Form 56 1 2011

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited

(ADVANC)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ขอมูลทัว่ ไป 2. ปจจัยความเสีย่ ง 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 5. ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 6. ขอพิพาททางกฎหมาย 7. โครงสรางเงินทุน 8. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 9. การควบคุมภายใน 10. รายการระหวางกัน 11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12. ขอมูลอื่นที่เกีย่ วของ

สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา สวนที่ 1 หนา

1 7 16 32 50 69 73 79 118 125 135 154

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล เอกสารแนบ 1 ประวัติผบู ริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบ ริหารของบริษทั บริษทั ใหญ บริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของ (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษทั ยอย เอกสารแนบ 3 (1) (2) (3) (4)

รายละเอียดสัญญารวมการงาน ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 1 ประวัติผูผบู ริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 2 (1) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัท บริษัทยอย และบริษัทที่เกียวข ่ ยวของ (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) Advanced Info Service Public Company Limited เอกสารแนบ 3 (1) รายละเอียดสัญญารวมการงาน (2) ความเห็นของกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการ ระหวางกั างกัน (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 บริษัทที่ออกหลักทรัพย

1. ขอมูลทั่วไป 1.1

ขอมูลบริษัท

ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย

:

ชื่อยอหลักทรัพย

:

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ ชื่อภาษาอังกฤษ ”Advanced Info Service Public Company Limited” ADVANC

วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย :

5 พฤศจิกายน 2534

มูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาด

:

417,719,893,865 บาท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554)

ทุนจดทะเบียน

:

4,997,459,800 บาท

ทุนจดทะเบียนชําระแลว

:

2,973,095,330 บาท

จํานวนผูถือหุนทั้งหมด

:

19,677 ราย (ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2554)

% Free float

:

36.16% (ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2554)

ประเภทธุรกิจ

:

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

- ประกอบธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ ในระบบดิจิตอล GSM (Global System for Mobile Communication) - ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยานความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ ในระบบ ดิจิตอล GSM 1800 - นําเขาและจัดจําหนายอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่ - ใหบริการสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพทและสาย Optical Fiber - ใหบริการชําระสินคาและบริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่ - จําหนายบัตรแทนเงินสด - ศูนยใหบริการขอมูลทางโทรศัพท - ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ - ใหบริการโทรคมนาคม และโครงขายโทรคมนาคม เปนตน 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400

เลขทะเบียนบริษัท

:

บมจ. 0107535000265 (เดิมเลขที่ บมจ. 59)

เว็บไซต

:

http://www.ais.co.th

โทรศัพท

:

(66) 2299 6000

โทรสาร

:

(66) 2299 5165

สวนที่ 1 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

American Depositary Receipt: ชื่อยอของหลักทรัพย

:

AVIFY

วิธีการซื้อขาย

:

ซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย (Over the Counter: OTC)

นายทะเบียน

:

The Bank of New York Mellon

อัตราสวน (ADR to ORD)

:

1:1

หมายเลข ADR CUSIP

:

00753G103

สวนที่ 1 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

1.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอมูลบริษัทยอย ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทยอย

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ลานหุน)

มูลคาที่ตราไว ตอหุน (บาท)

ทุนชําระแลว (ลานบาท)

สัดสวนการ ถือหุน (%)

ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 เมกะเฮิรตซ

365.551/

10

3,655.47

98.55

ใหบริการการสื่อสารขอมูลผาน เครือขายสายโทรศัพท และสาย Optical Fiber

95.75

10

957.52

51.00 2/

ใหบริการขอมูลทางโทรศัพท

27.2

10

272

99.99

ใหบริการชําระสินคา และบริการ ผานโทรศัพทเคลื่อนที่แทนการใช เงินสด หรือบัตรเครดิต

30

10

300

99.99

จําหนายบัตรแทนเงินสด (Cash Card)

25

10

250

99.99

ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ

2

100

100

99.99

สํานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5455 บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (บริษัทยอยโดยออมผาน DPC) สํานักงานเลขที่ 408/157 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 38 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2270 1900 โทรสาร : (66) 2270 1860 เว็บไซต : www.adc.co.th บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด สํานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5959 บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด สํานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2687 4808 โทรสาร : (66) 2687 4788 บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด สํานักงานเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2615 3330 บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด สํานักงานเลขที่ 408/127 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 29 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2278 7030 เว็บไซต : www.ain.co.th

สวนที่ 1 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554 บริษัทยอย บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด สํานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2619 8777 เว็บไซต : www.sbn.co.th

บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด สํานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 5777 โทรสาร : (66) 2299 5200 บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด สํานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2687 4986 บริษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จํากัด (บริษัทยอยโดยออมผาน AWN)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ลานหุน)

มูลคาที่ตราไว ตอหุน (บาท)

ทุนชําระแลว (ลานบาท)

สัดสวนการ ถือหุน (%)

ใหบริการโทรคมนาคม และบริการ โครงขายโทรคมนาคม เชน บริการ อินเทอรเน็ต (ISP) บริการ อินเทอรเน็ตระหวางประเทศและ บริการชุมสายอินเทอรเน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงขาย โทรคมนาคมระหวางประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผาน เครือขายอินเทอรเน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต (IP Television)

3

100

300

99.99

นําเขาและจัดจําหนาย โทรศัพทเคลื่อนที่ อุปกรณ โทรคมนาคม

0.5

100

50

99.99

ใหบริการโทรคมนาคม บริการ โครงขายโทรคมนาคม และบริการ ระบบคอมพิวเตอร ปจจุบันบริษัท ไดรับใบอนุญาตใหบริการ อินเทอรเน็ต (ISP) แบบที่ 1 และ ใบอนุญาตใหบริการโทรคมนาคม แบบที่ 3 จาก กทช.

3.5

100

350

99.99

ปจจุบันยังมิไดประกอบธุรกิจ

1.2

100

120

99.99

ปจจุบันยังมิไดประกอบธุรกิจ

1

100

100

99.99

สํานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จํากัด (บริษัทยอยโดยออมผาน MBB) สํานักงานเลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

สวนที่ 1 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554 บริษัทยอย บริษัท แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ลานหุน)

มูลคาที่ตราไว ตอหุน (บาท)

ทุนชําระแลว (ลานบาท)

สัดสวนการ ถือหุน (%)

ใหบริการอินเตอรเน็ต

24

10

240

99.99

พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ (IT) และบริการรวบรวมขอมูลบน โทรศัพทเคลื่อนที่ (Content Aggregator)

0.5

100

50

99.99

จัดหา และ/หรือ ใหเชา ที่ดิน อาคาร และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่จําเปนตอการประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม

0.01

100

1

99.97

ปจจุบันยังมิไดประกอบธุรกิจ

0.01

100

1

99.97

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน (ลานหุน)

มูลคาที่ตราไว ตอหุน (บาท)

ทุนชําระแลว (ลานบาท)

สัดสวนการ ถือหุน (%)

ศูนยใหบริการระบบสารสนเทศและ ฐานขอมูลกลาง ประสานงานการ โอนยายผูใหบริการโทรคมนาคม เพื่อการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท

0.02

100

2

20.00

ใหบริการเกี่ยวกับเครือขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ในภาคพื้นเอเชีย แปซิฟค เพื่อใหบริการเครือขาย โทรคมนาคมระหวางประเทศ

23 4/

1 เหรียญสหรัฐ

23 ลานเหรียญสหรัฐ

10.00

สํานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5200 บริษัท ไมโมเทค จํากัด สํานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 บริษัท แฟกซ ไลท จํากัด สํานักงานเลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด 3/ สํานักงานเลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร บริษัทรวมทุน บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด สํานักงานเลขที่ 10/97 ชั้นที่ 6 โครงการเดอะเทรนดี้ ซอยสุขุมวิท 13 (แสงจันทร) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744 บริดจ โมบาย พีทีอี แอลทีดี 750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, สิงคโปร 469000 โทรศัพท็ : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 1/

2/ 3/ 4/

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด ไดจดทะเบียนลดทุนโดยลดจํานวนหุน จากเดิม 1,462.19 ลานหุน เปน 365.55 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาทดังเดิม โดยจดทะเบียน กับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2554 สวนที่เหลือรอยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไมมีความขัดแยงกัน บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด ไดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 รวมหุนที่ซื้อคืน (Treasury Shares) จํานวน 1,000,000 หุน

สวนที่ 1 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอมูลของบุคคลอางอิงอื่นๆ

นายทะเบียนหลักทรัพยหุนสามัญ

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : (66) 2229 2800 โทรสาร : (66) 2359 1259 Call Center : (66) 2229 2888

ผูสอบบัญชี

นายวินิจ ศิลามงคล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร ทาวเวอร ชั้น 48-51 ถนนสาทรใต เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท : (66) 2677 2000 โทรสาร : (66) 2677 2222

นายทะเบียนหลักทรัพยหุนกู

ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 3000 พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท : (66) 2299 1111, (66) 2617 9111

สวนที่ 1 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

2.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ปจจัยความเสี่ยง

ในป 2554 มีเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว บริษัทจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมี ระบบการบริหารความเสี่ยง และการบริหารงานเพื่อสรางความแข็งแกรงและเตรียมการรับมือกับเหตุการณตางๆ ไวรอบ ดานเปนการลวงหนาเพื่อใหบริษัทสามารถดํารงอยูไดตลอดไป บริษัทไดมุงใหค วามสําคัญ กับการบริหารความเสี่ยงขององคก ร โดยมีค ณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งมี ประธานกรรมการบริหาร เปนประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจาหนาที่บริหาร และผูบริหารระดับสูงเปน กรรมการ รวม 11 ทาน ซึ่งในป 2554 คณะกรรมการไดมีการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง โดยพิจารณาแจกแจงความเสี่ยง ครอบคลุมทั้งองคกร จัดอันดับความเสี่ยง กําหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง มอบหมายผูรับผิดชอบจัดใหมีมาตรการ ควบคุม และบริหารจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได เพื่อใหบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและกลยุทธที่กําหนด ไว และสรางความเชื่อมั่นใหกับผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งไดมีการพิจารณาทบทวนความเสี่ยงของบริษัทอยาง สม่ําเสมอวา มีความเสี่ยงดานใดบางที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง ความเปลี่ยนแปลงในสภาพเศรษฐกิจที่อาจสงผลกระทบตอ บริษัท ในแตละไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดนําเสนอผลการบริหารความเสี่ยงใหคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท รับทราบ เพื่อใหมีการจัดการความเสี่ยง และติดตามอยางใกลชิด และ มั่นใจไดวาความเสี่ยงอยูในระดับที่ยอมรับได รวมทั้งบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว ซึ่งสรุปปจจัยความเสี่ยงที่ อาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษัท ดังตอไปนี้ 1.ความเสี่ยงทางดานกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบาย 1.1 การจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยานความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ หรือ 3G ภายหลังจากที่ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งยืนตามคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองเพื่อบรรเทาทุกข ชั่ ว คราวก อ นการพิ พ ากษาของศาลปกครองกลางที่ ใ ห ร ะงั บ การอนุ ญ าตให ใ ช ค ลื่ น ความถี่ เ พื่ อ การประกอบกิ จ การ โทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยานความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ และการดําเนินการตอไปตามประกาศคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการอนุญาตใหใชคลื่นความถี่เพื่อการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยานความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ ไวเปนการชั่วคราวเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2553 สงผลทําใหการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับการ ประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยานความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ ซึ่งดําเนินการโดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ (กทช.) ตองหยุดชะงักลง จึงไมมีการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกผูประกอบการรายใด นอกเหนือจากบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ที่ไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่ไปกอนหนาแลว นั้น เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) จํานวน 11 คน ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการ ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 โดยขณะนี้ กสทช. ไดเตรียมจัดทํา แผนแมบทกิจการโทรคมนาคม และแผนแมบทบริหารคลื่นความถี่และตารางกําหนดคลื่นความถี่แหงชาติ พรอมทั้ง ศึกษา แนวทางการอนุญาตใหใชคลื่นความถี่เพื่อประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยานความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ หรือ 3G ซึ่ง โฆษก กสทช.ไดใหสัมภาษณลงหนังสือพิมพไทยรัฐออนไลน วันที่ 28 ธันวาคม 2554 เปดเผยวา คณะกรรมการกสทช. เห็นชอบตั้งคณะกรรมการเตรียมความพรอมการประมูลใบอนุญาต 3G เพื่อทํางานควบคูกับการประชาพิจารณ เพื่อความ รวดเร็วในการดําเนินการ และเปดประมูล 3G ไดในป 2555

สวนที่ 1 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

1.2 องคกรที่ทําหนาที่กํากับดูแลกิจการดานโทรคมนาคมและกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ตามพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ที่ประกาศใชในวันที่ 19 ธันวาคม 2553 แทนที่กฎหมายฉบับเดิม เพื่อใหเปนไปตาม มาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กําหนดใหมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระองคกรหนึ่งเพียงองคกร เดียว ซึ่งก็คือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) เพื่อทําหนาที่ จัดสรรคลื่นความถี่ กํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม นั้น ในวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ครบจํานวนทั้ง 11 คนแลว บริษัท ไมสามารถคาดการณไดวา การใชอํานาจกํากับดูแลโดยการกําหนดนโยบาย และการออกกฎหรือ ระเบียบตางๆ ของ กสทช. ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จะสงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตออุตสาหกรรมและตอบริษัท ที่ประกอบกิจการโทรคมนาคมในขอบเขตที่เปนอยูในปจจุบัน รวมทั้งฐานะการเงิน การดําเนินงาน และโอกาสทาง ธุรกิจของบริษัทหรือไม 1.3 สัญญารวมการงานระหวางรัฐกับเอกชนที่กําหนดในพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงาน หรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 1.3.1 การแกไขเพิ่มเติมสัญญารวมการงาน ระหวาง บริษัท กับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดมีหนังสือถึงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความ เห็ น เกี่ ย วกับ การแกไ ขเพิ่ ม เติ ม สั ญ ญาอนุ ญ าตให บ ริก ารโทรศั พท เคลื่ อ นที่ ร ะหว า ง ทีโ อที ซึ่ ง ในขณะนั้ น มีส ถานะเป น องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย กับ บริษัท ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือ ดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใชบังคับแลววาไดดําเนินการถูกตองตามพระราชบัญญัติดังกลาวหรือไม และหาก การแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดําเนินการไมถูกตองตามพระราชบัญญัติดังกลาว จะมีแนวทางการปฏิบัติตอไปอยางไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีบันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติวา ดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (กรณีสัญญาอนุญาตใหบริการโทรศัพทเคลื่อน ที่ ระหวางทีโอทีกับบริษัท) เรื่องเสร็จที่ 291/2550 ใหความเห็นดังนี้ “…ทีโอทีเขาเปนคูสัญญาในเรื่องนี้เปนการกระทําแทนรัฐโดยอาศัยอํานาจหนาที่ตามกฎหมายวาดวยองคการ โทรศัพทแหงประเทศไทย สัญญาอนุญาตฯ ที่เกิดขึ้นจึงเปนสัญญาระหวางรัฐกับเอกชนเพื่อมอบหมายใหเอกชนดําเนินการ ใหบริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหนาที่ปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาดังกลาว แตเมื่อการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีขอหารือดําเนินการไมถูกตองตามพระราชบัญญัติวาดวยการ ใหเอกชนเขารวมงานฯ ซึ่งมีผลใชบังคับในขณะที่มีการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ เนื่องจากมิไดเสนอเรื่องการแกไข เพิ่มเติมใหคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอใหคณะรัฐมนตรีซึ่งเปนองคกรที่มีอํานาจพิจารณา เห็นชอบกับการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแหงพระราชบัญญัติดังกลาวดังที่ไดวินิจฉัยขางตน การแกไขเพิ่มเติม สัญญาอนุญาตฯ โดย ทีโอที เปนคูสัญญา จึงกระทําไปโดยไมมีอํานาจตามกฎหมาย อยางไรก็ดี กระบวนการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอันเปนนิติกรรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากขอตกลงตอทาย สัญญาอนุญาตฯ ที่ทําขึ้นได และขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทําขึ้นนั้นยังคงมีผลอยูตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอน หรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น หากคณะรัฐมนตรีซึ่งเปนผูมีอํานาจตามกฎหมายไดพิจารณาถึงเหตุแหงการเพิกถอน ผลกระทบ และความเหมาะสม โดยคํานึงถึงประโยชนของรัฐและประโยชนสาธารณะแลววา การดําเนินการที่ไมถูกตองนั้นมี ความเสียหายอันสมควรจะตองเพิกถอนขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทําขึ้น คณะรัฐมนตรีก็ชอบที่จะเพิกถอนขอตกลง ตอทายสัญญาอนุญาตฯ แตถาคณะรัฐมนตรีพิจารณาแลวมีเหตุผลความจําเปนเพื่อประโยชนของรัฐหรือประโยชนสาธารณะ สวนที่ 1 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

และเพื่ อ ความต อ เนื่อ งของการให บริ ก ารสาธารณะ คณะรัฐ มนตรี ก็อ าจใช ดุลพิ นิจ พิจ ารณาให ค วามเห็น ชอบใหมี ก าร ดําเนินการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดังกลาวไดตามความเหมาะสม โดยหนวยงานเจาของโครงการและคณะกรรมการ ประสานงานตามมาตรา 22 เปนผูดําเนินการเสนอขอเท็จจริง เหตุผล และความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของ คณะรัฐมนตรี” ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ไดเสนอความเห็นกรณีการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของบริษัท ตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแลว บริษัท มีความเชื่อมั่นในหลักการและเหตุผลของการแกไขเพิ่มเติมสัญญา บริษัทไดปฏิบัติตามสัญญารวม การงานและขอกฎหมายที่เกี่ยวของทุกประการตลอดจนตั้งอยูในหลักธรรมาภิบาล จึง เชื่อวา ไมนาจะมีก าร เปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอบริษัท อยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ตาม บริษัทมิอาจคาดการณถึงผลการพิจารณา กรณีดังกลาวของทางภาครัฐและคณะรัฐมนตรีได หากการแกไขสัญญารวมการงานของบริษัท ถูกเพิกถอนอาจมี ผลใหอายุสัญญารวมการงาน สั้นลงและ/หรืออาจมีตนทุนในสวนแบงรายไดของบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบเติม เงินที่สูงขึ้น เปนตน 1.3.2 สัญญารวมการงาน ระหวาง บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดมีหนังสือถึงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความ เห็นเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวาง กสท. กับดีพีซี ภายหลังจากวันที่ พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใชบังคับแลววาไดดําเนินการ ถู ก ต อ งตามพระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล า วหรื อ ไม และหากการแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม สั ญ ญาอนุ ญ าตฯ ดํ า เนิ น การไม ถู ก ต อ งตาม พระราชบัญญัติดังกลาว จะมีแนวทางการปฏิบัติตอไปอยางไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงาน หรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 กรณีสัญญาอนุญาตใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ กสท. กับดีพีซี โดยจากบันทึก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 294/2550 ใหความเห็นโดยสรุปวา “...การที่ บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) โอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูลาร ใหแก ดีพีซี และ ดีพีซี กับ กสท. ไดมีการทําสัญญาระหวางกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 วา กสท. ไดอนุญาตใหสิทธิเอกชนรายใหมในการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร โดย กสท. และดีพีซีเปนคูสัญญาและ ไมถือวาเปนสวนหนึ่งของโครงการดําเนินการใชบริการวิทยุคมนาคมฯ ที่ กสท. อนุญาตใหแก ดีแทค แตอยางใด ดีพีซี จึง เปนคูสัญญาที่อยูภายใตการดูแลกํากับของ กสท. และจายคาตอบแทนใหแก กสท. ดีพีซีในฐานะที่เปนเอกชนผูเขารวมงาน หรือดําเนินงานในกิจการของรัฐจึงตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติใหเอกชนเขารวมงานฯ เนื่องจากกสท. ไดมีการกําหนด ขอบเขตของโครงการและเอกชนผูดําเนินการใหบริการเปนการเฉพาะเจาะจง รวมทั้งไดมีการใหบริการโครงการไปแลว จึง ไมมีกรณีท่ีจะตองประกาศเชิญชวนเอกชนเขารวมงาน หรือดําเนินการในกิจการของรัฐและการคัดเลือกเอกชนดวยวิธี ประมูลตามที่บัญญัติไวในหมวด 3 การดําเนินโครงการ แตเปนการที่ตองนําบทบัญญัติในหมวด 3 นี้มาใชบังคับโดยอนุโลม เทาที่ไมขัดตอสภาพแหงขอเท็จจริง โดย กสท. ตองดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มาตรา 13 เพื่อดําเนินการ ตามมาตรา 21 คือใหคณะกรรมการนําผลการคัดเลือกพรอมเหตุผล ประเด็นที่เจรจาตอรองเรื่องผลประโยชนของรัฐ ราง สัญญาและเอกสารทั้งหมดเสนอตอรัฐมนตรีกระทรวงเจาสังกัดเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในเกาสิบวันนับจาก วันที่คณะกรรมการตัดสินโดยอนุโลมตอไป ดังนั้น การดําเนินการจึงอยูในอํานาจและหนาที่ของคณะกรรมการตามมาตรา 13 ที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควร ได และ ดีพีซี ผูไดรับโอนสิทธิและหนาที่จากดีแทค ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ระหวาง สวนที่ 1 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

กสท. กับ ดีแทค แลว ดีพีซี ยอมเปนผูมีสิทธิดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมฯ ไดตามสิทธิและหนาที่ที่ไดรับโอน แมวา สัญญาใหดําเนินการระหวาง กสท. กับ ดีพีซี ที่ทําขึ้นใหมมิไดดําเนินการหรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวาดวยการให เอกชนเขารวมงานฯ แตอยางไรก็ตาม สัญญาที่ทําขึ้นนั้นยังคงมีผลอยูตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อน เวลา หรือเหตุอื่น ดังนั้น กสท. และ ดีพีซี จึงยังตองมีภาระหนาที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ไดกระทําไวแลว” ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 13 ไดเสนอความเห็นกรณีการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของ ดีพีซี ตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแลว บริษัท มีความเชื่อมั่นในหลักการและเหตุผลของการแกไขเพิ่มเติมสัญญา ดีพีซีไดปฏิบัติตามสัญญารวม การงานและขอกฎหมายที่เกี่ยวของทุกประการตลอดจนตั้งอยูในหลักธรรมาภิบาล จึง เชื่อวา ไมนาจะมีก าร เปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอบริษัท อยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ตาม บริษัทมิอาจคาดการณถึงผลการพิจารณา กรณีดังกลาวของทางภาครัฐและคณะรัฐมนตรีได หากการแกไขสัญญารวมการงานของ ดีพีซี ถูกเพิกถอนอาจมี ผลใหอายุสัญญารวมการงานสั้นลง และสวนแบงรายไดที่ตองชําระเพิ่มเติม 1.4 กฎหมายวาดวยการใชและการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) ตามพระราชบัญญัติการประกอบการกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติวาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 บริษัท ไดทําสัญญาการเชื่อมตอ โครงขายโทรคมนาคมกับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด ซึ่งสัญญาดังกลาวไดผานการเห็นชอบจากคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติแลว บริษัท ไดใหบริการตามสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมดังกลาว โดย ณ ขณะนั้น บริษัท ยังมิไดเรียกเก็บคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมจากคูสัญญาทั้งสอง และมิไดบันทึกรายการที่เกี่ยวของกับคา เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมในงบการเงินระหวางกาล เนื่องจากทีโอทีซึ่งเปนผูใหอนุญาตไดมีหนังสือแจงใหบริษัททราบ ว า บริ ษั ท มิ ใ ช ผู รั บ ใบอนุ ญ าตที่ มี โ ครงข า ยโทรคมนาคมตามกฎหมาย จึ ง ไม มี สิ ท ธิ เ ข า ทํ า สั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข า ย โทรคมนาคมตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติวาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 วันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอทีไดยื่นฟองกทช. ตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนประกาศฯ ดังกลาว (ซึ่ง ตอมา ในวันที่ 15 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษายกฟองกรณีที่ ทีโอที ยื่นฟองขอเพิกถอน ประกาศ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ ทีโอที ไดยื่นอุทธรณตอศาล ปกครองสูงสุดแลว) และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2551 ทีโอที ไดมีหนังสือแจงใหบริษัท ทราบวา บริษัท ควรรอใหศาลมีคํา พิ พ ากษาเพื่ อ ยึ ด ถื อ เป น แนวทางในการปฏิ บั ติ ต อ ไป และหากบริ ษั ท ดํ า เนิ น การตามประกาศคณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติกอนศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุด ทีโอทีจะไมรับรู และบริษัทจะตองเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการ ดังกลาว อยางไรก็ตาม บริษัทไดพิจารณาหนังสือของทีโอทีดังกลาวและกฎหมายที่เกี่ยวของประกอบกับความเห็นของที่ ปรึกษากฎหมาย ผูบริหารของบริษัทเห็นวาการไมปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมขางตน อาจถือไดวา เปนการขัดตอประกาศกทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายฯ บริษัท จึงไดตัดสินใจปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมตอ โครงขาย ซึ่งเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่มีผลใชบังคับอยูในปจจุบัน โดยออกใบแจงหนี้เพื่อเรียกเก็บคาเชื่อมตอ โครงขายจากคูสัญญา ในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 บริษัทไดนําสงเงินผลประโยชนตอบแทนจากการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมตั้งแต เดือนกุมภาพันธ 2550 ถึงเดือนมิถุนายน 2551 จํานวนเงิน 761 ลานบาท ซึ่งคํานวณจากรายไดสุทธิตามอัตราและวิธีคิด คํานวณของบริษัทใหแ กทีโ อที ซึ่งตอมาไดมีการจัดตั้งคณะทํางานเจรจาเกี่ยวกับอัตราผลประโยชนตอบแทนจากคา เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมระหวางบริษัทกับทีโอที แตก็ไมสามารถมีขอยุติรวมกันได เนื่องจากทีโอทีตองการใหบริษัท สวนที่ 1 หนา 10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ชําระเงินสวนแบงรายไดจากคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่บริษัทไดรับทั้งจํานวนตามอัตรารอยละที่กําหนดไวในสัญญา อนุญาตฯ โดยมิใหบริษัทนําคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่บริษัทถูกผูประกอบการรายอื่นเรียกเก็บมาหักออกกอน ใน วันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอทีจึงไดมีหนังสือแจงใหบริษัทชําระเงินผลประโยชนจากรายไดคาเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคมของปดําเนินการที่ 17 – 20 เปนเงินรวม 17,803 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน แต บริษัท ไมเห็นดวยโดยไดมีหนังสือโตแยงคัดคานไปยังทีโอที และบริษัทไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 19/2554แลว เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2554 เพื่อใหคณะอนุญาโตตุลาการมี คําชี้ขาดวา ทีโอทีไมมีสิทธิเรียกรองเงินผลประโยชนตอบแทนดังกลาว 1.5 ขอพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) 1.5.1 บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 ตอ สถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เรียกรองใหบริษัทชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติม อีกจํานวน 31,463 ลานบาท ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน ของเงินดังกลาว นับตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2550 อันเปนวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีมติเปนเอกฉันทชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาท ทั้งหมด โดยใหเหตุผลสรุปไดวา บริษัทไดชําระหนี้โดยชอบดวยกฎหมายแลวจึงไมเปนฝายผิดสัญญา ไมตองชําระ เงินคาผลประโยชนตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ใหแกทีโอที ทีโอทีไดยื่นคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาดดังกลาวตอศาลปกครองกลางแลว ขณะนี้คดีอยูระหวางการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง 1.5.2 บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 กสท. ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 3/2551 ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกรองให ดีพีซี ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ชําระเงินสวนแบงรายได เพิ่มเติมอีกจํานวน 2,449 ลานบาท ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร พรอมเรียกเบี้ยปรับใน อัตรารอยละ 1.25 ตอเดือนของจํานวนเงินที่คางชําระในแตละป นับตั้งแตวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น รวมเปนเงิน ทั้งหมดจํานวน 3,410 ลานบาท ซึ่งจํานวนเงินสวนแบงรายไดดังกลาวเปนจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ดีพีซีได นําสงตั้งแตวันที่ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และไดนํามาหักออกจากสวนแบงรายได อันเปนการปฏิบัติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2546 ถูกตองครบถวนแลว และมีการปฏิบัติเชนเดียวกันทั้งอุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ ในวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาททั้งหมดของ กสท. โดยใหเหตุผลสรุปไดวา การชําระหนี้เดิมเสร็จสิ้นและระงับไปแลว กสท.ไมอาจกลับมาเรียกรองสวนที่อางวาขาด ไปไดอีก ดีพีซี จึงไมเปนผูผิดสัญญา กสท.ไมมีสิทธิเรียกรองให ดีพีซี ชําระหนี้ซ้ําอีก อีกทั้งไมมีสิทธิเรียกเบี้ยปรับ รวมทั้งภาษีมูลคาเพิ่มตามที่เรียกรองมา กสท.ไดยื่นคํา รองขอเพิก ถอนคํา ชี้ขาดดัง กลา วตอ ศาลปกครองกลางแลว ขณะนี้คดีอยูระหวา งการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง

สวนที่ 1 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

1.6 ขอพิพาทระหวางบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2552 กสท.ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปนขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 8/2552 เรียกรองใหดีพีซีสงมอบ และโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จํานวน 3,343 ตน พรอมอุปกรณแหลงจายกําลังงาน (Power Supply) จํานวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูลาร หากไมสามารถสงมอบไดใหชดใชเงินจํานวน 2,230 ลานบาท ซึ่งดีพีซีเห็นวา เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พรอมอุปกรณแหลงจายกําลังงาน (Power Supply) มิใชเครื่องหรืออุปกรณตามที่กําหนดไวในสัญญาขอ 2.1 ที่ดีพีซีจะมี หนาที่จัดหาและสงมอบตามสัญญา ดีพีซี ไดยื่นคําคัดคานคําเสนอขอพิพาทดังกลาว และไดมีการแตงตั้งคณะอนุญาโตตุลาการจํานวน 5 ทานดําเนิน กระบวนการพิจารณาขอพิพาทดังกลาวเรื่อยมา ขณะนี้อยูในระหวางการพิจารณาทําคําชี้ขาดของคณะอนุญาโต ตุลา การ 1.7 ขอพิพาทระหวางบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท.) เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 กสท.ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เปนขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 62/2553 เรียกรองใหดีพีซี ชําระผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มปดําเนินการที่ 10 - 12 ที่เกิดจากการ ที่ดีพีซี ปรับลดอัตราคา Roaming ระหวาง ดีพีซี - เอไอเอส จาก 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท โดยมิไดรับอนุมัติจาก กสท.กอน ในชวงระหวางวันที่ 1 เมษายน 2550 – วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เปนจํานวนเงินรวม 1,640 ลานบาท พรอมเบี้ย ปรับที่คํานวณถึงเดือนมีนาคม 2553 เปนจํานวนเงิน 365 ลานบาท รวมเปนจํานวนเงินประมาณ 2,000 ลานบาท และเรียก เบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 บาทตอเดือนนับแตเดือนเมษายน 2553 เปนตนไป เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 กสท.ไดเสนอขอพิพาทเพิ่มเติมในสวนของปดําเนินการที่ 12 (วันที่ 1 เมษายน 2552 – วันที่ 15 มิถุนายน 2552) ตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 89/2554 เปนจํานวนเงิน 113 ลานบาท ขณะนี้ ข อ พิ พ าทอยู ใ นระหว า งกระบวนการทางอนุ ญ าโตตุ ล าการ ซึ่ ง อาจใช เ วลาการพิ จ ารณาเป น ระยะเวลาหลายป แตอยางไรก็ตามผูบริหารของบริษัท เชื่อวาคําวินิจฉัยชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการนาจะ คลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากดีพีซีไดมีหนังสือแจงการใชอัตราคา Roaming ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ตอ กสท. เรื่อยมานับตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2549 เปนตนมา ซึ่ง กสท.ไดมีหนังสือตอบอนุมัตินับตั้งแตเวลาดังกลาวเรื่อยมา จนถึงเดือนมีนาคม 2550 และยังไดมีหนังสืออนุมัติในชวงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม 2552 ใหอีก สวนในชวง ระยะเวลาที่เปนขอพิพาทนั้น กสท. ก็มิไดมีหนังสือตอบปฏิเสธหรือคัดคานมายังดีพีซีแตอยางใด อีกทั้งคา Roaming ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท นี้ เปนไปตามสภาวะของตลาดที่อัตราคาใชบริการไดลดต่ําลงกวาอัตราคาใช เครือขายรวมเดิม นอกจากนี้ ดีพีซียังไดทําสัญญาการใหใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming) กับบริษัท โดยใช อัตรา 1.10 บาทตอนาที ซึ่งก็ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติแลว 1.8 ขอพิพาทระหวางบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) กับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอที ไดไดยื่นฟอง กสท. เปนผูถูกฟองคดีที่ 1 และดีพีซีเปนผูถูกฟองคดีที่ 2 เปน คดีหมายเลขดําที่1099/2554 เพื่อเรียกรองใหรวมกันชําระคา Access Charge ตามขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ของดีพีซี ลงวันที่ 8 กันยายน 2540 ซึ่งประกอบดวย สวนที่ 1 หนา 12


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

1) คา Access Charge ซึ่งดีพีซีตองชําระใหแกทีโอทีโดยคํานวณจากจํานวนเลขหมายที่ดีพีซีมีการใหบริการใน แตละเดือนในอัตรา 200 บาทตอเลขหมาย เปนเงินรวม 432,218,677.35 บาท 2) คา Access Charge ซึ่ง กสท. ตองชําระใหแกทีโอทีโดยคํานวณจากครึ่งหนึ่งของจํานวนเงินสวนแบงรายไดที่ กสท. ไดรับจากดีพีซีเปนเงินรวม 2,330,813,273.92 บาท 3) คา Access Charge ซึ่ง กสท. ชําระใหแกทีโอทีไมครบถวนเนื่องจาก กสท. และดีพีซีนําสวนลดคา Access Charge ในอัตรา 22 บาทตอเลขหมายตอเดือนมาหักออกกอน เปนเงินรวม 191,019,147.89 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 2,954,051,099.16 บาท พรอมดอกเบี้ย ขณะนี้ คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครอง กลาง ทั้งนี้กระบวนพิจารณาของศาลปกครองกลางอาจใชระยะเวลาหลายป และผูบริหารของบริษัทเชื่อวา ดีพีซีไมมี หนาที่ตองชําระคา Access Charge ตามที่ทีโอทีเรียกรอง เนื่องจากดีพีซีไดบอกเลิกขอตกลงดังกลาวตอทีโอทีแลว โดยเห็น วาขอตกลงดังกลาวขัดหรือแยงกับกฎหมายในปจจุบัน จึงเชื่อวาไมนาจะมีผลกระทบตอบริษัทอยางมีนัยสําคัญ 1.9 ความเสี่ยงหากบริษัทถูกตีความวาเปน“คนตางดาว” ตามที่พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 ไดกําหนดคุณสมบัติของบริษัทไทยและ สัดสวนการถือหุนของคนตางดาวในบริษัทไทยและไดมีการนําคํานิยามของ “คนตางดาว” ในพระราชบัญญัติดังกลาวไปใช ในพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ในสวนคุณสมบัติของผูท่ียื่นขอใบอนุญาตประกอบกิจการ โทรคมนาคมแบบที่ 2 และแบบที่ 3 นั้น ในป 2549 กระทรวงพาณิชยไดทําการตรวจสอบการถือหุนแทนคนตางดาวของบริษัทตางๆ ซึ่งรวมถึงการ ตรวจสอบการถือหุนของผูถือหุนรายใหญใน บจ. กุหลาบแกว ซึ่งเปนบริษัทสัญชาติไทยที่ถือหุนในบริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด (ซีดาร) ในประเด็นวาผูถือหุนสัญชาติไทยรายใหญของบจ. กุหลาบแกว อาจเขาขายถือหุนแทนคนตางดาว ดังนั้น หาก บจ. กุหลาบแกว ถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดตัดสินวาเปนคนตางดาวแลว อาจสงผลใหซีดารกลายเปน คนตางดาวไดและอาจสงผลให บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น บริษัทและดีพีซี อาจถูกตั้งขอสงสัยวาจะสามารถดําเนินการใหบริการ ตางๆ ในประเทศไทยไดหรือไม โดยในกรณีนี้บริษัทเขาใจวาบริษัทไมไดเปนผูกระทําผิดกฎหมาย ทั้งนี้การใหบริการของ บริษัทในกลุมที่อยูภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการในปจจุบันนั้นไมไดมีขอกําหนดเรื่องสัดสวนการถือหุนของคนตางดาว ไว อยางไรก็ตาม ขอมูลที่ปรากฏในบัญชีรายชื่อผูถือหุนของ บจ.กุหลาบแกว ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ 2555 แสดงวา ถือหุนโดยผูถือหุนสัญชาติไทยทั้งหมด 7 รายโดยไมมีคนตางดาว และยังไมมีคําตัดสินของศาลออกมาในเรื่องดังกลาว แต บริษัทก็ไมอาจคาดไดวาจะมีผลของคําพิพากษา กฎหมาย ประกาศ ระเบียบใดๆออกมากระทบตอสัญญาอนุญาตให ดําเนินการและใบอนุญาตตางๆ หรือ เปลี่ยนแปลงหลักกฎหมายที่มีอยูเดิมในเรื่องคํานิยามของ “คนตางดาว” หรือ การ กําหนดขอหามการกระทําใดที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาวหรือไม 1.10 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการคา ตามที่มีการประกาศใชกฎหมายที่เกี่ยวกับการแขงขันทางการคา อันไดแก พระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ เรื่อง มาตรการเพื่อปองกันมิใหมีการกระทําอันเปนการผูกขาดหรือกอใหเกิดความไมเปนธรรมในการแขงขันใน กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2549 ประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เรื่อง นิยามของตลาด และขอบเขต ตลาดโทรคมนาคมที่เกี่ยวของ พ.ศ.2551 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เรื่อง หลักเกณฑและ วิธีการพิจารณากําหนดผูมีอํานาจเหนือตลาดในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2552 ซึ่งทําใหบริษัท ถูกพิจารณาวาเปนผูมี อํานาจเหนือตลาดในกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่นั้น สวนที่ 1 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

บริษัท ไมอาจคาดการณไดวาหนวยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลจะมีนโยบายหรือกําหนดมาตรการใดๆ ที่จะ ใช บั ง คั บ ในอนาคตกั บ บริ ษั ท ซึ่ ง อาจส ง ผลกระทบต อ การดํ า เนิ น กิ จ กรรมด า นการตลาดของบริ ษั ท อย า งมี นัยสําคัญ 1.11 กรณีที่บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) เรียกรองให บริษัท ชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติม กรณีบริการบัตรเติมเงิน (Prepaid Card) การใชเครือขายรวม (Roaming) ทีโอที ไดมีหนังสือ เลขที่ ทีโอที ชม./41 ลงวันที่ 31 มกราคม 2554 แจงใหบริษัทชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติม ในกรณีการปรับลดสวนแบงรายไดบริการบัตรเติมเงิน (Prepaid Card) จํานวน 29,534 ลานบาท การหักคาใชจายการใช เครือขายรวม (Roaming) จํานวน 7,462 ลานบาท มิฉะนั้น ทีโอทีจะดําเนินการตามกฎหมายตอไปนั้น เปนเหตุใหกรณีการ ปรับลดสวนแบงรายไดบริการบัตรเติมเงิน (Prepaid Card) และการหักคาใชจายการใชเครือขายรวม (Roaming) บริษัทได ยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2554 เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2554 ตอมาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ทีโอที มีหนังสือเลขที่ ทีโอที/ชม.150 เพื่อขอ ยกเลิกหนังสือเลขที่ ทีโอที ชม./41 ลงวันที่ 31 มกราคม 2554 ที่เรียกรองใหบริษัทชําระเงินขางตน โดยแจงวาเนื่องจากมี ขอเท็จจริงที่คลาดเคลื่อน และทีโอทีก็ยังไมไดดําเนินการใดๆ ตามหนังสือดังกลาว อีกทั้งขอตกลงตอทายสัญญาครั้งที่ 6 และครั้งที่ 7 ก็ยังมีผลบังคับอยู จากการที่ ทีโ อที ยกเลิกหนังสืออันเปนมูลเหตุในการเสนอขอพิพาท จึงไมมีขอพิพาทที่ทําให บริษัท จําตอง ดําเนินการในชั้นอนุญาโตตุลาการตอทีโอทีตามที่เรียกรองอีกตอไป ดังนั้น ในวันที่ 3 ตุลาคม 2554 บริษัท จึงไดยื่นคํารอง ขอถอนคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2554 และสถาบันอนุญาโตตุลาการไดมีหนังสือ ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2554 แจง คําสั่งอนุญาตใหถอนคําเสนอขอพิพาทดังกลาว 2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับสถานการณการตลาด และการแขงขัน การปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกคา การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชงานของลูกคาที่อาจจะลดลงในชวงตนป 2555 เนื่องจากปญหามหาอุทกภัยที่ เกิดขึ้นไดสงผลโดยตรงตอภาคอุตสาหรรมการผลิตและแนวโนมอัตราการวางงานที่เพิ่มสูงขึ้น แตอยางไรก็ตามมาตรการ ช ว ยเหลื อ ฟ น ฟู ห ลั ง น้ํ า ลดและการเบิ ก จ า ยเงิ น ภายใต ก ารจั ด ทํ า กรอบงบประมาณใหม ป ระจํ า ป 2555 ที่ เ พิ่ ม ขาดดุ ล งบประมาณอีก 5 หมื่นลานบาทเปน 4 แสนลานบาท รวมถึงนโยบายกระตุนการใชจายจากภาครัฐอื่นๆ และมาตรการ ชวยเหลือผูประสบภัยจากสถาบันการเงินตางๆ จะสนับสนุนใหการบริโภคของภาคเอกชนฟนตัว โดยเฉพาะการบริโภคเพื่อ การซอมแซมที่อยูอาศัย โรงงาน และยังกระตุนความเชื่อมั่นกับนักลงทุนในการฟนฟูกําลังการผลิตซึ่งจะสงผลบวกตอการ จางงานในที่สุด บริษัทไดเตรียมพรอ มรับสถานการณดังกลาวดวยการปรับ กลยุทธทางการตลาดโดยนํา เสนอสินคา บริการใหสอดคลองกับพฤติกรรมและสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป พรอมทั้งจะเฝาติดตามสภาวการณ ที่ เกิดขึ้นอยางใกลชิดเพื่อประเมินสถานการณไดอยางแมนยําและสามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธใหเหมาะสมเพื่อ เปาหมายสูงสุดคือการเสริมสรางมูลคาใหแกผูถือหุน ลูกคาและพนักงาน ซึ่งเปนองคประกอบหลักที่สําคัญของ บริษัท 3. ความเสี่ยงทางดานระบบปฏิบัติการ (Operation Risk) จากเหตุการณการเกิดมหาอุทกภัยในป 2554 ซึ่งเปนภัยธรรมชาติที่รายแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประเทศไทย โดย กอใหเกิดความเสียหายอยางมากมายและกวางขวางตอชีวิต และทรัพยสินของประชาชน ทั้งในภาคเหนือ ภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งบริษัทเองก็ไดรับผลกระทบจากเหตุการณดังกลาว แมวาบริษัทจะมีการเตรียม

สวนที่ 1 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

แผนงานเพื่อปองกันและลดผลกระทบในระดับหนึ่ง จากสถานการณดังกลาวจะเห็นไดวาอุทกภัยนั้นมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้น อยางตอเนื่อง และทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะสองสามปที่ผานมานี้ไดเกิดภัยพิบัติขึ้นตอเนื่องทุกป ดวยเหตุนี้ บริษัทจึงไดใหความสําคัญในการปองกันความเสี่ยงจากอุทกภัย และเตรียมแผนงานเพื่อปองกัน และ บรรเทาผลกระทบจากความเสี่ยงดังกลาว ซึ่งในปที่ผานมาบริษัทไดเตรียมการแบงเปนสามดานคือ การเตรียมแผนปองกัน ความเสียหายจากอุทกภัย ไดแก การยกระดับความสูงของสถานีฐาน เครื่องปนไฟฟา ตูคอนเทนเนอร การวางกระสอบ ทราย การเตรียมแผนและดําเนินการงานปองกันธุรกิจหยุดชะงัก (Business Continuity Plan: BCP) และการเตรียมแผน ฟนฟูหลังเกิดอุทกภัย ไดแก การฟนฟูสถานีฐาน และการฟนฟูบริการดาน Enterprise Data Service ในนิคมอุตสาหกรรม ตางๆ เพื่อสามารถใหบริการเครือขายไดอยางรวดเร็วที่สุดหลังสถานการณน้ําคลี่คลายลง เปนตน จากการเกิดอุทกภัยที่ผานมา รวมถึงแนวโนมที่อาจจะเกิดภัยธรรมชาติอื่นๆ ในอนาคต เชน แผนดินไหว สึนามิ หรือดินถลม ทําใหบริษัทไดตระหนักและจําเปนอยางยิ่งที่ตองรวบรวมองคความรูและประสบการณ รวมทั้งผลสําเร็จที่ไดรับ ในครั้งนี้มาประยุกตใชและปรับปรุงแผนงานใหสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อทําใหเครือขายของ บริษัทเปนเครือขายที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับสากล พรอมที่จะรับมือกับภาวะอุทกภัยและภัย ธรรมชาติอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

สวนที่ 1 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

3.1

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ พัฒนาการที่สําคัญกอนป 2554

ป 2529

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท หรือ เอไอเอส) จดทะเบียนเปนบริษัทจํากัด เมื่อ วันที่ 24 เมษายน 2529 โดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกในการดําเนินธุรกิจใหเชาและใหบริการคอมพิวเตอร

ป 2532

บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (อินทัช) ไดเขามาเปนผูถือหุนของบริษัท ในสัดสวนรอยละ 60 ของทุน จดทะเบียน และไดเปลี่ยนวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจเปนการใหบริการโทรคมนาคม

ป 2542

เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2542 Singtel Strategic Investments Private Limited (SingTel) ซึง่ เปนบริษัทใน กลุม Singapore Telecommunications Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร ซึ่งดําเนินธุรกิจเทคโนโลยีสื่อสารและ โทรคมนาคม ไดเขาถือหุนในบริษัท โดย อินทัช และ SingTel เปนผูถือหุนในบริษัท ทั้งสิ้นรอยละ 43.06 และ 19.35 ตามลําดับ เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2542 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท แอดวานซ เพจจิ้ง จํากัด (APG) (เดิมชื่อ บริษัท ชินวัตร เพจจิ้ง จํากัด) ซึ่งดําเนินธุรกิจใหบริการโทรศัพทติดตามตัว จากเดิมรอยละ 60.00 เปนรอยละ 99.99 แตจากการที่บริการโทรศัพทติดตามตัวไดรับความนิยมลดลงเปนอยางมาก ประกอบกับ การปรับตัวลดลงของราคาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่เปนสิ่งที่สามารถซื้อหาไดงาย ขึ้น การดําเนินงานของ APG จึงไดยุติลง พรอมกับมีการคืนสัญญารวมการงานใหแก ทีโอที เมื่อเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2545 ตอมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 APG ไดถูกขายใหแกบริษัทอื่น ดังนั้น APG จึง ไมไดเปนบริษัทในเครือของบริษัทอีกตอไป ในเดือนตุลาคม 2542 บริษัทเขาถือหุนในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) (เดิมชื่อบริษัท ชินวัตร ดาตาคอม จํากัด) ในสัดสวนรอยละ 67.95 และบริษัท ดาตาเน็ทเวอรค โซลูชั่นส จํากัด (ดีเอ็นเอส) ในสัดสวนรอยละ 49.00 ซึ่งทั้งสองบริษัทดําเนินธุรกิจการใหบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท

ป 2544

ตามมติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2544 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ในสัดสวนรอยละ 99.99 หรือมูลคาการลงทุนรวม 540 ลานบาท จากอินทัชและ Singtel บริษัท SDT ในขณะนั้น เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ใน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนผู ประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 และเปนผูนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริษัทไดใหการสนับสนุนทางการเงินแก SDT ในวงเงินประมาณ 17,300 ลานบาท เพื่อใชชําระหนี้ใหแก อินทัช และ SingTel ทั้งนี้ บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกจําหนาย จํานวน 23.5 ลานหุน เปนการ เฉพาะเจาะจงใหแกอินทัช จํานวน 17 ลานหุน และ SingTel จํานวน 6.5 ลานหุน คิดเปนมูลคารวมทั้งสิ้น 10,024 ลานบาท เพื่อเปนเงินทุนสวนหนึ่งในการลงทุนดังกลาว ในเดือนกันยายน 2544 บริษัทไดมีการลงทุนในกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM 1800 ของ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 8,556 ลานบาท โดยบริษัทไดเขาไปลงทุน ในสัดสวนรอยละ 99.99 ในบริษัท ชิน ดิจิตอล จํากัด (SDT) ซึ่ง SDT เปนผูถือหุน รอยละ 97.54 ในดีพีซี สวนที่ 1 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2544 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 ไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุน ดีพีซีในสัดสวนรอยละ 98.17 หรือมูลคาการลงทุนรวม 20,300 ลานบาท จาก SDT เพื่อใชหนี้คืนใหแกบริษัท และลดภาระภาษีดานรายไดคาดอกเบี้ย โดยไดเขาไปซื้อหุนดีพีซี เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 ซึ่งจะทําให บริษัทเปนผูถือหุนในดีพีซีโดยตรง ป 2545

ตามมติที่ประชุมกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2545 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ไดอนุมัติใหบริษัทลงทุนเพิ่ม ในดีพีซี จํานวน 300 ลานหุน เปนจํานวนเงิน 3,000 ลานบาท ซึ่งเปนผลทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน ดีพีซี เปนรอยละ 98.55 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม 2545 ในเดือนธันวาคม 2545 บริษัทปรับโครงสรางธุรกิจการนําเขาและการจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัท แอดวานซ ไวรเลส มารเก็ตติ้ง จํากัด (เอดับบลิวเอ็ม) โดยโอนการดําเนินงานของเอดับบลิวเอ็ม รวมเขากับการดําเนินงานของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่งของบริษัทเพื่อ เปนการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารธุรกิจโดยรวมใหดียิ่งขึ้น (เอดับบลิวเอ็มจึงหยุดดําเนินกิจการ ชั่วคราว)

ป 2546

เอไอเอส ไดรับการปรับอันดับความนาเชื่อถือขององคกรและออกตราสารหนี้ โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด จากระดับ AA- เปน AA

ป 2547

บริษัท ฟทช เรทติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด (Fitch Rating) ประกาศให เอไอเอส ไดรับอันดับเครดิต ภายในประเทศระยะยาวที่ระดับ AA (tha) แนวโนมมีเสถียรภาพ และระยะสั้นที่ระดับ F1+(tha) สะทอนถึง ฐานะการเงินที่แข็งแกรง และความเปนผูนําทางดานตลาด เอไอเอสไดรับการเพิ่มอันดับความนาเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนดดารตแอนดพัวรส หรือ เอส แอนด พี (S&P) จากเดิมอยูที่ระดับ BBB ใหเปนระดับ BBB+ ซึ่งถือเปนอันดับความนาเชื่อถือขององคกรเอกชนที่ เทียบเทาอันดับความนาเชื่อถือของประเทศไทย และสะทอนใหเห็นถึงสถานภาพอันแข็งแกรงของเอไอเอส ในการเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในประเทศไทย

ป 2548

ในเดือนกรกฎาคม 2548 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรวมกับวารสารการเงินธนาคารมอบรางวัลใหแก เอไอเอส 3 รางวัล คือ 1. รางวัลบริษัทที่มีการประกอบการธุรกิจดีเดน (Best Performance) หมวด เทคโนโลยี 2. รางวัลบริษัทที่มีความโดดเดนดานนักลงทุนสัมพันธ (Best Investor) และ 3. รางวัลบริษัทที่ เปดเผยขอมูลผลประกอบการดีเดนตามหลักธรรมาภิบาล (Best Corporate Governance Report Awards) ในงาน SET AWARDS 2005 ในเดือนสิงหาคม 2548 เอไอเอสเปดตัวบริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางเอไอเอส และ บริษัท เอ็นทีที โดโคโม อินคอรปอเรชั่น เพื่อดําเนินธุรกิจการใหบริการธุรกรรมการเงินบน โทรศัพทเคลื่อนที่ ในเดือนกันยายน 2548 ที่ประชุมผูถือหุนกูของเอไอเอส จํานวน 6 ชุดคือ หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 1/2544 ชนิด ทยอยคืนเงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2549 (AIS063A) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 3/2544 ครบกําหนดไถถอน ป 2549 (AIS06NA) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093A) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 2/2545 ชนิดทยอยคืนเงินตน ครบกําหนดไถถอนป 2552 (AIS093B) หุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 3/2545 ครบกําหนดไถถอนป 2550 (AIS073A) และหุนกูเอไอเอส ครั้งที่ 4/2545 ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครบ กําหนดไถถอนป 2550 (AIS07OA) ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทสามารถจายเงินปนผลในแตละปใหแกผูถือหุน ของบริษัท เปนจํานวนเกินกวารอยละ 40 ของผลกําไรสุทธิในปนั้นๆ ได ภายใตเงื่อนไขคือบริษัทจะตองมี สวนที่ 1 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อันดับความนาเชื่อถือไมต่ํากวา AA และไดรับภายในระยะเวลาไมเกินกวา คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติการจายเงินปนผล

45

วันกอนหนาวันที่

ในเดือนตุลาคม 2548 เอไอเอสไดรับการปรับเพิ่มอันดับความนาเชื่อถือจากสถาบันจัดอันดับ สแตนดดารต แอนดพัวร หรือ เอส แอนด พี (S&P) จากเดิมที่อยูระดับ BBB+ เปน A- สะทอนใหเห็นถึงสถานภาพอัน แข็งแกรงของเอไอเอสในการเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในประเทศไทย เอไอเอสรวมกับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ในการรวมใบแจงคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งในประเทศ ระหวางประเทศ และบริการขามแดนอัตโนมัติไวในใบแจงคาใชบริการใบเดียวกัน เพื่ออํานวย ความสะดวกใหแกลูกคามากขึ้น ป 2549

เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 กลุมผูถือหุนรายใหญของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (อินทัช) ได ขายหุนอินทัชใหแกบริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด (Cedar) และบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด (Aspen) สงผลให Cedar และ Aspen ตองเขาถือหลักทรัพยของบริษัทเพื่อครอบงํากิจการโดยสมัครใจ (Voluntary Tender Offer) ในราคา 72.31 บาทตอหุน นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของอินทัช ครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 มีมติจะไมขายหุนสามัญของบริษัทที่อินทัชถืออยูทั้งจํานวน เนื่องจาก คณะกรรมการบริษัทของอินทัชพิจารณาแลวมีความเห็นวาธุรกิจของเอไอเอส เปนธุรกิจที่กอใหเกิดรายได หลักของอินทัช และประกอบกับการที่ เอไอเอส มีผลประกอบการที่ดีมาโดยตลอด ในเดือนพฤศจิกายน เอไอเอส ลงนามในสัญญาการใชอัตราเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge) รวมกับ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมิวนิเคชั่น (ดีแทค)

ป 2550

ในเดือนกุมภาพันธ บริษัทลงนามในสัญญาการใชอัตราเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge) รวมกับ บริษัท ทรูมูฟ จํากัด ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2550 มีมติอนุมัติแตงตั้งนายวิกรม ศรีประทักษ หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี (CTO) ใหดํารงตําแหนงหัวหนาคณะเจาหนาที่ผูบริหาร (CEO) รับผิดชอบดูแลสายงานธุรกิจสื่อสารไรสาย แทนนายสมประสงค บุญยะชัย ซึ่งยังคงดํารงตําแหนง ประธานกรรมการบริหารของบริษัทโดยใหมีผลตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2550 ในเดือนพฤษภาคม บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับลิวดีเอส) ไดจดทะเบียนตั้งบริษัทกับ กระทรวงพาณิชย เพื่อประกอบธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคม แต เดิมธุรกิจดังกลาวบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) เปนผูดําเนินการ ในเดือนกรกฎาคม บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เปดตัวโทรศัพทเคลื่อนที่ที่เปนแบรนดของตนเอง (House brand) ใหมลาสุดภายใตชื่อ ‘Phone One’

ป 2551

ในเดือนมกราคม บริษัทซื้อหุนสามัญของบริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ บริษัทถือหุนรอยละ 69.99 จากบริษัท เอ็นทีที โดโคโม อินคอรปอเรชั่น จํานวน 9,000,000 หุน ในมูลคา 126,000,000 บาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 30 จากทุนจดทะเบียนของ เอเอ็มพี โดยภายหลังจากการซื้อหุน สัดสวนการถือหุนของบริษัท เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 99.99 ในเดือนพฤษภาคม บริษัทขายหุนสามัญของ บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอ ดีซี) ใหบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) โดยซื้อขายในราคามูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ 2551 จํานวน 199,240,761.60 บาท โดยภายหลังจากการขายหุนดังกลาว เอดีซี ยังคงเปนบริษัทยอยโดยทางออม สวนที่ 1 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ของบริษัทโดยผานทาง ดีพีซี ในเดือนมิถุนายน คณะกรรมการบริษัทมีมติแตงตั้ง นายแอเลน ลิว ยง เคียง ดํารงตําแหนง ประธาน กรรมการบริหาร แทนนายสมประสงค บุญยะชัย ที่ขอลาออกจากตําแหนงกรรมการบริหาร โดยมีผลตั้งแต วันที่ 1 มิถุนายน 2551 เปนตนไป ในเดือนตุลาคม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท (วาระพิเศษ) มีมติอนุมตั ิการแตงตั้ง นายสมประสงค บุญยะชัย ดํารงตําแหนงเปน รองประธานกรรมการ โดยใหมผี ลตั้งแตวันที่ 8 ตุลาคม 2551 เปนตนไป ในเดือนธันวาคม บริษัทเปดใหบริการ 3G ดวยเทคโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 900 MHz เปนรายแรกใน กรุงเทพฯ ซึ่งเปนการดําเนินงานตอเนื่องมาจากการเปดบริการ 3G ในจังหวัดเชียงใหมกอนหนานี้ในเดือน พฤษภาคม โดยบริการที่เปดใหลูกคาไดใชงาน ไดแก Video call, บริการขอมูลผาน AIS Mobile Internet และการใชงาน Wireless Hi-speed Internet สําหรับลูกคาระบบเติมเงินและระบบรายเดือน ป 2552

ในเดือนมกราคม บริษัทเสนอขายหุนกู 2 ชุด คือ อายุ 3.5 ป จํานวน 5,000 ลานบาท ในอัตราดอกเบี้ย รอยละ 4 ตอป ในชวง 2.5 ปแรก และรอยละ 5 ตอปในปสุดทาย และ อายุ 5 ป จํานวน 2,500 ลานบาท ใน อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4 ตอปในปที่ 1-2 รอยละ 5 ตอปในปที่ 3-4 และรอยละ 6 ตอปในปที่ 5 ใหแกนักลงทุน ทั่วไปและนักลงทุนสถาบัน โดยหุนกูดังกลาวไดรับการจัดอันดับเครดิตในระดับ AA จากบริษัท ทริส เรทติ้ง จํากัด ในเดือนสิงหาคม บริษัทไดรับการคัดเลือกใหเปนบริษัทที่เปนเลิศดานการสรางแบรนดและไดรับการโหวตให เปนสุดยอดแบรนดแหงป ประจําป 2008-2009 (Brand of the Year 2008-2009) จาก Superbrands หนวยงานอิสระที่ทําการจัดอันดับองคกรดานการสรางแบรนด ในเดือนธันวาคม บริษัทเปดใหบริการ Facebook & Twitter Alert บนมือถือ เปนครั้งแรกของเมืองไทย ตอบ กระแสความนิยมของคนรุนใหม ใหสามารถรับและโพสตขอความผานระบบ SMS บนมือถือไดอยางสะดวก รวดเร็ว และเรียลไทม

ป 2553

ในเดือนมกราคม บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวาง ผูประกอบการโทรคมนาคม 5 ราย ในประเทศไทย เพื่อใหบริการคงสิทธิเลขหมายตามที่กฎหมายกําหนด ได จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทกับกระทรวงพาณิชย โดยมีทุนจดทะเบียน 2 ลานบาท ทั้งนี้บริษัทถือหุนในอัตรา รอยละ 20 เอไอเอส รับรางวัลบริษัทยอดเยี่ยมแหงป 2553 (Best Public Companies of the Year 2010) ในฐานะที่ เปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่มีผลการดําเนินงานยอดเยี่ยมในรอบป จากงาน Money & Banking Awards 2010 นอกจากนี้ยังไดรับรางวัลผูบริหารยอดเยี่ยมแหงป 2553 (Best CEO) ใน กลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี และรางวัลผูบริหารดานการเงินยอดเยี่ยม (Best CFO) และรางวัลนักลงทุน สัมพันธยอดเยี่ยม (Best IR) จากสมาคมนักวิเคราะหหลักทรัพย

เหตุการณสําคัญในป 2554 มกราคม เอไอเอส ตอกย้ําความเปนผูนําและสรางการเติบโตอยางยั่งยืน ดวยการทํางานแบบ “Quality DNAs – คุณภาพ ในทุกมิติของการใหบริการ” ประกาศยังคงพัฒนาเครือขายอยางตอเนื่องในทุกรูปแบบ รวมถึงขยายเครือขาย 3G900 เพิ่ม ตอบรับกระแสการเติบโต Mobile Internet สวนที่ 1 หนา 19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กุมภาพันธ วัน-ทู-คอล! เปดตัวแคมเปญ “Chat’n Share” เพื่อนกันไมจํากัด เปนแหลงรวมแพ็กเกจ Chat หลากหลาย ใหแก ลูกคาพรีเพดที่รักการ Chat แบบอิสระ เอไอเอสรวมกับ Google พัฒนา Google Chrome version AIS พรอมใช plug’n play บน AIS Aircard เพื่อ เสริมคุณภาพและสรางประสบการณที่เหนือกวาใหแกผูใชบริการ Mobile Internet ดวยความเร็วในการ แสดงผล ความสะดวกในการเขาถึงขอมูลการใชงาน การเลือกโปรโมชั่น และใช application ตางๆ รวมถึงการ ปองกัน virus and malware อัตโนมัติขณะทองอินเทอรเน็ต มีนาคม เอไอเอสพั ฒ นาแอพพลิ เ คชั่ น พิ เ ศษ “Blue” บนเอไอเอส ไอโฟน เพื่ อ ให ผู ใ ช บ ริ ก ารสามารถติ ด ตามความ เคลื่ อ นไหวของตลาดการเงิ น ทั่วโลกแบบเรี ย ลไทม ทั้ง จากตลาดหลัก ทรั พย แ หง ประเทศไทย และตลาดหุ น ตางประเทศกวา 160 ตลาดทั่วโลก เอไอเอสรวมกับซีเอ็ด พัฒนาบริการ “SE-ED Application” โลกหนังสือบน iPhone, iPad, Android ของเอไอเอส เพื่อใหผูใชบริการสามารถติดตามความเคลื่อนไหวในแวดวงหนังสือ และสั่งซื้อพรอมสงถึงบานไดทันที เอไอเอส โดยบริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด และบริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด สงมอบ ศูนยอินเทอรเน็ตโรงเรียนและตูโทรศัพทสาธารณะแหงแรกที่โรงเรียนเมืองยาววิทยา จ.ลําปาง ในโครงการจัดใหมี บริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม หรือยูเอสโอ ใหแกคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กสทช. ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังของป 2553 ในอัตราหุนละ 3.92 บาท โดยจายเงินปนผลในวันที่ 26 เมษายน 2554 เมษายน เอไอเอสจัดกิจกรรม "คําสัญญาคุณภาพจากใจชาวเอไอเอส Quality DNAs" เพื่อสงมอบคําสัญญาไปยังลูกคากวา 31 ลานราย ในการมุงมั่นพัฒนาคุณภาพของบริการที่ตอบสนองความตองการในทุกดานของชีวิต ผาน Device, Network, Application และ Service เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดทั้งในวันนี้และอนาคต บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด ซึ่งเปนผูพัฒนาระบบเทคโนโลยีในโครงการ อี-แบงกิ้ง แกธนาคารสแตนดารด ชารเตอรด (ไทย) จํากัด (มหาชน) ไดรับรางวัล The Asian Banker Technology Implementation Awards 2011 จาก ดิ เอเชียน แบงเกอร นิตยสารดานการเงินการธนาคารชั้นนําของภูมิภาคเอเชีย เอไอเอสรับรางวัลสุดยอดบริษัทที่จายเงินปนผลสูงสุดอยางตอเนื่องเฉลี่ย 5 ปที่ผานมา (2006-2010) เปนอันดับ หนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จากนิตยสาร อัลฟา เซาทอีสต เอเชีย (Alpha Southeast Asia) ซึ่งเปนนิตยสาร ดานการลงทุนสถาบันที่เนนเรื่องการธนาคารและตลาดทุนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสําหรับองคกรและนักลงทุน มืออาชีพ พฤษภาคม เอไอเอสรับรางวัลบริษัทนายจางดีเดนแหงป 2554 อันดับที่ 1 ในงาน Best Employers in Thailand 2554 ซึ่งจัด โดย เอออนฮิววิท และศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอไอเอสพัฒนาแอพพลิเคชั่นใหม “Always Best Connected” ไวใน AIS AIRCARD เพื่อชวยจัดการเชื่อมตอทุก เครือขายเน็ตไรสายของเอไอเอส ทั้ง WiFi, 3G และ EDGE+ โดยอัตโนมัติ มิถุนายน เอไอเอสไดรับการจัดอันดับจากวารสารการเงินธนาคารใหเปนบริษัทยอดเยี่ยมแหงป 2554 (Best Public Companies of The Year 2554) อันดับที่ 1 จาก 300 บริษัทที่มีมูลคาทางตลาดหลักทรัพยสูงสุดของตลาด สวนที่ 1 หนา 20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หลักทรัพยแหงประเทศไทย เอไอเอสรับรางวัลผูประกอบการดีเดนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ดานการ ใหความชวยเหลือสังคมใหสามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน ซึ่งเปนบริษัทไทยรายแรกที่ไดรับรางวัลนี้จากงาน Asia Responsible Entrepreneurship Awards 2554 ซึ่งจัดโดยองคกรอิสระที่สงเสริมและพัฒนาผูประกอบการ ในภาคพื้นเอเชีย เอไอเอสเปดตัวดิจิตอล แมกกาซีนบนแท็บเล็ต ในชื่อ “Serenade Magazine” นิตยสารไลฟสไตลสําหรับคนรุน ใหม ที่ตอบสนองทุกสไตลการใชชีวิตดวยสิทธิพิเศษหลากหลาย เนนสราง Interactive Experience ใหกับผูอาน พรอมวางแผงบนดิจิตอลสโตรใหลูกคาและผูที่สนใจดาวนโหลดฟรี ในรูปแบบของแอพพลิเคชั่น รองรับทั้งบน iPad และ Android พรอมเปน Showcase แรกของดิจิตอล แมกกาซีน ฉบับแรกและฉบับเดียวในภูมิภาคที่ผลิต โดยโอเปอเรเตอรมือถือ กรกฎาคม เอไอเอส รวมกับธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) เปดใหบริการระบบการชําระเงินรูปแบบใหม TMB Beep and Bill” ทําใหผูใชบริการสามารถจัดการทุกการจายบิลไดดวยตัวเอง สิงหาคม แอดวานซ เอ็มเปย เพิ่มทางเลือกใหมใหแกลูกคา ดวย “mPAY Online” ชองทางใหมที่เพิ่มความสะดวกสบาย ให ลูกคาสามารถทําธุรกรรมทางการเงินไดอยางครบถวน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2554 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลจากผลการดําเนินงานงวด 6 เดือนแรกของป 2554 ในอัตราหุนละ 4.17 บาท ใหแกผูถือหุนทั้งหมดจํานวนประมาณ 2,973.10 ลานหุน คิด เปนเงินประมาณ 12,398 ลานบาท โดยบริษัทจายเงินปนผลในวันที่ 2 กันยายน 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2554 มีมติอนุมัติการแตงตั้งนางศุภจี สุธรรมพันธุ ดํารงตําแหนงเปน กรรมการบริหาร โดยมีผลตั้งแตวันที่ 4 สิงหาคม 2554 เปนตนไป กันยายน เอไอเอส กาวเขาสูปที่ 22 พรอมเดินหนาสรางตํานานของแบรนดไปอีกขั้น กับโฉมใหมของโลโกและแนวคิด “AIS ชีวิตในแบบคุณ : Your World. Your Way.” ตอกย้ําความเปน ผูใหบริการเทคโนโลยีไรสายอันดับ 1 ที่ไมเคยหยุด พัฒนาและนําสิ่งที่ดีที่สุดสงมอบใหแกลูกคาและคนไทยเสมอ จากประสบการณและความเขาใจในความตองการที่ เปลี่ยนแปลงไปของคนรุนใหมทุกแงมุม พรอมสนับสนุนทุกความฝนและความตองการของคนไทยจากนวัตกรรม ความคิดใหมๆ แบบมืออาชีพของชาวเอไอเอส เอไอเอสรั บรางวั ลองค กรที่มีค วามเปนเลิศดานการพั ฒ นาการบริห ารจัด การ (Corporate Improvement Excellence) จากงาน Thailand Corporate Excellence Awards 2554 ซึ่งจัดโดยสมาคมการจัดการธุรกิจแหง ประเทศไทยและสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตุลาคม เอไอเอส รวมกับ กองบังคับการปราบปราม เปดตัวบริการ “รถสายตรวจอัจฉริยะ” ซึ่งถือเปนหนึ่งในหลากหลาย บริการจากโครงการ “ตํารวจผูรับใชชุมชน” จะทําหนาที่เปนเสมือนตาทิพยที่เฝามองสอดสองและบันทึกภาพ เหตุการณรอบๆ ขณะที่รถตํารวจขับผาน บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทถือหุนอยูรอยละ 98.55 ไดจดทะเบียนลดทุน โดยลด จํานวนหุนตามสัดสวนจาก 1,462,186,168 หุน เหลือ 365,546,542 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท ดังเดิม โดยบริษัท ยังคงถือหุนในดีพีซีคิดเปนรอยละ 98.55 คงเดิม พฤศจิกายน สวนที่ 1 หนา 21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอไอเอส เริ่มวางจําหนาย iPad 2 นําเสนอแพ็คเกจการใชงาน Data ใหลูกคาทั้งแบบเติมเงินและรายเดือน เอไอเอส เปดตัว ซัมซุง กาแล็คซี่โนต “Samsung Galaxy Note” สุดยอดสมารทโฟนไฮบริทรุนใหมลาสุดที่เกิด จากการผสมผสานระหวางสมารทโฟนและแท็บเล็ตบนสุดยอดเครือขาย AIS 3G เพื่อชีวิตในแบบคุณ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด ไดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทกับ กระทรวงพาณิชย โดยมีทุนจดทะเบียน 1 ลานบาท ทั้งนี้บริษัทถือหุนในอัตรารอยละ 99.97 ธันวาคม ภาพยนตร โ ฆษณาชุด “สรางกัน ใหม” ของโครงการสานรั ก รั บรางวัลสื่อ มวลชนดีเ ดน ประจํ า ป 2554 สาขา ภาพยนตรโฆษณาดีเดน จากสื่อมวลชนคาทอลิคแหงประเทศไทย เอไอเอสไดรับผลประเมินการสํารวจการกํากับดูแลกิจการที่ประเมินโดย สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (Thai Institute of Directors) ดวยความสนับสนุนของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด

3.2

เปนปที่ 3 หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในระดับ “ดีเลิศ” หรือ ติดตอกัน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดรวมกับวารสารการเงินธนาคารจัดงาน SET AWARDS 2011 โดยเอไอเอส ไดรับรางวัลบริษัทจดทะเบียนดานนักลงทุนสัมพันธดีเดน (Outstanding Investor Relations Awards) ประเภท มูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาดสูงกวา 10,000 ลานบาท เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554 บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (อินทัช) ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญของบริษัท ไดขายหุนบางสวนที่ถืออยูในบริษัท จํานวน 61,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 2.05 ใหแก Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. (Singtel) ซึ่งมีผลทําใหอินทัชเปนผูถือหุนในบริษัทจํานวน 1,202,712,000 หุน คิดเปน สัดสวนรอยละ 40.45 และ Singtel เปนผูถือหุนในบริษัท (รวมการถือหุนผาน Thai Trust Fund และ OCBC Nominees) จํานวน 693,359,000 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 23.32 เอไอเอส เปดตัวนองอุนใจรูปแบบใหมภายหลังปรับโฉมโลโกใหมกับ “เอไอเอส ชีวิตในแบบคุณ” เอไอเอส เปดตัวหนังสือ “สตีฟ จ็อบส” บน AIS Bookstore อีบุคสเลมใหมลาสุด ฉบับภาษาไทย สมบูรณแบบและ เต็มอิ่มกวา 700 หนา ซึ่งเอ็กคลูซีฟบน AIS Bookstore เทานั้น ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทในเครือ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส ตอกย้ําความเปนผูนําธุรกิจในดานการสื่อสาร โทรคมนาคมแบบไรสาย โดยครองสวนแบงทางการตลาดในเชิงรายไดกวา 54% ในป 2554 นําเสนอบริการคุณภาพใหแก ลูกคากวา 33.5 ลานเลขหมาย หรือ 44% ของจํานวนผูใชบริการในประเทศไทย เรายังคงนําเสนอบริการที่เปนเลิศยาวนาน กวา 22 ป ใหกับสังคมไทยดวยเครือขายคุณภาพที่ครอบคลุมกวารอยละ 97 ของประเทศ ธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัท ในเครือมีดังนี้ เอสไอเอสและบริษัทในเครือใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนคลื่นความถี่ยาน 900 เมกะเฮิรตซ และ 1800 เมกะเฮิรตซ ดวยเทคโนโลยี GSM เอไอเอสไดทําสัญญารวมการงานอายุ 25 ปแบบสราง-โอนกรรมสิทธิ์-ดําเนินงาน หรือ BTO (Build-Transfer-Operate) กับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ ซึ่งสัญญาดังกลาวกําหนดใหเอไอเอสเปนผูลงทุนสรางเครือขายเซลลูลาร รับผิดชอบในการหาเงินลงทุนและ คาใชจายอื่นทั้งหมด และโอนกรรมสิทธิ์ในเครือขายใหทีโอที รวมถึงจายผลตอบแทนในรูปแบบของสวนแบงรายไดจากการ บริการใหแกทีโอทีซึ่งปจจุบันอยูที่รอยละ 30 ของรายไดสําหรับบริการแบบรายเดือน(Postpaid) และรอยละ 20 สําหรับสวน แบงรายไดจากการใหบริการแบบเติมเงิน (Prepaid) นอกจากนี้ยังมีบริษัทในเครือใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนคลื่น สวนที่ 1 หนา 22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความถี่ในยาน 1800 เมกะเฮิรตซ ซึ่งดําเนินการโดยบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ภายใตสัญญารวมการงานอายุ 16 ป แบบสราง-โอนกรรมสิทธิ์-ดําเนินงาน กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท. ซึ่งเริ่มในป 2540 ถึงป 2556 โดยภายใตสัญญาดังกลาวดีพีซีจะตองจายสวนแบงรายไดใหกับกสท. ซึ่งปจจุบันอยูที่รอยละ 30 ของรายไดจากการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ดีพีซีมีสัญญาในการเชื่อมโยงเครือขายกับเอไอเอส เพื่อใหทั้งผูใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งสอง เครือขายทั้งเอไอเอสและดีพีซี สามารถใชบริการไดครอบคลุมทั่วประเทศและสรางคุณภาพที่ดีกวาในการใหบริการของทั้ง สองเครือขาย นอกจากนี้ลูกคาของเรายังไมพลาดการติดตอหากเดินทางขามประเทศดวยบริการขามแดนอัตโนมัติที่ เชื่อมตอกวา 217 ประเทศทั่วโลก ทั้งนี้เอไอเอสไดเขารวมกลุม Bridge Alliance ซึ่งเปนพันธมิตรระหวาง 11 เครือขายผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ชั้นนํา ทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ซึ่งใหบริการและสิทธิประโยชนที่เหนือกวากับลูกคาภายใต เครือขายของกลุม Bridge Alliance ดําเนินการโดยบริษัทรวมทุน บริดจ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี) นอกจากนี้เอไอ เอสยังมีบริการโทรทางไกลตางประเทศผานรหัส 005 หรือ 00500 เพื่อใหลูกคาสามารถสื่อสารแบบไรพรมแดนครอบคลุม 240 ประเทศปลายทางทั่วโลก ซึ่งดําเนินการโดยบริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ในปที่ผานมาเอไอเอสไดขยายขีดความสามารถของเครือขายเพื่อรองรับการใชงานดานบริการขอมูลที่ สูงขึ้น เพื่อตอบสนองแนวทางการใชชีวิตของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงไปตามการพัฒนาของเทคโนโลยี ใหลูกคา เชื่อมตออินเทอรเน็ตไดอยางตอเนื่องผานเครือขายคุณภาพ 3จี ไวไฟ และ EDGE Plus ในปลายเดือนกรกฎาคมที่ผานมา เอไอเอสใหลูกคาสัมผัสประสบการณอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ที่เหนือกวาเดิมผานบริการ 3จี บนคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ กวา 1,884 สถานี ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพฯ ปริมณฑล และอีก 9 จังหวัดเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังไดรวมมือกับบริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) พันธมิตรทางธุรกิจใหบริการไวไฟที่ความเร็วสูงสุดถึง 6 เมกะบิตตอวินาที จํานวนกวา 70,000 จุดทั่วประเทศ รวมถึงไดตอยอดเทคโนโลยี “EDGE Plus” ที่ไดพัฒนาในปที่แลวใหครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่ง เหนือกวา EDGE ทั่วไปดวยความเร็วในการอัพโหลดที่เพิ่มขึ้นรอยละ 50 สูงสุด 236 กิโลบิตตอวินาที และความเร็วในการ ดาวโหลดเพิ่มขึ้นรอยละ 30 สูงสุด 296 กิโลบิตตอวินาที นอกจากนี้ลูกคายังสามารถใชบริการทางเสียงไปพรอมกับการ เชื่อมตอ อีกทั้งไดจัดตั้ง บริษัท ไมโมเทค จํากัด (เอ็มเอ็มที) ทําหนาที่เปนศูนยรวบรวมและบริหารคอนเทนตและ แอพพลิเคชั่น ซึ่งชวยสงเสริมบริการตาง ๆ ของเอไอเอส และบริษัทอื่นๆในเครือ ที่จะตอบสนองความตองการการใชบริการ ขอมูลที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังมีบริษัทในเครือที่รองรับการเติบโตของการใชอินเทอรเน็ต เชน บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ใหบริการดานโทรคมนาคม บริการโครงขายโทรคมนาคม และระบบคอมพิวเตอร และ เอไอเอสยังใหบริการโทรศัพทพื้นฐานโดยมุงเนนเรื่องการใหบริการดานขอมูลตาง ๆ เชน ใหบริการอินเทอรเน็ต (ISP) บริการอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (Internet gateway) บริการเสียงผานเครือขายอินเทอรเน็ต (Voice over IP) และ บริการโทรทัศนผานเครือขายอินเทอรเน็ต (IP Television) ผานทางบริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอสบีเอ็น) อีกทั้งมีธุรกิจใหบริการสื่อสารขอมูลผานทางเครือขายสายโทรศัพท และสาย Optical Fiber บริการรับฝาก Server และรับฝากขอมูลผานอินเทอรเน็ต, บริการใหเชาใชพื้นที่ทําเว็บไซต (Web Hosting) รวมถึงการใหบริการ อินเทอรเน็ตครบวงจรผานทาง บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) อีกดวย ลงลึกถึงความตองการบริหารความสัมพันธลูกคาและสงมอบประสบการณที่ดีเปนแนวทางที่บริษัทยึด มั่นในการใหบริการตลอดมา จากการดําเนินการผานทาง บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี) ศูนยบริการลูกคาคอลลเซ็นเตอรเปนปจจัยสําคัญในการสรางความแตกตางที่เหนือกวาใหกับเอไอเอส โดยเนนการสราง ความสัมพันธกับลูกคาเปนหลัก นอกเหนือจากบริการกอนหรือหลังการขายหรือตอบปญหาทั่วไป เชน เรื่องการชําระ คาบริการ หรือสอบถามขอมูลบริการ เอไอเอสคอลเซ็นเตอรยังมีบทบาทสําคัญในการชวยแนะนํากิจกรรมการตลาด แนะนํา สินคาและบริการใหทั้งลูกคาปจจุบันและลูกคาใหมดวย นอกเหนือจากบริการคอลลเซ็นเตอรผานโทรศัพท เอไอเอสได อํานวยความสะดวกใหแกลูกคาดวยบริการออนไลนจาก iCall (บริการผานแชทหรือคุยผานกลองพรอมภาพและเสียง) และ ขยายสูเครือขายสังคมออนไลนเพื่อใหบริการที่ตรงกลุมและรวดเร็วยิ่งขึ้นผานเครือขายยอดนิยมเชน เวปบอรดพันทิป Facebook และ Twitter เอไอเอสยังใสใจในความตองการของลูกคาผูบกพรอง โดยพัฒนา “iSign” ซึ่งเปนบริการถามตอบ สวนที่ 1 หนา 23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผานทางเวปแคมโดยใชภาษามือเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกลูกคาผูบกพรองทางการไดยิน ในปจจุบันลูกคามีการใช สมารทโฟน แทปเล็ตและแอรการดมากขึ้นทั้งในชีวิตสวนตัวและชีวิตทํางาน จึงไดเตรียมพนักงานซึ่งมีความเชี่ยวชาญดาน เทคโนโลยี หรือ “Device experts” ซึ่งจะใหความรูและแนะนําวิธีแกไขปญหาทางเทคนิคใหแกลูกคา โดยในปนี้จํานวน Device Experts เพิ่มขึ้นเปน 694 คน หรือเพิ่มขึ้นกวารอยละ 130 เมื่อเทียบกับป 2553พรอมใหบริการลูกคาผานทาง ศูนยบริการลูกคาเอไอเอส ศูนยบริการลูกคาเซเรเนด และ คอลเซนเตอร เอไอเอสยังเพิ่มทางเลือกในการรับบริการใหแก ลูกคาดวย “eService” ที่ใหลูกคาสามารถทํารายการตาง ๆ ผานทางระบบออนไลนไดดวยตนเอง เชน ตรวจสอบยอดเงินหรื อปริมาณการใชงาน เปลี่ยนโปรโมชั่น ชําระคาบริการ รวมไปถึงการเติมเงินคาโทร นอกจากนี้เอไอเอสยังพัฒนาบริการเอ็ม เปย (mPAY) ใหลูกคาสามารถทําธุรกรรมตาง ๆ ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสนี้ไดรับความ นิ ย มมากขึ้ น เนื่ อ งจากเพิ่ ม ความรวดเร็ ว และช ว ยให ชี วิ ต ประจํ า วั น ของลู ก ค า สะดวกยิ่ ง ขึ้ น เช น ชํ า ระค า บริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ ซื้อสินคาออนไลน เติมเงินคาโทรพรีเพด เติมเงินเกมออนไลน รวมไปถึงชําระคาสินคาและบริการอื่นๆ โดยใหบริการผาน บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) ซึ่งไดรับใบอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทย ให ประกอบธุรกิจใหบริการชําระคาสินคา และบริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่แทนการใชเงินสดหรือ บัตรเครดิต ภายใตชื่อ “เอ็ม เปย (mPAY)” ในฐานะที่เอไอเอสเปนผูนําตลาดโทรคมนาคมไทย นอกจากจะมีโครงขายและบริการคุณภาพแลวเพื่อรองรับการ เติบโตของตลาดแลว ยังใหความสําคัญอยางมากกับชองทางจัดจําหนาย โดยเล็งเห็นวาการชวยใหลูกคาเขาถึงอุปกรณ สื่อสารไดอยางทั่วถึงเปนปจจัยสําคัญที่ชวยสงเสริมการเติบโตของตลาดบริการขอมูลซึ่งปจจุบันมีความตองการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ทเคลื่อนที่มากขึ้น เอไอเอสดําเนินธุรกิจจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณโทรคมนาคม ซิมการดและบัตร เติมเงิน ผานทาง บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส) โดยจําหนายผานตัวแทนจําหนายกวา 950 สาขาทั่วประเทศ ทั้งนี้ดวยชองทางการจัดจําหนายที่หลากหลายและครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศนับเปนจุดแข็งของบริษัทใน การชวยสงเสริมกลยุทธการเติบโตดานบริการขอมูลและความรวมมือกับหลากหลายพันธมิตรทางการคาซึ่งเปนผูจําหนาย โทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหเอไอเอสประสบความสําเร็จในการจําหนายอุปกรณหลายรุนอยาง แอรการด แทปเล็ตและสมาร ทโฟน เชน แบล็คเบอรรี่ โบลด 9900, ซัมซุงกาแลคซี่ แท็ป 10.1, ซัมซุงกาแลคซี่ โนต และ ไอโฟน 4 เอส เปนตน ทั้งนี้ ธุรกิจดังกลาวยังมีสวนสําคัญในการจัดจําหนายบัตรเติมเงินและซิมการด รวมถึงการเติมเงินผานชองทางอิเล็กทรอนิกสซึ่ง ปจจุบันไดรับความนิยมเปนอยางมากกวา 400,000 ชองทาง โดยชองทางการเติมเงินนับเปนสวนสําคัญในการผลักดันการ เติบโตของตลาดเนื่องจากผูใชบริการสวนใหญใชบริการแบบเติมเงินโดยคิดเปนสัดสวนกวารอยละ 90 ของผูใชบริการ ทั้งหมด

สวนที่ 1 หนา 24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางบริษัทและบริษัทในเครือ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554 โครงสรางของบริษัทและกลุมบริษัทในเครือมีโครงสรางการถือหุนดังแสดงในแผนภาพดังนี้ บริษัทยอย

ประเภทธุรกิจ

สัดสวนการ ถือหุน (%)

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี)

ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 MHz

98.55

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี)

ใหบริการการสื่อสารขอมูลผานเครือขายสายโทรศัพท และสาย Optical Fiber

51.00 1/

บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด ใหบริการขอมูลทางโทรศัพท (เอซีซี)

99.99

บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี)

ใหบริการชําระสินคา และบริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่ แทนการใชเงินสด หรือบัตรเครดิต

99.99

บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด

จําหนายบัตรแทนเงินสด (Cash Card)

99.99

บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอสบีเอ็น)

ใหบริการโทรคมนาคม และบริการโครงขาย โทรคมนาคม เชน บริการอินเทอรเน็ต (ISP) บริการ อินเทอรเน็ตระหวางประเทศและบริการชุมสาย อินเทอรเน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงขายโทรคมนาคมระหวาง ประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผานเครือขาย อินเทอรเน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต (IP Television)

99.99

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น)

ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ

99.99

บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส)

นําเขาและจัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ อุปกรณ โทรคมนาคม

99.99

(เอเอ็มซี)

บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด ใหบริการโทรคมนาคม บริการโครงขายโทรคมนาคม และบริการระบบคอมพิวเตอร ปจจุบันไดรับใบอนุญาต (เอดับบลิวเอ็น) ใหบริการอินเทอรเน็ต (ISP) แบบที่ 1 และใบอนุญาต ใหบริการโทรคมนาคมแบบที่ 3 จาก กทช.

99.99

บริษัท ไมโมเทค จํากัด (เอ็มเอ็มที)

พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ (IT) และบริการรวบรวม ขอมูลบนโทรศัพทเคลื่อนที่ (Content Aggregator)

99.99

บริษัท แฟกซ ไลท จํากัด (เอฟเอ็กซแอล)

จัดหา และ/หรือ ใหเชา ที่ดิน อาคาร และสิ่งอํานวย ความสะดวกตางๆ ที่จําเปนตอการประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม

99.97

สวนที่ 1 หนา 25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด (เอไออาร)

ใหบริการอินเทอรเน็ต

99.99

บริษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จํากัด (เอ็มบีบี)

ปจจุบันยังมิไดประกอบธุรกิจ

99.99

บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จํากัด (เอเอ็มบี)

ปจจุบันยังมิไดประกอบธุรกิจ

99.99

บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอบีเอ็น) 2/

ปจจุบันยังมิไดประกอบธุรกิจ

99.97

บริษัทรวมทุน

ประเภทธุรกิจ

สัดสวนการ ถือหุน (%)

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมาย โทรศัพท จํากัด (ซีแอลเอช)

ศูนยใหบริการระบบสารสนเทศและฐานขอมูลกลาง ประสานงานการโอนยายผูใหบริการโทรคมนาคมเพื่อ การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท

20.00

บริดจ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี)

ใหบริการเกี่ยวกับเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ภาคพื้นเอเชีย แปซิฟค เพื่อใหบริการเครือขาย โทรคมนาคมระหวางประเทศ

10.00

1/ 2/

สวนที่เหลือรอยละ 49 ถือโดยบุคคลอื่นที่ไมมีความขัดแยงกัน บจ. แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค ไดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554

สวนที่ 1 หนา 26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการถือหุนกลุมอินทัช ณ วันที่ 4 มกราคม 2555 บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 1), 2) 40.45%

52.92%

41.14%

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) 2)

บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) 2)

บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) 2)

บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด

98.55%

99.99%

99.99%

51.00%

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

51.00%

บริษัท ดีทีวี เซอรวิส จํากัด

99.96% 99.99%

บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด

42.07% 100%

บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) 2) 99.99%

บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด

99.99%

99.99%

บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด

99.99%

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด

99.99%

99.99%

บริษัท หรรษาดอทคอม จํากัด

บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด 99.99%

100%

บริษัท ไอพีสตาร ออสเตรเลีย พีทีวาย จํากัด

100%

บริษัท ไอพีสตาร นิวซีแลนด จํากัด

3)

บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด 60.00%

บริษัท ไอพีสตาร จํากัด

บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (มหาชน) 1)

99.99%

99.99%

บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (มหาชน) 99.96%

99.99%

บริษัท แมทชบอกซ จํากัด

บริษัท เอ็มโฟน จํากัด

บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด 49.00%

99.99%

บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด

บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเมนทส พีทีอี ลิมิเต็ด 1)

บริษัท วัฏฏะ คลาสสิฟายดส จํากัด 100%

บริษัท สตาร นิวเคลียส จํากัด

70.00%

สเปซโคด แอล แอล ซี

100%

บริษัท ไอพีสตาร อินเตอรเนชั่นแนลพีทีอี จํากัด

100%

บริษัท ไอพีสตาร โกลเบิล เซอรวิส จํากัด

100%

บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิรค จํากัด

บริษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จํากัด 99.99%

บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จํากัด

99.99%

บริษัท ไมโมเทค จํากัด

99.97%

บริษัท แฟกซ ไลท จํากัด

99.99%

บริษัท แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด

99.97%

บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด

20.00%

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด

10.00%

บริดจ โมบาย พีทีอี แอลทีดี

1) Holding Company 2) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 3) อยูระหวางการชําระบัญชีบริษัท

สวนที่ 1 หนา 27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 หนา 28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3.3 โครงสรางรายได โครงสรางรายไดที่เกิดจากการใหบริการและขายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทในเครือใหบุคคลภายนอกในระยะ 3 ปที่ผานมา รอยละการถือ ป 2552 ผลิตภัณฑ/บริการ ดําเนินการโดย หุนของบริษัท ลานบาท รอยละ ณ 31 ธ.ค. 54 ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ - บริการและใหเชาอุปกรณ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 91,667.17 89.47 บจ. ดิจิตอล โฟน 98.55 796.54 0.78 บจ. ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย 99.99 33.06 0.03 บจ. เอไอเอ็น โกลบอลคอม 99.99 2,546.63 2.49 - การขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บจ. ดิจิตอล โฟน 98.55 9.11 0.01 บจ. ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย 99.99 6,629.71 6.47 รวม 101,682.22 99.25 บจ. แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส 51.00 633.82 0.62 ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูลผาน สายโทรศัพท และอินเทอรเน็ต บจ. ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค 99.99 128.51 0.12 ความเร็วสูง บจ. แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น 99.99 รวม 762.33 0.74 บจ. แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร 99.99 7.28 0.01 ธุรกิจบริการใหขอมูลทางโทรศัพท รวม 7.28 0.01 รวม 102,451.83 100.00

ป 2553 – ปรับปรุงใหม ลานบาท 97,647.45 717.18 13.63 2,879.06 395.44 0.22 8,952.72 110,605.70 498.02 226.66 724.68 8.78 8.78 111,339.16

รอยละ

ป 2554 ลานบาท

87.70 108,691.25 0.64 710.71 0.01 35.06 2.59 3,229.88 0.36 619.71 8.04 12,559.94 99.34 125,846.55 0.45 422.01 0.20 155.68 6.51 0.65 584.20 0.01 6.48 0.01 6.48 100.00 126,437.23

รอยละ 85.97 0.56 0.03 2.55 0.49 9.93 99.53 0.33 0.12 0.01 0.46 0.01 0.01 100.00

หมายเหตุ : 1) บริษัทถือหุนทางออมในบริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด 2) บริษทั ดิจิตอล โฟน จํากัด ไดจดทะเบียนลดทุนตอกรมพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิชย ในวันที่ 6 ตุลาคม 2554 จาก 1,462.2 ลานหุน เปน 365.5 ลานหุนโดยมูลคาตอหุน 10 บาทเทาเดิม 3) บริษทั แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด ไดจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อจาก บจก. โมบาย ฟรอม แอดวานซ วันที่ 3 ธันวาคม 2553 และดําเนินการใหบริการอินเทอรเน็ต

สวนที่ 1 หนา 29


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

3.4

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปาหมายการดําเนินธุรกิจใน 3-5 ป

จากการที่อัตราการเขาถึงบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากรเพิ่มขึ้นเกินกวารอยละ 105 ทําใหการเติบโตของ รายไดในอุตสาหกรรมบริการโทรศัพทเคลื่อนที่กําลังจะเปลี่ยนจากการเติบโตโดยบริการเสียงเปนการเติบโตโดยบริการ ขอมูล ซึ่งแนวโนมดังกลาวสังเกตไดจากรายไดบริการขอมูลเติบโตกวารอยละ 30 ตอปในรอบ 3 ปที่ผานมา ในขณะที่ รายไดจากบริการเสียงคอนขางทรงตัว สิ่งที่เกิดขึ้นไดบงชี้ถึงทิศทางของอุตสาหกรรมในอนาคตไดอยางชัดเจน ในระยะ 3-5 ปขางหนา บริษัทคาดวารายไดจากบริการเสียงจะยังคงทรงตัวตอไปได ในขณะที่รายไดจากบริการ ขอมูลจะเติบโตไดถึงรอยละ 25 ถึง 30 ตอป ผูบริโภคจะมีการใชอุปกรณประเภทสมารทดีไวซ เชน สมารทโฟน แท็บเล็ต และแอรการด เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ดังจะเห็นไดจากในป 2554 ที่ผานมา รายไดจากการขายอุปกรณเพิ่มขึ้นรอยละ 41 จากกระแสความนิยมในอุปกรณดังกลาว ในป 2554 ที่ผานมา ผูบริโภคมีความตองการเชื่อมตออินเทอรเน็ตมากขึ้น โดยเฉพาะเพื่อใชงานสังคมออนไลน แมวาสวนใหญของโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยังใชเทคโนโลยี 2G ก็ตาม ความตองการใชงานดังกลาวสงผลใหปริมาณการ ใชงานขอมูลผานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่นั้น เพิ่มขึ้นอยางชัดเจน และจากบริการโทรศัพทประจําที่ซึ่งมีอยางจํากัดเปนอีก ปจจัยหนึ่งที่ผลักดันใหการใชงานอินเทอรเน็ตผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่เติบโตขึ้นเชนกัน และสามารถกลาวไดวา จํานวนการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ในปจจุบันมีมากกวาการเชื่อมตอผานโทรศัพทประจําที่ บริษัทเชื่อวาแนวโนมการใชงานที่เพิ่มขึ้นดังกลาวจะคงอยูตอไปไดในระยะเวลา 3-5 ปขางหนา จากความตองการใชงานอินเทอรเน็ตขางตน บรรดาผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตางมีความตองการที่จะสรรหา คลื่นความถี่ใหมโดยเฉพาะอยางยิ่งคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ เพื่อนํามาลงทุนสรางบริการตอบสนองความตองการ ดังกลาว อีกทั้งคลื่นความถี่ใหมยังเปนการเปลี่ยนขอจํากัดของการดําเนินธุรกิจบนสัญญารวมการงานแบบสราง-โอน กรรมสิทธิ์-ดําเนินงาน (Built-Transfer-Operate) ในปจจุบันอีกดวย บริษัทคาดวาจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่จะ เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งจากปริมาณอุปกรณสมารทดีไวซและโครงขายเทคโนโลยี 3G เต็มรูปแบบ รวมทั้งมูลคาของ อุตสาหกรรมบริการโทรศัพทเคลื่อนที่จะเติบโตขึ้นทั้งจากปริมาณการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ที่เพิ่มขึ้นและจากบริการ ใหม อาทิเชน บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงไรสาย และแอพพลิเคชั่นบนโครงขายความเร็วสูง ไดรับใบอนุญาตคลื่นความถี่โทรคมนาคม การไดรับใบอนุญาตคลื่นความถี่ใหมถือเปนความสําคัญสูงสุดของบริษัทในขณะนี้ เพราะนอกจากจะชวยสนับสนุน การเติบโตของรายไดจากบริการขอมูลแลวยังชวยใหบริษัทสามารถดําเนินและพัฒนาธุรกิจตอไปไดในอนาคต คลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ ที่บริษัทครอบครองอยูปจจุบันนี้ รองรับการใชบริการของลูกคาถึงกวา 33 ลานเลขหมายพรอมทั้งรองรับ ปริมาณการใชงานบริการขอมูลที่ยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง จํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ของบริษัทเพิ่มจาก กวา 7.5 ลานราย ในป 2553 มาเปนกวา 9 ลานราย ในป 2554 และถาอัตราการเติบโตยังคงอยูในระดับนี้ ปริมาณคลื่น ความถี่ที่ครอบครองในปจจุบันจะสามารถรองรับปริมาณการใชงานดังกลาวไดอยางจํากัด และหากไมมีการจัดสรรคลื่น ความถี่ใหมเพิ่มเติม โอกาสที่จะมีโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศไทยจะเปนไปไดยาก ปจจุบัน ธุรกิจของบริษัทดําเนินการตามสัญญารวมการงานแบบสราง-โอนกรรมสิทธิ์-ดําเนินงาน อยู 2 ฉบับซึ่งจะ ครบอายุในป 2556 และป 2558 ดังนั้นการไดรับใบอนุญาตคลื่นความถี่เพื่อประกอบกิจการฉบับใหมกอนที่สัญญารวมการ งานปจจุบันจะหมดอายุทั้งหมดนั้น จึงมีความสําคัญ เพื่อใหการบริการลูกคาจํานวนกวา 33 ลานเลขหมายยังคงเปนไปอยาง ตอเนื่อง คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กสทช. ไดให ความสําคัญในการจัดสรรคลื่นความถี่และกําลังดําเนินการในสวนของแผนแมบทการบริหารคลื่นความถี่ของทั้งอุตสาหกรรม โทรคมนาคมและอุตสาหกรรมกระจายเสียงและโทรทัศน ซึ่งคาดวาจะประกาศใชในตนป 2555 และแมวาสัญญารวมการ งานจะเริ่มหมดอายุในป 2556 บริษัทเชื่อวา กสทช. จะกําหนดมาตรการใหการเปลี่ยนผานจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บน สัญญารวมการงานไปสูบริการบนระบบใบอนุญาตเปนไปอยางราบรื่น ตอเนื่อง เพื่อใหมั่นใจไดวา ผูบริโภคจะไดใชบริการ สวนที่ 1 หนา 30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง บริษัทมีความตองการที่จะเขารวมการประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ตางๆ ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต เพื่อคงความสามารถในการแขงขันและเพื่อโอกาสในการพัฒนาธุรกิจใหม สรางการเติบโตของรายไดจากบริการขอมูล จากปจจัยทั้งในเรื่องคอนเทนตหรือแอพพลิเคชั่นที่มีจํานวนและความซับซอนสูงขึ้น กระแสความนิยมสังคม ออนไลนและอุปกรณสมารทดีไวซ รวมไปถึงขอจํากัดของสาธารณูปโภคพื้นฐานอยางโทรศัพทประจําที่ลวนสงผลให ผูบริโภคมีความตองการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานอุปกรณมือถือมากขึ้น การใชงานอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเติบโตอยาง แข็งแกรง แมความเร็วในการใหบริการสวนใหญจะอยูในระดับเทคโนโลยี 2G ก็ตาม นอกจากนี้ ภาครัฐบาลของประเทศไทย เองไดพยายามสงเสริมการเขาถึงบริการอินเทอรเน็ตใหไดทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่บริการอินเทอรเน็ตที่ ยังเขาไมถึง ดังนั้น บริษัทเชื่อวาบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่จะมีความแพรหลายมากขึ้นเรื่อยๆ และความตองการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่จะยังคงเติบโตอยางเดนชัดเชนนี้ตอไปในอีก 3 ถึง 5 ปขางหนา สําหรับเอไอเอสแลว เราเชื่อมั่นในการทําธุรกิจแบบเกื้อกูลกัน รวมกันทําธุรกิจระหวางคูคาที่มีความเชี่ยวชาญใน แตละดานหรือที่เรียกวาอีโคซิสเต็ม (Ecosystem) หรือ ระบบนิเวศในโลกธุรกิจ บริษัทสามารถรวมมือกับคูคาทางธุรกิจใน การพัฒนาสินคาและบริการที่พิเศษเฉพาะลูกคาของเอไอเอส นอกจากนี้ บริษัทไดสรางปรัชญา Quality-DNAs (QualityDevice, Network, Application and Service) ขึ้นมา เพื่อสนับสนุนการเติบโตของรายไดจากบริการขอมูลโดยใชกลยุทธที่ เนนดานคุณภาพ และตอไปในอนาคต บริษัทจะยังคงรวมมือกับผูผลิตอุปกรณตางๆ เพื่อเพิ่มจํานวนอุปกรณสมารทดีไวซ ในตลาด ซึ่งจะเพิ่มรายไดจากบริการขอมูล โดยจะนําเสนออุปกรณใหหลากหลายมากขึ้นและตอบสนองทุกกลุมลูกคา เมื่อ บริษัทไดรับใบอนุญาตคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ แลว บริษัทจะขยายโครงขาย 3G อยางรวดเร็วเต็มรูปแบบและสามารถ ใชงานรวมกับโครงขายปจจุบันไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้แอพพลิเคชั่นและคอนเทนตสําหรับลูกคาของเอไอเอสจะถูก พัฒนาอยางเพื่อกระตุนปริมาณการใชงานขอมูล รวมทั้งรักษาฐานลูกคา และในขณะเดียวกันจะใชเปนเครื่องดึงดูดใหลูกคา ใหมมาใชบริการของบริษัทดวย เอไอเอสไดเตรียมทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญดานบริการขอมูลและโซลูชั่นตางๆ สําหรับ ลูกคาไวโดยเฉพาะอีกดวย เปนแบรนดอันดับหนึ่งในใจลูกคา แบรนดเอไอเอสไดสะทอนถึงตัวตนของบริษัทรวมทั้งเปนตัวกําหนดทิศทางและความสําเร็จของธุรกิจในอนาคต บริษัทไดทําการเปลี่ยนโฉมแบรนดใหมเพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย และ เพื่อเตรียมพรอมสําหรับอนาคตและโอกาสทางธุรกิจใหมๆ การรีแบรนดของบริษัทในป 2554 ที่ผานมาไดเนนย้ําความ มุงมั่นของบริษัทที่จะบริการลูกคาใหดีที่สุด โดยสัญลักษณและแนวคิดใหมคือ ชีวิตในแบบคุณ จะเปนตัวกําหนดทิศทางของ บริษัท ลูกคาจะไดรับประสบการณการเปลี่ยนแปลงนี้เริ่มตั้งแตสัญลักษณใหมรูปรอยยิ้มสีเขียวของบริษัทที่ดูสดใสและ เปนมิตรมากกวาเดิม รวมทั้งลูกคาจะไดรับรูถึงความคิดสรางสรรคและความเปนมิตรของบริษัท นอกจากนี้บริษัทไดสราง การรับรูและวัฒนธรรมในองคกรเพื่อใหสอดคลองกับแบรนดใหม โดยการกําหนดคานิยมหลัก 4 ประการเพื่อใชเปนแนวทาง ในทุกๆสิ่งที่เราทํา ซึ่งไดแก ความคิดสรางสรรค ความชวยเหลือ ความเขาใจลูกคาอยางลึกซึ้ง และความเปนมืออาชีพ เพื่อใหบริษัทสามารถนําเสนอบริการในรูปแบบชีวิตในแบบคุณใหกับลูกคาได เอไอเอสพรอมสําหรับโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและพรอมสําหรับความสําเร็จในอนาคต บริษัท พรอมสําหรับการใหบริการ 3G เต็มรูปแบบในอนาคตและการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมที่กําลังจะเกิดขึ้น และที่สําคัญ ที่สุดคือ เอไอเอสพรอมที่จะใหบริการลูกคาในสิ่งที่ตองการและในเวลาที่คุณตองการตามแนวคิด ชีวิตในแบบคุณ

สวนที่ 1 หนา 31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

4.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

ในป 2554 รายไดของบริษัทสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลักๆ ไดแก

4.1

(1)

รายไดจากการใหบริการ: โดยมี เอไอเอส และ ดีพีซี เปนผูใหบริการ ประกอบดวยรายไดจากการใหบริการ ลูกคาระบบชําระรายเดือน (Postpaid subscription service), บริการสําหรับลูกคาระบบเติมเงิน (Prepaid subscription service), บริการสื่อสารดวยขอมูล (Non-voice service), บริการสําหรับลูกคานิติบุคคล (Corporate Business Service), บริการความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relation Management), และ รายไดจากการบันทึกคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) โดยรายไดจากการใหบริการดังกลาวคิดเปนสัดสวนประมาณ รอยละ 90 ของรายไดรวม

(2)

รายไดจากการขาย: คือรายไดจากการจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซิมการด และอุปกรณตางๆที่ เกี่ยวของ โดยรายไดในสวนนี้คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 10 ของรายไดรวม

ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ

ผลิตภัณฑและบริการหลักที่บริษัทใหบริการแกลูกคาคือบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งในระบบเติมเงินและระบบชําระ คาบริการรายเดือน โดยมีสัดสวนลูกคาระบบเติมเงินรอยละ 90 ของฐานลูกคาทั้งหมด และมีสัดสวนลูกคาในระบบชําระ คาบริการรายเดือนรอยละ 10 ในขณะที่สัดสวนรายไดหลักมาจากลูกคาระบบเติมเงินรอยละ 68 และจากลูกคาในระบบชําระ คาบริการรายเดือนอีกรอยละ 25

สัดสวนลูกคา ณ สิ้นป 2554

ลูกคา ระบบ เติมเงิน 90%

ลูกคา ระบบ ชําระ รายเดือน 10%%

ณ สิ้นป 2554 บริษัทใหบริการลูกคาทั่วประเทศ 33.5 ลานราย จํานวนลูกคา รายไดตอเลขหมายตอ (ลานคน) เดือน (บาท) รวม Net IC * 30.2 209 ลูกคาระบบเติมเงิน 3.3 649 ลูกคาระบบรายเดือน 33.5 252 รวม * ขอมูล ณ ไตรมาส 4/2554 สัดสวนรายไดรอยละ 68 จากลูกคาระบบเติมเงิน

ลูกคาระบบเติมเงิน ลูกคาระบบรายเดือน อื่นๆ รวม

สวนที่ 1 หนา 32

สัดสวนรายได (รอยละ) 68 25 7 100.0


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ผลิตภัณฑและการบริการ เอไอเอสเขาใจในความตองการที่แตกตางกันของลูกคาแตละกลุม จึงออกแบบแบรนดสินคาที่หลากหลายเพื่อตอบ โจทยผูใชงาน ดังนี้ 1) เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ สําหรับคนทํางาน (White Collar) 2) เอไอเอส จีเอสเอ็ม 1800 สําหรับลูกคาที่ตองการใชบริการแบบพื้นฐาน 3) เอไอเอส วัน-ทู-คอล! สําหรับลูกคาวัยรุน 4) สวัสดี สําหรับผูใชงานนอย เอไอเอสดําเนินธุรกิจภายใตแนวคิดระบบนิเวศนแหงโลกการสื่อสาร (Ecosystem) เพื่อตอบสนองเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไป ดวยโครงขายคุณภาพของเอไอเอสหลอมรวมกับสวนประกอบที่สําคัญ ไดแก ผูผลิตอุปกรณ ผูผลิตคอน เทนต ผูพัฒนาโซลูชั่นส พันธมิตรทางธุรกิจจากหลากหลายอุตสาหกรรม รวมไปถึงการใหความชวยเหลือลูกคา นอกจากนี้ ในปจจุบันพฤติกรรมผูบริโภคที่นิยมใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่เขาสูโลกออนไลนมากขึ้น เอไอเอสเตรียมพรอมรับการ เปลี่ยนแปลงดวยการสงมอบคุณภาพในทุกมิติการใหบริการ (Quality DNAs) ทั้งดานอุปกรณสื่อสาร โครงขาย แอพพลิเคชั่นและบริการลูกคาเพื่อใหลูกคาไดรับบริการที่มีคุณภาพและตอบโจทยทุกไลฟสไตลการใชชีวิตโดยเฉพาะอยาง ยิ่งผูที่ตองการติดตอสื่อสารผานทางโลกอินเทอรเน็ต เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ “เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ” มุงตอบสนองความตองการ คนทํางาน นักธุรกิจ เจาของกิจการที่มีความคิด ทันสมัยและชื่นชอบเทคโนโลยี และไดขยายตลาดไปสูกลุมลูกคาที่มีอายุนอยลงในวัยเริ่มทํางาน เลือกสิ่งที่ใช ใชชีวิตที่ชอบ “เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ” ใหบริการภายใตแนวคิด “GSM Smart Life” (เลือกสิ่งที่ใช ใชชีวิตที่ชอบ) ใหลูกคา มีอิสระในการออกแบบโปรโมชั่นดวยตนเอง พรอมทั้งนําเสนอบริการนวัตกรรมใหมอยางตอเนื่องเพื่อตอบทุกไลฟสไตลการ ใชชีวิต เชน บริการ 3G และ EDGE+ บนเครือขาย Mobile Internet ที่ใหญที่สุด ซึ่งใหลูกคาสามารถใชงานอินเทอรเน็ตและ โทรไดตอเนื่องทั่วไทย อีกทั้งยังสามารถรับสายไดขณะใชงานอินเทอรเน็ต ในปนี้ เอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ ใหความสําคัญกับการนําเสนอหลากหลายบริการรูปแบบใหมเพื่อตอบรับ ความตองการของตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะในดานสําการใชงาน Mobile Internet เพื่อตอบสนองพฤติกรรม ผูบริโภคที่ตองการติดตอสื่อสารในทุกที่ทุกเวลาผานทางโลกสังคมออนไลน อีเมล การดาวนโหลดขอมูล โปรแกรม AIS Opera Mini พัฒนาเพื่อใหความสะดวกแกลูกคาเอไอเอสที่ชอบสังคมออนไลนสามารถใชงานผาน มือถือทุกรุนดวย 5 แพ็กเสริมตามสังคมออนไลนที่ลูกคาชื่นชอบ บริการ Smart iPostcard สําหรับลูกคาที่ชื่นชอบการสงโปสการดใหสามารถสราง ออกแบบ พรอมทั้งสง โปสการดผานมือถือดวยตนเองไดอยางรวดเร็ว แพ็กเกจของเอไอเอส จีเอสเอ็ม แอดวานซ GSM smart Mix & Match โปรโมชั่นที่ไดรับการตอบรับมากที่สุดของบริการระบบรายเดือนในไทย โดยใหลูกคา ออกแบบไดเองตามรูปแบบการใชชีวิต สามารถเลือกผสมไดมากกวา 50 แบบ และลูกคาสามารถเลือกสิ่งที่ดีที่สุดสําหรับ ตัวเองได ซึ่งประกอบดวย สวนที่ 1 หนา 33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

Smart basic แพ็กเริ่มตนที่ใหลูกคาเลือกอัตราคาโทรตามปริมาณความตองการใชงานอยางงายๆ ในอัตรา เดียว ทุกเครือขายตลอด 24 ชั่วโมง พรอมรับคาโทรเพิ่มอีกรอยละ 20 ใน 3 เดือนแรกสําหรับลูกคาเปดเลข หมายใหม ดวยคาบริการรายเดือนเริ่มตนที่ 200 บาท โทรได 200 นาที และคุมคามากขึ้นกับแพ็กสูงสุด 1,500 บาท ใหโทรไดถึง 1,600 นาที พรอมสิทธิเซเรเนด โกลด Smart topping แพ็กเสริมที่หลากหลายใหเลือกใชตามพฤติกรรมการใชงานของลูกคาทั้งดานเสียงและขอมูล รวมถึงใชงานในตางประเทศดังนี้ แพ็กเสริมดานเสียง คุยฟรีขามวันขามคืน – โทรในเครือขายเอไอเอสไมจํากัด ชวงเวลา 4 ทุม – 5 โมงเย็น (249 บาทตอเดือน) คุยทุกเครือขาย – โทรไดทุกเครือขายจํานวน 100 นาที (100 บาทตอเดือน) คุยฟรีกลางวัน – โทรไมจํากัดในเครือขายเอไอเอส ชวงเวลา ตี 5 - 5 โมงเย็น (199 บาทตอเดือน) คุยฟรีกลางคืน – โทรไมจํากัดในเครือขายเอไอเอส ชวงเวลา 4 ทุม - 8 โมงเชา (100 บาทตอเดือน) คุยฟรีวีกเอนด – โทรไมจํากัดในเครือขายเอไอเอส ชวงเสาร – อาทิตย ตลอด 24 ชั่วโมง (100 บาทตอ เดือน) คนมีรัก คุยฟรี 20 ชั่วโมง – โทรไมจํากัด 1 เบอรคนพิเศษในเครือขายเอไอเอสในชวงเวลา 4 ทุม - 6 โมง เย็น (150 บาทตอเดือน) คนมีรัก 25 สตางต – โทร 1 เบอรคนพิเศษในเครือขายเอไอเอส ดวยอัตราพิเศษเพียง 25 สตางคตอนาที ตลอด 24 ชั่วโมง (150 บาทตอเดือน) แก็งค – โทร 3 เบอรคนพิเศษในเครือขายเอไอเอส ดวยอัตราพิเศษ 50 สตางคตอนาทีในชวงเวลา 4 ทุม - 6 โมงเย็น (100 บาทตอเดือน) แพ็กเสริมดานขอมูล สําหรับลูกคาที่มีความตองการใชงานดานขอมูลตางๆ ประกอบดวย ลูกคาที่ใชสมารทโฟนเพื่อแชท อีเมล เชื่อมตออินเทอรเน็ตเขาสูโลกออนไลน ดาวนโหลดขอมูล เอ็นเตอรเทนเมนต สังคมออนไลน รวมถึงลูกคาที่ใชงานแอรการด และใชงานดานขอมูลในระดับพื้นฐานเชน SMS หรือ MMS เปนตน SMS/MMS/EGDE+ คาบริการเริ่มตนเพียง 50 บาท สามารถสง SMS ได 50 ขอความ หรือ MMS ได 12 ขอความตอเดือน หรือ EGDE+ 6 ชั่วโมงตอเดือน Blackberry คาบริการเริ่มตนเพียง 300 บาท สามารถใชงาน Blackberry Chat คูกับ Facebook หรือ คูกับ E-mail หรือ คูก ับการโทรดวยเหมาจายขั้นต่ําเพียง 300 บาทตอเดือน หรือคูกับ 3G/WiFi/EDGE+ ไดไม จํากัด ดวยเหมาจาย 799 บาทตอเดือน Social Plus Net by AIS Opera Mini คาบริการเพียง 129 บาทตอเดือน ใหลูกคาสามารถใชงานสังคม ออนไลนไดไมจํากัด ประกอบดวย Facebook Twitter hi5 และ Myspace พรอม 3G/EDGE/GPRS ฟรี จํานวน 5 ชม. หรือ 25 MB 3G/WiFi/EDGE+ – ใหลูกคาที่ชอบใชงานอินเทอรเน็ตไมตองกังวลกับคาใชจายดวยคาบริการเริ่มตนเพียง 99 บาท สามารถใช 3G และ EDGE+ ไดรวม 75MB และคุมคากับการใชงาน 3G/WiFi/EDGE+ ไดไมจํากัด เพียง 799 บาท แพ็กเกจหลักสําหรับลูกคาที่ใชบริการขอมูล Smart Phone package สําหรับลูกคาสมารทโฟนที่ใชงานทั้งโทรและอินเทอรเน็ตใหสามารถควบคุม คาใชจาย ดวยคาบริการเริ่มตนเพียง 399 บาท โทรทุกเครือขาย 200 นาทีพรอมใชงาน 3G และ EDGE+ ได

สวนที่ 1 หนา 34


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

รวม 250 MB GSM BlackBerry Package – แพ็กเกจสําหรับคนรุนใหมที่ชอบแชทใหสามารถใชบริการ Blackberry แชท และอินเทอรเน็ตไดไมจํากัด ดวยคาบริการเพียง 799 บาทพรอมคาโทรอัตราเดียวนาทีละ 1.25 บาททุก เครือขาย GSM iPhone Package – สําหรับผูที่ใชงาน iPhone ออนไลนเอ็นเตอรเทนเมนต เชน ดาวนโหลดเกมส เพลง แอพพลิเคชั่นใหมๆ ดวยคาบริการเริ่มตนเพียง 275 บาท โทรได 150 นาที พรอม 3G/EDGE/GPRS 150 MB หรือใชไมจํากัดแบบสุดคุมกับ 3G/EDGE/GPRS/WiFi คาบริการเพียง 839 บาท โทรได 500 นาที GSM NET SIM – ซิมสําหรับชาวออนไลนที่สามารถเชื่อมตอโลกออนไลนผานโทรศัพทมือถือกับแพ็กเกจ 2 รูปแบบ ทั้งคิดตามระยะเวลาการใชงานและคิดตามปริมาณการใชงาน ดวยคาบริการเริ่มตนเพียง 149 บาท ใชงาน 3G และ EDGE+ ได 50 ชั่วโมงหรือ 150 MB จีเอสเอ็ม 1800 จีเอสเอ็ม 1800 มีกลุมเปาหมายหลักคือ ผูที่ใชบริการแบบพื้นฐานเนนการโทรออกและรับสาย (Basic Phone) ดวยราคาที่ยอมเยา แพ็กเกจสําหรับลูกคาใหม

คุยครึ่งชั่วโมง 99 สตางค – ใหลูกคาสามารถโทรในเครือขายไดนานถึงครึ่งชั่วโมงเพียง 99 สตางค คุยนาทีละ 99 สตางค – ใหลูกคาสามารถโทรทุกเครือขายในราคาพิเศษเพียงนาทีละ 99 สตางค แพ็กสุดคุม 125 บาท –ใหลูกคาสามารถโทรไมจํากัดในเครือขายชวงเวลา ตี 5 – 5 โมงเย็น แพ็กสุดคุม 249 บาท –ใหลูกคาสามารถโทรไมจํากัดในเครือขายชวงเวลา 4 ทุม – 6 โมงเย็น

แพ็กเกจสําหรับลูกคาปจจุบนั แพ็กเริ่มตน GSM 1800 (Basic) แพ็กเกจสําหรับลูกคาปจจุบันที่ใหความสะดวกสบายดวยคาโทรอัตราเดียว 1 บาทตอนาทีทั้งในและนอกเครือขาย พรอมทั้ง 4 ทางเลือกคาบริการเริ่มตนที่ 150 บาท 150 นาที และสูงสุดที่ 800 บาท 800 นาที แพ็กเสริมสําหรับลูกคาใหมและปจจุบัน แพ็กเสริมดานเสียง – สามารถเลือกไดตามความตองการ โทรไมจํากัดในชวงเวลาหรือกับ 1 เบอรพิเศษ ประ กอปดวย โทรฟรีในเครือขายชวงเวลา ตี 5 – 5 โมงเย็น หรือ 4 ทุม – 10 โมงเชา หรือ 1 เบอรพิเศษชวง 3 ทุม – 6 โมงเย็น กับคาบิรการรายเดือนแพ็กเสริมละ 99 บาท แพ็กเสริมดานขอมูล – สําหรับลูกคาที่ชอบใชงานอินเทอรเน็ตดวยคาบริการเริ่มตนเพียง 99 บาท สามารถใช EDGE/GPRS ได 30 MB เอไอเอส วัน-ทู-คอล! เอไอเอส วัน-ทู-คอล! มีกลุมเปาหมายหลักเปนวัยรุนและคนรุนใหม มีสไตลเปนของตัวเอง ทันสมัย กลาคิด กลาทํา กลาแสดงออก และไดขยายตลาดไปสูกลุมพรีทีน (Preteen) ซึ่งเปนกลุมเด็กประถมและมัธยมตนที่เริ่มใชงานมือถือ แนวคิดของเอไอเอส วัน-ทู-คอล!

สวนที่ 1 หนา 35


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

เอไอเอสมุงเนนสรางความแข็งแกรงของแบรนด เอไอเอส วัน-ทู-คอล! ดวยการสรางภาพลักษณภายใต แนวความคิด “อิสระ” (Freedom) ที่สนับสนุนเยาวชนใหกลาคิดกลาฝนและกลาลงมือทําฝนใหเปนจริงผานทางกิจกรรม ตางๆ ในป 2554 ที่ผานมาเอไอเอสพัฒนาสินคาและบริการเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา ดังนี้ “Give 2 Gang” บริการใหมที่พัฒนาในป 2554 ซึ่งเปนครั้งแรกในระบบแบบเติมเงินของประเทศไทยที่ใหลูกคาสามารถดูแลการใช งานของคนใกลชิดอยางตอเนื่องไดถึง 5 เลขหมายดวยบริการเช็คยอด โอนเงิน โอนวัน อัติโนมัติของเพื่อนรวมแก็งค ให ลูกคาใชบริการของเราไดอยางตอเนื่อง “วัน-ทู-คอล! แบรนดเอจ อวอรด” สนับสนุนใหเยาวชนมีความคิดสรางสรรคและพัฒนาตัวเองสูการเปนเจาของกิจการ ทองถิ่นภายใตโครงการ “วัน-ทู-คอล! แบรนดเอจ อวอรด” ซึ่งไดจัดตอเนื่องเปนปที่ 5

รวมถึงชวยพัฒนาสินคาใน

“วัน-ทู-คอล! สปอรต 2” เอไอเอส วัน-ทู-คอล! ยังคงทํากิจกรรมสงเสริมการขายเพื่อตอบแทนลูกคา การนําเสนอแคมเปญชิงโชคใหญซึ่งจัด ตอเนื่องเปนปที่สอง ภายใตชื่อ “วัน-ทู-คอล! สปอรต 2” ใหสิทธิ์เปนเจาของรถยนตฮอนดา บรีโอ เมื่อเติมเงินทุก 50 บาท เปนจํานวน 10 คัน โปรโมชั่นคาโทรของเอไอเอส วัน-ทู-คอล! เอไอเอส วัน-ทู-คอล! ไดนําเสนอโปรแกรมคาบริการตามกลุมลูกคา (Segmentation) ซึ่งมีทั้งแพคหลักและแพค เสริม ทั้งดานบริการเสียงและบริการขอมูล เพื่อตอบโจทยพฤติกรรมการใชงานของลูกคาแตละกลุม ดังนี้ ตอบโจทยทุกพฤติกรรมการโทรของลูกคา ออกแบบหลากหลายโปรโมชั่นคาโทรแตกตางตามลักษณะชีวิตประจําวันของผูใชงานแตละคน ไมวาจะโทรนอย โทรมาก โทรในเครือขาย โทรนอกเครือขาย หรือโทรเฉพาะในกลุม โดยลูกคาใหมสามารถเปลี่ยนโปรโมชั่นใหเหมาะกับพฤติกรรม การใชงานดวยตนเองผาน *777 เพื่อความพึงพอใจสูงสุดและยังเปนการบริหารเลขหมายอยางมีประสิทธิภาพ เชน • ลูกคาที่ใชงานทุกเครือขาย โปรรักทุกคาย – โปรโมชั่นที่งายตอการใชงานดวยคาโทร 50 สตางคตอนาที ทุกเครือขาย นาทีแรก 2 บาท โปรงายที่สุด – โปรโมชั่นคาโทรอัตราเดียว 97 สตางคตอนาที ตั้งแตนาทีแรกสําหรับการใชงานทุกเครือขาย โปรโทรถูกเวลา 12 ชั่วโมง – ใหลูกคาใชงานในราคาพิเศษเพียงนาทีละ 1 บาท นาทีแรก 2 บาท ทุกเครือขาย รวม 12 ชั่วโมง ตั้งแต 06.00-18.00 น. หวานเย็น – โปรโมชั่นคาโทรสําหรับลูกคาที่ตองการใชงานในชวงเวลา 22.00-18.00 น. ดวยคาโทร 25 สตางคตอนาที นาทีแรก 2 บาททุกเครือขาย • ลูกคาที่ใชงานภายในเครือขาย บุฟเฟตกลางวัน/กลางคืน – คาบริการขั้นต่ํา 199 บาท และ 159 บาทตอเดือน ลูกคาสามารถโทรฟรีในเครือขายใน ชวงเวลา 05.00-17.00 น. หรือ 22.00-10.00 น. โทรเพลิน – โทรอัตราพิเศษในเครือขายเพียงนาทีละ 75 สตางค นาที แรก 2 บาท ตลอด 24 ชั่วโมง โทรยกแกงค – คาบริการรายเดือน 19 `บาท ใหลูกคาสามารถโทรหาเพื่อนที่ใชโปรโมชั่นนีด้ วยกันเพียงนาทีละ 25 สตางค • เจาะลูกคาเฉพาะกลุม

สวนที่ 1 หนา 36


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

S-Cool SIM – สําหรับนักเรียนใหโทรหากลุมเพื่อนที่ใช S-Cool SIM ในราคาเพียงนาทีละ 25 สตางค นอกกลุมนาทีละ 99 สตางค ใหผูปกครองไมตองกังวลเพราะไดรับวันเพิ่ม 60 วันในทุกครั้งของการเติมเงิน พรอมรับสิทธิพิเศษจากเอไอ เอส เชน สวนลดบัตรรถไฟฟา บีทีเอส เปนตน นอกจากนี้ลูกคายังสามารถสรางกลุมเพื่อนใหมและอัพเดทสิทธิพิเศษ ใหมๆไดอยางรวดเร็วผานทาง www.scoolclub.com อีกดวย • แพ็กเกจเสริม เหมา เหมา – ใหลูกคาไดรับความคุมคาดวยแพ็กเกจรายวันในราคาเริ่มตนเพียง 5 บาท ใหลูกคาสามารถโทรฟรีใน เครือขาย ในชวงเวลา 00.01-11.00 น. หรือแพ็กเกจ 9 บาทตอวัน ลูกคาสามารถโทรฟรีในเครือขายชวงเวลา 00.0124.00 น. (ยกเวนชวงเวลา 16.00-21.00 น.) และยังมีอีกกวาหลากหลายรูปแบบใหเลือก เชน แพ็กเกจ 2 วันจาย 20 บาท สามารถใชงานโทรได 25 นาทีทุกเครือขาย หรือ แพ็กเกจ 30 วันจาย 300 บาท สามารถโทรได 400 นาที เปน ตน สนุกกับชีวิตออนไลนในรูปแบบของคุณ เอไอเอส วัน-ทู-คอล! ไดออกแบบแพ็กเกจบริการเสริมดานขอมูลใหเลือกมากมายทั้ง แพ็กเล็ก แพ็กใหญ ใชมาก ใชนอย ตามไลฟสไตลของลูกคา และเหมาะสมกับอุปกรณเครื่องมือสื่อสารที่ใช รวมถึงสมารทโฟนดาตาแพ็กเกจ โดยแบงตามกลุม ลูกคาที่เหมาะสม รวมถึงแพ็กเกจทั่วไปสําหรับโทรศัพทที่ไมใชสมารโฟนก็สามารถเลนโซเชียลเน็ตเวิรกได โดยไดนําเสนอ โปรแกรม Chat’n Share ที่รวบรวมหลากหลายแพ็กเกจโซเชียลเน็ตเวิรกและแชตเพื่อตอบสนองความตองการใชงาน ทางดานบริการเสริมที่เติบโตอยางตอเนื่องของลูกคาวัยรุน โดยแบงกลุมลูกคาเพื่อนําเสนอบริการขอมูลที่เหมาะสม ดังนี้ 1. กลุมวัยรุนที่มีกําลังซื้อ (High-end) ใชงานสมารทโฟนเพื่อเขาสูเครือขายสังคมออนไลน โดยนําเสนอแบรนด สมารทโฟนชั้นนําควบคูกับแพ็กเกจตามประเภทสมารทโฟน เชน สมารทโฟนแพ็กเกจ – คาบริการรายเดือน 199 บาท ใหลูกคาสมารทโฟนสามารถใชงาน 3G/EDGE ไดถึง 200 MB พรอมสง SMS ได 100 ครั้ง และ MMS ได 50 ครั้ง BlackBerry – ใชงาน BlackBerry ขั้นต่ํา 300 บาทตอเดือน สามารถใชงาน Facebook และ chat ไดไมจํากัด พรอมรับ คาโทร 200 นาทีทุกเครือขาย BlackBerry – ใหลูกคาเลือกแพ็กเกจตามพฤติกกรรมการใชงาน ไดแก แพ็กเกจใชงานไมจาํ กัดสามวัน จาย 90 บาท แพ็กเกจรายสัปดาห จาย 79 บาท สามารถใชงานแชทควบคูอีเมลล หรือ Facebook ไดไมจํากัด และแพ็กเกจรายเดือน ขั้นต่ํา 300 บาท สามารถใชงาน BBM ไดไมจาํ กัด หรือ เลือกใชงานแชทควบคู Facebook หรือ อีเมลล 2. กลุมวัยรุนที่เนนความคุมคา และตองการเขาสูเครือขายสังคมออนไลน ดวยการนําเสนอแพ็กเกจ NOKIA Cool Pack ใหผูใชงานโนเกียสามารถใชงานสังคมออนไลนไดหลากหลาย เชน NOKIA Cool Pack – สําหรับผูใชงานโทรศัพทโนเกียใหสามารถใชงาน แชท เครือขายสังคมออนไลน อีเมล หรือ เลือกใชงานแบบใดแบบหนึ่งคูกันไดไมจํากัด โดยจายขั้นต่ํา 29 บาทตอสัปดาหและสูงสุด 79 บาทตอสัปดาห 3. กลุมวัยรุนที่ใชโทรศัพทมือถือโดยทั่วไป (Mass) ใหสามารถแชทไดตลอดเวลาบนถือมือทุกรุนผานแชทซิม (Chat SIM) พรอมแพ็กเกจที่คุมคา เชน Chat SIM – ใหลูกคาสามารถแชทผานโทรศัพทมือถือทุกรุนไมจํากัดตลอด 24 ชั่วโมง โดยคิดคาบริการ 17 บาทตอ สัปดาห และยังมอบความพิเศษดวยคาโทรสุดคุมในกลุมแชทซิมเพียง 50 สตางคตอนาที AIS IM Plus – โปรแกรมที่ใหความสะดวกแกลูกคาสามารถใชงาน AIS IM Plus เพียงโปรแกรมเดียวในการแชทไดทั้ง MSN, Facebook, Twitter, Myspace, Yahoo, Google Talk, ICQ, AOL และ Jabber ดวยคาบริการ 49 บาทตอ สัปดาห

สวนที่ 1 หนา 37


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

Social Plus Net – ใหลูกคาสามารถกลุมมือถือระดับกลางถึงลางสามารถ Facebook, Twitter, Myspace, Hi5 ผาน โปรแกรม AIS Opera Mini ไดไมจํากัด พรอม 3G หรือ GPRS ฟรี 7 MB 4. แพ็กเกจดานขอมูลสําหรับลูกคาที่เนนเลนเนทโดยเฉพาะ ตอบการใชสมารทโฟน แอรการด แทบเล็ต เชน 2G Data package – ใหลูกคาเชื่อมตออินเทอรเน็ตเขาสูโลกออนไลนไดอยางตอเนื่องผาน GPRS/EDGE คิดคาบริการ ตามจํานวนเวลาที่ใชงาน ดวยโปรโมชั่นขั้นต่ํา 3 ชั่วโมง ในราคา 30 บาท และสูงสุด 100 ชั่วโมง ในราคา 350 บาทตอ เดือน และผาน Wi-Fi ดวยโปรโมชั่นใชงานไดไมจํากัดเพียง 99 บาทตอเดือน 3G Data package – ใหลูกคาใชงานเครือขาย 3G ในราคาที่คุมคา คิดคาบริการตามปริมาณขอมูลที่ใชงาน ดวย 3 แพ็กเกจรายวัน ประกอบดวย คาบริการ 9 บาท สามารถใช 3G ได 10MB คาบริการ 29 บาท ใช 3G ได 60 MB และ 49 บาท ใช 3G ได 140MB พรอมความพิเศษสามารถใชงาน 2G ไดไมจํากัด เอไอเอส สวัสดี “สวัสดี” มุงเนนตอบสนองความตองการของผูเริ่มตนใชโทรศัพทเปนครั้งแรก (First Time User) ซึ่งมีทั้งเด็กและ ผูใหญที่โทรออกนอย เนนรับสายเปนสวนใหญ โดยใชความไดเปรียบดานเครือขายคุณภาพที่มีพื้นที่ครอบคลุมมากที่สุดใน ประเทศในการขยายฐานไปยังสวนภูมิภาค สรางความสัมพันธอันดีกับฐานลูกคาในตางจังหวัด สวัสดียังเนนสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคาในตางจังหวัดอยางตอเนื่องโดยสรางความแข็งแกรงของแบรนดดวย ภาพลักษณกระแสนิยมทองถิ่น ในปนี้ไดนําเสนอโปรโมชั่นใหม “สวัสดีนานจัง” พรอมทั้งนําศิลปนลูกทุงที่เปนที่นิยมและ สามารถเขาถึงกลุมคนทองถิ่นไดดีมาเปนพรีเซ็นเตอร เพื่อถายทอดบทเพลง “นานจัง” ไปสูกลุมเปาหมาย โปรโมชั่นคาโทรของเอไอเอส สวัสดี สวัสดีนานจัง – สวัสดีออกแบบโปรโมชั่นเพื่อตอบสนองการใชงาน ของกลุมลูกคาที่มีการโทรออกนอย เหมาะสม กับไลฟสไตลของคนตางจังหวัดซึ่งมักเนนการรับสายมากกวาโทรออก รวมถึงชวยประหยัดคาใชจาย โดยลูกคาจะไดรับวัน ใชงานมากถึง 60 วันในทุกครัง้ ของการเติมเงิน และยังสามารถสะสมวันใชงานไดถึง 365 วัน พรอมคาโทรนาทีละ 1 บาท นาทีแรก 2 บาท ตลอด 24 ชั่วโมง บริการเพื่อธุรกิจจากเอไอเอส (AIS Business Solutions) เอไอเอสเปนผูนําในการใหบริการโซลูชั่นทางดานการสื่อสารโทรคมนาคมแกกลุมลูกคาองคกร ทั้งกลุมธุรกิจขนาด ใหญ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) โดยใหการสนับสนุนการเพิ่มศักยภาพและพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขัน ของลูกคาองคกร ลูกคาขนาดใหญครอบคลุมถึงลูกคากลุมรัฐบาลและเอกชน รวมทั้งดูแลลูกคาในอุตสาหกรรมหลัก โดยเฉพาะ เชน สถาบันการเงิน อุตสาหกรรมพลังงาน หรืออุตสาหกรรมรถยนต เปนตน นอกจากนี้ ยังไดสรางทีมงานดูแล ลูกคาในแตละภูมิภาคโดยเฉพาะ บริการลูกคาองคกร เอไอเอส บิสสิเนส โซลูชั่น ยังคงมุงพัฒนาสินคาและบริการอยางตอเนื่องตอบสนองการใชงานของลูกคาองคกร โดยเฉพาะ โดยพัฒนาตอยอดมาจากโซลูชั่นเดิมเพื่อเติมเต็มความตองการของลูกคาองคกร และพัฒนาโซลูชั่นใหมที่ชวย เพิ่มความสามารถในการแขงขันใหกับธุรกิจ นอกจากนี้ยังรวมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อพัฒนาโซลูชั่นใหมๆ อีกดวย นอกจากนี้ เรายังดูแลลูกคาองคกรดวยการมอบสิทธิพิเศษและแคมเปญตางๆ ตลอดทั้งป

สวนที่ 1 หนา 38


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

• Mobile Marketing เปนการทําการตลาดบนโทรศัพทเคลื่อนที่ ชวยใหเจาของสินคาหรือบริการเขาถึงกลุมเปาหมายได โดยตรงและสามารถวัดผลไดอยางรวดเร็ว ดวยตนทุนต่ํา เชน ธนาคารสง SMS รหัสผานเขาโทรศัพทเคลื่อนที่ของ ลูกคาเพื่อใชทําธุรกรรมทางการเงิน (Mobile Banking) แจงขาวสารหรือโปรโมชั่นไปยังกลุมลูกคาเปาหมาย (Mobile Advertising) เปนตน • Mobile Track & Trace ใชติดตามตําแหนง โดยประยุกตใชเทคโนโลยี Location Base เพื่อระบุตําแหนง ผสานเขากับ โปรแกรมแผนทีอ่ ัจฉริยะ ทําใหสามารถระบุตําแหนงของโทรศัพทเคลื่อนที่ไดอยางแมนยําและรวดเร็ว เหมาะสําหรับ ธุรกิจที่ตองการความรวดเร็วในการใหบริการ และความปลอดภัยของพนักงานในการปฎิบัติงาน เชน ธุรกิจขนสง ธุรกิจ ประกันภัย งานเรงรัดหนี้สิน เปนตน • M2M Service ใชการเชื่อมตอสื่อสารระหวางอุปกรณ (Machine to Machine หรือ M2M) ที่มีปริมาณการรับสงขอมูลที่ ไมมากและไมซบั ซอน โดยใชเพียงเทคโนโลยี GPRS/EDGE ดวยการสงผานขอมูลที่ความเร็วที่เพียงพอตอการใชงาน และคุมคากับการลงทุน ครอบคลุมพื้นที่การใหบริการทั่วประเทศ โดยสามารถนํามาประยุกตกับประเภทงานในหลาย สาขาเชน งานดานขนสงสินคาหรือการคนหายานพาหนะ (Fleet Management) งานดานการวัดคาตางๆ ในระยะไกล (Tele-Metering) และ เครื่องรูดบัตรไรสาย (Mobile EDC) เปนตน • MPBX (Mobile Private Branch Exchange) เปนบริการเกี่ยวกับระบบโทรศัพทครบวงจร ซึ่งเปนตูสาขาไรสาย อัตโนมัติเพื่อใชติดตอภายในบริษัท โดยชวยลดตนทุนการใชชุมสายโทรศัพทหรือตูสาขาโทรศัพท (PBX) ทั้งในดาน การติดตั้งและราคาอุปกรณ รวมถึงคาบริการที่ต่ํากวา นอกจากนี้ยังโดดเดนกวา PBX เนื่องจากสามารถใชงานนอก สถานที่ได เชน ขณะเดินทาง หรือ เมื่อเกิดเหตุที่ทําใหไมสามารถเขาสํานักงานได ยกตัวอยางในพื้นที่ประสบอุทกภัย ซึ่งชวยใหสามารถติดตอกันไดทุกที่ทุกเวลาเสมือนมีสํานักงานเคลื่อนที่อัจฉริยะ • Mobile Wallboard เปนแอปพลิเคชั่นบนมือถือที่ใหผูใชงานสามารถถายภาพและวีดีโอ รวมทั้งอัพเดทรายละเอียด ขอมูลและตําแหนงสถานที่ กลับมาที่สํานักงานสวนกลาง โดยสามารถตรวจสอบขอมูลแบบเรียลไทมผานเว็บไซต การ ไดรับขอมูลแบบฉับไวและทันตอสถานการณเชนนี้ จะชวยเพิ่มความสามารถแขงขันในธุรกิจ เชน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจอสังหาริมทรัพย รวมถึงหนวยงานภาครัฐ ที่ใชเปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูล เพื่อชวยเหลือประชาชนไดทัน เหตุการณ ดังเชนเหตุการณอุทกภัยที่ผานมา • SMEs Combo Package ตอบโจทยความตองการของลูกคา SMEs โดยสามารถเลือกแพ็กเก็จเองตามความเหมาะสม ของธุรกิจที่มีการใชงานทั้งคาโทร รวมถึงโซลูชั่นที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจพรอมทั้งชวยประหยัด คาใชจาย เชน การรับ-สงอีเมลผานมือถือ ดวย AIS BlackBerry Push mail หรือ การรับ-สง SMS ผานเว็บไซต ดวย AIS Smart Messaging เปนตน • แพ็กเกจดาตาโรมมิ่งสําหรับลูกคาองคกร ที่เดินทางไปใชงานยังตางประเทศ เมื่อนําเครื่องมือถือที่สามารถรับ - สง ขอมูล ผานการเชื่อมตอ EDGE/GPRS อยางสม่ําเสมอ ใหลูกคาหมดความกังวลใจและปองกันการเกิดคาบริการที่สูง เกินความจําเปนดวย AIS Unlimited Data Roaming Package บริการที่ชวยใหลูกคาใชบริการ Data Roaming ใน 21 ประเทศยอดนิยมไดแบบไมจํากัด และ AIS Hassle-free Data Roaming Package บริการที่ครอบคลุมในประเทศ ยอดนิยม 47 ประเทศปลายทาง ใหทานใช Data Roaming ไดถึง 20 MB ประหยัดสูงสุดรอยละ 94 และ AIS Smart Data Roaming Package บริการที่ครอบคลุมในประเทศยอดนิยม 47 ประเทศปลายทาง ประหยัดสูงสุดรอยละ 40 • สิทธิพิเศษสําหรับลูกคาองคกร เอไอเอส บิสสิเนส โซลูชั่น ไดดูแลลูกคาองคกรแตละประเภทธุรกิจเปนพิเศษเสมอมา โดยในป 2554 ไดคัดสรรและสง มอบสิทธิพิเศษเฉพาะลูกคาองคกร เชน บริการออนไลน “AIS eBusiness Portal” ที่ชวยใหลูกคาองคกร ทั้งผูรับสิทธิ สวนที่ 1 หนา 39


