Form 56 1 2008

Page 1

แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (Executive Summary)

หน้ า ส่วนที่ 1 หน้า

1

ส่วนที่ 2 บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ 1. ปั จจัยความเสีย่ ง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ 4. การวิจยั และพัฒนา 5. ทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ข้อพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสร้างเงินทุน 9. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหว่างกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ข้อมูลอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง

ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า ส่วนที่ 2 หน้า

1 2 15 31 49 51 68 73 76 87 114 119 130 153

ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล เอกสารแนบ 1 ประวัตผิ บู้ ริหารและผูม้ อี าํ นาจควบคุมของบริษทั เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ใหญ่ บริษทั บริษทั ย่อย และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง (2) รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่อย เอกสารแนบ 3 (1) (2) (3) (4)

รายละเอียดสัญญาร่วมการงาน ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน


บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 1 ประวัติผูผ้บู ริหารและผู้มีอาํ นาจควบคุมของบริษทั


บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริษทั ใหญ่ บริษทั บริษทั ย่อย และบริษทั ที่เกี่ยวข้อง (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษทั ย่อย


บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 3 (1) รายละเอียดสัญญาร่วมการงาน (2) ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการ ระหว่างกัน (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) ลักษณะการดําเนิ นธุรกิ จ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ "ADVANC” หรือ "เอไอเอส” ) เป็ นบริษทั จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตัง้ แต่วนั ที่ 5 พฤศจิกายน 2534 ดําเนินธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดย บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมทําสัญญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ที โอที) เป็ นระยะเวลา 25 ปี ตัง้ แต่ปี 2533 สิน้ สุดปี 2558 บริษทั ฯได้ให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นย่านความถี่ 900 MHz ใน ระบบดิจติ อล GSM (Global System for Mobile Communication) ผลิตภัณฑ์และบริการหลักทีบ่ ริษทั ฯ ให้แก่ลกู ค้าคือ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ งั ้ ในระบบชําระค่าบริการรายเดือน (โพสต์เพด) ภายใต้ชอ่ื “เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ์” และ ระบบเติมเงิน (พรี เพด) ภายใต้ชอ่ื “เอไอเอส วัน-ทู-คอล!” นอกจากนี้ ยังมีบริษทั ย่อย คือ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ประกอบธุรกิจให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงาน แบบบีทโี อ (BTO: Build-Transfer-Operate) กับบริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เป็ นระยะเวลา 16 ปี ตัง้ แต่ปี 2540 สิน้ สุดปี 2556 ปั จจุบนั บริษทั ฯ มีการลงทุนในบริษทั ในเครือทัง้ หมด 11 บริษทั ดังต่อไปนี้ 1. บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ GSM 1800 MHz 2. บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซี) ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ และผ่านเส้นใยแก้วในการสือ่ นําข้อมูล (Optical fiber) 3. บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (ดีเอ็นเอส) ให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในเขตต่างจังหวัด ปั จจุบนั หยุดดําเนินงานและอยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี 4. บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซ)ี ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call Center) 5. บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) ให้บริการชําระค่าสินค้าหรือบริการผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 6. บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จํากัด (เอเอ็มซี) จัดจําหน่ายบัตรแทนเงินสด 7. บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 8. บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่าย โทรคมนาคม ได้แก่ บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเตอร์เน็ตระหว่างประเทศและบริการชุมสาย อินเตอร์เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศน์ผา่ นเครือข่าย อินเตอร์เน็ต (IP Television) 9. บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส) นําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์ โทรคมนาคม 10. บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ให้บริการโทรคมนาคม โครงข่ายโทรคมนาคม และระบบคอมพิวเตอร์ ปั จจุบนั ได้รบั ใบอนุ ญาตให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) แบบที่ 1 และใบอนุ ญาตให้บริการ โทรคมนาคมแบบที่ 3 จาก กทช. 11. บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) ปั จจุบนั ได้หยุดดําเนินธุรกิจ ส่วนที่ 1 หน้า 1


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ปัจจัยความเสี่ยง บริษทั ฯ มีปัจจัยความเสีย่ งทีส่ าํ คัญ ได้แก่ -

ความเสีย่ งด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบาย ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานการณ์การตลาดและการแข่งขัน ความเสีย่ งด้านระบบปฏิบตั กิ าร ความเสีย่ งด้านเทคโนโลยี ความเสีย่ งด้านการเงิน ความเสีย่ งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ความเสีย่ งหากบริษทั ฯ กลายเป็ น “คนต่างด้าว” ความเสีย่ งในคดีทบ่ี ริษทั ฯ ไม่ได้เป็ นคูค่ วามโดยตรง และ ความเสีย่ งจากการดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมภายหลังสิน้ สุดระยะเวลาตามสัญญาอนุ ญาตให้ดําเนินกิจการ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในปี 2558

(ดูรายละเอียดแสดงในหัวข้อ 1 “ปั จจัยความเสีย่ ง”) สรุปฐานะการเงิ น (หน่ วย: ล้านบาท) รายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ รายได้จากการขายเครือ่ งโทรศัพท์และซิมการ์ด รายได้รวม กําไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม (EBITDA) กําไรสุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์รวม หนี้สนิ รวม กําไรสะสม รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน เงินลงทุนในสินทรัพย์โครงข่าย กระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน (Free Cash Flow)** อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบีย้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชําระหนี้ (เท่า) อัตราส่วนเงินกูส้ ทุ ธิต่อกําไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม (เท่า) อัตราส่วนเงินกูต้ ่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) Free Cash Flow Yield (%) อัตราส่วนผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ - Return on Equity (%)

2549 76,053 15,375 91,428 42,284 16,256 22,893 88,893 134,301 56,702 52,330 77,599 35,027 20,097 13,825 15 3.3 0.48 0.43 0.73 4.8% 21%

2550 94,810* 13,644 108,454 43,684 16,290 20,586 87,088 128,942 53,481 49,999 75,461 35,698 17,105 18,748 15 4.5 0.50 0.40 0.71 6.8% 21%

2551 99,586* 11,206 110,792 46,406 16,409 26,958 81,189 128,081 54,646 47,755 73,436 36,721 12,586 25,395 17 3.7 0.39 0.47 0.74 10.3% 22%

* รายได้ในปี 2550 เป็ นต้นไป มีการบันทึกรายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่ายรวมอยู่ดว้ ย ** กระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน (Free cash flow) = กําไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษีและค่าเสือ่ ม (EBITDA) - ภาษี – เงินลงทุนในสินทรัพย์โครงข่าย

ส่วนที่ 1 หน้า 2


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ ชือ่ บริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์

:

ชือ่ ย่อหลักทรัพย์

:

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) หรือ ชือ่ ภาษาอังกฤษ ”Advanced Info Service Public Company Limited” ADVANC

วันทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ :

5 พฤศจิกายน 2534

มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด

:

235,458,293,986.50 บาท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551)

ทุนจดทะเบียน

:

4,997,459,800.00 บาท

ทุนจดทะเบียนชําระแล้ว

:

2,961,739,547.00 บาท

จํานวนผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมด

:

6,554 ราย (ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2551)

% Free float

:

35.99% (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551)

ประเภทธุรกิจ

:

ทีต่ งั ้ สํานักงานใหญ่

:

- ประกอบธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นย่านความถี่ 900 MHz ในระบบดิจติ อล GSM (Global System for Mobile Communication) - ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นย่านความถี่ 1800 MHz ในระบบดิจติ อล GSM 1800 - นําเข้าและจัดจําหน่ายอุปกรณ์โทรศัพท์เคลือ่ นที่ - ให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์และสาย Optical Fiber - ให้บริการชําระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ - จําหน่ายบัตรแทนเงินสด - ศูนย์ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ - ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เป็ นต้น 414 อาคารชินวัตร ทาวเวอร์ 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษทั ฯ

:

บมจ. 0107535000265 (เดิมเลขที่ บมจ. 59)

Home Page

:

http://www.ais.co.th

โทรศัพท์

:

(66) 2299-6000

โทรสาร

:

(66) 2299-5165

ชือ่ ย่อของหลักทรัพย์

:

AVIFY

วิธกี ารซือ้ ขาย

:

ซือ้ ขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter: OTC)

นายทะเบียน

:

The Bank of New York Mellon

อัตราส่วน (ADR to ORD)

:

1:1

หมายเลข ADR CUSIP

:

00753G103

American Depositary Receipt:

ส่วนที่ 2 หน้า 1


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

1.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ปัจจัยความเสี่ยง

ในปั จจุบนั สถานการณ์ต่าง ๆ ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงไปอย่างมากและรวดเร็ว การบริหารความเสีย่ งจึงเป็ นสิง่ ทีม่ ี ความสําคัญช่วยให้บริษทั ฯ สามารถอยู่รอดได้เมือ่ มีเหตุการณ์ทไ่ี ม่คาดคิดเกิดขึน้ ดังนัน้ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ต้องมีกลไกการบริหารงานสร้างความแข็งแกร่งและเตรียมการรับมือไว้รอบด้านเป็ นการล่วงหน้าเพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถ ดํารงอยู่ได้ตลอดไป ในปี 2551 ทีผ่ า่ นมา การดําเนินธุรกิจด้านโทรคมนาคมในประเทศไทยมีเหตุการณ์ความผันผวนจากปั จจัยความ เสีย่ งต่าง ๆ ได้แก่ ปั ญหาทางด้านเศรษฐกิจจากราคานํ้ามันทีข่ น้ึ สูงในช่วง 3 ไตรมาสแรก ปั ญหาทางด้านการเมือง วิกฤติ ทางการเงินโลก เป็ นต้น บริษทั ฯ ในฐานะทีม่ สี ดั ส่วนทางการตลาดมากเป็ นอันดับหนึ่งในประเทศไทย ได้มงุ่ ให้ความสําคัญ กับการบริหารความเสีย่ งขององค์กร โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ มีประธานกรรมการบริหารของบริษทั ฯ เป็ น ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหารและผูบ้ ริหารระดับสูงเป็ นกรรมการ รวม 13 ท่าน ซึง่ ในปี 2551 คณะกรรมการได้มกี ารประชุม 4 ครัง้ โดยพิจารณาแจกแจงความเสีย่ งครอบคลุมทัง้ องค์กร จัดอันดับความ เสีย่ ง กําหนดแนวทางการบริหารความเสีย่ ง มอบหมายผูร้ บั ผิดชอบจัดให้มมี าตรการควบคุมและจัดการความเสีย่ งให้อยูใ่ น ระดับทีย่ อมรับได้ เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้ าหมายและกลยุทธ์ทก่ี ําหนดไว้ และสร้างความเชือ่ มันให้ ่ กบั ผูถ้ อื หุน้ และผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสีย รวมทัง้ ได้มกี ารทบทวนความเสีย่ งของบริษทั ฯ อย่างสมํ่าเสมอว่า บริษทั ฯ มีความเสีย่ งด้านใดบ้างที่ เพิม่ ขึน้ หรือเปลีย่ นแปลงไป วิกฤตเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้สง่ ผลกระทบอย่างไรต่อผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องต่าง ๆ ของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการติดตามผลสําเร็จของการบริหารความเสีย่ ง โดยพิจารณาจากแผนงานของ ฝ่ ายจัดการทีร่ บั ผิดชอบในปั จจัยความเสีย่ งต่าง ๆ และผลของการวัดผลทีเ่ ชื่อถือได้ของการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน และใน การประชุมทุกครัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะกําหนดให้ฝ่ายจัดการทีร่ บั ผิดชอบรายงานผลการบริหารความเสีย่ งที่ ได้แจกแจงไว้จากรอบการประชุมครัง้ ก่อน รวมทัง้ มีการพิจารณาว่าระดับความเสีย่ งลดลงหรือไม่ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้การบริหาร ความเสีย่ งมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้นําเสนอผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารรับทราบ เพือ่ ให้มกี ารจัดการความเสีย่ งและติดตามอย่างใกล้ชดิ และมั ่นใจ ได้วา่ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้ าหมายทีก่ าํ หนดไว้ ซึง่ สรุปปั จจัยความเสีย่ งทีอ่ าจ ส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ดังต่อไปนี้ 1.ความเสี่ยงทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบาย 1.1 การจัดสรรคลื่นความถี่สาํ หรับการประกอบกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT2000 หรือ 3G คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) มีนโยบายในการดําเนินการจัดสรรคลืน่ ความถีใ่ นช่วง 1920 MHz – 1965 MHz คูก่ บั 2110 MHz – 2155 MHz และ 2010 MHz – 2025 MHz เพือ่ นํามาใช้ในการให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ IMT2000 หรือ 3G โดยว่าจ้างทีป่ รึกษาโครงการเพือ่ ศึกษาและเสนอแนะหลักเกณฑ์และวิธกี าร จัดสรรคลืน่ ความถีท่ เ่ี หมาะสมและมีประสิทธิภาพสําหรับประเทศไทย ซึง่ กทช.ได้จดั ประชุมรับฟั งความคิดเห็นสาธารณะ จากผูป้ ระกอบการและประชาชนทัวไปทั ่ ง้ ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคเสร็จสิน้ ไปแล้วหลายครัง้ ทัง้ นี้ คณะทีป่ รึกษาโครงการได้เสนอรายงานผลการศึกษาให้แก่ กทช. พิจารณาโดยมีสาระสําคัญดังนี้ ก.วิ ธีการจัดสรรคลื่นความถี่ เสนอให้ใช้วธิ กี ารประมูล (Auction) แก่ผทู้ เ่ี สนอราคาสูงสุด แต่ผทู้ จ่ี ะมีสทิ ธิเข้า ประมูลจะต้องผ่านการพิจารณาถึงคุณสมบัตเิ บือ้ งต้นตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนด (Pre Qualification) เสียก่อน ได้แก่ การมี สถานภาพทางกฎหมาย (Legal Personality Requirements), ความแข็งแกร่งทางการเงินทีเ่ พียงพอ (Financial Ability) และการเปิ ดเผยข้อมูลเกีย่ วกับความเป็ นเจ้าของ อํานาจในการควบคุม และบุคคลเกีย่ วโยง (Associational Ties)

ส่วนที่ 2 หน้า 2


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข. จํานวนใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เสนอให้มใี บอนุ ญาตแก่ผปู้ ระกอบการ 4 ราย โดยแบ่งตามจํานวนคลืน่ ความถีท่ ไ่ี ด้รบั การจัดสรร 2 X 10 MHz จํานวน 3 ราย และ 2 X 15 MHz จํานวน 1 ราย แต่ทงั ้ นี้ การพิจารณาว่าจะใช้วธิ ใี ดในการจัดสรรคลืน่ ความถี่ จํานวนของใบอนุ ญาต ตลอดจนหลักเกณฑ์และ เงือ่ นไขต่าง ๆ ย่อมขึน้ อยูก่ บั การพิจารณาของ กทช. ซึง่ คาดว่า กทช.จะพิจารณาและออกประกาศว่าด้วยวิธกี ารจัดสรรและ หลักเกณฑ์การให้ใบอนุ ญาตและดําเนินการจัดสรรคลืน่ ความถีใ่ ห้แล้วเสร็จได้ภายในปี 2552 บริษั ท ฯ คาดการณ์ ว่ า จะมี ผู้ ป ระกอบการให้ บ ริก ารโทรศัพ ท์ เ คลื่อ นที่ ใ นปั จจุ บ ัน รวมทัง้ บริษั ท ฯ เองและ ผูป้ ระกอบการรายใหม่หลายรายสนใจเข้าร่วมขอรับการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ 3G จาก กทช. ซึ่งบริษัทฯ มีความเชื่อมันในศั ่ กยภาพและสถานะทางการเงินของบริษัทฯ ว่ามีคุณสมบัตเิ พียงพอที่จะเข้าร่วมการ จัดสรรคลืน่ ความถีต่ ามหลักเกณฑ์ท่ี กทช. จะกําหนดในครัง้ นี้ได้ อย่างไรก็ตาม หากบริษทั ฯ มิ ได้รบั การจัดสรรคลื่นความถี่ในครัง้ นี้ ย่อมส่งผลกระทบต่อการประกอบ ธุรกิ จของบริ ษทั ฯ ในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ งตามสัญญาอนุญาตให้บริ การฯ ที่ได้รบั จาก บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) จะสิ้ นสุดลงในเดือนกันยายน 2558 และสัญญาฉบับดังกล่าวมิ ได้มีการขยายระยะเวลาของ สัญญาออกไปอีก แต่ถ้าบริ ษทั ฯ ได้รบั การจัดสรรคลื่นความถี่จาก กทช. ในครัง้ นี้ จะส่งผลให้บริ ษทั ฯ สามารถ ประกอบธุรกิ จให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G ได้ตามระยะเวลาที่กาํ หนดไว้ในใบอนุญาตซึ่งจะอยู่ในระหว่าง 15 ปี ถึง 25 ปี 1.2 องค์กรที่ทาํ หน้ าที่กาํ กับดูแลกิ จการด้านโทรคมนาคม และกิ จการวิทยุกระจายเสียง วิ ทยุโทรทัศน์ เมื่อ วัน ที่ 10 มิถุน ายน 2551 คณะรัฐ มนตรีไ ด มีม ติเ ห็น ชอบร่า งพระราชบัญ ญัต ิอ งค กรจัด สรรคลื่น ความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. .... เพื่อให้เป็ นไป ตามมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ทีก่ ําหนดไว้วา่ ให้มอี งค์กรของรัฐทีเ่ ป็ นอิสระองค์กรหนึ่ง ทําหน้ าที่จดั สรรคลื่นความถี่ กํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ภายใต้ เงื่อนไขที่กําหนดไว้ในมาตราดังกล่าวประกอบกับมาตรา 305 (1) ของรัฐธรรมนู ญ ฯ ทําให้มกี ารตรากฎหมายเพื่อจัดตัง้ องค์กรที่ทําหน้ าที่กํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมซึ่งต่อไปจะมีเพียงองค์กรเดียว คือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศ น์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในการประชุม คณะรัฐมนตรีดงั กล่าวมีประเด็นสําคัญ หลาย ประการทีต่ อ้ งทําให้ศกึ ษาและทบทวนใหม่ เนื่องจากต้องมีความชัดเจนในเรือ่ งอํานาจหน้าที่ การสรรหา การตรวจสอบ และ การคานอํานาจขององค์กร โดยขณะนี้ร างพระราชบัญญัตดิ งั กล าวอยู ในระหว างการดําเนินการเพื่อนําเสนอต อสภาผู แทนราษฎร ซึ่งคาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งในการจัดตัง้ องค์กรดังกล่าว อันจะส่งผลต่อความชัดเจนในการ กําหนดทิศทางกิจการโทรคมนาคมและวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ของประเทศ อย่างไรก็ตาม กทช. ซึง่ เป็ นองค์กรอิสระทีท่ าํ หน้าทีก่ าํ กับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ยังคงอยูแ่ ละมี อํานาจตามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการโทรคมนาคม และพระราชบัญญัตอิ งค์กรจัดสรรคลืน่ ความถี่ พ.ศ. 2543 ใน การกําหนดนโยบาย และออกกฎระเบียบต่าง ๆ ประกอบกับ มาตรา 305 (1) ของรัฐธรรมนูญฯ ยังกําหนดมิให้กฎหมายที่ จะบัญญัตอิ อกมานัน้ กระทบกระเทือนถึงการอนุ ญาตสัญญาร่วมการงาน หรือสัญญาทีช่ อบด้วยกฎหมายทีไ่ ด้กระทําขึน้ ก่อน วันประกาศใช้รฐั ธรรมนูญนี้ จนกว่าการอนุ ญาตสัญญาร่วมการงานหรือสัญญานัน้ จะสิน้ ผล ซึง่ ล่าสุดมีการเสนอให้ใช้วธิ กี าร ออกพระราชบัญญัตฉิ บับใหม่ หรือแก ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัตอิ งค กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกํากับกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 แทนการร่างกฎหมายขึน้ มาทัง้ ฉบับ บริษทั ฯ ไม่สามารถคาดการณ์เกี่ยวกับระยะเวลาในการออกพระราชบัญญัติองค กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกํากับการประกอบกิ จการวิ ทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. .... หรือการแก้ไข พระราชบัญญัติฉบับเดิ ม และการใช้อาํ นาจกํากับดูแล และขอบเขตของการกําหนดนโยบาย อีกทัง้ กฎระเบียบของ กสทช. ที่จะเกิ ดขึน้ ในอนาคต และไม่อาจคาดการณ์ ได้ว่าการจัดตัง้ องค์กรกํากับดูแลอื่นๆ รวมทัง้ การปฏิ รปู ส่วนที่ 2 หน้า 3


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เปลี่ยนแปลงกฎหมายและการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อการประกอบกิ จการ โทรคมนาคมในขอบข่ายที่เป็ นอยู่ รวมทัง้ ฐานะการเงิ น การดําเนิ นงาน และโอกาสทางธุรกิ จของบริ ษทั ฯ หรือไม่ 1.3 สัญญาร่วมการงานระหว่างรัฐกับเอกชนที่กาํ หนดในพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือดําเนิ นการในกิ จการของรัฐ พ.ศ.2535 1.3.1 การแก้ไขเพิ่ มเติ มสัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ตามทีก่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มหี นังสือถึงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความ เห็นเกีย่ วกับการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุ ญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะหว่างบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ซึง่ ในขณะนัน้ มีสถานะเป็ นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย กับ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ภายหลัง จากวันทีพ่ ระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บงั คับแล้ว ว่าได้ ดําเนินการถูกต้องตามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวหรือไม่ และหากการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุ ญาตฯ ดําเนินการไม่ถกู ต้องตาม พระราชบัญญัตดิ งั กล่าว จะมีแนวทางการปฏิบตั ติ ่อไปอย่างไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มบี นั ทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ั ญาอนุ ญาตให้บริการโทรศัพท์เคลื่อน ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (กรณีสญ ทีร่ ะหว่างบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) กับบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน)) เรื่องเสร็จที่ 291/2550 ให้ ความเห็นดังนี้ “…ทีโอทีเข้าเป็ นคู่สญ ั ญาในเรื่องนี้ เป็ นการกระทําแทนรัฐโดยอาศัยอํานาจหน้ าที่ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การ โทรศัพท์แห่งประเทศไทย สัญญาอนุ ญาตฯ ทีเ่ กิดขึน้ จึงเป็ นสัญญาระหว่างรัฐกับเอกชนเพือ่ มอบหมายให้เอกชนดําเนินการ ให้บริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามข้อกําหนดในสัญญาดังกล่าว แต่เมือ่ การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุ ญาตฯ ตามกรณีขอ้ หารือดําเนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการ ให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ ซึง่ มีผลใช้บงั คับในขณะทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุ ญาตฯ เนื่องจากมิได้เสนอเรือ่ งการแก้ไข เพิม่ เติมให้คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอให้คณะรัฐมนตรีซง่ึ เป็ นองค์กรทีม่ อี ํานาจพิจารณา เห็นชอบกับการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแห่งพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวดังทีไ่ ด้วนิ ิจฉัยข้างต้น การแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอนุ ญาตฯ โดย ทีโอที เป็ นคู่สญ ั ญา จึงกระทําไปโดยไม่มอี าํ นาจตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ไขเพิม่ เติม สัญญาอันเป็ นนิตกิ รรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ทีท่ าํ ขึน้ ได้ และข้อตกลงต่อท้าย สัญญาอนุ ญาตฯ ทีท่ าํ ขึน้ นัน้ ยังคงมีผลอยูต่ ราบเท่าทีย่ งั ไม่มกี ารเพิกถอนหรือสิน้ ผลโดยเงือ่ นเวลาหรือเหตุอน่ื หาก คณะรัฐมนตรีซง่ึ เป็ นผูม้ อี าํ นาจตามกฎหมายได้พจิ ารณาถึงเหตุแห่งการเพิกถอน ผลกระทบ และความเหมาะสม โดย คํานึงถึงประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะแล้วว่า การดําเนินการทีไ่ ม่ถกู ต้องนัน้ มีความเสียหายอันสมควรจะต้องเพิก ถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตฯ ทีท่ าํ ขึน้ คณะรัฐมนตรีกช็ อบทีจ่ ะเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ แต่ถ้า คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาแล้วมีเหตุผลความจําเป็ นเพือ่ ประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ และเพือ่ ความต่อเนื่องของ การให้บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีกอ็ าจใช้ดุลพินิจพิจารณาให้ความเห็นชอบให้มกี ารดําเนินการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญา อนุญาตฯ ดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยหน่ วยงานเจ้าของโครงการและคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 เป็ นผูด้ าํ เนินการเสนอข้อเท็จจริง เหตุผล และความเห็นเพือ่ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี” ขณะนี้ ได้มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ขึน้ แล้ว และอยู่ในระหว่างการ ดําเนิ นการตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ และจะได้ทาํ หน้ าที่ตามที่กฎหมายกําหนดต่อไป บริ ษทั ฯ มีความเชื่อมันในหลั ่ กการและเหตุผลของการแก้ไขเพิ่ มเติ มสัญญา หน้ าที่การปฏิ บตั ิ ตาม พระราชบัญญัตินี้ของ ทีโอที และการดําเนิ นธุรกิ จของบริ ษทั ฯ ที่ได้ปฏิ บตั ิ ตามพระราชบัญญัติและข้อตกลงอย่าง ถูกต้อง จะส่งผลให้ประเด็นความเสี่ยงนี้ สามารถคลี่คลายไปในทางที่ดี และเชื่อว่าไม่น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงที่มี ผลกระทบต่อบริษทั ฯ อย่างมีนัยสําคัญ อย่างไรก็ตาม หากการแก้ไขสัญญาร่วมการงานของบริ ษทั ฯ ถูกเพิ กถอน ส่วนที่ 2 หน้า 4


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

อาจมีผลให้อายุสญ ั ญาร่วมการงานสัน้ ลงและ/หรืออาจมีต้นทุนในส่วนแบ่งรายได้ของบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ แบบเติ มเงิ นที่สงู ขึน้ เป็ นต้น 1.3.2 สัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ตามทีก่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารได้มหี นังสือถึงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความ เห็นเกีย่ วกับการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุ ญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะหว่างบริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) กับบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ภายหลังจากวันทีพ่ ระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือ ดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บงั คับแล้วว่าได้ดาํ เนินการถูกต้องตามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวหรือไม่ และหาก การแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุ ญาตฯ ดําเนินการไม่ถกู ต้องตามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว จะมีแนวทางการปฏิบตั ติ ่อไปอย่างไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเรือ่ งการบังคับใช้พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 กรณีสญ ั ญาอนุ ญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ กสท. กับ ดีพซี ี โดยจากบันทึก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งเสร็จที่ 294/2550 ให้ความเห็นโดยสรุปว่า “...การที่ บมจ.โทเทิล่ แอ็คเซส คอมมูนิเคชัน่ (ดีแทค) โอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาให้ดําเนินการให้บริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูล่าร์ ให้แก่ ดีพซี ี และ ดีพซี ี กับ กสท. ได้มกี ารทําสัญญาระหว่างกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 ว่า กสท. ได้อนุ ญาตให้สทิ ธิเอกชนรายใหม่ในการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า โดย กสท. และ ดีพซี ี เป็ นคู่สญ ั ญาและ ไม่ถอื ว่าเป็ นส่วนหนึ่งของโครงการดําเนินการใช้บริการวิทยุคมนาคมฯ ที่ กสท. อนุ ญาตให้แก่ ดีแทค แต่อย่างใด ดีพซี ี จึง ั ญาทีอ่ ยูภ่ ายใต้การดูแลกํากับของ กสท. และจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ กสท. ดีพซี ใี นฐานะทีเ่ ป็ นเอกชนผูเ้ ข้าร่วมงาน เป็ นคูส่ ญ หรือดําเนินงานในกิจการของรัฐจึงต้องปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตใิ ห้เอกชนเข้าร่วมงานฯ เนื่องจาก กสท. ได้มกี ารกําหนด ขอบเขตของโครงการและเอกชนผูด้ ําเนินการให้บริการเป็ นการเฉพาะเจาะจง รวมทัง้ ได้มกี ารให้บริการโครงการไปแล้ว จึง ไม่มีกรณี ท่จี ะต้องประกาศเชิญ ชวนเอกชนเข้าร่วมงาน หรือดําเนิ นการในกิจการของรัฐและการคัดเลือกเอกชนด้วยวิธี ประมูลตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในหมวด 3 การดําเนินโครงการ แต่เป็ นการทีต่ ้องนําบทบัญญัตใิ นหมวด 3 นี้มาใช้บงั คับโดยอนุ โลม เท่าทีไ่ ม่ขดั ต่อสภาพแห่งข้อเท็จจริง โดย กสท. ต้องดําเนินการแต่งตัง้ คณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มาตรา 13 เพื่อดําเนินการ ตามมาตรา 21 คือให้คณะกรรมการนํ าผลการคัดเลือกพร้อมเหตุผล ประเด็นที่เจรจาต่อรองเรื่องผลประโยชน์ ของรัฐ ร่าง สัญญาและเอกสารทัง้ หมดเสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัดเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาภายในเก้าสิบวันนับจาก วันทีค่ ณะกรรมการตัดสินโดยอนุโลมต่อไป ดังนัน้ การดําเนินการจึงอยูใ่ นอํานาจและหน้าทีข่ องคณะกรรมการตามมาตรา 13 ทีจ่ ะพิจารณาตามทีเ่ ห็นสมควร ได้ และ ดีพซี ี ผูไ้ ด้รบั โอนสิทธิและหน้าทีจ่ ากบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) ตามสัญญาให้ ดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ระหว่าง กสท. กับบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) แล้ว ดีพซี ี ย่อมเป็ นผูม้ สี ทิ ธิดาํ เนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมฯ ได้ตามสิทธิและหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั โอน แม้วา่ สัญญาให้ ดําเนินการระหว่าง กสท. กับ ดีพซี ี ทีท่ าํ ขึน้ ใหม่มไิ ด้ดาํ เนินการหรือปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้า ร่วมงานฯ แต่อย่างไรก็ตาม สัญญาทีท่ าํ ขึน้ นัน้ ยังคงมีผลอยูต่ ราบเท่าทีย่ งั ไม่มกี ารเพิกถอนหรือสิน้ ผลโดยเงือ่ นเวลา หรือ เหตุอน่ื ดังนัน้ กสท. และ ดีพซี ี จึงยังต้องมีภาระหน้าทีใ่ นการปฏิบตั ติ ามสัญญาทีไ่ ด้กระทําไว้แล้ว” ขณะนี้ ได้มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการตามมาตรา 13 ขึน้ แล้ว และอยู่ในระหว่างการดําเนิ นการตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ และจะได้ทาํ หน้ าที่ตามที่กฎหมายกําหนดต่อไป ดีพีซี มีความเชื่อมันว่ ่ าประเด็นความเสี่ยงนี้ สามารถคลี่คลายไปในทางที่ดี โดย กสท. และ ดีพีซี ยังคงมี ภาระหน้ าที่ในการปฏิ บตั ิ ตามสัญญาที่ได้กระทําไว้แล้ว อย่างไรก็ตาม สัญญาร่วมการงานของดีพีซีอาจสิ้ นสุดลง หากประเด็นดังกล่าวเป็ นไปในอีกทางหนึ่ ง

ส่วนที่ 2 หน้า 5


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.4 กฎหมายว่าด้วยการใช้และการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) ตามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบการกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติวา่ ด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 บริษทั ฯ ได้ทําสัญญาการเชือ่ มต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมกับบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั ่น จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 และ บริษทั ทรู มูฟ จํากัด ณ วันที่ 16 มกราคม 2550 ซึง่ สัญญาดังกล่าวได้ผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติแล้ว ในระหว่างปี 2550 บริษทั ฯ ได้ให้บริการตามสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมดังกล่าว โดย ณ ขณะนัน้ บริษทั ฯ ยังมิได้เรียกเก็บค่าเชือ่ มโครงข่ายโทรคมนาคมจากคูส่ ญ ั ญาทัง้ สอง และมิได้บนั ทึกรายการทีเ่ กีย่ วข้อง กับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมในงบการเงินระหว่างกาล เนื่องจาก ทีโอที ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้อนุ ญาตได้มหี นังสือแจ้งให้ บริษทั ฯ ทราบว่า บริษทั ฯ มิใช่ผรู้ บั ใบอนุ ญาตทีม่ โี ครงข่ายโทรคมนาคมตามกฎหมาย จึงไม่มสี ทิ ธิเข้าทําสัญญาเชือ่ มต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติวา่ ด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคม พ.ศ. 2549 วันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอที ได้ยน่ื ฟ้ อง กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือ่ ขอเพิกถอนประกาศฯ ดังกล่าว และเมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอที ได้มหี นังสือแจ้งให้บริษทั ฯ ทราบว่า บริษทั ฯ ควรรอให้ศาลมีคาํ พิพากษาเพือ่ ยึดถือเป็ น แนวทางในการปฏิบตั ติ ่อไป และหากบริษทั ฯ ดําเนินการตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติก่อนศาลมี คําพิพากษาถึงทีส่ ดุ ทีโอที จะไม่รบั รูแ้ ละบริษทั ฯ จะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการดําเนินการดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้พจิ ารณาหนังสือของทีโอทีดงั กล่าวและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องประกอบกับความเห็นของที่ ปรึกษากฎหมาย ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เห็นว่าการไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมข้างต้น อาจถือได้ ว่าเป็ นการขัดต่อประกาศ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชือ่ มต่อโครงข่าย บริษทั ฯ จึงได้ตดั สินใจปฏิบตั ติ ามสัญญาการเชือ่ มต่อ โครงข่าย ซึง่ เป็ นไปตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายทีม่ ผี ลใช้บงั คับอยูใ่ นปั จจุบนั โดยออกใบแจ้งหนี้เพือ่ เรียกเก็บค่าเชือ่ มต่อ โครงข่ายจากคู่สญ ั ญา และบันทึกรายการทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามสัญญาทีไ่ ด้ทาํ ไว้ขา้ งต้นไว้ใน งบการเงินสําหรับปี สน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ซึง่ ต่อมาได้มกี ารชําระค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายระหว่างกันแล้ว ตามสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีก่ ําหนดให้บริษทั ฯ ต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที เป็ นรายปี โดยจ่ายเป็ นจํานวนเงินขัน้ ตํ่าตามทีส่ ญ ั ญากําหนดในแต่ละปี หรือในอัตราร้อยละของรายได้ และ ผลประโยชน์อ่นื ใดทีบ่ ริษทั ฯ พึงได้รบั ในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จา่ ยและค่าภาษีใดๆ ทัง้ สิน้ จํานวนไหนมากกว่าให้ถอื เอา จํานวนนัน้ อย่างไรก็ตาม ค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นรายการทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และ ทีโอที ต้องการรอ คําพิพากษาถึงทีส่ ดุ ในเรือ่ งขอเพิกถอนประกาศฯ จากศาลปกครอง จึงเป็ นรายการทีบ่ ริษทั ฯ คาดว่าจะมีการเจรจาตกลง เรือ่ งวิธกี ารคํานวณผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ในเวลาต่อมา ดังนัน้ เพือ่ ให้เป็ นไปตามหลักความระมัดระวัง บริษทั ฯ จึง คํานวณค่าผลประโยชน์ตอบแทนรายปี จากรายได้สทุ ธิตามทีป่ ฏิบตั ใิ นทางเดียวกันทัง้ อุตสาหกรรมกิจการโทรคมนาคม ส่วน จํานวนผลประโยชน์ตอบแทนทีบ่ ริษทั ฯ ต้องจ่ายให้แก่ ทีโอที นัน้ ขึน้ อยูก่ บั ผลการตัดสินจากศาลปกครองในเรือ่ งขอเพิก ถอนประกาศฯ และการเจรจาตกลงระหว่างบริษทั ฯ กับ ทีโอที ในภายหลัง โดยบริษทั ฯ จะปรับปรุงรายการในงบการเงินใน งวดทีก่ ารเจรจาตกลงสิน้ สุดลง ซึง่ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ มีความมันใจว่ ่ าจะไม่เกิดค่าใช้จา่ ยมากไปกว่าจํานวนทีบ่ นั ทึกไว้ อย่างมีสาระสําคัญ ต่อมา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 ทีโอที ได้มีหนังสือแจ้งให้บริ ษทั ฯ ทราบว่าเนื่ องจากผลการเจรจาเกี่ยวกับ อัตรา และวิ ธีการคํานวณส่วนแบ่งรายได้ระหว่างบริ ษทั ฯ และ ทีโอที ยังไม่ได้ข้อยุติ จึงให้บริ ษทั ฯ นําส่งเงิ น ผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ถึงเดือนมิ ถนุ ายน 2551 จํานวนเงิ น 761 ล้านบาท ตามอัตราและวิ ธีคิดคํานวณของบริ ษทั ฯ ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 และบริ ษทั ฯ ได้ นําส่งให้แก่ ทีโอที แล้วเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 โดยใช้เกณฑ์คาํ นวณตามที่บริษทั ฯ เสนอ สําหรับค่าเชื่อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม 2551 เป็ นต้นไปจนถึงปัจจุบนั บริษทั ฯ และ ทีโอที จะจัดตัง้ คณะทํางานเจรจาเพื่อให้ได้ข้อยุติโดยเร็ว ส่วนที่ 2 หน้า 6


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.5 ข้อพิ พาทอันเนื่ องจากภาษีสรรพสามิ ต (Excise Tax) 1.5.1 บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได้ยน่ื คําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 ต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เรียกร้องให้บริษทั ฯ ชําระเงินส่วนแบ่งรายได้ เพิม่ เติมอีกจํานวน 31,463 ล้านบาท ตามสัญญาอนุ ญาตให้ดําเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ พร้อมดอกเบีย้ ในอัตรา ร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของเงินดังกล่าว นับตัง้ แต่วนั ที่ 10 มกราคม 2550 อันเป็ นวันผิดนัดจนกว่าจะชําระเสร็จสิน้ บริษทั ฯ ได้ยน่ื คําคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 2551 และได้แต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการฝ่ ายของบริษทั ฯ เพือ่ ดําเนินกระบวนการพิจารณาข้อพิพาทเรียบร้อยแล้วเมื่อ วันที่ 20 สิงหาคม 2551 ซึง่ กระบวนการพิจารณาข้อพิพาทดังกล่าวอาจใช้เวลาพิจารณาหลายปี โดยขณะนี้ยงั ไม่เริม่ กระบวนการพิจารณา อย่างไรก็ตามผูบ้ ริ หารของบริษทั ฯ เชื่อว่าผลของข้อพิ พาทดังกล่าวน่ าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่ องจาก เห็นว่าจํานวนเงิ นดังกล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิ ตที่บริ ษทั ฯ ได้นําส่งตัง้ แต่วนั ที่ 28 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 และบริ ษทั ฯ ได้นํามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ดังนัน้ บริ ษทั ฯ จึงได้ปฏิ บตั ิ ตามมติ คณะรัฐมนตรีถกู ต้องครบถ้วนแล้ว และเป็ นการปฏิ บตั ิ ที่ เหมือนกันทัง้ อุตสาหกรรมสําหรับกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือวิ ทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ตามมติ คณะรัฐมนตรี นอกจากนี้ ทีโอที ได้เคยมีหนังสือตอบเลขที่ ทศท. บย./843 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2546 ระบุว่าบริษทั ฯ ได้ปฏิ บตั ิ ถกู ต้องตามมติ คณะรัฐมนตรีแล้ว และบริ ษทั ฯ มีภาระเท่าเดิ มตามอัตราร้อยละที่กาํ หนดไว้ในสัญญาซึ่ง การดําเนิ นการยื่นแบบชําระภาษี สรรพสามิ ตดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่อข้อสัญญาแต่ประการใด 1.5.2 บริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) ได้ยน่ื คําเสนอข้อพิพาทหมายเลข ดําที่ 3/2551 ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เพือ่ เรียกร้องให้ ดีพซี ี ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ชําระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิม่ เติมอีกจํานวน 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ พร้อมเรียกเบีย้ ปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจํานวนเงินทีค่ า้ งชําระในแต่ละปี นับตัง้ แต่วนั ผิดนัดจนกว่าจะชําระเสร็จสิน้ ซึ่งคํานวณถึง ณ เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็ นเบีย้ ปรับทัง้ สิน้ 1,500 ล้านบาท รวมเป็ นเงิน ทัง้ หมดจํานวน 3,949 ล้านบาท และต่อมาในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 กสท. ได้ยน่ื ขอแก้ไขจํานวนทุนทรัพย์รวมเบีย้ ปรับลดลง เหลือ 3,410 ล้านบาท ดีพซี ี ได้ยน่ื คําคัดค้านต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรมแล้ว เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2551 และได้แต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการฝ่ ายของ ดีพซี ี เพือ่ ดําเนินกระบวนการพิจารณาข้อพิพาทแล้วเมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2551 ซึง่ กระบวนการพิจารณาข้อพิพาทดังกล่าวอาจใช้เวลาหลายปี และขณะนี้ยงั ไม่มกี ารเริม่ กระบวนการ พิจารณาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริหารของบริ ษทั ฯ เชื่อว่าผลของข้อพิ พาทดังกล่าวน่ าจะคลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่ องจาก เห็นว่าจํานวนเงิ นส่วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิ ตที่ ดีพีซี ได้นําส่งตัง้ แต่ วันที่ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และ ดีพีซี ได้นํามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 อีกทัง้ กสท. เคยมีหนังสือแจ้งให้ ดีพีซี ปฏิ บตั ิ ตามมติ คณะรัฐมนตรีดงั กล่าว ดังนัน้ ดี พีซี ได้ปฏิ บตั ิ ตามมติ คณะรัฐมนตรีถกู ต้องครบถ้วนแล้ว และเป็ นการปฏิ บตั ิ ที่เหมือนกันทัง้ อุตสาหกรรม โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูล่าตามมติ คณะรัฐมนตรี

ส่วนที่ 2 หน้า 7


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.6 ข้อพิ พาทระหว่างบริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด ซึ่งเป็ นบริษทั ย่อยของ บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) วันที่ 7 มีนาคม 2551 บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) ได้ยน่ื ฟ้ อง บริษทั ฯ เป็ นจําเลยที่ 1 และ บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) เป็ นจําเลยที่ 2 คดีหมายเลขดําที่ 1245/2551 ต่อศาลแพ่ง เรียกร้องให้ ร่วมกันชดใช้คา่ เสียหาย พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี จนถึงวันฟ้ อง รวมเป็ นเงิน 130 ล้านบาท โดยอ้างว่าความ เสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีทบ่ี ริษทั ฯ กับเอไอเอ็น เปลีย่ นแปลงการส่งทราฟฟิ คการให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศ ในช่วงเวลาวันที่ 1 ถึง 27 มีนาคม 2550 ทีผ่ ใู้ ช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ องบริษทั ฯ ใช้บริการผ่านเครือ่ งหมาย + จากเดิมทีเ่ ป็ น 001 ของ กสท. มาเป็ น 005 ของเอไอเอ็นโดยไม่แจ้งให้ผใู้ ช้บริการทราบก่อน เมื่อ วัน ที่ 4 กัน ยายน 2551 กสท. ได้ย่ืน คํา ร้อ งขอแก้ไขเพิ่ม เติม ฟ้ องในส่ว นของค่ าเสีย หายเป็ น เงิน รวม 583 ล้านบาท (รวมดอกเบีย้ ) โดยอ้างว่าการกระทําดังกล่าวเป็ นเหตุให้ กสท.ได้รบั ความเสียหายเป็ นระยะเวลาต่อเนื่องเรื่อยมา จนถึงวันที่ 7 มีนาคม 2551 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลได้มคี าํ สังยกคํ ่ าร้องของ กสท. ทีย่ น่ื เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 ทีข่ อให้ศาลมี คําสังคุ ่ ม้ ครองชัวคราวห้ ่ ามมิให้บริษทั ฯ และเอไอเอ็น ทําการโยกย้าย ทราฟฟิ ค 001 หรือเครือ่ งหมาย + ของ กสท. ไปยัง ทราฟฟิ ค 005 ของ เอไอเอ็น ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เชื่ อว่าผลของคดีดงั กล่าวน่ าจะคลี่คลายไปในทางที่ ดี เนื่ องจากเครื่องหมาย + เป็ น เครื่องหมายสากล และเป็ นการปฏิ บ ตั ิ โดยทัว่ ไปของผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่ จะกําหนดให้ เครื่องหมาย ดั ง กล่ า วใช้ แ ทนรหั ส การเรี ย กออกของบริ ก ารโทรศั พ ท์ ร ะหว่ า งประเทศ จึ ง เป็ นสิ ทธิ ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่ละรายที่จะกําหนดให้เครื่องหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสเรียกของผู้ใช้บริ การโทรศัพท์ทางไกล ระหว่างประเทศรายใด บริ ษทั ฯ จึงมิ ได้กระทําละเมิ ด และทําให้ กสท. เสียหายแต่อย่างใด 1.7 ข้อ พิ พ าทระหว่างบริ ษัท ดิ จิ ตอล โฟน จํากัด (ดี พี ซี ) ซึ่ งเป็ นบริ ษัทย่ อยของบริ ษัท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 3 กุ มภาพัน ธ์ 2552 บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ได้เสนอข้อพิพาทต่อสํานักระงับข้อ พิพาท สถาบันอนุ ญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2552 เพื่อเรียกร้องให้ดพี ซี สี ่งมอบ และโอนกรรมสิทธิ เสา อากาศ/เสาสูง (Tower) จํานวน 3,343 ต้น พร้อมอุปกรณ์ แหล่งจ่ายกําลังงาน (Power Supply) จํานวน 2,653 เครื่อง ตาม สัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ร์ หากไม่สามารถส่งมอบได้ให้ชดใช้เงินจํานวน 2,230 ล้านบาท ซึ่ ง ดี พี ซี เห็ น ว่ า เสาอากาศ/เสาสู ง (Tower) พร้ อ มอุ ป กรณ์ แหล่ ง จ่ า ยกํา ลัง งาน (Power Supply) เป็ น ทรัพย์สินที่ ดีพีซีเช่าใช้จากบุคคลอื่น จึงมิ ใช่ทรัพย์สินอันเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของดีพีซีที่จะส่งมอบให้แก่ กสท.ได้ อีกทัง้ ทรัพย์สินดังกล่าวมิ ใช่ เครื่องหรืออุปกรณ์ ตามที่ กาํ หนดไว้ในสัญญาข้อ 2.1 ที่ ดีพีซี จะมีหน้ าที่ จดั หาและส่ งมอบ ตามสัญญา ขณะนี้ ข้อพิ พาทดังกล่าวอยู่ในขัน้ ตอนเตรียมยื่นคําคัดค้านภายใต้กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ซึ่ง ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เชื่ อว่าผลของคดีดงั กล่าวน่ าจะคลี่คลายไปในทางที่ ดี เนื่ องจาก ดีพีซี ได้ปฏิ บตั ิ ถกู ต้ องตาม กฎหมายและข้อสัญญาที่เกี่ยวข้องทุกประการแล้ว 2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ การตลาดและการแข่งขัน 2.1 การชะลอตัวทางเศรษฐกิ จ (Economic Recession) เศรษฐกิจประเทศไทยในปี 2552 มีแนวโน้มทีจ่ ะชะลอตัว โดยคาดการณ์ล่าสุด ณ เดือนธันวาคม 2551 ของธนาคาร แห่งประเทศไทย การเติบโตทางเศรษฐกิจในปี 2552 จะเติบโตทีป่ ระมาณร้อยละ 0 – 2 เมื่อเปรียบเทียบกับประมาณการ ของปี 2551 ที่รอ้ ยละ 4 - 4.5 และมีความเป็ นไปได้ท่เี ศรษฐกิจประเทศไทยอาจจะเติบโตตํ่ากว่าที่คาดการณ์ เนื่องจาก เศรษฐกิจสหรัฐทีเ่ ป็ นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกกําลังเข้าสู่ภาวะถดถอยอย่างรุนแรงในปี หน้า โดยเริม่ เห็น ส่วนที่ 2 หน้า 8


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สัญญาณจากการรายงานตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดพี )ี ในไตรมาส 3 ของกระทรวงพาณิชย์สหรัฐอเมริกาที่ ลดลงร้อยละ 0.3 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี ทแ่ี ล้ว ซึง่ เป็ นผลมาจากการใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคทีล่ ดลงมากทีส่ ดุ ในรอบ 28 ปี และนับ เป็ นตัวเลขที่ต่ําที่สุดตัง้ แต่เศรษฐกิจสหรัฐหดตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาส 3 ของปี 2544 ขณะเดียวกัน ตัวเลข ว่างงานยังเพิม่ สูงขึน้ เช่นเดียวกับการลดตํ่าลงของราคาหุน้ กับมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ และวิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกายัง ได้ขยายลุกลามต่อไปทัง้ ในยุโรปและเอเชีย สําหรับประเทศไทยจะได้รบั ผลกระทบนี้อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้โดยเฉพาะในภาค การส่งออก เนื่องจากสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ป่ ุนเป็ นคู่คา้ หลักของประเทศ โดยมีการคาดการณ์การจ้างงานในภาคการ ผลิตที่จะลดลงมากกว่า 1 ล้านคนในปี หน้า รวมทัง้ ภาคการท่องเทีย่ วทีม่ ีการชะลอตัวจากการใช้จ่ายที่ลดลง สําหรับการ บริโภคและการลงทุนในประเทศของภาคเอกชนมีแนวโน้มทีต่ ่าํ ลง ซึ่งเป็ นผลมาจากความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคอยู่ในระดับที่ ตํ่าทัง้ จากปั ญหาการเมืองภายในประเทศ ประกอบกับการวิตกผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ขณะทีต่ ลาดทุนมีความ ผันผวนเป็ นอย่างมากจากการเคลื่อนย้ายเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติและกองทุนทีข่ ายหุน้ ทัวโลกเพื ่ ่อระดมเงินสดรองรับ การไถ่ถอนหน่ วยลงทุน และเพื่อบรรเทาวิกฤตเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ รัฐบาลจึงได้ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจซึ่งประกอบ ไปด้วย โครงการขนาดใหญ่ (Mega Project) โครงการเพื่อประชาชนในระดับรากหญ้า มาตรการทางด้านภาษี รวมถึงการ เร่งการเบิกจ่ายงบประมาณ เป็ นต้น บริ ษทั ฯ ในฐานะผู้ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ ดงั กล่าวด้วยการยืนหยัดที่ จะ นําเสนอโปรแกรมค่าโทรที่ ค้มุ ค่าและพัฒนาบริ การนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ อาํ นวยความสะดวกและเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพ การใช้ชีวิตประจําวันและการทําธุรกิ จต่างๆ ของลูกค้า เช่น โมบายอิ นเตอร์เน็ ต เอ็มเปย์ ซึ่งช่วยประหยัดเวลาใน การหาข้ อ มู ล วางแผนการเดิ นทาง และทํ า ธุ ร กรรมต่ า งๆ ได้ เ องผ่ า นโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ เป็ นต้ น อี ก ทั ง้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้กลายเป็ นสิ นค้าจําเป็ น ดังนัน้ บริ ษัทฯ จึงมีความเชื่ อมันว่ ่ าจะสามารถผ่านพ้นสถานการณ์ การชะลอตัวทางเศรษฐกิ จไปได้ด้วยดี 2.2 ประกาศว่าด้วยการกําหนดให้มี Number Portability จากพระราชบัญญัตปิ ระกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 12 ทีก่ าํ หนดให้ มี “การใช้เลขหมายเดียวทุก ระบบ” หรือ Number Portability โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้มกี ารใช้เบอร์เดียวทุกระบบและเปิ ดโอกาสให้ผใู้ ช้บริการมีสทิ ธิใน การใช้เลขหมายเดิมของตนเองเพือ่ คุม้ ครองผลประโยชน์ของผูใ้ ช้บริการ และทําให้ใช้เลขหมายซึง่ เป็ นทรัพยากรของ ประเทศได้อย่างคุม้ ค่ามากขึน้ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ได้มคี าํ สังที ่ ่ 37/2550 เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการศึกษาและเตรียมการการดําเนินการของโครงการ Mobile Number Portability เพือ่ ให้มกี ารกําหนด รูปแบบและแนวทางการบริหารของการใช้เลขหมายเดียวทุกระบบ การกําหนดรูปแบบทางเทคนิคและระบบฐานข้อมูล ตลอดจนรูปแบบการลงทุนเพือ่ ให้การดําเนินงานในทางปฏิบตั เิ ป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง กทช. ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการศึกษาและเตรียมการดําเนินการ นอกจากนี้ กทช. ได้เปิ ดโอกาสให้ผใู้ ห้บริการทุกรายได้เข้ามามีสว่ นร่วม ในการศึกษาข้อมูล จัดทําข้อเสนอ และวิธกี ารดําเนินการร่วมกัน ซึง่ ขณะนี้อยูใ่ นขัน้ ตอนของการศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ โดยประชุมมาแล้ว 4 ครัง้ นัน้ จากประกาศคําสังดั ่ งกล่าว จะเป็ นการสนับสนุ นให้เกิดการแข่งขันกันมากขึน้ ระหว่างผูใ้ ห้บริการแต่ละราย เนื่องจากระบบ Number Portability ดังกล่าวจะเปิ ดโอกาสให้ลกู ค้าสามารถเปลีย่ นเครือข่ายผูใ้ ห้บริการได้ตลอดเวลา หากผู้ ให้บริการไม่ปรับปรุงทัง้ เรือ่ งคุณภาพบริการและแผนการตลาดหรือโปรโมชันเพื ่ อ่ ดึงดูดลูกค้าไว้ ซึง่ เป็ นความเสีย่ งองค์รวม ของภาคอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทีผ่ ใู้ ห้บริการไม่สามารถคาดการณ์ได้ถงึ พฤติกรรมของลูกค้าภายหลังจากทีม่ กี ารนํา ระบบ Number Portability มาใช้งาน บริ ษทั ฯ มีความเชื่อมันว่ ่ า บริ ษทั ฯ มีความพร้อมและสามารถดําเนิ นการได้ทนั ทีเมื่อมีการประกาศใช้ อย่างเป็ นทางการ เนื่ องจากบริษทั ฯ ได้มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ไม่เพียงแต่คณ ุ ภาพของเครือข่ายที่ ครอบคลุมทั ่วประเทศมากกว่าผูใ้ ห้บริ การรายอื่น บริษทั ฯ ยังได้ดาํ เนิ นกลยุทธ์ที่จะสร้างความแข็งแกร่งของแบ ส่วนที่ 2 หน้า 9


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รนด์เพื่อให้ลูกค้ารับรูถ้ ึงความคุ้มค่าและไว้วางใจที่จะใช้บริ การของบริ ษทั ฯ ตลอดไป ด้วยการบริหารจัดการลูกค้า ตาม Life Cycle และการดูแลลูกค้าแบบเฉพาะกลุ่ม (Customization) การบริ หารความสัมพันธ์กบั ลูกค้าอย่าง ต่อเนื่ อง (Customer Relation Management - CRM) บริ การหลังการขายที่มีคณ ุ ภาพ และปรับปรุงคุณภาพในทุก ช่องทางการให้บริการทัง้ ผ่านตัวแทนและสํานักงานบริ การ ซึ่งอยู่บนพืน้ ฐานของการวิเคราะห์พฤติ กรรมการใช้ งานของลูกค้าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและสถิ ติประยุกต์เพื่อให้มนใจว่ ั ่ าสามารถส่งมอบสิ นค้าและบริ การที่ตรง กับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด นอกจากนี้ ยังให้ความสําคัญกับการสร้างความผูกพันกับแบรนด์ผา่ นมิ ติ ทางด้านอารมณ์ (Emotional) ด้วยแนวคิ ด “อยู่เคียงข้างคุณ” ที่ให้ลกู ค้าสัมผัสกับเครือข่ายคุณภาพ การบริ การ ลูกค้าที่ไว้วางใจ นวัตกรรมใหม่ สิ ทธิ พิเศษต่าง ๆ และการตอบแทนสังคมผ่านทุกช่องทางการให้บริการ จาก ความมุ่งมันที ่ ่ จะนําเสนอบริ การที่ดีที่สดุ ให้แก่ลูกค้าทําให้บริษทั ฯ ได้รบั 2 รางวัลใหญ่ระดับเอเชียซึ่งประกอบไป ด้วย ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย ประจําปี 2008 (Asian Mobile Operator of the Year 2008) และรางวัลผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ยอดเยี่ยมของไทย ประจําปี 2008 (Mobile Operator of the Year Thailand 2008) จากนิ ตยสาร "Asian Mobile News" ประเทศสิ งคโปร์ 3. ความเสี่ยงทางด้านระบบปฏิ บตั ิ การ (Operation Risk) บริษทั ฯ เป็ นผูน้ ําของผูป้ ระกอบการธุรกิจโทรศัพท์เคลือ่ นที่ มีเครือข่ายขนาดใหญ่ตดิ ตัง้ ให้บริการครอบคลุมทัว่ ประเทศ อีกทัง้ มีบริการเสริมต่าง ๆ ประกอบไปด้วย บริการส่งข้อความ (SMS) บริการส่งข้อความภาพและเสียง (MMS) บริการเสียงรอสาย (Calling Melody) บริการดาวน์โหลด และบริการด้านข้อมูล (Data & Portal) เพือ่ รองรับความต้องการ ของผูใ้ ช้บริการทีห่ ลากหลาย ดังนัน้ การทีร่ ะบบปฏิบตั กิ ารของเครือข่ายซึง่ มีขนาดใหญ่และมีความหลากหลาย จะสามารถ ให้บริการลูกค้าทุกประเภทตามทีล่ กู ค้าต้องการได้อย่างต่อเนื่อง จึงต้องมีระบบการควบคุมดูแลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยมี หน่วยงาน Network Operation Center (NOC) ทําหน้าทีใ่ นการติดตาม ตรวจสอบ การทํางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอด 24 ชัวโมง ่ พร้อมทัง้ มีหน่วยงานทีท่ าํ หน้าทีบ่ าํ รุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ทีพ่ ร้อมออกปฏิบตั กิ ารได้ทนั ที เพือ่ ให้เหตุขดั ข้องทีอ่ าจจะ เกิดขึน้ สามารถแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว นอกเหนื อจากการให้บริ การได้อย่างต่อเนื่ องแล้ว บริ ษทั ฯ ยังได้มีการตรวจสอบดูแลทางด้านคุณภาพ อย่างสมํา่ เสมอ มีการติ ดตาม ตรวจสอบข้อมูลจากสถิ ติคณ ุ ภาพการใช้งานในด้านต่างๆ มีการใช้อปุ กรณ์ทดสอบ คุณภาพ ติ ดตัง้ และวัดคุณภาพอยู่ทั ่วประเทศ และมีทีมงานทําหน้ าที่ในการตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพกระจาย อยู่ในทุกๆ ภาค บริษทั ฯ ยังคงมีแผนที่จะพัฒนาการให้บริ การให้ครอบคลุมพืน้ ที่ต่างๆ มากขึน้ ด้วยการเพิ่ มสถานี ฐานกว่า 1,800 สถานี ด้วยงบลงทุน ในปี 2551 เป็ นเงิ นรวม 13,000 ล้านบาท อีกทัง้ ยังมีการนําเทคนิ คพิ เศษ (Features) ที่จะช่วยทําให้สามารถพัฒนาคุณภาพการใช้งานให้ดีขึน้ เพื่อให้มนใจได้ ั่ วา่ บริ ษทั ฯ ได้ให้บริ การที่มี คุณภาพกับลูกค้า และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้มีการนําข้อมูลคุณภาพการใช้งานไป เปรียบเทียบกับผูใ้ ห้บริ การในต่างประเทศอยู่เสมอ เพื่อเป็ นตัววัดให้มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง และไม่ หยุดนิ่ งที่จะพัฒนาคุณภาพให้ดียิ่งๆ ขึน้ บริ ษทั ฯ มีความเชื่อมันว่ ่ าจากประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของเจ้าหน้ าที่ที่ดแู ลรับผิดชอบระบบ ปฏิ บตั ิ งานขนาดใหญ่จะสามารถทําให้คณ ุ ภาพของการให้บริการมีประสิ ทธิ ภาพอย่างต่อเนื่ อง 4. ความเสี่ยงทางด้านเทคโนโลยี (Technology Risk) 4.1 เทคโนโลยี 3 จี การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีเป็ นปั จจัยสําคัญต่อการแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม การ ทีผ่ ปู้ ระกอบการไม่สามารถปรับตัวได้ทนั ต่อเทคโนโลยีทเ่ี ข้ามาใหม่ อาจส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันได้ในระยะ ส่วนที่ 2 หน้า 10


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ยาว การแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคตอันใกล้สาํ หรับประเทศไทยนัน้ จะรวมไปถึงเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือ่ นทีย่ คุ ที่ 3 หรือ 3G อนึ่ง บริษทั ฯ เป็ นผูใ้ ห้บริการรายแรกในประเทศทีม่ กี ารเปิ ดการใช้งานอย่างเป็ นทางการ ภายใต้ชอ่ื “3GSM” (900 เมกะเฮิรต์ ซ) โดยเปิ ดให้บริการทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2551 ซึง่ ทําให้ลกู ค้าและพนักงานได้มคี วามรูค้ วาม เข้าใจในเทคโนโลยีน้ีเป็ นอย่างดี อันจะช่วยให้การเปิ ดให้บริการในกรุงเทพมหานคร และเมืองหลักๆ รวมถึงการขยายพืน้ ที่ ให้บริการต่อไปในอนาคตเป็ นไปได้อย่างราบรืน่ นอกจากการขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการ 3G แล้ว บริษทั ฯ ยังคงมีการขยายเครือข่ายเพือ่ รองรับการใช้บริการสือ่ สาร ด้านข้อมูลสําหรับลูกค้าเดิม เพื่อเพิม่ ประสบการณ์ในการใช้งานรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่อง สําหรับเทคโนโลยี 3G บนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิ รต์ ซ นัน้ บริ ษทั ฯ ได้มีการเตรียมความพร้อมในเรือ่ ง นี้ 2 ส่วน คือ ความพร้อมของการดําเนิ นการขอใบอนุญาตให้บริ การผ่านคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิ รต์ซ โดยคาด ว่า กทช. น่ าจะเริ่มกระบวนการคัดเลือกได้ประมาณกลางปี 2552 ส่วนที่สองคือความรู้ภายในบริ ษทั ฯ ที่ได้ เตรียมการมาแล้วไม่ตาํ่ กว่า 5 ปี ตัง้ แต่มีบริ การนี้ ในเขตทวีปยุโรป อีกทัง้ การที่บริษทั ฯ ได้ทาํ การทดสอบและเริ่ ม ให้บริการ 3GSM (900 เมกะเฮิ รต์ ซ) ที่จงั หวัดเชียงใหม่และในเขตพืน้ ที่สาํ คัญหลัก ๆ ทําให้เจ้าหน้ าที่ของบริ ษทั ฯ มี การพัฒนาความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่ องทัง้ ทางด้านเครือข่ายและการให้บริ การ 3G ซึ่งจะสามารถนํา ประสบการณ์ต่างๆ มาวางแผนการทํางาน พัฒนาแผนรองรับเหตุการณ์ อุปสรรค ข้อขัดข้องที่อาจจะเกิ ดขึน้ ได้ อย่างเป็ นระบบ จึงเชื่อมันได้ ่ ว่า บริ ษทั ฯ มีความพร้อมทัง้ ในเรือ่ งคุณสมบัติของบริษทั ที่จะได้รบั ใบอนุญาตจาก กทช. และ ความพร้อมของบุคลากรที่จะให้บริ การ 3G บนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิ รต์ ซ ได้ทนั ที หาก กทช. ได้พิจารณา จัดสรรคลื่นความถี่และออกใบอนุญาตการให้บริการ ต่อไป 4.2 เทคโนโลยี WiMAX WiMAX เป็ นเทคโนโลยีการสือ่ สารบรอดแบนด์แบบไร้สาย ทีเ่ ป็ นทางเลือกใหม่สาํ หรับการส่งผ่านข้อมูลหรือ บริการต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว รองรับแอปพลิเคชันต่ ่ าง ๆ ทีต่ อ้ งการความเร็วสูงได้อย่างหลากหลาย ซึง่ ในอนาคต WiMAX เป็ นเทคโนโลยีทอ่ี าจสามารถทดแทนเทคโนโลยีสอ่ื สารบรอดแบนด์แบบมีสายได้ ซึง่ กทช. ได้ดาํ เนินการศึกษาอย่าง ต่อเนื่องทีจ่ ะนํามาใช้งานในประเทศ และได้อนุ ญาตให้หลายบริษทั และหน่วยงานทีส่ นใจนําเข้าอุปกรณ์ WiMAX เพือ่ ทดสอบ บริษทั ฯ ได้คาํ นึงถึงเรือ่ งนี้ และได้ทาํ การติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดงั กล่าวอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้รบั อนุญาตในการนําเข้าอุปกรณ์ WiMAX เพื่อทดสอบ และได้ทาํ การทดลอง เทคโนโลยีในเชิ งปฏิ บตั ิ การ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับเทคโนโลยีดงั กล่าวแล้ว จึงเชื่อมัน่ ได้ว่า บริ ษทั ฯ มีความพร้อมที่จะยื่นขอใบอนุญาตในการให้บริการ WiMAX ได้ทนั ที หาก กทช. ได้พิจารณาจัดสรร คลืน่ ความถี่และออกใบอนุญาตการให้บริ การ WiMAX ต่อไป 5. ความเสี่ยงด้านการเงิ น (Financial Risk) - ผลกระทบทางอ้อมจากสถานการณ์ทางการเงิ นของโลกต่อสภาพคล่องภายในประเทศ จากวิกฤติการเงินของโลกซึง่ ลุกลามมาจากปั ญหาหนี้ดอ้ ยคุณภาพทีเ่ รียกว่า ซับไพร์ม ซึง่ เกิดขึน้ ในสหรัฐอเมริกา ตัง้ แต่ปลายปี 2550 อีกทัง้ ผลของการล้มละลายของสถาบันการเงินทีเ่ กิดขึน้ ในสหรัฐอเมริกา การเข้ารับประกันเงินฝากของ สถาบันการเงินต่าง ๆ ทัง้ ในสหรัฐอเมริกาและประเทศในเขตทวีปยุโรปทีส่ ง่ ผลกระทบไปทัวโลก ่ ซึง่ อาจส่งผลกระทบทําให้ กองทุนต่าง ๆ รวมถึงนักลงทุนต่างชาติในประเทศไทยมีการปิ ดความเสีย่ งสภาพคล่อง (Liquidate) ด้วยการดึงเงินกลับ ประเทศเพือ่ นําเงินไปลงทุนหรือหาแหล่งในการลงทุนหรือฝากเงินในทีม่ คี วามปลอดภัยกว่า ซึง่ อาจทําให้เศรษฐกิจใน ประเทศไทยเข้าสูส่ ภาวะเงินตึงตัว ส่วนที่ 2 หน้า 11


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ มีแหล่งเงิ นทุนที่หลากหลายทัง้ จากสถาบันการเงิ น ตลาดทุน (ตลาดหุ้นกู้ ภาคเอกชน) ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทัง้ สิ นเชื่อจาก Suppliers ทําให้บริ ษทั ฯ สามารถจัดหาแหล่ง เงิ นทุนภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม และได้มีการศึกษา วางแผนทางการเงิ นอย่างรอบคอบ ระมัดระวังในการใช้เงิ นลงทุน รวมทัง้ การหาแหล่งเงิ นทุนที่เหมาะสมและเป็ นประโยชน์ ต่อบริ ษทั ฯ มากที่สดุ โดย บริษทั ฯ ได้วางแผนเตรียมการลงทุนและการกู้เงิ นต่าง ๆ ตัง้ แต่ปี 2550 และได้ทยอยใช้เงิ นทุนตามแผนงานที่วาง ้ ยวทั ่วประเทศ อันเป็ น ไว้อย่างเหมาะสมด้วยการทยอยลงทุนในพื้นที่ที่จาํ เป็ นต่อการใช้งานแทนที่จะลงทุนครังเดี แผนการลงทุนที่ตงั ้ อยู่บนความไม่ประมาท ซึง่ ณ สิน้ ปี 2551 บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดทีเ่ หมาะสม และมีเงินกูย้ มื ระยะยาว (ปรับมูลค่าด้วยผลสุทธิจากการปิ ด ความเสีย่ งอัตราแลกเปลีย่ น) เป็ นเงินจํานวนรวมทัง้ สิน้ 36,812 ล้านบาท ในจํานวนนี้เป็ นเงินสกุลต่างประเทศ 30,568 ล้าน เยนหรือประมาณ 9,485 ล้านบาท และ 177 ล้านเหรียญสหรัฐหรือประมาณ 6,166 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้ทาํ การป้ องกัน ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูใ้ นสกุลต่างประเทศ แนวทางหนึ่งทีบ่ ริษทั ฯ นํามาใช้คอื การเข้า ทําสัญญา SWAP เพือ่ เปลีย่ นภาระหนี้ในสกุลเงินตราต่างประเทศมาเป็ นสกุลเงินบาท รวมถึงการเข้าทําสัญญา SWAP อัตราดอกเบีย้ ซึง่ บริษทั ฯ จะพิจารณากําหนดตามภาวะตลาดในขณะนัน้ ๆ โดยส่วนใหญ่จะกําหนดเป็ นอัตราดอกเบีย้ คงที่ ทําให้บริษทั ฯสามารถลดความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ ลงได้ ณ สิน้ ปี 2551 บริษทั ฯ มีอตั ราส่วนเงินกูท้ เ่ี ป็ นอัตราดอกเบีย้ ลอยตัว (float rate) คิดเป็ นร้อยละ 2.19 ของเงินกูท้ งั ้ หมด (และจะปิ ดความเสีย่ งจาก อัตราแลกเปลีย่ นของเงินกูเ้ มื่อสภาวะตลาดเอือ้ อํานวย) 6. ความเสี่ยงทางด้านการบริ หารทรัพยากรบุคคล - ยกระดับความพร้อมของบุคลากรด้านทักษะการทํางานและด้านการบริหาร การบริหารงานบุคคลในยุคปั จจุบนั ได้เปลีย่ นแนวคิดและรูปแบบ โดยจะเน้นในการคิดวิเคราะห์ การวางแผน ปรับ ระบบงานบุคคลให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ เป้ าหมายและวิสยั ทัศน์ของบริษทั ฯ และการพัฒนาความสามารถของบุคลากรของ บริษทั ฯ ให้เท่าทันกับกระแสการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศในปั จจุบนั และในอนาคต บริษทั ฯ เป็ นผูน้ ําในการประกอบธุรกิจโทรคมนาคมของประเทศไทย มีพนักงานทัวประเทศประมาณ ่ 8,000 คน (รวมพนักงานสัญญาจ้างชัวคราว) ่ ทีใ่ ห้บริการลูกค้าทัวประเทศกว่ ่ า 27 ล้านราย การทีล่ กั ษณะงานขยายเพิม่ มากขึน้ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การปรับตําแหน่งของพนักงานให้สงู ขึน้ หน้าทีแ่ ละขอบเขตงานทีร่ บั ผิดชอบเพิม่ ขึน้ อย่างก้าว กระโดด บริษทั ฯ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ในการส่งเสริมให้พนักงานของบริษทั ฯ มีความรูค้ วามสามารถ มีศกั ยภาพ และ มีทกั ษะในการทํางานให้กา้ วทันสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป สามารถปฏิบตั งิ านได้ในทุกสภาวการณ์ และในปริมาณงาน ทีเ่ พิม่ มากขึน้ โดยพนักงานทุกคนสามารถค้นคว้าหาความรู้ ผ่าน Smart E-Learning, แหล่งข้อมูล Knowledge Base ทัง้ ทางด้านธุรกิจ และความรูท้ างด้านเทคโนโลยีและเครือข่าย นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้ให้ความสําคัญกับบุคลากร และมุ่งเน้ นพัฒนาบุคลากรของบริ ษทั ฯ ให้มีแนวคิ ดและ การปฏิ บตั ิ งานที่เน้ นกลยุทธ์เชิ งรุก มีแรงบันดาลใจ มีความคิ ดสร้างสรรค์ พัฒนาความสามารถในเชิ งการบริ หาร เน้ นทักษะในการจัดการ วางแผนงาน (Planning) ความคิ ดเชิ งกลยุทธ์ (Strategic Thinking) การแก้ไขปัญหาและ การตัดสิ นใจ (Problem Solving and Decision Making) และความเป็ นผูน้ ํา (Leadership) เป็ นต้น โดยฝ่ ายพัฒนา บุคลากรได้พฒ ั นาหลักสูตรการอบรม และเตรียมความพร้อมในเชิ งการบริ หารให้กบั ผูท้ ี่ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ น ผูบ้ ริหารใหม่ หรือให้กบั พนักงานที่จะก้าวขึน้ เป็ นผูบ้ ริ หารในอนาคต ได้แก่ หลักสูตรเพื่อพัฒนาการเป็ นผูน้ ํา “Great Leaders , Great Teams and Great Results” หลักสูตรการประเมิ นคุณลักษณะความเป็ นผูน้ ําแบบ 360 องศา หลักสูตรเพื่อพัฒนาความเป็ นผูบ้ ริหารระดับต้น กลาง และระดับสูง รวมทัง้ ส่งเสริมให้ผบ้ ู ริ หารและพนักงาน ทุกระดับเรียนรูอ้ ย่างเต็มที่ มีการถ่ายทอดความรู้ สอนงาน “Coaching” ที่ปฏิ บตั ิ อย่างสืบเนื่ องและกลายเป็ นส่วน หนึ่ งในวัฒนธรรมองค์กร ส่วนที่ 2 หน้า 12


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

7.

