:: Annual Report 2012 ::

Page 1

Advanced Informati on Te c h n o l o g y Public C ompany Limited



1992-2002



2003-2012



2013


the 3 decade rd

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


สารบัญ

หน้า

เหตุการณ์สำ�คัญปี 2555 สรุปผลทางการเงินและการดำ�เนินงาน คณะกรรมการบริษัท โครงสร้างองค์กร สารจากประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารประจำ�ปี 2555 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท รายละเอียดหลักทรัพย์บริษัท ข้อมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทในเครือ นโยบายการจ่ายปันผล โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ลักษณะธุรกิจ รู้จักกับธุรกิจของบริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) ภาพรวมการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ เป้าหมายทางธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาวะอุตสหกรรมและการแข่งขัน ปัจจัยเสี่ยง โครงสร้างการจัดการ ระบบการควบคุมภายใน ข้อมูลทางการเงิน รายการระหว่างกัน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ความรับผิดชอบต่อสังคม การกำ�กับดูแลกิจการที่ด ี จริยธรรมทางธุรกิจ การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การดูแลสิ่งแวดล้อม รายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ผู้ลงทุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

8 9 10 11 12 14 16 23 24 24 25 25 25 26 27 27 30 32 32 34 36 39 42 50 52 52 54 55 56 89 103 103 112 113 113 114 116

2555-2012 7


เหตุการณ์ส�ำ คัญประจำ�ปี 2555

1. บริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ก ารฝึ ก อบรมทั้ ง ในระดั บ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานเรื่ อ งความสามารถหลั ก ขององค์ ก รเพื่ อ ความ ได้เปรียบทางธุรกิจทีย่ ง่ั ยืน  ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ทกุ คนบรรลุไปสูจ่ ดุ มุง่ หมาย เดียวกันในวันที่ 24-26 กุมภาพันธ์ 2555

4. วันที่ 29 สิงหาคม 2555 นายศิรพิ งษ์ อุน่ ทรพันธุ์ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่  บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี  จำ�กัด  (มหาชน)  รับรางวัล ‘รัษฎากรพิพฒ ั น์’ เพือ่ เชิดชูเกียรติ AIT ในฐานะทีเ่ ป็นแบบอย่าง ทีด่ ใี นการเสียภาษีตามหลักบรรษัทภิบาล  จากนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี 5. AIT-W1 ได้ครบกำ�หนดอายุ 5 ปี ในวันที่ 28 กันยายน 2555  ส่งผลให้ทนุ จดทะเบียนชำ�ระแล้วเท่ากับ  343,868,180  บาท คิดเป็นหุน้ ทีจ่ �ำ หน่ายได้จ�ำ นวน 68,773,636 หุน้ 6. ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการบริษทั มีมติให้เข้าซื้อหุ้นบริษัท  ทาวเวอร์เอ็กซ์เอเซีย  จำ�กัด  จำ�นวน  99.98 % คิดเป็นมูลค่า 999,800 บาท

2. ในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม ปี 2555 นายศิริพงษ์ อุน่ ทรพันธุ ์ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัทแอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยีจำ�กัด  (มหาชน)  หรือ  AIT พร้อมคณะผู้บริหารจัดงานฉลองครบรอบ 20 ปีของ AIT ภายใต้แนวคิด ‘Your Success is Our Success’ — ‘ความสำ�เร็จ ของลูกค้าคือความสำ�เร็จของ  AIT’  เพื่อสะท้อนจุดยืนของ  AIT ที่จะให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเต็มที่ ตอบทุกโจทย์ที่ลูกค้าต้องการ เพื่อนำ�ลูกค้าไปสู่ความสำ�เร็จตามเป้าหมายที่วางไว้โดยมีแขก ผู้มีเกียรติร่วมแสดงความยินดีอย่างคับคั่ง

7. ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการบริษทั มีมติให้เข้าร่วมทุนกับบริษทั Loxley&AIT Holding Co.,Ltd (LAH) ซึ่งประกอบธุรกิจโครงข่ายโทรคมนาคมในประเทศพม่า  มีทุนจด ทะเบียนจำ�นวน 200 ล้านบาท โดยบริษทั AIT เข้าร่วมลงทุนใน สัดส่วน 50% ของทุนจดทะเบียน 8. ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการบริษทั มีมติให้ขายหุ้นในบริษัทเมเปิ้ลพลัส  จำ�กัด  ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จำ�นวน 55% ของทุนจดทะเบียน คิดเป็นมูลค่า 7,500,000 บาท ให้แก่ผ้ถู ือหุ้นเดิมของบริษัทดังกล่าว  ส่งผลให้บริษัทเมเปิ้ลพลัส สิน้ สุดสภาพการเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั AIT

3. ในช่วงปลายเดือนมิถนุ ายน 2555 บริษทั ได้เปิดสาขา ทีร่ าชอาณาจักรกัมพูชาอย่างเป็นทางการ

2555-2012 8

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


สรุปผลทางการเงินและการดำ�เนินงาน รายได้รวม

กำ�ไรสุทธิ หน่วย : ล้านบาท

5,000

500 450 400 350 300 250 200 150 100 50 0

4,823.97

4,800

4,565.31

4,600 4,400 4,200

4,179.15

4,000 3,800 0

2555

2554

หน่วย : ล้านบาท

2553

438.93 363.62

2555

2554

379.93

2553 หน่วย : ล้านบาท

งบเฉพาะกิจการ 2555 2554 2553

(ปรับปรุงใหม่)

ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สิน รวมส่วนผู้ถือหุ้น รวมรายได้ รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด (บาท) จำ�นวนพนักงาน (คน) จำ�นวนหุ้น ณ 31 ธันวาคม

3,673.82 2,227.27 1,446.56 4,179.15 3,682.34 363.62 5.35 5.35 286 68,773,636

2,731.53 1,343.59 1,387.95 4,823.97 4,160.86 438.93 6.57 6.43 271 67,461,797

2,392.50 1,160.54 1,231.96 4,565.31 4,033.30 379.93 5.97 5.69 251 66,185,862

อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตรากำ�ไรขั้นต้น (%) อัตรากำ�ไรสุทธิ (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

1.60 22.97 8.70 1.54

1.96 23.85 9.10 0.97

2.02 20.90 8.30 0.94

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 9


คณะกรรมการบริษัท

นายธนา ไชยประสิทธิ์

นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์

นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา

นายพงษ์เทพ ผลอนันต์

นายศรีภพ สารสาส

นายสุรพร รักตประจิต

นายกิจจา เหล่าบุญชัย

นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา

นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย

นายภิสัก จารุดิลก

นายโชดิวัต ดั่นธนสาร

นายวรวิทย์ วัฒนกุลจรัส

ประธานกรรมการ

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการ

กรรมการ

2555-2012 10

กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ

กรรมการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

กรรมการ

กรรมการ

เลขานุการบริษัท


โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหารบริษัท

นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่

นายวรวิทย์ วัฒนกุลจรัส เลขานุการบริษัท

นายกิจจา เหล่าบุญชัย

นายสุรพร รักตประจิต

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและการขาย

นายชุมเกียรติ เล้าเสรีวัฒนกุล

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริการลูกค้า

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและธุรการ

นายอัศวิน กังวลกิจ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน และแผนงานยุทธศาสตร์

นายพุทธิ ธำ�รงศิริวัฒน์

ฝ่ายสานสัมพันธ์ลูกค้า

นายองอาจ หาญทวีสมพล

นายสุพัฒน์ ดุลยคุปต์

นายราล์ฟ ฮุนเดิร์ทมาร์ค นายเกรียงไกร นิศยันต์

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายบริการด้านเทคนิค

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

นายโชดิวัต ดั่นธนสาร

นายกริต คงเชื้อนาค

นางสาว สุรีรัตน์ ปราชญานุกุล

ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาด

ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายขายระบบสื่อสารโทรคมนาคม

ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายขายเอกชนและราชการ

นายสมชาย วิภูภิญโญ

นางเนตรนภิส อุ่นทรพันธุ์

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี และบริการซอฟท์แวร์

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายบริการลูกค้า

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายบริหารโครงการ

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายควบคุมการเงินและบัญชี

ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์

นายนราเชษฐ์ ฉัตราฐิติพันธ์ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายขายส่วนรัฐ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 11


สารจากประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปีแห่งความร่วมมือ ปีนี้เป็นปีที่บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) หรือ AIT มีอายุครบ 20 ปี ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา  AIT  ได้เติบโต  สั่งสมประสบการณ์มากมายในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจนเป็นที่รู้จักทั้งในและต่างประเทศ  จนได้ ก้าวไปสู่การเป็นผู้ประกอบการอันดับต้นๆ  ด้านติดตั้งระบบโครงข่ายสารสนเทศของประเทศ  และปัจจุบัน AIT กำ�ลังเตรียมตัวทุกด้าน เพื่อให้พร้อมรับกับการเข้าร่วมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยในช่วงทศวรรษแรกของ AIT เริ่มต้นด้วยทุนเพียงเล็กน้อย เมื่อธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว วงเงินหมุนเวียนของบริษัทยิ่งต้องโตขึ้น หลักทรัพย์ที่ต้องนำ�มาใช้ค้ำ�ประกันวงเงินก็ยิ่งต้องเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งก็เป็นปกติของการเริ่มต้นการดำ�เนินธุรกิจที่มักจะมีปัญหาเรื่องเงินทุน และ AIT ก็ผ่านพ้นทศวรรษแรกมาด้วยดี ในช่วงทศวรรษทีส่ องของบริษทั ด้วยเหตุผลทางด้านธุรกิจและวิสยั ทัศน์ของผูบ้ ริหาร ทำ�ให้ AIT ต้องเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อรองรับการเติบโตที่รวดเร็วของบริษัท ตลอดช่วงทศวรรษที่สองของ AIT เราได้สะสมความสำ�เร็จจากการดำ�เนินธุรกิจจนเป็นที่ยอมรับ จากทั้ง ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน หน่วยงานราชการ และองค์กรระหว่างประเทศ โดยดูได้จากผลรางวัลที่บริษัทได้รับในช่วงทศวรรษนี้ เช่น SET AWARDS 2009, Asia’s 200 best Under a Billion 2 ปีซ้อน, รางวัลผู้บริหารสูงสุดดีเด่นจากงาน SET AWARDS 2011 และ ล่าสุดปี 2012 รางวัล “รัษฎากรพิพัฒน์” ในฐานะที่เป็นแบบอย่างที่ดีในการเสียภาษีตามหลักบรรษัทภิบาล นอกจากนี้การได้รับการจัด อันดับให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการอยู่ในเกณฑ์ “ดีมาก” เป็นบทพิสูจน์ความเป็นหน่วยธุรกิจที่ท�ำ หน้าที่เป็นตอบแทนสังคมให้ เป็นที่ยอมรับตลอดมา สำ�หรับทศวรรษต่อจากนี้ไป  AIT  จะเป็นผู้ใหญ่ที่สั่งสมประสบการณ์ในธุรกิจ  ที่พัฒนาขีดความสามารถในการบริการลูกค้า ในประเทศให้ดีขึ้นเป็นลำ�ดับแล้ว AIT กำ�ลังจะก้าวไปสู่ความเป็นผู้น�ำ ในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับภูมิภาค โดยมี พันธมิตรทั้งในประเทศและต่างประเทศมากมายที่พร้อมจะก้าวเดินไปกับเรา  อย่างไรก็ตามก้าวที่เดินต่อไปจะต้องเป็นก้าวที่ต้อง ระมัดระวัง  จะต้องเรียนรู้ถึงกฏ  ระเบียบข้อควรปฎิบัติในการดำ�เนินธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้าน  เพื่อให้การก้าวย่างสู่การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนสามารถประสบความสำ�เร็จได้อย่างยั่งยืน ส่วนความคืบหน้าในการเตรียมตัวของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนั้น  ในปัจจุบันบริษัทฯได้ดำ�เนินการไปแล้วใน หลายรูปแบบดังต่อไปนี้ :-

2555-2012 12

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


- - - -

ดำ�เนินการจัดตั้งสำ�นักงานตัวแทนในประเทศกัมพูชา ซึ่งปัจจุบันดำ�เนินการไปแล้ว และมียอดการสั่งซื้อเข้ามาบ้างแล้ว และ จะสามารถเห็นภาพชัดเจนในปี 2556 ดำ�เนินการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ “บริษัท ล็อกซเล่ย์ ไวร์เลส จำ�กัด” บริษัทในเครือ “บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำ�กัด (มหาชน)” เพื่อดำ�เนินธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และระบบโครงข่ายโทรคมนาคมในกลุ่มประเทศ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เข้าถือหุน้ ร้อยละ 99.98 ใน “บริษทั ทาวเวอร์เอ็กซ์เอเซีย จำ�กัด” เพือ่ ดำ�เนินธุรกิจด้านโทรคมนาคม และสามารถสร้างรายได้ ประจำ�ในอนาคต บริษัทกำ�ลังศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งบริษัทเพื่อดำ�เนินการธุรกิจ SI (System Integrator) ในประเทศพม่า ซึ่งเป็น ประเทศที่มีศักยภาพสูงในการเติบโตทางเศรษฐกิจ  จากแผนการดำ�เนินงานในปัจจุบันและที่จะทำ�ในอนาคต  บริษัทเชื่อมั่น เป็นอย่างยิ่งว่าจะทำ�ให้บริษัท  AIT  เติบโตและแข็งแกร่ง  มีความพร้อมในการแข่งขันในระดับภูมิภาค  (ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน)ในอนาคตอันใกล้นี้