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

บริหารจัดการระบบและผูถือเลขหมาย สามารถตรวจสอบขอมูลและทําธุรกรรมตางๆ ผานเว็บไซตไดดวยตนเอง ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อการควบคุมคาใชจายที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมอบสิทธิ เซเรเนด โกลด สําหรับทุกเลขหมาย ซึ่งจดทะเบียนในนามนิติบุคคลที่มียอดการใชงานถึงเกณฑที่กําหนดโดยอัตโนมัติ เปนตน • กิจกรรมระหวางองคกร เอไอเอส บิสสิเนส โซลูชั่น ไดจัดกิจกรรมระหวางองคกรลูกคาขึ้น เพื่อใหลูกคาองคกรไดรับสิทธิประโยชนสูงสุด จากการ ดําเนินธุรกิจรวมกันในฐานะคูคาทางธุรกิจ เชน จัดสัมมนา “AIS Business Forum 2011” ไทยชวยไทย 2011 และ Innovation Workshop “จุดประกายไอเดียนักคิดสรางสรรคธุรกิจยุคใหม” เพื่อกระตุนแนวคิดในการดําเนินธุรกิจรูปแบบ ใหม ตลอดจนสรางความรวมมือในภาคธุรกิจและนําเสนอแนวทางใหแตละประเภทธุรกิจสามารถปรับตัวเขากับสภาพ วิกฤตเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในปจจุบันอยางเหมาะสม การบริหารความสัมพันธลกู คา และประสบการณลูกคา ในปที่ผานมาเอไอเอสเติบโตอยางแข็งแกรงตามแนวทาง“Ecosystem”หรือการสรางระบบนิเวศนในอุตสาหกรรม โทรคมนาคมซึ่งเปนการผนึกกําลังรวมกับพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อสงมอบประโยชนและความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคาผาน สินคาบริการ และการสรางความสัมพันธตลอดจนประสบการณที่ดีอยางยาวนานและตอเนื่องอยางครบวงจร ในปจจุบันที่เทคโนโลยีเขามามีบทบาทสําคัญในชีวิตประจําวันสงผลใหคนไทยมีรูปแบบการใชชีวิตทีเปลี่ยนแปลง ไป ดังนั้นเอไอเอสจึงไดตอยอดรากฐานดังกลาวเพื่อมุงตอบสนองรูปแบบและวิถีการใชชีวิตใหมๆ ดวยแนวคิด "ชีวิตใน แบบคุณ" พรอมทั้งปรับโฉมแบรนดและโลโกในชวงปลายเดือนกันยายนที่ผานมา โดยพรอมสงมอบประสบการณอันเปน เลิศใหกับลูกคาบนพื้นฐานสําคัญของการรูจักและเขาใจลูกคาอยางลึกซึ้ง (Insightful) การเปนที่ปรึกษาใหความชวยเหลือ (Helpful) พรอมกับบริการที่สรางสรรค (Innovative) อยางมืออาชีพ (Professional) เพื่อมุงตอบโจทยการใชชีวิตที่ หลากหลายของลูกคาและสงมอบประสบการณ "ชีวิตในแบบคุณ" ถึงลูกคาไดอยางตรงใจที่สุด ลงลึกถึงความตองการบริหารความสัมพันธลูกคาดวย CRM แบบ Micro Segment เอไอเอสไดพัฒนาแนวทางการบริหารความสัมพันธลูกคาดวย Micro Segment มาอยางตอเนื่องเพื่อเจาะลึกถึง ความตองการและรูปแบบการใชชีวิตของลูกคากลุมตางๆ ที่หลากหลาย โดยวิเคราะหรูปแบบการใชงานและขอมูลของลูกคา แตละกลุมอยางลงลึกในรายละเอียด เพื่อพัฒนาบริการและสงมอบใหกับลูกคาเฉพาะกลุมอยางลงตัวที่สุด โดยเฉพาะอยาง ยิ่งในกลุมลูกคาที่ใชงานโมบายอินเทอรเน็ต ซึ่งมีอัตราการเติบโตอยางกาวกระโดดจากความนิยมในการใชสมารทโฟนที่ เพิ่มขึ้น ตัวอยางเชน -

-

-

กลุมลูกคาที่เริ่มตนใชงานสมารทโฟน ซึ่งอาจยังไมทราบวิธีการทํางานของตัวเครื่องที่มีการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตอัตโนมัติ เมื่อเปลี่ยนมาใชสมารทโฟนเอไอเอสจะสง SMS ใหคาํ แนะนําลูกคาในเบื้องตนทันที เพื่อ ปองกันการใชงานแบบเชื่อมตออัตโนมัติโดยไมรูตัว พรอมแนะนําการสมัครแพ็กเกจที่คุมคาเพื่อการใชงานที่สบาย ใจกวา ตลอดจนแนะนําบริการเปดปดบริการ EDGE หรือ GPRS งายๆ ดวยตัวเองผาน *129# กลุมลูกคาที่มปี ริมาณการใชบริการขอมูลสูง ซึ่งอาจใชงานเพลินจนเกินแพ็กเกจโดยไมรูตัว เอไอเอสจะมี บริการคอยแจงเตือนยอดใชงานใหทราบกอนพรอมบริการ Internet Worry Free ใหลูกคาสามารถเลนอินเทอรเน็ต ภายในประเทศแบบไมตองกังวลจากการตออินเทอรเน็ตทิ้งไวโดยไมมีแพ็กเกจรองรับ โดยจะจายเพียงไมเกิน เดือนละ 1,500 บาท กลุมลูกคาที่ใชบริการขอมูลในตางประเทศ นอกจากการดูแลลูกคาอยางครบวงจรตั้งแตการแจงใหทราบเมื่อมี การเชื่อมตอบริการขอมูลแบบโรมมิ่งครั้งแรก แนะนําแพ็กเกจและแจงเตือนการใชงานเปนระยะแลว ในปนี้ยังได

สวนที่ 1 หนา 40


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

พัฒนาบริการใหมใหลูกคาอุนใจทุกการเดินทางในตางประเทศกับ Smart Roaming Menu *111# สามารถกดฟรี จากตางประเทศเพื่อตรวจสอบแพ็กเกจสุดคุมเฉพาะประเทศนั้นๆ โดยเฉพาะรวมถึงตรวจสอบการใชงานและ คาบริการโรมมิ่งจากโทรศัพทเคลื่อนที่ฟรีตลอด 24 ชั่วโมง นอกจากนี้เพื่อยกระดับงาน CRM ขึ้นไปอีกขั้นบนพื้นฐานของความเขาใจลูกคาที่ลงลึกยิ่งขึ้น ปนี้เอไอเอสไดริเริ่ม พัฒนาและวางระบบการดูแลลูกคาแบบ Interactive CRM ซึ่งจะสามารถวิเคราะหขอมูลลูกคา ณ เวลานั้นๆ อยางแทจริงใน ขณะที่ลูกคาติดตอเอไอเอสผานชองทางตางๆ เพื่อนําเสนอสินคาหรือแนะนําบริการตลอดจนสิทธิพิเศษตางๆ อยาง เหมาะสมตรงกับรูปแบบการดําเนินชีวิตของลูกคา โดยในป 2554 นี้ เอไอเอสไดทดลองนําเสนอสินคาและบริการดวย Interactive CRM ผานชองทาง eService, IVR, และ USSD และพบวาไดรับผลการตอบรับจากลูกคาสูงกวาการแนะนํา บริการโดยปกติทั่วไปอยางชัดเจน โดยเอไอเอสจะทยอยพัฒนาระบบนี้เพื่อใหบริการเต็มรูปแบบยิ่งขึ้นในป 2555 ขยายรูปแบบการบริการสู Social Media Contact Center ขณะที่คนไทยหันมาใชงานเครือขายทางสังคมอยางแพรหลาย เชนเดียวกับความนิยมในการใชสมารทโฟนที่ เพิ่มขึ้น เอไอเอสไดขยายชองทางบริการออนไลนจากเดิมที่ใหลูกคาเขามาใชบริการผาน iCall (บริการผานแชทหรือคุยผาน กล อ งพร อ มภาพและเสี ย ง) ไปสู ก ารเข า ถึ ง สั ง คมเครื อ ข า ยออนไลน ข องลู ก ค า เพื่ อ ต อ ยอดการสร า งความผู ก พั น (Engagement) และใหการใหบริการที่ตรงกลุมและรวดเร็วยิ่งขึ้นผานเครือขายยอดนิยม เชน เว็บบอรดพันทิป facebook และ twitter ป จ จุ บั น ในเว็ บ บอร ด พั น ทิ ป ห อ งมาบุ ญ ครองซึ่ ง เป น แหล ง ชุ ม ชนออนไลน ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ของกลุ ม ผู ใ ช ง าน โทรศัพทเคลื่อนที่เอไอเอสไดจัดเตรียมพนักงานใหบริการดูแลตลอด 24 ชั่วโมง ดวยการตอบคําถาม แนะนําบริการ ดวย ความเปนมิตรและรวดเร็ว โดยมีอัตราการตอบกลับภายในระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสูงถึงรอยละ 96 นอกจากนี้ เอไอเอส ยังใหบริการและพูดคุยกับลูกคาแตละกลุมเปาหมายผาน facebook ทั้ง 7 pages แยกตาม ความสนใจของกลุมตางๆ ไดแก AIS Privileges AIS iPhone AIS BlackBerry from AIS จีเอสเอ็ม แอดวานซ วัน-ทู-คอล! บริการเสริมเอไอเอส และลาสุดในเดือนสิงหาคม 2554 ไดเปดใหบริการหนาเอไอเอสคอลลเซ็นเตอรซึ่งมีอัตราการเติบโต ของการใชงานกวารอยละ 23 ซึ่งรวมทั้งการตอบคําถามและแกไขปญหาตางๆ ใหลูกคาหลังจากเปดตัวไดเพียงสามเดือน และยังมีแนวโนมการเติบโตอยางตอเนื่อง ยกระดับงานบริการที่ AIS Touch Points เพื่อเตรียม AIS Touch Points ใหพรอมสําหรับการเติบโตของฐานลูกคาโดยเฉพาะในยุคเทคโนโลยี 3G เอไอเอสไดขยายสาขาปรับรูปลักษณใหมเพิ่มอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก ตลอดจนพัฒนาความรูความสามารถและ ทักษะการใหบริการของพนักงานทั่วประเทศอยางตอเนื่อง • การขยายสาขา: ตอยอดจากการทยอยปรับรูปลักษณของสาขาในปที่ผานมา ปนี้เอไอเอสไดขยายสาขาเพิ่ม 2 สาขา คือสาขาเซ็นทรัลลาดพราวและสาขา Terminal 21 ดวยการออกแบบตกแตงที่ทันสมัยสอดรับกับไลฟสไตลใหมๆ ของ ลูกคาพรอมแผนที่จะปรับรูปลักษณรวมถึงขยายสาขาเพิ่มเติมในป 2555 • ช็อปแหงประสบการณ: เพื่อใหลูกคาเกิดประสบการณจากการทดลองใชงานจริงกอนตัดสินใจเลือกซื้อ นอกจากเปด ใหใชงาน AIS WiFi ที่เอไอเอส ช็อปแลว ทางสาขายังไดนําอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่รุนตางๆ โดยเฉพาะสมารทโฟน รุนใหมๆ มาจัดวางและเปดใหลูกคาเขามาสัมผัสและเปดใชงานจากของจริงไดดวยตนเอง พรอมพนักงานผูเชี่ยวชาญ คอยใหคําแนะนําตั้งแตเรื่องการใชอุปกรณไป จนถึงแพ็กเกจที่เหมาะสมพรอมสําหรับการตัดสินใจของลูกคาไดทันที

สวนที่ 1 หนา 41


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

• เทคโนโลยีเพื่อการบริการ: ในปนี้เอไอเอสไดริเริ่มนํา ตูรับชําระคาบริการอัตโนมัติ (Payment Kiosk) เขามา ทดลองใชบริการ โดยลูกคาสามารถชําระคาบริการผานเครื่องนี้ดวยตัวเองไดตลอด 24 ชั่วโมง ลดระยะเวลาในการรอ คิวที่ เอไอเอส ช็อปใหทํารายการไดสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยไดทดลองเปดใหบริการที่ 2 สาขา คือ แฟชั่นไอสแลนด และเดอะมอลลบางกะปเมื่อเดือนกันยายน2554 และจะขยายสาขาติดตั้งเพิ่มเติมในป 2555 นี้ นอกจากนี้เอไอเอสยัง เปนผูใหบริการายแรกในไทยที่ไดนําอุปกรณโอนถายขอมูลอัจฉริยะ (Express Data Transfer Tool) มาใชในการ อํานวยความสะดวกเมื่อลูกคาเปลี่ยนเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งสามารถโอนถายขอมูลไดโดยไมจํากัด Platform และ สามารถลดเวลาการโอนถายขอมูลใหลูกคาอยางมากจากวิธีการแบบเดิม 30 นาที มาเปนเฉลี่ยเพียง 3.33 นาที อีกทั้ง ยังไดลงทุนขยาย Hi-Speed Backbone ที่เอไอเอส ช็อปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเร็วของระบบในการใหบริการ ลูกคาเพิ่มขึ้นทั่วประเทศอีกดวย • ยกระดับความรูความสามารถของพนักงาน: พัฒนาศักยภาพของพนักงานอยางตอเนื่องโดยเฉพาะความรู ความสามารถทางดานเทคโนโลยีและสมารทโฟน โดยเอไอเอสไดวางหลักสูตรพัฒนาพนักงานทั้งที่เอไอเอส ช็อปและ เอไอเอสคอลเซ็นเตอรใหกาวขึ้นมาเปน “Device Expert” ที่พรอมใหคําแนะนําปรึกษาและชวยเหลือลูกคาในทุกดาน อุปกรณและการใชงานเทคโนโลยี โดยไดขยายจํานวนพนักงาน “Device Expert” ที่เอไอเอส ช็อปเพิ่มขึ้น จากจํานวน 305 คนในป 2553 เปน 694 คนในป 2554 จากพนักงานสาขาทั่วประเทศและสําหรับพนักงานเอไอเอส คอลล เซ็นเตอรจาก 228 คนในป 2553 เปน 571 คนในป 2554 ทั้งยังไดเพิ่มพูนทักษะในการแนะนําแพ็กเกจที่คุมคาใหกับ ลูกคากลุมตางๆ อยางตอเนื่อง โดย ณ สิ้นไตรมาส 3 ของป 2554 เอไอเอส ช็อปสามารถสรางรายไดจากการขาย โทรศัพทเคลื่อนที่และรายไดจากการขายแพ็กเกจเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาถึงรอยละ 217 จากปที่แลว นอกจากนี้ยังไดตอยอดรานเทเลวิซเพื่อสรางความแตกตางดวยการพัฒนาใหเปนศูนยการขายและการบริการที่ ครบวงจร (One-Stop Shop) สําหรับลูกคา โดยพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานเทเลวิซดวยการฝกอบรมอยางตอเนื่อง เกี่ยวกับการใชงานสมารทโฟนแอปพลิเคชั่นและแพ็กเกจตางๆ ตลอดจนออกแบบการจัดวางสินคาใหมใหรองรับสินคา มัลติมีเดียและสมารทโฟนเพิ่มขึ้น พรอมลงทุนดานเทคโนโลยีติดตั้งระบบตางๆ เชน Order Management, Quality Management, และ High Speed Backbone เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการทําธุรกิจและงานบริการ โดยในป 2554 นี้ เทเลวิซไดสรางรายไดจากการขายแพ็กเกจทั่วประเทศสูงขึ้นจากปที่แลวถึงรอยละ 62 การดูแลลูกคาในชวงอุทกภัย จากเหตุการณอุทกภัยในชวงปลายป 2554 นอกจากการชวยเหลือดานการบริจาคเงินอาหารสิ่งของจําเปนและงาน อาสาตางๆ แลวเอไอเอสยังดูแลดานการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อใหลูกคาสามารถติดตอกันไดอยางตอเนื่องแมในยาม ประสบภัย รวมถึงเติมวันใชงานและเติมเงินฟรีใหแกลูกคาที่อยูในพื้นที่ประสบภัยในจังหวัดนครสวรรค ลพบุรี และอยุธยา จํานวน 1 ลานราย รวมมูลคา 30 ลานบาท และเลื่อนกําหนดการชําระเงินและระงับการตัดสัญญาณลูกคาในระบบจด ทะเบียนไปจนถึงสิ้นเดือนพฤศจิกายน ทั้งยังไดเขาไปติดตั้งจุดบริการโทรฟรีบริการเติมเงินเคลื่อนที่และนํารถสถานีฐาน เคลื่อนที่เขาไปรองรับการใชงานของผูอพยพและอาสาสมัครในศูนยพักพิงตางๆ พรอมทั้งติดตั้งเครือขายอินเทอรเน็ตไรสาย มอบซิมการดและบัตรเติมเงินวัน-ทู-คอล! ใหแกศูนยประสานงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปใชในการประสานงานชวยเหลือผู ประสบอุทกภัย และสําหรับลูกคาองคกรเอไอเอสยังไดมอบความชวยเหลือเพิ่มเติมดวยการสงเอสเอ็มเอสใหโดยไมคิด คาใชจาย เพื่อใชเปนชองทางในการแจงขาวสารจากบริษัท ถึงพนักงานในชวงอุทกภัยอีกดวย นอกจากนี้ เอไอเอส คอล เซ็นเตอรยังไดรวมกับศูนยปฏิบัติการชวยเหลือผูประสบอุทกภัย (ศปภ.) นําพนักงาน อาสาสมัครกวา 200 คน ปฎิบัติหนาที่ในการเปนศูนยรับเรื่องขอความชวยเหลือจากผูประสบอุทกภัยผานหมายเลข 1111 กด 5 ที่ ศปภ. ดอนเมื อ งและวิ ภ าวดี พร อ มที ม งานที่ เ ข า ไปช ว ยในการจั ด การกระบวนการรั บ เรื่ อ งต า งๆ ตลอดจน

สวนที่ 1 หนา 42


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ประสานงานกับหนวยงานรัฐบาลและหนวยงานอาสาอื่นๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใหการชวยเหลือเปนไปอยางรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดวย ความพิเศษเกิดขึ้นไดทุกวันกับเอไอเอส นอกจากความเปนเลิศในดานเครือขายงานบริการและสินคาบริการที่ตรงใจแลวเอไอเอสยังไดคัดสรรสิทธิพิเศษที่ หลากหลายมามอบใหแกลูกคาอยางตอเนื่องภายใตแนวคิด "ความพิเศษเกิดขึ้นไดทุกวันสําหรับลูกคาเอไอเอส” โดยขยาย ความรวมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจเพิ่มขึ้นจาก 5,000 รานคาในป 2553 เปน 6,000 รานคาในป 2554 ทั่วประเทศขณะที่ ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2554 มีการใชสิทธิพิเศษเพิ่มขึ้นจากปที่แลวถึงรอยละ 52 • สิทธิพิเศษสําหรับลูกคาเอไอเอส เอไอเอสยังคงตอกย้ําการมอบสิทธิพิเศษที่มากกวาอยางตอเนื่องภายใต 4 ไลฟ สไตลหลักที่ลูกคาชื่นชอบ คือ Shopping, Dining, Entertainment และ Transportation โดยในปนี้ เอไอเอสไดขยายฐาน สิทธิพิเศษเพื่อใหเขาถึงกลุมลูกคาที่อยูตางจังหวัดมากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งปจจุบันได ครอบคลุมทั้ง 19 จังหวัดในภูมิภาค พรอมสิทธิพิเศษรวมกับรานคาชื่อดังของจังหวัดใน 4 จังหวัด ไดแก ขอนแกน อุดรธานี นครราชสีมา และอุบลราชธานี นอกจากนี้เอไอเอสยังไดสรางความแตกตางดวยการสรางสรรคความพิเศษใน รูปแบบของการผสมผสานคุณคาของผลิตภัณฑรวมกับพันธมิตรในรูปแบบของผลิตภัณฑที่มีลักษณะเฉพาะโดยมอบ พรอมสวนลดพิเศษเฉพาะลูกคาเอไอเอสเทานั้น เชน ขนมไหวพระจันทรรูปนองอุนใจโดยเอสแอนดพี กลองพิซซารูป นองอุนใจโดยพิซซาฮัท และกลองโดนัทรูปนองอุนใจโดยมิสเตอรโดนัท เปนตน • สิทธิพิเศษเฉพาะลูกคาเซเรเนด ในป 2554 นี้เอไอเอสเซเรเนดไดตอกย้ําความพิเศษแบบ Always Exclusive ดวย การนําเสนอประสบการณพิเศษแหงความทรงจําสําหรับลูกคาที่ชื่นชอบการทองเที่ยวดวย Serenade Exclusive Trip ภายใตคอนเซปท Historical Venue นําลูกคาสู 3 ประเทศกับ 3 ทริปที่เต็มไปดวยความประทับใจ "พมาปาฏิหาริยแหง ศรัทธา” "หลวงพระบางวิถีชีวิตแหงมรดกโลก” และ"อินเดียมนตราแหงรัก" ซึ่งมีลูกคาสนใจเขารวมจํานวนมากและบอก ตอถึงความประทับใจอยางกวางขวาง จากการสงมอบความพิเศษลงในทุกนาทีของทริปตามแบบฉบับของเซเรเนด นอกจากนี้เอไอเอสเซเรเนดยังไดขยายความพิเศษดานที่จอดรถซึ่งเปนที่ชื่นชอบของลูกคาเซเรเนด โดยขยายไปยัง The Circle ราชพฤกษ สยามพารากอน สยามเซ็นเตอร และพาราไดซพารค นอกจากนี้ สําหรับลูกคาที่ชื่นชอบการชอป ปงยังไดรับคูปองเงินสดเพื่อชอปปงที่ Gourmet Market อีกดวย • สิทธิพิเศษดานอุปกรณ ดวยการตอบรับเปนอยางดีจากลูกคาในการเลือกซื้อโทรศัพทเคลื่อนที่จากเอไอเอสเพื่อ อํานวยความสะดวกใหกับลูกคายิ่งขึ้น ในปนี้เอไอเอสไดขยายชองทางในการนําเสนอโทรศัพทเคลื่อนที่รุนตางๆ ใหกับ ลูกคาเพิ่มขึ้นผานชองทางเอไอเอส คอล เซ็นเตอร และ AIS Online Shopping พรอมมอบสิทธิพิเศษใหแกลูกคาอยาง ตอเนื่องเชนสําหรับลูกคาที่ตองการเปลี่ยนเปนเครื่องที่รองรับระบบ 3G จะไดรับสวนลดเงินคืนคาโทรสูงสุดถึง 2,100 บาท และสวนลดคาเครื่องสูงสุด 2,500 บาท พรอมกันนี้เอไอเอสยังไดจับมือรวมกับธนาคารชั้นนํา 7 แหงในการมอบ สิทธิพิเศษผอน 0% นานสูงสุด 10 เดือน ซึ่งเปนแคมเปญที่ลูกคาชื่นชอบอีกดวย นอกจากนี้ในปนี้ยังไดขยายการทํา แคมเปญในลักษณะเจาะลูกคากลุมยอย (Micro Segment) มากยิ่งขึ้นดวย เชนแคมเปญ "Back to School: New Term with New Trend" กับกลุมเยาวชนหรือแคมเปญ "May Day Special" กับกลุมสาวโรงงานและพนักงานออฟฟศ เปนตน และในเดือนสิงหาคมที่ผานมา เอไอเอสยังไดจัดโครงการ “AIS August Special -The Month of Giving” จับฉลากมอบ รางวัลพิเศษแอลซีดี ทีวี ขนาด 46 นิ้ว กวา 48 รางวัลเพื่อเปนการตอบแทนลูกคาทั่วประเทศที่มอบความไววางใจ เปลี่ยนโทรศัพทเคลื่อนที่เครื่องใหมกับเอไอเอสดวย • เอไอเอสอุนใจไดแตม ดวยการตอบรับของโครงการที่ดีตลอดสองปที่ผานมา เอไอเอสไดเดินหนาตอยอดโครงการนี้ เปนปที่ 3 ดวยความพิเศษที่มากขึ้นในโอกาสที่เอไอเอสครบรอบ 21 ปภายใตชื่อโครงการ "ลุนหมื่นทุกวันลุนลานทุก เดือน" แจกโชคกวา 21 ลานบาท กับจี้อุนใจพรอมสรอยคอทองคําตุกตาอุนใจทองคําและรางวัลอื่นๆ อีกมากมาย เพียง สวนที่ 1 หนา 43


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ลูกคาใชงานตามปกติก็จะไดรับ 1 สิทธิทันทีจาการใชงานทุกๆ 300 บาทตอเดือน โดยปจจุบันมีลูกคาที่สมัครเขารวม โครงการแลวถึง 14.4 ลานคน นับเปนอัตราการเติบโตจากจํานวนผูสมัครในปที่แลวถึง รอยละ 132 และมีผูโชคดีที่ไดรับ รางวัลจากเอไอเอสตลอดสามปทั้งสิ้นกวา 53,000 คน 4.2

การตลาดและการแขงขันในป 2554 และแนวโนมป 2555

1. ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขันป 2554 บริการขอมูลเปนปจจัยหลักขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม สภาพตลาดโทรคมนาคมไทยเปลี่ยนแปลงไปในป 2554 ดวยบรรยากาศการแขงขันในตลาดบริการขอมูลที่คึกคัก ขึ้น ขณะที่การแขงขันในตลาดบริการเสียงไมคอยมีการเปลี่ยนแปลง ในป 2554 รายไดโดยรวมของตลาดโทรศัพทเคลื่อน ยังคงเติบโตไดดีกวารอยละ 10 โดยมีแรงสนับสนุนจากการฟนตัวของเศรษฐกิจสงผลใหรายไดจากการใหบริการเสียงเติบโต ไดดี ประกอบกับความนิยมในการใชอินเทอรเน็ตผานมือถือที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วสงผลใหตลาดบริการขอมูลเติบโตสูงกวา รอยละ 30 อยางไรก็ตาม แนวโนมตลาดบริการเสียงในประเทศไทยนั้นนาจะเขาสูสภาวะอิ่มตัวเห็นไดจากจํานวนเลขหมาย ตอประชากรสูงถึงรอยละ 109 การเติบโตจากตลาดตางจังหวัดโดยเฉพาะพื้นที่นอกเมืองยังคงมีเพิ่มเติมบางแตก็นับเปน สัดสวนที่นอย ทําใหผูใหบริการผันกลยุทธการเติบโตมามุงเนนที่บริการดานขอมูลมากขึ้น โดยเห็นไดจากรายไดบริการ ขอมูลที่มีสัดสวนเกือบรอยละ 20 ในสิ้นป 2554 จากเดิมที่มีอยูต่ํากวาเพียงรอยละ 17 ในป 2553 และรอยละ 14 ในป 2552 และเชื่อวาอัตราการเติบโตระดับนี้จะยังเห็นไดตอเนื่องในป 2555 และคาดวาจะมีการขยายตัวสูตลาดตางจังหวัดมากขึ้น การนําเสนอบริการขอมูลแกลูกคามีความหลากหลายมากขึ้นตามกระแสสมารทโฟนและเครือขายสังคม ในปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทสําคัญในชีวิตคนไทยทั้งในดานการทํางานและชีวิตสวนตัว สงผลใหชีวิต เชื่อมโยงกับบริการออนไลนอยางใกลชิต ดวยการใชงานสมารทโฟนและแทปเล็ตที่ขยายตัวอยางรวดเร็วชวยใหผูใชบริโภค เขาถึงขอมูลขาวสาร ความบันเทิงไดสะดวกยิ่งขึ้น โดยบริษัทประมาณการจํานวนสมารทโฟนในเครือขายอยูที่รอยละ 11 ของฐานลูกคา ประกอบกับกระแสความนิยมในเครือขายสังคม (Social networks) โดยในป 2554 ผูใหบริการตางดําเนินกล ยุทธเพื่อสงเสริมการใชงานดาตาทั้งในกลุมคนเมืองที่นําสมัยและคุนเคยกับการใชงานออนไลน อีกทั้งไดขยายฐานไปยังกลุม ลูกคาที่มีการใชงานนอยใหเริ่มคุนเคยกับบริการขอมูล เชน รวมกับผูผลิตอุปกรณนําเสนอสมารทโฟนชั้นนําอยาง iPhone 4s หรือ Samsung Galaxy Note ผสานเขากับแพ็กเกจคาบริการ ออกแบบแพ็กเกจที่เหมาะกับการใชงานของลูกคามาก ที่สุดโดยแบงกลุมตามรุนสมารทโฟนอยาง iPhone, iPad, Blackberry, แอรการด เปนตน นําเสนอแพ็กเกจเสริมใหลูกคาได ใชงานเครือขายสังคมที่ลูกคาชื่นชอบ เชน Facebook, Twitter, MSN, Hi5 เปนตน อีกทั้งสามารถเลือกแพ็กเกจในรูปแบบ จายรายวันจนถึงจายรายเดือนใหสอดคลองกับการใชงาน นอกจากนี้แนวทางการพัฒนาแอพพลิเคชั่นมุงเนนเพื่อตอบสนอง ความตองการของคนไทยโดยเฉพาะ (Local applications) และลงลึกถึงความตองการที่แตกตางกันของผูใชงานแตละราย (Customized applications) เชน อานแมกกาซีนไทยออนไลนผานทาง AIS Bookstore ตลอดจนการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ใหมที่ชวยใหอํานวยความสะดวกในการใชงานดานขอมูลของลูกคาที่ไมมีสมารทโฟน เชน AIS Opera Mini, Nokia Cool Pack เปนตน และยังไดยกระดับงานบริการโดยเพิ่มขีดความสามารถของพนักงานใหเหมาะสมกับเทคโนโลยีใหมๆ อีกดวย ผูใหบริการตางจํากัดการลงทุนโครงขายขณะที่รอใบอนุญาต 3G ที่เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้น ในชวงกลางป 2554 ประเทศไทยไดยกระดับบริการขอมูลอีกขั้นสูเทคโนโลยี 3G รวมถึงใหบริการอินเทอรเน็ตไร สายความเร็วสูงผานระบบ WiFi ในบริเวณที่มีการใชงานหนาแนน สงผลใหบรรยากาศการแขงขันในตลาดบริการขอมูลเริ่ม คึกคักขึ้นแมจะไมมีการแขงขันทางดานราคาก็ตาม โดยตางมุงเนนการทํากิจกรรมทางการตลาด ขยายพื้นที่ใหบริการ โครงขายใหครอบคลุมในกรุงเทพฯ และพื้นที่เศรษฐกิจในบางจังหวัด ทั้งนี้แมจะเห็นเม็ดเงินลงทุนเพิ่มจากปกอน แตการ ลงทุนดังกลาวยังถือไดวาอยูในระดับจํากัด เนื่องจากตองการรักษาสภาพคลองและเงินลงทุนไวสําหรับใบอนุญาตใหมบน สวนที่ 1 หนา 44


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

คลื่น 2.1 กิกะเฮิรตซ ซึ่งมีความชัดเจนและเปนรูปธรรมมากขึน้ โดยในปลายป 2554 ที่ผานมาคณะกรรมการกิจการกระจาย เสียงและโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ไดพิจารณาอนุมัติในรางหลักการของแผนแมบทหลัก 3 แผน ไดแก แผนแมบท บริหารคลื่นความถี่ แผนแมบทกิจการโทรคมนาคมและแผนแมบทกิจการกระจายเสียง โดยจะนําเขาสูกระบวนการประชา พิจารณเปนลําดับถัดไปในตนป 2555 นอกจากนี้ กสทช. ยังไดจัดตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อศึกษาแนวทางและเงื่อนไขการ ประมูลใบอนุญาต 3G ใหทํางานคูขนานไปดวย ซึ่งหากการดําเนินเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนดไวคาดวาจะนําไปสูการ จัดสรรประมูลภายในชวงครึ่งหลังของป 2555 ได 2. แนวโนมอุตสาหกรรมและการแขงขันในป 2555 ป 2555 กาวสูจดุ เปลี่ยนผานสูยุคใหมของอุตสาหกรรมมือถือและการแขงขันที่เขมขนขึ้นในตลาดบริการขอมูล ในป 2554 ทีผ่ านมาแมผูใหบริการจะเห็นศักยภาพในการเติบโตของตลาดบริการขอมูลแตดวยขอจํากัดในหลาย ประการของคลื่นความถี่ยาน 850 เมกะเฮิรตซ และ 900 เมกะเฮิรตซ ที่ใชอยูในปจจุบัน สงผลใหโครงขายไมสามารถ ตอบสนองการเติบโตของตลาดไดเต็มที่ เนื่องจากปริมาณผูใชงานที่หนาแนนทําใหคลื่นความถี่เดิมไมเพียงพอตอการเติบโต ในระยะยาวแมจะขยายการลงทุนโครงขายก็ตาม นอกจากนี้สมารทโฟนที่รองรับเทคโนโลยี 3G บนคลื่นความถี่ยานดังกลาว ทั้งสองยานมีไมคอยหลากหลายนักและยังมีราคาสูง เนื่องจากคลื่นความถี่ยานดังกลาวไมใชคลื่นมาตรฐานสากลของ เทคโนโลยี 3G นอกจากนีอ้ ายุสัญญารวมการงานที่ใกลจะหมดลงยังสงผลใหผูใหบริการมุงความสนใจไปที่การรอประมูล คลื่นความถี่ใหมยาน 2100 เมกะเฮิรตซ อีกดวย ป 2555 จะถือเปนจุดเปลี่ยนผานไปสูยุคใหมของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยดวยการเปลี่ยนแปลงโครงสราง จากสัญญารวมการงานภายใตองคกรรัฐวิสาหกิจอยางทีโอทีและกสท. ไปสูรูปแบบการใหใบอนุญาตจากองคกรกํากับดูแล ซึ่งมีความเปนอิสระปลอดจากผลประโยชนทับซอนในดานการแขงขันทางธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะปลดล็อคเรื่องระยะเวลาที่ใกล หมดลงของสัญญารวมการงานแลว ยังหมายถึงกฎระเบียบใหมที่มีความเปนธรรมและสงเสริมการแขงขันแบบเสรี อันจะเปน แรงจูงใจใหผูใหบริการเรงลงทุนขยายโครงขายและพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ อยางเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ การประมูลคลื่น ความถี่ใหมจะเปนการเพิ่มความจุโครงขายเพื่อสงเสริมการเติบโตในระยะยาว ประกอบกับเทคโนโลยีในระดับมาตรฐานโลก ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นดวยราคาที่เหมาะสม ทําใหผูใหบริการมีแรงจูงใจทั้งในเชิงเศรษฐกิจและการเงิน ที่จะขยายโครงสราง พื้นฐานดานโทรคมนาคมของประเทศใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งผลักดันการเขาถึงขอมูลขาวสารความบันเทิงผาน เครือขายความเร็วสูง รวมไปถึงสามารถดําเนินกลยุทธที่แตกตางมากขึ้นดวยบริการที่หลากหลายและขยายตลาดบริการ ขอมูลใหเติบโตมากยิ่งขึ้น สิ่งที่กลาวมาขางตนนี้ตองอาศัยการเปดประมูลคลื่นความถี่ยานใหมเพื่อเปนตัวเปลี่ยนผานทั้ง ดานเทคโนโลยีและโครงสรางการแขงขัน ซึ่งผูใหบริการตางใหความสําคัญและจับตามองความคืบหนาในปนี้จาก กสทช. อยางใกลชิด ในปจจุบันที่พฤติกรรมผูบริโภคที่เปลี่ยนไปสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีโดยตองการเขาสูโลก ออนไลนเพื่อติดตอสื่อสารในทุกที่ทุกเวลา นอกเหนือจากการพัฒนาโครงขายคุณภาพใหตอบรับกับปริมาณการใชงานที่ เพิ่มขึ้น ผูใหบริการยังคงเดินหนาผลักดันการเติบโตของตลาดบริการขอมูลอยางตอเนื่องจากปที่แลวโดยรวมกับพันธมิตร ทางธุรกิจมอบอุปกรณสื่อสารพรอมกับแพ็กเกจบริการขอมูลใหกับลูกคา ซึ่งทั้งนี้ในป 2555 ราคาอุปกรณสื่อสารยังคง แนวโนมลดลงและมีการพัฒนาฟงกชันใหมๆ ออกสูตลาดอยางตอเนื่อง ซึ่งชวยใหกลุมมวลชนเขาถึงการใชงานสมารทโฟน และแท็บเล็ตไดงายขึ้น รวมถึงมีการพัฒนาบริการใหมๆ เพื่อใหลูกคาที่ใชงานโทรศัพทที่ไมใชสมารทโฟนเขาถึงการใชงาน ออนไลนโดยเฉพาะในดานเครือขายสังคม (Social network) ทั้งนี้ในดานการออกโปรโมชั่นแพ็กเกจอาจเห็นความแตกตาง ไปในป 2555 โดยคาดวาผูใหบริการจะมีรูปแบบโปรโมชั่นที่หลากหลายตอบสนองลูกคาหลากหลายกลุมมากขึ้นและอาจมี การปรับเปลี่ยนแพ็กเกจใหเหมาะสมกับพฤติกรรมมากขึ้น โดยนอกจากกลุมลูกคาที่มีการใชงานออนไลนสูง ผูใหบริการตาง มุงหนาพัฒนาแพ็กเกจใหมๆ เพื่อเขาถึงความตองการใชงานออนไลนในหมูลูกคาที่ไมมีสมารทโฟนและรองรับการกลุม สวนที่ 1 หนา 45


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ลูกคาที่ขยายสูตลาดตางจังหวัด ขณะที่บริการโมบายอินเทอรเน็ตซึ่งเปนสื่อกลางในการออนไลนเติบโตอยางรวดเร็วนั้น พบวาผูใหบริการตางใหความสนใจในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นและคอนเทนตอยางจริงจังเพื่อเพิ่มมูลคาใหแกบริการขอมูล โดยสงเสริมนักพัฒนารายยอยใหคิดคนแอพพลิเคชั่นใหมๆ ดวยการจัดแขงขันและมอบทุน ตลอดจนนําแนวคิดของ นักพัฒนาเหลานี้สงมอบถึงมือลูกคา ทั้งนี้ในป 2554 คอนเทนตไทยมีอยูคอนขางจํากัด โดยในป 2555 จะมีทิศทางการ พัฒนาตอยอดจากในปที่ผานมา โดยเนนตอบสนองไลฟสไตลของคนไทยโดยเฉพาะ ดวยคอนเทนตที่เปนภาษาไทยและมี เนื้อหาเกี่ยวกับความสนใจของคนไทยชวยใหชีวิตประจําวันของลูกคาคลองตัวยิ่งขึ้น นอกจากนี้การเปดใหบริการเทคโนโลยี 3G อยางเต็มรูปแบบที่คาดวาจะเกิดขึ้นในป 2555 จะยกระดับของความเร็วในการเขาถึงขอมูลซึ่งยิ่งความคึกคักใหกับตลาด แอพพลิเคชั่นยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังเริ่มเห็นผูใหบริการตางๆ ใหความสําคัญกับการบริการหลังการ 4.3

การจําหนายและชองทางการจัดจําหนาย

เอไอเอสเชื่อมั่นวาการดําเนินธุรกิจตามแนวทาง “Ecosystem” หรือการสรางระบบนิเวศในอุตสาหกรรม โทรคมนาคมจะนําไปสูการเติบโตอยางยั่งยืน ชองทางการจัดจําหนายเปนจุดสงผานสินคาและบริการไปสูมือผูบริโภคก็ นับเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญที่สงเสริมกลยุทธของบริษัท และชวยใหลูกคาเขาถึงสินคาและบริการไดทั่วถึง เอไอเอสไดรักษา ความสัมพันธอันดีกับตัวแทนจําหนาย กระจายชองทางการจัดจําหนายทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ รวมถึงมีชองทางการจัด จําหนายที่แตกตางกันออกไปเพื่อตอบสนองรูปแบบการดําเนินชีวิตของลูกคาทุกกลุม โดยรอยละ 97 ของการจําหนาย ดําเนินการผานตัวแทนจําหนายและชองทางอิเล็กทรอนิกส สวนที่เหลือจะดําเนินการผานรูปแบบการขายตรง รายละเอียด ดังตอไปนี้ 1) การจําหนายผานตัวแทนจําหนาย เอไอเอสใหความสําคัญกับคุณภาพและประสิทธิภาพในการจัดจําหนายสินคาและบริการผานทางตัวแทนจําหนาย บริษัท สอดคลองกับแนวทาง “Quality DNAs ” (Device, Network, Application, Service) คุณภาพในทุกมิติของการ ใหบริการ โดยการคัดสรรตัวแทนจําหนายที่มีศักยภาพเพียงพอในการดําเนินธุรกิจและสามารถดูแลลูกคาไดอยางตอเนื่อง ดวยหลักเกณฑการพิจารณาทั้งจากทําเลที่ตั้ง ผลงานที่ผานมา รวมทั้งสถานะทางการเงิน โดยเฉพาะอยางยิ่งตัวแทน จําหนายในพื้นที่ตางจังหวัดจะตองเปนผูที่มีความคุนเคยในพื้นที่และเปนนักธุรกิจรายใหญของพื้นที่เพื่อสรางความ นาเชื่อถือและสามารถสรางบริการที่ดีใหกับลูกคาได การจําหนายผานตัวแทนจําหนายแบงไดเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1.1 ตัวแทนจําหนาย “เทเลวิซ” เอไอเอสมีตัวแทนจํา หนายเทเลวิซ จํา นวนทั้งสิ้น มากกวา 100 ราย และมีรานเทเลวิซ มาตรฐานกวา 450 สาขา ทั่วประเทศ โดยตัวแทนจําหนายเทเลวิซมีสิทธิในการจําหนายสินคาและบริการ ภายใตเครื่องหมายการคาของเอไอเอส รวมถึงมีสิทธิในการใหบริการรับจดทะเบียนเลขหมาย ใหบริการเกี่ยวกับงานทะเบียนตางๆ และเปนผูใหบริการรับชําระ คาบริการหรือคาใชจายอื่นใด โดยตัวแทนจําหนายเทเลวิซจะไดรับคาตอบแทนจากการลงทะเบียนใหลูกคาใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ของเอไอเอส รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาดในอัตราที่เอไอเอสกําหนด นอกเหนือจากรายได จากการขายโดยทั่วไป ทั้งนี้เอไอเอสจะเปนผูกําหนดเงื่อนไข ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของการใหบริการ รวมถึง แนวทางในการดําเนินการของตัวแทนจําหนาย เชน การเลือกและพัฒนาสถานที่ การโฆษณาและสงเสริมการขาย และการ ใหบริการตางๆ เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่เอไอเอสกําหนด 1.2 ตัวแทนจําหนายทั่วไป (Dealer) บริษัทมีตัวแทนจําหนายทั่วไปซึ่งมีหนารานเปนของตนเองจํานวนกวา 500 ราย ดําเนินการจําหนายสินคาของ เอไอเอส ไดแก เครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ อุปกรณดาตาการด ชุด Starter Kit และบัตรเติมเงิน รวมทั้งอุปกรณเสริมตางๆ

สวนที่ 1 หนา 46


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

โดยนอกเหนือจากรายไดจากการจําหนายสินคาและบริการแลว ตัวแทนจําหนายทั่วไปจะไดรับคาตอบแทนจากการ ลงทะเบียนใหลูกคาใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของเอไอเอส รวมถึงไดรับการสนับสนุนกิจกรรมทางการตลาด 1.3 ตัวแทนจําหนายขนาดใหญ (Key Account and Modern Trade) เอไอเอสไดจัดจําหนายสินคาและบริการตางๆ เชน รับชําระเงิน ผานตัวแทนจําหนายขนาดใหญซึ่งมีสาขาหรือรานคา ของตนเองอยูทั่วประเทศ (Chain Store) ไดแก Jay Mart, Blisstel, IEC, SAMART i-Mobile, TG และในป 2553 ไดขยาย ไปสู Bangkok Telecom นอกจากนี้ยังจําหนายผานรานคาปลีกสมัยใหม (Modern Trade) เชน เทสโก โลตัส เพาเวอรบาย 7-Eleven รวมถึงขยายชองทางจัดจําหนายเขาไปสูกลุม IT Channel , IT Distributor, Retail Chain IT เชน iStudio , iBeat, Banana IT, IT City เปนตน โดยกระจายอยูทั่วประเทศเปนจํานวนทั้งสิ้นมากกวา 50 ราย และเปนสาขามากกวา 10,500 แหง 1.4 ตัวแทนจําหนายสมารทชอป (Smart Shop) เอไอเอสไดจัดจําหนายสินคาและบริการผานตัวแทนจําหนายขนาดกลางที่เรียกวา สมารทชอป กวา 100 ราย โดยมี ทําเลที่ตั้งที่มีศักยภาพภายในพื้นที่ขายในโซนโทรศัพทมือถือและสินคาไอที ในเขตพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศ เพื่อตอบสนอง ความตองการใชงานของลูกคาและรองรับการใหบริการการจดทะเบียนระบบรายเดือน รวมทั้งชวยกระจายสินคาตอไปยัง ตัวแทนคาปลีกดวย 1.5 ตัวแทนจําหนายระบบ วัน-ทู-คอล! เนื่องจากกวารอยละ 90 ของลูกคาเอไอเอสเปนผูใชบริการในระบบ วัน-ทู-คอล! เอไอเอสจึงไดพัฒนาโครงสรางการจัด จําหนายบัตรเติมเงินและซิมการด วัน-ทู-คอล! โดยสรางความสัมพันธกับตัวแทนทั้งในระดับคาสงและคาปลีกอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเขาถึงลูกคาและเพิ่มพื้นที่การขายใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ตัวแทนจําหนายระบบ วัน-ทู-คอล! ไดแก 1) ผูแทนคาสงแอดวานซ (Advanced Distribution Partnership หรือ ADP) ซึ่งมีจํานวน 91 ราย โดย คัดเลือกจากตัวแทนแบบเทเลวิซ และตัวแทนจําหนายทั่วไปที่มีศักยภาพในการกระจายสินคาในพื้นที่ มี สถานะทางการเงินที่ดี เพื่อทําหนาที่ดูแลบริหารการจัดสงสินคาใหกับตัวแทนแอดวานซคาปลีกในเขตพื้นที่ ของตนเองไดอยางรวดเร็ว รวมทั้งสนับสนุนการทํากิจกรรมทางการตลาดในพื้นที่ โดยจะไดรับคาตอบแทน พิเศษในการบริหารจากเอไอเอส 2) ตัวแทนแอดวานซคาปลีก (Advanced Retail Shop หรือ ARS) เปนดานหนาที่สําคัญเพราะเปนผูที่ จําหนายสินคาใหกับลูกคาโดยตรง ปจจุบันมีมากกวา 25,000 ราย และมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ตามการขยายตัวของชุมชน โดยนอกจากผลกําไรจากการขายซิมการดและบัตรเติมเงินตามปกติแลว ยัง ไดรับผลตอบแทนโดยตรงจากทางเอไอเอสเมื่อทํายอดขายไดตามเปาหมายอีกดวย นอกจากนี้เรายังไดขยายชองทางจําหนายบัตรเติมเงินผานทางสายธุรกิจอื่นๆที่ไมไดเกี่ยวของกับการสื่อสารโดยตรง เชน รานขายหนังสือ รานสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ํามัน รานจําหนายซีดี-เทป หางสรรพสินคา ซุปเปอรสโตร ที่ทําการ ไปรษณีย และธนาคาร เปนตน 1.6 ตัวแทนจําหนายระบบจีเอสเอ็ม 1800 ดีพีซีซึ่งเปนบริษัทยอยของเอไอเอส มีการจําหนายผลิตภัณฑและบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ จีเอสเอ็ม 1800 ผาน ตัวแทนจําหนาย ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายรูปแบบเดียวกับบริการจดทะเบียนรายเดือนอยาง จีเอสเอ็ม แอดวานซ ที่ไดกลาว ขางตน

สวนที่ 1 หนา 47


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

2) การจําหนายผานชองทางอิเล็กทรอนิกส เอไอเอสสงเสริมใหตัวแทนจําหนายระบบ วัน-ทู-คอล! ใหบริการเติมเงินผานตัวแทนเติมเงินออนไลน (Money Top Up) ชวยใหลูกคาเอไอเอสสะดวกยิ่งขึ้นดวยอัตราเติมเงินขั้นต่ําที่ 10 บาท นอยกวาบัตรเติมเงินที่ 50 บาท นอกจากนี้ เอไอเอสยังพัฒนาวิธีการเติมเงินผานชองทางอิเล็กทรอนิกสตางๆ อยางตอเนื่อง เชน ผานเครื่องเติมเงินอัตโนมัติ, เอทีเอ็ม, Phone Banking, อินเทอรเน็ต, เอ็มเปย โดยปจจุบันเอไอเอสมีการจําหนายผานชองทางอิเล็กทรอนิกสกวา 400,000 จุด ปจจุบันการเติมเงินผานชองทางอิเล็กทรอนิกสไดรับความนิยมเปนอยางมาก โดยมีสัดสวนกวารอยละ 80 ของมูลคาการ เติมเงินทั้งหมดในป 2554 รวมถึงยังชวยลดตนทุนในการผลิตบัตรเติมเงินอีกดวย 3) การขายตรง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพช อ งทางจั ด จํา หนา ยให ส ามารถนํ า เสนอสิ น ค า และบริ ก ารไดเ ข า ถึ ง กลุ ม ลูก ค า โดยตรง เอไอเอสจึงเพิ่มชองทางจัดจําหนายแบบการขายตรงขึ้น ซึ่งดําเนินการโดยการคัดสรรจากตัวแทนจําหนายที่มีศักยภาพและ ความชํานาญในแตละพื้นที่ และโดยจัดตั้งทีมงาน AIS Direct Sales เพื่อรองรับการเติบโตและขยายตัวของตลาดในอนาคต 4.4

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ

ความสามารถในการรองรับจํานวนลูกคาของระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ขึ้นอยูกับความสามารถในการ ดําเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณของบริษัทและบริษัทยอย เพื่อขยายความสามารถในการรองรับจํานวนผูใชบริการและ ขยายพื้นที่การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ใหมากขึ้น จากการที่บริษัทไดรับอนุญาตใหสามารถดําเนินการใหบริการผานเครือขายรวม (Network Roaming) ได บริษัทและดี พีซี จึงไดรวมกันปรับแตง และพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทั้ง 2 บริษัทใหเสมือนเปนเครือขายรวมที่สามารถ รองรับการใชบริการไดทั้งในระบบ 900 เมกะเฮิรตซ และ 1800 เมกะเฮิรตซ (Dual-band Network) ไดอยางราบรื่น โดยใช ขอดีของทั้งสองระบบ และทั้งสองคลื่นความถี่ใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ ของการ ใหบริการตอผูใชบริการที่สูงยิ่งขึ้นไปอีก แผนผังแสดงความสามารถในการรองรับลูกคาของเครือขายของบริษัทและดีพีซี ลูกคา GSM Advance (ลานคน) ลูกคา GSM 1800 (ลานคน) ลูกคา One-2-Call! (ลานคน) รวมจํานวนลูกคา (ลานคน) ความสามารถของระบบในการรองรับ ลูกคา* (ลานคน) จํานวนสถานีฐานสะสม

ธันวาคม 2551 ธันวาคม 2552 ธันวาคม 2553 ธันวาคม 2554 2.534 2.836 2.977 3.194 0.078 0.079 0.076 0.098 24.698 25.858 28.148 30.168 27.310 28.773 31.201 33.460 28.126

29.931

30.840

37.789

14,452

15,388

15,832

17,082

หนวยลานราย ยกเวนจํานวนสถานีฐานสะสม * ความสามารถของระบบในการรองรับลูกคา ณ สิน้ ป 2554 คือคาความสามารถของเครือขายรวม 900 และ 1800 MHz โดยประมาณการตามอัตราการใชงานโดยเฉลี่ยของลูกคาในป 2554

บริษัททําขอตกลงกับผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในตางประเทศจํานวน 753 ราย ใน 271 ประเทศ เพื่อใหบริการ ขามแดนอัตโนมัติกับลูกคาทั้งสองฝายในอัตราคาบริการที่ตกลงกัน โดยลูกคาของบริษัทสามารถใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่ใน ตางประเทศไดดวยโทรศัพทเคลื่อนที่ดวยหมายเลขโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีอยู ในขณะที่ลูกคาชาวตางประเทศที่เขามาใน

สวนที่ 1 หนา 48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ประเทศไทยสามารถใชบริการบนโครงขายของบริษัทในประเทศไทยไดเชนกัน นอกจากนี้ บริษัท โดยการดําเนินการของ บริษัทในเครือ ไดจัดใหมีบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศเพื่อใหลูกคาสามารถโทรจากประเทศไทยไปยังประเทศอื่น ไดโดยบริษัทในเครือไดทําสัญญาใชบริการในการสงสัญญาณการสื่อสาร กับเจาของโครงขายระหวางประเทศเพื่อสงสัญญาณ สื่อสารจากประเทศไทยไปยังประเทศปลายทางตางๆ ในป พ.ศ. 2554 บริษัทเขาทําสัญญาใชโครงขายรวมกับทีโอที ซึ่งทําใหลูกคาของบริษัทสามารถใชบริการบน โครงขายเทคโนโลยี 3G ของทีโอทีได โดยปจจุบัน ทีโอทีตกลงใหลูกคาของบริษัทใชโครงขาย 3G ของทีโอทีไดในจํานวนไม เกิน 1 ลานราย เพื่อใหบริการเครือขายที่สูงดวยคุณภาพ บริษัทจึงตองเพิ่มความสามารถของระบบในการรองรับการขยายตัวของ ลูกคา โดยบริษัทติดตั้งสถานีฐานจํานวน 1,884 สถานีเพื่อใหบริการเทคโนโลยี 3G บนคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ รวมทั้ง ปรับปรุงความเร็วของโครงขายทั่วประเทศเพื่อใหลูกคาสามารถใชบริการไดขอมูลไดดีขึ้น นอกจากนี้บริษัทไดลงทุนในระบบ พื้นฐานของโครงขายเพื่อเพิ่มความจุในการใชงานบริการดานขอมูลใหสูงขึ้น บริษัทเลือกใชอุปกรณเครือขายโดยสั่งซื้อ โดยตรงจากผูผลิตอุปกรณโทรคมนาคมชั้นนําจากทั่วโลก เชน Nokia-Siemens, Ericsson, NEC, Huawei และ ZTE เปน ยี่หอหลักของอุปกรณเครือขาย และคัดเลือกเทคโนโลยีและอุปกรณเครือขายที่เหมาะสมมาติดตั้งเพื่อบรรลุถึงคุณภาพและ การใชประโยชนสูงสุดของเครือขาย ในสวนบริการดานเนื้อหาคอนเทนตผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทจัดหาบริการดังกลาวจากคูคา ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาเนื้อหาคอนเทนตเปนผูผลิตให รวมไปถึงบริษัทเปดใหผูพัฒนาเนื้อหาคอนเทนตสามารถนําเสนอ บริการผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทไดดวย โดยมีการกําหนดอัตราสวนแบงรายไดระหวางกัน ในสวนอุปกรณเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ หรืออุปกรณเชื่อมตอบริการผานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทมี บริษัทยอยที่ดําเนินธุรกิจจัดจําหนาย โดยจัดหาสินคาจากผูผลิตอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่ชั้นนําหลายราย เชน Nokia, Samsung, BlackBerry หรือ Apple เปนตน โดยรุนและจํานวนของอุปกรณที่จัดจําหนายจะพิจารณาใหสอดคลองตามความ ตองการในตลาดเพื่อควบคุมปริมาณสินคาคงคลัง บริษัทจะไดรับสวนตางจากการขายอุปกรณดังกลาว นอกจากนี้ บริษัท ยอยมีการทํากิจกรรมทางการตลาดรวมกันกับบริษัทในอุปกรณบางรุนดวย 4.5 งานที่ยังไมไดสงมอบ - ไมมี -

สวนที่ 1 หนา 49


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

5. 5.1

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทรัพยสินทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ สินทรัพยถาวรหลัก

ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร และสวนปรับปรุงอาคารเชา ของบริษัท และบริษัทยอยนั้น จะเปนของบริษัท เปนหลัก เนื่องจากบริษัทมีสํานักงานสาขากระจายอยูทั่วประเทศ สวนเครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องมืออุปกรณนั้นจะ ประกอบดวยอุปกรณเครื่องมือชาง อุปกรณและโปรแกรมคอมพิวเตอร ตลอดจนอุปกรณตางๆ ที่ใชสําหรับบริการเสริมของ โทรศัพทเคลื่อนที่ สินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบดวย ประมาณอายุการใช (ป) สินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร สวนปรับปรุงอาคารเชา1/ เครื่องตกแตง, ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ โปรแกรมคอมพิวเตอร ยานพาหนะ สินทรัพยระหวางกอสรางและติดตั้ง อุปกรณสื่อสารเพื่อใหเชา

5 และ 20 5 และ 10 2–5 2 - 20 10 5 อายุสัญญาเชา และ 3

รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ

139.17 499.56 834.25 1,497.76 19,540.65 16,457.04 254.42 955.36 12.88 40,191.09 (32,574.86)

หัก คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีสะสม

1/

หนวย: ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ สวนปรับปรุงอาคารเชาเปนคาใชจา ยในการปรับปรุงตกแตงสํานักงานบริการของบริษัท

7,616.23

สําหรับสินทรัพยถาวรหลักของบริษัทและบริษัทยอย ไดรวมสินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินที่บริษัทและบริษัท ยอยเปนผูเชาอยูในสวนของ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน เครื่องมือและอุปกรณ และยานพาหนะ เปนจํานวน 135.52 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทยอยยังมีการเชาพื้นที่อาคารสํานักงานเพื่อใชในการประกอบธุรกิจโดย ณ สิ้นเดือน ธันวาคม 2554 สัญญาเชาหลักของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.

บริษัทเชาพื้นที่สํานักงานอาคารอินทัช เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 15,585 ตารางเมตร จากบริษัท เอสซี แอสเสท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (เอสซี แอสเสท)โดยมีการทํา สัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2554 – 31 ธันวาคม 2556 และตอง จายคาเชาตอบแทนในอัตรา 6,848,485 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะมีระยะเวลา 3 ป ซึ่งสัญญาเชาจะตอ อายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญา เวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบัน บริษัทมีการตออายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป

สวนที่ 1 หนา 50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.

บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารเอไอเอส เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 14,780 ตารางเมตร จากเอสซี แอสเสท โดยมีการทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับ ปจจุบันมีระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2554 – 31 ธันวาคม 2556 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 6,364,650 บาทตอเดือน สัญญาเชาจะมีระยะเวลา 3 ป ซึ่งสัญญาเชาจะตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุ สัญญา เวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา ปจจุบันบริษัทและบริษัทยอยมีการตอ อายุสัญญาเชาอยางตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป

3.

บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารชินวัตร ทาวเวอร 3 เลขที่ 1010 ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 67 ตารางเมตร จากเอสซี แอสเสท โดยมีการทําสัญญาเชาทุก 3 ป สัญญาฉบับ ปจจุบันจะหมดอายุ 31 ธันวาคม 2556 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 13,147 บาทตอเดือน สัญญา เชาจะมีระยะเวลา 3 ป ซึ่งสัญญาเชาจะตออายุโดยอัตโนมัติเมื่อหมดอายุสัญญาเวนแตมีการแจงยกเลิก 30 วันลวงหนากอนหมดอายุสัญญา

4.

บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารอีเอสวีทาวเวอร เลขที่ 1 เลขที่ 1293/9 ถนนพหลโยธิน ซอย 9 พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 8,375 ตารางเมตร จากบริษัท อีเอสวี แอสเสท จํากัด สัญญา ฉบับปจจุบันจะหมดอายุ 28 กุมภาพันธ 2556 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 2,919,300 บาทตอ เดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 6 เดือนกอนหมดอายุสัญญา

5.

บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานพหลโยธิน เพลส เลขที่ 408 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 16,824 ตารางเมตร จากบริษัท พหล 8 จํากัด บริษัท สยามเคหะพัฒนา จํากัด บริษัท ล็อคไทย-พร็อพเพอรตื้ส จํากัด บริษัทณัฐวุฒิและกานต จํากัด บริษัท อาทิตย-จันทร จํากัด บริษัท พันธทิพย เน็ตเวิรค จํากัด บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) บริษัท อยุธยา อลิอันซ ซี.พี.ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) บริษัท พาธแล็ป จํากัด คุณซานดรา ไทบัญชากิจ คุณชิรารักษ จําลองศุภลักษณ ซึ่งสัญญาเชา ทําแยกในแตละชั้น สัญญาเชาฉบับปจจุบันจะหมดอายุ 31 ธันวาคม 2556 และตองจายคาเชาตอบแทนใน อัตรา 5,625,800 บาทตอเดือน การตอสัญญาเชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 30 และ 60 วันกอนหมดอายุสญ ั ญา ตามแตละสัญญาเชา

6.

บริษัทและบริษัทยอย เชาพื้นที่สํานักงานอาคารพหลโยธิน เซ็นเตอร เลขที่ 404 ถนนพหลโยธิน พญาไท กรุงเทพฯ เนื้อที่ประมาณ 4,069 ตารางเมตร จากบริษัท ทรีพัลส จํากัด โดยสัญญาเชาฉบับปจจุบันจะ หมดอายุ 31 ธันวาคม 2556 และตองจายคาเชาตอบแทนในอัตรา 876,136 บาทตอเดือน การตอสัญญา เชาจะตองมีการแจงความประสงคไมนอยกวา 30 และ 60 วันกอนหมดอายุสัญญา ตามแตละสัญญาเชา

7.

บริษัทเชาพื้นที่อาคารสํานักงานบริการสาขา ในจังหวัดเชียงใหม สุราษฏรธานี นครสวรรค นครราชสีมา นครปฐม พิษณุโลก หาดใหญ ชลบุรี อยุธยา ระยอง ภูเก็ต อุดรธานี ขอนแกน และกรุงเทพฯ เนื้อที่ ประมาณ 16,259 ตารางเมตร โดยแยกทําสัญญาแยกแตละจังหวัด และตองจายคาเชาตอบแทนรวมทั้งสิ้น ในอัตรา 11,418,304 บาทตอเดือน

สวนที่ 1 หนา 51


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

5.2

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญารวมการงาน

ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงานเปนสินทรัพยที่ลงทุนโดยบริษัทและบริษัทยอย และโอนกรรมสิทธิ์ใหแก หนวยงานรัฐผูเปนเจาของสัญญารวมการงานนั้น โดยบริษัทและบริษัทยอยจะไดสิทธิในการใชสินทรัพยนั้นในการดําเนิน กิจการตลอดอายุสัญญารวมการงานนั้น สัญญารวมการงานของบริษัทและบริษัทยอย ประกอบไปดวยสัญญารวมการงานที่ ทํากับหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสามารถดําเนินธุรกิจภายใตสิทธิของหนวยงานรัฐนั้นๆ ตนทุนโครงการภายใตสัญญารวมการงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประเภทสินทรัพย ตนทุนโครงการของบริษัท อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM อุปกรณเครือขายระบบอนาลอก NMT อุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ อื่นๆ ตนทุนโครงการของ เอดีซี เครื่องมือและอุปกรณ รวม ตนทุนโครงการของ ดีพีซี อุปกรณเครือขายระบบดิจิตอล GSM และ อุปกรณเครือขายสื่อสัญญาณ รวมตนทุนโครงการของบริษัทและบริษัท ยอย

ตนทุน (ลานบาท)

จํานวนป ตัดจําหนาย

จํานวนปที่ตัด จําหนายแลว

105,908.67 13,735.31 23,717.84 34,368.13

10 ป ไมเกินป 2558 สิ้นสุด กันยายน 2545 10 ป ไมเกินป 2558 10 ป ไมเกินป 2558

1 – 10 1 – 10 1 – 10 1 – 10

19,516.33 2,866.12 13,185.59

1,551.01 179,280.96

10 ป

1 – 10

9.63 35,577.67

13,692.93

10 ป ไมเกินป 2556

1-9

927.18

192,973.89

มูลคาทางบัญชี (ลานบาท)

36,504.85

สัญญารวมการงานหลักๆ ของบริษัทและบริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ (รายละเอียดของสัญญารวมการงานอยูในเอกสาร แนบ 3) (1) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) คูสัญญา

:

อายุของสัญญา

:

ลักษณะของสัญญา

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) 25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558 1. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทีโอที ในลักษณะของสัญญาแบบสราง-โอนกรรมสิทธิ์ดํ า เนิ น งาน โดยให มี สิ ท ธิ ดํ า เนิ น กิ จ การให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบ NMT และ GSM ในยานความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ ทั่วประเทศ โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ในรูปแบบสวนแบง รายไดตามอัตราที่ตกลง 2. บริษัท ไดรับอนุญาตจากทีโอที ใหเปนผูรวมบริหารผลประโยชนจากระบบสื่อ สัญญาณเชื่อมโยงและทรัพยสินในสวนที่เหลือจากการใชงานของบริษัทได โดย ตองจายผลประโยชนตอบแทนใหทโี อทีตามอัตราที่ตกลง สวนที่ 1 หนา 52


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

การยกเลิกสัญญา

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

3. บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทีโอที ในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตร จายเงินลวงหนา (Pre-paid Card) โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ตามอัตรารอยละ 20 ของรายได (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ทีโอทีมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันทีที่บริษัทลมละลายหรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่ง ขอใดของสัญญา และขอผิดสัญญาดังกลาว บริษัทมิไดดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึงขอ ผิ ด สั ญ ญาจาก ที โ อที เป น ลายลั ก ษณ อั ก ษร โดยบริ ษั ท ไม มี สิ ท ธิ เ รี ย กร อ ง คาเสียหายใดๆ และไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินและเงินคืนจากทีโอทีแตอยางใด

:

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 1) คูสัญญา

:

วันที่ทําบันทึก ขอตกลง

:

รายละเอียด

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (บริษัท) 11 ธันวาคม 2534 เปลี่ยนแปลงระยะเวลาการเชา ในกรณีที่ตองเชาสถานที่ของบุคคลอื่นในการติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ บริษัท ตองทําสัญญาเชาสถานที่ในนามทีโอทีเดิมใหทําสัญญาโดยมีระยะเวลาเชา 22 ป เปลี่ยนเปนใหมีระยะเวลาเชาครั้งละไมนอยกวา 3 ป จนครบกําหนด 22 ป บริษัท ตองรับผิดชอบตอการเปลี่ยนแปลงสถานที่เชา หากเกิดคาใชจาย หรือคาเสียหาย แตเพียงผูเดียว

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 2) คูสัญญา

:

วันที่ทําบันทึก ขอตกลง

:

รายละเอียด

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (บริษัท) 16 เมษายน 2536 เปลี่ยนชื่อบริษัท จาก บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด เปน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 3) คูสัญญา

:

วันที่ทําบันทึกขอตกลง

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) 28 พฤศจิกายน 2537

สวนที่ 1 หนา 53


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

รายละเอียด

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

1. เปลี่ยนแปลงที่อยูในการสงคําบอกกลาว ทั้งบริษัทและทีโอที

:

2. กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดเก็บสวนแบงรายได 2.1 ทีโอทีตกลงแบงสวนแบงรายไดจากการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหแก บริษัท ดังนี้ - กรณีโทรไปยังประเทศที่ไมมีพรมแดนติดตอกับประเทศไทย ทีโอทีจะ จายสวนแบงรายไดใหบริษัทเปนรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท โดย บริษัทมีหนาที่ออกใบแจงหนี้เรียกเก็บจากผูใชบริการ และนําสงใหทีโอที - กรณีโทรไปยังประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจายสวน แบงรายไดใหเอไอเอสเปนรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท โดยบริษัทมี หนาที่ออกใบแจงหนี้เรียกเก็บจากผูใชบริการ และนําสงใหทีโอที 2.2 เมื่อบริษัทไดรับรายได จะตองนํามารวมเปนรายไดเพื่อคํานวณเปนสวนแบง รายไดใหทีโอทีตามสัญญาหลักขอ 30. เมื่อครบรอบปดําเนินการดวย 2.3 บริษัทยินยอมสละสิทธิและยกสวนแบงรายไดจากการใหบริการ โทรศัพท ระหวางประเทศกับประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทยที่เอไอเอส ได จัดเก็บและนําสงใหทีโอทีแลว ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ใหแกทีโอทีทั้งหมด

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (TheCellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 4) คูสัญญา

:

วันที่ทําบันทึกขอตกลง

:

รายละเอียด

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) 20 กันยายน 2539 1. ขยายระยะเวลา การอนุญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ป นับตั้งแต วันที่เริ่มเปดใหบริการ เปน 25 ป 2. บริษัทมีสิทธิเปนผูลงทุนสรางโครงขายระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง (Transmission Networks) ในสื่อตัวนําทุกชนิด เพื่อเชื่อมโยงกับโครงขายของ ทีโอทีและโครงขายอื่นที่จําเปน และยกใหเปนทรัพยสินของทีโอที โดยบริษัท ไดรับสิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงขายทั้งหมด 3. บริษัทมีสิทธิใช ครอบครอง ระบบสื่อสัญญาณและทรัพยสินที่ไดจัดหามาโดยไม ตองเสียคาตอบแทนใดๆ 4. ทีโอทีมีสิทธิแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณในสวนที่เหลือจากการใช งาน โดยบริษัทเปนผูบริหารผลประโยชนดังกลาว 5. ในกรณีที่บุคคลอื่นหรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย บริษัทมีสิทธิ ไดรับผลประโยชนตอบแทนในอัตราที่ทั้งสองฝายตกลงรวมกัน 6. ยกเลิกเงื่อนไขในสัญญาหลักขอ 18 ที่ใหสิทธิแกบริษัทในการเปน ผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่แตเพียงผูเดียว 7. บริษัทสามารถใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผานชุมสายของ สวนที่ 1 หนา 54


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กสท. ไดโดยตรง ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขที่จะไมทําใหทีโอทีไดรับรายไดนอยลง จากที่เคยไดรับอยูตามสัญญาหลัก 8. ยกเลิกขอความตามขอ 4.3 ในขอตกลงตอทายครั้งที่ 3 โดยเนนวา ทีโอทีจะ จายสวนแบงรายไดจากการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศในอัตรานาทีละ 3 บาทใหบริษัท 9. เปนการกําหนดอัตราสวนแบงรายไดที่บริษัทตองจายให ทีโอที ในปที่ 21-25 ในอัตรารอยละ 30 กอนหักคาใชจายและคาภาษีใดๆ และบริษัทมีสิทธิลดหรือ ยกเวนคาใชบริการกรณีที่มีรายการสงเสริมการขายได โดยใหชําระสวนแบง รายไดตามรายการสงเสริมการขายที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ 10. ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ของโครงขายใหมีประสิทธิภาพ บริษัท เปนผูลงทุนใชดวยคาใชจายของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินตางๆ ตกเปนของทีโอที ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (TheCellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 5) คูสัญญา

:

วันที่ทําบันทึกขอตกลง

:

รายละเอียด

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) 25 ธันวาคม 2543 กําหนดการแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง 1. บริษัทเปนผูรวมบริหารผลประโยชน 2. บริษัทเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการและจายสวนแบงผลประโยชนให ทีโอที 3. สัดสวนผลประโยชนจากรายไดระหวางบริษัทกับทีโอทีแยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของทีโอที” ตลอดอายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 25 บริษัทไดรับในอัตรารอยละ 75 3.2 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของบริษัท” ตลอดอายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 22 บริษัทไดรับในอัตรารอยละ 78 4. บริษัทและทีโอทีจะตองทําการตลาดรวมกันและไมทําการตลาดที่เปนการแยง ผูใชบริการในโครงขายทีโอที 5. บริษัทจะตองเปนผูจัดทําและลงนามในสัญญาเชาใชระบบสื่อสัญญาณกับ ผูใชบริการทุกราย และทํารายงานการเชาสงให ทีโอที ตรวจสอบทุกเดือน

ขอตกตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 6)

วันที่ทําบันทึกขอตกลง

: องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) : วันที่ 15 พฤษภาคม 2544

รายละเอียด

:

คูสัญญา

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid card) 1. บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนในอัตรารอยละ 20 ของมูลคาหนาบัตร สวนที่ 1 หนา 55


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(รวมภาษี มู ล ค า เพิ่ ม ) ให แ ก ที โ อที สํ า หรั บ บั ต รที่ จํ า หน า ยได เ ป น รายเดื อ น ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในปที่ 11-15 ของสัญญาหลัก บริษัทจะตองลดราคาคาบริการใหผูใชบริการใน อัตราเฉลี่ยโดยรวมของแตละปไมนอยกวารอยละ 5 ของคาบริการที่ผูใชบริการ ตองชําระในปที่ 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแตละปไมนอยกวารอยละ 10 ของคาบริการที่ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 สําหรับปที่ 16 – ปที่ 25 ของป ดําเนินการตามสัญญาหลัก ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7)

วันที่ทําบันทึกขอตกลง

: บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) : วันที่ 20 กันยายน 2545

รายละเอียด

:

คูสัญญา

การใชเครือขายรวม (Roaming) 1. ทีโอทีอนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหผูให บริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตให บริ ษั ท เข า ไปใช เ ครื อ ข า ยร ว ม (Roaming) ของผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น ได เชนเดียวกัน 2. การใชเครือขายรวม (Roaming) บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศและเอไอเอส มีสิทธิจาย คาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ โดย ตองทําหนังสือแจงใหทีโอทีทราบกอน 3. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขายรวม (Roaming) ให ทีโอที - ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ใน เครือขายของบริษัท บริษัทตกลงจายในอัตรารอยละ(ระบุตามสัญญา หลัก) ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผูใหบริการรายอื่น - ในกรณีที่บริษัท เขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการราย อื่ น บริ ษั ท ตกลงจ า ยในอั ต ราร อ ยละ(ระบุ ต ามสั ญ ญาหลั ก )ของรายได คาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หักดวยคาใชเครือขาย รวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่น

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming Agreement) ชื่อสัญญา คูสัญญา วันที่ทําบันทึกขอตกลง

: สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) : วันที่ 16 มิถุนายน 2552 สวนที่ 1 หนา 56


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายละเอียด

:

คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของแตละ ฝายรวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเขาถึงและการใชโครงขายโทรคมนาคม ของคูสัญญา ทั้ง 2 ฝาย และเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายและประกาศ กสทช. ที่เกี่ยวของ บริษั ท ตกลงใหดี พีซีเขามาใชเครื อขายโทรศัพท เคลื่อนที่ของบริษั ทไดทั่ ว ประเทศ นับตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2552 เปนตนไป และดีพีซีตกลงให บริษัทเขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของดีพีซีไดทั่วประเทศเชนกัน 2. บริษัทตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของดีพีซี ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท (หนึ่งบาทสิบสตางค) ในกรณีที่คาตอบแทนการใช โครงขายไมเกิน 300 ลานบาทตอเดือน สวนที่เกิน300ลานบาทตอเดือน คิด ในอัตรา 1 บาทตอนาที ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม ดีพีซี ตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของบริษัท ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท (หนึ่งบาทสิบสตางค) ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวม ภาษีมูลคาเพิ่ม

การชําระคาใชบริการ

:

ในการชําระคาใชบริการเครือขายในแตละเดือน ผูขอใชโครงขายตองชําระเงิน ตามจํานวนที่ปรากฏในใบเรียกเก็บเงินแกคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง โดยมีกําหนด ชําระภายใน 30 วัน นับถัดจากวันที่ระบุในใบเรียกเก็บเงิน โดยใหถือวันดังกลาว เปนถึงกําหนดชําระเงิน

การยกเลิกสัญญา

:

การยกเลิกและการระงับของสัญญาใหเปนไปตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขของ คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming Agreement) ชื่อสัญญา คูสัญญา วันที่ทําสัญญา และระยะเวลา ของสัญญา รายละเอียดการ

:

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming Agreement) : บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) : วันที่ 7 กรกฎาคม 2554 มีระยะเวลา 1 ป (7 ก.ค.54 - 6 ก.ค.55) หากไมมฝี าย ใดแจงการยกเลิกสัญญา ใหสัญญามีผลตอไปอีกคราวละ 1 ป : คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของแตฝาย รวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเขาถึงและการใชโครงขายโทรคมนาคม ของ คูสัญญาทั้ง 2 ฝาย และเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายและประกาศ กสทช. ที่เกี่ยวของ บริษัทตกลงใหทีโอทีเขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัทไดทั่วประเทศ นับตั้งแตวันที่ 7 กรกฎาคม 2554 เปนตนไป และ ทีโอทีตกลงใหบริษัทเขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทีโอทีไดทั่ว ประเทศเชนกัน 2. บริษัทตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของ สวนที่ 1 หนา 57


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทีโอที ในอัตรา Voice1.10 บาทตอนาที SMS 0.55 บาทตอขอความ Data 0.85 บาทตอ MB, Video Call 2.00 บาทตอนาที และ ทีโอทีตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขาย ของบริษัท ในอัตรา Voice 1.10 บาทตอนาที SMS 0.55 บาทตอ ขอความ Data 0.85 บาทตอ MB การชําระคาใชบริการ

:

การยกเลิกสัญญา

:

ผูใหใชจะสงใบเรียกเก็บเงินคาตอบแทนใหผูขอใชภายในเวลาไมเกิน 60 วันนับ จากวันสุดทายของแตละรอบเดือน และตองชําระภายใน 30 วัน นับถัดจากวันที่ ระบุในใบเรียกเก็บคาตอบแทน (วันกําหนดใหชําระเงิน) การยกเลิกและการระงับของสัญญาใหเปนไปตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขของ คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/1/025/2550 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2557 (5 ป) เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ บริษัทมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา บริษัทฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(5) 004/2552 ผูอนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) ขอบเขตการอนุญาต : เปนผูรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่ กําหนดไวในบัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการ ชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(5) การใหบริการรับ ชําระเงิน แทน โดยเอไอเอสจะตอ งปฏิบัติ ต ามพระราชกฤษฎีก าดั งกลา ว และ บรรดาประกาศ คําสั่ง ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคาร แหงประเทศไทยและพนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน

สวนที่ 1 หนา 58


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(2) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch คูสัญญา

:

อายุของสัญญา ลักษณะของสัญญา

: :

การยกเลิกสัญญา

:

บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) 25 ป (วันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565 ) เอดีซีไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูลอื่นๆ ทั้งใน ระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) โดยตอง จายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอทีในลักษณะของการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของทุนจดทะเบียนใหแกทีโอที โดยทีโอทีไมตองชําระเงินคา หุนแตอยางใด ที โ อที มี สิ ท ธิ บ อกเลิ ก สั ญ ญาและมี อํ า นาจมอบกิ จ การตามสั ญ ญานี้ ใ ห ผู อื่ น ดําเนินการตอ หากการดําเนินงานของเอดีซีมีเหตุให ทีโอทีเชื่อวา เอดีซีไมสามารถ ดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด โดยเอดีซี ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทีโอที และทรัพยสินตางๆใหตกเปน กรรมสิทธิของ ทีโอที เอดีซีไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย เกิดขึ้น ทําใหเอดีซีไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาได

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2548 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 19 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2557 (5 ป) เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ เอดีซีมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวาเอดีซีฝาฝนหรือไมปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคมระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

สวนที่ 1 หนา 59


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศและบริการชุมสายอินเทอรเน็ต แบบที่สอง ที่มี โครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/002/2549 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 8 ธันวาคม 2554 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม 2559 เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ ใหบริการศูนยกลาง การเชื่อมตอไปยังเครือขายอินเทอรเน็ตในตางประเทศสําหรับผูใหบริการ อินเทอรเน็ตภายในประเทศ และบริการชุมสายอินเทอรเน็ต แบบมีโครงขาย โทรคมนาคมเปนของตนเอง ใหบริการเฉพาะกลุมบุคคล ทั้งนี้ เอดีซีมีหนาที่ตอง ชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนด ไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดีซีฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

(3) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) สัญญาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ของดีพีซีมีดังนี้ สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร คูสัญญา : การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

ลักษณะของสัญญา

:

ดีแทคยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลารระหวาง กสท. กับดีแทค “บางสวน” ใหแกดีพีซีโดยไดรับความยินยอมจาก กสท.

