Form 56 1 2007

Page 1

แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ((แบบ แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

บบรริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (Executive Summary)

หน้ า ส่วนที่ 1 หน้า

1

ส่วนที่ 2 บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ 1. ปจั จัยความเสีย่ ง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ 4. การวิจยั และพัฒนา 5. ทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ข้อพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสร้างเงินทุน 9. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหว่างกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ข้อมูลอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง

ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า

1 2 12 26 42 44 58 64 66 75 100 104 118 135

ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล เอกสารแนบ 1 ประวัตผิ บู้ ริหารและผูม้ อี าํ นาจควบคุมของบริษทั เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ใหญ่ บริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง (2) รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่อย เอกสารแนบ 3 (1) (2) (3) (4)

รายละเอียดสัญญาร่วมการงาน ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน


บบรริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 1 ประวัติผูผบ้ ู ริหารและผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบร มของบริ ษทั


บบรริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ใหญ่ บริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ที่เกี่ยวข้อง (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของ บริษทั ย่อย กรรมการของบร


บบรริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 3 (1) รายละเอียดสัญญาร่วมการงาน (2) ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการ ระหว่างกัน (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) ลักษณะการดําเนิ นธุรกิ จ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ "ADVANC” หรือ "เอไอเอส” ) เป็ นบริษทั จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตัง้ แต่วนั ที่ 5 พฤศจิกายน 2534 ดําเนินธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยบริษทั ฯ ได้ เข้าร่วมทําสัญญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เป็ น ระยะเวลา 25 ปี ตัง้ แต่ปี 2533 สิน้ สุดปี 2558 ซึง่ บริษทั ฯได้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นย่านความถี่ 900 MHz ในระบบ ดิจติ อล GSM (Global System for Mobile Communication) ผลิตภัณฑ์และบริการหลักทีบ่ ริษทั ฯ ให้แก่ลกู ค้าคือบริการ โทรศัพท์เคลื่อนทีท่ งั ้ ในระบบชําระค่าบริการรายเดือน (โพสต์เพด) ภายใต้ช่อื “เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ์” และระบบเติม เงิน (พรี เพด) ภายใต้ช่อื “เอไอเอส วัน-ทู-คอล!” นอกจากนี้ เอไอเอส ยังมีบริษทั ย่อย คือ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ประกอบธุรกิจให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบดิจติ อล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงาน แบบบีทโี อ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับบริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เป็ นระยะเวลา 16 ปี ตัง้ แต่ปี 2540 สิน้ สุดปี 2556 ปจั จุบนั นอกจากการให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่แล้ว บริษทั ฯ ยังมีการลงทุนในบริษทั ในเครือทัง้ หมด 12 บริษทั ดังต่อไปนี้ 1. บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ GSM 1800 MHz 2. บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซ)ี ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงในกรุงเทพฯ และ เขตปริมณฑล 3. บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (ดีเอ็นเอส) ให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในเขตต่างจังหวัด 4. บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซ)ี ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call Center) 5. บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) ให้บริการชําระค่าสินค้าหรือบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ 6. บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จํากัด (เอเอ็มซี) จัดจําหน่ายบัตรแทนเงินสด 7. บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 8. บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ได้รบั ใบอนุญาตให้บริการอินเตอร์เน็ต และแอพลิ เคชันบนอิ ่ นเตอร์เน็ตรวมถึงบริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต(VoIP) 9. บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) นําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์ โทรคมนาคม 10. บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับลิวเอ็น) ปจั จุบนั ไม่ได้ดาํ เนินธุรกิจ 11. บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) ปจั จุบนั ได้หยุดดําเนินธุรกิจ 12. บริษทั ดาต้า ลายไทย จํากัด (ดีแอลที) ให้บริการอินเตอร์เน็ต ปจั จุบนั ได้หยุดดําเนินงานและอยู่ระหว่างการ ชําระบัญชี

ส่วนที่ 1 หน้า 1


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ปัจจัยความเสี่ยง บริษัทฯ มีปจั จัยความเสี่ยงที่สําคัญ ได้แก่ ความเสี่ยงด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบาย ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ การตลาดและการแข่งขัน ความเสีย่ งด้านระบบปฏิบตั กิ าร ความเสีย่ งด้านเทคโนโลยี ความเสีย่ งด้านการเงิน และ ความ เสีย่ งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ความเสีย่ งหากบริษทั ฯ กลายเป็ น “คนต่างด้าว” ความเสีย่ งที่บริษทั ฯ ไม่ได้เป็ น คู่ความโดยตรง และ ความเสีย่ งจากการดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมภายหลังสิน้ สุดระยะเวลาตามสัญญาอนุ ญาตให้ดําเนิน กิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในปี 2558 โดยรายละเอียดแสดงในหัวข้อ 1 “ปจั จัยความเสีย่ ง” สรุปฐานะการเงิ นและผลการดําเนิ นงาน ในปี 2550 บริษทั ฯ ได้บนั ทึกรายได้ค่า IC จํานวน 16,530 ล้านบาท และบันทึกรายจ่ายค่า IC จํานวน 14,054 ล้าน บาท ส่งผลให้เอไอเอสมีรายรับสุทธิจากค่า IC ทัง้ สิน้ 2,477 ล้านบาทก่อนหักส่วนแบ่งรายได้ ทัง้ นี้ เป็ นไปตามสัญญา เชื่อมโยงโครงข่ายระหว่างเอไอเอสกับดีแทค และเอไอเอสกับทรูมฟู ซึง่ เริม่ ต้นการคํานวณ ค่า IC ในเดือนกุมภาพันธ์และ เมษายน 2550 ตามลําดับ สําหรับปี 2550 บริษทั ฯ มีรายได้จากการให้บริการ (ไม่รวมค่า IC) เพิม่ ขึน้ 2.9% เป็ น 78,280 ล้านบาท จาก 76,053 ล้านบาทในปี 2549 เนื่องจากการเติบโตของรายได้พรีเพด โดยมีฐานลูกค้าพรีเพดทีม่ ากขึน้ และมีคุณภาพดี รวมถึง ราคาค่าบริการที่ให้กบั ลูกค้าใหม่ในระบบพรีเพดมีราคาเฉลีย่ สูงขึน้ หากรวมรายได้จากค่า IC บริษทั ฯ มีรายได้จากการ ให้บริการเท่ากับ 94,810 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 24.7% จาก 76,053 ล้านบาท ในปี 2549 และมีรายได้รวมในปี 2550 เท่ากับ 108,454 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 18.6% จาก 91,428 ล้านบาทจากปี 2549 กําไรสุทธิสาํ หรับปี 2550 เท่ากับ 16,290 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 0.2% จาก 16,256 ล้านบาทในปี 2549 ในกรณีทไ่ี ม่รวม ผลกระทบจากการบันทึกค่า IC นัน้ กําไรสุทธิเท่ากับ 14,879 ล้านบาท ลดลง 8.5% จากค่าใช้จ่ายทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ได้แก่ ค่า เสือ่ มราคา ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร และดอกเบีย้ จ่าย ในส่วนของโครงสร้างเงินทุน ยังคงมีความแข็งแกร่งด้วยโครงสร้างหนี้ในระดับตํ่า ซึ่งสนับสนุ นให้บริษทั ฯ สามารถ จ่ายเงินปนั ผลได้ในระดับสูง ในปี 2550 อัตราส่วนหนี้สนิ รวมต่อทุนลดลงเป็ น 71% จาก 73% ในปี 2549 เนื่องจากบริษทั ฯ มีการจ่ายชําระคืนหุน้ กูบ้ างส่วน ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในปี 2550 เท่ากับ 75,461 ล้านบาท ลดลง 2.8% จาก 77,599 ล้านบาท ในปี 2549 จากการทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายเงินปนั ผลมากกว่า 100% ของกําไรสุทธิ โดยเงินปนั ผลทีม่ กี ารจ่ายไปแล้วในปี 2550 เท่ากับ 18,658 ล้านบาท คิดเป็ นเงินปนั ผลต่อหุน้ เท่ากับ 6.30 บาท ทัง้ นี้ กําไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร ณ สิน้ ปี มีจํานวน เท่ากับ 49,999 ล้านบาท บริษทั ฯ มีสถานะกระแสเงินสดทีด่ เี พียงพอต่อการลงทุนขยายเครือข่ายพร้อมกับการจ่ายเงินปนั ผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ใน ปี 2550 บริษทั ฯ มีแหล่งที่มาของเงินทุนหลักๆ จากกระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักดอกเบี้ยและภาษีแล้ว เป็ น จํานวน 36,235 ล้านบาท และได้มกี ารกูย้ มื เงินเพิม่ เติมระหว่างปี เป็ นจํานวนทัง้ สิน้ 8,501 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้ใช้ เงินทุนเหล่านี้ไปในการลงทุนเครือข่ายรวมจํานวน 17,105 ล้านบาท และชําระคืนเงินกูจ้ ํานวน 11,523 ล้านบาท รวมถึง จ่ายเงินปนั ผลจํานวน 18,658 ล้านบาท สุทธิแล้วบริษทั ฯ มีเงินสดลดลงเป็ นจํานวน 4,254 ล้านบาท

ส่วนที่ 1 หน้า 2


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์

:

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) หรือ ชื่อภาษาอังกฤษ ”Advanced Info Service Public Company Limited ”

ชื่อย่อหลักทรัพย์

:

ADVANC

ประเภทธุรกิจ

:

ประกอบธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นย่านความถี่ 900 MHz ในระบบดิจติ อล GSM (Global System for Mobile Communication) และมีบริษทั ย่อย คือ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึง่ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นย่านความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจติ อล GSM 1800 นอกจากนี้ ยังมีบริษทั ย่อยเป็ นผูใ้ ห้บริการทีเ่ กีย่ วข้องกับ กิจการโทรคมนาคมด้านอื่นๆ อีกด้วย ได้แก่ นําเข้าและจัดจําหน่ายอุปกรณ์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ ให้บริการชําระสินค้าและ บริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ จําหน่ายบัตรแทนเงินสด ศูนย์ให้บริการข้อมูลทาง โทรศัพท์ และให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เป็ นต้น

ทีต่ งั ้ สํานักงานใหญ่

:

414 อาคารชินวัตร 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษทั

:

บมจ. 0107535000265 (เดิมเลขที่ บมจ. 59)

Home Page

:

http://www.ais.co.th

โทรศัพท์

:

(66) 2299-6000

โทรสาร

:

(66) 2299-5165

ส่วนที่ 2 หน้า 1


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

1.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ปัจจัยความเสี่ยง

ในสภาวะทีก่ ารดําเนินธุรกิจด้านโทรคมนาคม มีการเปิดเสรีและมีการแข่งขันทัง้ ในประเทศและระดับภูมภิ าคมาก ขึน้ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ต้องมีกลไกการบริหารงานเพือ่ สร้างความแข็งแกร่งให้สามารถแข่งขันและรักษา ความเป็ นผูน้ ําของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นประเทศไว้ได้ ในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา การดําเนินธุรกิจด้านโทรคมนาคม ในประเทศไทยมีเหตุการณ์ความผันผวนจากปจั จัยความ เสีย่ งต่างๆ อาทิ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคต่อการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ปจั จัยทางการเมือง กฎ ระเบียบ ข้อตกลงของการ ประกอบธุรกิจโทรคมนาคม เป็ นต้น เอไอเอส ในฐานะทีเ่ ป็ นบริษทั ทีม่ สี ดั ส่วนทางการตลาดมากเป็ นอันดับหนึ่งในประเทศ ไทย ได้มงุ่ ให้ความสําคัญกับการบริหารความเสีย่ งขององค์กร โดยมี คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ มีประธาน กรรมการบริหารของบริษทั เป็ นประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร และผูบ้ ริหาร ระดับสูง เป็ นกรรมการ รวม 12 ท่าน ซึง่ คณะกรรมการได้มกี ารประชุมทุกไตรมาส โดยได้พจิ ารณาการแจกแจงความเสีย่ ง จัดอันดับความเสีย่ ง กําหนดแนวทางการบริหารความเสีย่ ง มอบหมายผูร้ บั ผิดชอบเพือ่ จัดให้มมี าตรการควบคุมและจัดการ ความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายทีก่ าํ หนดไว้ และเพือ่ สร้างความเชื่อมันให้ ่ กบั ผู้ ถือหุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย นอกจากนี้ ได้มกี ารจัดทําหลักสูตรการบริหารความเสีย่ งเป็ นระบบ E-Learning สําหรับ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับในองค์กรเพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการบริหารความเสีย่ งของการปฏิบตั งิ าน ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้นําเสนอผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารได้รบั ทราบ เพือ่ ให้มกี ารจัดการความเสีย่ งและติดตามอย่างใกล้ชดิ และ มันใจได้ ่ วา่ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายทีก่ าํ หนดไว้ ซึง่ สรุปปจั จัยความ เสีย่ งทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ได้ดงั ต่อไปนี้ 1. ความเสี่ยงทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบาย 1.1 องค์กรที่ทาํ หน้ าที่กาํ กับดูแลกิ จการด้านโทรคมนาคมและกิ จการวิ ทยุกระจายเสียง วิ ทยุโทรทัศน์ ตามมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 กําหนดไว้วา่ ให้มอี งค์กรของรัฐทีเ่ ป็ นอิสระ องค์กรหนึ่ง ทําหน้าทีจ่ ดั สรรคลื่นความถี่ กํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม และมาตรา 305 (1) ของรัฐธรรมนูญ กําหนดว่า ยังมิให้นํามาตรา 47 มาใช้บงั คับจนกว่าจะมีการตรากฎหมาย ตามมาตรา 47 วรรคสอง ให้จดั ตัง้ องค์กรเพือ่ ทําหน้าทีจ่ ดั สรรคลื่นความถีแ่ ละกํากับดูแลการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ซึง่ ต้องไม่เกิน 180 วัน นับแต่วนั ทีร่ ฐั บาลชุดใหม่แถลงนโยบายต่อ รัฐสภา ดังนัน้ องค์กรทีท่ าํ หน้าทีก่ าํ กับดูแลกิจการโทรคมนาคมต่อไปจะมีเพียงองค์กรเดียว และจะมีต่อเมือ่ มีการเลือกตัง้ และมีรฐั บาล ทีจ่ ะเป็ นผูแ้ ถลงนโยบายต่อรัฐสภา สําหรับเรือ่ ง องค์ประกอบ อํานาจหน้าที่ การสรรหาหรือการได้มานัน้ ยัง มิได้มกี ารกําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่นนี้ จะทําให้องค์กรทีจ่ ะกํากับดูแลทีเ่ ป็ นองค์กรเดียว อาจมีระยะเวลาในการจัดตัง้ นาน ซึง่ ส่งผลต่อความชัดเจนในการกําหนดทิศทางกิจการโทรคมนาคมและวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ของประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม กทช. ซึง่ เป็ นองค์กรอิสระทีท่ าํ หน้าทีก่ าํ กับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ยังคงอยูแ่ ละ มีอาํ นาจตาม พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคมและ พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ ในการกําหนดนโยบายและออก กฎระเบียบต่างๆ ประกอบกับ มาตรา 305 (1) ยังกําหนดมิให้กฎหมายทีจ่ ะบัญญัตอิ อกมานัน้ กระทบกระเทือนถึงการ อนุ ญาต สัมปทาน หรือสัญญาทีช่ อบด้วยกฎหมายทีไ่ ด้กระทําขึน้ ก่อนวันประกาศใช้รฐั ธรรมนูญนี้ จนกว่าการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญานัน้ จะสิน้ ผล ดังนัน้ จึงอาจคาดการณ์ได้วา่ การจัดตัง้ องค์กรดังกล่าวจะไม่สง่ ผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญ ต่อการประกอบกิจการโทรคมนาคมในขอบข่ายทีเ่ ป็ นอยูข่ องเอไอเอส

ส่วนที่ 2 หน้า 2


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.2 สัญญาร่วมการงานระหว่างรัฐกับเอกชนที่กาํ หนดในพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือดําเนิ นการในกิ จการของรัฐ พ.ศ.2535 1.2.1 การแก้ไขสัญญาร่วมการงาน ระหว่าง เอไอเอส กับ บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ตามทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีความเห็น เรือ่ ง การบังคับใช้พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้า ร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 กรณีสญ ั ญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระหว่างบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) กับ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเรือ่ งเสร็จ ที่ 291/2550 ให้ความเห็นโดยสรุปว่า “....การอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ ( Cellular Mobile Telephone ) เป็ นโครงการทีไ่ ด้ดาํ เนิน ไปแล้วตัง้ แต่ก่อนวันทีพ่ ระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ ใช้บงั คับ ซึง่ ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติ ดังกล่าว กําหนดว่าโครงการใดทีไ่ ด้ให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดําเนินการซึง่ ได้กระทําไปแล้วในขัน้ ตอนใดก่อนวันที ่ พระราชบัญญัตนิ ้ีใช้บงั คับให้เป็ นอันใช้ได้ แต่การดําเนินการในขัน้ ตอนต่อไปให้ปฏิบตั ติ ามตามพระราชบัญญัตนิ ้ี จึง คงเหลือแต่ขนั ้ ตอนการกํากับดูแลและติดตามผล ในกรณีทมี ่ กี ารเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการดําเนินโครงการหรือแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอนุ ญาตฯทีล่ งนามไปแล้ว จะต้องดําเนินการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯโดยหน่วยงาน เจ้าของโครงการจะต้องเสนอคณะกรรมการประสานงานตาม มาตรา 22 พิจารณา หากคณะกรรมการดังกล่าวพิจารณาแล้ว เห็นชอบด้วยทีก่ จ็ ะต้องรายงานต่อรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัด และหากเป็นเรือ่ งทีม่ ผี ลเป็ นการแก้ไขเปลีย่ นแปลง สาระสําคัญของโครงการหรือเป็ นเรือ่ งเกีย่ วกับผลประโยชน์ของรัฐ หรือเป็นกรณีทกี ่ ารแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาทีม่ ผี ลเป็นการ แก้ไขเปลีย่ นแปลงสาระสําคัญของโครงการ รัฐมนตรี กระทรวงเจ้าสังกัดก็ชอบทีจ่ ะเสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาให้ความ เห็นชอบต่อไป และเมือ่ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว หน่วยงานเจ้าของโครงการจึงจะแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาได้ การ แก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ในครัง้ ที ่ 2 ถึงครัง้ ที ่ 7 มิได้เสนอเรือ่ งการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาต่อคณะกรรมการประสานงาน ตาม มาตรา 22 พิจารณา และมิได้เสนอคณะรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณาเห็นชอบในกรณีทเี ่ ป็นการแก้ไขเปลีย่ นแปลงใน สาระสําคัญของโครงการ จึงถือว่าการทําข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฯ มิได้ดาํ เนินการให้ถกู ต้อง ตามนัยแห่งพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน ฯ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) เข้าเป็นคู่สญ ั ญาในเรือ่ งนี้เป็ นการกระทําแทนรัฐ โดยอาศัย อํานาจหน้าทีต่ ามกฎหมายว่าด้วยองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย สัญญาอนุ ญาตฯ ทีเ่ กิดขึน้ จึงเป็นสัญญาระหว่างรัฐกับ เอกชนเพือ่ มอบหมายให้เอกชนดําเนินการให้บริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามข้อกําหนดในสัญญาดังกล่าว แต่เมือ่ การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีขอ้ หารือดําเนินการไม่ถกู ต้องตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมงานฯ ซึง่ มีผลใช้บงั คับในขณะทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ เนือ่ งจากมิได้เสนอเรือ่ งการแก้ไขเพิม่ เติมให้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอให้คณะรัฐมนตรีซงึ ่ เป็นองค์กรทีม่ อี าํ นาจพิจารณาเห็นชอบกับ การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแห่งพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวดังทีไ่ ด้วนิ ิจฉัยข้างต้น การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญา อนุญาตฯ โดย ทีโอที เป็ นคูส่ ญ ั ญา จึงกระทําไปโดยไม่มอี าํ นาจตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอันเป็ นนิตกิ รรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ทีท่ าํ ขึน้ ได้ และข้อตกลงต่อท้าย สัญญาอนุญาตฯ ทีท่ าํ ขึน้ นัน้ ยังคงมีผลอยูต่ ราบเท่าทีย่ งั ไม่มกี ารเพิกถอนหรือสิน้ ผลโดยเงือ่ นเวลาหรือเหตุอนื ่ หาก คณะรัฐมนตรีซงึ ่ เป็นผูม้ อี าํ นาจตามกฎหมายได้พจิ ารณาถึงเหตุแห่งการเพิกถอน ผลกระทบ และความเหมาะสม โดย คํานึงถึงประโยชน์ของรัฐ และประโยชน์สาธารณะแล้วว่า การดําเนินการทีไ่ ม่ถกู ต้องนัน้ มีความเสียหายอันสมควรจะต้อง เพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตฯ ทีท่ าํ ขึน้ คณะรัฐมนตรีกเ็ ห็นชอบทีจ่ ะเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตฯ แต่ถา้ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาแล้วมีเหตุผลความจําเป็นเพือ่ ประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ และเพือ่ ความต่อเนือ่ ง ของการให้บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีกอ็ าจใช้ดุลพินิจพิจารณาให้ความเห็นชอบให้มกี ารดําเนินการแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอนุญาตฯ ดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการและคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 เป็นผูด้ าํ เนินการเสนอข้อเท็จจริง เหตุผล และความเห็นเพือ่ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี” ขณะนี้ การดําเนินการตามทีค่ ณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นไว้ อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 แห่ง พรบ. การให้เอกชนเข้าร่วมงานซึง่ รัฐมนตรีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนที่ 2 หน้า 3


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอไอเอส มีความเชื่อมันในหลั ่ กการและเหตุผลของการแก้ไขสัญญา หน้าทีก่ ารปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตนิ ้ีของที โอที และการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตแิ ละข้อตกลงอย่างถูกต้อง บริษทั ฯได้ชาํ ระส่วนแบ่ง รายได้ทไ่ี ด้รบั กลับคืนไปให้กบั ทีโอทีซง่ึ เป็ นหน่วยงานของรัฐอย่างครบถ้วนเสมอมา นอกจากนี้ ผลประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการ แก้ไขสัญญานัน้ ยังได้คนื กลับสูป่ ระชาชนผูใ้ ช้บริการในรูปของค่าใช้บริการทีถ่ กู ลง ตัวอย่างเช่น การแก้ไขสัญญาร่วมการ งานในเรือ่ งส่วนแบ่งรายได้ของบริการพรีเพดในปี 2544 ซึง่ ในขณะนัน้ ตลาดมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริการระบบพรีเพดเป็ นจํานวน เพียงประมาณ 1 ล้านราย จากการกําหนดส่วนแบ่งรายได้บริการพรีเพดทีร่ อ้ ยละ 20 ซึง่ ตํ่ากว่าบริการด้านโพสเพด ส่งผลให้เกิดการแข่งขันในตลาดเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั สําคัญโดยปจั จุบนั ตลาดมีผใู้ ช้บริการะบบ พรีเพด ทัง้ สิน้ มากกว่า 40 ล้าน ราย ในการแก้ไขสัญญายังได้มขี อ้ กําหนดเพื่อประโยชน์ต่อผูใ้ ช้บริการ โดยให้บริษทั ฯ ลดราคาค่าบริการให้แก่ผบู้ ริโภคไม่ น้อยกว่าร้อยละ 5-10 ของราคาค่าบริการซึง่ ณ ขณะนัน้ อยูท่ ่ี 6-12 บาทต่อนาที ปจั จุบนั การแข่งขันในตลาด โทรศัพท์เคลื่อนทีท่ าํ ให้ราคาทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั ตํ่าลงมาอยูใ่ นระดับ 1-3 บาทต่อนาที ซึง่ เห็นได้จากการแก้ไขสัญญาทําให้ ผูบ้ ริโภคได้รบั ประโยชน์จากบริการอย่างกว้างขวางในราคาทีล่ ดลงเป็ นอันมาก นอกจากนี้ ผลประโยชน์ทจ่ี า่ ยให้ทโี อทีใน รูปแบบส่วนแบ่งรายได้เพิม่ ขึน้ อย่างมาก จากจํานวนประมาณ 10,000 ล้านบาทในปี 2544 เป็ นประมาณ 18,000 ล้านบาท ในปี 2550 ทัง้ นี้จะเห็นได้วา่ ผูบ้ ริโภคได้รบั ประโยชน์มากกว่าทีก่ าํ หนดอย่างชัดเจน เอไอเอสเชื่อว่าหลักการทีค่ าํ นึงถึง ผลประโยชน์ของผูบ้ ริโภคและทีโอทีในฐานะรัฐจะส่งผลให้ประเด็นความเสีย่ งนี้สามารถคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี และเชื่อว่าไม่ น่าจะมีการเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลกระทบต่อบริษทั ฯ อย่างมีนยั สําคัญ อย่างไรก็ตาม หากการแก้ไขสัญญาสัมปทานของ เอไอ เอส ถูกเพิกถอนอาจมีผลให้อายุสญ ั ญาสัมปทานสัน้ ลงและอาจมีตน้ ทุนในส่วนแบ่งรายได้ของบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบ เติมเงินทีส่ งู ขึน้ เป็ นต้น 1.2.2 สัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อยของเอไอเอส กับ บริ ษทั กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ตามทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีความเห็น เรือ่ ง การบังคับใช้พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้า ร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 กรณีสญ ั ญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระหว่าง บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) กับ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยที่ เอไอเอส ถือหุน้ เกือบ ทัง้ หมด โดยจากบันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งเสร็จที่ 294/2550 ให้ความเห็นโดยสรุปว่า “…การที ่ บมจ. โทเทิล่ แอ๊คเซส คอมมูนิเคชัน่ (TAC)โอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลา่ ให้แก่ ดีพซี ี และดีพซี ี กับ กสท. ได้มกี ารทําสัญญา ระหว่างกัน ในวันที ่ 19 พฤศจิกายน 2539 ว่า กสท. ได้อนุ ญาตให้สทิ ธิเอกชนรายใหม่ในการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ โดย กสท.และดีพซี ี เป็นคูส่ ญ ั ญาและไม่ ถือว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของโครงการดําเนินการใช้บริการวิทยุคมนาคมฯ ที ่ กสท. อนุญาตให้แก่ บมจ. TAC แต่อย่างใด ดีพซี ี จึง เป็นคูส่ ญ ั ญาทีอ่ ยูภ่ ายใต้การดูแลกํากับของ กสท. และ จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ กสท. ดีพซี ี ในฐานะทีเ่ ป็นเอกชนผูเ้ ข้าร่วม งาน หรือดําเนินงานในกิจการของรัฐจึงต้องปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตใิ ห้เอกชนเข้าร่วมงานฯ เนือ่ งจาก กสท. ได้มกี าร กําหนดขอบเขตของโครงการ และเอกชนผูด้ าํ เนินการให้บริการเป็นการเฉพาะเจาะจง รวมทัง้ ได้มกี ารให้บริการโครงการไป แล้ว จึงไม่มกี รณีทจี ่ ะต้องประกาศเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมงาน หรือ ดําเนินการในกิจการของรัฐ และการคัดเลือกเอกชน ด้วยวิธปี ระมูล ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในหมวด 3 การดําเนินโครงการ แต่เป็นการทีต่ อ้ งนําบทบัญญัตใิ นหมวด 3 นี้มาใช้บงั คับ โดยอนุโลม เท่าทีไ่ ม่ขดั ต่อสภาพแห่งข้อเท็จจริง โดย กสท. ต้องดําเนินการแต่งตัง้ คณะกรรมการ ตาม พรบ. มาตรา 13 เพือ่ ดําเนินการตามมาตรา 21 โดยอนุโลมต่อไป ”

ส่วนที่ 2 หน้า 4


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ขณะนี้ ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการตามมาตรา 13 แล้ว และอยูร่ ะหว่างการดําเนิน การตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ และ ดีพซี ี มีความเชื่อมันว่ ่ าประเด็นความเสีย่ งนี้คลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี โดย กสท. และ ดีพซี ี ยังคงมีภาระหน้าทีใ่ นการปฏิบตั ติ ามสัญญาทีไ่ ด้กระทําไว้แล้ว 1.3 กฎหมายว่าด้วยการใช้และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สืบเนื่องจากในปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ได้ออกหลักการและแนวทางการ กํากับกิจการโทรคมนาคมว่าด้วย หลักเกณฑ์การใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และเริม่ มีผลบังคับใช้ ตัง้ แต่วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2549 ซึง่ ข้อ 126 กําหนดให้ผปู้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการโทรคมนาคมทุกรายทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาต สัมปทานหรือสัญญา จะต้องปฎิบตั ติ ามกฎระเบียบดังกล่าว บนพืน้ ฐานของหลักการแข่งขันโดยเสรีและเป็ นธรรม และเอไอ เอสสามารถเจรจาสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับผูป้ ระกอบการรายอื่นได้ ซึง่ เอไอเอสได้รว่ มลงนามใน สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่าย (Interconnection Contract) กับ บริษทั โทเทิล่ แอ๊คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) ใน วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 และ บริษทั ทรูมฟู จํากัด ในวันที่ 16 มกราคม 2550 แต่ยงั ไม่ได้เรียกเก็บและชําระค่าตอบแทน เชื่อมโยงโครงข่ายระหว่างกันได้ เนื่องจาก บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที)ได้มหี นังสือโต้แย้งคัดค้านการทําสัญญา ทัง้ 2 ฉบับ ตลอดจนได้มหี นังสือถึง กทช. ขอให้ตรวจสอบและมีคาํ สังห้ ่ าม เอไอเอส และผูป้ ระกอบการรายอื่น เข้าทํา ข้อตกลงใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่าย ระหว่างกัน หรือจนกว่าศาลปกครองจะมีคาํ พิพากษาถึงทีส่ ดุ ถึงกระนัน้ เอไอเอส ยังได้รบั เหตุผลสนับสนุนการปฏิบตั ติ ามกฎหมายฯ ดังกล่าวข้างต้นจากหนังสือของ ผูอ้ าํ นวยการสถาบันการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ซึง่ ได้ตอบหนังสือถึง บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ว่า กทช. มีความเห็นเกีย่ วกับการเข้าทําข้อตกลง หรือการประกอบธุรกิจระหว่างเอกชนเป็ นไปตามหลักเสรีภาพในการเข้าทําสัญญา (freedom of contract) หรือ การประกอบธุรกิจ การเข้าทําสัญญาการเชื่อมต่อใช้โครงข่ายระหว่างกันจึงเป็ นเสรีภาพในการ ทําสัญญาของเอกชน ( Private Autonomy) ทีเ่ อกชนคูส่ ญ ั ญาจะต้องรับผิดชอบในสัญญาทีต่ นได้ทาํ นัน้ ซึง่ กทช.ไม่ม ี อํานาจสังห้ ่ ามการทําข้อตกลงการใช้ หรือเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมได้ จากประเด็นดังกล่าว หากศาลปกครองมีคาํ พิพากษาตามทีบ่ ริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ห้ามเอไอเอสและ ผูป้ ระกอบการรายอื่น เข้าทําข้อตกลงใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่ายระหว่างกัน จะมีผลให้ เอไอเอส ไม่ตอ้ งถูกบังคับให้ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายฯ ฉบับดังกล่าวอีกต่อไป แต่หากว่าศาลปกครองมีคาํ พิพากษายกคําฟ้องของทีโอทีแล้ว จะมีผลให้ เอไอเอส ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายฯ ฉบับดังกล่าว สาระสําคัญของกฎหมายฉบับนี้จะทําให้ผปู้ ระกอบการแต่ละรายสามารถเชื่อม โครงข่ายได้โดยตรง โดยมีคา่ เชื่อมต่อระหว่างกันตามปริมาณการใช้งานระหว่างโครงข่ายของแต่ละราย ค่าเชื่อมต่อ โครงข่ายจะสะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริงทีเ่ กิดจากปริมาณการใช้งานระหว่างโครงข่ายของแต่ละผูป้ ระกอบการ ส่งผลให้ ผูป้ ระกอบการทุกรายต้องแข่งขันพัฒนาคุณภาพเครือข่ายและการให้บริการ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดต่อผูบ้ ริโภค และ จะก่อให้เกิดการแข่งขันโดยเสรีและเป็ นธรรม ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม สําหรับบริษทั ฯแล้ว มี ความเห็นว่า กฎหมายนี้จะทําให้ผปู้ ระกอบการรายอื่นไม่สามารถแข่งขันโดยใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาได้อกี ต่อไป ซึง่ จะทําให้ ผูบ้ ริโภคกลับมาพิจารณาคุณภาพเครือข่ายมากขึน้ ในการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ มิใช่พจิ ารณาแต่เพียงราคาเท่านัน้ 1.4 ข้อพิ พาท อันเนื่ องจาก ภาษี สรรพสามิ ต (Excise Tax) 1.4.1 เอไอเอส กับ บริ ษทั ทีโอที จํากัด ( มหาชน) เมือ่ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2551 บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได้ยน่ื คําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เพือ่ เรียกร้องให้บริษทั ฯชําระเงินส่วนแบ่งรายได้ เพิม่ เติมอีกจํานวน 31,462.51 ล้านบาท ตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พร้อมดอกเบีย้ ใน อัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินดังกล่าว นับตัง้ แต่วนั ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2550 อันเป็ นวันผิดนัดจนกว่าจะชําระเสร็จสิน้

ส่วนที่ 2 หน้า 5


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ขณะนี้ขอ้ พิพาทดังกล่าวอยูใ่ นขัน้ ตอนทีบ่ ริษทั ฯเตรียมยืน่ คําให้การคัดค้านภายใต้กระบวนการทาง อนุญาโตตุลาการ ซึง่ กระบวนการดังกล่าวอาจใช้เวลาการพิจารณาเป็ นระยะเวลาหลายปี แต่อย่างไรก็ตามผูบ้ ริหารของ บริษทั เชื่อว่าคําวินิจฉัยชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการเกีย่ วกับข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะเป็ นไปในทางทีเ่ ป็ นผลดีกบั บริษทั ฯ เนื่องจากเห็นว่าจํานวนเงินดังกล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตทีบ่ ริษทั ฯได้นําส่งตัง้ แต่ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 และบริษทั ฯ ได้นํามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ดังนัน้ บริษทั ฯจึงได้ปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีถกู ต้องครบถ้วนแล้ว และ เป็ นการปฏิบตั ทิ เ่ี หมือนกันทัง้ อุตสาหกรรมสําหรับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนทีห่ รือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ ตามมติ คณะรัฐมนตรี นอกจากนี้บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได้เคยมีหนังสือตอบ เลขที่ ทศท. บย./843 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2546 โดยระบุวา่ บริษทั ฯได้ปฏิบตั ถิ กู ต้องตามมติคณะรัฐมนตรีแล้ว และบริษทั ฯมีภาระเท่าเดิมตามอัตราร้อยละทีก่ าํ หนดไว้ ในสัญญา ซึง่ การดําเนินการยืน่ แบบชําระภาษีสรรพสามิตดังกล่าว ไม่มผี ลกระทบต่อข้อสัญญาแต่ประการใด 1.4.2 บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด ( ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อยของ เอไอเอส กับ บริ ษทั กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2551 บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ได้ยน่ื คําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดํา ที่ 3/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เพือ่ เรียกร้องให้ บริษทั ดิจติ อลโฟน จํากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อย ชําระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิม่ เติมอีกจํานวน 2,449.09 ล้านบาท ตามสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ พร้อมเรียกเบีย้ ปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจํานวนเงินทีค่ า้ งชําระในแต่ละปี นับวัน ผิดนัดจนกว่าจะชําระเสร็จสิน้ ซึง่ คํานวณถึง ณ เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็ นเบีย้ ปรับทัง้ สิน้ 1,500.06 ล้านบาท รวมเป็ นเงิน ทัง้ หมดจํานวน 3,949.15 ล้านบาท ขณะนี้ขอ้ พิพาทดังกล่าวอยูใ่ นขัน้ ตอนที่ บริษทั ดิจติ อลโฟน จํากัด เตรียมยื่นคําให้การคัดค้านภายใต้กระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ ซึง่ กระบวนการดังกล่าวอาจใช้เวลาการพิจารณาเป็ นระยะเวลาหลายปี แต่อย่างไรก็ตามผูบ้ ริหารของ บริษทั เชื่อว่าคําวินิจฉัยชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการเกีย่ วกับข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะเป็ นไปในทางทีเ่ ป็ นผลดีกบั บริษทั ฯ เนื่องจากเห็นว่าจํานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ บริษทั ดิจติ อลโฟน จํากัด ได้ นําส่งตัง้ แต่ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2550 และ บริษทั ดิจติ อลโฟน จํากัด ได้นํามาหัก ออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ดังนัน้ บริษทั ดิจติ อลโฟน จํากัด ได้ ปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีถกู ต้องครบถ้วนแล้ว และเป็ นการปฏิบตั ทิ เ่ี หมือนกันทัง้ อุตสาหกรรมสําหรับกิจการ โทรศัพท์เคลื่อนทีห่ รือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ ตามมติคณะรัฐมนตรี 2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์การตลาด และการแข่งขัน 2.1 การแข่งขันด้านราคา (Price Competition) ในสภาวะทีต่ ลาดโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ กล้เข้าสูจ่ ุดอิม่ ตัว (Saturated Market) โดย ณ สิน้ ปี 2550 ประเทศไทยมี อัตราส่วนผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ่อประชากร (Penetration rate) ร้อยละ 80 ซึง่ หมายถึงตลาดมีการเจริญเติบโตของจํานวน ผูใ้ ช้บริการทีล่ ดน้อยลงเป็ นลําดับ การแข่งขันทางด้านราคาเพือ่ ช่วงชิงฐานลูกค้าจะเป็ นปจั จัยเสีย่ งสําคัญต่อภาวะรายได้และ สถานะทางการตลาดของผูป้ ระกอบการ เอไอเอส ในฐานะผูน้ ําในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนทีซ่ ง่ึ มีความพร้อมทัง้ ด้านคุณภาพ เครือข่ายทีแ่ ข็งแกร่งและครอบคลุมทัวประเทศ ่ อัตราบริการทีค่ มุ้ ค่า บริการทีห่ ลากหลาย ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ อันดีกบั ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ได้เตรียมพร้อมรับเงือ่ นไขทางการตลาดทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปโดยพัฒนาค่าบริการนวัตกรรมใหม่ (Innovative Tariff) และเหมาะกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าในแต่ละกลุม่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุม่ ลูกค้าทีม่ คี วาม อ่อนไหวด้านราคาทัง้ ทีเ่ ป็ นลูกค้าหมุนเวียน (Replacement SIM) ทีเ่ ลือกใช้เบอร์ใหม่ซง่ึ มีโปรโมชันถู ่ กกว่าแทนเบอร์เดิม และลูกค้าทีม่ โี ทรศัพท์เคลื่อนทีม่ ากกว่า 1 เบอร์ (Multiple SIM User) ซึง่ มีสดั ส่วนของลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องได้ เปลีย่ นมาใช้งานในเครือข่ายของ เอไอเอส มากขึน้ และ เอไอเอสยังได้ออกแบบค่าโทรอัตราพิเศษสําหรับการใช้งานในกลุม่ ส่วนที่ 2 หน้า 6


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

จากการแข่งขันด้านราคาในสภาวะตลาดทีใ่ กล้เข้าสูจ่ ุดอิม่ ตัวนัน้ ไม่ชว่ ยให้อุตสาหกรรมมีการเจริญเติบโตทีม่ าก ขึน้ หรือมีผลตอบแทนทีด่ ไี ด้ ผูใ้ ห้บริการจึงมีแนวโน้มหันมาให้ความสําคัญกับการสร้างความสัมพันธ์ทด่ี กี บั ลูกค้าเพือ่ ครองใจ ลูกค้าในระยะยาวมากขึน้ เอไอเอส ซึง่ ได้มกี ารวางแนวทางการบริหารความสัมพันธ์กบั ลูกค้ามาเป็ นเวลานาน โดยมี เป้าหมายเพือ่ หลีกเลีย่ งการแข่งขันด้านราคาและมุง่ สร้างความผูกพันกับลูกค้า (Customer Engagement) ทําให้มคี วาม ได้เปรียบอย่างมากภายใต้สถานการณ์ดงั กล่าว โดยได้ยกระดับคุณภาพเครือข่าย มาตรฐานงานบริการ นําเสนอนวัตกรรม การบริการใหม่ ๆ รวมถึงหลากหลายสิทธิพเิ ศษภายใต้โปแกรมเอไอเอส พลัส และ เอไอเอส เซเรเนด รวมทัง้ บริการผูช้ ว่ ย ส่วนตัว หรือ Serenade Personal Assistance ทีใ่ ห้การดูแลลูกค้าแบบหนึ่งต่อหนึ่งด้วยเบอร์โทรศัพท์สายตรงทีต่ ดิ ต่อได้ ตลอด 24 ชัวโมงที ่ ใ่ ห้กบั ลูกค้าระดับเซเรเนด เป็ นต้น ซึง่ จะสร้างความแตกต่างจากผูใ้ ห้บริการรายอื่นๆ จากสภาวการณ์การแข่งขันทีร่ นุ แรงดังกล่าว เอไอเอส มุง่ มันที ่ จ่ ะพัฒนาและต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ๆ ตามทันสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป รวมทัง้ การส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรให้เข้มแข็งขึน้ มีบริการทีม่ คี ุณภาพ และสร้าง ความพึงพอใจให้กบั ลูกค้ามากทีส่ ดุ 2.2 การชะลอตัวทางเศรษฐกิ จ (Economic Recession) เศรษฐกิจไทยในปี 2551 มีแนวโน้มทีจ่ ะขยายตัวขึน้ เล็กน้อยจากปี 2550 ทีม่ อี ตั ราการขยายตัวอยูท่ ป่ี ระมาณร้อย ละ 4.5 (จากการคาดการณ์ของสภาพัฒนาการณ์เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ภายหลังจากการเลือกตัง้ การลงทุนมีโอกาส ปรับตัวดีขน้ึ ทัง้ ในภาครัฐบาลและเอกชน โดยภาครัฐบาลจะเพิม่ เม็ดเงินลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ (Mega Project) ซึง่ จะช่วยกระตุน้ ภาคการผลิตและการจ้างงานในธุรกิจเกีย่ วเนื่องได้ สําหรับภาคเอกชนจะมีการลงทุนในโครงการต่างๆทีม่ ี แผนรออยูห่ ลังจากการทีช่ ะลอการลงทุนมาตลอด 2 ปี ในช่วงทีเ่ กิดปญั หาทางการเมือง ซึง่ จะได้แรงกระตุน้ จากการใช้จา่ ย ของภาครัฐบาลและความชัดเจนทางนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่ แต่อย่างไรก็ตามปญั หาราคานํ้ามันทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่องและยังมีแนวโน้มทีร่ าคาจะยังคงปรับตัวสูงขึน้ อีกในปีหน้าเป็ นปจั จัยเสีย่ งทีส่ าํ คัญทีอ่ าจจะกระทบต่อการฟื้นตัว ภายในประเทศและยังมีความเสีย่ งต่อเศรษฐกิจทัวโลกในปี ่ หน้า จากทีก่ ล่าวมาแสดงให้เห็นแนวโน้มเศรษฐกิจในปีหน้าที่ ยังคงจะชะลอตัวต่อไปแต่อยูใ่ นระดับทีด่ กี ว่าปี น้ีเล็กน้อย ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อความเชื่อมันในการใช้ ่ จา่ ยของประชาชน รวมทัง้ การใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่อย่างไรก็ดี เอไอเอสในฐานะผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีค่ าดว่าจะ ได้รบั ผลกระทบเพียงเล็กน้อยจากปจั จัยดังกล่าว เนื่องจากการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ด้กลายเป็ นส่วนหนึ่งใน ชีวติ ประจําวันของลูกค้า อีกทัง้ เอไอเอสได้มกี ารนําเสนอรูปแบบค่าโทรทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับพฤติกรรมการใช้งานของ ลูกค้าแต่ละกลุม่ ตัง้ แต่โปรแกรมค่าโทรสําหรับผูท้ ใ่ี ช้งานปานกลางถึงมาก ภายใต้แบรนด์ GSM advance และ One-2-Call! จนกระทังโปรแกรมสํ ่ าหรับผูท้ โ่ี ทรออกน้อย เน้นการรับสาย ซึง่ ได้ขยายระยะเวลาการใช้งานเป็ น 1 ปี ภายใต้แบรนด์สวัสดี นอกจากนี้ในสภาวะทีน่ ้ํามันแพงโทรศัพท์กอ็ าจจะกลายเป็ นทางเลือกหนึ่งของการสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพในต้นทุนทีต่ ่าํ กว่า การเดินทางไปติดต่อธุระส่วนตัวและทีเ่ กีย่ วข้องกับงานโดยผ่านทาง Conference Call เป็ นต้น ส่วนที่ 2 หน้า 7


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอไอเอส จึงเชื่อมันได้ ่ วา่ ในสภาวการณ์การแข่งขันดังกล่าว เอไอเอส สามารถดําเนินงานได้อย่างราบรืน่ และส่ง มอบสินค้าและบริการทีด่ ที ส่ี ดุ ให้แก่ลกู ค้า 2.3 ประกาศว่าด้วยการกําหนดให้มี Number Portability จาก พรบ. ประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2544 มาตรา 12 ทีก่ าํ หนดให้ มี “การใช้เลขหมายเดียวทุกระบบ” หรือ Number Portability โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้มกี ารใช้เบอร์เดียวทุกระบบและเปิดโอกาสให้ผใู้ ช้บริการมีสทิ ธิ ์ในการใช้ เลขหมายเดิมของตนเองเพือ่ คุม้ ครองผลประโยชน์ของผูใ้ ช้บริการ และทําให้การใช้เลขหมายมีความคุม้ ค่ามากขึน้ เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2550 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ได้มคี าํ สัง่ ที่ 37/2550 เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการศึกษาและเตรียมการการดําเนินการของโครงการ Mobile Number Portability เพือ่ ให้มกี ารกําหนด รูปแบบและแนวทางการบริหารของการใช้เลขหมายเดียวทุกระบบ การกําหนดรูปแบบทางเทคนิคและระบบฐานข้อมูล ตลอดจนรูปแบบการลงทุนเพือ่ ให้การดําเนินงานในทางปฏิบตั เิ ป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ กทช. ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการศึกษาและเตรียมการดําเนินการ นอกจากนี้ กทช.ได้เปิดโอกาสให้ผใู้ ห้บริการทุกรายได้เข้ามามีสว่ นร่วมใน การศึกษาข้อมูล จัดทําข้อเสนอ และวิธกี ารดําเนินการร่วมกัน ซึง่ ขณะนี้อยูใ่ นขัน้ ตอนของการศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ โดย ประชุม มาแล้ว 4 ครัง้ นัน้ จากประกาศคําสังดั ่ งกล่าว จะเป็นการสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันกันมากขึน้ ระหว่างผูใ้ ห้บริการแต่ละราย เนื่องจากระบบ Number Portability ดังกล่าวจะเปิดโอกาสให้ลกู ค้าสามารถย้ายการให้บริการได้ตลอดเวลา หากผูใ้ ห้บริการ ไม่ปรับปรุงทัง้ เรือ่ งคุณภาพบริการและแผนการตลาดหรือโปรโมชันเพื ่ อ่ ดึงดูดลูกค้าไว้ ซึง่ เป็ นความเสีย่ งองค์รวมของ ภาคอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทีผ่ ใู้ ห้บริการไม่สามารถคาดการณ์ได้ถงึ พฤติกรรมของลูกค้าภายหลังจากทีม่ กี ารนําระบบ Number Portability มาใช้งาน เอไอเอส มีความเชื่อมันว่ ่ า บริษทั ฯมีความพร้อมสามารถดําเนินการได้ทนั ที เมือ่ มีการประกาศใช้อย่างเป็ น ทางการ เนื่องจากบริษทั ฯได้มกี ารเตรียมความพร้อมทางด้านต่างๆ โดยเฉพาะ การบริหารเงินทุน ความพร้อมทางด้าน เครือข่าย ด้วยคุณภาพของเครือข่ายและปริมาณเครือข่ายทีค่ รอบคลุมทัวประเทศมากกว่ ่ าผูใ้ ห้บริการรายอื่น รวมถึงการ ดําเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษทั ฯ ทีส่ ง่ เสริมให้ แบรนด์ เอไอเอส มีความแข็งแกร่ง ด้วยการศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรม การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ องลูกค้าอย่างต่อเนื่อง การออกแบบสินค้าและรูปแบบบริการทีห่ ลากหลายเพื่อให้สอดคล้อง กับความต้องการของลูกค้าทุกระดับ การบริหารจัดการลูกค้าทุกกลุม่ ทัง้ ลูกค้าปจั จุบนั ผูท้ ม่ี แี นวโน้มเป็ นลูกค้าใหม่ หรือ ลูกค้าทีม่ แี นวโน้มออกจากระบบ ประกอบกับการทีบ่ ริษทั ฯได้เน้นการบริหารความสัมพันธ์กบั ลูกค้า (Customer relationship management – CRM) มาอย่างต่อเนื่องหลายปี จะช่วยให้ลกู ค้ามีความมันใจและพึ ่ งพอใจในบริการ และส่งผล ให้บริษทั ฯมีโอกาสทีจ่ ะขยายฐานลูกค้าใหม่เพิม่ ขึน้ ด้วย 3. ความเสี่ยงทางด้านระบบปฏิ บตั ิ การ (Operational Risk) เนื่องจาก เอไอเอส เป็ นผูน้ ําของผูป้ ระกอบการธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีเครือข่ายขนาดใหญ่ตดิ ตัง้ ให้บริการ ครอบคลุมทัวประเทศ ่ เพื่อให้ระบบปฏิบตั กิ ารของเครือข่ายขนาดใหญ่สามารถให้บริการลูกค้าอย่างมีคุณภาพ ลูกค้า สามารถติดต่อถึงกันได้อย่างชัดเจนและต่อเนื่องตลอดเวลา จึงต้องมีระบบการควบคุมดูแล อย่างละเอียดรอบคอบและ ด้วย ความระมัดระวัง เอไอเอส ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จาก อุปกรณ์ หรือระบบปฏิบตั งิ านของเครือข่าย ขนาดใหญ่ทอ่ี าจให้บริการไม่สมบูรณ์เพียงพอ จึงมีแนวทางในการจัดการ ดูแล ให้ระบบเครือข่ายทัง้ หมดทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง โดย มีหน่วยงาน Network Operation Center ( NOC ) ทําหน้าทีใ่ นการติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพของเครือข่าย ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา และหากมีสญ ั ญาณผิดปกติเกิดขึน้ กับอุปกรณ์ชุมสายหรือสายสือ่ สัญญาณ หน่วยงานดังกล่าวจะทราบได้ทนั ทีและจะส่งข้อมูลให้ผทู้ ร่ี บั ผิดชอบทําการแก้ไขโดยเร็ว มีหน่วยงานทีท่ าํ หน้าที่ บํารุงรักษาสถานีฐานและสายสือ่ สัญญาณ อย่างสมํ่าเสมอตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่างๆทีก่ าํ หนดไว้ มีหน่วยงาน

ส่วนที่ 2 หน้า 8


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริษทั ฯได้จดั ทําแนวทางในการรับมือกับความเสีย่ งทางธุรกิจอย่างเป็ นรูปแบบมากขึน้ โดยมีแผนงานรองรับให้ธุรกิจ สามารถดําเนินงานได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา (Business Continuity Plan) ในจุดทีร่ องรับการให้บริการทีส่ าํ คัญ เอไอเอส มีความเชื่อมันว่ ่ า จากประสบการณ์และความเชีย่ วชาญของเจ้าหน้าทีท่ ด่ี แู ลรับผิดชอบระบบปฏิบตั งิ าน ขนาดใหญ่ จะสามารถทําให้คุณภาพของการให้บริการมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 4. ความเสี่ยงทางด้านเทคโนโลยี (Technology Risk) การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีเป็ นปจั จัยสําคัญต่อการแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม การ ทีผ่ ปู้ ระกอบการไม่สามารถปรับตัวได้ทนั ต่อเทคโนโลยีทเ่ี ข้ามาใหม่ อาจส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันได้ในระยะ ยาว เอไอเอสมองว่าการแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีทจ่ี ะเข้ามาในอนาคตอันใกล้สาํ หรับประเทศไทยนัน้ จะรวมไปถึง เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนทีย่ คุ ที่ 3 หรือ 3G และบริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านเทคโนโลยี WiMAX แม้วา่ ปจั จุบนั คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ยังมิได้มกี ารให้ใบอนุญาตต่อผูป้ ระกอบการรายใดสําหรับทัง้ บริการ 3G และ WiMAX (ซึง่ ไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาที่ กทช. จะออกใบอนุญาต 3G และ WiMAX ให้กบั ผูป้ ระกอบการได้) แต่ เอไอเอสก็ได้มกี ารเตรียมความพร้อมเพื่อการลงทุนในเทคโนโลยีดงั กล่าวได้ทนั ทีหลังจากที่ กทช. ได้มกี ารออกใบอนุญาต โดยเอไอเอสได้มกี ารเตรียมความพร้อมทัง้ ในด้านการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การทดลองเทคโนโลยีในเชิงปฏิบตั ิ การ จัดทําแผนงานและการประมาณการ เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าบริษทั ฯจะมีความพร้อมทีจ่ ะให้บริการต่อลูกค้าได้ นอกจากนี้ ในขณะที่ ยังไม่มคี วามชัดเจนในเรือ่ งการให้ใบอนุญาตเทคโนโลยีใหม่จาก กทช. เอไอเอสได้มกี ารลงทุนในเทคโนโลยี EDGE ต่อ ยอดจากเทคโนโลยีเดิมซึง่ เป็ นการเพิม่ สมรรถนะของเครือข่ายในการรับส่งข้อมูลให้รวดเร็วยิง่ ขึน้ และเพือ่ ศึกษาพฤติกรรม ผูบ้ ริโภคต่อการใช้เทคโนโลยีทร่ี วดเร็วขึน้ ก่อนการพัฒนาไปสูร่ ะบบ 3G การเปลีย่ นแปลงและปรับปรุงเพือ่ ให้ทนั กับเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าทีห่ ลากหลาย นัน้ เป็ นสิง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการทุกรายสามารถเท่าทันกันได้ เนื่องจากประเทศไทยไม่ได้เป็ นผูผ้ ลิตเทคโนโลยีแต่เป็ นผูซ้ อ้ื เทคโนโลยีเหล่านัน้ มาใช้ ดังนัน้ การแข่งขันจึงอยูท่ ก่ี ารพัฒนา application ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ตรงตามความต้องการของ ลูกค้ามากทีส่ ดุ เอไอเอสมีแนวคิดในการพัฒนา application อย่างใกล้ชดิ กับลูกค้า เพื่อให้เกิดความพึงพอใจต่อการใช้ บริการกับเอไอเอสในระยะยาว ในปีทผ่ี า่ นมา บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (บริษทั เอสบีเอ็น) ซึง่ เป็ น บริษทั ย่อยของเอไอเอส ได้รเิ ริม่ โครงการนําร่องทดสอบบริการ VoIP ผ่านเครือข่ายไวไฟ “เอไอเอสเน็ตคอลล์” ที่ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถโทรบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไปยังเครือข่ายเอไอเอสได้ฟรี เป็ นหนึ่ง โครงการซึง่ พัฒนาตามแนวทางกลยุทธ์การตลาดให้ลกู ค้าได้ทดลองใช้และเมือ่ ลูกค้าพอใจคุณภาพบริการเน็ตคอลล์กจ็ ะหัน มาเป็ นลูกค้าเอไอเอสในระยะยาวต่อไป 5. ความเสี่ยงด้านการเงิ น (Financial Risk) • อัตราดอกเบีย้ บริษทั ฯ มีรายรับและเงินกูร้ วมถึงค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่เป็ นเงินสกุลบาท อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ยังมีความเสีย่ งจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นบางส่วน เนื่องจากจะต้องสังซื ่ อ้ อุปกรณ์เครือข่ายและระบบปฏิบตั กิ ารจากต่างประเทศ ซึง่ ในปี 2550 อัตราแลกเปลีย่ นสกุลเงินบาทแข็งค่าขึน้ เมือ่ เทียบกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ อีกทัง้ สถาบันการเงินต่างๆทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ มีความระมัดระวังในการพิจารณาการให้สนิ เชื่อมากขึน้ เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจทีต่ กตํ่า อย่างไรก็ตาม เอไอเอส ได้มกี ารศึกษาและวางแผนทางการเงิน อย่างระมัดระวังและเป็ นประโยชน์ต่อบริษทั ฯมากทีส่ ดุ ณ สิน้ ปี 2550 เอไอเอส มีเงินกูย้ มื ระยะยาวเป็ นเงินจํานวนรวมทัง้ สิน้ 26,425 ล้านบาท ในจํานวนนี้เป็ นเงินสกุลต่างประเทศ 33.54 ล้านเหรียญสหรัฐ และ 30,568 ล้านเยน ในการป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูใ้ น ส่วนที่ 2 หน้า 9


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

6. ความเสี่ยงทางด้านการบริ หารทรัพยากรบุคคล • ความพร้อมของบุคลากรที่จะดํารงตําแหน่ งในระดับที่สงู ขึน้ เอไอเอส ตระหนักถึงความสําคัญและคุณค่าของบุคลากรทีม่ ตี ่อบริษทั ฯ และหากมีการปรับเปลีย่ นบุคลากรใน ตําแหน่งงานทีม่ คี วามสําคัญ บริษทั ฯก็จะมีผทู้ ดแทนตําแหน่งงานนัน้ ได้เพือ่ ให้การดําเนินงานของบริษทั ฯเป็ นไปอย่าง ราบรืน่ ต่อเนื่อง และมีคุณภาพ โดยโครงสร้างของบริษทั ฯทีเ่ ป็ นบริษทั ขนาดใหญ่จงึ อาจมีความเสีย่ ง เกีย่ วกับความพร้อม ของบุคลากรทีจ่ ะขึน้ มาทําหน้าที่ สืบทอดในตําแหน่งระดับทีส่ งู ขึน้ ไป ทัง้ นี้ เอไอเอส ได้จดั เตรียมแผนการสืบทอดตําแหน่งและตัง้ คณะทํางานซึง่ ประกอบด้วยผูบ้ ริหารระดับสูงของสาย งานต่าง ๆ เพื่อจัดวางแนวทางในการคัดสรร และเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร สําหรับตําแหน่งงานระดับผูบ้ ริหาร และ ตําแหน่งงานหลัก (Key Positions) บริษทั ฯได้มโี ครงการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลตัง้ แต่ปี 2549 และยังคงดําเนินการ อย่างต่อเนื่องต่อไป โดยจัดให้มกี ารประเมินความพร้อมของผูท้ ไ่ี ด้รบั การพิจารณาเหล่านัน้ พร้อมทัง้ ทําการประเมินผลผูท้ ่ี ได้รบั การพัฒนา เพือ่ รายงานให้คณะทํางานจัดทําแผนทดแทนอัตรากําลังคน (Succession Planning working team) ทราบ 7. ความเสี่ยงหากบริ ษทั ฯ กลายเป็ น “คนต่างด้าว” ตามที่ พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 ซึง่ เป็ นกฎหมายทีก่ าํ หนดคุณสมบัตขิ องบริษทั ไทยและ สัดส่วนการถือหุน้ ของคนต่างด้าวในบริษทั ไทย และมีการนําคํานิยามของ “คนต่างด้าว” ในพรบ. การประกอบธุรกิจของคน ต่างด้าว ไปใช้ใน พรบ. ประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2544 ด้วย ในส่วนคุณสมบัตขิ องผูท้ ย่ี น่ื ขอใบอนุญาตประกอบ กิจการโทรคมนาคมแบบที่ 2 และ แบบที่ 3 รวมทัง้ ใน พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวมีบทบัญญัตเิ กีย่ วกับการ ห้ามคนไทยถือหุน้ แทนคนต่างด้าวในการประกอบกิจการทีต่ อ้ งได้รบั อนุญาตตามทีก่ าํ หนดไว้ ในปี 2549 กระทรวงพาณิชย์ได้ทาํ การตรวจสอบการถือหุน้ แทนต่างด้าวของบริษทั ต่างๆ ซึง่ รวมถึงการตรวจสอบ การถือหุน้ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ใน บจ. กุหลาบแก้ว ซึง่ เป็ นบริษทั สัญชาติไทยทีถ่ อื หุน้ ในบริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ จํากัด (Cedar) (Cedar เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่รายหนึ่งของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน) ่ ในประเด็นว่าผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทยรายใหญ่ของ บจ. กุหลาบแก้วถือหุน้ แทนคนต่างด้าว ซึง่ กระทรวงพาณิชย์ได้สรุปผลและส่งไปยังพนักงานเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ พิจารณาต่อไป ขณะนี้อยูใ่ นระหว่างการดําเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ดังนัน้ หาก บจ. กุหลาบแก้ว ถูกฟ้องร้องดําเนินคดีและถูกศาล พิพากษาตัดสินว่าเป็ นคนต่างด้าวแล้ว Cedar อาจกลายเป็ นคนต่างด้าวไปด้วย และอาจส่งผลให้ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ เอ ไอเอส และ ดีพซี ี อาจกลายเป็ นคนต่างด้าวด้วยเช่นกัน และศาลมีอาํ นาจสังให้ ่ ผทู้ ถ่ี กู กล่าวหาว่าเป็ นผูถ้ อื หุน้ แทนคนต่าง ด้าวเลิกถือหุน้ แทน โดย เอไอเอส และ ดีพซี ี เข้าใจว่าบริษทั ไม่ได้เป็ นผูก้ ระทําผิดกฎหมายดังกล่าว ดังนัน้ เอไอเอส และ ดี พีซี จึงมีสทิ ธิทจ่ี ะดําเนินการเพื่อหาผูถ้ อื หุน้ ใหม่แทนบุคคลทีเ่ ป็ นผูถ้ อื หุน้ แทนคนต่างด้าวนัน้ หาก เอไอเอส และ ดีพซี ี ไม่ สามารถดําเนินการได้กอ็ าจส่งผลต่อการขอใบอนุ ญาตต่างๆ ในบริการใหม่ของ เอไอเอส และ ดีพซี ี ทัง้ นี้การให้บริการของ เอไอเอส ทีอ่ ยูภ่ ายใต้สญ ั ญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการในปจั จุบนั นัน้ ไม่ได้มขี อ้ กําหนดเรือ่ ง สัดส่วนการถือหุน้ ของคนต่างด้าวไว้ อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ ไม่อาจรับรองได้วา่ ผลจากคดีความข้างต้นจะไม่กระทบต่อสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ และ ใบอนุญาตต่างๆ ของ เอไอเอส และ ดีพซี ี

ส่วนที่ 2 หน้า 10


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

8. ความเสี่ยงที่บริ ษทั ฯ ไม่ได้เป็ นคู่ความโดยตรง เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2549 นายศาสตรา โตอ่อน ได้ยน่ื ฟ้องกระทรวงเทคโนโลยีฯ กระทรวงคมนาคม และ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (“สปน.”) เป็ นจําเลยต่อศาลปกครองกลาง โดยขอให้ศาลมีคาํ สังให้ ่ จาํ เลยยกเลิกสัญญา อนุญาตให้ดาํ เนินการของ เอไอเอส และกําหนดมาตรการชัวคราวมิ ่ ให้ผถู้ อื หุน้ รายใหม่ดาํ เนินการใด ๆ หรือรับ ผลประโยชน์ใด ๆ จากกิจการตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการดังกล่าว ในคําฟ้อง นายศาสตรา ได้กล่าวหาว่าจําเลยละเว้นการปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยการไม่ใช้อาํ นาจหน้าทีใ่ นการยกเลิก สัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการภายหลังจากมีการโอนหุน้ ของบริษทั ฯ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ รายใหม่ โดยการโอนหุน้ ดังกล่าวทําให้ม ี การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างการถือหุน้ ของบริษทั ทัง้ สามแห่งอย่างมีนยั สําคัญ ซึง่ ส่งผลให้กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหม่มอี าํ นาจ ควบคุมบริษทั ดังกล่าวซึง่ ประกอบธุรกิจทีเ่ ป็ นทรัพยากรของประเทศเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ ศาลปกครองกลางได้ตดั สินว่า นายศาสตราไม่มสี ทิ ธิทจ่ี ะยืน่ ฟ้อง เพราะมิได้เป็ นคูส่ ญ ั ญาในสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ อย่างไรก็ตาม นายศาสตราได้ยน่ื คําร้องอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด และในวันที่ 12 กันยายน 2549 ศาลปกครองสูงสุดได้วนิ ิจฉัยว่านายศาสตราถือเป็ นผูม้ ี ส่วนได้เสียจึงมีอาํ นาจฟ้อง โดยศาลให้เหตุผลว่าหากธุรกิจของบริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้การควบคุมของคนต่างด้าว จะก่อให้เกิด ความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมันคงของประเทศ ่ ซึง่ จะมีผลกระทบต่อนายศาสตราอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ ศาลปกครองสูงสุดจึงมีคาํ สังให้ ่ ศาลปกครองกลางดําเนินการรับฟ้องและดําเนินการต่อไปตามรูปคดี ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่าง พิจารณาของศาลปกครองกลาง ทัง้ นี้ เอไอเอส จะไม่ได้รบั ผลกระทบใดๆ ตราบทีย่ งั ไม่มคี าํ ตัดสินว่าผูถ้ อื หุน้ ของ เอไอเอส อยูภ่ ายใต้การควบคุมของ คนต่างด้าว อีกทัง้ การยกเลิกสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการของ เอไอเอส จะต้องพิจารณาเงือ่ นไขและข้อกําหนดในสัญญา อนุญาตให้ดาํ เนินการนัน้ ๆ ด้วยว่าสามารถทําได้หรือไม่ 9. ความเสี่ยงจากการดําเนิ นธุรกิ จโทรคมนาคมภายหลังสิ้ นสุดระยะเวลาตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในปี 2558 บริษทั ฯ ไม่สามารถรับประกันได้วา่ บริษทั ฯ จะได้รบั ใบอนุญาตโทรคมนาคมจาก กทช. หรือการขยายอายุสญ ั ญา จาก ทีโอที หรือได้รบั อนุญาตให้ดาํ เนินการบริการโทรคมนาคมหลังจากสิน้ สุดระยะเวลาตามสัญญาฯ โดยเงือ่ นไขในสัญญา เป็ นทีพ่ งึ พอใจต่อผูล้ งทุน

