Form 56 1 2003

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสีย่ ง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 9. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ขอมูลอื่นที่เกีย่ วของ

1 2-5 7 - 13 14 - 26 27 28 - 35 36 37 38 - 48 49 - 67 68 69 - 80 81 - 97 98

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล

1 - 13

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษทั ใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษทั ที่เกี่ยวของ เอกสารแนบ 3 รายละเอียดสัญญารวมการงาน เอกสารแนบ 4 ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบ ริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของ


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 3 รายละเอียดสัญญารวมการงาน


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

เอกสารแนบ 4 - ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน - รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ - รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) เปนบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตั้งแตวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) (เดิมใหบริการในระบบ อนาลอก NMT: Nordic Mobile Telephone หรือ Cellular 900 ดวย แตในป 2546 ไดหยุดใหบริการโดยโอนผูใชบริการใน ระบบ Cellular 900 ทั้งหมดไปใชบริการในระบบดิจิตอล GSM ซึ่งเปนระบบใหมที่เขามาแทน) และใหบริการขามแดน อัตโนมัติ (Automatic International Roaming) ซึ่งปจจุบันสามารถนําไปใชไดในกวา 99 ประเทศทั่วโลก นอกจากนั้น บริษัทยังมีบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid) ภายใตชื่อ “1-2-Call!” และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีสวนแบงตลาดในสัดสวนประมาณรอยละ 60.3 ของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ประเทศไทย ปจจุบันนอกจากการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทยังมีการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับโทรคมนาคม ดานอื่นๆ โดยบริษัทไดเขาถือหุนในบริษัทยอย 5 แหง ดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท (On-line Data Communication) โดยมีลูกคารายใหญ คือ ธนาคาร คลังน้ํามัน และสายการบิน ปจจุบัน ADC มีพื้นที่ใหบริการและระบบเครือขาย (Backbone Network) ครอบคลุมทั่วประเทศ 2. บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท (Online Data Communication) ครอบคลุมทั่วประเทศ 3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ปจจุบันมีพื้นที่ใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร และตัวเมืองในจังหวัดใหญๆ โดยการใหบริการในเขต จังหวัดอื่นๆ นั้น DPC จะใหบริการผานโครงขายรวมกับบริษัท โดยมีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) นอกจากนี้ ตั้งแตเดือนกันยายน 2545 DPC ไดเริ่มดําเนินธุรกิจนําเขาโทรศัพทเคลื่อนที่ ในระบบดิจิตอล GSM Advance และ GSM 1800 รวมถึงการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณอื่นๆ เชน ชุด SIM Card และบัตรเติมเงิน 4. บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด (ACC) ประกอบธุรกิจศูนยบริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) โดยมุงเนนการใหบริการแกผูใชบริการและคูคาของบริษัทเปนหลัก 5. บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) (เปลี่ยนชื่อเปน บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด) เคยดําเนินธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ปจจุบันไดโอนการดําเนินงานไปรวมกับ DPC และ หยุดดําเนินกิจการชั่วคราว สําหรับป 2546 บริษัทมีผลการดําเนินงานที่เติบโตขึ้นกวาป 2545 กลาวคือ มีรายไดรวมจํานวน 89,492 ลานบาท เพิ่ม จาก 80,251 ลานบาท ในป 2545 คิดเปนจํานวน 9,240 ลานบาท หรือเพิ่มขึน้ รอยละ 11.5 และมีผลกําไรสุทธิจํานวน 18,529 ลานบาท ในป 2546 เพิ่มขึ้นจาก 11,430 ลานบาท ในป 2545 คิดเปนจํานวน 7,099 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 62.1

สวนที่ 1 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจติ อล GSM 1800 นอกจากนี้ ยังมีบริษัทยอยเปนผูใหบริการสื่อสาร ขอมูลผานสายโทรศัพทและศูนยบริการขอมูลทางโทรศัพท อีกดวย

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

บมจ. 59

Home Page

:

http://www.ais.co.th

โทรศัพท

:

0-2299-5000

โทรสาร

:

0-2270-0658

สวนที่ 2 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

1.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปจจัยความเสี่ยง

ปจจัยความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นไดกับบริษัทสามารถจําแนกได 3 ประเภทดังนี้ 1.1

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายของรัฐบาล จากการที่บริษัทดําเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคมซึ่งเปนธุรกิจที่ตองดําเนินงานภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐ ใน รูปแบบของสัญญารวมการงานในปจจุบัน และตองถูกกํากับดูแลโดยคณะกรรมการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ในอนาคต สิ่งที่จะมีผลกระทบกับบริษัทและผูประกอบการภายใตสญ ั ญารวมการงานของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ คือ การตองแปรสัญญารวมการงานที่มีอยูใหเปนที่เรียบรอยกอนการเปดเสรีโทรคมนาคม เพื่อใหผูประกอบกิจการ โทรคมนาคมทุกรายทั้งรายเกาและรายใหม (รวมทั้ง องคการโทรศัพทแหงประเทศไทยซึ่งแปรรูปเปน บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในวันที่ 31 ก.ค. 2545 และการสื่อสารแหงประเทศไทย ซึ่งแปรรูปเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ใน วันที่ 14 ส.ค. 2546) อยูภายใตการกํากับดูแลของ กทช. และดําเนินการภายใต กฎและขอบังคับของ กทช. อยางเทาเทียมกัน เนื่องจากการแปรสัญญารวมการงานนั้นมีประเด็นในเรื่องหลักการ และแนวทางในการแปรสัญญารวมการงาน ซึ่งยังไมสามารถหาขอสรุปไดในปจจุบัน ประกอบกับที่ผานมา กระบวนการสรรหา กทช. เพื่อมากําหนดกติกา รวมทั้งควบคุม และกํากับดูแลในเรื่องการประกอบกิจการ โทรคมนาคมในอนาคต ก็ยังมีอุปสรรคหลายประการ จนตองจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาชุดใหมขึ้นมาดําเนินการ แตก็ยังไมมีกําหนดเวลาที่ชัดเจนวาจะได กทช. มาปฏิบัติงานจริงไดเมื่อใด เพราะขึ้นอยูกับการพิจารณาของ วุฒิสภา อันอยูนอกเหนืออํานาจของฝายบริหารที่จะกําหนดได อันจะทําใหขาดความชัดเจนในเรื่องสําคัญตางๆ ใน การประกอบกิจการโทรคมนาคม เชน เรื่อง คาเชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge) วาจะนํามาใชเมือ่ ใด และในอัตราเทาใด เปนตน อยางไรก็ตามแมวา บริษัทจะมีความเสี่ยงเบื้องตนจากความไมชัดเจนในการแปรสัญญารวมการงาน ตลอดจน ประเด็นตางๆ จากการจัดตั้ง กทช. เพื่อกําหนดกรอบกติกาใหมในการประกอบกิจการโทรคมนาคม บริษัทก็ได บริหารความเสี่ยงดังกลาวโดยมีผูรับผิดชอบเรื่องนี้อยางจริงจัง ทั้งในดานการติดตามขาวสารอยางใกลชิด และการ ใหขอมูลตางๆ ที่ถูกตองกับภาครัฐ เพื่อใหภาครัฐกําหนดกฎเกณฑใหมไดอยางถูกตอง อันกอใหเกิดการแขงขันที่ เสรีและเปนธรรม และไมเกิดผลกระทบทางดานลบกับบริษัท อยางใดก็ตาม เมื่อเปดเสรีโทรคมนาคมแลว แมวาจะ มีผูประกอบการรายใหมสนใจจะเขามาแขงขันเพิ่มขึ้นก็ตาม ผูประกอบการรายใหมยังตองเผชิญกับขอจํากัดในการ เขาสูตลาด (Barrier to Entry) ทั้งในดาน การสรางฐานลูกคาและเงินลงทุน ตลอดจนตองใชเวลาในการพัฒนาระบบ เครือขาย และชองทางการตลาดใหสามารถแขงขันได ดังนั้นปจจัยเสี่ยงในเรื่องการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายของรัฐ ของบริษัทจึงไมนากังวลเทาใดนัก เพราะผูประกอบการทุกรายจะตองดําเนินธุรกิจอยูภายใต กฎเกณฑเดียวกัน บริษัทฯ ในฐานะผูประกอบการรายใหญ และไดมีการเตรียมตัวในเรื่องนี้เปนอยางดี อาจจะ เปลี่ยนความเสี่ยงในเรื่องดังกลาว มาเปนความไดเปรียบทางธุรกิจไดอีกดวย

1.2

ความเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับสถานการณการตลาดและการแขงขัน - ความเสี่ยงจากการที่อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ใกลถึงจุดอิ่มตัว จากสภาวการณในชวง 2 – 3 ปที่ผานมา จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่มีการเติบโตอยางมาก อัน เนื่องมาจากอิทธิพลของการแขงขันทางดานราคาอยางรุนแรง ขณะที่ในป 2546 อัตราการเติบโตของจํานวน ผูใชบริการเริ่มมีแนวโนมที่ลดลง ผลพวงในเชิงลบของการแขงขันดานสงครามราคาในชวงป 2545 ทําใหผูให บริการบางรายที่ใชกลยุทธดังกลาว ไดลดบทบาทลง ในขณะที่ผูใหบริการรายอื่นไดนํากลยุทธทางการตลาดเชิง

สวนที่ 2 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สรางสรรคมาใชเพื่อชวงชิงลูกคาในตลาดที่ยังคงหลงเหลืออยู ดวยปจจัยตางๆเหลานี้ อุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยอาจจะเรียกไดวาเริ่มที่จะเขาใกลจุดอิ่มตัว ยกเวนเสียแต กรณีที่วาเงื่อนไขการเปดเสรี โทรคมนาคมจะเปนปจจัยที่ชักจูงใหผูใหบริการรายใหมเขามาทําการแขงขันดานราคาอยางรุนแรงอีก ดังนั้น การเจริญเติบโตของธุรกิจนี้อาจไมไดขึ้นอยูกับอัตราการขยายตัวของฐานลูกคาอีกตอไป หากแตจะขึ้นอยูกับ ความสามารถในการหาแหลงรายไดใหมๆ เพื่อชวยสรางมูลคาเพิ่มใหกับผูถือหุนไดอยางตอเนื่อง นอกจากนั้น ยังตองมุงเนนกลยุทธทางดานการรักษาฐานลูกคาเพื่อปองกันการแยงชิงลูกคาเดิมระหวางผูใหบริการ บริษัทไดตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาว และมีแนวทางในการลดความเสี่ยงโดยมุงเนนการสรางรายไดจาก บริการใหม อันไดแก การใหบริการดานการสื่อสารที่ไมใชเสียง (Non-voice communication) และ การ ใหบริการสําหรับลูกคากลุมองคกร (Enterprise Business service) สองบริการนี้จะเปนตัวผลักดันสําคัญใหเกิด การขยายตัวของธุรกิจตอไป ในดานการบริการดานการสื่อสารที่ไมใชเสียง (Non-voice communication) บริษัทไดพัฒนาชองทาง บริการสื่อสารดานขอมูลไรสาย (WAP Portal) โดยรวบรวมเทคโนโลยีและบริการที่หลากหลายไวที่เดียว โดยที่ ลูกคาสามารถเขามาใชบริการไดงาย เพียงปลายนิ้วคลิ๊ก ซึ่งสงผลทําใหบริการสื่อสารดานขอมูลไรสายเริ่มไดรับ ความนิยมมากขึ้น และมีแนวโนมของการใชงานและการสรางรายไดใหบริษัทเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทไดจัดตั้งศูนยวิจัยและพัฒนา (Future Lab) เพื่อคิดคนพัฒนาบริการรูปแบบใหมขึ้นมาเติมเต็มความ สมบูรณแบบใหกับโทรศัพทเคลื่อนที่ที่สามารถตอบสนองความจําเปนและความตองการของผูใชไดในทุกๆ รูปแบบของการดําเนินชีวิต ยิ่งไปกวานั้น บริษัทยังมุงหนาสรางสังคมแหงการสื่อสารไรสายไรขีดจํากัด (Wireless Society) โดยนําเสนอบริการไรสายที่หลากหลายที่จะทําใหชีวิตคนไทยดีขึ้น สะดวกสบายมากขึ้น และยังเปนการวางรากฐานของการผนวกรูปแบบของบริการและธุรกิจตางๆ เขาดวยกัน (Business Convergence) ตลอดจนการกาวเขาสูวิวัฒนาการการสื่อสารไรสายในยุคที่ 3 (3G) ในอนาคตอันใกลนี้ ในดานการบริการสําหรับลูกคากลุมองคกร (Enterprise Business service) บริษัทเล็งเห็นถึงความตองการ ที่แตกตางขององคกรในแตละธุรกิจ จึงไดวางรากฐานเพื่อการพัฒนาและการใหบริการรูปแบบที่พิเศษและ เหมาะสมกับธุรกิจนั้นๆโดยเฉพาะ เพื่อชวยใหลูกคาองคกรเหลานี้ดําเนินธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ความพยายามในการพัฒนาบริการสําหรับลูกคากลุมองคกรเมื่อผนวกกับการพัฒนา บริการในรูปแบบที่ไมใชเสียงรวมทั้งการสรางสังคมแหงการสื่อสารไรสายไรขีดจํากัดมีศักยภาพในการผลักดัน ใหเกิดการขยายตัวของธุรกิจและรายไดของบริษัท เนื่องจากลูกคากลุมองคกรจะมีแนวโนมการใชบริการการ สื่อสารที่ไมใชเสียงสูงกวาลูกคาในกลุมอื่นๆ สําหรับความเสี่ยงจากการแยงชิงฐานลูกคา บริษัทไดมุงมั่นกับการสรางสัมพันธภาพที่ดีกับลูกคามาโดยตลอด ดังตัวอยางเชน การเปนผูริเริ่มจัดตั้งศูนยบริการลูกคาสัมพันธ (Call Center) เปนรายแรกในป 2540 และไดนาํ แนวคิดการบริหารความสัมพันธกับลูกคา (CRM : Customer Relationship Management) มาใช โดยมีทีมงาน ที่คอยสอดสองดูแล และทํากิจกรรมเพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางลูกคาและบริษัท การวิเคราะหฐานลูกคา และความเขาใจพฤติกรรมของลูกคา (segmentation) เพื่อการนําเสนอบริการในรูปแบบที่หลากหลายและ ตอบสนองความตองการที่แตกตางกันของลูกคาในแตละกลุม การนําเทคโนโลยีสารสนเทศในการประมวลผลมา ใชในการวิเคราะหหาความสัมพันธของพฤติกรรมการใชงานเพื่อสรางรูปแบบในการทํานาย (Predictive Model) ในมุมตางๆ นอกจากนี้บริษัทไดพัฒนาระบบปฏิบัติการดานการดูแลลูกคา(C-Care Smart System) อันเปน เทคโนโลยีที่ทันสมัย และ ระบบการสรางใหลูกคาไดรับประสบการณดานบวกในการติดตอและใชบริการของ บริษัท (CEM : Customer Experience Management) ที่จะทําใหลูกคาประทับใจในทุกจุดของการใหบริการ

สวนที่ 2 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(Touch Point) และดวยการดําเนินกิจกรรมการสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคามาอยางตอเนื่อง ทําใหบริษัท เชื่อมั่นวา กลยุทธดังกลาว จะชวยรักษาฐานลูกคา และ สรางความเชื่อมั่นใหกับผูใชบริการไดตอไป 1.3

ความเสี่ยงดานเทคโนโลยีและการปฏิบัติการ 1.3.1 ความเสี่ยงในการรับประกันคุณภาพของบริการเสริมที่ดําเนินการโดยผูใหบริการรวม การที่บริษทั นําเทคโนโลยีใหมๆ ที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่เชน GPRS และ Location Based Service มาเปดใหบริการ เปนการเปดโอกาสใหบริษัทตางๆ เขามารวมมือกับเอไอเอสในการ ใหบริการเสริมที่แปลกใหมและหลากหลายใหกับลูกคา ความรวมมือดังกลาวนี้กอใหเกิดการเชื่อมตอกันเปน เครือขายระหวางบริษัทผูใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทผูใหบริการเสริม และบริษัทผูผลิตเนื้อหา ในการทํางานรวมกันภายใตขอตกลงในการใหบริการอยางเครงครัด ความผิดพลาด ณ จุดใดจุดหนึ่งยอม สงผลกระทบตอคุณภาพของบริการเสริมที่ลูกคาไดรับ ดังนั้นการควบคุมขอตกลงในการใหบริการ และการ ประกันคุณภาพของบริการอยางครบวงจรจึงเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งตอการรักษาความพึงพอใจของลูกคา อยางไรก็ตาม ในขณะนี้หนวยงาน GSMA (GSM Association) ซึ่งเปนหนวยงานกลางในอุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM ไดกําหนด Open Architecture Platform เพื่อใหเปนมาตรฐานในการเชื่อมตอ ระหวางระบบของผูใหบริการเสริมตางๆ ซึ่งมาตรฐานดังกลาวจะชวยใหการควบคุมคุณภาพของบริการ เหลานี้ทําไดงายขึ้น 1.3.2 ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ถึงแมวาจะมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งกําลังเปลี่ยนแปลงไปสู การสื่อสารขอมูลความเร็วสูง และ การสื่อสารขอมูลแบบมัลติมีเดีย แตเทคโนโลยีดังกลาวอาจไมสงผล กระทบตอบริษัทมากนักในอนาคตอันใกล เนื่องจากลูกคาสวนใหญ โดยเฉพาะลูกคาในสวนภูมิภาค ยังนิยม เพียงการใชงานขั้นพื้นฐานของโทรศัพทเคลื่อนที่เทานั้น อยางไรก็ตาม บริษัทผูผลิตอุปกรณเครือขาย และ ผูผลิตเครื่องลูกขาย เริ่มปรับเปลี่ยนความสนใจ และโอนยายผูเชี่ยวชาญที่มีความสามารถเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑในเทคโนโลยียุคที่ 3 (3G) การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลใหบริษัทไดรับประโยชนในการไดรับบริการ หลังการขายที่ดี เพื่อสนับสนุนอุปกรณท่ใี ชเทคโนโลยีทันสมัยตอไปในระยะยาว บริษัทมีแนวโนมที่จะพัฒนาเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในปจจุบันเพื่อปรับเปลี่ยนให รองรับกับเทคโนโลยี 3G โดยการปรับปรุงระบบชุมสายและระบบสื่อสัญญาณเดิมที่มีอยู อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีดังกลาวอาจยังไมพรอมสําหรับประเทศไทย เนื่องจากลูกคาที่ตองการใชเทคโนโลยีดังกลาวอาจ จํากัดอยูในวงแคบ ดังนั้น บริษัทจึงตองติดตามศึกษาความพรอมของตลาด และพิจารณาความคุมคาในการ ลงทุนอยางใกลชิด จากการติดตามความคืบหนาของเทคโนโลยี 3G อยางตอเนื่อง จะเห็นไดวาเทคโนโลยี 3G เริ่มไดรับการยอมรับวาเปนรูปแบบการใหบริการของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ในอนาคต ซึ่งบริษัทก็ พรอมที่จะนําเทคโนโลยี 3G มาใหบริการในเวลาที่เหมาะสม 1.3.3 ความเสี่ยงที่เกิดจากการเรียกเก็บคาใชบริการไมได ถึงแมวาลูกคาสวนใหญของบริษัทเปนลูกคาที่ใชบริการในระบบ Prepaid แตรายไดหลักของบริษัทยังคงเปน รายไดที่ไดรับจากลูกคาที่ใชบริการในระบบ Postpaid รวมถึงรายไดจากการใชบริการโทรขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) ซึ่งปจจุบันบริษัทเรียกเก็บคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่จากลูกคาระบบ

สวนที่ 2 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

Postpaid เปนรายเดือน บริการไมได

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดังนั้นบริษัทยังคงมีความเสี่ยงในเรื่องหนี้สูญอันเนื่องมาจากการเรียกเก็บคาใช

อยางไรก็ตาม บริษัทไดมมี าตรการในการบริหารความเสี่ยงนี้โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรระบบ Fraud Management ทั้งนี้บริษัทจะทําการระงับการใชบริการของลูกคาที่คางชําระเกินกวากําหนด นอกจากนั้น บริษัทสามารถลดความเสียหายดังกลาวไดโดยกําหนดมูลหนี้สูงสุดของลูกคาแตละราย (Credit Limit) ซึ่ง ขึ้นอยูกับพฤติกรรมการใชบริการและการชําระคาบริการของลูกคา โดยกําหนดวา หากผูใชบริการมีการคาง ชําระหนี้บริษัทเกินกวาจํานวนดังกลาว ก็จะไมสามารถใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดจนกวาจะมีการชําระ เงินเรียบรอย ดังจะเห็นไดจาก บริษัทมียอดหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญลดลงมากถึง 1,980 ลานบาทจากป กอน นอกเหนือจากการใชระบบ Fraud Management มาใชในการปองกันความเสี่ยงแลว บริษัทยังมีการลงทุน ในเรื่องของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรที่ใชในการบริหารฐานขอมูลลูกคา ซึ่งจะทําใหบริษัทมีระบบ ฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มศักยภาพในการบริหารฐานลูกคาที่มีจํานวนมากและมีพฤติกรรมการใช บริการที่แตกตางกัน นอกจากนี้ บริษัทยังไดเนนใหทุกหนวยงานภายในที่เกี่ยวของใหเพิ่มความเขมงวดใน การตรวจสอบ และปองกันปญหาดังกลาว โดยมีมาตรการปองกัน อาทิ 1. การเพิ่มความสามารถในการตรวจสอบ CDR (Call Detail Record) ใหสามารถตรวจสอบรายละเอียด ของการใชโทรศัพทไดทันที ในกรณีพบวามีการใชโทรศัพทที่ผิดปกติ บริษัทสามารถยกเลิกการ ใหบริการได 2. การสามารถตรวจสอบประวัติของลูกคากอนการรับจดทะเบียน (Black List Verification) เปนการ ตรวจสอบวาลูกคาเคยมีประวัติการถูกปฏิเสธการใหบริการจากบริษัทหรือไม 3. มีการตรวจสอบเพิ่มเติมภายหลังการจดทะเบียน (Post Audit) เพื่อเปนการยืนยันสถานะภาพของ ผูใชบริการรายนั้นๆ จากการที่บริษัทสรางความแตกตางจากคูแขงดวยคุณภาพของเครือขาย และคุณภาพการใหบริการ โดย มิไดเนนการแขงขันดานราคามากจนเกินไป ทําใหลูกคาสวนใหญที่ใชบริการเปนลูกคาชั้นดี ซึ่งสงผลให บริษัทมีความเสี่ยงตอการเรียกชําระเงินไมไดต่ํากวาผูใหบริการรายอื่น 1.3.4 ความเสี่ยงจากการสูญเสียผูบริหารและพนักงาน บริษัทตระหนักดีวา ความสําเร็จของการดําเนินธุรกิจตั้งอยูบนพื้นฐานของการมีผูบริหารและพนักงานที่มี ความรูความสามารถ และมีความมุงมั่นในการทํางานใหบรรลุตามเปาหมายที่วางไว ในชวงปที่ผานมา การ สูญเสียดานทรัพยากรบุคคลในระดับผูบริหารและพนักงานที่มีทักษะ ความชํานาญ อันเปนผลมาจากการ แขงขันจากผูใหบริการรายใหมลดนอยลง แตอยางไรก็ดี สภาพเศรษฐกิจของประเทศที่เริ่มฟนตัวโดยมีอัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเกินกวา 6 เปอรเซ็นต สงผลใหตลาดแรงงานภายนอกเปดกวาง และโอกาสที่ บริษัทสูญเสียดานทรัพยากรบุคคลในสายวิชาชีพตางๆ มีเพิ่มมากขึ้น บริษัทไดกําหนดแผนรองรับโดยทํา การพัฒนาฝกอบรมพนักงาน เพื่อใหสามารถทํางานทดแทนกันได และสรรหาผูมีความรูความสามารถมา เสริมทีมงานอยางตอเนื่อง เพื่อลดผลกระทบดังกลาว รวมทั้งดูแลใหผูบริหารและพนักงานที่มีความรู ความสามารถ ไดรับผลตอบแทนการทํางานที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากจะชวยรักษาพนักงานใหทํางานกับ บริษัทสืบตอไปแลว ยังกระตุนใหพนักงานมีแรงจูงใจในการทํางานใหมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพที่สูงขึ้น อยางตอเนื่องดวย

สวนที่ 2 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1.3.5 ความเสี่ยงในการขาดแคลนบุคลากรระดับผูนําที่มีศักยภาพ ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดในธุรกิจโทรคมนาคมยังคงเปนปจจัยสําคัญอยางตอเนื่องตลอดมาสงผลให หลายๆ องคกรตองเผชิญกับความเสี่ยงในการขาดแคลนบุคลากรระดับผูนําที่มีศักยภาพ (Future Leaders) ดังนั้น บริษัทจึงตองคนหาและพัฒนาทักษะของบุคลากรเฉพาะดาน (Right Skills) เพื่อนํามาซึ่งความกาว หนาขององคกรที่ยั่งยืน เพื่อรองรับกับความเสี่ยงดังกลาว บริษัทจึงไดจัดใหมีโครงการ “ Talent Development Program” ซึ่งมี วัตถุประสงคเพื่อเตรียมบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไวรองรับความเติบโตอยางรวดเร็วของธุรกิจ พรอมทั้งรักษา พนักงานที่มีความสามารถเหลานั้นใหกาวหนาไปพรอมกับความสําเร็จของ เอไอเอส อยางมั่นคง 1.4

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเงินและภาวะเศรษฐกิจ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เนื่องจากลักษณะธุรกิจของบริษัทเกี่ยวของโดยตรงกับ เทคโนโลยีจากตางประเทศ สวนใหญเปนรายการซื้อเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคมจาก ตางประเทศ และการใหบริการโทรขามแดนอัตโนมัติ แมวาบริษัทจะมี ภาระคาใชจายที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ที่อาจจะทําใหตนทุนของบริษัทเพิ่มขึ้นหรือลดลง อันเกิดจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน แตบริษัทก็มีรายได ที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศอันเกิดจากการใหบริการขามแดนอัตโนมัติ ซึ่งจะชวยบรรเทาผลกระทบของอัตรา แลกเปลี่ยนที่ผันผวนได อีกทั้ง บริษัทยังปองกันความเสี่ยงดังกลาวดวยการใชเครื่องมือปองกันความเสี่ยงทาง การเงินดวยวิธีทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อปดความเสี่ยงดังกลาว โดยจะพิจารณาจากเจาหนี้ การคาที่เปนเงินตราตางประเทศ ใหเหมาะสมกับสภาวการณในขณะนั้นๆ ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัท ไมมีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาที่เปดสถานะไว และมีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 12 ลานบาท ดังนั้น บริษัทจึงไมมีผลกระทบจากความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ นอกจากนั้นความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน นาจะเปนปจจัยซึ่งเปนผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ จึงเปน ผลกระทบกับผูประกอบการทุกรายไมเฉพาะเพียงบริษัทเทานั้น และการที่บริษัทมีนโยบายในการระดมทุน ภายในประเทศเปนสวนใหญ ก็สามารถลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศได ในระดับหนึ่ง

สวนที่ 2 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ

ป 2529

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเปนบริษัทจํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกในการดําเนินธุรกิจใหเชาและใหบริการคอมพิวเตอร

ป 2532

บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ไดเขามาเปนผูถือหุนของบริษัทในสัดสวนรอยละ 60 ของทุนจด ทะเบียน และไดเปลี่ยนวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจเปนการใหบริการโทรคมนาคม

ป 2542

เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึ่งเปนบริษัท ในกลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร ซึ่งดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสื่อสารและ โทรคมนาคม ไดเขาถือหุนในบริษัท และปจจุบัน SHIN และ SingTel เปนผูถือหุนในบริษัททั้งสิ้นรอยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2542 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) (เดิม ชื่อ บริษัท ชินวัตร เพจจิ้ง จํากัด) ซึ่งดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัว จากเดิมรอยละ 60.00 เปน รอยละ 99.99 แตจากการที่บริการโทรศัพทติดตามตัวไดรับความนิยมลดลงเปนอยางมาก ประกอบกับ การ ปรับตัวลดลงของราคาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่เปนสิ่งที่สามารถซื้อหาไดงายขึ้น การดําเนินงานของ APG จึงไดยุติลง พรอมกับมีการคืนสัญญารวมการงานใหแก ทศท. เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2545 ตอมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ไดถูกขายใหแกบริษัทอื่น ดังนั้น APG จึงไมไดเปน บริษัทในเครือของบริษัทอีกตอไป ในเดือนตุลาคม 2542 บริษัทเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) (เดิมชื่อบริษัท ชินวัตร ดาตาคอม จํากัด) ในสัดสวนรอยละ 67.95 และบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ในสัดสวนรอยละ 49.00 ซึ่งทั้งสองบริษทั ดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท

ป 2544

ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ในสัดสวนรอยละ 99.99 หรือมูลคาการลงทุนรวม 540 ลานบาท จาก SHIN และ Singtel บริษัท SDT ในขณะนั้น เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนผู ประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 และเปนผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริษัทไดใหการสนับสนุนทางการเงินแก SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ลานบาท เพื่อใชชําระหนี้ ใหแก SHIN และ SingTel ทั้งนี้ บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปน การเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN จํานวน 17 ลานหุน และ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน คิดเปนมูลคารวม ทั้งสิ้น 10,024 ลานบาท เพื่อเปนเงินทุนสวนหนึ่งในการลงทุนดังกลาว ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดมีการลงทุนในกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ของ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 8,556 ลานบาท โดยบริษัทไดเขาไปลงทุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ในบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ซึ่ง SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน DPC

สวนที่ 2 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดสวนรอยละ 98.17 หรือมูลคาการลงทุนรวม 20,300 ลานบาท จาก บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) เพื่อใชหนี้คืนใหแกบริษัทและลดภาระภาษีดานรายไดคาดอกเบี้ย โดยได เขาไปซื้อหุน DPC เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึ่งจะทําใหบริษัทเปนผูถือหุนใน DPC โดยตรง ป 2545

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2545 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ไดอนุมัติใหบริษัทลงทุนเพิ่ม ใน DPC จํานวน 300 ลานหุน เปนจํานวนเงิน 3,000 ลานบาท ซึ่งเปนผลทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน DPC เปนรอยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 บริษัทปรับโครงสรางธุรกิจการนําเขาและการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) โดยโอนการดําเนินงานของ AWM รวมเขากับการ ดําเนินงานของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่งของบริษัท เพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมใหดียิ่งขึ้น (AWM จึงหยุดดําเนินกิจการชั่วคราว)

ป 2546

2.2

บริษัทไดรับการปรับอันดับความนาเชื่อถือของบริษัทและหุนกูของบริษัท โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด จาก ระดับ AA- เปน AA

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษัทเปนบริษัทหนึ่งในกลุมของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ซึ่งเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจการ เขาลงทุนและมีสวนรวมในการบริหารในบริษัทที่ดําเนินธุรกิจใน 4 สายธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ ธุรกิจสื่อและโฆษณา และ ธุรกิจอิเล็คทรอนิกสและธุรกิจอื่นๆ ดังแผนผังโครงสรางการ ถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ดังนี้

สวนที่ 2 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการถือหุนกลุมชิน คอรปอเรชัน่ ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ 2547 บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น

42.99%

51.48%

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

99.99%

67.95%

49.00%

2)

บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด

38.25%

บมจ. ชินแซทเทลไลท

99.99%

2)

99.99%

บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 4)

94.19%

44.99%

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด 100%

99.99%

99.93%

บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด

บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด

บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด

บมจ. ไอทีวี

100%

2), 3)

บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด

เมอรรี่ อินเตอรเนชั่นแนล อินเวสเมนท คอรป 1)

50.00%

บริษัท ไทยแอรเอเชีย จํากัด

99.99%

บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชั่น เซอรวิส จํากัด 90.91%

98.55%

53.22%

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด

บริษัท ชิน บรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด

50.02%

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

1), 2)

99.96%

บริษัท เอสซี แมชทบอกซ จํากัด

60.00%

บริษัท แคปปตอล โอเค จํากัด

บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด

บริษัท ซี.เอส. ล็อกซอินโฟ โซลูชั่น จํากัด 70.00%

บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเมนท จํากัด

บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด

1)

บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด 47.50% 100%

49.00%

บริษัท อารคไซเบอร จํากัด

บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จํากัด

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

98.88%

บริษัท ไอพี สตาร จํากัด

70.00%

สเปซโคด แอล แอล ซี

1) Holding Company 2) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 3) อยูระหวางการเพิ่มทุนใหคณ ุ ไตรภพ ลิมปพัทธ จํานวน 150 ลานหุน และบริษัท กันตนา กรุป จํากัด (มหาชน) จํานวน 150 ลานหุน 4) อยูระหวางการขออนุญาตการเสนอขายหุนเพิ่มทุนและการเขาซื้อหุน บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด จาก บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางกลุม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ดําเนินธุรกิจ สื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ADVANC

99.99 %

AWM *

67.95 %

ADC

49.00 %

DNS

- นําเขาและเปนตัวแทน จําหนายโทรศัพท เคลื่อนที่

- ใหบริการสื่อสาร ขอมูลผานสายโทรศัพท

- ใหบริการสื่อสารขอมูล

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 240 ลานบาท

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 457.52 ลานบาท

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 1 ลานบาท

ผานสายโทรศัพท

* ปจจุบันไมไดดําเนินธุรกิจ

สวนที่ 2 หนา 10

98.55 %

DPC - ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ดิจิตอล GSM 1800 และนําเขา และเปนตัวแทนจําหนายโทรศัพท เคลื่อนที่ - ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 14,621.86 ลานบาท