นอกจากนี้บริษัท เมเปิ้ลพลัส จำ�กัด “บริษัทย่อย” ที่ดำ�เนินธุรกิจมาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2550 โดยมีอัตราการถือหุ้นร้อยละ 55 ไม่สามารถทำ�ธุรกิจได้ตามเป้าหมายที่กำ�หนด ฝ่ายจัดการได้น�ำ เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทให้อนุมัติการถอนการลงทุนใน บริษัทย่อยดังกล่าว โดยจำ�หน่ายให้กับผู้ร่วมทุนและกรรมการบริษัทย่อยในราคา Net Book Value ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 มีมูลค่า ทั้งสิ้น 7.5 ล้านบาท เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สำ�หรับโครงการเพิ่มทุนของบริษัทฯทั้ง AIT Warrant และ AIT ESOP ที่ดำ�เนินการมาเป็นเวลา 5 ปีและได้สิ้นสุดโครงการปลาย เดือนกันยายน 2555 ที่ผ่านมานั้น ได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท สอดคล้องกับการ ขยายตัวทางธุรกิจสามารถสนับสนุนยอดขายและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการในช่วงที่ผ่านมา บริษัทฯขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดำ�เนินการในระยะต่อไปจะได้รับความไว้วางใจ และสนับสนุนจากทุกภาคส่วน เพื่อที่จะได้ก้าวไปสู่ ทศวรรษแห่งความสำ�เร็จด้วยกันต่อไป

นายธนา ไชยประสิทธิ์ ประธานกรรมการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่

2555-2012 13


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบในภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท ในการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่า ผู้บริหารและกรรมการบริหารได้ปฏิบัติหน้าที่อันจะพึงมีต่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ และได้บริหารกิจการตามนโยบายของบริษัท ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวม 5 ครั้ง โดย 1 ครั้งเป็นการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีตัวแทน บริษัทเข้าร่วมประชุมด้วยและ  4  ครั้งเป็นการประชุมร่วมกับผู้บริหาร  ผู้สอบบัญชี  และผู้ตรวจสอบภายในตามความเหมาะสม  เพื่อ สอบถามความคืบหน้าในการปฎิบัติตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบ โดยมีกิจกรรมหลักสรุปได้ดังนี้ 1. พิจารณางบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี ก่อนนำ�เสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจ สอบได้สอบถาม และรับฟังคำ�ชี้แจงจากฝ่ายบริหารและ ผู้สอบบัญชีในเรื่องความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการ เปิดเผยข้อมูล เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล รายการปรับปรุงบัญชีที่มีผลกระทบต่องบการเงินที่มีสาระสำ�คัญ เพื่อให้มั่นใจว่าการจัด ทำ�งบการเงินเป็นไปตามข้อกำ�หนดของกฎหมายและมาตรฐานบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ระบบบัญชีและงบการเงินมีความ ถูกต้องเชื่อถือได้ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์กับนักลงทุนหรือผู้ใช้งบการเงิน 2. ในการสอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับรายงาน ผลการตรวจสอบภายในปี 2555 เรื่องระบบควบคุมการจัดซื้อ ระบบควบคุมการจ่ายเช็ค ระบบควบคุมเกี่ยวกับสารสนเทศ ระบบควบคุม การจ่ายเงินเดือน ระบบควบคุมการขาย ระบบการควบคุมระบบบัญชีลูกหนี้ ระบบควบคุมสินทรัพย์ถาวร และระบบการจัดการ และ บริหารบุคคล ที่จัดสอบทานและประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทมีระบบควบคุมภายในที่ เพียงพอและเหมาะสมอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ 3. ในการประชุมแต่ละครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ผลการสอบ ทานเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัทในรอบปี 2555 ที่ผ่านมา ไม่พบประเด็นที่เป็นสาระสำ�คัญในเรื่องการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2556 เพื่อนำ�เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัท ให้ขออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาผลการปฏิบัติ งาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้วเห็นสมควรเสนอแต่งตั้ง นายกฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4958 หรือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 หรือนางชลรส สันติอัศวราภรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4523 ในนามบริษัทสำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยังจำ�กัด เป็นสอบบัญชีของบริษัทประจำ�ปี 2556 เนื่องจากเห็นว่า

2555-2012 14

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


• • • •

มีมาตรฐานในการทำ�งานที่ดี มีความเชี่ยวชาญในการสอบบัญชี และได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างดีตลอดมา ให้คำ�แนะนำ�และให้คำ�ปรึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานบัญชีที่ออกมาใหม่ได้ดี มีความละเอียดชัดเจน ค่าสอบบัญชีประจำ�ปี 2556 อยู่ในอัตราเดียวกับปี 2555 สำ�นักงานสอบบัญชี และผูส้ อบบัญชีตามรายชือ่ ทีเ่ สนอข้างต้น ไม่มคี วามสัมพันธ์หรือมีสว่ นได้เสียกับบริษทั ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว จึงมีความเป็นอิสระในการสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท

5. ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2555 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการถอน การลงทุนในบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ตามที่ฝ่ายบริหารนำ�เสนอ เนื่องจากการดำ�เนินงานและผลประกอบการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินการที่ต้องแบกรับเพิ่มขึ้นต่อไป เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทางคณะกรรมการบริษัท จึงมีมติให้ถอนการลงทุนในบริษัทย่อยนี้ โดยการพิจารณาขายหุ้นคืนแก่ผู้ถือหุ้นเดิมและกรรมการของบริษัทย่อยนี้ ในราคา Net Book Value ของบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ซึ่งมีมูลค่าอยู่ที่ 13.6 ล้านบาท บริษัทได้ด�ำ เนินการขายหุ้นในบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ที่บริษัทถือทั้งหมดในเดือนธันวาคม 2555 เป็นเงินทั้งสิ้น 7.5 ล้านบาท 6. คณะกรรมการตรวจสอบ  ได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามขอบเขตอำ�นาจที่กำ�หนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าการดำ�เนินงานของบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีงวดวันที่  1  มกราคม  2555  ถึงวันที่ 31  ธันวาคม  2555  ที่ผ่านมาเป็นไปภายใต้ระบบการควบคุมภายใน  และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม  รายงานทางการเงิน มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อกำ�หนดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลให้หน่วยงานกำ�กับดูแลต่างๆ  อย่างถูกต้อง  มีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อย่างเพียงพอ โปร่งใส และเชื่อถือได้

นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 15


รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร

นายธนา ไชยประสิทธิ์ ประธานกรรมการ

นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ กรรมการผู้มีอ�ำ นาจลงนาม / ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการผู้จัดการใหญ่ / กรรมการสรรหาฯ

อายุ 58 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - MINI MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ภาครัฐร่วมเอกชน) วปรอ.388 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 1.09 % ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2524 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บจ. สยามกลาส อินดัสทรี 2533 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บจ. ธนารมณ์ 2527 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร บจ.โอสถสภา 2540 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บ.โอสถสภาประกันภัย จก. (มหาชน) 2553 - ปัจจุบัน สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ สหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ 2547 - ปัจจุบัน รองประธาน สหภาพเทเบิลเทนนิสแห่งเอเชีย 2547 - ปัจจุบัน ประธานสมาคมเทเบิลเทนนิสเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 2542 - ปัจจุบัน เหรัญญิกคณะกรรมการ โอลิมปิคแห่งประเทศไทย

อายุ 60 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท Computer Science Western Michigan University ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี Electrical Engineering Western Michigan University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรม - สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Director Certificate Program 36/2003 - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วปอ.2547 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.รุ่นที่ 12) - หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 3 (สวปอ.มส. 3) - หลักสูตรเสาหลักเพื่อแผ่นดินผู้นำ�ระดับสูงตามแนวพระราชดำ�ริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รุ่นที่ 1 (สนพ.1) สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 8.94% ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คู่สมรสนางเนตรนภิส อุ่นทรพันธุ์ ประวัติการทำ�ความผิด-ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2536 - ปีจจุบัน กรรมการ/กรรมการสรรหาฯ/ประธานกรรมการบริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2552 - ปีจจุบัน นายกสมาคมนักกอล์ฟอาชีพอาวุโสไทย สมาคมนักกอล์ฟอาชีพอาวุโสไทย

2555-2012 16

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา กรรมการ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ รองประธานกรรมการ / ประธานกรรมการสรรหาฯ / กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

อายุ 65 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ (Quantitative Analysis &Finance) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกา - Master of Science (Civil Engineering) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร - Director Certificate Program 3/2000 - Audit Committee Program 8/2009 - Monitoring the Internal Audit Function 6/2009 - Monitoring the system of Internal Control and Risk Management 7/2009 - Monitoring Fraud Risk Management 1 /2009 - Monitoring the Quality of Financial Reporting 12/2010 - Advanced Audit Committee Program 4/2010 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) -ไม่มี¬ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2543 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ.ไทยสแตนเลย์ การไฟฟ้า 2546 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แอ็ดวานช์อินฟอร์เมซั่นเทคโนโลยี 2547 - 2554 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. หลักทรัพย์ยูไนเต็ด 2550 - 2554 กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ยี่ 2551 - 2554 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. หลักทรัพย์ยูไนเต็ด ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการอุธรณ์ บมจ.อนุพันธ์ (ประเทคไทย) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการอุธรณ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทคไทย อายุ 58 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโทสาขาการเงิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศคินทร์ - ปริญญาตรี สาขาเครษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม - สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรDirector Accreditation Program 36/2005 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 0.14 %ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ / ประธานกรรมการสรรหาฯ / กรรมการตรวจสอบ บมจ. แอ็ดวานช์อินฟอร์เมซั่นเทคโนโลยี 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ.ธนาคารเกียรตินาคิน 2554 - 2555 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ.ทุนภัทร 2553 - 2554 ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการ บมจ. เมืองไทยประกันภัย 2553 - 2554 กรรมการบริหาร บมจ.ธนาคารกรุงไทย 2552 – 2553 กรรมการอิสระ บมจ.ภัทรลิสซิ่ง 2546 - 2555 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บล. ภัทร จำ�กัด(มหาชน) 2543 - 2555 ที่ปรึกษากรรมการ บมจ.โรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2553 - 2555 ประธานกรรมการ บจ.กรุงไทย ไอบีเจ ลิสซิ่ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 17


นายศรีภพ สารสาส กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาฯ

นายสุรพร รักตประจิต

กรรมการผู้มีอ�ำ นาจลงนาม / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาฯ / รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริการลูกค้า

อายุ 55ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท MBA, University of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขาเทคนิคการแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร - Director Certificate Program 22/2002 - Audit Committee Program 1 /2004 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) -ไม่มี¬ดวามสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาฯ/ กรรมการตรวจสอบบมจ.แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมซั่นเทคโนโลยี 2546 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. โรแยลซีรามิคอุตสาหกรรม 2551 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ 2551 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เกียรติธนาฃนส่ง 2551- พ.ย. 2555 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลิฟวิ่งแลนด์ แคปปิตอล ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบบจ. สุธากัญจน์

อายุ 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ Syracuse University, New York ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ The American University, Washington D.C. ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรม - สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Director Certificate Program 35/2003 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 2.59% ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546- ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการสรรหาฯ/กรรมการบริหาร/ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานบริการลูกค้า บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมซั่นเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท เอเชีย ประกันภัย 1950 จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 18

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


นายกิจจา เหล่าบุญชัย

กรรมการผู้มีอ�ำ นาจลงนาม / กรรมการบริหาร / รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ / สายงานการตลาดและการขาย

นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา กรรมการอิสระ

อายุ 53 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขา Industrial & System Engineering, Ohio University ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Director Certificate Program 36/2003 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 0.53% ของทุนจดทะเบียนขำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2537- ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการบริหาร/ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการตลาด และการขาย บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี

อายุ 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (Computer and Information Sciences) THE GEORGIA INSTITUTE OF TECHNOLOGY, ATLANTA, USA - ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - ปริญญาบัตรหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปอ. 2547) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 0.02% ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2530 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทักษิณปาล์ม (2521) จำ�กัด 2536 – ปัจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทักษิณอุตสาหกรรมน้ำ�มันปาล์ม (1993) จำ�กัด 2551 - ปัจจุบัน รองเลขาธิการ-งานเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2551 - ปัจจุบัน รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2551 - ปัจจุบัน ประธานสภาธุรกิจชายแดนภาคใต้ IMT-GT

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 19


นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย กรรมการ กรรมการสรรหาฯ

นายภิสัก จารุดิลก กรรมการ

อายุ 58 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม - สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Director Accreditation Program 54/2006 - หลักสูตรอบรมนักบริหารระดับสูง ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม รุ่นที่ 1 (นมธ.1) ระหว่าง พ.ค – ก.ย 2555 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 4.25 % ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (ในนามคู่สมรส คุณกิ่งพร สพโชคชัย) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มิประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ / กรรมการสรรหาฯบมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บจ. โตอะ อิเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เค เอส พี สแควร์ 2549 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจ. สุรีย์ตรีบุญ โฮลดิ้ง 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บจ. โอ๊คทรี 2540 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจ. ออดิโอ เอ็นจิเนิยวิ่ง เชอร์วิส 2529 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจ. ดิจิตคอนโทรล 2528 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจ. เครื่องเสียง 2526 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจ. วิชัยเทรดดิ้ง (1983)

อายุ 59 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาชาศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - ปริญญาตรี สาชานิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการอบรม สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย(IOD) หลักสูตร Director Accreditation Program 67/2007 สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 1.39 % ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (ในนามคู่สมรส คุณสร้อยสน จารุดิลก) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2550 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) 2548 - ปัจจุบัน นายด่านศุลกากร สำ�นักงานศุลกากร ภูมิภาคที่ 2 กรมศุลกากร

2555-2012 20

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


นายโชดิวัต ดั่นธนสาร

กรรมการ / ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายขายเอกชนและราชการ

นายอัศวิน กังวลกิจ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและ แผนงานยุทธศาสตร์

อายุ 49 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาการตลาด Wagner College ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประวัติการอบรม - สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Director Certificate Program 72/2006 - สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ หลักสูตร การปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่ายอำ�นวยการ รุ่นที่ 96 - สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หลักสูตร TLCA Executive Development Program รุ่นที 7 (EDP 7) สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 4.5 % ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี 2538 - ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการอาวุโสฝ่ายขายเอกชนและราชการ บมจ.แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี

อายุ 50 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ Western Michigan University ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 0.05% ของทุนจดทะเบียนขำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2552 - ปีจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและแผนงานยุทธศาสตร์ บมจ.แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี 2550-2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนงานยุทธศาสตร์ บมจ.แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 21