ส่วนที่ 2 หน้า 11


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการที่สาํ คัญ พัฒนาการที่สาํ คัญก่อนปี 2550

ปี 2529

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเป็ นบริษทั จํากัด เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวตั ถุประสงค์เริม่ แรกในการดําเนินธุรกิจให้เช่าและให้บริการ คอมพิวเตอร์

ปี 2532

บริษทั ชินวัตรคอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (มหาชน) ซึง่ ปจั จุบนั ได้เปลีย่ นชื่อเป็ น บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) ได้เข้ามาเป็ นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในสัดส่วนร้อยละ 60 ของทุน จดทะเบียน และได้เปลีย่ นวัตถุประสงค์ในการดําเนินธุรกิจเป็ นการให้บริการโทรคมนาคม

ปี 2542

เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึง่ เป็ นบริษทั ใน กลุม่ Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร์ ซึง่ ดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสอ่ื สารและ โทรคมนาคม ได้เข้าถือหุน้ ในบริษทั ฯ โดย SHIN และ SingTel เป็ นผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ฯ ทัง้ สิน้ ร้อยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ 2542 บริษทั ฯ ได้เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั แอดวานซ์ เพจจิง้ จํากัด (APG) (เดิมชื่อ บริษทั ชินวัตร เพจจิง้ จํากัด) ซึง่ ดําเนินธุรกิจให้บริการโทรศัพท์ตดิ ตามตัว จากเดิมร้อยละ 60.00 เป็ นร้อยละ 99.99 แต่จากการทีบ่ ริการโทรศัพท์ตดิ ตามตัวได้รบั ความนิยมลดลงเป็ นอย่างมาก ประกอบกับ การปรับตัวลดลงของราคาของเครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทําให้โทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ป็ นสิง่ ทีส่ ามารถซือ้ หาได้งา่ ย ขึน้ การดําเนินงานของ APG จึงได้ยตุ ลิ ง พร้อมกับมีการคืนสัญญาร่วมการงานให้แก่ ทีโอที เมือ่ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2545 ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ได้ถกู ขายให้แก่บริษทั อื่น ดังนัน้ APG จึง ไม่ได้เป็ นบริษทั ในเครือของบริษทั ฯ อีกต่อไป ่ จํากัด ในเดือนตุลาคม 2542 บริษทั ฯ เข้าถือหุน้ ในบริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ (ADC) (เดิมชื่อบริษทั ชินวัตร ดาต้าคอม จํากัด) ในสัดส่วนร้อยละ 67.95 และบริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (DNS) ในสัดส่วนร้อยละ 49.00 ซึง่ ทัง้ สองบริษทั ดําเนินธุรกิจการให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์

ปี 2544

ตามมติทป่ี ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2544 เมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2544 ได้อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ บริษทั ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 หรือมูลค่าการลงทุนรวม 540 ล้านบาท จาก SHIN และ Singtel บริษทั SDT ในขณะนัน้ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 97.54 ใน บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึง่ เป็ นผูป้ ระกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ GSM 1800 และเป็ นผูน้ ําเข้าและจัดจําหน่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยบริษทั ฯ ได้ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ล้าน บาท เพือ่ ใช้ชาํ ระหนี้ให้แก่ SHIN และ SingTel ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จดั สรรหุน้ สามัญทีย่ งั มิได้ออกจําหน่าย จํานวน 23.5 ล้านหุน้ เป็ นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ SHIN จํานวน 17 ล้านหุน้ และ SingTel จํานวน 6.5 ล้าน หุน้ คิดเป็ นมูลค่ารวมทัง้ สิน้ 10,024 ล้านบาท เพือ่ เป็ นเงินทุนส่วนหนึ่งในการลงทุนดังกล่าว ในเดือนกันยายน 2544 บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนในกิจการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบดิจติ อล GSM 1800 ของ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึง่ มีทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 8,556 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้เข้าไป ส่วนที่ 2 หน้า 12


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ในบริษทั ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) ซึง่ SDT เป็ นผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 97.54 ใน DPC ตามมติทป่ี ระชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8/2544 เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ได้อนุ มตั ใิ ห้บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดส่วนร้อยละ 98.17 หรือมูลค่าการลงทุนรวม 20,300 ล้านบาท จาก บริษทั ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) เพือ่ ใช้หนี้คนื ให้แก่บริษทั ฯ และลดภาระภาษีดา้ นรายได้คา่ ดอกเบีย้ โดยได้ เข้าไปซือ้ หุน้ DPC เมือ่ วันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึง่ จะทําให้บริษทั ฯ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใน DPC โดยตรง ปี 2545

ตามมติทป่ี ระชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2545 เมือ่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ได้อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ลงทุน เพิม่ ใน DPC จํานวน 300 ล้านหุน้ เป็ นจํานวนเงิน 3,000 ล้านบาท ซึง่ เป็ นผลทําให้บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือ หุน้ ใน DPC เป็ นร้อยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 บริษทั ฯ ปรับโครงสร้างธุรกิจการนําเข้าและการจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ อง บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติง้ จํากัด (AWM) โดยโอนการดําเนินงานของ AWM รวมเข้ากับการ ดําเนินงานของบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งของบริษทั ฯ เพือ่ เป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมให้ดยี งิ่ ขึน้ (AWM จึงหยุดดําเนินกิจการชัวคราว) ่

ปี 2546

เอไอเอส ได้รบั การปรับอันดับความน่าเชื่อถือขององค์กรและออกตราสารหนี้ โดย บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด จากระดับ AA- เป็ น AA

ปี 2547

บริษทั ฟิทช์ เรทติง้ (ประเทศไทย) จํากัด (Fitch Rating) ประกาศให้ เอไอเอส ได้รบั อันดับเครดิต ภายในประเทศระยะยาวทีร่ ะดับ AA (tha) แนวโน้มมีเสถียรภาพ และระยะสัน้ ทีร่ ะดับ F1+(tha) สะท้อนถึง ฐานะการเงินทีแ่ ข็งแกร่ง และความเป็ นผูน้ ําทางด้านตลาด เอไอเอสได้รบั การเพิม่ อันดับความน่าเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนด์ดาร์ตแอนด์พวั ร์ส หรือ เอส แอนด์ พี (S&P) จากเดิมอยูท่ ร่ี ะดับ BBB ให้เป็ นระดับ BBB+ ซึง่ ถือเป็ นอันดับความน่าเชื่อถือขององค์กรเอกชนที่ เทียบเท่าอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทย และสะท้อนให้เห็นถึงสถานภาพอันแข็งแกร่งของเอไอเอส ในการเป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ายใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย

ปี 2548

ในเดือนกรกฎาคม 2548 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่วมกับวารสารการเงินธนาคารมอบรางวัลให้แก่ เอไอเอส 3 รางวัล คือ 1. รางวัลบริษทั ทีม่ กี ารประกอบการธุรกิจดีเด่น (Best Performance) หมวด เทคโนโลยี 2. รางวัลบริษทั ทีม่ คี วามโดดเด่นด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (Best Investor) และ 3. รางวัลบริษทั ที่ เปิดเผยข้อมูลผลประกอบการดีเด่นตามหลักธรรมาภิบาล (Best Corporate Governance Report Awards) ในงาน SET AWARDS 2005 ในเดือนสิงหาคม 2548 เอไอเอสเปิดตัวบริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ร่วมทุนระหว่างเอไอเอส และ บริษทั เอ็นทีที โดโคโม อินคอร์ปอเรชัน่ เพือ่ ดําเนินธุรกิจการให้บริการธุรกรรมการเงินบน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ในเดือนกันยายน 2548 ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ กูข้ องเอไอเอส จํานวน 6 ชุดคือ หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 1/2544 ชนิด ทยอยคืนเงินต้น ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2549 (AIS063A) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 3/2544 ครบกําหนดไถ่ถอน ปี 2549 (AIS06NA) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 1/2545 ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2552 (AIS093A) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงินต้น ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2552 (AIS093B) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 3/2545 ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2550 (AIS073A) และหุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืนเงินต้น ครบ ส่วนที่ 2 หน้า 13


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

กําหนดไถ่ถอนปี 2550 (AIS07OA) ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ สามารถจ่ายเงินปนั ผลในแต่ละปีให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เป็ นจํานวนเกินกว่าร้อยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปีนนั ้ ๆได้ ภายใต้เงือ่ นไขคือบริษทั ฯ จะต้องมี อันดับความน่าเชื่อถือไม่ต่าํ กว่า AA และได้รบั ภายในระยะเวลาไม่เกินกว่า 45 วันก่อนหน้าวันที่ คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปนั ผล ในเดือนตุลาคม 2548 เอไอเอสได้รบั การปรับเพิม่ อันดับความน่าเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนด์ดาร์ต แอนด์พวั ร์ หรือ เอส แอนด์ พี (S&P) จากเดิมทีอ่ ยูร่ ะดับ BBB+ เป็ น A- สะท้อนให้เห็นถึงสถานภาพอัน แข็งแกร่งของเอไอเอสในการเป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ายใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย เอไอเอสร่วมกับบริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ในการรวมใบแจ้งค่าใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทัง้ ในประเทศ ระหว่างประเทศ และบริการข้ามแดนอัตโนมัตไิ ว้ในใบแจ้งค่าใช้บริการใบเดียวกัน เพือ่ อํานวย ความสะดวกให้แก่ลกู ค้ามากขึน้ ปี 2549

เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2549 กลุ่มผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) ได้ ขายหุน้ SHIN ให้แก่บริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ ส์ จํากัด (“Cedar”) และบริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด (“Aspen”) ส่งผลให้ Cedar และ Aspen ต้องเข้าถือหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ เพือ่ ครอบงํากิจการโดยสมัครใจ (Voluntary Tender Offer) ในราคา 72.31 บาทต่อหุน้ นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ของ SHIN ครัง้ ที่ 1/2549 เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2549 มีมติจะไม่ขายหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ที่ SHIN ถืออยูท่ งั ้ จํานวน เนื่องจาก คณะกรรมการบริษทั ของ SHIN พิจารณาแล้วมีความเห็นว่าธุรกิจของเอไอเอส เป็ นธุรกิจที่ ก่อให้เกิดรายได้หลักของ SHIN และประกอบกับการที่ เอไอเอส มีผลประกอบการทีด่ มี าโดยตลอด ในเดือน พฤศจิกายน เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection Charge) ร่วมกับ บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชัน่ (ดีแทค)

เหตุการณ์สาํ คัญในปี 2550 กุมภาพันธ์ - เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection Charge) ร่วมกับ บริษทั ทรูมฟู จํากัด - บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด (TRIS Rating) สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงินของไทย คงอันดับความ น่าเชื่อถือองค์กรและการออกตราสารหนี้ของเอไอเอส ทีร่ ะดับ ‘AA’ - บริษทั ฟิทช์ เรทติง้ ส์ จํากัด (Fitch Ratings) สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงินระหว่างประเทศ คง อันดับความน่าเชื่อถือสําหรับการออกตราสารหนี้สกุลเงินบาทของเอไอเอส ทีร่ ะดับ ‘AA’ และสําหรับตราสารหนี้ สกุลเงินต่างประเทศทีร่ ะดับ ‘BBB+’ แต่ได้ปรับอันดับเครดิตพินิจแนวโน้มเป็ นลบ เนื่องจากความไม่แน่นอนด้าน การกํากับดูแลของอุตสาหกรรม - เอไอเอสร่วมกับกูเกิล (Google) ผูใ้ ห้บริการการค้นหาข้อมูลบนเว็บไซต์ (search engine) รายใหญ่ของโลกขยาย บริการสู่ Mobile Internet หรือ การนําบริการจากโลกอินเตอร์เน็ตให้สามารถใช้งานบนมือถือ - รายการสารคดีชวี ติ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” ของเอไอเอส ได้รบั รางวัลโทรทัศน์ทองคําเฉลิมพระเกียรติ ประเภทรายการส่งเสริมความรูด้ เี ด่น ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ประจําปี 2549 จากชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ มูลนิธิ จํานง รังสิกุล และสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ มีนาคม - ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2550 มีมติอนุมตั แิ ต่งตัง้ นายวิกรม ศรีประทักษ์ หัวหน้าคณะผูบ้ ริหาร ส่วนที่ 2 หน้า 14


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

-

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ด้านเทคโนโลยี (CTO) ให้ดาํ รงตําแหน่งหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร (CEO) รับผิดชอบดูแลสายงานธุรกิจ สือ่ สารไร้สาย แทนนายสมประสงค์ บุญยะชัย ซึง่ ยังคงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการบริหารของบริษทั ฯ โดยให้ มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2550 บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด หรือ เอไอเอ็น เปิ ดให้บริการโทรทางไกลต่างประเทศผ่านรหัส 005 อย่าง เป็ นทางการ

เมษายน - ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจําปี 2550 ของบริษทั ฯ มีมติอนุ มตั จิ ดั สรรกําไรจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลัง ของปี 2549 (1 กรกฎาคม 2549 ถึง 31 ธันวาคม 2549) ในอัตราหุน้ ละ 3.30 บาท ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ หมดจํานวน ประมาณ 2,955 ล้านหุน้ คิดเป็ นจํานวนเงินประมาณ 9,750 ล้านบาท - เอไอเอสได้รบั รางวัลภาพยนตร์โฆษณาดีเด่นทางโทรทัศน์เพือ่ ผูบ้ ริโภค ประจําปี 2549 ซึง่ จัดโดยสมาคมคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค (สคบ.) จํานวน 2 รางวัล คือ รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งประเภทบริการจากโฆษณาชุดโกนหนวด และรางวัลรองชนะเลิศอันดับสองประเภทส่งเสริมสังคม ศิลปวัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อม จากโฆษณาชุด Always Smile พฤษภาคม - บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) ได้จดทะเบียนตัง้ บริษทั กับกระทรวงพาณิชย์ เพือ่ ประกอบ ธุรกิจนําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ละอุปกรณ์โทรคมนาคม แต่เดิมธุรกิจดังกล่าวบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี เป็ นผูด้ าํ เนินการ - บริษทั ฯ ได้ประกาศแต่งตัง้ นายสมชัย เลิศสุทธิวงศ์ ดํารงตําแหน่ง รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ สายงานการตลาด (Executive Vice President - Marketing ) โดยรับผิดชอบด้านการวางกลยุทธ์และกําหนดนโยบายการบริหาร จัดการด้านการตลาดสินค้า และบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีท่ งั ้ ระบบพรีเพดและโพสต์เพด การบริการข้ามแดน การตลาดลูกค้ากลุม่ เซเรเนด และลูกค้ารายบุคคล มิ ถนุ ายน - ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2550 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ร่วมลงทุนในบริษทั บริดจ์ โมบาย พีทอี ี จํากัด (สิงคโปร์) ซึง่ เป็ นบริษทั ร่วมทุนของผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นประเทศภาคพืน้ เอเชียและแปซิฟิก รวม 10 ประเทศ (Joint Force Mobile Operators) สนับสนุนการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะหว่างประเทศ (International Roaming) โดยบริษทั ฯ ร่วมลงทุนจํานวน 2.0 ล้านหุน้ หรือประมาณ 10% ของทุนจดทะเบียน มี มูลค่าการลงทุนประมาณ 2.7 ล้านเหรียญสหรัฐ - บริษทั สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ จํากัด หรือ S&P สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงินระหว่างประเทศ จัดอันดับความน่าเชื่อถือองค์กรของเอไอเอส ทีร่ ะดับ ‘A-‘ แต่ได้ปรับแนวโน้มเป็ น ‘negative’ จาก ‘stable’ เนื่องจากสภาวะการแข่งขันทีร่ ุนแรง และความไม่แน่นอนทางด้านการกํากับดูแลของอุตสาหกรรม - จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ร่วมมือกับพันธมิตร ROK TV ของประเทศอังกฤษ เปิดตัวบริการใหม่ ROK TV on Mobile เพือ่ ให้ผใู้ ช้บริการชมเคเบิล้ ทีวบี นโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ด้อย่างเต็มรูปแบบเป็ นครัง้ แรกในประเทศไทย - เอไอเอสร่วมกับบริษทั ไมโครซอฟท์เปิดให้บริการ AIS Smart Office เพือ่ ตอบสนองการใช้อเี มล์และโปรแกรม บริหารจัดการให้แก่ลกู ค้าองค์กรแบบครบวงจร กรกฎาคม - บริษทั ฯ

ประกาศแต่งตัง้ ทีมผูบ้ ริหารใหม่เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานและการบริการให้ดยี งิ่ ขึน้ ส่วนที่ 2 หน้า 15

ได้แก่


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

-

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นางวิลาสินี พุทธิการันต์ ดํารงตําแหน่ง ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ สายงานบริหารลูกค้าและการบริการ (Vice President-Customer & Service Management) รับผิดชอบดูแลงานบริการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ CRM, นายคมสัน บุพนิมติ ร์ ดํารงตําแหน่ง ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ าํ นวยการส่วนงานบริหารช่องทางการตลาด ( Vice President Channel Management) รับผิดชอบดูแลช่องทางการตลาด การจัดจําหน่าย ร้านตัวแทนจําหน่าย ร้านเทเลวิซ เพย์สเตชัน่ ,นายวรุณเทพ วัชราภรณ์ ดํารงตําแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (Managing Director - Advanced MPAY) รับผิดชอบดูแลธุรกิจการให้บริการธุรกรรมทางการเงินบนมือถือ mPAY และนายสุรวัตร ชินวัตร ดํารงตําแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จํากัด (Managing Director - Advanced Contact center) รับผิดชอบดูแลงานบริหารและบริการลูกค้า คอลเซ็นเตอร์ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด เปิดตัวโทรศัพท์เคลื่อนทีท่ เ่ี ป็ นแบรนด์ของตนเอง (House brand) ใหม่ลา่ สุดภายใต้ช่อื ‘Phone One’ เอไอเอส วัน-ทู-คอล! เริม่ จําหน่ายบัตรเติมเงินอักษรเบรลล์เพื่อผูพ้ กิ ารทางสายตาเป็ นครัง้ แรกในประเทศไทย และ นํารายได้สว่ นหนึ่งจากการจําหน่ายมอบให้สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย

สิ งหาคม - ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2550 มีมติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาลจากผลการดําเนินงาน 6 เดือน งวดการดําเนินงานตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน 2550 ในอัตราหุน้ ละ 3.00 บาท ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ หมดจํานวนประมาณ 2,957 ล้านหุน้ คิดเป็ นจํานวนเงินประมาณ 8,871 ล้านบาท - เอไอเอสรับรางวัลบริษทั ทีม่ กี ารเปิดเผยข้อมูลผลประกอบการดีเด่นตามหลักธรรมาภิบาลของประเทศไทย ประจําปี 2550 (Best in Corporate Governance in The Asset Magazine’s Annual Corporate Governance Rankings 2007) จากนิตยสาร The Asset - นิตยสาร FinanceAsia มอบรางวัล Most Committed to a Strong Dividend Policy อันดับที่ 2 ของ ประเทศไทย ให้แก่เอไอเอส - บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ได้รบั ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ สามแบบประเภทมีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเองเพือ่ ให้บริการโทรคมนาคมแก่บุคคลทัวไป ่ กันยายน - เอไอเอสเปิดศูนย์ปฏิบตั กิ าร Call Center แด่ผพู้ กิ ารทางสายตา ทีม่ ลู นิธชิ ว่ ยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระ บรมราชินูปถัมภ์ เพื่อสร้างอาชีพแด่ผพู้ กิ ารทางสายตาและสนับสนุนการแสดงศักยภาพความสามารถของผูพ้ กิ าร ให้เป็ นทีย่ อมรับในสังคม ตุลาคม - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ่ ษย์ มอบโล่เชิดชูเกียรติผทู้ าํ คุณประโยชน์ดเี ด่นแก่ผอู้ ยูใ่ นภาวะ ยากลําบาก ประจําปี 2550 ประเภทสือ่ ทีน่ ําเสนอกิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์แก่ผอู้ ยูใ่ นภาวะยากลําบาก ให้แก่เอไอ เอสทีน่ ําเสนอเรื่องราวของเยาวชนตัวอย่างผ่านทางรายการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” - บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ได้รบั ใบอนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึ่ง ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเองให้แก่ลกู ค้าโดยตรง และได้รบั ใบอนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต เกต์เวย์ระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบทีส่ องทีม่ โี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ธันวาคม - บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) เริม่ ทดลองให้บริการเสียงบนอินเทอร์เน็ต (VoIP) เป็ น ส่วนที่ 2 หน้า 16


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริการแรก โดยจับมือกับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกันทดสอบบริการใหม่ในชื่อ AIS Net Call เป็ นบริการ โทรศัพท์บนเครือข่าย WIFI ก่อนเตรียมเปิดให้บริการอย่างเป็ นทางการในเดือนมกราคม ปี 2551 2.2

ภาพรวมการประกอบธุรกิ จ

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ “แอดวานซ์” หรือ “เอไอเอส”) ได้ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี 2532 ปจั จุบนั บริษทั ฯ เป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีอ่ นั ดับหนึ่งในประเทศไทยด้วยส่วนแบ่งจํานวนผูใ้ ช้บริการในตลาด ประมาณร้อยละ 46 และมีโครงข่ายครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 97 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ เอไอเอสได้จดทะเบียนอยูใ่ นตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ตัง้ แต่ปี 2534 โดยในปี 2550 บริษทั ฯ มีมลู ค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (Market capitalization) ประมาณ 287 พันล้านบาท (8.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึง่ ถือเป็ นบริษทั จดทะเบียนทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ หนึ่งในห้า อันดับแรกของ ตลท. เอไอเอสมีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่คอื บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ ในสัดส่วนถือหุน้ ร้อยละ 43 และ SingTel Strategic Investment PTE Ltd. ในสัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 21 โดยสัดส่วนทีเ่ หลือถือโดยบุคคลทัวไป ่ และ นักลงทุนสถาบัน เอไอเอสให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นระบบดิจติ อล GSM ปจั จุบนั สามารถรองรับเทคโนโลยี GPRS และ EDGE โดยบริษทั ฯได้เข้าร่วมทําสัญญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เป็ นระยะเวลา 25 ปี ตัง้ แต่ปี 2533 สิน้ สุดปี 2558 ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบบีทโี อ เอไอเอสมีหน้าทีเ่ ป็ น ผูล้ งทุนในการสร้างเครือข่ายเซลลูลาร์และรับผิดชอบในการหาเงินลงทุนรวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยต่างๆ ทัง้ หมดและโอนกรรมสิทธิ ์ใน เครือข่ายให้แก่ผใู้ ห้สญ ั ญา(ทีโอที) โดยบริษทั ฯ มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบและหาแหล่งเงินทุนสําหรับงานวิศวกรเครือข่าย วางแผนงานด้านเครือข่าย จัดหาอุปกรณ์พร้อมทัง้ ติดตัง้ บํารุงดูแลรักษาเครือข่าย ตลอดจนดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ การตลาดและการให้บริการ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในรูปแบบของส่วนแบ่งรายได้ทไ่ี ด้รบั จากการ ให้บริการให้แก่ทโี อที โดยอัตราส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการแบบชําระค่าบริการหลังการใช้ (Postpaid) ทีจ่ า่ ยให้ทโี อที ปจั จุบนั อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 30 ของรายได้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ และส่วนแบ่งรายได้จากบริการแบบชําระค่าใช้บริการล่วงหน้า (Prepaid) อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 20 ของรายได้ก่อนหักภาษีมลู ค่าเพิม่ เอไอเอสยังมีบริษทั ย่อย คือ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ประกอบธุรกิจให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบดิจติ อล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เป็ นระยะเวลา 16 ปี ตัง้ แต่ปี 2540 สิน้ สุดปี 2556 โดยดีพซี ตี อ้ งจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทนเป็ นร้อยละของรายได้จากการให้บริการให้แก่ กสท. ซึง่ ปจั จุบนั บริษทั ได้จดั แบ่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ กสท. อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 25 ของรายได้ ดีพซี ี ยังมีสญ ั ญาการใช้บริการเครือข่ายร่วม (Network Roaming) ระหว่าง เอไอเอส กับ ดีพซี ี ซึง่ จะทําให้ผใู้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบดิจติ อล GSM 1800 สามารถใช้งานได้ทวประเทศเหมื ั่ อนกับผูใ้ ช้ โทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบดิจติ อล GSM advance อีกด้วย นอกจากการให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ล้ว เอไอเอสยังลงทุนในบริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) ซึง่ เอไอเอสถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.99 เพือ่ ประกอบธุรกิจนําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีอ่ ุปกรณ์ โทรคมนาคม แต่เดิมธุรกิจดังกล่าว ดีพซี ี เป็ นผูด้ าํ เนินการ ตามลักษณะทัวไปของธุ ่ รกิจตัวแทนจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์แล้วนัน้ เป็ นธุรกิจทีม่ กี าํ ไรขัน้ ต้นน้อย สาเหตุทเ่ี อไอเอสดําเนินธุรกิจดังกล่าวเพือ่ ให้บริษทั ฯสามารถมีสว่ น กําหนดรุน่ โทรศัพท์เคลื่อนทีท่ ม่ี ฟี งั ก์ชนรองรั ั่ บบริการใหม่ๆทีบ่ ริษทั ฯ จะออกได้ นอกจากนี้ ดับลิวดีเอส ประกอบธุรกิจขาย ส่งซิมการ์ด และบัตรเติมเงินผ่านร้านเทเลวิซจํานวนมากกว่า 350 สาขา และผ่านตัวแทนจําหน่ายมากกว่า 10,000 รายทัว่ ประเทศอีกด้วย ในปี 2550 รายได้ทม่ี าจาก ดับลิวดีเอส คิดเป็ นอัตราส่วนร้อยละ 3.84 ของรายได้รวมบริษทั ฯ เอไอเอสประกอบธุรกิจให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call Center) ผ่านบริษทั ย่อย บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซ)ี ด้วยจํานวนพนักงานมากกว่า 2,200 คน ทีผ่ า่ นการฝึกอบรมเป็ นอย่างดี เอซีซี จึงพร้อมและมันใจ ่ ส่วนที่ 2 หน้า 17


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ในคุณภาพบริการทีเ่ หนือกว่าและสามารถรองรับผูใ้ ช้บริการกว่า 24 ล้านคนของเอไอเอสได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธุรกิจ บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ถอื เป็ นกุญแจสําคัญทีท่ าํ ให้เอไอเอสแตกต่างจากผูป้ ระกอบการอื่น เพราะเหนือกว่าการให้บริการ ก่อนหรือหลังการขายหรือตอบปญั หาทัวไป ่ เช่น เรือ่ งการชําระค่าบริการ หรือสอบถามข้อมูลบริการ พนักงานเอซีซี ยังมี บทบาทสําคัญในการช่วยโปรโมทกิจกรรมการตลาดของกลุม่ บริษทั ฯ และแนะนําสินค้าและบริการให้ทงั ้ ลูกค้าปจั จุบนั และ ลูกค้าใหม่ดว้ ย ในเดือนมีนาคม 2550 บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ซึง่ เอไอเอสถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.99 ได้เปิด ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศอย่างเป็ นทางการ เอไอเอ็น ได้รบั ใบอนุ ญาตเพือ่ ประกอบกิจการให้บริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช) ทัง้ นี้ใบอนุญาตมีอายุ 20 ปี สิน้ สุดในปี 2569 ภายใต้ระเบียบใบอนุญาตทีไ่ ด้รบั จาก กทช. เอไอเอ็นมีหน้าทีต่ อ้ งจ่ายค่าธรรมเนียมให้กบั กทช. ทัง้ สิน้ ร้อยละ 7 จากรายได้ จากการให้บริการ แบ่งเป็ นค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตรายปี ร้อยละ 3 และค่าบริการโทรคมนาคมพืน้ ฐานโดยทัวถึ ่ งและบริการ เพือ่ สังคม (Universal Service Obligation – USO) ร้อยละ 4 อีกสายธุรกิจหนึ่งทีเ่ อไอเอสเล็งเห็นว่ามีโอกาสเติบโตสูง คือธุรกิจให้บริการชําระสินค้าและบริการผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ทนการใช้เงินสด หรือบัตรเครดิต (Mobile payment) ภายใต้การประกอบธุรกิจของบริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) ซึง่ เป็ นบริษทั ร่วมลงทุนระหว่าง เอไอเอส ในสัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 69.99 และ NTT DoCoMo ใน สัดส่วนผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 30 โดยเอเอ็มพีได้รบั อนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ประกอบธุรกิจให้บริการชําระ สินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ทนการใช้เงินสดหรือ บัตรเครดิต ภายใต้ช่อื “เอ็มเปย์ (mPAY)” ซึง่ เพิม่ ความ สะดวกและปลอดภัย แก่ลกู ค้าเอไอเอส ในการทําธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยลูกค้าสามารถใช้เอ็มเปย์ ซือ้ สินค้า online ชําระค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เติมเงินระบบ วัน-ทู-คอล! และชําระค่าสินค้าและบริการต่างๆ เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2551 เอไอเอส ได้ซอ้ื หุน้ สามัญ บริษทั เอเอ็มพี คืนทัง้ หมดจากบริษทั NTT DoCoMo โดย หลังจากการซือ้ หุน้ คืน สัดส่วนการถือหุน้ ของเอไอเอสเพิม่ เป็ นร้อยละ 99.99 ในอนาคต เอไอเอสมีแผนจะขยายธุรกิจให้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐานโดยมุง่ เน้นเรือ่ งการให้บริการด้านข้อมูล ซึง่ แตกต่างจากธุรกิจโทรศัพท์พน้ื ฐานทัวไป ่ โดยลงทุนผ่านบริษทั ย่อย บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบี เอ็น) ซึง่ เอไอเอสถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.93 ในปี 2550 เอสบีเอ็น ได้รบั ใบอนุญาตจาก กทช. เพือ่ ประกอบธุรกิจให้บริการ อินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ (Internet gateway) บริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และ บริการโทรทัศน์ผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television) ในวันที่ 17 มกราคม 2551 เอสบีเอ็น ได้รบั ใบอนุ ญาตทดสอบเทคโนโลยีไวแมกซ์จาก กทช. โดยใบอนุ ญาตดังกล่าวมีอายุ 90 วัน และสามารถทดสอบได้ในพืน้ ที่ บางส่วนที่ กทช. กําหนดเท่านัน้

ส่วนที่ 2 หน้า 18


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างบริ ษทั และบริ ษทั ในเครือ ปจั จุบนั เอไอเอสได้ลงทุนกับบริษทั ในเครือทัง้ หมด 12 บริษทั และมีพนักงานในเครือประมาณ 8,000 คน ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2550 รายละเอียดของบริษทั ในเครือมีดงั ต่อไปนี้ บริ ษทั ลักษณะการประกอบกิ จการ สัดส่วนที่ถือ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 MHz 98.55% บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค ให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ 51.00% คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซ)ี ในกรุงเทพฯ และ เขตปริมณฑล บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ 99.99% จํากัด (เอซีซ)ี บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด ให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ 49.00% (ดีเอ็นเอส) ในเขตต่างจังหวัด บริษทั ดาต้าลายไทย จํากัด (ดีแอลที) ผูใ้ ห้บริการอินเตอร์เน็ต ปจั จุบนั ได้หยุดการดําเนินงาน 65.00% และอยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จํากัด ปจั จุบนั ไม่ได้ดาํ เนินธุรกิจ 99.99% (เอ็มเอฟเอ) บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) ให้บริการชําระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ 69.99%* แทนการใช้เงินสดหรือ บัตรเครดิต บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จํากัด จําหน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card) 99.99% (เอเอ็มซี) บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น)

ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

99.99%

บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตระหว่าง จํากัด (เอสบีเอ็น) ประเทศ (Internet gateway) บริการเสียงผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และ บริการโทรทัศน์ผา่ น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television) บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด นําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีอ่ ุปกรณ์ (ดับลิวดีเอส) โทรคมนาคม

99.93%

บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค ปจั จุบนั ไม่ได้ดาํ เนินธุรกิจ จํากัด (เอดับบลิวเอ็น)

99.93%

99.99%

*เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2551 เอไอเอส ได้ซอ้ื หุน้ สามัญ บริษทั เอเอ็มพี คืนทัง้ หมดจากบริษทั NTT DoCoMo โดยหลังจาก การซือ้ หุน้ คืน สัดส่วนการถือหุน้ ของเอไอเอสเพิม่ เป็ นร้อยละ 99.99

ส่วนที่ 2 หน้า 19


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 หน้า 20


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 หน้า 21


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2.3

โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ทเ่ี กิดจากการให้บริการและขายผลิตภัณฑ์ของบริษทั และบริษทั ในเครือให้บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปีทผ่ี า่ นมา ร้อยละการถือ ปี 2548 ผลิตภัณฑ์/บริการ ดําเนินการโดย หุน้ ของบริษทั ล้านบาท ร้อยละ ณ 31 ธ.ค. 50 ธุรกิ จโทรศัพท์เคลื่อนที่ - บริการและให้เช่าอุปกรณ์ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 78,101.22 84.42 บจ. ดิจติ อล โฟน 98.55 1,785.28 1.93 บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย 99.99 บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม 99.99 - การขาย บจ. ดิจติ อล โฟน 98.55 12,067.88 13.04 บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย 99.99 รวม 91,954.38 99.39 บจ.แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ 51.00 539.61 0.58 ธุรกิ จบริ การสื่อสารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ และอิ นเตอร์เน็ต บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั่ 49.00 16.18 0.02 ความเร็วสูง บจ. ดาต้า ลายไทย 65.00 1.76 รวม 557.55 0.60 บจ. แอดวานซ์ คอนแทค เซ็นเตอร์ 99.99 4.72 0.01 ธุรกิ จบริ การให้ข้อมูลทางโทรศัพท์ รวม 4.72 0.01 รวม 92,516.65 100.00

ปี 2549

ปี 2550

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

75,223.00 98.36 15,362.54 90,683.90 728.81 7.36 1.46 737.63 6.63 6.63 91,428.16

82.27 91,991.78 0.11 912.12 1.59 984.31 16.80 9,554.41 4,164.92 99.18 107,609.13 0.80 838.75 0.01 1.58 0.81 840.33 0.01 4.59 0.01 4.59 100.00 108,454.05

หมายเหตุ : 1) บริษทั ฯ ลงทุนและเข้าถือหุน้ ในบริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ในเดือนมิถุนายน 2550 2) บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด เริม่ มีการดําเนินงานธุรกิจในเดือน ธันวาคม 2549 และมีการเปลีย่ นชือ่ จากเดิม บริษทั เอไอเอส อินเตอร์เนชันแนล ่ เน็ทเวอร์ค จํากัด ในเดือน มีนาคม 2550 3) บริษทั ดาต้าลายไทย จํากัด กําลังอยูใ่ นช่วงดําเนินการเพือ่ เลิกกิจการ

ส่วนที่ 2 หน้า 22

ร้อยละ 84.82 0.84 0.91 8.81 3.84 99.22 0.77 0.77 0.01 0.01 100.00


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

2.4

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิ จใน 3-5 ปี

เอไอเอสมุง่ มันในการพั ่ ฒนาศักยภาพเพือ่ เป็ นผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคมทีค่ รบวงจร (Total Telecom Service Provider) ซึง่ จะขยายให้ครอบคลุมมากกว่าการให้บริการเฉพาะในสายธุรกิจโทรคมนาคมสือ่ สารไร้สายเหมือนในอดีต โดยมี บริการครอบคลุมถึง ธุรกิจให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ บริการอินเตอร์เน็ตเกตเวย์สาํ หรับลูกค้าทัวไปและรายย่ ่ อย และ บริการข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ซึง่ ธุรกิจทีก่ ล่าวมานี้ เอไอเอส ได้รบั ใบอนุญาตให้ประกอบ ธุรกิจจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) และจะเป็ นสายธุรกิจหลักทีเ่ อไอเอสจะมุง่ เน้นไปในอีก 3-5 ปี ข้างหน้านี้ ในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ได้เปิดดําเนินการอย่างเป็ นทางการในการ ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศให้ลกู ค้าเอไอเอส ซึง่ รายได้จากเอไอเอ็น จะเริม่ เห็นชัด และส่งผลกระทบต่อรายได้รวม ของบริษทั ฯ ในปี 2551 เป็ นต้นไป บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) มีแผนจะให้บริการข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์พน้ื ฐาน และบริการให้เช่าอินเตอร์เน็ตเกตเวย์แก่ลกู ค้าองค์กร ซึง่ จะเริม่ ให้บริการได้ในปีชว่ งปี 2551-2552 ในอีก 3-5 ปี ขา้ งหน้านี้ เอไอเอสมีแผนจะขยายธุรกิจให้บริการสือ่ สารข้อมูลไร้สาย ซึง่ ไม่เพียงแต่ผา่ น โทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ท่านัน้ แต่รวมถึงคอมพิวเตอร์แล็ปท็อบ และคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้งานตามบ้าน ในอีกระยะเวลาไม่นานต่อ จากนี้ เอไอเอสคาดว่าการสือ่ สารด้วยเสียงจะเข้าใกล้จุดอิม่ ตัว โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ ในทางกลับกัน การสือ่ สารทางข้อมูลเพิง่ เข้าสูร่ ะยะเริม่ ต้นเท่านัน้ ในประเทศไทย อัตราส่วนรายได้ทม่ี าจากการใช้ขอ้ มูลยังอยูเ่ พียงร้อยละ 11 ของรายได้จากการให้บริการเท่านัน้ โดยปจั จุบนั จํานวนผูใ้ ช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทีใ่ ห้บริการผ่านโทรศัพท์ พืน้ ฐาน (ADSL) มีอยูป่ ระมาณ 1 ล้านคน เทียบกับจํานวนครัวเรือนทัง้ ประเทศ 16 ล้านครัวเรือน จากสถิตทิ ก่ี ล่าวมา เอไอ เอสเล็งเห็นถึงศักยภาพ และโอกาสทางธุรกิจทีม่ ที างเติบโตได้อกี มาก บริษทั ฯ จึงมีแผนทีจ่ ะขยายไปในธุรกิจดังกล่าว หากแต่ขน้ึ อยูก่ บั เทคโนโลยี และกฎระเบียบข้อบังคับจาก กทช. โดยบริษทั ฯ คาดว่าจะเริม่ ลงทุนในเทคโนโลยี 3G และ ไว แมกซ์ เป็ นหลักก่อน ในขณะนี้ ประเทศต่างๆทัวโลก ่ รวมถึงประเทศส่วนใหญ่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้รบั ใบอนุญาต 3G และ เปิดให้มบี ริการ 3G มาหลายปีแล้ว เอไอเอสคาดว่าประเทศไทยน่าจะให้ใบอนุญาต 3G ในอนาคตอันใกล้น้ี สําหรับเอไอเอส การมุง่ ไปสูเ่ ทคโนโลยี 3G หมายถึง ก) ช่วยเพิม่ รายได้จากการใช้ขอ้ มูลในอนาคต ข) เปิ ดโอกาสทางธุรกิจในสายของธุรกิจ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงสําหรับลูกค้าทัวไปและลู ่ กค้ารายย่อย และ ค) ช่วยส่งเสริมความยังยื ่ นในการทําธุรกิจในอีก 20 ปี ข้างหน้า

ส่วนที่ 2 หน้า 23


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริ การ เอไอเอส อิ นเตอร์เน็ตความเร็วสูง

มีสาย (Wire)

ไร้ สาย (Wireless)

เคลือ่ นที่ (Mobile) 3G

ไม่ เคลือ่ นที่ (Stationary)

Datafocused fixed line

WiMAX

เทคโนโลยี 3G จะสามารถใช้ได้ทงั ้ กับผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และผูใ้ ช้บริการทีไ่ ม่เคลื่อนที่ (Stationary users) เช่น ผูใ้ ช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ในขณะนี้ เทคโนโลยีทเ่ี อไอเอสให้บริการอยูน่ นั ้ มีความเร็วมากกว่า 100 Kbps (ความเร็วเฉลีย่ ต่อคน) โดยในต้นปี 2550 เอไอเอสได้พฒ ั นาเทคโนโลยี EDGE (Enhanced Data Rate for GSM Evolution) ให้มบี ริการครอบคลุมทัวประเทศ ่ โดยผลตอบรับจากผูใ้ ช้บริการดีขน้ึ อย่างมากตัง้ แต่เริม่ ให้บริการ เห็นได้จาก ปริมาณการใช้ขอ้ มูลของผูใ้ ช้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว เนื่องจากเทคโนโลยี EDGE ได้ให้ความเร็วสูงกว่า 3 เท่าเมือ่ เทียบกับเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) เดิมทีเ่ อไอเอสให้บริการอยูก่ ่อน ดังนัน้ เอไอเอส มุง่ หวังว่า เทคโนโลยี 3G ทีส่ ามารถสือ่ สารข้อมูลด้วยความเร็วสูง (ประมาณ 200 Kbps) จะช่วยส่งเสริมให้การเติบโตของรายได้จาก การใช้ขอ้ มูลเติบโตได้ไปในระยะยาว นอกจากนี้ เอไอเอส ยังมีแผนทีจ่ ะให้บริการการสือ่ สารข้อมูลด้วยความเร็วสูง (ประมาณ 1 Mbps) โดยใช้เทคโนโลยี HSPA (High Speed Packet Access) โดยจะเริม่ ทีเ่ มืองใหญ่ๆก่อน ด้วยความเร็วสูง ระดับนี้เทคโนโลยี HSPA นอกจากจะให้ความพึงพอใจกับผูใ้ ช้ขอ้ มูลผ่านโทรศัพท์มอื ถือแล้ว จะสามารถแข่งขันได้เป็ นอย่าง ดีกบั อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทีใ่ ห้บริการจากโทรศัพท์พน้ื ฐาน เช่น ADSL ในการใช้งานกับคอมพิวเตอร์แล็ปท็อบ และ คอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้งานตามบ้าน ใบอนุญาต 3G มีความสําคัญทีจ่ ะช่วยส่งเสริมความยังยื ่ นในการทําธุรกิจสําหรับเอไอเอส ในปจั จุบนั สัญญาร่วม การงานระหว่างเอไอเอส และบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) จะถึงกําหนดอายุในปี 2558 ในขณะทีใ่ บอนุญาต 3G คาดว่าจะมีอายุ 20 ปี เท่ากับใบอนุญาตแบบที่ 3 อื่นๆ ที่ กทช.เป็ นผูอ้ อก ไวแมกซ์ ( WiMAX) คือเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สายความเร็วสูงทีอ่ าศัยการส่งข้อมูลบนเครือข่ายไร้สายทีม่ คี วาม ครอบคลุมกว้าง (Wireless Metropolitan Area Network) ไวแมกซ์จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพให้แก่บริการอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง และเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีท่ บ่ี ริษทั ฯ ให้บริการอยูใ่ นปจั จุบนั เอไอเอสอาจจะสร้างเครือข่ายไวแมกซ์ ประกอบไปบนฐานของโครงข่ายและสถานีฐานทีบ่ ริษทั ฯ มีอยูแ่ ล้ว ในส่วนของลูกค้าทัวไปและรายย่ ่ อย ไวแมกซ์จะช่วยให้เอ ไอเอสเข้าถึงลูกค้าในการให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง โดยทีบ่ ริษทั ฯ ไม่ตอ้ งลงทุนในการสร้างโครงข่ายโทรศัพท์ พืน้ ฐานใหม่ทงั ้ หมด กทช. อาจไม่อนุญาตให้เอไอเอสสร้างโครงข่ายโทรศัพท์พน้ื ฐาน หรือการสร้างใหม่อาจจะมีตน้ ทุนสูง กว่ามากเมือ่ เทียบกับการใช้โครงข่ายโทรศัพท์ไร้สายทีเ่ อไอเอสมีอยูแ่ ล้ว นอกจากนี้ ไวแมกซ์ ยังอาจช่วยให้การวาง ส่วนที่ 2 หน้า 24


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงข่ายโทรศัพท์มอื ถือและการเชื่อมโยงระหว่างโครงข่ายเร็วและสะดวกยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานทางเทคโนโลยีของ ไวแมกซ์ยงั ไม่ได้มกี ารให้บริการในเชิงพาณิชย์อย่างกว้างขวาง เอไอเอส ยังต้องศึกษาในความคืบหน้าของเทคโนโลยีอย่าง ใกล้ชดิ เพือ่ วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในการนําเทคโนโลยีไปใช้ในอนาคต

ส่วนที่ 2 หน้า 25


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

3.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์

ลักษณะการให้บริการของบริษทั ฯ ในปี 2550 สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ (1)

การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยมีเอไอเอส และ DPC เป็ นผูใ้ ห้บริการ มีบริการแบบชําระค่าบริการหลัง การใช้ (Postpaid subscription service), บริการแบบชําระค่าบริการล่วงหน้า (Prepaid subscription service) บริการสือ่ สารด้วยข้อมูล (Data communications service) บริการสําหรับลูกค้านิตบิ ุคคล (Enterprise business service) การบริการความสัมพันธ์กบั ลูกค้า (Customer Relation Management) และรายได้จากการ บันทึกค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) โดยรายได้จากการให้บริการดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 87.4 ของรายได้รวม

(2)

การจําหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซิมการ์ด และอุปกรณ์ต่างๆทีเ่ กีย่ วข้อง โดยรายได้ในส่วนนี้คดิ เป็ น สัดส่วนประมาณร้อยละ 12.6 ของรายได้รวม

3.1

ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือบริ การ ผลิตภัณฑ์และบริการหลักที่เอไอเอสให้แก่ลูกค้าคือบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทงั ้ ในระบบเติมเงินและระบบชําระ ค่าบริการรายเดือน โดยมีสดั ส่วนลูกค้าในระบบเติมเงินร้อยละ 91 ของฐานลูกค้าทัง้ หมด และมีสดั ส่วนลูกค้าในระบบชําระ ค่าบริการรายเดือนร้อยละ 9 ในขณะทีส่ ดั ส่วนรายได้หลักมาจากลูกค้าระบบเติมเงินร้อยละ 66.4 และจากลูกค้าในระบบชําระ ค่าบริการรายเดือนอีกร้อยละ 24.1 ่ 24.1 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2550 เอไอเอสให้บริ การลูกค้าทัวประเทศ

ั ่วนลูกค้า สดส

ลูกค้า ระบบ ชําระราย เดือ น 9% ลูกค้า ระบบเติม เง น ิ 91%

จํานวนลูกค้า (ล้านคน)

รายได้ตอ ่ เลขหมายต่อ เดือน (บาท)ไม่รวม IC

ลูกค้าระบบเติมเงิน

21.8

227

ลูกค้าระบบชําระรายเดือน

2.3

744

24.1

279

รวม

สัดส่วนรายได้ร้อยละ 66.4 มาจากลูกค้าระบบเติ มเงิ น ส ัดส่วนรายได้ (ร้อยละ) ลูกค้าระบบเติมเงิน

66.4

ลูกค้าระบบชําระรายเดือน

24.1

อืน ่ ๆ

9.5 รวม

ส่วนที่ 2 หน้า 26

100.0


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่แบบชําระค่ าบริการรายเดือนและแบบเติมเงิน GSM advance

GSM 1800 วัน-ทู-คอลล์!

สวัสดี

บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบชําระค่าบริการเป็ นรายเดือน สําหรับกลุ่มเป้าหมายคนทํางานรุ่น ใหม่ นักธุรกิจและเจ้าของกิจการที่มคี วามคิดทันสมัยในหัวเมืองใหญ่ ชื่นชอบเทคโนโลยี และ ต้องการคุณภาพในการติดต่อสือ่ สาร บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชําระค่าบริการเป็ นรายเดือน สําหรับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการใช้ บริการแบบพืน้ ฐาน ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบเติมเงิน กลุ่มเป้าหมายหลักเป็ นวัยรุน่ และคนรุ่นใหม่ทม่ี สี ไตล์เป็ น ตัวของตัวเอง กล้าคิด กล้าทํา กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ และมีศกั ยภาพสูงในการใช้บริการ เสริมต่างๆ บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบเติมเงิน กลุม่ เป้าหมายหลักคนวัยทํางานในเขตภูมภิ าคหรือผูใ้ หญ่ ที่เริ่มใช้โทรศัพท์เป็ นเครื่องแรก สําหรับเน้ นการรับสายหรือต้องการควบคุมค่าใช้จ่ายและ ระยะเวลาการใช้งานทีน่ านขึน้

โปรโมชันภายในปี ่ 2550 สําหรับลูกค้าระบบชําระรายเดือน GSM 99 – โปรแกรมทีม่ อบความคุม้ ค่ากับค่าเหมาจ่ายเพียง 99 บาทต่อเดือนและอัตราค่าโทรพิเศษทีใ่ ห้ลกู ค้าจ่ายเพียง 5 นาที แต่สามารถใช้งานได้นานถึง 1 ชัวโมง ่ ตะลึง – ให้ลกู ค้าควบคุมการใช้งานได้ผา่ นค่าโทรทีไ่ ด้รบั เป็ นรายวัน โดยสามารถโทรได้ในเครือข่ายสูงสุดถึง 40 นาทีต่อวัน ตลอด 24 ชัวโมง ่ ตรง ตรง – รับสิทธิ ์โทรได้ 2 เท่า ในเครือข่ายเอไอเอส ด้วย 4 ทางเลือกเหมาจ่ายตามพฤติกรรมการใช้งาน ขัน้ ตํ่าที่ 300 บาท โทรได้ 600 บาท และ สูงสุดที่ 1,200 บาท โทรได้ 2,400 บาท GSM แรง – โปรแกรมค่าโทรบุฟเฟต์ซง่ึ มีชว่ งเวลาทีใ่ ห้ลกู ค้าสามารถเลือกโทรได้ภายในเครือข่ายเอไอเอส โดยเหมาจ่ายที่ ขัน้ ตํ่าที่ 159 บาท และ 299 บาท สําหรับลูกค้าระบบเติ มเงิ น เอาไปเลย – เสนอค่าโทรอัตราพิเศษสุดตามความต้องการของตลาด เช่น นาทีละ 50 สตางค์, 25 สตางค์ SIM Fifty – รับความคุม้ ค่ากับโปรแกรมอัตราค่าโทรพิเศษตํ่าสุดเพียง 25 สตางค์ทุกเครือข่ายตลอด 24 ชัวโมง ่ พร้อมซิม การ์ดราคาพิเศษเพียง 50 บาท ซิ มแม่ยก – โปรแกรมใหม่ทค่ี ุม้ ค่าจากสวัสดี ราคาซิม 50 บาท ค่าโทร 2 บาทต่อนาที สําหรับการโทรทุกเครือข่ายตลอด 24 ชัวโมง ่

ส่วนที่ 2 หน้า 27


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ซิ มหมู่เฮา – โปรแกรมค่าโทรสําหรับลูกค้าในภาคอีสานทีต่ อ้ งการติดต่อกับญาติ พีน่ ้อง ซึง่ ไปทํางานต่างพืน้ ที่ โดยให้อตั รา ค่าโทรพิเศษ 50 สตางค์ ในนาทีทส่ี องเป็ นต้นไป เมือ่ โทรออกจากพืน้ ทีภ่ าคอีสาน ยืดหยุ่น – สําหรับลูกค้าทีบ่ างครัง้ คุยสัน้ บางครัง้ คุยยาว ไม่ตอ้ งกังวลกับค่าบริการ ด้วยค่าโทรทีป่ รับเปลีย่ นตามพฤติกรรม การใช้งาน หากโทรสัน้ กว่า 3 นาทีคดิ แบบโทรสัน้ หากโทรเกิน 3 นาทีคดิ แบบโทรยาว ซิ มจาวเหนื อ – โปรแกรมค่าโทรสําหรับลูกค้าภาคเหนือ 18 จังหวัด ด้วยค่าโทรอัตราพิเศษเพียง 1 บาทในนาทีทส่ี องเป็ นต้น ไป เมือ่ โทรออกจากพืน้ ทีภ่ าคเหนือ 5 โปรแกรม สําหรับลูกค้าทีม่ คี วามต้องการทีแ่ ตกต่างกัน เอไอเอสเสนอให้ลกู ค้าได้เลือกจาก 5 โปรแกรมหลักตามลักษณะ การใช้งานดังนี้ - โทรสัน้ โทรยาว โทรกลางวัน โทรกลางคืน หรือชอบ SMS T SIM – โปรแกรมค่าโทรสําหรับกลุม่ นักเรียน วัยพรีทนี ซึง่ เพิม่ เริม่ ต้นใช้งานมือถือ โดยจะได้รบั อัตราค่าโทรพิเศษตํ่าสุด เพียง 25 สตางค์ตงั ้ แต่นาทีท่ี 2 เป็ นต้นไป พร้อมรับบริการเสริมราคาพิเศษเพียง 1 บาท/นาทีสาํ หรับ SMS และ 3 บาท/นาที สําหรับ MMS บริ การเสริ มด้านข้อมูล (Non-voice service) บริการเสริมของเอไอเอสในปี 2550 มีการเติบโตร้อยละ 17 เมือ่ เทียบกับปีทผ่ี า่ นมา และคิดเป็ นอัตราส่วนร้อยละ 11 ของรายได้จากการให้บริการ (ไม่รวม IC) บริการด้านข้อมูลทีเ่ ป็ นรายได้หลักประกอบไปด้วยบริการส่งข้อความแบบสัน้ (SMS) บริการส่งข้อความภาพและเสียง (MMS) บริการดาวน์โหลด บริการเสียงรอสาย (Calling Melody) และการบริการด้าน ข้อมูล (Data & Portal) อัตราการเติบโตในปี ทผ่ี า่ นมาเป็ นผลมาจากการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้วยเทคโนโลยี EDGE ที่ ครอบคลุมในหลายพืน้ ทีท่ วประเทศ ั่ ซึง่ ช่วยให้ลกู ค้ามีประสบการณ์การใช้งานด้านข้อมูลทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ กว่าเดิม ในปีทผ่ี า่ นมา เอไอเอสได้พฒ ั นา AIS mobileINTERNET *900 เมนูทย่ี อ่ โลกอินเตอร์เน็ต ไว้บนโทรศัพท์มอื ถือ ซึง่ เป็ นบริการด้านการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยใช้รปู แบบไอคอน (icon) ทีล่ กู ค้าสามารถเลือกปรับเปลีย่ นได้เอง ตามใจ โดยรวมรวมการเช็คเมล์ แชต (chat) บนมือถือ การค้นหาข่าวสารข้อมูลต่างๆ คลังเพลงบนมือถือ เกมส์ หนัง และ อื่นๆ อีกมากมาย รวมถึงการร่วมมือกับกูเกิล (Google) เปิดแนวคิด mobile internet ส่งผลให้ผใู้ ช้บริการเข้ามาใช้บริการ ด้านข้อมูลเพิม่ ขึน้ เป็ นจํานวนมาก การทําตลาดด้านเพลงอย่างต่อเนื่องก็เป็ นอีกความสําเร็จในปีทผ่ี า่ นมาสําหรับเอไอเอส โดยการเปิดตัว mobileLIFE Music ซึง่ เป็ นแคมเปญในการกระตุน้ การใช้งานและดาวน์โหลดเพลงในรูปแบบต่างๆ ทัง้ เสียงเรียกเข้าริงโทน (Ringtone) ส่งเพลงให้เพือ่ นฟงั ผ่าน M2G การดาวน์โหลดเพลงแบบเต็มเพลง (Full song download) รวมทัง้ สร้าง พฤติกรรมการใช้งานโดยให้ทดลองใช้บริการทีเ่ กีย่ วกับเพลงและข้อมูลทีน่ ่าสนใจ ส่งผลให้ยอดของค่าบริการด้านข้อมูลแบบ เหมาจ่ายรายเดือน (mobileNET Package) เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง เอไอเอสพยายามกระตุน้ การใช้บริการเสริมในด้านต่างๆ โดยให้ความสําคัญกับความเข้าใจของผูบ้ ริโภคทีม่ ตี ่อ บริการ และให้ผบู้ ริโภคได้รบั บริการทีต่ รงกับความต้องการและเหมาะสมกับพฤติกรรมของตนเอง เช่น ให้ทดลองการส่ง ข้อความภาพและเสียง (MMS) ฟรี 15 นาทีต่อวัน (MMS Daily Free Time) ซึง่ สามารถเพิม่ จํานวนผูใ้ ช้งานเพราะมีความ เข้าใจในบริการก่อนทีผ่ บู้ ริโภคจะตัดสินใจใช้บริการ ส่วนที่ 2 หน้า 28


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริ การทางการเงิ นผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ mPAY mPAY เป็ นบริการชําระค่าสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์มอื ถือซึง่ เอไอเอสริเ่ ริม่ มาประมาณสองปี โดยเปิด ให้บริการต่างๆ เช่น เติมเงิน One-2-Call!, ชําระค่าโทรศัพท์มอื ถือ GSM advance, ชําระค่าสาธารณูปโภค ชําระค่าสินค้า และบริการต่างๆ ผ่านระบบ On Line, ตูน้ ้ําอัตโนมัติ เป็ นต้น โดยมีพนั ธมิตรทีเ่ ป็ นธนาคารใหญ่ 6 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา, ธนาคารไทยพาณิชย์, ธนาคารยูโอบี, ธนาคารกรุงเทพ, ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารกรุงไทย ในปี 2550 เอ ไอเอส ได้ขยายบริการ mPAY เพิม่ เติมโดยการเปิดบริการ mAGENT คือตัวแทนของ mPAY ทีส่ ามารถให้บริการเติมเงิน ให้กบั ลูกค้า One-2-Call! ผ่านโทรศัพท์มอื ถือ บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ รหัส 005 ในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา เอไอเอสได้เปิ ดบริการใหม่ คือ การให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศผ่านรหัส 005 ด้วยบริการคุณภาพระดับพรีเมีย่ ม (Premium Quality) ทีเ่ น้นให้ลกู ค้าโทรติดง่าย สัญญาณเสียงคมชัด และสายไม่หลุด ซึง่ สามารถโทรไปได้ 230 ประเทศทัวโลก ่ โดยช่วงแรกของการเปิ ดให้บริการ จะเน้นการสร้างแบรนด์และการรับรูใ้ ห้กบั ลูกค้า เป็ นหลัก เนื่องจากรหัสเลขหมายการโทรออก เป็ นปจั จัยสําคัญสําหรับตลาดโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ โดยได้มกี าร เผยแพร่ไปตามสือ่ รวมทัง้ การจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ลูกค้ารับรูแ้ ละทดลองใช้บริการ โดยในปี 2550 รายได้จากการ ให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศนี้คดิ เป็ นสัดส่วนร้อยละ 0.91 ของรายได้รวม บริ การสําหรับลูกค้านิ ติบคุ คล (Enterprise business service) เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั ่ ในฐานะผูใ้ ห้บริการกลุ่มลูกค้านิตบิ ุคคล ได้มสี ว่ นในการช่วยเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขัน ทางธุรกิจของทัง้ กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่และกลุ่มธุรกิจเอสเอ็มอี ซึง่ ครอบคลุมธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม เช่น การเงิน และการประกันภัย ธุรกิจพลังงานและการผลิต การสื่อสารและสารสนเทศ การการค้าและบริการ รวมไปถึงหน่ วยงาน ราชการและสถาบันการศึกษา โดยมีเน้นการพัฒนาโซลูชนเดิ ั ่ มให้มปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ เพือ่ รองรับความต้องการใช้งานของ ลูกค้าทีห่ ลากหลาย เช่น Push Mail, SMS Solution เป็ นต้น Push Mail เป็ นโซลูชนที ั ่ ช่ ่วยให้ลกู ค้าสามารถรับส่งอีเมล์ได้ทุกทีท่ ุกเวลา มีความปลอดภัย เชื่อถือได้และรองรับการใช้งาน กับอุปกรณ์ทห่ี ลากหลาย ซึง่ โซลูชนนี ั ่ ้จะช่วยเพิม่ ความได้เปรียบในการทําธุรกิจและสร้างความแตกต่างเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ในปี 2550 เอไอเอส สมาร์ทโซลูชนั ่ ได้ทาํ การพัฒนา Push Mail ให้สามารถรองรับการใช้งานกับ Mail Server ของลูกค้าที่ มีความหลากหลาย โดยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทคือ BlackBerry, Microsoft และ Nokia Intellisync SMS Solution ทาง เอไอเอส สมาร์ทโซลูชนั ่ ได้พฒ ั นาการใช้งาน SMS ให้เหมาะสมกับประเภทธุรกิจและความต้องการใช้ งานของลูกค้า ไม่วา่ จะเป็ นด้านปริมาณและรูปแบบการใช้งาน ตัวอย่างเช่น การใช้ SMS แจ้งตารางเรียนและผลการเรียน ให้กบั นักศึกษารามคําแหง การส่ง SMS Broadcast ให้กบั ผูช้ มในงานนิทรรศการต่างๆ การขายและจัดจําหน่ ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Sales and distribution of mobile handsets) เอไอเอสดําเนินธุรกิจการขายและจัดจําหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนทีผ่ ่านบริษทั ย่อยในนาม บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) โดยในปี 2550 รายได้จากการขายเครื่องลูกข่ายคิดเป็ นอัตราส่วนร้อยละ 11.9 ของรายได้ รวมบริษทั ฯ ในปี ทผ่ี ่านมาเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นรุ่นระดับล่างทีม่ รี าคาตํ่ามีสดั ส่วนทางการตลาดเพิม่ มากขึน้ เนื่องจาก ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่มกี ารขยายไปในกลุ่มลูกค้าต่างจังหวัด อีกทัง้ มีจํานวนผูใ้ ช้บริการที่นิยมมีมากกว่าหนึ่งหมายเลข (Multi-SIM users) มากขึน้ ทัง้ นี้บริษทั ฯ มีการจัดจําหน่ายสินค้าหลากหลายแบรนด์ รวมถึง โนเกีย โมโตโรล่า แอลจี โซนี่อี ริคสัน ซัมซุง ในปีทผ่ี า่ นมานอกเหนือจากแบรนด์ดงั กล่าวแล้ว บริษทั ดับลิวดีเอส ยังได้พฒ ั นาเครื่องโทรศัพท์ทเ่ี ป็ นแบรนด์ ส่วนที่ 2 หน้า 29


