Form 56 1 2004

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2547

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสีย่ ง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 9. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ขอมูลอื่นที่เกีย่ วของ

1 2-7 8 - 17 18 - 30 31 32 - 38 39 40 41 - 48 49 - 70 71 - 73 74 - 86 87 - 101 102

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษทั ใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษทั ที่ เกี่ยวของ เอกสารแนบ 3 (1) รายละเอียดสัญญารวมการงาน (2) ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน (3) รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) เปนบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตั้งแตวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) (เดิมใหบริการในระบบ อนาลอก NMT: Nordic Mobile Telephone หรือ Cellular 900 ดวย แตในป 2546 ไดหยุดใหบริการ โดยโอนผูใชบริการใน ระบบ Cellular 900 ทั้งหมดไปใชบริการในระบบดิจิตอล GSM ซึ่งเปนระบบใหมที่เขามาแทน) และใหบริการขามแดน อัตโนมัติ (Automatic International Roaming) ซึ่งปจจุบันสามารถนําไปใชไดในกวา 99 ประเทศทั่วโลก นอกจากนั้น บริษัทยังมีบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid) ภายใตชื่อ “1-2-Call!” และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทมีสวนแบงตลาดในสัดสวนประมาณรอยละ 57 ของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ประเทศไทย ปจจุบันนอกจากการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทยังมีการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับ โทรคมนาคมดานอื่นๆ โดยบริษัทไดเขาถือหุนในบริษัทยอย 6 แหง ดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) ใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท (Online Data Communication) โดยมีลูกคารายใหญ คือ ธนาคาร คลังน้ํามัน และสายการ บิน ปจจุบัน เอดีซี มีพื้นที่ใหบริการและระบบเครือขาย (Backbone Network) ครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งนี้ ในป 2548 นี้ เอดีซีมีแผนจะเปดใหบริการใหมที่เรียกวาเปน “ความบันเทิงสูบานเรือน” ซึ่งรวม บริการดานบรอดแบนดทีวี พรอมดวยอินเตอรเนตความเร็วสูงผานทางเครือขายสายโทรศัพท บริการบ รอดแบนดทีวีนั้น รวมถึงโทรทัศนชองปกติ และภาพยนตร เพลง ขาว สารคดี รายการ สาระและบันเทิง อื่นๆ อีกมากจากผูรวมใหบริการ (Content Partners) หลายราย นอกจากนี้ ผูใชบริการยังสามารถใช งานอินเตอรเนตความเร็วสูง (ADSL) และโทรศัพทพื้นฐานควบคูไปพรอมกันไดดวย 2. บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (ดีเอ็นเอส) แตเดิมใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพททั่ว ประเทศ (Online Data Communication) โดยเนนการขายและใหเชาอุปกรณแกลูกคาเฉพาะในเขต ภูมิภาคเนื่องจากสัมปทานเดิมของ เอดีซี สามารถใหบริการไดเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครเทานั้น ตอมาในป 2540 เอดีซีไดรับอนุญาตใหเพิ่มพื้นที่บริการไดครอบคลุมทั่วประเทศ ปจจุบันดีเอ็นเอสจึง ใหบริการเฉพาะลูกคาเดิมและจําหนายอุปกรณเพิ่มเติมเทานั้น 3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ปจจุบันมีพื้นที่ใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศ โดยมีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) กับบริษัท นอกจากนี้ ตั้งแตเดือนกันยายน 2545 ดีพีซีไดเริ่มดําเนินธุรกิจนําเขา และจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมถึงอุปกรณโทรคมนาคมอื่นๆ เชน ชุด SIM Card และบัตรเติมเงิน 4. บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี) ประกอบธุรกิจศูนยบริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) ทั้งในดานการตอบคําถาม การใหคําแนะนํา และคําปรึกษา แกลูกคาของบริษัท (เอไอเอส) และดีพีซีรวมถึงบริษัทอื่นๆ ที่ตองการใชบริการขอมูลทางโทรศัพท โดยเนนการใหบริการลูกคาสัมพันธ เปนหลัก

สวนที่ 1 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5. บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) เดิมชื่อ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด แตเดิมประกอบธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ในปจจุบันไดหยุดดําเนินกิจการ และโอน ธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ดังกลาวใหดีพีซีเปนผูดําเนินการ 6. บริษัท ดาตา ลายไทย จํา กัด (ดีแอลที) ประกอบธุร กิจ เปน ผูใ หบริการเครือขา ยอินเตอรเนตในเชิง พาณิชย (ISP) โดยไดรับสิทธิ์ในการใหบริการจาก กสท (ปจจุบันแปรรูปเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)) สําหรับป 2547 บริษัทมีผลการดําเนินงานที่เติบโตขึ้นกวาป 2546 กลาวคือ มีรายไดรวมจํานวน 96,438 ลานบาท เพิ่มจาก 89,492 ลานบาท ในป 2546 คิดเปนจํานวน 6,946 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 8 และมีผลกําไรสุทธิ จํานวน 20,258 ลานบาท ในป 2547 เพิ่มขึ้นจาก 18,529 ลานบาท ในป 2546 คิดเปนจํานวน 1,729 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 9

สวนที่ 1 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”)

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจติ อล GSM 1800 และประกอบธุรกิจจัดจําหนายอุปกรณ โทรศัพทเคลื่อนที่ นอกจากนี้ ยังมีบริษัทยอยเปนผูใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพทและศูนยบริการขอมูลทางโทรศัพท อีกดวย

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

บมจ. 59

Home Page

:

http://www.ais.co.th

โทรศัพท

:

02-299-5000

โทรสาร

:

02-270-0658

สวนที่ 2 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

1.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปจจัยความเสี่ยง ปจจัยความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นไดกับบริษัทสามารถจําแนกได 5 ประเภทดังนี้

1. 1

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายของรัฐบาล จากการที่บริษัทดําเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคมซึ่งเปนธุรกิจที่ตองดําเนินงานภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐใน รูปแบบของสัญญารวมการงานในปจจุบัน สิ่งที่จะมีผลกระทบกับบริษัทและผูประกอบการภายใตสัญญารวมการ งานของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ คือ การตองแปรสัญญารวมการงานที่มีอยูใหเปนที่เรียบรอยกอนการเปดเสรี โทรคมนาคม เพื่อใหผูประกอบกิจการโทรคมนาคมทุกรายทั้งรายเกาและรายใหม (รวมทั้งองคการโทรศัพทแหง ประเทศไทยซึ่ ง แปรรู ป เป น บริ ษั ท ทศท คอร ป อเรชั่ น จํ า กั ด (มหาชน) ในวั น ที่ 31 กรกฎาคม 2545 และ การสื่อสารแหงประเทศไทย ซึ่งแปรรูปเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ใน วันที่ 14 สิงหาคม 2546 อยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) และดําเนินการภายใตกฎและ ขอบังคับของ กทช. อยางเทาเทียมกัน เนื่องจากการแปรสัญญารวมการงานนั้นมีประเด็นในเรื่องหลักการและ แนวทางในการแปรสัญญารวมการงาน ซึ่งยังไมสามารถหาขอยุติไดในปจจุบัน แมวาในปจจุบัน กทช. ไดรับการ คัดสรรจากวุฒิสภาแลวในวันที่ 24 สิงหาคม 2547 และไดมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งในวันที่ 1 ตุลาคม 2547 เปนที่เรียบรอยแลว แตในเบื้องตน กทช. ยังอยูในระหวางการจัดทําแผนแมบทโทรคมนาคมของ ไทย ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จก็ประมาณกลางป 2548 ดังนั้นความชัดเจนในเรื่องของกติกาและขอบังคับใหมใน การประกอบกิจการโทรคมนาคมไมวาจะเปนเรื่องของคา เชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge) วาจะ นํามาใชเมื่อใด และในอัตราเทาใด หรือ คาธรรมเนียมใบอนุญาต คาใชคลื่นความถี่ คาใชเลขหมาย วาจะเปน อัตราเทาใด และจะมีการอนุญาตใหกับผูประกอบการโทรคมนาคมรายใหมหรือไม ก็ยังไมมีความชัดเจนในขณะนี้ อยางไรก็ตามแมวาบริษัทจะมีความเสี่ยงเบื้องตนจากความไมชัดเจนในการแปรสัญญารวมการงาน ตลอดจน ประเด็นตางๆ จากการดําเนินงานของ กทช. เพื่อกําหนดกรอบกติกาใหมในการประกอบกิจการโทรคมนาคม บริษัทก็ไดบริหารความเสี่ยงดังกลาวโดยมีผูรับผิดชอบเรื่องนี้อยางจริงจัง ทั้งในดานการติดตามขาวสารอยาง ใกล ชิ ด และการให ข อ มู ล ต า งๆ ที่ ถู ก ต อ งกั บ ภาครั ฐ เพื่ อ ให ภ าครั ฐ กํ า หนดกฎเกณฑ ใ หม ไ ด อ ย า งถู ก ต อ ง อันกอใหเกิดการแขงขันที่เสรีและเปนธรรม และไมเกิดผลกระทบทางดานลบกับบริษัท อยางใดก็ตาม เมื่อเปดเสรี โทรคมนาคมแลว แมวาจะมีผูประกอบการรายใหมสนใจจะเขามาแขงขันเพิ่มขึ้นก็ตาม ผูประกอบการรายใหมยัง ตองเผชิญกับขอจํากัดในการเขาสูตลาด (Barrier to Entry) ทั้งในดาน การสรางฐานลูกคาและเงินลงทุน ตลอดจน ตองใชเวลาในการพัฒนาระบบเครือขาย และชองทางการตลาดใหสามารถแขงขันได ดังนั้นปจจัยเสี่ยงในเรื่องการ เปลี่ยนแปลงกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายของรัฐ ของบริษัทจึงไมมีประเด็น เพราะผูประกอบการทุกราย จะตองดําเนินธุรกิจอยูภายใตกฎเกณฑเดียวกัน บริษัท ในฐานะผูประกอบการรายใหญ และไดมีการเตรียมตัวใน เรื่องนี้เปนอยางดี จึงมีโอกาสใชความเปลี่ยนแปลงดังกลาวเพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหแกบริษัทมากขึ้นไดเปน อยางดี

1.2

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับสถานการณการตลาดและการแขงขัน ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากการกลั บ มาของการแข ง ขั น อย า งรุ น แรงด า นราคาในช ว งก อ นการเป ด เสรี ใ นตลาด โทรศัพทเคลื่อนที่ที่กําลังจะเปดเสรีนั้น ผูประกอบการที่มีขนาดธุรกิจเล็กกวาบางครั้งอาจริเริ่มทําการแขงขันใน สวนที่ 2 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดานราคาอยางรุนแรง เพื่อพยายามใหไดมาซึ่งฐานลูกคากอนที่ผูประกอบการรายใหมจะเขาสูตลาด เปนธรรมดา ที่ผูประกอบการที่มีเครือขายที่ครอบคลุมนอยกวา รองรับลูกคาไดในระดับที่นอยกวาและมีคุณภาพที่ดอยกวา รวมทั้ ง มี เ ครื อ ข า ยช อ งทางการจั ด จํ า หน า ยที่ ยั ง ไม ค รอบคลุ ม มากนั ก จะมี ห นทางเดี ย วที่ ร วดเร็ ว และมี ประสิทธิภาพในการดึงดูดลูกคาใหมและลูกคาของผูประกอบการรายอื่นเขาสูเครือขายของตนนั่นคือ การตัดราคา เมื่อผูประกอบการที่ขนาดใหญกวาตอบโตการกระทํานี้ สงครามราคาก็จะคอยๆ ปะทุขึ้น และหากผูนําตลาดราย ใหญที่สุดดวยวัตถุประสงคที่จะปกปองสวนแบงตลาดของตน โดยกระโดดเขารวมแขงขันดานราคาจะทําใหทั้ง อุตสาหกรรมตกต่ําลง สวนตางของรายไดและคาใชจายจะถูกบีบใหเล็กลง และโดยทั่วไปจะเปนผูประกอบการ รายเล็กที่จะไดรับความเสียหายทางการเงินอยางหนัก และไมสามารถอยูในตลาดตอไปได เชนที่เกิดขึ้นในหลาย ตลาดทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก สิ่งนี้ไมเพียงแตเปนผลรายตอสถานะทางการเงินของอุตสาหกรรม แตยัง ทําใหเกิดผลกระทบดานลบแกผูบริโภค เนื่องจากหลังจากสงครามดานราคาที่รุนแรงจะมีผูประกอบการเหลืออยู ในตลาดเพียงไมกี่ราย อีกทั้งคุณภาพดานเครือขายและคุณภาพการใหบริการตางๆ จนต่ําลงมากกวามาตรฐาน ซึ่งเปนการเอาเปรียบผูบริโภค แมวาความเสี่ยงที่เกิดจากการแขงขันที่ไมสมเหตุสมผลจะเปนปจจัยความเสี่ยงภายนอกและไมสามารถควบคุมได เอไอเอสยังคงเชื่อวากลยุทธในการใชราคาถูกจะเพียงทําใหเกิดการรับรูในหมูผูใชบริการ (awareness) แต คุณภาพของเครือขายและบริการตางหากที่เปนกุญแจสําคัญในการสรางความผูกพันและเสริมสรางความภักดีของ ลูกคา (customer preference & loyalty) นอกจากนั้น กลยุทธการใชราคาถูกนี้จะไมสามารถดําเนินอยูไดนานใน ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ เพราะธุรกิจนี้ตองใชเงินทุนเปนจํานวนมาก สวนหนึ่งของการเปดเสรีโทรคมนาคม คือ การคิดคาเชื่อมโยงเครือขายก็กําลังจะถูกนํามาใชในประเทศไทย ซึ่งไมวาจะเปนการคิดในอัตราใดก็กลายเปน ราคาต่ําสุดของการคิดคาบริการตอนาทีโดยอัตโนมัติ ดังนั้น การแขงขันทางดานราคาที่ไมสมเหตุสมผลก็จะอยูได เพียงในระยะสั้น สํ า หรั บ เอไอเอสจะยั ง คงมุ ง เน น ที่ คุ ณ ภาพและความหลากหลายของบริ ก ารสํ า หรั บ การใช ชี วิ ต ทุ ก รู ป แบบ เพื่อสรางความชื่นชอบในสินคาใหเกิดขึ้นในกลุมลูกคาที่เห็นความสําคัญของคุณภาพและเพิ่มพูนมูลคาตลอดเวลา หลายป เอไอเอสยังคงสามารถรักษาฐานะการเปนผูนําไดเปนอยางดี ไมใชเพียงดานฐานลูกคาแตรวมทั้งดาน รายได แมวาจะมีกิจกรรมการแขงขันที่ไมสมเหตุสมผลเกิดขึ้นแลวในอดีตก็ตาม แตเอไอเอสก็มิไดนิ่งนอนใจ ยังคงเฝาติดตามสภาวะทางการตลาดอยางใกลชิด ตลอดเวลาเพื่อประเมินสถานการณไดอยางแมนยํา และ สามารถวางกลยุทธที่เหมาะสมในการแขงขัน โดยมีจุดประสงคหลักอยูที่การเสริมสรางมูลคาใหแกผูถือหุน 1.3

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเงินและภาวะเศรษฐกิจ เนื่องจากลักษณะธุรกิจของบริษัทเกี่ยวของโดยตรงกับเทคโนโลยีจากตางประเทศซึ่งสวนใหญเปนรายการซื้อ เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคมและการใหบริการโทรขามแดนอัตโนมัติ จึงมีความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ในการบริหารความเสี่ยงดังกลาวบริษัทใชเครื่องมือปองกันความเสี่ยงทาง การเงินใหเหมาะสมกับสภาวการณในขณะนั้นๆ โดยสวนใหญจะเปนการทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ลวงหนาโดยจะพิจารณาจากเจาหนี้การคาที่เปนเงินตราตางประเทศ อยางไรก็ตามแมวาบริษัทจะมีภาระคาใชจาย ที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศที่อาจจะทําใหตนทุนของบริษัทเพิ่มขึ้นหรือลดลงอันเกิดจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน แตบริษัทก็มีรายไดบางสวนที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศจากการใหบริการขามแดนอัตโนมัติซึ่งจะ ชวยบรรเทาผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนที่ผันผวนได นอกจากนั้นการที่บริษัทมีการระดมทุนภายในประเทศ

สวนที่ 2 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปนสวนใหญก็สามารถลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศไดในระดับหนึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัท ไมมีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลว งหนาที่เปดสถานะไว และไมมี ผลกระทบจากความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 1.4

ความเสี่ยงดานเทคโนโลยีและการปฏิบัติการ 1.4.1 ความเสี่ยงในการรับประกันคุณภาพของบริการเสริมที่ดําเนินการโดยผูใหบริการรวม การที่บริษัทนําเทคโนโลยีใหมๆ ที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่เชน GPRS และ Location Based Service มาเปดใหบริการ เปนการเปดโอกาสใหบริษัทตางๆ เขามารวมมือกับเอไอเอสในการ ใหบริการเสริมที่แปลกใหมและหลากหลายใหกับลูกคา ความรวมมือดังกลาวนี้กอใหเกิดการเชื่อมตอกัน เปนเครือขายระหวางบริษัทผูใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทผูใหบริการเสริม และบริษัทผูผลิต เนื้อหา ในการทํางานรวมกันภายใตขอตกลงในการใหบริการอยางเครงครัด ความผิดพลาด ณ จุดใดจุด หนึ่ ง ย อ มส ง ผลกระทบต อ คุ ณ ภาพของบริ ก ารเสริ ม ที่ ลู ก ค า ได รั บ ดั ง นั้ น การควบคุ ม ข อ ตกลงในการ ใหบริการ และการประกันคุณภาพของบริการอยางครบวงจรจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งตอการรักษาความพึงพอใจ ของลูกคา อยางไรก็ตาม ในขณะนี้หนวยงาน GSMA (GSM Association) ซึ่งเปนหนวยงานกลางในอุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM ไดกําหนด Open Architecture Platform เพื่อใหเปนมาตรฐานในการ เชื่อมตอระหวางระบบของผูใหบริการเสริมตางๆ ซึ่งมาตรฐานดังกลาวจะชวยใหการควบคุมคุณภาพของ บริการเหลานี้ทําไดงายขึ้น บริษัทไดจัดหาระบบในการควบคุมดูแลคุณภาพการใหบริการเสริมตางๆ ใหทํางานไดอยางราบรื่นและมี ประสิทธิภาพเพื่อใหบริการเสริมตางๆ ถึงมือลูกคา และลูกคาสามารถใชงานไดตามความประสงค ระบบ ดังกลาวเปนระบบที่ดูแลตั้งแตตนทางถึงปลายทาง (End to End Service Monitoring and Control System) 1.4.2 ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ถึงแมวาจะมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งกําลังเปลี่ยนแปลง ไปสูการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง และการสื่อสารขอมูลแบบมัลติมีเดีย แตเทคโนโลยีดังกลาวอาจไมสงผล กระทบตอบริษัท มากนักในอนาคตอัน ใกล เนื่อ งจากลูกคา สว นใหญ โดยเฉพาะลูก คาในสวนภูมิภาค ยังนิยมเพียงการใชงานขั้นพื้นฐานของโทรศัพทเคลื่อนที่เทานั้น อยางไรก็ตาม บริษัทผูผลิตอุปกรณ เครือขายเริ่มปรับเปลี่ยนความสนใจ และโอนยายผูเชี่ยวชาญที่มีความสามารถเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑใน เทคโนโลยียุคที่ 3 (3G) การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลใหบริษัทไดรับประโยชนในการไดรับบริการหลังการขาย ที่ดี เพื่อสนับสนุนอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีทันสมัยตอไปในระยะยาว บริษัทไดดําเนินการจัดหาอุปกรณที่จะเขามาเพิ่มเติมเพื่อใหบริการตางๆ รวมถึงบริการเสริมทุกประเภท ใหมีความสามารถในการใหบริการกับลูกคาไดถึงเทคโนโลยีในยุคตอไปคือ 3G ตัวอยางเชน จัดหาระบบ สวนที่ 2 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ชุมสายแบบใหมที่เรียกวา ซอฟตสวิตซ (Softswitch) การจัดหาระบบ IMS (Internet Protocol Multimedia Subsystem) เพื่อรองรับระบบมัลติมีเดียในระบบ IP ในอนาคต เปนตน ขณะเดียวกันในป 2005 นี้ บริษัท จะไดทําการทดสอบระบบเทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 (3G) โดยใชความถี่ที่บริษัทมีใบอนุญาต ใชงานอยู โดยไมตองขอความถี่ใหมเพิ่มเติม ปจจุบันมีผูผลิตและผูใหบริการรายใหญของโลกไดผลิตและ ใชงานระบบ 3G ในคลื่นความถี่เดียวกับที่บริษัทมีใบอนุญาตใชงานอยู จึงนับเปนโอกาสที่ดีของบริษัทที่ สามารถและมีโอกาสที่จะใหบริการระบบ 3G ได โดยไมจําเปนตองขอความถี่ใหมเพิ่มเติม ซึ่งปจจุบัน ประเทศไทยยั ง ไม มี ค วามชั ด เจนจากคณะกรรมการสื่ อ สารโทรคมนาคมแห ง ชาติ (National Telecommunication Committee) ผูดูแลกฎเกณฑระบบสื่อสารโทรคมนาคมของประเทศไทย วาจะมีการ จัดสรรความถี่ใหมของระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ใหกับผูใหบริการไดเมื่อใดและโดยวิธีอยางใด การทดลองดังกลาวจะเปนการสรางศักยภาพและความรวดเร็วในการเรียนรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหมๆ ใหกับทีมงานของบริษัทไดเปนอยางดี และเมื่อเวลามาถึงบริษัทจะสามารถใหบริการดังกลาวกับลูกคาได เปนอยางดี 1.4.3 ความเสี่ยงดานการปฏิบัติการ เปาหมายของบริษัทในการใหบริการลูกคา คือ การสรางความประทับใจที่ดีของลูกคาจากการที่ไดใช บริการตางๆ ของบริษัททั้งที่เปนบริการหลักและบริการเสริม รวมทั้งบริการที่ลูกคาไดรับจากจุดที่ลูกคามี การติดตอดวย (Touch points) ดังนั้น จากการที่บริษัทมีการพัฒนาระบบงานตางๆตลอดปที่ผานมา เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการใหบริการลูกคา รองรับบริการที่มีความหลากหลาย อาจเปนผลทําให บริษัทเกิดความเสี่ยงในการใหบริการลูกคา อันเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดขึ้น ตัวอยางของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นนั้น มีรูปแบบการเกิดและผลกระทบที่แตกตางกันไป เชน • ความเสี่ยงดานการปฏิบัติการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระบบงานใหม อาจจะมีผลกระทบซึ่งเกิด จากความถูกตองและเสถียรภาพของระบบงานใหมที่นํามาใช คุณภาพของขอมูลที่มีการโอนยายจาก ระบบงานเดิมและความถูกตองของขอมูลในระบบฐานขอมูลตางๆที่เกี่ยวของ และประเด็นสําคัญคือ ความพรอมของตัวพนักงาน ความรูความสามารถในการใชระบบงานใหมในการทํางานและแกไข ปญหาตางๆที่เกิดขึ้นกับลูกคาของบริษัท • ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาดในการติดตอสื่อสารระหวางหนวยงาน ซึ่งอาจจะสงผลกระทบ ไปถึงคุณภาพของบริการที่มกี ารสงมอบใหกับลูกคา • จากสภาพการแขงขันที่รุนแรงในตลาด ทําใหในบางครั้งทําใหเกิดการเรงรีบในการออกบริการใหมสู ตลาด ซึ่งอาจทําใหขาดความครบถวนของระบบงาน เกิดความผิดพลาดที่ผลกระทบตอบริษัทและ ลูกคา • จากความเสี่ยงตางๆขางตน หากเกิดความผิดพลาดขึ้นจะกอใหเกิดความเสี่ยงในเรื่องของความ เชื่อมั่นของลูกคา เมื่อไดรับขอมูลหรือบริการที่ไมถูกตอง ดังนั้นเพื่อเปนการปองกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยงตางๆขางตน สรางความพรอมใหแกพนักงาน และหนวยงานใหมีขีดความสามารถในการทํา งาน นอกเหนือจากการใหการฝก อบรมพนักงานอยา ง

สวนที่ 2 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตอเนื่อง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการทํางานของพนักงานแลว บริษัทไดนํามาตรการเรื่องคุณภาพมาใชควบคู ไปกับความรวดเร็วในการใหบริการ (Speed with Quality) อันไดแก 1. การตรวจสอบคุณภาพในการทํางานของหนวยงานตางๆในบริษัท (Total Quality Assurance) โดยมี การดําเนินการใน 3 มุมมองที่มีการความเชื่อมโยงกันคือ • การตรวจสอบคุณภาพดานการใหบริการ (Service Quality Assurance) เพื่อใหแนใจวาบริการ ที่สงมอบใหกับลูกคาเปนไปตามสิ่งที่บริษัทกําหนดไวและมีคุณภาพ • การตรวจสอบคุณภาพดานเครือขาย (Network Quality Assurance) เพื่อใหแนใจวาเครือขายที่ ใชในการใหบริการลูกคามีคุณภาพตามที่กําหนด • การตรวจสอบดานรายได (Revenue Assurance) เพื่อใหแนใจวารายไดที่บริษัทไดรับจากการ ใชบริการของลูกคามีความถูกตองครบถวน และมีการเรียกเก็บในเวลาที่กําหนด 2. การบริหารและจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Control Management) เพื่อใหการเปลี่ยนแปลง ตางๆที่เกิดขึ้นในบริษัท มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีการทํางานแบบ End to end ครอบคลุมถึงทุกหนวยงานที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ทําใหผลจากการเปลี่ยนแปลง เปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไว และไมเกิดผลกระทบขางเคียงตอระบบงานอื่น 1.4.4 ความเสี่ยงจากการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากร ในปที่ผานมา บริษัทยังคงมีการเจริญเติบโตดานรายไดและผลกําไรอยา งตอเนื่อง แตก็มีการสูญเสีย ทรัพยากรบุคคลโดยรวมทุกระดับใกลเคียงกับปกอนหนานี้ โดยกลุมพนักงานที่บริษัทจัดเปนผูมีความรู ความสามารถและเปนกําลังสําคัญก็มีอัตราการออกจากงานที่ลดลง ที่เปนเชนนี้เพราะบริษัทมีนโยบายและ แผนงานที่ชัดเจนในการธํารงรักษาพนักงานที่มีความรูความสามารถ และมีทักษะความชํานาญที่สําคัญตอ การทํางาน โดยดูแลเรื่องผลประโยชนตอบแทนในการทํางานใหสามารถแขงขันไดกับตลาดแรงงาน และ ดําเนินการอยางจริงจังในเรื่องการพัฒนาบุคลากรซึ่งถือเปนหัวใจสําคัญในการสรางความเจริญกาวหนา ใหกับบริษัทตลอดมา ดังนั้น เราจึงตองพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากรอยางตอเนื่อง เพื่อใหไดมา ซึ่งผลงานที่มีคุณภาพสูงสุด และกระจายการฝกอบรมไปยังพนักงานทุกระดับอยางทั่วถึงและตอเนื่อง โดยการคัดสรรหลักสูตรการฝกอบรมที่ตรงกับความตองการของบุคลากรทุกระดับ และในขณะที่ธุรกิจ สื่ อ สารโทรคมนาคมไร ส ายมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย า งรวดเร็ ว บริ ษั ท จึ ง ได ริ เ ริ่ ม โครงการ Talent Development Program ในการเตรียมบุคลากรที่มีศักยภาพเพื่อนําเอไอเอสไปสูความสําเร็จในระยะยาว และจัดงาน Career Day เพื่อใหพนักงานเขาใจถึงแนวทางความกาวหนาในสายอาชีพของตน และ สนับสนุนใหพนักงานมีโอกาสความกาวหนาอยางเทาเทียมกัน อีกทั้งยังจัดใหมีการพัฒนาเวปไซดภายใน บริษัทภายใตชื่อของ “นกฮูก” โดยเปนการสรางฐานขอมูลกลางขึ้นเพื่อเปนแหลงสะสมขอมูลความรูของ พนักงาน (Knowledge Base) และเปดโอกาสใหพนักงานมีการแลกเปลี่ยนประสบการณกันทั้งในดานที่ เป น เรื่ อ งของความสํ า เร็ จ และข อ ผิ ด พลาดที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยเป น การสร า งให เ กิ ด องค ก รแห ง การเรี ย นรู (Learning Organization) นอกจากนี้บริษัทยังไดสํารวจความคิดเห็นของพนักงานที่มีตอสภาพการทํางานภายในและนํามาจัดทําเปน แผนงาน เพื่อพัฒนาปรับปรุงจนทําใหระดับความพึงพอใจในการทํางานในภาพรวมของพนักงานภายใน องคกรเพิ่มสูงขึ้นมาอยางตอเนื่อง

สวนที่ 2 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2548 การขยายตัวของบริษัทอันเนื่องจากจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่คาดวาจะมีเพิ่ม มากขึ้น รวมทั้งการสรางสรรคบริการใหมในรูปแบบตางๆ ที่จะนําเสนอใหกับลูกคาผูใชบริการ ทําให บริษัทยังคงมีความจําเปนตองสรรหาผูมีความรูความสามารถมาเสริมทีมงาน และตองทํางานดานการ พัฒนาฝกอบรมพนักงานอยางเขมแข็งตอไปดังเชนปที่ผานมา เพื่อสรางใหบุคลากรของบริษัทมีความ พรอมตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่จะเกิดขึ้น และสามารถผลักดันใหบริษัทบรรลุเปาหมายดานรายไดและ การเจริญเติบโตตามแผนงานที่กําหนดไวตอไป 1.5

ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ นับแตเหตุการณภัยจากสึนามิ (Tsunami) ที่สรางความเสียหายใหกับหลายจังหวัดในภาคใตของประเทศไทยเมื่อ ปลายป 2004 ที่ผานมา ทําใหบริษัทตระหนักถึงความเสี่ยงอันตรายอันอาจเกิดจากภัยธรรมชาติที่อยูนอกเหนือ ความควบคุมของเรา ดังนั้น บริษัทจึงไดตรียมการจัดการทางดานบริหารความเสี่ยงโดยจัดทําการจัดการเพื่อ ความตอเนื่องของการทําธุรกิจ (Business Continuity Management หรือ BCM ) เพื่อสรางหลักประกันในการ ดําเนินธุรกิจและการใหบริการลูกคา วาจะไมมีภัยธรรมชาติใดๆ มากระทบ การใหบริการของบริษัทจะดําเนิน ตอไปโดยไมขาดตอน ถึงแมวาในภัยธรรมชาติครั้งนี้ บริษัทไดรับความเสียหายเพียงสถานีเดียวจากเกือบสามรอยสถานีใน 6 จังหวัด ภาคใต แมความเสียหายมีจํานวนเล็กนอย แตระบบอื่นๆ เชนระบบไฟฟากําลังและระบบสื่อสัญญาณถูกทําลายลง ทําใหระบบสถานีไมมีไฟฟาและสื่อสัญญาณที่จะเชื่อมตอกับชุมสาย ทําใหไมสามารถใหบริการลูกคาในบริเวณที่ เกิดภัยพิบัติไดเปนเวลาหลายชั่วโมง และเมื่อระบบไฟฟากําลังกลับคืนมา หรือบริษัทไดใชระบบไฟฟาสํารองทํา ใหสถานีเริ่มใหบริการได แตก็จะประสบกับปญหาตอมาคือ การระดมใชงานจากลูกคาจํานวนมากพรอมๆ กัน ทํา ใหร ะบบไม ส ามารถรองรั บ ไดค รบถว น แม บ ริษั ท จะได พ ยายามเพิ่ ม เติ ม ปริ ม าณช อ งสั ญ ญาณจนถึง จุ ด ที่ เทคโนโลยีจะรองรับไดก็ตาม การจัดการในเรื่องนี้ บริษัทไดมีการกําหนดหัวขอที่จะดําเนินการตางๆ ไว ตัวอยางเชน การจัดการออกแบบระบบ สํารองในกรณีฉุกเฉิน (Network Redundancy System) การจัดการกําหนดขั้นตอนในการปฏิบัติตางๆ (Standard Procedures) การกําหนดขั้นตอนตางๆ ในการกูระบบ (Disaster Recovery Plan) เปนตน ในฐานะผูใหบริการสื่อสารโทรคมนาคม และเปนบริษัทที่มีธรรมาภิบาล (Good Governance) บริษัทยินดีเขารวม และเปนสวนหนึ่งของระบบที่พรอมจะใหบริการและความชวยเหลือในกรณีที่เกิดภัยพิบัติแหงชาติขึ้น ดังเชนที่ บริษัทเคยดําเนินการใหความชวยเหลือในเหตุการณตางๆ ที่ผานมา

สวนที่ 2 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

2.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ พัฒนาการที่สําคัญกอนป 2547

ป 2529

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเปนบริษัทจํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกในการดําเนินธุรกิจใหเชาและใหบริการคอมพิวเตอร

ป 2532

บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ไดเขามาเปนผูถือหุนของบริษัทในสัดสวนรอยละ 60 ของทุนจด ทะเบียน และไดเปลี่ยนวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจเปนการใหบริการโทรคมนาคม

ป 2542

เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึ่งเปนบริษัท ในกลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร ซึ่งดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสื่อสารและ โทรคมนาคม ไดเขาถือหุนในบริษัท และปจจุบนั SHIN และ SingTel เปนผูถือหุนในบริษัททั้งสิ้นรอยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2542 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) (เดิม ชื่อ บริษัท ชินวัตร เพจจิ้ง จํากัด) ซึ่งดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัว จากเดิมรอยละ 60.00 เปน รอยละ 99.99 แตจากการที่บริการโทรศัพทติดตามตัวไดรับความนิยมลดลงเปนอยางมาก ประกอบกับ การ ปรับตัวลดลงของราคาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่เปนสิ่งที่สามารถซื้อหาไดงายขึ้น การดําเนินงานของ APG จึงไดยุติลง พรอมกับมีการคืนสัญญารวมการงานใหแก ทศท. เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2545 ตอมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ไดถูกขายใหแกบริษัทอื่น ดังนั้น APG จึงไมไดเปน บริษัทในเครือของบริษัทอีกตอไป ในเดือนตุลาคม 2542 บริษัทเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) (เดิมชื่อบริษัท ชินวัตร ดาตาคอม จํากัด) ในสัดสวนรอยละ 67.95 และบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ในสัดสวนรอยละ 49.00 ซึ่งทั้งสองบริษทั ดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท

ป 2544

ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ในสัดสวนรอยละ 99.99 หรือมูลคาการลงทุนรวม 540 ลานบาท จาก SHIN และ Singtel บริษัท SDT ในขณะนั้น เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนผู ประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 และเปนผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริษัทไดใหการสนับสนุนทางการเงินแก SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ลานบาท เพื่อใชชําระหนี้ ใหแก SHIN และ SingTel ทั้งนี้ บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปน การเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN จํานวน 17 ลานหุน และ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน คิดเปนมูลคารวม ทั้งสิ้น 10,024 ลานบาท เพื่อเปนเงินทุนสวนหนึ่งในการลงทุนดังกลาว ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดมีการลงทุนในกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ของ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 8,556 ลานบาท โดยบริษัทไดเขาไปลงทุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ในบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ซึ่ง SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน DPC สวนที่ 2 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดสวนรอยละ 98.17 หรือมูลคาการลงทุนรวม 20,300 ลานบาท จาก บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) เพื่อใชหนี้คืนใหแกบริษัทและลดภาระภาษีดานรายไดคาดอกเบี้ย โดยได เขาไปซื้อหุน DPC เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึ่งจะทําใหบริษัทเปนผูถือหุนใน DPC โดยตรง ป 2545

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2545 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ไดอนุมัติใหบริษัทลงทุนเพิ่ม ใน DPC จํานวน 300 ลานหุน เปนจํานวนเงิน 3,000 ลานบาท ซึ่งเปนผลทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน DPC เปนรอยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 บริษัทปรับโครงสรางธุรกิจการนําเขาและการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) โดยโอนการดําเนินงานของ AWM รวมเขากับการ ดําเนินงานของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่งของบริษัท เพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมใหดียิ่งขึ้น (AWM จึงหยุดดําเนินกิจการชั่วคราว)

ป 2546

บริษัทไดรับการปรับอันดับความนาเชื่อถือของบริษัทและหุนกูของบริษัท โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด จาก ระดับ AA- เปน AA พัฒนาการที่สําคัญในป 2547

มกราคม

เอไอเอสไดเปดตัวโปรแกรมดูแลลูกคาพิเศษที่สําคัญระดับ Platinum และ Gold ภายใตชื่อ Serenade (เซเรเนด) ขึ้น

กุมภาพันธ

เอไอเอสปรับโครงสรางการบริหารงานใหม โดยรวมสายงานสนับสนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและสาย ปฏิบัติการเครือขายเขาดวยกัน และแบงลักษณะงานใหมเปนสายงานพัฒนาโซลูช่ันส (Solutions) และสาย ปฏิบัติการ (Operations) เพื่อใหสอดคลองกับการทํางานที่ผสมผสานกันมากขึ้น และสามารถพัฒนา สรางสรรคบริการใหม ๆ อยางครบวงจรใหสมบูรณแบบตามเปาหมายในป 2547 วัน-ทู-คอล! ไดเปดใหบริการ Freedom Everyday หรือการบริการเติมเงินแบบรายวันดวยแนวคิด “วันละ 20 บาท ก็พอแลว” พรอมออกบัตรเติมเงินราคา 40 บาท เพื่ออํานวยความสะดวกและรองรับความตองการ ของลูกคาที่หลากหลายอีกดวย

มีนาคม

จีเอสเอ็ม แอดวานซ ไดพัฒนาการใหบริการแกลูกคาดวย EVOLUTION MODE ที่จัดคาโทรพรอมใหบริการ สื่อสารไรสาย (Wireless Service) ใหเลือกอยางหลากหลายเหมาะสมกับความตองการของลูกคา เอไอเอสเปดตัว SIM to GO เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกนักทองเที่ยวที่เปนชาวตางชาติ ตลอดเวลาที่อยู ในประเทศไทย ดวยคาโทรที่ประหยัดและบริการพิเศษตาง ๆ