ความเสี่ยงหากบริ ษทั ฯ กลายเป็ น “คนต่างด้าว” ตามทีพ่ ระราชบัญญัตกิ ารประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 กําหนดคุณสมบัตขิ องบริษทั ไทยและสัดส่วนการ ถือหุน้ ของคนต่างด้าวในบริษทั ไทย และมีการนําคํานิยามของ “คนต่างด้าว” ในพระราชบัญญัตกิ ารประกอบธุรกิจของคน ต่างด้าว ไปใช้ในพระราชบัญญัตปิ ระกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ด้วย ในส่วนคุณสมบัตขิ องผูท้ ย่ี น่ื ขอใบอนุญาต ประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 2 และแบบที่ 3 รวมทัง้ ในพระราชบัญญัตกิ ารประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวมีบทบัญญัติ เกีย่ วกับการห้ามคนไทยถือหุน้ แทนคนต่างด้าวในการประกอบกิจการทีต่ อ้ งได้รบั อนุ ญาตตามทีก่ าํ หนดไว้ ในปี 2549 กระทรวงพาณิชย์ได้ทาํ การตรวจสอบการถือหุน้ แทนต่างด้าวของบริษทั ต่างๆ ซึง่ รวมถึงการตรวจสอบ การถือหุน้ ในบริษทั แห่งหนึ่งซึง่ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ทีเ่ ป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น ในประเด็นว่าผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทยรายใหญ่ของบริษทั ดังกล่าวถือหุน้ แทนคนต่างด้าวหรือไม่ ซึง่ กระทรวงพาณิชย์ได้สรุปผลและส่งไปยัง พนักงานเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ พิจารณา และขณะนี้อยูใ่ นระหว่างการดําเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ดังนัน้ หากบริษทั ดังกล่าว ถูกฟ้ องร้องดําเนินคดีและถูกศาลพิพากษาถึงทีส่ ดุ ตัดสินว่าเป็ นคนต่างด้าวแล้ว อาจส่งผลทําให้ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ ่ ผทู้ ถ่ี กู กล่าวหาว่าเป็ นผูถ้ อื หุน้ แทนคนต่าง บริษทั ฯ และ ดีพซี ี อาจกลายเป็ นคนต่างด้าวด้วยเช่นกัน และศาลมีอาํ นาจสังให้ ด้าวเลิกถือหุน้ แทน ซึง่ หากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวจะส่งผลต่อการขอใบอนุ ญาตต่าง ๆ ของ บริษทั ฯ และ ดีพซี ี ั ญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการในปัจจุบนั นัน้ ไม่ได้มีข้อกําหนด ทัง้ นี้ การให้บริ การของ บริษทั ฯที่อยู่ภายใต้สญ เรือ่ งสัดส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าวไว้ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ไม่อาจรับรองได้ว่าผลจากคดีความข้างต้นจะไม่กระทบต่อสัญญาอนุญาตให้ ดําเนิ นการ และ ใบอนุญาตต่างๆ ของ บริ ษทั ฯ และ ดีพีซี ที่มีอยู่ในปัจจุบนั อีกทัง้ สิ่ งที่เกิ ดขึน้ และวิ ธีการแก้ไข เหล่านัน้ มิ ได้อยู่ภายใต้การดําเนิ นการของบริ ษทั ฯ แต่อย่างใด ความเสี่ยงในดดีที่บริ ษทั ฯไม่ได้เป็ นคู่ความโดยตรง เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2549 นายศาสตรา โตอ่อน ได้ยน่ื ฟ้ องกระทรวงเทคโนโลยีฯ กระทรวงคมนาคม และ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (“สปน.”) ต่อศาลปกครองกลาง โดยขอให้ศาลมีคาํ สังให้ ่ ผถู้ ูกฟ้ องคดียกเลิกสัญญา ่ ให้ผถู้ อื หุน้ รายใหม่ดาํ เนินการใด ๆ หรือรับผลประโยชน์ อนุญาตให้ดําเนินการของบริษทั ฯ และกําหนดมาตรการชัวคราวมิ ใดๆ จากกิจการตามสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการดังกล่าว นายศาสตรา ได้กล่าวหาในคําฟ้ องว่าผูถ้ ูกฟ้ องคดีทงั ้ สามละเว้นการปฏิบตั หิ น้ าทีโ่ ดยการไม่ใช้อํานาจหน้าทีใ่ นการ ยกเลิกสัญญาอนุ ญาตให้ดําเนินการภายหลังจากมีการโอนหุน้ ของบริษัทฯให้แก่ผูถ้ อื หุน้ รายใหม่ โดยการโอนหุน้ ดังกล่าว ทําให้มีก ารเปลี่ย นแปลงโครงสร้า งการถือ หุ้น ของบริษัท ฯ , บริษัท ไทยคม จํา กัด (มหาชน) และบริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) อย่างมีนั ย สําคัญ ซึ่งส่งผลให้ก ลุ่ม ผู้ถือ หุ้น รายใหม่ มีอํา นาจควบคุ ม บริษัท ดังกล่ าวซึ่ง ประกอบธุ รกิจที่เป็ น ทรัพยากรของประเทศเพื่อประโยชน์สาธารณะ ศาลปกครองกลางได้ตดั สินว่านายศาสตราไม่มสี ทิ ธิทจ่ี ะยื่นฟ้ อง เพราะมิได้ เป็ นคู่สญ ั ญาในสัญญาอนุ ญาตให้ดําเนินการ อย่างไรก็ตาม นายศาสตราได้ย่นื คําร้องอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด และใน วันที่ 12 กันยายน 2549 ศาลปกครองสูงสุดได้วนิ ิจฉัยว่า นายศาสตราถือเป็ นผู้มสี ่วนได้เสียจึงมีอํานาจฟ้ อง โดยศาลให้ เหตุผลว่าหากธุรกิจของบริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้การควบคุมของคนต่างด้าว จะก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความ มันคงของประเทศซึ ่ ง่ จะมีผลกระทบต่อนายศาสตราอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ ศาลปกครองสูงสุดจึงมีคําสังให้ ่ ศาลปกครอง กลางดําเนินการรับฟ้ องและดําเนินการต่อไปตามรูปคดี และต่อมา ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ศาลปกครองกลางมีคําสัง่ ไม่รบั คําขอให้ศาลกําหนดมาตรการหรือวิธกี ารคุม้ ครองเพื่อบรรเทาทุกข์ช ั ่วคราวของนายศาตราทีข่ อให้ผถู้ ูกฟ้ องคดีทงั ้ สาม ทําการสังห้ ่ ามมิให้กลุ่มผูถ้ อื หุน้ รายใหม่ดําเนินการใด ๆ เกี่ยวข้องกับกิจการโทรคมนาคมตามสัญญาสัมปทานทัง้ สามฉบับ เนื่องจากศาลเห็นว่ามูลเหตุแห่งการฟ้ องคดียงั ไม่เพียงพอที่จะดําเนินการตามคําขอของผู้ฟ้องคดีและคดีน้ีเป็ นข้อพิพาทที่ เกีย่ วกับหน้าทีก่ ารตรวจสัญญาสัมปทานของผูถ้ ูกฟ้ องคดีซง่ึ มีขอ้ กําหนดให้ปฏิบตั แิ ละความรับผิดตามสัญญาดังกล่าวอยู่ ซึง่ 8.

ส่วนที่ 2 หน้า 13


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

คําสังของศาลปกครองกลางนี ่ ้ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับมาตรการหรือวิธกี ารคุม้ ครองนี้เป็ นทีส่ ุด ส่วนกรณีตามฟ้ องทีก่ ล่าวข้างต้นอยู่ ในระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทัง้ นี้ บริ ษทั ฯ คงจะไม่ได้รบั ผลกระทบใด ๆ ตราบเท่าที่ยงั ไม่มีคาํ ตัดสิ นว่าผูถ้ ือหุ้นของ บริ ษทั ฯ อยู่ ภายใต้การควบคุมของคนต่างด้าว การยกเลิ กสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการของ บริ ษทั ฯ จะต้องพิ จารณาเงื่อนไข และข้อกําหนดในสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการนัน้ ๆ ด้วยว่าสามารถทําได้หรือไม่ อีกทัง้ สิ่ งที่เกิ ดขึน้ และวิ ธีการ แก้ไขเหล่านัน้ มิ ได้อยู่ภายใต้การดําเนิ นการของบริ ษทั ฯ แต่อย่างใด 9. ความเสี่ยงจากการดําเนิ นธุรกิ จโทรคมนาคมภายหลังสิ้ นสุดระยะเวลาตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในปี 2558 บริ ษทั ฯ ไม่สามารถรับประกันได้ว่า บริ ษทั ฯ จะได้รบั ใบอนุญาตโทรคมนาคมจาก กทช. หรือการขยายอายุ สัญญาจาก ทีโอที หรือได้รบั อนุญาตให้ดาํ เนิ นการบริ การโทรคมนาคมหลังจากสิ้ นสุดระยะเวลาตามสัญญาฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 14


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการที่สาํ คัญ พัฒนาการที่สาํ คัญก่อนปี 2551

ปี 2529

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ “ADVANC”) จดทะเบียนเป็ นบริษทั จํากัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวตั ถุประสงค์เริม่ แรกในการดําเนินธุรกิจให้เช่าและให้บริการ คอมพิวเตอร์

ปี 2532

บริษทั ชินวัตรคอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (มหาชน) ซึง่ ปั จจุบนั ได้เปลีย่ นชื่อเป็ น บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) ได้เข้ามาเป็ นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในสัดส่วนร้อยละ 60 ของทุน จดทะเบียน และได้เปลีย่ นวัตถุประสงค์ในการดําเนินธุรกิจเป็ นการให้บริการโทรคมนาคม

ปี 2542

เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (“SingTel”) ซึง่ เป็ นบริษทั ใน กลุม่ Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร์ ซึง่ ดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสอ่ื สารและ โทรคมนาคม ได้เข้าถือหุน้ ในบริษทั ฯ โดย SHIN และ SingTel เป็ นผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ฯ ทัง้ สิน้ ร้อยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ 2542 บริษทั ฯ ได้เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั แอดวานซ์ เพจจิง้ จํากัด (APG) (เดิมชื่อ บริษทั ชินวัตร เพจจิง้ จํากัด) ซึง่ ดําเนินธุรกิจให้บริการโทรศัพท์ตดิ ตามตัว จากเดิมร้อยละ 60.00 เป็ นร้อยละ 99.99 แต่จากการทีบ่ ริการโทรศัพท์ตดิ ตามตัวได้รบั ความนิยมลดลงเป็ นอย่างมาก ประกอบกับ การปรับตัวลดลงของราคาของเครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ทําให้โทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ป็ นสิง่ ทีส่ ามารถซือ้ หาได้งา่ ย ขึน้ การดําเนินงานของ APG จึงได้ยุตลิ ง พร้อมกับมีการคืนสัญญาร่วมการงานให้แก่ ทีโอที เมือ่ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2545 ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ได้ถกู ขายให้แก่บริษทั อืน่ ดังนัน้ APG จึง ไม่ได้เป็ นบริษทั ในเครือของบริษทั ฯ อีกต่อไป ในเดือนตุลาคม 2542 บริษทั ฯ เข้าถือหุน้ ในบริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (ADC) (เดิมชื่อบริษทั ชินวัตร ดาต้าคอม จํากัด) ในสัดส่วนร้อยละ 67.95 และบริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (DNS) ในสัดส่วนร้อยละ 49.00 ซึง่ ทัง้ สองบริษทั ดําเนินธุรกิจการให้บริการสือ่ สารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์

ปี 2544

ตามมติทป่ี ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2544 เมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2544 ได้อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ บริษทั ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 หรือมูลค่าการลงทุนรวม 540 ล้านบาท จาก SHIN และ Singtel บริษทั SDT ในขณะนัน้ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 97.54 ใน บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึ่ง เป็ นผูป้ ระกอบกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ GSM 1800 และเป็ นผูน้ ําเข้าและจัดจําหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยบริษทั ฯ ได้ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ล้าน บาท เพือ่ ใช้ชาํ ระหนี้ให้แก่ SHIN และ SingTel ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จดั สรรหุน้ สามัญทีย่ งั มิได้ออกจําหน่าย จํานวน 23.5 ล้านหุน้ เป็ นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ SHIN จํานวน 17 ล้านหุน้ และ SingTel จํานวน 6.5 ล้าน หุน้ คิดเป็ นมูลค่ารวมทัง้ สิน้ 10,024 ล้านบาท เพือ่ เป็ นเงินทุนส่วนหนึ่งในการลงทุนดังกล่าว ในเดือนกันยายน 2544 บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนในกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM 1800 ของ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึง่ มีทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 8,556 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้เข้าไป ส่วนที่ 2 หน้า 15


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ในบริษทั ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) ซึง่ SDT เป็ นผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 97.54 ใน DPC ตามมติทป่ี ระชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ได้อนุ มตั ใิ ห้บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ในสัดส่วนร้อยละ 98.17 หรือมูลค่าการลงทุนรวม 20,300 ล้านบาท จาก บริษทั ชิน ดิจติ อล จํากัด (SDT) เพือ่ ใช้หนี้คนื ให้แก่บริษทั ฯ และลดภาระภาษีดา้ นรายได้คา่ ดอกเบีย้ โดยได้ เข้าไปซือ้ หุน้ DPC เมือ่ วันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึง่ จะทําให้บริษทั ฯ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใน DPC โดยตรง ปี 2545

ตามมติทป่ี ระชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2545 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ได้อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ลงทุน เพิม่ ใน DPC จํานวน 300 ล้านหุน้ เป็ นจํานวนเงิน 3,000 ล้านบาท ซึง่ เป็ นผลทําให้บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือ หุน้ ใน DPC เป็ นร้อยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 บริษทั ฯ ปรับโครงสร้างธุรกิจการนําเข้าและการจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ อง บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติง้ จํากัด (AWM) โดยโอนการดําเนินงานของ AWM รวมเข้ากับการ ดําเนินงานของบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (DPC) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งของบริษทั ฯ เพือ่ เป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมให้ดยี งิ่ ขึน้ (AWM จึงหยุดดําเนินกิจการชั ่วคราว)

ปี 2546

เอไอเอส ได้รบั การปรับอันดับความน่าเชือ่ ถือขององค์กรและออกตราสารหนี้ โดย บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด จากระดับ AA- เป็ น AA

ปี 2547

บริษทั ฟิ ทช์ เรทติง้ (ประเทศไทย) จํากัด (Fitch Rating) ประกาศให้ เอไอเอส ได้รบั อันดับเครดิต ภายในประเทศระยะยาวทีร่ ะดับ AA (tha) แนวโน้มมีเสถียรภาพ และระยะสัน้ ทีร่ ะดับ F1+(tha) สะท้อนถึง ฐานะการเงินทีแ่ ข็งแกร่ง และความเป็ นผูน้ ําทางด้านตลาด เอไอเอสได้รบั การเพิม่ อันดับความน่าเชือ่ ถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนด์ดาร์ตแอนด์พวั ร์ส หรือ เอส แอนด์ พี (S&P) จากเดิมอยูท่ ร่ี ะดับ BBB ให้เป็ นระดับ BBB+ ซึง่ ถือเป็ นอันดับความน่าเชือ่ ถือขององค์กรเอกชนที่ เทียบเท่าอันดับความน่าเชือ่ ถือของประเทศไทย และสะท้อนให้เห็นถึงสถานภาพอันแข็งแกร่งของเอไอเอส ในการเป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ายใหญ่ทส่ี ุดในประเทศไทย

ปี 2548

ในเดือนกรกฎาคม 2548 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่วมกับวารสารการเงินธนาคารมอบรางวัลให้แก่ เอไอเอส 3 รางวัล คือ 1. รางวัลบริษทั ทีม่ กี ารประกอบการธุรกิจดีเด่น (Best Performance) หมวด เทคโนโลยี 2. รางวัลบริษทั ทีม่ คี วามโดดเด่นด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (Best Investor) และ 3. รางวัลบริษทั ที่ เปิ ดเผยข้อมูลผลประกอบการดีเด่นตามหลักธรรมาภิบาล (Best Corporate Governance Report Awards) ในงาน SET AWARDS 2005 ในเดือนสิงหาคม 2548 เอไอเอสเปิ ดตัวบริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ร่วมทุนระหว่างเอไอเอส และ บริษทั เอ็นทีที โดโคโม อินคอร์ปอเรชัน่ เพือ่ ดําเนินธุรกิจการให้บริการธุรกรรมการเงินบน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในเดือนกันยายน 2548 ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ กูข้ องเอไอเอส จํานวน 6 ชุดคือ หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 1/2544 ชนิด ทยอยคืนเงินต้น ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2549 (AIS063A) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 3/2544 ครบกําหนดไถ่ถอน ปี 2549 (AIS06NA) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 1/2545 ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2552 (AIS093A) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงินต้น ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2552 (AIS093B) หุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 3/2545 ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2550 (AIS073A) และหุน้ กูเ้ อไอเอส ครัง้ ที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืนเงินต้น ครบ ส่วนที่ 2 หน้า 16


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

กําหนดไถ่ถอนปี 2550 (AIS07OA) ได้มมี ติอนุ มตั ใิ ห้บริษทั ฯ สามารถจ่ายเงินปั นผลในแต่ละปี ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เป็ นจํานวนเกินกว่าร้อยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปี นนั ้ ๆได้ ภายใต้เงือ่ นไขคือบริษทั ฯ จะต้องมี อันดับความน่าเชือ่ ถือไม่ต่าํ กว่า AA และได้รบั ภายในระยะเวลาไม่เกินกว่า 45 วันก่อนหน้าวันที่ คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุ มตั กิ ารจ่ายเงินปั นผล ในเดือนตุลาคม 2548 เอไอเอสได้รบั การปรับเพิม่ อันดับความน่าเชือ่ ถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนด์ดาร์ต แอนด์พวั ร์ หรือ เอส แอนด์ พี (S&P) จากเดิมทีอ่ ยูร่ ะดับ BBB+ เป็ น A- สะท้อนให้เห็นถึงสถานภาพอัน แข็งแกร่งของเอไอเอสในการเป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ายใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย เอไอเอสร่วมกับบริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ในการรวมใบแจ้งค่าใช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ทัง้ ในประเทศ ระหว่างประเทศ และบริการข้ามแดนอัตโนมัตไิ ว้ในใบแจ้งค่าใช้บริการใบเดียวกัน เพือ่ อํานวย ความสะดวกให้แก่ลกู ค้ามากขึน้ ปี 2549

เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2549 กลุ่มผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (“SHIN”) ได้ ขายหุน้ SHIN ให้แก่บริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ ส์ จํากัด (“Cedar”) และบริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด (“Aspen”) ส่งผลให้ Cedar และ Aspen ต้องเข้าถือหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ เพือ่ ครอบงํากิจการโดยสมัครใจ (Voluntary Tender Offer) ในราคา 72.31 บาทต่อหุน้ นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ของ SHIN ครัง้ ที่ 1/2549 เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2549 มีมติจะไม่ขายหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ที่ SHIN ถืออยูท่ งั ้ จํานวน เนื่องจาก คณะกรรมการบริษทั ของ SHIN พิจารณาแล้วมีความเห็นว่าธุรกิจของเอไอเอส เป็ นธุรกิจที่ ก่อให้เกิดรายได้หลักของ SHIN และประกอบกับการที่ เอไอเอส มีผลประกอบการทีด่ มี าโดยตลอด ในเดือนพฤศจิกายน เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection Charge) ร่วมกับ บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชัน่ (ดีแทค)

ปี 2550

ในเดือนกุมภาพันธ์ เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection Charge) ร่วมกับ บริษทั ทรูมฟู จํากัด ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2550 มีมติอนุ มตั แิ ต่งตัง้ นายวิกรม ศรีประทักษ์ หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี (CTO) ให้ดาํ รงตําแหน่ งหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร (CEO) รับผิดชอบดูแลสายงานธุรกิจสือ่ สารไร้สาย แทนนายสมประสงค์ บุญยะชัย ซึง่ ยังคงดํารงตําแหน่ง ประธานกรรมการบริหารของบริษทั ฯ โดยให้มผี ลตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2550 ในเดือนพฤษภาคม บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) ได้จดทะเบียนตัง้ บริษทั กับ กระทรวงพาณิชย์ เพือ่ ประกอบธุรกิจนําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์โทรคมนาคม แต่ เดิมธุรกิจดังกล่าวบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี เป็ นผูด้ าํ เนินการ ในเดือนกรกฎาคม บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด เปิ ดตัวโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ เ่ี ป็ นแบรนด์ของตนเอง (House brand) ใหม่ลา่ สุดภายใต้ชอ่ื ‘Phone One’

ส่วนที่ 2 หน้า 17


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เหตุการณ์สาํ คัญในปี 2551 มกราคม -

บริษทั ฯ และ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ร่วมลงนามความเข้าใจในการส่งเสริมและพัฒนากิจการโทรคมนาคม ไทย (Memorandum of Understanding) เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมร่วมกัน โดยให้โครงข่ายทัง้ สองสามารถทํางานร่วมกันได้ในลักษณะ Fixed Mobile Convergence เพือ่ นําเสนอบริการทีส่ อดคล้องกับวิถชี วี ติ ของลูกค้า สร้างความหลากหลายและครบวงจร รองรับการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต โดยคํานึงถึง ประโยชน์ทจ่ี ะเกิดต่อประเทศชาติ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และประชาชนผูใ้ ช้บริการ

-

บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 69.99 จากบริษทั เอ็นทีที โดโคโม อินคอร์ปอเรชัน่ จํานวน 9,000,000 หุน้ ในมูลค่า 126,000,000 บาท คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 30 จากทุนจดทะเบียนของ เอเอ็มพี โดยภายหลังจากการซือ้ หุน้ สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 99.99

-

บริษทั ฯ เปิ ดแนวคิด “AIS Smart SMEs ทุกธุรกิ จจัดการได้” โดยมุง่ เน้นการเสริมศักยภาพผูป้ ระกอบการ ่ โดยเน้นเป็ นศูนย์รวมสิง่ ทีจ่ ะสนับสนุ นผูป้ ระกอบการ SMEs SMEs ไทยทีม่ จี าํ นวนกว่า 2.2 ล้านรายทัวประเทศ อย่างครบวงจร ใน 6 เครือ่ งมือ ประกอบด้วย การบริการเพือ่ เพิม่ โอกาสทางการตลาด, การบริการการสือ่ สารเพือ่ ธุรกิจ, การบริการหลังการขาย, การบริการจาก AIS Smart Solutions , การบริการด้านข้อมูลข่าวสารผ่าน SMEs Hot Line 1149 และ สิทธิพเิ ศษจากเอไอเอสและพันธมิตรทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน

-

โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบจีเอสเอ็ม แอดวานซ์ และวัน-ทู-คอล! ได้รบั การจัดอันดับให้เป็ นระบบโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ ่ี น่าเชือ่ ถือทีส่ ดุ อันดับที่ 1 และ 2 ตามลําดับ ประจําปี 2551 จากผลสํารวจของนิตยสาร BrandAge

-

โครงการสานรักจาก เอไอเอส ได้รบั มอบโล่รางวัลกิตติคุณสัมพันธ์ “สังข์เงิ น” ประจําปี 2550 ประเภทโครงการที่ มีผลงานดีเด่นด้านการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและเป็ นทีย่ อมรับของสังคมโดยรวม จากสมาคมนัก ประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย

-

รายการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” ของ เอไอเอส ได้รบั รางวัลเชิดชูเกียรติ “คิ ดส์ อวอร์ด” ด้านพิทกั ษ์สทิ ธิ เด็ก จากสภาคริสตจักรเครือข่ายเยาวชนเพื่อการพัฒนาและสํานักกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.)

กุมภาพันธ์ -

บริษทั ฯ เปิ ดตัวเครือข่ายประหยัดพลังงานภายใต้แนวคิด “Green Network” เพือ่ ร่วมเป็ นส่วนหนึ่งในการรณรงค์ ลดภาวะโลกร้อน โดยคัดเลือกวิธกี ารหลากหลายเข้ามาผสมผสานในการทํางานด้านเครือข่ายเพือ่ ให้มกี ารใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึน้

-

เอไอเอส Call Center ได้เปิ ดตัว 3 บริการใหม่ ได้แก่ บริการภาษาต่างประเทศ 5 ภาษา ประกอบด้วย ภาษาจีน, ญีป่ ่ นุ เกาหลี, ฝรังเศส ่ และอังกฤษ เพือ่ อํานวยความสะดวกให้กบั ลูกค้าชาวต่างชาติทงั ้ ทีอ่ ยู่ในประเทศไทยและที่ เดินทางเข้ามาท่องเทีย่ ว บริการภาษาท้องถิน่ ทัง้ ภาคเหนือ ใต้ และอีสาน เพือ่ สร้างความรูส้ กึ คุน้ เคยเป็ นกันเอง ให้กบั ลูกค้าต่างจังหวัดทีไ่ ม่นิยมใช้ภาษากลาง และบริการคุยผ่านกล้อง Web cam เพือ่ เพิม่ ความรูส้ กึ ใกล้ชดิ ของ การให้บริการสําหรับลูกค้าทีต่ ดิ ต่อ Call Center ผ่านอินเตอร์เน็ต

ส่วนที่ 2 หน้า 18


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

มีนาคม -

บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด ประกาศคงอันดับเครดิตองค์กรของ เอไอเอส ในระดับ “AA” ด้วยแนวโน้ม “Stable” หรือ “คงที”่ ซึง่ สะท้อนถึงความเป็ นผูน้ ําตลาดในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ องไทยและคณะผูบ้ ริหารทีด่ าํ เนินธุรกิจ อย่างมืออาชีพและมีความสามารถในการบริหารงานท่ามกลางภาวะการแข่งขันทีร่ นุ แรง โดยสามารถนําพาองค์กร ให้มคี วามมันคงและเจริ ่ ญเติบโตสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง

-

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2551 มีมติอนุ มตั กิ ารเพิม่ ทุนในบริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.93 โดยเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 1,000,000 บาท เป็ น 300,000,000 บาท ทัง้ นี้ภายหลังจากเพิม่ ทุนแล้ว บริษทั ฯ จะถือหุน้ ใน เอสบีเอ็น เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 99.99 โดยทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ จะนําไปใช้ลงทุนในโครงข่ายพืน้ ฐานมุง่ เน้นทางด้านการเชือ่ มโยงการส่งข้อมูลระหว่าง โครงข่าย

เมษายน -

ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจําปี 2551 ของบริษทั ฯ มีมติอนุ มตั จิ า่ ยเงินปั นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลัง ของปี 2550 (1 กรกฎาคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2550) ในอัตราหุน้ ละ 3.30 บาท ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ หมดจํานวน ประมาณ 2,960 ล้านหุน้ คิดเป็ นเงินประมาณ 9,769 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ กําหนดจ่ายเงินปั นผลในวันที่ 8 พฤษภาคม 2551

-

บริษทั ฯ เสนอขายหุน้ กูไ้ ม่มปี ระกันให้แก่บคุ คลทัวไป ่ อายุ 5 ปี จํานวน 4,000 ล้านบาท ในอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.0 สําหรับ 2 ปี แรก และร้อยละ 4.9 สําหรับ 3 ปี หลัง โดยได้รบั การจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือทีร่ ะดับ “AA” จาก บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด

พฤษภาคม -

บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยู่ ร้อยละ 98.55 ได้ทาํ ข้อตกลงยุตขิ อ้ พิพาทกับบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) ในกรณีท่ี ดีแทค เรียกร้องให้ ดีพซี ี ชําระ ค่าตอบแทนจากการรับโอนสิทธิและหน้าทีใ่ นการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมแบบเซลลูลา่ ร์ Digital PCN 1800 ค่า ใช้สงิ่ อํานวยความสะดวกและอุปกรณ์ และค่าตอบแทนการใช้โครงข่ายร่วมตามสัญญา The Agreement to Unwind the Service Provider Agreement ("Unwind Agreement") โดยในวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 ดีพซี ี ตก ลงชําระเงินจํานวน 3,000 ล้านบาท ให้แก่ ดีแทค

-

บริษทั ฯ ขายหุน้ สามัญของ บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั ่นส์ จํากัด (เอดีซ)ี ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยที่ บริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 51.00 ให้บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 98.55 โดยซือ้ ขายในราคามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 จํานวน 199,240,761.60 บาท โดยภายหลังจากการขายหุน้ ดังกล่าว เอดีซี ยังคงเป็ นบริษทั ย่อยโดยทางอ้อมของบริษทั ฯ โดยผ่านทาง ดีพซี ี การทํารายการดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็ นการปรับโครงสร้างของบริษทั ฯ ให้มี ประสิทธิภาพสูงสุดประกอบกับจะเป็ นการผนวกจุดแข็งของเครือข่ายการสือ่ สารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตกับเครือข่ายบริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ พือ่ เพิม่ มูลค่าให้กจิ การของดีพซี ใี นอนาคต

-

บริษทั ดาต้า ลายไทย จํากัด (ดีแอลที) บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 65.00 ได้จดทะเบียนเสร็จการชําระ บัญชีกบั กระทรวงพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2551 มีผลให้สน้ิ สภาพเป็ นนิตบิ คุ คล ทัง้ นี้ บริษทั ดาต้า ลาย ไทย จํากัด ไม่ได้มธี ุรกรรมใดๆ ตัง้ แต่ปี 2550 ดังนัน้ การเลิกบริษทั ย่อยดังกล่าวจึงไม่สง่ ผลกระทบต่อการดําเนิน ส่วนที่ 2 หน้า 19


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ธุรกิจของบริษทั ฯ แต่อย่างใด -

จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ ร่วมเป็ นส่วนหนึ่งในการรักษาสิง่ แวดล้อม ลดปริมาณการใช้กระดาษให้กบั โลก ด้วยการเชิญ ชวนผูใ้ ช้บริการสมัครใช้บริการ “GSM e-Statement” บริการรับใบแจ้งค่าใช้บริการทางอีเมล์

-

เอไอเอส และจีเอสเอ็ม แอดวานซ์ เปิ ดให้บริการ 3GSM advance: อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงบนมือถือและ โทรศัพท์มอื ถือเห็นหน้าได้ ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลืน่ ความถี่ 900MHz ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่เป็ นแห่งแรกของ ประเทศไทย

มิ ถนุ ายน -

คณะกรรมการบริษทั มีมติแต่งตัง้ นายแอเลน ลิว ยง เคียง ดํารงตําแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร แทนนายสม ประสงค์ บุญยะชัย ทีข่ อลาออกจากตําแหน่งกรรมการบริหาร โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2551 เป็ นต้นไป

-

นิตยสาร Asian Mobile News ได้คดั เลือกให้บริษทั ฯ เป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีย่ อดเยีย่ มแห่งเอเชีย ประจําปี 2008 (Asian Mobile Operator of the Year 2008) และผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีย่ อดเยีย่ มของไทย ประจําปี 2008 (Mobile Operator of the Year, Thailand 2008)

-

หนังสือพิมพ์วอลล์สตรีท เจอร์นัล เอเชีย (The Wall Street Journal Asia) ได้คดั เลือกให้บริษทั ฯ เป็ นผูใ้ ห้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ พียงรายเดียวทีต่ ดิ อันดับ 1 ใน 10 บริษทั ชัน้ นําของไทย โดยอยูใ่ นลําดับที่ 7 ซึง่ การจัดอันดับ ครัง้ นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการจัดอันดับบริษทั ทีน่ ่าชืน่ ชมทีส่ ดุ 200 แห่งของเอเชีย นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังได้รบั การ ยอมรับให้เป็ นผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ายเดียวทีม่ สี นิ ค้าและบริการทีม่ คี ุณภาพ (Quality of Goods and Services)

กรกฎาคม -

บริษทั ฯ ขยายโอกาสสร้างอาชีพให้แก่ผพู้ กิ ารทางสายตาในเขตภูมภิ าค โดยร่วมกับโรงเรียนสอนคนตาบอด ภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ เปิ ดศูนย์ปฏิบตั กิ าร Call Center “เอไอเอสสร้างอาชีพ Call Center แด่ผพู้ กิ ารทางสายตา” หลังจากทีไ่ ด้เปิ ดศูนย์ปฏิบตั กิ ารดังกล่าวทีก่ รุงเทพมาแล้วในปี 2550

สิ งหาคม -

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2551 มีมติอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลจากผลการดําเนินงาน 6 เดือนแรกของปี 2551 งวดการดําเนินงานตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน 2551 ในอัตราหุน้ ละ 3.00 บาท ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ หมดจํานวนประมาณ 2,962 ล้านหุน้ คิดเป็ นเงินประมาณ 8,885 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ กําหนด จ่ายเงินปั นผลในวันที่ 10 กันยายน 2551

-

บริษทั ฯ พัฒนาระบบให้เจ้าหน้าทีต่ าํ รวจสามารถส่ง SMS ไปยังศูนย์ขอ้ มูลเพือ่ ตรวจสอบประวัตบิ ุคคลทีโ่ ดน หมายจับ ตรวจสอบรถสูญหาย โดยจะมีขอ้ ความตอบกลับมาแบบ Real Time อันจะทําให้กระบวนการติดตาม จับกุมเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยแนวคิด “สายสืบมือถือ”

กันยายน -

โครงการสานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง ของบริษทั ฯ ได้รบั มอบโล่ประกาศเกียรติคุณจากโครงการคนดี คิดดี สังคมดี ประจําปี 2551 จากกระทรวงวัฒนธรรม ในฐานะทีบ่ ริษทั ฯ เป็ นองค์กรทีร่ ว่ มส่งเสริมคนดีให้เกิดขึน้ ในสังคมไทย ส่วนที่ 2 หน้า 20


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ตุลาคม -

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั (วาระพิเศษ) มีมติอนุมตั กิ ารแต่งตัง้ นายสมประสงค์ บุญยะชัย ดํารงตําแหน่งเป็ น รองประธานกรรมการ โดยให้มผี ลตัง้ แต่วนั ที่ 8 ตุลาคม 2551 เป็ นต้นไป

-

บริษทั สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ จํากัด หรือ S&P สถาบันคงอันดับความน่าเชือ่ ถือทางการเงินระหว่างประเทศ ประกาศยกอันดับแนวโน้มของ เอไอเอส จาก “Negative” เป็ น “Stable” และประกาศคงอันดับความน่าเชือ่ ถือ องค์กรทีร่ ะดับ “A-“ สะท้อนถึงความสามารถในการยืนหยัดเป็ นทีห่ นึ่งทางด้านรายได้ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ในประเทศไทย ความแข็งแกร่งของแบรนด์ คุณภาพโครงข่ายทีค่ รอบคลุมทัวประเทศ ่ คุณภาพการบริการที่ เหนือกว่า และโครงสร้างทางการเงินทีเ่ ข้มแข็งของบริษทั ฯ

-

บริษทั ฯ ขยายโอกาสทางอาชีพให้แก่ผพู้ กิ ารทางการได้ยนิ (หูหนวก) ด้วยการรับผูพ้ กิ ารทางการได้ยนิ เข้าเป็ น พนักงานประจําของบริษทั ฯ ปฏิบตั หิ น้าที่ Call Center ให้บริการตอบคําถามข้อมูลต่างๆผ่านบริการ Real Talk ภาษามือ (iSign) บนเว็บแคม พร้อมมอบสิทธิและสวัสดิการต่างๆ เช่นเดียวกับพนักงานปกติ

-

บริษทั ฯ เปิ ดตัวแนวคิดใหม่เพิม่ ความสดใส เติมพลังและสร้างความแตกต่างให้กบั แบรนด์ ภายใต้แนวคิด "อยู่ เคียงข้างคุณ (With you, Always)” โดยมี Animation ชือ่ "น้ องอุ่นใจ" ทําหน้าทีเ่ ป็ นสัญลักษณ์ถ่ายทอด ความเป็ นเพือ่ นอยูเ่ คียงข้างลูกค้าใน 5 ด้าน ได้แก่ เครือข่ายคุณภาพ บริการลูกค้าทีเ่ ป็ นเลิศ นวัตกรรมใหม่ๆ สิทธิพเิ ศษ และการตอบแทนสังคม

พฤศจิ กายน -

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 6/2551 มีมติอนุ มตั กิ ารลดทุนของ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป็ น บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 98.55 โดยลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 14,621,861,680 บาท เป็ น 4,386,558,504 บาท หรือจากมูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้เดิม 10 บาท เป็ น 3 บาท ทัง้ นี้ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงจํานวนหุน้ โดยบริษทั ฯ ยังคงจํานวนหุน้ และอัตราส่วนถือหุน้ ใน ดีพซี ี เท่าเดิม เหตุผลในการลดทุนเพื่อปรับปรุงโครงสร้าง เงินทุนของ ดีพซี ี ให้มคี วามเหมาะสมยิง่ ขึน้ โดยการคืนส่วนเกินเงินสดให้แก่ผถู้ อื หุน้

-

คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนในบริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึง่ เป็ น บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.93 โดยเพิม่ ทุนจดทะเบียน จากเดิม 1,000,000 บาท เป็ นทุนจดทะเบียน 350,000,000 บาท ทัง้ นี้ภายหลังจากเพิม่ ทุนแล้ว บริษทั ฯ จะถือหุน้ ใน เอดับบลิวเอ็น เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 99.99 โดยเงินทุนทีไ่ ด้จากการเพิม่ ทุนจะเตรียมไว้ใช้ในการลงทุนในอนาคต

-

คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุ มตั กิ ารเลิกบริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (ดีเอ็นเอส) ผูใ้ ห้บริการสือ่ สาร ข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ในเขตต่างจังหวัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยู่รอ้ ยละ 49.00 ทัง้ นี้ ดี เอ็นเอส ไม่ได้ประกอบธุรกรรมใดๆ มาเป็ นเวลานานแล้ว ดังนัน้ การเลิกบริษทั ย่อยดังกล่าวจึงไม่สง่ ผลกระทบต่อ การดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ แต่อย่างใด

-

บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลสือ่ สร้างสรรค์สขุ ภาพจิต ประจําปี 2551 สาขาโฆษณาโทรทัศน์ ชุด “โอกาส” จากกรม สุขภาพจิต เนื่องในงานสัปดาห์สขุ ภาพจิตแห่งชาติ

ธันวาคม -

บริษทั ฯ เปิ ดให้บริการ 3G ด้วยเทคโลยี HSPA บนคลืน่ ความถี่ 900MHz เป็ นรายแรกในกรุงเทพ ซึง่ เป็ นการ ดําเนินงานต่อเนื่องมาจากการเปิ ดบริการ 3G ในจังหวัดเชียงใหม่ก่อนหน้านี้ในเดือนพฤษภาคม โดยบริการทีเ่ ปิ ด ส่วนที่ 2 หน้า 21


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ให้ลกู ค้าได้ใช้งาน ได้แก่ Video call, บริการข้อมูลผ่าน AIS Mobile Internet และการใช้งาน Wireless Hi-speed Internet สําหรับลูกค้าระบบเติมเงินและระบบรายเดือน

2.2

-

นิตยสาร The Asset ได้จดั อันดับให้บริษทั ฯ เป็ นบริษทั ทีม่ กี ารกํากับดูแลกิจการดีทส่ี ดุ ของประเทศไทย ประจําปี 2551 (The Best in Corporate Governance in Thailand 2008) อันดับที่ 4 ซึง่ เป็ นบริษทั โทรคมนาคมของไทย เพียงรายเดียวทีต่ ดิ อันดับในครัง้ นี้

-

บริษทั ฯ ได้รบั โล่ประกาศเกียรติคุณสถานประกอบการดีเด่นด้านการจ้างงานคนพิการ เนื่องในงานวันคนพิการ สากล ประจําปี 2551 จากสํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ

-

บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลนวัตกรรมดีเด่นจากมหาชน (Popular Vote Award 2008) จากงานประกาศผล รางวัล Thailand’s Most Innovative Company ซึง่ จัดขึน้ โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ เครือเนชันกรุ ่ ๊ป ภาพรวมการประกอบธุรกิ จ

บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ “เอไอเอส” หรือ “ADVANC”) เป็ นผูใ้ ห้บริการสือ่ สาร โทรคมนาคมไร้สายอันดับหนึ่งของประเทศไทย โดยเปิ ดดําเนินการมา 18 ปี และมีโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีค่ ุณภาพที่ ครอบคลุมกว่าร้อยละ 97 ของพืน้ ทีท่ ม่ี ปี ระชากรอาศัยทัวประเทศ ่ ให้บริการลูกค้ากว่า 27 ล้านคน โดยมีสว่ นแบ่งตลาดของ จํานวนผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีป่ ระมาณร้อยละ 45 ในขณะทีส่ ว่ นแบ่งตลาดของรายได้เท่ากับร้อยละ 52 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ รวมถึงบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจการให้บริการโทรคมนาคมในด้านต่างๆ ดังนี้

ธุรกิ จโทรคมนาคมของกลุ่มบริ ษทั บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ GSM บริ การโทรออกต่างประเทศ บริ การสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์

บริ การข้อมูลทางโทรศัพท์ Call center ธุรกิ จจัดจําหน่ ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซิ มการ์ดและ บัตรเติ มเงิ น ให้บริ การชําระสิ นค้าและบริ การผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่

ส่วนที่ 2 หน้า 22


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ระบบ GSM บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้ให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นระบบดิจติ อล GSM ย่านความถี่ 900 และ 1800 เมกกะเฮิรต์ (MHz) ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบสร้าง-โอน-ดําเนินงาน (BTO: Build-Transfer-Operate) ดังนี้ ระบบดิ จิตอล GSM ย่านความถี่ 900 MHz ดําเนินงานโดยเอไอเอส ซึง่ ทําสัญญาร่วมกับบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ที โอที) โดยมีอายุสญ ั ญาตัง้ แต่ปี 2533 และสิน้ สุดปี 2558 รวมทัง้ สิน้ เป็ นระยะเวลา 25 ปี ซึง่ ภายใต้สญ ั ญามีขอ้ กําหนดดังนี้ -

-

เอไอเอสจะต้องเป็ นผูล้ งทุนสร้างเครือข่ายเซลลูลาร์ รวมถึงรับผิดชอบในการหาเงินลงทุนและค่าใช้จา่ ยอื่น ทัง้ หมด และโอนกรรมสิทธ์ในเครือข่ายแก่ผใู้ ห้สมั ปทาน คือ ทีโอที เอไอเอสจะต้องจ่ายผลตอบแทนในรูปแบบของส่วนแบ่งรายได้จากการบริการให้แก่ทโี อที แบ่งเป็ น 1) ส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการแบบชําระค่าบริการหลังการใช้ (Postpaid) ปั จจุบนั อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 30 ของรายได้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ 2) ส่วนแบ่งรายได้จากบริการแบบชําระค่าใช้บริการล่วงหน้า (Prepaid) ปั จจุบนั อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 20 ของ รายได้ก่อนหักภาษีมลู ค่าเพิม่

บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาการใช้อตั ราเชื่อมโยงโครงข่าย (Interconnection Charge) ร่วมกับ บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอม มิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) และ บริษทั ทรูมฟู จํากัด ในปี 2549 และ 2550 ตามลําดับ ซึง่ เป็ นค่าตอบแทนทีผ่ ู้ ประกอบกิจการโทรคมนาคมต้องจ่ายเพือ่ ตอบแทนการเชือ่ มต่อระหว่างโครงข่ายโทรคมนาคมของอีกฝ่ าย โดยเก็บในอัตรา นาทีละ 1 บาท ระบบดิ จิตอล GSM ย่านความถี่ 1800 MHz ดําเนินงานโดยบริษทั ย่อย คือ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี (เอไอเอ สถือหุน้ ร้อยละ 98.55) ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบสร้าง-โอน-ดําเนินงาน (BTO: Build-Transfer-Operate) กับบริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เป็ นระยะเวลา 16 ปี ตัง้ แต่ปี 2540 สิน้ สุดปี 2556 โดย ดีพซี ี ต้องจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทนเป็ นร้อยละของรายได้จากการให้บริการให้แก่ กสท. ปั จจุบนั อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 25 ของรายได้ ทัง้ นี้ ดีพซี ี ยังมีสญ ั ญาการใช้บริการเครือข่ายร่วม (Network Roaming) ระหว่าง เอไอเอส กับ ดีพซี ี ซึง่ จะทําให้ผใู้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบดิจติ อล GSM 1800 สามารถใช้งานได้ทวประเทศเหมื ั่ อนกับผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบดิจติ อล GSM advance อีก ด้วย บริการโทรออกต่างประเทศ บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) (เอไอเอสถือหุน้ ร้อยละ 99.99) เอไอเอ็น ได้รบั ใบอนุญาตเพือ่ ประกอบ กิจการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เป็ นระยะเวลา 20 ปี ตัง้ แต่ปี 2549 สิน้ สุดในปี 2569 ภายใต้ระเบียบใบอนุญาตทีไ่ ด้รบั จาก กทช. เอไอเอ็น ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมให้กบั กทช. ทัง้ สิน้ ร้อยละ 7 จากรายได้จากการให้บริการ แบ่งเป็ นค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรายปี รอ้ ยละ 2.5 และค่าบริการโทรคมนาคม พืน้ ฐานโดยทัวถึ ่ งและบริการเพือ่ สังคม (Universal Service Obligation – USO) ร้อยละ 4 ธุรกิ จการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) (เอไอเอสถือหุน้ ร้อยละ 99.99) ประกอบธุรกิจให้บริการ โทรศัพท์พน้ื ฐานโดยมุ่งเน้นเรือ่ งการให้บริการด้านข้อมูล โดยเอสบีเอ็นได้รบั ใบอนุญาตจาก กทช. ในปี 2550 เพือ่ ประกอบ ธุรกิจให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่ายโทรคมนาคม ได้แก่ ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตเกต เวย์ระหว่างประเทศและบริการชุมสายอินเตอร์เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงข่าย ส่วนที่ 2 หน้า 23


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการ โทรทัศน์ผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television) เป็ นต้น บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิ วนิ เคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซี) (เอไอเอสถือหุน้ ร้อยละ 51โดยทางอ้อมผ่านดีพซี )ี ประกอบธุรกิจบริการสือ่ สารข้อมูลผ่านทางเครือข่ายสายโทรศัพท์ และสาย Optical Fiber เป็ นธุรกิจร่วมลงทุนกับ บริษทั ที โอที จํากัด (มหาชน) มีอายุสญ ั ญาการให้บริการสิน้ สุดในปี 2565 บริการของ เอดีซี ได้แก่ บริการสือ่ สารข้อมูลผ่านทาง เครือข่ายสายโทรศัพท์และสาย Optical fiber, บริการรับฝาก Server และรับฝากข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต, บริการให้เช่าใช้ พืน้ ที่ (Hosting) ทําเว็บไซต์ รวมถึงการให้บริการอินเตอร์เน็ตอย่างครบวงจร ธุรกิ จบริ การข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call Center) บริษทั แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซี) (เอไอเอสถือหุน้ ร้อยละ 99.99) ประกอบธุรกิจบริการข้อมูลทาง โทรศัพท์เน้นการให้บริการลูกค้าสัมพันธ์เป็ นหลัก ซึง่ ถือเป็ นกุญแจสําคัญทีท่ าํ ให้เอไอเอสแตกต่างจากผูป้ ระกอบการรายอื่น เพราะเหนือกว่าการให้บริการก่อนหรือหลังการขายหรือตอบปั ญหาทัวไป ่ เช่น เรือ่ งการชําระค่าบริการ หรือสอบถามข้อมูล บริการ พนักงานของ เอซีซี ยังมีบทบาทสําคัญในการช่วยสนับสนุนกิจกรรมการตลาดของกลุม่ บริษทั ฯ และแนะนําสินค้า และบริการให้ทงั ้ ลูกค้าปั จจุบนั และลูกค้าใหม่ดว้ ย นอกจากนี้ เอซีซี ยังขยายโอกาสทางอาชีพให้แก่ผพู้ กิ ารทางสายตาและผู้ พิการทางการได้ยนิ ด้วยการรับผูพ้ กิ ารทางสายตาและทางการได้ยนิ เข้าเป็ นพนักงานประจําในคอลเซ็นเตอร์โดยให้สทิ ธิ และสวัสดิการเท่าเทียมกับพนักงานประจําปกติ ธุรกิ จนําเข้าและจัดจําหน่ ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซิ มการ์ดและบัตรเติ มเงิ น บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิ วดีเอส) (เอไอเอสถือหุน้ ร้อยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจจัดจําหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์โทรคมนาคม โดยจําหน่ายให้แก่ตวั แทนจําหน่ายโดยทัวไป ่ โดยไม่ได้จาํ กัดเพียงการขาย ให้แก่ลกู ค้าของ เอไอเอส เท่านัน้ นอกจากนี้ ดับบลิวดีเอส ได้ประกอบธุรกิจขายส่งซิมการ์ดและบัตรเติมเงินของ เอไอเอ สผ่านร้านเทเลวิซทีเ่ ป็ นระบบแฟรนไชน์จาํ นวนมากกว่า 350 สาขา ร้านเทเลวิซ เอ็กเพรส ทีเ่ ป็ นสาขาย่อยมากกว่า 280 แห่ง และผ่านตัวแทนจําหน่ายทัวไปกว่ ่ า 10,000 สาขา โดยในปี 2551 รายได้ทม่ี าจากธุรกิจนําเข้าและจัดจําหน่าย โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์โทรคมนาคมคิดเป็ นอัตราส่วนร้อยละ 10.1 ของรายได้รวมบริษทั ฯ ธุรกิ จให้บริ การชําระสิ นค้าและบริ การผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) (เอไอเอสถือหุน้ ร้อยละ 99.99) เป็ นธุรกิจให้บริการชําระสินค้าและบริการ ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ทนการใช้เงินสด หรือบัตรเครดิต (Mobile payment) เอเอ็มพี ได้รบั อนุ ญาตจากธนาคารแห่ง ประเทศไทย (ธปท.) ให้ประกอบธุรกิจให้บริการชําระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ทนการใช้เงินสด หรือบัตร เครดิต ภายใต้ชอ่ื “เอ็มเปย์ (mPAY)” ซึง่ เพิม่ ความสะดวกและปลอดภัยแก่ลกู ค้าเอไอเอสในการทําธุรกรรมทางการเงินผ่าน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยลูกค้าสามารถใช้ เอ็มเปย์ ซือ้ สินค้า online ชําระค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เติมเงินระบบ วัน-ทูคอล! และชําระค่าสินค้าและบริการต่างๆ ทัง้ นี้ในปี 2551 เอไอเอส ได้ซอ้ื หุน้ ในส่วนของบริษทั เอ็นทีที โดโคโม ทีถ่ อื อยู่ จํานวนร้อยละ 30 คืนทัง้ จํานวน ทําให้ปัจจุบนั สัดส่วนทีเ่ อไอเอสถือหุน้ ในเอเอ็มพีเพิม่ จากเดิมร้อยละ 69.99 เป็ นร้อยละ 99.99

ส่วนที่ 2 หน้า 24


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครือ ปั จจุบนั บริษทั ฯ ได้ลงทุนกับบริษทั ในเครือทัง้ หมด 11 บริษทั และมีพนักงานในเครือจํานวน 8,926 คน (รวมพนักงาน ชัวคราว) ่ ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2551 รายละเอียดของบริษทั ในเครือมีดงั ต่อไปนี้ บริษทั บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซ)ี * บริษทั แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซ)ี บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั่ จํากัด (ดีเอ็นเอส)** บริษทั โมบาย ฟรอม แอดวานซ์ จํากัด (เอ็มเอฟเอ) บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี)*** บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จํากัด (เอเอ็มซี) บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ท เวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น)

ลักษณะการประกอบกิ จการ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ GSM 1800 MHz ให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ และ สาย Optical Fiber ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (Call center service) ให้บริการการสือ่ สารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์ ปั จจุบนั หยุดการดําเนินงานและอยู่ระหว่างการชําระบัญชี ปั จจุบนั ไม่ได้ดาํ เนินธุรกิจ

สัดส่วนที่ถือ 98.55% 51.00% 99.99% 49.00% 99.99%

ให้บริการชําระสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ทน การใช้เงินสดหรือ บัตรเครดิต จําหน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card)

99.99%

ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

99.99%

ให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ตระหว่าง ประเทศและบริการชุมสายอินเตอร์เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงข่ายโทรคมนาคม ระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศน์ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (IP Television) บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย นําเข้าและจัดจําหน่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ อุปกรณ์ จํากัด (ดับบลิวดีเอส) โทรคมนาคม บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค ให้บริการโทรคมนาคม บริการโครงข่ายโทรคมนาคม และ จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) บริการระบบคอมพิวเตอร์ ปั จจุบนั บริษทั ได้รบั ใบอนุ ญาต ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP)แบบที่ 1 และใบอนุญาตให้บริการโทรคมนาคมแบบที่ 3 จาก กทช.

99.99%

99.99%

99.99% 99.99%

* ถือหุน้ โดยทางอ้อมผ่าน บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด ** บริษทั ดีเอ็นเอส ได้จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2551 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี ***เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2551 เอไอเอส ได้ซอ้ื หุน้ สามัญ บริษทั เอเอ็มพี คืนทัง้ หมดจากบริษทั NTT DoCoMo โดยหลังจากการซือ้ หุน้ คืน สัดส่วนการถือหุน้ ของเอไอเอสเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 69.99 เป็ นร้อยละ 99.99

ส่วนที่ 2 หน้า 25


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 หน้า 26


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 2 หน้า 27


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2.3 โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ทเ่ี กิดจากการให้บริการและขายผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือให้บุคคลภายนอกในระยะ 3 ปี ทผ่ี ่านมา ร้อยละการถือ ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ผลิตภัณฑ์/บริการ ดําเนินการโดย หุน้ ของบริษทั ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ณ 31 ธ.ค. 51 ธุรกิ จโทรศัพท์เคลื่อนที่ - บริการและให้เช่าอุปกรณ์ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 75,223.00 82.27 91,991.78 84.82 94,878.81 85.63 บจ. ดิจติ อล โฟน 98.55 98.36 0.11 962.77 0.89 926.00 0.84 บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย 99.99 27.55 0.22 52.71 0.05 บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม 99.99 984.31 0.91 2,902.73 2.62 - การขาย บจ. ดิจติ อล โฟน 98.55 15,362.54 16.80 9,503.76 8.76 173.48 0.16 บจ. ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย 99.99 4,138.96 3.82 11,031.65 9.96 รวม 90,683.90 99.18 107,609.13 99.22 109,965.38 99.26 บจ.แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ 51.00 728.81 0.80 838.75 0.77 794.47 0.71 ธุรกิ จบริ การสื่อสารข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ และอิ นเตอร์เน็ต บจ. ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั่ 49.00 7.36 0.01 1.58 ความเร็วสูง บจ. ดาต้า ลายไทย 65.00 1.46 บจ. ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค 99.99 25.89 0.02 รวม 737.63 0.81 840.33 0.77 820.36 0.73 บจ. แอดวานซ์คอนแท็คเซ็นเตอร์ 99.99 6.63 0.01 4.59 0.01 5.76 0.01 ธุรกิ จบริ การให้ข้อมูลทางโทรศัพท์ รวม 6.63 0.01 4.59 0.01 5.76 0.01 รวม 91,428.16 100.00 108,454.05 100.00 110,791.50 100.00 หมายเหตุ : 1) 2) 3) 4) 5) 6)

บริษทั ฯ เข้าถือหุน้ ในบริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ในเดือนมิถุนายน 2550 บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด เริม่ การดําเนินงานธุรกิจในปี 2550 และเปลีย่ นชือ่ จากเดิม บริษทั เอไอเอส อินเตอร์เนชันแนล ่ เน็ทเวอร์ค จํากัด ในเดือนมีนาคม 2550 บริษทั ดาต้าลายไทย จํากัด เสร็จสิน้ การชําระบัญชีวนั ที่ 13 พฤษภาคม 2551 บริษทั ฯ ถือหุน้ ทางอ้อมในบริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด จากการขายหุน้ ทัง้ หมดร้อยละ 51 ให้แก่บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด เริม่ การดําเนินงานในปี 2551 และเพิม่ ทุนเป็ น 300 ล้านบาทในเดือนเมษายน 2551 บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด ได้จดทะเบียนเลิกกิจการในวันที่ 16 ธันวาคม 2551 และอยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี

ส่วนที่ 2 หน้า 28


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

2.4

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิ จใน 3-5 ปี

เนื่องจากตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นประเทศไทยมีแนวโน้มเข้าสูจ่ ุดอิม่ ตัวในไม่ชา้ อัตราการเติบโตของบริการทาง เสียงจะเริม่ ลดน้อยลง ในขณะทีบ่ ริการด้านข้อมูลจะทวีความสําคัญมากขึน้ เพือ่ ก้าวไปสูก่ ารเป็ นผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคมทีค่ รบวงจร (Total Telecom Service provider) เอไอเอสได้ขยาย การให้บริการต่างๆ ซึง่ รวมถึง: บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ, บริการอินเตอร์เน็ตระหว่างประเทศ, บริการด้านข้อมูลผ่าน โทรศัพท์พน้ื ฐาน และเชือ่ มต่อผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ซึง่ บริการเหล่านี้ เอไอเอสได้รบั ใบอนุ ญาตให้ประกอบธุรกิจจาก คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) และจะเป็ นสายธุรกิจหลักทีเ่ อไอเอส จะมุ่งเน้นไปในอีก 3-5 ปี ขา้ งหน้านี้ บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ได้เริม่ ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตัง้ แต่ปี 2550 ซึง่ อัตรา การเติบโตของธุรกิจดังกล่าวเพิม่ ขึน้ อย่างเห็นได้ชดั ในปี 2551 นอกจากนี้ บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ได้เริม่ ให้บริการข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์พน้ื ฐาน และบริการให้เช่าอินเตอร์เน็ตเกตเวย์แก่ลกู ค้าองค์กร ในอีก 3-5 ปี ข้างหน้า บริษทั ฯ มีแผนจะขยายธุรกิจด้านการสือ่ สารข้อมูลไร้สายความเร็วสูง ซึง่ ไม่เพียงแต่ผา่ น โทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ท่านัน้ แต่รวมถึงคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค และ คอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้งานตามบ้าน เนื่องจาก บริษทั ฯ เล็งเห็นว่า การสือ่ สารทางเสียงจะเข้าสูจ่ ุดอิม่ ตัวในไม่ชา้ นี้ ในทางกลับกัน การสือ่ สารทางข้อมูลเพิง่ เข้าสูร่ ะยะเริม่ ต้นเท่านัน้ อัตราส่วน รายได้จากบริการด้านข้อมูลต่อรายได้จากการให้บริการอยูท่ เ่ี พียงร้อยละ 13 ในขณะทีร่ ายได้จากบริการด้านข้อมูลไม่รวม SMS มีอตั ราเพียงร้อยละ 8 ดังนัน้ ตลาดบริการด้านข้อมูลจึงมีทางเติบโตได้อกี มาก นอกจากนี้ ตลาดการให้บริการ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพิง่ เข้าสูร่ ะยะเริม่ ต้นเท่านัน้ โดยอัตราการใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านโทรศัพท์พน้ื ฐาน (ADSL) มีเพียง 16 ล้านครัวเรือน หรือเท่ากับเพียงร้อยละ 6 ต่อครัวเรือนทัง้ หมด ทัง้ นี้ เอไอเอสมีแผนทีจ่ ะพัฒนา เทคโนโลยีการสือ่ สารข้อมูลไร้สาย เพือ่ เพิม่ โอกาสทางธุรกิจในตลาดการบริการด้านข้อมูล และเพิม่ พืน้ ทีค่ รอบคลุมการ ให้บริการมากขึน้ โดยเฉพาะในตลาดต่างจังหวัดซึง่ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านโทรศัพท์พน้ื ฐาน ยังเข้าไปไม่ถงึ อย่างไรก็ ตาม ในแง่การเลือกเทคโนโลยีทจ่ี ะเข้ามาให้บริการนัน้ ว่าจะเป็ น 3G หรือ ไวแมกซ์ ขึน้ อยูก่ บั ปั จจัยทัง้ ทางด้านความพร้อม ของเทคโนโลยี และข้อกําหนดในเชิงกฎระเบียบของกทช. เทคโนโลยีเหล่านี้จะทําให้ผใู้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีส่ ามารถ เพิม่ ความรวดเร็วในการให้บริการ รวมถึงเพิม่ บริการใหม่ๆ ด้านมัลติมเี ดีย และช่วยให้สร้างความแตกต่างของบริการมาก ขึน้ ปั จจุบนั เอไอเอส สามารถให้บริการทีค่ วามเร็วมากกว่า 100 Kbps (ความเร็วเฉลีย่ ต่อคน) บนเทคโนโลยี EDGE (Enhanced Data Rate for GSM Evolution) ซึง่ ได้เริม่ ให้บริการตัง้ แต่ตน้ ปี 2550 ทําให้สามารถเพิม่ ความเร็วสูงกว่า เทคโนโลยีเดิม หรือ GPRS (General Packet Radio Service) ถึง 3 เท่า และเป็ นผลให้อตั ราการเติบโตด้านข้อมูลในปี 2551 สูงถึงร้อยละ 28.2 เมื่อเทียบกับปี 2550 ในปี 2551 เอไอเอสก้าวไปอีกระดับ โดยการเริม่ ให้บริการ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ซึง่ ใช้คลืน่ 900 MHz ในพืน้ ที่ จํากัด ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ และ จังหวัดกรุงเทพฯ เทคโนโลยี HSPA ทําให้ผใู้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีส่ ามารถให้บริการด้านข้อมูลความเร็วสูงในอัตราทีเ่ ทียบเคียง ได้กบั อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านโครงข่ายโทรศัพท์พน้ื ฐาน หรือ ADSL ทีใ่ ช้ผา่ นคอมพิวเตอร์โน๊ ตบุ๊ค และ คอมพิวเตอร์ท่ี ใช้งานตามบ้าน บริษทั ฯ เชือ่ มันว่ ่ าปั จจัยทีจ่ ะช่วยส่งเสริมให้การให้บริการข้อมูลมีอตั ราการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องได้ใน ระยะยาว นัน้ ต้องอาศัยปั จจัยหลายด้าน ทัง้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ทีเ่ พิม่ ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล รวมถึงความหลากหลาย และราคาทีถ่ กู ลงของอุปกรณ์สอ่ื สาร ในอนาคต การให้บริการ 3G บนคลืน่ 900 MHz และ 2.1 GHz จะทําให้การลงทุนมีประสิทธิภาพมากขึน้ เนื่องจากคลืน่ 900 MHz สามารถครอบคลุมพืน้ ทีใ่ ห้บริการได้ในระยะไกล ซึง่ เหมาะกับพืน้ ทีห่ า่ งไกลในต่างจังหวัดของ ส่วนที่ 2 หน้า 29


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ประเทศไทย โดยในปั จจุบนั ประเทศในทวีปยุโรปเริม่ ทีจ่ ะนําเอาคลืน่ 900 MHz มาให้บริการ 3G ทัง้ นี้ สัดส่วนการลงทุนใน คลืน่ ทัง้ สองนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ว่าข้อกําหนดเงือ่ นไขของใบอนุ ญาตหรือสัมปทานมีขอ้ แตกต่างกันอย่างใดบ้าง ซึง่ ในปั จจุบนั การ ให้บริการ 3G บนคลืน่ 900 MHz ของผูใ้ ห้บริการในประเทศไทยยังอยู่บนเงือ่ นไขของสัญญาสัมปทานเดิม (build-transferoperate) ในขณะทีใ่ บอนุ ญาตให้บริการ 2.1 GHz จะอยูบ่ นเงือ่ นไขใหม่ทอ่ี อกโดยกทช. เนื่องจากหลายๆ ประเทศทัวโลก ่ รวมถึงประเทศในภูมภิ าคตะวันออกเฉียงใต้ ได้ให้บริการ 3G หรือออก ใบอนุ ญาตการให้บริการ 3G เอไอเอส คาดว่า ประเทศไทยจะออกใบอนุ ญาตการให้บริการในไม่ชา้ นี้ ซึง่ จะเป็ นย่างก้าว สําคัญทีจ่ ะทําให้ เอไอเอส สามารถให้บริการ 3G ทีไ่ ม่เพียงแต่จะกระตุน้ อัตราการเติบโตของบริการด้านข้อมูล และ สามารถ ให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงตามบ้าน แต่ยงั จะช่วยส่งเสริมความยังยื ่ นทางธุรกิจให้กบั เอไอเอสในอีก 20 ปี ขา้ งหน้า ใน ปั จจุบนั สัญญาร่วมการงานระหว่างเอไอเอส และ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) จะถึงกําหนดอายุในปี 2558 โดยระหว่างปี 2551 ทีผ่ า่ นมา กทช. ได้รา่ งกฎระเบียบใบอนุญาตการให้บริการ 3G รวมถึงจัดการรับฟั งความคิดเห็นสาธารณะเป็ นจํานวน 4 ครัง้ ทัวประเทศ ่ ซึง่ เอไอเอสคาดว่าการออกใบอนุ ญาตการให้บริการ 3G จะมีความคืบหน้าอย่างมากในปี 2552 นี้ ไวแมกซ์ (WiMAX) จะช่วยเพิม่ ความเร็วในการเชือ่ มต่อข้อมูล จากพืน้ ทีค่ รอบคลุมทีก่ ว้างขึน้ ซึง่ จะช่วยให้ เอไอ เอสสามารถนําเสนอบริการให้ลกู ค้าทีใ่ ช้บริการด้านข้อมูลผ่านอุปกรณ์สอ่ื สารไร้สายได้มากขึน้ โดยเป็ นทางเลือกให้ลกู ค้าที่ ใช้งานตามบ้านหรือสํานักงานโดยไม่ตอ้ งเชื่อมต่อกับสายโทรศัพท์ หรือสามารถให้บริการเชือ่ มต่อระหว่างสถานีฐานภายใน โครงข่ายโทรคมนาคมได้ ไวแมกซ์ยงั ช่วยให้ เอไอเอส สามารถให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงตามบ้านโดยทีบ่ ริษทั ฯไม่ ต้องลงทุนในการสร้างโครงข่ายโทรศัพท์พน้ื ฐาน ซึง่ ไม่สามารถเข้าถึงได้ในบางพืน้ ที่ อีกทัง้ ยังใช้การลงทุนทีม่ ากกว่าการใช้ บริการอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย นอกจากนี้ไวแมกซ์ ยังช่วยให้การวางโครงข่ายโทรศัพท์มอื ถือ และการเชื่อมโยงระหว่าง โครงข่ายเร็วและสะดวกยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานทางเทคโนโลยีของไวแมกซ์ยงั ไม่ได้รบั การรับรองในเชิงพาณิชย์ ซึง่ เอไอเอส ยังคงศึกษาติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดงั กล่าวอย่างใกล้ชดิ และพิจารณาถึงการนําไปใช้ ในเชิง เปรียบเทียบกับเทคโนโลยีอ่นื ๆ

ส่วนที่ 2 หน้า 30


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

3.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การประกอบธุรกิ จของแต่ละสายผลิ ตภัณฑ์

ในปี 2551 รายได้ของบริษทั ฯ สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่

3.1

(1)

รายได้จากการให้บริ การ: โดยมีเอไอเอส และ ดีพซี ี เป็ นผูใ้ ห้บริการ ประกอบด้วยรายได้จากการให้บริการ ลูกค้าระบบชําระรายเดือน (Postpaid subscription service), บริการสําหรับลูกค้าระบบเติมเงิน (Prepaid subscription service), บริการสือ่ สารด้วยข้อมูล (Non-voice service), บริการสําหรับลูกค้านิตบิ ุคคล (Corporate Business Service), บริการความสัมพันธ์กบั ลูกค้า (Customer Relation Management), และ รายได้จากการบันทึกค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย (IC) โดยรายได้จากการให้บริการดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 90 ของรายได้รวม

(2)

รายได้จากการขาย: คือรายได้จากการจําหน่ายเครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ซิมการ์ด และอุปกรณ์ต่างๆที่ เกีย่ วข้อง โดยรายได้ในส่วนนี้คดิ เป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 10 ของรายได้รวม

ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือบริ การ

ผลิตภัณ ฑ์และบริการหลักที่บริษัทฯให้แก่ ลูกค้าคือบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทงั ้ ในระบบเติมเงินและระบบชําระ ค่าบริการรายเดือน โดยมีสดั ส่วนลูกค้าในระบบเติมเงินร้อยละ 91 ของฐานลูกค้าทัง้ หมด และมีสดั ส่วนลูกค้าในระบบชําระ ค่าบริการรายเดือนร้อยละ 9 ในขณะทีส่ ดั ส่วนรายได้หลักมาจากลูกค้าระบบเติมเงินร้อยละ 66.4 และจากลูกค้าในระบบชําระ ค่าบริการรายเดือนอีกร้อยละ 23.5 ณ สิ้ นปี 2551 บริ ษทั ฯให้บริการลูกค้าทัวประเทศ ่ 24.1 ล้านราย

ั ่วนลูกค้า สดส

จํานวนลูกค้า (ล้านคน)

รายได้ตอ ่ เลขหมายต่อ เดือน (บาท) รวม Net IC

ลูกค้าระบบเติมเงิน

24.7

218

ลูกค้าระบบชําระรายเดือน

2.6

676

27.3

261

รวม ลูกค้า ระบบ ชําระราย เดือน 9% ลูกค้า ระบบเติม เง น ิ 91%

สัดส่วนรายได้ร้อยละ 66.4 มาจากลูกค้าระบบเติ มเงิ น ส ัดส่วนรายได้ (ร้อยละ)

ลูกค้าระบบเติมเงิน

66.4

ลูกค้าระบบชําระรายเดือน

23.5

อืน ่ ๆ

10.1 รวม

100.0

บริษทั ฯ ได้ให้ความสําคัญกับลูกค้าทุกกลุม่ อายุดว้ ยการสร้างความแตกต่างทางภาพลักษณ์ของแต่ละแบรนด์ โดย นําเสนอ 4 แบรนด์สนิ ค้า (Product Brand) ได้แก่ 1) GSM advance สําหรับกลุม่ คนทํางาน 2) GSM 1800 สําหรับลูกค้าที่

ส่วนที่ 2 หน้า 31


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เน้นรับสาย โทรเข้า โทรออกเป็ นหลัก 3) 1-2-Call! สําหรับกลุม่ วัยรุน่ และ 4) สวัสดี สําหรับลูกค้าในต่างจังหวัด ช่วยให้ บริษทั ฯ สามารถสร้างสรรค์บริการซึง่ ตอบโจทย์การดําเนินชีวติ ทีแ่ ตกต่างกันของลูกค้าแต่ละกลุม่ ได้ยงิ่ ขึน้ โดยแบรนด์ สินค้านี้พฒ ั นาขึน้ จาก 5 แกนหลักของการให้บริการ โดยมีเป้ าหมายทีจ่ ะตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าทีแ่ ตกต่างกัน ได้แก่ GSM advance GSM advance มีกลุม่ เป้ าหมายเป็ นคนทํางานรุน่ ใหม่ นักธุรกิจและเจ้าของกิจการทีม่ คี วามคิดทันสมัย ชืน่ ชอบ เทคโนโลยี ต้องการคุณภาพในการติดต่อสือ่ สาร โดยในปี 2551 GSM advance นําเสนอบริการภายใต้แนวคิด ชีวติ ต่อติด ชีวติ แอดวานซ์ (Stay Connect Stay advance) เพือ่ ตอกยํา้ คุณภาพบริการทีส่ ง่ มอบให้กบั ลูกค้าในทุกรูปแบบของการ ติดต่อสือ่ สาร ความต้องการใช้งานทีต่ ่อเนื่องให้กบั ลูกค้าในทุกช่วงเวลาของชีวติ และพร้อมทีจ่ ะอยูเ่ คียงข้างเพือ่ ก้าวเดินไป อย่างมันใจ ่ ผ่านทางบริการทีไ่ ด้พฒ ั นาอย่างต่อเนื่องไม่วา่ จะเป็ นโปรแกรมค่าโทร บริการเสริมทีต่ อบสนองการใช้งานที่ แตกต่างในแต่ละกลุม่ สิทธิพเิ ศษต่างๆ ทีส่ อดคล้องกับคนรุน่ ใหม่ นอกจากนี้ยงั ได้เพิม่ ช่องทางการจัดจําหน่ายในเชิงรุกผ่าน จุดบริการเคลือ่ นที่ (GSM van) รวมถึงผ่านโครงการฐานลูกค้าเดิม (Member get member) ในปี น้ี GSM advance ได้เน้นการดูแลลูกค้าทัง้ ในกลุม่ ลูกค้าใหม่และกลุม่ ลูกค้าปั จจุบนั ผ่านโปรแกรมค่าโทรซึง่ มี นวัตกรรมใหม่ๆ สนองความต้องการและพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าทีแ่ ตกต่างกันดังนี้ โปรแกรมสําหรับลูกค้าใหม่ GSM Double – ตอบสนองความต้องการติดต่อสือ่ สารอย่างต่อเนื่องสําหรับกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงินทีต่ อ้ งการเปลีย่ นมาใช้ ระบบรายเดือนด้วยค่าเหมาจ่ายทีต่ ่าํ กว่า รับสิทธิ ์โทรได้ 2 เท่าหรือโทรได้ถูกสุดเพียงนาทีละ 75 สตางค์ ทุกเครือข่ายตลอด 24 ชัวโมง ่ ด้วยเหมาจ่ายขัน้ ตํ่าที่ 200 บาท โทรได้ 400 นาที GSM Buffet – คุม้ กับการโทรฟรีในเครือข่ายทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ด้วยจํานวนลูกค้ากว่า 26 ล้านเลขหมาย ด้วยโปรแกรม โทรฟรี 12 ชัวโมงสํ ่ าหรับลูกค้าใหม่และโปรแกรมโทรฟรี 18 ชัวโมงสํ ่ าหรับลูกค้าทัง้ ฐาน GSM ตามใจ – ลดเงือ่ นไขของอัตราค่าโทรด้วยโปรแกรมทีม่ อบความคุม้ ค่าให้ลกู ค้าโทรได้ไม่จํากัดเครือข่ายและช่วงเวลา ด้วยโปรแกรมเหมาจ่าย 4 ทางเลือก เริม่ ต้นขัน้ ตํ่าที่ 250 บาท โทรได้ 200 นาที และสูงสุดที่ 1,000 บาท โทรได้ 800 นาที GSM FIT – ตอบสนองการใช้ชวี ติ ของลูกค้ากลุม่ คนทํางาน ด้วยโปรแกรมเดียวทีร่ วมค่าโทรพร้อมบริการเสริม หลากหลาย รูปแบบได้แก่ SMS, MMS, GPRS, SMS NEWS และ AIS PUSH MAIL ที่ให้ลูกค้ามีชวี ติ ที่สะดวกสบายมากขึ้น โดยไม่ ต้องสมัครแพ็คเกจบริการเสริมต่างๆ เพิม่ เติมเพือ่ เขาใช้บริการด้านข้อมูล (Non-voice) GSM Every 1 – ให้ลูกค้าสามารถสื่อสารด้วยอัตราค่าโทรและบริการเสริม SMS, MMS และ GPRS ที่คุม้ ค่าและเข้าใจได้ ง่ายเพียงแค่ 1 บาทต่อนาที บริษั ท ฯ ยัง ได้ นํ า เสนอโปรโมชัน่ เสริม (On-Top Promotion) เพื่อ เป็ นทางเลือ กให้ก ับ ลูก ค้า ที่มีก ารใช้ งานที่ แตกต่างกันในแต่ละกลุม่ ได้แก่ คุยไม่อนั ้ คนพิเศษ ทีใ่ ห้ลกู ค้าโทรหา 1 เบอร์พเิ ศษฟรีได้ไม่จาํ กัด, บุฟเฟต์กลางวันให้ลกู ค้า สามารถโทรภายในเครือข่ายเอไอเอสได้ไม่จํากัดเวลาในช่วงเวลากลางวัน, Extra Text ที่ให้ลูกค้าสามารถใช้บริการ SMS MMS และ GPRS ได้คมุ้ กว่า 2,500 บาท เป็ นต้น ในปี น้ีบริษัทฯ ยังได้เปิ ดให้บริก ารใหม่บนเทคโนโลยี 3G เป็ นรายแรกของประเทศไทย ภายใต้บริก าร 3GSM advance ซึง่ จะสามารถรองรับการใช้งานรับ-ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงขนาด 7200 กิโลบิทต่อวินาที ซึ่งแตกต่างจาก GPRS หรือ EDGE ปั จจุบนั ที่ให้ความเร็วเพียง 160 กิโลบิทต่อวินาที จึงทําให้ลูกค้าได้รบั บริการที่มีประสิทธิภาพดียงิ่ ขึ้น โดย ส่วนที่ 2 หน้า 32