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 คูสัญญา

:

วันที่ทําสัญญา

:

การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา

:

16 ป (วันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556) สวนที่ 1 หนา 60


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะของสัญญา

:

การยกเลิกสัญญา

:

ดีพีซีไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดําเนินการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ ดิจิตอล GSM 1800 บางสวนที่ไดรับโอนสิทธิจากดีแทค โดยตองจายผลประโยชน ตอบแทนให กสท. เปนรอยละของรายไดกอนหักคาใชจาย ภาษี และคาธรรมเนียม ตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ ทั้งนี้ผลประโยชนดังกลาวตองไมต่ํา กวาผลประโยชนขั้นต่ําที่กําหนดตลอดระยะเวลาตามสัญญา สัญญานี้สิ้นสุดลงหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิก สัญ ญา เนื่อ งจากดีพีซีไ มป ฏิบัติ ต ามสัญ ญา หรือ ปฏิบัติผิ ด สั ญ ญาข อ หนึ่ ง ข อ ใดและทํ า ให กสท. ได รั บ ความเสี ย หาย และดี พี ซี มิ ไ ด ดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อดีพีซีลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในการที่ดีพีซีตกเปนผูขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายวา ดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท.ไดแจงใหดีพีซีทราบเปนหนังสือ ลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา 90 วัน

สัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (ครั้งที่ 1) คูสัญญา : การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) วันที่ทําสัญญา : 26 สิงหาคม 2542 อายุของสัญญา

:

16 ป

วันที่สัญญามีผลบังคับใช

:

30 มิถุนายน 2542

รายละเอียด

:

กสท. อนุ มั ติ ใ ห ป รั บ ลดผลประโยชน ต อบแทนเพื่ อ ให เ ท า เที ย มกั บ สั ญ ญาให ดําเนินการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ระหวาง กสท. กับบริษัท โทเทิ่ล แอคเซ็ส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) เนื่องจากสัญญาของดีพีซีเปนสัญญาที่โอน สิทธิมาจากสัญญาของดีแทค และปรับเงินประกันรายไดขั้นต่ําเพิ่มขึ้น ดังนี้ 1. ปรับลดผลประโยชนตอบแทน ปที่ 1 เปน 25%, ปที่ 2-9 เปน 20%, ปที่ 10-14 เปน 25%, ปที่ 15-16 เปน 30% 2. ดี พี ซี จ า ยผลประโยชน ต อบแทนขั้ น ต่ํ า ให กสท. ตลอดอายุ สั ญ ญาจากเดิ ม 3,599.55 ลานบาท เปน 5,400 ลานบาท

(4) บริษัท แอดวานซ เมจิค การด จํากัด (เอเอ็มซี) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 006/2548 ผูอนุญาต : กระทรวงการคลัง ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตั้งแตวันที่ 20 กรกฎาคม 2548 เปนตนไป

ลักษณะของหนังสือ

:

อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือคาบริการแทน สวนที่ 1 หนา 61


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อนุญาต การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

:

เงินสด กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอเอ็มซีฝาฝน หรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการตามที่กระทรวงการคลังและ ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนของประชาชนอยางรายแรง และมิไดแกไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(6) 003/2552 ผูอนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) ลักษณะของใบอนุญาต : อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(6) การใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกส ที่ใชซื้อสินคาและหรือรับบริการเฉพาะอยางตามรายการที่กําหนดไว ลวงหนา จากผูใหบริการหลายรายโดยไมจํากัดสถานที่และไมอยูภายใต ระบบการจัดจําหนายและการใหบริการเดียวกัน โดย เอเอ็มซีจะตองปฏิบัติ ตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และบรรดาประกาศ คําสั่ง ของคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและพนักงานเจาหนาที่ที่ ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน (5) บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 003/2548 ผูอนุญาต : กระทรวงการคลัง ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตั้งแตวันที่ 24 มิถุนายน 2548 เปนตนไป

ลักษณะของหนังสือ อนุญาต

:

อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือคาบริการแทน เงินสด

การยกเลิกหนังสือ อนุญาต

:

กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอเอ็มพีฝาฝน หรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการตามที่กระทรวงการคลังและ ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนของประชาชนอยางรายแรง และมิไดแกไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(3) 004/2552 ผูอนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) ลักษณะของใบอนุญาต

:

อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน สวนที่ 1 หนา 62


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(3) การใหบริการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิก สผานอุปกรณอยางหนึ่งอยางใดหรือผานทางเครือขาย โดย เอเอ็มพีจะตองปฏิบัตติ ามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และบรรดาประกาศ คําสั่ง ของ คณะกรรมการธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส หรื อ ธนาคารแห ง ประเทศไทยและ พนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(5) 029/2552 ผูอนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2562 (10 ป) ลักษณะของใบอนุญาต : อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(5) การใหบริการรับชําระเงินแทน โดย เอเอ็มพีจะตองปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และบรรดาประกาศ คําสั่ง ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและ พนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(6) 002/2552 ผูอนุญาต : คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) ลักษณะของใบอนุญาต : อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(6) การใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกส ที่ ใ ช ซื้ อ สิ น ค า และหรื อ รั บ บริ ก ารเฉพาะอย า งตามรายการที่ กํ า หนดไว ลวงหนา จากผูใ หบ ริ ก ารหลายรายโดยไมจํา กัด สถานที่แ ละไมอยูภ ายใต ระบบการจัดจําหนายและการใหบริการเดียวกัน โดย เอเอ็มพีจะตองปฏิบัติ ตามพระราชกฤษฎี ก าดั ง กล า ว และบรรดาประกาศ คํ า สั่ ง ของคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและพนักงานเจาหนาที่ที่ ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน (6) บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอนุญาต : คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569 ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ (International สวนที่ 1 หนา 63

Telephone


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

service) บริการเสริมบริการโทรศัพทระหวางประเทศ และบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ บริการโทรศัพทระหวางประเทศ ตลอดจนบริการโครงขายบริการโทรศัพทระหวาง ประเทศ ทั้งนี้ เอไอเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียม ตางๆ ตามอั ต ราและกํา หนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิจ การกระจายเสียง กิจ การ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอไอเอ็นฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

(7) บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอสบีเอ็น) ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2550 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 10 ตุลาคม 2552 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2557 (5 ป)

ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียม ใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวย ระหวางประเทศ และบริการชุมสายอินเทอรเน็ต แบบที่สอง ที่ มีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/008/2550 ผูอนุญาต : คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 14 ตุลาคม 2555 ขอบเขตการอนุญาต : เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ ใหบริการศูนยกลางการ เชื่อมตอไปยังเครือขายอินเทอรเน็ตในตางประเทศ สําหรับผูใหบริการอินเทอรเน็ต ภายในประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอรเน็ต ประเภทมีโครงขายโทรคมนาคม เปนของตนเอง ใหบริการจํากัดเฉพาะกลุมบุคคล ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระ สวนที่ 1 หนา 64


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

คาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวาเอสบีเอ็นฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/50/006 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 16 สิงหาคม 2550 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2570

ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการโทรคมนาคมแกบุคคลทั่วไป ประเภทบริการโทรศัพท ประจํา ที่ บริก ารวงจรรว มดิจิตอล บริการพหุสื่อ ความเร็วสูงและบริการเสริม มี โครงข า ยโทรคมนาคมเป น ของตนเอง ทั้ ง นี้ เอสบี เ อ็ น มี ห น า ที่ ต อ งชํ า ระ คาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สอง เลขที่ 2ก/51/001 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุญาต

: :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2551 ถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ 2566 เปนผูรับใหบริการโทรคมนาคมจํากัดเฉพาะกลุมบุคคล โดยใหบริการบนโครงขาย ของตนเอง ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและ กํา หนดเวลาที่ ค ณะกรรมการกิจ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด สวนที่ 1 หนา 65


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(8) บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/017/2551 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุญาต

: :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 18 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 17 กันยายน 2557 (5 ป) เปนผูรับใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง ใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ เอดับบลิวเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศ กําหนดไว คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดับบลิวเอ็นฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือ ประกาศที่ ค ณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายใน ระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/51/003 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุญาต

: :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 12 มิถุนายน 2551 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2566 ผู รั บ ใบอนุ ญ าตสามารถให บ ริ ก ารโทรคมนาคมแก บุ ค คลทั่ ว ไป ประเภทบริ ก าร โทรศัพทประจําที่ บริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง บริการพหุสื่อ ความเร็ว สูง บริการโทรคมนาคมแบบครบวงจร บริการโครงขายโทรคมนาคมทางสายและไร สาย มีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง ทั้งนี้ เอดับบลิวเอ็นมีหนาที่ตองชําระ คาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดับบลิวเอ็นฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือ ประกาศที่ ค ณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายใน ระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 1 หนา 66


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(9) บริษัท แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด (เอไออาร) ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/010/2553 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 17 ธันวาคม 2553 ถึงวันที่ 16 ธันวาคม 2558 เปนผูรับอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ตแกบุคคลทั่วไปโดยเสรี โดยใหบริการ ผา นโครงขา ยของผูรั บใบอนุ ญ าตที่มี โ ครงข ายเปน ของตนเอง ทั้ งนี้ เอไออาร มี หนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตามอัตราและ กําหนดเวลาที่ค ณะกรรมการกิจ การกระจายเสี ยง กิจ การโทรทัศน และกิจ การ โทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอไออารฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด (10) บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอเอ็มบี) การยกเลิกใบอนุญาต

:

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่หนึ่ง เลขที่ 1/53/015 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ถึงวันที่ 27 กรกฎาคม 2558 เปนผูรับใบอนุญาตสามารถใหบริการโทรคมนาคมแกบุคคลทั่วไปโดยเสรี ใหบริการผานโครงขายของผูรับใบอนุญาตที่มีโครงขายเปนของตนเอง เอเอ็มบี มีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ อัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน กิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

โดย ทั้งนี้ ตาม และ

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอเอ็มบีฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคมระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

สวนที่ 1 หนา 67


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(11) บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่หนึ่ง เลขที่ 1/53/014 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน แหงชาติ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ถึงวันที่ 27 กรกฎาคม 2558

และกิจการโทรคมนาคม

ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับใบอนุญาตสามารถใหบริการโทรคมนาคมแกบุคคลทั่วไปโดยเสรี โดย ใหบริการผานโครงขายของผูรับใบอนุญาตที่มีโครงขายเปนของตนเอง ทั้งนี้ดับบลิว ดีเอส มีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตามอัตรา และกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา ดับบลิวดีเอสฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือ ประกาศที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายใน ระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 1 หนา 68


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

6.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ขอพิพาททางกฎหมาย

6.1 กรณีขอพิพาททางกฎหมายของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) (1) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ไดเสนอขอพิพาทตอ สํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 เพื่อเรียกรองใหบริษัทชําระคาผลประโยชนตอบแทนเพิ่ม จํานวน 31,463 ลานบาท ซึ่งจํานวนเงินสวนแบงรายไดดังกลาวเปนจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่บริษัทไดนําสงไป แลว เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีมติเปนเอกฉันทชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาท ทั้งหมด โดยใหเหตุผลสรุปไดวา บริษัท ได ชําระหนี้โดยชอบดวยกฎหมายแลวจึงไมเปนฝายผิดสัญญา ไมตอง ชําระเงินคาผลประโยชนตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ใหแกทีโอที ทีโอทีไดย่ืนคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาดดังกลาวตอศาลปกครองกลางแลว พิจารณาของศาลปกครองกลาง

ขณะนี้คดีอยูระหวางการ

(2) เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท) ไดยื่นฟองบริษัทเปนจําเลยที่ 1 และ บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) เปนจําเลยที่ 2 คดีหมายเลขดําที่ 1245/2551 ตอศาลแพง เรียกรอง ใหรวมกันชดใชคาเสียหายเปนเงินรวม 583 ลานบาท (รวมดอกเบี้ย) โดยอางวาความเสียหายดังกลาวเกิดจากกรณีที่บริษัท กับเอไอเอ็นเปลี่ยนแปลงการสงทราฟฟคการใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในชวงเวลาวันที่ 1 มีนาคม 2550 ถึง 7 มีนาคม 2551 ที่ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทใชบริการผานเครื่องหมาย + จากเดิมที่เปน 001 ของกสท มา เปน 005 ของเอไอเอ็นโดยไมแจงใหผูใชบริการทราบกอน เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2552 ศาลแพงไดมีคําพิพากษายกฟองกสท เนื่องจากขอเท็จจริงรับฟงไมไดวากสท มีสิทธิ ในการใชเครื่องหมาย + ในการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศแตผูเดียวหรือมีสิทธิหวงหามมิใหบริษัทและเอไอเอ็น ซึ่งเปนผูใหบริการโทรศัพทรายอื่นใชเครื่องหมาย + และรับฟงไมไดวาการที่บริษัทกระทําการแปลงสัญญาณโทรศัพทที่ใช ผานเครื่องหมาย + เปนผานรหัสหมายเลข 005 ของเอไอเอ็น เปนการทําใหผูใชบริการโทรศัพทระหวางประเทศเขาใจผิด วาเปนการใชบริการผานรหัสหมายเลข 001 ของกสท การกระทําของบริษัทดังกลาวจึงมิไดเปนการกระทําอันเปนการ ละเมิดสิทธิใดๆ ของกสท สําหรับเอไอเอ็น ที่กสท ฟองอางวารวมกระทําละเมิดกับบริษัทนั้น จึงมิไดกระทําการละเมิดตอ กสท ตามฟองดวย ทั้งนี้กสท ไดยื่นอุทธรณคําพิพากษาดังกลาวแลวตอศาลอุทธรณเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2553 ขณะนี้คดีอยูใน ระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณ (3) เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2553 บริษัทไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปน ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 48/2553 เพื่อเรียกรองให บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระเงินคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมตาม สัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมระหวางกัน เปนเงินจํานวน 88,602,054.63 บาท (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) พรอม ดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป นับตั้งแตวันผิดนัดเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น ขณะนี้ ขอพิพาทอยูระหวางการ พิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (4) เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2554 บริษัทไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปน ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2554 เพื่อใหคณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดวาขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาต ครั้งที่ 6 และครั้ง ที่ 7 มีผลผูกพันบริษัทและทีโอที และทีโอทีไมมีสิทธิเรียกรองใหบริษัทชําระเงินผลประโยชนตอบแทนเพิ่มเติมจาก บริษัท ซึ่งขอพิพาทนี้สืบเนื่องมาจากการที่ทีโอทีมีหนังสือลงวันที่ 31 มกราคม 2554 แจงใหบริษัทชําระเงินสวนแบงรายได สวนที่ 1 หนา 69


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

เพิ่มเติมในกรณีการปรับลดสวนแบงรายไดบริการบัตรเติมเงิน (Prepaid Card) จํานวน 29,534 ลานบาท การหักคาใชจาย การใชเครือขายรวม (Roaming) จํานวน 7,462 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป ตอมา เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ทีโอที มีหนังสือที่ ทีโอที/ชม.150 เพื่อขอยกเลิกหนังสือที่ ทีโอที ชม./41 ลง วันที่ 31 มกราคม 2554 ที่เรียกรองใหบริษัทชําระเงินขางตน โดยแจงวา เนื่องจากมีขอเท็จจริงที่คลาดเคลื่อนและ ทีโอทีก็ยังไมไดไดดําเนินการใดๆ ตามหนังสือดังกลาว อีกทั้งขอตกลงตอทายสัญญาครั้งที่ 6 และ 7 ก็ยังมีผล บังคับอยู จากการที่ทีโอทียกเลิกหนังสืออันเปนมูลเหตุในการเสนอขอพิพาท จึงไมมีขอพิพาทที่ทําใหบริษัท จําตองดําเนินการในชั้นอนุญาโตตุลาการตอทีโอทีตามที่เรียกรองอีกตอไป ดังนั้นในวันที่ 3 ตุลาคม 2554 บริษัท จึงไดยื่นคํารองขอถอนคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2554 และสถาบันอนุญาโตตุลาการไดมีหนังสือ ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2554 แจงคําสั่งอนุญาตใหถอนคําเสนอขอพิพาท ดังกลาว (5) เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2554 บริษัทไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปนขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 19/2554 เพื่อใหคณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดวาทีโอทีไมมีสิทธิเรียกรองเงินผลประโยชนตอบแทน จากรายไดคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมของปดําเนินการที่ 17 – 20 โดยมิใหบริษัทนําคาเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคมที่บริษัทถูกผูประกอบการรายอื่นเรียกเก็บมาหักออกกอนเปนเงินรวม 17,803,381,680.57 บาท พรอม ดอกเบี้ยในอัตรา 1.25 ตอเดือน ตามหนังสือเรียกรองของ ทีโอที เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2554 ขณะนี้ ขอพิพาทอยูระหวางการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (6) เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2554 บริษัทไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ เปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 40/2554 เพื่อใหคณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดใหทีโอทีคืนหนังสือค้ําประกันผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ําปที่ 17 – 20 และหามมิใหเรียกรองเงินใดๆ จากธนาคาร พรอมทั้งชําระคาเสียหายในสวนของคาธรรมเนียม หนังสือค้ําประกันและคาเสียหายจากความเสียหายแกชื่อเสียงและเครดิตทางการเงินอีก 30,000,000 บาท ใหกับบริษัท ขณะนี้ ขอพิพาทอยูระหวางการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (7) เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2554 บริษัทไดยื่นฟองคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติจําเลยที่ 1 และ เลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติจําเลยที่ 2 ตอศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดําที่ 1226/2554 เพื่อ ขอใหศาลปกครองกลางมีคําพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งกทช.ตามหนังสือที่ ทช.7300/4103 ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2553 และสบท.54/2554 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ 2554 แจงใหบริษัทดําเนินการแกไขแบบรางสัญญาใหบริการโทรศัพทเคลื่อน ระบบจายเงินลวงหนา (Pre-Paid) ที่กําหนดหามมิใหมีเงื่อนไขเกี่ยวกับวันหมดอายุการใชงาน (Validity) ขณะนี้ คดีอยู ระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 6.2 กรณีขอพิพาททางกฎหมายของบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเปนบริษัทยอย (1) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 เรียกรองใหดีพีซีชําระเงินสวนแบงรายได เพิ่มเติมอีกจํานวน 2,449 ลานบาท ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา พรอมเรียกเบี้ยปรับใน อัตรารอยละ 1.25 ตอเดือนของจํานวนเงินที่คางชําระในแตละป นับตั้งแตวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้นรวมเปนเงิน ทั้งหมดจํานวน 3,410 ลานบาท ซึ่งจํานวนเงินสวนแบงรายไดดังกลาวเปนจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ดพี ีซีได นําสงตั้งแต 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และไดนํามาหักออกจากสวนแบงรายได อันเปนการปฏิบัติตาม มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2546 ถูกตองครบถวนแลว และมีการปฏิบัติเชนเดียวกันทั้งอุตสาหกรรม โทรศัพทเคลื่อนที่ ในวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาททั้งหมดของกสท โดย ใหเหตุผลสรุปไดวา การชําระหนี้เดิมเสร็จสิ้น และระงับไปแลว กสทไมอาจกลับมาเรียกรองสวนที่อางวาขาดไปได สวนที่ 1 หนา 70


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

อีก ดีพีซีจึงไมเปนผูผิดสัญญา กสทไมมีสิทธิเรียกรองใหดีพีซีชําระหนี้ซ้ําอีก อีกทั้งไมมีสิทธิเรียกเบี้ยปรับรวมทั้ง ภาษีมูลคาเพิ่มตามที่เรียกรองมา กสทไดยื่นคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาดดังกลาวตอศาลปกครองกลางแลว พิจารณาของศาลปกครองกลาง

ขณะนี้

คดีอยูระหวางการ

(2) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 68/2551 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 เรียกรองใหดีพีซีชําระคาเชื่อมโยง เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ดีพีซีไดหักไวและมิไดนําสงใหกับกสท (ผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มของปดําเนินการที่ 710) เปนตนเงินและภาษีมูลคาเพิ่มจํานวน 165 ลานบาท พรอมทั้งเบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน โดยคํานวณถึง วันที่ 31 กรกฎาคม 2551 รวมเปนเงินทั้งสิ้น 222 ลานบาท ตอมาเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552 กสท ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปนขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 96/2552 เพิ่มเติมในสวนปดําเนินการที่ 11 เปนตนเงินและภาษีมูลคาเพิ่มจํานวน 23 ลานบาท พรอม ทั้งเบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน โดยคํานวณถึงวันที่ 15 ตุลาคม 2552 รวมเปนเงิน 26 ลานบาท ซึ่งรวมทั้ง 2 ขอ พิพาทแลวเปนเงินจํานวนทั้งสิ้น 248 ลานบาท โดยเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2553 คณะอนุญาโตตุลาการขอพิพาทหมายเลขดําที่ 68/2551 ไดมีมติใหรวมพิจารณาขอพิพาทหมายเลขดําที่ 68/2551 และ 96/2552 เขาดวยกัน เนื่องจากมีประเด็นเปนเรื่อง เดียวกัน (3) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2552 เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2552 เรียกรองใหดีพีซีสงมอบและโอน กรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จํานวน 3,343 ตน พรอมอุปกรณแหลงจายกําลังงาน (Power Supply) จํานวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา หากไมสามารถสงมอบไดใหชดใชเงินจํานวน 2,230 ลานบาท ซึ่งดีพีซีเห็นวาเสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พรอมอุปกรณแหลงจายกําลังงาน (Power Supply) มิใชเครื่องหรือ อุปกรณตามที่กําหนดไวในสัญญาขอ 2.1 ที่ ดีพีซีจะมีหนาที่จัดหาและสงมอบตามสัญญา ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยู ระหวางการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (4) เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 ดีพซี ีไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปนขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 27/2553 เรียกรองใหคณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดบังคับใหกสท เพิกถอนการกลาวหาวา ดีพีซี เปนฝายผิดสัญญาเนื่องจากการทําสัญญาการใชโครงขายระหวาง บริษัท-ดีพีซี โดยไมไดรับความยินยอมจากกสท และ จะแจงเลิกสัญญา ตามหนังสือวันที่ 6 มกราคม 2553 พรอมทั้งให กสท ชดใชคาเสียหายแกผูเรียกรองเปนเงิน 50 ลาน บาท กสท ไดยื่นคําคัดคานแลวเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2553 ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูระหวางการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ (5) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบัน อนุญาโตตุลาการเปนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 62/2553 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 เรียกรองใหดีพีซี ชําระผลประโยชน ตอบแทนสวนเพิ่มปดําเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการที่ดีพีซีปรับลดอัตราคา Roaming ระหวางดีพีซี – เอไอเอส จาก 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท โดยมิไดรับอนุมัติจากกสท กอน ในชวงระหวางวันที่ 1 เมษายน 2550 – 31 ธันวาคม 2551 เปนเงินรวม 1,640 ลานบาท พรอมเบี้ยปรับที่คํานวณถึงเดือนมีนาคม 2553 เปนจํานวน 365 ลานบาท รวม เปนเงิน 2,000 ลานบาท และเรียกเบี้ยปรับในอัตรา 1.25 ตอเดือน นับแตเดือนเมษายน 2553 เปนตนไป ตอมาเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 กสท ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการเปน ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 89/2554 เพิ่มเติมในสวนปดาํ เนินการที่ 12 (1 เมษายน 2552-15 มิถุนายน 2552) เปนเงินจํานวน 113,211,582.68 บาท สวนที่ 1 หนา 71


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส..

ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูระหวางการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (6) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอทีไดไดยื่นฟองกสท เปนผูถูกฟองคดีที่ 1 และดีพีซีเปนผูถูกฟองคดีที่ 2 เปนคดีหมายเลขดําที่ 1099/2554 เพื่อเรียกรองใหรวมกันชําระคา Access Charge ตามขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยง โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของดีพีซี ลงวันที่ 8 กันยายน 2540 ซึ่งประกอบดวย 1) คา Access Charge ซึ่งดีพีซีตองชําระใหแกทีโอทีโดยคํานวณจากจํานวนเลขหมายที่ดีพีซีมีการ ใหบริการในแตละเดือนในอัตรา 200 บาทตอเลขหมาย เปนเงินรวม 432,218,677.35 บาท 2) คา Access Charge ซึ่งกสท ตองชําระใหแกทีโอทีโดยคํานวณจากครึ่งหนึ่งของจํานวนเงินสวนแบง รายไดที่กสท. ไดรับจากดีพีซี เปนเงินรวม 2,330,813,273.92 บาท 3) คา Access Charge ซึ่งกสท ชําระใหแกทีโอทีไมครบถวนเนื่องจากกสท. และดีพีซีนําสวนลดคา Access Charge ในอัตรา 22 บาทตอเลขหมายตอเดือนมาหักออกกอน เปนเงินรวม 191,019,147.89 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 2,954,051,099.16 บาท พรอมดอกเบี้ย ขณะนี้ คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครอง กลาง

สวนที่ 1 หนา 72


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

7.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางเงินทุน 7.1

หลักทรัพยของบริษัท (1) ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ทุนจดทะเบียน : 4,997,459,800 บาท ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 4,997,459,800 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระแลว : 2,973,095,330 บาท ประกอบดวย หุนสามัญจํานวน 2,973,095,330 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท (2)

หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีหุนกูที่ยังไมครบกําหนดไถถอน รวม 4 ชุด ซึ่งไดจดทะเบียนและ ซื้อขายไดในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (Thai Bond Market Association) และบนกระดานตราสาร หนี้ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (The Bond Electronic Exchange: BEX) ทั้งนี้ หุนกูของ บริษัท ชุด AIS139A เริ่มซื้อขายในตลาด BEX ตั้งแตวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 หุนกูของบริษัท ชุด AIS134A เริ่มซื้อขายในตลาด BEX ตั้งแตวันที่ 20 พฤษภาคม 2551 และหุนกูของบริษัท ชุด AIS 127A และ AIS141A เริ่มซื้อขายในตลาด BEX ตั้งแตวันที่ 4 กุมภาพันธ 2552 โดยรายละเอียดของ หุนกูทั้ง 4 ชุด มีดังนี้ (2.1) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2549 ชุดที่ 3 ครบกําหนด ไถถอนป 2556 (AIS139A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูประเภทไมดอยสิทธิ ไมมหี ลักประกัน และมีผูแทน ผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 7 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 7 กันยายน 2549 วันครบกําหนดไถถอน : 7 กันยายน 2556 อัตราดอกเบี้ยและ : รอยละ 6.00 ตอป ชําระทุก 6 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย โดยจะชําระทุกวันที่ 7 กันยายน และ 7 มีนาคม ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 4,000,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA

สวนที่ 1 หนา 73


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(2.2) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2551 ครบกําหนดไถถอนป 2556 (AIS134A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และ มีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 4,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 30 เมษายน 2551 วันครบกําหนดไถถอน : 30 เมษายน 2556 อัตราดอกเบี้ยและ : ปที่ 1 – 2 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.00 ตอป กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย ปที่ 3 – 5 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.90 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 30 มกราคม, 30 เมษายน, 30 กรกฎาคม และ 30 ตุลาคม ของทุกป ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 4,000,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 4,000,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (2.3) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 1 ครบกําหนด ไถถอนป 2555 (AIS127A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และ มีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 3.5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 5,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 23 มกราคม 2552 วันครบกําหนดไถถอน : 23 กรกฎาคม 2555 อัตราดอกเบี้ยและ : 2.5 ปแรก อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.00 ตอป กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย ปสุดทาย อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.00 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มกราคม, 23 เมษายน, 23 กรกฎาคม และ 23 ตุลาคม ของทุกปตลอดอายุหุนกู สวนที่ 1 หนา 74


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผูแทนผูถือหุนกู จํานวนคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาคงเหลือของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

: ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) : 5,000,000 หนวย : 5,000,000,000 บาท : AA

(2.4) หุนกู บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถถอนป 2557 (AIS141A) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ประเภทหุนกู

: หุนกูระบุชื่อผูถือ ไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน และ มีผูแทนผูถือหุนกู อายุของหุนกู : 5 ป นับจากวันออกหุนกู มูลคารวมของหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000,000 บาท จํานวนหุนกูที่เสนอขาย : 2,500,000 หนวย มูลคาที่ตราไวตอหนวย : 1,000 บาท ราคาที่เสนอขายตอหนวย : 1,000 บาท วันที่ออกหุนกู : 23 มกราคม 2552 วันครบกําหนดไถถอน : 23 มกราคม 2557 อัตราดอกเบี้ยและ : ปที่ 1 – 2 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.00 ตอป กําหนดเวลาชําระดอกเบี้ย ปที่ 3 – 4 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.00 ตอป ปที่ 5 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 6.00 ตอป ชําระทุก 3 เดือนนับจากวันที่ออกหุนกู โดยจะชําระทุกวันที่ 23 มกราคม, 23 เมษายน, 23 กรกฎาคม และ 23 ตุลาคม ของทุกปตลอดอายุหุนกู ผูแทนผูถือหุนกู : ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จํานวนคงเหลือของหุนกู : 2,500,000 หนวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาคงเหลือของหุนกู : 2,500,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 การจัดอันดับความนาเชื่อถือ : AA (3)

ข อ ตกลงระหว า งกลุ ม ผู ถื อ หุ น รายใหญ ใ นเรื่ อ งที่ มี ผ ลกระทบต อ การออกและเสนอขาย หลักทรัพย หรือการบริหารงานของบริษัท โดยที่ขอตกลงดังกลาวมีบริษัทรวมลงนามดวย - ไมมี –

สวนที่ 1 หนา 75


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

7.2 ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ณ วันปดสมุดทะเบียน ลาสุดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2554 จากบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เปนดังนี้ ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผูถือหุน บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD BNY MELLON NOMINEES LIMITED STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED STATE STREET BANK EUROPE LIMITED สํานักงานประกันสังคม (2 กรณี) THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED รวม

จํานวน (หุน) 1,263,712,000 632,359,000 113,179,299 83,939,673 67,886,300 57,275,487 47,116,000 36,271,743 26,696,400 24,809,724 2,353,245,626

% ถือหุน 42.50 21.27 3.81 2.82 2.28 1.93 1.58 1.22 0.90 0.83 79.15

หมายเหตุ: 1. เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554 บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (อินทัช) ไดขายหุนบางสวนที่ถืออยู จํานวน 61,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 2.05 ใหแก Singtel Strategic Investments Pte Ltd (Singtel) มีผลทําใหอินทัชเปนผูถือ หุนในบริษัทจํานวน 1,202,712,000 หุน คิดเปนรอยละ 40.45 และ Singtel เปนผูถือหุนในบริษัท (รวมการถือหุนผาน Thai Trust Fund และ OCBC Nominees) จํานวน 693,359,000 หุน คิดเปนรอยละ 23.32 บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 40.45%

SINGTEL STRATEGIC INVESTMENTS PTE LTD

23.32%

ผูถือหุนอื่นๆ 36.23%

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2. กลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินงานของบริษัท คือ

บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น โดยผูถือหุนใหญของบมจ. ชิน คอรปอเรชั่น ณ วันปดสมุดทะเบียนลาสุดเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2555 ไดแก ลําดับ 1 2

รายชื่อผูถือหุน บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด * บริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด *

จํานวนหุน % ถือหุน 1,334,354,825 41.62 1,218,028,839 37.99

* บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด เปนบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทยและเปนบริษัทยอยทางออมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (Temasek) (และไดถือหุนจํานวน 9,096 หุน คิดเปนรอยละ 0.00 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท)

สวนที่ 1 หนา 76


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด เปนบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งถือหุนโดย ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในสัดสวน รอยละ 5.78 บริษัท กุหลาบแกว จํากัด (กุหลาบแกว) รอยละ 45.22 และบริษัท ไซเพรส โฮลดิ้งส จํากัด (ไซเพรส) ซึ่งเปนบริษัท ยอยโดยทางออมของ Temasek รอยละ 48.99

โดย ณ วันที่ 26 มกราคม 2555 บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีโครงสรางการถือหุนดังนี้

3. SingTel Strategic Investments Pte Ltd ถือหุนในบริษัท ทางตรงรอยละ 21.16 ผาน THAI TRUST FUND รอย ละ 2.15 และผาน OCBC Nominees รอยละ 0.01 โดยผูถือหุนใหญของ SingTel Strategic Investments Pte Ltd คือ ลําดับ 1

รายชื่อผูถือหุน Singapore Telecommunications Limited *

% ถือหุน 100.00

ที่มา: Singapore Telecommunications Limited l Annual Report 2010/2011 as of 31 May 2011

* ผูถอื หุนของ Singapore Telecommunications Limited คือ ลําดับ รายชื่อผูถือหุน 1 Temasek Holdings (Pte) Ltd 2 DBSN Services Pte Ltd

จํานวนหุน 8,671,325,982 1,566,946,530

ที่มา: Singapore Telecommunications Limited l Annual Report 2010/2011 as of 31 May 2011

สวนที่ 1 หนา 77

% ถือหุน 54.41 9.83


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

7.3 นโยบายการบริหารโครงสรางเงินทุน 7.3.1

การบริหารเงินทุน

บริษัทมีเปาหมายที่จะบริหารโครงสรางเงินทุนใหมีความแข็งแกรงในระดับที่เหนือกวาบริษัทอื่นใน อุตสาหกรรมเดียวกัน และพยายามคงสถานะอันดับเครดิตในระดับที่นาลงทุน (investment grade) ซึ่งจะทําใหบริษัทมี สถานะการเงินที่มีความพรอมและมีความคลองตัวสูงในการเติบโตธุรกิจเมื่อเทียบกับคูแขง อันหมายรวมถึงการมีแหลง เงินทุนที่หลากหลาย ความสามารถในการจัดหาเงินทุนที่คลองตัว และมีระดับตนทุนที่เหมาะสม ในระยะ 3-5 ป อุตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยอาจมีการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีซึ่งจําเปนตองมีการ ลงทุนเพิ่มเติม บริษัทเชื่อวาโครงสรางเงินทุนของเรามีความพรอมสําหรับการขยายการเติบโตตอไปในอนาคต และเชื่อวา บริษัทยังสามารถเพิ่มระดับหนี้ที่มีอยูต่ําในปจจุบันไดมากขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ 7.3.2

การบริหารสภาพคลองสวนเกิน

สภาพคลองสวนเกิน (หมายถึง เงินสดสวนเกินหลังจากการใชจา ยในเงินทุนหมุนเวียนและการลงทุน) หลังจากไดพิจารณาความจําเปนในโครงการลงทุนใหมๆ สําหรับการเติบโตของธุรกิจ และภาระดานหนี้สินและ/หรือ ขอกําหนดอื่นใดแลว จะพิจารณาจายเปนผลตอบแทนใหแกผูถือหุนตอไป 7.4 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทมีนโยบายจายเงินปนผลไมต่ํากวารอยละ 100 ของกําไรสุทธิ ตามงบการเงินรวม โดยในรอบสี่ปที่ผานมา บริษัทไดจายเงินปนผลมากกวารอยละ 100 ของกําไรสุทธิ ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสรางของอุตสาหกรรมซึ่ง รวมถึง การใหใบอนุญาต 3G และ/หรือ การเปลี่ยนแปลงสถานะของสัญญารวมการงานในปจจุบันที่มีอยูกับทีโอที/กสท อาจ ยังมีความไมแนนอน ระหวางนี้บริษัทจึงตั้งใจจะรักษาสถานะการเงินใหพรอมตอการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเติบโตของธุรกิจ ในอนาคต บริษัทจะพิจารณาการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนปละ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกเปนเงินปนผลระหวางกาล ซึ่งพิจารณา จากผลการดําเนินงานของบริษัทในงวดครึ่งปแรก และตองผานการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และรายงานตอที่ประชุม ผูถือหุนในครั้งถัดไป สวนการจายเงินปนผลครั้งที่สองเปนเงินปนผลประจําป ซึ่งพิจารณาจากผลการดําเนินงานของบริษัท ในงวดครึ่งปหลัง และตองผานการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน บริษัทยอยจะพิจารณาการจายเงินปนผลขึ้นอยูกับผลการดําเนินงานของบริษัทยอย สถานะการเงินและปจจัยสําคัญ อื่นๆ การจายเงินปนผลดังกลาวจะขึ้นอยูกับกระแสเงินสดและแผนการลงทุน รวมถึงความจําเปนและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตของบริษัทและบริษัทยอย การจายเงินปนผลดังกลาวจะตองไมเกินกําไรสะสมที่ปรากฏอยูในงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัทและ/หรือ มีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอการดําเนินงานปกติของบริษัทและบริษัทยอย สรุปการจายเงินปนผล 5 ปยอนหลัง ดังนี้ รายละเอียดการจายเงินปนผล การจายเงินปนผล (บาท : หุน) 1. เงินปนผลระหวางกาล 2. เงินปนผลประจําป 3. เงินปนผลพิเศษ อัตราสวนการจายเงินปนผลตอกําไรสุทธิ

2550 6.30 3.00 3.30 114% สวนที่ 1 หนา 78

2551 6.30 3.00 3.30 114%

2552 11.30 3.00 3.30 5.00 196%

2553 12.92 3.00 3.92 6.00 187%

2554 8.43 4.17 4.26 113%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 1 หนา 79


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โครงสรางการจัดการของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหา และกํากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการบริหาร นายแอเลน ลิว ยง เคียง ประธานเจาหนาที่บริหาร นายวิเชียร เมฆตระการ

(รักษาการ) หัวหนา คณะผูบริหารดาน การตลาด นายวิเชียร เมฆตระการ

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ นายมารค ชอง ชิน กอก

(รักษาการ) หัวหนาคณะ ผูบริหาร ดานเทคโนโลยี นายวิกรม ศรีประทักษ

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคา นางสุวิมล แกวคูณ หัวหน หัวาหน เจาาหน คณะผู าที่บบริริหหารด าร าน ดาการเงิ นการเงิ นน นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

ผูบริหาร 4 รายแรก ตามคํานิยามของสํานักงาน ก.ล.ต.

สวนที่ 1 หนา 79

ผูชว ยกรรมการผูอํานวยการ อาวุโส สวนงานตรวจสอบภายใน นางสุวิมล กุลาเลิศ


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

8. การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการ โครงสรางการจัดการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอยอีก 4 คณะ ไดแก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแล กิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1) คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 9 ทาน ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม นายสมประสงค บุญยะชัย นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ นางทัศนีย มโนรถ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายโยว เอ็ง ชุน นายอึ้ง ชิง-วาห นายวิกรม ศรีประทักษ

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ และกรรมการบริหาร กรรมการ และรองประธานกรรมการบริหาร

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท คือ นายสมประสงค บุญยะชัย นายวิกรม ศรีประทักษ กรรมการสองคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท เลขานุการบริษัท คือ นายองอาจ ทองพิทักษสกุล คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมวาระปกติเปนประจําทุกไตรมาส โดยในป 2554 มีการประชุมปกติ 7 ครั้ง วาระพิเศษ 4 ครั้ง

สวนที่ 1 หนา 80


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคและขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุนดวยความ ซื่อสัตยสุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ 2. กําหนดวิสัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัทและกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการใหเปนไปตาม นโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัทและผูถือหุน 3. พิจารณาอนุมัติรายการที่สําคัญ เชน โครงการลงทุนธุรกิจใหม, การซื้อขายทรัพยสิน ฯลฯ และการดําเนินการใดๆ ที่ กฎหมายกําหนด 4. พิจารณาอนุมัติและ/หรือใหความเห็นชอบตอรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทยอยใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 5. ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหาร และกรรมการบริหารอยางสม่ําเสมอ และกําหนดคาตอบแทน 6. รับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝายบริหาร โดยใหมีความตั้งใจและความระมัดระวังในการ ปฏิบัติงาน 7. ดําเนินการใหฝายบริหารจัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งดูแลใหมี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 8. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 9. กํากับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม 10. ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจําอยางนอย ปละ 1 ครั้ง 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูกับรายงานของผูสอบบัญชีไวใน รายงานประจําป และครอบคลุมในเรื่องสําคัญๆ ตามนโยบายเรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานตางๆ โดยมีรายละเอียดการ มอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบ อํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติ รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว (2) คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการและผูบริหาร จํานวน 5 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. นายแอเลน ลิว ยง เคียง ประธานกรรมการบริหาร 2. นายวิกรม ศรีประทักษ รองประธานกรรมการบริหาร 1/ 3. นางศุภจี สุธรรมพันธุ กรรมการบริหาร 4. นายคิมห สิริทวีชัย กรรมการบริหาร 5. นายอึ้ง ชิง-วาห กรรมการบริหาร 1/

ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการบริหารแทน นายอารักษ ชลธารนนท วันที่ 4 สิงหาคม 2554

สวนที่ 1 หนา 81


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2554 คณะกรรมการบริหารมีการประชุมปกติ 11 ครั้ง และการประชุมเฉพาะกิจ - ครั้ง โดยมีการรายงานตอ คณะกรรมการบริษัททุกเดือน ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดทิศทางกลยุทธ โครงสรางการบริหารงาน แผนธุรกิจและงบประมาณประจําปของบริษัท เพื่อเสนอให คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 2. กํากับและติดตามผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษัท และรายงานผลการดําเนินงานและฐานะ การเงินใหแกกรรมการบริษัทรับทราบเปนประจําทุกเดือน 3. พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ยวกับการลงทุนและจําหนายทรัพยสิน การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและการบริหารเงิน การบริหารงานทั่วไป และรายการอื่นใดที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท ภายในขอบเขตอํานาจที่ไดรับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 4. คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจชวงใหผูบริหารหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการใน เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรได การอนุมัติรายการของคณะกรรมการ บริหารและหรือการมอบอํานาจชวงตอ งไมเปนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีค วามขัดแยงทาง ผลประโยชน หรือรายการที่คณะกรรมการบริหารมีสวนไดเสียตามที่กําหนดในขอบังคับของบริษัท และตามที่กําหนดโดย คณะกรรมการบริษัทและหนวยงานกํากับดูแล 5. รายงานผลการปฏิบัติงานที่สําคัญของคณะกรรมการบริหารใหคณะกรรมการบริษัทรับทราบเปนประจําทุก ไตรมาส ในวาระการรายงานของประธานกรรมการบริหาร 6. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรเปนประจําทุกป ซึ่งอาจทําพรอม กับการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอยอื่น 7. ดําเนินการอื่นๆ ใด หรือ ตามอํานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหนาที่ใหเปน คราวๆ ไป (3) คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระที่มี คุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยฯ และ เปนผูทรงคุณวุฒิดานการเงิน การบัญชี กฎหมาย และ การ บริหารจัดการ มีรายชื่อดังนี้ 1. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ1/ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ (เขารวมประชุม 12 ครั้ง) 1/ 2. นางทัศนีย มโนรถ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เขารวมประชุม 12 ครั้ง) 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ (เขารวมประชุม 12 ครั้ง) 1/

มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมวาระปกติเปนประจําทุกเดือน โดยในป 2554 มีการประชุมปกติ 11 ครั้ง และ การประชุมเฉพาะกิจ 1 ครั้ง โดยมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส

สวนที่ 1 หนา 82


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกําหนด และมีการ เปดเผยอยางเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบ ในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง และการพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความดีความชอบของหัวหนาหนวยงาน ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัท และ เสนอ คาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยาง นอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอ บริษัท 6. สอบทานใหบริษัทมีระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 7. สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของหนวยงานตรวจสอบภายใน แผนงานตรวจสอบภายในประจําป การปฏิบัติงานของ หนวยงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผูสอบบัญชี 8. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลง นามโดยประธานกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ ก. ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท ข. ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท ค. ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยฯ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท ง. ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ. ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ. จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และ การเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน ช. ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (charter) ซ. รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 9. ดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริงตามที่ไดรับแจงจากผูสอบบัญชี เกี่ยวกับพฤติการณอันควรสงสัยวากรรมการ ผูจัดการ หรือ บุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัท ไดกระทําความผิดตามที่กฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยกําหนด และใหคณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องตนใหแกสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และผูสอบบัญชีทราบ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง จากผูสอบบัญชี 10. รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัท ทราบอยางนอยปละ 4 ครั้ง โดยในการ ปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทําซึ่งอาจมีผลกระทบอยาง มีนัยสําคัญตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัท ใหคณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการ ของบริษัท เพื่อดําเนินการปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร สวนที่ 1 หนา 83


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

11. 12. 13. 14.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หากคณะกรรมการของบริษัทหรือผูบริหารไมดําเนินการใหมีการปรับปรุงแกไขภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานวามีรายการหรือการกระทํานั้นตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยหรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการตรวจสอบ มีอํานาจเชิญใหฝายจัดการ ผูบริหาร หรือ พนักงานของบริษัท ที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน พิจารณาใหความเห็นชอบในการวาจางที่ปรึกษาหรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัท มาใหความเห็น หรือ คําปรึกษาในกรณีจําเปน พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจําทุกป ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

(4) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวย กรรมการ จํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการ (เขารวมประชุม 4 ครั้ง) 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ กรรมการ (เขารวมประชุม 4 ครั้ง) 3. นายสมประสงค บุญยะชัย กรรมการ (เขารวมประชุม 4 ครั้ง) ในป 2554 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนมีการประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อพิจารณากําหนดนโยบายวงเงิน และคาตอบแทน กรรมการอิสระ และกรรมการอื่นประจําป 2554 พิจารณาประเมินการปฏิบัติงาน และกําหนดคาตอบแทนประธานเจาหนาที่ บริหาร และผูบริหารที่รายงานตรงตอประธานเจาหนาที่บริหาร รวมถึงเห็นชอบรายงาน Economic Value Plan for Employees (EV) Achievement สําหรับป 2554 และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน 1 กํา หนดค า ตอบแทนที่ จํ า เป น และเหมาะสมในแต ละป ทั้ง ที่ เป น ตัว เงิน และมิ ใ ช ตั ว เงิ น ของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอย ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร รวมถึงผูบริหารที่รายงานตรงตอประธาน เจาหนาที่บริหาร 2 พิจารณาใหความเห็นชอบโครงการ Economic Value Plan for Employees (EV) และหลักเกณฑตางๆ ใน การดําเนินการตามโครงการ EV รวมทั้งใหความเห็นชอบการจัดสรรโบนัสตามโครงการ EV ประจําปใหกับผูบริหารของ บริษัท 3 กํากับดูแลการดําเนินการตามโครงการ EV และมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดในกรณีที่มีปญหา หรือขอขัดแยง เกี่ยวกับการดําเนินการตามโครงการ EV 4 พิจารณาอนุมัติการกําหนดคาตอบแทนประจําปของกรรมการ 5 จัดทําหลักเกณฑ และนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการ เพื่อเสนอใหคณะกรรมการ พิจารณาอนุมัติและหรือนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติตามแตกรณี 6 รายงานนโยบายดานคาตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงคของนโยบาย เปดเผยไวใน รายงานประจําป 7 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย สวนที่ 1 หนา 84


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

(5) คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ รายชื่อคณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ประกอบดวยกรรมการ จํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการ (เขารวมประชุม 4 ครั้ง) 2. นายสมประสงค บุญยะชัย กรรมการ (เขารวมประชุม 5 ครั้ง) 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการ (เขารวมประชุม 5 ครั้ง) ในป 2554 คณะกรรมการสรรหามีการประชุมรวม 5 ครั้ง เพื่อพิจารณาเสนอแตงตั้งกรรมการ แทนกรรมการที่ตองพนจาก ตําแหนงตามกําหนดวาระตามขอบังคับของบริษัท 3 ทาน กําหนดอํานาจกรรมการ พิจารณาเสนอแตงตั้งกรรมการและ กรรมการบริหารแทนกรรมการ กรรมการบริหารที่ลาออกระหวางป รวมถึงหัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการและ พิจารณาปรับปรุงนโยบายกํากับดูแลกิจการและประมวลจริยธรรมธุรกิจ โดยมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ 1. กําหนดหลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาคณะกรรมการและกรรมการชุดยอยของบริษัท 2. กํากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท พิจารณาทบทวนนโยบายการ กํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ทุกๆ ป รวมทั้งเสนอปรับปรุงแกไขนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท ให คณะกรรมการพิจารณา 3. พิจารณาสรรหากรรมการ และกรรมการชุดยอยโดยพิจารณาบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และหรือเสนอขออนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุนแลวแตกรณี 4. พิจารณาสรรหาผูที่เหมาะสมที่จะดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร ในกรณีที่มีตําแหนงวางลง รวมทั้ง หลักเกณฑในการสืบทอดตําแหนง 5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (6) คณะผูบริหาร รายชื่อคณะผูบริหาร (ตามคํานิยามของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย) โครงสรางการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดงั ตอไปนี้ 1. นายแอเลน ลิว ยง เคียง ประธานกรรมการบริหาร 2. นายวิเชียร เมฆตระการ ประธานเจาหนาที่บริหาร และ (รักษาการ) หัวหนาคณะผูบริหารดานการตลาด 3. นายวิกรม ศรีประทักษ (รักษาการ) หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี 4. นางสุวิมล แกวคูณ หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคา 5. นายมารค ชอง ชิน กอก หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ 6. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

สวนที่ 1 หนา 85


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การสรรหากรรมการ บริษัท ไดกําหนดแนวทางการสรรหาและแตงตั้งกรรมการบริษัท ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง กรรมการตองลาออกจากตําแหนง 1 ใน 3 ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรง เปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจไดรับเลือกเขามา ดํารงตําแหนงใหมก็ได (2) ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคล หนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขา เปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคล ซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน นอกจากนี้ บริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ (Nomination and Corporate Governance Committee) ทําหนาที่พิจารณากําหนดหลักเกณฑและนโยบายในการสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนง กรรมการ ทั้งนี้ กําหนดใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท ดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ถือ (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได ใน กรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการ จะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัท มีนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนใหกรรมการในอัตราที่เทียบไดกับอุตสาหกรรมเดียวกัน และสูงเพียงพอที่จะจูง ใจและรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว สําหรับการจายคาตอบแทนกรรมการบริหาร และผูบริหาร จะสอดคลองกับผลการ ดําเนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละทาน คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน เปนผูพิจารณากําหนดคาตอบแทนที่จําเปนและเหมาะสมที่เปนตัวเงิน ใหแก กรรมการ บริษัท กรรมการชุดยอย โดยนําเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมผูถือหุน ในการประชุมสามัญ ประจําป เปนประจําทุกป 1) คาตอบแทนคณะกรรมการบริษัท คาตอบแทนที่เปนตัวเงินสําหรับประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการที่ไมเปนผูบ ริหาร จํานวน 7 ราย รวม จํานวนเงิน 13,257,103 บาท ซึ่งเปนการจายจากผลการดําเนินงานประจําป 2554 ประกอบดวย คาตอบแทนรายเดือน เบี้ย ประชุมและคาตอบแทนประจําป สวนกรรมการบริษัทที่เปนผูบริหารจะไมไดรับคาตอบแทนในฐานะกรรมการบริษัท คาตอบแทนกรรมการที่ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน ประจําป 2554 ไมเกิน 13,500,000 บาท มีโครงสรางดังตอไปนี้

สวนที่ 1 หนา 86


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นโยบายคาตอบแทนกรรมการป 2554 คาตอบแทนรูปตัวเงิน (บาท) ป 2554 กรรมการ คณะกรรมการ - ประธานกรรมการ - กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน - ประธาน - กรรมการ คณะกรรมการบริหาร - ประธาน - กรรมการ

รายเดือน

เบี้ยประชุม

200,000 50,000

x 25,000

25,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

10,000 x

25,000 25,000

คาตอบแทน ประจําป

หมายเหตุ :

1) กรรมการที่เปนผูบริหาร / พนักงานของบริษัท หรือผูถือหุน ไมมีสิทธิไดรับคาตอบแทนในฐานะกรรมการ หรือกรรมการ ชุดยอย 2) ประธานกรรมการไมไดรับคาตอบแทนรายเดือน หรือเบี้ยประชุม หากเปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย อนึ่ง นโยบายคาตอบแทนกรรมการป 2554 ขางตน เปนอยางเดียวกับป 2553

คาตอบแทนกรรมการบริษัทเปนรายบุคคลที่ไดรับในฐานะกรรมการบริษัทจํานวน 7 ราย ในป 2554 มีดังนี้ รายชื่อ ตําแหนง คาตอบแทนประจําป 2554 (บาท) 1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม ประธานกรรมการ 2,850,000 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ ประธานกรรมการตรวจสอบ 3,100,000 3. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ 2,225,000 4. นางทัศนีย มโนรถ กรรมการตรวจสอบ 2,150,000 1/ 5. นายดุสิต นนทะนาคร กรรมการ 841,438 6. นายอึ้ง ชิง-วาห กรรมการ 1,925,000 2/ 7. ดร. อานนท ทับเที่ยง กรรมการ 165,665 รวม 13,257,103 1/

ประชุม 3 ครั้ง ถึงแกกรรมเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2554 ลาออกจากการเปนกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2554

2/

สวนที่ 1 หนา 87


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2) คาตอบแทนรวมของผูบริหาร คาตอบแทนรวมของคณะผูบริหารจํานวน 7 ราย สําหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เทากับ 101.59 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ คณะผูบริหาร หมายถึง กรรมการบริหารและผูบริหารของบริษัท ตามนิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. 3) คาตอบแทนอื่นๆ บริ ษัท มี โ ครงการออกและเสนอขายใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิที่ จ ะซื้ อ หุน สามั ญ ของบริ ษัท แกก รรมการและพนัก งาน โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเปนแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบัติงานของกรรมการและพนักงาน นอกจากนี้ เพื่อใหบุคคลดังกลาวมี ความตั้งใจในการทํางานและเปนแรงจูงใจใหกรรมการและพนักงานทํางานใหกับบริษัทตอไปในระยะยาวและสรางประโยชน สูงสุดแกบริษัท บริษัทจะออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญทุกๆ ป ระยะเวลาตอเนื่องกัน 5 ป ทั้งนี้ บริษัทฯ จะตองขออนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิตอที่ประชุมผูถือหุนเปนรายป อยางไรก็ตาม โครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทแกกรรมการและพนักงานไดครบ อายุทั้ง 5 โครงการแลว การรายงานการมีสวนไดเสีย บริษัทไดใหกรรมการ กรรมการบริหาร และผูบริหารตามคํานิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. รายงานการมีสวนไดเสีย เมื่อเริ่ม ดํารงตําแหนง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลตางๆ และทบทวนขอมูลตางๆ เปนประจําทุกป การอบรมและพัฒนาความรูกรรมการ บริษัทไดจัดใหมีการปฐมนิเทศกรรมการเขาใหมที่ไดรับการแตงตั้งเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2554 กับจัดฟงบรรยาย Turn Risks and Opportunities into Perspectives เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2554

สวนที่ 1 หนา 88


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การกํากับดูแลกิจการ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัทมีความเชื่อมั่นวา ระบบการบริหารจัดการที่ดี การมีคณะกรรมการและผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและมีความรับผิดชอบตอ หนาที่ มีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางโปรงใสตรวจสอบได การเคารพในสิทธิ ความเทาเทียมกันของผูถือหุน และมีค วามรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสีย จะเปนปจ จัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและ ผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัตินโยบายการกํากับดูแลกิจการเปนลายลักษณอักษร โดยมีหลักการและแนวปฏิบัติที่สอดคลอง กับหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งไดถือปฏิบัติมาตั้งแตวันที่ 14 พฤศจิกายน 2545 คณะกรรมการบริษัทไดประชุมทบทวนปรับปรุงนโยบายการกํากับดูแลกิจการเปนประจําทุกป ซึ่งไดปรับปรุงลาสุด เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2553 ทั้งนี้ ไดมีการสื่อสารใหคณะกรรมการ ผูบริหารและพนักงานของบริษัทไดรับทราบและถือปฏิบัติ อยางตอเนื่อง นโยบายดังกลาวแบงออกเปน 5 หมวดครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท 2. สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และบทบาทตอผูมีสวนไดสวนเสีย 3. การเปดเผยสารสนเทศและความโปรงใส 4. การควบคุมและบริหารความเสี่ยง 5. ประมวลจริยธรรมธุรกิจ (ผูที่สนใจสามารถ download นโยบายการกํากับดูแลกิจการ ไดที่ www.ais.co.th) 1. คณะกรรมการบริษัท 1.1 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการมีความมุงมั่นที่จะใหบริษัทและบริษัทยอย (บริษัท) เปนผูนําสรางสรรครูปแบบตลาดการสื่อสารโทรคมนาคม ในประเทศไทยดวยการเขาถึงนวัตกรรมใหมๆ การมอบประสบการณดีๆ ใหกับลูกคา คุณภาพเครือขายและวัฒนธรรมการ ทํางาน คณะกรรมการมีภาวะผูนํา วิสัยทัศน มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหนาที่ในการกํากับดูแลกิจการใหเกิด ประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนโดยรวม คณะกรรมการมีหนาที่และความรับผิดชอบตอผูถือหุนของบริษัทที่จะกํากับดูแลการบริหารงานของฝายบริหารและมีการ แบงแยกหนาที่ระหวางคณะกรรมการและฝายบริหารไวอยางชัดเจน 1.2 องคประกอบของคณะกรรมการ การแตงตั้งและความเปนอิสระ 1.2.1 คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิ ที่มีประสบการณหลากหลายในสาขาตางๆ และมีจํานวนกรรมการ อยางเพียงพอที่จะกํากับดูแลธุรกิจของบริษัทรวมกันไมนอยกวา 5 คนตามกฎหมาย โดยอยางนอยหนึ่งคนเปนผูมี ประสบการณดานกิจการโทรคมนาคมและอยางนอยหนึ่งคนมีประสบการณ ดานบัญชีและการเงิน 1.2.2 คณะกรรมการเปนตัวแทนของผูถือหุนทั้งหมดโดยรวม มิใชเปนตัวแทนของผูถือหุนกลุมใดกลุมหนึ่ง

สวนที่ 1 หนา 89


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1.2.3 คณะกรรมการประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระอยางนอยหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทั้งคณะ และมีจํานวน อยางนอย 4 คน และมีกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร อยางนอยกึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะ เพื่อใหมีการถวงดุล ระหวางกรรมการที่ไมเปนผูบริหารกับกรรมการที่เปนผูบริหาร 1.2.4 คณะกรรมการมีนโยบายใหมีจํานวนกรรมการใหเปนไปตามสัดสวนอยางยุติธรรมของเงินลงทุนของผูถือหุนที่มี อํานาจควบคุม (Controlling shareholders) ในบริษัท 1.2.5 การแตงตั้งกรรมการใหเปนไปตามขอบังคับบริษัท และขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ จะตองมีความ โปรงใสและชัดเจน ในการสรรหากรรมการใหดําเนินการผานกระบวนการของคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแล กิจการ และการพิจารณาจะตองมีประวัติการศึกษาและประสบการณการประกอบวิชาชีพของบุคคลนั้นๆ โดยมี รายละเอียดที่เพียงพอ เพื่อประโยชนในการตัดสินใจของคณะกรรมการและผูถือหุน 1.2.6 กรรมการมีวาระการดํารงตําแหนงตามที่กําหนดไวในขอบังคับบริษัท กรรมการที่พนจากตําแหนงอาจไดรับเลือกเขา มาดํา รงตํ า แหน ง ใหมอี ก ได โ ดยไม จํา กัด จํ า นวนครั้ ง สํ า หรั บคุ ณ สมบั ติ ใ นการดํา รงตํ า แหน งกรรมการอิส ระนั้ น คณะกรรมการกําหนดเปนนโยบายวา สําหรับผูที่ไดดํารงตําแหนงกรรมการอิสระมาแลวเปนระยะเวลา 9 ป หรือ 3 วาระติดตอกัน คณะกรรมการจะทบทวนความเปนอิสระที่แทจริงของกรรมการอิสระผูนั้นเปนการประจําทุกๆ ป 1.3 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหารตองเปนผูที่มีความรูความสามารถมีประสบการณและคุณสมบัติที่ เหมาะสม ไมเปนบุคคลเดียวกัน เพื่อใหมีการถวงดุลอํานาจโดยแยกหนาที่การกํากับดูแลและการบริหารงานออกจาก กัน ประธานกรรมการเปนกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร เปนผูนําของคณะกรรมการ และมีหนาที่ในฐานะเปนประธานการ ประชุมคณะกรรมการ และการประชุมผูถือหุน ประธานกรรมการบริหารเปนหัวหนาและผูนําคณะผูบริหารของบริษัท รับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัท ในการบริหารจัดการ เพื่อใหบรรลุตามแผนที่วางไว 1.4 คุณสมบัติของคณะกรรมการ 1.4.1 กรรมการตองเปนบุคคลที่มีความรูความสามารถ มีความซื่อสัตยสุจริต มีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ และมีเวลา อยางเพียงพอที่จะอุทิศความรู ความสามารถและปฏิบัติหนาที่ใหแกบริษัทได 1.4.2 มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัดและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ 1.4.3 กรรมการสามารถดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นได แตทั้งนี้ในการเปนกรรมการดังกลาวตองไมเปนอุปสรรคตอ การปฏิบัติหนาที่กรรมการของบริษัท 1.4.4 กรรมการอิสระตองมีคุณสมบัติครบถวนตามที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด และตองสามารถดูแลผลประโยชนของผูถือหุนทุกรายไดเทาเทียมกัน และ ไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน นอกจากนั้นยังตองสามารถเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทโดยให ความเห็นอยางเปนอิสระได กรรมการอิสระตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1) ถือหุนไมเกินรอยละ 0.5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย 2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูม ี อํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมี สวนที่ 1 หนา 90


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

3)

4)

5) 6)

7)

8) 9) 10)