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ของบริษทั เอง (House brand) ในชื่อ โฟนวัน (Phone One) ซึง่ เริม่ เปิดตัวครัง้ แรกในเดือน กรกฎาคม การบริ หารความสัมพันธ์ลกู ค้า (Customer Relationship Management) เอไอเอสได้ให้ความสําคัญเป็ นอย่างยิง่ กับการครองใจลูกค้าในระยะยาวเพื่อให้การดําเนินธุรกิจเติบโตบนรากฐาน ทีม่ นคง ั่ ใน 2550 เอไอเอสได้มุ่งเน้นการยกระดับงานบริการ นําเสนอนวัตกรรมการบริการใหม่ ๆ และสิทธิพเิ ศษต่างๆ ให้กบั ลูกค้า และมีการวัดผลความผูกพันของลูกค้า (Customer Engagement) ซึง่ สะท้อนจากคุณภาพบริการทุกๆ ส่วนของ องค์กร เอไอเอสได้ลงทุนพัฒนาระบบการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงลึก (Data Mining and Customer Insights) ประกอบกับการ รวบรวมความคิดเห็นจากลูกค้าโดยตรงที่ผ่านมาทาง Touch Pont ต่างๆ (Voice of Customer) และการทําวิจยั (Research) เพื่อให้การพัฒนาบริการต่างๆ อยู่บนพืน้ ฐานของความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ยังมีการ ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานบริการ (Mystery Shopper) รวมทัง้ การสัมผัสงานบริการด้วยตนเองของผูบ้ ริหารระดับสูง (Management Visit) ดังนี้ 1) การยกระดับพืน้ ฐานงานบริการทัวประเทศ ่ เอไอเอสให้ความสําคัญกับสิง่ ทีเ่ ป็ นคุณค่าหลัก (Core Value) ในใจลูกค้า คือ ความสะดวกรวดเร็ว ความถูกต้องสมบูรณ์ พนักงานจะต้องให้คําแนะนําช่วยเหลือได้ดว้ ยความเป็ นมิตร เอาใจใส่ และเข้าใจความต้องการของลูกค้า มีการปรับลดกระบวนการภายในมีความยืดหยุ่น เพื่อเพิม่ ความสะดวกให้ลูกค้า ได้มากยิง่ ขึน้ ปรับเปลีย่ นบรรยากาศภายในสํานักงานสาขาให้อบอุ่นเป็ นกันเองมากยิง่ ขึน้ และจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อ สร้างความใกล้ชดิ และบรรลุเป้าหมายทีต่ อ้ งการให้พนักงานของเอไอเอส เป็ น “The most pleasant people to interact with” และให้สาํ นักงานบริการของเอไอเอส เป็ น “The most pleasant place to visit” ในใจลูกค้า 2) การนําเสนอนวัตกรรมการบริการใหม่เพือ่ เพิม่ ความสะดวกสบายให้กบั ลูกค้า ▪ บริการให้คาํ ปรึกษาด้านโปรโมชัน่ (Promotion Consultancy) เพื่อช่วยให้ลกู ค้าสามารถตัดสินใจเลือกใช้แพ็คเกจ ที่เหมาะสมกับพฤติกรรมอย่างแท้จริงโดยได้รบั คําแนะนํ าและวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้งานจากเจ้าหน้าที่ AIS Call Center และสํานักงานบริการเอไอเอส ▪ บริการ Calling Melody แบบ Face-to-Face Singing Call Center ซึง่ ไห้ลกู ค้าสนุ กสนานมากยิง่ ขึน้ กับการเลือก เพลง Calling Melody โดยสามารถเห็นหน้าพนักงานทีร่ อ้ งเพลงตัวอย่างให้ฟงั ได้ ▪ บริการ SMS 1175 ทีใ่ ห้ลกู ค้าฝากเสียงเพื่อให้พนักงานทําหน้าทีส่ ง่ ข้อความ SMS แทนได้ โดยเอไอเอสได้เปิ ด โอกาสให้ผพู้ กิ ารทางสายตาทําหน้าทีเ่ ป็ นผูใ้ ห้บริการซึ่งถือว่าลูกค้ามีสว่ นร่วมอย่างยิง่ ในโครงการตอบแทนสังคม ดังกล่าว ▪ บริการ Multi-Language เพื่อรองรับการเพิม่ ขึน้ ของลูกค้าต่างชาติ โดยพนักงาน AIS Call Center สามารถ ให้บริการได้ถงึ 5 ภาษา ได้แก่ อังกฤษ จีน (แมนดาริน) เกาหลี ญีป่ นุ่ ฝรังเศส ่ นอกจากนี้ยงั มีการใช้ภาษาท้องถิน่ ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้เพือ่ เป็ นการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมไทยอีกด้วย 3) การนํ าเสนอสิทธิพเิ ศษ (Privilege) ทีง่ า่ ยต่อการใช้งาน ใช้ได้จริงในชีวติ ประจําวันและครอบคลุมทัวประเทศ ่ ภายใต้ โครงการ “เอไอเอส พลัส” โดยเน้นตอบสนองรูปแบบการใช้ชวี ติ ของลูกค้าซึง่ อยูภ่ ายใต้ 3 แกนหลัก ▪ หมวด Shopping มอบคูปองส่วนลดหรือส่วนลดทีพ่ เิ ศษทีห่ า้ งสรรพสินค้า Central, The Mall, The Emporium, และ Siam Paragon รวมทัง้ โปรแกรมช้อปโทรฟรีทร่ี ว่ มกับ Big C และ Carrefour ทีใ่ ห้โบนัสโทรฟรีสาํ หรับการใช้ จ่ายในสินค้าทีร่ ว่ มรายการ ▪ หมวด Dining ให้สว่ นลดร้านอาหารมากกว่า 3,000 ร้านค้าใน 76 จังหวัดทัวประเทศ ่ พร้อมจัดแคมเปญ “อิม่ อร่อย มือ้ นี้ ลุน้ ทานฟรีกบั เอไอเอส พลัส” เพือ่ ลุน้ บัตรทานอาหารฟรีหนึ่งพันบาท ส่วนที่ 2 หน้า 30


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

▪ หมวด Entertainment จัดแคมเปญ “สนุ กทุกไลฟ์สไตล์ 60 บาทราคาเดียวกับเอไอเอส” ซึง่ ให้ลกู ค้าดูภาพยนตร์ ร้องคาราโอเกะ และโยนโบว์ลงิ่ ในเครือเมเจอร์ในราคาเดียวตลอดทัง้ ปี 3.2

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ปี 2550 ส่ว นแบ่งการตลาดโทรศ ัพท์เคลือ ่ นที่ปี 2549

เอไอเอส 19.5 ล้าน 49% อืน ่ ๆ 0.7 ล้าน 1%

ั เคลือ สว่ นแบ่งการตลาดโทรศพท์ ่ นที่ปี 2550

ดีแทค 12.2 ล้าน 31%

เอไอเอส 24.1 ล้าน 46%

ทรูมูฟ 7.6 ล้าน 19%

อืน ่ ๆ 0.8 ล้าน 1%

อัตราผูใ้ ช้บริ การร้อยละ 62 ต่อจํานวนประชากร

ดีแทค 15.8 ล้าน 30% ทรูมูฟ 12.08 ล้าน 23%

อัตราผูใ้ ช้บริ การร้อยละ 82 ต่อจํานวนประชากร

ในปี 2550 ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนทีม่ อี ตั ราการเติบโตร้อยละ 32 โดยคิดเป็ นจํานวนผูใ้ ช้บริการเพิม่ ขึน้ 13 ล้าน คน ซึง่ เป็ นยอดทีใ่ กล้เคียงกันกับในปีก่อนทีผ่ า่ นมา ทําให้ยอดผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีข่ องทัง้ ตลาด ณ สิน้ ปี 2550 มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 53 ล้านคน หรือคิดเป็ นอัตราผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Penetration rate) ร้อยละ 82 ของจํานวนประชากรทัง้ ประเทศ การ เติบโตของจํานวนผูใ้ ช้บริการนี้เกิดจากการทีผ่ ใู้ ห้บริการมีการแข่งขันกันมากขึน้ ในด้านการเพิม่ ฐานจํานวนลูกค้า โดยใช้กล ยุทธ์การแจกซิมการ์ดฟรีเพื่อให้ลกู ค้าเกิดการทดลองใช้งานเครือข่ายตนเอง ประกอบกับการใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาสําหรับซิม ที่เปิ ดบริการใหม่ซ่งึ มีราคาถูกกว่าแต่ให้เป็ นระยะเวลาสัน้ ส่งผลให้ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เริม่ มีพฤติกรรมการใช้มอื ถือที่ เปลีย่ นไปจากเดิม โดยมีลกู ค้าทีห่ นั มาใช้โทรศัพท์เคลื่อนทีม่ ากกว่า 1 เบอร์ (Multiple SIM User) เป็ นจํานวนมากขึน้ โดย ลูกค้ากลุ่มนี้จะเลือกโทรออกจากเบอร์ท่มี โี ปรโมชันถู ่ กกว่า หรือใช้เพื่อเน้นโทรภายในเครือข่ายซึ่งมีอตั ราค่าโทรที่ถูกกว่า การโทรข้ามเครือข่าย ลูกค้าอีกกลุ่มเป็ นลูกค้าหมุนเวียน (Replacement SIM) คือมีการเปลีย่ นเบอร์บ่อย เนื่องจากเบอร์ ใหม่มโี ปรโมชันถู ่ กกว่าเบอร์เดิม ซึง่ มักเกิดกับลูกค้าทีม่ งี บประมาณจํากัดหรือมีโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ พียงเครือ่ งเดียว การกระตุน้ ตลาดให้เติบโตด้วยวิธนี ้ีทาํ ให้มยี อดผูใ้ ช้บริการซึง่ นับจากเบอร์ทเ่ี ปิ ดใช้บริการหรือซิมการ์ดมีจาํ นวนสูง กว่าจํานวนผูใ้ ช้บริการที่แท้จริง ส่งผลให้รายได้ต่อผูใ้ ช้บริการมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และมีอตั ราการยกเลิกการใช้ บริการ (churn rate) สูงขึน้ ในขณะทีอ่ ุตสาหกรรมมีการเติบโตขงรายได้โดยรวมน้อยกว่าอัตราการเติบโตของจํานวน ผูใ้ ช้บริการ จากอัตราผูใ้ ช้บริการที่รอ้ ยละ 82 ของจํานวนประชากรทัง้ ประเทศ โดยมีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ค่อนข้างมาก กรุงเทพและหัวเมืองใหญ่ถอื ได้วา่ เป็ นตลาดทีเ่ ข้าสูจ่ ุดอิม่ ตัว (saturated market) เนื่องจากมีอตั ราผูใ้ ช้บริการ ต่อประชากรสูงในระดับใกล้เคียงร้อยละ 100 – 120 ในขณะทีต่ ่างจังหวัดในหลายพืน้ ทีโ่ ดยเฉพาะในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือยังคงมีอตั ราผูใ้ ช้บริการเพียงร้อยละ 30-40 อย่างไรก็ตาม เอไอเอสประมาณการว่าอัตราผูใ้ ช้บริการที่ แท้จริงในปจั จุบนั คิดเป็ นเพียงร้อยละ 55 – 60 ของจํานวนประชากรทัง้ ประเทศ ตัวเลขเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า ตลาด โทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นประเทศยังมีโอกาสในการเติบโตของจํานวนผูใ้ ช้บริการ โดยเฉพาะในเขตภูมภิ าค ซึ่งจะเป็ นตลาดที่ผู้ ให้บริการทุกรายมุง่ เน้นทีจ่ ะขยายต่อไป การแข่งขันทางด้านราคาในปี 2550 โดยรวมถือว่ามีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่องจากในปี 2549 เนื่องจากผู้ ให้บริการมีภาระผูกพันจากค่าเชื่อมโยงเครือข่าย (Interconnection Charge) โดยเน้นเป็ นการให้โปรโมชันเฉพาะสํ ่ าหรับซิม ทีเ่ ปิ ดบริการใหม่ มีราคาถูกแบบจํากัดเครือข่ายหรือช่วงเวลาและเปิดให้ลกู ค้าใช้ได้เพียงในระยะเวลาสัน้ ๆ และตลอดทัง้ ปี ผู้ ให้บริการได้มกี ารปรับราคาขึน้ สําหรับโปรโมชันที ่ ใ่ ห้กบั ซิมใหม่อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นที่ 1) การปรับราคาทีค่ ดิ ในนาที แรกและนาทีทส่ี อง 2) รูปแบบการคิดราคาเริม่ ปรับเปลีย่ นจากแบบบุฟเฟ่ต์ให้อยู่ในรูปแบบการคิดค่าโทรต่อนาทีมากขึน้ ส่วนที่ 2 หน้า 31


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

และ 3) การปรับการโทรเหมาจ่ายเป็ นช่วงเวลาให้มจี ํากัดระยะเวลาในการโทรแต่ละครัง้ เพื่อให้การใช้เครือข่ายมี ประสิทธิภาพดีขน้ึ 4) ราคาค่าโทรทีค่ ดิ อัตราพิเศษสําหรับการใช้งานภายนอกเครือข่ายก็มกี ารปรับให้สงู ขึน้ เพื่อให้รองรับ ต้นทุนจากค่าเชื่อมโยงโครงข่าย และในช่วงครึง่ ปี หลัง ตลาดก็เริม่ มีการปรับราคาขึน้ สําหรับลูกค้าปจั จุบนั ในฐาน ซึ่งเป็ น สัญญาณทีด่ วี า่ ผูใ้ ห้บริการพยายามลดความสําคัญในเรือ่ งการแข่งขันด้วยมิตริ าคา กลยุทธ์การตลาดของเอไอเอส ส่วนแบ่งตลาดของจํา นวนผู ้ใช้บริการในปี 2550

ส่ว นแบ่งตลาดของรายได้จากการให้บริการในปี 2550

อื่นๆ 1% ทรูมูฟ 16%

ทรูมูฟ 23% ดีแทค 30%

ดีแทค 33%

เอไอเอส 46%

เอไอเอส 51%

ณ สิน้ ปี 2550 เอไอเอสมีสว่ นแบ่งตลาดของจํานวนผูใ้ ช้บริการ (Subscriber market share) คิดเป็ นร้อยละ 46 ลดลงจากร้อยละ 49 ในปี ก่อนที่ผ่านมา เนื่องจากคู่แข่งใช้กลยุทธ์ในการแจกซิมการ์ดค่อนข้างมาก และวิธนี ับจํานวน ผูใ้ ช้บริการทีแ่ ตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในด้านส่วนแบ่งตลาดของรายได้จากการให้บริการ (Revenue market share) เอไอเอสยังคงสัดส่วนครึง่ หนึ่งของตลาด หรือร้อยละ 51 สําหรับรายได้ของปี 2550 เอไอเอสมีกลยุทธ์ทางการตลาด เพือ่ รักษาฐานลูกค้าและรายได้ในปี ทผ่ี า่ นมาซึง่ มุง่ เน้นในด้านต่างๆ ดังนี้ การสร้างความแตกต่างด้วยการพัฒนารูปแบบบริ การใหม่ (Differentiation by variety of services) การพัฒนาและนําเสนอรูปแบบบริการใหม่อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความแตกต่างเหนือคู่แข่งเป็ นอีกกลยุทธ์ทเ่ี อไอ เอสนํ ามาใช้ในภาวะการแข่งขันด้านราคา ให้ลูกค้าได้เห็นถึงประโยชน์ท่ไี ด้รบั มากกว่าการคํานึงถึงมิตทิ างด้านราคาแต่ เพียงอย่างเดียว ให้ผู้ใช้บริการเห็นอย่างชัดเจนว่าการเลือกใช้บริการของเอไอเอสมีจุดเด่นในบริการที่แตกต่างจากผู้ ให้บริการรายอื่นนอกเหนือจากโปรแกรมค่าโทรทีจ่ งู ใจ เป็ นการสร้างความพึงพอใจให้ลกู ค้าเดิมและจูงใจให้ลกู ค้าใหม่เข้ามา ใช้บริการเพิม่ ขึน้ ด้วย ตัวอย่างบริการทีเ่ ปิ ดใหม่ในปี 2550 เช่น บริการ “โอนเงิ น โอนวัน” (Balance & validity transfer) ทีใ่ ห้ลกู ค้า สามารถโอนจํานวนเงิน และ/หรือ จํานวนวัน ที่เหลือของตนเองให้กบั ลูกค้าอีกคนได้ เป็ นการต่อยอดจากบริการ “ออกให้ นะ” และ “เติมให้นะ” ที่ประสบความสําเร็จจากปี ก่อน และเป็ นการเน้นยํ้าแนวคิด “อิสระ” ภายใต้แบรนด์วนั ทูคอลล์ด้วย หรือ บริ การสังได้ ่ ดงใจ ั ่ เวอร์ชนั ่ 2.0 ภายใต้แบรนด์จเี อสเอ็ม แอดวานซ์ ทีร่ วบรวมหลากหลายบริการเสริมเพื่อตอบสนอง การสือ่ สารทีม่ ากกว่าการโทรศัพท์เพียงอย่างเดียว เช่น บริ การเลือกไม่โชว์เบอร์ (Private number) เพื่อรักษาความเป็ น ส่วนตัวของลูก ค้า ในกรณีท่ีไ ม่ต้องการให้ห มายเลขปลายทางทราบเบอร์ท่ีโ ทรเข้า ไปหา, บริ ก ารเลื อกรับ สาย (Call screening) สําหรับในเวลาที่ลูกค้าติดธุระและไม่ต้องการถูกรบกวน แต่สามารถเลือกให้เฉพาะบางหมายเลขที่ให้ ความสําคัญสามารถติดต่อเข้ามาหาได้เท่านัน้ และมีบริการเช็คอีเมล์ในรูปแบบของ Instant Mail เตือนทุกครัง้ เมื่อมีเมล์เข้า มาใหม่ผ่าน AIS Push M@il บริการป้อนข่าวสารประจําวันแบบวิเคราะห์เจาะลึกทัง้ ภาพและเสียงผ่าน TV on Mobile by ROK TV และ MMS news by Nation Channel และบริการท่องโลกกับ Google Earth บนมือถือผ่านทาง Google MAP รวมไปถึงบริการโทรทางไกลระหว่างประเทศผ่านรหัส 005 จากบริษทั ในเครือของเอไอเอส การชําระสินค้าและบริการ ต่างๆ และการเติมเงินระบบพรีเพดผ่านมือถือด้วยบริการ mPAY เป็ นต้น ส่วนที่ 2 หน้า 32


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การสร้างจุดแข็งของตราสิ นค้า (Strengthen brand positioning) เอไอเอสได้มกี ารสร้างแบรนด์ทแ่ี ตกต่างกันทัง้ สามแบรนด์ตามกลุ่มเป้าหมายลูกค้าทีแ่ ตกต่างกันตามรูปแบบการ ใช้งานและการใช้ชวี ติ ประจําวัน เพือ่ ให้ลกู ค้าในแต่ละกลุม่ เกิดความผูกพันกับแบรนด์ทเ่ี ลือกใช้ การสร้างจุดแข็งของแบรนด์ มีทงั ้ การทําผ่านสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ วิทยุ และการจัดกิจกรรมที่แตกต่างกัน เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายของแต่ละ แบรนด์ GSM advance ในปี 2550 ยังคงเน้นการสร้างความรูส้ กึ ผูกพันกับลูกค้าภายใต้แนวคิด ตัวคุณ จีเอสเอ็ม ของคุณ (Your GSM Your ID) ซึง่ พร้อมทีจ่ ะอยูเ่ คียงข้างทัง้ ในชีวติ ส่วนตัวและการดําเนินธุรกิจได้อย่างมันใจ ่ ผ่านทางบริการทีไ่ ด้พฒ ั นา อย่างต่อเนื่องไม่วา่ จะเป็ นโปรแกรมค่าโทรพิเศษ บริการไร้สายบนมือถือทีใ่ ห้ชวี ติ สังได้ ่ ดงั ใจ รวมทัง้ สิทธิพเิ ศษต่างๆ ที่ สอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของคนรุน่ ใหม่ One-2-Call! ในปีทผ่ี า่ นมาเอไอเอสได้ขยายกลุม่ เป้าหมายของแบรนด์ One-2-Call! จากเดิมทีเ่ ป็ นนักศึกษาลงไปยังกลุม่ เด็กนักเรียนมัธยมศึกษา ด้วยบริการคุณภาพ ณ ระดับราคาทีส่ มเหตุสมผลและยังคงมุง่ เน้นทีจ่ ะสร้างความแข็งแกร่งของ One-2-Call! ภายใต้แนวความคิด “อิสระ” (Freedom) ทีส่ นับสนุนเยาวชนให้กล้าคิดกล้าฝนั เพือ่ ค้นหาสิง่ ทีเ่ หมาะกับตนเอง และกล้าลงมือทําฝนั ให้เป็ นจริงผ่านกิจกรรมต่างๆ ทัง้ ด้านกีฬา ภาพยนตร์และดนตรี โดยในปี 2550 One-2-Call! ได้รเิ ริม่ “โครงการ One-2-Call! U Band Battle’07” โดยเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาระดับมหาวิทยาลัยประกวดแต่งเพลงเพือ่ สร้าง ประสบการณ์ดา้ นดนตรีให้กบั เยาวชนและประสบการณ์ทด่ี กี บั One-2-Call! สวัสดี การเลือกใช้ช่อื “สวัสดี” เพือ่ ส่งเสริมเอกลักษณ์ความเป็ นไทย โดยในปี 2550 กิจกรรมทางการตลาดส่วนใหญ่จะเป็ น กิจกรรมทีเ่ ข้าไปทําในระดับอําเภอและหมูบ่ า้ นโดยตรง หรือ Localized Marketing โดยอาศัยการสือ่ สารแนวใหม่ “กระแส นิยมท้องถิน่ ” ที่ใช้บทเพลงลูกทุ่งที่สะท้อนสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยไปสู่ลูกค้าเป้าหมายในพื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่ง นําเสนอภายใต้แนวคิด “โทรได้ทวไทย ั่ พวกเราใช้สวัสดี” ควบคูไ่ ปกับโปรแกรมค่าโทรทีค่ มุ้ ค่าสําหรับลูกค้าแต่ละภูมภิ าค การสร้างความเข้มแข็งของช่องทางการจัดจําหน่ าย (Strengthen distribution channel) ด้วยฐานลูกค้าทีม่ ากกว่า 24 ล้านราย สิง่ สําคัญในการสือ่ สารกับฐานลูกค้าปจั จุบนั และเข้าถึงลูกค้าใหม่ๆ เพื่อให้ สามารถรักษาส่วนแบ่งการตลาดไว้ได้ คือการมีช่องทางการจัดจําหน่ายทีแ่ ข็งแกร่งเพื่อการทําตลาดให้มปี ระสิทธิภาพมาก ขึน้ ด้วยกลยุทธ์การผสานจุดแข็งภายในองค์กรเข้ากับพันธมิตรทีเ่ ป็ นตัวแทนจําหน่ าย ผ่านการปรับเปลีย่ นโครงสร้างการ ดูแลตัวแทนจําหน่ ายลงไประดับรายย่อยมากขึน้ พร้อมทัง้ เสริมความแข็งแกร่งของตัวแทนเฉพาะอย่างเทเลวิซ โดยเน้น ความสัมพันธ์ทใ่ี กล้ชดิ และพัฒนาให้ระบบตัวแทนทัง้ หมดสามารถทํางานร่วมกันได้ดยี งิ่ ขึน้ ในปี ท่ผี ่านมา เอไอเอสยังเน้ นยํ้ามุ่งเสริมสร้างความแข็งแกร่งของฐานตัวแทนจําหน่ ายสําหรับในกลุ่มตัวแทน จําหน่ายเฉพาะ (exclusive dealer) อย่างเทเลวิซทีม่ กี ว่า 600 สาขา (รวม Telewiz Express) โดยมีการแต่งตัง้ ตัวแทนใน แต่ละพืน้ ทีใ่ ห้ทาํ งานร่วมกับสํานักงานสาขาส่วนภูมภิ าคทีด่ แู ลทัง้ ด้านการขายและการบริการในต่างจังหวัดอย่างใกล้ชดิ มาก ขึน้ พร้อมทัง้ การลงไปดูแลช่องทางจัดจําหน่ายในเชิงลึกในระดับตัวแทนรายย่อย (sub-dealer) ทีม่ อี ยูม่ ากกว่า 20,000 ราย ทัวประเทศ ่ เพือ่ เน้นสร้างความสัมพันธ์ทด่ี อี ย่างต่อเนื่องกับตัวแทนรายย่อยและดูแลไปถึงการได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสม และให้ได้รบั ความพึงพอใจ พร้อมทัง้ ใช้เทคโนโลยี online service โดยการเติมเงินผ่านโทรศัพท์มอื ถือ หรือ Refill on Mobile เพื่อให้ตวั แทนรายย่อยสามารถบริหารจัดการการจัดจําหน่ ายได้คล่องตัวรวดเร็วมากขึน้ กว่าระบบการซือ้ บัตรเติม เงิน ส่วนที่ 2 หน้า 33


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นอกจากนี้ เอไอเอสมีการจัดระเบียบการค้าส่งใหม่ เพือ่ ไม่ให้เกิดการตัดราคาหรือแย่งพืน้ ทีข่ าย โดยกลยุทธ์หลักๆ ทีน่ ํ ามาใช้สามองค์ประกอบ คือ 1) การวางโครงสร้างและกําหนดเงื่อนไขธุรกิจใหม่เพื่อให้แข่งขันกันได้ 2) การสร้าง ความสัมพันธ์ท่ดี กี บั ช่องทางการจัดจําหน่ าย และ 3) การสร้างให้เกิดความสมดุลระหว่างช่องทางการจัดจําหน่ ายแต่ละ ประเภทเพือ่ ให้อยูร่ ว่ มกันได้และเพือ่ ให้เกิดการประสานความร่วมมือในการขาย แนวโน้ มตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2551 ในปี 2551 ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นกรุงเทพฯ และหัวเมืองใหญ่ เริม่ เข้าใกล้จุดอิม่ ตัว (Saturated Market) จาก จํานวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากรในอัตราที่สูงมากขึน้ ในขณะเดียวกันในต่างจังหวัดมีอตั ราส่วนผู้ใช้บริการต่อ ประชากรทีน่ ้อยกว่า เอไอเอสมองว่าในปี 2551 ตลาดจะมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกร้อยละ 15-20 แต่ จะก่อให้เกิดอัตราการเติบโตในเชิงรายได้ของตลาดรวมเพียงร้อยละ 5-7 เนื่องจากตลาดจะยังคงมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริการทีน่ ิยม โทรศัพท์เคลื่อนทีม่ ากกว่า 1 เบอร์ (Multiple SIM User) อยูเ่ ป็ นจํานวนพอสมควร อีกทัง้ กลุ่มลูกค้าใหม่โดยมากจะมาจาก ในต่างจังหวัดซึ่งคาดว่าจะก่อให้เกิดรายได้ต่อหัวในระดับทีย่ งั ค่อนข้างน้อย ผูใ้ ห้บริการแต่ละรายมีแนวโน้มทีจ่ ะขยายการ ลงทุนและมุ่งเน้นการตลาดไปทีต่ ลาดต่างจังหวัดที่ยงั มีอตั ราผูใ้ ช้บริการในสัดส่วนตํ่า พร้อมกับความพยายามในการสร้าง ความสัมพันธ์กบั ลูกค้าให้มากขึน้ เพือ่ รักษาฐานลูกค้าปจั จุบนั แนวโน้มการแข่งขันทางด้านราคาคาดว่าจะสะท้อนถึงต้นทุนของค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection) มากขึน้ และพยายามให้การใช้งานเครือข่ายมีป ระสิทธิภาพสูงขึ้น โดยคาดว่าแนวโน้ มการทําการตลาดจะเน้ นในสองด้าน คือ โปรโมชันค่ ่ าโทรเฉพาะพืน้ ที่ (Localized tariff) สําหรับลูกค้าในเขตภูมภิ าค ซึง่ ตลาดนี้ยงั มีศกั ยภาพในการเติบโต และเป็ น เป้าหมายหลักของผูใ้ ห้บริการทุกราย โดยปจั จัยแห่งความสําเร็จคือ เครือข่ายทีค่ รอบคลุมถึงทุกพืน้ ที่ อีกด้านคือ โปรโมชัน่ ทีส่ ามารถโทรภายในเครือข่าย (Intra network) ได้ในราคาพิเศษ ซึง่ จะใช้เจาะกลุ่มลูกค้าหมุนเวียน (Replacement SIM) และลูกค้าทีม่ โี ทรศัพท์เคลื่อนทีม่ ากกว่า 1 เบอร์ (Multiple SIM User) ซึง่ เป็ นกลุม่ ทีค่ าํ นึงถึงราคาเป็ นสําคัญ การดูแลลูกค้าเก่า (Existing Customer) จะมีความสําคัญมากขึน้ เพราะปจั จุบนั ลูกค้ามีแนวโน้มอ่อนไหวต่อราคา มากขึน้ (Price Sensitive) และยึดติดกับตราสินค้าน้อยลง (Low Brand Loyalty) ซึง่ ในอนาคตอันใกล้ในอีกหนึ่งถึงสองปี คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) อาจประกาศให้มกี ารใช้ระบบเบอร์เดียวสําหรับลูกค้าให้สามารถ เปลีย่ นไปใช้ได้ในทุกเครือข่ายได้โดยไม่ตอ้ งเปลีย่ นเบอร์ (Mobile Number Portability) ทําให้ผใู้ ห้บริการทุกรายต่างมุง่ เน้น ทีจ่ ะรักษาฐานลูกค้า เอไอเอสเชื่อมันและมี ่ ความพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพราะเราคํานึงถึงความ ต้องการของลูกค้าเป็ นสําคัญ และเชื่อว่าด้วยคุณภาพเครือข่ายและบริการที่หลากหลายและดีกว่า รวมถึงการที่เอไอเอ สได้ดําเนินงานด้านความสัมพันธ์กบั ลูกค้า (Customer Relationship Management / Customer Experience Management) มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จะช่วยให้เอไอเอสสามารถรักษาฐานลูกค้าไว้ได้ นอกจากนี้ สิง่ ทีส่ าํ คัญสําหรับการแข่งขัน คือ การหาช่องทางการจัดจําหน่ ายใหม่ๆ ทีส่ ามารถเข้าถึงลูกค้าได้มาก ขึน้ รวมทัง้ เพิม่ ความสะดวกสบายให้กบั ลูกค้าในด้านของการชําระเงิน เติมเงิน และรับงานบริการต่างๆ แนวโน้มของการ ขยายช่องทางการจัดจํา หน่ า ยจะเริ่ม เปลี่ยนจากช่องทางที่เป็ น ร้า นตัวแทนจํา หน่ ายของผู้ใ ห้บริก ารโทรศัพท์เคลื่อนที่ กระจายไปสู่ช่องทางการจําหน่ ายสินค้าอุปโภคบริโภคมากขึน้ รวมถึงการใช้ช่องทางผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Overthe-air refill / refill on-mobile)

ส่วนที่ 2 หน้า 34


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

AIS vision 2008 ในระยะยาวเอไอเอสมีเป้าหมายหลักทีจ่ ะเป็ นผูใ้ ห้บริการสือ่ สารแบบครบวงจร (Total Telecom Service Provider) โดยมุง่ ทีจ่ ะนําเสนอบริการทีค่ รอบคลุมในทุกธุรกิจและเทคโนโลยีการสือ่ สารใหม่ๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ ในชีวติ ประจําวันของผูใ้ ช้บริการได้มากที่สุด นับตัง้ แต่บริการสื่อสารไร้สาย บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (broadband) บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ โดยในปี 2551 เอไอเอสจะมุง่ เน้นกลยุทธ์หลัก 5 แกน ดังนี้ การพัฒนาเครือข่าย (Network quality) เครือข่ายที่ครอบคลุมทัวประเทศและมี ่ คุณภาพเหนือกว่าคู่แข่งยังคงเป็ นจุดแข็งที่โดดเด่นของเอไอเอสมาโดย ตลอด ดังนัน้ การพัฒนาเครือข่ายอย่างต่อเนื่องทัง้ ในเขตชุมชนเมืองและต่างจังหวัดจึงเป็ นกลยุทธ์สําคัญในระยะยาว ปจั จุบนั เอไอเอสมีจาํ นวนสถานีฐานครอบคลุมทัง้ 76 จังหวัดทัวประเทศทั ่ ง้ สิน้ 12,500 สถานี และยังคงมุง่ มันที ่ จ่ ะพัฒนา อย่างต่อเนื่อง โดยตัง้ เป้าหมายในการขยายจํานวนสถานีฐานในปี 2551 ให้ถงึ 14,500 สถานี โดยเน้นการลงทุนส่วนขยาย ั ่ นตกและตะวันออก รวม สําหรับเส้นทางคมนาคม เช่น ถนนสายต่างๆ ทางด่วน เส้นทางรถไฟฟ้า คลอง เส้นทางชายฝงตะวั ไปถึงแหล่งชุมชน แหล่งธุรกิจและอุตสาหกรรม และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วต่างๆ การสร้างสรรค์สินค้าบริ การที่หลากหลาย (Variety of products and services) เอไอเอสมองว่าปจั จัยสําคัญทีจ่ ะช่วยสนับสนุ นให้ลกู ค้าเลือกใช้บริการ โดยไม่ได้เพียงพิจารณาจากราคาเพียงด้าน เดียว คือการพัฒนาให้มสี นิ ค้าและบริการทีห่ ลากหลายตอบสนองต่อความต้องการเครื่องมือสื่อสารในชีวติ ประจําวันได้ใน หลายรูปแบบ สิง่ ทีเ่ อไอเอสจะมุง่ เน้นในปีต่อจากนี้ คือ การพัฒนาบริการใหม่ให้มคี วามทันสมัยกับรูปแบบของการสือ่ สารใน ยุคใหม่ (Advancement) รวมถึงการจัดแบ่งให้มคี วามหลากหลายของบริการที่เหมาะสมแก่ลูกค้าในกลุ่มที่แตกต่างกัน (Segmentation) เช่ น บริก ารโอนเงิน โอนวัน ที่ใ ห้แ ก่ ลูก ค้า ระบบเติม เงิน ได้ม ีค วามคล่ อ งตัว มากขึ้น หรือ บริก าร Call screening, Missed call alert, Multi-SIM ทีใ่ ห้แก่ลกู ค้าระบบชําระค่าบริการรายเดือนเพื่อให้การติดต่อสือ่ สารสะดวกและมี ประสิทธิภาพมากขึน้ การให้บริ การที่เป็ นเลิ ศ (Service excellence) ด้วยเครือข่ายคุณภาพที่โดดเด่นแล้วนัน้ เอไอเอสยังมุ่งมันที ่ ่จะให้บริการที่เหนือกว่าผูใ้ ห้บริการรายอื่น โดยเน้น การสร้างประสบการณ์ ท่ดี ใี ห้แก่ลูกค้าในทุกๆด้าน ในปี 2551 นี้ สิง่ ที่เอไอเอสต้องการพัฒนาเพิม่ เติมคือ บริการให้ คําปรึกษา (Consultancy) ทีน่ อกเหนือจากการแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดจากการใช้บริการตามปกติ เช่น การให้คาํ ปรึกษาในเรื่อง บริการใหม่ๆ ทีต่ รงตามความต้องการใช้งานด้านการสื่อสาร การแนะนําโปรโมชันที ่ เ่ หมาะกับพฤติกรรมการโทร และเน้น สร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้าแบบยังยื ่ น (Lifetime relationship) โดยมีการติดตามดูแลและใส่ใจกับสิง่ ทีล่ กู ค้าควรได้รบั เมื่อ ระยะเวลาในการใช้บริการของลูกค้ายาวนานขึน้ ตามอายุการใช้งาน การให้สิทธิ พิเศษต่อลูกค้า (Privilege) เอไอเอสมองว่าการให้สทิ ธิพเิ ศษเป็ นปจั จัยสําคัญทัง้ สําหรับการรักษาฐานลูกค้าและการชักจูงลูกค้ารายใหม่ๆ ด้วย แนวคิดที่ต้องการให้ลูกค้าทุกรายมีความรูส้ กึ พิเศษ การจัดแคมเปญสิทธิพเิ ศษให้แก่ลูกค้าในแต่ละกลุ่มที่มคี วามชื่นชอบ และไลฟ์สไตล์ทแ่ี ตกต่างกันจึงเป็ นเรื่องที่เอไอเอสพยายามพัฒนามาโดยตลอด ในปี น้ีแนวคิดทีส่ าํ คัญในการให้สทิ ธิพเิ ศษ คือ การจัดแคมเปญให้เข้าถึงชีวติ ประจําวันในหลากหลายกลุ่ม รวมถึงการจัดกิจกรรมทีใ่ ห้ลูกค้าเข้าถึงได้งา่ ย ทัง้ ทางด้าน ความบันเทิง ร้านอาหาร การจับจ่ายใช้สอย และขยายไปถึงแง่มมุ ด้านกีฬา สุขภาพความงาม และการศึกษา การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate social responsibility) ส่วนที่ 2 หน้า 35


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บทบาทของเอไอเอส นอกจากจะเป็ นสะพานเชื่อมความรัก ความศรัทธา รอยยิม้ พร้อมส่งเสริมคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ ให้กบั ผูใ้ ช้บริการตลอด 17 ปีทผ่ี า่ นมาแล้ว ทางด้านสังคม ธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม เอไอเอส ได้ให้ความใส่ใจดูแลร่วมด้วย เสมอมา ด้วยการเป็ นส่วนหนึ่งในการรับผิดชอบต่อสังคม หรือ Corporate Social Responsibility (CSR) ในด้านต่างๆ ทัง้ การสนับสนุนสถาบันครอบครัว การเป็ นแบบอย่างที่ดีของสังคม และการให้โอกาสและช่วยเหลือสังคม อย่าง สมํ่าเสมอและต่อเนื่อง ซึง่ จาก 3 แนวทางหลักทีเ่ อไอเอสวางไว้ สามารถตอบสนองและดูแลสังคมได้โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายใต้โครงการ ต่อไปนี้ 1. การสนับสนุนสถาบันครอบครัว โครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัว จัดกิจกรรมดังนี้ - ภาพยนตร์โฆษณา ชุด “มุมมอง” ทีน่ ําเสนอแนวคิด “ถ้ามองเห็นอีกด้านหนึ่ งของความคิ ด ก็จะ มองเห็นความเข้าใจ” เพือ่ จุดประกายความคิดของสมาชิกในครอบครัวให้หนั มาใส่ใจความคิด ความรูส้ กึ ของกันและกัน ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ เพือ่ สะท้อนให้เห็นความรัก ความห่วงใยต่อคนใน ครอบครัวซึง่ อาจมีมมุ มองหรือความคิดทีต่ ่างกัน แต่การมองเห็นอีกด้านหนึ่งของความคิดถือเป็ นส่วน หนึ่งในการช่วยเสริมสร้างความเข้าใจของทุกคนในครอบครัว - “เอไอเอส แฟมิ ลี่ แรลลี่ เพื่อสายใจไทย” เป็ นการสานความสัมพันธ์แก่กนั ของคนในครอบครัว ซึง่ รายได้จากกิจกรรมนี้ ได้นําขึน้ ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - “เอไอเอส แฟมิ ลี่ วอล์ค แรลลี่ เพื่อมูลนิ ธิอานันทมหิ ดล” เป็ นการสานความสัมพันธ์แก่กนั ของคน ในครอบครัว ซึง่ รายได้จากการจัดกิจกรรมนี้ ได้นําขึน้ ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี - เอไอเอส ยิ้มหวานวันเด็ก เป็ นการจัดกิจกรรมวันเด็กให้กบั เยาวชนทีบ่ กพร่องทางร่างกายและปญั ญา เพือ่ เปิ ดโอกาสให้เยาวชนกลุม่ นี้ได้รว่ มแสดงออกและสนุ กกับกิจกรรมต่างๆ เท่าเทียมกับเด็กปกติ 2. การเป็ นแบบอย่างที่ดีของสังคม - ผลิตสารคดีชวี ติ ทางโทรทัศน์ ภายใต้ช่อื รายการ “สานรัก คนเก่ง หัวใจแกร่ง” เพือ่ เชิดชูและสนับสนุ น เยาวชนทีด่ ี ใฝร่ ู้ มีความกตัญญู ให้เป็ นแบบอย่างทีด่ ขี องสังคม โดยโครงการนี้จะให้เงินช่วยเหลือ ครอบครัวและให้ทุนการศึกษาแก่เด็กได้เรียนจนจบปริญญาตรี ซึง่ ขณะนี้มเี ยาวชนอยูใ่ นโครงการและ กําลังศึกษาอยูท่ ุกระดับชัน้ มากกว่า 350 คน - กิจกรรม “สานรักคนเก่งหัวใจแกร่งสัญจร” เพือ่ สร้างขวัญและเพิม่ กําลังใจให้เยาวชน ด้วยการนํา ตัวอย่างเยาวชนจากโครงการสานรักคนเก่งหัวใจแกร่งในจังหวัดต่างๆ ไปพูดคุยและแลกเปลีย่ นแนวคิด แก่เยาวชนทีท่ อ้ แท้ ประสบปญั หาด้านต่างๆ เพือ่ เป็ นกําลังใจและเป็ นตัวอย่างในการต่อสูช้ วี ติ ต่อไป - จัดทํา “ซีดีสานรัก คนเก่ง หัวใจแกร่ง” เพือ่ ตอกยํา้ ความดีของเยาวชน และเป็ นแบบอย่างทีด่ ใี นการ ส่งเสริมด้านจริยธรรมด้วยการจัดทํารายการสานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง ในรูปแบบซีดแี ละนําไปมอบให้แก่ หน่วยงานต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นสถาบันการศึกษา สํานักงานพุทธศาสนา อัครสังฆมณฑล สถานพินิจและ คุม้ ครองเด็กและเยาวชน สถานสงเคราะห์ต่างๆ เพือ่ ใช้เป็ นสือ่ การเรียนการสอนด้านจริยธรรม คุณธรรมซึง่ มอบไปแล้วจํานวน 1.8 แสนแผ่น - จัดทําหนังสือ เรื่องสัน้ ในบ้านสานรัก ชุด “คนเก่งหัวใจแกร่ง” เป็ นการรวบรวมเรือ่ งราวชีวติ จริง ของเยาวชนในโครงการสานรัก คนเก่งหัวใจแกร่งมาถ่ายถอดผ่านตัวหนังสือเพื่อเป็ นแรงบันดาลใจให้กบั คนทีก่ าํ ลังท้อแท้ให้มกี าํ ลังใจทีจ่ ะต่อสูก้ บั ปญั หาและอุปสรรคในชีวติ ส่วนที่ 2 หน้า 36


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

-

-

-

-

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงการจัดทําซีดีเพลงพระราชนิ พนธ์ การจัดทําซีดเี พลงพระราชนิพนธ์บทเพลงของพ่อ ในรูปแบบ ของเพลงเมดเล่ยป์ ระสานเสียงครัง้ แรกของประเทศไทย บรรเลงเดีย่ วเปียโน และบรรเลง Big band ชุด H.M.Compositions “Music for All Time” เพือ่ เทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางดนตรีและเผยแพร่ บทเพลงอันทรงคุณค่าในพระองค์ทา่ น จํานวน 10,000 แผ่น โดยมอบเป็ นสือ่ การศึกษาด้านดนตรีแก่ ห้องสมุดของสถาบันการศึกษาทีม่ กี ารเรียนการสอนวิชาดนตรี โรงเรียนสอดคนตาบอด สมาคมคนตา บอดแห่งประเทศไทย เป็ นต้น โครงการ เอไอเอส แนะแนวว่าที่บณ ั ฑิ ต ให้ชีวิตไม่เตะฝุ่ น เป็ นการจัดกิจกรรมทีเ่ ปิดโอกาสให้นิสติ นักศึกษาทีก่ าํ ลังศึกษาอยูใ่ นชัน้ ปี ท่ี 4 จากสถาบันการศึกษาต่างๆ ร่วมรับฟงั ความรูก้ ารเตรียมความ พร้อมในการสมัครงานและพัฒนาตนเองเพือ่ เข้าสูโ่ ลกแห่งการทํางานจริง โครงการ Company Visit เพือ่ เปิดโอกาสให้หน่วยงานต่างๆทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมถึง สถาบันการศึกษา เข้าเยีย่ มชมกิจการขององค์กรและแลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์ โดยมีเจตนารมณ์ ในการถ่ายทอดข้อมูลเพือ่ เป็ นองค์ความรูแ้ ก่ผเู้ ข้าเยีย่ มชม โครงการรับนักศึกษาฝึ กงานภาคฤดูร้อน

3. การให้โอกาสและช่วยเหลือสังคม - โครงการ “ถังนํ้าใจ เอไอเอส เพื่อไทยไม่ขาดนํ้า” เนื่องในโอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั มีพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 เอไอเอสและชาวไทย ทัง้ ประเทศตัง้ ใจทีจ่ ะทําความดีและเดินตามรอยพระราชดําริของพระองค์ทา่ นในแง่มมุ ต่างๆ โดยเฉพาะ ในเรือ่ งของทรัพยากรนํ้า ปญั หาภัยแล้ง และเพื่อเป็ นการสนองแนวพระราชดําริ โครงการนี้จงึ เกิดขึน้ ซึง่ เป็ นการดําเนินการต่อเนื่องจากปี 2549 ทีเ่ อไอเอสจัดขึน้ เนื่องในโอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงครองราชย์สมบัตคิ รบ 60 ปี ตลอดปี 2550 เอไอเอส ได้จดั มอบถังนํ้าให้กบั พีน่ ้องชาวไทยทัว่ ประเทศ เพือ่ กระจายความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้กบั ประชาชนในชุมชนทีไ่ ด้รบั ความ เดือดร้อนและประสบภัยแล้ง ขาดแคลนนํ้าดื่ม นํ้าใช้ ไม่น้อยกว่า 7,155 ถัง และจะยังคงดําเนินกิจกรรม ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพราะแต่ละพืน้ ทีแ่ ต่ละภาคของประเทศต่างประสบภัยแล้ง ขาดแคลนนํ้า อีก จํานวนมาก - โครงการบรรเทาทุกข์แก่พี่น้องไทยที่ประสบภัยหนาว ประสบภัยนํ้าท่วม โดยจัด ขบวนคาราววานมอบผ้าห่ม มอบถุงยังชีพแก่ผปู้ ระสบเหตุดงั กล่าว ทุกครัง้ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากภัยหนาวและภัยนํ้าท่วมโดยตลอดอย่างต่อเนื่องทุกปี - โครงการ “เอไอเอส สร้างอาชีพ Call Center แด่ผพู้ ิ การทางสายตา” เอไอเอส ต้องการทีจ่ ะให้โอกาส แก่เยาวชนผูพ้ กิ ารทางสายตา ได้มอี าชีพสามารถเลีย้ งชีพตนเองและครอบครัว ไม่เป็ นภาระของสังคม ด้วยการรับเข้าเป็ นพนักงาน AIS Call Center และได้รบั สวัสดิการเท่าเทียมกับพนักงานปกติของบริษทั - กองทุน เอไอเอส เพื่อผูส้ งู อายุ ในมูลนิ ธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด้วยความ ซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคุณ ทีท่ รงห่วงใยประชาชนชาวไทย ทีต่ อ้ งการให้คนไทยมีชวี ติ มีความเป็ นอยู่ ทีด่ โี ดยเฉพาะคนแก่คนชรา ผูส้ งู อายุ ทีข่ าดและไร้ผคู้ นดูแล เอไอเอสจึงได้มอบเงินจํานวน 5 ล้านบาท เป็ นประจําทุกปีเพือ่ สมทบทุนในกองทุนเพือ่ ผูส้ งู อายุ ในมูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ทีผ่ า่ นมาจนถึงปจั จุบนั มอบเงินไปแล้วเป็ นจํานวน 35 ล้านบาท - โครงการ “ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เอไอเอส -สานรัก” ทีบ่ า้ นท่างาม จังหวัดกาฬสินธุ์ บ้านหาดใหญ่ จังหวัดพิษณุโลก และบ้านแม่สาว จังหวัดเชียงใหม่ ทัง้ นี้เพือ่ แบ่งเบาภาระ ส่วนที่ 2 หน้า 37


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

-

-

-

-

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ให้กบั พ่อ แม่ ผูป้ กครอง โดยเฉพาะพืน้ ทีช่ นบทห่างไกลเมือง ทีต่ อ้ งการทํางานหาเงินเลีย้ งชีพ เลีย้ งครอบครัว แต่มลี กู เล็กทีต่ อ้ งดูแล โดยศูนย์น้ี จะเปิดรับเด็กเล็กทีม่ อี ายุระหว่าง 3-6 ปี จัดเป็ นแหล่งศึกษาเพือ่ เด็กก่อนวัยเรียน ซึง่ เอไอเอสจะสร้างและส่งมอบให้องค์การบริหาร ส่วนตําบล (อบต.)ในพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ ดูแล ซึง่ ตลอดระยะเวลากว่า 5 ปีทด่ี าํ เนินโครงการนี้มา ได้ใช้ งบประมาณการจัดสร้างศูนย์เด็กเล็กฯ และการบริหารจัดการ อาทิ ค่าอาหารกลางวัน การ พัฒนาครู รวมกว่า 4 ล้านบาทเพือ่ รองรับเยาวชนทีจ่ ะเป็ นกําลังสําคัญของชาติในอนาคต โครงการสานรัก เพื่อเด็กไทยได้อ่านหนังสือ เพื่อสนับสนุ นให้เยาวชนมีโอกาสได้อ่านหนังสือ ซึง่ ใช้ เงินกว่า 10 ล้านบาทในการซือ้ หนังสือใหม่สง่ มอบให้กบั ห้องสมุดทัง้ ในกรุงเทพฯและต่างจังหวัด ถิน่ ธุระ กันดาร โครงการ ห้องพัฒนาความรู้ด้วยระบบอิ เลคทรอนิ กส์ (e-library) จัดทําขึน้ มาเพือ่ มอบให้กบั โรงเรียนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้จาํ นวน 6 โรงเรียน โครงการ ลานกีฬา เอไอเอส จัดทําขึน้ เพือ่ ให้เยาวชนและประชาชนได้มโี อกาสใช้สถานทีแ่ ห่งนี้ในการ ออกกําลังกายและเล่นกีฬากลางแจ้ง เพือ่ สุขภาพและอนามัยทีด่ ขี องประชาชน ทัง้ เป็ นการใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ ช่วยลดปญั หายาเสพติด โดยจัดทําในพืน้ ทีส่ าธารณะตามแหล่งชุมชน ด้วยการจัดสร้าง สนามบาสเกตบอลขนาดมาตรฐานและสนามฟุตซอล พร้อมติดตัง้ ไฟส่องสว่าง รวม 6 แห่งทัง้ ใน กรุงเทพฯ และต่างจังหวัด โครงการ เอไอเอส จัดหาอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิ บตั ิ งานตํารวจจราจร เป็ นการดําเนินการ ร่วมกับสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ด้วยเล็งเห็นถึงความสําคัญของอุปกรณ์ในการปฏิบตั งิ านทีส่ ง่ ผลให้การ ปฏิบตั งิ านจราจรมีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยได้จดั ทําตูค้ วบคุมสัญญาณไฟจราจรตามจุดแยกต่างๆ 96 แห่ง ทัวประเทศ ่ โครงการ เอไอเอส ร่วมมือกับ สวพ.FM 91 ร่วมพัฒนาบริการรับแจ้งเหตุด่วน เหตุรา้ ย การจราจรและ ความปลอดภัยเพือ่ เป็ นสือ่ กลางในการให้ความช่วยเหลือผูใ้ ช้บริการเอไอเอสและสังคม ผ่าน โทร 1644

ส่วนที่ 2 หน้า 38


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

3.3

การจําหน่ ายและช่องทางการจัดจําหน่ าย ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ลขหมายใหม่ในระบบดิจติ อล GSM advance, One-2-Call! และ GSM 1800 ประมาณร้อยละ 80-90 จะจําหน่ายผ่านตัวแทนจําหน่าย ส่วนทีเ่ หลือจะขายผ่านการขายตรงดังนี้

(1) การจําหน่ ายผ่านตัวแทนจําหน่ าย บริษทั ฯ มีหลักเกณฑ์ในการแต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายโดยพิจารณาจากทําเลทีต่ งั ้ ผลงานทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ สถานะ ทางการเงิน เพื่อให้บริษทั ฯ มีความเชื่อมันในระดั ่ บหนึ่งว่าตัวแทนจําหน่ายนัน้ มีศกั ยภาพเพียงพอในการดําเนินธุรกิจ และ สามารถดูแลลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้สาํ หรับพืน้ ทีต่ ่างจังหวัด ตัวแทนจําหน่ายทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จะต้องเป็ นผูท้ ม่ี ี ความคุน้ เคยในพืน้ ทีแ่ ละเป็ นนักธุรกิจรายใหญ่ของพืน้ ทีเ่ ป็ นสําคัญ ปจั จุบนั ตัวแทนจําหน่ายของเอไอเอสจะแบ่งได้เป็ น 5 ประเภท ดังนี้ ตัวแทนจําหน่ ายในระบบแฟรนไชส์ ภายใต้ชื่อ “เทเลวิ ซ” บริษทั ฯ มีตวั แทนจําหน่ายในระบบแฟรนไชส์จาํ นวนทัง้ สิน้ มากกว่า 100 ราย โดยมีรา้ นเทเลวิซมากกว่า 350 แห่ง ทัวประเทศ ่ และ Telewiz Express ทีเ่ ป็ นสาขาย่อยมากกว่า 280 แห่ง โดยผูร้ บั สิทธิ ์ตัวแทนจําหน่ายในระบบแฟรนไชส์ สามารถใช้เครื่องหมายการค้าเพื่อจําหน่ ายสินค้าและบริการโดยมีอายุสญ ั ญา 1 ปี ดังนี้ 1) สิทธิในการจําหน่ายสินค้า ภายใต้เครือ่ งหมายการค้าของบริษทั ฯ 2) สิทธิในการให้บริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ให้บริการเกีย่ วกับงานทะเบียนต่างๆ และเป็ นผูใ้ ห้บริการรับชําระ ค่าบริการหรือค่าใช้จา่ ยอื่นใด บริษทั ฯ จะเป็ นผูก้ าํ หนดเงือ่ นไข และควบคุมภาพและมาตรฐานของการให้บริการ แนวทางในการดําเนินการของ ตัวแทนจําหน่าย เช่น การเลือกและพัฒนาสถานที่ การโฆษณาและส่งเสริม การขาย และการให้บริการต่างๆ เพือ่ ให้ได้ มาตรฐานตามทีบ่ ริษทั ฯ กําหนด ในการเข้าเป็ นตัวแทนจําหน่ายในระบบแฟรนไชส์ ต้องมีการชําระค่าสิทธิในการใช้เครือ่ งหมายการค้าเริม่ แรก 100,000 บาท และถ้ามีการขยายเขตการจําหน่ายต้องชําระค่าสิทธิเพิม่ อีกจํานวน 50,000 บาทต่อเขตจําหน่าย ตัวแทนจําหน่ ายทัวไป ่ (Dealer) บริษทั ฯ มีตวั แทนจําหน่ายจํานวนทัง้ สิน้ กว่า 600 ราย ซึง่ มีหน้าร้านเป็ นของตนเอง โดยตัวแทนจําหน่ายทัวไปนี ่ ้ ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นผูจ้ าํ หน่ายสินค้าของบริษทั ฯ ได้แก่ เครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทัง้ อุปกรณ์เสริมต่างๆ นอกเหนือจากรายได้จากการจําหน่ายสินค้าและบริการแล้ว ตัวแทนจําหน่ายทัง้ 2 ประเภท จะได้รบั ค่าตอบแทนจากการลงทะเบียนให้ลกู ค้า เป็ นสมาชิกการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นระบบดิจติ อล GSM advance, GSM1800 รวมถึงการสนับสนุ นกิจกรรมทางการตลาด ตามอัตราทีบ่ ริษทั ฯ กําหนด ตัวแทนจําหน่ ายรายใหญ่ (Key Account and Modern Trade) บริษทั ฯ ได้จดั จําหน่ ายสินค้าผ่านตัวแทนจําหน่ายรายใหญ่ซง่ึ มีสาขาหรือร้านค้าของตนเองอยูท่ วประเทศ ั่ (Chain Store) ได้แก่ Jay Mart, Blisstel, IEC, SAMART i-Mobile และ TG นอกจากนี้ยงั จําหน่ายผ่านร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ได้แก่ เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชัน่ ซิสเทม (Tesco Lotus), เพาเวอร์บาย (Power Buy) เป็ นต้น โดยกระจายอยู่ ทัวประเทศเป็ ่ นจํานวนทัง้ สิน้ มากกว่า 50 ราย และเป็ นสาขามากกว่า 2,400 แห่ง

ส่วนที่ 2 หน้า 39


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ตัวแทนจําหน่ ายระบบ One-2-Call! เนื่องจาก One-2-Call! ได้ขยายตลาดไปสูก่ ลุม่ ผูบ้ ริโภคในทุกพืน้ ทีท่ วประเทศ ั่ เอไอเอสจึงได้ปรับเปลีย่ นโครงสร้าง การจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ One-2-Call! เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการเข้าถึงลูกค้า และเพิม่ พืน้ ทีก่ ารขายให้ครอบคลุมมาก ยิง่ ขึน้ ดังนี้ 1) ผูแ้ ทนค้าส่งแอดวานซ์ (Advanced Distribution Partnership หรือ ADP) ประมาณ 100 ราย ซึง่ ได้คดั เลือกจากเทเล วิซ (Telewiz) และตัวแทนจําหน่ ายทัวไปที ่ ่มศี กั ยภาพในการกระจายสินค้าในพืน้ ที่ มีสถานะทางการเงินที่ดี เพื่อทํา หน้าทีด่ ูแลบริหารการจัดส่งสินค้าให้กบั ตัวแทนแอดวานซ์คา้ ปลีกในเขตพืน้ ทีต่ นเองได้อย่างรวดเร็ว รวมทัง้ สนับสนุ น การทํากิจกรรมทางการตลาดในพืน้ ที่ โดยผูแ้ ทนค้าส่งแอดวานซ์จะได้รบั ค่าตอบแทนพิเศษในการบริหารจากเอไอเอส 2) ตัวแทนแอดวานซ์คา้ ปลีก (Advanced Retail Shop หรือ ARS) ซึง่ เป็ นด่านหน้าทีส่ าํ คัญเพราะเป็ นผูท้ จ่ี าํ หน่ายสินค้า ให้กบั ลูกค้าโดยตรง ปจั จุบนั มีมากกว่า 19,000 ราย และมีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของ ชุมชน นอกจากผลกําไรจากการขายซิมการ์ดและบัตรเติมเงินตามปกติแล้ว ตัวแทนแอดวานซ์คา้ ปลีกยังจะได้รบั ผลตอบแทนโดยตรงจากทางเอไอเอสเมือ่ ทํายอดขายได้ตามเป้าหมายอีกด้วย นอกจากนี้เอไอเอสยังได้จาํ หน่ายบัตรเติมเงินผ่านช่องทางการจําหน่ายรูปแบบใหม่เพือ่ อํานวยความสะดวกให้กบั ลูกค้า โดยการแต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายผ่านช่องทางการจัดจําหน่ายในธุรกิจอื่นๆทีไ่ ม่ได้เกีย่ วข้องกับการสือ่ สารโดยตรง เช่น ร้านขายหนังสือ ร้านสะดวกซือ้ สถานีบริการนํ้ามัน ร้านจําหน่ายซีด-ี เทป ห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์สโตร์ ทีท่ าํ การไปรษณีย์ และธนาคาร เป็ นต้น รวมทัง้ พัฒนาวิธกี ารเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ผ่านเครือ่ งเติมเงินอัตโนมัต,ิ ATM, Phone Banking, อินเตอร์เน็ต, M-Pay นอกจากนี้เอไอเอสยังได้เปิดบริการเติมเงินรูปแบบใหม่ผา่ นตัวแทนเติมเงินออนไลน์ (Refill on mobile หรือ ROM) ซึง่ จะทําให้การเติมเงินของเอไอเอสสามารถเข้าถึงผูบ้ ริโภคทุกกลุม่ ได้ดยี งิ่ ขึน้ ทัง้ นี้จะมีการ เปิ ดให้บริการทัวประเทศอย่ ่ างเป็ นทางการในปี 2551 ตัวแทนจําหน่ ายระบบ GSM 1800 DPC มีการจําหน่ายผลิตภัณฑ์โทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ GSM 1800 ผ่านตัวแทนจําหน่ายกว่า 600 ราย ซึง่ เป็ น ตัวแทนจําหน่ายรายเดียวกับ GSM Advance ทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น (2)

การขายตรง บริษทั ฯ ไม่ได้มวี ตั ถุประสงค์ท่จี ะแข่งขันกับตัวแทนจําหน่ ายในระบบแฟรนไชส์และตัวแทนจําหน่ ายทัวไปในการ ่ จําหน่ ายสินค้าต่างๆ แต่จะเน้นการให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าองค์กรหรือนิตบิ ุคคลซึ่งอาจมีความต้องการใช้งานโทรศัพท์ใน ปริมาณมากและมีความต้องการที่หลากหลายภายใต้เงื่อนไขที่แตกต่างกันตามลักษณะธุรกิจ ทัง้ นี้เอไอเอสจะตอบสนอง ความต้องการใช้บริการเสริมของลูกค้าองค์กรภายใต้ช่อื “AIS Smart Solution” ซึง่ จะช่วยเสริมศักยภาพในการทําธุรกิจ ให้กบั ลูกค้าองค์กรของบริษทั ฯ และสามารถสร้างรายได้เพิม่ ให้กบั เอไอเอสได้อย่างยังยื ่ น 3.4

การจัดหาผลิ ตภัณฑ์หรือบริ การ ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกค้าของระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ขึน้ อยู่กบั ความสามารถ ในการ ดําเนินการจัดหาและติดตัง้ อุปกรณ์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เพื่อขยายความสามารถในการรองรับจํานวนผูใ้ ช้บริการและ ขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ ห้มากขึน้

ส่วนที่ 2 หน้า 40


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

จากการทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั อนุญาตให้สามารถดําเนินการให้บริการผ่านเครือข่ายร่วม (Network Roaming) ได้ บริษทั ฯ และ DPC จึงได้ร่วมกันปรับแต่ง และพัฒนาระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของทัง้ 2 บริษทั ให้เสมือนเป็ นเครือข่ายร่วมที่ สามารถรองรับการใช้บริการได้ทงั ้ ในระบบ GSM 900MHz และ GSM 1800MHz (Dual-band Network) ได้อย่างราบรื่น โดย ใช้ขอ้ ดีของทัง้ สองระบบ และทัง้ สองคลื่นความถีใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด ทัง้ นี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของ การให้บริการต่อผูใ้ ช้บริการทีส่ งู ยิง่ ขึน้ ไปอีก แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกค้าของเครือข่าย GSM ของบริ ษทั ฯ และ DPC ธันวาคม 2548 1.863 0.136 14.409 16.408

ธันวาคม 2549 2.144 0.098 17.279 19.521

ธันวาคม 2550 2.203 0.082 21.819 24.105

ลูกค้า GSM Advance (ล้านคน) ลูกค้า GSM 1800 (ล้านคน) ลูกค้า One-2-Call! (ล้านคน) รวมจํานวนลูกค้า (ล้านคน) ความสามารถของระบบในการรองรับลูกค้า* 19.190 22.525 (ล้านคน) จํานวนสถานีฐานสะสม 10,445 11,745 หน่วยล้านราย ยกเว้นจํานวนสถานีฐานสะสม * ความสามารถของระบบในการรองรับลูกค้า ณ สิน้ ปี 2550 คือค่าความสามารถของเครือข่ายร่วม GSM 900 และ GSM 1800 MHz โดยประมาณการตามอัตราการใช้งานโดยเฉลีย่ ของลูกค้าในปี 2550

25.810 12,500

เพื่อให้บริการเครือข่ายที่สงู ด้วยคุณภาพ บริษทั ฯ จึงต้องเพิม่ ความสามารถของระบบในการรองรับการขยายตัว ของลูกค้า โดยการเพิม่ จํานวนสถานีฐานเพื่อรองรับการใช้งานทีม่ ากขึน้ และขยายพืน้ ที่การให้บริการทีค่ รอบคลุมมากขึน้ โดยเฉพาะในเขตชุนชนใหม่ทเ่ี กิดขึน้ บริษทั ฯ เลือกใช้อุปกรณ์เครือข่ายโดยสังซื ่ ้อโดยตรงจากผูผ้ ลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม ชัน้ นําจากทัวโลก ่ เช่น Nokia-Siemens, Ericsson, NEC, Nortel และ Huawei เป็ นยีห่ อ้ หลักของอุปกรณ์เครือข่าย และ คัดเลือกเทคโนโลยีและอุปกรณ์เครือข่ายทีเ่ หมาะสมมาติดตัง้ เพือ่ บรรลุถงึ คุณภาพและการใช้ประโยชน์สงู สุดของเครือข่าย 3.5

งานที่ยงั ไม่ได้ส่งมอบ - ไม่ม ี -

ส่วนที่ 2 หน้า 41


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

4.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การวิจยั และพัฒนา

เอไอเอสในฐานะผู้นํ า การให้บริก ารสื่อ สารไร้สาย ได้ใ ห้ค วามสํา คัญ กับ การศึก ษา ค้น คว้า และวิจ ยั เกี่ยวกับ นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาบริการต่างๆ ให้เหมาะสม และตอบโจทย์ความ ต้อ งการของลูก ค้า ทุ ก กลุ่ ม เพื่อ รองรับ การใช้ง านด้า นต่ า งๆ ทัง้ ในด้า นของการติด ต่ อ สื่อ สาร ข่า วสาร ความรู้ และ สาระบันเทิง โดยจะประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ที นั สมัยและสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าชาวไทย เพื่อให้เกิด ความพึงพอใจและประโยชน์สงู สุด ด้วยแนวความคิดทีต่ อ้ งการให้บริการสือ่ สารไร้สายเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งในชีวติ ประจําวันของลูกค้า เอไอเอสจึงได้ ศึกษาและสํารวจความต้องการของลูกค้าในกลุ่มต่างๆ รวมถึงกลุ่มลูกค้าองค์กรอย่างละเอียดลึกซึง้ พร้อมทัง้ ศึกษาแนวโน้ม ความเป็ นไปของตลาดและเทคโนโลยีเทรนด์ทวโลกอย่ ั่ างจริงจัง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ วางแผน และตัดสินใจสร้างสรรค์ บริการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ เพื่อให้บริการสือ่ สารไร้สายเหล่านี้มอบความสะดวกสบายและความสุขในการใช้ ชีวติ ให้กบั ลูกค้าได้อย่างแท้จริง ด้วยเจตนารมณ์ของเอไอเอสที่กล่าวมาในข้างต้น ในปี 2550 เอไอเอสมีทมี งานวิจยั และพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย ผู้เชี่ย วชาญทางด้า นวิศวกรรม การตลาด การเงิน เข้า มาร่ว มมือ กัน ทํา งานอย่า งจิง จัง เพื่อนํ า เสนอบริก ารใหม่ๆ ใน หลากหลายรูปแบบ ออกสูต่ ลาดอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถจําแนกตามประโยชน์การใช้งานดังต่อไปนี้ 1. เพือ่ ประสิทธิภาพการสือ่ สาร (Enhanced Communication) Busy Alert บริการทีอ่ าศัยศักยภาพของเครือข่ายพัฒนาเป็ นบริการ ส่งข้อความเตือนอัตโนมัตใิ ห้กบั ผู้ รับสาย ในกรณีท่มี ผี ู้พยายามโทรเข้าแล้วสายไม่ว่าง รวมถึงส่งข้อความแจ้งผู้โทรทันที หลังหมายเลข ปลายทางสายว่าง Mobile Private Number บริการเลือกแสดง หรือ ไม่แสดงหมายเลขโทรศัพท์ให้กบั ผูร้ บั ปลายทาง AIS Net Call บริการทางเลือกใหม่ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่าย โดยการสือ่ สารผ่าน WiFi Internet ด้วยเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นที่รองรับ GSM และ WiFi โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในพื้นที่ มหาวิทยาลัยทีม่ ี WiFi ครอบคลุม 2. บริการสือ่ สารข้อความ (Messaging) SMS/MMS Toolbar เป็ นการเพิม่ ความคล่องตัวในการส่ง SMS และ MMS ตรงจากทางหน้า จอคอมพิวเตอร์ ผ่านโปรแกรม Internet Explorer และ Microsoft Outlook Push E-mail (Free) บริการทีท่ าํ ให้โทรศัพท์เคลื่อนทีส่ ามารถรับ push e-mail จาก ทุก e-mail ดังทัว่ โลก โดยไม่เสียค่าบริการรายเดือน 3. ข้อมูลข่าวสารและบันเทิง (Information & Entertainment) Radio on mobile บริการทีใ่ ห้ลกู ค้าสามารถฟงั วิทยุคลื่นโปรดมากกว่า 18 คลื่น ตัวอย่างเช่น Virgin Radio, FM Max, Fat Radio, e-Finance Radio ฯ ได้จากทุกทีท่ วโลกผ่ ั่ านทางเครือข่าย GPRS/EDGE News on demand บริการอ่านข่าวจากสํานักข่าวทัง้ ในและต่างประเทศทางมือถือ เช่น สํานักข่าว The Nation, Bangkok Post, ไทยรัฐ, เดลินิวส์ ฯ ทีป่ ระสมประสานความสามารถทางเทคโนโลยี RSS Feed ในโลกอินเตอร์เน็ตและมือถือ ส่วนที่ 2 หน้า 42