สวนที่ 2 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอไอเอสจัดโครงการ NWO Project (New World Order) เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาระดับอุดมศึกษาได แสดงศักยภาพและพลังความคิดสรางสรรคอยางเต็มที่ โดยการรวมงานกับเอไอเอสเปนเวลา 1 ป ภ า ย ใ ต แนวคิด “พลังเล็กๆที่ยิ่งใหญ” ดวยความเชื่อมั่นในพลังการสรางสรรคของคนรุนใหมที่จะสรางสิ่งใหมๆ ใหกับสังคมไทย พฤษภาคม เอไอเอสพัฒนาการคิดคํานวณคาใชบริการจีพีอารเอสรูปแบบใหม คือ คิดคาบริการตามเวลาการใชงานหรือ Minute Base แทนการคิดคาใชบริการตามปริมาณขอมูลที่รับ-สง วัน-ทู-คอล! เปดตัว “สวัสดี” เพื่อเพิ่มชองทางการบริการใหลูกคาไดเลือกรูปแบบเติมเงินที่หลากหลายมาก ยิ่งขึ้นตามความตองการและความสะดวกสบายของลูกคา กรกฎาคม

เอไอเอสไดรับการจัดอันดับจากนิตยสารบิสิเนสวีค (Business Week) ใหเปนบริษัทที่มีมูลคาสูงสุดของโลก ประจําป 2547 ซึ่งมีบริษัทในประเทศไทยเพียง 3 บริษัทเทานั้นที่ไดรับการจัดลําดับในครั้งนี้ เอไอเอสไดพัฒนาการใหบริการโดยแยกตามลักษณะการใชบริการโทรศัพทของลูกคาภายใตช่อื “โมบายไลฟ” พร อ มแนะนํ า “เดอะ โมบายไลฟ แก็ ง ค ” การ ตู น แอนิ เ มชั่ น แสดงตั ว แทนแต ล ะไลฟ ส ไตล ข องลู ก ค า ซึ่งเปนการสรางปรากฏการณใหมใหกับตลาดบริการเสริมในประเทศไทย

สิงหาคม

บริษัท ฟทช เรทติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด (Fitch) ประกาศใหเอไอเอสไดรับอันดับเครดิตภายในประเทศ ระยะยาวที่ระดับ AA (tha) แนวโนมมีเสถียรภาพ และระยะสั้นที่ระดับ F1+(tha) สะทอนถึงฐานะการเงินที่ แข็งแกรง และความเปนผูนําทางดานตลาด เอไอเอสแถลงขาวแผนงานการขยายเครือขายที่ลงทุนกวา 1.5 หมื่นลานบาท เพื่อใหมีการใหบริการดานตาง ๆ และการนําเสนอนวัตกรรมใหมๆ อาทิ แท็กซี่ตรวจสอบสัญญาณ และสถานีฐานเคลื่อนที่ขนาดเล็กที่เปน ฝมือจากวิศวกรของเอไอเอส

ตุลาคม

บริษัท ไทยเรทติ้ง แอนด อินฟอรเมชั่น เซอรวิส จํากัด หรือ ทริส (TRIS) จัดอันดับเครดิตองคกรและตรา สาร หนี้ของเอไอเอสคงระดับที่ AA ซึ่งสะทอนใหเห็นวาฐานะทางธุรกิจของเอไอเอสยังคงแข็งแกรง มีผล ประกอบการที่ดีอยางตอเนื่อง และมีความสามารถในการสรางกระแสเงินสดสูง โมบายไลฟไดเปดใหบริการ Calling Melody *789 ดวยการเปลี่ยนเสียงรอสายแบบเดิม มาเปนเสียงเพลง หรือคําพูดเด็ดๆ จากดารา นักรอง และผูมีชื่อเสียงอยูในกระแสความนิยม ใหผูที่โทรเขาไดฟงระหวาง รอสาย

พฤศจิกายน จีเอสเอ็ม แอดวานซ เปดตัวนวัตกรรมใหมลาสุด “มัลติ ซิม” ภายใตแนวคิด “1 เบอร หลายซิม” ที่สามารถ อํานวยความสะดวกและความคลองตัวใหกับลูกคาที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่หลายเครื่อง โดยบริการนี้สามารถมี ซิมการดไดสูงสุดถึง 5 ใบ โดยเปนซิมหลัก 1 ซิม และ ซิมรอง 4 ซิม เพื่อใหลูกคาไดใชอยางมีประสิทธิภาพ สูงสุด โมบายไลฟรวมกับพันธมิตร ทั้งคอนเท็นตและเซอรวิสโพรวายเดอร กวา 300 ราย ประกาศรุกตลาดบริการ เสริ ม แบบข อ มู ล ในป 2548 โดยร ว มมื อ และสนั บ สนุ น การทํ า ธุ ร กิ จ ทุ ก ด า น และยั ง เป ด ตั ว CPCC: Content Partner Call Center ที่เปนตัวกลางในการชวยแกปญหาและมอบคําปรึกษาในการสรางสรรค บริการใหแกพันธมิตรตลอด 24 ชั่วโมง สวนที่ 2 หนา 10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

ธันวาคม

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอไอเอสไดรับการเพิ่มอันดับความนาเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนดดารตแอนดพัวรส หรือ เอส แอนด พี (S&P) จากเดิมอยูที่ระดับ BBB ใหเปนระดับ BBB+ ซึ่งถือเปนอันดับความนาเชื่อถือขององคกรเอกชน ที่เทียบเทาอันดับความนาเชื่อถือของประเทศไทย และสะทอนใหเห็นถึงสถานภาพอันแข็งแกรงของเอไอเอส ในการเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในประเทศไทย เอไอเอสไดรับการคัดเลือกจากสถาบัน An Institutional Investor Research Group Publication ซึ่งสถาบัน ไดทําการสํารวจความคิดเห็นจากนักลงทุนทั่วโลก ใหเอไอเอสไดรับรางวัล Best CEO และ Best Investor Relations ประจําป 2547 เอไอเอสใหบริการรูปแบบใหมดวยการทําธุรกรรมทางการเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตชื่อ “mPAY” (เอ็มเพย) เพื่ออํานวยความสะดวกสบายใหกับลูกคาในการจายเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่แทนการจายดวย เงินสด ซึ่งเปนผลงานการคิดคนจากทีมงานฟวเจอร แล็บ โดยรวมกับพันธมิตรกวา 200 ราย ในการติดตั้ง จุดใหบริการจํานวน 500 จุด บริเวณธนาคารและรานคา ตาง ๆ เอไอเอสไดรับการจัดอันดับจากนิตยสาร Asiamoney ใหเปน Best CEO in Thailand และเปนอันดับสาม ดาน ”Overall Best Managed Company in Thailand with a market capitalization of over US $700 million” ประจําป 2547 เอไอเอสไดรับการจัดอันดับจากนิตยสาร Euromoney ใหเปนอันดับหนึ่งดาน Best Managed Company in Thailand และ Best Managed Cellular Telecommunications Company in Asia ซึ่งสํารวจจากทั้งใน ประเทศและระดับภาคพื้นเอเชีย ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพดานการจัดการการใหบริการขององคกร ที่ดีและเปนที่นาเชื่อถือ

2.2

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัทเปนหนึ่งในกลุมของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ซึ่งประกอบธุรกิจการเขาลงทุนและมีสวน รวมในการบริหารบริษัทที่ดาํ เนินธุรกิจใน 4 สายธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ธุรกิจดาวเทียม และธุรกิจตางประเทศ ธุรกิจสื่อและโฆษณา และ ธุรกิจอิเล็คทรอนิกสและธุรกิจอื่นๆ ดังแผนผังโครงสรางการถือหุน ของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ดังนี้

สวนที่ 2 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส โครงสรางการถือหุนกลุมบริษัทฯ ณ วันที่ 31มกราคม 2548 บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น

42.90%

51.40%

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) 2)

53.01%

บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) 2)

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด

49.00%

99.99%

บริษัท เอสซี แมชทบอกซ จํากัด 94.19%

บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชั่น เซอรวิส จํากัด

63.25%

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด

44.99%

บริษัท ซี.เอส. ล็อกซอินโฟ โซลูชั่น จํากัด

บริษัท เพยเมนท โซลูชั่น จํากัด

90.91%

บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด

99.99%

100%

บริษัท โปรเฟสชั่นแนล คอลเลคชั่น จํากัด

เมอรรี่ อินเตอรเนชั่นแนล อินเวสเมนท คอรป

บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเมนท จํากัด 1)

บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จํากัด

100%

49.00%

98.88%

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

บริษัท ไอพีสตาร จํากัด

100%

100%

บริษัท ไอพีสตาร ออสเตรเลีย พีทวี าย จํากัด

70.00%

บริษัท สตารนวิ เคลียส จํากัด

70.00%

สเปซโคด แอล แอล ซี

บริษัท ชินนีด่ อทคอม จํากัด

70.00%

บริษัท อารคไซเบอร จํากัด

47.50%

100%

บริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด

บริษัท ไอพีสตาร นิวซีแลนด จํากัด

1) Holding Company 2) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด

99.96%

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

65.00%

99.99%

99.99%

บริษัท แคปปตอล โอเค จํากัด

บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) 2)

บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด

บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด

บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด

60.00%

99.99%

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

98.55%

99.99%

บริษัท ไทยแอรเอเชีย จํากัด

บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด 40.02%

51.00%

50.00%

บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) 2)

บริษัท ชิน บรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด

99.99% 99.99%

1), 2)

สวนที่ 2 หนา 12

100%

บริษัท ไอพีสตาร ดู บราซิล จํากัด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางกลุมบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS)

99.99%

บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด * (MFA) นําเขาและเปนตัวแทนจําหนาย

โทรศัพทเคลื่อนที่

ทุนจดทะเบียนและ

เรียกชําระแลว 240 ลานบาท

51.00%

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (ADC)

ใหบริการสื่อสารขอมูลผาน

49.00%

บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS)

ใหบริการสื่อสารขอมูลผาน

สายโทรศัพท

สายโทรศัพท

ทุนจดทะเบียนและ

ทุนจดทะเบียนและ

เรียกชําระแลว 957.52 ลานบาท

98.55%

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่

ดิจิตอล GSM 1800 และนําเขา และเปนตัวแทนจําหนายโทรศัพท เคลื่อนที่

เรียกชําระแลว 1 ลานบาท

ทุนจดทะเบียนและ เรียกชําระแลว 14,621 ลานบาท

* เดิมคือ บริษทั แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด ปจจุบันหยุดดําเนิน ธุรกิจมาตั้งแตธันวาคม 2545

สวนที่ 2 หนา 13

99.99%

บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด (ACC)

ใหบริการศูนยใหขาวสาร

ทางโทรศัพท

ทุนจดทะเบียนและ

เรียกชําระแลว 272 ลานบาท

65.00%

บริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด (DLT)

ใหบริการอินเตอรเนต

ทุนจดทะเบียนและ เรียกชําระแลว 15 ลานบาท


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS) บริษัทดําเนินกิจการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร เดิมใหบริการในระบบอนาลอก (analog) NMT ที่ยาน ความถี่ 900 MHz ซึ่งไดหยุดใหบริการแลวตั้งแตป 2546 ปจจุบันใหบริการในระบบดิจิตอล (digital) GSM ที่ยานความถี่ 900 MHz โดยไดรับอนุญาตใหดําเนินงานจากองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบันแปรรูปเปน บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)) ตามสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ ในป พ.ศ. 2533 เปนระยะเวลา 20 ป ตอมาในป พ.ศ. 2539 ไดขยายเวลาของสัญญารวมการงานเปน 25 ป สิ้นสุดป 2558 ภายใตสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) บริษัทมีหนาที่เปนผูลงทุนในการสรางเครือขาย เซลลูลารและรับผิดชอบในการหาเงินลงทุนรวมทั้งคาใชจายตางๆ ทั้งหมด และโอนกรรมสิทธิ์ในเครือขายใหแกผูใหสัญญา (ทศท) โดยบริษัทมีหนาที่และความรับผิดชอบและหาแหลงเงินทุนสําหรับงานวิศวกรเครือขาย วางแผนงานดานเครือขาย จัดหาอุปกรณพรอมทั้งติดตั้ง บํารุงดูแลรักษาเครือขาย ตลอดจนดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ การตลาดและการใหบริการ ทั้งนี้ บริษัทจะตองจายผลประโยชนตอบแทนในรูปแบบของสวนแบงรายไดที่ไดรับจากการใหบริการใหแกผูใหสัญญา และกรม สรรพสามิต โดยรายไดจากการใหบริการแบบชําระคาบริการหลังการใช (Postpaid) บริษัทไดจัดแบงรอยละ 25 ของ รายไดนั้นใหแก ทศท และรัฐบาลในรูปของภาษีสรรพสามิต (Excise tax) สวนรายไดจากบริการแบบชําระคาใชบริการ ลวงหนา (Prepaid) บริษัทจัดแบงให ทศท. และรัฐบาลในรูปของภาษีสรรพสามิตในอัตรารอยละ 20 นอกเหนือจากการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทยอย ดังนี้

บริษัทไดขยายการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับโทรคมนาคมใน

บริษัท โมบายฟอรแอ็ดวานซ จํากัด (MFA) MFA เดิมชื่อบริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด ถือหุนโดยบริษัทในสัดสวนรอยละ 99.99% มีทุนจดทะเบียนเรียก ชําระแลว 240 ลานบาท แตเดิมดําเนินธุรกิจนําเขาและเปนตัวแทนจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ปจจุบันไดหยุดดําเนิน กิจการแลวและธุรกิจดังกลาวไดให DPC เปนผูดําเนินการ บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ADC ดําเนินธุรกิจใหบริการการสื่อสารขอมูลผานเครือขายสายโทรศัพท (Online Data Communication) โดยทําสัญญา รวมลงทุนกับ ทศท ในป พ.ศ. 2532 ตอมาในป พ.ศ. 2540 ไดขยายเวลาของสัญญารวมการงานเปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดในป พ.ศ. 2565 ปจจุบันเปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัท และ ทศท ในสัดสวนการถือหุนรอยละ 51 และ 45.34 ตามลําดับ มีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 957.52 ลานบาท ADC ใหบริการหลากหลายในดานการเชื่อมขอมูลระบบ Wide Area Network (WAN) ดวยเทคโนโลยี Gigabit Ethernet, ATM, Frame Relay และ Legacy Protocols อื่นๆ โดยมีพื้นที่ ใหบริการและระบบเครือขาย (Backbone Network) ครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งนี้ ในป 2548 นี้ ADC มีแผนจะเปดใหบริการ ใหมที่เรียกวาเปน “ความบันเทิงสูบานเรือน” ซึ่งรวมบริการดานบรอดแบนดทีวีพรอมดวยอินเตอรเนตความเร็วสูงผานทาง เครือขายสายโทรศัพท บริการบรอดแบนดทีวีนั้นรวมถึงโทรทัศนชองปกติ และภาพยนตร เพลง ขาว สารคดี รายการสาระ และบันเทิงอื่นๆ อีกมากจากผูร วมใหบริการ (Content Partners) หลายราย นอกจากนี้ ผูใชบริการยังสามารถใชงาน อินเตอรเนตความเร็วสูง (ADSL) และโทรศัพทพื้นฐานควบคูไปพรอมกันไดดวย บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) DNS ถือหุนโดยบริษัทในสัดสวนรอยละ 49 อีกรอยละ 51 ถือโดยบริษัท บางกอกเทเลคอมเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ดีเอ็นเอส มี ทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 1 ลานบาท แตเดิมใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพททั่วประเทศ (Online Data สวนที่ 2 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Communication) โดยเนนการขายและใหเชาอุปกรณแกลูกคาเฉพาะในเขตภูมิภาคเนื่องจากสัมปทานเดิมของ ADC สามารถใหบริการไดเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครเทานั้น ตอมาในป 2540 ADC ไดรับอนุญาตใหเพิ่มพื้นที่บริการได ครอบคลุมทั่วประเทศ ปจจุบัน DNS จึงใหบริการเฉพาะลูกคาเดิมและจําหนายอุปกรณเพิ่มเติมเทานั้น บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด (DPC) DPC ถือหุนโดยบริษัทในสัดสวนรอยละ 98.55 มีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 14,621 ลานบาท ประกอบธุรกิจใหบริการ เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ยานความถี่ 1800 MHz โดยไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการโทรคมนาคม จาก กสท. (ปจจุบันแปรรูปเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)) ภายใตสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) ในป พ.ศ. 2540 เปนระยะเวลา 16 ป สิ้นสุดป พ.ศ. 2556 โดย DPC ตองจายผลประโยชนตอบ แทนเปนรอยละของรายไดจากการใหบริการใหแก กสท. ซึ่งปจจุบันมีการจัดแบงรายไดอยูที่ประมาณรอยละ 20 ของรายได จากการใหบริการแก กสท. และรัฐบาลในรูปของภาษีสรรพสามิต นอกจากนี้ DPC มีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง บริษัท กับ DPC ซึ่งจะทําใหผูใช โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอลจีเอสเอ็ม 1800 สามารถใชงานไดทั่วประเทศเหมือนกับผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล จีเอสเอ็ม แอดวานซ นอกจากนี้ DPC เปนผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งอุปกรณโทรคมนาคมอื่นๆ บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด (ACC) เอซีซี ถือหุนโดยบริษัทในสัดสวนรอยละ 99.99 มีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 272 ลานบาท เปนบริษัทที่เนนธุรกิจการ ใหบริการลูกคาสัมพันธเปนหลัก โดยดําเนินธุรกิจใหบริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) ทั้งในดานการตอบคําถาม การใหคําแนะนํา และคําปรึกษา แกลูกคาของ เอไอเอส และ DPC รวมถึงบริษัทอื่นๆที่ตองการใชบริการขอมูลทาง โทรศัพท บริษัท ดาตาลายไทย จํากัด (DLT) DLT ถือหุนโดยบริษัทในสัดสวนรอยละ 65 มีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 15 ลานบาท ดําเนินธุรกิจเปนผูใหบริการ เครือขายอินเตอรเนตในเชิงพาณิชย (ISP) โดยไดรับสิทธิ์ในการใหบริการจากการสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบันแปรรูป เปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)) ในป 2540 เปนระยะเวลา 10 ป สิ้นสุดป 2550

สวนที่ 2 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

2.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางรายได โครงสรางรายไดที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑหรือบริการของบริษัทและบริษัทยอยใหบุคคลภายนอก ในระยะ 3 ปที่ผานมา รอยละการถือหุน ผลิตภัณฑ/บริการ

ดําเนินการโดย

ของบริษัท

ป 2545 ลานบาท

ป 2546 รอยละ

ป 2547

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

ณ 31 ธ.ค. 47 ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

55,371.69

69.00

70,068.23

78.30

81,221.17

84.22

บริการโทรศัพทเคลื่อนที่

บจ.ดิจิตอล โฟน

98.55

-

4,736.36

5.90

3,141.74

3.51

2,598.77

2.70

การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่

บจ.โมบาย ฟรอม แอดวานซ

99.99

17,790.54

22.17

การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่

บจ.ดิจิตอล โฟน

98.55

1,880.96

2.34

15,862.15

17.72

12,124.26

12.57

79,779.55

99.41

89,072.12

99.53

95,944.20

99.49

0.09

รวม

-

-

-

-

ธุรกิจโทรศัพทติดตามตัว บริการโทรศัพทติดตามตัว

บจ.แอดวานซ เพจจิ้ง

-

72.45

คาเชาโทรศัพทติดตามตัว

บจ.แอดวานซ เพจจิ้ง

-

-

การขายโทรศัพทติดตามตัว

บจ.แอดวานซ เพจจิ้ง

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

6.81

0.01

79.26

0.10

-

51.00

357.57

0.44

360.39

0.41

455.85

0.47

บจ.ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส

49.00

30.19

0.04

37.73

0.04

30.95

0.03

บจ.ดาตา ลายไทย

65.00

0.84

0.00

487.64

0.50

รวม

-

-

-

-

-

-

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท บจ.แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค

รวม

387.76

0.48

398.12

0.45

ธุรกิจบริการใหขอมูลทางโทรศัพท บจ. แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร

99.99

รวม รวม

4.83

0.01

21.46

0.02

5.64

0.01

4.83

0.01

21.46

0.02

5.64

0.01

80,251.40

100.00

89,491.70

100.00

96,437.48

100.00

หมายเหตุ : 1) บริษัทไดขายหุนทั้งหมดในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด ใหแกบุคคลภายนอก ในเดือนกันยายน 2545 2) บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน บริษัท แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร จํากัด ในเดือนสิงหาคม 2545 โดยใหบริการใหขอมูลทางโทรศัพท 3) บริษัทเขาถือหุนในบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด ในสัดสวนรอยละ 98.17 ในเดือนธันวาคม 2544 และเพิ่มสัดสวนเปน รอยละ 98.55 ในเดือนตุลาคม 2545 4) บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด ในเดือนเมษายน 2547 5) บริษัทเขาถือหุนในบริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด ในสัดสวนรอยละ 65.00 ในเดือนมิถุนายน 2547 โดยใหบริการเกี่ยวกับบริการอินเทอรเนต

สวนที่ 2 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545

2.4

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปาหมายการดําเนินธุรกิจ เพื่อครองความเปนผูนําในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยไดอยางตอเนื่อง และอยูในฐานะที่ จะรักษาความเปนผูนําตอไปในอนาคต โดยมีวตั ถุประสงคหลัก คือการเพิ่มมูลคาการลงทุนใหแกผูถือหุน บริษัทมีปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ และกลยุทธสําคัญที่สรางความสําเร็จใหแกบริษัท คือการสรางความ แตกตาง โดยการเปลี่ยนจากการเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Phone Operation) แบบเดิมที่ มอบบริการที่เหนือชั้นกวาทั้งดานเครือขายและคุณภาพ มาเปน “ผูใหบริการสื่อสารไรสาย” (Wireless Service Provider) เพื่อนําประสบการณใหมๆ ดีๆ มาสูลูกคา โดยไมจาํ กัดเฉพาะโทรศัพทเคลื่อนที่เทานั้น แตรวมถึงอุปกรณไรสายอื่นๆ นอกจากนี้ บริษัทยังใหความสําคัญตอการสรางสรรคบริการทีม่ ีคุณภาพและ มีความหลากหลาย เพื่อพรอมนําเสนอใหแกผูใชบริการในเวลาที่ผูใชบริการตองการ โดยบริการดังกลาว ตองมีคุณสมบัติของความเหมาะสม 4 ประการอันจะนํามาซึ่งความพึงพอใจของผูใชบริการ • Right Product การนําเสนอบริการที่ลูกคาตองการหรือสามารถแกไขปญหาของลูกคาไดตรง ตามความตองการของลูกคาทั้งที่เปนลูกคาบุคคลและลูกคานิติบุคคล • Right Quality การนําเสนอบริการที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพบนรากฐานของความเปนเลิศใน ดาน Network, Technology, Service และ People • Right Price การนําเสนอบริการที่มีราคาเหมาะสมกับความคุมคาของเงินในความรูสึกของลูกคา โดยลูกคายินดีที่จะใชจายเพื่อบริการนั้นๆ • Right Time การนําเสนอบริการใหแกลูกคาไดในเวลาที่ลูกคาตองการ โดยคุณสมบัติของความเหมาะสมของบริการที่จะนําเสนอตอลูกคาทั้ง 4 คุณลักษณะดังกลาว บริษัทตอง ทําดวยความรวดเร็ว (Speed) งายตอการใชงาน (Simplification) และมาจากมุมมองของลูกคาอยาง แทจริง (Sense of Customer) บริษัทเชื่อวา จากปรัชญาในการดําเนินธุรกิจและกลยุทธดังกลาวขางตน จะทําใหมูลคาการลงทุนของผูถือ หุนเพิ่มพูนขึ้น ในขณะที่อุตสาหกรรมนี้ กาวเขาสูโอกาสใหมทางการตลาด

สวนที่ 2 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

3.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1

ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ ลักษณะการใหบริการของบริษัทในป 2547 สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลักๆ ไดแก (1) การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยมีบริษัทและบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอย ของบริษัทเปนผูใหบริการ มีบริการแบบชําระคาบริการหลังการใช (Postpaid subscription service), บริการแบบชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid subscription service) บริการสื่อสารไรสาย /บริการ สื่อสารดวยขอมูล (Wireless/Non-voice communications service), บริการสําหรับลูกคานิติบุคคล (Enterprise business service) ในแตละประเภท บริการตางๆจะจัดเปนแพ็คเก็จเพื่อตอบสนองความ ตองการและการใชบริการที่แตกตางกันตามรูปแบบการใชชีวิต (ไลฟสไตล) ของลูกคาแตละคน (2) การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตางๆ ที่เกี่ยวของ รายไดจาก การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และการใหบริการตางๆ คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 12 ของ รายไดรวม 3.1.1

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการหลังการใช ( Postpaid subscription service) บริ ก ารแบบชํ า ระค า บริ ก ารหลั ง การใช เ ป น การสมั ค รใช บ ริ ก ารแบบมี สั ญ ญาซึ่ ง ลู ก ค า จะต อ ง ลงทะเบียนและชําระคาธรรมเนียมรายเดือน (monthly fee) คาใชบริการโทรศัพท (airtime) คาใช บริการสื่อสารไรสาย และบริการสื่อสารดวยขอมูล คาธรรมเนียมรายเดือนและคาใชบริการตางๆจะ ถูกเรียกเก็บเมื่อสิ้นรอบการเรียกเก็บเงินภายหลังการใชบริการแลว เอไอเอสไดเปดชองทางการ ชําระเงินอยางกวางขวางครอบคลุมทั่วประเทศ เชน ศูนยบริการเอไอเอส ศูนยบริการเทเลวิซ (ตัวแทนจําหนายของเอไอเอส) และหางรานตัวแทนจําหนายชั้นนําตางๆที่เอไอเอสไดเลือกสรร อยางดี ในป 2547 บริการแบบชําระคาบริการหลังการใชจัดอยูภายใตชื่อบริการสองอยาง คือ “GSM Advance Evolution” และ “GSM 1800” GSM Advance Evolution บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอลโดยใชเทคโนโลยี GSM ในยานความถี่ 900MHz บริการนี้ เหมาะสําหรับลูกคาที่ตองการบริการที่มากกวาการใชบริการสื่อสารดวยเสียงแบบพื้นฐาน จึง นําเสนอบริการเสริมหลากหลายชนิด และบริการสื่อสารดวยขอมูล รวมทั้งบริการไรสายอื่น ๆ สํ า หรั บ ทุ ก กลุ ม ของไลฟ ส ไตล บริ ก ารเหล า นี้ ซึ่ ง สามารถใช ไ ด ไ ม เ ฉพาะแต บ นเครื่ อ ง โทรศัพทเคลื่อนที่เทานั้น แตยังใชไดกับอุปกรณสื่อสารไรสายอื่นๆ เชน PDA หรือ Notebook PC ไดรับการออกแบบมาเพื่อใหลูกคาใชชีวิตไดอยางไรขีดจํากัด ทั้งชีวิตสวนตัวและในหนาที่การงาน ในป 2547 เอไอเอสไดพัฒนาแพ็คเก็จการใหบริการโดยใชชื่อวา “Evolution Mode” เพื่อนําเสนอ บริการที่ตอบสนองตรงตามความตองการและพฤติกรรมการใชงานของลูกคาในทุกกลุมของไลฟ สไตล “Evolution Mode” ประกอบดวย “Biz Mode” “Tech Mode” “Her Mode” “Fun Mode” “Light Mode” และ “Family Mode” แตละแบบไดรับการออกแบบใหรวมบริการสื่อสารดวยเสียง สวนที่ 2 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

และ บริการเสริม ตางๆ บริการสื่อสารดวยขอมูล และบริการไรสายเขา ดวยกันอยางเหมาะสม ตัวอยางเชน “Biz Mode” นําเสนอบริการสื่อสารดวยเสียงพื้นฐานในราคา 1500 บาท รวมกับ บริการ SMS และ GPRS ในราคาพิเศษตรงขามกับ “Family Mode” ซึ่งเสนอการใชบริการสื่อสาร ดวยเสียงในอัตราต่ํากวา ที่เดือนละ 400 บาท พรอมคิดคาโทรตอนาทีในราคาถูกสําหรับหนึ่ง หมายเลขพิเศษที่ลูกคาเลือกเองในปลายปเอไอเอสไดเปด “Yes Mode” ขึ้นเพื่อมุงเนนกลุมลูกคาที่ มีการใชบริการไมแนนอนในแตละเดือน เริ่มจากแพ็คเก็จในอัตรา 500 บาท “Yes Mode” เสนอ สวนลดเปนเปอรเซ็นตตามขั้นของการใชงานของลูกคาในแตละเดือน โปรแกรมใหมเพื่อเสริมสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคาที่ชื่อวา “Serenade” ไดเริ่มขึ้นในป 2547 พิเศษสําหรับลูกคา GSM Advance Evolution ที่ไดรับคัดเลือกเทานั้น โปรแกรมพิเศษนี้มี จุดประสงคที่จะมอบบริการและการดูแลเอาใจใสชั้นเยี่ยมใหกับลูกคาที่มีคุณคาสูงของเอไอเอส ซึ่ง เปนลูกคาที่ใชบริการมากและมีประวัติการชําระเงินดีเยี่ยม ลูกคาเหลานี้จะไดรับการดูแลและ ปรนนิบัติอยางพิเศษดวยขอเสนอมากมายตามสถานะของสมาชิก “Serenade” ซึ่งแบงเปน Platinum Gold และ Silver การดูแลเปนพิเศษประกอบดวย • Personal Assistance บริการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับอัตราคาบริการและการสงเสริมการขายอุปกรณเคลื่อนที่ ตางๆ บริการสื่อสารดวยขอมูล และบริการไรสาย บริการ International Concierge, Travel Assistance, International Medical Assistance, Auto Assistance และอื่นๆ • Superior Service บริการพิเศษสุดเพื่อความสะดวกสบายของลูกคา เชนจองเลขหมายโทรศัพท เปลี่ยน รอบการชําระเงิน บริการเครื่องโทรศัพทสํารองฟรีเมื่อเครื่องหายหรืออยูระหวางการ ซอม บริการเชาเครื่องโทรศัพทฟรีเมื่อเดินทางไปญี่ปุนหรืออเมริกา มอบ SIM ฟรีใน กรณีเครื่องหายหรือถูกขโมย ฟรีคาสมัครใชบริการโทรขามแดนอัตโนมัติ และ บริการจองเครื่องโทรศัพทรุนใหม เปนตน • Exclusive Points of Contact บริการหมายเลขพิเศษ Call Center สําหรับลูกคากลุม Platinum และ Gold (1148) หรือบริการโทร 1148 1175 และ 02-271-9000 ฟรีตลอด 24 ชั่วโมง บริการ Serenade Club และ Exclusive Corner ซึ่งแยกจากการใหบริการลูกคาทั่วไปที่ ศูนยบริการเอไอเอส และบริการ “Serenade Card” สิทธิพิเศษสําหรับลูกคาที่มีคุณคา สูงของเอไอเอส • Serenade Privileges, Events & Activities สวนลดจากรานคาตางๆ รานสินคาแบรนดเนม สนามกอลฟ ศูนยฟตเนส โรงแรม รี สอรท สปา รานเสริมสวย และ รานอาหาร สิทธิพิเศษ และการรับเชิญเขารวมงาน สังสรรคและกิจกรรมตางๆ เฉพาะสําหรับลูกคา Platinum และ Gold เชน Advance

สวนที่ 2 หนา 19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

Premium Movie, Advance Hideaway Lifestyle, Advance Premium Golf Paradise, Advance Acoustic Jazz และ Advance On The Beach เปนตน GSM 1800 บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอลโดยใชเทคโนโลยี GSM ในยานความถี่ 1800 MHz ใหบริการโดย DPC บริการนี้วางตําแหนงไวสําหรับผูใชบริการแบบพื้นฐานซึ่งมีความประสงคจะ ชําระเงินภายหลังการใชบริการ ผูใชตองทําสัญญา และการลงทะเบียน แพ็คเก็จ “Marathon” เปนแพ็คเก็จที่จัดขึ้นในป 2547 โดย GSM 1800 ประกอบดวย “Call Marathon” “Night Marathon” และ “SMS Marathon” ซึ่งทั้งหมดถูกจัดเปนแพ็คเก็จโดยตรง สําหรับผูใชบริการแบบพื้นฐานที่มีความแตกตางในวิถีการใชชีวิต ตัวอยางเชน คนที่ทํางานเวลา กลางคืนจะไดเพลิดเพลินกับการโทรฟรีโดยไมมีกําหนดภายในเครือขา ยเอไอเอสในชวงเวลา กลางคืนกับ “Night Marathon” ขณะที่วัยรุนที่ใช “SMS Marathon” จะเพลิดเพลินกับการสง SMS มากถึง 800 ขอความตอเดือน 3.1.2

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการลวงหนา service )

( Prepaid subscription

บริการแบบชํ า ระค าบริก ารลว งหนา ไมมีก ารลงทะเบี ย นหรื อ การชํา ระคา ธรรมเนี ยมรายเดือ น ภายหลังการซื้อ ผูใชบริการสามารถเปดใชหมายเลขและโทรศัพทไดทันที เมื่อยอดเงินที่มีถูกใชไป ผูใชบริการสามารถเติมเงินไดอยางสะดวกสบายผานชองทางตางๆ ดังนี้ บัตรเติมเงินซึ่งหาซื้อไดจากรานคาตัวแทนจําหนายมากมายทั่วประเทศ • เอทีเอ็มของ 6 ธนาคารใหญในประเทศไทย • เติมเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่ดวยการหักบัญชีธนาคารของลูกคา • e-Refill ผานเครื่องเติมเงินอัตโนมัติในรานคาทั่วประเทศ • บริการเติมเงินผาน Phone Banking • เติมเงินผานอินเตอรเน็ต • เติมเงินผานบัตรวีซา • ศูนยบริการเอไอเอสทั่วประเทศ บริการแบบชําระคาบริการลวงหนาภายใตชื่อ “ วัน-ทู-คอล!” มีจุดขายอยูที่ความเปนอิสระ หรือ “Freedom” บริการนี้เปนที่ชื่นชอบของกลุมผูใชบริการที่ตองการอิสระในการกําหนดจัดการ คาใชจาย การใชงานของตนเอง และการชําระเงินตามที่ใช เชนกลุมคนหนุมสาว และกลุมที่ใชงาน โทรศัพทนอย ความแตกต า งของพฤติ ก รรมการใช ง านถู ก รองรั บ ด ว ยแพ็ ค เก็ จ บริ ก ารภายใต ชื่ อ “Freedom Freestyle” ซึ่งประกอบดวย “Freedom Friends” “Freedom Bonus” “Freedom Time” “Freedom Buddy” “Freedom Everyday” “Freedom More” และ “Freedom Plus” ลูกคาที่มี เพื่อนมากจะเพลิดเพลินกับการโทรหาเพื่อนๆในเครือขายเอไอเอสดวยราคาพิเศษกับแพ็คเก็จ สวนที่ 2 หนา 20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

“Freedom Friends” ขณะที่คนที่ทํางานตอนกลางคืนและประสงคจะควบคุมคาใชจายในการโทร จะชื่นชอบกับการโทรในเวลากลางคืนดวยราคาพิเศษในแพ็คเก็จ “Freedom Time” ปลายป 2547 แพ็คเก็จ “Freedom Choice” ไดถูกเพิ่มเขามาในตระกูล Freedom Freestyle โดยมี ขอเสนอที่ใหลูกคาสามารถเลือกผสมและจับคู แพ็ตเก็จเพิ่มเติมอีกสามแบบ Night Time, Weekend และ Buddy Number ไดอยางอิสระ เพื่อที่จะไดรับสวนลดมากขึ้น “Freedom Choice” ไดรับการออกแบบเพื่อใหลูกคาไดจัดอัตราคาบริการของตนเองและไดรับสวนลดตามลักษณะการ ใชงานของตน ในป 2547 แพ็คเก็จใหมสําหรับบริการแบบชําระเงินลวงหนาในชื่อ “สวัสดี” ไดเปดตัวขึ้นเปนอีก หนึ่งบริการจาก วัน-ทู-คอล! “สวัสดี” เปนแพ็คเก็จที่ออกมา เพื่อนําเสนอและใหบริการแกกลุม ลูกคาที่มีการใชงานนอย ดวยคาใชจายรายเดือนเพียง 150 บาท ซึ่งเมื่อเทียบกับคาใชจายราย เดือนโดยเฉลี่ยลูกคาในแพ็คเก็จ “Freedom Freestyle” จะอยูระหวาง 300-600 บาท “สวัสดี” ไดรับการตอบรับอยางดีจากกลุมลูกคาที่อยูในเขตชนบทที่ตองการเพียงการสื่อสารดวยเสียง และ ลูกคาที่ตองการมีโทรศัพท เคลื่อนที่เพราะเหตุผลดานความปลอดภัย 3.1.3

บริการสื่อสารไรสาย /บริการสื่อสารดวยขอมูล (Wireless/Non-voice communications service ) บริการสื่อสารไรสาย และสื่อสารดวยขอมูลของเอไอเอสจัดอยูภายใตชื่อบริการ “mobileLIFE” ในป 2547 เอไอเอสไดพัฒนาการใหบริการนี้ไปอีกขั้น จากการเปน “mobileLIFE WAP portal” ซึ่งได เริ่มขึ้นในป 2546 สูการพัฒนาให “mobileLIFE WAP portal” นี้ เปนเสมือนแหลงชอปปงใหมที่ เรียกวา “mobileLIFE Plaza” ซึ่งทําหนาที่เปนศูนยรวม บริการหลากหลายของการสื่อสารดวย ขอมูล การสื่อสารไรสาย และสาระตางๆมากมาย ลูก คาที่มีอุปกรณที่รองรับบริการดานนี้จ ะ สามารถเขาใชบริการเหลานี้ไดเพียงนิ้วสัมผัส “mobileLIFE Plaza” แบงเปน 6 หมวดหมู คือ “funLIFE” “LIFEstyle” “sportLIFE” “bizLIFE” “LIFEinfo” และ “LIFEconnect” แตละหมวดหมู จะมีตัวการตูนเปนสัญลักษณเรียกวา “mGANG” การตูนแตละตัวซึ่งมีชื่อวา X , Molly, Ken, Kris, Doc และ Booboo จะเปนเสมือนตัวแทนของลูกคาที่ใชบริการในแตละหมวดหมู ตลอดจนการเปน ผูนําเสนอบริการเหลานั้นดวย funLIFE โดย “X” เสนอบริการที่สนุกๆ ซึ่งทําใหลูกคาสามารถตกแตงโทรศัพทเคลื่อนที่ของตนได และยังสามารถใชแบงปนความสนุกและเนื้อหาสาระ พรอมทั้งเสียงเพลงกับเพื่อนๆ เลนเกมสและ ดูทีวี หรือวิดิโอคลิปบนอุปกรณ เคลื่อนที่บริการใน “funLIFE” ประกอบดวย • Personal Donwload : เสียงเรียกเขา สัญลักษณผูใหบริการ สกรีนเซฟเวอร • Send to Friend : สง Animate SMS , Caller Group Logo, Cool SMS, PictureMessage และDigital Pen • JAVA games • Cartoon & Joke • Music: เสียงเรียกเขา M2G, Star Voice Mail, G-Member, Music Phone Vote, Music Phone Chart และ Mobile Karaoke