99.99 %

ACC - ใหบริการศูนยบริการ ขอมูลทางโทรศัพท

- ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแลว 272 ลานบาท


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส บริษัทไดรับอนุญาตใหดําเนินงานเพื่อดําเนินการทางดานเครือขาย และใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM (เดิมใหบริการในระบบ อนาลอก NMT: Nordic Mobile Telephone หรือ Cellular 900 ดวย แตในป 2546 ไดหยุดใหบริการโดยโอนผูใชบริการในระบบ Cellular 900 ทั้งหมดไปใชบริการในระบบดิจิตอล GSM ซึ่งเปนระบบใหมที่เขามาแทน) จาก องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบันไดแปรรูปเปน บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)) ตามสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ ในเดือน มีนาคม ป พ.ศ. 2533 เปนระยะเวลา 20 ป ตอมาในป พ.ศ. 2539 ไดขยายเวลาของสัญญารวมการงานเปน 25 ป ภายใตสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ บริษัทจะเปนผูลงทุนในการ สรางเครือขายเซลลูลารและรับผิดชอบในการหาเงินลงทุนรวมทั้งคาใชจายตางๆ ทั้งหมด และโอนกรรมสิทธิ์ในเครือขาย ใหแกผูใหสัญญา (ทศท.) โดยบริษัทมีหนาที่และความรับผิดชอบและหาแหลงเงินทุนสําหรับงานวิศวกรเครือขาย วางแผน งานดานเครือขาย จัดหาอุปกรณพรอมทั้งติดตั้ง บํารุงดูแลรักษาเครือขาย ตลอดจนดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ การตลาดและ การใหบริการ บริษัทจะตองแบงรายไดท่ีไดรับจากการใหบริการใหแกผูใหสัญญา รายไดจากการใหบริการแบบชําระ คาบริการรายเดือน (Postpaid) บริษัทจัดแบง 25% ของรายไดนั้นใหแก ทศท. และรัฐบาลในรูปของภาษีสรรพสามิต (Excise tax) สวนรายไดจากบริการแบบชําระคาใชบริการลวงหนา (Prepaid) บริษัท จัดแบงให ทศท. และรัฐบาลในรูปของ ภาษีสรรพสามิตในอัตรา 20% นอกเหนือจากการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทไดขยายการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับโทรคมนาคมใน บริษัทยอย ดังนี้ บริษัท ดิจิตอลโฟน หรือ DPC DPC ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร 1800 MHz หรือ ดิจิตอล GSM 1800 โดยไดรับสัญญารวมการงานใหดําเนินกิจการโทรคมนาคมจาก กสท. (ปจจุบันไดแปรรูปเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)) ตามสัญญาลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และขอตกลงตอทายสัญญาที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นภายหลัง ภายใตสัญญาแบบบีทีโอ โดย DPC จะตองจัดแบงรายได 20% ของรายไดจากการใหบริการแก กสท.และรัฐบาลในรูปของ ภาษีสรรพสามิต นอกจากนี้ DPC ยังใหบริการโทรศัพทมือถือผานเครือขายรวมกับบริษัท โดยมีสัญญาการใชบริการ เครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง บริษัท กับ DPC ซึ่งจะทําใหผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 สามารถใชงาน ไดทั่วประเทศเหมือนกับผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM Advance ปจจุบัน DPC ไดยังทําธุรกิจอีกอยางหนึ่ง คือ เปนผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งอุปกรณโทรคมนาคมอื่นๆ บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด หรือ ADC ADC ดําเนินธุรกิจใหบริการการสื่อสารทางเสียงและขอมูลผานเครือขายสายโทรศัพททั่วประเทศ (Online Data Communication) โดยเนนการใหบริการระบบ Data network บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด หรือ ACC ACC ดําเนินธุรกิจใหบริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) แกลูกคาของเอไอเอส และดีพีซี รวมถึงบริษัทอื่นๆ ที่ตองการใชบริการขอมูลทางโทรศัพท บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด หรือ DNS DNS ดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพททั่วประเทศ (Online Data Communication) โดย เนนการขายและใหเชาอุปกรณแกลูกคาที่ใชบริการระบบ Data network สวนที่ 2 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

2.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางรายได

โครงสรางรายไดที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑหรือบริการของบริษัทและบริษัทยอยใหบุคคลภายนอก ในระยะ 3 ปที่ผานมา ผลิตภัณฑ/บริการ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ รวม ธุรกิจโทรศัพทติดตามตัว บริการโทรศัพทติดตามตัว คาเชาโทรศัพทติดตามตัว การขายโทรศัพทติดตามตัว รวม ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท

ดําเนินการโดย

รอยละการถือหุน ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 46

ป 2544 ลานบาท รอยละ

ป 2545 ลานบาท รอยละ

ป 2546 ลานบาท รอยละ

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บจ. ดิจิตอล โฟน บจ.แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง บจ. ดิจิตอล โฟน

98.55 99.99 98.55

39,122.91 1,397.68 17,635.47 86.71 58,242.77

66.10 2.36 29.79 0.15 98.40

55,371.69 4,736.36 17,790.54 1,880.96 79,779.55

69.00 5.90 22.17 2.34 99.41

70,068.23 3,141.74 15,862.15 89,072.11

78.30 3.51 17.72 99.53

บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง บจ. แอดวานซ เพจจิ้ง

-

537.45 1.10 70.05 608.60

0.91 0.00 0.12 1.03

72.45 6.81 79.25

0.09 0.01 0.10

-

-

บจ.แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค บจ. ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส

67.95 49.00

293.80 44.59 338.39

0.50 0.08 0.57

357.57 30.19 387.77

0.45 0.04 0.48

360.39 37.73 398.12

0.40 0.04 0.44

บจ. แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร

99.99

59,189.76

100.00

4.83 4.83 80,251.40

0.01 0.01 100.00

21.46 21.46 89,491.69

0.02 0.02 100.00

รวม ธุรกิจบริการใหขอ มูลทางโทรศัพท รวม รวม

หมายเหตุ: 1) บริษัทไดขายหุนทั้งหมดในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด ใหแกบุคคลภายนอก ในเดือนกันยายน 2545 2) บริษัท ชิน ดิจติ อล จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน บริษัท แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร จํากัด ในเดือนสิงหาคม 2545 โดยใหบริการใหขอมูลทางโทรศัพท 3) บริษัทเขาถือหุนในบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด ในสัดสวนรอยละ 98.17 ในเดือนธันวาคม 2544 และเพิ่มสัดสวนเปน รอยละ 98.55 ในเดือนตุลาคม 2545

สวนที่ 2 หนา 12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

2.4

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปาหมายการดําเนินธุรกิจ เพื่อครองความเปนผูนําในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยไดอยางตอเนื่อง และอยูในฐานะที่จะ รักษาการเปนผูน ําตอไปในอนาคต โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือการเพิ่มมูลคาการลงทุนใหแกผถู ือหุน บริษัทมี ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ และกลยุทธสําคัญ ที่สรางความสําเร็จใหแกบริษัท คือการสรางแนวคิด “Care for Excellence” ซึ่งทางบริษัทไดมกี ารเสนอความเปนเลิศของบริษัทในดาน บุคลากร เทคโนโลยี บริการ และ เครือขาย ซึ่งประกอบกันเปน “4 Excellence” หรือ “ 4 E” ซึ่งเปนกลยุทธที่ทําใหบริษัทประสบความสําเร็จดังนี้ - ความเปนเลิศดานเครือขาย (Network Excellence) คือ วิศวกรรมทางเครือขายที่ชาญฉลาด เพื่อความเยี่ยมยอดทางดานคุณภาพของเครือขาย พรอมทั้งมี พื้นที่ใหบริการที่กวางไกลและทั่วถึง ทั้งมากกวา 500 แหงภายในอาคาร ทั่วกรุงเทพมหานคร 795 อําเภอ ทั่วประเทศไทย และ 6 ทวีป 99 ประเทศทั่วโลก กับบริการขามแดนอัตโนมัติ ที่ชวยใหเครือขายสัญญาณ สามารถติดตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพ - ความเปนเลิศดานเทคโนโลยี (Technology Excellence) คือ การเลือกใชเทคโนโลยีระดับสากลที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความตองการของผูใหบริการไดอยาง แทจริง ในปจจุบัน โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถสนองตอบความตองการสื่อสารสวนบุคคลไดหลากหลาย รูปแบบ ภายใตแนวคิด “Wireless Society” ไมวาจะเปน เสียง (Voice) หรือ ขอมูล (Non voice) รวมถึง การเชื่อมตออินเตอรเน็ตผานเครือขายความเร็วสูง บริษัทไดเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เขามารวม พัฒนาบริการอยางตอเนื่อง เพื่อมอบบริการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดตอลูกคา - ความเปนเลิศดานบริการ (Service Excellence) คือ การใหบริการแบบทั่วถึง มีไหวพริบ เพื่อความเยี่ยมยอดทางดานคุณภาพของการใหบริการ 1) บริษัทมีสํานักงานบริการเอไอเอส 27 สาขาทั่วประเทศไทยที่พรอมใหบริการอยางครบวงจรและบริษัท ยังไดนําเครื่องสอบถามขอมูลอัตโนมัติ (Auto Service Kiosk) มาใชบริการเพื่อใหผูใชบริการสามารถดู ขอมูลและทําธุรกรรมไดดวยตนเอง 2) ราน Telewiz ที่มีอยูกวา 300 สาขาทั่วประเทศไทย เพื่อรองรับความตองการจากผูใชบริการทั่ว ประเทศไทย 3) AIS Call Center 1175 ใหบริการ 24 ชั่วโมง ดวยพนักงานที่ไดรับการฝกอบรมมาเปนอยางดี รวมถึง เบอรพิเศษ 1148 สําหรับลูกคาที่เปนสมาชิก Serenade ซึ่งเปนโปรแกรมที่สรางสรรคเปน พิเศษสําหรับลูกคาระดับ Platinum และ Gold 4) Web Service ที่มีขอมูลครบทุกเรื่อง ไดทุกที่ ซึ่งใหทั้งขอมูลสินคาและบริการตางๆของบริษัท ประกอบดวย www.ais.co.th, www.gsmadvance.com, www.one-2-call!.com, www.gsm1800.net, www.mobilelife.co.th - ความเปนเลิศดานบุคลากร (People Excellence) คือการมุงมั่นพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางจริงจังและสม่ําเสมอ เพื่อปรับปรุงความสามารถ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ในการทํางานของพนักงาน บริษัทใชมาตรฐานในการพัฒนาบุคลากรทั่วประเทศ เพื่อไปสู เปาหมายเดียวกัน คือ สรางสรรคสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อมอบบริการที่เหนือความคาดหมาย (Beyond expectation) ใหกับลูกคา ความเปนเลิศใน 4 ดานดังกลาว มีสวนชวยในการเพิ่มมูลคาการลงทุนใหแกผูถือหุนเปนอยางมากในชวง หลายปที่ผานมา ผูใชบริการใหมที่เขาสูระบบเครือขายของ เอไอเอส มาอยางตอเนื่องนั้น สวนใหญแลวจะเปน ผูใชบริการที่มีคุณภาพดีทั้งสิ้น สวนที่ 2 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

3.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ ธุรกิจหลักของกลุมบริษัทไดแกธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการที่เกี่ยวของ โดยมีรายละเอียดการประกอบธุรกิจ ดังนี้ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ ลักษณะการใหบริการของบริษัทในป 2546 สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลักๆ ไดแก (1) การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยมีบริษัทและบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท เปนผูใหบริการ รายได จากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม มีสัดสวนประมาณรอยละ 81.8 ของรายไดรวม (2) การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตางๆ ที่เกี่ยวของ รายไดจาก การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และการใหบริการตางๆ คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 17.7 ของ รายไดรวม (1)

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ผูใหบริการตองไดรับอนุญาต และมีสัญญารวมการ งานของ ทศท. หรือ กสท. เทานั้น โดยบริษัทนั้น ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM ทั่ว ประเทศ เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2558 สวน DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการวิทยุโทรคมนาคม ระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 หรือ ระบบ ดิจิตอล GSM 1800 ทั่วประเทศ เปนระยะเวลาเริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 บริษัทใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance เปนคลื่น ความถี่ต่ํา โดยมีลักษณะเฉพาะ คือ ครอบคลุมพื้นที่ไดกวางกวาคลื่นความถี่สูง สําหรับ DPC ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 1800 MHz หรือ GSM 1800 ซึ่งมี ลักษณะการใหบริการเหมือนกับโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบดิจิตอล GSM Advance แตกตางกันเพียง เปนโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ใชคลื่นความถี่สูง มีลักษณะเฉพาะคือ ครอบคลุมพื้นที่ไดแคบกวาคลื่น ความถี่ต่ํา แตสามารถใหบริการไดดีในพื้นที่ที่มีความตองการใชบริการที่หนาแนน ปจจุบันเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 สามารถใหบริการในเขตพื้นที่ใหบริการในเขต กรุงเทพมหานคร และตัวเมืองในจังหวัดใหญ เชน เชียงใหม นครราชสีมา หาดใหญ เปนตน การ ใหบริการในเขตจังหวัดอื่นๆ DPC จะใหบริการผานเครือขายรวมกับเครือขายของบริษัท และในเขต กรุงเทพมหานครบริษัทจะใหบริการผานเครือขายรวมกับเครือขายของ DPC โดยมีสัญญาการใช บริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง DPC กับบริษัท

สวนที่ 2 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2546 บริษัทในฐานะผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดใหบริการตางๆ ประกอบดวย • บริการที่ชําระคาบริการรายเดือน (Postpaid) • บริการที่ชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid) • บริการการสื่อสารไรเสียง (Non- voice service) • บริการสําหรับลูกคาองคกร (Enterprise business service) บริการที่ชําระคาบริการรายเดือน (Postpaid) บริการที่ชําระคาบริการรายเดือน Postpaid เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ผูใชบริการมีพันธกรณี โดยตองจดทะเบียน และชําระคาธรรมเนียมรายเดือน (Monthly Fee) รวมถึงคาใชบริการโทรศัพท ซึ่งมีการคิดเปนนาที (Airtime) ผูใชบริการ จะชําระคาบริการรายเดือน และคาใชบริการโทรศัพททุก สิ้นเดือน หลังจากที่มีการใชบริการแลว โดยสามารถชําระเงินผานชองทางการชําระเงินที่มีอยูทั่ว ประเทศ ที่สํานักงานบริการเอไอเอส หรือ รานเทเลวิซ เครือขายที่ใหบริการ แบบชําระคาบริการ รายเดือน คือ GSM advance Evolution และ GSM 1800 • GSM advance - เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล ซึ่งใชเทคโนโลยี GSM ในยาน ความถี่ 900 MHz เหมาะสําหรับกลุมผูใชบริการที่มีความตองการในการสื่อสารที่ มากกวาการการ สื่อสารแบบเสียง และสามารถใชบริการเสริมตาง ๆ (Value Added Service) โดยเฉพาะบริการ สื่อสารไรเสียง ( Non-Voice) ที่หลากหลายทําใหผูใชบริการสามารถดําเนินชีวิตประจําวันทั้งในดาน สวนตัว และการทํางานอยาง เหนือระดับ และสมบูรณแบบ • GSM 1800 - บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบดิจิตอล ซึ่งใชเทคโนโลยี GSM ในยานความถี่ 1800 MHz ดําเนินการใหบริการโดย บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด “GSM 1800” ไดถูกวางตําแหนง ทางการตลาดใหเปนบริการที่เหมาะสม กับผูใชบริการขั้นพื้นฐานที่ตองการชําระคาบริการเปนรายเดือน สําหรับการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบอนาลอก ซึ่งใชเทคโนโลยีเอ็นเอ็มที (NMT Technology) หรือ “Cellular 900” ไดหยุดใหบริการเนื่องจากมีระบบดิจิตอล จีเอสเอ็ม เขามาแทนที่ ในป 2546 ผูใชบริการในระบบ Cellular 900 ทั้งหมดไดยายไปใชบริการในระบบ GSM บริการที่ชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid ) สําหรับบริการในระบบ Prepaid นั้น ไมตองมีการลงทะเบียนและไมตองมีการชําระคาธรรมเนียมราย เดือน ผูใชบริการสามารถเปดเลขหมาย และใชบริการไดทันทีหลังการซื้อ และสามารถเติมจํานวน เงินไดอยางสะดวกสบายจากชองทางการจัดจําหนายตางๆ บริการแบบชําระคาบริการลวงหนา (prepaid) มีชื่อวา “1-2-Call!” มีจุดขายคือ ‘อิสระแหงการ สื่อสารของคุณ’ ซึ่งผูใชบริการมีอิสระในการจัดการคาใชจาย และคาใชบริการไดตามตองการ บริการการสื่อสารไรเสียง (Non- voice communication service) ในป 2546 บริษัทไดปรับปรุงบริการเสริมใหมโดย ชื่อ mobileLIFE ไดถูกนําเสนอใหมดวยการ ใหบริการผาน ระบบ WAP Portal ซึ่งจะเปนศูนยรวมของบริการเสริมใหลูกคาสามารถเขาถึงบริการ และเนื้อหาขอมูลในจุดเดียว ผูใชบริการที่ใชโทรศัพทเคลื่อนที่รุนที่รองรับการใชงานบริการเสริม สามารถเลือกใชบริการ MobileLIFE ใน 3 รูปแบบดวยกันขึ้นกับความชํานาญในการใชเทคโนโลยี ของลูกคา ซึ่งประกอบไปดวย mobileLIFE Pro, mobileLIFE Plus and mobileLIFE Basic สวนที่ 2 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

• • •

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

mobileLIFE Pro นําเสนอบริการที่นําสมัยสําหรับผูที่ชื่นชอบเทคโนโลยี เชน TV on Mobile, Video Mail, RemoteCAMERA, และ Digital Pen เปนตน mobileLIFE Plus นําเสนอบริการตางๆ ที่มีสีสันและทันสมัยในรูปแบบของบันเทิงและสันทนาการ เชน JAVA Games, Mobile Karaoke, MDictionary, และ Multimedia เปนตน mobileLIFE Basic นําเสนอบริการเสริมและขอมูลเพื่ออํานวยความสะดวกสบายใหแกผูใช อาทิ เชน Digital Coupons, Fun Voice, Fun on Mobile, News, Messaging, Business, Shopping, Travel & Traffic, และ Directory เปนตน

บริการสําหรับลูกคาองคกร (Enterprise Business Service) ในป 2546 บริษัทไดนําเสนอบริการเสริมใหม ภายใตชื่อ Smart Solution สําหรับลูกคากลุม ผูประกอบการโดยเฉพาะ Smart Solution เปนการผสมผสานบริการตางๆ ที่ออกแบบเพื่อใหมี ความเหมาะสมกับธุรกิจประเภทตางๆ ในความเปนจริงแลวผูประกอบการตองการบริการสื่อสารไร สายที่ตางกันในแตละธุรกิจ ดังนั้น บริษัท เสนอบริการที่ผสมผสานอยางเหมาะสม ซึ่งไมเพียงแตจะ เปนปจจัยที่ชวยเพิ่มผลผลิตแลวแตยังชวยในเรื่องของการจัดการตนทุนอยางมีประสิทธิภาพ บริการ ดังกลาว แบงเปน Customized Business Solution, GSM Business package, และ Bill Management •

Customized Business Solution บริการที่เกิดขึ้นจากการพัฒนารวมกัน ระหวางลูกคากลุมผูประกอบการและทีมงานที่ปรึกษา ของ บริษัทโดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาและสรางบริการใหมีความเหมาะสมกับการประกอบธุรกิจ ตางๆ อยางลงตัว ผลลัพธคือบริการที่ใหอิสระในการติดตอสื่อสารในภาวะที่โลกธุรกิจเติบโต อยางรวดเร็ว เชน บริการ Mobile Sale Force Automation สําหรับผูคาปลีกและผูคาสง จะ ชวยใหทีมงานขายสามารถเขาถึงขอมูลของลูกคา แผนการตลาดและรายการสงเสริมการขาย ตางๆ ผานอุปกรณมือถือไดในแบบ Real time บริการ Fleet Management สําหรับธุรกิจ ขนสง จะชวยเพิ่มความสะดวกโดยระบบจะชวยดูตําแหนงของยานพาหนะอื่นๆ หาที่ตั้งของ คลังสินคา และชวยวิเคราะหเสนทางโดยขอมูลจะถูกสงจากศูนยทําการ ในสวนของธุรกิจ การเงินการธนาคาร บริการ Mobile Banking และ Mobile Payment จะชวยใหผูบริโภค สามารถทําธุรกรรมตางๆ ผานทางโทรศัพทเคลื่อนที่ การรักษาสัมพันธภาพกับลูกคาเปนสิ่งสําคัญสําหรับธุรกิจ บริษัท นําเสนอ Corporate E-mail และ Mobile Paging ที่ชวยใหธุรกิจตางๆ สามารถใชขอมูลรวมกันหรือสงขอมูลไปสูลูกคา รายบุคคลหรือแบบเปนกลุม ผานทาง จดหมายอิเลคทรอนิคสและ SMS โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนสื่อที่มีประสิทธิภาพที่ธุรกิจตางๆ สามารถเชื่อถือไดในการติดตอกับลูกคา เนื่องจากลูกคา สามารถไดรับขอมูลผานโทรศัพทเคลื่อนที่ไดทุกเวลาทุกสถานที่

GSM Business package GSM Business package เสนอตัวเลือกของอัตราคาบริการที่เหมาะสมกับการใชงานของธุรกิจ ตางๆ เชน Individual package เปนแบบแผนที่แตกตางกันไปตามความตองการของพนักงาน Business Sharing เปนแบบแผนเสนอที่พนักงานในองคกรใชเวลา airtime รวมกัน และรวมใบ แจงหนี้คาโทรศัพทเปนใบเดียว

สวนที่ 2 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Bill Management จากการนําเทคโนโลยีลาสุดมาใช ระบบ Bill Management ชวยเพิ่มทางเลือกใหกับการชําระ คาโทรศัพทและระบบใบแจงหนี้คาโทรศัพท กลาวคือ บริษัทตางๆ สามารถเลือกระบบใบแจง หนี้คาโทรศัพทได เชน การรวมใบแจงหนี้เปนใบเดียว , สงใบแจงหนี้ของแตละสวนงานไปใน ครั้งเดียวกัน, แสดงรายละเอียดของการใชโทรศัพท หรือ สามารถเลือกรอบการชําระเงินได

(2) การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งระบบ Postpaid และ Prepaid (1-2-Call!) รวมถึงชุด Starter Kit และบัตรเติมเงินของสินคา Prepaid นั้น ทางบริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด จะเปนผูจําหนาย ใหกับตัวแทนจําหนายของบริษัท ทั้งตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” ตัวแทน จําหนายทั่วไป (Dealer) การจําหนายตรง (Direct Sales) และการจําหนายใหแกลูกคากลุมบริษัท ตาง ๆ (Corporate Sales) นอกจากนี้หลังจากมีการเปดเสรีการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดมี ผูจัดจําหนายอิสระเพิ่มขึ้นมากมาย ที่ขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบดิจิตอล GSM สวนการจําหนายบัตรเติมเงินของระบบ Prepaid นั้น จะมีการเพิ่มชองทางไปยังกลุมของรานคาที่ไมใช รานขายอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง (Non-telecom Shop) และยังมีการพัฒนาชองทางใหมๆ อยูเสมอ เพื่อใหสามารถเขาถึงผูใชบริการของ 1-2-Call!! ไดดียิ่งขึ้น ทําใหผูใชบริการมีความ สะดวกสบายในการซื้อบัตรเติมเงินเพิ่มขึ้น สําหรับการใหบริการอื่นๆ บริษัทมีสํานักงานบริการซึ่งเปนสาขาของบริษัทเพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใ ชบริการเกี่ยวกับงานทะเบียน ตางๆ และรับชําระคาบริการจากผูใชบริการ โดย วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีสํานักงานบริการทั้งสิ้น 27 แหง อยูในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 15 แหง และในพื้นที่ตางจังหวัดอีก 12 แหง นอกจากนั้น สํานักงานบริการบางแหงใหบริการตรวจเช็คสภาพและซอมเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการแลกเปลี่ยน เครื่องโทรศัพท และจําหนายเครื่องโทรศัพทพรอมทั้งอุปกรณเสริมอีกดวย 3.2

การตลาดและภาวะการแขงขัน (1) กลยุทธทางการตลาดและกลุมลูกคาเปาหมาย บริษัทดําเนินธุรกิจเปนผูใหบริการเครือขายระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งมีรายไดจากการที่ลูกคาใชบริการ ติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายของบริษัทตามระยะเวลาและจํานวนครั้งที่ใช ดังนั้นแนวทางในการเพิ่ม รายไดใหบริษัทคือ การเพิ่มจํานวนผูใชบริการในระบบใหมากขึ้น และการทําใหลูกคาเพิ่มระยะเวลาและ จํานวนครั้งในการใชบริการเครือขาย กลยุทธทางการตลาดที่บริษัทใชเพื่อใหบรรลุแนวทางขางตนมีดังนี้ (ก) การสราง Brand Identity และ Brand personality ใหกับสินคาของบริษัท เพื่อสื่อใหผูบริโภคได ทราบถึงจุดเดนของสินคาแตละตัวที่มีคุณสมบัติแตกตางกันเพื่อเสนอเปนทางเลือกของผูบริโภคที่มี ความตองการแตกตางกัน

สวนที่ 2 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(ข) การขยายฐานลูกคาใหม บริษัทใหความสําคัญในการขยายฐานลูกคาใหม โดยบริษัทไดกําหนดแนวทางสําหรับแตละผลิตภัณฑไว ดังนี้ -

GSM Advance ระบบดิจิตอล GSM Advance เปนระบบที่มีเทคโนโลยีสูง ทําใหสามารถใหบริการไดมากกวา การสื่อสารทางเสียง ซึ่งกลุมลูกคาเปาหมายคือลูกคาทั่วประเทศที่รักความทันสมัยและตองการ ใชบริการที่มีคุณภาพสูงและบริการเสริมที่หลากหลาย ซึ่งบริษัทจะเนนการขยายฐานลูกคาใหม สําหรับระบบดิจิตอล GSM Advance โดยเพิ่มบริการเสริมพิเศษตางๆ

- 1-2-Call! เนื่องจากจุดขายของโทรศัพท 1-2-Call! คือ บริการสําหรับลูกคาที่ตองการความอิสระในการ ควบคุมคาใชจาย โดยจะไมมกี ารจายคาบริการรายเดือน และไมตองจดทะเบียนเลขหมาย บริษัทจึงจัดกลุมลูกคาเปาหมายเปนคนละกลุมกับกลุมลูกคาที่เปนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในลักษณะ Postpaid โดยกลุมลูกคาเปาหมายของโทรศัพท 1-2-Call! ไดแก ลูกคาประเภท วัยรุนที่เริ่มใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ลูกคาที่ใช Airtime ในระดับคอนขางต่ํา และลูกคาที่ไม ประสงคจะระบุชื่อในการขอจดทะเบียนเลขหมาย - GSM 1800 บริษัทไดวางตําแหนงของผลิตภัณฑของ GSM 1800 ซึง่ ดําเนินกิจการโดย DPC เปน โทรศัพทเคลื่อนที่สําหรับลูกคาที่ตองการการติดตอที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งพื้นที่บริการ และ คุณภาพของเครือขาย แตเปนความตองการการสื่อสารขั้นพื้นฐาน เชน การสื่อสารดวยเสียง หรือบริการเสริมขั้นพื้นฐานที่ไมตองการการใชงานที่ซับซอน ซึ่งกลุมลูกคาเปาหมายนี้มเี ปน จํานวนมากโดยเฉพาะในตลาดภูมิภาคที่ยังมีจํานวนผูใชมือถือไมสูงมากนัก นอกเหนือจากการกําหนดแนวทางของแตละผลิตภัณฑแลว ทางบริษัทยังไดกําหนดแนวทาง ดานการมุงเนนขยายฐานลูกคาในตลาดภูมิภาค ซึ่งเปนจุดที่ทางบริษัทมีความไดเปรียบในการ แขงขันเหนือผูประกอบการอื่นๆ จากการที่บริษัทมีโครงขายที่มีพื้นที่ครอบคลุมทั่วประเทศ ดังนั้นบริษัทจึงสามารถทํากิจกรรมทางการตลาดอยางตอเนื่องเพื่อขยายฐานลูกคาไดทันที ซึ่ง เปนการยึดตลาดกอนการเขามาของคูแขงขัน ในขณะที่ ผูประกอบการรายอื่นจะมุงเนนการ ทําตลาดเฉพาะในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลซึ่งมี ผูแขงขันมากราย ประกอบกับเปนตลาดที่ มีจํานวนผูใชมือถือคอนขางสูง เมื่อเทียบกับประชากรที่อาศัยอยูในเขตนี้ (ค) การมุงรักษาฐานลูกคาเกา เพื่อเปนการรักษาฐานลูกคาเกา บริษัทจึงเนนการใหบริการที่มีประสิทธิภาพ มีการดําเนินกิจกรรม ทางการตลาดในชวงระยะเวลาตางๆ เพื่อสนองความตองการของลูกคาและสรางความพึงพอใจ สูงสุดใหกับลูกคา โดยบริษัทไดมีการเสนอสิทธิพิเศษตางๆ ใหกับลูกคาอยางตอเนื่อง ซึ่งบริษัท จะมีการจัดกลุมลูกคาออกเปนกลุมยอยและเสนอสิทธิพิเศษที่แตกตางกัน เพื่อใหสามารถ ตอบสนองไดตรงตามความตองการของลูกคาแตละประเภท (Segmentation) โดยพิจารณาถึง ระบบที่ใชบริการ, วิธีการดํารงชีวิต, พฤติกรรมการใชบริการและการชําระเงิน ฯลฯ รวมถึง พิจารณาปจจัยดาน Profitability ประกอบกันดวย ซึ่งปที่ผานมานี้ การขยายบริการใหลูกคาไดรับ สวนที่ 2 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความสะดวกขึ้น โดยใหรานเทเลวิซเขามามีสวนรวมในงานบริการตางๆ รวมถึงการดูแลลูกคา ทั้งหมด (ง) การพัฒนารูปแบบบริการเสริมพิเศษ บริษัทยังคงมุงมั่นในการพัฒนารูปแบบบริการเสริมพิเศษใหมๆ ใหกับผูใชบริการ เพื่อตอบสนอง ความตองการของลูกคาอยางตอเนื่อง รวมถึงการเพิ่มรายไดใหกับบริษัท นอกจากนั้น บริษัทยัง ไดมีนโยบายที่จะพัฒนาการใหบริการแบบ Non-Voice รูปแบบอื่นๆ สําหรับระบบดิจิตอล GSM ซึ่งถือไดวาเปนเทคโนโลยีชั้นสูงที่ใหบริการแกลูกคาในหลายรูปแบบ เพื่อรักษาภาพลักษณของ ผูนําในดานเทคโนโลยีและบริการรูปแบบใหม และเปนการสรางความพึงพอใจใหแกลูกคาบริการ Non-Voice (จ) การขยายและพัฒนาระบบเครือขาย เนื่องจากคุณภาพและพื้นที่บริการของเครือขายเปนปจจัยที่สําคัญสําหรับ ธุรกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ดังนั้น บริษัทจึงมุงมั่นที่จะขยาย และพัฒนาเครือขายเพื่อสรางความแตกตาง จากคูแขงขัน โดยบริษัทไดเรงขยาย เครือขายของระบบดิจิตอล GSM ใหครอบคลุมพื้นที่ใหมาก ขึ้น ซึ่งนอกเหนือจากการขยายพื้นที่ภายนอกอาคารแลว บริษัทยังใหความสําคัญกับการขยาย พื้นที่การใหบริการรวมทั้งเพิ่มความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาในอาคาร (In-building Coverage) ดวยเชนกัน โดยเฉพาะอาคารที่เปนจุดสาธารณะตางๆ เชน อาคารสํานักงาน ศูนยการคา รวมไปถึง ที่จอดรถยนต และ โรงแรมชั้นนําตางๆ เปนตน นอกจากนี้การที่บริษัทไดเขาไปถือหุนใน DPC และมีการอนุญาตใหใชเครือขายรวม (Network Roaming) กันไดทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM Advance และ GSM 1800 ซึ่งจะทําให คุณภาพของ การใหบริการของทั้งสองระบบดีขึ้น นอกจากนี้ บริษัทยังสามารถประหยัดเงินลงทุนที่ใชในการ ขยายเครือขายไดจากการวางแผนการขยายเครือขายรวมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ความสามารถในการรองรับของเครือขายใหมากที่สุด มีการใชความถี่ของทั้งสองระบบใหมี ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเปนการลดความซ้ําซอนของการลงทุน และไดประโยชนจากการประหยัด ตอขนาด (Economy of Scale) ในการจัดซื้ออุปกรณ และการใชสถานที่ตั้ง (Location) สถานีฐาน (Base Station) รวมกัน เปนตน (ฉ) การใหความสําคัญกับบริการหลังการขาย บริษัทไดจัดใหมีโครงการที่จะใหบริการหลังการขายใหกับลูกคาอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเชน -

-

Call Center เปนศูนยกลางขาวสารขอมูลที่มีประโยชนไดมาตรฐานและถูกตอง สําหรับ ผูใชบริการดวยบริการที่สะดวกสบาย รวดเร็ว โดยผูใชบริการสามารถติดตอสอบถามหรือ ใหคําแนะนําเกี่ยวกับการใชบริการ เครือขายการใหบริการ บริการเสริม หรือรายละเอียด ตางๆ รวมถึงการใชงานมือถือในแตละรุน เปนตน Service Dealer จัดโครงการอบรมใหตัวแทนจําหนาย และพัฒนาศักยภาพของตัวแทน จําหนายใหมีความสามารถบริการซอมโทรศัพทเคลื่อนที่ใหกับลูกคาโดยจะใหมตี ัวแทน จําหนายที่ใหบริการ (Service Dealer) กระจายอยูทุกจังหวัดทั่วประเทศ

สวนที่ 2 หนา 19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

-

-

-

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Temp-O-Phone ในกรณีที่ลูกคาตองนําเครื่องเขาตรวจซอม ศูนยบริการของบริษัทจะมี บริการเครื่องทดแทนใหใชชั่วคราว ในกรณีที่ไมสามารถซอมเครื่องเสร็จภายใน 24 ชั่วโมง Service Caravan เปนศูนยบริการเคลื่อนที่เพื่อใหบริการตรวจซอมตัวเครื่องโทรศัพท เคลื่อนที่ใหกับลูกคาในจังหวัดหลักทั่วประเทศ การพัฒนาระบบการลงทะเบียน บริษัทไดพัฒนาระบบการลงทะเบียนเพื่อใหผูใชบริการ ไดรับความสะดวกมากขึ้น ผูใชบริการสามารถจดทะเบียนไดทุกวัน ซึ่งเมื่อลงทะเบียน แลวภายใน 3 ชั่วโมง ก็สามารถใชโทรศัพทโทรออกหรือรับสายเขาไดทันที และทาง บริษัทยังไดอํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ โดยการเพิ่มงานบริการงานทะเบียน กวา 30 รายการ เชน การเปลี่ยน SIM Card และ การใหบริการขามแดนอัตโนมัติ เปน ตน ผานทาง Telewiz ที่มสี าขาตางๆ กระจายอยูทั่วประเทศ ตลอดจน บริการรับ เปลี่ยนแปลงทะเบียนทางไปรษณียสําหรับผูใชบริการที่ไมสะดวกที่จะมาติดตอกับ ศูนยบริการหรือสํานักงานสาขาของบริษัท การอํานวยความสะดวกดานการรับชําระเงิน บริษัทไดทําการขยายจุดรับชําระเงินและ เพิ่มวิธีการชําระเงิน เพื่อใหผูใชบริการมีชองทาง ในการชําระคาใชบริการไดตรงตาม ความตองการและไดรับความสะดวกมากที่สุด โดย ผูใชบริการสามารถชําระคาบริการ ดวยเงินสดและบัตรเครดิตผานสํานักงานบริการ สํานักงานสาขาของบริษัท ศูนยบริการ เทเลวิซ การชําระคาบริการดวยเงินสด ที่เคานเตอรธนาคารพาณิชย การชําระคาบริการ ดวยบัตรเอทีเอ็ม การชําระเงินในบัตร Prepaid Card หรือการเติมเงินโดยการตัดชําระ บัญชีธนาคารโดยผานตูเอทีเอ็ม การชําระ คาบริการทางโทรศัพท (Telepayment) การ ชําระเงินผานทาง Internet การชําระเงินผาน ทางอุปกรณ Electronic Payment Service ซึ่งตั้งอยูตามจุดชําระเงิน ของรานคาชั้นนําตางๆ หรือ โดยหักบัญชีธนาคาร นอกจากนั้น ผูใชบริการยัง สามารถชําระคาบริการ ณ ที่ทําการไปรษณีย หรืออาจจะชําระคาบริการ ทางไปรษณีย โดยตั๋วแลกเงินไปรษณีย ธนาณัติ หรือเช็ค นอกจากนี้ชองทางการชําระ เงินใหมไดแก ชําระทางอินเตอรเน็ตผานทาง Service on the net ชําระผาน GSM mobileLIFE ชําระผานจุดรับชําระเงินอัตโนมัติ (KIOSK) ซึ่งตั้งอยู ณ สํานักงานบริการ AIS ในเขตกรุงเทพมหานคร

