Form 56 1 2006

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)

หนา สวนที่ 1 หนา 1

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสีย่ ง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 9. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ขอมูลอื่นที่เกีย่ วของ

สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา สวนที่ 2 หนา

1 2 7 20 33 35 49 53 54 64 82 87 106 119

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล เอกสารแนบ 1 ประวัติผบู ริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบ ริหารของบริษัทใหญ บริษทั บริษทั ยอย บริษทั รวม และบริษัทที่เกี่ยวของ (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย เอกสารแนบ 3 (1) (2) (3) (4)

รายละเอียดสัญญารวมการงาน ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 1 ประวัติผูผบู ริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริ มของบริษัท


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 3 (1) รายละเอียดสัญญารวมการงาน (2) ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการ ระหวางกัน (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) ลักษณะการดําเนินธุรกิจ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) เปนบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยตั้งแตวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 ดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริษัทไดเขารวม ทําสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เปน ระยะเวลา 25 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2533 สิ้นสุดป พ.ศ. 2558 ซึ่งบริษัทไดใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) ใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (Automatic International Roaming) ซึ่งปจจุบันสามารถนําไปใชไดในกวา 109 ประเทศทั่วโลก และใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบ ชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid) ภายใตชื่อ “One-2-Call!” นอกจากนี้ บริษัทยังมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 ภายใตสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เปนระยะเวลา 16 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2540 สิ้นสุดป พ.ศ. 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีสวนแบงตลาดในสัดสวนประมาณรอยละ 49 ของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ประเทศไทย ปจจุบันนอกจากการใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่แลว บริษัทยังมีการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวกับโทรคมนาคม ดานอื่นๆ ในบริษัทยอย ดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท และอินเตอรเน็ตความเร็วสูง 2. บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (ดีเอ็นเอส) ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท 3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) นําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ อุปกรณโทรคมนาคม ใหบริการ เชาโทรศัพทเคลื่อนที่และใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 4. บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี) ใหบริการศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท (Call Center) 5. บริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด (ดีแอลที) ใหบริการอินเตอรเน็ตในเชิงพาณิชย (ISP) ใหบริการจาก กสท (ปจจุบันแปรรูปเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน))

โดยไดรับสิทธิในการ

6. บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) ใหบริการชําระคาสินคาหรือบริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่ 7. บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด (เอเอ็มซี) จัดจําหนายบัตรเงินสด 8. บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (เอไอเอ็น) ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ (เปลี่ยน ชื่อเปน บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550) 9. บริษัท เอไอเอส ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับลิวซีเอ็น) และบริษัท เอไอเอส ไวร เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ปจจุบันยังมิไดเริ่มดําเนินการ ซึ่งอยูระหวางขอใบอนุญาตในการประกอบ ธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G โทรศัพทพื้นฐาน และธุรกิจโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ

สวนที่ 1 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปจจัยความเสี่ยง บริษัทมีปจจัยความเสี่ยงที่สําคัญ ไดแก ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการตลาดและการแขงขัน ความเสี่ยงทางดาน การลงทุนและการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความเสี่ยงทางดานกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบาย ตลอดจน ความเสี่ยง ทางดานการบริหารทรัพยากรบุคคลโดยรายละเอียดแสดงในหัวขอ 1 “ปจจัยความเสี่ยง” สรุปฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน สําหรับป 2549 บริษัทมีรายไดรวมจํานวน 91,428 ลานบาท ลดลงจาก 92,517 ลานบาท ในป 2548 คิดเปนจํานวน 1,089 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 1.2 และมีผลกําไรสุทธิจํานวน 16,256 ลานบาท ในป 2549 ลดลงจาก 18,725 ลานบาท ในป 2548 คิดเปนจํานวน 2,469 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 13.2 โดยกลุมบริษัทมีสินทรัพยรวม ณ สิ้นป 2549 จํานวน 134,301 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,341 ลานบาท หรือรอยละ 4.9 เมี่อเทียบกับสิ้นป 2548 ซึ่งมีจํานวน 127,960 ลานบาท โดย รายละเอียดแสดงในหัวขอ 12 “ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน”

สวนที่ 1 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ ชื่อภาษาอังกฤษ ”Advanced Info Service Plc. ” ใชชื่อยอหลักทรัพย ”ADVANC”

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 MHz ในระบบดิจิตอล GSM Advance (Global System for Mobile Communication) และมีบริษัทยอย คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจิตอล GSM 1800 และประกอบธุรกิจจัดจําหนายอุปกรณ โทรศัพทเคลื่อนที่ นอกจากนี้ ยังมีบริษัทยอยเปนผูใหบริการสื่อสารขอมูลที่เกี่ยวของ กับโทรคมนาคมดานอื่นๆ อีกดวย ไดแก ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท ศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท โทรศัพทระหวางประเทศ เปนตน

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

บมจ. 0107535000265 (เดิมเลขที่ บมจ. 59)

Home Page

:

http://www.ais.co.th

โทรศัพท

:

02-299-5000

โทรสาร

:

02-299-5252

สวนที่ 2 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

1.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปจจัยความเสี่ยง

ในป 2549 ที่ผา นมา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการประชุมเปนประจําทุกไตรมาส เปนจํานวน 4 ครั้ง โดย พิจารณาเกี่ยวกับ การบริหารความเสี่ยงระดับองคกร โดยมีการแจกแจงความเสี่ยงและกําหนดแนวทางการบริหารความ เสี่ยง มอบหมายผูรับผิดชอบเพื่อดําเนินการ รวมทั้งไดจัดทําคูมือการบริหารความเสี่ยง สําหรับคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยง ผูบริหาร และพนักงานในองคกรใชเปนแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้ ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดนําเสนอผลการบริหารความเสี่ยงใหคณะกรรมการตรวจสอบ ไดสอบทาน และ รายงานใหคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการบริหารไดรับทราบ ซึ่งสรุปปจจัยความเสี่ยงที่อาจสงผล กระทบตอผลการดําเนินงานของบริษัท ไดดังตอไปนี้ 1.1

ความเสี่ยงทางดานสถานการณการตลาดและการแขงขัน

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใชชีวิตของผูบริโภค (Customer Lifestyle Change) โทรศัพทเคลื่อนที่เขาไปเปนสวนหนึ่งในการดํารงชีวิตประจําวันของผูบริโภค ดังนั้น รูปแบบการใชชีวิต และความ ตองการของผูบริโภคที่ซับซอนขึ้นยอมสงผลตอพฤติกรรมการใชโทรศัพทเคลื่อนที่อยางหลีกเลี่ยงไมได ตัวอยางเชน ความกังวลเรื่องความปลอดภัย ทําใหใชชีวิตนอกบานเพื่อความบันเทิงนอยลง ปญหาจราจร และราคาน้ํามัน การใชโทรศัพทจึงเปนทางเลือกที่ประหยัดเวลา และคาใชจายในการเดินทาง อินเตอรเน็ทเริ่มมีบทบาทสําคัญมากขึ้น ทําใหผบู ริโภคเขาถึงขอมูลขาวสารตางๆ ไดงาย และสะดวกขึ้น ลูกคามีทางเลือกมากขึ้น และมีความคาดหวังตอสินคา และบริการที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ใหความสําคัญกับครอบครัวมากขึ้น และแสวงหาความสุขในชีวิต เอไอเอสมีความพรอมที่จะนําเสนอสินคาและบริการที่หลากหลาย ใหเหมาะกับความตองการของทุกรูปแบบการ ดําเนินชีวิต เอไอเอส ไดนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาวิเคราะหฐานขอมูลลูกคา มีการศึกษาประสบการณความสําเร็จ ของธุรกิจโทรคมนาคมในตางประเทศ ซึ่งจะสามารถนํามาประยุกตใชกับวิถีชีวิตของคนไทย การทําวิจัยกับผูบริโภคในเชิง ลึก เพื่อที่จะเขาใจพฤติกรรม และความตองการที่แทจริงของลูกคา ขอมูลตางๆ เหลานี้ จะถูกนํามาพัฒนาสินคาที่มี นวัตกรรมใหมๆ (Innovative product) อยางตอเนื่อง ใหใชงานงาย ไมยุงยาก เพื่อมอบบริการที่สรางประสบการณที่ดีใหกับ ลูกคาของเอไอเอส อาทิเชน การเพิ่มชองทางการเขาถึงขอมูลบริการเสริมตางๆ ผานทาง เอไอเอส คอลล เซ็นเตอร 1175 กด 9 การใหบริการสื่อสารไรสายและโมบายออฟฟศ ซึ่งทําใหลูกคา เอไอเอส สามารถใชโทรศัพทเคลื่อนที่เชื่อมตอกับโลก อินเตอรเน็ตไดทุกที่ทุกเวลา และสามารถทํางานนอกสถานที่ไดโดยไมตองเสียเวลาเดินทาง จึงทําใหมีเวลาสําหรับ ครอบครัวมากขึ้น รวมทั้ง การมอบสิทธิพิเศษ เอไอเอส พลัส (AIS Plus) ซึ่งสอดคลองกับชีวิตประจําวันของลูกคา และมี โอกาสไดใชสิทธิประโยชนเหลานั้นมากยิ่งขึ้น การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ (Economy Recession) เศรษฐกิจไทยในป 2550 มีแนวโนมที่จะขยายตัวลดลงจากป 2549 ที่มีอัตราการขยายตัวอยูที่ประมาณ 5.1% (จาก การคาดการณของธนาคารแหงประเทศไทย) ซึ่งเปนผลมาจากแนวโนมการสงออกที่ลดลงตามสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอ ตัว โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ราคาน้ํามันที่ยังอยูในระดับสูง อัตราแลกเปลี่ยนที่ผันผวน อัตราดอกเบี้ย ภาวะเงิน เฟอ ปญหาความเชื่อมั่นจากสถานการณทางการเมืองที่ยังไมชัดเจน ปญหาการกอการราย โดยเฉพาะใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต ภัยแลง น้ําทวม และไขหวัดนก สําหรับตลาดทุนในประเทศ อาจจะใชเวลานานในการฟนตัว ซึ่งจะสงผล กระทบตอการระดมทุนของภาคธุรกิจทั้งที่ผานตลาดหุน และตราสารหนี้ ทําใหภาคเอกชนชะลอการลงทุน เกิดการวางงาน ในขณะที่คาครองชีพที่สูงขึ้น ทําใหผูบริโภคจําเปนตองประหยัดมากขึ้น โดยดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และ สําหรับผูมีรายไดนอย จําเปนตองหารายไดเสริม เพื่อใหเพียงพอตอการดํารงชีพ สวนที่ 2 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สิ่งตางๆ เหลานี้ อาจจะสงผลบางตอการใชจายโทรศัพทเคลื่อนที่ เอไอเอส จึงไดปรับรูปแบบโปรโมชั่นใหคุมคา และ สอดคลองกับความตองการใชงานของผูบริโภคแตละกลุม ตั้งแตโปรแกรมการโทร สําหรับกลุมนักธุรกิจ ที่มีปริมาณการใช งานมาก สามารถติดตอธุรกิจไดอยางไมขาดตอน จนกระทั่งโปรแกรม สําหรับผูที่โทรออกนอย ซึ่งไดขยายระยะเวลาการใช งานเปน 1 ป สําหรับผูมีรายไดนอย และเปนการขยายตลาดไปยังกลุมลูกคาใหมในพื้นที่หางไกล ซึ่งไมเคยใชงาน โทรศัพทเคลื่อนที่มากอน การแขงขันดานราคา (Price competition) การแขงขันดานราคาในชวงที่ผานมา สงผลกระทบอยางมากตอภาพรวมของอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง คุณภาพของเครือขายซึ่งไมสามารถรองรับการใชโทรศัพทเคลื่อนที่พรอมกันของผูใชบริการในชวงเวลา เรงดวน ทั้งการโทรภายในเครือขายเดียวกัน และการโทรขามเครือขาย ซึ่งทําใหเกิดพฤติกรรมการถือโทรศัพทเคลื่อนที่ มากกวา 1 หมายเลข เพื่อที่จะติดตอกรณีที่อีกหมายเลขหนึ่งไมสามารถโทรติดตอได อยางไรก็ตาม เอไอเอส สามารถ ปรับปรุงคุณภาพเครือขายใหดีดังเดิมไดภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยป 2549 - 2550 นี้ เอไอเอส ไดจัดสรรงบประมาณ ในการลงทุนเครือขายทั่วประเทศ 33,000 ลานบาท เพื่อใหผูบริโภคเกิดความมั่นใจในเครือขายที่มีประสิทธิภาพ ในป 2549 มีการแขงขันดานราคาสูงมาก ทําใหกลุมลูกคาที่ออนไหวตอราคา (Price Sensitive) ซึ่งสวนใหญเปน ลูกคาที่มีปริมาณการใชงานมาก ถือโทรศัพทเคลื่อนที่มากกวา 2 หมายเลข เพื่อลดคาใชจายโดยใชหมายเลขที่คาโทรถูก กวาในการโทรออก และยังเกิดพฤติกรรมการเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพทเคลื่อนที่บอย โดยยกเลิกหมายเลขเดิมหลังจากหมด โปรโมชั่น โดยในชวงไตรมาสที่สองของป 2549 ผูประกอบการแตละรายไดลดคาบริการอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งขยาย ระยะเวลาการสงเสริมการขายออกไป ซึ่งการลดคาบริการดังกลาวสงผลกระทบในทางลบตอรายไดและกําไรของ ผูประกอบการ โดยสงผลใหรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนรวม (ARPU) ต่ําลง และตอมาในไตรมาสที่สี่ของป 2549 ผูประกอบการตางออกรายการสงเสริมการขายอีกครั้งหนึ่ง โดยการลดคาบริการลงและทําใหรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอ เดือนรวมลดลงอีก ซึ่งการแขงขันดานราคาดังกลาวอาจสงผลกระทบตอรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนรวมและรายไดที่ ลดลง ของ เอไอเอส รวมทั้งอาจสงผลใหฐานลูกคา มีการเติบโตชาลง และ Churn Rate ที่สูงขึ้นซึ่งอาจทําใหตนทุนในการ ไดมาซึ่งผูใชบริการสูงขึ้นหรือการเติบโตของรายไดลดลง ดังนั้น เอไอเอส จึงไดปรับตัวโดยออกโปรแกรมการใชบริการใน ราคาที่แขงขันไดมากขึ้น เพื่อจูงใจผูบริโภคที่ถือซิมการดมากกวา 1 หมายเลข ใหหันมาโทรออกโดยใชหมายเลขของเอไอ เอสมากขึ้น หรือกลับมาถือซิมการดของเอไอเอสเพียงหมายเลขเดียว แตทั้งนี้ การแขงขันดานราคาในป 2550 นาจะลดความรุนแรงลง เมื่อประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทช.) เรื่อง ใชอัตราคาเชื่อมโยงเครือขาย (Interconnection Charge) ถูกนํามาปฏิบัติ ซึ่งจะเปนการปองกันมิใหเกิดการ ตัดราคาอยางไมมีเหตุผล โดยเฉพาะอยางยิ่งการโทรขามระหวางเครือขาย ดังนั้น ลูกคาเอไอเอส จึงจะไดรับประโยชนจาก การโทรหาเลขหมายภายในเครือขายเอไอเอสกวา 19 ลานเลขหมายในอัตราพิเศษ นอกจากนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงจากสงครามราคา เอไอเอส จึงไดสรางความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น โดยเนน คุณภาพของบริการในทุกๆ ดาน ไดแก เครือขายที่โทรติดงาย และครอบคลุมแมในพื้นที่หางไกล การนําเสนอบริการที่ หลากหลายซึ่งตอบสนองความตองการของลูกคา ทั้งบริการหลังการขาย (Service Operation) และบริการเสริม (Service & Application) ตลอดจนการคิดคาบริการรูปแบบใหมๆ (Innovative tariff) ที่เหมาะกับพฤติกรรมการใชงานของลูกคา นอกจากนี้ ยังรองรับโครงสรางตนทุนในดานตางๆ โดยอยูบนพื้นฐานของความสมดุลระหวางตนทุนในการลงทุน กับรายได ที่ไดรับ เอไอเอสมองความตองการที่หลากหลายของลูกคา และความเสี่ยงตางๆ ใหเปนโอกาสทางธุรกิจ โดยจะหลอมรวม สินคา และบริการจากหลากหลายภาคอุตสาหกรรม เพื่อสรางธุรกิจตอเนื่อง ซึ่งจะทําใหเอไอเอส และพันธมิตรทางธุรกิจ ไดรับประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใชชีวิตของลูกคาที่ไมหยุดนิ่ง

สวนที่ 2 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1.2

ความเสี่ยงทางดานการลงทุนในเทคโนโลยี 2G และ 3G เนื่องจากในปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในระบบโทรศัพทเคลื่อนที่กําลังมีการเปลี่ยนแปลงไปสูการสื่อสาร ขอมูลความเร็วสูงและการสื่อสารขอมูลแบบมัลติมีเดีย จากเทคโนโลยี 2G โดยมีอายุสัญญาระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558 ไปสูเทคโนโลยี 3G ซึ่งอาจมีความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับเอไอเอสอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เอไอเอสเล็งเห็นถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น จึงไดกําหนดมาตรการรองรับความเสี่ยงดังกลาวโดย ในกรณีการรักษา สมดุลระหวางการลงทุนในเทคโนโลยี 2G และ 3G นั้น เอไอเอสใชขอมูลทางสถิติในการพิจารณาระดับคุณภาพของการ ใหบริการของระบบเครือขาย เพื่อมุงรักษาคุณภาพเครือขาย รองรับการเติบโตของจํานวนลูกคาที่เพิ่มขึ้น และเปนขอมูลใน การพิจารณาตัดสินใจที่จะลงทุนในเครือขาย 2G โดยป 2549 - 2550 นี้ เอไอเอส ไดจัดสรรงบประมาณในการลงทุน เครือขายทั่วประเทศเปนเงิน 33,000 ลานบาท เพื่อใหลูกคาของเอไอเอสกวา 19 ลานรายสามารถสื่อสารถึงกันไดอยาง ตอเนื่องและรองรับลูกคาไดประมาณ 24 ลานเลขหมายในอนาคต ซึ่งประมาณการตามอัตราการใชงานเฉลี่ยของลูกคาป 2549 ซึ่งสิ่งที่เอไอเอสยึดเปนนโยบายในการทํางานเสมอมา คือ การพัฒนาเครือขายใหดีที่สุดตลอดเวลา โดยสัดสวนการ โทร.สําเร็จในเครือขายยังคงอยูที่ 98% และการโทร.สําเร็จระหวางเครือขายยังคงอยูที่ 96% รวมถึงการเดินหนาพัฒนา เครือขายครอบคลุม 76 จังหวัด ใหมี Capacity รองรับการใชงานของลูกคาอยางเพียงพอ ลูกคาจึงสามารถโทร.ติดไดงาย สายไมหลุด ในทุกครั้งของการใชงาน นอกจากนี้ ในป 2549 เอไอเอส มีความพรอมในการใหบริการ เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูมาใชบริการสนามบิน สุวรรณภูมิ โดยจะสามารถในรองรับปริมาณการใชงานไดกวา 35,000 ราย ใน 3 สวนหลักๆ คือ ความพรอมดานเครือขาย, ความพรอมดานการใหบริการผานเคานเตอรบริการโฟนเรนทตลอด 24 ชั่วโมง และการโทรขามแดนอัตโนมัติ รวมถึงบริการ ผานเครือขายรูปแบบตางๆ ซึ่งในดานเครือขายนั้น เอไอเอสไดรวมมือกับผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกราย ติดตั้งเครือขาย เทคนิคพิเศษ เพื่อใหบริการลูกคา สําหรับเทคโนโลยี 3G เอไอเอสไดมีการเตรียมความพรอมทางดานบุคลากร และเทคโนโลยี โดยจัดใหมี 3G Project Team และสรางโปรแกรม 3G E-Learning สําหรับพัฒนา competency ดานเทคโนโลยี 3G สําหรับบุคลากรของ เอไอเอสทั้งหมด นอกจากนี้ Working Team ไดเตรียมการวางแผนเกี่ยวกับ การประมาณการลูกคา , ลักษณะและ ประเภท 3G service ที่จะใหบริการลูกคา ซึ่งเมื่อ กทช. กําหนดหลักเกณฑและรูปแบบการพิจารณาใหใบอนุญาตแกผูที่จะ ลงทุนใหบริการ 3G อยางชัดเจนแลว เอไอเอส พรอมที่จะสามารถใหบริการลูกคาไดเปนอยางดี 1.3

ความเสี่ยงทางดานการบริหารทรัพยากรบุคคล เอไอเอสตระหนักถึงความสําคัญ และคุณคาของบุคลากรที่มีตอบริษัท จึงมุงเนนการสงเสริมและพัฒนาให บุคลากรของบริษัทมีศักยภาพในการทํางานที่เพิ่มขึ้นอยูตลอดเวลา สามารถรองรับการขยายตัวของบริษัทในอนาคตและ หากมีการปรับเปลี่ยนบุคลากรในตําแหนงงานที่มีความสําคัญ บริษัทมีผูทดแทนตําแหนงงานนั้นไดเพื่อใหการดําเนินงาน ของบริษัทเปนไปอยางราบรื่น ตอเนื่อง และมีคุณภาพ

เอไอเอสเล็งเห็นถึงความจําเปนและความสําคัญในการเตรียมความพรอมของบุคลากร โดยเฉพาะในตําแหนงงาน ที่มีความสําคัญตอการดําเนินงานหรือการเจริญเติบโตของบริษัท ในป 2549 นี้ เอไอเอส จึงไดจัดเตรียมแผนการสืบทอด ตําแหนง (Succession Plan) และจัดตั้งคณะทํางานซึ่งประกอบดวยผูบริหารระดับสูงของสายงานตาง ๆ เพื่อจัดวาง แนวทางในการคัดสรร และเตรียมความพรอมดานบุคลากร สําหรับตําแหนงงานระดับผูบริหาร จํานวน 75 ตําแหนง และ ตําแหนงงานหลัก (Key Positions) อีกจํานวน 247 ตําแหนง ทําการพิจารณากลั่นกรองผูที่ไดรับการคัดเลือก โดยจัดให มีการประเมินความพรอมของผูที่ไดรับการพิจารณาทั้งในดาน People Management และ Task Management เพื่อนํามา จัดทําแผนพัฒนารายบุคคล ซึ่งจะเนนการพัฒนาโดยใชวิธีการ coaching เปนหลัก และจะมีการติดตามผลการพัฒนา พรอม ทั้งทําการประเมินผลผูที่ไดรับการพัฒนา เพื่อรายงานใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบความกาวหนาเปนราย ไตรมาส ซี่งจะทําใหเกิดความเชื่อมั่นไดวาการดําเนินงานของบริษัทในอนาคต จะเปนไปอยางราบรื่น และตอเนื่องดวย บุคลากรที่มีศักยภาพสูง สวนที่ 2 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

1.4

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความเสี่ยงทางดานกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบาย

• นโยบายและกฎระเบียบ โดย กทช. สืบเนื่องจาก คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) เปนหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม เพื่อเปน หนวยงานอิสระที่มีหนาที่กํากับดูแลอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศ โดย กทช . ไดออกกฎตางๆ เกี่ยวกับ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ทั้งนี้ คาดวา กทช. จะออกนโยบายและกฎเกณฑตางๆ เพิ่มเติม ซึ่งอาจมีผลกระทบอยางมี นัยสําคัญตอธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ของบริษัท ซึ่งรวมถึงกฎเกณฑและนโยบายที่เกี่ยวของกับการจัดสรรคลื่นความถี่ วิทยุและทรัพยากรโทรคมนาคมอื่น ๆ และการสงเสริมบริการทางโทรคมนาคมบางประเภท ซึ่งไดพิจารณาวาเปนประโยชน ตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เอไอเอส จึงไมอาจคาดการณไดวา ลักษณะและขอบเขตของนโยบายและกฎระเบียบที่ กทช. จะออกในอนาคต หรื อ กทช. จะกํ า กั บ ดู แ ลการบั ง คั บ ใช น โยบายและกฎระเบี ย บที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น และที่ จ ะมี ขึ้ น ในอนาคตได อ ย า งไร โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลกระทบอันเกิดจากระบบใบอนุญาตแบบใหมหรือกฎระเบียบอื่นๆ ที่จะมีผลตอสิทธิตามสัญญารวม การงานที่ใหแก เอไอเอส ยกตัวอยาง การประกาศใชเรื่อง Number portability ซึ่งอาจจะมีในอนาคต • การจัดสรรและจัดการคลื่นความถี่วิทยุในประเทศ ความลาชาในการจัดตั้ง คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแหงชาติ (กสช .) ซึ่งเปนหนวยงาน ตางหากอีกแหงหนึ่งซึ่งมีหนาที่ควบคุมดูแลกิจการวิทยุ โทรทัศน และการกระจายเสียงอื่น ๆ ไดนําไปสูความไมแนนอน อยางมีนัยสําคัญตอการจัดสรรและจัดการคลื่นความถี่วิทยุในประเทศ ซึ่งรวมถึงธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสายของเอไอเอส เนื่องจากผูประกอบการสื่อสารโทรคมนาคมจําเปนตองมีคลื่นความถี่วิทยุในการใหบริการ 3G แต กทช. อาจไมออก ใบอนุญาตใด ๆ ใหดําเนินการโครงขาย 3G หรือในการใหบริการ 3G ในประเทศจนกวาจะมี กสช. เอไอเอส จึงไมอาจ คาดการณไดวา กทช. จะเริ่มออกใบอนุญาต 3G เมื่อใดหรือ เอไอเอส จะไดรับใบอนุญาตดังกลาวหรือไม ซึ่งอาจมี ผลกระทบตอเอไอเอส เนื่องจากสัญญารวมการงานกับทีโอทีจะสิ้นสุดลงในป 2558 • การใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมใหแก บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ในฐานะที่บริษัทเปนผูประกอบการภายใตสัญญา รวมการงานของบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) บริษัทยังคงมีสิทธิดําเนินธุรกิจตามสัญญาดังกลาว จนกระทั่งสิ้นสุดสัญญา ในป 2549 กทช. ไดประกาศหลักการและแนวทางในการกํากับกิจการโทรคมนาคมวาดวย หลักเกณฑการใชและ เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 17 พฤษภาคม 2549 ซึ่งในขอ 126 ของประกาศ กทช. ไดกําหนดใหผูประกอบการที่ใหบริการโทรคมนาคมทุกรายที่ไดรับใบอนุญาต สัมปทานหรือสัญญา ภายใตการกํากับ ดูแลของ กทช. จะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบดังกลาว ภายใตหลักเกณฑนี้บนพื้นฐานของหลักการแขงขันโดยเสรีและเปน ธรรม และใหถือวาผูนั้นมีสิทธิหนาที่และความรับผิดชอบเชนเดียวกับผูรับใบอนุญาตตามกฎหมายดวย ซึ่ง บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) มีความเห็นโตแยงวา ขอ 126 ในประกาศฯ เปนการใชอํานาจเกินขอบเขต ไมตรงตามเจตนารมณของ กฎหมายรัฐธรรมนูญป 2540 มาตรา 40 และมาตรา 335(2) พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ พศ. 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 การเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมของบริษัทสัมปทานกับ ผูประกอบการรายอื่นใด ยังไมสามารถกระทําได เนื่องจากบริษัทมิใชเปนผูที่ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม จาก กทช . และมิไดมโี ครงขายเปนของตนเอง ซึ่งการโตแยงดังกลาวนี้ อาจจะสงผลใหบริษัทเอกชนภายใตสัญญารวมการงาน ไมมีสิทธิเชื่อมตอโครงขายหรือเรียกเก็บคาเชื่อมตอโครงขาย ซึ่งอาจทําใหการใชและเชื่อมตอโครงขายของภาคเอกชนที่ เปนบริษัทสัมปทานตองหยุดชะงักหรือเลื่อนออกไป สวนที่ 2 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อยางไรก็ตาม เอไอเอส ซึ่งเปนผูประกอบกิจการโทรคมนาคม ที่ตองอยูภายใตหลักเกณฑตาม พรบ. การประกอบ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และตามเงื่อนไขที่ กทช. กําหนดบนพื้นฐานของหลักการการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม เอไอเอส จึงมีหนาที่ตองปฏิบัติตามกฎหมายโดยไดจัดสงขอเสนอการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมใหแก กทช. โดยที่ผานมา กทช. ไดใหความเห็นชอบในหลักการและขอเสนอการใชและเชื่อมตอโครงขายและอัตราคาตอบแทนการใช โครงขายโทรคมนาคมของเอไอเอสและผูประกอบการรายอื่นไปแลว เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2549 และใหเอไอเอสสามารถ เจรจาเกี่ยวกับสัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับผูประกอบการรายอื่นได ขณะนี้เอไอเอสไดรวมลงนามใน สัญญาการเชื่อมตอโครงขาย กับ บริษัท โทเทิ่ล แอคเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 บริษัท ทรูมูฟ จํากัด ในวันที่ 16 มกราคม 2550 และ สวนผูประกอบการรายอื่น เชน บริษัท ทริปเปล ที บรอด แบนด จํากัด อยูในระหวางการเจรจาทําสัญญาเชื่อมตอระหวางกัน ทั้งนี้ การประกาศใชหลักเกณฑดังกลาวจะเปนประโยชนตอผูบริโภคตลอดจนอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม โดยรวม เนื่องจากผูประกอบการแตละรายสามารถเชื่อมโครงขายไดโดยตรง โดยมีการเรียกเก็บคาเชื่อมตอระหวางกัน ตามปริมาณการใชงานระหวางโครงขายของแตละราย คาเชื่อมตอโครงขายจะสะทอนตนทุนที่แทจริง ที่เกิดจากปริมาณ การใชงานระหวางโครงขายของแตละผูประกอบการ สงผลใหผูประกอบการทุกรายตองแขงขันพัฒนาคุณภาพเครือขาย และการใหบริการ เพื่อประโยชนสูงสุดตอผูบริโภค และเนื่องจาก บริษัทมีสัดสวนของผูที่ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ประเทศในอัตราสูงสุด จํานวนลูกคาทั้งสิ้นประมาณ 19 ลานราย ดังนั้น บริษัทมีโอกาสที่จะไดรับรายไดคาตอบแทนการ ใชโครงขายจากผูประกอบการรายอื่นมากกวาหลักเกณฑในการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมนี้ จะเปนจุดเริ่มตน ของการทําตลาดการแขงขันของผูประกอบการทุกรายใหเปนไปอยางเสรีและเปนธรรมภายใตกรอบกติกาเดียวกัน ซึ่งจะ เปนประโยชนตอเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม • ขอกฎหมายเกี่ยวกับสัญญารวมการงานที่ทําขึ้นระหวางภาคเอกชนและภาครัฐ เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2550 คณะรัฐมนตรี ไดมีมติอนุมัติในเรื่องตางๆ ซึ่งรวมถึงการใหกฤษฎีกาพิจารณาประเด็น ขอกฎหมายเกี่ยวกับสัญญารวมการงานที่ทําขึ้นระหวางภาคเอกชนและภาครัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใหพิจารณาวาคูสัญญา ไดปฏิบัติตามกระบวนการที่ระบุไวใน พรบ. การใหเอกชนเขารวมงานในกิจการของรัฐหรือไม และอยางไร ความไมแ นนอนที่เกิดขึ้นในระหวางการปฏิรูป กฎระเบียบที่เกี่ยวกับธุร กิจ โทรคมนาคมที่สํา คัญในครั้งนี้ข อง ประเทศ อาจสงผลกระทบตอ เอไอเอส ในดานตาง ๆ ซึ่งรวมถึงดานการดําเนินกลยุทธทางธุรกิจของบริษัท เพื่อปรับตัวให เทาทันสภาพการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดไดอยางประสบผลสําเร็จ และสรางความพึงพอใจใหกับลูกคามากที่สุด 1.5

ความเสี่ยงทางดานเทคโนโลยี อุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคมไรสายไดมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอยางรวดเร็วและมีนัยสําคัญ เอไอเอสซึ่ง เปนผูประกอบธุรกิจโทรคมนาคมรายหนึ่ง อาจประสบภาวะการแขงขันดานเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมและจะยังคง ประสบกับสิ่งดังกลาวตอไปในอนาคตจากเทคโนโลยีอื่นๆ เพิ่มเติม ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันซึ่งยังไมเปนที่ แพรหลายในประเทศ เชน 3G และ WiMax เทคโนโลยีที่อยูระหวางการพัฒนาในปจจุบัน และเทคโนโลยีในอนาคตซึ่งยังไม มีการประดิษฐคิดคนขึ้น ทําใหเอไอเอส มีความเสี่ยงในเรื่องของการปรับปรุง พัฒนาเทคโนโลยีใหทันกับเทคโนโลยีใหมๆที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความซับซอนของเทคโนโลยีมีมากขึ้น ตลอดจนความตองการของลูกคาที่ตองการผลิตภัณฑและ บริการตางๆ หลากหลาย เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แตทั้งนี้ เอไอเอสไดคํานึงถึงความเสี่ยงที่จะกระทบกับลูกคา 19 ลานราย เปนสําคัญ เอไอเอสไดมีการเตรียมความพรอมตลอดเวลา โดยเอไอเอสไดพยายามหาเทคโนโลยี ใหมๆ เชน ใชเทคนิค พิเศษเพื่อขยายชองสัญญาณเพื่อใหโทรฯติดงายในชวงเวลาที่มีการใชหนาแนน ติดตั้งเครือขายที่ออกแบบมาเปนพิเศษ สําหรับใชในบริเวณลานจอดรถและอาคารตาง ๆ มีระบบตรวจสอบปญหาของเครือขายลวงหนา ระบบเครือขายสํารอง ฉุกเฉิน รวมถึง การตรวจเช็คสัญญาณดวยระบบ Automatic Network Testing System (ANTS) ซึ่งจะทําหนาที่ตรวจสอบ สัญญาณเครือขายทั่วประเทศ 24 ชั่วโมง รวมทั้งสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงตางๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได สวนที่ 2 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ พัฒนาการที่สําคัญกอนป 2549

ป 2529

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเปนบริษัทจํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกในการดําเนินธุรกิจใหเชาและใหบริการคอมพิวเตอร

ป 2532

บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) ไดเขามาเปนผูถ ือหุนของบริษัทในสัดสวนรอยละ 60 ของทุน จดทะเบียน และไดเปลี่ยนวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจเปนการใหบริการโทรคมนาคม

ป 2542

เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึง่ เปนบริษัทใน กลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร ซึ่งดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสื่อสารและ โทรคมนาคม ไดเขาถือหุนในบริษัท โดย SHIN และ SingTel เปนผูถือหุนในบริษัททั้งสิ้นรอยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2542 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) (เดิมชื่อ บริษัท ชินวัตร เพจจิ้ง จํากัด) ซึ่งดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัว จากเดิมรอยละ 60.00 เปนรอยละ 99.99 แตจากการที่บริการโทรศัพทติดตามตัวไดรับความนิยมลดลงเปนอยางมาก ประกอบกับ การปรับตัวลดลงของราคาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่เปนสิ่งที่สามารถซื้อหาไดงาย ขึ้น การดําเนินงานของ APG จึงไดยุติลง พรอมกับมีการคืนสัญญารวมการงานใหแก ทีโอที เมื่อเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2545 ตอมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ไดถูกขายใหแกบริษัทอื่น ดังนั้น APG จึง ไมไดเปนบริษัทในเครือของบริษัทอีกตอไป ในเดือนตุลาคม 2542 บริษัทเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) (เดิมชื่อบริษัท ชินวัตร ดาตาคอม จํากัด) ในสัดสวนรอยละ 67.95 และบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (DNS) ในสัดสวนรอยละ 49.00 ซึ่งทั้งสองบริษัทดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท

ป 2544

ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ในสัดสวนรอยละ 99.99 หรือมูลคาการลงทุนรวม 540 ลานบาท จาก SHIN และ Singtel บริษัท SDT ในขณะนั้น เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนผู ประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 และเปนผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริษัทไดใหการสนับสนุนทางการเงินแก SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ลานบาท เพื่อใชชําระหนี้ใหแก SHIN และ SingTel ทั้งนี้ บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการ เฉพาะเจาะจงใหแก SHIN จํานวน 17 ลานหุน และ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน คิดเปนมูลคารวมทั้งสิ้น 10,024 ลานบาท เพื่อเปนเงินทุนสวนหนึ่งในการลงทุนดังกลาว ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดมีการลงทุนในกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ของ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 8,556 ลานบาท โดยบริษัทไดเขาไปลงทุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ในบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ซึ่ง SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน DPC สวนที่ 2 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดสวนรอยละ 98.17 หรือมูลคาการลงทุนรวม 20,300 ลานบาท จาก บริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) เพื่อใชหนี้คืนใหแกบริษัทและลดภาระภาษีดานรายไดคาดอกเบี้ย โดยได เขาไปซื้อหุน DPC เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึ่งจะทําใหบริษัทเปนผูถือหุนใน DPC โดยตรง ป 2545

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2545 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ไดอนุมัติใหบริษัทลงทุนเพิ่มใน DPC จํานวน 300 ลานหุน เปนจํานวนเงิน 3,000 ลานบาท ซึ่งเปนผลทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน DPC เปนรอยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 บริษัทปรับโครงสรางธุรกิจการนําเขาและการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (AWM) โดยโอนการดําเนินงานของ AWM รวมเขากับการ ดําเนินงานของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่งของบริษัท เพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมใหดียิ่งขึ้น (AWM จึงหยุดดําเนินกิจการชั่วคราว)

ป 2546

บริษัทไดรับการปรับอันดับความนาเชื่อถือของบริษัทและหุนกูของบริษัท โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด จาก ระดับ AA- เปน AA

ป 2547

บริษัท ฟทช เรทติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด (Fitch) ประกาศใหเอไอเอสไดรับอันดับเครดิตภายในประเทศระยะ ยาวที่ระดับ AA (tha) แนวโนมมีเสถียรภาพ และระยะสั้นที่ระดับ F1+(tha) สะทอนถึงฐานะการเงินที่ แข็งแกรง และความเปนผูนําทางดานตลาด เอไอเอสไดรับการเพิ่มอันดับความนาเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนดดารตแอนดพัวรส หรือ เอส แอนด พี (S&P) จากเดิมอยูที่ระดับ BBB ใหเปนระดับ BBB+ ซึ่งถือเปนอันดับความนาเชื่อถือขององคกรเอกชน ที่เทียบเทาอันดับความนาเชื่อถือของประเทศไทย และสะทอนใหเห็นถึงสถานภาพอันแข็งแกรงของเอไอเอส ในการเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในประเทศไทย

ป 2548

ในเดือนกรกฎาคม 2548 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรวมกับวารสารการเงินธนาคารมอบรางวัลใหแก เอไอเอส 3 รางวัล คือ 1. รางวัลบริษัทที่มีการประกอบการธุรกิจดีเดน (Best Performance) หมวด เทคโนโลยี 2. รางวัลบริษัทที่มีความโดดเดนดานนักลงทุนสัมพันธ (Best Investor) และ 3. รางวัลบริษัทที่ เปดเผยขอมูลผลประกอบการดีเดนตามหลักธรรมาภิบาล (Best Corporate Governance Report Awards) ในงาน SET AWARDS 2005 ในเดือนสิงหาคม 2548 เอไอเอสเปดตัวบริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางเอไอเอส และ บริษัท เอ็นทีที โดโคโม อินคอรปอเรชั่น เพื่อดําเนินธุรกิจการใหบริการธุรกรรมการเงินบน โทรศัพทเคลื่อนที่ ในเดือนกันยายน 2548 ที่ประชุมผูถือหุนกูของเอไอเอส จํานวน 6 ชุดคือ หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 1/2544 ชนิด ทยอยคืนเงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2549 (AIS063A) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 3/2544 ครบกําหนดไถถอน ป 2549 (AIS06NA) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093A) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093B) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 3/2545 ครบกําหนดไถถอนป 2550 (AIS073A) และหุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครบ กําหนดไถถอนป 2550 (AIS07OA) ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทสามารถจายเงินปนผลในแตละปใหแกผูถือหุน ของบริษัทเปนจํานวนเกินกวารอยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปนั้นๆได ภายใตเงื่อนไขคือบริษัทจะตองมี อันดับความนาเชื่อถือไมต่ํากวา AA และไดรับภายในระยะเวลาไมเกินกวา 45 วันกอนหนาวันที่ สวนที่ 2 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติการจายเงินปนผล ในเดือนตุลาคม 2548 เอไอเอสไดรับการปรับเพิ่มอันดับความนาเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนดดารต แอนดพัวร หรือ เอส แอนด พี (S&P) จากเดิมที่อยูระดับ BBB+ เปน A- สะทอนใหเห็นถึงสถานภาพอัน แข็งแกรงของเอไอเอสในการเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในประเทศไทย เอไอเอสรวมกับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด(มหาชน) ในการรวมใบแจงคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งในประเทศ ระหวางประเทศ และบริการขามแดนอัตโนมัติไวในใบแจงคาใชบริการใบเดียวกัน เพื่ออํานวย ความสะดวกใหแกลูกคามากขึ้น พัฒนาการที่สําคัญในป 2549 มกราคม

เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 กลุมผูถือหุนรายใหญของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) ได ขายหุน SHIN ใหแกบริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด (“Cedar”) และบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด (“Aspen”) สงผลให Cedar และ Aspen ตองเขาถือหลักทรัพยของบริษัทเพื่อครอบงํากิจการโดยสมัครใจ (Voluntary Tender Offer) ในราคา 72.31 บาทตอหุน นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของ SHIN ครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 มีมติจะไมขายหุนสามัญของบริษัทที่ SHIN ถืออยูทั้งจํานวน เนื่องจาก คณะกรรมการบริษัทของ SHIN พิจารณาแลวมีความเห็นวาธุรกิจของบริษัทเปนธุรกิจที่กอใหเกิดรายไดหลัก ของบริษัทและประกอบกับการที่บริษัทมีผลประกอบการที่ดีมาโดยตลอด

กรกฎาคม

เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรวมกับวารสารการเงินและการธนาคารมอบ รางวัลใหแกบริษัท คือ รางวัล Best Performance สําหรับบริษัทกลุมเทคโนโลยีที่มีฐานะการเงินและผลการ ดําเนินงานดีเดนในป 2548 และรางวัล Distinction in Maintaining Excellent Corporate Governance Report ที่ยกยองและเชิดชูบริษัทที่สามารถรักษามาตรฐานดานการรายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ ดีเปนปที่สองติดตอกันในงาน SET Awards 2006

สิงหาคม

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) ครั้งที่ 7/2549 เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2549 อนุมัติใหลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด ซึ่งเปน บริษัทยอยของบริษัท ถือหุนอยูรอยละ 99.93 ของทุนจดทะเบียน โดยการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทยอย ดังกลาวจาก 1 ลานบาท เปน 200 ลานบาท และเพิ่มทุนเรียกชําระแลวจาก 1 ลานบาท เปน 100 ลานบาท โดยเปนการเรียกทุนชําระแลวอีกเพียง 99 ลานบาท

กันยายน

ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2549 ของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) เมื่อ วันที่ 8 สิงหาคม 2549 ไดมีมติอนุมัติแผนการจัดหาแหลงเงินกูของบริษัท เพื่อใชในการลงทุนขยายระบบ เครือขาย ชําระคืนหนี้หุนกูที่ครบกําหนดไถถอน และใชเปนเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท โดยการกูยืมเงิน และ/หรือ การออกและเสนอขายหุนกู รวมกันในวงเงินไมเกิน 25,000 ลานบาท หรือเงินสกุลอื่นที่มีจํานวน เทียบเทา เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2549 บริษัท จึงดําเนินการออกหุนกูประเภทไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผูแทนผูถือหุนกู รวม 3 ชุด จํานวนเงิน 11,427.10 ลานบาท มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท

พฤศจิกายน เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใชอัตราเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge) รวมกับ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่น (ดีแทค) บริษัทไดจัดหาเงินกู Syndicated Loan จากธนาคาร 5 แหง มูลคารวมประมาณ 9,485.31 ลานบาท เพื่อใช เปนเงินลงทุนขยายเครือขายในการเพิ่มประสิทธิภาพสัญญาณใหบริการแกลูกคา สวนที่ 2 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

2.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัทเปนหนึ่งในกลุมของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ซึ่งประกอบธุรกิจการเขาลงทุนและมี สวนรวมในการบริหารบริษัทที่ดําเนินธุรกิจ ไดแก ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ธุรกิจดาวเทียม และธุรกิจ ตางประเทศ ธุรกิจสื่อและโฆษณา ธุรกิจสายการบินราคาประหยัด และธุรกิจสินเชื่อผูบริโภค ดังแผนผังโครงสราง การถือหุนของกลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ดังนี้