นางเนตรนภิส อุ่นทรพันธุ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและธุรการ

นางสาวสุรีรัตน์ ปราชญานุกุล

อายุ 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาการสื่อสารระหว่างบุคคล Western Michigan University ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 0.61% ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คู่สมรสกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและธุรการ บมจ. แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี

อายุ 40 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาโท สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้น (ณ. 31 ธันวาคม 2555) 0.12% ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประวัติการทำ�ความผิด -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (บริษัทจดทะเบียน) 2546 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำ นวยการอาวุโสฝ่ายควบคุมการเงินและการบัญชี บมจ.แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมขั่นเทคโนโลยี

ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายควบคุมการเงิน และการบัญชี

2555-2012 22

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012

23

กรรมการอิสระ, กรรมการสรรหาฯ กรรมการตรวจสอบ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานบริการลูกค้าบริการ, กรรมการ, กรรมการสรรหาฯ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการตลาดและการขาย กรรมการอิสระ กรรมการ, กรรมการสรรหาฯ กรรมการ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายขายเอกชนและราชการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและแผนงานยุทธศาสตร์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและธุรการ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายควบคุมการเงินและการบัญชี

5. นายศรีภพ สารสาส

6. นายสุรพร รักตประจิต

7. นายกิจจา เหล่าบุญชัย

8. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา

9. นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย

10. นายภิสัก จารุดิลก

11. นายโชดิวัต ดั่นธนสาร

12. นายอัศวิน กังวลกิจ

13. นายเนตรนภิส อุ่นทรพันธุ์

14. น.ส.สุรีรัตน์ ปราชญานุกุล

(2)

AIT: บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) หน่วย : ร้อยละของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว Maple Plus: บริษทั เมเปิลพลัส จำ�กัด หน่วย : หุ้น (จำ�นวนหุ้นทั้งหมดของบริษัทเท่ากับ 200,000 หุ้น)

รองประธานกรรมการ, กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาฯ

4. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์

(1)

ประธานกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ

3. นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา

กรรมการผู้จัดการใหญ่, กรรมการสรรหาฯ และประธานกรรมการบริหาร

ประธานกรรมการ

2. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์

1. นายธนา ไชยประสิทธิ ์

กรรมการ

-

-

-

-

-

-

-

กรรมการ

-

-

-

-

-

0.08

0.58

0.05

4.55

-

-

-

1.14

2.59

-

0.14

-

9.06

1.09

0.12

0.61

0.05

4.50

-

-

0.02

0.53

2.59

-

0.14

-

8.94

-

1 หุ้น

-

-

1 หุ้น

-

-

-

-

1 หุ้น

-

-

-

-

-

1 หุ้น

-

-

1 หุ้น

-

-

-

-

1 หุ้น

-

-

-

-

-

ตำ�แหน่ง หุ้นสามัญ (สิ้นสุด : 31 ธันวาคม 2555) ชื่อ - สกุล AIT (1) Maple Plus (2) AIT Maple Plus 2554 2555 2554 2555

รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารประจำ�ปี 2555


ข้อมูลทั่วไปของบริษัท รายละเอียดหลักทรัพย์บริษัท ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อย่อหลักทรัพย์ วันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนที่ช�ำ ระแล้ว จำ�นวนผู้ถือหุ้นทั้งหมด % Free float

: : : : : : : :

บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) AIT 30 กรกฎาคม 2546 4,057,644,524 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) 345,000,000 บาท 343,868,180บาท 3,797 ราย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) 65.98%

ประเภทธุรกิจ :

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งให้บริการด้านบำ�รุงรักษา และพัฒนาโปรแกรมระบบงาน

ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ท ี่ เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท์ โทรสาร Web site

37/2 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพ 10320 0107546000067 0-2275-9400 0-22759100 และ 0-2275-9200 www.ait.co.th

: : : : :

ผู้ตรวจสอบบัญชี 1. นายกฤษดา เลิศวนา 2. นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน 3. นางชลรส สันติอัศวราภรณ์

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

ทะเบียนเลขที่ 4958 และ/หรือ ทะเบียนเลขที่ 3930 และ/หรือ ทะเบียนเลขที่ 4523

บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด ที่อยู่ : ชั้น 33 อาคาร เลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777 โทรสาร 0-2264-0789-90 นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย)จำ�กัด ที่อยู่ : อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4 และ 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2359-1200 โทรสาร 0-2359-1259

2555-2012 24

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ

บริษ ัท

บริษัท แอ็ดวานซ์ อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานเลขที่ 37/2 ถนนสุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320 บริษัทในเครือ บริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์ เอเซีย จำ�กัด สำ�นักงานเลขที่ 124 ซอยลาดพร้าว 64 แยก 4 แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร

ทนุจดทะเบียน (บาท)

มูลค่าที่ตราไว้ ต่อหุ้น (บาท)

ทุนชำ�ระแล้ว (บาท)

สัดส่วน การถือหุ้น (%)

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโยลีสารสนเทศ และการสื่อสาร รวมทั้งให้บริการ ด้านบำ�รุงรักษาและ พัฒนาโปรแกรม ระบบงาน

345,000,000

5

343,863,180

-

ให้คำ�ปรึกษา และจำ�หน่ายอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับ โทรคมนาคม

1,000,000

ประเภทธุ รกิจ

100

1,000,000

99.98%

นโยบายปันผล บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 40 ของกำ�ไรสุทธิ ในกรณีที่ไม่มีเหตุจ�ำ เป็นอื่นใดในการใช้เงินจำ�นวนนั้นและ การจ่ายเงินปันผลนั้นจะต้องไม่กระทบต่อการดำ�เนินงานปกติของบริษัทฯอย่างมีนัยสำ�คัญ

โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท

บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

99.98% บริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์เอเซีย จำ�กัด

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 25


โครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่

กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ตามรายชื่อปรากฏในสมุดทะเบียนพักโอนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผู้ถือหุ้น

จำ�นวนหุ้นสามัญ

1. กลุ่มอุ่นทรพันธุ์ (1) 10,767,569 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 4,704,417 3. กลุ่มสพโชคชัย (2) 3,297,100 4. กลุ่มดั่นธนสาร (3) 3,196,650 5. กลุ่มรักตประจิต (4) 2,390,625 6. Citibank Nominees Singapore PTE Ltd.-UBS AG London Branch-NRBS IPB Client SEG 2,218,500 7. นายสมศักดิ์ เหล่าวรวิทย์ 1,660,000 8. กลุ่มจารุดิลก (5) 1,362,550 9. นายบุญเกียรติ เอื้อสุดกิจ 1,200,000 10. นางสาวปานทิพย์ เล็กมณี 995,000 ผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ 36,981,225 1. กลุ่มอุ่นทรพันธุ์ ประกอบด้วย 1. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ 6,150,540 2. นางสาวศศิเนตร อุ่นทรพันธุ์ 2,236,500 3. นายศิณะ อุ่นทรพันธุ์ 795,000 4. นางสาวศิณานางค์ อุ่นทรพันธุ์ 580,695 5. นางสาวเสาวลักษณ์ อุ่นทรพันธุ์ 425,850 6. นางเนตรนภิส อุ่นทรพันธุ์ 418,250 7. นายสุรเทพ อุ่นทรพันธุ์ 160,734 รวม 10,767,569 2. กลุ่มสพโชคชัย ประกอบด้วย 1. นางกิ่งพร สพโชคชัย 2,921,400 2. นายฐิติกร สพโชคชัย 180,700 3. นางสาวพิมผกา สพโชคชัย 180,000 4. นางสาวบุญธิดา สพโชคชัย 15,000 รวม 3,297,100 3. กลุ่มดั่นธนสาร ประกอบด้วย 1. นายโชดิวัต ดั่นธนสาร 3,096,650 2. นายอนุพงษ์ ดั่นธนสาร 100,000 รวม 3,196,650 4. กลุ่มรักตประจิต ประกอบด้วย 1. นายสุรพร รักตประจิต 1,784,625 2. นางสาวทิพยฉัตร รักตประจิต 206,000 3. นางสาวพัชรนันท์ รักตประจิต 200,000 4. นายณัฎ์ฐดนัย รักตประจิต 200,000 รวม 2,390,625 5. กลุ่มจารุดิลก ประกอบด้วย 1. นางสร้อยสน จารุดิลก 952,550 2. นางสาวอภิพร จารุดิลก 210,000 3. นาย อภิมุข จารุดิลก 200,000 รวม 1,362,550

2555-2012 26

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

ร้อยละ (%) 15.66% 6.84% 4.79% 4.65% 3.48% 3.23% 2.41% 1.98% 1.74% 1.45% 53.77% 8.94% 3.25% 1.16% 0.84% 0.62% 0.61% 0.23% 15.66% 4.25% 0.26% 0.26% 0.02% 4.79% 4.50 0.15 4.65 2.59% 0.30% 0.29% 0.29% 3.48% 1.39% 0.31% 0.29% 1.98%


ลักษณะธุรกิจ รู้จักกับธุรกิจของบริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด เรามีสำ�นักงานใหญ่อยู่ในกรุงเทพมหานคร บริษัทแอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)หรือ เอไอที คือหนึ่งในผู้นำ� ในการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม อย่างครบวงจร ตั้งแต่ การให้ค�ำ ปรึกษา ออกแบบ ติดตั้ง ประยุกต์ใช้ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน การบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ การให้เช่าใช้ การเหมารวมระบบ (Turnkey projects) การบริหารจัดการซ่อมบำ�รุง รักษา (ICT Outsourcing) และการบริหารศูนย์ประมวลผล (Data Center) ICT (Information and Communication Technology) คือการรวมกันของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) ซึ่งหมายถึงการใช้ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บข้อมูล และเทคโนโลยีเครือข่าย เพื่อนำ�มาประมวลผลข้อมูล รวมกับเทคโนโลยี การสื่อสาร เช่น เครือข่ายโทรศัพท์ เครือข่ายสายโทรศัพท์พื้นฐาน การสื่อสารทั้งภาพและเสียง เป็นต้น ภารกิจหลักของเอไอทีที่ว่า “ความสำ�เร็จของท่านคือความสำ�เร็จของเรา” เป็นสิ่งที่ยึดมั่นในการทำ�งานทุกวัน เป้าหมายของเรา คือการเป็นพันธมิตรกับลูกค้าของเรา เรามั่นใจว่าความรู้และประสบการณ์ที่สั่งสมมานานจะสามารถนำ�พาลูกค้าของเราไปสู่ผลสำ�เร็จทาง ธุรกิจ และ/หรือนำ�พาไปสู่การปรับปรุงการทำ�งานให้ดีขึ้นด้วยวิธีทางเทคนิคที่ชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพ

โซลูชั่น (Solution)

เครือข่ายหลัก (Core Networking)

รูปแบบของการบริการของเอไอทีได้แก่การให้คำ�แนะนำ�  การจัดทำ�แผนหลักสารสนเทศ  ความช่วยเหลือด้านเทคนิคเกี่ยวกับ ตัวอุปกรณ์  การจัดซื้อ  การดูแลการดำ�เนินการ  และการทดสอบระบบ  ยังรวมถึงการดูแลการบำ�รุงรักษาทั้งหมด  และการสนับสนุน ด้านการฝึกสอน และการซ่อมบำ�รุง เอไอทีตระหนักว่า ICT คือโครงสร้างพื้นฐานสำ�คัญในการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ เครือข่ายทั้ง ใช้สาย/ไร้สาย Data Centers และจากการเป็นผู้ให้บริการมายาวนานทางด้าน ICT และ System Integrator เอไอทีได้ติดตั้ง Core ICT ในหลายหน่วยงาน (ตัวอย่างต่อไปนี้คือภาพรวมของอุปกรณ์ที่เอไอทีได้ดำ�เนินการติดตั้ง และดูแล บำ�รุงรักษามาแล้ว) เครือข่ายหลัก (Core Networking) มักจะทำ�ให้เรานึกถึง Router และ Switch ซึ่งเป็นพื้นฐานของการทำ�เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้ง  routing  และ  switching  หมายถึงการส่งผ่านข้อมูลทั้งในรูปของภาพและเสียงในเครือข่ายเดียว  (Switching)  และในหลากหลาย เครือข่าย (Routing) เอไอทีได้ติดตั้งระบบเครือข่ายหลัก (Core Networking) ให้กับผู้ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในระดับชาติ เช่น TOT และ CAT นอกจากนี้ยังได้ติดตั้ง เครือข่ายในหน่วยงานการศึกษา มหาวิทยาลัย ธุรกิจขนาดใหญ่ รวมทั้งระบบเครือข่ายไร้สายอีก หลายแห่ง ปัจจุบันโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานรัฐและเอกชน  นอกจากจะมีการขยายตัวอย่างมากในแทบทุก ระดับ แล้วยังมีความสลับซับซ้อนของเครือข่ายเป็นอย่างมาก ธุรกิจเอกชนขนาดใหญ่ได้เพิ่มการลงทุนเพื่อการรวมศูนย์ของ Data centers โดยการสนับสนุนจากโครงข่ายระดับนานาชาติและกลยุทธด้านการจัดการระบบเก็บข้อมูล (Storage) ในการดำ�เนินการจัดหา  และตอบสนองต่อความต้องการในการเติบโตอย่างรวดเร็วของเครือข่ายดังกล่าวต้องอาศัยการติดตาม วิวัฒนาการของเทคโนโลยี ความชำ�นาญ ประสบการณ์ และการเอาใจใส่อย่างมาก โลกทุกวันนี้ความพร้อมด้านเครือข่ายและการขยาย  Bandwidth  มีความจำ�เป็นมาก  จากความต้องการเครือข่ายที่รองรับแค่ ตัวหนังสือ (text) ในอดีต กลายเป็นความต้องการเครือข่ายเพื่อรองรับการส่งผ่านข้อมูลที่มีทั้งภาพและเสียงในอนาคต และเรากำ�ลังอยู่ ในช่วงเริ่มต้นของรอยต่อของเทคโนโลยีนั้น เอไอทีได้เตรียมสรรพกำ�ลังเพื่อพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อให้สามารถช่วย สนับสนุนความต้องการของลูกค้าที่ก็อยู่ในกระแสของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวด้วยเช่นกัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 27


การสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communications)

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (IT Security Solutions)

ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Solutions)

ศูนย์ข้อมูล/เทคโนโลยีคลาว (Data Centers / Cloud Technologies)

การใช้เครือข่ายให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด (Network Optimization)

Unified Communications (UC) คือ เทคโนโลยีการสื่อสารแบบรวมศูนย์ เช่น การส่งข้อความ (Instant messaging) ไอพี โฟน (IP Phone) วิดิโอคอนเฟอร์เร้นซ์ (Video Conference) เทเลพรีเซ้นส์ (Telepresence) กระดานที่โต้ตอบได้ (Interactive whiteboard) การรวบรวม voicemail, e-mail, SMS, และ แฟ็กซ์ให้อยู่ในที่เดียวกัน การเชื่อมต่อของบริการเหล่านี้ผ่านทางอุปกรณ์หลายๆ ชนิด เป็นหัวใจสำ�คัญของการทำ�ธุรกิจบริการนี้ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบสารสนเทศเป็นสิ่งที่สำ�คัญมาก  ในขณะที่ระบบเศรษฐกิจยังคงเคลื่อนตัวเข้าสู่ยุค เศรษฐกิจแบบเครือข่าย กระบวนทัศน์ใหม่เช่น เทคโนโลยี Cloud ได้เพิ่มความสำ�คัญของระบบรักษาความปลอดภัยในระบบงานและ ข้อมูลของลูกค้า ธุรกิจต่างๆได้เพิ่มการพึ่งพาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการป้องกันจารกรรมทางคอมพิวเตอร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์ และแม้แต่การทำ�จารกรรมโดยพนักงานของตนเอง สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นหัวใจของการดำ�เนินการด้านสารสนเทศ ความแพร่หลายของโน้ตบุ้ค สมาร์ทโฟน และล่าสุดคือ เทคโนโลยีแท็บเล็ต ได้เพิ่มความต้องการในเครือข่ายไร้สาย ความต้องการ เหล่านี้ไม่เพียงแต่เพื่ออำ�นวยความสะดวก แต่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการของลูกค้าของเรา เอไอทีก็ได้ด�ำ เนินการในสิ่งต่างๆ เหล่านี้ มาแล้วเช่น การออกแบบ และติดตั้งเครือข่ายไร้สายในหลายๆองค์กร โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศของแต่ละหน่วยงานรัฐและเอกชนนอกจากจะมีการขยายตัวอย่างมากในแทบทุกระดับ แล้วยังมีความสลับซับซ้อนของเครือข่ายเป็นอย่างมาก ธุรกิจเอกชนขนาดใหญ่ได้เพิ่มการลงทุนเพื่อการ รวมศูนย์ข้อมูล (Data centers) โดยการสนับสนุนจากโครงข่ายระดับนานาชาติและกลยุทธด้านการจัดการที่จัดเก็บข้อมูล (Storage) ในการดำ�เนินการจัดหา  และตอบสนองต่อความต้องการในการเติบโตอย่างรวดเร็วของเครือข่ายดังกล่าวต้องอาศัยการติดตาม วิวัฒนาการของเทคโนโลยี ความชำ�นาญ ประสบการ และการเอาใจใส่อย่างมาก ในปัจจุบันนี้ธุรกิจต่างๆได้ปรับตัวเข้าสู่เทคโนโลยี Cloud “Journey to the cloud” การปรับตัวเข้าสู่เทคโนโลยี Cloud ได้ทำ�ให้ ธุรกิจเหล่านั้นสามารถจัดการการใช้ทรัพยากรทางคอมพิวเตอร์ได้ดีขึ้น เช่น ด้านเครือข่าย ด้านการจัดการที่เก็บข้อมูล (Storage) ฯลฯ เอไอทีได้ท�ำ การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบศูนย์ข้อมูล (Data centers) หลายแห่ง และกำ�ลังแนะนำ�ลูกค้าเกี่ยวกับกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อรองรับเทคโนโลยี Cloud เครือข่ายที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการขององค์กร  นอกจากจะทำ�ให้ผู้ใช้รำ�คาญใจแล้วยังจะบั่นทอนประสิทธิภาพใน การทำ�งานขององค์กร  เอไอทีได้นำ�เสนอการตรวจสอบสุขภาพของระบบเครือข่าย  และการแนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบเครือข่าย ซึ่งส่งผลต่อการประหยัดการลงทุนด้านไอทีให้ลูกค้าเป็นอย่างมาก

2555-2012 28

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


วีดีโอ (Video Solutions)

โปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจ (Business Applications)

เครือข่าย (Networks) เป็นความจำ�เป็นอย่างมากต่อการสื่อสารของภาคธุรกิจ ภาคการศึกษา ภาคราชการ และผู้บริโภค ครัว เรือน ธุรกิจ และเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กำ�ลังเคลื่อนตัวเข้าสู่ยุคที่เป็นการรวมกันของภาพเละเสียง สังคมออนไลน์ และการรวมกัน ของโปรแกรมประยุกต์ (Applications) ในรูปแบบของ เครือข่ายที่เป็นภาพเคลื่อนที่ (Visual Networking) และการส่งภาพเคลือนที่เหล่านี้ เองทำ�ให้สิ้นเปลือง Bandwidth จึงจำ�เป็นต้องมีการขยายช่องสัญญาณ (Bandwidth) เพื่อรองรับแนวโน้มดังกล่าว โปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจเป็นสิ่งสำ�คัญมากเมื่อพูดถึงเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ (Enterprise Information Technology) การปราศจากซึ่งโปรแกรมประยุกต์และข้อมูล  โครงสร้างพื้นฐานในโลกธุรกิจก็หมดความหมายในช่วงระยะเวลาเกือบ  20  ปีที่ผ่านมา เอไอทีได้ท�ำ การคัดสรร และพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในด้านต่างๆ ดังนี้: • ระบบสารสนเทศด้านการจัดการ (Management Information Systems) • ระบบขนส่ง (Transportation Systems) • ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographical Information Systems) • ระบบการแจ้งหนี้และการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย (Billing and Charging Systems) • ระบบจัดการความสัมพันธ์ลูกค้า (Customer Relationship Management) • การรวมโปรแกรมประยุกต์ขององค์กร (Enterprise Application Integration) • ระบบการศึกษา (Education System) • ระบบสนับสนุน E-Government (E-Government Support Systems) • โปรแกรมประยุกต์ทางการทหาร (Military Applications) เอไอทีมีความพร้อมทั้งทางด้านประสบการณ์และความชำ�นาญเพื่อช่วยเหลือลูกค้า : • ระบุและจัดทำ�เอกสารแสดงความต้องการทางธุรกิจ • จัดทำ� Solution และชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ที่ได้จาก Solution ที่เสนอ • วางแผนการรวมระบบงานที่มีอยู่ • จัดสรรทรัพยากรและความชำ�นาญให้เหมาะสมทั้งแก่เอไอทีและลูกค้า • โดยใช้กรรมวิธีที่ได้รับการยอมรับในการจัดการโครงการ • ในการบริการที่คำ�นึงถึงประโยชน์ของลูกค้าทั้งในด้านระยะเวลาและงบประมาณ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 29


ภาพรวมของการประกอบธุรกิจ

เราเรียกตัวเองว่าเป็น Systems Integrator ซึ่งหมายถึง ผู้รวบรวมระบบและอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละองค์กร ซึ่งการรวบรวมดังกล่าว เรารวมเรียกว่า Solution หรือ ระบบเบ็ดเสร็จ ที่จะเพื่อช่วยให้การบริหารจัดการองค์กรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ผู้ผลิต ฮาร์ดแวร์

• เครื่องคอมพิวเตอร์ • เครื่องปรินเตอร์ • เครื่องสแกนเนอร์

ซอฟต์แวร์

โปรแกรมประยุกต์ ทางธุรกิจ

• ไมโครซอฟต์ • ความปลอดภัยของข้อมูล • ฐานข้อมูล • ยูนิค (Unix)

• การวางแผนทรัพยากรทาง ธุรกิจขององค์กรโดยรวม • ระบบใบแจ้งหนี้ • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ • การจัดการข้อมูลของ องค์กรธุรกิจต่างๆ (Business Intelligence)

ระบบเครือข่าย

• เครือข่ายหลัก • เครือข่ายไร้สาย • ศูนย์ข้อมูล • การรักษาความปลอดภัย ของข้อมูล • ระบบเสียง • ระบบภาพ

AIT ระบบแบบเบ็ดเสร็จ (Solution)

ลูกค้า ในฐานะที่เป็น System Integrator และ ผู้ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Provider) เราให้บริการอย่างครบ วงจร ตั้งแต่ให้ค�ำ ปรึกษา ออกแบบ ติดตั้ง บริหารโครงการ ซ่อมและบำ�รุงรักษา รวมไปถึงฝึกอบรมการใช้งาน โดยกระบวนการนี้สามารถ แสดงได้ตามแผนภูมิด้านล่าง

ให้ค�ำ ปรึกษาและ ออกแบบระบบไอที ให้เหมาะสมกับ ความต้องการของลูกค้า

ติดตั้งระบบที่ออกแบบ ให้กับลูกค้า

2555-2012 30

การซ่อมและ บำ�รุงรักษาระหว่างและ หลังการขาย

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

ฝึกอบรมการใช้งาน


เอไอทีประสบความสำ�เร็จในการสร้างผลงานและรักษาชื่อเสียงในวงการเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศมายาวนาน  จนเป็น ที่ยอมรับทั่วไปในภาคราชการและภาคการสื่อสาร  เราได้เข้ามีส่วนร่วมในโครงการต่างๆในหลายๆบทบาทเช่น  คู่สัญญาหลัก  (Prime Contractor), คู่สัญญาช่วง (Subcontractor), กิจการค้าร่วม (Consortium) ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงการเอไอที นำ�เสนอ • ผู้ช�ำ นาญการ และ การผสมผสานขีดความสามารถในแต่ละด้าน • ผลงานที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ • การทำ�งานแบบกลยุทธ์ในรูปแบบพันธมิตรหรือหุ้นส่วนทางธุรกิจ • ความแข็งแกร่งด้านการเงิน • ประสบการณ์ในการจัดการงานตั้งแต่ขนาดย่อมจนไปถึงขนาดใหญ่ • ลดความเสี่ยงด้านเทคนิค ด้านการดำ�เนินโครงการ และด้านการเงิน ในโครงการที่มีความซับซ้อน หุ้นส่วนทางธุรกิจของ เอไอที ประกอบไปด้วย ผู้นำ�ทางด้านเทคโนโลยีที่เป็นที่รู้จักในสาขาต่างๆเช่น Cisco System, Oracle/ SUN, IBM, HP, DELL Acer, Alcatel-Lucent, Autodesk, Convergys, SAP, Microsoft, Novell, Synnex และ Symantec เป็นต้น นอกจากสำ�นักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานครแล้ว  เรายังมีศูนย์บริการอยู่ในหัวเมือง  7  จังหวัดเพื่อรองรับการให้บริการที่ทั่วถึง ทั้งประเทศ อันได้แก่ ชลบุรี ขอนแก่น เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี พิษณุโลก สงขลา และนครราชสีมา

รูจ้ กั กับบริษทั แอ็ดวานซ์อนิ ฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำ�กัด มหาชน สาขา กัมพูชา

เมือ่ ประมาณกลางปี 2555 AIT ได้จดั ตัง้ สำ�นักงานสาขาต่างประเทศแห่งแรกขึน้ ทีใ่ นราชอาณาจักรกัมพูชา โดยเป็นการจดทะเบียน อย่างเป็นทางการว่าเป็นสำ�นักงานสาขาของบริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) โดยที่ส�ำ นักงานแห่งใหม่ในกัมพูชานี้จะดำ�เนินการในรูปแบบธุรกิจที่เรียกว่า ”Partner Centric Model” กล่าวคือจะทำ�การขาย ผ่านคู่ค้าในท้องถิ่น โดยไม่จำ�หน่ายตรงไปที่ End Users กลยุทธ์ทางการตลาดนี้เป็นการเตรียมพร้อมตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 และในฐานะที่เป็นพันธมิตรระดับ Gold Partner เอไอทีเน้นการสนับสนุนคู่ค้าท้องถิ่น ช่วยให้เขาสามารถทำ�การ ขายสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงให้กับลูกค้าในกัมพูชา โดยสำ�นักงานกัมพูชาจะคอยให้ค�ำ แนะนำ� บริการ และสนับสนุนการขาย สำ�หรับ การสัง่ สินค้าจะเป็นการดูแลโดยสำ�นักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ การเข้าถึงตลาดในลักษณะนีก้ เ็ พือ่ เป็นการเพิม่ บทบาทในตลาดอาเซียนของเอไอที สำ�นักงานสาขาของเอไอทีในกัมพูชา เริ่มเปิดทำ�ธุรกิจตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน 2555 ในพนมเปญ เมืองหลวงของกัมพูชา เพื่อที่จะบรรลุพันธกิจ “ความสำ�เร็จของท่านคือความสำ�เร็จของเรา” เอไอทีจะตอบสนองความต้องการของตลาดกัมพูชาที่ก�ำ ลังเติบโตขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาครัฐบาล ธนาคาร และโทรคมนาคม โดยการจัดให้มีการสนับสนุนการขายในลักษณะเป็น Pre-sales Support จากวิศวกรผู้เชี่ยวชาญที่ผ่านการรับรองจาก Cisco ในช่วงหกเดือนแรกของการดำ�เนินงานในกัมพูชา  เราเน้นการสร้างความเชื่อถือในตลาดโดยการแสดงถึงความเชี่ยวชาญหลัก ในด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม ส่วนปี 2556 จะเป็นสำ�หรับการเก็บเกี่ยวความสำ�เร็จจากพื้นฐานที่เราสร้างไว้ในปี 2555 แม้ว่า AIT จะไม่ได้ขายโดยตรงให้กับ end users แต่สามารถให้บริการลูกค้าในลักษณะต่างๆ ดังนี้: • บริการ Cisco Based Design • Cisco Design Verification • Network Master planning • Cisco Specification Support และสำ�หรับคู่ค้า เราสามารถให้บริการ ดังนี้: • บริการ Pre-Sales and Design • ซัพพลายสินค้าและโซลูชั่น • ช่วยส่งมอบโครงการ • การใช้งานเต็มรูปแบบ • บริการหลังการขาย • อบรมวิธีการใช้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 31