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริษัทฯเริม่ นํ าเสนอบริการ 3G ได้แก่ โทรศัพท์แบบเห็นหน้ า (Video Call) และ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงบนมือถือ (High Speed Internet) ในจังหวัดเชียงใหม่เป็ นพื้นที่แรก เนื่องจากเป็ นจังหวัดที่มคี วามต้องการใช้อนิ เตอร์เน็ตความเร็วสูงรอง จากกรุงเทพมหานคร และมีรูปแบบการดําเนิ น ชีวิต (Life Style) ที่ใกล้เคียงกัน อีก ทัง้ เป็ น การแสดงศัก ยภาพทางด้าน เครือข่ายในพืน้ ทีต่ ่างจังหวัด และในปลายปี ได้เริม่ เปิ ดตัว 3G ในกรุงเทพทีเ่ ซ็นทรัลเวิรด์ และสยามพารากอน เพื่อให้ลกู ค้า ได้ลองใช้บริการ ทัง้ นี้บริษทั ฯมีแผนทีจ่ ะเปิ ดให้บริการ 3G เพิม่ เติมในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร ชลบุร ี และ เชียงใหม่ในกลางปี 2552 GSM 1800 แบรนด์ GSM 1800 มีกลุม่ เป้ าหมายหลักคือ ผูท้ ไ่ี ม่ตอ้ งการความยุง่ ยากในการใช้งานโดยเน้นการโทรออกและรับสายเป็ น หลัก (Basic Phone) และในปี น้ี GSM 1800 ได้นําเสนอโปรแกรมค่าโทรเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีแ่ ตกต่าง ดังนี้ โปรแกรมสําหรับลูกค้าใหม่ ่ - มีช่วงเวลาทีใ่ ห้ลูกค้าสามารถโทรได้นานเท่าที่ต้องการในเครือข่ายเอไอเอส ซึ่งถูกนํ าเสนอ บุฟเฟต์ 12 และ 16 ชัวโมง ภายใต้เหมาจ่ายทีข่ นั ้ ตํ่าที่ 125 บาท และ 300 บาท GSM 1800 89 บาท – โปรแกรมทีม่ อบความคุม้ ค่ากับค่าเหมาจ่ายเพียง 89 บาทต่อเดือนและอัตราค่าโทรพิเศษทีใ่ ห้ลกู ค้า จ่ายเพียง 3 นาที แต่สามารถใช้งานได้นานถึง 30 นาที โปรแกรมสําหรับลูกค้าปัจจุบนั โทรถูกใจ - ทีใ่ ห้ความสะดวกสบายแก่ลกู ค้าด้วยค่าโทรอัตราเดียวทัง้ ในและนอกเครือข่าย พร้อมทัง้ 4 ทางเลือกเหมาจ่าย ขัน้ ตํ่าที่ 300 บาท 1-2-Call! แบรนด์ 1-2-Call! มีกลุม่ เป้ าหมายหลักเป็ นวัยรุน่ และคนรุน่ ใหม่ กล้าคิด กล้าทํา กล้าแสดงออก เป็ นตัวของตัวเอง ในปี 2551 บริษทั ฯได้ขยายกลุม่ เป้ าหมายของแบรนด์ 1-2-Call! จากกลุม่ วัยรุน่ ไปถึงกลุ่มพรีทนี (Preteen) หรือกลุ่มเด็กประถม และมัธยมศึกษาตอนต้นทีเ่ พิง่ เริม่ ใช้งานมือถือ โดยบริษัทฯได้นําเสนอแบรนด์ 1-2-Call! ภายใต้แนวคิด “อิ สระที่ จะมอง โลกในแง่ดี (Freedom to Enjoy the World)” ที่สนับสนุ นเยาวชนให้มองโลกในด้านบวก ไม่ว่าจะเป็ นปั ญหาเรื่องเรียน หรือ สังคม ซึ่งจะช่วยให้วยั รุน่ สามารถดําเนินชีวติ มีความสุขในทุกสถานการณ์ อีกทัง้ ได้จดั หลากหลายรูปแบบกิจกรรมทัง้ กีฬ า ภาพยนตร์และดนตรีท่ีสามารถตอบสนองลูก ค้าที่ช่ืนชอบความบัน เทิง นอกจากนี้ ย งั ได้จดั กิจกรรม 1-2-Call! iD Showcase ทีเ่ ปิ ดให้นักศึกษาจากสถาบันต่างๆ เข้าร่วมออกร้านจําหน่ายสินค้าแสดงผลงานไอเดียสร้างสรรค์ต่างๆ โดยไม่ คิดค่าใช้จ่าย และ โครงการ “MISSION I’m POSSIBLE” ที่ให้นักศึกษาทัวประเทศเข้ ่ าร่วมประกวดสร้างแผนการตลาด แนวใหม่ ซึง่ จะสร้างประสบการณ์ทด่ี ตี ่อแบรนด์ 1-2-Call! นอกจากกิจกรรมทางการตลาด 1-2-Call! ได้นําเสนอโปรแกรมค่าโทรสําหรับลูกค้าใหม่และลูกค้าปั จจุบนั ได้แก่  เอาไปเลย – เสนอค่าโทรตามความต้องการของตลาด เช่น นาทีละ 75 สตางค์, 50 สตางค์ และได้ขยายระยะเวลา โปรโมชันเป็ ่ น 6 เดือน เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ความพึงพอใจและเกิดการทดลองใช้บริการของเอไอเอส

ส่วนที่ 2 หน้า 33


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

 ซิ มฟรีดอม – ซิมการ์ดราคาพิเศษเพียง 50 บาทพร้อมให้ลูกค้าสามารถเลือกโปรแกรมค่าโทรได้เองถึง 4 ทางเลือก ได้แก่ โปรแกรมค่าโทรสําหรับคนชอบโทรสัน้ โทรยาว โทรในเครือข่าย และโทรประหยัด 20 ชั ่วโมง  ลูกค้าที่โทรสัน้ หรือโทรยาว โปรแกรมโทรสัน้ – สําหรับลูกค้าทีโ่ ทรบ่อยแต่ไม่คุยนาน ด้วยอัตราค่าโทร 1 บาทต่อนาที ไม่จํากัดเครือข่ายตลอด 24 ชัวโมง ่ โปรแกรมโทรยาว – สําหรับลูกค้าทีช่ ่างคุยก็สามารถสนทนาได้อย่างต่อเนื่องด้วยอัตราค่าโทรพิเศษเพียง 25 สตางค์ ต่อนาที  ลูกค้าที่โทรหาเบอร์ประจําไม่กี่เบอร์ ถูกแล้วเพือ่ น 2 เบอร์/5 เบอร์ – รับความคุม้ ค่ากับโปรแกรมค่าโทรอัตราพิเศษเพียง 25 สตางค์ต่อนาที สําหรับ 2 เบอร์ คนสนิท หรือ 50 สตางค์ต่อนาทีสาํ หรับ 5 เบอร์คนสนิท เพือ่ ให้ลกู ค้าติดต่อกับคนพิเศษได้ทุกเวลาทีต่ อ้ งการ 1) ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม (Segment SIM)  ซิ มนักท่ องเที่ ยว – ซิมสําหรับนักท่องเทีย่ วทีใ่ ห้ส่วนลดพิเศษสําหรับการโทรทางไกลต่างประเทศผ่านรหัส 005 เป็ น ระยะเวลานานถึง 1 ปี นอกจากนี้บริษทั ฯยังได้นําเสนอโปรโมชันเสริ ่ มแบบเหมาจ่ายถึง 8 ทางเลือก (On-Top Promotion) สําหรับผูท้ ต่ี อ้ งการ โทรออกด้วยเสียงเพิม่ ขึน้ (Voice) หรือ เพิม่ การใช้งานด้านข้อมูล (VAS) เริม่ ต้นขัน้ ตํ่าเพียง 20 บาท สามารถโทรออกได้ 25 นาที หรือ ส่งSMSได้ 30 ข้อความ สวัสดี มีกลุ่มเป้ าหมายหลักคือ ผูท้ เ่ี ริม่ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ป็ นครัง้ แรก (First Time User) กลุ่มวัยทํางาน หรือผูใ้ หญ่ท่ี ใช้งานน้ อย เน้ นรับสายหรือผู้ท่มี ีงบประมาณจํากัด โดยนํ าเสนอภาพลักษณ์ ท่สี ่งเสริมความเป็ นไทยผ่านชื่อ “สวัสดี” ซึ่ง กิจกรรมทางการตลาดส่วนใหญ่ จะลงไปสู่ระดับอําเภอ และหมู่บ้านโดยตรง สําหรับจุดขายของสวัสดี คือ เติมเงินน้ อยก็ สามารถใช้งานได้นาน ในปี 2552 บริษทั ฯยังคงใช้กลยุทธ์ Localize Marketing ทีจ่ ดั โปรแกรมค่าโทรทีค่ ุม้ ค่าสําหรับลูกค้า แต่ละภูมภิ าค ควบคู่ไปกับกลยุทธ์การสื่อสารแนวใหม่ทใ่ี ช้ “กระแสนิยมท้องถิน่ ” ผ่านบทเพลงลูกทุ่งทีส่ ะท้อนสภาพสังคม และวัฒนธรรมไทยได้อย่างชัดเจนเพือ่ สือ่ ไปยังลูกค้าเป้ าหมายในพืน้ ทีต่ ่างจังหวัด โดยบริษทั ฯนําเสนอหลากหลายโปรแกรมค่าโทรได้แก่ 1) โปรแกรมสําหรับลูกค้าทัวไป ่ ซิ มแม่ยก – โปรแกรมทีใ่ ห้ความคุม้ ค่าด้วยซิมราคา 50 บาท โดยลูกค้าจะได้รบั ค่าโทร 2 บาทต่อนาทีสาํ หรับการโทร ออกไปทุกเครือข่ายตลอด 24 ชัวโมง ่ 2) โปรแกรมค่าโทรตามภูมิภาค ซิ มจาวเหนื อ – โปรแกรมสําหรับลูกค้าภาคเหนือ 18 จังหวัด โดยจะได้รบั ค่าโทรอัตราพิเศษเพียง 1 บาท สําหรับการ ใช้งานตัง้ แต่ น าทีท่ี 2 เป็ น ต้น ไป นาทีแรก 2 บาท สําหรับการโทรจากพื้นที่ภ าคเหนื อไปทุ ก พื้น ที่ท วั ่ ไทยและทุ ก ส่วนที่ 2 หน้า 34


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เครือข่ายตลอด 24 ชัวโมง ่ บริการสําหรับลูกค้านิ ติบคุ คล (Corporate Business Service) เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั ่ เป็ นบริการสําหรับกลุ่มลูกค้านิตบิ ุคคล กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ (Key Account) และกลุ่มธุรกิจ เอสเอ็มอี (SME) โดยเน้นแนวคิดในการมีสว่ นช่วยเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจของลูกค้า ในปี 2551 ทีผ่ ่านมา เอ ไอเอส สมาร์ท โซลูชนั ่ ได้ทาํ การพัฒนา ด้านโซลูชนของลู ั่ กค้าองค์กรได้มกี ารพัฒนาโซลูชนใหม่ ั ่ และปรับปรุงโซลูชนเดิ ั ่ มให้ มีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ เพื่อรองรับความต้องการใช้งานของลูกค้าทีห่ ลากหลายและให้เกิดประโยชน์ต่อการดําเนินธุรกิจของ ลูกค้าสูงสุด  Virtual PBX เป็ นโซลูชนที ั ่ ช่ ่วยลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนตูส้ าขาโทรศัพท์ชองลูกค้าองค์กร โดยเฉพาะลูกค้าเอสเอ็มอีท่ี อาจจะมีเงินลงทุนเริม่ ต้นจํากัด สามารถทีจ่ ะใช้งานโทรศัพท์เพื่อติดต่อธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้เครือข่าย คุณภาพของเอไอเอส  Smart Media เป็ นโซลูชนซึ ั ่ ง่ ประกอบด้วยบริการ Calling Melody, Voice2U และ Mobile Advertising ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มา เพือ่ ตอบสนองต่อลูกค้าองค์กรทีต่ อ้ งการใช้สอ่ื ทางการตลาดทีห่ ลากหลายและมีความคุม้ ค่า โดยอาศัยข้อได้เปรียบของ โทรศัพ ท์ มือ ถือ ที่จ ะทํ า ให้ส่ือ ทางการตลาดขององค์ก รต่ า งๆ ส่ ง ตรงไปถึง มือ ของผู้บ ริโ ภคปลายทางได้อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ  Biz Live (Mobile Paging version3) เป็ นโซลูชนซึ ั ่ ่งได้พฒ ั นาประสิทธิภาพการใช้งานของ Mobile Paging เดิมให้มี ความสามารถในการสือ่ สาร 2 ทาง (2 Ways Communication) โดยทีผ่ รู้ บั SMS ปลายทางสามารถทําการตอบกลับได้ ซึ่งจะทําให้องค์กรต่างๆ นํ าไปประยุกต์ใช้ในการทําตลาดที่หลากหลายยิง่ ขึ้น เช่น การทําแบบสอบถามหรือการทํา โปรโมชัน่ เป็ นต้น การสร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้าองค์กร  สิ ทธิ พิเศษสําหรับลูกค้าองค์กร: เอไอเอส สมาร์ท โซลูชนได้ ั ่ รว่ มกับสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (สสว) จัดการสัมมนาสําหรับผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอีให้มคี วามพร้อมในการดําเนินการธุรกิจ และให้สามารถ เติบโตอย่างมีศกั ยภาพ โดยทางเอไอเอส สมาร์ท โซลูชนั ่ มีนโยบายสนับสนุนธุรกิจเอสเอ็มอี ในการนําเทคโนโลยีไร้ สายมาใช้ในด้านการตลาด การผลิต และการจัดส่งสินค้า เพื่อเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจเอสเอ็มอีให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด  กิ จกรรมระหว่างองค์กร: เป็ นการจัดกิจกรรมระหว่างกันในระดับองค์กร เพื่อให้ได้รบั ประโยชน์ สูงสุดในการดําเนิน ธุรกิจ ร่วมกันในฐานะพันธมิตรทางธุรกิจ อีกทัง้ ยังกระชับความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าองค์กรกับผู้บริโภคทัวไป ่ เช่น การจัด Workshop สอนทําอาหารกับ DHC, การทําขนมอบกับทางนํ้าตาลมิตรผล และการทํา Workshop แนะนํ าการ ดูแลรักษารถยนต์ รวมถึงเทคนิคการขับขีป่ ลอดภัยและประหยัดนํ้ามันกับทาง Goodyear เป็ นต้น บริการด้านข้อมูล (Non-Voice Service) รายได้บริการด้านข้อมูล มีอตั ราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบริการทีเ่ กีย่ วข้องกับดนตรีและความบันเทิง โดยเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 28.2 จากปี ทแ่ี ล้ว และคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 11.1 จากรายได้การให้บริการ ซึง่ เป็ นสัดส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก ร้อยละ 9.1 ในปี ทผ่ี า่ นมา ทัง้ นี้บริษทั ฯคาดว่าตลาดบริการด้านข้อมูลยังมีแนวโน้มเติบโตได้อกี มาก เนื่องจากสัดส่วนรายได้ ส่วนที่ 2 หน้า 35


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การบริการด้านข้อมูลทีไ่ ม่รวม SMS ของผูใ้ ห้บริการในประเทศไทยยังอยูท่ ร่ี ะดับทีน่ ้อยกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวม ซึง่ ตํ่า กว่าประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วหรือประเทศอืน่ ๆในภูมภิ าคนี้ นอกจากนี้ ตลาดบริการเสริมฯ มีการแข่งขันด้านราคาไม่มากนัก เมือ่ เทียบกับตลาดบริการด้านเสียงซึง่ เป็ นบริการทีส่ ร้างความแตกต่างได้ยากกว่าการบริการด้านข้อมูล ดังนัน้ ผูใ้ ห้บริการ แต่ละรายจึงหันมาให้ความสําคัญกับตลาดบริการด้านข้อมูล และ ผลักดันส่วนบริการเสริมมากขึน้ เพือ่ สร้างความแตกต่าง โดยตลาดบริการด้านข้อมูลจะแข่งกันทีค่ ุณภาพการให้บริการ เช่น การนําเสนอ Content ใหม่ๆ ทีต่ อบสนองความต้องการ ของลูกค้ามากขึน้ ความเร็วในการให้บริการด้านข้อมูล เป็ นต้น ในปี 2551 ทีผ่ ่านมาบริษทั ฯได้นําเสนอบริการด้านข้อมูลใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง โดยบริการทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่าง มาก โดยเฉพาะบริการทีเ่ กีย่ วข้องกับดนตรีและความบันเทิง เช่น บริการ SMS, Mobile Internet และ Calling Melody SMS และ MMS เป็ นบริการเสริมทีม่ สี ดั ส่วนของรายได้บริการด้านข้อมูลสูงสุด โดยในปี ทผ่ี า่ นมา บริษทั ฯได้สร้าง บริการและแพ็คเกจแปลกใหม่ เช่น การนําเสนอบริการข้อความข่าวผ่าน SMS และ MMS ซึง่ บริษทั ฯ ได้มกี ารร่วมมือกับ content partner เช่น Nation Channel, CNBC และรอยเตอร์ เป็ นต้น Mobile Internet เป็ นธุรกิจทีม่ อี ตั ราการเติบโตอย่างมากในปี ทผ่ี า่ นมา โดยเฉพาะรายได้จากการใช้บริการ GPRS และ EDGE ทัง้ นี้ บริษทั ฯใช้จุดแข็งในการวิจยั และพัฒนาสร้าง ซอฟท์แวร์พเิ ศษบนมือถือทีท่ าํ ให้หน้าจอมือถือรุน่ ต่างๆ ง่ายใน การเข้าสูก่ ารใช้งานทางอินเตอร์เน็ต, สร้างสรรค์และพัฒนาแอพลิเคชันใหม่ ่ ๆ ออกสูต่ ลาด เพือ่ สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ใน การใช้งานให้กบั ผูใ้ ช้มอื ถือ และเพือ่ เป็ นการเตรียมรองรับการมาเยือนของเทคโนโลยี 3G คอลลิ่ ง เมโลดี้ (Calling Melody) ถือเป็ นบริการเสริมทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องโดยมีอตั ราการเติบโต เพิม่ ขึน้ ทุกปี โดยมีปัจจัยสนับสนุ นการเติบโตมาจากไลฟ์ สไตล์ของลูกค้าทีช่ น่ื ชอบ เสียงเพลง กระแสความนิยมในศิลปิ น นักร้อง และกลยุทธ์การทําการตลาดมาอย่างต่อเนื่อง โดยบริษทั ฯได้ศกึ ษาพฤติกรรมการใช้บริการและการดาวน์โหลดเพลง ของลูกค้าแต่ละกลุม่ แล้วออกแบบช่องทางต่างๆ ออกมา เป็ นทางเลือกในการเข้าถึงบริการให้ครอบคลุมลูกค้าทุกประเภท การบริ หารความสัมพันธ์ลกู ค้า (Customer Relationship Management) บริษทั ฯ ให้ความสําคัญกับการครองใจลูกค้าในระยะยาวโดยออกแบบแนวคิดในการเข้าถึงลูกค้า ด้วยการพัฒนา ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Data Mining and Customer Insights) การรวบรวมความคิดเห็นจากลูกค้า (Voice of Customer) งานวิจยั (Research) การตรวจสอบบริการโดยการทดลองบริการ (Mystery Shopper) การสัมผัสงานบริการ และพูด คุ ยกับ ลูก ค้าของผู้บ ริห ารระดับ สูง (Management Visit) รวมถึงการนํ าระดับ ความผูก พันของลูกค้า (Customer Engagement) มาเป็ นตัวชีว้ ดั คุณภาพในการส่งมอบบริการถึงลูกค้า เพื่อพัฒนาสินค้าและบริการทัง้ ทีจ่ บั ต้องได้ (Tangible Benefit) และทีต่ อบสนองด้านอารมณ์ (Emotional Benefit) ซึง่ เหมาะสมกับความต้องการและตรงใจลูกค้าตัง้ แต่เริม่ ต้นการ ใช้บริการ (Life Cycle Campaign) โดยมีเป้ าหมายสูงสุดเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า ทัง้ นี้ได้นําเสนอสินค้าและ บริการทัง้ จากบริษัท ฯและพัน ธมิต รธุรกิจซึ่งสามารถใช้ได้ในชีวติ ประจําวัน ภายใต้โปรแกรม “เอไอเอส พลัส ” ทําให้ สามารถเข้าถึงกลุม่ ลูกค้าร้อยละ 30 จากปี 2550 1) การพัฒนาบุคลากรเพือ่ ให้บริการให้คาํ ปรึกษาและดูแลทางด้านโปรโมชัน่ (Promotion Consultancy) และครอบคลุมถึง บริการให้คําปรึก ษาและดูแลการใช้บ ริก ารด้านข้อมูล (Non-Voice Consultancy) ในการให้ข้อมูลและคําแนะนํ าแก่ ลูกค้าในการเลือกใช้แพ็คเกจทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ตามพฤติกรรมการใช้งานและความต้องการด้วยความสบายใจ รวมถึงให้ คําปรึกษาและแนะนําการเชื่อมต่ออุปกรณ์ทถ่ี ูกต้องเพื่อใช้บริการด้านข้อมูล ผ่านทาง AIS Call Center และ เอไอเอส ช็อป นอกจากนี้หากลูกค้ามีพฤติกรรมการใช้งานทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปพนักงานก็จะดูแลโดยแนะนํ าแพ็คเกจการใช้งานที่ เหมาะสมยิง่ ขึน้ ส่วนที่ 2 หน้า 36


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2) การขยายงานบริการทีม่ คี ุณภาพเดียวกับเอไอเอส ช็อป ไปสูร่ า้ นเทเลวิซ เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ลกู ค้าซึ่งกระจาย ตัวอยู่ทวประเทศโดยให้ ั่ ความสําคัญกับสิง่ ทีเ่ ป็ นคุณค่าหลัก (Core Value) ในใจลูกค้า คือ ความสะดวก ความถูกต้อง สมบู รณ์ ความเป็ นผู้ให้คํ า แนะนํ า ช่ ว ยเหลือ ด้ ว ยความเป็ นมิต ร ความรู้จ ัก รู้ใจลูก ค้า และความใส่ ใ จ โดยมีก าร ปรับเปลี่ยนระบบการจัดการภายใน มีการลดขัน้ ตอนให้ง่ายและสะดวกรวดเร็วมากยิง่ ขึ้น เพิม่ ความยืดหยุ่นในการ ให้บริการ รวมทัง้ ส่งเสริมภาพลักษณ์การให้บริการด้วยความเป็ นมิตรให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ 3) การสร้างสรรค์นวัตกรรมการให้บริการใหม่ ๆ เพือ่ สร้างความรูส้ กึ ใกล้ชดิ แก่ลกู ค้า ▪ Face-to-Face Call Center Service via Web Cam บริการที่ลูกค้าสามารถสนทนาผ่าน e-mail (Chat) กับ พนักงานแบบเห็นหน้าตา และเป็ นช่องทางพิเศษสําหรับผู้พกิ ารทางการได้ยนิ สามารถใช้ภาษามือในการ สนทนากับพนักงานด้วย ▪ บริการ Multi-Language เพื่อรองรับการเพิม่ ขึน้ ของลูกค้าต่างชาติโดยเฉพาะชาวพม่า บริษัทฯได้เพิม่ การ ให้บ ริก ารภาษาพม่า นอกเหนื อจากภาษาอังกฤษ จีน (แมนดาริน ) เกาหลี ญี่ป่ ุ น ฝรังเศส ่ รวมทัง้ ภาษา ท้องถิน่ ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ 4) การนํ าเสนอสิทธิพเิ ศษ (Privilege) ทีห่ ลากหลายรูปแบบ ใช้ได้จริงในชีวติ ประจําวันและครอบคลุมทัวประเทศ ่ ภายใต้ โครงการ “เอไอเอส พลัส” โดยเน้นตอบสนองรูปแบบการใช้ชวี ติ ของลูกค้าซึง่ อยูภ่ ายใต้ 4 แกนหลัก ▪ แกน Shopping ให้คู ป องส่ ว นลดหรือ ส่ ว นลดพิเศษเพิ่ม เติม ที่ห้า งสรรพสิน ค้า Central, The Mall, The Emporium, และ Siam Paragon ▪ แกน Dining ได้ขยายพันธมิตรไปยังร้านค้าที่มสี าขาครอบคลุมทัวประเทศ ่ (Chain Restaurant) เช่น ร้านส เวนเซ่น (Swensens) ร้านแมคโดนัลด์ (McDonald’s) มิสเตอร์โดนัท (Mister Donut) จากเดิมทีม่ อี ยูม่ ากกว่า 2,500 ร้านค้าใน 76 จังหวัดทัวประเทศ ่ พร้อมจัดแคมเปญ “อิม่ อร่อยมือ้ นี้ ลุน้ ทานฟรีกบั เอไอเอส พลัส” เพื่อ ลุ้นบัตรทานอาหารฟรีอย่างต่อเนื่องและมีการขยายแคมเปญไปยังเมืองใหญ่ ในต่างจังหวัด เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี และภูเก็ต เป็ นต้น ▪ แกน Entertainment จัดแคมเปญ “Movie 60 บาท” เพื่อให้สทิ ธิพเิ ศษแก่ลูกค้าในการชมภาพยนตร์เรือ่ งดัง อย่างน้อยเดือนละ 1 เรือ่ ง ในราคาเพียง 60 บาท ทุกเดือน ตลอดปี ▪ แกน Transportation มอบส่วนลด 60 บาทในการซื้อตั ๋วโดยสารรถทัวร์ และ รถไฟ ระหว่างกรุงเทพและ ต่างจังหวัดทัวทุ ่ กภาคของประเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีการจัดสรรสิทธิพเิ ศษนอกเหนือจาก 4 แกนหลักข้างต้นให้กบั ลูกค้าเอไอเอสอีก ได้แก่ สิทธิพเิ ศษ เกีย่ วกับเรือ่ งสุขภาพและความงาม ณ โรงพยาบาล และสถานเสริมความงาม สิทธิพเิ ศษด้านกีฬา เช่นส่วนลดอุปกรณ์กฬี า กอล์ฟ หรือสนามกอล์ฟ สิทธิพเิ ศษเกี่ยวกับการท่องเทีย่ ว อาทิ ส่วนลด ณ โรงแรม และรีสอร์ทชัน้ นํามากมายอีกรวมกว่า 500 แห่ง ทัวประเทศ ่ นอกจากนี้ มีการคัดสรรสิทธิพเิ ศษสําหรับลูกค้ากลุม่ สําคัญภายใต้โปรแกรม “เซเรเนด” ซึง่ เป็ นกลุ่มลูกค้าทีม่ กี าร ใช้งานสูงหรือมีอายุการใช้บริการยาวนาน เป็ นต้น จะได้รบั สิทธิพเิ ศษทีม่ มี ลู ค่ามากกว่า (On-Top) สิทธิพเิ ศษทีเ่ ป็ นเอกสิทธิ ์ เฉพาะ (Exclusive) หรือสิทธิพเิ ศษทีไ่ ด้รบั ก่อนลูกค้าทัวไป ่ (Priority) ผ่านทัง้ 4 แกนดังกล่าว โดยบริษทั ฯเชื่อมันว่ ่ าความ

ส่วนที่ 2 หน้า 37


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

มุ่งมันทั ่ ง้ หมดทีม่ อบให้ลูกค้าจะทําให้เกิดความไว้วางใจ มีความรูส้ กึ ทีด่ แี ละภูมใิ จในแบรนด์ของบริษัทฯ ซึ่งจะพัฒนาไปสู่ ความผูกพันของลูกค้ามีต่อบริษทั ฯในระยะยาวได้ในทีส่ ดุ 3.2

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ปี 2551

ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2551 มีอตั ราเจริญเติบโตของรายได้ตลาดโดยรวมคาดว่าน้อยกว่าร้อยละ 4 โดยมี จํานวนผู้ใช้บริการเพิม่ ขึ้นประมาณ 8 ล้านคน จากปี 2550 ทําให้ ณ สิน้ ปี 2551 มีจํานวนผู้ใช้บริการทัง้ สิ้นประมาณ 61 ล้านคน หรือคิดเป็ นอัตราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ่อจํานวนประชากร (penetration rate) ร้อยละ 94 โดยมีสาเหตุหลัก จากการเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วของจํานวนผู้ใช้บริการมากกว่า 1 หมายเลข (Multiple SIM user) จากการแจกซิมการ์ดหรือ แลกซือ้ ได้ในราคาพิเศษ ความนิยมในการโทรออกจากเบอร์ทม่ี โี ปรโมชันถู ่ กกว่า รวมถึงการโทรภายในเครือข่าย อย่างไรก็ ตาม เมื่อพิจารณาจํานวนผู้ใช้บ ริก ารต่ อจํานวนประชากร (human penetration rate) แล้ว จากการสํารวจของบริษัท ฯ พบว่ามีอตั ราเพียงร้อยละ 65 แม้ว่าอัตราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจํานวนประชากรของทัง้ ประเทศ จะเข้าใกล้รอ้ ยละ 100 ซึ่งถือว่าเป็ น อัตราทีเ่ ข้าใกล้จุดอิม่ ตัว (saturation point) แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละพืน้ ทีข่ องประเทศไทย พบว่ามีความแตกต่างในแต่ละ พื้นที่ โดยกรุงเทพฯ และหัวเมืองใหญ่เป็ นพื้นทีห่ ลักที่มอี ตั ราหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจํานวนประชากรสูงใกล้เคียง ร้อ ยละ 100-120 ในขณะที่ภ าคเหนื อ และภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ ยังมีอตั ราหมายเลขโทรศัพ ท์เคลื่อ นที่ต่ อ จํา นวน ประชากรเพียงร้อยละ 50-60 เท่านัน้ ดังนัน้ ผูใ้ ห้บริการจึงให้ความสําคัญต่อตลาดภูมภิ าคเหล่านี้มากขึน้ ในปี 2551 ทีผ่ ่าน มา โดยจะเห็นได้จากการเพิม่ จํานวนสถานีฐานในพื้นที่ดงั กล่าว และการทําการตลาดทีม่ ากขึน้ เนื่องจากผู้ให้บริการต่าง เล็งเห็นศักยภาพในเชิงพาณิชย์ของพืน้ ทีด่ งั กล่าว ผูใ้ ห้บริการรายใหญ่ในประเทศไทยมีจาํ นวนสามราย ซึ่งมีสว่ นแบ่งการตลาดรวมมากกว่าร้อยละ 97 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังคงเป็ นผูน้ ําส่วนแบ่งการตลาดทัง้ ในด้านจํานวนผูใ้ ช้บริการ และด้านรายได้ โดย ณ สิน้ ปี 2551 บริษทั ฯ ยังครองส่วนแบ่ง ตลาดของผูใ้ ช้บริการอยูป่ ระมาณร้อยละ 45 ในขณะทีม่ สี ว่ นแบ่งตลาดด้านรายได้ประมาณร้อยละ 52

ส่วนแบ่งการตลาด - รายได ้

ส่วนแบ่งการตลาด - จํานวนผูใ้ ช้บริการ ท รู มู ฟ 23%

ฮั ท ช์ 1%

ท รู มู ฟ 13%

เ อไ อเ อส 45%

ฮั ท ช์ 3%

เ อไ อเ อส 52% ดี แ ท ค 32%

ดี แ ท ค 31%

ด้านการแข่งขันทางด้านราคาโดยรวมในปี 2551 ทีผ่ า่ นมา ถือว่ามีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ เนื่องจากผูใ้ ห้บริการต้องมีภาระ ผูกพันจากการจ่ายค่าเชื่อมโยงเครือข่าย (Interconnection Charge) ให้ผบู้ ริการรายอื่น ทําให้ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เน้นใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาเฉพาะการใช้งานภายในเครือข่าย (on-net promotion) เป็ นหลัก นอกจากนี้ ผูใ้ ห้บริการส่วนใหญ่ได้ มีการปรับราคาขึน้ สําหรับลูกค้าเดิม ทีโ่ ปรโมชันเก่ ่ าได้หมดอายุลงในช่วงครึง่ ปี แรก อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวิกฤตการทาง เศรษฐกิจทัวโลก ่ ซึง่ กระทบถึงเศรษฐกิจไทย อีกทัง้ สถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมือง และทําให้ดชั นีความเชื่อมัน่

ส่วนที่ 2 หน้า 38


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ผูบ้ ริโภคลดตํ่าลง ทําให้ ในช่วงครึง่ ปี หลัง ผูใ้ ห้บริการจึงได้ชะลอการปรับขึน้ ราคาค่าโทรศัพท์ โดยพยายามรักษาราคาใน ระดับเดิม กลยุทธ์การตลาดของบริษทั ฯ บริษั ท ฯ มุ่ ง เน้ น ในการรัก ษาส่ ว นแบ่ ง การตลาดในเชิง รายได้ (Revenue market share) มากกว่ า ส่ ว นแบ่ ง การตลาดในแง่จาํ นวนฐานลูกค้า โดยในปี 2551 บริษทั ฯ สามารถเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาดของรายได้เท่ากับร้อยละ 52 จาก ร้อยละ 51 ในปี 2550 ทัง้ นี้เนื่องจากความแข็งแกร่งของตราสินค้า (Brand) ของแต่ละบริการของบริษทั ฯ ทีเ่ จาะกลุ่มลูกค้า เฉพาะแต่ละกลุ่มที่ต่างกันผ่านแบรนด์สามแบรนด์ รวมถึงเครือข่ายที่ครอบคลุมโดยเฉพาะในต่างจังหวัด โดยมีคุณภาพ สัญญาณเสียงทีช่ ดั เจน อีกทัง้ กลยุทธ์ทางการตลาดต่างๆ และช่องทางการจัดจําหน่ ายทีเ่ ข้มแข็งของบริษทั ฯทีส่ ามารถเพิม่ จํานวนลูกค้าใหม่ และรักษาฐานลูกค้าเดิมได้ ในปี 2551 บริษทั ฯ มุง่ เน้นการตลาดแบบฟั งก์ชนนอลมาร์ ั่ เก็ตติง้ (Functional Marketing) ทีจ่ ะส่งมอบคุณภาพใน 5 แกนหลักของการให้บริการ ซึง่ นําเสนอภายใต้แบรนด์ เอไอเอส ในฐานะแบรนด์องค์กร (Corporate Brand) ได้แก่ 1) เครือข่ายทีม่ คี ุณภาพ 2) บริการหลังการขายทีไ่ ว้วางใจได้ตลอด 24 ชัวโมงผ่ ่ านทุกช่องทาง 3) บริการทีเ่ ป็ นนวัตกรรมใหม่ 4) สิทธิพเิ ศษทีใ่ ห้ชวี ติ สะดวกสบาย 5) สาธารณประโยชน์เพือ่ ตอบแทนสังคม รวมทัง้ ให้ความสําคัญกับการตลาดแบบอี โมชันนอลมาร์ ่ เก็ตติง้ (Emotional Marketing) ทีจ่ ะถ่ายทอดทัง้ 5 ด้านหลักของการให้บริการสูล่ กู ค้าผ่านมิตทิ างด้าน อารมณ์ ภายใต้แนวคิด “อยู่เคียงข้างคุณ” เปรียบเสมือนเพือ่ นสนิททีพ่ ร้อมจะสนับสนุนลูกค้าในทุกรูปแบบการใช้ชวี ติ บริษทั ฯ เชือ่ มันว่ ่ าการทําการตลาดทัง้ 2 ส่วนควบคูก่ นั ทัง้ ด้านเหตุผลและอารมณ์จะสามารถสร้างความผูกพันกับลูกค้าได้ อย่างยังยื ่ น ทัง้ นี้กลยุทธ์การตลาดของบริษทั ฯ ในปี 2551 ทีผ่ า่ นมา ได้แก่ นํ าเสนอโปรแกรมค่าโทรที่ มีรปู แบบแปลกใหม่ ซึ่งผสมผสานกับสิ ทธิ ประโยชน์ จากสิ นค้าและบริ การต่างๆ เพื่อ สร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขัน บริษทั ฯ มองเห็นโอกาสจากพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงจึงได้นําเสนอโปรแกรมค่าโทรทีเ่ หมาะกับความ ต้องการของลูกค้าทีม่ มี ากกว่า 1 เลขหมาย (Multiple SIM user) ซึ่งไม่เพียงแต่เพื่อรักษาฐานลูกค้าเอาไว้ได้ แต่ยงั จูงใจให้ ลูก ค้า ในระบบอื่น หัน มาใช้ง านซิ ม การ์ด ของเอไอเอสเพิ่ม เติม อีก ด้ว ย โดยนํ า เสนอแพคเก็จ ค่ า โทรในรูป แบบต่ า งๆ หลากหลายทีเ่ หมาะสมกับพฤติกรรมการใช้งาน เช่น การเหมาจ่ายในช่วงเวลาจํากัด การโทรภายในเครือข่าย การโทรสัน้ ยาว เป็ นต้น เน้ นการหาลูกค้าที่มีคณ ุ ภาพซึ่งมีความต้องการใช้งานอย่างแท้จริ ง นอกเหนือจากการใช้โปรโมชันค่ ่ าโทรเพือ่ ขยายฐานลูกค้าแล้ว ผูใ้ ห้บริการยังปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ในการแจกซิมจาก เดิมทีเ่ น้นแจกตามทีส่ าธารณะ ไปสูก่ ารร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจโดยให้ลกู ค้าสามารถแลกรับซิมการ์ดฟรีหรือแลกซื้อได้ ในราคาพิเศษ ทัง้ หมดนี้ส่งผลให้พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลีย่ นแปลงไป โดยจํานวนผู้ท่ใี ช้บริการมากกว่า 1 หมายเลข (Multiple SIM user) มีจํานวนเพิม่ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ การเพิม่ ขึน้ ของจํานวนซิมการ์ดทีไ่ ม่มกี ารใช้งาน (Inactive user) และออกจากระบบไปในที่สุด (Churn user) สําหรับบริษทั ฯยังคงเน้นการหาลูกค้าทีม่ คี ุณภาพซึ่งมีความต้องการใช้ งานโดยผ่านช่องทางการจัดจําหน่ายทัวไป ่ มากกว่าเน้นขยายฐานลูกค้าจํานวนมากจากการแจกซิมการ์ดแต่ไม่มกี ารใช้งาน เจาะตลาดกลุ่มต่างๆ ที่มีศกั ยภาพ ตลาดในส่วนภูมภิ าคจัดเป็ นอีกตลาดหนึ่งทีย่ งั มีศกั ยภาพในการเติบโตอีกมาก ซึ่งบริษทั ฯ ได้มกี ารขยายเครือข่าย ให้มพี น้ื ที่ให้บริการคลอบคลุมมากขึน้ รวมทัง้ ใช้กลยุทธ์ Localize Marketing ที่นําเสนอโปรแกรมค่าโทรเฉพาะพื้นที่ เช่น ส่วนที่ 2 หน้า 39


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โปรแกรมค่าโทรอัตราพิเศษสําหรับภาคเหนื อและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อและกิจกรรมทางการตลาด เช่น คาราวาน (Caravan) ไปสู่ระดับอําเภอ และหมู่บ้าน โดยบริษัทฯมีความได้เปรียบเหนื อคู่แข่งในพื้นที่ส่วนภูมิภาคด้วยเครือข่ายที่ แข็งแกร่งและครอบคลุมมากทีส่ ดุ ในประเทศ และยังมีกจิ กรรมทางการตลาดทีต่ รงใจลูกค้ากลุ่มนี้ผ่านคอนเสิรต์ สวัสดีลกู ทุ่ง ทัวไทยที ่ จ่ ดั ขึน้ อย่างต่อเนื่องในทุกภูมภิ าคของประเทศอีกด้วย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังดึงลูกค้าพรีเพด เด็กจบใหม่ทเ่ี ริม่ ก้าวสูว่ ยั ทํางาน หรือทีเ่ รียกว่ากลุม่ ลูกค้า First Jobber มา ใช้ จีเอสเอ็ม เช่น การออกโปรโมชัน่ “Fit” หรือการใช้กลยุทธ์ส่อื สารการตลาดรูปแบบใหม่ เรียกว่า “Online Activation” ที่ ผสมผสานเทคโนโลยีมลั ติมเี ดียยุคใหม่ ซึ่งรวม VDO และ Interactive Game เข้าด้วยกัน ซึ่งได้รบั ผลตอบรับเป็ นอย่างดี จากกลุม่ เป้ าหมาย การเพิ่ มความผูกพันต่อแบรนด์ให้มากขึน้ โดยใช้การบริ หารความสัมพันธ์กบั ลูกค้า (Brand Loyalty) จากการแข่งขันด้านราคาทีผ่ ่านมา ประกอบกับการถือซิมมากกว่าหนึ่งซิม (Multi SIM) ทําให้ผูใ้ ห้บริการต้องหัน มาให้ความสําคัญกับการส่งเสริมความผูกพันต่อแบรนด์ (Brand Loyalty) เพิม่ ขึน้ รวมถึงการสร้างความพึงพอใจและความ ผูกพันกับลูกค้าเพือ่ ลดจํานวนลูกค้ายกเลิกเลขหมายด้วยการมอบโปรโมชั ่นพิเศษสําหรับการเติมเงิน เช่น เพิม่ ระยะเวลาใช้ งาน หรือได้รบั เงินเพิม่ เมื่อเติมเงินผ่านตัวแทนเติมเงินออนไลน์ ไฮเปอร์มาร์เก็ต หรือโบนัสโทรฟรีจากการซือ้ สินค้าทีเ่ ข้า ร่วมรายการ นอกจากนี้นําเสนอบริการใหม่เพื่อลูกค้าสามารถบริหารเงินคงเหลือและระยะเวลาใช้งานได้ด้วยตัวเอง เช่น บริการโอนเงินหรือโอนวัน บริการแลกเงินคงเหลือเป็ นระยะเวลาใช้งาน เป็ นต้น บริษัทฯ ได้นําการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านทางโปรแกรม CRM (Customer Relation Management) และ CEM (Customer Experience Management) มาใช้โดยนํ าเสนอหลากหลายสิท ธิป ระโยชน์ ต่ างๆ ซึ่งคํานึ งถึงการ นําไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวติ ประจําวันและเพิม่ ความสะดวกในการใช้งานของลูกค้าโดยไม่ตอ้ งพกบัตรเพราะเพียงแสดง โทรศัพท์เคลือ่ นทีก่ ส็ ามารถรับสิทธิพเิ ศษได้ทนั ที ตลอดจนได้ลงทุนพัฒนาบริการทัง้ ด้านบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพือ่ ให้ลกู ค้า ได้รบั การบริการทีร่ วดเร็วและมีคุณภาพมาตรฐานเดียวกันในทุกช่องทาง เพิ่ มความแข็งแกร่งด้านช่องทางการจัดจําหน่ าย ผูใ้ ห้บริการยังได้ขยายช่องทางใหม่ในการเข้าถึงลูกค้าวัยรุน่ ผ่านทางเว็บไซต์ (Website) ซึง่ จะจูงใจด้วยการแจก ซิมการ์ด หรือสิทธิประโยชน์ต่างๆ เช่น วันใช้งานฟรี สิทธิในการส่ง SMS หรือ MMS ฟรี เป็ นต้น โดยมีเป้ าหมายทีจ่ ะสร้าง คอมมูนิต้ี (Community) และเพือ่ สร้างความผูกพันกับแบรนด์ในทีส่ ดุ นอกจากนี้บริษทั ฯยังได้จาํ หน่ายบัตรเติมเงินผ่านช่อง ทางการจําหน่ายรูปแบบใหม่เพือ่ อํานวยความสะดวกให้กบั ลูกค้า โดยการแต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายผ่านช่องทางการจัด จําหน่ายในธุรกิจอื่นๆทีไ่ ม่ได้เกีย่ วข้องกับการสือ่ สารโดยตรง เช่น ร้านขายหนังสือ ร้านสะดวกซือ้ สถานีบริการนํ้ามัน ร้าน จําหน่ายซีด-ี เทป ห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์สโตร์ ทีท่ าํ การไปรษณีย์ และธนาคาร เป็ นต้น รวมทัง้ พัฒนาวิธกี ารเติมเงินผ่าน ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ผ่านเครือ่ งเติมเงินอัตโนมัต,ิ ATM, Phone Banking, อินเตอร์เน็ต, M-Pay รวมถึงบริการ เติมเงินรูปแบบใหม่ผา่ นตัวแทนเติมเงินออนไลน์ (Refill on mobile หรือ ROM) ซึง่ จะช่วยลดต้นทุนของการผลิตบัตรเติม เงิน อีกทัง้ ยังทําให้การเติมเงินของเอไอเอสสามารถเข้าถึงผูบ้ ริโภคทุกกลุม่ ได้ดยี งิ่ ขึน้ แนวโน้ มตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2552 ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่จะต้องเผชิญ กับเงื่อนไขทางการตลาดที่ท้าทายในปี หน้ า ได้แก่ การชะลอตัวทาง เศรษฐกิจทัง้ ในระดับโลกและวิกฤตเศรษฐกิจภายในประเทศ ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนทีซ่ ่งึ เข้าสูจ่ ุดอิม่ ตัว (Saturated Market) โดยมีจํานวนผู้ใช้มอื ถือต่อประชากรในอัตราสูง (High Penetration Rate) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเขตเมือง โดยในปี 2552 บริษัทฯคาดว่า ตลาดจะมีจํานวนผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ พิม่ ขึน้ ประมาณ 5 ล้านเลขหมาย หรือคิดเป็ นการเติบโตที่ ส่วนที่ 2 หน้า 40


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

อัตราร้อยละ 8 จากปี 2551 ซึง่ จะทําให้อตั ราหมายเลขโทรศัพท์เคลือ่ นทีต่ ่อจํานวนประชากรประมาณร้อยละ 100-110 โดย จํานวนผู้ใช้บริการมากกว่า 1 หมายเลข (Multiple SIM user) จะยังคงมีอยู่เป็ นจํานวนพอสมควร หากพิจารณาจํานวน ผูใ้ ช้บริการต่อจํานวนประชากร (Human penetration rate)แล้ว คาดว่าจะอยู่ในระดับอัตราร้อยละ 70-80 โดยมาจากการ เติบโตของผู้ใช้บริการในตลาดต่างจังหวัดเป็ นหลัก อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตในเชิงรายได้ของตลาดการให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนทีน่ ่ าจะอยู่ในระดับน้อยกว่าร้อยละ 4 เนื่องจากเศรษฐกิจไทยที่คาดว่าจะเติบโตลดน้อยลงอย่างมาก ตาม ภาวะเศรษฐกิจทัวโลก ่ รวมถึงสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมือง ซึง่ ต่างกดดันการบริโภคภายในประเทศ นอกจากนี้ การเปิ ดให้บริการคงสิทธิเลขหมาย (Number Portability) ทีล่ กู ค้าสามารถเปลีย่ นผูใ้ ห้บริการได้โดยใช้ เลขหมายเดิม โดย บริษัท ฯในฐานะผู้นํ าในธุ รกิจโทรศัพ ท์เคลื่อ นที่มีค วามพร้อ มที่จะเติบ โตต่ อไปในปี ห น้ าท่า มกลาง สถานการณ์ ด งั กล่ าว ด้ว ยเครือข่า ยที่แข็งแกร่ง และครอบคลุ ม ทุ ก พื้น ที่ มีคุ ณ ภาพที่โดดเด่ น กว่า และมีโครงการสิท ธิ ประโยชน์มากมายทีท่ าํ มายาวนานในการบริหารความสัมพันธ์กบั ลูกค้า นอกจากนี้บริษทั ฯยังได้ปรับตัวเพื่อรองรับการเปิ ด ให้บริการคงสิทธิเลขหมาย (Number Portability) โดยพยายามปรับเปลีย่ นความคิดเห็นของลูกค้าทีม่ องว่าค่าบริการของเอ ไอเอส “แพงกว่าผูใ้ ห้บริการรายอื่น” โดยออกแคมเปญ “เครือข่ายคุณภาพ ราคาพอกัน” เพือ่ ให้ผบู้ ริโภครับรูถ้ งึ ความคุม้ ค่า จากการใช้บริการของเอไอเอสซึง่ จะได้รบั ประสบการณ์ทด่ี ใี นทุกๆด้านและส่งผลให้ลกู ค้ามีความผูกพันกับแบรนด์มากยิง่ ขึน้ ผูใ้ ห้บริการมุง่ เน้นให้ความสําคัญมากขึน้ ในการเพิม่ รายได้จากบริการเสริม (Non-voice) ซึง่ มีการแข่งขันด้านราคา ไม่สงู นักและยังมีอตั ราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบริการทีเ่ กี่ยวข้องกับดนตรีและความบันเทิง นอกจากนี้ ในปี หน้าผูใ้ ห้บริการแต่ละรายจะนํ าเสนอบริการใหม่ท่หี ลากหลายและรวดเร็วยิง่ ขึน้ บนเทคโนโลยี 3G เช่น อินเทอร์เน็ตไร้สาย ความเร็ว สูงบนมือ ถือ (High Speed Wireless Internet), โทรศัพ ท์แ บบเห็น หน้ า (Video Call) หรือ บริก ารดาวน์ โหลด ไฟล์ข้อ มูลขนาดใหญ่ ในลัก ษณะของ Video Clip, Video Streaming, Full Song, Music Video และขยายธุ รกิจไปสู่การ ให้บริการบรอดแบนด์ (Broadband) ซึ่งมีโอกาสในการเติบโตจากจํานวนผูใ้ ช้งานอินเตอร์เน็ตในประเทศไทยที่เพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่องมากกว่า 13 ล้านคน บริษัทฯในฐานะผู้ให้บริการบนเทคโนโลยี 3G เป็ นรายแรกในประเทศไทย ซึ่งฐานะ ทางการเงินที่แข็งแกร่งและมีประสบการณ์ อนั ยาวนานในการพัฒ นาหลากหลายรูปแบบบริการเสริมที่เป็ นนวัตกรรมจะ สามารถก้าวไปสูผ่ นู้ ําในตลาด 3G ได้อย่างมันคง ่ การแสดงความรับผิ ดชอบต่อสังคม (Corporate social responsibility) กว่า 18 ปี ของการดําเนินธุรกิจ บริษทั ฯ ยังคงยืนยันในเจตนารมณ์ทช่ี ดั เจน มีความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจดําเนินธุรกิจ ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ทัง้ พร้อมตอบแทนสังคมไทย ด้วยเป็ นส่วนหนึ่งในการสร้างกําลังใจให้กบั ทุกคนในสังคมให้ สามารถใช้ชวี ติ และดํารงชีพได้อย่างมีความสุข ซึง่ บริษทั ฯพร้อมทีจ่ ะยืนหยัดอยูเ่ คียงข้างคุณทุกคน ดังนัน้ เพือ่ ให้การดําเนินงานเพือ่ สังคมมีความแข็งแกร่งชัดเจน บริษทั ฯ จึงวางแนวทางในการดําเนินงานเป็ น 4 แนวทาง คือ การสนับสนุนสถาบันครอบครัว , การเป็ นแบบอย่างที่ดีในสังคม, การให้โอกาสช่วยเหลือสังคมด้าน ต่างๆ และการปลูกจิ ตสํานึ กให้พนักงานช่วยเหลือสังคม ซึง่ จาก 4 แนวทางทีว่ างไว้ สามารถตอบสนองและดูแลสังคม ได้โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายใต้โครงการ ต่อไปนี้ 1. การสนับสนุนสถาบันครอบครัว โครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัว จัดกิจกรรมดังนี้ -

ภาพยนตร์โฆษณา เพือ่ จุดประกายความคิดในเรือ่ งครอบครัวโดยปี น้เี สนอ ชุด “ความทรงจําดีๆ” ที่ นําเสนอแนวคิด ทีว่ า่ “ในวันที่ไม่เหลืออะไร คุณยังมีครอบครัวอยู่เคียงข้างเสมอ” ซึง่ เป็ นการ

ส่วนที่ 2 หน้า 41


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สะท้อนชีวติ ของคนไทยทีป่ ระสบปั ญหาจากสภาวะเศรษฐกิจ จึงเกิดความท้อแท้และหาทางออกคิดสัน้ ฆ่าตัวตาย แต่กฉ็ ุกคิดว่าแม้จะลําบากเพียงใด คุณก็ยงั มีครอบครัวทีค่ อยเป็ นกําลังใจให้สกู้ บั ปั ญหานัน้ ๆ -

“เอไอเอส แฟมิ ลี่ แรลลี่ เพื่อสายใจไทย” ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี เป็ น การจัดกิจกรรมเพื่อสานความสัม พัน ธ์แก่กัน ของคนในครอบครัว ซึ่งรายได้จาก กิจกรรมนี้ ได้นําขึน้ ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อมูลนิธสิ ายใจ ไทย

-

“เอไอเอส แฟมิ ลี่ วอล์ค แรลลี่ เพื่อมูลนิ ธิอานันทมหิ ดล” ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รายได้จากการจัดกิจกรรมนี้ ได้นําขึน้ ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อมูลนิธอิ านันทมหิดล

-

จัดทําจุลสารสําหรับครอบครัว โดยสอดแทรกสาระความรูท้ างวิชาการ เกีย่ วกับ กลยุทธ์การสร้าง บรรยากาศแห่งความรักภายในครอบครัว และเทคนิคการเลีย้ งลูกด้วยวิธกี ารสมัยใหม่ เพือ่ ให้ความรูก้ บั สมาชิกภายในครอบครัว โดยเฉพาะคุณพ่อคุณแม่ ซึง่ เป็ นการเตรียมความพร้อม สูก่ ารสร้างครอบครัวที่ สมบูรณ์แบบ

2. การเป็ นแบบอย่างที่ดีของสังคม -

ผลิตสารคดีชวี ติ ทางโทรทัศน์ ภายใต้ชอ่ื รายการ “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” เพือ่ เชิดชูและสนับสนุ น เยาวชนทีด่ ี ใฝ่ รู้ มีความกตัญญู ให้เป็ นแบบอย่างทีด่ ขี องสังคม โดยโครงการนี้จะให้เงินช่วยเหลือ ครอบครัวและให้ทุนการศึกษาแก่เด็กได้เรียนจนจบปริญญาตรี ล่าสุด มีเยาวชนเรียนจบระดับนี้แล้ว 20 คน ปั จจุบนั มีเยาวชนอยูใ่ นโครงการและกําลังศึกษาอยูท่ กุ ระดับชัน้ มากกว่า 365 คน

-

กิจกรรม “สานรัก คนเก่งหัวใจแกร่งสัญจร” เพือ่ สร้างขวัญและเพิม่ กําลังใจให้เยาวชน ด้วยการนํา ตัวอย่างเยาวชนจากโครงการสานรักคนเก่งหัวใจแกร่ง ไปพูดคุยและแลกเปลีย่ นแนวคิดแก่เยาวชนใน สถานทีต่ ่างๆ อาทิ สถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน สถาบันการศึกษา สถานสงเคราะห์ต่างๆ

-

จัดทํา “ซีดีสานรัก คนเก่งหัวใจแกร่ง” โดยรายการทีวที อ่ี อกอากาศไปแล้วจะทําบันทึกลง CD เพือ่ ใช้ เป็ นสือ่ การเรียนการสอนโดยนําไปมอบให้แก่หน่วยงานต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นสถาบันการศึกษา สํานักงาน พุทธศาสนา อัครสังฆมณฑล สถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน สถานสงเคราะห์ต่างๆ เพือ่ ใช้ เป็ นสือ่ การเรียนการสอนด้านจริยธรรม คุณธรรมซึง่ มอบไปแล้วจํานวนกว่า 2 แสนแผ่น

-

โครงการจัดทําซีดีเพลงพระราชนิ พนธ์ การจัดทําซีดเี พลงพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาส พระชนมพรรษา 80 พรรษา ในรูปแบบของเพลงเมดเล่ยป์ ระสานเสียงครัง้ แรก ของประเทศไทย บรรเลงเดีย่ วเปี ยโน และบรรเลง Big band ชุด H.M. Compositions “Music for All Time” เพือ่ เทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางดนตรีและเผยแพร่บทเพลงอันทรงคุณค่าในพระองค์ท่าน ในแบบอย่างทีถ่ ูกต้องตามต้นฉบับ จํานวน 10,000 แผ่น โดยมอบเป็ นสือ่ การศึกษาด้านดนตรีแก่ ห้องสมุดของสถาบันการศึกษาทีม่ กี ารเรียนการสอนวิชาดนตรี โรงเรียนสอนคนตาบอด สมาคมคนตา บอดแห่งประเทศไทย เป็ นต้น

ส่วนที่ 2 หน้า 42


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

-

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงการ Company Visit เพื่ อ เปิ ดโอกาสให้ ห น่ วยงานต่ า งๆ ทั ง้ ภาครัฐ และเอกชน รวมถึ ง สถาบันการศึกษา เข้าเยีย่ มชมกิจการขององค์กรและแลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์ โดยมีเจตนารมณ์ ในการถ่ายทอดข้อมูลเพือ่ เป็ นองค์ความรูแ้ ก่ผเู้ ข้าเยีย่ มชม

3. การให้โอกาสและช่วยเหลือสังคม -

โครงการ “ถังนํ้ าใจ เอไอเอส เพื่ อไทยไม่ขาดนํ้ า” เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงครองศิรริ าชย์ค รบ 60 ปี บริษัท ฯและชาวไทยทัง้ ประเทศตัง้ ใจที่จะทํ าความดีและเดิน ตามรอย พระราชดํา ริข องพระองค์ท่ า นในเรื่อ งของทรัพ ยากรนํ้ า ปั ญ หาภัย แล้ง และเพื่อ เป็ น การสนองแนว พระราชดําริ โครงการนี้จงึ เกิดขึน้ โดยจัดมอบถังนํ้ าชนิดพิเศษทีท่ ําจากวัสดุเอลิเซอร์ แข็งแรง ทนทาน ไม่เป็ นสนิม ไม่มตี ะไคร่น้ํา เพือ่ ใช้เก็บกักนํ้าไว้ใช้ยามขาดแคลนนํ้าและได้ดําเนินการต่อเนื่อง ถึงปี 2551 ติดต่อกันมา 3 ปี โดยมอบถังนํ้าไปแล้ว 10,000 ถัง ไปยังตําบล หมูบ่ า้ นต่างๆ ทัวประเทศ ่

-

โครงการบรรเทาทุกข์แก่พี่น้องไทยที่ ประสบภัยหนาว ประสบภัยนํ้ าท่ วม โดยจัดขบวนคาราวาน มอบผ้าห่ม มอบถุงยังชีพแก่ผปู้ ระสบเหตุดงั กล่าว ทุกครัง้ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากภัยหนาวและภัยนํ้ าท่วม โดยตลอดอย่างต่อเนื่องทุกปี

-

โครงการ “เอไอเอส สร้างอาชี พ Call Center แด่ผ้พู ิ การทางสายตาและผู้พิการทางการได้ยิน(หู หนวก)” บริษทั ฯ ตัง้ ใจทีจ่ ะให้โอกาสแก่เยาวชนผูพ้ กิ ารทัง้ ทางสายตาและทางการได้ยนิ (หูหนวก) ได้มี อาชีพสามารถเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว ไม่เป็ นภาระของสังคม ด้วยการรับเข้าเป็ นพนักงาน AIS Call Center และได้รบั สิทธิประโยชน์ สวัสดิการเช่นเดียวกันกับพนักงานปกติของบริษทั ฯ

-

กองทุน เอไอเอส เพื่อผู้สูงอายุ ในมูลนิ ธิ ราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในส่วนนี้ได้ จัดมอบเงินจํานวน 5 ล้านบาทเป็ นประจําทุกปี เพื่อสมทบทุนในกองทุนเพือ่ ผูส้ งู อายุ ในมูลนิธริ าชประชา นุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีผ่ า่ นมาจนถึงปัจจุบนั มอบเงินไปแล้วเป็ นจํานวน 35 ล้านบาท

-

โครงการ เอไอเอส แนะแนวว่าที่ บณ ั ฑิ ต ให้ชีวิตไม่เตะฝุ่ น เป็ นการจัดกิจกรรมทีเ่ ปิ ดโอกาสให้นิสติ นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู่ในชัน้ ปี ท่ี 4 จากสถาบันการศึกษาต่างๆ ร่วมรับฟั งความรูก้ ารเตรียมความ พร้อมในการสมัครงานและพัฒนาตนเองเพื่อเข้าสู่โลกแห่งการทํางานจริง สําหรับโครงการดังกล่าว เริม่ ตัง้ แต่ปี 2550 มีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทัง้ ของภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมทัวประเทศเข้ ่ าร่วมแล้วกว่า 2,000 คน

-

โครงการ “ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เอไอเอส -สานรัก” โครงการนี้มเี ป้ าหมายเพื่อแบ่งเบาภาระให้กบั พ่อ แม่ ผูป้ กครอง โดยเฉพาะพืน้ ทีช่ นบทห่างไกลเมือง ทีต่ อ้ งการทํางานหาเงินเลีย้ งชีพเลีย้ งครอบครัว แต่มี ลูกเล็กทีต่ อ้ งดูแล โดยศูนย์น้ีจะเปิ ดรับเด็กเล็กทีม่ อี ายุระหว่าง 3-6 ปี จัดเป็ นแหล่งศึกษาเพือ่ เด็กก่อนวัย เรีย น ซึ่ ง บริษั ท ฯจะสร้า งและส่ ง มอบให้ อ งค์ ก ารบริห ารส่ ว นตํ า บล (อบต.)ในพื้น ที่นั น้ ๆ ดู แ ล ซึ่ ง ดําเนินการจัดสร้างแล้วที่ บ้านท่างาม จังหวัดกาฬสินธุ์ บ้านหาดใหญ่ จังหวัดพิษณุโลก และบ้านแม่สาว จังหวัดเชียงใหม่

-

โครงการ ลานกีฬา เอไอเอส จัดทําขึน้ เพือ่ ให้เยาวชนและประชาชนได้มโี อกาสใช้สถานทีแ่ ห่งนี้ในการ ออกกําลังกายและเล่นกีฬากลางแจ้ง เพือ่ สุขภาพและอนามัยทีด่ ขี องประชาชน ทัง้ เป็ นการใช้เวลาว่างให้

ส่วนที่ 2 หน้า 43


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เกิดประโยชน์ ช่วยลดปั ญหายาเสพติด โดยจัดทําในพื้นที่สาธารณะตามแหล่งชุมชน พร้อมติดตัง้ ไฟ ส่องสว่าง รวม 6 แห่งทัง้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด -

โครงการ เอไอเอส จัด หาอุป กรณ์ ส นั บ สนุ น การปฏิ บ ตั ิ งานตํารวจจราจร เป็ นการดําเนิ น การ ร่วมกับสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ด้วยเล็งเห็นถึงความสําคัญของอุปกรณ์ในการปฏิบตั งิ านทีส่ ง่ ผลให้การ ปฏิบตั งิ านจราจรมีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยได้จดั ทําตู้ควบคุมสัญญาณไฟจราจรตามจุดแยกต่างๆ 96 แห่ง ทัวประเทศ ่

-

เอไอเอส ยิ้ มหวานวันเด็ก เป็ นการจัดกิจกรรมวันเด็กให้กบั เยาวชนทีบ่ กพร่องทางร่างกายและปั ญญา เพือ่ เปิ ดโอกาสให้เยาวชนกลุม่ นี้ได้ร่วมแสดงออกและสนุ กกับกิจกรรมต่างๆ กับเด็กปกติทวไปในวั ั่ นเด็ก เพือ่ ให้เด็กเหล่านี้ได้รบั ประสบการณ์เช่นเดียวกัน

-

โครงการห้ องสมุดเคลื่อนที่ สานรักในพื้นที่ ชายแดนภาคใต้ บริษัทฯ ได้รเิ ริม่ การดําเนินโครงการ ห้องสมุดเคลือ่ นทีส่ านรักในพืน้ ทีช่ ายแดนภาคใต้ โดยทําการมอบห้องสมุดเคลือ่ นทีใ่ ห้แก่ศนู ย์พฒ ั นาเด็ก เล็ก และโรงเรีย นประถมศึก ษา ในเขตพื้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา, นราธิวาส, ปั ตตานี ,สงขลา และ สตูล รวม 200 แห่งเพื่อเปิ ดโอกาสในการศึกษาและสร้างเสริม พัฒ นาการด้าน สติปัญญาให้แก่เด็กๆ

4. การปลูกจิ ตสํานึ กให้พนักงานช่วยเหลือสังคม -

กิ จกรรมพัฒนาโรงเรียนในชนบท เป็ นกิจกรรมสาธารณประโยชน์ทพ่ี นักงานเอไอเอสได้รว่ มแรง ร่วม ใจช่วยกันตกแต่งซ่ อมแซมโรงเรียนและโรงอาหารให้น่าอยู่และสะอาด อีกทัง้ ยังได้มอบอุ ปกรณ์ กีฬ า ให้แก่เด็กๆ เพือ่ สร้างสัมพันธภาพทีด่ กี บั ชาวบ้านทีอ่ ยูใ่ นชุมชนใกล้เคียงทีม่ าร่วมกันพัฒนาโรงเรียน

-

กิ จกรรมบําเพ็ญประโยชน์ ให้กบั สถานสงเคราะห์ โดยนําพนักงานไปร่วมทําบุญด้วยการบริจาคเงิน สิง่ ของ และทํากิจกรรมบันเทิง เพื่อบําเพ็ญประโยชน์ให้แก่สถานสงเคราะห์ต่างๆ อาทิ โรงเรียนสอนคน ตาบอด กรุงเทพฯ บ้านนนทภูมิ บ้านพักคนชราบางแค เป็ นต้น

-

กิ จกรรมรวมพลังเอไอเอสลดภาวะโลกร้อน การปลูกป่ าเป็ นอีกหนึ่งทางเลือกของการแก้ไขปั ญหา ภาวะโลกร้อน ล่าสุด บริษัทฯได้นําเพื่อนพนักงานไปปลูกป่ าที่จงั หวัดเพชรบุรี วัดพระพุทธบาท เขา ลูกช้าง เพือ่ ร่วมลดปั ญหาดังกล่าว พร้อมทัง้ รณรงค์ให้พนักงานใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติกใส่ของด้วย

-

กิ จกรรมมอบแสงสว่าง มอบทานทางปั ญญา พนักงานได้ผลัดเปลีย่ นกันไปสอนการบ้านและอ่าน หนังสือให้เด็กๆ ทีโ่ รงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพฯ ซึ่งกิจกรรมมอบแสงสว่าง มอบทานทางปั ญญานี้ เป็ นการต่อยอดโครงการเอไอเอสสนับสนุ นการสร้างอาชีพให้คนตาบอด

-

กิ จกรรม AIS Sport Charity เป็ นกิจกรรมทีบ่ ริษทั ฯนําอุปกรณ์การเรียนและกีฬา ไปมอบให้แก่น้องๆ ในโรงเรียนทีข่ าดแคลนในพืน้ ทีท่ ุรกันดาร รวมทัง้ จัดแข่งกีฬาสามัคคีสมั พันธ์ ทีผ่ า่ นมาได้จดั

-

กิ จกรรมดังกล่าว ณ วัดหนองตามิ่ ง จังหวัดลพบุรี

-

เอไอเอส สวพ.FM 91 พัฒ นาบริ การรับแจ้งเหตุด่วน เหตุร้าย และจราจร ผ่านโทร. 1644 โดย บริษัทฯ ร่วมกับ สวพ.FM.91 ขยายเครือข่ายในการช่วยเหลือสังคม ด้วยการจัดอบรมพนักงาน และ พัฒนาขีดความสามารถของ AIS Call Center 1175 ในการดูแลผูใ้ ช้บริการเอไอเอส ทีโ่ ทรแจ้งเหตุด่วน ส่วนที่ 2 หน้า 44


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เหตุรา้ ย รวมทัง้ สอบถามเส้นทางจราจร นอกจากนัน้ ยังเปิ ดรับอาสาสมัครจากพนักงานและผูใ้ ช้บริการ บริษทั ฯ จํานวนกว่า 27 ล้านราย ในการเป็ นเหยีย่ วข่าว เพื่อแจ้งเหตุขอ้ มูลข่าวสารและความปลอดภัย ไปยัง สวพ FM.91 ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ 1644 ฟรี

ส่วนที่ 2 หน้า 45


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

3.3

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การจําหน่ ายและช่องทางการจัดจําหน่ าย

ในการจดทะเบียนเลขหมายโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ลขหมายใหม่ในระบบดิจติ อล GSM advance, 1-2-Call!, สวัสดี และดิจติ อล GSM 1800 ประมาณร้อยละ 80-90 จะจําหน่ายผ่านตัวแทนจําหน่าย ส่วนทีเ่ หลือจะขายผ่านการขายตรง (1) การจําหน่ ายผ่านตัวแทนจําหน่ าย บริษทั ฯ มีหลักเกณฑ์ในการแต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายโดยพิจารณาจากทําเลทีต่ งั ้ ผลงานทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ สถานะทางการเงิน เพือ่ ให้บริษทั ฯมีความเชื่อมันในระดั ่ บหนึ่งว่าตัวแทนจําหน่ายนัน้ มีศกั ยภาพเพียงพอใน การดําเนินธุรกิจ และสามารถดูแลลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้สาํ หรับพืน้ ทีต่ ่างจังหวัด ตัวแทนจําหน่ายที่ ได้รบั การแต่งตัง้ จะต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี วามคุน้ เคยในพืน้ ทีแ่ ละเป็ นนักธุรกิจรายใหญ่ของพืน้ ทีเ่ ป็ นสําคัญ ปั จจุบนั ตัวแทนจําหน่ายของบริษทั ฯจะแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้ ตัวแทนจําหน่ายใน ธุรกิจโทรคมนาคม • เทเลวิช • ตัวแทนจําหน่ายทั่วไป • ตัวแทนจําหน่ายอื่นๆ เช่น ร้าน Jay Mart, Blisstel, IEC, SAMART i-Mobile

ตัวแทนจําหน่ายใน ธุรกิจอื่น • ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ เช่น เทสโก้ โลตัส, เพาเวอร์บาย • ร้านสะดวกซื้อ เช่น ร้าน เซเว่น อีเลฟเว่น • อื่นๆ เช่น ร้านหนังสือ และสถานีบริการน้ํามัน

ช่องทางจําหน่าย อิเล็กทรอนิกส์ • • • •

ตู้เอทีเอ็ม เอ็ม-เปย์ การเติมเงินผ่านมือถือ อินเทอร์เน็ต

ตัวแทนจําหน่ ายในธุรกิ จโทรคมนาคม  ตัวแทนจําหน่ ายในระบบแฟรนไชส์ ภายใต้ชื่อ “เทเลวิ ซ” บริษัทฯมีตวั แทนจําหน่ ายในระบบแฟรนไชส์ภายใต้ช่อื ร้านเทเลวิซ มากกว่า 350 แห่งทัวประเทศ ่ และ Telewiz Express ที่เป็ นสาขาย่อยมากกว่า 280 แห่ง โดยตัวแทนจําหน่ ายในระบบแฟรนไชส์จะใช้เครื่อ งหมาย การค้าเพื่อจํา หน่ ายสินค้าและบริก ารเฉพาะของบริษัทฯ (exclusive) ภายในร้า น โดยมีกํา หนดอายุสญ ั ญา 1 ปี และสิทธิต่างๆดังนี้ 1) สิทธิในการจําหน่ายสินค้า ภายใต้เครือ่ งหมายการค้าของบริษทั ฯ 2) สิทธิในการให้บริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ให้บริการเกีย่ วกับงานทะเบียนต่างๆ และ เป็ นผูใ้ ห้บริการรับชําระค่าบริการหรือค่าใช้จา่ ยอื่นใด บริษทั ฯจะเป็ นผูก้ าํ หนดเงือ่ นไข และควบคุมคุณภาพมาตรฐานของการให้บริการ แนวทางในการ ดําเนินการของตัวแทนจําหน่าย เช่น การเลือกและวิเคราะห์สถานทีต่ งั ้ การโฆษณาและส่งเสริมการขาย และการ ให้บริการต่างๆ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรของตัวแทนฯโดยการอบรม ตรวจเยีย่ ม และมีระบบการวัดผล เพือ่ ให้ได้ มาตรฐานตามทีบ่ ริษทั ฯกําหนด  ตัวแทนจําหน่ ายทัวไป ่ (General dealer) บริษทั ฯมีตวั แทนจําหน่ายจํานวนทัง้ สิน้ กว่า 500 ราย ซึง่ มีหน้าร้านเป็ นของตนเอง โดยตัวแทนจําหน่าย ทัวไปนี ่ ้ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นผูจ้ าํ หน่ายสินค้าของบริษทั ได้แก่ เครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ชุด Starter Kit และบัตรเติม ส่วนที่ 2 หน้า 46