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ความขัดแยง สําหรับกรรมการตรวจสอบที่ไดรับการแตงตั้งในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ตองพนจากการ มีลักษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวาสองปกอนไดรับการแตงตั้ง ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือ หุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ หรือผูบริหาร ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัท ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สําหรับกรรมการตรวจสอบที่ไดรับการแตงตั้ง ในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ตองพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวาสองปกอนไดรับการ แตงตั้ง ความสัมพันธทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการคาที่กระทําเปนปกติเพื่อประกอบกิจการ การเชา หรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการที่เกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทาง การเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ําประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทํานอง เดียวกัน ซึ่งเปนผลใหบริษัท หรือคูสัญญามีภาระหนี้ที่ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของสินทรัพยที่ มีตัวตนสุทธิของบริษัท หรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ ดังกลาวใหเปนไปตามวิธีการคํานวณมูลคาของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยวาดวยการเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยว โยงกันโดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปน ผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง และไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของสํานักงานสอบ บัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงสังกัดอยู สําหรับกรรมการตรวจสอบที่ไดรับการแตงตั้งในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ตองพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลว ไมนอยกวาสองปกอนไดรับการแตงตั้ง ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผูใหบริการวิชาชีพเปนนิติบุคคล ใหรวมถึงการเปนผูถือหุนรายรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการ ของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย สําหรับ กรรมการตรวจสอบที่ไดรับการแตงตั้งในหรือหลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ตองพนจากการมีลักษณะดังกลาว มาแลว ไมนอยกวาสองปกอนไดรับการแตงตั้ง ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือ บริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน สามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ แสดงความเห็ น หรื อ รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านตามหน า ที่ ที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท โดยไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการ ดําเนินงานของบริษัท

สวนที่ 1 หนา 91


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1.5 หนาที่ความรับผิดชอบที่สําคัญของคณะกรรมการ 1.5.1 ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคและขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุนดวย ความซื่อสัตยสุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 1.5.2 กําหนดวิสัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และกํากับดูแลให ฝายบริหารดําเนินการให เปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัทและผูถือหุน 1.5.3 พิจารณาอนุมัติรายการที่สําคัญ เชน โครงการลงทุนธุรกิจใหม, การซื้อขายทรัพยสิน ฯลฯ และการดําเนินการใดๆ ที่กฎหมายกําหนด 1.5.4 พิจารณาอนุมัติแ ละ/หรือใหความเห็นชอบตอรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท และบริษัทยอยใหเปนไปตาม ประกาศ ขอกําหนด และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 1.5.5 ประเมินผลงานของประธานกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอยางสม่ําเสมอและกําหนดคาตอบแทน 1.5.6 รับผิดชอบตอผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝายบริหาร โดยใหมีความตั้งใจและความระมัดระวังในการ ปฏิบัติงาน 1.5.7 ดําเนินการใหฝายบริหารจัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งดูแลใหมี กระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในใหมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและการติดตามผล 1.5.8 ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 1.5.9 กํากับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม 1.5.10 ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกลาวเปนประจําอยาง นอยปละ 1 ครั้ง 1.5.11 รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูกับรายงานของผูสอบบัญชีไวใน รายงานประจําปและครอบคลุมในเรื่องสําคัญๆ ตามนโยบายเรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัทจด ทะเบียนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 1.6 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการกําหนดใหมีการประชุมอยางนอย 6 ครั้งตอป โดยกําหนดวันประชุมไวลวงหนาตลอดทั้งป และอาจมีการ ประชุมวาระพิเศษเพิ่มตามความจําเปน ในการจัดประชุมคณะกรรมการ ใหประธานหรือรองประธานกรรมการที่ไดรับ มอบหมายเปนผูดูแลใหความเห็นชอบกําหนดวาระการประชุม โดยทําหนาที่จัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระ การประชุมและเอกสารประกอบการประชุมไปใหกรรมการลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหกรรมการไดมีเวลาศึกษามา กอนลวงหนา ประธานกรรมการบริษัททําหนาที่เปนประธานที่ประชุม มีหนาที่ดูแลและจัดสรรเวลาแตละวาระใหอยางเพียงพอสําหรับ กรรมการที่จะอภิปราย แสดงความคิดเห็นอยางเปนอิสระในประเด็นที่สําคัญโดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูถือหุนและผูมี สวนเกี่ยวของอยางเปนธรรม รวมทั้งใหฝายบริหารที่เกี่ยวของนําเสนอขอมูลประกอบการอภิปรายปญหาสําคัญ เลขานุการบริษัททําหนาที่สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการและประสานงานระหวางคณะกรรมการกับฝายบริหาร จัดประชุมและจัดทํารายงานการประชุมภายใน 14 วัน จัดเก็บรายงานการประชุม และทะเบียนกรรมการ สนับสนุนติดตาม ใหคณะกรรมการสามารถปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน อีกทั้งเปนศูนยกลางใน การติดตอกับผูถือหุน ติดตามใหองคกรมีการกํากับดูแลกิจการที่ดี และปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด

สวนที่ 1 หนา 92


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2554 คณะกรรมการบริษัทไดมีการประชุมทั้งวาระปกติรวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง และวาระพิเศษ 4 ครั้ง มีรายละเอียดการเขา รวมประชุมของกรรมการดังตอไปนี้ 1. ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม เขารวมประชุม 11/11 ครั้ง 2. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ เขารวมประชุม 10/11 ครั้ง 3. นางทัศนีย มโนรถ เขารวมประชุม 11/11 ครั้ง 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ เขารวมประชุม 9/11 ครั้ง 1 5. นายดุสิต นนทะนาคร เขารวมประชุม 3/11 ครั้ง 6. นายแอเลน ลิว ยง เคียง เขารวมประชุม 1/11 ครั้ง 7. นายโยว เอ็ง ชุน เขารวมประชุม 7/11 ครั้ง 8. นายวิกรม ศรีประทักษ เขารวมประชุม 9/11 ครั้ง 9. นายสมประสงค บุญยะชัย เขารวมประชุม 11/11 ครั้ง 10. นาย อึ้ง ชิง -วาห เขารวมประชุม 9/11 ครั้ง 2 11. ดร. อานนท ทับเที่ยง เขารวมประชุม 0/11 ครั้ง 1 2

ถึงแกกรรม เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2554 ลาออกจากการเปนกรรมการ เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2554

1.7 การประชุมของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการกําหนดใหกรรมการที่ไมเปนผูบริหารมีการประชุมกันเองตามความเหมาะสม โดยไมมีกรรมการที่เปน ผูบริหารหรือฝายบริหารเขารวมการประชุม เพื่อเปดโอกาสใหอภิปรายปญหาตางๆ ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท เรื่องที่อยู ในความสนใจ ในการประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานของการประชุม หากประธานกรรมการไมสามารถเขารวมการประชุมได ให ที่ประชุมคัดเลือกกรรมการหนึ่งทานเพื่อทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุมแทน และใหบริษัทจัดใหมีเลขานุการของการ ประชุมของกรรมการที่ไมเปนผูบริหารดวย ในป 2554 ไดมีการประชุมของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 1 ครั้ง 1.8 แผนการสืบทอดตําแหนง คณะกรรมการกําหนดใหมีแผนการสืบทอดตําแหนงของประธานกรรมการบริหารและผูบริหารระดับสูงของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อ รักษาความเชื่อมั่นใหกับผูลงทุน องคกร ตลอดจนพนักงานวาการดําเนินงานของบริษัท จะไดรับการสานตออยางทันทวงที คณะกรรมการมอบหมายใหคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการทําหนาที่พิจารณากําหนดหลักเกณฑและแผนการ สืบทอดตําแหนง หากตําแหนงประธานกรรมการบริหารวางลง รวมทั้งจัดใหมีการทบทวนแผนการสืบทอดตําแหนงเปน ประจําทุกป และใหประธานกรรมการบริหารรายงานใหคณะกรรมการเพื่อทราบเปนประจําถึงแผนการพัฒนาและสืบทอด ตําแหนงงาน 1.9 การติดตอสื่อสารกับฝายบริหาร กรรมการสามารถเขาถึงและติดตอสื่อสารกับฝายบริหารและเลขานุการบริษัทไดโดยตรง ตามความเหมาะสม แตการเขาถึง และติดตอสื่อสารนั้นตองไมเปนการกาวกายหรือแทรกแซงตอการดําเนินธุรกิจปกติของบริษัท

สวนที่ 1 หนา 93


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1.10 คาตอบแทนของกรรมการ คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหารของบริษัทจะสอดคลองกับหนาที่ความรับผิดชอบ และเมื่อเปรียบเทียบคาตอบแทน กับอุตสาหกรรมเดียวกันแลว คาตอบแทนดังกลาวอยูในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอที่จะจูงใจและรักษากรรมการที่มี คุณภาพไว ทั้งนี้ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนเปนผูพิจารณากลั่นกรองและเสนอคาตอบแทนของกรรมการในแตละป เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทและผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ 1.11 การอบรมและพัฒนาความรูกรรมการ กรรมการที่ไดรับการแตงตั้งใหมแตละทานจะไดรับทราบขอมูลของบริษัท กฎระเบียบและขอมูลธุรกิจของบริษัทที่เกี่ยวของ อยางเพียงพอกอนปฏิบัติหนาที่และกรรมการจะไดรับการอบรมและพัฒนาความรูอยางตอเนื่อง เพื่อชวยใหกรรมการ สามารถทําหนาที่และกํากับดูแลกิจการของบริษัทอยางมีประสิทธิภาพ 1.12 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ กําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการ (Self Assessment) เพื่อใชเปนกรอบในการตรวจสอบ การปฏิ บั ติ ง านในหน า ที่ ข องคณะกรรมการอย า งสม่ํ า เสมอ ในการประเมิ น ผลคณะกรรมการมี ก ารเปรี ย บเที ย บว า ได ดําเนินการตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ไดอนุมัติไวและ/หรือตามแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) หรือไม เพื่อ ปรับปรุงการปฏิบัติงานของคณะกรรมการใหสอดคลองกับแนวนโยบายที่กําหนดไว 2. สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุนและบทบาทตอผูมีสวนไดเสีย 2.1 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน คณะกรรมการเคารพในสิทธิและมีหนาที่ในการดูแลรักษาผลประโยชนของผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน ไมวาผูถือหุน นั้นจะเปนรายยอยหรือชาวตางชาติ นักลงทุนสถาบันหรือผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนรายยอย ไมวาสัญชาติใด โดย ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกัน ดังนี้ 1) สิทธิในการไดรับใบหุน โอนหุนและสิทธิในการรับทราบขอมูล ผลการดําเนินงาน นโยบายการบริหารงาน อยาง สม่ําเสมอและทันเวลา 2) สิทธิในการรับสวนแบงกําไรรวมกันอยางเทาเทียม 3) สิทธิในการเขารวมประชุมผูถือหุน แสดงความเห็น ใหขอเสนอแนะ และรวมพิจารณาตัดสินใจ ในการเปลี่ยนแปลงที่ สําคัญตางๆ 4) สิทธิในการแตงตั้งกรรมการบริษัท นอกจากนี้แลว ผูถือหุนทุกรายยังไดรับสิทธิอยางเทาเทียมตามที่กําหนดไวในขอบังคับบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวของ 2.2 การประชุมผูถือหุน บริษัทมีนโยบายที่จะดําเนินการประชุมผูถือหุนใหเปนไปตามกฎหมายและแนวทางการประชุมผูถือหุนที่หนวยงานกํากับ ดูแลกําหนด ในการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศ การแสดงความเห็น และ ตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ โดยประธานที่ประชุมมีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยาง เหมาะสมและสงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม

สวนที่ 1 หนา 94


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทใหสิทธิแกผูถือหุน ในการเสนอวาระการประชุมเปนการลวงหนา และเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมเพื่อเขารับการ คัดเลือกเปนกรรมการบริษัทในการประชุมผูถือหุนประจําป โดยบริษัทจะประกาศหลักเกณฑ วิธีการ และชองทางการเสนอ วาระการประชุม รวมทั้งขั้นตอนการพิจารณา ตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และเผยแพรบนเว็บไซตบริษัท เพื่อให เปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสิทธิของผูถือหุน ในป 2554 บริ ษั ท ได จั ด ให มี ก ารประชุ ม สามั ญ ผู ถื อ หุ น เมื่ อ วั น ที่ 31 มี น าคม 2554 เวลา 10.00 น. ถึ ง 12.00 น. ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด หองเวิลดบอลรูม ชั้น 23 เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการพิจารณาลงคะแนนเสียงเรียงลําดับตามวาระที่ กําหนดไว และไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุนทุกวาระ ทั้งนี้ บริษัทไดใหสิทธิผูถือหุนเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อ บุคคลที่เหมาะสมเขารับการคัดเลือกเปนกรรมการบริษัทเปนการลวงหนา เพื่อใหเปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสิทธิของผูถือหุนอีกดวย อนึ่ง สําหรับการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 บริษัทใหสิทธิผูถือหุนเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลที่ เหมาะสมเขารับการคัดเลือกเปนกรรมการบริษัท ในชวงระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนมกราคม 2554 โดยได ประกาศตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและเผยแพรบนเว็บไซตของบริษัท (http://investor.ais.co.th) ทั้งนี้ไมมีผูถือ หุนทานใดเสนอวาระหรือเสนอชือบุคคลเขารับการคัดเลือกเปนกรรมการบริษัท ในการประชุมผูถือหุนทุกคราว บริษัท จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมในวาระตางๆ อยาง เพียงพอ ใหผูถือหุนทราบในทันทีที่แลวเสร็จ หรือลวงหนาไมนอยกวา 14 วัน กอนวันประชุมผูถือหุน โดยเปดเผยไวใน เว็บไซตของบริษัทที่ http://investor.ais.co.th เพื่อใหผูถือหุนสามารถเขาถึงและศึกษาไดกอนวันประชุม รวมทั้งมีความเห็น ของคณะกรรมการในทุกวาระ หนังสือเชิญประชุมจะแจงรายละเอียดใหผูถือหุนนําเอกสารหลักฐานที่จําเปนมาใหครบถวนในวันประชุมผูถือหุน เพื่อรักษา สิทธิในการเขารวมประชุมของผูถือหุน สวนในวันประชุม ผูถือหุนสามารถลงทะเบียนลวงหนาได 2 ชั่วโมง กอนเริ่มการ ประชุม การประชุมผูถือหุนทุกครั้ง บริษัท จัดใหกรรมการอิสระอยางนอย 1 คน เปนผูรับมอบอํานาจแทนผูถือหุนที่ไมสะดวกเขา ประชุมและแจงไวในหนังสือนัดประชุม ผูถือหุนมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนแยกสําหรับแตละวาระที่เสนอ 3. การสื่อสารกับผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสีย โดยผูมีสวนไดเสียสามารถติดตอสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นตางๆ รวมถึง แจงเบาะแสในกรณีที่พบเห็นการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายหรือ จริยธรรมธุรกิจของบริษัท หรือในกรณีที่มิไดรับความ เปนธรรม โดยสามารถแจงเปนลายลักษณอักษรสงมาที่เลขานุการบริษัทตามที่อยูดังนี้ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สํานักเลขานุการบริษัท 414 ชั้น 1 อาคารอินทัช ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 หรือ E-mail ดังตอไปนี้ companysecretary@ais.co.th ทั้งนี้ ขอคําถาม ขอรองเรียน ขอเสนอแนะตางๆ จะสงตอใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ เพื่อใหมีการแกไข ปรับปรุง สรุปผลเพื่อรายงานตอคณะกรรมการบริษัทตอไป1/

สวนที่ 1 หนา 95


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในการประชุมผูถือหุน บริษัทไดกําหนดใหกรรมการบริษัททุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งประธานกรรมการบริษัท และประธาน กรรมการชุดยอยเขารวมประชุมเพื่อตอบคําถามตอที่ประชุมผูถือหุนทุกคราวไป นอกจากนี้ ในการประชุมผูถือหุน ทุกครั้งจะมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนกรรมการอิสระรวมอยูดวย โดยประธานที่ประชุมหรือบุคคลที่ไดรับมอบหมาย จากประธานที่ประชุม มีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม สงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม เปด โอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกันใน การตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัทใหแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ รวมทั้งมีการบันทึกประเด็นซักถามและขอคิดเห็นที่สําคัญไวในรายงานการประชุม 2.3 บทบาทตอผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ และมีนโยบายที่จะดูแลใหความมั่นใจโดยจัดลําดับความสําคัญใหแก ผู มีสวนไดสวนเสีย ทั้งผูถือหุน พนักงาน ผูบริหาร ลูกคา คูคา เจาหนี้ ตลอดจนสาธารณชนและสังคมโดยรวมอยางเหมาะสม และจะใหมีการรวมมือกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในกลุมตางๆ ตามบทบาทและหนาที่เพื่อใหกิจการของบริษัทดําเนินไป ดวยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชนที่เปนธรรมแกทุกฝาย 3.การเปดเผยสารสนเทศและความโปรงใส บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปดเผยสารสนเทศและความโปรงใส 1) คณะกรรมการมีหนาที่ในการเปดเผยสารสนเทศทั้งที่เปนสารสนเทศทางการเงินและที่ไมใชทางการเงินอยางครบถวน เพียงพอ เชื่อถือไดและทันเวลา เพื่อใหผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทไดรับสารสนเทศอยางเทาเทียมกัน 2) กําหนดใหมีหนวยงานผูลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) เพื่อเปนตัวแทนบริษัทในการสื่อสารสารประชาสัมพันธ ขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนใหผูถือหุน ผูลงทุน นักวิเคราะหหลักทรัพย และผูที่เกี่ยวของไดรับทราบขอมูลของบริษัท ซึ่งผูสนใจสามารถติดตอขอขอมูลตางๆ จากหนวยงานนักลงทุนสัมพันธไดที่ โทร. (66) 2299 5014 หรือ Email: investor@ais.co.th หรือที่เว็บไซตของแผนกนักลงทุนสัมพันธ http://investor.ais.co.th อีกทั้งมีหนวยงาน Compliance ของบริ ษัท ดูแ ลในดา นการเป ด เผยข อมู ล แก ต ลาดหลัก ทรัพ ย แ ห ง ประเทศไทยและสํา นั ก งาน คณะกรรมการกํา กับ หลั ก ทรัพ ย แ ละตลาดหลัก ทรั พย (สํา นั ก งาน ก.ล.ต.) เพื่อ ให มั่ น ใจว า ไดป ฏิบั ติต ามระเบี ย บ ขอบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวของอยางครบถวน นอกจากนี้ บริษัทจัดใหมีวันนักลงทุนประจําป (Annual Investor Day) เพื่อเปดโอกาสผูจัดการกองทุนและนักวิเคราะหไดมีความเขาใจตอการดําเนินธุรกิจ และการปฏิบัติงานในแตละสวน งานของบริษัทไดมากขึ้น 3) บริษัทมีนโยบายเปดเผยสารสนเทศที่สําคัญตอสาธารณชน ดังนี้ 3.1) วัตถุประสงคของบริษัท 3.2) ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทโครงสรางการถือหุน และสิทธิในการออกเสียง 3.3) รายชื่อกรรมการ กรรมการชุดยอยตางๆ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร และระบุคาตอบแทน ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และ กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร 3.4) ปจจัยและนโยบายเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงที่สามารถมองเห็นไดทั้งที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน (Material foreseeable risk factors) 3.5) นโยบายและโครงสรางการกํากับดูแลกิจการ (Governance structures and policies) รวมทั้งความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงานของประธานกรรมการตรวจสอบ เปนตน 3.6) เปดเผยในรายงานประจําปเกี่ยวกับจํานวนครั้งที่กรรมการ และ/หรือ กรรมการชุดยอยแตละทานเขารวมประชุม โดยเปรียบเทียบกับจํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ และ/หรือคณะกรรมการชุดยอยในแตละป สวนที่ 1 หนา 96


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นอกจากนี้ บริษัทยังคงตองเปดเผยขอมูลตามกฎหมายหรือขอบังคับที่เกี่ยวของ เพื่อใหนักลงทุนและผูที่ เกี่ยวของ ทั้งที่เปนผูถือหุนและผูที่สนใจจะถือหุนในอนาคตไดใชประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผานชองทางและ สื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนผานเว็บไซตของบริษัท ที่ http://investor.ais.co.th 4. การควบคุมและบริหารความเสี่ยง 4.1 การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการตองจัดใหมีและรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในเพื่อปกปองเงินลงทุนของผูถือหุนและทรัพยสินของบริษัท คณะกรรมการมีหนาที่สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอยางนอยปละครั้งและรายงานใหผูถือหุน ทราบวาไดกระทําการดังกลาวแลว การสอบทานตองครอบคลุมในทุกเรื่องรวม ทั้งการควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Controls) และการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) 4.2 การตรวจสอบภายใน บริษัทมีการจัดตั้งหนวยงานตรวจสอบภายในโดยเปนหนวยงานหนึ่งในบริษัท และรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ และผูบริหารระดับสูง มีหนาที่ในการใหคําปรึกษา ตรวจสอบและประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสี่ยง และระบบการกํากับดูแลกิจการ 4.3 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) บริษัทมีนโยบายที่จะบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัท ทั้งปจจัยภายในและภายนอก ใหมีความเสี่ยงที่ เหลืออยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ซึ่งมี ประธานกรรมการบริหารเปนประธานและตัวแทนของทุกฝายในบริษัท เพื่อดําเนินการประเมินและสอบทานผลการประเมิน ความเสี่ยงจากหนวยงานตางๆ รวมทั้งทบทวนและเสนอนโยบายที่เกี่ยวของกับการบริหารความเสี่ยงอยางนอยปละครั้ง การบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งของการจัดทํา Business Plan ประจําป เพื่อใหการกําหนดแนวทางการจัดการความ เสี่ยงนั้น สอดคลองกับวัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท ทั้งนี้ผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัท เป น เจ า ของความเสี่ ย ง และมี ห น า ที่ ใ นการประเมิ น ความเสี่ ย งของแต ล ะหน ว ยงานและกระบวนการทํ า งานประเมิ น ประสิทธิภ าพของมาตรการควบคุม ที่มีอยูนํา เสนอแผนและวิธีก ารในการลดความเสี่ยง และรายงานใหผูบริห าร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท โปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมในสวนที่ 1 เรื่อง ปจจัยเสี่ยง และสวนที่ 10 เรื่อง การควบคุมภายใน การตรวจสอบ ภายในและการบริหารความเสี่ยง 5. ประมวลจริยธรรมธุรกิจ บริษัท ไดจัดทําประมวลจริยธรรมธุรกิจ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพื่อเปนแนวทาง และ ขอพึง ปฏิบัติที่ดีใหกรรมการ ผูบริหาร ตลอดจนพนักงานทุกๆ คนของบริษัท ไดยึดมั่นปฏิบัติงาน ดําเนินธุรกิจบริษัทอยางซื่อสัตย มีจริยธรรม ทั้งนี้ บริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจตั้งแตป 2549 โดยประมวลจริยธรรมธุรกิจบริษัทมีเนื้อหา ครอบคลุมในเรื่อง ดังนี้

สวนที่ 1 หนา 97


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5.1 ความรับผิดชอบตอผูถือหุน บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับผูถือหุน โดยคํานึงถึงการ เจริญเติบโตของมูลคาบริษัทในระยะยาวดวยผลตอบแทนที่ดีและตอเนื่อง รวมทั้งการดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือไดตอผูถือหุน 5.2 ความรับผิดชอบตอลูกคา บริษัทมีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคาที่จะไดรับผลิตภัณฑและบริการที่ดีมีคุณภาพ ใน ระดับราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดี จึงไดกําหนดแนวทางปฏิบัติไวดังตอไปนี้ ผลิตสินคาและบริการที่มีคุณภาพ โดยมุงมั่นที่จะยกระดับมาตรฐานใหสูงขึ้นอยางตอเนื่องและจริงจังเปดเผยขาวสาร ขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการอยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับจะไมเปดเผยขอมูลของลูกคา โดยไมไดรับอนุญาตจากลูกคาหรือจากผูมี อํานาจของบริษัทกอน เวนแตเปนขอมูลที่ตองเปดเผยตอบุคคลภายนอกที่เกี่ยวของตามบทบังคับของกฎหมาย 5.3 ความรับผิดชอบตอคูคาและเจาหนี้ การดําเนินธุรกิจกับคูคาใดๆ ตองไมนํามาซึ่งความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของบริษัทหรือขัดตอกฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึง ความเสมอภาคในการดําเนินธุรกิจและผลประโยชนรวมกันกับคูคา การคัดเลือกคูคาตองทําอยางยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทถือวา คูคาเปนปจจัยสําคัญในการรวมสรางมูลคาใหกับลูกคา บริษัทยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีตอเจาหนี้เปนสําคัญ ในการชําระคืนเงินตน ดอกเบี้ย และการดูแล หลักประกันตางๆ 5.4 ความรับผิดชอบตอพนักงาน พนั ก งานเป น ทรั พ ยากรอั น มี ค า สู ง สุ ด และเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ สู ค วามสํ า เร็ จ ของบริ ษั ท บริ ษั ท จึ ง ได มุ ง พั ฒ นาเสริ ม สร า ง วัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานที่ดี รวมทั้งสงเสริมการทํางานเปนทีม ปฏิบัติตอพนักงานดวยความสุภาพและใหความ เคารพตอความเปนปจเจกชน การวาจาง แตงตั้งและโยกยายพนักงาน จะพิจารณาบนพื้นฐานของคุณธรรมและการใช ทรัพยากรบุคคลใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท บริษัทมีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดลอมการทํางานใหมีความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของพนักงาน อยูเสมอ และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยแรงงานอยางเครงครัด บริษัทเคารพในความเปนสวนตัวของพนักงาน ไมนําขอมูลสวนตัว เชน เงินเดือน ประวัติการรักษาพยาบาล ครอบครัว ไป เปดเผยใหกับบุคคลภายนอกหรือผูที่ไมเกี่ยวของ เวนแตเปนขอมูลที่ตองเปดเผยตอบุคคลภายนอกที่เกี่ยวของตามบท บังคับของกฎหมาย 5.5 การแขงขันทางการคากับคูแขงขัน บริษัทมีนโยบายสนับสนุนและสงเสริมการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม บริษัทไมมีนโยบายในการแขงขันทางการคาโดยใชวิธีการใดๆ ใหไดมาซึ่งขอมูลของคูแขงขันอยางผิดกฎหมายและขัดตอ จริยธรรม 5.6 ความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และถือปฏิบัติ ตามปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน สวนที่ 1 หนา 98


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทในฐานะเปนบริษัทไทย ตระหนักและมีจิตสํานึกในบุญคุณของประเทศและเปนสวนหนึ่งของสังคม ซึ่งตองรับผิดชอบ ชวยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของทองถิ่นที่บริษัทมีการดําเนินธุรกิจ บริษัทมีนโยบายผลิตสินคาและใหบริการใดๆ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดลอม บริษัทสงเสริมกิจกรรมการดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรักษพลังงาน และมีนโยบายที่จะคัดเลือกและสงเสริมการใชผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ บริษัทเชื่อมั่น และสงเสริมการเคารพตอสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพ ขั้นพื้นฐานของบุคคล โดยถือปฏิบัติตาม ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และหลักสากลอื่นๆ 1/ 5.7 ความขัดแยงทางผลประโยชน (Conflict of Interests) ในการทํางานใหกับบริษัทอาจเกิดสถานการณที่ผลประโยชนสวนตนของกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานอาจขัดแยงกับ ผลประโยชนของบริษัท ความขัดแยงทางผลประโยชนนั้นอาจเกิดขึ้นไดในหลายรูปแบบ ดังนั้นบริษัทจึงไดกําหนดแนวทาง ที่ทุกคนพึงถือปฏิบัติ ดังนี้ 1) การรับเงินหรือประโยชนตอบแทน กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ตองไมรับเงินหรือประโยชนตอบแทนใดๆ เปนการสวนตัวจากลูกคา คูคา ของ บริษัทหรือจากบุคคลใดอันเนื่องจากการทํางานในนามบริษัท กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน จะตองไมใหกูหรือกูยืมเงิน หรือเรี่ยไรเงิน สิ่งของจากลูกคาหรือผูทําธุรกิจกับ บริษัท เวนแตเปนการกูยืมเงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินในฐานะของลูกคาของธนาคารหรือสถาบันการเงิน ดังกลาว 2) การประกอบธุรกิจอื่นนอกบริษัทและบริษัทยอย การทําธุรกิจสวนตัวใดๆ ของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ตองไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่และเวลาทํางาน ของบริษัทและหามประกอบธุรกิจหรือมีสวนรวมในธุรกิจใดอันเปนการแขงขันกับธุรกิจของบริษัทและบริษัทยอย ไม วากรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานดังกลาวจะไดรับประโยชนโดยตรงหรือโดยทางออมก็ตาม 3) การทําธุรกิจใดๆ กับบริษัทและบริษัทยอย การทําธุรกิจใดๆ กับบริษัทและบริษัทยอย ทั้งในนามสวนตัว ครอบครัว หรือในนามนิติบุคคลใดๆ ที่กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน นั้นมีสวนไดสวนเสีย จะตองเปดเผยสวนไดสวนเสียตอบริษัท กอนเขาทํารายการ หามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ที่มีสวนไดเสียเปนผูอนุมัติในการตกลงเขาทํารายการหรือกระทําการใดๆ ในนามบริษัท ผูทํารายการในนามบริษัทมีหนาที่ตองตรวจสอบความสัมพันธของคูคาวาเกี่ยวของกับกรรมการ ผูบริหาร และ พนักงาน หรือไม กอนทํารายการเพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชนใดๆที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ นิยามของ ความสัมพันธใหเปนไปตามหลักเกณฑเรื่อง การเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการ ที่เกี่ยวโยงกันของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 4) การดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทภายนอกบริษัท บริษัทไมมีนโยบายที่จะสงผูบริหาร เขาไปเปนกรรมการในบริษัทอื่นนอกบริษัท ในกรณีที่ผูบริหารของบริษัทจะ เขาดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น ตองไดรับการอนุมัติจากผูมีอํานาจของบริษัท ยกเวนการดํารงตําแหนง สวนที่ 1 หนา 99


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กรรมการในองคกรการกุศลที่ไมแสวงหากําไร ทั้งนี้ การดํารงตําแหนงดังกลาวจะตองไมขัดตอบทบัญญัติของ กฎหมาย หรือขอบังคับที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท และตองไมใชตําแหนงงานในบริษัทไปใชอางอิง เพื่อสงเสริมธุรกิจภายนอก ในการขออนุมัติใหเปนไปตามอํานาจอนุมัติ ดังนี้ ตําแหนง

อนุมัติโดย

ผูบริหารระดับตั้งแต 13 -15

ประธานกรรมการบริหาร

ผูบริหารระดับ 15 ขึ้นไป

คณะกรรมการบริหาร

ผูบริหารที่ดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท

5) การรับของขวัญและการรับเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน พึงหลีกเลี่ยงการรับของขวัญทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงินจาก คูคาหรือผูที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท เวนแตในเทศกาลหรือประเพณีนิยม แตตองมีมูลคาไมเกิน 5,000 บาท ในกรณีที่มี เหตุจําเปนตองรับของขวัญหรือทรัพยสินอื่นใดในมูลคาที่สูงกวา 5,000 บาท ใหรายงานผูบังคับบัญชาเพื่อ ดําเนินการตามความเหมาะสม กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน สามารถรับการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจได เพื่อประโยชนในธุรกิจของบริษัท และ พึงหลีกเลี่ยงการรับเลี้ยงรับรองในลักษณะที่เกินกวาเหตุความสัมพันธปกติจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของกับ บริษัท หรือจะเปนคูคาในอนาคต 6) การเดินทางไปสัมมนา ดูงาน ทัศนศึกษา กรรมการ ผูบริหารและพนักงาน สามารถรับเชิญไปดูงาน สัมมนาและทัศนศึกษา ซึ่งคูคาเปนผูออกคาใชจาย เดินทางใหได ทั้งนี้ เฉพาะเพื่อประโยชนในทางธุรกิจและตองผานการอนุมัติจากผูบังคับบัญชาที่มีอํานาจเทานั้น แตหามรับเงินหรือประโยชนอื่นใดจากคูคา 5.8 การเสนอเงิน สิ่งจูงใจหรือรางวัล บริษัทไมมีนโยบายเสนอเงิน สิ่งจูงใจของกํานัล สิทธิประโยชนพิเศษ ในรูปแบบใดๆ แกลูกคา คูคาของบริษัท หนวยงาน ภายนอกหรือบุคคลใดๆ เพื่อใหไดมาซึ่งธุรกิจ ยกเวนการใหการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจตามประเพณีนิยม สวนลดการคา และ โครงการสงเสริมการขายของบริษัท 5.9 กิจกรรมทางการเมือง บริษัทมีนโยบายเปนกลางทางการเมือง โดยไมบริจาคเงินสนับสนุนหรือกระทําการอันเปนการฝกใฝพรรคการเมืองใดพรรค การเมืองหนึ่งและหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทําใหเกิดความเขาใจวาบริษัทมีสวนเกี่ยวของหรือฝกใฝพรรคการเมืองใด พรรคการเมืองหนึ่ง กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองภายใตบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ แต กรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงาน ตองไมแอบอางความเปนพนักงานหรือนําทรัพยสิน อุปกรณ เครื่องมือใดๆ ของบริษัท ไม

สวนที่ 1 หนา 100


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใชเพื่อประโยชนในการดําเนินการใดๆ ในทางการเมืองและพึงหลีกเลี่ยงกิจกรรมใดๆ ที่อาจทําใหเกิดความเขาใจวาบริษัท ไดใหการสนับสนุนหรือฝกใฝในพรรคการเมืองใดพรรคหนึ่ง กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ตองลาออกจากการเปนพนักงาน หากจะดํารงตําแหนงทางการเมืองหรือลงสมัครรับ เลือกตั้งในระดับทองถิ่นหรือระดับประเทศ 5.10 การปกปอง ดูแลรักษาทรัพยสินของบริษัท กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับมีหนาที่และความรับผิดชอบในการดูแลรักษา การใชทรัพยสินของกลุมบริษัท เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทโดยไมนําไปใชเพื่อประโยชนของตนเอง หรือผูอื่น บริษัทมีนโยบายจะจัดทําเอกสารทางธุรกิจ บันทึกขอมูลทางการเงินและบัญชี และจัดทํารายงานทางการเงิน ดวยความ สุจริต ทันเวลา ถูกตองครบถวนตามกฎหมายที่เกี่ยวของและเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป กรรมการ ผูบริหาร พนักงานทุกคนตองควบคุมขอมูลความลับอยางเหมาะสมและตองไมสื่อสารขอมูลอันมีสาระสําคัญและ ยังมิไดเปดเผยสูสาธารณชน ซึ่งไดรับรูมาจากหนาที่งาน ไปยังหนวยงานอื่นๆ และบุคคลภายนอกที่ไมสมควรตองรับรู ขอมูลนั้น และมีหนาที่ตองใชความพยายามอยางดีที่สุด เพื่อปองกันไวซึ่งขอมูลที่เปนความลับดังกลาว ทั้งนี้ รวมไปถึงการ จัดเก็บเอกสารขอมูลที่เปนความลับ 5.11 การใชขอมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับตองไมใชขอมูลภายใน (Inside Information) ของบริษัทที่มีสาระสําคัญ และยัง ไมไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเองหรือผูอื่น กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทมีสิทธิเสรีภาพในการลงทุนซื้อขายหลักทรัพยของกลุมบริษัท แตเพื่อปองกันมิ ใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ควรหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพยของ กลุมบริษัท ในชวงระยะเวลา 30 วันกอนการเปดเผยงบการเงินใหแกสาธารณชน

5.12 การใหขอมูลขาวสาร หรือใหสัมภาษณตอสื่อมวลชน หรือตอสาธารณชน การใหขอมูลใดๆ เกี่ยวกับบริษัท ตองอยูบนพื้นฐานขอมูลที่ เปนจริง ถูกตอง และปฏิบัติดวยความระมัดระวัง ผูที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของหรือไมไดรับมอบหมาย ไมสามารถใหขอมูลขาวสารหรือใหสัมภาษณตอสื่อมวลชนหรือตอ สาธารณชนใดๆ เกี่ยวกับหรือพาดพิงบริษัท ไมวาในดานใด อันอาจสงผลกระทบตอชื่อเสียง และการดําเนินธุรกิจของบริษัท 5.13 รายการระหวางกัน ในกรณีที่มีการทํารายการระหวางกัน บริษัทจะปฏิบัติตามหลักเกณฑและขั้นตอนในการพิจารณาอนุมัติ โดยคํานึงถึง ประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญ โดยถือเสมือนหนึ่งเปนรายการที่กระทํากับบุคคลภายนอก (On an arms' length basis)

สวนที่ 1 หนา 101


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

5.14 การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับ กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานตองปฏิบัติตนใหอยูในกรอบของกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และตองไมมีสวนรูเห็น ชวยเหลือ หรือกระทําการใดๆ อันเปนการละเมิด ฝาฝนกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ 5.15 การจัดการและการรักษาจริยธรรมธุรกิจ 1) กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนตองรับทราบ ทําความเขาใจ และปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจอยาง เครงครัด หากพบวามีการฝาฝนหรือกระทําการใดๆ ที่ขัดตอจริยธรรมธุรกิจบริษัท จะพิจารณาและดําเนินการตามความ เหมาะสม และในกรณีที่การกระทําดังกลาวขัดตอระเบียบ และ ขอบังคับการทํางานดวยแลว บริษัทจะพิจารณาลงโทษตาม ลักษณะแหงความผิดตามควรแกกรณี 2) กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนมีหนาที่ลงนามรับทราบจริยธรรมธุรกิจนี้ เมื่อเขาเปนพนักงานและเมื่อ มีการเปลี่ยนแปลง 3) ผูบริหารและผูบังคับบัญชาตองเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจ และมีหนาที่ในการสอดสอง ดูแลและสงเสริมผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจที่กําหนด 4) กําหนดใหมีคณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ ประกอบดวย ประธานเจาหนาที่บริหารของบริษัทเปนประธาน หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หัวหนาหนวยงานกฎหมาย หัวหนาหนวยงานทรัพยากรบุคคล และหนวยงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวของเปนกรรมการ โดยมีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้

ดูแลปรับปรุงจริยธรรมธุรกิจใหมีความเหมาะสมและทันสมัย โดยไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ รับเรื่องรองเรียนการกระทําที่อาจจะฝาฝนจริยธรรมธุรกิจ รวมทั้งดําเนินการสอบสวนขอเท็จจริง ตอบชี้แจงขอซักถามและตีความในกรณีที่มีขอสงสัย จัดทํารายงานให คณะกรรมการบริหารทราบเปนประจําทุกป ดูแลการสรางจิตสํานึกและการอบรมพนักงานใหมีความรูความเขาใจจริยธรรมธุรกิจและเสริมสรางใหพนักงานทุกคน ยึดถือและปฏิบัติ แตงตั้งคณะทํางานเพื่อดําเนินการตามที่คณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจมอบหมาย 5) ในการขอยกเวนการปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจนี้ใหแกผูบริหารและกรรมการ จะตองไดรับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัท 5.16 การรายงานการไมปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจ และการคุมครองผูใหขอมูล กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานมีหนาที่ตองรายงานการปฏิบัติที่อาจขัดตอจริยธรรมธุรกิจที่พบเห็น หรือถูกกดดัน / บังคับ ใหกระทําการใดๆ ที่เปนการขัดตอจริยธรรมธุรกิจโดยใหรายงานตอผูบังคับบัญชา หรือผูบริหารระดับสูง หรือคณะกรรมการ จริยธรรมธุรกิจ แลวแตกรณี บริ ษั ท ได กํ า หนดนโยบายการให ข อ มู ล การกระทํ า ผิ ด และ/หรื อ การทุ จ ริ ต การสอบสวน และการคุ ม ครองผู ใ ห ข อ มู ล (Reporting and Investigation of Misconduct and/or Fraud and Whistle-Blower Protection Policy) รวมถึงขั้นตอน ตางๆ เพื่อสนับสนุนใหกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน สามารถรายงานการพบเห็นการทุจริตหรือการปฏิบัติที่อาจขัดตอ จริยธรรมธุรกิจ บริษัทมีนโยบายรักษาขอมูลความลับ และคุมครองผูที่รายงานเปนอยางดี และผูรายงานไมตองรับโทษใดๆ หากกระทําโดย เจตนาดี1/ 1/ ปรับปรุงเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554 สวนที่ 1 หนา 102


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การแสดงความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) การดําเนินธุรกิจดวยการกํากับดูแลกิจการที่ดี มุงสรางความเติบโตใหแกสังคมไทยอยางยั่งยืน นับเปนภารกิจ สําคัญที่บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส ยึดมั่นมาตลอดระยะเวลา 21 ป และจะยังคง เคียงขางและรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมดังที่ยึดถือปฏิบัติมา โดยการดําเนินงานทุกสวนขององคกรจะอยูบน พื้นฐานของความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) อันประกอบดวย การกํากับดูแลกิจการที่ดี การ ประกอบธุรกิจดวยความเปนธรรม ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม ตอผูบริโภค ตอพนักงาน และตอชุมชน การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทมีการกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทถือ ปฏิบัติ ซึ่งนโยบายดังกลาวไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ในป 2554 บริษัทไดมีการพิจารณาทบทวนนโยบายและแผนงานการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที่ดี และดําเนิน กิจกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับการกํากับดูแลกิจการที่ดีในสวนตางๆดังนี้ กําหนดใหมีเรื่องการปกปองสิทธิของผูถือหุนและการสงเสริมใหผถู ือหุนใชสิทธิ โดยครอบคลุมสิทธิพื้นฐานตาม กฎหมาย เชน การมีสวนแบงในกําไรของกิจการ การซื้อขายหรือโอนหุน การไดรับขาวสาร ขอมูลของกิจการอยาง เพียงพอ การเขารวมประชุมเพื่อใชสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุนเพื่อแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ กําหนด คาตอบแทนกรรมการ แตงตั้งผูสอบบัญชีและกําหนดจํานวนเงินคาสอบบัญชี และเรื่องอื่นๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัท เปนตน ใหขอมูลสําคัญเกี่ยวกับบริษัทที่เปนปจจุบันผานทางเว็บไซตของบริษัท เปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอยเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเปนวาระการประชุมเปนการลวงหนา 3 เดือนกอนวันสิ้นสุดรอบ บัญชี (1 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2554) โดยสงหนังสือถึงคณะกรรมการผานทางเว็บไซตหรืออีเมล เปดโอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนาผานเว็บไซตของบริษัทอยางนอย 30 วันกอน วันประชุมผูถือหุน เปดโอกาสใหผูถือหุนแสดงความคิดเห็นและซักถามในเรื่องที่เกี่ยวของกับวาระการประชุมหรือเกี่ยวของกับบริษัท เปดโอกาสใหผูถือหุนไดเลือกกรรมการเปนรายคน จัดใหมีนโยบายการใหขอมูลการกระทําผิดและการทุจริต การสอบสวน และการคุมครองผูใหขอมูล เพื่อใหฝายจัดการ ผูบริหาร และกรรมการดําเนินการตามนโยบายและหลักการดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ กําหนดใหมีนโยบายการเปดเผยสารสนเทศเพื่อใหการเปดเผยสารสนเทศของบริษัทแกผูถือหุนและผูลงทุนเปนไป อยางถูกตอง เพียงพอ ทันเวลา เทาเทียม และเปนไปตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ อีกทั้งเพื่อสงเสริมความ เชื่อมั่นของผูลงทุนเกี่ยวกับความเชื่อถือไดและซื่อตรงของบริษัท ดําเนินการเปดเผยขอมูลและความโปรงใสตอนักลงทุน - เพื่อใหนักลงทุนไดเขาถึงและเขาใจขอมูลของบริษัท อยางถูกตองชัดเจน บริษัทจัดแถลงผลประกอบการเปนราย ไตรมาสตอนักวิเคราะหและนักลงทุนโดยมีผูบริหารเขารวม พรอมทั้งเปดโอกาสใหสอบถามขอมูลจากผูบริหาร โดยตรง - บริษัทใหความสําคัญกับนักลงทุนทุกกลุมทั้งรายยอยและสถาบัน ทั้งภายในประเทศและตางประเทศอยางเทา เทียม โดยบริษัทเขารวมงาน Opportunity Day ที่จัดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยทุกไตรมาส รวมถึง รวมกับบริษัทหลักทรัพยตางๆ ใหผูบริหารเขาพบใหขอมูลกับนักลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ (Roadshow) เปนประจําทุกป รวมทั้งเปดโอกาสใหนักวิเคราะหหรือผูลงทุนที่สนใจไดเขาพบผูบริหารโดยตรงมาก ที่สุด

สวนที่ 1 หนา 103


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

-

บริษัทเนนความถูกตอง โปรงใสและครบถวนของขอมูล โดยมีการนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวของผานชองทางตางๆ อาทิ เว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เว็บไซตของนักลงทุนสัมพันธของทางบริษัท หรือการสง จดหมายอิเล็กทรอนิกสแจงเหตุการณขอมูลสําคัญ - บริษัทมีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธที่ทําหนาเปนผูดูแลใหขอมูลตอนักลงทุนโดยตรง โดยจัดชองทางสําหรับ ติดตอสื่อสารใหกับนักวิเคราะหหรือนักลงทุนเพื่อติดตอสื่อสารกับบริษัทไดสะดวก อาทิ การโทรศัพทโดยตรง การ ประชุมทางไกลผานโทรศัพท (Conference call) ทั้งนี้ เพื่อเปนการหลีกเลี่ยงการปฏิบัติและการใชขอมูลอยางไม เปนธรรมซึ่งอาจนําไปสูผลกระทบตอราคาหลักทรัพยอยางไมเหมาะสม บริษัทไดกําหนดชวงเวลางดติดตอสื่อสาร กับนักวิเคราะหหรือนักลงทุนเกี่ยวกับขอมูลทางการเงินกอนประกาศผลประกอบการในแตละไตรมาสลวงหนาเปน เวลา 30 วัน โดยในชวงเวลาดังกลาวผูบริหารและผูแทนบริษัทจะหลีกเลี่ยงการเปดเผยขอมูลเชิงการเงินตอ สาธารณะ บริษัท ยึดมั่นในหลักการเปดเผยขอมูลอยางเทาเทียม ทันทวงที และเปนขอมูลที่ถูกตองเชื่อถือไดตอ สาธารณะ จัดใหมีการอบรมและพัฒนาความรูแกกรรมการ - จัดใหมีการปฐมนิเทศกรรมการใหมที่ไดรับการแตงตั้ง - จัดใหมกี ารบรรยายความรูในดานเทคโนโลยีแกกรรมการ รวมถึงแลกเปลี่ยนความรูทางดานเทคโนโลยีและการ บริหารจัดการ จากการที่บริษัทไดใหความสําคัญตอการกํากับดูแลกิจการที่ดีมาอยางตอเนื่อง ทําใหในป 2554 บริษัทไดรับผล การประเมินจากผลสํารวจรายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน (Thai Institute of Directors) ในระดับ “ดี เลิศ” หรือ

เปนปที่ 3 ติดตอกัน

ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม การเปนเครือขายที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ดวยความเปนผูใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มุงตอบสนองใหผูใชบริการสามารถใชบริการไดอยางสะดวก มีประสิทธิภาพ โทรไดตอเนื่องในทุกที่ทุกเวลา บริษัทจึงมุงลงทุนสรางเครือขายใหครอบคลุมทุกพื้นที่การใชงานของ ประชากรทั่วประเทศมาอยางตอเนื่อง โดยนอกจากการใหความสําคัญตอปจจัยดานโครงสรางวิศวกรรมและสภาพแวดลอม ของสถานีฐานแลว บริษัทยังคํานึงถึงการเปนเครือขายที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Green Network) ดวย โดยใชพลังงาน ทดแทนจากธรรมชาติมาประยุกตใชในการสรางกระแสไฟฟาใหแกสถานีฐานโทรศัพทเคลื่อนที่ การนําน้ํามันไบโอดีเซลมา ใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟามาใชในสถานีฐาน การติดตั้งผนังประหยัดพลังงาน เพื่อเปนการรักษาอุณหภูมิ ในชุมสายโทรศัพทไดนานกวาเดิม โดยไมจําเปนตองใชเครื่องปรับอากาศขนาดใหญอีกตอไป และการสรางสถานีฐานที่ใช พัดลมคุณภาพสูง ตลอดจนการทยอยปรับเปลี่ยนสถานีฐานเดิมซึ่งใชเครื่องปรับอากาศมาเปนการใชพัดลม ซึ่งปจจุบันมี สถานีฐานที่ใชพัดลมคุณภาพสูงมากกวา 10,000 สถานี คิดเปนรอยละ 60 ของสถานีฐานทั้งหมด โดยการดําเนินการเชนนี้ นอกจากจะชวยลดสาร CFC ในบรรยากาศแลว ยังทําใหประหยัดการใชพลังงานในแตละสถานีฐานไดถึงรอยละ 30 การกําจัดซากแบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทใหความสําคัญตอการกําจัดซากแบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชงานภายในกิจการโดยตองคํานึงถึง สิ่งแวดลอมและตองไมสิ้นเปลืองการใชทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มเติม ดวยการกําจัดแบบการนําไปเขากระบวนการรีไซเคิล โดยบริษัทที่ไดรับการรับรองมาตรฐานและไดรับการยอมรับจากทั่วโลก พรอมทั้งไดรณรงคใหประชาชนเห็นถึงอันตราย ของซากแบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่หากทิ้งไมถูกวิธี และเพื่อความปลอดภัยของรางกายและลดมลพิษในสิ่งแวดลอม เอ ไอเอสจึงเชิญชวนใหประชาชนมารวมกันนําแบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ที่เสื่อมสภาพหรือไมใชแลว ไมวาจะเปนตราสินคาใด สวนที่ 1 หนา 104


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หรือรุนใด มาทิ้ง ณ สํานักงานบริการเอไอเอส ทั้ง 33 สาขา ทั่วประเทศ เพื่อนําไปเขากระบวนการรีไซเคิลตอไป พรอมทั้งไดรวมกับบริษัท ซีแพค จํากัด ซึ่งเปนลูกคาองคกรของเอไอเอส ดวยการรณรงคใหพนักงานบริษัทซีแพคทิ้ง แบตเตอรี่โทรศัพทอยางถูกวิธีและรวบรวมนํามาเขากระบวนการรีไซเคิลตอไป ความรับผิดชอบดานสังคม บริษัทมุงใหบริการที่ดีดวยเครือขายที่มีคุณภาพและครอบคลุมทุกพื้นที่การใชงานเพื่อใหผูใชบริการไดรับความ สะดวกในการติดตอสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งสรรหาบริการที่ดีและนวัตกรรมใหมๆอันเปนประโยชนตอการ ดําเนินชีวิตประจําวัน ตลอดจนสามารถตอบสนองทุกความตองการของผูใชบริการอยางคุมคาและเปนธรรม แมในภาวะ วิกฤติน้ําทวมครั้งใหญในปลายป 2554 ผูบริหารและพนักงานไดเรงระดมกําลังเพื่อใหสถานีฐานตางๆที่อยูในพื้นที่น้ําทวม ทํางานไดอยางปกติเพื่อใหผูใชบริการสามารถใชงานไดตามปกติ ทั้งนี้บริษัทไดกําหนดแนวทางปฏิบัติไวดังนี้ การปฏิบัติตอผูบริโภคอยางเปนธรรม - ผลิตสินคาและบริการที่มีคุณภาพ ตลอดจนพัฒนาบริการใหมๆใหครอบคลุมความตองการและไลฟสไตลที่ หลากหลายของลูกคาทั้งประเภทบุคคลและนิติบุคคล - นําเสนอบริการที่ดูแลลูกคาอยางครบวงจรตลอดชวงเวลาการเปนลูกคา เชน การดูแลโปรโมชั่นที่ดีที่สุดใหในชวง 6 เดือนแรก การจัดโปรโมชั่นที่เหมาะสมใหอยางตอเนื่องเมื่อโปรโมชั่นใกลหมด การจัดโทรศัพทเคลื่อนที่ทดแทน กรณีที่เครื่องเดิมสูญหาย การดูแลและแจงเตือนเมื่อมียอดใชงานสูงผิดปกติ การสงมอบสิทธิพิเศษใหในวันเกิด เปนตน - สรรหาสิทธิพิเศษตางๆ ที่เปนประโยชนตอการดําเนินชีวิตเพื่อนําเสนอแกลูกคา ภายใตสัญลักษณ “เอไอเอส พลัส” และ “เซเรเนด” โดยรวมกับพันธมิตรทางธุรกิจที่หลากหลายและครอบคลุมทั่วประเทศ - เพิ่มชองทางการบริการใหแกลูกคาสามารถติดตอไดอยางสะดวกและกวางขวางมากยิ่งขึ้น - เปดเผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการอยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง - มีระบบจัดเก็บขอมูลการใชบริการของลูกคา และขอมูลรายการสงเสริมการขายตางๆ เพื่อใชตรวจสอบในกรณี ลูกคารองขอ - มีพนักงานที่มีความเขาใจในตัวสินคาและบริการของบริษัทประจําอยู ณ ศูนยบริการตางๆ ทั่วประเทศ เพื่อตอบ คําถาม ขอสงสัย และแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับการใชบริการ โดยบริษัทไดดําเนินการฝกอบรมพัฒนาบุคลากร อยางตอเนื่องเพื่อการบริการที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น - จัดทําสัญญาขอตกลงการใชบริการตามหลักเกณฑกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนดไว ทั้งนี้ ขอสัญญาและเงื่อนไขการ ใชบริการมีความชัดเจนทั้งเรื่องอัตราการคาใชบริการ การชําระคาใชบริการ ระยะเวลาการใชบริการ และการ ยกเลิกการใชบริการ เปนตน - ไมเปดเผยขอมูลของลูกคา โดยไมไดรับอนุญาตจากลูกคาหรือจากผูมีอํานาจของกลุมบริษัทกอน เวนแตเปน ขอมูลที่ตองเปดเผยตอบุคคลภายนอกที่เกี่ยวของตามบทบังคับของกฎหมาย การคุมครองดานสุขภาพและความปลอดภัยของผูบริโภค - การกอสรางเสาสัญญาณ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานการกอสรางทางวิศวกรรม - มีการประเมินการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสถานีฐานซึ่งเปนไปตามมาตรฐานความปลอดภัยของสากล และการ ติดตั้งสถานีฐาน บริษัทดําเนินการตามประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑและมาตรการกํากับดูแลความปลอดภัยตอ สุขภาพของมนุษยจากการใชเครื่องวิทยุคมนาคม พ.ศ.2550 - มีการติดปายสัญลักษณการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด - มีการเผยแพรเอกสารสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา

สวนที่ 1 หนา 105


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การบริโภคอยางยั่งยืน - มีการสงเสริมการจัดเก็บแบตเตอรี่ที่เสื่อมสภาพหรือไมใชแลวจากผูบริโภคและประชาชน มาตรฐานที่ไดรับการยอมรับจากทั่วโลก ผานโครงการ “เอไอเอส คืนแบต คืนโลก”

เพื่อนําไปรีไซเคิลตาม

การบริการ การสนับสนุน และการยุติขอรองเรียน ขอโตแยงแกผูบริโภค - มีบริการเปลี่ยนเครื่องใหม ในกรณีที่ซื้อเครื่องโทรศัพทแลวมีการชํารุดบกพรองหรือไมสามารถใชงานไดตามปกติ ภายใน 7 วัน หลังจากวันที่ซื้อ - มีพนักงานฝายลูกคาสัมพันธ ดูแล แกไข ตอบคําถาม และชี้แจงขอสงสัยปญหาตางๆ ใหกับลูกคาเพื่อทําความ เขาใจกับลูกคาเบื้องตน - มีการโฆษณาประชาสัมพันธ ผานสื่อตางๆ เชน โทรทัศน หนังสือพิมพ นิตยสาร เพื่อใหทราบถึงการบริการของ หนวยงาน Call Center ที่เปนพนักงานที่ดูแล แกไข ปญหาตางๆใหกับลูกคา - มีศูนยรับเรื่องรองเรียนเพื่อชี้แจง แกไข และยุติปญหาขอโตแยงของลูกคา การปกปองขอมูลและความเปนสวนตัวของผูบริโภค - บริษัทมีการจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลเทาที่จําเปนตามที่กฎหมายกําหนดไว และไดรับความยินยอมจากลูกคา โดย ลูกคาระบบรายเดือนตองมีการสมัครใชบริการแจงชื่อ-สกุล ที่อยู สําหรับลูกคาระบบเติมเงินตองแสดงตนเปน ผูใชบริการ - บริษัทมีนโยบายในการเก็บรักษาและปองกันการเปดเผยขอมูลของลูกคาของลูกคาอยางเครงครัด - กรณีขอมูลสวนตัว บริษัทมีระบบใหลูกคาสามารถตรวจสอบขอมูลไดดวยตนเอง เชน e-Service - กรณีขอมูลการใชบริการ บริษัทจัดเก็บขอมูลของการใชบริการของลูกคายอนหลังไว 3 เดือน ลูกคาสามารถขอ ตรวจสอบขอมูลของตนเองได - บริษัทมีระบบปองกันการเขาถึงขอมูลของลูกคา เชน กําหนดสิทธิการเขาขอมูล การใชรหัสประจําตัวในการเขาถึง ขอมูล การเขาถึงบริการที่จําเปน - บริษัทมีระบบการแจงเตือนทาง SMS และโทรศัพท ในกรณีที่ลูกคามีคาใชบริการคางชําระ - บริษัทมีรถ Mobile เพื่อชวยเหลือในกรณีที่พื้นที่ใหบริการประสบปญหาการใชงานจากเหตุภัยธรรมชาติ การใหความรูและสรางความตระหนัก - มีการเผยแพรเอกสารทําความเขาใจเกี่ยวกับการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสถานี และความปลอดภัยจากการใช เครื่องวิทยุคมนาคม - มีศูนยบริการรับเรื่องรองเรียนตลอดจนการแกไขปญหา ความเดือนรอนใหแกลูกคา การดูแลลูกคาในภาวะวิกฤตน้ําทวม - นํารถสถานีฐานเคลื่อนที่เขาไปรองรับการใชงานในพื้นที่ประสบภัยน้ําทวม - เติมเงินฟรีใหแกลูกคาที่อยูในพื้นที่น้ําทวม จํานวน 1 ลานราย คิดเปนเงิน 30 ลานบาท และเติมเงินลูกคาที่ศูนย อพยพ และศูนยพักพิงตางๆ - ขยายระยะเวลาการใชงาน และยกเวนการระงับสัญญาณการใหบริการที่ครบกําหนดชําระคาบริการในพื้นที่ ความรับผิดชอบตอพนักงาน การจางงาน

สวนที่ 1 หนา 106


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ในป 2554 เปนปที่บริษัทยังคงรับพนักงานเพิ่มอยางตอเนื่อง ทั้งพนักงานที่ปฏิบัติงานดานบริการ และพนักงาน ดานเทคนิค เพื่อเตรียมความพรอมในการบริหารเครือขายใหสามารถรองรับเทคโนโลยีใหมๆ ในอนาคต เพื่อรวมกันพัฒนา และสรางสรรคบริการใหมๆ บริษัทดําเนินการสรรหาคัดเลือกพนักงาน โดยระบบความเสมอภาคและเปนธรรม (Merit System) มีกระบวนการ ทดสอบขอเขียน การสัมภาษณ โดยคณะกรรมการผูมีประสบการณความรู ความสามารถ อยางโปรงใส บริษัทเนนการดูแลพนักงานเสมือนสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน พนักงานจะไดรับการดูแลเรื่องคาตอบแทน สิทธิ ประโยชน และสวัสดิการอยางเหมาะสม ภายใตบรรยากาศการทํางานที่อบอุน แบงปนประสบการณ การชวยเหลือเกื้อกูล กันระหวางรุนพี่รุนนอง สงเสริมระบบพี่เลี้ยงสอนงาน เพื่อใหพนักงานมีความสุขในการทํางาน นอกจากนี้ในฐานะที่บริษัทเปนสวนหนึ่งของสังคมไทย บริษัทตระหนักในคุณคาและความสามารถของพนักงานที่ พิการทางสายตา และผูพิการทางการไดยิน โดยเปดโอกาสผูพิการไดปฏิบัติงานในตําแหนงที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถ ปจจุบันมีผูพิการทางสายตา และผูพิการทางการไดยิน ปฏิบัติงานในตําแหนง พนักงานลูกคาสัมพันธ ประจํา หนวยงานเอไอเอส คอล เซ็นเตอร การบริหารสวัสดิการ บริษัทจัดใหมีสวัสดิการ และสิทธิประโยชนแกพนักงาน และครอบครัวพนักงานอยางสม่ําเสมอ โดยมีนโยบายการ จัดสวัสดิการแบบยืดหยุน (Flexible Benefit) เพื่อใหตรงกับความตองการของพนักงานมากที่สุด สวัสดิการที่สําคัญไดแก การตรวจสุขภาพประจําป หองพยาบาล และแพทยประจํา คารักษาพยาบาล การประกันสุขภาพ ประกันชีวิต กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ที่บริษัทชวยสมทบเพิ่มอายุการทํางานสูงสุด 7% การใหทุนบุตรพนักงาน สหกรณออมทรัพยเอไอเอส ของเยี่ยมผูปวย เงินชวยกรณีกรณีพนักงานสมรส เงินชวยเหลือกรณีประสบภัยพิบัติ เชนน้ําทวม เงินชวยเหลือกรณีบุคคลในครอบครัว (สามี ภรรยา บุตร) เสียชีวิต อนุญาตใหลากิจเนื่องในโอกาสวันเกิด หรือเพื่อปฏิบัติภารกิจในการดูแลบุคคลในครอบครัว (สามี ภรรยา บุตร) กรณีเจ็บปวย เปนตน ดูแลใหพนักงานมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี จัดทําศูนยออกกําลังกายมาตรฐานและหองคาราโอเกะภายใน บริษัท นอกจากการจัดสวัสดิการตามปกติแลว ในชวงที่มีการระบาดของไขหวัดใหญสายพันธุใหม บริษัทไดจัดใหมี มาตรการรณรงคใหความรูแกพนักงานในการดูแลและรักษาสุขภาพ จัดหาวัคซีนที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหบริการฉีดวัคซีน แกพนักงาน และบุคคลในครอบครัว การบริหารคาจาง และผลตอบแทน บริษัทดําเนินนโยบายการบริหารคาตอบแทนที่ยึดหลักเปนธรรม เหมาะสม สอดคลองตามความรูความสามารถ (Pay for Person) เหมาะสมตามผลการปฏิบัติการที่ผานกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Pay for Performance) ตามความความเหมาะสมของตําแหนงงาน (Pay for Position) โดยมีการสํารวจคาตอบแทนกับตลาดแรงงานภายนอก และ

สวนที่ 1 หนา 107


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทชั้นนํา เพื่อปรับปรุงคาตอบแทนใหเหมาะสม สามารถแขงขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน และเพื่อดึงดูดผูมีความรู ความสามารถใหมๆ เขามารวมงานกับริษัท กิจกรรมพนักงานสัมพันธ (Employee Relations) บริษัทจัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธที่ดีระหวางพนักงานกับพนักงาน และพนักงานกับบริษัทอยางตอเนื่อง โดย เปดโอกาสใหพนักงานไดมีเวทีแสดงความคิดเห็น และรวมกิจกรรมตางๆ หลากหลายรูปแบบ เพื่อสรางใหเกิดความเปนน้ํา หนึ่งใจเดียวกัน เกิดความสุขในการทํางานรวมกันในองคกร สําหรับในป 2554 นี้ บริษัทยังคงดําเนินกิจกรรมเพื่อสงเสริมความสัมพันธพนักงานมากขึ้น และปลูกฝงคุณธรรม ใหกับพนักงาน พรอมสรางจิตสํานึกที่ดีตอเพื่อนพนักงาน องคกร และสังคมระดับประเทศมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทยังคงมีกิจกรรมพนักงานสัมพันธตางๆ มากหมาย อาทิ - กิจกรรมพี่เอไอเอสอาสา พานองเปดโลกกวาง จัดขึ้นเพื่อใหพนักงานไดสมัครรวมเปนพี่จิตอาสา ไดเปนสวน หนึ่งในการพัฒนาความรูของเยาวชนไทย โดยนํานักเรียนในโรงเรียนที่ยากไรมาเปดโลกทัศนหาความรูจากนอก หองเรียน สถานที่ที่พานองๆ ไป อาทิ เมืองโบราณ สยามโอเชี่ยนเวิลด ศูนยการเรียนรู TK park เปนตน - กิจกรรมพี่อาสายิ้มหวานวันเด็ก จากกิจกรรม “เอไอเอสยิ้มหวานวันเด็ก” ที่บริษัทจัดใหกับเด็กพิการจากสถาน สงเคราะหตางๆ ทั่วประเทศตอเนื่องทุกป บริษัทมุงเนนใหพนักงานไดรวมเปนพี่อาสาดูแลนองๆ ที่มารวมกิจกรรม โดยใหนองๆ ไดรับความรักความอบอุนและการดูแลอยางใกลชิดจากพี่ๆ เอไอเอส - กิจกรรมงานเลี้ยงฉลองปใหม (Staff Party) เปนกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อใหพนักงานไดพบปะสังสรรค สราง ความสัมพันธที่ดีระหวางพนักงานกับพนักงาน และพนักงานกับบริษัทมากขึ้น โดยรูปแบบกิจกรรมจะแตกตางกัน ไป ในป 2554 นี้ จัดในรูปแบบ AIS Cowboy Town จัดเลี้ยงอาหาร พรอมตกแตงสไตล cowboy และเปดโอกาส ใหพนักงานไดมีสวนรวมกับการแสดงโชวตางๆ และเพลิดเพลินไปกับการแสดงจากศิลปนที่พนักงานชื่นชอบ - กิจกรรม กีฬาสี (AIS Sport Day) เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหพนักงานไดออกกําลังกาย และสรางความสัมพันธ ที่ดีระหวางพนักงานผานกิจกรรมรวมกัน อาทิ จัดประกวด พาเหรดกองเชียร ลีดเดอร จัดแขงกีฬาแชรบอล ฟุต ซอล และกีฬาฮาเฮ เปนตน - กิจกรรมวันครอบครัวเอไอเอส (AIS Family Day) กิจกรรมจัดขึ้นใหกับผูบริหาร พนักงานและครอบครัวได พบปะและรวมกิจกรรมตางๆ เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางกัน - โครงการเพื่อนชวยเพื่อน เปนโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเปนศูนยกลางความชวยเหลือจากเพื่อนพนักงานสูเพื่อน พนักงานในองคกรเดียวกัน อาทิ หากพนักงานประสบความเดือดรอนไดรับความเจ็บปวย หรือประสบภัยพิบัติ พนักงานทุกคนสามารถชวยเหลือโดยโอนเงินผานบัญชีของพนักงานที่ไดรับความเดือดรอน ซึ่งจะชวยบรรเทา ความเดือดรอนไดอยางทันทวงที - กิจกรรมวันแม บริษัทจัดใหผูบริหารและพนักงานไดรวมทําบุญตักบาตรพระภิกษุสงฆ จํานวน 180 รูป และ บริจาคเงินใหกับวัดพระบาทน้ําพุ พรอมแจกตนมะลิใหกับพนักงานและประชาชนทั่วไปบริเวณหนาอาคารอินทัช ทาวเวอร พรอมทั้งจัดกิจกรรมใหพนักงาน ชื่อกิจกรรม “Sushi for Mom” จัดขึ้นเพื่อใหพนักงานไดมีสวนรวม กิจกรรมทําซูชิและนํากลับไปใหคุณแมเพื่อแสดงถึงความรักที่มีตอแมของพนักงาน - กิจกรรมวันพอ จัดใหผูบริหารและพนักงานไดรวมทําบุญตักบาตรพระภิกษุสงฆ จํานวน 185 รูป และบริจาคเงิน ใหกับวัดพระบาทน้ําพุ บริเวณหนาอาคารอินทัช ทาวเวอร - กิจกรรมรดน้ําดําหัวครอบครัวเอไอเอสในวันสงกรานต เพื่อใหพนักงานไดสืบสานวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม และ เปดโอกาสใหพนักงานไดใกลชิดกับผูบริหารมากขึ้น บริษัทไดจัดใหมีการรดน้ําขอพรจากผูบริหารของบริษัท - กิจกรรมขายสินคาราคาพิเศษ จัดขึ้นเปนประจําปละ 2 ครั้ง บริเวณลานจอดรถอาคารอินทัช ทาวเวอร โดยให พนักงานไดมีสวนรวมในการออกรานเปนผูขายสินคา และยังสามารถเลือกซื้อสินคาราคาพิเศษจากบริษัทผูผลิต สวนที่ 1 หนา 108


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

-

-

-

-

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายใหญที่นําสินคามาออกรานในราคาพิเศษ ทั้งนี้ภายในงานไดสอดแทรกกิจกรรมเพื่อสังคม อาทิ สอยดาวการ กุศลนํารายไดไปชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวม เปนตน กิจกรรมเพื่อบุตร-หลานพนักงาน (AIS KID Camp) จัดขึน้ ใหกับบุตรและหลานของพนักงานที่อยูในชวงเวลา ปดภาคเรียน ไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมที่บริษัทจัดขึ้นภายใน 1 วัน โดยกิจกรรมจะสอดแทรกการพัฒนา ความคิดสรางสรรค ความกลาแสดงออก และการใชวางใหเกิดประโยชน กิจกรรมวันรวมพลัง สรางโลโกใหมของชาวเอไอเอส วันที่ 29 กันยายน 2554 เปนวันที่บริษัทเอไอเอสได ประกาศเปลี่ยนโลโกใหม “ชีวิตในแบบคุณ” อยางเปนทางการ พนักงานกวา 1,500 คน รวมตัวกันหนา ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด เพื่อรวมสงพลัง แปลสัญลักษณเปนรูปโลโกเอไอเอสใหม (Human logo) พรอมรวม เดินขบวน (Troop) ประชาสัมพันธโลโกใหมกับผูบริหารทั่วประเทศอีกดวย กิจกรรมวันกอตั้งบริษัท ปนี้เปนปที่บริษัทครบรอบการเปดใหบริการปที่ 21 ผูบริหารและพนักงานรวมกัน ทําบุญเพื่อความเปนสิริมงคล กิจกรรมโหวตภาพพนักงาน (Voting Picture) กิจกรรมที่สรางใหเกิดความสัมพันธที่ดีระหวางพนักงานดวยกัน โดยพนักงานจะสงรูปภาพตามหัวขอที่บริษัทกําหนด อาทิ เทศกาลลอยกระทง บริษัทจะใหพนักงานสงรูปภาพที่ ถายในวันลอยกระทงกับครอบครัวหรือเพื่อนๆ และสงเขามารวมโหวตภาพเพื่อชิงรางวัลตางๆ มากมาย บริษัทสงมอบความหวงใยสูพนักงานที่ประสบภัยน้ําทวม จากมหาภัยพิบัติน้ําทวมที่เกิดขึ้นในป 2554 สงผลใหพนักงานไดรับผลกระทบ ไดรับความเดือดรอนจากน้ําทวมไปแลวเกือบ 2,000 คน พนักงานอีกกวา 2,000 คน ไดรับผลกระทบทั้งการดํารงชีพและการเดินทาง โดยบริษัทไดดูแลพนักงานในหลากหลายรูปแบบ ดังนี้ 1. เปดสาย HR Hotline ใหพนักงานแจงขอความชวยเหลือเหตุน้ําทวมเรงดวน ที่เบอร 0 2614 0111 ตลอด 24 ชม. โดยมีทีมงาน HR ทั้งภูมิภาคและสวนกลางเปนผูรับเรื่องชวยเหลืออยางตอเนื่อง 2. จัดเงินชวยเหลือใหพนักงาน เพื่อบรรเทาความเดือดรอนจากสภาวะน้ําทวม โดยหากเปนบานของพนักงาน เอง ของพอแม หรือของคูสมรส ที่อาศัยอยูประจําไดรับความเสียหาย พนักงานจะไดรับเงินชวยเหลือรายละ 25,000 บาท หากเปนบานเชาหรือหอพัก ไดรายละ 10,000 บาท รวมถึงบานพอแมที่ถึงแมพนักงานไมได อาศัยอยูประจํา แตบริษัทก็ดูแลและไมทอดทิ้ง พนักงานจะไดรับเงินชวยเหลือเยียวยาอีก 5,000 บาท 3. จัดหาที่พักชั่วคราวใหพนักงานและครอบครัว ณ บริเวณใกลที่ทําการสํานักงาน โดยพนักงานที่ไมสะดวก ยายเขามาอยู ณ ที่พักที่จัดไวให พนักงานก็สามารถเบิกคาที่พักได 800 บาทตอคืนจนถึงวันที่ 10 พ.ย. 54 หลังจากนี้ระหวางเดือน พ.ย. – ธ.ค. หากบานของพนักงานยังมีน้ําทวมขัง พนักงานสามารถหาที่พักชั่วคราว เองได และสามารถเบิกบริษัทไดรายละ 6,000 บาทตอเดือน 4. จัดเตรียมที่จอดรถใหพนักงานมาจอดตามอาคารใกลกับบริษัทกวา 1,000 คัน 5. จายเงินเดือนงวดเดือนตุลาคมเต็มจํานวนตั้งแตวันที่ 21 ตุลาคมลวงหนาเวลาปกติ 1 สัปดาห 6. ใหสิทธิเบิกเงินลวงหนาได 1 เดือน ตามอัตราเงินเดือนปจจุบัน สําหรับพนักงานที่ตองการซอมแซมที่อยูอาศัย หรือมีคาใชจายจําเปนอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องจากสถานการณน้ําทวม 7. แจกถุงยังชีพ 2,000 ถุง เสื้อชูชีพ 750 ตัว น้ําดื่ม 5,000 ขวด และจัดเตรียมเครื่องกรองน้ําในทุกชั้นของ อาคารสํานักงานใหญ บนถนนพหลโยธิน โดยใหพนักงานนําภาชนะมาบรรจุเองไดอยางไมจํากัด 8. ใหขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับสถานการณน้ําทวมทั้งหมด ตั้งแตเสนทางการจราจร แหลงรวมเบอรโทร ฉุกเฉิน แหลงรวมที่พักชั่วคราว ศูนยพักพิงตางๆ Tips ปองกันน้ําทวม ฯลฯ แกพนักงานในทุกชองทางทั้ง Intranet, E-mail, และ SMS 9. จัดตั้งกองทุน “ชาวเอไอเอส รวมพลังปนน้ําใจ บริจาคเงินชวยเหลือเพื่อนพนักงาน” เมื่อวันที่ 16 ก.ย. 54 ที่ ผานมาจนถึงวันที่ 31 ต.ค.54 ซึ่งเปนความชวยเหลือที่ไดรับจากเพื่อนพนักงานในรูปของการโอนเงินผาน สวนที่ 1 หนา 109