โครงสร้างรายได้

2553 ล้านบาท

1. รายได้จากการขายและบริการ 4,519.99 2. รายได้จากค่าเช่า 18.89 3. อื่นๆ 26.43 รวม 4,565.31

2554

ร้อยละ 99.01 0.41 0.58

ล้านบาท 4,723.87 65.67 34.43 4,823.97

2555

ร้อยละ 97.92 1.36 0.71

ล้านบาท

ร้อยละ

4,055.68 75.27 48.20 4,179.15

97.05 1.80 1.15

เป้าหมายทางธุรกิจในปี 2555 บริษัทกำ�หนดเป้าหมายทางธุรกิจในปี 2555 ดังนี้ 1. รักษาฐานลูกค้าสำ�คัญ  ได้แก่  บมจ.ทีโอที  บมจ.กสท  โทรคมนาคม  หน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจ  และองค์กรธุรกิจ ให้ทีความมั่นคงอย่างต่อเนื่อง 2. ขยายฐานลู ก ค้ า ให้ ก ว้ า งขวางขึ้ น   และมี ก ารให้ กำ � หนดลำ � ดั บ ความสำ � คั ญ ของลู ก ค้ า   เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ในแต่ ล ะระดั บ ได้ รั บ ความพึงพอใจจากสินค้าและบริการจากบริษัทฯ 3. เริ่มจัดตั้งหน่วยงานฝึกอบรม ให้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ทางธุรกิจ 4. สร้างระบบตัวชี้วัดการทำ�งาน (Key Performance Indicator-KPI) 5. เพิ่มพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อเพิ่มความมั่นคงทางธุรกิจ 6. เพิ่มประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานเพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจด้านบริการ  ได้แก่การจัดตั้งศูนย์บริการในภูมิภาค และระบบเครือข่ายสารสนเทศในองค์กร 7. พัฒนาบุคลากรให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น 8. เพิ่มความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทให้มากขึ้น (CSR)

วิสัยทัศน์ (Vision)

พันธกิจ (Mission)

เป้าประสงค์หลักขององค์กร (Key Corporate Objectives : KCO)

เอไอทีมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ให้บริการด้านไอซีทีรายใหญ่  เราบรรลุเป้าหมายทั้งด้านการดำ�เนินงานและด้านการเงิน  สิ่งที่ทำ�ให้เรา แตกต่างคือกุญแจสำ�คัญของเราซึ่งก็คือคนของเรานั่นเอง  เรามีทีมงานที่มีความกระตือรือร้นสูงผู้ซึ่งอุทิศตัวเพื่อความสำ�เร็จของลูกค้า และธุรกิจ  การบริหารคุณภาพ  และบริการที่เป็นเลิศ  ในแต่ละหน่วยงานเพื่อให้แน่ใจว่าเราทำ�ในสิ่งที่ดีที่สุด  ทั้งภายในและภายนอก “ความสำ�เร็จของท่านคือความสำ�เร็จของเรา” คัดสรรสินค้าและบริการบนฐานความรู้เพื่อความสำ�เร็จของลูกค้าในราคาและคุณภาพที่เหมาะสม  การให้บริการที่เพียบพร้อม ด้วยธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ เพื่อตอบสนองต่อนโยบายและแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทฯ จึงได้กำ�หนดเป้าประสงค์หลักขององค์กร (Key Corporate Objectives) ไว้ดังนี้

2555-2012 32

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


1. เพื่อสร้างความพึงพอใจและความสำ�เร็จสูงสุดให้ลูกค้า 2. เพื่อเพิ่มรายได้และกำ�ไรสุทธิของบริษัท 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันของบริษัทและบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

เอไอที ดีเอ็นเอ

1. การพัฒนาความสามารถหลักขององค์กร (Core Competency = PCT3) 5 ประการ คือ

ในปี 2555 บริษัทได้ริเริ่มโปรแกรมการพัฒนาบุคลลแบบต่อเนื่อขึ้น เรียกว่า  “เอไอที  ดีเอ็นเอ”เพื่อมุ่งเน้นการเพิ่มขีดความ สามารถหลักของบริษัท  เรื่องดังกล่าวถือเป็นเรื่องสำ�คัญเนื่องจากเป็นการเตรียมความพร้อมพนักงานบริษัทให้รับมือกับการเปิดเสรี ประชาคมเอเซียนในปี 2558 เอไอที  ดีเอ็นเอ  หมายถึง  สิ่งที่องค์กรทำ�ได้ดีที่สุดที่เป็นกลุ่มความรู้ทางเทคนิคอันเป็นหัวใจขององค์กร  เพื่อตอบสนองต่อ เป้าหมายทางกลยุทธ์ และเป็นแนวทางในการกำ�หนดกระบวนการทำ�งานต่างๆ ที่ผู้นำ�หรือผู้บริหารองค์กรจงใจสร้างหรือกำ�หนดขึ้นมา เพื่อทำ�ให้องค์กรมีขีดความสามารถและความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ เอไอที ดีเอ็นเอ ประกอบไปด้วย 2 เป้าหมายหลัก คือ

ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism) มีความรอบรู้ ความเข้าใจ และเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบและงานที่เกี่ยวข้อง ทำ�งานอย่างเป็นระบบแบบมืออาชีพบนพื้น ฐานของความถูกต้องแม่นยำ�ตามหลักวิชาการและวิชาชีพที่สามารถตรวจสอบและวัดผลได้ การทำ�งานเป็นทีม (Teamwork) ติดต่อประสานงานอย่างเป็นระบบและทำ�งานร่วมกันอย่างสอดคล้องในเป้าหมายเดียวกันด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง กัน เปิดใจกว้างยอมรับฟังความความคิดเห็นของผู้อื่นบนพื้นฐานของความร่วมมือร่วมใจ ดูแลใส่ใจลูกค้า (Customer focus) การแสดงออกถึงความพยายามอย่างเต็มที่ที่จะรับฟังและทำ�ความเข้าใจลูกค้าเพื่อจะทำ�ให้บริการเหนือความคาดหวัง รวดเร็ว ฉับไว จริงใจ ตอบสนองความต้องการและแก้ไขปัญหาให้ลูกค้าได้อย่างถูกต้อง และตรงจุด ความคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) การเรียนรู้และพัฒนาความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง โดยการนำ�เสนอ และคิดค้นกระบวนการทำ�งาน ผลิตภัณฑ์ และบริการรูปแบบใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนบริษัทฯ ให้มีความสามารถในการดำ�เนินธุรกิจให้มีผลผลิตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความน่าเชื่อถือ (Credibility) มีความน่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ มีประวัติการทำ�งาน (Profile) ที่ดี มีสำ�นึกรับผิดชอบ ต่อคำ�มั่นสัญญา มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความโปร่งใส สามารถตรวจ สอบได้ทั้งในเรื่องธุรกิจและส่วนตัว ตลอดจนทำ�หน้าที่โดยยึดถือธรรมาภิบาลเป็นที่ตั้ง

2. ค่านิยมหรือวิถีทางขององค์กร (AIT Way= KON-D)

เป็นวิถีทางที่ทุกคนทุกวันประพฤติปฏิบัติกันอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิถีชีวิตฃของคนในองค์กรว่าควรทำ�และไม่ควรทำ�อะไร เพื่อที่จะทำ�ให้องค์กรดำ�เนินอย่างราบรื่นและยั่งยืน ด้วยค่านิยม 4 ประการ หรือเรียกว่าองค์กรแห่ง KON-D ดังนี้ Knowledge-base มีความรอบรู้ • เราจะทำ�งานโดยใช้ข้อมูลและความรู้ที่ถูกต้องแม่นยำ�เพื่อผลิตผลงานที่ดีที่สุดและป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาและความ ผิดพลาดเสียหาย • เราจะเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพื่อก้าวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา • เราจะแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่ให้ผู้อื่นทราบและจะเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุคคลอื่นในองค์กร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 33


Our team มีความสามัคคี • เราจะติดต่อสื่อสารและประสานงานกับคนทุกคนด้วยความสัมพันธ์ที่ดี เคารพ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน • เราจะเชื่อมั่นในผู้นำ� และพร้อมจะเป็นผู้ช่วยผู้บริหารด้วยข้อมูลและผลงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด • เราจะสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดีในการทำ�งานให้มีความสุขร่วมกัน Nice working หลักการทำ�งานดี • เราจะมุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ ทำ�งานด้วยการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และทำ�อะไรต้องทำ�ให้ดีที่สุด • เราจะทำ�งานในหน้าที่ด้วยความรู้สึกเป็นเจ้าของธุรกิจไม่ใช่เพียงเพราะเป็นแค่หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ • เราจะคิด  รู้สึก  และกระทำ�เชิงบวก  และเชื่อมั่นว่าทำ�ได้โดยไม่กล่าวคำ�ปฏิเสธต่อเพื่อนร่วมงานจนกว่าจะได้พยายาม อย่างเต็มที่แล้ว Discipline มีวินัย • เราจะทำ�ตามมาตรฐานกฎระเบียบข้อบังคับของบริษัทและปฏิบัติตามนโยบายของผู้บังคับบัญชา • เราจะรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายและพันธะสัญญาที่มีต่อองค์กรและลูกค้าอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ • เราจะทำ�งานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตจนเป็นอุปนิสัยเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ลูกค้า เพื่อนร่วมงาน และจะทำ�หน้าที่ เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

เอไอทีผู้นำ�ด้านการให้บริการแบบครบวงจรด้าน ICT เราดำ�เนินธุรกิจตามแบบแผนและโครงสร้างดังนี้

1. การขายสินค้าและการบริการ

2. การให้บริการดูแลบำ�รุงรักษา

งานโครงการเป็นองค์ประกอบหลักของการทำ�ธุรกิจ แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ โครงการที่มาจากการประมูลและโครงการ ที่มาจากการขายตรง  เราเอาใจใส่เป็นอย่างยิ่งกับความต้องการของลูกค้า  และทำ�ข้อเสนอทางด้านเทคโนโลยีที่ลูกค้าจะมั่นใจได้ว่าเป็น เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด ความเข้าใจในธุรกิจลูกค้าและโครงการในรายละเอียดเป็นกุญแจสำ�คัญที่ท�ำ ให้เราประสบความสำ�เร็จในการส่ง มอบงานและทำ�ให้ลูกค้าพึงพอใจ เรามีทีมงานขายและทีมงานก่อนการขาย (Pre-sales) ที่มีความชำ�นาญสูงเพื่อให้มั่นใจได้ว่าข้อเสนอ ของโครงการเป็นข้อเสนอที่เป็นที่เข้าใจถูกต้อง ชัดเจน ตรงกันทั้งเอไอทีและลูกค้า เมื่อเริ่มรับงาน  ฝ่ายจัดการโครงการจะเข้ามารับผิดชอบเพื่อให้สามารถดำ�เนินโครงการได้อย่างเหมาะสมและเสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดการโครงการจะเข้ามาจัดทีมงานผู้ชำ�นาญการและทีมวิศวกรที่ผ่านการฝึกอบรมเข้าดำ�เนินการ ทีมงานทั้งหมดจะเข้าดำ�เนินโครงการ ตามแผนงานและกระบวนวิธีที่ได้รับการฝีกอบรมมาเป็นอย่างดี  สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานสำ�คัญอีกประการหนึ่งที่ทำ�ให้เอไอทีประสบความ สำ�เร็จมาจนทุกวันนี้ โครงการที่เราดำ�เนินการมีทั้งขนาดย่อมมูลค่าเป็นหลักแสนบาทไปจนกระทั่งโครงการมูลค่าเป็นหลักพันล้านบาท  ขึ้นอยู่กับ ลูกค้า ซึ่งปัจจุบันฐานลูกค้าของเรามีตั้งแต่กิจการเล็กๆจนถึงบริษัทในระดับที่อยู่ในรายชื่อ 500 บริษัทใหญ่ที่จัดโดยนิตยสาร Fortune และหน่วยงานราชการ หลังจากส่งมอบ ดำ�เนินการ และทดสอบระบบอย่างสมบูรณ์แล้ว เราจะเริ่มการบริการหลังการขาย และทำ�การซ่อมบำ�รุงระบบ ให้กับลูกค้า เอไอที  Care4  คือโปรแกรมการบำ�รุงรักษาที่ยืดหยุ่น  และหลากหลาย  ซึ่งออกแบบให้เหมาะกับความต้องการของลูกค้า ด้วยประสบการที่มีมาเกือบ 20 ปี ในด้านต่างๆเช่น การออกแบบ ดำ�เนินโครงการ บำ�รุงรักษาเครือข่าย เซิร์ฟเวอร์ และซอฟต์แวร์ เอไอทีคือผู้ให้บริการที่ลูกค้าต้องการ

2555-2012 34

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


โปรแกรม CARE4 ประกอบด้วย • ป้องกันการสะดุดของระบบ (Downtime) • พร้อมให้บริการตลอดเวลา • สามารถเข้าถึงวิศวกรที่รู้จักระบบงานเป็นอย่างดีได้โดยตรง • การรับมือกับปัญหาอย่างโปร่งใส • ศูนย์บริการครอบคลุมทั่วประเทศ • ประมาณการต้นทุน โปรแกรม CARE4 มีขบวนการของการบริหารจัดการด้านการให้บริการโดยใช้ระบบ Information Technology Infrastructure Library (ITIL) เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเราให้บริการที่เสมอต้นเสมอปลาย: • Call Center • Incident Management • Change Management • Install Base Management • Spare Part Logistics • Resource Allocation • Remote and Online Monitoring • Assessments and Health Checks และ • License Management