สวนที่ 2 หนา 21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

• • •

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

SMS Info Pack TV : TV Preview , Live TV on Mobile, TV/VDO Clip on Mobile Movie : Movie Preview

LIFEstyle โดย “Molly” เสนอบริการหลากหลายเกี่ยวกับไลฟสไตลและขอมูล เริ่มจากชอปปง สวนลด สุขภาพ แฟชั่น และการทองเที่ยว นอกจากนั้น ลูกคาสามารถอานหนังสือและนิตยสาร ไดบนมือถือ บริการภายใต “LIFEstyle” ประกอบดวย

• • • • • • • • •

ชอปปง : Mobile Advertising, mShopping สวนลด : Digital Coupon, SMS Hot Pick, SMS Promotion News หนังสือและนิตยสาร : Magazine on Mobile, mBook สุขภาพ : eGuide , mHealth ปารตี้ : HiSoParty.Com ความรัก และความสัมพันธ : Matching Check, Wedding Square แฟชั่น : Fashion Channel ทองเที่ยว : Travel Channel , Thailand Travel Guide ขอมูล : SMS Info Pack

sportLIFE โดย “Ken” เสนอบริการขอมูลขาวสารเกี่ยวกับกีฬารวมทั้งเกร็ดความรูเกี่ยวกับการ เลนกีฬาประเภทตางๆ บริการภายใต “sportLIFE” ประกอบดวย • Golf 360 Degree • Sport Update • Thai Boxing Insider • Inside Soccer Hotline • SMS Info Pack bizLIFE โดย “Kris” เสนอบริการขอมูลเกี่ยวกับการเงินซึ่งชวยใหลูกคาสามารถจัดพอรทการ ลงทุน และดําเนินการโอนเงินทางธนาคารผานมือถือ บริการภายใต “bizLIFE” ประกอบดวย • Mobile Finance Service : MFS Premium, MFS Stock, MFS Alert • Stock : Settrade, Investor Live, Stock Alert, mBroker • Banking : mBanking • SMS Info Pack LIFEinfo โดย “Doc” เสนอบริการขอมูลอันหลากหลาย เชน ขาวลาสุด การหางาน พจนานุกรม ขอมูลรานอาหาร สภาพการจราจร รายงานผลสลากกินแบง รวมถึง Directory บริการภายใต “LIFEinfo” ประกอบดวย สวนที่ 2 หนา 22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• • • • • • •

ขาว : News Channel, mUp2Date โฆษณาหางาน : Job on Mobile from The Nation การศึกษา : PEP Tutor พจนานุกรม : mDictionary, SMS Dictionary, Java Dictionary จราจร : Traffic Report, mClose2Me สลากกินแบง : Lottery Info พยากรณชีวิต : Dream Predict, Horazard.com, Horoscope (Bug Mode), Payakorn.com, Horoscope, mHoroscope Directory : 1154 Yellow Plus, ขอมูลรานอาหาร บริการตรวจสอบคาใชบริการ SMS Info Pack

• • •

LIFEconnect โดย “Booboo” เสนอชองทางหลากหลายในการติดตอกับมิตรสหายและ ครอบครัว พรอมทั้งติดตอธุรกิจ ผานทางบริการสงขอความและ Call Management ในรูปแบบ ตางๆ บริการภายใต “LIFEconnect”ประกอบดวย บริการขอความ • SMS : Future SMS, Personal SMS, SMS 1175, Text SMS, Free Download, International SMS, Yahoo 2 SMS, SMS Delivery Report • MMS : MMS Free Content Download, MMS-2-Sticker, mBlog, Remote Camera, Personal Album, Photo Gallery • Email : GSM E-Mail, GSM Internet Shortmail, GSM Internet Mail Note • Mobile Office : Internet on Demand, Schedule Alerts, Voice Info, Fax on Demand • Voice2U • Voice Message • Web Messaging • Instant Messaging (Mobile Funny) • MSN Mobile Messenger Call Management : Call Waiting & Call Holding, Call Barring, Call Forwarding, Talk2Group, Voice Mail, Voice Bill, International Voice Mail, GSM Call Back, Call Back Service Internet & Broadband access : CS LOXINFO, SHIN Hotspot

สวนที่ 2 หนา 23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

3.1.4

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริการสําหรับลูกคานิติบุคคล ( Enterprise service) ในป 2547 เอไอเอสไดใหบริการลูกคานิติบุคคลภายใตชื่อ “AIS Smart Solution” โดยเฉพาะ สําหรับลูกคาองคกรและ กลุมธุรกิจ SME “AIS Smart Solution” ไดรวบรวมบริการตางๆซึ่งจัดทํา ขึ้นเพื่อใหเหมาะสมที่สุดสําหรับผูประกอบธุรกิจในแตละประเภท ดวยเหตุที่ลูกคานิติบุคคลมีความ ตองการการสื่อสารไรสายที่แตกตางกันไปตามสภาพของอุตสาหกรรมแตละอยาง เอไอเอสจึงได ทุมเทเพื่อสรรหาการผสมผสานที่ลงตัวที่สุดสําหรับบริการ ที่ไมเพียงแตจะชวยเพิ่มผลผลิตทาง ธุรกิจแตยังใหประโยชนคุมคาที่สุดอีกดวย บริการนี้จําแนกอยางกวางๆไดดังนี้ Customized Business Solution, GSM Business Package และ Bill Management Customized Business Solution จากการพัฒนารวมกันระหวางกลุมลูกคานิติบุคคลและทีมที่ปรึกษาของเอไอเอส เพื่อพัฒนาและ สรางบริการที่ลงตัวอยางสมบูรณสําหรับการดําเนินธุรกิจทุกประเภท หรือทุกอุตสาหกรรม ผลที่ได คือการผสมผสานของบริการที่ใหอิสระในการสื่อสารในโลกของธุรกิจที่เติบโตอยางรวดเร็ว สําหรับธุรกิจคาปลีกและคาสง บริการ Mobile Sale Force Automation จะชวยใหทีมขายเขาสู ขอมูลของลูกคา หรือแคมเปญการตลาดและการสงเสริมการขาย ผานทางโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือ อุ ป กรณ PDA ด ว ยเทคโนโลยี ไ ร ส ายแบบเรี ย ลไทม ในธุ ร กิ จ การขนส ง บริ ก าร Fleet Management จะชวยใหลูกคาไดรับความสะดวกสบายในการติดตามความเคลื่อนไหวของ ยานพาหนะ เพื่อทราบตําแหนงและวิเคราะหเสนทาง ดวยการติดตั้งอุปกรณอิเลคโทรนิคที่จะสง สัญญาณกลับไปยังสํานักงานใหญ สําหรับธุรกิจประกันประกันชีวิตและประกันอุบัติภัย บริการ Smart Online Insurance จะชวยให ทั้งตัวแทนขายและพนักงานรับเคลมประกันไดรับความสะดวกในการปดการขายและการเคลมได ทุกที่ทุกเวลา ดวยระบบออนไลนของบริษัทผานเครือขาย GPRS ตัวแทนขายสามารถรับทราบ ขอมูลลาสุดที่ตองใชในการคํานวณคาธรรมเนียมไดจาก PDA ขณะที่พนักงานเคลมประกันจะ สามารถรับหรือสงการขอรับเงินประกันไดจากทุกสถานที่ สําหรับธุรกิจที่จําเปนตองเคลื่อนที่และมีจุดจําหนายหรือจุดชําระเงิน (Point of Sales) บริการ Smart Cashier ไมเพียงแตจะชวยอํานวยความสะดวกในการจัดตั้งจุดชําระเงิน (POS) นั้นๆ แตยัง ชวยในดานการเคลื่อนที่และประหยัดเวลาอีกดวย POS สามารถจัดตั้งขึ้นและเชื่อมตอไดอยาง รวดเร็วผ า นเครือข า ย GPRS อัน ครอบคลุม ของเอไอเอส โดยไมตอ งหาจุดเชื่ อ มตอทาง สายโทรศัพทพื้นฐาน POS เคลื่อนที่ไดนี้จะทําใหการขายทุกครั้งถูกบันทึกเขาสูศูนยขอมูลที่ สํานักงานใหญทันทีเพื่อการวิเคราะหแบบเรียลไทมภายในเวลาเพียงไมกี่วินาที บริการ Telemetering จะชวยเพิ่มความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพ โดยองคกรสามารถเรียกดู ขอมูลของไซทงานที่อยูหางไกล โดยไมตองสงเจาหนาที่ออกไปยังสถานที่นั้นๆ ซึ่งจะชวยให ประหยัดคาใชจายและลดขอผิดพลาดที่อาจเกิดจากพนักงานในการเก็บขอมูล อีกทั้งยังสามารถ ใชเปนการตรวจสอบกับขอมูลที่เก็บโดยพนักงานไดอยางแมนยํา และใหความปลอดภัยในกรณีที่

สวนที่ 2 หนา 24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอมูลที่ตองการอยูในที่ที่ไมปลอดภัยสําหรับพนักงาน ไมวาจะเปนการดําเนินธุรกิจรูปแบบใด บริการที่จัดทําเปนพิเศษสําหรับลูกคาก็สามารถพัฒนาขึ้นได การรัก ษาความสัม พัน ธอัน ดีกับลูก คาเปน สิ่งสํา คัญ อยางยิ่งในธุร กิจ เอไอเอสจึงเสนอบริก าร Mobile Paging ซึ่งจะชวยในการกระจายขอมูลไปยังลูกคาจํานวนมากมายผานทาง SMS อุปกรณ เคลื่อนที่ไดกลายเปนสื่อที่มีประสิทธิภาพสูงที่ธุรกิจตางๆสามารถพึ่งพาไดในการติดตอสื่อสารกับ กลุมเปาหมาย เพราะขอมูลที่สงไปสามารถอานจากอุปกรณเคลื่อนที่ไดอยางสะดวกทุกเวลาและ ทุกสถานที่ GSM Business Packages GSM Business Packages จะเพิ่มทางเลือกในดานอัตราคาใชบริการที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการ ใชงานใหแก ธุรกิจตางๆ เชน Individual Package ที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความตองการที่ ตางกันของพนักงาน Business Sharing ที่ทุกคนในองคกรสามารถใชบริการ (แอรไทม)รวมกัน และรวมใบแจงคาใชบริการเปนหนึ่งใบ Mobile Virtual Private Network (VPN) เปนแพ็คเก็จลาสุดที่เอไอเอสไดพัฒนาขึ้นเพื่อลูกคานิติ บุคคล Mobile VPN คือการใหลูกคานิติบุคคล กําหนดหมายเลข 2 ถึง 6 หลักสําหรับ โทรศัพทเคลื่อนที่ของพนักงาน ซึ่งจะมีการคิดคาบริการในอัตราพิเศษสําหรับ การโทรระหว า ง หมายเลข 2 ถึง 6 หลักนั้น Call Management (เชน การโอนสาย หรือ ระงับการโทร) ก็สามารถ ทําไดดวยตนเองผานทาง Web Administration Bill Management ดวยเทคโนโลยีลาสุดของระบบ C-Care Smart System Bill Management จะเพิ่มทางเลือกแก ธุรกิจในวิธีการชําระและการแจงคาบริการ เชน ธุรกิจหนึ่งสามารถเลือก Group Bill เพื่อรวมคาใช บริการของทุกหมายเลขในใบแจงหนึ่งใบ Group Mail เพื่อใหรวมใบแจงคาใชบริการทุกใบไวใน หนึ่งซอง Call Detail เพื่อดูรายละเอียดของการโทรบน statement หรือ Bill Cycle ที่สามารถจัด รอบของการแจงคาใชบริการไดตามที่ลูกคาตองการ 3.2

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน ชวงที่เรียกวา “การเติบโตอยางสรางสรรค” ( Creative Growth) ไดดําเนินตอไปอยางตอเนื่องในระยะเวลา สวนใหญของป 2547 ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตางแขงขันกันในการเสนอแคมเปญที่สรางสรรค และ แปลกใหมเพื่อดึงดูดผูใชบริการรายใหมเขาสูเครือขายของตน ตามกลุมพฤติกรรมและวิถีการดําเนินชีวิต อยางไรก็ตามรองรอยของการแขงขันทางดานราคาก็ยังพบไดในชวงครึ่งปหลัง ผูใหบริการหลายรายแขงกัน ลดราคาคาใชบริการตอนาที ดวยหวังที่จะชักจูงผูใชบริการเขาสูเครือขายของตน ความรุนแรงของการ แขงขันดานราคาจะไมมากนัก โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับป 2545 เมื่อผูใหบริการตางใชกลยุทธดานราคาแบบ ตางๆอยางรุนแรง เชน การเสนอขายเครื่องโทรศัพทในราคาต่ํากวาทุน

สวนที่ 2 หนา 25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ธุรกิจนี้ในป 2547 มีอัตราเจริญเติบโตของผูใชบริการประมาณ 20% จํานวนผูใชบริการของตลาดโดยรวม เพิ่มขึ้นประมาณ 4.4 ลานคน เมื่อถึงสิ้นปมีจํานวนผูใชบริการประมาณ 26.5 ลานคน หรือมีอัตรา ผูใชบริการตอจํานวนประชากร (penetration rate) ประมาณ 41% ผูใหบริการรายใหญสองราย คือ เอไอเอส และ ดีแทค ยังคงครองสวนแบงตลาดของผูใชบริการที่ยังคงใชบริการอยู ถึงประมาณ 87%

ในครึ่งปแรกของ “การเติบโตอยางสรางสรรค” เห็นไดจากแพ็คเก็จอัตราคาบริการและแคมเปญทางการ ตลาดที่ออกติดตอกันของผูใหบริการรายใหญ ที่มีรองรอยของความพยายามในการเสนออัตราคาบริการ อยางสรา งสรรค และการส งเสริ ม การขายที่ไ มไ ดเปน การตั ด ราคาโดยตรง แคมเปญเหลา นี้ไ ดรั บการ พัฒนาขึ้นโดยคาใชจายรายเดือนต่ํา เพื่อทําใหการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่นั้นมีราคายอมเยาขึ้น หรือ นาสนใจขึ้นสําหรับผูใชบริการรายใหม ซึ่งสวนใหญคือกลุมผูใชงานนอย การกําหนดอัตราคาใชบริการและ การนําเสนอแพ็คเก็จตามความตองการและพฤติกรรมของกลุมลูกคายังคงดําเนินตอไป เพื่อใหผูใชบริการได มีอิสระในการเลือกแพ็คเก็จคาบริการที่เหมาะกับพฤติกรรมการใชงานของตนและยังไดรับสวนลดคาบริการ ตามสมควรดวย ซึ่งทําใหผูใหบริการสามารถเพิ่มฐานลูกคาไดโดยไมเสียสวนตางของกําไร ทําใหมองไดวา เปนการพัฒนาในแงบวกสําหรับอุตสาหกรรมโดยรวม อีกนัยของ “การเติบโตอยางสรางสรรค” สามารถเห็นไดจากความพยายามของผูใหบริการในการสรางสรรค ผลิตภัณฑและบริการใหมๆ ดวยพลังของบริษัทพันธมิตร ผลิตภัณฑและบริการตางๆจากกลุมบริษัทถูก นํามารวมเขาดวยกันและนําออกสูตลาดเพื่อผลประโยชนของลูกคา “การเติบโตอยางสรางสรรค” ในแงของรายไดในป 2547 คือความพยายามของผูใหบริการในการสงเสริม บริการใหมๆ ซึ่งเห็นไดจากการทุมเทอยางตอเนื่องในการพัฒนาบริการสื่อสารดวยขอมูล บางรายไดมีการ พัฒนา WAP Portal เพื่อชวยใหลูกคาเขาสูบริการขอมูลและอินเตอรเน็ตไดอยางสะดวกมากขึ้น รายอื่น อาจจะกําลังหาตําแหนงของตนเองในการแขงขันในดานบริการขอมูล บางรายยังคงทุมเทกับการสราง โอกาสใหมๆในธุรกิจอยางใหมนี้ และมุงไปยังแหลงรายไดใหมดวยการลงทุนเพิ่มในเครือขายการใหบริการ ขอมูลเพื่อเปนแพลตฟอรมสําหรับบริการสื่อสารไรสายแบบมัลติมีเดียความเร็วสูงในอนาคตอันใกล บางราย อาจจะหลงทางไปบาง และลืมที่จะเรงพัฒนาหาแหลงรายไดใหม เพราะการแขงขันทางดานราคาของการ บริการดวยเสียงแบบพื้นฐานกลับมาหลอกหลอนอีกครั้งในครึ่งหลังของป ไมวาอยางไรก็ตาม การผลักดัน

สวนที่ 2 หนา 26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

จากผูใหบริการสําหรับบริการสื่อสารขอมูลก็ไดรับผลตอบแทนดวยแนวโนมที่ดี ทั้งจากแนวโนมจากการใช งานและรายได ซึ่งคาดวาจะดียิ่งขึ้นตอไปในอนาคต อยางไรก็ดี การแขงขันดานราคาก็ยังคงกลับมาในตลาด โดยเฉพาะอยางยิ่งในครึ่งหลังของป 2547 เพื่อ เปนการตอบโตความสําเร็จของผูใหบริการรายหนึ่ง ในการเปดตัวแพ็คเก็จคาบริการพรีเพดที่เสนอคาใชจาย รายเดือนในอัตราต่ําเพื่อเจาะตลาดกลุมผูใชงานนอย ผูใหบริการอีกสองรายไดนําเสนอแพ็คเก็จสงเสริมการ ขายซึ่งเปนการตัดราคาคาใชบริการตอนาทีอยางรุนแรง รายแรกนั้นกําหนดใหผูใชบริการไดรับอัตราคาใช บริการตอนาทีที่ต่ําไดในชวงเวลาที่เลือกเทานั้น ซึ่งชวงเวลาเหลานี้เชื่อกันวาเปนชวงเวลาที่เครือขายมีการ ใชงานไมหนาแนนนัก ผูใชบริการสามารถเลือกไดเพียงชวงเวลาเดียวที่จะไดรับการคิดคาใชบริการตอนาที ในอัตราต่ํา อยางไรก็ตาม รายที่สองมีขอเสนอที่รุนแรงกวาดวยการตัดราคาคาใชบริการตอนาทีในชวงที่ เครือขา ยไมมีการใชง านหนาแนน นี้ โดยที่ผูใ ชบริการไมตองเลือ กชวงเวลา อีก นัยหนึ่งคือผูใ ชบริก าร สามารถเพลิดเพลินกับคาใชบริการตอนาทีในอัตราต่ําไดตลอด 20 ชั่วโมงซึ่งเปนชวงเวลาที่มีการใชงานนอย ซึ่งในที่สุดคาดวาอัตราดังกลาวจะเสนอใหใชไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยรวมถึงชวงเวลา Peak Hour ดวย อีกสวนหนึ่งที่มีการแขงขันดานราคาอยางรุนแรง คือ แพ็คเก็จคาบริการกลุมลูกคานิติบุคคล ไดมีรายงาน หลายครั้งถึงการตัดราคาเพื่อใหไดลูกคาองคกรและ SME ผูใหบริการรายหนึ่งทุมเทเพื่อพัฒนาและนําเสนอ แพ็คเก็จและบริการที่จัดทําขึ้นเฉพาะสําหรับลูกคาองคกรและ SME อยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มความสะดวกและ ประสิทธิภาพในการทํางานใหแกลูกคา จากการที่อัตราการเติบโตของฐานลูกคาในตลาดรวมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ใ น ประเทศไทยเมื่อสิ้นป 2547 มีอัตราผูใชบริการตอจํานวนประชากร (penetration rate) ประมาณ 41% ซึ่ง เพิ่มขึ้นจาก 34% เมื่อสิ้นปกอน จากการประเมินพฤติกรรมการใชบริการของลูกคา และการตอบสนองอยาง ดีตอ ผลิตภั ณฑและบริ ก ารใหมๆ รวมทั้งสภาวะทางเศรษฐกิจ ของประเทศที่ป รับตั วดีขึ้นอยา งตอเนื่อ ง เปนเหตุผลที่ทําใหเชื่อไดวาธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยจะยังคงกาวสูการขยายตลาดไดตอไป ตลาดที่นาจะยังมีศักยภาพในการขยายตัวตอไปนาจะเปน กลุมที่ใชงานนอยและกลุมผูที่เปนเจาของเครื่อง หลายเครื่องหลายหมายเลข ดังนั้นการเติบโตของฐานลูกคาจึงเปนสิ่งที่คาดวานาจะยังเปนไปได 3.2.1 การจําหนายและชองทางการจําหนาย ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหลูกคาเขาใชบริการในระบบเครือขาย สวนใหญ จะดําเนินการไปพรอมกับการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งบริษัทมีชองทางการจําหนาย สําหรับเครื่องโทรศัพทในระบบดิจิตอล GSM Advance, 1-2-Call! และดิจิตอล GSM 1800 ดังนี้ (1) การจําหนายผานตัวแทนจําหนาย บริษัทมีหลักเกณฑในการแตงตั้งตัวแทนจําหนายโดยพิจารณาจากทําเลที่ตั้งศักยภาพ และ สถานะทางการเงินเปนสําคัญ เพื่อใหบริษัทมีความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งวาตัวแทนจําหนายนั้นมี ศักยภาพเพียงพอในการดําเนินธุรกิจและดูแลลูกคาไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้สําหรับพื้นที่ ตางจังหวัด การแตงตั้งตัวแทนจําหนายจะแตงตั้งผูที่มีความคุนเคยในพื้นที่และเปนนักธุรกิจ รายใหญของพื้นที่ เปนสําคัญ ตัวแทนจําหนายจะแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้

สวนที่ 2 หนา 27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” บริษัทมีตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชสจํานวนทั้งสิ้นมากกวา 100 ราย โดยมีรานคายอย มากกวา 300 แหงทั่วประเทศ โดยบริษัทจะใหสิทธิตัวแทนจําหนาย ในระบบแฟรนไชสในการ ดําเนินการภายใตสัญญาใหสิทธิใชเครื่องหมายการคาจําหนายสินคา และบริการโดยมีอายุ สัญญา 1 ป ดังนี้ 1) สิทธิในการจําหนายสินคา ภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัท 2) สิทธิในการใหบริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ใหบริการเกี่ยวกับงานทะเบียนตางๆ และ เปนผูใหบริการรับชําระคาบริการหรือคาใชจายอื่นใด บริษัทจะเปนผูกําหนดเงื่อนไข และควบคุมภาพและมาตรฐานของการใหบริการ แนวทางใน การดําเนินการของตัวแทนจําหนาย เชน การเลือกและพัฒนาสถานที่ การโฆษณาและสงเสริม การขาย และการใหบริการตางๆ เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่บริษัทกําหนด ในการเขาเปนตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตองมีการชําระคาสิทธิในการใชเครื่องหมาย การคาเริ่มแรก 100,000 บาท และถามีการขยายเขตการจําหนายตองชําระคาสิทธิเพิ่มอีก จํานวน 50,000 บาทตอเขตจําหนาย ตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) บริษัทมีตัวแทนจําหนายจํานวนทั้งสิ้นกวา 400 ราย โดยตัวแทนจําหนายทั่วไปนี้ไดรับแตงตั้ง ใหเปนผูจําหนายสินคาของบริษัท ไดแก เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทติดตามตัว ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทั้งอุปกรณเสริมตางๆ นอกเหนือจากรายไดจากการจําหนายสินคาและบริการแลว ตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภท จะ ไดรับคาตอบแทนจากการลงทะเบียนใหลูกคา เปนสมาชิกการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ระบบดิจิตอล GSM Advance, GSM1800 รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด ตาม อัตราที่บริษัทกําหนด ตัวแทนจําหนายระบบ 1-2-Call! นอกเหนือจากการจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call! ผานระบบตัวแทนจําหนายเดียวกันกับดิจิตอล GSM Advance และ GSM1800 แลว บริษัทยังไดจําหนายบัตรเติมเงิน ผานชองทางการ จําหนายรูปแบบใหม เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคาในการซื้อบัตรเติมเงิน โดยการขยาย ชองทางการจัดจําหนายไปในธุรกิจอื่นๆ ที่ไมใชรานขายโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง เชน ราน ขายหนังสือ รานสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ํามัน รานจําหนายซีดี-เทป เปนตน โดยบริษัทจัดทํา สัญญาแตงตั้งตัวแทนจําหนายใหจําหนายผลิตภัณฑ 1-2-Call! ตัวแทนจําหนายระบบ GSM 1800 DPC มีการจําหนายผลิตภัณฑโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 ผานตัวแทนจําหนายกวา 500 ราย ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายรายเดียวกับที่ไดกลาวขางตน (2) การขายตรง บริษัทไมมุงเนนการแขงขันกับตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตัวแทนจําหนายทั่วไป แต จะเนนการบริการใหแกกลุมลูกคาสถาบันซึ่งอาจมีความตองการใชงานโทรศัพทเพิ่มเติม โดย จะมีการซื้อเปนจํานวนมากภายใตเงื่อนไขที่แตกตางตามลักษณะธุรกิจ โดยจะมีการจดทะเบียน สวนที่ 2 หนา 28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในนามนิติบุคคล เปนตน อยางไรก็ตาม จุดมุงหมายหลักจะเปนการเพิ่มรายไดจากบริการ เสริมภายใตแบรนด “Smart Solution” ซึ่งเปนการเสนอบริการที่สามารถเพิ่มมูลคาทางดาน ธุรกิจใหกับลูกคาองคกรของบริษัท 3.3

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาของระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ขึ้นอยูกับความสามารถ ในการดําเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณของบริษัทและบริษัทยอย เพื่อขยายความสามารถในการ รองรับจํานวนผูใชบริการและขยายพื้นที่การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมากขึ้น จากการที่บริษัทไดรับอนุญาตใหสามารถดําเนินการใหบริการผานเครือขายรวม (Network Roaming) ได บริษัท และ ดีพีซี จึงไดรวมกันปรับแตง และพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทั้ง 2 บริษัท ใหเสมือนเปน เครือขายรวมที่สามารถรองรับการใชบริการไดทั้งในระบบ GSM 900MHz และ GSM 1800MHz (Dual-band Network) ไดอยางราบรื่น โดยใชขอดีของทั้งสองระบบ และทั้งสองคลื่นความถี่ ใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของการใหบริการตอ ผูใชบริการ ที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของเครือขาย GSM ของบริษัทและ ดีพีซี จํานวนลูกคา (พันคน) และความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา (พันคน)

18,000

16,990 16,140

15,380

16,000 14,480

14,000

Total Capacity: 13,440

12,000 10,000 8,000

12,727

12,341

13,064

1-2-Call!: 11,124

11,781

GSM1800: 200 GSM adv: 1,916

187

204

187

172

1,897

1,891

1,897

1,948

2546 4Q03 ธันวาคม

มีน1Q04 าคม 2547

มิถุน2Q04 ายน 2547

2547 3Q04 กันยายน

2547 4Q04 ธันวาคม

6,000 4,000 2,000 0

ลูกคา GSM Advance ลูกคา GSM 1800 ลูกคา 1-2-Call! ความสามารถของระบบในการ รองรับลูกคา* จํานวนสถานีฐานสะสม หนวยลานราย ยกเวนจํานวนสถานีฐานสะสม

ธันวาคม 2545 2.234 0.289 8.136 11.200

ธันวาคม 2546 1.916 0.200 11.124 13.440

ธันวาคม 2547 1.948 0.172 13.064 16.990

7,893

9,029

9,691

* ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ณ สิ้นป 2547 คือคาความสามารถของเครือขายรวม GSM 900 และ GSM 1800 MHz สวนที่ 2 หนา 29


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เพื่อใหบริการเครือขายที่สูงดวยคุณภาพ บริษัทจึงตองเพิ่มความสามารถของระบบในการรองรับการ ขยายตัวของลูกคา โดยการเพิ่มจํานวนสถานีฐานเพื่อรองรับการใชงานที่มากขึ้น และขยายพื้นที่การ ใหบริการที่ครอบคลุมมากขึ้น โดยเฉพาะในเขตชุนชนใหมที่เกิดขึ้น บริษัทเลือกใชอุปกรณเครือขายโดย สั่งซื้อโดยตรงจากผูผลิตอุปกรณโทรคมนาคมชั้นนําจากทั่วโลก เชน Ericsson, Nokia, NEC, Siemens, Nortel, DMC และ Huawei เปนยี่หอหลักของอุปกรณเครือขาย และคัดเลือกเทคโนโลยีและอุปกรณ เครือขายที่เหมาะสมมาติดตั้งเพื่อบรรลุถึงคุณภาพและการใชประโยชนสูงสุดของเครือขาย 3.4

งานที่ยังไมไดสงมอบ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

4.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การวิจัยและพัฒนา ในฐานะผูใชเทคโนโลยี สวนงานวิจัยและพัฒนาของเอไอเอสไดคิดคนการทําแผนภูมิของเทคโนโลยีใหมๆที่สามารถ นํามาประยุกตใช เพื่อตอบความประสงคและความตองการของลูกคา เอไอเอสมีความกระตือรือรนอยูเสมอที่จะนํา อุปกรณเครื่องมือเครื่องใชและเทคโลโลยีใหมล้ําสมัยมานําเสนอแกลูกคาในรูปแบบที่ลูกคาสามารถเห็นถึงประโยชน ของบริการ และสามารถใชไดจริง ในการพัฒนาบริการใหมๆ เอไอเอสจะยึดมั่นในแนวคิด Business Integration หมายถึง การเปนสวนหนึ่งใน ชีวิตประจําวันของลูกคา โดยคํานึงถึง DNA หรือ Device, Network และ Application สําหรับบริการที่จะพัฒนาให เกิดขึ้นไดในเชิงพาณิชยจะตองอาศัยการรวมกันของสามสิ่งดังกลาวนี้ อยางแรก อุปกรณที่รองรับบริการใหมนี้ (Device) จะตองซื้อหาไดในทองตลาดโดยมีราคาพอสมควร จากนั้นเครือขาย (Network) ที่จําเปนสําหรับการใชงาน กับอุปกรณนั้นจะตองเปนที่ยอมรับและพิสูจนแลววาเชื่อถือไดและสามารถทํางานรวมกันได สุดทาย Application นั้นจะตองตอบสนองความตองการและความประสงคของลูกคา หรือสามารถสรางประโยชนอยางพอเพียงใหแก ลูกคา เชน ใหความสนุก ความรวดเร็ว ใหบริการแบบ real-time ใชงาย ติดตอถึงกันและกันได พกพาได และทําให ชีวิตสะดวกสบายขึ้น เมื่อเทคโนโลยีใหมๆ ไดรับการพัฒนาและสามารถนํามาประยุกตใชเปนบริการใหมๆ ได เทคโนโลยีใหมนี้จะถูก ประเมินบนพื้นฐานของแนวคิด DNA โดยทีมงาน “ Future Lab” ซึ่งประกอบดวยผูเชี่ยวชาญทั้งทางดานวิศวกรรม การตลาด และการเงิน ภายใน “Future Lab” บริการใหมที่เกิดจากการรวมกันของ DNA จะถูกพิจารณาอยาง ละเอี ย ดรอบคอบถึ ง ความเป น ไปได เ ชิ ง ธุ ร กิ จ และไม ขั ด แย ง กั บ แผนการออกบริ ก าร และกลยุ ท ธ ข องบริ ษั ท หลังจากนั้นบริการใหมจะผานการทดลองอยางถี่ถวนโดยชุดทํางานเฉพาะ เพื่อใหแนใจถึงความเปนไปไดในเชิง พาณิชย ในระยะของการติดตั้งการเปดใชงานมักจะถูกจํากัดอยูในบริเวณที่มีกลุมลูกคาเปาหมายอยูหนาแนน จากนั้ น จึ ง ค อ ยๆ ขยายออกไปทั่ ว ประเทศ หากบริ ก ารนั้ น แสดงถึ ง ศั ก ยภาพเชิ ง พาณิ ช ย แ ละมี แ รงขั บ เคลื่ อ น ภายหลังการเปดบริการจะตองมีการติดตามอยางใกลชิดเพื่อประเมินผลและการปรับปรุง ขบวนการวิ จัยและพั ฒ นาเป น สิ่ง จํา เปน เพื่อ ให มั่น ใจในการเพิ่ ม พู น มูล คา แกผู ถือหุ น ป จ จัย ที่เป น กุ ญ แจของ ความสําเร็ จ ในการทํา ให ก ารลงทุน ไดผ ลตอบแทนมากที่สุด คือ การนําเทคโนโลยีม านําเสนอดว ยความสุขุ ม รอบคอบในเวลาที่สมควร

สวนที่ 2 หนา 31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

5.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 5.1

สินทรัพยถาวรหลัก ที่ดิน อาคาร และสวนปรับปรุงอาคาร และสวนปรับปรุงอาคารเชา ของบริษัทและบริษัทยอยนั้น จะเปนของ บริษัท เปนหลัก เนื่องจากทั้งบริษัทมีสํานักงานสาขาซึ่งกระจายอยูเปนทั่วประเทศ สวนเครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องมืออุปกรณนั้นจะประกอบดวยอุปกรณเครื่องมือชาง อุปกรณและโปรแกรมคอมพิวเตอร ตลอดจนอุปกรณตางๆ ที่ใชสําหรับบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ สินทรัพยถาวรหลักของบริษัท และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ประกอบดวย ประมาณอายุการใช (ป) สินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร สวนปรับปรุงอาคารเชา /1 เครื่องตกแตง, ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ ยานพาหนะ สินทรัพยระหวางกอสรางและติดตั้ง อุปกรณสื่อสารเพื่อใหเชา รวม อาคาร และอุปกรณ

5 และ 20 5 และ 10 2-5 3 และ 5 5 อายุสัญญาเชา และ 3

หัก คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม

หนวย: ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 1.79 371.48 503.42 1,630.19 20,662.91 209.30 1,423.35 13.83 24,816.27 (13,198.21) 11,618.06

อาคารและอุปกรณ – สุทธิ

สําหรับสินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ไดรวมสินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินที่บริษัทและ บริษัทยอยเปนผูเชาอยูในสวนของ เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใชสํานักงาน,เครื่องมือและอุปกรณ และ ยานพาหนะ เปนจํานวน 249.95 ลานบาท นอกจากนี้บริษัทและบริษัทยอยยังมีการเชาพื้นที่อาคารสํานักงานเพื่อใชในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิ้น เดือนธันวาคม 2547 สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียดดังนี้ 1. บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 13,802 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟช ปารค จํากัด โดยมีการทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบ แทนในอัตรา 6,557,776 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะมีการตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวน แตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัทมีการตออายุสัญญาเชาอยาง ตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 2. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 15,076 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี ออฟฟช ปารค จํากัด โดยมี การทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2546 – 31 ธันวาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 6,567,929 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อ /1

สวนปรับปรุงอาคารเชาเปนคาใชจายในการปรับปรุงตกแตงสํานักงานบริการของบริษทั

สวนที่ 2 หนา 32


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัทและบริษัท ยอยมีการตออายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป 3. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 5,457 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี แอสเสท คอปอเรชั่น จํากัด โดย มีการทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 พฤษภาคม 2546 – 30 เมษายน 2549 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 2,509,759 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชาจะตออายุโดย อัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา 4. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารสยามพันธุ เลขที่ 1 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 6,351 ตารางเมตร จากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย และสิทธิเรียกรอง เฟสท สตาร สัญญาเชาทําแยกในแตละชั้น สัญญาฉบับปจจุบันจะหมดอายุ 28 กุมภาพันธ 2550 และตองจาย คาเชาตอบแทนในอัตรา 1,479,511 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไม นอยกวา 3 เดือนกอนหมดอายุสัญญา 5. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานพหลโยธิน เพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 10,861 ตารางเมตร จากบริษัท พหล 8 จํากัด,บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี จํากัด(มหาชน), คุณเทียนชัย ไทยบัญชากิจ, บริษัทอาทิตย-จันทร, บจก.สยามเคหะพัฒนา และนิติบุคคลอาคารชุด พหลโยธิน เพลส สัญญาเชาทําแยกในแตละชั้น สัญญาเชาฉบับปจจุบันจะ หมดอายุ 30 กันยายน 2550 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 2,480,618 บาทตอเดือน การตอ สัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 30 และ 60 วันกอนหมดอายุสัญญา ตามแตละ สัญญาเชา 6. บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 5,300 ตารางเมตร จากบริษัท ทรีพัลส จํากัด โดยสัญญาเชาฉบับปจจุบันจะ หมดอายุ 31 ธันวาคม 2548 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 775,590 บาทตอเดือน การตอสัญญา เชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 30 และ60 วันกอนหมดอายุสัญญา ตามแตและสัญญาเชา 7. บริษัท เชาพื้นที่อาคารสํานักงานบริการสาขา ในจังหวัดเชียงใหม, สุราษฎรธานี, อุดรธานี, นครสวรรค, นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, หาดใหญ, อุบลราชธานี, อยุธยา, ระยอง, ชลบุรี, ภูเก็ต, ขอนแกน และกรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 19,897 ตารางเมตร โดยแยกทําสัญญาแยกแตละจังหวัด และตองจายคา เชาตอบแทนรวมทั้งสิ้นในอัตรา 8,384,255 บาทตอเดือน 5.2

สัญญารวมการงาน ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานเปนสินทรัพยที่ลงทุนโดยบริษัทและบริษัทยอย และโอนกรรมสิทธิ์ ใหแกหนวยงานรัฐผูเปนเจาของสัญญารวมการงานนั้น โดยบริษัทและบริษัทยอยจะไดสิทธิในการใช สินทรัพยนั้นในการดําเนินกิจการตลอดอายุสัญญารวมการงานนั้น สัญญารวมการงานของบริษัท และบริษัทยอย ประกอบไปดวยสัญญารวมการงานที่ทํากับหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสามารถดําเนินธุรกิจภายใตสิทธิของ หนวยงานรัฐนั้นๆ

สวนที่ 2 หนา 33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ประกอบดวย ประเภทสินทรัพย ตนทุนโครงการของบริษัท อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM อุปกรณเครือขายระบบอนาลอก NMT อุปกรณเครือขายสือ่ สัญญาณ อื่นๆ ตนทุนโครงการของ ADC เครื่องมือและอุปกรณ รวม ตนทุนโครงการของ DPC อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM และ อุปกรณเครือขายสือ่ สัญญาณ รวมตนทุนโครงการของบริษัทและ บริษัทยอย

ตนทุน (ลานบาท)

จํานวนป ตัดจําหนาย

จํานวนปที่ตัด จําหนายแลว

มูลคาทางบัญชี (ลานบาท)

76,507.47 13,735.31 19,872.51 8,706.46

10 ป ไมเกินป 2558 สิ้นสุด กันยายน 2545 10 ป ไมเกินป 2558 10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10 1 – 10 1 – 10 1 – 10

47,377.27 12,375.11 6,606.86

1,504.25 120,326.00

10

1 – 10

658.88 68,400.50

14,121.49

10

1-6

8,639.65

134,447.49

75,657.77

สัญญารวมการงานหลักๆของบริษัท และบริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ (รายละเอียดของสัญญารวมการ งานอยูในเอกสารแนบ 3) (1)

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) คูสัญญา

: บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทศท) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวสิ จํากัด (มหาชน)

อายุของสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

: 1. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 MHz ทั่วประเทศ โดยตองจาย ผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง

25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

2. บริษัทไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจาก การใชงานของบริษัทได โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตราที่ตกลง 3. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท.ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Pre-paid Card) โดยตองจาย ผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ตามอัตรารอยละ 20 ของรายได

สวนที่ 2 หนา 34


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

การยกเลิกสัญญา

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

: ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันทีที่บริษัทลมละลายหรือปฏิบัติผิด สัญญาขอหนึ่งขอใดของสัญญา และขอผิดสัญญาดังกลาวบริษัทมิได ดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึง ขอผิดสัญญาจาก ทศท. เปนลายลักษณอักษร โดยบริษัทไมมีสิทธิ เรียกรองคาเสียหายใด ๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืน จาก ทศท. แตอยางใด

บันทึกขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) คูสัญญา

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทศท)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1. บมจ.ทศท อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตาม สั ญ ญาหลั ก ให ผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น เข า มาใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตใหบริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการายอื่นไดเชนเดียวกัน 2. การใชเครือขายรวม (Roaming) บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่ว ประเทศและบริษัทมีสิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ใน อัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ โดยตองทําหนังสือแจงให บมจ.ทศท ทราบกอน 3. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขายรวม (Roaming) ให บมจ.ทศท - ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ในเครือขายของบริษัท บริษัทตกลงจายในอัตรารอยละ (ระบุ ตามสัญญาหลัก)ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจาก ผูใหบริการรายอื่น - ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผู ให บ ริ ก ารรายอื่ น บริ ษั ท ตกลงจ า ยในอั ต ราร อ ยละ(ระบุ ต าม สัญญาหลัก)ของรายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจาก ผูใชบริการ หักดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแก ผูใหบริการรายอื่น

สวนที่ 2 หนา 35


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (Natioal Roaming) คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1.

เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภ าพการใหบริก ารโทรศัพทเ คลื่อนที่แ ก ผูใชบริการของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัทตกลงให DPC เขามาใชเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปนตนไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน

2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท (สองบาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม (2) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ( ADC ) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา

:

บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทศท) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

อายุของสัญญา

:

25 ป (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 )

ลักษณะของสัญญา

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) โดยตองจายผลประโยชน ตอบแทนให ทศท.ในลักษณะของการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท. ไมตองชําระเงินคาหุนแตอยางใด

การยกเลิกสัญญา

:

ทศท. มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ ใหผูอื่นดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อวา ADC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปได ดว ยดี หรื อปฏิ บั ติ ผิ ด สัญ ญาข อ หนึ่ง ข อ ใด โดย ADC ต อ ง รับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆใหตกเปน กรรมสิทธิของ ทศท. ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่ มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได สวนที่ 2 หนา 36


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

(3)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital Communication Network) 1800

PCN

(Personal

คูสัญญา

: บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด ( มหาชน) (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

อายุของสัญญา

: 16 ป (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556)

ลักษณะของสัญญา

: DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการใหบริก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 บางสวนที่ไดรับโอน สิทธิจาก TAC โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให กสท. เปน รอยละของรายไดกอนหักคาใชจาย ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาวตอง ไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา

การยกเลิกสัญญา

: สัญญานี้สิ้นสุดลงหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ DPC ตกเปนผูขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายว า ด ว ยการประกอบธุ ร กิ จ ของคนต า งด า ว และ กสท.ไดแจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอย กวา 90 วัน

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด ( มหาชน) (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

สวนที่ 2 หนา 37


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

ลักษณะของสัญญา

5.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดยไดรับความยินยอมจาก กสท. โดย DPC ตกลงจาย ผลตอบแทนใหแก TAC เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท

นโยบายการลงทุนและบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่ประกอบธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมและธุรกิจที่ เกี่ยวของกับธุรกิจโทรคมนาคม โดยจะพิจารณาลงในบริษัทที่ใหผลตอบแทนที่ดีหรือมีการดําเนินธุรกิจที่ สามารถเสริมประโยชนใหกับธุรกิจหลักของบริษัทไดในระยะยาว ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2547 บริษัทมีการลงทุนในบริษัทยอย 6 บริษัทคือ MFA, ADC, DNS, DPC, ACC และ DLT ในเดือนตุลาคม 2547 บริษัท ADC ไดทําการเพิ่มทุนจดทะเบียน ซึ่งสัดสวนการถือหุนของบริษัทใน ADC เปลี่ยนแปลงลดลงจาก 67% เปน 51% อยางไรก็ตามบริษัทยังคงเปนผูถือหุนใหญใน ADC และมี นโยบายที่จะคงสัดสวนการถือหุนและมีสวนสําคัญในการบริหารงานใน ADC และบริษัทยอยตามขางตน ตอไป ในการบริหารงานในบริษัทยอย บริษัทมีการสงตัวแทนของบริษัทไปเปนกรรมการในบริษัทยอย ทุกบริษัท ยกเวนใน MFA ซึ่งหยุดดําเนินกิจการชั่วคราว

สวนที่ 2 หนา 38


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

6.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงการในอนาคต โครงการ

Buddy Broadband

ลักษณะของโครงการ

โครงการ Buddy Broadband เปนบริการใหมของบริษัทยอย เอดีซี ที่เรียกวา เปน “ความบันเทิงสูบานเรือน” ซึ่งรวมบริการดานบรอดแบนดทีวีพรอมดวย อินเตอรเนตความเร็วสูง (ADSL) ผานทางเครือขายสายโทรศัพท บริการบรอด แบนดทีวีนั้นรวมถึงโทรทัศนชองปกติ และภาพยนตร เพลง ขาว สารคดี รายการสาระและบันเทิงอื่นๆ อีกมากจากผูรวมใหบริการ (Content Partners) หลายราย โดยลู ก ค า ผู ใ ช บ ริ ก ารสามารถเลื อ กชมหลากหลายรายการจาก โทรทัศนไดตามเวลาที่ตองการ และพรอมกันนั้นสามารถใชงานอินเตอรเนต ความเร็วสูงและโทรศัพทค วบคูไ ปในเวลาเดีย วกัน บริก ารนี้ มีแ ผนที่ จ ะเป ด ใหบริการในเดือนมกราคม 2548

ผลตอบแทนที่คาดหวัง

ประมาณ 25-30% ของมูลคาเงินลงทุน

ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

(ก) ความเสี่ยงดานการลงทุนคอนขางต่ําเนื่องจากอุปกรณเครือขายบางสวนใช วิธีการเชาจาก Supplier แทนการลงทุนทั้งหมด ทําใหสามารถบริหาร ความสามารถในการรองรับการใชงาน (Capacity) ไดอยางมีประสิทธิภาพ (ข) ความเสี่ยงในสวนความเสียหายหรือสูญหายของอุปกรณติดตั้งในบานเรือน เนื่ อ งจากในการให บ ริ ก ารกั บ ลู ก ค า นั้ น จะไม ไ ด คิ ด ค า ติ ด ตั้ ง หรื อ ค า ชุ ด อุปกรณ เพียงแตเปนเสมือนการใหยืมอุปกรณที่ลูกคาตองสงคืนเมื่อมีการ ยกเลิกบริการ ซึ่งทางบริษัทมีนโยบายจัดทําประกันภัยเพื่อปดความเสี่ยงนี้ (ค) ความเสี่ยงที่นาจะเปนปจจัยสําคัญที่สุด คือ ในดาน Content partner เนื่องจากการที่จะมีบริการหลากหลายและตรงตามความตองการของลูกคา นั้น ขึ้นอยูกับการจัดหา Content partner ในหลากหลายรูปแบบ

สวนที่ 2 หนา 39


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

7.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอพิพาททางกฎหมาย บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (“DPC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย มีขอพิพาทกรณี บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) เสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เปน ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 36/2546 วันที่ 30 มิถุนายน 2546 และ 62/2546 วันที่ 28 ตุลาคม 2546 เพื่อเรียกรองให DPC ชําระเงินเปนเงินจํานวน 699.77 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 9.5 ตอป จากตนเงินจํานวน 653.34 ลานบาท นับจากวันเสนอขอพิพาทจนกวาจะชําระเสร็จ และใหชําระเงินจํานวน 720.63 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยใน อั ต ราร อ ยละ 9.5 ต อ ป จากต น เงิ น จํ า นวน 715.41 ล า นบาท นั บ จากวั น เสนอข อ พิ พ าทจนกว า จะชํ า ระเสร็ จ ตามลําดับ อันเกิดจากมูลหนี้ตามสัญญา Agreement to Unwind the Service Provider Agreement ฉบับลงวันที่ 7 มกราคม 2540 ซึ่ง DPC ไดยื่นคําคัดคานขอเรียกรองทั้งสองกรณีดังกลาวแลว ปจจุบันอยูในระหวางการพิจารณา ขอพิพาทของคณะอนุญาโตตุลาการ อนึ่งหาก DPC จะตองชําระเงินตามขอเรียกรอง คําชี้ขาด หรือคําพิพากษา ก็ ไมเปนเหตุให DPC มีภาระที่จะตองชําระหนี้เพิ่มขึ้นกวาหนี้ที่มีอยูเดิม สิทธิเรียกรองและขอพิพาทในกรณีนี้จึงไมทํา ใหกลุมบริษัทไดรับผลกระทบตอฐานะทางการเงินหรือการดําเนินกิจการของบริษัทแตอยางใด

สวนที่ 2 หนา 40


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

8.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางเงินทุน 8.1

หลักทรัพยของบริษัทฯ (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ณ วันที่ 2 มีนาคม 2548 ทุนจดทะเบียน

: 5,000,000,000 บาท (หาพันลานบาท) ประกอบดวยหุนสามัญจํานวน 5,000,000,000 หุน (หาพันลานหุน) มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท

ทุนที่ออกและชําระแลว : 2,946,152,156 บาท (สองพันเการอยสี่สิบหกลานหนึ่งแสนหาหมื่น สองพันหนึ่งรอยหาสิบหกบาท) ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 2,946,152,156 หุน (สองพันเการอยสี่ สิบหกลานหนึ่งแสนหาหมื่นสองพันหนึ่งรอยหาสิบหกหุน) มูลคาที่ตรา ไวหุนละ 1 บาท (2)

โครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2545 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2545 มีมติอนุมัติใหบริษัท ดําเนินโครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน โดยมีรายละเอียดโครงการซื้อหุนคืน ดังนี้

วงเงินสูงสุดในการซื้อหุนคืน จํานวนหุนที่จะซื้อคืน วิธีการในการซื้อหุนคืน กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืน หลักเกณฑในการกําหนดราคาหุนที่จะซื้อคืน

เหตุผลในการซื้อหุนคืน

สิทธิของหุนที่บริษัทซื้อคืน การจําหนายและการตัดหุนที่ซื้อคืน

กําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซื้อคืน

ไมเกิน 3,500 ลานบาท ไมเกิน 90 ลานหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ ไมเกิน 3.07 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด ซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2545 ถึง 1 มิถุนายน 2546 (ภายใน 6 เดือน) บริษัทใชวิธีวิเคราะหอัตราสวนลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow Analysis) รวมถึงการนําราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วันกอนวันที่บริษัทเปดเผยขอมูล ทั้งนี้ ราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วัน ตั้งแตวันที่ 2 ตุลาคม 2545 ถึงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 เทากับ 33.525 บาทตอหุน เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารสภาพคลองของบริษัท และเพิ่ม ผลตอบแทนใหแกสวนของผูถือหุน (ROE) รวมถึงเพิ่มกําไรสุทธิ ตอหุน (EPS) ผูบริหารของบริษัทมีความเชื่อมั่นตอศักยภาพและ การเจริญเติบโตของบริษัทที่จะมีตอไปในอนาคต และเห็นวา ปจจุบันราคาหุน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยของบริษัท อยูในระดับต่ํากวามูลคาที่แทจริง หุนที่บริษัทซื้อคืนจะไมนับเปนองคประชุมในการประชุมผูถือหุน รวมทั้ง ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินปนผล บริษัทอาจทําการจําหนายหุนคืน โดยการขายในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือ เสนอขายตอประชาชนทั่วไป ซึ่งขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมในขณะนั้น ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2546 ถึง วันที่ 1 มิถุนายน 2549 (ภายหลัง 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จแตตองไมเกิน 3 ป)

สวนที่ 2 หนา 41


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2546 เปนวันครบกําหนดระยะเวลาซื้อหุนคืน บริษัทไดทําการซื้อหุนคืนทั้งสิ้น 2,540,200 หุน คิดเปนรอยละ 0.086 ของทุนชําระแลว มูลคารวม 83.13 ลานบาท (รวมคาธรรมเนียมใน การซื้อขายหลักทรัพย) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทยังไมไดทําการจําหนายหุนที่ซื้อคืน (3)

โครงการออกและเสนอขายหุน ใหกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึง่ เปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 3/2542 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมัติใหบริษัทเขารวม โครงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund – TTF) และยินยอมให กองทุนรวมดังกลาวลงทุนในหุนหรือมีไวซึ่งหุนของบริษัท ในอัตราสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของ จํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 6.75 ลานหุนของ จํานวนหุนที่ชําระแลว 270 ลานหุน ทั้งนี้ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวที่ซื้อหนวยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะไดรับเฉพาะผลประโยชนในรูป ตัวเงินเทานั้น โดยที่อํานาจการบริหารงานยังคงอยูกับผูบริหารชาวไทยเชนเดิม โดยในเดือน กุมภาพันธ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไดอนุมัติใหกองทุนรวมดังกลาวเขาซื้อ-ขายหุน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยได จากการประชุมผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญที่ยัง มิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN และ SingTel และลด มูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เหลือหุนละ 1 บาท จากการจัดสรรหุนและการลดมูลคาหุน ดังกลาว สงผลใหจํานวนหุนที่บริษัทยินยอม TTF ลงทุนในหุนของบริษัทในสัดสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของจํานวนหุนที่เรียกชําระแลว ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 73.37 ลานหุนของจํานวนหุนที่ ชําระแลว 2,935 ลานหุน ณ วันที่ 10 มีนาคม 2548 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวโดยลงทุนในหุนของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส มีจาํ นวน 64,039,000 หุน คิดเปนรอยละ 2.17 ของจํานวนหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้งหมดของบริษัท (จํานวนหุนที่ชําระแลว 2,946,152,156 หุน)

(4)

ตราสารแสดงสิทธิในผลตอบแทนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง (NVDR) ณ วันที่ 11 มีนาคม 2548 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด มีหนุ สามัญของบริษัทเปนหลักทรัพยอางอิง จํานวน 49,819,713 หุน หรือคิดเปนรอยละ 1.69 ของทุนที่เรียกชําระแลว ซึ่งไมมีสิทธิในการออก เสียงของผูถือหุนอันเนื่องมาจาก บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ไมใชสิทธิในการออกเสียงในการ ประชุมผูถือหุน

(5)

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท (โครงการ ESOP) บริ ษั ท ได กํ า หนดให มี โ ครงการเสนอขายใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ น สามั ญ ต อ กรรมการและ พนักงานของบริษัทโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจและตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการ และพนัก งานของบริษัท นอกจากนี้เพื่อ ใหบุค คล ดังกลา วมีค วามตั้ง ใจในการทํ า งาน เพื่อสรา ง ประโยชนสูงสุดใหแกบริษัท อีกทั้งเพื่อเปนการสรางแรงจูงใจใหกรรมการและพนักงาน ทํางานกับ บริษัทตอไปในระยะยาว โดยโครงการจะมีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิทุก ๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป และใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกจะมีอายุ ไม เกิน 5 ป นับจากวันออกและเสนอขายในแตละครั้งของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียดลักษณะ สวนที่ 2 หนา 42


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รวมถึงสิทธิและเงื่อนไขของใบสําคัญแสดงสิทธิที่คลายคลึงกันทั้ง 5 ครั้ง ของการเสนอขาย ซึ่งมีการ ออกและเสนอขาย ดังนี้ ครั้งที่ 1 ในป 2545 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 14,000,000 หนวย และบริษัทไดจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 14,000,000 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) คิดเปนประมาณรอยละ 0.48 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ครั้งที่ 2 ในป 2546 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 8,467,200 หนวย และบริษัทจะจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้จํานวน 8,467,200 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ 0.29 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ครั้งที่ 3 ในป 2547 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 8,999,500 หนวย และบริษัทจะจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้จํานวน 8,999,500 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ 0.31 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ทั้งนี้ มอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย มีอํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งดําเนินการตางๆ อันจําเปนและ สมควรอันเกี่ยวเนื่องกับหุนสามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาว ตลอดจนการนําหุน สามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาวเขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยดวย โดยรายละเอียดของโครงการโดยสังเขป ปรากฏอยูในหัวขอคาตอบแทนอื่นๆ (6)

หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทฯ มีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอน รวม 6 ชุด ซึ่งไดจดทะเบียน และซื้อขายไดในศูนยซื้อขายตราสารหนี้ (Thai Bond Dealer Club) และบนกระดานตราสารหนี้ของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (Bond Market Exchange: BMX) ทั้งนี้ หุนกูของบริษัททุกชุดเริ่ม ซื้อขายในตลาด BMX ตั้งแตวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 เปนตนมา รายละเอียดของหุนกูทั้ง 6 ชุด มี ดังนี้ (6.1) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2544 ชนิดทยอยคืนเงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2549 (AIS063A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู อายุของหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย จํานวนหุนกูที่เสนอขาย มูลคาที่ตราไวตอหนวย ราคาที่เสนอขายตอหนวย วันที่ออกหุนกู วันครบกําหนดไถถอน

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยคืนเงินตน ไมดอย สิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู : 12,000,000,000 บาท : 12,000,000 หนวย : 1,000 บาท : 1,000 บาท : 23 มีนาคม 2544 : 23 มีนาคม 2549

สวนที่ 2 หนา 43


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อัตราดอกเบี้ยและกําหนดเวลา ชําระดอกเบี้ย

: รอยละ 5.30 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มีนาคม และ 23 กันยายน ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตน โดยจะชําระคืน งวดแรกเมื่อหุนกูมีอายุครบ 18 เดือน และจะชําระ คืนเปนเวลา 8 งวด งวดละเทา ๆ กัน คือ รอยละ 12.5 ของจํานวนหุนกูที่เสนอขาย ในวันที่ ดังตอไปนี้ (1) 23 กันยายน 2545 (2) 23 มีนาคม 2546 (3) 23 กันยายน 2546 (4) 23 มีนาคม 2547 (5) 23 กันยายน 2547 (6) 23 มีนาคม 2548 (7) 23 กันยายน 2548 (8) 23 มีนาคม 2549 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 12,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 7,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

(6.2) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2544 ครบกําหนดไถ ถอนป 2549 (AIS06NA) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ หลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู

อายุของหุนกู

: 5 ป นับจากวันออกหุนกู

มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย

: 10,000,000,000 บาท

จํานวนหุนกูที่เสนอขาย

: 10,000,000 หนวย

มูลคาที่ตราไวตอหนวย

: 1,000 บาท

ราคาที่เสนอขายตอหนวย

: 1,000 บาท

วันที่ออกหุนกู

: 28 พฤศจิกายน 2544

วันครบกําหนดไถถอน

: 28 พฤศจิกายน 2549

สวนที่ 2 หนา 44

ไมมี


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อัตราดอกเบี้ยและกําหนดเวลา ชําระดอกเบี้ย

: รอยละ 5.85 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 28 กุมภาพันธ 28 พฤษภาคม 28 สิงหาคม และ 28 พฤศจิกายน ของ ทุกป

ผูแทนผูถือหุนกู

: ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน)

จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 10,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: AA

(6.3) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2545 ครบกําหนด ไถถอนป 2552 (AIS093A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมหี ลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : รอยละ 6.25 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,450,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 2,450,000,000 บาท * 31 ธันวาคม 2546 * เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 บริษัทไดทําการ ซื้อคืน และยกเลิกหุนกู จํานวน 50,000 หนวย

การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: AA

สวนที่ 2 หนา 45


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.4) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงิน ตน ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093B) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือ หุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย และกําหนดเวลา : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน บวกดวย ชําระดอกเบี้ย อัตรารอยละ 2.10 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจาก วันที่ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดจํานวน เทาๆ กัน ทั้งหมด 6 งวด โดยจะเริ่มชําระคืนเงิน ตนเมื่อหุนกูมีอายุครบ 54 เดือน นับจากวัน ออกจําหนายจนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 4,500,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 4,500,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (6.5) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ไถถอนป 2550 (AIS073A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู อายุของหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย จํานวนหุนกูที่เสนอขาย มูลคาที่ตราไวตอหนวย ราคาที่เสนอขายตอหนวย วันที่ออกหุนกู วันครบกําหนดไถถอน

ครั้งที่ 3/2545 ครบกําหนด

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู : 3,000,000,000 บาท : 3,000,000 หนวย : 1,000 บาท : 1,000 บาท : 21 มีนาคม 2545 : 21 มีนาคม 2550

สวนที่ 2 หนา 46


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อัตราดอกเบี้ยและกําหนดเวลา ชําระดอกเบี้ย

: รอยละ 5.25 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มิถุนายน 21 กันยายน 21 ธันวาคม และ 21 มีนาคม ของ ทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 3,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 3,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (6.6) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืน เงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2550 (AIS07OA) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือ หุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 ตุลาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 ตุลาคม 2550 อัตราดอกเบี้ยและกําหนดเวลา : รอยละ 3.65 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ ชําระดอกเบี้ย ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 21 เมษายน และ 21 ตุลาคม ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัทฯ จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวด จํานวน งวดละเทาๆ กัน รวมทั้งหมด 5 งวด โดยจะเริ่ม ชําระคืนเงินตนงวดแรกในวันที่ 21 ตุลาคม 2548 และชําระคืนเงินตนคงคางงวดสุดทายในวันที่ 21 ตุลาคม 2550 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000 หนวย 31 ธันวาคม 2546 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ : 5,000,000,000 บาท 31 ธันวาคม 2546 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

สวนที่ 2 หนา 47


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

(7)

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ข อ ตกลงระหว า งกลุ ม ผู ถื อ หุ น รายใหญ ใ นเรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต อ การออกและเสนอขาย หลักทรัพย หรือการบริหารงานของบริษัทฯ โดยที่ขอตกลงดังกลาวมีบริษัทฯ รวมลงนาม ดวย - ไมมี -

8.2

ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อ บริษทั ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) SINGTEL STRATEGIC INVESTMENT PTE LTD. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY กองทุนรวม เพื่อผูลงทุนชาวตางดาวโดยลงทุนหุน ADVANC THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED บริษัทไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED HSBC BANK PLC-CLIENTS GENERAL A/C CHASE NOMINEES LIMITED 1

จํานวน (หุน) 1,263,712,000 568,000,000 72,214,028 64,039,000 53,738,065 50,102,813 47,979,035 47,020,100 46,057,870 36,580,100

% 42.89 19.28 2.45 2.17 1.82 1.70 1.63 1.60 1.56 1.24

ที่มา : รายงานรายชื่อผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 10 มีนาคม 2548 ซึ่งจัดทําโดย บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

8.3

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทและบริษัทยอย มีนโยบายในการจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใด และการจายเงินปนผลนั้นไมมีผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทและ บริษัทยอยอยางมีนัยสําคัญ

สวนที่ 2 หนา 48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางผูบริหาร * บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการบริหาร

Chairman - Wireless Communications นายสมประสงค บุญยะชัย

Executive Vice Chairman - Future Business Opportunities นายเหลียง ชิน ลุง

Chief Technology Officer นายวิกรม ศรีประทักษ

President - Wireless Communication นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

Chief Customer Champion & Terminal Business Officer นางสุวิมล แกวคูณ

* เปนผูบริหาร 4 รายแรก ตามขอกําหนดของสํานักงาน ก.ล.ต. โดยนับรวมนายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ - สวนงานการเงินและบัญชีสายธุรกิจโทรคมนาคมไรสาย

ขอมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2548

สวนที่ 2 หนา 49


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.

การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

9.1

โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสรางการจัดการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งคณะอนุกรรมการ ชุดยอยอีก 3 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1) คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 ทาน ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย 2. นายบุญคลี* 3. นายสมประสงค* 4. นางศิริเพ็ญ* 5. นายลิม 6. นายเชา 7. นางทัศนีย 8. นายศุภเดช 9. นายอรุณ 10. นายบุญชู

ลิมปพยอม ปลั่งศิริ บุญยะชัย สีตสุวรรณ ชวน โปห วิง เคียง ลูคัส มโนรถ พูนพิพัฒน เชิดบุญชาติ ดิเรกสถาพร

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

* กรรมการผูม ีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท คือ นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุญยะชัย และนางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการสองในสามคนนี้ รวมกันลงลายมือชื่อและประทับตราสําคัญของบริษัท

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท ไดแก นายวิวัฒน สงสะเสน ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ใหคณะกรรมการมีอํานาจกําหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนามผูกพัน บริษัทได 2. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนที่ประชุมผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถ ือหุนกอนดําเนินการ เชน เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และ การซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามที่ หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน 3. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัทภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอํานาจ เพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายใน สวนที่ 2 หนา 50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือ แกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงาน ตางๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทําให คณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่ สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่ เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (2) คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการและผูบริหาร จํานวน 5 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. นายสมประสงค 2. ดร.ดํารงค 3. นางศิริเพ็ญ 4. นางสาวยิ่งลักษณ 5. นายลิม

บุญยะชัย เกษมเศรษฐ สีตสุวรรณ ชินวัตร ชวน โปห

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

กรรมการบริหารมีการประชุมโดยสม่ําเสมอเปนประจําทุกเดือน โดยในป 2547 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง ประชุมเฉพาะกิจ 1 ครั้ง และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัทในทุกไตรมาส ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงาน หลักเกณฑในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทที่กําหนดใหสอดคลองและสนับสนุนตอสภาพทางเศรษฐกิจ และการแขงขันที่ไดกําหนดและ แถลงไวตอผูถือหุน 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัทที่กําหนด 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานดานตางๆ ของบริษัทที่กําหนดให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพเอื้อตอสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทที่กําหนดใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญของบริษัทที่กําหนด 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายเปนคราวๆ ไป 7. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการในเรื่อง ใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได โดยการมอบ อํานาจดังกลาวไมรวมถึงการมอบอํานาจใหบุคคลดังกลาวสามารถอนุมัติการทํารายการที่ตน หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่ สวนที่ 2 หนา 51


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สํ า นั ก งาน กลต. ประกาศกํ า หนด) ทํ า กั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย อ ยยกเว น รายการที่ เ ป น ไปตาม นโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว อํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงิน ใหคณะกรรมการบริหารของบริษัทมีอํานาจในการอนุมัติการดําเนินการจัดซื้อ จัดตั้ง และคาใชจาย ในการดําเนินการตางๆ ในวงเงินไมเกิน 800 ลานบาท โดยอํานาจอนุมัติทางการเงินดังกลาวจะรวมถึง การอนุมัติคาใชจายตางๆ ในการดําเนินการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การ ลงทุนในสินทรัพยฝายทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพยถาวร สําหรับการกูยืมเงิน การให กูยืมเงิน การจัดหาวงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้ รวมถึงการใหหลักประกันการค้ําประกัน เงินกูหรือสินเชื่อเปนตน ยกเวนการดําเนินการดานการเงินการธนาคารของ คณะกรรมการบริหาร เฉพาะดานการฝากเงิน การกูเงิน การจัดทําเครื่องมือบริหารความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนและ อัตราดอกเบี้ยมีอํานาจในวงเงินไมเกิน 2,500 ลานบาท ทั้งนี้ การอนุมัติรายการดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนอนุมัติที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับ มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน กลต.ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. นายศุภเดช 2. นายอรุณ 3. นายบุญชู

พูนพิพัฒน เชิดบุญชาติ ดิเรกสถาพร

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบมีการประชุมโดยสม่ําเสมอ โดยในป 2547 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง และมีการ รายงานตอคณะกรรมการบริษัทในทุกไตรมาส ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่กํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทใหเกิดความชัดเจนในดาน การบริหารงานดวยความซื่อสัตยสุจริต และความรับผิดชอบของกรรมการบริหารหรือผูบริหารอัน จะพึงมีตอผูถือหุนของบริษัท ตลอดจนดําเนินการใหเปนที่มั่นใจวากรรมการบริหาร และผูบริหาร ของบริษัทไดบริหารกิจการตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทอยางถูกตองครบถวน และมี มาตรฐาน 2. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่และความรับผิดชอบในภารกิจที่ไดรับมอบหมายจากกรรมการ บริษัท ดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 52


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.1 สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป และมีการเปดเผยอยางเพียงพอ 2.2 สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 2.3 สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 2.4 พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้งและเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท 2.5 พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจ มีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน 2.6 สอบทานใหบริษัทมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล 2.7 สอบทานและใหความเห็นตอแผนตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานของสํานักงานตรวจสอบ ภายในและประสานงานกับผูสอบบัญชี 2.8 จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2.9 รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัททราบอยาง นอยปละ 4 ครั้ง 2.10 ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการตรวจสอบ มีอํานาจเชิญใหฝาย จัดการ ผูบริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุม หรือสง เอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน 2.11 ใหมีอํานาจวาจางที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัทมาใหความเห็นหรือ คําปรึกษาในกรณีจําเปน 2.12 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ (4) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการ จํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย 2. นายบุญคลี 3. นายอรุณ

ลิมปพยอม ปลั่งศิริ เชิดบุญชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ในป 2547 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนมีการประชุมรวม 1 ครั้ง และมีการรายงานตอ คณะกรรมการบริษัท

สวนที่ 2 หนา 53


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน 1. กําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และประธานกรรมการบริหารของบริษัทในแตละป 2. จั ด ทํ า หลั ก เกณฑ และนโยบายการกํ า หนดค า ตอบแทนของคณะกรรมการ และประธาน กรรมการบริหาร เพื่อเสนอใหคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติและหรือนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุน อนุมัติตามแตกรณี 3. คณะอนุกรรมการกําหนดคาตอบแทนรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัท และมีหนาที่ใหคําชี้แจง ตอบคําถามเกี่ยวกับคาตอบแทนของกรรมการและประธานกรรมการบริหารในที่ประชุมผูถือหุน 4. รายงานนโยบายดานคาตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงคของนโยบายเปดเผย ไวในรายงานประจําป 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (5) คณะกรรมการสรรหา รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 คณะกรรมการสรรหา ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อ ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย 2. นายบุญคลี 3. นายอรุณ

ลิมปพยอม ปลั่งศิริ เชิดบุญชาติ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ในป 2547 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 1 ครั้ง และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดหลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดยอยของบริษัท 2. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดยอยโดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนง กรรมการเพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุน แลวแตกรณี 3. พิจารณาสรรหาผูที่เหมาะสมที่จะดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร ในกรณีที่มีตําแหนงวางลง รวมทั้งหลักเกณฑในการสืบทอดตําแหนง 4. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (6) คณะผูบริหาร รายชื่อคณะผูบริหาร (ตามคําพิจารณาของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย) โครงสรางการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 มีดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

9.2

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1. นายสมประสงค 2. นายเหลียง 2. นางสาวยิ่งลักษณ 3. นายวิกรม 4. นางสุวิมล

บุญยะชัย ชิน ลุง ชินวัตร ศรีประทักษ แกวคูณ

5. นายพงษอมร

นิ่มพูลสวัสดิ์

ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูอํานวยการ หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคาและธุรกิจ เครื่องลูกขาย ผูชวยกรรมการผูอํานวยการสวนงานการเงินและบัญชี

การสรรหากรรมการ บริษัทไดกําหนดแนวทางการสรรหาและแตงตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง กรรมการตองลาออกจากตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่จะแบง ออกใหตรงเปน 3 สวนไมไ ด ก็ใ หออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจาก ตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวิธี จับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้น เปนผูออกจากตําแหนง กรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจ เลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได (2) ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการเลือกบุคคล ใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปเวนแตวาระของกรรมการจะเหลือ นอยกวาสองเดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยัง เหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน อยางไรก็ดี บริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ทําหนาที่พิจารณากําหนด หลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการ ทั้งนี้ กําหนดใหที่ ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท ดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ถือ (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่ จะพึงมีห รือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เทากัน เกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด ทั้งนี้ โดยเงื่อนไขของสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางบริษัทและ ทศท. ระบุให ตัวแทนของ ทศท. เขาเปนกรรมการของบริษัท 1 ทา น และตามเงื่อนไขในขอตกลงระหวา งผูถือหุนรายใหญ ซึ่งไดแก บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ที่ระบุให SHIN แตงตั้งกรรมการได 4 ทาน และ STI แตงตั้งกรรมการได 2 ทาน

สวนที่ 2 หนา 55


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

9.3

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทมีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะจูงใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับผูบริหาร การจายคาตอบแทนจะสอดคลองกับผลการดําเนินงานของ บริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โดยทั้งนี้ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน จะเปนผูกําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและ มิใชตัวเงินใหแก กรรมการบริษัท กรรมการชุดยอย และผูบริหารระดับสูงของบริษัทโดยนําเสนอขออนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําป เปนประจําทุกป คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1)

คาตอบแทนรวมคณะกรรมการบริษัทที่ไดรับในฐานะกรรมการบริษัทจํานวน 5 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2547 เทากับ 4.8 ลานบาท เปนการจายใหกับประธานกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการตัวแทนของ ทศท. คาตอบแทน ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และเบี้ย ประชุม ทั้งนี้ กรรมการที่เปน ตัวแทนจาก SHIN 3 ทาน ไมไดรับคาตอบแทนในฐานะกรรมการของบริษัท คาตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ จํานวน 5 ทานเปนรายบุคคล ในป 2547 ไดแก รายชื่อ 1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 3. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 4. นายบุญชู ดิเรกสถาพร 5. นางทัศนีย มโนรถ

(2)

ตําแหนง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ

จํานวน (ลานบาท) 1.40 1.12 1.01 0.93 0.52

คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหารจํานวน 4 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2547 เทากับ 42.05 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริห าร และผู บริหารของบริษัท โดยคา ตอบแทนดังกลา วของคณะผูบริห ารไมร วม คาตอบแทนของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหาร 2 ทาน ซึ่งรับคาตอบแทนจาก SHIN และไม รวมคาตอบแทนของกรรมการบริหาร 1 ทาน และผูชวยกรรมการผูอํานวยการสวนงานการเงินและบัญชี

คาตอบแทนอื่นๆ บริษัทมีโครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ แกกรรมการและพนักงาน โดย มีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพื่อใหบุคคล ดังกลาวมีความตั้งใจในการทํางานและเปนแรงจูงใจใหกรรมการและพนักงานทํางานใหกับบริษัทฯ ตอไปในระยะ ยาวและสรางประโยชนสูงสุดแกบริษัทฯ บริษัทฯจะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญทุกๆ ป ระยะเวลาตอ เนื่อ งกัน 5 ป ทั้ งนี้บ ริษัท จะตอ งขออนุมั ติก ารออกและเสนอขายใบสํา คัญ แสดงสิทธิต อที่ป ระชุ ม ผูถือหุนเปนรายป ณ สิ้นป 2547 มีโครงการที่ดําเนินการแลว 3 โครงการสรุปไดดังนี้

สวนที่ 2 หนา 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโครงการ จํานวนที่เสนอขาย

โครงการ 1 14,000,000 หนวย

ราคาเสนอขาย อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใชสิทธิ* ราคาการใชสิทธิ* วันที่ออกและเสนอขาย ระยะเวลาการใชสิทธิ

46.780 27 มีนาคม 2545

โครงการ 2 8,467,200 หนวย - 0 – บาท ไมเกิน 5 ป นับจากวันที่ออกและเสนอขาย 1:1.02549 42.302 30 พฤษภาคม 2546

โครงการ 3 8,999,500 หนวย

1:1.01272 90.637 31 พฤษภาคม 2547

กรรมการ และพนักงานของบริษทั สามารถใชสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทไดตามรายละเอียดดังตอไปนี้ ปที่ 1 กรรมการ และพนักงานของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดในจํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่ กรรมการ และพนักงานของบริษัทแตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการและ พนักงาน ของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาว ไดก็ตอเมื่อครบระยะเวลา 1 ปนับจากวันที่บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดาน หลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย ปที่ 2

กรรมการ และพนักงานของบริษทั สามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดอีกในจํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่ กรรมการ และพนักงานของบริษทั แตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการ และพนักงาน ของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาว ไดก็ตอเมื่อครบระยะเวลา 2 ปนบั จากวันที่บริษทั ไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุน ที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดาน หลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย

ปที่ 3

กรรมการ และพนักงาน ของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามสิทธิของตนในสวนที่เหลือทั้งหมดไดเมื่อครบระยะเวลา 3 ปนับ จากวันที่บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บน กระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้งสุดทาย