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บัญชีโครงการ เปนจํานวนเงินทั้งสิ้นถึง 140,000 บาท โดยจะมีการกระจายสงมอบใหกับพนักงานที่เดือดรอน ทุกคน นอกเหนือจากสวัสดิการและความชวยเหลือตางๆ ที่บริษัทมอบให การพัฒนาบุคลากร บริษัทใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรทุกระดับมาอยางตอเนื่อง เพื่อมุงพัฒนาขีดความสามารถ และสงเสริมใหเกิด ความกาวหนาในอาชีพ อันจะสรางความสุข ความภาคภูมิใจในความสําเร็จของการเรียนรูและเติบโตควบคูกับองคกร ทั้งนี้ ในป 2554 บริษัทไดจัดรูปแบบและวิธีการพัฒนาที่หลากหลาย ดังนี้ 1. การพัฒนากลุมผูบริหาร 1.1 Executive Coaching เพื่อเปนการพัฒนาทักษะการเปนผูนําที่พัฒนา และสรางผูนําในรุนตอไป ดวยหลักการ Leaders Grow Leaders 1.2 Action Learning เพื่อใหผูบริหารไดมีประสบการณเรียนรูจากการปฏิบัติงานในโครงการที่ไดรับมอบหมาย นอกเหนือจากภารกิจหลัก 1.3 Management Open-Up เปนกิจกรรมการเรียนรูรวมกันระหวางกลุมผูบริหารในหัวขอ ผูนํา 6 ลักษณะ (Six Leadership styles) โดยผานรูปแบบ Management Theater 1.4 การอบรม สัมมนา ศึกษา ดูงาน ทั้งใน และตางประเทศ 1.5 Regional Job Rotation และ Executives Trainee เพื่อใหผูบริหารไดเปดมุมมอง ประสบการณในงานที่ หลากหลาย อันจะทําใหเกิดความพรอมในทุกๆดาน ทั้งดานบริหาร และดานวิชาชีพ 2. การพัฒนาพนักงานตามสายวิชาชีพ 2.1 สายงาน Engineer นอกจากอบรม สัมมนาในหลักสูตรที่เปนเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อพัฒนาทักษะสําคัญตอการ ปฏิบัติงานในวิชาชีพ ยังไดรับการพัฒนาทักษะทางดาน Soft Skill เชน ทักษะการนําเสนองาน การพัฒนา Emotional Intelligent, Human Mindfulness, Discover Your Strength Through Your Style เพื่อใหพนักงาน สามารถนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน และการดําเนินชีวิตไดอยางเต็มศักยภาพ สรางโอกาสความกาวหนาได อยางสอดคลองกับสายอาชีพ นอกจากนั้น ยังดําเนินโครงการ Hands On Operation, SO Harmony ซึ่งเปน โครงการที่สนับสนุนใหเกิด Employee Engagement ในสายงาน ซึ่งกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการเกิดขึ้นจากการ รับฟงความคิดห็น ขอเสนอแนะจากพนักงาน และทุกคนในกลุมเปาหมายมีสวนรวมอยางแทจริง, โครงการ Maximizing Team Performance เปนโครงการที่ยกระดับผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ไดรับการคัดเลือก ดวย การใชแผนพัฒนารายบุคล (IDP) - โครงการ Technical Certificate เพื่อ Certify พนักงานสายงาน Engineer ในระดับ Specialist, Professional, Master ทางดาน IP Competency และ IT Competency เพื่อยกระดับความรูความสามารถในระดับสากล - โครงการ Hands On Operation เปนโครงการสนับสนุนใหเกิด Employee Engagement ในสายงาน ปฏิบัติการ โดยจัดทํา Focus Group เพื่อรับฟงความคิดเห็นพนักงาน และกําหนดจัดตั้งเปนคณะทํางาน 5 กลุมประกอบไปดวย Attitude Team, Communication Team, Management Method Team, Management Role Team และ Innovation Team เพื่อสงเสริมใหมีกิจกรรมทั้ง 5 ดานตลอดป - โครงการ Maximizing Team Performance ที่จัดขึ้นตอเนื่องเปนปที่ 3 ในสายงานปฏิบัติการ ในการยกระดับ ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน (Selective) ใหสูงขึ้น ดวยการใชแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ที่เนนการ ติดตามผลอยางใกลชิด เพื่อใหหัวหนางานของกลุมเปาหมายไดเรียนรูกระบวนการทําแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) อยางเปนระบบ ครอบคลุมทุกปจจัยที่อาจสงผลตอการปฏิบัติงานของพนักงาน (ความรู ทักษะ พฤติกรรม และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับตําแหนงงาน) อันจะชวยเพิ่มประสิทธิผลของแผนพัฒนารายบุคคล ที่กําหนดไว สวนที่ 1 หนา 110


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

-

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หลักสูตร Community Relations (CR) เนนที่สายงานปฏิบัติการ และสายงานปฏิบัติการดานการบริการที่ ปฏิบัติงานตามภูมิภาค เพื่อใหมีความรูความเขาใจ และสามารถทําแผนกลยุทธในการสรางชุมชนสัมพันธ เรื่อง การติดตั้งเสาสัญญาณโทรศัพท AIS ตลอดจนการทํากิจกรรมชุมชนสัมพันธกับประชาชนในพื้นที่

2.2 พนักงานสายงานการตลาด - จัดกิจกรรม Collaborative Orchestra เพื่อสรางความเขาใจลึกซึ้งระหวางทีมงาน รูจักปรับตัว เปดใจรับฟง สรางความเชื่อมั่น รวมทั้งเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเอง มีความรับผิดชอบเพื่อใหทีมขับเคลื่อนไดอยาง คลองแคลว เกิดผลงานที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล - จัดหลักสูตร Human Mindfulness Development เพื่อใหพนักงานเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลัก ความสําคัญและกระบวนการพัฒนาตนเองอยางมีสติ เขาใจคุณคาของการทํางานรวมกันอยางมีความสุข - จัดหลักสูตร ศาสตรแหงการ Shopping เพื่อเพิ่มเติมความรูในดานพฤติกรรมผูบริโภคและสามารถวิเคราะห พฤติกรรมการซื้อของลูกคาไดดียิ่งขึ้น - จัดหลักสูตร Digi Marketing เพื่อคงไวซึ่งความเปนผูนํา Trend การตลาด Digital ในธุรกิจการสื่อสารและ เพิ่มพูนความรูในเรื่อง Trend ใหมๆของการตลาด Digital - จัดหลักสูตร Strategic Key Account Management : A Flourishing tool for Business Success เพื่อให สามารถวางแผนเชิงกลยุทธในการดูแลบริหารกลุมลูกคาองคกร และรูถึงตนทุนคาใชจายในการขาย เพื่อ บริการการขายใหมีประสิทธิภาพ การสรางจุดแข็งของการขาย Business Solution ใหตรงกับความตองการ ของลูกคา รวมถึงการบริหารและสรางความสัมพันธกับลูกคาองคกร - จัดหลักสูตร Turn Passion to Success เพื่อสรางขวัญ กําลังใจใหกับพนักงาน และสรางแรงจูงใจในการ ทํางานอยางมีความสุข ตลอดจนสามารถดึงศักยภาพของตนเองออกมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.3 พนักงานกลุมใหบริการลูกคาและพนักงานขาย - การพัฒนาศักยภาพของพนักงานใหมีความรูดาน Internet Protocol เพื่อใหสามารถรองรับเทคโนโลยีใหมๆ ในการใหบริการลูกคา - กิจกรรม ครองใจลูกคาดวย LIFEe เพื่อยกระดับการบริการโดยปลูกฝงวัฒนธรรมการใหบริการแบบ LIFEe เพื่อสงมอบบริการแกลูกคาในทุกจุดบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อรักษาความเปนผูนําในดานการบริการ - มอบรางวัล “คนพันธุ LIFEe” เพื่อเปนการแสดงความชื่นชมและขอบคุณพนักงานที่เปนแบบอยางที่ดีในการ ปฏิบัติงานและสะทอนพฤติกรรม LIFEe ไดอยางชัดเจน 3 การพัฒนาพนักงานกลุมดาวเดน (Talent) มีการพัฒนาตาม Roadmap ที่ไดออกแบบเพื่อมุงเนนใหพนักงานกลุม Talent ไดเรียนรูอยางรวดเร็ว และนํามาใช ในงานที่เปนภารกิจหลัก และงานที่ไดรับมอบหมายพิเศษ ทําใหพนักงานในกลุมนี้ไดสั่งสมประสบการณทั้ง ทางตรงและทางออม จัดใหมีการหมุนเปลี่ยนเวียนงาน การศึกษาดูงาน การเขารวมสัมมนาตางประเทศ โครงงานใหมๆ เพื่อพัฒนางาน และบริการออกสูตลาดเพื่อใหลูกคาไดใชงานจริง การมอบหมายใหเปนตนแบบในการเรียนรู และพัฒนาตนเอง และนํามาถายทอดสูเพื่อนรวมงาน กลุมเปาหมาย เกี่ยวของ เพื่อการสรางแรงบันดาลใจในการเรียนรู และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องใหผูอื่น ซึ่งนอกจากจะเปนการ สรางสัมพันธภาพในกลุมเครือขายใหดียิ่งขึ้นแลว ยังเปนการสรางความภาคภูมิใจในความสําเร็จใหกลุม Talent อีกดวย

สวนที่ 1 หนา 111


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

4 ทุนการศึกษา เปนโครงการที่บริษัททํามาอยางตอเนื่องเพื่อสงเสริมใหพนักงานมีโอกาสในการพัฒนาความรู ความสามารถของตนเองเพื่อเติบโตและกาวหนาไปพรอมกับองคกร โดยเปนทุนการศึกษาระดับปริญญาโทในประเทศ จํานวน 4 ทุนและตางประเทศ จํานวน 2 ทุน ตอป 5 การบริหารความรู บริษัทไดมีระบบการบริหารจัดการความรูภายในองคกร หรือที่รูจักในชื่อ nokhook โดยพนักงานทุกระดับสามารถ มีสวนรวมในการแบงปนความรูที่เกิดขึ้นภายในองคกรไดอยางเปนรูปธรรม การจัดกลุม CoPs ตามความ เชี่ยวชาญ การสรางกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูผาน Social Media Innovation Festival จัดแสดงผลงานนวัตกรรมเพื่อเผยแพรความรูทางดาน Innovation ของพนักงานในองคกร และจัดการศึกษาดูงานแสดงนิทรรศการที่นาสนใจ เพื่อสรางแรงบันดาลใจในการคิดสรางสรรคใหกับพนักงาน พัฒนาระบบ nokhook 2.0 เพื่อใหพนักงานเขาถึงแหลงความรูที่มีคุณภาพไดโดยงาย และนาสนใจ 6 การสรางวัฒนธรรมหรือคานิยมองคกร The AIS Way@FASTMOVING หลักสูตรสงเสริมวัฒนธรรมในองคกร หลักสูตร Collaborative Communication for Synergistic Team เปนกิจกรรมการเรียนรูที่จัดขึ้นใหกับหนวยงาน ที่มีการทํางานแบบขามสายงาน (Cross Function) เนนเรื่อง Collaborative Teamwork และนํา Culture ของ บริษัทมาใชในการทํากิจกรรมรวมกัน Innovation Camp สงเสริมใหพนักงานแสดงออกในเรื่องของ Innovation 7 โครงการยกยองและประกาศเกียรติคุณพนักงาน (Employee Recognition Program) Eureka Awards สงเสริมใหพนักงานคิดสรางสรรคผลงานทางดาน Innovation เพื่อตอบโจทยกลยุทธการ ดําเนินงานขององคกร Trainer Hall of Fame จัดขึ้นเพื่อมอบรางวัลใหกับวิทยากรภายในที่มีผลการสอนดีในแตละป The Star Awards จัดขึ้นเพื่อมอบรางวัลใหกับพนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานดีเดนในแตละสายวิชาชีพ MVP Awards (Most Valuable Person) รางวัลที่มอบใหกับพนักงานที่ Share ความรูใหกับองคกรอยางตอเนื่อง และสม่ําเสมอ รวมทั้งสงเสริมการเขาไปคนควาหาความรูใน nokhook ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน บริษัทและบริษัทในเครือมีการแตงตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ ทํางาน (คปอ.) เพื่อปฏิบัติงานตามที่กฎหมายกําหนด โดยมีทั้งในสวนที่เปนตัวแทนระดับบังคับบัญชา และตัวแทนระดับ พนักงาน รวมเปนกรรมการ ของแตละสถานประกอบการ อันไดแก อาคารอินทัช อาคารเอไอเอส อาคารอีเอสวี อาคาร พหลโยธินเซ็นเตอร อาคารพหลโยธินเพลส และคลังสินคา โดยมีการวางแผนงานและติดตามการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมกับหนวยงานปฏิบัติการอื่นๆ เชน • การตรวจสอบนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน • การวางแผนและติดตามแผนการทํางานดานความปลอดภัย • การสํารวจความปลอดภัยทุกเดือน และติดตามการปรับปรุงแกไขประเด็นที่ไดจากการสํารวจ • การเพิ่มชองทางการรับแจงหรือรายงานความไมปลอดภัยจากพนักงาน (AIS Safety) เพื่อให คปอ.รับทราบเพื่อ พิจารณาโอกาสในการปรับปรุง • การพิจารณาและสนับสนุนการจัดทํา และการฝกซอมแผนเตรียมการปองกันและตอบสนองเหตุไฟไหม การฝกซอม ดับเพลิง และการฝกซอมอพยพหนีไฟประจําป การสงเสริมการฝกอบรมดานความปลอดภัย บริษัทสนับสนุนใหมีการฝกอบรมหลักสูตรดานความปลอดภัยตามที่กฎหมายกําหนด ดังนี้ สวนที่ 1 หนา 112


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554 •

• •

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การฝกอบรมหลักสูตรคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานใหแกผูดํารงตําแหนง คปอ. การฝกอบรมหลักสูตร เจาหนาที่ความปลอดภัยระดับหัวหนางาน ใหกับพนักงานระดับหัวหนางาน การฝกอบรมหลักสูตร เจาหนาที่ความปลอดภัยระดับบริหาร ใหกับพนักงานระดับบังคับบัญชา

การมีสวนรวมและการพัฒนาชุมชน ในป 2554 เอไอเอสยังคงสานตอเจตนารมณในการดําเนินกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม ควบคูไปกับการดําเนิน ธุรกิจเพื่อตอบสนองตอกลุมผูมีสวนไดสวนเสียของบริษัททุกกลุม เพื่อสรางความสุขใหแกสังคมไทยอยางยั่งยืน ตลอดจน บรรเทาทุกขและฟนฟูสังคมใหผานพนวิกฤติไปอยางเข็มแข็ง ดวยการดําเนินกิจกรรมในรูปแบบตางๆ ดังนี้ 1. โครงการสานรัก สนับสนุนสถาบันครอบครัว เปนโครงการที่จัดขึ้นตั้งแตป 2542 เพื่อสนับสนุนและสงเสริมความสัมพันธที่ดีของสมาชิกในครอบครัว และเปน สื่อกลางในการจุดประกายความคิดใหแกคนในสังคมตระหนักถึงความรัก ความอบอุนของสมาชิกในครอบครัว โดยลาสุดใน ป 2554 ไดดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการ “สานรัก” ดังนี้ นําเสนอภาพยนตรโฆษณาชุด “สังคมดีเริ่มที่ครอบครัว” เพื่อกระตุนใหประชาชนไดเห็นวา แทจริงแลว สังคมที่ดีมี คุณภาพ พวกเราชวยกันสรางได ดวยสถาบันที่เล็กที่สุด แตสําคัญที่สุดนั่นคือครอบครัว จัดกิจกรรม “เอไอเอส แฟมิลี่ วอลค แรลลี่” ครั้งที่ 12 สมทบทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ตอน “สานรัก ลูกทุง” ณ จังหวัดเพชรบุรี 2. การเปดโอกาสและชวยเหลือสังคมในดานตางๆ 2.1 ดานการบรรเทาทุกข บริษัท ไดใหความชวยเหลือประชาชนที่ไดรับความเดือดรอนจากภัยธรรมชาติตางๆ ภัยหนาว ในยามที่เกิดภัยหนาว ป 2554 เอไอเอสไดมอบผาหมกันหนาว จํานวน 13,000 ผืน เพื่อชวยเหลือพี่นอง ประชาชนในพื้นที่ประสบภัยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภัยน้ําทวม ในยามที่ประเทศชาติเกิดวิกฤติน้ําทวมครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 50 ป ทําใหประชาชนในหลายพื้นที่ไดรับ ความเดือดรอนเปนจํานวนมาก เอไอเอสไดนําศักยภาพดานโทรคมนาคมไปใหความชวยเหลือ ประเทศชาติในยามวิกฤติ ดวยการจัดสรรระบบ AIS Call Center รวมเปนชองทางของศูนยปฏิบัติการ ชวยเหลือผูประสบอุทกภัย (ศปภ.) ในการรับเรื่องแจงความเดือดรอนและขอความชวยเหลือของผูประสบภัย น้ําทวม การแจงขอความชวยเหลือผาน SMS และ MMS โดยไมเสียคาบริการ ใหบริการโทรฟรีและเติม เงินฟรี นํารถสถานีฐานเคลื่อนที่เขาไปรองรับการใชงาน ตลอดจนติดตั้งเครือขาย 3จีและ WiFi พรอมจัด โทรศัพทมือถือฟรีใหแกศปภ. ศูนยประสานงานชวยเหลือหนวยงานตางๆ เพื่อใหเจาหนาที่ปฏิบัติงานได อยางสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ ทีมวิศวกรไดทุมเทกําลังดูแลและปองกันเครือขายในพื้นที่ที่ประสบภัย เพื่อใหผูใชบริการสามารถติดตอสื่อสารขอความชวยเหลือและแจงขาวสารเหตุการณตางๆ ได พรอมกันนี้เอ ไอเอสยังไดใหความชวยเหลือสังคมและประชาชน ดวยการบริจาคเงิน 37 ลานบาท ผานทางภาครัฐและ หนวยงานตางๆ และจัดมอบถุงยังชีพ สิ่งของอุปโภคบริโภค ขาวกลอง น้ําดื่ม ถุงทราย เสื้อชูชีพ และเรือ ฯลฯ ตลอดจนไดจัดรถบรรทุกบริการรับ-สงประชาชน อํานวยความสะดวกในการเดินทางในพื้นที่ตาม เสนทางตางๆ ที่น้ําทวม การชวยเหลือฟนฟูพื้นที่ที่ประสบอุทกภัย หลังจากสถานการณน้ําทวมเริ่มคลี่คลาย เอไอเอสไดนํา พนักงานจิตอาสาเขารวมกิจกรรม Big Cleaning Day กับจังหวัดตางๆ เพื่อชวยฟนฟูโบราณสถานที่สําคัญให สวนที่ 1 หนา 113


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กลับคืนสูสภาพเดิม และไดรวมกับสํานักงานเขตในพื้นที่ที่ประสบอุทกภัยตางๆ ทําความสะอาดเก็บกวาด ขยะตามทางเทาและพื้นผิวการจราจร เพื่อชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอนใหแกพี่นองประชาชนรวมกัน การฟนฟูภาคอุตสาหกรรมแกโรงงานที่ประสบภัยน้ําทวม โดยเอไอเอสไดรวมกับคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสมาคมนิสิตเกาวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ ดวยการสนับสนุนงบประมาณ 1 ลานบาท ในการผลิตน้ํายาทําความสะอาดมอเตอรและเครื่องจักร อุตสาหกรรมที่ถูกน้ําทวมใหแกโรงงานและอุตสาหกรรม SMEs 2.2 ดานการศึกษา การจัดใหมีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม บริษัทไดรวมกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กสทช. ดําเนินโครงการจัดใหมีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม หรือยูเอสโอ สรางศูนย อินเทอรเน็ตโรงเรียน อินเทอรเน็ตชุมชน และติดตั้งโทรศัพทสาธารณะใหแกชุมชนและโรงเรียนพื้นที่หางไกล เพื่อเพิ่มโอกาสทางดานการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ําและเปดโอกาสในการเขาถึงบริการโทรคมนาคมให มากขึ้น เอไอเอส แนะแนววาที่บัณฑิต กาวสูวัยทํางานที่สดใส บริษัทไดจัดกิจกรรมใหความรูการเตรียมความพรอมในการสมัครงานและการสัมภาษณงานแกนิสิตนักศึกษา ชั้นปที่ 4 เปนครั้งที่ 4 ในภูมิภาคตางๆ เชน กรุงเทพฯ ขอนแกน นครราชสีมา เชียงใหม และสงขลา เพื่อเพิ่มความสําเร็จในการไดงานทําของนิสิตนักศึกษาที่กําลังจะสําเร็จการศึกษา เรารักษตนน้ํา จาก เอไอเอส สานรัก บริษัท ไดรวมกับสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรม “เรารักษตนน้ํา จากเอไอเอส สานรัก” ปที่ 2 เพื่อ ปลูกจิตสํานึกในการรักษน้ําใหแกคนในชุมชน อันจะกอใหเกิดการรวมกันดูแลรักษาแหลงน้ําในพื้นที่ของ ตนเอง พรอมทั้งสนับสนุนความรูและทุนทรัพยใหแกชุมชนเพื่อจัดตั้งเปนศูนยการเรียนรูอยางยั่งยืน งานเยี่ยมชมองคกร บริษัท เปดโอกาสใหหนวยงานภายนอก ทั้งภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาตางๆ เขาเยี่ยมชมการ ดําเนินงานของบริษัท เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ และเพิ่มพูนความรู เพื่อเปนแนวทางนําไปพัฒนา ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ ตอไป การจัดประกวดการเขียนแผนพัฒนาธุรกิจสินคา OTOP ประเภท “ถั่ว” ชิงทุนการศึกษา 4.5 แสนบาท ใหแกนิสิตนักศึกษา ในโครงการ “วัน-ทู-คอล! แบรนดเอจ อวอรด” ปที่ 5 พรอมมีการอบรมใหความรูการ ทําธุรกิจและมอบทุนการศึกษา การจัดติวสอบแอดมิดชั่นใหกับนักเรียนทั่วประเทศผานออนไลนเปนรายแรกในประเทศไทย ดวยโครงการ “Click for Clever by One-2-Call! ระเบิดความรู สูมหาวิทยาลัย” 2.3 การใหโอกาส เอไอเอส ยิ้มหวานวันเด็ก สานรักเพื่อนองพิการ ในโอกาสวันเด็กแหงชาติ บริษัทไดนําเด็กพิการและเด็กดอยโอกาสทางสังคมจากสถานสงเคราะห 12 แหง จํานวน 500 คน รวมกิจกรรมวันเด็ก ณ อาคารอินทัช เพื่อสนับสนุนใหเด็กทุกคนไดมีโอกาสตางๆ ทางสังคม อยางเทาเทียมกัน รวมถึงจัดกิจกรรมวันเด็กรวมกับหนวยงานรัฐในสวนภูมิภาค AIS Startup Weekend 2011 และเพื่อ เปนโครงการที่เปดโอกาสใหนักพัฒนาและเจาของกิจการคนไทยไดกาวสูธุรกิจดิจิตอลระดับโลก สัมผัสประสบการณใหมผานการรวมโปรแกรมระดับนานาชาติมาสูนักออกแบบชาวไทย และพัฒนาบริการ ใหมๆใหกับผูใชมือถือทั่วภูมิภาคเอเชีย สวนที่ 1 หนา 114


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.4 ดานกีฬา ลานกีฬาเอไอเอส บริษัทไดทําการปรับปรุงซอมแซมลานกีฬาเอไอเอส จํานวน 6 สนามในพื้นที่ 3 แหง ในเขตกรุงเทพฯ เพื่อให เยาวชนไดใชเวลาวางใหเปนประโยชนและเพื่อสุขภาพที่สมบูรณแข็งแรง AIS Regional League ลีกแหงชาติ การสนับสนุนกีฬาระดับชาติ “AIS Regional League ลีกแหงชาติ” ตอเนื่องเปนปที่ 2 ดวยการรวมกับสมาคม ฟุตบอลแหงประเทศไทย เพื่อพัฒนาวงการฟุตบอลไทยใหกาวไปสูระดับสากลมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งมอบเงิน รางวัลและคาโทรฟรีตลอดทั้งป 2554 ใหกับทีมที่ไดรับรางวัลชนะเลิศ 2.5 อื่นๆ กองทุน “เอไอเอส เพื่อผูสูงอายุ ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ” 3. การเปนแบบอยางที่ดีของสังคม การผลิตรายการสารคดี “สานรัก คนเกงหัวใจแกรง” ปที่ 11 เผยแพรทางสถานีโทรทัศนกองทัพบกชอง 5 ทุกวันจันทร เวลา 15.10 – 15.35 น. โทรทัศน เพื่อเปนแบบอยางที่ดีใหแกเยาวชน และเชิดชูเยาวชนที่เปนคนดี มีความกตัญู ตอสูชีวิต ชวยเหลือครอบครัว และใฝศึกษา โดยเอไอเอสจะมอบทุนชวยเหลือครอบครัวและ ทุนการศึกษาใหแกเยาวชนตั้งแตเริ่มเขาโครงการจนจบปริญญาตรี ซึ่งปจจุบันมีเยาวชนในโครงการทั้งหมด 500 คน และสําเร็จการศึกษาแลวจํานวน 63 คน การมอบทุนการศึกษาใหแกเยาวชนในโครงการ “สานรัก คนเกงหัวใจแกรง” ที่ไดรับการออกอากาศทาง โทรทัศนเปนประจําทุกสัปดาห โดยในป 2554 ไดมอบทุนการศึกษาไปเปนเงินประมาณ 2.75 ลานบาท การผลิตซีดีรายการ “สานรัก คนเกงหัวใจแกรง” เพื่อเปนสื่อการเรียนการสอนดานจริยธรรมคุณธรรม และ นําไปมอบใหแกโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ และประชาชนทั่วไปที่สนใจ รวมจํานวน 260,000 แผน การจัดกิจกรรม “สานรัก คนเกงหัวใจแกรงสัญจร” โดยนําเยาวชนในโครงการสานรัก คนเกงหัวใจแกรง ไป พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนแนวคิดการตอสูชีวิตแกนักเรียนและเยาวชน โดยในป 2554 ไดไปจัดกิจกรรมดังกลาวใน ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 จังหวัดเชียงใหม การจัดกิจกรรม “แนะแนวบัณฑิตสานรัก...สูวัยทํางาน” รุนที่ 2 เพื่อเตรียมความพรอมใหกับบันฑิตคนเกง หัวใจแกรงกอนเขาสูชีวิตการทํางาน ทั้งการสมัครงาน สัมภาษณงาน พัฒนาบุคลิกภาพ รวมถึงแนวทางการใช ชีวิตในการทํางาน การจัดกิจกรรม “ยินดีกับคนเกง” มอบมือถือพรอม SIM และการดอวยพร แสดงความยินดีในโอกาสที่เยาวชน คนเกงหัวใจแกรงจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี 4. การปลูกจิตสํานึกใหพนักงานชวยเหลือสังคม บริษัทมีนโยบายสงเสริมใหพนักงานมีจิตอาสาและเปนผูทําประโยชนเพื่อสังคม โดยกิจกรรมสังคมตางๆที่บริษัท จัดขึ้น ไดสงเสริมใหพนักงานอาสาสมัครเพื่อเขารวมกิจกรรมดวย เชน กิจกรรม “ยิ้มหวานวันเด็ก” ในโอกาสวันเด็กแหงชาติ ที่บริษัทจัดใหแกเด็กพิการจากสถานสงเคราะหตางๆ หรือ กิจกรรม “พี่เอไอเอสอาสา พานองเปดโลกกวาง” ใหแกนักเรียน ที่ยากไรไดมาเปดโลกทัศนหาความรูนอกหองเรียน บริษัทก็สงเสริมใหพนักงานเอไอเอสมารวมเปนพี่อาสาในการดูแล นองๆที่มารวมกิจกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิดวิกฤติแกพี่นองประชาชน เชน วิกฤติน้ําทวมใหญครั้งลาสุดในปลายป 2554 บริษัทไดสนับสนุนใหพนักงานที่มีจิตอาสาเดินทางไปชวยเหลือและแจกถุงยังชีพใหแกผูประสบภัยน้ําทวม และรวม ฟนฟูสถานที่ตางๆ ที่ประสบภัย โดยใหคาเดินทาง คาอาหาร ที่พัก และเบี้ยเลี้ยงแกพนักงาน และยังคงนับเปนวันทํางาน

สวนที่ 1 หนา 115


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตามปกติ นอกจากนี้ พนักงานเอไอเอสยังไดจัดตั้งกองทุนรับบริจาคเงินเพื่อชวยเหลือประชาชนผูประสบภัยเพื่อมอบใหแก สภากาชาดไทยอีก โดยไดเงินจํานวน 231,865.94 บาท รางวัลแหงความภาคภูมิใจ ในป 2554 - เอไอเอสไดรับการจัดอันดับเปนบริษัทยอดเยี่ยมแหงป 2011 อันดับที่ 1 (Best Public Companies of The Year 2011) จากวารสารการเงินธนาคาร - เอไอเอสรับรางวัลบริษัทนายจางดีเดนแหงป 2011 อันดับที่ 1 ในงาน Best Employers in Thailand ซึ่งจัดโดย บริษัท เอออนฮิววิท และ ศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - เอไอเอสไดรับรางวัลสุดยอดบริษัทที่จายเงินปนผลสูงที่สุดอยางตอเนื่องเฉลี่ย 5 ปที่ผานมา (2006-2010) เปนอันดับ หนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จากนิตยสาร Alpha Southeast Asia - บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือของเอไอเอสไดรับรางวัล The Asian Banker Technology Implementation Awards 2011 รวมกับธนาคาร Standard Chartered (Thai) ในโครงการ Best eBanking Project ที่ ทางเอ็มเปยไดรวมพัฒนาเทคโนโลยีการใหบริการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกสใหแกธนาคาร จากนิตยสาร ดิ เอเชียน แบงเกอร - เอไอเอสไดรับรางวัล Thailand Corporate Excellence สาขา Corporate Improvement Excellence (รางวัลความเปน เลิศดานการบริหารจัดการ) และรางวัล A Decade of Excellence (Top 10 Excellenceในรอบ 10 ป) (รางวัลองคกร ที่ไดรับการเสนอชื่อในการจัดประกวดมาตลอดระยะเวลา 10 ปติดตอกันที่ผานมา) จาก TMA และสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - บริษัทไดรับรางวัลผูบริหารยอดเยี่ยมแหงป 2554 (Best CEO) รางวัลผูบริหารดานการเงินยอดเยี่ยม (Best CFO) และรางวัลนักลงทุนสัมพันธยอดเยี่ยม (Best IR) ในกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี จากสมาคมนักวิเคราะหหลักทรัพย - บริษัทไดรับรางวัล “สุดยอดองคกรแหงการสรางผูนํา” (Top Company For Leaders) ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ประจําป 2554 จากนิตยสารฟอรจูน อารบีแอล กรุป และบริษัท เอออน ฮิววิท - บริษัท ไดรับรางวัลผูประกอบการดีเดนที่มีความรับผิดชอบตอสังคม ดานการใหความชวยเหลือสังคมใหสามารถพึ่งพา ตนเองไดอยางยั่งยืน จากเอ็นเตอรไพรส เอเชีย องคกรอิสระ ที่สงเสริมและพัฒนาผูประกอบการในภาคพื้นเอเชีย โดย เปนบริษัทไทยรายแรกที่ไดรับรางวัล - ภาพยนตรโฆษณาชุด “สังคมดีเริ่มที่ครอบครัว” โดยโครงการสานรัก ซึ่งเปนโครงการสนับสนุน สถาบันครอบครัวของ บริษัท ไดรับรางวัลสื่อมวลชนดีเดน ประจําป 2554 สาขาภาพยนตรโฆษณาดีเดน

สวนที่ 1 หนา 116


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

นโยบายในการพัฒนาพนักงาน บริษัทมุงมั่นพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานอยางตอเนื่อง เพื่อเปนทุนทางปญญา รวมทั้งสรางสรรค วัฒนธรรม หรือคานิยมในการทํางาน เพื่อใหองคกรเปนสถานที่ทํางานที่มีความสุขเกิดการเรียนรู สรางความสําเร็จแก พนักงาน และเกิดความภาคภูมิใจในองคกร อันจะชวยทําใหบริษัทสามารถดําเนินกิจการไดสอดคลองกับกลยุทธและ ทิศทางขององคกร บริษัทมีนโยบายสงเสริมและใหความสําคัญดานการพัฒนาพนักงานเพื่อใหบุคลากรมีความรู ทักษะ และศักยภาพ ที่เหมาะสม สอดคลองตอแผนความกาวหนาเติบโตในสายอาชีพ ทั้งในดานทักษะการบริหาร และทักษะดานวิชาชีพเฉพาะ ทาง รวมทั้งความสามารถดานเทคโนโลยีที่กาวหนาอยางรวดเร็ว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน คุณภาพของการ ใหบริการที่สรางแตกตางอยางมีคุณคา โดยบูรณาการการพัฒนาพนักงานอยางเปนระบบมีการอบรม สัมมนา ดูงานทั้งใน และตางประเทศ การหมุนเปลี่ยนเรียนงาน การโอนยายงาน โดยใชระบบ Competency-Based Development เพื่อการ วางแผนพัฒนาความกาวหนาในอาชีพ (Career Advancement) จัดใหมีโปรแกรมการพัฒนา รักษากลุมพนักงานที่มี ศักยภาพ ความสามารถโดดเดน (Talent) และโปรแกรมการพัฒนาผูสืบทอดตําแหนง (Successor) โดยหลักการ Leaders grow Leaders สงเสริมและพัฒนาทักษะของผูบริหาร ในรูปแบบ Executive Coaching เพื่อใหผูบริหารไดแสดง ศักยภาพในการทํางานไดอยางเต็มที่และประสบความสําเร็จในวิชาชีพ ซึ่งทําใหบริษัทไดรับการยอมรับและไดรับรางวัล Top Companies for Leaders 2011 ในระดับ Asia Pacific สําหรับการพัฒนาระยะยาว บริษัทจัดใหมีทุนการศึกษาระดับ ปริญญาโท ทั้งใน และตางประเทศ แกพนักงาน นอกจากนั้นบริษัทยังไดสนับสนุน สงเสริมใหพนักงานการพัฒนาตนเอง Self Development มีการถายทอดความรู ประสบการณ และความเชี่ยวชาญตามสาขาวิชาชีพตางๆ โดยรวบรวมองค ความรู เหลานั้นไว ใน “Nokhook” ซึ่งเปนระบบการบริหารความรู (Knowledge Management) ของบริษัท เพื่อใหพนักงาน ไดมีแหลงขอมูลในการเรียนรูอยางตอเนื่องมากขึ้น จากการที่บริษัทไดดําเนินกิจกรรมการพัฒนาองคกรมาอยางตอเนื่อง และไดมกี าร Benchmarkกับองคกรชั้นนํา ในป 2554 บริษัทไดรับการยกยองใหเปน The Best Employer in Thailand

สวนที่ 1 หนา 117


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทยอย (รวม 13 บริษัท) มีพนักงานทั้งสิ้น 9,540 คน (รวมพนักงานชั่วคราว) โดยแบงตามสายงานหลักไดดังนี้ เอเอ็มพี / เอเอ็มซี / เอดีซี / เอไอเอ็น / ดับบลิวดีเอส / เอสบีเอ็น / เอดับบลิวเอ็น / เอฟเอ็กซแอล / เอ็มเอ็มที / เอไออาร

บริษัท เอไอเอส สายงานหลัก ปฏิบัติการ พัฒนาโซลูชั่นส บริหารลูกคาและการบริการ การตลาด ปฏิบัติการดานบริการ การเงินและบัญชี สนับสนุน สํานักปฏิบัติการภูมิภาค สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคกลาง สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคตะวันออก สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคเหนือ สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักปฏิบัติการภูมิภาค - ภาคใต

รวม

จํานวนพนักงาน

473 22 704 1,073 433 243 287 6 236 227 305 371 295 4,675

จํานวนพนักงาน

เอฟเอ็กซแอล เอ็มเอ็มที เอไออาร

28 4 61 27 508 208 15 82 1,031 16

รวม

1,980

เอเอ็มพี เอเอ็มซี เอดีซี เอไอเอ็น ดับบลิวดีเอส เอสบีเอ็น เอดับบลิวเอ็น

เอซีซี สายงานหลัก กรรมการผูจัดการ สํานักลูกคาสัมพันธ ฝายประกันคุณภาพงานบริการ ฝายบริหารกลุมลูกคาผูใชบริการสูง ฝายบริหารคูคาสัมพันธ ฝายพัฒนาและวิเคราะหการปฏิบัติการ สํานักบริหารทรัพยากร รวม

ดีพีซี จํานวน พนักงาน 10 1,156 64 660 445 88 392 2,815

สายงานหลัก บัญชีและบริหารสินเชื่อ การตลาด-การขาย วิศวกรรม สนับสนุน

รวม

จํานวน พนักงาน 10 7 48 5

70

สําหรับป 2554 คาตอบแทนรวมของบุคลากรของบริษัทฯ และบริษัทยอย ประกอบดวย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ มีจํานวนทั้งสิ้น 5,201.66 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 118


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

9.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายใน

ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง บริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพ มีการเชื่อมโยงและบูรณาการในสวนตางๆ ที่สําคัญ ทั้งในสวน ของการกํากับดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) และการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวของ (Compliance) เขาไวดวยกันในภาพรวมตลอดทั่วทั้งองคกร โดยอาศัยกลไกที่สําคัญตางๆ ไดแก กลยุทธ (Strategy) กระบวนการ (Process) บุคลากร (People) เทคโนโลยี (Technology) รวมไปถึงโครงสราง (Structure) ที่เหมาะสม เพื่อชวยในการขับเคลื่อนไปสูเปาหมาย และกอใหเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุด รวมถึงมีการพัฒนาสู ความยั่งยืน (Sustainable Development) ระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง จึงเปนกลไกหนึ่งที่สําคัญตอการบรรลุวัตถุประสงคและ ความสําเร็จ และการเพิ่มมูลคาใหกับผูมีสวนไดเสีย โดยมีการมอบหมายใหพนักงานทุกคนของบริษัทมีบทบาทและหนาที่ ความรับผิดชอบรวมกัน อีกทั้งยังกําหนดอํานาจการดําเนินการในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการไวเปนลายลักษณอักษร อยางชัดเจน ครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การบริหาร และการกํากับดูแลการปฏิบัติงานใหเปนไป ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งไดกําหนดใหมีการประเมินตนเอง (Control Self Assessment, CSA) โดยใหพนักงานสามารถระบุปจจัยเสี่ยงดวยตนเองอยางทันทวงทีและสามารถพัฒนาปรับปรุง ระบบงาน ใหลดความเสี่ยงลงในระดับที่ยอมรับได ซึ่งระบบ CSA เปนการสงเสริมใหพนักงานมีความรับผิดชอบในการ ประเมินความเสี่ยงและพัฒนาระบบการควบคุมภายในดวยตนเองอยางตอเนื่อง เปนการสรางความแข็งแกรงของระบบการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงใหมีประสิทธิผล เพื่อกอใหเกิดความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลวา ผลสําเร็จของงาน จะสามารถบรรลุวัตถุประสงคของบริษัท ดังนี้ 1. กลยุทธและเปาหมาย ไดกําหนดไวอยางชัดเจนสามารถนํามาปฏิบัติไดจริง พันธกิจ (Mission) ของบริษัท 2. ผลการปฏิบัติงานบรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิผล บริษัทอยางมีประสิทธิภาพคุมคา

โดยสอดคลองและสนับสนุน โดยมีการบริหารทรัพยากรของ

3. รายงานขอมูลที่มีสาระสําคัญ ทั้งดานการเงิน การบริหาร และการดําเนินงาน มีความถูกตอง เชื่อถือไดและ สามารถนําไปใชเพื่อการตัดสินใจไดทันเวลา 4. การดําเนินงานและการปฏิบัติงาน เปนไปตามนโยบาย กฎ ระเบียบและขอกําหนดที่สอดคลองกับกฎหมาย และขอบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของบริษัททั้งภายในและภายนอกบริษัท 5. มีระบบการปองกันควบคุมดูแลทรัพยสิน บุคลากร รวมทั้งขอมูลในระบบสารสนเทศอยางปลอดภัยเหมาะสม 6. มีระบบการกํากับดูแลอยางใกลชิดตลอดเวลาและมีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล 7. มีการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานทั้งดานบุคลากร ทรัพยสินอุปกรณ และระบบปฏิบัติการตางๆ อยาง ตอเนื่อง 8. มีระบบการประเมินตนเองในการควบคุมของระบบงานที่สําคัญทั่วทั้งองคกรอยางเหมาะสม บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมมีประสิทธิผล โดยปฏิบัติตามกรอบ โครงสรางการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ซึ่งอางอิงตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission -Enterprise Risk Management (COSO-ERM) ซึ่งสัมพันธกับการดําเนิน ธุรกิจและกระบวนการบริหารงานของบริษัททั้ง 8 องคประกอบ ดังนี้ สวนที่ 1 หนา 119


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

1. สภาพแวดลอมภายในองคกร บริษัทสนับสนุนใหมีสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี โดยมีการกําหนดนโยบาย การวางแผน การ ดําเนินการ การควบคุม การติดตามที่เหมาะสม มีการจัดโครงสรางการบริหารที่ดี เหมาะสมตามขนาดและการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท มีการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลที่ดี ยึดมั่นในปรัชญาและจรรยาบรรณธุรกิจ (Code of Business Ethics) ที่มีขอกําหนดและแนวทางปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษร มีการแตงตั้งคณะกรรมการจริยธรรมธุรกิจ โดยมีประธาน เจาหนาที่บริหารเปนประธาน และผูบริหารระดับสูงเปนกรรมการ เพื่อกํากับดูแลกิจการใหบริษัทดําเนินธุรกิจสอดคลองกับ นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีการกําหนดนโยบายการใหขอมูลการกระทําผิดและการทุจริต การสอบสวน และการ คุมครองผูใหขอมูล (Fraud Whistleblowing Protection Policy) อีกทั้งผูบริหารระดับสูงยังเปนตัวอยางที่ดีในเรื่องความ ซื่อสัตยและจริยธรรม มีการปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียโดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอทุกฝาย มีการกําหนดอํานาจหนาที่และ ความรับผิดชอบในแตละระดับอยางชัดเจน มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเปนลายลักษณอักษร และกําหนด บทบาทหนาที่รวมถึงแนวทางการบริหารความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงอยางเปนระบบตอเนื่อง มีการสื่อสารและสราง ความเขาใจกับพนักงานทุกระดับ ตลอดจนมีการกําหนดระดับของความเสี่ยงที่ยอมรับได ที่เชื่อมโยงกับกลยุทธของบริษัท เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี สามารถปองกันหรือลดความ เสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น สงผลใหบริษัทจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล บริษัทใหความสําคัญในเรื่องบุคลากร ซึ่งถือเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุด โดยกําหนดใหมีวัฒนธรรมองคกร (Corporate Culture) มาตรฐานการประเมินผล และการใหผลตอบแทนที่ชัดเจนเปนธรรม พรอมทั้งจัดใหพนักงานไดรับการ พัฒนาฝกอบรม ความรู ทักษะ ความสามารถใหเหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบหมาย และเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงดานตางๆ ตามแผนการฝกอบรมรายบุคคล (Individual Development Plan) เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรของบริษัทสูความเปนเลิศและความเปนมาตรฐานสากลอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ 2. การกําหนดวัตถุประสงค บริษัทมีการกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายการปฏิบัติงานในแตละระดับอยางชัดเจน รวมทั้งดานกล ยุทธ ดานการปฏิบัติงาน ดานการรายงาน รวมทั้งดานการปฏิบัติตามนโยบาย กฎ ระเบียบ ขอปฏิบัติตางๆ ซึ่งบันทึกเปน ลายลักษณอักษร โดยสอดคลองกับเปาหมายหลักหรือพันธกิจในภาพรวม ตลอดจนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได นอกจากนี้ บริษัทยังไดมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน กลยุทธและวัตถุประสงคใหสอดคลองกับสถานการณและปจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไป อยางสม่ําเสมอ 3. การบงชี้เหตุการณ บริษัทไดระบุตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่อาจสงผลเสียหายตอวัตถุประสงคในระดับองคกร และระดับปฏิบัติการของบริษัทไวอยางเหมาะสมเปนระบบ รวมทั้งระบุเหตุการณที่อาจจะเกิดขึ้นที่เอื้ออํานวยตอ วัตถุประสงคทางดานบวกไวดวย โดยพิจารณาจากแหลงความเสี่ยงภายนอกและภายในบริษัท และยังมีการติดตามผลอยาง สม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวา บริษัทมีการระบุปจจัยเสี่ยงที่ครอบคลุมตอการเปลี่ยนแปลงของแตละระดับ รวมทั้งมีการรายงาน ตอผูบริหารหรือผูเกี่ยวของใหรับทราบอยูเสมอ 4. การประเมินความเสี่ยง บริษทั มีเครื่องมือและวิธีการประเมินความเสี่ยงอยางเปนระบบ อีกทั้งยังมีการจัดทําคูมือการบริหารความ เสี่ยงเพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติไวอยางชัดเจน และไดกําหนดหลักเกณฑของการประเมินความเสี่ยงในแตละระดับไวอยาง เหมาะสม ทั้งในระดับระดับองคกรและระดับปฏิบัติการ ตลอดจนทําการประเมินในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดย พิจารณาจากระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดขององคกร ซึ่งจะทําการประเมินทั้ง 2 ดาน คือ ผลกระทบตอความเสียหายที่จะ สวนที่ 1 หนา 120


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เกิดเหตุการณนั้น (Impact) และโอกาสที่จะเกิดเหตุการณความเสี่ยง (Likelihood) เพื่อพิจารณาระดับคาของความเสี่ยงที่ อาจเปนระดับสูง กลาง หรือต่ํา 5. การตอบสนองความเสี่ยง บริษัทมีกระบวนการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบตอเนื่อง โดยกําหนดกลยุทธการตอบสนองตอความ เสี่ยงในแตละระดับและในภาพรวม ซึ่งไดแก การหลีกเลี่ยง การลด การโอนใหผูอื่นและการยอมรับความเสี่ยงไวอยาง ชัดเจน เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทไดมีการพิจารณาทางเลือกที่มีความคุมคาทีส่ ุด และมีประสิทธิผลที่สุด โดยเลือกจัดการกับ ความเสี่ยงระดับสูงเปนอันดับแรก เพื่อลดโอกาสและผลกระทบในภาพรวมที่จะเกิดเหตุการณนั้น รวมทั้งยังมีมาตรการ ควบคุมภายในที่ดี มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไป 6. กิจกรรมการควบคุม บริษัทไดกําหนดนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานในแตละระดับไวอยางชัดเจน ตลอดจนกําหนดกิจกรรมการ ควบคุมที่มีสาระสําคัญในแตละระดับไวอยางเหมาะสม โดยเนนกิจกรรมการควบคุมแบบปองกันเปนหลัก รวมทั้งมีการ ประเมินและรายงานผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวา วิธีการจัดการความเสี่ยงหรือกิจกรรมการควบคุมนั้นไดมีการนําไป ปฏิบัติจริง สามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว รวมถึงคุณภาพและความรวดเร็วที่ควบคูกันไปดวย นอกจากนี้ผูบริหาร ระดับสูง ยังไดมีการทบทวนนโยบายระเบียบปฏิบัติและกิจกรรมการควบคุมเปนระยะๆ เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณ หรือความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไปอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจไดวา จะสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวได 7. ขอมูลและการติดตอสื่อสาร บริษัทมีระบบสารสนเทศและขอมูลที่สามารถเชื่อมโยงกันไดอยางทั่วถึงทั้งองคกร เพื่อนําไปใชในการ บริหารความเสี่ยงหรือเพื่อการตัดสินใจไดอยางถูกตองทันเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศและ ขอมูลที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ตลอดจนมีการกําหนดแผนสํารองฉุกเฉินสําหรับปองกันในเรื่องความปลอดภัยของระบบ สารสนเทศขณะที่มีอุบัตภิ ัยรายแรงจนระบบไมสามารถปฏิบัติงานได รวมไปถึงการซักซอมแผนสํารองฉุกเฉินไวเรียบรอย แลว นอกจากนี้บริษัทยังมีระบบการจัดเก็บขอมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกตองยอนหลังได (Audit Trail) และมีระบบ ขอมูลที่สามารถวิเคราะหหรือบงชี้จุดที่อาจจะเกิดความเสี่ยงในเชิงสถิติไดอยางเปนระบบ ซึ่งทําการประเมินและจัดการ ความเสี่ยงพรอมทั้งบันทึกหรือรายงานผลไวอยางครบถวน นอกจากนี้บริษัทมีชองทางการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถติดตอสื่อสารกันไดทั่วทั้ง องคกร โดยขอมูลที่สําคัญ เชน การกํากับดูแลกิจการ จริยธรรมองคกร แนวทางการบริหารความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ ยอมรับได นโยบายและกฎระเบียบตางๆ บทบาทความรับผิดชอบและการแบงแยกหนาที่ รวมไปถึงขั้นตอนและวิธีการ ปฏิบัติงาน เปนตน จะถูกถายทอดจากผูบริหารระดับสูงลงสูพนักงานและจากพนักงานขึ้นตรงสูผูบริหารระดับสูงไดอีกดวย เชนกัน อีกทั้งยังมีชองทางและการติดตอสื่อสารกับผูมีสวนไดเสียอื่นที่มีประสิทธิภาพ ทันเวลา 8. การติดตามผล บริษัทมีขั้นตอนการติดตามและการกํากับดูแลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับเปาหมายหรือตัวชี้วัด (KPI) ที่กําหนดในแตละระดับอยางเหมาะสมสม่ําเสมอ และมีระบบการวิเคราะหประเมินและติดตามผลการดําเนินงานที่ดี เชน กําหนดใหพนักงานระดับหัวหนางานมีการติดตามผลการปฏิบัติงานและการรายงานของผูใตบังคับบัญชาอยางใกลชิด และรายงานตอหัวหนางานระดับสูงตอไป เพื่อใหมั่นใจไดวามาตรการและระบบการควบคุมภายในนั้นมีประสิทธิผลอยูเสมอ สามารถตอบสนองตอปจจัยเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม ทันเวลา รวมไปถึงใหมีการตรวจประเมินผลการ ปฏิบัติงาน โดยหนวยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งเปนหนวยงานอิสระ ผูสอบบัญชี และผูประเมินอิสระจากภายนอก สวนที่ 1 หนา 121


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัทมีระบบการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงที่ดีและมีการกําหนดสัญญาณเตือนภัย เพื่อใหมั่นใจได วา การบริหารและการจัดการความเสี่ยงมีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ ซึ่งความเสี่ยงนั้นอยูในระดับที่ยอมรับได โดยใหมี การรายงานผลตอหัวหนางานทุกระดับและตอผูบริหารระดับสูงอยางสม่ําเสมอ และจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัท และมีการประชุมผูบริหารอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารวาเปนไปตามเปาหมาย และภายในระยะเวลาที่กําหนด ในปจจุบันสถานการณตางๆ ไดมีการเปลีย่ นแปลงไปอยางมากและรวดเร็ว การบริหารความเสี่ยงจึงเปนสิ่งที่มี ความสําคัญ ชวยใหบริษัทสามารถบรรลุวัตถุประสงคเมื่อมีเหตุการณที่ไมคาดคิดเกิดขึ้น ดังนั้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ บริษัทจะตองมีกลไกการบริหารงาน เพื่อสรางความแข็งแกรงและการเตรียมความพรอมไวอยางรอบดานเปนการลวงหนา เพื่อใหบริษัทสามารถบริหารความเสี่ยงและดํารงอยูไดอยางมั่นคงตลอดไป บริษัทมุงเนนใหความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยงขององคกร โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งมี ประธานกรรมการบริหารของบริษัทเปนประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจาหนาที่บริหาร และ ผูบริหารระดับสูง เปนกรรมการ รวม 11 ทาน ซึ่งในป 2554 คณะกรรมการไดมีการประชุม 3 ครั้ง โดยไดพิจารณาแจกแจง ความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองคกร จัดอันดับความเสี่ยง กําหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยง มอบหมายผูรับผิดชอบเพื่อจัด ใหมีมาตรการควบคุมและจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได เพื่อใหบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและกลยุทธที่ กําหนดไว และเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมทั้งไดมีการทบทวนความเสี่ยงของบริษัท อยางสม่ําเสมอวา บริษัทมีความเสี่ยงดานใดบางที่เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีการติดตามผลสําเร็จของการบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาจากแผนงานของ ฝายจัดการที่รับผิดชอบในปจจัยความเสี่ยงตางๆ และผลของการวัดผลที่เชื่อถือไดของการปฏิบัติงานตามแผนงาน และใน การประชุมทุกครั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะกําหนดใหฝายจัดการที่รับผิดชอบรายงานผลการบริหารความเสี่ยงที่ ไดแจกแจงไวจากรอบการประชุมครั้งกอน รวมทั้งมีการพิจารณาวาระดับความเสี่ยงลดลงหรือไม ทั้งนี้เพื่อใหการบริหาร ความเสี่ยงมีประสิทธิผลอยางแทจริง ในทุกไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดนําเสนอผลการบริหารความเสี่ยงใหคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหารไดรับทราบ เพื่อใหมีการติดตามอยางใกลชิด และมั่นใจไดวาความเสี่ยงอยู ในระดับที่ยอมรับได รวมทั้งบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายที่กาํ หนดไว ซึ่งสรุปปจจัยความเสี่ยงที่อาจสงผลกระทบตอผลการ ดําเนินงานของบริษัทไวในสวนของปจจัยเสี่ยงเรียบรอยแลว ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2555 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเขา รวมประชุมดวย คณะกรรมการบริษัทไดประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท จากการสอบทานการประเมิน ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และจากการซักถามขอมูลจากฝายบริหาร ผลการประเมินจากแบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน สรุปไดวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ ผูสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ซึ่งเปนผูตรวจสอบงบการเงิน ประจําป 2554 ไดประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของบริษัทตามที่เห็นวาจําเปน โดยพบวา ไมมีจุดออน ของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระสําคัญแตประการใด การตรวจสอบภายใน หนวยงานตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระและเที่ยงธรรม โดยรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบในดาน งานตรวจสอบภายใน และรายงานตอประธานเจาหนาที่บริหารในดานงานบริหารหนวยงาน โดยมีกฎบัตรของหนวยงานที่ สวนที่ 1 หนา 122


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ปรับปรุงแกไขใหทันสมัยอยูเสมอ ซึ่งไดกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ ขอบเขต วัตถุประสงคและภาระหนาที่ความ รับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการปฏิบัติงานตรวจสอบไวอยางชัดเจน และไดมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานตรวจสอบที่ ปรับปรุงอยูเสมอ เพื่อใชเปนเกณฑอางอิงในการปฏิบัติงานที่เปนทิศทางเดียวกัน เพื่อใหมั่นใจวา การปฏิบัติงานของ หนวยงานตรวจสอบภายในมีคุณภาพการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากลของการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายในที่เปน เลิศเยี่ยงมืออาชีพ เพื่อสงเสริมและปรับปรุงองคกรใหมีการกํากับดูแลที่ดีและเพิ่มคุณคาใหแกผูมีสวนไดเสียและเพื่อพัฒนา องคกรสูความยั่งยืน หนวยงานตรวจสอบภายใน ทําหนาที่ตรวจประเมินประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหาร ความเสี่ยง การกํากับดูแลกิจการของบริษัทตามแผนงานการตรวจสอบประจําป ซึ่งไดพิจารณาจากวัตถุประสงค กลยุทธ พันธกิจในระดับภาพรวม ปจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวของ (Risk Based Audit Approach) รวมไปถึงจุดควบคุมที่สําคัญ (Key Control Point) และความคิดเห็นเพิ่มเติมของฝายจัดการ โดยแผนงานการตรวจสอบไดผานการอนุมตั ิเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการใหคําปรึกษาแนะนําในดานตางๆ เชน การประเมินตนเองในการควบคุมดานตางๆ (Control Self Assessment, CSA) การพัฒนาโครงการตางๆ การบริหารความเสี่ยง เปนตน เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นวา การปฏิบัติงานตางๆ จะบรรลุผลตามกลยุทธและวัตถุประสงคที่กําหนดไว และยังทําการติดตามประเมินผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเกิดความมั่นใจในระบบที่วางไววาไดดําเนินการเปนไปอยางตอเนื่อง และไดรับการแกไขปรับปรุงอยางสม่ําเสมอ หนวยงานตรวจสอบภายใน ไดจัดใหมีการตรวจประเมินคุณภาพดานการตรวจสอบภายใน (Quality Assessment Review, QAR) ในทุกๆ 5 ป ซึ่งบริษัทไดอนุมัติงบประมาณและจัดใหมีการตรวจสอบคุณภาพดานการตรวจสอบภายใน เปนครั้งแรก โดยใชองคกรอิสระจากภายนอกเปนผูประเมิน ในเรื่องของ โครงสราง การจัดสรรทรัพยากร ความมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ความสอดคลองกับมาตรฐานสากลตางๆ และจรรยาบรรณ เทคโนโลยีที่ใช ในการปฏิบัติงาน คุณสมบัติ ความรูความสามารถของพนักงาน แผนการพัฒนาและฝกอบรม รวมทั้งบทบาทและหนาที่ที่ สนับสนุนภารกิจที่สําคัญของบริษัท โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล แนวปฏิบัติที่เปนเลิศ และองคกรที่เปนชั้นนํา เปน ตน จากการตรวจประเมินคุณภาพ ปรากฏผลการประเมินคุณภาพโดย หนวยงานตรวจสอบภายในไดปฏิบัติตาม มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Generally Conforms) และมีคุณภาพระดับโดดเดน เมื่อเทียบเคียงกับคุณภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในที่ดีที่เปนมืออาชีพสากล ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการบริหารความเสี่ยง หนวยงานตรวจสอบภายในได ดําเนินการสอบทานตัวบงชี้เหตุการณหรือปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบตอวัตถุประสงค และแนวทางการบริหารความเสี่ยงของ ผูปฏิบัติงาน เพื่อใหมั่นใจวามีการระบุและประเมินความเสี่ยงไดอยางถูกตองเหมาะสม และมีการบริหารความเสี่ยงที่เปน ระบบสามารถจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได และมีการรายงานอยางครบถวนทันเวลาพรอมทั้งยังมีการติดตาม สอบทานความเสี่ยงอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน หนวยงานตรวจสอบภายในไดจัดทํา แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของแตละระบบงานตามกรอบแนวทาง COSO-ERM รวมทั้งไดทํา การสอบทานผลการปฏิบัติงาน และสนับสนุนใหแตละหนวยงานมีการประเมินตนเองในการควบคุมในแตละขั้นตอน เพื่อให มั่นใจวา บริษัทจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับตางๆ อยางเครงครัด และรายงานทางการเงินมีความถูกตองนาเชื่อถือ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการกํากับดูแลกิจการ หนวยงานตรวจสอบภายในได ตรวจประเมินการกํากับดูแลกิจการ ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีขององคกรเพื่อความรวมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (The Organization for Economic Co-Operation and Development, OECD) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปน เกณฑ เพื่อใหมั่นใจวา บริษัทมีโครงสรางและการสนับสนุนของกระบวนการที่จําเปนในการนําไปสูผลสําเร็จของการกํากับ สวนที่ 1 หนา 123


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ดูแลที่ดีและโปรงใสและใหความเปนธรรมเทาเทียมกัน ตลอดจนมีการนําทรัพยากรไปใชอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงค เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ในการตรวจประเมินความเสี่ยงดานการทุจริตจากภายนอกและภายในองคกร หนวยงานตรวจสอบภายใน ไดตรวจประเมินความเสี่ยงดานการทุจริต เพื่อชวยบงชี้สิ่งบอกเหตุและประเมินความเปนไปไดในเรื่องการทุจริตจาก ภายนอกและภายในองคกร และพิจารณามาตรการปองกันและการควบคุมใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทจะสามารถปองกันและควบคุมเพื่อใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวได ในการตรวจประเมินตนเองในการควบคุม (CSA) หนวยงานตรวจสอบภายในไดสนับสนุนการตรวจประเมิน ตนเองในการควบคุมการปฏิบัติงานของแตละหนวยงาน โดยใหคําปรึกษาแนะนํา จัดใหมีการฝกอบรม การใชเครื่องมือที่มี ประสิทธิผลในการประเมิน จัดใหมีการทํากรณีศึกษา เพื่อใหหนวยงานตางๆ มีมาตรการควบคุมตนเองที่ดีรวมอยูในระบบ ปฏิบัติงานที่ดี และสามารถบริหารความเสี่ยงที่สําคัญไดอยางมีประสิทธิภาพ ทันเวลา โดยใหความเชื่อมั่นวา การปฏิบัติงาน ของหนวยงานตางๆ จะสามารถบรรลุผลตามกลยุทธและวัตถุประสงคที่กําหนดไวได ภายในระยะเวลาที่กําหนด นอกจากนี้หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน ไดปฏิบัติหนาที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อ สนับสนุนภาระหนาที่และความรับผิดชอบทุกหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบที่ไดรับมอบหมายมาจากคณะกรรมการ บริษัทใหมีประสิทธิผล โดยจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเดือนละ 1 ครั้ง และยังมีบทบาทในการใหคําปรึกษา แนะนําในดานตางๆ โดยรวมเปนกรรมการของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการดานความปลอดภัยระบบ สารสนเทศ คณะกรรมการพัฒนาสูความยั่งยืน คณะทํางาน Whistleblower Program Implementation ของบริษัท เปนตน เพื่อใหขอเสนอแนะหรือคําแนะนําที่เปนประโยชนตอองคกร หนวยงานตรวจสอบภายใน ไดยึดถือกรอบโครงสรางการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายในในระดับสากล (The International Professional Practices Framework, IPPF) และปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพ ตรวจสอบภายใน (The International Standards for the Professional Practice of Internal Auditing), COSO-ERM, ISO 31000 สวนในดานระบบสารสนเทศ ไดปฏิบัติตามแนวทาง CobiT 4.1 IT Governance, ISO 17799, The IIA-GTAG (Global Technology Audit Guide) เปนกรอบการปฏิบัติงานเพิ่มเติม เพื่อใหมั่นใจวา ระบบสารสนเทศของบริษัทมีความ ปลอดภัยและมีการกํากับดูแลที่ดี และพนักงานตรวจสอบภายในมีการปฏิบัติหนาที่ที่เปนอิสระ เที่ยงธรรม สอดคลองตาม ประมวลจรรยาบรรณของผูตรวจสอบภายใน (Code of Ethics) นอกจากนี้หนวยงานตรวจสอบภายใน ยังมุงเนนการพัฒนางานตรวจสอบภายในใหมีคุณภาพเทียบเทา มาตรฐานสากลเยี่ยงมืออาชีพ โดยจัดใหมีการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานทั้งจากภายในทุกๆ ปและจากการประเมิน คุณภาพจากหนวยงานอิสระภายนอกทุก 5 ป และสนับสนุนใหพนักงานตรวจสอบภายในมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ โดยอางอิงกับ Competency Model และ Career Path ในแตละระดับที่ไดกําหนดไวอยางเหมาะสม โดยจัดเปน แผนการพัฒนาฝกอบรมเปนรายบุคคล (Individual Development Plan) และยังสนับสนุนใหมีการสอบวุฒิบัตรตางๆ และ กําหนดเปนตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน(Key Performance Indicator) อีกดวย โดยปจจุบัน หนวยงานตรวจสอบภายในมีผูมี วุฒิบัตร CIA (Certified Internal Auditor) จํานวน 5 ทาน วุฒิบัตร CISA (Certified Information System Auditor) จํานวน 3 ทาน วุฒิบัตร CISSP (Certified Information Systems Security Professional) จํานวน 1 ทาน วุฒิบัตร CPA (Certified Public Accountant) จํานวน 3 ทาน วุฒิบัตร TA (Tax Auditor) จํานวน 1 ทาน โดยพนักงานอีกจํานวนหนึ่งอยูระหวางการ พัฒนาใหมีวุฒิบัตร CIA, CISA, CCSA (Certification in Control Self-Assessment) และ CFEs (Cetified Fraud Examiners) อยางตอเนื่อง

สวนที่ 1 หนา 124


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

10.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

รายการระหวางกัน

บริษัทและบริษัทยอยไดมีการตกลงเขาทํารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกลาวเปนรายการตามธุรกิจ ปกติของบริษัทและบริษัทยอย และเปนไปตามเงื่อนไขการคาทั่วไป เพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ใหฝายจัดการมีอํานาจเขาทํารายการ ระหวางกันที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไป โดยฝายจัดการสามารถทําธุรกรรมดังกลาวหากธุรกรรมเหลานั้นมีขอตกลงทางการคาใน ลักษณะเดียวกับที่วิญูชนจะพึงกระทํากับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรองทางการคาที่ปราศจาก อิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ ขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันนั้น บริษัทจะยึดแนวปฏิบัติเชนเดียวกันกับการทํารายการอื่น ๆ ทั่วไป โดยมีการกําหนดอํานาจของผูมีสิทธิอนุมัติตามวงเงินที่กําหนด นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหนาที่เปนผูสอบ ทานการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทยอยกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อขจัดความ ขัดแยงทางผลประโยชนอยางรอบคอบ โดยยึดถือประโยชนของบริษัทโดยรวมเปนสําคัญ บริ ษั ท มีน โยบายเปด เผยรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่เ ข า ข า ยตามประกาศตลาดหลั ก ทรั พ ยแ ห ง ประเทศไทย เรื่ อ ง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการเปดเผยขอมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน สําหรับงวดบัญชีรายปสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทและบริษัทยอยมีรายการกับบุคคลที่เกี่ยว โยงกัน โดยผูต รวจสอบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ได เปด เผยไวใ นหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิน ที่ต รวจสอบและคณะกรรมการ ตรวจสอบทําหนาที่สอบทานแลว และมีความเห็นวารายการที่เกี่ยวโยงกันทุกรายการเปนการทํารายการอยางสมเหตุสมผล และเป น ไปในทางการค า ปกติ โดยบริ ษั ท ได คิ ด ราคาซื้ อ -ขายสิ น ค า และบริ ก ารกั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ด ว ยราคาที่ สมเหตุสมผล มีการเปรียบเทียบกั บราคากลางของตลาดในธุร กิจนั้น ๆ แลว โดยมีเงื่อนไขตา งๆ ตามปกติธุร กิจโดยมี รายละเอียดดังตอไปนี้

สวนที่ 1 หนา 125


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/ ความสัมพันธกับบริษัท

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 1. บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัทมีเงินปนผลจายใหอินทัช ซึ่งเปนผูถือ หุนใหญ (มหาชน) (อินทัช)/ เปนผูถือหุนใหญของบริษัทใน สัดสวนรอยละ 40.45 และมี 1. รายไดจากการใหบริการ กรรมการรวมกันคือ 2. รายไดอื่น นายสมประสงค บุญยะชัย 3. ดอกเบี้ยจาย 4. เงินปนผลจาย 5. หุนกู* 6. ลูกหนี้การคา 7. ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

0.17 0.29 0.33 10,223.43 7.30 0.24 -

สวนที่ 1 หนา 126

0.18 0.51 0.33 10,223.43 7.30 0.41 -

งบการเงินเฉพาะ

0.51 0.71 0.29 21,862.22 7.30 0.08 0.09

งบการเงินรวม บริษัทจายเงินปนผลใหอินทัช ตาม อัตราสวนการถือหุน ทั้งนี้ การเสนอ จายเงินปนผลดังกลาวของคณะกรรมการ บริษัทจะตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุม 0.51 สามัญประจําปผูถือหุน 0.52 0.29 *อินทัชถือหุนกูระยะยาวผานกองทุนสวน 21,862.22 บุคคลที่บริหารโดยบริษัทจัดการกองทุน 7.30 อิสระ 0.10 0.09


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 2. บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม)/ มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ ในสัดสวน รอยละ 41.14 และมีกรรมการ รวมกันคือ นายสมประสงค บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม ไทยคมเปนผูใหบริการรายเดียวใน ประเทศไทย โดยบริษัทชําระคาบริการใน อัตราเดียวกับลูกคาทั่วไปที่ใชบริการ

บริษัทเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) บนดาวเทียมไทยคม1A จาก ไทยคมสัญญามีผลถึงวันที่ 21 มิถุนายน 2555 โดยบริษัทตองชําระคาตอบแทนใน อัตรา 1,700,000 US$/ป 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาเชาและบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน รายไดคางรับ

2.33 51.12 4.39 0.18 -

สวนที่ 1 หนา 127

2.75 0.20 51.12 4.39 0.22 0.03

5.52 0.25 53.72 4.55 4.30 0.36 0.15 -

5.89 0.26 53.72 4.55 4.30 0.36 0.15 0.48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 3. บริษัท แมทชบอกซ จํากัด (แมทชบอกซ)/ มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ ในสัดสวน รอยละ 99.96 และมีกรรมการ รวมกันคือ 1. นายสมประสงค บุญยะชัย 2. นายวิกรม ศรีประทักษ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษัทและบริษัทยอย วาจางแมทชบอกซ เปนตัวแทนในการจัดทําโฆษณาผานสื่อ ตางๆ โดยจะเปนการวาจางครั้งตอครั้ง

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาโฆษณาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา

งบการเงินรวม เปนบริษัทโฆษณาที่มีความคิดสรางสรรค ที่ดีและมีความเขาใจในผลิตภัณฑและ บริการของบริษัทเปนอยางดี รวมทั้งเปน การปองกันการรั่วไหลของขอมูล

0.09 1,089.04 59.17 299.85 -

สวนที่ 1 หนา 128

0.09 1,199.42 65.11 322.02 0.02

0.40 0.15 782.96 58.52 135.06 0.03

0.40 อัตราคาบริการที่แมทชบอกซเรียกเก็บ 0.20 เทียบเคียงไดกับราคาตลาดที่บริษัท 863.44 โฆษณาอื่นๆ 0.42 60.88 142.78 0.03


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 4. บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (ทีเอ็มซี)/ มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญโดย ทางออม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

เปนผูใหบริการที่มีความเชี่ยวชาญในการ จัดทําเนื้อหาของขอมูลตางๆ

บริษัทและบริษัทยอย วาจางทีเอ็มซีในการ จัดทําขอมูลสําหรับบริการเสริมของ โทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การจัดหาขอมูลทาง โหราศาสตร ขอมูลสลากกินแบงรัฐบาล และ เรื่องตลกขบขัน เปนตน โดยชําระคาใช บริการตามที่เกิดขึ้นจริงเปนรายเดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาบริการ เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

2.08 0.02 21.72 1.27 0.59 -

สวนที่ 1 หนา 129

2.08 0.03 55.97 3.79 1.98 0.61 -

2.36 59.85 4.42 0.45 1.17

บริษัทชําระคาบริการ ในอัตรารอยละของ รายไดที่บริษัทไดรับจากลูกคา ขึ้นอยูกับ ประเภทของบริการที่ลูกคาใช โดยอัตราที่ จายเปนอัตราเดียวกับ ผูใหบริการขอมูล 2.36 ประเภทเดียวกัน(Content Provider) ซึ่ง - ในปจจุบันอยูในอัตราไมเกินรอยละ 50 60.18 4.46 0.49 1.17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 5. บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด (ไอทีเอเอส)/ มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ รอยละ 100 และมีกรรมการรวมกันคือ นายสมประสงค บุญยะชัย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม ไอทีเอเอสใหบริการเกี่ยวกับการพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอรเฉพาะบริษัทใน เครือ มีบริการที่ดี รวดเร็ว และราคา สมเหตุสมผล

บริษัทและบริษัทยอย วาจางไอทีเอเอสใน การดูแลจัดการและพัฒนาระบบคอมพิวเตอร บริการดานระบบ SAP รวมทั้งออกแบบและ ลงโฆษณาบนเวปไซตตางๆใหกับกลุมบริษัท 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายไดจากการบริการ คาบริการและคาโฆษณา เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน

0.01 43.10 0.41 3.72 -

สวนที่ 1 หนา 130

0.01 64.64 1.25 6.27 -

0.51 87.08 24.79 8.90 0.54 0.04

0.51 102.40 24.79 1.32 8.90 0.54 0.04

ไอทีเอเอสคิดคาบริการในอัตราใกลเคียง กับราคาของบริษัทที่ปรึกษารายอื่น ที่ ใหบริการในลักษณะเดียวกัน อัตรา คาบริการขึ้นอยูกับลักษณะงานและระดับ ของที่ปรึกษา


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 6. กลุมบริษัท SingTel Strategic Investments Private Limited (SingTel)/ เปนผูถือหุนใหญของบริษัทรอยละ 23.32

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

บริษัทและบริษัทยอยทําสัญญากับบริษัทใน กลุม SingTel ในการเปดใหบริการขามแดน อัตโนมัติรวมกัน (Joint International Roaming) และบริษัทจายเงินเดือนและ ผลตอบแทนใหแก Singapore Telecom International Pte Ltd. (STI) ในการสง พนักงานมาปฏิบัติงานที่บริษัทโดยจะเรียกเก็บ คาใชจายตามที่เกิดขึ้นจริง และมีเงินปนผล จายตามสัดสวนการถือหุน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาบริการ เงินเดือนและผลตอบแทนอื่น เงินปนผลจาย เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ

535.88 308.63 29.66 5,113.20 7.85 23.62 38.65 15.08 สวนที่ 1 หนา 131

560.87 356.05 29.66 5,113.20 3.24 7.85 27.28 40.01 16.40

523.98 0.06 353.28 36.88 9,826.40 45.88 7.10 49.84 48.59 24.78

งบการเงินรวม การทําสัญญา International Roaming กับกลุม SingTel เปนการทําสัญญาทาง ธุรกิจตามปกติ โดยราคาที่เรียกเก็บเปน ราคาที่ตางฝายตางกําหนดในการเรียก เก็บจากลูกคาแตละฝายที่ไปใชบริการ ขามแดนอัตโนมัติหักกําไรที่บวกจาก ลูกคาซึ่งเปนมาตรฐานเดียวกับที่บริษัท คิดจากผูใหบริการรายอื่น คาใชจายที่ STI สงพนักงานมาใหความชวยเหลือ ทางดานการบริหารงานและดานเทคนิค 535.31 ใหแกบริษัท ซึ่งบริษัทจายตามคาใชจายที่ 0.06 ตกลงกันตามที่เกิดจริง 396.63 36.88 9,826.40 50.69 7.10 53.86 52.12 26.33


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 7. บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) / มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ โดย ทางออม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม ซีเอสแอลใหบริการทางดานอินเทอรเน็ต และกําหนดราคาเชนเดียวกับที่เรียกเก็บ จากลูกคารายอื่น

บริษัทและบริษัทยอย วาจางซีเอสแอลในการ ใหบริการดาน อินเทอรเน็ตในขณะที่เอดีซีให เชาอุปกรณและบริการเกี่ยวกับ Datanet แก ซีเอสแอล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาเชาและคาบริการอื่นๆ เจาหนี้การคา เจาหนี้ที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้ที่เกี่ยวของกัน รายไดคางรับ

1.27 0.03 4.67 0.13 0.32 0.10 -

สวนที่ 1 หนา 132

73.57 4.64 9.14 0.18 0.33 7.09 0.07 0.72

1.69 0.01 6.91 0.35 0.34 0.18 -

88.00 3.92 5.62 0.46 0.34 11.27 0.15 0.87


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 8. บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (มหาชน) (เอดีวี) / มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ โดยทางออม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม เอดีวีมีความเชี่ยวชาญ ในการออกแบบ เว็บไซต และมีความหลากหลายของ เนื้อหา ซึ่งตรงกับความตองการของบริษัท และบริษัทยอย

บริษัทและบริษัทยอยวาจางเอดีวีในการ ใหบริการเสริมของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน เกมส เสียงเรียกเขา Wall paper โดยชําระ คาบริการเปนรายเดือน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาบริการ เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ

12.60 0.03 0.14 0.03 1.01 -

สวนที่ 1 หนา 133

12.60 1.57 406.48 35.88 33.31 1.18 0.14

4.62 0.32 107.27 0.80 -

5.73 1.63 321.30 31.80 28.19 1.64 0.02

บริษัทและบริษัทยอย ชําระคาบริการ ใน อัตรารอยละของรายไดที่บริษัทและบริษัท ยอยไดรับจากลูกคา ขึ้นอยูกับประเภท ของบริการที่ลูกคาใชซึ่งอัตราที่จายเปน อัตราเดียวกันกับผูใหบริการขอมูล ประเภทเดียวกัน (Content Provider) ซึ่ง อยูในอัตราไมเกินรอยละ 50


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 9. บริษัท ดีทีวี เซอรวิส จํากัด (ดีทีวี) / มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ โดยทางออม

บริษัทและบริษัทยอย ไดวาจางใหดีทีวีสราง เว็บไซต

10. บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (แอลทีซี) / มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ โดยทางออม

บริษัทและบริษัทยอยรวมมือกับแอลทีซีใน การใหบริการโรมมิ่งระหวางประเทศ

1. 2. 3. 4. 5.