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เงิน รวมทัง้ อุปกรณ์เสริมต่างๆ นอกเหนือจากรายได้จากการจําหน่ายสินค้าและบริการแล้ว ตัวแทนจําหน่ ายจะ ได้รบั ค่าตอบแทนจากการลงทะเบียนให้ลกู ค้า เป็ นสมาชิกการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นระบบดิจติ อล GSM advance, GSM1800 และค่าตอบแทนจากการให้ลกู ค้าเปิ ดใช้บริการเลขหมายในระบบ 1-2-Call! รวมถึงการ สนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด ตามอัตราทีบ่ ริษทั ฯกําหนด  ตัวแทนจําหน่ ายในธุรกิ จโทรคมนาคมอื่นๆ (Others telecom channels) บริษัทฯได้จดั จําหน่ ายสินค้าผ่านตัวแทนจําหน่ ายในธุรกิจโทรคมนาคมอื่นๆซึ่งมีสาขาหรือร้านค้าของ ตนเองอยู่ทวประเทศ ั่ (Chain store) ซึ่งจําหน่ ายสินค้าในหมวดสื่อสารต่างๆ เช่นเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ อุปกรณ์สอ่ื สารอืน่ ๆ ได้แก่ Jay Mart, Blisstel, IEC, SAMART i-Mobile ตัวแทนจําหน่ ายในธุรกิ จอื่น (Non-telecom channel) นอกจากช่องทางจําหน่ายปกติทก่ี ล่าวมาแล้ว ช่องทางการจําหน่ายบัตรเติมเงินในรูปแบบใหม่ๆ ที่ สามารถเข้าถึงชุมชนได้มากขึน้ ทําให้อาํ นวยความสะดวกให้กบั ลูกค้านัน้ มีความสําคัญมากขึน้ โดยบริษทั ฯมีการ จัดจําหน่ายผ่านร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ได้แก่ เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชั ่น ซิสเทม (Tesco Lotus), เพาเวอร์บาย (Power Buy) เป็ นต้น โดยกระจายอยูท่ วประเทศเป็ ั่ นสาขามากกว่า 2,400 แห่ง นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้แต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายผ่านช่องทางการจัดจําหน่ายในธุรกิจอื่นๆ ทีไ่ ม่ได้เกีย่ วข้องกับการสือ่ สารโดยตรง เช่น ร้านขายหนังสือ ร้านสะดวกซือ้ เช่นร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-eleven) สถานีบริการนํ้ามัน ร้านจําหน่ายซีด-ี เทป ห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์สโตร์ ทีท่ าํ การไปรษณีย์ และธนาคาร เป็ นต้น ช่องทางจําหน่ ายอิ เล็กทรอนิ กส์ บริษทั ฯได้มกี ารพัฒนาวิธกี ารเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซึง่ ช่วยให้เพิม่ ความสะดวกให้แก่ ลูกค้าในการเติมเงิน เช่น ผ่านเครือ่ งเติมเงินอัตโนมัต,ิ ATM, Phone Banking, อินเตอร์เน็ต, M-Pay นอกจากนี้ บริษทั ฯยังได้เปิ ดบริการเติมเงินรูปแบบใหม่ผ่านตัวแทนเติมเงินออนไลน์ หรือ การเติมเงินผ่านมือถือ (Refill on mobile หรือ ROM) ซึง่ ทําให้บริษทั ฯสามารถเข้าถึงผูบ้ ริโภคทุกกลุม่ ได้ดยี งิ่ ขึน้ เนื่องจากมีความสะดวก โดยลูกค้า สามารถเติมเงินได้บอ่ ยครัง้ เท่าทีต่ อ้ งการ และสามารถเติมในจํานวนเงินทีต่ ่าํ กว่าการเติมเงินด้วยบัตรเติมเงิน อีก ทัง้ ยังช่วยให้บริษทั ฯสามารถประหยัดต้นทุนในการผลิตบัตรเติมเงินอีกด้วย ทัง้ นี้ บริษทั ฯได้เปิ ดให้บริการ ROM ทัวประเทศอย่ ่ างเป็ นทางการในปี 2551 ซึง่ ได้รบั ผลตอบรับทีด่ จี ากลูกค้า โดยยอดการเติมเงินผ่านมือถือได้ เพิม่ ขึน้ เป็ นอัตราถึงร้อยละ 30 ของการเติมเงินทัวประเทศ ่ จากเพียงอัตราไม่ถงึ ร้อยละ 10 ในปี 2550 (2) การขายตรง บริษทั ฯ เพิม่ ช่องทางการขายตรงโดยร่วมมือกับตัวแทนจําหน่ายในระบบแฟรนไชส์และตัวแทนจําหน่าย ทัวไปในการจํ ่ าหน่ายสินค้าต่างๆ และเน้นการให้บริการหลังการขายแก่กลุ่มลูกค้าองค์กรหรือนิตบิ คุ คลซึง่ อาจมี ความต้องการใช้งานโทรศัพท์ในปริมาณมากและมีความต้องการทีห่ ลากหลายภายใต้เงือ่ นไขทีแ่ ตกต่างกันตาม ลักษณะธุรกิจ ทัง้ นี้บริษทั ฯจะตอบสนองความต้องการใช้บริการเสริมของลูกค้าองค์กรภายใต้ชอ่ื “AIS Smart Solution” ซึง่ จะช่วยเสริมศักยภาพในการทําธุรกิจให้กบั ลูกค้าองค์กรของบริษทั ฯและสามารถสร้างรายได้เพิม่ ให้กบั บริษทั ฯได้อย่างยังยื ่ น

ส่วนที่ 2 หน้า 47


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

3.4

การจัดหาผลิ ตภัณฑ์หรือบริ การ ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกค้าของระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ขึ้นอยู่กับความสามารถ ในการ ดําเนินการจัดหาและติดตัง้ อุปกรณ์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เพื่อขยายความสามารถในการรองรับจํานวนผูใ้ ช้บริการและ ขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ ห้มากขึน้ จากการทีบ่ ริษัทฯได้รบั อนุ ญาตให้สามารถดําเนินการให้บริการผ่านเครือข่ายร่วม (Network Roaming) ได้ บริษัทฯ และ ดีพซี ี จึงได้ร่วมกันปรับแต่ง และพัฒนาระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ องทัง้ 2 บริษทั ให้เสมือนเป็ นเครือข่ายร่วมที่ สามารถรองรับการใช้บริการได้ทงั ้ ในระบบ GSM 900MHz และ GSM 1800MHz (Dual-band Network) ได้อย่างราบรืน่ โดย ใช้ขอ้ ดีของทัง้ สองระบบ และทัง้ สองคลื่นความถีใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด ทัง้ นี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของ การให้บริการต่อผูใ้ ช้บริการทีส่ งู ยิง่ ขึน้ ไปอีก แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกค้าของเครือข่าย GSM ของบริษทั ฯ และ DPC ธันวาคม 2549 2.144 0.098 17.279 19.521

ธันวาคม 2550 2.203 0.082 21.819 24.105

ธันวาคม 2551 2.534 0.078 24.698 27.31

ลูกค้า GSM Advance (ล้านคน) ลูกค้า GSM 1800 (ล้านคน) ลูกค้า One-2-Call! (ล้านคน) รวมจํานวนลูกค้า (ล้านคน) ความสามารถของระบบในการรองรับลูกค้า* 22.525 25.810 (ล้านคน) จํานวนสถานีฐานสะสม 11,745 12,500 หน่วยล้านราย ยกเว้นจํานวนสถานีฐานสะสม * ความสามารถของระบบในการรองรับลูกค้า ณ สิน้ ปี 2551 คือค่าความสามารถของเครือข่ายร่วม GSM 900 และ GSM 1800 MHz โดยประมาณการตามอัตราการใช้งานโดยเฉลีย่ ของลูกค้าในปี 2551

28.126 14,452

เพือ่ ให้บริการเครือข่ายทีส่ งู ด้วยคุณภาพ บริษทั ฯจึงต้องเพิม่ ความสามารถของระบบในการรองรับการขยายตัวของ ลูกค้า โดยการเพิ่ม จํานวนสถานี ฐ านเพื่อรองรับการใช้งานที่ม ากขึ้น และขยายพื้นที่การให้บ ริก ารที่ค รอบคลุม มากขึ้น โดยเฉพาะในเขตชุนชนใหม่ทเ่ี กิดขึน้ บริษทั ฯเลือกใช้อุปกรณ์เครือข่ายโดยสังซื ่ อ้ โดยตรงจากผูผ้ ลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมชัน้ นํ า จากทัว่ โลก เช่ น Nokia-Siemens, Ericsson, NEC, Nortel และ Huawei เป็ นยี่ห้ อ หลัก ของอุ ป กรณ์ เครือ ข่ า ย และ คัดเลือกเทคโนโลยีและอุปกรณ์เครือข่ายทีเ่ หมาะสมมาติดตัง้ เพือ่ บรรลุถงึ คุณภาพและการใช้ประโยชน์สงู สุดของเครือข่าย 3.5

งานที่ยงั ไม่ได้ส่งมอบ - ไม่มี -

ส่วนที่ 2 หน้า 48


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

4.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การวิ จยั และพัฒนา

การศึกษาวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีเป็ นสิง่ ทีจ่ าํ เป็ นอย่างยิง่ ในการขับเคลือ่ นของเอไอเอสให้สามารถเป็ นทีย่ อมรับ แก่ผใู้ ช้บริการ ด้วยการพัฒนาเพือ่ การปรับปรุงบริการอย่างเหมาะสม และตอบโจทย์ความต้องการการใช้บริการของลูกค้า ทุกกลุม่ เพือ่ การใช้งานด้านต่างๆ ทัง้ ในด้านของการติดต่อสือ่ สาร ความรู้ ข่าวสารและความบันเทิง โดยได้นําเทคโนโลยีท่ี ทันสมัยและเหมาะสมมาใช้เพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถใช้งานได้ประโยชน์สงู สุด ในปี 2551 เอไอเอสได้สร้างประสบการณ์ในการใช้ mobileINTERNET *900 ให้มคี วามใกล้เคียงกับการใช้ คอมพิวเตอร์ในชีวติ ประจําวันไม่วา่ จะเป็ นบริการเพือ่ ให้ถงึ แหล่งข้อมูลทีต่ อ้ งการ หรือการบริการทีเ่ พิม่ ความหลากหลายของ การใช้งานให้ครอบคลุมถึงความต้องการของผูใ้ ช้บริการมากทีส่ ุด เช่นการส่งเสริมโลกอินเตอร์เนตบนโทรศัพท์มอื ถือ ไม่ใช่ เฉพาะด้านข้อมูลเท่านัน้ ทางด้านความเร็วของระบบเครือข่ายก็มกี ารพัฒนาให้มคี วามเร็วมากขึน้ เพือ่ สร้างประสบการณ์ ความเป็ นโลกอินเตอร์เนทบนโทรศัพท์มอื ถือ Seamless Experience  mobileINTERNET ICON โดยการรวบรวมเวบไซด์ท่ผี ูใ้ ช้บริการนิยมใช้สูงสุดไม่น้อยกว่า 100 เวบไซด์ อีกทัง้ ยังสามารถปรับแต่งICON ทีใ่ ช้งานเป็ นประจําด้วยตัวเอง  การบริการค้นหาข้อมูล Freedom Surf Web บริการทีอ่ ํานวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้ดว้ ยการให้ผใู้ ช้บริการ สามารถค้นหาข้อมูลตามความต้องการโดยการพิม พ์คําที่ต้องการค้นหาเท่านัน้ ระบบจะจัดการค้นหา แหล่งข้อมูลทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับคํานัน้ ๆ  บริการแผนทีอ่ จั ฉริยะ Map on Demand บริการแสดงตําแหน่ งบนแผนทีว่ ่าขณะนี้ผใู้ ช้บริการอยู่ ณ ทีใ่ ด และยังสามารถค้นหาสถานทีส่ าํ คัญใกล้เคียง นอกจากการแสดงตําแหน่ งแล้ว ยังสามารถรายงานสภาพ การจราจรทัวกรุ ่ งเทพมหานครขณะนัน้ ได้ (Real-time)  บริการสนทนา Chat บริการทีท่ าํ ให้การติดต่อบนโลกอินเตอร์เนทง่ายดาย โดยสามารถแชทกับคู่สนทนา ทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ผ่านทางโทรศัพท์มอื ถือ ซึง่ ทําให้ตดิ ต่อกับผูอ้ น่ื ได้ทุกทีท่ กุ เวลา  บริการดูโทรทัศน์ Live TV ด้วยช่องรายการมากกว่า 60 ช่อง ผูใ้ ช้บริการจะไม่พลาดรายการสําคัญเมื่อ ไม่ ส ามารถดู โทรทัศ น์ ได้ ด้ว ยการให้บ ริก ารนี้ อํ า นวยความสะดวกด้ว ยการสามารถรับ ชมรายการ โทรทัศน์ผา่ นทางหน้าจอโทรศัพท์  บริการด้านการเงิน Mobile Banking เพื่อตอบสนองความต้องการและให้เหมาะกับชีวติ ทีเ่ ร่งด่วน เอไอ เอสได้เปิ ดบริการให้ผใู้ ช้บริการสามารถทําธุรกรรมทางการเงินผ่านทางโทรศัพท์มอื ถือ ไม่ว่าจะเป็ นการ โอนเงินหรือการชําระค่าสินค้า นอกจากบริการดังกล่าวข้างต้น ทีมงานได้ทาํ การเตรียมพร้อมในเรือ่ งเทคโนโลยีใหม่ต่างๆ อาทิเช่น 3G (Third Generation) ทีจ่ ะให้บริการภายในปี 2552 พร้อมการบริการทีจ่ ะตอบสนองความต้องการได้ดยี งิ่ ขึน้ และครอบคลุมทุก กลุม่ เป้ าหมาย เพือ่ เป็ นผูน้ ําทางด้านเทคโนโลยี การพัฒนาและวิจยั จะเป็ นส่วนสําคัญทีส่ ง่ เสริมศักยภาพของเอไอเอส ใน ด้านการให้บริการลูกค้าและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาด และถือเป็ นกุญแจสําคัญของความสําเร็จใน ส่วนที่ 2 หน้า 49


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การลงทุนด้านการพัฒนาบริการต่างๆ ซึง่ ส่งผลให้การลงทุนได้รบั ผลตอบแทนสูงสุด โดยเอไอเอสได้มุ่งเน้นในเรือ่ งการ พัฒนาบริการให้เป็ นส่วนหนึ่งของชีวติ ประจําวันของลูกค้า โดยการนําเทคโนโลยีทท่ี นั สมัยและเหมาะสมมาประยุกต์ใช้ใน การพัฒนาบริการต่างๆ ผสมผสานกับความเข้าใจในความต้องการของลูกค้ากลุม่ ต่างๆ เพือ่ ให้บริการตอบโจทย์ความ ต้องการและให้ได้รบั ประโยชน์จากการใช้บริการอย่างแท้จริง

ส่วนที่ 2 หน้า 50


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

5. 5.1

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิ จ สิ นทรัพย์ถาวรหลัก

ที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร และส่วนปรับปรุงอาคารเช่า ของบริษัท ฯ และบริษัท ย่อยนัน้ จะเป็ นของ บริษทั ฯ เป็ นหลัก เนื่องจากบริษทั ฯมีสาํ นักงานสาขากระจายอยู่ทวประเทศ ั่ ส่วนเครือ่ งตกแต่ง ติดตัง้ และเครือ่ งมืออุปกรณ์ นัน้ จะประกอบด้วยอุปกรณ์ เครื่องมือช่าง อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอุปกรณ์ ต่างๆ ที่ใช้สําหรับบริการ เสริมของโทรศัพท์เคลือ่ นที่ สินทรัพย์ถาวรหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประกอบด้วย ประมาณอายุการใช้ (ปี ) สิ นทรัพย์ถาวรหลักของบริ ษทั ฯและบริษทั ย่อย ทีด่ นิ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า1/ เครื่องตกแต่ง, ติดตัง้ และเครื่องใช้สาํ นักงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและติดตัง้ อุปกรณ์สอ่ื สารเพือ่ ให้เช่า

5 และ 20 5 และ 10 2–5 3 และ 5 10 5 อายุสญ ั ญาเช่า และ 3

รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

1.07 503.70 880.78 2,105.28 29,189.67 4,238.98 248.91 915.81 24.66 38,108.87 (28,705.65)

หัก ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม

1/

หน่วย: ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ทีดิ่ น อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าเป็ นค่าใช้จา่ ยในการปรับปรุงตกแต่งสํานักงานบริการของบริษทั ฯ

9,403.22

สําหรับสินทรัพย์ถาวรหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้รวมสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินทีบ่ ริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยเป็ นผูเ้ ช่าอยูใ่ นส่วนของ เครือ่ งตกแต่ง ติดตัง้ และเครือ่ งใช้สาํ นักงาน เครือ่ งมือและอุปกรณ์ และยานพาหนะ เป็ น จํานวน 57.48 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 นอกจากนี้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยยังมีการเช่าพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงานเพือ่ ใช้ในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิน้ เดือน ธันวาคม 2551 สัญญาเช่าหลักของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.

บริษทั ฯ เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 1 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 14,263 ตารางเมตร จากบริษทั เอสซี ออฟฟิ ซ ปาร์ค จํากัด โดยมีการทําสัญญาเช่าทุก 1 ปี สัญญาฉบับปั จจุบนั มีระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม 2551 – 31 ธันวาคม 2553 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทน ในอัตรา 6,290,385 บาทต่อเดือน สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3 ปี ซึง่ สัญญาเช่าจะต่ออายุโดยอัตโนมัตเิ มื่อ หมดอายุสญ ั ญา เว้นแต่มกี ารแจ้งยกเลิก 30 วันล่วงหน้าก่อนหมดอายุสญ ั ญา ปั จจุบนั บริษทั ฯ มีการต่ออายุ สัญญาเช่าอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลากว่า 10 ปี ส่วนที่ 2 หน้า 51


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2.

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 2 เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญา ไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 15,100 ตารางเมตร จากบริษทั เอสซี ออฟฟิ ซ ปาร์ค จํากัด โดยมีการทํา สัญญาเช่าทุก 3 ปี สัญญาฉบับปั จจุบนั มีระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม 2551 – 31 ธันวาคม 2553 และต้อง จ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 6,782,352 บาทต่อเดือน สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3 ปี ซึง่ สัญญาเช่าจะต่อ อายุโดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมดอายุสญ ั ญา เว้นแต่มกี ารแจ้งยกเลิก 30 วันล่วงหน้าก่อนหมดอายุสญ ั ญา ปั จจุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการต่ออายุสญ ั ญาเช่าอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลากว่า 10 ปี

3.

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรงั สิต จตุจกั ร กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 2,862 ตารางเมตร จากบริษทั เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) โดยมีการทําสัญญาเช่าทุก 3 ปี สัญญาฉบับปั จจุบนั จะหมดอายุ 14 พฤศจิกายน 2552 และต้อง จ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 1,168,993 บาทต่อเดือน สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3 ปี ซึง่ สัญญาเช่าจะต่อ อายุโดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมดอายุสญ ั ญาเว้นแต่มกี ารแจ้งยกเลิก 30 วันล่วงหน้าก่อนหมดอายุสญ ั ญา

4.

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารอีเอสวีทาวเวอร์ เลขที่ 1,1293/9 ถนนพหลโยธินซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 8,062 ตารางเมตร จากบริษทั อีเอสวี แอสเสท จํากัด สัญญาฉบับ ปั จจุบนั จะหมดอายุ 28 กุมภาพันธ์ 2553 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 2,585,476 บาทต่อเดือน การต่อสัญญาเช่าจะต้องมีการแจ้งความประสงค์ไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนหมดอายุสญ ั ญา

5.

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานพหลโยธิน เพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 17,410 ตารางเมตร จากบริษทั พหล 8 จํากัด บริษทั สยามเคหะพัฒนา จํากัด บริษทั บริหารสินทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จํากัด บริษทั ล็อคไทย-พร็อพเพอร์ตส้ื ์ จํากัด บริษทั ณัฐวุฒแิ ละกานต์ จํากัด บริษทั อาทิตย์-จันทร์ จํากัด บริษทั พันธ์ทพิ ย์ เน็ตเวิรค์ จํากัด บริษทั อยุธยา อลิอนั ซ์ ซี.พี.ประกัน ชีวติ จํากัด(มหาชน) คุณซานดรา ไทบัญชากิจ คุณชิรารักษ์ จําลองศุภลักษณ์ และคุณเกวิน ไทยบัญชากิจ ซึง่ สัญญาเช่าทําแยกในแต่ละชัน้ สัญญาเช่าฉบับปั จจุบนั จะหมดอายุ 30 กันยายน 2553 และต้องจ่ายค่า เช่าตอบแทนในอัตรา 5,263,660 บาทต่อเดือน การต่อสัญญาเช่าจะต้องมีการแจ้งความประสงค์ไม่น้อย กว่า 30 และ 60 วันก่อนหมดอายุสญ ั ญา ตามแต่ละสัญญาเช่า

6.

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เช่าพืน้ ทีส่ าํ นักงานอาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร์ เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อทีป่ ระมาณ 5,621 ตารางเมตร จากบริษทั ทรีพลั ส์ จํากัด โดยสัญญาเช่าฉบับปั จจุบนั จะ หมดอายุ 31 ธันวาคม 2554 และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนในอัตรา 1,244,860 บาทต่อเดือน การต่อสัญญา เช่าจะต้องมีการแจ้งความประสงค์ไม่น้อยกว่า 30 และ 60 วันก่อนหมดอายุสญ ั ญา ตามแต่ละสัญญาเช่า

7.

บริษทั ฯ เช่าพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงานบริการสาขา ในจังหวัดเชียงใหม่ สุราษฏร์ธานี นครสวรรค์ นครราชสีมา นครปฐม พิษณุโลก หาดใหญ่ ชลบุรี อยุธยา ระยอง ภูเก็ต อุดรธานี ขอนแก่น และกรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 18,898 ตารางเมตร โดยแยกทําสัญญาแยกแต่ละจังหวัด และต้องจ่ายค่าเช่าตอบแทนรวมทัง้ สิน้ ในอัตรา 9,945,748 บาทต่อเดือน

ส่วนที่ 2 หน้า 52


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

5.2

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สัญญาร่วมการงาน

ต้นทุนโครงการภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานเป็ นสินทรัพย์ทล่ี งทุนโดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และโอนกรรมสิทธิ ์ ให้แก่หน่วยงานรัฐผูเ้ ป็ นเจ้าของสัญญาร่วมการงานนัน้ โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะได้สทิ ธิในการใช้สนิ ทรัพย์นนั ้ ในการ ดําเนินกิจการตลอดอายุสญ ั ญาร่วมการงานนัน้ สัญญาร่วมการงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบไปด้วยสัญญาร่วม การงานทีท่ าํ กับหน่วยงานของรัฐ เพือ่ ให้สามารถดําเนินธุรกิจภายใต้สทิ ธิของหน่วยงานรัฐนัน้ ๆ ต้นทุนโครงการภายใต้สญ ั ญาร่วมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประเภทสิ นทรัพย์ ต้นทุนโครงการของบริ ษทั อุปกรณ์เครือข่ายระบบดิจติ อล GSM อุปกรณ์เครือข่ายระบบอนาลอก NMT อุปกรณ์เครือข่ายสือ่ สัญญาณ อื่นๆ ต้นทุนโครงการของ เอดีซี เครื่องมือและอุปกรณ์ รวม ต้นทุนโครงการของ ดีพีซี อุปกรณ์เครือข่ายระบบดิจติ อล GSM และ อุปกรณ์เครือข่ายสือ่ สัญญาณ รวมต้นทุนโครงการของบริ ษทั และบริษทั ย่อย

ต้นทุน (ล้านบาท)

จํานวนปี ตัดจําหน่าย

จํานวนปี ทต่ี ดั จําหน่ายแล้ว

102,939.77 13,735.31 23,046.77 29,528.29

10 ปี ไม่เกินปี 2558 สิน้ สุด กันยายน 2545 10 ปี ไม่เกินปี 2558 10 ปี ไม่เกินปี 2558

1 – 10 1 – 10 1 – 10 1 – 10

42,367.97 7,661.98 19,054.45

1,537.55 170,787.69

10 ปี

1 – 10

293.85 69,378.25

13,361.94

10 ปี ไม่เกินปี 2556

1-9

3,667.19

184,149.63

มูลค่าทางบัญชี (ล้านบาท)

73,045.44

สัญญาร่วมการงานหลักๆ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สามารถสรุปได้ดงั นี้ (รายละเอียดของสัญญาร่วมการงานอยูใ่ น เอกสารแนบ 3) (1) บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) คูส่ ญ ั ญา

:

อายุของสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) 25 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558 1. บริษั ท ฯ ได้รบั อนุ ญ าตจาก ทีโ อที ในลัก ษณะของสัญ ญาแบบ สร้า ง-โอนให้บริการ โดยให้มสี ทิ ธิดําเนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทัง้ ระบบ NMT และ GSM ในย่านความถี่ 900 MHz ทัวประเทศ ่ โดย ต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในรูปแบบส่วนแบ่งรายได้ตามอัตราทีต่ ก ลง 2. บริษทั ฯ ได้รบั อนุ ญาตจากทีโอที ให้เป็ นผูร้ ว่ มบริหารผลประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยงและทรัพย์สนิ ในส่วนทีเ่ หลือจากการใช้งานของบริษทั ฯ ได้ โดย ต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ตามอัตราทีต่ กลง ส่วนที่ 2 หน้า 53


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

การยกเลิกสัญญา

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

3. บริษทั ฯ ได้รบั อนุ ญาตจาก ทีโอที ในการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบใช้บตั ร จ่ายเงินล่วงหน้ า (Pre-paid Card) โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ ทีโอที ตามอัตราร้อยละ 20 ของรายได้ (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ทีโอทีมสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ทนั ทีท่บี ริษัทฯ ล้มละลายหรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อ หนึ่งข้อใดของสัญญา และข้อผิดสัญญาดังกล่าว บริษัทฯ มิได้ดําเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งถึง ข้อผิด สัญ ญาจาก ทีโอที เป็ น ลายลัก ษณ์ อกั ษร โดยบริษัท ฯ ไม่มีสทิ ธิเรียกร้อง ค่าเสียหายใด ๆ และไม่มสี ทิ ธิเรียกทรัพย์สนิ และเงินคืนจาก ทีโอที แต่อย่างใด

:

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 1) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึก ข้อตกลง

:

เปลีย่ นแปลง ระยะเวลาการเช่า

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (เอไอเอส) 11 ธันวาคม 2534 ในกรณีท่ตี ้องเช่าสถานทีข่ องบุคคลอื่นในการติดตัง้ เครื่องมือและอุปกรณ์ เอไอเอ สต้องทําสัญญาเช่าสถานทีใ่ นนามทีโอทีเดิมให้ทําสัญญาโดยมีระยะเวลาเช่า 22 ปี เปลี่ยนเป็ นให้มรี ะยะเวลาเช่าครัง้ ละไม่น้อยกว่า 3 ปี จนครบกําหนด 22 ปี เอไอ เอส ต้ อ งรับ ผิด ชอบต่ อ การเปลี่ย นแปลงสถานที่เช่ า หากเกิด ค่ า ใช้ จ่ า ย หรือ ค่าเสียหายแต่เพียงผูเ้ ดียว

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 2) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึก ข้อตกลง

:

เปลีย่ นชือ่ บริษทั

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (เอไอเอส) 16 เมษายน 2536 จาก บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด เป็ น บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน)

บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 3) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

ส่วนทีเ่ พิม่ เติมจาก สัญญาหลัก

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) 28 พฤศจิกายน 2537 1. เปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูใ่ นการส่งคําบอกกล่าว ทัง้ เอไอเอส และ ทีโอที

ส่วนที่ 2 หน้า 54


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

ส่วนทีเ่ พิม่ เติมจาก สัญญาหลัก

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

2. กําหนดหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการจัดเก็บส่วนแบ่งรายได้ 2.1ทีโอทีตกลงแบ่งส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ามสัญญาหลักให้แก่เอไอเอส ดังนี้ - กรณีโทรไปยังประเทศทีไ่ ม่มพี รมแดนติดต่อกับประเทศไทย ทีโอทีจะ จ่ายส่วนแบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท - กรณีโทรไปยังประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจ่ายส่วน แบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาทโดยเอไอเอส มีหน้าทีอ่ อกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ และนําส่งให้ทโี อที 2.2 เมือ่ เอไอเอสได้รบั รายได้ จะต้องนํามารวมเป็ นรายได้เพือ่ คํานวณเป็ นส่วนแบ่ง รายได้ให้ทโี อทีตามสัญญาหลักข้อ 30. เมือ่ ครบรอบปี ดาํ เนินการด้วย 2.3 เอไอเอส ยินยอมสละสิทธิและยกส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการ โทรศัพท์ ระหว่างประเทศกับประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทยทีเ่ อไอเอส ได้จดั เก็บ และนําส่งให้ทโี อทีแล้ว ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ให้แก่ทโี อทีทงั ้ หมด

ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดําเนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (TheCellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 4) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

รายละเอียด

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) 20 กันยายน 2539 1. ขยายระยะเวลา การอนุ ญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ปี นับตัง้ แต่ วันทีเ่ ริม่ เปิ ดให้บริการ เป็ น 25 ปี 2. เอไอเอสมีสทิ ธิเป็ นผูล้ งทุนสร้างโครงข่ายระบบสือ่ สัญญาณเชือ่ มโยง (Transmission Networks) ในสือ่ ตัวนําทุกชนิด เพือ่ เชื่อมโยงกับโครงข่ายของ ทีโอทีและโครงข่ายอืน่ ทีจ่ าํ เป็ น และยกให้เป็ นทรัพย์สนิ ของทีโอที โดยเอไอเอส ได้รบั สิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงข่ายทัง้ หมด 3. เอไอเอสมีสทิ ธิใช้ ครอบครอง ระบบสือ่ สัญญาณและทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้จดั หามาโดย ไม่ตอ้ งเสียค่าตอบแทนใดๆ 4. ทีโอทีมสี ทิ ธิแสวงหาประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณในส่วนทีเ่ หลือจากการใช้ งาน โดยเอไอเอสเป็ นผูบ้ ริหารผลประโยชน์ดงั กล่าว 5. ในกรณีทบ่ี ุคคลอื่นหรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใช้ผ่านโครงข่ายเอไอเอส มี สิทธิได้รบั ผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราทีท่ งั ้ สองฝ่ ายตกลงร่วมกัน 6. ยกเลิ ก เงื่อ นไขในสัญ ญาหลัก ข้ อ 18 ที่ ใ ห้ ส ิ ท ธิ แ ก่ เอไอเอสในการเป็ น ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ต่เพียงผูเ้ ดียว 7. เอไอเอส สามารถให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศผ่านชุมสายของ กสท. ได้โดยตรง ทัง้ นี้ ภายใต้เงือ่ นไขทีจ่ ะไม่ทาํ ให้ทโี อทีได้รบั รายได้น้อยลง จากทีเ่ คยได้รบั อยูต่ ามสัญญาหลัก 8. ยกเลิกข้อความตามข้อ 4.3 ในข้อตกลงต่อท้ายครัง้ ที่ 3 โดยเน้นว่า ทีโอที จะ ส่วนที่ 2 หน้า 55


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

จ่ายส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศในอัตรานาทีละ 3 บาทให้ เอไอเอส 9. เป็ นการกํ า หนดอั ต ราส่ ว นแบ่ ง รายได้ ท่ี เอไอเอส ต้ อ งจ่ า ยให้ ที โ อที ในปี ท่ี 21-25 ในอัตราร้อยละ 30 ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใด ๆ และเอไอ เอส มีสทิ ธิลดหรือยกเว้นค่าใช้บริการกรณีทม่ี รี ายการส่งเสริมการขายได้ โดย ให้ชาํ ระส่วนแบ่งรายได้ตามรายการส่งเสริมการขายทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ 10. ในกรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ของโครงข่ายให้มปี ระสิทธิภาพ เอไอ เอส เป็ นผูล้ งทุนใช้ดว้ ยค่าใช้จ่ายของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ ต่างๆ ตกเป็ นของ ทีโอที ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดําเนินการกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (TheCellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 5) คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

กําหนดการแสวงหา ประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณเชือ่ มโยง

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) 25 ธันวาคม 2543 1. เอไอเอสเป็ นผูร้ ว่ มบริหารผลประโยชน์ 2. เอไอเอสเป็ นผูเ้ รียกเก็บค่าบริการจากผูใ้ ช้บริการและจ่ายส่วนแบ่งผลประโยชน์ ให้ทโี อที 3. สัดส่วนผลประโยชน์จากรายได้ระหว่างเอไอเอสกับทีโอทีแยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของทีโอที” ตลอดอายุสญ ั ญาทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 25 เอไอเอส ได้รบั ในอัตราร้อยละ 75 3.2 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของเอไอเอส” ตลอดอายุสญ ั ญา ทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 22 เอไอเอสได้รบั ในอัตราร้อยละ 78 4. เอไอเอสและทีโอทีจะต้องทําการตลาดร่วมกันและไม่ทาํ การตลาดทีเ่ ป็ นการแย่ง ผูใ้ ช้บริการในโครงข่ายทีโอที 5. เอไอเอสจะต้องเป็ นผูจ้ ดั ทําและลงนามในสัญญาเช่าใช้ระบบสือ่ สัญญาณกับ ผูใ้ ช้บริการทุกราย และทํารายงานการเช่าส่งให้ ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน

ข้อตกต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 6) คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง รายละเอียดการชําระ ผลประโยชน์ตอบแทน

: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) : วันที่ 15 พฤษภาคม 2544 :

การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบใช้บตั รจ่ายเงินล่วงหน้า (Prepaid card) 1. เอไอเอสตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราร้อยละ 20 ของมูลค่าหน้าบัตร (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ให้แก่ทีโอทีสําหรับบัตรที่จําหน่ ายได้เป็ นรายเดือน ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในปี ท่ี 11-15 ของสัญญาหลัก เอไอเอสจะต้องลดราคาค่าบริการให้ผใู้ ช้บริการใน ส่วนที่ 2 หน้า 56


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

อัตราเฉลีย่ โดยรวมของแต่ละปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของค่าบริการทีผ่ ใู้ ช้บริการต้อง ชําระในปี ท่ี 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแต่ละปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ค่ า บริก ารที่ ผู้ ใ ช้ บ ริก ารต้ อ งชํ า ระในปี ที่ 11 สํ า หรับ ปี ที่ 16 – ปี ที่ 25 ของปี ดําเนินการตามสัญญาหลัก บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที ่ (The cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที ่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที ่ 7) คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง รายละเอียดการใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming)

: บริษทั ทศท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) : วันที่ 20 กันยายน 2545 :

1. ทีโอที อนุ ญ าตให้เอไอเอส นํ าเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามสัญญาหลักให้ ผูใ้ ห้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ได้ และตกลงอนุ ญาตให้ เอไอเอสเข้ า ไปใช้ เ ครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารรายอื่ น ได้ เช่นเดียวกัน 2. การใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) เอไอเอส มีสทิ ธิเรียกเก็บค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศและเอไอเอส ่ มีสทิ ธิจ่าย ค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศ ่ โดย ต้องทําหนังสือแจ้งให้ ทีโอที ทราบก่อน 3. เอไอเอส ตกลงจ่ า ยเงิน ผลประโยชน์ ต อบแทนจากการใช้ เครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ให้ ทีโอที - ในกรณี ท่ี ผู้ ใ ห้ บ ริก ารรายอื่ น เข้ า มาใช้ เ ครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ใน เครือข่ายของเอไอเอส เอไอเอสตกลงจ่ายในอัตราร้อยละ(ระบุตามสัญญา หลัก)ของรายได้คา่ ใช้เครือข่ายร่วมทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ห้บริการรายอื่น - ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ เข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผูใ้ ห้บริการราย อื่น บริษัทฯ ตกลงจ่ายในอัตราร้อยละ(ระบุตามสัญ ญาหลัก)ของรายได้ ค่าบริการและเงินอื่นใดทีเ่ รียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ หักด้วยค่าใช้เครือข่าย ร่วมทีบ่ ริษทั ฯ ต้องจ่ายให้แก่ผใู้ ห้บริการรายอื่น

บันทึกข้อตกลงการใช้เครือข่ายร่วม (National Roaming) คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง รายละเอียดการใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming)

: บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี : วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 :

1. เพื่อ เพิ่ม ประสิท ธิภ าพการให้ บ ริก ารโทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่ แ ก่ ผู้ ใ ช้ บ ริก ารของ คูส่ ญ ั ญาทัง้ สองฝ่ าย นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็ นต้นไป เอไอเอสตกลง และ ให้ดพี ีซีเข้ามาใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของเอไอเอสได้ทวประเทศ ั่ นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เป็ นต้นไป ดีพซี ตี กลงให้เอไอเอสเข้ามาใช้ เครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ องดีพซี ไี ด้ทวประเทศเช่ ั่ นกัน ส่วนที่ 2 หน้า 57


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2. คู่สญ ั ญาแต่ละฝ่ ายตกลงชําระค่าใช้เครือข่ายร่วมอันเกิดจากการได้ใช้เครือข่าย ของคู่สญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10บาท (สองบาทสิบสตางค์) ซึ่ง เป็ นอัตราทีย่ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเตอร์เน็ต แบบทีห่ นึง่ เลขที ่ NTC/MM/INT/ISP/1/025/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2551 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี ) เป็ นผูร้ บั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้ แ ก่ ลู ก ค้ า โดยตรง ทัง้ นี้ เอไอเอส มี ห น้ า ที่ ต้ อ งชํ า ระค่ า ธรรมเนี ย ม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอไอเอส ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(2) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิ วนิ เคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซี) สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือสารข้ ่ อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูส่ ญ ั ญา

:

อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

: :

การยกเลิกสัญญา

:

บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซ)ี 25 ปี (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 ) เอดีซไี ด้รบั อนุ ญาตให้ดําเนินกิจการบริการสือ่ ข้อมูลทุกประเภท โดยใช้ระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารข้อมูลอื่นๆ ทัง้ ใน ระบบจุดต่อจุด (Point to Point) และจุดต่อหลายจุด (Point to Multipoint) โดยต้อง จ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ ทีโอทีในลักษณะของการเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้านบาท เป็ น 457.52 ล้านบาท โดยออกหุน้ เพิม่ ทุนจํานวน 107.52 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนให้แก่ทโี อที โดยทีโอทีไม่ตอ้ งชําระเงินค่า หุน้ แต่อย่างใด ที โ อที มี ส ิท ธิ บ อกเลิก สัญ ญาและมี อํ า นาจมอบกิ จ การตามสัญ ญานี้ ใ ห้ ผู้ อ่ื น ดําเนินการต่อ หากการดําเนินงานของเอดีซมี เี หตุให้ ทีโอทีเชื่อว่า เอดีซไี ม่สามารถ ดําเนินกิจการตามสัญญาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี หรือปฏิบตั ิผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด โดยเอดีซี ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้แก่ ทีโอที และทรัพ ย์สนิ ต่ างๆให้ตกเป็ น กรรมสิทธิของ ทีโอที เอดีซีไม่มีสทิ ธิบอกเลิกสัญ ญา เว้นแต่กรณี ท่มี ีเหตุ สุดวิสยั เกิดขึน้ ทําให้เอดีซไี ม่สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้

ส่วนที่ 2 หน้า 58


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึง่ เลขที ่ NTC/MN/INT/ISP/I/022/2548 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 19 ธันวาคม 2551 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2552 (ต่อใบอนุ ญาตปี ต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้แก่ลกู ค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอดีซมี หี น้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศ กําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมือ่ ปรากฏว่า เอดีซฝี ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศและบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบทีส่ อง ทีม่ โี ครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที ่ NTC/INT/II/002/2549 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 8 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม 2554

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ ให้บริการศูนย์กลาง การเชือ่ มต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศสําหรับผูใ้ ห้บริการ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบมีโครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้บริการเฉพาะกลุม่ บุคคล ทัง้ นี้ เอดีซมี หี น้าทีต่ อ้ ง ชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมือ่ ปรากฏว่า เอดีซฝี ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(3) บริษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) สัญญาต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับการดําเนินกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ องดีพซี มี ดี งั นี้ สัญญาโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ คูส่ ญ ั ญา

:

การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (แทค) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

ส่วนที่ 2 หน้า 59


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

ลักษณะของสัญญา

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

แทคยอมโอนสิทธิและหน้ าที่ตามสัญญาดําเนินการให้บริก ารวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูล่าระหว่าง กสท. กับ แทค “บางส่วน” ให้แก่ดพี ซี ีโดยได้รบั ความยินยอมจาก กสท.

สัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 คูส่ ญ ั ญา

:

วันทีท่ าํ สัญญา

:

อายุของสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

:

การยกเลิกสัญญา

:

การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 16 ปี (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556) ดีพีซีไ ด้รบั อนุ ญ าตจาก กสท. ให้ดํา เนิ น การให้บ ริก ารโทรศัพ ท์เคลื่อ นที่ระบบ ดิจติ อล GSM 1800 บางส่วนที่ได้รบั โอนสิทธิจากแทค โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ กสท. เป็ นร้อยละของรายได้ก่อนหักค่าใช้จ่าย ภาษี และค่าธรรมเนียม ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนินการให้บริการ ทัง้ นี้ผลประโยชน์ ดงั กล่าวต้องไม่ต่ํา กว่าผลประโยชน์ขนั ้ ตํ่าทีก่ าํ หนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา สัญญานี้สน้ิ สุดลงหรือระงับสิน้ ไปด้วยกรณีดงั ต่อไปนี้ -เมือ่ สัญญาครบกําหนด -เมือ่ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจากดีพซี ไี ม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา หรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญา ข้อหนึ่งข้อใดและทําให้ กสท. ได้รบั ความเสียหาย และดีพซี ี มิได้ดําเนินการให้แล้ว เสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งเป็ นหนังสือจาก กสท. -เมือ่ คูส่ ญ ั ญาทัง้ 2 ฝ่ ายตกลงกันเลิกสัญญา -เมือ่ ดีพซี ลี ม้ ละลาย -เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ดพี ซี ี ตกเป็ นผู้ขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายว่า ด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว และ กสท.ได้แจ้งให้ดพี ซี ีทราบเป็ นหนังสือ ล่วงหน้าเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน

สัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ลงวันที ่ 26 สิงหาคม 2542 (ครัง้ ที ่ 1) คูส่ ญ ั ญา : การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี วันทีท่ าํ สัญญา : 26 สิงหาคม 2542 อายุของสัญญา : 16 ปี วันทีส่ ญ ั ญามีผลบังคับใช้

:

30 มิถุนายน 2542

รายละเอียด

:

กสท. อนุ มัติ ใ ห้ ป รับ ลดผลประโยชน์ ต อบแทนเพื่ อ ให้ เท่ า เที ย มกั บ สัญ ญาให้ ดําเนินการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ระหว่าง กสท. กับบริษัท โทเทิ่ล แอ๊คเซ็ส คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (แทค) เนื่องจากสัญญาของ ดีพซี ี เป็ นสัญญาทีโ่ อน สิทธิมาจากสัญญาของแทค และปรับเงินประกันรายได้ขนั ้ ตํ่าเพิม่ ขึน้ ดังนี้ 1. ปรับลดผลประโยชน์ ตอบแทน ปี ท่ี 1 เป็ น 25%, ปี ท่ี 2-9 เป็ น 20%, ปี ท่ี 10-14 เป็ น 25%, ปี ท่ี 15-16 เป็ น 30% ส่วนที่ 2 หน้า 60


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2. ดีพีซี จ่ ายผลประโยชน์ ต อบแทนขัน้ ตํ่ าให้ กสท. ตลอดอายุ ส ญ ั ญาจากเดิม 3,599.55 ล้านบาท เป็ น 5,400 ล้านบาท (4) บริษทั แอดวานซ์ เมจิ ค การ์ด จํากัด (เอเอ็มซี) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ เลขที ่ 006/2548 ผูอ้ นุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตัง้ แต่วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2548 เป็ นต้นไป

ลักษณะของหนังสือ อนุญาต

:

อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด

การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

:

กระทรวงการคลังมีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า เอเอ็มซีฝ่าฝืน หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขในการประกอบกิจการตามทีก่ ระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(5) บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ เลขที ่ 003/2548 ผูอ้ นุญาต : กระทรวงการคลัง : ตัง้ แต่วนั ที่ 24 มิถุนายน 2548 เป็ นต้นไป ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต ลักษณะของหนังสือ : อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด อนุญาต การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

:

่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า เอเอ็มพีฝ่าฝืน กระทรวงการคลังมีอาํ นาจสังเพิ หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขในการประกอบกิจการตามทีก่ ระทรวงการคลังและ ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์ของประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(6) บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที ่ 3ก/49/002 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผู้รบั อนุ ญ าตให้บ ริก ารโทรศัพ ท์ระหว่ างประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริการที่เกี่ยวเนื่ องกับ บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตลอดจนบริการโครงข่ายบริการโทรศัพท์ระหว่าง ส่วนที่ 2 หน้า 61


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

การยกเลิกใบอนุญาต

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

ประเทศ ทัง้ นี้ เอไอเอ็นมีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมือ่ ปรากฏว่า เอไอเอ็นฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

(7) บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึง่ เลขที ่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 10 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้ แ ก่ ลู ก ค้ า โดยตรง ทัง้ นี้ เอสบี เอ็ น มี ห น้ า ที่ ต้ อ งชํ า ระค่ า ธรรมเนี ย ม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอสบีเอ็นฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ตเกต์เวย์ ระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบทีส่ อง ทีม่ โี ครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที ่ NTC/INT/II/008/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 14 ตุลาคม 2555

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผู้รบั อนุ ญ าตให้บริการอินเทอร์เน็ ตระหว่างประเทศ ให้บริการศูนย์กลางการ เชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศ สําหรับผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต ภายในประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต ประเภทมีโครงข่ายโทรคมนาคม เป็ นของตนเอง ให้บริการจํากัดเฉพาะกลุ่มบุคคล ทัง้ นี้ เอสบีเอ็นมีหน้าทีต่ อ้ งชําระ ค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ ค ณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่าเอสบีเอ็น ฝ่ าฝื น หรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญ ญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ส่วนที่ 2 หน้า 62


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที ่ 3ก/50/006 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 16 สิงหาคม 2550 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2570

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผู้รบั อนุ ญ าตให้บริการโทรคมนาคมแก่บุคคลทัวไป ่ ประเภทบริการโทรศัพท์ ประจํา ที่ บริก ารวงจรร่วมดิจิต อล บริก ารพหุ ส่อื ความเร็ว สูงและบริก ารเสริม มี โครงข่ า ยโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ทั ง้ นี้ เอสบี เ อ็ น มี ห น้ า ที่ ต้ อ งชํ า ระ ค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ ค ณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอสบีเอ็นฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบทีส่ อง เลขที ่ 2ก/51/001 ผูอ้ นุญาต ระยะเวลาของใบอนุ ญาต ขอบเขตการอนุญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุ ญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551 ถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เป็ นผู้รบั ให้บริการโทรคมนาคมจํากัดเฉพาะกลุ่มบุคคล โดยให้บริการบนโครงข่าย ของตนเอง ทัง้ นี้ เอสบีเอ็นมีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตตามอัตราและ กําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอสบีเอ็น ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญ ญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

8. บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับบลิ วเอ็น) ใบอนุ ญาตการให้บริการอินเทอร์เน็ต แบบทีห่ นึง่ เลขที ่ NTC/MM/INT/ISP/017/2551 ผูอ้ นุญาต ระยะเวลาของใบอนุ ญาต ขอบเขตการอนุญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุ ญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ วันที่ 18 กันยายน 2551 ถึงวันที่ 17 กันยายน 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี ) เป็ นผูร้ บั ให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้แก่ลูกค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอดับบลิวเอ็นมีหน้าที่ต้องชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศ กําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่ า เอดับ บลิว เอ็น ฝ่ าฝื น หรือ ไม่ ป ฏิบ ัติต ามพระราชบัญ ญัติก ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบีย บหรือประกาศที่ค ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ิให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด ส่วนที่ 2 หน้า 63


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบทีส่ าม เลขที ่ 3ก/51/003 ผูอ้ นุญาต ระยะเวลาของใบอนุ ญาต ขอบเขตการอนุญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุ ญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ วันที่ 12 มิถุนายน 2551 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2566 ผู้รบั ใบอนุ ญ าตสามารถให้บ ริก ารโทรคมนาคมแก่ บุ ค คลทัว่ ไป ประเภทบริก าร โทรศัพท์ประจําที่ บริการอินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูง บริการพหุส่อื ความเร็ว สูง บริการโทรคมนาคมแบบครบวงจร บริการโครงข่ายโทรคมนาคมทางสายและไร้ สาย มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ทัง้ นี้ เอดับบลิวเอ็นมีหน้าที่ต้องชําระ ค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ ค ณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่ า เอดับ บลิว เอ็น ฝ่ าฝื น หรือ ไม่ ป ฏิบ ัติต ามพระราชบัญ ญัติก ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบีย บหรือประกาศที่ค ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ิให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ส่วนที่ 2 หน้า 64


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5.3 นโยบายการลงทุนและบริ หารงานในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่วม บริษัท ฯ มีน โนบายการลงทุน โดยเลือกลงทุ น ในบริษัท ที่ป ระกอบธุ รกิจสื่อ สารโทรคมนาคม และธุ รกิจอื่น ๆที่ เกีย่ วข้อง โดยมุ่งเน้นทีจ่ ะลงทุนในบริษทั ทีใ่ ห้ผลตอบแทนทีด่ หี รือมีการดําเนินธุรกิจทีส่ ามารถเสริมประโยชน์กบั ธุรกิจหลัก ของบริษทั ฯ ได้ในระยะยาว บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะยังคงสัดส่วนการถือหุน้ และมีสว่ นสําคัญในการบริหารงานในบริษทั ย่อย โดยการส่งตัวแทนของ บริษทั ฯ ไปเป็ นกรรมการในบริษทั ย่อยทุกบริษทั ณ สิ้น ปี 2551 บริษัท ฯ มีบ ริษัท ย่ อ ยทัง้ หมด 11 บริษั ท เทีย บกับ 12 บริษั ท ในปี 2550 เนื่ อ งจากในเดือ น พฤษภาคม 2551 บริษทั ดาต้า ลายไทย จํากัด (ผูใ้ ห้บริการอินเตอร์เน็ต) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 65.00 ได้จดทะเบียนเสร็จการชําระบัญชี กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ จึงมีผลให้สน้ิ สภาพเป็ นนิตบิ ุคคลตัง้ แต่บดั นัน้ เป็ นต้นมา

ส่วนที่ 2 หน้า 65


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ณ สิน้ ปี 2551 เอไอเอสมีรายละเอียดของการลงทุนในบริษทั ย่อย 11 บริษทั ดังนี้ บริษทั

สัดส่วนที่ ถือ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

หน่วย: (ล้านบาท)

ทุนชําระ แล้ว

มูลค่าลงทุนใน กิจการ

การเปลีย่ นแปลงของการลงทุน ในระหว่างปี 2551

วิธรี าคาทุน-สุทธิ 1) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี

98.55%

14,621.86

17,761

เมือ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2551 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติการลดทุนบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด โดยลดทุนจด ทะเบียนจาก 14,621.86 ล้านบาท เป็ น 4,386.56 ล้านบาท หรือจากมูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้เดิม 10 บาท เป็ น 3 บาท ทัง้ นี้ไม่มี การเปลีย่ นแปลงจํานวนหุน้ โดยบริษทั ฯ ยังคงจํานวนหุน้ และ อัตราส่วนถือหุน้ ในดีพซี เี ท่าเดิม เหตุผลในการลดทุนเพือ่ ปรับปรุงโครงสร้างเงินทุนของดีพซี มี คี วามเหมาะสมยิง่ ขึน้ โดย การคืนส่วนเกินเงินสดให้แก่ผถู้ อื หุน้

2) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด

51.00%

957.52

-

เมือ่ วันที่ 30 พฤษภาคม 2551 บริษทั ได้ขายหุน้ ทัง้ หมดใน บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด ซึง่ ถืออยูใ่ นสัดส่วนร้อยละ 51.00 ให้กบั บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด โดยซือ้ ขายในราคามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 เป็ นจํานวน 199 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2551 บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั่ จํากัด ได้จดทะเบียนเลิกบริษทั ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ขณะนี้อยู่ระหว่างการชําระบัญชี

(เอดีซ)ี

(โดย ทางอ้อม)

3) บริษทั แอดวานซ์ คอนแท็ค เซ็นเตอร์ จํากัด (เอซีซ)ี

99.99%

272

811

4) บริษทั ดาต้าเน็ทเวอร์ค โซลูชนส์ ั ่ จํากัด (ดีเอ็นเอส)

49.00%

1

8

5) บริษทั โมบาย ฟรอม แอ็ดวานซ์ จํากัด (เอ็มเอฟเอ)

99.99%

240

265

ส่วนที่ 2 หน้า 66

-


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สัดส่วนที่ ถือ

ทุนชําระ แล้ว

มูลค่าลงทุนใน กิจการ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การเปลีย่ นแปลงของการลงทุน ในระหว่างปี 2551

วิธรี าคาทุน-สุทธิ 6) บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี)

99.99%

300

336

เมือ่ วันที่ 23 มกราคม 2551 บริษทั ฯ ได้ลงทุนเพิม่ ใน บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด จากการซือ้ หุน้ สามัญจํานวน 9 ล้าน หุน้ จากบริษทั NTT Docomo, Inc. ด้วยราคา 14 บาทต่อหุน้ มูลค่าทัง้ หมด 126 ล้านบาท ส่งผลให้บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือ หุน้ ในเอเอ็มพีเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 69.99 เป็ นร้อยละ 99.99

7) บริษทั แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จํากัด (เอเอ็มซี)

99.99%

250

250

-

8) บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น)

99.99%

100

100

9) บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น)

99.99%

300

300

10) บริษทั ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส)

99.99%

50

50

เมือ่ วันที่ 21 เมษายน 2551 บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ท เวอร์ค จํากัด ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนจาก 1 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 10,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท) เป็ น 300 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 3,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท) มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ นําไปใช้ลงทุนในโครงข่ายพืน้ ฐาน มุง่ เน้นทางด้านการ เชือ่ มโยงการส่งข้อมูลระหว่างโครงข่าย -

11) บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น)

99.99%

350

1

ส่วนที่ 2 หน้า 67

เมือ่ วันที่ 18 ธันวาคม 2551 บริษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ท เวอร์ค จํากัด ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุน จากเดิม 1 ล้านบาท เป็ น 350 ล้านบาท โดยคงมูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้ทห่ี นุ้ ละ 100 บาท ทัง้ นี้ ภายหลังจากเพิม่ ทุนแล้ว บริษทั ฯ จะถือหุน้ ในเอดับบลิวเอ็น เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 99.93 เป็ นร้อยละ 99.99


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

6.

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงการในอนาคต

1) โครงการ

บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ระบบ 3G ภายใต้ใบอนุญาตใหม่จาก กทช.

ลักษณะของโครงการ

บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีบ่ นระบบ 3G หรือ Third Generation ในย่านความถี่ 2100 Mhz เป็ นเทคโนโลยีบนมาตรฐานสากลทีท่ าํ ให้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ให้สามารถให้บริการรับส่งสัญญาณเสียงทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ รองรับการใช้ งานได้มากขึน้ และมีการสือ่ สารด้วยข้อมูลทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ ในทางเทคนิค เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีบ่ นเทคโนโลยี HSPA (High Speed Packet Access) สามารถสือ่ สารข้อมูลด้วยความเร็วสูงถึง 384 Kbps ในทุกสภาวะ แวดล้อม และเร็วสูงสุดถึง 7.2 Mbps ในสภาวะเคลื่อนทีต่ ่าํ (Low-Mobility) และ สภาวะภายในอาคาร เนื่องจากอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเคลือ่ นทีข่ องประเทศไทยกําลังเข้าใกล้จุด อิม่ ตัว ส่งผลให้แนวโน้มในอัตราการเติบโตของรายได้จากการให้บริการเสียง ลดลง ขณะทีต่ ลาดการให้บริการข้อมูลมีอตั ราการเติบโตสูง ปั จจุบนั บริการด้าน ข้อมูลทีไ่ ม่รวมบริการส่งข้อความแบบสัน้ (SMS) คิดเป็ นอัตราส่วนตํ่ากว่าร้อย ละ 8 ของรายได้จากการให้บริการ ซึง่ เอไอเอสคาดว่าอัตราส่วนการใช้ขอ้ มูล ดังกล่าวยังสามารถเติบโตได้อกี มาก ขณะทีร่ ายได้จากการให้บริการข้อมูลยังคงเป็ นปั จจัยหลักในการเติบโตของ บริษทั ฯ โดยในปี 2551 หลังเปิ ดให้บริการ EDGE (Enhanced Data Rate for GSM Evolution) ซึง่ มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลถึงกว่า 100kbps (ความเร็ว โดยเฉลีย่ ) หรือคิดเป็ น 3 เท่า ของความเร็วในการรับส่งข้อมูลผ่านเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) เอไอเอสมีรายได้จาก GPRS/EDGE เพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 70 โดยบริษทั ฯ คาดว่าความเร็วในการรับส่งข้อมูลทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็ นปั จจัยหลักในการขยายตัวของการใช้บริการด้านข้อมูลผ่าน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ และเห็นว่าเทคโนโลยี 3G นี้จะเป็ นปั จจัยในการเพิม่ การใช้ บริการข้อมูลดังกล่าว ด้วยความเร็วในการรับส่งข้อมูลทีเ่ พิม่ ขึน้ นี้ชว่ ยให้บริษทั ฯ สามารถให้บริการมัลติมเี ดียในรูปแบบใหม่และสร้างความแตกต่างในด้าน บริการอีกด้วย ใบอนุ ญาตประกอบการ 3G ทีย่ า่ นความถี่ 2.1GHz จะเป็ นการจัดสรรโดย กทช. และจะไม่ได้อยูภ่ ายใต้สญ ั ญาร่วมการงานแบบบีทโี อ (BTO: Built-TransferOperate) ทีท่ าํ กับทีโอที ทัง้ นี้เงือ่ นไขและข้อตกลงของใบอนุ ญาตนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ข้อกําหนดของ กทช. ซึง่ ปั จจุบนั ได้ดาํ เนินการรับฟั งความคิดเห็นสาธารณะใน การจัดสรรคลื่นความถีส่ าํ หรับประกอบกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ สร็จสิน้ ไปใน เดือนพฤศจิกายนทีผ่ ่านมา และกทช. คาดว่าจะสามารถออกใบอนุ ญาตดังกล่าว ได้ภายในไตรมาสทีส่ ามของปี 2552 สําหรับงบลงทุนในเครือข่าย 3G ในช่วง 2 – 3 ปี แรก คาดว่าอยูท่ ป่ี ระมาณปี ละ 20,000 – 23,000 ล้านบาท ซึง่ จะ ส่วนที่ 2 หน้า 68


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ครอบคลุมพืน้ ทีใ่ ห้บริการเกือบร้อยละ 80 ของทัง้ ประเทศ ทัง้ นี้งบลงทุน ดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน โดยขึน้ อยูก่ บั ข้อตกลงและเงือ่ นไขของใบอนุ ญาต ในเบือ้ งต้น บริษทั ฯ ยังไม่สามารถประมาณการผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการลงทุนในโครงการนี้ได้ เนื่องจากยังต้องอาศัยความชัดเจนในเรือ่ ง เงือ่ นไข ค่าธรรมเนียมและกฎระเบียบข้อบังคับในการให้ใบอนุ ญาตจาก กทช. เสียก่อน ปั จจัยความเสีย่ งของโครงการ

ก) ในการจัดสรรคลืน่ ความถีย่ า่ น 2.1 GHz ซึง่ มีอยูใ่ นจํานวนจํากัด ที่ 45 MHz กทช. จึงมีแนวโน้มทีจ่ ะออกใบอนุญาตจํานวน 3 – 4 ใบ (10 MHz หรือ 15 MHz ต่อหนึ่งใบอนุ ญาต) จึงมีความเสีย่ งทีอ่ ุตสาหกรรมอาจมีผปู้ ระกอบการราย ใหม่เข้ามาร่วมประมูลใบอนุ ญาต อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั ประเทศไทยมี ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ในตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นทีอ่ ยู่ 3 ราย ซึง่ ให้บริการ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ วประเทศในอั ั่ ตราค่าโทรตํ่า ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการรายใหม่ไม่ เพียงต้องมีฐานะการเงินมันคง ่ ในการสนับสนุ นการสร้างโครงข่ายให้ได้อย่าง รวดเร็ว แต่ยงั ต้องแข่งขันกับผูป้ ระกอบการรายปั จจุบนั ในสภาวะตลาดทีใ่ กล้ถงึ จุดอิม่ ตัว ดังนัน้ ในทางธุรกิจแล้ว การเข้ามาประมูลใบอนุ ญาตจึงอาจไม่ใช่ ทางเลือกทีน่ ่าสนใจนักสําหรับผูป้ ระกอบการรายใหม่ทต่ี อ้ งเริม่ ต้นรากฐาน ข) ความพร้อมขอมผูใ้ ช้บริการต่อเทคโนโลยี 3G อาจถูกจํากัดด้วยปั จจัย ทางด้านราคา ความน่าสนในของบริการและโทรศัพท์ทร่ี องรับระบบ 3G รวมถึง ความเร็วในการรับส่งข้อมูล อย่างไรก็ตามราคาของโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นระบบ 3G ในปี ทผ่ี า่ นมาลดลงอย่างต่อเนื่องควบคูไ่ ปกับการพัฒนาทัง้ ทางด้าน รูปลักษณ์และฟั งก์ชนั การใช้งาน ในช่วง 2-3 ปี ทผ่ี า่ นมาโทรศัพท์เคลือ่ นทีซ่ ง่ึ รองรับการใช้งานระบบ 3G สามารถหาได้ทวไปในตลาดแม้ ั่ วา่ ยังไม่มี ผูป้ ระกอบการรายใดเปิ ดให้ใช้บริการ 3G อย่างไรก็ตาม ระหว่างนี้ เอไอเอส ได้ให้เตรียมความพร้อมโดยบริการใหม่ๆ เช่น บริการธุรกรรมการเงินบน โทรศัพท์เคลือ่ นที,่ โมบายไลฟ์ แชตโซน, บริการแผนทีบ่ นโทรศัพท์เคลือ่ นที และอืน่ ๆ เพือ่ เพิม่ ความหลากหลายในการใช้บริการด้านข้อมูลผ่าน โทรศัพท์เคลือ่ นทีม่ ากขึน้

2) โครงการ

โครงการพัฒนาระบบ HSPA หรือ 3G บนย่านความถี่ 900MHz

ลักษณะของโครงการ

เทคโนโลยี 3G ในปั จจุบนั ได้พฒ ั นาไปจนสามารถนําเอาคลื่นความถีท่ ย่ี า่ น 900 MHz มาให้บริการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงด้วยระบบ High-Speed Packet Access (HSPA) ได้ ซึ่งเป็ นการพัฒ นาต่ อ ยอดของเทคโนโลยีจากระบบ 2G GSM ในปั จจุบนั การพัฒนาดังกล่าวนี้จะอยูภ่ ายใต้สญ ั ญาร่วมการงานปั จจุบนั ทีม่ อี ยู่กบั ทีโอที ซึ่ง เอไอเอสได้ดําเนิ นการโครงการนํ าร่องไปแล้วในเดือนพฤษภาคม 2551 โดย เปิ ดให้บริการ 3G เฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่ และต่อมาในเดือนธันวาคม 2551 ส่วนที่ 2 หน้า 69


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ได้เพิม่ พื้นที่ให้บริการในกรุงเทพฯ ได้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และ เอไอ เอสสาขาฟิ วเจอร์เวิลด์ ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน ในไตรมาสแรกของปี 2552 เอไอเอสคาดว่าจะขยายพื้นที่ให้บริการทัง้ ในเชียงใหม่ กรุงเทพฯ และ ชลบุร ี ทัง้ นี้งบประมาณดังกล่าวยังมีความไม่แน่ นอน ขึ้นอยู่กบั ปั จจัยหลายประการ เช่ น การประเมิน ความต้ อ งการในการใช้งาน การจัด สรรคลื่น ความถี่ม าใช้ สําหรับการรับส่งข้อมูล และข้อตกลงกับทีโอที ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงยังไม่สามารถ ประเมินผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั ทีแ่ น่นอนได้ ปั จจัยความเสีย่ งของโครงการ

ก) อุปกรณ์สาํ หรับผูใ้ ช้งาน HSPA ทีย่ า่ นความถี่ 900 MHz ในปั จจุบนั ยังมี จํานวนจํากัดและยังไม่แพร่หลาย โดยปั จจุบนั มีจาํ นวนกว่า 10 รุน่ แต่เนื่องจาก ในหลายประเทศได้เปิ ดให้บริการ HSPA บนย่านความถี่ 900 MHz จึงคาดว่า ในอนาคตอันใกล้จะมีอุปกรณ์ทร่ี องรับกับบริการดังกล่าวมากขึน้ ข) เนื่องจากคลืน่ ความถี่ 900 MHz ปั จจุบนั ได้ถกู ใช้งานสําหรับระบบ 2G การ แบ่งคลืน่ ความถีบ่ างส่วนมาเพือ่ ให้บริการ HSPA อาจทําให้เกิดความยากต่อ การวางแผนการใช้คลืน่ มากขึน้

3) โครงการ

ไวแมกซ์ (WiMAX)

ลักษณะของโครงการ

ไวแมกซ์ หรือเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สายความเร็วสูงทีอ่ าศัยการส่งข้อมูลบน เครือข่ายไร้สายทีม่ คี วามครอบคลุมกว้าง (wireless metropolitan area network) ทัง้ นี้ เทคโนโลยีไวแมกซ์ จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพให้แก่บริการบ รอดแบนด์และเครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ บ่ี ริษทั ฯให้บริการอยูใ่ นปั จจุบนั บริษทั ฯ มีความสนใจในการพัฒนาตลาดบรอดแบนด์ซง่ึ ไวแมกซ์จะช่วยขยาย ขอบเขตของเครือข่ายบรอดแบนด์ โดยปั จจุบนั ประเทศไทยมีอตั ราการเข้าถึงบ รอดแบนด์เพียงร้อยละ 6 ต่อครัวเรือน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเขตภูมภิ าคทีก่ าร เข้าถึงด้วยการสร้างเครือข่ายบรอดแบนด์ผา่ นสายโทรศัพท์มรี าคาสูงและใช้ ระยะเวลา ทัง้ นี้ไวแมกซ์สามารถให้บริการบรอดแบนด์กบั คอมพิวเตอร์โน๊ คบุค พีดเี อ รวมถึงอุปกรณ์มลั ติมเี ดียอื่น ๆ ในประเทศอื่นๆ เริม่ มีผปู้ ระกอบการทดลองบริการไวแมกซ์ แต่ยงั ไม่มกี รณี ตัวอย่างทีป่ ระสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย์ได้อย่างทีต่ ามมาตรฐานเทคโนโลยี อ้างถึง โครงการไวแมกซ์ยงั ต้องอาศัยความชัดเจนด้านมาตรฐานทาง เทคโนโลยี คลื่นความถีท่ จ่ี ะใช้กบั ไวแมกซ์ ความเป็ นไปได้ในการให้บริการใน เชิงพาณิชย์ และกฎระเบียบข้อบังคับการให้ใบอนุญาตจาก กทช. โดยใน เบือ้ งต้นบริษทั ฯยังไม่สามารถประมาณงบประมาณการลงทุน และผลตอบแทน ทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการลงทุนในโครงการนี้ได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ มีความ สนใจจะเข้าร่วมขอ ใบอนุ ญาตสําหรับให้บริการไวแมกซ์ โดยในปี 2551บริษทั ฯ ส่วนที่ 2 หน้า 70


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ได้รบั ใบอนุ ญาตทดสอบเทคโนโลยีไวแมกซ์จาก กทช. ปั จจัยความเสีย่ งของโครงการ

มีความเสีย่ งในส่วนของกฎข้อบังคับในอนุ ญาต เช่น คลืน่ ความถีท่ จ่ี ะอนุญาตให้ ใช้กบั บริการไวแมกซ์ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และหน้าทีข่ องผูป้ ระกอบการ ทีม่ าพร้อมใบอนุ ญาต ดังนัน้ ในเบือ้ งต้นบริษทั ฯ ต้องศึกษารายละเอียดของ ใบอนุ ญาตให้รอบคอบรวมถึงความต้องการของผูบ้ ริโภคต่อบริการชนิดนี้ก่อนที่ จะตัดสินใจลงทุน

โครงการ

ระบบการชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (RFID)

ลักษณะของโครงการ

ระบบการชีเ้ ฉพาะด้วยคลื่นความถีว่ ทิ ยุ (RFID) คือระบบชีเ้ ฉพาะอัตโนมัติ (Automatic Identification) แบบไร้สายโดยเก็บและส่งข้อมูลโดยใช้ RFID tag ระบบนี้จะประกอบด้วยอุปกรณ์สองส่วน คือ ส่วนเครือ่ งอ่าน (Reader) และส่วน ป้ ายชือ่ (Tag) โดยการทํางานนัน้ เครือ่ งอ่านจะทําหน้าทีจ่ ่ายกําลังงานในรูปคลื่น ความถีว่ ทิ ยุให้กบั ตัวบัตรไปยังผลให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ภายในสามารถส่ง ข้อมูลจําเพาะทีแ่ สดงถึงตัวตน (Identity) กลับมาประมวลผลทีต่ วั อ่าน ใน ปั จจุบนั การใช้ระบบ RFID เป็ นทีย่ อมรับอย่างสูงว่า เป็ นเทคโนโลยีท่ี เอือ้ อํานวยต่อการใช้งานทีต่ อ้ งการการบ่งบอกความแตกต่างหรือข้อมูลจําเพาะ ของแต่ละบุคคลทีส่ ามารถทํางานได้ถกู ต้องแม่นยํา รวดเร็ว และมีความเป็ น อัตโนมัตกิ ว่าระบบตรวจสอบรหัสในระบบอื่นๆ เช่น รหัสแบบแท่ง (Barcode) การใช้งานทีง่ า่ ยและยังเพิม่ ขีดความสามารถในการให้บริการเสริมในเชิง อีกทัง้ ยังสอดคล้องกับเทคโนโลยีทางการเก็บ พาณิชย์ดา้ นต่างๆ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ยังผลให้การขยายตัวของการใช้งาน RFID สูงขึน้ อย่างก้าว กระโดด เทคโนโลยี RFID ได้ใช้งานเป็ นครัง้ แรกในอุตสาหกรรมขนส่ง (logistics) เพือ่ ช่วยในการบริหารจัดการสินค้า (supply chain system) ใน หลายๆปี ทผ่ี า่ นมา จากการทีร่ าคาอุปกรณ์ (Tag) มีราคาลดลง จึงทําให้ เทคโนโลยี RFID ได้รบั ความนิยมสูงขึน้ เรือ่ ยๆ รวมถึงอุตสาหกรรม โทรคมนาคม ซึง่ ใช้ RFID ในการทําธุรกรรมผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Mobile payment) เช่น ในประเทศญีป่ ่ นุ ผูใ้ ช้บริการสามารถใช้โทรศัพท์เคลื่อนทีช่ าํ ระ ค่าบริการรถไฟใต้ดนิ รวมถึงซือ้ สินค้าและบริการได้ดว้ ย

4)

สําหรับประเทศไทย เอไอเอสหวังว่าเทคโนโลยีน้ีจะช่วยส่งเสริมธุรกิจ Mobile Commerce ซึง่ บริษทั ฯ เล็งเห็นว่าเป็ นอีกสายธุรกิจหนึ่งทีม่ โี อกาสเติบโตสูงใน อนาคตอีกทัง้ ยังช่วยบริษทั ฯ ส่งเสริมให้ลกู ค้าของบริษทั ฯ ทีใ่ ช้บริการ mPAY อยูแ่ ล้วใช้บริการมากขึน้ และจูงใจให้ลกู ค้าทีย่ งั ไม่เคยใช้บริการ mPAY ให้ ทดลองใช้บริการด้วย โดยคาดว่าในอนาคตเมื่อมีการนําเทคโนโลยี RFID มาใช้ จะส่งผลให้บริการการชําระเงินผ่านมือถือ (mobile payments) ได้รบั ความนิยม เพิม่ ขึน้ รวมถึงสามารถชําระค่าบริการรถไฟฟ้ าและรถไฟใต้ดนิ ผ่าน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ อย่างไรก็ตามโครงการนี้ยงั ต้องอาศัยความชัดเจนด้านมาตรฐานทางเทคโนโลยี ส่วนที่ 2 หน้า 71


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ความเป็ นไปได้ในการให้บริการในเชิงพาณิชย์ และกฎระเบียบข้อบังคับการให้ ใบอนุ ญาต โดยในเบือ้ งต้นบริษทั ฯ ยังไม่สามารถประมาณงบประมาณการ ลงทุน และผลตอบแทนทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการลงทุนในโครงการนี้ได้ ปั จจัยความเสีย่ งของโครงการ

ความเสีย่ งเรือ่ งความพร้อมของผูใ้ ช้บริการต่อเทคโนโลยี RFID ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั จํานวนโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ ร่ี องรับเทคโนโลยี RFID โดยบริษทั โนเกียได้ออก โทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ ร่ี องรับ RFID ตัง้ แต่ปี 2547 และขณะนี้มผี ผู้ ลิต โทรศัพท์เคลือ่ นทีห่ ลายรายทีผ่ ลิตโทรศัพท์ทร่ี องรับเทคโนโลยี RFID เช่น โมโต โรล่า, ซัมซุง, เบนคิว, ฟิ ลลิป และ โซนี่