(2) การจําหนายและชองทางการจําหนาย ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหลูกคาเขาใชบริการในระบบเครือขาย สวนใหญจะ ดําเนินการไปพรอมกับการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งบริษัทมีชองทางการจําหนายสําหรับ เครื่องโทรศัพทในระบบดิจิตอล GSM Advance, 1-2-Call! และดิจิตอล GSM 1800 ดังนี้ (ก) การจําหนายผานตัวแทนจําหนาย บริษัทมีหลักเกณฑในการแตงตั้งตัวแทนจําหนายโดยพิจารณาจากทําเลที่ตั้งศักยภาพ และสถานะ ทางการเงินเปนสําคัญ เพื่อใหบริษัทมีความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งวาตัวแทนจําหนายนั้นมีศักยภาพ เพียงพอในการดําเนินธุรกิจและดูแลลูกคาไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้สําหรับพื้นที่ตางจังหวัด การ แตงตั้งตัวแทนจําหนายจะแตงตั้งผูที่มีความคุนเคยในพื้นที่และเปนนักธุรกิจรายใหญของพื้นที่ เปน สําคัญ ตัวแทนจําหนายจะแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ สวนที่ 2 หนา 20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชสจํานวนทั้งสิ้นมากกวา 100 ราย โดยมีรานคายอยมากกวา 300 แหงทั่วประเทศ โดยบริษัทจะใหสิทธิตัวแทนจําหนาย ใน ระบบแฟรนไชสในการดําเนินการ ภายใตสัญญาใหสิทธิใชเครื่องหมายการคาจําหนายสินคา และ บริการโดยมีอายุสัญญา 1 ป ดังนี้ 1) สิทธิในการจําหนายสินคา ภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัท 2) สิทธิในการใหบริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ใหบริการเกี่ยวกับงานทะเบียนตางๆ และ เปนผูใหบริการรับชําระคาบริการหรือคาใชจายอื่นใด บริษัทจะเปนผูกําหนดเงื่อนไข และควบคุมภาพและมาตรฐานของการใหบริการ แนวทางในการ ดําเนินการของตัวแทนจําหนาย เชน การเลือกและพัฒนาสถานที่ การโฆษณาและสงเสริม การ ขาย และการใหบริการตางๆ เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่บริษัทกําหนด ในการเขาเปนตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตองมีการชําระคาสิทธิในการใชเครื่องหมาย การคาเริ่มแรก 100,000 บาท และถามีการขยายเขตการจําหนายตองชําระคาสิทธิเพิ่มอีกจํานวน 50,000 บาทตอเขตจําหนาย ตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีตัวแทนจําหนายจํานวนทั้งสิ้นกวา 400 ราย โดยตัวแทน จําหนายทั่วไปนี้ไดรับแตงตั้งใหเปนผูจําหนายสินคาของบริษัท ไดแก เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทั้งอุปกรณเสริมตางๆ นอกเหนือจากรายไดจากการจําหนายสินคาและบริการแลว ตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภท จะ ไดรับคาตอบแทนจากการลงทะเบียนใหลูกคา เปนสมาชิกการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ ดิจิตอล GSM Advance, GSM1800 รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด ตามอัตราที่ บริษัทกําหนด ตัวแทนจําหนายระบบ 1-2-Call! นอกเหนือจากการจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call! ผานระบบตัวแทนจําหนายเดียวกันกับดิจิตอล GSM Advance และ GSM1800 แลว บริษัทยังไดจําหนายบัตรเติมเงิน ผานชองทางการจําหนาย รูปแบบใหม เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคาในการซื้อบัตรเติมเงิน โดยการขยายชองทางการ จัดจําหนายไปในธุรกิจอื่นๆ ที่ไมใชรานขายโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง เชน รานขายหนังสือ ราน สะดวกซื้อ สถานีบริการน้ํามัน รานจําหนายซีดี-เทป เปนตน โดยบริษัทจัดทําสัญญาแตงตั้ง ตัวแทนจําหนายใหจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call!

สวนที่ 2 หนา 21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

จํานวนตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภทของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 มีดังนี้

กรุงเทพมหานคร

จํานวนตัวแทนจําหนาย

จํานวนตัวแทนจําหนาย

เครื่องโทรศัพท

บัตรเติมเงินระบบ 1-2-Call!

รวม

ระบบแฟรนไชส

ทั่วไป

Key Accounts

Wholesalers

46 ราย

116

33

7

202

358

1

55

479

474

34

62

681

(130 สาขา) จังหวัดอื่นๆ

65 ราย (217 สาขา)

รวม

111 (347 สาขา)

ตัวแทนจําหนายระบบ GSM 1800 ณ 31 ธันวาคม 2546 DPC มีการจําหนายผลิตภัณฑโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 ผาน ตัวแทนจําหนายกวา 500 ราย ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายรายเดียวกับที่ไดกลาวขางตน (ข) การขายตรง บริษัทไมมุงเนนการแขงขันกับตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตัวแทนจําหนายทั่วไป แตจะเนน การบริการใหแกกลุมลูกคาสถาบันซึ่งอาจมีความตองการใชงานโทรศัพทเพิ่มเติม โดยจะมีการซื้อ เปนจํานวนมากภายใตเงื่อนไขที่แตกตางตามลักษณะธุรกิจ โดยจะมีการจดทะเบียนในนามนิติบุคคล เปนตน อยางไรก็ตาม จุดมุงหมายหลักจะเปนการเพิ่มรายไดจากบริการเสริมภายใตแบรนด “Smart Solution” ซึ่งเปนการเสนอบริการที่สามารถเพิ่มมูลคาทางดานธุรกิจใหกับลูกคาองคกรของบริษัท (3) ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน (ก) ภาวะอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยอยูภายใตการควบคุมของหนวยงานหลัก 2 หนวยงาน คือ ทศท. และ กสท. โดยหนวยงานทั้งสองดังกลาวสังกัดกระทรวงคมนาคม โดยงานดานการ ควบคุมคลื่นความถี่อยูในความรับผิดชอบของกรมไปรษณียโทรเลข ทศท. นอกจากจะมีฐานะเปนผูดูแลและควบคุมอุตสาหกรรมแลว ยังเปนผูใหบริการโทรศัพท พื้นฐานสําหรับการสื่อสารภายในประเทศ และระหวางประเทศเพื่อนบานที่มีพรมแดนติดตอกับ ประเทศไทย ในขณะที่ กสท. ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ นอกจากนี้ทงั้ ทศท. และ กสท. ยังใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แตภายใตเครือขายที่จํากัด

สวนที่ 2 หนา 22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญารวมการงานที่ ทศท. และ กสท. ทํากับเอกชนสําหรับการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ สามารถสรุปไดดังตอไปนี้ ผูใหสัมปทาน

บริษัทที่ไดรับสัมปทาน

1. ทศท.

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กิจการรวมคาไทย โมบาย

2. กสท.

บริษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) (DTAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) บริษัท ทีเอ-ออเรนจ จํากัด (TAO) บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (HUTCH)

นอกเหนือจากบริษัทที่ไดทําสัญญารวมการงานกับ ทศท. และ กสท. ขางตนแลว ยังมี ผูประกอบการในภาครัฐอีก 2 ราย ไดแก ทศท. และ กสท. (ข) การแขงขัน หลังจากการแขงขันอยางรุนแรงในป 2545 และเปนปที่จํานวนผูใชบริการเติบโตขึ้นกวาเทาตัว การ แขงขันของธุรกิจการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2546 มีความสมเหตุสมผลมากขึ้น ธุรกิจกาวไปสูการแขงขันที่เรียกวา Creative Growth ซึ่งผูใหบริการรายหลักแขงขันกันในดาน คุณภาพและความหลากหลายของสินคาและบริการ ในป 2546 การเติบโตของจํานวนผูใชบริการไมไดสูงมากเปนประวัติการณดังเชนในปกอน โดยที่มี อัตราการเติบโต 25% จํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นราว 4.6 ลานคน หรือเพิ่มขึ้นเปน 22 ลานคน ณ สิ้น เดือนธันวาคมป 2546 ผูประกอบการรายหลัก 2 ราย คือ เอไอเอสและบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอม มิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) (DTAC) มีสวนแบงผูใชบริการเกือบ 90% 30.0 จํานวนผูใชบริการ

(ลานราย) 34%

25.0

27%

17.5 ลาน

20.0 15.0 10.0 5.0 0.0

ธันวาคม 2545

เอไอเอส

ดีแทค

22.0 ลาน

40% 35% 30% 25% 20% 15% 10% 5% 0%

ธันวาคม 2546

ทีเอ ออเรนจ

ทีมา: ขอมูลจากเว็บไซต ที่ประมาณการได

อื่นๆ

อัตราผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ตอจํานวนประชากร

การแขงขันแบบ Creative Growth เห็นไดจากอัตราคาบริการและรายการสงเสริมการขาย ที่ได นําเสนอโดยผูใหบริการอยางตอเนื่องทั้งป เปนไปในลักษณะที่ไมไดเปนการตัดราคา แตเปนการ นําเสนอรายการสงเสริมการขายที่ออกแบบใหเหมาะสมกับลู กคาในแต ละกลุ ม ตลอดจนเสนอ ทางเลือกใหกับผูใชบริการเลือกรายการสงเสริมการขายที่เหมาะกับการใชงานของตนและมีสวนลด

สวนที่ 2 หนา 23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในเวลาเดียวกัน สิ่งนี้นับเปนปจจัยที่ชวยกระตุนจํานวนผูใชบริการโดยที่ไมทําใหอัตรากําไรถูกบั่น ทอนลง และเปนพัฒนาการกาวใหมของธุรกิจการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ การแขงขันแบบ Creative Growth ยังรวมถึงแผนการตลาดและกิจกรรมการตลาดที่มุงเนนไปที่ ผูประกอบการรายยอย (SMEs) อีกดวย ผูใหบริการซึ่งตางแสวงหาจํานวนผูใชบริการและแหลง รายไดใหมตางเขาไปแขงขันทําตลาดในกลุมผูประกอบการรายยอย ซึ่งลูกคากลุมนี้มีลักษณะ แตกตางจากลูกคาบุคคล เนื่องจากเปนกลุมที่มีการใชงานสูงและเปนลูกคาที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ ลูกคาในกลุมดังกลาวยังมีแนวโนมสูงที่จะปรับตัวใหเขากับบริการเสริมเนื่องจากบริการเสริมไดถูก ออกแบบมาเพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพและการแขงขันของธุรกิจตางๆ ในสวนของรายไดกับ Creative Growth ในป 2546 คือความพยายามของผูประกอบการในการ นําเสนอบริการใหม ซึ่งเห็นไดจากการทําการตลาดในสวนของบริการเสริมตางๆ เชน ผูประกอบการ บางรายไดสราง WAP portal ขึ้นเพื่อใหผูใชบริการสามารถเชื่อมตอขอมูลบริการเสริมกับ อินเตอรเน็ตไดงายเพียงกดปุมการใชงานเทานั้น ผูประกอบการรายอื่นอาจอางวามีจุดยืนในการ แขงขันในดานบริการขอมูลและบริการเสริม บางก็สัญญาวาจะสรางโอกาสใหมในการดําเนินงานทาง ธุรกิจและเรงหาแหลงรายไดใหมดวยการลงทุนในเครือขายบริการเสริม เชน EDGE หรือ GPRS เพื่อรองรับการใหบริการการสื่อสารไรสายความเร็วสูงในอนาคตอันใกล ผูประกอบการบางรายได สูญเสียความสามารถในการแขงขันไปบางในปนี้ อยางไรก็ตามความพยายามของผูประกอบการที่ ผลักดันการใหบริการเสริม ไดรับผลตอบแทนในแงของอัตราการใชการสื่อสารไรเสียง และรายไดซึ่ง คาดวาจะปรับตัวดีขึ้นในปตอไป แม ว า Creative Growth จะเป น การพั ฒ นาอี ก ก า วของธุ ร กิ จ การให บ ริ ก ารเครื อ ข า ย โทรศัพทเคลื่อนที่ อาจมีขอโตแยงวายังคงมีการแขงขันดานราคาในป 2546 ซึ่งขอโตแยงดังกลาว เปนความจริง เนื่องจากผูใหบริการรายใหมซึ่งเปดใหบริการอยางเปนทางการ ไดใชกลยุทธในการ ทําการตลาดเชิงรุก โดยการขายเครื่องลูกขายในราคาต่ํากวาตนทุน (Handset Subsidy) ซึ่งตลาดก็ ไดตอบสนองกับทางเลือกใหมที่เสนออัตราคาบริการที่ถูก สงผลใหจํานวนผูใชบริการเพิ่มสูงขึ้น อยางมากในชวงที่แผนการตลาดไดถูกนําเสนออกไป อยางไรก็ตามผูใหประกอบการรายเดิมที่มี ประสบการณในการใชแผนการตลาดเชิงรุก ทั้งการขายเครื่องลูกขายในราคาต่ํากวาตนทุนและเสนอ อัตราคาบริการที่ต่ํา ไมไดตอบโตอยางไมมีเหตุผลกับเหตุการณดังกลาว ในทางกลับกันกลยุทธใน การเสนออัตราคาบริการตามความตองการและความจําเปนของลูกคาในแตละกลุม การบริหารชอง ทางการจัดจําหนายโดยการเพิ่มผลตอบแทนใหแกคูคาเพื่อเรงการเติบโตของผูใชบริการรายใหม ได ถูกนํามาใช ดังนั้นภาวะการแขงขันในป 2546 จึงไมสงผลกระทบดานลบมากนักตอผูใหบริการ ซึ่ง ตลาดมีการเติบโตของจํานวนผูใชบริการอยางตอเนื่อง โดยมีจํานวนผูใชบริการรายใหมเพิ่มขึ้น 4.6 ลานราย ตามที่ไดกลาวไวแลวเบื้องตน เทียบกับป 2545 ซึ่งมีผูใชบริการเพิ่มขึ้น 10 ลานราย ในภาวะที่ จํ า นวนผู ใ ช บ ริ ก ารเติ บ โตขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง อั ต ราผู ใ ช บ ริ ก ารต อ จํ า นวนประชากร (Penetration rate) ในป 2546 อยูที่ 34% เพิ่มขึ้นจาก 27% ในป 2545 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบอัตรา ดังกลาวกับประเทศตางๆในภูมิภาคเดียวกันแลว พบวาจํานวนผูใชบริการยังคงมีโอกาสที่จะเติบโต ได แมวาแนวโนมการขยายตัวจะไมเปนไปในอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นเชนในอดีต การเติบโตจะมาจากอา

สวนที่ 2 หนา 24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นิสงคของภาวะเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้นอยางตอเนื่องนอกจากนี้การเปดเสรีทางกิจการโทรคมนาคม ขึ้นปจจัยดังกลาวจะชวยใหธุรกิจยังคงเติบโตไดในแงของจํานวนผูใชบริการ ในสวนของกฏระเบียบขอบังคับ มีพัฒนาการของการเปดเสรีทางกิจการโทรคมนาคมในป 2546 ประการแรก คือ การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.)ไดถูกแปรรูปและจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชน จํากัด ภายใตชื่อ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ประการที่สอง คณะรัฐมนตรีไดมีมติ ใหออกพระราชกําหนด (พรก.) ภาษีบริการในกิจการบริการ ภายใตพระราชกําหนด สวนแบง รายไดบางสวนของรายไดจากการใหบริการในธุรกิจโทรคมนาคมจะถูกเปลี่ยนเปนภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) ผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐานตองจายภาษีสรรพสามิตในอัตรารอยละ 2 ของรายได จากการใหบริการใหกบั กระทรวงการคลัง สวนผูใหประกอบโทรศัพทเคลื่อนที่จายภาษีสรรพสามิต ในอัตรารอยละ 10 ของรายไดจากการใหบริการใหกับกระทรวงการคลัง สวนแบงรายไดที่เหลือ หลังจากการจายภาษีสรรพสามิตจะจายใหแกผูใหสัมปทาน คือ บริษัท ทศท. คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) นอกจากนี้รัฐบาลยังไดมีการเตรียมการเกี่ยวกับคาเชื่อมโยงเครือขายระหวางผูประกอบการ (Interconnection) ไดมีการเจรจาตกลงและตอรองกันระหวางผูประกอบการและผูมีสวนเกี่ยวของ ในเรื่องของการเชื่อมโยงเครือขายและอัตราคาเชื่อมโยงระหวางเครือขาย (Interconnection Rate) คาดวาจะไดขอสรุปและเริ่มปฏิบัติภายในป 2547 นี้ สําหรับการสรรหาและคัดเลือกคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ( กทช) ไดมี ความคืบหนาโดยที่หลังจากศาลปกครองสูงสุดไดพิพากษาวา การสรรหา กทช ไมถูกตองตาม กฏหมายและไมเปนธรรม สงผลใหตองมีการเริ่มตนกระบวนการสรรหา กทช ครั้งใหม จนไดรายชื่อ ใหวุฒิสมาชิกกลั่นกรองแลวเมื่อปลายป 2546 จากถอยแถลงของหลายหนวยงานของรัฐบาล ในป 2547 จะเปนปที่มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ กฎระเบียบขอบังคับหลายประการ โดยในปจจุบันรัฐวิสาหกิจ 2 แหงไดทําการแปรรูปเปนที่เรียบรอย แลว การจัดตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ( กทช) มีแนวโนมที่จะประสบ ความสําเร็จ และมีความเปนไปไดที่จะเห็น การเชื่อมโยงเครือขายระหวางผูประกอบการและการแปร สัญญามีความคืบหนามากขึ้น ดังนั้นการเปดเสรีทางโทรคมนาคมจะเปนสิ่งที่อยูไมไกลนัก 3.3

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาของระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ขึ้นอยูกับความสามารถ ในการดําเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณของบริษัทและบริษัทยอย เพื่อขยายความสามารถในการ รองรับจํานวนผูใชบริการและขยายพื้นที่การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมากขึ้น จากการที่บริษัทไดรับอนุญาตใหสามารถดําเนินการใหบริการผานเครือขายรวม (Network Roaming) ได บริษัท และ DPC จึงไดรวมกันปรับแตง และพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทั้ง 2 บริษัท ใหเสมือนเปน เครือขายรวมที่สามารถรองรับการใชบริการไดทั้งในระบบ GSM 900MHz และ GSM 1800MHz (Dual-band Network) ไดอยางราบรื่น โดยใชขอดีของทั้งสองระบบ และทั้งสองคลื่น

สวนที่ 2 หนา 25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความถี่ ใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของการใหบริการตอ ผูใชบริการ ที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของเครือขาย GSM ของบริษัทและ DPC จํานวนลูกคา (พันคน) และความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา

ติดตอฝายนักลงทุนสัมพันธ : investor@ais.co.th หรือโทรศัพท +662-299-5900 โทรสาร +662-299-5165

ธันวาคม 2545

มีนาคม 2546

มิถุนายน 2546

ลูกคา GSM Advance ลูกคา GSM 1800 ลูกคา 1-2-Call! ความสามารถของระบบในการ รองรับลูกคา* จํานวนสถานีฐานสะสม หนวยลานราย ยกเวนจํานวนสถานีฐานสะสม

ตุลาคม 2546

ธันวาคม 2546

ธันวาคม 2544 2.260 0.390 2.289 6.811

ธันวาคม 2545 2.234 0.289 8.136 11.215

ธันวาคม 2546 1.916 0.200 11.124 13.600

5,276

7,893

9,029

* ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ณ สิ้นป 2546 คือคาความสามารถของเครือขายรวม GSM900-1800 MHz เพื่อใหบริการเครือขายที่สูงดวยคุณภาพ บริษัทเลือกใชอุปกรณเครือขายที่นําเขาโดยตรงจากผูผลิต ซึ่ง เปนผูนําทางดานเทคโนโลยีโทรคมนาคมของโลก เชน อีริคสัน โนเกีย เอ็นอีซี ซีเมนส และหัวเหวย และเนื่องจากผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยๆ บริษทั จึงตองเพิ่มความสามารถของ ระบบในการรองรับการขยายตัวของลูกคา โดยการเพิ่มจํานวนสถานีฐานเพื่อขยายพื้นที่ใชงานใหมาก ขึ้น โดยเฉพาะในเขตชุนชนใหมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ 3.4

งานที่ยังไมไดสงมอบ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

4.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การวิจัยและพัฒนา การวิจัยและพัฒนาเปนสิ่งสําคัญประการหนึ่งสําหรับการสรางสรรคและเพิ่มมูลคาเพิ่มของสินคาและบริการ บริษัท จึงไดมุงเนนการจัดหาเทคโนโลยีมาสรางเปนรูปแบบของการใหบริการที่ตอบสนองความตองการของกลุมผูใช บริการเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุด และจากการใหความสําคัญกับ Non voice service มากขึ้น บริษัทไดจัดตั้ง หนวยงาน Future lab ขึ้นมาเพื่อการคิดคนบริการใหมๆ ซึง่ เปนการพัฒนาที่มีการผสมผสานอยางลงตัวระหวาง เครื่องลูกขาย เครือขายและ application (DNA) โดยมีกลุมชํานาญทางวิศวกรรม การตลาดและ การเงิน รวมกัน คิดคนบริการใหมๆ ขึ้นมา โดยบริการใหมนั้นจะตองไดรับการพิจารณาอยางรอบคอบวาสามารถสรางความพอใจ และไดรับการตอบรับจากผูใช มีความเปนไปไดในเชิงธุรกิจ ทั้งนี้ บริการใหมเหลานี้จะตองมีความสอดคลองกับกล ยุทธของบริษัทที่ไดถูกกําหนดไว ในป 2546 ที่ผานมา บริการใหมที่ไดเปดตัวไปแลว เชน TV on Mobile ไมเพียงแต บริษัท จะมุงมั่นที่จะสรางความพอใจสูงสุดใหกับผูใชบริการดวยการพัฒนารูปแบบของบริการใหม บริษัทยังคงยึดมั่นในการรักษาคุณภาพของเครือขาย โดยบริษัทไดกําหนดความหมายของคําวา เครือขายคุณภาพ (Network Quality) ไว 3 ประการคือ 1. พื้นที่ใชบริการครอบคลุม(Coverage) 2. ความสามารถในการเขาถึงเครือขาย (Accessibility) 3. ความเชื่อถือของระบบเครือขาย (Reliability)

สวนที่ 2 หนา 27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

5.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 5.1

สินทรัพยถาวรหลัก ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร และสวนปรับปรุงอาคารเชา ของบริษัทและบริษัทยอยนั้น จะเปน ของบริษัท เปนหลัก เนื่องจากทั้งบริษัทมีสํานักงานสาขาซึ่งกระจายอยูเปนทั่วประเทศ สวนเครื่อง ตกแตง ติดตั้ง และเครื่องมืออุปกรณนั้นจะประกอบดวยอุปกรณเครื่องมือชาง อุปกรณและโปรแกรม คอมพิวเตอร ตลอดจนอุปกรณตางๆ ที่ใชสําหรับบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ สินทรัพยถาวรหลักของบริษัท และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ประกอบดวย ประมาณอายุการใช (ป) สินทรัพยถาวรหลักของบริษทั และบริษัทยอย ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร สวนปรับปรุงอาคารเชา/1 เครื่องตกแตง, ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ ยานพาหนะ สินทรัพยระหวางกอสรางและติดตัง้ อุปกรณสอื่ สารเพื่อใหเชา รวม อาคาร และอุปกรณ หัก คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม อาคารและอุปกรณ – สุทธิ

5 และ 20 5 และ 10 2-5 3 และ 5 5 อายุสัญญาเชา และ 3

หนวย: ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 5.20 470.59 416.16 1,311.72 17,850.13 174.18 271.68 25.89 20,525.55 (8,405.38) 12,120.17

สําหรับสินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ไดรวมสินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินที่ บริษัทและบริษัทยอยเปนผูเชาอยูในสวนของ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน,เครื่องมือและ อุปกรณ และยานพาหนะ เปนจํานวน 344.90 ลานบาท ทั้งนี้ ทรัพยสินของบริษัทและบริษัทยอย ไมมี ภาระผูกพัน นอกจากนี้บริษัทและบริษัทยอยยังมีการเชาพื้นที่อาคารสํานักงานเพื่อใชในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546 สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียดดังนี้ 1. บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 12,537 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟช ปารค จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชา ทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31ธันวาคม 2548 และตองจาย คาเชาตอบแทนในอัตรา 5,275,200 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะมีการตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อ หมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัทและ บริษัทยอยมีการตออายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 2. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 11,853 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟช ปารค จํากัด โดย /1

สวนปรับปรุงอาคารเชาเปนคาใชจายในการปรับปรุงตกแตงสํานักงานบริการของบริษทั

สวนที่ 2 หนา 28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

มีการทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 5,046,977 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะตออายุโดย อัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบัน บริษัทและบริษัทยอยมีการตออายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 3. บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 1,294 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี แอสเสท คอปอเรชั่น จํากัด โดยมีการทําสัญญา เชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 พฤษภาคม 2546 – 30 เมษายน 2549 และตอง จายคาเชาตอบแทนในอัตรา 491,720 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชาจะตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อ หมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา 4. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารสยามพันธุ เลขที่ 1 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 6,344 ตารางเมตร จากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย และสิทธิเรียกรอง เฟสท สตาร สัญญาเชาทําแยกในแตละชั้น สัญญาฉบับปจจุบันจะหมดอายุ 28 กุมภาพันธ 2550 และ ตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 1,471,837 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความ ประสงคไมนอยกวา 3 เดือนกอนหมดอายุสัญญา 5. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานพหลโยธิน เพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 8,285 ตารางเมตร จากบริษัท พหล 8 จํากัด,บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี จํากัด(มหาชน),บริษัท อาทิตย-จันทร จํากัด,คุณเกวิน ไทยบัญชากิจ และนิติบุคคลอาคาร ชุด พหลโยธิน เพลส สัญญาเชาทําแยกในแตละชั้น สัญญาเชาฉบับปจจุบันจะหมดอายุ 31 มกราคม 2549 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 1,694,590 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการ แจงความประสงคไมนอยกวา 30 และ60 วันกอนหมดอายุสัญญา ตามแตละสัญญาเชา 6. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 2,851 ตารางเมตร จากบริษัท ทรีพัลส จํากัด โดยมีการทําสัญญา เชาอายุ 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตอง จายคาเชาตอบแทนในอัตรา 427,650 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงค ไมนอยกวา 30 และ60 วันกอนหมดอายุสัญญา ตามแตและสัญญาเชา 7. บริษัท เชาพื้นที่อาคารประปา เลขที่ 1285 ถนนพหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 1,405 ตารางเมตร จากบริษัท โอเอไอ แอสเสท จํากัด โดยสัญญาเชาเริ่มตั้งแต 1มกราคม 2546 – 31 ตุลาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 230,000 บาทตอเดือน การตอ สัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 30 วันกอนหมดอายุสัญญา 8. บริษัท เชาพื้นที่อาคารไวท เฮาส เลขที่ 21ถนนพหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 1,009 ตารางเมตร จากบริษัท โอเอไอ แอสเสท จํากัด โดยสัญญาเชาเริ่มตั้งแต 1มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 550,000 บาทตอเดือน การตอ สัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 30 วันกอนหมดอายุสัญญา 9. บริษัท เชาพื้นที่อาคารสํานักงานบริการสาขา ในจังหวัดเชียงใหม,สุราษฎรธานี,อุดรธานี,นครสวรรค, นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, หาดใหญ, อุบลราชธานี, อยุธยา, ระยอง, ชลบุรี,ภูเก็ต เนื้อที่ ประมาณ 13,638 ตารางเมตร โดยแยกทําสัญญาแยกแตละจังหวัด และตองจายคาเชาตอบแทนรวม ทั้งสิ้นในอัตรา 2,310,002 บาทตอเดือน สวนที่ 2 หนา 29


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

5.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญารวมการงาน ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานเปนสินทรัพยที่ลงทุนโดยบริษัทและบริษัทยอย และโอน กรรมสิทธิ์ใหแกหนวยงานรัฐผูเปนเจาของสัญญารวมการงานนั้น โดยบริษัท และบริษัทยอยจะไดสิทธิใน การใชสินทรัพยนั้นในการดําเนินกิจการตลอดอายุสัญญารวมการงานนั้น สัญญารวมการงานของบริษัท และบริษัทยอย ประกอบไปดวยสัญญารวมการงานที่ทํากับหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสามารถดําเนินธุรกิจ ภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐนั้นๆ ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ประกอบดวย ประเภทสินทรัพย

ตนทุน (ลานบาท)

ตนทุนโครงการของบริษทั อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM อุปกรณเครือขายระบบอนาลอก NMT อุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ อื่นๆ ตนทุนโครงการของ ADC เครื่องมือและอุปกรณ รวม ตนทุนโครงการของ DPC อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM และอุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ รวมตนทุนโครงการของบริษทั และบริษัทยอย

จํานวนป ตัดจําหนาย

จํานวนปที่ตัด จําหนายแลว

มูลคาทางบัญชี (ลานบาท)

72,834.03 13,735.31

10 ป ไมเกินป 2558 สิ้นสุด กันยายน 2545

1 – 10 1 – 10

50,941.27 -

18,563.86 5,286.09

10 ป ไมเกินป 2558 10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10 1 – 10

12,989.92 3,872.02

1,347.20 111,766.49

10

1 – 10

597.29 68,400.50

14,628.28

10

1-5

10,148.55

126,394.77

78,549.05

สัญญารวมการงานหลักๆของบริษัท และบริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ (รายละเอียดของสัญญารวม การงานอยูในเอกสารแนบ 3)

สวนที่ 2 หนา 30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

(1)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) คูสัญญา

: บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

อายุของสัญญา

: 25 ป เริ่มตั้งแตวนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

ลักษณะของสัญญา

: 1. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้ง ระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 MHz ทั่วประเทศ โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 2. บริษัทไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจาก การใชงานของบริษัทได โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 3.

