56% 0.60% 0.00% 1.21% 2.18% 14.58%

2,340,189

3.96%

6,233,122

5.49%

9,747,641

7.73%

33,947,149 57.41% 398,885 0.67% 0.00% 496,309 0.84% 37,182,533 62.88% 59,134,743 100.00%

สวนที่ 2 หนา 84

56,334,131 49.62% 13,943,788 12.28% 5,325,220 4.69% 634,437 0.56% 82,470,697 72.64% 113,538,388 100.00%

79,795,413 63.29% 12,504,659 9.92% 4,870,397 3.86% 785,646 0.62% 107,703,755 85.42% 126,085,368 100.00%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หนวย : พันบาท 2543 จํานวนเงิน หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เจาหนี้และเงินกูยมื จากบริษัทที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนของหุน กูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายแลกเปลี่ยนลวงหนา - สุทธิ สวนของผลประโยชนตอบแทนรายปคา งจาย ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ หุนกูระยะยาว ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนทีอ่ อกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคา สวนเกินมูลคาหุน กําไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฏหมาย ยังไมไดจัดสรร สวนของผูถือหุน สวนนอยในบริษทั ยอย หุนทุนซื้อคืน รวมสวนของผูถ อื หุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

2544 %

จํานวนเงิน

2545 %

จํานวนเงิน

%

2,049,960 7,657,698 294,207 783 2,301,267 -

3.47% 12.95% 0.50% 0.00% 3.89% 0.00%

5,456,758 10,701,380 334,271 919,763 6,346,124 5,167

4.81% 9.43% 0.29% 0.81% 5.59% 0.00%

30,000 7,649,396 438,340 1,531,002 6,970,452 -

0.02% 6.07% 0.35% 1.21% 5.53% 0.00%

1,813,905 3,892,835 18,010,655

3.07% 6.58% 30.46%

2,990,140 6,123,684 32,877,287

2.63% 5.39% 28.96%

4,474,048 7,969,295 29,062,533

3.55% 6.32% 23.05%

250,000 8,834,719 3,914,581 12,999,300 31,009,955

0.42% 14.94% 0.00% 6.62% 21.98% 52.44%

4,515,981 29,402,140 3,073,473 2,648,008 39,639,602 72,516,889

3.98% 25.90% 2.71% 2.33% 34.91% 63.87%

5,825,796 37,406,804 2,532,258 16,731 45,781,588 74,844,121

4.62% 29.67% 2.01% 0.01% 36.31% 59.36%

2,700,000 10,215,000

4.57% 17.27%

2,935,000 20,004,000

2.59% 17.62%

2,935,000 20,004,000

2.33% 15.87%

500,000 14,550,370 159,418 28,124,788 59,134,743

0.85% 24.61% 5.90% 0.00% 47.56% 100.00%

500,000 17,321,687 260,812 41,021,499 113,538,388

0.44% 15.26% 9.41% 0.00% 36.13% 100.00%

สวนที่ 2 หนา 85

500,000 0.40% 27,601,008 21.89% 271,901 9.26% (70,661) -0.06% 51,241,247 40.64% 126,085,368 100.00%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกําไรขาดทุน บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

หนวย : พันบาท 2543

2544

จํานวนเงิน

%

จํานวนเงิน

2545 %

จํานวนเงิน

%

รายได รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ

26,196,887

65.94%

41,741,058

68.80%

60,925,968

74.88%

รายไดจากการขาย

10,761,758

27.09%

17,448,710

28.76%

19,325,433

23.75%

760,640

1.91%

-

0.00%

-

0.00%

1,031,570

2.60%

-

0.00%

-

0.00%

978,789

2.46%

1,480,788

2.44%

1,114,957

1.37%

กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ-สุทธิ รายไดคาชดเชย รายไดจากการดําเนินงานอืน่

39,729,644 100.00%

60,670,556 100.00%

81,366,359 100.00%

14,940,630

37.61%

21,636,240

35.66%

29,765,916

36.58%

ตนทุนขาย

7,471,908

18.81%

13,539,035

22.32%

15,074,703

18.53%

คาใชจายในการขายและการบริหาร

5,364,287

13.50%

9,482,958

15.63%

13,802,387

16.96%

-

0.00%

105,728

0.17%

161,102

0.20%

339,232

0.85%

4,264,621

7.03%

-

0.00%

-

0.00%

-

0.00%

258,625

0.32%

คาตอบแทนกรรมการ

1,659

0.00%

2,781

0.00%

3,813

0.00%

รวมคาใชจา ย

28,117,716

70.77%

49,031,363

80.82%

59,066,546

72.59%

11,611,927

29.23%

11,639,193

19.18%

22,299,813

27.41%

ดอกเบี้ยจาย

(729,440)

-1.84%

(1,572,896)

-2.59%

(3,068,784)

-3.77%

ภาษีเงินได

(4,283,084)

-10.78%

(6,238,439)

-10.28%

(7,816,089)

-9.61%

6,599,403

16.61%

3,827,858

6.31%

11,414,941

14.03%

455

0.00%

(23,459)

-0.04%

(15,361)

-0.02%

6,598,949

16.61%

3,851,317

6.35%

11,430,301

14.05%

รวมรายได คาใชจา ย ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ

ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ-สุทธิ ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย

กําไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได

กําไรสุทธิกอ นพิจารณาสวนของผูถือหุน สวนนอยในบริษทั ยอย หัก สวนของผูถือหุนสวนนอย - สุทธิ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

สวนที่ 2 หนา 86


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกระแสเงินสด บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

หนวย : พันบาท งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับป รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายอาคารและอุปกรณภายใตสัญญาสัมปทาน คาตัดจําหนายสิทธิในสัญญาสัมปทาน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย คาใชจายรอการตัดบัญชีตัดจาย คาตัดจายจายลวงหนาตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ คาเผื่อสินคาลาสมัยและการลดมูลคาของสินคา คาเผื่อผลขาดทุนจากเงินมัดจําคาโทรศัพท คาตัดจําหนาย(สวนลด)และจากสัญญาซื้อขายและแลกเปลีย่ นลวงหนา ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายสินทรัพยถาวร ขาดทุนจากสินทรัพยเสียหาย (กําไร)จากการจําหนายสินคาของดาตาเน็ต ตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยถาวร ขาดทุน(กําไร)จากการตัดจําหนายตนทุนเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัว ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นที่ยังไมเกิดขึ้น ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นที่เกิดขึ้นสําหรับเงินกูที่เกิดขึ้นแลว คาความนิยมตัดจาย คาเผื่อการดอยคาของคาความนิยม (กําไร)จากการขายเงินลงทุนในบริษํทยอย ตัดจําหนายคาใชจายในการออกหุนกู สวนแบงกําไร(ขาดทุน)สุทธิของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย กําไรสุทธิกอนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 87

2543

2544

2545

6,598,949

3,851,317

11,430,301

676,206 4,386,992 90,342 553,117 119,216 15,261 9,564 (18,680) 125,540 158,945

1,028,738 7,042,526 151,608 4,264,621 62,943 2,236,232 134,639 (12,876) (256,007) (934) 2,573 295 1,292

1,725,331 8,528,745 454,823 78,297 2,219 4,251,886 (281,982) 115,391 (10,883) 28,920 9,093 24,512

71,399 15,449 33,679 113,363 300,000

22,977 51,818 592,949 -

18,356

14,237 455

29,931 (23,459)

1,206,794 258,625 (25,003) 43,408 (15,361)

13,264,033

19,181,180

27,833,884


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

หนวย : พันบาท งบกระแสเงินสดรวม

2543

การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน เงินลงทุนระยะสั้นที่ติดภาระค้ําประกันกับธนาคารลดลง ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการทีเ่ กี่ยวของกัน ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา สินคาคงเหลือ อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้บริษัทที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้สัญญาซื้อขายและแลกเปลีย่ นลวงหนา ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา สินทรัพยอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น

2544

2545

27,605 (2,150,831) (3,648) (220,712) (1,148,449)

(3,986,248) 3,169 212,922 (726,980)

(988,651) (34,823) 4,248,693 159,160 (68,255) 860,674 463,975 (16,247) (442,421)

(1,289,314) (264,986) 40,064 6,755 871,704 (1,421,355) (1,214) 1,151,205

942,693 (2,509,399) (283,079) 1,853,285

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

13,950,102

13,776,902

22,037,950

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

13,950,102

13,776,902

22,037,950

-

(73,778) (2,180,079) 120,763

914 1,638,184 -

7,072 (1,675,142) (10,063,053)

33,818 (3,997,752) (25,539,039)

25,665 117,750 (6,326,325) (32,202,013)

(11,731,123)

(31,636,067)