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

Mobile TV (ROK TV) เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดในการรับชมความบันเทิงในรูปแบบ LIVE TV ทัง้ ข่าวกีฬา แฟชัน่ สุขภาพ ความงาน ดูหนัง หรือฟงั เพลง ผ่านมือถือ 4. โมบายอินเตอร์เน็ต (Mobile Internet) Mobile Internet บริการที่ช่วยทําให้การเข้าสู่โลกอินเตอร์เน็ตผ่านหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็ นไปอย่าง ง่ายดายเพียงคลิกเดียว ผ่านทางเมนูโมบายอินเตอร์เน็ตบนหน้าจอ และยังสามารถปรับเปลีย่ น ลด หรือเพิม่ icon ต่างๆ ได้ตามความต้องการของแต่ละคน ซึง่ ปจั จุบนั มี icon ให้เลือกกําหนดมากมายกว่า 100 icon อาทิ Google, Yahoo, MSN, Mobile Music Store, และอื่นๆ นอกจากนี้ ทีม งานเอไอเอสยังมีความกระตือรือร้นในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่ ตลอดเวลา อาทิเช่น 3G (3rd Generation), HSPA (High Speed Package Access), WiMAX (Worldwide Interoperability for Microwave Access), RFID (Radio Frequency Identification), Digital Map และ Location Based Services เพื่อเป็ น รากฐานสําคัญในการพัฒนาบริการในระยะยาว อีกทัง้ ตอกยํ้าความเป็ นผูน้ ําในการให้บริการสือ่ สารโทรคมนาคมของ เอไอ เอสอย่างต่อเนื่องต่อไป

ส่วนที่ 2 หน้า 43


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

5.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

5.1 สิ นทรัพย์ถาวรหลัก ที่ดนิ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร และส่วนปรับปรุงอาคารเช่า ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยนัน้ จะเป็ นของ บริษทั ฯ เป็ นหลัก เนื่องจากทัง้ บริษทั ฯ มีสํานักงานสาขาซึ่งกระจายอยู่เป็ นทัวประเทศ ่ ส่วนเครื่องตกแต่ง ติดตัง้ และ เครื่องมืออุปกรณ์นนั ้ จะประกอบด้วยอุปกรณ์เครื่องมือช่าง อุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ทีใ่ ช้ สําหรับบริการเสริมของโทรศัพท์เคลื่อนที่ สินทรัพย์ถาวรหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ประกอบด้วย ประมาณอายุการใช้ (ปี) สิ นทรัพย์ถาวรหลักของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ทีด่ นิ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า1/ เครือ่ งตกแต่ง, ติดตัง้ และเครือ่ งใช้สาํ นักงาน เครือ่ งมือและอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและติดตัง้ อุปกรณ์สอ่ื สารเพือ่ ให้เช่า รวม อาคาร และอุปกรณ์

5 และ 20 5 และ 10 2–5 3 และ 5 10 5 อายุสญ ั ญาเช่า และ 3

หัก ค่าเสือ่ มราคาและรายการตัดบัญชีสะสม

1.07 520.86 831.92 1,978.74 27,467.18 3,959.17 237.68 498.67 25.85 35,521.14 (25,633.47) 9,887.67

อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ 1/

หน่วย: ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าเป็ นค่าใช้จา่ ยในการปรับปรุงตกแต่งสํานักงานบริการของบริษทั ฯ

สําหรับสินทรัพย์ถาวรหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้รวมสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินทีบ่ ริษทั ฯและ บริษทั ย่อยเป็ นผูเ้ ช่าอยูใ่ นส่วนของ เครือ่ งตกแต่ง ติดตัง้ และเครือ่ งใช้สาํ นักงาน,เครือ่ งมือและอุปกรณ์ และยานพาหนะ เป็ น จํานวน 59.47 ล้านบาท นอกจากนี้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยยังมีการเช่าพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงานเพือ่ ใช้ในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิน้ เดือน ธันวาคม 2550 สัญญาเช่าหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายละเอียดดังนี้ 1. บริษทั ฯ เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 13,978 ตารางเมตร จากบริษทั เอสซี ออฟฟิช ปาร์ค จํากัด โดยมีการทําสัญญาเช่าทุก 1 ปี สัญญาฉบับปจั จุบนั มี ระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม 2550 – 31ธันวาคม 2550 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 5,834,774 บาทต่อเดือน สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3 ปี ซึง่ สัญญาเช่าจะต่ออายุโดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมดอายุสญ ั ญา เว้นแต่มกี ารแจ้งยกเลิก 30 วัน ล่วงหน้าก่อนหมดอายุสญ ั ญา ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีการต่ออายุสญ ั ญาเช่าอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลากว่า 10 ปี 2. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 14,798 ตารางเมตร จากบริษทั เอสซี ออฟฟิช ปาร์ค จํากัด โดยมีการทําสัญญาเช่าทุก 1 ปี สัญญาฉบับปจั จุบนั มีระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2550 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 6,516,951 บาทต่อเดือน สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3 ปี ซึง่ สัญญาเช่าจะต่ออายุโดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมดอายุสญ ั ญา เว้น ส่วนที่ 2 หน้า 44


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

แต่มกี ารแจ้งยกเลิก 30 วันล่วงหน้าก่อนหมดอายุสญ ั ญา ปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการต่ออายุสญ ั ญาเช่าอย่าง ต่อเนื่องมาเป็ นเวลากว่า 10 ปี 3. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรงั สิต จตุจกั ร กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 2,801 ตารางเมตร จากบริษทั เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด โดยมีการทําสัญญาเช่าทุก 3 ปี สัญญาฉบับปจั จุบนั จะหมดอายุ 14 พฤศจิกายน 2552 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 1,132,144 บาทต่อเดือน สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3 ปี ซึง่ สัญญาเช่าจะต่ออายุโดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมดอายุสญ ั ญาเว้นแต่มกี ารแจ้งยกเลิก 30 วัน ล่วงหน้าก่อนหมดอายุสญ ั ญา 4. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารอีเอสวีทาวเวอร์ เลขที่ 1 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 6,763 ตารางเมตร จากบริษทั อีเอสวี แอสเสท จํากัด สัญญาฉบับปจั จุบนั จะหมดอายุ 28 กุมภาพันธ์ 2553 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 1,436,476 บาทต่อเดือน การต่อสัญญาเช่าจะต้องมีการแจ้งความประสงค์ ไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนหมดอายุสญ ั ญา 5. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานพหลโยธินเพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 16,350 ตารางเมตร จากบริษทั พหล 8 จํากัด,บริษทั ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี จํากัด(มหาชน), บจก.สยามเคหะพัฒนา,บริษทั บริหารสินทรัพย์กรุงศรีอยุธยา, บริษทั ล็อคไทย-พร็อพเพอร์ตส้ื ์ จํากัด, บริษทั ณัฐวุฒแิ ละ กานต์ จํากัด, และคุณชิรารักษ์ จําลองศุภลักษณ์,คุณเกวิน ไทยบัญชากิจ,บริษทั พันธ์ทพิ ย์ เน็ตเวิรค์ จํากัด,บริษทั เกษตรธนสาร จํากัด สัญญาเช่าทําแยกในแต่ละชัน้ สัญญาเช่าฉบับปจั จุบนั จะหมดอายุ 14 พฤศจิกายน 2552 และ ต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 4,256,304 บาทต่อเดือน การต่อสัญญาเช่าจะต้องมีการแจ้งความประสงค์ไม่น้อย กว่า 30 และ 60 วันก่อนหมดอายุสญ ั ญา ตามแต่ละสัญญาเช่า 6. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร์ เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 5,287 ตารางเมตร จากบริษทั ทรีพลั ส์ จํากัด โดยสัญญาเช่าฉบับปจั จุบนั จะหมดอายุ 31 ธันวาคม 2554 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 1,171,380 บาทต่อเดือน การต่อสัญญาเช่าจะต้องมีการแจ้งความประสงค์ ไม่น้อยกว่า 30 และ 60 วันก่อนหมดอายุสญ ั ญา ตามแต่และสัญญาเช่า 7. บริษทั ฯ เช่าพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงานบริการสาขา ในจังหวัดเชียงใหม่, สุราษฏร์ธานี, นครสวรรค์, นครราชสีมา, นครปฐม, พิษณุโลก, หาดใหญ่, ชลบุร,ี อยุธยา, ระยอง, ภูเก็ต, อุดรธานี, ขอนแก่น และกรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 18,065 ตารางเมตร โดยแยกทําสัญญาแยกแต่ละจังหวัด และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนรวมทัง้ สิน้ ในอัตรา 9,328,318 บาทต่อเดือน 5.2

สัญญาร่วมการงาน

ต้นทุนโครงการภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานเป็ นสินทรัพย์ทล่ี งทุนโดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และโอนกรรมสิทธิ ์ ให้แก่หน่วยงานรัฐผูเ้ ป็ นเจ้าของสัญญาร่วมการงานนัน้ โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะได้สทิ ธิในการใช้สนิ ทรัพย์นนั ้ ในการ ดําเนินกิจการตลอดอายุสญ ั ญาร่วมการงานนัน้ สัญญาร่วมการงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบไปด้วยสัญญาร่วม การงานทีท่ าํ กับหน่วยงานของรัฐ เพือ่ ให้สามารถดําเนินธุรกิจภายใต้สทิ ธิของหน่วยงานรัฐนัน้ ๆ

ส่วนที่ 2 หน้า 45


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ต้นทุนโครงการภายใต้สญ ั ญาร่วมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ประกอบด้วย ประเภทสิ นทรัพย์

ต้นทุน (ล้านบาท)

ต้นทุนโครงการของบริ ษทั ฯ อุปกรณ์เครือข่ายระบบดิจติ อล GSM อุปกรณ์เครือข่ายระบบอนาลอก NMT อุปกรณ์เครือข่ายสือ่ สัญญาณ อื่นๆ ต้นทุนโครงการของ ADC เครือ่ งมือและอุปกรณ์ รวม ต้นทุนโครงการของ DPC อุปกรณ์เครือข่ายระบบดิจติ อล GSM และ อุปกรณ์เครือข่ายสือ่ สัญญาณ รวมต้นทุนโครงการของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย

จํานวนปี ตัดจําหน่าย

จํานวนปี ท่ี ตัดจําหน่าย แล้ว

มูลค่าทางบัญชี (ล้านบาท)

99,631.81 13,735.31 21,753.19 24,830.97

10 ปี ไม่เกินปี 2558 สิน้ สุด กันยายน 2545 10 ปี ไม่เกินปี 2558 10 ปี ไม่เกินปี 2558

1 – 10 1 – 10 1 – 10 1 – 10

47,477.77 8,441.61 17,525.75

1,537.60 161,488.88

10 ปี

1 – 10

395.56 73,840.69

14,489.02

10 ปี ไม่เกินปี 2556

1-9

4,686.62

175,977.90

78,527.31

สัญญาร่วมการงานหลักๆของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สามารถสรุปได้ดงั นี้ (รายละเอียดของสัญญาร่วมการงานอยู่ ในเอกสารแนบ 3) (1) บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) คูส่ ญ ั ญา

:

อายุของสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

:

การยกเลิกสัญญา

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) 25 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558 1. บริษทั ฯ ได้รบั อนุ ญาตจาก ทีโอที ในลักษณะของสัญญาแบบ สร้าง-โอนให้บริการ โดยให้มสี ทิ ธิดาํ เนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทัง้ ระบบ NMT และ GSM ในย่านความถี่ 900 MHz ทัวประเทศ ่ โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในรูปแบบส่วนแบ่งรายได้ตามอัตราที่ ตกลง 2. บริษทั ฯ ได้รบั อนุ ญาตจากทีโอที ให้เป็ นผูร้ ว่ มบริหารผลประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยงและทรัพย์สนิ ในส่วนทีเ่ หลือจากการใช้งานของบริษทั ฯ ได้ โดย ต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ตามอัตราทีต่ กลง 3. บริษทั ฯ ได้รบั อนุ ญาตจาก ทีโอที ในการให้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนทีแ่ บบใช้ บัตรจ่ายเงินล่วงหน้า (Pre-paid Card) โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอ ที ตามอัตราร้อยละ 20 ของรายได้ (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ทีโอทีมสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ทนั ทีท่บี ริษทั ฯ ล้มละลายหรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อ หนึ่งข้อใดของสัญญา และข้อผิดสัญญาดังกล่าว บริษทั ฯ มิได้ดําเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งถึง ข้อผิดสัญญาจาก ทีโอที เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร โดยบริษทั ฯ ไม่มสี ทิ ธิเรียกร้อง ค่าเสียหายใด ๆ และไม่มสี ทิ ธิเรียกทรัพย์สนิ และเงินคืนจาก ทีโอที แต่อย่างใด ส่วนที่ 2 หน้า 46


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile วันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 1) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึก ข้อตกลง

:

เปลีย่ นแปลง ระยะเวลาการเช่า

:

Telephone)

ลง

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด 11 ธันวาคม 2534 ในกรณีทต่ี ้องเช่าสถานที่ของบุคคลอื่นในการติดตัง้ เครื่องมือและอุปกรณ์ เอไอเอ สต้องทําสัญญาเช่าสถานทีใ่ นนามทีโอทีเดิมให้ทาํ สัญญาโดยมีระยะเวลาเช่า 22 ปี เปลีย่ นเป็ นให้มรี ะยะเวลาเช่าครัง้ ละไม่น้อยกว่า 3 ปี จนครบกําหนด 22 ปี เอไอ เอส ต้องรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลงสถานที่เช่า หากเกิดค่าใช้จ่าย หรือ ค่าเสียหายแต่เพียงผูเ้ ดียว

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 2) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึก ข้อตกลง

:

เปลีย่ นชื่อบริษทั

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด 16 เมษายน 2536 จาก บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด เป็ น บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน)

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 3) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

เปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูใ่ นการ ส่งคําบอกกล่าว

:

กําหนดหลักเกณฑ์ เกีย่ วกับการจัดเก็บและ แบ่งรายได้

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด 28 พฤศจิกายน 2537 (เปลีย่ นทัง้ เอไอเอส และ ทีโอที) 1. ทีโอที ตกลงแบ่งส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพท์ เคลื่อนทีต่ ามสัญญาหลักให้แก่เอ ไอเอส ดังนี้ 1.1 กรณีโทรไปยังประเทศทีไ่ ม่มพี รมแดนติดต่อกับประเทศไทย ทีโอทีจะจ่าย ส่วนแบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท 1.2 กรณีโทรไปยังประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจ่ายส่วน แบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท โดยเอไอเอส ส่วนที่ 2 หน้า 47


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

มีหน้าทีอ่ อกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ และนําส่งให้ทโี อที 2. เมือ่ เอไอเอสได้รบั รายได้ จะต้องนํามารวมเป็ นรายได้เพือ่ คํานวณเป็ นส่วนแบ่ง รายได้ให้ทโี อทีตามสัญญาหลักข้อ 30. เมือ่ ครบรอบปีดาํ เนินการด้วย 3. เอไอเอส ยินยอมสละสิทธิและยกส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการ โทรศัพท์ ระหว่างประเทศกับประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทยทีเ่ อไอเอส ได้ จัดเก็บและนําส่งให้ทโี อทีแล้ว ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ให้แก่ทโี อทีทงั ้ หมด ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 4) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

รายละเอียด

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด 20 กันยายน 2539 1. ขยายระยะเวลา การอนุ ญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ปี นับตัง้ แต่ วันทีเ่ ริม่ เปิดให้บริการ เป็ น 25 ปี 2. เอไอเอสมีสทิ ธิเป็ นผูล้ งทุนสร้างโครงข่ายระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยง (Transmission Networks) ในสือ่ ตัวนําทุกชนิด เพือ่ เชื่อมโยงกับโครงข่ายของ ทีโอทีและโครงข่ายอื่นทีจ่ าํ เป็ น และยกให้เป็ นทรัพย์สนิ ของทีโอที โดยเอไอเอส ได้รบั สิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงข่ายทัง้ หมด 3. เอไอเอสมีสทิ ธิใช้ ครอบครอง ระบบสือ่ สัญญาณและทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้จดั หามาโดย ไม่ตอ้ งเสียค่าตอบแทนใดๆ 4. มีสทิ ธิแสวงหาประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณในส่วนทีเ่ หลือจากการใช้งาน โดยเอไอเอสเป็ นผูบ้ ริหารผลประโยชน์ดงั กล่าว 5. ในกรณีทบ่ี ุคคลอื่นหรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายเอไอเอส มี สิทธิได้รบั ผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราทีท่ งั ้ สองฝา่ ยตกลงร่วมกัน 6. ยกเลิก เงื่อ นไขในสัญ ญาหลัก ข้อ 18 ที่ใ ห้ส ิทธิแ ก่ เอไอเอสในการเป็ น ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ต่เพียงผูเ้ ดียว 7. เอไอเอส สามารถให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศผ่านชุมสายของ กสท. ได้โดยตรง ทัง้ นี้ ภายใต้เงือ่ นไขทีจ่ ะไม่ทาํ ให้ ทีโอที ได้รบั รายได้ น้อยลงจากทีเ่ คยได้รบั อยูต่ ามสัญญาหลัก 8. ยกเลิกข้อความตามข้อ 4.3 ในข้อตกลงต่อท้ายครัง้ ที่ 3 โดยเน้นว่า ทีโอที จะ จ่ายส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 3 บาท/นาที ให้ เอไอเอส 9. เป็ นการกําหนดอัตราส่วนแบ่งรายได้ท่ี เอไอเอส ต้องจ่ายให้ ทีโอที ในปี ท่ี 21-25 ในอัตราร้อยละ 30 ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใด ๆ และเอไอ เอส มีสทิ ธิลดหรือยกเว้นค่าใช้บริการกรณีทม่ี รี ายการส่งเสริมการขายได้ โดย ให้ชาํ ระส่วนแบ่งรายได้ตามรายการส่งเสริมการขายทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ 10. ในกรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ของโครงข่ายให้มปี ระสิทธิภาพ เอไอ ส่วนที่ 2 หน้า 48


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอส เป็ นผูล้ งทุนใช้ดว้ ยค่าใช้จา่ ยของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ ต่างๆ ตกเป็ นของ ทีโอที ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 5) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

กําหนดการแสวงหา ประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยง

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด 25 ธันวาคม 2543 1. เอไอเอสเป็ นผูร้ ว่ มบริหารผลประโยชน์ 2. เอไอเอสเป็ นผูเ้ รียกเก็บค่าบริการจากผูใ้ ช้บริการและจ่ายส่วนแบ่งผลประโยชน์ ให้ทโี อที 3. สัดส่วนผลประโยชน์จากรายได้ระหว่างเอไอเอสกับทีโอทีแยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของทีโอที” ตลอดอายุสญ ั ญาทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 25 เอไอเอส ได้รบั ในอัตราร้อยละ 75 3.2 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของเอไอเอส” ตลอดอายุสญ ั ญา ทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 22 เอไอเอสได้รบั ในอัตราร้อยละ 78 4. เอไอเอสและทีโอทีจะต้องทําการตลาดร่วมกันและไม่ทาํ การตลาดทีเ่ ป็ นการแย่ง ผูใ้ ช้บริการในโครงข่ายทีโอที 5. เอไอเอสจะต้องเป็ นผูจ้ ดั ทําและลงนามในสัญญาเช่าใช้ระบบสือ่ สัญญาณกับ ผูใ้ ช้บริการทุกราย และทํารายงานการเช่าส่งให้ ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน

ข้อตกต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 6) คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง รายละเอียดการชําระ ผลประโยชน์ตอบแทน

: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) : วันที่ 15 พฤษภาคม 2544 :

การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบใช้บตั รจ่ายเงินล่วงหน้า (Prepaid card) 1. เอไอเอสตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราร้อยละ 20 ของมูลค่าหน้าบัตร (รวมภาษีมูลค่าเพิม่ ) ให้แก่ทโี อทีสําหรับบัตรที่จําหน่ ายได้เป็ นรายเดือน ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในปีท่ี 11-15 ของสัญญาหลัก เอไอเอสจะต้องลดราคาค่าบริการให้ผใู้ ช้บริการใน อัตราเฉลีย่ โดยรวมของแต่ละปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของค่าบริการทีผ่ ใู้ ช้บริการต้อง ชําระในปี ท่ี 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแต่ละปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ค่ า บริก ารที่ผู้ ใ ช้ บ ริก ารต้ อ งชํ า ระในปี ท่ี 11 สํ า หรับ ปี ท่ี 16 – ปี ท่ี 25 ของปี ดําเนินการตามสัญญาหลัก

ส่วนที่ 2 หน้า 49


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 7) คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง รายละเอียดการใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming)

: บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) บริษทั ทศท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) : วันที่ 20 กันยายน 2545 :

1. ทีโอที อนุญาตให้บริษทั ฯ นําเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ามสัญญาหลักให้ผใู้ ห้ บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ได้ และตกลงอนุ ญาตให้ บริษัทฯ เข้า ไปใช้เ ครือข่า ยร่วม (Roaming) ของผู้ใ ห้บริก ารรายอื่น ได้ เช่นเดียวกัน 2. การใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) บริษทั ฯ มีสทิ ธิเรียกเก็บค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศและบริ ่ ษทั ฯ มีสทิ ธิจ่ายค่า ใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศ ่ โดยต้อง ทําหนังสือแจ้งให้ ทีโอที ทราบก่อน 3. บริษั ท ฯ ตกลงจ่ า ยเงิน ผลประโยชน์ ต อบแทนจากการใช้ เ ครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ให้ ทีโอที - ในกรณีท่ผี ู้ให้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ใน เครือข่ายของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ตกลงจ่ายในอัตราร้อยละ(ระบุตามสัญญา หลัก)ของรายได้คา่ ใช้เครือข่ายร่วมทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ห้บริการรายอื่น - ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ เข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผูใ้ ห้บริการราย อื่น บริษทั ฯ ตกลงจ่ายในอัตราร้อยละ(ระบุตามสัญญาหลัก)ของรายได้ ค่าบริการและเงินอื่นใดทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ หักด้วยค่าใช้เครือข่าย ร่วมทีบ่ ริษทั ฯ ต้องจ่ายให้แก่ผใู้ ห้บริการรายอื่น

บันทึกข้อตกลงการใช้เครือข่ายร่วม(National Roaming) คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง รายละเอียดการใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming)

: บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) : วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 :

1. เพื่อ เพิ่ม ประสิท ธิภ าพการให้บ ริก ารโทรศัพ ท์เ คลื่อ นที่แ ก่ ผู้ใ ช้บ ริก ารของ คูส่ ญ ั ญาทัง้ สองฝา่ ย นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็ นต้นไป บริษทั ฯ ตกลง ให้ DPC เข้ามาใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนทีข่ องบริษทั ฯ ได้ทวประเทศ ั่ และ นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เป็ นต้นไป DPC ตกลงให้บริษทั ฯ เข้ามาใช้ เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ อง DPC ได้ทวประเทศเช่ ั่ นกัน 2. คู่สญ ั ญาแต่ละฝา่ ยตกลงชําระค่าใช้เครือข่ายร่วมอันเกิดจากการได้ใช้เครือข่าย ของคู่สญ ั ญาอีกฝ่ายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10บาท (สองบาทสิบสตางค์) ซึ่ง เป็ นอัตราทีย่ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ส่วนที่ 2 หน้า 50


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบอนุญาตการให้บริการอินเตอร์เน็ต แบบทีห่ นึง่ เลขที ่ NTC/MM/INT/ISP/1/025/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2551 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี) เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้แก่ลูกค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอไอเอส มีหน้ าที่ต้องชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอไอเอส ฝา่ ฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(2) บริ ษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิ วนิ เคชันส์ ่ จํากัด ( ADC ) สัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูส่ ญ ั ญา

:

อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

: :

การยกเลิกสัญญา

:

บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (ADC) 25 ปี (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 ) ADC ได้รบั อนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ ข้อมูลทุกประเภท โดยใช้ระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสือ่ สารข้อมูลอื่นๆ ทัง้ ใน ระบบจุดต่อจุด (Point to Point) และจุดต่อหลายจุด (Point to Multipoint) โดยต้อง จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอทีในลักษณะของการเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้านบาท เป็ น 457.52 ล้านบาท โดยออกหุน้ เพิม่ ทุนจํานวน 107.52 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนให้แก่ ทีโอที โดย ทีโอทีไม่ต้องชําระเงิน ค่าหุน้ แต่อย่างใด ทีโ อที มีส ิท ธิ บ อกเลิ ก สัญ ญาและมีอํ า นาจมอบกิ จ การตามสัญ ญานี้ ใ ห้ ผู้ อ่ื น ดําเนินการต่อ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให้ ทีโอทีเชื่อว่า ADC ไม่ สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให้ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี หรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อหนึ่ง ข้อใด โดย ADC ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้แก่ ทีโอที และทรัพย์สนิ ต่างๆให้ตก เป็ นกรรมสิทธิของ ทีโอที ADC ไม่มสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญา เว้นแต่กรณีท่มี เี หตุ สุดวิสยั เกิดขึน้ ทําให้ ADC ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้

ใบอนุญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึ่ง เลขที่ NTC/MN/INT/ISP/I/022/2548 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 19 ธันวาคม 2548 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2549 (ต่อใบอนุ ญาตปีต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผู้รับอนุญาตให้ บริการอินเทอร์ เน็ต ส่วนที่ 2 หน้า 51

ประเภทไม่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

การยกเลิกใบอนุญาต

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ตนเองให้ แก่ลกู ค้ าโดยตรง ทัง้ นี้ ADC มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศ กําหนดไว้ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมือ่ : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ปรากฏว่า ADC ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ใบอนุญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศและบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบทีส่ อง ทีม่ โี ครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/002/2549 ผูอ้ นุ ญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 8 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม 2554

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ ให้บริการศูนย์กลาง การเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศสําหรับผูใ้ ห้บริการ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบมีโครงข่าย โทรคมนาคมเป็นของตนเอง ให้บริการเฉพาะกลุม่ บุคคล ทัง้ นี้ ADC มีหน้าทีต่ อ้ ง ชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมือ่ ปรากฏว่า ADC ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(3) บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (DPC) สัญญาต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับการดําเนินกิจการโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ อง DPC มีดงั นี้ สัญญาโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ คูส่ ญ ั ญา

:

การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (TAC) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

ลักษณะของสัญญา

:

TAC ยอมโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลา่ ระหว่าง กสท. กับ TAC “บางส่วน” ให้แก่ DPC โดยได้รบั ความยินยอมจาก กสท.

ส่วนที่ 2 หน้า 52


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ สัญญา

:

การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา

:

16 ปี (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556)

ลักษณะของสัญญา

:

การยกเลิกสัญญา

:

DPC ได้รบั อนุ ญาตจาก กสท. ให้ดําเนินการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ ดิจติ อล GSM 1800 บางส่วนทีไ่ ด้รบั โอนสิทธิจาก TAC โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ กสท. เป็ นร้อยละของรายได้ก่อนหักค่าใช้จ่าย ภาษี และค่าธรรมเนียม ต่างๆ ที่เกิดขึน้ จากการดําเนินการให้บริการ ทัง้ นี้ผลประโยชน์ ดงั กล่าวต้องไม่ต่ํา กว่าผลประโยชน์ขนั ้ ตํ่าทีก่ าํ หนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา สัญญานี้สน้ิ สุดลงหรือระงับสิน้ ไปด้วยกรณีดงั ต่อไปนี้ -เมือ่ สัญญาครบกําหนด -เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา หรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อหนึ่งข้อใดและทําให้ กสท. ได้รบั ความเสียหาย และ DPC มิได้ดาํ เนินการ ให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งเป็ นหนังสือจาก กสท. -เมือ่ คูส่ ญ ั ญาทัง้ 2 ฝา่ ยตกลงกันเลิกสัญญา -เมือ่ DPC ล้มละลาย -เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ DPC ตกเป็ นผูข้ าดคุณสมบัติ ตามกฎหมายว่า ด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว และ กสท.ได้แจ้งให้ DPC ทราบเป็ นหนังสือ ล่วงหน้าเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน

สัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (ครัง้ ที่ 1) คูส่ ญ ั ญา : การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) วันทีท่ าํ สัญญา

:

บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี

อายุของสัญญา

:

26 สิงหาคม 2542

วันทีส่ ญ ั ญามีผลบังคับใช้

:

30 มิถุนายน 2542

รายละเอียด

:

กสท. อนุ ม ัติ ใ ห้ ป รับ ลดผลประโยชน์ ต อบแทนเพื่อ ให้ เ ท่ า เที ย มกับ สัญ ญาให้ ดําเนินการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ระหว่าง กสท. กับบริษทั โทเทิล่ แอ๊คเซ็ส คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (แทค) เนื่องจากสัญญาของ ดีพซี ี เป็ นสัญญาทีโ่ อน สิทธิมาจากสัญญาของบริษทั แทค และปรับเงินประกันรายได้ขนั ้ ตํ่าเพิม่ ขึน้ ดังนี้ 1. ปรับลดผลประโยชน์ตอบแทน ปี ท่ี 1 เป็ น 25%, ปี ท่ี 2-9 เป็ น 20%, ปี ท่ี 10-14 เป็ น 25%, ปีท่ี 15-16 เป็ น 30% 2. ดีพซี ี จ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนขัน้ ตํ่าให้ กสท. ตลอดอายุสญ ั ญาจากเดิม 3,599.55 ล้านบาท เป็ น 5,400 ล้านบาท

ส่วนที่ 2 หน้า 53


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(4) บริ ษทั แอดวานซ์ เมจิ ค การ์ด จํากัด (AMC) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่ 006/2548 ผูอ้ นุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตัง้ แต่วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2548 เป็ นต้นไป

ลักษณะของหนังสือ อนุญาต

:

อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด

การยกเลิกหนังสือ อนุ ญาต

:

กระทรวงการคลังมีอํานาจสังเพิ ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า AMC ฝา่ ฝื น หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขในการประกอบกิจการตามทีก่ ระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(5) บริ ษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (AMP) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่ 003/2548 ผูอ้ นุญาต : กระทรวงการคลัง ระยะเวลาของหนังสือ : ตัง้ แต่วนั ที่ 24 มิถุนายน 2548 เป็ นต้นไป อนุญาต ลักษณะของหนังสือ : อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด อนุญาต ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า AMP ฝา่ ฝื น การยกเลิกหนังสือ : กระทรวงการคลังมีอํานาจสังเพิ หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขในการประกอบกิจการตามทีก่ ระทรวงการคลังและ อนุญาต ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด (6) บริ ษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (AIN) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุ ญาตให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริการทีเ่ กี่ยวเนื่องกับ บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตลอดจนบริการโครงข่ายบริการโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ ทัง้ นี้ AIN มีหน้าทีต่ ้องชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ ประกาศกําหนดไว้ ส่วนที่ 2 หน้า 54


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

การยกเลิกใบอนุญาต

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมือ่ ปรากฏว่า AIN ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(7) บริ ษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (SBN) ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 10 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2551 (ต่อใบอนุญาตปีต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้แก่ลกู ค้าโดยตรง ทัง้ นี้ SBN มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศ กําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า SBN ฝ่าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ใบอนุญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ตเกต์เวย์ ระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบทีส่ อง ทีม่ โี ครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/008/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 14 ตุลาคม 2555

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผู้รบั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ ตระหว่างประเทศ ให้บริการศูนย์กลางการ เชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศ สําหรับผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต ภายในประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต ประเภทมีโครงข่ายโทรคมนาคม เป็ นของตนเอง ให้บริการจํากัดเฉพาะกลุ่มบุคคล ทัง้ นี้ SBN มีหน้าทีต่ ้องชําระ ค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า SBN ฝ่าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ส่วนที่ 2 หน้า 55


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที่ 3ก/50/006 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 16 สิงหาคม 2550 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2570

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผู้รบั อนุ ญาตให้บริการโทรคมนาคมแก่บุคคลทัวไป ่ ประเภทบริการโทรศัพท์ ประจํา ที่ บริก ารวงจรร่ว มดิจิตอล บริการพหุ ส่อื ความเร็วสูงและบริการเสริม มี โครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ทัง้ นี้ SBN มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ่ ปรากฏว่า SBN ฝาฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ส่วนที่ 2 หน้า 56


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5.3 นโยบายการลงทุนและบริ หารงานในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่วม บริษัทฯ มีนโนบายการลงทุนโดยเลือกลงทุ นในบริษัทที่ป ระกอบธุร กิจ สื่อ สารโทรคมนาคม และธุร กิจ อื่น ๆที่ เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นทีจ่ ะลงทุนในบริษทั ทีใ่ ห้ผลตอบแทนทีด่ หี รือมีการดําเนินธุรกิจทีส่ ามารถเสริมประโยชน์กบั ธุรกิจหลัก ของบริษทั ฯ ได้ในระยะยาว บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะยังคงสัดส่วนการถือหุน้ และมีสว่ นสําคัญในการบริหารงานในบริษทั ย่อย โดย การส่งตัวแทนของ บริษทั ฯ ไปเป็ นกรรมการในบริษทั ย่อยทุกบริษทั ยกเว้น บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จํากัด ซึง่ ได้ หยุดดําเนินกิจการการจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ละบัตรเติมเงินตัง้ แต่ เดือนธันวาคม 2545 โดยได้โอนการดําเนินธุรกรรม ดังกล่าวไปยังบริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด และ บริษัท ดาต้าลายไทย จํากัด ซึ่งได้หยุดดําเนินการเนื่องจาก สัญญาให้บริการอินเตอร์เน็ตหมดอายุเดือน มกราคม 2550 และได้จดทะเบียนเลิกบริษทั กับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2550 ซึง่ ในระหว่างนี้อยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2550 บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย 12 บริษทั ดังนี้ 1) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี 2) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซ)ี 3) บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซ)ี 4) บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (ดีเอ็นเอส) 5) บริษทั ดาต้าลายไทย จํากัด (ดีแอลที) 6) บริษทั โมบาย ฟรอม แอ็ดวานซ์ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) 7) บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) 8) บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จํากัด (เอเอ็มซี) 9) บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) 10) บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) 11) บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) 12) บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับลิวเอ็น)

ส่วนที่ 2 หน้า 57


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

6.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงการในอนาคต

1) โครงการ ลักษณะของโครงการ

บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G ภายใต้ใบอนุญาตใหม่จาก กทช. บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีบ่ นระบบ 3G หรือ Third Generation เป็ นเทคโนโลยี บนมาตรฐานสากลทีท่ าํ ให้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ ห้สามารถให้บริการรับส่ง สัญญาณเสียงทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ รองรับการใช้งานได้มากขึน้ และมีการ สือ่ สารด้วยข้อมูลทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ ในทางเทคนิค เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีบ่ น เทคโนโลยี 3G สามารถสือ่ สารข้อมูลด้วยความเร็วสูงถึง 384 Kbps ในทุก สภาวะแวดล้อม และ 2 Mbps ในสภาวะเคลื่อนทีต่ ่าํ (Low-Mobility) และสภาวะ ภายในอาคาร ซึง่ สูงกว่าเทคโลยี 2.5G ทีม่ คี วามเร็วเพียง 40 Kbps และ เทคโนโลยี EDGE (Enhanced Data Rate for GSM Evolution) ทีม่ คี วามเร็ว 120 Kbps ทัง้ นี้ เทคโนโลยี 3G จะช่วยให้บริษทั ฯ สามารถพัฒนาบริการที่ หลากหลายมากขึน้ เช่น อินเตอร์เน็ต อีเมล์ มัลติมเี ดีย การดาว์นโหลดเพลง และวีดโี อ การรับส่งข้อความแบบทันที และบริการอื่นๆทีต่ อ้ งอาศัย ความสามารถในการรองรับสูง ในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมารายได้จากการใช้ขอ้ มูลของทัง้ อุตสาหกรรมมีอตั ราการ เติบโตอยูใ่ นระดับสูง ในปี 2550 ประเทศไทยมีอตั ราส่วนรายได้จากการใช้ ข้อมูลคิดเป็ นร้อยละ 11 ต่อรายได้จากการให้บริการ เอไอเอสคาดว่าอัตราส่วน การใช้ขอ้ มูลดังกล่าวสามารถเติบโตจากปจั จุบนั ร้อยละ 11 ไปได้ถงึ ร้อยละ 20 ภายใน 3-5 ปี บริษัท ฯ มีค วามสนใจที่จ ะพิจ ารณาขอใบอนุ ญ าตการประกอบธุ ร กิจ บริก าร โทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ 3G โดยจะต้องมีการศึกษารายละเอียดของหลักเกณฑ์ การให้ใ บอนุ ญ าตจากคณะกรรมการกิจ การโทรคมนาคมแห่ง ชาติ (กทช.) เสีย ก่ อ น ซึ่ง ขณะนี้ อ ยู่ ใ นขัน้ ตอนการรอให้ กทช. ออกหลัก เกณฑ์ ก ารให้ ใบอนุ ญาตประกอบการดังกล่าว งบประมาณในการลงทุนคาดว่าอยู่ทป่ี ระมาณ 20,000 – 23,000 ล้านบาท ต่อปี สําหรับในช่วง 2-3 ปี แรก โดยเป็ นการลงทุน ในเทคโนโลยี WCDMA ทีย่ า่ นความถี่ 2.1GHz โดยบริษทั ฯ จะเริม่ ลงทุนในเขต กรุงเทพฯ ปริมณฑล และเมืองใหญ่ก่อน

ปจั จัยความเสีย่ งของโครงการ

ในเบื้องต้น บริษทั ฯ ยังไม่สามารถประมาณการผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รบั จากการลงทุนในโครงการนี้ได้ เนื่องจากยังต้องอาศัยความชัดเจนในเรื่อง เงื่อนไข ค่าธรรมเนียมและกฎระเบียบข้อบังคับในการให้ใบอนุ ญาตจาก กทช. เสียก่อน ก) ความเสีย่ งเรือ่ งความล่าช้าของการจัดสรรคลื่นความถีใ่ หม่สาํ หรับใบอนุญาต 3G เนื่องจากการคัดเลือกและแต่งตัง้ คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ยังไม่ได้ผลสรุป โดยตามพรบ.องค์กรจัดสรร ส่วนที่ 2 หน้า 58


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

คลื่นความถีแ่ ละกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม การจัดสรรคลื่นความถีใ่ หม่เป็ นหน้าทีร่ บั ผิดชอบของ คณะกรรมการร่วม ซึง่ ประกอบด้วย กทช. และ กสช. จากการทีก่ สช.ยังมิได้ม ี การแต่งตัง้ ดังนัน้ คณะกรรมการร่วมจึงมิอาจเกิดขึน้ ได้ เมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2550 สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) ได้ผา่ นร่างพรบ. การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ซึง่ ได้มกี ารเปลีย่ นแปลง หลักการสําคัญเกีย่ วกับองค์กรของรัฐทีท่ าํ หน้าทีจ่ ดั สรรคลื่นความถีแ่ ละกํากับ ดูแลการประกอบกิจการ โดยระบุให้มอี งค์กรของรัฐทีเ่ ป็ นอิสระเพียงองค์กร เดียวเรียกว่า "คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)” เพือ่ ทําหน้าทีจ่ ดั สรรคลื่นความถีแ่ ละดูแล ประกอบกิจการดังกล่าว ทัง้ นี้ก่อนทีจ่ ะมีการตัง้ กสทช. ซึง่ คาดว่าจะใช้เวลา ประมาณ 180 วัน หลังจากร่างพรบ.นี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (หรือ ประมาณไตรมาส 3/2551) กฎหมายได้ให้อาํ นาจ กทช. ในการทําหน้าทีค่ วบคุม และจัดการทัง้ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม และ กิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุ โทรทัศน์ จนกว่าการจัดตัง้ กสทช. จะแล้วเสร็จจากเหตุผลดังกล่าวน่าจะช่วยให้ กทช. มีความมันใจในอํ ่ านาจและหน้าทีใ่ นการกํากับดูแลอุตสาหกรรม และ รวมถึงการอนุมตั คิ ลื่นความถี่ 3G ในปี 2549 กทช.ได้ทาํ หนังสือสอบถามความเห็นไปยังคณะกรรมการกฤษฎีกา ใน 3 ประเด็นหลักดังนี้ 1. การทีย่ งั ไม่ม ี กสช. ในกรณีทเ่ี ห็นความจําเป็ นแล้ว กทช. สามารถจัดสรร คลื่นได้หรือไม่ 2. กรณีทต่ี ารางกําหนดคลื่นวิทยุแห่งชาติทก่ี รมไปรษณียโ์ ทรเลขทําไว้เดิมนัน้ เมือ่ ยังไม่ม ี กสช.มายกเลิกแล้วยังสามารถทําได้หรือไม่ 3. คลื่นความถีว่ ทิ ยุทไ่ี ด้จดั สรรไว้เพือ่ กิจการวิทยุโทรคมนาคมเป็นหลัก โดยให้ ใช้ในกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เป็ นอันดับรอง ซึง่ เป็ นไป ตามมาตรฐานสากลระหว่างประเทศชัดเจนนัน้ กทช. สามารถจัดสรร ความถีว่ ทิ ยุดงั กล่าวได้หรือไม่ คณะกรรมการกฤษฎีกาลงความเห็นตามบันทึกสํานักงานกฤษฎีกา เรือ่ งการ บริหารและจัดสรรความถีว่ ทิ ยุโทรคมนาคมเรือ่ งเสร็จที่ 386/2549 ดังมีใจความ บางส่วน ดังนี้ 1. ”พิจารณาตามกฎหมายทัง้ หมดแล้วได้ระบุให้ กทช. ทําแผนแม่บทกิจการ โทรคมนาคมเพือ่ เป็ นแนวทางในการบริหารกิจการโทรคมนาคม เพราะฉะนัน้ หาก กทช. ทําแผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมแล้วและได้ทาํ แผนความถีว่ ทิ ยุแห่งชาติไว้ดว้ ยในส่วนนี้กส็ ามารถจัดสรรคลื่นความถี่ โทรคมนาคมได้เลย” 2. “เนื่องจากกฎหมายนัน้ สภาพแวดล้อมได้เปลีย่ นไปและรัฐธรรมนูญก็ เปลีย่ นไปแล้วเช่นกัน ฉะนัน้ ตารางคลื่นความถีว่ ทิ ยุทก่ี รมไปรษณียโ์ ทรเลข ส่วนที่ 2 หน้า 59


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ทําไว้เดิมโดยคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารคลื่นความถีว่ ทิ ยุ แห่งชาติ (กบถ.) อนุมตั ไิ ว้ถอื ว่า ใช้ไม่ได้แล้วเพราะว่าเป็ นเรือ่ งที่ กทช. ต้องรับผิดชอบจาก กสช. ในการทําแผนความถีว่ ทิ ยุแห่งชาตินนั ้ มา อย่างไรก็ตาม ระหว่างทีย่ งั ไม่มตี ารางกําหนดคลื่นความถีแ่ ห่งชาติตาม พระราชบัญญัตอิ งค์กรจัดสรรคลื่นความถีแ่ ละกํากับกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมฯ ในการปฏิบตั ิ อาจนําตารางกําหนดความถีว่ ทิ ยุแห่งข้อบังคับวิทยุของสหภาพ โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecoms Union - ITU) มา ใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั งิ านกับกิจการโทรคมนาคมไปก่อนได้ สําหรับใน ประเด็นที่ 3 ทีว่ า่ กทช. สามารถจัดสรรความถีว่ ทิ ยุทไ่ี ด้เคยมีการจัดสรรไว้ เพือ่ กิจการวิทยุโทรคมนาคมเป็นหลักได้หรือไม่นนั ้ เมือ่ ได้วนิ ิจฉัยใน ประเด็นที่ 1 แล้ว จึงไม่มคี วามจําเป็ นต้องวินิจฉัยในประเด็นนี้อกี ” จากความเห็นดังกล่าว หมายความว่า กทช. เพียงองค์กรเดียวสามารถจัดสรร คลื่นความถี่ 3G ได้เลยโดยมิตอ้ งรอการจัดตัง้ กสช. เพราะคลื่นความถี่ 3G หรือ WCDMA ได้จดั อยูใ่ นย่านความถีส่ ากลของ ITU อยูแ่ ล้ว จากเหตุการณ์ทงั ้ สองทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว เอไอเอส เชื่อว่า หากกทช.มีความเชื่อมันและได้ ่ รบั การ สนับสนุนจากภาครัฐบาล กทช.น่าจะสามารถออกใบอนุญาต 3G รวมถึงจัดสรร คลื่นความถีไ่ ด้ในอนาคตอันใกล้ ข) ความพร้อมของผูใ้ ช้บริการต่อเทคโนโลยี 3G ขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยด้านราคาของ เครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ 3G และความน่าสนใจของบริการ 3G บริษทั ฯ ได้มกี ารเตรียมพร้อมต่อเนื่องจากเทคโนโลยี 2.5G และ EDGE ซึง่ ให้ความรูแ้ ก่ ผูใ้ ช้บริการเพีอ่ พัฒนาไปสูก่ ารใช้งานบนเทคโนโลยี 3G โดยในหลายๆปี ทผ่ี า่ น มา เอไอเอสได้มกี ารพัฒนาร่วมกับ Content partner หลายรายในการพัฒนา บริการเสริมใหม่ๆ เพือ่ ให้ตรงกับความต้องการทีห่ ลากหลายของลูกค้าทุกกลุ่ม ซึง่ เอไอเอสเชื่อว่าจะช่วยส่งเสริมให้ผใู้ ช้บริการตัดสินใจเลือกใช้โทรศัพท์ 3G ประกอบกับโทรศัพท์ 3G ได้มขี ายในประเทศไทยเป็ นเวลานานในหลายๆปีท่ี ผ่านมา และเหตุผลทีผ่ ใู้ ช้บริการเลือกซือ้ โทรศัพท์ 3G เพราะถูกใจในฟงั ก์ชนั ่ ของโทรศัพท์ 3G นอกจากนี้การทีร่ าคาโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G มีแนวโน้มลดลง ตลอดในอนาคต จะช่วยให้ยอดผูใ้ ช้บริการ 3G ให้เติบโตมากยิง่ ขึน้ ค) ความเสีย่ งทีบ่ ริษทั ฯ อาจไม่ได้รบั ใบอนุญาต 3G เนื่องจากคาดว่าใบอนุญาต จะมีจาํ นวนจํากัดตามคลื่นความถีใ่ นย่าน 2.1 GHz ซึง่ จํานวนใบอนุ ญาตและ คุณสมบัตขิ องผูร้ บั ใบอนุญาตนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ข้อกําหนดของ กทช. อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ เชื่อว่าจะแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสมต่อการเป็ นผูใ้ ห้บริการ 3G ด้วยประสบการณ์ยาวนานในการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม ความชํานาญ ทัง้ ในด้านเครือข่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพและบริการทีเ่ ป็ นทีไ่ ว้วางใจของลูกค้าใน ปจั จุบนั รวมถึงความแข็งแกร่งทางด้านการเงิน อีกทัง้ บริษทั ฯ มีฐานลูกค้า ขนาดใหญ่ในปจั จุบนั และมีเครือข่ายขนาดใหญ่ในระบบ GSM ซึง่ จะช่วยให้ ลูกค้าใช้บริการได้อย่างต่อเนื่องแม้ในพืน้ ทีท่ ค่ี วามครอบคลุมของเครือข่าย 3G ส่วนที่ 2 หน้า 60


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ยังไปไม่ถงึ ง) ความเสีย่ งในเรือ่ งค่าใบอนุ ญาตที่ กทช. จะเรียกเก็บ เนื่องจากยังไม่มคี วาม ชัดเจนว่า กทช. จะใช้วธิ กี ารใดสําหรับการคัดเลือกผูร้ บั ใบอนุญาต อย่างไรก็ ตามหากพิจารณาจากค่าใบอนุ ญาตในประเทศอื่นๆ ในภูมภิ าค บริษทั ฯ เชื่อว่า ด้วยฐานะทางการเงินทีแ่ ข็งแกร่งจะไม่เป็ นอุปสรรคต่อการจ่ายค่าใบอนุญาต 2) โครงการ ลักษณะของโครงการ

ปจั จัยความเสีย่ งของโครงการ

โครงการพัฒนาระบบ HSPA เทคโนโลยีใ นป จั จุ บนั ได้พฒ ั นาไปจนสามารถนํ า เอาคลื่น ความถี่ท่ีย่า น 900 MHz มาให้บริการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงด้วยระบบ High-Speed Packet Access (HSPA) ได้ ซึง่ เป็ นการพัฒนาต่อยอดจากระบบ GSM ปจั จุบนั เพื่อให้ ความสามารถในการรับส่งข้อมูลเพิม่ สูงขึน้ ในระดับเดียวกับ 3G โดยการพัฒนา ดัง กล่า วนี้ จ ะอยู่ภ ายใต้ส ญ ั ญาร่ว มการงานป จั จุ บ นั ที่ม ีอ ยู่ก ับ ทีโ อที บริษัท ฯ ประเมินงบการลงทุนในเบื้องต้นที่ 5-7 พันล้านบาท สําหรับการลงทุนใน ระยะแรก ทัง้ นี้งบประมาณดังกล่าวยังมีความไม่แน่ นอน ขึน้ อยู่กบั ปจั จัยหลาย ประการ เช่น การประเมินความต้องการในการใช้งาน การจัดสรรคลื่นความถีม่ า ใช้สําหรับการรับส่งข้อมูล และข้อตกลงกับทีโอที ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงยังไม่ สามารถประเมินผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั ทีแ่ น่นอนได้ ก) อุปกรณ์สาํ หรับผูใ้ ช้งาน HSPA ทีค่ ลื่นความถี่ 900 MHz ในปจั จุบนั ยังมี จํานวนจํากัดและยังไม่แพร่หลาย ในอนาคตหากมีผผู้ ลิตอุปกรณ์จาํ นวนน้อย อาจส่งผลให้อุปกรณ์มรี าคาสูงได้ ข) เนื่องจากคลื่นความถี่ 900 MHz ปจั จุบนั ได้ถกู ใช้งานสําหรับระบบ 2G การ แบ่งคลื่นความถีบ่ างส่วนมาเพื่อให้บริการ HSPA อาจทําให้เกิดความยากต่อ การวางแผนการใช้คลื่นมากขึน้

3) โครงการ ลักษณะของโครงการ

ไวแมกซ์ (WiMAX) เอไอเอสกําลังศึกษารายละเอียดโครงการให้บริการ ไวแมกซ์ หรือเทคโนโลยี การเชื่อมต่อไร้สายความเร็วสูงทีอ่ าศัยการส่งข้อมูลบนเครือข่ายไร้สายทีม่ คี วาม ครอบคลุมกว้าง (wireless metropolitan area network) ทัง้ นี้ เทคโนโลยีไว แมกซ์ จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพให้แก่บริการบรอดแบนด์และเครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนทีท่ บ่ี ริษทั ฯให้บริการอยูใ่ นปจั จุบนั นอกจากนี้ยงั ช่วยให้สามารถ เข้าถึงตลาดลูกค้าบรอดแบนด์ตามเขตทีอ่ ยูอ่ าศัยได้โดยไม่จาํ เป็ นต้องลงทุน เชื่อมต่อสายซึง่ ใช้ระยะเวลานานและมีราคาแพงอีกทัง้ ช่วยให้สามารถขยาย เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ด้งา่ ยขึน้ สําหรับในบางพืน้ ทีด่ ว้ ย อย่างไรก็ตามโครงการไวแมกซ์ยงั ต้องอาศัยความชัดเจนด้านมาตรฐานทาง ส่วนที่ 2 หน้า 61


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เทคโนโลยี คลื่นความถีท่ จ่ี ะใช้กบั ไวแมกซ์ ความเป็ นไปได้ในการให้บริการใน เชิงพาณิชย์ และกฎระเบียบข้อบังคับการให้ใบอนุญาต โดยในเบือ้ งต้นบริษทั ฯ ยังไม่สามารถประมาณงบประมาณการลงทุน และผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการลงทุนในโครงการนี้ได้

ปจั จัยความเสีย่ งของโครงการ

ในเดือนพฤศจิกายน 2550 เอไอเอสได้รบั ใบอนุญาตทดสอบเทคโนโลยีไว แมกซ์จาก กทช. ใบอนุญาตนี้มอี ายุ 90 วัน และ สามารถทดสอบได้ในบางพืน้ ที่ ทีก่ ทช.กําหนดเท่านัน้ ก) มีความเสีย่ งในด้านมาตรฐานทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรือ่ งคลื่น ความถีท่ จ่ี ะอนุมตั ิ ซึง่ เป็ นปจั จัยสําคัญต่อความประสบความสําเร็จของโครงการ โดยคลื่นความถีท่ ส่ี ามารถใช้กบั ไวแมกซ์ได้นนั ้ มีมาตรฐานค่อนข้างกว้าง คือ สามารถใช้ได้ตงั ้ แต่ 2.3 GHz จนถึง 5.8 GHz โดยในแต่ละประเทศมีการอนุมตั ิ ให้ใช้คลื่นความถีท่ แ่ี ตกต่างกัน โดยทัวไปคลื ่ ่นความถีท่ ่ี 2.3 GHz และ 2.5 GHz จะใช้สาํ หรับไวแมกซ์เคลื่อนที่ (Mobile WiMAX) และ คลื่นความถี่ 3.5 GHz ใช้สาํ หรับไวแมกซ์ระบบพืน้ ฐาน (Fixed WiMAX) ดังนัน้ การวางแผนการ ลงทุน และความสําเร็จของโครงการจึงขึน้ อยูก่ บั คลื่นความถีท่ ่ี กทช. จะอนุมตั ิ จัดสรรให้ ซึง่ หมายถึงการสร้างความได้เปรียบด้วยขนาดของการผลิต (Economy of scale) และ ความมีมาตรฐานของเทคโนโลยี (standardization of technology) จะช่วยทําให้ราคาต้นทุนอุปกรณ์มรี าคาต่อหน่วยลดลง อีกทัง้ สามารถให้ผใู้ ช้บริการไวแมกซ์ในประเทศไทยสามารถนําอุปกรณ์ไปใช้ใน ประเทศอื่นได้ ข) มีความเสีย่ งในส่วนของกฎข้อบังคับในอนุญาต เช่น คลื่นความถีท่ จ่ี ะ อนุญาตให้ใช้กบั บริการไวแมกซ์ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และหน้าทีข่ อง ผูป้ ระกอบการทีม่ าพร้อมใบอนุ ญาต ดังนัน้ ในเบือ้ งต้นบริษทั ฯ ต้องศึกษา รายละเอียดของใบอนุญาตให้รอบคอบรวมถึงความต้องการของผูบ้ ริโภคต่อ บริการชนิดนี้ก่อนทีจ่ ะตัดสินใจลงทุน

4) โครงการ ลักษณะของโครงการ

ระบบการชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (RFID) ระบบการชีเ้ ฉพาะด้วยคลื่นความถีว่ ทิ ยุ (RFID) คือระบบชีเ้ ฉพาะอัตโนมัติ (Automatic Identification) แบบไร้สายโดยเก็บและส่งข้อมูลโดยใช้ RFID tag ระบบนี้จะประกอบด้วยอุปกรณ์สองส่วน คือ ส่วนเครือ่ งอ่าน (Reader) และส่วน ป้ายชื่อ (Tag) โดยการทํางานนัน้ เครือ่ งอ่านจะทําหน้าทีจ่ า่ ยกําลังงานในรูปคลื่น ความถีว่ ทิ ยุให้กบั ตัวบัตรไปยังผลให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ภายในสามารถส่ง ข้อมูลจําเพาะทีแ่ สดงถึงตัวตน (Identity) กลับมาประมวลผลทีต่ วั อ่าน ใน ปจั จุบนั การใช้ระบบ RFID เป็ นทีย่ อมรับอย่างสูงว่า เป็ นเทคโนโลยีท่ี เอือ้ อํานวยต่อการใช้งานทีต่ อ้ งการการบ่งบอกความแตกต่างหรือข้อมูลจําเพาะ ของแต่ละบุคคลทีส่ ามารถทํางานได้ถกู ต้องแม่นยํา รวดเร็ว และมีความเป็ น อัตโนมัตกิ ว่าระบบตรวจสอบรหัสในระบบอื่นๆ เช่น รหัสแบบแท่ง (Barcode) ส่วนที่ 2 หน้า 62


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การใช้งานทีง่ า่ ยและยังเพิม่ ขีดความสามารถในการให้บริการเสริมในเชิง พาณิชย์ดา้ นต่างๆ อีกทัง้ ยังสอดคล้องกับเทคโนโลยีทางการเก็บ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ยังผลให้การขยายตัวของการใช้งาน RFID สูงขึน้ อย่างก้าว กระโดด เทคโนโลยี RFID ได้ใช้งานเป็ นครัง้ แรกในอุตสาหกรรมขนส่ง (logistics) เพื่อช่วยในการบริหารจัดการสินค้า (supply chain system) ใน หลายๆปีทผ่ี า่ นมา จากการทีร่ าคาอุปกรณ์ (Tag) มีราคาลดลง จึงทําให้ เทคโนโลยี RFID ได้รบั ความนิยมสูงขึน้ เรือ่ ยๆ รวมถึงอุตสาหกรรม โทรคมนาคม ซึง่ ใช้ RFID ในการทําธุรกรรมผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile payment) เช่น ในประเทศญีป่ นุ่ เทคโนโลยี RFID ได้ถกู ใช้อย่างแพร่หลายใน อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ผูใ้ ช้บริการสามารถใช้โทรศัพท์เคลื่อนทีช่ าํ ระ ค่าบริการรถไฟใต้ดนิ รวมถึงซือ้ สินค้าและบริการได้ดว้ ย สําหรับในประเทศไทย เอไอเอสหวังว่า เทคโนโลยีน้ีจะช่วยส่งเสริมธุรกิจ Mobile Commerce ซึง่ บริษทั ฯ เล็งเห็นว่าเป็ นอีกสายธุรกิจหนึ่งทีม่ โี อกาส เติบโตสูงในอนาคตอีกทัง้ ยังช่วยบริษทั ฯ ส่งเสริมให้ลกู ค้าของบริษทั ฯ ทีใ่ ช้ บริการ mPAY อยูแ่ ล้วใช้บริการมากขึน้ และจูงใจให้ลกู ค้าทีย่ งั ไม่เคยใช้บริการ mPAY ให้ทดลองใช้บริการด้วย โดย ณ สิน้ เดือนธันวาคม ปี 2550 บริษทั ฯ มี ลูกค้าทีใ่ ช้บริการ mPAY อยูป่ ระมาณ 450,000 ราย โดยร้อยละ 15 เป็ นลูกค้าที่ ใช้งานเป็ นประจํา โดยบริษทั ฯมุง่ หวังจะเพิม่ อัตราส่วนลูกค้าทีใ่ ช้งานประจําให้ เป็ นร้อยละ 40-45 ภายในปี 2551

ปจั จัยความเสีย่ งของโครงการ

อย่างไรก็ตามโครงการนี้ยงั ต้องอาศัยความชัดเจนด้านมาตรฐานทางเทคโนโลยี ความเป็ นไปได้ในการให้บริการในเชิงพาณิชย์ และกฎระเบียบข้อบังคับการให้ ใบอนุ ญาต โดยในเบือ้ งต้นบริษทั ฯ ยังไม่สามารถประมาณงบประมาณการ ลงทุน และผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการลงทุนในโครงการนี้ได้ ความเสีย่ งเรื่องความพร้อมของผูใ้ ช้บริการต่อเทคโนโลยี RFID ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั จํานวนโทรศัพท์เคลื่อนทีท่ ร่ี องรับเทคโนโลยี RFID โดยบริษทั โนเกียได้ออก โทรศัพท์เคลื่อนทีท่ ร่ี องรับ RFID ตัง้ แต่ปี 2547 และขณะนี้มผี ผู้ ลิต โทรศัพท์เคลื่อนทีห่ ลายรายทีผ่ ลิตโทรศัพท์ทร่ี องรับเทคโนโลยี RFID เช่น Motorola Samsung BenQ Philips และ Sony อีกทัง้ ราคาเครือ่ งก็อยูใ่ น ระดับกลาง เช่น โนเกีย 3220 และ โนเกีย 5140 คาดว่าจะตัง้ ราคาขายอยูท่ ่ี ประมาณ 3,400 – 5,000 บาท

ส่วนที่ 2 หน้า 63


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

7.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อพิพาททางกฎหมาย

7.1 กรณี ข้อพิ พาททางกฎหมายของบริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได้เสนอข้อพิพาทต่อ สํานักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุ ญาโตตุลาการ หมายเลขดําที่ 9/2551 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 เพื่อเรียกร้องให้บริษทั ฯ ชําระค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิม่ จํานวน 31,462.51 ล้าน บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินดังกล่าว นับตัง้ แต่วนั ที่ 10 มกราคม 2550 อันเป็ นวันผิดนัด จนกว่าจะชําระเสร็จสิน้ ซึ่งจํานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ บริษทั ฯ ได้นํา ส่งไปแล้ว ตามมติคณะรัฐมนตรีวนั ที่ 11 กุ มภาพันธ์ 2546 ขณะนี้ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในขัน้ ตอนที่บริษัทฯเตรียมยื่น คําให้การคัดค้านภายใต้กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ แต่อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของบริษทั เชื่อว่าคําวินิจฉัยชีข้ าดของคณะอนุ ญาโตตุลาการเกีย่ วกับข้อพิพาทดังกล่าว น่าจะเป็ นไปในทางทีเ่ ป็ นผลดีกบั บริษทั ฯ เนื่องจากบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน)ได้เคยมีหนังสือตอบยืนยันว่าบริษทั ฯ ได้ ปฏิบตั ถิ ูกต้องตามมติคณะรัฐมนตรี แล้ว โดยบริษทั ฯมีภาระเท่าเดิมตามอัตราร้อยละทีก่ ําหนดไว้ในสัญญา และเป็ นการ ปฏิบตั ทิ เ่ี หมือนกันทัง้ อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึง่ ไม่น่าจะมีผลกระทบใด ๆ ต่อข้อสัญญา และฐานะการเงินของ บริษทั ฯ และกรณีเช่นเดียวกันนี้ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ก็ได้ดําเนินการเสนอข้อพิพาทเพื่อเรียกร้อง ให้คู่ส ญ ั ญาผู้ใ ห้บริก ารโทรศัพท์เ คลื่อ นที่ชํา ระค่า ผลประโยชน์ ต อบแทนเพิ่ม เติม เช่น เดีย วกัน กับ บริษัท ทีโ อที จํา กัด (มหาชน) (2) บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ได้ย่นื ฟ้อง บริษทั ฯ เป็ นจําเลยที่ 1 และ บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (“AIN”) บริษทั ย่อย เป็ นจําเลยที่ 2 ต่อศาลแพ่งเป็ นคดีหมายเลขดําที่ 1245/2551 เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 เพื่อ เรียกร้องให้ บริษทั ฯ และ AIN ร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายแก่ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) จํานวน 129,784,456.20 บาท ซึง่ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) อ้างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีท่ี บริษทั ฯ ร่วม กับ AIN เปลีย่ นแปลงการส่งทราฟฟิคของการให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศผ่านเครื่องหมาย + จากเดิมที่ เป็ น 001 ของ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) มาเป็ น 005 ของ AIN ในช่วงเวลาทดลองใช้บริการเมื่อประมาณ ต้นเดือนมีนาคม 2550 ทําให้ผใู้ ช้บริการเข้าใจว่าการกดเครือ่ งหมาย + คือการกดรหัส 001 ทัง้ นี้ บริษัทฯ ต้องทํา การต่อสู้ต ามขัน้ ตอนทางศาล โดยเครื่อ งหมาย + เป็ น เครื่อ งหมายสากลไม่ม ีผู้ใ ดสามารถ ครอบครองได้ จึงมิใช่เครื่องหมายโทรคมนาคมที่ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)เป็ นเจ้าของ หรือ มีสทิ ธิใช้แต่ เพียงผู้เดีย วได้ต ามกฎหมาย การกํา หนดเครื่อ งหมาย + จึงเป็ น สิท ธิของผู้ใ ห้บริก ารโทรศัพท์เคลื่อนที่แ ต่ล ะรายที่จ ะ กําหนดให้เครื่องหมาย + ใช้แทนรหัสเรียกของผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศรายใด บริษทั ฯ จึงมิได้กระทํา ละเมิด และทําให้บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เสียหายแต่อย่างใด ขณะนี้คดีดงั กล่าวอยู่ในขัน้ ตอนทีบ่ ริษทั ฯ และ AIN เตรียมยืน่ คําให้การตามกฎหมายต่อไป 7.2 กรณี ข้อพิ พาททางกฎหมายของบริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (“DPC”) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อย (1) DPC มีขอ้ พิพาทกรณี บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) เสนอข้อพิพาทต่อสํานักระงับ ข้อพิพาท สถาบันอนุ ญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 36/2546 วันที่ 30 มิถุนายน 2546 และ 62/2546 วันที่ 28 ตุลาคม 2546 และข้อพิพาทหมายเลขดําเลขที่ 55/2549 วันที่ 5 กรกฎาคม 2549 เพื่อเรียกร้องให้ DPC ชําระเงินเป็ นเงิน จํานวน 699.77 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปี จากต้นเงินจํานวน 653.34 ล้านบาท นับจากวันเสนอข้อ พิพาทจนกว่าจะชําระเสร็จ และให้ชําระเงินจํานวน 720.63 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปี จากต้นเงิน จํานวน 715.41 ล้านบาท นับจากวันเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะชําระเสร็จ และ ให้ชาํ ระเงินจํานวน 3,766.91 ล้านบาท พร้อม ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปี จากต้นเงินจํานวน 3,370.11 ล้านบาท นับจากวันเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะชําระเสร็จ ตามลําดับ อันเกิดจากมูลหนี้ตามสัญญา Agreement to Unwind the Service Provider Agreement ฉบับลงวันที่ 7 ส่วนที่ 2 หน้า 64