สวนที่ 2 หนา 10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 หนา 12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) เปนหนึ่งในกลุมของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) ภายใตธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย บริษัทมีผูถือหุนรายใหญคือ บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น และ SingTel Strategic Investment PTE Ltd. ในสัดสวนผูถือหุน รอยละ 42.77 และ 21.40 ตามลําดับ โดยสัดสวนที่เหลือถือโดยบุคคล ทั่วไป และ นักลงทุนสถาบัน เอไอเอสมีมูลคาตามราคาตลาดอยูที่ประมาณ 270 พันลานบาท (7.5 พันลานดอลลารสหรัฐ) ซึ่งถือเปนบริษัทจดทะเบียนที่ใหญที่สุดหนึ่งในหาอันดับแรกของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) เอไอเอสไดกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2532 เพื่อประกอบกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เปนรายแรกของประเทศไทย ปจจุบัน บริษัทเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในประเทศ โดยมีฐานลูกคามากกวา 19 ลานคน บริษัทไดขยายการ ลงทุนอยางตอเนื่องผานบริษัทในเครือซึ่งไดครอบคลุมการใหบริการสื่อสารไรสายอยางกวางขวาง ทั้งนี้รวมถึงเปนการจัด จําหนายซิมการดและเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการสื่อสารขอมูลผานเครือขายสายโทรศัพท บริการบรอดแบรนดทีวี บริการชําระสินคาและบริการผานมือถือแทนการใชเงินสดหรือบัตรเครดิต บริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) และ บริการโทรศัพทระหวางประเทศ ปจจุบันเอไอเอสไดลงทุนกับบริษัทในเครือทั้งหมด 11 บริษัท และมีพนักงานในเครือประมาณ 8,000 คน (รวมพนักงาน ชั่วคราว) ณ สิ้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 รายละเอียดของบริษัทในเครือมีดังตอไปนี้ บริษัท บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี) บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (ดีเอ็นเอส) บริษัท ดาตาลายไทย จํากัด (ดีแอลที) บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด (เอเอ็มซี) บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (เอไอเอ็น)

ลักษณะการประกอบกิจการ

% ถือหุน

ผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ อุปกรณ โทรคมนาคม ใหบริการเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ และ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 MHz ผูใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพทและ อินเตอรเน็ตความเร็วสูง ผูใหบริการศูนยใหขาวสารทางโทรศัพท

98.55%

ผูใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท

49.00%

ผูใหบริการอินเตอรเน็ต ผูใหบริการชําระคาสินคาและบริการผาน โทรศัพทเคลื่อนที่ ผูจัดจําหนายบัตรเงินสด

65.00% 69.99% 99.99%

ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ

99.99%

ปจจุบันยังไมดําเนินการ

99.93%

ปจจุบันยังไมดําเนินการ

99.93%

ปจจุบันไมไดดําเนินธุรกิจ

99.99%

51.00% 99.99%

(เปลี่ยนชื่อเปน บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550)

บริษัท เอไอเอส ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวซีเอ็น) บริษัท เอไอเอส ไวร เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด (เอ็มเอฟเอ)

สวนที่ 2 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) เอไอเอสไดเริ่มตนประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลารในระบบอนาลอก (Analog) NMT ที่ยานความถี่ 900 MHz ตั้งแตป พ.ศ. 2533 ซึ่งตอมาในป พ.ศ. 2536 ไดเปลี่ยนแปลงไปใหบริการในระบบ GSM ปจจุบันเอไอเอสใหบริการในระบบดิจิตอล (Digital) GSM ที่ยานความถี่ 900 MHz โดยใชเทคโนโลยี GPRS และ EDGE เขามาชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการสงขอมูลใหรวดเร็วขึ้น บริษัทประกอบธุรกิจโดยการเขารวมทําสัญญารวมการงานแบบบี ทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เปนระยะเวลา 25 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2533 ถึง ป พ.ศ. 2558 ภายใตสัญญารวมการงานแบบบีทีโอ เอไอเอสมีหนาที่เปนผูลงทุนในการสรางเครือขายเซลลูลารและรับผิดชอบใน การหาเงินลงทุนรวมทั้งคาใชจายตางๆ ทั้งหมด และโอนกรรมสิทธิ์ในเครือขายใหแกผูใหสัญญา (ทีโอที) โดยบริษัทมีหนาที่ และความรับผิดชอบและหาแหลงเงินทุนสําหรับงานวิศวกรเครือขาย วางแผนงานดานเครือขาย จัดหาอุปกรณพรอมทั้ง ติดตั้ง บํารุงดูแลรักษาเครือขาย ตลอดจนดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ การตลาดและการใหบริการ ทั้งนี้ บริษัทจะตองจาย ผลประโยชนตอบแทนในรูปแบบของสวนแบงรายไดที่ไดรับจากการใหบริการใหแกทีโอที โดยรายไดจากการใหบริการแบบ ชําระคาบริการหลังการใช (Postpaid) บริษัทไดจัดแบงสวนแบงรายไดใหแกทีโอทีและสงภาษีสรรพสามิต รวมเปนรอยละ 30 ของรายไดไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สวนรายไดจากบริการแบบชําระคาใชบริการลวงหนา (Prepaid) บริษัทไดจัดแบงสวน แบงรายไดใหแกทีโอทีและสงภาษีสรรพสามิต รวมเปนรอยละ 20 ของรายไดรวมภาษีมูลคาเพิ่ม ทั้งนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2550 เห็นชอบใหยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เมี่อวันที่ 28 มกราคม 2546 ที่กําหนดใหจัดเก็บภาษีสรรพสามิตและนําคาภาษีไปหักออกจากสวนแบงรายไดที่ตองนําสงใหแกทีโอที ตอมาวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 กระทรวงการคลังไดออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 79) โดยใหลดอัตราการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตสําหรับกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่จากเดิมซึ่งจัดเก็บในอัตรารอยละ 10 ใหเหลือใน อัตรารอยละศูนย และใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 27 กุมภาพันธ 2550 ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกการนําคา ภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากสวนแบงรายไดตามสัญญาสัมปทาน และกระทรวงการคลังไดลดอัตราการจัดเก็บภาษี สรรพสามิตใหเหลือในอัตรารอยละศูนย มีผลทําให เอไอเอส จึงมีหนาที่ตองนําสงสวนแบงรายไดใหแกทีโอทีเต็มจํานวนตาม อัตรารอยละเดิมที่กําหนดไวในสัญญา บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด (ดีพีซี) ดีพีซีประกอบธุรกิจใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ยานความถี่ 1800 MHz ภายใต สัญญารวมการงานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) ตั้งแตป พ.ศ. 2540 เปนระยะเวลา 16 ป สิ้นสุดป พ.ศ. 2556 โดยดีพีซีตองจายผลประโยชนตอบแทนเปนรอยละของรายได จากการใหบริการใหแก กสท. ซึ่งปจจุบันบริษัทไดจัดแบงสวนแบงรายไดใหแก กสท. และสงภาษีสรรพสามิต รวมรอยละ 25 ของรายได นอกจากนี้ ดีพีซี มีสัญญาการใชบริการเครือขายรวม (Network Roaming) ระหวาง เอไอเอส กับ ดีพีซี ซึ่งจะทํา ใหผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 สามารถใชงานไดทั่วประเทศเหมือนกับผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ ดิจิตอล GSM advance นอกจากนี้ดีพีซียังเปนผูจัดจําหนายซิมการดและเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ สําหรับเอไอเอสดวย บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) เอดีซีประกอบธุรกิจใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท โดยเปนบริษัทรวมลงทุนระหวาง เอไอเอส และ ทีโอที ในสัดสวนการถือหุนรอยละ 51 และ 45.34 ตามลําดับ บริษัทดําเนินธุรกิจใหบริการการสื่อสารขอมูลผานเครือขาย สายโทรศัพท (Online Data Communication) โดยใหบริการหลากหลายในดานการเชื่อมขอมูลระบบ Wide Area Network (WAN) ดวยเทคโนโลยี Gigabit Ethernet, ATM, Frame Relay และ Legacy Protocols อื่นๆ โดยมีพื้นที่ใหบริการและ ระบบเครือขาย (Backbone Network) ครอบคลุมทั่วประเทศ สวนที่ 2 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นอกจากนี้ ในปพ.ศ. 2548 เอดีซีไดเปดใหบริการใหมภายใต ชื่อ “บัดดี้ บรอดแบรนด (Buddy Broadband)” ซึ่ง รวมบริการดานบรอดแบนดทีวี อินเตอรเน็ตความเร็วสูง และโทรศัพทผานทางเทคโนโลยี ADSL บริษัท แอดวานซ คอนแท็ค เซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี) เอซีซี ดําเนินธุรกิจใหบริการขอมูลทางโทรศัพท (Call Center) ทั้งในดานการตอบคําถาม การใหคําแนะนํา และ คําปรึกษา แกลูกคาของ เอไอเอส และ ดีพีซี รวมถึงบริษัทอื่นๆ ในเครือที่ตองการใชบริการขอมูลทางโทรศัพท บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) เอเอ็มพี เปนบริษัทรวมลงทุนระหวาง เอไอเอส ในสัดสวนผูถือหุนรอยละ 69.99 และ NTT DoCoMo ในสัดสวนผู ถือหุนรอยละ 30 โดยบริษัทไดรับอนุญาตจาก ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ใหประกอบธุรกิจใหบริการชําระสินคาและ บริการผานมือถือแทนการใชเงินสดหรือ บัตรเครดิต ภายใตชื่อ “เอมเปย (mPAY)” ซึ่งเพิ่มความสะดวกและปลอดภัย แก ลูกคาเอไอเอส ในการทําธุรกรรมทางการเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยลูกคาสามารถใชเอ็มเปย ซื้อสินคา online ชําระ คาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เติมเงินระบบ วัน-ทู-คอล! และชําระคาสินคาและบริการตางๆ บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด (เอเอ็มซี) เอเอ็มซี ไดรับอนุญาตจาก ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ใหจําหนาย บัตรแทนเงินสด (Cash Card) โดย จุดมุงหมายของบัตรแทนเงินสดคือ เปนสื่อกลางระหวางธุรกิจตางๆ ในกลุม ชินคอรป ใหการชําระคาบริการผานบัตรใบ เดียว โดยลูกคาสามารถใชบัตรแทนเงินสดนี้ชําระคาบริการตางๆ เชน บัตรเติมเงิน วัน-ทู-คอล! คาบริการ CS Loxinfo Internet บัดดี้ บรอดแบนด และ Shinee เกมสออนไลน บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (เอไอเอ็น) เอไอเอ็นเปนบริษัทเอกชนแหงแรกในประเทศไทย ที่ไดรับอนุญาตใหดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทระหวาง ประเทศ โดยบริษัทไดจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชยในป พ.ศ. 2548 และ ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่ 3 แบบมีโครงขายเปนของตัวเองเพื่อประกอบกิจการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ จากคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กทช) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ทั้งนี้ ใบอนุญาตมีอายุ 20 ป สิ้นสุดในป พ.ศ. 2569 ภายใตระเบียบใบอนุญาตที่ไดรับจากกทช. เอไอเอ็นมีหนาที่ตองจายคาธรรมเนียมใหกับกทช.ทั้งสิ้นรอยละ 7 จาก รายไดจากการใหบริการ ทั้งนี้แบงเปนคาธรรมเนียมใบอนุญาตรายป รอยละ 3 และ คาบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดย ทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (Universal Service Obligation – USO) รอยละ 4 บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (ดีเอ็นเอส) ดีเอ็นเอส ถือหุนโดยเอไอเอส ในสัดสวนรอยละ 49 และ อีกรอยละ 51 ถือโดยบริษัท บางกอกเทเลคอมเอ็นจิ เนียริ่ง จํากัด แตเดิมดีเอ็นเอสใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพททั่วประเทศ (Online Data Communication) โดยเนน การขายและใหเชาอุปกรณแกลูกคาเฉพาะในเขตภูมิภาคเนื่องจากสัมปทานเดิมของ เอดีซี สามารถใหบริการไดเฉพาะใน เขตกรุงเทพมหานครเทานั้น ตอมาในป พ.ศ. 2540 ทีโอทีไดอนุญาตให ดีเอ็นเอส เพิ่มพื้นที่บริการไดครอบคลุมทั่วประเทศ ปจจุบัน ดีเอ็นเอส จึงใหบริการเฉพาะลูกคาเดิมและจําหนายอุปกรณเพิ่มเติมเทานั้น

สวนที่ 2 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท ดาตาลายไทย จํากัด (ดีแอลที) ดีแอลที ถือหุนโดยเอไอเอส ในสัดสวนรอยละ 65 และอีกรอยละ 32 ถือโดยบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) ดําเนินธุรกิจเปนผูใหบริการเครือขายอินเตอรเน็ตในเชิงพาณิชย (ISP) โดยไดรับสิทธิในการใหบริการจาก กสท. ในป พ.ศ. 2540 เปนระยะเวลา 10 ป สิ้นสุดป พ.ศ. 2550 ทั้งนี้บริษัทไมไดมีจุดมุงหมายจะตอใบอนุญาตกับ กสท ปจจุบันดีแอลทีกําลังอยูในกระบวนการปดการดําเนินงาน บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) เอ็มเอฟเอ เดิมชื่อบริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด แตเดิมดําเนินธุรกิจนําเขาและเปนตัวแทนจัด จําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ปจจุบันไดหยุดดําเนินกิจการแลวตั้งแตเดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 และธุรกิจดังกลาวไดให ดีพีซี เปนผูดําเนินการ บริษัท เอไอเอส ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวซีเอ็น) บริษัท เอไอเอส ไวร เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) เอดับบลิวซีเอ็น และ เอดับบลิวเอ็น เปนบริษัทที่กอตั้งใหมในป พ.ศ. 2548 โดยแตละบริษัทมีทุนจดทะเบียนชําระ แลว 1 ลานบาท จุดมุงหมายในการกอตั้งบริษัททั้งสองคือเพี่อใชขออนุญาตและประกอบธุรกิจ 3G และ โทรศัพทพื้นฐาน (fixed-line) ปจจุบันบริษัททั้งสองยังไมไดเริ่มการดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

2.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางรายไดที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑหรือบริการของบริษัทและบริษัทยอยใหบุคคลภายนอกในระยะ 3 ปที่ผานมา ผลิตภัณฑ/บริการ

ดําเนินการโดย

รอยละการถือหุน ของบริษัท ณ 31 ธ.ค. 49

ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ การขายและใหเชาโทรศัพทเคลื่อนที่ รวม ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท และอินเตอรเน็ต ความเร็วสูง

ป 2547 ลานบาท

ป 2548 รอยละ

ลานบาท

ป 2549 รอยละ

ลานบาท

รอยละ

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บจ. ดิจิตอล โฟน บจ. ดิจิตอล โฟน

98.55 98.55

81,221.17 2,598.77 12,124.26 95,944.20

84.22 2.69 12.57 99.48

78,101.22 1,785.28 12,067.88 91,954.38

84.42 1.93 13.04 99.39

75,223.00 98.36 15,362.54 90,683.90

82.27 0.11 16.80 99.18

บจ.แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส บจ. ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส บจ. ดาตา ลายไทย

51.00 49.00 65.00

455.85 30.95 0.85 487.65

0.48 0.03 0.51

539.61 16.18 1.76 557.55

0.58 0.02 0.60

728.81 7.36 1.46 737.63

0.80 0.01 0.81

บจ. แอดวานซ คอนแทค เซ็นเตอร

99.99

5.64 5.64 96,437.49

0.01 0.01 100.00

4.72 4.72 92,516.65

0.01 0.01 100.00

6.63 6.63 91,428.16

0.01 0.01 100.00

รวม ธุรกิจบริการใหขอมูลทางโทรศัพท รวม รวม

สวนที่ 2 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

2.4

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปาหมายการดําเนินธุรกิจใน 3-5 ป เอไอเอสมีความมุงมั่นในการพัฒนาศักยภาพที่จะเปนผูใหบริการโทรคมนาคมที่ครอบคลุมบริการสื่อสารไรสายอยาง เต็มรูปแบบ (Integrated Wireless Solutions) พรอมตอบสนองความตองการที่เปลี่ยนแปลงของลูกคาอยางตอเนื่อง บริษัทมีวิสัยทัศนในการใหบริการสื่อสารเคลื่อนที่ที่มีความแตกตางและเปนบริการที่เปนสวนหนึ่งในการดําเนินชีวิต ของลูกคาอยางแทจริง ตามแนวคิดในการเปน “Total Solutions for Better life” หรือการบริการที่ครอบคลุมและ ตอบสนองคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น เอไอเอสมุงเนนในการดําเนินงานเพื่อใหลูกคาไดรับบริการที่ตรงตอความตองการ และชวยเสริมใหการดําเนินชีวิตในรูปแบบตางๆ มีความสะดวกสบาย คลองตัว และงายมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทมี ความมุงมั่นในการตอบแทนผลประโยชนสูงสุดใหแกผูมีสวนไดเสียอื่นๆ กับบริษัทดวย รวมถึง ผูถือหุน พันธมิตร ทางธุรกิจ ผูจัดจําหนาย และตอสังคมไทยโดยรวม ในปจจุบัน เอไอเอสมีลูกคากวา 19 ลานรายจากอัตราผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ทั่วประเทศไทย ซึ่งคิดเปนรอยละ 60 ของจํานวนประชากร โดยในระยะยาวบริษัทมุงหวังที่จะเปนผูใหบริการโทรคมนาคมอยางครบวงจร (Integrated telecom operator) นอกเหนือไปจากการใช synergy ในกลุมบริษัท ชินคอรป ในการสงเสริมการดําเนินงานแลว บริษัทไดมีการลงทุนในหลากหลายธุรกิจ ซึ่งครอบคลุมถึง การใหบริการสื่อสารไรสาย (Wireless Network) บริการ ผานระบบสายโทรศัพทพื้นฐาน (Wire Network) และ บริการโทรศัพทระหวางประเทศ โดยบริการสื่อสารไรสาย (Wireless Network) นั้นหมายรวมถึง การใหบริการสื่อสารทั้งทางเสียงและทางขอมูล บริการชําระคาสินคาและ บริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่ และบริการเสริมในรูปแบบตางๆ (Valued-added service) ในสวนบริการผานระบบ สายโทรศัพทพื้นฐานนั้นรวมถึงการใหบริการขอมูลสื่อสารผานสายโทรศัพท (on-line data communication) บริการ อินเตอรเน็ตความเร็วสูง และบริการทีวีบรอดแบนด ทั้งนี้บริษัทยังไดมีการลงทุนในธุรกิจใหม คือการใหบริการ โทรศัพทระหวางประเทศ ซึ่งถือเปนทางเลือกสําหรับลูกคาใหสามารถใชบริการโทรติดตอระหวางประเทศไดในราคา ที่เหมาะสม ในอีก 3-5 ปขางหนา เอไอเอสคาดวาตลาดการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังมีศักยภาพในการเติบโตสูงขึ้น เกิดจาก การขยายตัวของจํานวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ทั่วประเทศที่สูงขึ้น รวมถึงการที่ผูบริโภคมีความตองการบริการใน ดานการสื่อสารในการดําเนินชีวิตที่มากขึ้นและมีความซับซอนยิ่งขึ้น ในการพัฒนาตามจุดมุงหมายที่จะเปน “Total Solutions for Better Life” บริษัทมีแนวกลยุทธในการดําเนินธุรกิจเพื่อพัฒนาการเติบโตในอนาคตโดยมองถึง 4 ปจจัย ดังนี้

การขยายฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทมองเห็นถึงศักยภาพในการเติบโตของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยในระยะยาว และคาดวา อัตราผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ทั่วประเทศไทยจะสามารถเติบโตไดถึงรอยละ 80 ของจํานวนประชากร เนื่องจาก ปจจุบันผูใ ชบริการจํานวนมากยังอยูในเขตตัวเมืองและจังหวัดใหญๆ เปนหลัก เมื่อเทียบกับอัตราผูใ ชบริการใน ตลาดตางจังหวัดและในพื้นที่หางไกลซึ่งยังคงต่ํากวา บริษัทจึงมีแนวกลยุทธที่จะพัฒนาการเติบโตในพื้นที่ที่ยังคง มีอัตราผูใ ชบริการคอนขางต่ํา เชน ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีอัตราผูใ ชโทรศัพทเคลื่อนที่ต่ํา กวา 40% โดยมุง เนนการตลาดที่เขาถึงความตองการของผูใชบริการในแตละพืน้ ที่ใหมากขึ้น

การเติบโตของผูใชบริการและรายไดจากบริการเสริม บริการเสริมในรูปแบบตางๆ ที่นอกเหนือจากบริการสื่อสารดานเสียง ถือเปนสวนสําคัญสําหรับการใชบริการ สื่อสารไรสายทั้งในปจจุบันและอนาคต ปจจุบันรายไดจากบริการเสริมคิดเปนสัดสวนของรายไดจากการ สวนที่ 2 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหบริการโดยรวมแลวแมวาจะยังนอยกวาหนึ่งในหา แตมีอัตราการเติบโตตอปสูงถึงรอยละ 20-30 การที่บริษัท มุงเนนการพัฒนาบริการเสริมในรูปแบบใหมๆ อยูตลอดเวลา อีกทั้งการรวมทํางานอยางใกลชิดกับผูใหบริการ ดานคอนเทนต (Content provider) จะชวยใหผูใชบริการมีทางเลือกที่หลากหลายในการสื่อสาร และสงผลใหมี การใชบริการเสริมเพิ่มสูงขึ้น และชวยกระตุนใหเกิดการทดลองใชอีกดวย นอกจากนี้ บริษัทมีจุดมุงหมายที่จะ ขยายการลงทุนอยางตอเนื่องในเทคโนโลยี EDGE เพื่อใหครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งจะทําใหผูใชบริการ สามารถเขาถึงบริการเสริมไดรวดเร็วขึ้น และ สงเสริมมีคุณภาพการใหบริการที่ดีขึ้นอีกดวย

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 (3G) บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G จะเปนบริการที่ชวยสงเสริมใหการสื่อสารทั้งทางเสียงและขอมูลใหมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพสูงขึ้น รวมถึงมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ปจจุบันแมวาจํานวนผูใชบริการสื่อสารดานขอมูลยังคงมี ไมมากนัก แตการพัฒนาบริการเสริมทางขอมูลอยางตอเนื่อง และการปรับปรุงวิธีการใชงานดานขอมูลให คลองตัวและงายมากขึ้น รวมถึงการเติบโตของจํานวนผูใชบริการอยางตอเนื่อง ทําใหบริการดานขอมูลมีอัตรา การเติบโตเพิ่มสูงขึ้น เทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G เปนเทคโนโลยีที่ชวยใหเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ สามารถรับสงบริการดานขอมูลไดรวดเร็วยิ่งขึ้น เชน บริการมัลติมีเดีย อีเมล อินเตอรเน็ต ดาวนโหลดเพลง และวีดีโอ ซึ่งลวนแตเปนบริการที่ตองอาศัยศักยภาพในการรองรับของเครือขายที่สูงขึ้นเพื่อใหลูกคาสามารถใช บริการเหลานี้ไดอยางรวดเร็ว บริษัทเห็นวาการพัฒนาเทคโนโลยีไปสูการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 ในอนาคตจะชวยใหบริษัท สามารถสนองตอบตอความตองการที่มากขึ้นและซับซอนขึ้นของผูบริโภคได

บริการที่ครอบคลุมและการหลอมรวมของบริการ (Service convergence) ในปจจุบันการดําเนินธุรกิจและการใชชีวิตประจําวันของบุคคล สงผลใหความตองการตอบริการทางดาน โทรคมนาคมตองตอบสนองตอความสะดวกสบายสูงขึ้น และสามารถใหบริการเขาถึงผูบริโภคไดอยางงายมาก ขึ้น ทําใหการใหบริการที่ครอบคลุมและครบวงจรมีความสําคัญยิ่งขึ้น โดยเอไอเอสมีความสนใจที่จะลงทุน ใหบริการผานระบบสายโทรศัพทพื้นฐาน โดยมุงเนนเรื่องการใหบริการดานขอมูล เพื่อสงเสริมธุรกิจบรอด แบนดที่ปจจุบันดําเนินการอยูแลว และสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจบริการชําระเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่ (mPAY) ซึ่งกําลังไดรับความนิยมมากขึ้นเปนอยางมากในตลาดทั่วโลก นอกจากนี้ บริษัทยังคงมุงเนนที่จะ พัฒนาบริการใหมๆ อยางตอเนื่องเพื่อพัฒนาไปสูการเปนผูใหบริการโทรคมนาคมแบบครบวงจรตอไปใน อนาคต

บริษัท คาดวาปจจัยตางๆ ดังที่กลาวมาขางตน จะชวยเสริมสรางรายไดและผลกําไรใหแกบริษัทในระยะยาว โดย การพัฒนาบริการในดานตางๆ ใหสนองตอบตอความตองการของลูกคาทั้งในชีวิตประจําวันและในการดําเนินธุรกิจ

สวนที่ 2 หนา 19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

3.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ ลักษณะการใหบริการของบริษัทในป 2549 สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลักๆ ไดแก (1)

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยมีบริษัทและ DPC เปนผูใหบริการ มีบริการแบบชําระคาบริการหลังการ ใช (Postpaid subscription service), บริการแบบชําระคาบริการลวงหนา (Prepaid subscription service) บริการสื่อสารไรสาย/บริการสื่อสารดวยขอมูล (Wireless/Non-voice communications service) บริการสําหรับ ลูกคานิติบุคคล (Enterprise business service) การบริการความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relation Management) รายไดจากการใหบริการดังกลาวคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 83.2 ของรายไดรวม

(2)

การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด SIM Card และการใหบริการตางๆ ที่เกี่ยวของ รายไดจากการ จําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และการใหบริการตางๆ คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 16.8 ของรายไดรวม

3.1

ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ ในป 2549 เอไอเอสยังคงมุงเนนที่จะคิดคน และพัฒนาบริการในมิติใหมๆ โดยยึดมั่นในคุณภาพเครือขาย เปนสําคัญ เพื่อใหลูกคามีทางเลือกที่หลากหลายในการใชบริการที่สอดคลองกับความตองการ และการ ดําเนิน ชี วิต ซึ่งทํา ใหลูก คา มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเพื่อ ใหเขา ใจถึง ความตองการของลูก คา ในเชิงลึก (Customer insight) อยางแทจริง เอไอเอสจึงไดนําเทคโนโลยีสารสนเทศ และสถิติประยุกตมาวิเคราะห ฐานขอมูลลูกคาและพฤติกรรมการใชงานตลอดจนเพื่อศึกษาวิเคราะหถึงรูปแบบการดําเนินชีวิตประจําวัน ของลูกคา ศึกษาความตองการสําหรับการพัฒนาสินคาหรือบริการใหมๆ วัดความพึงพอใจหลังจากใชบริการ จริงเพื่อนําขอมูลมาปรับปรุงสินคาและบริการใหดียิ่งขึ้นอยูเสมอ นอกจากนี้เอไอเอสยังคงใหความสําคัญกับ การสรางประสบการณที่ดีใหกับลูกคาผานชองทางบริการตางๆ ซึ่งจะสงผลใหลูกคารับรูถึงความคุมคา และ ไววางใจที่จะใชบริการของบริษัทตลอดไป บริการตางๆ ของเอไอเอสประกอบดวย • บริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการรายเดือน และชําระคาบริการลวงหนา (Postpaid and prepaid subscription service) • บริการสื่อสารไรสาย/บริการสื่อสารดวยขอมูล (Wireless/Non-voice communications service) • บริการสําหรับลูกคานิติบุคคล (Enterprise business service) • การบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relation Management) บริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการรายเดือนและชําระคาบริการลวงหนา (Postpaid and prepaid subscription service) เอไอเอสไดใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งแบบชําระคาบริการรายเดือนภายใตแบรนด GSM Advance และ GSM 1800 และแบบชําระคาบริการลวงหนา ภายใตแบรนด One-2-Call และ สวัสดี และในป 2549 เอไอ เอสไดใช 3 กลยุทธหลักสําหรับการขยายตลาดซึ่งประกอบไปดวย 1)การพัฒนาเครือขาย 2)การพัฒนา บริการ 3)การสรางจุดแข็งของแบรนด โดยเนน Emotional Marketing หรือ การสรางความผูกพันและ สวนที่ 2 หนา 20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความรูสึกที่ดีของลูกคาที่มีตอแบรนดผานทางสื่อและกิจกรรมตางๆ ควบคูกับ Customer Centric Marketing คือ การตลาดที่ใหลูกคาเปนศูนยกลางเพื่อจะพัฒนาแคมเปญที่ตรงใจและใชไดจริงในชีวิตประจําวัน สงผลให ลูกคาตัดสินใจที่จะใชบริการของเอไอเอสตลอดไป (Brand Loyalty) สินคาที่เอไอเอสจัดจําหนายไดแก ซิม การด บัตรเติมเงิน บริการเสริมรวมทั้งบริการอื่นๆ ทั้งสําหรับลูกคาที่เปนบุคคลธรรมดา และลูกคา SMEs ผานทางรานเทเลวิซ (Telewiz) จํานวน 355 ราน (Outlet) และเทเลวิซเอ็กซเพรซ (Telewiz Express) ที่มี มากกวา 280 ราน, ตัวแทน (Agent) ซึ่งประกอบดวย DPC, Samart, M-link นอกจากนี้ ยังมีตัวแทน จําหนายหลัก (Dealer) 500 ราย ตัวแทนจําหนายรายยอย (Sub Dealer) ที่มีมากกวา 12,000 ราย กระจาย อยูทั่วประเทศ และชองทางอื่นๆ เชน Jay Mart, Blisstel, IEC, TG นอกจากนี้เอไอเอสยังเพิ่มเติมชองทาง อื่นๆ ในการจําหนายบัตรเติมเงินเพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับลูกคา เชน รานสะดวกซื้อ, หางสรรพสินคา, ซุปเปอรสโตร, สถานีบริการน้ํามัน, รานหนังสือ, ที่ทําการไปรษณีย, ธนาคาร, เอทีเอ็ม และ บริการ mPay เปนตน GSM Advance เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการรายเดือน (postpaid) ซึ่งผูใชบริการมีพันธกรณี โดยการจด ทะเบียนและชําระคาธรรมเนียมรายเดือน (monthly fee) ทั้งนี้คาใชบริการโทรศัพท (airtime) คาใชบริการ สื่อสารดวยขอมูล คาธรรมเนียมรายเดือน และคาใชบริการตางๆ จะถูกเรียกเก็บเมื่อสิ้นรอบการใชบริการ แลว โดยสามารถชําระคาใชบริการผานชองทางการชําระเงินที่มีหลากหลาย GSM advance มีกลุมเปาหมายเปนคนทํางานรุนใหมและนักธุรกิจและเจาของกิจการที่มีความคิดทันสมัย ชื่นชอบเทคโนโลยีตองการคุณภาพในการติดตอสื่อสาร โดยในป 2549 เอไอเอสไดปรับแนวคิดทางการตลาด ของแบรนด GSM advance ใหม จากเดิมที่เนนทางดานการใชงาน (Functional) และการพัฒนาทาง เทคโนโลยีที่ไมหยุดยั้ง ซึ่งอยูภายใต GSM Advance Evolution เปลี่ยนไปสู GSM Advance Let’s GO ที่ สรางแรงบันดาลใจ และสนับสนุนใหทุกคน กลาคิด กลาทํา กลาแสดงออก เพื่อจะบรรลุถึงเปาหมายในชีวิต ซึ่งเปนการสรางมิติทางดานอารมณ และความรูสึกผูกพันกับแบรนด GSM advance มากขึ้น โดยที่มาของ แนวคิดนี้ไดมาจากการมองลึกลงไปถึงความตองการในมุมมองลูกคา (Consumer insight) ที่มีเปาหมายและ ตองการประสบความสําเร็จในชีวิตทุกๆดาน เอไอเอสยังไดใหความสําคัญกับการพัฒนาโปรแกรมคาโทรซึ่งมีนวัตกรรมใหมๆ ที่ตรงตอความตองการ และ พฤติกรรมการใชงานของลูกคาที่แตกตางกันดังนี้ • ลูกคาที่มีความตองการในการใชงานมาก Unlimit – มีชวงเวลาที่ใหลูกคาสามารถโทรไดนานเทาที่ตองการโดยไมตองกังวลเรื่องคาใชจายตอนาที Love package – ใหลูกคาโทรไดไมจํากัดตลอด 24 ชั่วโมง สําหรับเบอรพิเศษที่กําหนดไดเอง โดยมี คาใชจายเพิ่มเติมเพียง 149 บาทตอเบอร เพื่อใหสิทธิพเิ ศษกับลูกคาในการติดตอกับคนพิเศษไดทุก เวลาที่ตองการ • ลูกคาที่มีปริมาณการใชงานตอเดือนที่แตกตางกัน GSM S, M, L, XL – โปรแกรมคาโทรแบบเหมาจายใหเลือกตามพฤติกรรมการใชงาน ประกอบดวย S – สําหรับผูใชงานนอย, M – สําหรับผูใชงานปานกลาง, L – สําหรับผูใชงานมาก, XL - สําหรับผูใชงานมาก เปนพิเศษ สวนที่ 2 หนา 21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• ลูกคาปจจุบันที่ใชบริการอยูและตองการแนะนําสมาชิกใหมพรอมรับสิทธิพิเศษ Member get member – ลูกคาปจจุบันสามารถแนะนําสมาชิกใหมมาจดทะเบียนซิมการดเบอรใหมไดถึง 2 หมายเลข โดยทั้งผูแนะนํา และผูถูกแนะนําจะไดสิทธิพิเศษสามารถโทรหากันฟรีไดถึง 600 นาที พรอมรับโปรแกรมการโทรแบบไมจํากัดนาที GSM 1800 เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการรายเดือน (postpaid) ในระบบดิจิตอล ซึ่งใชเทคโนโลยี GSM ในยานความถี่ 1800 MHz บริการของ GSM 1800 เหมาะสําหรับกลุมเปาหมายที่ตองการใชบริการ แบบพื้นฐาน ไมยุงยากซับซอน และตองการชําระคาบริการแบบรายเดือน

One-2-Call! บริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการลวงหนา ผูใชบริการสามารถเปดเลขหมาย และใชบริการไดเอง ทันทีที่ซ้อื เอไอเอสไดเพิ่มชองทางการจัดจําหนายบัตรเติมเงินใหหาซื้อไดงายและเพิ่มชองทางอื่นๆ เพื่อให ผูใชบริการสามารถเติมเงินไดสะดวกรวดเร็วขึ้น โดยแบรนด One-2-Call! มีกลุมเปาหมายหลักเปนวัยรุนและคนรุนใหมมีความคิด มีสไตลเปนของตัวเอง กลาคิด กลาทํา กลาแสดงออก ในป 2549 เอไอเอสยังคงเนนที่จะสรางความแข็งแกรงของแบรนด One-2Call! ภายใตแนวความคิด “อิสระ” (Freedom) ผานแคมเปญโฆษณา “ระวังหมดอายุ” มีกระแสตอบรับที่ดี จากลูกคา แนวคิดที่สรางแรงบันดาลใจใหคนในสังคม โดยเฉพาะเยาวชนใหกลาฝนเพื่อคนหาสิ่งที่เหมาะกับ ตนเองและกลาลงมือทําฝนใหเปนจริง นอกจากนี้ยังไดใชกลยุทธ Innovative Marketing โดยจัดกิจกรรม (Event Marketing) “โครงการคั้นกะทิ” ใหนักศึกษามหาวิทยาลัยประกวดความคิดสรางสรรคดานการตลาด, โฆษณา, จัดอีเวนท เปนตน เพื่อเขาถึงกลุมเปาหมายไดโดยตรงและสรางประสบการณที่ดีกับแบรนด One2-Call! เอไอเอสไดเสนอโปรแกรมคาโทรรูปแบบใหมภายใต One-2-Call! ที่หลากหลายเพื่อตอบโจทยพฤติกรรม ของลูกคาที่มีพฤติกรรมที่แตกตางกัน ไดแก 1) ลูกคาใหมนําเสนอแพคเกจเอาไปเลยซึ่งเปนโปรแกรมคาโทรระยะสั้น 1-2 เดือน ที่ใหอัตราคาโทรพิเศษ และทดลองใชบริการเสริมที่หลากหลายฟรีมูลคากวา 500 บาท เพื่อใหลูกคามีประสบการณที่ดีกับ เครือขายคุณภาพของเอไอเอสกอนที่จะตัดสินใจเลือกใชโปรแกรมการใชงานที่ตรงกับความตองการและ พฤติกรรมการใชงานของตนเองมากที่สุด 2) ลูกคาทั่วไปปจจุบัน • ลูกคาที่ใชงานมาก คุยไมอั้น – โปรแกรม Unlimit มีชวงเวลาที่ใหลูกคาสามารถโทรไดนานเทาที่ตองการโดยไมตอง กังวลเรื่องคาใชจายตอนาที

สวนที่ 2 หนา 22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ติดหนึบ – ใหลูกคาโทรไดไมจํากัดตลอด 24 ชั่วโมง สําหรับเบอรพิเศษที่กําหนดไดเอง โดยมี คาใชจายเพิ่มเติมเพียง 99 บาทตอหมายเลข เพื่อใหสิทธิพิเศษกับลูกคาในการติดตอกับคนพิเศษ ไดทุกเวลาที่ตองการ • ลูกคาที่คุยนาน ชัวร ชัวร – โปรแกรมคาโทรที่ไดรับความนิยมอยางสูงเพราะใหความคุมคากับอัตราคาโทรพิเศษ ต่ําสุดเพียง 25 สตางคทุกเครือขายตลอด 24 ชั่วโมง • ลูกคาที่ตองการดานสิทธิประโยชน Up2U – เปนโปรแกรมคาโทรที่ใหลูกคาสะสมแตมเพื่อเลือกรับรางวัลที่ตองการได (ทุก 1 บาทจะได คะแนนสะสม 1 คะแนน โดย 10 คะแนน สามารถเลือกเปน คาโทร วันใชงานหรือ SMS) Freedom Reward – เปนการมอบความคุมคาใหกับลูกคา One-2-Call! และ สวัสดี โดยจะไดรับ สวนลด 30% สําหรับการโทรครั้งตอไปเมื่อมีการใชงานทุก 20 บาท U got friends – เปนโปรแกรมที่มอบความพิเศษใหกับเพื่อนสนิท โดยเมื่อลูกคา One-2-Call แนะนําเพื่อนมาเปนลูกคาของ One-2-Call จะไดรับสิทธิพิเศษคาโทรฟรีถึง 600 บาท อัตราคาโทร พิเศษสําหรับโทรหาผูแนะนําและรับคาโทรอีก 10% เมื่อเติมเงินผานทุกชองทาง อีกทั้งผูแนะนําก็ยัง ไดรับสิทธิพิเศษนี้ดวยเชนกัน 3) ลูกคาเฉพาะกลุม (Niche Market) U SIM – สําหรับนักศึกษาซึ่งมีงบประมาณจํากัดแตตองการใชงานในปริมาณมาก ทั้งการโทรปกติและ บริการเสริม โดยจะไดรับอัตราคาโทรพิเศษเพียง 1 บาทตอครั้ง พรอมรับบริการเสริมฟรีรวมมูลคากวา 3,600 บาท ซิมเขาใจ – เพื่อใหผูบกพรองทางการไดยินสามารถสื่อสารไดประหยัดขึ้นดวยคาบริการเสริมอัตราพิเศษ สําหรับสง SMS และ MMS เพียงครั้งละ 50 สตางค และ GPRS นาทีละ 50 สตางค นอกเหนือจากโปรแกรมคาโทรแลวเอไอเอสยังไดนําเสนอบริการอื่นๆซึ่งถือเปนที่มีนวัตกรรมใหมใหกับลูกคา บริการเติมใหนะ – บริการเติมเงินโดยบัตรเติมเงินใหหมายเลขอื่น ลูกคาเอไอเอสทั้งระบบรายเดือนและ เติมเงินสามารถเติมเงินใหคนที่รัก และเปนหวงซึ่งอาจไมสะดวกที่จะเติมเงินไดดวยตนเองในขณะนั้น เชน ในกรณีที่พอแมเติมเงินใหลูก เปนตน สวัสดี บริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาบริการลวงหนาซึ่งมีกลุมเปาหมายหลักไดแก ผูที่ใชโทรศัพทเปนเครื่อง แรก (First Time User) กลุมคนทํางานหรือผูใหญที่ใชงานนอย เนนรับสายเปนสวนใหญ หรือผูที่มี งบประมาณจํากัด โดยเนนการสรางภาพลักษณในการสงเสริมเอกลักษณไทยผานชื่อ “สวัสดี” และกิจกรรม ทางการตลาดสวนใหญประกอบดวยโรดโชวและกิจกรรมสูระดับอําเภอและหมูบานโดยตรง สําหรับจุดขาย ของสวัสดีคือ ระยะเวลาการใชงานที่นาน และในป 2549 นี้เอไอเอสไดขยายระยะเวลาการใชงานของสวัสดี สําหรับการเติมเงินทุกมูลคาจะสามารถใชงานไดนานถึง 1 ป และยังไดใชกลยุทธ Localize Marketing ที่จัด โปรแกรมคาโทรที่คุมคาสําหรับลูกคาแตละภูมิภาคโดยไดเริ่มที่ภาคอีสานเปนภาคแรก สวนที่ 2 หนา 23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

และเนื่องจากเอไอเอสไดตระหนักถึงพฤติกรรมของลูกคาที่แมจะมีการใชงานนอย แตก็ยังมีความตองการที่ แตกตางกัน ดังนั้นเอเอสจึงไดมีการพัฒนาแพคเกจใหมๆ ที่ตรงความตองการของลูกคามากขึ้น ดังเชน สวัสดี ดี๊ ดี – ซิมสําหรับการรับสายที่ใหลูกคาไมตองเติมเงิน ไมตองกังวลเรื่องระยะเวลาใชงาน และยัง สามารถรับสายไดฟรีจากเบอรในเครือขายเอไอเอสกวา 19 ลานเลขหมาย นอกจากนี้ยังสามารถโทรออกไป ยั ง เบอร ใ นระบบเติ ม เงิ น ของเอไอเอสได โ ดยใช บ ริ ก ารออกให น ะซึ่ ง จะเรี ย กเก็ บ เงิ น ปลายทางโดยไม มี คาใชจายเพิ่มเติม สวัสดีทั่วไทย - โปรแกรมใหมจากสวัสดีที่เติมเงินเทาไหรก็ใชงานไดนาน 1 ป เพื่อใหลูกคาที่โทรออกนอย เนนรับสายไดใชบริการที่มีคุณภาพและในราคาที่เหมาะสมกับกําลังซื้อ สวัสดีชาวอีสาน – เปนโปรแกรมใหมจากสวัสดีสําหรับลูกคาภาคอีสาน 19 จังหวัด โดยจะไดรับอัตราคาโทร พิเศษเพียง 1 บาทตอนาทีสําหรับการโทรออกไปทุกพื้นที่ทั่วไทย และทุกเครือขายตลอด 24 ชั่วโมง บริการสื่อสารไรสาย/บริการสื่อสารดวยขอมูล (Wireless/Non-voice communications service) ในป 2549 เอไอเอสยังคงเปนผูนําในตลาดบริการเสริม โดยรายไดจากบริการเสริมของเอไอเอสมีการเติบโต อยางตอเนื่องทั้งจากบริการที่มีอยูเดิม และบริการใหม สําหรับบริการเสริมที่สรางรายไดหลักประกอบไปดวย บริการสงขอความ (SMS), บริการเสียงรอสาย (Calling Melody) และการบริการดานขอมูล (Data & GPRS) ทั้งนี้เอไอเอสไดพัฒนาตอยอดบริการที่เกี่ยวกับเพลงภายใตชื่อ Mobile Music ซึ่งเปนการเพิ่มชองทางการ กระจายเพลงสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดแก การรวมมือกับคายเพลง และบริษัทผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่ใน การเปดตัวบริการ Mobile Music พรอมโทรศัพทรุนใหม การใหบริการดาวโหลดเพลงแบบเต็มเพลง (Full Song Download) ซึ่งประสบความสําเร็จอยางมาก และยังพัฒนาบริการเสริมดานอื่นๆ เกี่ยวกับเพลง ตอไปอีกดวย การใหบริการดานขอมูล (Data & GPRS) เพื่อใหบริการนี้เขาถึงผูใชบริการมากขึ้น เอไอเอสจึงไดปรับปรุง mobileLIFE Plaza (AIS Wap Portal) ใหเปนการจัดกลุมตามเนื้อหา (Content Centric) ซึ่งงายตอการใช งานมากยิ่งขึ้น การใหบริการดานอินเตอรเน็ต ไดผนวกการใชบริการ Web Community ใหเขามาเปนสวนหนึ่งของการใช งานบนโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อความสะดวกในการเขาถึงไดทุกที่ทุกเวลาที่ตองการ การใหบริการ Enterprise Solution สําหรับลูกคาองคกรเปนสิ่งที่เนนในปที่ผานมา โดยเฉพาะบริการ AIS PushM@il (Push e-mail) ซึ่งเปนบริการอีเมลไรสายที่ใหลูกคาสามารถเชื่อมตอระบบฐานขอมูลอีเมลของ องคกรตนเองไดไมวาจะอยูในประเทศหรือตางประเทศ โดยในปที่ผานมา เอไอเอสไดพัฒนาบริการบนระบบ server platform ทั้งของ BlackBerry และ Microsoft Mobile v5 รวมทั้งจัดหาเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ใหม หลากหลายรุนสําหรับบริการ Push e-mail เชน BlackBerry 7290, 7100g, 8700g, Nokia E series, O2