ส่วนที่ 2 หน้า 72


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

7.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อพิ พาททางกฎหมาย

7.1 กรณี ข้อพิ พาททางกฎหมายของบริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) (1) บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ได้เสนอข้อพิพาทต่อ สํานักระงับข้อพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2551 เพือ่ เรียกร้องให้บริษทั ฯ ชําระค่า ผลประโยชน์ตอบแทนเพิม่ จํานวน 31,463 ล้านบาท ซึง่ จํานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษี สรรพสามิตทีบ่ ริษทั ฯ ได้นําส่งไปแล้ว บริษทั ฯ ได้ยน่ื คําคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงาน ศาลยุตธิ รรม เมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 2551 และบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการผูข้ องบริษทั ฯ เพือ่ ดําเนินกระบวนการ พิจารณาข้อพิพาทเรียบร้อยแล้วเมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2551 ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เชื่อว่าผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนื่องจาก ทีโอที เคยมีหนังสือตอบ ยืนยันว่าบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีและข้อตกลงถูกต้องครบถ้วนแล้ว และกรณีน้เี กิดขึน้ ทัง้ กลุม่ อุตสาหกรรม โทรคมนาคม (2) เมือ่ วันที่ 7 มีนาคม 2551 บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (“กสท.”) ได้ยน่ื ฟ้ อง บริษทั ฯ เป็ น จําเลยที่ 1 และ บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (“เอไอเอ็น”) เป็ นจําเลยที่ 2 คดีหมายเลขดําที่ 1245/2551 ต่อศาล แพ่ง เรียกร้องให้รว่ มกันชดใช้คา่ เสียหาย พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี จนถึงวันฟ้ อง รวมเป็ นเงิน 130 ล้านบาท โดยอ้างว่าความเสียหายดังกล่าวเกิดจากกรณีทบ่ี ริษทั ฯ กับเอไอเอ็น เปลีย่ นแปลงการส่งทราฟฟิ คการให้บริการโทรศัพท์ ทางไกลระหว่างประเทศ ในช่วงเวลาวันที่ 1 ถึง 27 มีนาคม 2550 ทีผ่ ใู้ ช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ องบริษทั ฯ ใช้บริการผ่าน เครือ่ งหมาย + จากเดิมทีเ่ ป็ น 001 ของ กสท. มาเป็ น 005 ของเอไอเอ็นโดยไม่แจ้งให้ผใู้ ช้บริการทราบก่อน เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2551 กสท. ได้ย่นื คําร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมฟ้ องในส่วนของค่าเสียหายเป็ นเงินรวม 583 ล้าน บาท (รวมดอกเบีย้ ) โดยอ้างว่าการกระทําดังกล่าวเป็ นเหตุให้ กสท.ได้รบั ความเสียหายเป็ นระยะเวลาต่อเนื่องเรือ่ ยมาจนถึง วัน ที่ 7 มีน าคม 2551 ต่ อ มาเมื่อ วัน ที่ 26 กุ ม ภาพัน ธ์ 2552 ศาลได้ มีคํ า สัง่ ยกคํ า ร้อ งของ กสท. ที่ย่ืน เมื่อ วัน ที่ 19 พฤศจิกายน 2551 ทีข่ อให้ศาลมีคําสังคุ ่ ม้ ครองชัวคราวห้ ่ ามมิให้บริษทั ฯ และเอไอเอ็น ทําการโยกย้าย ทราฟฟิ ค 001 หรือ เครือ่ งหมาย + ของ กสท. ไปยังทราฟฟิ ค 005 ของ เอไอเอ็น ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เชื่อว่าผลของคดีดงั กล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนื่องจากเครือ่ งหมาย + เป็ นเครือ่ งหมาย สากล และเป็ นการปฏิบตั โิ ดยทัวไปของผู ่ ้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทีจ่ ะกําหนดให้เครื่องหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสการ เรีย กออกของบริก ารโทรศัพ ท์ระหว่างประเทศ จึงเป็ น สิท ธิข องผู้ให้บ ริก ารโทรศัพ ท์เคลื่อ นที่แต่ ล ะรายที่จะกํ า หนดให้ เครือ่ งหมายดังกล่าวใช้แทนรหัสเรียกของผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศรายใด บริษทั ฯ จึงมิได้กระทําละเมิด และทําให้ กสท. เสียหายแต่อย่างใด (3)

ระหว่าง บริ ษทั ฯ กับ บริษทั ฮัทชิ สนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติ มีเดีย จํากัด

1. คดีหมายเลขดําที่ 1634/2551 บริษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมเี ดีย จํากัด (“HUTCH”) ได้ฟ้องบริษทั ฯ ต่อศาลแพ่ง เมือ่ วันที่ 28 มีนาคม 2551 ฐานละเมิด เรียกค่าเสียหายเป็ นเงินประมาณ 29,955 ล้านบาท อ้างเหตุวา่ บริษทั ฯ ดําเนินการปิ ดกัน้ การเชื่อมต่อ ส่วนที่ 2 หน้า 73


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สัญญาณบางส่วน ทําให้ผใู้ ช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นเครือข่าย HUTCH บางส่วนไม่สามารถติดต่อกับผูใ้ ช้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นเครือข่ายของบริษทั ฯ ซึง่ ต่อมา เมือ่ วันที่ 18 มิถุนายน 2551 HUTCH ได้ถอนฟ้ องคดีดงั กล่าวแล้ว 2. คดีหมายเลขดําที่ 2375/2551 บริษทั ฯ ได้ยน่ื ฟ้ องบริษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมเี ดีย จํากัด “HUTCH” ต่อศาลแพ่ง เมือ่ วันที่ 8 พฤษภาคม 2551 ฐานละเมิด ใช้สทิ ธิไม่สุจริต และเรียกค่าเสียหาย จํานวน 45,883 บาท เนื่องมาจากการที่ HUTCH ฟ้ อง บริษทั ฯ เป็ น คดีหมายเลขดําที่ 1634/2551 ซึง่ ต่อมาเมือ่ วันที่ 20 มิถุนายน 2551 บริษทั ฯ ได้ถอนฟ้ องคดีดงั กล่าวแล้ว 7.2 กรณี ข้อพิ พาททางกฎหมายของบริ ษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (“ดีพีซี”) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อย (1) ตามทีบ่ ริ ษทั โทเทิ่ ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (“ดีแทค”) ได้เสนอข้อพิพาทต่อ สถาบัน อนุญาโตตุลาการ สํานักงานระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เรียกร้องให้ บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (“ดีพซี ”ี ) ซึง่ เป็ น บริษทั ย่อย ชําระเงินต้นและดอกเบีย้ ตามสัญญา The Agreement to Unwind the Service Provider Agreement (“Unwind Agreement”) สําหรับการโอนสิทธิและหน้าทีใ่ นการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบ เซลลูลา่ Digital PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 และสิทธิในการใช้อุปกรณ์ เครือ่ งมือ และการใช้เครือข่ายร่วม พร้อม ดอกเบีย้ ผิดนัดชําระในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปี ของจํานวนเงินทีผ่ ดิ นัดชําระ นับจากวันเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะชําระเสร็จ ดังนี้ 1. ข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 36/2546 เมือ่ วันที่ 30 มิถุนายน 2546 เรียกให้ชาํ ระเงินตาม Unwind Agreement ในงวด ที่ 5 เป็ นเงิน 18 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 2. ข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 62/2546 เมือ่ วันที่ 28 ตุลาคม 2546 เรียกให้ชาํ ระเงินตาม Unwind Agreement ในงวดที่ 6 เป็ นเงิน 19 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 3. ข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 55/2549 เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2549 เรียกให้ชาํ ระเงินตาม Unwind Agreement ในงวด ที่ 7-8 เป็ นเงิน 87 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 2551 คณะอนุญาโตตุลาการมีคาํ ชีข้ าดตามข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 62/2546 และ 55/2549 (“คําชีข้ าด”) ให้ ดีพซี ี ชําระเงิน 85 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 21 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ จากจํานวนที่ ดีแทค เรียกร้องเป็ นเงิน ทัง้ สิน้ 106 ล้านเหรียญสหรัฐฯ พร้อมดอกเบีย้ ผิดนัดชําระในอัตราร้อยละ 9.50 ต่อปี นบั จากวันผิดนัดชําระจนกว่าจะชําระเสร็จ สิน้ เมือ่ วันที่ 30 พฤษภาคม 2551 ดีพซี ี และ ดีแทค ได้ตกลงยินยอมทีจ่ ะระงับข้อพิพาททัง้ 3 เรือ่ ง และยุตขิ อ้ เรียกร้อง และยกเลิกสัญญา Unwind Agreement ตลอดจนสละสิทธิและปลดเปลือ้ งภาระหน้าทีใ่ ด ๆ ของแต่ละฝ่ ายภายใต้ สัญญา Unwind Agreement ทัง้ ทีม่ อี ยูเ่ ดิม และทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต รวมทัง้ ภาระหน้าทีต่ ามคําชีข้ าดข้อพิพาทที่ 62/2546 และ 55/2549 และ ดีแทคได้ถอนคําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําเลขที่ 36/2546 ในวันที่ 3 มิถุนายน 2551 โดยดีพซี ไี ด้ตกลง ชําระเงินจํานวน 3,000 ล้านบาทให้แก่ดแี ทค ซึง่ ดีพซี ไี ด้บนั ทึกค่าสิทธิดงั กล่าวไว้แล้วในงบการเงินในสัญญาสัมปทานค้าง จ่ายเป็ นจํานวนเงินรวมทัง้ สิน้ 4,739 ล้านบาท ทําให้ดพี ซี มี กี ําไรรับรูเ้ ป็ นรายได้อ่นื 1,739 ล้านบาท ดังทีป่ รากฏในงบกําไร ขาดทุนของดีพซี ี และงบการเงินรวมของบริษทั ฯ (2) บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ได้เสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาท หมายเลขดําที่ 99/2549 วันที่ 13 ตุลาคม 2549 เพือ่ เรียกร้องให้ดพี ซี ชี าํ ระเงินค่าธรรมเนียมเลขหมายจํานวน 17.9 ล้าน บาท พร้อมเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ ในอัตรา ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน นับถัดจากวันเสนอข้อพิพาทเป็ นต้นไป จนกว่าชําระเสร็จ และ ส่วนที่ 2 หน้า 74


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ให้ชาํ ระค่าธรรมเนียมเลขหมายที่ กสท จะชําระให้แก่ กทช. ต่อไป ซึง่ ดีพซี ไี ด้ชาํ ระเงินค่าธรรมเนียมเลขหมาย ตามที่ กสท. เรียกร้องมา และ กสท. ได้ขอถอนข้อพิพาทดังกล่าวต่อคณะอนุ ญาโตตุลาการแล้ว เมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2551 (3) บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ได้เสนอข้อพิพาทต่อสํานักระงับข้อพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 3/2551 เมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2551 เรียกร้องให้ดพี ซี ชี าํ ระเงินส่วนแบ่งรายได้ เพิม่ เติมอีกจํานวน 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ พร้อมเรียกเบีย้ ปรับใน อัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนของจํานวนเงินทีค่ า้ งชําระในแต่ละปี นับตัง้ แต่วนั ผิดนัดจนกว่าจะชําระเสร็จสิน้ โดยคํานวณถึง ณ เดือนธันวาคม 2550 คิดเป็ นเบีย้ ปรับทัง้ สิน้ 1,500 ล้านบาท รวมเป็ นเงินทัง้ หมดจํานวน 3,949 ล้านบาท ต่อมาในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 กสท .ได้ขอแก้ไขจํานวนทุนทรัพย์รวมเบีย้ ปรับ ลดลงเหลือ 3,410 ล้านบาท ซึง่ จํานวนเงินส่วนแบ่งรายได้ ดังกล่าวเป็ นจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตทีด่ พี ซี ไี ด้นําส่งตัง้ แต่ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และ ได้นํามาหักออกจากส่วนแบ่งรายได้ อันเป็ นการปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 ถูกต้องครบถ้วน แล้ว และมีการปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันทัง้ อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ดีพซี ไี ด้ยน่ื คําคัดค้านต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม แล้วเมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2551 และดีพซี ไี ด้แต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการฝ่ ายของดี พีซเี มือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ขณะนี้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณา ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เชื่อว่าผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนื่องจาก กสท. เคยมีหนังสือแจ้ง ให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีดงั กล่าว ซึง่ บริษทั ฯ ได้ถอื ปฏิบตั เิ รือ่ ยมาโดยไม่เคยถูกท้วงติงว่าบริษทั ฯ ดําเนินการ ไม่ถกู ต้องแต่อย่างใด และกรณีน้ีเกิดขึน้ ทัง้ กลุ่มอุตสาหกรรมโทรคมนาคม (4) บริ ษั ท กสท โทรคมนาคม จํา กัด (มหาชน) ได้เสนอข้อ พิพ าทต่ อ สํา นั ก ระงับ ข้อ พิ พ าท สถาบัน อนุ ญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดําที่ 68/2551 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 เรียกร้องให้ดพี ซี ชี ําระค่าเชื่อมโยง เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีท่ ด่ี พี ซี ไี ด้หกั ไว้และมิได้นําส่งให้กบั กสท. (ผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิม่ ของปี ดําเนินการที่ 710) เป็ นต้นเงินและภาษีมูลค่าเพิม่ จํานวน 165 ล้านบาท พร้อมทัง้ เบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน โดยคํานวณถึง วันที่ 31 กรกฎาคม 2551 รวมเป็ นเงินทัง้ สิน้ 222 ล้านบาท ขณะนี้อยู่ในระหว่างกระบวนการพิจารณา ซึ่งผู้บริหารของ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าผลของข้อพิพาทดังกล่าวน่าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนื่องจากบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ถิ กู ต้องตามกฎหมายและข้อ สัญญาทีเ่ กีย่ วข้องทุกประการแล้ว (5) บริ ษั ท กสท โทรคมนาคม จํา กัด (มหาชน) ได้ เสนอข้อ พิ พ าทต่ อ สํ า นั ก ระงับ ข้ อ พิ พ าท สถาบัน อนุ ญ าโตตุ ลาการเป็ นข้อพิพ าทหมายเลขดําที่ 8/2552 เมื่อ วัน ที่ 3 กุ ม ภาพันธ์ 2552เรียกร้องให้ดีพีซีส่งมอบ และโอน กรรมสิทธิ ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จํานวน 3,343 ต้น พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกําลังงาน (Power Supply) จํานวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาให้ดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า หากไม่สามารถส่งมอบได้ให้ชดใช้เงินจํานวน 2,230 ล้านบาท ซึง่ ดีพซี เี ห็นว่า เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกําลังงาน (Power Supply) เป็ นทรัพย์สนิ ทีด่ ี พีซเี ช่าใช้จากบุคคลอื่น จึงมิใช่ทรัพย์สนิ อันเป็ นกรรมสิทธิ ์ของดีพซี ที จ่ี ะส่งมอบให้แก่ กสท.ได้ อีกทัง้ ทรัพย์สนิ ดังกล่าวมิใช่ เครือ่ งหรืออุปกรณ์ตามทีก่ าํ หนดไว้ในสัญญาข้อ 2.1 ทีด่ พี ซี จี ะมีหน้าทีจ่ ดั หาและส่งมอบตามสัญญา ขณะนี้ขอ้ พิพาทดังกล่าวอยู่ในขัน้ ตอนเตรียมยื่นคําคัดค้านภายใต้กระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ ซึ่งผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ เชื่อว่าผลของคดีดงั กล่าวน่ าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนื่องจากบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ถิ ูกต้องตามกฎหมายและข้อ สัญญาทีเ่ กีย่ วข้องทุกประการแล้ว

ส่วนที่ 2 หน้า 75


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

8.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างเงิ นทุน 8.1

หลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบด้วย หุน้ สามัญจํานวน 4,997,459,800 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ทุนทีอ่ อกและชําระแล้ว : 2,961,739,547 บาท ประกอบด้วย หุน้ สามัญจํานวน 2,961,739,547 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท (2)

โครงการออกและเสนอขายหุ้นให้กองทุนรวมเพื่อผูล้ งทุนซึ่งเป็ นคนต่างด้าว (Thai Trust Fund) ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 3/2542 เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2542 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ เข้า ร่วมโครงการจัดการกองทุนรวมเพือ่ ผูล้ งทุนซึง่ เป็ นคนต่างด้าว (Thai Trust Fund – TTF) ซึง่ ถือ สัญชาติไทย และยินยอมให้กองทุนรวมดังกล่าวลงทุนในหุน้ หรือมีไว้ซง่ึ หุน้ ของบริษทั ฯ ในอัตราส่วน ไม่เกินร้อยละ 2.50 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ซึง่ คิดเป็ นจํานวนหุน้ ประมาณ 6.75 ล้านหุน้ ของจํานวนหุน้ ทีช่ าํ ระแล้ว 270 ล้านหุน้ ทัง้ นี้ ผูล้ งทุนซึง่ เป็ นคนต่างด้าวทีซ่ อ้ื หน่วยลงทุนของกองทุนรวมนี้จะได้รบั เฉพาะผลประโยชน์ในรูป โดยทีอ่ าํ นาจการบริหารงานยังคงอยูก่ บั ผูบ้ ริหารชาวไทยเช่นเดิม โดยในเดือน ตัวเงินเท่านัน้ กุมภาพันธ์ 2543 สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ได้อนุมตั ใิ ห้กองทุนรวมดังกล่าวเข้าซื้อ-ขายหุน้ ของบริษทั ฯ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ จากการประชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2544 วันที่ 20 สิงหาคม 2544 มีมติอนุ มตั กิ ารจัดสรรหุน้ สามัญทีย่ งั มิได้ออกจําหน่าย จํานวน 23.5 ล้านหุน้ เป็ นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ SHIN และ SingTel และลด มูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้จากหุน้ ละ 10 บาท เหลือหุน้ ละ 1 บาท จากการจัดสรรหุน้ และการลดมูลค่าหุน้ ดังกล่าว ส่งผลให้จาํ นวนหุน้ ทีบ่ ริษทั ยินยอม TTF ลงทุนในหุน้ ของบริษทั ฯ ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 2.50 ของจํานวนหุน้ ทีเ่ รียกชําระแล้ว ซึง่ คิดเป็ นจํานวนหุน้ ประมาณ 73.37 ล้านหุน้ ของจํานวนหุน้ ที่ ชําระแล้ว 2,935 ล้านหุน้ ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2551 กองทุนรวมเพื่อผูล้ งทุนซึง่ เป็ นคนต่างด้าวโดยลงทุนในหุน้ ของ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ มีจาํ นวน 64,039,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 2.16 ของจํานวนหุน้ ที่ จําหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ (จํานวนหุน้ ทีช่ าํ ระแล้ว 2,961,739,547 หุน้ )

(3)

ตราสารแสดงสิ ทธิ ในผลตอบแทนที่เกิ ดจากหลักทรัพย์อ้างอิ ง (NVDR) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด ซึง่ ถือสัญชาติไทย มีหนุ้ สามัญของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์อา้ งอิง จํานวน 47,311,178 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 1.60 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้ แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ (จํานวนหุน้ ทีช่ าํ ระแล้ว 2,961,739,547 หุน้ ) ซึง่ ไม่มสี ทิ ธิในการออกเสียงของ ผูถ้ อื หุน้ อันเนื่องมาจาก บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด ไม่ใช้สทิ ธิในการออกเสียงในการประชุมผูถ้ อื หุน้

ส่วนที่ 2 หน้า 76


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

(5)

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริ ษทั (โครงการ ESOP) บริษัท ฯ ได้กําหนดให้มีโครงการเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิท ธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญ ต่ อ กรรมการและ พนักงานของบริษทั ฯ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นแรงจูงใจและตอบแทนการปฏิบตั งิ านของกรรมการ และพนัก งานของบริษัทฯ นอกจากนี้ เพื่อให้บุ ค คล ดังกล่าวมีค วามตัง้ ใจในการทํางาน เพื่อสร้าง ประโยชน์ สงู สุดให้แก่บริษทั ฯ อีกทัง้ เพื่อเป็ นการสร้างแรงจูงใจให้กรรมการและพนักงาน ทํางานกับ บริษทั ฯ ต่อไปในระยะยาว โดยโครงการจะมีลกั ษณะต่อเนื่อง กล่าวคือ บริษทั ฯ จะออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิทุกๆ ปี มีระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปี และใบสําคัญแสดงสิทธิทอ่ี อกจะมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขายในแต่ละครัง้ ของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียดลักษณะ รวมถึง สิทธิและเงือ่ นไขของใบสําคัญแสดงสิทธิทค่ี ล้ายคลึงกันทัง้ 5 ครัง้ ของการเสนอขาย ซึง่ มีการออกและ เสนอขาย ดังนี้ ครังที ้ ่ 1 ในปี 2545 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 14,000,000 หน่ วย และบริษทั ฯ ได้จดั สรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 14,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นประมาณร้อยละ 0.48 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ทัง้ นี้โครงการ ESOP ครัง้ ที่ 1 ได้ครบกําหนดอายุเมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2550 ครัง้ ที่ 2 ในปี 2546 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 8,467,200 หน่ วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จํานวน 8,467,200 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.29 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ทัง้ นี้โครงการ ESOP ครัง้ ที่ 2 ได้ครบกําหนดอายุเมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2551 ครัง้ ที่ 3 ในปี 2547 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 8,999,500 หน่ วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จํานวน 8,999,500 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.31 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิคงเหลือจํานวน 4,658,700 หน่วย ครัง้ ที่ 4 ในปี 2548 มีจํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 9,794,800 หน่ วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จํานวน 9,794,800 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.33 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ อย่างไรก็ดี บริษัท ฯ เสนอขายใบสํา คัญ แสดงสิท ธิได้ไม่ ห มด โดยเสนอขายให้แก่ ก รรมการและ พนักงานได้เพียง 9,686,700 หน่วย คงเหลือ 108,100 หน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิคงเหลือจํานวน 9,211,100 หน่วย ครัง้ ที่ 5 ในปี 2549 มีจาํ นวนใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ สิน้ 10,138,500 หน่ วย และบริษทั ฯ จะจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี้จํานวน 10,138,500 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 0.34 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีใบสําคัญแสดงสิทธิทย่ี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิคงเหลือจํานวน 9,092,500 หน่วย

ส่วนที่ 2 หน้า 77


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ทัง้ นี้ มอบหมายให้คณะกรรมการบริหาร หรือบุค คลที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย มีอํานาจ พิจารณากําหนดรายละเอียดและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ ดําเนิ นการต่างๆ อันจําเป็ นและ สมควรอัน เกี่ยวเนื่ องกับหุ้น สามัญ ที่จดั สรรไว้เพื่อรองรับ การใช้สทิ ธิดงั กล่าว ตลอดจนการนํ าหุ้น สามัญที่จดั สรรไว้เพื่อรองรับการใช้สทิ ธิดงั กล่าวเข้าจดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีโครงการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญต่อกรรมการและ พนักงานของบริษทั ฯ ทีด่ าํ เนินการ 3 โครงการสรุปได้ดงั นี้ รายละเอียดโครงการ จํานวนทีเ่ สนอขาย(หน่วย) ราคาเสนอขาย (บาท) อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สทิ ธิ* ราคาการใช้สทิ ธิ* (บาทต่อหุน้ ) วันทีอ่ อกและเสนอขาย ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

ระยะเวลาแสดงความจํานงการใช้สทิ ธิ

โครงการ 3 8,999,500

โครงการ 4 โครงการ 5 9,686,700 10,138,500 -0ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันทีอ่ อกและเสนอขาย 1 : 1.15247 1 : 1.13801 1 : 1.10259 79.646 93.728 82.956 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯได้ตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ปี ที่ 1 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญได้ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ หมดทีก่ รรมการ และพนักงานของบริษทั ฯแต่ ละคนได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการและ พนักงาน ของบริษทั ฯจะสามารถ ใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้กต็ ่อเมื่อครบระยะเวลา 1 ปี นับจากวันทีบ่ ริษทั ฯได้ออกและเสนอ ขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็ม ของหน่ วยการซื้อขายหุ้น (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย ให้ปัดรวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 2 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิซ้อื หุน้ สามัญได้อกี ในจํานวนไม่ เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ หมดทีก่ รรมการและพนักงานของบริษทั ฯ แต่ ละคนได้ร บั จัด สรรจากบริษัทฯ ทัง้ นี้ กรรมการ และพนั กงานของบริษัทฯจะ สามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้ก็ต่อเมื่อครบระยะเวลา 2 ปี นับจากวันทีบ่ ริษัทฯได้ออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญ แสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุ้นที่ไม่ถงึ จํานวน เต็มของหน่ วยการซื้อขายหุ้น (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพ ย์ แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 3 กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯสามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามสิทธิของตนใน ส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดได้เมือ่ ครบระยะเวลา 3 ปี นบั จากวันทีบ่ ริษทั ฯได้ออกและเสนอ ขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวน เต็มของหน่วยการซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไปใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย ภายใน 5 วันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใช้สทิ ธิ ยกเว้น การแสดงความจํานงใน การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดท้าย กําหนดให้แสดงความจํานงในการใช้ สิทธิได้ในช่วงระยะเวลา 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สทิ ธิ

วันกําหนดการใช้สทิ ธิ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ * บริษทั ฯ มีการปรับสิทธิ อันเป็นผลมาจาก บริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลในอัตราสูงกว่าร้อยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตาม เงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ในหนังสือชี้ชวน โดยได้ปรับทัง้ อัตราการใช้สทิ ธิและราคาการใช้สทิ ธิ ตัง้ แต่วนั ที ่ 22 สิงหาคม 2551 เป็ นต้นมา

ส่วนที่ 2 หน้า 78


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

(5)

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ มีหนุ้ กูท้ ย่ี งั ไม่ครบกําหนดไถ่ถอน รวม 8 ชุด ซึง่ ได้จดทะเบียน และซื้อขายได้ในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (Thai Bond Market Association) และบนกระดาน ตราสารหนี้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (The Bond Electronic Exchange: BEX) ทัง้ นี้ หุน้ กูข้ องบริษทั ฯ ชุด AIS093A, AIS093B เริม่ ซือ้ ขายในตลาด BEX ตัง้ แต่วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2546 หุน้ กูข้ องบริษทั ฯ ชุด AIS099A, AIS119A, AIS139A เริม่ ซือ้ ขายในตลาด BEX ตัง้ แต่วนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2549 หุน้ กูข้ องบริษทั ฯ ชุด AIS134A เริม่ ซือ้ ขายในตลาด BEX ตัง้ แต่วนั ที่ 20 พฤษภาคม 2551 และหุน้ กูข้ องบริษทั ฯ ชุด AIS 127A และ AIS141A เริม่ ซือ้ ขายในตลาด BEX ตัง้ แต่วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2552 โดยรายละเอียดของหุน้ กูท้ งั ้ 8 ชุด มีดงั นี้ (5.1) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2545 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2552 (AIS093A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุชอ่ื ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 7 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 2,500,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 21 มีนาคม 2545 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 6.25 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 2,450,000 หน่ วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 * เมือ่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 บริษทั ได้ทาํ การ ซือ้ คืนและยกเลิกหุน้ กู้ จํานวน 50,000 หน่วย

มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

: 2,450,000,000 บาท * : AA

(5.2) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงิน ต้น ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2552 (AIS093B) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุชอ่ื ผูถ้ อื ประเภททยอยชําระคืนเงินต้น ไม่ดอ้ ย สิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 7 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,500,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,500,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ส่วนที่ 2 หน้า 79


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย วันทีอ่ อกหุน้ กู้ วันครบกําหนดไถ่ถอน อัตราดอกเบีย้ และ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ กําหนดเวลาชําระคืนเงินต้น

ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

: : : :

1,000 บาท 21 มีนาคม 2545 21 มีนาคม 2552 อัตราดอกเบีย้ เงินฝากประจํา 6 เดือน บวกด้วยอัตราร้อยละ 2.10 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ โดยจะ ชําระทุกวันที่ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ของทุกปี : บริษทั ฯ จะทยอยชําระคืนเงินต้นเป็ นงวดจํานวนเท่าๆ กัน ทัง้ หมด 6 งวด โดยจะเริม่ ชําระคืนเงินต้นเมือ่ หุน้ กูม้ อี ายุครบ 54 เดือน นับจากวันออกจําหน่ ายจนถึง วันที่ 21 มีนาคม 2552 : ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) : 4,500,000 หน่ วย : 750,000,000 บาท : AA

(5.3) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 1 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2552 (AIS099A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผู้ ถือหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 3 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 3,427,100,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 3,427,100 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 7 กันยายน 2552 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 5.80 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 3,427,100 หน่ วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 3,427,100,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA

ส่วนที่ 2 หน้า 80


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(5.4) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2554 (AIS119A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผู้ ถือหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 7 กันยายน 2554 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 5.90 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000 หน่ วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA (5.5) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2549 ชุดที่ 3 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2556 (AIS139A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และมีผแู้ ทนผู้ ถือหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 7 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 7 กันยายน 2556 อัตราดอกเบีย้ และ : ร้อยละ 6.00 ต่อปี ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000 หน่ วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA ส่วนที่ 2 หน้า 81


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(5.6) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2551 ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2556 (AIS134A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุชอ่ื ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และ มีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 4,000,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 30 เมษายน 2551 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 30 เมษายน 2556 อัตราดอกเบีย้ และ : ปี ท่ี 1 – 2 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.00 ต่อปี กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ ปี ท่ี 3 – 5 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.90 ต่อปี ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ โดยจะชําระทุกวันที่ 30 มกราคม, 30 เมษายน, 30 กรกฎาคม และ 30 ตุลาคม ของทุกปี ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000 หน่ วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA (5.7) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2552 ชุดที่ 1 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2555 (AIS127A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุชอ่ื ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และ มีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 3.5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 5,000,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 23 มกราคม 2552 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 23 กรกฎาคม 2555 อัตราดอกเบีย้ และ : 2.5 ปี แรก อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.00 ต่อปี กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ ปี สดุ ท้าย อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 5.00 ต่อปี ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มกราคม, 23 เมษายน, 23 กรกฎาคม และ 23 ตุลาคม ของทุกปี ตลอดอายุหนุ้ กู้ โดยจะทําการชําระดอกเบีย้ หุน้ กู้ ส่วนที่ 2 หน้า 82


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 23 มกราคม 2552 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 23 มกราคม 2552 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

งวดแรกในวันที่ 23 เมษายน 2552 และจะทําการชําระ ดอกเบีย้ หุน้ กูง้ วดสุดท้ายในวันครบกําหนดไถ่ถอนหุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) : 5,000,000 หน่ วย : 5,000,000,000 บาท : AA

(5.8) หุน้ กู้ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2552 ชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี 2557 (AIS141A) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทหุน้ กู้

: หุน้ กูร้ ะบุชอ่ื ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และ มีผแู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ : 5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ มูลค่ารวมของหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุน้ กูท้ เ่ี สนอขาย : 2,500,000 หน่ วย มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย : 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันทีอ่ อกหุน้ กู้ : 23 มกราคม 2552 วันครบกําหนดไถ่ถอน : 23 มกราคม 2557 อัตราดอกเบีย้ และ : ปี ท่ี 1 – 2 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.00 ต่อปี กําหนดเวลาชําระดอกเบีย้ ปี ท่ี 3 – 4 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 5.00 ต่อปี ปี ท่ี 5 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 6.00 ต่อปี ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันทีอ่ อกหุน้ กู้ โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มกราคม, 23 เมษายน, 23 กรกฎาคม และ 23 ตุลาคม ของทุกปี ตลอดอายุหนุ้ กู้ โดยจะทําการชําระดอกเบีย้ หุน้ กู้ งวดแรกในวันที่ 23 เมษายน 2552 และจะทําการชําระ ดอกเบีย้ หุน้ กูง้ วดสุดท้ายในวันครบกําหนดไถ่ถอนหุน้ กู้ ผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุน้ กู้ : 2,500,000 หน่ วย ณ วันที่ 23 มกราคม 2552 มูลค่าคงเหลือของหุน้ กู้ : 2,500,000,000 บาท ณ วันที่ 23 มกราคม 2552 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : AA (6)

ข้ อ ตกลงระหว่ า งกลุ่ ม ผู้ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ในเรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การออกและเสนอขาย หลักทรัพย์ หรือการบริ หารงานของบริษทั ฯ โดยที่ขอ้ ตกลงดังกล่าวมีบริ ษทั ฯ ร่วมลงนามด้วย - ไม่มี – ส่วนที่ 2 หน้า 83


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

8.2 ผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผูถ้ ือหุ้น บริษทั ชิน คอร์ปอเรชั ่น จํากัด (มหาชน) 1/ SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD AND SINGTEL INVESTED BY THAI TRUST FUND 2/ HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด MELLON NOMINEES (UK) LIMITED LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED NORTRUST NOMINEES LTD. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY, FOR LONDON STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY CHASE NOMINEES LIMITED 1 รวม

จํานวน (หุ้น) 1,263,712,000

% ถือหุ้น 42.67

632,039,000 116,894,242 45,329,125 43,469,400 37,004,800 32,596,737

21.34 3.95 1.53 1.47 1.25 1.10

29,197,201 26,723,623 25,379,000 2,252,345,128

0.99 0.90 0.86 76.05

หมายเหตุ: ข้อมูลจากบริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุดเมือ่ วันที่ 27 สิงหาคม 2551 1/ กลุม ่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทโ่ี ดยพฤติการณ์มอี ทิ ธิพลต่อการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินงานของบริษทั ฯ

คือ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ โดยผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ ได้แก่ ลําดับ รายชื่อผูถ้ ือหุ้น บริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ ส์ จํากัด * 1 บริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด * 3/ 2 รวม

จํานวนหุ้น % ถือหุ้น 1,742,407,239 54.43 1,334,354,825 41.68 3,076,762,064 96.11

3/

บริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด ถือหุน้ จํานวน 9,096 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 0.00 ของจํานวนหุน้ ทีจ่ าํ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ หมายเหตุ: ข้อมูลจากบริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุดเมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2551

* บริษทั แอสเพน โฮลดิง้ ส์ จํากัด เป็ นบริษทั จดทะเบียนในประเทศไทยและเป็ นบริษทั ย่อยทางอ้อมของ Temasek Holdings (Pte)

Ltd. (Temasek) บริษทั ซีดาร์ โฮลดิง้ จํากัด เป็ นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทยซึง่ ถือหุน้ โดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) ในสัดส่วน ร้อยละ 5.78 บริษทั กุหลาบแก้ว จํากัด (กุหลาบแก้ว) ร้อยละ 45.22 และบริษทั ไซเพรส โฮลดิง้ จํากัด (ไซเพรส) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยโดยทางอ้อมของ Temasek ร้อยละ 48.99

ส่วนที่ 2 หน้า 84


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โดย ณ วันที่ 20 มกราคม 2552 บริษทั ชิน คอร์ปอเรชั ่น จํากัด (มหาชน) มีโครงสร้างการถือหุน้ ดังนี้

2/ SingTel

Strategic Investments Pte Ltd ถือหุน้ ในบริษทั ฯ ทางตรงร้อยละ 19.18 และผ่าน THAI TRUST FUND อีกร้อยละ 2.16

ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของ SingTel Strategic Investments Pte Ltd คือ ลําดับ รายชื่อผูถ้ ือหุ้น Singapore Telecommunications Limited* 1

% ถือหุ้น 100.00

ทีม่ า: Singapore Telecommunications Limited l Annual Report 2007/2008 as of 30 May 2008

* ผูถ้ อื หุน้ ของ Singapore Telecommunications Limited คือ ลําดับ รายชื่อผูถ้ ือหุ้น 1 Temasek Holdings (Private) Limited 2 DBS Nominees Pte Ltd

จํานวนหุ้น 8,613,550,910 1,947,815,287

% ถือหุ้น 54.11 12.24

ทีม่ า: Singapore Telecommunications Limited l Annual Report 2007/2008 as of 30 May 2008

หมายเหตุ ผูล้ งทุนสามารถดูขอ้ มูลผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็ นปั จจุบนั ได้จากเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ก่อนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี ได้ท่ี http://www.investorrelations.ais.co.th

ส่วนที่ 2 หน้า 85


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

8.3

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นโยบายการจ่ายเงิ นปันผล เนื่องจากบริษทั ฯ มีหนุ้ กูท้ ย่ี งั ไม่ครบกําหนดไถ่ถอน ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ กูข้ องบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 12 กันยายน 2548 และวันที่ 22 กันยายน 2548 มีมติอนุ มตั ใิ ห้บริษทั ฯ แก้ไขข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าทีข่ องผูอ้ อก หุน้ กูไ้ ด้ โดยระบุวา่ บริษทั ฯ จะสามารถจ่ายเงินปั นผลในแต่ละปี ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เป็ นจํานวนเกินกว่า ร้อยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปี นนั ้ ๆ ได้ ภายใต้เงือ่ นไขคือ บริษทั ฯ จะต้องมีอนั ดับความน่าเชือ่ ถือ (credit rating) ซึง่ ได้รบั จากสถาบันจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบในอันดับไม่ต่าํ กว่า AA และได้รบั ภายในระยะเวลาไม่เกินกว่า 45 วันก่อนหน้าวันทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุ มตั กิ ารจ่ายเงิน ปั นผลดังกล่าว ทัง้ นี้ ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ผิดนัดชําระหนี้เงินต้น หรือดอกเบีย้ หุน้ กูไ้ ม่วา่ งวดใดๆ บริษทั ฯ จะไม่ สามารถจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีนโยบายในการจ่ายเงินปั นผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลัง หักภาษีตามงบการเงินรวม หากไม่มเี หตุจาํ เป็ นอื่นใดและการจ่ายเงินปั นผลนัน้ ต้องไม่มผี ลกระทบต่อการ ดําเนินงานปกติของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอย่างมีนยั สําคัญ และการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวจะขึน้ อยูก่ บั กระแสเงินสดและภาระการลงทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ รวมถึงความจําเป็ นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ทัง้ นี้การจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวจะต้องไม่เกินกําไรสะสมทีป่ รากฏอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 86


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างการจัดการของบริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหา และกํากับดูแลกิ จการ

คณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริ หาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการบริหาร นายแอเลน ลิว ยง เคียง* หัวหน้ าคณะเจ้าหน้ าที่ผบ้ ู ริ หาร นายวิกรม ศรีประทักษ์

หัวหน้ าคณะผูบ้ ริหาร ด้านการตลาด นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล

(รักษาการ) หัวหน้ า คณะผูบ้ ริ หาร ด้านเทคโนโลยี นายวิกรม ศรีประทักษ์

หัวหน้ าคณะผูบ้ ริ หาร ด้านการบริ การลูกค้า นางสุวมิ ล แก้วคูณ

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ นายวิเชียร เมฆตระการ

หัวหน้ าเจ้าหน้ าที่บริหารด้าน การเงิ น นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

 ผูบ้ ริหาร 4 รายแรก ตามคํานิยามของสํานักงาน ก.ล.ต.

* ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นประธานกรรมการบริหารเมือ่ วันที่ 1 มิถุนายน 2551 ส่วนที่ 2 หน้า 87

ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานตรวจสอบภายใน นางสุวมิ ล กุลาเลิศ


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

9. การจัดการและการกํากับดูแลกิ จการ โครงสร้างการจัดการของบริ ษทั ฯ คณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหาร รวมทัง้ คณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) คณะกรรมการบริ ษทั รายชื่อคณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการจํานวน 11 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ

(ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นรองประธานกรรมการเมือ่ วันที ่ 8 ตุลาคม 2551)

3. 4. 5. 6. 7.

นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ นางทัศนีย์ มโนรถ นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ

(ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการแทน นายวาสุกรี กล้าไพรี เมือ่ วันที ่ 16 ธันวาคม 2551)

8. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 9. นายอึง้ กวอน คี

กรรมการ กรรมการ

(ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการแทน นายยืน ควน มูน เมือ่ วันที ่ 18 กุมภาพันธ์ 2552)

10. นายวิกรม ศรีประทักษ์ 11. นายฮิวเบิรท์ อึง้ ชิง-วาห์

กรรมการ กรรมการ

(ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการแทน นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ เมือ่ วันที ่ 10 เมษายน 2551)

กรรมการผูม้ ีอาํ นาจลงนามผูกพันบริษทั คือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายวิกรม ศรีประทักษ์ กรรมการสองคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสําคัญของบริษทั ฯ เลขานุการบริษทั คือ นายองอาจ ทองพิทกั ษ์สกุล คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมวาระปกติเป็ นประจําทุกไตรมาส โดยในปี 2551 มีการประชุมรวม 7 ครัง้ และมีการประชุมวาระพิเศษ 3 ครัง้

ส่วนที่ 2 หน้า 88


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษทั 1. ต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ 2. กําหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษทั ฯ และกํากับดูแลให้ฝ่ายบริหารดําเนินการให้เป็ นไป ตามนโยบายทีก่ าํ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าสูงสุดให้แก่บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ 3. พิจารณาอนุ มตั ริ ายการทีส่ าํ คัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่, การซื้อขายทรัพย์สนิ ฯลฯ และการดําเนินการใดๆ ที่ กฎหมายกําหนด 4. พิจารณาอนุ มตั แิ ละ/หรือให้ความเห็นชอบต่อรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้เป็ นไปตามประกาศ ข้อกําหนด และแนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอย่างสมํ่าเสมอและกําหนดค่าตอบแทน 6. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั งิ านของฝ่ ายบริหาร โดยให้มคี วามตัง้ ใจและความระมัดระวังในการ ปฏิบตั งิ าน 7. ดําเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีทเ่ี ชือ่ ถือได้ รวมทัง้ ดูแลให้มี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสีย่ ง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไม่ให้เกิดปั ญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ 9. กํากับดูแลกิจการให้มกี ารปฏิบตั งิ านอย่างมีจริยธรรม 10. ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ และประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจําอย่าง น้อยปี ละ 1 ครัง้ 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ใน รายงานประจําปี และครอบคลุมในเรือ่ งสําคัญๆ ตามนโยบายเรือ่ งข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี สี าํ หรับกรรมการบริษทั จดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารมีอาํ นาจหน้าทีใ่ นการปฏิบตั งิ านต่างๆ โดยมีรายละเอียดการ มอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร ทัง้ นี้การมอบอํานาจดังกล่าวต้องไม่มลี กั ษณะเป็ นการมอบ อํานาจ หรือมอบอํานาจช่วงทีท่ าํ ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุ มตั ิ รายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อน่ื ใด (ตามทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ยกเว้นเป็ นการอนุ มตั ริ ายการทีเ่ ป็ นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ไิ ว้ (2) คณะกรรมการบริ หาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการและผูบ้ ริหาร จํานวน 5 ท่าน มีรายชือ่ ดังนี้ 1. นายแอเลน ลิว ยง เคียง1/ ประธานกรรมการบริหาร 2. ดร.ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์ กรรมการบริหาร 3. นายวิกรม ศรีประทักษ์ กรรมการบริหาร 4. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ กรรมการบริหาร 2/ 5. นายฮิวเบิรท์ อึง้ ชิง-วาห์ กรรมการบริหาร 1/

ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นประธานกรรมการบริหารเมือ่ วันที่ 1 มิถุนายน 2551 ได้รบั การแต่งตัง้ แทนนายสมประสงค์ บุญยะชัย เมือ่ วันที่ 1 มิถุนายน 2551

2/

ส่วนที่ 2 หน้า 89


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

คณะกรรมการบริหารมีการประชุมวาระปกติเป็ นประจําทุกเดือน โดยในปี 2551 มีการประชุมรวม 12 ครัง้ และการประชุม เฉพาะกิจ 3 ครัง้ โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกเดือน ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริหาร * 1. กําหนดทิศทางกลยุทธ์ โครงสร้างการบริหารงาน แผนธุรกิจและงบประมาณประจําปี ของบริษทั ฯ เพือ่ เสนอให้ คณะกรรมการบริษทั อนุ มตั ิ 2. กํากับและติดตามผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทฯ และรายงานผลการดําเนินงานและฐานะ การเงินให้แก่กรรมการบริษทั รับทราบเป็ นประจําทุกเดือน 3. พิจารณาสอบทานและอนุ มตั ิรายการเกี่ยวกับการลงทุ นและจําหน่ ายทรัพย์สนิ การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและการบริหารเงิน การบริหารงานทัวไป ่ และรายการอื่นใดทีเ่ กี่ยวกับธุรกิจของบริษทั ฯ ภายในขอบเขตอํานาจทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั 4. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจช่วงให้ผู้บริหารหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการใน เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามทีค่ ณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรได้ การอนุ มตั ริ ายการของคณะกรรมการ บริห ารและหรือ การมอบอํานาจช่ว งต้องไม่เป็ น การอนุ ม ตั ิรายการที่เกี่ย วโยงกัน หรือรายการที่อาจมีค วามขัด แย้งทาง ผลประโยชน์ หรือรายการทีค่ ณะกรรมการบริหารมีส่วนได้เสียตามทีก่ ําหนดในข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามทีก่ ําหนดโดย คณะกรรมการบริษทั และหน่วยงานกํากับดูแล 5. รายงานผลการปฏิบตั ิงานที่สําคัญของคณะกรรมการบริหารให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบเป็ นประจําทุก ไตรมาส ในวาระการรายงานของประธานกรรมการบริหาร 6. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรเป็ นประจําทุกปี ซึ่งอาจทําพร้อม กับการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยอืน่ 7. ดําเนินการอื่นๆ ใด หรือ ตามอํานาจและความรับผิดชอบ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายหน้าทีใ่ ห้เป็ น คราวๆ ไป *ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือวั ่ นที ่ 11 พฤศจิกายน 2551

(3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทีม่ ี คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามทีก่ าํ หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ และ เป็ นผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นการเงิน การบัญชี กฎหมาย และ การ บริหารจัดการ มีรายชือ่ ดังนี้ 1. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์1/ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 13 ครัง้ ) 2. นางทัศนีย์ มโนรถ1/ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 13 ครัง้ ) 3. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เข้าร่วมประชุม 13 ครัง้ ) 1/

มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถทําหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมวาระปกติเป็ นประจําทุกเดือน โดยในปี 2551 มีการประชุมรวม 13 ครัง้ และมีการ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกไตรมาส

ส่วนที่ 2 หน้า 90


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ * 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีรายงานทางการเงินถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการบัญชีทก่ี ฎหมายกําหนด และมีการ เปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบ ในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง และการพิจารณาผลการปฏิบตั งิ าน ความดีความชอบของหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็ นอิสระเพือ่ ทําหน้าทีเ่ ป็ นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และ เสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่าง น้อยปี ละ 1 ครัง้ ให้เป็ นไปตามกฎหมายและ 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ 6. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล 7. สอบทานและอนุมตั กิ ฎบัตรของหน่ วยงานตรวจสอบภายใน แผนงานตรวจสอบภายในประจําปี การปฏิบตั งิ านของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผูส้ อบบัญชี 8. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี ของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลง นามโดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก. ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นทีเ่ ชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ข. ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ ค. ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์ หรือ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ ง. ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี จ. ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ฉ. จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ช. ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตร (charter) ซ. รายการอื่นทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัวไปควรทราบภายใต้ ่ ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ 9. ดําเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามทีไ่ ด้รบั แจ้งจากผูส้ อบบัญชี เกีย่ วกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผูจ้ ดั การ หรือ บุคคล ซึง่ รับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษทั ได้กระทําความผิดตามทีก่ ฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์กาํ หนด และให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบือ้ งต้นให้แก่สาํ นักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และผูส้ อบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้ง จากผูส้ อบบัญชี 10. รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบอย่างน้อยปี ละ 4 ครัง้ โดยใน การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระทําซึง่ อาจมีผลกระทบ อย่างมีนยั สําคัญต่อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อ คณะกรรมการของบริษทั เพือ่ ดําเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร

ส่วนที่ 2 หน้า 91


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

11. 12. 13. 14.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

หากคณะกรรมการของบริษทั หรือผูบ้ ริหารไม่ดาํ เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทํานัน้ ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอํานาจหน้าทีใ่ ห้คณะกรรมการตรวจสอบ มีอาํ นาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผูบ้ ริหาร หรือ พนักงานของบริษทั ฯ ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามทีเ่ ห็นว่าเกีย่ วข้องจําเป็ น พิจารณาให้ความเห็นชอบในการว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษทั ฯ มาให้ความเห็น หรือ คําปรึกษาในกรณีจาํ เป็ น พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจําทุกปี ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

*ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที ่ 29 มกราคม 2552

(4) คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการ จํานวน 3 ท่าน มีรายชื่อดังนี้ ประธานกรรมการ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม 2. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ กรรมการ 3. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ ในปี 2551 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนมีการประชุมรวม 4 ครัง้ เพือ่ พิจารณา และให้ความเห็นชอบ โครงการ Economic Value Plan for Employees นอกจากนี้ยงั ได้พจิ ารณาการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ รวมถึงกําหนดนโยบายและ ค่าตอบแทนกรรมการประจําปี 2551 และมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน * 1 กํ า หนดค่ า ตอบแทนที่จําเป็ น และเหมาะสมในแต่ ล ะปี ท ัง้ ที่เป็ น ตัว เงิน และมิใช่ ต ัว เงิน ของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย ประธานกรรมการบริหาร หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร รวมถึงผูบ้ ริหารทีร่ ายงานตรงต่อหัวหน้า คณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร 2 พิจารณาให้ความเห็นชอบโครงการ Economic Value Plan for Employees (EV) และหลักเกณฑ์ต่างๆ ใน การดําเนินการตามโครงการ EV รวมทัง้ ให้ความเห็นชอบการจัดสรรโบนัสตามโครงการ EV ประจําปี ให้กบั ผู้บริหารของ บริษทั 3 กํากับ ดูแลการดํา เนิ น การตามโครงการ EV และมีอํานาจวินิจฉัยชี้ข าดในกรณี ท่ีมีปั ญ หา หรือข้อขัด แย้ง เกีย่ วกับการดําเนินการตามโครงการ EV 4 พิจารณาอนุ มตั กิ ารกําหนดค่าตอบแทนประจําปี ของกรรมการ 5 จัดทําหลักเกณฑ์ และนโยบายในการกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการ พิจารณาอนุ มตั แิ ละหรือนําเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อนุ มตั ติ ามแต่กรณี 6 รายงานนโยบายด้านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงค์ของนโยบาย เปิ ดเผยไว้ใน รายงานประจําปี ่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย 7 ปฏิบตั กิ ารอืน *ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือวั ่ นที ่ 20 มีนาคม 2551

ส่วนที่ 2 หน้า 92


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(5) คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิ จการ รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ประกอบด้วยกรรมการ จํานวน 3 ท่าน มีรายชือ่ ดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 2. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ 3. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการ ในปี 2551 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 4 ครัง้ เพือ่ พิจารณาเสนอแต่งตัง้ กรรมการ แทนกรรมการทีต่ อ้ งพ้นจาก ตําแหน่ งตามกําหนดวาระตามข้อบังคับของบริษทั 4 ท่าน กําหนดอํานาจกรรมการ และพิจารณาปรับปรุงนโยบายกํากับ ดูแลกิจการและหลักเกณฑ์การให้ผถู้ อื หุน้ เสนอวาระในทีป่ ระชุมใหญ่ โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิ จการ * 1. กําหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดย่อยของบริษทั ฯ 2. กํากับดูแลการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ พิจารณาทบทวนนโยบายการ กํ า กับ ดูแ ลกิจการที่ดีข องบริษัท ฯ ทุ ก ๆ ปี รวมทัง้ เสนอปรับ ปรุงแก้ไ ขนโยบายการกํ า กับ ดู แ ลกิจการของบริษัท ฯ ให้ คณะกรรมการพิจารณา 3. พิจารณาสรรหากรรมการ และกรรมการชุดย่อยโดยพิจารณาบุคคลทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะมาดํารงตําแหน่งกรรมการ เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ และหรือเสนอขออนุ มตั ติ ่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี ้ เ่ี หมาะสมทีจ่ ะดํารงตําแหน่ งประธานกรรมการบริหาร ในกรณีทม่ี ตี ําแหน่ งว่างลง รวมทัง้ 4. พิจารณาสรรหาผูท หลักเกณฑ์ในการสืบทอดตําแหน่ ง ่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย 5. ปฏิบตั กิ ารอืน *ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือวั ่ นที ่ 20 มีนาคม 2551

(6) คณะผูบ้ ริ หาร รายชื่อคณะผูบ้ ริหาร (ตามคํานิยามของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) โครงสร้างการบริหารของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีดงั ต่อไปนี้ 1. นายแอเลน ลิว ยง เคียง1/ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายวิกรม ศรีประทักษ์ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร และ (รักษาการ) หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี 3. นายวิเชียร เมฆตระการ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ 4. นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการตลาด 5. นางสุวมิ ล แก้วคูณ หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้า 6. นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์ หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน 1/

ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นประธานกรรมการบริหารเมือ่ วันที ่ 1 มิถุนายน 2551

การสรรหากรรมการ บริษทั ฯ ได้กาํ หนดแนวทางการสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการบริษทั ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจําปี ทกุ ครัง้ กรรมการต้องลาออกจากตําแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจํานวนกรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรง เป็ น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจํานวนทีใ่ กล้ทส่ี ุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจได้รบั เลือกเข้ามา ดํารงตําแหน่งใหม่กไ็ ด้ ส่วนที่ 2 หน้า 93


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

(2) ในกรณีทต่ี ําแหน่ งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอ่นื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคล หนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เข้า เป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคล ซึง่ เข้าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตําแหน่ งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ มีการจัดตัง้ คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ (Nomination and Corporate Governance Committee) ทําหน้าทีพ่ จิ ารณากําหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมทีจ่ ะมาดํารงตําแหน่ง กรรมการ ทัง้ นี้กาํ หนดให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารทีก่ าํ หนดอยูใ่ นข้อบังคับของบริษทั ฯ ดังต่อไปนี้ (1) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวนหุน้ ทีถ่ อื (2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั ้ หมดตาม (1) เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ ใน กรณีทเ่ี ลือกตัง้ บุคคลหลายคนเป็ นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เป็ นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็ นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี ุคคลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจํานวน กรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือพึงจะเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ป็ นประธานเป็ นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด ตามเงือ่ นไขของสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะหว่างบริษทั ฯ และ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ระบุให้ตวั แทนของ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) เข้าเป็ นกรรมการของบริษทั ได้ 1 ท่าน และตามเงือ่ นไขในข้อตกลง ระหว่างผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ซึง่ ได้แก่บริษทั ชิน คอร์ปอเรชั ่น จํากัด (มหาชน) (SHIN) และ SingTel Strategic Investments Pte. Ltd. (STI) ระบุให้ SHIN แต่งตัง้ กรรมการได้ 4 ท่าน และ STI แต่งตัง้ กรรมการได้ 2 ท่าน ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร บริษทั ฯ มีนโยบายในการกําหนดค่าตอบแทนให้กรรมการในอัตราทีเ่ ทียบได้กบั อุตสาหกรรมเดียวกัน และสูงเพียงพอทีจ่ ะ จูงใจและรักษากรรมการทีม่ คี ุณภาพไว้ สําหรับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหาร จะสอดคล้องกับผลการ ดําเนินงานของบริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารแต่ละท่าน คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน เป็ นผูพ้ จิ ารณากําหนดค่าตอบแทนทีจ่ าํ เป็ นและเหมาะสมทีเ่ ป็ นตัวเงิน ให้แก่ กรรมการ บริษทั กรรมการชุดย่อย โดยนําเสนอขออนุ มตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ และทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญ ประจําปี เป็ นประจําทุกปี 1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษทั ค่าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงินสําหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหาร จํานวน 8 ราย รวม จํานวนเงิน 13,062,000...บาท ซึง่ เป็ นการจ่ายจากผลการดําเนินงานประจําปี 2551 ประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน เบีย้ ประชุมและโบนัส ส่วนกรรมการบริษทั ทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหารจะไม่ได้รบั ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษทั ค่าตอบแทนกรรมการทีไ่ ด้รบั อนุ มตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2551 ไม่เกิน 15,000,000 บาท มีโครงสร้างดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 94


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นโยบายค่าตอบแทนกรรมการปี 2551 ค่าตอบแทนรูปตัวเงิ น (บาท) ปี 2551 กรรมการ คณะกรรมการ - ประธานกรรมการ - กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิ จการ - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการบริหาร - ประธาน - กรรมการ หมายเหตุ :

รายเดือน

เบีย้ ประชุม

200,000 50,000

x 25,000

25,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

ค่าตอบแทน กรรมการรายปี

2)

           

1) กรรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหาร / พนักงานของบริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ ไม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ หรือ กรรมการชุดย่อย 2) ประธานกรรมการไม่ได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน หรือเบีย้ ประชุม หากเป็ นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย

ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั เป็ นรายบุคคลทีไ่ ด้รบั ในฐานะกรรมการบริษทั จํานวน 8 ราย ในปี 2551 มีดงั นี้ รายชื่อ ตําแหน่ ง ค่าตอบแทนประจําปี 2551 (บาท) 1. ดร. ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 2,600,000 2. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2,505,000 3. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ กรรมการตรวจสอบ 2,000,000 4. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการตรวจสอบ 1,900,000 5. นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ กรรมการ 1,500,000 1) กรรมการ 1,225,000 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี 2) กรรมการ 1,260,000 7. นายฮิว เบิรท์ อึง้ ชิง-วาห์ 1) กรรมการ 72,000 8. นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ รวม 13,062,000 1)

 

นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทน นายวาสุกรี กล้าไพรี เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2551 นายฮิวเบิรท์ อึง้ ชิง-วาห์ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทน นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข เมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2551

ส่วนที่ 2 หน้า 95


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2) ค่าตอบแทนรวมของผูบ้ ริหาร ค่าตอบแทนรวมของคณะผูบ้ ริหารจํานวน 7 ราย สําหรับงวดสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เท่ากับ 83.5 ล้านบาท ซึง่ ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ และผลตอบแทนอืน่ ๆ คณะผูบ้ ริหาร หมายถึง กรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ตามนิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. 3) ค่าตอบแทนอื่นๆ บริษัทฯ มีโครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ แก่กรรมการและพนักงาน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบตั งิ านของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวมี ความตัง้ ใจในการทํางานและเป็ น แรงจูงใจให้ก รรมการและพนัก งานทํ างานให้กับ บริษัท ฯ ต่ อไปในระยะยาวและสร้า ง ประโยชน์สงู สุดแก่บริษทั ฯ บริษทั ฯ จะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญทุกๆ ปี ระยะเวลาต่อเนื่องกัน 5 ปี ทัง้ นี้บริษทั ฯ จะต้องขออนุ มตั กิ ารออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นรายปี ณ สิน้ ปี 2551 มี โครงการทีด่ ําเนินการ 3 โครงการสรุปได้ดงั นี้ รายละเอียดโครงการ จํานวนทีเ่ สนอขาย(หน่วย) ราคาเสนอขาย (บาท) อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สทิ ธิ* ราคาการใช้สทิ ธิ* (บาทต่อหุน้ ) วันทีอ่ อกและเสนอขาย ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

ระยะเวลาแสดงความจํานงการใช้

โครงการ 3 8,999,500

โครงการ 4 โครงการ 5 9,686,700 10,138,500 -0ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันทีอ่ อกและเสนอขาย 1 : 1.15247 1 : 1.13801 1 : 1.10259 79.646 93.728 82.956 31 พฤษภาคม 2547 31 พฤษภาคม 2548 31 พฤษภาคม 2549 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ ปี ที่ 1 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซ้อื หุน้ สามัญได้ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ หมดทีก่ รรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ แต่ละคนได้รบั จัดสรร จากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการและ พนักงาน ของบริษทั ฯ จะสามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้กต็ ่อเมื่อ ครบระยะเวลา 1 ปี นบั จากวันทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่ วย การซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไป ใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 2 กรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญได้อกี ในจํานวนไม่เกิน 1 ใน 3 ส่วนของใบสําคัญแสดงสิทธิทงั ้ หมดทีก่ รรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ แต่ละคนได้รบั จัดสรร จากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯ จะสามารถใช้สทิ ธิดงั กล่าวได้กต็ ่อเมื่อ ครบระยะเวลา 2 ปี นบั จากวันทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกว่าจะครบ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่วยการ ซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไป ใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิในปี ถดั ไป ปี ที่ 3 กรรมการ และพนักงาน ของบริษทั ฯ สามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามสิทธิของตนในส่วนที่ เหลือทัง้ หมดได้เมือ่ ครบระยะเวลา 3 ปี นบั จากวันทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดง สิทธิ จนกว่าจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ หากการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจะทําให้เกิดเศษหุน้ ทีไ่ ม่ถงึ จํานวนเต็มของหน่วยการ ซือ้ ขายหุน้ (Board Lot) บนกระดานหลักในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปัดรวมไป ใช้สทิ ธิในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย ภายใน 5 วันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดระยะเวลาการใช้สทิ ธิ ยกเว้น การแสดงความจํานงในการใช้สทิ ธิ

ส่วนที่ 2 หน้า 96


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551 รายละเอียดโครงการ สิทธิ วันกําหนดการใช้สทิ ธิ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงการ 3 โครงการ 4 โครงการ 5 ซือ้ หุน้ สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ สุดท้าย กําหนดให้แสดงความจํานงในการใช้สทิ ธิได้ในช่วง ระยะเวลา 15 วันก่อนวันกําหนดการใช้สทิ ธิ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันทําการสุดท้ายของทุกเดือน ตลอดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

* บริษทั ฯ มีการปรับสิทธิอนั เป็นผลมาจากบริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลในอัตราสูงกว่าร้อยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี ตามเงือ่ นไขที ่ ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน โดยได้ปรับทัง้ อัตราการใช้สทิ ธิและราคาการใช้สทิ ธิ ตัง้ แต่วนั ที ่ 22 สิงหาคม 2551 เป็ นต้นไป

รายชื่อกรรมการ และพนักงานของบริษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยที่ได้รบั จัดสรรเกิ นกว่าร้อยละ 5 ของโครงการ รายชื่อ 1. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 2. นางสุวมิ ล แก้วคูณ 3. นายวิกรม ศรีประทักษ์ 4. นางอาภัทรา ศฤงคารินกุล

โครงการ 3 จัดสรร (หน่ วย) 914,300 676,000 606,400 487,100

% 10.16 7.51 6.74 5.41

โครงการ 4 จัดสรร (หน่ วย) % 735,500 7.51 580,000 5.92 500,000 5.10 -

* นางอาภัทรา ศฤงคารินกุลได้รบั จัดสรร ESOP ในโครงการ 4 และ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 5 ของโครงการ

ส่วนที่ 2 หน้า 97

โครงการ 5 จัดสรร (หน่ วย) % 538,500 5.31 591,400 5.83 547,600 5.40 -


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การกํากับดูแลกิ จการ นโยบายการกํากับดูแลกิ จการ บริษทั ฯ มีความเชื่อมันว่ ่ า ระบบการบริหารจัดการทีด่ ี การมีคณะกรรมการและผูบ้ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์และมีความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ มีกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอํานาจเพื่อให้การบริหารงานเป็ นไปอย่างโปร่งใสตรวจสอบได้ การเคารพใน สิทธิความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และมีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย จะเป็ นปั จจัยสําคัญในการเพิม่ มูลค่าและ ผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั นิ โยบายการกํากับดูแลกิจการเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยมีหลักการและแนวปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้อง กับหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งได้ถอื ปฏิบตั ิมาตัง้ แต่วนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2545 คณะกรรมการบริษทั ได้ประชุมทบทวนปรับปรุงนโยบายการกํากับดูแลกิจการเป็ นประจําทุกปี ซึ่งได้ปรับปรุงล่าสุด เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2551 ทัง้ นี้ได้มกี ารสือ่ สารให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ ได้รบั ทราบและถือ ปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง นโยบายดังกล่าวแบ่งออกเป็ น 5 หมวดครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั 2. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และบทบาทต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 3. การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส 4. การควบคุมและบริหารความเสีย่ ง 5. ประมวลจริยธรรมธุรกิจ (ผูท้ ส่ี นใจสามารถ download นโยบายการกํากับดูแลกิจการ ได้ท่ี www.ais.co.th) 1. คณะกรรมการบริษทั 1.1 ภาวะผูน้ ําและวิ สยั ทัศน์ คณะกรรมการมีความมุ่งมันที ่ จ่ ะให้บริษทั และบริษทั ย่อย (“บริษทั ฯ”) เป็ นองค์กรชัน้ นํ าทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับสากล ว่า เป็ นบริษทั ทีป่ ระสบความสําเร็จมากทีส่ ุดในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจทีม่ คี วามหลากหลาย ด้วยเทคโนโลยีทนั สมัย ด้วย การบริหารจัดการทีแ่ ข็งแกร่งและด้วยบุคลากรทีล่ ว้ นแต่มคี วามสามารถและมีสว่ นร่วมในวิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ คณะกรรมการมีภาวะผูน้ ํ า วิสยั ทัศน์ มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหน้าทีใ่ นการกํากับดูแลกิจการให้เกิด ประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ โดยรวม คณะกรรมการมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ทีจ่ ะกํากับดูแลการบริหารงานของฝ่ ายบริหารและมีการ แบ่งแยกหน้าทีร่ ะหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายบริหารไว้อย่างชัดเจน 1.2 องค์ประกอบของคณะกรรมการ การแต่งตัง้ และความเป็ นอิ สระ 1.2.1 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ทีม่ ปี ระสบการณ์ หลากหลายในสาขาต่างๆ และมีจํานวนกรรมการ อย่างเพียงพอทีจ่ ะกํากับดูแลธุรกิจของบริษทั รวมกันไม่น้อยกว่า 5 คนตามกฎหมาย โดยอย่างน้อยหนึ่งคนเป็ นผูม้ ี ประสบการณ์ดา้ นกิจการโทรคมนาคมและอย่างน้อยหนึ่งคนมีประสบการณ์ ด้านบัญชีและการเงิน

ส่วนที่ 2 หน้า 98


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.2.2 คณะกรรมการเป็ นตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมดโดยรวม มิใช่เป็ นตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ กลุม่ ใดกลุม่ หนึ่ง 1.2.3 คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็ นอิสระอย่างน้อยหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทัง้ คณะ และมีจํานวน อย่างน้ อย 4 คน และมีกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร อย่างน้ อยกึ่งหนึ่งของกรรมการทัง้ คณะ เพื่อให้มีการถ่วงดุล ระหว่างกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารกับกรรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหาร 1.2.4 คณะกรรมการมีนโยบายให้มีจํานวนกรรมการให้เป็ นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นที่มี อํานาจควบคุม (Controlling shareholders) ในบริษทั ฯ 1.2.5 การแต่ งตัง้ กรรมการให้เป็ นไปตามข้อบังคับบริษัท และข้อกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทัง้ นี้ จะต้องมีความ โปร่งใสและชัดเจน ในการสรรหากรรมการให้ดําเนินการผ่านกระบวนการของคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแล กิจการ และการพิจารณาจะต้องมีประวัติก ารศึกษาและประสบการณ์ การประกอบวิชาชีพของบุค คลนัน้ ๆ โดยมี รายละเอียดทีเ่ พียงพอ เพือ่ ประโยชน์ในการตัดสินใจของคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ 1.2.6 กรรมการมีวาระการดํารงตําแหน่ งตามทีก่ ําหนดไว้ในข้อบังคับบริษทั กรรมการทีพ่ น้ จากตําแหน่ งอาจได้รบั เลือกเข้า มาดํารงตําแหน่ งใหม่อกี ได้โดยไม่จาํ กัดจํานวนครัง้ ยกเว้นกรรมการอิสระ ให้มวี าระการดํารงตําแหน่ งติดต่อกันได้ไม่ เกิน 3 วาระ 1.3 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหารต้องเป็ น ผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์ และคุ ณ สมบัติท่ี เหมาะสม ไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้มกี ารถ่วงดุลอํานาจโดยแยกหน้าทีก่ ารกํากับดูแลและการบริหารงานออกจาก กัน ประธานกรรมการเป็ นกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผู้บริหาร เป็ นผู้นําของคณะกรรมการ และมีหน้าที่ในฐานะเป็ นประธานการ ประชุมคณะกรรมการ และการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานกรรมการบริหารเป็ นหัวหน้ าและผู้นําคณะผู้บริหารของบริษัทฯ รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท ในการบริหาร จัดการ เพือ่ ให้บรรลุตามแผนทีว่ างไว้ 1.4 คุณสมบัติของคณะกรรมการ 1.4.1 กรรมการต้องเป็ นบุคคลที่มคี วามรูค้ วามสามารถ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ และมีเวลา อย่างเพียงพอทีจ่ ะอุทศิ ความรู้ ความสามารถและปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้แก่บริษทั ฯ ได้ 1.4.2 มีคุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจํากัดและกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง 1.4.3 กรรมการสามารถดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริษทั อื่นได้ แต่ทงั ้ นี้ในการเป็ นกรรมการดังกล่าวต้องไม่เป็ นอุปสรรคต่อ การปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการของบริษทั ฯ 1.4.4 กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัตคิ รบถ้วนตามทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด และต้องสามารถดูแลผลประโยชน์ ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายได้เท่าเทียมกัน และ ไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นอกจากนัน้ ยังต้องสามารถเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทโดยให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระได้ กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจํานวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ ุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทัง้ นี้ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เ่ี กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย

ส่วนที่ 2 หน้า 99


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2) ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจํา หรือผูม้ ี อํานาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลําดับเดียวกัน หรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง สําหรับกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการ มีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้รบั การแต่งตัง้ 3) ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือ นิตบิ ุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง ในลักษณะทีอ่ าจเป็ นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็ นหรือเคยเป็ น ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือผูบ้ ริหาร ของผูท้ ม่ี คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือ นิตบิ ุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง สําหรับกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การ แต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อน ได้รบั การแต่งตัง้ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการค้าทีก่ ระทําเป็ นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่า หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการทีเ่ กีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทาง การเงิน ด้วยการรับหรือให้กยู้ มื คํ้าประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็ นหลักประกันหนี้สนิ รวมถึงพฤติการณ์อน่ื ทํานอง เดียวกัน ซึง่ เป็ นผลให้บริษทั ฯ หรือคู่สญ ั ญามีภาระหนี้ทต่ี อ้ งชําระต่ออีกฝ่ ายหนึ่ง ตัง้ แต่รอ้ ยละสามของสินทรัพย์ ทีม่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั ฯ หรือตัง้ แต่ยส่ี บิ ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จาํ นวนใดจะตํ่ากว่า ทัง้ นี้การคํานวณภาระหนี้ ดังกล่าวให้เป็ นไปตามวิธกี ารคํานวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วยการเปิ ดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ ว โยงกัน โดยอนุ โลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดงั กล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ทเ่ี กิดขึน้ ในระหว่างหนึ่งปี ก่อนวันที่ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 4) ไม่เป็ นบุคคลที่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พีน่ ้อง และบุตร รวมทัง้ คู่สมรสของบุตร ของผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี าํ นาจควบคุม หรือ บุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็ นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี าํ นาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือ บริษทั ย่อย 5) ไม่เป็ นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็ นตัวแทนของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็ น ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ 6) ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ ุคคลทีอ่ าจมีความ ขัดแย้ง และไม่เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของสํานัก งานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ ุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง สังกัดอยู่ สําหรับกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้รบั การแต่งตัง้ 7) ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็ นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลที่ อาจมีความขัดแย้ง ทัง้ นี้ในกรณีทผ่ี ใู้ ห้บริการวิชาชีพเป็ นนิตบิ ุคคล ให้รวมถึงการเป็ นผูถ้ อื หุน้ รายรายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ ของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย สําหรับ กรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ต้องพ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนได้รบั การแต่งตัง้ 8) ไม่เป็ นกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลําดับเดียวกัน หรือ นิตบิ ุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง 9) ไม่เป็ นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือ บริษทั ย่อยลําดับเดียวกันเฉพาะทีเ่ ป็ นบริษทั จดทะเบียน

ส่วนที่ 2 หน้า 100


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

10) สามารถปฏิบ ัติ ห น้ า ที่ แสดงความเห็น หรือ รายงานผลการปฏิบ ัติ ง านตามหน้ า ที่ท่ีไ ด้ รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษั ท โดยไม่ มีล กั ษณะอื่น ใดที่ทํ าให้ไม่ ส ามารถให้ค วามเห็น อย่ า งเป็ นอิส ระเกี่ย วกับ การ ดําเนินงานของบริษทั ฯ 1.5 หน้ าที่ความรับผิดชอบที่สาํ คัญของคณะกรรมการ 1.5.1 ต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ 1.5.2 กําหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษทั ฯ และกํากับดูแลให้ ฝ่ ายบริหารดําเนินการให้ เป็ นไปตามนโยบายทีก่ ําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิม่ มูลค่าสูงสุดให้แก่บริษัทฯและผูถ้ อื หุน้ 1.5.3 พิจารณาอนุ มตั ริ ายการทีส่ าํ คัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่, การซื้อขายทรัพย์สนิ ฯลฯ และการดําเนินการใดๆ ทีก่ ฎหมายกําหนด 1.5.4 พิจารณาอนุ มตั ิและ/หรือให้ความเห็นชอบต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยให้เป็ นไปตาม ประกาศ ข้อกําหนด และแนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1.5.5 ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอย่างสมํ่าเสมอและกําหนดค่าตอบแทน 1.5.6 รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบตั งิ านของฝ่ ายบริหาร โดยให้มคี วามตัง้ ใจและความระมัดระวังในการ ปฏิบตั งิ าน 1.5.7 ดําเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีทเ่ี ชื่อถือได้ รวมทัง้ ดูแลให้มี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสีย่ ง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 1.5.8 ดูแลไม่ให้เกิดปั ญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ 1.5.9 กํากับดูแลกิจการให้มกี ารปฏิบตั งิ านอย่างมีจริยธรรม 1.5.10 ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ และประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ดังกล่าวเป็ นประจํา อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ 1.5.11 รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคู่กบั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ใน รายงานประจําปี และครอบคลุ ม ในเรื่องสําคัญ ๆ ตามนโยบายเรื่อ งข้อพึงปฏิบ ตั ิท่ีดีสําหรับ กรรมการบริษัท จด ทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1.6 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการกําหนดให้มกี ารประชุมอย่างน้อย 6 ครัง้ ต่อปี โดยกําหนดวันประชุมไว้ลว่ งหน้าตลอดทัง้ ปี และ อาจมีการประชุมวาระพิเศษเพิม่ ตามความจําเป็ น ในการจัดประชุมคณะกรรมการ ให้ประธานหรือรองประธานกรรมการที่ ได้รบั มอบหมายเป็ นผูด้ ูแลให้ความเห็นชอบกําหนดวาระการประชุม โดยทําหน้าทีจ่ ดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบ วาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมไปให้กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มเี วลาศึกษา มาก่อนล่วงหน้า ประธานกรรมการบริษทั ทําหน้าที่เป็ นประธานทีป่ ระชุม มีหน้าที่ดูแลและจัดสรรเวลาแต่ละวาระให้อย่างเพียงพอ สําหรับกรรมการทีจ่ ะอภิปราย แสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิสระในประเด็นที่สําคัญโดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องอย่างเป็ นธรรม รวมทัง้ ให้ฝ่ายบริหารทีเ่ กีย่ วข้องนําเสนอข้อมูลประกอบการอภิปรายปั ญหาสําคัญ