สวนที่ 2 หนา 57


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโครงการ

โครงการ 1

โครงการ 2

โครงการ 3

ระยะเวลาแสดงความจํานงการใชสิทธิ

ภายใน 5 วันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสิทธิ ยกเวน การแสดงความจํานงในการใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ในครั้งสุดทาย กําหนดใหแสดงความจํานงในการใชสิทธิไดในชวงระยะเวลา 15 วันกอนวันกําหนดการใชสิทธิ

วันกําหนดการใชสิทธิ

วันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

*

บริษัทมีการปรับสิทธิ อันเปนผลมาจาก บริษัทจายเงินปนผลระหวางกาลในอัตราสูงกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตามเงื่อนไขที่ระบุไวในหนังสือชี้ชวน โดยไดปรับทั้งอัตราการใชสิทธิและราคาการ ใชสิทธิ ตั้งแตวันที่ 7 มีนาคม 2548 เปนตนมา

รายชื่อกรรมการ และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทยอยที่ไดรับจัดสรรเกินกวา 5% ของโครงการ รายชื่อ

ตําแหนง

1. นายสมประสงค บุญยะชัย

กรรมการและประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย กรรมการผูอํานวยการ สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย หัวหนาคณะผูบริหาร ดานบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี รองกรรมการผูอํานวยการ สายงาน การตลาด ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานสนับสนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และกรรมการบริษัทยอย

2. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร 3. นางสุวิมล แกวคูณ 4. นายวิกรม ศรีประทักษ 5. นายกฤษณัน งามผาดิพงศ 6. นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล

โครงการ 1

โครงการ 2

โครงการ 3

จัดสรร (หนวย)

% ของโครงการ

จัดสรร (หนวย)

% ของโครงการ

จัดสรร (หนวย)

% ของโครงการ

1,471,800

10.51

609,400

7.20

914,300

10.16

1,250,000

8.93

786,000

9.28

676,000

7.51

1,197,800

8.56

786,000

9.28

676,000

7.51

1,128,600

8.06

579,000

6.84

606,400

6.74

-

-

-

-

537,000

5.97

-

-

420,000

4.96

487,100

5.41

สวนที่ 2 หนา 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

9.4

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เพื่อใหบริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่ดี คณะกรรมการและ ผูบริหารมีวิสัยทัศนและมีความรับผิดชอบตอหนาที่เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และเพิ่มความเชื่อมั่น ใหแกผูถือหุน ผูลงทุน และผูที่เกี่ยวของทุกฝาย รวมถึงการมีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจเพื่อใหการ บริหารงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบได ตลอดจนการเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือหุน และความ รับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสีย ถือเปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคา และผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของ บริษัทในระยะยาว บริษัทไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 15 ขอ ดังตอไปนี้ 9.4.1 นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแล บริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญและเชื่อมั่นวาการกํากับดูแลกิจการที่ดี จะนําบริษัทไปสูการดําเนินธุรกิจอยาง มั่นคง สามารถเพิ่มคุณคาใหแกองคกร เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน รวมถึงการมีประสิทธิภาพในการจัดการ ที่สงผลถึงความเชื่อมั่นของผูถือหุน นักลงทุน และผูที่เกี่ยวของ ดังนั้นตั้งแตป 2545 คณะกรรมการบริหาร โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการบริ ษัท จึง ได กํา หนดนโยบายการกํ า กั บดู แ ลกิจ การ (Corporate Governance Policy) ขึ้น ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด โดยครอบคลุมหลัก สําคัญดังตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามมุ ง มั่ น ในการบริ ห ารงานที่ เ ป น เลิ ศ ในคุ ณ ภาพด า นเครื อ ข า ย ดานเทคโนโลยี ดานบุคลากร และดานมาตรฐานการใหบริการ รวมทั้งการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุน โดยผูบริหารที่มีความรู ความสามารถและมีการจัดการที่ดี 2. การปฏิบัติตอผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกัน และเปนธรรมตอทุกฝาย 3. มีการเปดเผยสารสนเทศอยางถูกตอง ครบถวน เพียงพอ เชื่อถือไดและทันเวลา แกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย 4. ผูบริหารและพนักงานทุกคนปฏิบัติงานโดยคํานึงการบริหารความเสี่ยงอยูเสมอ รวมถึงการจัดใหมีระบบ การควบคุมภายในที่รัดกุมเหมาะสม 5. บริษัทมีการกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับ ยึดถือและนําไปปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน 9.4.2 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริษัทตระหนักถึงสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน โดยการประชุมผูถือหุน บริษัทไดจัดสงหนังสือ เชิญประชุมพรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมในวาระตางๆ ใหผูถือหุนทราบลวงหนาไมนอยกวา 14 วัน กอนวันประชุมผูถือหุน รวมทั้งมีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระ และมีการบันทึกการประชุมถูกตอง ครบถวน เพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได ในหนังสือเชิญประชุมมีการแจงรายละเอียดใหผูถือหุน นําเอกสารหลักฐานที่จําเปนมาใหครบถวนในวัน ประชุม ผู ถือหุน เพื่อรัก ษาสิ ทธิใ นการเขา รว มประชุม ของผูถือหุ น สวนในวัน ประชุ ม ผูถือหุ น สามารถ ลงทะเบียนเขาประชุมลวงหนาไดกอนการประชุม 1 ชั่วโมง ในการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศ การแสดง ความเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ รวมทั้งไดแจง ใหผูถือหุนรับทราบสิทธิในการลงคะแนน และวิธีการออกเสียงลงคะแนนทุกครั้งกอนเริ่มการประชุม โดย สวนที่ 2 หนา 59


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ประธานที่ประชุมมีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสมและสงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ ประชุม การประชุมผูถือหุนทุกครั้งใหแตงตั้งกรรมการอิสระอยางนอย 1 ทาน เปนผูรบั มอบอํานาจแทนผูถือหุนที่ไม สามารถเขารวมประชุมและแจงความประสงคไวในหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ บริษัทยังไดอํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุนในการมารวมประชุมผูถือหุน โดยจัดเตรียมหอง ประชุมที่เขาถึงไดสะดวก และมีขนาดเหมาะสมรองรับผูเขารวมประชุมไดอยางเพียงพอ และในกรณีที่ผูถือหุน ไมสามารถมารวมประชุมดวยตนเอง ก็สามารถมอบฉันทะใหผูอื่นเขาประชุมและลงมติแทนได 9.4.3 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนัก ถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสียตางๆ และมีนโยบายที่จะดูแ ลใหความมั่นใจ โดยจัดใหลํา ดับ ความสําคัญแกผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้งผูถือหุน พนักงาน ผูบริหาร ลูกคา คูคา คูแขง ตลอดจนสาธารณชน และสังคมโดยรวมอยางเหมาะสม และจะใหมีการรวมมือกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในกลุมตางๆ ตาม บทบาทและหนาที่ เพื่อใหกิจการของบริษัทดําเนินไปดวยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชนที่เปน ธรรมแกทุกฝาย เชน ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแก ผูถือหุนโดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาบริษัทในระยะยาวดวยผลตอบแทนที่ดแี ละตอเนื่อง รวมทั้งการดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได พนักงาน : บริษัทมุงมั่นพัฒนาเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดีงาม รวมทั้งสงเสริมการ ทํางานเปนทีม และสรางโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานอยางตอเนื่อง เพื่อใหการ ใชทรัพยากรบุคคลเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท สังคม

: บริษัทในฐานะเปนบริษัทของคนไทย มีจิตสํานึก และตระหนักในความเปนสวนหนึ่งของ สังคม ซึ่งตองมีหนาที่รับผิดชอบในการชวยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน แกชุมชน ตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมของทองถิ่นที่บริษัทมีการดําเนินธุรกิจ

ลูกคา

: บริ ษั ท มี ค วามมุ ง มั่ น ในการสร า งความพึ ง พอใจและความมั่ น ใจให กั บ ลู ก ค า ที่ จ ะได รั บ ผลิตภัณฑและบริการที่ดีมีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปดเผยขาวสารขอมูล เกี่ยวกับสินคาและบริการอยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง

คูคา

: การดําเนินธุรกิจกับคูคาใดๆ ตองไมนํามาซึ่งความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของบริษัท หรือขัดตอ กฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึงความเสมอภาค ในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรวมกันกับ คูคา การคัดเลือกคูคาตองทําอยางยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทถือวาคูคาเปนปจจัยสําคัญในการรวม สราง Value Chain ใหกับลูกคา

คูแขง

: บริษัทสนับสนุนและสงเสริมนโยบายการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม ไมผูกขาด หรือกําหนดใหคูคาตองขายสินคาของบริษัทเทานั้น

สวนที่ 2 หนา 60


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.4 การประชุมผูถือหุน ในการประชุมผูถือหุน บริษัทไดกําหนดใหกรรมการบริษัททุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งประธานกรรมการ บริษัท และประธานคณะกรรมการชุดยอยเขารวมประชุมเพื่อตอบคําถามตอที่ประชุมผูถือหุนทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้งจะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนกรรมการอิสระรวมอยูดวย โดยประธานที่ป ระชุ ม หรือ บุ ค คลที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากประธานที่ ป ระชุม มี ห นา ที่จั ด สรรเวลาให อย า ง เหมาะสม สงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกัน ในการตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัท ใหแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ รวมทั้งมีการบันทึก ประเด็นซักถามและขอคิดเห็นที่สําคัญไวในรายงานการประชุม ในป 2547 บริษัทไดจัดใหมีการประชุมสามัญผูถือหุน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2547 เวลา 10.00 น. ถึง 11.10 น. ที่อาคารชินวัตร 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการ พิจารณาลงคะแนนเสียงเรียงลําดับตามวาระที่กําหนดไว และไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุนทุกวาระ 9.4.5 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการของบริษัทมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน นโยบายทิศทางการดํา เนินงานของบริษัท และมีความเปนอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท และผูถือหุนโดยรวม ตลอดจนกํากับ ดูแลในฝายจัดการดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจ และงบประมาณที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล มีระบบแบงแยกบทบาทหนาที่รับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ กับฝายบริหาร และแบงแยก หน า ที่ ร ะหว า งคณะกรรมการกั บ ผู ถื อ หุ น อย า งชั ด เจน รวมทั้ ง ดู แ ลให มี ก ระบวนการประเมิ น ความมี ประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน ระบบกํากับดูแลกิจการ การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และคณะกรรมการไดจัดใหมีกลไกในการกํากับดูแลติดตาม และประเมินผลการ ปฏิบัติงานของฝายบริหารใหบรรลุตามนโยบายที่คณะกรรมการไดกําหนดไว หนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทตลอดจนมติที่ประชุมผูถือ หุนดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษัทและกํากับดูแล ใหฝายบริหารดําเนินการเปนไป ตามนโยบายที่กําหนดไวอยางประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัทและ ผูถือหุน 3. ทบทวนและใหความเห็นชอบในการดําเนินการใดๆ ที่กฎหมายกําหนด 4. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอยางสม่ําเสมอและกําหนดคาตอบแทน 5. กําหนดวิสัยทัศนของกิจการ และรับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝายบริหาร โดย ใหมีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 6. จัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งดูแลใหมีกระบวนการใน การประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล 7. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 8. กํากับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม สวนที่ 2 หนา 61


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.6 ความขัดแยงทางผลประโยชน เพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดดูแลอยางรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน โดยกําหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันกอนการทํา รายการไวเปนลายลักษณอักษร รวมทั้งกําหนดนโยบายและวิธีการดูแลไมใหผูบริหาร และผูเกี่ยวของนํา ขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตน ในเรื่องรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนและ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น คณะกรรมการได พิ จ ารณาความเหมาะสมอย า งรอบคอบทุ ก ครั้ ง โดยคํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญ รวมทั้งมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยโดยราคา และเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) และไดเปดเผยรายละเอียดมูลคา รายการ คูสัญญาเหตุผล/ความจําเปน ไวในรายงานประจําป และแบบ 56-1 แลว โดยบางรายการไดมีการให ผูประเมินราคาอิสระ และ ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระที่มีความเชี่ยวชาญมาประเมินราคาและบางรายการ ไดเปรียบเทียบกับราคาตลาด 9.4.7 จริยธรรมธุรกิจ บริ ษั ท กํา หนดปรั ช ญาและจรรยาบรรณธุ ร กิ จ บริ ษั ท ไว เ ป น ลายลั ก ษณ อั ก ษรอย า งชั ด เจน ให ก รรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับ ยึดถือและนําไปปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ตาม ภารกิจของบริษัทเปนไปดวยความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติตอบริษัท และผูมีสวนไดเสีย ทุกกลุม รวมทั้งสาธารณชน และสังคม รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวย ตั้งแต 2546 เปนตน บริษัทไดเผยแพรคูมือจริยธรรมธุรกิจและไดประกาศลงในระบบ Intranet ของบริษัท เพื่อใหพนักงานทุกระดับรับทราบอยางทั่วถึง รวมทั้งไดมีการอบรมทําความเขาใจใหกับผูบริหาร โดยมีการ ติดตามผลปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางจริงจัง เปนประจําทุกป ซึ่งผูบริหารและผูบังคับบัญชามีหนาที่ใน การสอดสอง ดูแล และสงเสริมผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนด และประพฤติตนเปน แบบอยางที่ดี 9.4.8 การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร การแตงตั้งคณะกรรมการบริษัทเปนไปตามกฎหมายและของบังคับของบริษัทตลอดจนเปนไปตามขอตกลง ของ ผูถือหุน ที่กําหนดใหกรรมการบริษัทเปนตัวแทนจากผูถือหุน โดยคณะกรรมการบริษัทมีกรรมการ จํานวน 10 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร 5 ทาน กรรมการผูแทนทศท. ตามสัญญาจํานวน 1 ทาน และกรรมการที่มีความเปนอิสระ จํานวน 4 ทาน หรือคิดเปนรอยละ 40 ของกรรมการทั้งคณะ เพื่อ ชวยรักษาสมดุลของการกํากับและการบริหาร โดยมีกรรมการผูมีอํานาจผูกพันบริษัท คือ นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุ ญ ยะชั ย นางศิ ริ เ พ็ ญ สี ต สุ ว รรณ กรรมการสองในสามท า นลงนามร ว มกั น และ ประทับตราสําคัญของบริษัท 9.4.9 การรวมหรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการของบริษัทมิไดเปนบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหาร และไมมีความสัมพันธใดๆ กับ ฝ า ยบริ ห าร เพื่ อ แบ ง แยกหนา ที่ ใ นการกํ า หนดนโยบายกํ า กั บดู แ ลและการบริ ห ารงานประจํ า โดย โครงสรางคณะกรรมการบริษัทประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระมากกวา 1 ใน 3 ของคณะกรรมการ

สวนที่ 2 หนา 62


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทั้งคณะ เพื่อใหเกิดความสมดุลของการกํากับและการบริหาร โดยบริษัทไดกําหนดบทบาท อํานาจ และ หนาที่ความรับผิดชอบที่แยกชัดเจนระหวางประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 9.4.10 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทมีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรมและสูงเพียง พอที่จะจูงใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับผูบริหาร การจายคาตอบแทนจะสอดคลองกับผล การดําเนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โปรดดูรายละเอียดในหัวขอ 9.3 9.4.11 การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการบริษัท กําหนดใหมีไ ตรมาสละ 1 ครั้ง เปนอยา งนอย หรือประธานกรรมการ จะพิจารณาเห็นสมควรเรียกประชุมเปนวาระพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปน โดยมีการกําหนดวาระการ ประชุมลวงหนาที่ชัดเจน เปนระเบียบวาระพรอมเอกสารประกอบการประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสือเชิญ ประชุมใหแกกรรมการทุกทานกอนการประชุมไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูล กอนการประชุม เวนแตกรณีมีเหตุจําเปนเรงดวน และมีการบันทึกรายงานการประชุม และจัดเก็บรวบรวม เอกสารรายงานที่รับรองแลว เพื่อใชในการอางอิง และสามารถตรวจสอบได ในการประชุม ประธานกรรมการไดจัดสรรเวลาใหอยางเพียงพอ สําหรับกรรมการที่จะอภิปราย ซักถาม ชี้แนะในประเด็นสําคัญแกฝายบริหาร และกรรมการทุกทานมีความเปนอิสระในการแสดงความคิดเห็นทุก ประการ ในป 2547 คณะกรรมการบริษัทไดมีการประชุมทั้งวาระปกติและวาระพิเศษรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง มีรายละเอียด การเขารวมประชุมของกรรมการดังตอไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย 2. นายบุญคลี 3. นายสมประสงค 4. นางศิริเพ็ญ 5. นายลิม 6. นายเชา 7. นางทัศนีย 8. นายศุภเดช 9. นายอรุณ 10.นายบุญชู

ลิมปพยอม ปลั่งศิริ บุญยะชัย สีตสุวรรณ ชวน โปห วิง เคียง ลูคัส มโนรถ พูนพิพัฒน เชิดบุญชาติ ดิเรกสถาพร

เขารวมประชุม 5 ครั้ง เขารวมประชุม 3 ครั้ง เขารวมประชุม 5 ครั้ง เขารวมประชุม 4 ครั้ง เขารวมประชุม 1 ครั้ง เขารวมประชุม - ครั้ง เขารวมประชุม 5 ครั้ง เขารวมประชุม 5 ครั้ง เขารวมประชุม 4 ครั้ง เขารวมประชุม 5 ครั้ง

9.4.12 คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท ได แ ต ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการ เพื่ อ ช ว ยในการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท โปรดดูรายละเอียดใน “โครงสรางการจัดการของบริษัท”

สวนที่ 2 หนา 63


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.13 ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี่ยง • การควบคุมภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เปนระบบการปฏิบัติงานที่เจาหนาที่ทั้งหมดของบริษัท ตั้งแต คณะกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกคน มีบทบาทและความรับผิดชอบรวมกัน ซึ่งไดกําหนด ภาระหนาที่ความรับผิดชอบ อํานาจการดําเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการไวเปนลาย ลักษณอักษรอยางชัดเจน เพื่อกอใหเกิดความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลในการปฏิบัติงานวา ผลของงาน ที่ไดรับ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงคขององคกรที่ตั้งไวได ดังตอไปนี้ 1. กลยุทธและเปาหมายของบริษัทในระดับภาพรวมและกิจกรรมในระดับปฏิบัติการ ไดกําหนดไว อยางชัดเจน โดยสอดคลองและสนับสนุนพันธกิจ (Mission) ขององคกร 2. ผลการปฏิบัติงานของแผนงานและโครงการตางๆ บรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยมีการ บริหารทรัพยสินและทรัพยากรของบริษัทใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพคุมคา 3. ขอมูลที่มีสาระสําคัญ ทั้งดานการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกตอง เชื่อถือได และเปนขอมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจไดอยางทันเวลา 4. การดําเนินงานของบริษัทและการปฏิบัติงานของพนักงาน เปนไปตามนโยบาย กฏระเบียบและ ขอกําหนดของบริษัท โดยสอดคลองกับกฎหมายและขอบังคับอื่นที่เกี่ยวของ 5. มีการบริหารความปลอดภัยของทรัพยสิน บุคลากร รวมทั้งขอมูลในระบบสารสนเทศ ใหมีความ ปลอดภัยอยางรัดกุมเพียงพอ 6. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องในทุกกระบวนการและกิจกรรมควบคุม รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบและเทคโนโลยี เพื่อสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา บริษัทไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ตามกรอบงานการบริหารความ เสี่ยง โดยอางอิงตามมาตรฐานสากลของ COSO-ERM (The Committee Of Sponsoring Organizations Of The Treadway Commission -Enterprise Risk Management) ซึ่งสัมพันธกับการ ดําเนินธุรกิจและกระบวนการบริหารงานตามองคประกอบ 8 ขอ ดังนี้ 1. มีสภาพแวดลอมภายในบริษัทที่ดี (Internal Environment) บริษัทยึดมั่นในจริยธรรมทางธุรกิจ โดยผูบริหารและพนักงานทุกระดับปฏิบัติและยึดมั่นในปรัชญา และจรรยาบรรณธุรกิจบริษัท ที่มีการกําหนดเปนลายลักษณอักษร และมีการจัดโครงสรางการ บริหารที่เหมาะสม มีการกําหนดและระบุอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจน และมีการ กําหนดนโยบาย ระเบียบ ขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติงานใหเปนลายลักษณอักษร ทั้งดานการเงิน การบริหารทั่วไปและระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของ มีการจัดการและปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียที่ดี โดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอพนักงาน คูคา ลูกคา เจาหนี้การคา คูแขงขันทางธุรกิจ ตลอดจน ผูถือหุน สังคมและสิ่งแวดลอมตางๆ นอกจากนี้มีการจัดการฝกอบรมพนักงานทุกระดับใหทราบ และเขาใจเรื่องการบริหารความเสี่ยง และมีการกําหนดกิจกรรม การบงชี้ การประเมินและการ จัดการความเสี่ยงอยางเปนระบบตอเนื่อง และฝายบริหารไดกําหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได อยางเหมาะสม

สวนที่ 2 หนา 64


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน (Objective Setting) บริษัทมีการกําหนดวัตถุประสงคการปฏิบัติงานอยางชัดเจน ทั้งดานกลยุทธ ดานการปฏิบัติงาน ดานนโยบาย กฎ ระเบียบ ขอปฏิบัติตางๆ โดยบันทึกเปนลายลักษณอักษร และสอดคลองกับ เปาหมายหลักหรือพันธกิจในภาพรวม และฝายบริหารมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน กลยุทธและ วั ต ถุ ป ระสงค ที่ เ หมาะสมให ส อดคล อ งกั บ สถานการณ ห รื อ ป จ จั ย เสี่ ย งที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปอย า ง สม่ําเสมอ 3. มีการระบุตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงอยางครบถวนเหมาะสม ( Event Identification) บริษัทมีการกํา หนดหรือระบุตัวบงชี้เ หตุก ารณหรือปจ จัยเสี่ยงตา งๆที่อาจจะเกิดขึ้นและสง ผล กระทบหรือผลเสียหายตอวัตถุประสงคนั้นๆในแตละกิจกรรมอยางครบถวนเหมาะสมและตอเนื่อง โดยพิจารณาจากแหลงความเสี่ยงภายในและภายนอกบริษัท ไดแก ความเสี่ยงดานการกลยุทธ ดานการเงิน ดานบุคลากร ดานการปฏิบัติงาน ดานระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศที่เกี่ยวของ ดานคูแขงขัน ดานบริษัทคูคา ดานเศรษฐกิจ ดานกฎระเบียบและขอปฏิบัติตางๆ เปนตน นอกจากนี้บริษัทยังมีการติดตามเพื่อใหมั่นใจวา บริษัทมีการกําหนดหรือระบุปจ จัยเสี่ยงอยา ง เหมาะสมที่ครอบคลุมตอการเปลี่ยนแปลงของแตละกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป และมีการรายงาน ผลตอฝายบริหารหรือผูเกี่ยวของใหรับทราบอยางสม่ําเสมอ 4. มีกระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม (Risk Assessment) บริษัทไดกําหนดใหมีการประเมินความเสี่ยงทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ และทําการประเมินใน 2 ดาน คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยง (Likelihood) และผลกระทบตอความเสียหายที่จะ เกิดเหตุการณนั้น (Impact) เพื่อพิจารณาระดับของความเสี่ยงที่อาจจะเปนระดับสูง กลาง หรือต่ํา โดยบริษัทไดจัดทําการประเมินระดับของความเสี่ยงจากตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงที่สําคัญที่ ไดระบุไวและทําการประเมินอยางเปนระบบและสม่ําเสมอ 5. มีการตอบสนองความเสี่ยงอยางมีประสิทธิผล (Risk Response) บริษัทมีก ระบวนการจัด การหรือบริห ารความเสี่ยงอยา งเปนระบบ โดยพิจ ารณาทางเลือ กที่ มี ประสิทธิผลและความคุมคาที่สุด เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยงและผลกระทบตอ ความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได รวมทั้งยังมีการบริหาร ความเสี่ยงอยางตอเนื่องควบคูไปกับมาตรการควบคุมภายใน ใหมีความสัมพันธเหมาะสมกับ ความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยูตลอดเวลา โดยเลือกจัดการกับความเสี่ยงระดับสูงเปนอันดับแรก โดยทางบริษัทใชกลยุทธในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ • การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) ในกรณีที่ฝายบริหารพิจารณาเห็นชอบวา ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น สงผลกระทบไมเกินระดับที่ยอมรับได • การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) โดยการหลีกเลี่ยงหรือหยุดกระทํากิจกรรม หรือเปลี่ยนรูปแบบการทํากิจกรรม ที่จะกอใหเกิดความเสี่ยง • การลดหรือควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) เปนการดําเนินการเพื่อลดโอกาสที่จะ เกิดเหตุการณความเสี่ยงและผลกระทบตอความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยงนั้นใหอยู ในระดั บ ที่ ย อมรั บ ได เช น การกํ า หนดแผนสํ า รองฉุ ก เฉิ น การทบทวนปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก าร ปฏิ บั ติ ง าน การฝ ก อบรมพั ฒ นาบุ ค ลากรอยู เ สมอ การปรั บ ปรุ ง ระบบคอมพิ ว เตอร ใ ห มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เปนตน สวนที่ 2 หนา 65


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• การกระจายหรือโอนความเสี่ยง (Risk Sharing ) โดยการแบงโอนหรือกระจายความเสี่ยง ใหกับผูอื่นแทน เชน จัดใหมีการประกันภัยทรัพยสิน การประกันภัยอุบัติเหตุ เปนตน 6. มีกิจกรรมการควบคุมที่ดี (Control Activities) บริษัทไดกําหนดกิจกรรมการควบคุมที่มีสาระสําคัญของแตละระบบงานไวอยางเหมาะสม รวมทั้ง นโยบาย วิธีการปฏิบัติ และการรายงานผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวา วิธีการจัดการความ เสี่ยงที่ไดกําหนดไว หรือกิจกรรมการควบคุมนั้นไดมีการนําไปปฏิบัติจริง โดยผลการปฏิบัติงาน สามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวได ซึ่งมุงเนนใหการปฏิบัติงานมีคุณภาพสูงสุดและมีค วาม รวดเร็วควบคูไปดวย นอกจากนี้บริษัทยังมีการกําหนดบุคลากรภายในองคกร เพื่อดูแลรับผิดชอบ การควบคุมภายในของแตละระบบงานและแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจน มีการ กําหนดระยะเวลาการบริหารความเสี่ยงและมีการรายงานผลเปนลายลักษณอักษรตอผูเกี่ยวของ 7. มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลที่ดี (Information and Communication) บริ ษัท มีร ะบบสารสนเทศที่ส ามารถเชื่ อ มโยงกัน ได อย า งทั่ วถึ ง ซึ่ ง สามารถนํ า ไปใช เพื่ อการ ตัดสินใจไดอยางถูกตองทันเวลา และมีระบบการจัดเก็บขอมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกตอง ยอนหลังได (Audit Trail) และมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลและสารสนเทศอยางมี ประสิทธิภาพเพียงพอ รวมถึงระบบที่สามารถวิเคราะหหรือบงชี้จุดที่อาจจะเกิดความเสี่ยงในเชิง สถิติได โดยทําการประเมินและจัดการความเสี่ยงไดอยางเปนระบบ และมีการบันทึกหรือและ รายงานผลไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้บริษัทยังมีการสื่อสารขอมูลพันธกิจ และแนวทางการบริหารความเสี่ยงลงสูพนักงานทุก ระดับ เพื่อทราบและเขาใจกอนการปฏิบัติงานจริง และยังมีชองทางการสื่อสารจากระดับพนักงาน ขึ้นสูระดับผูบริหารอยางเหมาะสมเพียงพอ เพื่อชวยใหบุคคลากรที่เกี่ยวของสามารถตอบสนองตอ เหตุการณไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมการควบคุม ให สามารถจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได 8. มีระบบการติดตามผลที่ดี (Monitoring ) บริษัทมีระบบการประเมินและติดตามผลการดําเนินการ โดยใชระบบ Balance Scorecard ในการ วัดผลการดําเนินงาน และใหมีการติดตามอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง เพื่อใหสามารถตอบสนองตอการ เปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม ทันเวลา นอกจากนี้ บริษัทไดจัดใหมีการตรวจประเมินผลการ ปฏิบัติงาน โดยหนวยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งเปนหนวยงานอิสระ ผูสอบบัญชี และผูประเมิน อิสระจากภายนอก บริษัทมีระบบการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงที่ดี ทําใหมั่นใจไดวา การจัดการ หรือการบริหาร ความเสี่ยงมีประสิทธิภาพเหมาะสมเพียงพอ โดยความเสี่ยงนั้นอยูในระดับที่ยอมรับได นอกจากนี้ บริษัทยังใหมีการรายงานผลตอหัวหนางานทุกระดับและตอผูบริหารระดับสูงอยางสม่ําเสมอ และ จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทและมีการประชุมผูบริหารอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาและ ติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารวาเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไวอยางไร ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2548 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเขารวมประชุมดวย คณะกรรมการไดประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท จาก การสอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน และการซักถามขอมูลจากฝายบริหาร ผลการ

สวนที่ 2 หนา 66


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ประเมินจากแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในสรุปไดวา บริษัทมีระบบการ ควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ผูสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ซึ่งเปน ผูตรวจสอบงบการเงินประจํางวดป 2547 ไดประเมินประสิทธิผลระบบการควบคุมภายในของ บริษัทตามที่ เห็นวาจําเปน โดยพบวา ไมมีจุดออนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแต ประการใด • การตรวจสอบภายใน บริษัทจัดตั้งหนวยงานตรวจสอบภายในที่มีความเปนอิสระ (Independence) โดยรายงานตรงตอ คณะกรรมการตรวจสอบในดานงานตรวจสอบภายใน และรายงานตอประธานกรรมการบริหารในดาน งานบริหารหนวยงาน นอกจากนี้หนวยงานตรวจสอบภายในยังทําหนาที่ตรวจประเมินและใหคําปรึกษา แนะนํา เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา การปฏิบัติงานของบริษัทบรรลุผลสําเร็จตาม เปาหมายที่กําหนดไว โดยใชวิธีการอยางเปนระบบในการประเมินประสิทธิผลของระบบการบริหาร ความเสี่ยง ระบบการควบคุม และระบบการกํากับดูแลกิจการ ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพ การตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) และทําการ ติดตามประเมินอยางสม่ําเสมอวา ระบบที่วางไวดําเนินอยูอยางตอเนื่อง ไดรับการปรับปรุงแกไขให สอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนไป และขอบกพรองไดรับการแกไขอยางทันทวงที ในการตรวจประเมิ น ความมีป ระสิ ท ธิผ ลของการบริ ห ารความเสี่ ยง หน ว ยงานตรวจสอบภายในได ดําเนินการสอบทานตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบตอวัตถุประสงค และแนวทางการ บริหารความเสี่ยงของผูปฏิบัติงาน เพื่อใหมั่นใจวามีการระบุและประเมินความเสี่ยงไดอยางถูกตอง เหมาะสม และมีการบริหารความเสี่ยงที่เปนระบบ สามารถจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได และมีการรายงานความเสี่ยงตอผูเกี่ยวของอยางครบถวนทันเวลา พรอมทั้งยังมีการติดตามสอบทาน ความเสี่ยงอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายใน หนวยงานตรวจสอบภายในไดจัดทําแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในในแตละระบบงาน รวมทั้งไดทําการสอบทานผลการ ปฏิบัติงาน เพื่อใหมั่นใจวา บริษัทสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว ในการตรวจประเมินการกํากับดูแลกิจการ หนวยงานตรวจสอบภายในไดตรวจประเมินการกํากับดูแล ดูแลกิจการตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนเกณฑ เพื่อให มั่นใจวาบริษัทมีโครงสรางและการสนับสนุนของกระบวนการที่จําเปนในการนําไปสูผลสําเร็จของการ กํากับดูแลที่ดีและโปรงใสและใหความเปนธรรมแกผูมีสวนไดเสียทุกฝายเทาเทียมกัน นอกจากนี้ หนวยงานตรวจสอบภายใน ยังไดทําหนาที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสนับสนุนภาระหนาที่ของคณะกรรมการใหมีประสิทธิผล โดยจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการเดือน ละ 1 ครั้ง

สวนที่ 2 หนา 67


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทไดกําหนดภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงานและภาระหนาที่ความรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการ ปฏิบัติงานตรวจสอบตรวจสอบภายในไวอยางชัดเจน ในกฎบัตรของสํานักตรวจสอบภายใน ที่ไดรับ อนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ในดานมาตรฐานวิชาชีพบริษัทไดใหความสําคัญกับการพัฒนาการตรวจสอบภายในอยางตอเนื่อง โดย มุงใหมีความเปนอิสระ เที่ยงธรรม สอดคลองกับมาตรฐานสากล และเนนเชิงปองกันเปนหลัก รวมถึง การพัฒนาพนักงานตรวจสอบภายในใหสอบวุฒิบัตร CIA (Certified Internal Auditor), CISA (Certified Information System Auditor) และ CISSP (Certified Information Systems Security Professional) โดยในป 2547 มีพนักงานที่มีวุฒิบัตร CIA จํานวน 9 ทาน, วุฒิบัตร CISA จํานวน 4 ทาน วุฒิบัตร CISSP จํานวน 2 ทาน, วุฒิบัตร CPA (Certified Public Accountant) จํานวน 3 ทาน, วุฒิบัตร TA (Tax Auditor) จํานวน 1 ทาน และมีพนักงานอีกจํานวนหนึ่งอยูระหวางการพัฒนาใหมีวุฒิบัตร CIA, CISA และ CISSP อยางตอเนื่อง • การบริหารความเสี่ยง บริษัทมีนโยบายที่ชัดเจนในการกําหนดใหการบริหารความเสี่ยง เปนสวนหนึ่งของการบริหารจัดการ เพื่อใหวัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท สามารถปฏิบัติไดบรรลุตามที่ไดตั้งไว โดยไดมีการฝกอบรมผูบริหาร และพนักงานทุกระดับ ใหตระหนักถึงความเสี่ยง และสามารถจัดการ ความเสี่ยงไดอยางเปนระบบในการปฏิบัติงานจริง ทั้งนี้ผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัท เปน ผูรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง และมีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงานและ กระบวนการทํางาน ประเมินประสิทธิผลของมาตรการควบคุมที่มีอยู พรอมทั้งนําเสนอแผนงานและวิธีใน การลดความเสี่ยงของทุกระบบงาน 9.4.14 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษั ท เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบต อ งบการเงิ น และงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท แอดวานซ อิ น โฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ขอมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป และจัด ใหมีระบบบริหารความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมอยางมีประสิทธิผล โดยคณะกรรมการบริษัทมี หนาที่ในการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําหนาที่สอบทานขอมูลทางการเงิน คุณภาพของรายงาน ทางการเงิน นโยบายการบัญชีและจัดใหมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญเพิ่มเติมอยางเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน และคําอธิบายการวิเคราะห เพื่อประโยชนของผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปในการใชงบ การเงิน คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา งบการเงินประจําป 2546 ของบริษัท และบริษัทยอย ที่คณะกรรมการ ตรวจสอบไดส อบทานรว มกั บฝ า ยบริห ารและผูส อบบัญ ชีข องบริษั ท ไดแ สดงฐานะการเงิน และผลการ ดําเนินงานถูกตอง เชื่อถือได สมเหตุสมผล ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการใช นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ เปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ และปฏิบัติถูกตอง ตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ

สวนที่ 2 หนา 68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

9.4.15 ความสัมพันธกับผูลงทุน บริษัทใหความสําคัญตอการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทั่วถึงและทันเวลาทั้งขอมูล ทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และขอมูลอื่นใดเพื่อใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวของไดใชประกอบการตัดสินใจ ลงทุน โดยผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตลอดจนผาน Web Site ของเอไอเอส ที่ www.ais.co.th พรอมทั้งไดจัดตั้งหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) ทําหนาที่สื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลที่เปนประโยชนใหผูถือหุน นักลงทุน และเปดเผยขอมูลแก ตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวาไดปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวของอยางครบถวน บริษัทยังไดจัดประชุมแถลงขอมูลผลการดําเนินงานในแตละไตรมาส (Quarterly Briefing) ใหแกนักลงทุน นักวิเคราะห โดยมีผูบริหารระดับสูงของบริษัทรวมประชุมชี้แจงและเปดโอกาสใหนักลงทุน นักวิเคราะห ผูจัดการกองทุน ตลอดจนผูที่สนใจไดซักถามขอมูลตางๆ ทั้งนี้ ผูสนใจสามารถติดตอขอขอมูลตางๆ จาก หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ ไดที่โทร. 02-2995900 หรือ E-mail : Investor@ais.co.th 9.5

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน ในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูลภายในนอกจากมาตรการที่เปนขอกําหนดของกฎหมายแลว บริษัทมีนโยบายและยึด มั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย และความสุจริต ในการดําเนินธุรกิจตอลูกคา คูคา ผูลงทุน และผูถือหุน โดยได กําหนดแนวทางไวในจรรยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และ ระเบียบการรักษาความปลอดภัยระบบ คอมพิวเตอรและขอมูลสารสนเทศ ใหกรรมการผูบริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือและนําไปปฏิบัติ เพื่อปองกัน มิใหขอมูลและขาวสารที่สําคัญ ถูกเปดเผย หรือมีการเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารโดยพลการ หรือโดยมีเจตนาที่ไม บริสุทธิ์ ในกรณีที่กรรมการ พนักงานหรือผูบริหาร นําขอมูลบริษัทไปเปดเผยหรือนําไปใชสวนตน หรือกระทําการที่ อาจขัดแยงทางผลประโยชน ถือเปนความผิดอยางรายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัย ในจรรยาบรรณของบริษัทยังไดกําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย ของกลุมบริษัทในชวงระยะเวลา 1 เดือน กอนการเปดเผยงบการเงินใหแกสาธารณชน นอกจากนี้กรรมการและผูบริหารของบริษัทมีหนาที่จัดทํารายการถือหลักทรัพย และรายงานการเปลี่ยนแปลงการ ถือหลักทรัพยของบริษัทของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตามแบบและภายในเวลาที่กําหนดใน ขอบังคับวาดวยการรายงานการถือหลักทรัพย และกําหนดใหผูบริหารสงสําเนารายงานดังกลาวใหบริษัทในวัน เดียวกับวันที่รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ กลต.