(36,745,825)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวเปลีย่ นแปลงสุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนายเปลีย่ นแปลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรับจากการลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ เงินสดรับจากการขาย - สุทธิจากการจําหนายของ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดของบริษัทยอย เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เงินสดจายเพื่อลงทุนในอาคารและอุปกรณภายใตสญ ั ญาสัมปทาน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

สวนที่ 2 หนา 88

(3,741,519) 559,551 (402,299) (725,780) (1,581,144) 98,315


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

หนวย : พันบาท งบกระแสเงินสดรวม

2543

2544

2545

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูยมื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูยมื ระยะสั้นจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากการออกหุนกูระยะยาว จายคืนหุนกูระยะยาว เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว จายคืนเงินกูยมื ระยะยาว จายคืนเงินตนของสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ การเปลีย่ นแปลงในสัดสวนของผูถือหุนสวนนอยเนื่องจาก การเพิ่มทุนในบริษัทยอย ชําระคาหุนทุนซื้อคืน จายเงินปนผล เงินปนผลรับคืน เงินสดสุทธิไดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

2,020,000 (1,950,000) 9,956,299 (334,550) 250,000 (3,457,892) -

5,946,758 (2,539,960) (17,278,567) 26,890,348 (2,308,000) 1,159,186 (31,312) 10,024,269

20,000 (5,446,758) 14,943,034 (6,357,450) 2,940,000 (1,227,002) (199,972) 160

-

32,435 (1,080,000) -

26,290 (70,661) (1,163,315) 12,334

6,483,857

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด - ยอดคงเหลือตนป (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นที่ยังไมเกิดขึ้นของ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นป - ยอดคงเหลือสิ้นป

สวนที่ 2 หนา 89

20,815,156

3,476,660

8,702,835 3,649,188

2,955,991 12,352,023

(11,231,215) 15,284,025

12,352,023

(23,990) 15,284,025

15,729 4,068,539


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

12.1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สาํ คัญสําหรับงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratio) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา)/1 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)/1 อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา)/2 ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%) อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficliency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย (เทา) อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เทา)/3 อัตราการจายเงินปนผล (%) ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไรสุทธิตอหุน (บาท) เงินปนผลตอหุน (บาท) อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สินรวม (%) รายไดจากการขายหรือบริการ (%) คาใชจายดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

2543

2544

2545

1.22 0.99 0.96 7.95 45 5.14 70 3.42 105 10

0.94 0.70 0.54 9.02 40 6.43 56 3.06 118 -22

0.63 0.39 0.71 10.76 33 7.18 50 3.33 108 -25

39.36% 24.84% 6.97% 187.40% 16.61% 26.67%

40.57% 24.55% 2.44% 399.14% 6.35% 11.14%

44.12% 26.93% 1.37% 36.14% 14.05% 24.78%

13.33% 35.84% 0.80

4.46% 24.12% 0.70

9.54% 28.51% 0.68

1.10 15.92 3.16 0.00%

1.77 7.41 0.59 28.04%

1.46 7.27 2.07 10.07%

10.42 2.44 0.00

14.79 1.39 0.39

17.46 3.89 0.39

48.34% 95.16% 46.58% 28.28% 139.96%

92.00% 133.85% 60.15% 76.78% -41.64%

11.05% 3.21% 35.58% 45.55% 196.79%

/1 ในทางปฏิบัติ บริษัทจะแจงยอดคาบริการทุกสิ้นเดือน โดยระยะเวลาเก็บหนี้จริงจะนอยกวาที่คํานวณไดขางตน อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา = (รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ+รายไดจากการขาย) / ลูกหนี้การคาหักหนี้สงสัยจะสูญ (เฉลี่ย) /2 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ = (ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ+ตนทุนขาย-ผลประโยชนตอบแทนรายป) / เจาหนี้การคา(เฉลี่ย)

สวนที่ 2 หนา 90


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

/3 อัตราสวนความสามารถชําระผูกพัน (Cash Basis) = (กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน+ดอกเบี้ยจาย-ดอกเบี้ยรับ) / (ดอกเบี้ยจาย+เงินตน+เงินปนผล) /4 มูลคาหุนสามัญของบริษัทที่ตราไวไดเปลี่ยนจากเดิมหุนละ 10 บาท เปน 1 บาท เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ทําใหทุนที่ออกจําหนายแลวเปลี่ยน จาก 293.5 ลานหุน เปน 2,935 ลานหุน หมายเหตุ 1. อัตรากําไรอื่น = รายไดที่ไมใชรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขาย/รายไดรวม 2. เงินตน = เงินจายคืน หุนกู/เงินกูระยะสั้น, หุนกู/เงินกูระยะยาวที่ถึงกําหนดใน 1 ป , Finance Lease

12.2 คําอธิบายการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.2.1

การวิเคราะหผลการดําเนินงาน

ภาพรวม ณ สิ้นป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบรวม 10,662,500 ราย แบงเปนผูใชบริการในระบบดิจิตอล GSM 2,526,300 ราย (GSM Advance และ GSM1800) และระบบ One-2-Call 8,136,200 ราย โดยมีผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิจากป 2544 จํานวน 5,459,200 ราย หรือรอยละ 104.9 เนื่องดวยในป 2545 ตลาดผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ มีการขยายตัวอยางมาก มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมหลาย ประการ เชน การลดลงของคาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ การปลดล็อค IMEI (International Mobile Equipment Identity) และความนิยมในการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา (Prepaid) ที่มีราคาถูกลง และความ สะดวกสบายในการหาซื้อ ประกอบกับมีผูประกอบการรายใหมเขามาในตลาด ทําใหภาวะการแขงขันระหวาง ผูประกอบการรุนแรงขึ้น แมวาสวนแบงการตลาดของบริษัทจะลดลงจากรอยละ 65 ณ สิ้นป 2544 เปนรอยละ 61 ณ สิ้นป 2545 แตจากการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหบริษัทมีผลการดําเนินงานเพิ่มขึ้นจากปที่แลวอยางมาก โดยในป 2545 บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดรวม 81,366 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2544 ที่บริษัทและบริษัทยอยมี รายไดรวม 60,670 ลานบาท และ กําไรสุทธิเพิ่มขึ้นอยางมากจากปกอน ทีม่ ีกําไรสุทธิ 3,851 ลานบาท เปน 11,430 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 91


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

วิเคราะหผลการดําเนินงาน รายไดหลักของบริษัทและบริษัทยอย แบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ รายไดจากการใหบริการ และ รายไดจาก การขาย ซึ่งรายไดหลักของบริษัทและบริษัทยอยไดมาจากธุรกิจ 3 ประเภท คือ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ธุรกิจบริการ สื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท และธุรกิจศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท ป 2543 ลานบาท รอยละ รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณ โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว ขอมูลผานสายโทรศัพท รวม รายไดจากการขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว ขอมูลผานสายโทรศัพท รวม ยอดรวม

ป 2544 ลานบาท รอยละ

ป 2545 ลานบาท รอยละ

24,792 1,148 257 26,197

67.1 3.1 0.8 70.9

40,884 539 318 41,741

69.1 0.9 0.5 70.5

60,476 72 378 60,926

75.4 0.0 0.5 75.9

10,549 194 19 10,762 36,959

28.5 0.5 0.1 29.1 100.0

17,359 70 20 17,449 59,190

29.3 0.2 0.0 29.5 100.0

19,309 7 9 19,325 80,251

24.1 0.0 0.0 24.1 100.0

รายไดจากการใหบริการและเชาอุปกรณ รายไดจากการใหบริการและเชาอุปกรณ ของบริษัทและบริษัทยอย เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 59.3 ในป 2544 และ รอยละ 46.0 ในป 2545 เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน โดยรายไดจากการใหบริการและการใหเชา อุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่ มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง จาก 24,792 ลานบาทในป 2543 เปน 40,884 ลานบาทในป 2544 และเปน 60,476 ลานบาท ในป 2545 โดยเปนผลมาจากการขยายฐานลูกคาอยางมาก โดยเฉพาะในการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา (Prepaid) ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และรายไดเฉลี่ยสุทธิตอเดือนของผูใชบริการ 1 ราย จํานวนผูใชบริการที่เพิม่ ขึ้นสุทธิ (ราย) จํานวนผูใชบริการสะสม (ราย) รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ (บาท / เดือน) GSM GSM GSM NMT 900 Advance 1-2-Call GSM 1800 NMT 900 Advance 1-2-Call GSM 1800 NMT 900 Advance 1-2-Call GSM 1800 ป 2543

(144,900)

330,800

83,100

465,600

1,157,200

354,500

216,100

1,106

1,309

-

1,295

ป 2544 ป 2545

(200,800) 1,102,500 1,934,000 (261,400) (26,000) 5,847,700

561,200

174,200 (101,100)