สวนที่ 2 หนา 24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

XDA Atom, HP hw6915, Dopod เปนตน ทั้งนี้ เพื่อใหลูกคาองคกรที่มีความตองการที่แตกตางกัน ได เลือกใชบริการตามความเหมาะสม นอกจากนี้เอไอเอสยังไดพัฒนาบริการเสริมเฉพาะกลุม (Segmentation) ณ ระดับราคาที่คุมคา หลากหลาย และตรงความตองการ โดยไดรวมมือกับบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในแตละดาน เชน การบริการดูหุนผาน โทรศัพทเคลื่อนที่ การใหบริการดานขาวสาร และความบันเทิง ตลอดจนบริการเสริมสําหรับผูบกพรอง ทางการไดยิน สําหรับป 2550 เอไอเอสยังคงใหความสําคัญกับการเติบโตของบริการเสริมตอไป โดยใชแนว ทางการตอยอดบริการเสริมที่ประสบความสําเร็จในปที่ผานมา รวมทั้งสรางสรรคบริการเสริมใหมๆ ที่ตรง กับความตองการของลูกคาแตละกลุม บริการสําหรับลูกคานิติบุคคล (Enterprise business service) เอไอเอส สมารท โซลูชั่น ในฐานะผูใหบริการกลุมลูกคานิติบุคคล ไดมีสวนในการชวยเพิ่มศักยภาพในการ แขงขันทางธุรกิจของทั้งลูกคาองคกร และกลุมธุรกิจเอสเอ็มอี ในป 2549 เอไอเอส สมารท โซลูชั่น ใชกล ยุทธทั้งการขยายฐานลูกคา และรักษาฐานลูกคา โดยผานการพัฒนาผลิตภัณฑใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสรางความแตกตางจากคูแขงขันใหสามารถตอบสนองความตองการลูกคาในระดับที่เกินความคาดหวัง และเพื่อสานสัมพันธระหวาง เอไอเอส สมารท โซลูชั่น กับลูกคานิติบุคคลใหเหนียวแนนผานการจัดกิจกรรม ตางๆ ที่เปนประโยชนมากกวาการแขงทางดานราคา ในป 2549 เอไอเอสแบงประเภทธุรกิจ (Industry Segmentation) ของกลุมลูกคานิติบุคคลออกเปน หลากหลายกลุ ม เพื่ อ จะนํ าเสนอบริ การของเอไอเอส สมารท โซลูชั่ น ทั้งในรูปแบบเสียง และขอมูลให สอดคลองกับการดําเนินธุรกิจแตละประเภท เอไอเอส สมารท โซลูชั่น ไดมุงขยายฐานลูกคาไปยังกลุมลูกคานิติบุคคลในตางจังหวัด (Up Country Segment) ในแตละภูมิภาค (Region SMEs) และยังรวมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจในการพัฒนาสมารท โซลูชั่นสําหรับลูกคาขนาดกลาง (size M) เพื่อใหไดรับความคุมคา และไดรับประโยชนสูงสุดจากบริการที่ สอดคลองกับขนาดและการดําเนินธุรกิจ นอกจากนี้ใ นป 2549 เอไอเอส สมาร ท โซลูชั่น ไดรว มมือกับลู ก คาองคก รในการจัดทํา โปรโมชั่น และ แคมเปญรวมกัน ในสถานการณที่เปนประโยชนกับทั้งสองฝาย ตัวอยางเชน ในอุตสาหกรรมยานพาหนะ เอ ไอเอสไดจับมือกับบริษัท AP Honda โดยลูกคาที่สมัครสมาชิกของ AP Honda club จะไดรับซิมการดพรอม คาโทร สวนกลุมอุตสาหกรรมพลังงานไดรวมจัดโปรโมชั่นกับ Shell AutoServ ลูกคาที่เขามาใชบริการ ตรวจเช็คสภาพจะไดรับซิมการดพรอมคาโทรพิเศษ และยังมีแผนที่จะรวมมือกับ Shell Lubricant ในการจัด โปรโมชั่นเพื่อมอบเบอรสวย และสิทธิพิเศษตางๆ แกลูกคาอีกดวย การพัฒนาโซลูชั่นของลูกคาองคกร จะเนนการพัฒนาโซลูชั่นเดิมใหมีประสิทธิภาพ และตรงกับความตองการ ใชงานของลูกคามากขึ้น เชน Mobile EDC, Corporate connect & Mobile VPN, Cheque Clearance

สวนที่ 2 หนา 25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• Mobile EDC เปนบริการเครื่องรูดบัตรแบบไรสาย ซึ่งเหมาะกับรานคาที่ตองเคลื่อนที่, หรืออยูที่หางไกล ซึ่งไมมีสายโทรศัพทใหเชื่อมตอ หรือมีสายโทรศัพทไมเพียงพอ เพียงติดตั้งอุปกรณเครื่องรูดบัตรไรสาย (Electronic Data Capture) พรอมซิมการดในระบบเอไอเอสก็สามารถใชงานผานเครือขายขอมูลไรสาย GPRS เพื่อเชื่อมตอเขากับระบบของธนาคารที่รานคาเปดบัญชีอยู ซึ่งจะเพิ่มความสะดวก และคลองตัวใน การดําเนินธุรกิจของรานคา ไมวาจะเปนการใหบริการรับชําระคาสินคาในงานแสดงสินคา, ในศูนยการคา หรือสถานที่อื่นๆ ก็ทําไดอยางงายดาย หรือธุรกิจบริการจัดสงสินคาก็สามารถใชอุปกรณดังกลาวเพื่อรับ ชําระผานบัตรเครดิตของลูกคาไดทันที ณ จุดสงมอบ • Cheque Clearance เปนบริการสําหรับลูกคาองคกรที่สามารถตรวจสอบสถานะบัญชีเช็ค ผานทาง SMS ซึ่งสามารถชวยลดความเสี่ยงของสถานะเช็คที่ไดรับอยางถูกตอง แมนยํา และรวดเร็ว • Education SMS U SIM : เอไอเอสไดพัฒนาบริการซึ่งอํานวยความสะดวกใหกับนักศึกษาใน สถาบันการศึกษาตางๆ เชน การลงทะเบียนเรียน, แจงตารางสอบ หองสอบ, แจงผลสอบ และแจงขาวสาร ของสถาบันการศึกษานั้นๆ ผานทาง SMS • Employee Package : เนื่องจากรูปแบบการดําเนินชีวิตปจจุบัน การติดตอสื่อสารทางโทรศัพทเคลื่อนที่มี บทบาทสําคัญมากยิ่งๆ ขึ้น เอไอเอสจึงไดจัดทําโครงการ Corporate Bonus Package ขึ้นเพื่อตอบสนอง ความตองการ และสงเสริมสวัสดิการใหกับบุคลากรในหนวยงานของลูกคานิติบุคคลโดยการจัดจําหนาย สินคาและบริการในราคาพิเศษ อาทิ เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ตรวจเช็คสภาพเครื่องฟรี และซิมการดทั้ง ระบบจายลวงหนา (Pre-paid) และระบบจดทะเบียน (Post-paid) พรอมเสนอโปรโมชั่นพิเศษสําหรับ พนักงานในองคกรตางๆ การสรางความสัมพันธกับลูกคาองคกร และกลุมนิติบุคคล • การบริการลูกคา: เนื่องจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติกําหนดใหผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ทุกระบบทําการปรับเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่จาก 9 หลักเปน 10 หลัก โดยมีผล ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2549 เปนตนไป เอไอเอส สมารท โซลูชั่น จึงไดจัดตั้งทีม 10 digit ออกไปยังสถานที่ ประกอบการตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับพนักงานของลูกคาองคกรและกลุมนิติบุคคลในการแกไข และปรับเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่เก็บไวในซิมการด และโทรศัพทเคลื่อนที่โดยไมจํากัดเฉพาะ ลูกคาในเครือขายของเอไอเอส • กิจกรรมสําหรับลูกคาองคกร: เอไอเอส สมารท โซลูชั่น ไดดูแลลูกคาแตละกลุมอุตสาหกรรมอยางเปน กันเอง เสมือนครอบครัวใหญ โดยในป 2549 ไดมีการจัดกิจกรรมตางๆ ไดแก การจัดชมภาพยนตรรอบ ปฐมทัศน, โบวลิ่งสานสัมพันธ และการแขงขันกอลฟระหวางกลุมลูกคาองคกรกับเอไอเอส สมารท โซลูชั่น เปนตน นอกจากนี้ เอไอเอส สมารท โซลูชั่นรวมกับมหาวิทยาลัยหอการคา จัดการสัมมนาสําหรับ ผูประกอบการเอสเอ็มอีใหมีความพรอมในการดําเนินการธุรกิจ และเติบโตอยางมีศักยภาพ โดยทางเอไอเอส สมารท โซลูชั่น มีนโยบายสนับสนุนเอสเอ็มอี ในการนําเทคโนโลยีไรสายมาใชในดานการตลาด การผลิต และการจัดสงสินคา (Logistics) เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันตอไป

สวนที่ 2 หนา 26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• กิจกรรมระหวางองคกร: เปนการจัดกิจกรรมระหวางกันในระดับองคกร เพื่อใหไดรับประโยชนสูงสุดในการ ดําเนินธุรกิจ รวมกันในฐานะพันธมิตร อีกทั้งยังกระชับความสัมพันธระหวางลูกคาองคกร กับผูบริโภคทั่วไป เชน เทคนิคการเปลงเสียงเพื่อบุคลิกภาพ รวมกับบริษัทอารเอส จํากัด (มหาชน), Executive Wine Tasting 2006, AIS ชวนขับปลอดภัยมั่นใจไปกับมิชชิลิน, L’oreal “Make up your life” เปนตน การบริหารความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relation Management) เอไอเอสเปนองคกรที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงเนนความสําคัญของลูกคาเปนหลักตลอดมา การครองใจลูกคาทั้ง 19 ลานคนใหอยูกับองคกรในระยะยาวไดนั้น นับวาเปนหนึ่งในความสําเร็จหลักอยางยิ่งขององคกร ดังนั้น การเข า ใจความต อ งการส ว นลึ ก ของลู ก คา จึ ง เป น สิ่ ง สํ า คั ญ อย า งยิ่ ง โดยเอไอเอสได ล งทุ น ในระบบการ วิเคราะหขอมูลเชิงลึก (Data mining) และจัดตั้งทีมงานรวบรวมความคิดเห็นจากลูกคา (Voice of Customers) เพื่อเปนพื้นฐานในการออกแบบสินคา และบริการตางๆ ซึ่งจะชวยสรางจุดแข็งใหกับเอไอเอส ในการนําเสนอสิ่งที่แตกตาง และตรงใจกลุมลูกคาเปาหมายแตละกลุมที่แตกตางกันไดอยางครอบคลุม เอไอเอสไดพัฒนาโปรแกรม “เอไอเอส พลัส” (AIS Plus) ที่ใหสิทธิประโยชนโดยมอบสวนลด และสิทธิพิเศษ อื่นๆ จากรานคามากกวา 12,000 แหงทั่วประเทศ รวมทั้งการจัดทําแคมเปญและกิจกรรมตางๆ รวมกับ พันธมิตรทางธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อใหตรงกับความตองการในชีวิตประจําวันของลูกคาทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด อาทิ AIS GSM Let's go shopping @ central, ชอปโทรฟรีกับบิ๊กซี เปนตน นอกจากการ บริหารความสัมพันธลูกคา (CRM) อยางเปนระบบเพื่อใหลูกคาไดรับความคุมคาสูงสุดจากการใชบริการของ เอไอเอสแลว วันนี้เราไดกาวไปอีกขั้นหนึ่ง จากการบริหารความสัมพันธลูกคา (CRM) ไปเปนการบริหาร ประสบการณของลูกคา (CEM) ซึ่งจะทําใหลูกคาเกิดความผูกพันในระยะยาวกับเอไอเอสได การรักษาความ พึงพอใจของลูกคาอยางเดียวไมเพียงพอแลวสําหรับการรักษาความไดเปรียบทางการแขงขัน แตการบริหาร จัดการใหลูกคารูสึกผูกพันกับเรา และแบรนดของเอไอเอสเปนยุทธศาสตรที่ทาทาย และเอไอเอสมุงมั่นที่ จะไปถึง เอไอเอสมุงเนนการสงมอบบริการดวยความมีชีวิตจิตใจเปนสําคัญ และดวยคํามั่นสัญญาขององคกร (Brand Promise) ที่วา “ชีวิตที่ดีขึ้นของคุณเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรคของเราเสมอ” (“Your Better Life is Always Our Inspiration”) เอไอเอสจึงไดสรางสรรค และผสมผสานปรัชญาแบบ ‘LIFE’ ลงในทุกๆ สวนของ องคกร ตั้ งแตการออกแบบแนวคิดของสินคา และบริการ การออกแบบขั้นตอน และกระบวนการต างๆ เพื่อที่จะสงมอบประสบการณที่ดีใหกับลูกคาตลอดสายการใหบริการ (Service Value Chain) ความหมาย ของปรัชญาแบบ ‘LIFE’ นั้น จะสะทอนถึง ความมีชีวิตชีวา (Lively), ความใกลชิด (Inviting), ความไววางใจ ที่ไดรับการบริการที่เปนธรรม (Fair), การคิดคนสรางสรรคสิ่งใหมๆ (Explorative), และใหอํานาจแกลูกคา ในการแสดงความตองการ (Empowering) ซึ่งสิ่งเหลานี้ถูกถายทอดผาน 1) การใหบริการผานผูที่เปนตัวแทนของเอไอเอส (Human Touch Point) ไดแก เจาหนาที่คอลลเซ็นเตอร, สํานักงานบริการเอไอเอส, พนักงานขาย และพนักงานเอไอเอส 2) การใหบริการผานชองทางบริการอื่นๆ ของเอไอเอส (Non-Human Touch Point) เชน ขอความ SMS, สวนที่ 2 หนา 27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ระบบเสียงตอบรับอัตโนมัติ (IVR), งานโฆษณา, กิจกรรมสงเสริมการขาย, บัตรเติมเงิน ฯลฯ ดังนั้นลูกคาจะ ได รับ บริก ารที่ มีคุ ณ ภาพเท า เที ย มกัน ในแตล ะชอ งทางการใหบ ริ ก าร มี โ อกาสได ท ดลองใชบ ริก ารก อ น ตัดสินใจซื้อ และมีทางเลือก ในป 2549 เอไอเอสไดออกสื่อโฆษณาที่สะทอน LIFE ในเชิง Emotional เพื่อจะ บอกกับผูบริโภคของเราวา “ความรูสึกของคนที่เราแคร สําคัญเสมอ” เอไอเอสเชื่อมั่นวา การใหบริการตาม แนวทางนี้จะสามารถครองใจลูกคา และเปลี่ยนจากผูใชบริการมาเปนผูที่พรอมใหการสนับสนุนและเปนสวน หนึ่งของครอบครัวเอไอเอสซึ่งยากที่ผูใหบริการรายอื่นจะสามารถแยงชิงได 3.2

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2549 มีอัตราเจริญเติบโตของผูใชบริการของตลาดโดยรวมประมาณรอยละ 32 คิดเปนจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นประมาณ 10 ลานคน จากป 2548 ณ สิ้นป 2549 ผูใชบริการทั้งสิ้นในตลาด มีจํานวนประมาณ 40 ลานคน หรือมีอัตราผูใชบริการตอจํานวนประชากร (penetration rate) รอยละ 62

ทรูมูฟ 4.5 ลานคน 15%

อื่นๆ 0.7 ลานคน 2%

ทรูมูฟ 7.6 ลานคน 19% เอไอเอส 16.4 ลานคน 54%

แทค 8.7 ลานคน 29%

อื่นๆ 0.7 ลานคน 1.5%

เอไอเอส 19.5 ลานคน 49% แทค 12.2 ลานคน 30.5%

อัตราผูใชบริการรอยละ 48 ตอจํานวนประชากรทั้งประเทศ

อัตราผูใชบริการรอยละ 62 ตอจํานวนประชากรทั้งประเทศ

สวนแบงตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ ป 2548

สวนแบงตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ ป 2549

ในครึ่งปแรกของป 2549 สภาวะการแขงขันในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่เนนกลยุทธดานราคาเปนหลักในการ ทําตลาด โดยผูใหบริการแตละรายตางนําเสนอโปรโมชั่นพิเศษไดแก บุฟเฟตแบบเหมาจายเปนชวงเวลา, เปนเบอร หรือตอครั้ง ซึ่งเปลี่ยนพฤติกรรมการโทรของผูบริโภคใหเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว สงผลใหเกิดปญหา ดานเครือขายในชวงไตรมาสที่สอง โดยเฉพาะการโทรขามเครือขายในชวงเวลาเรงดวนที่มีปริมาณผูใชงาน พรอมกันจํานวนมาก เอไอเอสใหความสําคัญกับประสิทธิภาพที่ดีของเครือขายจึงไดเพิ่มการลงทุนเพื่อขยาย เครือขาย และพัฒนาคุณภาพอยางเรงดวน จึงทําใหปญหาดังกลาวคลี่คลายอยางรวดเร็วโดยเครือขายมี คุณภาพที่ดีขึ้นอยางตอเนื่องในไตรมาสที่สาม การแขงขันที่รุนแรงในชวงครึ่งปแรกทําใหจํานวนลูกคาใหมขยายตัวอยางมากแตสวนใหญเปนการขยายตัว ภายในกลุมผูที่เคยใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่อยูแลว (Experience User) โดยแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก กลุมที่ออนไหวตอราคา (Price Sensitive) ซึ่งจะยกเลิกเบอรเดิมเพื่อใชเบอรใหมที่เสนอโปรโมชั่นที่นาสนใจ กวา และกลุมที่ใชโทรศัทพเคลื่อนที่มากกวา 1 เบอร (Multiple SIM User) ซึ่งเปนกลุมที่เจอปญหาดานการ โทรขามเครือขาย หรือกลุมที่มีการใชจายปานกลางถึงมากที่ตองการลดคาใชจาย ขณะที่การเติบโตในกลุม ผูใชบริการรายใหมที่ยังไมเคยใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใดๆ มากอน (New User) เปนสัดสวนนอย โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ ที่มีอัตราสวนผูใชบริการตอจํานวนประชากรที่คอนขางสูงมาก การแขงขันดาน ราคา และปญหาดานเครือขายดังกลาวไดสงผลกระทบตอภาพลักษณของแบรนด เอไอเอสจึงไดตอกย้ํา ความแข็งแกรงของแบรนด ภายใตเครือขายเอไอเอสใหแก GSM Advance, One-2-Call! และสวัสดี ผานสื่อ สวนที่ 2 หนา 28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โฆษณาประชาสัมพันธและกิจกรรมตางๆ รวมทั้งไดนําแนวคิดพรีเซ็นเตอรที่สามารถสะทอนภาพลักษณของ แบรนดไดอยางชัดเจนมาใช เพื่อจะสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภคทั้งดานคุณภาพเครือขาย บริการ และ โปรโมชั่น ผลกระทบจากการแขงขันทางดานราคา ทั้งในเรื่องของคุณภาพของการใหบริการ และรายไดท่ีลดลงทําให ผูประกอบการทุกรายชะลอความรุนแรงในดานโปรโมชั่นของราคา แตหันมาเนนในเรื่องของการสรางแบรนด และปรับปรุงคุณภาพการใหบริการ รวมทั้งเปลี่ยนกลยุทธของการแขงขันกันในระดับ Mass มาเปนการเจาะ ตลาดเฉพาะกลุม เชน อัตราคาโทรพิเศษสําหรับการใชงานภายในเครือขายเดียวกัน และสําหรับการโทรใน กลุมเดียวกัน กลยุทธดังกลาวนี้ไดถูกใชกับการขยายตลาดในสวนภูมิภาค โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคอีสาน โดยเอไอเอสไดนําเสนอโปรโมชั่นคาโทรตามพื้นที่ในเขตภาคอีสานเปนแหงแรกโดยใชชื่อ “สวัสดีชาวอีสาน” และเพื่อสนับสนุนการขยายตลาดไปสูตางจังหวัด เอไอเอสไดจัด Caravan และกิจกรรมทางการตลาดสูระดับ อําเภอ และหมูบานเพื่อใหสามารถนําเสนอสินคา และบริการใหกับลูกคาไดโดยตรงซึ่งเปนการสรางสัมพันธ อันดีกับลูกคาสามารถประชาสัมพันธโปรโมชั่นและความกาวหนาดานเครือขาย เพื่อสรางความมั่นใจใหกับ ลูกคา นอกจากเปา หมายที่ จะสร า งความพึง พอใจสูงสุด ให กับลูก คา แลว เอไอเอสยั ง ไดคํา นึงถึง การตอบแทน ประโยชนกลับคืนสูสังคมซึ่งถือเปนนโยบายหลักตลอดมา โดยไดริเริ่มโครงการสนับสนุนสถาบันครอบครัว “สานรัก” ขึ้นในป 2542 เพราะตระหนักดีวาครอบครัว คือ รากฐานที่สําคัญของสังคมในการสรางคนใหเปน คนดี และยังไดขยายไปสูโครงการเพื่อสังคมอื่นๆ เชน การใหทุนการศึกษาแกเยาวชน “คนเกงหัวใจแกรง”, โครงการแจกถังบรรจุน้ําใหพื้นที่ประสบปญหาภัยแลง, แจกผาหมกันหนาว และ ใหการผาตัดผูปวยโรค ลมชัก เปนตน แนวโนมตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2550 ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2550 แบงออกเปน 2 สวน ไดแกตลาดที่อิ่มตัว (Saturated Market) และตลาด ที่ยังไมอิ่มตัว (Unsaturated Market) สํ า หรั บ ตลาดที่ อิ่ ม ตั ว เป น ตลาดที่ มี จํ า นวนผู ใ ช โ ทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ต อ ประชากรในอั ต ราที่ สู ง (High Penetration Rate) ซึ่งสวนมากจะอยูในเขตเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรุงเทพฯ มีการแขงขันดานราคา อยางรุนแรงเพื่อแยงชิงฐานลูกคา และมีการเปลี่ยนผูใหบริการที่คอนขางสูง เนื่องจากลูกคามีความออนไหว ตอราคา (Price Sensitive) และไมคอยยึดติดกับแบรนด (Low Brand Loyalty) ตลาดที่อิ่มตัว จะ ประกอบดวยลูกคา 2 กลุมใหญๆ คือ กลุมลูกคาหมุนเวียน (Replacement SIM) เนื่องจากเปนกลุมที่มีความ ออนไหวตอระดับราคา (Price Sensitive) จึงเลือกใชเบอรใหมซึ่งมีโปรโมชั่นถูกกวาแทนเบอรเดิม เนื่องจาก มีงบประมาณจํากัดหรือมีโทรศัพทเคลื่อนที่เพียงเครื่องเดียว กลุมลูกคาที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่มากกวา 1 เบอร (Multiple SIM User) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเนื่องจากปญหาการโทรขามเครือขายในชวงที่มีการใชงานสูงยังไม หมดไป ในขณะที่การโทรภายในเครือขายเดียวกันมีปญหานอยกวา การแจกซิมการดฟรี หรือ การพวง (Bundle) ซิมการดไปกับบริการอื่นเพื่อใชเฉพาะกิจพรอมโปรโมชั่นที่นาสนใจ จะจูงใจใหลูกคาสนใจที่จะถือ มากกวา 1 เบอร อยางไรก็ตามเมื่อมีการประกาศใชคาเชื่อมโยงเครือขาย (Interconnection Charge) แลว โครงสรางหรื อรูป แบบในการเสนอราคาตอลูก คาจะเปลี่ยนแปลงไป โดยคาดวา ผูใ หบริการจะหันมาทํา โปรโมชั่นที่รองรับคาเชื่อมโยงเครือขายและการโทรภายในเครือขายเพิ่มมากขึ้น

สวนที่ 2 หนา 29


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สําหรับตลาดที่ยังไม อิ่ม ตัว เปนตลาดที่ยังมีศักยภาพในการเติบโต ซึ่งสวนใหญ อยู ในพื้ นที่ชานเมื องใน ตางจังหวัดที่การแขงขันยังไมรุนแรงเทากับตลาดที่ยังไมอิ่มตัว สําหรับปจจัยหลักในการตัดสินใจเลือกใช บริการของลูกคากลุมนี้ คือเครือขายที่ครอบคลุม ผูใหบริการทุกรายจึงไดลงทุนขยายเครือขายอยางตอเนื่อง เพื่อเขาถึงความตองการของลูกคา นอกเหนือจากนี้ยังตองการอัตราใชคาบริการที่เหมาะสมโดยลดจํานวน เงินขั้นต่ําที่ตองเติมตอเดือนเพื่อรักษาเบอร (Recurring Cost) เอไอเอสมีศักยภาพที่จะขยายตลาดไปยัง ลูกคากลุมนี้โดยเนนการขยายการลงทุนดานเครือขายใหครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งถือเปนโยบายหลักในป 2550 พรอมทั้งบริการหลังการขายที่มีคุณภาพ ณ ระดับราคาที่คุมคา แบรนดที่แข็งแกรง ชองทางการจัด จําหนายที่หลากหลาย และเขาถึงลูกคา สําหรับการขยายฐานลูกคาในตลาดนี้ ผูใหบริการจะใชกลยุทธ Localize Marketing เพื่อตอบสนองพฤติกรรมที่แตกตางกันในแตละภูมิภาค อีกทั้งกิจกรรมทางการตลาดใน ระดับอําเภอและหมูบาน นอกจากนี้ ตลาดที่ยังไมอิ่มตัว ยังถูกมองวาคุมคากับการลงทุนเมื่อมีการใชคา เชื่อมโยงเครือขาย (Interconnection Charge) เพราะลูกคามีพฤติกรรมการใชโทรออกนอย เนนรับสายเปน สวนใหญ จึงเปนอีกทางหนึ่งที่จะสรางรายไดที่สําคัญใหกับผูใหบริการ 3.3

การจําหนายและชองทางการจําหนาย ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพทเ คลื่อนที่เพื่อ ใหลูกคา เขาใชบริการในระบบเครือขา ย สวนใหญจ ะ ดํ า เนิ น การไปพร อ มกั บ การจํ า หน า ยเครื่ อ งโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ซึ่ ง บริ ษั ท มี ช อ งทางการจํ า หน า ยสํ า หรั บ เครื่องโทรศัพทในระบบดิจิตอล GSM Advance, One-2-Call! และดิจิตอล GSM 1800 โดยจําหนายผาน ตัวแทนจําหนาย ประมาณรอยละ 80-90 สวนที่เหลือจะผานการขายตรงดังนี้ (1) การจําหนายผานตัวแทนจําหนาย บริษัทมีหลักเกณฑในการแตงตั้งตัวแทนจําหนายโดยพิจารณาจากทําเลที่ตั้งศักยภาพ และสถานะ ทางการเงินเปนสําคัญ เพื่อใหบริษัทมีความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งวาตัวแทนจําหนายนั้นมีศักยภาพ เพียงพอในการดําเนินธุรกิจและดูแลลูกคาไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้สําหรับพื้นที่ตางจังหวัด การ แตงตั้งตัวแทนจําหนายจะแตงตั้งผูที่มีความคุนเคยในพื้นที่และเปนนักธุรกิจรายใหญของพื้นที่ เปน สําคัญ ตัวแทนจําหนายจะแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ ตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ภายใตชื่อ “เทเลวิซ” บริษัทมีตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชสจํานวนทั้งสิ้นมากกวา 100 ราย โดยมีรานคายอยมากกวา 300 แหงทั่วประเทศ โดยบริษัทจะใหสิทธิตัวแทนจําหนาย ในระบบแฟรนไชสในการดําเนินการภายใต สัญญาใหสิทธิใชเครื่องหมายการคาจําหนายสินคา และบริการโดยมีอายุสัญญา 1 ป ดังนี้ 1) สิทธิในการจําหนายสินคา ภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัท 2) สิทธิในการใหบริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ใหบริการเกี่ยวกับงานทะเบียนตางๆ และเปนผู ใหบริการรับชําระคาบริการหรือคาใชจายอื่นใด บริษัทจะเปนผูกําหนดเงื่อนไขและควบคุมภาพและมาตรฐานของการใหบริการ รวมถึงแนวทางในการ ดําเนินการของตัวแทนจําหนาย เชน การเลือกและพัฒนาสถานที่ การโฆษณาและสงเสริม การขาย และการใหบริการตางๆ เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่บริษัทกําหนด

สวนที่ 2 หนา 30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในการเขาเปนตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตองมีการชําระคาสิทธิในการใชเครื่องหมายการคา เริ่มแรก 100,000 บาท และถามีการขยายเขตการจําหนายตองชําระคาสิทธิเพิ่มอีกจํานวน 50,000 บาท ตอเขตจําหนาย ตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) บริษัทมีตัวแทนจําหนายจํานวนทั้งสิ้นกวา 500 ราย โดยตัวแทนจําหนายทั่วไปนี้ไดรับแตงตั้งใหเปนผู จําหนายสินคาของบริษัท ไดแก เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทั้ง อุปกรณเสริมตางๆ นอกเหนือจากรายไดจากการจําหนายสินคาและบริการแลว ตัวแทนจําหนายทั้ง 2 ประเภท จะไดรับ คาตอบแทนจากการลงทะเบียนใหลูกคา เปนสมาชิกการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบดิจิตอล GSM Advance, GSM1800 รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด ตามอัตราที่บริษัทกําหนด ตัวแทนจําหนายระบบ One-2-Call! นอกเหนือจากการจําหนายผลิตภัณฑ One-2-Call! ผานระบบตัวแทนจําหนายเดียวกันกับดิจิตอล GSM Advance และ GSM1800 แลว บริษัทยังไดจําหนายบัตรเติมเงิน ผานชองทางการจําหนายรูปแบบใหม เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคาในการซื้อบัตรเติมเงิน โดยการขยายชองทางการจัดจําหนายไปใน ธุรกิจอื่นๆ ที่ไมใชรานขายโทรศัพทเคลื่อนที่โดยตรง เชน รานขายหนังสือ รานสะดวกซื้อ สถานีบริการ น้ํามัน รานจําหนายซีดี-เทป หางสรรพสินคาและซุปเปอรสโตร ที่ทําการไปรษณียและธนาคาร เปนตน โดยบริษัทจัดทําสัญญาแตงตั้งตัวแทนจําหนายใหจําหนายผลิตภัณฑ One-2-Call! ตัวแทนจําหนายระบบ GSM 1800 DPC มีการจําหนายผลิตภัณฑโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 ผานตัวแทนจําหนายกวา 600 ราย ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายรายเดียวกับที่ไดกลาวขางตน (2) การขายตรง บริษัทไมมุงเนนการแขงขันกับตัวแทนจําหนายในระบบแฟรนไชส ตัวแทนจําหนายทั่วไป แตจะเนนการ บริการใหแกกลุมลูกคาองคกรซึ่งอาจมีความตองการใชงานโทรศัพทเพิ่มเติม โดยจะมีการซื้อเปนจํานวน มากภายใตเงื่อนไขที่แตกตางตามลักษณะธุรกิจ โดยจะมีการจดทะเบียนในนามนิติบุคคล เปนตน อยางไรก็ตาม จุดมุงหมายหลักจะเปนการเพิ่มรายไดจากบริการเสริมภายใตแบรนด “AIS Smart Solution” ซึ่งเปนการเสนอบริการที่สามารถเพิ่มมูลคาทางดานธุรกิจใหกับลูกคาองคกรของบริษัท 3.4

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาของระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ขึ้นอยูกับความสามารถ ในการ ดําเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณของบริษัทและบริษัทยอย เพื่อขยายความสามารถในการ รองรับจํานวน ผูใชบริการและขยายพื้นที่การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมากขึ้น จากการที่บริษัทไดรับอนุญาตใหสามารถดําเนินการใหบริการผานเครือขายรวม (Network Roaming) ได บริษัท และ ดีพีซี จึงไดรวมกันปรับแตง และพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทั้ง 2 บริษัท ให สวนที่ 2 หนา 31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เสมือนเปน เครือขายรวมที่สามารถรองรับการใชบริการไดทั้งในระบบ GSM 900MHz และ GSM 1800MHz (Dual-band Network) ไดอยางราบรื่น โดยใชขอดีของทั้งสองระบบ และทั้งสองคลื่นความถี่ ใหเกิดประโยชน สูงสุด ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของการใหบริการตอผูใชบริการ ที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของเครือขาย GSM ของบริษัทและ ดีพีซี ธันวาคม 2547 1.948 0.172 13.064 15.184

ธันวาคม 2548 1.863 0.136 14.409 16.408

ธันวาคม 2549 2.144 0.098 17.279 19.521

ลูกคา GSM Advance (ลานคน) ลูกคา GSM 1800 (ลานคน) ลูกคา One-2-Call! (ลานคน) รวมจํานวนลูกคา (ลานคน) ความสามารถของระบบในการ 16.990 19.190 22.525 รองรับลูกคา* (ลานคน) จํานวนสถานีฐานสะสม 9,691 10,445 11,745 หนวยลานราย ยกเวนจํานวนสถานีฐานสะสม * ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ณ สิ้นป 2549 คือคาความสามารถของเครือขายรวม GSM 900 และ GSM 1800 MHz โดยประมาณการตามอัตราการใชงานโดยเฉลี่ยของลูกคาในป 2549 เพื่อใหบริการเครือขายที่สูงดวยคุณภาพ บริษัทจึงตองเพิ่มความสามารถของระบบในการรองรับการขยายตัว ของลูกคา โดยการเพิ่มจํานวนสถานีฐานเพื่อรองรับการใชงานที่มากขึ้น และขยายพื้นที่การใหบริการที่ ครอบคลุมมากขึ้น โดยเฉพาะในเขตชุนชนใหมที่เกิดขึ้น บริษัทเลือกใชอุปกรณเครือขายโดยสั่งซื้อโดยตรง จากผูผลิตอุปกรณโทรคมนาคมชั้นนําจากทั่วโลก เชน Ericsson, Nokia, NEC, Siemens, Nortel, DMC และ Huawei เปนยี่หอหลักของอุปกรณเครือขาย และคัดเลือกเทคโนโลยีและอุปกรณเครือขายที่เหมาะสมมา ติดตั้งเพื่อบรรลุถึงคุณภาพและการใชประโยชนสูงสุดของเครือขาย 3.5

งานที่ยังไมไดสงมอบ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 32


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

4.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การวิจัยและพัฒนา ปจจุบันเทคโนโลยีทางดานโทรคมและทางดานการสารสนเทศมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว ดังนั้น เอไอเอส ซึ่งอยูในฐานะผูนําในการใหบริการโทรศัพท จึงไดใหความสําคัญตอการศึกษาวิจัยและติดตามเทคโนโลยี ใหมตางๆอยางตอเนื่อง เพื่อนําผลการศึกษาวิจัยมาพัฒนาปรับปรุงบริการอยางเหมาะสม และตอบโจทยความ ตองการใชบริการของลูกคาทุกกลุมพื่อการใชงานดานตางๆ ทั้งในดานของการติดตอสื่อสาร ความรู ขาวสารและ ความบันเทิง โดยไดนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมเพื่อใหสามารถใชงานไดประโยชนสูงสุด จากแนวคิดที่จะใหบริการตางๆ ไดเขาเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจําวันของลูกคา เอไอเอส ไดมีการศึกษาวิจัยความ ตองการของผูใชบริการในกลุมตางๆ ซึ่งรวมถึงกลุมลูกคาองคกร เพื่อเขาใจความตองการของลูกคาอยางละเอียด นอกจากนั้น ไดมีการศึกษาตลาดและเทคโนโลยีตางๆ พรอมกัน เพื่อใหสามารถวางแผน วิเคราะหและตัดสินใจ พิจารณาเรื่องการปรับปรุงและพัฒนาบริการตางๆ ไดอยางแมนยํา ซึ่งสงผลใหสามารถมีบริการตอบโจทยความ ตองการและเปนที่ยอมรับของลูกคาไดเปนอยางดี ในดานของเทคโนโลยี เอไอเอสไดนําหลักการ DNA หรือ Devices (เครื่องลูกขาย), Network (ระบบเครือขาย) และ Application (บริการ) พิจารณาในการทําบริการตางๆ นอกเหนือจากเทคโนโลยีทางดานโทรคม เอไอเอส ได มีการติดตามและศึกษาในดานอื่นๆ ประกอบกัน เชน เทคโนโลยีทางดานสารสนเทศ (IT) เขามาเปนปจจัยในเรื่อง การพัฒนาบริการเพิ่มเติม โดยพิจารณาความเปนไปไดทางเทคนิคและความเปนไปไดทางธุรกิจใหเปนไปอยาง เหมาะสมควบคูกัน ในชวงป พ.ศ. 2549 เพื่อใหตอบโจทยที่จะใหระบบการติดตอสื่อสารไดเขาไปเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวันของ ลูกคาและใหตรงกับความตองการของลูกคาในแตละกลุมมากที่สุด ทีมงานวิจัยและพัฒนาซึ่งประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญทางดานวิศวกรรม การตลาด การเงิน ไดรวมมือกันอยางจิงจัง เพื่อนําเสนอบริการใหม โดย เอไอเอส ไดออกบริการใหมสําหรับลูกคา โดยมีสวนหนึ่งของบริการที่ไดเปดดังตอไปนี้ • บริการ Radio on Mobile เปนบริการที่ชวยใหสามารถรับฟงรายการวิทยุจากเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ผาน เครือขายของเอไอเอส โดยไมจําเปนตองเปนเครื่องโทรศัพทที่มีระบบวิทยุ FM ในตัว และสามารถรับฟง ขาวสารขอมูลตางๆ จากบริการนี้ไดทั่วประเทศ แมเปนบริเวณที่สถานีวิทยุไมสามารถสงสัญญาณไปถึงก็ตาม • บริการ Alert ME หรือ บริการแจงใหโทรกลับ เปนบริการที่ชวยใหการติดตอสื่อสารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมื่อคุณติดตอผูรับในเครือขายของเอไอเอส แตไมสามารถติดตอไดเนื่องจากปลายทางไดเนื่องจาก ปดเครื่อง หรือแบตเตอรี่หมด ระบบจะทําการแจงกลับผานทาง SMS ทันที่เมื่อเลขหมายปลายทางสามารถติดตอไดอีก ครั้งหนึ่ง ซึ่งจะชวยทําลูกคาใหไมตองทําการโทรซ้ําบอยๆ • บริการ News On Demand เปนบริการที่ชวยใหลูกคาสามารถทําการ Download ขาวสารจากแหลงขาว ตางๆ เชน iTV, INN, Reuters, The Nation, VOA (Voice of America) และ กรุงเทพธุรกิจ เสมือนการอาน จากหนา Internet ดวยการกดเขา Icon News On Demand ที่แสดงบนหนาจอเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําให ผูใชบริการสามารถติดตามขาวสาร ทันเหตุการณไดตลอดเวลา

สวนที่ 2 หนา 33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• บริการ Background Melody เปนบริการที่ชวยสรางสีสันการติดตอสื่อสาร ดวยการใหผูใชบริการสามารถกด เลือกเสียง เพลง เสียงสถานการณ หรือเสียงอื่นๆ คลอระหวางการสนทนาผานระบบโทรศัพทได • บริการ Cool Serf เปนบริการที่ชวยเพิ่มความสะดวกสบายในการเขาถึงบริการเสริมตางๆ โดยไดทําเปน โปรแกรมลงบนเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งจะทําหนาที่เปนแคตตาล็อกเพื่อชวยในการเขาถึง ลูกคาสามารถดู และฟงตัวอยาง และทําการ Download Content เชน เพลง ขาว กีฬา ไดอยางงายดาย พรอมสงขาวสารให ผูใชบริการไดทราบอยางรวดเร็ว

นอกจากนั้น ทีมงานไดทําการศึกษาวิจัยและเตรียมความพรอมในเรื่องเทคโนโลยีใหมตางๆ อาทิเชน 3G (Third Generation), NGN (Next Generation Networks), WiMAX (Worldwide Interoperability for Microwave Access) และ IMS (IP Multimedia Subsystem) เพื่อการวางแผนระยะยาวในการพัฒนาบริการตางๆ และ สามารถรักษาความเปนผูนําในเรื่องการใหบริการของเอไอเอสตอไปไดอยางตอเนื่อง กระบวนการวิจัยและพัฒนา เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในเรื่องการเพิ่มศักยภาพของเอไอเอส ในดานการใหบริการ ลูกคาและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดานการตลาด และถือเปนกุญแจสําคัญของความสําเร็จในการลงทุน ดานการพัฒนาบริการตางๆ ซึ่งสงผลใหการลงทุนไดรับผลตอบแทนสูงสุด โดยเอไอเอสไดมุงเนนในเรื่องการ พัฒนาบริการใหเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวันของลูกคา โดยการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมมา ประยุกตใชในการพัฒนาบริการตางๆ ผสมผสานกับความเขาใจในความตองการของลูกคากลุมตางๆ เพื่อ ใหบริการตอบโจทยความตองการและใหไดรับประโยชนจากการใชบริการอยางแทจริง

สวนที่ 2 หนา 34


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

5.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 5.1

สินทรัพยถาวรหลัก ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร และสวนปรับปรุงอาคารเชา ของบริษัทและบริษัทยอยนั้น จะเปนของ บริษัทเปนหลัก เนื่องจากทั้งบริษัทมีสํานักงานสาขาซึ่งกระจายอยูเปนทั่วประเทศ สวนเครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องมืออุปกรณนั้นจะประกอบดวยอุปกรณเครื่องมือชาง อุปกรณและโปรแกรมคอมพิวเตอร ตลอดจน อุปกรณตางๆ ที่ใชสําหรับบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ สินทรัพยถาวรหลักของบริษัท และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ประกอบดวย หนวย: ลานบาท ประมาณอายุการใช (ป)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549

สินทรัพยถาวรหลักของบริษทั และบริษัทยอย ที่ดิน

-

1.07

อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร

5 และ 20

464.40

สวนปรับปรุงอาคารเชา/1

5 และ 10

750.01

2–5

1,854.97

เครื่องมือและอุปกรณ

3 และ 5

24,170.74

โปรแกรมคอมพิวเตอร

10

3,503.40

ยานพาหนะ

5

246.61

สินทรัพยระหวางกอสรางและติดตัง้

-

435.13

อายุสัญญาเชา และ 3

24.86

เครื่องตกแตง, ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน

อุปกรณสอื่ สารเพื่อใหเชา

31,451.19

รวม อาคาร และอุปกรณ หัก คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม

(22,345.11) 9,106.08

อาคารและอุปกรณ – สุทธิ

สําหรับสินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ไดรวมสินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินที่บริษัทและ บริษัทยอยเปนผูเชาอยูในสวนของ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน,เครื่องมือและอุปกรณ และ ยานพาหนะ เปนจํานวน 57.52 ลานบาท

/1

สวนปรับปรุงอาคารเชาเปนคาใชจา ยในการปรับปรุงตกแตงสํานักงานบริการของบริษัท

สวนที่ 2 หนา 35


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

5.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สินทรัพยภายใตสัญญารวมการงาน ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานเปนสินทรัพยที่ลงทุนโดยบริษัทและบริษัทยอย และโอนกรรมสิทธิ์ ใหแกหนวยงานรัฐผูเปนเจาของสัญญารวมการงานนั้น โดยบริษัทและบริษัทยอยจะไดสิทธิในการใชสินทรัพย นั้นในการดําเนินกิจการตลอดอายุสัญญารวมการงานนั้น ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ประกอบดวย ประเภทสินทรัพย

ตนทุน

จํานวนป

มูลคาทางบัญชี

ตัดจําหนาย

จํานวนปที่ตัด จําหนายแลว

(ลานบาท) อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM

94,190.66

10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10

50,145.51

อุปกรณเครือขายระบบอนาลอก NMT

13,735.31

สิ้นสุด กันยายน 2545

1 – 10

-

อุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ

21,435.16

10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10

9,947.77

อื่นๆ

19,737.11

10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10

14,669.91

1,506.08

10 ป

1 – 10

467.91

(ลานบาท)

ตนทุนโครงการของบริษทั

ตนทุนโครงการของ ADC เครื่องมือและอุปกรณ รวม

150,604.32

75,231.10

ตนทุนโครงการของ DPC อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM และอุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ

14,488.58

รวมตนทุนโครงการของบริษทั และ บริษทั ยอย

165,092.90

10 ป ไมเกินป 2556

สวนที่ 2 หนา 36

1-9

5,864.80 81,095.90


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

5.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญาที่สําคัญของบริษัทและบริษัทยอย 5.3.1 สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอย บริษัทและบริษัทยอยยังมีการเชาพื้นที่อาคารสํานักงานเพื่อใชในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2549 สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียดดังนี้

ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5.

6. 7.