ส่วนที่ 2 หน้า 101


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เลขานุ การบริษทั ทําหน้าทีใ่ นการจดบันทึกและจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วัน จัดเก็บรายงานการประชุม เอกสาร ประกอบการประชุม สนับสนุ นติดตามให้คณะกรรมการสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและมติท่ี ประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ประสานงานกับผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ในปี 2551 คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารประชุมทัง้ วาระปกติและวาระพิเศษรวมทัง้ สิน้ 10 ครัง้ มีรายละเอียดการเข้าร่วม ประชุมของกรรมการดังต่อไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 2. นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์ เข้าร่วมประชุม 8 ครัง้ 3. นางทัศนีย์ มโนรถ เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 4. นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์ เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 5. นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์ เข้าร่วมประชุม 7 ครัง้ 1/ 6. นายวาสุกรี กล้าไพรี เข้าร่วมประชุม 8 ครัง้ 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง เข้าร่วมประชุม 3 ครัง้ 8. นายยืน ควน มูน เข้าร่วมประชุม 6 ครัง้ 2/ 9. นางสาวโก๊ะ คาห์ เส็ค เข้าร่วมประชุม 1 ครัง้ 10. นายวิกรม ศรีประทักษ์ เข้าร่วมประชุม 9 ครัง้ 3/ 11. นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข เข้าร่วมประชุม 4 ครัง้ 12. นายสมประสงค์ บุญยะชัย เข้าร่วมประชุม 10 ครัง้ 4/ 13. นายฮิวเบิรท์ อึง้ ชิง -วาห์ เข้าร่วมประชุม 4 ครัง้ 5/ เข้าร่วมประชุม - ครัง้ 14. นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 1/

ออกจากการเป็นกรรมการ มีผลวันที ่ 28 พฤศจิกายน 2551 ลาออกจากการเป็ นกรรมการ เมือวั ่ นที ่ 23 มกราคม 2551 3/ ลาออกจากการเป็ นกรรมการ เมือวั ่ นที ่ 10 เมษายน 2551 4/ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทนนางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสุข เมือวั ่ นที ่ 10 เมษายน 2551 5/ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทนนายวาสุกรี กล้าไพรี เมือ่ วันที ่ 16 ธันวาคม 2551 2/

1.7 การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการกําหนดให้ก รรมการที่ไม่ เป็ นผู้บ ริหารมีการประชุ ม กัน เองตามความเหมาะสม โดยไม่ มีก รรมการที่เป็ น ผูบ้ ริหารหรือฝ่ ายบริหารเข้าร่วมการประชุม เพื่อเปิ ดโอกาสให้อภิปรายปั ญหาต่างๆ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจของบริษทั ฯ เรื่องที่ อยูใ่ นความสนใจและให้มกี ารรายงานผลการประชุมให้ประธานกรรมการบริหารและคณะกรรมการทราบ ในการประชุม ให้ประธานกรรมการเป็ นประธานของการประชุม หากประธานกรรมการไม่สามารถเข้าร่วมการประชุมได้ ให้ ทีป่ ระชุมคัดเลือกกรรมการหนึ่งท่านเพื่อทําหน้าทีเ่ ป็ นประธานในที่ประชุมแทน และให้บริษทั ฯ จัดให้มเี ลขานุ การของการ ประชุมของกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารด้วย ในปี 2551 ได้มกี ารประชุมของกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหาร 1 ครัง้

ส่วนที่ 2 หน้า 102


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

1.8 แผนการสืบทอดตําแหน่ ง คณะกรรมการกําหนดให้มีแผนการสืบทอดตําแหน่ งของประธานกรรมการบริหารและผู้บริหารระดับสูงของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ เพื่อรักษาความเชื่อมันให้ ่ กบั ผู้ลงทุน องค์กร ตลอดจนพนักงานว่าการดําเนินงานของบริษัทฯ จะได้รบั การสานต่ออย่าง ทันท่วงที คณะกรรมการมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการทําหน้าทีพ่ จิ ารณากําหนดหลักเกณฑ์และแผนการ สืบทอดตําแหน่ ง หากตําแหน่ งประธานกรรมการบริหารว่างลง รวมทัง้ จัดให้มกี ารทบทวนแผนการสืบทอดตําแหน่ งเป็ น ประจําทุกปี และให้ประธานกรรมการบริหารรายงานให้คณะกรรมการเพื่อทราบเป็ นประจําถึงแผนการพัฒนาและสืบทอด ตําแหน่งงาน 1.9 การติ ดต่อสื่อสารกับฝ่ ายบริ หาร กรรมการสามารถเข้าถึงและติดต่อสือ่ สารกับฝ่ ายบริหารและเลขานุ การบริษทั ได้โดยตรง ตามความเหมาะสม แต่การเข้าถึง และติดต่อสือ่ สารนัน้ ต้องไม่เป็ นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงต่อการดําเนินธุรกิจปกติของบริษทั ฯ. 1.10 ค่าตอบแทนของกรรมการ ค่ า ตอบแทนของกรรมการและผู้ บ ริห ารของบริษั ท ฯ จะสอดคล้อ งกับ หน้ า ที่ค วามรับ ผิด ชอบ และเมื่อ เปรีย บเทีย บ ค่าตอบแทนกับอุตสาหกรรมเดียวกันแล้ว ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอที่จะจูงใจและรักษา กรรมการที่มีคุณ ภาพไว้ ทัง้ นี้ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนเป็ น ผู้พิจารณากลันกรองและเสนอค่ ่ าตอบแทนของ กรรมการในแต่ละปี เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุ มตั ิ 1.11 การอบรมและพัฒนาความรู้กรรมการ กรรมการที่ได้รบั การแต่ งตัง้ ใหม่แต่ละท่ านจะได้รบั ทราบข้อมูลของบริษัท ฯ กฎระเบียบและข้อมูลธุรกิจของบริษัทฯ ที่ เกี่ย วข้องอย่างเพียงพอก่ อนปฏิบ ตั ิห น้ าที่และกรรมการจะได้รบั การอบรมและพัฒ นาความรู้อย่างต่ อเนื่ อง เพื่อช่วยให้ กรรมการสามารถทําหน้าทีแ่ ละกํากับดูแลกิจการของบริษทั อย่างมีประสิทธิภาพ 1.12 การประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งานของคณะกรรมการ กําหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการ (Self Assessment) เพื่อใช้เป็ นกรอบในการตรวจสอบ การปฏิบ ัติงานในหน้ า ที่ข องคณะกรรมการอย่ า งสมํ่ า เสมอ ในการประเมิน ผลคณะกรรมการมีก ารเปรีย บเทีย บว่า ได้ ดําเนิน การตามนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ได้อนุ มตั ิไว้และ/หรือตามแนวปฏิบตั ิท่ดี ี (Good Practices) หรือไม่ เพื่อ ปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายทีก่ าํ หนดไว้ 2. สิ ทธิ และความเท่าเทียมกันของผูถ้ ือหุ้นและบทบาทต่อผูม้ ีส่วนได้เสีย 2.1 สิ ทธิ และความเท่าเทียมกันของผูถ้ ือหุ้น คณะกรรมการเคารพในสิทธิและมีหน้าทีใ่ นการดูแลรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าผูถ้ อื หุน้ นัน้ จะเป็ นรายย่อยหรือชาวต่างชาติ นักลงทุนสถาบันหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ โดยผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิและความเท่าเทียมกัน ดังนี้ 1) สิทธิในการได้รบั ใบหุน้ โอนหุน้ และสิทธิในการรับทราบข้อมูล ผลการดําเนินงาน นโยบายการบริหารงาน อย่าง สมํ่าเสมอและทันเวลา 2) สิทธิในการรับส่วนแบ่งกําไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม

ส่วนที่ 2 หน้า 103


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

3) สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ แสดงความเห็น ให้ขอ้ เสนอแนะ และร่วมพิจารณาตัดสินใจ ในการเปลีย่ นแปลงที่ สําคัญต่างๆ 4) สิทธิในการแต่งตัง้ กรรมการบริษทั นอกจากนี้แล้ว ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายยังได้รบั สิทธิอย่างเท่าเทียมตามทีก่ าํ หนดไว้ในข้อบังคับบริษทั และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง 2.2 การประชุมผูถ้ ือหุ้น บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดําเนิ นการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็ นไปตามกฎหมายและแนวทางการประชุมผู้ถือหุ้นที่กําหนดโดย หน่วยงานกํากับดูแล ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกคราว บริษทั ฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทัง้ ข้อมูลประกอบการประชุมในวาระต่างๆ อย่าง เพียงพอ ให้ผู้ถอื หุน้ ทราบในทันทีท่แี ล้วเสร็จ หรือล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 14 วัน ก่อนวันประชุมผู้ถอื หุ้น โดยเปิ ดเผยไว้ใน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.investorrelations.ais.co.th เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงและศึกษาได้ก่อนวันประชุม รวมทัง้ มีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระ และมีการบันทึกการประชุมถูกต้องครบถ้วนเพื่อให้ผถู้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบได้ โดยในปี 2551 บริษัทฯ นํ าหนังสือนัดประชุมไปไว้ท่เี ว็บไซต์ของบริษทั ฯ ก่อนวันประชุม 31 วัน ส่วนรายงานการประชุม บริษทั ฯ ได้นําไปไว้ทเ่ี ว็บไซต์หลังวันประชุม 14 วัน หนังสือเชิญประชุมจะแจ้งรายละเอียดให้ผถู้ อื หุน้ นําเอกสารหลักฐานทีจ่ ําเป็ นมาให้ครบถ้วนในวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ รักษา สิทธิในการเข้าร่วมประชุมของผูถ้ อื หุน้ ส่วนในวันประชุม ผูถ้ อื หุน้ สามารถลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าได้ก่อนการประชุม 2 ชัวโมง ่ การประชุมผู้ถือหุ้นทุกครัง้ ผู้ถอื หุน้ ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเองสามารถแต่งตัง้ กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ท่าน เป็ นผูร้ บั มอบอํานาจเข้าร่วมประชุมแทนซึง่ ได้แจ้งข้อความไว้ในหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้อํานวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการมาร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดเตรียมห้องประชุมทีเ่ ข้าถึง ได้สะดวก และมีขนาดเหมาะสมรองรับผู้เข้าร่วมประชุมได้อย่างเพียงพอ และในกรณีท่ผี ู้ถอื หุน้ ไม่สามารถมาร่วมประชุม ด้วยตนเองก็สามารถมอบฉันทะให้ผอู้ น่ื เข้าประชุมและลงมติแทนได้ ในการประชุ ม ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้กําหนดให้ก รรมการบริษัท ทุ กคน โดยเฉพาะอย่า งยิ่งประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการชุดย่อยเข้าร่วมประชุมเพื่อตอบคําถามต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ จะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็ นกรรมการอิสระร่วมอยู่ด้วย โดยประธานทีป่ ระชุมหรือบุคคลทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากประธานที่ประชุม มีหน้ าที่จดั สรรเวลาให้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้มกี ารแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปิ ด โอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเท่าเทียมกันใน การตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัทฯ ให้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่างๆ รวมทัง้ มีการบันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นทีส่ าํ คัญไว้ในรายงานการประชุม ในปี 2551 บริษัท ฯ ได้จดั ให้มีการประชุ มสามัญ ผู้ถือหุ้น เมื่อวัน ที่ 10 เมษายน 2551 เวลา 10.00 น. ถึง 12.00 น. ณ อาคารชินวัตร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการพิจารณาลงคะแนน เสียงเรียงลําดับตามวาระทีก่ าํ หนดไว้ และได้รบั ความเห็นชอบจากผูถ้ อื หุน้ ทุกวาระ

ส่วนที่ 2 หน้า 104


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

อนึ่ง ในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม 2551 ถึงเดือนมกราคม 2552 บริษทั ฯได้ประกาศต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ (http://www.investorrelations.ais.co.th) ให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ในการเสนอระเบียบวาระ การประชุมในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2552 และเสนอชื่อบุคคลทีเ่ หมาะสมเพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการ บริษทั เพือ่ ให้เป็ นไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด่ เี กีย่ วกับการดูแลสิทธิของผูถ้ อื หุน้ อีกด้วย 2.3 บทบาทต่อผูม้ ีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ ตระหนักถึงสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียต่างๆ และมีนโยบายทีจ่ ะดูแลให้ความมันใจโดยจั ่ ดลําดับความสําคัญให้แก่ ผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ทัง้ ผู้ถือ หุ้น พนั ก งาน ผู้บ ริห าร ลูก ค้า คู่ค้า เจ้า หนี้ ตลอดจนสาธารณชนและสังคมโดยรวมอย่า ง เหมาะสมและจะให้มกี ารร่วมมือกันระหว่างผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในกลุ่มต่างๆ ตามบทบาทและหน้าทีเ่ พื่อให้กจิ การของบริษทั ฯ ดําเนินไปด้วยดี มีความมันคงและตอบสนองผลประโยชน์ ่ ทเ่ี ป็ นธรรมแก่ทกุ ฝ่ าย 3.การเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส บทบาทหน้ าที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปิ ดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส 1) คณะกรรมการมีหน้าทีใ่ นการเปิ ดเผยสารสนเทศทัง้ ทีเ่ ป็ นสารสนเทศทางการเงินและทีไ่ ม่ใช่ทางการเงินอย่างครบถ้วน เพียงพอ เชือ่ ถือได้และทันเวลา เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ ได้รบั สารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน 2) กําหนดให้มหี น่ วยงานผูล้ งทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพื่อเป็ นตัวแทนบริษทั ฯ ในการสือ่ สารสารประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารที่เป็ น ประโยชน์ ให้ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุ น นัก วิเคราะห์ห ลัก ทรัพ ย์และผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้รบั ทราบข้อมูลของ บริษทั ฯ ซึ่งผูส้ นใจสามารถติดต่อขอข้อมูลต่างๆ จากหน่ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ท่ี โทร. 0-2299-5116 หรือ Email: investor@ais.co.th หรือที่เว็บไซต์ของแผนกนักลงทุนสัม พัน ธ์ www.investorrelations.ais.co.th อีก ทัง้ มีห น่ วยงาน Compliance ของบริษั ท ฯ ดู แ ลในด้ า นการเปิ ดเผยข้อ มู ล แก่ ต ลาดหลัก ทรัพ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและสํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํ า กับ หลัก ทรัพ ย์และตลาดหลัก ทรัพ ย์ (สํา นั กงาน ก.ล.ต.) เพื่อ ให้ม นั ่ ใจว่า ได้ป ฏิบ ัติต ามระเบีย บ ข้อบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มวี นั นักลงทุนประจําปี (Annual Investor Day) เพื่อเปิ ดโอกาสผูจ้ ดั การกองทุนและนักวิเคราะห์ได้มคี วามเข้าใจต่อการดําเนินธุรกิจ และการปฏิบตั งิ านในแต่ละ ส่วนงานของบริษทั ฯ ได้มากขึน้ 3) บริษทั ฯ มีนโยบายเปิ ดเผยสารสนเทศทีส่ าํ คัญต่อสาธารณชน ดังนี้ 3.1) วัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ 3.2) ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ โครงสร้างการถือหุน้ และสิทธิในการออกเสียง 3.3) รายชื่อกรรมการ กรรมการชุดต่างๆ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และค่าตอบแทน 3.4) ปั จจัยและนโยบายเกี่ยวกับการจัดการความเสีย่ งที่สามารถมองเห็นได้ทงั ้ ที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน (Material foreseeable risk factors) 3.5) นโยบายและโครงสร้างการกํากับดูแลกิจการ (Governance structures and policies) รวมทัง้ ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงานของประธานกรรมการตรวจสอบ เป็ นต้น 3.6) เปิ ดเผยในรายงานประจําปี เกี่ยวกับจํานวนครัง้ ทีก่ รรมการ และ/หรือ กรรมการชุดย่อยแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม โดยเปรียบเทียบกับจํานวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการ และ/หรือคณะกรรมการชุดย่อยในแต่ละปี นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังคงต้องเปิ ดเผยข้อมูลตามกฎหมายหรือข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้นักลงทุนและผูท้ ่ี เกีย่ วข้อง ทัง้ ทีเ่ ป็ นผูถ้ อื หุน้ และผูท้ ส่ี นใจจะถือหุน้ ในอนาคตได้ใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผ่านช่องทางและ สือ่ การเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.investorrelations.ais.co.th ส่วนที่ 2 หน้า 105


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

4. การควบคุมและบริ หารความเสี่ยง 4.1 การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการต้องจัดให้มแี ละรักษาไว้ซง่ึ ระบบควบคุมภายในเพือ่ ปกป้ องเงินลงทุนของผูถ้ อื หุน้ และทรัพย์สนิ ของบริษทั คณะกรรมการมีหน้าทีส่ อบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอย่างน้อยปี ละครัง้ และรายงานให้ผถู้ อื หุน้ ทราบว่าได้กระทําการดังกล่าวแล้ว การสอบทานต้องครอบคลุมในทุกเรือ่ งรวม ทัง้ การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบตั งิ าน (Compliance Controls) และการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) 4.2 การตรวจสอบภายใน บริษัท ฯ มีก ารจัดตัง้ หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในโดยเป็ น หน่ ว ยงานหนึ่ งในบริษัท ฯ และรายงานตรงต่อ คณะกรรมการ ตรวจสอบและผูบ้ ริหารระดับสูง มีหน้าทีใ่ นการให้คําปรึกษา ตรวจสอบและประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบบริหาร ความเสีย่ งและระบบการกํากับดูแลกิจการ 4.3 การบริ หารความเสี่ยง (Risk Management) บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะบริหารความเสีย่ งต่างๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อบริษทั ฯ ทัง้ ปั จจัยภายในและภายนอก ให้มคี วามเสีย่ งที่ เหลืออยู่ในระดับทีเ่ หมาะสมและยอมรับได้ โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee) ซึง่ มี ประธานกรรมการบริหารเป็ นประธานและตัวแทนของทุกฝ่ ายในบริษทั ฯ เพือ่ ดําเนินการประเมินและสอบทานผลการ ประเมินความเสีย่ งจากหน่ วยงานต่างๆ รวมทัง้ ทบทวนและเสนอนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารความเสีย่ งอย่างน้อยปี ละครัง้ การบริหารความเสีย่ งเป็ นส่วนหนึ่ งของการจัดทํา Business Plan ประจําปี เพื่อให้การกําหนดแนวทางการจัดการความ เสีย่ งนัน้ สอดคล้องกับวัตถุ ประสงค์ เป้ าหมาย และแผนกลยุทธ์ต่างๆ ของบริษัทฯ ทัง้ นี้ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนใน บริษทั ฯ เป็ นเจ้าของความเสีย่ ง และมีหน้าทีใ่ นการประเมินความเสีย่ งของแต่ละหน่ วยงานและกระบวนการทํางานประเมิน ประสิท ธิ ภ าพของมาตรการควบคุ ม ที่ มี อ ยู่ นํ า เสนอแผนและวิธี ก ารในการลดความเสี่ย ง และรายงานให้ ผู้ บ ริห าร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมในส่วนที่ 1 เรื่อง ปั จจัยเสี่ยง และส่วนที่ 10 เรื่อง การควบคุมภายใน การตรวจสอบ ภายในและการบริหารความเสีย่ ง 5. ประมวลจริ ยธรรมธุรกิ จ บริษทั ฯ ได้จดั ทําประมวลจริยธรรมธุรกิจ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพือ่ เป็ นแนวทาง และ ข้อพึง ปฏิบตั ทิ ด่ี ใี ห้กรรมการ ผูบ้ ริหาร ตลอดจนพนักงานทุกๆ คนของบริษทั ฯ ได้ยดึ มันปฏิ ่ บตั งิ าน ดําเนินธุรกิจบริษทั ฯ อย่าง ซื่อสัตย์ มีจริยธรรม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจตัง้ แต่ปี 2549 โดยประมวลจริยธรรมธุรกิจบริษทั ฯ มีเนื้อหาครอบคลุมในเรือ่ ง ดังนี้ 5.1 ความรับผิดชอบต่อผูถ้ ือหุ้น บริษทั ฯ มุ่งมันเป็ ่ นตัวแทนทีด่ ขี องผูถ้ อื หุน้ ในการดําเนินธุรกิจเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดยคํานึงถึงการ เจริญ เติบ โตของมูลค่าบริษัทฯ ในระยะยาวด้วยผลตอบแทนที่ดีและต่อเนื่อง รวมทัง้ การดําเนินการเปิ ดเผยข้อมูลอย่าง โปร่งใส และเชือ่ ถือได้ต่อผูถ้ อื หุน้

ส่วนที่ 2 หน้า 106


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5.2 ความรับผิดชอบต่อลูกค้า บริษทั ฯ มีความมุ่งมันในการสร้ ่ างความพึงพอใจและความมันใจให้ ่ กบั ลูกค้าทีจ่ ะได้รบั ผลิตภัณฑ์และบริการทีด่ มี คี ุณภาพ ใน ระดับราคาทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ รักษาสัมพันธภาพทีด่ ี จึงได้กาํ หนดแนวทางปฏิบตั ไิ ว้ดงั ต่อไปนี้  ผลิตสินค้าและบริการที่มคี ุณภาพ โดยมุ่งมันที ่ จ่ ะยกระดับมาตรฐานให้สงู ขึน้ อย่างต่อเนื่องและจริงจังเปิ ดเผยข่าวสาร ข้อมูลเกีย่ วกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บดิ เบือนข้อเท็จจริง  กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับจะไม่เปิ ดเผยข้อมูลของลูกค้า โดยไม่ได้รบั อนุ ญ าตจากลูกค้าหรือจากผู้มี อํานาจของบริษทั ฯ ก่อน เว้นแต่เป็ นข้อมูลทีต่ อ้ งเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามบทบังคับของกฎหมาย 5.3 ความรับผิดชอบต่อคู่ค้าและเจ้าหนี้ การดําเนินธุรกิจกับคู่คา้ ใดๆ ต้องไม่นํามาซึ่งความเสือ่ มเสียต่อชื่อเสียงของบริษทั ฯ หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึง ความเสมอภาคในการดําเนินธุรกิจและผลประโยชน์รว่ มกันกับคู่คา้ การคัดเลือกคู่คา้ ต้องทําอย่างยุตธิ รรม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ถือ ว่าคู่คา้ เป็ นปั จจัยสําคัญในการร่วมสร้างมูลค่าให้กบั ลูกค้า บริษัทฯ ยึดมันในสั ่ ญญาและถือปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขที่มตี ่อเจ้าหนี้เป็ นสําคัญ ในการชําระคืนเงินต้น ดอกเบี้ย และการดูแล หลักประกันต่างๆ 5.4 ความรับผิดชอบต่อพนักงาน พนักงานเป็ นทรัพยากรอันมีค่าสูงสุดและเป็ นปั จจัยสําคัญ สู่ความสําเร็จของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงได้มุ่งพัฒ นาเสริม สร้าง วัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานทีด่ ี รวมทัง้ ส่งเสริมการทํางานเป็ นทีม ปฏิบตั ติ ่อพนักงานด้วยความสุภาพและให้ความ เคารพต่อความเป็ นปั จเจกชน การว่าจ้าง แต่งตัง้ และโยกย้ายพนักงาน จะพิจารณาบนพื้นฐานของคุณ ธรรมและการใช้ ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่บริษทั ฯ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทํางานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงาน อยูเ่ สมอ และยึดมันปฏิ ่ บตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด บริษทั ฯ เคารพในความเป็ นส่วนตัวของพนักงาน ไม่นําข้อมูลส่วนตัว เช่น เงินเดือน ประวัตกิ ารรักษาพยาบาล ครอบครัว ไปเปิ ดเผยให้กบั บุคคลภายนอกหรือผูท้ ไ่ี ม่เกีย่ วข้อง เว้นแต่เป็ นข้อมูลทีต่ ้องเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามบท บังคับของกฎหมาย 5.5 การแข่งขันทางการค้ากับคู่แข่งขัน บริษทั ฯ มีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็ นธรรม บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายในการแข่งขันทางการค้าโดยใช้วธิ กี ารใดๆ ให้ได้มาซึง่ ข้อมูลของคู่แข่งขันอย่างผิดกฎหมายและขัดต่อ จริยธรรม 5.6 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม บริษัท ฯ ในฐานะเป็ นบริษัท ไทย ตระหนั ก และมีจิต สํา นึ ก ในบุ ญ คุ ณ ของประเทศและเป็ นส่ว นหนึ่ งของสัง คม ซึ่งต้อ ง รับผิดชอบช่วยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิน่ ทีบ่ ริษทั ฯ มีการดําเนินธุรกิจ บริษทั ฯ มีนโยบายผลิตสินค้าและให้บริการใดๆ ทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและปฏิบตั ติ ามกฎหมายสิง่ แวดล้อม

ส่วนที่ 2 หน้า 107


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บริษัท ฯ ส่งเสริม กิจกรรมการดูแลรัก ษาธรรมชาติและอนุ รกั ษ์ พ ลังงาน และมีน โยบายที่จะคัด เลือกและส่งเสริม การใช้ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม 5.7 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interests) ในการทํางานให้กบั บริษทั ฯ อาจเกิดสถานการณ์ทผ่ี ลประโยชน์สว่ นตนของกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานอาจขัดแย้งกับ ผลประโยชน์ ของบริษัทฯ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นัน้ อาจเกิดขึ้นได้ในหลายรูปแบบ ดังนัน้ บริษัทฯ จึงได้กําหนด แนวทางทีท่ ุกคนพึงถือปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) การรับเงิ นหรือประโยชน์ ตอบแทน กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ต้องไม่รบั เงินหรือประโยชน์ตอบแทนใดๆ เป็ นการส่วนตัวจากลูกค้า คู่คา้ ของ บริษทั ฯ หรือจากบุคคลใดอันเนื่องจากการทํางานในนามบริษทั ฯ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน จะต้องไม่ให้กู้หรือกู้ยมื เงิน หรือเรีย่ ไรเงิน สิง่ ของจากลูกค้าหรือผู้ทําธุรกิจกับ บริษทั ฯ เว้นแต่เป็ นการกูย้ มื เงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินในฐานะของลูกค้าของธนาคารหรือสถาบันการเงิน ดังกล่าว 2) การประกอบธุรกิ จอื่นนอกบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย การทําธุรกิจส่วนตัวใดๆ ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ต้องไม่กระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละเวลาทํางาน ของบริษทั ฯ และห้ามประกอบธุรกิจหรือมีส่วนร่วมในธุรกิจใดอันเป็ นการแข่งขันกับธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัท ย่อย ไม่วา่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานดังกล่าวจะได้รบั ประโยชน์โดยตรงหรือโดยทางอ้อมก็ตาม 3) การทําธุรกิ จใดๆ กับบริ ษทั ฯ และบริษทั ย่อย การทําธุรกิจใดๆ กับบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ทัง้ ในนามส่วนตัว ครอบครัว หรือในนามนิตบิ ุคคลใดๆ ทีก่ รรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน นัน้ มีสว่ นได้สว่ นเสีย จะต้องเปิ ดเผยส่วนได้สว่ นเสียต่อบริษทั ฯ ก่อนเข้าทํารายการ ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทีม่ สี ่วนได้เสียเป็ นผูอ้ นุ มตั ใิ นการตกลงเข้าทํารายการหรือกระทําการใดๆ ในนามบริษทั ฯ ผูท้ ํารายการในนามบริษทั ฯ มีหน้าทีต่ ้องตรวจสอบความสัมพันธ์ของคู่คา้ ว่าเกี่ยวข้องกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงาน หรือไม่ ก่อนทํารายการเพื่อป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ใดๆที่อาจเกิดขึ้น ทัง้ นี้ นิยามของ ความสัมพันธ์ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์เรือ่ ง การเปิ ดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4) การดํารงตําแหน่ งกรรมการบริษทั ภายนอกบริ ษทั ฯ บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายทีจ่ ะส่งผูบ้ ริหาร เข้าไปเป็ นกรรมการในบริษทั อื่นนอกบริษทั ฯ ในกรณีทผ่ี บู้ ริหารของบริษทั ฯ จะเข้าดํา รงตํ าแหน่ งกรรมการในบริษัท อื่น ต้องได้รบั การอนุ ม ตั ิจ ากผู้มีอํานาจของบริษัท ฯ ยกเว้น การดํารง ตําแหน่งกรรมการในองค์กรการกุศลทีไ่ ม่แสวงหากําไร ทัง้ นี้ การดํารงตําแหน่ งดังกล่าวจะต้องไม่ขดั ต่อบทบัญญัติ ของกฎหมาย หรือข้อบังคับที่เกีย่ วข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และต้องไม่ใช้ตําแหน่ งงานในบริษัทฯ ไป ใช้อา้ งอิงเพือ่ ส่งเสริมธุรกิจภายนอก 5) การรับของขวัญและการรับเลีย้ งรับรองทางธุรกิ จ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน พึงหลีกเลีย่ งการรับของขวัญทัง้ ที่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินจาก คู่ค้าหรือผู้ท่ี เกีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ เว้นแต่ในเทศกาลหรือประเพณีนิยม แต่ตอ้ งมีมูลค่าไม่เกิน 5,000 บาท ในกรณีทม่ี ี ส่วนที่ 2 หน้า 108


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เหตุ จํา เป็ นต้อ งรับ ของขวัญ หรือ ทรัพ ย์สิน อื่น ใดในมูล ค่ า ที่สูงกว่ า 5,000 บาท ให้ร ายงานผู้บ ังคับ บัญ ชาเพื่อ ดําเนินการตามความเหมาะสม กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน สามารถรับการเลีย้ งรับรองทางธุรกิจได้ เพื่อประโยชน์ในธุรกิจของบริษทั ฯ และ พึงหลีก เลี่ย งการรับการเลี้ย งรับ รองในลัก ษณะที่เกิน กว่าเหตุ ค วามสัม พัน ธ์ป กติจากบุ ค คลอื่น ที่เกี่ยวข้องกับ บริษทั ฯ หรือจะเป็ นคูค่ า้ ในอนาคต 6) การเดิ นทางไปสัมมนา ดูงาน ทัศนศึกษา กรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน สามารถรับเชิญ ไปดูงาน สัมมนาและทัศนศึกษา ซึ่งคู่ค้าเป็ นผู้ออกค่าใช้จ่าย เดินทางให้ได้ ทัง้ นี้ เฉพาะเพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจและต้องผ่านการอนุ มตั จิ ากผูบ้ งั คับบัญชาทีม่ อี ํานาจเท่านัน้ แต่หา้ มรับเงินหรือประโยชน์อ่นื ใดจากคูค่ า้ 5.8 การเสนอเงิ น สิ่ งจูงใจหรือรางวัล บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายเสนอเงิน สิง่ จูงใจของกํานัล สิทธิประโยชน์พเิ ศษ ในรูปแบบใดๆ แก่ลกู ค้า คูค่ า้ ของบริษทั ฯ หน่วยงาน ภายนอกหรือบุคคลใดๆ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ธุรกิจ ยกเว้นการให้การเลีย้ งรับรองทางธุรกิจตามประเพณีนิยม ส่วนลดการค้า และ โครงการส่งเสริมการขายของบริษทั ฯ 5.9 กิ จกรรมทางการเมือง บริษัทฯ มีนโยบายเป็ นกลางทางการเมือง โดยไม่บริจาคเงินสนับสนุ นหรือกระทําการอันเป็ นการฝั กใฝ่ พรรคการเมืองใด พรรคการเมืองหนึ่ งและหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทําให้เกิดความเข้าใจว่าบริษัทฯ มีส่วนเกี่ยวข้องหรือฝั กใฝ่ พรรค การเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับสามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองภายใต้บทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญ แต่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน ต้องไม่แอบอ้างความเป็ นพนักงานหรือนําทรัพย์สนิ อุปกรณ์ เครื่องมือใดๆ ของบริษทั ฯ ไม่ใช้เพื่อประโยชน์ ในการดําเนินการใดๆ ในทางการเมืองและพึงหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทําให้เกิดความเข้าใจว่า บริษทั ฯ ได้ให้การสนับสนุ นหรือฝั กใฝ่ ในพรรคการเมืองใดพรรคหนึ่ง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องลาออกจากการเป็ นพนักงาน หากจะดํารงตําแหน่ งทางการเมืองหรือลงสมัค รรับ เลือกตัง้ ในระดับท้องถิน่ หรือระดับประเทศ 5.10 การปกป้ อง ดูแลรักษาทรัพย์สินของบริ ษทั กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการดูแลรักษา การใช้ทรัพย์สนิ ของกลุ่มบริษทั ฯ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ โดยไม่นําไปใช้เพือ่ ประโยชน์ของตนเอง หรือผูอ้ ่นื บริษทั ฯ มีนโยบายจะจัดทําเอกสารทางธุรกิจ บันทึกข้อมูลทางการเงินและบัญชี และจัดทํารายงานทางการเงิน ด้วยความ สุจริต ทันเวลา ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทัวไป ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงานทุกคนต้องควบคุมข้อมูลความลับอย่างเหมาะสมและต้องไม่สอ่ื สารข้อมูลอันมีสาระสําคัญและ ยังมิได้เปิ ดเผยสู่สาธารณชน ซึ่งได้รบั รูม้ าจากหน้ าที่งาน ไปยังหน่ วยงานอื่นๆ และบุคคลภายนอกที่ไม่สมควรต้องรับรู้ ข้อมูลนัน้ และมีหน้าทีต่ อ้ งใช้ความพยายามอย่างดีทส่ี ุด เพื่อป้ องกันไว้ซง่ึ ข้อมูลทีเ่ ป็ นความลับดังกล่าว ทัง้ นี้ รวมไปถึงการ จัดเก็บเอกสารข้อมูลทีเ่ ป็ นความลับ

ส่วนที่ 2 หน้า 109


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

5.11 การใช้ข้อมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับต้องไม่ใช้ขอ้ มูลภายใน (Inside Information) ของบริษทั ฯ ทีม่ สี าระสําคัญ และยัง ไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพือ่ ประโยชน์ของตนเองหรือผูอ้ ่นื กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ มีสทิ ธิเสรีภาพในการลงทุนซือ้ ขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษทั ฯ แต่เพือ่ ป้ องกัน มิให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ควรหลีกเลีย่ งหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของ กลุม่ บริษทั ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิ ดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน 5.12 การให้ข้อมูลข่าวสาร หรือให้สมั ภาษณ์ต่อสื่อมวลชน หรือต่อสาธารณชน การให้ขอ้ มูลใดๆ เกีย่ วกับบริษทั ฯ ต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานข้อมูลที่ เป็ นจริง ถูกต้อง และปฏิบตั ดิ ว้ ยความระมัดระวัง ผูท้ ไ่ี ม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้องหรือไม่ได้รบั มอบหมาย ไม่สามารถให้ขอ้ มูลข่าวสารหรือให้สมั ภาษณ์ต่อสือ่ มวลชนหรือต่อ สาธารณชนใดๆ เกีย่ วกับหรือพาดพิงบริษทั ฯ ไม่วา่ ในด้านใด อันอาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง และการดําเนินธุรกิจของ บริษทั ฯ 5.13 รายการระหว่างกัน ในกรณีทม่ี กี ารทํารายการระหว่างกัน บริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์และขัน้ ตอนในการพิจารณาอนุ มตั ิ โดยคํานึงถึง ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ เป็ นสําคัญ โดยถือเสมือนหนึ่งเป็ นรายการทีก่ ระทํากับบุคคลภายนอก (On an arms' length basis) 5.14 การปฏิ บตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานต้องปฏิบตั ติ นให้อยูใ่ นกรอบของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และต้องไม่มสี ว่ นรูเ้ ห็น ช่วยเหลือ หรือกระทําการใดๆ อันเป็ นการละเมิด ฝ่ าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 5.15 การจัดการและการรักษาจริยธรรมธุรกิ จ 1) กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามจริยธรรมธุรกิจอย่างเคร่งครัด หากพบว่ามีการฝ่ าฝื น หรือกระทําการใดๆ ที่ขดั ต่อจริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ จะพิจารณาและดําเนิน การตามความเหมาะสม และในกรณี ท่กี าร กระทําดังกล่าวขัดต่อระเบียบ และ ข้อบังคับการทํางานด้วยแล้ว บริษทั ฯ จะพิจารณาลงโทษตามลักษณะแห่งความผิดตาม ควรแก่กรณี 2) กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนมีหน้าทีล่ งนามรับทราบจริยธรรมธุรกิจนี้ เมื่อเข้าเป็ นพนักงานและเมื่อ มีการเปลีย่ นแปลง 3) ผูบ้ ริหารและผูบ้ งั คับบัญชาต้องเป็ นแบบอย่างทีด่ ใี นการปฏิบตั ติ ามจริยธรรมธุรกิจ และมีหน้าทีใ่ นการสอดส่อง ดูแลและส่งเสริมผูใ้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ติ ามจริยธรรมธุรกิจทีก่ ําหนด 4) กํ า หนดให้ม ีคณะกรรมการจริย ธรรมธุ รกิจ ประกอบด้วย กรรมการผู้อํ า นวยการของบริษัท เป็ นประธาน หัวหน้าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน หัวหน้าหน่ วยงานกฎหมาย หัวหน้าหน่ วยงานทรัพยากรบุคคล และหน่ วยงานอื่นๆ ที่ เกีย่ วข้องเป็ นกรรมการ โดยมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้  ดูแลปรับปรุงจริยธรรมธุรกิจให้มคี วามเหมาะสมและทันสมัย โดยได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ  รับเรือ่ งร้องเรียนการกระทําทีอ่ าจจะฝ่ าฝื นจริยธรรมธุรกิจ รวมทัง้ ดําเนินการสอบสวนข้อเท็จจริง ส่วนที่ 2 หน้า 110


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

 ตอบชีแ้ จงข้อซักถามและตีความในกรณีทม่ี ขี อ้ สงสัย  จัดทํารายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษทั ทราบเป็ นประจําทุกปี  ดูแลการสร้างจิตสํานึกและการอบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจจริยธรรมธุรกิจและเสริมสร้างให้พนักงานทุกคน ยึดถือและปฏิบตั ิ  แต่งตัง้ คณะทํางานเพือ่ ดําเนินการตามทีค่ ณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจมอบหมาย 5) ในการขอยกเว้น การปฏิบตั ิตามจริยธรรมธุรกิจนี้ ให้แก่ ผู้บริหารและกรรมการ จะต้องได้รบั การอนุ มตั ิจาก คณะกรรมการบริษทั 5.16 การรายงานการไม่ปฏิ บตั ิ ตามจริ ยธรรมธุรกิ จ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน มีหน้าทีต่ อ้ งรายงานการปฏิบตั ทิ อ่ี าจขัดต่อจริยธรรมธุรกิจ ในกรณีทพ่ี บเห็นหรือถูก กดดัน/บังคับให้กระทําใดๆ ทีเ่ ป็ นการขัดต่อจริยธรรมธุรกิจ ให้รายงานต่อผูบ้ งั คับบัญชา หรือผูบ้ ริหารระดับสูง หรือ คณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ แล้วแต่กรณี บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะรักษาข้อมูลความลับและคุม้ ครองผูท้ ร่ี ายงานเป็ นอย่างดี และผูร้ ายงานไม่ตอ้ งรับโทษใดๆ หาก กระทําโดยเจตนาดี

ส่วนที่ 2 หน้า 111


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย (รวม 10 บริษทั ) มีพนักงานทัง้ สิน้ 6,130 คน (เฉพาะพนักงานประจํา) โดยแบ่งตามสายงานหลักได้ดงั นี้ เอเอ็มพี / เอเอ็มซี / เอดีซี / เอไอเอ็น / ดับบลิ วดีเอส / เอสบีเอ็น / เอดับบลิ วเอ็น

บริ ษทั เอไอเอส สายงานหลัก ปฏิบตั กิ าร พัฒนาโซลูช ั ่นส์ บริหารลูกค้าและการบริการ การตลาด สํานักธุรกิจระหว่างประเทศ สํานักบริการเสริม ปฏิบตั กิ ารด้านบริการ การเงินและบัญชี สนับสนุน สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคกลาง สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคตะวันออก สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคเหนือ สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค - ภาคใต้

รวม

จํานวนพนักงาน

950 584 514 364 28 64 337 188 270 6 197 195 268 298 247 4,510

จํานวนพนักงาน

42 5 270 32 303 17 37

เอเอ็มพี เอเอ็มซี เอดีซ ี เอไอเอ็น ดับบลิวดีเอส เอสบีเอ็น เอดับบลิวเอ็น

รวม

เอซีซี สายงานหลัก กรรมการผูจ้ ดั การ สํานักลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ ายปฏิบตั กิ ารบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ ายประกันคุณภาพงานบริการ ฝ่ ายบริหารกลุม่ ลูกค้าผูใ้ ช้บริการสูง ฝ่ ายบริหารคูค่ า้ สัมพันธ์ สํานักระบบคอนแท็คเซ็นเตอร์ และ โซลูชนส์ ั่ สํานักบริหารทรัพยากร รวม

706 ดีพีซี

จํานวน พนักงาน 2 398 102 70 131 38 44 61 846

สายงานหลัก

จํานวน พนักงาน

ธุรกิจการค้าเครือ่ งลูกข่าย บัญชีและบริหารสินเชือ่ การตลาด-การขาย คลังสินค้า และระบบขนส่ง วิศวกรรม

45

สนับสนุ น

7 รวม

12 4

68

สําหรับปี 2551 ค่าตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 4,215.34 ล้านบาท ส่วนที่ 2 หน้า 112


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษทั ฯ มุง่ มันพั ่ ฒนาขีดความสามารถของพนักงานอย่างต่อเนื่องเพือ่ เป็ นทุนทางปั ญญา รวมทัง้ สร้างสรรค์ วัฒนธรรม หรือค่านิยมในการทํางานเพือ่ ให้องค์กรเป็ นสถานทีท่ าํ งานทีม่ คี วามสุขเกิดการเรียนรูส้ ร้างความสําเร็จ แก่พนักงานอันจะช่วยทําให้บริษทั ฯ สามารถดําเนินกิจการได้สอดคล้องกับกลยุทธ์และทิศทางขององค์กร ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงได้จดั ทําโครงการพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ทักษะ และศักยภาพทีเ่ หมาะสมสอดคล้องต่อ แผนความก้าวหน้าเติบโตในสายอาชีพ โดยจัดให้มกี ารอบรม สัมมนา ดูงานทัง้ ในและต่างประเทศ การหมุนเปลีย่ นเรียน งาน การโอนย้ายงาน โดยใช้ระบบ Competency-Based Development เพือ่ การวางแผนพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Advancement) จัดให้มโี ปรแกรมการพัฒนา รักษากลุม่ พนักงานทีม่ ศี กั ยภาพความสามารถโดดเด่น ( Talent ) จัดให้มี เพือ่ ให้พนักงานได้แสดงศักยภาพในการทํางานได้อย่างเต็มทีแ่ ละประสบความสําเร็จในวิชาชีพของพนักงาน ทุนการศึกษาระดับปริญญาโท ทัง้ ในและต่างประเทศแก่พนักงานเพือ่ พัฒนาความสามารถของพนักงาน นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังได้สนับสนุนส่งเสริมให้พนักงานมีการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญตามสาขาวิชาชีพต่างๆ โดยรวบรวมองค์ความรูเ้ หล่านัน้ ไว้ ใน“ Nokhook ” ระบบการบริหารความรู้ (Knowledge Management) ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้พนักงานได้มแี หล่งข้อมูลในการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องมากขึน้ อันจะทําให้องค์กรบรรลุตามเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้

ส่วนที่ 2 หน้า 113


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

10.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ระบบการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายใน

ระบบการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ยง บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะดําเนินธุรกิจให้เจริญเติบโตอย่างยังยื ่ น จึงได้ให้ความสําคัญต่อระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ งเป็ นอย่างยิง่ โดยพนักงานทุกคนของบริษทั ฯ มีบทบาทและความรับผิดชอบร่วมกัน ซึง่ ได้มกี าร กําหนดภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ อํานาจการดําเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบตั กิ ารไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรอย่าง ชัดเจน ครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การบริหาร และการกํากับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็ นไปตาม กฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ก่อให้เกิดความมันใจอย่ ่ างสมเหตุสมผลว่า ผลสําเร็จของงานจะสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ ดังนี้ 1. กลยุทธ์และเป้ าหมาย ได้กาํ หนดไว้อย่างชัดเจนสามารถนํามาปฏิบตั ไิ ด้จริง โดยสอดคล้องและสนับสนุนพันธ กิจ (Mission) ของบริษทั ฯ 2. ผลการปฏิบตั งิ านบรรลุตามวัตถุประสงค์ทก่ี าํ หนดไว้อย่างมีประสิทธิผล บริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพคุม้ ค่า

โดยมีการบริหารทรัพยากรของ

3. รายงานข้อมูลทีม่ สี าระสําคัญ ทัง้ ด้านการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกต้องทันเวลา และ สามารถเชือ่ ถือได้ 4. การดําเนินงานและการปฏิบตั งิ าน เป็ นไปตามนโยบาย กฎ ระเบียบและข้อกําหนดทีส่ อดคล้องกับกฎหมาย และข้อบังคับอื่นทีเ่ กีย่ วข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ 5. มีระบบการควบคุมดูแลป้ องกันทรัพย์สนิ บุคลากร รวมทัง้ ข้อมูลในระบบสารสนเทศอย่างปลอดภัยเหมาะสม 6. มีการกํากับดูแลอย่างใกล้ชดิ ตลอดเวลาและมีการบริหารจัดการทีม่ คี ุณภาพและมีประสิทธิผล 7. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบตั งิ านทัง้ ด้านบุคลากร ทรัพย์สนิ อุปกรณ์ และระบบปฏิบตั กิ ารต่างๆ อย่าง ต่อเนื่อง บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมมีประสิทธิผล โดยปฏิบตั ติ ามกรอบงาน การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ อ้างอิงตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of The Treadway Commission -Enterprise Risk Management (COSO-ERM) ซึง่ สัมพันธ์กบั การดําเนิน ธุรกิจและกระบวนการบริหารงานของบริษทั ฯ ตามองค์ประกอบทัง้ 8 ประการ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ่ ชญาและจรรยาบรรณธุรกิจ ทีม่ ขี อ้ กําหนดและ บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามนโยบายการกํากับดูแลทีด่ ี ยึดมันในปรั แนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นลายลักษณ์อกั ษร (Code of conducts) มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการจรรยาบรรณ โดยผูบ้ ริหารได้เป็ น ตัวอย่างทีด่ ใี นเรือ่ งความซื่อสัตย์และจริยธรรม มีการปฏิบตั ติ ่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี โดย คํานึงถึงความเป็ นธรรมต่อทุกฝ่ าย มีการจัดโครงสร้างการบริหารทีด่ ี มีการกําหนดอํานาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบแต่ละ ระดับอย่างชัดเจน รวมถึงมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และกําหนดบทบาทหน้าที่ รวมถึงแนวทางการบริหารความเสีย่ งและการจัดการความเสีย่ งอย่างเป็ นระบบต่อเนื่อง เพือ่ ให้มนใจได้ ั่ วา่ บริษทั ฯ มีระบบ การควบคุมภายในและระบบการบริหารความเสีย่ งทีด่ ี สามารถป้ องกันหรือลดความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ อย่างมี ส่วนที่ 2 หน้า 114


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ประสิทธิผล ตลอดจนมีระดับของความเสีย่ งในระดับทีย่ อมรับได้ ซึง่ จะส่งผลให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ทก่ี าํ หนด ไว้ได้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังให้ความสําคัญในเรือ่ งบุคลากร โดยสนับสนุนให้มสี ภาพแวดล้อมการทํางานทีด่ ี มีการ กําหนดให้มวี ฒ ั นธรรมองค์กร (Culture) ตลอดจนกําหนดมาตรฐานในการประเมินผลและผลตอบแทนทีช่ ดั เจนเป็ นธรรม พร้อมทัง้ จัดให้มกี ารฝึกอบรมพัฒนาความรูใ้ ห้กบั พนักงานอย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอตามแผนการฝึกอบรมรายบุคคล (Individual Development Plan) เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของพนักงานไปสูค่ วามเป็ นเลิศและเป็ นมาตรฐานสากล 2. การกําหนดวัตถุประสงค์ บริษทั ฯ มีการกําหนดวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายการปฏิบตั งิ านในแต่ละระดับอย่างชัดเจน ทัง้ ด้านกลยุทธ์ ด้าน การปฏิบตั งิ าน ด้านการรายงาน รวมทัง้ ด้านการปฏิบตั ติ ามนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อปฏิบตั ติ ่างๆ โดยบันทึกเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษร และสอดคล้องกับเป้ าหมายหลักหรือพันธกิจในภาพรวม ตลอดจนระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้มกี ารปรับเปลีย่ นแผนงาน กลยุทธ์และวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และปั จจัยเสีย่ งทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไปอย่างสมํ่าเสมอ 3. การบ่งชี้เหตุการณ์ บริษทั ฯ ได้ระบุตวั บ่งชีเ้ หตุการณ์หรือปั จจัยเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจส่งผลเสียหายต่อวัตถุประสงค์ในระดับองค์กรและ ระดับปฏิบตั กิ ารของบริษทั ฯไว้อย่างเหมาะสม รวมทัง้ ระบุเหตุการณ์ทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ทีเ่ อือ้ อํานวยต่อวัตถุประสงค์ทางด้าน บวกไว้ดว้ ย โดยพิจารณาจากแหล่งความเสีย่ งภายในและภายนอกบริษทั ฯ และยังมีการติดตามผลอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ ให้ มันใจว่ ่ า บริษทั ฯ มีการระบุปัจจัยเสีย่ งทีค่ รอบคลุมต่อการเปลีย่ นแปลงของแต่ละระดับ รวมทัง้ มีการรายงานต่อผูบ้ ริหารหรือ ผูเ้ กีย่ วข้องให้รบั ทราบอยูเ่ สมอ 4. การประเมิ นความเสี่ยง บริษทั ฯ มีเครือ่ งมือและวิธกี ารประเมินความเสีย่ งอย่างเป็ นระบบ อีกทัง้ ยังมีการจัดทําคูม่ อื การบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เป็ นแนวทางการปฏิบตั ไิ ว้อย่างชัดเจน และได้กําหนดหลักเกณฑ์ของการประเมินความเสีย่ งในแต่ละระดับไว้อย่าง เหมาะสม ทัง้ ในระดับระดับองค์กรและระดับปฏิบตั กิ าร ตลอดจนทําการประเมินในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดย พิจารณาจากระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ขององค์กร ซึง่ จะทําการประเมินทัง้ 2 ด้าน คือ โอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ความ เสีย่ ง (Likelihood) และผลกระทบต่อความเสียหายทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์นนั ้ (Impact) เพือ่ พิจารณาระดับค่าของความเสีย่ งที่ อาจเป็ นระดับสูง กลาง หรือตํ่า 5. การตอบสนองความเสี่ยง บริษทั ฯ มีกระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็ นระบบต่อเนื่อง ตลอดจนได้กาํ หนดแนวทางในการยกเลิก การ ลด การโอนให้ผอู้ น่ื และการยอมรับความเสีย่ งไว้อย่างชัดเจน เพือ่ ให้มนใจได้ ั่ วา่ บริษทั ฯ ได้มกี ารพิจารณาทางเลือกทีม่ ี ประสิทธิผลและความคุม้ ค่าทีส่ ดุ และเลือกจัดการกับความเสีย่ งระดับสูงเป็ นอันดับแรก เพือ่ ลดโอกาสและผลกระทบใน ภาพรวมทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์นนั ้ รวมทัง้ ยังมีมาตรการควบคุมภายในทีด่ ี ทีม่ คี วามสัมพันธ์เหมาะสมกับความเสีย่ งที่ เปลีย่ นแปลงไป 6. กิ จกรรมการควบคุม บริษทั ฯ ได้กําหนดนโยบายและวิธกี ารปฏิบตั งิ านในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน ตลอดจนกําหนดกิจกรรมการ ควบคุมทีม่ สี าระสําคัญในแต่ละระดับไว้อย่างเหมาะสม โดยเน้นกิจกรรมการควบคุมแบบป้ องกันเป็ นหลัก รวมทัง้ มีการ ส่วนที่ 2 หน้า 115


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ประเมินและรายงานผลอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า วิธกี ารจัดการความเสีย่ งหรือกิจกรรมการควบคุมนัน้ ได้มกี ารนําไป ปฏิบตั จิ ริง สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้ รวมถึงคุณภาพและความรวดเร็วทีค่ วบคู่กนั ไปด้วย นอกจากนี้ผบู้ ริหารระดับสูง ยังได้มกี ารทบทวนนโยบายและระเบียบปฏิบตั เิ ป็ นระยะๆ สถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปอยูเ่ สมอ เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ของบริษทั ฯ ทีก่ ําหนดไว้

เพือ่ ให้สอดคล้องกับ

7. ข้อมูลและการติ ดต่อสื่อสาร ่ งทัง้ องค์กร เพือ่ นําไปใช้ในการตัดสินใจ บริษทั ฯ มีระบบสารสนเทศและข้อมูลทีส่ ามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทัวถึ ได้อย่างถูกต้องทันเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศและข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพียงพอ ตลอดจน มีการกําหนดแผนสํารองฉุกเฉินสําหรับป้ องกันในเรือ่ งความปลอดภัยของระบบสารสนเทศขณะทีม่ อี ุบตั ภิ ยั ร้ายแรงจนระบบ ไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้ รวมไปถึงการซักซ้อมแผนสํารองฉุกเฉินไว้เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้บริษทั ฯ ยังมีระบบการจัดเก็บ ข้อมูลทีส่ ามารถตรวจสอบความถูกต้องย้อนหลังได้ (Audit Trail) และมีระบบข้อมูลทีส่ ามารถวิเคราะห์หรือบ่งชีจ้ ุดทีอ่ าจจะ เกิดความเสีย่ งในเชิงสถิตไิ ด้อย่างเป็ นระบบ ซึง่ ทําการประเมินและจัดการความเสีย่ งพร้อมทัง้ บันทึกหรือรายงานผลไว้อย่าง ครบถ้วน นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถติดต่อสือ่ สารกันได้ทวถึ ั ่ งทัง้ องค์กรโดยข้อมูลทีส่ าํ คัญจะถูกถ่ายทอดจากผูบ้ ริหารระดับสูงลงสูพ่ นักงานได้อย่างรวดเร็ว อีกทัง้ มีช่องทางการสือ่ สารจาก พนักงานขึน้ ตรงสูผ่ บู้ ริหารระดับสูงได้ดว้ ยเช่นกัน 8. การติ ดตามผล บริษทั ฯ มีขนั ้ ตอนการติดตามและการกํากับดูแลการปฏิบตั งิ านในแต่ละระดับอย่างต่อเนื่อง เหมาะสม และมีระบบ การประเมินและติดตามผลการดําเนินงานทีด่ ี เพือ่ ให้มนใจได้ ั่ วา่ มาตรการและระบบการควบคุมภายในนัน้ มีประสิทธิผลอยู่ เสมอ สามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา และบริษทั ฯ ได้จดั ให้พนักงานระดับหัวหน้างานมี การติดตามผลการปฏิบตั งิ านของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา และยังจัดให้มกี ารตรวจประเมินผลการปฏิบตั งิ าน โดยหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ซึง่ เป็ นหน่วยงานอิสระ ผูส้ อบบัญชี และผูป้ ระเมินอิสระจากภายนอก บริษทั ฯ มีระบบการติดตามผลการบริหารความเสีย่ งทีด่ แี ละมีการกําหนดสัญญาณเตือนภัย เพือ่ ให้มนใจได้ ั่ วา่ การ บริหารและการจัดการความเสีย่ งมีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ ซึง่ ความเสีย่ งนัน้ อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ โดยให้มกี าร รายงานผลต่อหัวหน้างานทุกระดับและต่อผูบ้ ริหารระดับสูงอย่างสมํ่าเสมอ และจัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั และ มีการประชุมผูบ้ ริหารอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ พิจารณาและติดตามผลการดําเนินงานของฝ่ ายบริหารว่าเป็ นไปตามเป้ าหมาย ทีต่ งั ้ ไว้ ในปั จจุบนั สถานการณ์ต่างๆ ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงไปอย่างมากและรวดเร็ว การบริหารความเสีย่ งจึงเป็ นสิง่ ทีม่ ี ความสําคัญ ช่วยให้บริษทั ฯ สามารถอยูร่ อดได้เมือ่ มีเหตุการณ์ทไ่ี ม่คาดคิดเกิดขึน้ ดังนัน้ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ต้องมีกลไกการบริหารงาน เพือ่ สร้างความแข็งแกร่งและเตรียมการเพือ่ รับมือไว้อย่างรอบด้านเป็ นการล่วงหน้าเพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถดํารงอยูไ่ ด้ตลอดไป เอไอเอส มุง่ เน้นให้ความสําคัญกับการบริหารความเสีย่ งขององค์กร โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ มี ประธานกรรมการบริหารของบริษทั เป็ นประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร และ ผูบ้ ริหารระดับสูง เป็ นกรรมการ รวม 13 ท่าน ซึง่ ในปี 2551 คณะกรรมการได้มกี ารประชุม 4 ครัง้ โดยได้พจิ ารณาแจกแจง ความเสีย่ งครอบคลุมทัง้ องค์กร จัดอันดับความเสีย่ ง กําหนดแนวทางการบริหารความเสีย่ ง มอบหมายผูร้ บั ผิดชอบเพือ่ จัด ให้มมี าตรการควบคุมและจัดการความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้ าหมายและกลยุทธ์ท่ี ส่วนที่ 2 หน้า 116


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

กําหนดไว้ และเพือ่ สร้างความเชือ่ มันให้ ่ กบั ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย รวมทัง้ ได้มกี ารทบทวนความเสีย่ งของบริษทั ฯ อย่างสมํ่าเสมอว่า บริษทั ฯ มีความเสีย่ งด้านใดบ้างทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือเปลีย่ นแปลงไป วิกฤตเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้สง่ ผลกระทบ อย่างไร ต่อผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องต่างๆ ของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีการติดตามผลสําเร็จของการบริหารความเสีย่ ง โดยพิจารณาจากแผนงานของ ฝ่ ายจัดการทีร่ บั ผิดชอบในปั จจัยความเสีย่ งต่างๆ และผลของการวัดผลทีเ่ ชือ่ ถือได้ของการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน และใน การประชุมทุกครัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะกําหนดให้ฝ่ายจัดการทีร่ บั ผิดชอบรายงานผลการบริหารความเสีย่ งที่ ได้แจกแจงไว้จากรอบการประชุมครัง้ ก่อน รวมทัง้ มีการพิจารณาว่าระดับความเสีย่ งลดลงหรือไม่ ทัง้ นี้เพือ่ ให้การบริหาร ความเสีย่ งมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้นําเสนอผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารได้รบั ทราบ เพือ่ ให้มกี ารจัดการความเสีย่ งและติดตามอย่างใกล้ชดิ และ มันใจได้ ่ วา่ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้ าหมายทีก่ ําหนดไว้ ซึง่ สรุปปั จจัยความเสีย่ งที่ อาจส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ไว้ในส่วนของปั จจัยเสีย่ งเรียบร้อยแล้ว ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2552 เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษทั ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ จากการสอบทานการประเมิน ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และจากการซักถามข้อมูลจากฝ่ ายบริหาร ผลการประเมินจากแบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน สรุปได้วา่ บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จํากัด ซึง่ เป็ นผูต้ รวจสอบงบการเงิน ประจําปี 2551 ได้ประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ตามทีเ่ ห็นว่าจําเป็ น โดยพบว่า ไม่มจี ุดอ่อน ของระบบการควบคุมภายในทีม่ สี าระสําคัญแต่ประการใด การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบในด้านงานตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธานกรรมการบริหารในด้านงานบริหารหน่วยงาน โดยมีกฎบัตรของหน่วยงาน ซึง่ กําหนดภารกิจ ขอบเขต วัตถุประสงค์และภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการปฏิบตั งิ านตรวจสอบไว้อย่างชัดเจน และมีการ จัดทําคูม่ อื การปฏิบตั งิ านตรวจสอบทีป่ รับปรุงเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ เพือ่ ใช้อา้ งอิงการปฏิบตั งิ านให้เป็ นทิศทางเดียวกัน หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทําหน้าทีต่ รวจประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหาร ความเสีย่ ง และการกํากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ตามแผนงานการตรวจสอบประจําปี ซึง่ ได้พจิ ารณาจากวัตถุประสงค์ กล ยุทธ์ พันธกิจในระดับภาพรวม ตลอดจนพิจารณาจากปั จจัยเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง (Risk Based Audit Approach) โดยผ่านการ อนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ การให้คาํ ปรึกษาแนะนําในด้านต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มันว่ ่ า การปฏิบตั งิ าน ของบริษทั ฯ จะบรรลุผลตามกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ทก่ี าํ หนดไว้ อีกทัง้ ยังทําการติดตามประเมินผลอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ ให้ เกิดความมันใจในระบบที ่ ว่ างไว้วา่ ได้ดาํ เนินการเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง และได้รบั การแก้ไขปรับปรุงอย่างสมํ่าเสมอ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสีย่ ง หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ดาํ เนินการสอบ ทานตัวบ่งชีเ้ หตุการณ์หรือปั จจัยเสีย่ งทีส่ ง่ ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ และแนวทางการบริหารความเสีย่ งของผูป้ ฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ ามีการระบุและประเมินความเสีย่ งได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีการบริหารความเสีย่ งทีเ่ ป็ นระบบสามารถ จัดการความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ และมีการรายงานอย่างครบถ้วนทันเวลาพร้อมทัง้ ยังมีการติดตามสอบทาน ความเสีย่ งอย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอ ส่วนที่ 2 หน้า 117


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในได้จดั ทําแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของแต่ละระบบงาน รวมทัง้ ได้ทาํ การสอบทานผลการปฏิบตั งิ าน และ สนับสนุ นให้แต่ละหน่วยงานมีการประเมินตนเองในแต่ละขัน้ ตอน เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า บริษทั ฯ จะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ทีต่ งั ้ ไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด และรายงานทางการ เงินมีความถูกต้องน่าเชือ่ ถือ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของการกํากับดูแลกิจการ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ตรวจประเมินการ กํากับดูแลกิจการตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี ององค์กรเพือ่ ความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (The Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ นเกณฑ์ เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า บริษทั ฯ มีโครงสร้างและการสนับสนุนของกระบวนการทีจ่ าํ เป็ นในการนําไปสูผ่ ลสําเร็จของการกํากับดูแลที่ ดีและโปร่งใสและให้ความเป็ นธรรมเท่าเทียมกัน ตลอดจนมีการนําทรัพยากรไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรง ตามวัตถุประสงค์ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ าย นอกจากนี้หวั หน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ สนับสนุ นภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทุกหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายมาจากคณะกรรมการ บริษทั ให้มปี ระสิทธิผล โดยจัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เดือนละ 1 ครัง้ และยังมีบทบาทในการให้คาํ ปรึกษา แนะนําในด้านต่างๆ โดยร่วมเป็ นกรรมการของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการด้านความปลอดภัยระบบ สารสนเทศของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อองค์กร หน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้ยดึ ถือแนวทางหรือกรอบการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ านวิชาชีพการ ตรวจสอบภายใน (The International Standards for the Professional Practice of Internal Auditing), COSO-ERM, AS / NZS 4360 ส่วนในด้านระบบสารสนเทศ ได้รวมแนวทาง CobiT, ITIL, ISO 17799 เป็ นกรอบการปฏิบตั งิ านเพิม่ เติม เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า ระบบสารสนเทศของบริษทั ฯ มีความปลอดภัยและมีการกํากับดูแลทีด่ ี อีกทัง้ ได้มงุ่ เน้นการพัฒนางาน ตรวจสอบภายในให้มคี ุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยมีการประเมินคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องด้วยตนเอง ตลอดจนพนักงานตรวจสอบภายในทุกคนมีการปฏิบตั หิ น้าทีท่ เ่ี ป็ นอิสระ เทีย่ งธรรม สอดคล้องกับประมวลจรรยาบรรณของ ผูต้ รวจสอบภายใน ( Code of Ethics) นอกจากนี้ พนักงานของหน่ วยงานตรวจสอบภายในยังได้รบั การฝึ กอบรมอย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอ ตามแผนการ ฝึ ก อบรมแบบรายบุ ค คล (Individual Development Plan) รวมถึงการพัฒ นาสอบวุฒ ิบตั รต่ างๆ โดยปั จจุบนั หน่ วยงาน ตรวจสอบภายในมีผู้มีวุ ฒ ิบ ัต ร CIA (Certified Internal Auditor) จํา นวน 4 ท่ า น วุ ฒ ิบ ัต ร CISA (Certified Information System Auditor) จํา นวน 5 ท่ า น วุ ฒ ิบ ัต ร CISM (Certified Information Security Manager) จํ า นวน 1 ท่ า น วุ ฒ ิ บ ัต ร CISSP (Certified Information Systems Security Professional) จํ า น ว น 1 ท่ า น วุ ฒิ บั ต ร CPA (Certified Public Accountant) จํานวน 3 ท่าน วุฒบิ ตั ร TA (Tax Auditor) จํานวน 1 ท่าน โดยเจ้าหน้าทีอ่ กี จํานวนหนึ่งอยูร่ ะหว่างการพัฒนา ให้มวี ุฒบิ ตั ร CIA, และ CISA อย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ า การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานตรวจสอบภายใน จะสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้ อีกทัง้ ยังสามารถสนับสนุ นการกํากับดูแลทีด่ แี ละเพิม่ คุณค่าให้แก่บริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิผล

ส่วนที่ 2 หน้า 118


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

11.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รายการระหว่างกัน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้มกี ารตกลงเข้าทํารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการตาม ธุรกิจปกติของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และเป็ นไปตามเงือ่ นไขการค้าทัวไป ่ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อ กําหนดในพระราชบัญ ญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการบริษัท ได้อนุ มตั ิในหลัก การเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ให้ฝ่ ายจัดการมีอํานาจเข้าทํารายการ ระหว่างกันทีม่ เี งือ่ นไขการค้าทัวไป ่ โดยฝ่ ายจัดการสามารถทําธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรมเหล่านัน้ มีขอ้ ตกลงทางการค้าใน ลักษณะเดียวกับทีว่ ญ ิ ญูชนจะพึงกระทํากับคู่สญ ั ญาทัวไปในสถานการณ์ ่ เดียวกัน ด้วยอํานาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจาก อิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ขัน้ ตอนการอนุ มตั กิ ารทํารายการที่เกี่ยวโยงกันนัน้ บริษัทฯ จะยึดแนวปฏิบตั เิ ช่นเดียวกันกับการทํารายการอื่น ๆ ทัวไป ่ โดยมีการกําหนดอํานาจของผูม้ สี ทิ ธิอนุ มตั ติ ามวงเงินทีก่ าํ หนด นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหน้าทีเ่ ป็ น ผูส้ อบทานการทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันเป็ นประจําทุกไตรมาส เพื่อขจัด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยรวมเป็ นสําคัญ บริษัทฯ มีนโยบายเปิ ดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายตามประกาศตลาดหลัก ทรัพ ย์แห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารเปิ ดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั จดทะเบียน สําหรับงวดบัญชีรายปี ส้นิ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการกับบุคคลที่ เกีย่ วโยงกัน โดยผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั ฯ ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีต่ รวจสอบและคณะกรรมการ ตรวจสอบทําหน้าทีส่ อบทานแล้ว และมีความเห็นว่ารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทุกรายการเป็ นการทํารายการอย่างสมเหตุสมผล และเป็ นไปในทางการค้าปกติ โดยบริษทั ฯ ได้คดิ ราคาซือ้ -ขายสินค้า และบริการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันตามราคาทีเ่ ทียบเท่า ราคาทีค่ ดิ กับบุคคลภายนอก โดยมีเงือ่ นไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 119


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 1. บริ ษทั ชิ น คอร์ปอเรชัน่ จํากัด บริษทั ฯ มีเงินปั นผลจ่ายให้ SHIN ซึง่ เป็ นผู้ ถือหุน้ ใหญ่ (มหาชน) (SHIN)/ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ใน 1. รายได้จากการให้บริการ สัดส่วนร้อยละ 42.67 และมี 2. รายได้อน่ื กรรมการร่วมกันคือ 3. เงินปั นผลจ่าย นายสมประสงค์ บุญยะชัย 4. ลูกหนี้การค้า 5. ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม

0.37 0.03 7,961.39 0.02 0.02

ส่วนที่ 2 หน้า 120

0.37 0.03 7,961.39 0.02 0.02

งบการเงินเฉพาะ

0.31 0.03 7,961.39 0.03 -

งบการเงินรวม บริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลให้ SHIN ตาม อัตราส่วนการถือหุน้ ทัง้ นี้การเสนอ จ่ายเงินปั นผลดังกล่าวของคณะกรรมการ 0.32 บริษทั จะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุม 0.11 สามัญประจําปี ผถู้ อื หุน้ 7,961.39 0.09 -


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 2. บริ ษทั ไทยคม จํากัด (มหาชน) (THCOM)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ใน สัดส่วนร้อยละ 41.14 และมี กรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินเฉพาะ

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและบริการอืน่ ๆ ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

5.31 0.04 57.08 0.39 0.04

5.88 0.07 57.08 0.54 0.04

4.74 57.66 0.28 -

เมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2551 บริษทั ชิน แซทเทลไลท์ จํากัด (มหาชน) (SATTEL) เปลีย่ นชือ่ เป็ น บริษทั 5.21 ไทยคม จํากัด (มหาชน) (THCOM) 0.04 57.67 0.59 เป็ นกลุม่ บริษทั ทีใ่ ห้บริการทีด่ ี และมีการ ติดต่อกับบริษทั ฯ มาโดยตลอด

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายค่าเบีย้ ประกันภัย สถานีฐาน เบีย้ ประกันภัยอุปกรณ์ และ ดอกเบีย้ 1. ดอกเบีย้ รับ 2. ค่าเบีย้ ประกันภัย 3. ดอกเบีย้ จ่าย

งบการเงินรวม THCOM เป็ นผูใ้ ห้บริการรายเดียวใน ประเทศไทย โดยบริษทั ฯ ชําระค่าบริการ ในอัตราเดียวกับลูกค้าทัวไปที ่ ใ่ ช้บริการ

บริษทั ฯ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม1A จาก THCOM โดยบริษทั ฯ ได้ชาํ ระค่าบริการ ล่วงหน้าสําหรับระยะเวลา ตัง้ แต่วนั ที่ 22 มิถุนายน 2549 ถึง วันที่ 21 มิถุนายน 2552 (ค่าตอบแทนในอัตรา US$ 1,700,000/ปี ) 1. 2. 3. 4. 5.

3. กลุ่มบริ ษทั ธนชาต (NAT) / กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของกลุม่ ธนชาตเป็ นกรรมการของบริษทั ฯ คือ นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์

งบการเงินรวม

9.79 35.25 2.81 ส่วนที่ 2 หน้า 121

17.10 38.52 3.20

1.33 62.40 1.81

บริษทั ฯ ชําระค่าเบีย้ ประกันภัยต่างๆ ใน 1.33 อัตราทีเ่ ทียบเคียงได้กบั ราคาตลาด 65.81 2.10


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 4. บริ ษทั แมทช์บอกซ์ จํากัด (MB)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ใน สัดส่วนร้อยละ 99.96 และมี กรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เป็ นบริษทั โฆษณาทีม่ คี วามคิดริเริม่ ทีด่ ี และมีความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการ ของบริษทั ฯ เป็ นอย่างดี รวมทัง้ เป็ นการ ป้ องกันการรัวไหลของข้ ่ อมูล

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ว่าจ้าง MB เป็ น ตัวแทนในการจัดทําโฆษณาผ่านสือ่ ต่างๆ โดยจะเป็ นการว่าจ้างครัง้ ต่อครัง้ 1. 2. 3. 4.