การยกเลิกสัญญา

บริ ษั ท ได รั บ อนุ ญ าตจาก ทศท. ในการให บ ริ ก าร โทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ บบใช บั ต รจ า ยเงิ น ล ว งหน า (Pre-paid Card) โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตรา รอยละ 20 ของรายได

: ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันทีที่บริษัทลมละลายหรือปฏิบัติผิด สัญญาขอหนึ่งขอใดของสัญญา และขอผิดสัญญาดังกลาวบริษัทมิได ดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึง ขอผิดสัญญาจาก ทศท. เปนลายลักษณอักษร โดยบริษัทไมมีสิทธิ เรียกรองคาเสียหายใด ๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืน จาก ทศท. แตอยางใด

บันทึกขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) คูสัญญา

(Cellular

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทศท)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1. บมจ.ทศท อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตาม สั ญ ญาหลั ก ให ผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น เข า มาใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตใหบริษัทเขาไปใชเครือขาย รวม (Roaming) ของผูใหบริการายอื่นไดเชนเดียวกัน

สวนที่ 2 หนา 31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. การใชเครือขายรวม (Roaming) บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่ว ประเทศและบริษัทมีสิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ใน อัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ โดยตองทําหนังสือแจงให บมจ.ทศท ทราบกอน 3. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขาย รวม (Roaming) ให บมจ.ทศท - ในกรณี ที่ ผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น เข า มาใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ในเครือขายของบริษัท บริษัทตกลงจายในอัตรา รอยละ(ระบุตามสัญญาหลัก)ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่ เรียกเก็บจากผูใหบริการรายอื่น - ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผู ใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายในอัตรารอยละ(ระบุตาม สัญญาหลัก)ของรายไดคาบริการและเงิน อื่นใดที่เรียกเก็บ จากผูใชบริการ หักดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจาย ใหแกผูใหบริการรายอื่น บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1. เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ ก ผูใชบริการของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัท ตกลงให DPC เขามาใชเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปนตนไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บ า ท ( ส อ ง บ า ท สิ บ ส ต า ง ค ) ซึ่ ง เ ป น อั ต ร า ที่ ยั ง ไ ม ร ว ม ภาษีมูลคาเพิ่ม

การยกเลิกสัญญา

:

คูสัญญาแตละฝายมีสิทธิบอกเลิกบันทึกขอตกลงโดยแจงเปนหนังสือ ใหอีกฝายทราบลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือน

สวนที่ 2 หนา 32


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(2) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ( ADC ) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา

:

บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทศท) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

อายุของสัญญา

:

25 ป (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 )

ลักษณะของสัญญา

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) โดยตองจาย ผลประโยชน ต อบแทนให ทศท.ในลั ก ษณะของการเพิ่ ม ทุ น จด ทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุน เพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของทุน จดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท.ไมตองชําระเงินคาหุนแตอยาง ใด

การยกเลิกสัญญา

:

ทศท. มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ ใหผูอื่นดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อวา ADC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปได ดว ยดี หรื อปฏิ บั ติ ผิ ด สัญ ญาข อ หนึ่ง ข อ ใด โดย ADC ต อ ง รับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆใหตกเปน กรรมสิทธิของ ทศท. ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่ มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

สวนที่ 2 หนา 33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

(3)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital Communication Network) 1800 คูสัญญา

PCN

(Personal

: บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด ( มหาชน) (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

อายุของสัญญา

: 16 ป (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556)

ลักษณะของสัญญา

: DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการใหบริก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 บางสวนที่ไดรับโอน สิทธิจาก TAC โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให กสท. เปน รอยละของรายไดกอนหักคาใชจาย ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาวตอง ไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา

การยกเลิกสัญญา

: สัญญานี้สิ้นสุดลงหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ DPC ตกเปนผูขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายว า ด ว ยการประกอบธุ ร กิ จ ของคนต า งด า ว และ กสท.ไดแจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอย กวา 90 วัน

สวนที่ 2 หนา 34


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด ( มหาชน) (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

5.3

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

ลักษณะของสัญญา

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดยไดรับความยินยอมจาก กสท. โดย DPC ตกลงจาย ผลตอบแทนใหแก TAC เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท

นโยบายการลงทุนและบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโนบายการลงทุนโดยเลือกลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และธุรกิจที่ เกี่ยวของกับธุรกิจดังกลาว โดยมุงเนนที่จะลงทุนในบริษัทที่ใหผลตอบแทนที่ดีหรือมีการดําเนินธุรกิจที่ สามารถเสริมประโยชนกับธุรกิจหลักของบริษัทไดในระยะยาว ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2546 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทยอย 5 บริษัท คือ AWM ADC DNS DPC และ ACC บริษัทมีแผนที่จะยังคงสัดสวนการถือหุนและมีสวนสําคัญในการบริหารงานในบริษัทยอยตามที่กลาวมา ขางตนตอไป ปจจุบันบริษัทมีนโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย โดยการสงตัวแทนของบริษัทไปเปน กรรมการในบริษัทยอยทุกบริษัท ยกเวน AWM เนื่องจากบริษัทไดหยุดดําเนินการชั่วคราว

สวนที่ 2 หนา 35


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

6.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงการในอนาคต โครงการ ลักษณะของโครงการ

ผลตอบแทนที่คาดหวัง ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

Prepaid - PostPaid Convergence โครงการ Prepaid-PostPaid Convergence เปนการเปดโอกาสใหลูกคาของ AIS ไมวาจะเปนลูกคา GSM Advance, 1-2-call, GSM 1800 และ MobileLife สามารถที่จะใชบริการตางๆไดเหมือนกันโดยลูกคาสามารถที่จะเลือกวิธีการ จายเงินในแตละบริการวาจะจายกอน(Prepaid) หรือ จายหลัง (PostPaid) ตาม ความตองการของลูกคา และระบบใหมยังรองรับการคิดเงินไดหลากหลายแบบ หลาย Promotion นอกจากนั้นยังสามารถที่จะทํา Hierarchical Account คือ การ Share Promotion, Discount, Share usage ภายในกลุมซึ่งลูกคาสามารถ กําหนดเองได สามารถรองรับความตองการของลูกคาได การ Design ระบบที่ดีซึ่งตองรองรับการคิดเงิน, การคํานวณ Promotion ที่ ซับซอน หลากหลายรูปแบบของ Service ในปจจุบันและอนาคต ใหสามารถทํา ไดอยางมีประสิทธิภาพ, Real Time สําหรับลูกคาจํานวนมาก ซึ่งถาการ Design ระบบทําไดไมดี อาจทําใหการคํานวณและการทํางานซึ่งตองเกี่ยวของ กับหลาย Function หลาย Network Element เกิดความผิดพลาดหรือลาชา ทำ ใหไมสามารถที่จะทําไดอยางมีประสิทธิภาพตามเปาหมายที่วางไว การลงทุนเบื้องตนขึ้นอยูกับ Approach ของการ Design ระบบและการแบง function การทํางานของแตละ Element ซึ่งถาตองการ Real time อาจจะตองมี การลงทุนที่สูง

สวนที่ 2 หนา 36


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

7.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอพิพาททางกฎหมาย คาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจายประกอบดวยคาธรรมเนียมคางจาย โดยบริษัทยอยคือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เนื่องจากการไดรับสิทธิ รายปในสัญญาสัมปทานตอจากเจาของสัมปทานรายกอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ. ศ. 2546 บริษัทยอยมีคาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจายและดอกเบี้ยคางจายแกบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมู นิเคชั่น จํากัด (มหาชน) เปนจํานวนเงิน 4,373.06 ลานบาท ในกรณีที่บริษัทยอยไมสามารถชําระคาสิทธิสัญญา สัมปทานคางจายดังกลาว บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) สามารถยกเลิกสิทธิในสัญญา สัมปทานได ตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 บริษัทยอยไมไดชําระคาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจายแก บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีกําหนดชําระในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2545 บริษัทยอย ดังกลาวอยูระหวางการเจรจาเพื่อขอลดคาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจาย และดอกเบี้ยคางจาย ในป พ.ศ. 2546 บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ไดยื่นคํารองตออนุญาโตตุลาการเพื่อเรียกรองใหบริษทั ยอยชําระหนี้ ทั้งนี้บริษัทยอยไดแตงตั้งทนายและยื่นอุทธรณตออนุญาโตตุลาการ ณ วันสิ้นงวดปบัญชี ปจจุบัน กระบวนการอนุญาโตตุลาการดังกลาวยังไมสิ้นสุด คาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจายถูกคิดดอกเบี้ยใน อัตราคงที่ รอยละ 9.50 ตอป ซึง่ ไดรวมคาสิทธิ สัญญาสัมปทาน และดอกเบี้ยคางจายทั้งหมดไวแลว

สวนที่ 2 หนา 37


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

8.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางเงินทุน 8.1

หลักทรัพยของบริษัทฯ (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ทุนจดทะเบียน

: 5,000,000,000 บาท (หาพันลานบาท) ประกอบดวยหุนสามัญจํานวน 5,000,000,000 หุน (หาพันลานหุน) มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท

ทุนที่ออกและชําระแลว : 2,938,524,890 บาท (สองพันเการอยสามสิบแปดลานหาแสนสองหมื่น สี่พันแปดรอยเกาสิบบาท) ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 2,938,524,890 หุน (สองพันเการอย สามสิบแปดลานหาแสนสองหมื่นสี่พันแปดรอยเกาสิบหุน) มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท (2)

โครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2545 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2545 มีมติอนุมัติใหบริษัท ดําเนินโครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน โดยมีรายละเอียดโครงการซื้อหุนคืน ดังนี้

วงเงินสูงสุดในการซื้อหุนคืน จํานวนหุนที่จะซื้อคืน วิธีการในการซื้อหุนคืน กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืน หลักเกณฑในการกําหนดราคาหุนที่จะซื้อคืน

เหตุผลในการซื้อหุนคืน

สิทธิของหุนที่บริษัทซื้อคืน การจําหนายและการตัดหุนที่ซื้อคืน

กําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซื้อคืน

ไมเกิน 3,500 ลานบาท ไมเกิน 90 ลานหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ ไมเกิน 3.07 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด ซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2545 ถึง 1 มิถุนายน 2546 (ภายใน 6 เดือน) บริษัทใชวิธีวิเคราะหอัตราสวนลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow Analysis) รวมถึงการนําราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วันกอนวันที่บริษัทเปดเผยขอมูล ทั้งนี้ ราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วัน ตั้งแตวันที่ 2 ตุลาคม 2545 ถึงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 เทากับ 33.525 บาทตอหุน เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารสภาพคลองของบริษัท และเพิ่ม ผลตอบแทนใหแกสวนของผูถือหุน (ROE) รวมถึงเพิ่มกําไรสุทธิ ตอหุน (EPS) ผูบริหารของบริษัทมีความเชื่อมั่นตอศักยภาพและ การเจริญเติบโตของบริษัทที่จะมีตอไปในอนาคต และเห็นวา ปจจุบันราคาหุน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยของบริษัท อยูในระดับต่ํากวามูลคาที่แทจริง หุนที่บริษัทซื้อคืนจะไมนับเปนองคประชุมในการประชุมผูถือหุน รวมทั้ง ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินปนผล บริษัทอาจทําการจําหนายหุนคืน โดยการขายในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือ เสนอขายตอประชาชนทั่วไป ซึ่งขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมในขณะนั้น ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2546 ถึง วันที่ 1 มิถุนายน 2549 (ภายหลัง 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จแตตองไมเกิน 3 ป)

สวนที่ 2 หนา 38


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2546 เปนวันครบกําหนดระยะเวลาซื้อหุนคืน บริษัทไดทําการซื้อหุนคืนทั้งสิ้น 2,540,200 หุน คิดเปนรอยละ 0.086 ของทุนชําระแลว มูลคารวม 83.13 ลานบาท (รวมคาธรรมเนียมใน การซื้อขายหลักทรัพย) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทยังไมไดทําการจําหนายหุนที่ซื้อคืน (3)

โครงการออกและเสนอขายหุน ใหกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึง่ เปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 3/2542 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมัติใหบริษัทเขารวม โครงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund – TTF) และยินยอมให กองทุนรวมดังกลาวลงทุนในหุนหรือมีไวซึ่งหุนของบริษัท ในอัตราสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของ จํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 6.75 ลานหุนของ จํานวนหุนที่ชําระแลว 270 ลานหุน ทั้งนี้ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวที่ซื้อหนวยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะไดรับเฉพาะผลประโยชนในรูป ตัวเงินเทานั้น โดยที่อํานาจการบริหารงานยังคงอยูกับผูบริหารชาวไทยเชนเดิม โดยในเดือน กุมภาพันธ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไดอนุมัติใหกองทุนรวมดังกลาวเขาซื้อ-ขายหุน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยได จากการประชุมผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญที่ยัง มิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN และ SingTel และลด มูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เหลือหุนละ 1 บาท จากการจัดสรรหุนและการลดมูลคาหุน ดังกลาว สงผลใหจํานวนหุนที่บริษัทยินยอม TTF ลงทุนในหุนของบริษัทในสัดสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของจํานวนหุนที่เรียกชําระแลว ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 73.37 ลานหุนของจํานวนหุนที่ ชําระแลว 2,935 ลานหุน ณ วันที่ 5 เมษายน 2547 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวโดยลงทุนในหุนของ บมจ. แอด วานซ อินโฟร เซอรวิส มีจํานวน 64,039,000 หุน คิดเปนรอยละ 2.18 ของจํานวนหุนที่จําหนายได แลวทั้งหมดของบริษัท (จํานวนหุนที่ชําระแลว 2,940,786,429 หุน) (ขอมูลจากการปดสมุด ทะเบียน ผูถือหุนครั้ง ลาสุด ณ วันที่ 5 เมษายน 2547)

(4)

ตราสารแสดงสิทธิในผลตอบแทนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง (NVDR) ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2547 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด มีหุนสามัญของบริษัทเปนหลักทรัพย อางอิง จํานวน 43,105,379 หุน หรือคิดเปนรอยละ 1.47 ของทุนที่เรียกชําระแลว ซึ่งไมมีสิทธิในการ ออกเสียงของผูถือหุนอันเนื่องมาจาก บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ไมใชสิทธิในการออกเสียงในการ ประชุมผูถือหุน

สวนที่ 2 หนา 39


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(5) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท (โครงการ ESOP) ตามที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 4/2544 เมือ่ วันที่ 19 ธันวาคม 2544 มีมติอนุมัติโครงการออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ พนักงาน และที่ ปรึกษาของบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และเปนบําเหน็จตอบแทนการปฏิบัติงาน ของกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัท อันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัทในระยะ ยาว โดยโครงการนี้มีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุนทุกๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป โดยมีจํานวนรวมทั้งสิ้นตลอดโครงการ 5 ปประมาณ 51,400,000 หนวย และจํานวนหุนสามัญที่ตองจัดสรรเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ มีจํานวนประมาณ 51,400,000 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) หรือคิดเปนประมาณ รอยละ 1.75 ของทุนที่ชําระแลวทั้งหมด โดยบริษัทฯ จะตองขออนุมัติจัดสรรการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดง สิทธิตอที่ประชุมผูถือหุนเปนรายป ครั้งที่ 1 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 4/2544 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2544 มีมติอนุมัตกิ ารออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ ปรึกษาของบริษัทฯ จํานวน 14 ลานหนวย และอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตาม ใบสําคัญ แสดงสิทธิจํานวน 14 ลานหุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.48 ของทุนชําระ แลวของบริษัทฯ จากจํานวนหุนสามัญที่ยังมิไดนํามาจัดสรรทั้งสิ้น 2,065 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 1 บาท ซึ่งจะทําใหบริษัทฯ มีหุนสามัญที่ยังมิไดจัดสรรคงเหลือ จํานวน 2,051 ลานหุน มูลคาที่ ตราไวหุนละ 1 บาท เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2545 บริษัทไดจัดสรรและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ จํานวน 14,000,000 หนวย ณ 31 ธันวาคม 2546 มีการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้นจํานวน 4,048,500 หนวย คงเหลือ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยังไมไดใชสิทธิอีกจํานวน 9,951,500 หนวย ครั้งที่ 2 ที่ประชุมผูถือหุนประจําป 2546 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2546 ไดมมี ติอนุมัติการออกและ เสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษา ของบริษัทฯ จํานวน 8,467,200 หนวย และอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 8,467,200 หุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.29 ของทุน ชําระแลวของบริษัทฯ จากจํานวนหุนสามัญที่ยังมิไดนํามาจัดสรรทั้งสิ้น 2,051 ลานหุน มูลคาที่ตรา ไวหุนละ 1 บาท ซึ่งจะทําใหบริษัทฯ มีหุนสามัญที่ยังมิไดจัดสรรคงเหลือ จํานวน 2,042.53 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2546 บริษัทไดจัดสรรและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ของบริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ จํานวน 8,467,200 หนวย ทั้งนี้ มอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย มีอํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งดําเนินการตางๆ อันจําเปนและ สมควรอันเกี่ยวเนื่องกับหุนสามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาว ตลอดจนการนําหุน สามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาวเขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยดวย โดยรายละเอียดของโครงการโดยสังเขป ปรากฏอยูในหัวขอคาตอบแทนอื่นๆ สวนที่ 2 หนา 40


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6) หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทฯ มีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอน รวม 7 ชุด ซึ่งไดจดทะเบียน และซื้อขายไดในศูนยซื้อขายตราสารหนี้ (Thai Bond Dealer Club) และบนกระดานตราสารหนี้ของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย (Bond Market Exchange: BMX) ทั้งนี้ หุนกูของบริษัททุกชุดเริ่มซื้อขายใน ตลาด BMX ตั้งแตวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 เปนตนมา รายละเอียดของหุนกูทั้ง 7 ชุด มีดังนี้ (6.1) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2544 ชนิดทยอยคืนเงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2549 (AIS063A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยคืนเงินตน ไมดอย สิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 12,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 12,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 23 มีนาคม 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 23 มีนาคม 2549 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.30 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มีนาคม และ 23 กันยายน ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตน โดยจะชําระคืน งวดแรกเมื่อหุนกูมีอายุครบ 18 เดือน และจะชําระ คืนเปนเวลา 8 งวด งวดละเทา ๆ กัน คือ รอยละ 12.5 ของจํานวนหุนกูที่เสนอขาย ในวันที่ ดังตอไปนี้ (1) 23 กันยายน 2545 (2) 23 มีนาคม 2546 (3) 23 กันยายน 2546 (4) 23 มีนาคม 2547 (5) 23 กันยายน 2547 (6) 23 มีนาคม 2548 (7) 23 กันยายน 2548 (8) 23 มีนาคม 2549 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 12,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 7,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA สวนที่ 2 หนา 41


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.2) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2544 ครบกําหนดไถ ถอนป 2547 (AIS04NA) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมี หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 28 พฤศจิกายน 2544 วันครบกําหนดไถถอน : 28 พฤศจิกายน 2547 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 4.70 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 พฤษภาคม และ 28 พฤศจิกายน ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

สวนที่ 2 หนา 42


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.3) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2544 ครบกําหนดไถถอน ป 2549 (AIS06NA) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู

อายุของหุนกู

: 5 ป นับจากวันออกหุนกู

มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย

: 10,000,000,000 บาท

จํานวนหุนกูที่เสนอขาย

: 10,000,000 หนวย

มูลคาที่ตราไวตอหนวย

: 1,000 บาท

ราคาที่เสนอขายตอหนวย

: 1,000 บาท

วันที่ออกหุนกู

: 28 พฤศจิกายน 2544

วันครบกําหนดไถถอน

: 28 พฤศจิกายน 2549

ไมมี

อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.85 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 กุมภาพันธ 28 พฤษภาคม 28 สิงหาคม และ 28 พฤศจิกายน ของ ทุกป ผูแทนผูถือหุนกู

: ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน)

จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: AA

สวนที่ 2 หนา 43


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

(6.4)

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนด ไถถอนป 2552 (AIS093A) ดังรายละเอียดตอไปนี้

ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.25 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,450,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,450,000,000 บาท * 31 ธันวาคม 2546 * เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 บริษัทไดทําการ ซื้อคืน และยกเลิกหุนกู จํานวน 50,000 หนวย

การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: AA

สวนที่ 2 หนา 44


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.5) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืน เงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093B) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือ หุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน บวกดวย ชําระดอกเบี้ย อัตรารอยละ 2.10 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจาก วันที่ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดจํานวน เทาๆ กัน ทั้งหมด 6 งวด โดยจะเริ่มชําระคืนเงิน ตนเมื่อหุนกูมีอายุครบ 54 เดือน นับจากวัน ออกจําหนายจนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 4,500,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 4,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

สวนที่ 2 หนา 45


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.6) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไถถอนป 2550 (AIS073A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

ครั้งที่ 3/2545 ครบกําหนด

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 3,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 3,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2550 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 5.25 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มิถุนายน 21 กันยายน 21 ธันวาคม และ 21 มีนาคม ของ ทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 3,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 3,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

สวนที่ 2 หนา 46


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.7) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืน เงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2550 (AIS07OA) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือ หุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 ตุลาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 ตุลาคม 2550 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 3.65 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 เมษายน และ 21 ตุลาคม ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวด จํานวน งวดละเทาๆ กัน รวมทั้งหมด 5 งวด โดยจะเริ่ม ชําระคืนเงินตนงวดแรกในวันที่ 21 ตุลาคม 2548 และชําระคืนเงินตนคงคางงวดสุดทายในวันที่ 21 ตุลาคม 2550 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (7)

ขอตกลงระหวางกลุมผูถือหุนรายใหญในเรื่องที่มีผลกระทบตอการออกและเสนอขายหลักทรัพย หรือ การบริหารงานของบริษัทฯ โดยที่ขอตกลงดังกลาวมีบริษัทฯ รวมลงนามดวย - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 47


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

8.2

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผูถือหุน บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) Singtel Strategic Investments Pte Ltd. HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd. บริษัท จัดการกองทุนรวม เพื่อผูลงทุนตางดาว จํากัด โดยลงทุนใน หุนของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Littledown Nominees Limited 9 State Street Bank and Trust Company The Bank of New York (Nominees) Limited Nortrust Nominees Ltd. Boston Safe Deposit and Trust Company HSBC Bank Plc.-Clients General A/C

จํานวนหุน 1,263,712,000 568,000,000 91,337,249 64,039,000

รอยละ 43.03 19.34 3.11 2.18

63,342,600 59,175,393 40,222,038 31,782,471 30,974,134 28,308,670

2.16 2.01 1.37 1.08 1.05 0.96

ที่มา : รายงานรายชื่อผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2546 ซึ่งจัดทําโดย บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ บริษัทมีทุนชําระแลวจํานวน 2,939,173,381 หุน ดังนั้น บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) จึงถือหุน รอยละ 42.99 ของทุนชําระแลวของบริษัท

โดยบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีผูถือหุนรายใหญ ประกอบดวย ถือหุนรอยละของทุนชําระแลว 1. กลุมครอบครัวชินวัตรและครอบครัวดามาพงศ 47.24 2. Singapore Telecom International PTE LTD. 5.17 3. อื่นๆ 47.59 รวม 100.00 โปรดศึกษารายละเอียดเพิม่ เติมไดในแบบแสดงรายการขอมูล (แบบ 56-1) ประจําป 2546 ของบริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

8.3

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทและบริษัทยอย มีนโยบายในการจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี หากไมมี เหตุจําเปนอื่นใด และการจายเงินปนผลนั้นไมมีผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทและบริษัทยอยอยางมี นัยสําคัญ

สวนที่ 2 หนา 48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการบริหารงาน - บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการบริหาร Chairman - Wireless Communications นายสมประสงค บุญยะชัย

Executive Vice Chairman - Future Business Opportunities นายลัม ฮอน ฟาย

Chief Customer Champion & Terminal Business Officer นางสุวิมล แกวคูณ

Chief Technology Officer นายวิกรม ศรีประทักษ

President - Wireless Communication นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

Executive Vice President - Marketing นายกฤษณัน งามผาติพงศ

Executive Vice President - Solutions นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล

Executive Vice President - Operations นายวิเชียร เมฆตระการ

ผูบริหาร 4 รายแรก ตามขอกําหนดของสํานักงาน ก.ล.ต. ขอมูล ณ เดือนกุมภาพันธ 2547

สวนที่ 2 หนา 49

Executive Vice President - Service Operations นายวลัญช นรเศรษฐภักดิ์

Chief Finance Officer Wireless Communication นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.

การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

9.1

โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสรางกรรมการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งคณะอนุกรรมการชุด ยอยอีก 3 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา มี รายละเอียดดังตอไปนี้ (1) คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 ทาน ดังนี้ 1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม *2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ *3. นายสมประสงค บุญยะชัย *4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ **5. นายลัม ฮอน ฟาย 6. นายเชา วิง เคียง ลูคสั 7. นางทัศนีย มโนรถ 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 10. นายบุญชู ดิเรกสถาพร

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

* กรรมการผูมอี าํ นาจลงนามผูกพันบริษัท ** ที่ประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 มีมติแตงตั้ง นายลิม ชวน โปห กรรมการ ผูแทนจากบริษัท Singapore Telecom เขาเปนกรรมการใหม แทน นายลัม ฮอน ฟาย กรรมการ เดิมซึ่งขอลาออกตามสัญญารวมทุน

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท ไดแก นายสมประสงค บุญยะชัย ผูชวยเลขานุการคณะกรรมการบริษัท ไดแก นายวิวัฒน สงสะเสน รายละเอียดการประชุมคณะกรรมการและการเขารวมประชุมของคณะกรรมการในป 2546 โปรดดูรายละเอียดใน หัวขอ 9.4.11

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ใหคณะกรรมการมีอํานาจกําหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัทได 2. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอน ดําเนินการ เชน เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยว โยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน สวนที่ 2 หนา 50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัท ภายใตการควบคุมของ คณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจเพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจ ตามที่คณะกรรมการ เห็นสมควรและภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงาน ตางๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ ทําให คณะกรรมการบริหาร หรือผูรบั มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวน เปนการอนุมัติ รายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (2) คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการและผูบริหาร จํานวน 5 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

นายสมประสงค บุญยะชัย ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายเชา วิง เคียง ลูคัส

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

กรรมการบริหารมีการประชุมโดยสม่ําเสมอเปนประจําทุกเดือน โดยในป 2546 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง ประชุมเฉพาะกิจ 2 ครั้ง และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัทในทุกไตรมาส ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงาน หลักในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทที่กําหนดใหสอดคลองและสนับสนุนตอสภาพทางเศรษฐกิจ และการแขงขันที่ไดกําหนด และแถลงไวตอผูถือหุน 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัทที่กําหนด 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานดานตางๆ ของบริษัทที่กําหนดให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทที่กําหนดใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญของบริษัทที่กําหนด 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายเปนคราวๆ ไป 7. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการในเรือ่ งใด เรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได โดยการมอบอํานาจ ดังกลาวไมรวมถึงการมอบอํานาจใหบุคคลดังกลาวสามารถอนุมัติการทํารายการที่ตนหรือบุคคลที่ สวนที่ 2 หนา 51


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนรายการที่เปนไปตามนโยบายและ หลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว อํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงิน ใหคณะกรรมการบริหารของบริษัทมีอํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงินในวงเงิน ไมเกิน 800 ลานบาท โดยอํานาจอนุมัติทางการเงินดังกลาวจะรวมถึง การอนุมัติคาใชจายตางๆ ในการ ดําเนินการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนในสินทรัพยฝายทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพยถาวร การกูยืมเงิน การใหกูยืมเงิน การจัดหา วงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้รวมถึงการใหหลักประกัน การค้ําประกันเงินกูหรือสินเชื่อ เปนตน ยกเวน การดําเนินการดานการเงินการธนาคารของคณะกรรมการบริหารเฉพาะดานการฝากเงิน การกูเงิน การจัดทําเครื่องมือบริหารความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีอํานาจในวงเงินไม เกิน 2,500 ลานบาท ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการบริหารเปนผูพิจารณากําหนดลําดับและวงเงินอนุมัติภายในกรอบที่ คณะกรรมการบริษัทกําหนด ทั้งนี้ การอนุมัติรายการดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนอนุมัติที่ทําใหคณะกรรมการบริหารหรือผูรับ มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มี สวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มี รายชื่อดังนี้ 1. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 2. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 3. นายบุญชู ดิเรกสถาพร

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบมีการประชุมโดยสม่ําเสมอ โดยในป 2546 มีการประชุมรวม 10 ครั้ง ประชุม เฉพาะกิจ 2 ครั้ง และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัทในทุกไตรมาส ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่กํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัท ใหเกิดความชัดเจนใน ดานการบริหารงานดวยความซื่อสัตยสุจริต และความรับผิดชอบของกรรมการ บริหารหรือ ผูบริหาร อันจะพึงมีตอผูถือหุนของบริษัท ตลอดจนดําเนินการใหเปนที่มั่นใจวากรรมการบริหาร และผูบริหารของบริษัทไดบริหารกิจการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท อยางถูกตอง ครบถวน และมีมาตรฐาน สวนที่ 2 หนา 52


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่และความรับผิดชอบในภารกิจที่ไดรับมอบหมายจาก กรรมการบริษัท ดังตอไปนี้ 2.1 สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป และมีการเปดเผยอยางเพียงพอ 2.2 สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 2.3 สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพย หรือกฎมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 2.4 พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้งและเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท 2.5 พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน 2.6 สอบทานใหบริษัทมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล 2.7 สอบทานและใหความเห็นตอแผนตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานของสํานักงาน ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผูสอบบัญชี 2.8 จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ 2.9 รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัททราบอยาง นอย ปละ 4 ครั้ง 2.10 ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการตรวจสอบ มีอํานาจเชิญให ฝายจัดการ ผูบริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน 2.11 ใหมีอํานาจวาจางที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัทมาใหความเห็น หรือ คําปรึกษาในกรณีจําเปน 2.12 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ มีการปรับปรุงและนําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546

(4) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. นายอรุณ เชิดบุญชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ในป 2546 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนมีการประชุมรวม 1 ครั้ง และมีการรายงานตอ คณะกรรมการบริษัท

สวนที่ 2 หนา 53


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ใหคณะอนุกรรมการกําหนดคาตอบแทนมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ 1. กําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และประธานกรรมการบริหาร ของบริษัทในแตละป 2. จัดทําหลักเกณฑ และนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการ และประธาน กรรมการบริหาร เพื่อเสนอใหคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติและหรือนําเสนอตอที่ประชุม ผูถือ หุนอนุมัติตามแตกรณี 3. คณะอนุกรรมการกําหนดคาตอบแทนรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัท และมีหนาที่ใหคําชีแ้ จง ตอบคําถามเกี่ยวกับคาตอบแทนของกรรมการ และประธานกรรมการบริหารในที่ประชุมผูถือหุน 4. รายงานนโยบายดานคาตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงคของนโยบาย เปดเผยไวในรายงานประจําป 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย หมายเหตุ มีการปรับปรุงและนําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546

(5) คณะกรรมการสรรหา รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 คณะกรรมการสรรหา ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อ ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. นายอรุณ เชิดบุญชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ในป 2546 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 1 ครั้ง และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหา ใหคณะอนุกรรมการสรรหามีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. กําหนดหลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดยอยของบริษัท 2. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดยอยโดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสม ที่จะมาดํารง ตําแหนงกรรมการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติตอที่ ประชุมผูถือหุนแลวแตกรณี 3. พิจารณาสรรหาผูที่เหมาะสมที่จะดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร ในกรณีที่มีตําแหนงวางลง รวมทั้งหลักเกณฑในการสืบทอดตําแหนง 4. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย หมายเหตุ มีการปรับปรุงและนําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2546

สวนที่ 2 หนา 54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6) คณะผูบริหาร โครงสรางการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 มีดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายสมประสงค บุญยะชัย นายลัม ฮอน ฟาย นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายวิกรม ศรีประทักษ นางสุวิมล แกวคูณ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหารดานการสรางโอกาสทางธุรกิจในอนาคต กรรมการผูอํานวยการ หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย ผูชวยกรรมการผูอํานวยการสวนงานการเงินและบัญชี

หนาที่ความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริหาร ทําหนาที่เปนหัวหนาและผูนําคณะผูบริหารของ บริษัท รับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัทในการบริหารจัดการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ตามแผนงาน หรือเปาหมายที่วางไว 9.2

การสรรหากรรมการ บริษัทไดกําหนดแนวทางการสรรหาและแตงตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจําปทกุ ครั้ง กรรมการตองลาออกจากตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่ จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตอง ออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวิธีจับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้น เปนผูออกจากตําแหนงกรรมการที่จะ ออกตามวาระนี้อาจเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได (2) ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการเลือก บุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระ ของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนง กรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน อยางไรก็ดีบริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ทําหนาที่พิจารณากําหนด หลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการ ทั้งนี้กําหนดให ที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท ดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ถือ (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปน กรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอย เพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรบั การเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปน ผูออกเสียงชี้ขาด ตามที่สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางบริษัทและ ทศท. ระบุใหตัวแทนของ ทศท. เขาเปนกรรมการของบริษัท 1 คน และตามเงื่อนไขในขอตกลงระหวางผูถือหุนรายใหญ ซึ่งไดแก บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ที่ระบุให SHIN แตงตั้งกรรมการได 4 ทาน และ STI แตงตั้งกรรมการได 2 ทาน สวนที่ 2 หนา 55


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

9.3

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทมีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะจูง ใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับผูบริหาร การจายคาตอบแทนจะสอดคลองกับผลการดําเนินงานของ บริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โดยทั้งนี้ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน จะเปนผูกําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและ มิใชตัวเงินใหแก กรรมการบริษัท กรรมการชุดยอย และผูบริหารระดับสูงของบริษัทโดยนําเสนอขออนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําป เปนประจําทุกป คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1) คาตอบแทนรวมคณะกรรมการบริษัท จํานวน 5 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 เทากับ 3.72 ลานบาท เปนการจายใหกับประธานกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการตัวแทนของ ทศท. * คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และเบีย้ ประชุม (คาตอบแทนนี้ไมรวมคาตอบแทนที่จายให กรรมการที่เปนตัวแทนจาก SHIN จํานวน 3 ทาน ซึ่งไดรับคาตอบแทนจาก SHIN โดยตรง)

(2) คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหารจํานวน 4 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 เทากับ 39.38 ลานบาท * คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอืน่ ๆ คณะผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริหาร และผูบริหารของบริษัท โดยคาตอบแทนดังกลาวของคณะผูบริหารไมรวม คาตอบแทนของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหาร 2 ทาน ซึ่งรับคาตอบแทนจาก SHIN และไมรวมคาตอบแทน ของกรรมการบริหาร 1 ทาน และผูชวยกรรมการผูอํานวยการสวนงานการเงินและบัญชี

คาตอบแทนอื่นๆ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญใหแกกรรมการ ผูบริหารและที่ปรึกษาของบริษัท ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 4/2544 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2544 มีมติอนุมัติโครงการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และเปนบําเหน็จตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของ บริษัท อันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัทในระยะยาว โดยโครงการนี้มีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญทุกๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป โดยมีจํานวนรวมทั้งสิ้นตลอด โครงการ 5 ปประมาณ 51,400,000 หนวย และจํานวนหุนสามัญที่ตองจัดสรรเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิมีจํานวนประมาณ 51,400,000 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) หรือคิดเปนประมาณรอยละ 1.75 ของ ทุนที่ชําระแลวทั้งหมด โดยบริษัทฯ จะตองขออนุมัติจัดสรรการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิตอที่ประชุมผูถือ หุนเปนรายป ในป 2544 ที่ประชุมผูถือหุนมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัท ฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ ครั้งที่ 1 จํานวน 14 ลานหนวย และอนุมัติการจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 14 ลานหุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.48 ของทุนชําระแลวของบริษัทฯ

สวนที่ 2 หนา 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2546 ที่ประชุมผูถือหุนประจําป 2546 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2546 ไดมีมติอนุมัติการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทฯ ใหแก กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทฯ ครั้งที่ 2 จํานวน 8,467,200 หนวย และอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 8,467,200 หุน มูลคาที่ตราไว 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 0.29 ของทุนชําระแลวของบริษัทฯ รายละเอียดโครงการ โดยสังเขป ชนิดใบสําคัญแสดงสิทธิ

จํานวนทีเ่ สนอขาย ราคาเสนอขาย อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใชสทิ ธิ* ราคาการใชสทิ ธิ*

วันทีอ่ อกและเสนอขาย ระยะเวลาการใชสทิ ธิ

โครงการ ESOP ครั้งที่ 1

โครงการ ESOP ครั้งที่ 2

ระบุชอื่ ผูถ ือหุน และโอนเปลีย่ นมือไมได เวนแต ระบุชอื่ ผูถ ือหุน และโอนเปลีย่ นมือไมได เวนแต จากผูรับชวงซือ้ หลักทรัพยหรือโอนทางมรดก โอนทางมรดก หรือแกผูรบั ผลประโยชน 14,000,000 หนวย

8,467,200 หนวย

- 0 – บาท ไมเกิน 5 ป นับจากวันทีอ่ อกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยตอหุนสามัญ 1.00559 หุน (จากเดิม 1:1) 47.733 บาทตอหุน (จากเดิม 48 บาทตอหุน)

43.139 บาทตอหุน (จากเดิม 43.38 บาทตอหุน)