ผูใหเชา

สถานที่

บจก.เอสซี ออฟฟช ปารค

อาคารชินวัตรทาวเวอร 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ บจก.เอสซี ออฟฟช ปารค อาคารชินวัตรทาวเวอร 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ บมจ.เอสซี แอสเสท คอปอเรชั่น อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ บจก.อีเอสวี แอสเสท อาคารอีเอสวีทาวเวอร เลขที่ 1 ถนนพหลโยธิน ซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ บจก.พหล 8, อาคารพหลโยธิน เพลส เลขที่ 408 บมจ. ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี, ถนน พหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ คุณสิริรฐั ชูกลิ่น, บจก. อาทิตย-จันทร, บจก. สยามเคหะพัฒนา, นิติบุคคลอาคารชุด พหลโยธิน เพลส, บจก.บริหารสินทรัพยกรุงศรีอยุธยา, บจก.ล็อคไทย-พร็อพเพอรตื้ส, คุณเทียนชัย ไทยบัญชากิจ, บจก. ณัฐวุฒแิ ละกานต และ คุณชิรารักษ จําลองศุภลักษณ บจก.ทรีพัลส อาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ สัญญาทําแยกแตละจังหวัด อาคารสํานักงานบริการสาขา ในจังหวัดเชียงใหม, สุราษฎรธานี, นครสวรรค, นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, หาดใหญ, ชลบุรี, อยุธยา, ระยอง, ภูเก็ต, กระบี่, อุดรธานี, ขอนแกน และ กรุงเทพฯ

สวนที่ 2 หนา 37

พื้นที่ (ตารางเมตร) 13,769

คาเชา (บาท/เดือน) 5,752,594

15,821

7,088,709

3,152

1,394,102

6,890

1,628,266

14,979

3,849,074

5,287

1,186,380

24,616

9,763,596


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5.3.2 สัญญารวมการงาน สัญญารวมการงานของบริษัทและบริษัทยอย ประกอบไปดวยสัญญารวมการงานที่ทํากับหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสามารถดําเนินธุรกิจภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐนั้นๆ สัญญารวมการงานหลักๆ ของบริษัทและ บริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ (รายละเอียดของสัญญารวมการงานอยูในเอกสารแนบ 3) (1) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) คูสัญญา อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

การยกเลิกสัญญา

: บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) : 20 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2553 : บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทีโอที ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 MHz ทั่วประเทศ โดยตองจาย ผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ตามอัตราที่ตกลง : ทีโอทีมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันทีที่บริษัทลมละลายหรือปฏิบัติผิด สัญญาขอหนึ่งขอใดของสัญญา และขอผิดสัญญาดังกลาวบริษัทมิได ดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึง ขอผิดสัญญาจาก ทีโอที เปนลายลักษณอักษร โดยบริษัทไมมีสิทธิ เรียกรองคาเสียหายใด ๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืน จาก ทีโอที แตอยางใด

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 1) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด วันที่ทาํ สัญญา : 11 ธันวาคม 2534 ขอตกลงเพิ่มเติม : ในกรณีที่ตองเชาสถานที่ของบุคคลอื่นในการติดตั้งเครื่องมือและ จากสัญญาหลัก อุปกรณ เอไอเอสตองทําสัญญาเชาสถานที่ในนามทีโอที เดิมใหทํา สัญญาโดยมีระยะเวลาเชา 22 ป เปลี่ยนเปนใหมีระยะเวลาเชาครั้ง ละไมนอยกวาครั้งละ 3 ป จนครบกําหนด 22 ป AIS ตอง รับผิดชอบตอการเปลี่ยนแปลงสถานที่เชา หากเกิดคาใชจาย หรือ คาเสียหายแตเพียงผูเดียว

สวนที่ 2 หนา 38


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลง วันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 2) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด วันที่ทําสัญญา : 16 เมษายน 2536 ขอตกลงเพิ่มเติม : เปลี่ยนชื่อบริษัท จาก บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด จากสัญญาหลัก เปน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 3) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา : 28 พฤศจิกายน 2537 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1.เปลี่ยนแปลงที่อยูในการสงคําบอกกลาว ทั้งเอไอเอส และ ทีโอที จากสัญญาหลัก 2. กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดเก็บและแบงรายได 2.1 ทีโอที ตกลงแบงรายไดจากการให เอไอเอส บริการ โทรศัพทระหวางประเทศเฉพาะการเรียกออกจากเลข หมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหแกเอไอเอส ดังนี้ - กรณีโทรไปยังประเทศที่ไมมีพรมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจายสวนแบงรายไดใหเอไอเอสเปนรายเดือนใน อัตรานาทีละ 3 บาท - กรณีโทรไปยังประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจายสวนแบงรายไดใหเอไอเอสเปนรายเดือนใน อัตรานาทีละ 3 บาท และเอไอเอสมีหนาที่ออกใบแจงหนี้ เรียกเก็บจากผูใชบริการ และนําสงใหทีโอที 2.2 เมื่อเอไอเอสไดรับรายได จะตองนํามารวมเปนรายไดเพื่อ คํานวณเปนสวนแบงรายไดใหทีโอทีตามสัญญาหลัก ขอ 30. เมื่อครบรอบปดําเนินการดวย 2.3 เอไอเอส ยินยอมสละสิทธิและยกสวนแบงรายไดจากการ ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศกับประเทศที่มี พรมแดนติดกับประเทศไทยที่เอไอเอส ไดจัดเก็บและนําสง ใหทีโอทีแลว ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ใหแก ทีโอที ทั้งหมด

สวนที่ 2 หนา 39


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 4) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา : 20 กันยายน 2539 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. ขยายระยะเวลา การอนุญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา จากสัญญาหลัก 20 ป นับตั้งแตวันที่เริ่มเปดใหบริการ เปน 25 ป 2. ยกเลิกเงื่อนไขในสัญญาหลักขอ 18 ที่ใหสิทธิแก เอไอเอสใน การเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แตเพียงผูเดียว 3. เอไอเอส เปนผูลงทุนทําระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง (Transmission Networks) ในสื่อตัวนําทุกชนิด เพื่อเชื่อมโยง กับโครงขายของทีโอทีและโครงขายอื่นที่จําเปน และยกใหเปน ทรัพยสินของทีโอที โดย เอไอเอส ไดรับสิทธิบริหารดูแลและ บํารุงรักษาโครงขายทั้งหมด 4. เอไอเอสมีสิทธิใช ครอบครอง ระบบสื่อสัญญาณและทรัพยสิน ที่ได จัดหามาโดยไมตองเสียคาตอบแทนใดๆ 5. มีสิทธิแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณในสวนที่เหลือ จากการใชงาน โดยเอไอเอสเปนผูบริหารผลประโยชนดังกลาว 6. ในกรณีที่บุคคลอื่น หรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผาน โครงขาย เอไอเอส มีสิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนในอัตรา ที่ทั้งสองฝายตกลงรวมกัน 7. ยกเลิกเงื่อนไขในขอ 29.6 ที่หามการใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ กับ กสท โดยที่ เอไอเอส สามารถใหบริการโทรศัพท ทางไกลระหวางประเทศผานชุมสายของ กสท ไดโดยตรง ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขที่จะไมทําให ทีโอที ไดรับรายไดนอยลง จากที่เคยไดรับอยูตามสัญญาหลัก 8. เปนการกําหนดอัตราสวนแบงรายไดที่ AIS ตองจายให ทีโอที ในปที่ 21-25 ในอัตรารอยละ 30 กอนหักคาใชจายและคาภาษี ใด ๆ และ เอไอเอส มีสิทธิลดหรือยกเวนคาใชบริการกรณีที่มี รายการสงเสริมการขายได โดยใหชําระสวนแบงรายไดตาม รายการสงเสริมการขายที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ 9. ในกรณีที่มี การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของโครงขายใหมี ประสิทธิภาพ เอไอเอส เปนผูลงทุนใชดวยคาใชจา ยของ เอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินตางๆ ตกเปนของ ทีโอที

สวนที่ 2 หนา 40


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 5) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา : 25 ธันวาคม 2543 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. เอไอเอสเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากสัญญาหลัก 2. เอไอเอสเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการและจายสวน แบงผลประโยชนใหทีโอที 3. สัดสวนผลประโยชนจากรายไดระหวางเอไอเอสกับทีโอที แยก ประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของทีโอที” ตลอดอายุ สัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 25 เอไอเอส ไดรับ ในอัตรารอยละ 75 3.2 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของเอไอเอส” ตลอด อายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 22 เอไอเอส ไดรับในอัตรารอยละ 78 4. เอไอเอสและทีโอทีจะตองทําการตลาดรวมกัน และ ไมทํา การตลาดที่เปนการแยงผูใชบริการในโครงขายทีโอที 5. เอไอเอสจะตองเปนผูจัดทําและลงนามในสัญญาเชาใชระบบ สื่อสัญญาณกับผูใชบริการทุกราย และทํารายงานการเชาสงให ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน ขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 6) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 15 พฤษภาคม 2544

ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

การให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ บบใช บั ต รจ า ยเงิ น ล ว งหน า (Prepaid card) 1. เอไอเอสตกลงจายผลประโยชนตอบแทนในอัตรารอยละ 20 ของ มูลคาหนาบัตร (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ใหแกทีโอทีสําหรับบัตรที่ จําหนายไดเปนรายเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในป ที่ 11-15 ของสั ญ ญาหลั ก เอไอเอสจะต อ งลดราคา คาบริการใหผูใชบริการในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแตละปไม นอยกวารอยละ 5 ของคาบริการที่ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแตละปไมนอยกวารอยละ 10 ของคาบริการที่ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 สําหรับปที่ 16 – ปที่ 25 ของปดําเนินการตามสัญญาหลัก สวนที่ 2 หนา 41


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) คูสัญญา : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทีโอที) วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

1. บมจ.ทีโอที อนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตาม สั ญ ญาหลั ก ให ผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น เข า มาใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตใหบริษัทเขาไปใชเครือขาย รวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่นไดเชนเดียวกัน 2. การใชเครือขายรวม (Roaming) บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่ว ประเทศและบริษัทมีสิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ใน อัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ โดยตองทําหนังสือแจงให บมจ.ทีโอที ทราบกอน 3. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขาย รวม (Roaming) ให บมจ.ทีโอที - ในกรณี ที่ ผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น เข า มาใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ในเครือขายของบริษัท บริษัทตกลงจายในอัตรา รอยละ(ระบุตามสัญญาหลัก)ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่ เรียกเก็บจากผูใหบริการรายอื่น - ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผู ใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายในอัตรารอยละ(ระบุตาม สัญญาหลัก)ของรายไดคาบริการและเงิน อื่นใดที่เรียกเก็ บ จากผูใชบริการ หักดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจาย ใหแกผูใหบริการรายอื่น

สวนที่ 2 หนา 42


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(2) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ( ADC ) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา

:

บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (บมจ.ทีโอที) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

อายุของสัญญา

:

25 ป (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 )

ลักษณะของสัญญา

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดย ใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุด ตอหลายจุด (Point to Multipoint) โดยตองจายผลประโยชนตอบแทน ให ทีโอทีในลักษณะของการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแก ทีโอที โดย ทีโอทีไม ตองชําระเงินคาหุนแตอยางใด

การยกเลิกสัญญา

:

ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ให ผูอื่นดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทีโอทีเชื่อ วา ADC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรื อปฏิบัติผิดสัญญาขอ หนึ่งขอใด โดย ADC ตองรับผิ ดชอบ คาเสียหายใหแก ทีโอที และทรัพยสินตางๆใหตกเปนกรรมสิทธิของ ทีโอที ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย เกิดขึ้น ทําให ADC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

สวนที่ 2 หนา 43


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(3) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 คูสัญญา

: บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด ( มหาชน) (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

อายุของสัญญา

: 16 ป (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556)

ลักษณะของสัญญา

: DPC ได รั บ อนุ ญ าตจาก กสท. ให ดํ า เนิ น การให บ ริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 บางสวนที่ไดรับโอนสิทธิ จาก TAC โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให กสท. เปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจาย ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่เกิดขึ้นจาก การดํ า เนิ น การให บ ริ ก าร ทั้ ง นี้ ผ ลประโยชน ดั ง กล า วต อ งไม ต่ํ า กว า ผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา : สัญญานี้สิ้นสุดลงหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฏิบัติตามสัญญา หรือ ปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความเสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ DPC ตกเปนผูขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท.ได แจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา 90 วัน

การยกเลิกสัญญา

สวนที่ 2 หนา 44


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด ( มหาชน) (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดยไดรับความยินยอมจาก กสท.

ขอตกลงผอนปรนสัญญาใหบริการ (Agreement to Unwind the Service Provider Agreement) คูสัญญา

:

บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

วันที่ทําสัญญา

:

ลักษณะสัญญา

:

บริษัท สามารถ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) วันที่ 7 มกราคม 2540 DPC ตกลงจายผลตอบแทนใหแก TAC เพื่อตอบแทนคาโอนสิทธิ และ หนาที่ในการดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมเซลลูลา คาใชอุปกรณ และคาเชื่อมโครงขาย เปนจํานวนเงินประมาณ 5,187.31 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 45


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5.3.3 หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจ (1)

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด ( ADC ) ใบอนุญาตใหบริการอินเตอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MN/INT/ISP/I/022/2548

(2)

ผูอนุญาต

: คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต

: วันที่ 19 ธันวาคม 2548 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2549 ใบอนุญาตไดรับการ ตออายุออกไปอีก 1 ป

ลักษณะของ หนังสืออนุญาต

: เป น ผู รั บ อนุ ญ าตให บ ริ ก ารอิ น เตอร เ น็ ต ประเภทไม มี โ ครงข า ยโทร คมนาคมเปนของตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ ADC มีหนาที่ตอง ชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิก หนังสืออนุญาต

: คณะกรรมการกิ จ การโทรคมนาคมแห ง ชาติ มี อํ า นาจสั่ ง เพิ ก ถอน ใบอนุ ญ าตก็ ต อ เมื่ อ ปรากฏว า ADC ฝ า ฝ น หรื อ ไม ป ฏิ บั ติ ต าม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การโทรคมนาคมแห ง ชาติ กํ า หนด และมิ ไ ด แ ก ไ ข ปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

บริษัท แอดวานซ เมจิค การด จํากัด (AMC) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 006/2548 ผูอนุญาต

: กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต

: ตั้งแตวันที่ 20 กรกฎาคม 2548 เปนตนไป

ลักษณะของ หนังสืออนุญาต

: อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือ คาบริการแทนเงินสด

การยกเลิก หนังสืออนุญาต

: กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏ วา AMC ฝาฝนหรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบ กิจการตามที่กระทรวงการคลังและธนาคารแหงประเทศไทย ประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่อาจ กอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนของประชาชนอยางรายแรง และมิไดแกไขปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตอง ภายในระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 2 หนา 46


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

(3)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (AMP) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 003/2548

(4)

ผูอนุญาต

: กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต

: ตั้งแตวันที่ 24 มิถุนายน 2548 เปนตนไป

ลักษณะของ หนังสืออนุญาต

: อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือ คาบริการแทนเงินสด

การยกเลิก หนังสืออนุญาต

: กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา AMP ฝาฝนหรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการ ตามที่กระทรวงการคลังและธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่อาจกอใหเกิดความเสียหายแก ประโยชนของประชาชนอยา งรายแรง และมิไ ดแ กไขปรับปรุงฐานะ การเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (AIN) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอนุญาต

: คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต

: วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ลักษณะของ หนังสืออนุญาต

: เปนผูรับอนุญาตใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพทระหวางประเทศ และบริการที่เกี่ยวเนื่องกับบริการโทรศัพทระหวางประเทศ ตลอดจน บริการโครงขายบริการโทรศัพทระหวางประเทศ ทั้งนี้ AIN มีหนาที่ ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตามอัตรา และกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติได ประกาศกําหนดไว

การยกเลิก หนังสืออนุญาต

: คณะกรรมการกิจ การโทรคมนาคมแหง ชาติ มีอํานาจสั่งเพิ กถอน ใบอนุ ญ าตก็ ตอเมื่ อ ปรากฏวา AIN ฝา ฝ น หรือ ไมป ฏิ บัติตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติกําหนด และ มิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 2 หนา 47


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5.3.4 สัญญาอื่นๆ บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) คูสัญญา

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใช เครือขายรวม (Roaming)

:

1. เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ ก ผูใ ชบริการของคูสัญญาทั้งสองฝา ย นับตั้งแตวัน ที่ 1 ตุลาคม 2545 เปนตนไป บริษัท ตกลงให DPC เขามาใชเครือขาย โทรศัพท เคลื่อนที่ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เปนตน ไป DPC ตกลงใหบริษัท เขามาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บ า ท ( ส อ ง บ า ท สิ บ ส ต า ง ค ) ซึ่ ง เ ป น อั ต ร า ที่ ยั ง ไ ม ร ว ม ภาษีมูลคาเพิ่ม

5.4

นโยบายการลงทุนและบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโนบายการลงทุนโดยเลือกลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และธุรกิจอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ โดยมุงเนนที่จะลงทุนในบริษัทที่ใหผลตอบแทนที่ดีหรือมีการดําเนินธุรกิจที่สามารถเสริมประโยชน กับธุรกิจหลักของบริษัทไดในระยะยาว ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2549 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทยอย 11 บริษัท คือ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เอดีซี) บริษัท แอดวานซคอนแทคเซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี) บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (ดีเอ็นเอส) บริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด (ดีแอลที) บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด (เอเอ็มซี) บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (เอไอเอ็น) บริษัท เอไอเอส ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวซีเอ็น) และ บริษัท เอไอเอส ไวร เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) บริษัทมีแผนที่จะยังคงสัดสวนการถือหุนและมีสวนสําคัญในการบริหารงานในบริษัทยอยตามที่กลาวมา ขางตนตอไป ปจจุบันบริษัทมีนโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย โดยการสงตัวแทนของบริษัทไปเปน กรรมการในบริษัทยอยทุกบริษัท ยกเวน บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด เนื่องจากบริษัทไดหยุด ดําเนินการชั่วคราวตั้งแต เดือนธันวาคม 2545

สวนที่ 2 หนา 48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

6.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงการในอนาคต

1) โครงการ

บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G

ลักษณะของโครงการ

บริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนระบบ 3G หรือ Third Generation เปนเทคโนโลยี บนมาตรฐานสากลที่ทําใหเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ใหสามารถใหบริการรับสง สัญญาณเสียงที่มีป ระสิทธิ ภาพสูงขึ้ นรองรับการใชงานไดมากขึ้น และมีการ สื่อสารดวยขอมูลที่รวดเร็วยิ่งขึ้น ในทางเทคนิค เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่บน เทคโนโลยี 3G สามารถสื่อสารขอมูลดวยความเร็วสูงถึง 384 Kbps ในทุก สภาวะแวดลอม และ 2 Mbps ในสภาวะเคลื่อนที่ต่ํา (Low-Mobility) และสภาวะ ภายในอาคาร ซึ่งสูงกวาเทคโลยี 2.5G ที่มีความเร็วเพียง 40 Kbps ทั้งนี้ เทคโนโลยี 3G จะชวยใหบริษัทสามารถพัฒนาบริการที่หลากหลายมากขึ้น เชน อินเตอรเน็ต อีเมล มัลติมีเดีย การดาวนโหลดเพลงและวีดีโอ การรับสงขอความ แบบทันที และบริการอื่นๆ ที่ตองอาศัยความสามารถในการรองรับสูง บริ ษั ท มี ค วามสนใจที่ จ ะพิ จ ารณาขอใบอนุ ญ าตการประกอบธุ ร กิ จ บริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G โดยจะตองมีการศึกษารายละเอียดของหลักเกณฑ การให ใ บอนุ ญ าตจากคณะกรรมการกิ จ การโทรคมนาคมแห ง ชาติ (กทช) เสี ย ก อ น ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู ใ นขั้ น ตอนการรอให กทช. ออกหลั ก เกณฑ ก ารให ใบอนุญาตประกอบการดังกลาว งบประมาณในการลงทุนคาดวาอยูที่ประมาณ 250-400 ลานเหรียญสหรัฐตอป โดยเปนการลงทุนในเทคโนโลยี WCDMA ที่ ยานความถี่ 2.1GHz โดยบริษัทจะเริ่มลงทุนในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ เมืองใหญกอน

ผลตอบแทนที่คาดหวัง

ประมาณ 12 - 15% ของมูลคาเงินลงทุน

ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

ก) ความเสี่ ย งเรื่ อ งความล า ช า ของการจั ด สรรคลื่ น ความถี่ ใ หม สํ า หรั บ ใบอนุญาต 3G เนื่องจากการคัดเลือกและแตงตั้งคณะกรรมการกิจการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนแหงชาติ (กสช) ยังไมไดผลสรุป โดย ตามกฎหมายมาตรา 80 การจัดสรรคลื่นความถี่ใหม เปนหนาที่รับผิดชอบ รวมกันระหวาง กทช. และ กสช. ข) ความพรอมของผูใชบริการตอเทคโนโลยี 3G ขึ้นอยูกับปจจัยดานราคาของ เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G และความนาสนใจของบริการ 3G บริษัทไดมีการเตรียมพรอมตอเนื่องจากเทคโนโลยี 2.5G ซึ่งใหความรูแก ผูใชบริการเพี่อพัฒนาไปสูการใชงานบนเทคโนโลยี 3G ประกอบกับ ปจจุบันมีจํานวนผูใชบริการดานขอมูล การใชงานขอมูลที่เติบโตสูงตอเนื่อง มาหลายปที่ผานมา นอกจากนี้ราคาโทรศัพทเคลื่อนที่ก็มีแนวโนมลดลงใน อนาคตซึ่งจะชวยใหยอดผูใชบริการ 3G ใหเติบโตมากยิ่งขึ้น

สวนที่ 2 หนา 49


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2) โครงการ

โทรศัพทพื้นฐาน (Fixed Line)

ลักษณะของโครงการ

บริษัทกําลังศึกษารายละเอียดโครงการใหบริการผานโทรศัพทพื้นฐาน (fixed line) โดยมุงเนนเรื่องการใหบริการทางดานขอมูล เพื่อสงเสริมเปาหมายในการ เปนผูนําในการใหบริการการสื่อสารไรสาย โดยบริการเครือขายโทรศัพท พื้นฐานจะชวยใหลูกคามีการติดตอสื่อสารที่คลองตัวและงายมากขึ้น ทั้งสําหรับ การใชงานในสภาวะอยูกับที่ และการใชงานในสภาวะเคลื่อนที่ อยางไรก็ตาม โครงการนี้ถือเปนโครงการในระยะยาวซึ่งตองใชเวลาศึกษาในรายละเอียด และ กฎระเบียบของขอบังคับใบอนุญาตอีกมาก โดยในเบื้องตนบริษัทยังไมสามารถ ประมาณงบประมาณการลงทุน และผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากการลงทุน ในโครงการนี้ได

ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

ก) มีความเสี่ยงในดานการลงทุนเนื่องจากโครงสรางโทรศัพทพื้นฐานอาศัย เทคโนโลยีที่มีราคาตอหนวยผูใชบริการคอนขางสูง จึงตองมีการศึกษาถึง ความตองการของผูบริโภคอยางรอบคอบ ข) ธุรกิจใหบริการโทรศัพทพื้นฐานเปนอีกหนึ่งบริการที่มีแนวโนมวาจะมีการ เป ด เสรี โ ดยการให ใ บอนุ ญ าตเพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง นี้ ใ นป จ จุ บั น ก็ มี ผู ใ ห บ ริ ก าร โทรคมนาคมหลายรายที่ตองการขยายบริการสู การเชื่อมตอขอมูลผา น เครือขายความเร็วสูง จึงมีแนวโนมการแขงขันอยางมากในอนาคต ทั้งนี้ บริ ษั ทมี ค วามเชื่ อ มั่น ว า จากฐานลู ก ค า และบริ ก ารหลากหลายที่ มีอ ยู ใ น ปจจุบัน ประกอบกับประสบการณในการใหบริการ จะสามารถเลือกลงทุน อยางรอบคอบเพื่อใหไดผลตอบแทนที่ดี

สวนที่ 2 หนา 50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3) โครงการ

ไวแมกซ (WiMAX)

ลักษณะของโครงการ

บริ ษั ท กํ า ลั ง ศึ ก ษารายละเอี ย ดโครงการให บ ริ ก ารไวแมกซ หรื อ เทคโนโลยี การเชื่อมตอไรสายความเร็วสูงที่อาศัยการสงขอมูลบนเครือขายไรสายที่มีความ ครอบคลุมกวาง (wireless metropolitan area network) ทั้งนี้ เทคโนโลยี ไวแมกซ จะชวยสงเสริมประสิทธิภาพใหแกบริการบรอดแบนดและเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ท่ีบริษัทใหบริการอยูในปจจุบัน นอกจากนี้ ยังชวยใหบริษัท สามารถเขาถึงตลาดลูกคาบรอดแบนดตามเขตที่อยูอาศัยไดโดยไมจําเปนตอง ลงทุน เชื่อมตอสายซึ่ งใชระยะเวลานานและมีราคาแพง และชวยใหสามารถ ขยายเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ไดงายขึ้นสําหรับในบางพื้นที่ดวย อยางไรก็ตาม โครงการไวแมกซยังตองอาศัยความชัดเจนดานมาตรฐานทาง เทคโนโลยี คลื่นความถี่ที่จะใชกับไวแมกซ ความเปนไปไดในการใหบริการใน เชิงพาณิชย และกฎระเบียบขอบังคับการใหใบอนุญาต โดยในเบื้องตนบริษัทยัง ไมสามารถประมาณงบประมาณการลงทุน และผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ จากการลงทุนในโครงการนี้ได

ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

ก) มีความเสี่ยงในดานมาตรฐานทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะบนมาตรฐานไว แมกซระบบเคลื่อนที่ (Mobile WiMAX) ทั้งนี้เนื่องจากปจจุบัน การพัฒนา มาตรฐานของเทคโนโลยี IEEE 802.16e ยังไมไดขอสรุป แตคาดวาจะ แลวเสร็จในปพ.ศ. 2550 สําหรับผูประกอบการแลว การลงทุนในไวแมกซ เคลื่อนที่นาจะเปนทางเลือกที่ดีกวา เนื่องจากเปนเทคโนโลยีที่พัฒนาไป มากกวาไวแมกซระบบพื้นฐาน (Fixed WiMAX) ทั้งในแงของคุณภาพการ ใหบริการ และ ความสามารถสงตอขอมูล ข) มี ค วามเสี่ ย งในส ว นของกฎข อ บั ง คั บ ในอนุ ญ าต เช น คลื่ น ความถี่ ที่ จ ะ อนุญาตใหใชกับบริการไวแมกซ คาธรรมเนียมใบอนุญาต และหนาที่ของ ผูประกอบการที่มาพรอมใบอนุญาต ดังนั้นในเบื้องตน บริษัทตองศึกษา รายละเอียดของใบอนุญาตใหรอบคอบรวมถึงความตองการของผูบริโภค ตอบริการชนิดนี้กอนที่จะตัดสินใจลงทุน

สวนที่ 2 หนา 51


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

4) โครงการ

บริการโทรศัพทระหวางประเทศ (International telephone service/gateway)

ลักษณะของโครงการ

บริการโทรศัพทระหวางประเทศ หรือ International telephone Gateway เปน บริการเชื่อมตอโทรศัพททางไกลระหวางเครือขายในประเทศไทยและเครือขาย ตางประเทศ ทั้งนี้บริษัทไดลงทุนในธุรกิจโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผาน บริษัทในเครือ เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (เอไอเอ็น) โดย ไดรับใบอนุญาตจาก กทช. ในเดือนกรกฏาคม 2549 ใหประกอบธุรกิจเปนเวลา 20 ป และคาดวาจะสามารถเริ่มใหบริการไดภายในไตรมาสที่ 1/2550 นอกเหนือไปจากการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศแกลูกคาของเอไอเอส แลว เอไอเอ็นยังสามารถใหบริการแกผูประกอบการรายอื่น ลูกคาองคกร และ ลูก ค า ทั่ว ไปไดอี ก ดวย ทั้งนี้ บริ ษัทมีค วามเชื่อมั่ น วา ธุ ร กิจ นี้ จ ะช วยเพิ่ ม การ เจริญเติบโตของรายไดซึ่งเปนผลมาจากการเติบโตของการใชงานโทรศัพท ระหวางประเทศที่สูงขึ้นเรื่อยๆในประเทศไทย โดยงบประมาณการลงทุนอยูที่ ประมาณ 200-300 ลานบาท

ผลตอบแทนที่คาดหวัง

ประมาณ 20 - 25% ของมูลคาเงินทุน

ปจจัยความเสี่ยงของโครงการ

ก) บริการโทรศัพทระหวางประเทศเปนธุรกิจที่มีความเสี่ยงในดานการลงทุน คอนขางต่ํา เนื่องจากจํานวนเงินลงทุนสําหรับ Gateway ไมสูงมากนัก อีกทั้งยังสามารถติดตั้งไดรวดเร็ว และเปนเทคโนโลยีที่มีมานานและไมไดมี ความซับซอนสูงมากนัก ข) ความเสี่ ย งด า นการแข ง ขั น จะเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ในอนาคต เนื่ อ งจากมี แนวโน ม ว า จะเป น หนึ่ ง ในธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารเป ด เสรี โ ดยการออกใบอนุ ญ าต จํานวนมาก ซึ่งจะสงผลใหมีการแขงขันกันทั้งดานคุณภาพและราคา ซึ่ง หมายถึงกําไรตอหนวยที่อาจลดลงในอนาคต ทั้งนี้บริษัทมีความเชื่อมั่นวา จากฐานลูกคาที่ใหญเปนอันดับหนึ่งจะชวยใหสามารถทําการตลาดเพื่อ สรางฐานลูกคาไดอยางรวดเร็ว และ สามารถไดรับผลตอบแทนคืนจากการ ลงทุนไดภายในระยะเวลาสองสามปแรกนับจากวันที่เริ่มใหบริการ

สวนที่ 2 หนา 52


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

7.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอพิพาททางกฎหมาย บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (“DPC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย มีขอพิพาทกรณี บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) เสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เปนขอพิพาท หมายเลขดําที่ 36/2546 วันที่ 30 มิถุนายน 2546 และ 62/2546 วันที่ 28 ตุลาคม 2546 และในป 2549 นี้ไดเพิ่มขอ พิพาทหมายเลขดําเลขที่ 55/2549 วันที่ 5 กรกฎาคม 2549 เพื่อเรียกรองให DPC ชําระเงินเปนเงินจํานวน 699.77 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 9.5 ตอป จากตนเงินจํานวน 653.34 ลานบาท นับจากวันเสนอขอพิพาท จนกวาจะชําระเสร็จ และใหชําระเงินจํานวน 720.63 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 9.5 ตอป จากตนเงิน จํานวน 715.41 ลานบาท นับจากวันเสนอขอพิพาทจนกวาจะชําระเสร็จ และ ใหชําระเงินจํานวน 3,766.91 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 9.5 ตอป จากตนเงินจํานวน 3,370.11 ลานบาท นับจากวันเสนอขอพิพาทจนกวาจะ ชําระเสร็จ ตามลําดับ อันเกิดจากมูลหนี้ตามสัญญา Agreement to Unwind the Service Provider Agreement ฉบับลงวันที่ 7 มกราคม 2540 ซึ่ง DPC ไดยื่นคําคัดคานขอเรียกรองทั้งสามกรณีดังกลาวแลว ปจจุบันอยูในระหวาง การพิจารณาขอพิพาทของคณะอนุญาโตตุลาการ อนึ่งหาก DPC จะตองชําระเงินตามขอเรียกรอง คําชี้ขาด หรือคํา พิพากษา ก็ไมเปนเหตุให DPC มีภาระที่จะตองชําระหนี้เพิ่มขึ้นกวาหนี้ที่มีอยูเดิม สิทธิเรียกรองและขอพิพาทใน กรณีนี้จึงไมทําใหกลุมบริษัทไดรับผลกระทบตอฐานะทางการเงินหรือการดําเนินกิจการของบริษัทแตอยางใด โดย สัญญาดังกลาวกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนไวที่ 38.57 บาทตอ 1 เหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ DPC มีขอพิพาทกรณีที่บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เสนอขอพิพาทตอสถาบัน อนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 99/2549 วันที่ 13 ตุลาคม 2549 เพื่อเรียกรองให DPC ชําระเงินคาธรรมเนียมเลขหมายจํานวน 17,989,759.92 บาท พรอมเบี้ยปรับ เงินเพิ่มในอัตรา รอยละ 1.25 ตอเดือน นับถัดจากวันเสนอขอพิพาทเปนตนไป จนกวาชําระเสร็จ และใหชําระ คาธรรมเนียมเลขหมายที่ กสท. จะชําระใหแก กทช. ตอไป ซึ่ง DPC ไดยื่นคําคัดคานขอเรียกรองดังกลาวแลว ปจจุบันอยูในระหวางการพิจารณาขอพิพาทของคณะอนุญาโตตุลาการ อนึ่งหาก DPC จะตองชําระเงินตามขอ เรียกรอง คําชี้ขาด หรือคําพิพากษา ก็ไมเปนเหตุใหกลุมบริษัทไดรับผลกระทบตอฐานะทางการเงินหรือการดําเนิน กิจการ

สวนที่ 2 หนา 53


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

8.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางเงินทุน 8.1

หลักทรัพยของบริษัท (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ณ วันที่ 2 มีนาคม 2550 ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 4,997,459,800 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท (เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2549 บริษัทจดทะเบียนลดทุนโดยตัดหุนที่ซื้อ คืนจํานวน 2,540,200 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) ทุนที่ออกและชําระแลว : 2,954,592,042 บาท ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 2,954,592,042 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท (2)

โครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน (ปดโครงการแลวเมื่อมิถุนายน 2549) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2545 เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2545 มีมติอนุมัติใหบริษัท ดําเนินโครงการซื้อหุนคืนเพื่อบริหารเงิน โดยมีรายละเอียดโครงการซื้อหุนคืน ดังนี้

วงเงินสูงสุดในการซื้อหุนคืน

ไมเกิน 3,500 ลานบาท

จํานวนหุนที่จะซื้อคืน

ไมเกิน 90 ลานหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละไม เกิน 3.07 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด

วิธีการในการซื้อหุนคืน

ซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืน

ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2545 ถึง 1 มิถุนายน 2546 (ภายใน 6 เดือน)

หลักเกณฑในการกําหนดราคาหุนที่จะซื้อคืน บริ ษั ท ใช วิ ธี วิ เ คราะห อั ต ราส ว นลดกระแสเงิ น สด (Discounted Cash Flow Analysis) รวมถึงการนําราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วัน กอนวันที่บริษัทเปดเผยขอมูล ทั้งนี้ ราคาหุนเฉลี่ยยอนหลัง 30 วัน ตั้งแตวันที่ 2 ตุลาคม 2545 ถึงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 เทากับ 33.525 บาทตอหุน เหตุผลในการซื้อหุนคืน

เพื่อวั ตถุป ระสงคใ นการบริ ห ารสภาพคล อ งของบริษัท และเพิ่ ม ผลตอบแทนใหแกสวนของผูถือหุน (ROE) รวมถึงเพิ่มกําไรสุทธิ ตอหุน (EPS) ผูบริหารของบริษัทมีความเชื่อมั่นตอศักยภาพและ การเจริ ญ เติ บ โตของบริ ษั ท ที่ จ ะมี ต อ ไปในอนาคต และเห็ น ว า ปจจุบันราคาหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยของบริษัทอยู ในระดับต่ํากวามูลคาที่แทจริง

สิทธิของหุนที่บริษัทซื้อคืน

หุนที่บริษัทซื้อคืนจะไมนับเปนองคประชุมในการประชุมผูถือหุน รวมทั้ง ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินปนผล

การจําหนายและการตัดหุนที่ซื้อคืน

บริษัทอาจทําการจําหนายหุนคืน โดยการขายในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือ เสนอขายตอประชาชนทั่วไป ซึ่งขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมในขณะนั้น

กําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซื้อคืน

ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2546 ถึง วันที่ 1 มิถุนายน 2549 (ภายหลัง 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จแตตองไมเกิน 3 ป) สวนที่ 2 หนา 54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2546 เปนวันครบกําหนดระยะเวลาซื้อหุนคืน บริษัทไดทําการซื้อหุนคืนทั้งสิ้น 2,540,200 หุน คิดเปนรอยละ 0.086 ของทุนชําระแลว มูลคารวม 83.13 ลานบาท (รวมคาธรรมเนียมใน การซื้อขายหลักทรัพย) ตามกฎกระทรวงเรื่อง “กําหนดหลักเกณฑและวิธีการวาดวยการซื้อหุนคืน การจําหนายหุนที่ซอื้ คืนและ การตัดหุนที่ซื้อคืนของบริษัท” กําหนดใหบริษัทตองจําหนายหุนที่ซื้อคืนใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม เกิน 3 ปนับจากการซื้อหุน คืนเสร็จสิ้น โดย ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2549 เปนวันครบกําหนดการจําหนาย หุนที่ซื้อคืน ซึ่งบริษัท มิไดทําการขายหุนที่ซื้อคืนแตประการใด จึงตัดหุนที่ซื้อคืนและลดทุนชําระแลว ของบริษัท จํานวน 2,540,200 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท คิดเปนรอยละ 0.09 ของทุนชําระแลว กอนลดทุน โดยบริษัทไดดําเนินการจดทะเบียนลดทุนชําระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2549 (3)

โครงการออกและเสนอขายหุน ใหกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึง่ เปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 3/2542 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมัติใหบริษัทเขารวม โครงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund – TTF) และยินยอมให กองทุนรวมดังกลาวลงทุนในหุนหรือมีไวซึ่งหุนของบริษัท ในอัตราสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของ จํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 6.75 ลานหุนของ จํานวนหุนที่ชําระแลว 270 ลานหุน ทั้งนี้ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวที่ซื้อหนวยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะไดรับเฉพาะผลประโยชนในรูป ตัวเงินเทานั้น โดยที่อํานาจการบริหารงานยังคงอยูกับผูบริหารชาวไทยเชนเดิม โดยในเดือน กุมภาพันธ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไดอนุมัติใหกองทุนรวมดังกลาวเขาซื้อ-ขายหุน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยได จากการประชุมผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุมัติการจัดสรรหุนสามัญที่ยัง มิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการเฉพาะเจาะจงใหแก SHIN และ SingTel และลด มูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เหลือหุนละ 1 บาท จากการจัดสรรหุนและการลดมูลคาหุน ดังกลาว สงผลใหจํานวนหุนที่บริษัทยินยอม TTF ลงทุนในหุนของบริษัทในสัดสวนไมเกินรอยละ 2.50 ของจํานวนหุนที่เรียกชําระแลว ซึ่งคิดเปนจํานวนหุนประมาณ 73.37 ลานหุนของจํานวนหุนที่ ชําระแลว 2,935 ลานหุน ณ วันที่ 2 มีนาคม 2550 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวโดยลงทุนในหุนของ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส มีจาํ นวน 64,039,000 หุน คิดเปนรอยละ 2.17 ของจํานวนหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้งหมดของบริษัท (จํานวนหุนที่ชําระแลว 2,954,592,042 หุน)

(4)

ตราสารแสดงสิทธิในผลตอบแทนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง (NVDR) ณ วันที่ 2 มีนาคม 2550 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด มีหุนสามัญของบริษัทเปนหลักทรัพยอางอิง จํานวน 69,048,397 หุน หรือคิดเปนรอยละ 2.34 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท (จํานวนหุนที่ชําระแลว 2,954,592,042 หุน) ซึง่ ไมมีสิทธิในการออกเสียงของผูถือหุนอันเนื่องมาจาก บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ไมใชสิทธิในการออกเสียงในการประชุมผูถือหุน

สวนที่ 2 หนา 55


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

(5)

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท (โครงการ ESOP) บริ ษั ท ได กํ า หนดให มี โ ครงการเสนอขายใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ น สามั ญ ต อ กรรมการและ พนักงานของบริษัทโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจและตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการ และพนัก งานของบริ ษัท นอกจากนี้เ พื่อ ใหบุ ค คล ดั งกลา วมี ค วามตั้ ง ใจในการทํา งาน เพื่อ สร า ง ประโยชนสูงสุดใหแกบริษัท อีกทั้งเพื่อเปนการสรางแรงจูงใจใหกรรมการและพนักงาน ทํางานกับ บริษัทตอไปในระยะยาว โดยโครงการจะมีลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ บริษัทจะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิทุกๆ ป มีระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป และใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกจะมีอายุไมเกิน 5 ป นับจากวันออกและเสนอขายในแตละครั้งของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียดลักษณะ รวมถึง สิทธิและเงื่อนไขของใบสําคัญแสดงสิทธิที่คลายคลึงกันทั้ง 5 ครั้ง ของการเสนอขาย ซึ่งมีการออกและ เสนอขาย ดังนี้ ครั้งที่ 1 ในป 2545 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 14,000,000 หนวย และบริษัทไดจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 14,000,000 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) คิดเปนประมาณรอยละ 0.48 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2549 มีใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยังไมไดใชสิทธิคงเหลือจํานวน 443,600 หนวย ครั้งที่ 2 ในป 2546 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 8,467,200 หนวย และบริษัทจะจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้จํานวน 8,467,200 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ 0.29 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2549 มีใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยังไมไดใชสิทธิคงเหลือจํานวน 1,981,100 หนวย ครั้งที่ 3 ในป 2547 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 8,999,500 หนวย และบริษัทจะจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้จํานวน 8,999,500 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ 0.31 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2549 มีใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยังไมไดใชสิทธิคงเหลือจํานวน 8,147,000 หนวย ครั้งที่ 4 ในป 2548 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 9,794,800 หนวย และบริษัทจะจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้จํานวน 9,794,800 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ 0.33 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท อยางไรก็ดี บริษัทเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิไดไมหมด โดยเสนอขายใหแกกรรมการและพนักงาน ไดเพียง 9,686,700 หนวย คงเหลือ 108,100 หนวย ณ 31 ธันวาคม 2549 ยังไมมีการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิใดๆ จึงคงเหลือจํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิที่ยังไมไดใชสิทธิจํานวน 9,686,700 หนวย ครั้งที่ 5 ในป 2549 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น 10,138,500 หนวย และบริษัทจะจัดสรรหุน สามัญเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้จํานวน 10,138,500 หุน (มูลคาที่ตราไว หุนละ 1 บาท) คิดเปนรอยละ 0.34 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2549 ยังไมสามารถใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิได จึงคงเหลือจํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิทั้งจํานวน 10,138,500 หนวย

สวนที่ 2 หนา 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทั้งนี้ มอบหมายใหค ณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย มี อํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งดําเนินการตางๆ อันจําเปนและ สมควรอันเกี่ยวเนื่องกับหุนสามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาว ตลอดจนการนําหุน สามัญที่จัดสรรไวเพื่อรองรับการใชสิทธิดังกลาวเขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยดวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 โครงการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญตอกรรมการและ พนักงานของบริษัท 5 โครงการสรุปไดดังนี้

รายละเอียดโครงการ โครงการ 1 โครงการ 2 โครงการ 3 โครงการ 4 โครงการ 5 จํานวนที่เสนอขาย(หนวย) 14,000,000 8,467,200 8,999,500 9,686,700 10,138,500 ราคาเสนอขาย (บาท) -0อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ไมเกิน 5 ป นับจากวันที่ออกและเสนอขาย อัตราการใชสิทธิ* 1 หนวย ตอ 1.07512 หุน 1 : 1.06173 1 : 1.04841 1 : 1.01577 ราคาการใชสิทธิ* (บาทตอหุน) 44.620 40.349 86.453 101.737 90.045 วันที่ออกและเสนอขาย 27 มีนาคม 2545 30 พฤษภาคม2546 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549 ระยะเวลาการใชสิทธิ กรรมการ และพนักงานของบริษทั สามารถใชสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทไดตามรายละเอียดดังตอไปนี้ ปที่ 1 กรรมการ และพนักงานของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดในจํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของ ใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการ และพนักงานของบริษัทแตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการและ พนักงาน ของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาวไดก็ตอเมื่อครบระยะเวลา 1 ปนับจาก วันที่บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อ ขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการ ใชสิทธิในปถัดไป ปที่ 2 กรรมการ และพนักงานของบริษทั สามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดอีกในจํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวน ของใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการ และพนักงานของบริษัทแตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการ และพนักงาน ของบริษัทจะสามารถใชสทิ ธิดังกลาวไดก็ตอเมื่อครบระยะเวลา 2 ปนับ จากวันที่บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการ ซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิ ในการใชสิทธิในปถัดไป ปที่ 3 กรรมการ และพนักงาน ของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามสิทธิของตนในสวนที่เหลือทัง้ หมด ไดเมื่อครบระยะเวลา 3 ปนับจากวันทีบ่ ริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการ ซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิ ในการใชสิทธิครั้งสุดทาย ระยะเวลาแสดงความจํานง ภายใน 5 วันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสิทธิ ยกเวน การแสดงความจํานงในการใชสิทธิซอื้ หุน การใชสิทธิ สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดทาย กําหนดใหแสดงความจํานงในการใชสิทธิไดในชวงระยะเวลา 15 วันกอน วันกําหนดการใชสิทธิ วันกําหนดการใชสิทธิ เวลา 9.00 น. ถึง เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดง 16.00 น. ภายใน 5 สิทธิ วันทําการสุดทาย ของทุกเดือนตลอด อายุของใบสําคัญ แสดงสิทธิ * บริษัทมีการปรับสิทธิ อันเปนผลมาจาก บริษัทจายเงินปนผลระหวางกาลในอัตราสูงกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตาม เงื่อนไขที่ระบุไวในหนังสือชี้ชวน โดยไดปรับทั้งอัตราการใชสิทธิและราคาการใชสิทธิ ตั้งแตวันที่ 25 สิงหาคม 2549 เปนตนมา

สวนที่ 2 หนา 57


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

(6)