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

มกราคม 2540 (“Unwind”) ซึ่ง DPC ได้ย่นื คําคัดค้านข้อเรียกร้องทัง้ สามกรณีดงั กล่าวแล้ว ปจั จุบนั อยู่ในระหว่างการ พิจารณาข้อพิพาทของคณะอนุญาโตตุลาการ DPC ได้บนั ทึกเงินต้นและดอกเบีย้ ตามสัญญาไว้ในงบการเงินแล้วทัง้ จํานวน (โดยใช้วธิ อี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง ) ซึง่ มีจํานวนทัง้ สิน้ 4,739 ล้านบาท (แต่ไม่รวมดอกเบีย้ จากการผิดนัดชําระ) ทัง้ นี้ผบู้ ริหารของ DPCเชื่อว่าผลการพิจารณาของ คณะอนุญาโตตุลาการจะไม่ทาํ ให้มผี ลกระทบเชิงลบอย่างมีสาระสําคัญต่อฐานะทางการเงินของบริษทั ฯ (2) บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ได้เสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ หมายเลขดําที่ 99/2549 วันที่ 13 ตุลาคม 2549 เพือ่ เรียกร้องให้ DPC ชําระเงินค่าธรรมเนียมเลขหมายจํานวน 17.98 ล้านบาท พร้อมเบีย้ ปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน นับถัดจากวันเสนอข้อพิพาทเป็ นต้นไป จนกว่าชําระเสร็จ และให้ชาํ ระเงินค่าธรรมเนียม เลขหมายที่ กสท จะชําระให้แก่ กทช. ต่อไป ขณะนี้ DPC ได้ชําระค่าธรรมเนียมเลขหมายจํานวนดังกล่าวเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว คงเหลือเพียงเบีย้ ปรับคง ค้างอยู่ ซึ่งคํานวณถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 เป็ นเงินทัง้ สิน้ 3,504,340 บาท ซึ่งจะได้มกี ารตกลงประนีประนอมยอม ความกันต่อไป (3) นอกจากนี้ กสท. ได้เสนอข้อพิพาทต่อสํานักระงับข้อพิพาท สถาบันอนุ ญาโตตุลาการ หมายเลขดําที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 เพื่อเรียกร้องให้ DPC ชําระค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิม่ อีกจํานวน 2,449.09 ล้านบาท พร้อม เรียกเบีย้ ปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจํานวนเงินทีค่ า้ งชําระในแต่ละปี นับจากวันผิดนัดจนกว่าจะชําระหนี้เสร็จสิน้ ซึง่ คํานวณถึง ณ เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็ นเบีย้ ปรับทัง้ สิน้ 1,500.06 ล้านบาท รวมเป็ นเงิน ทัง้ หมด 3,949.15 ล้านบาท ซึง่ จํานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ DPC ได้นําส่งตัง้ แต่ 28 มกราคม 2546 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2550 และ DPC ได้นํามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ขณะนี้ขอ้ พิพาทดังกล่าว DPC ได้ยน่ื คําให้การคัดค้านภายใต้กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการเป◌็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของ DPC เชื่อว่าคําวินิจฉัยชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการเกีย่ วกับข้อพิพาทดังกล่าว น่าจะเป็ นไปในทางทีเ่ ป็ นผลดีกบั บริษทั ฯ เนื่องจาก กสท. ไม่เคยโต้แย้ง หรือคัดค้านว่า DPC ชําระผลประโยชน์ตอบแทน ไม่ถกู ต้อง และ DPC ก็ได้ปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีถกู ต้องครบถ้วนแล้ว และเป็ นการปฏิบตั ทิ เ่ี หมือนกันทัง้ อุตสาหกรรม โทรศัพท์เคลื่อนที่ ดังนัน้ คําวินิจฉัยชีข้ าดของคณอนุญาโตตุลาการ ไม่น่าจะมีผลกระทบใด ๆ ต่อฐานะทางการเงินของ บริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 65


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

8.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างเงินทุน 8.1

หลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแล้ว ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบด้วย หุน้ สามัญจํานวน 4,997,459,800 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ทุนทีอ่ อกและชําระแล้ว : 2,958,593,799 บาท ประกอบด้วย หุน้ สามัญจํานวน 2,958,593,799 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท (2)

โครงการออกและเสนอขายหุ้นให้กองทุนรวมเพื่อผูล้ งทุนซึ่งเป็ นคนต่างด้าว (Thai Trust Fund) ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 3/2542 เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ เข้า ร่วมโครงการจัดการกองทุนรวมเพือ่ ผูล้ งทุนซึง่ เป็ นคนต่างด้าว (Thai Trust Fund – TTF) ซึง่ ถือ สัญชาติไทย และยินยอมให้กองทุนรวมดังกล่าวลงทุนในหุน้ หรือมีไว้ซง่ึ หุน้ ของบริษทั ฯ ในอัตราส่วน ไม่เกินร้อยละ 2.50 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ซึง่ คิดเป็ นจํานวนหุน้ ประมาณ 6.75 ล้านหุน้ ของจํานวนหุน้ ทีช่ าํ ระแล้ว 270 ล้านหุน้ ทัง้ นี้ ผูล้ งทุนซึง่ เป็ นคนต่างด้าวทีซ่ อ้ื หน่วยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะได้รบั เฉพาะผลประโยชน์ในรูป ตัวเงินเท่านัน้ โดยทีอ่ าํ นาจการบริหารงานยังคงอยูก่ บั ผูบ้ ริหารชาวไทยเช่นเดิม โดยในเดือน กุมภาพันธ์ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ได้อนุมตั ใิ ห้กองทุนรวมดังกล่าวเข้าซือ้ -ขายหุน้ ของบริษทั ฯ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ จากการประชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรหุน้ สามัญทีย่ งั มิได้ออกจําหน่าย จํานวน 23.5 ล้านหุน้ เป็ นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ SHIN และ SingTel และลด มูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้จากหุน้ ละ 10 บาท เหลือหุน้ ละ 1 บาท จากการจัดสรรหุน้ และการลดมูลค่าหุน้ ดังกล่าว ส่งผลให้จาํ นวนหุน้ ทีบ่ ริษทั ยินยอม TTF ลงทุนในหุน้ ของบริษทั ฯ ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 2.50 ของจํานวนหุน้ ทีเ่ รียกชําระแล้ว ซึง่ คิดเป็ นจํานวนหุน้ ประมาณ 73.37 ล้านหุน้ ของจํานวนหุน้ ที่ ชําระแล้ว 2,935 ล้านหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กองทุนรวมเพื่อผูล้ งทุนซึง่ เป็ นคนต่างด้าวโดยลงทุนในหุน้ ของ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ มีจาํ นวน 64,039,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 2.16 ของจํานวนหุน้ ที่ จําหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ (จํานวนหุน้ ทีช่ าํ ระแล้ว 2,958,593,799 หุน้ )

(3)

ตราสารแสดงสิ ทธิ ในผลตอบแทนที่เกิ ดจากหลักทรัพย์อ้างอิ ง (NVDR) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด ซึง่ ถือสัญชาติไทย มีหนุ้ สามัญของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์อา้ งอิง จํานวน 71,391,414 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 2.41 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้ แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ (จํานวนหุน้ ทีช่ าํ ระแล้ว 2,958,593,799 หุน้ ) ซึง่ ไม่มสี ทิ ธิในการออกเสียงของ ผูถ้ อื หุน้ อันเนื่องมาจาก บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด ไม่ใช้สทิ ธิในการออกเสียงในการประชุมผูถ้ อื หุน้

ส่วนที่ 2 หน้า 66


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

(5)

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริ ษทั (โครงการ ESOP) บริษัทฯ ได้กําหนดให้มโี ครงการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญต่อกรรมการและ พนักงานของบริษทั ฯ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นแรงจูงใจและตอบแทนการปฏิบตั งิ านของกรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ นอกจากนี้เพื่อให้บุคคล ดังกล่าวมีความตัง้ ใจในการทํางาน เพื่อสร้า ง ประโยชน์สงู สุดให้แก่บริษทั ฯ อีกทัง้ เพื่อเป็ นการสร้างแรงจูงใจให้กรรมการและพนักงาน ทํางานกับ บริษทั ฯ ต่อไปในระยะยาว โดยโครงการจะมีลกั ษณะต่อเนื่อง กล่าวคือ บริษทั ฯ จะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิทุกๆ ปี มีระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปี และใบสําคัญแสดงสิทธิทอ่ี อกจะมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขายในแต่ละครัง้ ของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียดลักษณะ รวมถึง สิทธิและเงือ่ นไขของใบสําคัญแสดงสิทธิทค่ี ล้ายคลึงกันทัง้ 5 ครัง้ ของการเสนอขาย ซึง่ มีการออกและ เสนอขาย ดังนี้ ครัง้ ที่ 1 ในปี 2545 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 14,000,000 หน่วย และบริษทั ฯ ได้จดั สรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 14,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นประมาณร้อยละ 0.48 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ทัง้ นี้โครงการ ESOP ครัง้ ที่ 1 ได้ครบกําหนดอายุเมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2550 ครัง้ ที่ 2 ในปี 2546 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 8,467,200 หน่วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จํานวน 8,467,200 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.29 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิคงเหลือจํานวน 422,400 หน่วย ครัง้ ที่ 3 ในปี 2547 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 8,999,500 หน่วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จํานวน 8,999,500 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.31 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิคงเหลือจํานวน 6,359,400 หน่วย ครัง้ ที่ 4 ในปี 2548 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 9,794,800 หน่วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จาํ นวน 9,794,800 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.33 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ อย่างไรก็ดี บริษทั เสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิได้ไม่หมด โดยเสนอขายให้แก่กรรมการและพนักงาน ได้เพียง 9,686,700 หน่วย คงเหลือ 108,100 หน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยังไม่มกี ารใช้สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิใดๆ จึงคงเหลือจํานวน ใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิจาํ นวน 9,676,700 หน่วย ครัง้ ที่ 5 ในปี 2549 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 10,138,500 หน่วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จาํ นวน 10,138,500 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.34 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิคงเหลือจํานวน 9,878,200หน่วย

ส่วนที่ 2 หน้า 67


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ทัง้ นี้ มอบหมายให้คณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย มีอํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ ดําเนินการต่างๆ อันจําเป็ นและ สมควรอันเกี่ยวเนื่องกับหุ้นสามัญที่จดั สรรไว้เพื่อรองรับการใช้สทิ ธิดงั กล่าว ตลอดจนการนํ าหุ้น สามัญที่จดั สรรไว้เพื่อรองรับการใช้สทิ ธิดงั กล่าวเข้าจดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีโครงการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญต่อกรรมการและ พนักงานของบริษทั ฯ ทีด่ าํ เนินการ 4 โครงการสรุปได้ดงั นี้ รายละเอียดโครงการ จํานวนทีเ่ สนอขาย(หน่วย) ราคาเสนอขาย (บาท) อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สทิ ธิ* ราคาการใช้สทิ ธิ* (บาทต่อหุน้ ) วันทีอ่ อกและเสนอขาย ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

โครงการ 2 8,467,200

โครงการ 3 8,999,500

โครงการ 4 9,686,700

โครงการ 5 10,138,500

-0ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันทีอ่ อกและเสนอขาย 1 : 1.13197 1 : 1.11788 1 : 1.10385 1 : 1.06949 38.322 82.111 96.628 85.523 30 พฤษภาคม2546 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ ปี ที่ 1 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิซ้อื หุน้ สามัญได้ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิท งั ้ หมดที่กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯแต่ ละคนได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการและ พนักงาน ของบริษทั ฯจะสามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้ก็ ต่ อเมื่อครบระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่บริษ ัทฯได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่ วย การซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวม ไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 2 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญได้อกี ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิท งั ้ หมดที่กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯแต่ละคนได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯจะสามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้ก็ ต่ อเมื่อครบระยะเวลา 2 ปี นับจากวันที่บริษัทฯได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถงึ จํานวนเต็มของ หน่วยการซื้อขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 3 กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามสิทธิของตนในส่วนที่ เหลือทัง้ หมดได้เมือ่ ครบระยะเวลา 3 ปี นบั จากวันทีบ่ ริษทั ฯได้ออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของ หน่วยการซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย ระยะเวลาแสดงความจํานงการใช้ ภายใน 5 วันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใช้สทิ ธิ ยกเว้น การแสดงความจํานงในการใช้ สิทธิ สิทธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดท้าย กําหนดให้แสดงความจํานงในการใช้สทิ ธิได้ในช่วง ระยะเวลา 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สทิ ธิ วันกําหนดการใช้สทิ ธิ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ * บริษทั ฯ มีการปรับสิทธิ อันเป็นผลมาจาก บริษทั ฯ จ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาลในอัตราสูงกว่าร้อยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตาม เงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ในหนังสือชี้ชวน โดยได้ปรับทัง้ อัตราการใช้สทิ ธิและราคาการใช้สทิ ธิ ตัง้ แต่วนั ที ่ 24 สิงหาคม 2550 เป็ นต้นมา

ส่วนที่ 2 หน้า 68


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

(5)

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั มีหนุ้ กูท้ ย่ี งั ไม่ครบกําหนดไถ่ถอน รวม 5 ชุด ซึง่ ได้จดทะเบียน และซือ้ ขายได้ในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (Thai Bond Market Association) และบนกระดาน ตราสารหนี้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (The Bond Electronic Exchange: BEX) ทัง้ นี้ หุน้ กูข้ องบริษทั ฯชุด AIS093A, AIS093B เริม่ ซือ้ ขายในตลาด BEX ตัง้ แต่วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2546 และหุน้ กูข้ องบริษทั ฯ ชุด AIS099A, AIS119A, AIS139A เริม่ ซือ้ ขายในตลาด BEX ตัง้ แต่วนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2549 โดยรายละเอียดของหุน้ กูท้ งั ้ 5 ชุด มีดงั นี้ (5.1) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2545 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2552 (AIS093A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุช่อื ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 7 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 2,500,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 6.25 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 2,450,000 หน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 * เมือ่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 บริษทั ได้ทาํ การ ซือ้ คืนและยกเลิกหุน้ กู้ จํานวน 50,000 หน่วย

มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

: 2,450,000,000 บาท * : AA

(5.2) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงิน ต้น ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2552 (AIS093B) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุช่อื ผูถ้ อื ประเภททยอยชําระคืนเงินต้น ไม่ดอ้ ย สิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 7 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,500,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,500,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 21 มีนาคม 2545 ส่วนที่ 2 หน้า 69


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

วันครบกําหนดไถ่ถอน อัตราดอกเบีย้ และ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ กําหนดเวลาชําระคืนเงินต้น

ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

: 21 มีนาคม 2552 : อัตราดอกเบีย้ เงินฝากประจํา 6 เดือน บวกด้วยอัตราร้อยละ 2.10 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ โดยจะ ชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกปี : บริษทั ฯ จะทยอยชําระคืนเงินต้นเป็ นงวดจํานวนเท่าๆ กัน ทัง้ หมด 6 งวด โดยจะเริม่ ชําระคืนเงินต้นเมือ่ หุน้ กูม้ อี ายุครบ 54 เดือน นับจากวันออกจําหน่ายจนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 : ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) : 4,500,000 หน่วย : 2,250,000,000 บาท : AA

(5.3) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 1 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2552 (AIS099A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผู้ ถือหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 3 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 3,427,100,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 3,427,100 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 7 กันยายน 2552 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 5.80 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 3,427,100 หน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 3,427,100,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA

ส่วนที่ 2 หน้า 70


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(5.4) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2554 (AIS119A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผู้ ถือหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 7 กันยายน 2554 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 5.90 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) : 4,000,000 หน่วย จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA (5.5) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 3 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2556 (AIS139A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผู้ ถือหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 7 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 7 กันยายน 2556 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 6.00 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000 หน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA ส่วนที่ 2 หน้า 71


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

(6)

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ตั ๋วแลกเงิ นระยะสัน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ มีต ั ๋วแลกเงินระยะสัน้ ทีย่ งั ไม่ครบกําหนดไถ่ถอนมูลค่ารวม 3,000,000,000 บาท ซึง่ ได้จดทะเบียนเข้าเป็ นตราสารหนี้ขน้ึ ทะเบียนในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (Thai Bond Market Association) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อตราสาร ประเภท มูลค่าทีต่ ราไว้รวม วันออกตราสาร วันไถ่ถอนตราสาร อายุ มูลค่าคงเหลือของตราสาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

(7)

: ตั ๋วแลกเงินของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2550 : ตั ๋วเงินระยะสัน้ : 3,000,000,000 บาท : 2 พฤษภาคม 2550 : 25 มกราคม 2551 : 268 วัน : 3,000,000,000 บาท

ข้ อ ตกลงระหว่ า งกลุ่ ม ผู้ถื อ หุ้น รายใหญ่ ใ นเรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การออกและเสนอขาย หลักทรัพย์ หรือการบริ หารงานของบริ ษทั ฯ โดยที่ข้อตกลงดังกล่าวมีบริ ษทั ฯ ร่วมลงนามด้วย - ไม่ม ี –

8.2

ผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก

ผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผูถ้ ือหุ้น บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 1/ SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD AND SINGTEL INVESTED BY THAI TRUST FUND 2/ HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด HSBC BANK PLC-CLIENTS GENERAL A/C MELLON NOMINEES (UK) LIMITED SOMERS (U.K.) LIMITED CHASE NOMINEES LIMITED 1 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY, FOR LONDON รวม

จํานวน (หุ้น) 1,263,712,000 632,039,000

% ถือหุ้น 42.73 21.37

145,671,870 118,450,300 63,887,222 48,009,953 38,686,000 29,179,827 28,859,500 26,576,672

4.93 4.01 2.16 1.62 1.31 0.99 0.98 0.90

2,395,072,344

80.99

หมายเหตุ: ข้อมูลจากบริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุดเมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2550

ส่วนที่ 2 หน้า 72


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550 1/

กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทโ่ี ดยพฤติการณ์มอี ทิ ธิพลต่อการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินงานของบริษทั ฯ คือ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ โดยผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ ได้แก่ ลําดับ 1 2

3/

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รายชื่อผูถ้ ือหุ้น บริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ ส์ จํากัด * บริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด * 3/ รวม

จํานวนหุ้น % ถือหุ้น 1,742,407,239 54.51 1,334,354,825 41.75 3,076,762,064 96.26

บริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด ถือหุน้ จํานวน 9,096 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 0.00 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ

หมายเหตุ: ข้อมูลจากบริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดเมือ่ วันที่ 5 เมษายน 2550 2/

ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของ SingTel Strategic Investments Pte Ltd คือ ลําดับ รายชื่อผูถ้ ือหุ้น SingTel Telecommunications Limited* 1

% ถือหุ้น 100.00

ทีม่ า: SingTel Annual Report 2006/2007 as of 30 May 2007

* Aspen เป็ นบริษทั จดทะเบียนในประเทศไทยและเป็ นบริษทั ย่อยทางอ้อมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (Temasek)

Cedar เป็ นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทยซึง่ ถือหุน้ โดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) ในสัดส่วนร้อยละ 5.78 บริษทั กุหลาบแก้ว จํากัด (กุหลาบแก้ว) ร้อยละ 45.22 และบริษทั ไซเพรส โฮลดิง้ จํากัด (ไซเพรส) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยโดยทางอ้อมของ Temasek ร้อยละ 48.99 โดย ณ วันที่ 17 มกราคม 2551 บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) มีโครงสร้างการถือหุน้ ดังนี้

บจ. ไซเพรส โฮลดิ้งส์

ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน)

48.99%

5.78%

68.00%

นายสุรินทร์ อุปพัทธกุล

29.90%

บจ. ไซเพรส โฮลดิ้งส์

1.27%

นายพงส์ สารสิน

0.82%

นายศุภเดช พูนพิพัฒน์

บจ. กุหลาบแก้ว 45.22%

บจ. ซีดาร์ โฮลดิ้งส์

บจ. แอสเพน โฮลดิ้งส์ 41.73%

54.50%

บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ข้อมูล ณ 17 มกราคม 2551

ส่วนที่ 2 หน้า 73


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

* ผูถ้ อื หุน้ ของ SingTel Telecommunications Limited คือ ลําดับ รายชื่อผูถ้ ือหุ้น 1 Temasek Holdings (Private) Limited 2 DBS Nominees Pte Ltd

จํานวนหุ้น 8,613,550,910 1,988,689,594

% ถือหุ้น 54.14 12.50

ทีม่ า: SingTel Annual Report 2006/2007 as of 30 May 2007

หมายเหตุ ผูล้ งทุนสามารถดูขอ้ มูลผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็ นปจั จุบนั ได้จากเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ก่อนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปีได้ท่ี http://www.investorrelations.ais.co.th 8.3

นโยบายการจ่ายเงิ นปันผล เนื่องจากบริษทั ฯ มีหนุ้ กูท้ ย่ี งั ไม่ครบกําหนดไถ่ถอน ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ กูข้ องบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 12 กันยายน 2548 และวันที่ 22 กันยายน 2548 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ แก้ไขข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าทีข่ องผูอ้ อก หุน้ กูไ้ ด้ โดยระบุวา่ บริษทั ฯ จะสามารถจ่ายเงินปนั ผลในแต่ละปีให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เป็ นจํานวนเกินกว่า ร้อยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปีนนั ้ ๆ ได้ ภายใต้เงือ่ นไขคือ บริษทั ฯ จะต้องมีอนั ดับความน่าเชื่อถือ (credit rating) ซึง่ ได้รบั จากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือทีส่ าํ นักงาน กลต. ให้ความเห็นชอบในอันดับไม่ต่าํ กว่า AA และได้รบั ภายในระยะเวลาไม่เกินกว่า 45 วันก่อนหน้าวันทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุ มตั กิ ารจ่ายเงิน ปนั ผลดังกล่าว ทัง้ นี้ ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ผิดนัดชําระหนี้เงินต้น หรือดอกเบีย้ หุน้ กูไ้ ม่วา่ งวดใดๆ บริษทั ฯ จะไม่ สามารถจ่ายเงินปนั ผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีนโยบายในการจ่ายเงินปนั ผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลัง หักภาษีตามงบการเงินรวม หากไม่มเี หตุจาํ เป็ นอื่นใดและการจ่ายเงินปนั ผลนัน้ ต้องไม่มผี ลกระทบต่อการ ดําเนินงานปกติของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอย่างมีนยั สําคัญ และการจ่ายเงินปนั ผลดังกล่าวจะขึน้ อยูก่ บั กระแสเงินสดและภาระการลงทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ รวมถึงความจําเป็ นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ทัง้ นี้การจ่ายเงินปนั ผลดังกล่าวจะต้องไม่เกินกําไรสะสมทีป่ รากฏอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 74


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างการจัดการของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริ ษทั

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริ หาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการบริ หาร นายสมประสงค์ บุญยะชัย หัวหน้ าคณะเจ้าหน้ าที่ผบู้ ริ หาร นายวิกรม ศรีประทักษ์

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้านการตลาด นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล

(รักษาการ) หัวหน้ า คณะผูบ้ ริ หาร ด้านเทคโนโลยี นายวิกรม ศรีประทักษ์

หัวหน้ าคณะผูบ้ ริ หาร ด้านการบริ การลูกค้า นางสุวมิ ล แก้วคูณ*

ผูบ้ ริหาร 4 รายแรก ตามคํานิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. * ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นหัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้าเมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2550

ส่วนที่ 2 หน้า 75

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ นายวิเชียร เมฆตระการ

หัวหน้ าเจ้าหน้ าที่บริ หารด้าน การเงิ น นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานตรวจสอบภายใน นางสุวมิ ล กุลาเลิศ


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

9.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

โครงสร้างการจัดการของบริ ษทั ฯ คณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหาร รวมทัง้ คณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ (1) คณะกรรมการบริ ษทั รายชื่อคณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการจํานวน 11 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 2. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 3. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 4. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 5. นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ กรรมการ 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี กรรมการ 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง กรรมการ 8. นายยืน ควน มูน กรรมการ (ได้รบั เลือกเป็นกรรมการแทนนางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค เมือ่ วันที ่ 23 มกราคม 2551) 9. นายวิกรม ศรีประทักษ์ กรรมการ (ได้รบั เลือกเป็นกรรมการแทนนายบุญคลี ปลังศิ ่ ร ิ เมือ่ วันที ่ 11 พฤษภาคม 2550) 10. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ กรรมการ (ได้รบั เลือกเป็ นกรรมการแทนนางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ เมือ่ วันที ่ 11 พฤษภาคม 2550) 11. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ กรรมการผูม้ ีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษทั ฯ คือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายวิกรม ศรีประทักษ์ นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ กรรมการสองในสามคนนี้ ลงลายมือชื่อ ร่วมกันและประทับตราสําคัญของบริษทั ฯ เลขานุการบริ ษทั อยูใ่ นระหว่างการสรรหาและแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมวาระปกติเป็ นประจําทุกไตรมาส โดยในปี 2550 มีการประชุมรวม 7 ครัง้ และมีการประชุมวาระพิเศษ 3 ครัง้ ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษทั 1. ต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั

ส่วนที่ 2 หน้า 76


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2. กําหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษทั และกํากับดูแลให้ฝา่ ยบริหารดําเนินการให้เป็ นไปตาม นโยบายทีก่ าํ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิม่ มูลค่าสูงสุดให้แก่บริษทั และผูถ้ อื หุน้ 3. พิจารณาอนุมตั ริ ายการทีส่ าํ คัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่, การซือ้ ขายทรัพย์สนิ ฯลฯ และการดําเนินการใดๆ ที่ กฎหมายกําหนด 4. พิจารณาอนุมตั แิ ละ/หรือให้ความเห็นชอบต่อรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั และบริษทั ย่อยให้เป็ นไปตามประกาศ ข้อกําหนด และแนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอย่างสมํ่าเสมอและกําหนดค่าตอบแทน 6. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั งิ านของฝา่ ยบริหาร โดยให้มคี วามตัง้ ใจและความระมัดระวังในการ ปฏิบตั งิ าน 7. ดําเนินการให้ฝา่ ยบริหารจัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีทเ่ี ชื่อถือได้ รวมทัง้ ดูแลให้ม ี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสีย่ ง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไม่ให้เกิดปญั หาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั 9. กํากับดูแลกิจการให้มกี ารปฏิบตั งิ านอย่างมีจริยธรรม 10. ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษทั และประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ดังกล่าวเป็ นประจําอย่างน้อย ปี ละ 1 ครัง้ 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงาน ของผูส้ อบบัญชีไว้ใน รายงานประจําปี และครอบคลุมในเรือ่ งสําคัญๆ ตามนโยบายเรือ่ งข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี สี าํ หรับกรรมการบริษทั จดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารมีอาํ นาจหน้าทีใ่ นการปฏิบตั งิ านต่างๆ โดยมีรายละเอียดการ มอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร ทัง้ นี้การมอบอํานาจดังกล่าวต้องไม่มลี กั ษณะเป็ นการมอบ อํานาจ หรือมอบอํานาจช่วงทีท่ าํ ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมตั ิ รายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อ่นื ใด (ตามทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ยกเว้นเป็ นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็ นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ไิ ว้ (2) คณะกรรมการบริ หาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการและผูบ้ ริหาร จํานวน 5 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร 1/ 2. นายแอเลน ลิว ยง เคียง รองประธานกรรมการบริหาร 3. ดร.ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์ กรรมการบริหาร 2/ 4. นายวิกรม ศรีประทักษ์ กรรมการบริหาร 5. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ

3/

กรรมการบริหาร

1/

ได้รบั การแต่งตัง้ เมือ่ 11 พฤษภาคม 2550 ได้รบั การแต่งตัง้ แทนนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร เมือ่ 11 พฤษภาคม 2550 3/ ได้รบั การแต่งตัง้ แทนนางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ เมือ่ 11 พฤษภาคม 2550 2/

ส่วนที่ 2 หน้า 77


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

คณะกรรมการบริหารมีการประชุมวาระปกติเป็ นประจําทุกเดือน โดยในปี 2550 มีการประชุมรวม 12 ครัง้ และการประชุม เฉพาะกิจ 2 ครัง้ โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกเดือน ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ หาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารงาน หลักเกณฑ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ที่ กําหนดให้สอดคล้องและสนับสนุนต่อสภาพทางเศรษฐกิจ และการแข่งขันทีไ่ ด้กาํ หนดและแถลงไว้ต่อผูถ้ อื หุน้ โดย ได้รบั อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั แล้ว 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารต่างๆ ของบริษทั ฯ โดยได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษทั ฯ ทีก่ าํ หนด ให้เป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพเอือ้ ต่อสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ทีก่ าํ หนดให้เป็ นไปตามแผนธุรกิจทีไ่ ด้รบั อนุมตั ไิ ว้ 5. พิจารณาโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของบริษทั ฯ 6. อํานาจในการอนุมตั กิ ารดําเนินการทางการเงิน 6.1 ให้คณะกรรมการบริหารมีอาํ นาจในการอนุมตั กิ ารดําเนินการทางการเงินในวงเงินไม่เกิน 800 ล้านบาท โดย อํานาจอนุมตั ทิ างการเงินดังกล่าวจะรวมถึงการอนุมตั คิ า่ ใช้จา่ ยต่างๆ ในการดําเนินการตามปกติของธุรกิจ เงิน ลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนในสินทรัพย์ฝา่ ยทุน (Capital Expenditure) หรือสินทรัพย์ถาวร การ กูย้ มื เงิน การให้กยู้ มื เงิน การจัดหาวงเงินสินเชื่อ หรือการออกตราสารหนี้ รวมถึง การให้หลักประกันการคํ้า ประกันเงินกูห้ รือสินเชื่อ เป็ นต้น ยกเว้นการดําเนินการด้านการเงินการธนาคารของ คณะกรรมการบริหารเฉพาะ ด้านการฝากเงิน การกูเ้ งิน การจัดทําเครือ่ งมือบริหารความเสีย่ งของอัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ มีอาํ นาจ ในวงเงินไม่เกิน 5,000 ล้านบาท 6.2 คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจช่วงให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอาํ นาจในการดําเนินการ ในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่งหรือ หลายเรือ่ งตามทีค่ ณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรก็ได้ ทัง้ นี้การอนุ มตั ริ ายการดังกล่าวต้องไม่มลี กั ษณะเป็ นการอนุมตั ทิ ท่ี าํ ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอํานาจจาก คณะกรรมการบริหารสามารถอนุ มตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อ่นื ใด (ตามทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ยกเว้นเป็ นการอนุมตั ิ รายการทีเ่ ป็ นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ไิ ว้ 7. รายงานผลการดําเนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบเป็ นประจําทุกเดือน 8. ดําเนินการอื่นๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายเป็ นคราวๆ ไป (3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทีม่ ี คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามทีก่ าํ หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ และ เป็ นผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นการเงิน การบัญชี กฎหมาย และ การ บริหารจัดการ มีรายชื่อดังนี้ 1. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 13 ครัง้ ) 2. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 13 ครัง้ ) 3. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 13 ครัง้ )

ส่วนที่ 2 หน้า 78


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมวาระปกติเป็ นประจําทุกเดือน โดยในปี 2550 มีการประชุมรวม 13 ครัง้ และมีการ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกไตรมาส ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีรายงานทางการเงินถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการบัญชีทก่ี ฎหมายกําหนด และมีการเปิดเผย อย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ 5. พิจารณาสอบทานและให้ความเห็นต่อการเข้าทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้เป็ นไปตามประกาศ ข้อกําหนดและแนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 6. พิจารณาการเปิ ดเผยข้อมูลของบริษทั ฯ ในกรณีทเ่ี กิดรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ให้มคี วามถูกต้องครบถ้วน 7. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล 8. ให้ความเห็นชอบในการแต่งตัง้ โยกย้าย ถอดถอน และการพิจารณาผลการปฏิบตั งิ าน ความดีความชอบของหัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน 9. สอบทานและอนุมตั กิ ฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน แผนตรวจสอบภายใน การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน และประสานงานกับผูส้ อบบัญชี 10. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจําปี ของบริษทั ฯ ซึง่ รายงาน ดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 11. รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษทั ทราบอย่างน้อย ปีละ 4 ครัง้ 12. ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอํานาจหน้าทีใ่ ห้คณะกรรมการตรวจสอบ มีอาํ นาจเชิญให้ฝา่ ยจัดการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงาน ของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามทีเ่ ห็นว่าเกีย่ วข้องจําเป็ น 13. ให้มอี าํ นาจว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษทั ฯ มาให้ความเห็นหรือคําปรึกษาในกรณีจาํ เป็ น 14. พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจําทุกปี 15. ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ (4) คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการ จํานวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม 2. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ 1/ 3. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 1/

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ได้รบั การแต่งตัง้ แทนนายบุญคลี ปลังศิ ่ ร ิ เมือ่ วันที ่ 11 พฤษภาคม 2550

ส่วนที่ 2 หน้า 79


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ในปี 2550 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนมีการประชุมรวม 3 ครัง้ เพือ่ พิจารณา และให้ความเห็นชอบ โครงการ Economic Value Plan for Employees นอกจากนี้ยงั ได้พจิ ารณาการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ รวมถึงกําหนดนโยบายและ ค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2550 และมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 1. กําหนดค่าตอบแทนทีจ่ าํ เป็ นและเหมาะสมทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และประธานกรรมการบริหารของบริษทั ฯ ในแต่ละปี 2. จัดทําหลักเกณฑ์ และนโยบายการกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ และประธานกรรมการบริหารเพือ่ เสนอให้ คณะกรรมการพิจารณาอนุมตั แิ ละหรือนําเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อนุมตั ติ ามแต่กรณี 3. คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษทั และมีหน้าทีใ่ ห้คาํ ชีแ้ จงตอบคําถามเกีย่ วกับ ค่าตอบแทนของกรรมการและประธานกรรมการบริหารในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ 4. รายงานนโยบายด้านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงค์ของนโยบายเปิดเผยไว้ในรายงาน ประจําปี 5. ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย (5) คณะกรรมการสรรหา รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 คณะกรรมการสรรหา ประกอบด้วยกรรมการ จํานวน 3 ท่าน มี รายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 1/ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ 3. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการ 7/

ได้รบั การแต่งตัง้ แทนนายบุญคลี ปลังศิ ่ ร ิ เมือ่ วันที ่ 11 พฤษภาคม 2550

ในปี 2550 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 3 ครัง้ เพือ่ พิจารณาเสนอแต่งตัง้ กรรมการและกําหนดอํานาจกรรมการ แทนกรรมการทีต่ อ้ งพ้นจากตําแหน่งตามกําหนดวาระตามข้อบังคับของบริษทั 4 ท่าน โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริษทั ฯ 2. พิจารณาสรรหากรรมการและกรรมการชุดย่อยโดยพิจารณาบุคคลทีเ่ หมาะสม ทีจ่ ะมาดํารงตําแหน่งกรรมการเพือ่ เสนอ คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ และหรือเสนอขออนุมตั ติ ่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี 3. พิจารณาสรรหาผูท้ เ่ี หมาะสมทีจ่ ะดํารงตําแหน่งประธานกรรมการบริหาร ในกรณีทม่ี ตี าํ แหน่งว่างลง รวมทัง้ หลักเกณฑ์ ในการสืบทอดตําแหน่ง 4. ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย (6) คณะผูบ้ ริ หาร รายชื่อคณะผูบ้ ริหาร (ตามคํานิยามของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์) โครงสร้างการบริหารของบริษทั ฯ ณ วันที่ 23 มกราคม 2551 มีดงั ต่อไปนี้ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย ประธานกรรมการบริหาร 2. นายวิกรม ศรีประทักษ์ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร และ (รักษาการ) หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี ส่วนที่ 2 หน้า 80


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550 3. นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล 4. นางสุวมิ ล แก้วคูณ 5.. นายวิเชียร เมฆตระการ

6. นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการตลาด หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้า กรรมการผูอ้ าํ นวยการ หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

การสรรหากรรมการ บริษทั ฯ ได้กาํ หนดแนวทางการสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการบริษทั ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจําปีทุกครัง้ กรรมการต้องลาออกจากตําแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจํานวนกรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรง เป็ น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนทีใ่ กล้ทส่ี ดุ กับส่วน 1 ใน 3 กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากตําแหน่งในปี แรกและปี ท่ี 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้ใช้วธิ จี บั ฉลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปี หลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยู่ในตําแหน่ ง นานทีส่ ดุ นัน้ เป็ นผูอ้ อกจากตําแหน่ง กรรมการทีจ่ ะออกตามวาระนี้อาจเลือกเข้ามาดํารงตําแหน่งใหม่กไ็ ด้ (2) ในกรณีทต่ี ําแหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอ่นื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคล หนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เข้า เป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคล ซึง่ เข้าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตําแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ มีการจัดตัง้ คณะกรรมการสรรหา (Nomination Committee) ทําหน้าทีพ่ จิ ารณากําหนดหลักเกณฑ์และ นโยบายในการสรรหาบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมทีจ่ ะมาดํารงตําแหน่งกรรมการ ทัง้ นี้กาํ หนดให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารทีก่ าํ หนดอยูใ่ นข้อบังคับของบริษทั ฯ ดังต่อไปนี้ (1) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวนหุน้ ทีถ่ อื (2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั ้ หมดตาม (1) เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ ใน กรณีทเ่ี ลือกตัง้ บุคคลหลายคนเป็ นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เป็ นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็ นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี ุคคลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจํานวน กรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือพึงจะเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ป็ นประธานเป็ นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด โดยเงือ่ นไขของสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะหว่างบริษทั ฯ และ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ระบุให้ตวั แทนของ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) เข้าเป็ นกรรมการของบริษทั ได้ 1 ท่าน และตามเงือ่ นไขในข้อตกลง ระหว่างผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ซึง่ ได้แก่บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ SingTel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ทีร่ ะบุให้ SHIN แต่งตัง้ กรรมการได้ 4 ท่าน และ STI แต่งตัง้ กรรมการได้ 2 ท่าน ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร บริษทั ฯ มีนโยบายในการกําหนดค่าตอบแทนให้กรรมการในอัตราทีเ่ ทียบได้กบั อุตสาหกรรมเดียวกัน และสูงเพียงพอทีจ่ ะ จูงใจและรักษากรรมการทีม่ คี ุณภาพไว้ สําหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหาร จะสอดคล้องกับผลการ ดําเนินงานของบริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารแต่ละท่าน คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน เป็ นผูพ้ จิ ารณากําหนดค่าตอบแทนทีจ่ าํ เป็ นและเหมาะสมทีเ่ ป็ นตัวเงิน ให้แก่ กรรมการ บริษทั กรรมการชุดย่อย โดยนําเสนอขออนุ มตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ และทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญ ประจําปี เป็ นประจําทุกปี

ส่วนที่ 2 หน้า 81


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษทั ค่าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงินสําหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหาร จํานวน 6 ราย รวม จํานวนเงิน 10,100,000 บาท ซึง่ เป็ นการจ่ายจากผลการดําเนินงานประจําปี 2550 ประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน โบนัส และเบีย้ ประชุม ส่วนกรรมการบริษทั ทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหารจะไม่ได้รบั ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษทั ค่าตอบแทนกรรมการทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2550 ไม่เกิน 12,000,000 บาท มีโครงสร้างดังต่อไปนี้

นโยบายค่าตอบแทนกรรมการปี 2550 กรรมการ

ค่าตอบแทนรูปตัวเงิ น รายเดือน

เบีย้ ประชุม

โบนัส

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ/ภายนอก กรรมการผูแ้ ทนตาม สัญญาให้ดาํ เนินการ กรรมการตัวแทนผูถ้ อื หุน้ กรรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหาร หมายเหตุ : 1) เบีย้ ประชุมกรรมการ 25,000 บาท/ครัง้ 2) ประธานกรรมการได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน 100,000 บาท/เดือน 3) ค่าตอบแทนรายเดือนประธานกรรมการตรวจสอบ 75,000 บาท กรรมการอิสระ / ภายนอก อื่นๆ 50,000 บาท 4) กรรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหารได้รบั เงินเดือนและโบนัสในฐานะผูบ้ ริหาร ไม่นบั รวมในค่าตอบแทน กรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั เป็ นรายบุคคลทีไ่ ด้รบั ในฐานะกรรมการบริษทั จํานวน 6 ราย ในปี 2550 มีดงั นี้ รายชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ดร. ไพบูลย์ ลิมปพยอม นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ นางทัศนีย์ มโนรถ นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ นายวาสุกรี กล้าไพรี รวม

ตําแหน่ ง

ค่าตอบแทนประจําปี 2550 (บาท) ประธานกรรมการ 1,700,000 ประธานกรรมการตรวจสอบ 2,300,000 กรรมการตรวจสอบ 1,800,000 กรรมการตรวจสอบ 1,700,000 กรรมการ 1,400,000 กรรมการ 1,200,000 10,100,000

ส่วนที่ 2 หน้า 82


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(2) ค่าตอบแทนรวมของผูบ้ ริ หาร ค่าตอบแทนรวมของคณะผูบ้ ริหารจํานวน 6 ราย สําหรับงวดสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เท่ากับ 76.61 ล้านบาท ซึง่ ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะผูบ้ ริหาร หมายถึง กรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ตามนิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. (3) ค่าตอบแทนอื่นๆ บริษทั ฯ มีโครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญของบริษทั แก่กรรมการและพนักงาน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบตั งิ านของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวมี ความตัง้ ใจในการทํางานและเป็ นแรงจูงใจให้กรรมการและพนักงานทํางานให้ก บั บริษัทฯ ต่อไปในระยะยาวและสร้า ง ประโยชน์สงู สุดแก่บริษทั บริษทั ฯจะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญทุกๆ ปี ระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปี ทัง้ นี้บริษทั ฯ จะต้องขออนุ มตั กิ ารออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิต่อที่ประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นรายปี ณ สิน้ ปี 2550 มี โครงการทีด่ าํ เนินการ 4 โครงการสรุปได้ดงั นี้

ส่วนที่ 2 หน้า 83


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

รายละเอียดโครงการ จํานวนทีเ่ สนอขาย(หน่วย) ราคาเสนอขาย (บาท) อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สทิ ธิ* ราคาการใช้สทิ ธิ* (บาทต่อหุน้ ) วันทีอ่ อกและเสนอขาย ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

ระยะเวลาแสดงความจํานงการใช้ สิทธิ วันกําหนดการใช้สทิ ธิ *

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงการ 2 8,467,200

โครงการ 3 8,999,500

โครงการ 4 9,686,700

โครงการ 5 10,138,500

-0ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันทีอ่ อกและเสนอขาย 1 : 1.13197 1 : 1.11788 1 : 1.10385 1 : 1.06949 38.322 82.111 96.628 85.523 30 พฤษภาคม 2546 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ปี ที่ 1 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซ้อื หุน้ สามัญได้ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ หมดที่กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ แต่ละคนได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการและ พนักงาน ของบริษทั ฯ จะสามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้ก็ ต่อเมื่อครบระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่บริษ ัทฯ ได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่วย การซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวม ไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 2 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญได้อกี ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ หมดทีก่ รรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ แต่ละคนได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯ จะสามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้ก็ ต่อเมื่อครบระยะเวลา 2 ปี นับจากวันที่บริษ ัทฯ ได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่ วยการ ซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวม ไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 3 กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามสิทธิของตนในส่วนที่ เหลือทัง้ หมดได้เมือ่ ครบระยะเวลา 3 ปี นบั จากวันทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่วย การซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปดั รวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย ภายใน 5 วันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใช้สทิ ธิ ยกเว้น การแสดงความจํานงในการใช้ สิทธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดท้าย กําหนดให้แสดงความจํานงในการใช้สทิ ธิได้ในช่วง ระยะเวลา 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สทิ ธิ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

บริษทั ฯ มีการปรับสิทธิ อันเป็ นผลมาจาก บริษทั ฯ จ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาลในอัตราสูงกว่าร้อยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตาม เงือนไขที ่ ร่ ะบุไว้ในหนังสือชี้ชวน โดยได้ปรับทัง้ อัตราการใช้สทิ ธิและราคาการใช้สทิ ธิ ตัง้ แต่วนั ที ่ 24 สิงหาคม 2550 เป็นต้นมา

ส่วนที่ 2 หน้า 84


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รายชื่อกรรมการ และพนักงานของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยที่ได้รบั จัดสรรเกิ นกว่า 5% ของโครงการ รายชื่อ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นางสุวมิ ล แก้วคูณ 3. นายวิกรม ศรีประทักษ์ 4. นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล

โครงการ 2 จัดสรร % (หน่ วย)

โครงการ 3 จัดสรร % (หน่ วย)

โครงการ 4 จัดสรร % (หน่ วย)

โครงการ 5 จัดสรร % (หน่ วย)

609,400 786,000 579,000 -

914,300 676,000 606,400 487,100

735,500 580,000 500,000 -

538,500 591,400 547,600

7.20 9.28 6.84 -

10.16 7.51 6.74 5.41

7.51 5.92 5.10 -

* นางอาภัทรา ศฤงคารินกุลได้รบั จัดสรร ESOP ในโครงการ 2, 4, และ 5 แต่ไม่เกิ น 5% ของโครงการ การกํากับดูแลกิ จการ นโยบายการกํากับดูแลกิ จการ บริษทั ฯ มีความเชื่อมันว่ ่ า ระบบการบริหารจัดการทีด่ ี การมีคณะกรรมการและผูบ้ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์และมีความรับผิดชอบ ต่อหน้ าที่ มีกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอํานาจเพื่อให้การบริหารงานเป็ นไปอย่างโปร่งใสตรวจสอบได้ การ เคารพในสิทธิความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และมีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย จะเป็ นปจั จัยสําคัญในการเพิม่ มูลค่าและผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ในระยะยาว คณะกรรมการบริษัท ได้อนุ ม ตั ิน โยบายการกํา กับดูแ ลกิจ การเป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษร โดยมีห ลัก การและแนวปฏิบตั ิท่ี สอดคล้องกับหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งได้ถอื ปฏิบตั มิ าตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2545 คณะกรรมการบริษทั ได้ประชุมทบทวนปรับปรุงนโยบายการกํากับดูแลกิจการเป็ นประจําทุกปี ซึ่งได้ ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2550 ทัง้ นี้ได้มกี ารสือ่ สารให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯได้ รับทราบและถือปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง นโยบายดังกล่าวแบ่งออกเป็ น 5 หมวดครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

คณะกรรมการบริษทั สิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และบทบาทต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส การควบคุมและบริหารความเสีย่ ง ปรัชญาและจรรยาบรรณของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

(ผูท้ ส่ี นใจสามารถศึกษาเพิม่ เติมและ download นโยบายการกํากับดูแลกิจการ ได้ท่ี www.ais.co.th)

ส่วนที่ 2 หน้า 85

5.31 5.83 5.40


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1. คณะกรรมการบริ ษทั 1.1 ภาวะผูน้ ําและวิ สยั ทัศน์ คณะกรรมการมีความมุง่ มันที ่ จ่ ะให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เป็ นองค์กรชัน้ นําทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับสากล ว่า เป็ นบริษทั ฯ ที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจที่มคี วามหลากหลาย ด้วยเทคโนโลยี ทันสมัย ด้วยการบริหารจัดการที่แข็งแกร่งและด้วยบุค ลากรที่ล้วนแต่มคี วามสามารถและมีส่วนร่วมในวิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ คณะกรรมการมีภาวะผูน้ ํา วิสยั ทัศน์ มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหน้าทีใ่ นการกํากับดูแลกิจการให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ โดยรวม คณะกรรมการมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ทีจ่ ะกํากับดูแลการบริหารงานของฝา่ ยบริหารและมี การแบ่งแยกหน้าทีร่ ะหว่างคณะกรรมการและฝา่ ยบริหารไว้อย่างชัดเจน 1.2 องค์ประกอบของคณะกรรมการ การแต่งตัง้ และความเป็ นอิ สระ 1.2.1 คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒ ิ ที่มปี ระสบการณ์หลากหลายในสาขาต่างๆ และมีจํานวนกรรมการ อย่างเพียงพอทีจ่ ะกํากับดูแลธุรกิจของบริษทั รวมกันไม่น้อยกว่า 5 คนตามกฎหมาย โดยอย่างน้อยหนึ่งคนเป็ นผูม้ ี ประสบการณ์ ด้านกิจการโทรคมนาคมและอย่างน้ อยหนึ่ งคนมีประสบการณ์ ด้านบัญชีและการเงิน ซึ่งปจั จุบนั คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการทีม่ ปี ระสบการณ์ในหลากหลายสาขาต่างๆ ของธุรกิจ จํานวน 11 ท่าน 1.2.2 คณะกรรมการเป็ นตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมดโดยรวม มิใช่เป็ นตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ กลุม่ ใดกลุม่ หนึ่ง 1.2.3 คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็ นอิสระอย่างน้อยหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทัง้ คณะ และมีจํานวน อย่างน้อย 3 คน และมีกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหาร อย่างน้อยกึง่ หนึ่งของกรรมการทัง้ คณะ เพื่อให้มกี ารถ่วงดุล ระหว่างกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหารกับกรรมการที่เป็ นผู้บริหาร โดยปจั จุบนั คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย ประธานกรรมการซึง่ เป็ นกรรมการอิสระ 1 ท่าน กรรมการอิสระอื่น 3 ท่าน กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั 3 ท่าน และกรรมการที่เป็ นผู้บริหาร 4 ท่าน โดยมีสดั ส่วนกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหารต่อกรรมการที่เป็ นผู้บริหาร จํานวน 7 ต่อ 4 ท่าน หรือเกินกว่ากึง่ หนึ่งของจํานวนกรรมการทัง้ คณะ 1.2.4 คณะกรรมการมีนโยบายให้มจี ํานวนกรรมการให้เป็ นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผู้ถอื หุ้นที่ม ี อํานาจควบคุม (Controlling shareholders) ในบริษทั 1.2.5 การแต่งตัง้ กรรมการให้เป็ นไปตามข้อบังคับบริษัทและข้อกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทัง้ นี้จะต้องมีความ โปร่งใสและชัด เจน ในการสรรหากรรมการให้ดํา เนิ น การผ่า นกระบวนการของคณะกรรมการสรรหาและการ พิจ ารณาจะต้องมีป ระวัติก ารศึก ษาและประสบการณ์ ก ารประกอบวิช าชีพของบุ ค คลนัน้ ๆ โดยมีร ายละเอีย ดที่ เพียงพอ เพือ่ ประโยชน์ในการตัดสินใจของคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ 1.2.6 กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่งตามทีก่ ําหนดไว้ในข้อบังคับบริษทั กรรมการทีพ่ น้ จากตําแหน่งอาจได้รบั เลือกเข้า มาดํารงตําแหน่ งใหม่อกี ได้โดยไม่จาํ กัดจํานวนครัง้ ยกเว้นกรรมการอิสระ ให้มวี าระ การดํารงตําแหน่งติดต่อกันได้ ไม่เกิน 3 วาระ

ส่วนที่ 2 หน้า 86


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.3 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหารต้องเป็ นผู้ท่มี คี วามรู้ความสามารถมีประสบการณ์ และคุณสมบัติท่ี เหมาะสม ไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้มกี ารถ่วงดุลอํานาจโดยแยกหน้าทีก่ ารกํากับดูแลและ การบริหารงานออกจาก กัน ประธานกรรมการบริษทั เป็ นกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหาร เป็ นผูน้ ําของคณะกรรมการ และมีหน้าทีใ่ นฐานะเป็ นประธาน การประชุมคณะกรรมการ และการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานกรรมการบริหารเป็ นหัวหน้าและผูน้ ําคณะผูบ้ ริหารของบริษทั รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษทั ในการบริหารจัดการ เพือ่ ให้บรรลุตามแผนทีว่ างไว้ 1.4 คุณสมบัติของคณะกรรมการ 1.4.1 กรรมการต้องเป็ นบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ และมีเวลา อย่างเพียงพอทีจ่ ะอุทศิ ความรู้ ความสามารถและปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้แก่บริษทั ได้ 1.4.2 มีคุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจํากัดและกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง 1.4.3 กรรมการสามารถดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษทั อื่นได้ แต่ทงั ้ นี้ในการเป็ นกรรมการดังกล่าวต้องไม่เป็ นอุปสรรคต่อ การปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการของบริษทั 1.4.4 กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัตเิ กี่ยวกับความเป็ นอิสระตามแนวทางเดียวกันกับคุณสมบัตขิ องกรรมการตรวจสอบ ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องคุณสมบัติและขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และต้องสามารถดูแลผลประโยชน์ ของผู้ถอื หุ้นทุกรายได้เท่าเทียมกัน และไม่ให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ นอกจากนัน้ ยังต้องสามารถเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษทั โดยให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระได้ กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของทุนชําระแล้วของบริษทั บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม หรือ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นี้ให้ นับรวมหุน้ ทีถ่ อื โดยผูท้ เ่ี กีย่ วข้องด้วย 2) เป็ นกรรมการทีไ่ ม่มสี ว่ นร่วมในการบริหารงานในบริษทั บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กี่ยวข้อง หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั และ เป็ นกรรมการทีไ่ ม่เป็ นลูกจ้าง พนักงาน หรือทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจําจาก บริษทั บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 3) เป็ นกรรมการทีไ่ ม่มผี ลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อมทัง้ ในด้านการเงินและการบริหารงาน ของบริษทั บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วม หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั และ เป็ นกรรมการที่ไม่มผี ลประโยชน์ หรือส่วนได้เสียในลักษณะข้างต้นมาก่อนในระยะเวลา 1 ปี ก่อนได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการตรวจสอบ เว้นแต่ คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่า การเคยมีผลประโยชน์หรือส่วนได้สว่ นเสียนัน้ จะไม่ มีผลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการให้ความเห็นทีเ่ ป็ นอิสระ 4) เป็ นกรรมการทีไ่ ม่ใช่เป็ นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องหรือญาติสนิทของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 5) เป็ นกรรมการทีไ่ ม่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เป็ นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็ นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 6) สามารถปฏิบ ัติห น้ า ที่ แสดงความเห็น หรือ รายงานผลการปฏิบ ัติง านตามหน้ า ที่ท่ีไ ด้ร ับ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษทั รวมทัง้ ผู้ท่ี เกีย่ วข้องหรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว

ส่วนที่ 2 หน้า 87


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.5 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการกําหนดให้มกี ารประชุมอย่างน้อย 6 ครัง้ ต่อปี โดยกําหนดวันประชุมไว้ล่วงหน้าตลอดทัง้ ปี และอาจมีการ ประชุมวาระพิเศษเพิม่ ตามความจําเป็ น ในการจัดประชุมคณะกรรมการ ให้ประธานกรรมการบริหารในฐานะเลขานุ การ คณะกรรมการเป็ นผู้ดูแลให้ความเห็นชอบกําหนดวาระการประชุม โดยทําหน้าที่จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบ วาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมไปให้กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มเี วลาศึกษา มาก่อนล่วงหน้า เลขานุ การคณะกรรมการทําหน้าทีใ่ นการจดบันทึกและจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วัน จัดเก็บรายงานการประชุม เอกสารประกอบการประชุม สนับสนุ นติดตามให้คณะกรรมการสามารถปฏิบตั หิ น้าที่ให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ประสานงานกับผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ในปี 2550 คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารประชุมทัง้ วาระปกติและวาระพิเศษรวมทัง้ สิน้ 10 ครัง้ มีรายละเอียดการเข้าร่วม ประชุมของกรรมการดังต่อไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 2. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ เข้าร่วมประชุม 8 ครัง้ 3. นางทัศนีย์ มโนรถ เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 4. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 5. นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ เข้าร่วมประชุม 8 ครัง้ 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี เข้าร่วมประชุม 8 ครัง้ 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง เข้าร่วมประชุม 1 ครัง้ 1/ 8.. นายฮุย เว็ง ชี ออง เข้าร่วมประชุม 1 ครัง้ 2/ 9. นางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค เข้าร่วมประชุม 4 ครัง้ 3/ 10. นายบุญคลี ปลังศิ ่ ริ เข้าร่วมประชุม 4 ครัง้ 4/ 11. นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ เข้าร่วมประชุม 3 ครัง้ 5/ 12. นายวิกรม ศรีประทักษ์ เข้าร่วมประชุม 5 ครัง้ 6/ 13. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ เข้าร่วมประชุม 5 ครัง้ 14. นายสมประสงค์ บุญยะชัย เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 1/

ลาออกจากการเป็ นกรรมการ เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2550 ได้รบั เลือกเป็ นกรรมการแทน นายฮุย เวง ชี ออง เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2550 3/,4/ ลาออกจากการเป็ นกรรมการ เมือ่ วันที่ 11 พฤษภาคม 2550 5/ ได้รบั เลือกเป็นกรรมการแทน นายบุญคลี ปลังศิ ่ ร ิ เมือ่ วันที่ 11 พฤษภาคม 2550 6/ ได้รบั เลือกเป็นกรรมการแทน นางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ เมือ่ วันที่ 11 พฤษภาคม 2550 2/

1.6 การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการกําหนดให้กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหารมีการประชุมกันเองตามความเหมาะสม โดยไม่มกี รรมการที่เป็ น ผู้บริหารหรือฝ่ายบริหารเข้าร่วมการประชุม เพื่อเปิ ดโอกาสให้อภิปรายปญั หาต่างๆ ทัง้ ที่ เกี่ยวกับธุรกิจของบริษทั ฯ เรือ่ งทีอ่ ยูใ่ นความสนใจและให้มกี ารรายงานผลการประชุมให้ประธานกรรมการบริหารและคณะกรรมการทราบ

ส่วนที่ 2 หน้า 88


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ในการประชุม ให้ประธานกรรมการเป็ นประธานของการประชุม หากประธานกรรมการไม่สามารถเข้าร่วมการประชุมได้ ให้ทป่ี ระชุมคัดเลือกกรรมการหนึ่งท่านเพื่อทําหน้าทีเ่ ป็ นประธานในทีป่ ระชุมแทน และให้บริษทั จัดให้มเี ลขานุ การของ การประชุมของกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารด้วย ในปี 2550 กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารมิได้เรียกประชุมดังกล่าว 1.7 แผนการสืบทอดตําแหน่ ง คณะกรรมการกําหนดให้มแี ผนการสืบทอดตําแหน่ งของประธานกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ เพื่อรักษาความเชื่อมันให้ ่ กบั ผู้ลงทุน องค์กร ตลอดจนพนักงานว่าการดําเนินงานของบริษัทจะได้รบั การสานต่ออย่า ง ทันท่วงที คณะกรรมการมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาทําหน้าทีพ่ จิ ารณากําหนดหลักเกณฑ์และแผนการสืบทอดตําแหน่ ง หาก ตําแหน่ งประธานกรรมการบริหารว่างลง รวมทัง้ จัดให้มกี ารทบทวนแผนการ สืบทอดตําแหน่ งเป็ นประจําทุกปี และให้ ประธานกรรมการบริหารรายงานให้คณะกรรมการเพือ่ ทราบเป็ นประจําถึงแผนการพัฒนาและสืบทอดตําแหน่งงาน 1.8 การติ ดต่อสื่อสารกับฝ่ ายบริ หาร กรรมการสามารถเข้าถึงและติดต่อสื่อสารกับฝ่ายบริหารและเลขานุ การคณะกรรมการได้โดยตรง ตามความเหมาะสม แต่การเข้าถึงและติดต่อสือ่ สารนัน้ ต้องไม่เป็ นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงต่อการดําเนินธุรกิจปกติของบริษทั 1.9 ค่าตอบแทนของกรรมการ ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั จะสอดคล้องกับหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และเมื่อเปรียบเทียบค่าตอบแทน กับอุตสาหกรรมเดียวกันแล้ว ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอที่จะจูงใจและรักษากรรมการที่ม ี คุณภาพไว้ ทัง้ นี้ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนเป็ นผูพ้ จิ ารณากลันกรองและเสนอค่ ่ าตอบแทนของกรรมการในแต่ละ ปีเพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 9 เรื่อง การจัดการ และการกํากับดูแลกิจการ หัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร 1.10 การอบรมและพัฒนาความรู้กรรมการ กรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่แต่ละท่านจะได้รบั ทราบข้อมูลของบริษทั กฎระเบียบและข้อมูลธุรกิจของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างเพียงพอก่อนปฏิบตั ิหน้ าที่และกรรมการจะได้รบั การอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้กรรมการ สามารถทําหน้าทีแ่ ละกํากับดูแลกิจการของบริษทั อย่างมีประสิทธิภาพ 1.11 การประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งานของคณะกรรมการ กําหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการ(Self Assessment) เพื่อใช้เป็ นกรอบในการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ของคณะกรรมการอย่างสมํ่าเสมอ ในการประเมินผลคณะกรรมการมีการเปรียบเทียบว่าได้ ดําเนินการตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ได้อนุ มตั ไิ ว้และหรือตามแนวปฏิบตั ทิ ่ดี ี (Good Practices) หรือไม่ เพื่อ ปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายทีก่ าํ หนดไว้

ส่วนที่ 2 หน้า 89


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2. สิ ทธิ และความเท่าเทียมกันของผูถ้ ือหุ้นและบทบาทต่อผูม้ ีส่วนได้เสีย 2.1 สิ ทธิ และความเท่าเทียมกันของผูถ้ ือหุ้น คณะกรรมการเคารพในสิทธิและมีหน้าทีใ่ นการดูแลรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าผูถ้ อื หุน้ นัน้ จะเป็ นรายย่อยหรือชาวต่างชาติ นักลงทุนสถาบันหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ โดยผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิและความเท่าเทียมกัน ดังนี้ 1) สิทธิในการได้รบั ใบหุน้ โอนหุน้ และสิทธิในการรับทราบข้อมูล ผลการดําเนินงาน นโยบายการบริหารงาน อย่าง สมํ่าเสมอและทันเวลา 2) สิทธิในการรับส่วนแบ่งกําไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม 3) สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ แสดงความเห็น ให้ขอ้ เสนอแนะ และร่วมพิจารณาตัดสินใจ ในการเปลีย่ นแปลงที่ สําคัญต่าง ๆ 4) สิทธิในการแต่งตัง้ กรรมการบริษทั นอกจากนี้แล้ว ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายยังได้รบั สิทธิอย่างเท่าเทียมตามทีก่ าํ หนดไว้ในข้อบังคับบริษทั และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง 2.2 การประชุมผูถ้ ือหุ้น บริษัทมีนโยบายที่จะดําเนินการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็ นไปตามกฎหมายและแนวทางการประชุมผู้ถือหุ้น ที่กําหนดโดย หน่วยงานกํากับดูแล ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกคราว บริษทั ฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทัง้ ข้อมูลประกอบการประชุมในวาระต่างๆ อย่าง เพียงพอ ให้ผู้ถอื หุ้นทราบในทันทีท่แี ล้วเสร็จ หรือล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยเปิ ดเผยไว้ไน Website ของบริษทั ฯ ที่ www.ais.co.th เพื่อให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงและศึกษาได้ก่อนวันประชุม รวมทัง้ มีความเห็นของ คณะกรรมการในทุกวาระ และมีการบันทึกการประชุมถูกต้องครบถ้วนเพื่อให้ผถู้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบได้ โดยในปี 2550 บริษทั ฯ นําหนังสือนัดประชุมไปไว้ท่ี Website ของบริษทั ฯ ก่อนวันประชุม 22 วัน ส่วนรายงานการประชุม บริษทั ฯ ได้ นําไป post ไว้หลังวันประชุม 14 วัน หนังสือเชิญประชุมจะแจ้งรายละเอียดให้ผถู้ อื หุน้ นําเอกสารหลักฐานทีจ่ าํ เป็ นมาให้ครบถ้วนในวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อรักษา สิทธิในการเข้าร่วมประชุมของผูถ้ อื หุน้ ส่วนในวันประชุม ผูถ้ อื หุน้ สามารถลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าได้ก่อนการประชุม 2 ชัวโมง ่ การประชุมผู้ถอื หุ้นทุกครัง้ ผู้ถอื หุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเองสามารถแต่งตัง้ กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ท่าน เป็ นผูร้ บั มอบอํานาจเข้าร่วมประชุมแทนซึง่ ได้แจ้งข้อความไว้ในหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้อํานวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการมาร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดเตรียมห้องประชุมทีเ่ ข้าถึง ได้สะดวก และมีขนาดเหมาะสมรองรับผูเ้ ข้าร่วมประชุมได้อย่างเพียงพอ และในกรณีท่ผี ูถ้ อื หุน้ ไม่สามารถมาร่วมประชุม ด้วยตนเอง ก็สามารถมอบฉันทะให้ผอู้ ่นื เข้าประชุมและลงมติแทนได้ ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้กําหนดให้กรรมการบริษัททุกคน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการชุดย่อยเข้าร่วมประชุมเพื่อตอบคําถามต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ จะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็ นกรรมการอิสระร่วมอยู่ดว้ ย โดยประธานที่ประชุมหรือบุคคลทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ส่วนที่ 2 หน้า 90