1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น คาบริการ เจาหนี้การคา ลูกหนี้การคา

รายไดจากการใหบริการ คาบริการ เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ

งบการเงินรวม ดีทีวีมีความชํานาญในการบริการ ทางดานอินเทอรเน็ต และกําหนดราคา ที่เทียบเคียงไดกับผูใหบริการรายอื่น

0.24 0.04 0.02 0.02

0.57 6.14 1.61 0.46 -

สวนที่ 1 หนา 134

0.24 0.04 1.96 0.24 0.02

7.92 14.87 2.07 1.20 0.67 0.66

0.56 0.36 0.44 0.02

6.76 21.24 0.39 0.27 -

0.56 0.36 0.60 0.02 แอลทีซีดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมใน ประเทศลาว ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทระหวาง 9.01 ประเทศ และบริการเครือขาย 31.88 อินเทอรเน็ต 0.88 1.37 อัตราคาโรมมิ่งที่คิดเปนอัตราเทียบเคียง 0.47 ไดกับราคาตลาดที่คิดกับผูใหบริการราย 0.27 อื่น


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บริษัทที่เกี่ยวของ/

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ลักษณะรายการ

ความสัมพันธกับบริษัท

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

มูลคารายการระหวางกันสําหรับงวด

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553

เหตุผลและความจําเปน

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ของการทํารายการ

งบการเงินเฉพาะ 11. บริษัท เอ็มโฟน จํากัด (เอ็มโฟน) / มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ โดยทางออม

*ITV ไดหยุดดําเนินการเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550

งบการเงินเฉพาะ

บริษัทและบริษัทยอยรวมมือกับเอ็มโฟนใน การใหบริการโรมมิ่งระหวางประเทศ

1. 2. 3. 4. 5. 12. บริษัท ไอทีวีจํากัด (มหาชน) (ไอทีวี) / มีอินทัชเปนผูถือหุนใหญ รอยละ 52.92

งบการเงินรวม

รายไดจากการบริการ คาบริการ เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ลูกหนี้การคา

0.29 13.14 3.78 2.47 -

0.37 13.80 3.78 2.91 0.08

0.53 13.16 1.57 2.13 -

งบการเงินรวม เอ็มโฟนไดรับสัมปทานในการดําเนิน กิจการโทรศัพทในประเทศกัมพูชา ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทเคลื่อนที่ รวมถึงโทรศัพท 0.53 ระหวางประเทศ 13.16 1.57 อัตราคาโรมมิ่งที่คิดเปนอัตรา 2.13 เทียบเคียงไดกับราคาตลาดที่คิดกับผู - ใหบริการรายอื่น บริษัทไดจายผลตอบแทนหุนกูให ไอทีวี จากการลงทุนในหุนกูบริษัท ทั้งนี้ ราคา เงื่อนไข และผลตอบแทน ของหุนกู ดังกลาวเปนไปตามที่ไดขออนุมัติไวกับ สํานักงาน กลต. และเทาเทียมกับที่ เสนอขายกับบุคคลทั่วไป

ไอทีวีถือหุนกูระยะยาวผานกองทุนสวน บุคคลที่บริหารโดยบริษัทจัดการกองทุน อิสระ

1. หุนกู 2. ดอกเบี้ยจาย

46.00 3.26

สวนที่ 1 หนา 135

46.00 3.26

46.00 2.22

46.00 2.22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 11.1.1

งบการเงิน รายงานการสอบบัญชี จากรายงานของผูสอบบัญชีในชวงระยะเวลา 3 ปที่ (2552 – 2554) ผูสอบบัญชีแสดงความเห็นอยางไม มีเงื่อนไข โดยมีความเห็นวางบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย และงบการเงินของบริษัทฯ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะของบริษัทฯ ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงาน เฉพาะของบริษัทฯ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะของบริษัทฯ โดยถูกตองตามที่ควรใน สาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

11.1.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงินรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะทางการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม หนวย : พันบาท 2552 จํานวนเงิน

%

2553-ปรับปรุงใหม จํานวนเงิน %

2554 จํานวนเงิน

24,261,229 905,921 198,005 5,408,488 1,795,572 787,251 4,552 33,361,018

19.46 0.73 0.16 4.34 1.44 0.63 0.00 26.76

10,451,398 2,166,365 4,219,392 5,659,773 2,261,462 1,126,830 67,978 25,953,198

10.74 2.23 4.33 5.81 2.32 1.16 0.07 26.66

18,360,810 3,526,166 726,544 7,037,320 2,327,576 1,087,090 112,353 33,177,859

21.18 4.07 0.84 8.12 2.69 1.25 0.13 38.28

3,105,800

2.49

106,329

0.11

106,427

0.12

1,464,136 8,167,485 61,547,317 3,136,929 3,148,876 10,051,553 678,218 91,300,314

1.17 6.55 49.38 2.52 2.53 8.06 0.54 73.24

1,221,272 7,089,206 48,175,673 1,576,929 2,764,376 9,932,808 527,985 71,394,578

1.25 7.28 49.50 1.62 2.84 10.20 0.54 73.34

7,616,337 36,504,752 34,931 2,275,009 6,421,928 535,076 53,494,460

8.79 42.12 0.04 2.62 7.41 0.62 61.72

124,661,332

100.00

97,347,776

100.00

86,672,319

100.00

%

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารทีส่ ามารถใชเปนการเฉพาะ เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยน ลวงหนา ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สินทรัพยภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

สวนที่ 1 หนา 136


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะทางการเงินรวม (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวนเงิน

%

2553-ปรับปรุงใหม จํานวนเงิน %

หนวย : พันบาท 2554 จํานวนเงิน %

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น สวนของเงินกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย รายไดรับลวงหนา - คาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เงินรับลวงหนาจากลูกคา ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน เจาหนี้ตามสัญญาแลกเปลีย่ นและสัญญาอัตราแลกเปลี่ยน ลวงหนา หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระแลวเต็มมูลคา สํารอง : สวนเกินมูลคาหุน เงินรับลวงหนาคาหุน กําไรสะสม : จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวนของผูถอื หุนเฉพาะบริษทั สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของผูถอื หุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

1,806,800 4,686,514 497,440 3,069,881 2,850,723 653,975 2,631,354 22,002 16,218,689

1.45 3.76 0.40 2.46 2.29 0.52 2.11 0.02 13.01

2,471,920 5,409,723 15,882,669 3,327,856 2,375,892 1,521,180 4,123,932 172,193 35,285,365

2.54 5.56 16.32 3.42 2.44 1.56 4.24 0.17 36.25

3,520,283 6,058,796 5,469,183 4,592,604 2,363,615 2,674,396 4,897,346 158,218 29,734,441

4.06 6.99 6.31 5.30 2.73 3.09 5.65 0.18 34.31

36,620,437 -

29.38 -

20,477,609 382,650

21.04 0.39

16,536,661 422,440

19.08 0.49

11,186 36,631,623

0.01 29.39

11,035 20,871,294

0.01 21.44

368,506 146,718 17,474,325

0.43 0.16 20.16

52,850,312

42.40

56,156,659

57.69

47,208,766

54.47

2,965,443

2.38

2,970,076

3.05

2,973,095

3.43

21,838,008 -

17.52 -

22,172,703 13,848

22.78 0.01

22,372,276 -

25.81 -

500,000 46,146,427 161,349 71,611,227 199,793 71,811,020 124,661,332

0.40 37.01 0.13 57.44 0.16 57.60 100.00

500,000 15,073,157 161,150 40,890,934 300,183 41,191,117 97,347,776

0.51 15.48 0.17

500,000 13,245,953 162,343 39,253,667 209,886 39,463,553 86,672,319

0.58 15.28 0.19

สวนที่ 1 หนา 137

42.00 0.31 42.31 100.00

45.29 0.24 45.53 100.00


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกําไรขาดทุนรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม %

2553-ปรับปรุงใหม จํานวนเงิน %

หนวย : พันบาท 2554 จํานวนเงิน %

95,812,371 6,639,455

93.52 6.48

101,989,954 9,349,205

91.60 8.40

113,256,789 13,180,445

89.58 10.42

102,451,826

100.00

111,339,159

100.00

126,437,234

100.00

40,345,509 19,860,521 6,197,217

39.38 19.38 6.05

39,235,926 21,553,116 7,974,074

35.24 19.36 7.16

40,138,059 24,468,705 11,613,186

31.75 19.35 9.18

รวมตนทุน กําไรขั้นตน

66,403,247 36,048,579

64.81 35.19

68,763,116 42,576,043

61.76 38.24

76,219,950 50,217,284

60.28 39.72

คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจายในการขายและการบริหาร กําไรจากการขาย การใหบริการและการใหเชา อุปกรณ

2,695,160 7,351,630 10,046,790

2.63 7.18 9.81

2,324,235 7,515,392 9,839,627

2.09 6.75 8.84

2,826,419 8,291,300 11,117,719

2.24 6.56 8.80

26,001,789

25.38

32,736,416

29.40

39,099,565

30.92

รายไดอื่น ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา – สุทธิ คาตอบแทนผูบริหาร ตนทุนทางการเงิน

686,954 (560,655) 72,850 (72,007) (1,921,235)

0.67 -0.55 0.07 -0.07 -1.87

679,161 (1,560,000) (2,802) (113,954) (1,753,002)

0.61 -1.40 0.00 -0.11 -1.57

886,726 (1,541,998) 46,780 (116,152) (1,665,627)

0.70 -1.22 0.04 -0.09 -1.32

กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสําหรับป

24,207,696 (7,418,603) 16,789,093

23.63 -7.24 16.39

29,985,819 (9,353,031) 20,632,788

26.93 -8.40 18.53

36,709,294 (14,364,870) 22,344,424

29.03 -11.36 17.67

สวนของกําไร : สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไรสําหรับป

17,055,366 (266,273) 16,789,093

16.65 -0.26 16.39

20,513,502 119,286 20,632,788

18.42 0.11 18.53

22,217,711 126,713 22,344,424

17.57 0.10 17.67

2552 จํานวนเงิน รายได รายไดจากการใหบริการและใหเชาอุปกรณ รายไดจากการขาย รวมรายได ตนทุน ตนทุนการใหบริการและใหเชาอุปกรณ ผลประโยชนตอบแทนรายป ตนทุนขาย

กําไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) กําไรสุทธิตอหุนปรับลด (บาท)

5.76 5.76

สวนที่ 1 หนา 138

6.91 6.91

7.48 7.48


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

งบกระแสเงินสดรวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับป

2552

รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย รายไดจากการลงทุน ตนทุนทางการเงิน หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ คาเผื่อสินคาลาสมัย และตัดจําหนายสินคาคงเหลือ คาเผื่อสินทรัพยลาสมัย (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนาย/ตัดจําหนายสินทรัพย ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ภาษีเงินได เงินสดไดมาจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน เงินฝากธนาคารที่สามารถใชเปนการเฉพาะ ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น ผลประโยชนตอบแทนรายปคางจาย รายไดรับลวงหนา - คาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เงินรับลวงหนาจากลูกคา เจาหนี้ (ลูกหนี้) สัญญาแลกเปลี่ยนและสัญญาอัตราแลกเปลีย่ นลวงหนา หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

สวนที่ 1 หนา 139

2553-ปรับปรุงใหม

หนวย : พันบาท 2554

16,789,093

20,632,788

22,344,424

3,336,674 16,683,085 560,655 (344,173) 1,921,235 784,031 (4,290) 8,453 (18,911) 7,418,603

2,694,406 16,365,882 1,560,000 (376,789) 1,753,002 589,118 (6,690) 84,169 3,580 9,353,031

2,510,885 15,164,388 1,541,998 (632,771) 1,665,627 611,379 8,099 27,182 (2,835) 1,173 14,364,870

47,134,455

52,652,497

57,604,419

409,342 (447,616) 1,197,796 975,833 10,381 53,397 (1,376,586) 1,152,196 350,801 (557,569) (329,262) (3,828) 3,879 (196) 48,573,023 (7,659,524) 40,913,499

(1,260,444) (664,718) (312,480) (332,889) (63,427) 150,216 951,225 698,210 257,975 (474,831) 867,206 (4,456) 104,411 28,834 52,597,329 (7,732,401) 44,864,928

(1,359,801) (1,973,664) 91,093 31,641 (44,373) (7,091) 813,001 757,651 1,264,748 (12,277) 1,153,216 71,804 7,850 19,302 58,417,519 (10,201,076) 48,216,443


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย ซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ และโปรแกรมคอมพิวเตอร เงินสดรับจากการจําหนายอาคาร และอุปกรณ ซื้อสินทรัพยภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ การเปลีย่ นแปลงในเงินลงทุนระยะสั้น (เพิ่มขึ้น) ลดลง - สุทธิ การเปลีย่ นแปลงในเงินลงทุนระยะยาวอื่น (เพิ่มขึ้น) ลดลง - สุทธิ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายดอกเบี้ย จายตนทุนทางการเงินอื่น จายคืนเงินตนของสัญญาเชาทางการเงิน จายคืนเงินกูระยะยาว เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุน จายเงินลดทุนของบริษัทยอยใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เงินรับลวงหนาคาหุน จายเงินปนผล จายใหผูถือหุนสวนนอยจากการปดบริษัทยอย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นของเงินตราตางประเทศ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

สวนที่ 1 หนา 140

2553-ปรับปรุงใหม

หนวย : พันบาท 2554

310,108 (4,066,153) 20,718 (5,848,900) (57,724) (2,950,432) (12,592,383)

378,656 (2,334,230) 26,686 (2,489,223) (4,021,586) 2,999,471 (5,440,226)

619,823 (3,168,272) 12,543 (2,538,991) 3,494,040 (98) (1,580,955)

(1,897,174) (86,831) (26,198) (7,171,664) 8,535,116 296,375 (18,709,447) (808) (19,060,631) 9,260,485 15,009,291 (8,547) 24,261,229

(1,678,693) (46,559) (24,977) (486,148) 339,329 13,848 (51,351,353) (53,234,553) (13,809,851) 24,261,229 20 10,451,398

(1,747,634) (32,443) (22,286) (14,050,082) 1,199,500 188,745 (159,433) (24,102,492) (38,726,125) 7,909,363 10,451,398 49 18,360,810

2552


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

11.1.3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตารางแสดงอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratio) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา) ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรอื่น (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน เฉลี่ย (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน ณ วันสิ้นงวด(%) อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย (เทา) อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (ไมรวมเงินปนผลพิเศษ) (%) อัตราการจายเงินปนผล (รวมเงินปนผลพิเศษ) (%) ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไรสุทธิตอหุน (บาท) เงินปนผลตอหุน (ไมรวมเงินปนผลพิเศษ) (บาท) เงินปนผลตอหุน (รวมเงินปนผลพิเศษ) (บาท)

สวนที่ 1 หนา 141

2552

2553-ปรับปรุงใหม

2554

2.06 1.84 2.52 16.71 22 4.87 74 15.34 23 72

0.74 0.58 1.27 18.10 20 8.33 43 22.07 16 47

1.12 0.88 1.62 18.05 20 10.49 34 17.27 21 33

35.19% 25.38% 0.67% 157.35% 16.65% 23.79% 24.06%

38.24% 29.40% 0.61% 137.05% 18.42% 39.07% 53.59%

39.72% 30.92% 0.70% 123.32% 17.57% 65.96% 67.40%

13.50% 60.08% 0.81

18.48% 79.39% 1.00

24.15% 109.46% 1.37

0.74 13.86 1.08 109.45% 196.32%

1.36 19.18 0.77 100.10% 186.88%

1.20 23.94 1.06 112.63% 112.63%

24.23 5.76 6.30 11.30

13.88 6.91 6.92 12.92

13.28 7.48 8.43 8.43


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สรุปอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญสําหรับงบการเงิน (ตอ) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

2552

อัตราการเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สินรวม (%) รายไดจากการขายหรือบริการ (%) คาใชจายดําเนินงาน (%) กําไรสุทธิ (%)

11.2

(2.67%) (3.29%) (7.53%) (9.11%) 3.94%

2553-ปรับปรุงใหม

2554

(21.91%) 6.26% 8.67% (2.06%) 20.28%

(10.97%) (15.93%) 13.56% 12.99% 8.31%

คําอธิบายการวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน 11.2.1 บทวิเคราะหสําหรับผูบริหาร

ในป 2554 เอไอเอสมีรายไดเติบโต 14% จากความนิยมในการใชบริการขอมูล รายไดที่เติบโตนี้มาจากทั้งบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่เติบโต 12% และ ยอดขายอุปกรณทเี่ ติบโต 41% ดวยกระแสนิยมของอุปกรณอยางสมารทโฟน นอกจากนี้เอไอเอสมีสวนแบงทางการตลาดในเชิงรายไดเพิ่มขึ้นอันเปนผลจาก ความเชื่อมั่นของลูกคาที่มีตอโครงขายและบริการที่มีคุณภาพของบริษัท ในรอบปที่ผานมา ผูบริโภคมีการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจากการใชงาน สังคมออนไลนและอุปกรณเชื่อมตออินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ตางๆ ทั้งสมารทโฟนและแอรการด สงผลใหรายไดจากบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นมากกวา 70% เอไอเอสไดออกแบบโปรโมชั่นการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ใหมีความหลากหลายตอบสนองในทุกกลุมลูกคาไมวาลูกคาจะใชสมารทโฟนหรือ โทรศัพทเคลื่อนทีแ่ บบธรรมดา หรือลูกคาจะใชจํานวนอินเทอรเน็ตในปริมาณมากหรือหรือใชปริมาณนอยโดยจายแคเพียง 9 บาทตอวัน ในครึ่งหลังของป 2554 เอไอเอสไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่บนเทคโนโลยีทั้ง 3G, EDGE+ และ Wifi ทําใหเอไอเอสสามารถสราง ประสบการณการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ไดอยางตอเนื่องใหกับลูกคาไดดียิ่งขึ้น โดยภาพรวม ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตางกําหนดราคา บริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่สอดคลองตามกลไกตลาด และมีการกําหนดเงื่อนไขการใชงานอยางเหมาะสม (Fair usage policy) ในการใชบริการอินเทอรเน็ต เคลื่อนที่ ในขณะที่บริการ 3G บนคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ ของเอไอเอสที่เปดใหบริการไปกวา 6 เดือนนั้น มีผูนิยมใชบริการดังกลาวเปนจํานวนมาก โดยมี ผูใชบริการ 3G ของเอไอเอสกวา 1.2 ลานรายและปริมาณการใชงานอินเทอรเน็ตเพิ่มขึ้นมากกวา 100% สําหรับในป 2555 เอไอเอสยังคงมุงมั่นใหบริการ โดยเนนที่คุณภาพเชนเดิม เพื่อสรางประสบการณใชงานที่ดีใหกับ ลูกคา เอไอเอสจะเสริมคุณภาพในการใหบริการ 3G บนคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ ใหดียิ่งขึ้นโดยการเพิ่มสถานีฐานเทคโนโลยี3G อีกประมาณ 2,000 สถานีใน พื้นที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและจังหวัดสําคัญ โดยเนนที่การเพิ่มความจุในการรับสงขอมูลใหมากขึ้น ซึ่งจะเสริมประสบการณใชงานที่ดีใหกับลูกคาโดยเฉพาะ ในพื้นที่ที่มีความตองการใชงานสูง ในป 2554 เอไอเอสมี EBITDA เทากับ 56,622 ลานบาทเพิ่มขึ้น 9.5% แมบริษัทจะลงทุนขยายความจุการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ทั้งบน เทคโนโลยี 2G และ 3G มากขึ้นหรือมีกิจกรรมรีแบรนดของบริษัทก็ตาม ในขณะที่อัตราทํากําไร EBITDA margin ลดลงจากการเติบโตของธุรกิจการ ขายอุปกรณซึ่งมีอัตรากําไรที่ต่ํากวาธุรกิจใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้หากไมรวมรายการพิเศษแลว อัตรากําไร EBITDA margin จากธุรกิจใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนทีย่ ังคงทรงตัว เอไอเอสมีกําไรสุทธิในปที่ผานมาเทากับ 22,218 ลานบาท เพิ่มขึ้น 8.3% หลังจากหักรายการปรับปรุงสินทรัพยภาษีรอการ ตัดบัญชีจํานวน 2,840 ลานบาท โดยกําไรสุทธิกอนรายการพิเศษของเอไอเอสเทากับ 26,600 ลานบาท เพิ่มขึ้น 21% ซึ่งเปนผลใหเอไอเอสมีกระแสเงินสด 51,000 ลานบาทและมีความคลองตัวสําหรับการลงทุนตางๆในอนาคต ในป 2555 นี้ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมภายใตการกํากับดูแลขององคกรอิสระอยาง สํานักงานกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) กําลังอยูในชวงเปลีย่ นผานจากระบบสัญญารวมการงานแบบสรางโอน-ดําเนินการ ในปจจุบันไปสูระบบใบอนุญาตในอนาคต ทําใหผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในปจจุบันสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่องหลังจากครบอายุ สัญญารวมการงาน ระบบใบอนุญาตจะสรางสภาพการแขงขันอยางเทาเทียมและในขณะเดียวกันจะนําไปสูการลงทุนในเทคโนโลยีใหมดวย

สวนที่ 1 หนา 142


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เหตุการณสําคัญ บันทึกการดอยคาความนิยมของดีพีซีมูลคา 1,542 ลานบาทในรอบป 2554 ในไตรมาส 4/2554 บริษัทไดบันทึกการดอยคาความนิยมของบริษัทยอยดีพีซีซึ่งดําเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่บนคลื่น 1,800 เมกะเฮิรตซ เปนจํานวน 384 ลานบาท ทําใหคาความนิยมของดีพีซีเทากับศูนย สําหรับในรอบป 2554 บริษัทไดบันทึกการดอยคาความนิยมของบริษัทยอยดีพีซีเปนจํานวน 1,542 ลาน บาทในงบกําไรขาดทุน ซึ่งรายการดังกลาวไมสามารถนําไปหักภาษีได ไมกระทบตอกระแสเงินสดและไมสามารถบันทึกกลับคืนได ซึ่งการบันทึกการดอยคา ครั้งนี้ทําใหบริษัทไมมีคาความนิยมของดีพีชีคงเหลืออีกตอไป การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีไดมีมติลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปน 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตรารอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป จึงเปนผลใหนิติบุคคลตองคํานวณ สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินรอการตัดบัญชีที่บันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ สิ้นป 2554 ตามอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลใหมที่ ประกาศใช กลุมบริษัทจึงไดบันทึกสินทรัพยภาษีเงินรอการตัดบัญชีของกลุมบริษัทที่บันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ สิ้นป 2554 ลดลง 2,840 ลานบาทและ 2,637 ลานบาท ตามลําดับ โดยสินทรัพยภาษีเงินรอการตัดบัญชีที่ลดลงดังกลาวจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนในรายการ คาใชจายภาษีเงินได

ผลประกอบการ รายได ในป 2554 ตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังคงเติบโตอยางตอเนื่องทั้งจากผูใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่และผูใชงานในพื้นที่ชนบทแมอัตราการเขาถึงบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากรจะสูงกวา 100% แลวก็ตาม สงผลใหเอไอเอสมีจํานวนเลขหมายที่ใหบริการสูงถึง 33.5 ลานเลขหมายเพิ่มขึ้น 2.3 ลานเลข หมายจากปที่แลวซึ่งมีอยู 31.2 ลานเลขหมาย โดยที่อัตราผูใชบริการที่ออกจากระบบของกลุมลูกคาระบบเหมาจายรายเดือนลดลงมาอยูที่ 1.5% ณ สิ้น ไตรมาส 4/2554 ดีขึ้นกวาชวงเดียวกันของปที่แลวซึ่งอยูที่ 1.8% ในขณะที่อัตราผูใชบริการที่ออกจากระบบของกลุมลูกคาระบบเติมเงินลดลงเพียงเล็กนอย โดยความสําเร็จดังกลาวมาจากนโยบายการจัดจําหนายสินคาและการขยายระยะเวลาการตัดการใหบริการหลังจากการเหตุการณอุทกภัยครั้งใหญเมื่อชวง ปลายเดือนกันยายน 2554 เอไอเอสมีรายไดรวมทั้งสิ้น 126,437 ลานบาท เพิ่มขึ้น 13.6% จากการเติบโตของปริมาณใชงานบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และยอดขายอุปกรณ ในสวน รายไดจากการใหบริการไมรวม IC เติบโต 12% จากป 2553 โดยเติบโตทั้งบริการเสียงและบริการขอมูล ทั้งตลาดกรุงเทพฯ และภูมิภาค สงผลใหรายได จากการใหบริการระบบเติมเงินตอเลขหมาย (ARPU) อยูที่ระดับ 203 บาทตอเดือน เพิ่มขึ้น 4.1%ในขณะที่รายไดจากการใหบริการระบบเหมาจาย รายเดือนตอเลขหมาย (ARPU) อยูที่ระดับ 691 บาทตอเดือน เพิ่มขึ้น 5% สวนจํานวนนาทีที่โทรออก (MOU) เฉลี่ยของทั้งกลุมลูกคาระบบเติมเงินและ ระบบเหมาจายรายเดือนเพิ่มขึ้น 10% จากโปรโมชั่นที่เนนโทรออกทุกเครือขายซึ่งเปนผลใหรายรับคาเชื่อมโยงโครงขายสุทธิลดลงมาอยูที่ระดับ 451 ลาน บาทจากเดิมที่ระดับ 601 ในป 2553 รายไดจากการใหบริการเสียง ในป 2554 สภาวะการแขงขันในตลาดบริการเสียงคอนขางทรงตัว เอไอเอสมีรายไดจากการใหบริการเสียง 71,429 ลานบาท เพิ่มขึ้น 8.3% และในฐานะ ที่เอไอเอสมีโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีพื้นที่ใหบริการครอบคลุมและมีความนาเชื่อถือที่สุดในประเทศไทย จึงสงผลใหเอไอเอสรักษาความเปนผูนําใน ตลาดทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัดไวได เอไอเอสมีการสรางสรรคโปรโมชั่นในการใหบริการเสียงที่หลากหลาย ตอบสนองความตองการของลูกคาในแต ละพื้นที่และสอดคลองตามพฤติกรรมการใชงานของลูกคาที่มีความแตกตางกัน จึงทําใหรายไดจากการใหบริการเสียงของกลุมลูกคาระบบเติมเงินเพิ่มขึ้น 10.6% สวนในกลุมลูกคาระบบเหมาจายรายเดือนนั้น เอไอเอสใชจุดแข็งดานโครงขายการใหบริการที่มีคุณภาพ และมีโปรโมชั่นที่ลูกคาสามารถเลือก ออกแบบไดเองทําใหตอบสนองความตองการของลูกคากลุมนี้ไดเปนอยางดี นอกจากนี้เอไอเอสยังสรางฐานลูกคาที่มีคุณภาพไดอยางตอเนื่องจากการ ปรับปรุงนโยบายการจัดจําหนาย จึงเปนผลใหเอไอเอสมีรายไดจากการใหบริการเสียงของกลุมลูกคาระบบเหมาจายรายเดือนเพิ่มขึ้น 2.1% อยางไรก็ตาม ในป 2555 เอไอเอสคาดวาอัตราการเติบโตในตลาดการใหบริการเสียงจะชะลอตัวลงเนื่องจากการเติบโตของตลาดตางจังหวัดถึงแมจะยังมีอยูแตก็เปน สัดสวนที่นอย เนื่องจากอัตราการเขาถึงบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากรโดยรวมที่สูงกวา 100% แลว รายไดจากการใหบริการขอมูล การใชบริการขอมูลผานโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยังคงไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งจากกระแสความนิยมในสังคมออนไลนและอุปกรณเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ตางๆ ทั้งสมารทโฟนและแอรการด ทําใหมีลูกคาจํานวนกวา 9 ลานเลขหมายที่ใชบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นจากปที่แลว 39% การเติบโตดังกลาวสงผลใหเอไอเอสมีรายไดจากการใหบริการขอมูล 19,736 ลานบาท เพิ่มขึ้น 31% และคิดเปนสัดสวน 20% ของรายไดจากการ

สวนที่ 1 หนา 143


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ใหบริการไมรวม IC ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีสัดสวนอยูที่ 17% ในป 2553 จากความตองการใชงานอินเทอรเน็ตเปนจํานวนมากนี้เอง ในชวงกลางป 2554 เอ ไอเอสจึงไดเปดตัวโครงขายการใหบริการดานขอมูลที่ใชงานไดอยางตอเนื่องทั่วประเทศไทยผานเทคโนโลยี 3G, EDGE+ และ WiFi จึงเปนผลใหรายไดจาก บริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ในรอบครึ่งหลังของป 2554 เพิ่มขึ้น 76% เทียบกับระดับ 64% ในรอบครึ่งปแรก นอกจากนี้ เอไอเอสไดออกโปรโมชั่นการใช บริการขอมูลตอบสนองกลุมทั้งกลุมลูกคาที่ใชสมารทโฟน รวมไปถึงกลุมลูกคาที่ยังไมไดใชสมารทโฟนดวย เชน การเปดตัวบริการใหลูกคาสามารถใชงาน สังคมออนไลนยอดนิยมไดอยางไมจํากัดผานโปรแกรมโอเปรามินิ เอไอเอสคาดวาแนวโนมของรายไดจากบริการขอมูลยังคงเติบโตไดอยางตอเนื่องโดยมา จากรายไดบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ (หรือรายได Non-messaging ซึ่งคํานวณจากรายไดจากการใหบริการขอมูลหักดวยบริการ SMS และบริการเสียง เรียกสาย) ที่ในป 2554 เพิ่มขึ้นมาอยูที่ระดับ 14.6% ของรายไดจากการใหบริการไมรวม IC เทียบกับปที่ผานมาซึ่งอยูที่ระดับ 11.3% รายไดจากการขาย ตลาดอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่สามารถเติบโตไดดีตามการเจริญเติบโตของบริการขอมูล โดยรายไดจากการขายอุปกรณเพิ่มขึ้นทั้งในกลุมอุปกรณสมาร ทโฟนและอุปกรณทั่วไป โดยในป 2554 เอไอเอสไดจัดจําหนายอุปกรณสมารทดีไวซชั้นนํา อาทิเชน ซัมซุงกาแลกซี่ เอส, ซัมซุงกาแลกซี่ แทป 10.1, ไอโฟน 4เอส รวมทั้งแอรการดรุนตางๆ ซึ่งเปนไปตามกลยุทธ Quality DNAs ในการนําเสนออุปกรณคุณภาพใหลูกคา จากแผนการดําเนินงานดังกลาวทําใหเอไอเอ สมีรายไดจากการขายเพิ่มขึ้น 41% นอกจากนี้ การเติบของอุปกรณที่ไมใชสมารทโฟนยังคงเติบโตไดดีในตลาดภูมิภาคซึ่งสวนใหญของอุปกรณประเภทนี้ สามารถใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ไดเชนกัน จึงถือเปนการขยายฐานลูกคาอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ลงไปในกลุมตลาดกลางถึงตลาดลางดวย สภาวะการใน ตลาดอุปกรณโทรศัพทเคลื่อนที่มีการแขงขันที่สูงมากขึ้นจึงทําใหอัตรากําไรจากการขายอุปกรณอยางเชนแบล็คเบอรรี่ลดลงจากการปรับนโยบายการขาย โดยบริษัท RIM ซึ่งเปนผูผลิตอุปกรณดังกลาว ที่เริ่มมีการปรับเปลี่ยนตั้งแตครึ่งหลังของป 2553 ดังนั้นอัตรากําไรจากการขายจึงลดลงมาอยูที่ 11.9% จาก เดิมซึ่งอยูที่ระดับ 14.7% ในปที่แลว รายไดจากบริการตางประเทศ รายไดจากบริการโทรออกตางประเทศ เติบโต 10% จากกิจกรรมทางการตลาดตางๆ ทําใหมีจํานวนผูใชงานและปริมาณการใชงานเพิ่มขึ้น ในขณะที่ รายไดจากบริการขามแดนอัตโนมัติ ลดลง 6.3% จากการแขงขันดานราคาในตลาดโลก

ตนทุนและคาใชจาย ตนทุนการใหบริการไมรวม IC ในป 2554 เอไอเอสมีโครงการที่รองรับความตองการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่และรักษาคุณภาพการใหบริการหลักๆไดแก โครงการ 3G-900 เมกะเฮิรตซ และโครงการ EDGE+ ทั่วประเทศไทย จึงเปนผลใหตนทุนการใหการใหบริการไมรวม IC เพิ่มสูงขึ้น โดยสวนแบงรายไดเพิ่มขึ้น 14% จากปริมาณการโรม มิ่งบนโครงขายของดีพีซีที่เพิ่มสูงขึ้นในชวงการเปดโครงขาย 3G-900 เมกะเฮิรตซ และการเพิ่มขึ้นของอัตราสวนแบงรายไดของดีพีซีที่เพิ่มขึ้นจาก 25% เปน 30% ในขณะที่ตนทุนโครงขายเพิ่มขึ้น 8.4% จากจํานวนสถานีฐานที่เพิ่มขึ้นมาที่ระดับ 17,000 สถานีจากเดิมที่มีอยู 15,800 สถานีในป 2553 สวนคาซอม บํารุงโครงขาย เพิ่มขึ้น 7.8% จากโปรแกรมการซอมบํารุงรักษาเชิงปองกันและมาตรการปองกันตางๆในชวงที่เกิดอุทกภัยในไตรมาส 4/2554 เพื่อใหมั่นใจ ไดวาโครงขายของเอไอเอสสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง ตนทุนการใหบริการอื่นๆ เทากับ 3,758 ลานบาท เพิ่มขึ้น 32% จากคาใชจายดาน ศูนยบริการลูกคา คาใชจายที่เกี่ยวกับโครงการ 3G-900 เมกะเฮิรตซ รวมถึงการบันทึกกลับรายการบัญชีคาใชจายเกี่ยวกับโครงขายจํานวน 360 ลานบาทใน ไตรมาส 2/2553 ทั้งนี้หากไมรวมผลของการบันทึกกลับรายการบัญชีคาใชจายเกี่ยวกับโครงขายดังกลาวแลว ตนทุนการใหบริการอื่นๆ จะเพิ่มขึ้น 17.4% เมื่อเทียบกับปที่แลว อยางไรก็ดี ตนทุนการใหบริการโดยรวมยังคงทรงตัวจากปที่แลวเนื่องจากคาตัดจําหนายโครงขายลดลง 7.5% โดยคาตัดจําหนาย โครงขายมีแนวโนมที่จะลดลงตอเนื่องในป 2555 เนื่องจากคาตัดจําหนายโครงขายของสินทรัพยที่ลงทุนใหมมีมูลคานอยกวามูลคาสินทรัพยที่ตัดจําหนาย หมด และสัญญารวมการงานของดีพีซีและเอไอเอสที่จะหมดอายุในป 2556 และป 2558 ตามลําดับ

คาใชจายในการขายและบริหาร ในป 2554 เอไอเอสทําการรีแบรนดหรือเปลี่ยนโฉมของบริษัทใหมเพื่อตอบรับกับความตองการของลูกคาที่แตกตางกันไดดีขึ้นกวาเดิม ซึ่งจากกิจกรรม ดังกลาวทําใหคาใชจายการตลาดเพิ่มขึ้น 22% อยางไรก็ดีคาใชจายในการตลาดยังมีการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสภาวะการแขงขันใน ตลาดที่ทรงตัวและความไดเปรียบของเอไอเอสจากการมีฐานลูกคาที่ใหญกวาคูแขง โดยมีสัดสวนคาใชจายการตลาดคิดเปน 2.2% ของรายไดรวมและทรงตัว จากป 2553 ที่ระดับ 2.1% ของรายไดรวม ทั้งนี้ จากเหตุการณอุทกภัยในไตรมาส 4/2554 เอไอเอสมีมาตรการชวยเหลือตางๆ เพื่อบรรเทาความเดือดรอน ใหกับลูกคา พนักงานและบุคคลทั่วไปเปนจํานวนเงินกวา 210 ลานบาท นอกจากนี้ เอไอเอสไดมีการยืดเวลาการชําระคาบริการสําหรับกลุมลูกคาเหมาจาย รายเดือนที่ไดรับผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัย จึงเปนผลใหคาใชจายการตั้งสํารองหนี้สูญเพิ่มขึ้น 3.8% อยางไรก็ดี อัตราคาใชจายในการตั้งสํารองหนี้ สูญตอรายไดจากลูกคาระบบเหมาจายรายเดือนกลับลดลงมาอยูที่ 2.5% จากระดับ 2.6% เมื่อป 2553 ทั้งนี้กลุมลูกคาระบบเหมาจายรายเดือนเริ่มกลับมา ชําระคาบริการตามปกติตั้งแตเดือนธันวาคม 2554 แลว สวนคาใชจายในการบริหาร เพิ่มขึ้น 11% จากคาใชจายพนักงานที่สูงขึ้นและรวมไปถึงการจายเงิน รางวัลพิเศษใหพนักงาน การชวยเหลือและบริจาคเงินและสิ่งของในชวงเกิดเหตุการณอุทกภัย

สวนที่ 1 หนา 144


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กําไร เอไอเอสมี EBITDA เทากับ 56,623 เพิ่มขึ้น 9.5% จากรายไดที่เติบโตโดยเฉพาะจากบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ ถึงแมจะมีคาใชจายเพิ่มขึ้นจากการบันทึก กลับรายการบัญชีคาใชจายเกี่ยวกับโครงขายจํานวน 360 ลานบาทในไตรมาส 2/2553 จากกิจกรรมรีแบรนดและคาใชจายพนักงานก็ตาม อยางไรก็ดี EBITDA margin ลดลงมาอยูที่ระดับ 44.8% จากเดิมซึ่งอยูที่ระดับ 46.5% ในป 2553 โดยมีสาเหตุจากสัดสวนรายไดจากการขายอุปกรณที่สูงขึ้น โดยธุรกิจ การขายอุปกรณมีอัตรากําไรที่ต่ํากวาธุรกิจบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งจากการเพิ่มขึ้นของคาใชจายสวนแบงรายไดจากปริมาณการโรมมิ่งบนโครงขาย ของดีพีซีที่เพิ่มสูงขึ้นในชวงการเปดโครงขาย 3G-900 เมกะเฮิรตซ และรายการบัญชีคาใชจายเกี่ยวกับโครงขายจํานวน 360 ลานบาท สวนกําไรสุทธิของเอ ไอเอสในป 2554 เทากับ 22,218 ลานบาท เพิ่มขึ้น 8.3% จากการเติบโตของกําไร EBITDA และรายไดจากดอกเบี้ยรวมถึงคาตัดจําหนายโครงขายที่ลดลง แมวาในไตรมาส 4/2554 เอไอเอสตองรับรูการปรับปรุงสินทรัพยภาษีเงินรอการตัดบัญชีจํานวน 2,840 ลานบาท ซึ่งเปนผลจากการปรับลดภาษีเงินไดนิติ บุคคลของรัฐบาลที่จะเริ่มในป 2555 ทั้งนี้เมื่อหักผลกระทบจากการบันทึกการดอยคาความนิยมของดีพีซีและการปรับปรุงสินทรัพยภาษีเงินรอการตัดบัญชี ดังกลาวแลว กําไรสุทธิกอนรายการพิเศษจะเทากับ 26,600 ลานบาท เพิ่มขึ้น 21% เมื่อเทียบกับปที่แลว

ฐานะการเงินและกระแสเงินสด เนื่องจากเอไอเอสมองวาจะมีการประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ใหมสําหรับเทคโนโลยีใหมในไมชานี้ บริษัทจึงตองพิจารณาการลงทุนเพิ่มเติมบนสัญญารวม การงานที่ใกลหมดอายุอยางระมัดระวัง โดยบริษัทยังคงคํานึงถึงเปาหมายในการรักษาความเปนผูนําในตลาดและการรักษาสวนแบงรายได ในป 2554 เอไอ เอสจึงใชเงินลงทุน 5,700 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 18% จากปที่แลว โดยสวนใหญใชลงทุนในบริการดานขอมูล เชน โครงการ 3G-900 เมกะเฮิรตซ และการ ขยายความจุของของการใหบริการดานขอมูล ซึ่งการที่เงินลงทุนมีระดับต่ํากวาที่คาดการณในตอนตนที่คาดวาจะใชเม็ดเงินถึง 10,000 ลานบาทนั้น เกิดจาก ความลาชาในบางโครงการ ในสวนของระดับเงินสด เอไอเอสมีเงินสด ณ สิ้นป 2554 ที่ระดับ 21,887 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากระดับ 12,168 ลานบาทเมื่อป 2553 โดยเปนผลจากการเติบโตของ EBITDA อยางไรก็ดี สินทรัพยรวม ของบริษัทยังคงลดลงจากระดับ 97,347 ลานบาทในป 2553 มาที่ระดับ 86,672 ลานบาทเนื่องจากคาตัดจําหนายโครงขายของสินทรัพยที่ลงทุนใหมมีมูลคานอยกวามูลคาสินทรัพยที่ตัดจําหนายหมดรวมทั้งมีการปรับปรุงสินทรัพยภาษีเงิน รอการตัดบัญชีจากการปรับอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลใหมดวย และเพื่อเปนการเตรียมความพรอมกับการลงทุนที่กําลังจะมาถึง เอไอเอสไดทําการจายคืนเงินกูและหุนกูเปนจํานวนเงิน 13,978 ลานบาทและทําการกูเงิน บางสวนจํานวน 1,200 ลานในระหวางป 2554 จึงทําใหหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยลดลงมาอยูที่ระดับ 22,374 ลานบาทจากระดับ 35,139 ลานบาทในป 2553 ในขณะที่ตนทุนกูยืมเฉลี่ยลดลงมาอยูที่ระดับ 4.5% จากระดับ 4.8% เมื่อป 2553 นอกจากนี้เอไอเอสบริหารจัดการสถานะทางการเงินใหมีสภาพคลองใน ระดับสูง โดยมีอัตราสวน current ratio เพิ่มขึ้นมาอยูที่ระดับ 1.12 จากระดับ 0.74 เมื่อป 2553 โดยในป 2555 นี้ บริษัทมีหนี้สินครบกําหนดชําระไดแก หุนกู จํานวน 5,000 ลานบาทและเงินกูจํานวน 493 ลานบาท เอไอเอสมีสวนของผูถือหุน เทากับ 39,464 ลานบาทลดลงจากระดับ 41,191 ลานบาทเนื่องจากกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรลดลงหลังการจายเงินปนผล ระหวางกาล ทําใหอัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุนและอัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA ลดลงมาอยูที่ระดับ 0.01 อัตราสวนหนี้สินตอทุนที่ต่ําจะทํา ใหบริษัทมีความคลองตัวในการกูยืมเพื่อการลงทุนในอนาคต ในป 2554 เอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน เทากับ 48,216 ลานบาท เพิ่มขึ้น 7.5% จากรายไดที่เติบโตและการบริหารจัดการตนทุนอยางมี ประสิทธิภาพ โดยกระแสเงินสดสวนใหญไดใชไปในการจายเงินปนผลใหผูถือหุนจํานวน 24,103 ลานบาทและจายคืนเงินกูจํานวน 14,050 ลานบาท ในขณะ ที่ใชเปนเงินทุนหมุนเวียนจํานวน 9,388 ลานบาท โดย ณ สิ้นป 2554 บริษัทมีเงินสดเพิ่มขึ้น 7,909 ลานบาท บริษัทมีความเชื่อมั่นวา ดวยระดับกระแสเงิน สดจากการดําเนินงานในปจจุบัน จะชวยใหบริษัทมีความแข็งแกรงในการเขารวมประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ใหมที่กําลังมาถึงรวมทั้งสามารถรักษา นโยบายผลตอบแทนใหกับผูถือหุนได

สวนที่ 1 หนา 145


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สรุปผลประกอบการเชิงการเงิน ตาราง 1 – รายไดการบริการ รายไดจากบริการเสียง ระบบเหมาจายรายเดือน (เสียง) ระบบเติมเงิน (เสียง) รายไดจากบริการขอมูล รายไดโรมมิ่งตางประเทศ อื่นๆ (โทรตางประเทศ, อื่นๆ) รวมรายไดจากการใหบริการไมรวม IC

ป 2553 65,942 17,493 48,449 15,040 2,703 3,831 87,516

75.3% 20.0% 55.4% 17.2% 3.1% 4.4% 100.0%

(ลานบาท) / (% ของรายไดการใหบริการไมรวม IC) ป 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 71,429 73.0% 5,487 8.3% 17,859 18.2% 366 2.1% 53,570 54.7% 5,121 10.6% 19,736 20.2% 4,696 31.2% 2,533 2.6% -170 -6.3% 4,212 4.3% 381 9.9% 97,911

ตาราง 2 – รายไดการขาย รายไดจากการขาย ตนทุนการขาย สุทธิจากการขาย อัตรากําไรจากการขาย (%)

ป 2553 9,349 7,974 1,375 14.7%

8.4% 7.2% 1.2%

ป 2554 13,180 11,613 1,567 11.9%

ตาราง 3 – คาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) รายรับคา IC รายจายคา IC สุทธิ รับ/(จาย)

ป 2553 14,474 13,873 601

13.0% 12.5% 0.5%

100.0%

คาตัดจําหนายโครงขาย ตนทุนโครงขาย คาซอมบํารุงโครงขาย ตนทุนการใหบริการอื่นๆ รวมตนทุนการใหบริการไมรวม IC สวนแบงรายได

16.5% 2.5% 1.2% 2.6% 22.8% 19.4%

ป 2554 15,346 14,895 451

(ลานบาท) / (% ของรายไดรวม) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 12.1% 872 6.0% 11.8% 1,022 7.4% 0.4% - 150 -24.9%

ป 2554 17,017 2,984 1,484 3,758 25,243 24,469

13.5% 2.4% 1.2% 3.0% 20.0% 19.4%

(ลานบาท) / (% ของรายไดรวม) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) -1,378 -7.5% 232 8.4% 108 7.8% 918 32.3% -120 -0.5% 2,916 13.5%

2.2% 5.9% 0.5% 0.2% 8.8%

(ลานบาท) / (% ของรายไดรวม) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 502 21.6% 764 11.4% 22 3.8% -11 -5.0% 1,278 13.0%

ตาราง 5 – คาใชจายในการขายและบริหาร คาใชจายการตลาด คาใชจายในการบริหาร คาใชจายการตั้งสํารองหนี้สูญ คาเสื่อมราคา รวมคาใชจายในการขายและบริหาร %คาใชจายตั้งสํารองหนี้สูญตอ รายไดจากระบบเหมาจายรายเดือน

ป 2553 2,324 6,712 589 214 9,840 2.6%

2.1% 6.0% 0.5% 0.2% 8.8%

11.9%

(ลานบาท) / (% ของรายไดรวม) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 10.4% 3,831 41.0% 9.2% 3,639 45.6% 1.2% 192 14.0%

ตาราง 4 – ตนทุนการใหบริการไมรวม IC ป 2553 18,395 2,752 1,376 2,840 25,363 21,553

10,395

ป 2554 2,826 7,476 611 203 11,118 2.5%

สวนที่ 1 หนา 146


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ตาราง 6 – EBITDA ป 2553 32,736 2,694 16,366 84 -114 -47 51,720

กําไรจากการดําเนินงาน คาเสื่อมราคาที่ดิน อาคาร อุปกรณ คาตัดจําหนายสินทรัพยโครงขาย (กําไร)/จาดทุนจากการขายสินทรัพย คาตอบแทนผูบริหาร คาใชจายการเงินอืน่ ๆ EBITDA

ป 2554 39,100 2,511 15,164 -3 -116 -32 56,623

29.4% 2.4% 14.7% 0.1% -0.1% 0.0% 46.5%

ตาราง 7 – คาใชจายทางการเงิน ป 2553 1,753

คาใชจายทางการเงิน

ตาราง 8 – กําไร (ลานบาท) กําไรสุทธิ บวก: การดอยคาความนิยมของดีพีซี บวก: การปรับปรุงสินทรัพยภาษีรอการตัด บัญชี กําไรสุทธิกอนรายการพิเศษ ตาราง 9 – ฐานะการเงิน เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่นๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี อื่นๆ รวมสินทรัพย เจาหนี้การคา สวนของเงินกูถึงกําหนดชําระใน 1ป ผลประโยชนตอบแทนคางจาย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย

ป 2554 1,666

1.6%

รายการบันทึก ขาดทุนจากการดอยคา

30.9% 2.0% 12.0% 0.0% -0.1% 0.0% 44.8%

(ลานบาท) / (% ของรายไดรวม) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 1.3% -87 -5.0%

ป 2553 20,514 1,560

ป 2554 22,218 1,542

0 22,074

2,840 26,600

คาใชจายภาษีเงินได

(ลานบาท) / (% ของสินทรัพยรวม) ป 2553

ป 2554

12,618 13.0% 4,219 4.3% 5,660 5.8% 1,127 1.2% 2,329 2.4% 25,953 26.7% 55,265 56.8% 1,577 1.6% 2,764 2.8% 9,933 10.2% 1,856 1.9% 97,347 100.0% 2,472 2.5% 15,883 16.3% 3,328 3.4% 13,603 14.0% 35,285 36.2% 35,139 36.1%

21,887 25.3% 727 0.8% 7,037 8.1% 1,087 1.3% 2,440 2.8% 33,178 38.3% 44,121 50.9% 35 0.0% 2,275 2.6% 6,422 7.4% 642 0.7% 86,672 100.0% 3,520 4.1% 5,469 6.3% 4,593 5.3% 16,152 18.6% 29,734 34.3% 22,374 25.8%

สวนที่ 1 หนา 147

(ลานบาท) / (% ของรายไดรวม) เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 6,363 19.4% -184 -6.8% -1,202 -7.3% -87 -103.3% -2 1.7% 14 -30.3% 4,903 9.5%

เปลี่ยนแปลง 1,704

เปลี่ยนแปลง(%) 8.3%

4,526

20.5%


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554 รวมหนี้สิน กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร รวมสวนผูถือหุน

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 56,157 15,073 41,191

ตาราง 10 – อัตราสวนทางการเงินที่ สําคัญ หนี้สินรวมตอสินทรัพยรวม เงินกูสุทธิตอสวนของผูถือหุน เงินกูสุทธิตอ EBITDA หนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน Current ratio Interest coverage DSCR กําไรตอสวนผูถือหุน - ROE (%) ตาราง 11 – ตารางการจายคืนหนี้ 2554 ไตรมาส 1/2554 ไตรมาส 2/2555 ไตรมาส 3/2555 ไตรมาส 4/2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561

หุนกู 4,000 5,000 8,000 2,500 -

57.7% 15.5% 42.3%

47,209 13,246 39,464

2553

2554

0.58 0.55 0.44 1.36 0.74 19.18 2.06 39%

0.54 0.01 0.01 1.20 1.12 23.94 5.58 66%

(ลานบาท) เงินกูระยะยาว 9,978 247 247 493 2,939 1,093 1,093 493 247

ตาราง 12 – แหลงที่มาและการใชไปของเงินทุนในรอบป 2554 แหลงที่มาของเงินทุน กระแสเงินสดจากการดําเนินงานกอนหักสวนเปลี่ยนแปลง เงินทุนหมุนเวียน 57,604 ดอกเบี้ยรับ 620 เงินรับจากการขายสินทรัพยและอุปกรณ 12 เงินรับจากหุนทุนและสวนเกินทุน 189 การเปลี่ยนแปลงในเงินลงทุนระยะสั้น/ยาวสุทธิ 3,494 เงินรับจากการกูยืมระยะยาว รวม

54.5% 15.3% 45.5%

1,200 63,119

(ลานบาท) การใชไปของเงินทุน การลงทุนในโครงขายและสินทรัพยถาวร ชําระตนทุนทางการเงินและคาเชาทางการเงิน สวนเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ชําระคืนเงินกูระยะยาว เงินปนผลจาย จายเงินลดทุนของบริษัทยอยใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุม เงินสดเพิ่มขึ้น รวม

สวนที่ 1 หนา 148

5,707 1,803 9,388 14,050 24,103 159 7,909 63,119


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สรุปผลการดําเนินงานเทียบกับมุมมองบริษัทในป 2554 ป 2554

มุมมอง

ผลการดําเนินงาน

รายไดการใหบริการไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย

เลขหลักเดียวในชวงสูง

+11.9%

รายไดจากการใหบริการขอมูล

25-30%

31%

EBITDA margin

45%

44.8%

เงินลงทุนโครงขาย (รวมงบลงทุนใน 3G บนคลื่นความถี่ยาน 900 เมกะเฮิรตซ)

10,000 ลานบาท

5,700 ลานบาท

รายไดจากการใหบริการไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขายเติบโต 11.9% สูงกวาที่คาดการณไว เนื่องจากการการเติบโตของบริการเสียงที่ดีกวา คาดการณ บริษัทไดคาดการณการเติบโตรายไดที่เลขหลักเดียวในชวงสูง (high-single digit) โดยคาดวารายไดจากบริการขอมูลจะเปนปจจัยผลักดัน รายได ขณะที่รายไดจากบริการเสียงจะเติบโตไมสูงนักเนื่องจากตลาดดังกลาวคอนขางอิ่มตัว ดวยอัตราเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตอจํานวนประชากรที่ สูงกวา 100% อยางไรก็ตาม ในป 2554 กลยุทธทางการตลาดที่ไดผลตอบรับอยางดีเยี่ยมประกอบกับการฟนตัวของเศรษฐกิจ สงผลใหบริการเสียงได เติบโตไดดีถึง 8% โดยเฉพาะประเภทเติมเงินทั้งในกรุงเทพและตลาดตางจังหวัด นอกจากนี้ในชวงกลางปเอไอเอสไดเปดใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่ เดิมเพื่อตอบสนองความตองการใชงานโมบายลอินเตอรเนทที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหรายไดจากการใหบริการขอมูลในป 2554 เติบโต 31% ใกลเคียงกับเกณฑในชวงสูงของ 25% – 30% ตามที่บริษัทคาดการณ ขณะที่รายไดจากการขายอุปกรณยังคงเติบโตไดดี ทั้งสมารทโฟน แอรการด แท็บ เล็ต และฟเจอรโฟน โดยเพิ่มขึ้น 40% จากป 2553 อยางไรก็ตามการเติบโตดังกลาวยังต่ํากวาคาดการณที่ 50% เนื่องจากเหตุการณอุทกภัยในชวง ปลายป 2554 ซึ่งเปนอุปสรรคตอลูกคาในการเขาถึงชองทางการจัดจําหนาย EBITDA margin เทากับ 44.8% อยูในระดับใกลเคียงกับที่บริษัทไดคาดการณไวที่ 45% จากการขยายตัวของธุรกิจจําหนายอุปกรณสื่อสาร ขณะที่ รายไดเติบโตอยางแข็งแกรงและการควบคุมคาใชจายที่มีประสิทธิภาพ แมจะมีคาใชจายเพิ่มขึ้นจากกิจกรรมรีแบรนดและคาใชจายโครงขายการใหบริการ 3G โดยในป 2554 บริษัทมีคาใชจายทางการตลาดคิดเปน 2.2% ของรายไดรวม อยูในเกณฑคาดการณที่ชวง 2 – 2.5% เนื่องจากการแขงขันดาน กิจกรรมทางการตลาดยังไมรุนแรงนัก เงินลงทุนโครงขาย เทากับ 5,700 ลานบาท ต่ํากวาระดับ 10,000 ลานบาท ที่บริษัทคาดการณไว เนื่องจากอุทกภัยในชวงเดือนพฤจิกายนสงผลใหบาง โครงการเกิดความลาชาและทําใหรอบของการจายเงินคาลงทุนเลื่อนออกไป

สวนที่ 1 หนา 149


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

มุมมองของผูบริหารตอแนวโนมและกลยุทธในป 2555 รายไดจากการใหบริการไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย

5-6%

รายไดจากการใหบริการขอมูล

25%

รายไดจากการขายอุปกรณ

10%+ (เติบโตสิบกวาเปอรเซ็นต)

EBITDA margin

44%

เงินลงทุนในโครงขาย

8,000 ลานบาท

เอไอเอสประมาณการรายไดจากการใหบริการไมรวม IC จะเติบโตในระดับ 5-6% โดยมาจากความตองการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ของ ผูบริโภคที่ยังคงมีอยูสูงและการแขงขันในตลาดการใหบริการเสียงที่จะยังคงทรงตัวตอเนื่อง ความตองการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่นั้นยังคงมาจากทั้ง การเติบโตของจํานวนผูใชงานสมารทโฟน กระแสความนิยมใชงานสังคมออนไลน และขอจํากัดในการเขาถึงบริการอินเทอรเน็ตผานโครงขายโทรศัพท พื้นฐาน เอไอเอสเชื่อวาผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตางๆ จะพยายามรักษาระดับการเติบโตของตลาดบริการขอมูลไวโดยขยายการใหบริการ 3G มาก ขึ้นและเนนการขายอุปกรณสมารทดีไวซที่รองรับการใชงานเทคโนโลยี 3G ไมวาจะเปนอุปกรณอยางสมารทโฟน แท็ปเลต และแอรการด โดยเอไอเอสจะ มุงเนนการขายอุปกรณสมารทโฟนโดยใชกลยุทธทางการตลาดและนําเสนออุปกรณที่หลากหลายครอบคลุมทุกกลุมลูกคา และเอไอเอสคาดวาจะมีรายได จากการขายเพิ่มขึ้นสิบกวาเปอรเซ็นต และประมาณการวา 50% ของอุปกรณที่ขายใหมในป 2555 นี้จะเปนอุปกรณที่รองรับ 3G ในขณะที่ 30% ของ อุปกรณที่ขายใหมจะเปนอุปกรณสมารทโฟน (โทรศัพทท่ีรองรับเทคโนโลยี 3G บางรุนอาจไมใชสมารทโฟน) สวนการแขงขันในตลาดบริการขอมูลนั้น คาดวาผูใหบริการแตละรายจะพยายามทําตลาดประชาสัมพันธในเรื่องของพื้นที่ใหบริการและความเร็ว สวนการแขงขันดานราคาในตลาดบริการขอมูลจะ ยังไมรุนแรงเนื่องจากมีความตองการใชงานอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่สูงมากในขณะที่พื้นที่และความจุในการใหบริการยังคงมีอยางจํากัด โดยเอไอเอสจะ มุงเนนในการนําเสนอในดานคุณภาพของบริการเพื่อสรางประสบการณที่ดีโดยเฉพาะในบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ เพื่อใหมั่นใจไดวาความสัมพันธ ระหวางลูกคาและเอไอเอสจะมั่นคงในระยะยาว สําหรับสภาพการแขงขันในตลาดบริการเสียงนั้น เอไอเอสคาดการณวาระดับการแขงขันจะยังคงทรงตัว จากปที่แลวโดยผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตางๆ จะพยายามรักษาสวนแบงการตลาดในเชิงรายไดเนื่องจากตลาดบริการเสียงมีการเติบโตที่ไมสูงมาก โดยเอไอเอสจะใชความไดเปรียบจากการมีโครงขายที่ครอบคลุมมากที่สุดในประเทศและมีชองทางการจัดจําหนายในระดับทองถิ่นจํานวนมากในการ สรางฐานลูกคาที่มีคุณภาพทั้งลูกคาที่ใชบริการเสียงและบริการขอมูล รายไดจากบริการขอมูลคาดวาจะเติบโต 25% จากการเติบโตของการใชงานอุปกรณสมารทดีไวซและบริการ 3G โดยเอไอเอสจะยังคงใช ปรัชญา “Quality DNAs” (คุณภาพทั้งในดานอุปกรณ โครงขาย แอพลิเคชั่นและบริการ) ในการสงมอบบริการที่มีคุณภาพใหกับลูกคาโดยจะมีรูปแบบที่ เฉพาะเจาะจงในแตละกลุมลูกคามากขึ้น ในดานอุปกรณนั้น เอไอเอสจะคัดสรรอุปกรณสมารทดีไวซมาผนวกกับแพ็คเกจบริการขอมูลที่เหมาะสมแลว นําเสนอใหกับลูกคาแตละกลุม และเอไอเอสจะพยายามสรางฐานลูกคาใหมใหมาใชบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่ผานโครงขายบริการขอมูลที่มีความ ตอเนื่องทั่วประเทศไทยของเอไอเอสดวยการสรางสรรครูปแบบของโปรโมชั่นที่หลากหลายตอบสนองความตองการลูกคาในแตละกลุม สําหรับในดาน โครงขายนั้น เอไอเอสจะเสริมโครงขายบริการขอมูลที่ใชงานไดอยางตอเนื่องใหดียิ่งขึ้นดวยการเพิ่มปริมาณความจุของโครงขาย 3G-900 เมกะเฮิรตซ และมีโครงการรวมมือกับพันธมิตรตางๆ อยางตอเนื่อง เอไอเอสจะติดตั้งสถานีฐาน 3G-900 เมกะเฮิรตซ เพิ่มขึ้นอีก 2,000 สถานีฐานในพื้นที่สําคัญที่มี ความตองการใชงานอินเทอรเน็ตเปนจํานวนมาก เพื่อใหมั่นใจไดวาบริการ 3G ของเอไอเอสจะมีคุณภาพและมีความตอเนื่องมากกวาเดิม เอไอเอสจะ รวมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจในการขยายการใหบริการอินเทอรเน็ตผานโครงขายไวไฟโดยเฉพาะในพื้นที่ศูนยการคาและพื้นที่สําคัญซึ่งจะชวยเสริม ประสบการณใชงานไดดียิ่งขึ้น ในดานของแอพพลิเคชั่นนั้น เอไอเอสจะนําเสนอแอพพลิเคชั่นและเนื้อหาใหมๆ ที่ตอบสนองทั้งกลุมลูกคาสมารทโฟนและ กลุมลูกคาทั่วไป อยางเนื้อหาในรูปแบบดิจติ ัลที่ใชในชีวิตประจําวันเชน อีบุค หรือเพลง เปนตน ในดานบริการซึ่งถือเปนจุดแข็งของเอไอเอสนั้น จะมีการ เสริมในหลายดานใหดียิ่งขึ้น โดยการสรางประสบการณที่เหนือกวาในทุกจุดที่ลูกคามีการติดตอกับเอไอเอสไมวาจะเริ่มตั้งแตรานคาของเอไอเอสไปจนถึง บริการหลังการขาย ลูกคาสามารถทดลองใชงานอุปกรณสมารทดีไวซเครื่องจริงพรอมคําแนะนําจากพนักงานกอนที่จะตัดสินใจซื้ออุปกรณนั้น เอไอเอสจะ ปรับปรุงระบบสนับสนุนการใหบริการใหทันสมัยมากขึ้นเพื่อเพิ่มความเร็วในการใหบริการและสามารถนําเสนอบริการที่ถูกตองตรงความตองการของ ลูกคาไดแบบรายบุคคล และดวยปรัชญา “Quality DNAs” นี้ เอไอเอสเชื่อมั่นวาจะสามารถสงมอบประสบการณคุณภาพและสามารถความสัมพันธ ระหวางแบรนดเอไอเอ สกับลูกคาไดในระยะยาวตอไป จากการที่เอไอเอสจะมุงเนนตลาดอุปกรณสมารทดีไวซมากขึ้น จึงทําใหเปาหมาย EBITDA margin อยูที่ระดับ 44% ซึ่งลดลงจากระดับ 44.8% ในป 2554 การลดลงของระดับ EBITDA margin ดังกลาวเกิดจากสัดสวนที่เพิ่มขึ้นของรายไดจากธุรกิจขายอุปกรณที่มีอัตรากําไรต่ํากวาธุรกิจบริการ

สวนที่ 1 หนา 150


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

โทรศัพทเคลื่อนที่ สวนอัตรากําไรในธุรกิจบริการโทรศัพทเคลื่อนที่จะยังคงทรงตัว เอไอเอสยังคงบริหารจัดการตนทุนใหมีประสิทธิภาพจากประโยชนใน เชิงขนาดที่เอไอเอสมีเหนือคูแขงและการบริหารงานอยางรัดกุม และถึงแมเอไอเอสจะยังมีกิจกรรมรีแบรนดตอในป 2555 แตคาใชจายการตลาดจะยังคง รักษาไวใหอยูในชวง 2-2.5% ของรายไดรวม สวนรายรับคาเชื่อมโยงโครงขายสุทธิจะยังมีแนวโนมลดลงตอไป โดยเอไอเอสจะยังคงเปนผูรับสุทธิจากคา เชื่อมโยงโครงขาย อยางไรก็ตามรายรับสุทธิจากคาเชื่อมโยงโครงขายคาดวาจะมีแนวโนมลดลงในอนาคต เอไอเอสคาดวาจะใชเงินลงทุน 8,000 ลานบาทเพื่อเสริมความแข็งแกรงของบริการ 3G-900 เมกะเฮิรตซ และขยายความจุในการใหบริการดาน ขอมูล โดยภายหลังจากเอไอเอสเปดใหบริการ 3G-900 เมกะเฮิรตซ ในเดือนกรกฎาคม 2554 รวมทั้งทําการพัฒนาโครงขายใหเปน EDGE+ ทั้วประเทศ ไทย ทําใหผูบริโภคเห็นประโยชนของการใชบริการอินเทอรเน็ตเคลื่อนที่มากขึ้น และทําใหมีปริมาณการใชงานมากขึ้นตามไปดวย เอไอเอสจึงเตรียมเสริม โครงขายขอมูลที่ใชงานไดตอเนื่องและมีคุณภาพโดยจะทําการติดตั้งสถานีฐาน 3G-900 เมกะเฮิรตซ เพิ่มอีก 2,000 สถานีในพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล รวมถึงในจังหวัดสําคัญที่ผูบริโภคมีอุปกรณที่รองรับเทคโนโลยี 3G บนคลื่น 900 เมกะเฮิรตซ และมีความตองการใชงานเปนจํานวนมาก โดยคาดวา โครงการการติดตั้งสถานีฐาน 3G-900 เมกะเฮิรตซ เพิ่มเติมนี้จะแลวเสร็จในไตรมาส 3 ของป 2555 นอกจากนี้เงินลงทุนดังกลาวจะใชในการปรับปรุงจุด ใหบริการตางๆ ของเอไอเอส ซึ่งถือวาเปนจุดที่มีความสําคัญในการสรางประสบการณที่ดีใหกับลูกคา เอไอเอสจะปรับปรุงราน AIS Shop ใหสอดคลองกับ แนวทาง Your World Your World ที่เอไอเอสตองการมอบบริการใหลูกคาไดตรงตามความตองการมากที่สุด สําหรับคาตัดจําหนายโครงขายนั้น ยังคงมี แนวโนมลดลงเนื่องจากสินทรัพยสวนใหญไดถูกตัดจําหนายครบแลวในขณะที่เงินลงทุนใหมยังอยูในระดับต่ํา เอไอเอสคาดวาคาตัดจําหนายโครงขายในป 2555 จะลดลง 7% เอไอเอสไดมีการวางแผนโครงสรางเงินทุน เพื่อใหบริษัทมีความพรอมตอการลงทุนในอนาคตมากที่สุด รวมถึงใหบริษัทสามารถรักษาอัตราการจายเงิน ปนผลที่ระดับ 100% ของกําไรสุทธิไวได ทั้งนี้หลังจากมีการจัดตั้ง กสทช. และเมื่อมีความคืบหนาในเชิงนโยบายการกํากับดูแล เอไอเอสจะตองเตรียม ความพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่จะเกิดขึ้นโดยบริหารสถานะทางการเงินใหเขมแข็งมีความพรอมในการสอดรับกับ เหตุการณที่จะเกิดขึ้นอาทิเชน การประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ (ทั้งคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ, 1,800 เมกะเฮิรตซและ 900 เมกะเฮิรตซ) รวมไปถึง การขยายโครงขายใหมบนเทคโนโลยีใหม และเพื่อใหเอไอเอสยังคงรักษาความเปนผูนําทั้งในยุค 3G หรือในอนาคตตอไป บริษัทจึงรักษาสัดสวนหนี้สินตอ ทุนไวในระดับต่ําและรักษาประสิทธิภาพดานตนทุนเพื่อใหเกิดความยืดหยุนสําหรับการกูยืมเงินในอนาคต รวมทั้งรักษาความไดเปรียบในการแขงขันและ สามารถรับมือตอสภาพการแขงขันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ขอปฎิเสธความรับผิดชอบ ในเอกสารฉบับนี้อาจจะมีขอมูลบางสวนที่เกี่ยวของกับการคาดการณในอนาคตโดยใชปจจัยทีเ่ กี่ยวของในหลายดานซึ่งจะขึ้นอยูกับความเสี่ยงและความ ไมแนนอนตางๆ ซึ่งขอมูลดังกลาวรวมถึง แผนธุรกิจ กลยุทธ และความเชื่อของบริษัทฯ รวมทั้งขอมูลอื่นที่ไมใชขอมูลที่เกิดขึ้นในอดีต ตัวอยาง ของคําที่ใชในการคาดการณในอนาคต เชน “อาจจะ”, “จะ”, “คาดวา”, “ตั้งใจวา, “ประมาณ”, “เชื่อวา”, “ยังคง”, “วางแผนวา” หรือคําใดๆ ที่มีความหมาย ทํานองเดียวกัน เปนตน แมวาการคาดการณดังกลาวจะถูกจัดทําขึ้นจากสมมุติฐานและความเชื่อของฝายบริหาร โดยอาศัยขอมูลที่มีอยูในปจจุบันเปนพื้นฐานก็ ตาม สมมุติฐานเหลานี้ยงั คงมีความเสี่ยงและความไมแนนอนตางๆ ซึ่งอาจจะทําใหผลงาน ผลการดําเนินงาน ความสําเร็จที่เกิดขึ้นจริงแตกตางจาก ที่บริษัทฯ คาดการณไวในอนาคต ดังนั้นผูใชขอมูลดังกลาวจึงควรระมัดระวังในการใชขอมูลขางตน อีกทั้งบริษัท และผูบริหาร/พนักงาน ไมอาจควบคุม หรือรับรองความเกี่ยวของ ระยะเวลาที่จะเกิดขึ้น หรือความถูกตองของขอมูลดังกลาวได

สวนที่ 1 หนา 151


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สรุปตัวเลขการดําเนินงาน จํานวนผูใชบริการ จีเอสเอ็ม แอดวานซ จีเอสเอ็ม 1800 ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมจํานวนผูใชบริการ ผูใชบริการที่เพิ่มขึ้น (Net additions) ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน รวมผูใชบริการที่เพิ่มขึ้น Churn rate (%) ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน คาเฉลีย่ สวนแบงตลาดของจํานวนผูใ ชบริการ ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน รวม ARPU ไมรวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ จีเอสเอ็ม 1800 ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน คาเฉลีย่ ARPU รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ จีเอสเอ็ม 1800 ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน คาเฉลีย่ MOU (จํานวนนาทีที่โทรออก) จีเอสเอ็ม แอดวานซ จีเอสเอ็ม 1800 ระบบเหมาจายรายเดือน ระบบเติมเงิน คาเฉลีย่

ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 1/2553 2/2553 3/2553 4/2553 1/2554 2,878,500 2,898,800 2,928,100 2,976,500 3,027,500 78,300 78,400 76,400 76,100 76,100 2,956,800 2,977,200 3,004,500 3,052,600 3,103,600 26,552,400 27,030,500 27,497,600 28,148,100 28,847,700 29,509,200 30,007,700 30,502,100 31,200,700 31,951,300

ไตรมาส 2/2554 3,056,200 86,500 3,142,700 29,342,300 32,485,000

ไตรมาส 3/2554 3,116,200 95,700 3,211,900 29,552,000 32,763,900

ไตรมาส 4/2554 3,193,600 98,000 3,291,600 30,168,300 33,459,900

51,000 699,600 750,600

39,100 494,600 533,700

69,200 209,700 278,900

79,700 616,300 696,000

42,100 694,200 736,300

20,400 478,100 498,500

27,300 467,100 494,400

48,100 650,500 698,600

2.3% 4.7% 4.4%

2.2% 4.7% 4.5%

2.1% 4.3% 4.1%

1.8% 4.4% 4.2%

1.6% 4.4% 4.1%

1.7% 4.7% 4.4%

1.6% 5.0% 4.7%

1.5% 4.3% 4.1%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

N/A N/A N/A

648 610 647 193 239

645 596 643 185 231

645 594 644 184 230

660 584 658 195 241

655 544 652 197 241

661 496 656 195 239

673 459 667 193 239

698 454 691 203 251

608 592 608 198 239

605 578 605 190 231

614 576 613 192 234

624 574 623 201 243

618 535 616 203 243

621 482 617 200 240

632 442 626 199 240

655 437 649 209 252

524 483 523 263 289

509 476 508 273 297

522 387 518 280 304

532 496 532 292 316

527 486 526 304 326

530 479 529 299 322

529 463 527 300 322

588 499 585 323 349

.