264,800 3,400

2,259,700 2,288,500 2,233,700 8,136,200

390,300 289,200

984 707

1,295 1,170

380 335

1,035 1,043

ตลาดของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ มีการเจริญเติบโตมาโดยตลอดตั้งแตป 2543 โดยจํานวนผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจาก 1,977,300 ราย ณ สิ้นป 2543 เปน 5,203,300 ราย ณ สิ้นป 2544 และเพิ่มขึ้นเปน 10,662,500 ราย ณ สิ้นป 2545

สวนที่ 2 หนา 92


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในดานของรายไดเฉลี่ยสุทธิตอเดือนของผูใชบริการ 1 ราย (Average Revenue Per User : ARPU) นั้น พบวา ในสวนของผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่แบบ GSM advance และแบบ One-2-Call! เฉลี่ยอยูที่ 1,170 บาทและ 335 บาท ตามลําดับ ลดลงจากปกอนเล็กนอย ซึ่งเปนผลมาจากสงเสริมการขายของบริษัทในระหวางป 2545 และจากการที่ฐาน ลูกคาผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทมีการขยายตัวเพิ่มและกวางมากขึ้น รายไดจากการขาย บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดจากการขายเพิ่มขึ้นจาก 10,762 ลานบาท ในป 2543 เปน 17,449 ลานบาท ในป 2544 และเปน 19,325 ลานบาท ในป 2545 ซึง่ เพิ่มขึ้น 6,687 ลานบาท หรือรอยละ 62.1 ในป 2544 และ 1,876 ลาน บาท หรือรอยละ 10.8 ในป 2545 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการขยายตัวอยางตอเนื่องของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยรวมตั้งแตป 2544 ทําใหปริมาณการขายเพิ่มขึ้น แมวาจะไดรับผลกระทบจากราคาโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่มีการปรับ ราคาลดลงหลังจากการไดดําเนินการปลดล็อค IMEI ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ ในป 2545 บริษัทและบริษัทยอย มีตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ 29,766 ลานบาท เพิ่มขึ้น 8,130 ลาน บาท หรือรอยละ 37.6 เมื่อเทียบป 2544 โดยเกิดจาก รายจายผลประโยชนตอบแทนที่บริษัท จะตองนําสงใหกับ ทศท. อันเนื่องจาก รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและคาใชจายตัดจายของตนทุนอุปกรณ เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งในไตรมาสที่ 2 ของป 2545 บริษัทไดมีการเปลี่ยนแปลง ระยะเวลาในการตัดจําหนาย ระบบอนาลอก NMT ใหเร็วขึ้นกวาเดิม จากระยะเวลาในการตัดจําหนายสิ้นสุด ไมเกินเดือนมิถุนายน 2546 เปนสิ้นสุด เดือนกันยายน 2545 โดยผลจากการเปลี่ยนแปลงอายุการใชงานดังกลาวทําใหคาตัดจําหนายในป 2545 เพิ่มขึ้น 322 ลานบาท อยางไรก็ตาม อัตรากําไรขั้นตนจากการใหบริการเพิ่มขึ้นจากรอยละ 48.2 ในป 2544 เปนรอยละ 51.1 ในป 2545 เนื่องจากอัตราการเพิ่มขึ้นของรายไดที่สูงกวาอัตราการเพิ่มขึ้นของตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย บริษัทและบริษัทยอย มีตนทุนขายเพิ่มขึ้นจาก 7,472 ลานบาท ในป 2543 เปน 13,539 ลานบาท ในป 2544 และ 15,075 ลานบาท ในป 2545 โดยเกิดจากการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และ การลดลงของราคาขาย ทําใหอัตรากําไรขั้นตนจากการขายเทากับรอยละ 22.0 ในป 2545 ซึ่งมีอัตราใกลเคียงกับปกอน คาใชจายในการขายและบริหาร คาใชจายในการขายและบริหารของบริษัทและบริษัทยอย เพิ่มขึ้นจาก 5,364 ลานบาท ในป 2543 เปน 9,483 ลานบาท ในป 2544 และ 13,802 ลานบาทในป 2545 โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 76.8 และ 45.5 ในป 2544 และ 2545 ตามลําดับ ทั้งนี้สาเหตุหลักเนื่องมาจาก • คาใชจายพนักงานเพิ่มขึ้นประมาณ 307 ลานบาท • คาใชจายทางการตลาดเพิ่มขึ้นประมาณ 921 ลานบาท สาเหตุหลักมาจากคาใชจายในการสนับสนุน กลุมลูกคาที่ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ NMT มาใชระบบดิจิตอล GSM Advance ที่มีคุณภาพ ดีกวาแทน ประมาณ 660 ลานบาท • บริษัทและบริษัทยอย ไดตั้งสํารองหนี้สูญเพิ่มขึ้นประมาณ 2,104 ลานบาท • คาความนิยมตัดจาย เพิ่มขึ้นประมาณ 578 ลานบาท • คาใชจา ยในการจัดสงใบแจงหนี้และจัดเก็บเงิน เพิ่มขึ้นประมาณ 217 ลานบาท สวนที่ 2 หนา 93


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดอกเบี้ยจาย ดอกเบี้ยจายของบริษัทและบริษัทยอย เพิ่มขึ้นจาก 729 ลานบาท ในป 2543 มาเปน 1,573 ลานบาท ในป 2544 และ 3,069 ลานบาท ในป 2545 เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอย ไดมีการออกหุนกูและเงินกูยืมเพิ่มขึ้น เพื่อนํา เงินที่ไดมาใชเปนแหลงเงินทุนสําหรับการขยายเครือขายของบริษัทและบริษัทยอย ภาษีเงินได ภาษีเงินไดเพิ่มขึ้นจาก 4,283 ลานบาท ในป 2543 มาเปน 6,238 ลานบาท ในป 2544 และ 7,816 ลานบาท ใน ป 2545 ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 45.6 ในป 2544 และ รอยละ 25.3 ในป 2545 เนื่องจากกําไรกอนภาษีเงินไดของบริษัทและ บริษัทยอยที่เพิ่มขึ้นอยางมาก แมวาบริษัทจะไดประโยชนทางภาษีในการขายเงินลงทุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัดใหกับบุคคลภายนอก ซึ่งเกิดผลขาดทุนในทางภาษี ทําใหคาใชจายภาษีเงินไดลดลง ประมาณ 434 ลานบาท กําไรสุทธิ จากที่กลาวขางตน บริษัทและบริษัทยอย มีกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 3,851 ลานบาท ในป 2544 เปน 11,430 ลาน บาท ในป 2545 ซึ่งเพิ่มขึ้น 7,579 ลานบาท หรือรอยละ 196.8 เมื่อเทียบกับปกอน และเนื่องดวยในป 2544 บริษัทและ บริษัทยอยมีคาใชจายเพิ่มขึ้นจากการตั้งคาเผื่อขาดทุนจากการดอยคาตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบอนาลอก NMT และตนทุนเครือขายโทรศัพทติดตามตัว เปนจํานวนเงินประมาณ 4,265 ลานบาท 12.2.2 (1)

วิเคราะหฐานะทางการเงิน การวิเคราะหสินทรัพย

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและเงินลงทุนชั่วคราว โดย ณ สิ้นป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 4,068 ลานบาทและมีเงินลงทุน ชั่วคราว 62 ลานบาท เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นป 2544 ที่มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวเปน 15,284 ลานบาท และ 88 ลานบาทตามลําดับ การที่บริษัทและบริษัทยอย มียอดเงินสดทั้งที่อยูในรูปรายการเทียบเทา เงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว ในระดับที่ลดลง เปนเพราะวา บริษัทและบริษัทยอยมีการลงทุนขยายครือขายระบบ โทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง ในมูลคาที่มากกวากระแสเงินสดที่ไดรับจากการดําเนินการและจากกิจกรรมจัดหาเงิน ลูกหนี้การคาสุทธิ ลูกหนี้การคาสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 5,445 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 มาอยูที่ระดับ 7,674 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 และ ลดลงเหลือ 7,239 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 เนื่องดวยในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยไดทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข การระงับบริการชั่วคราวที่มีความสอดคลองกับกลุมเปาหมายมากขึ้น ตลอดจนเพิ่มความเขมงวดในการตรวจสอบการ ชําระคาบริการของผูใชบริการ และไดมีการนําระบบ Intelligent Database มาใชเพื่อเพิ่มความสามารถในการบริหาร คุณภาพสินทรัพยไดดีขึ้น อีกทั้งการเพิ่มขึ้นของสัดสวนผูใชบริการแบบ Prepaid ที่ผูใชบริการตองจายเงินลวงหนา จึง เปนผลทําใหระยะเวลาในการจัดเก็บหนี้ดีขึ้นจากป 2544 ที่อยูที่ 40 วัน เปน 33 วัน