27 มีนาคม 2545

30 พฤษภาคม 2546

กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษทั สามารถใชสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญของบริษทั ไดตาม รายละเอียดดังตอไปนี้ ปที่ 1 กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษทั สามารถใชสิทธิซอื้ หุน สามัญไดใน จํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั้ หมดที่กรรมการ พนักงานและที่ ปรึกษาของบริษทั แตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการ พนักงาน และทีป่ รึกษา ของบริษทั จะสามารถใชสิทธิดงั กลาวไดก็ตอ เมื่อครบระยะเวลา 1 ปนบั จากวันทีบ่ ริษทั ได ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนทีไ่ มถึงจํานวนเต็มของ หนวยการซือ้ ขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ให ปดรวมไปใชสิทธิในการใชสทิ ธิครัง้ สุดทาย ปที่ 2 กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษทั สามารถใชสิทธิซอื้ หุน สามัญไดอีก ในจํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดทีก่ รรมการ พนักงาน และที่ ปรึกษาของบริษทั แตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการ พนักงาน และทีป่ รึกษา ของบริษทั จะสามารถใชสิทธิดงั กลาวไดก็ตอ เมื่อครบระยะเวลา 2 ปนบั จากวันทีบ่ ริษทั ได ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถงึ จํานวนเต็มของ หนวยการซือ้ ขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ให ปดรวมไปใชสิทธิในการใชสทิ ธิครัง้ สุดทาย

สวนที่ 2 หนา 57


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

รายละเอียดโครงการ โดยสังเขป (ตอ) ระยะเวลาการใชสทิ ธิ (ตอ)

ระยะเวลาแสดงความจํานง การใชสทิ ธิ

วันกําหนดการใชสิทธิ

*

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงการ ESOP ครั้งที่ 1

โครงการ ESOP ครั้งที่ 2

ปที่ 3 กรรมการ พนักงาน และที่ปรึกษาของบริษัทสามารถใชสทิ ธิซอื้ หุนสามัญตาม สิทธิของตนในสวนทีเ่ หลือทั้งหมดไดเมือ่ ครบระยะเวลา 3 ปนับจากวันที่บริษทั ไดออกและ เสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนทีไ่ มถึงจํานวนเต็มของ หนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสทิ ธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย ใหกรรมการ พนักงานและทีป่ รึกษาของบริษทั แสดงความจํานงในการใชสทิ ธิซอื้ หุนสามัญตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิไดในชวงวันและเวลาที่กําหนดการใชสิทธิ คือ ภายใน 5 วันทําการสุดทายของ ทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสทิ ธิ ยกเวน การแสดงความจํานงในการใชสิทธิซอื้ หุนสามัญตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งสุดทาย กําหนดใหแสดงความจํานงในการใชสิทธิไดในชวงระยะเวลา 15 วันกอนวันกําหนดการใชสทิ ธิและสามารถแสดงความจํานงไดจนถึงวันสุดทายของวันกําหนดการใช สิทธิในครัง้ สุดทายนัน้ ทั้งนี้ บริษัทจะแจงขาวเกีย่ วกับระยะเวลาแสดงความจํานงการใชสทิ ธิ อัตราการใชสทิ ธิ และราคา การใชสทิ ธิ ใหกรรมการ พนักงาน และทีป่ รึกษาของบริษัททราบโดยปดประกาศไว ณ ที่ทําการของ บริษัทอยางนอย 7 วันกอนระยะเวลาแสดงความจํานงการใชสทิ ธิในแตละครั้ง ยกเวนการใชสิทธิครัง้ สุดทาย บริษัทจะแจงใหทราบโดยสงจดหมายลงทะเบียนตอบรับ หรือ จัดสงตามหนวยงานที่ กรรมการ พนักงาน หรือที่ปรึกษาสังกัดอยูอ ยางนอย 7 วันกอนระยะเวลาแสดงความจํานงการใช สิทธิในครัง้ สุดทาย กรรมการ พนักงานและที่ปรึกษาของบริษัททีถ่ ือ กรรมการ พนักงานและทีป่ รึกษาของบริษทั ที่ ใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใชสทิ ธิซื้อหุน ระหวาง ถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใชสทิ ธิซอื้ หุน เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ภายใน 5 วันทําการ ระหวางเวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทํา สุดทายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสิทธิ การสุดทายของทุกเดือน ตลอดอายุของ ใบสําคัญแสดงสิทธิ

บริษัทมีการปรับสิทธิ อันเปนผลมาจาก บริษัทจายเงินปนผลระหวางกาลในอัตราสูงกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตามเงื่อนไข ที่ระบุไวในหนังสือชี้ชวน โดยไดปรับทั้งอัตราการใชสิทธิและราคาการใชสทิ ธิ ตั้งแตเดือนสิงหาคม 2546 เปนตนมา

รายชื่อกรรมการ ผูบริหารและที่ปรึกษาของบริษัทฯ ที่ไดรับจัดสรร ดังนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

1. นายสมประสงค บุญยะชัย

กรรมการและประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย กรรมการผูอํานวยการ สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย หัวหนาคณะผูบริหาร ดานบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานสนับสนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และกรรมการบริษัทยอย ผูจัดการสํานักธุรกิจการตลาดลูกคากลุมธุรกิจ และกรรมการบริษัทยอย

2. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร 3. นางสุวิมล แกวคูณ 4. นายวิกรม ศรีประทักษ 5. นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล 6. นายสุทธิชัย ชื่นชูศิลป

สวนที่ 2 หนา 58

โครงการ ESOP ครั้งที่ 1 จัดสรร % ของ (หนวย) โครงการ

โครงการ ESOP ครั้งที่ 2 จัดสรร % ของ (หนวย) โครงการ

1,471,800

10.51

609,400

7.20

1,250,000

8.93

786,000

9.28

1,197,800

8.56

786,000

9.28

1,128,600

8.06

579,000

6.84

-

-

420,000

4.96

-

-

99,100

1.17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

9.4

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแตป 2545 บริษัทไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เพื่อใหบริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่ดี คณะกรรมการและผูบริหารมีวิสัยทัศนและมีความรับผิดชอบตอหนาที่เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และ เพิ่มความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุน ผูลงทุน และผูที่เกี่ยวของทุกฝาย รวมถึงการมีกลไกการควบคุมและการถวงดุล อํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบได ตลอดจนการเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผู ถือหุน และความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสีย ถือเปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูงสุดใหแก ผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว 9.4.1 นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแล บริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญและเชื่อมั่นวาการกํากับดูแลกิจการที่ดี จะนําบริษัทไปสูการดําเนินธุรกิจอยางมั่นคง สามารถเพิ่มคุณคาใหแกองคกร เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน รวมถึงการมีประสิทธิภาพในการ จัดการ ที่สงผลถึงความเชื่อมั่นของผูถือหุน นักลงทุน และผูที่เกี่ยวของ ดังนั้น ตั้งแตป 2545 คณะกรรมการบริหาร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท จึงไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ขึ้น ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด โดยครอบคลุมหลักสําคัญดังตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทมีความมุงมั่นในการบริหารงานที่เปนเลิศในคุณภาพดานเครือขายดานเทคโนโลยี ดานบุคลากร และดานมาตรฐานการใหบริการ รวมทั้งการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุน โดยผูบริหารที่มี ความรู ความสามารถ และมีการจัดการที่ดี 2. การปฏิบัติตอผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกัน และเปนธรรมตอทุกฝาย 3. มีการเปดเผยสารสนเทศอยางถูกตอง ครบถวน เพียงพอ เชื่อถือไดและทันเวลา แกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย 4. ผูบริหารและพนักงานทุกคนปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงการบริหารความเสี่ยงอยูเสมอ รวมถึงการจัดใหมี ระบบการควบคุมภายในที่รัดกุมเหมาะสม 5. บริษัทมีการกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับ ยึดถือและนําไปปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน 9.4.2 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริษัทตระหนักถึงสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน โดยการประชุมผูถ ือหุน บริษัทไดจัดสงหนังสือเชิญ ประชุมพรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมในวาระตางๆ ใหผถู ือหุนทราบลวงหนาไมนอยกวา 14 วัน กอนวัน ประชุมผูถือหุน รวมทั้งมีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระ และ มีการบันทึกการประชุมถูกตองครบถวน เพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได ในหนังสือเชิญประชุมมีการแจงรายละเอียดใหผูถือหุน นําเอกสารหลักฐานที่จําเปนมาใหครบถวนในวันประชุมผูถือ หุน เพื่อรักษาสิทธิในการเขารวมประชุมของผูถ ือหุน สวนในวันประชุม ผูถ ือหุนสามารถลงทะเบียนเขาประชุม ลวงหนาไดกอนการประชุม 1 ชัว่ โมง ในการประชุมผูถ ือหุน ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศ การแสดงความเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ รวมทั้งไดแจงใหผูถือหุนรับทราบ สิทธิในการลงคะแนน และวิธีการออกเสียงลงคะแนนทุกครั้งกอนเริ่มการประชุม โดยประธานที่ประชุมมีหนาที่ จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสมและสงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม

สวนที่ 2 หนา 59


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประชุมผูถือหุนทุกครั้งใหแตงตั้งกรรมการอิสระอยางนอย 1 ทาน เปนผูรับมอบอํานาจแทนผูถือหุนที่ไมสามารถ เขารวมประชุมและแจงความประสงคไวในหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ บริษัทยังไดอํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุนในการมารวมประชุมผูถือหุน โดยจัดเตรียมหองประชุมที่ เขาถึงไดสะดวก และมีขนาดเหมาะสม รองรับผูเขารวมประชุมไดอยางเพียงพอ และในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถ มารวมประชุมดวยตนเอง ก็สามารถมอบฉันทะใหผูอื่นเขาประชุมและลงมติแทนได 9.4.3 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ และมีนโยบายที่จะดูแลใหความมั่นใจ โดยจัดใหลําดับ ความสําคัญแกผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้งผูถือหุน พนักงาน ผูบริหาร ลูกคา คูคา คูแขง ตลอดจนสาธารณชนและสังคม โดยรวมอยางเหมาะสม และจะใหมีการรวมมือกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในกลุมตางๆ ตามบทบาทและหนาที่ เพื่อใหกิจการของบริษัทดําเนินไปดวยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชนที่เปนธรรมแกทุกฝาย เชน ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูถือหุน โดย คํานึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาบริษัทในระยะยาว ดวยผลตอบแทนที่ดีและตอเนื่อง รวมทั้ง การดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได พนักงาน : บริษัทมุงพัฒนาเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดีงาม รวมทั้งสงเสริมการทํางาน เปนทีม และสรางโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานอยางตอเนื่อง เพื่อใหการใชทรัพยากร บุคคลเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท สังคม

: บริษัท ในฐานะเปนบริษัทของคนไทย มีจิตสํานึก และตระหนักในความเปนสวนหนึ่งของสังคม ซึ่ง ตองมีหนาที่รับผิดชอบในการชวยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนแกชุมชน ตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมของทองถิ่นที่บริษัท มีการดําเนินธุรกิจ

ลูกคา

: บริษัทมีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคาที่จะไดรับผลิตภัณฑและ บริการที่ดีมีคุณภาพ ในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปดเผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการ อยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง

คูคา

: การดําเนินธุรกิจกับคูคาใดๆ ตองไมนํามาซึ่งความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของบริษัทหรือขัดตอ กฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึงความเสมอภาคในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรวมกันกับคูคา การ คัดเลือกคูคาตองทําอยางยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทถือวาคูคาเปนปจจัยสําคัญในการรวมสราง Value Chain ใหกับลูกคา : บริษัทสนับสนุนและสงเสริม นโยบายการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม ไมผูกขาด หรือ กําหนดใหคูคาตองขายสินคาของบริษัทเทานั้น

คูแขง

9.4.4 การประชุมผูถือหุน ในการประชุมผูถ ือหุน บริษัทไดกําหนดใหกรรมการบริษัททุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งประธานกรรมการบริษัท และ ประธานคณะกรรมการชุดยอยเขารวมประชุมเพื่อตอบคําถามตอที่ประชุมผูถือหุนทุกคราวไป นอกจากนี้ในการ ประชุมผูถือหุนทุกครั้งจะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนกรรมการอิสระรวมอยูดวย โดยประธานที่ประชุมหรือ บุคคลที่ไดรับมอบหมายจากประธานที่ประชุม มีหนาที่จดั สรรเวลาใหอยางเหมาะสม สงเสริมใหมีการแสดง ความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกันในการตรวจสอบการดําเนินงานของ

สวนที่ 2 หนา 60


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท ใหแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ รวมทั้งมีการบันทึกประเด็นซักถามและขอคิดเห็นที่สําคัญไวใน รายงานการประชุม ในป 2546 บริษัทไดจัดใหมีการประชุมสามัญผูถือหุน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2546 เวลา 10.00 น. ถึง 10.55 น. ที่อาคารชินวัตร 1 ถนนพหลโยธิน ซึ่งมีการพิจารณาลงคะแนนเสียงเรียงลําดับตามวาระที่กําหนดไว และ ไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุนทุกวาระ 9.4.5 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการของบริษัทมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน นโยบายทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และมีความ เปนอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทและผูถือหุนโดยรวม ตลอดจนกํากับดูแลในฝายจัดการ ดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจและงบประมาณที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีระบบแบงแยก บทบาทหนาที่รับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ กับ ฝายบริหาร และ แบงแยกหนาที่ระหวางคณะกรรมการ กับ ผู ถือหุนอยางชัดเจน รวมทั้งดูแลใหมีกระบวนการประเมินความมีประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน ระบบกํากับ ดูแลกิจการ การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และคณะกรรมการไดจัดใหมีกลไก ในการกํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของฝายบริหารใหบรรลุตามนโยบายที่คณะกรรมการได กําหนดไว หนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษัทและกํากับดูแล ใหฝายบริหารดําเนินการเปนไปตาม นโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัทและผูถือหุน 3. ทบทวนและใหความเห็นชอบในการดําเนินการใดๆ ที่กฎหมายกําหนด 4. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอยางสม่ําเสมอ และกําหนดคาตอบแทน 5. กําหนดวิสัยทัศนของกิจการ และรับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝายบริหาร โดยใหมี ความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 6. จัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งดูแลใหมีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การ บริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และ การติดตามผล 7. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมสี วนไดเสียของบริษัท 8. กํากับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม 9.4.6 ความขัดแยงทางผลประโยชน เพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดดูแลอยางรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน โดยกําหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันกอนการทํารายการไวเปน ลายลักษณอักษร รวมทั้งกําหนดนโยบายและวิธีการดูแลไมใหผูบริหารและผูเกี่ยวของนําขอมูลภายในของบริษัทไป ใชเพื่อประโยชนสวนตน

สวนที่ 2 หนา 61


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในเรื่องรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนและรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบยังไดทําหนาที่ สอบทานและใหความเห็นตอการทํารายการระหวางกันที่ไมเปนปกติธุรกิจและที่มีนัยสําคัญ และคณะกรรมการ บริษัทไดพิจารณาความเหมาะสมอยางรอบคอบ โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญ รวมทั้งมีการ ปฏิบัติตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยโดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) และไดเปดเผยรายละเอียดมูลคารายการ คูสัญญา เหตุผล/ความจําเปน ไวในรายงาน ประจําป และแบบ 56-1 แลว โดยบางรายการไดมีการใหผปู ระเมินราคาอิสระ และที่ปรึกษาทางการเงินอิสระที่มี ความเชี่ยวชาญมาประเมินราคาและบางรายการไดเปรียบเทียบกับราคาตลาด 9.4.7 จริยธรรมธุรกิจ บริษัทกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน ใหกรรมการ ผูบริหาร และ พนักงานทุกระดับ ยึดถือและนําไปปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัท เปนไปดวยดวยความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติตอบริษัท และผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รวมทั้ง สาธารณชน และสังคม รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวย ในป 2546 บริษัทไดเผยแพรคูมือจริยธรรมธุรกิจและไดประกาศลงในระบบ Intranet ของบริษัท เพื่อใหพนักงานทุก ระดับรับทราบอยางทั่วถึง รวมทั้งไดมีการอบรมทําความเขาใจใหกับผูบริหาร โดยมีการติดตามการปฏิบัติตาม แนวทางดังกลาวอยางจริงจัง ซึ่งผูบริหารและผูบังคับบัญชามีหนาที่ในการสอดสอง ดูแล และ สงเสริม ผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนด และประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี 9.4.8 การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร การแตงตั้งคณะกรรมการบริษัทเปนไปตามขอตกลงของผูถือหุน ที่กําหนดใหกรรมการบริษัทเปนตัวแทนจากผูถือหุน โดยมีคณะกรรมการบริษัทจํานวน 10 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร 5 ทาน กรรมการที่เปนตัวแทนผูถือ หุนอีก 1 ทาน และกรรมการที่เปนอิสระ จํานวน 4 ทาน หรือ คิดเปนรอยละ 40 ของกรรมการทั้งคณะ เพื่อชวยรักษา สมดุลของการกํากับและการบริหาร โดยมีกรรมการผูม ีอํานาจผูกพัน คือ นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการสองในสามทานลงนามรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท 9.4.9 การรวมหรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการของบริษัทมิไดเปนบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหาร และไมมีความสัมพันธใด ๆ กับ ฝายบริหาร เพื่อแบงแยกหนาที่ในการกําหนดนโยบายกํากับดูแลและการบริหารงานประจํา โดยโครงสราง คณะกรรมการบริษัทประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระมากกวารอยละ 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งคณะ เพื่อให เกิดความสมดุลของการกํากับและการบริหาร โดยบริษัทไดกาํ หนดบทบาท อํานาจ และหนาที่ความรับผิดชอบที่ แยกชัดเจนระหวางประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร ดังนี้ ประธานกรรมการ ทําหนาที่ในฐานะผูนําของคณะกรรมการบริษัท และเปนประธานการประชุมคณะกรรมการ บริษัทและการประชุมผูถือหุน ประธานกรรมการบริหาร ทําหนาที่เปนหัวหนาและผูนําคณะผูบริหารของบริษัท รับผิดชอบตอคณะกรรมการ บริษัทในการบริหารจัดการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ตามแผนงานหรือเปาหมายที่วางไว 9.4.10 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทมีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะจูง ใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับผูบริหาร การจายคาตอบแทนจะสอดคลองกับผลการดําเนินงานของ บริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โปรดดูรายละเอียดในหัวขอ 9.3

สวนที่ 2 หนา 62


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.11 การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการบริษัท กําหนดใหมีไตรมาสละ 1 ครั้ง เปนอยางนอย หรือประธานกรรมการจะพิจารณา เห็นสมควรเรียกประชุมเปนวาระพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปน โดยมีการกําหนดวาระการประชุมลวงหนาที่ ชัดเจน เปนระเบียบวาระพรอมเอกสารประกอบการประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสือเชิญประชุมใหแกกรรมการ ทุกทานกอนการประชุมไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูลกอนการประชุม เวนแตกรณีมี เหตุจําเปนเรงดวน และมีการบันทึกรายงานการประชุม และจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรองแลว เพื่อใชใน การอางอิง และสามารถตรวจสอบได ในการประชุม ประธานกรรมการไดจัดสรรเวลาใหอยางเพียงพอ สําหรับกรรมการที่จะอภิปราย ซักถาม ชี้แนะ ในประเด็นสําคัญแกฝายบริหารและกรรมการทุกทานมีความเปนอิสระ ในการแสดงความคิดเห็นทุกประการ ในป 2546 คณะกรรมการบริษัทไดมีการประชุมทั้งวาระปกติและวาระพิเศษรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง มีรายละเอียดการเขา รวมประชุมของกรรมการดังตอไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2. คุณบุญคลี ปลั่งศิริ 3. คุณสมประสงค บุญยะชัย 4. คุณศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 5. Mr. Lum Hon Fye 6. Mr. Lucas Chow 7. คุณทัศนีย มโนรถ 8. คุณศุภเดช พูนพิพัฒน 9. คุณอรุณ เชิดบุญชาติ 10. คุณบุญชู ดิเรกสถาพร

เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม

5 5 5 4 4 1 4 3 5 5

ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง

9.4.12 คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการ เพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัท โปรดดูรายละเอียดใน หัวขอ 9.1 9.4.13 ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี่ยง • การควบคุมภายใน บริษัทไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในซึ่งอางอิงตามมาตรฐานสากลของ COSO (The Committee Of Sponsoring Organizations Of the Treadway Commission) ที่ครอบคลุมทุกดานทั้งดานการเงิน การดําเนินงาน และการกํากับดูแลการปฏิบัติงาน โดยไดกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงานไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน เพื่อใหเกิดความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลวา หากมีการ ปฏิบัติงานตามแลวจะทําใหบรรลุวัตถุประสงค ไดดังนี้ 1. แผนงาน โครงการ และ เปาหมายของบริษัทไดดําเนินการบรรลุตามที่กําหนดไว 2. ขอมูลที่มีสาระสําคัญ ทั้งดานการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกตอง เชื่อถือได และ ทันเวลา 3. การดําเนินงานของบริษัทและการปฏิบัติงานของพนักงาน เปนไปตามนโยบาย และ ขอกําหนดของบริษัท รวมทั้งสอดคลองกับกฎหมาย ขอบังคับที่เกี่ยวของ สวนที่ 2 หนา 63


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

4. การบริหารทรัพยสินและทรัพยากรของบริษัทเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ คุมคา รวมทั้งมี การดูแลปองกันใหมีความปลอดภัยอยางเพียงพอ 5. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องในทุกกระบวนการและกิจกรรมควบคุม บริษัทใหความสําคัญกับ การมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และมีประสิทธิผลครบทั้ง 5 องคประกอบของ COSO ดังตอไปนี้ 1. มีสภาพแวดลอมของการควบคุมที่ดี (Control Environment) บริษัทมีการจัดโครงสรางขององคกรอยางเหมาะสม มีการกําหนดอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบอยาง ชัดเจน รวมทั้ง มีการกําหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษร ทั้งดานการเงินและการบริหาร ทั่วไป โดยผูบริหารและพนักงานทุกระดับปฏิบัติงานโดยยึดมั่นในจริยธรรมทางธุรกิจ ที่มีการกําหนดเปนลายลักษณ อักษร 2. มีกระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม (Risk Assessment) บริษัทมีการกําหนดเปาหมายในการดําเนินงานอยางชัดเจน เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของ ผูบริหารและพนักงาน โดยผูบริหารและพนักงานทุกระดับ มีหนาที่รับผิดชอบในการประเมินความเสี่ยงที่เกิดจากทั้ง ปจจัยภายในและภายนอก ซึ่งอาจมีผลทําใหการดําเนินงานไมบรรลุผลตามเปาหมายที่ไดกําหนดไว และหา มาตรการหรือวิธีการในการบริหารความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได 3. การมีกิจกรรมควบคุมที่ดี (Control Activities) บริษัทไดกําหนดกิจกรรมควบคุมที่มีสาระสําคัญของแตละระบบงาน และจัดใหมีการรายงานผลการ ดําเนินงานอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหฝายบริหารใชขอมูลในการตัดสินใจ และแกปญหาในการดําเนินธุรกิจไดอยาง เหมาะสม โดยมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบของงานอยางชัดเจน เพื่อใหเกิดการสอบทานงานซึ่งกันและกัน มีการกําหนดอํานาจหนาที่ในการอนุมัติรายการและวงเงินเปนลายลักษณอักษร มีการดูแลปองกันทรัพยสินของ กิจการไมใหสูญหาย หรือใชไปในทางที่ไมเหมาะสม 4. มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลที่ดี (Information and Communication) บริษัทมีระบบขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจไดอยางเหมาะสมเพียงพอ และทันตอเหตุการณ โดย ผูบริหารและพนักงานทุกระดับมีความระมัดระวังในการใชขอมูลสารสนเทศ ตามที่กําหนดไวในจรรยาบรรณของ บริษัท และ ระเบียบการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรและขอมูลสารสนเทศ นอกจากนี้บริษัทจัดใหมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิผล รวมทั้งมีการ เตรียมแผนฟนฟูระบบ และแผนฉุกเฉิน สําหรับระบบขอมูลสารสนเทศ เพื่อปองกันขอมูลสูญหาย 5. มีระบบการติดตามและการประเมินผลที่ดี (Monitoring and Evaluation) บริษัทมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทประมาณปละ 4 ครั้ง และมีการประชุมผูบริหารอยางสม่ําเสมอทุก เดือน เพื่อพิจารณาและติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารวาเปนไปตามเปาหมายหรือไม รวมทั้งจัดใหมีการ รายงานผลการตรวจสอบภายในตอคณะกรรมการตรวจสอบเดือนละ 1 ครั้ง และคณะกรรมการตรวจสอบรายงานผล ตอคณะกรรมการบริษัทในทุกไตรมาส ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2547 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2547 โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเขารวมประชุมดวย คณะกรรมการไดประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัททั้ง 5 องคประกอบ และ จากผลการประเมินสรุปไดวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในครบทั้ง 5 ประการดังกลาวขางตน และทุก องคประกอบมีการปฏิบัติตามอยางมีประสิทธิผล

สวนที่ 2 หนา 64


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นอกจากนี้ผูสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ซึ่งเปนผูตรวจสอบ งบการเงินประจํางวดป 2546 ไดประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในของบริษัทตามที่เห็นวาจําเปน ซึ่งพบวา ไมมีจุดออนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแตประการใด • การตรวจสอบภายใน บริษัทมีสวนงานตรวจสอบภายในซึ่งรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหนาที่ตรวจสอบและใหคําปรึกษา แนะนํา เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา การปฏิบัติงานของบริษัทบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่ กําหนดไว โดยใชวิธีการอยางเปนระบบในการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุม และ ระบบการกํากับดูแลกิจการ ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) และทําการติดตามประเมินผลอยางสม่ําเสมอวา ระบบที่วางไวดําเนินอยูอยางตอเนื่องไดรับการปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปและ ขอบกพรองไดรับการแกไขอยางทันทวงที นอกจากนี้บริษัทไดใหความสําคัญกับการพัฒนาพนักงานตรวจสอบภายในใหสอบวุฒิบัตร CIA (Certified Internal Auditor) และ CISA (Certified Information System Auditor) โดยในป 2546 มีพนักงานที่มีวุฒิบัตร CIA จํานวน 6 ทาน และ วุฒบิ ัตร CISA จํานวน 4 ทาน และมีพนักงานอีกจํานวนหนึ่งอยูระหวางการพัฒนาใหมีวุฒิบัตร CIA และ CISA อยางตอเนื่อง • การบริหารความเสี่ยง บริษัทมีนโยบายที่ชัดเจนในการกําหนดใหการบริหารความเสี่ยง เปนสวนหนึ่งของการบริหารจัดการ เพื่อให วัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท สามารถปฏิบัติไดบรรลุตามที่ไดตั้งไว โดยไดมีการ ฝกอบรมผูบริหาร และ พนักงานทุกระดับ ใหตระหนักถึงความเสี่ยง และสามารถจัดการความเสี่ยงไดอยางเปน ระบบในการปฏิบัติงานจริง ทั้งนี้ผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัท เปนผูรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง และมีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงานและกระบวนการทํางาน ประเมินประสิทธิผลของ มาตรการควบคุมที่มีอยู พรอมทั้งนําเสนอแผนงาน และวิธีการในการลดความเสี่ยงของทุกระบบงาน 9.4.14 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินและงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ขอมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป และจัดใหมีระบบบริหาร ความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมอยางมีประสิทธิผล โดยคณะกรรมการบริษทั มีหนาที่ในการแตงตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําหนาที่สอบทานขอมูลทางการเงิน คุณภาพของรายงานทางการเงิน นโยบายการ บัญชี และจัดใหมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญเพิ่มเติมอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และ คําอธิบาย การวิเคราะห เพื่อประโยชนของผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปในการใชงบการเงิน คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา งบการเงินประจําป 2546 ของบริษัท และ บริษัทยอย ที่คณะกรรมการ ตรวจสอบไดสอบทานรวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีของบริษัท ไดแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ถูกตอง เชื่อถือได สมเหตุสมผล ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการใชนโยบายการบัญชีที่ เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ เปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ และ ปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวของ สวนที่ 2 หนา 65


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.15 ความสัมพันธกับผูลงทุน บริษัทใหความสําคัญตอการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทั่วถึงและทันเวลาทั้งขอมูลทาง การเงิน ผลการดําเนินงาน และขอมูลอื่นใด เพื่อใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวของไดใชประกอบการตัดสินใจลงทุน โดย ผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตาง ๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนผาน Web Site ของ เอไอเอส ที่ www.ais.co.th พรอมทั้งไดจัดตั้งหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) ทําหนาที่สื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลที่เปนประโยชนใหผูถือหุน นักลงทุน และเปดเผยขอมูลแกตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจ วาไดปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวของอยางครบถวน บริษัทยังไดจัดประชุมแถลงขอมูลผลการดําเนินงานในแตละไตรมาส (Quarterly Briefing) นักวิเคราะห โดยมีผูบริหารระดับสูงของบริษัทรวมประชุมชี้แจงและเปดโอกาสใหนักลงทุน ผูจัดการกองทุน ตลอดจนผูที่สนใจไดซักถามขอมูลตาง ๆ

ใหแกนักลงทุน นักวิเคราะห

ทั้งนี้ ผูสนใจสามารถติดตอขอขอมูลตาง ๆ จากหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ ไดที่โทร. 02-299-5116 หรือ E-mail : investor@ ais.co.th 9.5

การดูแลเรื่องของการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและยึดมั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย และความสุจริตในการดําเนินธุรกิจตอลูกคา คูคา ผูลงทุน และ ผูถือหุน โดยไดกําหนดแนวทางไวในจรรยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และ ระเบียบการรักษาความ ปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรและขอมูลสารสนเทศ ใหกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือและนําไป ปฏิบัติ เพื่อปองกันมิใหขอมูลและขาวสารที่สําคัญถูกเปดเผย หรือมีการเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารโดยพลการ หรือ โดยมีเจตนาที่ไมบริสุทธิ์ ในกรณีที่กรรมการ พนักงานหรือผูบริหาร นําขอมูลบริษัทไปเปดเผยหรือนําไปใชสวนตน หรือกระทําการที่อาจขัดแยงทางผลประโยชน ถือเปนความผิดอยางรายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัย ในจรรยาบรรณของบริษัทยังไดกําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย ของกลุมบริษัทในชวงระยะเวลา 1 เดือน กอนการเปดเผยงบการเงินใหแกสาธารณชน นอกจากนี้กรรมการและผูบริหารของบริษัทมีหนาที่จัดทํารายการถือหลักทรัพย และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพยของบริษัทของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตามแบบและภายในเวลาที่กําหนดในขอบังคับ วาดวยการรายงานการถือหลักทรัพย และกําหนดใหผูบริหารสงสําเนารายงานดังกลาวใหบริษัทในวันเดียวกับวันที่ รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.

9.6

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีพนักงานทั้งสิ้น 3,354 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

1.

วิศวกรรม

577

2.

ปฏิบัติการดานบริการ

685

3. การตลาด

345

4.

การเงินและการบัญชี

169

5.

สนับสนุนระบบสารสนเทศ

268

6.

สนับสนุนดานอื่นๆ

266

สวนที่ 2 หนา 66


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

7.

สํานักบริหารสวนภูมิภาค

7

8.

สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคเหนือ

242

9.

สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคตะวันออก

170

10. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

238

11. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคใต

217

12. สํานักบริหารสวนภูมิภาค – ภาคกลาง

170

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 DPC มีพนักงานทั้งสิ้น 356 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

1.

สํานักงานและสนับสนุน

4

2.

ธุรกิจการคาเครื่องลูกขาย (Terminal Business)

138

3. ศูนยบริการซอม (Service Center)

138

4.

บัญชี-บริหารสินเชื่อ

56

5.