3. Managed Services

4. Training Services

ภายใต้การดูแล Managed Serviced ของเอไอที ลูกค้าสามารถปลดภาระความรับผิดชอบรายวันด้าน IT ให้เป็นการดูแล ของเรา ซึ่งจะทำ�ให้มั่นใจได้ว่ากิจกรรมต่างๆจะได้รับการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ บริการ Managed Serviced ของเรานำ�เสนอการดูแล ทั้งระบบโครงสร้างพื้นฐานหรือเป็นบางส่วนได้ • Managed IT Infrastructure • Managed Network Infrastructure • Managed Security และ • Managed Communication (VoIP) ปัจจุบันความต้องการของลูกค้าเกี่ยวกับ Managed Service ได้เพิ่มมากขึ้นจากเดิมที่เป็นลักษณะของการบังคับซื้อ และไม่ได้เพิ่ม มูลค่าของธุรกิจ แต่เอไอทีเราทำ�งานในลักษณะที่แตกต่างโดยการทำ�ความเข้าใจให้ลูกค้ารับทราบถึงประโยชน์จากการมีเครือข่ายที่เหมาะ สม ตามความจำ�เป็น จะหลีกเลี่ยงการสะดุดของเครือข่าย (Downtime) ซึ่งก็จะกระทบผลประกอบการของธุรกิจ การบำ�รุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานไอทีกลายเป็นเรื่องซับซ้อน  ยุ่งยาก  และความต้องการของพนักงานก็เพิ่มมากขึ้น  การจัดการ ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นเรื่องที่เสียเวลาและลำ�บาก  เอไอทีสามารถเข้าไปจัดการปัญหาความยุ่งยากดังกล่าวเพื่อให้ลูกค้าได้จัดการ โครงสร้างพื้นฐานไอทีอย่างเหมาะสมตลอดเวลา ปัจจุบนั   เทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงไปตามลักษณะการทำ�งานประจำ�วัน  เทคโนโลยีได้กา้ วข้ามเขตแบ่งแดนระหว่างประเทศไปแล้ว ธุรกิจจำ�เป็นต้องหาบุคลากรที่มีทักษะรู้จักที่จะขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อรองรับเศรษฐกิจแบบเครือข่ายระดับนานาชาติ เทคโนโลยีอยู่รอบตัวเรา จากหน่วยงานราชการ ถึงสถาบันการศึกษา จากโรงงานถึงโรงพยาบาล โดยพื้นฐานธุรกิจทั้งหลาย กำ�ลังเก็บเกีย่ วพลังจากการเป็นเครือข่าย  บุคลากรทีไ่ ด้รบั การฝึกฝนเป็นอย่างดีก�ำ ลังเป็นทีต่ อ้ งการอย่างมาก  เพราะไม่เพียงแต่การส่งมอบ โซลูชั่น  แต่จำ�เป็นต้องมีการบำ�รุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานเหล่านั้นด้วย  ลูกค้าของเราที่ออกแบบระบบ  และดำ�เนินการบนโครงสร้าง เครือข่ายพื้นฐานของซิสโก้สามารถส่งทีมงานเข้ารับการฝีกอบรมในศูนย์ฝึกอบรมซิสโก้ของเอไอที AIT Cisco Training Center (ACCTC) เพื่อให้พร้อมรับความต้องการที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 35


ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปี 2555 และแนวโน้มข้างหน้าปี 2556 ในช่วงต้นปี 2555 ที่ผ่านมา หลายองค์กรได้น�ำ แนวคิดในการจัดการทรัพยากรแบบเสมือนจริงมาใช้ ด้วยการโยกย้ายซอฟต์แวร์ โปรแกรมประยุกต์ต่างๆจากเครื่องแม่ข่ายเดิมไปไว้ในระบบคลาวด์มากขึ้น  เพื่อลดการพึ่งพาโปรแกรมเมอร์  ในขณะเดียวกันก็วางแผน จัดเตรียมศูนย์สำ�รองข้อมูลไปพร้อมกันเพื่อป้องกันภัยพิบัติที่ไม่คาดคิดอย่างวิกฤตน้�ำ ในปี 2554 ที่ผ่านมา ในขณะที่ผู้ให้บริการ Service Providers หลายรายไม่ว่าจะเป็นกระทรวงไอซีทีบริษัท กสท. โทรคมนาคม (CAT) หรือบริษัท ทีโอที คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (TOT) ก็เริ่ม จัดทำ�ศูนย์ข้อมูลแบบเสมือนจริง (Virtualized Data Center) ที่สามารถให้บริการศูนย์ส�ำ รองแบบจ่ายตามการใช้งาน (Pay-as-you-go) เพื่อให้องค์กรต่างๆสามารถเลือกใช้บริการได้สะดวกและง่ายต่อการบริหารจัดการ ทางบริษัทฯ ได้จัดเตรียมทีมงานและผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ให้คำ�แนะนำ�ในการออกแบบและการบริหารจัดการภายใต้ Cloud Computing Reference Architecture ของบริษัทซิสโก้ (Cisco) จะช่วย ผู้ให้บริการมั่นใจทั้งในประสิทธิภาพและการบริหารจัดการที่เหมาะสมตั้งแต่การทำ� Cloud Provisioning ตาม Package ที่ให้บริการ และ การบริหารจัดการ (Cloud Management) ที่สามารถจัดการทรัพยากรได้แบบเบ็ดเสร็จ (Orchestra) ในช่วงปี  2554  ที่ผ่านมา  บริษัทส่วนใหญ่ที่ดำ�เนินธุรกิจในประเทศไทย  จะใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะหรือคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กใน การปฏิบัติงาน หรือดำ�เนินธุรกิจ (Workforce Computing) ทั้งสิ้น เมื่อเกิดวิกฤตการณ์น�้ำ ในช่วงปลายปี 2554 อุปกรณ์กลุ่ม Tablets และ  Smart  Mobiles  ได้ถูกนำ�มาใช้งานทดแทนอย่างกว้างขวาง  เพื่อขจัดอุปสรรคด้านการเดินทางและการพกพา  เมื่ออุปกรณ์กลุ่ม Tablets และ Smart Mobiles เหล่านี้มีขีดความสามารถสูงขึ้น ผนวกกับความคุ้นเคยการใช้งานที่ผ่านมา ผู้ใช้ส่วนใหญ่จึงนำ�อุปกรณ์ ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กบั การทำ�งานได้มากขึน้ ทำ�ให้เกิดความสำ�เร็จของงาน (Productivity) ได้ตลอดเวลา อาจกล่าวได้วา่ ยิง่ มีการเชือ่ มต่อ มากขึ้นจำ�นวนความสำ�เร็จของงาน (Productivity) จะยิ่งเพิ่มขึ้น เมื่อการเชื่อมต่อเป็นปัจจัยหลักที่ก่อให้เกิดความสำ�เร็จของงาน  (Productivity)  จึงเกิดแนวคิดใหม่ที่จะรวมเอาการเชื่อมต่อและ การสื่อสารเข้าด้วยกันให้เป็นแบบรวมศูนย์ โดยไม่มีข้อจำ�กัดในเรื่องระบบปฏิบัติการ ไม่ว่าจะเป็น RIM Windows Android หรือ IOS และเพื่อเอื้ออำ�นวยความสะดวกให้กับทีมงานยุคใหม่ที่สามารถทำ�งานร่วมกัน  และติดต่อสื่อสารกันได้ตลอดเวลาในทุกรูปแบบตั้งแต่ การสนทนาด้วยข้อความ (IM) เสียง (Voice) ภาพเคลื่อนไหว (Video) การส่งข้อมูลเสียง การแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการประชุม อย่างเช่น Cisco Jabber เป็นต้น ในปี 2555 อุปกรณ์ Tablets และ Smart Mobiles ที่อยู่ในกลุ่ม Workforce Computing ได้ถูกนำ�มาใช้งานภายในองค์กรอย่าง แพร่หลาย หรือที่เรียกว่ากันว่า Bring Your Own Device (BYOD) ซึ่งก่อให้เกิดกิจกรรมและความสำ�เร็จของงาน (Productivity) มากมาย เมื่อมีการใช้งานแพร่หลายก็มักจะก่อให้เกิดภัยที่แฝงมากับอุปกรณ์ดังกล่าวด้วย  จึงจำ�เป็นต้องมีการป้องกัน  และการบริหารจัดการ อุปกรณ์ดังกล่าวภายใต้ระบบบริหารจัดการเชื่อถือได้ ด้วยการกำ�หนดนโยบายในการเข้าใช้เครือข่ายอย่างเช่น Cisco Identify Service Engine (Cisco ISE) ก็จะสามารถป้องกันความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับข้อมูลทางธุรกิจได้ ในปี  2556  ต่อจากนี้  เมื่อระบบเครือข่าย  3G  4G  หรือ  บรอดแบรนด์ที่ถูกกระจายไปยังพื้นที่ต่างๆได้ครอบคลุมมากขึ้น เพื่อตอบสนองงานบริการด้านดิจิตอล ที่ต้องการปริมาณความกว้างของช่องทางในการรับ-ส่งข้อมูล (Bandwidth) ดังนั้นเมื่ออุปกรณ์ กลุ่ม Workforce Computing อย่าง Ultra Books Tablets และ Smart Mobile ถูกนำ�มาใช้ในการติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น ตั้งแต่ธุรกิจ การค้า หรือกลุ่มสมาชิก อย่าง Facebook หรือการใช้บริการทางอินเทอร์เน็ต เพื่อสืบค้นข้อมูล หรือการดาวโหลดข้อมูล ดูหนัง ฟังเพลง แม้กระทั่งการแบ่งปันรูปภาพ การบริการด้านดิจิตอลทั้งหลายในปัจจุบัน อย่างเช่น IPTV หรือ Media Streaming ที่เกิดขึ้น จะเปิดบริการ ผ่านทางเครือข่ายที่เป็นไอพี (IP Network) เป็นหลัก เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงได้สะดวกและรวดเร็ว ไม่ว่าจะอยู่บนเครือข่ายใด ก็ตาม ดังนั้นการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายทั้ง ระบบเครือข่าย 3G 4G หรือ บรอดแบนด์ จะต้องใช้ระบบเครือข่ายหลัก (Core Network) ที่มีความกว้างของช่องทางในการรับ-ส่งข้อมูล (Bandwidth) สูงมาก เพื่อให้การสื่อสารผ่านระหว่างระบบเครือข่ายเป็นไปอย่างราบรื่น ปี 2555 ประเทศไทยมีการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์เพิ่มมากกว่า 2 ล้านคัน และจะมีการขยายเส้นทางรถไฟฟ้าอีก หลายสายในปี 2556 แสดงให้เห็นถึงปัญหาการจราจรที่จะตามมา ดังนั้นความพยายามที่จะให้พนักงานสามารถทำ�งานภายนอกบริษัท (Mobile Worker) จึงมีมากขึ้นและพยายามที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการทำ�งานแบบ Mobile Workforce ด้วยการรวม ศูนย์ข้อมูลแล้ว สิ่งหนึ่งที่สำ�คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือ การแบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่ระหว่าง Mobile Worker ดังนั้นเมื่อบริการด้าน

2555-2012 36

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


เครือข่าย 3G หรือ 4G เกิดขึ้นก็จะเป็นแรงสนับสนุนการทำ�งานแบบ Mobile Workforce เนื่องจากวิศวกรผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ภายนอกบริษัทฯ ก็จะสามารถติดต่อสื่อสารกัน และแชร์ทรัพยากรร่วมกับ Mobile Worker อื่นๆได้ ในปี 2556 จะเป็นปีแห่งการขยายช่องสัญญาณ (Bandwidth) แบบก้าวกระโดด เพื่อรองรับการเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายทั่วประเทศ (Carrier Routing System) สำ�หรับผู้ให้บริการ ISP ผู้ให้บริการด้านสื่อดิจิตอล ผู้ให้บริการด้านธุรกรรมอิเล็คทรอนิกส์ และผู้ปฏิบัติการ Mobile Worker โดยมีความเร็วในการเชื่อมต่อสูงถึง 100 GB ระหว่างเครือข่ายหลักทั่วประเทศ เพื่อรองรับข้อมูลที่คับคั่ง (Traffic Strom) จากผู้ใช้บริการในประเทศและกลุ่ม AEC ในอนาคต เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC (Asian Economic Community) เกิดขึ้นในปี 2558 บริษัทต่างประเทศในกลุ่ม AEC บางส่วนก็จ�ำ เป็นต้องเข้ามาเปิดสาขาในประเทศ การเชื่อมต่อสาขาในประเทศไทยไปยังบริษัทแม่ต้องการช่องสัญญาณแบนด์วิธขนาดใหญ่ และมีความปลอดภัยสูง การให้บริการนี้เรียกว่า “Carrier Ethernet Exchange” เพื่อให้ Network Service Provider (NSP) ระหว่างประเทศ สามารถเชื่อมต่อกันได้เสมือนการเชื่อมต่อสาย Leased Line ข้ามประเทศที่มี Service Level Agreement (SLA) ที่ดี ซึ่งเป็นการยกระดับ ธุรกิจไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านด้วย และเมื่อกลุ่ม AEC ขยายตัวมาที่ประเทศไทย การเชื่อมต่อบริการด้านอินเทอร์เน็ต (ISP) ก็จะมีมากขึ้น การขยายช่องสัญญาณ International Internet Gateway เพื่อเชื่อมต่อไปยังในภูมิภาคย่านอาเซียน ส่งผลให้จ�ำ นวนบริษัทที่เปิดให้บริการ ด้าน ISP และจำ�นวนบรอดแบนด์จะถูกกระจายไปยังพื้นที่ต่างๆที่เครือข่าย 3G และ 4G ไปไม่ถึง มีจ�ำ นวนมากขึ้น เพื่อให้สามารถ ครอบคลุมทุกพื้นที่ ภายใต้วธิ คี ดิ ทางยุทธศาสตร์ของบริษทั ฯทีเ่ น้นการบริหารจัดการทีร่ วดเร็ว  และการยึดมัน่ ในการพัฒนาบุคคลกรให้มคี วามเชีย่ วชาญ อย่างสม่ำ�เสมอ ทำ�ให้เอไอที มีอาวุธสำ�คัญในการรุกเข้าสู่กลุ่มธุรกิจสื่อสารในอาเซียนต่อไป การวิเคราะห์การแข่งขัน รูปแบบการแข่งขันในภาค ICT ของไทยยังคงคล้ายกับในปีทผ่ี า่ นมา โดยคูแ่ ข่งทางธุรกิจของเอไอทีสามารถจัดเป็นกลุม่ ได้ 4 กลุม่ ดังนี้ กลุ่มระบบคอมพิวเตอร์ มีรายนามบริษัทดังนี้ • MFEC Plc • PCC Co., Ltd. • SVOA Plc. • CDG Group • YIP In Tsoi Co., Ltd. • Siemens (Thailand) Co., Ltd. • Forth Corporation Plc. Ltd. • Loxley Plc. กลุ่มระบบเครือข่าย มีรายนามบริษัทดังนี้ • Datacraft Co., Ltd. (ปัจจุบันเป็น Dimension Data) • IBM Co., Ltd. • NetONE Network Solution Co., Ltd. • IBM (Thailand) Co., Ltd. • NCR Thailand Co., Ltd. • Forth Corporation Plc. • Siemens (Thailand) Co., Ltd. • Loxbit Plc,. และ • Datapro Computer Systems Co., Ltd.