สวนที่ 2 หนา 94


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงลูกหนี้การคาของบริษัทและบริษัทยอย แยกตามอายุหนี้ที่คางชําระ

ลูกหนี้ปกติ ลูกหนี้ที่มีปญหาในการชําระหนี้ เกินกวา 3 เดือนแตไมเกิน 6 เดือน เกินกวา 6 เดือนแตไมเกิน 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน รวมลูกหนี้ที่มีปญหา รวมลูกหนี้การคา คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคาสุทธิ

31 ธันวาคม 2543 (ลานบาท) 5,251

31 ธันวาคม 2544 (ลานบาท) 7,762

31 ธันวาคม 2545 (ลานบาท) 7,774

316 62 54 432 5,683 (238) 5,445

746 260 304 1,310 9,072 (1,398) 7,674

815 898 94 1,807 9,581 (2,342) 7,239

ในการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้การคาที่คางชําระเกินกวา 3 เดือนนั้น บริษัทไดพิจารณาจาก สถานะของลูกคาและเงินประกันที่มีอยู สําหรับบริษัทยอยพิจารณาจากหนังสือค้ําประกันการชําระเงินของผูแทน จําหนายสินคาที่ออกโดยธนาคาร ซึ่งหลังจากที่บริษัทไดคืนเงินประกันใหแกลูกคาแลว สงผลใหการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัย จะสูญเพิ่มขึ้นในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2545 อยางไรก็ตาม กรรมการของบริษัทเชื่อวายอดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ขางตนเปนจํานวนที่พอเพียงกับความเสี่ยงจากหนี้สูญที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตบริษัทจะมุงเนนในการเพิ่มรายไดทั้งใน สวน postpaid และ prepaid ซึ่งลักษณะการใหบริการทั้ง 2 ประเภท ซึ่งมีความแตกตางกันตามแนวทางสําหรับแตละ ผลิตภัณฑที่บริษัทไดกําหนดไว และขึ้นอยูกับความตองการของผูใชเปนสําคัญ การทําตลาดของบริษัทจะมุงเนนในการ รักษาฐานของลูกคาและการขยายฐานลูกคาไปในตลาดภูมิภาค ถึงแมวาการใหบริการแบบ postpaid จะไมมีการเรียก เก็บเงินประกันกับผูใชบริการแลวก็ตาม บริษัทก็มีนโยบายในการจัดเก็บหนี้โดยเขมงวดอยูแลว ไดมีการใชโปรแกรม Fraud management มาระงับการใชบริการของลูกคาที่มียอดใชบริการผิดปกติ และบริษัทลดความเสียหายโดยกําหนด มูลหนี้สูงสุดของลูกคาแตละกลุมตามยอดการใชบริการและประวัติการชําระเงิน ดังจะเห็นไดจาก บริษัทมียอดหนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญลดลงมากจาก 2,769 ลานบาทในครึ่งปแรก เหลือเพียง 1,483 ลานบาทในครึ่งปหลัง สินคาคงเหลือสุทธิ สินคาคงเหลือสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 1,970 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 เปน 2,238 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 แตลดลง เหลือ 1,961 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 เนื่องดวยในป 2545 ตนทุนสินคาคงเหลือลดลง อันเปนสาเหตุจากตลาด โทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมมีการขยายตัวเปนอยางมาก จึงทําใหผูผลิตสามารถผลิตในตนทุนที่ต่ําลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ บริษัทและบริษัทยอย มีที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 2,340 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 มาเปน 6,233 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 และ 9,748 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอย ไดมีการลงทุนใน อุปกรณที่เกี่ยวของกับการใหบริการเสริมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัวและตนทุนของเครื่องมืออุปกรณในการ ดําเนินการดาตาเนทภายใตสัญญารวมการงานสุทธิ ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทติดตามตัวและตนทุนของเครื่องมือและอุปกรณในการดําเนินการ ดาตาเน็ทภายใตสัญญารวมการงานสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 33,947 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 เปน 56,334 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 และเปน 79,795 ลานบาท ณ สิ้น ป 2545 ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทไดลงทุนในเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นโดย เนนการลงทุนในระบบดิจิตอล GSM ทั้งในเขตกรุงเทพฯ และ ตางจังหวัด สวนที่ 2 หนา 95


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

(2)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การวิเคราะหหนี้สิน

เจาหนี้การคา บริษัทและบริษัทยอยมีเจาหนี้การคา ณ สิ้นป 2543 อยูที่ระดับ 7,658 ลานบาท หรือมีระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ย อยูที่ 105 วัน ขณะที่ ณ สิ้นป 2544 เจาหนี้การคาของบริษัทและบริษัทยอยเพิ่มขึ้นเปน 10,701 ลานบาท หรือมี ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยอยูที่ 118 วัน เนื่องจากบริษัทมีการลงทุนขยายเครือขายมากขึ้น ขณะที่ ณ สิ้นป 2545 เจาหนี้ การคาลดลงมาอยูที่ระดับ 7,649 ลานบาท หรือมีระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ยอยูที่ 108 วัน จะเห็นไดวาบริษัทและบริษัท ยอย มีระยะเวลาชําระหนี้ที่ต่ําลง อันเนื่องมาจาก การที่บริษัทไดจายเงินลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ลวงหนาบางสวนใหแกผูจัดจําหนาย เพื่อรับสวนลดจากการชําระเงินดังกลาว แมวาบริษัทจะมีการลงทุนขยายเครือขาย เพิ่มมากขึ้นก็ตาม หุนกูและเงินกูยืมระยะยาว บริษัทและบริษัทยอยมียอดหุนกูระยะยาวและหนี้สินระยะยาวรวมทั้งสิ้น 11,387 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 โดย เพิ่มขึ้นเปน 41,184 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 บริษัทไดออกหุนกูระยะยาวเพิ่มขึ้นจํานวนเงินสุทธิ 14,986 ลานบาท และ เงินกูยืมระยะยาวและหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินเพิ่มขึ้นเปนจํานวนเงินสุทธิ 3,358 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 ตามลําดับ และรวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 18,344 ลานบาท ไดชําระคืนหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวเปนจํานวน 6,357 ลานบาทและ 1,437 ลานบาทตามลําดับ รวมเปนจํานวนเงินที่ไดชําระทั้งสิ้น 7,794 ลานบาท ทําให ณ สิ้นป 2545 บริษัทและบริษัทยอย มีหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวรวมทั้งสิ้นจํานวน 51,734 ลานบาท โดยบันทึกไวในสวนของหุนกู และเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เปนจํานวน 8,501 ลานบาท และสวนของหุนกู และเงินกูยืมระยะ ยาวสุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปเปนจํานวน 43,233 ลานบาท หนี้สินหมุนเวียนอื่น บริษัทและบริษัทยอยมีหนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้นจาก 3,893 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 เปน 6,124 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 และเพิ่มเปน 7,969 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 ซึง่ รายการสวนใหญประกอบดวย ภาษีเงินไดคางจายเปน จํานวนเงิน 3,666 ลานบาท และรายไดรับลวงหนาจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา (Prepaid) เปนจํานวนเงิน 2,304 ลานบาท (3)

การวิเคราะหสวนของผูถือหุน

ณ สิ้นป 2545 บริษัทมีสวนของผูถือหุนทั้งสิ้น 51,241 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 41,021 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 และ 28,125 ลานบาท ณ สิ้นป 2543 โดยบริษัทมีทุนชําระแลว 2,935 ลานบาท มีสวนเกินมูลคาหุน 20,004 ลานบาท และมีกําไรสะสมทั้งสิ้น 28,101 ลานบาท นอกจากนี้ ในระหวางเดือนธันวาคม 2545 บริษัททําการซื้อหุนสามัญของ บริษัทคืนจํานวน 2.16 ลานหุน ในราคาถัวเฉลี่ย 32.67 บาทตอหุน การซื้อหุนคืนดังกลาว บริษัทไดรับการอนุมัติจากที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท วันที่ 14 พฤศจิกายน 2545 ซึ่งอนุมัติใหบริษัททํารายการซื้อหุนคืน ไมเกิน 90 ลานหุน หรือเทียบเทากับรอยละ 3.07 ของจํานวนหุนที่จดทะเบียนและเรียกชําระทั้งหมด (4) การวิเคราะหโครงสรางเงินทุน บริษัทและบริษัทยอย มีนโยบายที่จะรักษาสัดสวนของหนี้สินตอสวนของผูถือหุนใหอยูในระดับไมเกิน 2 ตอ 1 ซึ่ง ณ สิ้นป 2543 อัตราหนี้สินตอสวนของผูถือหุนอยูที่ระดับ 1.10 เนื่องจากบริษัท ไดออกหุนกูระยะยาว จํานวน 10,000 ลานบาท ในเดือนมีนาคม 2543 รวมถึงหนี้สินระยะสั้นและระยะยาวเพิ่มขึ้นเปนจํานวน 2,671 ลานบาท จากป สวนที่ 2 หนา 96