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัท มีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอน รวม 7 ชุด ซึ่งไดจดทะเบียน และซื้อขายไดในศูนยซื้อขายตราสารหนี้ (Thai Bond Dealer Club) และบนกระดานตราสารหนี้ของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (The Bond Electronic Exchange: BEX) ทั้งนี้ หุนกูของบริษัทชุด AIS093A, AIS093B, AIS073A, AIS07OA เริ่มซื้อขายในตลาด BEX ตั้งแตวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 และหุนกูของบริษัทชุด AIS099A, AIS119A, AIS139A เริ่มซื้อขายในตลาด BEX ตั้งแตวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 โดยรายละเอียดของหุนกูทั้ง 7 ชุด มีดังนี้ (6.1) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2545 ครบกําหนด ไถถอนป 2552 (AIS093A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมี ผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 6.25 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 2,450,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 2,450,000,000 บาท * ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 * เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 บริษัทไดทําการ ซื้อคืนและยกเลิก หุนกู จํานวน 50,000 หนวย

การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: AA

(6.2) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงิน ตน ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093B) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอย สิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผแู ทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 สวนที่ 2 หนา 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

วันครบกําหนดไถถอน อัตราดอกเบี้ยและ กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน

ผูแทนผูถือหุนกู จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: 21 มีนาคม 2552 : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน บวกดวยอัตรารอยละ 2.10 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู โดยจะ ชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกป : บริษัท จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดจํานวนเทาๆ กัน ทั้งหมด 6 งวด โดยจะเริ่มชําระคืนเงินตนเมื่อหุนกูมีอายุครบ 54 เดือน นับจากวันออกจําหนายจนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) : 3,750,000 หนวย : 3,750,000,000 บาท : AA

(6.3) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2545 ครบกําหนดไถ ถอนป 2550 (AIS073A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และมี ผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 3,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 3,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอ หนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 มีนาคม 2550 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 5.25 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มิถุนายน 21 กันยายน 21 ธันวาคม และ 21 มีนาคม ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 3,000,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 3,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

สวนที่ 2 หนา 59


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(6.4) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืน เงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2550 (AIS07OA) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ประเภททยอยชําระคืนเงินตน ไมดอย สิทธิ ไมมีหลักประกัน และมีผแู ทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 21 ตุลาคม 2545 วันครบกําหนดไถถอน : 21 ตุลาคม 2550 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 3.65 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 21 เมษายน และ 21 ตุลาคม ของทุกป กําหนดเวลาชําระคืนเงินตน : บริษัท จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวด จํานวนงวดละเทาๆ กัน รวมทั้งหมด 5 งวด โดยจะเริ่มชําระคืนเงินตนงวดแรกใน วันที่ 21 ตุลาคม 2548 และชําระคืนเงินตนคงคางงวด สุดทายในวันที่ 21 ตุลาคม 2550 ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 2,000,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 2,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (6.5) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 1 ครบกําหนด ไถถอนป 2552 (AIS099A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูประเภทไมดอยสิทธิ ไมมหี ลักประกัน และมีผูแทนผู ถือหุนกู อายุของหุนกู : 3 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 3,427,100,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 3,427,100 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถถอน : 7 กันยายน 2552 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 5.80 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 หนา 60


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: 3,427,100 หนวย : 3,427,100,000 บาท : AA

(6.6) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถถอนป 2554 (AIS119A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูประเภทไมดอยสิทธิ ไมมหี ลักประกัน และมีผูแทนผู ถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถถอน : 7 กันยายน 2554 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 5.90 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 4,000,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (6.7) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 3 ครบกําหนด ไถถอนป 2556 (AIS139A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูประเภทไมดอยสิทธิ ไมมหี ลักประกัน และมีผูแทนผู ถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถถอน : 7 กันยายน 2556 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 6.00 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกป สวนที่ 2 หนา 61


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผูแทนผูถือหุนกู จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ (7)

: ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) : 4,000,000 หนวย : 4,000,000,000 บาท : AA

ข อ ตกลงระหว า งกลุ ม ผู ถื อ หุ น รายใหญ ใ นเรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต อ การออกและเสนอขาย หลักทรัพย หรือการบริหารงานของบริษัท โดยที่ขอตกลงดังกลาวมีบริษัท รวมลงนามดวย - ไมมี -

8.2

ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก

ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ลําดับ รายชือ่ ผูถ ือหุน 1 บริษัทชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และกลุม SingTel 1/ 2 SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD AND SINGTEL INVESTED BY THAI TRUST FUND 2/ 3 LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED 4 THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED 5 HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 6 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 7 HSBC BANK PLC-CLIENTS GENERAL A/C 8 CHASE NOMINEES LIMITED 1 9 MELLON BANK, N.A. 10 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด รวม

จํานวน (หุน) 1,263,712,000 632,039,000

% ถือหุน 42.79 21.40

120,033,523 90,678,344 58,709,214 51,418,662 47,077,070 46,623,600 44,319,312 44,158,771 2,398,760,400

4.06 3.07 1.99 1.74 1.59 1.58 1.50 1.50 81.22

หมายเหตุ: ขอมูลจากบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันปดสมุดทะเบียนลาสุดเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2549 1/

กลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินงานของบริษัท คือ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น โดยผูถือหุนใหญของบมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ไดแก ลําดับ รายชือ่ ผูถ ือหุน บริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด * 1 บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด * 3/ 2 รวม

3/

จํานวนหุน % ถือหุน 1,742,407,239 54.53 41.76 1,334,354,825 3,076,762,064 96.29

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด ถือหุนจํานวน 9,096 หุน คิดเปนรอยละ 0.00 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท

หมายเหตุ: ขอมูลจากบริษัท ศูนยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันปดสมุดทะเบียนลาสุดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2549

สวนที่ 2 หนา 62


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549 2/

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผูถือหุนใหญของ SingTel Strategic Investments Pte Ltd คือ

ลําดับ รายชือ่ ผูถ ือหุน SingTel Telecommunications Limited* 1 ที่มา: SingTel Annual Report 2005/2006 as of 31 May 2006

% ถือหุน 100.00

* Aspen เปนบริษทั จดทะเบียนในประเทศไทยและเปนบริษัทยอยทางออมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (Temasek)

Cedar เปนบริษทั ที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งถือหุนโดย ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) รอยละ 5.78 บริษัท กุหลาบแกว จํากัด (กุหลาบแกว) รอยละ 45.22 และบริษัท ไซเพรส โฮลดิ้ง จํากัด (ไซเพรส) ซึง่ เปนบริษัทยอยโดย ทางออมของ Temasek รอยละ 48.99 โดยรายละเอียดโครงสรางผูถ ือหุน มีดังนี้ K.Surin

68.00%

Cypress

29.90%

K.Pong

1.27%

K.Suphadej 0.82%

(

Cypress Cypress Holdings)

Siam Commercial Bank

48.99%

5.78%

KularbKaew 45.22%

Cedar Cedar 54.53% Aspen Aspen

(Temasek

41.76% ShinCorp Corp Shin

As of Dec 29, 2006

* ผูถอื หุนของ SingTel Telecommunications Limited คือ ลําดับ รายชือ่ ผูถ ือหุน 1 Temasek Holdings (Private) Limited 2 DBS Nominees Pte Ltd ที่มา: SingTel Annual Report 2005/2006 as of 31 May 2006

จํานวนหุน 9,066,895,692 1,983,834,598

% ถือหุน 54.27 11.87

ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถดูขอมูลผูถือหุนที่เปนปจจุบันไดจากเว็บไซตของบริษัท กอนการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 8.3

นโยบายการจายเงินปนผล เนื่องจากบริษัท มีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอน ที่ประชุมผูถือหุนกูของบริษัท เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2548 และวันที่ 22 กันยายน 2548 มีมติอนุมัติใหบริษัท แกไขขอกําหนดวาดวยสิทธิและหนาที่ของผูออกหุนกูได โดยระบุวา บริษัท จะสามารถจายเงินปนผลในแตละปใหแกผูถือหุนของบริษัท เปนจํานวนเกินกวารอยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปนั้นๆ ได ภายใตเงื่อนไขคือ บริษัท จะตองมีอันดับความนาเชื่อถือ (credit rating) ซึ่ง ไดรับจากสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือที่สํานักงาน กลต. ใหความเห็นชอบในอันดับไมต่ํากวา AA และ ไดรับภายในระยะเวลาไมเกินกวา 45 วันกอนหนาวันที่คณะกรรมการบริษัท มีมติอนุมัติการจายเงินปนผล ดังกลาว ทั้งนี้ ในกรณีที่บริษัท ผิดนัดชําระหนี้เงินตน หรือดอกเบี้ยหุนกูไมวางวดใดๆ บริษัท จะไมสามารถ จายเงินปนผลใหแกผูถือหุนของบริษัท ได อยางไรก็ตาม บริษัท และบริษัทยอย มีนโยบายในการจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลัง หักภาษี หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใดและการจายเงินปนผลนั้นไมมีผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัท และบริษัทยอยอยางมีนัยสําคัญ โดยบริษัทคํานึงถึงอัตราการจายเงินปนผลตอหุนและอัตราการเจริญเติบโต ของการจายเงินปนผลใหใกลเคียงกับบริษัทอื่นที่อยูในอุตสาหกรรมเดียวกันในภูมิภาคนี้ สวนที่ 2 หนา 63


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการจัดการของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท

คณะอนุกรรมการสรรหา คณะอนุกรรมการ กําหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร นายสมประสงค บุญยะชัย

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการตลาด นายสรรคชัย เตียวประเสริฐกุล *

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี นายวิกรม ศรีประทักษ

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและ ธุรกิจเครื่องลูกขาย นางสุวิมล แกวคูณ ****

กรรมการผูอํานวยการ นายวิเชียร เมฆตระการ **

รองกรรมการ ผูอํานวยการอาวุโส นายฮุย เว็ง ชีออง ***

ผูบริหาร 4 รายแรก ตามคํานิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. * ไดรับการแตงตั้งเปนหัวหนาคณะผูบ ริหารดานการตลาดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 ** ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการผูอํานวยการเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2549 *** ไดรับการแตงตั้งเปนรองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 **** ลาออกจากตําแหนงมีผลบังคับตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2550 ขอมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2550

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

สวนที่ 2 หนา 64

ผูชว ยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

9.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสรางการจัดการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งคณะอนุกรรมการชุดยอย อีก 3 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา มีรายละเอียด ดังตอไปนี้ (1)

คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 11 ทาน ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (ไดรับเลือกเปนประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทนนายอรุณ เชิดบุญชาติ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549)

3. นางทัศนีย มโนรถ

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

(ไดรับเลือกเปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549)

4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

(ไดรับเลือกเปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทนนายบุญชู ดิเรกสถาพร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2549)

5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน 6. นายวาสุกรี กลาไพรี 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

(ไดรับเลือกเปนกรรมการแทนนางจีน โล เงี๊ยบ จง เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2549)

8. นางสาวโกะ คาห เส็ค

กรรมการ

(ไดรับเลือกเปนกรรมการแทนนายฮุย เว็ง ชีออง เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550)

9. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 10. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 11. นายสมประสงค บุญยะชัย

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท คือ “นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการสองในสามคนนี้ ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท” เลขานุการคณะกรรมการบริษัท อยูในระหวางการสรรหาและแตงตั้ง คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมวาระปกติเปนประจําทุกไตรมาส โดยในป 2549 มีการประชุมรวม 9 ครั้ง ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ใหคณะกรรมการมีอํานาจกําหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทได 2. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทตลอดจนมติที่ประชุมผู ถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอนดําเนินการ เชน เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับ

สวนที่ 2 หนา 65


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

มติที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน 3. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัทภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบ อํานาจเพื่อใหบุคลดังกลาวมีอํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานตางๆ โดยมีรายละเอียดการ มอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือ ผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจ มีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงานก.ล.ต.ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวน เปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (2)

คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการและผูบริหาร จํานวน 4 ทาน มีรายชื่อ ดังนี้ 1. นายสมประสงค บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร 2. ดร.ดํารงค เกษมเศรษฐ กรรมการบริหาร 3. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ กรรมการบริหาร 1/ กรรมการบริหาร 4. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 1/

ดํารงตําแหนงแทน นางสาวจีน โล เงี๊ยบ จง ตั้งแตเดือนมีนาคม 2549

คณะกรรมการบริหารมีการประชุมวาระปกติเปนประจําทุกเดือน โดยในป 2549 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง ประชุมเฉพาะกิจ 1 ครั้ง และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัททุกเดือน ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงาน หลักเกณฑในการดําเนินธุรกิจของบริษัทที่กําหนดให สอดคลองและสนับสนุนตอสภาพทางเศรษฐกิจและการแขงขันที่ไดกําหนดและแถลงไวตอผูถือหุน โดยไดรับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทแลว 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัทที่กําหนด 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานดานตางๆ ของบริษัทที่กําหนด ใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพเอื้อตอสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทที่กําหนดใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญของบริษัทที่กําหนด 6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายเปนคราวๆ ไป 7. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือ หลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได โดยการมอบอํานาจดังกลาว ไมรวมถึงการมอบอํานาจ สวนที่ 2 หนา 66


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหบุคคลดังกลาวสามารถอนุมัติการทํารายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน กลต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนรายการที่ เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว อํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงิน ใหคณะกรรมการบริหารของบริษัทมีอํานาจในการอนุมัติการดําเนินการทางการเงินในวงเงินไมเกิน 800 ลานบาท โดย อํานาจอนุมัติทางการเงินดังกลาวจะรวมถึงการอนุมัติคาใชจายตางๆ ในการดําเนินการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนในสินทรัพยฝายทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพยถาวร การกูยืมเงิน การใหกูยืมเงิน การ จัดหาวงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้ รวมถึง การใหหลักประกันการค้ําประกันเงินกูหรือสินเชื่อเปนตน ยกเวนการ ดําเนินการดานการเงินการธนาคารของคณะกรรมการบริหารเฉพาะดานการฝากเงิน การกูเงิน การจัดทําเครื่องมือบริหาร ความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีอํานาจในวงเงินไมเกิน 5,000 ลานบาท ทั้งนี้การอนุมัติรายการดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนอนุมัติที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะ กรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน กลต.ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่ เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (3)

คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระ ที่มีคุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยและเปนผูทรงคุณวุฒิดานการเงิน การบัญชี และการ บริหารจัดการ มีรายชื่อดังนี้ 2/ 1. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ (เขารวมประชุม 5 ครั้ง) 3/ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 2. นางทัศนีย มโนรถ (เขารวมประชุม 7 ครั้ง) 4/ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ (เขารวมประชุม 6 ครั้ง) 2/

3/ 4/

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2549 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุมัติให นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ ดํารงตําแหนงประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ แทนนายอรุณ เชิดบุญชาติ ไดรับเลือกเปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549 ไดรับเลือกเปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2549

คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมวาระปกติเปนประจําทุกเดือน โดยในป 2549 มีการประชุมรวม 12 ครัง้ และมีการ รายงานตอคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส

สวนที่ 2 หนา 67


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

5/

1. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่กํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทใหเกิดความชัดเจนในดานการบริหารงานดวย ความซื่อสัตยสุจริต และความรับผิดชอบของกรรมการบริหารหรือผูบริหารอันจะพึงมีตอผูถือหุนของบริษัท ตลอดจน ดําเนินการใหเปนที่มั่นใจวากรรมการบริหาร และผูบริหารของบริษัทไดบริหารกิจการตามนโยบายของคณะกรรมการ บริษัทอยางถูกตองครบถวน และมีมาตรฐาน 2. ใหคณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่และความรับผิดชอบในภารกิจที่ไดรับมอบหมายจากกรรมการบริษัทดังตอไปนี้ 2.1

สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกําหนด และมีการ เปดเผยอยางเพียงพอ

2.2

สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล

2.3

สอบทานใหบริษัทปฏิบตั ิตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท

2.4

พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้งและเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท

2.5

พิจารณาสอบทานและใหความเห็นตอการเขาทํารายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท และบริษัทยอยใหเปนไปตาม ประกาศ ขอกําหนดและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2.6

พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษทั ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน

2.7

สอบทานใหบริษัทมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล

2.8

ใหความเห็นชอบในการแตงตั้ง โยกยาย ถอดถอน และการพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความดี ความชอบของ หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน

2.9

สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหนวยงานตรวจสอบภายใน แผนตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานของหนวยงาน ตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผูสอบบัญชี

2.10 จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 2.11 รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัททราบอยางนอยปละ 4 ครั้ง 2.12 ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการตรวจสอบ มีอํานาจเชิญใหฝายจัดการ ผูบริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน 2.13 ใหมีอํานาจวาจางที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัทมาใหความเห็นหรือคําปรึกษาในกรณี จําเปน 2.14 พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจําทุกป 2.15 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 5/

มีการแกไขและไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2549

สวนที่ 2 หนา 68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

(4)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการ จํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 6/ 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 3. นายบุญคลี ปลั่งศิริ กรรมการ 6/

ไดรับเลือกเปนกรรมการกําหนดคาตอบแทน เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549

ในป 2549 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนมีการประชุมรวม 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาโครงการ ESOP ครั้งที่ 5 และใหความ เห็นชอบจัดสรร ESOP ครั้งที่ 5 ใหแกกรรมการและพนักงานที่มีสิทธิไดรับการจัดสรร ESOP เกินกวารอยละ 5 ของจํานวน ESOP ที่ออกและเสนอขาย นอกจากนี้ยังไดพิจารณาการจายคาตอบแทนกรรมการเฉพาะตําแหนงประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการภายนอก รวมถึงกําหนดนโยบายและคาตอบแทนกรรมการประจําป 2549 และมีการรายงาน ตอคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน 1. กําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย และ ประธานกรรมการบริหารของบริษัทในแตละป 2. จัดทําหลักเกณฑ และนโยบายการกําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการ และประธานกรรมการบริหารเพื่อเสนอให คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติและหรือนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติตามแตกรณี 3. คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัท และมีหนาที่ใหคําชี้แจง ตอบคําถามเกี่ยวกับ คาตอบแทนของกรรมการและประธานกรรมการบริหารในที่ประชุมผูถือหุน 4. รายงานนโยบายดานคาตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผล และวัตถุประสงคของนโยบายเปดเผยไวในรายงาน ประจําป 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (5)

คณะกรรมการสรรหา รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 คณะกรรมการสรรหา ประกอบดวยกรรมการ จํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ 2. นายบุญคลี ปลั่งศิริ กรรมการ 7/ 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 7/

ไดรับเลือกเปนกรรมการสรรหา เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549

ในป 2549 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อพิจารณาเสนอแตงตั้งกรรมการและกําหนดอํานาจกรรมการ แทนกรรมการที่ตองพนจากตําแหนงตามกําหนดวาระตามขอบังคับของบริษัท 3 ทาน และพิจารณาสรรหาประธาน กรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบโดยมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท

สวนที่ 2 หนา 69


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดหลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดยอยของบริษัท 2. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดยอยโดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสม ที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการเพื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุนแลวแตกรณี 3. พิจารณาสรรหาผูที่เหมาะสมที่จะดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร ในกรณีที่มีตําแหนงวางลง รวมทั้งหลักเกณฑ ในการสืบทอดตําแหนง 4. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (6)

คณะผูบริหาร รายชื่อคณะผูบริหาร (ตามคํานิยามของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย) โครงสรางการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 26 มกราคม 2550 มีดงั ตอไปนี้ 1. นายสมประสงค บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร 8/ 2. นายวิเชียร เมฆตระการ กรรมการผูอํานวยการ 3. นายวิกรม ศรีประทักษ หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี 9/ หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคา และธุรกิจเครื่องลูกขาย 4. นางสุวิมล แกวคูณ 5. นายสรรคชัย เตียวประเสริฐกุล

10/

หัวหนาคณะผูบริหารดานการตลาด

11/

6. นายฮุย เว็ง ชีออง รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย 7. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ หัวหนาเจาหนาที่บริหารดานการเงิน สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย 8/ ไดรับการแตงตั้งมีผลตั้งแตวันที่ 16 สิงหาคม 2549 9/

ลาออกจากตําแหนงมีผลตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2550

10/

ไดรับการแตงตั้งมีผลตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2549

11/

ไดรับการแตงตั้งมีผลตั้งแตวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549

การสรรหากรรมการ บริษัทไดกําหนดแนวทางการสรรหาและแตงตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ 1. ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง กรรมการตองลาออกจากตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรง เปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวิธี จับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนง นานที่สุดนั้น เปนผูออกจากตําแหนงกรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได 2. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคล หนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขา เปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปเวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคล ซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน

สวนที่ 2 หนา 70


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อยางไรก็ดี บริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ทําหนาที่พิจารณากําหนดหลักเกณฑและ นโยบายในการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการ ทั้งนี้กําหนดใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้ง กรรมการตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท ดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ถือ (2) ผูถ ือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ไดใน กรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด ทั้งนี้โดยเงื่อนไขของสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางบริษัทและ บมจ.ทีโอที ระบุใหตัวแทน ของ บมจ.ทีโอที เขาเปนกรรมการของบริษัท 1 ทาน และตามเงื่อนไขในขอตกลงระหวางผูถือหุนรายใหญ ซึ่งไดแกบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ SingTel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ที่ระบุให SHIN แตงตั้ง กรรมการได 4 ทาน และ STI แตงตั้งกรรมการได 2 ทาน นิยามของกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง บุคคลทที่มีคุณสมบัติครบถวนและมีความเปนอิสระตามที่คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดไวใน นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท และสอดคลองกับหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กลาวคือ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 0.5 ของทุนชําระแลวของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบริษัทที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ใหนับรวม หุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของดวย 2. เปนกรรมการที่ไมมีสวนรวมในการบริหารงานในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถือหุนราย ใหญของบริษัท และเปนกรรมการที่ไมเปนลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจําจากบริษัท บริษัทใน เครือ บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถอื หุนรายใหญของบริษัท 3. เปนกรรมการที่ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียไมวาทางตรงหรือทางออมทั้งในดานการเงินและการบริหารงานของ บริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท และเปนกรรมการที่ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสีย ในลักษณะขางตนมากอนในระยะเวลา 1 ป กอนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการตรวจสอบ เวนแตคณะกรรมการบริษัท ไดพิจารณาอยางรอบคอบแลวเห็นวา การเคยมีผลประโยชนหรือสวนไดสวนเสียนั้น จะไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติ หนาที่และการใหความเห็นที่เปนอิสระ 4. เปนกรรมการที่ไมใชเปนผูที่เกี่ยวของหรือ ญาติสนิทของผูบริหาร หรือ ผูถือหุนรายใหญของบริษัท 5. เปนกรรมการที่ไมไดรับการแตงตั้งขึ้นเปนตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชนของกรรมการบริษัทผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูถือหุนซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท 6. สามารถปฏิบัติหนาที่ แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท โดยไมอยูภายใตการควบคุมของผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท รวมทั้งผูที่เกี่ยวของหรือญาติสนิท ของบุคคลดังกลาว

สวนที่ 2 หนา 71


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เพื่อใหบริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่ดี คณะกรรมการและผูบริหารมี วิสัยทัศนและมีความรับผิดชอบตอหนาที่เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และเพิ่มความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุน ผูลงทุน และผูที่เกี่ยวของทุกฝาย รวมถึงการมีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยาง โปรงใส ตรวจสอบได ตลอดจนการเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือหุน และความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวน เสีย ถือเปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคา และผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว บริษัทไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 15 ขอ ดังตอไปนี้ 1.

นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแล บริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญและเชื่อมั่นวาการกํากับดูแลกิจการที่ดี จะนําบริษัทไปสูการดําเนินธุรกิจอยางมั่นคง สามารถเพิ่มคุณคาใหแกองคกร เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน รวมถึงการมีประสิทธิภาพในการจัดการ ที่สงผลถึงความ เชื่อมั่นของผูถือหุน นักลงทุน และผูที่เกี่ยวของ ดังนั้นตั้งแตป 2545 คณะกรรมการบริหารโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริษัท จึงไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ขึ้น ตามแนวทางที่ตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด โดยครอบคลุมหลักสําคัญดังตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทมีความมุงมั่นในการบริหารงานที่เปนเลิศในคุณภาพดานเครือขาย ดานเทคโนโลยี ดาน บุคลากร และดานมาตรฐานการใหบริการ รวมทั้งการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุน โดยผูบริหารที่มีความรู ความสามารถและมีการจัดการที่ดี 2. การปฏิบัติตอผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกัน และเปนธรรมตอทุกฝาย 3. มีการเปดเผยสารสนเทศอยางถูกตอง ครบถวน เพียงพอ เชื่อถือไดและทันเวลา แกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย 4. ผูบริหารและพนักงานทุกคนปฏิบัติงานโดยคํานึงการบริหารความเสี่ยงอยูเสมอ รวมถึงการจัดใหมีระบบการ ควบคุมภายในที่รัดกุมเหมาะสม 5. บริษัทมีการกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับยึดถือ และนําไปปฏิบัตเิ ปนแนวทางเดียวกัน 2.

สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ แ ละความเท า เที ย มกั น ของผู ถื อ หุ น โดยผู ถื อ หุ น มี สิ ท ธิ ใ นการรั บ ทราบข อ มู ล ผลการ ดําเนินงานและนโยบายการบริหารงานมีสิทธิในการรับสวนแบงกําไรและสิทธิในการเขารวมประชุมผูถือหุน นอกจานี้ ผูถือ หุนทุกรายยังไดรับสิทธิอยางเทาเทียมตามที่กําหนดไวในขอบังคับบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวของ และเพื่อเปนการใหความ มั่ น ใจว า ผู ถื อ หุ น ทุ ก รายจะได สิ ท ธิ อ ย า งเท า เที ย มกั น บริ ษั ท ได จั ด ให มี ก ระบวนการประชุ ม ผู ถื อ หุ น ที่ โ ปร ง ใสและมี ประสิทธิภาพ มีมาตรการดูแลการใชขอมูลภายใน มีการควบคุมและดูแลการทํารายการระหวางกันรวมทั้งมีการเปดเผย ขอมูลที่เพียงพอ ในการประชุมผูถือหุนทุกคราว บริษัทจะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมในวาระตางๆ อยางเพียงพอ ใหผูถือหุนทราบลวงหนาไมนอยกวา 14 วัน กอนวันประชุมผูถือหุน รวมทั้งมีความเห็นของคณะกรรมการ ในทุกวาระ และมีการบันทึกการประชุมถูกตองครบถวน เพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได หนังสือเชิญประชุมจะแจงรายละเอียดใหผูถือหุน นําเอกสารหลักฐานที่จําเปนมาใหครบถวนในวันประชุมผูถือหุน เพื่อรักษาสิทธิในการเขารวมประชุมของผูถือหุน สวนในวันประชุม ผูถือหุนสามารถลงทะเบียนเขาประชุมลวงหนาไดกอน การประชุม 1 ชัว่ โมง สวนที่ 2 หนา 72


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประชุมผูถือหุนทุกครั้ง ผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุมไดดวยตนเองอาจแตงตั้งกรรมการอิสระอยางนอย 1 ทาน เปนผูรับมอบอํานาจเขารวมประชุมแทนซึ่งไดแจงขอความไวในหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ บริษัทยังไดอํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุนในการมารวมประชุมผูถือหุน โดยจัดเตรียมหองประชุมที่ เขาถึงไดสะดวก และมีขนาดเหมาะสมรองรับผูเขารวมประชุมไดอยางเพียงพอ และในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถมารวม ประชุมดวยตนเอง ก็สามารถมอบฉันทะใหผูอื่นเขาประชุมและลงมติแทนได 3.

สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสียตางๆ และมีนโยบายที่จะดูแลใหความมั่นใจ โดยจัดใหลําดับความสําคัญ แกผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้งผูถือหุน พนักงาน ผูบริหาร ลูกคา คูคา คูแขง ตลอดจนสาธารณชนและสังคมโดยรวมอยาง เหมาะสม และจะใหมีการรวมมือกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในกลุมตางๆ ตามบทบาทและหนาที่ เพื่อใหกิจการของ บริษัทดําเนินไปดวยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชนที่เปนธรรมแก ทุกฝาย เชน ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูถือหุน โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาบริษัทในระยะยาว ดวยผลตอบแทนที่ดีและตอเนื่อง รวมทั้ง การดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได พนักงาน : บริษัทมุงมั่นพัฒนาเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดีงาม รวมทั้งสงเสริมการ ทํางานเปนทีม และสรางโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานอยางตอเนื่อง เพื่อใหการใช ทรัพยากรบุคคลเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท สังคม : บริษัทในฐานะเปนบริษัทของคนไทย มีจิตสํานึก และตระหนักในความเปนสวนหนึ่งของสังคม ซึ่ง ตองมีหนาที่รับผิดชอบในการชวยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนแกชุมชน ตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมของทองถิ่นที่บริษัทมีการดําเนินธุรกิจ ลูกคา : บริษัทมีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคาที่จะไดรับผลิตภัณฑและ บริการที่ดีมีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปดเผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการ อยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง คูคา : การดําเนินธุรกิจกับคูคาใดๆ ตองไมนํามาซึ่งความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของบริษัท หรือ ขัดตอ กฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึงความเสมอภาค ในการดําเนินธุรกิจ และผลประโยชนรวมกันกับคูคา การคัดเลือกคูคาตองทําอยางยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทถือวาคูคาเปนปจจัยสําคัญในการรวมสราง Value Chain ใหกับลูกคา คูแขง : บริษัทสนับสนุนและสงเสริมนโยบายการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม ไมผูกขาด หรือ กําหนดใหคูคาตองขายสินคาของบริษัทเทานั้น 4.

การประชุมผูถือหุน ในการประชุมผูถ ือหุน บริษัทไดกําหนดใหกรรมการบริษัททุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งประธานกรรมการบริษัท และ ประธานคณะกรรมการชุดยอยเขารวมประชุมเพื่อตอบคําถามตอที่ประชุมผูถือหุนทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผูถือ หุนทุกครั้งจะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนกรรมการอิสระรวมอยูดวย โดยประธานที่ประชุมหรือบุคคลที่ไดรับ มอบหมายจากประธานที่ประชุม มีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม สงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ ประชุม เปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกันในการตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัท ใหแสดงความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะตางๆ รวมทั้งมีการบันทึกประเด็นซักถามและขอคิดเห็นที่สําคัญไวในรายงานการประชุม

สวนที่ 2 หนา 73


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2549 บริษัทไดจัดใหมีการประชุมสามัญผูถือหุน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. และการประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2549 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. ณ อาคาร ชินวัตร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการพิจารณาลงคะแนนเสียง เรียงลําดับตามวาระที่กําหนดไว และไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุนทุกวาระ 5.

ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการของบริษัทมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน นโยบายทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และมีความ เปนอิสระในการตัดสินใจ เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท และผูถือหุนโดยรวม ตลอดจนกํากับดูแล ในฝายจัดการดําเนินการ ใหเปนไปตามแผนธุรกิจ และงบประมาณที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีระบบแบงแยกบทบาทหนาที่ รับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ กับฝายบริหาร และแบงแยกหนาที่ระหวางคณะกรรมการกับผูถือหุนอยางชัดเจน รวมทั้ง ดูแลใหมีกระบวนการประเมินความมีประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน ระบบกํากับดูแลกิจการ การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และคณะกรรมการไดจัดใหมีกลไกในการกํากับดูแลติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติงานของฝายบริหารใหบรรลุตามนโยบายที่คณะกรรมการไดกําหนดไว ตลอดจนมีการประเมินตนเองของ คณะกรรมการบริษัทเปนประจํา และสนับสนุนใหกรรมการบริษัทเขารับการอบรมหลักสูตรของสถาบันกรรมการบริษัทไทย หนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษัทและกํากับดูแล ใหฝายบริหารดําเนินการเปนไปตาม นโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัทและผูถือหุน 3. ทบทวนและใหความเห็นชอบในการดําเนินการใดๆ ที่กฎหมายกําหนด 4. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอยางสม่ําเสมอและกําหนดคาตอบแทน 5. กําหนดวิสัยทัศนของกิจการ และรับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝายบริหาร โดยใหมี ความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 6. จัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งดูแลใหมีกระบวนการในการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และการติดตามผล 7. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 8. กํากับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม 6.

ความขัดแยงทางผลประโยชน เพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดดูแลอยางรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน โดยกําหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันกอนการทํารายการไวเปนลาย ลักษณอักษร รวมทั้งกําหนดนโยบายและวิธีการดูแลไมใหผูบริหาร และผูเกี่ยวของนําขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพื่อ ประโยชนสวนตน ในเรื่องรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนและรายการที่เกี่ยวโยงกันคณะกรรมการไดพิจารณา ความเหมาะสมอยางรอบคอบทุกครั้ง โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญ รวมทั้งมีการปฏิบัติตาม หลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยโดยราคา และเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) และได เปดเผยรายละเอียดมูลคารายการ คูสัญญาเหตุผล / ความจําเปน ไวในรายงานประจําป และแบบ 56-1 แลว

สวนที่ 2 หนา 74


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

7.

จริยธรรมธุรกิจ บริษัทกําหนดปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจบริษัทไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน ใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับ ยึดถือและนําไปปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทเปนไปดวย ความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติตอบริษัท และผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รวมทั้งสาธารณชน และสังคม รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวย ตั้งแตป 2546 เปนตนมา บริษัทไดเผยแพรคูมือจริยธรรมธุรกิจและไดประกาศลงในระบบ Intranet ของบริษัท เพื่อใหพนักงานทุกระดับรับทราบอยางทั่วถึง รวมทั้งไดมีการอบรมทําความเขาใจใหกับผูบริหาร โดยมีการติดตามผลปฏิบัติ ตามแนวทางดังกลาวอยางจริงจังเปนประจําทุกป ซึ่งผูบริหารและผูบังคับบัญชามีหนาที่ในการสอดสอง ดูแล และสงเสริม ผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนด และประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี 8.

การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร การแตงตั้งคณะกรรมการบริษัทเปนไปตามกฎหมาย และขอบังคับของบริษัทตลอดจนเปนไปตามขอตกลงของ ผูถือหุน ที่กําหนดใหกรรมการบริษัทมีตัวแทนจากผูถือหุน โดยคณะกรรมการบริษัทมีกรรมการจํานวน 11 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูแทนผูถือหุน และกรรมการอื่นรวม 6 ทาน กรรมการผูแทน บมจ. ทีโอที ตามสัญญาสัมปทาน จํานวน 1 ทาน และกรรมการที่มีความเปนอิสระ จํานวน 4 ทาน หรือคิดเปนรอยละ 40 ของ กรรมการทั้งคณะ เพื่อชวยรักษาสมดุลของการกํากับและการบริหาร กรรมการผูมีอํานาจกระทําการผูกพันบริษัท กําหนด โดยที่ประชุมผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําปทุกๆ ป 9.

การรวมหรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการของบริษัทมิไดเปนบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหาร และไมมีความสัมพันธใดๆ กับ ฝายบริหาร เพื่อแบงแยกหนาที่ในการกําหนดนโยบายกํากับดูแลและการบริหารงานประจํา โดยโครงสรางคณะกรรมการ บริษัทประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระมากกวา 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งคณะ เพื่อใหเกิดความสมดุลของการกํากับ และการบริหาร โดยบริษัทไดกําหนดบทบาท อํานาจ และหนาที่ความรับผิดชอบที่ แยกชัดเจนระหวางประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 10.

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร

บริษัทมีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะจูง ใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับผูบริหาร การจายคาตอบแทนจะสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน โดยทั้งนี้ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน จะเปนผูกําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมทั้งที่เปนตัวเงิน และมิใชตัวเงินใหแก กรรมการบริษัท กรรมการชุดยอย และผูบริหารระดับสูงของบริษัทโดยนําเสนอขออนุมัติจากที่ประชุม ผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําป เปนประจําทุกป ในป 2549 มีการจายคาตอบแทน ดังนี้

สวนที่ 2 หนา 75


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(1) คาตอบแทนคณะกรรมการบริษัท คาตอบแทนที่เปนตัวเงินสําหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร จํานวน 6 ราย รวมจํานวนเงิน 6,710,000 บาท ซึ่งเปนการจายจากผลการดําเนินงานประจําป 2549 ประกอบดวย คาตอบแทน รายเดือน โบนัส และเบี้ยประชุม สวนกรรมการบริษัทที่เปนผูบริหารจะไมไดรับคาตอบแทนในฐานะกรรมการ บริษัท คาตอบแทนกรรมการบริษัทรายบุคคลที่ไดรับในฐานะกรรมการบริษัทจํานวน 6 ราย ในป 2549 ดังนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

คาตอบแทนประจําป 2549 1/ (บาท)

กรรมการปจจุบนั 1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 1,500,000 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ* ประธานกรรมการตรวจสอบ 900,000 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์** กรรมการตรวจสอบ 750,000 4. นางทัศนีย มโนรถ*** กรรมการตรวจสอบ 800,000 5. นายศุภเดช พูนพิพัฒน กรรมการ 805,000 6. นายวาสุกรี กลาไพรี กรรมการ 700,000 กรรมการที่ออกระหวางป 1. นายอรุณ เชิดบุญชาติ กรรมการตรวจสอบ 810,000 2. นายบุญชู ดิเรกสถาพร ประธานกรรมการตรวจสอบ 445,000 รวม 6,710,000 * นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ ไดรบั เลือกเปนประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทน นายอรุณ เชิดบุญชาติ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 ** นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ ไดรับเลือกเปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระแทน นายบุญชู ดิเรกสถาพร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2549 *** นางทัศนีย มโนรถ ไดรับเลือกเปนกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2549 1/ คาตอบแทนรายเดือน และเบี้ยประชุมที่จายระหวางเดือนมกราคม – ธันวาคม 2549 และโบนัสจายในเดือนมีนาคม 2550 (ซึ่งเปนไปตามเกณฑคงคาง)

(2) คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหาร คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหารจํานวน 6 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 เทากับ 50.61 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริหารและผูบริหารของบริษัทตามนิยามของสํานักงาน กลต. โดยไมรวมคาตอบแทนของ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการบริหารอีก 2 ทาน รวมทั้ง ไมรวมคาตอบแทนของผูชวยกรรมการ ผูอํานวยการสวนงานการเงินและบัญชี (3) คาตอบแทนอื่นๆ บริษัทมีโครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท แกกรรมการและพนักงาน โดย มีวัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพื่อใหบุคคลดังกลาวมี ความตั้ ง ใจในการทํา งานและเปน แรงจูง ใจให ก รรมการและพนั ก งานทํ า งานให กั บ บริษั ท ตอ ไปในระยะยาวและสร า ง ประโยชนสูงสุดแกบริษัท บริษัทจะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญทุกๆ ป ระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป ทั้งนี้ บริษัท จะตองขออนุ มัติก ารออกและเสนอขายใบสํ า คัญแสดงสิทธิตอที่ ป ระชุม ผูถือหุนเปนรายป ณ สิ้น ป 2549 มี โครงการที่ดําเนินการแลว 5 โครงการสรุปไดดังนี้ สวนที่ 2 หนา 76


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียดโครงการ

โครงการ 1

โครงการ 2

โครงการ 3

โครงการ 4

โครงการ 5

จํานวนที่เสนอขาย

14,000,000

8,467,200

8,999,500

9,686,700

10,138,500

ราคาเสนอขาย (บาท)

-0-

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

ไมเกิน 5 ป นับจากวันที่ออกและเสนอขาย

อัตราการใชสิทธิ* ราคาการใชสิทธิ* (บาทตอหุน)

1 หนวย ตอ 1.07512 หุน

1 : 1.06173

1 : 1.04841

1 : 1.01577

44.620

40.349

86.453

101.737

90.045

วันที่ออกและเสนอขาย

27 มีนาคม 2545

30 พฤษภาคม2546

31 พฤษภาคม 2547

31 พฤษภาคม 2548

31 พฤษภาคม 2549

ระยะเวลาการใชสิทธิ

กรรมการ และพนักงานของบริษัทสามารถใชสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทไดตามรายละเอียดดังตอไปนี้ ปที่ 1 กรรมการและพนักงานของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญไดในจํานวนไมเกิน 1 ใน 3 สวนของใบสําคัญ แสดงสิทธิทั้งหมดที่กรรมการและพนักงานของบริษัทแตละคนไดรับจัดสรรจากบริษัท ทั้งนี้ กรรมการและ พนักงานของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาวไดก็ตอเมื่อครบระยะเวลา 1 ปนับจากวันที่บริษัทไดออกและ เสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิในป ถัดไป ปที่ 2 กรรมการและพนั กงานของบริษัท สามารถใชสิทธิ ซื้อ หุนสามัญไดอี กในจํ านวนไม เกิ น 1 ใน 3 สวนของ ใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ทั้ ง หมดที่ ก รรมการและพนั ก งานของบริ ษั ท แต ล ะคนได รั บ จั ด สรรจากบริ ษั ท ทั้ ง นี้ กรรมการและพนักงานของบริษัทจะสามารถใชสิทธิดังกลาวไดก็ตอเมื่อครบระยะเวลา 2 ปนับจากวันที่ บริษัทไดออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิในป ถัดไป ปที่ 3 กรรมการและพนักงานของบริษัทสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญตามสิทธิของตนในสวนที่เหลือทั้งหมดไดเมื่อ ครบระยะเวลา 3 ป นับจากวั นที่ บริษั ทไดออกและเสนอขายใบสํา คัญแสดงสิ ทธิ จนกวาจะครบอายุ ของ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ หากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําใหเกิดเศษหุนที่ไมถึงจํานวนเต็มของหนวยการซื้อขายหุน (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหปดรวมไปใชสิทธิในการใชสิทธิครั้ง สุดทาย

ระยะเวลาแสดงความ จํานงการใชสิทธิ

ภายใน 5 วันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใชสิทธิ ยกเวน การแสดงความจํานงในการใชสิทธิซื้อหุน สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครั้งสุดทาย กําหนดใหแสดงความจํานงในการใชสิทธิไดในชวงระยะเวลา 15 วันกอน วันกําหนดการใชสิทธิ

วันกําหนดการใชสิทธิ

*

ภายใน 5 วันทําการ วันทําการสุดทายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ สุดทายของทุกเดือน ตลอดอายุของ ใบสําคัญแสดงสิทธิ บริษัทมีการปรับสิทธิ อันเปนผลมาจาก บริษัทจายเงินปนผลระหวางกาลในอัตราสูงกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตามเงื่อนไข ที่ระบุไวในหนังสือชี้ชวน โดยไดปรับทั้งอัตราการใชสิทธิและราคาการใชสิทธิ ตั้งแตวันที่ 25 สิงหาคม 2549 เปนตนมา

สวนที่ 2 หนา 77


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายชื่อกรรมการ และพนักงานของบริษัท และบริษัทยอยที่ไดรับจัดสรรเกินกวา 5% ของโครงการ รายชื่อ

โครงการ 1 จัดสรร % (หนวย)

โครงการ 2 จัดสรร % (หนวย)

โครงการ 3 จัดสรร % (หนวย)

โครงการ 4 จัดสรร % (หนวย)

โครงการ 5 จัดสรร % (หนวย)

1. นายสมประสงค 1,471,800 10.51 609,400 7.20 914,300 10.16 735,500 7.51 538,500 5.31 บุญยะชัย 2. นางสาวยิ่งลักษณ 1,250,000 8.93 786,000 9.28 676,000 7.51 650,000 6.64 ชินวัตร * 3. นางสุวิมล 1,197,800 8.56 786,000 9.28 676,000 7.51 580,000 5.92 591,400 5.83 แกวคูณ 4. นายวิกรม 1,128,600 8.06 579,000 6.84 606,400 6.74 500,000 5.10 547,600 5.40 ศรีประทักษ 5. นายกฤษณัน 537,000 5.97 งามผาดิพงศ * 6. นางอาภัทรา 420,000 4.96 487,100 5.41 ศฤงคารินกุล * คุณยิง่ ลักษณ ชินวัตร ลาออกจากบริษัท เดือนมีนาคม 2549 คุณกฤษณัน งามผาติพงศ ลาออกจากบริษัท เดือนมีนาคม 2548 ปจจุบันไมมีสิทธิ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่ไดรับการจัดสรร

11.

การประชุมคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการบริษัท กําหนดใหมีไตรมาสละ 1 ครั้ง เปนอยางนอย หรือประธานกรรมการ จะพิจารณา เห็นสมควรเรียกประชุมเปนวาระพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปน โดยมีการกําหนดวาระการประชุมลวงหนาที่ชัดเจนเปน ระเบียบวาระพรอมเอกสารประกอบการประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสือเชิญประชุมใหแกกรรมการทุกทานกอนการ ประชุมไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการ ไดมีเวลาศึกษาขอมูลกอนการประชุม เวนแตกรณีมีเหตุจําเปนเรงดวน และ มีการบันทึกรายงานการประชุม และจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรองแลว เพื่อใชในการอางอิง และสามารถ ตรวจสอบได ในการประชุม ประธานกรรมการไดจัดสรรเวลาใหอยางเพียงพอ สําหรับกรรมการที่จะอภิปราย ซักถาม ชี้แนะ ใน ประเด็นสําคัญแกฝายบริหาร และกรรมการทุกทานมีความเปนอิสระในการแสดงความคิดเห็นทุกประการ ในป 2549 คณะกรรมการบริษัทไดมีการประชุมทั้งวาระปกติรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง มีรายละเอียดการเขารวมประชุม ของกรรมการดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ นางทัศนีย มโนรถ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นายศุภเดช พูนพิพัฒน นายวาสุกรี กลาไพรี นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายฮุย เว็ง ชี ออง* นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม เขารวมประชุม

* ลาออกจากกรรมการเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 สวนที่ 2 หนา 78

9 2 5 4 7 8 2 5 9 9 8

ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12.

การประชุมของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายกําหนดใหเฉพาะกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร ไดประชุมระหวางกันเองเปนประจําเพื่อ เปดโอกาสใหอภิปรายปญหาตางๆ ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทและเรื่องที่อยูในความสนใจ โดยไมมีฝายบริหารรวมดวย และรายงานผลใหคณะกรรมบริษัทรับทราบ โดยในป 2549 บริษัทยังมิไดเริ่มดําเนินการ 13.

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษั ท ไดกํ า หนดเปน นโยบายให มี ก ารประชุ ม พิจ ารณาประเมิ น ผลการปฏิ บัติ ง านตนเองของ คณะกรรมการบริษัททั้งคณะเปนประจําทุกปโดยมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อพิจารณาทบทวนผลงาน ปญหา อุปสรรคตาง ๆ ที่ผานมาและเสริมสรางการทํางานของคณะกรรมการบริษัทใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเนื้อหาในการประเมินจะ ครอบคลุมในเรื่อง ทิศทางกลยุทธ การกํากับดูแลและติดตามผล หนาที่และความรับผิดชอบ การทํางานเปนทีม โครงสราง นโยบาย การประชุม และการอบรมและพัฒนา 14.

การเขาถึงสารสนเทศ กรรมการของบริษัทมีอิสระในการเขาถึงและติดตอสื่อสารกับฝายบริหารและเลขานุการบริษัทไดโดยตรง ในกรณีที่ ตองการขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของบริษัทและขอมูลอื่นๆ นอกเหนือจากที่ไดรับจากการประชุมตามวาระ ปกติประจําทุกไตรมาส นอกจากนี้บริษัทยังไดจัดทํารายงานการวิเคราะหหลักทรัพยของบริษัทและบริษัทในกลุมคูแขงที่อยู ในอุตสาหกรรมเดียวกันใหกับกรรมการบริษัทเพื่อที่จะไดรับทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญอยางทันเวลา 15.

ความสัมพันธกับผูลงทุน บริษัทใหความสําคัญตอการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทั่วถึงและทันเวลา ทั้งขอมูลทาง การเงิน ผลการดําเนินงาน และขอมูลอื่นใด เพื่อใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวของไดใชประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผาน ชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนผานเว็บไซตของบริษัทที่ www.investorrelations.ais.co.th พรอมทั้งมีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) ทําหนาที่สื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลที่เปนประโยชนใหแกผูถือหุน นักลงทุน และนักวิเคราะห ทั้งนี้ ผูสนใจสามารถติดตอขอขอมูลตางๆ จากหนวยงานนักลงทุนสัมพันธไดที่ โทร. 02 299 5116 หรือ Email: investor@ais.co.th หรือที่เว็บไซตของแผนก นักลงทุนสัมพันธ www.investorrelations.ais.co.th อีกทั้งมีหนวยงาน Compliance ของกลุมบริษัทดูแลในดานการเปดเผย ขอมูลแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวาไดปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวของอยางครบถวน บริษัทมีการเปดเผยขอมูลผลการดําเนินงาน รายงานงบการเงิน และ รายงานการวิเคราะหของผูบริหาร เปนราย ไตรมาส พรอมมีการจัดประชุมแถลงขอมูลผลการดําเนินงานปละสองครั้ง ในวาระกลางป และวาระสิ้นป ใหแกนักลงทุน นักวิเคราะห โดยมีผูบริหารระดับสูงของบริษัทรวมประชุมชี้แจงผลการดําเนินงานรวมทั้งแนวทางและกลยุทธในการ ดําเนินงาน พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักลงทุน นักวิเคราะห ผูจัดการกองทุน ตลอดจนผูที่สนใจไดซักถามขอมูลตางๆ นอกจากนี้ บริษัทจัดใหมีวันนักลงทุนประจําป (annual investor day) เพื่อเปดโอกาสผูจัดการกองทุนและนักวิเคราะหไดมี ความเขาใจตอการดําเนินธุรกิจ และการปฏิบัติงานในแตละสวนงานของบริษัทไดมากขึ้น

สวนที่ 2 หนา 79


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูลภายใน โดยยึดมั่นในจริยธรรม ความซื่อสัตย และความสุจริตในการดําเนิน ธุรกิจตอลูกคา คูคา ผูลงทุน และผูถือหุน โดยไดกําหนดแนวทางไวในจรรยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และ ระเบียบการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรและขอมูลสารสนเทศ ใหกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือ และนําไปปฏิบัติ เพื่อปองกันมิใหขอมูลและขาวสารที่สําคัญถูกเปดเผย หรือมีการเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารโดยพลการ หรือ โดยมีเจตนาที่ไมบริสุทธิ์ ในกรณีที่กรรมการ พนักงานหรือผูบริหารนําขอมูลบริษัทไปเปดเผยหรือนําไปใชสวนตน หรือ กระทําการที่อาจขัดแยงทางผลประโยชน ถือเปนความผิดอยางรายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัย บริษัทมีนโยบายหามมิใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทําการซื้อขายหลักทรัพยของกลุมบริษัท โดยใชขอมูลภายในของ บริษัท ที่มีสาระสําคัญและยังไมไดเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อประโยชนตนเองและผูอื่น รวมทั้งกําหนดไวในจรรยาบรรณ ของบริษัทใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน หลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพยของกลุมบริษัทในชวงเวลา 1 เดือน กอนการเปดเผยงบการเงินใหแกสาธารณชน นอกจากนี้ กรรมการและผูบริหารของบริษัทมีหนาที่จัดทํารายการถือหลักทรัพยและรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพยของบริษัทของตน คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตามแบบและภายในเวลาที่กําหนดในขอบังคับวาดวย การรายงานการถือหลักทรัพย และกําหนดใหผูบริหารสงสําเนารายงานดังกลาวใหบริษัทในวันเดียวกับวันที่รายงานตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทและบริษัทยอย (7 บริษัท) มีพนักงานทั้งสิ้น 5,890 คน (เฉพาะพนักงานประจํา) โดยแบง ตามสายงานหลักไดดังนี้ บริษัท สายงานหลัก ปฏิบัติการ พัฒนาโซลูชั่นส การตลาด ธุรกิจบริการสื่อสารไรสาย ปฏิบัติการดานบริการ การเงินและบัญชี สนับสนุน สํานักปฏิบัติการภูมิภาค สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคกลาง สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคตะวันออก สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคเหนือ สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคใต

จํานวนพนักงาน 925 540 374 84 780 183 266 8 178 179 247 272 227 4,263

สวนที่ 2 หนา 80

AMP / AMC / ADC / AIN จํานวนพนักงาน AMP AMC ADC AIN รวม

55 5 390 17 467


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ACC สายงานหลัก MD-ACC Office Customer Contact Center CRM Operation Management Quality Assurance Channel & Contact Association Center Partner Contact Center Contact Center System Solutions Resource Management

DPC จํานวนพนักงาน 4 404 241 56 39 18 42 55 859

สายงานหลัก ธุรกิจการคาเครื่องลูกขาย ศูนยบริการซอม บัญชีและบริหารสินเชื่อ สนับสนุน

จํานวนพนักงาน 146 96 59 301

สําหรับป 2549 คาตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษัทและบริษัทยอย (7 บริษัท) ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ มีจํานวนทั้งสิ้น 2,602.36 ลานบาท นโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล นโยบายในการพัฒนาบุคลากรของ AIS คือ มุง สูการเปน “องคกรแหงการเรียนรู” (Learning Organization) ซึ่งนอกจาก จะเนนย้ําใหบุคลากรหมั่นศึกษาหาความรูดวยตนเองเพื่อพรอมตอการเปลี่ยนแปลงที่ไมมที ี่สิ้นสุดแลว ยังไดนําแนวคิด “การบริหารจัดการองคความรู” (Knowledge Management) มาพัฒนาเครื่องมือตางๆ ในการเก็บรวบรวมและ แลกเปลี่ยนองคความรูที่มีอยูในองคกรอยางมีประสิทธิภาพ ความทาทายขางหนาของเราก็คือ ทําอยางไรจะสรางจิตสํานึก ใหบุคลากรเห็นความสําคัญของ “การเรียนรู” โดยการนําขอมูลขาวสารที่ผานเขามาในแตละวัน มาสังเคราะหเพื่อเลือก นํามาปรับใชใหเกิดประโยชน ตลอดจน มีวินัยในการศึกษาหาความรูดวยตนเองจากสื่อการเรียนรูหลากหลายชองทางที่ องคกรจัดหาให เพราะเราเชื่อวาความรูที่ไดสะสมไปนั้น นอกจากจะชวยใหเกิดการพัฒนาตนเองและพัฒนางานสู ความสําเร็จแลว ยังจะสงผลตอการเติบโตขององคกรอยางยั่งยืนตอไป ดังนั้น บุคลากรทุกคนจึงตองพรอมที่จะแลกเปลี่ยน เรียนรู เพื่อมุงหานวัตกรรมใหมๆ ใหสมกับเปน “ปแหงการเรียนรู” ในปนี้

สวนที่ 2 หนา 81


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

10.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ระบบการควบคุมภายในการบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

บริษัท ไดใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงเปนอยางยิ่ง ซึ่งการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง เปนกระบวนการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติเปนขั้นตอนอยางตอเนื่องโดยเจาหนาที่ทั้งหมดของบริษัท ตั้งแต คณะกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกคน มีบทบาทและความรับผิดชอบรวมกัน มีการกําหนดภาระหนาที่ ความ รับผิดชอบ อํานาจการดําเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน โดยการควบคุม ภายในจะครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การบริหาร การกํากับดูแลการปฏิบัติงานใหเปนไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ และการบริหารความเสี่ยง เพื่อกอใหเกิดความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลวา ผลสําเร็จของ งานจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคขององคกรที่ตั้งไว ดังตอไปนี้ 1. กลยุทธและเปาหมายของบริษัท ในระดับภาพรวมและกิจกรรมในระดับปฏิบัติการ ไดกําหนดไวอยางชัดเจน โดยสอดคลองและสนับสนุนพันธกิจ (Mission) ขององคกร 2. ผลการปฏิบัติงานของแผนงานและโครงการตางๆ บรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยมีการบริหาร ทรัพยสินและทรัพยากรของบริษัทใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพคุมคา 3. ขอมูลที่มีสาระสําคัญ ทั้งดานการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกตอง เชื่อถือได และเปนขอมูล เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจไดอยางทันเวลา 4. การดําเนินงานของบริษัท และการปฏิบัติงานของพนักงาน เปนไปตามนโยบาย กฎ ระเบียบและขอกําหนด ของบริษัท โดยสอดคลองกับกฎหมายและขอบังคับอื่นที่เกี่ยวของ 5. มีการบริหารความปลอดภัยของทรัพยสิน บุคลากร รวมทั้งขอมูลในระบบสารสนเทศ ใหมีความปลอดภัย อยางรัดกุมเพียงพอ 6. มีการกํากับดูแลและการบริหารจัดการที่เหมาะสมมีประสิทธิผล 7. มีก ารปรับ ปรุงคุณ ภาพการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องในทุกกระบวนการและกิจ กรรมควบคุ ม รวมทั้ ง การ เปลี่ยนแปลงรูปแบบและเทคโนโลยี เพื่อสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาที่เปลี่ยนแปลงไป บริษัท มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ตามกรอบงานการบริหารความเสี่ยง โดยอางอิง ตามมาตรฐานสากลของ COSO-ERM (The Committee Of Sponsoring Organizations Of The Treadway Commission -Enterprise Risk Management) ซึ่งสัมพันธกับการดําเนินธุรกิจและกระบวนการบริหารงานตาม องคประกอบ 8 ขอ ดังนี้ 1. มีสภาพแวดลอมภายในบริษัทที่ดี (Internal Environment) บริษัทปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลที่ดี และยึดมั่นในจริยธรรมทางธุรกิจ โดยพนักงานทุกระดับปฏิบัติ และยึดมั่นในปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัท ที่มีขอกําหนดและแนวทางปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษร (Code of conduct) อีกทั้งยังมีการแตงตั้งคณะกรรมการจรรยาบรรณ เพื่อดูแลการสรางจิตสํานึก และการอบรมพนักงานใหมีความรู ความเขาใจในจรรยาบรรณ และเสริมสรางใหทุกคนยึดถือและปฏิบัติ ซึ่งผูบริหารนั้นไดเปนตัวอยางที่ดีในเรื่องความซื่อสัตย และจริยธรรม และมีการจัดโครงสรางการบริหาร การกําหนดนโยบาย ระเบียบ ขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติงาน ทั้งดาน การเงิน การบริหารทั่วไป และระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของไวอยางเหมาะสม ตลอดจนมีการระบุอํานาจหนาที่ความ รับผิดชอบไวอยางชัดเจน มีระบบการจัดการและการปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียที่ดี เปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอพนักงาน ลูกคา เจาหนี้การคา คูแขงขัน ตลอดจนผูถือหุน สังคมและสิ่งแวดลอมตางๆ ไว อยางเหมาะสม สวนที่ 2 หนา 82


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นอกจากนี้ บริษัทยังใหความสําคัญในเรื่องบุคลากร โดยจัดใหมีการบริหารที่เหมาะสมและการพัฒนาความรู ความสามารถในแตละบุคคลอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมถึงความเขาใจในเรื่องแนวทางการบริหารความเสี่ยง โดย กําหนดใหมีนโยบายและปรัชญาในการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนกิจกรรมการบงชี้ การประเมินและการจัดการความเสี่ยง อยางเปนระบบและตอเนื่อง อีกทั้งฝายบริหารไดระบุระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดไวอยางเหมาะสมแลว 2. มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน (Objective Setting) บริษัทมีการกําหนดวัตถุประสงคการปฏิบัติงานอยางชัดเจน ทั้งดานกลยุทธ ดานการปฏิบัติงาน ดานการ รายงาน รวมทั้งดานการปฏิบัติตามนโยบาย กฎ ระเบียบ ขอปฏิบัติตางๆ โดยบันทึกเปนลายลักษณอักษร และสอดคลอง กับเปาหมายหลักหรือพันธกิจในภาพรวมและระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได นอกจากนี้ฝายบริหารมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน กลยุทธและวัตถุประสงคที่เหมาะสมใหสอดคลองกับสถานการณหรือปจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยางสม่ําเสมอ 3. มีการระบุตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงอยางครบถวนเหมาะสม (Event Identification) บริษัทไดกําหนดหรือระบุตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นทางดานลบที่จะสงผล เสียหายตอวัตถุประสงคนั้นๆในแตละกิจกรรม และจัดประเภทปจจัยเสี่ยงไวอยางครบถวน รวมทั้งระบุเหตุการณที่อาจจะ เกิดขึ้นที่เอื้ออํานวยตอวัตถุประสงคทางดานบวกไวดวยเชนกัน โดยพิจารณาจากแหลงความเสี่ยงภายในและภายนอก บริษัท ไดแก ความเสี่ยงดานการกลยุทธ ดานการเงิน ดานบุคลากร ดานการปฏิบัติงาน ดานระบบคอมพิวเตอรและ สารสนเทศที่เกี่ยวของ ดานการตลาด ดานการลงทุนและดานกฎระเบียบและขอปฏิบัติตางๆ เปนตน นอกจากนี้บริษัทยังมีการติดตามผล เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทมีการกําหนดหรือระบุปจจัยเสี่ยงอยางเหมาะสมที่ ครอบคลุมตอการเปลี่ยนแปลงของแตละกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป และมีการรายงานตอผูบริหารหรือผูเกี่ยวของใหรับทราบ อยางสม่ําเสมอ 4. มีกระบวนการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม (Risk Assessment) บริษัทไดกําหนดหลักเกณฑของการประเมินความเสี่ยงทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยแบงเปนความเสี่ยง ระดับองคกรและระดับปฏิบัติการ ซึ่งทําการประเมินทั้ง 2 ดาน คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยง (Likelihood ) และ ผลกระทบตอความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณนั้น (Impact) เพื่อพิจารณาระดับคาของความเสี่ยงที่อาจเปนระดับสูง กลาง หรือต่ํา โดยบริษัทไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในป 2548 โดยจัดทําการประเมินระดับของความเสี่ยง จากตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงที่สําคัญที่ไดระบุไวและทําการประเมินอยางเปนระบบและสม่ําเสมอ รวมทั้งมีการ จัดทําคูมือการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ 5. มีการตอบสนองตอความเสี่ยงอยางมีประสิทธิผล (Risk Response) บริษัทมีกระบวนการจัดการหรือบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ โดยพิจารณาทางเลือกที่มีประสิทธิผลและ ความคุมคาที่สุด เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยงและลดผลกระทบตอความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณนั้นใหอยู ในระดับที่ยอมรับได รวมทั้งยังมีการบริหารความเสี่ยงอยางตอเนื่องควบคูไปกับมาตรการควบคุมภายในใหมีความสัมพันธ เหมาะสมกับความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยูตลอดเวลา โดยเลือกจัดการกับความเสี่ยงระดับสูงเปนอันดับแรก ซึ่งทางบริษัท มีกลยุทธในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ • การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) ในกรณีที่ฝายบริหารพิจารณาเห็นชอบวาความเสี่ยงที่เกิดขึ้น สงผลกระทบไมเกินระดับที่ยอมรับได • การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk รูปแบบการทํากิจกรรม ที่จะกอใหเกิดความเสี่ยง

Avoidance) โดยการหลีกเลี่ยงหรือหยุดกระทํากิจกรรมหรือเปลี่ยน

สวนที่ 2 หนา 83


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

• การลดหรือควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) เปนการดําเนินการเพื่อลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ ความเสี่ยงและผลกระทบตอความเสียหายที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได เชน การกําหนดแผน สํารองฉุกเฉิน การทบทวนปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน การฝกอบรมพัฒนาบุคลากรอยูเสมอ การปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เปนตน • การกระจายหรือโอนความเสี่ยง (Risk Sharing ) โดยการแบงโอนหรือกระจายความเสี่ยงใหกับผูอื่น แทน เชน จัดใหมีการประกันภัยทรัพยสิน การประกันภัยอุบัติเหตุ เปนตน 6. มีกิจกรรมการควบคุมที่ดี (Control Activities) บริษัทไดกําหนดกิจกรรมการควบคุมที่มีสาระสําคัญของแตละระบบงานไวอยางเหมาะสมโดยใหความสําคัญ ตอกิจกรรมควบคุมแบบปองกันเปนหลัก รวมทั้งนโยบาย วิธีการปฏิบัติ และการรายงานผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวา วิธีการจัดการความเสี่ยงที่ไดกําหนดไว หรือกิจกรรมการควบคุมนั้นไดมีการนําไปปฏิบัติจริง โดยผลการปฏิบัติงานสามารถ บรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวได ซึ่งมุงเนนใหการปฏิบัติงานมีคุณภาพสูงสุดและมีความรวดเร็วควบคูไปดวยกัน นอกจากนี้ บริษัทยังมีการกําหนดบุคลากรภายในองคกร เพื่อดูแลรับผิดชอบระบบการควบคุมภายในของแตละระบบงานและแบงแยก หนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจน พรอมทั้งกําหนดระยะเวลาการบริหารความเสี่ยงและการรายงานผลเปนลายลักษณ อักษรตอผูเกี่ยวของ 7. มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลที่ดี (Information and Communication) บริษัทมีระบบสารสนเทศที่สามารถเชื่อมโยงกันไดอยางทั่วถึง เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจไดอยางถูกตอง ทันเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมีระบบการจัดเก็บขอมูลที่ สามารถตรวจสอบความถูกตองยอนหลังได (Audit Trail) อีกทั้งยังมีระบบที่สามารถวิเคราะหหรือบงชี้จุดที่อาจจะเกิดความ เสี่ยงในเชิงสถิติไดอยางเปนระบบ ซึ่งทําการประเมินและจัดการความเสี่ยงพรอมทั้งบันทึกหรือรายงานผลไวอยางครบถวน บริษัทมีชองทางการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในลักษณะสองทางและสื่อสารทั้งภายใน และภายนอก เชน ผูบริหารสูพนักงาน พนักงานสูพนักงาน พนักงานสูผูบริหาร พนักงานสูลูกคาและผูเกี่ยวของอื่นๆ เชน เจาหนี้การคา นักกฎหมาย และผูถือหุน เปนตน นอกจากนี้ บริษัทยังมีการสื่อสารขอมูลพันธกิจ และแนวทางการบริหารความเสี่ยงลงสูพนักงานทุกระดับ เพื่อ รับทราบและทําความเขาใจกอนการปฏิบัติงานจริง และยังมีชองทางการสื่อสารจากระดับพนักงานขึ้นสูระดับผูบริหารอยาง เหมาะสมเพียงพอ เพื่อชวยใหบุคคลากรที่เกี่ยวของสามารถตอบสนองตอเหตุการณไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมการควบคุมใหสามารถจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับไดอยางทันเวลา 8. มีระบบการติดตามผลที่ดี (Monitoring ) บริษัทมีระบบการประเมินและติดตามผลการดําเนินงานที่ดีโดยใช ระบบ Balance Scorecard ดัชนีวัดผลการ ดําเนินงาน Key Performance Indicator การกําหนดเปาหมายและการเปรียบเทียบกับวิธีการปฏิบัติที่ดี Benchmarking and Best Practices เปนเครื่องมือในการวัดผลการดําเนินงาน และใหมีการติดตามผลอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง เพื่อใหมั่นใจ ไดวา มาตรการและระบบการควบคุมภายในนั้นมีประสิทธิผลและไดรับการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ โดยสามารถ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม ทันเวลา นอกจากนี้ บริษัทไดจัดใหมกี ารตรวจประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยหนวยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งเปนหนวยงานอิสระ ผูสอบบัญชี และผูประเมินอิสระจากภายนอก นอกจากนี้ บริษัทมีระบบการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงที่ดีและมีการกําหนดสัญญาณเตือนภัย เพื่อให มั่นใจไดวา การบริหารและการจัดการความเสี่ยงมีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ ซึ่งความเสี่ยงนั้นอยูในระดับที่ยอมรับได โดยใหมีการรายงานผลตอหัวหนางานทุกระดับและตอผูบริหารระดับสูงอยางสม่ําเสมอและจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการ สวนที่ 2 หนา 84


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท และมีการประชุมผูบริหารอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารวาเปนไปตาม เปาหมายที่ตั้งไว ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2 /2550 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2550 โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเขารวมประชุมดวย คณะกรรมการไดประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท จากการสอบทานการประเมิน ระบบการควบคุมภายใน และจากการซักถามขอมูลจากฝายบริหาร ผลการประเมินจากแบบประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายใน สรุปไดวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ผูสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัดซึ่ง เปนผูตรวจสอบ งบการเงินประจําป 2549 ไดประเมินประสิทธิผลระบบการควบคุมภายในของบริษัทตามที่เห็นวาจําเปน โดยพบวาไมมี จุดออนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแตประการใด การตรวจสอบภายใน หนวยงานตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ (Independence) รายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบในดาน งานตรวจสอบภายใน และรายงานตอประธานกรรมการบริหารในดานงานบริหารหนวยงาน โดยมีกฎบัตรของหนวยงาน ซึ่งกําหนดภารกิจ ขอบเขต วัตถุประสงคและภาระหนาที่ความรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการปฏิบัติงานตรวจสอบไวอยาง ชัดเจน และมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานตรวจสอบสําหรับเจาหนาที่ตรวจสอบไวอางอิงในการปฏิบัติงาน โดยกฎบัตรและ คูมือการตรวจสอบภายใน จะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหสอดคลองเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน หนวยงานตรวจสอบภายใน ทําหนาที่ตรวจประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง และการ กํากับดูแลกิจการของบริษัท ตามแผนงานการตรวจสอบประจําป ซึ่งไดพิจารณาจากปจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวของ (Risk based Approach) โดยผานการอนุมัติสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการใหคําปรึกษาแนะนําในดานตางๆ เพื่อให เกิดความเชื่อมั่นวา การปฏิบัติงานของบริษัทจะบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว อีกทั้งยังทําการติดตาม ประเมินผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเกิดความมั่นใจในระบบที่วางไวไดดําเนินการเปนไปอยางตอเนื่อง และไดรับการแกไข ปรับปรุงอยางสม่ําเสมอใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งขอบกพรองไดรับการแกไขอยางทันทวงที โดยหนวยงานตรวจสอบภายในไดใชวิธีการตรวจสอบอยางเปนระบบตามมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบ ภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing), CobiT, COSO-ERM, AS / NZ 4360, ITIL, ISO 17799 เปนตน ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง หนวยงานตรวจสอบภายในไดดําเนินการสอบ ทานตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบตอวัตถุประสงค และแนวทางการบริหารความเสี่ยงของผูปฏิบัติงาน เพื่อใหมั่นใจวามีการระบุและประเมินความเสี่ยงไดอยางถูกตองเหมาะสม และมีการบริหารความเสี่ยงที่เปนระบบ สามารถ จัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได และมีการรายงานความเสี่ยงตอผูเกี่ยวของอยางครบถวนทันเวลา พรอมทั้งยัง มีการติดตามสอบทานความเสี่ยงอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน หนวยงานตรวจสอบภายในไดจัดทําแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของแตละระบบงาน รวมทั้งไดทําการสอบทานผลการปฏิบัติงาน เพื่อให มั่นใจวาบริษัทสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ตางๆ อยางเครงครัด และรายงานทางการเงินมีความถูกตองนาเชื่อถือ

สวนที่ 2 หนา 85


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในการตรวจประเมินการกํากับดูแลกิจการ หนวยงานตรวจสอบภายในไดตรวจประเมินการกํากับดูแลดูแลกิจการ ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ OECD (Organization for Economic Co-operation and Development) และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนเกณฑ เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทมีโครงสรางและการสนับสนุนของกระบวนการที่จําเปนในการ นําไปสูผลสําเร็จของการกํากับดูแลที่ดีและโปรงใสและใหความเปนธรรมแกผูมสี วนไดเสียทุกฝายเทาเทียมกัน นอกจากนี้ หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในไดปฏิบัติหนาที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อ สนับสนุนภาระหนาที่และความรับผิดชอบทุกหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ไดรับมอบหมายมาจากคณะกรรมการ บริษัทใหมีประสิทธิผล โดยจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เฉลี่ยเดือนละ 1 ครั้ง และมีบทบาทในการให คําปรึกษาแนะนําในดานตางๆ โดยรวมเปนคณะกรรมการดานความปลอดภัยระบบสารสนเทศของบริษัท เพื่อให ขอเสนอแนะในดานการรักษาความปลอดภัยดานสารสนเทศในองคกร ตลอดจนมีบทบาทในการสนับสนุนสงเสริมให เจาหนาที่ทุกระดับชั้น เกิดความตระหนักถึงความสําคัญของการรักษาความปลอดภัยในระบบสารสนเทศ และผลักดันให เกิด Security Mind ใหเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมองคกร โดยกําหนดใหกรรมการมีการประชุมกันอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง อีกทั้งยังเปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยทําหนาที่สนับสนุนการปฏิบัติงานในการ กําหนดหลักเกณฑ นโยบาย กรอบการบริหารความเสี่ยง และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดในระดับภาพรวม พรอมทั้ง ปรับปรุงกระบวนการบริหาร ความเสี่ยง และพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการบริหารความเสี่ยงใหมีประสิทธิภาพ ทันสมัย และ สนับสนุนใหหนวยงานตางๆ มีระบบการบริหารความเสี่ยง โดยทําการบริหารและควบคุม ความเสี่ยงไดดวยตนเองอยาง เปนระบบ โดยรายงานผลการบริหารความเสี่ยงตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริหาร ไตรมาสละ 1 ครั้ง หนวยงานตรวจสอบภายใน ไดยึดถือมาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบ เปนกรอบหรือแนวทางในการ ปฏิบัติงาน โดยมุงเนนใหมีการปฏิบัติงานที่มีความเปนอิสระ เที่ยงธรรม สอดคลองกับมาตรฐานสากล และใหความสําคัญ อยางจริงจังในเรื่องคุณภาพ และเนนการพัฒนาการฝกอบรมอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมแี ผนการฝกอบรมที่เหมาะสมเปน รายบุคคล (Individual Coaching Plan ) รวมถึงการพัฒนาเจาหนาที่ตรวจสอบใหสอบวุฒิบัตร CIA (Certified Internal Auditor), CISA (Certified Information System Auditor), CISSP (Certified Information Systems Security Professional) และCISM (Certified Information Security Manager) โดยปจจุบัน มีเจาหนาที่ตรวจสอบที่มีวุฒิบัตร CIA จํานวน 5 ทาน,วุฒิบัตร CISA 3 ทาน, วุฒิบัตร CISM จํานวน 1 ทาน วุฒิบัตร CISSP จํานวน 1 ทาน, วุฒิบัตร CPA (Certified Public Accountant) จํานวน 3 ทาน, วุฒิบัตร TA (Tax Auditor) จํานวน 1 ทาน โดยเจาหนาที่อีกจํานวนหนึ่งอยู ระหวางการพัฒนาใหมีวุฒิบัตร CIA, CISA, CISSP และ CISM อยางตอเนื่อง

สวนที่ 2 หนา 86


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

11.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยรายการดังกลาวลวนเปนการดําเนิน ธุรกิจปกติของบริษัท บริษัทยอย และบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สําหรับขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน นอกจากบริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกําหนดอํานาจของผูมีสิทธิอนุมัติตามวงเงินที่ กําหนดแลว คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหนาที่เปนผูสอบทานการทํารายการระหวางบริษัทหรือบริษัทยอยกับบุคคลที่ เกี่ยวโยงกันเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนอีกดวย ในกรณีรายการระหวางกันที่เขา ขายเปนการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบจะทําหนาที่สอบทานและใหความเห็นตอรายการกอน นําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท และเนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความ เหมาะสมในการทํารายการและเปนรายการที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไปสามารถเทียบเคียงไดกับราคาตลาดเปนหลัก ขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันและนโยบายการทํารายการระหวางกัน ขั้นตอนการทํารายการระหวางกัน บริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการทํารายการกับบุคคลอื่น ๆ และเปรียบเทียบกับ ราคาตลาดทั่วไป โดยจะมีการกําหนดอํานาจอนุมัติตามวงเงินที่กําหนดไวแลว และหากรายการระหวางกันอื่นใดที่เขาขาย ตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท จดทะเบียน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎดังกลาวอยางเครงครัด ในการทํารายการระหวางกันของบริษัท ไดมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสอบทานการทํารายการ ระหวางกันของบริษัท บริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันทุก ๆ ไตรมาส เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางประโยชนซึ่งกันและ กัน เนื่องจากรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นเปนรายการที่ดําเนินไปตามธุรกิจปกติ ดังนั้น รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแยงมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต โดยบริษัทจะคํานึงถึงความเหมาะสมในการทํารายการและเปน รายการที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไปสามารถเทียบเคียงไดกับราคาตลาดเปนหลัก ใน ป 2548 และ ป 2549 บริษัทและบริษัทยอยมีรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยผูตรวจสอบบัญชีของ บริษัทไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบแลว สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ของป 2548 และ 2549 วารายการดังกลาวเปนรายการคาตามปกติ โดยบริษัทไดคิดราคาซื้อ-ขายสินคา และบริการกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยงตามราคาที่เทียบเทากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขตางๆ ตามปกติธุรกิจ ในกรณีที่ไมมีราคาดังกลาว บริษัทจะวาจางผูประเมินราคาอิสระมืออาชีพ ในกรณีที่เปนการประเมินราคาประเภทการเชาอสังหาริมทรัพยจะเปนผู ประเมินที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคาของรายการระหวางกัน เพื่อใชเปนแนวทาง เปรียบเทียบกอนที่จะใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่สอบทาน รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในชวง ระยะเวลาดังกลาวมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 87


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SHIN)/ เปนผูถือหุนใหญของบริษัทรอยละ 42.79 และมีกรรมการรวมกัน

บริษัท และ DPC วาจาง SHIN เปนที่ ปรึกษาและบริหารงาน โดยบริษัทจายคาที่ ปรึกษาจํานวน 14,876,736 บาทตอเดือน สวนคาบริหารงานจายตามรายการที่เกิดขึ้น จริง

1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 2. นายสมประสงค บุญยะชัย 3. นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาที่ปรึกษาและบริหารการเงิน เงินปนผลจาย คาเชาและบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.39 0.01 97.40 7,961.39 5.15 0.14

0.39 0.01 98.12 7,961.39 6.00 0.14

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.64 0.20 201.06 7,076.79 5.41 2.38 -

0.64 0.20 202.26 7,076.79 8.13 0.03 2.49 0.06 -

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนนโยบายในการกํากับดูแลบริษัทใน กลุมของบริษัทใหญ ซึ่งประกอบธุรกิจใน การเขาถือหุนและบริหารงาน เพื่อใหการ ควบคุมเปนประโยชนสูงสุดสําหรับ บริษัทและผูถือหุน คาที่ปรึกษาเรียกเก็บ รายเดือนโดยคิดคํานวณรายปเปน สัดสวนตอสินทรัพยรวม ณ วันสิ้นปใน อัตรารอยละ 0.15 โดยทาง SHIN ได ปรึกษาบริษัท Boston Consulting Group (Thailand) – BCG ซึ่งเปนบริษัท ที่ปรึกษา เปนผูประเมินวิธีการคิด คาธรรมเนียมและคาที่ปรึกษา คาบริหาร การเงิน โดยกําหนดราคาเทียบเคียงกับ ราคาตลาดตามรายการที่เกิดขึ้นจริง สัญญาการจางดังกลาวไดถูกยกเลิกไป 1 กรกฎาคม 2549 เนื่องจากมีการ ปรับเปลี่ยนวิธีการกํากับดูแลบริษัท

สวนที่ 2 หนา 88


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

2. บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) (SATTEL) /มี SHIN เปนผูถ ือหุนใหญ รอยละ 41.32 และมีกรรมการรวมกัน

บริษัทเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม1A จาก SATTEL โดยบริษัทตองชําระคาตอบแทนใน อัตรา 1,700,000 USD/ป

1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 2. นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ

3. บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (SIT)/ มี SHIN เปนผูถ ือหุนใหญ (โดย ทางออม) รอยละ 99.99 และมี กรรมการรวมกัน

1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาเชาและบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

เนื่องจากเปนผูใหบริการรายเดียวใน ประเทศ บริษัทชําระคาบริการในอัตรา เดียวกับลูกคาทั่วไปที่ไปใชบริการ

1.99 63.04 0.28 1.10

1.99 63.04 0.31 1.10

2.83 0.72 68.61 5.83 0.01

บริษัทวาจาง SIT เปนที่ปรึกษา และบริหาร ระบบคอมพิวเตอรของ SIT โดยสัญญาสิ้นสุด 31 กรกฎาคม 2550 1. คาที่ปรึกษาและบริหารระบบ คอมพิวเตอร

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

2.63

1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 2. นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ

สวนที่ 2 หนา 89

2.63

2.63

2.84 0.72 68.61 5.83 0.03 0.01 เปนบริษัทที่ใหบริการ โปรแกรม คอมพิวเตอรเพื่อประมวลผลทางบัญชี เฉพาะบริษัทในเครือSHIN SIT คิดคาบริการในอัตราใกลเคียงกับ ราคาของบริษัทที่ปรึกษารายอื่น ที่ 2.63 ใหบริการในลักษณะเดียวกัน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

4. บริษัท เอสซี แมทชบอกซ บริษัท และบริษัทยอย วาจาง SMB เปน ตัวแทนในการจัดทําโฆษณาผานสื่อตางๆ จํากัด (SMB)/ โดยจะเปนการวาจางครั้งตอครั้ง มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 99.96 และมีกรรมการรวมกัน 1. รายไดจากการใหบริการ 2. รายไดอื่น 1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 3. คาเชาและบริการอื่น 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ 4. คาโฆษณา - คาโฆษณา (NET) - คาโฆษณา (GROSS) 5. เจาหนี้การคา 6. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 7. ลูกหนี้การคา

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

1.33 3.41

1.34 3.42

1.51 11.02

569.39 1,679.81 459.27 -

617.02 1,854.17 5.23 486.02 0.04

502.25 1,311.38 307.53 -

สวนที่ 2 หนา 90

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

เปนบริษัทโฆษณาที่มีความคิดริเริ่มที่ดี และมีความเขาใจในผลิตภัณฑ.และ บริการของบริษัทเปนอยางดี รวมทั้งเปน การปองกันการรั่วไหลของขอมูล 1.54 คาโฆษณาเปนการวาจางครั้งตอครั้ง - บริษัทมีการเปรียบเทียบราคาตลาดกับ 11.02 บริษัทอื่น 528.80 1,333.97 5.45 314.94 0.49

Agency Fee - SMB Media (Full Service) 10.00% SMB Production 12.00% - Third party Media (Full Service) and Production 12.00%-17.65%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

5. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (TMC)/ มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

บริษัทวาจาง TMC ในการจัดทําขอมูล สําหรับบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การจัดหาขอมูลทางโหราศาสตร ขอมูล สลากกินแบงรัฐบาล และเรื่องตลกขบขัน เปนตน โดยชําระคาใชบริการตามที่เกิดขึ้น จริงเปนรายเดือน

1. นายสมประสงค บุญยะชัย 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาบริการ คาโฆษณา เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

1.50 48.05 4.79 0.20 0.12

สวนที่ 2 หนา 91

2.21 48.42 4.83 0.02 0.20 0.12

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.84 0.09 46.65 1.95 7.59 0.14 -

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

เปนผูใหบริการที่มีความเชี่ยวชาญใน การจัดทําเนื้อหาของขอมูลตางๆ บริษัท ชําระคาบริการ ในอัตรารอยละของ รายได ที่บริษัทไดรับจากลูกคา ขึ้นอยู กับประเภทของบริการที่ลูกคาใช ซึ่ง อัตราที่จายเปนอัตราเดียวกับ Content Provider ทั่วไปซึ่งอยูในอัตรารอยละ 400.94 60 0.09 47.07 1.95 7.61 0.04 0.18 -


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

6. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด (ITAS) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 99.99 และมีกรรมการรวมกัน

บริษัท และบริษัทยอย วาจาง ITAS ในการ ปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนครั้งตอครั้ง นอกจากนี้บริษัทและบริษัท ในเครือไดทําสัญญาการใชบริการระบบ คอมพิวเตอร (SAP) ตั้งแต 1 พ.ค.2547

1. นายสมประสงค บุญยะชัย 2. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

1. รายไดจากการใหบริการ 2. รายไดอ่นื 3. คาที่ปรึกษาและบริหารงานระบบ คอมพิวเตอร 4. เจาหนี้การคา 5. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 6. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.01 -

0.01 -

0.03 0.26

0.68 3.59 43.36 0.01

0.93 4.16 62.44 0.01

0.72 8.28 42.92 -

สวนที่ 2 หนา 92

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

เปนบริษัทที่ใหบริการเกี่ยวกับโปรแกรม คอมพิวเตอรเฉพาะบริษัทในเครือ รวมทั้งมีบริการที่ดี รวดเร็ว และราคา สมเหตุสมผล ITAS คิดคาบริการใน อัตราใกลเคียง กับราคาของบริษัทที่ ปรึกษารายอื่น ที่ใหบริการในลักษณะ เดียวกัน อัตราคาบริการขึ้นอยูกับ 0.03 ลักษณะงานและระดับของที่ปรึกษา 0.26 0.72 8.28 59.22 -


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

7. กลุมบริษัท Singtel Strategic Investments Pte.Ltd (Singtel) / เปนผูถือหุนใหญของบริษัทรอยละ 21.40

บริษัททําสัญญาบางบริษัทในกลุม Singtel ใน การเปดใหบริการขามแดนอัตโนมัติ (International Roaming) รวมกัน และบริษัท จายเงินเดือนและผลตอบแทนใหแก Singapore Telecom International Pte.Ltd (STI) ในการสงพนักงานมาปฏิบัติงานที่บริษัท โดยจะเรียกเก็บคาใชจายตามที่เกิดขึ้นจริง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาบริการโรมมิ่งระหวางประเทศ เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น เงินปนผลจาย เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

693.54 0.12 331.59 25.53 3,578.40 47.67 16.50 133.60

สวนที่ 2 หนา 93

693.54 0.12 331.59 25.53 3,578.40 47.67 16.50 133.60

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

612.19 283.94 22.23 3,180.80 46.44 11.60 124.61

612.19 283.94 22.23 3,180.80 46.44 11.60 124.61

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ กลุมบริษัท Singtel เปนหนึ่งในผูให บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในตางประเทศ ราคาที่เรียกเก็บเปนราคาที่ตางฝายตาง กําหนด ในการเรียกเก็บจากลูกคาแตละ ฝาย ที่ไปใชบริการขามแดนอัตโนมัติหัก กําไรที่บวกจากลูกคา ซึ่งเปนมาตรฐาน เดียวกับที่บริษัทคิดจากผูใหบริการราย อื่น ในขณะที่ STI สงพนักงานมาให ความชวยเหลือ ทางดานการบริหารงาน และดานเทคนิคใหแกบริษัท ซึ่งบริษัท จายเงินตามคาใชจายที่เกิดจริงจากการที่ STI สงคนมาทํางานให หรือ เรียกเก็บ ตามอัตราที่ไดตกลงกันไวในสัญญา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

8. บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (CSL) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 40.02 (โดยทางออม) และมี กรรมการรวมกัน

บริษัท วาจาง CSL ในการใหบริการดาน Internet ในขณะที่ ADC ใหบริการ Datanet แก CSL

1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 2. นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาเชาและคาบริการอื่นๆ รายไดจากการใหบริการรับลวงหนา เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนบริษัทในเครือ ที่ใหบริการทางดาน อินเตอรเน็ต และกําหนดราคา เชนเดียวกับที่เรียกเก็บจากลูกคารายอื่น

1.33 0.09 17.33 0.48 3.94 0.01 0.09

สวนที่ 2 หนา 94

110.53 1.84 23.28 0.48 12.93 8.13 0.93

2.29 0.01 16.93 1.51 1.37 0.01 -

77.83 8.81 26.42 67.87 7.97 1.38 6.20 1.07


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

9. บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด (Shinee) / มี SHINเปนผูถือหุนใหญรอยละ 70.00 (โดยทางออม)

บริษัทวาจาง Shinee ในการใหบริการเสริม ของโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยชําระคาบริการ เปนรายเดือน

10. กลุมกรรมการของบริษัท

1. รายไดจากการใหบริการ 2. รายไดอื่น 3. คาบริการอื่นๆ 4. เจาหนี้การคา 5. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 6. ลูกหนี้การคา กลุมกรรมการของบริษัทมีการถือหุนกูของ บริษัท 1. เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจาย

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.45 0.41 85.83 7.25 0.59 0.03

1.48

สวนที่ 2 หนา 95

3.32 0.41 85.86 7.27 0.63 0.09

1.48

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

2.49 70.90 7.56 0.47

37.00 2.16

4.58 70.95 7.59 0.66

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ ในการ ออกแบบ website และมีความ หลากหลายของเนื้อหา ซึ่งตรงกับความ ตองการของบริษัท บริษัทชําระคาบริการ ในอัตรารอยละของรายไดที่บริษัทไดรับ จากลูกคา ขึ้นอยูกับประเภทของบริการที่ ลูกคาใชซึ่งอัตราที่จายเปนอัตราเดียวกัน กับ Content Provider ทั่วไป ซึ่งอยูใน อัตรารอยละ 40-60

บริษัทออก และเสนอขายหุนกูใหแก ประชาชนทั่วไป โดยเสนอขายหุนกูใน ราคาเดียวกับผูถือหุนรายอื่น หุนกูของ 37.00 บริษัทไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ 2.16 ในระดับ AA และใหผลตอบแทนระดับที่ดี แกผูถือหุนกู


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

11. บริษัท ธนชาต ประกันภัย จํากัด / กรรมการผูจัดการใหญของกลุม ธนชาตเปนกรรมการของบริษัท คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน และมีกรรมการรวม คือ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ*

บริษัทจายคาเบี้ยประกันภัยสถานีฐาน และ เบี้ยประกันภัยอุปกรณ 1. คาเบี้ยประกันภัย

12. บริษัททุนธนชาต จํากัด (มหาชน) (TCAP) / กรรมการผูจัดการใหญของกลุม ธนชาตเปนกรรมการของบริษัท คือ นายศุภเดช พูนพิพัฒน และมีกรรมการรวม คือ นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

บริษัทจายคาเชาซื้อคอมพิวเตอร และคาเชา พื้นที่ คาน้ําประปา, คาไฟฟา 1. คาเชาซื้อคอมพิวเตอร 2. คาน้ํา คาไฟ คาเชาอาคาร

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

69.81

-

* ลาออกจากกรรมการบริษัท ธนชาต ประกันภัย จํากัด เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2550

สวนที่ 2 หนา 96

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

76.69

-

58.37

89.52 0.39

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

เปนบริษทั ที่ใหบริการที่ดี และมีการ ติดตอกับบริษัทมาโดยตลอด บริษัทชําระ 63.98 คาเบี้ยประกันภัยตางๆ ในอัตราตามที่ เปรียบเทียบไดกับบุคคลภายนอก

เปนบริษัทที่ใหบริการที่ดี และมีการ ติดตอกับบริษัทมาโดยตลอด บริษัทชําระ คาบริการตางๆ ในอัตราตามที่ 89.52 เปรียบเทียบไดกับบุคคลภายนอก 0.39 ในสวนของการเชาซื้อคอมพิวเตอร สัญญาสิ้นสุดในวันที่ 27 กรกฎาคม 2548 และวันที่ 27 พฤศจิกายน 2548 ตามลําดับ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

13. บริษัท ไอทีวีจํากัด (มหาชน) (ITV) / มี SHIN เปนผูถือหุนใหญ รอยละ 52.92 และมีกรรมการรวมกัน

บริษัทลงโฆษณาและเชาเวลาสถานีโทรทัศน จาก ITV ในขณะที่ ITV ไดใชบริการ โทรศัพทมือถือของบริษัท

1. นายบุญคลี ปลั่งศิริ 2. นายสมประสงค บุญยะชัย 3. นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ

14. บริษัท เพยเมนท โซลูชั่น จํากัด (PSC) / มี SHINเปนผูถือหุนใหญรอยละ 99.99 (โดยทางออม)

1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาเชาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

บริษัทและบริษัทยอย รวมมือกับ PSC ใน การใหบริการชําระเงินคาโทรศัพทเคลื่อนที่ และอินเตอรเน็ตผานบัตรเติมเงินของ PSC เนื่องจากมีกลุมลูกคาที่เปนเปาหมาย เหมือนกัน 1. รายไดจากการใหบริการ 2. เจาหนี้การคา 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 4. ลูกหนี้การคา 5. ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

1.89 1.56 26.10 0.20 0.19

1.88 0.01 0.34 สวนที่ 2 หนา 97

2.08 1.56 26.12 0.02 0.23 0.19

3.59 5.02 0.01 1.62 0.34

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจ สถานีวิทยุ โทรทัศนระบบ ยู เอช เอฟ แหงแรกของ ประเทศไทย โดยเปนผูดําเนินการผลิต รายการและจัดหารายการ ขายเวลา โฆษณา ใหเชาเวลาออกอากาศ และแพร ภาพสงสัญญาณออกอากาศ ใหผูชม รายการทั่วประเทศ บริษัทชําระ คาบริการตางๆ ตามอัตราคาบริการที่ เปนไปตามราคาตลาด เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก

2.65 3.18 7.48 0.02 -

2.90 3.18 7.48 0.10 -

1.33 -

เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจออกบัตรเติม เงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคา และ/หรือบริการแทนเงินสด อัตราการคิดคาบริการระหวางกันเปนไป ตามราคาตลาดเสมือนทํารายการกับ 2.00 บุคคลภายนอก 0.45 0.67 -


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนกลุมผูถือหุนใหญเดิม ไดขายหุนสามัญในสวนที่ถืออยูใน SHIN ทั้งหมดรอยละ 49.60 ใหแกบริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด (“Cedar”) และบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด (“Aspen”) ทําใหครอบครัวชินวัตรและกิจการที่เกี่ยวของกันกับครอบครัวชินวัตร ไมเปนกิจการที่เกี่ยวของกับบริษัท นับจาก วันที่ขายหุน อยางไรก็ตาม บริษัทเปดเผยรายการระหวางกันกับครอบครัวชินวัตรจนถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2549 มีรายละเอียดของแตละบริษัท ดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

15.บริษัท โอเอไอ ลีสซิ่ง จํากัด (OAIL) / กลุมครอบครัวชินวัตรเปนผูถือหุน รายใหญของ SHIN ถือหุน OAIL รอยละ 45.00

บริษัท และ ADC เชารถยนตเพื่อใชงาน ประจําสาขาตางๆ จํานวน รวม 258 คัน จาก OAIL 1. รายไดจากการใหบริการ 2. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 3. เจาหนีก้ ารคา

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนบริษัทลีสซิ่งที่ใหบริการเชาเฉพาะ บริษัทในเครือ และราคาเทียบเคียงกับ บริษัทลีสซิ่งอื่น รวมทั้งมีบริการที่ดีและ รวดเร็ว

3.27 -

สวนที่ 2 หนา 98

3.92 -

0.02 37.06 -

0.02 44.75 0.07


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

16. บริษัท เอสซี ออฟฟซ ปารค จํากัด (SOP)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน SOP รอยละ 99.99

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระที่ ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง คิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด

บริษัท เชาพื้นที่สํานักงานในอาคารชินวัตร ทาวเวอร 1, 2 และพื้นที่จอดรถ รวม 29,589.81 ตร.ม. และพื้นที่จอดรถในซอย พหลโยธิน 13 และ DPC เชาพื้นที่เพื่อเก็บ สินคา 2,708 ตร.ม. และ ACC เชาพื้นที่ ประมาณ 684.9 ตร.ม. 1. 2. 3. 4. 5.