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าใช้จา่ ยทางการตลาดและบริการอื่นๆ ค่าโฆษณา - ค่าโฆษณา (NET) - ค่าโฆษณา (GROSS) 5. เจ้าหนี้การค้า 6. เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน 7. ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม

0.38 0.03 241.67

0.43 0.05 246.94

0.68 359.62

427.77 1,074.43 382.94 0.01

456.70 1,149.89 2.28 392.67 0.01

445.16 998.34 257.95 0.04

0.69 0.05 บริษทั ฯ ได้เปรียบเทียบอัตราค่าบริการที่ 379.28 MB เรียกเก็บกับราคาตลาดทีบ่ ริษทั โฆษณาอืน่ ๆ เสนอมาดังนี้ 477.79 1,062.92 -Agency Fee MB Media 9.00%* 281.94 MB Production 12.00% 0.04 *เปลีย่ นจาก 6% เป็ น 9% เมือ่ 1 มิถุนายน 2551 -Third party Media and Production 9.00%-17.65%

ส่วนที่ 2 หน้า 122


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 5. บริ ษทั เทเลอิ นโฟ มีเดีย จํากัด (TMC)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 99.99 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เป็ นผูใ้ ห้บริการทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการ จัดทําเนื้อหาของข้อมูลต่างๆ

บริษทั ฯ ว่าจ้าง TMC ในการจัดทําข้อมูล สําหรับบริการเสริมของโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เช่น การจัดหาข้อมูลทางโหราศาสตร์ ข้อมูล สลากกินแบ่งรัฐบาล และเรือ่ งตลกขบขัน เป็ นต้น โดยชําระค่าใช้บริการตามทีเ่ กิดขึน้ จริงเป็ นรายเดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าบริการอื่น ๆ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม

1.76 0.03 46.91 4.96 0.01 0.26 0.02

ส่วนที่ 2 หน้า 123

1.76 0.03 46.96 4.99 0.01 0.26 0.02

1.48 62.27 4.68 1.11 0.34 -

บริษัท ฯ ชําระค่าบริก าร ในอัตราร้อยละ ของรายได้ ท่ี บ ริษั ท ฯ ได้ ร ับ จากลู ก ค้ า ขึ้น อยู่ก ับ ประเภทของบริก ารที่ลูก ค้าใช้ โด ย อั ต ราที่ จ่ า ย เป็ น อั ต ราเดี ย วกั บ 1.51 Content Provider ประเภทเดีย วกัน ซึ่ง 0.04 ในปั จจุบนั อยูใ่ นอัตราร้อยละไม่เกิน 50 62.41 4.71 1.14 0.34 -


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 6. บริ ษทั ไอ.ที. แอพพลิ เคชั ่นส์ แอนด์ เซอร์วิส จํากัด (ITAS)/ มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ร้อยละ 99.99 และมีกรรมการร่วมกันคือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เป็ นบริษทั ทีใ่ ห้บริการเกีย่ วกับการ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เฉพาะ บริษทั ในเครือ มีบริการทีด่ ี รวดเร็ว และราคาสมเหตุสมผล

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ว่าจ้าง ITAS ใน การปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์เป็ นครัง้ ต่อครัง้ 1. รายได้จากการบริการ 2. รายได้อน่ื 3. ค่าทีป่ รึกษาและบริหารงานระบบ คอมพิวเตอร์ 4. ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ 5. เจ้าหนี้การค้า 6. เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน 7. ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

งบการเงินรวม

0.01 0.01

0.01 0.01

0.01 -

57.14 8.75 0.01

81.36 1.70 8.75 0.01

0.08 40.78 0.51 -

ส่วนที่ 2 หน้า 124

0.01 - ITAS คิดค่าบริการในอัตราใกล้เคียง กับราคาของบริษทั ทีป่ รึกษารายอืน่ ที่ 0.26 ให้บริการในลักษณะเดียวกัน อัตรา 67.90 ค่าบริการขึน้ อยูก่ บั ลักษณะงานและ - ระดับของทีป่ รึกษา 4.74 -


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 7. กลุ่มบริ ษทั Singtel Strategic Investments Pte.Ltd. (Singtel) / เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ร้อยละ 21.34

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยทําสัญญากับบริษทั ใน กลุม่ Singtel ในการเปิ ดให้บริการข้ามแดน อัตโนมัตริ ว่ มกัน (Joint International Roaming) และบริษทั ฯ จ่ายเงินเดือนและ ผลตอบแทนให้แก่ Singapore Telecom International Pte.Ltd. (STI) ในการส่ง พนักงานมาปฏิบตั งิ านทีบ่ ริษทั ฯ โดยจะเรียก เก็บค่าใช้จา่ ยตามทีเ่ กิดขึน้ จริง และมีเงินปั น ผลจ่ายตามสัดส่วนการถือหุน้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายได้จากการให้บริการ ค่าบริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น เงินปั นผลจ่าย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า

637.26 316.70 49.06 3,578.40 68.82 79.80 181.37

ส่วนที่ 2 หน้า 125

650.80 359.26 49.06 3,578.40 75.64 79.80 184.57

774.47 312.08 42.14 3,578.40 71.84 58.43 230.89

งบการเงินรวม การทําสัญญา International Roaming กับกลุม่ SingTel เป็ นการทําสัญญาทาง ธุรกิจตามปกติ โดยราคาทีเ่ รียกเก็บ เป็ นราคาทีต่ ่างฝ่ ายต่างกําหนดในการ เรียกเก็บจากลูกค้าแต่ละฝ่ ายทีไ่ ปใช้ บริการข้ามแดนอัตโนมัตหิ กั กําไรทีบ่ วก จากลูกค้าซึง่ เป็ นมาตรฐานเดียวกับที่ บริษทั ฯคิดจากผูใ้ ห้บริการรายอืน่ ค่าใช้จา่ ยที่ STI ส่งพนักงานมาให้ ความช่วยเหลือ ทางด้านการ 774.47 บริหารงานและด้านเทคนิคให้แก่ 312.08 บริษทั ฯ บริษทั ฯ จ่ายตามค่าใช้จา่ ยที่ 42.14 ตกลงกันตามทีเ่ กิดจริง 3,578.40 71.84 58.43 230.89


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 8. บริ ษทั ซีเอส ล็อกซอิ นโฟ จํากัด (มหาชน) (CSL) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ร้อยละ 39.74 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เป็ นบริษทั ในเครือทีใ่ ห้บริการทางด้าน อินเตอร์เน็ต และกําหนดราคา เช่นเดียวกับทีเ่ รียกเก็บจากลูกค้ารายอื่น

บริษทั ฯ ว่าจ้าง CSL ในการให้บริการด้าน Internet ในขณะที่ ADC ให้บริการ Datanet แก่ CSL 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

1.27 0.07 52.87 0.77 4.94 0.26 -

ส่วนที่ 2 หน้า 126

141.21 8.56 53.41 0.77 5.11 12.40 0.34

1.05 0.01 18.57 0.32 0.13 0.03 -

154.41 3.32 20.35 0.32 14.14 15.37 0.39


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 9. บริ ษทั ชิ นนี่ ดอทคอม จํากัด (Shinee) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 99.99 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เป็ นบริษทั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ในการ ออกแบบ website และมีความ หลากหลายของเนื้อหา ซึง่ ตรงกับความ ต้องการของบริษทั ฯ

บริษทั ฯ ว่าจ้าง Shinee ในการให้บริการ เสริมของโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น เกมส์ เสียง เรียกเข้า Wall paper โดยชําระค่าบริการ เป็ นรายเดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

10. บริ ษทั ดีทีวี เซอร์วิส จํากัด (DTV) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ร้อยละ 99.99 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

รายได้จากการให้บริการ รายได้อ่นื ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้การค้า

2.56 0.41 45.44 6.15 0.88

4.19 0.43 45.47 6.16 0.01 0.99

0.29 1.10 73.87 4.08 0.84 0.89

2.17 1.22 73.88 4.09 0.85 1.07

บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างให้ DTV สร้าง website 1. 2. 3. 4. 5.

รายได้จากการให้บริการ ค่าเช่าและค่าบริการอื่นๆ เจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ทเ่ี กีย่ วข้องกัน

0.49 5.08 0.10 0.05 0.01

ส่วนที่ 2 หน้า 127

0.49 5.08 0.10 0.05 0.01

0.17 0.99 2.59 -

0.17 0.99 3.58 -

บริษทั ฯ ชําระค่าบริการ ในอัตราร้อยละ ของรายได้ทบ่ี ริษทั ฯ ได้รบั จากลูกค้า ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของบริการทีล่ กู ค้าใช้ ซึง่ อัตราทีจ่ า่ ยเป็ นอัตราเดียวกันกับ Content Provider ประเภทเดียวกัน ซึง่ อยูใ่ นอัตราร้อยละไม่เกิน 50 เป็ นบริษทั ทีม่ คี วามชํานาญในการ บริการทางด้านอินเตอร์เน็ต และ กําหนดราคาทีเ่ ทียบเคียงได้กบั ผู้ ให้บริการรายอื่น วันที่ 23 เมษายน 2551 บริษทั ชิน บรอดแบนด์ อินเตอร์เนต (ประเทศ ไทย) จํากัด (SBI) เปลีย่ นชือ่ เป็ น “บริษทั ดีทวี ี เซอร์วสิ จํากัด (DTV)”


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 11. บริ ษทั ลาว เทเลคอมมิ วนิ เคชั ่นส์ จํากัด (LTC) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ร้อยละ 49.00 (โดยทางอ้อม)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยร่วมมือกับ LTC ใน การให้บริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ

1. 3. 2. 4.

รายได้จากการให้บริการ ค่าบริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ เจ้าหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า

6.43 14.94 4.85 1.58

ส่วนที่ 2 หน้า 128

8.48 21.00 5.36 2.31

8.34 15.00 1.44 0.97

งบการเงินรวม LTC ดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมใน ประเทศลาว ให้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐาน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ โทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ และบริการเครือข่าย 9.40 อินเทอร์เน็ต 15.43 1.83 อัตราค่าโรมมิง่ ทีค่ ดิ เป็ นอัตรา 1.36 เทียบเคียงได้กบั ราคาตลาดทีค่ ดิ กับ ผูใ้ ช้บริการรายอืน่


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง/ ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

มูลค่ารายการระหว่างกันสําหรับงวด

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2551

สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2550

เหตุผลและความจําเป็ น

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 12. บริ ษทั กัมพูชา ชิ นวัตร จํากัด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยร่วมมือกับ Camshin ในการให้บริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ (CamShin) / มี SHIN เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 1. รายได้จากการบริการ ร้อยละ 100.00 (โดยทางอ้อม) 2. ค่าบริการโรมมิง่ ระหว่างประเทศ 3. เจ้าหนี้การค้า 4. ลูกหนี้การค้า

งบการเงินรวม

0.27 11.80 1.21 0.03

0.27 11.80 1.21 0.03

งบการเงินเฉพาะ

0.20 8.42 2.36 0.07

งบการเงินรวม CamShin ได้รบั สัมปทานในการดําเนิน กิจการโทรศัพท์ในประเทศกัมพูชา ให้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐาน โทรศัพท์เคลือ่ นที่ รวมถึงโทรศัพท์ 0.20 ระหว่างประเทศ 8.42 2.36 อัตราค่าโรมมิง่ ทีค่ ดิ เป็ นอัตรา 0.07 เทียบเคียงได้กบั ราคาตลาดทีค่ ดิ กับ ผูใ้ ช้บริการรายอืน่ วันที่ 12 มกราคม 2552 บริษทั กัมพูชา ชินวัตร จํากัด (CamShin) เปลีย่ นชือ่ เป็ น บริษทั เอ็มโฟน จํากัด (Mfone)

ส่วนที่ 2 หน้า 129


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงาน 12.1 12.1.1

งบการเงิ น รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูส้ อบบัญชีในช่วงระยะเวลา 3 ปี ทผ่ี ่านมา (2549 – 2551) ผูส้ อบบัญชีแสดงความเห็นอย่างไม่มี เงือ่ นไข โดยมีความเห็นว่างบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และงบการเงินของบริษทั ฯ แสดงฐานะการเงินรวมและ ฐานะการเงินเฉพาะของบริษัทฯ ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะของบริษทั ฯ และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะของบริษทั ฯ โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัวไป ่ 12.1.2 ตารางสรุปงบการเงิ นรวม งบดุลรวม บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย : พันบาท 2549 จํานวนเงิ น

%

2550 จํานวนเงิ น

%

2551 จํานวนเงิ น

%

12,742,218 118,187 4,898,182 2,973 463,557 2,055,466 2,612,313 22,892,896

9.49% 0.09% 3.65% 0.00% 0.35% 1.53% 1.94% 17.05%

8,316,666 123,443 8,054,187 770 136,763 1,236,246 2,717,540 20,585,615

6.45% 0.10% 6.25% 0.00% 0.11% 0.96% 2.10% 15.97%

16,300,922 226,358 5,790,416 437 240,915 1,592,505 2,806,768 26,958,321

12.73% 0.18% 4.52% 0.00% 0.19% 1.24% 2.19% 21.05%

-

-

92,761

0.07%

92,761

0.07%

7,797,323 81,095,903 12,196,906 9,762,601 555,145 111,407,878

5.81% 60.38% 9.08% 7.27% 0.41% 82.95%

8,560,947 78,527,309 10,593,151 10,031,066 550,803 108,356,037

6.64% 60.90% 8.21% 7.78% 0.43% 84.03%

2,483,941 8,143,679 73,045,439 6,537,923 10,075,260 743,965 101,122,968

1.94% 6.36% 57.03% 5.10% 7.87% 0.58% 78.95%

134,300,774

100.00%

128,941,652 100.00%

128,081,289

100.00%

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั ่วคราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้และเงินให้กยู้ มื แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนี้ภาษีมลู ค่าเพิม่ สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตรา แลกเปลีย่ นล่วงหน้า ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อ่นื - สุทธิ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

ส่วนที่ 2 หน้า 130


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบดุลรวม (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 จํานวนเงิ น

%

2550 จํานวนเงิ น

%

หน่วย : พันบาท 2551 จํานวนเงิ น %

หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้และเงินกูย้ มื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ส่วนของเงินกูร้ ะยะยาวทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึ่งปี ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี คา้ งจ่าย เจ้าหนี้คา่ ตอบแทนการโอนสิทธิ รายได้รบั ล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินหมุนเวียน

1,000,000 5,759,710 523,210 6,507,227 2,416,473 4,738,868 3,658,800 1,090,979 2,963,490 2,379,903 31,038,660

0.74% 4.29% 0.39% 4.85% 1.80% 3.53% 2.72% 0.81% 2.21% 1.77% 23.11%

3,492,242 4,218,177 361,242 1,544,583 3,634,360 4,738,868 3,468,899 1,014,350 3,232,483 2,451,353 28,156,557

2.71% 3.27% 0.28% 1.20% 2.82% 3.67% 2.69% 0.79% 2.51% 1.90% 21.84%

4,263,084 486,336 7,037,683 2,719,081 3,408,291 983,237 2,859,375 3,102,749 24,859,836

3.33% 0.38% 5.49% 2.12% 2.66% 0.77% 2.23% 2.43% 19.41%

หนี้ สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตรา แลกเปลีย่ นล่วงหน้า เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน

137,954 25,504,304 20,847 25,663,105

0.10% 18.99% 0.02% 19.11%

382,837 24,929,192 12,266 25,324,295

0.30% 19.33% 0.01% 19.64%

29,774,426 11,382 29,785,808

23.25% 0.01% 23.26%

56,701,765

42.22%

53,480,852

41.48%

54,645,644

42.67%

2,953,547

2.20%

2,958,123

2.29%

2,961,740

2.31%

20,978,564 14,504 161,187

15.62% 0.01% 0.12%

21,250,964 15,376 161,187

16.48% 0.01% 0.13%

21,545,336 161,187

16.82% 0.12%

รวมหนี้ สิน ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ทุนทีอ่ อกจําหน่ายและชําระแล้วเต็มมูลค่า สํารอง : ส่วนเกินมูลค่าหุน้ เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ กําไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการปรับลดสัดส่วนเงินลงทุน กําไรสะสม : จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้นเฉพาะบริษทั ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น รวมหนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น

500,000 0.37% 52,330,152 38.97% 76,937,954 57.29% 661,055 0.49% 77,599,009 57.78% 134,300,774 100.00%

ส่วนที่ 2 หน้า 131

500,000 0.39% 49,998,652 38.77% 74,884,302 58.07% 576,498 0.45% 75,460,800 58.52% 128,941,652 100.00%

500,000 0.39% 47,754,800 37.29% 72,923,063 56.93% 512,582 0.40% 73,435,645 57.33% 128,081,289 100.00%


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

งบกําไรขาดทุน บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

2549 จํานวนเงิ น

หน่วย : พันบาท 2551 จํานวนเงิ น %

%

2550 จํานวนเงิ น

%

76,052,889 15,375,267

83.18% 16.82%

94,810,423 13,643,628

87.42% 12.58%

99,585,776 11,205,725

89.89% 10.11%

91,428,156

100.00%

108,454,051

100.00%

110,791,501

100.00%

23,138,519 18,753,964 14,063,099

25.31% 20.51% 15.38%

38,441,061 19,691,094 12,624,415

35.44% 18.16% 11.64%

41,484,657 20,020,522 10,533,664

37.44% 18.07% 9.51%

รวมต้นทุน กําไรขัน้ ต้น ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหาร กําไรจากการขาย การให้บริ การและการให้เช่า อุปกรณ์ รายได้อ่นื ขาดทุนจากการด้อยค่าค่าความนิยม กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา – สุทธิ ค่าตอบแทนกรรมการ

55,955,582 35,472,574 11,420,781

61.20% 38.80% 12.49%

70,756,570 37,697,481 12,767,492

65.24% 34.76% 11.77%

72,038,843 38,752,658 11,205,399

65.02% 34.98% 10.11%

24,051,793 1,014,973 47,514 (7,580)

26.31% 1.11% 0.05% -0.01%

24,929,989 661,584 (56,063) (10,400)

22.99% 0.61% -0.05% -0.01%

27,547,259 2,565,136 (3,553,000) (74,950) (13,453)

24.87% 2.31% -3.21% -0.07% -0.01%

กําไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษี เงิ นได้ ดอกเบีย้ จ่าย ภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี

25,106,700 (1,538,246) (7,460,291) 16,108,163

27.46% -1.68% -8.16% 17.62%

25,525,110 (1,720,706) (7,562,357) 16,242,047

23.54% -1.59% -6.97% 14.98%

26,470,992 (1,625,254) (8,381,243) 16,464,495

23.89% -1.47% -7.56% 14.86%

ส่วนของกําไรทีเ่ ป็ นของ : ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย กําไรสําหรับปี

16,256,015 (147,852) 16,108,163

17.78% -0.16% 17.62%

16,290,467 (48,420) 16,242,047

15.02% -0.04% 14.98%

16,409,036 55,459 16,464,495

14.81% 0.05% 14.86%

รายได้ รายได้จากการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ รายได้จากการขาย รวมรายได้ ต้นทุน ต้นทุนการให้บริการและให้เช่าอุปกรณ์ ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี และภาษีสรรพสามิต ต้นทุนขาย

กําไรสุทธิต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน (บาท) กําไรสุทธิต่อหุน้ ปรับลด (บาท)

5.50 5.50

ส่วนที่ 2 หน้า 132

5.51 5.51

5.54 5.54


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

งบกระแสเงิ นสด บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบกระแสเงิ นสดรวม สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย : พันบาท 2551

งบกระแสเงิ นสดรวม กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมดําเนิ นงาน กําไรสุทธิสาํ หรับปี

2549

2550

16,256,015

16,290,467

16,409,036

รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจําหน่าย ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ จ่าย (กลับรายการ) ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สญ ู ค่าเผือ่ สินค้าล้าสมัย (กลับรายการ) และขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสินค้าคงเหลือ (กําไร) ขาดทุนจากการจําหน่าย/ตัดจําหน่ายทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ์ ตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน/ค่าใช้จา่ ยรอการตัดบัญชี/ค่าความนิยม ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ขาดทุนจากการด้อยค่าค่าความนิยม กําไรจากการหักกลบเจ้าหนี้จากการโอนสิทธิ ส่วนแบ่งผลกําไร (ขาดทุน) ในบริษทั ย่อยของส่วนผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีลดลง ภาษีเงินได้ กําไรสุทธิ ก่อนการเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน

3,706,373 14,597,697 (635,343) 1,538,246 69,000 339,465 180,015 (3,762) 2,619 (22,236) (147,852) (901,597) 8,361,888 43,340,528

3,174,151 15,792,480 (375,935) 1,720,706 (69,000) 1,347,188 (171) (14,167) 146 39,115 (48,420) (268,465) 7,830,822 45,418,917

3,028,786 15,927,242 (404,427) 1,625,254 670 530,194 77,132 69,534 15,140 172,658 3,553,000 (1,738,868) 55,459 (44,194) 8,425,437 47,702,053

3,054,461 (737,743) 44 (248,812) (888,341) (168,929) (49,229) 116,461 158,080 (198,893) 1,460,370 (2,224,149)

149,847 (4,522,007) 2,203 326,795 819,392 (112,725) (73,658) 303,670 (161,968) 60,717 1,217,886 (189,901) (76,629)

179,318 1,747,848 333 (104,152) (480,958) 11,649 (279,912) 76,517 125,095 (32,211) (915,279) (3,000,000) (60,607) (31,113)

การเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน เงินฝากธนาคารทีส่ ามารถใช้เป็ นการเฉพาะ ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน ภาษีมลู ค่าเพิม่ ค้างรับ สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนี้ (ลูกหนี้) สัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้า ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี คา้ งจ่าย เจ้าหนี้คา่ ตอบแทนการโอนสิทธิ รายได้รบั ล่วงหน้า - ค่าบริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า

ส่วนที่ 2 หน้า 133


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบกระแสเงิ นสดรวม (ต่อ) สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบกระแสเงิ นสดรวม หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายภาษีเงินได้ เงิ นสดสุทธิ ได้มาจากกิ จกรรมดําเนิ นงาน กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมลงทุน รับดอกเบีย้ การเปลีย่ นแปลงในเงินลงทุนชั ่วคราวสุทธิ เงินจ่ายเพือ่ ลงทุนเพิม่ ในบริษทั ย่อย เงินสดจ่ายสุทธิจากการซือ้ เงินลงทุนทั ่วไป เงินสดรับจากการจําหน่ายทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เงินสดจ่ายเพือ่ ลงทุนในสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ เงิ นสดสุทธิ ใช้ไปในกิ จกรรมลงทุน กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมจัดหาเงิ น จ่ายดอกเบีย้ เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ กูร้ ะยะยาว จ่ายคืนหุน้ กูร้ ะยะยาว เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว จ่ายคืนเงินกูร้ ะยะยาว จ่ายคืนเงินต้นของสัญญาเช่าทางการเงินระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุน้ เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ จ่ายเงินปั นผลให้ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั จ่ายเงินปั นผลให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย เงิ นสดสุทธิ ใช้ไปในกิ จกรรมจัดหาเงิ น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - ยอดคงเหลือต้นปี ผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิน้ ปี เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสดสิ้ นปี - ยอดคงเหลือสิ้ นปี

ส่วนที่ 2 หน้า 134

2549 465,130 (826) (8,358,900) 35,719,252

2550 123,435 (243) (7,587,511) 35,698,220

หน่วย : พันบาท 2551 609,534 (883) (8,825,742) 36,721,490

645,187 155,411 22,121 (3,189,263) (16,907,465) (19,274,009)

409,089 (5,257) (92,761) 27,115 (4,474,941) (12,630,490) (16,767,245)

324,059 (102,914) (126,000) 132,211 (2,761,358) (9,825,104) (12,359,106)

(1,337,835) 5,850,000 (4,850,000) 11,410,173 (14,250,000) 9,485,312 (16,495) 228,821 14,504 (18,592,833) (76,528) (12,134,881) 4,310,362 6,757,483 29,945 11,097,790

(1,782,077) 7,367,734 (5,000,000) (6,500,000) 1,132,647 (22,872) 262,473 15,377 (18,621,967) (36,138) (23,184,823) (4,253,848) 11,097,790 (21,857) 6,822,085

(1,580,469) (3,500,000) 3,991,175 (1,500,000) 5,022,347 (131,189) (30,237) 282,612 (18,652,888) (28,305) (16,126,954) 8,235,430 6,822,085 (71,856) 14,985,659


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

12.1.3

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงิ นที่สาํ คัญ บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย สรุปอัตราส่วนทางการเงิ นที่สาํ คัญสําหรับงบการเงิ น สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงิ นรวม อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้าเฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขัน้ ต้น (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ เฉลีย่ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ ณ วันสิน้ งวด(%) อัตราส่วนแสดงประสิ ทธิ ภาพในการดําเนิ นงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่วนวิ เคราะห์นโยบายทางการเงิ น (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบีย้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%) ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท) กําไรสุทธิต่อหุน้ (บาท) เงินปั นผลต่อหุน้ (บาท)

ส่วนที่ 2 หน้า 135

2549

2550

2551

0.74 0.57 1.15 17.46 21 9.08 40 7.24 50 11

0.73 0.59 1.27 15.68 23 8.30 43 10.24 35 31

1.08 0.90 1.48 15.04 24 8.11 44 12.27 29 39

38.80% 26.31% 1.16% 148.51% 17.78% 20.64% 20.95%

34.76% 22.99% 0.61% 143.19% 15.02% 21.29% 21.59%

34.98% 24.86% 2.32% 133.30% 14.81% 22.04% 22.34%

12.40% 37.32% 0.70

12.38% 37.42% 0.82

12.77% 40.73% 0.86

0.73 33.95 0.60 114.45%

0.71 25.29 0.73 114.32%

0.74 29.82 0.97 113.81%

26.28 5.50 6.30

25.53 5.51 6.30

24.80 5.54 6.30


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย สรุปอัตราส่วนทางการเงิ นที่สาํ คัญสําหรับงบการเงิ น (ต่อ) สําหรับปี สิ้ นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงิ นรวม อัตราการเติ บโต สินทรัพย์รวม (%) หนี้สนิ รวม (%) รายได้จากการขายหรือบริการ (%) ค่าใช้จา่ ยดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

ส่วนที่ 2 หน้า 136

2549

2550

2551

4.96% 18.07% (1.18%) 13.45% (13.19%)

(3.99%) (5.68%) 18.62% 11.79% 0.21%

(0.67%) 2.18% 2.16% 15.59% 0.73%


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

12.2

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

คําอธิ บายการวิ เคราะห์ฐานะทางการเงิ นและผลการดําเนิ นงาน

บทวิเคราะห์สาํ หรับผูบ้ ริหาร ปี 2551 ถือเป็ นปี ทเ่ี อไอเอสพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการเติบโตของรายได้ในอัตรา 6.5% และความสามารถในการรักษา ระดับส่วนแบ่งรายได้ตลาด รวมถึงอัตราผลกําไรทีด่ ีข้นึ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี รายได้ของเอไอเอสเติบโตอย่างแข็งแกร่งที่ อัตรา 8.6% ซึ่งสูงกว่าเป้ าหมายทีอ่ ตั รา 7-8% ท่ามกลางสภาวะเงินเฟ้ อที่ปรับตัวสูงขึน้ ก่อนที่จะถูกผลกระทบจากปั จจัยความ กดดันทางการเมือง รวมถึงสภาวะเศรษฐกิจถดถอยในช่วงไตรมาส 4 ของปี 2551 ปั จจัยหลักทีผ่ ลักดันการเติบโตของเอเอสในปี 2551 ได้แก่คุณภาพของผูใ้ ช้บริการใหม่ทด่ี ขี น้ึ ซึง่ สนับสนุ นโดยเครือข่ายทีแ่ ข็งแกร่งของเอไอเอสในต่างจังหวัด และช่องทางการ จัดจําหน่ ายทีด่ ขี น้ึ รวมถึงอัตราการเติบโตที่แข็งแกร่งของการใช้บริการด้านข้อมูล และจํานวนผูใ้ ช้บริการเทคโนโลยี EDGE ที่ เพิม่ ขึน้ จากความเป็ นผูน้ ํ าทัง้ ด้านเครือข่ายทีแ่ ข็งแกร่ง และคุณภาพการให้บริการทีด่ กี ว่า เอไอเอสยังได้ปรับโครงสร้างการบริหาร ช่องทางการจัดจําหน่ ายให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ รวมทัง้ การปรับแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ตวั แทนจําหน่ าย โดยการ เพิม่ ตัวแทนจําหน่ ายรายย่อยในระบบ แทนการพึง่ พิงตัวแทนจําหน่ ายรายใหญ่เพียงอย่างเดียว โดยสิง่ เหล่านี้ช่วยให้เอไอเอสสา มารถเพิม่ ฐานลูกค้าในพืน้ ทีห่ ่างไกลทีย่ งั มีอตั ราการใช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นระดับตํ่าได้ เอไอเอสได้กระตุน้ ให้มกี ารเติมเงิน ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิ กส์ตลอดปี ท่ผี ่านมา ทําให้ปริมาณการเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-refill) ได้เพิม่ สูงขึ้นเป็ น สัด ส่ ว น 30% ของยอดการเติม เงิน ทัง้ หมดจากที่เคยมีส ดั ส่ว นอยู่ เพีย งไม่ ถึง 10% ในปี 2550 การเติม เงิน ผ่ า นช่ อ งทาง อิเล็กทรอนิกส์ทาํ ให้ผใู้ ช้บริการสามรถเติมเงินได้ในมูลค่าทีน่ ้อยลง และทําให้เพิม่ ความถีใ่ นการเติมเงินมากขึน้ รวมถึงสามารถลด ค่าใช้จา่ ยในการผลิตบัตรเติมเงินอีกด้วย เอไอเอสยังสามารถรักษาความเป็ นผูน้ ํ าตลาดโพสต์เพดได้ โดยมีการจัดการในการหาลูกค้าใหม่ๆได้ดขี น้ึ ด้วยการคัดเลือก อย่างรัดกุมเพื่อให้ได้ลูกค้าทีม่ คี ุณภาพดี และมีความเหมาะสมต่อพฤติกรรมการใช้งาน และรูปแบบการใช้ชวี ติ ดังนัน้ คุณภาพ ของผูใ้ ช้บริการใหม่จงึ มีคุณภาพทีด่ ขี น้ึ ดังจะเห็นได้จากอัตราการออกจากระบบ (churn) และอัตราหนี้สงสัยจะสูญทีล่ ดลง ในขณะเดียวกัน การแข่งขันด้านราคานัน้ ก็ลดน้ อยลงอย่างต่อเนื่องจากการเริม่ คิดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายที่ทําให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงไปสูก่ ารคิดค่าบริการทีส่ ะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริงมากขึน้ โดยผูใ้ ห้บริการไม่สามารถลดราคาได้เกินต้นทุนค่าเชื่อมโยง โครงข่าย ส่งผลให้อตั ราผลกําไรดีขน้ึ และลดการลงทุนในโครงข่ายลง จากการทีม่ ปี ริมาณสายเข้าทีน่ ้อยลง เอไอเอสได้ประโยชน์ จากการเป็ นผูใ้ ห้บริการรายใหญ่ โดยสนับสนุ นการโทรในเครือข่าย และการโทรนอกเวลาทีม่ กี ารใช้งานสูง (off-peak) ทําให้เกิด การบริหารการใช้งานโครงข่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และยังช่วยลดการลงทุนในโครงข่ายได้อกี ด้วย เอไอเอสมีการจัดทํากิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมภาพลักษณ์ของแบรนด์เพื่อการเติบโตในระยะยาว โดยในปี ทผ่ี ่านมา เอไอเอสได้มี การปรับปรุงภาพลักษณ์บริษทั โดยนําเสนอแนวคิด “เอไอเอส อยู่เคียงข้างคุณ” ผ่านน้องอุ่นใจ โดยเน้นการสร้างความแข็งแกร่ง และสื่อถึงคุณค่าของตราสิน ค้า โดยเน้ นที่แกนหลักทัง้ ห้า อันได้แก่ เครือข่ายที่ดกี ว่า บริการที่เป็ นเลิศ สิทธิพเิ ศษที่เหนือกว่า บริการทีเ่ ป็ นนวัตกรรมใหม่ และ การตอบแทนสังคม งบดุลในปี 2551 ยังแข็งแกร่งด้วยอัตราหนี้สนิ ต่อทุนที่อยู่ในระดับตํ่าเพียง 0.5 เท่า และมีสภาพคล่องในระดับสูง จากการ เติบโตของรายได้ และการควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผลการดําเนินงานของเอไอเอสยังมีความแข็งแกร่ง และ เพิม่ ความสามารถในการสร้างกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน เพื่อช่วยสนับสนุ นการจ่ายเงินปั นผล และความพร้อมสําหรับการ ลงทุนในอนาคต

ส่วนที่ 2 หน้า 137


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สรุปผลการดําเนิ นงาน Rounded Rectangle: จํานวนผูใ้ ช้บริการ เอไอเอสสามารถเข้าถึงเขตภูมภิ าคได้มากขึน้ ทําให้ผใู้ ช้บริการในตลาดภูมภิ าคยังคง เติบโตอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในแง่ปริมาณและคุณภาพ ARPU ลดลงเนือ่ งจากการใช้ multi-SIM ขณะทีผ่ ใู้ ช้บริการรายใหม่มี ARPU ในระดับตํา่ อย่างไรก็ตาม ARPU ลดลงในอัตราทีช่ า้ ลง ปริมาณการใช้งานเพิม่ ขึน้ เป็นผลมาจากกระแสตอบรับทีด่ ตี ่อโปรโมชั ่นในช่วง Off-peak แต่มคี า่ ใช้จา่ ยเพือ่ การลงทุนในโครงข่าย ตํา่ ลง จํานวนผูใ้ ช้บริ การ

ณ สิน้ ปี 2551 มีผใู้ ช้บริการทัง้ สิน้ 27.3ล้านเลขหมาย โดยเพิม่ ขึน้ 3.2 ล้านเลขหมายหรือ 13% อย่างไรก็ ตามจํานวนผู้ใช้บ ริก ารที่เพิ่ม ขึ้น ลดลงจาก 4.6 ล้านเลขหมายในปี 2550 เป็ นผลจากการทํานโนบาย การตลาดซึ่งไม่ได้มุ่งเน้ นเพิม่ จํานวนผู้ใช้บริการมากเกินไป แต่จะให้ความสําคัญกับคุณภาพของลูกค้า รวมทัง้ มีการเติบโตของการใช้ซิมการ์ดมากกว่าหนึ่งหมายเลข (Multiple SIMs) ลดลง สําหรับส่วนแบ่ง ตลาดของจํานวนผู้ใช้บ ริก ารลดลงเล็กน้ อยเป็ น 45% จาก 46% ในปี 2550 ขณะที่สวนแบ่งตลาดของ รายได้คงที่ ที่ 51% เป็ นผลมากจากมีลกู ค้าคุณภาพสูงขึน้ และการพัฒนาประสิทธิภาพของช่องทางการจัด จําหน่ายรวมไปถึงความแข็งแกร่งของแบรนด์เอไอเอสโดยเฉพาะในตลาดต่างจังหวัด

ลูกค้าโพสต์เพด

ในปี 2550 เอไอเอสมีหนี้สูญและลูกค้าออกจากระบบ (Churn) สูงซึ่งเป็ นผลจากการตลาดที่มุ่งเน้ นเพิม่ จํานวนผูใ้ ช้บริการ แต่สาํ หรับในปี 2551 บริษทั ฯ ได้เพิม่ ความรอบคอบและเกณฑ์ในการคัดเลือกคุณภาพ ของผู้ใช้บริการ ส่งผลให้จํานวนของลูกค้าด้อยคุณภาพลดลง เห็นได้จากในไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 Churn ลดลงเป็ น 2% จาก 4.7% ในปี 2550

ลูกค้าพรีเพด

กลุ่ ม ลู ก ค้า พรีเพดในตลาดภู มิภ าคยัง คงขยายตัว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะภาคอีส านซึ่ ง ยัง มีอ ัต รา ผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีต่ ่อจํานวนประชากรตํ่าแต่มโี อกาสในการเติบโตสูงจากรายได้และกําลังซือ้ ของ ประชากรในภาคทีเ่ พิม่ ขึน้ จากคุณภาพของเครือข่ายสัญญาณรวมถึงการขยายช่องทางการจําหน่ ายส่งผล ให้เอไอเอสจึงมีการขยายตัวของรายได้และฐานลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ในพืน้ ทีเ่ ขตภาคอีสาน

ARPU

รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือนลดลงอย่างต่อเนื่องจากปี ก่ อนโดยมีสาเหตุ หลักจากการขยายตัวของ จํานวนผูใ้ ช้บริการในพื้นทีเ่ ขตต่างจังหวัดซึ่งมี ARPU ตํ่ากว่าพืน้ ทีใ่ นเขตเมือง ประกอบกับยังคงมีการใช้ งานมากกว่าหนึ่งเลขหมาย (Multiple SIMs) ทัง้ นี้ในปี 2551 ARPU มีอตั ราการลดลงอยู่ท่ี 11% ช้าลงเมื่อ เทียบกับ 20% เมือ่ ปี 2550 เนื่องจากมีการอัตราการใช้ Multiple SIMs ลดลง

MOU

เนื่องจากมีจํานวนผู้ใช้บริการบุฟเฟ่ ต์ในช่วง Off-peak และ โปรโมชันที ่ ่เพิม่ เติมจากโปรโมชันหลั ่ ก (ontop) เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง MOU ในปี 2551 เพิม่ ขึน้ 9% จากปี ก่อน อย่างไรก็ตามแม้จะมีจํานวนนาทีทใ่ี ช้ บริการเพิม่ ขึน้ แต่เอไอเอสใช้เครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ซึ่งช่วยให้ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนใน โครงข่ายลดลง โดยในปี 2551 มีมลู ค่าเท่ากับ 12,586 ล้านบาท

ส่วนที่ 2 หน้า 138


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เหตุการณ์สาํ คัญ ไตรมาส 4/2551 การบันทึกค่าการด้อยค่าความนิ ยมของดีพีซีเป็ นมูลค่า 3,553 ล้านบาท ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2551 กลุ่มบริษัท ฯ ได้บ นั ทึก ค่าการด้อยค่าความนิ ยมจากบริษัท ย่อยดีพีซีซ่ึงการเป็ น ผู้ดําเนิ นการและ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ Digital PCN 1800 เป็ นมูลค่า 3,553 ล้านบาท ลงในงบกําไรขาดทุนซึ่งเป็ นรายการทีไ่ ม่สามารถ นําไปหักภาษีได้ ไม่กระทบต่อกระแสเงินสด และไม่สามารถบันทึกกลับคืนได้ การบันทึกการด้อยค่าความนิยมนี้เป็ นเหตุจากการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 43 มีผลตัง้ แต่ 1 มกราคม 2551 โดยตาม มาตรฐานใหม่จะไม่มกี ารตัดจําหน่ ายค่าความนิยม แต่จะต้องทําการทดสอบการด้อยค่าและบันทึกการด้อยค่าในกรณีทม่ี ูลค่าตาม บัญชีของค่าความนิยมสูงกว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน (วิธกี ารตัดค่าของการด้อยค่าได้ระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน) ซึง่ มีผลกระทบต่องบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนี้  หยุดการตัดจําหน่ายค่าความนิยมมูลค่า 1,167 ล้านบาทต่อปี  บันทึกค่าการด้อยค่าความนิยมของดีพซี เี ป็ นมูลค่า 3,553 ล้านบาท ด้วยวิธคี ดิ มูลค่าปั จจุบนั ของประมาณการกระแสเงิน สดทีจ่ ะได้รบั ในอนาคตดีพซี ี 6,655 ล้านบาท โดยหลังจากหักค่าการด้อยค่าความนิยมของดีพซี ี ค่าความนิยมของดีพซี ี ในงบดุลจะเท่ากับ 3,102 ล้านบาท ไตรมาสที่ 2/2551 การระงับข้อพิ พาทกรณี ดีพีซีกบั ดีแทคโดยชําระค่าตอบแทนการโอนสิ ทธ์เป็ นจํานวนเงิ น 3,000 ล้าน บาท และบันทึกรายได้ก่อนหักภาษี จาํ นวน 1,739 ล้านบาท จากข้อพิพาทในกรณี “The Unwind Agreement” (สิทธิและหน้าทีใ่ นการบริหารโทรศัพท์เคลือ่ นที่ PCN1800) ระหว่างดีพซี แี ละ ดีแทค ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2550 ดีพซี ไี ด้บนั ทึกรายการหนี้สนิ รวมจํานวน 4,739 ล้านบาท ต่อมาในเดือนมีนาคม 2551 ศาล อนุญาโตตุลาการมีคาํ ชีข้ าดในข้อพิพาท โดยสังให้ ่ ดพี ซี ชี าํ ระเงินให้ดแี ทค จํานวน 85 ล้านเหรียญสหรัฐ พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อย ละ 9.5 ต่อปี ส่วนข้อพิพาททีเ่ หลือยังอยูใ่ นขัน้ ตอนการระงับข้อพิพาท และเมือ่ เดือน 30 พฤษภาคม 2551 ดีพซี ไี ด้เจรจา ประนีประนอมยอมความกับดีแทค โดยยินยอมจ่ายให้ดแี ทค จํานวน 3,000 ล้านบาทเพือ่ ยุตกิ ารเรียกร้องให้ชาํ ระเงินในหนี้ปัจจุบนั หรือหนี้ทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ในอนาคตจากข้อพิพาทดังกล่าว รวมถึงข้อพิพาทอืน่ ๆระหว่างดีพซี แี ละดีแทคในกรณี “The Unwind Agreement” ดังนัน้ ในงบการเงินไตรมาสที่ 2/2551 ของเอไอเอสจึงได้มกี ารบันทึกรายได้อ่นื ก่อนหักภาษีจาํ นวน 1,739 ล้านบาท ซึง่ เป็ นรายได้ทต่ี อ้ งเสียภาษีในอัตราร้อยละ 30 จากกรณีดงั กล่าว บริษทั มีเงินสดออกจํานวน 3,000 ล้านบาทในไตรมาสดังกล่าว (รายละเอียดอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน)

ส่วนที่ 2 หน้า 139


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สรุปผลประกอบการเชิ งการเงิน รายได้การบริ การไม่รวม IC เพิ ม่ ขึ้น 6.5% เมือ่ เทียบกับปี ก่อน เนือ่ งจากความแข็งแกร่งของเอไอเอสในตลาดภูมภิ าคและการ แข่งขันด้านราคาลดน้อยลง ไตรมาส 4/2551 ได้รบั ผลกระทบจากการเหตุการณ์ปิดสนามบิน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิ จในขาลง EBITDA margin ไม่รวม IC เพิ ม่ ขึ้น 300bps เป็น 48.3% โดย normalized profit เพิม่ ขึน้ จากปีทแี ่ ล้ว 7.4% เป็ นผลจากการเติบโต ของรายได้ควบคูก่ บั การควบคุมค่าใช้จา่ ย รายได้การให้บริ การไม่รวม IC (ล้านบาท) รายได้จากบริการเสียง โพสต์เพด (เสียง) พรีเพด (เสียง) รายได้จากบริการข้อมูล รายได้โรมมิง่ ต่างประเทศ อื่นๆ (โทรต่างประเทศและอื่นๆ) รวมรายได้จากการให้บริการ

2551

2550 62,693 17,201 45,491 8,628 3,699 3,261 78,280

80.1% 22.0% 58.1% 11.0% 4.7% 4.2% 100.0%

63,906 15,098 48,808 11,061 3,696 4,710 83,373

76.7% 18.1% 58.5% 13.3% 4.4% 5.6% 100.0%

%เปลีย่ นแปลง เทียบกับปี 2550 1.9% -12.2% 7.3% 28.2% -0.1% 44.4% 6.5%

รายได้การบริ การไม่รวม IC ในปี 2551 เท่ากับ 83,373 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6.5% เมื่อเทียบกับ 78,280 ล้านบาท ในปี 2550 ประกอบด้วยรายได้จากบริการจากเสียงในระบบพรีเพดที่เพิม่ ขึน้ 7.3% ขณะที่การเติบโตของรายได้จากการบริการข้อมูลสูงขึน้ 28.2% และรายได้จากบริการการโทรออกต่างประเทศผ่านหรัส 005 เติบโตถึง 90% รายได้ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2551 เติบโต ถึง 8.6% ซึ่งเหนือกว่าทีบ่ ริษทั คาดการณ์ไว้ ท่ามกลางภาวะทีม่ อี ตั ราเงินเฟ้ อสูง แต่ในไตรมาส 4 ซึง่ ปกติเป็ นช่วงทีร่ ายได้ค่อนข้าง สูงในปี กลับได้รบั ผลกระทบจากความไม่มนคงทางการเมื ั่ อง โดยเฉพาะในกรณีเหตุการณ์ ปิดสนามบินสุวรรณภูมิ ประกอบกับ สภาวะเศรษฐกิจขาลงรวมไปถึงความเชื่อมันของผู ่ ้บริโภคที่ลดลงด้วย ซึ่งมีผลต่อการบริโภคภายในประเทศและการลดลงของ ปริมาณนักท่องเทีย่ วต่างชาติ โดยเห็นได้จากในไตรมาส 4/2551 รายได้จากการให้บริการไม่รวมค่า IC เท่ากับ 20,222 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นเพียง 0.6% จากไตรมาสเดียวกันในปี ก่อน แต่เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 3/2551 แล้วลดลง 2.1% ซึ่งมาจากการลดลงของ รายได้จากการบริการทุกส่วนโดยเฉพาะบริการโรมมิง่ รายได้จากการบริ การเสียง ในปี 2551 เพิม่ ขึน้ เล็กน้อย 1.9% จากปี ก่อน เนื่องจาก รายได้โพสต์เพดลดลงมากจากปี 2550 ถึง 12.2% ขณะทีพ่ รีเพดยังเติบโตได้ดที ่ี 7.3% โดยการลดลงของรายได้โพสต์เพดมีสาเหตุการแก้ปัญหาลูกหนี้ด้อยคุณภาพ ส่วนการ แข่งขันทางด้านราคาในปี 2551 ลดน้ อยลง เนื่องจากการเก็บค่าเชื่อมโยงโครงข่ายทําให้มตี ้นทุนการโทรนอกเครือข่าย ดังนัน้ ในช่วงครึง่ แรกของปี 2551 ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ด้ปรับเปลีย่ นอัตราค่าบริการในแบบต่างๆโดยเฉพาะการเพิม่ อัตราค่าโทร นอกเครือข่าย ขณะเดียวกันก็มุ่งเน้ นการปรับอัตราค่าโทรเพื่อเพิม่ การใช้งานภายในเครือข่ายด้วย อย่างไรก็ตามภาวะเงินเฟ้ อที่ สูงขึน้ ในระหว่างกลางปี 2551 ประกอบกับประชาชนลดการจับจ่ายใช้สอยลงทําให้การขึน้ อัตราค่าโทรในช่วงครึง่ ปี หลังเป็ นไปได้ ยาก

ส่วนที่ 2 หน้า 140


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รายได้จากบริการด้านข้อมูล มีมลู ค่า 11,061 ล้านบาท มีการเติบโตทีด่ ี โดยเพิม่ ขึน้ ถึง 28.2% เมื่อเทียบกับ 8,628 ล้านบาทในปี 2550 แม้ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคทีล่ ดลงในช่วงท้ายของปี 2551 เอไอเอสยังคงมีการเติบโตของรายได้จากบริการด้านข้อมูลกว่า 20% ใน 5 ไตรมาสทีผ่ ่านมา ปั จจัยสําคัญในการเติบโตของรายได้ดงั กล่าวมากจากการใช้บริการอินเตอร์เนทผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ทีเ่ ติบโตถึง 75% จากปี ก่อน เนื่องจากความเร็วในการรับส่งข้อมูลผ่านเทคโนโลยี EDGE ทีส่ งู ขึน้ ทําให้มผี ูใ้ ช้บริการมากขึน้ และมี ปริมาณการใช้งานสูงขึ้น ประกอบกับรายได้จากบริก ารคอนเทนต์ดาวโหลดที่เพิ่มขึ้น 45% นอกจากนี้ ความหลากหลายของ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและราคาเครือ่ งทีล่ ดลงยังเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งทีช่ ว่ ยให้เพิม่ การเติบโตของการใช้งานบริการข้อมูล โดยรายได้จาก บริการ GPRS/EDGE คิดเป็ นสัดส่วนในรายได้บริการข้อมูลเท่ากับ 22% เพิม่ ขึน้ จากเดิมที่ 16% ในปี 2550 ขณะทีร่ ายได้สว่ นใหญ่ ยังคงมากจากบริการ SMS โดยคิดเป็ น 27% ของรายได้จากบริการด้านข้อมูล ลดลงจากปี ก่อนที่ 30% ทัง้ นี้ในปี 2551 รายได้จาก บริการด้านข้อมูลมีสดั ส่วนเพิม่ ขึน้ เป็ น 11% จากปี ก่อนที่ 9% ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (ล้านบาท) รายรับค่า IC รายจ่ายค่า IC สุทธิ รับ / (จ่าย)

2550

2551

16,530 14,054 2,477

16,213 15,476 737

รายได้จากบริ การข้ามแดนอัตโนมัติ (IR) ในปี 2551 มีมูลค่า 3,696 ล้านบาท คงตัวจากปี ก่อนหน้ า อย่างไรก็ตามในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2551 นี้ เอไอเอสมีรายได้จาก IR เพิ่ม ขึ้น 12.9% เมื่อ เทียบกับ ช่ วงเดียวกัน ของปี ก่ อน แต่ เนื่ อ งจากการปิ ด สนามบินนานถึง 10 วัน ส่งผลให้ให้จาํ นวนนักท่องเทีย่ วต่างชาติลดลงซึง่ เป็ นปั จจัยหลักของรายได้ในส่วนโรมมิง่ รายได้อื่น เพิม่ ขึน้ ถึง 44.4% จากปี 2550 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการเติบโตของรายได้จากการโทรออกต่างประเทศผ่านรหัส 005 ทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงถึง 90% จากการเปิ ดให้บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเกตเวย์ของ AIN อย่างเต็มรูปแบบ รายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC revenue) ลดลง 1.9% จากปี 2550 โดย รายจ่ายค่า IC สูงขึน้ 10.1% ส่งผลให้รายรับสุทธิ (net IC) ของปี 2551 ลดลงเหลือ 737 ล้าน จาก 2,477 ล้าน ในปี ก่อน ทัง้ นี้การปรับอัตราค่าบริการโดยเฉพาะการโทรภายในและการ โทรข้ามเครือข่ายเป็ นปั จจัยหลักทีท่ ําให้ทศิ ทางของค่า IC สุทธิ ปรับเข้าสูส่ มดุลมากขึน้ ในขณะทีผ่ ใู้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ าย อื่นเพิ่มราคาอัตราค่าโทรนอกเครือข่ายเพื่อควบคุมรายจ่ายค่า IC เอไอเอสใช้ขอ้ ได้เปรียบจากสัดส่วนของฐานลูกค้าที่ใหญ่ กว่า มุ่งเน้ นรายได้จากการโทรออกของลูกค้ามากกว่ารายได้จากการรับสายจากเครือข่ายอื่นควบคู่ไปกับการออกโปรโมชันภายใน ่ เครือข่าย รายได้จากการขาย เท่ากับ 11,205 ล้านบาท ลดลง 17.9% จาก 13,644 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากในปี 2551 มียอดขาย โทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ละซิมการ์ดตํ่าลงสาเหตุทย่ี อดขายโทรศัพท์เคลื่อนทีล่ ดลงมาจากเศรษฐกิจขาลงในช่วงครึง่ ปี หลังทําให้ผบู้ ริโภค ลดความต้องการซือ้ ลงและหันไปซือ้ เครือ่ งทีม่ รี าคาถูก สะท้อนจากราคาเฉลีย่ ทีล่ ดลงของเครือ่ งทีข่ ายได้ สําหรับยอดขายซิมการ์ดที่ ลดลงในปี 2551 สืบเนื่องมากจากจํานวนลูกค้าใหม่ทล่ี ดลงโดยสิน้ ปี 2551 มีจํานวนผูใ้ ช้บริการเพิม่ ขึน้ เท่ากับ 3.4 ล้านเลขหมาย เทียบกับปี ก่อน 4.6 ล้านเลขหมาย ต้นทุนขาย รายได้จากการขายทีล่ ดลงส่งผลให้ ต้นทุนขายในปี 2551 ลดลง 16.6% จากปี 2550 โดยมีอตั รากําไรขัน้ ต้นจากการ ขายเท่ากับ 6 % ลดลงจาก 7.5% ในปี ก่อน

ส่วนที่ 2 หน้า 141


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

ต้นทุนการให้บริ การไม่รวม IC (ล้านบาท) ค่าเสือ่ มราคาโครงข่าย ต้นทุนโครงข่าย ค่าซ่อมบํารุงโครงข่าย อื่นๆ

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

2550 16,686 2,312 1,872 3,517 24,387

2551 17,898 2,513 1,825 3,773 26,008

%เปลีย่ นแปลง เทียบกับปี 2550 7.3% 8.7% -2.5% 7.3% 6.6%

ต้ น ทุ น การให้ บ ริ การไม่ รวมค่ า IC เท่ ากับ 26,008 ล้านบาท ซึ่งเพิ่ม ขึ้น 6.6% จาก 24,387 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่ องด้วย ระยะเวลาในการตัดค่าเสือ่ มราคาสัน้ ลงตามอายุสญ ั ญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการ ทําให้ค่าเสือ่ มราคาโครงข่ายสูงขึน้ 7.3% จากปี 2550 ขณะทีค่ ่าซ่อมบํารุงโครงข่ายลดลง 2.5% โดยในปี 2551 จากโครงการพัฒนาประสิทธิภาพของการดําเนินงานภายในองค์กร ส่งผล ให้ค่าซ่อมบํารุงโครงข่ายลดลง แม้ว่าบริษทั ฯ ได้ขยายโครงข่ายเพิม่ ประมาณ 2,000 สถานีฐาน ส่วนต้นทุนการให้บริการอื่นเพิม่ ขึน้ 7.3% ซึง่ ส่วนใหญ่มาจากการเปิ ดให้บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเกตเวย์ของ AIN ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี (ล้านบาท) ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี %เทียบกับรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC

2550 19,691 25.2%

%เปลีย่ นแปลง 2551 เทียบกับปี 2550 20,021 1.7% 24.0%

ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี 2551 เพิม่ ขึน้ 1.7% เป็ น 20,021 ล้านบาท ในปี 2551 คิดเป็ น 24% ของรายได้จากการบริการไม่ รวม ค่า IC ซึง่ ลดลงจากปี ก่อนที่ 25% สาเหตุจากสัดส่วนรายได้จากโพสต์เพดทีล่ ดลง

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร (ล้านบาท) 2550 2551 ค่าใช้จา่ ยการตลาด 3,535 3,252 สํารองหนี้สญ ู 1,347 530 ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร 12,769 11,205 3.8% 3.4% % ค่าใช้จา่ ยการตลาดเมือ่ เทียบกับรายได้ (ไม่รวม IC) % ค่าใช้จา่ ยการตัง้ สํารองหนี้สญ ู ต่อรายได้โพสต์เพด 6.5% 2.7% % ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารต่อรายได้ (ไม่รวม IC) 11.8% 10.1%

%เปลีย่ นแปลง เทียบกับปี 2550 -8.0% -60.7% -12.2%

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ลดลง 12.2% เนื่องจากหยุดการบันทึกค่าตัดจ่ายค่านิยม (ตามมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 43 เรือ่ ง การรวมธุรกิจ) หากไม่รวมส่วนดังกล่าว บริษัทฯ จะมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลง 3.4% จากปี ก่อน เนื่ องจากการตัง้ สํารองหนี้สญ ู ตํ่าลง 60.6% และค่าใช้จา่ ยทางการตลาดลดลง 8% และค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงานลดลง 13.5% การตัง้ สํารองหนี้สญ ู คิดเป็ น 2.7% ของรายได้โพสต์เพดในปี 2551 จาก 6.5% ในปี 2550 เนื่องจากบริษทั ได้มี นโยบายทีเ่ คร่งครัดในการคัดเลือกลูกค้า รายใหม่ท่ีจะเข้ามาใช้บ ริก ารโพสต์เพด ส่วนค่าใช้จ่ายการตลาดปี 2551 นี้เท่ากับ 3.4% ของรายได้ทงั ้ หมดไม่รวม IC ลดลง เล็กน้อยจาก 3.8% ในปี ก่อน ซึง่ น้อยกว่างบประมาณทางการตลาดทีต่ งั ้ ไว้ท่ี 4% ซึง่ บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรมในการสร้างภาพลักษณ์ ใหม่ให้กบั บริษทั ฯ และพรีเพดแบรนด์

ส่วนที่ 2 หน้า 142


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

รายได้อื่น ในปี 2551 เท่ากับ 2,570 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับในปี 2550 ที่ 662 ล้านบาท แล้ว เพิม่ ขึน้ ถึง 288% ซึง่ รายได้สว่ น ใหญ่มาจากรายรับจากการระงับข้อพิพาทระหว่างดีพซี แี ละดีแทคเป็ นจํานวน 1,739 ล้านบาท EBITDA (ล้านบาท) กําไรจากการดําเนิ นงาน ค่าเสือ่ มราคาทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสินทรัพย์โครงข่าย ค่าความนิยมตัดจําหน่าย ตัดจําหน่ายค่าความนิยม EBITDA EBITDA margin EBITDA ไม่รวม IC EBITDA margin ไม่รวม IC

%เปลีย่ นแปลง 2551 เทียบกับปี 2550 27,548 3,029 15,815

2550 24,930 3,174 14,413 1,167

15 46,406 41.9% 45,722 48.3%

43,684 40.3% 41,668 45.3%

6.2% 9.7%

อัตรากําไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อม (EBITDA margin) ไม่รวมค่า IC ในปี 2551 เท่ากับ 48.3% สูงขึน้ จาก 45.3% ในปี 2550 เนื่องจากรายได้มกี ารเติบโตสูงขึน้ ขณะที่ค่าใช้จ่ายทีก่ ารตัง้ สํารองหนี้สญ ู ลดลง ประกอบกับต้นทุนการดําเนินงานที่มี ประสิทธิภาพ หากรวมค่า IC แล้ว EBITDA margin ในปี น้ีจะเท่ากับ 41.9% เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากปี ก่อนที่ 40.3% กําไรสุทธิ ในปี 2551 เท่ากับ 16,409 ล้านบาท คงตัวจาก 16,290 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากการตัดการด้อยค่าความนิยม มูลค่า 3,553 ล้านบาท และมีกําไรสุทธิก่อนหัก รายการพิเศษ (Normalized net profit) เท่ากับ 18,760 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นจาก 17,457 ล้านบาท ในปี ก่อน 7.5% โดยผลประกอบการที่ดีข้นึ นี้เป็ นผลจากรายได้มกี ารเติบโตอย่างแข็งแกร่ง ฐานผู้ใช้บริการมี คุณภาพและมีจาํ นวนหนี้สญ ู ทีต่ ่าํ ลง รวมถึงมีประสิทธิภาพในการควบคุมต้นทุนซึ่งช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน

กําไร (ล้านบาท) หักภาษี กําไรสุทธิ บวก: ค่าความนิยมตัดจ่าย ไม่ได้ การด้อยค่าของค่าความนิยมดีพซี ี ไม่ได้ ตัดจําหน่ายค่าความนิยม* ไม่ได้ หัก: รายรับจาก DPC หลังหัก ภาษี ตามทีบ่ นั ทึก ได้ กําไรสุทธิ ก่อนรายการพิ เศษ (Normalized)

การบันทึก ค่าใช้ในการขายและบริหาร ขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าใช้ในการขายและบริหาร

รายได้อ่นื

* บันทึกลงใน ไตรมานที ่ 1/2551จากการขายส่วนของหุน้ ในบริษทั ย่อย เอดีซ ี

ส่วนที่ 2 หน้า 143

2550 16,290 1,167 -

%เปลีย่ นแปลง 2551 เทียบกับปี 2550 16,409 0.7% 3,553 15

-

-1,217

17,457

18,760

7.5%


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างงบดุล (ล้านบาท) สินทรัพย์หมุนเวียน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินการ-สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน-สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี อื่นๆ รวมสิ นทรัพย์

2550 20,586 8,561 78,527 10,593 10,031 644 128,942

% ต่อ สินทรัพย์รวม 16.0% 6.6% 60.9% 8.2% 7.8% 0.5% 100.0%

2551 26,958 8,144 73,045 6,538 10,075 3,321 128,081

% ต่อ สินทรัพย์รวม 21.0% 6.4% 57.0% 5.1% 7.9% 2.6% 100.0%

สิ นทรัพย์รวม ณ สิน้ ปี 2551 มีมูลค่า 128,081 ล้านบาท ลดลงเล็กน้ อยจาก 128,942 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากสินทรัพย์ ภายใต้สญ ั ญาอนุ ญาตให้ดําเนินการลดลง เกิดจากการลงทุนในเครือข่ายในปี 2551 การตัดค่าเสื่อมจากการลงทุนโครงข่ายมูลค่า น้อยกว่า เป็ นผลจากระยะเวลาในการตัดค่าเสื่อมราคาสัน้ ลงตามอายุสญ ั ญาอนุ ญาตให้ดําเนินการ ส่วนสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนลดลง จากปี ก่อน 38.3% เนื่องจากการด้อยค่าของค่าความนิยม 3,553 ล้านบาท ส่วนสินทรัพย์อ่นื รวมมูลค่า 3,321 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 644 ล้านบาท ในปี 2550 อันเป็ นผลของนโยบายป้ องกันความเสีย่ ง (hedging policy) ปี 2551 การลดค่าของเงินบาททําให้บริษทั ฯ บันทึกลูกหนี้จากการทําสัญญาแลกเปลีย่ น (swap/forward) เป็ นมูลค่า 2,484 ล้านบาท จากในปี 2550 ที่เป็ นการบันทึกเจ้าหนี้ จากการทําสัญญาดังกล่าวเป็ นมูลค่า 383 ล้านบาท

(ล้านบาท) เงินสด เงินลงทุนระยะสัน้ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์ หมุนเวียนอืน่ ๆ รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน

2550 8,317 123 8,054 1,236 2,855 20,586

% ต่อ % ต่อ สินทรัพย์ สินทรัพย์ รวม 2551 รวม 6.4% 16,301 12.7% 0.1% 226 0.2% 6.2% 5,790 4.5% 1.2% 1.0% 1,593 2.2%

3,048

16.0% 26,958

2.4% 21.0%

(ล้านบาท) เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า ส่วนของหุน้ กูท้ ถ่ี งึ กําหนด ชําระใน 1 ปี ผลประโยชน์ตอบแทน รายปี คา้ งจ่าย เจ้าหนี้ตอบแทน การโอนสิทธิ หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่ ๆ รวมหนี้ สินหมุนเวียน

% ต่อ สินทรัพย์ 2550 รวม

% ต่อ สินทรัพย์ 2551 รวม

3,492 4,218

2.7% 3.3%

4,263

3.3%

1,545

1.2%

7,038

5.5%

3,634

2.8%

2,719

2.1%

3.7% 8.2% 10,840 21.8% 24,860

8.5% 19.4%

4,739 10,528 28,157

สภาพคล่ อ ง สิ้น ปี 2551 บริษัทฯ มีสถานะดีข้นึ โดยมีอัตราส่วนสิน ทรัพย์สภาพคล่องสูงขึ้น เป็ น 1.08 จาก 0.73 ในปี 2550 เนื่องจากปริมาณเงินสดเพิม่ ขึ้นและการตกลงค่าตอบแทนการโอนสิทธิ ์ดีพีซีตามข้อพิพาทกับดีแทค ในเดือนพฤษภาคม 2551 บริษัทมีสภาพคล่องในระดับสูงเห็นได้จากสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่าครึง่ เป็ นเงินสด ในปี 2551 บริษัทฯ ได้รบั ค่า เชือ่ มโยงโครงข่ายทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างปี 2550 เป็ นมูลค่า 2,477 ล้านบาท จึงส่งผลให้ลกู หนี้การค้าลดลง 28.1% เทียบกับปี 2550

ส่วนที่ 2 หน้า 144


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

โครงสร้างเงิ นทุน มีความแข็งแกร่งด้วย Debt ratio ในระดับ 42.7% เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากปี ก่อนที่ 41.5% และอัตราส่วนหนี้สนิ รวม ต่อส่วนทุ นเพิ่มขึ้น เป็ น 74.4% จาก 70.9% ในปี 2550 เนื่องจากมีก ารกู้ยืมเพิ่มขึ้น โดยส่วนของผู้ถือหุ้น ลดลงเล็กน้ อยจากที่ บริษัทฯ จ่ายปั นผลรวมมูลค่าสูงกว่ากําไรสุทธิ อย่างไรก็ตามเอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักการลงทุน (Free cash flow) มากเพียงต่อต่อการจ่ายปั นผล โดยระหว่างปี 2551 ได้จ่ายปั นผลทีอ่ ตั รา 6.3 บาทต่อหุน้ รวมเป็ นมูลค่า 18,653 ล้าน บาท จากเงินสดที่เพิม่ ขึ้นทําให้ ณ สิ้นเดิอนธันวาคม 2551 บริษัทฯ มีเงินกู้สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 24.5% ลดลงจาก 29.2% ในปี 2550 (ล้านบาท) หนี้ทม่ี ภี าระดอกเบีย้ หนี้สนิ รวม รวมส่วนผูถ้ อื หุน้ เงินกูส้ ทุ ธิ / ส่วนของผูถ้ อื หุน้ หนี้สนิ รวมต่อส่วนผูถ้ อื หุน้

2550 30,349 53,481 75,461 29.2% 70.9%

2551 34,328 54,646 73,436 24.5% 74.4%

หุ้น กู้และเงิ นกู้ยืม ในปี 2551 มีหนี้ท่มี ภี าระดอกเบี้ยคิดเป็ นมูลค่า 34,328 ล้านบาท เพิม่ ขึ้น 13.1% จาก 30,348 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจากในเดือนเมษายน 2551 เอไอเอสได้ออกหุน้ กูม้ ลู ค่า 4,000 ล้านบาท รวมถึงได้กเู้ งินเพิม่ เติมระยะยาวเพือ่ การลงทุนใน เครือข่ายเป็ นมูลค่า 5,029 ล้านบาท ทัง้ นี้อตั ราดอกเบีย้ เฉลีย่ คิดเป็ น 5.1% ต่อปี ลดลงจาก 5.3% ในปี 2550 เนื่องจากเงินกู้เพิม่ เติม ระหว่างปี มอี ตั ราดอกเบีย้ ตํ่ากว่าอัตราดอกเบีย้ เฉลีย่ ของบริษทั และในเดือนมกราคม 2551 เอไอเอสได้ออกหุน้ กู้ใหม่ประเภทไม่ดอ้ ย สิทธิ รวมมูลค่า 7,500 ล้านบาท แบ่งเป็ น 2 ชุด ดังนี้ 1) หุน้ กูอ้ ายุ 3.5 ปี โดยจ่ายอัตราดอกเบีย้ 4% ใน 2.5 ปี แรก และ 5% ในอีก 1 ปี ทเ่ี หลือ 2) หุน้ กูอ้ ายุ 5 ปี โดยเสนออัตราดอกเบีย้ 4% ในปี ท่ี 1-2, 5% สําหรับปี ท่ี 3-4 และ 6%ในปี สดุ ท้าย

หน่ วย: ล้านบาท เงินกูร้ ะยะสัน้ เงินกูร้ ะยะยาว(2) หุน้ กูร้ ะยะยาว(1) รวมเงินกูย้ มื ทัง้ สิน้

ยอดที่ต้องจ่ายชําระคืน(1) ณ สิ้ นงวด ณ สิ้ นงวด 2551 2552 2553 2554 2555 2550 3,492 10,745 15,718 411 408 9,889 400 16,111 18,610 6,627 - 4,000 30,348 34,328 7,038 408 13,888 400

2556 398 8,000 8,398

(1) รวมต้นทุนในการออกหุน้ กู;้ (2) รวมสัญญาแลกเปลีย่ น swap และ forward

กระแสเงินสด บริษัทมีสถานะกระแสเงินสดดีข้นึ เทียบกับปี 2550 เนื่ องจากมีกระแสเงินสดจากการดําเนิ นการดีข้นึ ประกอบกับการลงทุ นใน เครือข่ายลดลง กระแสเงินสดจากการดําเนิ นงานที่แข็งแกร่งเป็ นผลจาการเติบโตของรายได้ท่ดี ีและการควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างมี ประสิทธิภาพ ในปี 2551 บริษทั มีการลงทุนเครือข่ายรวมจํานวน 12,586 ล้านบาท ลดลงจาก 17,105 ล้านบาท ในปี 2550 เนื่องจาก โปรโมชันในช่ ่ วงนอกเวลาเร่งด่วน (off-peak) ได้รบั การตอบรับอย่างดี รวมถึงการแข่งขันด้านราคาเบาบางลงด้วย ทําให้สามารถ บริหารการใช้โครงข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยในปี 2551 บริษัทมีกระแสเงินสดจากการดําเนิ นงาน (ก่อนหักส่วน เปลีย่ นแปลงของเงินทุนหมุนเวียน) เป็ นจํานวน 47,702 ล้านบาท และมีเงินกูใ้ นระยะยาวเพิม่ ขึน้ เป็ นจํานวน 9,014 ล้านบาท โดย ได้จ่ายคืนหนี้สนิ ไปเป็ นจํานวน 5,161 ล้านบาท จ่ายเงินปั นผล 18,681 ล้านบาท รวมถึงจัดหาเงินลงทุนในเครือข่าย 12,586 ล้าน บาท โดยกลุม่ บริษทั ฯมีเงินสดเพิม่ ขึน้ สุทธิเท่ากับ 8,235 ล้านบาท ส่วนที่ 2 หน้า 145


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

แหล่งที่มาของเงิ นทุน กระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักดอกเบีย้ และภาษี เงินรับจากหุน้ ทุนและส่วนเกินทุน ดอกเบีย้ รับ เงินรับจากการขายสินทรัพย์ เงินรับจากการกูย้ มื ระยะยาว

47,702 283 324 132 9,014

รวม

57,454

ส่วนที่ 2 หน้า 146

การใช้ไปของเงิ นทุน การลงทุนในเครือข่ายและสินทรัพย์ถาวร ชําระคืนเงินกูร้ ะยะสัน้ ดอกเบีย้ จ่าย ส่วนเปลีย่ นแปลงของเงินทุนหมุนเวียน เงินปั นผลจ่าย การลงทุนระยะสัน้ และเงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินสดเพิม่ ขึน้ ชําระคืนเงินกูร้ ะยะยาว รวม

12,586 3,500 1,580 10,981 18,681 229 8,235 1,661 57,454


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

มุมมองของผูบ้ ริหารต่อแนวโน้ มและกลยุทธ์ปี 2552 ประมาณการเติ บโตของผูใ้ ช้บริ การโดยรวมทัง้ 5 ล้าน เลขหมาย อุตสาหกรรม ส่วนแบ่งตลาด

ส่วนแบ่งตลาดเชิงรายได้ 50%

รายได้จากการให้บริ การ

อัตราการเติบโตของรายได้การบริการประมาณ 3-4%

ค่าใช้จ่ายทางการตลาด

3% ของรายได้รวม (เท่ากับ 3.5% ของรายได้รวมไม่รวมรายรับค่า IC)

ค่าเสื่อมราคาเครือข่าย

คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ 8-10% (ค่าเสือ่ มราคาโครงข่าย และ ค่าเสือ่ มราคาอุปกรณ์ท่ี บันทึกไว้ในต้นทุนบริการเท่านัน้ แต่ไม่รวม ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์-สุทธิท่ี บันทึกในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารและการตัดจําหน่ายสิทธิตามสัญญา อนุญาตให้ดําเนินการ)

อัตรากําไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษีและค่าเสื่อม (EBITDA margin)

41-42% (หากไม่รวม IC จะเท่ากับ 48-49%)

เงิ นลงทุนในเครือข่าย

13,000 – 15,000 ล้านบาท รวมงบลงทุนใน 3G บนคลืน่ ความถีย่ า่ น 900 MHz

รายรับค่า IC สุทธิ

400-700 ล้านบาท

ในปี 2552 คาดว่าอุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีการเติ บโตน้ อยลง เป็ นผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตัง้ แต่ไตรมาสสุดท้ายของ ปี 2551 ซึง่ จะยังส่งผลให้อุปสงค์และกําลังการซื้อของผูบ้ ริโภคลงลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีหลายหน่ วยงานคาดการณ์การเติบโตของ ผลิตภัณ ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ที่ 0-2% สําหรับเอไอเอสคาดการเติบโตของรายได้ไว้ท่ปี ระมาณ 3-4% โดยมีปัจจัย สําคัญจาก (1) การเติบโตของผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากรในต่างจังหวัด ซึ่งผู้บริโภคยังคงมีรายได้ดกี ว่าอันเป็ นผล จากรายได้จากภาคเกษตรกรรม (2) ภาวะการแข่งขันทรงตัวแต่หนั มาเน้ นการแข่งขันรักษาฐานลูกค้าเดิมรวมถึงคุ ณภาพของ ผูใ้ ช้บริการมากกว่าการแข่งขันด้านราคา (3) รายได้การบริการข้อมูลเติบโตได้ดี แม้จะเติบโตน้อยลงด้วยอัตรา 10-15% เทียบกับ 28% ในปี 2551 เนื่ อ งจากผู้บ ริโภคลดการใช้จ่า ยลง นอกจากนี้ ค าดว่า รายได้จากการขายเครื่อ งโทรศัพ ท์เคลื่อ นที่จะลดลง ค่อนข้างมากในปี 2552 นี้ ในปี 2552 คาดการ์ณ ว่าจํานวนผู้ใช้ โทรศัพ ท์ เคลื่อนที่ ต่ อจํานวนประชากรจะเพิ่ ม สูงขึ้น ถึงกว่า 100% โดยจะมีจํานวน ผูใ้ ช้บริการ ทัง้ อุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ 5 ล้านเลขหมาย เทียบกับในช่วงปี 2550- 51 ทีม่ จี ํานวนผูใ้ ช้บริการเพิม่ ขึน้ ถึงปี ละ 8-10 ล้าน เลขหมาย จากการเพิม่ ขึน้ ของการใช้หลายหมายเลข (Multiple-SIMs) โดยผูใ้ ช้หลายหมายเลขโดยมากจะอาศัยอยู่ในเขตตัวเมือง ดังนัน้ อัตราการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในพื้นที่ต่างจังหวัดจึงน่ าจะมีเพียง 50-60% ซึ่งทําให้มโี อกาสในการเติบโตได้อกี มาก ด้วยโครงข่ายที่แข็งแกร่ง คุณภาพที่เหนื อกว่า และตราสินค้าที่มีความโดดเด่นของเอไอเอส ทําให้เอไอเอสครองตลาดในพื้นที่ ต่างจังหวัด รวมถึงสามารถรักษาส่วนแบ่งการตลาดเอาไว้ได้ การเริ่ มคิ ดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายที่ ทาํ ให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลงไปสู่การคิ ดค่าบริ การที่ สะท้อนต้นทุนที่ แท้จริ งมากขึ้น และ อุตสาหกรรมฯมีความมันคงขึ ่ ้น ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันด้านราคาที่น้อยลงในหกไตรมาสที่ผ่านมา โดยผู้ประกอบการได้ สร้างความสมดุลในการสร้างอัตราการเติบโตของรายได้โดยคํานึงถึงต้นทุนค่าเชื่อมโยงโครงข่าย ทําให้การแข่งขันที่รุนแรงด้าน ราคาลดน้ อยลง โดยมุ่งไปที่การรักษาคุณ ภาพ การเข้าถึงลูกค้าในแต่ละกลุ่ม และการรักษาความจงรักภักดีของลูกค้า ซึ่งการ ส่วนที่ 2 หน้า 147


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

แข่งขันราคาสะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริงมากขึน้ ทําให้สามารถลดการลงทุนในโครงข่ายลง อีกทัง้ ยังช่วยลดค่าใช้จา่ ยจากการดําเนินงาน เนื่องจากรายได้มากจากความต้องการใช้งานทีแ่ ท้จริง การทําการตลาดของเอไอเอสจะมุ่งไปทีก่ ารสร้างฐานลูกค้าให้มคี ุณภาพทีด่ ี ท่ามกลางสภาวะที่ผู้บริโภคมีความต้องการใช้จ่ายที่ลดลง ด้วยประโยชน์ จากการเป็ นผู้ประกอบการที่มโี ครงข่ายขนาดใหญ่ การ ดําเนินงานในปี 2552 จึงจะมุง่ ไปทีก่ ารควบคุมค่าใช้จา่ ยจากการดําเนินงาน โดยเน้นทีก่ ารรักษาอัตราของผลกําไร รายได้จากการบริ การด้านข้อมูลจะเป็ นปั จจัยสําคัญของการเติ บโตในช่วง 3 – 5 ปี ข้างหน้ า ในปี 2551 รายได้จากบริการ ด้านข้อมูลเติบโตถึง 28% โดยมีบริการอินเตอร์เนทไร้สายผ่านเทคโนโลยี EDGE เป็ นตัวขับเคลื่อนของการเติบโตทัง้ นี้การเติบโต ของบริการด้านข้อมูลในปี 2552 โดยที่ 3G ยังไม่เกิดขึน้ จะมีความท้าทายขึน้ เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคมีแนวโน้มลด น้อยลง ทําให้คาดการณ์ ว่ารายได้จากการบริการข้อมูลจะเติบโตเพียง 10-15% อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในแง่บวก รายได้ของ บริการด้านข้อมูลก็ยงั เติบโตสูงกว่า 20% แม้ในช่วงทีอ่ ตั ราเงินเฟ้ อสูงเมื่อกลางปี 2551 และช่วงทีค่ วามเชื่อมันของผู ่ ้บริโภคแย่ลง ในช่วงไตรมาส 4 ใบอนุญาต 3G เป็ นจุดสําคัญของเอไอเอสในปี 2552 โดยเอไอเอสมีการเตรียมความพร้อมในทุกด้านเพื่อให้มนใจว่ ั ่ าบริษทั จะ สามารถประมูล ในอนุ ญ าต 3G ใหม่ ได้ ซึ่งจะทําให้เกิด การแข่งขัน อย่างเสรีและเป็ นธรรมระหว่างผู้ป ระกอบการทัง้ หลายใน อุตสาหกรรมภายใต้โครงสร้างต้นทุนทีเ่ ท่าเทียมกัน ในแง่ของการดําเนินงาน เอไอเอสได้มกี ารเตรียมตัวและมีความพร้อมทีจ่ ะออก ให้บริการโดยเร็ว ในแง่การเงินเอไอเอสมีความแข็งแกร่งทางการเงินทีเ่ พียงพอ สามารถสนับสนุ นการลงทุนได้ โดยส่วนหนึ่งเห็นได้ จากความสําเร็จในการออกหุน้ กูใ้ นช่วงเดือนมกราคม 2552 ทีผ่ ่านมา แม้ว่าภาพของเศรษฐกิจมหภาคของปี 2552 นี้จะมีความท้า ทาย แต่ดว้ ยประโยชน์จากการเป็ นผูป้ ระกอบการโครงข่ายขนาดใหญ่ และมีความแข็งแกร่งทางการเงิน จะช่วยทําให้เอไอเอสสามา รถเติบโตได้ในปี ทย่ี ากลําบากนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 148


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สรุปตัวเลขทางการเงิน ไตร มาส 4/2550

งบการเงิ นรวม รายได้จากการ ให้บริการ 36,642 รายได้จากการ ขาย 3,228 รายได้รวม 39,870 ต้นทุนบริการ (20,380) ส่วนแบ่งรายได้ (5,412) ต้นทุนขาย (2,960) กําไรขัน้ ต้น 11,118 ค่าใช้ในการ ขายและบริหาร (3,382) EBITDA 12,698 ดอกเบีย้ จ่าย (427) กําไรก่อนหัก ภาษี 7,441 กําไรสุทธิ 5,132

%เปลีย่ นแปลง %เปลีย่ นแปลง เทียบกับ เทียบกับ ไตรมาส 4/2550 ไตรมาส 3/2551

%เปลีย่ นแปลง เทียบกับ 2551 ปี 2550

ไตรมาส 3/2551

ไตรมาส 4/2551

24,623

24,077

-34.3

-2.2

94,810

99,586

5.0

2,905 27,528 (10,348) (4,990) (2,730) 9,461

2,194 26,270 (10,145) (4,823) (2,198) 9,104

-32.0 -34.1 -50.2 -10.9 -25.7 -18.1

-24.5 -4.6 -2.0 -3.3 -19.5 -3.8

13,644 108,454 (38,441) (19,691) (12,624) 37,697

11,206 110,792 (41,484) (20,021) (10,534) 38,753

-17.9 2.2 7.9 1.7 -16.6 2.8

(2,732) 11,491 (417)

(3,280) 10,637 (440)

-3.0 -16.2 2.8

20.1 (12,767) (11,205) -7.4 43,684 46,406 5.4 (1,721) (1,625)

-12.2 6.2 -5.5

6,469 4,533

2,118 420

-71.5 -91.8

-67.3 -90.7

ไตรมาส รายได้จากการให้บริการไม่รวม IC 4/2550 19.3% โพสต์เพด – บริการเสียง พรีเพด – บริการเสียง 59.5% โพสต์เพด – บริการเสียง 4.8% พรีเพด – บริการข้อมูล 6.9% บริการโรมมิง่ ต่างประเทศ 5.1% อื่น ๆ (IDD, ค่าธรรมเนียม) 4.4%

ไตร มาส 3/2551 18.0% 58.6% 5.4% 8.1% 4.4% 5.5%

ไตร มาส 4/2551 18.5% 57.9% 6.3% 8.2% 3.4% 5.7%

รายได้จากการขาย โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ซิมการ์ด

95.2% 4.8%

95.9% 4.1%

94.5% 5.5%

ต้นทุนค่าบริ การไม่รวม IC ค่าเสือ่ มราคาโครงข่าย ต้นทุนโครงข่าย

69.2% 9.2%

68.5% 9.4%

68.8% 9.7%

ส่วนที่ 2 หน้า 149

2550

23,804 16,290

24,846 16,409

4.4 0.7


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

ค่าซ่อมบํารุงโครงข่าย อื่นๆ ต้นทุนค่าขาย โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ซิมการ์ด งบดุลรวม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สนิ กําไรสะสม รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ อัตราส่วนทางการเงิ น EBITDA EBITDA Margin Interest Coverage (x) DSCR (x) หนี้สนิ สุทธิ / EBITDA (x) หนี้สนิ สุทธิ / ส่วนของผูถ้ อื หุน้ (%) หนี้สนิ รวมต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (x) Free cash flow to EV (%) กําไรต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (ROE)

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

7.6% 14.0%

7.6% 14.5%

7.0% 14.5%

97.6% 2.4%

97.5% 2.5%

96.2% 3.8%

2550 20,586 87,088 128,942 53,481 49,999 75,461

2551 26,958 81,189 128,081 54,646 47,755 73,436

2550 43,684 40.3% 14.5 4.5 0.50 0.29 0.71 6.8% 21.3%

2551 46,406 41.9% 16.9 3.7 0.39 0.25 0.74 10.3% 22.0%

ส่วนที่ 2 หน้า 150


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สรุปตัวเลขการดําเนิ นงาน จํานวนผูใ้ ช้บริ การ จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด รวมจํานวนผูใ้ ช้บริการ ผูใ้ ช้บริการที่เพิ่ มขึน้ (Net additions) โพสต์เพด พรีเพด รวมจํานวนผูใ้ ช้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ Churn rate (%) โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย่ ส่วนแบ่งตลาดของจํานวนผูใ้ ช้บริการ โพสต์เพด พรีเพด รวม ARPU ไม่รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย่ ARPU รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย่ MOU (จํานวนนาทีที่โทรออก) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 โพสต์เพด พรีเพด ค่าเฉลีย่ Traffic % outgoing to total minute % on-net to total outgoing minute

ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 3/2551 4/2551 4/2550 2,203,500 2,410,400 2,534,200 82,400 78,600 77,800 2,285,900 2,489,000 2,612,000 21,819,500 24,285,600 24,698,200 24,105,400 26,774,600 27,310,200 -146,000 1,047,000 901,000

149,000 660,900 809,900

123,000 412,600 535,600

4.7% 3.9% 4.0%

1.7% 5.1% 4.8%

2.0% 5.2% 4.9%

41% 46% 46%

41% 45% 45%

n/a n/a n/a

744 739 743 227 279

711 676 709 206 252

695 666 695 193 241

696 739 698 238 283

661 657 661 214 255

647 649 647 203 245

573 426 568 239 271

550 473 548 262 288

546 487 544 242 270

48% 70%

49% 75%

49% 76%

ส่วนที่ 2 หน้า 151


แบบแสดงรายการช้อมูลประจําปี 2551

12.3

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี ในปี 2551 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีให้แก่  ค่าสอบบัญชีของบริษัทฯ จํานวน 5.38 ล้านบาท ค่าสอบบัญ ชีของบริษัทฯ และบริษัทย่อย จํานวนทัง้ สิ้น 8.78 ล้านบาท ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวได้รวม out of pocket ไว้ดว้ ย  ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น (Non-audit fee) ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้แก่ การตรวจสอบรายได้ และ การเข้าร่วมสังเกตการณ์การทําลายสินค้า ให้สาํ นักงานสอบบัญชีทผ่ี สู้ อบบัญชีสงั กัด จํานวน 20,000 บาท โดยไม่ มีคา่ ตอบแทนของงานบริการอื่นทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงทีย่ งั ให้บริการไม่แล้วเสร็จ

ส่วนที่ 2 หน้า 152


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

13.