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2542 และจากผลกําไรในป 2543 ที่เพิ่มขึ้นจากปกอน ในอัตรารอยละ 140 สงผลใหสวนของผูถือหุนในงบดุลของบริษัท เพิ่มขึ้นจํานวน 6,600 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนบริษัทและบริษัทยอยเพิ่มขึ้นเปน 1.77 เนื่องจากการออกหุนกูระยะยาว 2 ครั้งในเดือนมีนาคม และเดือนพฤศจิกายน 2544 จํานวนรวม 26,890 ลาน บาท รวมถึงหนี้สินระยะสั้นและระยะยาวที่เพิ่มขึ้น ณ สิ้นป 2545 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนในงบดุลของ บริษัท อยูที่ระดับ 1.46 เนื่องจาก บริษัทมีผลกําไรที่เพิ่มขึ้นอยางมากจากปกอน ในอัตรารอยละ 197 สงผลใหสวนของ ผูถือหุนเพิ่มขึ้นเปนจํานวน 10,220 ลานบาท และในป 2545 บริษัท ไดออกหุนกูระยะยาวจํานวน 2 ครั้ง ในเดือน มีนาคม และเดือนตุลาคม เปนจํานวนเงิน 15,000 ลานบาท และเงินกูยืมระยะยาว 2,000 ลานบาทในเดือนพฤศจิกายน และบริษัทไดชําระเงินกูยืมระยะสั้นและหุนกูและเงินกูยืมระยะยาว เปนจํานวนเงินรวมทั้งสิ้น 13,031 ลานบาท (5) การวิเคราะหสภาพคลอง บริษัทยังคงมีการลงทุนในเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการใหบริการและเพิ่มประสิทธิภาพใน การใหบริการอยางตอเนื่อง โดยในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยใชเงินลงทุนเปนจํานวนทั้งสิ้น 36,746 ลานบาท ซึ่งมี แหลงเงินทุนจากรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ทําใหมี กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน 22,038 ลานบาท ประกอบกับการที่บริษัทไดรับเงินจากการออกหุนกูระยะยาว สุทธิ 14,943 เงินกูยืมระยะยาว 2,940 ลานบาท และเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคารพาณิชยอีกจํานวน 20 ลานบาท ขณะเดียวกันก็มีการชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้น ระยะยาว และหุนกูระยะยาวเปนจํานวน 13,231 ลานบาท รวมทั้งมีการ จายเงินปนผล 1,151 ลานบาท และซื้อหุนคืน 71 ลานบาท ทําใหบริษัทมีเงินสดสุทธิในกิจกรรมจัดหาเงินทั้งสิ้น 3,477 ลานบาท ทําใหในป 2545 บริษัทและบริษัทยอย มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิ 11,231 ลานบาท อัตราสวนสภาพคลองลดลงจาก 1.22 เทา ณ สิ้นป 2543 เปน 0.94 เทา ณ สิ้นป 2544 เนื่องจากการเพิ่มขึ้น อยางมากของเจาหนี้การคาและสวนของผลประโยชนตอบแทนรายปคางจายที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป และลดลงมา อยูที่ระดับ 0.63 เทา ณ สิ้นป 2545 เนื่องจากการลดลงอยางมากของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด จากการ ลงทุนขยายครือขายระบบโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง จากการประมาณการของบริษัท บริษัทจะใชแหลงเงินทุนจากการดําเนินงานของบริษัท มารองรับหุนกูที่จะ ครบกําหนดไถถอนในป 2546 และ 2547 เนื่องดวยการลงทุนในเครือขายระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทไดลงทุนอยาง ตอเนื่องในชวงที่ผานมา ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมทั่วประเทศ เปนความไดเปรียบในการแขงขันเหนือผูประกอบการรายอื่น ดังนั้นถาเทียบกับเงินทุนที่บริษัทใชไปเพื่อการลงทุนขยายเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ในปกอนๆ กับประมาณการของ บริษัทในป 2546 และ 2547 ลดนอยลง และจากรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ประมาณการเพิ่มขึ้น เนื่องจากการขยายตัวของฐานลูกคากวางขึ้น ทั้ง postpaid และ prepaid จึงทําใหบริษัท มีความสามารถในการชําระหุน กูที่จะครบกําหนดไถถอนดังกลาวขางตน (6) การวิเคราะหความสามารถในการชําระหนี้ ณ สิ้นป 2544 บริษัทมีอัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ยอยูที่ระดับ 7.41 เทา โดยบริษัทมีกําไร จากการดําเนินงาน 11,430 ลานบาท และมีดอกเบี้ยจายจํานวน 3,069 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 บริษัทมีอัตราสวน ความสามารถในการชําระดอกเบี้ยอยูที่ระดับ 7.27 เทา บริษัทมีอัตราสวนความสามารถในการชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) ณ สิ้นป 2544 อยูที่ 0.59 เทา เนื่องจากบริษัทมีภาระการจายคืนหุนกูระยะยาว และหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระจํานวน 7,784 ลานบาท ซึ่ง ภาระการชําระคืนหุนกูและหนี้สินระยะยาวลดลง จึงมีอัตราสวนความสามารถในการชําระภาระผูกพัน ณ สิ้นป 2545 เพิ่มขึ้นเปน 2.07 เทา สวนที่ 2 หนา 97


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 98


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดตรวจสอบขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว ขอรับรองวาขอมูลดังกลาวถูกตอง ครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญอันอาจทําใหบุคคลผูเขาซื้อ หลักทรัพยเสียหาย ในกรณีนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใด ไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตอง ของขอมูลไว ชื่อ

ตําแหนง

1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ

กรรมการผูมีอํานาจ

2. นายสมประสงค บุญยะชัย

กรรมการผูมีอํานาจ

3. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

กรรมการผูมีอํานาจ

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินสายธุรกิจ โทรคมนาคมไรสาย

ลายมือชื่อ


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

การถือหุน ทางครอบครัว

ประวัติการทําผิด ทางกฎหมายในระยะ

(%) * ระหวางผูบริหาร ไมมี ไมมี ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟา Iowa State University, USA. วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ( วปอ. รุนที่ 33 )

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

62 ประธานกรรมการ

นายบุญคลี ปลั่งศิริ

52 กรรมการและประธานกรรมการ บริหารกลุมชิน คอรปอเรชั่น

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท Computer Engineeing, University of Illinois (Urbama Champaign), USA.

นายสมประสงค บุญยะชัย

48 กรรมการและ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ไรสาย

ไมมี

ไมมี

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 1

2543-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน 2542-2545 2536-2541 2535-2536 2531-2535 2545-ปจจุบัน 2544-2545 2540-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ธนาคารทหารไทย ประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการบริหารกลุมชิน คอรปอเรชั่น ที่ปรึกษาองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ผูอํานวยการองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ บมจ. ไอทีวี ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร กลุม ชิน คอรปอเรชั่น 2540-2543 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2538-2539 รองประธานกรรมการบริหารดานปฏิบัติการ กลุมชินวัตร 2536-2537 กรรมการผูอํานวยการกลุมชินวัตร 2543-ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร กลุม ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท 2542-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540-2541 รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย 2538-2539 กรรมการผูอํานวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2537-2538 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2536-2537 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2536 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2535-2536 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการที่ 4 กลุมชินวัตร

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป) นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

สัดสวน ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

การถือหุน ทางครอบครัว

55 กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ทางกฎหมายในระยะ

(%) * ระหวางผูบริหาร ไมมี ไมมี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Wichita State University, Wichita, Kansas, USA.

2544-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ . ไอทีวี 2543-ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการ บมจ . ชิน คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ . ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ . ชินแซทเทลไลท 2541-2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสดานการเงิน บมจ . ชิน คอรปอเรชั่น 2537-2541 กรรมการผูอํานวยการสายงานบริหารและการเงิน กลุมชินวัตร 2534-2536

นายลัม ฮอน ฟาย

40 กรรมการและ

0.001

ไมมี

รองประธานกรรมการบริหาร

ประวัติการทําผิด

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ-การเงิน กลุมชินวัตร

Master of Science in Management,

2545-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Standford University, USA.

2544-ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Engineering Science

2544

(1st Class Honours), University of Oxford, UK.