9.6

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทมีพนักงานทั้งสิ้น 3,354 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

1.

วิศวกรรม ปฏิบัติการ

961

2.

ปฏิบัติการดานบริการ

389

3. การตลาดและการวางแผนกลยุทธ

397

4.

การเงินและการบัญชี

172

5.

สนับสนุนระบบสารสนเทศพัฒนาโซลูชั่นส

338

6.

สนับสนุนดานอื่นๆ

261

สวนที่ 2 หนา 69


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

7.

สํานักภูมิภาค ปฏิบตั ิการ

8

8.

สํานักภูมิภาค – ภาคเหนือ

252

9.

สํานักภูมิภาค – ภาคตะวันออก

179

10. สํานักภูมิภาค – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

242

11. สํานักภูมิภาค – ภาคใต

221

12. สํานักภูมิภาค – ภาคกลาง

176

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 DPC มีพนักงานทั้งสิ้น 356 คน โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ สายงานหลัก

จํานวนพนักงาน

1.

สํานักงานและสนับสนุน

2

2.

ธุรกิจการคาเครื่องลูกขาย (Terminal Business)

143

3. ศูนยบริการซอม (Service Center)

116

4.

บัญชี-บริหารสินเชื่อ

56

5.

Phone rent

20

โดยมีคาตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษัทและบริษัทยอย ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ และผลประโยชนตอบแทนอื่นๆ เชน เบี้ยเลี้ยงการเดินทาง ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 2,551 ลานบาท 9.7

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เรามุงมั่นพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางเต็มความสามารถเพื่อ: • ชวยใหองคกรบรรลุผลสําเร็จทางธุรกิจสูงสุดดวยการสรางทีมงานที่มีประสิทธิภาพ • ชวยใหบุคลากรของเรามีความกาวหนาเติบโตในวิชาชีพ รวมทั้งรักษากลุม Talent ไว โดยการมุงพัฒนาใหตรง กับความตองการและชวยใหพวกเขามีความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะประสบความสําเร็จในวิชาชีพของเขา • ชวยใหบริษัทมีผลกําไรในดานการเงินและทุนทางปญญา อันเปนการสนับสนุนเปาหมายขององคกร • ชวยทําใหเกิด initiative ใหม ๆ เพื่อเพิ่มคุณคาแกองคกรอยางสอดคลองกับแผนพัฒนาศักยภาพในการ ปฏิบัติงาน • จัดทําโครงสรางการเรียนรูที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพใหแกพนักงาน • ทําใหมั่นใจวาการพัฒนาไดถูกปลูกฝงในแผนพัฒนาทักษะระยะยาว • ชวยใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่องตามแนวทางดีที่สุด • สงเสริมใหพนักงานมีโอกาสในการเรียนรูอยางตอเนื่องมากขึ้น โดยการบริหารจัดการองคความรู เพื่อมุงสูการ เปน Learning Organization

สวนที่ 2 หนา 70


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

10. การควบคุมภายใน การควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารความเสี่ ย ง เป น ระบบการปฏิ บั ติ ง านที่ เ จ า หน า ที่ ทั้ ง หมดของบริ ษั ท ตั้ ง แต คณะกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกคน มีบทบาทและความรับผิดชอบรวมกัน ซึ่งไดกําหนดภาระหนาที่ ความรับผิดชอบ อํานาจการดําเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน เพื่อกอใหเกิดความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลในการปฏิบัติงานวา ผลของงานที่ไดรับ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค ขององคกรที่ตั้งไวได ดังตอไปนี้ 1. กลยุทธและเปาหมายของบริษัทในระดับภาพรวมและกิจกรรมในระดับปฏิบัติการ ไดกําหนดไวอยางชัดเจน โดยสอดคลองและสนับสนุนพันธกิจ (Mission) ขององคกร 2. ผลการปฏิบัติงานของแผนงานและโครงการตางๆ บรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยมีการบริหาร ทรัพยสินและทรัพยากรของบริษัทใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพคุมคา 3. ขอมูลที่มีสาระสําคัญ ทั้งดานการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกตอง เชื่อถือได และเปนขอมูล เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจไดอยางทันเวลา 4. การดําเนินงานของบริษัทและการปฏิบัติงานของพนักงาน เปนไปตามนโยบาย กฏระเบียบและขอกําหนดของ บริษัท โดยสอดคลองกับกฎหมายและขอบังคับอื่นที่เกี่ยวของ 5. มีการบริหารความปลอดภัยของทรัพยสิน บุคลากร รวมทั้งขอมูลในระบบสารสนเทศ ใหมีความปลอดภัยอยาง รัดกุมเพียงพอ 6. มีก ารปรั บปรุง คุณ ภาพการปฏิบั ติง านอยา งต อ เนื่อ งในทุก กระบวนการและกิ จ กรรมควบคุ ม รวมทั้ งการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบและเทคโนโลยี เพื่อสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา บริษัทไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ตามกรอบงานการบริหารความเสี่ยง โดย อางอิงตามมาตรฐานสากลของ COSO-ERM (The Committee Of Sponsoring Organizations Of The Treadway Commission -Enterprise Risk Management) ซึ่งสัมพันธกับการดําเนินธุรกิจและกระบวนการ บริหารงานตามองคประกอบ 8 ขอ ดังนี้ 1. มีสภาพแวดลอมภายในบริษัทที่ดี (Internal Environment) บริ ษั ท ยึ ด มั่น ในจริ ย ธรรมทางธุร กิ จ โดยผู บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก ระดั บปฏิ บั ติ แ ละยึ ด มั่ น ในปรั ช ญาและ จรรยาบรรณธุรกิจบริษัท ที่มีการกําหนดเปนลายลักษณอักษร และมีการจัดโครงสรางการบริหารที่เหมาะสม มีการกําหนดและระบุอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจน และมีการกําหนดนโยบาย ระเบียบ ขั้นตอน หรือวิธีการปฏิบัติงานใหเปนลายลักษณอักษร ทั้งดานการเงิน การบริหารทั่วไปและระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวของ มีการจัดการและปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียที่ดี โดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอพนักงาน คูคา ลูกคา เจาหนี้การคา คูแขงขันทางธุรกิจ ตลอดจนผูถือหุน สังคมและสิ่งแวดลอมตางๆ นอกจากนี้มีการจัดการ ฝกอบรมพนักงานทุกระดับใหทราบและเขาใจเรื่องการบริหารความเสี่ยง และมีการกําหนดกิจกรรม การบงชี้ การประเมินและการจัดการความเสี่ยงอยางเปนระบบตอเนื่อง และฝายบริหารไดกําหนดระดับความเสี่ยงที่ ยอมรับไดอยางเหมาะสม 2. มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน (Objective Setting) บริษัทมีการกําหนดวัตถุประสงคการปฏิบัติงานอยางชัดเจน ทั้งดานกลยุทธ ดานการปฏิบัติงาน ดานนโยบาย กฎ ระเบียบ ขอปฏิบัติตางๆ โดยบันทึกเปนลายลักษณอักษร และสอดคลองกับเปาหมายหลักหรือพันธกิจใน ภาพรวม และฝายบริหารมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน กลยุทธและวัตถุประสงคที่เหมาะสมใหสอดคลองกับ สถานการณหรือปจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยางสม่ําเสมอ สวนที่ 2 หนา 71


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. มีการระบุตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงอยางครบถวนเหมาะสม ( Event Identification) บริษัทมีการกําหนดหรือระบุตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงตางๆที่อาจจะเกิดขึ้นและสงผลกระทบหรือผล เสียหายตอวัตถุประสงคนั้นๆในแตละกิจกรรมอยางครบถวนเหมาะสมและตอเนื่อง โดยพิจารณาจากแหลง ความเสี่ยงภายในและภายนอกบริษัท ไดแก ความเสี่ยงดานการกลยุทธ ดานการเงิน ดานบุคลากร ดานการ ปฏิบัติงาน ดานระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศที่เกี่ยวของ ดานคูแขงขัน ดานบริษัทคูคา ดานเศรษฐกิจ ดานกฎระเบียบและขอปฏิบัติตางๆ เปนตน นอกจากนี้บริษัทยังมีการติดตามเพื่อใหมั่นใจวาบริษัทมีการกําหนดหรือระบุปจจัยเสี่ยงอยางเหมาะสมที่ ครอบคลุมตอการเปลี่ยนแปลงของแตละกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป และมีการรายงานผลตอฝายบริหารหรือ ผูเกี่ยวของใหรับทราบอยางสม่ําเสมอ 4. มีกระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม (Risk Assessment) บริษัทไดกําหนดใหมีการประเมินความเสี่ยงทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ และทําการประเมินใน 2 ดาน คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยง (Likelihood) และผลกระทบตอความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณนั้น (Impact) เพื่อพิจารณาระดับของความเสี่ยงที่อาจจะเปนระดับสูง กลาง หรือต่ํา โดยบริษัทไดจัดทําการ ประเมินระดับของความเสี่ยงจากตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงที่สําคัญที่ไดระบุไวและทําการประเมินอยาง เปนระบบและสม่ําเสมอ 5. มีการตอบสนองความเสี่ยงอยางมีประสิทธิผล (Risk Response) บริษัทมีกระบวนการจัดการหรือบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ โดยพิจารณาทางเลือกที่มีประสิทธิผลและ ความคุ ม คา ที่สุ ด เพื่อ ลดโอกาสที่ จ ะเกิด เหตุ ก ารณค วามเสี่ ย งและผลกระทบตอความเสี ยหายที่ จ ะเกิ ด เหตุการณความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได รวมทั้งยังมีการบริหารความเสี่ยงอยางตอเนื่องควบคูไป กับมาตรการควบคุมภายใน ใหมีความสัมพันธเหมาะสมกับความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยูตลอดเวลา โดย เลือกจัดการกับความเสี่ยงระดับสูงเปนอันดับแรก โดยทางบริษัทใชกลยุทธในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ • การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) ในกรณีที่ฝายบริหารพิจารณาเห็นชอบวา ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น สงผลกระทบไมเกินระดับที่ยอมรับได • การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) โดยการหลีกเลี่ยงหรือหยุดกระทํากิจกรรม หรือ เปลี่ยนรูปแบบการทํากิจกรรม ที่จะกอใหเกิดความเสี่ยง • การลดหรือควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) เปนการดําเนินการเพื่อลดโอกาสที่จะเกิด เหตุการณความเสี่ยงและผลกระทบตอความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยงนั้นใหอยูใน ระดับที่ยอมรับได เชน การกําหนดแผนสํารองฉุกเฉิน การทบทวนปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน การ ฝกอบรมพัฒนาบุคลากรอยูเสมอ การปรับปรุงระบบคอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เปนตน • การกระจายหรือโอนความเสี่ยง (Risk Sharing ) โดยการแบงโอนหรือกระจายความเสี่ยง ใหกับผูอื่นแทน เชน จัดใหมีการประกันภัยทรัพยสิน การประกันภัยอุบัติเหตุ เปนตน 6.

มีกิจกรรมการควบคุมที่ดี (Control Activities) บริษัทไดกําหนดกิจกรรมการควบคุมที่มีสาระสําคัญของแตละระบบงานไวอยางเหมาะสม รวมทั้งนโยบาย วิธีการปฏิบัติ และการรายงานผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวา วิธีการจัดการความเสี่ยงที่ไดกําหนดไว หรือกิจกรรมการควบคุมนั้นไดมีการนําไปปฏิบัติจริง โดยผลการปฏิบัติงานสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้ง ไวได ซึ่งมุงเนนใหการปฏิบัติงานมีคุณภาพสูงสุดและมีความรวดเร็วควบคูไปดวย นอกจากนี้บริษัทยังมี การกําหนดบุคลากรภายในองคกร เพื่อดูแลรับผิดชอบการควบคุมภายในของแตละระบบงานและแบงแยก สวนที่ 2 หนา 72


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจน มีการกําหนดระยะเวลาการบริหารความเสี่ยงและมีการรายงานผลเปน ลายลักษณอักษรตอผูเกี่ยวของ 7.

มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลที่ดี (Information and Communication) บริษัทมีระบบสารสนเทศที่สามารถเชื่อมโยงกันไดอยางทั่วถึง ซึ่งสามารถนําไปใชเพื่อการตัดสินใจไดอยาง ถูกตองทันเวลา และมีระบบการจัดเก็บขอมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกตองยอนหลังได (Audit Trail) และมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลและสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพเพียงพอ รวมถึงระบบที่ สามารถวิเคราะหหรือบงชี้จุดที่อาจจะเกิดความเสี่ยงในเชิงสถิติได โดยทําการประเมินและจัดการความเสี่ยง ไดอยางเปนระบบ และมีการบันทึกหรือและรายงานผลไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้บริษัทยังมีการสื่อสารขอมูลพันธกิจ และแนวทางการบริหารความเสี่ยงลงสูพนักงานทุกระดับ เพื่อทราบและเขาใจกอนการปฏิบัติงานจริง และยังมีชองทางการสื่อสารจากระดับพนักงานขึ้นสูร ะดับ ผูบริหารอยางเหมาะสมเพียงพอ เพื่อชวยใหบุคคลากรที่เกี่ยวของสามารถตอบสนองตอเหตุการณไดอยาง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมการควบคุม ใหสามารถจัดการความเสี่ยงใหอยู ในระดับที่ยอมรับได

8.

มีระบบการติดตามผลที่ดี (Monitoring ) บริษัทมีระบบการประเมินและติดตามผลการดําเนินการ โดยใชระบบ Balance Scorecard ในการวัดผลการ ดําเนินงาน และใหมีการติดตามอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง เพื่อใหสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงได อยางเหมาะสม ทันเวลา นอกจากนี้ บริษัทไดจัดใหมีการตรวจประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยหนวยงาน ตรวจสอบภายใน ซึ่งเปนหนวยงานอิสระ ผูสอบบัญชี และผูประเมินอิสระจากภายนอก บริษัทมีระบบการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงที่ดี ทําใหมั่นใจไดวา การจัดการ หรือการบริหารความ เสี่ยงมีประสิทธิภาพเหมาะสมเพียงพอ โดยความเสี่ยงนั้นอยูในระดับที่ยอมรับได นอกจากนี้บริษัทยังใหมี การรายงานผลตอหัวหนางานทุกระดับและตอผูบริหารระดับสูงอยางสม่ํา เสมอ และจัดใหมีการประชุม คณะกรรมการบริษัทและมีการประชุมผูบริหารอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการดําเนินงาน ของฝายบริหารวาเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไวอยางไร ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2548 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเขา รวมประชุมดวย คณะกรรมการไดประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท จากการสอบทานการประเมิน ระบบการควบคุมภายใน และการซักถามขอมูลจากฝายบริหาร ผลการประเมินจากแบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในสรุปไดวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสม เพียงพอ นอกจากนี้ ผู ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท คื อ บริ ษั ท ไพร ซ วอเตอร เ ฮาส คู เ ปอร ส เอบี เ อเอส จํ า กั ด ซึ่ ง เป น ผูตรวจสอบงบการเงินประจํางวดป 2547 ไดประเมินประสิทธิผลระบบการควบคุมภายในของบริษัทตามที่ เห็นวาจําเปน โดยพบวา ไมมีจุดออนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแตประการใด

สวนที่ 2 หนา 73


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11. รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยรายการดังกลาวลวนเปนการดําเนิน ธุรกิจปกติของบริษัท บริษัทยอย และบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สําหรับขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวาง กัน นอกจากบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกําหนดอํานาจของผูมีสิทธิอนุมัติ ตามวงเงินที่กําหนดแลว คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหนาที่เปนผูสอบทานการทํารายการระหวางบริษัทหรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนอีกดวย ในกรณีรายการระหวางกันที่เขาขายเปนการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบจะทําหนาที่สอบทาน และใหความเห็นตอรายการกอนนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท และเนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปน รายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้น อยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความเหมาะสมและราคาที่เปนธรรมเปนหลัก ในป 2546 และ ป 2547 บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยผูตรวจสอบ บัญชีของบริษัทไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ของป 2546 และ 2547 วารายการดังกลาวเปนรายการคาตามปกติ โดยบริษัทไดคิดราคาซื้อ-ขายสินคา และบริการ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตามราคาที่เทียบเทากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขตางๆ ตามปกติ ธุรกิจ ในกรณีที่ไมมีราคาดังกลาว บริษัทจะวาจางผูประเมินราคาอิสระมืออาชีพ ในกรณีที่เปนการประเมินราคา ประเภทการเชาอสังหาริมทรัพยจะเปนผูประเมินที่ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคาของ รายการระหวางกัน เพื่อใชเปนแนวทางเปรียบเทียบกอนที่จะใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่สอบทาน รายการ ระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในชวงระยะเวลาดังกลาวมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 74


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.1 รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง บริษัทที่เกี่ยวของ/

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN)/ เปนผูถือหุนใหญของบริษัทรอยละ 42.90 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริษัท และ DPC วาจาง SHIN ใหเปนที่ปรึกษาและ บริหารงาน โดยบริษัทตองจายคาที่ปรึกษาจํานวน 16,711,952.28 บาทตอเดือน สวนคาบริหารงานจาย ตามรายการที่เกิดขึ้นจริง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

2. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (SATTEL)/ มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 51.42 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินรวม

คาที่ปรึกษาและบริหารการเงิน เงินปนผลจาย คาเชาและบริการอืน่ ๆ รายไดจากการบริการ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

219.36 4,486.18 1.19 0.88 4.83 -

232.12 4,486.18 1.53 1.34 4.89 -

212.03 5,370.78 2.44 0.66 0.11 1.43 0.06

215.61 5,370.78 3.65 0.66 0.19 1.57 0.06

เนื่องจากเปนผูใหบริการรายเดียวในประเทศ บริ ษั ท ชํ า ระค า บริ ก ารในอั ต ราเดี ย วกั บ ลู ก ค า ทั่วไปที่ไปใชบริการ

บริษัทเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บน ดาวเทียมไทยคม1A จาก SATTEL โดยบริษัทตอง ชําระคาตอบแทนในอัตรา 1,700,000 USD/ป 1. 2. 3. 4.

คาเชาและบริการอืน่ ๆ รายไดจากการใหบริการ เจาหนี้การคา ลูกหนี้การคา

เป น นโยบายในการกํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ในกลุ ม ของบริษัทใหญ ซึ่งประกอบธุรกิจในการเขาถือ หุ น และบริ ห ารงานเพื่ อ ให ก ารควบคุ ม เป น ประโยชนสูงสุดสําหรับบริษัทและผูถือหุน คาที่ ปรึกษาเรียกเก็บรายเดือนโดยคิดคํานวณรายป เป น สั ด ส ว นต อ สิ น ทรั พ ย ร วม ณ วั น สิ้ น ป ใ น อัตรา 0.15 โดยทาง SHIN ไดวาจางบริษัท Boston Consulting Group (Thailand) – BCG ซึ่งเปนบริษัทที่ปรึกษาเปนผูประเมินวิธีการคิด คาธรรมเนียมและคาที่ปรึกษา คาบริหาร การเงิน โดยกําหนดราคาเทียบเคียงกับราคา ตลาดตามรายการที่เกิดขึ้นจริง

70.77 1.87 5.64 -

สวนที่ 2 หนา 75

70.77 1.99 5.64 -

68.63 0.76 5.57 0.28

68.63 0.77 5.57 0.28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 3. บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (SIT)/ มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ (โดยทางออม) รอยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริษัท, DPC และ ACC ใชบริการระบบคอมพิวเตอร ของ SIT โดยจายคาตอบแทน รวม 3,571,670 บาท ตอเดือน บริษัทและบริษัทในเครือ มีการเปลี่ยนแปลง สัญญาใชบริการระบบคอมพิวเตอร(SAP) โดยจะใช บริการของ ITAS แทนตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2547 1. คาที่ปรึกษาและบริหารระบบ คอมพิวเตอร

4. บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด (SMB)/ มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 99.96 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินรวม

บริษัท และ DPC วาจาง SMB เปนตัวแทนในการ จัดทําโฆษณาผานสื่อตางๆ โดยจะเปนการวาจางครั้ง ตอครั้ง 1. รายไดอื่น 2. คาโฆษณา - คาโฆษณา (NET) - คาโฆษณา (GROSS) 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 4. ลูกหนี้การคา

เปนบริษัทที่ใหบริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อประมวลผลทางบัญชีเฉพาะบริษัทในเครือ SIT คํานวณราคาจากตนทุนของ Hardware และ Software Maintenance ในแตละปมา เฉลี่ยตาม CPU usage ที่แตละบริษัทไดใชงาน ในปที่แลว เพื่อเรียกเก็บคาบริการในปถัดไป 20.86

44.61

11.13

18.64

-

-

0.70

0.70

658.09 1,883.34 533.48 -

685.32 1,997.92 543.64 0.31

725.98 2,127.48 367.01 0.75

772.32 2,300.24 387.69 0.75

เปนบริษัทโฆษณาที่มีค วามคิดริเริ่มที่ดีและมี ความเขาใจในผลิตภัณฑ และบริการของบริษัท เปนอยางดี รวมทั้งเปนการปองกันการรั่วไหล ของขอมูล คาโฆษณาเปนการวาจางครั้งตอครั้ง บริษัทมีการเปรียบเทียบราคาตลาดกับบริษัท อื่น Agency Fee - SMB Media (Full Service) 10.00% SMB Production 12.00% - Third party Media (Full Service) and Production 12.00%-17.65%

สวนที่ 2 หนา 76


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (TMC)/ มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 63.25 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เปนผูใหบริการที่มีความเชียวชาญในการจัดทํา เนื้อหาของขอมูลตางๆ บริษัทชําระคาบริการ ในอัตรารอยละของรายได ที่บริษัท ไดรับจาก ลูกคา ขึ้นอยูกับ ประเภทของบริการที่ลูกคาใช ซึ่ ง อั ต ราที่ จ า ยเป น อั ต ราเดี ย วกั บ Content Provider ทั่วไปซึ่งอยูในอัตรารอยละ 40-60

บริษัทวาจาง TMC ในการจัดทําขอมูลสําหรับบริการ เสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การจัดหาขอมูลทาง โหราศาสตร ขอมูลสลากกินแบงรัฐบาล และเรื่องตลก ขบขัน เปนตน โดยชําระคาใชบริการตามที่เกิดขึ้น จริงเปนรายเดือน 1. 2. 3. 4.

6. บริษัท โอเอไอ แอสเสท จํากัด (OAIA)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน OAIA รอยละ 99.99

งบการเงินรวม

รายไดจากการใหบริการ คาบริการ คาโฆษณา เจาหนี้การคา

บริษั ทมีก ารเชา พื้ นที่สํ า นัก งานและพื้นที่ จอดรถใน อาคาร White House และในอาคารการประปานคร หลวง 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

0.32 30.14 1.99 2.29

87.71 0.11

สวนที่ 2 หนา 77

0.86 30.14 1.99 2.45

90.94 0.11

0.89 41.84 4.08 -

12.81 0.14

1.46 41.98 4.08 0.01

เป น ผู ใ ห บ ริ ก ารที่ บ ริ ษั ท ได ใ ช บ ริ ก ารมาโดย ต ล อ ด แ ล ะ บ ริ ษั ท ไ ด ล ง ทุ น ใ น ร ะ บ บ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยางครบถวน 12.81 และสามารถใช ร ะบบดั ง กล า วได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ บริษัทไดวาจางผูประเมินราคา 0.14 อิสระ ที่ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณาทําเล ที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คา ใชจายในการ ขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคา ตามสัญญา ซึ่งคิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับ ราคาตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 7. บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด (SOP)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน SOP รอยละ 60.00

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ไดรับการ ยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมิน ราคา โดยได พิ จ ารณา ทํ า เลที่ ตั้ ง สิ่ ง อํ า นวย ความสะดวก ค า ใช จ า ยในการขนย า ยและ ตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่งคิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด

บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตรทาวเวอร 1, 2 และพื้ น ที่ จ อดรถ รวม 28,878.00 ตร.,ม. และ พื้นที่จอดรถในซอยพหลโยธิน 13 และ DPC เชาพื้นที่ เพื่อเก็บสินคา 2,708 ตร.ม. และ ACC เชาพื้นที่ ประมาณ 684.90 ตร.ม. 1. 2. 3.

8. บริษัท พี.ที. คอรปอเรชั่น จํากัด (PT)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน PT รอยละ 69.99

งบการเงินรวม

คาเชาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

185.77 0.19 6.03

191.84 0.19 6.32

277.87 0.69 12.32

บริษัทเชาพื้นที่คลังสินคา แขวงคันนายาว/เชาพื้นที่ อาคารสํานักงานและพื้นที่ดาดฟา แขวงถนนนครไชย ศรี/เชาพื้นที่ในอาคารแขวงทุงสองหอง เขตบางเขน และพื้นที่ดาดฟา/เชา พื้นที่ติดตั้ง อุป กรณสถานีฐ าน ของโครงการวังหินคอนโดทาวน 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

13.49 0.06 -

สวนที่ 2 หนา 78

13.49 0.06 -

13.83 0.56 0.05

290.64 2.38 12.54 บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระ ที่ไดรับการ ยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมิน ราคา เพื่อใชเปนแนวทางประกอบรวมกับทําเล ที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คา ใชจายในการ ขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคา ตามสัญญา ซึ่งเปนอัตราที่เทียบเคียงกับราคา 13.83 ตลาด 0.56 0.05


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 9. บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด (WS)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน WS รอยละ 72.18

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษัทเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารกลุมชินวัตร (เชียงใหม) 2,338.60 ตารางเมตร 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

10.บริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จํากัด (OAIL) / บริษัท และ ADC เชารถยนตเพื่อใชงานประจําสาขา กลุมครอบครัวชินวัตรเปนผูถือหุนรายใหญ ตางๆ จํานวน รวม 240 คัน จาก OAIL ของ SHIN ถือหุน OAIL รอยละ 45 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ

15.73 0.12 0.30

15.73 0.12 0.30

12.35 0.34 0.17

เป น ผู ใ ห บ ริ ก าร ที่ บ ริ ษั ท ได ใ ช บ ริ ก ารมาโดย ต ล อ ด แ ล ะ บ ริ ษั ท ไ ด ล ง ทุ น ใ น ร ะ บ บ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยางครบถวน 12.35 และสามารถใช ร ะบบดั ง กล า วได อ ย า งมี 0.34 ประสิทธิภาพ บริษัทไดว าจาง ผูประเมินราคา 0.17 อิสระที่ไดรับการยอมรับจากสํานักงาน กลต. มา ทํ า การประเมิ น ราคา เพื่ อ ใช เ ป น แนวทาง ประกอบร ว มกั บ ทํ า เลที่ ตั้ ง สิ่ ง อํ า นวยความ สะดวก ค า ใช จ า ยในการขนย า ยและตกแต ง สํา หรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง เปน อัตราที่เทียบเคียงกับราคาตลาด เปนบริษัทลีสซิ่งที่ใหบริการเชาเฉพาะบริษัทใน เครือ และราคาเทีย บเคีย งกั บบริษัท ลีสซิ่ง อื่ น รวมทั้งมีบริการที่ดีและรวดเร็ว

33.91

สวนที่ 2 หนา 79

38.66

36.51

41.68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 11. บริษัท อัพคันทรีแลนด จํากัด (UP)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน UP รอยละ 99.99

งบการเงินเฉพาะ

บริ ษั ท เช า พื้ น ที่ อ าคารสํ า นั ก งาน และสถานที่ สํา หรั บ ติ ด ตั้ ง สถานี ฐ าน ทั้ ง ในกรุ ง เทพมหานคร และในเขตภูมิภาค รวม 103 แหง 1. คาเชาและคาบริการอื่น ๆ 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

12. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด (ITAS) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ99.99 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินรวม

129.85 0.02 -

129.85 0.02 -

132.98 0.88 0.08

งบการเงินรวม เปนบริษัทที่มีประสบการณ ในการจัดหาพื้นที่ เช า ทั่ ว ประเทศไทย ได ต รงตามเส น ทางที่ ตอ งการ และทัน ตามกํา หนดเวลา บริ ษัท ได วาจางผูประเมินราคาอิสระที่ไดรับการยอมรับ 132.98 จากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา 0.88 โดยได พิ จ ารณาทํ า เลที่ ตั้ ง สิ่ ง อํ า นวยความ 0.08 สะดวก ค า ใช จ า ยในการขนย า ยและตกแต ง สํา หรับ การพิจ ารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง คิ ด ราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด

บริษัท,DPC และ ACC วาจาง ITAS ในการปรับปรุง และพั ฒ นาโปรแกรมคอมพิ ว เตอร เ ป น ครั้ ง ต อ ครั้ ง นอกจากนี้บริษัทและบริษัทในเครือไดทําสัญญาการ ใชบริการระบบคอมพิวเตอร (SAP) ตั้งแต 1 พ.ค. – 31 ธ.ค. 2547 โดยจายอัตราเดียวกับที่ SIT เคยเรียก เก็บ 1. คาที่ปรึกษาและบริหารงานระบบคอมพิวเตอร 2. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

32.25 10.62

สวนที่ 2 หนา 80

32.25 10.62

37.56 5.13

54.34 5.42

เป น บริ ษั ท ที่ ใ ห บ ริ ก ารเกี่ ย วกั บ โปรแกรม คอมพิวเตอรเฉพาะบริษัทในเครือ รวมทั้ง มี บริ ก ารที่ ดี รวดเร็ ว และราคาสมเหตุ ส มผล ITAS คิดคาบริการในอัตราที่ต่ํากวาจนถึง ใกลเคียง กับราคาของบริษัทที่ปรึกษารายอื่น ที่ ใ ห บริ การในลั กษณะเดี ย วกั น อั ตรา คาบริการขึ้นอยูกับลักษณะงานและระดับของ ที่ปรึกษา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 13. บริษัท เอสซี แอสเสท คอรปอเรชั่น จํากัด (SC ASSET) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ ของ SHIN ถือหุน (OPP) รอยละ 60.82

14. กลุมบริษัท Singtel Strategic Investments Pte.Ltd (Singtel) ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญของบริษัท

บริษัท เชา พื้นที่ สํา นัก งาน 4,433 ตร.ม.และ DPC เช า พื้ น ที่ สํ า นั ก งาน 1,024 ตร.ม.ในอาคารชิ น วั ต ร ทาวเวอร 3 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. รายไดจากการใหบริการ 3. รายไดอื่น 4. ลูกหนี้การคา 5. เจาหนี้การคา 6. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน บริษัททําสัญญาบางบริษัทในกลุม Singtel ในการเปด ใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) รวมกัน และบริษัท จายเงินเดือนและผลตอบแทนใหแก Singapore Telecom International Pte.Ltd (STI) ใน การสงพนักงานมาปฏิบัติงานที่บริษัทโดยจะเรียกเก็บ คาใชจายตามที่เกิดขึ้นจริง 1. รายไดจากการใหบริการ 2. เงินปนผลจาย 3. รายไดอื่น 4. เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น 5. คาบริการโรมมิ่งระหวางประเทศ 6. ลูกหนี้การคา 7. เจาหนี้การคา 8. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

61.56 0.13 0.90 1.80

155.79 2,016.40 3.86 28.16 177.63 44.10 7.27 9.81

สวนที่ 2 หนา 81

81.39 0.13 0.90 2.50

155.79 2,016.40 3.86 28.16 117.63 44.10 7.27 9.81

งบการเงินเฉพาะ

67.25 3.87 0.63 0.51 3.56

377.44 2,414.00 1.79 12.85 159.94 113.10 25.14 5.78

งบการเงินรวม

85.14 3.87 0.61 0.65 1.49 3.85

377.44 2,414.00 1.79 12.85 159.94 113.10 25.14 5.78

บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระ ที่ไดรับ การยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการ ประเมินราคา เพื่อใชเปนแนวทางประกอบ รวมกับทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับ การพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่งเปนอัตราที่ เทียบเคียงกับราคาตลาด

กลุมบริษัท Singtel เปนหนึ่งในผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ในตางประเทศ ราคาที่เรียก เก็บเปนราคาที่ตางฝายตางกําหนด ในการ เรียกเก็บจากลูกคาแตละฝาย ที่ไปใชบริการ ขามแดนอัตโนมัติหักกําไรที่บวกจากลูกคา ซึ่ง เปนมาตรฐานเดียวกับที่บริษัทคิดจากผู ใหบริการรายอื่น ในขณะที่ STI สงพนักงาน มาใหความชวยเหลือ ทางดานการบริหารงาน และดานเทคนิคใหแกบริษัท ซึ่งบริษัทจายเงิน ตามคาใชจายที่เกิดจริงจากการที่ STI สงคน มาทํางานให หรือ เรียกเก็บตามอัตราที่ไดตก ลงกันไวในสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 15. บริษัท ซี.เอส.ล็อกอินโฟร จํากัด (CSL) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 40.02 (โดยทางออม) และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เป น บริ ษั ท ในเครื อ ที่ ใ ห บ ริ ก ารทางด า น อินเตอรเน็ต และกําหนดราคาเชนเดียวกับที่ เรียกเก็บจากลูกคารายอื่น

ADC ใหบริการ Datanet แกบริษัทและ CSL ในขณะที่บริษัท วาจาง CSL ในการใหบริการดาน Internet

1. รายไดจากการใหบริการ 2. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 3. เจาหนี้การคา 4. รายไดจากการใหบริการรับลวงหนา 5. ลูกหนี้การคา บริษัทใชบริการหองจัดเลี้ยงจาก OCM ในการจัด 16. บริษัท โอเอไอ คอนซัลแตนท สัมมนา และฝกอบรมพนักงาน โดยเปนการชําระ แอนด แมนเนจเมนท จํากัด (OCM) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ คาบริการตอครั้ง ของ SHIN ถือหุน OCM รอยละ 84.21 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 17. บริษัท บี.พี.พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัทเชาพื้นที่ดาดฟาและพื้นที่บางสวนของอาคาร เอสซี สาธรแมนชั่น ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร (BP) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญ เพื่อติดตั้งอุปกรณสถานีฐาน ของ SHIN ถือหุน BP รอยละ 78.22 - คาเชาและคาบริการอื่นๆ

2.28 12.69 0.05 -

69.12 12.72 0.05 30.00 2.00

2.62 13.78 0.51 0.78

32.36 13.79 0.55 105.96 7.77 เป น บริ ษั ท ในเครื อ ที่ มี ก ารให บ ริ ก ารห อ ง จัดเลี้ยง และมีราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด ทั่วไป รวมทั้งมีบริการที่ดี

0.63 -

0.60

สวนที่ 2 หนา 82

0.63 -

0.60

1.44 0.09

0.65

1.51 0.09 บริษัทไดวา จา งผูป ระเมิน ราคาอิสระ ที่ไดรั บ การยอมรับจากสํานักงาน กลต. มาทําการ ประเมิ น ราคา โดยได พิ จ ารณา ทํ า เลที่ ตั้ ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยาย 0.65 และตกแต ง สํ า หรั บ การพิ จ ารณาราคาตาม สัญญา ซึ่งคิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคา ตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 18. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด (Shinee) / มี SHINเปนผูถือหุน ใหญรอยละ 70.00 (โดยทางออม) และมีกรรมการรวมกัน

บริษัทวาจาง Shinee ในการใหบริการเสริมของ โทรศัพทเคลื่อนที่ โดยชําระคาบริการเปนรายเดือน

19. บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจี เนียริ่ง จํากัด (BTE) /กลุมครอบครัวชิน วัตรซึ่งเปนผูถือหุนใหญของ SHIN ถือ หุน BTE รอยละ 99.99

บริษัท และ DPCวาจาง BTE ในการใหบริการ ติดตั้งอุปกรณโทรคมนาคม

20. กลุมครอบครัวชินวัตร

กลุมครอบครัวชินวัตรมีการถือหุนกูของบริษัท

1. 2. 3. 4.