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

จากประธานที่ป ระชุม มีหน้ าที่จ ดั สรรเวลาให้อย่างเหมาะสม ส่งเสริม ให้ม ีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ป ระชุ ม เปิ ดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสทิ ธิเท่าเทียมกันใน การตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัทฯ ให้แสดงความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะต่างๆ รวมทัง้ มีการบันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นทีส่ าํ คัญไว้ในรายงานการประชุม ในปี 2550 บริษทั ฯได้จดั ให้มกี ารประชุมสามัญผู้ถอื หุ้น เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2550 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. ณ อาคารชินวัตร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั รกรุงเทพมหานคร ซึง่ มีการพิจารณาลงคะแนนเสียง เรียงลําดับตามวาระทีก่ าํ หนดไว้ และได้รบั ความเห็นชอบจากผูถ้ อื หุน้ ทุกวาระ 2.3 บทบาทต่อผูม้ ีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ ตระหนักถึงสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียต่างๆ และมีนโยบายทีจ่ ะดูแลให้ความมันใจโดยจั ่ ดลําดับความสําคัญให้แก่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน ผูบ้ ริหาร ลูกค้า คู่คา้ เจ้าหนี้ ตลอดจนสาธารณชนและสังคมโดยรวมอย่าง เหมาะสม และจะให้มกี ารร่วมมือกันระหว่างผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสียในกลุ่มต่างๆ ตามบทบาทและหน้าทีเ่ พื่อให้กจิ การของ บริษทั ดําเนินไปด้วยดี มีความมันคงและตอบสนองผลประโยชน์ ่ ทเ่ี ป็ นธรรมแก่ทุกฝา่ ย โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติม ในส่วนที่ 9 เรือ่ ง การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ หัวข้อ จรรยาบรรณบริษทั ฯ 3.การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส บทบาทหน้ าที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส 1) คณะกรรมการมีหน้าทีใ่ นการเปิ ดเผยสารสนเทศทัง้ ทีเ่ ป็ นสารสนเทศทางการเงิน และทีไ่ ม่ใช่ทางการเงินอย่างครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ได้รบั สารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน 2) กําหนดให้มหี น่วยงานผูล้ งทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพื่อเป็ นตัวแทนบริษทั ในการสื่อสารสารประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็ นประโยชน์ให้ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์และผูท้ เ่ี กีย่ วข้องได้รบั ทราบข้อมูลของบริษทั ซึ่งผู้สนใจสามารถติดต่อขอข้อมูลต่างๆจากหน่ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ท่ี โทร. 0 2299-5116 หรือ Email: investor@ais.co.th หรือทีเ่ ว็บไซต์ของแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ www.investorrelations.ais.co.th อีกทัง้ มีหน่ วยงาน Compliance ของบริษัทฯ ดูแลในด้านการเปิ ดเผยข้อมูลแก่ต ลาดหลักทรัพย์แ ห่งประเทศไทยและสํานัก งาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อให้มนใจว่ ั ่ าได้ปฏิบตั ิตามระเบียบ ข้อบังคับของ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ บริษทั ฯ จัดให้มวี นั นักลงทุนประจําปี (Annual Investor Day) เพื่อเปิ ด โอกาสผูจ้ ดั การกองทุนและนักวิเคราะห์ได้มคี วามเข้าใจต่อการดําเนินธุรกิจ และการปฏิบตั งิ านในแต่ละส่วนงานของ บริษทั ฯ ได้มากขึน้ 3) บริษทั มีนโยบายเปิดเผยสารสนเทศทีส่ าํ คัญต่อสาธารณชน ดังนี้ 3.1) วัตถุประสงค์ของบริษทั 3.2) ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั โครงสร้างการถือหุน้ และสิทธิในการออกเสียง 3.3) รายชื่อกรรมการ กรรมการชุดต่างๆ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และ ค่าตอบแทน 3.4) ปจั จัยและนโยบายเกี่ยวกับการจัดการความเสีย่ งที่สามารถมองเห็นได้ทงั ้ ที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน (Material foreseeable risk factors) 3.5) นโยบายและโครงสร้างการกํากับดูแลกิจการ (Governance structures and policies) รวมทัง้ ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงานของประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นต้น 3.6) เปิ ดเผยในรายงานประจําปี เกี่ยวกับจํานวนครัง้ ทีก่ รรมการ และ/หรือ กรรมการชุดย่อยแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม โดยเปรียบเทียบกับจํานวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการ และ/หรือคณะกรรมการในแต่ละปี

ส่วนที่ 2 หน้า 91


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นอกจากนี้ บริษทั ยังคงต้องเปิดเผยข้อมูลตามกฎหมายหรือข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้นกั ลงทุนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ทัง้ ทีเ่ ป็ นผูถ้ อื หุน้ และผูท้ ส่ี นใจจะถือหุน้ ในอนาคต ได้ใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผ่านช่องทางและสือ่ การ เผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ที่ www.ais.co.th 4. การควบคุมและบริ หารความเสี่ยง 4.1 การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการต้องจัดให้มแี ละรักษาไว้ซง่ึ ระบบควบคุมภายในเพือ่ ปกป้องเงินลงทุนของผูถ้ อื หุน้ และทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ คณะกรรมการมีหน้าทีส่ อบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอย่างน้อยปี ละครัง้ และรายงานให้ผถู้ อื หุน้ ทราบว่าได้กระทําการดังกล่าวแล้ว การสอบทานต้องครอบคลุมในทุกเรื่องรวม ทัง้ การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบตั งิ าน (Compliance Controls) และการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) 4.2 การตรวจสอบภายใน บริษทั มีการจัดตัง้ หน่วยงานตรวจสอบภายในโดยเป็ นหน่วยงานหนึ่งในบริษทั ฯ และรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และผูบ้ ริหารระดับสูง มีหน้าที่ในการให้คําปรึกษา ตรวจสอบและประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบบริหารความ เสีย่ งและระบบการกํากับดูแลกิจการ 4.3 การบริ หารความเสี่ยง (Risk Management) บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะบริหารความเสีย่ งต่างๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อบริษทั ฯทัง้ ปจั จัยภายในและภายนอก ให้มคี วามเสีย่ งที่ เหลืออยู่ในระดับทีเ่ หมาะสมและยอมรับได้ โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee) ซึง่ มี ประธานกรรมการบริหารเป็ นประธานและตัวแทนของทุกฝา่ ยในบริษทั ฯ เพือ่ ดําเนินการประเมินและสอบทานผลการ ประเมินความเสีย่ งจากหน่วยงานต่างๆ รวมทัง้ ทบทวนและเสนอนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารความเสีย่ งอย่างน้อยปี ละครัง้ การบริหารความเสีย่ งเป็ นส่วนหนึ่งของการจัดทํา Business Plan ประจําปี เพื่อให้การกําหนดแนวทางการจัดการความ เสีย่ งนัน้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนกลยุทธ์ต่างๆ ของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนใน บริษทั ฯ เป็ นเจ้าของความเสีย่ ง และมีหน้าทีใ่ นการประเมินความเสีย่ งของแต่ละหน่ วยงานและกระบวนการทํางานประเมิน ประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มอี ยู่นําเสนอแผนและวิธกี าร ในการลดความเสี่ยง และรายงานให้ผู้บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 1 เรื่อง ปจั จัยเสีย่ ง และ ส่วนที่ 10 เรื่อง การควบคุมภายในและการบริหาร ความเสีย่ ง และการตรวจสอบภายใน

ส่วนที่ 2 หน้า 92


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5. จรรยาบรรณบริ ษทั ฯ บริษทั ฯ ได้จดั ทําจรรยาบรรณ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพือ่ เป็ นแนวทาง และ ข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี ใี ห้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร ตลอดจนพนักงานทุกๆ คนของบริษทั ฯ ได้ยดึ มันปฏิ ่ บตั งิ าน ดําเนินธุรกิจบริษทั ฯ อย่างซื่อสัตย์ มีจริยธรรม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการจรรยาบรรณตัง้ แต่ปี 2549 โดยจรรยาบรรณของบริษทั ฯ มีเนื้อหา ครอบคลุมในเรื่อง ดังนี้ 5.1 ความรับผิดชอบต่อผูถ้ ือหุ้น บริษทั ฯ มุ่งมันเป็ ่ นตัวแทนทีด่ ขี องผูถ้ อื หุน้ ในการดําเนินธุรกิจเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดยคํานึงถึงการ เจริญเติบโตของมูลค่าบริษทั ฯ ในระยะยาวด้วยผลตอบแทนที่ดแี ละต่อเนื่อง รวมทัง้ การดําเนินการเปิ ดเผยข้อมูลอย่าง โปร่งใส และเชื่อถือได้ต่อผูถ้ อื หุน้ 5.2 ความรับผิดชอบต่อลูกค้า บริษทั ฯ มีความมุง่ มันในการสร้ ่ างความพึงพอใจและความมันใจให้ ่ กบั ลูกค้าทีจ่ ะได้รบั ผลิตภัณฑ์และบริการทีด่ มี คี ุณภาพ ใน ระดับราคาทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ รักษาสัมพันธภาพทีด่ ี จึงได้กาํ หนดแนวทางปฏิบตั ไิ ว้ดงั ต่อไปนี้ • ผลิตสินค้าและบริการที่มคี ุณภาพ โดยมุ่งมันที ่ จ่ ะยกระดับมาตรฐานให้สงู ขึน้ อย่างต่อเนื่องและจริงจังเปิ ดเผยข่าวสาร ข้อมูลเกีย่ วกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บดิ เบือนข้อเท็จจริง • กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับจะไม่เปิ ดเผยข้อมูลของลูกค้า โดยไม่ได้รบั อนุ ญาตจากลูกค้าหรือจากผู้ม ี อํานาจของบริษทั ฯ ก่อน เว้นแต่เป็ นข้อมูลทีต่ อ้ งเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามบทบังคับของกฎหมาย 5.3 ความรับผิดชอบต่อคู่ค้าและเจ้าหนี้ การดําเนินธุรกิจกับคู่คา้ ใดๆต้องไม่นํามาซึง่ ความเสือ่ มเสียต่อชื่อเสียงของบริษทั ฯ หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึง ความเสมอภาคในการดําเนินธุรกิจและผลประโยชน์ร่วมกันกับคู่คา้ การคัดเลือกคู่คา้ ต้องทําอย่างยุตธิ รรม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ถือว่าคูค่ า้ เป็ นปจั จัยสําคัญในการร่วมสร้างมูลค่าให้กบั ลูกค้า บริษทั ฯ ยึดมันในสั ่ ญญาและถือปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขทีม่ ตี ่อเจ้าหนี้เป็ นสําคัญ ในการชําระคืนเงินต้น ดอกเบีย้ และการดูแล หลักประกันต่างๆ 5.4 ความรับผิดชอบต่อพนักงาน พนักงานเป็ นทรัพยากรอันมีค่าสูงสุดและเป็ นปจั จัยสําคัญสู่ความสําเร็จของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงได้มุ่งพัฒนาเสริมสร้าง วัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดี รวมทัง้ ส่งเสริมการทํางานเป็ นทีม ปฏิบตั ติ ่อพนักงานด้วยความสุภาพและให้ ความเคารพต่อความเป็ นปจั เจกชน การว่าจ้าง แต่งตัง้ และโยกย้ายพนักงาน จะพิจารณาบนพืน้ ฐานของคุณธรรมและการใช้ ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่บริษทั ฯ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทํางานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงาน อยูเ่ สมอ และยึดมันปฏิ ่ บตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด บริษทั ฯ เคารพในความเป็ นส่วนตัวของพนักงาน ไม่นําข้อมูลส่วนตัว เช่น เงินเดือน ประวัตกิ ารรักษาพยาบาล ครอบครัว ไปเปิ ดเผยให้กบั บุคคลภายนอกหรือผูท้ ไ่ี ม่เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็ นข้อมูลทีต่ อ้ งเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามบท บังคับของกฎหมาย ส่วนที่ 2 หน้า 93


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5.5 การแข่งขันทางการค้ากับคู่แข่งขัน บริษทั ฯ มีนโยบายสนับสนุ นและส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็ นธรรม บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายในการแข่งขันทางการค้าโดยใช้วธิ กี ารใดๆให้ได้มาซึง่ ข้อมูลของคู่แข่งขันอย่างผิดกฎหมายและขัดต่อ จริยธรรม 5.6 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม บริษัท ฯ ในฐานะเป็ น บริษัท ไทย ตระหนัก และมีจิต สํา นึ ก ในบุ ญ คุณ ของประเทศและเป็ น ส่ว นหนึ่ ง ของสังคม ซึ่งต้อ ง รับผิดชอบช่วยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิน่ ทีบ่ ริษทั ฯ มีการดําเนินธุรกิจ บริษทั ฯ มีนโยบายผลิตสินค้าและให้บริการใดๆ ทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและปฏิบตั ติ ามกฎหมายสิง่ แวดล้อม บริษัทฯ ส่งเสริม กิจกรรมการดูแ ลรักษาธรรมชาติและอนุ ร กั ษ์พลังงาน และมีนโยบายที่จ ะคัดเลือกและส่งเสริมการใช้ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 3 เรื่อง การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ หัวข้อ การแสดงความ รับผิดชอบต่อสังคม 5.7 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interests) ในการทํางานให้กบั บริษทั ฯ อาจเกิดสถานการณ์ทผ่ี ลประโยชน์สว่ นตนของกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานอาจขัดแย้งกับ ผลประโยชน์ ของบริษทั ฯ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นัน้ อาจเกิดขึ้นได้ในหลายรูปแบบ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้กําหนด แนวทางทีท่ ุกคนพึงถือปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) การรับเงิ นหรือประโยชน์ ตอบแทน กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ต้องไม่รบั เงินหรือประโยชน์ตอบแทนใดๆ เป็ นการส่วนตัวจากลูกค้า คู่คา้ ของ บริษทั ฯ หรือจากบุคคลใดอันเนื่องจากการทํางานในนามบริษทั ฯ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน จะต้องไม่ให้กู้หรือกูย้ มื เงิน หรือเรีย่ ไรเงิน สิง่ ของจากลูกค้าหรือผูท้ ําธุรกิจกับ บริษทั ฯ เว้นแต่เป็ นการกูย้ มื เงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินในฐานะของลูกค้าของธนาคารหรือสถาบันการเงิน ดังกล่าว 2) การประกอบธุรกิ จอื่นนอกบริ ษทั ฯ การทําธุรกิจส่วนตัวใดๆ ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ต้องไม่กระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละเวลา ทํางานของบริษทั ฯ และห้ามประกอบธุรกิจหรือมีสว่ นร่วมในธุรกิจใดอันเป็ นการแข่งขันกับธุรกิจของกลุ่มบริษทั ฯ ไม่วา่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานดังกล่าวจะได้รบั ประโยชน์โดยตรงหรือโดยทางอ้อมก็ตาม 3) การทําธุรกิ จใดๆ กับกลุ่มบริ ษทั ฯ การทําธุรกิจใดๆ กับบริษทั ฯ ทัง้ ในนามส่วนตัว ครอบครัว หรือในนามนิตบิ ุคคลใดๆ ทีก่ รรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงาน นัน้ มีสว่ นได้สว่ นเสีย จะต้องเปิดเผยส่วนได้สว่ นเสียต่อบริษทั ฯ ก่อนเข้าทํารายการ

ส่วนที่ 2 หน้า 94


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทีม่ สี ว่ นได้เสียเป็ นผูอ้ นุ มตั ใิ นการตกลงเข้าทํารายการหรือกระทําการใดๆ ในนามบริษทั ฯ ผูท้ ํารายการในนามบริษทั ฯ มีหน้าทีต่ อ้ งตรวจสอบความสัมพันธ์ของคู่คา้ ว่าเกี่ยวข้องกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงาน หรือไม่ ก่อนทํารายการเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใดๆทีอ่ าจเกิดขึน้ ทัง้ นี้ นิยามของ ความสัมพันธ์ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์เรือ่ ง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4) การดํารงตําแหน่ งกรรมการบริ ษทั ภายนอกบริ ษทั ฯ บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายทีจ่ ะส่งผูบ้ ริหาร เข้าไปเป็ นกรรมการในบริษทั อื่นนอกกลุ่มบริษทั ฯ ในกรณีทผ่ี บู้ ริหารของ บริษทั จะเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษทั อื่น ต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากผูม้ อี าํ นาจของบริษทั ฯ ยกเว้นการดํารง ตําแหน่ งกรรมการในองค์กรการกุศลที่ไม่แสวงหากําไร ทัง้ นี้ การดํารงตําแหน่ งดังกล่าวจะต้องไม่ขดั ต่อ บทบัญญัตขิ องกฎหมาย หรือข้อบังคับทีเ่ กี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และต้องไม่ใช้ตําแหน่ งงานใน บริษทั ฯ ไปใช้อา้ งอิงเพือ่ ส่งเสริมธุรกิจภายนอก 5) การรับของขวัญและการรับเลี้ยงรับรองทางธุรกิ จ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน พึงหลีกเลี่ยงการรับของขวัญทัง้ ที่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินจาก คู่คา้ หรือผู้ท่ี เกีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ เว้นแต่ในเทศกาลหรือประเพณีนิยม แต่ตอ้ งมีมลู ค่าไม่เกิน 5,000 บาท ในกรณีท่ี มีเหตุจําเป็ นต้องรับของขวัญหรือทรัพย์สนิ อื่นใดในมูลค่าที่สงู กว่า 5,000 บาท ให้รายงานผูบ้ งั คับบัญชาเพื่อ ดําเนินการตามความเหมาะสม กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน สามารถรับการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจได้ เพื่อประโยชน์ ในธุรกิจของบริษทั ฯ และพึงหลีกเลี่ยงการรับการเลี้ยงรับรองในลักษณะที่เกินกว่าเหตุความสัมพันธ์ปกติจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับ บริษทั ฯ หรือจะเป็ นคูค่ า้ ในอนาคต 6) การเดิ นทางไปสัมมนา ดูงาน ทัศนศึกษา กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน สามารถรับเชิญไปดูงาน สัมมนาและทัศนศึกษา ซึง่ คู่คา้ เป็ น ผูอ้ อกค่าใช้จ่าย เดินทางให้ได้ ทัง้ นี้ เฉพาะเพื่อประโยชน์ ในทางธุรกิจและต้องผ่านการอนุ มตั ิจากผู้บงั คับบัญชาที่มอี ํานาจ เท่านัน้ แต่หา้ มรับเงินหรือประโยชน์อ่นื ใดจากคูค่ า้ 5.8 การเสนอเงิ น สิ่ งจูงใจหรือรางวัล บริษัทฯ ไม่ม ีน โยบายเสนอเงิน สิ่งจูงใจของกํา นัล สิทธิป ระโยชน์ พิเ ศษ ในรูป แบบใดๆ แก่ ลูก ค้า คู่ค้า ของบริษัท ฯ หน่ ว ยงานภายนอกหรือ บุ ค คลใดๆเพื่อ ให้ไ ด้ม าซึ่ง ธุ ร กิจ ยกเว้น การให้ก ารเลี้ย งรับ รองทางธุ ร กิจ ตามประเพณี นิ ย ม ส่วนลดการค้า และโครงการส่งเสริมการขายของบริษทั ฯ 5.9 กิ จกรรมทางการเมือง บริษทั ฯ มีนโยบายเป็ นกลางทางการเมือง โดยไม่บริจาคเงินสนับสนุ นหรือกระทําการอันเป็ นการฝกั ใฝพ่ รรคการเมืองใด พรรคการเมืองหนึ่งและหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทําให้เกิดความเข้าใจว่าบริษัทฯ มีส่วนเกี่ยวข้องหรือฝกั ใฝ่พรรค การเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง ส่วนที่ 2 หน้า 95


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับสามารถมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางการเมืองภายใต้ บทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญ แต่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงาน ต้องไม่แอบอ้างความเป็ นพนักงานหรือนําทรัพย์สนิ อุปกรณ์ เครื่องมือใดๆ ของบริษทั ฯ ไม่ใช้เพื่อประโยชน์ ในการดําเนินการใดๆ ในทางการเมืองและพึงหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทําให้เกิดความเข้าใจว่า บริษทั ฯ ได้ให้การสนับสนุนหรือฝกั ใฝใ่ นพรรคการเมืองใดพรรคหนึ่ง กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ต้องลาออกจากการเป็ นพนักงาน หากจะดํารงตําแหน่ งทางการเมืองหรือลงสมัครรับ เลือกตัง้ ในระดับท้องถิน่ หรือระดับประเทศ 5.10 การปกป้ อง ดูแลรักษาทรัพย์สินของบริ ษทั ฯ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการดูแลรักษา การใช้ทรัพย์สนิ ของกลุ่มบริษทั ฯ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของกลุม่ บริษทั ฯ โดยไม่นําไปใช้เพือ่ ประโยชน์ของตนเอง หรือผูอ้ ่นื บริษทั ฯ มีนโยบายจะจัดทําเอกสารทางธุรกิจ บันทึกข้อมูลทางการเงินและบัญชี และจัดทํารายงานทางการเงิน ด้วยความ สุจริต ทันเวลา ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทัวไป ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงานทุกคนต้องควบคุมข้อมูลความลับอย่างเหมาะสมและต้องไม่ส่อื สารข้อมูลอันมีสาระสําคัญและ ยังมิได้เปิ ดเผยสู่สาธารณชน ซึ่งได้รบั รูม้ าจากหน้าที่งาน ไปยังหน่ วยงานอื่น ๆ และบุคคลภายนอกที่ไม่สมควรต้องรับรู้ ข้อมูลนัน้ และมีหน้าทีต่ อ้ งใช้ความพยายามอย่างดีทส่ี ุด เพื่อป้องกันไว้ซง่ึ ข้อมูลทีเ่ ป็ นความลับดังกล่าว ทัง้ นี้ รวมไปถึง การจัดเก็บเอกสารข้อมูลทีเ่ ป็ นความลับ 5.11 การใช้ข้อมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับต้องไม่ใช้ขอ้ มูลภายใน (Inside Information) ของบริษทั ฯ ทีม่ สี าระสําคัญ และยัง ไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพือ่ ประโยชน์ของตนเองหรือผูอ้ ่นื กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ มีสทิ ธิเสรีภาพในการลงทุนซือ้ ขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษทั ฯ แต่เพื่อป้องกัน มิให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ควรหลีกเลีย่ งหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของ กลุม่ บริษทั ฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน 5.12 การให้ข้อมูลข่าวสาร หรือให้สมั ภาษณ์ ต่อสื่อมวลชน หรือต่อสาธารณชน การให้ขอ้ มูลใดๆ เกีย่ วกับบริษทั ฯ ต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานข้อมูลที่ เป็ นจริง ถูกต้อง และปฏิบตั ดิ ว้ ยความระมัดระวัง ผูท้ ไ่ี ม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้องหรือไม่ได้รบั มอบหมาย ไม่สามารถให้ขอ้ มูลข่าวสารหรือให้สมั ภาษณ์ต่อสือ่ มวลชนหรือต่อ สาธารณชนใดๆ เกีย่ วกับหรือพาดพิงบริษทั ฯ ไม่วา่ ในด้านใด อันอาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง และการดําเนินธุรกิจของ บริษทั ฯ 5.13 รายการระหว่างกัน ในกรณีทม่ี กี ารทํารายการระหว่างกัน บริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์และขัน้ ตอนในการพิจารณาอนุมตั ิ โดยคํานึงถึง ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ เป็ นสําคัญ โดยถือเสมือนหนึ่งเป็ นรายการทีก่ ระทํากับบุคคลภายนอก (on arms' length basis) ส่วนที่ 2 หน้า 96


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5.14 การปฏิ บตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานต้องปฏิบตั ติ นให้อยูใ่ นกรอบของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และต้องไม่มสี ว่ นรูเ้ ห็น ช่วยเหลือ หรือกระทําการใดๆ อันเป็ นการละเมิด ฝา่ ฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 5.15 การจัดการและการรักษาจรรยาบรรณ 1) กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด หากพบว่ามีการฝา่ ฝื นหรือ กระทําการใดๆทีข่ ดั ต่อจรรยาบรรณ บริษทั ฯ จะพิจารณาลงโทษตามลักษณะแห่งความผิดตามควรแก่กรณี 2) กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนมีหน้าทีล่ งนามรับทราบจรรยาบรรณนี้ เมือ่ เข้าเป็ นพนักงานและเมือ่ มีการ เปลีย่ นแปลง 3) ผูบ้ ริหารและผูบ้ งั คับบัญชาต้องเป็ นแบบอย่างทีด่ ใี นการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ และมีหน้าทีใ่ นการสอดส่องดูแล และส่งเสริมผูใ้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทีก่ าํ หนด 4) กําหนดให้มคี ณะกรรมการจรรยาบรรณ ประกอบด้วย กรรมการผูอ้ าํ นวยการของบริษทั ฯ เป็ นประธาน หัวหน้า ฝา่ ยตรวจสอบภายใน หัวหน้าฝา่ ยกฎหมาย หัวหน้าฝา่ ยทรัพยากรบุคคล และหัวหน้าฝา่ ยงานอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้องเป็ น กรรมการ โดยมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ • ดูแลปรับปรุงจรรยาบรรณให้มคี วามเหมาะสมและทันสมัย โดยได้รบั อนุ มตั จิ ากคณะกรรมการ • รับเรือ่ งร้องเรียนการกระทําทีอ่ าจจะฝา่ ฝืนจรรยาบรรณ รวมทัง้ ดําเนินการสอบสวนข้อเท็จจริง • ตอบชีแ้ จงข้อซักถามและตีความในกรณีทม่ี ขี อ้ สงสัย • จัดทํารายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษทั ทราบเป็ นประจํา ทุกปี • ดูแลฝึกอบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจจรรยาบรรณและเสริมสร้างให้พนักงานทุกคนยึดถือและปฏิบตั ิ 5) ในการขอยกเว้นการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณนี้ให้แก่ผบู้ ริหารและกรรมการ จะต้องได้รบั การอนุ มตั จิ าก คณะกรรมการบริษทั 5.16 การรายงานการไม่ปฏิ บตั ิ ตามจรรยาบรรณ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีหน้าทีต่ อ้ งรายงานการปฏิบตั ทิ อ่ี าจขัดต่อจรรยาบรรณ ในกรณีทพ่ี บเห็นหรือถูกกดดัน/ บังคับให้กระทําใดๆ ทีเ่ ป็ นการขัดต่อจรรยาบรรณ ให้รายงานต่อผูบ้ งั คับบัญชา หรือผูบ้ ริหารระดับสูง หรือฝา่ ยตรวจสอบ ภายใน หรือฝา่ ยทรัพยากรบุคคล หรือคณะกรรมการจรรยาบรรณ หรือคณะกรรมการตรวจสอบแล้วแต่กรณี บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะรักษาข้อมูลความลับและคุม้ ครองผูท้ ร่ี ายงานเป็ นอย่างดี และผูร้ ายงานไม่ตอ้ งรับโทษใดๆ หาก กระทําโดยเจตนาดี

ส่วนที่ 2 หน้า 97


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย (รวม 9 บริษทั ) มีพนักงานทัง้ สิน้ 6,177 คน (เฉพาะพนักงานประจํา) โดยแบ่งตามสายงานหลักได้ดงั นี้ เอเอ็มพี / เอเอ็มซี / เอดีซี / เอไอเอ็น / ดับบลิ วดีเอส / เอสบีเอ็น

บริ ษทั สายงานหลัก ปฏิบตั กิ าร พัฒนาโซลูช ั ่นส์ บริหารลูกค้าและการบริการ การตลาด ธุรกิจบริการบริการเสริมและการส่งข้อมูล ปฏิบตั กิ ารด้านบริการ การเงินและบัญชี สนับสนุน สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคกลาง สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคตะวันออก สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคเหนือ สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคใต้

รวม

จํานวนพนักงาน

987 596 79 346 81 774 196 300 6 188 192 268 290 232 4,535

จํานวนพนักงาน

46 5 303 30 138 11

เอเอ็มพี เอเอ็มซี เอดีซี เอไอเอ็น ดับบลิวดีเอส เอสบีเอ็น

รวม

เอซีซี สายงานหลัก กรรมการผูจ้ ดั การ สํานักลูกค้าสัมพันธ์ ฝา่ ยปฏิบตั กิ ารบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ฝา่ ยประกันคุณภาพงานบริการ ฝา่ ยบริหารกลุม่ ลูกค้าผูใ้ ช้บริการสูง ฝา่ ยบริหารคูค่ า้ สัมพันธ์ สํานักระบบคอนแท็คเซ็นเตอร์ และ โซลูชนส์ ั่ สํานักบริหารทรัพยากร รวม

533 ดีพีซี

จํานวน พนักงาน 1 398 116 75 127 40 45 59 861

สายงานหลัก

จํานวน พนักงาน

ธุรกิจการค้าเครือ่ งลูกข่าย บัญชีและบริหารสินเชื่อ การตลาด-การขาย คลังสินค้า และระบบขนส่ง วิศวกรรม

68 13 43 70 47

สนับสนุน

7 รวม

248

สําหรับปี 2550 ค่าตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุน สํารองเลีย้ งชีพ มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 3,235.50 ล้านบาท

ส่วนที่ 2 หน้า 98


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษทั ฯ ถือว่าการพัฒนาบุคลากรคือการลงทุนระยะยาวทีจ่ ะส่งผลต่อความสําเร็จ และสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่องค์กร จึงได้จดั กิจกรรมพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การเจริญเติบโตขององค์กรด้วยรูปแบบหลากหลาย เช่น สนับสนุ นให้มกี าร ถ่ายทอด ความรูป้ ระสบการณ์และความเชีย่ วชาญ CoP (Community of Practice) ของสาขาวิชาชีพต่างๆ ภายในบริษทั ฯ และรวบรวมองค์ความรูเ้ หล่านัน้ ไว้ ใน Nokhook หรือระบบบริหารความรูข้ องบริษทั ฯ (Knowledge Management) ด้าน การพัฒนาและฝึกอบรมพนักงานมีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Business Strategy) อยูเ่ สมอ มีการให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโททัง้ ใน และต่างประเทศ แก่พนักงานเพือ่ พัฒนามีความรู้ ความสามารถให้ทนั ต่อสถานการณ์ รวมทัง้ จัดให้มกี ารดูงานระดับภูมภิ าค (Region) และการโอนย้ายงานเพือ่ เพิม่ พูนทักษะให้หลากหลายโดย ใช้ระบบ Competency-Based Development รวมถึงการวางแผนพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Advancement) เพือ่ ให้การพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีความชัดเจน ต่อเนื่อง และสนับสนุ นความสําเร็จตามกลยุทธ์ขององค์กร

ส่วนที่ 2 หน้า 99


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

10.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายใน

การควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ยง บริษทั ฯ ได้ให้ความสําคัญต่อระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งเป็ นอย่างยิง่ ซึง่ พนักงานทุกคน ของบริษทั ฯ มีบทบาทและความรับผิดชอบร่วมกัน โดยมีการกําหนดภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ อํานาจการดําเนินการใน ระดับบริหารและระดับปฏิบตั กิ ารไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน ครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การ ดําเนินงาน การบริหาร การกํากับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็ นไปตามกฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และการบริหารความ เสีย่ ง เพือ่ ก่อให้เกิดความมันใจอย่ ่ างสมเหตุสมผลว่า ผลสําเร็จของงานจะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริษทั ฯ ดังนี้ 1. กลยุทธ์และเป้าหมาย ได้กาํ หนดไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องและสนับสนุนพันธกิจ (Mission) ของบริษทั ฯ 2. ผลการปฏิบตั งิ านบรรลุตามวัตถุประสงค์ทก่ี าํ หนดไว้ โดยมีการบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ คุม้ ค่า 3. รายงานข้อมูลทีม่ สี าระสําคัญ ทัง้ ด้านการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ 4. การดําเนินงานและการปฏิบตั งิ าน เป็ นไปตามนโยบาย กฎ ระเบียบและข้อกําหนดทีส่ อดคล้องกับกฎหมาย และข้อบังคับอื่นทีเ่ กีย่ วข้องกับการดําเนินธุรกิจ 5. มีความปลอดภัยของทรัพย์สนิ บุคลากร รวมทัง้ ข้อมูลในระบบสารสนเทศ 6. มีการกํากับดูแลและการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมมีประสิทธิผล 7. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนื่อง บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ตามกรอบงานการบริหารความเสีย่ ง โดยอ้างอิงตาม มาตรฐานสากลของ The Committee Of Sponsoring Organizations Of The Treadway Commission -Enterprise Risk Management (COSO-ERM) ซึง่ สัมพันธ์กบั การดําเนินธุรกิจและกระบวนการบริหารงานโดยบรรลุประสิทธิผลครบ ตามองค์ประกอบ 8 ข้อ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามนโยบายการกํากับดูแลทีด่ ี และยึดมันในปรั ่ ชญาและจรรยาบรรณธุรกิจ ทีม่ ขี อ้ กําหนดและ แนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นลายลักษณ์อกั ษร( Code of conducts) มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการจรรยาบรรณ และผูบ้ ริหารเป็ น ตัวอย่างทีด่ ใี นเรือ่ งความซื่อสัตย์และจริยธรรม มีการจัดโครงสร้างการบริหารทีด่ ี และมีการปฏิบตั ติ ่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย เป็ นไป ตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ โี ดยคํานึงถึงความเป็ นธรรมต่อทุกฝา่ ย บริษทั ฯ ให้ความสําคัญในการพัฒนาความรูค้ วามสามารถอย่างต่อเนื่อง ได้กาํ หนดแนวทางการบริหารความเสีย่ ง และการจัดการความเสีย่ งอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง 2. การกําหนดวัตถุประสงค์ บริษทั ฯ มีการกําหนดวัตถุประสงค์การปฏิบตั งิ านอย่างชัดเจน ทัง้ ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบตั งิ าน ด้านการ รายงาน รวมทัง้ ด้านการปฏิบตั ติ ามนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อปฏิบตั ติ ่างๆ โดยบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และสอดคล้อง กับเป้าหมายหลักหรือพันธกิจในภาพรวมและระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ และได้มกี ารปรับเปลีย่ นแผนงาน กลยุทธ์และ วัตถุประสงค์ทใ่ี ห้สอดคล้องกับปจั จัยเสีย่ งทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างสมํ่าเสมอ

ส่วนที่ 2 หน้า 100


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

3. การบ่งชี้เหตุการณ์ บริษทั ฯ ได้ระบุตวั บ่งชีเ้ หตุการณ์หรือปจั จัยเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจส่งผลเสียหายต่อวัตถุประสงค์ในแต่ละกิจกรรม รวมทัง้ ระบุเหตุการณ์ทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ทีเ่ อือ้ อํานวยต่อวัตถุประสงค์ทางด้านบวกไว้ดว้ ย โดยพิจารณาจากแหล่งความเสีย่ ง ภายในและภายนอกบริษทั ฯ และยังมีการติดตามผล เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า บริษทั ฯ มีการระบุปจั จัยเสีย่ งทีค่ รอบคลุมต่อการ เปลีย่ นแปลงของแต่ละกิจกรรมและมีการรายงานต่อผูบ้ ริหารหรือผูเ้ กีย่ วข้องให้รบั ทราบอยูเ่ สมอ 4. การประเมิ นความเสี่ยง บริษทั ฯ ได้จดั ทําคูม่ อื การบริหารความเสีย่ งและได้กาํ หนดหลักเกณฑ์ของการประเมินความเสีย่ งทัง้ เชิงคุณภาพ และปริมาณอย่างเป็ นระบบ โดยแบ่งเป็ นความเสีย่ งระดับองค์กรและระดับปฏิบตั กิ าร ซึง่ ทําการประเมินทัง้ 2 ด้าน คือ โอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ความเสีย่ ง(Likelihood) และผลกระทบต่อความเสียหายทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์นนั ้ (Impact) เพือ่ พิจารณาระดับค่าของความเสีย่ งทีอ่ าจเป็ นระดับสูง กลาง หรือตํ่า 5. การตอบสนองความเสี่ยง บริษทั ฯ มีกระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็ นระบบต่อเนื่อง เพือ่ พิจารณาทางเลือกทีม่ ปี ระสิทธิผลและความ คุม้ ค่าทีส่ ดุ และเลือกจัดการกับความเสีย่ งระดับสูงเป็ นอันดับแรก เพือ่ ลดโอกาสและผลกระทบทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์นนั ้ ให้อยู่ ในระดับทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ ยังมีมาตรการควบคุมภายใน ทีม่ คี วามสัมพันธ์เหมาะสมกับความเสีย่ งทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป 6. กิ จกรรมการควบคุม บริษทั ฯ ได้กาํ หนดกิจกรรมการควบคุมทีม่ สี าระสําคัญในแต่ละระบบงานไว้อย่างเหมาะสม ซึง่ เน้นกิจกรรมควบคุม ้ แบบปองกันเป็ นหลัก รวมทัง้ มีนโยบาย วิธกี ารปฏิบตั ิ และการรายงานผลอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้มนใจว่ ั ่ า วิธกี ารจัดการ ความเสีย่ งหรือกิจกรรมการควบคุมนัน้ ได้มกี ารนําไปปฏิบตั จิ ริง สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้ รวมถึงคุณภาพและ ความรวดเร็วควบคูก่ นั ไป 7. ข้อมูลและการติ ดต่อสื่อสาร บริษทั ฯ มีขอ้ มูลในระบบสารสนเทศทีส่ ามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทัวถึ ่ งทัง้ องค์กร เพือ่ นําไปใช้เป็ นข้อมูลในการ ตัดสินใจได้อย่างถูกต้องทันเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพียงพอ โดยมี ระบบการจัดเก็บข้อมูลทีส่ ามารถตรวจสอบความถูกต้องย้อนหลังได้ (Audit Trail) อีกทัง้ ยังมีระบบข้อมูลทีส่ ามารถวิเคราะห์ หรือบ่งชีจ้ ุดทีอ่ าจจะเกิดความเสีย่ งในเชิงสถิตไิ ด้อย่างเป็ นระบบ ซึง่ ทําการประเมินและจัดการความเสีย่ งพร้อมทัง้ บันทึก หรือรายงานผลไว้อย่างครบถ้วน บริษทั ฯ มีชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถคิดต่อสือ่ สารกันได้ทวถึ ั ่ งทัง้ องค์กร โดยข้อมูลทีส่ าํ คัญจะถูกถ่ายทอดจากผูบ้ ริหารระดับสูงลงสูพ่ นักงานได้อย่างรวดเร็ว อีกทัง้ มีชอ่ งทางการสือ่ สารจากพนักงาน ขึน้ ตรงสูผ่ บู้ ริหารระดับสูงได้อกี ด้วย 8. การติ ดตามผล บริษทั ฯ มีระบบการประเมินและติดตามผลการดําเนินงานทีด่ ี เพือ่ ให้มนใจได้ ั่ วา่ มาตรการและระบบการควบคุม ภายในนัน้ มีประสิทธิผลอยูเ่ สมอสามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา และบริษทั ฯ ได้จดั ให้ พนักงานระดับหัวหน้างานมีการติดตามผลการปฏิบตั งิ านของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา และยังจัดให้มกี ารตรวจประเมินผลการ ปฏิบตั งิ าน โดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ เป็ นหน่วยงานอิสระ อีกทัง้ มีการตรวจสอบงบการเงินและผลการดําเนินงาน จาก ผูส้ อบบัญชี และผูป้ ระเมินอิสระจากภายนอก ส่วนที่ 2 หน้า 101


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริษทั ฯ มีระบบการติดตามผลการบริหารความเสีย่ งทีด่ แี ละมีการกําหนดสัญญาณเตือนภัย เพือ่ ให้มนใจได้ ั่ วา่ การบริหารและการจัดการความเสีย่ งมีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ ซึง่ ความเสีย่ งนัน้ อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ โดยให้ม ี การรายงานผลต่อหัวหน้างานทุกระดับและต่อผูบ้ ริหารระดับสูงอย่างสมํ่าเสมอ และจัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั และมีการประชุมผูบ้ ริหารอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ พิจารณาและติดตามผลการดําเนินงานของฝา่ ยบริหารว่าเป็ นไปตามเป้าหมาย ทีต่ งั ้ ไว้ นอกจากนี้ในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา การดําเนินธุรกิจด้านโทรคมนาคม ในประเทศไทยมีเหตุการณ์ความผันผวนจาก ั ปจจัยความเสีย่ งต่างๆ อาทิ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคต่อการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ปจั จัยทางการเมือง กฎ ระเบียบ ข้อตกลง ของการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม เป็ นต้น เอไอเอส ในฐานะทีเ่ ป็ นบริษทั ทีม่ สี ดั ส่วนทางการตลาดมากเป็ นอันดับหนึ่งใน ประเทศไทย ได้มงุ่ ให้ความสําคัญกับการบริหารความเสีย่ งขององค์กร โดยมี คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ มีประธาน กรรมการบริหารของบริษทั ฯ เป็ นประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร และผูบ้ ริหาร ระดับสูง เป็ นกรรมการ รวม 12 ท่าน ซึง่ คณะกรรมการได้มกี ารประชุมทุกไตรมาส โดยได้พจิ ารณาการแจกแจงความเสีย่ ง จัดอันดับความเสีย่ ง กําหนดแนวทางการบริหารความเสีย่ ง มอบหมายผูร้ บั ผิดชอบเพื่อจัดให้มมี าตรการควบคุมและจัดการ ความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ เพือ่ ให้บริษทั ฯสามารถบรรลุเป้าหมายทีก่ าํ หนดไว้ และเพือ่ สร้างความเชื่อมันให้ ่ กบั ผู้ ถือหุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย นอกจากนี้ ได้มกี ารจัดทําหลักสูตรการบริหารความเสีย่ งเป็ นระบบ E-Learning สําหรับ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับในองค์กรเพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการบริหารความเสีย่ งของการปฏิบตั งิ าน ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้นําเสนอผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารได้รบั ทราบ เพือ่ ให้มกี ารจัดการความเสีย่ งและติดตามอย่างใกล้ชดิ และมันใจ ่ ได้วา่ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายทีก่ าํ หนดไว้ ซึง่ สรุปรายละเอียดของ ั ั ปจจัยความเสีย่ งทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ไว้ในส่วนของปจจัยเสีย่ งเรียบร้อยแล้ว ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2 /2551 เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษทั ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ จากการสอบทานการประเมิน ระบบการควบคุมภายใน และจากการซักถามข้อมูลจากฝา่ ยบริหาร ผลการประเมินจากแบบประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายใน สรุปได้วา่ บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ คือ บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัดซึง่ เป็ นผูต้ รวจสอบงบ การเงินประจําปี 2550 ได้ประเมินประสิทธิผลระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ตามทีเ่ ห็นว่าจําเป็ น โดยพบว่า ไม่ม ี จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในทีม่ สี าระสําคัญแต่ประการใด การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบในด้านงานตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธานกรรมการบริหารในด้านงานบริหารหน่ วยงาน โดยมีกฎบัตรของหน่วยงาน ซึง่ กําหนดภารกิจ ขอบเขต วัตถุประสงค์และภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการปฏิบตั งิ านตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน และมีการ จัดทําคูม่ อื การปฏิบตั งิ านตรวจสอบทีป่ รับปรุงเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ เพือ่ ใช้อา้ งอิงการปฏิบตั งิ านให้เป็ นทิศทางเดียวกัน หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทําหน้าทีต่ รวจประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสีย่ ง และการ กํากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ตามแผนงานการตรวจสอบประจําปี ซึง่ ได้พจิ ารณาจากปจั จัยเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง (Risk Based Audit Approach) โดยผ่านการอนุมตั สิ อบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ การให้คาํ ปรึกษาแนะนําในด้านต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความเชื่อมันว่ ่ าการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯจะบรรลุผลสําเร็จตามกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ทก่ี าํ หนดไว้ อีกทัง้ ยังทํา การติดตามประเมินผลอย่างสมํ่าเสมอเพือ่ ให้เกิดความมันใจในระบบที ่ ว่ างไว้ได้ดาํ เนินการเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง และได้รบั การแก้ไขปรับปรุงอย่างสมํ่าเสมอ

ส่วนที่ 2 หน้า 102


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสีย่ ง หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ดาํ เนินการสอบ ทานตัวบ่งชีเ้ หตุการณ์หรือปจั จัยเสีย่ งทีส่ ง่ ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ และแนวทางการบริหารความเสีย่ งของผูป้ ฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ ามีการระบุและประเมินความเสีย่ งได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีการบริหารความเสีย่ งทีเ่ ป็ นระบบสามารถ จัดการความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ และมีการรายงานอย่างครบถ้วนทันเวลาพร้อมทัง้ ยังมีการติดตามสอบทาน ความเสีย่ งอย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จดั ทําแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของแต่ละระบบงาน รวมทัง้ ได้ทาํ การสอบทานผลการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้ มันใจว่ ่ า บริษทั ฯ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด และรายงานทางการเงินมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ ในการตรวจประเมินการกํากับดูแลกิจการ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ตรวจประเมินการกํากับดูแลดูแลกิจการ ตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี ององค์กรเพือ่ ความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development: OECD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ นเกณฑ์ เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า บริษทั ฯ มี โครงสร้างและการสนับสนุนของกระบวนการทีจ่ าํ เป็ นในการนําไปสูผ่ ลสําเร็จของการกํากับดูแลทีด่ แี ละโปร่งใสและให้ความ เป็ นธรรมเท่าเทียมกัน ตลอดจนมีการนําทรัพยากรไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงค์ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝา่ ย นอกจากนี้หวั หน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ สนับสนุนภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทุกหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายมาจากคณะกรรมการ บริษทั ให้มปี ระสิทธิผล โดยจัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เฉลีย่ เดือนละ 1 ครัง้ และยังมีบทบาทในการให้ คําปรึกษาแนะนําในด้านต่างๆ โดยร่วมเป็ นกรรมการของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการ ด้านความปลอดภัยระบบสารสนเทศของบริษทั ฯ เพื่อให้ขอ้ เสนอแนะในด้านความเสีย่ งระดับองค์กร และในด้าน การรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศของบริษทั ฯ โดยกําหนดให้กรรมการมีการประชุมกันอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ยดึ ถือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านวิชาชีพการตรวจสอบ (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing), CobiT, COSO-ERM, AS / NZ 4360, ITIL, ISO 17799 เป็ นกรอบหรือ แนวทางในการปฏิบตั งิ าน และให้มกี ารปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นอิสระ เทีย่ งธรรม สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และให้ความสําคัญ ต่อการพัฒนาฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง ตามแผนการฝึกอบรมแบบรายบุคคล (Individual Coaching Plan ) รวมถึงการ พัฒนาสอบวุฒบิ ตั รต่างๆ โดยปจั จุบนั หน่วยงานมีผมู้ วี ฒ ุ บิ ตั ร CIA (Certified Internal Auditor) จํานวน 5 ท่านวุฒบิ ตั ร CISA (Certified Information System Auditor) จํานวน 4 ท่าน วุฒบิ ตั ร CISM (Certified Information Security Manager) จํานวน 1 ท่าน วุฒบิ ตั ร CISSP(Certified Information Systems Security Professional) จํานวน 1 ท่าน วุฒบิ ตั ร CPA (Certified Public Accountant) จํานวน 3 ท่าน วุฒบิ ตั ร TA (Tax Auditor) จํานวน 1 ท่าน โดยเจ้าหน้าทีอ่ กี จํานวนหนึ่งอยู่ ระหว่างการพัฒนาให้มวี ฒ ุ บิ ตั ร CIA, CISA , CISSP และ CISM อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 2 หน้า 103


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

11.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รายการระหว่างกัน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้มกี ารตกลงเข้าทํารายการกับบุคคลทีเ่ กี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการตาม ธุรกิจปกติของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และเป็ นไปตามเงือ่ นไขการค้าทัวไป ่ สําหรับขัน้ ตอนการอนุ มตั กิ ารทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันนัน้ บริษทั ฯ จะยึดแนวปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันกับการทํารายการ อื่น ๆ ทัวไป ่ โดยมีการกําหนดอํานาจของผู้มสี ทิ ธิอนุ มตั ติ ามวงเงินที่กําหนด นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทํา หน้าทีเ่ ป็ นผูส้ อบทานการทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันเป็ นประจําทุกไตรมาส เพือ่ ขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยรวมเป็ นสําคัญ บริษทั ฯ มีนโยบายเปิ ดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารเปิดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั จดทะเบียนอย่างเคร่งครัด สําหรับงวดบัญชีรายปี สน้ิ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการกับบุคคลที่ เกีย่ วโยงกัน โดยผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั ฯ ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีต่ รวจสอบและคณะกรรมการ ตรวจสอบทําหน้าทีส่ อบทานแล้ว มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 104


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

1. บริ ษทั ชิ น คอร์ปอเรชัน่ จํากัด บริษทั ฯ มีเงินปนั ผลจ่ายให้ SHIN ซึง่ เป็ นผู้ ถือหุน้ ใหญ่ (มหาชน) (SHIN)/ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ใน สัดส่วนร้อยละ 42.72 และมี 1. รายได้จากการให้บริการ กรรมการร่วมกันคือ 2. รายได้อ่นื นายสมประสงค์ บุญยะชัย 3. ค่าทีป่ รึกษาและบริหารการเงิน 4. เงินปนั ผลจ่าย 5. ค่าเช่าและบริการอื่นๆ 6. ลูกหนี้การค้า 7. ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

0.31 0.03 7,961.39 0.03 -

ส่วนที่ 2 หน้า 105

0.32 0.03 7,961.39 0.09 -

งบการเงินเฉพาะ

0.39 0.01 97.40 7,961.39 5.15 0.14

งบการเงินรวม

บริษทั ฯ จ่ายเงินปนั ผลให้ SHIN ตาม อัตราส่วนการถือหุน้ ทัง้ นี้การเสนอ จ่ายเงินปนั ผลดังกล่าวของคณะกรรมการ บริษทั จะต้องได้รบั อนุ มตั จิ ากทีป่ ระชุม 0.39 สามัญประจําปีผถู้ อื หุน้ 0.01 98.12 ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2549 บริษทั ฯได้ 7,961.39 ยกเลิกสัญญาว่าจ้างให้ SHIN เป็ นที่ 6.00 ปรึกษาและบริหารงานเนื่องจากมีการ - ปรับเปลีย่ นวิธกี ารกํากับดูแลบริษทั ดังนัน้ 0.14 ในปี 2549 บริษทั ฯ จึงมีการเปิดเผยค่าที่ ปรึกษาและบริหารการเงินจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 2. บริ ษทั ชิ นแซทเทลไลท์ จํากัด (มหาชน) (SATTEL)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ใน สัดส่วนร้อยละ 41.28 และมี กรรมการร่วมกันคือ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ

บริษทั ฯ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม1A จาก SATTEL โดยบริษทั ฯ ต้องชําระค่าตอบแทน ในอัตรา 1,700,000 USD/ปี

3. บริ ษทั ชิ นวัตร อิ นฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จํากัด (SIT)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ (โดย ทางอ้อม) ร้อยละ 99.99

บริษทั ฯว่าจ้าง SIT เป็ นทีป่ รึกษา และบริหาร ระบบคอมพิวเตอร์ของ SIT โดยสัญญาได้ สิน้ สุดตัง้ แต่วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2550

1. 2. 3. 4.

รายได้จากการให้บริการ ค่าเช่าและบริการอื่นๆ ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

1. ค่าทีป่ รึกษาและบริหารระบบ คอมพิวเตอร์

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เนื่องจาก SATTEL เป็ นผูใ้ ห้บริการราย เดียวในประเทศไทย บริษทั ฯ ชําระ ค่าบริการในอัตราเดียวกับลูกค้าทัวไปที ่ ่ ใช้บริการ

4.74 57.82 0.28 -

1.54

ส่วนที่ 2 หน้า 106

5.21 57.83 0.59 -

1.54

1.99 63.04 0.28 1.10

2.63

1.99 63.04 0.31 1.10

เป็ นบริษทั ทีใ่ ห้บริการโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทางบัญชี เฉพาะบริษทั ในเครือ SHIN SIT คิด ค่าบริการในอัตราใกล้เคียงกับราคาของ 2.63 บริษทั ทีป่ รึกษารายอื่น ทีใ่ ห้บริการใน ลักษณะเดียวกัน


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 4. บริ ษทั แมทช์บอกซ์ จํากัด (MB)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ใน สัดส่วนร้อยละ 99.96 และมี กรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ว่าจ้าง MB เป็ น ตัวแทนในการจัดทําโฆษณาผ่านสือ่ ต่างๆ โดยจะเป็ นการว่าจ้างครัง้ ต่อครัง้ 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าเช่าและบริการอื่นๆ 3. ค่าโฆษณา - ค่าโฆษณา (NET) - ค่าโฆษณา (GROSS) 4. เจ้าหนี้การค้า 5. เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน 6. ลูกหนี้การค้า 7. ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม เป็ นบริษทั โฆษณาทีม่ คี วามคิดริเริม่ ทีด่ ี และมีความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ และ บริการของบริษทั ฯ เป็ นอย่างดี รวมทัง้ เป็ นการป้องกันการรัวไหลของข้ ่ อมูล

0.68 0.30

0.69 10.55

1.33 3.41

445.16 1,357.66 257.95 0.04

477.79 1,431.65 281.94 0.04

569.39 1,679.81 459.27 -

ส่วนที่ 2 หน้า 107

1.34 3.42 บริษทั ฯ ได้เปรียบเทียบอัตราค่าบริการที่ MB เรียกเก็บกับราคาตลาดทีบ่ ริษทั 617.02 โฆษณาอื่นๆเสนอมาดังนี้ 1,854.17 5.23 -Agency Fee 486.02 MB Media 6.00% 0.04 MB Production 12.00% -Third party Media and Production 12.00%-17.65%


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 5. บริ ษทั เทเลอิ นโฟ มีเดีย จํากัด (TMC)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 99.99 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เป็ นผูใ้ ห้บริการทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการ จัดทําเนื้อหาของข้อมูลต่างๆ

บริษทั ฯ ว่าจ้าง TMC ในการจัดทําข้อมูล สําหรับบริการเสริมของโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น การจัดหาข้อมูลทางโหราศาสตร์ ข้อมูล สลากกินแบ่งรัฐบาล และเรือ่ งตลกขบขัน เป็ นต้น โดยชําระค่าใช้บริการตามทีเ่ กิดขึน้ จริงเป็ นรายเดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายได้จากการให้บริการ ค่าบริการ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม

1.48 58.94 4.68 1.11 0.34 -

ส่วนที่ 2 หน้า 108

1.51 59.09 4.71 1.14 0.34 -

1.50 48.05 4.79 0.20 0.12

บริษัทฯ ชําระค่าบริการ ในอัตราร้อยละ ของรายได้ ท่ีบ ริษัท ฯ ได้ ร ับ จากลู ก ค้ า ขึ้น อยู่ก ับประเภทของบริก ารที่ลูก ค้า ใช้ ซึง่ อัตราทีจ่ ่ายเป็ นอัตราเดียวกับ Content 2.21 Provider ทัวไปซึ ่ ่งในปจั จุบนั อยู่ในอัตรา 48.42 ร้อยละ 50-50 4.83 0.02 0.20 0.12


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 6. บริ ษทั ไอ.ที. แอพพลิ เคชันส์ ่ แอนด์ เซอร์วิส จํากัด (ITAS)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ร้อยละ 99.99 และมีกรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เป็ นบริษทั ทีใ่ ห้บริการเกีย่ วกับการ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เฉพาะ บริษทั ในเครือ รวมทัง้ มีบริการทีด่ ี รวดเร็ว และราคาสมเหตุสมผล

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ว่าจ้าง ITAS ใน การปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์เป็ นครัง้ ต่อครัง้ นอกจากนี้ บริษทั ฯและบริษทั ในเครือได้ทาํ สัญญาการ ใช้บริการระบบคอมพิวเตอร์ (SAP) ตัง้ แต่ 1 พ.ค.2547

1. รายได้จากการให้บริการ 2. ค่าทีป่ รึกษาและบริหารงาน คอมพิวเตอร์ 3. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 4. เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน 5. ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม

0.01

0.01

0.01

0.08 40.78 0.51 -

0.26 67.90 4.74 -

0.68 43.36 3.59 0.01

ส่วนที่ 2 หน้า 109

ITAS คิดค่าบริการในอัตราใกล้เคียง กับราคาของบริษทั ทีป่ รึกษารายอื่น ที่ ให้บริการในลักษณะเดียวกัน อัตรา 0.05 ค่าบริการขึน้ อยูก่ บั ลักษณะงานและ ระดับของทีป่ รึกษา 0.93 62.44 4.16 0.01


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 7. กลุ่มบริ ษทั Singtel Strategic Investments Pte.Ltd (Singtel) / เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ร้อยละ 21.37

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริษทั ฯทําสัญญากับบริษทั ในกลุม่ Singtel ในการเปิดให้บริการข้ามแดนอัตโนมัตริ ว่ มกัน (Joint International Roaming) และบริษทั ฯ จ่ายเงินเดือนและผลตอบแทนให้แก่ Singapore Telecom International Pte.Ltd (STI) ในการส่งพนักงานมาปฏิบตั งิ านที่ บริษทั ฯ โดยจะเรียกเก็บค่าใช้จา่ ยตามที่ เกิดขึน้ จริง และมีเงินปนั ผลจ่ายตามสัดส่วน การถือหุน้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าบริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น เงินปนั ผลจ่าย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า

774.47 354.22 42.14 3,578.40 71.84 58.43 230.89

ส่วนที่ 2 หน้า 110

774.47 354.22 42.14 3,578.40 71.84 58.43 230.89

693.54 0.12 331.59 25.53 3,578.40 47.67 16.50 133.60

693.54 0.12 331.59 25.53 3,578.40 47.67 16.50 133.60

การทําสัญญา International Roaming กับกลุม่ SingTel เป็ นการทําสัญญาทาง ธุรกิจตามปกติ โดยราคาทีเ่ รียกเก็บ เป็ นราคาทีต่ ่างฝา่ ยต่างกําหนดในการ เรียกเก็บจากลูกค้าแต่ละฝา่ ยทีไ่ ปใช้ บริการข้ามแดนอัตโนมัตหิ กั กําไรทีบ่ วก จากลูกค้า ซึง่ เป็ นมาตรฐานเดียวกับที่ บริษทั ฯคิดจากผูใ้ ห้บริการรายอื่น ในขณะที่ STI ส่งพนักงานมาให้ความ ช่วยเหลือ ทางด้านการบริหารงานและ ด้านเทคนิคให้แก่บริษทั ฯ ซึง่ บริษทั ฯ จ่ายเงินตามค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจริงจากการ ที่ STI ส่งคนมาทํางานให้ หรือ เรียก เก็บตามอัตราทีไ่ ด้ตกลงกันไว้ในสัญญา


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 8. บริ ษทั ซี.เอส.ล็อกซอิ นโฟร์ จํากัด (มหาชน)(CSL) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ร้อยละ 39.89 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เป็ นบริษทั ในเครือทีใ่ ห้บริการทางด้าน อินเตอร์เน็ต และกําหนดราคา เช่นเดียวกับทีเ่ รียกเก็บจากลูกค้ารายอื่น

บริษทั ฯ ว่าจ้าง CSL ในการให้บริการด้าน Internet ในขณะที่ ADC ให้บริการ Datanet แก่ CSL 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

1.05 0.01 16.03 0.32 0.13 0.03 -

ส่วนที่ 2 หน้า 111

154.41 2.42 17.72 0.32 14.14 15.37 0.39

1.33 0.09 17.33 0.48 3.94 0.01 0.09

110.53 1.84 23.28 0.48 12.93 8.13 0.93


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 9. บริ ษทั ชิ นนี่ ดอทคอม จํากัด (Shinee) / มี SHINเป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 70.00 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม

บริษทั ฯ ว่าจ้าง Shinee ในการให้บริการ เสริมของโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยชําระ ค่าบริการเป็ นรายเดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

10. บริ ษทั ธนชาตประกันภัย จํากัด (NAT) / กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของกลุม่ ธนชาตเป็ นกรรมการของบริษทั ฯ คือ นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์

งบการเงินรวม

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า

เป็ นบริษทั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ในการ ออกแบบ website และมีความ หลากหลายของเนื้อหา ซึง่ ตรงกับความ ต้องการของบริษทั ฯ 0.29 1.10 65.59 4.08 0.84 0.89

2.17 1.11 65.59 4.09 0.85 1.07

0.45 0.41 85.83 7.25 0.59 0.03

3.32 0.41 85.86 7.27 0.63 0.09

62.40

65.81

69.81

76.69 บริษทั ฯชําระค่าเบีย้ ประกันภัยต่างๆ ใน อัตราทีเ่ ทียบเคียงได้กบั ราคาตลาด

บริษทั ฯจ่ายค่าเบีย้ ประกันภัยสถานีฐาน และเบีย้ ประกันภัยอุปกรณ์ 1. ค่าเบีย้ ประกันภัย

ส่วนที่ 2 หน้า 112

บริษทั ฯชําระค่าบริการ ในอัตราร้อยละ ของรายได้ทบ่ี ริษทั ฯ ได้รบั จากลูกค้า ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของบริการทีล่ กู ค้าใช้ ซึง่ อัตราทีจ่ า่ ยเป็ นอัตราเดียวกันกับ Content Provider ทัวไป ่ ซึง่ อยูใ่ นอัตรา ร้อยละ 40-60 เป็ นบริษทั ทีใ่ ห้บริการทีด่ ี และมีการ ติดต่อกับบริษทั ฯมาโดยตลอด


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 11. บริ ษทั ไอทีวีจาํ กัด (มหาชน) (ITV) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ร้อยละ 52.92

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษทั ฯ ลงโฆษณาและเช่าเวลา สถานีโทรทัศน์จาก ITV ในขณะที่ ITV ได้ใช้ บริการโทรศัพท์มอื ถือของบริษทั ฯ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

0.70 4.37 -

ส่วนที่ 2 หน้า 113

0.76 4.37 -

1.89 1.56 26.10 0.20 0.19

งบการเงินรวม เป็ นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจผลิตรายการ และจัดหารายการ ขายเวลาโฆษณา ให้ เช่าเวลาออกอากาศ และแพร่ภาพส่ง สัญญาณออกอากาศ ให้ผชู้ มรายการทัว่ 2.08 ประเทศ 1.56 26.12 บริษทั ฯ ชําระค่าบริการต่างๆ ตามอัตรา 0.02 ค่าบริการทีเ่ ป็ นไปตามราคาตลาด 0.23 เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก 0.19 *ITV ได้หยุดดําเนินการเมือ่ วันที่ 7 มีนาคม 2550


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 12. บริ ษทั เพย์เมนท์ โซลูชนั ่ จํากัด (PS) / มี SHINเป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 99.99 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เป็ นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจออกบัตรเติม เงินอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ชาํ ระค่าสินค้า และ/หรือบริการแทนเงินสด อัตราการคิดค่าบริการระหว่างกัน เป็ นไปตามราคาตลาดเสมือนทํา รายการกับบุคคลภายนอก

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ร่วมมือกับ PS ใน การให้บริการชําระเงินค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอินเตอร์เน็ตผ่านบัตรเติมเงินของ PS เนื่องจากมีกลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็ นเป้าหมาย เหมือนกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายได้จากการให้บริการ ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

0.53 0.04 0.01 0.34

ส่วนที่ 2 หน้า 114

2.29 0.33 0.01 5.59 0.34

1.88 0.01 0.34

3.59 5.02 0.01 1.62 0.34


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 13. บริ ษทั โปรเฟสชันแนล คอลเลคชัน่ จํากัด (PCOL)/

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษทั ฯได้ให้บริการเครือข่ายสัญญาณ โทรศัพท์มอื ถือแก่ PCOL 1. รายได้จากการให้บริการ 2. ลูกหนี้การค้า

9.77 -

9.77 -

13.97 0.94

งบการเงินรวม เดิมเป็ นบริษทั ที่ SHIN ถือหุน้ ร้อยละ 100 และได้ขายหุน้ ทัง้ หมดให้แก่ บริษทั เอแคป แอ๊ดไวเซอรี่ จํากัด (มหาชน) 13.97 และบริษทั ORIX Corporation จํากัด 0.94 ในวันที่ 7 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ มีรายการระหว่างกันกับบริษทั โปรเฟสชันแนล ่ คอลเลคชัน่ จนถึงวัน ดังกล่าว โดยอัตราการคิดค่าบริการ ระหว่างกันเป็ นไปตามราคาตลาด เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก

14. บริ ษทั ชิ น บรอดแบนด์ อิ นเตอร์เนต (ประเทศไทย) จํากัด (SBI) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ร้อยละ 99.99 (โดยทางอ้อม)

บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างให้ SBI สร้างwebsite

1. 2. 3. 4.