นายเชา วิง เคียง ลูคัส

49 กรรมการและ กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

Bachelor of Science (Honours) University of Aston, Birmingham, UK.

นางทัศนีย มโนรถ

58 กรรมการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตรและ การบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ เอกสารแนบ 1 หนา 2

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

Vice President - Regional Mobile/Consumer Business, Singapore Telecom Ltd.

2542-2544

Vice President/ Chief Executive Officer - Sales and Channels,

Telecom Equipment Chief Executive Officer, SingTel Paging Executive Vice President (Consumer Business Group), กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2542-ปจจุบัน Vice President (Consumer Marketing) CEO (SingTel Mobile) 2541-2542 Group Director of Total Quality 2541 Operation Manager of Hewlette 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2545-ปจจุบัน รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานบริหารการเงินและบัญชี บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 2543-2545 รองผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2542-2543 ผูชวยผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2539-2542 ผูอํานวยการฝายการเงินและงบประมาณ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2541-2542 ปจจุบัน

ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป) นายศุภเดช พูนพิพัฒน

สัดสวน ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ประสบการณทํางาน

ประวัติการทําผิด

การถือหุน ทางครอบครัว

ทางกฎหมายในระยะ

(%) * ระหวางผูบริหาร 53 กรรมการและ ไมมี ไมมี ปริญญาโท University of Wisconsin, ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ USA.

10 ปที่ผานมา ไมมี

นายอรุณ เชิดบุญชาติ

62 กรรมการและ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

นายบุญชู ดิเรกสถาพร

57 กรรมการและ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

49 กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

2541-ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2533-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน) 2541-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารบริษัทตาง ๆ ในกลุมบริษัท ตรีนิตี้

ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ California State University, Long Beach, California USA. ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวม เอกชน (วปอ. หลักสูตร ปรอ. รุนที่ 3) ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม ปจจุบัน อันดับสอง) คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูสอบบัญชีรับอนุญาติจากประเทศอังกฤษ ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 2542-2543 วุฒิบัตรสมาชิกอาวุโส สถาบันกรรมการบริษัทไทย 2540-2542 ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟา 2543-ปจจุบัน Massachusetts Institute of Technology, USA. 2540-ปจจุบัน 2538-2540 2537-2543 2536-2537 2534-2535 2532-2534 2529-2532

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ เอกสารแนบ 1 หนา 3

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการและกรรมการผูจัดการ บมจ. ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง กรรมการและรักษาการกรรมการผูจัดการบริษัทผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด กรรมการบริษัท ราชบุรีพลังงาน จํากัด รองผูวาการบัญชีและการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และทําหนาที่รองผูวาการบริหาร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รองผูวาการบัญชีและการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รองประธานกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ รองประธานกรรมการบริหารดานนโยบาย กลุมชินวัตร กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท รองกรรมการผูอํานวยการ IBC Cable TV ผูจัดการอาวุโส ฝายพัฒนาธุรกิจ กลุมบริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร ผูจัดการทั่วไป IBC Cable TV ผูอํานวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, USA. ผูจัดการฝายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษัท Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey USA.

ไมมี

ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน ความสัมพันธ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การถือหุน ทางครอบครัว

ประสบการณทํางาน

ประวัติการทําผิด ทางกฎหมายในระยะ

(%) * ระหวางผูบริหาร ไมมี ไมมี ปริญญาโท จาก Kentucky State University, USA.

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

34 กรรมการผูอํานวยการ

นายวิกรม ศรีประทักษ

51 หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี

ไมมี

ไมมี

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

นางสุวิมล แกวคูณ

48 หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและ ธุรกิจเครื่องลูกขาย

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโทบริหารธุรกิจ เอเซียอินสติติวท ออฟแมเนจเมนท ประเทศฟลิปปนส Advanced Management Program, Harvard Business School Boston, USA.

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

41 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงิน สายธุรกิจ สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย

ไมมี

ไมมี

Master of Management, SASIN

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 4

2545-ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2544-2545 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสสายงานวางแผนธุรกิจ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2542-2544 รองกรรมการผูอํานวยการสายงานปฏิบัติการดานบริการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540-2541 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2538-2539 ผูจัดการทั่วไป บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2534-2537 ผูจัดการ บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2545-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี 2543-2545 กรรมการผูอํานวยการ บจก. ดิจิตอล โฟน 2541-2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538-2541 รองกรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรอินเตอรเนชั่นแนล 2545-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538-2545 กรรมการผูจัดการ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด 2525-2537 กรรมการผูจัดการ บมจ. โรบินสัน ดีพารทเมนทสโตร 2523-2524 บริษัท อัลลายดแมเนจเมน คอนซัลแตนทออฟเอเชีย จํากัด 2544-ปจจุบัน ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี สายธุรกิจ สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2541-2544 Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Ltd. 2537-2541 Financial Director, Shinawatra Paging Co.,Ltd., Pager Sales Co., Ltd.

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ

SATTEL

SBI

CSL

CSP

SHEN

CAM

LTC

iPSTAR

SOP

AST

OAI

PT

OPP

OA

WS

UL

/ -

/ / -

/ // /, // /, // -

x / / -

/ x -

x -

/ / / -

x / -

/ / -

/ -

-

-

-

-

-

-

-

-

เอกสารแนบ 2 หนา 1

SGI

MERRY

/ -

SGM

ARC

/ / -

BP

SHINEE

/ -

OCM

ADV

x / -

BTE

TMC

- x x, // - - /, // - - - - - - - - - - - -

ART

/ / -

ITV

/ / -

SMB

x / / / -

ITAS

SIT

1.. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม X - - 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ /, // / x - 3. นายสมประสงค บุญยะชัย // /, // / x x 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ /, // /, // / / / 5. นายลัม ฮอน ฟาย / / / / 6. นายเชา วิง เคียง ลูคัส /, // / - / 7. นางทัศนีย มโนรถ / - - 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน / - - 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ / - - 10. นายบุญชู ดิเรกสถาพร / - - 11. ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ // // - - / 12. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร // - / / 13. นายวิกรม ศรีประทักษ / - 14. นางสุวิมล แกวคูณ - - 15. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ - - X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร * นับรวมทั้งการถือหุนทางตรงและทางออม

รายชื่อกรรมการและผูบริหาร

DPC

DNS

บริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของ

ACC

บริษัทยอย ADC

ADVANC

บริษัท บริษัทฯ ใหญ SHIN

รายชื่อบริษัท*

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - / - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ขอมูล ณ วันที่ 10 มีนาคม 2546


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายชื่อบริษัท SHIN ADVANC DPC ADC ACC DNS SIT ITAS SMB ITV ART TMC ADV SHINEE ARC MERRY SATTEL SBI CSL

บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท แอดวานซคอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด บริษัท ไอ.ที.แอพพลิเคชั่นส แอนดเซอรวิส จํากัด บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) บริษัท อารแวร มีเดีย จํากัด บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด บริษัท อารคไซเบอร จํากัด Merry International Investment Corp. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) บริษัท ชินบรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด

CSP SHEN CAM LTC iPSTAR SOP AST OAI PT OPP OA WS UL BTE OCM BP IFL SGM SGI

เอกสารแนบ 2 หนา 1

บริษัท ซี.เอส. แซทเทลไลทโฟน จํากัด Shenington Investments Pte., Ltd. บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จํากัด บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร จํากัด บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด บริษทั เอสซี แอสเสท จํากัด บริษัท โอเอไอ ลิสซิ่ง จํากัด บริษัท พีที คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท โอเอไอ พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท โอเอไอ แอสเสท จํากัด บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด บริษัท อัพคันทรี่แลนด จํากัด บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท โอเอไอ คอนซัลแตนทแอนดแมนเนจเมนท บริษัท บี.พี. พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท อินโฟลิงค จํากัด Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd. Singapore Telecom International Pte. Ltd.