รายไดจากการใหบริการ คาบริการอื่นๆ ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา

1. คาอุปกรณระบบสื่อสาร 2. คาบริการอื่นๆ 3. เจาหนี้การคา

1. เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจาย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

16.92 4.12 1.32 3.19

17.40 4.12 1.37 3.42

5.84 4.23 0.08 -

6.00 4.24 0.22 -

119.96 68.15 20.44

119.96 68.68 22.55

77.04 15.45

81.99 15.80

10.00 0.54

สวนที่ 2 หนา 83

10.00 0.54

10.00 0.52

เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ ในการออกแบบ website และมีความหลากหลายของเนื้อหา ซึ่ง ตรงกับความตองการของบริษัท บริษัท ชําระ คาบริการ ในอัตรารอยละของรายไดที่บริษัท ไดรับจากลูกคา ขึ้นอยูกับประเภทของบริการที่ ลู ก ค าใช ซึ่ง อั ตราที่จา ยเป นอัต ราเดีย วกันกั บ Content Provider ทั่วไป ซึ่งอยูในอัตรารอยละ 40-60 เป น บริ ษั ท ที่ มี ค วามชํ า นาญ ในการติ ด ตั้ ง สถานี ฐ าน และมี ร าคาที่ เ ที ย บเคี ย งกั บ Contractor รายอื่น และมีการยื่นซองประกวด ราคาตามระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจาง

บริษัทออก และเสนอขายหุนกูใหแกประชาชน ทั่วไป โดยเสนอขายหุนกูในราคาเดียวกับผูถือ 10.00 หุนรายอื่น หุนกูของบริษัทไดรับการจัดอันดับ และให 0.52 ความน า เชื่ อ ถื อ ในระดั บ AA ผลตอบแทนระดับที่ดีแกผูถือหุนกู


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 21. กลุมกรรมการของบริษัท

32.00 1.76

32.00 1.76

37.00 2.16

บริษัทจายคาเบี้ยประกันภัยสถานีฐาน และเบี้ย ประกันภัยอุปกรณ - คาเบี้ยประกันภัย

23. บริ ษั ท เงิ น ทุ น ธนชาติ จํ า กั ด (มหาชน) (NFS) /กรรมการผูจัดการใหญ ของ NFS เป น ประธานกรรมการ ตรวจสอบของบริษัท

งบการเงินเฉพาะ

กลุมกรรมการของบริษัทมีการถือหุนกูของบริษัท 1. เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจาย

22. บริษัท ธนชาติประกันภัย จํากัด / กรรมการของบริษัท SHIN เปนผูถือหุน รายใหญและมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินรวม

11.21

11.68

117.11 0.33

สวนที่ 2 หนา 84

117.11 0.75

บริษัทออก และเสนอขายหุนกูใหแกประชาชน ทั่วไป โดยเสนอขายหุนกูในราคาเดียวกับผูถือ 37.00 หุนรายอื่น หุนกูของบริษัทไดรับการจัดอันดับ และให 2.16 ความน า เชื่ อ ถื อ ในระดั บ AA ผลตอบแทนระดับที่ดีแกผูถือหุนกู

25.34

เปนบริษัทที่ใหบริการที่ดี และมีการติดตอกับ บริ ษั ท มาโดยตลอด บริ ษั ท ชํ า ระค า เบี้ ย ประกันภัยตางๆ ในอัตราตามที่เปรียบเทียบได 26.10 กับบุคคลภายนอก

138.12 0.42

เปนบริษัทที่ใหบริการที่ดี และมีการติดตอกับ บริ ษั ท มาโดยตลอด บริ ษั ท ชํ า ระค า บริ ก าร ต า งๆ ในอั ต ราตามที่ เ ปรี ย บเที ย บได กั บ 138.12 บุคคลภายนอก 0.59

บริษัทจายคาเชาซื้อคอมพิวเตอร และคาเชาพื้นที่ คาน้ําประปา, คาไฟฟา 1. คาเชาซื้อคอมพิวเตอร 2. คาน้ํา คาไฟ คาเชาอาคาร

งบการเงินรวม


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวดสิ้นสุด

เหตุผลและความจําเปน

31 ธ.ค. 2546

31 ธ.ค. 2547

ของการทํารายการ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะ 24. บริษัท ไอทีวีจํากัด (มหาชน) (ITV) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 53.01 และมีกรรมการรวมกัน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษัทลงโฆษณาและเชาเวลาสถานีโทรทัศนจาก ITV ในขณะที่ ITV ไดใชบริการโทรศัพทมือถือของ บริษัท 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. รายไดจากการบริการ 3. ลูกหนี้การคา

13.41 2.72 0.46

สวนที่ 2 หนา 85

14.75 3.66 0.74

2.79 4.42 0.19

งบการเงินรวม เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจ สถานีวิทยุโทรทัศน ระบบ ยู เอช เอฟ แหงแรกของประเทศไทย โดยเป นผู ดํ า เนิน การผลิต รายการและจัด หา รายการ ขายเวลาโฆษณา ให เ ช า เวลา 2.79 อ อ ก อ า ก า ศ แ ล ะ แ พ ร ภ า พ ส ง สั ญ ญ า ณ 4.64 ออกอากาศ ให ผู ช มรายการทั่ ว ประเทศ 0.29 บริ ษั ท ชํ า ระค า บริ ก ารต า งๆ ตามอั ต รา คาบริการเปนไปตามตลาด (Arm’s length) เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.2 ขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันและนโยบายการทํารายการระหวางกัน ขั้นตอนการทํารายการระหวางกันบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการกับบุคคลอื่นๆ และเปรียบเทียบ กับราคาตลาดทั่วไป โดยจะมีการกําหนดอํานาจอนุมัติตามวงเงินที่กําหนดไวแลว และหากรายการระหวางกันอื่นใด ที่เขาขายตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยรายการที่เกี่ยว โยงกันของบริษัทจดทะเบียน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎดังกลาวอยางเครงครัด ในการทํารายการระหวางกันของบริษัท ไดมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสอบทานการทํา รายการระหวางกันของบริษัท บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันทุกๆ ไตรมาส เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชนซึ่งกันและกัน ถึงแมวา บริษัทจะมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงถือหุนในบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) เกินกวา รอยละ 10 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท DNS ทั้งนี้ เนื่องจากบุคคลที่อาจขัดแยงดังกลาวได ถือหุนในบริษัท DNS มานานตั้งแตป 2541 กอนที่บริษัทจะเขารวมลงทุน ซึ่งบริษัทไดเขารวมลงทุนในป 2542 อันเกิดจากการปรับโครงสรางกลุมบริษัท แตอยางไรก็ตาม บริษัท DNS ไมมีรายการระหวางกันกับบริษัทและบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง ประกอบกับบริษัทไดกําหนดขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันและนโยบายการ ทํารายการระหวางกันขางตน เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนซึ่งกันและกัน เนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหวางกันกับบุคคลที่ อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความเหมาะสมและราคาที่ เปนธรรมเปนหลัก

สวนที่ 2 หนา 86


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1

งบการเงิน

12.1.1

รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูสอบบัญชีในชวงระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (2545 – 2547) ผูสอบบัญชีแสดง ความเห็นอยางไมมีเงื่อนไข โดยมีความเห็นวางบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และงบ การเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท ผลการดําเนินงานรวม และผลการดําเนินงานเฉพาะของบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของบริษัท โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

12.1.2

ตารางสรุปงบการเงินรวม งบดุลรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2545 จํานวนเงิน

%

2546 จํานวนเงิน

%

2547 จํานวนเงิน

%

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้และเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ สินคาคงเหลือ - สุทธิ อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา - สุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา - สุทธิ สวนที่เกิน 1 ป ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอื่น อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาสัมปทาน - สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สิทธิในสัญญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพยอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

4,068,539 61,882 7,238,679 4,445 1,961,215 760,885 1,001 1,530,546 2,754,421 18,381,613

3.23% 0.05% 5.74% 0.00% 1.56% 0.60% 0.00% 1.21% 2.18% 14.58%

8,636,841 182,800 5,458,841 1,365 1,026,841 352,913 16,147 409,575 1,810,264 17,895,587

6.91% 0.15% 4.37% 0.00% 0.82% 0.28% 0.01% 0.33% 1.45% 14.32%

9,449,330 186,208 5,761,004 445 1,037,199 244,998 56,965 2,381,737 19,117,886

7.80% 0.15% 4.75% 0.00% 0.86% 0.20% 0.00% 0.05% 1.97% 15.78%

9,747,641

7.73% 7.73%

8,073 12,120,174

0.01% 9.70%

11,618,059

0.00% 9.59%

79,795,413 12,504,659 4,870,397 785,646 107,703,755 126,085,368

63.29% 9.92% 3.86% 0.62% 85.42% 100.00%

78,549,050 11,337,755 4,415,574 622,963 107,053,589 124,949,176

62.86% 9.07% 3.53% 0.50% 85.68% 100.00%

75,657,773 10,170,851 3,960,750 642,281 102,049,714 121,167,600

62.44% 8.39% 3.27% 0.53% 84.22% 100.00%

สวนที่ 2 หนา 87


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2545 จํานวนเงิน หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เจาหนี้และเงินกูยืมจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนของหุนกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายแลกเปลี่ยนลวงหนา - สุทธิ สวนของผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ หุนกูระยะยาว ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา เงินรับลวงหนาจากลูกคา รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคา สวนเกินมูลคาหุน เงินรับลวงหนาคาหุน สวนเกินทุนจากการตีมูลคายุติธรรมในหลักทรัพยเผื่อขาย ลูกหนี้คาหุน กําไรจากการปรับลดสัดสวนเงินลงทุน กําไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฏหมาย ยังไมไดจัดสรร สวนของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย หุนทุนซื้อคืน รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

%

2546 จํานวนเงิน

%

2547 จํานวนเงิน

%

30,000 7,649,396 438,340 1,531,002 6,970,452 -

0.02% 6.07% 0.35% 1.21% 5.53% 0.00%

60,000 5,714,018 597,032 4,105,918 7,973,321 -

0.05% 4.57% 0.48% 3.29% 6.38% 0.00%

4,790,179 419,121 97,475 3,975,850

0.00% 3.95% 0.35% 0.08% 3.28% 0.00%

4,474,048 7,969,295 29,062,533

3.55% 6.32% 23.05%

5,584,446 9,512,261 33,546,996

4.47% 7.61% 26.85%

7,017,456 11,213,211 27,513,292

5.79% 9.25% 22.71%

5,825,796 37,406,804 2,532,258 16,731 45,781,588 74,844,121

4.62% 29.67% 2.01% 0.01% 0.01% 36.31% 59.36%

1,114,725 29,391,460 1,225,103 14,688 30,000 31,775,976 65,322,972

0.89% 23.52% 0.98% 0.01% 0.02% 25.43% 52.28%

26,004 25,422,126 13,051 105,960 25,567,141 53,080,433

0.02% 20.98% 0.00% 0.01% 0.09% 21.10% 43.81%

2,935,000 20,004,000 -

2,938,525 20,169,275 25,526 -

2.35% 16.14% 0.02% 0.00% 0.00% 0.00%

2,945,188 20,470,525 11,051 14,268

-

2.33% 15.87% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00%

3,040

2.43% 16.89% 0.01% 0.01% 0.00% 0.00%

500,000 27,601,008 271,901 (70,661) 51,241,247 126,085,368

0.40% 21.89% 9.26% -0.06% 40.64% 100.00%

500,000 35,720,062 355,945 (83,130) 59,626,204 124,949,176

0.40% 28.59% 0.28% -0.07% 47.72% 100.00%

500,000 43,483,254 742,972 (83,130) 68,087,168 121,167,600

0.41% 35.89% 0.61% -0.07% 56.19% 100.00%

สวนที่ 2 หนา 88


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกําไรขาดทุน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2545 จํานวนเงิน รายได รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ รายไดจากการขาย รวมรายได ตนทุน ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต ตนทุนขาย รวมตนทุน กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและการบริหาร กําไรจากการขาย การใหบริการและการใหเชาอุปกรณ รายไดคาชดเชย รายไดจากการดําเนินงานอื่น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สุทธิ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สุทธิ ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย คาตอบแทนกรรมการ กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไรสุทธิกอนผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน และ สวนของผูถือหุนสวนนอย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุทธิ กําไรสุทธิกอนพิจารณาสวนของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย หัก สวนของผูถือหุนสวนนอย - สุทธิ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

%

2546 จํานวนเงิน

%

2547 จํานวนเงิน

%

60,925,968 19,325,433 80,251,401

75.92% 24.08% 100.00%

73,749,939 15,741,759 89,491,698

82.41% 17.59% 100.00%

84,394,939 12,042,546 96,437,485

87.51% 12.49% 100.00%

14,511,138 15,254,779 15,074,703 44,840,619 35,410,782 13,802,387 21,608,395 1,114,957 (161,102) (258,625) (3,813)

18.08% 19.01% 18.78% 55.88% 44.12% 17.20% 26.93% 0.00% 1.39% 0.00% -0.20% 0.00% -0.32% 0.00%

19,351,546 17,725,936 12,341,073 49,418,555 40,073,144 12,320,472 27,752,672 935,749 35,999 (3,728)

21.62% 19.81% 13.79% 55.22% 44.78% 13.77% 31.01% 0.00% 1.05% 0.04% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00%

22,414,628 19,969,988 10,610,682 52,995,298 43,442,187 11,027,209 32,414,978

(4,800)

23.24% 20.71% 11.00% 54.95% 45.05% 11.43% 33.61% 0.00% 0.59% 0.08% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00%

22,299,813 (3,068,784) (7,816,089)

27.79% -3.82% -9.74%

28,720,692 (2,579,068) (7,528,559)

32.09% -2.88% -8.41%

33,053,961 (2,128,643) (10,601,478)

34.28% -2.21% -10.99%

11,414,941 11,414,941 (15,361) 11,430,301

14.22% 0.00% 14.22% -0.02% 14.24%

18,613,065 18,613,065 84,046 18,529,019

20.80% 0.00% 20.80% 0.09% 20.70%

20,323,840 20,323,840 65,791 20,258,049

21.07% 0.00% 21.07% 0.07% 21.01%

สวนที่ 2 หนา 89

565,910 77,873 -


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกระแสเงินสด บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับป รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน คาตัดจําหนายสิทธิในสัญญาสัมปทาน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย คาใชจายรอการตัดบัญชีตัดจําหนาย ขาดทุน (กําไร) จากการตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ขาดทุน(กลับรายการ)จากสินคาลาสมัยและการลดมูลคาของสินคาคงเหลือ ขาดทุนจากการตัดจําหนายอุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซม เครือขายเสื่อมสภาพ คาตัดจําหนายสวนเกิน(สวนลด)และจากสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยถาวร (กําไร) จากการตัดจําหนายเงินมัดจํารับจากลูกคา ขาดทุนจากสินทรัพยถาวรเสียหาย ขาดทุนจากการตัดจําหนายคาใชจายรอการตัดบัญชี ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยถาวร (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้น (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นแลวจากการเงินกูยืม (กําไร) ขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น รับรูรายไดรับลวงหนา คาความนิยมตัดจาย ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมจากการลงทุนในบริษัทยอย (กําไร)จากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย ตัดจําหนายคาใชจายในการออกหุนกู สวนแบงผลกําไร(ขาดทุน)สุทธิของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย กําไรสุทธิกอนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 90

หนวย : พันบาท 2547

2545

2546

11,430,301

18,529,019

20,258,049

1,725,331 8,528,745 454,823 78,297 4,251,886 (281,982)

3,741,244 10,506,932 454,823 63,334 891,657 2,271,878 28,022

4,888,314 11,835,659 454,823 122,193 760,036 46,292

115,391 (10,883)

545,012 3,831 (2,394)

28,920 9,093 24,512 18,356 (9,589) -

165,427 15,970 19,343 (12,120) (125,774)

1,206,794 258,625 (25,003) 43,408 (15,361) 27,831,665

1,166,904 37,525 84,046 38,384,680

170,342 4,241 13,980 (69,542) 207 2,811 (14,218) (35,076) 9,878 (4,040) 1,166,904 33,196 65,791 39,709,837


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน เงินลงทุนระยะสั้นที่ติดภาระค้ําประกันกับธนาคารลดลง ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนา สินคาคงเหลือ อุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายและแลกเปลี่ยนลวงหนาฯ สิทธิในสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายป และภาษีสรรพสามิตคางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา รายไดรับลวงหนา หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 91

2545

2546

(3,741,519) (1,896) (1,001) 559,551 (402,299) (723,561) (283,079) (1,581,144) 98,315 (3,662) 942,693 (2,509,399)

(486,208) 3,081 (23,219) 906,352 (137,040) 937,983 (66,078) (694,673) 158,692 (337,457) (31,857) 30,000 1,733,911 40,378,167

1,853,285 22,037,950

หนวย : พันบาท 2547

(1,088,314) 920 24,220 (56,649) (62,426) (574,326) (161,003) (740,054) (177,912) 207,906 (7,613) 80,000 1,777,495 38,932,082


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

12.1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratio) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา)/1 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา)/2 ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%) อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficliency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย (เทา) อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%)

สวนที่ 2 หนา 92

2545

หนวย : พันบาท 2547

2546 0.63 0.39 0.76 8.60 42 7.18 50 3.22 112 -20

0.53 0.43 1.20 11.07 33 8.26 44 4.74 76 0

0.69 0.56 1.42 14.49 25 10.28 35 6.29 57 3

44.12% 26.93% 1.39% 101.99% 14.24% 24.78%

44.78% 31.01% 1.05% 145.49% 20.70% 33.43%

45.05% 33.61% 0.59% 120.11% 21.01% 31.72%

9.54% 28.51% 0.67

14.76% 36.38% 0.71

16.46% 41.57% 0.78

1.46 12.21 0.39 39.80%

1.10 21.55 0.91 64.96%

0.78 25.75 0.94 68.94%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

2545

หนวย : พันบาท 2547

2546

/3

ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไรสุทธิตอหุน (บาท) เงินปนผลตอหุน (บาท) อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สินรวม (%) รายไดจากการขายหรือบริการ (%) คาใชจายดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

17.46 3.89 1.55

20.32 6.32 4.10

23.16 6.89 4.75

11.05% 3.21% 35.58% 45.55% 196.79%

-0.90% -12.72% 11.51% -10.74% 62.10%

-3.03% -18.74% 7.76% -10.50% 9.33%

/1

อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา = (รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ+รายไดจากการขาย) / ลูกหนี้การคากอนหักหนี้สงสัยจะสูญ (เฉลี่ย)

/2

อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ = (ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ+ตนทุนขาย-ผลประโยชนตอบแทนรายป) / เจาหนี้การคา(เฉลี่ย)

/3

มูลคาหุนสามัญของบริษัทที่ตราไวไดเปลี่ยนจากเดิมหุนละ 10 บาท เปน 1 บาท เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ทําใหทุนที่ออกจําหนายแลวเปลี่ยนจาก 293.5 ลานหุน เปน 2,935 ลานหุน

หมายเหตุ 1. อัตรากําไรอื่น = รายไดที่ไมใชรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขาย/รายไดรวม 2. การจายชําระหนี้ = เงินจายคืนเงินกูยืมระยะสั้น, เงินกูระยะยาว, หุนกูระยะยาว, เงินตนจากสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว และดอกเบี้ยจายจากการดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 93


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12.2

คําอธิบายการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12.2.1

การวิเคราะหผลการดําเนินงาน ภาพรวม ณ สิ้นป 2547 บริษัทและบริษัทยอย (กลุมบริษัท) มีจํานวนผูใชบริการในระบบรวมทั้งสิ้นประมาณ 15,184,000 ราย เพิ่มขึ้นสุทธิ จํานวน 1,944,800 ราย หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 14.7 จากจํานวนผูใชบริการ 13,239,200 ราย ณ สิ้นป 2546 แบงเปนผูใชบริการระบบดิจิตอล GSM 2,120,300 ราย (GSM advance และ GSM1800) และระบบ One-2-Call! 13,063,700 ราย โดยมีสวนแบงทางการตลาด ในป 2547 อยูในระดับรอยละ 57.1 ลดลงรอยละ 2.9 จากปกอน เนื่องจากกลุมบริษัทมีกลยุทธทางการตลาด ที่มุงเนนกลุมลูกคาเปาหมายที่ใหความสนใจในดานการใหบริการที่ดีและหลากหลายในราคาที่เหมาะสม มากกวากลุมลูกคาที่เนนเฉพาะดานราคาซึ่งเปนกลุมเปาหมายของคูแขง กลุมบริษัทมีวัตถุประสงคใน การทําธุรกิจเพื่อที่จะรักษาระดับการเติบโตของรายไดและความสามารถในการทํากําไรมากกวาการมุง รักษาสวนแบงทางการตลาด กลุมบริษัทไดนําเสนอบริการที่หลากหลายรวมถึงกลยุทธการดูแลลูกคาที่ สอดคลองกับความตองการของลูกคาแตละกลุม เพื่อที่จะรักษาฐานผูใชบริการ โดยยังคงเนนคุณคาของ การใหบริการโทรศัพทผานเครือขายที่มีคุณภาพและคลอบคลุมทุกพื้นที่ ความสามารถในการทํากําไรดีขึ้นจากความสามารถในการรักษาลูกคาที่มีคุณภาพดี เปนผลใหกลุม บริษัทมีกําไรกอนภาษี ในป 2547 เพิ่มขึ้นรอยละ 18 โดยมีสาเหตุมาจาก 1. รายไดรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 8 ซึ่งมาจากรายไดจากการใหบริการ เพิ่มขึ้นรอยละ 14 2. คาใชจายในการขายและการบริหารที่ลดลง ภาษีเงินไดในป 2547 เพิ่มขึ้นรอยละ 41 จากปกอน เนื่องจาก ในป 2546 กลุมบริษัทไดรับประโยชนทาง ภาษีจากขาดทุนสะสมยกมาของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เปนผลใหกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นรอยละ 9.3 จาก 18,529 ลานบาทเปน 20,258 ลานบาท ในป 2547 รายไดรวม รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ และรายไดจากการขายเปนรายไดหลักของบริษัทและบริษัท ยอย ซึ่งแหลงของรายไดดังกลาวมาจากธุรกิจ 3 ประเภท คือ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ธุรกิจบริการ สื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท และธุรกิจศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท ตาราง: รายไดแยกตามประเภทธุรกิจ

รายไดจากคาบริการและการใหเชาอุปกรณ โทรศัพทเคลื่อนที่ ขอมูลผานสายโทรศัพท ศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท รวม รายไดจากการขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ขอมูลผานสายโทรศัพท รวม ยอดรวม

ป 2546 ลานบาท รอยละ

สวนที่ 2 หนา 94

ป 2547 ลานบาท รอยละ

73,337 392 21 73,750

82.0 0.4 0.0 82.4

83,912 477 6 84,395

87.0 0.5 0.0 87.5

15,735 7 15,742 89,492

17.6 0.0 17.6 100.0

12,032 10 12,042 96,437

12.5 0.0 12.5 100.0


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนรายไดห ลักของรายไดจากการใหบริการและใหเชา อุปกรณ บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจาก 73,337 ลานบาท ในป 2546 เป น 83,912 ล า นบาทในป 2547 โดยเพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราร อ ยละ 14.4 เป น ผลจากตลาด ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และตลอดป 2547 บริษัทไดพัฒนาบริการเสริมใหมๆ ออกสูตลาดอยางตอเนื่อง เชน Calling Melody รวมทั้งรายการสงเสริมการขาย “Sawasdee” และ “Freedom Choices” ที่ตอบสนองความตองการเฉพาะกลุมทั้งในดานรูปแบบกลุมของบริการที่นําเสนอ และอัตราคาบริการที่สอดคลองกับผูใชบริการแตละกลุม รวมทั้งการบริหารความสัมพันธกับลูกคาโดย การนําเสนอโปรแกรมที่เหมาะสมกับไลฟสไตลของลูกคาแตละกลุม รายไดรวม ป 2546 ตามงบการเงิน เปนเงิน 89,644 ลานบาท สูงกวาตามตารางรายไดขางตน 152 ลานบาท เนื่องจาก ผูสอบบัญชีไดปรับปรุงโอนรายการรายไดจากการดําเนินงานอื่น เปนรายไดจากการ ใหบริการและใหเชาอุปกรณ เพื่อประโยชนในการเปรียบเทียบงบการเงิน ตาราง: แสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และรายไดเฉลี่ยสุทธิตอ เดือนของผูใชบริการ 1 ราย จํานวนผูใชบริการที่เพิ่มขึ้นสุทธิ (ราย) จํานวนผูใชบริการสะสม (ราย) รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ (บาท / เดือน) GSM GSM NMT GSM GSM GSM One-2- GSM NMT 900 Advance One-2-Call! 1800 900 Advance One-2-Call! 1800 NMT 900 Advance Call! 1800 ป 2546 (3,400) (317,900) 2,987,600 (89,600) 1,915,800 11,123,800 199,600 1,187 341 1,102 ป 2547 32,100 1,939,900 (27,200) 1,947,900 13,063,700 172,400 1,233 359 1,104

จากตารางจะเห็นไดวา ฐานผูใชบริการมีการเติบโตอยางมาก โดยผูใชบริการในระบบ One-2-Call! มี ฐานผูใชบริการเพิ่มขึ้นจาก 11.1 ลานราย เปน 13.1 ลานราย ณ สิ้นป 2547 ในดานของรายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย (Average Revenue per User: ARPU) ของผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ GSM Advance, One-2-Call! และ GSM 1800 ในป 2547 อยูที่ระดับ 1,233 บาท 359 บาท และ 1,104 บาทตามลําดับ เพิ่มขึ้นจากปกอน เนื่องจาก ปริมาณการใชบริการพื้นฐาน และบริ ก ารเสริ ม ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากการนํ า เสนอบริ ก ารเสริ ม ที่ ห ลากหลาย รายการส ง เสริ ม การขายที่ สอดคลองกับพฤติกรรมการใชของผูใชบริการในแตละกลุม - รายไดจากการขาย รายไดจากการขาย โดยสวนใหญเกิดจากการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ กลุมบริษัท มี รายไดจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่ลดลงจาก 15,735 ลานบาทในป 2546 เปน 12,032 ลานบาทในปนี้ เนื่องจากการปรับราคาขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ตอหนวยลดลง จากสภาพการแขงขันในตลาดที่ รุนแรงขึ้น และปริมาณการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ลดลง รวมทั้งการเติบโตอยางรวดเร็วของตลาด โทรศัพทเคลื่อนที่มือสอง ซึ่งมิใชสินคาของกลุมบริษัท ตนทุน ตนทุนรวม ของกลุมบริษัท ประกอบดวย ตนทุนคาบริการและการใหเชาอุปกรณ ผลประโยชนตอบแทน รายปและภาษีสรรพสามิต และตนทุนขาย ซึ่งในป 2547 กลุมบริษัท มีตนทุนรวม 52,995 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 49,419 ลานบาทในป 2546 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 7.2

สวนที่ 2 หนา 95


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- ตนทุนจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ กลุมบริษัท มีตนทุนจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ ในป 2547 เปน 22,415 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอย ละ 15.8 จาก 19,352 ลานบาทในป 2546 เกิดจากคาใชจายตัดจายในอุปกรณภายใตสัญญาสัมปทาน และอุปกรณสําหรับบริการเสริมเพิ่มขึ้น จากการลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง - ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต จากการเพิ่มขึ้นของรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง ทําใหผลประโยชนตอบแทน รายป และภาษีสรรพสามิตเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกัน โดยคาใชจายดังกลาวสําหรับป 2547 มีจํานวน เงิน 19,970 ลานบาท ป 2546 มีจํานวนเงิน 17,726 ลานบาท กําไรขั้นตนจากรายไดคาบริการและใหเชาอุปกรณ สําหรับป 2547 และป 2546 เปนอัตรารอยละ 49.8 และ 49.7 ตามลําดับ อันเปนผลจากที่ไดกลาวขางตน - ตนทุนขาย ตนทุนขายโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ เปนตนทุนหลักของตนทุนขาย ซึ่งในป 2547 กลุมบริษัท มี ตนทุนขาย 10,611 ลานบาท ลดลงจาก 12,341 ลานบาท ในป 2546 อันเนื่องมาจากปริมาณการขาย เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ลดลง อัตรากําไรขั้นตนจากการขายเทากับรอยละ 11.9 ในป 2547 ลดลงจากรอยละ 21.6 ในป 2546 การที่ อั ต รากํ า ไรขั้ น ต น จากการขายในป 2547 ลดลงอย า งมาก เนื่ อ งมาจาก การปรั บ ราคาขายเครื่ อ ง โทรศัพทเคลื่อนที่ตอหนวยลดลง จากสภาพการแขงขันในตลาดที่รุนแรงขึ้น รวมทั้งผูผลิตไดนําเสนอ เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่รุนใหมออกสูตลาดอยางตอเนื่อง ทําใหเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ลาสมัยอยาง รวดเร็ว คาใชจายในการขายและบริหาร กลุมบริษัท มีคาใชจายในการขายและบริหาร ลดลงจาก 12,320 ลานบาทในป 2546 เปน 11,028 ลาน บาทในป 2547 หรือลดลงในอัตรารอยละ 10.5 ซึ่งการลดลงในป 2547 เมื่อเทียบกับ ป 2546 มีสาเหตุ หลักมาจาก 1. ในป 2547 กลุมบริษัทมีคาใชจายหนี้สูญและสํารองหนี้สงสัยจะสูญลดลง 1,512 ลานบาทจากปกอน เนื่องจากความสามารถในการบริหารหนี้และการจัดเก็บเงินมีประสิทธิภาพมากขึ้น แตคาใชจายทาง การตลาดเพิ่มขึ้น 312 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 10 อยางไรก็ตาม คาใชจายทางการตลาดตอ รายไดรวม ในป 2547 คิดเปนรอยละ 3.6 ของรายไดรวม ซึ่งเปนสัดสวนเดียวกับป 2546 2. ในระหว า งป 2546 บริ ษั ท ย อ ยได ตั ด จํ า หน า ยอุ ป กรณ เ ครื อ ข า ยโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ จํ า นวน 294 ลานบาท อันเกิดจากความลาสมัยในเทคโนโลยี รวมทั้งขาดทุนจากการตัดจําหนายอุปกรณเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่จํานวน 598 ลานบาท ซึ่งเกิดจากบริษัทยอยตัดจําหนายคาใชจายในการจัดเตรียม สถานีฐาน และ คาใชจายในการติดตั้งอุปกรณที่ไดบันทึกไวเปนสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานไป เปนคาใชจายในป 2546 อันเปนผลจากการจัดการอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุด

สวนที่ 2 หนา 96


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดอกเบี้ยจาย กลุมบริษัท มีดอกเบี้ยจายลดลงจาก 2,579 ลานบาทในป 2546 เปน 2,129 ลานบาทในปนี้ จากการ ชําระคืนหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวตามกําหนด มีจํานวนเงิน 8,000 ลานบาท และ 1,970 ลานบาท ตามลําดับ และจายคืนเงินกูระยะยาวกอนกําหนด มีจํานวนเงิน 2,957 ลานบาท ภาษีเงินได ภาษีเงินได ในป 2547 เปน 10,601 ลานบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับป 2546 จากการที่กําไรกอนภาษีเงิน ไดของบริษัทและบริษัทยอยเพิ่มขึ้น โดยมีสาเหตุหลักมาจาก 1. ในป 2547 กลุมบริษัทมีรายไดรวมเพิ่มขึ้นจากป 2546 ในอัตรารอยละ 7.8 รวมทั้งการที่บริษัทไดรับ เงินคืนภาษีเงินไดของป 2544 ในปนี้ เนื่องจาก บริษัทไดรับขอสรุปของขอหารือจากกรมสรรพากร ใหคํ า นวณผลประโยชน ต อบแทนจากเปอร เซ็ น ต ข องรายไดจ ากการขายบัต รเติ ม เงิน แทนการ คํานวณจากเปอรเซ็นตของรายไดจากการใชบริการของลูกคาเปนคาใชจายทางภาษี 2. ในป 2546 บริษัทยอยไดใชประโยชนทางภาษีจากขาดทุนสะสมยกมาของบริษัทยอยที่กลาวขางตน ครบในปนี้ กําไรสุทธิ กลุมบริษัท มีกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 18,529 ลานบาท ในป 2546 และเปน 20,258 ลานบาท ในป 2547 ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 9.3 ซึ่งเปนผลจากที่ไดกลาวขางตน 12.2.2

วิเคราะหฐานะทางการเงิน (1) การวิเคราะหสินทรัพย กลุมบริษัท มีสินทรัพยรวม ณ สิ้นป 2547 จํานวน 121,168 ลานบาท เทียบกับสิ้นป 2546 จํานวน 124,949 ลานบาท ลดลงรอยละ 3.0 สําหรับสินทรัพยรวม ณ สิ้นปนี้ประกอบดวยสินทรัพยหมุนเวียน คิดเปนรอยละ 15.8 และสินทรัพยไมหมุนเวียน คิดเปนรอยละ 84.2 โดยมีรายละเอียดของสินทรัพย หมุนเวียนและไมหมุนเวียนที่สําคัญดังนี้ - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด กลุมบริษัท มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดอยู 9,449 ลานบาท เพิ่มขึ้น 812 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 9.4 จากป 2546 ที่มีจํานวน 8,637 ลานบาท เนื่องจาก กลุมบริษัทมีกระแสเงินสดรับสุทธิจาก กิจกรรมดําเนินงานมากกวากระแสเงินสดจายจากกิจกรรมลงทุนและกระแสเงินสดจายจากกิจกรรม จัดหาเงิน การเพิ่มขึ้นของกระแสเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน เปนผลมาจากการเติบโตของ รายได และการชะลอการลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ - ลูกหนี้การคาสุทธิ กลุมบริษัท มีลูกหนี้การคาสุทธิ 5,761 ลานบาท ณ สิ้นป 2547 เพิ่มขึ้น 302 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอย ละ 5.5 จาก 5,459 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 การที่ลูกหนี้การคาสุทธิ ณ สิ้นป 2547 ไมเพิ่มขึ้นมาก ทั้งที่ กลุมบริษัทมีรายไดรวมเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจาก การขยายตัวของรายไดสวนใหญมาจากการเพิ่มขึ้นของ สัดสวนจํานวนผูใ ชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการลว งหนา ประกอบกับการพิจารณา

สวนที่ 2 หนา 97


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เงื่อนไขการระงับการใหบริการชั่วคราวใหมีความสอดคลองกับพฤติกรรมของผูใชบริการ ที่ไดปฏิบัติ ตอเนื่องมาตั้งแตป 2545 จากการที่กลุมบริษัท มีความสามารถในการจัดเก็บเงินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เปนผลใหอัตราสวน หมุนเวียนลูกหนี้การคามีแนวโนมเร็วขึ้น จาก 11.07 เทาในป 2546 เปน 14.49 เทาในปนี้ - สินคาคงเหลือสุทธิ ณ สิ้นป 2547 กลุมบริษัทมีสินคาคงเหลือ 1,037 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 1,027 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 โดยมีอัตราสวนหมุนเวียนของสินคาคงเหลือในป 2547 อยูที่ระดับ 10.28 เทา เร็วขึ้นจากระดับ 8.26 เทา ในป 2546 อันเปนผลจากการบริหารสินคาคงเหลืออยางมีประสิทธิภาพ แตเนื่องจากบริษัทยอยตอง สํารองเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งมีตราสินคาหลากหลาย จํานวนรุนมาก และคอนขางลาสมัยเร็ว ทําให บริษัทยอยตองบันทึกคาเผื่อสินคาลาสมัยเพิ่มขึ้น - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ณ สิ้นป 2547 เทากับ 2,382 ลานบาท เพิ่มขึ้น 572 ลานบาท จาก 1,810 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 โดยสาเหตุหลักมาจากลูกหนี้อื่น และคาใชจายจายลวงหนา เพิ่มขึ้นจากสิ้นป 2546 จํานวน 244 ลานบาท และ 187 ลานบาท ตามลําดับ - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ กลุมบริษัท มีที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ ณ สิ้นป 2547 จํานวน 11,618 ลานบาท ลดลง 502 ลาน บาทจากสิ้นป 2546 ที่มีจํานวน 12,120 ลานบาท เนื่องจากการรับรูคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายที่สูง กวาการเพิ่มขึ้นของสินทรัพยดังกลาว กลุ ม บริ ษั ท มี น โยบายในการสอบทานมู ล ค า สิ น ทรัพ ย เ ป น ประจํ า ทุ ก ป และทบทวนการด อ ยค า เพื่ อ พิจ ารณาผลต อ รายการขาดทุ น จากการด อ ยค า ทั้ง นี้ เ พื่ อ ที่ จ ะให ง บการเงิ น สะท อ นถึ ง คุ ณ ภาพของ สินทรัพยใหใกลเคียงกับมูลคาที่จะไดรับประโยชนคืนกลับมาจากสินทรัพยนั้น - สินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน - สุทธิ ตนทุนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนประเภทหลักของรายการสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน ซึ่ง ณ สิ้นป 2547 สินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานสุทธิเปนจํานวน 75,658 ลานบาท ลดลงจาก 78,549 ล า นบาท ณ สิ้ น ป 2546 เนื่ อ งจาก ในป 2547 กลุ ม บริ ษั ท ได ล งทุ น เพิ่ ม ในอุ ป กรณ เ ครื อ ข า ย โทรศัพทเคลื่อนที่ลดลงจากในป 2546 รวมทั้งคาตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานที่สูงขึ้น (2) การวิเคราะหหนี้สิน ณ สิ้นป 2547 กลุมบริษัทมีหนี้สินรวมเปนจํานวน 53,080 ลานบาท ลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นป 2546 ที่มี จํานวน 65,323 ลานบาท ซึ่งหนี้สินรวมจะประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียนคิดเปนรอยละ 22.7 และหนี้สิน ไมหมุนเวียน คิดเปนรอยละ 21.1 ของสินทรัพยรวม โดยมีรายละเอียดหนี้สินหมุนเวียนและหนี้สินไม หมุนเวียนดังนี้

สวนที่ 2 หนา 98


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- เจาหนี้การคา เจาหนี้การคา ณ สิ้นป 2547 จํานวน 4,790 ลานบาท ลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นป 2546 ที่มีจํานวน 5,714 ลานบาท โดยอัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ ณ สิ้นป 2547 ที่อยูในระดับ 6.29 เทา เพิ่มขึ้นจาก 4.74 เทา ในป 2546 - คาสิทธิสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิตคางจาย คาสิทธิสัญญาสัมปทาน เปนคาธรรมเนียมในการไดรับสิทธิในสัญญาสัมปทานระบบดิจิตอล GSM 1800 ของบริษัทยอย ซึ่ง ณ สิ้นป 2547 มีคาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจายและดอกเบี้ยคางจาย แกบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)(“TAC”) เปนจํานวนเงิน 4,621 ลานบาท ซึ่งตั้งแตป 2545 บริษัทไมไดชําระคาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจาย และอยูในระหวางการเจรจาเพื่อขอลดคาสิทธิ สัญญาสัมปทานและดอกเบี้ยคางจาย และในป 2546 TAC ไดยื่นคํารองตออนุญาโตตุลาการเพื่อ เรียกรองใหบริษัทยอยชําระหนี้ โดยทั้งนี้บริษัทยอยไดแตงตั้งทนายและยื่นอุทธรณตออนุญาโตตุลาการ และกระบวนการดังกลาวยังไมสิ้นสุด คาสิทธิสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิตคางจาย เพิ่มขึ้นจาก 6,810 ลานบาทในป 2546 เปน 7,017 ลานบาท ณ สิ้นป 2547 หรือเพิ่มขึ้น 207 ลานบาท โดยมีสาเหตุหลักมา จากดอกเบี้ยคางจายของคาสิทธิสัญญาสัมปทาน - หุนกูและเงินกูยืม หุนกูและเงินกูยืม ประกอบดวย หุนกูระยะยาว เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันทางการเงิน เงินกูยืมระยะ ยาว และหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน โดยกลุมบริษัท มีหุนกูและเงินกูยืมรวมทั้งสิ้น ณ สิ้นป 2547 จํานวน 29,521 ลานบาท ซึ่งลดลงจาก 42,645 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 โดยในระหวางป 2547 กลุม บริษัทไดชําระคืนหุนกูระยะยาวและเงินกูยืมระยะยาวตามกําหนดระยะเวลา จํานวน 8,000 ลานบาท และ 1,970 ลานบาท ตามลําดับ ในสวนของเงินกูยืมระยะสั้นและเงินกูยืมระยะยาว บริษัทยอยไดชําระ คืนเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจํานวน 60 ลานบาท และเงินกูยืมระยะยาวกอนกําหนด จํานวน 2,957 ลานบาท ในสวนของหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ในระหวางป กลุมบริษัทไดจายคืนเงินตน ของสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว จํานวน 142 ลานบาท และทําสัญญาเชาทางการเงินเพิ่ม จํานวน 7 ลานบาท ณ สิ้น ป 2547 กลุมบริษัท มียอดหุน กูและเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป จํานวน 4,073 ลานบาท และหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวสุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป จํานวน 25,448 ลานบาท - หนี้สินหมุนเวียนอื่น กลุมบริษัท มีหนี้สินหมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้นจาก 9,512 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 เปน 11,213 ลานบาท ณ สิ้นป 2547 ซึ่งรายการสวนใหญจะประกอบดวย รายไดรับลวงหนาจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบจายคาบริการลวงหนา จํานวน 4,612 ลานบาท และภาษีเงินไดคางจาย 4,414 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น มากจากปกอน เนื่องมาจาก บริษัทยอยหลายแหงเริ่มมีกําไรเพื่อใชคํานวณเสียภาษีเงินไดประจําป 2547