รายไดจากการใหบริการ คาเชาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

22.95 -

สวนที่ 2 หนา 99

23.93 -

0.02 272.72 1.12 13.70 -

0.02 283.86 1.15 14.00 1.16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

17. บริษัท พี.ที. คอรปอเรชั่น จํากัด (PT)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน PT รอยละ 99.98

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริษัทเชาพื้นที่คลังสินคา แขวงคันนายาว/ เชาพื้นที่อาคารสํานักงานและพื้นที่ดาดฟา แขวงถนนนครไชยศรี/เชาพื้นที่ในอาคาร แขวงทุงสองหอง เขตบางเขน และพื้นที่ ดาดฟา/เชาพื้นที่ติดตั้งอุปกรณสถานีฐานของ โครงการวังหินคอนโดทาวน 1. 2. 3. 4.

รายไดจากการใหบริการ คาเชาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

1.10 -

สวนที่ 2 หนา 100

1.10 -

0.14 13.10 0.57 0.06

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระ ที่ ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา เพื่อใชเปน แนวทางประกอบรวมกับทําเลที่ตั้ง สิ่ง อํานวยความสะดวก คาใชจายในการขน ยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคา ตามสัญญา ซึ่งเปนอัตราที่เทียบเคียงกับ 0.14 ราคาตลาด 13.10 0.57 0.06


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

บริษัทเชาพื้นที่สํานักงานในอาคารกลุม 18. บริษัท เวิรธ ซัพพลายส ชินวัตร (เชียงใหม) 2,391.30 ตร.ม. จํากัด (WS)/ กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน WS 1. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 2. เจาหนี้การคา รอยละ 68.17 3. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.69 -

สวนที่ 2 หนา 101

0.69 -

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

13.58 0.46 0.11

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

เปนผูใหบริการ ที่บริษัทไดใชบริการมา โดยตลอด และบริษัทไดลงทุนในระบบ สาธารณูปโภคตางๆ ในพื้นที่เชาอยาง 13.58 ครบถวน และสามารถใชระบบดังกลาวได 0.46 อยางมีประสิทธิภาพ บริษัทไดวาจาง ผู 0.11 ประเมินราคาอิสระที่ไดรับความเห็นชอบ จากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมิน ราคา เพื่อใชเปนแนวทางประกอบรวมกับ ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง เปนอัตราที่เทียบเคียงกับราคาตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

19. บริษัท อัพคันทรีแลนด จํากัด (UP) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปน ผูถือหุนใหญของ SHIN ถือหุน UP รอยละ 99.99

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

บริษัทเชาพื้นที่อาคารสํานักงาน และ สถานที่สําหรับติดตั้งสถานีฐาน ทั้งใน กรุงเทพมหานครและในเขตภูมิภาค รวม 103 แหง 1. 2. 3. 4.

รายไดจากการใหบริการ คาเชาและคาบริการอื่น ๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน

10.82 -

สวนที่ 2 หนา 102

10.82 -

0.06 130.99 0.65 0.08

0.06 130.99 0.65 0.08

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนบริษัทที่มีประสบการณ ในการจัดหา พื้นที่เชาทั่วประเทศไทย ไดตรงตาม เสนทางที่ตองการ และทันตาม กําหนดเวลา บริษัทไดวาจางผูประเมิน ราคาอิสระที่ไดรับความเห็นชอบจาก สํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวย ความสะดวก คาใชจายในการขนยายและ ตกแตง สําหรับการพิจารณาราคาตาม สัญญา ซึ่งคิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับ ราคาตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

20. บริษัท เอสซี แอสเสท คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (SC ASSET) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน (OPP) รอยละ 60.82

บริษัท เชาพื้นที่สํานักงาน 9,974.25 ตร.ม. และ DPC เชาพื้นที่สํานักงาน 1,024 ตร.ม. ในอาคารชินวัตรทาวเวอร 3 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาเชาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.56 7.11 -

สวนที่ 2 หนา 103

0.56 8.61 -

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

9.95 80.80 1.03 4.71 1.00 0.21

9.95 98.96 2.05 4.96 1.01 0.21

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระ ที่ ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา เพื่อใชเปน แนวทางประกอบรวมกับทําเลที่ตั้ง สิ่ง อํานวยความสะดวกคาใชจายในการขน ยายและตกแตง สําหรับการพิจารณา ราคาตามสัญญา ซึ่งเปนอัตราที่ เทียบเคียงกับราคาตลาด


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

21. บริษัท โอเอไอ คอนซัลแตนท แอนด แมนเนจเมนท จํากัด (OCM) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน OCM รอยละ 84.21

บริษัทใชบริการหองจัดเลี้ยงจาก OCM ใน การจัดสัมมนา และฝกอบรมพนักงาน โดย เปนการชําระคาบริการตอครั้ง 1. รายไดจากการใหบริการ 2. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 3. เจาหนี้การคา 4. เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน 5. ลูกหนี้การคา

22. บริษัท บี.พี.พร็อพเพอรตี้ จํากัด (BP) / กลุมครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือ หุนใหญของ SHIN ถือหุน BP รอย ละ 88.22

บริษัทเชาพื้นที่ดาดฟาและพื้นที่บางสวนของ อาคาร เอสซี สาธรแมนชั่น ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร เพื่อติดตั้งอุปกรณสถานี ฐาน 1. รายไดจากการใหบริการ 2. คาเชาและคาบริการอื่นๆ 3. เจาหนีก้ ารคา

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.01 -

0.04 -

สวนที่ 2 หนา 104

0.01 -

0.04 -

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ เปนบริษัทที่มีความชํานาญ ในการ บริการหองจัดเลี้ยง และมีราคาที่ เทียบเคียงกับ Contractor รายอื่น

0.12 1.07 0.02 0.02 0.01

0.12 1.07 0.02 0.02 0.01

0.02 0.68 0.07

บริษัทไดวาจางผูประเมินราคาอิสระ ที่ ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน กลต. มาทําการประเมินราคา โดยไดพิจารณา ทําเลที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก คาใชจายในการขนยายและตกแตง 0.02 สําหรับการพิจารณาราคาตามสัญญา ซึ่ง 0.68 คิดราคาในอัตราเทียบเคียงกับราคาตลาด 0.07


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

23. บริษัท บางกอกเทเลคอม เอ็นจีเนียริ่ง จํากัด (BTE) /กลุม ครอบครัวชินวัตรซึ่งเปนผูถือหุน ใหญของ SHIN ถือหุน BTE รอย ละ 99.99

บริษัท และ DPCวาจาง BTE ในการ ใหบริการติดตั้งอุปกรณโทรคมนาคม

24. กลุมครอบครัวชินวัตร

กลุมครอบครัวชินวัตรมีการถือหุนกูของ บริษัท

1. 2. 3. 4.

คาอุปกรณระบบสื่อสาร คาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

1. เงินลงทุนในหุนกูของบริษัท 2. ดอกเบี้ยจาย

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ม.ค. 2549 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

0.06 4.45 -

0.04

สวนที่ 2 หนา 105

0.06 4.46 -

0.04

มูลคารายการระหวางกัน สําหรับงวดสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2548 (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม

84.78 26.82 0.01

10.00 0.53

เหตุผลและความจําเปน ของการทํารายการ

เปนบริษัทที่มีความชํานาญ ในการติดตั้ง สถานีฐาน และมีราคาที่เทียบเคียงกับ Contractor รายอื่น และมีการยื่นซอง - ประกวดราคาตามระเบียบปฏิบัติของการ 88.35 จัดซื้อจัดจาง 28.89 0.01 บริษัทออก และเสนอขายหุนกูใหแก ประชาชนทั่วไป โดยเสนอขายหุนกูใน ราคาเดียวกับผูถือหุนรายอื่น หุนกูของ 10.00 บริษัทไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ 0.53 ในระดับ AA และใหผลตอบแทนระดับที่ดี แกผูถือหุนกู


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 12.1.1

งบการเงิน รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูสอบบัญชีในชวงระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (2547 – 2549) ผูสอบบัญชีแสดงความเห็นอยางไมมี เงื่อนไข โดยมีความเห็นวางบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะ การเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะของบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของบริษัท โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป บริษัทไดปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดกอนวันถือปฏิบัติตามาตรฐานการบัญชีไทยฉบับที่ 56 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดในไตรมาสที่ 1 ป พ.ศ. 2549 โดยใชวิธีปรับยอนหลัง

12.1.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม งบดุลรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม %

2548 ตามที่ไดปรับใหม จํานวนเงิน %

หนวย : พันบาท 2549 จํานวนเงิน %

9,449,330 186,208 5,761,004 445 446,337

7.80% 0.15% 4.75% 0.00% 0.00% 0.37%

11,456,373 298,840 4,526,264 3,017 1,266,494 214,746

8.95% 0.23% 3.54% 0.00% 0.99% 0.17%

12,742,218 118,187 4,898,182 2,973 620,505 463,557

9.49% 0.09% 3.65% 0.00% 0.46% 0.35%

1,282,197 56,965 1,935,400 19,117,886

1.06% 0.05% 1.60% 15.78%

1,347,141 1,233,709 20,346,583

1.05% 0.00% 0.96% 15.90%

2,055,466 1,991,808 22,892,896

1.53% 0.00% 1.48% 17.05%

10,161,944 75,657,773

8.39% 62.44%

8,259,476 75,842,690

6.45% 59.27%

7,797,323 81,095,903

5.81% 60.38%

2547 จํานวนเงิน สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา – สุทธิ ลูกหนี้และเงินใหกยู ืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ ลูกหนี้คาบัตรเงินสด ภาษีมูลคาเพิ่มคางรับ - บุคคลภายนอก สินคาคงเหลือ อุปกรณและอะไหลเพือ่ การซอมแซม เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ - สุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร-สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สิทธิในสัญญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

1,456,115 10,170,851 3,960,750 642,281 102,049,714 121,167,600

1.20% 1,440,357 8.39% 9,003,947 3.27% 3,505,927 0.00% 8,945,615 0.53% 614,908 84.22% 107,612,920 100.00% 127,959,503

สวนที่ 2 หนา 106

1.13% 1,308,759 0.97% 7.04% 7,837,043 5.84% 2.74% 3,051,104 2.27% 6.99% 9,762,601 7.27% 0.48% 555,145 0.41% 84.10% 111,407,878 82.95% 100.00% 134,300,774 100.00%


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบดุลรวม (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2547 จํานวนเงิน หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เจาหนี้และเงินกูยมื จากกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนของหุนกูระยะยาว-สุทธิ และเงินกูยืมระยะยาวที่ กําหนดชําระภายในหนึ่งป คาสิทธิสัญญาสัมปทานคางจาย ผลประโยชนตอบแทน รายป และภาษีสรรพสามิตคางจาย รายไดรับลวงหนา - คาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เงินรับลวงหนาจากลูกคา ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เจาหนี้ตามสัญญาแลกเปลีย่ นเงินตรา-สุทธิ หุนกูระยะยาว-สุทธิ และเงินกูยืมระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคา สวนเกินมูลคาหุน เงินรับลวงหนาคาหุน สวนเกินทุนจากการตีมูลคายุติธรรมในหลักทรัพยเผื่อ ขาย กําไรจากการปรับลดสัดสวนเงินลงทุน กําไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฏหมาย จัดสรรแลว - สํารองสําหรับหุนทุนซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร สวนของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย หุนทุนซื้อคืน รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

%

2548 ตามที่ไดปรับใหม จํานวนเงิน %

2549 จํานวนเงิน

%

4,790,179 419,121

0.00% 3.95% 0.35%

4,520,100 365,129

0.00% 3.53% 0.29%

1,000,000 5,759,710 523,210

0.74% 4.29% 0.39%

4,073,325

3.36%

14,240,939

11.13%

6,507,227

4.85%

7,017,456 4,612,399 4,413,896 2,186,916 27,513,292

5.79% 3.81% 0.00% 3.64% 0.00% 1.80% 22.71%

7,354,234 2,198,430 3,315,128 2,992,232 92,184 1,655,829 36,734,205

5.75% 1.72% 2.59% 2.34% 0.07% 1.29% 28.71%

7,155,341 3,658,800 1,090,979 2,963,490 2,379,903 31,038,660

5.33% 2.72% 0.81% 2.21% 0.00% 1.77% 23.11%

25,448,130 119,011 25,567,141 53,080,433

0.00% 21.00% 0.10% 21.10% 43.81%

11,209,805 80,941 11,290,746 48,024,951

0.00% 8.76% 0.06% 8.82% 37.53%

137,954 25,504,304 20,847 25,663,105 56,701,765

0.10% 18.99% 0.02% 19.11% 42.22%

2,945,188 20,470,525 11,051

2.43% 16.89% 0.01%

2,950,640 20,729,933 25,257

2.31% 16.20% 0.02%

2,953,547 20,978,564 14,504

2.20% 15.62% 0.01%

14,268 3,040

0.01% 0.00%

17,670 161,187

0.01% 0.13%

161,187

0.00% 0.12%

0.39% 500,000 0.06% 42.72% 52,330,152 0.69% 661,055 -0.06% 62.47% 77,599,009 100.00% 134,300,774

0.37% 0.00% 38.96% 0.49% 0.00% 57.78% 100.00%

500,000 43,483,254 742,972 (83,130) 68,087,167 121,167,600

0.41% 500,000 0.00% 83,130 35.89% 54,664,430 0.61% 885,435 -0.07% (83,130) 56.19% 79,934,552 100.00% 127,959,503

สวนที่ 2 หนา 107


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกําไรขาดทุน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท

รายได รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ รายไดจากการขาย รวมรายได ตนทุน ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ ผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต ตนทุนขาย รวมตนทุน กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและการบริหาร กําไรจากการขาย การใหบริการและการใหเชา อุปกรณ รายไดจากการดําเนินงานอื่น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สุทธิ คาตอบแทนกรรมการ กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไรสุทธิกอนผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน และ สวนของผูถือหุนสวนนอย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น - สุทธิ กําไรสุทธิกอนพิจารณาสวนของผูถือหุนสวนนอยใน บริษัทยอย หัก สวนของผูถือหุนสวนนอย - สุทธิ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ กําไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) กําไรสุทธิตอหุนปรับลด (บาท)

2547 จํานวนเงิน

2548 ตามที่ไดปรับใหม จํานวนเงิน %

2549 จํานวนเงิน

%

84,394,939 12,042,546 96,437,485

87.51% 12.49% 100.00%

80,533,632 11,983,016 92,516,648

87.05% 12.95% 100.00%

76,052,889 15,375,267 91,428,156

83.18% 16.82% 100.00%

22,414,628 19,969,988 10,610,682 52,995,298 43,442,187 11,027,209

23.24% 20.71% 11.00% 54.95% 45.05% 11.43%

24,205,075 19,215,167 10,778,254 54,198,496 38,318,152 10,067,022

26.16% 20.77% 11.65% 58.58% 41.42% 10.88%

23,138,519 18,753,963 14,063,099 55,955,581 35,472,575 11,420,782

25.31% 20.51% 15.38% 61.20% 38.80% 12.49%

32,414,978 565,910 77,873 (4,800) 33,053,961 (2,128,643) (10,601,478)

33.61% 0.59% 0.08% 0.00% 34.28% -2.21% -10.99%

28,251,130 582,915 39,464 (5,986) 28,867,523 (1,528,663) (8,618,463)

30.54% 0.63% 0.04% -0.01% 31.20% -1.65% -9.32%

24,051,793 1,014,973 47,514 (7,580) 25,106,700 (1,538,246) (7,460,291)

26.31% 1.11% 0.05% -0.01% 27.46% -1.68% -8.16%

20,323,840 -

21.07% 0.00%

18,720,397 -

20.23% 0.00%

16,108,163 -

17.62% 0.00%

20,323,840 65,791 20,258,049 6.89 6.88

21.07% 0.07% 21.01%

18,720,397 20.23% (4,791) -0.01% 18,725,188 20.24% 6.36 6.35

สวนที่ 2 หนา 108

%

16,108,163 17.62% (147,852) -0.16% 16,256,015 17.78% 5.50 5.50


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกระแสเงินสด บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2547 งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิ รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน คาตัดจําหนายโปรแกรมคอมพิวเตอร คาเผื่อการดอยคา/การตัดจําหนายของสินทรัพย คาความนิยมตัดจําหนาย คาตัดจําหนายสิทธิในสัญญาสัมปทาน การตัดจําหนายสินทรัพยอื่น หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ขาดทน(กลับรายการ)จากสินคาลาสมัยและ การลดมูลคาของสินคาคงเหลือ ขาดทุน(กลับรายการ)จากอุปกรณและอะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขายที่เสื่อมสภาพ คาตัดจําหนายสวนเกินจากสัญญาแลกเปลีย่ นลวงหนาและสัญญาแลกเปลี่ยน (กําไร)ขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ กําไรจากการตัดจําหนายเงินมัดจํารับจากลูกคา ตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน/คาใชจายรอการตัดบัญชี ขาดทุน(กําไร)จากการตัดจําหนายสินทรัพยถาวร ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นที่ยังไมเกิดขึ้น รับรูรายไดคางรับ ตัดจําหนายคาใชจายในการออกหุนกู ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีลดลง(เพิ่มขึ้น) สวนแบงกําไร(ขาดทุน)สุทธิของผูถือหุนสวนนอยในบริษัทยอย ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นที่เกิดขึ้นสําหรับเงินกูที่เกิดขึ้นแลว ขาดทุน (กําไร) จากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น กําไรสุทธิกอนการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 109

2548 ตามที่ไดปรับใหม

2549

20,258,049

18,725,188

16,256,015

4,418,365 11,835,659 469,949

4,782,698 12,902,767 511,198

1,166,904 454,823 122,193 760,035

1,166,904 454,823 152,136 508,304

3,706,373 12,334,343 500,780 69,000 1,166,904 454,823 106,373 339,465

46,292 170,342 4,241 2,811 (69,542) 207 13,980 (14,218) (4,040) 33,196 65,161 (35,076) 9,878 39,709,839

(37,465) (107,932) 29,006 18,673 5,496 6,466 40,421 (38,091) 24,150 183,516 (4,791) 39,323,467

57,487 122,528 14,247 (9,021) 2,619 5,259 (22,236) (59,533) 20,227 (901,597) (147,852) 34,016,204


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2547 งบกระแสเงินสดรวม การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน(ไมรวมผลกระทบของการซื้อและการ จําหนายบริษัทยอย) เงินฝากธนาคารติดภาระผูกพัน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี-้ คาบัตรเงินสด ภาษีมูลคาเพิ่มคางรับ-บุคคลภายนอก สินคาคงเหลือ อะไหลเพื่อการซอมแซมเครือขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สิทธิในสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบแทนรายป และภาษีสรรพสามิตคางจาย รายไดรับลวงหนา-คาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เงินรับลวงหนาจากลูกคา ภาษีเงินไดคางจาย รายไดรับลวงหนาอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินอื่น กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนระยะสั้นเปลี่ยนแปลงสุทธิ เงินจายลวงหนาใหแกผูจัดจําหนายเปลี่ยนแปลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรับจากการลงทุนในบริษัทยอย-สุทธิ เงินสดรับจากการจําหนายอาคารและอุปกรณ เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณและโปรแกรมคอมพิวเตอร เงินสดจายเพื่อลงทุนในสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

สวนที่ 2 หนา 110

2548 ตามที่ไดปรับใหม

2549

(1,088,314) 920 (244,603) (56,649) (62,426) (329,724) (136,783) (740,054) (177,912)

(4,698,890) 724,587 (2,572) (1,266,494) 231,592 (81,681) 162,133 671,146 (130,015) (575,719) (53,992)

3,054,461 (737,743) 44 645,989 (248,812) (843,158) (45,183) (772,294) (49,229) 116,461 158,081

207,906 624,796 975,112 80,000 177,587 (7,613) 38,932,082 38,932,082

336,779 (2,413,968) 3,315,128 (1,421,664) (529,091) 69 33,590,815 33,590,815

(198,893) 1,460,370 (2,224,149) (28,742) 724,022 (825) 35,026,604 35,026,604

983 352,610 (472) 17,291 (4,406,146) (9,071,157) (13,106,891)

(101,658) 56,965 11,410 (3,399,908) (12,830,442) (16,263,633)

155,411 22,121 (3,189,263) (16,907,465) (19,919,196)


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2547 งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากหุนกูระยะยาว ชําระคืนหุนกูระยะยาว เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว ชําระคืนเงินตนของสัญญาเชาทางการเงิน เงินสดรับสุทธิจากการออกหุนเพิ่มทุน เงินสดรับสุทธิจากสวนเกินมูลคาหุน เงินรับลวงหนาคาหุน เงินสดรับจากการเพิ่มทุนในบริษัทยอยจากผูถือหุนสวนนอย จายเงินปนผล จายเงินปนผลใหผูถือหุนสวนนอย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)-สุทธิ ยอดคงเหลือตนป ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลีย่ น เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นป - ยอดคงเหลือสิ้นป ดอกเบี้ยจายตามการจายจริง ภาษีเงินไดตามการจายจริง

(60,000) (8,000,000) (4,927,449) (142,005) 6,128 276,259 11,051 322,550 (12,494,857) (25,008,323.00) 816,867 8,636,842 (4,379) 9,449,330 1,931,610 8,880,150

สวนที่ 2 หนา 111

2548 ตามที่ไดปรับใหม

2549

5,850,000 (4,850,000) 11,410,173 (4,000,000) (14,250,000) 9,485,312 (102,624) (16,495) 5,199 4,956 248,610 223,864 25,257 14,504 315,000 (16,491,618) (18,592,833) (23,383) (76,528) (20,023,559.00) (10,797,047.00) (2,696,377) 4,310,361 9,449,330 6,757,483 4,530 29,945 6,757,483 11,097,789 1,425,327 9,857,457

1,336,961 8,505,138


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

12.1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2547

งบการเงินรวม อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratio) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา)/1 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)/1 อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา)/2 ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน ณ วันสิ้นงวด(%) อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย (เทา) อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%) ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไรสุทธิตอหุน (บาท) เงินปนผลตอหุน (บาท)

สวนที่ 2 หนา 112

2548 ตามที่ไดปรับใหม

2549

0.69 0.56 1.42 14.49 25 10.28 35 6.29 57 3

0.55 0.44 0.91 15.60 23 9.83 37 7.51 48 12

0.74 0.57 1.13 17.46 21 9.08 40 7.24 50 11

45.05% 33.61% 0.67% 120.11% 21.01% 31.72% 29.75%

41.42% 30.54% 0.67% 118.90% 20.24% 23.84% 23.43%

38.80% 26.31% 1.16% 145.63% 17.78% 20.64% 20.95%

16.46% 22.77% 0.78

14.51% 42.73% 0.72

12.40% 37.32% 0.70

0.78 25.75 0.94 69.00%

0.60 31.48 0.91 99.21%

0.73 33.56 0.59 114.43%

23.16 6.89 4.75

27.14 6.36 6.30

26.28 5.50 6.30


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2547 งบการเงินรวม อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สินรวม (%) รายไดจากการขายหรือบริการ (%) คาใชจายดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%) /1 /2

2548 ตามที่ไดปรับใหม

-3.03% -18.74% 7.76% -10.50% 9.33%

-1.73% -9.52% -4.07% -8.71% -11.53%

2549

4.96% 18.07% -1.18% 13.45% -13.19%

อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา = (รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ+รายไดจากการขาย) / ลูกหนี้การคากอนหักหนี้สงสัยจะสูญ (เฉลี่ย) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ = (ตนทุนคาบริการและการเชาอุปกรณ+ตนทุนขาย-ผลประโยชนตอบแทนรายป) / เจาหนี้การคา(เฉลี่ย)

หมายเหตุ 1. อัตรากําไรอื่น = รายไดที่ไมใชรายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณและรายไดจากการขาย/รายไดรวม 2. การจายชําระหนี้ = เงินจายคืนเงินกูยืมระยะสั้น, เงินกูระยะยาว, หุนกูระยะยาว, เงินตนจากสัญญาเชาทางการเงินระยะยาว และดอกเบี้ยจายจากการดําเนินงาน

12.2

คําอธิบายการวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน ภาพรวมของกลุมบริษัท ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2549 บริษัทและบริษัทยอย (“กลุมบริษัท”) มีจํานวนผูใชบริการรวมทั้งสิ้นประมาณ 19.5 ลานราย แบงเปนผูใชบริการระบบโพสตเพด 2.2 ลานราย (GSM Advance และ GSM1800) และระบบพรีเพด 1-2-Call! 17.3 ลานราย คิดเปนผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิจํานวน 3.1 ลานรายในป 2549 หรืออัตราการเติบโตเทากับ 19% จากปกอน สําหรับไตรมาสที่ 4/2549 กลุมบริษัทมีผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิ 1.8 ลานราย เพิ่มขึ้นจาก 1.3 ลานรายใน 9 เดือนแรกของ ป 2549 และ 315,700 รายในไตรมาสที่ 4/2548 สําหรับป 2549 กลุมบริษัทมีรายไดรวมเทากับ 91,428 ลานบาท ลดลง 1.2% จาก 92,517 ลานบาทในป 2548 รายได จากการใหบริการมีจํานวน 76,053 ลานบาทในป 2549 ลดลง 5.6% จาก 80,534 ลานบาทในป 2548 เนื่องจากการ แขงขันที่รุนแรง รายไดจากการขายเพิ่มขึ้น 28.3% เปน 15,375 ลานบาทในป 2549 จาก 11,983 ลานบาทในป 2548 เปนผลมาจากปริมาณการขายโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น สําหรับไตรมาสที่ 4/2549 กลุมบริษัทมีรายไดรวม 22,328 ลาน บาท ลดลง 8% จากไตรมาสที่ 4/2548 แตเพิ่มขึ้นเล็กนอย 1.9% จากไตรมาสที่ 3/2549 ทั้งนี้ตามขอมูลในอดีตไตรมาส ที่ 4 โดยปกติจะเปนไตรมาสที่มีรายไดจากการใหบริการสูงสุด เนื่องจากเปนชวงเทศกาลซึ่งมีการใชงานสูงที่สุดในป อยางไรก็ตาม รายไดจากการใหบริการในไตรมาสที่ 4/2549 คอนขางคงที่เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนเนื่องจากมีปริมาณ การใชงานของนอยลงในระหวางเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน โดยสาเหตุอาจมาจากภาวะน้ําทวมในหลายๆ จังหวัดของ ประเทศไทยที่เกิดขึ้นตั้งแตไตรมาสที่ 3/2549

สวนที่ 2 หนา 113


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กลุมบริษัทมีตนทุนรวมในป 2549 สูงขึ้นเปน 55,956 ลานบาท คิดเปนอัตราสวนเพิ่มขึ้น 3.2% จาก 54,198 ลานบาทใน ป 2548 เนื่องจากมีตนทุนจากการขายสูงขึ้น สวนผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิตคิดเปนสัดสวนตอ รายไดจากการใหบริการในป 2549 เพิ่มขึ้นเปน 24.7% จาก 23.9% ในป 2548 เนื่องจากการปรับขึ้นของอัตรา ผลตอบแทนรายปของบริการโพสตเพดที่จายใหแกทีโอที ในดานคาใชจายในการขายและบริหารในป 2549 เพิ่มขึ้น 13.4% เปน 11,421 ลานบาท จาก 10,067 ลานบาทในป 2548 เปนผลจากคาใชจายทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น รวมถึงมี คาใชจายในการบริหารและผลตอบแทนพนักงานที่สูงขึ้นดวย นอกจากนี้ กลุมบริษัทมีรายไดอื่นๆ ในป 2549 เพิ่มขึ้น 74.1% เปน 1,015 ลานบาท จาก 583 ลานบาทในป 2548 โดย เปนรายไดดอกเบี้ยรับเปนสวนมาก ทั้งนี้ กําไรสุทธิสําหรับป 2549 มีจํานวน 16,256 ลานบาท ลดลง 13.2% จาก 18,725 ลานบาทในป 2548 ผลการดําเนินงานของกลุมบริษัท- เปรียบเทียบรายป หนวย : ลานบาท ป 2549 รายไดจากการใหบริการ รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุนรวม กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและบริหาร กําไรกอนหักภาษี กําไรสุทธิ

76,053 15,375 91,428 55,956 35,473 11,421 23,568 16,256

ป 2548 (ปรับปรุงใหม) 80,534 11,983 92,517 54,198 38,318 10,067 27,339 18,725

เพิ่ม/(ลด) เทียบกับ ป 2548 (5.6%) 28.3% (1.2%) 3.2% (7.4%) 13.4% (13.8%) (13.2%)

รายไดและกําไร รายได รายไดรวมในป 2549 เทากับ 91,428 ลานบาท ลดลง 1.2% จาก 92,517 ลานบาทในป 2548 โดยมีรายไดจากการ ใหบริการคิดเปนสัดสวน 83.2% ของรายไดรวมทั้งหมด และอีก 16.8% มาจากรายไดจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่และ ซิมการด รายไดจากการใหบริการในป 2549 เทากับ 76,053 ลานบาท ลดลง 5.6% จาก 80,534 ลานบาทในป 2548 แมวา กลุมบริษัทจะมีฐานผูใชบริการเพิ่มขึ้น 19% จากปที่แลว อันเปนผลมาจากการออกโปรโมชั่นราคาถูกในภาวการณแขงขัน ที่รุนแรงในตลาดระหวางป สําหรับไตรมาสที่ 4/2549 กลุมบริษัทมีรายไดรวม 22,328 ลานบาท ลดลง 8% จากไตรมาส ที่ 4/2548 แตเพิ่มขึ้นเล็กนอย 1.9% จากไตรมาสที่ 3/2549 ทั้งนี้ตามขอมูลในอดีตรายไดจากการใหบริการในไตรมาสที่ 4 จะเปนไตรมาสที่มีรายไดจากการใหบริการสูงสุดเนื่องจากเปนชวงเทศกาลซึ่งมีการใชงานสูงที่สุดในป อยางไรก็ตาม รายไดจากการใหบริการในไตรมาสที่ 4/2549 คอนขางคงที่เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนเนื่องจากมีปริมาณการใชงานของ นอยลงในระหวางเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน โดยสาเหตุอาจมาจากภาวะน้ําทวมในหลายๆ จังหวัดของประเทศไทยที่ เกิดขึ้นตั้งแตไตรมาสที่ 3/2549

สวนที่ 2 หนา 114


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายไดจากการขายเพิ่มขึ้น 28.3% เปน 15,375 ลานบาทในป 2549 จาก 11,983 ลานบาทในป 2548 เนื่องจากมีปริมาณ การขายโทรศัพทเคลื่อนที่สูงขึ้น ทั้งนี้ รายไดจากการขายคิดเปนสัดสวน 16.8% ของรายไดรวม เพิ่มขึ้นจาก 13% ใน ป 2548 ตนทุน ตนทุนรวมประกอบดวยตนทุนจากการใหบริการและขายอุปกรณ ผลประโยชนตอบแทนรายปจากการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่และภาษีสรรพสามิต โดยในป 2549 กลุมบริษัทมีตนทุนรวมเทากับ 55,956 ลานบาท เพิ่มขึ้น 3.2% จาก 54,198 ลานบาทในป 2548 ตนทุนจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ มีจํานวน 23,139 ลานบาทในป 2549 ลดลง 4.4% จาก 24,205 ลานบาท ใน ป 2548 เนื่องจากคาตัดจําหนายสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานของกลุมบริษัทที่ลดลง เปนผลมาจากสินทรัพยภายใต สัญญาสัมปทานบางสวนไดมีการตัดคาเสื่อมราคาจนหมดมูลคาแลว ทั้งนี้ในป 2549 กลุมบริษัทไดบันทึกคาธรรมเนียมเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามประกาศของคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ในอัตรา 1 บาทตอเลขหมายตอเดือนสําหรับเลขหมายที่ไดรับจัดสรรมากอนเดือนกันยายน 2549 และในอัตรา 2 บาทตอเลขหมายตอเดือนสําหรับเลขหมายใหมที่กทช.จัดสรรให ตนทุนในสวนของผลประโยชนตอบแทนรายปและภาษีสรรพสามิต ในป 2549 เทากับ 18,754 ลานบาท ลดลง 2.4% จาก 19,215 ลานบาทในป 2548 โดยในป 2549 ตนทุนสวนนี้คิดเปน 24.7% ของรายไดจากการใหบริการ เพิ่มขึ้นจาก 23.9% ในป 2548 เนื่องจากการปรับขึ้นของอัตราผลตอบแทนรายปของบริการโพสตเพด โดยผลประโยชนตอบแทนรายปและ ภาษีสรรพสามิตของระบบ GSM Advance ไดปรับขึ้นจาก 25% เปน 30% ตั้งแตเดือนตุลาคม 2548 และของ GSM 1800 ไดปรับขึ้นจาก 20% เปน 25% ตั้งแตเดือนกันยายน 2549 ตนทุนจากการขายอุปกรณ ในป 2549 เทากับ 14,063 ลานบาท เพิ่มขึ้น 30.5% จาก 10,778 ลานบาท ในป 2548 คิด เปนกําไรตอหนวยที่ 8.5% ในป 2549 เทียบกับ 10% ในป 2548 เนื่องจากกําไรตอหนวยจากการขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ลดลง และการลดราคาสินคาในชวงสิ้นป คาใชจายในการขายและบริหาร ในป 2549 เทากับ 11,421 ลานบาท เพิ่มขึ้น 13.4% จาก 10,067 ลานบาทในป 2548 เนื่องจากมีคาใชจายทางการตลาด คาใชจายในการบริหาร และ คาตอบแทนพนักงานที่เพิ่มขึ้น โดยในป 2549 คาใชจาย ทางการตลาดคิดเปนสัดสวนตอรายไดรวมไดเพิ่มขึ้นเปน 3.7% จาก 2.9% ในป 2548 เปนผลมาจากมีกิจกรรมทาง การตลาดเพิ่มขึ้น และ มีคาใชจายในการปรับปรุงภาพลักษณของแบรนดทั้งสามของบริษัท คือ GSM Advance, วันทูคอลล! และ สวัสดี ในสวนของผลตอบแทนพนักงาน ในป 2549 เพิ่มขึ้น 26% เนื่องจากการตั้งคาใชจายคางจาย สําหรับโบนัสในป 2548 ที่ต่ําเกินไป เปนผลใหคาผลตอบแทนพนักงานในปที่แลวต่ํากวาความเปนจริง และในทางกลับกัน ทําใหจํานวนผลตอบแทนพนักงานกลับมาสูงกวาความเปนจริงในปนี้ กลุมบริษัทมีดอกเบี้ยจายสูงขึ้นเล็กนอยเปน 1,538 ลานบาทในป 2549 เพิ่มขึ้นจาก 1,529 ลานบาทในป 2548 แมวาจะมี ยอดเงินกูยืมรวมเพิ่มขึ้น เนื่องจากกลุมบริษัทไดออกหุนกูและกูเงินระยะยาวในชวงปลายป ทั้งนี้กลุมบริษัทไดออกหุนกู ระยะยาวเปนจํานวน 11,427 ลานบาทในชวงปลายไตรมาสที่ 3/2549 และ กูเงินระยะยาวเพิ่มขึ้นเปนเงินสกุลเยน โดยได มีการทํา swap เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนแลวทั้งจํานวน ซึ่งแปลงคาเปนเงินบาท ณ วันทํารายการ เทากับจํานวน 9,485 ลานบาท ในไตรมาสที่ 4/2549 เพื่อนําไปใชลงทุนขยายเครือขาย จายคืนเงินกูบางสวนที่ครบ กําหนด และ ใชในการบริหารงาน กําไรสุทธิ กลุมบริษัทมีกําไรสุทธิในป 2549 เทากับ 16,256 ลานบาท ลดลง 13.2% จาก 18,725 ลานบาทในป 2548 สวนที่ 2 หนา 115


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สภาพคลอง ณ สิ้นงวดป 2549 อัตราสวนสภาพคลอง (current ratio) สูงขึ้นเปน 74% จาก 55% ณ สิ้นงวดป 2548 เนื่องจากกลุมบริษัท มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีสินคาคงเหลือ (โทรศัพทเคลื่อนที่) และ คาใชจายลวงหนาจากบัตร เติมเงินเพิ่มขึ้น สินทรัพยหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 กลุมบริษัทมีสินทรัพยหมุนเวียนเปนจํานวน 22,893 ลานบาท เพิ่มขึ้น 12.5% จาก 20,347 ลานบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 เนื่องจากกลุมบริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีสินคา คงเหลือ และ คาใชจายลวงหนาจากบัตรเติมเงินเพิ่มขึ้น หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียนรวมลดลงเปน 31,039 ลานบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 จาก 36,734 ลานบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 เนื่องจากสวนของหุนกูและเงินกูระยะยาวที่มีกําหนดชําระภายในหนึ่งปลดลง 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 ลานบาท % ของหนี้สินรวม ลานบาท % ของหนี้สินรวม 1,000 1.8% -

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา สวนของหุนกูและเงินกูระยะยาว-สุทธิ ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป คาสิทธิสัญญาสัมปทาน ผลประโยชนตอบ แทนรายป และภาษีสรรพสามิตคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

5,760

10.2%

4,520

9.4%

6,507

11.5%

14,241

29.7%

7,155

12.6%

7,354

15.3%

10,616

18.7%

10,619

22.1%

สินทรัพย สินทรัพยรวม ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 เทากับ 134,301 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 6,341 ลานบาท จาก 127,960 ลาน บาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 เนื่องจากบริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น รวมทั้งสินทรัพยภายใตสัญญา สัมปทานที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนขยายคุณภาพและกําลังการรองรับของโครงขาย สินทรัพยหมุนเวียนคิดเปนสัดสวน 17.0% ของสินทรัพยรวม โดยมีรายการหลักดังนี้ 31 ธันวาคม 2549 สินทรัพยหมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ-สุทธิ สินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทาน-สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

31 ธันวาคม 2548

ลานบาท % ตอสินทรัพยรวม ลานบาท 22,893 17.0% 20,347 7,797 5.8% 8,259 81,096 60.4% 75,843 9,763 7.3% 8,946 12,752 9.5% 14,565

สวนที่ 2 หนา 116

% ตอสินทรัพยรวม 15.9% 6.5% 59.3% 7.0% 11.4%


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางเงินทุน กลุมบริษัทยังคงสถานะงบดุลและโครงสรางเงินทุนที่แข็งแกรง ทําใหบริษัทมีความสามารถในการจายเงินปนผลในระดับสูง ไดอยางตอเนื่อง โดยวัดไดจากอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุนที่ยังคอนขางต่ําคิดเปน 73% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 เทียบกับ 60% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 ทั้งนี้อัตราสวนที่เพิ่มขึ้นเล็กนอยนั้นมาจากการที่กลุมบริษัทไดออกหุนกู ระยะยาวและมีเงินกูระยะยาวในระหวางป 2549 อัตราสวนเงินกูสุทธิตอสวนของผูถือหุน (เงินกูสุทธิหมายถึง หุนกูและเงินกูยืม หักดวย เงินสด) เพิ่มขึ้นเปน 26% ณ สิ้น งวดธันวาคม 2549 จาก 18% ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 แมวาจะมีหนี้สินที่สูงขึ้น กลุมบริษัทยังคงรักษาระดับอันดับความนาเชื่อถือที่ AA จากการประเมินของ TRIS และที่ระดับ Aจาก S&P ซึ่งเปนการสนับสนุนใหบริษัทยังคงสามารถจายเงินปนผลไดในระดับสูง หุนกูและเงินกูยืม ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 กลุมบริษัทมีหุนกูและเงินกูยืมทั้งสิ้นจํานวน 33,149 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 25,451 ลานบาท ณ สิ้นงวดธันวาคม 2548 โดยกลุมบริษัทไดออกหุนกูระยะยาวเปนจํานวน 11,427 ลานบาทในไตรมาสที่ 3/2549 และกูเงิน ระยะยาวเพิ่มขึ้นเปนเงินสกุลเยนในไตรมาสที่ 4/2549 โดยเงินกูระยะยาวไดมีการทํา swap เพื่อปองกันความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนแลวทั้งจํานวน ซึ่งแปลงคาเปนเงินบาท ณ วันทํารายการเทากับ 9,485 ลานบาท จุดมุงหมายของการกู เพิ่มในปนี้เพื่อนําไปใชลงทุนขยายเครือขาย รวมถึงจายคืนเงินกูบางสวนที่ครบกําหนด และใชในการบริหารงาน ทั้งนี้หุน กูระยะยาวที่ออกในปนี้นั้นมีอายุครบกําหนดไถถอน 3-7 ป และมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยที่ 5.90% ตอป สวนเงินกูระยะยาวมี อายุ 5 ป และครบกําหนดจายคืนทั้งจํานวนเมื่อสิ้นอายุ โดยมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 5.4-5.6% ตอป 31 ธันวาคม 2549 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนของหุนกูและเงินกูระยะยาว-สุทธิ ที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หุนกูระยะยาวสุทธิ และเงินกูยืมระยะยาว

ลานบาท % ตอหนี้สินรวม 1,000 1.8%

31 ธันวาคม 2548 ลานบาท -

% ตอหนี้สินรวม -

6,507

11.5%

14,241

29.7%

25,642*

45.2%

11,210

23.3%

58.5%

25,451

53.0%

รวมเงินกู 33,149 *เงินกูยืมระยะยาวที่ไดมีการทํา swap มีมูลคา 9,485 ลานบาท สวนของผูถือหุน

ณ สิ้นงวดธันวาคม 2549 กลุมบริษัทมีสวนของผูถือหุนลดลงเปน 77,599 ลานบาท จาก 79,935 ลานบาท ณ สิ้นงวด ธันวาคม 2548 เนื่องจากมีการจายเงินปนผลออกจากกําไรสะสมเปนจํานวนรวม 18,699 ลานบาท ในระหวางป กระแสเงินสด ในป 2549 กลุมบริษัทยังคงสถานะภาพทางการเงินที่ดี โดยมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังจากหักดอกเบี้ยจาย ภาษี และ การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน จํานวน 35,026 ลานบาท อีกทั้งกลุมบริษัทมีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้นจาก เงินกูระยะสั้น ระยะยาว และหุนกูระยะยาวรวม 21,895 ลานบาท ซึ่งกลุมบริษัทใชกระแสเงินสดไปในการลงทุนเพิ่มเติม ทางดานเครือขายจํานวน 20,097 ลานบาท จายคืนหุนกูที่ครบกําหนดจํานวน 14,250 ลานบาท จายคืนสัญญาเชาทาง การเงินจํานวน 16.5 ลานบาท และ จายเงินปนผลจํานวน 18,669 ลานบาท โดยสวนที่เหลือสํารองเปนเงินสด สวนที่ 2 หนา 117


แบบแสดงรายการชอมูลประจําป 2549

12.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คาตอบแทนผูสอบบัญชี ในป 2549 บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนของผูสอบบัญชีใหแก • คาสอบบัญชีของบริษัทจํานวน 6.37 ลานบาท คาสอบบัญชีของบริษัทและบริษัทยอย จํานวนทั้งสิ้น 9.45 ลาน บาท ทั้งนี้ คาตอบแทนดังกลาวไดรวม out of pocket ไวดวย • ค า ตอบแทนของงานบริ ก ารอื่ น ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย อ ย ได แ ก การตรวจสอบรายได และการเข า ร ว ม สั ง เกตการณ ก ารทํ า ลายสิ น ค า ให สํ า นั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ผู ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด จํ า นวน 0.71 ล า นบาท โดยไม มี คาตอบแทนของงานบริการอื่นที่ตองจายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จ

สวนที่ 2 หนา 118


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

13.