Phone rent

20

โดยมีคาตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษัทและบริษัทยอย ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ และผลประโยชนตอบแทนอืน่ ๆ เชน เบีย้ เลีย้ งการเดินทาง ฯลฯ รวมทั้งสิน้ 1,780 ลานบาท

9.7

นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทมุงมั่นพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางเต็มความสามารถเพื่อ: • ชวยใหองคกรบรรลุผลสําเร็จทางธุรกิจสูงสุดดวยการสรางทีมงานที่มีประสิทธิภาพ โดยใช Competency Base Development • ชวยใหบุคลากรของเรามีความกาวหนาเติบโตในวิชาชีพ รวมทั้งรักษากลุม Talent ไว โดยการมุงพัฒนาใหตรง กับความตองการและชวยใหพวกเขามีความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะประสบความสําเร็จในวิชาชีพของเขา โดยจัดใหมีโครงการ Talent Development Program • ชวยใหบริษัทมีผลกําไรในดานการเงินและทุนทางปญญา อันเปนการสนับสนุนเปาหมายขององคกร โดยใช Designed learning and Growth ในดาน Leadership development and Critical Competency • ชวยทําใหเกิด initiative ใหม ๆ เพื่อเพิ่มคุณคาแกองคกรอยางสอดคลองกับแผนพัฒนาศักยภาพในการ ปฏิบัติงาน โดยใชแผนพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน ไดแก Corporate Introduction เปนหลักสูตรฝกอบรม ใหแกพนักงานทั่วทั้งองคกร Function Training เปนหลักสูตรเฉพาะตามสายงานหรือความรับผิดชอบ และ Management Training เปนหลักสูตรฝกอบรมพนักงานระดับผูบริหาร • จัดทําโครงสรางการเรียนรูที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพใหแกพนักงาน โดยใช Coaching System และ Process Leader เปนตน • ทําใหมั่นใจวาการพัฒนาไดถูกปลูกฝงในแผนพัฒนาทักษะระยะยาว โดยใช Self Development and Learning Organization • ศึกษา Best Practice ทั้งในและตางประเทศเพื่อนํามาพัฒนาปรับใชกับบริษัท ชวยใหเกิดการพัฒนาอยาง ตอเนื่องตามแนวทางดีที่สุด สวนที่ 2 หนา 67


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

10. การควบคุมภายใน รายละเอียดปรากฏอยูในหัวขอ 9.4.13 เรื่อง ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความ เสี่ยง

สวนที่ 2 หนา 68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11. รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยรายการดังกลาวลวนเปนการ ดําเนินธุรกิจปกติของบริษัท บริษัทยอย และบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สําหรับขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการ ระหวางกัน นอกจากบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกําหนดอํานาจของผูมี สิทธิอนุมัติตามวงเงินที่กําหนดแลว คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหนาที่เปนผูสอบทานการทํารายการระหวาง บริษัทหรือบริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชนอีกดวย ในกรณีรายการระหวางกันที่เขาขายเปนการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไมเปนปกติธุรกิจ และที่มีนัยสําคัญ คณะกรรมการตรวจสอบจะทําหนาที่สอบทานและใหความเห็นตอรายการกอนนําเสนอตอ คณะกรรมการบริษัท และเนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะ คํานึงถึงความเหมาะสมและราคาที่เปนธรรมเปนหลัก ในป 2545 และ ป 2546 บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยผู ตรวจสอบบัญชีของบริษัทไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดปบัญชี 2545 และงบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 วารายการดังกลาวเปนรายการ คาตามปกติ โดยบริษัทไดคิดราคาซื้อ-ขายสินคาและบริการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตามราคาที่เทียบเทา กับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขตางๆ ตามปกติธุรกิจ ในกรณีที่ไมมีราคาดังกลาว บริษัทจะวาจาง ผูประเมินราคาอิสระมืออาชีพ ในกรณีที่เปนการประเมินราคาประเภทการเชาอสังหาริมทรัพยจะเปนผูประเมินที่ ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคาของรายการระหวางกัน เพื่อใชเปนแนวทาง เปรียบเทียบกอนที่จะใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่สอบทาน รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยงในชวงระยะเวลาดังกลาวมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 69


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.1 รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2545(ลานบาท)

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) / เปนผูถือหุนใหญของบริษัท รอยละ 42.99 และมีกรรมการ รวมกัน

2. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (SATTEL) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 51.48 และมีกรรมการ รวมกัน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม

บริษัท และ DPC วาจาง SHIN ใหเปนที่ปรึกษา และบริหารงาน โดยบริษัทตองจายคาที่ปรึกษา จํานวน 15,760,671.04 บาทตอเดือน สวนคา บริหารงานจายตามรายการที่เกิดขึ้นจริง 1. คาที่ปรึกษาและบริหารการเงิน

235.27

248.54

219.36

232.12

2. เงินปนผลจาย 3. คาเชาและบริการอื่น 4. รายไดจากการใหบริการโทรศัพท 5. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

505.48 0.09 0.73 2.59

505.48 0.09 0.83 2.59

4,486.18 1.19 0.88 4.83

4,486.18 1.53 1.34 4.89

73.37

73.37

70.77

70.77

1.76 6.15

1.89 6.15

1.87 5.64

1.99 5.64

บริษัทเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บน ดาวเทียมไทยคม 1A จาก SATTEL โดยบริษัทตอง ชําระคาตอบแทนในอัตรา 1,700,000 USD/ป 1. คาเชาและบริการอื่น 2. รายไดจากการใหบริการโทรศัพท 3. เจาหนี้การคา

สวนที่ 2 หนา 70

เปนนโยบายในการกํา กับดูแลบริษัท ในกลุ ม ของบริ ษั ท ใหญ ซึ่ ง ประกอบ ธุรกิจในการเขาถือหุนและบริหารงาน เพื่อใหการควบคุมเปนประโยชนสูงสุด สําหรับบริษัทและผูถือหุน คาที่ปรึกษา เรียกเก็บรายเดือนโดยคิดคํานวณราย ปเปนสัดสวนตอสินทรัพยรวม ณ วัน สิ้น ป ใ นอั ต รา 0.15% โดยทาง Shin ไดวาจาง บริษัท Boston Consulting Group ( Thailand ) - BCG ซึ่งเปนบริษัทที่ปรึกษาเปนผูประเมิน วิธีการคิดคาธรรมเนียมและ คาที่ปรึกษา คาบริหารการเงิน โดยกําหนดราคาเทียบเคียงกับราคา ตลาด เนื่องจากเปนผูใหบริการรายเดียวใน ประเทศ บริษัทชําระคาบริการในอัตรา เดียวกับลูกคาทั่วไปที่ไปใชบริการ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

3. บริษัท ชินวัตร อินฟอร บริษัท,DPC และ ACC ใชบริการระบบคอมพิวเตอร เมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (SIT) ของ SIT โดยบริษัทจายคาตอบแทน 1,513,160 บาท /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญโดย ตอเดือน ทางออมรอยละ 99.99 และมี 1. คาที่ปรึกษาและบริหารระบบคอมพิวเตอร 2. คาเชาและคาบริการอื่น กรรมการรวมกัน

4. บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด (SMB) /มี SHIN เปน ผูถือหุนใหญ รอยละ 99.96 และมีกรรมการรวมกัน

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

บริษัท และ DPC วาจาง SMB เปนตัวแทนในการ จัดทําโฆษณาผานสื่อตางๆ โดยจะเปนการวาจางครั้ง ตอครั้ง 1. คาโฆษณา - คาโฆษณา (NET) - คาโฆษณา (GROSS) 2. ซื้ออุปกรณสํานักงาน และ โปรแกรมคอมพิวเตอร 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

1.03 14.02

658.89 1,626.93 1.19 361.16

สวนที่ 2 หนา 71

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

23.59 15.62

765.31 1,926.68 1.19 396.32

งบการเงินเฉพาะ

1.10 19.76

658.09 1,883.34 533.48

งบการเงินรวม

24.64 19.97

เปนบริษัทที่ใหบริการ โปรแกรมคอมพิว เตอรเพื่อประมวลผลทางบัญชีเฉพาะ บริษัทในเครือ SIT คํานวณราคาจากตนทุนของ Hardware และ Software Maintenance ในแตละปมาเฉลี่ยตาม CPU usage ที่แต ละบริษัทไดใชงานในปที่แลว เพื่อเรียก เก็บคาบริการในปถัดไป

685.32 1,997.92 543.64

เปนบริษัทโฆษณาที่มีความคิดริเริ่มที่ดี และมีความเขาใจในผลิตภัณฑและบริการ ของบริษัทเปนอยางดี รวมทั้งเปนการ ปองกันการรั่วไหลของขอมูล คาโฆษณาเปนการวาจางครั้งตอครั้ง บริษัทมีการเปรียบเทียบราคาตลาดกับ บริษัทอื่น Agency Fee – SMB Media(Full service) 10.00% Production 12.00% – Third party Media(Full service) and Production 12.00% - 17.65%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท)

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (TMC) /มี SHIN เปน ผูถือหุนใหญรอยละ 38.25 และมีกรรมการรวมกัน

6. บริษัท โอเอไอ แอส เสท จํากัด (OAIA) / กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือ หุน OAIA รอยละ 99.99

บริษัทวาจาง TMC ในการจัดทําขอมูลสําหรับบริการ เสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การจัดหาขอมูลทาง โหราศาสตร ขอมูลสลากกินแบงรัฐบาล และเรื่องตลก ขบขัน เปนตน โดยชําระคาใชบริการตามที่เกิดขึ้นจริง เปนรายเดือน 1. คาบริการ 2. คาโฆษณา 3. เจาหนี้การคา 4. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน บริษัทมีการเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตรทาว เวอร 2 /เชาสํานักงานและพื้นที่จอดรถในอาคาร White House /เชาพื้นที่สํานักงานและพื้นทีจ่ อดรถในอาคาร การประปานครหลวงและพื้นที่จอดรถในพหลโยธิน ซอย 13 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

40.57 3.00 0.34 3.05

155.29 6.14

สวนที่ 2 หนา 72

40.73 3.04 0.34 3.05

158.29 6.17

งบการเงินเฉพาะ

30.14 1.99 2.29 -

87.71 0.11

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินรวม เปนผูใหบริการที่มีความเชี่ยวชาญในการ จัดทําเนื้อหาของขอมูลตางๆ บริษัทชําระ คาบริการในอัตรารอยละของรายไดที่ บริษัทไดรับจากลูกคา ขึ้นกับประเภท ของบริการที่ลูกคาใช ซึ่งอัตราที่จายเปน 30.14 อัตราเดียวกันกับContent Provider 1.99 ทั่วไปซึ่งอยูในอัตรารอยละ 40- 60 2.45 เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมาโดย ตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ 90.94 บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ 0.11 ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง คิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

7. บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด (SOP) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน SOP รอยละ 60.00

งบการเงินรวม

บริษัทเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารกลุมชินวัตร (เชียงใหม) 2,338.60 ตารางเมตร - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

130.69 0.87 3.81

22.96

สวนที่ 2 หนา 73

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตรทาวเวอร 1 และ 2 รวม 25,216.36 ตร.ม.เปนเงินรวมประมาณ 11,033,435 บาทตอเดือน และที่DPC เชาพื้นที่เพื่อเก็บ สินคา 2,708 ตร.ม. และ ACC เชาพืน้ ที่ประมาณ 684.90 ตร.ม. 1. คาเชาและคาบริการอื่น 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

8. บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด (WS) /กลุมครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน WS รอยละ 72.18

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

133.28 0.87 3.81

23.18

185.77 0.19 6.03

15.73

งบการเงินรวม เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ 191.84 ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา 0.19 ทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา 6.32 ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง คิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด เปนผูใหบริการที่บริษัทไดใชบริการมาโดย ตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ 15.73 สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง ครบถวนและสามารถใชระบบดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทไดวาจางผู ประเมินราคาอิสระที่ไดรับการยอมรับจาก สํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวย ความสะดวก คาใชจายในการขนยายและ ตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตาม สัญญา ซึ่งคิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับ ราคาตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

9. บริษัท พี.ที. คอรปอเรชั่น จํากัด (PT) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน PT รอยละ 69.99

10. บริษัท อัพคันทรีแลนด จํากัด (UP) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน UP รอยละ 99.99

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

บริษัทเชาพื้นที่คลังสินคา แขวงคันนายาว/เชาพื้นที่ อาคารสํานักงานและพื้นที่ดาดฟา แขวงถนนนครไชย ศรี/เชาพื้นที่ในอาคารแขวงทุงสองหอง เขตบางเขน และพื้นที่ดาดฟา/เชาพื้นที่ติดตั้งอุปกรณสถานีฐานของ โครงการวังหินคอนโดทาวน - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

บริษัทเชาพื้นที่อาคารสํานักงานและสถานที่สําหรับ ติดตั้งสถานีฐาน ทั้งในกรุงเทพมหานครและในเขต ภูมิภาค รวม 103 แหง - คาเชาและคาบริการอื่น ๆ

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

14.01

95.08

สวนที่ 2 หนา 74

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

16.98

95.93

งบการเงินเฉพาะ

13.49

129.85

งบการเงินรวม บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก 13.49 คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง คิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด

เปนบริษัทที่มีประสบการณในการจัดหา พื้นที่เชาทั่วประเทศไทย ไดตรงตาม เสนทางที่ตองการและทันตามกําหนดเวลา 129.85 บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่งคิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคา ตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2545(ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

11.บริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จํากัด (OAIL) /กลุม ครอบครัว ชินวัตรเปนผูถือหุนรายใหญ ของ SHIN ถือหุน OAIL รอยละ 45

บริษัท และ ADC เชารถยนตเพื่อใชงานประจําสาขา ตางๆ จํานวน รวม 223 คัน จาก OAIL - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

12. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด (ITAS) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ 99.99% และมีกรรมการ รวมกัน

บริษัท วาจางใหการปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร เปนครั้งตอครั้ง

1. คาที่ปรึกษาและบริหารงาน 2. ซื้ออุปกรณสํานักงาน และคอมพิวเตอร 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

31.48

24.49 3.24 3.35

สวนที่ 2 หนา 75

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

33.52

24.49 3.24 3.35

งบการเงินเฉพาะ

33.91

32.25 10.62

งบการเงินรวม เปนบริษัทลีสซิ่งที่ใหบริการเชาเฉพาะ บริษัทในเครือ และราคาเทียบเคียงกับ 38.66 บริษัทลีสซิ่งอื่นรวมทั้งมีบริการที่ดีและ รวดเร็ว

เปนบริษัทที่ใหบริการโปรแกรมคอมพิว เตอรเฉพาะบริษัทในเครือ รวมทั้ง มีบริการที่ดี รวดเร็ว และราคาสมเหตุ สมผล ITAS คิดคาบริการในอัตราที่ตํา่ กวาจนถึงใกลเคียงกับราคาของบริษัท 32.25 ที่ปรึกษารายอื่นที่ใหบริการในลักษณะ - เดียวกัน อัตราคาบริการขึ้นอยูกับ 10.62 ลักษณะงานและระดับของที่ปรึกษา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

13. บริษัท เอสซี แอสเสท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SC) / กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน (OPP) รอยละ 60.82

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริษัท เชาพื้นที่สํานักงาน 1,799.55 ตร.ม.และ DPC เชาพื้นที่สํานักงาน 1,024 ตร.ม. ในอาคารชินวัตรทาว เวอร 3

1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

14. Singapore Telecom Mobile Pte.Ltd/ เปนบริษัทใน กลุมเดียวกับ SingTel Strategic Investments Pte.Ltd(SingTel) ซึ่งเปนผูถือ หุนรายใหญของบริษัท

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

บริษัททําสัญญากับ Singapore Telecom Mobile Pte.Ltd ในการเปดใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) รวมกัน 1. รายไดจากการใหบริการ 2. ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน 3. เจาหนี้การคา

บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา 57.44 0.76 2.06

159.79 41.24 5.01

สวนที่ 2 หนา 76

149.51 0.93 3.13

159.79 41.24 5.01

61.56 0.90 1.80

155.79 44.10 7.27

81.39 0.90 2.50

เปนการดําเนินธุรกิจตามปกติในการขยาย การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ตางประเทศ ระหวางบริษัทผูใหบริการราย 155.79 อื่น โดยSingapore Telecom Mobile 44.10 Pte.Ltd เปนหนึ่งในผูใหบริการเหลานั้น 7.27 ราคาที่เรียกเก็บเปนราคาที่ตางฝายตาง กําหนดในการเรียกเก็บจากลูกคาแตละ ฝายที่ไปใชบริการขามแดนอัตโนมัติ หัก กําไรที่บวกจากลูกคา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

15. Singapore Telecom International Pte. Ltd. (STI)/ เปนบริษัทในกลุม เดียวกับ SingTel ซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของบริษัท

บริษัท จายเงินเดือนและผลตอบแทนใหแก STI ในการ สงพนักงานมาปฏิบัติงานที่บริษัทโดยจะเรียกเก็บ คาใชจายตามที่เกิดขึ้นจริง

16. บริษทั ซี เอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (CSL) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ (โดย ทางออม) และมีกรรมการ รวมกัน

ADC ใหบริการ Datanet แกบริษัทและ CSL ในขณะที่ บริษัท วาจาง CSL ในการใหบริการดาน Internet

17. บริษัท โอเอไอ คอนซัล แตนท แอนด แมนเนจเมนท จํากัด (OCM) /กลุม ครอบครัว ชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน OCM รอยละ 84.21

บริษัทใชบริการหองจัดเลี้ยงจาก OCM ในการจัด สัมมนา และฝกอบรมพนักงาน โดยเปนการชําระ คาบริการตอครั้ง - คาเชาและคาบริการอื่น

1. เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น 2. เงินปนผลจาย 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

1. รายไดจากการใหบริการขอมูล 2. คาเชาและคาบริการอินเตอรเน็ท 3. ลูกหนี้การคา

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

21.94 227.20 11.44

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

งบการเงินเฉพาะ

21.94 227.20 11.44

28.16 2,016.40 9.81

งบการเงินรวม

28.16 2,016.40 9.81

เปนไปตามขอตกลงระหวาง STI และ บริษัท โดย STI สงพนักงานมาใหความ ชวยเหลือทางดานการบริหารงานและดาน เทคนิคใหแกบริษัท ซึ่งเปนการจายตาม คาใชจายที่เกิดจริงจากการที่ STI สง คนมาทํางานให หรือ เรียกเก็บตาม อัตราที่ไดตกลงกันไวในสัญญา เปนบริษัทในเครือที่ใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต และราคาเชนเดียวกับทีเ่ รียก เก็บจากลูกคารายอื่น

0.15 15.48 0.04

79.72 16.53 10.32

2.28 12.69 -

69.12 12.72 2.00 เปนบริษัทในเครือที่มีการใหบริการหองจัด เลี้ยง และมีราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ทั่วไป รวมทั้งมีบริการที่ดี

0.95

สวนที่ 2 หนา 77

0.95

0.63

0.63


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

18. บริษัท บี.พี.พร็อพเพอรตี้ จํากัด (BP) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน BP รอยละ 78.22

บริษัทเชาพื้นที่ดาดฟาและพื้นที่บางสวนของอาคาร เอสซี สาธรแมนชั่น ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร เพื่อติดตั้งอุปกรณสถานีฐาน - คาเชาและคาบริการอื่น

19. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด (Shinee) /มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ(โดยทาง ออม) และมีกรรมการ รวมกัน

บริษัทวาจาง Shinee ในการใหบริการเสริมของ โทรศัพทเคลื่อนที่ โดยชําระคาบริการเปนรายเดือน

20. บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจีเนียริ่ง จํากัด (BTE) / กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน BTE รอยละ 99.99

บริษัท และ DPCวาจาง BTE ในการใหบริการติดตั้ง อุปกรณโทรคมนาคม 1. คาอุปกรณระบบสื่อสารและคาติดตั้ง 2. เจาหนี้การคา

1. คาเชาและคาบริการอื่น 2. เจาหนี้การคา

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

0.62

0.62

0.60

0.60

4.14 7.10

4.14 7.10

4.12 3.19

4.12 3.19

181.81 32.65

184.29 33.93

188.11 20.44

188.64 22.55

สวนที่ 2 หนา 78

บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง คิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการ ออกแบบ website และมีความหลากหลาย ของเนื้อหา ซึ่งตรงกับความตองการของ บริษัท บริษัทชําระคาบริการ ในอัตรารอยละของรายไดที่บริษัทไดรับ จากลูกคา ขึ้นกับประเภทของบริการที่ ลูกคาใช ซึ่งอัตราที่จายเปนอัตรา เดียวกันกับ Content Provider ทั่วไป ซึ่ง อยูในอัตรารอยละ 40-60 เปนบริษัทที่มีความชํานาญในการติดตั้ง สถานีฐาน และมีราคาที่เทียบเคียงกับ Contractor รายอื่น และมีการยื่นซอง ประกวดราคาตามระเบียบปฏิบัติของการ จัดซื้อจัดจาง


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2545 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ

21. กลุมครอบครัวชินวัตร

มูลคารายการระหวางกันงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปนของการทํา รายการ

31 ธ.ค. 2546 (ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

กลุมครอบครัวชินวัตรมีการถือหุนกูของบริษัท 1. เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจาย

10.00 4.49

10.00 4.49

10.00 0.54

10.00 0.54

22. กลุมกรรมการของ บริษัท

กลุมกรรมการของบริษัทมีการถือหุนกูของบริษัท 1. เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจาย

51.00 2.53

51.00 2.53

32.00 1.76

32.00 1.76

23. บริษัท ธนชาติ ประกันภัย จํากัด / กรรมการของบริษัท SHIN เปนผูถือหุนรายใหญและมี กรรมการรวมกัน

บริษัทจายคาเบี้ยประกันภัยสถานีฐาน และเบี้ย ประกันภัยอุปกรณ - คาเบี้ยประกันภัย

24.บริษัทเงินทุนธนชาติ จํากัด (มหาชน) (NFS) / กรรมการผูจัดการใหญของ NFS เปนประธาน กรรมการตรวจสอบของ บริษัท

บริษัท จายคาเชาซื้อคอมพิวเตอร และคาเชาพื้นที่ คาน้ําประปา, คาไฟฟา 1. คาเชาซื้อคอมพิวเตอร 2. คาน้ํา คาไฟ คาเชาอาคาร

8.71

90.90 0.35

สวนที่ 2 หนา 79

8.71

90.90 0.93

11.21

117.11 0.33

11.68

117.11 0.75

บริษัทออกและเสนอขายขายหุนกูแก ประชาชนทั่วไป โดยเสนอขายหุนกู ในราคาเดียวกับผูถือหุนกูรายอื่น หุนกู ของบริษัทไดรับการจัดอันดับความ นาเชื่อถือในระดับ AA และให ผลตอบแทนในระดับที่ดีแกผูถือหุนกู

เปนบริษัทที่ใหบริการที่ดีและมีการติดตอ กับบริษัทมาโดยตลอด บริษัทชําระคาเบี้ย ประกันภัยตางๆ ในอัตราตามที่ เปรียบเทียบไดกับบุคคลภายนอก

เปนบริษัทที่ใหบริการที่ดีและมีการติดตอ กับบริษัทมาโดยตลอด บริษัทชําระ คาบริการตางๆ ในอัตราตามที่ เปรียบเทียบไดกับบุคคลภายนอก


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.2 ขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันและนโยบายการทํารายการระหวางกัน ขั้นตอนการทํารายการระหวางกันบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการกับบุคคลอื่นๆ และ เปรียบเทียบกับราคาตลาดทั่วไป โดยจะมีการกําหนดอํานาจอนุมัติตามวงเงินที่กําหนดไวแลว และหากรายการ ระหวางกันอื่นใดที่เขาขายตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และการ เปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎดังกลาวอยางเครงครัด ในการทํารายการระหวางกันของบริษัท ไดมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสอบ ทานการทํารายการระหวางกันของบริษัท บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันทุกๆ ไตรมาส เพื่อไมใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชนซึ่งกันและกัน ถึงแมวา บริษัทจะมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงถือหุนในบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) เกินกวารอยละ 10 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท DNS ทั้งนี้ เนื่องจากบุคคลที่อาจขัดแยง ดังกลาวไดถือหุนในบริษัท DNS มานานตั้งแตป 2541 กอนที่บริษัทจะเขารวมลงทุน ซึ่งบริษัทไดเขารวมลงทุน ในป 2542 อันเกิดจากการปรับโครงสรางกลุมบริษัท แตอยางไรก็ตาม บริษัท DNS ไมมีรายการระหวางกันกับ บริษัทและบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ประกอบกับบริษทั ไดกําหนดขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวาง กันและนโยบายการทํารายการระหวางกันขางตน เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนซึ่งกันและกัน เนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหวางกัน กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความ เหมาะสมและราคาที่เปนธรรมเปนหลัก

สวนที่ 2 หนา 80


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1

งบการเงิน

12.1.1

รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูสอบบัญชีในชวงระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (2544 – 2546) ผูสอบบัญชีแสดงความเห็น อยางไมมีเงื่อนไข โดยมีความเห็นวางบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงาน เฉพาะของบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของบริษัท โดยถูกตองตามที่ควรใน สาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

12.1.2

ตารางสรุปงบการเงินรวม งบดุลรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 จํานวนเงิน

หนวย : พันบาท 2546 จํานวนเงิน %

%

2545 จํานวนเงิน

%

15,284,025 88,097 7,674,224 1,027 2,238,469 358,586 3,168,730 2,254,533 31,067,691

13.46% 0.08% 6.76% 0.00% 1.97% 0.32% 0.00% 2.79% 1.99% 27.36%

4,068,539 61,882 7,238,679 4,445 1,961,215 760,885 1,001 1,530,546 2,754,421 18,381,613

3.23% 0.05% 5.74% 0.00% 1.56% 0.60% 0.00% 1.21% 2.18% 14.58%

8,636,841 182,800 5,458,841 1,365 1,026,841 352,913 16,147 409,575 1,810,264 17,895,587

6.91% 0.15% 4.37% 0.00% 0.82% 0.28% 0.01% 0.33% 1.45% 14.32%

6,233,122

0.00% 5.49%

9,747,641

0.00% 7.73%

8,073 12,120,174

0.01% 9.70%

56,334,131 5,325,220 13,943,788 634,437 82,470,697 113,538,388

49.62% 4.69% 12.28% 0.56% 72.64% 100.00%

79,795,413 4,870,397 12,504,659 785,646 107,703,755 126,085,368

63.29% 3.86% 9.92% 0.62% 85.42% 100.00%

78,549,050 4,415,574 11,337,755 622,963 107,053,589 124,949,176

62.86% 3.53% 9.07% 0.50% 85.68% 100.00%

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้และเงินใหกยู ืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ - สุทธิ อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย-สุทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา - สุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา - สุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอื่น สินทรัพยใตสัญญาสัมปทาน - สุทธิ สิทธิในสัมปทาน - สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สินทรัพยอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

สวนที่ 2 หนา 81


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 จํานวนเงิน หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 5,456,758 เจาหนี้การคา 10,701,380 เจาหนี้และเงินกูยมื จากบริษัทที่เกี่ยวของกัน 334,271 สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 919,763 สวนของหุนกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป - สุทธิ 6,346,124 เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายแลกเปลีย่ นลวงหนา - สุทธิ 5,167 สวนของคาสิทธิสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายป 2,990,140 และภาษีสรรพสามิตคางจายที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น 6,123,684 รวมหนี้สินหมุนเวียน 32,877,287 หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ 4,515,981 หุนกูระยะยาว 29,402,140 คาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจาย 3,073,473 เงินมัดจํารับจากลูกคา 2,648,008 รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 39,639,602 รวมหนี้สิน 72,516,889 สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคา 2,935,000 สวนเกินมูลคาหุน 20,004,000 เงินรับลวงหนาคาหุน กําไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย 500,000 ยังไมไดจัดสรร 17,321,687 สวนของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย 260,812 หุนทุนซื้อคืน รวมสวนของผูถอื หุน 41,021,499 รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 113,538,388

สวนที่ 2 หนา 82

%

2545 จํานวนเงิน

%

หนวย : พันบาท 2546 จํานวนเงิน %

4.81% 9.43% 0.29% 0.81% 5.59% 0.00% 2.63%

30,000 7,649,396 438,340 1,531,002 6,970,452 4,474,048

0.02% 6.07% 0.35% 1.21% 5.53% 0.00% 3.55%

60,000 5,714,018 627,032 4,105,918 7,973,321 5,584,446

0.05% 4.57% 0.50% 3.29% 6.38% 0.00% 4.47%

5.39% 28.96%

7,969,295 29,062,533

6.32% 23.05%

9,512,261 33,576,996

7.61% 26.87%

3.98% 25.90% 2.71% 2.33% 34.91% 63.87%

5,825,796 37,406,804 2,532,258 16,731 45,781,588 74,844,121

4.62% 29.67% 2.01% 0.01% 36.31% 59.36%

1,114,725 29,391,460 1,225,103 14,688 31,745,976 65,322,972

0.89% 23.52% 0.98% 0.01% 25.41% 52.28%

2.59% 17.62% 0.00%

2,935,000 20,004,000 -

2.33% 15.87% 0.00%

2,938,525 20,169,275 25,526

2.35% 16.14% 0.02%

0.44% 15.26% 0.23% 0.00% 36.13% 100.00%

500,000 27,601,008 271,901 (70,661) 51,241,247 126,085,368

0.40% 21.89% 0.22% -0.06% 40.64% 100.00%

500,000 35,720,062 355,945 (83,130) 59,626,204 124,949,176

0.40% 28.59% 0.28% -0.07% 47.72% 100.00%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกําไรขาดทุน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2544

หนวย : พันบาท 2546

2545

จํานวนเงิน

%

จํานวนเงิน

%

จํานวนเงิน

%

รายได รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ

41,741,058

70.52%

60,925,968

75.92%

73,749,939

82.41%

รายไดจากการขาย

17,448,710

29.48%

19,325,433

24.08%

15,741,759

17.59%

59,189,768

100.00%

80,251,401

100.00%

89,491,698

100.00%

ตนทุนคาบริการและการใหเชาอุปกรณ

11,252,781

19.01%

14,511,138

18.08%

19,351,552

21.62%

ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต

10,383,459

17.54%

15,254,779

19.01%

17,725,936

19.81%

ตนทุนขาย

13,539,035

22.87%

15,074,703

18.78%

12,341,073

13.79%

35,175,275

59.43%

44,840,619

55.88%

49,418,561

55.22%

24,014,493

40.57%

35,410,782

44.12%

40,073,138

44.78%

9,482,958

16.02%

13,802,387

17.20%

12,320,466

13.77%

14,531,535

24.55%

21,608,395

26.93%

27,752,672

31.01%

1,480,788

2.50%

1,114,957

1.39%

935,749

1.05%

(105,728)

-0.18%

(161,102)

-0.20%

35,999

0.04%

(4,264,621)

-7.20%

-

0.00%

-

0.00%

-

0.00%

(258,625)

-0.32%

-

0.00%

(2,781)

0.00%

(3,813)

0.00%

(3,728)

0.00%

กําไรจากการดําเนินงาน

11,639,193

19.66%

22,299,813

27.79%

28,720,692

32.09%

ดอกเบี้ยจาย

(1,572,896)

-2.66%

(3,068,784)

-3.82%

(2,579,068)

-2.88%

ภาษีเงินได

(6,238,439)

-10.54%

(7,816,089)

-9.74%

(7,528,559)

-8.41%

3,827,858

6.47%

11,414,941

14.22%

18,613,065

20.80%

(23,459)

-0.04%

(15,361)

-0.02%

84,046

0.09%

3,851,317

6.51%

11,430,301

14.24%

18,529,019

20.70%

รวมรายได ตนทุน

รวมตนทุน กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและการบริหาร กําไรจากการขาย การใหบริการและการใหเชา อุปกรณ รายไดจากการดําเนินงานอื่น กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา ตางประเทศ - สุทธิ ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย คาตอบแทนกรรมการ

กําไรสุทธิกอนสวนของผูถือหุนสวนนอย กําไร (ขาดทุน)สุทธิของผูถือหุนสวนนอยในบริษัท ยอย กําไรสุทธิสําหรับป

สวนที่ 2 หนา 83


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกระแสเงินสด บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับป รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน คาตัดจําหนายสิทธิในสัญญาสัมปทาน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย คาใชจายรอการตัดบัญชีตัดจําหนาย ขาดทุน(กําไร)จากการตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ขาดทุน (กลับรายการ) จากสินคาลาสมัยและการลดมูลคาของสินคาคงเหลือ คาเผื่อผลขาดทุนจากเงินมัดจําคาโทรศัพท ขาดทุนจากการตัดจําหนายอุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย เสื่อมสภาพ คาตัดจําหนายสวนเกิน(สวนลด)และจากสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายสินทรัพยถาวร ขาดทุนจากสินทรัพยเสียหาย ขาดทุนจากการตัดจําหนายคาใชจายรอการตัดบัญชี ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยถาวร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นที่ยังไมเกิดขึ้น (กําไร)ขาดทุน จากอัตราแลกเปลีย่ นที่เกิดขึ้นแลวจากเงินกูยืม กําไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุนที่ยงั ไมเกิดขึ้น คาความนิยมตัดจาย ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมจากการลงทุนในบริษัทยอย (กําไร)จากการขายเงินลงทุนในบริษํทยอย ตัดจําหนายคาใชจายในการออกหุนกู สวนแบงกําไร(ขาดทุน)สุทธิของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย กําไรสุทธิกอนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 84

2544

2545

2546

3,851,317

11,430,301

18,529,019

1,028,738 7,042,526 151,608 4,264,621 62,943 2,236,232 134,639 (12,876) -

1,725,331 8,528,745 454,823 78,297 4,251,886 (281,982) -

3,741,244 10,506,932 454,823 63,334 891,657 2,271,878 28,022 545,012

(256,007) (934) 2,573 295 1,292 22,977 51,818 592,949 29,931 (23,459)

115,391 (10,883) 28,920 9,093 24,512 18,356 (9,589) 1,206,794 258,625 (25,003) 43,408 (15,361)

3,831 (2,394) 165,427 15,970 19,343 (12,120) (125,774) 1,166,904 37,525 84,046

19,181,180

27,831,665

38,384,680


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท

งบกระแสเงินสดรวม

2544

การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา สินคาคงเหลือ อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้บริษัทที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้สัญญาซื้อขายและแลกเปลีย่ นลวงหนา สิทธิในสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายป และภาษีสรรพสามิต คางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนระยะสั้นเปลี่ยนแปลง-สุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนายเปลี่ยนแปลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรับจากการลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ เงินสดรับจากการขาย – สุทธิจากการจายของเงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดของบริษัทยอย เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เงินสดจายเพื่อลงทุนในสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

สวนที่ 2 หนา 85

2545

2546

(3,986,248) 3,169 212,922 (726,980) (1,289,314) (1,214) (264,986) 40,064 6,755 871,704

(3,741,519) (1,896) (1,001) 559,551 (402,299) (723,561) (283,079) (1,581,144) 98,315 (3,662) 942,693

(486,208) 3,081 (23,219) 906,352 (137,040) 937,983 (66,078) (694,673) 188,692 (337,457)

(1,421,355) 1,151,205 13,776,902

(2,509,399) 1,853,285 22,037,950

(31,857) 1,733,911 40,378,167

(73,778) (2,180,079) 120,763 -

914 1,638,184 25,665

4,856 1,120,971 -

33,818 (3,997,752) (25,539,039) (31,636,067)

117,750 (6,326,325) (32,202,013) (36,745,825)

12,867 (6,044,652) (11,459,716) (16,365,674)


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท งบกระแสเงินสดรวม เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จายคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว จายคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุนกูระยะยาว จายคืนหุนกูระยะยาว ไถถอนหุนกูระยะยาว จายคืนเงินตนของสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุนเพิ่มทุน เงินสดรับจากสวนเกินมูลคาหุน การเปลี่ยนแปลงในสัดสวนของผูถือหุนสวนนอยเนื่องจาก การเพิ่มทุนในบริษัทยอย ชําระคาหุนทุนซื้อคืน เงินรับลวงหนาคาหุน จายเงินปนผล เงินปนผลรับคืน เงินปนผลใหผูถือหุนสวนนอย เงินสดสุทธิไดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

2544

2545

2546

(31,636,067)

(36,745,825)

(16,365,674)

5,946,758 (2,539,960) (17,278,567) 1,159,186 26,890,348 (2,308,000) (31,312) 10,024,269 -

20,000 (5,446,758) 2,940,000 (1,227,002) 14,943,034 (6,357,450) (199,972) 160 -

30,000 3,943,265 (5,976,078) (7,000,000) (50,000) (138,327) 3,525 165,275

32,435 (1,080,000) 20,815,156

26,290 (70,661) (1,163,314) 12,334 (1) 3,476,660

(12,468) 25,526 (10,409,964) (1) (19,419,248)

2,955,991

(11,231,215)

4,593,245

12,352,023

15,284,025

4,068,539

(23,990)

15,729

(24,943)

15,284,025

4,068,539

8,636,841

ดอกเบี้ยจายตามการจายจริง

1,474,160

2,622,550

2,340,650

ภาษีเงินไดตามการจายจริง

5,168,030

7,364,030

7,713,810

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด - ยอดคงเหลือตนป (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นของเงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นป - ยอดคงเหลือสิ้นป

สวนที่ 2 หนา 86


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

12.1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

2544

อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratio) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา)/1 ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา)/2 ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอืน่ (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ ือหุน (%) อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย (เทา) อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถ อื หุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%) ขอมูลตอหุน/3 มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไรสุทธิตอหุน (บาท) เงินปนผลตอหุน (บาท)