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง - ไม่มี -

ส่วนที่ 2 หน้า 153


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล 1. การรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยกรรมการบริ หารและผูท้ ี่ดาํ รงตําแหน่ งบริ หารสูงสุดในสายงานบัญชี “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ฉบับนี้ แล้วและด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริหารของบริษทั หรือผูด้ ํารงตําแหน่ งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้อง ครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาํ ให้ผอู้ ่นื สําคัญผิด หรือไม่ขาดข้อมูลทีค่ วรต้องแจ้งในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินทีส่ รุปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนในสาระสําคัญเกีย่ วกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษทั และบริษทั ย่อยแล้ว (2) ข้าพเจ้าเป็ นผู้รบั ผิดชอบต่อการจัดให้บริษทั มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ ใจว่าบริษทั ได้เปิ ดเผย ข้อมูลในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสําคัญทัง้ ของบริษทั และบริษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทัง้ ควบคุมดูแล ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามระบบดังกล่าว (3) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่อการจัดให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายในที่ดแี ละควบคุมดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามระบบดังกล่าว และข้าพเจ้าได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 ต่อผูส้ อบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษทั แล้ว ซึง่ ครอบคลุมถึงข้อบกพร่องและการเปลีย่ นแปลงที่ สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทัง้ การกระทําที่มชิ อบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงาน ทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทัง้ หมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับทีข่ า้ พเจ้าได้รบั รองความถูกต้องแล้ว ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกํากับ เอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มลี ายมือชื่อของ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ กํากับไว้ขา้ พเจ้าจะถือว่า ไม่ใช่ขอ้ มูลทีข่ า้ พเจ้าได้รบั รองความถูกต้องของข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ

ตําแหน่ ง

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

ประธานกรรมการบริหาร

ดร. ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์

กรรมการบริหาร

นายวิกรม ศรีประทักษ์

กรรมการบริหาร

นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ

กรรมการบริหาร

นายฮิวเบิรท์ อึง้ ชิง-วาห์

กรรมการบริหาร

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

ผูร้ บั มอบอํานาจ นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

ส่วนที่ 3 หน้า 1

ลายมือชื่อ


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล 2.

การรับรองความถูกต้องของข้อมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริษทั ข้าพเจ้าไม่มเี หตุอนั ควรสงสัยว่าข้อมูลดังกล่าวไม่ถกู ต้องครบถ้วน เป็ นเท็จ ทําให้ผอู้ ่นื สําคัญผิด หรือขาด ข้อมูลทีค่ วรต้องแจ้งในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทัง้ หมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขา้ พเจ้าได้สอบทานแล้ว และไม่ม ี เหตุอนั ควรสงสัยว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นเท็จ ทําให้ผูอ้ ่นื สําคัญผิด หรือขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งใน สาระสําคัญ ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน เป็ นผูล้ ง ลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มลี ายมือชื่อของ นายพงษ์อมร นิ่ มพูลสวัสดิ์ หัวหน้า เจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน กํากับไว้ขา้ พเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้สอบทานแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ

ตําแหน่ ง

ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม

ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ

นายสมประสงค์ บุญยะชัย

รองประธานกรรมการ

นายอวิรทุ ธ์ วงศ์พทุ ธพิทกั ษ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นางทัศนีย์ มโนรถ

กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์

กรรมการ

นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์

กรรมการ

นายอึง้ กวอน คี

กรรมการ

ผูร้ บั มอบอํานาจ นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน

ส่วนที่ 3 หน้า 2

ลายมือชื่อ


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริ หาร (ข้อมูล ณ 18 กุมภาพันธ์ 2552) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

ดร. ไพบูลย์ ลิมปพยอม

67

ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาเอก

นายสมประสงค์ บุญยะชัย 1)

53

รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนาม

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาโท

ชื่อ - สกุล

วิศวกรรมไฟฟ้ า Iowa State University, U.S.A. ประกาศนียบัตร หลักสูตรป้ องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 3 วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน

วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

ประสบการณ์ทาํ งาน

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) -

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 65/2548, หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 30/2547

2541 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2543 - 2548 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย 2542 - 2545 รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2536 - 2541 กรรมการและกรรมการบริหาร กลุ่มบริษทั ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2535 - 2536 ทีป่ รึกษา องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2531 - 2535 ผูอ้ าํ นวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

- ไม่ม ี -

2551 - ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2550 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น

- ไม่ม ี -

2549 - ปั จจุบนั 2547 - ปั จจุบนั 2540 - ปั จจุบนั 2543 - 2551 2542 - 2551 2537 - 2551 2547 - 2550 2543 - 2550 2540 - 2541 2538 - 2539 2537 - 2538 2536 - 2537 2536 - 2536 2535 - 2536

1)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นรองประธานกรรมการ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2551

* นับรวมจํานวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 1

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

กรรมการ บมจ. ไทยคม กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระรามเก้า กรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริง่ กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น รองประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมไร้สาย กลุ่มชินวัตร กรรมการผูอ้ าํ นวยการอาวุโส บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. ชินแซทเทลไลท์ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ สายงานปฏิบตั กิ ารที่ 4 กลุ่มชินวัตร


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริ หาร (ข้อมูล ณ 18 กุมภาพันธ์ 2552) ชื่อ - สกุล

นาย อวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทกั ษ์

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

60

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 8/2544 บทบาทคณะกรรมการในการ กําหนดนโยบายค่าตอบแทน

ประสบการณ์ทาํ งาน

2551 - ปั จจุบนั ทีป่ รึกษา สํานักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ 2550 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. หินอ่อน 2549 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ

2546 - ปั จจุบนั

นางทัศนีย์ มโนรถ

63

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาตรี

พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 32/2546

2538 - ปั จจุบนั 2550 - 2551 2548 - 2551 2544 - 2551 2546 - 2548 2538 - 2546 2533 - 2538 2523 - 2533 2520 - 2523 2512 - 2520 2549 - ปั จจุบนั 2545 - 2548 2544 - 2548 2543 - 2545 2542 - 2543 2539 - 2542

นายสุรศักดิ ์ วาจาสิทธิ ์

55

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

* นับรวมจํานวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

เนติบณ ั ฑิต

สํานักลินคอล์น อินน์ ประเทศอังกฤษ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 2

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 29/2547

2549 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2540 - 2551 2547 - 2549 2547 - 2548 2524 - 2531

ผูท้ รงคุณวุฒิ คณะอนุกรรมการจัดการลงทุน กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ทีป่ รึกษา บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภณ ั ฑ์ กรรมการ และกรรมการบริหาร บจ. ทุนลดาวัลย์ กรรมการ บจ. วังสินทรัพย์ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. เทเวศประกันภัย กรรมการ บมจ. การบินไทย ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ สํานักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ ประธานกรรมการ บจ. ไอทีวนั ผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ.ซิเมนต์ไทยพร็อพเพอร์ต้ี (2001) ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ & Chief of Financial Officer บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย President, บริษทั ไทส์เซอรา อิงค์ (อเมริกา) กรรมการผูจ้ ดั การ บจ.เซรามิคอุตสาหกรรมไทย ผูจ้ ดั การฝ่ ายการเงิน บจ. สยามคราฟท์อุตสาหกรรม เจ้าหน้าทีบ่ ญ ั ชีและการเงิน บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ด้านการเงินและบัญชี บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั ่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองผูอ้ าํ นวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงินและงบประมาณ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ผูบ้ ริหาร บจ. ฮันตัน แอนด์ วิลเลีย่ มส์ (ไทยแลนด์) กรรมการ บจ. ไทยทาโลว์ แอนด์ ออยล์ กรรมการและกรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น กรรมการ บจ. คูแดร์ บราเธอร์ส ผูพ้ พิ ากษาศาล จังหวัดบุรรี มั ย์ เพชรบูรณ์ และกรุงเทพมหานคร

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริ หาร (ข้อมูล ณ 18 กุมภาพันธ์ 2552) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

นายชาครีย์ ทรัพย์พระวงศ์ 2)

60

กรรมการ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

นายศุภเดช พูนพิพฒ ั น์

58

กรรมการ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-

ปริญญาโท

Master of Science University of Wisconsin, U.S.A.

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 8/2547

ประสบการณ์ทาํ งาน

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

2551 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ. ทีโอที 2548 - 2551 ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ. ทีโอที 2546 - 2548 ผูจ้ ดั การฝ่ ายโทรศัพท์ นครหลวงที่ 4 บมจ. ทีโอที 2543 - 2546 ผูจ้ ดั การฝ่ ายโทรศัพท์ ภาคเหนือ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

- ไม่ม ี -

2548 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. เอ็มบีเค รีสอร์ท กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บจ. ธนชาตประกันภัย รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคาร ธนชาต จํากัด (มหาชน)

- ไม่ม ี -

2546 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. สยามพิวรรธน์ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บจ. ธนชาตประกันชีวติ กรรมการ บจ. แปลน เอสเตท 2540 - ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. ทุนธนชาต

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

53

กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาโท

Science (Management) Massachusetts Instiute of Technology, USA

-

นายอึง้ กวอน คี 3)

57

กรรมการ

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาตรี

Electrical and Electronical Engineering, Brighton Polytechnic, Surrey, United Kingdom

-

2) 3)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทนนายวาสุกรี กล้าไพรี ตัง้ แต่วนั ที่ 16 ธันวาคม 2551 ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทนนายยืน ควน มูน ตัง้ แต่วนั ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552

* นับรวมจํานวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 3

2535 - ปั จจุบนั 2529 - ปั จจุบนั 2533 - 2549 2551 - ปั จจุบนั 2549 - ปั จจุบนั

กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ รองประธานกรรมการ บมจ. เอ็มบีเค กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บง. ธนชาติ จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ Chief Executive Officer-Singapore, Singapore Telecom Pte. Ltd. 2549 - 2551 กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2548 - 2549 Managing Director - Consumer (Optus) 2544 - 2548 Managing Director - Mobile (Optus) 2542 - 2544 Chief Operating Officer, บมจ .แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2538 - 2542 Chief Operating Officer, Singapore Telecom International 2552 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2551 - 2552 VP, Regional Technical, SingTel 2549 - 2551 Program Director, Broadband, SingTel Optus 2547 - 2549 Director of Operation, Telkomsel, Indonesia

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริ หาร (ข้อมูล ณ 18 กุมภาพันธ์ 2552) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

นายฮิวเบิรท์ อึง้ ชิง-วาห์ 4)

59

กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ไม่ม ี

ไม่ม ี

ปริญญาตรี

Art in Business Administration Chinese University of Hong Kong

นายวิกรม ศรีประทักษ์

56

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนาม และ หัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร

0.0091

ไม่ม ี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กรรมการบริหาร

0.0001

ชื่อ - สกุล

นางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ

43

5)

ไม่ม ี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) -

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 104/2551

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 66/2550, หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 105/2551

4) 5)

ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นกรรมการแทนนางสาวนิจจนันท์ แสนทวีสขุ ตัง้ แต่วนั ที่ 10 เมษายน 2551 ลาออกจากการเป็ นกรรมการ โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 10 เมษายน 2551

* นับรวมจํานวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หน้ า 4

ประสบการณ์ทาํ งาน

2551 - ปั จจุบนั 2550 - ปั จจุบนั 2543 - 2550 2542 - 2543 2539 - 2542 2539 - 2539 2536 - 2539 2527 - 2536 2518 - 2526

กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ, ConvenientPower Hong Kong CEO, CSL (Hong Kong) Managing Director, PCCW Mobile CEO, Smartone Mobile Communications Ltd. CEO, Mobile One Singapore Managing Director, Hong Telecom Mobile Business Unit Director, Hong Kong Telecom Sale Manager, NCR (Hong Kong)

2550 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการบริหาร และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2545 - ปั จจุบนั หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2543 - 2550 กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บจ. ดิจติ อล โฟน 2541 - 2543 รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการอาวุโส สายงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2538 - 2541 รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ บจ. ชินวัตรอินเตอร์เนชั ่นแนล 2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการบริหาร และกรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2550 - 2551 กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2546 - 2550 ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2543 - 2546 ผูอ้ าํ นวยการส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2541 - 2542 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการเงินอาวุโส บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2540 - 2541 ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการด้านการเงิน บล.เจ เอฟ ธนาคม 2536 - 2539 ผูจ้ ดั การฝ่ ายจัดหาเงินทุนโครงการ บมจ. ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั ่น

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริ หาร (ข้อมูล ณ 18 กุมภาพันธ์ 2552) ชื่อ - สกุล

ดร. ดํารงค์ เกษมเศรษฐ์

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

54

กรรมการบริหาร

ไม่ม ี

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาเอก

วิศวกรรมไฟฟ้ า Massachusetts Institute of Technology, USA

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 2/2546 หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 108/2551

นายวิเชียร เมฆตระการ

54

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ

* นับรวมจํานวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

0.0000

ไม่ม ี

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟ้ า (เกียรตินิยม) California Polytechnic State University

เอกสารแนบ 1 หน้ า 5

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 107/2551

ประสบการณ์ทาํ งาน

2547 - ปั จจุบนั กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2542 - ปั จจุบนั กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2540 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ 2547 - 2550 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี 2537 - 2543 กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. ชินวัตรแซทเทลไลท์ 2538 - 2540 รองประธานกรรมการบริหารด้านนโยบาย กลุ่มชินวัตร 2536 - 2537 รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ IBC Cable TV 2534 - 2535 ผูจ้ ดั การทั ่วไป IBC Cable TV ผูจ้ ดั การอาวุโส ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ กลุ่มชินวัตร 2532 - 2534 ผูอ้ าํ นวยการโครงการ Integrated Optoelectronics บริษทั GE Aerospace รัฐ New York, USA 2529 - 2532 ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิตวัสดุ Ga As IC บริษทั Microwave Semiconductor ในเครือ Siemens รัฐ New Jersey USA 2549 - ปั จจุบนั กรรมการผูอ้ าํ นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2546 - 2549 รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการ สายงานปฏิบตั กิ าร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2543 - 2546 ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานวิศวกรรม บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2542 - 2543 ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานด้านเทคนิค บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2540 - 2542 ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานปฏิบตั กิ ารและบํารุงรักษาเครือข่าย เขตนครหลวง บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2539 - 2540 ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ส่วนงานปฏิบตั กิ ารและ บํารุงรักษาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2538 - 2539 ผูจ้ ดั การสํานักพัฒนาเครือข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริ หาร (ข้อมูล ณ 18 กุมภาพันธ์ 2552) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหน่ ง

สัดส่วนการ ถือหุ้น(%)*

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล

56

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหาร ด้านการตลาด

ไม่ม ี

ไม่ม ี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

การผ่านหลักสูตรอบรมของ สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุ่น 35/2548

นางสุวมิ ล แก้วคูณ

53

หัวหน้าคณะผูบ้ ริหาร ด้านการบริการลูกค้า

0.0037

ไม่ม ี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ เอเชียน อินสติตวิ ท์ ออฟ แมเนจเม้นท์ ประกาศนียบัตร หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง ฮาร์วาร์ด บิสซิเนส สคูล บอสตัน

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 102/2551

นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์

46

หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

0.0000

ไม่ม ี

ปริญญาโท

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุ่น 109/2551

ด้านการเงิน

* นับรวมจํานวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 1 หน้ า 6

ประสบการณ์ทาํ งาน

2550 - ปั จจุบนั 2549 - ปั จจุบนั 2547 - 2549 2547 - 2547 2545 - 2547 2544 - 2545 2540 - 2544

กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. ดิจติ อล โฟน หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการตลาด บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ. สามารถ ไอ-โมบาย กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. แคปปิ ตอล โอเค กรรมการและรองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. ไอทีวี รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการอาวุโส สายงานการตลาดและการขาย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2539 - 2540 กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. ชินวัตร ไดเร็คทอรีส่ ์ 2550 - ปั จจุบนั หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้า บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั ่น 2550 - 2551 กรรมการ บจ. เพย์เม้นท์ โซลูช ั ่น 2549 - 2550 กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. แคปปิ ตอล โอเค 2545 - 2549 หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านการบริการลูกค้าและธุรกิจเครื่องลูกข่าย บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2538 - 2545 กรรมการผูจ้ ดั การ บจ. แอดวานซ์ ไวร์เลส มาร์เก็ตติง้ 2525 - 2537 กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. โรบินสัน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ 2523 - 2524 ทีป่ รึกษาอาวุโส ด้านธุรกิจ บจ. อัลลายด์ แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์ ออฟ เอเชีย 2544 - ปั จจุบนั หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ 2541 - 2544 Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Co., Ltd. 2537 - 2541 Financial Director, Shinawatra Paging Co., Ltd. Financial Director, Pager Sales Co., Ltd.

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา - ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -

- ไม่ม ี -


บริ ษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 (2): ข้อมูลกรรมการของบริ ษทั ย่อย ข้อมูล ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 รายชื่อกรรมการ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นาย แอเลน ลิว ยง เคียง นาย ยืน ควน มูน 2) นายวิกรม ศรีประทักษ์ นายวิเชียร เมฆตระการ นายสรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล นายฮุย เว็ง ชีออง นายพงษ์อมร นิ่มพูลสวัสดิ ์ นายสมชัย เลิศสุทธิวงศ์ นางสาวสุนิธยา ชินวัตร นายวรุณเทพ วัชราภรณ์ นางสาวธันวดี วงศ์ธรี ฤทธิ ์ นายสุทธิศกั ดิ ์ กุญทีกาญจน์ นางแน่งน้อย วนานุเวชพงศ์ นายอานนท์ ทับเที่ยง นายวีระ คงเจริญ นายนพรัตน์ เมธาวีกุลชัย X = ประธานกรรมการ,

MFA

DPC

ADC

DNS 1)

ACC

AMP

AMC

AWN

SBN

AIN

WDS

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

-

/

-

-

/

-

-

-

-

-

-

/

/

/

/

/

-

-

-

-

-

-

/

/

/

/

-

/

/

/

/

/

/

/

/ /

-

-

/

-

/ -

/ -

/ -

/ -

/ -

-

-

-

-

-

/

/

/

/

/

-

/

-

/

/

/

/

/

/

/

/

/

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

/ = กรรมการ

1) จดทะเบียนเลิกบริษทั เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2551 ขณะนี้อยู่ระหว่างการชําระบัญชี 2) ลาออกจากการเป็ นกรรมการ โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3: (1) สัญญาและใบอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการหลักๆ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานจาก ทีโอที ทีไ่ ด้ลงนามร่วมกันกับเอไอเอส เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอ้ ตกลงต่อท้าย สัญญาหลัก 7 ครัง้ ดังต่อไปนี้ ครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 16 เมษายน 2536 ครัง้ ที่ 3 เมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครัง้ ที่ 4 เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2539 ครัง้ ที่ 5 เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ข้อตกลงเรือ่ ง การแสวงหาประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณ) ครัง้ ที่ 6 เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ข้อตกลงเกีย่ วกับการให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบใช้บตั รจ่ายเงินล่วงหน้า Prepaid Card มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2544) และครัง้ ที่ 7 เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและข้อตกลงแนบท้ายสรุปได้ดงั นี้ ชือ่ สัญญา

:

สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูส่ ญ ั ญา

:

องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

25 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ : ดําเนินการภายใต้สญ ั ญาร่วม การงาน

เอไอเอส ได้ ร ับ อนุ ญ าตจาก ที โ อที ในลัก ษณะของสัญ ญาแบบ สร้า ง-โอนให้บริการ โดยให้มสี ทิ ธิดําเนินกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Cellular Mobile Telephone ทัง้ ระบบอนาลอก NMT และดิจติ อล GSM ในย่านความถี่ 900 MHz (ซึ่งต่อไปนี้ จะรวมเรียกว่า “ระบบ Cellular 900”) ทัวประเทศ ่ แบบคู่ขนานกันไป โดยต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในรูปแบบส่วนแบ่งรายได้ตามอัตราที่ ตกลง มีกาํ หนด 25 ปี นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึง่ เป็ นวันแรกทีเ่ ปิ ดดําเนินการ

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

เอไอเอส ตกลงทีจ่ ะดําเนินการดังต่อไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ระบบ Cellular 900 ทัง้ หมด ซึง่ ประกอบด้วยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสือ่ สัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหล่พร้อมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการดําเนินงาน

การจัดสรรย่านความถี่

:

ทีโอที ต้องจัดหาย่านความถี่ 897.5-915 MHz และ 942.5-960 MHz ให้กบั เอไอ เอส สําหรับให้บริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิ ์การส่ง มอบและรับมอบทรัพย์สนิ

:

เอไอเอส จะต้องโอนทรัพย์สนิ รวมทัง้ อะไหล่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ให้เป็ น กรรมสิทธิ ์ของทีโอที เมือ่ ติดตัง้ อุปกรณ์แล้วเสร็จ โดย ทีโอที ยินยอมให้เอไอ เอสครอบครองทรัพย์สนิ ดังกล่าว เพือ่ ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ ตลอดอายุสญ ั ญา

เอกสารแนบ 3 หน้า 1


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การประกันภัย ทรัพย์สนิ

:

เอไอเอสต้องทําประกันภัยประเภทคุม้ ครองการเสีย่ งภัยทุกชนิด และเต็มมูลค่า ของทรัพย์สนิ นัน้ ๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรม์ประกันภัยหมดอายุ ก่อนวันสิน้ สุดของสัญญา เอไอเอส ต้องต่ออายุกรมธรรม์ฉบับเดิม หรือนํา กรมธรรม์ฉบับใหม่มามอบให้ ทีโอที ก่อนวันทีก่ รมธรรม์เดิมจะหมดอายุไม่น้อย กว่า 30 วัน

ผลประโยชน์ ตอบแทนของสัญญา

:

เอไอเอสต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที เป็ นรายปี ในอัตราร้อยละ ของรายได้ และผลประโยชน์อ่นื ใดทีเ่ อไอเอสพึงได้รบั ในรอบปี ก่อนหักค่าใช้จา่ ย และค่าภาษีใดๆ ทัง้ สิน้ จํานวนไหนมากกว่าให้ถอื เอาจํานวนนัน้ ตารางแสดงอัตรา ผลประโยชน์ตอบแทนมีดงั นี้ ปี ที่

ให้ผลประโยชน์ เป็ นร้อยละของ รายได้ก่อนหักค่าใช้จ่ายและภาษี

เป็ นเงินขัน้ ตํา่ (บาท)

รายได้ประจํางวด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21* 22* 23* 24* 25*

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – ก.ย. 54 ต.ค. 54 – ก.ย. 55 ต.ค. 55 – ก.ย. 56 ต.ค. 56 – ก.ย. 57 ต.ค. 57 – ก.ย. 58

* หมายเหตุ ขยายระยะเวลาของสัญญาฯ ตามข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฯ ครั้งที่ 4 การยกเลิกสัญญา

:

ทีโอทีมสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ทนั ที และมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ให้ผูอ้ ่นื ดําเนินการต่อโดยเอไอเอสต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้แก่ ทีโอที และให้ทรัพย์สนิ ต่างๆ ตกเป็ นกรรมสิทธิ ์ของ ทีโอที ทันที หากการดําเนินงานของบริษทั ฯ มีเหตุ ให้ ทีโอที เชื่อว่า เอไอเอส ไม่สามารถดําเนิ น กิจการตามสัญ ญาให้ลุล่วงไปได้ ด้วยดี หรือปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อหนึ่งข้อใด และข้อผิดสัญญาดังกล่าวบริษัทฯ มิได้ เอกสารแนบ 3 หน้า 2


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ดําเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งถึงข้อผิดสัญญา จาก ทีโอที เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยเอไอเอสไม่มสี ทิ ธิเรียกร้องค่าเสียหายใด ๆ และไม่มสี ทิ ธิเรียกทรัพย์สนิ และเงินคืนจาก ทีโอที แต่อย่างใด เอไอเอส ไม่มสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญา เว้นแต่กรณีทม่ี เี หตุสุดวิสยั เกิดขึน้ ทําให้ เอไอ เอส ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้ ข้ อ ตกลงต่ อ ท้ า ยสัญ ญาอนุ ญ าตให้ ดําเนิ นการกิ จ การโทรศัพ ท์ เคลื่ อ นที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 1) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด : 11 ธันวาคม 2534 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : ในกรณีทต่ี อ้ งเช่าสถานทีข่ องบุคคลอื่นในการติดตัง้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ เอไอเอ จากสัญญาหลัก สต้องทําสัญญาเช่าสถานทีใ่ นนามทีโอทีเดิมให้ทาํ สัญญาโดยมีระยะเวลาเช่า 22 ปี เปลีย่ นเป็ นให้มรี ะยะเวลาเช่าครัง้ ละไม่น้อยกว่าครัง้ ละ 3 ปี จนครบกําหนด 22 ปี เอไอเอส ต้องรับผิดชอบต่อการเปลีย่ นแปลงสถานทีเ่ ช่า หากเกิดค่าใช้จา่ ย หรือ ค่าเสียหายแต่เพียงผูเ้ ดียว ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 2) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด : 16 เมษายน 2536 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : เปลีย่ นชือ่ บริษทั จาก บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด เป็ น บริษทั แอด จากสัญญาหลัก วานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 3) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) : 28 พฤศจิกายน 2537 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : 1. เปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูใ่ นการส่งคําบอกกล่าว ทัง้ เอไอเอส และ ทีโอที จากสัญญาหลัก 2. กําหนดหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการจัดเก็บและแบ่งรายได้ 2.1 ทีโอที ตกลงแบ่งส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ามสัญญาหลักให้แก่เอ ไอเอสดังนี้ - กรณี โทรไปยังประเทศที่ไม่มีพรมแดนติดต่อกับ ประเทศไทย ทีโอทีจะ จ่ายส่วนแบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท - กรณีโทรไปยังประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจ่ายส่วน แบ่งรายได้ให้เอไอเอสเป็ นรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท โดยเอไอเอส เอกสารแนบ 3 หน้า 3


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

มีหน้าทีอ่ อกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บจากผูใ้ ช้บริการ และนําส่งให้ทโี อที 2.2 เมือ่ เอไอเอสได้รบั รายได้ จะต้องนํามารวมเป็ นรายได้เพื่อคํานวณเป็ นส่วน แบ่งรายได้ให้ทโี อทีตามสัญญาหลักข้อ30.เมือ่ ครบรอบปี ดําเนินการด้วย 2.3 เอไอเอส ยินยอมสละสิทธิและยกส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศกับประเทศทีม่ พี รมแดนติดกับประเทศไทยทีเ่ อไอเอสได้ จัดเก็บและนําส่งให้ทโี อทีแล้วตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ให้แก่ทโี อทีทงั ้ หมด ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 4) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) : 20 กันยายน 2539 วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง ข้อตกลงเพิม่ เติม : 1. ขยายระยะเวลา การอนุญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ปี นับตัง้ แต่ จากสัญญาหลัก วันทีเ่ ริม่ เปิ ดให้บริการ เป็ น 25 ปี 2. เอไอเอสมีสทิ ธิเป็ นผูล้ งทุนสร้างโครงข่ายระบบสือ่ สัญญาณเชือ่ มโยง (Transmission Networks) ในสือ่ ตัวนําทุกชนิด เพือ่ เชื่อมโยงกับโครงข่าย ของทีโอทีและโครงข่ายอื่นทีจ่ าํ เป็ น และยกให้เป็ นทรัพย์สนิ ของทีโอที โดยเอ ไอเอส ได้รบั สิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงข่ายทัง้ หมด 3. เอไอเอสมีสทิ ธิใช้ ครอบครอง ระบบสือ่ สัญญาณและทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้จดั หามา โดยไม่ตอ้ งเสียค่าตอบแทนใดๆ 4. ทีโอทีมสี ทิ ธิแสวงหาประโยชน์จากระบบสือ่ สัญญาณในส่วนทีเ่ หลือจากการใช้ งาน โดยเอไอเอสเป็ นผูบ้ ริหารผลประโยชน์ดงั กล่าว 5. ในกรณีทบ่ี ุคคลอื่นหรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใช้ผ่านโครงข่ายเอไอเอส มี สิทธิได้รบั ผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราทีท่ งั ้ สองฝ่ ายตกลงร่วมกัน 6. ยกเลิก เงื่อ นไขในสัญ ญาหลัก ข้ อ 18 ที่ ใ ห้ ส ิท ธิ แ ก่ เอไอเอสในการเป็ น ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ต่เพียงผูเ้ ดียว 7. เอไอเอส สามารถให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่าง ประเทศผ่านชุมสายของ กสท. ได้โดยตรง ทัง้ นี้ ภายใต้เงือ่ นไขทีจ่ ะไม่ทาํ ให้ ทีโอที ได้รบั รายได้ น้อยลงจากทีเ่ คยได้รบั อยูต่ ามสัญญาหลัก 8. ยกเลิกข้อความตามข้อ 4.3 ในข้อตกลงต่อท้ายครัง้ ที่ 3 โดยเน้นว่า ทีโอที จะ จ่ายส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 3 บาท/นาที ให้เอไอเอส 9. เป็ นการกํ า หนดอั ต ราส่ ว นแบ่ ง รายได้ ท่ี เอไอเอส ต้ อ งจ่ า ยให้ ที โ อที ในปี ท่ี 21-25 ในอัตราร้อยละ 30 ก่อนหักค่าใช้จ่ายและค่าภาษีใดๆ และเอไอ เอส มีสทิ ธิลดหรือยกเว้นค่าใช้บริการกรณีทม่ี รี ายการส่งเสริมการขายได้ โดย ให้ ชํ า ระส่ ว นแบ่ ง รายได้ ต ามรายการส่ ง เสริม การขายที่ เ รีย กเก็ บ จาก ผูใ้ ช้บริการ 10. ในกรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ของโครงข่ายให้มปี ระสิทธิภาพ เอไอ เอส เป็ นผูล้ งทุนใช้ดว้ ยค่าใช้จ่ายของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ เอกสารแนบ 3 หน้า 4


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ต่างๆ ตกเป็ นของ ทีโอที ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นการกิ จการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 5) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง : 25 ธันวาคม 2543 ข้อตกลงเพิม่ เติม : 1. เอไอเอสเป็ นผูร้ ว่ มบริหารผลประโยชน์ จากสัญญาหลัก 2. เอไอเอสเป็ นผูเ้ รียกเก็บค่าบริการจากผูใ้ ช้บริการและจ่ายส่วนแบ่ง ผลประโยชน์ให้ทโี อที 3. สัดส่วนผลประโยชน์จากรายได้ระหว่างเอไอเอสกับทีโอที แยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของทีโอที” ตลอดอายุสญ ั ญา ทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 25 เอไอเอส ได้รบั ในอัตราร้อยละ 75 3.2 กรณีเป็ นรายได้จาก “ผูใ้ ช้บริการของเอไอเอส” ตลอดอายุสญ ั ญา ทีโอที ได้รบั ในอัตราร้อยละ 22 เอไอเอสได้รบั ในอัตราร้อยละ 78 4. เอไอเอสและทีโอทีจะต้องทําการตลาดร่วมกัน และ ไม่ทาํ การตลาดทีเ่ ป็ นการ แย่งผูใ้ ช้บริการในโครงข่ายทีโอที 5. เอไอเอสจะต้องเป็ นผูจ้ ดั ทําและลงนามในสัญญาเช่าใช้ระบบสือ่ สัญญาณกับ ผูใ้ ช้บริการทุกราย และทํารายงานการเช่าส่งให้ ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 6) คูส่ ญ ั ญา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

วันที่ 15 พฤษภาคม 2544

ข้อตกลงเพิม่ เติม จากสัญญาหลัก

:

การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบใช้บตั รจ่ายเงินล่วงหน้า (Prepaid card) 1. เอไอเอสตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนในอัตราร้อยละ 20 ของมูลค่าหน้าบัตร (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ให้แก่ทโี อทีสาํ หรับบัตรทีจ่ าํ หน่ายได้เป็ นรายเดือน ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในปี ที่ 11-15 ของสัญ ญาหลัก เอไอเอสจะต้ อ งลดราคาค่ า บริก ารให้ ผู้ ใช้ บ ริก ารในอัต ราเฉลี่ย โดยรวมของแต่ ล ะปี ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อ ยละ 5 ของ ค่าบริการทีผ่ ู้ใช้บริการต้องชําระในปี ท่ี 11 และในอัตราเฉลีย่ โดยรวมของแต่ ละปี ไม่น้ อยกว่าร้อยละ 10 ของค่าบริการที่ผู้ใช้บริก ารต้องชําระในปี ท่ี 11 สําหรับปี ท่ี 16 – ปี ท่ี 25 ของปี ดาํ เนินการตามสัญญาหลัก

เอกสารแนบ 3 หน้า 5


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนิ นกิ จการบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครังที ้ ่ 7) บริษทั ฯ และ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) (ครัง้ ที่ 7) เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของบันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฯ สามารถสรุปได้ดงั นี้ ชือ่ สัญญา : บันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครัง้ ที่ 7) คูส่ ญ ั ญา

: บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) บริษทั ทศท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (ทีโอที)

วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

ข้อตกลงเพิม่ เติม จากสัญญาหลัก

:

ทีโอที และ เอไอเอส ประสงค์จะทําความตกลงเกี่ยวกับหลักการเกี่ยวกับการใช้ เครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ของบริษั ท ฯ และได้ มี ข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ในการใช้ เครือข่ายร่วมดังนี้ 1. ทีโอที และ เอไอเอส ตกลงกันให้ถอื ว่าข้อตกลงต่อท้ายสัญญาฉบับนี้เป็ นส่วน หนึ่งของสัญญาหลัก 2. ทีโอที อนุญาตให้เอไอเอส นําเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีต่ ามสัญญาหลักให้ ผูใ้ ห้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ได้ และตกลงอนุญาต ให้เอไอเอสเข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผูใ้ ห้บริการรายอืน่ ได้ เช่นเดียวกัน 3. การใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ตามข้อ 2 เอไอเอสมีสทิ ธิเรียกเก็บค่าใช้ เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศ ่ และ เอ ไอเอสมีสทิ ธิจา่ ยค่าใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาททัวประเทศ ่ เอไอเอสตกลงทําหนังสือแจ้งให้ ทีโอที ทราบเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรก่อนทีบ่ ริษทั ฯ จะให้ผใู้ ห้บริการรายอื่นเข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) และก่อนทีบ่ ริษทั ฯ จะเข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผู้ ให้บริการรายอื่น 4. เอไอเอสตกลงจ่ า ยเงิน ผลประโยชน์ ต อบแทนจากการใช้ เครือ ข่ า ยร่ ว ม (Roaming) ให้ ทีโอที โดยมีเงือ่ นไขดังนี้ - ในกรณีทผ่ี ใู้ ห้บริการรายอืน่ เข้ามาใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ในเครือข่าย ของบริษทั ฯ เอไอเอส ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในอัตรา ร้อยละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายได้คา่ ใช้เครือข่ายร่วมทีเ่ รียกเก็บจาก ผูใ้ ห้บริการรายอื่น - ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ เข้าไปใช้เครือข่ายร่วม (Roaming) ของผูใ้ ห้บริการรายอื่น เอไอเอส ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทีโอที ในอัตราร้อยละ (ระบุ ตามสัญญาหลัก) ของรายได้คา่ บริการและเงินอื่นใดทีเ่ รียกเก็บจาก ผูใ้ ช้บริการ หักด้วยค่าใช้เครือข่ายร่วมทีบ่ ริษทั ฯ ต้องจ่ายให้แก่ผใู้ ห้บริการ รายอื่นนัน้ เอกสารแนบ 3 หน้า 6


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

บันทึกข้อตกลงการใช้เครือข่ายร่วม (National Roaming) ชือ่ สัญญา คูส่ ญ ั ญา วันทีท่ าํ บันทึกข้อตกลง

: บันทึกข้อตกลงการใช้เครือข่ายร่วม (National Roaming) : บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี : วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545

รายละเอียดการใช้เครือข่าย ร่วม (Roaming)

:

การชําระค่าใช้บริการ

:

การยกเลิกสัญญา

:

คูส่ ญ ั ญาทัง้ สองฝ่ ายมีความประสงค์จะใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อน ทีข่ องแต่ละ ฝ่ ายร่วมกัน 1. เพื่อเพิ่ม ประสิท ธิภ าพการให้บ ริก ารโทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่แก่ ผู้ใช้ บริก ารของ คู่สญ ั ญาทัง้ สองฝ่ าย นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็ นต้นไป บริษัทฯ ตก ลงให้ดีพีซี เข้ามาใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของบริษัทฯได้ท วั ่ ประเทศ และนับตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เป็ นต้นไป ดีพซี ตี กลงให้เอไอเอส เข้า มาใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนทีข่ องดีพซี ไี ด้ทวประเทศเช่ ั่ นกัน ทัง้ นี้ ผูใ้ ห้บริการเครือข่ายอาจขอลดพืน้ ทีใ่ ห้บริการเครือข่าย โดยจะต้องแจ้งให้ผู้ ขอใช้บริการเครือข่ายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 90 วัน หากการลดพื้นที่ให้บริการเครือข่ายเป็ นเหตุให้ผูใ้ ช้บริการของผู้ขอใช้บริการ เครือข่ายไม่ได้รบั ความสะดวกในการใช้บริการแล้ว ผูข้ อใช้บริการมีสทิ ธิบอก เลิกข้อตกลงฉบับนี้ได้ 2. คู่ ส ัญ ญาแต่ ล ะฝ่ ายตกลงชํ า ระค่ า ใช้ เครือ ข่ า ยร่ว มอัน เกิ ด จากการได้ ใ ช้ เครือข่ายของคู่สญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึ่ง ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท (สองบาทสิบ สตางค์) ซึง่ เป็ นอัตราทีย่ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ในการชําระค่าใช้บริการเครือข่ายในแต่ละเดือน ให้นําจํานวนเงินในใบแจ้งหนี้ของ แต่ฝ่ายมาหักกลบลบหนี้กนั คงเหลือเป็ นยอดเงินสุทธิทต่ี อ้ งชําระโดยฝ่ ายทีม่ คี า่ ใช้ บริการเรียกเก็บน้อยกว่า โดยให้ชาํ ระเป็ นเงินบาท มีกาํ หนดชําระภายใน 15 วัน นับแต่วนั ทีท่ ล่ี งในใบแจ้งหนี้ฉบับสุดท้ายจากผูใ้ ห้บริการเครือข่ายทีไ่ ด้มกี ารหัก กลบลบหนี้กนั ในเดือนนัน้ แล้ว คูส่ ญ ั ญาแต่ละฝ่ ายมีสทิ ธิบอกเลิกบันทึกข้อตกลงโดยแจ้งเป็ นหนังสือให้อกี ฝ่ าย ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือน

ใบอนุญาตการให้บริการอิ นเตอร์เน็ต แบบที่หนึ่ ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/1/025/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2551 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี ) เป็ นผูร้ บั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้ แ ก่ ลู ก ค้ า โดยตรง ทัง้ นี้ เอไอเอส มี ห น้ า ที่ ต้ อ งชํ า ระค่ า ธรรมเนี ย ม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้ประกาศกําหนดไว้ เอกสารแนบ 3 หน้า 7


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอไอเอส ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

2. บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิ วนิ เคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซี) เอดีซไี ด้รบั อนุ ญาตจาก ทีโอที ให้ดาํ เนินการกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแก้ไขเพิม่ เติม 4 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540, 25 กันยายน 2540, 21 มีนาคม 2544 และ 29 กันยายน 2547 โดยสาระสําคัญของสัญญาสรุปได้ดงั นี้ ชือ่ สัญญา

:

สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูลโดยใช้ระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชันส์ ่ จํากัด (เอดีซ)ี

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาต

:

โดยใช้ระบบ เอดีซไี ด้รบั อนุ ญาตให้ดาํ เนินกิจการบริการสือ่ ข้อมูลทุกประเภท Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสือ่ สารข้อมูล อื่นๆ ทัง้ ในระบบจุดต่อจุด (Point to Point) และจุดต่อหลายจุด (Point to Multipoint) ในการให้บริการจัดวงจรเพือ่ เชือ่ มต่อระหว่างเครือข่ายผูใ้ ห้บริการและ ผูใ้ ช้บริการทัวประเทศ ่ เพือ่ รับส่งข้อมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสือ่ สารข้อมูล ประเภทต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย เพือ่ ให้สามารถพัฒนารูปแบบบริการให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและเทคโนโลยีทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

กรรมสิทธิ ์ในทรัพย์สนิ

:

เอดีซตี กลงทีจ่ ะลงทุนในการจัดหาอุปกรณ์ระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตัง้ และ Product Information ของ อุปกรณ์ Datakit และดําเนินการบริการให้เป็ นไปตามทีก่ าํ หนด บรรดาเครื่องมือและอุปกรณ์ ต่างๆ หรือทรัพย์สนิ ที่เอดีซีได้กระทําขึน้ หรือจัดหา มาไว้สําหรับดําเนินการระบบ Datakit เป็ นกรรมสิทธิ ์ของ ทีโอที หลังติดตัง้ เสร็จ เรียบร้อย ทีโอที ยินยอมให้เอดีซี แต่เพียงผู้เดียวครอบครองทรัพย์สนิ ดังกล่าว เพือ่ ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์แห่งสัญญานี้ตลอดอายุสญ ั ญา

การประกันภัยทรัพย์สนิ

:

เอดีซตี ้องทําประกันภัยประเภทคุม้ ครองการเสีย่ งภัยทุกชนิด และเต็มมูลค่าของ ทรัพย์สนิ นัน้ ๆ ตลอดระยะเวลาของสัญ ญา หากกรมธรรม์ประกัน ภัยหมดอายุ ก่อนวันสิน้ สุดของสัญญา เอดีซีต้องต่ออายุกรมธรรม์ฉบับเดิม หรือนํ ากรมธรรม์ ฉบับใหม่มามอบให้ ทีโอที ก่อนวันทีก่ รมธรรม์เดิมจะหมดอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน

เอกสารแนบ 3 หน้า 8


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ผลประโยชน์ตอบแทนการให้ : อนุญาตดําเนินกิจการ

เอดีซจี ะดําเนินการให้มกี ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้านบาท เป็ น 457.52 ล้านบาท โดยออกหุน้ เพิม่ ทุนจํานวน 107.52 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 23.5 ของ ทุนจดทะเบียนให้แก่ ทีโอที โดย ทีโอที ไม่ตอ้ งชําระเงินค่าหุน้ แต่อย่างใด

การยกเลิกสัญญา

ที โ อที มี สิท ธิบ อกเลิก สัญ ญาและมี อํ า นาจมอบกิ จ การตามสัญ ญานี้ ใ ห้ ผู้ อ่ืน ดํา เนิ น การต่ อ หากการดํ า เนิ น งานของเอดีซี มีเหตุ ให้ ทีโอที เชื่อ ว่า เอดีซีไม่ สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี หรือปฏิบตั ิผิดสัญ ญาข้อ หนึ่งข้อใด โดยเอดีซี ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้แก่ ทีโอที และทรัพย์สนิ ต่างๆ ให้ตกเป็ นกรรมสิทธิ ์ของ ทีโอที

:

เอดีซีไม่มสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญา เว้นแต่กรณีท่มี เี หตุสุดวิสยั เกิดขึน้ ทําให้เอดีซีไม่ สามารถปฏิบตั ติ ามสัญญาได้ -

รายละเอียดข้อตกลงต่อท้าย สัญญาอนุญาตครัง้ ที่ 1 – 4 โดยสรุป

-

-

-

ทีโอที อนุ ญ าตให้เอดีซีข ยายบริก ารไปสู่เขตภู มิภ าค โดยเอดีซีต้อ งจ่า ย ผลประโยชน์ตอบแทนรายปี ให้ทโี อทีในอัตราทีก่ าํ หนดในข้อตกลง ทีโอที ตกลงให้ เอดีซปี รับปรุงระบบการให้บริการสือ่ สารข้อมูล โดยใช้ระบบ ADSL และ ATM Switch เพิม่ เติมจากระบบเดิมทีไ่ ด้รบั อนุญาต การกําหนดอัตราค่าเช่าบริการสือ่ สารข้อมูล อัตราค่าธรรมเนียม หรือเรียกเงิน อื่นใดจากผูเ้ ช่าใช้บริการ ให้เป็ นไปตามความเหมาะสมกับสภาวะของตลาด โดยบริษทั ไม่ตอ้ งขอความเห็นชอบจากทีโอที ก่อน ในการดําเนินกิจการบริการสือ่ สารข้อมูล เอดีซจี ะไม่ลงทุนสร้างเครือข่ายเอง จะเช่าวงจรสือ่ สัญญาณจากทีโอที หรือจากผูร้ ว่ มการงานกับทีโอที เว้นแต่ใน กรณีทท่ี โี อที ไม่สามารถจัดหาวงจรสือ่ สัญญาณให้ได้ เอดีซมี สี ทิ ธิลงทุนสร้าง เครือข่ายเอง หรือมีสทิ ธิเช่าจากผูใ้ ห้บริการ รายอื่นได้ ที โ อที ตกลงให้ บ ริษั ท ฯสามารถให้ บ ริก ารข้ อ มู ล เสริม ทางธุ ร กิ จ ต่ า งๆ (contents) ได้ เช่น ข้อมูลทางการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ เกมส์ และมัลติมเี ดีย โดยบริษทั ฯต้องขอความเห็นชอบเป็ นหนังสือจากทีโอที

ใบอนุญาตการให้บริการอิ นเทอร์เน็ต แบบที่หนึ่ ง เลขที่ NTC/MN/INT/ISP/I/022/2548 ผูอ้ นุญาต : คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

: วันที่ 19 ธันวาคม 2551 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ น ของตนเองให้แก่ลกู ค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอดีซมี หี น้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า เอดีซฝี ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ เอกสารแนบ 3 หน้า 9


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

กําหนด ใบอนุญาตการให้บริการอิ นเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศและบริ การชุมสายอิ นเทอร์เน็ต แบบที่สอง ที่ มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/002/2549 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ผูอ้ นุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

: วันที่ 8 ธันวาคม 2549 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม 2554

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ ให้บริการ ศูนย์กลางการเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศสําหรับผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ ให้บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต แบบมี โครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้บริการเฉพาะกลุม่ บุคคล ทัง้ นี้ เอดีซมี ี หน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า เอดีซฝี ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

3. บริษทั ดิ จิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) สัญญาร่วมการงานระหว่าง ดีพีซี กับ กสท. ภายใต้สญ ั ญาร่วมการงานจาก กสท. ทีไ่ ด้ลงนามร่วมกันกับบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ 1 ครัง้ เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 เป็ นต้นไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปได้ดงั นี้ ชือ่ สัญญา

:

สัญญาให้ดาํ เนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลา่ (Personal Communication Network) 1800

คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาต

: :

16 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 DPC ได้รบั อนุ ญาตจาก กสท. ให้มสี ทิ ธิดําเนิ นกิจการให้บริการวิทยุโทรคมนาคม ระบบเซลลูล่า Digital PCN 1800 /1 ทัวประเทศ ่ (ซึ่งต่อไปนี้ จะรวมเรียกว่า “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง ดีพซี ี ได้รบั โอนสิทธิและหน้าทีจ่ ากบริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมู นิ เคชัน่ จํา กัด (มหาชน) (แทค)ตามสัญ ญาโอนสิท ธิและหน้ าที่ต ามสัญ ญา ให้ ดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าระหว่างกสท. แทค และ ดีพซี ี ได้รบั สิทธิในการดําเนิ นการเป็ นระยะเวลา เริม่ ตัง้ แต่ วนั ที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 เอกสารแนบ 3 หน้า 10

Digital

PCN


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

ดีพซี ี ตกลงทีจ่ ะดําเนินการดังต่อไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ระบบ PCN 1800 ทัง้ หมด ซึง่ ประกอบด้วยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือข่าย และ ระบบสือ่ สัญญาณเชือ่ มโยง - ลงทุนจัดหาอะไหล่พร้อมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการดําเนินงาน - รับผิดชอบซ่อมแซมและบํารุงรักษาเครือ่ งมือ อุปกรณ์ ทรัพย์สนิ และโครงข่ายที่ ดีพซี ี จัดหามาในช่วงเวลาทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ดาํ เนินการ

การจัดสรรย่านความถี่

:

กสท. ต้องจัดหาย่านความถีร่ ะหว่าง 1747.9 – 1760.5 MHz และ 1842.9 1855.5 MHz ในพืน้ ทีต่ ่างๆ ทัวประเทศให้ ่ กบั ดีพซี ี สําหรับให้บริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิ ์การส่ง มอบและรับมอบทรัพย์สนิ

:

ดีพซี จี ะต้องโอนทรัพย์สนิ รวมทัง้ อะไหล่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ให้เป็ นกรรมสิทธิ ์ ของ กสท. เมือ่ ติดตัง้ อุปกรณ์แล้วเสร็จ โดย กสท. ให้สทิ ธิแก่ดพี ซี นี ําไปให้บริการ ระบบ PCN 1800 และใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ตลอดอายุสญ ั ญา

การประกันภัยทรัพย์สนิ

:

ดีพซี ตี อ้ งทําประกันภัยประเภทคุม้ ครองการเสีย่ งภัยทุกชนิด และเต็มมูลค่าของ ทรัพย์สนิ นัน้ ๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรม์ประกันภัยหมดอายุก่อน วันสิน้ สุดของสัญญา ดีพซี ตี อ้ งต่ออายุกรมธรรม์ฉบับเดิม หรือนํากรมธรรม์ฉบับ ใหม่มามอบให้ กสท. ก่อนวันทีก่ รมธรรม์เดิมจะหมดอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน

ผลประโยชน์ตอบแทน

:

ดีพซี ตี อ้ งจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ กสท. ตลอดอายุสญ ั ญาเป็ นรายปี คิดเป็ นอัตราร้อยละของรายได้ตามเกณฑ์สทิ ธิจากการให้บริการตามสัญญานี้ ก่อน หักค่าใช้จา่ ย ค่าภาษี และค่าธรรมเนียมต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนินการ ให้บริการ เพือ่ เป็ นประกันรายได้ให้กบั กสท. ดีพซี ยี นิ ยอมจ่ายผลประโยชน์ตอบ แทนขัน้ ตํ่าให้แก่ กสท. ตลอดอายุสญ ั ญานี้ รวมเป็ นเงินไม่ต่าํ กว่า 5,400 ล้านบาท โดยแบ่งชําระเป็ นรายปี ดังมีรายละเอียดดังนี้ ปี ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ให้ผลประโยชน์เป็ นร้อย รายได้ก่อนหักค่าใช้จา่ ย 25 20 20 20 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 รวม

เอกสารแนบ 3 หน้า 11

ผลประโยชน์ขนั ้ ตํ่า (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000 350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

รายได้ประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49 16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

การยกเลิกสัญญา

/1 ระบบการสือ ่ สารโทรคมนาคม

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

สัญญานี้สน้ิ สุดหรือระงับสิน้ ไปด้วยกรณีดงั ต่อไปนี้ - เมือ่ สัญญาครบกําหนด - เมือ่ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจากดีพซี ไี ม่ปฎิบตั ติ ามสัญญา หรือปฎิบตั ผิ ดิ สัญญาข้อหนึ่งข้อใดและทําให้ กสท. ได้รบั ความเสียหาย และดีพซี มี ไิ ด้ ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งเป็ นหนังสือจาก กสท. - เมือ่ คูส่ ญ ั ญาทัง้ 2 ฝ่ ายตกลงกันเลิกสัญญา - เมือ่ ดีพซี ลี ม้ ละลาย - เมือ่ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีทด่ี พี ซี ตี กเป็ นผูข้ าดคุณสมบัติ ตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว และ กสท. ได้แจ้งให้ดพี ซี ที ราบเป็ น หนังสือล่วงหน้าเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน

Digital PCN 1800 ต่อมาเปลีย่ นชือ่ เป็ นระบบ GSM 1800

เอกสารแนบ 3 หน้า 12


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

สัญญาแก้ไขเพิ่ มเติ มสัญญาให้ดาํ เนิ นการให้บริการวิ ทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ลงวันที่ 26 สิ งหาคม 2542 (ครังที ้ ่ 1) คูส่ ญ ั ญา : การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (กสท.) วันทีท่ าํ สัญญา

:

บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี

อายุของสัญญา

:

26 สิงหาคม 2542

วันทีส่ ญ ั ญามีผลบังคับใช้

:

30 มิถุนายน 2542

รายละเอียด

:

กสท. อนุ มตั ใิ ห้ปรับลดผลประโยชน์ ตอบแทนเพื่อให้เท่าเทียมกับสัญญาให้ดําเนินการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ ระหว่าง กสท. กับบริษทั โทเทิล่ แอ๊คเซ็ส คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (แทค) เนื่องจากสัญญาของ ดีพซี ี เป็ นสัญญาทีโ่ อนสิทธิมาจากสัญญา ของบริษทั แทค และปรับเงินประกันรายได้ขนั ้ ตํ่าเพิม่ ขึน้ ดังนี้ 1 ปรับลดผลประโยชน์ ตอบแทน ปี ท่ี 1 เป็ น 25%, ปี ท่ี 2-9 เป็ น 20%, ปี ท่ี 10-14 เป็ น 25%, ปี ท่ี 15-16 เป็ น 30% 2. ดีพี ซี จ่ า ยผลประโยชน์ ต อบแทนขัน้ ตํ่ า ให้ กสท. ตลอดอายุ ส ัญ ญาจากเดิ ม 3,599.55 ล้านบาท เป็ น 5,400 ล้านบาท

สัญญาโอนสิ ทธิ และหน้ าที่ระหว่าง ดีพีซี และ แทค ชือ่ สัญญา : สัญญาโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาให้ดาํ เนินการ คูส่ ญ ั ญา : บริษทั กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) (แทค) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี วันทีท่ าํ สัญญา : วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 กิจการทีไ่ ด้รบั อนุญาต : แทคยอมโอนสิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลา่ ระหว่าง กสท. กับ แทค “บางส่วน” ให้แก่ดพี ซี โี ดย กสท. ยินยอมให้ 1. แทคโอนสิทธิและหน้าทีก่ ารให้บริการ PCN 1800/1 บางส่วนเฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. แทคโอนสิทธิการใช้ชอ่ งความถีใ่ ห้แก่ กสท. และ กสท. ตกลงให้ดพี ซี ใี ช้ ความถีใ่ นช่วงดังกล่าวได้ 3. ดีพซี รี บั โอนลูกค้าในระบบ จาก บมจ. สามารค คอร์ปอเรชัน่ 4. ถ้าสัญญาระหว่าง ดีพซี ี กับ กสท. สิน้ สุดลงก่อนสัญญาร่วมการงาน แทคจะ ได้รบั การพิจารณาให้ดาํ เนินการต่อจากดีพซี กี ่อนผูอ้ ่นื /1 ระบบการสือ ่ สารโทรคมนาคม Digital PCN 1800

ต่อมาเปลีย่ นชือ่ เป็ นระบบ GSM 1800

ข้อตกลงผ่อนปรนสัญญาให้บริ การ (Agreement to Unwind the Service Provider Agreement) คูส่ ญ ั ญา

:

บริษทั โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน(แทค) บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี บริษทั สามารถ คอร์ปอเรชั ่น จํากัด (มหาชน)

วันทีท่ าํ สัญญา

:

วันที่ 7 มกราคม 2540 เอกสารแนบ 3 หน้า 13


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

ลักษณะสัญญา

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

:

ดีพซี ตี กลงจ่ายผลตอบแทนให้แก่แทค เพือ่ ตอบแทนค่าโอนสิทธิและหน้าทีใ่ นการ ดําเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมเซลลูลา่ ค่าใช้อุปกรณ์ และค่าเชื่อมโครงข่าย เป็ นจํานวนเงินประมาณ 5,187.31 ล้านบาท

4. บริษทั แอดวานซ์ เมจิ ค การ์ด จํากัด (เอเอ็มซี) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิ จบัตรเงิ นอิ เล็กทรอนิ กส์ เลขที่ 006/2548 ผูอ้ นุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตัง้ แต่วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2548 เป็ นต้นไป

ลักษณะของหนังสืออนุญาต

:

อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด

การยกเลิกหนังสืออนุ ญาต

:

กระทรวงการคลังมีอํานาจสังเพิ ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า เอเอ็มซี ฝ่ า ฝื น ห รื อ ล ะเล ย ไม่ ป ฏิ บ ั ติ ต าม เงื่ อ น ไข ใน ก ารป ระก อ บ กิ จ ก ารต าม ที่ กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกํา หนด หรือ มีฐานะ การเงิน หรือ การดํ า เนิ น งานที่ อ าจก่ อ ให้เกิ ด ความเสีย หายแก่ ป ระโยชน์ ข อง ประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไขปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

5. บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จํากัด (เอเอ็มพี) หนังสืออนุญาตให้ประกอบธุรกิ จบัตรเงิ นอิ เล็กทรอนิ กส์ เลขที่ 003/2548 ผูอ้ นุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตัง้ แต่วนั ที่ 24 มิถุนายน 2548 เป็ นต้นไป

ลักษณะของหนังสืออนุญาต

:

อนุญาตให้ประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ใช้ชาํ ระค่าสินค้าหรือค่าบริการแทน เงินสด

การยกเลิกหนังสืออนุ ญาต

:

กระทรวงการคลังมีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนการอนุ ญาตก็ต่อเมื่อปรากฏว่า เอเอ็มพี ฝ่ า ฝื น ห รื อ ล ะเล ย ไม่ ป ฏิ บ ั ติ ต าม เงื่ อ น ไข ใน ก ารป ระก อ บ กิ จ ก ารต าม ที่ กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกํา หนด หรือ มีฐานะ การเงิน หรือ การดํ า เนิ น งานที่ อ าจก่ อ ให้เกิ ด ความเสีย หายแก่ ป ระโยชน์ ข อง ประชาชนอย่างร้ายแรง และมิได้แก้ไขปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานให้ ถูกต้องภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

เอกสารแนบ 3 หน้า 14


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

6. บริษทั เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ใบอนุญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริการทีเ่ กีย่ วเนื่องกับ บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ตลอดจนบริการโครงข่ายบริการโทรศัพท์ ระหว่างประเทศ ทัง้ นี้ เอไอเอ็นมีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตและ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ มีอํ า นาจสังเพิ ่ ก ถอนใบอนุ ญ าต ก็ต่อเมื่อปรากฏว่า เอไอเอ็นฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

7. บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอสบีเอ็น) ใบอนุญาตการให้บริการอิ นเทอร์เน็ต แบบที่หนึ่ ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 10 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี )

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

เป็ นผู้รบั อนุ ญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต ประเภทไม่มโี ครงข่ายโทรคมนาคมเป็ น ของตนเองให้แก่ลูกค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอสบีเอ็น มีหน้ าที่ต้องชําระค่าธรรมเนี ยม ใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิจ การโทรคมนาคม แห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญ าตก็ ต่อเมื่อปรากฏว่า เอสบีเอ็นฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตการให้บริการอิ นเทอร์เน็ตเกต์เวย์ ระหว่างประเทศ และบริ การชุมสายอิ นเทอร์เน็ต แบบที่สอง ที่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/008/2550 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 14 ตุลาคม 2555

เอกสารแนบ 3 หน้า 15


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ ให้บริการศูนย์กลางการ เชือ่ มต่อไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในต่างประเทศ สําหรับผูใ้ ห้บริการ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอร์เน็ต ประเภทมีโครงข่าย โทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ให้บริการจํากัดเฉพาะกลุม่ บุคคล ทัง้ นี้ เอสบีเอ็นมี หน้าทีต่ อ้ งชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอาํ นาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมือ่ ปรากฏว่า เอสบีเอ็นฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกาํ หนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/50/006 ผูอ้ นุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ระยะเวลาของใบอนุ ญาต

:

วันที่ 16 สิงหาคม 2550 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2570

ขอบเขตการอนุ ญาต

:

เป็ นผูร้ บั อนุญาตให้บริการโทรคมนาคมแก่บุคคลทัวไป ่ ประเภทบริการโทรศัพท์ ประจําที่ บริการวงจรร่วมดิจติ อล บริการพหุสอ่ื ความเร็วสูงและบริการเสริม มี โครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ทัง้ นี้ เอสบีเอ็นมีหน้าทีต่ อ้ งชําระ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาทีค่ ณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญ าตก็ ต่อเมื่อปรากฏว่า เอสบีเอ็นฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคมแบบที่สอง เลขที่ 2ก/51/001 ผูอ้ นุญาต ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุ ญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551 ถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เป็ นผู้ร บั ให้ บ ริก ารโทรคมนาคมจํ า กัด เฉพาะกลุ่ ม บุ ค คล โดยให้บ ริก ารบน โครงข่ายของตนเอง ทัง้ นี้ เอสบีเอ็นมีหน้ าที่ต้องชําระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาต ตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติไ ด้ ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมื่อปรากฏว่า เอสบีเอ็นฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ เอกสารแนบ 3 หน้า 16


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

กิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศทีค่ ณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติกําหนด และมิได้แก้ไขปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ กําหนด 8.

บริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จํากัด (เอดับบลิ วเอ็น) ใบอนุญาตการให้บริ การอิ นเทอร์เน็ต แบบที่หนึ่ ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/017/2551

ผูอ้ นุญาต ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุ ญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ วันที่ 18 กันยายน 2551 ถึงวันที่ 17 กันยายน 2552 (ต่อใบอนุญาตปี ต่อปี ) เป็ น ผู้รบั ให้บ ริก ารอิน เทอร์เน็ ต ประเภทไม่มีโครงข่า ยโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเองให้แก่ลูกค้าโดยตรง ทัง้ นี้ เอดับบลิวเอ็นมีหน้ าที่ต้องชําระค่าธรรมเนียม ใบอนุ ญ าตตามอัต ราและกํ า หนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิจ การโทรคมนาคม แห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอดับบลิวเอ็น ฝ่ าฝื น หรือไม่ป ฏิบตั ิต ามพระราชบัญ ญัติก าร ประกอบกิจ การโทรคมนาคม ระเบีย บหรือ ประกาศที่ค ณะกรรมการกิจ การ โทรคมนาคมแห่ง ชาติกํ า หนด และมิได้แ ก้ไขปรับ ปรุงหรือ ปฏิบ ัติให้ถู ก ต้อ ง ภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ใบอนุญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/51/003 ผูอ้ นุญาต ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุ ญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ วันที่ 12 มิถุนายน 2551 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2566 ผู้รบั ใบอนุ ญาตสามารถให้บริการโทรคมนาคมแก่บุคคลทัวไป ่ ประเภทบริการ โทรศั พ ท์ ป ระจํ า ที่ บริก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ส ายความเร็ว สู ง บริก ารพหุ ส่ื อ ความเร็วสูง บริการโทรคมนาคมแบบครบวงจร บริการโครงข่ายโทรคมนาคม ทางสายและไร้สาย มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง ทัง้ นี้ เอดับบลิวเอ็น มี ห น้ า ที่ ต้ อ งชํ า ระค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญาตตามอั ต ราและกํ า หนดเวลาที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติได้ประกาศกําหนดไว้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ มีอํานาจสังเพิ ่ กถอนใบอนุ ญาตก็ ต่อเมื่อ ปรากฏว่า เอดับบลิวเอ็น ฝ่ าฝื น หรือไม่ป ฏิบตั ิต ามพระราชบัญ ญัติก าร ประกอบกิจ การโทรคมนาคม ระเบีย บหรือ ประกาศที่ค ณะกรรมการกิจ การ โทรคมนาคมแห่ง ชาติกํ า หนด และมิได้แ ก้ไขปรับ ปรุงหรือ ปฏิบ ัติให้ถู ก ต้อ ง ภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด

เอกสารแนบ 3 หน้า 17


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 (2) ความเห็นของคณะกรรมการอิ สระและคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน

เอกสารแนบ 3 หน้า 18


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 3 หน้า 19


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 หน้า 20


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 หน้า 21


แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2551

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ

เอกสารแนบ 3 (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิ น

เอกสารแนบ 3 หน้า 22


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.