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย และบริษัทรวม รายชื่อบริษัท/ DPC รายชื่อกรรมการ นายสมประสงค บุญยะชัย / นายบุญคลี ปลั่งศิริ x, / นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ / นายลัม ฮอน ฟาย / ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายจํารัส ตันตรีสุคนธ นายสําราญ พงษประยูร นางอภิวรรณ สายประดิษฐ นายวิกรม ศรีประทักษ / นายโกวิท สูรพันธ / นายเชา วิง เคียง ลูคัส / X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ

ADC

ACC

DNS

x, / / / / / / / -

x, / / / / / /

x, / / / / / -

เอกสารแนบ 2 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดสัญญารวมการงาน 1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) ภายใตสัญญารวมการงานจาก ทศท. ที่ไดลงนามรวมกันกับ ADVANC เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอตกลง ตอทายสัญญาหลัก 7 ครั้ง ดังตอไปนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2536 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2539 ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ขอตกลงเรื่องการแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณ) ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ขอตกลงเกี่ยวกับ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา Prepaid Card มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2544) และครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและขอตกลงแนบทายสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูสัญญา

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการที่ไดรับอนุญาตให : ดําเนินการภายใตสัญญารวม การงาน

ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบอนาลอก NMT และ ดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 900 MHz (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ Cellular 900”) ทั่วประเทศ แบบคูขนานกันไป มีกําหนด 25 ป นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเปนวันแรกที่เปดดําเนินการ ADVANC ไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารการแสวงหาผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจากการใชงานของ ADVANC ได โดยใหบริการเชาใหแกทั้งผูใชบริการของทศท. และผูใชบริการ ของ ADVANC ในอัตราคาใชบริการเทากับอัตราของทศท. ADVANC มีหนาที่ เรียกเก็บคาบริการและจายสวนแบงผลประโยชนใหแกทศท.ตามที่ระบุใน ขอตกลงตอทายสัญญาหลักครั้งที่ 5 โดย ADVANC จะตองไมทําการตลาดแขง กับทศท. แตจะมีการทําการตลาดและสงเสริมการขายรวมกับทศท. ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใช บัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card)

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

ADVANC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณระบบ Cellular 900 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสื่อ สัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน 3) รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และ โครงขายที่ ADVANC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับสัญญารวมการงาน

:

เอกสารแนบ 3 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card) เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูใช การจัดสรรยานความถี่

:

ทศท. ตองจัดหายานความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ใหกับ ADVANC สําหรับใหบริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิการสง มอบและรับมอบทรัพยสิน

:

ADVANC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปน กรรมสิทธิของทศท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย ทศท. ยินยอมให ADVANC ครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคของ สัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัย ทรัพยสิน

:

ADVANC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็ม มูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัย หมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADVANC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุ ไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชน ตอบแทนของสัญญา

:

ADVANC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก ทศท. เปนรอยละของรายไดกอน หักคาใชจายและภาษี และผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้น ต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา 25 ป ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบ แทนมีดังนี้ ปที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

เอกสารแนบ 3 หนา 2

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท)

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000

รายไดประจํางวด

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – ก.ย. 54 ต.ค. 54 – ก.ย. 55 ต.ค. 55 – ก.ย. 56 ต.ค. 56 – ก.ย. 57 ต.ค. 57 – ก.ย. 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผลประโยชนตอบแทนการให : แสวงหาประโยชนจากระบบ สื่อสัญญาณ

ADVANC จะตองเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการ และจายสวนแบง ผลประโยชนใหแกทศท. เปนรายไตรมาสในอัตรารอยละของคาบริการกอนคิด ภาษีมูลคาเพิ่ม ADVANC จะตองจายสวนแบงผลประโยชนในอัตรารอยละ 25 ในกรณีที่ผูใชบริการเปนลูกคาของทศท. และในอัตรารอยละ 22 ในกรณีที่ ผูใชบริการเปนลูกคาของ ADVANC

ผลประโยชนตอบแทนการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card) การยกเลิกสัญญา

โดย ADVANC ตกลงจายผลประโยชนตอบแทนใหแกทศท.ในอัตรารอยละ 20 ของมูลคาของราคาหนาบัตรที่ขายได และ รายไดจากคาขอเปดบริการชําระครั้ง แรก (ถามี) โดย ADVANC จะตองตัดขอมูลการจําหนายบัตรทุกสิ้นเดือน และ นําสงสวนแบงรายไดดังกลาวภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอโดย ADVANC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และให ทรัพยสินตางๆ ตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ทันที หากการดําเนินงานของ บริษัทมีเหตุให ทศท. เชื่อวาADVANC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให ลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด ADVANC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADVANC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

:

:

(1.1) บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7)

(Cellular

Mobile

บริษัท และ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) ไดลงนามบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาต ใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) (ครั้งที่ 7) เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาฯ สามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

: บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7)

คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

ทศท. และ บริษัท ประสงคจะทําความตกลงเกี่ยวกับหลักการเกี่ยวกับการใช เครือขายรวม (Roaming) ของบริษัท และไดมีขอตกลงรวมกันในการใช โครงขายรวมดังนี้ 1. ทศท. และ บริษัท ตกลงกันใหถือวาขอตกลงตอทายสัญญาฉบับนี้เปนสวน หนึ่งของสัญญาหลัก 2. ทศท. อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหผูให บริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตให บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่นไดเชนเดียวกัน 3. การใชเครือขายรวม (Roaming) ตามขอ 2 บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เอกสารแนบ 3 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศและบริษัทมี สิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่ว ประเทศ บริษัทตกลงทําหนังสือแจงให ทศท. ทราบเปนลายลักษณอักษรกอนที่ บริษัทจะใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) และกอนที่ บริษัทจะเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น 4. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขายรวม (Roaming) ให ทศท โดยมีเงื่อนไขดังนี้ -ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ในเครือขาย ของบริษัท บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ในอัตรารอยละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผูใหบริการ รายอื่น -ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ศท. ในอัตรารอยละ (ระบุตามสัญญา หลัก) ของรายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หักดวยคา ใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่นนั้น 2. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ADC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินการกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแกไขเพิ่มเติม 2 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540 และ 25 กันยายน 2540 โดย สาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูสัญญา

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท.) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ป นับตั้งแตวันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูล อื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) ในการใหบริการจัดวงจรเพื่อเชื่อมตอระหวางเครือขายผูใหบริการ และผูใชบริการทั่วประเทศ เพื่อรับสงขอมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสื่อสาร ขอมูลประเภทตางๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถพัฒนารูปแบบ บริการใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

เอกสารแนบ 3 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

ADC ตกลงที่จะลงทุนในการจัดหาอุปกรณระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตั้งและ Product Information ของ อุปกรณ Datakit และดําเนินการบริการใหเปนไปตามที่กําหนด

กรรมสิทธิในทรัพยสิน

:

บรรดาเครื่องมือและอุปกรณตางๆ หรือทรัพยสินที่ ADC ไดกระทําขึ้นหรือ จัดหามาไวสําหรับดําเนินการระบบ Datakit เปนกรรมสิทธิของ ทศท. หลัง ติดตั้งเสร็จเรียบรอย ทศท. ยินยอมให ADC แตเพียงผูเดียวครอบครอง ทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้ตลอดอายุ สัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

ADC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุ กอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํา กรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอ ย กวา 30 วัน

ผลประโยชนตอบแทนการให : สัมปทาน

ADC จะดําเนินการใหมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอย ละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท. ไมตองชําระเงินคาหุนแต อยางใด

การยกเลิกสัญญา

ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อวา ADC ไม สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอ หนึ่งขอใด โดย ADC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆ ใหตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADCไม สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาได

(3)

:

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (มหาชน) DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการโอนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 โดยไดรับการโอนสิทธิในการดําเนินงานจากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ (3.1) สัญญารวมการงานระหวาง DPC กับ กสท. ภายใตสัญญารวมการงานจาก กสท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เมื่อ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุ โทรคมนาคมระบบเซลลูลา 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เปนตนไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800

เอกสารแนบ 3 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คูสัญญา

:

การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา กิจการที่ไดรับอนุญาต

: :

เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ วิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 ทั่วประเทศ (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง DPC ไดรับ โอนสิทธิและหนาที่จาก TAC ตามสัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตาม สัญญา ใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวางกสท. TAC และ DPC ไดรับสิทธิในการดําเนินการเปน ระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556

การดําเนินงานและแผน การดําเนินงาน

:

DPC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือขาย และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการ ดําเนินงาน - รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขายที่ DPC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับ อนุญาตใหดําเนินการ

การจัดสรรยานความถี่

:

กสท. ตองจัดหายานความถี่ระหวาง 1747.9 –1760.5 MHz และ 1842.9-1855.5 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศใหกับ DPC สําหรับใหบริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิการสงมอบและ รับมอบทรัพยสิน

:

DPC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณ ใหเปนกรรมสิทธิของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย กสท. ใหสิทธิแก DPC นําไปใหบริการระบบ PCN 1800 และใช ประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

DPC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา DPC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหม มามอบให กสท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน

เอกสารแนบ 3 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

ผลประโยชนตอบแทน

ปที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก กสท. เปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจาย/1 ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาว ตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลา สัญญา ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบแทนมีดังนี้

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 รวม

การยกเลิกสัญญา

:

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

รายไดประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56

สัญญานี้สิ้นสุดหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฎิบัติตามสัญญา หรือปฎิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับ แตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีที่ DPC ตกเปนผูขาด คุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท. ไดแจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไม นอยกวา 90 วัน

เอกสารแนบ 3 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3.2) สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ระหวาง DPC และ TAC ชื่อสัญญา

:

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ

คูสัญญา

:

การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนเิ คชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดย กสท. ยินยอมให 1. TAC โอนสิทธิและหนาที่การใหบริการ PCN 1800/1 บางสวน เฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. TAC โอนสิทธิการใชชองความถี่ใหแก กสท. และ กสท. ตก ลงให DPC ใชความถี่ในชวงดังกลาวได 3. DPC รับโอนลูกคาในระบบ จาก บมจ. สามารค คอรปอเรชั่น 4. ถาสัญญาระหวาง DPC กับ กสท. สิ้นสุดลงกอนสัญญารวม การงานสัมปทาน TAC จะไดรับการพิจารณาใหดําเนินการ ตอจาก DPC กอนผูอื่น

ผลประโยชนตอบแทนการโอน : สิทธิและหนาที่

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก TAC แทนคาโอนสิทธิ และหนาที่เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 DPC มีคาโอนสิทธิคางจายเทากับประมาณ 2,317.76 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายเทากับประมาณ 2,317.76 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายดังกลาวค้ําประกัน ดวยสิทธิในสัญญารวมการงาน อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นสําหรับคา โอนสิทธิคา งจายเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่โดยมีอัตราถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักเทากับอัตรารอยละ 9.50 ตอป คาโอนสิทธิคางจายดังกลาวมีกําหนดชําระดังนี้ ป 2546 454.37 ลานบาท ป 2547 908.67 ลานบาท ป 2548 และภายหลังป 2548 954.72 ลานบาท ยอดรวม 2,317.76 ลานบาท

/1

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800

เอกสารแนบ 3 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3.3) บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (Natioal Roaming) ชื่อสัญญา คูสัญญา

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อน ที่ของแตละฝายรวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แกผูใช บริการของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัท ตกลงให DPC เขามาใชเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปนตนไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน ทั้งนี้ ผูใหบริการเครือขายอาจขอลดพื้นที่ใหบริการเครือขาย โดย จะตองแจงใหผูขอใชบริการเครือขายทราบลวงหนาไมนอยกวา 90 วัน หากการลดพื้นที่ใหบริการเครือขายเปนเหตุใหผูใชบริการของผูขอ ใชบริการเครือขายไมไดรับความสะดวกในการใชบริการแลว ผูขอ ใชบริการมีสิทธิบอกเลิกขอตกลงฉบับนี้ได 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท (สองบาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม

การชําระคาใชบริการ

:

ในการชําระคาใชบริการเครือขายในแตละเดือน ใหนําจํานวนเงินใน ใบแจงหนี้ของแตฝายมาหักกลบลบหนี้กันคงเหลือเปนยอดเงินสุทธิ ที่ตองชําระโดยฝายที่มีคาใชบริการเรียกเก็บนอยกวา โดยใหชําระ เปนเงินบาท มีกําหนดชําระภายใน 15 วัน นับแตวันที่ที่ลงในใบ แจงหนี้ฉบับสุดทายจากผูใหบริการเครือขายที่ไดมีการหักกลบลบ หนี้กันในเดือนนั้นแลว

การยกเลิกสัญญา

:

คูสัญญาแตละฝายมีสิทธิบอกเลิกบันทึกขอตกลงโดยแจงเปน หนังสือใหอีกฝายทราบลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือน

เอกสารแนบ 3 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 4 : ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ ตอรายการระหวางกันของบริษัท ที่ ออ.039/2546 3 มีนาคม 2546 เรื่อง

ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกันของบริษัท

เรียน

เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ขาพเจา กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ขอแจงใหทานทราบวา ตามที่บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ได มีรายการกับบุคคลที่มีผลประโยชนรวมกันและรายการระหวางกัน ตามรายละเอียดแนบ นั้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ได พิจารณาแลวมีความเห็นวารายการดังกลาวเปนการดําเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ โดยผูบริหารของ บริษัทฯ ไดดําเนินการเพื่อกรณีดังกลาวอยางตอเนื่องในราคาที่สมเหตุสมผล จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ

(นายศุภเดช พูนพิพัฒน) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายอรุณ เชิดบุญชาติ) กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ

( นายบุญชู ดิเรกสถาพร) กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 3 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุนบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ในป 2545 ไดมกี ารเปลี่ยนแปลงกรรมการตรวจสอบ 1 ทาน เนื่องจากลาออกจากการเปนกรรมการ คณะกรรมการบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) จึงไดแตงตั้งกรรมการแทนเพื่อให ครบตามจํานวนที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ปจจุบันคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน เปนประธานกรรมการตรวจสอบ นาย อรุณ เชิดบุญชาติ และ นายบุญชู ดิเรกสถาพร เปนกรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสุวิมล กุลาเลิศ เปน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขตการปฏิบัติงาน หนาที่ และความ รับผิดชอบตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีการประชุม 11 ครั้งในป 2545 ตาม ขอบเขตความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย ซึ่งสรุปไดดังตอไปนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป เพือ่ นําเสนอใหคณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติ ซึ่งพบวา งบการเงินไดจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และ เปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ 2. สอบทานการเปดเผยขอมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน รวมทั้งหลักเกณฑในการควบคุมการทํา รายการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งพบวา รายการ ดังกลาวเปนการดําเนินการตามธุรกิจปกติของบริษัทในราคาที่สมเหตุสมผล 3. พิจารณารายงานผลการตรวจสอบภายในของสํานักตรวจสอบภายใน ซึ่งไดปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบภายในตามแผนการตรวจสอบประจําป สรุปไดวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ มีประสิทธิผลของแตละระบบการปฏิบัติงาน มีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศที่ รัดกุม มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี และมีการกํากับดูแลกิจการที่มีความโปรงใส โดย ไมพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ 4. ประชุมรวมกับผูบ ริหาร ผูสอบบัญชีภายนอก และผูตรวจสอบภายใน เพื่อใหขอเสนอแนะที่มี ประโยชนตอการบริหารงานของฝายจัดการ โดยฝายจัดการไดปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ อยางเหมาะสม 5. นําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทใหขออนุมัติที่ประชุมสามัญผูถ ือหุนประจําป 2546 เพื่อแตงตั้ง ผูสอบบัญชีจากบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด เปนผูสอบบัญชีของ บริษัทสําหรับป 2546 ในการดําเนินงานของบริษัทในรอบป 2545 คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลวเห็นวา คณะกรรมการตลอดจนผูบริหารของบริษัทมีจริยธรรมในการปฏิบัติงาน มีความมุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคกรเยี่ยงมืออาชีพ ไดใหความสําคัญอยางยิ่งตอการดําเนินงานภายใตระบบ การควบคุมภายในที่ดี มีการบริหารความเสี่ยงที่รัดกุมเหมาะสมอยางตอเนื่อง และมีการกํากับดูแลกิจการ ที่มีประสิทธิผล นายศุภเดช พูนพิพัฒน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 20 กุมภาพันธ 2546 เอกสารแนบ 3 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รวมถึง ขอมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งใหมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน เพื่อใหเปนประโยชนตอผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไปอยางโปรงใส คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีระบบบริหารความเสี่ยง และใหมีและดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายใน ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียง พอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน ตลอดจนเพื่อใหไมใหเกิดการทุจริตหรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมี สาระสําคัญ ในการนี้คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทําหนาที่สอบทานนโยบายการ บัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ตลอดจน ระบบการบริหารความเสี่ยง โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปแลว งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอยไดรับการตรวจสอบโดยผูสอบบัญชี ของบริษัท คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ในการตรวจสอบนั้นทางคณะกรรมการบริษัท ไดสนับสนุนขอมูลและเอกสารตาง ๆ เพื่อใหผูสอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นไดตามมาตรฐาน การสอบบัญชี โดยความเห็นของผูสอบบัญชีไดปรากฏในรายงานของผูสอบบัญชีซึ่งแสดงไวในรายงานประจําป แลว คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยูในระดับที่นาพอใจ และ สามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลไดวางบการเงินของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวสิ จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2545 มีความเชื่อถือได โดยถือปฏิบัติตามตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติ ถูกตองตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ

(ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม) ประธานกรรมการ

(นายสมประสงค บุญยะชัย) ประธานกรรมการบริหาร

เอกสารแนบ 3 หนา 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.