สวนที่ 2 หนา 99


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3) การวิเคราะหสวนของผูถือหุน ณ สิ้นป 2547 กลุมบริษัท มีสวนของผูถือหุนรวม 68,087 ลานบาท ประกอบดวยทุนที่ชําระแลว 2,945 ลานบาท และสวนเกินมูลคาหุน 20,471 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 59,626 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 อันเกิด จากบริษัทไดออกหุนเพิ่มเพื่อรองรับการใชสิทธิจากใบสําคัญแสดงสิทธิเปนจํานวนเงินรวม 308 ลาน บาท โดยเปนจํานวนหุนที่ออกแลวทั้งสิ้น 6.7 ลานหุน และมีเงินรับลวงหนาชําระคาหุนจํานวน 0.2 ลาน หุนเปนเงิน 11 ลานบาท และมีกําไรสะสม 35,720 ลานบาท ณ สิ้นป 2546 เพิ่มขึ้นเปน 43,483 ลาน บาท ณ สิ้นป 2547 เปนผลจากกําไรสุทธิและเงินปนผลจายในป 2547 โดยกลุมบริษัทมีกําไรสุทธิในปนี้ จํานวน 20,258 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากกําไรสุทธิในป 2546 คือ 18,529 ลานบาท ในระหวางปบริษัทไดจายเงินปนผลรวมทั้งสิ้น 12,495 ลานบาท โดยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2547 จาย 6,170 ลานบาท ในอัตราหุนละ 2.10 บาท และเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2547 จาย 6,325 ลานบาท ในอัตรา หุนละ 2.15 บาทใหแกผูถือหุน บริษัทไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ (Credit Rating) จากสถาบันตางๆ ณ สิ้นป 2547 บริษัทไดรับ การจัดอันดับความนาเชื่อถือ ดังนี้ 1. ระดับ BBB+ สําหรับ Foreign และ Local Currency จากการจัดอันดับของ Standard & Poor’s Rating Services เปลี่ยนแปลงจาก ระดับ BBB ในป 2546 2. ระดับ AA สําหรับบริษัทและตราสารหนี้หุนกูของบริษัท จากการจัดอันดับของ บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด คงระดับเดิมจากป 2546 (4) การวิเคราะหโครงสรางเงินทุน กลุมบริษัท มีอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุนที่ดีขึ้นจากที่ระดับ 1.10 เทา ณ สิ้นป 2546 ลดลง เปน 0.78 เทา ณ สิ้นปปจจุบัน โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของหนี้สินรวม อันเปนผลจากการ ชําระคืนหุนกูและเงินกูยืม รวม 13,129 ลานบาท ประกอบกับผลการดําเนินงานในป 2547 ที่มีผลกําไร สุทธิ 20,258 ลานบาท ซึ่งมีผลทําใหสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม กลุมบริษัท มีนโยบายในการ รักษาระดับอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน ใหอยูไมเกิน 2 ตอ 1 (5) การวิเคราะหสภาพคลอง ในป 2547 กลุมบริษัท มีกระแสเงินสดรับ-สุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 38,932 ลานบาท ลดลงจากป 2546 จํานวน 1,446 ลานบาท รายไดจากการใหบริการโทรศัพทยังคงเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ในขณะที่กระแส เงินสดจายจากกิจกรรมลงทุนลดลงจาก 16,366 ลานบาทในป 2546 เปน 13,107 ลานบาท ณ สิ้นป 2547 และกระแสเงินสดจายจากกิจกรรมจัดหาเงิน เปน 25,008 ลานบาท โดยจายเพิ่มขึ้นจากป 2546 ที่ มีจํานวน 19,419 ลานบาท เนื่องจากเงินปนผลจายใหกับผูถือหุนเพิ่มขึ้น และชําระคืนหุนกูและเงินกูยืม ระยะยาวจากที่ไดกลาวขางตน สงผลใหสิ้นป 2547 กลุมบริษัทมีเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น 817 ลานบาท อัตราสวนสภาพคลองเพิ่มขึ้น จากระดับ 0.53 เทา ณ สิ้นป 2546 เปน 0.69 เทา ณ สิ้นป 2547 แต ในขณะที่อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากระดับ 1.20 เทา ณ สิ้นป 2546 เปน 1.42 เทา ณ สิ้นป 2547 ทั้งนี้ กลุมบริษัทมีระยะเวลาในการจัดเก็บหนี้เฉลี่ยดีขึ้นจาก 33 วันในป 2546 เปน 25 วัน และระยะเวลาในการขายเฉลี่ยดีขึ้น จาก 44 วันในป 2546 มาเปน 35 วัน ขณะที่ระยะเวลา

สวนที่ 2 หนา 100


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในการชําระหนี้เฉลี่ยจาก 76 วันในป 2546 มาเปน 57 วัน โดยสรุปแลว กลุมบริษัทมีสภาพคลองดีขึ้น อยางตอเนื่องและเพียงพอตอการดําเนินงาน (6) การวิเคราะหความสามารถในการชําระหนี้ ในดานความสามารถในการชําระดอกเบี้ยนั้น กลุมบริษัทมีอัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ยดี ขึ้นอยางตอเนื่อง จากระดับ 21.55 เทา ณ สิ้นป 2546 มาอยูที่ระดับ 25.77 เทา ณ สิ้นป 2547 ทั้งนี้ เนื่องจากกลุมบริษัทมีกระแสเงินสดรับสุทธิจากการดําเนินงานอยูในระดับสูง และจํานวนดอกเบี้ยจายที่ ลดลง จากการชําระคืนเงินตนของหุนกูและเงินกูยืมระยะยาว 12.3

คาตอบแทนผูสอบบัญชี ในป 2547 บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนของผูสอบบัญชีใหแก • ผูสอบบัญชีของบริษัทและบริษัทยอย จํานวน 7.8 ลานบาท • จายคาตอบแทนของงานบริการอื่น ไดแก การตรวจสอบรายได และการเขารวมสังเกตการณการ ทํ า ลายสิ น ค า ให สํ า นั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ผู ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด จํ า นวน 0.1 ล า นบาท โดยไม มี คาตอบแทนของงานบริการอื่นที่ตองจายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จ

สวนที่ 2 หนา 101


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 102


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1. การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการบริหารและผูที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลวและดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตอง ครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรอง วา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2548 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่ สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงาน ทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองแลว ขาพเจาได มอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี เปนผูลงลายมือชื่อ กํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไวขาพเจาจะถือ วาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

นายสมประสงค บุญยะชัย

ประธานกรรมการบริหาร

นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

กรรมการบริหาร

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

กรรมการบริหาร

สวนที่ 3 หนา 1

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

ชื่อ

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตําแหนง

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

กรรมการบริหาร

นายลิม ชวน โปห

กรรมการบริหาร

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

ผูรับมอบอํานาจ

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 2

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาด ขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุ อันควรสงสัยวา ขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและ บัญชี เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี กํากับไวขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลว ดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม

ประธานกรรมการ

นายบุญคลี ปลั่งศิริ

กรรมการ

นางสาวจีน โล เงี๊ยบ จง

กรรมการ

นางทัศนีย มโนรถ

กรรมการ

นายศุภเดช พูนพิพัฒน

ประธานกรรมการตรวจสอบ

สวนที่ 3 หนา 3

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

ชื่อ

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตําแหนง

นายอรุณ เชิดบุญชาติ

กรรมการตรวจสอบ

นายบุญชู ดิเรกสถาพร

กรรมการตรวจสอบ

ผูรับมอบอํานาจ

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 4

ลายมือชื่อ


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

(ป) ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

63

ประธานกรรมการ

การถือหุน

ความสัมพันธ

(หุน) *

ทางครอบครัว

(31/12/2547) ระหวางผูบริหาร ไมมี ไมมี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผานหลักสูตรอบรม

ประสบการณทํางาน

ของสมาคมสงเสริมสถาบัน ปริญญาเอก

วิศวกรรมไฟฟา Iowa State University, U.S.A. ประกาศนียบัตร หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร รุนที 33 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน

กรรมการบริษัทไทย (IOD) หรืออื่นๆ -

2543-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน 2542-2545 2536-2541 2535-2536 2531-2535

นายบุญคลี ปลังศิริ

53

กรรมการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

สาขาวิศวกรรมศาสตร (คอมพิวเตอร) University of Illinois (Urbana Champaign), USA.

-

2547-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

2540-ปจจุบัน 2544-2545 2540-2543

2538-2539 2536-2537 นายสมประสงค บุญยะชัย

49

กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร

73,924

ไมมี

ปริญญาโท

สาขาวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

-

2547-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

2540-2541 2538-2539 2536-2538 2536-2537 2535-2536 * นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 1

ประวัติการทําผิด ทางกฎหมายในระยะ

กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย ประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชัน กรรมการและกรรมการบริหาร กลุมชิน คอรปอเรชัน ทีปรึกษา องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ ประธานกรรมการ บมจ. ไอทีวี กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชัน ประธานกรรมการบริหาร กลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ. ชินแซทเทลไลท ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชัน บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ. ชินแซทเทลไลท รองประธานกรรมการบริหาร ดานปฏิบัติการ กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชันส กรรมการผูอํานวยการ กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชันส กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี และ บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ รองประธานกรรมการบริหาร กลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชัน กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสือสารโทรคมนาคมไรสายกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสือสารโทรคมนาคมไรสายกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชัน กรรมการผูอํานวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท รองกรรมการผูอํานวยการสายงานปฏิบัติการที 4 กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชันส

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี


ชืเอกสารแนบ ่อ - สกุล 1 : อายุ รายละเอียดเกี่ยวกั ตําแหน บคณะกรรมการและผู ง การถืบอริหุหนาร ความสัมพันธ (ป) นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

56

(หุน) * กรรมการ และ กรรมการบริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผานหลักสูตรอบรม

ทางครอบครัว

(31/12/2547) ระหวางผูบริหาร ไมมี ไมมี

ประสบการณทํางาน

ปริญญาโท

กรรมการบริษัทไทย (IOD) หรืออื่นๆ หลักสูตร DCP Directors Certification Program 33/2546

สาขาบริหารธุรกิจ Wichita State University, Wichita, Kansas, U.S.A.

ทางกฎหมายในระยะ 2547-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน 2541-ปจจุบัน

2541-2543 2537-2541 2534-2536 นายลิม ชวน โปห

49

กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

สาขาวิทยาศาสตร Imperial College of Science and Technology, University of London

-

2547-ปจจุบนั 2541-2542 2538-2538 2536-2538 2524-2526 2523-2524

นายเชา วิง เคียง ลูคัส

50

กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

สาขาวิทยาศาสตร (เกียรตินิยม) University of Aston, Birmingham, UK.

-

ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

นางทัศนีย มโนรถ

59

กรรมการ

ไมมี

ไมมี

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร ิส าผิด ประวั ติกวารทํ

ของสมาคมสงเสริมสถาบัน

ปริญญาตรี

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Directors Certification Program Class 32/2546 หลักสูตร Advanced Management Harvard Business School, U.S.A.

2541-2542 2541 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2543 – 2545 2542 – 2543 2539 – 2542

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 2

กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการผูอํานวยการและหัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน กลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บมจ. ชินแซทเทลไลท รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสดานการเงิน บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการผูอํานวยการสายงานบริหารและการเงิน กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ-การเงิน กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Executive Vice President Singtel Strategic Investments Admin Officer Ministry of Communications Engineering Service Officer TAS Engineering Service Officer Ministry of Environment Foreign Service Ministry of Foreign Affairs กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ - Consumer Marketing บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส CEO Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd. Group Director of Total Quality Operation Manager of Hewlette รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานบริหารการเงินและบัญชี บมจ. ทศท. คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ผูชวยผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ผูอํานวยการฝายการเงินและงบประมาณ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี

ไมมี


ชืเอกสารแนบ ่อ - สกุล 1 : อายุ รายละเอียดเกี่ยวกั ตําแหน บคณะกรรมการและผู ง การถืบอริหุหนาร ความสัมพันธ (ป)

(หุน) *

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผานหลักสูตรอบรม

ทางครอบครัว

(31/12/2547) ระหวางผูบริหาร นายศุภเดช พูนพิพัฒน

54

กรรมการ และ

ไมมี

ไมมี

ประสบการณทํางาน

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร ิส าผิด ประวั ติกวารทํ

ของสมาคมสงเสริมสถาบัน

ทางกฎหมายในระยะ

กรรมการบริษัทไทย (IOD) หรืออื่นๆ ปริญญาโท

University of Wisconsin, U.S.A.

หลักสูตร DAP

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

10 ปที่ผานมา 2541-ปจจุบัน

Directors Accreditation Program 8/2547

กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ

ไมมี

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2533-ปจจุบัน

กรรมการผูจัดการใหญ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน)

นายอรุณ เชิดบุญชาติ

63

กรรมการ และ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

กรรมการตรวจสอบ

สาขาบริหารธุรกิจ

-

2541-ปจจุบัน

California State University, Long Beach,

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

ไมมี

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

California, U.S.A.

ปจจุบัน

ประธานกรรมการบริหารบริษัทตาง ๆ ในกลุมบริษัท ตรีนิตี้

ปจจุบัน

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

ประกาศนียบัตร หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 3 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน นายบุญชู ดิเรกสถาพร

58

กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

สาขาบัญชี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Directors Certification Program Class 14/2545

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ประกาศนียบัตร ผูสอบบัญชีอนุญาต

กรรมการและกรรมการผูจัดการ

ประเทศอังกฤษ

บมจ. ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง

หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร

กรรมการ บจ. ผลิตไฟฟาราชบุรี กรรมการ บจ. ราชบุรีพลังงาน กรรมการ บจ. ไตรเอนเนอจี้ กรรมการ บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน ไทยพาณิชย จํากัด กรรมการ บจ. ราชบุรีเพาเวอร กรรมการ บจ. สยาม เอทานอล เอ็กซปอรท รักษาการผูบริหารใหญดานการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2542-2543

รองผูวาการบัญชีและการเงิน และรองผูวาการบริหาร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

2540-2542

รองผูวาการบัญชีและการเงิน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 3

ไมมี


ชืเอกสารแนบ ่อ - สกุล 1 : อายุ รายละเอียดเกี่ยวกั ตําแหน บคณะกรรมการและผู ง การถืบอริหุหนาร ความสัมพันธ (ป) ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

50

(หุน) * กรรมการบริหาร

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ทางครอบครัว

(31/12/2547) ระหวางผูบริหาร ไมมี ไมมี

การผานหลักสูตรอบรม

ประสบการณทํางาน

ปริญญาเอก

กรรมการบริษัทไทย (IOD) หรืออื่นๆ หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program 2/2546

สาขาวิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Massachusetts Institute of Technology, USA.

ทางกฎหมายในระยะ 2547-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน

2538-2540 2537-2543 2536-2537 2534-2535

2532-2534 2529-2532

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

37

กรรมการผูอํานวยการ

31,840

ไมมี

ปริญญาโท

สาขาบริหารธุรกิจ Kentucky State University, U.S.A.

-

2545-ปจจุบัน 2544 – 2545 2542 – 2544 2540 – 2541 2538 – 2539 2534 – 2537

นายวิกรม ศรีประทักษ

52

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี

120,000

ไมมี

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร ิส าผิด ประวั ติกวารทํ

ของสมาคมสงเสริมสถาบัน

ปริญญาโท

สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

-

2545-ปจจุบัน 2543 – 2545 2541 – 2543 2538 – 2541

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 4

กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี รองประธานกรรมการบริหาร กลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ บมจ. ชินแซทเทลไลท รองประธานกรรมการบริหารดานนโยบาย กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท รองกรรมการผูอํานวยการ บมจ. อินเตอรแนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ผูจัดการอาวุโส ฝายพัฒนาธุรกิจ กลุม บมจ. ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส ผูจัดการทั่วไป บมจ. อินเตอรแนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ผูอํานวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, U.S.A. ผูจัดการฝายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษัท Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey U.S.A. กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสสายงานวางแผนธุรกิจ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองกรรมการผูอํานวยการสายงานปฏิบัติการดานบริการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ บจ. ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส ผูจัดการทั่วไป บจ. ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส ผูจัดการ บจ. ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการผูอํานวยการ บจ. ดิจิตอล โฟน รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองกรรมการผูอํานวยการ บจ. ชินวัตรอินเตอรเนชั่นแนล

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี

ไมมี


ชืเอกสารแนบ ่อ - สกุล 1 : อายุ รายละเอียดเกี่ยวกั ตําแหน บคณะกรรมการและผู ง การถืบอริหุหนาร ความสัมพันธ (ป) นางสุวิมล แกวคูณ

49

(หุน) * หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและ ธุรกิจเครื่องลูกขาย

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ทางครอบครัว

(31/12/2547) ระหวางผูบริหาร 26,540 ไมมี

การผานหลักสูตรอบรม

ประสบการณทํางาน

ปริญญาโท

สาขาบริหารธุรกิจ เอเซียอินสติติวทออฟแมเนจเมนท ประเทศฟลิปปนส ประกาศนียบัตร หลักสูตรผูบริหารระดับสูง ฮารวารดบิสซิเนสสคูล, ประเทศสหรัฐอเมริกา

กรรมการบริษัทไทย (IOD) หรืออื่นๆ -

ทางกฎหมายในระยะ 2545-ปจจุบัน 2538-2545 2525-2537 2523-2524

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

42

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

49

ไมมี

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร ิส าผิด ประวั ติกวารทํ

ของสมาคมสงเสริมสถาบัน

ปริญญาโท

การจัดการ Sasin University

-

2544-ปจจุบัน 2541-2544 2537 – 2541

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 5

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการผูจัดการ บจ. แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง กรรมการผูจัดการ บมจ. โรบินสันดีพารทเมนทสโตร ที่ปรึกษาอาวุโสดานธุรกิจ บจ. อัลลายดแมเนจเมนทคอนซัลแตนทออฟเอเชีย ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Financial Director Dentsu Young & Rubicam Company Limited Financial Director Shinawatra Paging Company Limited Financial Director Pager Sales Company Limited

10 ปที่ผานมา ไมมี

ไมมี


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ

รายชื่อบริษัท

SHIN ADVANC MFA DPC ADC ACC DNS DLT SIT ITAS SMB ITV ART TMC ADV

บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด (เดิมชื่อ AWM บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเกตติ้ง จํากัด) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท แอดวานซคอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด บริษัท ดาตาลายไทย จํากัด บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด บริษัท ไอ.ที.แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด

SHINEE ARC MERRY SATTEL SBI CSL SHEN CAM LTC IPSTAR STAR SPACE SOP SC ASSET OAIL

OPP

OAIA

WS

-

-

-

-

-

บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด บริษัท อารคไซเบอร จํากัด Merry International Investment Corp. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) บริษัท ชินบรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) Shenington Investments Pte., Ltd. บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จํากัด บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร จํากัด บริษัท สตารนิวเคลียส จํากัด สเปซโคด แอล แอล ซี บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด บริษัท เอสซี แอสเสท จํากัด บริษัท โอเอไอ ลิสซิ่ง จํากัด

เอกสารแนบ 1 หนา 6

PT OPP OAIA WS UP BTE OCM BP IFL SGM SGI TAA OK SINGTEL

-

-

-

-

/ -

-

บริษัท พีที คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท โอเอไอ พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท โอเอไอ แอสเสท จํากัด บริษัท เวิรธ ซัพพลายส จํากัด บริษัท อัพคันทรี่แลนด จํากัด บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท โอเอไอ คอนซัลแตนทแอนดแมนเนจเมนท บริษัท บี.พี. พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท อินโฟลิงค จํากัด Singapore Telecom Mobile Pte. Ltd. Singapore Telecom International Pte. Ltd. บริษัท ไทยแอรเอเชีย จํากัด บริษัท แคปปตอล โอเค จํากัด Singtel Strategic Investments Pte. Ltd.

X X - /, // /, // /, // // -

SINGTEL

PT

-

OK

OAIL

-

TAA

SC ASSET

/ -

SGI

SOP

/ -

SGM

SPACE

-

BP

STAR

// // // -

OCM

IPSTAR

// // X, // -

UP

LTC

/ / / -

BTE

CAM

CSL

/ X / // // /, // /, // /, // /, // /, // /, // -

SHEN

/ / -

SBI

/ -

SATTEL

MERRY

/ X X X / / / // /, // /, // /, // - /, // // /, // /, // /, // /, // /, // /, // /, // // /, // /, // /, // - /, // // -

ARC

SHINEE

ADV

TMC

X / -

ITV

/ / / / -

ART

SIT

/, // /, // / // // /, // -

SMB

DLT

/ / / / -

ITAS

DNS

ADC

DPC

MFA

X / X, / / /, // /, // /, // /, // /, // /, // /, // /, // / / / / /, // // /, // // / / / / // // // // // /, // // /, // / / // = กรรมการบริหาร

บริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของ

ACC

1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ /, // 3. นายสมประสงค บุญยะชัย // 4. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ /, // 5. นายลิม ชวน โปห 6. นายเชา วิง เคียง ลูคัส 7. นางทัศนีย มโนรถ 8. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 9. นายอรุณ เชิดบุญชาติ 10. นายบุญชู ดิเรกสถาพร 11. ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ // 12. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร 13. นายวิกรม ศรีประทักษ 14. นางสุวิมล แกวคูณ 15. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, * นับรวมทั้งการถือหุนทางตรงและทางออม

ADVANC

รายชื่อกรรมการและผูบริหาร

บริษัทยอย

บริษัทใหญ บริษัท SHIN

รายชื่อบริษัท*

-


บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย รายชื่อบริษัท/ รายชื่อกรรมการ นายบุญคลี ปลั่งศิริ

MFA

ADC

DNS

DPC

ACC

DLT

x, /

-

-

x, /

-

-

นายสมประสงค บุญยะชัย

/,//

x, /, //

x, /, //

/, //

x, /

/

นางศิริเพ็ญ

สีตสุวรรณ

/,//

/, //

/, //

/, //

/

-

นายลิม

ชวน โปห

/

/

/

/

/

-

นายเชา

วิง เคียง ลูคัส

//

//

//

/, //

/

-

ดร.ดํารงค

เกษมเศรษฐ

//

//

//

//

/

-

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

/,//

/, //

/, //

//

/

/

นายวิกรม

ศรีประทักษ

-

-

-

/

-

/

นางสุวิมล

แกวคูณ

/

-

-

-

-

/

นายจํารัส

ตันตรีสุคนธ

-

/

-

-

-

-

นายสําราญ

พงษประยูร

-

/

-

-

-

-

นางอภิวรรณ

สายประดิษฐ

-

/

/

-

-

-

นายกิตติน

อุดมเกียรติ

-

-

-

/

-

-

นางอาภัทรา

ศฤงคารินกุล

-

-

-

-

-

/

นายไชโย

สถาวรินทุ

-

-

-

-

-

/

นายนพปฎล

ทองปชโชติ

-

-

-

-

-

/

X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร เอกสารแนบ 2 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : (1) รายละเอียดสัญญารวมการงาน 1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) ภายใตสัญญารวมการงานจาก ทศท. ที่ไดลงนามรวมกันกับ ADVANC เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอตกลง ตอทายสัญญาหลัก 7 ครั้ง ดังตอไปนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2536 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2539 ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ขอตกลงเรื่องการแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณ) ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ขอตกลงเกี่ยวกับ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา Prepaid Card มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2544) และครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและขอตกลงแนบทายสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูสัญญา

:

บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการที่ไดรับอนุญาตให : ดําเนินการภายใตสัญญารวม การงาน

ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบอนาลอก NMT และ ดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 900 MHz (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ Cellular 900”) ทั่วประเทศ แบบคูขนานกันไป มีกําหนด 25 ป นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเปนวันแรกที่เปดดําเนินการ ADVANC ไดรับอนุญาตจากทศท. ใหเปนผูรวมบริหารการแสวงหาผลประโยชน จากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจากการใชงานของ ADVANC ได โดยใหบริการเชาใหแกทั้งผูใชบริการของทศท. และผูใชบริการ ของ ADVANC ในอัตราคาใชบริการเทากับอัตราของทศท. ADVANC มีหนาที่ เรียกเก็บคาบริการและจายสวนแบงผลประโยชนใหแกทศท.ตามที่ระบุใน ขอตกลงตอทายสัญญาหลักครั้งที่ 5 โดย ADVANC จะตองไมทําการตลาดแขง กับทศท. แตจะมีการทําการตลาดและสงเสริมการขายรวมกับทศท. ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใช บัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card)

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

ADVANC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณระบบ Cellular 900 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสื่อ สัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน 3) รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และ โครงขายที่ ADVANC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับสัญญารวมการงาน

:

เอกสารแนบ 3 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card) เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูใช การจัดสรรยานความถี่

:

ทศท. ตองจัดหายานความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ใหกับ ADVANC สําหรับใหบริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิการสง มอบและรับมอบทรัพยสิน

:

ADVANC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปน กรรมสิทธิของทศท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย ทศท. ยินยอมให ADVANC ครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคของ สัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัย ทรัพยสิน

:

ADVANC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็ม มูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัย หมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADVANC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุ ไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชน ตอบแทนของสัญญา

:

ADVANC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก ทศท. เปนรอยละของรายไดกอน หักคาใชจายและภาษี และผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้น ต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา 25 ป ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบ แทนมีดังนี้ ปที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

เอกสารแนบ 3 หนา 2

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท)

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000

รายไดประจํางวด

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – ก.ย. 54 ต.ค. 54 – ก.ย. 55 ต.ค. 55 – ก.ย. 56 ต.ค. 56 – ก.ย. 57 ต.ค. 57 – ก.ย. 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผลประโยชนตอบแทนการให : แสวงหาประโยชนจากระบบ สื่อสัญญาณ

ADVANC จะตองเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการ และจายสวนแบง ผลประโยชนใหแกทศท. เปนรายไตรมาสในอัตรารอยละของคาบริการกอนคิด ภาษีมูลคาเพิ่ม ADVANC จะตองจายสวนแบงผลประโยชนในอัตรารอยละ 25 ในกรณีที่ผูใชบริการเปนลูกคาของทศท. และในอัตรารอยละ 22 ในกรณีที่ ผูใชบริการเปนลูกคาของ ADVANC

ผลประโยชนตอบแทนการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid Card)

:

โดย ADVANC ตกลงจายผลประโยชนตอบแทนใหแกทศท.ในอัตรารอยละ 20 ของมูลคาของราคาหนาบัตรที่ขายได และ รายไดจากคาขอเปดบริการชําระครั้ง แรก (ถามี) โดย ADVANC จะตองตัดขอมูลการจําหนายบัตรทุกสิ้นเดือน และ นําสงสวนแบงรายไดดังกลาวภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

การยกเลิกสัญญา

:

ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอโดย ADVANC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และให ทรัพยสินตางๆ ตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท. ทันที หากการดําเนินงานของ บริษัทมีเหตุให ทศท. เชื่อวาADVANC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให ลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด ADVANC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADVANC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) บริษัท และ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) ไดลงนามบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาต ใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) (ครั้งที่ 7) เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาฯ สามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

: บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7)

คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

ทศท. และ บริษัท ประสงคจะทําความตกลงเกี่ยวกับหลักการเกี่ยวกับการใช เครือขายรวม (Roaming) ของบริษัท และไดมีขอตกลงรวมกันในการใช เครือขายรวมดังนี้ 1. ทศท. และ บริษัท ตกลงกันใหถือวาขอตกลงตอทายสัญญาฉบับนี้เปนสวน หนึ่งของสัญญาหลัก 2. ทศท. อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหผูให บริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตให บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่นไดเชนเดียวกัน

เอกสารแนบ 3 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. การใชเครือขายรวม (Roaming) ตามขอ 2 บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศและบริษัทมี สิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่ว ประเทศ บริษัทตกลงทําหนังสือแจงให ทศท. ทราบเปนลายลักษณอักษรกอนที่ บริษัทจะใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) และกอนที่ บริษัทจะเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น 4. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขายรวม (Roaming) ให ทศท โดยมีเงื่อนไขดังนี้ -ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ในเครือขาย ของบริษัท บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ในอัตรารอยละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผูใหบริการ รายอื่น -ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทศท. ในอัตรารอยละ (ระบุตาม สัญญาหลัก) ของรายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หัก ดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่นนั้น 2. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ADC ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินการกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแกไขเพิ่มเติม 2 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540 และ 25 กันยายน 2540 โดย สาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูสัญญา

:

บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทศท.) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ป นับตั้งแตวันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูล อื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) ในการใหบริการจัดวงจรเพื่อเชื่อมตอระหวางเครือขายผูใหบริการ และผูใชบริการทั่วประเทศ เพื่อรับสงขอมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสื่อสาร ขอมูลประเภทตางๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถพัฒนารูปแบบ บริการใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

เอกสารแนบ 3 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

ADC ตกลงที่จะลงทุนในการจัดหาอุปกรณระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตั้งและ Product Information ของ อุปกรณ Datakit และดําเนินการบริการใหเปนไปตามที่กําหนด

กรรมสิทธิในทรัพยสิน

:

บรรดาเครื่องมือและอุปกรณตางๆ หรือทรัพยสินที่ ADC ไดกระทําขึ้นหรือ จัดหามาไวสําหรับดําเนินการระบบ Datakit เปนกรรมสิทธิของ ทศท. หลัง ติดตั้งเสร็จเรียบรอย ทศท. ยินยอมให ADC แตเพียงผูเดียวครอบครอง ทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้ตลอดอายุ สัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

ADC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุ กอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํา กรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทศท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอ ย กวา 30 วัน

ผลประโยชนตอบแทนการให : สัมปทาน

ADC จะดําเนินการใหมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอย ละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแก ทศท. โดย ทศท. ไมตองชําระเงินคาหุนแต อยางใด

การยกเลิกสัญญา

ทศท.มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทศท. เชื่อวา ADC ไม สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอ หนึ่งขอใด โดย ADC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทศท. และทรัพยสินตางๆ ใหตกเปนกรรมสิทธิของ ทศท.

:

ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADCไม สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาได ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch (ครั้งที่ 4) บริษัท และบริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ไดลงนามขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตให ดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch (ครั้งที่ 4) เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2547 โดยมีสาระสําคัญของขอตกลงตอทายสัญญาฯ สรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา คูสัญญา วันที่ทําสัญญา รายละเอียด

: ข อ ตกลงต อ ท า ยสั ญ ญาอนุ ญ าตให ดํ า เนิ น กิ จ การบริ ก ารสื่ อ สารข อ มู ล โดยใช ร ะบบ Datakit Virtual Circuit Switch : บริษัทแอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด “ADC” บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) “ทศท” : วันที่ 29 กันยายน 2547 : ทศท และ เอดีซี ตกลงกันตามขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ดังนี้

เอกสารแนบ 3 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1. การกําหนดอัตราคาเชาบริการสื่อสารขอมูล อัตราคาธรรมเนียม หรือเรียกเงินอื่นใด จากผูเชาใชบริการ ใหเปนไปตามความเหมาะสมกับสภาวะของตลาด โดยบริษัทไม ตองขอความเห็นชอบจากทศท กอน 2. ในการดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูล เอดีซีจะไมลงทุนสรางเครือขายเอง จะเชา วงจรสื่อสัญญาณจากทศท หรือจากผูรวมการงานกับทศท เวนแตในกรณีที่ทศท ไม สามารถจัดหาวงจรสื่อสัญญาณใหได เอดีซีมีสิทธิลงทุนสรางเครือขายเอง หรือมี สิทธิเชาจากผูใหบริการ รายอื่นได ทศท ตกลงใหบริษัทสามารถใหบริการขอมูลเสริมทางธุรกิจตางๆ (content) ได เชน ขอมูลทางการเงิน ตลาด หลักทรัพย เกมส และมัลติมีเดีย โดยบริษัทตองขอความเห็นชอบเปนหนังสือจากทศท 3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (มหาชน) DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการโอนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 โดยไดรับการโอนสิทธิในการดําเนินงานจากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) สัญญาตางๆที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC มีดังนี้ (3.1) สัญญารวมการงานระหวาง DPC กับ กสท. ภายใตสัญญารวมการงานจาก กสท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เมื่อ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุ โทรคมนาคมระบบเซลลูลา 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เปนตนไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800

คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา กิจการที่ไดรับอนุญาต

: :

เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ วิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 ทั่วประเทศ (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง DPC ไดรับ โอนสิทธิและหนาที่จาก TAC ตามสัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตาม สัญญา ใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวางกสท. TAC และ DPC ไดรับสิทธิในการดําเนินการเปน ระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556

การดําเนินงานและแผน

:

DPC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้

เอกสารแนบ 3 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การดําเนินงาน

- ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือขาย และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการ ดําเนินงาน - รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขายที่ DPC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับ อนุญาตใหดําเนินการ

การจัดสรรยานความถี่

:

กสท. ตองจัดหายานความถี่ระหวาง 1747.9 –1760.5 MHz และ 1842.9-1855.5 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศใหกับ DPC สําหรับใหบริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิการสงมอบและ รับมอบทรัพยสิน

:

DPC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณ ใหเปนกรรมสิทธิของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย กสท. ใหสิทธิแก DPC นําไปใหบริการระบบ PCN 1800 และใช ประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

DPC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา DPC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหม มามอบให กสท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชนตอบแทน

:

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก กสท. เปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจาย/1 ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาว ตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลา สัญญา ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบแทนมีดังนี้

เอกสารแนบ 3 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

ปที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 รวม

การยกเลิกสัญญา

:

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

รายไดประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56

สัญญานี้สิ้นสุดหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฎิบัติตามสัญญา หรือปฎิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับ แตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีที่ DPC ตกเปนผูขาด คุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท. ไดแจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไม นอยกวา 90 วัน

เอกสารแนบ 3 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3.2) สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ระหวาง DPC และ TAC ชื่อสัญญา

:

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ

คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนเิ คชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดย กสท. ยินยอมให 1. TAC โอนสิทธิและหนาที่การใหบริการ PCN 1800/1 บางสวน เฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. TAC โอนสิทธิการใชชองความถี่ใหแก กสท. และ กสท. ตก ลงให DPC ใชความถี่ในชวงดังกลาวได 3. DPC รับโอนลูกคาในระบบ จาก บมจ. สามารค คอรปอเรชั่น 4. ถาสัญญาระหวาง DPC กับ กสท. สิ้นสุดลงกอนสัญญารวม การงานสัมปทาน TAC จะไดรับการพิจารณาใหดําเนินการ ตอจาก DPC กอนผูอื่น

ผลประโยชนตอบแทนการโอน : สิทธิและหนาที่

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก TAC แทนคาโอนสิทธิ และหนาที่เปนจํานวนเงินประมาณ 6,990 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 DPC มีคาโอนสิทธิคางจายเทากับประมาณ 2,317.76 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายเทากับประมาณ 2,317.76 ลานบาท ยอดคาโอนสิทธิคางจายดังกลาวค้ําประกัน ดวยสิทธิในสัญญารวมการงาน อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นสําหรับคา โอนสิทธิคา งจายเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่โดยมีอัตราถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักเทากับอัตรารอยละ 9.50 ตอป คาโอนสิทธิคางจายดังกลาวมีกําหนดชําระดังนี้ ป 2546 454.37 ลานบาท ป 2547 908.67 ลานบาท ป 2548 และภายหลังป 2548 954.72 ลานบาท ยอดรวม 2,317.76 ลานบาท

/1

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800 เอกสารแนบ 3 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3.3) บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (Natioal Roaming) ชื่อสัญญา คูสัญญา

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

: วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใชเครือขายรวม (Roaming)

: คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อน ที่ของแตละฝายรวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แกผูใช บริการของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัท ตกลงให DPC เขามาใชเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปนตนไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน ทั้งนี้ ผูใหบริการเครือขายอาจขอลดพื้นที่ใหบริการเครือขาย โดย จะตองแจงใหผูขอใชบริการเครือขายทราบลวงหนาไมนอยกวา 90 วัน หากการลดพื้นที่ใหบริการเครือขายเปนเหตุใหผูใชบริการของผูขอ ใชบริการเครือขายไมไดรับความสะดวกในการใชบริการแลว ผูขอ ใชบริการมีสิทธิบอกเลิกขอตกลงฉบับนี้ได 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท (สองบาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม

การชําระคาใชบริการ

: ในการชําระคาใชบริการเครือขายในแตละเดือน ใหนําจํานวนเงินใน ใบแจงหนี้ของแตฝายมาหักกลบลบหนี้กันคงเหลือเปนยอดเงินสุทธิ ที่ตองชําระโดยฝายที่มีคาใชบริการเรียกเก็บนอยกวา โดยใหชําระ เปนเงินบาท มีกําหนดชําระภายใน 15 วัน นับแตวันที่ที่ลงในใบ แจงหนี้ฉบับสุดทายจากผูใหบริการเครือขายที่ไดมีการหักกลบลบ หนี้กันในเดือนนั้นแลว

การยกเลิกสัญญา

: คูสัญญาแตละฝายมีสิทธิบอกเลิกบันทึกขอตกลงโดยแจงเปน หนังสือใหอีกฝายทราบลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือน

เอกสารแนบ 3 หนา 10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : (2) ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน

เอกสารแนบ 3 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

เอกสารแนบ 3 : (3)

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 3 หนา 12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2547

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน

เอกสารแนบ 3 หนา 14


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.