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 119


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1. การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการบริหารและผูที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ฉบับนี้แลวและดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริหารของบริษัท หรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตอง ครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผย ขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติ ตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2550 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่ สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงาน ทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองแลว ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี เปนผู ลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

นายสมประสงค บุญยะชัย

ประธานกรรมการบริหาร

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

กรรมการบริหาร

นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

กรรมการบริหาร

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

กรรมการบริหาร

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 1

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาด ขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมี เหตุอันควรสงสัยวา ขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและ บัญชี เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี กํากับไวขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทาน แลวดังกลาวขางตน” ตําแหนง ลายมือชื่อ ชื่อ ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม

ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นางทัศนีย มโนรถ

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นายวาสุกรี กลาไพรี

กรรมการ

นายศุภเดช พูนพิพัฒน

กรรมการ

นางสาวโกะ คาห เส็ค

กรรมการ

นายบุญคลี ปลั่งศิริ

กรรมการ

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

สวนที่ 3 หนา 2


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550)

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)*

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

65

ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาเอก

นาย อวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ

58

กรรมการ กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

วิศวกรรมไฟฟา Iowa State University, U.S.A. ประกาศนียบัตร หลักสูตรปองกันราชอาณาจักรรุนที่ 3 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอรค สหรัฐอเมริกา

เอกสารแนบ 1 หนา 1

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) -

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 8/2544

ประสบการณทํางาน

2542 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2543 - 2548 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย 2542 - 2545 รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2536 - 2541 กรรมการและกรรมการบริหาร กลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น 2535 - 2536 ที่ปรึกษา องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2531 - 2535 ผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2549 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา, บมจ.ปูนซิเมนตไทย ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการ บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2546 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ กรรมการ บจ. ทุนลดาวัลย กรรมการ บจ. วังสินทรัพย 2544 - ปจจุบัน กรรมการ บจ.ไอทีวัน 2538 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เทเวศประกันภัย 2546 - 2548 ผูจัดการใหญ, บมจ.ซิเมนตไทยพร็อพเพอรตี้ (2001) 2538 - 2546 ผูชวยผูจัดการใหญ & Chief of Financial Officer บมจ.ปูนซิเมนตไทย 2533 - 2538 President, บริษัท ไทสเซอรา อิงค (อเมริกา) 2523 - 2533 กรรมการผูจัดการ, บจ.เซรามิคอุตสาหกรรมไทย 2520 - 2523 ผูจัดการฝายการเงิน บจ.สยามคราฟทอุตสาหกรรม 2512 - 2520 เจาหนาที่บัญชีและการเงิน บมจ.ปูนซิเมนตไทย

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550) ชื่อ - สกุล

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)*

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

อายุ

ตําแหนง

นาง ทัศนีย มโนรถ

61

กรรมการ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

พาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 32/2546

นาย สุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

53

กรรมการ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

ไมมี

ไมมี

เนติบัณฑิต

สํานักลินคอลน อินน ประเทศอังกฤษ

หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุน 29/2547

นาย วาสุกรี กลาไพรี

58

กรรมการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

-

เอกสารแนบ 1 หนา 2

ประสบการณทํางาน

2549 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2545 - 2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานบริหารการเงินและบัญชี บมจ.ทศท. คอรปอเรชั่น 2544 - 2548 กรรมการ บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2543 - 2545 รองผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2542 - 2543 ผูชวยผูอํานวยการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2539 - 2542 ผูอํานวยการฝายการเงินและงบประมาณ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2549 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2548 - ปจจุบัน ผูบริหาร บจ. ฮันตัน แอนด วิลเลี่ยมส (ไทยแลนด) 2540 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยทาโลว แอนด ออยล จํากัด 2547 - 2549 กรรมการและกรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2547 - 2548 กรรมการ บริษัท คูแดร บราเธอรส จํากัด 2524 - 2531 ผูพิพากษาศาล จังหวัดบุรีรัมย เพชรบูรณ และกรุงเทพมหานคร 2548 - ปจจุบัน กรรมการ บจก. เอ ซี ที โมบาย กรรมการ บจก. ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสตเอเชีย รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานขายและบริการลูกคาภูมิภาค บมจ. ทีโอที กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2547 - 2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานสื่อสารไรสาย บมจ. ทศท. คอรปอเรชั่น 2546 - 2547 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ดานปฏิบัติการภาคกลาง บมจ. ทศท. คอรปอเรชั่น 2542 - 2546 ผูอํานวยการฝายโทรศัพทภาคกลาง องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2540 - 2541 ผูชวยผูอํานวยการฝายโทรศัพทนครหลวง องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2536 - 2538 หัวหนาสวนอํานวยการวิสาหกิจ สํานักกิจกรรมวิสาหกิจ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2533 - 2535 รักษาการหัวหนาศูนยพาณิชย ฝายบริหารผูใชโทรศัพท องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550)

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)*

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

นาย ศุภเดช พูนพิพัฒน

56

กรรมการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

Master of Science University of Wisconsin, U.S.A.

นางสาว โกะ คาห เส็ค 1)

36

กรรมการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

Bachelor of Commerce The University of Melbourne

-

นาย แอเลน ลิว ยง เคียง

51

กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

Science (Management) Massachusetts Insitiute of Technology, USA

-

1)

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการแทนนายฮุย เว็ง ชีออง ตั้งแตวันที่ 22 มกราคม 2550

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 3

หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุน 8/2547

ประสบการณทํางาน

2549 - ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทุนธนชาต กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2548 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค รีสอรท กรรมการ บจก. ธนชาตประกันภัย ประธานกรรมการบริหาร ธนาคาร ธนชาต จํากัด (มหาชน) 2546 - ปจจุบัน กรรมการ บจก. สยามพิวรรธน กรรมการ บจก. ธนชาตประกันชีวิต กรรมการ บจก. แปลน เอสเตท 2532 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค 2541 - 2549 ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2533 - 2549 กรรมการผูจัดการใหญ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน) 2535 - 2541 กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2550 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2548 - ปจจุบัน Group Financial Controller, Singapore Telecommunications Ltd. 2542 - 2548 Vice President (Finance), Far East Organisation - Yeo Hiap Seng Ltd. 2542 - 2542 Analyst, Goldman Sachs 2537 - 2542 Assistant Audit Manager, PricewaterhouseCoopers 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Chief Executive Officer, Singapore 2548 - 2549 Managing Director - Consumer (Optus) 2544 - 2548 Managing Director - Mobile (Optus) 2542 - 2544 Chif Operating Officer, Advanced Info Plc. 2538 - 2542 Chief Operating Officer, Singapore Telecom International

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550) ชื่อ - สกุล

นาย บุญคลี ปลั่งศิริ

นาย สมประสงค บุญยะชัย

อายุ

ตําแหนง

55

กรรมการ และ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

51

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)* ไมมี

0.0000

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

ปริญญาโท

Computer Engineering University of Illinois (Urbana Champaign), USA

วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

หลักสูตร DAP Directors Accreditation

2547 - 2550 2544 - 2550

Program รุน 40/2548

2542 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2540 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และ บมจ.ชินแซทเทลไลท 2544 - 2545 ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2540 - 2543 กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2538 - 2539 รองประธานกรรมการบริหารดานปฏิบัติการ กลุมชินวัตร 2536 - 2537 กรรมการผูอํานวยการกลุมชินวัตร 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2547 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระราม 9 2547 - 2550 กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2543 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2542 - ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอรไลน เอ็นจิเนียริ่ง 2540 - 2541 รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย กลุมชินวัตร 2538 - 2539 กรรมการผูอํานวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2537 - 2538 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2536 - 2537 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2536 - 2536 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2535 - 2536 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการที่ 4 กลุมชินวัตร

หลักสูตร DCP Directors Certification Program รุน 65/2548, หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุน 30/2547

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 4

ประสบการณทํางาน

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประธานกรรมการ บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ ประธานกรรมการ บมจ. ไอทีวี

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

นาง ศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ

58

กรรมการ กรรมการบริหาร

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)* ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ Wichita State University, Wichita, Kansas, USA

และ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ดร. ดํารงค เกษมเศรษฐ

52

กรรมการบริหาร

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาเอก

วิศวกรรมไฟฟา Massachusetts Institute of Technology, USA

เอกสารแนบ 1 หนา 5

ประสบการณทํางาน

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Directors Certification

2547 - 2550 2544 - 2550

Program รุน 33/2546

2543 - ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทุนธนชาต กรรมการผูอํานวยการและหัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน กลุม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2541 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส และ บมจ. ชินแซทเทลไลท 2541 - 2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโสดานการเงิน บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2537 - 2541 กรรมการผูอํานวยการสายงานบริหารและการเงิน กลุมชินวัตร 2534 - 2536 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการดานการเงิน กลุมชินวัตร 2547 - 2550 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2547 - ปจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 2543 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2542 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท 2540 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศ 2537 - 2543 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท 2538 - 2540 รองประธานกรรมการบริหารดานนโยบาย กลุมชินวัตร 2536 - 2537 รองกรรมการผูอํานวยการ IBC Cable TV 2534 - 2535 ผูจัดการทั่วไป IBC Cable TV ผูจัดการอาวุโส ฝายพัฒนาธุรกิจ กลุมชินวัตร 2532 - 2534 ผูอํานวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษัท GE Aerospace รัฐ New York, U.S.A. 2529 - 2532 ผูจัดการฝายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษัท Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey U.S.A.

หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุน 2/2546

กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550) ชื่อ - สกุล

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)*

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

อายุ

ตําแหนง

นาย วิกรม ศรีประทักษ

54

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานเทคโนโลยี

0.0139

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

-

นาง สุวิมล แกวคูณ 2)

51

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคาและ ธุรกิจเครื่องลูกขาย

0.0134

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ เอเซียนอินสติติวทออฟแมเนจเมนท ประเทศฟลิปปนส

-

นาย สรรคชัย เตียวประเสริฐกุล

54

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการตลาด

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุน 35/2548

ปริญญาโท

2)

ลาออกจากตําแหนงหัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย มีผลตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2550

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 6

ประสบการณทํางาน

2545 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2543 - ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการ บจ. ดิจิตอล โฟน 2541 - 2543 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538 - 2541 รองกรรมการผูอํานวยการ บจ. ชินวัตรอินเตอรเนชั่นแนล 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. แคปปตอล โอเค 2545 - 2550 หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538 - 2545 กรรมการผูจัดการ บจ. แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง 2525 - 2537 กรรมการผูจัดการ บมจ. โรบินสันดีพารทเมนทสโตร 2523 - 2524 ที่ปรึกษาอาวุโสดานธุรกิจ บจ. อัลลายดแมเนจเมนทคอนซัลแตนทออฟเอเชีย 2549 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการตลาด บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2547 - 2549 กรรมการผูจัดการใหญ บมจ.สามารถ ไอ-โมบาย 2547 - 2547 กรรมการผูจัดการ บจ.แคปปตอล โอเค 2545 - 2547 กรรมการและรองประธานกรรมการบริหาร บมจ.ไอทีวี 2544 - 2545 กรรมการผูจัดการ บมจ.ไอทีวี 2540 - 2544 รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สายงานการตลาดและการขาย บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2539 - 2540 กรรมการผูจัดการ บจ.ชินวัตร ไดเร็คทอรี่ส

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550) ชื่อ - สกุล

นาย วิเชียร เมฆตระการ

นาย ฮุย เว็ง ชีออง

3)

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ความสัมพันธ สัดสวน การถือหุน ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร (%)*

ประสบการณทํางาน

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

อายุ

ตําแหนง

52

กรรมการผูอํานวยการ

0.0002

ไมมี

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา (เกียรตินิยม) California Polytechnic State University

-

51

รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ University of Southern California

-

2549 - ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2546 - 2549 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2543 - 2546 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2542 - 2543 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานดานเทคนิค บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2540 - 2542 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานปฏิบัติการและบํารุงรักษาเครือขาย เขตนครหลวง บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2539 - 2540 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานปฏิบัติการและบํารุงรักษาเครือขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2538 - 2539 ผูจัดการสํานักพัฒนาเครือขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2549 - ปจจุบัน รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2548 - 2550 กรรมการ บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2547 - 2549 CEO SingNet, SingNet Pte Ltd. 2546 - 2549 กรรมการ PT Bukaka SingTel International กรรมการ PT Telekomunikasi Selular 2543 - 2549 กรรมการ Digital Newrork Access Communications Pte. Ltd. 2542 - 2549

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -

Vice President (Consumer Products), Singapore Telecommunications Ltd. CEO (SingTel Paging), Singapore Telecom Paging Pte Ltd.

2539 - 2542 2537 - 2538

นาย พงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

3)

44

ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี

0.0000

ไมมี

ปริญญาโท

การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ดํารงตําแหนงเปนรองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส มีผลตั้งแตวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 และลาออกจากตําแหนงกรรมการ มีผลตั้งแตวันที่ 22 มกราคม 2550

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 7

-

Managing Director, Shinawatra Paging Thailand Deputy Managing Director, Singapore Telecom Paging Pte Ltd. 2544 - ปจจุบัน ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานการเงินและบัญชี บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2541 - 2544 Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Co., Ltd. 2537 - 2541 Financial Director, Shinawatra Paging Co., Ltd. Financial Director, Pager Sales Co., Ltd.

- ไมมี -


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 (1): รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ ขอมูล ณ 13 มีนาคม 2550 รายชื่อบริษัท 1)

รายชื่อกรรมการและผูบริหาร

บริษัท บริษัท ใหญ

บริษัทยอย

SHIN ADVANC MFA ADC DNS DPC ACC

1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม x 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ / 3. นางทัศนีย มโนรถ / 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ / 5. นายวาสุกรี กลาไพรี / 6. นายศุภเดช พูนพิพัฒน / 7. นายฮุย เวง ชี ออง 2) / / / 8. นางสาวโกะ คาห เส็ค 2) 9. นาย แอเลน ลิว ยง เคียง /,// // 10. นายบุญคลี ปลั่งศิริ /,// / 11. นายสมประสงค บุญยะชัย // /,// / x,// 12. นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ /,// /,// 13. ดร.ดํารงค เกษมเศรษฐ // // // 14. นายวิกรม ศรีประทักษ / / / 15. นางสุวิมล แกวคูณ 3) 16. นายสรรคชัย เตียวประเสริฐกุล 4) 17. นายวิเชียร เมฆตระการ 5) 18.นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ / X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร

/ // x,// // / -

/ /,// x /,// // / -

/ /,// x,// // / /

บริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของ

DLT AMP AMC AWCN AWN

// /,// /,// / /

/ x / /

/ // /,// // / /

x / / /

x / / /

AIN SATTEL SBI

x / / /

/ /,// /,// /,// -

x -

CSL LoxInfo TMC ADV SHINEE SHEN CAM LTC IPSTAR IPA

// /,// -

-

/,// x,// -

-

-

/ -

x -

-

x -

-

IPN

-

IPB STAR SPACE IPI

-

/ -

/ -

/ -

IPG

ITV

AM

MC

SMB

AA

TAA

OK

PS

PC

ITAS

SIT

/ -

-

-

-

/,// /,// /,// -

-

// -

x / /,// /,// -

/ -

/ -

/ / / -

x -

1) นับรวมทั้งการถือหุนทางตรงและทางออม 2) ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการ แทน นายฮุย เว็ง ชีออง เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 3) ลาออกจากตําแหนง มีผลตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2550 4) ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงหัวหนาคณะผูบริหารดานการตลาดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 5) ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการผูอํานวยการเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2549 รายชื่อบริษัท

AA

บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จํากัด

DNS

บริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด

OK

ACC

บริษัท แอดวานซคอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด

DPC

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

PC

บริษัท โปรเฟสชั่นแนล คอลเลคชั่น จํากัด

ADC

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด บริษัท เอไอเอส ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น เน็ทเวอรค จํากัด บริษัท เอไอเอส ไวร เน็ทเวอรค จํากัด บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จํากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) บริษัท ดาตาลายไทย จํากัด

IPA

บริษทั ไอพีสตาร ออสเตรเลีย พีทีวาย จํากัด บริษัท ไอพีสตาร ดู บราซิล จํากัด บริษัท ไอพีสตาร โกลเบิล เซอรวิส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร อินเตอรเนชั่นแนล พีทีอี จํากัด บริษัท ไอพีสตาร นิวซีแลนด จํากัด บริษัท ไอพีสตาร จํากัด บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชั่น เซอรวิส จํากัด บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท มีเดีย คอนเน็คซ จํากัด บริษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ จํากัด

PS

บริษัท เพยเมนท โซลูชั่น จํากัด บริษัท ชินแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) บริษัท ชินบรอดแบนด อินเตอรเนต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเมนทส พีทีอี จํากัด บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด บริษัท ชินวัตร อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด บริษัท เอสซี แมทชบอกซ จํากัด สเปซโคด แอล แอล ซี บริษัท สตาร นิวเคลียส จํากัด บริษัท ไทยแอรเอเชีย จํากัด บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (มหาชน)

ADV ADVANC AIN AM AMC AMP AWCN AWN CAM CSL DLT

IPB IPG IPI IPN IPSTAR ITAS ITV LoxInfo LTC MC MFA

เอกสารแนบ 2 (1)

SATTEL SBI SHEN SHIN SHINEE SIT SMB SPACE STAR TAA TMC

บริษัท แคปปตอล โอเค จํากัด


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 (2): ขอมูลกรรมการของบริษัทยอย ขอมูล ณ วันที่ 13 มีนาคม 2550 รายชื่อกรรมการ นายบุญคลี ปลั่งศิริ นายสมประสงค บุญยะชัย นางศิริเพ็ญ สีตสุวรรณ นายดํารงค เกษมเศรษฐ นาย แอเลน ลิว ยง เคียง นายฮุย เว็ง ชีออง นางสาวโกะ คาห เส็ค นายลีออง ชิน ลุง นายวิกรม ศรีประทักษ นางสุวิมล แกวคูณ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ นายพีระพันธุ สุนทรศาลทูล นายชัยเชวง กฤตยาคม นางแนงนอย วนานุเวชพงศ นายวรุธ สุวกร นายชํานาญ เมธปรีชากุล นายประภาส ไชยเจริญ นางอาภัททรา ศฤงคารินกุล นายขจรศักดิ์ สิงหเสนี นายมนตชัย เรืองอุไร นายตรัยรัตน แกวเกิด นายคมสัน บุพนิมิตร นายวิเชียร เมฆตระการ นายยูจิ ยามาโมโต นายฮิโรชิ ยาซาวา

MFA

DPC

ADC

DNS

ACC

DLT

AMP

AMC

AWCN

AWN

AIN

-

x

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

/,//

x,//

x,//

x,//

/,//

x

/,//

x

x

x

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

//

//

//

//

-

-

//

-

-

-

-

/,//

//

//

/,//

//

-

//

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

/

-

-

-

/

/

/

/

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

/

/

/

/

/

/

-

/,//

-

-

/

/

/

/

-

-

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

-

-

/

/

/

/

/

/

/

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/,//

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

/

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

/ -

/ -

/ -

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ, // = กรรมการบริหาร

เอกสารแนบ 2 (2)


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 : (1) สัญญาและใบอนุญาตใหดําเนินกิจการหลักๆ ของบริษัท และบริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) ภายใตสัญญารวมการงานจาก ทีโอที ที่ไดลงนามรวมกันกับ ADVANC เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอตกลง ตอทายสัญญาหลัก 7 ครั้ง ดังตอไปนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2536 ครั้ง ที่ 3 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2539 ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ขอตกลงเรื่องการแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณ) ครัง้ ที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ขอตกลงเกี่ยวกับ การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา Prepaid Card มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2544) และครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและขอตกลงแนบทายสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูสัญญา

:

บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

20 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2553

กิจการที่ไดรับอนุญาตให : ดําเนินการภายใตสัญญารวม การงาน

ADVANC ไดรับอนุญาตจาก ทีโอที ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบอนาลอก NMT และ ดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 900 MHz (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ Cellular 900”) ทั่วประเทศ แบบคูขนานกันไป โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ตามอัตราที่ตกลง มีกําหนด 20 ป นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเปนวัน แรกที่เปดดําเนินการ

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

ADVANC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณระบบ Cellular 900 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน

การจัดสรรยานความถี่

:

ทีโอที ตองจัดหายานความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ใหกับ ADVANC สําหรับใหบริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิการสง มอบและรับมอบทรัพยสิน

:

ADVANC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปน กรรมสิทธิของทีโอที เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย ทีโอที ยินยอมให ADVANC ครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ ตลอดอายุสัญญา

เอกสารแนบ 3 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประกันภัย ทรัพยสิน

:

ADVANC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคา ของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุ กอนวันสิ้นสุดของสัญญา ADVANC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํา กรมธรรมฉบับใหมมามอบให ทีโอที กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอ ย กวา 30 วัน

ผลประโยชน ตอบแทนของสัญญา

:

ADVANC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก ทีโอที เปนรอยละของรายไดกอน หักคาใชจายและภาษี และผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํากวาผลประโยชนขั้นต่ําที่ กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา 20 ป ตารางอัตราแสดงผลประโยชนตอบแทนมี ดังนี้

การยกเลิกสัญญา

:

ปที่

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท)

รายไดประจํางวด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53

ทีโอทีมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอโดย ADVANC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทีโอที และให ทรัพยสินตางๆ ตกเปนกรรมสิทธิของ ทีโอที ทันที หากการดําเนินงานของบริษัท มีเหตุให ทีโอที เชื่อวา ADVANC ไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไป ไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด และขอผิดสัญญาดังกลาวบริษัทมิได ดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึงขอผิดสัญญา จาก ทีโอที เปนลายลักษณอักษร โดย ADVANC ไมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายใด ๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืนจาก ทีโอที แตอยางใด ADVANC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสยั เกิดขึ้น ทําให ADVANC ไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได เอกสารแนบ 3 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 1) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด วันที่ทําสัญญา : 11 ธันวาคม 2534 ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

ในกรณีที่ตองเชาสถานที่ของบุคคลอื่นในการติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ เอไอเอส ตองทําสัญญาเชาสถานที่ในนามทีโอทีเดิมใหทําสัญญาโดยมีระยะเวลาเชา 22 ป เปลี่ยนเปนใหมีระยะเวลาเชาครั้งละไมนอยกวาครั้งละ 3 ป จนครบกําหนด 22 ป เอไอเอส ตองรับผิดชอบตอการเปลี่ยนแปลงสถานที่เชา หากเกิดคาใชจาย หรือ คาเสียหายแตเพียงผูเดียว

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 2) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด วันที่ทําสัญญา : 16 เมษายน 2536 ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

เปลี่ยนชื่อบริษัท จาก บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด เปน บริษัท แอด วานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 3) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา : 28 พฤศจิกายน 2537 ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

1. เปลี่ยนแปลงที่อยูในการสงคําบอกกลาว ทั้งเอไอเอส และ ทีโอที 2. กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดเก็บและแบงรายได 2.1 ทีโอที ตกลงแบงรายไดจากการให เอไอเอส บริการโทรศัพทระหวางประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหแกเอ ไอเอสดังนี้ - กรณีโทรไปยังประเทศที่ไมมีพรมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจายสวน แบงรายไดใหเอไอเอสเปนรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท - กรณีโทรไปยังประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจายสวนแบง รายไดใหเอไอเอสเปนรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท และเอไอเอสมีหนาที่ ออกใบแจงหนี้เรียกเก็บจากผูใชบริการ และนําสงใหทีโอที 2.2 เมื่อเอไอเอสไดรับรายได จะตองนํามารวมเปนรายไดเพื่อคํานวณเปนสวน แบงรายไดใหทีโอทีตามสัญญาหลักขอ30.เมื่อครบรอบป ดําเนินการดวย

เอกสารแนบ 3 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.3 เอไอเอส ยินยอมสละสิทธิและยกสวนแบงรายไดจากการใหบริการโทรศัพท ระหวางประเทศกับประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทยที่เอไอเอสได จัดเก็บและนําสงใหทีโอทีแลวตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ใหแกทีโอทีทั้งหมด ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 4) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา : 20 กันยายน 2539 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. ขยายระยะเวลา การอนุญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ป นับตั้งแต จากสัญญาหลัก วันที่เริ่มเปดใหบริการ เปน 25 ป 2. ยกเลิกเงื่อนไขในสัญญาหลักขอ 18 ที่ใหสิทธิแก เอไอเอสในการเปนผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แตเพียงผูเดียว 3. เอไอเอส เปนผูลงทุนทําระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง(Transmission Networks) ในสื่อตัวนําทุกชนิด เพื่อเชื่อมโยงกับโครงขายของทีโอทีและ โครงขายอื่นที่จําเปน และยกใหเปนทรัพยสินของทีโอที โดย เอไอเอส ไดรับ สิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงขายทั้งหมด 4. เอไอเอสมีสิทธิใช ครอบครอง ระบบสื่อสัญญาณและทรัพยสินที่ไดจัดหามา โดยไมตองเสียคาตอบแทนใดๆ 5. มีสิทธิแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณในสวนที่เหลือจากการใชงาน โดยเอไอเอสเปนผูบริหารผลประโยชนดังกลาว 6. ในกรณีที่บุคคลอื่น หรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย เอไอเอส มีสิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนในอัตราที่ทั้งสองฝายตกลงรวมกัน 7. ยกเลิกเงื่อนไขในขอ 29.6 ที่หามการใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ กับ กสท โดยที่ เอไอเอส สามารถใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผาน ชุมสายของ กสท ไดโดยตรง ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขที่จะไมทําให ทีโอที ไดรับ รายไดนอยลงจากที่เคยไดรับอยูตามสัญญาหลัก 8. เปนการกําหนดอัตราสวนแบงรายไดที่ AIS ตองจายให ทีโอที ในปที่ 21-25 ในอัตรารอยละ 30 กอนหักคาใชจายและคาภาษีใด ๆ และ เอไอเอส มีสิทธิ ลดหรือยกเวนคาใชบริการกรณีที่มีรายการสงเสริมการขายได โดยใหชําระ สวนแบงรายไดตามรายการสงเสริมการขายที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ 9. ในกรณีที่มี การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของโครงขายใหมปี ระสิทธิภาพ เอไอเอส เปนผูลงทุนใชดว ยคาใชจายของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินตางๆ ตกเปนของ ทีโอที

เอกสารแนบ 3 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 5) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา : 25 ธันวาคม 2543 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. เอไอเอสเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากสัญญาหลัก 2. เอไอเอสเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการและจายสวนแบง ผลประโยชนใหทีโอที 3. สัดสวนผลประโยชนจากรายไดระหวางเอไอเอสกับทีโอที แยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของทีโอที” ตลอดอายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 25 เอไอเอส ไดรับในอัตรารอยละ 75 3.2 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของเอไอเอส” ตลอดอายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 22 เอไอเอสไดรับในอัตรารอยละ 78 4. เอไอเอสและทีโอทีจะตองทําการตลาดรวมกัน และ ไมทํา การตลาดที่เปน การแยงผูใชบริการในโครงขายทีโอที 5. เอไอเอสจะตองเปนผูจัดทําและลงนามในสัญญาเชาใชระบบสื่อสัญญาณกับ ผูใชบริการทุกราย และทํารายงานการเชาสงให ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน ขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 6) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 15 พฤษภาคม 2544

ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid card) 1. เอไอเอสตกลงจายผลประโยชนตอบแทนในอัตรารอยละ 20 ของมูลคาหนาบัตร (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ใหแกทโี อทีสําหรับบัตรที่จําหนายไดเปนรายเดือน ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในป ที่ 11-15 ของสั ญ ญาหลั ก เอไอเอสจะต อ งลดราคาค า บริ ก ารให ผู ใ ช บ ริ ก ารในอั ต ราเฉลี่ ย โดยรวมของแต ล ะป ไ ม น อ ยกว า ร อ ยละ 5 ของ คาบริการที่ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแต ละปไมนอยกวารอยละ 10 ของคาบริการที่ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 สําหรับปที่ 16 – ปที่ 25 ของปดําเนินการตามสัญญาหลัก

เอกสารแนบ 3 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลง วันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) บริษัท และ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ไดลงนามบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) (ครั้งที่ 7) เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของ บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาฯ สามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

: บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7)

คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

ขอตกลงเพิ่มเติม

:

ทีโอที และ ADVANC ประสงคจะทําความตกลงเกี่ยวกับหลักการเกี่ยวกับการใช เครือขายรวม (Roaming) ของบริษัท และไดมีขอตกลงรวมกันในการใชเครือขาย รวมดังนี้ 1. ทีโอที และ ADVANC ตกลงกันใหถอื วาขอตกลงตอทายสัญญาฉบับนี้เปน สวนหนึ่งของสัญญาหลัก 2. ทีโอที อนุญาตให ADVANC นําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลัก ใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลง อนุญาตให ADVANC เขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการ รายอื่นไดเชนเดียวกัน 3. การใชเครือขายรวม (Roaming) ตามขอ 2 ADVANC มีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ และ ADVANC มีสิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ ADVANC ตกลงทําหนังสือแจงให ทีโอที ทราบเปนลาย ลักษณอักษรกอนที่บริษัทจะใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) และกอนที่บริษัทจะเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผู ใหบริการรายอื่น 4. ADVANC ตกลงจ า ยเงิ น ผลประโยชน ต อบแทนจากการใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ให ทีโอที โดยมีเงื่อนไขดังนี้ - ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ในเครือขาย ของบริษัท บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ในอัตรารอย ละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผู ใหบริการรายอื่น - ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ในอัตรารอยละ (ระบุตาม สัญญาหลัก) ของรายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หักดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่นนั้น

จากสัญญาหลัก

เอกสารแนบ 3 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC) ADC ไดรับอนุญาตจาก ทีโอที ใหดําเนินการกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแกไขเพิ่มเติม 2 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540 และ 25 กันยายน 2540 โดย สาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูสัญญา

:

บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (ADC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ป นับตั้งแตวันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

ADC ไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูล อื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) ในการใหบริการจัดวงจรเพื่อเชื่อมตอระหวางเครือขายผูใหบริการและ ผูใชบริการทั่วประเทศ เพื่อรับสงขอมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสื่อสารขอมูล ประเภทตางๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถพัฒนารูปแบบบริการให สอดคลองกับความตองการของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

การดําเนินงานและ แผนการดําเนินงาน

:

กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน

:

ADC ตกลงที่จะลงทุนในการจัดหาอุปกรณระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตั้งและ Product Information ของ อุปกรณ Datakit และดําเนินการบริการใหเปนไปตามที่กําหนด บรรดาเครื่องมือและอุปกรณตางๆ หรือทรัพยสินที่ ADC ไดกระทําขึ้นหรือจัดหา มาไวสําหรับดําเนินการระบบ Datakit เปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที หลังติดตั้งเสร็จ เรียบรอย ทีโอที ยินยอมให ADC แตเพียงผูเดียวครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

ผลประโยชนตอบแทน การใหสัมปทาน

:

ADC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอน วันสิ้นสุดของสัญญา ADC ตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับ ใหมมามอบให ทีโอที กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน ADC จะดําเนินการใหมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของ ทุนจดทะเบียนใหแก ทีโอที โดย ทีโอที ไมตองชําระเงินคาหุนแตอยางใด

เอกสารแนบ 3 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

การยกเลิกสัญญา

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

ที โ อที มี สิ ท ธิ บ อกเลิ ก สั ญ ญาและมี อํ า นาจมอบกิ จ การตามสั ญ ญานี้ ใ ห ผู อื่ น ดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให ทีโอที เชื่อวา ADC ไม สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอ หนึ่งขอใด โดย ADC ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทีโอที และทรัพยสินตางๆ ใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ADC ไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําให ADCไม สามารถปฏิบัติตามสัญญาได

ใบอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MN/INT/ISP/I/022/2548 ผูอนุญาต : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ระยะเวลาของหนังสือ : วันที่ 19 ธันวาคม 2548 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2549 ใบอนุญาตไดรับการตออายุ ออกไปอีก 1 ป อนุญาต ลักษณะของหนังสือ : เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปน ของตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ ADC มีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียม อนุญาต ใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติไดประกาศกําหนดไว การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ ตอเมื่อปรากฏวา ADC ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch (ครั้งที่ 4) บริษัท และบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ไดลงนามขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูล โดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch (ครั้งที่ 4) เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2547 โดยมีสาระสําคัญของขอตกลง ตอทายสัญญาฯ สรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา : ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา

:

บริษัทแอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด “ADC” บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) “ทีโอที”

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 29 กันยายน 2547

เอกสารแนบ 3 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

รายละเอียด

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

ทีโอที และ เอดีซี ตกลงกันตามขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ดังนี้ 1. การกําหนดอัตราคาเชาบริการสื่อสารขอมูล อัตราคาธรรมเนียม หรือเรียกเงิน อื่นใดจากผูเชาใชบริการ ใหเปนไปตามความเหมาะสมกับสภาวะของตลาด โดย บริษัทไมตองขอความเห็นชอบจากทีโอที กอน 2. ในการดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูล เอดีซีจะไมลงทุนสรางเครือขายเอง จะ เชาวงจรสื่อสัญญาณจากทีโอที หรือจากผูรวมการงานกับทีโอที เวนแตใน กรณีที่ทีโอที ไมสามารถจัดหาวงจรสื่อสัญญาณใหได เอดีซีมีสิทธิลงทุนสราง เครือขายเอง หรือมีสิทธิเชาจากผูใหบริการ รายอื่นได ทีโอที ตกลงใหบริษัทสามารถใหบริการขอมูลเสริมทางธุรกิจตางๆ (contents) ได เชน ขอมูลทางการเงิน ตลาดหลักทรัพย เกมส และมัลติมีเดีย โดยบริษัทตองขอ ความเห็นชอบเปนหนังสือจากทีโอที

3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (มหาชน) สัญญารวมการงานระหวาง DPC กับ กสท. ภายใตสัญญารวมการงานจาก กสท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เปนตนไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800

คูสัญญา

:

บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา กิจการที่ไดรับอนุญาต

: :

16 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการวิทยุ โทรคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN 1800 ทั่วประเทศ (ซึ่ง ตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง DPC ไดรับโอนสิทธิ และหนาที่จาก TAC ตามสัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญา ให ดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาระหวางกสท. TAC และ DPC ไดรับสิทธิในการดําเนินการเปนระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

DPC ตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือขาย และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการ ดําเนินงาน

เอกสารแนบ 3 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

- รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขายที่ DPC จัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับอนุญาตให ดําเนินการ การจัดสรรยานความถี่

:

กสท. ตองจัดหายานความถี่ระหวาง 1747.9 –1760.5 MHz และ 1842.9-1855.5 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศใหกับ DPC สําหรับใหบริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิการสงมอบและ รับมอบทรัพยสิน

:

DPC จะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณให เปนกรรมสิทธิของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย กสท. ใหสิทธิแก DPC นําไปใหบริการระบบ PCN 1800 และใช ประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

DPC ตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และ เต็มมูลคาของทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หาก กรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวันสิ้นสุดของสัญญา DPC ตอง ตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมามอบให กสท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชนตอบแทน

:

DPC ตกลงใหผลประโยชนตอบแทนแก กสท. เปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจาย/1 ภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่เกิดขึ้น จากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํา กวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา ตาราง อัตราแสดงผลประโยชนตอบแทนมีดังนี้

ปที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 รวม

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

เอกสารแนบ 3 หนา 10

รายไดประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

การยกเลิกสัญญา

/1

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

สัญญานี้สิ้นสุดหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไมปฎิบัติตามสัญญา หรือปฎิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความ เสียหาย และ DPC มิไดดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อ DPC ลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีที่ DPC ตกเปนผูขาด คุณสมบัติ ตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจของคนตาง ดาว และ กสท. ไดแจงให DPC ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปน เวลาไมนอยกวา 90 วัน

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800 สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ระหวาง DPC และ TAC ชื่อสัญญา : สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา : บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนเิ คชั่น จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ทําสัญญา : วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 กิจการที่ไดรับอนุญาต : TAC ยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาระหวาง กสท. กับ TAC “บางสวน” ใหแก DPC โดย กสท. ยินยอมให 1. TAC โอนสิทธิและหนาที่การใหบริการ PCN 1800/1 บางสวน เฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. TAC โอนสิทธิการใชชองความถี่ใหแก กสท. และ กสท. ตก ลงให DPC ใชความถี่ในชวงดังกลาวได 3. DPC รับโอนลูกคาในระบบ จาก บมจ. สามารค คอรปอเรชั่น 4. ถาสัญญาระหวาง DPC กับ กสท. สิ้นสุดลงกอนสัญญารวม การงานสัมปทาน TAC จะไดรับการพิจารณาใหดําเนินการตอ จาก DPC กอนผูอื่น

เอกสารแนบ 3 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงผอนปรนสัญญาใหบริการ (Agreement to Unwind the Service Provider Agreement) คูสัญญา

:

บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด บริษัท สามารถ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 7 มกราคม 2540

ลักษณะสัญญา

:

DPC ตกลงจายผลตอบแทนใหแก TAC เพื่อตอบแทนคาโอนสิทธิ และ หนาที่ในการดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมเซลลูลา คาใช อุปกรณ และคาเชื่อมโครงขาย เปนจํานวนเงินประมาณ 5,187.31 ลานบาท

4. บริษัท แอดวานซ เมจิค การด จํากัด (AMC) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 006/2548 ผูอนุญาต ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต

: กระทรวงการคลัง : ตั้งแตวันที่ 20 กรกฎาคม 2548 เปนตนไป

ลักษณะของหนังสือ อนุญาต

: อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือ คาบริการแทนเงินสด

การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

: กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา AMC ฝาฝนหรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการ ตามที่ ก ระทรวงการคลั ง และธนาคารแห ง ประเทศไทยประกาศ กําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่อาจกอใหเกิดความ เสี ย หายแก ป ระโยชน ข องประชาชนอย า งร า ยแรง และมิ ไ ด แ ก ไ ข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

5. บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (AMP) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 003/2548 ผูอนุญาต ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต ลักษณะของหนังสือ อนุญาต

: กระทรวงการคลัง : ตั้งแตวันที่ 24 มิถุนายน 2548 เปนตนไป :

อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือ คาบริการแทนเงินสด

เอกสารแนบ 3 หนา 12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

: กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา AMP ฝาฝนหรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการ ตามที่ ก ระทรวงการคลั ง และธนาคารแห ง ประเทศไทยประกาศ กําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่อาจกอใหเกิดความ เสี ย หายแก ป ระโยชน ข องประชาชนอย า งร า ยแรง และมิ ไ ด แ ก ไ ข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

6. บริษัท เอไอเอส อินเตอรเนชั่นแนล เน็ทเวอรค จํากัด (AIN) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอนุญาต ระยะเวลาของ หนังสืออนุญาต

: คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ : วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ลักษณะของหนังสือ อนุญาต

: เปนผูรับอนุญาตใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพทระหวางประเทศ และบริการที่เกี่ยวเนื่องกับบริการโทรศัพทระหวางประเทศ ตลอดจน บริการโครงขายบริการโทรศัพทระหวางประเทศ ทั้งนี้ AIN มีหนาที่ ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตามอัตรา และกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติได ประกาศกําหนดไว

การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

มีอํานาจสั่งเพิกถอน : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา AIN ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือ ประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติกําหนด และ มิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

เอกสารแนบ 3 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) ชื่อสัญญา คูสัญญา วันที่ทําสัญญา รายละเอียดการใชเครือขายรวม (Roaming)

การชําระคาใชบริการ

การยกเลิกสัญญา

บันทึกขอตกลงการใชเครือขายรวม (National Roaming) : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (DPC) : วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 : คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อน ที่ของแตละฝายรวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แกผูใช บริการของคูสัญญาทั้งสองฝาย นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2545 เป น ต น ไป บริ ษั ท ตกลงให DPC เข า มาใช เ ครื อ ข า ย โทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทไดทั่วประเทศ และนับตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิ ก ายน 2545 เป น ต น ไป DPC ตกลงให บ ริ ษั ท เข า มาใช เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ DPC ไดทั่วประเทศเชนกัน ทั้งนี้ ผูใหบริการเครือขายอาจขอลดพื้นที่ใหบริการเครือขาย โดย จะตองแจงใหผูขอใชบริการเครือขายทราบลวงหนาไมนอยกวา 90 วัน หากการลดพื้นที่ใหบริการเครือขายเปนเหตุใหผูใชบริการของผูขอ ใชบริการเครือขายไมไดรับความสะดวกในการใชบริการแลว ผูขอ ใชบริการมีสิทธิบอกเลิกขอตกลงฉบับนี้ได 2. คูสัญญาแตละฝายตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการ ไดใชเครือขายของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท (สองบาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม : ในการชําระคาใชบริการเครือขายในแตละเดือน ใหนําจํานวนเงิน ในใบแจงหนี้ของแตฝายมาหักกลบลบหนี้กันคงเหลือเปนยอดเงิน สุทธิที่ตองชําระโดยฝายที่มีคาใชบริการเรียกเก็บนอยกวา โดยให ชําระเปนเงินบาท มีกาํ หนดชําระภายใน 15 วัน นับแตวันที่ที่ลงใน ใบแจงหนี้ฉบับสุดทายจากผูใหบริการเครือขายที่ไดมีการหักกลบ ลบหนี้กันในเดือนนั้นแลว : คูสัญญาแตละฝายมีสิทธิบอกเลิกบันทึกขอตกลงโดยแจงเปน หนังสือใหอีกฝายทราบลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือน

เอกสารแนบ 3 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 (2) ความเห็นของคณะกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน

เอกสารแนบ 3 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 3 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2549

บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน

เอกสารแนบ 3 หนา 19


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.