สวนที่ 2 หนา 87

2545

2546

0.94 0.70 0.42 8.02 45 6.43 56 2.70 133 -32

0.63 0.39 0.76 8.60 42 7.18 50 3.22 112 -20

0.53 0.43 1.20 11.07 33 8.26 44 4.74 76 0

40.57% 24.55% 2.50% 94.81% 6.51% 11.14%

44.12% 26.93% 1.39% 101.99% 14.24% 24.78%

44.78% 31.01% 1.05% 145.49% 20.70% 33.43%

4.46% 24.12% 0.69

9.54% 28.51% 0.67

14.76% 36.38% 0.71

1.77 13.85 0.26 30.49%

1.46 12.21 0.39 39.80%

1.10 21.55 0.91 64.96%

14.79 1.39 0.40

17.46 3.89 1.55

20.32 6.32 4.10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

2544

อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สินรวม (%) รายไดจากการขายหรือบริการ (%) คาใชจายดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

92.00% 133.85% 60.15% 76.78% -41.64%

2545 11.05% 3.21% 35.58% 45.55% 196.79%

2546 -0.90% -12.72% 11.51% -10.74% 62.10%

/1

อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา = (รายไดจากการคาบริการและใหเชาอุปกรณ+รายไดจากการขาย) / ลูกหนี้การคากอนหักหนี้สงสัยจะสูญ (เฉลี่ย) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ = (ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ+ตนทุนขาย-ผลประโยชนตอบแทนรายป) / เจาหนี้การคา(เฉลี่ย) /3 มูลคาหุนสามัญของบริษัทที่ตราไวไดเปลี่ยนจากเดิมหุนละ 10 บาท เปน 1 บาท เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ทําใหทุนที่ออกจําหนายแลว เปลี่ยนจาก 293.5 ลานหุน เปน 2,935 ลานหุน /2

หมายเหตุ 1. อัตรากําไรอืน่ = รายไดทไี่ มใชรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขาย/รายไดรวม 2. การจายชําระหนี้ = เงินจายคืนเงินกูย ืมระยะสัน้ , เงินกูระยะยาว, หุนกูระยะยาว, เงินตนจากสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว และดอกเบี้ยจายจากการดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 88


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12.2 คําอธิบายการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.2.1

การวิเคราะหผลการดําเนินงาน

ภาพรวม ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีจํานวนผูใชบริการในระบบรวมทั้งสิ้นประมาณ 13,239,200 ราย เพิ่มขึ้น สุทธิจากป 2545 จํานวน 2,576,700 ราย หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 24.2 และเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงเมื่อเทียบปกอน ที่ เพิ่มขึ้น ถึงรอยละ 104.9 จากป 2544 ทั้งนี้เนื่องจาก ในป 2545 มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมหลาย ประการ เชน ตลาดผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่มีการขยายตัวอยางมาก อันเปนผลจากการมีผูประกอบการรายใหม การลดลงของราคาคาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ การปลดล็อค IMEI (International Mobile Equipment Identity) และ ความนิยมในการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา ( Prepaid ) ที่มีความสะดวกในการหาซื้อ จากจํานวนผูใชบริการในระบบทั้งหมดแบงเปนผูใชบริการระบบดิจิตอล GSM 2,115,400 ราย (GSM Advance และ GSM1800) และระบบ 1-2-Call! 11,123,800 ราย สวนแบงทางการตลาด ในป 2546 อยูในระดับรอยละ 60 ลดลงเล็กนอยจากปกอน ที่อยูในระดับรอยละ 61 อันเปนผลจากภาวะการแขงขันที่รุนแรงขึ้นของผูประกอบการในตลาด ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ใน ป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีกําไรสุทธิเปนจํานวนเงิน 18,529 ลานบาท เพิ่มขึ้นอยางมากจากปกอน ที่มี กําไรสุทธิ 11,430 ลานบาท อันเปนผลมาจาก รายไดรวมของบริษัทเพิ่มขึ้น คาใชจายในการขายและการบริหารลดลง และการใชประโยชนทางภาษีจากผลขาดทุนสะสมยกมาของบริษัทยอย รายไดรวม รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ และรายไดจากการขายเปนรายไดหลักของบริษัทและบริษัทยอย ซึ่งแหลงของรายไดดังกลาวมาจากธุรกิจ 3 ประเภท คือ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท และธุรกิจศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท ตาราง: รายไดแยกตามประเภทธุรกิจ

ป 2544 ลานบาท รอยละ รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณ โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว ขอมูลผานสายโทรศัพท ศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท รวม รายไดจากการขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว ขอมูลผานสายโทรศัพท รวม ยอดรวม

ป 2545 ลานบาท รอยละ

ป 2546 ลานบาท รอยละ

40,884 539 318 41,741

69.1 0.9 0.5 70.5

60,471 72 378 5 60,926

75.4 0.0 0.5 0.0 75.9

73,337 392 21 73,750

82.0 0.4 0.0 82.4

17,359 70 20 17,449 59,190

29.3 0.2 0.0 29.5 100.0

19,309 7 9 19,325 80,251

24.1 0.0 0.0 24.1 100.0

15,735 7 15,742 89,492

17.6 0.00 17.6 100.0

สวนที่ 2 หนา 89


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนรายไดหลักของรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ ซึ่ง ในป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ 73,337 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 60,471 ลานบาทในป 2545 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 21.3 เปนผลจากตลาดผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยเฉพาะในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นถึงอัตรารอย ละ 47.9 เนื่องจากการขยายฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่กวางขึ้น และปริมาณการใชบริการที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะผูใชบริการในระบบ 1-2-Call! อันเปนผลจากการที่บริษัทมีกิจกรรมสรางความสัมพันธระหวางลูกคาและ บริษัท ที่ไดทําอยางตอเนื่องตลอดทั้งป 2546 และความสําเร็จจากรายการสงเสริมการขาย Freedom Free Style ที่ เปนการเสนอทางเลือก และอัตราคาบริการที่สอดคลองกับพฤติกรรมการใชของผูใชบริการมากขึ้น ตาราง: แสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และรายไดเฉลี่ยสุทธิตอ เดือนของผูใชบริการ 1 ราย จํานวนผูใชบริการที่เพิ่มขึ้นสุทธิ (ราย) NMT 900

จํานวนผูใชบริการสะสม (ราย)

รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ (บาท / เดือน)

GSM GSM GSM GSM GSM GSM 1-2-Call! NMT 900 1-2-Call! NMT 900 1-2-Call! Advance 1800 Advance 1800 Advance 1800

ป 2544 (200,800) 1,102,500 1,934,000 174,200 264,800 2,259,700 2,288,500 390,300

984

1,295

380

1,035

ป 2545 (261,400) (26,000) 5,847,700 (101,100)

707

1,170

335

1,043

-

1,187

341

1,102

ป 2546

(3,400) (317,900) 2,987,600 (89,600)

3,400 2,233,700 8,136,200 289,200 -

1,915,800 11,123,800 199,600

จากตารางจะเห็นไดวา ตลาดของผูใชบริการมีการเจริญเติบโตมาตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่งในป 2545 จํานวน ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจาก 5,203,300 ราย ณ สิ้นป 2544 เปน 10,662,500 ราย ณ สิ้นป 2545 อันเปน ผลจากที่ไดกลาวขางตน และ ณ สิ้นป 2546 มีจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ 13,239,200 ราย แมวาผูใชบริการ ในระบบ GSM advance และระบบ GSM 1800 มีจํานวนลดลงในป 2546 แตเปนผลที่เกิดจากความนิยมของ ผูใชบริการเปลี่ยนแปลงไป จากผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายรายเดือนไดหันมานิยมใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบจายคาบริการลวงหนาเพิ่มมากขึ้น นอกเหนือจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนผูใชบริการ และ Churn ที่ลดลงแลว ในดานของรายไดเฉลี่ยสุทธิตอ เดือนของผูใชบริการ 1 ราย (Average Revenue Per User: ARPU) ของผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ GSM Advance, 1-2-Call! และ GSM 1800 ณ สิ้นป 2546 อยูที่ระดับ 1,187 บาท 341 บาท และ 1,102 บาทตามลําดับ เพิ่มขึ้นจากปกอน อันเปนผลจากรายการสงเสริมการขายที่เสนอทางเลือกและอัตราคาบริการที่สอดคลองกับพฤติกรรม การใชของผูใชบริการมากขึ้น - รายไดจากการขาย รายไดจากการขาย โดยสวนใหญเกิดจากการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ และสําหรับป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ลดลงจาก 19,309 ลานบาทในป 2545 เปน 15,735 ลาน บาท เนื่องจากปริมาณการขาย และราคาขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ตอหนวยลดลง แตเนื่องดวยในป 2545 ตลาด โทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ทําใหปริมาณการขายเพิ่มขึ้น แมวาจะไดรับผลกระทบจากราคา ขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ลดลง ทําใหรายไดจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นจาก 17,359 ลานบาทในป 2544 ในอัตรารอยละ 11.2

สวนที่ 2 หนา 90


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตนทุนรวม ตนทุนรวม ของบริษัทและบริษัทยอย ประกอบดวย ตนทุนคาบริการและการใหเชาอุปกรณ ผลประโยชนตอบ แทนรายปและภาษีสรรพสามิต และตนทุนขาย ซึ่งในป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีตนทุนรวม 49,419 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 44,841 ลานบาทในป 2545 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 10.2 และหากเปรียบเทียบกับ ป 2544 เพิ่มขึ้น 14,244 ลานบาทจากตนทุนรวม 35,175 ลานบาท - ตนทุนคาบริการและการใหเชาอุปกรณ ผลจากการลงทุนในอุปกรณภายใตสัญญาสัมปทาน และอุปกรณสําหรับบริการเสริมอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับ กับการเติบโตของจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช และบริการเสริมตาง ๆ ที่ หลากหลายเหมาะสมกับไลฟสไตลของผูใชบริการแตละราย ทําให บริษัทและบริษัทยอย มีคาใชจา ยตัดจายในอุปกรณ ภายใตสัญญาสัมปทาน และคาบํารุงรักษาอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุหลักทําใหตนทุน คาบริการและการใหเชาอุปกรณเพิ่มขึ้น โดยตนทุนดังกลาวของป 2546 มีจํานวนเงิน 19,352 ลานบาท ป 2545 มี จํานวนเงิน 14,511 ลานบาท และป 2544 มีจํานวนเงิน 11,253 ลานบาท การเพิ่มขึ้นของตนทุนคาบริการและการใหเชาอุปกรณ ในป 2546 เมื่อเปรียบกับป 2545 เพิ่มขึ้นในอัตรารอย ละ 33.4 มีสาเหตุหลักมาจาก 1. คาใชจายตัดจายของอุปกรณภายใตสัญญาสัมปทานเพิ่มขึ้น 3,519 ลานบาท เนื่องจากสาเหตุขางตน และในป 2546 บริษัทไดเปลี่ยนแปลงระยะเวลาในการตัดจําหนายอุปกรณคอมพิวเตอร IN (Intelligence Network) จากเดิมระยะเวลา 5 ป เปน 3 ป ตามประมาณการอายุการใชงานที่คาดไว 2. คาบํารุงรักษาอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น 829 ลานบาท เนื่องจากอุปกรณเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น และในป 2546 บริษัทและบริษัทยอยยังไดตัดจําหนายอุปกรณและอะไหลเพื่อ การซอมแซมจํานวน 545 ลานบาท อันเกิดจากการลาสมัยของเทคโนโลยี - ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต ในชวงตนป 2546 กระทรวงการคลังไดออกพระราชกําหนด เรื่องพิกัดภาษีสรรพสามิต โดยมีผลบังคับใชใน ธุรกิจโทรคมนาคมในอัตรารอยละ 10 ของรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยหักจากผลประโยชนตอบแทน รายปที่จายใหกับ ทศท และ กสท ซึ่ง ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต รวมกันแลวยังคงเปนจํานวน ผลประโยชนตอบแทนรายปที่บริษัทและบริษัทยอย เคยจายใหกับ ทศท และ กสท กอนที่จะมีการประกาศดังกลาว จากการเพิ่มขึ้นของรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง ทําใหผลประโยชนตอบแทนรายป และภาษีสรรพสามิตเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกัน โดยคาใชจายดังกลาวสําหรับป 2546 มีจํานวนเงิน 17,726 ลานบาท ป 2545 มีจํานวนเงิน 15,255 ลานบาท และป 2544 มีจํานวนเงิน 10,383 ลานบาท กําไรขั้นตนจากรายไดคาบริการและใหเชาอุปกรณ สําหรับป 2546 ป 2545 และป 2544 เปนในอัตรารอยละ 49.7 และ 51.1 และ 48.2 ตามลําดับ อันเปนผลจากที่ไดกลาวขางตน - ตนทุนขาย ตนทุนขายโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ เปนตนทุนหลักของตนทุนขาย ซึ่งในป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีตนทุนขาย 12,341 ลานบาท ลดลงจาก 15,075 ลานบาทในป 2545 และลดลงจาก 13,539 ลานบาทในป 2544 สาเหตุหลักมาจาก ปริมาณการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ลดลง อัตรากําไรขั้นตนจากการขายเทากับรอยละ 21.6 ใน ป 2546 รอยละ 22.0 ในป 2545 และรอยละ 22.4 ในป 2544 ซึ่งลดลงเล็กนอยในแตละป

สวนที่ 2 หนา 91


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- คาใชจายในการขายและบริหาร บริษัทและบริษัทยอย มีคาใชจายในการขายและบริหาร เพิ่มขึ้นจาก 9,483 ลานบาทในป 2544 เปน 13,802 บาทในป 2545 และลดลงเปน 12,320 ลานบาทในป 2546 โดยเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 45.5 ในป 2545 และลดลงใน อัตรารอยละ 10.7 ในป 2546 ซึ่งการลดลงในป 2546 เมื่อเทียบกับ ป 2545 มีสาเหตุหลักมาจาก 1. คาใชจายทางการตลาดลดลง 335 ลานบาท เนื่องจากในปกอน บริษัทมีกิจกรรมทางการตลาดในการ สนับสนุนกลุมลูกคาที่ใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ อนาลอก NMT มาใชในระบบดิจิตอล GSM Advance 2. หนี้สูญที่ลดลง 1,980 ลานบาทจากปกอน เนื่องจากความสามารถในการบริหารหนี้และการจัดเก็บเงินมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 3. ขาดทุนจากการตัดจําหนายอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่จํานวน 598 ลานบาท เกิดจากบริษัทยอย ตัดจําหนายคาใชจายในการจัดเตรียมสถานีฐาน และ คาใชจายในการติดตั้งอุปกรณที่ไดบันทึกไวเปน สินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน เปนคาใชจายในป 2546 อันเปนผลจากการจัดการอุปกรณเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด 4. ในระหวางป 2546 บริษัทยอยไดตัดจําหนายอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่จํานวน 294 ลานบาท อันเกิดจากความลาสมัยในเทคโนโลยี - ดอกเบี้ยจาย ในป 2545 บริษัทและบริษัทยอย ไดจัดหาแหลงเงินทุนเพื่อใชสําหรับการขยายเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัทและบริษัทยอย โดยการออกหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น ทําใหดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้นจาก 1,573 ลานบาท ในป 2544 มาเปน 3,069 ลานบาทในป 2545 หากเมื่อเทียบกับ ป 2546 บริษัทและบริษัทยอยมีดอกเบี้ยจายลดลงเปน 2,579 ลานบาท อันเกิดจากการชําระคืนหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวตามกําหนด - ภาษีเงินได ภาษีเงินไดเพิ่มขึ้นจาก 6,238 ลานบาทในป 2544 มาเปน 7,816 ลานบาทในป 2545 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอย ละ 25.3 เนื่องจากในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีกําไรกอนภาษีเงินไดของบริษัทและบริษัทยอย เพิ่มขึ้นอยางมาก จากผลที่ไดกลาวขางตน ถึงแมวา บริษัทจะไดประโยชนทางภาษีจากการขายเงินลงทุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด ใหกับบุคคลภายนอก ซึ่งเกิดผลขาดทุนทางภาษี ทําใหภาษีเงินได ลดลง 434 ลานบาทก็ตาม ภาษีเงินได ป 2546 เมื่อเปรียบเทียบกับ ป 2545 ลดลง 7,529 ลานบาท ทั้งที่กําไรกอนภาษีเงินไดของบริษัทและ บริษัทยอยจะเพิ่มขึ้นก็ตาม มีสาเหตุหลักมาจาก 1. ในป 2546 บริษัทยอยเริ่มมีกําไรสุทธิกอนภาษีเงินได จึงไดใชประโยชนทางภาษีจากขาดทุนสะสมยกมา ครบในปนี้ 2. ในระหวางป 2546 มีผลจากการปรับปรุงลดภาษีเงินไดของบริษัทในปกอน 251 ลานบาท อันเกิดจากการ เปลี่ยนวิธีการคํานวณคาใชจายทางภาษีในสวนของสวนแบงผลประโยชนที่เกิดจากยอดขายบัตรเติมเงิน ระบบ 1-2-Call! ที่เดิมคิดจากปริมาณการใช (จํานวนนาทีที่ใช) เปลี่ยนเปนคิดจากปริมาณการขาย (มูลคา ของบัตรเติมเงินที่ขายได) ตามคําวินิจฉัยของกรมสรรพากร ซึ่งมีผลทําใหคาใชจายทางภาษีเพิ่มขึ้น

สวนที่ 2 หนา 92


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กําไรสุทธิ บริษัทและบริษัทยอย มีกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 3,851 ลานบาทในป 2544 มาเปน 11,430 ลานบาท ในป 2545 และเปน 18,529 ลานบาท ในป 2546 ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 196.8 ในป 2545 เนื่องจากในป 2544 บริษัทและ บริษัทยอย มีการตั้งคาเผื่อผลขาดทุนจากการดอยคาตนทุนอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ อนาลอก NMT และตนทุนอุปกรณเครือขายโทรศัพทติดตามตัว เปนจํานวน เงิน 4,265 ลานบาท และเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 62.1 ในป 2546 ซึ่งเปนผลจากที่ไดกลาวขางตน

12.2.2 วิเคราะหฐานะทางการเงิน (1) การวิเคราะหสินทรัพย บริษัทและบริษัทยอยมีสินทรัพยรวม ณ สิ้นป 2546 จํานวน 124,949 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจากปกอน โดยประกอบดวยสินทรัพยหมุนเวียน คิดเปนรอยละ 14.3 และสินทรัพยไมหมุนเวียนคิดเปนรอยละ 85.7 โดยมี รายละเอียดของสินทรัพยหมุนเวียนและไมหมุนเวียนที่สําคัญดังนี้ - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดอยูในระดับ 8,637 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากปกอน 4,568 ลานบาท ซึ่งมาจากกระแสเงินสดระหวางป แต ณ สิ้นป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีเงินสดและ รายการเทียบเทาเงินสด 4,069 ลานบาทลดลง จาก 15,284 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 เนื่องจากในป 2545 บริษัทและ บริษัทยอย มีการลงทุนขยายอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง มากกวากระแสเงินสดที่ไดจากการ ดําเนินงานและจากกิจกรรมจัดหาเงิน - ลูกหนี้การคาสุทธิ บริษัทและบริษัทยอย มีลูกหนี้การคาสุทธิ ณ สิ้นป 2546 เทากับ 5,459 ลานบาท ลดลงจาก 7,239 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 หรือลดลงในอัตรารอยละ 24.6 ทั้งนี้แมวา บริษัทและบริษัทยอยจะมีรายไดรวมเพิ่มขึ้นก็ตาม เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของสัดสวนจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา และการพิจารณาเงื่อนไขการ ระงับใหบริการชั่วคราว ใหมีความสอดคลองกับพฤติกรรมของผูใชบริการ ที่ไดปฏิบัติตอเนื่องมาตั้งแตป 2545 สําหรับ อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคามีแนวโนมเร็วขึ้น จาก 8.02 เทาในป 2544 เปน 8.60 เทาในป 2545 และเปน 11.07 เทาในปนี้ แสดงถึงความสามารถในการจัดเก็บเงินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตาราง: แสดงลูกหนี้การคาของบริษัทและบริษัทยอย แยกตามอายุหนี้ที่คา งชําระ

ไมเกิน 3 เดือน เกินกวา 3 เดือนแตไมเกิน 6 เดือน เกินกวา 6 เดือนแตไมเกิน 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน รวมลูกหนี้การคา คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคาสุทธิ

31 ธันวาคม 2544 (ลานบาท) 7,762 746 260 304 9,072 (1,398) 7,674

สวนที่ 2 หนา 93

31 ธันวาคม 2545 (ลานบาท) 7,774 815 898 94 9,581 (2,342) 7,239

31 ธันวาคม 2546 (ลานบาท) 6,292 197 70 34 6,593 (1,134) 5,459


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

จากตาราง จะเห็นไดวาเปนผลจากการที่บริษัทและบริษัทยอย มีนโยบายในการจัดเก็บเงินที่เขมงวด และใช โปรแกรม Fraud Management มาระงับการใหบริการลูกคาที่มียอดการใชบริการผิดปกติ และมีการกําหนดมูลหนี้ สูงสุดของลูกคาแตละกลุมตามยอดการใชบริการและประวัติการชําระเงิน ตั้งแตป 2545 ทําให คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญลดลงจากปกอน เนื่องดวยในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยไดมีการคืนเงินประกันใหกับผูใชบริการ จึงทําใหจากเดิมการตั้งคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกคาที่คางชําระเกินกวา 3 เดือน ที่พิจารณาจากสถานะของลูกคาและเงินประกัน มาเปน พิจารณาเพียงสถานะของลูกคา สงผลใหคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญของป 2545 สูงกวา ป 2544 - สินคาคงเหลือสุทธิ ณ สิ้นป 2546 อัตราสวนหมุนเวียนของสินคาคงเหลืออยูที่ระดับ 8.26 เทา เร็วขึ้นจากปกอนที่อยูที่ระดับ 7.18 เทา อันเปนผลจากการบริหารสินคาคงเหลืออยางมีประสิทธิภาพ เปนผลใหสินคาคงเหลือสุทธิลดลงจาก 2,238 ลาน บาท ในป 2544 มาเปน 1,961 ลานบาทในป 2545 และมาอยูที่ระดับ 1,027 ลานบาท ณ สิ้นปนี้ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ณ สินป 2546 เทากับ 1,810 ลานบาท ลดลงจากป 2545 ที่อยูในระดับ 2,754 ลาน บาท โดยสาเหตุหลักจากการลดลง เนื่องจาก รายการภาษีมูลคาเพิ่มรอรับคืนสุทธิ ลดลงจากปกอน เปนจํานวน 1,047 ลานบาท - ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ บริษัทและบริษัทยอย มี ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ เพิ่มขึ้นจาก 6,233 ลานบาท ในป 2544 มาเปน 9,748 ลานบาทในป 2545 และ 12,120 ลานบาท ในป 2546 ทั้งนี้เปนผลจากการลงทุนในอุปกรณที่เกี่ยวของกับการใหบริการ เสริมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง บริษัทและบริษัทยอยมีนโยบายในการสอบทานมูลคาสินทรัพยเปนประจําทุกป และทบทวนการดอยคาเพื่อ พิจารณาผลตอรายการขาดทุนจากการดอยคา ทั้งนี้เพื่อที่จะใหงบการเงินสะทอนถึงคุณภาพของสินทรัพยใหใกลเคียง กับมูลคาที่จะไดรับประโยชนคืนกลับมาจากสินทรัพยนั้น - สินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานสุทธิ ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนประเภทหลักของรายการสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน ซึ่ง ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานสุทธิลดลงเล็กนอย จาก 79,795 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 เปน 78,549 ลานบาท เนื่องจากในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยไดเพิ่มการลงทุนในอุปกรณเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ ดิจิตอล GSM ทั้งในเขตกรุงเทพและตางจังหวัด เพื่อรองรับการเติบโตอยางมากของจํานวน ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งมากกวาการลงทุนในป 2546 รวมทั้ง ในป 2546 บริษัทไดตัดจําหนายอุปกรณ เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่จํานวน 892 ลานบาท (ดูคําอธิบายในคาใชจายในการขายและบริหาร)

สวนที่ 2 หนา 94


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(2) การวิเคราะหหนี้สิน ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอยมีหนี้สินรวมเปนจํานวน 65,323 ลานบาท ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับ ณ สิ้นป 2545 และ 2544 ที่มีจํานวน 74,844 ลานบาทและ 72,517 ลานบาทตามลําดับ ซึ่งหนี้สินรวมจะประกอบดวย หนี้สินหมุนเวียนคิดเปนรอยละ 26.9 และหนี้สินไมหมุนเวียน คิดเปนรอยละ 25.4 ของสินทรัพยรวม โดยมีรายละเอียด หนี้สินหมุนเวียนและหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้ - เจาหนี้การคา เจาหนี้การคา ลดลงจาก 10,701 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 เปน 7,649 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 และ 5,714 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 โดยอัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ เร็วขึ้น จาก ณ สิ้นป 2544 ที่อยูในระดับ 2.70 เทา มาเปน 3.22 เทา ณ สิ้นป 2545 และ 4.74 เทา ณ สิ้นป 2546 โดยมีสาเหตุสําคัญจากการที่บริษัทจายเงินลวงหนาบางสวน ใหแกผูจัดจําหนาย เพื่อรับสวนลดจากการชําระดังกลาว และในป 2545 บริษัทและบริษัทยอยมีการลงทุนในเครือขาย อุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่ และสั่งซื้อสินคาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับกับตลาดที่มีการ ขยายตัว จึงทําใหเจาหนี้การคา ณ สิ้นปนี้ ลดลงเมื่อเทียบกับปกอน - คาสิทธิสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิตคางจาย คาสิทธิสัญญาสัมปทาน เปนคาธรรมเนียมในการไดรับสิทธิรายปในสัญญาสัมปทานระบบดิจิตอล GSM 1800 ของบริษัทยอย ซึ่ง ณ สิ้นป 2546 มีคาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจาย และดอกเบี้ยคางจาย แกบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)(“TAC”) เปนจํานวนเงิน 4,373 ลานบาท ซึ่งตั้งแตปกอน บริษัทไมไดชําระคาสิทธิสัญญา สัมปทานคางจาย และอยูในระหวางการเจรจาเพื่อขอลดคาสิทธิสัญญาสัมปทาน และดอกเบี้ยคางจาย และในป 2546 TAC ไดยื่นคํารองตออนุญาโตตุลาการเพื่อเรียกรองใหบริษัทยอยชําระหนี้ โดยทั้งนี้บริษัทยอย ไดยื่นอุทธรณตอ อนุญาโตตุลาการ และกระบวนการดังกลาวยังไมสิ้นสุด คาสิทธิสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิตคางจาย ลดลงจาก 7,006 ลานบาท ในป 2545 เปน 6,810 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 เนื่องจาก ในตนป 2546 กระทรวงการคลังไดประกาศใชภาษี สรรพสามิตสําหรับธุรกิจโทรคมนาคม ซึ่งระยะเวลาในการชําระภาษีสรรพสามิต จะชําระภายใน 15 วันในเดือนถัดไป หลังจากไดรับชําระคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จึงทําใหมูลคาคางจายลดลงจากปกอน - หุนกูและเงินกูยืม หุนกูและเงินกูยืม ประกอบดวย หุนกูระยะยาว เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาว และหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน โดยบริษัทและบริษัทยอย มีหุนกูและเงินกูยืม รวมทั้งสิ้น ณ สิ้นป 2544 จํานวน 46,641 ลานบาท และเพิ่มขึ้นเปน 51,764 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 แตลดลงเปนจํานวน 42,645 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 โดยในระหวางป 2546 บริษัทและบริษัทยอย ไดจายคืนหุนกูระยะยาว จํานวน 7,000 ลานบาท ตามกําหนด ระยะเวลา และไถถอนหุนกู จํานวน 50 ลานบาทกอนครบกําหนด รวมทั้งสิ้น 7,050 ลานบาท และสวนของเงินกูยืม บริษัทยอยไดกูยืมเงินระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จํานวน 30 ลานบาท และบริษัทยอยอีกแหงหนึ่ง ไดมีการ เปลี่ยนแปลงแกไขในสัญญากูยืมรวม โดยเปลี่ยนสกุลเงินที่กู ลดอัตราดอกเบี้ย และเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของการกูยืม เงิน และจายคืนตามกําหนดระยะเวลา โดยไดชําระเงินกูยืมระยะยาว จํานวน 5,896 ลานบาท และรับเงินกูยืมระยะยาว จํานวน 3,943 ลานบาท ทําใหเงินกูยืมระยะยาวของบริษัทยอยสุทธิลดลง 1,953 ลานบาท และบริษัทไดชําระคืนเงิน กูยืมระยะยาว จํานวน 80 ลานบาทตามกําหนดเวลา ในสวนของหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ในระหวางป บริษัท ไดจายคืนเงินตนของสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว จํานวน 138 ลานบาท และทําสัญญาเชาทางการเงินเพิ่ม จํานวน 13 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 95


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอย ไดบันทึกเงินกูยืมระยะสั้น จํานวน 60 ลานบาท หุนกูและเงินกูยืมระยะ ยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป จํานวน 12,079 ลานบาท และหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวสุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป จํานวน 30,506 ลานบาท บริษัทตองปฏิบัติตามขอกําหนดวาดวยสิทธิและหนาที่ของผูออกหุนกูและผูถือหุนกู และเงื่อนไขของสัญญา เงินกู รวมทั้งการดํารงอัตราสวนทางการเงินตามที่กําหนดไวในเอกสารดังกลาว ซึ่งมีสาระสําคัญของอัตราสวนทาง การเงินดังนี้ 1. อัตราสวน หนี้สินตอสวนของผูถือหุน ไมเกินกวา 2 ตอ 1 2. อัตราสวนการจายเงินปนผลไมเกินรอยละ 70 (บริษัทไดรับอนุมัติจากผูถือหุนกูใหสามารถจายเงิน ปนผลแกผูถือหุนของบริษัทไดเกินกวารอยละ 40 แตไมเกินกวารอยละ 70 โดยมีเงื่อนไขสําหรับการ จายเงินปนผลในอัตราที่เกินกวารอยละ 40) - หนี้สินหมุนเวียนอื่น บริษัทและบริษัทยอย มีหนี้สินหมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้นจาก 6,124 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 เปน 7,969 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 และเปน 9,512 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 ซึ่งรายการสวนใหญจะประกอบดวย รายไดรบั ลวงหนาจากการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายคาบริการลวงหนา จํานวน 4,020 ลานบาท และภาษีเงินไดคางจาย 3,439 ลาน บาท (3) การวิเคราะหสวนของผูถือหุน ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอย มีสวนของผูถือหุนทั้งสิ้น 59,626 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 51,241 ลานบาท ณ สิ้นป 2545 และ 41,021 ลานบาท ณ สิ้นป 2544 โดยบริษัทมีทุนที่ชําระแลว จํานวน 2,939 ลานบาท และสวนเกิน มูลคาหุนจํานวน 20,169 ลานบาท โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากปกอน อันเกิดจากบริษัทไดออกหุนเพิ่มเติมเพื่อรองรับการใช สิทธิจากใบสําคัญแสดงสิทธิเปนจํานวนเงินรวม 169 ลานบาท โดยเปนจํานวนหุนที่ออกแลวทั้งสิ้น 3.5 ลานหุน และมีเงิน รับลวงหนาชําระคาหุนจํานวน 0.5 ลานหุนเปนเงิน 26 ลานบาท กําไรสะสมเพิ่มขึ้นเปน 36,220 ลานบาท เปนผลจาก กําไรสุทธิในป 2546 จํานวน 18,529 ลานบาท และบริษัทไดจายเงินปนผลรวมทั้งสิ้น 10,410 ลานบาท โดยเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2546 จาย 4,541 ลานบาท ในอัตราหุนละ 1.55 บาท และเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2546 จาย 5,869 ลานบาท ใน อัตราหุนละ 2 บาทใหแกผูถือหุน นอกจากนี้ บริษัทไดซื้อหุนคืนเพิ่มเติมในระหวางป จํานวน 0.38 ลานหุน ในราคาถัว เฉลี่ย 33.08 บาทตอหุน ทําใหมีจํานวนหุนสามัญซื้อคืนทั้งสิ้น 2.54 ลานหุน ในราคาถัวเฉลี่ยสะสม 32.73 บาทตอหุน บริษัทไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (Credit Rating) จากสถาบันตางๆ ณ สิ้นป 2546 บริษัทไดรับการ จัดอันดับความนาเชื่อถือ ดังนี้ 1. ระดับ BBB สําหรับ Foreign และ Local Currency จากการจัดอันดับของ Standard & Poor’s Rating Services 2. ระดับ AA สําหรับ บริษัท และ ตราสารหนี้หุนกูของบริษัท จากการจัดอันดับของ บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด (4) การวิเคราะหโครงสรางเงินทุน บริษัทและบริษัทยอย มีอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุนที่ดีขึ้น จากอยูที่ระดับ 1.77 เทา ณ สิ้นป 2544 เปน 1.46 เทา ณ สิ้นป 2545 และเปน 1.10 เทา ณ สิ้นป 2546 ซึ่งการลดลงของอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของ ผูถือหุน มาจากการลดลงของหนี้สินรวม อันเปนผลจากการชําระคืนหุนกูและเงินกูยืมตามกําหนดระยะเวลา ดังที่ได กลาวขางตน ประกอบกับผล การดําเนินงานในป 2546 ที่มีผลกําไรสุทธิ 18,529 ลานบาท ซึ่งมีผลทําใหสวนของผูถือ หุนเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม บริษัทและบริษัทยอย มีนโยบายในการรักษาระดับอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน ใหอยูไมเกิน 2 ตอ 1 สวนที่ 2 หนา 96


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(5) การวิเคราะหสภาพคลอง ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอยมีกระแสเงินสดรับสุทธิจากการดําเนินงาน 40,378 ลานบาท เปนการ เพิ่มขึ้นอยางมากเมื่อเทียบกับป 2545 เพราะรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในปนี้ไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในขณะที่กระแสเงินสดจายจากกิจกรรมลงทุนลดลงจาก 36,746 ลานบาทในป 2545 เปน 16,366 ลานบาทในป 2546 เนื่องจากในปกอน บริษัทและบริษัทยอยไดมีการลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่อยางมากเพื่อรองรับการ เติบโตของฐานลูกคาผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และกระแสเงินสดจายจากกิจกรรมจัดหาเงิน 19,419 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน เนื่องจากจายเงินปนผลใหกับผูถือหุนและชําระคืนหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวจากที่ไดกลาวขางตน ทําให ณ สิ้นป 2546 บริษัทและบริษัทยอยมีเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น 4,593 ลานบาท ซึ่งเปนผลจากการลงทุนในปนี้ลดลง อยางมีสาระสําคัญ อัตราสวนสภาพคลองลดลง จากระดับ 0.94 เทา ณ สิ้นป 2544 เปน 0.63 เทา ณ สิ้นป 2545 และเปน 0.53 เทา ณ สิ้นป 2546 แตในขณะที่อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากระดับ 0.42 เทา ณ สิ้นป 2544 เปน 0.76 เทา ณ สิ้นป 2545 และเปน 1.20 เทา ณ สิ้นป 2546 ทั้งนี้บริษัทและบริษัทยอยมีระยะเวลาในการ จัดเก็บหนี้เฉลี่ยดีขึ้นจาก 42 วันในป 2545 เปน 33 วัน และระยะเวลาในการขายเฉลี่ยดีขึ้น จาก 50 วันในป 2545 มา เปน 44 วัน ขณะที่ระยะเวลาในการชําระหนี้เฉลี่ยจาก 112 วันในป 2545 มาเปน 76 วัน และ Cash Cycle ที่มีแนวโนม ดีขึ้น จากที่อยูในระดับ –32 วัน และ –20 วัน ในป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ มาเปน 0 วันในปนี้ ซึ่งเปนผลจากที่ กลาวขางตน ซึ่งบริษัทมีนโยบายในการบริหาร Cash Cycle ใหอยูในระดับไมสูงไปกวาในป 2546 โดยสรุปแลว บริษัท และบริษัทยอยมีสภาพคลองเพียงพอตอการดําเนินงาน จากการประมาณการของบริษัท บริษัทจะใชแหลงเงินทุนจาก การดําเนินงานของบริษัท มารองรับรายการหุนกูและเงินกูยืมที่ครบกําหนดชําระในป 2547 และป 2548 และเปนผล จากการลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่บริษัทไดลงทุนมาอยางตอเนื่องในปกอนๆ และมีพื้นที่ครอบคลุม ทั่วประเทศ โดยจากการประมาณการของบริษัทและบริษัทยอย มีแนวโนมในการลงทุนนอยลง อีกทั้งรายไดจากการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งเปนรายไดหลักของบริษัท ไดขยายเติบโตมาตลอด อันเนื่องจากฐานของผูใชบริการที่ กวางขึ้น (6) การวิเคราะหความสามารถในการชําระหนี้ ในดานความสามารถในการชําระดอกเบี้ย นั้น ณ สิ้นป 2544 บริษัทและบริษัทยอยมีอัตราสวนความสามารถ ในการชําระดอกเบี้ยดีขึ้นจากอยูที่ระดับ 13.85 เทา ณ สิ้นป 2545 อยูที่ระดับ 12.21 เทา และมาอยูที่ระดับ 21.55 เทา ณ สิ้นป 2546 ทั้งนี้เนื่องจาก ในป 2546 บริษัทไดชําระหนี้สุทธิลดลง โดยใชกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 97


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 98


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

และดวยความระมัดระวังในฐานะ

ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

นายสมประสงค บุญยะชัย ชื่อ

ประธานกรรมการบริหาร ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 1

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

และดวยความระมัดระวังในฐานะ

ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ ชื่อ

กรรมการบริหาร ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 2

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

และดวยความระมัดระวังในฐานะ

ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

กรรมการบริหาร

ชื่อ

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 3

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

และดวยความระมัดระวังในฐานะ

ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

กรรมการบริหาร

ชื่อ

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 4

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

และดวยความระมัดระวังในฐานะ

ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ Mr. Chow, Wing Keung Lucas

ชื่อ

Executive Director

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 5

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

และดวยความระมัดระวังในฐานะ

ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี ชื่อ

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 6

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ประธานกรรมการ ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 7

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

ตําแหนง

นายบุญคลี ปลั่งศิริ

กรรมการ

ชื่อ

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 8

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

ตําแหนง

Mr. Lum Hon Fye

Director

ชื่อ

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 9

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

ตําแหนง

นางทัศนีย มโนรถ

กรรมการ

ชื่อ

ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 10

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

นายศุภเดช พูนพิพัฒน ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ประธานกรรมการตรวจสอบ ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 11

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

นายอรุณ เชิดบุญชาติ ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

กรรมการตรวจสอบ ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 12

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไม มีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของ ขอมูลไว ชื่อ

นายบุญชู ดิเรกสถาพร ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

กรรมการตรวจสอบ ตําแหนง

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 13

ลายมือชื่อ


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร อายุ ชื่อ - สกุล

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

การถือหุน ทางครอบครัว (%) * ไมมี

ประวัติการทําผิด คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ระหวางผูบริหาร ไมมี ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟา Iowa State University, USA. วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุนที่ 33)

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

62 ประธานกรรมการ

นายบุญคลี ปลั่งศิริ

52 กรรมการและประธานกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท Computer Engineering, University of Illinois (Urbama Champaign), USA.