รายได้จากการให้บริการ ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า

0.17 0.99 2.59 -

ส่วนที่ 2 หน้า 115

0.17 0.99 3.58 -

0.08 5.36 2.69 0.01

เป็ นบริษทั ทีม่ คี วามชํานาญ ในการ บริการทางด้านธุรกิจ Internet และเป็ น ราคาทีเ่ ทียบเคียงได้กบั Contractor 0.08 รายอื่น 5.36 2.69 0.02


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 15. บริ ษทั แคปปิ ตอล โอเค จํากัด (OK)

งบการเงินเฉพาะ

บริษทั ฯ ให้การสนับสนุ นการขยายตลาดของ แคปปิตอล โอเค โดยเป็ นจุดรับชําระ ค่าบริการและให้บริการทางการเงิน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

16. บริ ษทั ไทย แอร์เอเชีย จํากัด (TAA)

งบการเงินรวม

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

2.23 0.14 0.15 -

3.48 0.14 0.15 -

5.56 0.34 2.75 0.49 0.15

0.60 -

0.61 -

0.87 1.20 0.14 0.10

บริษทั ฯ ซือ้ ตั ๋วเครือ่ งบินจาก TAA ได้ใน ราคาพิเศษ 1. 2. 3. 4.

รายได้จากการให้บริการ ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า

ส่วนที่ 2 หน้า 116

งบการเงินรวม เดิมเป็ นบริษทั ที่ SHIN ถือหุน้ ร้อยละ 100 และได้ขายหุน้ ทัง้ หมดให้แก่ บริษทั เอแคป แอ๊ดไวเซอรี่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ORIX Corporation จํากัด 6.66 ในวันที่ 7 ธันวาคม 2550 0.34 - บริษทั ฯ มีรายการระหว่างกันกับบริษทั 2.79 แคปปิตอล โอเค จนถึงวันดังกล่าว 0.59 โดยอัตราการคิดค่าบริการระหว่างกัน 0.15 เป็ นไปตามราคาตลาดเสมือนทํา รายการกับบุคคลภายนอก เดิมเป็ นบริษทั ที่ SHIN ถือหุน้ ร้อยละ 50.0 (โดยทางอ้อม) และ SHIN ได้ขาย หุน้ ไปให้แก่ผบู้ ริหารระดับสูงของบริษทั 0.87 TAA เมือ่ วันที่ 21 มิถุนายน 2550 1.24 0.14 บริษทั ฯมีรายการระหว่างกันกับบริษทั 0.10 TAA จนถึงวันดังกล่าวโดยราคาค่า โดยสารที่ TAA เรียกเก็บเป็ นราคา พิเศษทีต่ ่าํ กว่าทีค่ ดิ กับลูกค้ารายอื่น


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 17.บริ ษทั ลาว เทเลคอมมิ วนิ เคชันส์ ่ จํากัด(LTC) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ร้อยละ 49.00 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินเฉพาะ

รายได้จากการให้บริการ ค่าบริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ เจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า

8.34 15.00 1.44 0.97

9.40 15.43 1.83 1.36

3.86 10.08 1.65 0.88

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยร่วมมือกับ CamShin ในการให้บริการโรมมิง่ ระหว่าง ประเทศ 1. 2. 3. 4.

รายได้จากการบริการ ค่าบริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ เจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า

งบการเงินรวม LTC ดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมใน ประเทศลาว ให้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ และบริการเครือข่าย อินเทอร์เน็ต

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยร่วมมือกับ LTC ใน การให้บริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ

1. 3. 2. 4. 18. บริ ษทั กัมพูชา ชิ นวัตร จํากัด (CamShin) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ร้อยละ 100.00 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

0.20 8.42 2.36 0.07

ส่วนที่ 2 หน้า 117

0.20 8.42 2.36 0.07

0.08 6.10 1.07 0.01

3.86 10.08 อัตราค่าโรมมิง่ ทีค่ ดิ เป็ นอัตรา 1.65 เทียบเคียงได้กบั ราคาตลาดทีค่ ดิ กับผู้ 0.88 บริการรายอื่น CamShin ได้รบั สัมปทานในการดําเนิน กิจการโทรศัพท์ในประเทศกัมพูชา ให้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐาน และ โทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมถึงบริการ 0.08 โทรศัพท์ระหว่างประเทศ 6.10 1.07 อัตราค่าโรมมิง่ ทีค่ ดิ เป็ นอัตรา 0.01 เทียบเคียงได้กบั ราคาตลาดทีค่ ดิ กับ ผูบ้ ริการรายอื่น


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 หน้า 118


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

12. ฐานะการเงิ นและผลการดําเนิ นงาน 12.1 12.1.1

งบการเงิ น รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูส้ อบบัญชีในช่วงระยะเวลา 3 ปี ทผ่ี ่านมา (2548 – 2550) ผูส้ อบบัญชีแสดง ความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไข โดยมีความเห็นว่างบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และงบ การเงินของบริษทั ฯ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษทั ฯ ผลการ ดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะของบริษทั ฯ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะของบริษทั ฯ โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัวไป ่

12.1.2 ตารางสรุปงบการเงิ นรวม งบดุลรวม บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย : พันบาท สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้และเงินให้กยู้ มื แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ ลูกหนี้คา่ บัตรเงินสด ภาษีมลู ค่าเพิม่ ค้างรับ - บุคคลภายนอก สินค้าคงเหลือ อุปกรณ์และอะไหล่เพือ่ การซ่อมแซม เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนอื่น ๆ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์-สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ สิทธิในสัญญาสัมปทาน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อ่นื - สุทธิ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

2548-ปรับปรุงใหม่ จํานวนเงิ น %

2549 จํานวนเงิ น

%

11,456,373 298,840 4,526,264 3,017 1,266,494 214,746

8.95% 0.23% 3.54% 0.00% 0.99% 0.17%

12,742,218 118,187 4,898,182 2,973 620,505 463,557

9.49% 0.09% 3.65% 0.00% 0.46% 0.35%

8,316,666 123,443 8,054,187 770 599,542 136,763

6.45% 0.10% 6.25% 0.00% 0.46% 0.11%

1,347,141 1,233,709 20,346,584

1.05% 0.97% 15.90%

2,055,466 1,991,808 22,892,896

1.53% 1.48% 17.05%

1,236,246 2,117,998 20,585,615

0.96% 1.64% 15.97%

8,259,476 75,842,690

0.00% 6.45% 59.27%

7,797,323 81,095,903

0.00% 5.81% 60.38%

92,761 8,560,947 78,527,309

0.07% 6.64% 60.90%

1.13% 1,308,759 7.04% 7,837,043 2.74% 3,051,104 6.99% 9,762,601 0.48% 555,145 84.10% 111,407,878 100.00% 134,300,774

0.97% 5.84% 2.27% 7.27% 0.41% 82.95% 100.00%

1,440,357 9,003,947 3,505,927 8,945,615 614,908 107,612,920 127,959,504

ส่วนที่ 2 หน้า 118

2550 จํานวนเงิ น

%

1,326,737 1.03% 6,670,139 5.17% 2,596,275 2.01% 10,031,066 7.78% 550,803 0.43% 108,356,037 84.03% 128,941,652 100.00%


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบดุลรวม (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548-ปรับปรุงใหม่ จํานวนเงิ น %

หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน 0.00% เจ้าหนี้การค้า 4,520,100 3.53% เจ้าหนี้และเงินกูย้ มื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 365,129 0.29% ส่วนของหุน้ กูร้ ะยะยาว – สุทธิ และเงินกูร้ ะยะยาวทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึ่งปี - สุทธิ 14,240,939 11.13% เจ้าหนี้ตามสัญญาซือ้ ขายแลกเปลีย่ นล่วงหน้า - สุทธิ 16,360 0.01% ค่าสิทธิสญ ั ญาสัมปทานค้างจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทน รายปี และภาษีสรรพสามิตค้างจ่ายทีถ่ งึ กําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี 7,354,234 5.75% รายได้รบั ล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2,198,430 1.72% เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า 3,315,128 2.59% ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 2,992,232 2.34% หนี้สนิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 92,184 0.07% หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น 1,639,469 1.28% รวมหนี้ สินหมุนเวียน 36,734,205 28.71% หนี้ สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาซือ้ ขายแลกเปลีย่ นล่วงหน้าส่วนทีเ่ กิน 0.00% 1 ปี - สุทธิ หุน้ กูร้ ะยะยาว - สุทธิ และเงินกูย้ มื ระยะยาว 11,209,805 8.76% หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น 80,941 0.06% รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน 11,290,746 8.82% รวมหนี้ สิน 48,024,951 37.53% ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ทุนทีอ่ อกจําหน่ายและชําระแล้วเต็มมูลค่า 2,950,640 2.31% ส่วนเกินมูลค่าหุน้ 20,729,933 16.20% เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ 25,257 0.02% ส่วนเกินทุนจากการตีมลู ค่ายุตธิ รรมในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย 17,671 0.01% กําไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการปรับลดสัดส่วนเงินลงทุน 161,187 0.13% กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฏหมาย 500,000 0.39% จัดสรรแล้ว - สํารองสําหรับหุน้ ทุนซือ้ คืน 83,130 0.06% ยังไม่ได้จดั สรร 54,664,430 42.72% ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยในบริษทั ย่อย 885,435 0.69% หุน้ ทุนซือ้ คืน (83,130) -0.06% รวมส่วนของผูถ้ อื หุ้น 79,934,553 62.47% รวมหนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น 127,959,504 100.00%

ส่วนที่ 2 หน้า 119

2549 จํานวนเงิ น

%

หน่วย : พันบาท 2550 จํานวนเงิ น %

1,000,000 5,759,710 523,210

0.74% 4.29% 0.39%

3,492,242 4,218,177 361,242

2.71% 3.27% 0.28%

6,507,227 -

4.85% 0.00%

1,544,583 -

1.20% 0.00%

7,155,341 3,658,800 1,090,979 2,963,490 2,379,903 31,038,660

5.33% 2.72% 0.81% 2.21% 0.00% 1.77% 23.11%

8,373,228 3,468,899 1,014,350 3,232,483 2,451,353 28,156,557

6.49% 2.69% 0.79% 2.51% 0.00% 1.90% 21.84%

137,954

0.10%

382,837

0.30%

25,504,304 20,847 25,663,105 56,701,765

18.99% 0.02% 19.11% 42.22%

24,929,192 12,266 25,324,295 53,480,852

19.33% 0.01% 19.64% 41.48%

2,953,547 20,978,564 14,504 161,187

2.20% 15.62% 0.01% 0.00% 0.12%

2,958,123 21,250,964 15,376 161,187

2.29% 16.48% 0.01% 0.00% 0.13%

500,000 52,330,152 661,055 77,599,009 134,300,774

0.37% 0.00% 38.97% 0.49% 0.00% 57.78% 100.00%

500,000 49,998,652 576,498 75,460,800 128,941,652

0.39% 0.00% 38.77% 0.45% 0.00% 58.52% 100.00%


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

งบกําไรขาดทุน บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

รายได้ รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รวมรายได้ ต้นทุน ต้นทุนค่าบริการและการเช่าอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี และภาษีสรรพสามิต ต้นทุนขาย รวมต้นทุน กําไรขัน้ ต้น ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหาร กําไรจากการขาย การให้บริ การและการให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการดําเนินงานอื่น กําไรจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ - สุทธิ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ - สุทธิ ค่าตอบแทนกรรมการ กําไรจากการดําเนิ นงาน ดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ กําไรสุทธิก่อนส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยในบริษทั ย่อย หักกําไร(ขาดทุน) ของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยในบริษทั ย่อย - สุทธิ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ กําไรสุทธิต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน (บาท) กําไรสุทธิต่อหุน้ ปรับลด (บาท)

หน่วย : พันบาท 2550 จํานวนเงิ น %

2548-ตามที่ปรับใหม่ จํานวนเงิ น %

2549 จํานวนเงิ น

80,533,632 11,983,016 92,516,648

87.05% 12.95% 100.00%

76,052,889 15,375,267 91,428,156

83.18% 16.82% 100.00%

94,810,424 13,643,628 108,454,052

87.42% 12.58% 100.00%

24,205,075 19,215,167 10,778,254 54,198,496 38,318,152 10,067,022 28,251,130 582,915 39,464 (5,986) 28,867,523 (1,528,663) (8,618,463) 18,720,397 (4,791) 18,725,188

26.16% 20.77% 11.65% 58.58% 41.42% 10.88% 30.54% 0.63% 0.04% 0.00% -0.01% 31.20% -1.65% -9.32% 20.23% -0.01% 20.24%

23,138,519 18,753,964 14,063,099 55,955,582 35,472,574 11,420,781 24,051,793 1,014,973 47,514 (7,580) 25,106,700 (1,538,246) (7,460,291) 16,108,163 (147,852) 16,256,015

25.31% 20.51% 15.38% 61.20% 38.80% 12.49% 26.31% 1.11% 0.05% 0.00% -0.01% 27.46% -1.68% -8.16% 17.62% -0.16% 17.78%

38,441,061 19,691,094 12,624,415 70,756,570 37,697,482 12,767,492 24,929,990 661,584 (56,063) (10,400) 25,525,111 (1,720,706) (7,562,357) 16,242,048 (48,419) 16,290,467

35.44% 18.16% 11.64% 65.24% 34.76% 11.77% 22.99% 0.61% 0.00% -0.05% -0.01% 23.54% -1.59% -6.97% 14.98% -0.04% 15.02%

6.36 6.35

ส่วนที่ 2 หน้า 120

5.50 5.50

%

5.51 5.51


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

งบกระแสเงิ นสด บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบกระแสเงิ นสดรวม สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงิ นสดรวม 2548 ปรับปรุงใหม่ กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมดําเนิ นงาน กําไรสุทธิสาํ หรับปี 18,725,188 รายการปรับปรุง ค่าเสือ่ มราคา 4,782,698 ค่าตัดจําหน่าย-โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 511,198 ค่าตัดจําหน่ายสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน 12,902,767 ค่าความนิยมตัดจําหน่าย 1,166,904 ค่าตัดจําหน่ายสิทธิในสัญญาสัมปทาน 454,823 (กลับรายการ) ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ ค่าใช้จา่ ยรอการตัดบัญชีตดั จําหน่าย 152,136 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สญ ู 508,304 ขาดทุน(กลับรายการ) ค่าเผือ่ สินค้าล้าสมัยและการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ (37,465) ค่าตัดจําหน่ายส่วนเกิน (ส่วนลด)จากสัญญาซือ้ ขายและแลกเปลีย่ นล่วงหน้า 29,006 ขาดทุน (กําไร) จากการจําหน่ายสินทรัพย์ถาวร 18,673 ตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน/ค่าใช้จา่ ยรอการตัดบัญชี 5,496 ขาดทุน(กําไร)จากการตัดจําหน่ายสินทรัพย์ถาวร 6,466 ขาดทุน (กลับรายการ) จากการตัดจําหน่ายอุปกรณ์และอะไหล่ เพือ่ การซ่อมแซมเครือข่ายเสือ่ มสภาพ (107,932) ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ 40,422 รับรูร้ ายได้ล่วงหน้าทีเ่ กิดขึน้ แล้ว (38,091) ค่าตัดจําหน่ายดอกเบีย้ เงินกู-้ ตั ๋วแลกเงินจ่าย ค่าตัดจําหน่ายค่าใช้จา่ ยในการออกหุน้ กู้ 24,150 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี(ลดลง) 183,516 ส่วนแบ่งผลกําไร(ขาดทุน)สุทธิของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยในบริษทั ย่อย (4,791) กําไรสุทธิ ก่อนการเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน การเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน เงินฝากธนาคารติดภาระผูกพัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้ - ค่าบัตรเงินสด ภาษีมลู ค่าเพิม่ ค้างรับ - บุคคลภายนอก สินค้าคงเหลือ อุปกรณ์และอะไหล่เพือ่ การซ่อมแซมเครือข่าย สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนี้สญ ั ญาซือ้ ขายและแลกเปลีย่ นล่วงหน้า

ส่วนที่ 2 หน้า 121

2549

หน่วย : พันบาท 2550

16,256,015

16,290,467

3,706,373 500,780 12,334,343 1,166,904 454,823 69,000 106,373 339,465 57,487 14,247 (9,021) 2,619 5,259

3,174,151 437,796 13,520,587 1,166,904 454,829 (69,000) 77,854 1,347,188 (14,493) 1,077 (14,255) 146 88

122,528 (22,236) (59,533) 20,227 (901,597) (147,852)

14,322 39,115 (8,336) 124,507 8,927 (268,465) (48,420)

39,323,468

34,016,204

36,234,989

(4,698,890) 724,587 (2,572) (1,266,494) 231,592 (81,681) 162,133 671,146 (575,719) (53,992) 17,030

3,054,461 (737,743) 44 645,989 (248,812) (843,158) (45,183) (772,294) 116,461 158,080 -

149,847 (4,522,007) 2,203 20,963 326,795 857,375 (37,983) (127,266) 303,670 (161,968) 60,717


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบกระแสเงิ นสดรวม (ต่อ) สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบกระแสเงิ นสดรวม สิทธิในสัญญาสัมปทาน ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี และภาษีสรรพสามิตค้างจ่าย รายได้รบั ล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สนิ อื่น สินทรัพย์อ่นื หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น เงิ นสดสุทธิ จากกิ จกรรมดําเนิ นงาน กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมลงทุน เงินลงทุนระยะสัน้ เปลีย่ นแปลงสุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่ผจู้ ดั จําหน่ายเปลีย่ นแปลงสุทธิ เงินสดรับจากการจําหน่ายทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายสุทธิจากการซือ้ เงินลงทุนทัวไป ่ เงินสดจ่ายเพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เงินสดจ่ายเพือ่ ลงทุนในสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน เงิ นสดสุทธิ ใช้ไปในกิ จกรรมลงทุน กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมจัดหาเงิ น เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ กูร้ ะยะยาว จ่ายคืนหุน้ กูร้ ะยะยาว เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว จ่ายคืนเงินต้นของสัญญาเช่าทางการเงินระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน เงินสดรับจากส่วนเกินมูลค่าหุน้ เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ของบริษทั ย่อย จ่ายเงินปนั ผล เงินปนั ผลให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย เงิ นสดสุทธิ ได้จากกิ จกรรมจัดหาเงิ น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - ยอดคงเหลือต้นปี (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ ของ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสดสิ้ นปี - ยอดคงเหลือสิ้ นปี

2548 ปรับปรุงใหม่

ดอกเบีย้ จ่ายตามการจ่ายจริง ภาษีเงินได้ตามการจ่ายจริง

ส่วนที่ 2 หน้า 122

2549

หน่วย : พันบาท 2550

336,779 (2,413,968) 3,315,128 (1,421,664) 69 (130,015) (546,121) 33,590,815

(198,893) 1,460,370 (2,224,149) (28,742) (826) (49,229) 724,022 35,026,604

1,217,886 (189,901) (76,629) 268,993 (243) (73,658) 71,451 34,325,232

(101,658) 56,965 11,410 (3,399,908) (12,830,442) (16,263,633)

155,411 22,121 (3,189,263) (16,907,465) (19,919,195)

(5,257) 27,115 (92,761) (4,474,941) (12,630,490) (17,176,333)

(1,500,000) 1,500,000 (4,000,000) (102,624) 5,199 248,610 25,257 315,000 (16,491,618) (23,384) (20,023,560) (2,696,377) 9,449,330

5,850,000 (4,850,000) 11,410,173 (14,250,000) 9,485,312 (16,495) 4,956 223,865 14,504 (18,592,833) (76,528) (10,797,047) 4,310,362 6,757,483

7,367,734 (5,000,000) (6,500,000) 1,132,647 (22,872) 4,243 258,230 15,377 (18,621,967) (36,138) (21,402,746) (4,253,848) 11,097,790

4,530 6,757,483

29,945 11,097,790

(21,858) 6,822,085

1,425,327 9,857,457

1,336,961 8,505,138

1,646,584 7,560,059


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

12.1.3

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงิ นที่สาํ คัญ บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย สรุปอัตราส่วนทางการเงิ นที่สาํ คัญสําหรับงบการเงิ น สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงิ นรวม อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้าเฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขันต้ ้ น (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ เฉลีย่ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ ณ วันสิน้ งวด(%) อัตราส่วนแสดงประสิ ทธิ ภาพในการดําเนิ นงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่วนวิ เคราะห์นโยบายทางการเงิ น (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบีย้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปนั ผล (%) ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท) กําไรสุทธิต่อหุน้ (บาท) เงินปนั ผลต่อหุน้ (บาท)

2548 ปรับปรุงใหม่

ส่วนที่ 2 หน้า 123

2549

2550

0.55 0.44 0.91 15.60 23 9.83 37 7.51 48 12

0.74 0.57 1.13 17.46 21 9.08 40 7.24 50 11

0.73 0.59 1.22 15.68 23 8.30 43 10.24 35 31

41.42% 30.54% 0.67% 118.90% 20.24% 23.84% 23.43%

38.80% 26.31% 1.16% 145.63% 17.78% 20.64% 20.95%

34.76% 22.99% 0.61% 137.69% 15.02% 21.29% 21.59%

14.51% 42.73% 0.72

12.40% 37.32% 0.70

12.38% 37.42% 0.82

0.60 31.48 0.91 99.21%

0.73 33.56 0.59 114.45%

0.71 26.44 0.70 114.32%

27.14 6.36 6.30

26.28 5.50 6.30

25.53 5.51 6.30


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย สรุปอัตราส่วนทางการเงิ นที่สาํ คัญสําหรับงบการเงิ น (ต่อ) สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงิ นรวม

2548 ปรับปรุงใหม่

อัตราการเติ บโต สินทรัพย์รวม (%) หนี้สนิ รวม (%) รายได้จากการขายหรือบริการ (%) ค่าใช้จา่ ยดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

(1.73%) (9.52%) (4.07%) (8.71%) (11.53%)

ส่วนที่ 2 หน้า 124

2549 4.96% 18.07% (1.18%) 13.45% (13.19%)

2550 (3.99%) (5.68%) 18.62% 11.79% 0.21%


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

12.2 คําอธิ บายการวิ เคราะห์ฐานะทางการเงิ นและผลการดําเนิ นงาน ■ สรุปผลการดําเนิ นงาน ■

■ ณ สิ้ นปี 2550 เอไอเอสมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การรวม 24.1 ล้านราย คิ ดเป็ นอัตราการเติ บโต 23% หรือเป็ นจํานวน ลูกค้าที่เพิ่ มขึน้ 4.6 ล้านราย ■ รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือน (ARPU) ลดลงต่อเนื่ องจากจํานวนผู้ใช้บริ การที่มีหลายเลขหมายเพิ่ มขึน้ และลูกค้าใหม่มีรายได้เฉลี่ยต่อเลยหมายที่ลดลง ■ ARPU ในไตรมาสที่ 4 เพิ่ มขึน้ เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 3 และส่งสัญญาณว่าการลดลงของ ARPU เริ่ มชะลอตัว

จํานวนผู้ใช้บริ การ ณ สิน้ ปี 2551 มีจํานวนทัง้ สิน้ 24.1 ล้านเลขหมาย คิดเป็ นอัตราการเติบโต 23% จากปี ก่อน โดยมีจํานวน ลูกค้าโพสต์เพดรวม 2.3 ล้านราย และลูกค้าพรีเพด 21.8 ล้านราย จํานวนผูใ้ ช้บริ การที่เพิ่ มขึน้ ในปี 2550 ทัง้ สิน้ จํานวน 4.6 ล้านเลขหมาย เป็ นผลจากการขยายตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาส่วน แบ่งการตลาด ทัง้ ในกลุ่ม ฐานผู้ใ ช้บริก ารป จั จุบนั ที่เลือ กจะมีซิม หมายเลขที่สองมากขึ้น และลูก ค้า ใหม่ใ นภาคเหนื อและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือทีย่ งั มีสดั ส่วนผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ่อประชากรในระดับตํ่า ลูกค้าโพสต์เพด ในช่วงครึง่ ปี แรกมีการแข่งขันของตลาดโพสต์เพดค่อนข้างรุนแรงจากการแจกซิมควบคู่ไปกับโปรโมชันราคาถู ่ ก ทําให้จาํ นวนลูกค้าระบบโพสต์เพดของเอไอเอสโตขึน้ ถึง 18% ในครึง่ ปี แรก แต่ขณะเดียวกันปญั หาทีต่ ามมาคือบริษทั ฯ ต้องมีการ ตัง้ สํารองหนี้สญ ู เพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย เนื่องจากลูกค้าทีเ่ ข้ามาใหม่ไม่ได้มคี ุณภาพหรือศักยภาพในการชําระเงินสูงเท่ากับลูกค้าเดิมใน ระบบ ในไตรมาสที่ 3 เอไอเอสจึงได้พยายามปรับเปลี่ยนวิธกี ารหาลูกค้าให้มคี ุณภาพมากขึน้ และมีการใช้นโยบายการตรวจสอบ การค้างชําระค่าบริการทีร่ ดั กุมมากขึน้ กับกลุม่ ลูกค้าใหม่ ช่วยให้บริษทั ฯ สามารถตัดฐานลูกค้าทีเ่ ป็ นหนี้ดอ้ ยคุณภาพออกจากระบบ ส่งผลให้ในครึง่ ปีหลัง มีอตั ราการเปลีย่ นผูใ้ ห้บริการของลูกค้าโพสต์เพด (churn rate) สูงขึน้ ทําให้ฐานลูกค้ามีจาํ นวนลดลง และการ ตัง้ สํารองหนี้สญ ู ลดลงตามไปด้วย ลู ก ค้ า พรี เ พด ตลาดสํ า หรับ ลู ก ค้ า พรี เ พดยัง คงมี โ อกาสในการเติ บ โตอี ก มากโดยเฉพาะในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีอตั ราผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ่อประชากรเพียงร้อยละ 30-40 ในขณะทีเ่ ขตกรุงเทพและจังหวัดใหญ่ๆ มี ตัวเลขสูงถึงร้อยละ 80-100 เอไอเอสตัง้ เป้าหมายที่จะขยายตลาดไปในกลุ่มลูกค้าวัยรุ่นและวัยก่อนวัยรุ่นซึ่งเชื่อว่าเป็ นกลุ่มที่ม ี ศักยภาพสําคัญก่อให้เกิดการเติบโตของรายได้ รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือน (ARPU) ไม่รวมค่า IC ลดลงอย่างต่อเนื่องในปี 2550 จากการเพิม่ ขึน้ ของจํานวนผูใ้ ช้บริการที่ มีหลายหมายเลข รวมถึงลูกค้าจากตลาดใหม่ๆ ในต่างจังหวัดมีรายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายที่ค่อนข้างตํ่า อย่างไรก็ตาม เมื่อ เปรียบเทียบเป็ นรายไตรมาสนัน้ ARPU ในไตรมาส 4 เพิม่ ขึน้ จากในไตรมาส 3 เนื่องจากผลกระทบตามฤดูกาลตามปกติ ในขณะ การใช้งานจํานวนนาทีต่อเลขหมาย (MOU) เพิม่ ขึน้ จากการใช้งานนอกช่วงเวลาเร่งด่วนเพิม่ สูงขึน้ ซึ่งเป็ นไปตามโปรโมชันเพื ่ ่อ กระตุน้ การใช้งานในช่วงเวลาดังกล่าว ■ เหตุการณ์ สาํ คัญ ■ การบันทึกค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection-IC) ในปี 2550 ตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 บริษทั ฯ ได้ทาํ สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับ บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 ส่วนที่ 2 หน้า 125


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

พฤศจิกายน 2549 และบริษทั ทรูมฟู จํากัด ณ วันที่ 16 มกราคม 2550 ซึง่ สัญญาดังกล่าวได้ผา่ นการเห็นชอบจาก กทช. อย่างไรก็ ตาม บริษทั ฯ ยังไม่ได้เรียกเก็บค่าเชื่อมโครงข่ายโทรคมนาคมจากคูส่ ญ ั ญาทัง้ สอง และในระหว่างไตรมาส 1 ถึงไตรมาส 3 ปี 2550 บริษทั ฯ ไม่ได้บนั ทึกรายการทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมในงบการเงิน เนื่องจากบริษทั ฯ ยังอยูใ่ นกระบวนการ พิจารณาร่วมกับบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้สมั ปทาน ต่อมาเมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอทีได้ยน่ื คําฟ้องกทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือ่ ขอเพิกถอนประกาศฯ ดังกล่าว และได้แจ้ง ให้บริษทั ฯ ทราบว่าและหากบริษทั ฯ ดําเนินการตามประกาศกทช. ก่อนศาลปกครองมีคาํ พิพากษาถึงทีส่ ดุ ทีโอทีจะไม่รบั รู้ และ บริษทั ฯ จะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในดําเนินการดังกล่าว บริษทั ฯ มีความเห็นว่า การไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมข้างต้น อาจถือได้วา่ เป็ นการขัดต่อประกาศ กทช.ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย บริษทั ฯ จึงได้ตดั สินใจบันทึกรายการทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตาม สัญญาทีไ่ ด้ทาํ ไว้ขา้ งต้นไว้ในงบการเงินสําหรับปี สน้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 โดยบันทึกรายได้จากค่าเชื่อมต่อโครงข่ายเป็ น จํานวน 16,530 ล้านบาท และต้นทุนค่าเชื่อมต่อโครงข่ายเป็ นจํานวน 14,054 ล้านบาท และบันทึกค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปี โดยคํานวณจากรายได้สทุ ธิหลังหักต้นทุนค่าเชื่อมต่อโครงข่ายในงบการเงินสําหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ■ สรุปผลประกอบการเชิ งการเงิ นประจําปี ■ ■ บันทึกรายรับสุทธิ จากค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection-IC) จํานวน 2,477 ล้านบาท ■ รายได้จากการให้บริ การสําหรับปี 2550 เพิ่ มขึน้ 2.9% เป็ น 78,280 ล้านบาท ■ การแข่งขันทางด้านราคามีแนวโน้ มดีขึน้ จากราคาค่าบริ การที่ลดลงอย่างแรงในปี 2548-49 ■ การตัง้ สํารองหนี้ สญ ู ลดลงอย่างมากในไตรมาส 4 และคาดว่าจะลดลงเหลือประมาณ 4-5% ในปี 2551 ■ กําไรสุทธิ ในไตรมาส 4 โตขึน้ 16.7% จากไตรมาสเดียวกันในปี ที่แล้ว รายได้จากการให้บริ การ (ไม่รวมค่า IC) ในปี 2550 เพิม่ ขึน้ 2.9% เป็ น 78,280 ล้านบาท จาก 76,053 ล้านบาทในปี 2549 เนื่องจากการเติบโตของรายได้พรีเพด 1.7% จากปี ก่อน โดยมีฐานลูกค้าพรีเพดที่มากขึน้ และมีคุณภาพดี รวมถึงราคาค่าบริการที่ให้กบั ลูกค้าใหม่ในระบบพรีเพดมีราคาเฉลี่ย สูงขึน้ นอกจากนี้ การเติบโตของรายได้ยงั มาจากการให้บริการโทรออกต่างประเทศซึ่งเติบโตถึง 72% จากปี ก่อน โดยเป็ นบริการ ใหม่ทบ่ี ริษทั ในเครือในชื่อ เอไอเอ็น โกลบอลคอม เป็ นผูใ้ ห้บริการผ่านรหัสโทรออกต่างประเทศ 005 ราคาค่าบริ การ ในปี ทผ่ี ่านมาอยูใ่ นสถานะทีด่ ขี น้ึ จากในช่วงปี 2548-49 โดยในช่วงต้นปี ผูใ้ ห้บริการต่างเพิม่ ราคาค่าบริการโปรโมชันในส่ ่ วนทีค่ ดิ กับลูกค้าทีจ่ ดทะเบียนใหม่อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นทีก่ ารเพิม่ ค่าบริการทีค่ ดิ ในนาทีแรกและนาทีทส่ี อง รวมถึงการจํากัดระยะเวลาใน การโทรแต่ละครัง้ เพื่อไม่ให้เกิดการใช้งานทีย่ าวเกินความจําเป็ นดังเช่นสถานการณ์ในปี 2548-49 อย่างไรก็ตาม รายได้เฉลีย่ ต่อ นาทีในปี 2550 ยังคงมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากการใช้งานทีเ่ พิม่ ขึน้ ในช่วงนอกเวลาเร่งด่วน ซึง่ ตามปกติเป็ นช่วงเวลาทีเ่ ครือข่ายมี การใช้งานค่อนข้างตํ่า การทําตลาดด้วยโปรโมชันการโทรช่ ่ วงนอกเวลาเร่งด่วนจึงช่วยให้เครือข่ายมีการใช้งานที่มปี ระสิทธิภาพ สูงขึน้ และช่วยเพิม่ รายได้จากช่วงเวลาดังกล่าว รายได้และรายจ่ายค่า IC สําหรับปี 2550 ได้บนั ทึกรายได้ค่า IC จํานวน 16,530 ล้านบาท โดยคํานวณจากรายรับทีผ่ ใู้ ห้บริการรายอื่นต้องชําระให้แก่เอไอเอ สจากจํานวนนาทีทส่ี ง่ เข้าโครงข่ายของเอไอเอส (Revenue from incoming minutes) และบันทึกรายจ่ายค่า IC จํานวน 14,054 ส่วนที่ 2 หน้า 126


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ล้านบาท โดยคํานวณจากรายจ่ายที่เอไอเอสต้องชําระให้แก่ผใู้ ห้บริการรายอื่นจากจํานวนนาทีทเ่ี อไอเอสส่งออกไปยังผูใ้ ห้บริการ รายอื่น (Expense for outgoing minutes) ส่งผลให้เอไอเอสมีรายรับสุทธิจากค่า IC ทัง้ สิน้ 2,477 ล้านบาทก่อนหักส่วนแบ่งรายได้ ทัง้ นี้ เป็ นไปตามสัญญาเชื่อมโยงโครงข่ายระหว่างเอไอเอสกับดีแทค และเอไอเอสกับทรูมฟู ซึง่ เริม่ ต้นการคํานวณ ค่า IC ในเดือน กุมภาพันธ์และเมษายน 2550 ตามลําดับ ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2550 เอไอเอสมีสดั ส่วนการโทรออก (% outgoing to total minutes) เท่ากับ 48% ของจํานวนนาทีทงั ้ หมด และจากจํานวนนาทีโทรออกนี้คดิ เป็ นการโทรภายในเครือข่าย 70% (% on-net to total outgoing minutes) รายได้บริ การด้านข้อมูล เพิม่ ขึน้ 16.9% จากปีก่อนเป็ น 8,628 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่วน 11% จากรายได้การให้บริการทีไ่ ม่รวมรายรับ IC ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากใน ปีก่อนทีม่ สี ดั ส่วนอยูท่ ่ี 9.7% หรือคิดเป็ นมูลค่า 7,382 ล้านบาทในปี 2549 บริการทีม่ กี ารเติบโตสูงได้แก่ การดาว์นโหลดและใช้งาน อินเตอร์เน็ตผ่านมือถือ และบริการ MMS ซึ่งเพิม่ ขึน้ 42% จากปี ทแ่ี ล้ว เป็ นผลจากการทีเ่ อไอเอสได้พฒ ั นาเครือข่ายให้รองรับ เทคโนโลยี EDGE ซึง่ เพิม่ ความสามารถในการรับส่งข้อมูลได้รวดเร็วขึน้ อย่างไรก็ตาม บริการข้อความแบบสัน้ หรือ SMS ยังคง เป็ นบริการหลักทีก่ ่อให้เกิดรายได้ในกลุ่มบริการด้านข้อมูล โดยในปี 2550 รายได้จาก SMS คิดเป็ นสัดส่วน 4.6% ของรายได้จาก การให้บริการรวม และมีอตั ราการเติบโต 9.4% จากปีก่อน รายได้จากการขาย ลดลง 11.3% เป็ น 13,644 ล้านบาท จาก 15,375 ล้านบาทในปี ก่อน จากรายได้การขายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนทีล่ ดลงแม้วา่ จะมี จํานวนเครื่องที่จําหน่ ายเพิม่ ขึน้ ถึง 9.4% เนื่องจากรุ่นโทรศัพท์ท่ขี ายได้เป็ นรุ่นที่มรี าคาถูกลง อัตรากําไรขัน้ ต้นจากการขาย เครื่องโทรศัพท์เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยเป็ น 4.3% จาก 4.0% ในปี 2549 การจําหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ป็ นธุรกิจทีม่ อี ตั ราการทํา กําไรค่อนข้างตํ่าจึงมีผลกระทบน้อยต่อกําไรสุทธิของบริษทั ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้มกี ารเปิ ดตัวโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บรนด์ของบริษทั ฯ เอง ในชื่อ โฟนวัน ในปีทผ่ี า่ นมา แต่ยงั ไม่มผี ลต่อรายได้อย่างมีนยั สําคัญ ต้นทุนการให้บริ การ จํานวน 38,441 ล้านบาทในปี 2550 เพิม่ ขึน้ 66% จาก 23,139 ล้านบาท ในปี 2549 เนื่องจากการบันทึกรายจ่ายค่า IC จํานวน 14,054 ล้านบาท ในกรณีทไ่ี ม่รวมผลกระทบจากการบันทึกค่า IC ต้นทุนการให้บริการ เพิม่ ขึน้ 5.4% จากปี 2549 เนื่องจาก ต้นทุนค่าไฟฟ้าทีส่ งู ขึน้ และค่าเสื่อมราคาโครงข่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ 3.6% จากปี ก่อน เนื่องจากบริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนเครือข่ายจํานวน มากในช่วงปลายปี 2549 รวมถึงระยะเวลาในการตัดค่าเสือ่ มราคาทีล่ ดลงตามระยะเวลาทีเ่ หลือของสัญญาร่วมการงาน ต้นทุนค่าผลประโยชน์ ตอบแทนรายปี ในปี 2550 มีจาํ นวน 19,691 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 5% จาก 18,754 ล้านบาท ในปี 2549 โดยในปี 2550 ต้นทุนนี้ได้รวมการบันทึก ส่วนแบ่งรายได้ทค่ี าํ นวณจากรายได้สทุ ธิคา่ IC (รายได้คา่ IC หักต้นทุนค่า IC) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร เพิม่ ขึน้ 11.8% เป็ น 12,767 ล้านบาทในปี 2550 จาก 11,421 ล้านบาทในปี 2549 เนื่องจากมีการตัง้ สํารองหนี้สญ ู เพิม่ ขึน้ คิดเป็ น 6.5% ของรายได้โพสต์เพด เปรียบเทียบกับในช่วงปี 2548-49 ทีเ่ คยมีระดับการตัง้ สํารองอยูต่ ่าํ กว่า 2% เป็ นการเพิม่ ขึน้ สูงจากการ ดําเนินนโยบายการขยายตลาดโพสต์เพดอย่างรวดเร็วในช่วงต้นปี 2550 เพือ่ รักษาสถานะการเป็ นผูน้ ําในตลาดโพสต์เพด อย่างไรก็ ตาม ในไตรมาสที่ 3 บริษทั ฯ ได้ปรับวิธกี ารตรวจสอบการค้างชําระค่าบริการทีร่ ดั กุมมากขึน้ กับกลุ่มลูกค้าใหม่ ช่วยให้ตน้ ทุนการตัง้ สํารองลดตํ่าลงเหลือ 4.1% ในไตรมาส 4 และบริษทั ฯ คาดว่าในปี 2551 การตัง้ สํารองจะอยูใ่ นระดับ 4-5% ของรายได้โพสต์เพด ส่วนค่าใช้จา่ ยทางการตลาดในปี 2550 คิดเป็ น 3.8% ของรายได้รวม ซึง่ เป็ นสัดส่วนทีค่ อ่ นข้างคงทีเ่ มือ่ เปรียบเทียบกับในปี 2549 รายได้อื่น ในปี 2550 ลดลงเป็ น 662 ล้านบาท จาก 1,015 ล้านบาทในปี ก่อน เนื่องจากรายได้ดอกเบีย้ ทีล่ ดลงตามปริมาณเงินสดทีถ่ อื อยู่ น้อยลง และอัตราดอกเบีย้ เงินฝากในตลาดทีต่ ่าํ ลง ส่วนที่ 2 หน้า 127


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

อัตรากําไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสื่อม (EBITDA margin) คิดเป็ น 40.3% ของรายได้รวมในปี 2550 ลดลงจาก 46.2% ในปี 2549 เนื่องจากการบันทึกค่า IC ในกรณีทไ่ี ม่รวมผลกระทบจาก การบันทึกค่า IC นัน้ EBITDA margin คิดเป็ น 45.3% ของรายได้รวมในปี 2550 ลดลงจาก เนื่องจากค่าใช้จ่ายการตัง้ สํารองหนี้สญ ู สูงขึน้ กําไรสุทธิ สําหรับปี 2550 เท่ากับ 16,290 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 0.2% จาก 16,256 ล้านบาทในปี 2549 ในกรณีทไ่ี ม่รวมผลกระทบจากการบันทึก ค่า IC นัน้ กําไรสุทธิเท่ากับ 14,879 ล้านบาท ลดลง 8.5% จากค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ได้แก่ ค่าเสือ่ มราคา ค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหาร และดอกเบีย้ จ่าย ในไตรมาส 4 กําไรสุทธิ (ไม่รวมผลกระทบจากการบันทึกรายรับค่า IC) เติบโต 16.7% เปรียบเทียบกับ ไตรมาสเดียวกันในปีก่อน และเติบโต 5.9% เมือ่ เทียบกับไตรมาสทีแ่ ล้ว จากการทีเ่ อไอเอสสามารถรักษาส่วนแบ่งตลาดได้ค่อนข้าง ทรงตัวตัง้ แต่ไตรมาส 3/2549 ■ โครงสร้างงบดุล ■ สภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio) ลดลงเป็ น 73% ในปี 2550 จาก 74% ในปี 2549 เนื่องจากเงินสดทีล่ ดลง และสินค้าคงคลังในส่วนของเครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ ลดลง โครงสร้างเงิ นทุน ยังคงมีความแข็งแกร่งด้วยโครงสร้างหนี้ ในระดับตํ่า ซึ่งสนับสนุ นให้บริษัทฯ สามารถจ่ายเงินปนั ผลได้ในระดับสูง ในปี 2550 อัตราส่วนหนี้สนิ รวมต่อทุนลดลงเป็ น 71% จาก 73% ในปี 2549 เนื่องจากบริษทั ฯ มีการจ่ายชําระคืนหุน้ กูบ้ างส่วน ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในปี 2550 เท่ากับ 75,461 ล้านบาท ลดลง 2.8% จาก 77,599 ล้านบาท ในปี 2549 จากการทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายเงินปนั ผลมากกว่า 100% ของกําไรสุทธิ ในปี ทผ่ี ่านมาเอไอเอสยังคงจ่ายเงินปนั ผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระดับสูงเนื่องจากบริษทั ฯ มีผลประกอบการที่ม ี กําไรและมีโครงสร้างเงินทุนทีแ่ ข็งแกร่ง โดยเงินปนั ผลทีม่ กี ารจ่ายไปแล้วในปี 2550 เท่ากับ 18,658 ล้านบาท คิดเป็ นเงินปนั ผลต่อ หุน้ เท่ากับ 6.30 บาท ทัง้ นี้ กําไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร ณ สิน้ ปี มีจาํ นวนเท่ากับ 49,999 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบโครงสร้างเงินทุนกับผู้ให้บริการโทรคมนาคมรายอื่นๆในภูมภิ าค เอไอเอสมีโครงสร้างเงินทุนที่เข้มแข็งด้วย อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทุนทีต่ ่าํ โดยเฉพาะเมือ่ เปรียบเทียบกับในอันดับเครดิตเดียวกัน Debt/Equity at A- S&P rating 1.33

F r ance T el eco m D eut sche T eleko m

V o d af o ne G r o up

0.74

DTAC

0.81

T el eko m M al aysia A IS

Debt/Equity at BB+ S&P rating

0.56

PLD T

0.52

0.46

G lo b e T eleco m

0.36

0.39

LG T el eco m

0.28

B har t i

* ทีม ่ า: ข ้อมูลล่าสุดของแต่ละบริษัทจาก Reuters ณ เดือนมกราคม 2551

เงิ นกู้สทุ ธิ ต่อส่วนทุน ในปี 2550 เพิม่ ขึน้ เป็ น 29% จาก 26% ในปี 2549 จากเงินสดทีล่ ดลง

ส่วนที่ 2 หน้า 128

0.27


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

หุ้นกู้และเงิ นกู้ยืม ณ สิน้ ปี 2550 เอไอเอสมียอดหุน้ กูแ้ ละเงินกูย้ มื รวมทัง้ สิน้ 30,349 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจาก 33,149 ล้านบาทในปี 2549 โดย สัดส่วนเงินกูท้ เ่ี ป็ นอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวคิดเป็ น 14% ของยอดเงินกูย้ มื ทัง้ หมด ส่วนทีเ่ หลือเป็ นเงินกูย้ มื ทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงที่ หรือได้ มีการทําสัญญาแลกเปลีย่ น (interest swap contract) เพือ่ ลดความเสีย่ งในด้านอัตราดอกเบีย้ แล้ว ทัง้ นี้อตั ราดอกเบีย้ เฉลีย่ คิดเป็ น 5.31% ต่อปี ้ ณ สิน งวด

้ ณ สิน งวด

ยอดทีต ่ อ ้ งจ่ายชําระคืน(1)

อ ัตรา

หน่วย: ล้านบาท

2549

2550

้ ดอกเบีย

2551

2552

2553

2554

2555

2556

้ เงินกู ้ระยะสัน

1,000

3,492

3.98%

3,500

-

-

-

-

-

9,485

10,681

5.07%

28

57

57

9,542

57

57

22,602

16,111

5.74%

1,500

6,627

-

4,000

-

4,000

เงินกู ้ระยะยาว

(2)

หุ ้นกู ้ระยะยาว สัญญาเช่าทางการเงิน ้ รวมเงินกู ้ยืมทัง้ สิน

62

64

9.23%

22.6

16.2

12.4

8.6

4.4

-

33,149

30,349

5.31%

5,028

6,684

57

13,542

57

4,057

(1) รวมต ้นทุนในการออกหุ ้นกู ้; (2) รวมสัญญาแลกเปลีย ่ น swap

■ กระแสเงิ นสด ■ บริษทั ฯ มีสถานะกระแสเงินสดทีด่ เี พียงพอต่อการลงทุนขยายเครือข่ายพร้อมกับการจ่ายเงินปนั ผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในปี 2550 บริษทั ฯ มีแหล่งทีม่ าของเงินทุนหลักๆ จากกระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักดอกเบีย้ และภาษีแล้ว เป็ นจํานวน 36,235 ล้าน บาท และได้มกี ารกูย้ มื เงินเพิม่ เติมระหว่างปีเป็ นจํานวนทัง้ สิน้ 8,501 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้ใช้เงินทุนเหล่านี้ไปในการลงทุน เครือข่ายรวมจํานวน 17,105 ล้านบาท และชําระคืนเงินกูจ้ าํ นวน 11,523 ล้านบาท รวมถึงจ่ายเงินปนั ผลจํานวน 18,658 ล้านบาท สุทธิแล้วบริษทั ฯ มีเงินสดลดลงเป็ นจํานวน 4,254 ล้านบาท แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงิ นทุน: ปี 2550 แหล่งที่มาของเงิ นทุน กระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหัก ดอกเบีย้ และภาษี เงินรับจากหุน้ ทุนและส่วนเกินทุน เงินรับจากการขายสินทรัพย์ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดลดลง รวม

ล้านบาท 36,235 278 27 7,368 1,133 4,254 49,294

การใช้ไปของเงิ นทุน การลงทุนในเครือข่ายและสินทรัพย์ถาวร การลงทุนระยะสัน้ ชําระคืนเงินกูร้ ะยะยาวและสัญญาเช่าทาง การเงิน ชําระคืนเงินกูร้ ะยะสัน้ เงินปนั ผลจ่าย ส่วนเปลีย่ นแปลงของเงินทุนหมุนเวียน รวม

■ มุมมองของผูบ้ ริ หารต่อแนวโน้ มและกลยุทธ์ปี 2551 ■ ประมาณการการเติบโตของ ้ ริการโดยรวมทงอุ ผูใ้ ชบ ั้ ตสาหกรรม

8-10 ล ้านเลขหมาย

ส่วนแบ่งตลาด

ส่วนแบ่งตลาดเชิงรายได ้ 50%

รายได้จากการให้บริการ

อัตราการเติบโตของรายได ้การบริการประมาณ 5-7% ไม่รวมรายรับค่า IC

้ า ค่าใชจ ่ ยทางการตลาด

4% ของรายได ้รวม

ส่วนที่ 2 หน้า 129

ล้านบาท 17,105 98 6,523 5,000 18,658 1,910 49,294


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

่ มราคาเครือข่าย ค่าเสือ

่ มราคาโครงข่าย หมายถึง ค่าเสือ ่ มทีบ คาดว่าจะเพิม ่ ขึน ้ 10-12% ในปี 2551 (ค่าเสือ ่ น ั ทึก ่ มสินทรัพย์ทเี่ กีย ภายใต ้ต ้นทุนการให ้บริการเท่านั น ้ ไม่รวมค่าเสือ ่ วข ้องกับการขายและบริหาร ่ มสิทธิตามสัญญาร่วมการงาน) หรือ ค่านิยม หรือ ค่าเสือ

้ ภาษี อ ัตรากําไรก่อนห ักดอกเบีย ่ ม (EBITDA margin) และค่าเสือ

45-46% ไม่รวมรายรับค่า IC

เงินลงทุนในเครือข่าย

16,000-17,000 ล ้านบาทสําหรับปี 2551 (ไม่รวมงบลงทุนใน 3G)

ในปี 2551 เอไอเอสคาดว่าจํานวนผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ องอุตสาหกรรมโดยรวมจะเติบโตประมาณ 15-20% หรือ คิดเป็ นจํานวนผูใ้ ช้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ ประมาณ 8-10 ล้านราย โดยสัดส่วนผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีโ่ ดยนับตามจํานวนซิมการ์ดจะ มีปริมาณใกล้เคียง 95% ของจํานวนประชากรทัง้ ประเทศ ในขณะทีส่ ดั ส่วนจํานวนผูใ้ ช้บริการทีแ่ ท้จริงน่าจะตํ่ากว่าประมาณ 2530% เนื่องจากคาดว่าจะยังคงมีผใู้ ช้บริการจํานวนมากทีน่ ิยมมีหลายหมายเลข ราคาค่าบริการคาดว่าจะอยูใ่ นภาวะทรงตัวหรือ เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยซึง่ จะเป็ นไปตามทีผ่ ใู้ ห้บริการแต่ละรายมีความต้องการคิดราคาค่าบริการให้เหมาะสมและสะท้อนต้นทุนค่าเชื่อมโยง โครงข่าย รวมถึงแนวโน้มการตัง้ ราคาเพือ่ ให้เกิดการใช้งานเครือข่ายในแต่ละช่วงเวลาให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ เอไอเอสตัง้ เป้าหมายในการรักษาส่วนแบ่งการตลาดในเชิงรายได้ทป่ี ระมาณ 50% ของรายได้ตลาดโดยรวม โดยคาดว่า การเติบโตของรายได้จากการให้บริการจะอยูท่ ่ี 5-7% ในปี 2551 รวมถึงตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะก่อให้เกิดการเติบโตในด้านกําไรก่อนหัก ดอกเบีย้ ภาษีและค่าเสือ่ ม (EBITDA) อย่างต่อเนื่องดังเช่นทีเ่ ป็ นมาในช่วงสองไตรมาสทีผ่ ่านมา ทัง้ นี้ ปจั จัยทีส่ าํ คัญต่อการเติบโต ทัง้ ในด้านรายได้และ EBITDA ประกอบด้วย (1) การเติบโตของสัดส่วนผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ่อประชากรในต่างจังหวัด (2) รายได้ จากบริการทางด้านเสียงทีด่ ขี น้ึ จากราคาค่าบริการทีท่ รงตัว (3) การเติบโตของบริการทางด้านข้อมูล 15-20% และ (4) รายได้ เพิม่ เติมจากบริการโทรออกต่างประเทศทีน่ ่าจะก่อให้เกิดสัดส่วนในเชิงรายได้เพิม่ สูงขึน้ จากในปี 2550 บริษทั ฯ ได้เปิดให้บริการ โทรออกต่างประเทศผ่านรหัส 005 ทําให้มรี ายได้เพิม่ เติมคิดเป็ น 1.3% ของรายได้จากการให้บริการโดยรวม (ไม่รวมค่า IC) ซึง่ คาดว่าในปี 2551 รายได้ดงั กล่าวจะสามารถเติบโตได้อกี 40-50% ในปี 2551 บริษทั ฯ ตัง้ งบประมาณการลงทุนในเครือข่ายไว้ประมาณ 16,000-17,000 ล้านบาท โดยมีเป้าหมายในการ ขยายสถานีฐานให้ได้ถงึ 14,500 สถานีทวประเทศ ั่ โดยเน้นการลงทุนในด้านต่างๆ ประกอบด้วย (1) การขยายเครือข่ายอย่าง ต่อเนื่องในต่างจังหวัดเพือ่ รักษาความแตกต่างจากคูแ่ ข่งในด้านความครอบคลุมของเครือข่าย (2) การลงทุนเครือข่ายในเส้นทาง คมนาคมทีส่ าํ คัญ เช่น ถนนตัดใหม่ ทางด่วน และระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพ (3) เขตทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ กิดใหม่และเขตธุรกิจ อุตสาหกรรม และแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ าํ คัญ ทัง้ นี้ ค่าเสือ่ มราคาเครือข่ายในปี 2551 คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ 10-12% เนื่องจากระยะเวลาใน การตัดค่าเสือ่ มสัน้ ลงตามระยะเวลาทีเ่ หลือของสัญญาร่วมการงานซึง่ สิน้ สุดในปี 2558 รายรับสุทธิจากค่าเชื่อมโยงโครงข่ายในปี 2551 คาดว่าจะลดลงจากปี 2550 อย่างมีสาระสําคัญ และในอนาคตอันใกล้ บริษทั ฯ เชื่อว่าปริมาณการโทรเข้าออกระหว่างเครือข่ายจะมีความสมดุลมากขึ้น ซึ่งหมายถึง ยอดรายรับสุทธิจากค่าเชื่อมโยง โครงข่ายจะไม่เป็ นตัวแปรสําคัญต่อผลประกอบการ

ส่วนที่ 2 หน้า 130


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

■ สรุปตัวเลขทางการเงิ น ■ งบการเงิ นรวม

หน่วย: ล ้านบาท

รายได ้จากการให ้บริการไม่รวม IC รายได ้ IC รายได ้จากการให ้บริการ รายได ้จากการขาย รวมรายได ้ ต ้นทุนค่าบริการไม่รวมค่า IC รายจ่ายค่า IC ต ้นทุนค่าบริการ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ต ้นทุนขาย รวมต ้นทุน กําไรขัน ้ ต ้น ค่าใช ้ในการขายและบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบีย ้ จ่าย รายได ้อืน ่ ๆ กําไร/ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลีย ่ น กําไรก่อนหกภาษี ส่วนของผู ้ถือหุ ้นส่วนน ้อย ภาษี เงินได ้ กําไรสุทธิ

ไตรมาส 4/2550

ไตรมาส 4/2549

ไตรมาส 3/2550

20,112 16,530 36,642 3,228 39,870 (6,326) (14,054) (20,380) (5,412) (2,960) (28,752) 11,118 (3,382) (4) 7,733 (427) 163

18,317 n/a 18,317 4,011 22,328 (5,675) n/a (5,675) (4,550) (3,764) (13,989) 8,340 (3,424) (2) 4,914 (511) 230

19,079 n/a 19,079 3,328 22,407 (6,239) n/a (6,239) (4,627) (3,118) (13,984) 8,423 (2,959) (2) 5,463 (428) 142

% เปลีย ่ น แปลง เทียบก ับ ไตรมาส 4/2549 9.8 n/a 100.0 -19.5 78.6 11.5 n/a 259.1 18.9 -21.4 105.5 33.3 -1.2 99.6 57.4 -16.4 -29.1

(28) 7,441 22 (2,330) 5,132

16 4,648 32 (1,493) 3,187

(12) 5,165 8 (1,661) 3,512

-278.0 60.1 -33.1 56.1 61.0

% เปลีย ่ น แปลง เทียบก ับ ไตรมาส 3/2550 5.4 n/a 92.1 -3.0 77.9 1.4 n/a 226.6 17.0 -5.1 105.6 32.0 14.3 108.1 41.6 -0.2 14.8

78,280 16,530 94,810 13,644 108,454 (24,387) (14,054) (38,441) (19,691) (12,624) (70,757) 37,697 (12,767) (10) 24,920 (1,721) 662

76,053 n/a 76,053 15,375 91,428 (23,139) n/a (23,139) (18,754) (14,063) (55,956) 35,473 (11,421) (8) 24,044 (1,538) 1,015

2.9 n/a 24.7 -11.3 18.6 5.4 n/a 66.1 5.0 -10.2 26.5 6.3 11.8 37.2 3.6 11.9 -34.8

136.9 44.1 155.4 40.3 46.1

(56) 23,804 48 (7,562) 16,290

48 23,568 148 (7,460) 16,256

-218.0 1.0 -67.3 1.4 0.2

2550

% เปลีย ่ น แปลง เทียบก ับ ปี 2549

2549

รายละเอียดสัดส่วนรายได้และค่าใช้จ่าย รายได้จากการให้บริการไม่รวม IC บริการเสียง จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด บริการข ้อมูล โพสต์เพด พรีเพด บริการโรมมิง่ ต่างประเทศ อืน ่ ๆ (IDD, ค่าธรรมเนียม)

รายได้จากการขาย เครือ ่ งโทรศัพท์เคลือ ่ นที่ ซิมการ์ด

ไตรมาส 1/2549

ไตรมาส 2/2549

ไตรมาส 3/2549

ไตรมาส 4/2549

ไตรมาส 1/2550

ไตรมาส 2/2550

ไตรมาส 3/2550

ไตรมาส 4/2550

23.4% 1.6% 25.0% 59.7%

22.6% 1.5% 24.1% 59.1%

21.0% 1.3% 22.3% 60.4%

21.3% 1.3% 22.6% 58.4%

22.5% 1.0% 23.5% 56.3%

22.5% 1.0% 23.5% 57.6%

20.6% 0.9% 21.5% 59.1%

18.5% 0.8% 19.3% 59.5%

3.4% 5.2% 4.4% 2.3% 100.0%

3.7% 6.2% 4.2% 2.7% 100.0%

3.8% 6.3% 4.2% 3.0% 100.0%

4.2% 6.2% 5.1% 3.5% 100.0%

4.6% 6.3% 5.2% 4.1% 100.0%

4.3% 6.2% 4.2% 4.2% 100.0%

4.5% 6.6% 4.4% 3.9% 100.0%

4.8% 6.9% 5.1% 4.4% 100.0%

ไตรมาส 1/2549 92.4% 7.6% 100.0%

ไตรมาส 2/2549 92.1% 7.9% 100.0%

ไตรมาส 3/2549 95.8% 4.2% 100.0%

ไตรมาส 4/2549 93.0% 7.0% 100.0%

ไตรมาส 1/2550 93.7% 6.3% 100.0%

ไตรมาส 2/2550 93.4% 6.6% 100.0%

ไตรมาส 3/2550 94.7% 5.3% 100.0%

ไตรมาส 4/2550 95.2% 4.8% 100.0%

ส่วนที่ 2 หน้า 131


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ต้นทุนค่าบริการไม่รวม IC ่ มราคาโครงข่าย ค่าเสือ ค่าใช ้จ่ายเกีย ่ วกับสถานีฐาน ค่าซ่อมบํารุง อืน ่ ๆ

ไตรมาส 1/2549 71.5% 7.9% 8.6% 12.0% 100.0%

ไตรมาส 2/2549 71.2% 9.1% 7.7% 12.0% 100.0%

ไตรมาส 3/2549 67.4% 9.1% 8.8% 14.7% 100.0%

ไตรมาส 4/2549 68.3% 9.6% 8.3% 13.8% 100.0%

ไตรมาส 1/2550 67.3% 9.6% 8.0% 15.1% 100.0%

ไตรมาส 2/2550 68.4% 9.8% 7.3% 14.5% 100.0%

ไตรมาส 3/2550 68.7% 9.3% 7.8% 14.2% 100.0%

ไตรมาส 4/2550 69.2% 9.2% 7.6% 14.0% 100.0%

ต้นทุนขาย เครือ ่ งโทรศัพท์เคลือ ่ นที่ ซิมการ์ด

ไตรมาส 1/2549 98.1% 1.9% 100.0%

ไตรมาส 2/2549 97.7% 2.3% 100.0%

ไตรมาส 3/2549 98.5% 1.5% 100.0%

ไตรมาส 4/2549 97.6% 2.4% 100.0%

ไตรมาส 1/2550 97.6% 2.4% 100.0%

ไตรมาส 2/2550 97.1% 2.9% 100.0%

ไตรมาส 3/2550 96.9% 3.1% 100.0%

ไตรมาส 4/2550 97.6% 2.4% 100.0%

งบดุลรวม หน่วย: ล ้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียน

2550

2549

20,586

ทีด ่ น ิ อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ

22,893

8,561

7,797

สินทรัพย์ภายใต ้สัญญาสัมปทาน-สุทธิ

78,527

81,096

สินทรัพย์ไม่มต ี วั ตน-สุทธิ

10,593

12,197

สินทรัพย์ภาษี เงินได ้รอตัดบัญชี

10,031

9,763

อืน ่ ๆ

644 128,94 2

555 134,30 1

้ เงินกู ้ยืมระยะสัน

3,492

1,000

เจ ้าหนีก ้ ารค ้า

4,218

5,760

ส่วนของหุ ้นกู ้ทีถ ่ งึ กําหนดชําระใน 1 ปี

1,545

6,507

ั ญาสัมปทานค ้างจ่าย ค่าสิทธิสญ

8,373

7,155

หุ ้นกู ้ระยะยาว

25,312

25,642

ิ หมุนเวียนอืน หนีส ้ น ่

10,541

10,637

ิ หมุนเวียน รวมหนีส ้ น

53,481

56,702

รวมส่วนของผู ้ถือหุ ้น

75,461

77,599

รวมสินทรัพย์

อัตราส่วนทางการเงิ น ไตรมาส 4/2550

ไตรมาส 4/2549

ไตรมาส 3/2550

2550

2549

EBITDA (Bt. million)

12,698

9,305

10,199

43,684

42,284

EBITDA Margin

31.8%

41.7%

45.5%

40.3%

46.2%

18.1

9.6

12.8

14.5

15.6

Interest Coverage (x) DSCR (x)

5.3

2.7

2.6

4.5

3.3

ิ สุทธิ / EBITDA (x) หนีส ้ น

0.43

0.55

0.64

0.50

0.48

ิ สุทธิ / ส่วนของผู ้ถือหุ ้น (%) หนีส ้ น ิ ต่อส่วนผู ้ถือหุ ้น หนีส ้ น (Interest-bearing Debt to Equity (x)

29%

26%

37%

29%

26%

0.40

0.43

0.48

0.40

0.43

ิ รวมต่อส่วนผู ้ถือหุ ้น (x) หนีส ้ น

0.71

0.73

0.80

0.71

0.73

Free cash flow to EV (%)

8.9%

0.3%

6.6%

6.8%

4.8%

ส่วนที่ 2 หน้า 132


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

■ สรุปตัวเลขการดําเนิ นงาน ■ ไตรมาส 1/2549 1,790,700 127,300 1,918,000 14,715,900 16,633,900

ไตรมาส 2/2549 1,797,100 114,800 1,911,900 15,406,000 17,317,900

ไตรมาส 3/2549 1,868,200 105,400 1,973,600 15,749,500 17,723,100

ไตรมาส 4/2549 2,143,700 98,700 2,242,400 17,279,100 19,521,500

ไตรมาส 1/2550 2,534,700 92,000 2,626,700 18,462,600 21,089,300

ไตรมาส 2/2550 2,566,300 86,800 2,653,100 20,038,300 22,691,400

ไตรมาส 3/2550 2,349,300 82,600 2,431,900 20,772,500 23,204,400

ไตรมาส 4/2550 2,203,500 82,400 2,285,900 21,819,500 24,105,400

ไตรมาส 1/2549 -81,700 306,700

ไตรมาส 2/2549 -6,100 690,100

ไตรมาส 3/2549 61,700 343,500

ไตรมาส 4/2549 268,800 1,529,600

ไตรมาส 1/2550 384,300 1,183,500

ไตรมาส 2/2550 26,400 1,575,700

ไตรมาส 3/2550 -221,200 734,200

ไตรมาส 4/2550 -146,000 1,047,000

225,000

684,000

405,200

1,798,400

1,567,800

1,602,100

513,000

901,000

Churn rate (%) โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย ่

ไตรมาส 1/2549 1.1% 2.8% 2.6%

ไตรมาส 2/2549 1.1% 2.8% 2.6%

ไตรมาส 3/2549 0.9% 3.2% 2.9%

ไตรมาส 4/2549 1.0% 2.7% 2.5%

ไตรมาส 1/2550 2.5% 2.9% 2.9%

ไตรมาส 2/2550 3.9% 2.7% 2.9%

ไตรมาส 3/2550 4.8% 3.9% 4.0%

ไตรมาส 4/2550 4.7% 3.9% 4.0%

ส่วนแบ่งตลาดของจํานวน ้ ริการ ผูใ้ ชบ โพสต์เพด พรีเพด รวม

ไตรมาส 1/2549 43% 53% 52%

ไตรมาส 2/2549 41% 52% 51%

ไตรมาส 3/2549 41% 50% 48%

ไตรมาส 4/2549 43% 50% 49%

ไตรมาส 1/2550 44% 50% 49%

ไตรมาส 2/2550 44% 49% 48%

ไตรมาส 3/2550 42% 47% 46%

ไตรมาส 4/2550 n/a n/a n/a

ตงแต่ ั้ ไตรมาส 1/2551 เป็นต้นไป จะทําการยกเลิกการประกาศต ัวเลข ARPU ตามนิยามนี้ *ARPU (บาท: สุทธิ บริการเสียง + บริการ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส เสริม) 1/2549 2/2549 3/2549 4/2549 1/2550 2/2550 3/2550 1,028 892 809 776 751 689 650 โพสต์เพด 316 266 258 239 227 217 205 พรีเพด 400 337 319 300 290 274 254 ค่าเฉลีย ่

ไตรมาส 4/2550 685 209 256

*ARPU ใหม่ ไม่รวม IC (บาท: สุทธิ all-in) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย ่

ไตรมาส 1/2549 1,104 907 1,091 340 429

ไตรมาส 2/2549 964 815 955 286 362

ไตรมาส 3/2549 876 805 872 277 343

ไตรมาส 4/2549 845 806 843 262 328

ไตรมาส 1/2550 811 781 809 249 317

ไตรมาส 2/2550 741 773 742 234 295

ไตรมาส 3/2550 696 760 698 222 274

ไตรมาส 4/2550 744 739 743 227 279

*ARPU ใหม่ รวม net IC (บาท: สุทธิ all-in) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย ่

ไตรมาส 1/2549 n/a n/a n/a n/a n/a

ไตรมาส 2/2549 n/a n/a n/a n/a n/a

ไตรมาส 3/2549 n/a n/a n/a n/a n/a

ไตรมาส 4/2549 n/a n/a n/a n/a n/a

ไตรมาส 1/2550 788 781 787 263 326

ไตรมาส 2/2550 708 773 710 258 312

ไตรมาส 3/2550 665 760 668 233 282

ไตรมาส 4/2550 696 739 698 238 283

MOU (จํานวนนาทีทโ่ี ทร ออก) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย ่

ไตรมาส 1/2549 476 495 477 203 235

ไตรมาส 2/2549 521 418 515 303 327

ไตรมาส 3/2549 559 418 551 229 265

ไตรมาส 4/2549 550 426 544 214 251

ไตรมาส 1/2550 587 412 580 228 270

ไตรมาส 2/2550 504 416 501 218 252

ไตรมาส 3/2550 511 422 507 224 256

ไตรมาส 4/2550 573 426 568 239 271

้ ริการ จํานวนผูใ้ ชบ จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด รวมจํานวนผู ้ใช ้บริการ ้ ริการทีเ่ พิม ้ ผูใ้ ชบ ่ ขึน (Net additions) โพสต์เพด พรีเพด รวมจํานวนผู ้ใช ้บริการที่ เพิม ่ ขึน ้

ส่วนที่ 2 หน้า 133


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

Traffic % outgoing to total minute % on-net to outgoing minute

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ไตรมาส 1/2549 n/a n/a

ไตรมาส 2/2549 n/a n/a

ไตรมาส 3/2549 n/a n/a

ไตรมาส 4/2549 n/a n/a

ไตรมาส 1/2550 46% 56%

ไตรมาส 2/2550 47% 63%

ไตรมาส 3/2550 48% 68%

ไตรมาส 4/2550 48% 70%

■ การเปลี่ยนแปลงการประกาศตัวเลขการดําเนิ นงาน ■ เพื่อให้การประกาศตัวเลขการดําเนินงานเป็ นไปตามหลักสากล บริษทั ฯ จึงมีการจัดทําตัวเลขรายได้ต่อเลขหมายต่อเดือนใหม่ (ARPU) เพื่อสะท้อนถึงรายได้ทเ่ี กิดจากการให้บริการบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษทั ฯ มีความเห็นว่าการปรับปรุงนี้ช่วยให้ ตัวเลขการดําเนินงานมีความโปร่งใสมากขึน้ และแสดงถึงรายได้จากการให้บริการได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังคงไว้ซ่งึ หลักการ conservative ในการบันทึกรายได้แบบสุทธิ รายได้ท่นี ํ ามาคํานวณ ARPU นัน้ เป็ นรายได้จากงบการเงินรวมตาม มาตรฐานบัญชีของไทย ARPU ARPU เดิม (บริการเสียง + บริการเสริม) นิยาม

รายได ้รวมจากบริการเสียงและบริการเสริม หารด ้วยจํ านวนลูกค ้า เฉลีย ่ ระหว่างต ้นงวดและปลายงวด = รายได ้บริการเสียง + รายได ้บริการเสริม (จํานวนลูกค ้าต ้นงวด +จํานวนลูกค ้าปลายงวด) / 2

ส่วนประกอบรายได ้

ARPU ใหม่ (All-in) รายได ้รวมจากการให ้บริการทัง้ หมดยกเว ้นรายได ้จากเอไอเอ็น หารด ้วยจํ านวนลูกค ้าเฉลีย ่ ระหว่างต ้นงวดและปลายงวด = รายได ้จากการให ้บริการทัง้ หมด ยกเว ้นรายได ้จากเอไอเอ็น (จํานวนลูกค ้าต ้นงวด +จํานวนลูกค ้าปลายงวด) / 2

; บริการเสียง ; บริการเสริม (call management, SMS, MMS, data) บริการโรมมิง่ ต่างประเทศ บริการโทรออกต่างประเทศผ่าน กสท. ทีโอที บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเอไอเอ็น (บริษัทในเครือของ เอไอเอส) บริการอืน ่ ๆ

; บริการเสียง ; บริการเสริม (call management, SMS, MMS, data) ; บริการโรมมิง่ ต่างประเทศ ; บริการโทรออกต่างประเทศผ่าน กสท. ทีโอที ; บริการอืน ่ ๆ บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเอไอเอ็น (บริษัทในเครือของ เอไอเอส)

ทุกรายการข ้างต ้นเป็ นการบันทึกแบบสุทธิจากส่วนรายได ้ทีต ่ ้อง ่ แบ่งให ้แก่บค ุ คลทีส ่ ามและค่าคอมมิชชัน

ทุกรายการข ้างต ้นเป็ นการบันทึกแบบสุทธิจากส่วนรายได ้ทีต ่ ้อง ่ แบ่งให ้แก่บค ุ คลทีส ่ ามและค่าคอมมิชชัน

เริม่ ตัง้ แต่ไตรมาส 1/2551 เป็ นต้นไป บริษทั ฯ จะประกาศตัวเลข ARPU ตามคํานิยามแบบใหม่เท่านัน้ และจะทําการยกเลิกการ ประกาศตัวเลข ARPU ตามนิยามเดิม 12.3

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ในปี 2550 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีให้แก่ • ค่าสอบบัญชีของบริษทั ฯ จํานวน 6.94 ล้านบาท ค่าสอบบัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จํานวนทัง้ สิน้ 10.54 ล้านบาท ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวได้รวม out of pocket ไว้ดว้ ย • ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น (Non-audit fee) ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้แก่ การตรวจสอบรายได้ และ การเข้าร่วมสังเกตการณ์การทําลายสินค้า ให้สาํ นักงานสอบบัญชีทผ่ี สู้ อบบัญชีสงั กัด จํานวน 159,000 บาท โดย ไม่มคี า่ ตอบแทนของงานบริการอื่นทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงทีย่ งั ให้บริการไม่แล้วเสร็จ

ส่วนที่ 2 หน้า 134


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

13.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง - ไม่ม ี -

ส่วนที่ 2 หน้า 135


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล 1. การรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยกรรมการบริ หารและผูท้ ี่ดาํ รงตําแหน่ งบริ หารสูงสุดในสายงานบัญชี “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ฉบับนี้ แล้วและด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริหารของบริษทั หรือผูด้ ํารงตําแหน่ งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้อง ครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาํ ให้ผอู้ ่นื สําคัญผิด หรือไม่ขาดข้อมูลทีค่ วรต้องแจ้งในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินทีส่ รุปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนในสาระสําคัญเกีย่ วกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษทั และบริษทั ย่อยแล้ว (2) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่อการจัดให้บริษทั มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ ใจว่าบริษทั ได้เปิ ดเผย ข้อมูลในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสําคัญทัง้ ของบริษทั และบริษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทัง้ ควบคุมดูแล ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามระบบดังกล่าว (3) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่อการจัดให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีด่ แี ละควบคุมดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามระบบดังกล่าว และข้าพเจ้าได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 ต่อผูส้ อบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษทั แล้ว ซึง่ ครอบคลุมถึงข้อบกพร่องและการเปลีย่ นแปลงที่ สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทัง้ การกระทําที่มชิ อบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงาน ทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทัง้ หมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับทีข่ า้ พเจ้าได้รบั รองความถูกต้องแล้ว ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกํากับ เอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มลี ายมือชื่อของ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ กํากับไว้ขา้ พเจ้าจะถือว่า ไม่ใช่ขอ้ มูลทีข่ า้ พเจ้าได้รบั รองความถูกต้องของข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ

ตําแหน่ ง

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

ประธานกรรมการบริหาร

ดร. ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์

กรรมการบริหาร

นายวิกรม ศรีประทักษ์

กรรมการบริหาร

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

กรรมการบริหาร

นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ

กรรมการบริหาร

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

ผูร้ บั มอบอํานาจ นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

ส่วนที่ 3 หน้า 1

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล 2.

การรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษทั ข้าพเจ้าไม่มเี หตุอนั ควรสงสัยว่าข้อมูลดังกล่าวไม่ถกู ต้องครบถ้วน เป็ นเท็จ ทําให้ผอู้ ่นื สําคัญผิด หรือขาด ข้อมูลทีค่ วรต้องแจ้งในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทัง้ หมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขา้ พเจ้าได้สอบทานแล้ว และไม่ม ี เหตุอนั ควรสงสัยว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นเท็จ ทําให้ผูอ้ ่นื สําคัญผิด หรือขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งใน สาระสําคัญ ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน เป็ นผูล้ ง ลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มลี ายมือชื่อของ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ หัวหน้า เจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน กํากับไว้ขา้ พเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้สอบทานแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ

ตําแหน่ ง

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม

ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นางทัศนีย์ มโนรถ

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นายวาสุกรี กล้าไพรี

กรรมการ

นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์

กรรมการ

นายยืน ควน มูน

กรรมการ

ผูร้ บั มอบอํานาจ นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

ส่วนที่ 3 หน้า 2

ลายมือชื่อ


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร (ข้อมูล ณ 23 มกราคม 2551) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร

ดร. ไพบูลย์ ลิมปพยอม

66

ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาเอก ประกาศนียบัตร

นาย อวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทกั ษ์

59

กรรมการ กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาโท

วิศวกรรมไฟฟ้า Iowa State University, U.S.A. หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 3 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) -

ประสบการณ์ทาํ งาน

ั บนั 2541 - ปจจุ 2543 - 2548

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 8/2544

2542 - 2545 2536 - 2541 2535 - 2536 2531 - 2535 ั บนั 2550 - ปจจุ ั บนั 2549 - ปจจุ

ั บนั 2546 - ปจจุ

ั บนั 2544 - ปจจุ ั บนั 2538 - ปจจุ 2546 - 2548 2538 - 2546

นางทัศนีย์ มโนรถ

62

กรรมการ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาตรี

พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 32/2546

2533 - 2538 2523 - 2533 2520 - 2523 2512 - 2520 ั บนั 2549 - ปจจุ 2545 - 2548 2544 - 2548 2543 - 2545 2542 - 2543 2539 - 2542

* นับรวมจํานวนหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 1

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น กรรมการและกรรมการบริหาร กลุ่มบริษทั ชิน คอร์ปอเรชั ่น ทีป่ รึกษา องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผูอ้ าํ นวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. หินอ่อน ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูท้ รงคุณวุฒ ิ คณะอนุกรรมการจัดการลงทุน กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ทีป่ รึกษา บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย ั ฑ์ กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภณ กรรมการ และกรรมการบริหาร บจ. ทุนลดาวัลย์ กรรมการ บจ. วังสินทรัพย์ ประธานกรรมการ บจ.ไอทีวนั กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. เทเวศประกันภัย ผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ.ซิเมนต์ไทยพร็อพเพอร์ต้ี (2001) ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ & Chief of Financial Officer, บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย President, บริษทั ไทส์เซอรา อิงค์ (อเมริกา) กรรมการผูจ้ ดั การ บจ.เซรามิคอุตสาหกรรมไทย ผูจ้ ดั การฝา่ ยการเงิน บจ.สยามคราฟท์อุตสาหกรรม เจ้าหน้าทีบ่ ญ ั ชีและการเงิน บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ด้านการเงินและบัญชี บมจ.ทศท. คอร์ปอเรชั ่น กรรมการ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองผูอ้ าํ นวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผูอ้ าํ นวยการฝา่ ยการเงินและงบประมาณ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร (ข้อมูล ณ 23 มกราคม 2551) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร

นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์

54

กรรมการ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

เนติบณ ั ฑิต

สํานักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

นายวาสุกรี กล้าไพรี

59

กรรมการ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์ทาํ งาน

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 29/2547

-

ั บนั 2549 - ปจจุ ั บนั 2548 - ปจจุ ั บนั 2540 - ปจจุ 2547 - 2549 2547 - 2548 2524 - 2531 ั บนั 2550 - ปจจุ ั บนั 2548 - ปจจุ

2548 - 2550 2547 - 2548 2546 - 2547 2542 - 2546 2540 - 2541 2536 - 2538 2533 - 2535 นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์

57

กรรมการ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาโท

Master of Science University of Wisconsin, U.S.A.

หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 8/2547

ั บนั 2548 - ปจจุ

ั บนั 2546 - ปจจุ

ั บนั 2540 - ปจจุ ั บนั 2535 - ปจจุ ั บนั 2529 - ปจจุ 2533 - 2549

* นับรวมจํานวนหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 2

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูบ้ ริหาร บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลีย่ มส์ (ไทยแลนด์) กรรมการ บจ. ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์ กรรมการและกรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น กรรมการ บจ. คูแดร์ บราเธอร์ส ผูพ้ พิ ากษาศาล จังหวัดบุรรี มั ย์ เพชรบูรณ์ และกรุงเทพมหานคร รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานโครงการพิเศษ บมจ. ทีโอที กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ บจ. ไทย-อะมาดิอุส เซาท์อสี ต์เอเชีย กรรมการ บจ. เอ ซี ที โมบาย รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานขายและบริการลูกค้าภูมภิ าค บมจ. ทีโอที รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ด้านสื่อสารไร้สาย บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั ่น ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ด้านปฏิบตั กิ ารภาคกลาง บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั ่น ผูอ้ าํ นวยการฝา่ ยโทรศัพท์ภาคกลาง องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝา่ ยโทรศัพท์นครหลวงที่ 4 องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หัวหน้าส่วนอํานวยการวิสาหกิจ สํานักกิจกรรมวิสาหกิจ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย รักษาการหัวหน้าศูนย์พาณิชย์ ฝา่ ยบริหารผูใ้ ช้โทรศัพท์ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค รีสอร์ท กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บจ. ธนชาตประกันภัย รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคาร ธนชาต จํากัด (มหาชน) กรรมการ บจ. สยามพิวรรธน์ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บจ. ธนชาตประกันชีวติ กรรมการ บจ. แปลน เอสเตท กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. ทุนธนชาต กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองประธานกรรมการ บมจ. เอ็มบีเค กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน)

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร (ข้อมูล ณ 23 มกราคม 2551) ชื่อ - สกุล

นายยืน ควน มูน 1)

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร

40

กรรมการ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท

Master of Science Degree in Management Stanford University in California, USA

ประสบการณ์ทาํ งาน

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) -

ั บนั 2551 - ปจจุ 2548 - 2550 2547 - 2548 2546 - 2547 2545 - 2546 2545 - 2545

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

52

กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาโท

Science (Management) Massachusetts Insitiute of Technology, USA

-

2543 - 2545 2543 - 2543 2541 - 2543 2539 - 2541 2538 - 2539 ั บนั 2549 - ปจจุ 2548 - 2549 2544 - 2548 2542 - 2544 2538 - 2542

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

52

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนาม

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

หลักสูตร DCP Directors Certification Program รุ่น 65/2548, หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 30/2547

ั บนั 2550 - ปจจุ ั บนั 2549 - ปจจุ ั บนั 2547 - ปจจุ ั บนั 2543 - ปจจุ ั บนั 2542 - ปจจุ ั บนั 2540 - ปจจุ 2547 - 2550 2543 - 2550 2540 - 2541 2538 - 2539 2537 - 2538 2536 - 2537 2536 - 2536 2535 - 2536

1)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการแทนนางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค ตัง้ แต่วนั ที่ 23 มกราคม 2551

* นับรวมจํานวนหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 3

กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Vice President, Regional Operations, Singtel Director of Commerce,Telkomsel Vice President, Sales & Products, Telkomsel Head, Customer Relations Management, Telkomsel Senior Director, Retail & Channel Sales in Consumer, Singtel Covering Senior Director, Retail & Channel sales in Consumer, Singtel Director, Channel Sales, Singtel Director, Sales & Channels, Singtel Director, Sales, Singtel Assistant Director, Business Development, Singtel Assistant Marketing Manager, Pager Marketing, Singtel กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Chief Executive Officer, Singapore Managing Director - Consumer (Optus) Managing Director - Mobile (Optus) Chief Operating Officer, บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Chief Operating Officer, Singapore Telecom International กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น กรรมการ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้า กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริง่ กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีว ี รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย กลุ่มชินวัตร กรรมการผูอ้ าํ นวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ สายงานปฏิบตั กิ ารที่ 4 กลุ่มชินวัตร

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร (ข้อมูล ณ 23 มกราคม 2551) ชื่อ - สกุล

นายวิกรม ศรีประทักษ์ 2)

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร

55

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนาม และ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร

0.0024

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท

ประสบการณ์ทาํ งาน

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD)

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-

ั บนั 2550 - ปจจุ

ั บนั 2545 - ปจจุ 2543 - 2550 2541 - 2543

นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข

3)

42

กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนาม

0.0001

ไม่ม ี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 66/2550

2538 - 2541 ั บนั 2550 - ปจจุ

2546 - 2550 2543 - 2546 2541 - 2542 2540 - 2541 2536 - 2539 ดร. ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์

53

กรรมการบริหาร

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาเอก

วิศวกรรมไฟฟ้า Massachusetts Institute of Technology, USA

หลักสูตร DAP Directors Accreditation Program รุ่น 2/2546

ั บนั 2547 - ปจจุ ั บนั 2543 - ปจจุ ั บนั 2542 - ปจจุ ั บนั 2540 - ปจจุ 2547 - 2550 2537 - 2543 2538 - 2540 2536 - 2537 2534 - 2535 2532 - 2534 2529 - 2532

2)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการแทนนายบุญคลี ปลั ่งศิริ ตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2550

3)

ก. ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการแทนนางศิรเิ พ็ญ สีตสุวรรณ ตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2550 ข. ได้ลาออกจากตําแหน่งกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ โดยจะมีผลภายหลังจากวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2551 (วันที่ 10 เมษายน 2551) ได้มมี ติแต่งตัง้ กรรมการใหม่ทดแทน * นับรวมจํานวนหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 4

กรรมการ กรรมการบริหาร และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บจ. ดิจติ อล โฟน รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ บจ. ชินวัตรอินเตอร์เนชั ่นแนล กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ.ชินแซทเทลไลท์ กรรมการบริหาร และกรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั ่น ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั ่น ผูอ้ าํ นวยการส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั ่น ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการเงินอาวุโส บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั ่น ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการด้านการเงิน บล.เจ เอฟ ธนาคม ผูจ้ ดั การฝา่ ยจัดหาเงินทุนโครงการ บมจ.ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั ่น กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีว ี กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท์ รองประธานกรรมการบริหารด้านนโยบาย กลุ่มชินวัตร รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ IBC Cable TV ผูจ้ ดั การทั ่วไป IBC Cable TV ผูจ้ ดั การอาวุโส ฝา่ ยพัฒนาธุรกิจ กลุ่มชินวัตร ผูอ้ าํ นวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษทั GE Aerospace รัฐ New York, USA ผูจ้ ดั การฝา่ ยผลิตวัสดุ Ga As IC บริษทั Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey USA

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร (ข้อมูล ณ 23 มกราคม 2551) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร

นายวิเชียร เมฆตระการ

53

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ

0.0003

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟ้า (เกียรตินิยม) California Polytechnic State University

ประสบการณ์ทาํ งาน

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) -

ั บนั 2549 - ปจจุ 2546 - 2549 2543 - 2546 2542 - 2543 2540 - 2542

2539 - 2540

นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล

55

ไม่ม ี

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหาร ด้านการตลาด

ไม่ม ี

ปริญญาโท ปริญญาโท

นางสุวมิ ล แก้วคูณ 4)

52

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหาร ด้านการบริการลูกค้า

0.0038

ไม่ม ี

ปริญญาโท ประกาศนียบัตร

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

บริหารธุรกิจ เอเชียน อินสติตวิ ท์ ออฟ แมเนจเม้นท์ ฟิลปิ ปินส์ หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง ฮาร์วาร์ด บิสซิเนส สคูล บอสตัน สหรัฐอเมริกา

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 35/2548

2538 - 2539 ั บนั 2550 - ปจจุ ั บนั 2549 - ปจจุ 2547 - 2549 2547 - 2547 2545 - 2547 2544 - 2545 2540 - 2544

-

2539 - 2540 ั บนั 2550 - ปจจุ

2549 - 2550 2545 - 2549 2538 - 2545 2525 - 2537 2523 - 2524 4)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็นหัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้า เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2550

* นับรวมจํานวนหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 5

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ สายงานปฏิบตั กิ าร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานด้านเทคนิค บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานปฏิบตั กิ ารและบํารุงรักษาเครือข่าย เขตนครหลวง บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานปฏิบตั กิ ารและบํารุงรักษาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูจ้ ดั การสํานักพัฒนาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. ดิจติ อล โฟน หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการตลาด บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ.สามารถ ไอ-โมบาย กรรมการผูจ้ ดั การ บจ.แคปปิตอล โอเค กรรมการและรองประธานกรรมการบริหาร บมจ.ไอทีว ี กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.ไอทีว ี รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการอาวุโส สายงานการตลาดและการขาย บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูจ้ ดั การ บจ.ชินวัตร ไดเร็คทอรีส่ ์ หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้า บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น กรรมการ บจ. เพย์เม้นท์ โซลูช ั ่น กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. แคปปิตอล โอเค หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้าและธุรกิจเครื่องลูกข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติง้ กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. โรบินสัน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ ทีป่ รึกษาอาวุโส ด้านธุรกิจ บจ. อัลลายด์ แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์ ออฟ เอเชีย

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร (ข้อมูล ณ 23 มกราคม 2551) ชื่อ - สกุล

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร

45

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

0.0000

ไม่ม ี

ด้านการเงิน

* นับรวมจํานวนหุ้นของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

ปริญญาโท

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD)

การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-

เอกสารแนบ 1 หน้ า 6

ั บนั 2544 - ปจจุ 2541 - 2544 2537 - 2541

ประสบการณ์ทาํ งาน

ประวัติการทําผิดทาง กฏหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Co., Ltd. Financial Director, Shinawatra Paging Co., Ltd. Financial Director, Pager Sales Co., Ltd.

- ไม่ม ี -


บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 (1): รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริษทั ใหญ่ บริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูล ณ 5 กุมภาพันธ์ 2551 รายชื่อบริษทั 1)

รายชื่อกรรมการและผูบ้ ริหาร

บริ ษัท บริ ษัท ใหญ่

บริ ษทั ย่อย

บริ ษทั ร่วมและบริ ษทั ที่ เกี่ ยวข้อง

SHIN ADVANC MFA ADC DLT DNS DPC ACC AMP AMC AWN SBN AIN WDS SATTEL SBI

1. ดร. ไพบูลย์ ลิมปพยอม 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทกั ษ์ 3. นางทัศนีย ์ มโนรถ 4. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ 5. นายวาสุกรี กล้าไพรี 6. นายศุภเดช พูนพิพฒั น์ 2) 7. นาย ยีน ควน มูน 8. นาย แอเลน ลิว ยง เคียง 9. นายสมประสงค์ บุญยะชัย /,// 10. ดร.ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์ // 3) // 11. นายวิกรม ศรีประทักษ์ 3) // 12. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข 13. นายวิเชียร เมฆตระการ 14. นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล 4) // 15. นางสุวมิ ล แก้วคูณ 16. นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์ X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ,

x / / / / / / / /,// /,// x x // /,// / / /,// / / / // = กรรมการบริหาร

x / / /

/ x / /

/ x / / / -

/ / x / /

x / /

x / / /

x / / /

x / / /

x / / /

x / / /

/,// /,// /,// -

x -

CSL LoxInfo TMC ADV SHINEE HUNSA

/,// -

-

x,// -

-

-

-

SODA WATTA NTU SHEN CAM LTC IPSTAR IPA MAG

-

-

/ -

x,// -

x -

-

/ -

-

IPN

-

IPB STAR SPACE IPI

-

/ -

/ -

/ -

IPG

ITV

AM

MC

MB

PS

ITAS

/ -

-

-

-

/ / -

/ -

/ / -

1) นับรวมทัง้ การถือหุน้ ทางตรงและทางอ้อม 2) ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นกรรมการเมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2551 3) ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นกรรมการและกรรมการบริหารเมือ่ วันที่ 11 พฤษภาคม 2550 4) ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นหัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้าเมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2550

รายชื่ อบริ ษัท

ACC

บริ ษัท แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จํากัด

HANSA

บริ ษัท หรรษาดอทคอม จํากัด

ADC ADV ADVANC AIN AM AMC AMP AWN CAM CSL DLT DNS DPC

บริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิ วนิ เคชัน่ ส์ จํากัด บริ ษัท เอดี เวนเจอร์ จํากัด บริ ษัท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) บริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด บริ ษัท อาร์ตแวร์ มี เดี ย จํากัด บริ ษัท แอดวานซ์ เมจิ คการ์ด จํากัด บริ ษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด บริ ษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด บริ ษัท กัมพูชา ชิ นวัตร จํากัด บริ ษัท ซี เอส ล็อกซอิ นโฟ จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ดาต้า ลายไทย จํากัด บริ ษัท ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนั ่ ส์ จํากัด บริ ษัท ดิ จิตอล โฟน จํากัด

IPA IPB IPG IPI IPN IPSTAR ITAS ITV LoxInfo LTC MB MC MFA

บริ ษัท ไอพี สตาร์ ออสเตรเลี ย พี ทีวาย จํากัด บริ ษัท ไอพี สตาร์ ดู บราซิ ล จํากัด บริ ษัท ไอพี สตาร์ โกลเบิ ล เซอร์วิส จํากัด บริ ษัท ไอพี สตาร์ อิ นเตอร์เนชัน่ แนล พี ทีอี จํากัด บริ ษัท ไอพี สตาร์ นิ วซี แลนด์ จํากัด บริ ษัท ไอพี สตาร์ จํากัด บริ ษัท ไอ.ที . แอพพลิ เคชัน่ ส์ แอนด์ เซอร์วิส จํากัด บริ ษัท ไอที วี จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ล็อกซเล่ย์ อิ นฟอร์เมชัน่ เซอร์วิส จํากัด บริ ษัท ลาว เทเลคอมมิ วนิ เคชัน่ ส์ จํากัด บริ ษัท แมทช์ บอกซ์ จํากัด บริ ษัท มี เดี ย คอนเน็คซ์ จํากัด บริ ษัท โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จํากัด

NTU PS SATTEL SBI SBN SHEN SHIN SHINEE SODA MAG SPACE STAR TMC WATTA WDS

บริ ษัท เอ็นที ยู (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษัท เพย์เมนท์ โซลูชนั ่ จํากัด บริ ษัท ชิ นแซทเทลไลท์ จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ชิ นบรอดแบนด์ อิ นเตอร์เนต (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด บริ ษัท เชนนิ งตัน อิ นเวสเม้นท์ส พี ทีอี จํากัด บริ ษัท ชิ น คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ชิ นนี่ ดอทคอม จํากัด บริ ษัท โซดาแม็ก คอร์ป จํากัด สเปซโคด แอล แอล ซี บริ ษัท สตาร์ นิ วเคลี ยส จํากัด บริ ษัท เทเลอิ นโฟ มี เดี ย จํากัด (มหาชน) บริ ษัท วัฏฏะ คลาสสิ ฟายด์ส จํากัด บริ ษัท ไวร์เลส ดี ไวซ์ ซัพพลาย จํากัด


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 : (1) สัญญาและใบอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการหลักๆ ของบริษทั และบริษทั ย่อย สามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) (ADVANC) ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานจาก ทีโอที ทีไ่ ด้ลงนามร่วมกันกับ ADVANC เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอ้ ตกลง ต่อท้ายสัญญาหลัก 7 ครัง้ ดังต่อไปนี้ ครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 16 เมษายน 2536 ครัง้ ที่ 3 เมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครัง้ ที่ 4 เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2539 ครัง้ ที่ 5 เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ข้อตกลงเรือ่ งการแสวงหาประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณ) ครัง้ ที่ 6 เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ข้อตกลงเกีย่ วกับ การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบใช้บตั รจ่ายเงินล่วงหน้า Prepaid Card มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2544) และครัง้ ที่ 7 เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและข้อตกลงแนบท้ายสรุปได้ดงั นี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูส่ ญ ั ญา

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (ADVANC)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

25 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ : ดําเนินการภายใต้สญ ั ญาร่วม การงาน

ADVANC ได้รบั อนุ ญาตจาก ทีโอที ในลักษณะของสัญญาแบบ สร้าง-โอนให้บริการ โดยให้มสี ทิ ธิดาํ เนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทัง้ ระบบอนาลอก NMT และดิจติ อล GSM ในย่านความถี่ 900 MHz (ซึง่ ต่อไปนี้จะรวมเรียกว่า “ระบบ Cellular 900”) ทัวประเทศ ่ แบบคู่ขนานกันไป โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในรูปแบบส่วนแบ่งรายได้ตามอัตราที่ ตกลง มีกาํ หนด 20 ปี นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึง่ เป็ นวันแรกทีเ่ ปิดดําเนินการ

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

ADVANC ตกลงทีจ่ ะดําเนินการดังต่อไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ระบบ Cellular 900 ทัง้ หมด ซึง่ ประกอบด้วยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหล่พร้อมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการดําเนินงาน

การจัดสรรย่านความถี่

:

ทีโอที ต้องจัดหาย่านความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ให้กบั ADVANC สําหรับให้บริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิการส่ง มอบและรับมอบทรัพย์สนิ

:

ADVANC จะต้องโอนทรัพย์สนิ รวมทัง้ อะไหล่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ให้เป็ น กรรมสิทธิของทีโอที เมือ่ ติดตัง้ อุปกรณ์แล้วเสร็จ โดย ทีโอที ยินยอมให้ ADVANC ครอบครองทรัพย์สนิ ดังกล่าว เพือ่ ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ ตลอดอายุสญ ั ญา

เอกสารแนบ 3 หน้า 1


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การประกันภัย ทรัพย์สนิ

:

ADVANC ต้องทําประกันภัยประเภทคุม้ ครองการเสีย่ งภัยทุกชนิด และเต็มมูลค่า ของทรัพย์สนิ นัน้ ๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรม์ประกันภัยหมดอายุ ก่อนวันสิน้ สุดของสัญญา ADVANC ต้องต่ออายุกรมธรรม์ฉบับเดิม หรือนํา กรมธรรม์ฉบับใหม่มามอบให้ ทีโอที ก่อนวันทีก่ รมธรรม์เดิมจะหมดอายุไม่น้อย กว่า 30 วัน

ผลประโยชน์ ตอบแทนของสัญญา

:

ADVANC ตกลงให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ ทีโอที เป็ นร้อยละของรายได้ก่อน หักค่าใช้จา่ ยและภาษี และผลประโยชน์ดงั กล่าวต้องไม่ต่าํ กว่าผลประโยชน์ขนั ้ ตํ่าที่ กําหนดตลอดระยะเวลาสัญญา 20 ปี ตารางอัตราแสดงผลประโยชน์ตอบแทนมี ดังนี้

การยกเลิกสัญญา

:

ปี ที่

ให้ผลประโยชน์ เป็ นร้อยละของ รายได้ก่อนหักค่าใช้จ่ายและภาษี

ผลประโยชน์ ขนั ้ ตํา่ (บาท)

รายได้ประจํางวด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53

ทีโอทีมสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ทนั ที และมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ให้ผอู้ ่นื ดําเนินการต่อโดย ADVANC ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้แก่ ทีโอที และให้ ทรัพย์สนิ ต่างๆ ตกเป็ นกรรมสิทธิของ ทีโอที ทันที หากการดําเนินงานของบริษทั มีเหตุให้ ทีโอที เชื่อว่า ADVANC ไม่สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให้ลุล่วงไป ได้ดว้ ยดี หรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อหนึ่งข้อใด และข้อผิดสัญญาดังกล่าวบริษทั มิได้ ดําเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งถึงข้อผิดสัญญา จาก ทีโอที เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดย ADVANC ไม่มสี ทิ ธิเรียกร้องค่าเสียหายใด ๆ และไม่มสี ทิ ธิเรียกทรัพย์สนิ และเงินคืนจาก ทีโอที แต่อย่างใด ADVANC ไม่มสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญา เว้นแต่กรณีทม่ี เี หตุสดุ วิสยั เกิดขึน้ ทําให้ ADVANC ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้

เอกสารแนบ 3 หน้า 2


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 1) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด : 11 ธันวาคม 2534 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : ในกรณีทต่ี อ้ งเช่าสถานทีข่ องบุคคลอื่นในการติดตัง้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ เอไอเอ จากสัญญาหลัก สต้องทําสัญญาเช่าสถานทีใ่ นนามทีโอทีเดิมให้ทาํ สัญญาโดยมีระยะเวลาเช่า 22 ปี เปลีย่ นเป็ นให้มรี ะยะเวลาเช่าครัง้ ละไม่น้อยกว่าครัง้ ละ 3 ปี จนครบกําหนด 22 ปี เอไอเอส ต้องรับผิดชอบต่อการเปลีย่ นแปลงสถานทีเ่ ช่า หากเกิดค่าใช้จา่ ย หรือ ค่าเสียหายแต่เพียงผูเ้ ดียว ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 2) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด : 16 เมษายน 2536 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : เปลีย่ นชื่อบริษทั จาก บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด เป็ น บริษทั แอด จากสัญญาหลัก วานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 3) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) : 28 พฤศจิกายน 2537 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : 1. เปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูใ่ นการส่งคําบอกกล่าว ทัง้ เอไอเอส และ ทีโอที จากสัญญาหลัก 2. กําหนดหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการจัดเก็บและแบ่งรายได้ ทีโอที ตกลงแบ่งส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามสัญญาหลักให้แก่เอไอ เอสดังนี้ - กรณีโทรไปยังประเทศที่ไม่มพี รมแดนติดต่อกับประเทศไทย ทีโอทีจะจ่าย ส่วนแบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท - กรณีโทรไปยังประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจ่ายส่วนแบ่ง รายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท โดยเอไอเอสมีหน้าที่ ออกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ และนําส่งให้ทโี อที เมือ่ เอไอเอสได้รบั รายได้ จะต้องนํามารวมเป็ นรายได้เพือ่ คํานวณเป็ นส่วน แบ่งรายได้ให้ทโี อทีตามสัญญาหลักข้อ30.เมือ่ ครบรอบปี ดําเนินการด้วย

เอกสารแนบ 3 หน้า 3


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอไอเอส ยินยอมสละสิทธิและยกส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศกับประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทยทีเ่ อไอเอสได้จดั เก็บ และนําส่งให้ทโี อทีแล้วตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ให้แก่ทโี อทีทงั ้ หมด ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 4) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง : 20 กันยายน 2539 ข้อตกลงเพิม่ เติม : 1. ขยายระยะเวลา การอนุญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ปี นับตัง้ แต่ จากสัญญาหลัก วันทีเ่ ริม่ เปิดให้บริการ เป็ น 25 ปี 2. เอไอเอสมีสทิ ธิเป็ นผูล้ งทุนสร้างโครงข่ายระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยง (Transmission Networks) ในสือ่ ตัวนําทุกชนิด เพือ่ เชื่อมโยงกับโครงข่าย ของทีโอทีและโครงข่ายอื่นทีจ่ าํ เป็ น และยกให้เป็ นทรัพย์สนิ ของทีโอที โดยเอ ไอเอส ได้รบั สิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงข่ายทัง้ หมด 3. เอไอเอสมีสทิ ธิใช้ ครอบครอง ระบบสือ่ สัญญาณและทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้จดั หามา โดยไม่ตอ้ งเสียค่าตอบแทนใดๆ 4. มีสทิ ธิแสวงหาประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณในส่วนทีเ่ หลือจากการใช้งาน โดยเอไอเอสเป็ นผูบ้ ริหารผลประโยชน์ดงั กล่าว 5. ในกรณีทบ่ี ุคคลอื่นหรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายเอไอเอส มี สิทธิได้รบั ผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราทีท่ งั ้ สองฝา่ ยตกลงร่วมกัน 6. ยกเลิกเงื่อนไขในสัญญาหลักข้อ 18 ที่ใ ห้สทิ ธิแ ก่ เอไอเอสในการเป็ น ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ต่เพียงผูเ้ ดียว 7. เอไอเอส สามารถให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศผ่านชุมสายของ กสท. ได้โดยตรง ทัง้ นี้ ภายใต้เงือ่ นไขทีจ่ ะไม่ทาํ ให้ ทีโอที ได้รบั รายได้ น้อยลงจากทีเ่ คยได้รบั อยูต่ ามสัญญาหลัก 8. ยกเลิกข้อความตามข้อ 4.3 ในข้อตกลงต่อท้ายครัง้ ที่ 3 โดยเน้นว่า ทีโอที จะ จ่ายส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 3 บาท/นาที ให้เอไอเอส 9. เป็ นการกําหนดอัตราส่วนแบ่งรายได้ท่ี เอไอเอส ต้องจ่ายให้ ทีโอที ในปีท่ี 21-25 ในอัตราร้อยละ 30 ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใด ๆ และเอไอ เอส มีสทิ ธิลดหรือยกเว้นค่าใช้บริการกรณีทม่ี รี ายการส่งเสริมการขายได้ โดย ให้ ชํ า ระส่ ว นแบ่ ง รายได้ ต ามรายการส่ ง เสริม การขายที่ เ รีย กเก็ บ จาก ผูใ้ ช้บริการ 10. ในกรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ของโครงข่ายให้มปี ระสิทธิภาพ เอไอ เอส เป็ นผูล้ งทุนใช้ดว้ ยค่าใช้จา่ ยของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ ต่างๆ ตกเป็ นของ ทีโอที

เอกสารแนบ 3 หน้า 4


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 5) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง : 25 ธันวาคม 2543 ข้อตกลงเพิม่ เติม : 1. เอไอเอสเป็ นผูร้ ว่ มบริหารผลประโยชน์ จากสัญญาหลัก 2. เอไอเอสเป็ นผูเ้ รียกเก็บค่าบริการจากผูใ้ ช้บริการและจ่ายส่วนแบ่ง ผลประโยชน์ให้ทโี อที 3. สัดส่วนผลประโยชน์จากรายได้ระหว่างเอไอเอสกับทีโอที แยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของทีโอที” ตลอดอายุสญ ั ญา ทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 25 เอไอเอส ได้รบั ในอัตราร้อยละ 75 3.2 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของเอไอเอส” ตลอดอายุสญ ั ญา ทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 22 เอไอเอสได้รบั ในอัตราร้อยละ 78 4. เอไอเอสและทีโอทีจะต้องทําการตลาดร่วมกัน และ ไม่ทาํ การตลาดทีเ่ ป็ น การแย่งผูใ้ ช้บริการในโครงข่ายทีโอที 5. เอไอเอสจะต้องเป็ นผูจ้ ดั ทําและลงนามในสัญญาเช่าใช้ระบบสือ่ สัญญาณกับ ผูใ้ ช้บริการทุกราย และทํารายงานการเช่าส่งให้ ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลง วันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 6) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

วันที่ 15 พฤษภาคม 2544

ข้อตกลงเพิม่ เติม จากสัญญาหลัก

:

การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบใช้บตั รจ่ายเงินล่วงหน้า (Prepaid card) 1. เอไอเอสตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราร้อยละ 20 ของมูลค่าหน้าบัตร (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ให้แก่ทโี อทีสาํ หรับบัตรทีจ่ าํ หน่ายได้เป็นรายเดือน ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในปี ท่ี 11-15 ของสัญ ญาหลัก เอไอเอสจะต้ อ งลดราคาค่ า บริ ก ารให้ ผู้ใ ช้บ ริก ารในอัต ราเฉลี่ย โดยรวมของแต่ ล ะปี ไ ม่ น้ อ ยกว่า ร้อ ยละ 5 ของ ค่าบริการที่ผใู้ ช้บริการต้องชําระในปี ท่ี 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแต่ ละปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของค่าบริการที่ผู้ใช้บริการต้องชําระในปี ท่ี 11 สําหรับปีท่ี 16 – ปีท่ี 25 ของปีดาํ เนินการตามสัญญาหลัก

เอกสารแนบ 3 หน้า 5


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลง วันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 7) บริษทั และ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) (ครัง้ ที่ 7) เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของ บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฯ สามารถสรุปได้ดงั นี้ ชื่อสัญญา

: บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 7)

คูส่ ญ ั ญา

: บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (ADVANC) บริษทั ทศท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (ทีโอที)

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

ข้อตกลงเพิม่ เติม

:

ทีโอที และ ADVANC ประสงค์จะทําความตกลงเกีย่ วกับหลักการเกีย่ วกับการใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming) ของบริษทั และได้มขี อ้ ตกลงร่วมกันในการใช้เครือข่าย ร่วมดังนี้ 1. ทีโอที และ ADVANC ตกลงกันให้ถอื ว่าข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฉบับนี้เป็ น ส่วนหนึ่งของสัญญาหลัก 2. ทีโอที อนุญาตให้ ADVANC นําเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ามสัญญาหลัก ให้ผใู้ ห้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ได้ และตกลง อนุญาตให้ ADVANC เข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผูใ้ ห้บริการ รายอื่นได้เช่นเดียวกัน 3. การใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ตามข้อ 2 ADVANC มีสทิ ธิเรียกเก็บค่าใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศ ่ และ ADVANC มีสทิ ธิจา่ ยค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศ ่ ADVANC ตกลงทําหนังสือแจ้งให้ ทีโอที ทราบเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรก่อนทีบ่ ริษทั จะให้ผใู้ ห้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) และก่อนทีบ่ ริษทั จะเข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผู้ ให้บริการรายอื่น 4. ADVANC ตกลงจ่ า ยเงิน ผลประโยชน์ ต อบแทนจากการใช้เ ครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ให้ ทีโอที โดยมีเงือ่ นไขดังนี้ - ในกรณีทผ่ี ใู้ ห้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในเครือข่าย ของบริษทั บริษทั ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในอัตราร้อย ละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายได้คา่ ใช้เครือข่ายร่วมทีเ่ รียกเก็บจากผู้ ให้บริการรายอื่น - ในกรณีทบ่ี ริษทั เข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผูใ้ ห้บริการรายอื่น บริษทั ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในอัตราร้อยละ (ระบุตาม สัญญาหลัก) ของรายได้คา่ บริการและเงินอื่นใดทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ หักด้วยค่าใช้เครือข่ายร่วมทีบ่ ริษทั ต้องจ่ายให้แก่ผใู้ ห้บริการรายอื่นนัน้

จากสัญญาหลัก

เอกสารแนบ 3 หน้า 6


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บันทึกข้อตกลงการใช้เครือข่ายร่วม (National Roaming) ชื่อสัญญา คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

บันทึกข้อตกลงการใช้เครือข่ายร่วม (National Roaming) : บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) : วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใช้เครือข่าย ร่วม (Roaming)

:

การชําระค่าใช้บริการ

:

การยกเลิกสัญญา

:

คูส่ ญ ั ญาทัง้ สองฝา่ ยมีความประสงค์จะใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อน ทีข่ องแต่ละ ฝา่ ยร่วมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แก่ ผู้ใช้ บริการของ คู่สญ ั ญาทัง้ สองฝ่าย นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็ นต้นไป บริษทั ตกลงให้ DPC เข้ามาใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของบริษทั ได้ทวประเทศ ั่ และนับตัง้ แต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เป็ นต้นไป DPC ตกลงให้บริษัท เข้ามาใช้เครือข่าย โทรศัพท์เคลื่อนทีข่ อง DPC ได้ทวประเทศเช่ ั่ นกัน ทัง้ นี้ ผูใ้ ห้บริการเครือข่ายอาจขอลดพืน้ ทีใ่ ห้บริการเครือข่าย โดยจะต้องแจ้งให้ผขู้ อ ใช้บริการเครือข่ายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 90 วัน หากการลดพื้น ที่ใ ห้บริก ารเครือ ข่ายเป็ น เหตุ ใ ห้ผู้ใ ช้บริก ารของผู้ข อใช้บริก าร เครือข่ายไม่ได้รบั ความสะดวกในการใช้บริการแล้ว ผูข้ อใช้บริการมีสทิ ธิบอกเลิก ข้อตกลงฉบับนี้ได้ 2. คู่ ส ัญ ญาแต่ ล ะฝ่ า ยตกลงชํ า ระค่ า ใช้เ ครือ ข่ า ยร่ ว มอัน เกิด จากการได้ใ ช้ เครือ ข่า ยของคู่ส ญ ั ญาอีก ฝ่า ยหนึ่ ง ในอัต รานาทีล ะ 2.10 บาท (สองบาทสิบ สตางค์) ซึง่ เป็ นอัตราทีย่ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ในการชําระค่าใช้บริการเครือข่ายในแต่ละเดือน ให้นําจํานวนเงินในใบแจ้งหนี้ของ แต่ฝา่ ยมาหักกลบลบหนี้กนั คงเหลือเป็ นยอดเงินสุทธิทต่ี อ้ งชําระโดยฝา่ ยทีม่ คี า่ ใช้ บริการเรียกเก็บน้อยกว่า โดยให้ชาํ ระเป็ นเงินบาท มีกาํ หนดชําระภายใน 15 วัน นับแต่วนั ทีท่ ล่ี งในใบแจ้งหนี้ฉบับสุดท้ายจากผูใ้ ห้บริการเครือข่ายทีไ่ ด้มกี ารหัก กลบลบหนี้กนั ในเดือนนัน้ แล้ว คูส่ ญ ั ญาแต่ละฝา่ ยมีสทิ ธิบอกเลิกบันทึกข้อตกลงโดยแจ้งเป็ นหนังสือให้อกี ฝา่ ย ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน

ใบอนุญาตการให้บริ การอิ นเตอร์เน็ต แบบที่หนึ่ ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/1/025/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2551 (ต่อใบอนุญาตปีต่อปี) เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้แก่ลูกค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอไอเอส มีหน้ าที่ต้องชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ประกาศกําหนดไว้ เอกสารแนบ 3 หน้า 7


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

การยกเลิกใบอนุญาต

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอไอเอส ฝา่ ฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

2. บริ ษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิ วนิ เคชันส์ ่ จํากัด (ADC) ADC ได้รบั อนุ ญาตจาก ทีโอที ให้ดาํ เนินการกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแก้ไขเพิม่ เติม 2 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540 และ 25 กันยายน 2540 โดย สาระสําคัญของสัญญาสรุปได้ดงั นี้

ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (ADC)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาต

:

ADC ได้รบั อนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ ข้อมูลทุกประเภท โดยใช้ระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสือ่ สารข้อมูล อื่นๆ ทัง้ ในระบบจุดต่อจุด (Point to Point) และจุดต่อหลายจุด (Point to Multipoint) ในการให้บริการจัดวงจรเพื่อเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายผูใ้ ห้บริการและ ผูใ้ ช้บริการทัวประเทศ ่ เพือ่ รับส่งข้อมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสือ่ สารข้อมูล ประเภทต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย เพือ่ ให้สามารถพัฒนารูปแบบบริการให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและเทคโนโลยีทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

กรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ

:

ADC ตกลงทีจ่ ะลงทุนในการจัดหาอุปกรณ์ระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตัง้ และ Product Information ของ อุปกรณ์ Datakit และดําเนินการบริการให้เป็ นไปตามทีก่ าํ หนด บรรดาเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ หรือทรัพย์สนิ ที่ ADC ได้กระทําขึน้ หรือจัดหา มาไว้สาํ หรับดําเนินการระบบ Datakit เป็ นกรรมสิทธิ ์ของ ทีโอที หลังติดตัง้ เสร็จ เรียบร้อย ทีโอที ยินยอมให้ ADC แต่เพียงผู้เดียวครอบครองทรัพย์สนิ ดังกล่าว เพือ่ ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์แห่งสัญญานี้ตลอดอายุสญ ั ญา

การประกันภัยทรัพย์สนิ

:

ADC ต้องทําประกันภัยประเภทคุม้ ครองการเสีย่ งภัยทุกชนิด และเต็มมูลค่าของ ทรัพย์สนิ นัน้ ๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรม์ประกันภัยหมดอายุ ก่อนวันสิน้ สุดของสัญญา ADC ต้องต่ออายุกรมธรรม์ฉบับเดิม หรือนํากรมธรรม์ เอกสารแนบ 3 หน้า 8


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

ผลประโยชน์ตอบแทนการให้ : สัมปทาน การยกเลิกสัญญา

:

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ฉบับใหม่มามอบให้ ทีโอที ก่อนวันทีก่ รมธรรม์เดิมจะหมดอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน ADC จะดําเนินการให้มกี ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้านบาท เป็ น 457.52 ล้านบาท โดยออกหุน้ เพิม่ ทุนจํานวน 107.52 ล้านบาท ซึง่ คิดเป็ นร้อยละ 23.5 ของ ทุนจดทะเบียนให้แก่ ทีโอที โดย ทีโอที ไม่ตอ้ งชําระเงินค่าหุน้ แต่อย่างใด ทีโ อที ม ีส ิท ธิ บ อกเลิก สัญ ญาและมีอํ า นาจมอบกิ จ การตามสัญ ญานี้ ใ ห้ ผู้ อ่ื น ดําเนินการต่อ หากการดําเนินงานของ ADC มีเหตุให้ ทีโอที เชื่อว่า ADC ไม่ สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี หรือปฏิบตั ิผดิ สัญญาข้อ หนึ่งข้อใด โดย ADC ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้แก่ ทีโอที และทรัพย์สนิ ต่างๆ ให้ตกเป็ นกรรมสิทธิ ์ของ ทีโอที ADC ไม่มสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญา เว้นแต่กรณีทม่ี เี หตุสดุ วิสยั เกิดขึน้ ทําให้ ADCไม่ สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้

เอกสารแนบ 3 หน้า 9


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบอนุญาตการให้บริ การอิ นเทอร์เน็ต แบบที่หนึ่ ง เลขที่ NTC/MN/INT/ISP/I/022/2548 ผูอ้ นุ ญาต : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

: วันที่ 19 ธันวาคม 2548 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2549 (ต่อใบอนุญาตปีต่อปี)

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ น ของตนเองให้แก่ลกู ค้าโดยตรง ทัง้ นี้ ADC มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า ADC ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตการให้บริ การอิ นเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศและบริ การชุมสายอิ นเทอร์เน็ต แบบที่สอง ที่ มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/002/2549 ผูอ้ นุญาต : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ระยะเวลาของใบอนุญาต

: วันที่ 8 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม 2554

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ ให้บริการ ศูนย์กลางการเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศสําหรับผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ ให้บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบมี โครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้บริการเฉพาะกลุม่ บุคคล ทัง้ นี้ ADC มี หน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุ ญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า ADC ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

เอกสารแนบ 3 หน้า 10


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อตกลงต่อท้ ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการบริ การสื่อสารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch (ครัง้ ที่ 4) บริษทั ฯ และบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได้ลงนามข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สาร ข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch (ครัง้ ที่ 4) เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2547 โดยมีสาระสําคัญของ ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฯ สรุปได้ดงั นี้ ชื่อสัญญา : ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด “ADC” บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) “ทีโอที”

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 29 กันยายน 2547

รายละเอียด

:

ทีโอที และ เอดีซี ตกลงกันตามข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ดังนี้ 1. การกําหนดอัตราค่าเช่าบริการสือ่ สารข้อมูล อัตราค่าธรรมเนียม หรือเรียกเงิน อื่นใดจากผูเ้ ช่าใช้บริการ ให้เป็ นไปตามความเหมาะสมกับสภาวะของตลาด โดย บริษทั ไม่ตอ้ งขอความเห็นชอบจากทีโอที ก่อน 2. ในการดําเนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูล เอดีซจี ะไม่ลงทุนสร้างเครือข่ายเอง จะ เช่าวงจรสือ่ สัญญาณจากทีโอที หรือจากผูร้ ว่ มการงานกับทีโอที เว้นแต่ใน กรณีทท่ี โี อที ไม่สามารถจัดหาวงจรสือ่ สัญญาณให้ได้ เอดีซมี สี ทิ ธิลงทุนสร้าง เครือข่ายเอง หรือมีสทิ ธิเช่าจากผูใ้ ห้บริการ รายอื่นได้ ทีโอที ตกลงให้บริษทั สามารถให้บริการข้อมูลเสริมทางธุรกิจต่างๆ (contents) ได้ เช่น ข้อมูลทางการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ เกมส์ และมัลติมเี ดีย โดยบริษทั ต้องขอ ความเห็นชอบเป็ นหนังสือจากทีโอที

3. บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (มหาชน) สัญญาร่วมการงานระหว่าง DPC กับ กสท. ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานจาก กสท. ทีไ่ ด้ลงนามร่วมกันกับบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ 1 ครัง้ เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 เป็ นต้นไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปได้ดงั นี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ (Personal Communication Network) 1800

คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา

:

16 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 เอกสารแนบ 3 หน้า 11

Digital

PCN


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาต

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

DPC ได้รบั อนุ ญาตจาก กสท. ให้มสี ทิ ธิดาํ เนินกิจการให้บริการวิทยุโทรคมนาคม ระบบเซลลูล่า Digital PCN 1800 ทัวประเทศ ่ (ซึง่ ต่อไปนี้จะรวมเรียกว่า “ระบบ PCN 1800”) ซึง่ DPC ได้รบั โอนสิทธิและหน้าทีจ่ าก TAC ตามสัญญาโอนสิทธิและ หน้าทีต่ ามสัญญา ให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าระหว่างกสท. TAC และ DPC ได้รบั สิทธิในการดําเนินการเป็ นระยะเวลา เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

DPC ตกลงทีจ่ ะดําเนินการดังต่อไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ระบบ PCN 1800 ทัง้ หมด ซึง่ ประกอบด้วยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือข่าย และ ระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหล่พร้อมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการดําเนินงาน - รับผิดชอบซ่อมแซมและบํารุงรักษาเครือ่ งมือ อุปกรณ์ ทรัพย์สนิ และโครงข่าย ที่ DPC จัดหามาในช่วงเวลาทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ดาํ เนินการ

การจัดสรรย่านความถี่

:

กสท. ต้องจัดหาย่านความถีร่ ะหว่าง 1747.9 –1760.5 MHz และ 1842.9-1855.5 MHz ในพืน้ ทีต่ ่างๆ ทัวประเทศให้ ่ กบั DPC สําหรับให้บริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิการส่ง มอบและรับมอบทรัพย์สนิ

:

DPC จะต้องโอนทรัพย์สนิ รวมทัง้ อะไหล่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ให้เป็ นกรรมสิทธิ ของ กสท. เมือ่ ติดตัง้ อุปกรณ์แล้วเสร็จ โดย กสท. ให้สทิ ธิแก่ DPC นําไป ให้บริการระบบ PCN 1800 และใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ตลอด อายุสญ ั ญา

การประกันภัยทรัพย์สนิ

:

DPC ต้องทําประกันภัยประเภทคุม้ ครองการเสีย่ งภัยทุกชนิด และเต็มมูลค่าของ ทรัพย์สนิ นัน้ ๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรม์ประกันภัยหมดอายุ ก่อนวันสิน้ สุดของสัญญา DPC ต้องต่ออายุกรมธรรม์ฉบับเดิม หรือนํากรมธรรม์ ฉบับใหม่มามอบให้ กสท. ก่อนวันทีก่ รมธรรม์เดิมจะหมดอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน

ผลประโยชน์ตอบแทน

:

DPC ตกลงให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ กสท. เป็ นร้อยละของรายได้ก่อนหัก ค่าใช้จา่ ย/1 ภาษี และค่าธรรมเนียมต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนินการให้บริการ ทัง้ นี้ผลประโยชน์ดงั กล่าวต้องไม่ต่าํ กว่าผลประโยชน์ขนั ้ ตํ่าทีก่ าํ หนดตลอด ระยะเวลาสัญญา ตารางอัตราแสดงผลประโยชน์ตอบแทนมีดงั นี้

ปีท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ให้ผลประโยชน์เป็นร้อย รายได้ก่อนหักค่าใช้จา่ ย 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25

ผลประโยชน์ขนั ้ ตํ่า (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000

รายได้ประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51

เอกสารแนบ 3 หน้า 12


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550 12 13 14 15 16

การยกเลิกสัญญา

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

25 25 25 30 30 รวม

580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

:

16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56

สัญญานี้สน้ิ สุดหรือระงับสิน้ ไปด้วยกรณีดงั ต่อไปนี้ - เมือ่ สัญญาครบกําหนด - เมือ่ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจาก DPC ไม่ปฎิบตั ติ ามสัญญา หรือปฎิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อหนึ่งข้อใดและทําให้ กสท. ได้รบั ความเสียหาย และ DPC มิได้ ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งเป็ นหนังสือจาก กสท. - เมือ่ คูส่ ญ ั ญาทัง้ 2 ฝา่ ยตกลงกันเลิกสัญญา - เมือ่ DPC ล้มละลาย - เมือ่ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีท่ี DPC ตกเป็ นผูข้ าดคุณสมบัติ ตาม กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว และ กสท. ได้แจ้งให้ DPC ทราบเป็ นหนังสือล่วงหน้าเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน

/1

ระบบการสือ่ สารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ต่อมาเปลีย่ นชื่อเป็ นระบบ GSM 1800 สัญญาแก้ไขเพิ่ มเติ มสัญญาให้ดาํ เนิ นการให้บริ การวิ ทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ลงวันที่ 26 สิ งหาคม 2542 (ครัง้ ที่ 1) คูส่ ญ ั ญา : การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) วันทีท่ าํ สัญญา

:

บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี

อายุของสัญญา

:

26 สิงหาคม 2542

วันทีส่ ญ ั ญามีผลบังคับใช้

:

30 มิถุนายน 2542

รายละเอียด

:

กสท. อนุ มตั ใิ ห้ปรับลดผลประโยชน์ตอบแทนเพื่อให้เท่าเทียมกับสัญญาให้ดําเนินการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ระหว่าง กสท. กับบริษทั โทเทิล่ แอ๊คเซ็ส คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (แทค) เนื่องจากสัญญาของ ดีพซี ี เป็ นสัญญาทีโ่ อนสิทธิมาจากสัญญา ของบริษทั แทค และปรับเงินประกันรายได้ขนั ้ ตํ่าเพิม่ ขึน้ ดังนี้ 1. ปรับลดผลประโยชน์ตอบแทน ปี ท่ี 1 เป็ น 25%, ปี ท่ี 2-9 เป็ น 20%, ปี ท่ี 10-14 เป็ น 25%, ปีท่ี 15-16 เป็ น 30% 2. ดีพซี ี จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนขัน้ ตํ่าให้ กสท. ตลอดอายุสญ ั ญาจากเดิม 3,599.55 ล้านบาท เป็ น 5,400 ล้านบาท

สัญญาโอนสิ ทธิ และหน้ าที่ระหว่าง DPC และ TAC ชื่อสัญญา : สัญญาโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาให้ดาํ เนินการ คูส่ ญ ั ญา : บริษทั กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (TAC)

เอกสารแนบ 3 หน้า 13


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

วันทีท่ าํ สัญญา กิจการทีไ่ ด้รบั อนุ ญาต

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 TAC ยอมโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลา่ ระหว่าง กสท. กับ TAC “บางส่วน” ให้แก่ DPC โดย กสท. ยินยอมให้ 1. TAC โอนสิทธิและหน้าทีก่ ารให้บริการ PCN 1800/1 บางส่วนเฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. TAC โอนสิทธิการใช้ชอ่ งความถีใ่ ห้แก่ กสท. และ กสท. ตกลงให้ DPC ใช้ ความถีใ่ นช่วงดังกล่าวได้ 3. DPC รับโอนลูกค้าในระบบ จาก บมจ. สามารค คอร์ปอเรชัน่ 4. ถ้าสัญญาระหว่าง DPC กับ กสท. สิน้ สุดลงก่อนสัญญาร่วมการงานสัมปทาน TAC จะได้รบั การพิจารณาให้ดาํ เนินการต่อจาก DPC ก่อนผูอ้ ่นื

: :

ข้อตกลงผ่อนปรนสัญญาให้บริ การ (Agreement to Unwind the Service Provider Agreement) คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด บริษทั สามารถ คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 7 มกราคม 2540

ลักษณะสัญญา

:

DPC ตกลงจ่ายผลตอบแทนให้แก่ TAC เพือ่ ตอบแทนค่าโอนสิทธิและ หน้าทีใ่ น การดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมเซลลูลา่ ค่าใช้อุปกรณ์ และค่าเชื่อม โครงข่าย เป็ นจํานวนเงินประมาณ 5,187.31 ล้านบาท

4. บริ ษทั แอดวานซ์ เมจิ ค การ์ด จํากัด (AMC) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่ 006/2548 ผูอ้ นุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตัง้ แต่วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2548 เป็ นต้นไป

ลักษณะของหนังสืออนุญาต

:

อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด

การยกเลิกหนังสืออนุญาต

:

กระทรวงการคลังมีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า AMC ฝา่ ฝืน หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขในการประกอบกิจการตามที่กระทรวงการคลัง และธนาคารแห่ง ประเทศไทยประกาศกํ า หนด หรือ มีฐ านะการเงิน หรือ การ ดําเนินงานทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไขปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

เอกสารแนบ 3 หน้า 14


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5. บริ ษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (AMP) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่ 003/2548 ผูอ้ นุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตัง้ แต่วนั ที่ 24 มิถุนายน 2548 เป็ นต้นไป

ลักษณะของหนังสืออนุ ญาต

:

อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการ แทนเงินสด

การยกเลิกหนังสืออนุ ญาต

:

กระทรวงการคลังมีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า AMP ฝา่ ฝืน หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขในการประกอบกิจการตามที่กระทรวงการคลัง และธนาคารแห่ ง ประเทศไทยประกาศกํ า หนด หรือ มีฐ านะการเงิน หรือ การ ดําเนินงานทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไขปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

6. บริ ษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (AIN) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริการทีเ่ กีย่ วเนื่องกับ บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตลอดจนบริการโครงข่ายบริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศ ทัง้ นี้ AIN มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า AIN ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

7. บริ ษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (SBN) ใบอนุญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เอกสารแนบ 3 หน้า 15


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 10 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2551 (ต่อใบอนุญาตปีต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ น ของตนเองให้แก่ลูกค้าโดยตรง ทัง้ นี้ SBN มีหน้ าที่ต้องชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิจ การโทรคมนาคม แห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ ก ถอนใบอนุ ญาตก็ ่ ต่อเมื่อปรากฏว่า SBN ฝาฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ตเกต์เวย์ ระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบทีส่ อง ทีม่ ี โครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/008/2550 ผูอ้ นุ ญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 14 ตุลาคม 2555

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ ให้บริการศูนย์กลางการ เชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศ สําหรับผูใ้ ห้บริการ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต ประเภทมีโครงข่าย โทรคมนาคมเป็นของตนเอง ให้บริการจํากัดเฉพาะกลุม่ บุคคล ทัง้ นี้ SBN มี หน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ่ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า SBN ฝาฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที่ 3ก/50/006 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 16 สิงหาคม 2550 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2570

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการโทรคมนาคมแก่บุคคลทัวไป ่ ประเภทบริการโทรศัพท์ ประจําที่ บริการวงจรร่วมดิจติ อล บริการพหุสอ่ื ความเร็วสูงและบริการเสริม มี โครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ทัง้ นี้ SBN มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

เอกสารแนบ 3 หน้า 16


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

การยกเลิกใบอนุญาต

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ ก ถอนใบอนุ ญาตก็ ่ ต่อเมื่อปรากฏว่า SBN ฝาฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

เอกสารแนบ 3 หน้า 17


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 (2) ความเห็นของคณะกรรมการอิ สระและคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน

เอกสารแนบ 3 หน้า 18


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 3 หน้า 19


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 หน้า 20


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 หน้า 21


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2550

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิ น

เอกสารแนบ 3 หน้า 22


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.