สวนที่ 1 หนา 152


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

11.3 การดํารงอัตราสวนทางการเงิน ตามที่บริษัทไดออกหุนกู AIS127A, AIS134A, AIS139A และ AIS141A เนื่องดวยขอกําหนดวาดวยสิทธิและหนาที่ของ ผูออกหุนกูและผูถือหุนกูกําหนดใหบริษัทดํารงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (Debt to Equity Ratio) ณ ทุกๆ วันสิ้นงวด บัญชีรายครึ่งปและรายปของผูออกหุนกูในอัตราสวนไมเกิน 2:1 ทั้งนี้การคํานวณอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนดังกลาวให คํานวณจากงบการเงินรวมรายครึ่งปและรายปของผูออกหุนกู รวมถึงรายงานการผิดนัดชําระหนี้ตอเจาหนี้เงินกูและ/หรือเจาหนี้ ตามตราสารหนี้ใดๆ นั้น ณ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนในอัตรา 0.57 เทา และไมมีการผิดนัดชําระ หนี้แกเจาหนี้ใดๆ ซึ่งเปนไปตามที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิทุกประการ 11.4 คาตอบแทนผูสอบบัญชี ในป 2554 บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนของผูสอบบัญชีใหแก • คาสอบบัญชีและคาสอบทานรายไตรมาสของบริษัท จํานวน 4.013 ลานบาท คาสอบบัญชีและคาสอบทานราย ไตรมาสของบริษัทยอย จํานวนทั้งสิ้น 5.626 ลานบาท • คาตอบแทนของงานบริการอื่น (Non-audit fee) ของบริษัทใหสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด จํานวน 25,000 บาท

สวนที่ 1 หนา 153


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

12.

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

สวนที่ 1 หนา 154


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล บริษัทไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว ดวยความระมัดระวัง บริษัทขอรับรองวา ข อมู ลดั งกล าวถู กต องครบถ วน ไม เป นเท็ จ ไม ทํ าให ผู อื่ นสํ าคั ญผิ ด หรื อไม ขาดข อมู ลที่ ควรต องแจ งในสาระสํ าคั ญ นอกจากนี้ บริษัทขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปไดแสดงขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัท ยอยแลว (2) บริษัทไดจัดใหมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญ ทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบ ดังกลาว (3) บริษัทไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และบริษัท ไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ 2555 ต อ ผู ส อ บ บั ญ ชี และกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของ ระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงิน ของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริษัทไดรับรองความถูกตองแลว บริษัทไดมอบหมายให นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน เปนผูลงลายมือชื่อกํากับ เอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ กํากับไว บริษัทจะถือวาไมใช ขอมูลที่บริษัทไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน ชื่อ

ตําแหนง

นายสมประสงค บุญยะชัย

กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

นายวิกรม ศรีประทักษ

กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ผูรับมอบอํานาจ นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน สวนที่ 2 หนา 1

ลายมือชื่อ


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2554) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

สัดสวน ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว (%)* ระหวางผูบริหาร

ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม

70

ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

ไมมี

ไมมี

นายสมประสงค บุญยะชัย

56

รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ไมมี

ไมมี

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาเอก

วิศวกรรมไฟฟา Iowa State University, USA ประกาศนียบัต หลักสูตรปองกันราชอาณาจักรรุนที่ 3 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) -

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุน 30/2547 หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 65/2548 หลักสูตร RCP Role of the Chairman Program รุน 21/2552

ประสบการณทํางาน

2541 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2543 - 2548 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารทหารไทย 2542 - 2545 รองประธานกรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2536 - 2541 กรรมการและกรรมการบริหาร กลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น 2553 - ปจจุบัน รักษาการ กรรมการผูอํานวยการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2551 - ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2550 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยคม 2547 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระรามเกา 2545 - ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบและ กรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอรไลน เอ็นจิเนียริ่ง 2552 - 2554 ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2543 - 2551 2542 - 2551 2537 - 2551 2547 - 2550 2543 - 2550

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 1

กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2554) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ

63

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

สัดสวน ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว (%)* ระหวางผูบริหาร ไมมี

ไมมี

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนิวยอรค สหรัฐอเมริกา

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 8/2544

ประสบการณทํางาน

2553 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. เอส แอนด พี ซินดิเคท

นางทัศนีย มโนรถ

66

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

พาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 32/2546

นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์

58

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาตรี

นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยลอนดอน

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุน 29/2547

เนติบัณฑิต

สํานักลินคอลน อินน ประเทศอังกฤษ

เอกสารแนบ 1 หนา 2

- ไมมี -

2551 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย 2549 - ปจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส บทบาทคณะกรรมการในการ ที่ปรึกษา บมจ. ปูนซิเมนตไทย กําหนดนโยบายคาตอบแทน 2546 - ปจจุบัน กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ กรรมการ บจ. ทุนลดาวัลย กรรมการ บจ. วังสินทรัพย 2538 - ปจจุบัน กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. เทเวศประกันภัย 2552 - 2554 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 2550 - 2552 2549 - 2552

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปที่ผานมา

ประธานกรรมการ บจ. หินออน ผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ

ผูทรงคุณวุฒิ คณะอนุกรรมการจัดการลงทุน กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ 2550 - 2551 กรรมการ บมจ. การบินไทย 2548 - 2551 ผูชวยผูอํานวยการ สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย 2544 - 2551 ประธานกรรมการ บจ. ไอทีวัน 2549 - ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ อินโฟร 2545 - 2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานการเงินและบัญชี บมจ. ทศท. คอรปอเรชั่น 2544 - 2548 กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2549 - ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร 2548 - ปจจุบัน ผูบริหาร บจ. ฮันตัน แอนด วิลเลี่ยมส (ไทยแลนด) 2540 - 2551 กรรมการ บจ. ไทยทาโลว แอนด ออยล 2547 - 2549 กรรมการและกรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2547 - 2548 กรรมการ บจ. คูแดร บราเธอรส 2524 - 2531 ผูพิพากษาศาล จังหวัดบุรีรัมย เพชรบูรณ และกรุงเทพมหานคร

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2554) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

สัดสวน ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว (%)* ระหวางผูบริหาร

นายแอเลน ลิว ยง เคียง

56

กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

นายอึ้ง ชิง-วาห

62

กรรมการ และ กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

นายโยว เอ็ง ชุน

57

กรรมการ

ไมมี

นายวิกรม ศรีประทักษ

59

กรรมการ รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูมีอํานาจลงนาม และ (รักษาการ) หัวหนา คณะผูบริหารดานเทคโนโลยี

ไมมี

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณทํางาน

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปที่ผานมา

Science (Management) Massachusetts Institute of Technology, USA

-

- ไมมี -

ปริญญาตรี

Art in Business Administration Chinese University of Hong Kong

-

ไมมี

ปริญญาตรี

Commerce, Nanyang University

-

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2551 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส Chief Executive Officer-Singapore, Singapore Telecommunications Ltd. 2549 - 2551 กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2548 - 2549 Managing Director - Consumer (Optus) 2544 - 2548 Managing Director - Mobile (Optus) 2554 - ปจจุบัน กรรมการ China Digital TV Group Holding Ltd. 2551 - ปจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2550 - ปจจุบัน กรรมการ, ConvenientPower Hong Kong กรรมการอิสระ, Pacific Textiles Holdings Ltd. 2550 - 2553 กรรมการ, HKC International Holdings Ltd. 2543 - 2550 CEO, CSL (Hong Kong) 2552 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการ, Pacific Bangladesh Telecom Limited VP (Regional Operations), Singapore Telecommunications Ltd. 2550 - 2552 Chief Commerce Officer (Warid Telecom), Singapore Telecommunications Ltd. 2550 - 2550 Covering VP (Regional Operations), Singapore Telecommunications Ltd. 2549 - 2550 VP (Customer Sales), Singapore Telecommunications Ltd. 2548 - 2549 VP (Customer Marketing), Singapore Telecommunications Ltd. 2543 - 2548 VP (Corporate Business Marketing), Singapore Telecommunications Ltd. 2552 - ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 104/2551

2550 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2545 - ปจจุบัน (รักษาการ) หัวหนาคณะผูบริหารดานเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2550 - 2552 กรรมการบริหาร และหัวหนาคณะเจาหนาที่ผูบริหาร 2543 - 2550

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 3

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการผูอํานวยการ บจ. ดิจิตอล โฟน

- ไมมี -

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2554) ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

นางศุภจี สุธรรมพันธุ 1)

47

กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการบัญชี ระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยนอรธอฟ แคลิฟอรเนีย

นายคิมห สิริทวีชัย

43

กรรมการบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

นายวิเชียร เมฆตระการ

57

ประธานเจาหนาที่บริหาร และ (รักษาการ) หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการตลาด

0.0007

ไมมี

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา (เกียรตินิยม) California Polytechnic State University

1)

สัดสวน ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว (%)* ระหวางผูบริหาร

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการบริหาร แทน นายอารักษ ชลธารนนท ตั้งแตวันที่ 4 สิงหาคม 2554

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 4

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 89/2550

ประสบการณทํางาน

2555 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2554 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจใหม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2554 - 2554 กรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2553 - 2554 General Manager, Global Technology Services IBM ASEAN 2552 - 2553 Client Advocacy Executive, Chairman’s Office IBM Headquarters 2550 - 2552 Vice President, General Business, IBM ASEAN 2546 - 2550 Country General Manager, บจก. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย หลักสูตร DCP 2554 - ปจจุบัน ผูชวยกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สวนงานบริหารการลงทุน Director Certification บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น Program รุน 116/2552 2553 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2551 - 2554 ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ สวนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2550 - 2551 ผูอํานวยการ สํานักบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2547 - 2550 ผูอํานวยการ สํานักพัฒนาธุรกิจใหม บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น หลักสูตร DCP 2554 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น Director Certification 2553 - ปจจุบัน (รักษาการ) หัวหนาคณะผูบริหารดานการตลาด Program รุน 107/2551 บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2552 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ประกาศนียบัตร หลักสูตร 2549 - 2552 กรรมการผูอํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส ผูบริหารระดับสูง รุนที่ 8 (วตท.) 2546 - 2549 รองกรรมการผูอํานวยการ สายงานปฏิบัติการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 1: รายละเอียดโดยยอเกี่ยวกับคณะกรรมการและผูบริหาร (ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2554) สัดสวน ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว (%)* ระหวางผูบริหาร

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ - สกุล

อายุ

ตําแหนง

นางสุวิมล แกวคูณ

56

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการบริการลูกคา

0.0074

ไมมี

บริหารธุรกิจ เอเชียน อินสติติวท ออฟ แมเนจเมนท ฟลิปปนส ประกาศนียบัต หลักสูตรผูบริหารระดับสูง ฮารวารด บิสซิเนส สคูล บอสตัน สหรัฐอเมริกา

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 102/2551

นายมารค ชอง ชิน กอก

48

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

Business Administration National University of Singapore

หลักสูตร DAP Director Accreditation Program รุน 57/2549

นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์

49

หัวหนาคณะผูบริหาร

ไมมี

ไมมี

ปริญญาโท

การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หลักสูตร DCP Director Certification Program รุน 109/2551

ดานการเงิน

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด

ปริญญาโท

การผานหลักสูตรอบรมของ สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประกาศนียบัตร หลักสูตร ผูบริหารระดับสูง รุนที่ 11 (วตท.)

* นับรวมจํานวนหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1 หนา 5

ประสบการณทํางาน

2550 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคา บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอรปอเรชั่น 2550 - 2551 กรรมการ บจ. เพยเมนท โซลูชั่น 2549 - 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. แคปปตอล โอเค 2545 - 2549 หัวหนาคณะผูบริหารดานการบริการลูกคาและธุรกิจเครื่องลูกขาย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2553 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2551 - 2553 Executive Vice President, Networks, Singapore Telecommunications Ltd. 2546 - 2551 กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ 2549 - 2550 Vice President, Global Accounts, Singapore Telecommunications Ltd. 2547 - 2549 Vice President, SingTel Global Offices / Global Account Management, Singapore Telecommunications Ltd. 2544 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2541 - 2544 Financial Director, Dentsu Young & Rubicam Co., Ltd.

ประวัติการทําผิด ทางกฏหมายใน ระยะ 10 ปที่ผานมา - ไมมี -

- ไมมี -

- ไมมี -


เอกสารแนบ 2 (1): รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารของบริษัทใหญ บริษัทฯ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

ขอมูล ณ 4 มกราคม 2555 รายชื่อบริษัท 1)

บริษัท บริษัทฯ ใหญ

บริษัทยอย

บริษัทรวม

บริษัทที่เกี่ยวของ

รายชื่อกรรมการและผูบริหาร INTUCHADVANC AIR DPC ADC ACC AMP AMC SBN AIN WDS AWN MBB AMB MMT FXL ABN CLH BMB THCOM DTV CSL TMC ADVHUNSA 2WATTA SHEN M FONE CDN LTC IPSTAR IPA IPN STAR SPACE IPI IPG ITV AM MB ITAS 1. ดร. ไพบูลย ลิมปพยอม 2. นายสมประสงค บุญยะชัย /,// 3. นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ 4. นางทัศนีย มโนรถ 5. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ 6. นายโยว เอ็ง ชุน 7. นายแอเลน ลิว ยง เคียง 8. นายอึ้ง ชิง-วาห 9. นายวิกรม ศรีประทักษ // 10. นายคิมห สิริทวีชัย 3) 11. นางศุภจี สุธรรมพันธุ // 12. นายวิเชียร เมฆตระการ // 13. นางสุวิมล แกวคูณ // 14. นายมารค ชอง ชิน กอก 15. นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ X = ประธานกรรมการ, / = กรรมการ,

x - - / x - / - - / - - / - - / / / / /,// - / /,// - - /,// / x x // - - // - - / / / - - - - / / / // = กรรมการบริหาร

x / / /

x / / /

x / / / /

x / / / /

x / / / /

x / / /

x / / / -

x / / / / /

x / / / / /

x / / / /

x / / / /

x / / /

-

/ -

/,// /,// -

x -

- - - - - - - - - - /,// x,// - - - - -

-

-

-

-

-

-

-

/ -

-

-

/ -

-

/ -

/ -

-

-

1) นับรวมทั้งการถือหุนทางตรงและทางออม 2) อยูระหวางการชําระบัญชี 3) ไดรับการแตงตั้งเปน กรรมการบริหาร แทนนายอารักษ ชลธารนนท มีผลตั้งแตวันที่ 4 สิงหาคม 2554

รายชื่อบริษัท

ABN ACC ADC ADV ADVANC AIN AIR AM AMB AMC AMP AWN BMB CDN

บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด บริษัท แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด บริษัท อารตแวร มีเดีย จํากัด บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จํากัด บริษัท แอดวานซ เมจิคการด จํากัด บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด บริจด โมบาย พีทีอี แอลทีดี บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิรค จํากัด

CLH CSL DPC DTV FXL HANSA INTUCH IPA IPG IPI IPN IPSTAR ITAS ITV

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด บริษัท ดีทีวี เซอรวิส จํากัด บริษัท แฟกซ ไลท จํากัด บริษัท หรรษาดอทคอม จํากัด บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ไอพีสตาร ออสเตรเลีย พีทีวาย จํากัด บริษัท ไอพีสตาร โกลเบิล เซอรวิส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร อินเตอรเนชั่นแนล พีทีอี จํากัด บริษัท ไอพีสตาร นิวซีแลนด จํากัด บริษัท ไอพีสตาร จํากัด บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน)

LTC MB MBB M FONE MMT SBN SHEN SPACE STAR THCOM TMC WATTA WDS

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท แมทชบอกซ จํากัด บริษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จํากัด บริษัท เอ็ม โฟน จํากัด บริษัท ไมโมเทค จํากัด บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเมนทส พีทีอี จํากัด สเปซโคด แอล แอล ซี บริษัท สตาร นิวเคลียส จํากัด บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (มหาชน) บริษัท วัฏฏะ คลาสสิฟายดส จํากัด บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด

/ / / -

/ / -


บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2 (2): ขอมูลกรรมการของบริษัทยอย ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายชื่อกรรมการ นายสมประสงค บุญยะชัย นายอวิรุทธ วงศพุทธพิทักษ นายแอเลน ลิว ยง เคียง นายโยว เอ็ง ชุน นายวิกรม ศรีประทักษ นายวิเชียร เมฆตระการ นายสรรคชัย เตียวประเสริฐกุล นางสุวิมล แกวคูณ นายมารค ชอง ชิน กอก นายพงษอมร นิ่มพูลสวัสดิ์ นายสมชัย เลิศสุทธิวงศ นางสาวสุนิธยา ชินวัตร นายวรุณเทพ วัชราภรณ นางสาวธันวดี วงศธีรฤทธิ์ นายสุทธิศักดิ์ กุญทีกาญจน นายธานี ศรีเจริญ นายมรกต เธียรมนตรี นางปรียา ดานชัยวิจิตร นายสมชาย เตียงหงษากุล นายอิศระ เดชะไกศยะ นายวีรวัฒน เกียรติพงษถาวร X = ประธานกรรมการ,

/ = กรรมการ

AIR

DPC

ADC

ACC

AMP

AMC

SBN

AIN

WDS

AWN

MBB

AMB

MMT

FXL

ABN

X

-

-

X

-

X

X

X

-

X

X

X

X

X

X

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

/

-

/

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

/

/

/

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

/

/

-

/

/

/

/

/

-

/

/

/

/

-

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

/

/

-

/

/

-

/

-

-

/

-

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

-

-

-

/

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

/

/


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3: (1) สัญญาและใบอนุญาตใหดําเนินกิจการหลักๆ ของบริษัทและบริษัทยอย สามารถสรุปไดดังนี้ 1. บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ภายใตสัญญารวมการงานจาก ทีโอที ที่ไดลงนามรวมกันกับเอไอเอส เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 และมีขอตกลงตอทาย สัญญาหลัก 7 ครั้ง ดังตอไปนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2534 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2536 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2537 ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2539 ครัง้ ที่ 5 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2543 (ขอตกลงเรื่องการแสวงหา ประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณ) ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 (ขอตกลงเกี่ยวกับการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา Prepaid Card มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2544) และครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาและขอตกลงแนบทายสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Cellular Mobile Telephone)

คูสัญญา

:

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 27 มีนาคม 2533

อายุของสัญญา

:

25 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึง 30 กันยายน 2558

กิจการที่ไดรับอนุญาตให : ดําเนินการภายใตสัญญารวม การงาน

บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทีโอที ในลักษณะของสัญญาแบบสราง-โอนกรรมสิทธิ์ดํ า เนิ น งาน โดยให มี สิ ท ธิ ดํ า เนิ น กิ จ การให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ Cellular Mobile Telephone ทั้งระบบอนาลอก NMT และดิจิตอล GSM ในยานความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ Cellular 900”) ทั่วประเทศ แบบคูขนานกันไป โดยตองจายผลประโยชนตอบแทนให ทีโอที ในรูปแบบสวนแบง รายไดตามอัตราที่ตกลง มีกําหนด 25 ป นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ซึ่งเปนวัน แรกที่เปดดําเนินการ

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

บริษัทตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ 1) ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณระบบ Cellular 900 ทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบสถานีฐาน และระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง 2) ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน

การจัดสรรยานความถี่

:

ทีโอที ตองจัดหายานความถี่ 897.5-915 เมกะเฮิรตซ และ 942.5-960 เมกะเฮิรตซ ใหกับบริษัท สําหรับใหบริการในระบบ Cellular 900

การโอนกรรมสิทธิ์การสง มอบและรับมอบทรัพยสิน

:

บริษัทจะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปนกรรมสิทธิ์ ของทีโอที เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดยทีโอทียินยอมใหบริษัทครอบครอง ทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

เอกสารแนบ 3 หนา 1


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

การประกันภัย ทรัพยสิน

:

บริษัทตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอน วันสิ้นสุดของสัญญา บริษัทตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับ ใหมมามอบให ทีโอที กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชน ตอบแทนของสัญญา

:

บริษทั ตองจายเงินผลประโยชนตอบแทนใหทีโอทีเปนรายปในอัตรารอยละของ รายได และผลประโยชนอื่นใดที่บริษัทพึงไดรับในรอบป กอนหักคาใชจายและคา ภาษีใดๆ ทั้งสิ้น จํานวนไหนมากกวาใหถือเอาจํานวนนั้น ตารางแสดงอัตรา ผลประโยชนตอบแทนมีดังนี้ ปที่

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี

เปนเงินขั้นต่ํา (บาท)

รายไดประจํางวด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21* 22* 23* 24* 25*

15 15 15 15 15 20 20 20 20 20 25 25 25 25 25 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

12,960,000 34,560,000 60,480,000 103,680,000 146,880,000 253,440,000 311,040,000 368,640,000 426,240,000 483,840,000 676,800,000 748,800,000 820,800,000 892,800,000 964,800,000 1,235,520,000 1,304,640,000 1,365,120,000 1,416,960,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000 1,460,160,000

ต.ค. 33 – ก.ย. 34 ต.ค. 34 – ก.ย. 35 ต.ค. 35 – ก.ย. 36 ต.ค. 36 – ก.ย. 37 ต.ค. 37 – ก.ย. 38 ต.ค. 38 – ก.ย. 39 ต.ค. 39 – ก.ย. 40 ต.ค. 40 – ก.ย. 41 ต.ค. 41 – ก.ย. 42 ต.ค. 42 – ก.ย. 43 ต.ค. 43 – ก.ย. 44 ต.ค. 44 – ก.ย. 45 ต.ค. 45 – ก.ย. 46 ต.ค. 46 – ก.ย. 47 ต.ค. 47 – ก.ย. 48 ต.ค. 48 – ก.ย. 49 ต.ค. 49 – ก.ย. 50 ต.ค. 50 – ก.ย. 51 ต.ค. 51 – ก.ย. 52 ต.ค. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – ก.ย. 54 ต.ค. 54 – ก.ย. 55 ต.ค. 55 – ก.ย. 56 ต.ค. 56 – ก.ย. 57 ต.ค. 57 – ก.ย. 58

* หมายเหตุ ขยายระยะเวลาของสัญญาฯ ตามขอตกลงตอทายสัญญาฯ ครั้งที่ 4 การยกเลิกสัญญา

:

ทีโอทีมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และมีอํานาจมอบกิจการตามสัญญานี้ใหผูอื่น ดําเนินการตอโดยบริษัทตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแกทีโอที และใหทรัพยสิน ตางๆ ตกเปนกรรมสิทธิ์ของทีโอทีทันที หากการดําเนินงานของบริษัท มีเหตุให ทีโอที เชื่อวาบริษัทไมสามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือ ปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด และขอผิดสัญญาดังกลาวบริษัท มิไดดําเนินการ แกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงถึงขอผิดสัญญาจากทีโอที เอกสารแนบ 3 หนา 2


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เปนลายลักษณอักษร โดยบริษัทไมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายใดๆ และไมมีสิทธิ เรียกทรัพยสินและเงินคืนจากทีโอทีแตอยางใด บริษัทไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําใหบริษัทไม สามารถปฏิบัติตามสัญญาได ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 1) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (บริษัท) : 11 ธันวาคม 2534 วันที่ทําบันทึกขอตกลง ขอตกลงเพิ่มเติม : ในกรณีที่ตองเชาสถานที่ของบุคคลอื่นในการติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ บริษัท จากสัญญาหลัก ตองทําสัญญาเชาสถานที่ในนามทีโอทีเดิมใหทําสัญญาโดยมีระยะเวลาเชา 22 ป เปลี่ยนเปนใหมีระยะเวลาเชาไมนอยกวาครั้งละ 3 ป จนครบกําหนด 22 ป บริษัทตองรับผิดชอบตอการเปลี่ยนแปลงสถานที่เชา หากเกิดคาใชจาย หรือ คาเสียหายแตเพียงผูเดียว ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 2) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (บริษัท) : 16 เมษายน 2536 วันที่ทําบันทึกขอตกลง ขอตกลงเพิ่มเติม : เปลี่ยนชื่อบริษัท จาก บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด เปน บริษัท แอด จากสัญญาหลัก วานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 3) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) : 28 พฤศจิกายน 2537 วันที่ทําบันทึกขอตกลง ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. เปลี่ยนแปลงที่อยูในการสงคําบอกกลาว ทั้งบริษัทและทีโอที จากสัญญาหลัก 2. กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดเก็บและแบงรายได 2.1 ทีโอทีตกลงแบงสวนแบงรายไดจากการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ เฉพาะการเรียกออกจากเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหแก บริษัทดังนี้ - กรณีโทรไปยังประเทศที่ไมมีพรมแดนติดตอกับประเทศไทย ทีโอทีจะ จายสวนแบงรายไดใหบริษัทเปนรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท - กรณีโทรไปยังประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย ทีโอทีจะจายสวน แบงรายไดใหบริษัทเปนรายเดือนในอัตรานาทีละ 3 บาท โดยบริษัทมี หนาที่ออกใบแจงหนี้เรียกเก็บจากผูใชบริการ และนําสงใหทีโอที เอกสารแนบ 3 หนา 3


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

2.2 เมื่อบริษัทไดรับรายได จะตองนํามารวมเปนรายไดเพื่อคํานวณเปนสวนแบง รายไดใหทีโอทีตามสัญญาหลักขอ30.เมื่อครบรอบปดําเนินการดวย 2.3 บริษัทยินยอมสละสิทธิและยกสวนแบงรายไดจากการใหบริการโทรศัพท ระหวางประเทศกับประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทยที่บริษัทไดจัดเก็บ และนําสงใหทีโอทีแลวตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2533 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2537 ใหแกทีโอทีทั้งหมด ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 4) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) วันที่ทําบันทึกขอตกลง : 20 กันยายน 2539 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. ขยายระยะเวลา การอนุญาตตามสัญญาจากเดิมมีระยะเวลา 20 ป นับตั้งแต จากสัญญาหลัก วันที่เริ่มเปดใหบริการ เปน 25 ป 2. บริษัทมีสิทธิเปนผูลงทุนสรางโครงขายระบบสื่อสัญญาณเชื่อมโยง (Transmission Networks) ในสื่อตัวนําทุกชนิด เพื่อเชื่อมโยงกับโครงขาย ของทีโอทีและโครงขายอื่นที่จําเปน และยกใหเปนทรัพยสินของทีโอที โดย บริษัทไดรับสิทธิบริหารดูแลและบํารุงรักษาโครงขายทั้งหมด 3. บริษัทมีสิทธิใช ครอบครอง ระบบสื่อสัญญาณและทรัพยสินที่ไดจัดหามาโดย ไมตองเสียคาตอบแทนใดๆ 4. ทีโอทีมีสิทธิแสวงหาประโยชนจากระบบสื่อสัญญาณในสวนที่เหลือจากการใช งาน โดยบริษัทเปนผูบริหารผลประโยชนดังกลาว 5. ในกรณีที่บุคคลอื่นหรือ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย บริษัทมี สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนในอัตราที่ทั้งสองฝายตกลงรวมกัน 6. ยกเลิกเงื่อนไขในสัญญาหลักขอ 18 ที่ใหสิทธิแกบริษัทในการเปนผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่แตเพียงผูเดียว 7. บริษัทสามารถใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผานชุมสายของ กสท. ไดโดยตรง ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขที่จะไมทําใหทีโอทีไดรับรายไดนอยลง จากที่เคยไดรับอยูตามสัญญาหลัก 8. ยกเลิกขอความตามขอ 4.3 ในขอตกลงตอทายครั้งที่ 3 โดยเนนวา ทีโอทีจะ จายสวนแบงรายไดจากการใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ 3 บาท/นาที ใหบริษัท 9. เปนการกําหนดอัตราสวนแบงรายไดที่บริษัทตองจายให ทีโอที ในปที่ 21-25 ในอัตรารอยละ 30 กอนหักคาใชจายและคาภาษีใดๆ และบริษัทมีสิทธิลดหรือ ยกเวนคาใชบริการกรณีที่มีรายการสงเสริมการขายได โดยใหชําระสวนแบง รายไดตามรายการสงเสริมการขายที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ 10. ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ของโครงขายใหมีประสิทธิภาพ บริษัทเปนผูลงทุนใชดวยคาใชจายของเอไอเอสเอง โดยกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินตางๆ ตกเปนของ ทีโอที

เอกสารแนบ 3 หนา 4


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 5) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) วันที่ทําบันทึกขอตกลง : 25 ธันวาคม 2543 ขอตกลงเพิ่มเติม : 1. บริษัทเปนผูรวมบริหารผลประโยชน จากสัญญาหลัก 2. บริษัทเปนผูเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการและจายสวนแบงผลประโยชน ใหทีโอที 3. สัดสวนผลประโยชนจากรายไดระหวางบริษัทกับทีโอที แยกประเภท ดังนี้ 3.1 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของทีโอที” ตลอดอายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 25 บริษัทไดรับในอัตรารอยละ 75 3.2 กรณีเปนรายไดจาก “ผูใชบริการของบริษัท” ตลอดอายุสัญญา ทีโอที ไดรับในอัตรารอยละ 22 บริษัทไดรับในอัตรารอยละ 78 4. บริษัทและทีโอทีจะตองทําการตลาดรวมกัน และ ไมทําการตลาดที่เปนการ แยงผูใชบริการในโครงขายทีโอที 5. บริษัทจะตองเปนผูจัดทําและลงนามในสัญญาเชาใชระบบสื่อสัญญาณกับ ผูใชบริการทุกราย และทํารายงานการเชาสงใหทีโอทีตรวจสอบทุกเดือน ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 6) คูสัญญา : องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) วันที่ทําบันทึกขอตกลง

:

วันที่ 15 พฤษภาคม 2544

ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบใชบัตรจายเงินลวงหนา (Prepaid card) 1. บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนในอัตรารอยละ 20 ของมูลคาหนาบัตร (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ใหแกทโี อทีสําหรับบัตรที่จําหนายไดเปนรายเดือน ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป 2. ในปที่ 11-15 ของสัญญาหลัก บริษัทจะตองลดราคาคาบริการใหผูใชบริการ ในอั ต ราเฉลี่ ย โดยรวมของแต ล ะป ไ ม น อ ยกว า ร อ ยละ 5 ของค า บริ ก ารที่ ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 และในอัตราเฉลี่ยโดยรวมของแตละปไมนอย กวารอยละ 10 ของคาบริการที่ผูใชบริการตองชําระในปที่ 11 สําหรับปที่ 16 – ปที่ 25 ของปดําเนินการตามสัญญาหลัก

เอกสารแนบ 3 หนา 5


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) บริษัทและ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ไดลงนามบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) (ครั้งที่ 7) เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยมี สาระสําคัญของบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาฯ สามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา : บันทึกขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (The Cellular Mobile Telephone Service Agreement) ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 (ครั้งที่ 7) คูสัญญา

: บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ทีโอที)

วันที่ทําบันทึกขอตกลง

:

วันที่ 20 กันยายน 2545

ขอตกลงเพิ่มเติม จากสัญญาหลัก

:

ที โ อที แ ละบริ ษั ท ประสงค จ ะทํ า ความตกลงเกี่ ย วกั บ หลั ก การเกี่ ย วกั บ การใช เครือขายรวม (Roaming) ของบริษัท และไดมีขอตกลงรวมกันในการใชเครือขาย รวมดังนี้ 1. ทีโอทีและบริษัทตกลงกันใหถือวาขอตกลงตอทายสัญญาฉบับนี้เปนสวนหนึ่ง ของสัญญาหลัก 2. ทีโอทีอนุญาตใหบริษัทนําเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ตามสัญญาหลักใหผูให บริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ได และตกลงอนุญาตให บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่นได เชนเดียวกัน 3. การใชเครือขายรวม (Roaming) ตามขอ 2 บริษัทมีสิทธิเรียกเก็บคาใช เครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ และ บริษัทมีสิทธิจายคาใชเครือขายรวม (Roaming) ในอัตรานาทีละไมเกิน 3 บาททั่วประเทศ บริษัทตกลงทําหนังสือแจงใหทีโอทีทราบเปนลายลักษณ อักษรกอนที่บริษัทจะใหผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) และกอนที่บริษัทจะเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการราย อื่น 4. บริษัทตกลงจายเงินผลประโยชนตอบแทนจากการใชเครือขายรวม (Roaming) ใหทีโอที โดยมีเงื่อนไขดังนี้ - ในกรณีที่ผูใหบริการรายอื่นเขามาใชเครือขายรวม (Roaming) ในเครือขาย ของบริษัท บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนใหทีโอทีในอัตรารอยละ (ระบุตามสัญญาหลัก) ของรายไดคาใชเครือขายรวมที่เรียกเก็บจากผู ใหบริการรายอื่น - ในกรณีที่บริษัทเขาไปใชเครือขายรวม (Roaming) ของผูใหบริการรายอื่น บริษัทตกลงจายผลประโยชนตอบแทนใหทีโอทีในอัตรารอยละ (ระบุตาม สัญญาหลัก) ของรายไดคาบริการและเงินอื่นใดที่เรียกเก็บจากผูใชบริการ หักดวยคาใชเครือขายรวมที่บริษัทตองจายใหแกผูใหบริการรายอื่นนั้น

เอกสารแนบ 3 หนา 6


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming Agreement) ชื่อสัญญา

:

คูสัญญา

:

วันที่ทําสัญญา

:

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

การชําระคาใชบริการ

:

การยกเลิกสัญญา

:

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) วันที่ 16 มิถุนายน 2552 คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของแตละ ฝายรวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเขาถึงและการใชโครงขายโทรคมนาคมของคูสัญญา ทั้ง 2 ฝาย และเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายและประกาศ กสทช. ที่เกี่ยวของ บริษัทตกลงใหดีพีซี เขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทไดทั่ว ประเทศ นับตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2552 เปนตนไป และ ดีพีซีตกลงให บริษัทฯ เขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของดีพีซีไดทั่วประเทศเชนกัน 2. บริษัทตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของดีพีซี ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ในกรณีที่คาตอบแทนการใชโครงขายไมเกิน 300 ลานบาทตอเดือน สวนที่เกิน300ลานบาทตอเดือน คิดในอัตรา 1 บาทตอนาที ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม ดีพีซี ตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของบริษัท ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ซึ่งเปนอัตราที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม ในการชําระคาใชบริการเครือขายในแตละเดือน ผูขอใชโครงขายตองชําระเงิน ตามจํานวนที่ปรากฏในใบเรียกเก็บเงินแกคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง โดยมีกําหนด ชําระภายใน 30 วัน นับถัดจากวันที่ระบุในใบเรียกเก็บเงิน โดยใหถือวันดังกลาว เปนถึงกําหนดชําระเงิน การยกเลิกและการระงับของสัญญาใหเปนไปตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขของ คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming Agreement) ชื่อสัญญา

:

คูสัญญา

:

วันที่ทําสัญญา และ ระยะเวลาของสัญญา

:

รายละเอียดการใชเครือขาย รวม (Roaming)

:

สัญญาการใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming Agreement) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (บริษัท) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) วันที่ 7 กรกฎาคม 2554 มีระยะเวลา 1 ป (7 ก.ค. 54 - 6 ก.ค. 55) หากไมมีฝายใดแจงการยกเลิกสัญญา ใหสญ ั ญามีผลตอไปอีกคราวละ 1 ป คูสัญญาทั้งสองฝายมีความประสงคจะใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของแตฝาย รวมกัน 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเขาถึงและการใชโครงขายโทรคมนาคม ของ คูสัญญาทั้ง 2 ฝาย และเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายและประกาศ กสทช. เอกสารแนบ 3 หนา 7


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ที่เกี่ยวของ บริษัทตกลงใหทีโอทีเขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ บริษัทไดทั่วประเทศ นับตั้งแตวันที่ 7 กรกฎาคม 2554 เปนตนไป และ ทีโอทีตกลงใหบริษัทเขามาใชเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของทีโอทีไดทั่ว ประเทศเชนกัน 2. บริษัทตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของ ทีโอที ในอัตรา Voice 1.10 บาท ตอนาที SMS 0.55 บาท ตอ ขอความ Data 0.85 บาท ตอ MB และ Video Call 2.00 บาท ตอนาที ทีโอที ตกลงชําระคาใชเครือขายรวมอันเกิดจากการไดใชเครือขายของ บริษัท ในอัตรา Voice 1.10 บาท ตอนาที SMS 0.55 บาท ตอ ขอความ และ Data 0.85 บาท ตอ MB การชําระคาใชบริการ

:

การยกเลิกสัญญา

:

ผูใหใชจะสงใบเรียกเก็บเงินคาตอบแทนใหผูขอใชภายในเวลาไมเกิน 60 วันนับ จากวันสุดทายของแตละรอบเดือน และตองชําระภายใน 30 วัน นับถัดจากวันที่ ระบุในใบเรียกเก็บคาตอบแทนฯ (วันกําหนดใหชําระเงิน) การยกเลิกและการระงับของสัญญาใหเปนไปตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขของ คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/1/025/2550 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2557 (5 ป) เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้บริษัทมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา บริษัทฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(5) 004/2552 ผูอนุญาต

:

คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร

เอกสารแนบ 3 หนา 8


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป)

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่ กําหนดไวในบัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการ ชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2551 ประเภทบัญชี ค(5) การใหบริการรับชําระ เงินแทน โดยเอไอเอสจะตองปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และบรรดา ประกาศ คําสั่ง ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหง ประเทศไทยและพนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน

2. บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี) เอดีซีไดรับอนุญาตจากทีโอทีใหดําเนินการกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ตาม สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2532 และสัญญาแกไขเพิ่มเติม 4 ฉบับ ลงวันที่ 19 กันยายน 2540, 25 กันยายน 2540, 21 มีนาคม 2544 และ 29 กันยายน 2547 โดยสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูลโดยใชระบบ Datakit Virtual Circuit Switch

คูสัญญา

:

บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 กันยายน 2532

อายุของสัญญา

:

25 ป นับตั้งแตวันที่ 25 กันยายน 2540 ถึง 24 กันยายน 2565

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

เอดีซีไดรับอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการสื่อขอมูลทุกประเภท โดยใชระบบ Frame Relay และ Datakit Virtual Circuit Switch และ/หรือ ระบบสื่อสารขอมูล อื่นๆ ทั้งในระบบจุดตอจุด (Point to Point) และจุดตอหลายจุด (Point to Multipoint) ในการใหบริการจัดวงจรเพื่อเชื่อมตอระหวางเครือขายผูใหบริการและ ผูใชบริการทั่วประเทศ เพื่อรับสงขอมูลทุกๆ ประเภทสําหรับบริการสื่อสารขอมูล ประเภทตางๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถพัฒนารูปแบบบริการให สอดคลองกับความตองการของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

:

กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน

:

เอดีซีตกลงที่จะลงทุนในการจัดหาอุปกรณระบบ Datakit ตาม รายละเอียดประมาณการลงทุน แผนการติดตั้งและ Product Information ของ อุปกรณ Datakit และดําเนินการบริการใหเปนไปตามที่กําหนด บรรดาเครื่องมือและอุปกรณตางๆ หรือทรัพยสินที่เอดีซีไดกระทําขึ้นหรือจัดหา มาไวสําหรับดําเนินการระบบ Datakit เปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที หลังติดตั้งเสร็จ เรียบรอย ทีโอที ยินยอมใหเอดีซี แตเพียงผูเดียวครอบครองทรัพยสินดังกลาว เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคแหงสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

:

เอดีซีตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ เอกสารแนบ 3 หนา 9


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุ กอนวันสิ้นสุดของสัญญา เอดีซีตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรม ฉบับใหมมามอบให ทีโอที กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน เอดีซีจะดําเนินการใหมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ลานบาท เปน 457.52 ลานบาท โดยออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 107.52 ลานบาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 23.5 ของ ทุนจดทะเบียนใหแก ทีโอที โดย ทีโอที ไมตองชําระเงินคาหุนแตอยางใด

ผลประโยชนตอบแทนการให : อนุญาตดําเนินกิจการ การยกเลิกสัญญา

:

ที โ อที มี สิ ท ธิ บ อกเลิ ก สั ญ ญาและมี อํ า นาจมอบกิ จ การตามสั ญ ญานี้ ใ ห ผู อื่ น ดําเนิน การตอ หากการดําเนิน งานของเอดีซี มีเ หตุใ ห ทีโ อที เชื่อ วาเอดีซีไ ม สามารถดําเนินกิจการตามสัญญาใหลุลวงไปไดดวยดี หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอ หนึ่งขอใด โดยเอดีซี ตองรับผิดชอบคาเสียหายใหแก ทีโอที และทรัพยสินตางๆ ใหตกเปนกรรมสิทธิ์ของทีโอที เอดีซีไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เวนแตกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ทําใหเอดีซีไม สามารถปฏิบัติตามสัญญาได -

รายละเอียดขอตกลงตอทาย สัญญาอนุญาตครั้งที่ 1 – 4 โดยสรุป

-

-

-

ที โ อที อ นุ ญ าตให เ อดี ซี ข ยายบริ ก ารไปสู เ ขตภู มิ ภ าค โดยเอดี ซี ต อ งจ า ย ผลประโยชนตอบแทนรายปใหทีโอทีในอัตราที่กําหนดในขอตกลง ทีโอทีตกลงใหเอดีซีปรับปรุงระบบการใหบริการสือ่ สารขอมูล โดยใชระบบ ADSL และ ATM Switch เพิ่มเติมจากระบบเดิมที่ไดรับอนุญาต การกําหนดอัตราคาเชาบริการสื่อสารขอมูล อัตราคาธรรมเนียม หรือเรียกเงิน อื่นใดจากผูเชาใชบริการ ใหเปนไปตามความเหมาะสมกับสภาวะของตลาด โดยบริษัทไมตองขอความเห็นชอบจากทีโอที กอน ในการดําเนินกิจการบริการสื่อสารขอมูล เอดีซีจะไมลงทุนสรางเครือขายเอง จะเชาวงจรสื่อสัญญาณจากทีโอที หรือจากผูรวมการงานกับทีโอที เวนแตใน กรณีที่ทีโอทีไมสามารถจัดหาวงจรสื่อสัญญาณใหได เอดีซีมีสิทธิลงทุนสราง เครือขายเอง หรือมีสิทธิเชาจากผูใหบริการ รายอื่นได ทีโอทีตกลงใหเอดีซีสามารถใหบริการขอมูลเสริมทางธุรกิจตางๆ (contents) ได เชน ขอมูลทางการเงิน ตลาดหลักทรัพย เกมส และมัลติมีเดีย โดยเอดีซี ตองขอความเห็นชอบเปนหนังสือจากทีโอที

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2548 ผูอนุญาต : คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ ระยะเวลาของใบอนุญาต : วันที่ 19 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2557 (5 ป) ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปน ของตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ เอดีซีมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียม ใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม เอกสารแนบ 3 หนา 10


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดีซีฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศ ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศและบริการชุมสายอินเทอรเน็ต แบบที่สอง ที่มี โครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/002/2549 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 8 ธันวาคม 2554 ถึงวันที่ 7 ธันวาคม 2559 เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ ใหบริการ ศูนยกลางการเชื่อมตอไปยังเครือขายอินเทอรเน็ตในตางประเทศสําหรับผู ใหบริการอินเทอรเน็ตภายในประเทศ ใหบริการชุมสายอินเทอรเน็ต แบบมี โครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง ใหบริการเฉพาะกลุมบุคคล ทั้งนี้ เอดีซีมี หนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดีซีฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศ ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

3. บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) สัญญารวมการงานระหวาง ดีพีซี กับ กสท. ภายใตสัญญารวมการงานจาก กสท. ที่ไดลงนามรวมกันกับบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 และ สัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (มีผล บังคับใชเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เปนตนไป) โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสามารถสรุปไดดังนี้ ชื่อสัญญา

:

สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital PCN (Personal Communication Network) 1800

คูสัญญา

:

การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี)

วันที่ทําสัญญา

:

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539

อายุของสัญญา

:

16 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556 เอกสารแนบ 3 หนา 11


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กิจการที่ไดรับอนุญาต

:

DPC ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหมีสิทธิดําเนินกิจการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลาร Digital PCN 1800 /1 ทั่วประเทศ (ซึ่งตอไปนี้จะรวมเรียกวา “ระบบ PCN 1800”) ซึ่ง ดีพีซี ไดรับโอนสิทธิและหนาที่จากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) ตามสัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญา ใหดําเนินการ ใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลารระหวางกสท. ดีแทค และดีพีซี ไดรับสิทธิในการ ดําเนินการเปนระยะเวลา เริ่มตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2540 ถึง 15 กันยายน 2556

การดําเนินงานและแผนการ ดําเนินงาน

: ดีพีซีตกลงที่จะดําเนินการดังตอไปนี้ - ลงทุนในการจัดหาสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่ง ประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือขาย และระบบ สื่อสัญญาณเชื่อมโยง - ลงทุนจัดหาอะไหลพรอมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปนในการดําเนินงาน - รับผิดชอบซอมแซมและบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ ทรัพยสิน และโครงขายที่ ดีพีซีจัดหามาในชวงเวลาที่ไดรับอนุญาตใหดําเนินการ

การจัดสรรยานความถี่

: กสท. ตองจัดหายานความถี่ระหวาง 1747.9 – 1760.5 เมกะเฮิรตซ และ 1842.9 1855.5 เมกะเฮิรตซ ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศใหกบั ดีพีซี สําหรับใหบริการในระบบ PCN 1800

การโอนกรรมสิทธิ์การสงมอบ และรับมอบทรัพยสิน

: ดีพีซีจะตองโอนทรัพยสินรวมทั้งอะไหล เครื่องมือ และอุปกรณใหเปนกรรมสิทธิ์ของ กสท. เมื่อติดตั้งอุปกรณแลวเสร็จ โดย กสท. ใหสิทธิแกดีพีซีนําไปใหบริการระบบ PCN 1800 และใชประโยชนตามวัตถุประสงคของสัญญานี้ตลอดอายุสัญญา

การประกันภัยทรัพยสิน

: ดีพีซีตองทําประกันภัยประเภทคุมครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด และเต็มมูลคาของ ทรัพยสินนั้นๆ ตลอดระยะเวลาของสัญญา หากกรมธรรมประกันภัยหมดอายุกอนวัน สิ้นสุดของสัญญา ดีพีซีตองตออายุกรมธรรมฉบับเดิม หรือนํากรมธรรมฉบับใหมมา มอบให กสท. กอนวันที่กรมธรรมเดิมจะหมดอายุไมนอยกวา 30 วัน

ผลประโยชนตอบแทน

: ดีพีซีตองจายเงินผลประโยชนตอบแทนใหแก กสท. ตลอดอายุสัญญาเปนรายป คิด เปนอัตรารอยละของรายไดตามเกณฑสิทธิจากการใหบริการตามสัญญานี้ กอนหัก คาใชจาย คาภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการใหบริการ เพื่อ เปนประกันรายไดใหกับ กสท. ดีพีซียินยอมจายผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําใหแก กสท. ตลอดอายุสัญญานี้ รวมเปนเงินไมต่ํากวา 5,400 ลานบาท โดยแบงชําระเปน รายป ดังมีรายละเอียดดังนี้ ปที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ใหผลประโยชนเปนรอยละของ รายไดกอนหักคาใชจายและภาษี 25 20 20 20 20 20 20 20 20

เอกสารแนบ 3 หนา 12

ผลประโยชนขั้นต่ํา (บาท) 9,000,000 60,000,000 80,000,000 105,000,000 160,000,000 200,000,000 240,000,000 280,000,000 320,000,000

รายไดประจํางวด 16 มี.ค. 41-15 ก.ย. 41 16 ก.ย. 41-15 ก.ย. 42 16 ก.ย. 42-15ก.ย. 43 16 ก.ย. 43-15 ก.ย. 44 16 ก.ย. 44-15 ก.ย. 45 16 ก.ย. 45-15 ก.ย. 46 16 ก.ย. 46-15 ก.ย. 47 16 ก.ย. 47-15 ก.ย. 48 16 ก.ย. 48-15 ก.ย. 49


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 10 11 12 13 14 15 16

การยกเลิกสัญญา

/1

:

25 25 25 25 25 30 30 รวม

350,000,000 380,000,000 580,000,000 646,000,000 650,000,000 670,000,000 670,000,000 5,400,000,000

16 ก.ย. 49-15 ก.ย. 50 16 ก.ย. 50-15 ก.ย. 51 16 ก.ย. 51-15 ก.ย. 52 16 ก.ย. 52-15 ก.ย. 53 16 ก.ย. 53-15 ก.ย. 54 16 ก.ย. 54-15 ก.ย. 55 16 ก.ย. 55-15 ก.ย. 56

สัญญานี้สิ้นสุดหรือระงับสิ้นไปดวยกรณีดังตอไปนี้ - เมื่อสัญญาครบกําหนด - เมื่อ กสท. ยกเลิกสัญญา เนื่องจากดีพีซีไมปฎิบัติตามสัญญา หรือปฎิบัติผิด สัญญาขอหนึ่งขอใดและทําให กสท. ไดรับความเสียหาย และดีพีซีมิได ดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก กสท. - เมื่อคูสัญญาทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - เมื่อดีพีซีลมละลาย - เมื่อ กสท. บอกเลิกสัญญาในกรณีที่ดีพีซีตกเปนผูขาดคุณสมบัติ ตามกฎหมายวา ดวยการประกอบธุรกิจของคนตางดาว และ กสท. ไดแจงใหดีพีซีทราบเปน หนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา 90 วัน

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800

สัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2542 (ครั้งที่ 1) คูสัญญา : การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) วันที่ทําสัญญา

:

26 สิงหาคม 2542

วันที่สัญญามีผลบังคับใช

:

30 มิถุนายน 2542

รายละเอียด

:

กสท. อนุมัติใหปรับลดผลประโยชนตอบแทนเพื่อใหเทาเทียมกับสัญญาใหดําเนินการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ระหวาง กสท. กับบริษัท โทเทิ่ล แอคเซ็ส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) เนื่องจากสัญญาของ ดีพีซี เปนสัญญาที่โอนสิ ทธิมาจาก สัญญาของดีแทค และปรับเงินประกันรายไดขั้นต่ําเพิ่มขึ้น ดังนี้ 1 ปรับลดผลประโยชนตอบแทน ปที่ 1 เปน 25%, ปที่ 2-9 เปน 20%, ปที่ 10-14 เปน 25%, ปที่ 15-16 เปน 30% 2. ดี พี ซี จ า ยผลประโยชน ต อบแทนขั้ น ต่ํ า ให กสท. ตลอดอายุ สั ญ ญาจากเดิ ม 3,599.55 ลานบาท เปน 5,400 ลานบาท

สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ระหวาง ดีพีซี และดีแทค ชื่อสัญญา : สัญญาโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาใหดําเนินการ คูสัญญา : การสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) เอกสารแนบ 3 หนา 13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

วันที่ทําสัญญา กิจการที่ไดรับอนุญาต

/1

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนเิ คชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) วันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 ดีแทคยอมโอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลารระหวาง กสท. กับ ดีแทค “บางสวน” ใหแกดีพีซีโดย กสท. ยินยอมให 1. ดีแทคโอนสิทธิและหนาที่การใหบริการ PCN 1800/1 บางสวนเฉพาะ 1747.90-1760.50 และ 1855.50-1842.90 2. ดีแทคโอนสิทธิการใชชองความถี่ใหแก กสท. และ กสท. ตกลงใหดีพีซีใช ความถี่ในชวงดังกลาวได 3. ดีพีซีรับโอนลูกคาในระบบ จาก บมจ. สามารค คอรปอเรชั่น 4. ถาสัญญาระหวาง ดีพีซี กับ กสท. สิ้นสุดลงกอนสัญญารวมการงาน ดีแทค จะไดรับการพิจารณาใหดําเนินการตอจากดีพีซีกอ นผูอื่น

: :

ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม Digital PCN 1800 ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนระบบ GSM 1800

4. บริษัท แอดวานซ เมจิค การด จํากัด (เอเอ็มซี) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 006/2548 ผูอนุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตั้งแตวันที่ 20 กรกฎาคม 2548 เปนตนไป

ลักษณะของหนังสืออนุญาต

:

การยกเลิกหนังสืออนุญาต

:

อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือคาบริการแทนเงิน สด กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอเอ็มซีฝาฝน หรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการตามที่กระทรวงการคลังและ ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนของประชาชนอยางรายแรง และมิไดแกไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(6) 003/2552 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ลักษณะของใบอนุญาต

:

คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(6) การใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกสที่ ใชซื้อสินคาและหรือรับบริการเฉพาะอยางตามรายการที่กําหนดไวลวงหนา จากผูใหบริการหลายรายโดยไมจํากัดสถานที่และไมอยูภายใตระบบการจัด จําหนายและการใหบริการเดียวกัน โดย เอเอ็มซีจะตองปฏิบัติตามพระราช เอกสารแนบ 3 หนา 14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

กฤษฎีกาดังกลาว และบรรดาประกาศ คําสั่ง ของคณะกรรมการธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและพนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระ ราชกฤษฎีกาขางตน 5. บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) หนังสืออนุญาตใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส เลขที่ 003/2548 ผูอนุญาต

:

กระทรวงการคลัง

ระยะเวลาของหนังสือ อนุญาต

:

ตั้งแตวันที่ 24 มิถุนายน 2548 เปนตนไป

ลักษณะของหนังสืออนุญาต

:

การยกเลิกหนังสืออนุญาต

:

อนุญาตใหประกอบบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสเพื่อใชชําระคาสินคาหรือคาบริการแทนเงิน สด กระทรวงการคลังมีอํานาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอเอ็มพี ฝาฝน หรือละเลยไมปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกอบกิจการตามที่กระทรวงการคลังและ ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด หรือมีฐานะการเงินหรือการดําเนินงานที่ อาจกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนของประชาชนอยางรายแรง และมิไดแกไข ปรับปรุงฐานะการเงินหรือดําเนินงานใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(3) 004/2552 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ลักษณะของใบอนุญาต

:

คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(3) การใหบริการชําระเงินทาง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ผ า นอุ ป กรณ อ ย า งหนึ่ ง อย า งใดหรื อ ผ า นทางเครื อ ข า ย โดย เอเอ็มพีจะตองปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และบรรดาประกาศ คําสั่ง ของ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและพนักงาน เจาหนาที่ที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน

ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(5) 029/2552 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ลักษณะของใบอนุญาต

:

คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2562 (10 ป) อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(5) การใหบริการรับชําระเงินแทน โดย เอเอ็มพีจะตองปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว และบรรดาประกาศ คําสั่ง เอกสารแนบ 3 หนา 15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและ พนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระราชกฤษฎีกาขางตน ใบอนุญาตใหประกอบธุรกิจเปนผูใหบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เลขที่ ค(6) 002/2552 ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ลักษณะของใบอนุญาต

:

คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2562 (10 ป) อนุญาตใหประกอบธุรกิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ตามที่กําหนดไวใน บัญชีทายพระราชกฤษฎีกาวาด วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 ประเภทบัญชี ค(6) การใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกสที่ ใชซื้อสินคาและหรือรับบริการเฉพาะอยางตามรายการที่กําหนดไวลวงหนา จากผูใหบริการหลายรายโดยไมจํากัดสถานที่และไมอยูภายใตระบบการจัด จํ า หน า ยและการให บ ริ ก ารเดี ย วกั น โดย เอเอ็ ม พี จ ะต อ งปฏิ บั ติ ต ามพระราช กฤษฎี ก าดั ง กล า ว และบรรดาประกาศ คํ า สั่ ง ของคณะกรรมการธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส หรือธนาคารแหงประเทศไทยและพนักงานเจาหนาที่ที่ออกตามพระ ราชกฤษฎีกาขางตน

6. บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/49/002 ผูอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2569

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ (International Telephone service) บริการเสริมบริการโทรศัพทระหวางประเทศ และบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ บริการโทรศัพทระหวางประเทศ ตลอดจนบริการโครงขายบริการโทรศัพทระหวาง ประเทศ ทั้งนี้ เอไอเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียม ตางๆ ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอไอเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

7. บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอสบีเอ็น) ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/022/2550

เอกสารแนบ 3 หนา 16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ผูอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 10 ตุลาคม 2552 ถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2557 (5 ป)

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเองใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวย ระหวางประเทศ และบริการชุมสายอินเทอรเน็ต แบบที่สอง ที่มี โครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง เลขที่ NTC/INT/II/008/2550 ผูอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 14 ตุลาคม 2555

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับอนุญาตใหบริการอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ ใหบริการศูนยกลางการเชื่อม ต อ ไปยั ง เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ในต า งประเทศ สํ า หรั บ ผู ใ ห บ ริ ก ารอิ น เทอร เ น็ ต ภายในประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอรเน็ต ประเภทมีโครงขายโทรคมนาคมเปน ของตนเอง ใหบริการจํากัดเฉพาะกลุมบุคคล ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระ คาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/50/006 ผูอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

วันที่ 16 สิงหาคม 2550 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2570

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปน ผูรับอนุญ าตใหบริก ารโทรคมนาคมแกบุคคลทั่ว ไป ประเภทบริการโทรศัพท ประจํ า ที่ บริ ก ารวงจรร ว มดิ จิ ต อล บริ ก ารพหุ สื่ อ ความเร็ ว สู ง และบริ ก ารเสริ ม มี โครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียม ใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว เอกสารแนบ 3 หนา 17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

การยกเลิกใบอนุญาต

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สอง เลขที่ 2ก/51/001 ผูอนุญาต ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

8.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2551 ถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ 2566 เปนผูรับใหบริการโทรคมนาคมจํากัดเฉพาะกลุมบุคคล โดยใหบริการบนโครงขายของ ตนเอง ทั้งนี้ เอสบีเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและ กํ า หนดเวลาที่ ค ณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอสบีเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/017/2551

ผูอนุญาต ระยะเวลาของใบอนุญาต ขอบเขตการอนุญาต

: : :

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วันที่ 18 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 17 กันยายน 2557 (5 ป) เปนผูรับใหบริการอินเทอรเน็ต ประเภทไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง ใหแกลูกคาโดยตรง ทั้งนี้ เอดับบลิวเอ็นมีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตาม อัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดับบลิวเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่สาม เลขที่ 3ก/51/003 ผูอนุญาต ระยะเวลาของใบอนุญาต

: :

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ วันที่ 12 มิถุนายน 2551 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2566

เอกสารแนบ 3 หนา 18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

9.

ผู รั บ ใบอนุ ญ าตสามารถให บ ริ ก ารโทรคมนาคมแก บุ ค คลทั่ ว ไป ประเภทบริ ก าร โทรศัพทประจําที่ บริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง บริการพหุสื่อความเร็วสูง บริการโทรคมนาคมแบบครบวงจร บริการโครงขายโทรคมนาคมทางสายและไรสาย มี โครงข า ยโทรคมนาคมเป น ของตนเอง ทั้ ง นี้ เอดั บ บลิ ว เอ็ น มี ห น า ที่ ต อ งชํ า ระ คาธรรมเนียมใบอนุญาตตามอัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอดับบลิวเอ็นฝาฝนหรือไมปฏิบัติ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม ระเบี ย บหรื อ ประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ กําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนด

บริษัท แอดวานซ อินเทอรเน็ต เรโวลูชั่น จํากัด (เอไออาร) ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง เลขที่ NTC/MM/INT/ISP/I/010/2553

ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

การยกเลิกใบอนุญาต

:

(10)

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 17 ธันวาคม 2553 ถึงวันที่ 16 ธันวาคม 2558 เปนผูรับอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ตแกบุคคลทั่วไปโดยเสรี โดยใหบริการ ผานโครงขายของผูรับใบอนุญาตที่มีโครงขายเปนของตนเอง ทั้งนี้ เอไออารมี หนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตามอัตราและ กําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอไออารฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคมระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด เน็ทเวอรค จํากัด (เอเอ็มบี) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่หนึ่ง เลขที่ 1/53/015

ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ถึงวันที่ 27 กรกฎาคม 2558 เปนผูรับใบอนุญาตสามารถใหบริการโทรคมนาคมแกบุคคลทั่วไปโดยเสรี โดย ใหบริการผานโครงขายของผูรับใบอนุญาตที่มีโครงขายเปนของตนเอง ทั้งนี้ เอเอ็มบี มีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตาม เอกสารแนบ 3 หนา 19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

อัตราและกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว การยกเลิกใบอนุญาต

(11)

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา เอเอ็มบีฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคมระเบียบหรือประกาศที่ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่ กําหนด

บริษัท ไวรเลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส) ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่หนึ่ง เลขที่ 1/53/014 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน แหงชาติ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ถึงวันที่ 27 กรกฎาคม 2558

และกิจการโทรคมนาคม

ผูอนุญาต

:

ระยะเวลาของใบอนุญาต

:

ขอบเขตการอนุญาต

:

เปนผูรับใบอนุญาตสามารถใหบริการโทรคมนาคมแกบุคคลทั่วไปโดยเสรี โดย ใหบริการผานโครงขายของผูรับใบอนุญาตที่มีโครงขายเปนของตนเอง ทั้งนี้ดับบลิว ดีเอส มีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตและคาธรรมเนียมตางๆ ตามอัตรา และกําหนดเวลาที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติไดประกาศกําหนดไว

การยกเลิกใบอนุญาต

:

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็ตอเมื่อปรากฏวา ดับบลิวดีเอสฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม ระเบียบหรือ ประกาศที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติกําหนด และมิไดแกไขปรับปรุงหรือปฏิบัติใหถูกตองภายใน ระยะเวลาที่กําหนด

เอกสารแนบ 3 หนา 20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 (2) ความเห็นของคณะกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบตอรายการระหวางกัน

เอกสารแนบ 3 หนา 21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 (3) รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 3 หนา 22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 หนา 23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 หนา 24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 หนา 25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2554

บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส

เอกสารแนบ 3 (4) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน

เอกสารแนบ 3 หนา 26


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.