นายสมประสงค บุญยะชัย

48 กรรมการและ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย

ไมมี

ไมมี

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 1

ประสบการณทํางาน 2543-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน 2542-2545 2536-2541 2535-2536 2531-2535 2544-ปจจุบัน 2544-2545 2540-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย ประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น ที่ปรึกษาองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ผูอํานวยการองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ บมจ. ไอทีวี ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และบมจ. ชินแซทเทลไลท กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น 2540-2543 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และบมจ. ชินแซทเทลไลท 2538-2539 รองประธานกรรมการบริหารดานปฏิบัติการ กลุมชินวัตร 2536-2537 กรรมการผูอํานวยการ กลุมชินวัตร 2543-ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท 2542-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย กลุมชิน คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540-2541 รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย กลุมชิน คอรปอเรชั่น 2538-2539 กรรมการผูอํานวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2537-2538 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2536-2537 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2536 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2535-2536 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการที่ 4 กลุมชินวัตร

ทางกฎหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร อายุ ชื่อ - สกุล นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

การถือหุน ทางครอบครัว

55 กรรมการ และกรรมการบริหาร

(%) * ไมมี

ประวัติการทําผิด คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ระหวางผูบริหาร ไมมี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Wichita State University, Wichita, Kansas, USA. หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 33, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณทํางาน 2544-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2543-ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการและหัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน กลุมชิน คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2541-2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสดานการเงิน บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2537-2541 กรรมการผูอํานวยการสายงานบริหารและการเงิน กลุมชินวัตร 2534-2536

นายลัม ฮอน ฟาย

41 กรรมการและ

ไมมี

ไมมี

2545-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รองประธานกรรมการบริหาร

Standford University, USA.

2544-ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดานการสรางโอกาสทางธุรกิจในอนาคต

Engineering Science (1st Class Honors),

2544

50 กรรมการ และกรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

นางทัศนีย มโนรถ

58 กรรมการ

ไมมี

ไมมี

Vice President - Regional Mobile/Consumer Business, Vice President/ Chief Executive Officer - Sales and Channels,

Telecom Equipment Chief Executive Officer, SingTel Paging Bachelor of Science (Honours) University Executive Vice President (Consumer Business Group), of Aston, Birmingham, UK. กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2542-ปจจุบัน Vice President (Consumer Marketing) CEO (SingTel Mobile) 2541-2542 Group Director of Total Quality 2541 Operation Manager of Hewlette ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2545-ปจจุบัน รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานบริหารการเงินและบัญชี หลักสูตร Director Certification Program (DCP) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) รุน 32, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2543-2545 รองผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (IOD) 2542-2543 ผูชวยผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2539-2542 ผูอํานวยการฝายการเงินและงบประมาณ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2541-2542 ปจจุบัน

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 2

ไมมี

Singapore Telecom Ltd. 2542-2544

นายเชา วิง เคียง ลูคัส

10 ปที่ผานมา ไมมี

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ-การเงิน กลุมชินวัตร

Master of Science in Management,

University of Oxford, UK.

ทางกฎหมายในระยะ

ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร อายุ ชื่อ - สกุล

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

การถือหุน ทางครอบครัว (%) * ไมมี

ประวัติการทําผิด คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ระหวางผูบริหาร ไมมี ปริญญาโท University of Wisconsin, USA.

นายศุภเดช พูนพิพัฒน

53 กรรมการและ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

นายอรุณ เชิดบุญชาติ

62 กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

นายบุญชู ดิเรกสถาพร

57 กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

49 กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ประสบการณทํางาน 2541-ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2533-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน) 2541-ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารบริษัทตาง ๆ ในกลุมบริษัท ตรีนิตี้

ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ California State University, Long Beach, California USA. ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวม เอกชน (วปอ. หลักสูตร ปรอ. รุนที่ 3) ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) ปจจุบัน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูสอบบัญชีรับอนุญาตจากประเทศอังกฤษ ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร วุฒิบัตรสมาชิกอาวุโส สถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 14, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2542-2543 (IOD) 2540-2542 ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟา 2543-ปจจุบัน Massachusetts Institute of Technology, USA. 2540-ปจจุบัน 2538-2540 2537-2543 2536-2537 2534-2535 2532-2534 2529-2532

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ เอกสารแนบ 1 หนา 3

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการและกรรมการผูจัดการ บมจ. ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด กรรมการ บริษัท ราชบุรีพลังงาน จํากัด กรรมการ บริษัท ไตรเอนเนอจี้ จํากัด กรรมการ บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน ไทยพาณิชย จํากัด รักษาการผูบริหารใหญดานการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รองผูวาการบัญชีและการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และทําหนาที่รองผูวาการบริหาร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รองผูวาการบัญชีและการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รองประธานกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ รองประธานกรรมการบริหารดานนโยบาย กลุมชินวัตร กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท รองกรรมการผูอํานวยการ IBC Cable TV ผูจัดการอาวุโสฝายพัฒนาธุรกิจ กลุมชินวัตร ผูจัดการทั่วไป IBC Cable TV ผูอํานวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, USA. ผูจัดการฝายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษัท Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey USA.

ทางกฎหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร อายุ ชื่อ - สกุล

ตําแหนง

(ป)

สัดสวน

ความสัมพันธ

การถือหุน ทางครอบครัว

ประวัติการทําผิด คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

(%) * ระหวางผูบริหาร 0.0034 ไมมี ปริญญาโท จาก Kentucky State University, USA.

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

36 กรรมการบริหารและ กรรมการผูอํานวยการ

นายวิกรม ศรีประทักษ

51 หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี

ไมมี

ไมมี

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

นางสุวิมล แกวคูณ

48 หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการ ลูกคา และธุรกิจเครื่องลูกขาย

0.0003

ไมมี

ปริญญาโทบริหารธุรกิจ เอเชียน อินสติติวท ออฟแมเนจเมนท ประเทศฟลิปปนส หลักสูตรผูบริหารระดับสูง Harvard Business School, Boston, USA.

ไมมี

ไมมี

Master of Management, SASIN

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

41 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ไรสาย * นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 4

ประสบการณทํางาน 2545-ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2544-2545 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสสายงานวางแผนธุรกิจ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2542-2544 รองกรรมการผูอํานวยการสายงานปฏิบัติการดานบริการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540-2541 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2538-2539 ผูจัดการทั่วไป บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2534-2537 ผูจัดการ บริษัท ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส จํากัด 2545-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี 2543-2545 กรรมการผูอํานวยการ บจก. ดิจิตอล โฟน 2541-2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538-2541 รองกรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรอินเตอรเนชั่นแนล 2545-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538-2545 กรรมการผูจัดการ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด 2525-2537 กรรมการผูจัดการ บมจ. โรบินสัน ดีพารทเมนทสโตร 2523-2524 บริษัท อัลลายดแมเนจเมน คอนซัลแตนทออฟเอเชีย จํากัด 2544-ปจจุบัน ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2541-2544 Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Ltd. 2537-2541 Financial Director, Shinawatra Paging Co.,Ltd., Pager Sales Co., Ltd.

ทางกฎหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย รายชื่อบริษัท/ AWM DPC ADC รายชื่อกรรมการ นายบุญคลี ปลั่งศิริ x, / x, / นายสมประสงค บุญยะชัย /,// /, // x, /, // นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ /,// /, // /, // นายลัม ฮอน ฟาย / / / นายเชา วิง เคียง ลูคัส // /, // // ดร.ดํารงค เกษมเศรษฐ // // // นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร /,// // /, // นายวิกรม ศรีประทักษ / นางสุวิมล แกวคูณ / นายจํารัส ตันตรีสุคนธ / นายสําราญ พงษประยูร / นางอภิวรรณ สายประดิษฐ / นายกิตติน อุดมเกียรติ / X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร

เอกสารแนบ 2 หนา 3

ACC

DNS

x, / / / / / / -

x, /, // /, // / // // /, // / -


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ

เอกสารแนบ 2 หนา 1

UL

BTE

OCM

BP

SGM

SGI

TAA

OK

/ -

WS

/ -

OA

/ / / -

PT

/ / / -

OAI

x, / /, // /, // -

SC

/ / / -

SOP

/ // /, // /, // -

loxley

/ / -

CSLS

/ -

iPSTAR

LTC

/ / -

CAM

/ / -

SHEN

/ -

CSL

/ / -

SBI

ADV

x, / /, // /, // /, // -

SATTEL

TMC

/ -

MERRY

ART

/ / -

ARC

ITV

/ / -

SHINEE

SMB

x, / x, /, // / /, // / / / // / // / /, // -

ITAS

DNS

บริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของ SIT

1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม X /, // / x,/ x, / 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. นายสมประสงค บุญยะชัย // /, // /,// /, // x, /, // 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ /, // /, // /,// /, // /, // 5. นายลัม ฮอน ฟาย / / / / /, // // /, // // 6. นายเชา วิง เคียง ลูคัส / 7. นางทัศนีย มโนรถ / 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน / 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ / 10. นายบุญชู ดิเรกสถาพร // // // // // 11. ดร.ดํารงค เกษมเศรษฐ // /,// // /, // 12. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร / 13. นายวิกรม ศรีประทักษ / 14. นางสุวิมล แกวคูณ 15. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร X = ประธานกรรมการ * นับรวมทั้งการถือหุนทางตรงและทางออม

ACC

ADC

DPC

บริษัทยอย AWM

ADVANC

รายชื่อกรรมการและผูบริหาร

บริษัท บริษัทฯ ใหญ SHIN

รายชื่อบริษัท*

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/ / -

/ / / -


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายชื่อบริษัท SHIN ADVANC AWM DPC ADC ACC DNS SIT ITAS SMB ITV ART TMC ADV SHINEE ARC MERRY SATTEL SBI CSL

บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเกตติ้ง จํากัด บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท แอดวานซคอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด บริษัท ไอ.ที.แอพพลิเคชั่นส แอนดเซอรวิส จํากัด บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) บริษัท อารแวร มีเดีย จํากัด บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด บริษัท อารคไซเบอร จํากัด Merry International Investment Corp. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) บริษัท ชินบรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน)

SHEN CAM LTC iPSTAR CSLS Loxley SOP SC OAI PT OA WS UL BTE OCM BP SGM SGI TAA OK

เอกสารแนบ 2 หนา 1

Shenington Investments Pte., Ltd. บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จํากัด บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร จํากัด บริษัท ซี.เอส. ล็อกซอินโฟ โซลูชั่น จํากัด บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชั่น เซอรวิส จํากัด บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด บริษัท เอสซี แอสเสท คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท โอเอไอ ลิสซิ่ง จํากัด บริษัท พีที คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท โอเอไอ แอสเสท จํากัด บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด บริษัท อัพคันทรี่แลนด จํากัด บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท โอเอไอ คอนซัลแตนทแอนดแมนเนจเมนท บริษัท บี.พี. พร็อพเพอรตี้ จํากัด Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd. Singapore Telecom International Pte. Ltd. บริษัท ไทยแอรเอเชีย จํากัด บริษัท แคปปตอล โอเค จํากัด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดสัญญารวมการงาน 1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) ภายใตสัญญารวมการงานจาก ทศท. ที่ไดลงนามรวมกันกับ ADVANC เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอตกลง ตอทายสัญญาหลัก 7 ครั้ง ดังตอไปนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2536 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2539 ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ขอตกลงเรื่องการแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณ) ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ขอตกลงเกี่ยวกับ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา Prepaid Card มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2544) และครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและขอตกลงแนบทายสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูสัญญา

:

บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการที่ไดรับอนุญาตให : ดําเนินการภายใตสัญญารวม การงาน

ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบอนาลอก NMT และ ดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 900 MHz (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ Cellular 900”) ทั่วประเทศ แบบคูขนานกันไป มีกําหนด 25 ป นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเปนวันแรกที่เปดดําเนินการ ADVANC ไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารการแสวงหาผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจากการใชงานของ ADVANC ได โดยใหบริการเชาใหแกทั้งผูใชบริการของทศท. และผูใชบริการ ของ ADVANC ในอัตราคาใชบริการเทากับอัตราของทศท. ADVANC มีหนาที่ เรียกเก็บคาบริการและจายสวนแบงผลประโยชนใหแกทศท.ตามที่ระบุใน ขอตกลงตอทายสัญญาหลักครั้งที่ 5 โดย ADVANC จะตองไมทําการตลาดแขง กับทศท. แตจะมีการทําการตลาดและสงเสริมการขายรวมกับทศท. ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใช บัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card)

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

ADVANC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณระบบ Cellular 900 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสื่อ สัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน 3) รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และ โครงขายที่ ADVANC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับสัญญารวมการงาน

:

เอกสารแนบ 3 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card) เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูใช การจัดสรรยานความถี่

:

ทศท. ตองจัดหายานความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ใหกับ ADVANC สําหรับใหบริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิการสง มอบและรับมอบทรัพยสิน

:

ADVANC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปน กรรมสิทธิของทศท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย ทศท. ยินยอมให ADVANC ครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคของ สัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัย ทรัพยสิน

:

ADVANC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็ม มูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัย หมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADVANC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุ ไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชน ตอบแทนของสัญญา

:

ADVANC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก ทศท. เปนรอยละของรายไดกอน หักคาใชจายและภาษี และผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้น ต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา 25 ป ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบ แทนมีดังนี้ ปที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

เอกสารแนบ 3 หนา 2

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท)

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000

รายไดประจํางวด

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – ก.ย. 54 ต.ค. 54 – ก.ย. 55 ต.ค. 55 – ก.ย. 56 ต.ค. 56 – ก.ย. 57 ต.ค. 57 – ก.ย. 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผลประโยชนตอบแทนการให : แสวงหาประโยชนจากระบบ สื่อสัญญาณ

ADVANC จะตองเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการ และจายสวนแบง ผลประโยชนใหแกทศท. เปนรายไตรมาสในอัตรารอยละของคาบริการกอนคิด ภาษีมูลคาเพิ่ม ADVANC จะตองจายสวนแบงผลประโยชนในอัตรารอยละ 25 ในกรณีที่ผูใชบริการเปนลูกคาของทศท. และในอัตรารอยละ 22 ในกรณีที่ ผูใชบริการเปนลูกคาของ ADVANC

ผลประโยชนตอบแทนการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card) การยกเลิกสัญญา

โดย ADVANC ตกลงจายผลประโยชนตอบแทนใหแกทศท.ในอัตรารอยละ 20 ของมูลคาของราคาหนาบัตรที่ขายได และ รายไดจากคาขอเปดบริการชําระครั้ง แรก (ถามี) โดย ADVANC จะตองตัดขอมูลการจําหนายบัตรทุกสิ้นเดือน และ นําสงสวนแบงรายไดดังกลาวภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอโดย ADVANC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และให ทรัพยสินตางๆ ตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ทันที หากการดําเนินงานของ บริษัทมีเหตุให ทศท. เชื่อวาADVANC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให ลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด ADVANC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADVANC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

:

:

บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) บริษัท และ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) ไดลงนามบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาต ใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) (ครั้งที่ 7) เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาฯ สามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

: บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7)

คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

ทศท. และ บริษัท ประสงคจะทําความตกลงเกี่ยวกับหลักการเกี่ยวกับการใช เครือขายรวม (Roaming) ของบริษัท และไดมีขอตกลงรวมกันในการใช เครือขายรวมดังนี้ 1. ทศท. และ บริษัท ตกลงกันใหถือวาขอตกลงตอทายสัญญาฉบับนี้เปนสวน หนึ่งของสัญญาหลัก 2. ทศท. อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหผูให บริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตให บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่นไดเชนเดียวกัน 3. การใชเครือขายรวม (Roaming) ตามขอ 2 บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เอกสารแนบ 3 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศและบริษัทมี สิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่ว ประเทศ บริษัทตกลงทําหนังสือแจงให ทศท. ทราบเปนลายลักษณอักษรกอนที่ บริษัทจะใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) และกอนที่ บริษัทจะเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น 4. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขายรวม (Roaming) ให ทศท โดยมีเงื่อนไขดังนี้ -ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ในเครือขาย ของบริษัท บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ในอัตรารอยละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผูใหบริการ รายอื่น -ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ในอัตรารอยละ (ระบุตาม สัญญาหลัก) ของรายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หัก ดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่นนั้น 2. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ADC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินการกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแกไขเพิ่มเติม 2 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540 และ 25 กันยายน 2540 โดย สาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูสัญญา

:

บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ป นับตั้งแตวันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูล อื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) ในการใหบริการจัดวงจรเพื่อเชื่อมตอระหวางเครือขายผูใหบริการ และผูใชบริการทั่วประเทศ เพื่อรับสงขอมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสื่อสาร ขอมูลประเภทตางๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถพัฒนารูปแบบ บริการใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

เอกสารแนบ 3 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

ADC ตกลงที่จะลงทุนในการจัดหาอุปกรณระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตั้งและ Product Information ของ อุปกรณ Datakit และดําเนินการบริการใหเปนไปตามที่กําหนด

กรรมสิทธิในทรัพยสิน

:

บรรดาเครื่องมือและอุปกรณตางๆ หรือทรัพยสินที่ ADC ไดกระทําขึ้นหรือ จัดหามาไวสําหรับดําเนินการระบบ Datakit เปนกรรมสิทธิของ ทศท. หลัง ติดตั้งเสร็จเรียบรอย ทศท. ยินยอมให ADC แตเพียงผูเดียวครอบครอง ทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้ตลอดอายุ สัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

ADC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุ กอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํา กรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอ ย กวา 30 วัน

ผลประโยชนตอบแทนการให : สัมปทาน

ADC จะดําเนินการใหมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอย ละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท. ไมตองชําระเงินคาหุนแต อยางใด

การยกเลิกสัญญา

ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อวา ADC ไม สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอ หนึ่งขอใด โดย ADC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆ ใหตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADCไม สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาได

:

3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (มหาชน) DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการโอนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 โดยไดรับการโอนสิทธิในการดําเนินงานจากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ (3.1) สัญญารวมการงานระหวาง DPC กับ กสท. ภายใตสัญญารวมการงานจาก กสท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เมื่อ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุ โทรคมนาคมระบบเซลลูลา 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เปนตนไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800

เอกสารแนบ 3 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา กิจการที่ไดรับอนุญาต

: :

เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ วิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 ทั่วประเทศ (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง DPC ไดรับ โอนสิทธิและหนาที่จาก TAC ตามสัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตาม สัญญา ใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวางกสท. TAC และ DPC ไดรับสิทธิในการดําเนินการเปน ระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556

การดําเนินงานและแผน การดําเนินงาน

:

DPC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือขาย และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการ ดําเนินงาน - รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขายที่ DPC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับ อนุญาตใหดําเนินการ

การจัดสรรยานความถี่

:

กสท. ตองจัดหายานความถี่ระหวาง 1747.9 –1760.5 MHz และ 1842.9-1855.5 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศใหกับ DPC สําหรับใหบริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิการสงมอบและ รับมอบทรัพยสิน

:

DPC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณ ใหเปนกรรมสิทธิของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย กสท. ใหสิทธิแก DPC นําไปใหบริการระบบ PCN 1800 และใช ประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

DPC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา DPC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหม มามอบให กสท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน

เอกสารแนบ 3 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

ผลประโยชนตอบแทน

ปที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก กสท. เปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจาย/1 ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาว ตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลา สัญญา ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบแทนมีดังนี้

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 รวม

การยกเลิกสัญญา

:

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

รายไดประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56

สัญญานี้สิ้นสุดหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฎิบัติตามสัญญา หรือปฎิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับ แตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีที่ DPC ตกเปนผูขาด คุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท. ไดแจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไม นอยกวา 90 วัน

เอกสารแนบ 3 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3.2) สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ระหวาง DPC และ TAC ชื่อสัญญา

:

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ

คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนเิ คชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดย กสท. ยินยอมให 1. TAC โอนสิทธิและหนาที่การใหบริการ PCN 1800/1 บางสวน เฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. TAC โอนสิทธิการใชชองความถี่ใหแก กสท. และ กสท. ตก ลงให DPC ใชความถี่ในชวงดังกลาวได 3. DPC รับโอนลูกคาในระบบ จาก บมจ. สามารค คอรปอเรชั่น 4. ถาสัญญาระหวาง DPC กับ กสท. สิ้นสุดลงกอนสัญญารวม การงานสัมปทาน TAC จะไดรับการพิจารณาใหดําเนินการ ตอจาก DPC กอนผูอื่น

ผลประโยชนตอบแทนการโอน : สิทธิและหนาที่

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก TAC แทนคาโอนสิทธิ และหนาที่เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 DPC มีคาโอนสิทธิคางจายเทากับประมาณ 2,317.76 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายเทากับประมาณ 2,317.76 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายดังกลาวค้ําประกัน ดวยสิทธิในสัญญารวมการงาน อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นสําหรับคา โอนสิทธิคา งจายเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่โดยมีอัตราถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักเทากับอัตรารอยละ 9.50 ตอป คาโอนสิทธิคางจายดังกลาวมีกําหนดชําระดังนี้ ป 2546 454.37 ลานบาท ป 2547 908.67 ลานบาท ป 2548 และภายหลังป 2548 954.72 ลานบาท ยอดรวม 2,317.76 ลานบาท

/1

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800

เอกสารแนบ 3 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3.3) บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (Natioal Roaming) ชื่อสัญญา คูสัญญา

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อน ที่ของแตละฝายรวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แกผูใช บริการของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัท ตกลงให DPC เขามาใชเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปนตนไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน ทั้งนี้ ผูใหบริการเครือขายอาจขอลดพื้นที่ใหบริการเครือขาย โดย จะตองแจงใหผูขอใชบริการเครือขายทราบลวงหนาไมนอยกวา 90 วัน หากการลดพื้นที่ใหบริการเครือขายเปนเหตุใหผูใชบริการของผูขอ ใชบริการเครือขายไมไดรับความสะดวกในการใชบริการแลว ผูขอ ใชบริการมีสิทธิบอกเลิกขอตกลงฉบับนี้ได 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท (สองบาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม

การชําระคาใชบริการ

:

ในการชําระคาใชบริการเครือขายในแตละเดือน ใหนําจํานวนเงินใน ใบแจงหนี้ของแตฝายมาหักกลบลบหนี้กันคงเหลือเปนยอดเงินสุทธิ ที่ตองชําระโดยฝายที่มีคาใชบริการเรียกเก็บนอยกวา โดยใหชําระ เปนเงินบาท มีกําหนดชําระภายใน 15 วัน นับแตวันที่ที่ลงในใบ แจงหนี้ฉบับสุดทายจากผูใหบริการเครือขายที่ไดมีการหักกลบลบ หนี้กันในเดือนนั้นแลว

การยกเลิกสัญญา

:

คูสัญญาแตละฝายมีสิทธิบอกเลิกบันทึกขอตกลงโดยแจงเปน หนังสือใหอีกฝายทราบลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือน

เอกสารแนบ 3 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกันของบริษทั ที่ ออ.025/2547 20 กุมภาพันธ 2547 เรื่อง

ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกันของบริษัท

เรียน

เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ขาพเจา กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ขอแจงใหทานทราบวา ตามที่บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไดมีรายการกับ บุคคลที่มีผลประโยชนรวมกันและรายการระหวางกัน ตามรายละเอียดแนบนั้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไดพิจารณา แลวมีความเห็นวารายการดังกลาวมีความเปนธรรม และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทเสมือนทํารายการกับ บุคคลภายนอก ดวยราคาที่สมเหตุสมผล โดยบางรายการไดมีการใหผูประเมินราคาอิสระและที่ปรึกษาทางการเงิน อิสระที่มีความเชี่ยวชาญมาประเมินราคาและบางรายการไดเปรียบเทียบกับราคาตลาด อนึ่ง สําหรับรายการที่ ของดแสดงความเห็นตอรายการดังกลาว

29

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ซึ่งเปนผูมีสวนไดเสีย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ

(นายศุภเดช พูนพิพัฒน) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายอรุณ เชิดบุญชาติ) กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ

( นายบุญชู ดิเรกสถาพร) กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 4 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุนบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน เปน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายอรุณ เชิดบุญชาติ และ นายบุญชู ดิเรกสถาพร เปนกรรมการ ตรวจสอบ โดยมีนางสุวิมล กุลาเลิศ เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งสอดคลองตาม ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยในรอบป 2546 ไดจัดใหมีการประชุมทั้งสิ้น 10 ครั้ง ประชุมเฉพาะกิจ 2 ครั้ง และไดมีการหารือรวมกับผูบริหาร ผูสอบบัญชีภายนอก และผูตรวจสอบภายใน ตาม ความเหมาะสม ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป เพือ่ นําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณา อนุมัติ โดยไดพิจารณางบการเงินที่ผานการสอบทานและตรวจสอบจากผูสอบบัญชีภายนอก และได พิจารณาขอเสนอแนะตอระบบการควบคุมภายใน (Management Letter) ที่ไดรับจากผูสอบบัญชี ภายนอก ซึ่งพบวา รายงานทางการเงินมีความถูกตอง และ มีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ 2. สอบทานการเปดเผยขอมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน รวมทั้งไดใหความเห็นชอบตอรายการดังกลาวเพื่อนําเสนอให คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติกอนเขาทํารายการ เพื่อใหเปนไปตามหลักเกณฑของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งพบวา รายการดังกลาวมีความเปนธรรม และเปนประโยชนสูงสุด ตอบริษัทเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก ดวยราคาที่สมเหตุสมผล โดยไดมีการใชผปู ระเมินราคา อิสระมาประเมินราคา 3. สอบทานระบบการควบคุมภายใน โดยไดสอบทานระบบการควบคุมภายใน และ ระบบการรักษาความ ปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศของระบบ C-Care ซึ่งเปนระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นใหมเพื่อใชในการ ปฏิบัติงานของบริษัท และไดสอบทานระบบการควบคุมภายในของระบบการจําหนายบัตรเติมเงินและ ระบบการบริหารการเติมเงิน ระบบรายไดและการจัดเก็บเงิน และ ระบบการบํารุงรักษาอุปกรณ เครือขาย เปนตน ซึ่งพบวา มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล โดยมีการพัฒนาใหดี ยิ่งขึ้นอยางสม่ําเสมอ 4. สอบทานการตรวจสอบภายใน โดยไดเห็นชอบตอแผนงานตรวจสอบภายในประจําป 2546 และ 2547 และไดสอบทานรายงานผลการตรวจสอบภายในของป 2546 ซึ่งไดตรวจสอบระบบปฏิบัติงานสําคัญของ บริษัททุกระบบงาน เชน ระบบรายได ระบบการปฏิบัติงานของชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่และ เครือขายทั่วประเทศ ระบบการรักษาความปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศและศูนยคอมพิวเตอร ระบบ เอกสารแนบ 4 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การใหบริการลูกคา ระบบปฏิบัติงานของสํานักงานบริการ ระบบการจัดเก็บเงิน ระบบจัดซื้อ เปนตน ซึ่ง จากผลการตรวจสอบภายใน สามารถประเมินไดอยางมั่นใจวา ระบบการปฏิบัติงานของบริษัทมีระบบการ ควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล มีการบริหารความเสี่ยงอยางรัดกุมเพียงพอ และมีการกํากับดูแลกิจการ อยางโปรงใส เชื่อถือได นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบไดกํากับดูแลงานตรวจสอบภายใน และได เสนอแนะแนวทางของการปฏิบัติงานตรวจสอบใหเปนไปตามมาตรฐานสากล และพัฒนาใหดยี ิ่งขึ้น 5. นําเสนอรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหกับคณะกรรมการบริษัททราบทุก ไตรมาส โดยไดเสนอความเห็นและใหขอเสนอแนะที่มีประโยชนตอการบริหารงานของฝายจัดการ ซึ่ง ฝายจัดการไดดําเนินการปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะอยางเหมาะสม 6. นํ า เสนอต อ คณะกรรมการบริ ษั ท ให ข ออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ถื อ หุ น ประจํ า ป 2547 เพื่ อ แต ง ตั้ ง ผูสอบบัญชีจากบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทสําหรับ ป 2547 ในการดําเนินงานของบริษัทในรอบป 2546 คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาโดยสรุปในภาพรวมแลว เห็นวา บริษัทยึดมั่นในจริยธรรมธุรกิจ ซึ่งคณะกรรมการตลอดจนผูบริหารของบริษัทมีจริยธรรมในการปฏิบัติงาน มีความ มุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหบรรลุเปาหมายของบริษัทอยางมีคุณภาพเยี่ยงมืออาชีพ ไดใหความสําคัญ อยางยิ่งตอการดําเนินงานภายใตระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล มีการบริหารความเสี่ยงที่รัดกุม เหมาะสมอยางตอเนื่อง และมีการกํากับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล โดยมีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัติงาน ใหดีขึ้นอยางตอเนื่อง

นายศุภเดช พูนพิพัฒน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 20 กุมภาพันธ 2547

เอกสารแนบ 4 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รวมถึง ขอมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งใหมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน เพื่อใหเปนประโยชนตอผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไปอยางโปรงใส คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีระบบบริหารความเสี่ยง และใหมีและดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายใน ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียง พอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน ตลอดจนเพื่อใหไมใหเกิดการทุจริตหรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมี สาระสําคัญ ในการนี้คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทําหนาที่สอบทานนโยบายการ บัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ตลอดจน ระบบการบริหารความเสี่ยง โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปแลว งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอยไดรับการตรวจสอบโดยผูสอบบัญชี ของบริษทั คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ในการตรวจสอบนั้นทางคณะกรรมการบริษัท ไดสนับสนุนขอมูลและเอกสารตาง ๆ เพื่อใหผูสอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นไดตามมาตรฐาน การสอบบัญชี โดยความเห็นของผูสอบบัญชีไดปรากฏในรายงานของผูสอบบัญชีซึ่งแสดงไวในรายงานประจําป แลว คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยูในระดับที่นาพอใจ และ สามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลไดวางบการเงินของบริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2546 มีความเชือ่ ถือได โดยถือปฏิบัติตามตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัตถิ ูกตอง ตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ

(ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม) ประธานกรรมการ

(นายสมประสงค บุญยะชัย) ประธานกรรมการบริหาร

เอกสารแนบ 4 หนา 4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.