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 37


กลุ่มระบบสื่อสาร มีรายนามบริษัทดังนี้ • United Communication Industry Plc. • Jasmine International Plc. และ • Samart Corporation Plc. กลุ่มระบบซอฟต์แวร์ มีรายนามบริษัทดังนี้ • MFEC Plc., และ • International Research Corporation Plc. ในทุกตลาดข้างต้น และเรามีความมั่นใจว่าการมีหุ้นส่วนทางกลยุทธ์เช่น บริษัท ซิสโก้ (ประเทศไทย) จำ�กัด จะเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันกับคู่แข่งทางการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มระบบเครือข่าย  ปัจจุบันเอไอทีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคู่ค้าภายใน ประเทศ (Local Partner) ในระดับที่สูงที่สุดในประเทศ ในทางกลยุทธ์ เอไอทีได้ใช้กลยุทธ์ต่างๆต่อไปนี้ เพื่อคงความได้เปรียบทางการแข่งขันกับคู่แข่งทางการค้าข้างต้น

กลยุทธ์ในการแข่งขัน

เอไอทียังคงร่วมในการประมูลงานโครงการทั้งในภาคราชการและภาคเอกชน โดยเกณฑ์ต่างๆที่ใช้ในการประมูลงานมีดังนี้ • ระดับความเข้าใจของในความต้องการของโครงการ • คุณภาพด้านเทคนิคของข้อเสนอโครงการ • ความพร้อมด้านบุคลากรของเราและผลงานอ้างอิง • มูลค่าโครงการและฐานะการเงินของบริษัท บริษัทได้ก�ำ หนดกลยุทธ์การแข่งขันไว้ดังนี้ • รักษาระดับคุณภาพสูงสุดของสินค้าและบริการ • เข้าถึงลูกค้าตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อจะสามารถให้คำ�แนะนำ�ในเรื่องการออกแบบระบบและการวางแผน • ทำ�ความเข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับตัวโครงการและคัดสรรสินค้าและเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสร้างความพอใจให้ลูกค้า มากที่สุด • ให้บริการหลังขายที่ดีที่สุด จากศูนย์บริการ 7 แห่งที่สามารถครอบคลุมได้ทั่วประเทศ • รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า • ยังคงพัฒนาบุคลากรต่อไปไม่หยุดยั้ง • เพิ่มความยืดหยุ่นและความรวดเร็วในการแก้ปัญหา • รักษาความสัมพันธ์และความซื่อสัตย์ต่อคู่ค้าของเรา

2555-2012 38

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ปัจจัยความเสี่ยง ทุกวันนี้การดำ�เนินธุรกิจมักจะมีความไม่แน่นอน  การจัดการความเสี่ยงเป็นเครื่องมือสำ�คัญที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในทุกธุรกิจโดย เฉพาะอย่างยิ่งในการดำ�เนินธุรกิจเมื่อเกิดสถานการณ์ที่คาดไม่ถึง  ดังนั้นเอไอทีจึงจำ�เป็นต้องมีเครื่องมือจัดการธุรกิจในสถานการณ์ ปัจจุบันเช่นเดียวกับการเตรียมตัวให้พร้อมกับการแข่งขันในอนาคต บริษัทตระหนักถึงผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงและได้จัดทำ�มาตรการที่จะลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมับได้ บริษัทยังได้ทบทวน ประเมินปัจจัยเสี่ยงและอุปสรรคใหม่ๆที่อาจส่งผลกระทบบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียอย่างสม่�ำ เสมอ อย่างไรก็ตามบริษัทได้มีการจัดตั้งคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงการเข้าทำ�โครงการและลงทุน (Risk Committee) ขึ้นตั้งแต่ปี 2547 เพื่อบริหารความเสี่ยงจากโครงการอย่าง มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นความเสี่ยงที่สำ�คัญที่สุดต่อลักษณะการขายแบบโครงการของบริษัท วัตถุประสงค์หลักของการจัดการความเสี่ยงคือทำ�ให้มั่นใจว่าบริษัทจะสามารถบรรลุเป้าหมายขณะที่ยังคงสร้างลักษณะความ มั่นใจให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนเทคโนโลยี เนื่องจากธุรกิจด้านไอทีมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว บริษัทต้องดำ�รงความเป็นผู้น�ำ ด้านเทคโนโลยีเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสีย โอกาสทางธุรกิจและความสามารถในการแข่งขัน บริษัทมีการกระตุ้นวิศวกรและพนักงานขายรวมทั้งเจ้าหน้าที่การตลาด  เพื่อให้ติดตามการพัฒนาทางเทคโนโลยี  และเข้าร่วม การสัมนาทางวิชาการต่างๆ  เพื่อให้สามารถอยู่ในฐานะผู้นำ�ในสาขา  และนอกจากนี้เอไอทียังคงทำ�งานอย่างใกล้ชิดกับพันธมิตรธุรกิจ เพื่อให้เข้าใจในภาพของการพัฒนาตลาดและเทคโนโลยีหลัก ความเสี่ยงในการพึ่งพาลูกค้ารายใหญ่ รายรับส่วนใหญ่มาจากการขายและบริการติดตั้งเครือช่ายให้กับ TOT และ CAT ประมาณกว่าร้อยละ 50 ของรายรับทั้งหมด แม้จะถูกมองว่าเป็นความเสี่ยงแต่เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานของประเทศยังคงไม่พัฒนาเต็มที่  ดังนั้นการลงทุนดังกล่าวจะมาจากภาค ราชการเกือบทั้งหมดเพื่อเป็นการสนับสนุนวาระแห่งชาติในด้านไอที เช่น e-education, Broadband Internet และอีกหลายโครงการ วาระแห่งชาติทั้งหมดนี้จำ�เป็นต้องอาศัยโครงสร้างพื้นฐานด้านไอซีที การขายเครือข่ายหลักถือว่าเป็นความชำ�นาญในระดับประเทศยากที่จะหาคู่แข่งมาเปรียบเทียบได้  ดังนั้นจึงจำ�เป็นอยู่เองที่เอไอที จะเป็นผู้ค้าหลักในตลาดทั้งในปัจจุบันและในอนาคต

ลักษณะลูกค้าของบริษัทประกอบด้วยกลุ่มองค์กรราชการรัฐวิสาหกิจ และบริษัทเอกชนสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้ กลุ่มลูกค้า

ลูกค้า

อัตราส่วนรายได้/รายได้รวม

Telecom I: ได้แก่ กลุ่มธุรกิจ ด้านการสือ่ สารเคลื่อนที่และสื่อสารไร้สาย (Mobile & Wireless Group)

บริษัท กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน)

34.1%

Telecom II : ได้แก่ กลุ่มธุรกิจ ด้านโทรศัพท์พื้นฐานและเครือข่ายแบบ

บริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน)

20.6%

กลุ่ม Enterprise : กลุ่มลูกค้า ที่เป็นองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนต่างๆ มีสาย(Fixed Line & Network Group)

หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กร ธุรกิจภาคเอกชน ภาคการศึกษา ฯลฯ

45.3%

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 39


นอกจากนี้บริษัทยังวางแผนที่จะทำ�สัญญาให้บริการในระยะยาวกับลูกค้าหลักของเรา  เพื่อจะเป็นการรักษาสมดุลกับรายได้จาก โครงการชัดเจนว่าบริษัทพยายามอย่างยิ่งที่จะลดความเสี่ยงอันเกิดจากการพึ่งพาลูกค้าน้อยราย  และกำ�ลังพยายามมองหาโอกาสที่ จะกระจายฐานลูกค้าในอนาคต รายได้ที่เพิ่มจากการขยายฐานลูกค้าในอนาคตก็จะสามารถเปรียบเทียบได้กับรายได้จากลูกค้าหลัก  แต่ในขณะเดียวกันบริษัท ก็ยังคงรักษาฐานลูกค้าปัจจุบันให้แข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น ความเสี่ยงด้านการพึ่งพาบุคลากร ธรรมชาติของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่พึ่งพาอย่างมากกับบุคลากรทั้งในด้านการตลาด  วิศวกรรม  และ ด้านการดำ�เนินงาน ทรัพยากรบุคคลที่มีค่าเหล่านี้ ต้องใช้เชี่ยวชาญในด้านการแนะนำ� การออกแบบ และการดำ�เนินงาน ขายสินค้า และบริการของเอไอที ปัจจุบันเรามีพนักงานรวม 286 คนโดยกระจายไปตามสายงานต่างๆเหล่านี้ • การขายและการตลาด • บริการลูกค้า (ด้านวิศวกรรม) • ซอฟต์แวร์ • จัดการโครงการ • การเงินและการบริหาร พนักงานส่วนใหญ่ของบริษัทเป็นวิศวกร  แต่ละคนมีประสบการณ์ทำ�งานประมาณ  4-6  ปี  และในปีที่ผ่านมา  บริษัทมีอัตรา การออกของพนักงานเพียงร้อยละ 2-3 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับต่ำ� เพื่อที่จะรักษาทรัพยากรบุคคล บริษัทมีรูปแบบของการจูงใจและให้สภาพ แวดล้อมการทำ�งานที่ดี บริษัทยังได้มีระบบตรวจสอบภายในเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะสูญเสียบุคลากรที่ส�ำ คัญเพื่อไม่เกิดผลกระทบต่อ การดำ�เนินธุรกิจ เอไอที ได้ พั ฒ นาโครงสร้ า งองค์ ก รในหลายระดั บ และมี ร ะบบการทดแทนกั น หากเกิ ด กรณี ที่ พ นั ก งานหลั ก ไม่ พ ร้ อ มทำ � งาน ก็จะสามารถมีพนักงานทดแทนได้ในทันที ทุกสัปดาห์จะมีการประชุมภายในโดยพนักงานในระดับอาวุโส เพื่อรับทราบและพูดคุยปัญหาที่ เกิดขึ้น และเพื่อกำ�หนดมาตรการที่จำ�เป็นทันที ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาในการทำ�งานที่อาจเกิดขึ้นได้

ความเสี่ยงด้านการพึ่งพาผู้ค้ารายใหญ่มากกว่าร้อยละ 30

ปกติแล้วบริษัทจะซื้อสินค้าโดยตรงจากผู้ผลิตหรือจากตัวแทนจำ�หน่ายของผู้ผลิตที่ตั้งสำ�นักงานตัวแทนในประเทศไทย  และ บริษัทเป็นตัวแทนจำ�หน่ายหลักที่โดดเด่น และเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับบริษัทซิสโก้ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผู้ผลิตชั้นนำ�ของโลกในด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในสาขา IP (Internet Protocal) ในปี 2555 บริษัทสั่งซื้ออุปกรณ์เครือข่ายจาก Cisco systems เป็นมูลค่ามากถึงประมาณร้อยละ 30 ของต้นทุนขายทั้งหมด สาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้ต้องมีมูลค่าการสั่งซื้อจากบริษัทซิสโก้ในแต่ละปีมากเช่นนี้ก็ด้วยเหตุที่ว่าสินค้าจากบริษัทซิสโก้ได้รับการยอมรับ อย่างกว้างขวางจากลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้  เอไอทีได้ลงทุนอย่างมากในการฝึกอบรมวิศวกรและพนักงานขายเพื่อให้ได้รับการรับรองจากบริษัทซิสโก้  ตลอดมา จนทำ�ให้ เอไอทีได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทซิสโก้ ให้เป็นคู่ค้าในระดับ Gold Partner ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดมาหลายปี การอยู่ในระดับ Gold Partner มานานนี่เองทำ�ให้เราได้รับการสนับสนุนทั้งด้านเทคนิคและส่วนลดทางการค้าที่ดีกว่าคู่ค้าในระดับ อื่นที่อยู่ในระดับรองลงมา แม้กระนั้นในการลดความเสี่ยงที่เกิดจากการพึ่งพาคู่ค้าที่รายเดียวในระดับที่สูง บริษัทยังได้เป็นคู่ค้ากับผู้ผลิต รายอื่น ซึ่งมีชื่อเสียงอยู่ในระดับเดียวกันกับ Cisco System ผู้ผลิตเหล่านี้ก็เป็นผู้ผลิตชั้นนำ�ในสาขาของตน

2555-2012 40

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ความเสี่ยงด้านการส่งมอบโครงการ

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

1. กำ�หนดค่าความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มเติมในการคำ�นวณต้นทุนโครงการ 2. การทำ�สัญญาซื้อ-ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าครอบคลุมทั้งจำ�นวน

โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารมักจะมีอายุการส่งมอบโครงการประมาณ  6-12  เดือน  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาด ของแต่ละโครงการถ้าบริษัทไม่สามารถส่งมอบโครงการในเวลาที่กำ�หนดไว้ในสัญญา  บริษัทอาจถูกปรับจากการส่งงานล่าช้าได้  ตลอด ระยะเวลา 5 ปีล่าสุดนี้ บริษัทถูกปรับจากการส่งมอบงานล่าช้าคิดเป็นมูลค่าน้อยกว่าร้อยละ 1 ของรายได้รวมทั้งหมด ซึ่งถือได้ว่าน้อย มาก เมื่อเปรียบเทียบกับบริษัทในธุรกิจเดียวกัน สาเหตุหลักของความล่าช้าของโครงการมักจะมาจากปัจจัยภายนอกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของเราเช่น  ความล่าช้าจากการ ส่งของจากคู่ค้า  หรือการเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ที่ติดตั้งพื่อที่จะป้องกันบทปรับที่จะเกิดขึ้นจำ�เป็นต้องมีวิธีการจัดการโครงการอย่างชัดเจน กระบวนวิธีนี้ต้องอาศัยการติดตามโครงการอย่างใกล้ชิดและการประสานงานที่ดีระหว่างบริษัท ลูกค้า และผู้ผลิต ซึ่งทำ�ให้สามารถระบุ ปัญหาและลดผลกระทบต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้า เมื่อเริ่มโครงการ  บริษัทจะติดตามและตรวจสอบระยะเวลาการส่งมอบโครงการอย่างสม่ำ�เสมอ  อย่างไรก็ตามหากลูกค้ามี ความต้องการใช้ระบบงานที่สั่งไว้อย่างเร่งด่วน  บริษัทก็สามารถจัดหาระบบงานสำ�รองเพื่อใช้งานชั่วคราวระหว่างรอการส่งมอบโครงการ อย่างสมบูรณ์ต่อไป โดยทั่วไปก่อนดำ�เนินโครงการ  บริษัทต้องประมาณการต้นทุนโครงการล่วงหน้าเป็นระยะเวลาประมาณ  1-2  เดือน  เพื่อจะ ใช้ในขบวนการประมูลงานโครงการต่างๆ  ซึ่งหากต้องการนำ�เข้าอุปกรณ์บางส่วนจากต่างประเทศ  ต้นทุนโครงการอาจได้รับผลกระทบ อันเนื่องมาจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมียอดคงเหลือของเจ้าหนี้ การค้าที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศจำ�นวน  14.7  ล้านเหรียญสหรัฐ  และมียอดคงเหลือของสัญญาซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพือ่ ใช้ส�ำ หรับจ่ายชำ�ระค่าสินค้าเป็นจำ�นวน  12.3  ล้านเหรียญ  โดยอัตราแลกเปลีย่ นทีต่ กลงล่วงหน้าไว้คอื   30.60  ถึง  31.45  บาท ต่อหนึ่งเหรียญสหรัฐ จากความเสียงข้างต้น บริษัทได้กำ�หนดวิธีลดความเสี่ยงดังกล่าวโดย

โดยในปี 2555 นี้ บริษัทได้เตรียมการใช้เครื่องมือต่างๆ ทางการเงินเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารความเสี่ยงให้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับบริษัทไว้แล้ว ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐ ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศนับว่าเป็นธุรกิจทีม่ ที ศิ ทางการเติบโตทีด่ มี าก  เนือ่ งจากได้รบั นโยบายของรัฐหรือกฎหมายมาสนับสนุน เรื่องการลงทุนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง  ตัวอย่างเช่น  นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ  การประมูลใบอนุญาต ผู้ประกอบการในระบบ 3G หรือ โครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติก ซึ่งนโยบายเหล่านี้ส่งผลดีต่อผู้ประกอบ การที่อยู่ในอุตสาหกรรมให้มีโอกาสเข้าร่วมประมูลงานเพื่อการดำ�เนินโครงการเพิ่มสูงขึ้น  ดังนั้นหากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐ ในโครงการต่างๆ เหล่านี้อาจจะส่งผลกระทบทั้งบวกและลบต่อโอกาสทางธุรกิจของบริษัท อย่างไรก็ตามบริษัท มีการติดตามและประเมิน สถานการณ์อย่างใกล้ชิดและแจ้งข่าวให้นักลงทุนทราบอย่างต่อเนื่อง

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 41


โครงสร้างการจัดการ ณ  วันที่31ธันวาคม  2555  บริษัทมีคณะกรรมการ  4  ชุด  ประกอบด้วย  คณะกรรมการบริษัท  คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริษัท

ประกอบด้วย

ชื่อ - นามสกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายธนา ไชยประสิทธิ์ 2. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 3. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ 4. นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา 5. นายศรีภพ สารสาส 6. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา 7. นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย 8. นายภิสัก จารุดิลก 9. นายสุรพร รักตประจิต 10. นายกิจจา เหล่าบุญชัย 11. นายโชดิวัต ดั่นธนสาร

ประธานกรรมการบริษัท รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

เลขานุการบริษัท : นายวรวิทย์ วัฒนกุลจรัส กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ประกอบด้วย นายศิรพิ งษ์ อุน่ ทรพันธุ์ ลงลายมือชือ่ ร่วมกับ นายสุรพร รักตประจิต หรือ นายกิจจา เหล่าบุญชัย รวมเป็นสองคนพร้อมประทับตราสำ�คัญของบริษทั

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. อำ�นาจ

(1) จัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายวัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัท  ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นที่ชอบด้วย กฎหมายด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท (2) กำ�หนดนโยบาย  เป้าหมายแนวทางแผนงาน  และงบประมาณของบริษัท  รวมทั้งควบคุม  กำ�กับดูแลการบริหารงานและ การจัดการของคณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย  เว้นแต่เรื่องดังต่อไปนี้คณะกรรมการจะต้อง ได้รับมติอนุมัติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนการดำ�เนินการอันได้แก่เรื่องที่กฎหมายกำ�หนดให้ต้องได้รับอนุมัติของที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเช่นการเพิ่มทุนการลดทุนการออกหุ้นกู้การขายหรือโอนกิจการของบริษัททั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ�คัญให้แก่บุคคลอื่น หรือ การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเป็นของบริษัท การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ หรือข้อบังคับ เป็นต้น (3) คณะกรรมการบริษัทอาจแต่งตั้งกรรมการจำ�นวนหนึ่งตามเห็นสมควรให้เป็นคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เช่น คณะกรรมการ บริหารคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นต้น เพือ่ ปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทและให้คณะกรรมการบริษัทตั้งประธานกรรมการในแต่ละชุด  ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทต้องรายงาน ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ

2555-2012 42

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


(4) คณะกรรมการบริษัทอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดำ�เนินกิจการของบริษัทภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ  หรืออาจ มอบอำ�นาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอำ�นาจตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร  และภายในเวลาที่คณะกรรมการบริษัท เห็นสมควร และคณะกรรมการบริษัทอาจยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอำ�นาจอื่นๆ ก็ได้ (5) คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการบริษัท  และเลือกกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน เป็นรองประธานฯ  รวมทั้งเลือกกรรมการอีกคนหนึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่  ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทต้องรายงาน ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ (6) แต่งตั้งกรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทเพื่อมีผลผูกพันบริษัท และคณะกรรมการบริษัทมีอ�ำ นาจกำ�หนด หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงรายชื่อกรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทได้  ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทต้องรายงานให้ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นทราบ (7) แต่งตั้งและพิจารณาค่าตอบแทนรวมทั้งกำ�หนดเงื่อนไขการจ้างงานในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ (8) แต่งตั้งและพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในคณะกรรมการชุดย่อย  รวมทั้งบุคคลอื่นใดที่ คณะกรรมการบริษัทให้ดำ�เนินกิจการของบริษัทภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ  ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทต้องรายงาน ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ (9) พิจารณารับรองงบการเงินสำ�หรับงวดไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี เพื่อเสนอรายงานต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในวันประชุมใหญ่ สามัญประจำ�ปี (10) จัดการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี  และประชุมวิสามัญภายใต้กรอบเวลาและเงื่อนไขตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของบริษัท (11) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง หรือตามกฎระเบียบข้อบังคับของบริษัท

2. หน้าที่

(1) กำ�หนด ควบคุมและกำ�กับดูแล แนวทางและแผนยุทธศาสตร์ในการทำ�ธุรกิจของบริษัท (2) กำ�หนดนโยบายด้านต่างๆ  และขั้นตอนการปฏิบัติ  เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทเป็นไปตามกฎหมาย  ระเบียบข้อบังคับ มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมาตรฐานจริยธรรมด้วยความสุจริต และด้วยความระมัดระวัง (3) จัดสร้างระบบการควบคุม ความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นให้แก่บริษัท เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทเป็นไปตามข้อกำ�หนด ของกฎหมาย และความคาดหวังของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย (4) ควบคุม กำ�กับดูแล และประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร รวมทั้งผลประกอบการของบริษัท (5) จัดวางโครงสร้างและขั้นตอนการปฏิบัติ เพื่อให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง การกำ�กับและตรวจสอบ และการควบคุมภายใน ที่เหมาะสม

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประกอบด้วย

ชื่อ - นามสกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา 2. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 3. นายศรีภพ สารสาส

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ

เลขานุการบริษัท : นายวรวิทย์ วัฒนกุลจรัส

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 43


ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. อำ�นาจ

คณะกรรมการตรวจสอบมีอำ�นาจในการดำ�เนินการต่างๆ  ที่อยู่ภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบที่กำ�หนดไว้ในหัวข้อหน้าที่และความ รับผิดชอบและมีอ�ำ นาจในการดำ�เนินการดังต่อไปนี้ 1. มีอำ�นาจในการเชิญฝ่ายบริหารหรือเจ้าหน้าที่ของบริษัทมาร่วมประชุมชี้แจง  ให้ความเห็น  หรือจัดส่งเอกสารที่ร้องขอ  ตาม ความจำ�เป็น 2. พิจารณาเสนอรายชื่อผู้สอบบัญชีพร้อมทั้งค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการบริษัท เพื่อขอรับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี และ งานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบบัญชี 3. พิจารณาตัดสินใจในกรณีที่ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชีมีความเห็นไม่ตรงกันเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน 4. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของรายการที่เกี่ยวโยงกัน  หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง 5. พิจารณารายงานจากผู้ตรวจสอบภายใน และหารือกับฝ่ายบริหารเกี่ยวกับนโยบายการประเมินและการบริหารความเสี่ยง 6. จัดหาที่ปรึกษาจากภายนอกหรือผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการให้คำ�แนะนำ�  ปรึกษาหรือให้ความเห็นได้ตามที่คณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณาว่าเหมาะสม 7. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีเพื่อประชุมหารือ โดยไม่มีฝ่ายบริหารจัดการร่วมด้วย

2. หน้าที่

คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการของบริษัทดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานงบการเงินสำ�หรับงวดไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี อย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบงานตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์  และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา  คัดเลือก  เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท  และเสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์  ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท  ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง  ครบถ้วน  เป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในของบริษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์  หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (3) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (4) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (5) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมการประชุมกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (6) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) (7) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

2555-2012 44

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ประกอบด้วย

ชื่อ - นามสกุล

1. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 2. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ 3. นายศรีภพ สารสาส 4. นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย 5. นายสุรพร รักตประจิต

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

เลขานุการ : นางปัญณวีย์ แก้วมณี

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. อำ�นาจ 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการคัดสรร การประเมินผล รวมทั้งพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการใหญ่

2. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการเสนอชื่อผู้ที่มีความเหมาะสมให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาแต่งตั้งในกรณีต�ำ แหน่งกรรมการ ว่างลง 3. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการเสนอชื่อผู้ที่มีความเหมาะสมให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา  เพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 4. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการเสนอชื่อบุคคลอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายให้ปฏิบัติงานใดๆ ให้กับบริษัท

2. หน้าที่

1. จัดทำ�หลักเกณฑ์ วิธีการคัดสรร การประเมินผล รวมทั้งพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. สรรหาและเสนอชื่อผู้ที่มีความเหมาะสมให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้งในกรณีตำ �แหน่งกรรมการว่างลงจากเหตุอื่นที่ ไม่ใช่การพ้นตำ�แหน่งตามวาระ หรือการเพิม่ จำ�นวนกรรมการตามมติของคณะกรรมการบริษทั เพือ่ เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ 3. สรรหาและเสนอชื่อผู้ที่มีความเหมาะสมให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อเสนอต่อผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติในการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นในกรณีตำ�แหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากการพ้นตำ�แหน่งตามวาระ 4. สรรหาและเสนอชื่อผู้ที่มีความเหมาะสมให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา เพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่ต้องพ้นสภาพ จากการเป็นพนักงานบริษัท ตามระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงานที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน 5. สรรหาและเสนอชื่อบุคคลอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายให้ปฏิบัติงานใดๆ ให้กับบริษัท 6. เสนอแนะแนวทาง  และกำ�หนดค่าตอบแทนที่เหมาะสมของคณะกรรมการบริษัท  และคณะกรรมการชุดย่อย  แล้วนำ�เสนอให้ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. เสนอแนะแนวทางการจ่ายเงินโบนัส และการขึ้นเงินเดือนของผู้บริหารและพนักงานให้คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 45


คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย

ชื่อ - นามสกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ 2. นายสุรพร รักตประจิต 3. นายกิจจา เหล่าบุญชัย

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานบริการลูกค้า รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการตลาดและการขาย

เลขานุการ : นางสาวศรินทร์ จันทรนิภาพงศ์

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. อำ�นาจ

1) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการ แต่งตั้ง โยกย้าย หรือปลด ผู้บริหารบริษัท ที่ปฏิบัติหน้าที่ในทุกตำ�แหน่ง ยกเว้นกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 2) พิจารณาเห็นชอบในโครงสร้างเงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆของผู้บริหารและพนักงาน แล้วนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป 3) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง  โครงสร้างการบริหารงาน  ระเบียบปฏิบัติ  และขั้นตอนการทำ�งาน ของแต่ละสายงาน 4) พิจารณาอนุมัติการกู้ยืมเงินหรือให้กู้ยืมเงิน  หรือการขอสินเชื่อใดๆ  จากสถาบันการเงิน  ตลอดจนการเข้าไปค้ำ�ประกัน  หรือ การชำ�ระหรือจ่ายเงิน  เพื่อธุระกรรมตามการค้าปกติของบริษัท  โดยมีการกำ�หนดวงเงินสำ�หรับแต่ละรายการอย่างชัดเจน โดยวงเงินดังกล่าวให้เป็นไปตามระเบียบ  และอำ�นาจอนุมัติ  ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทแล้ว  อย่างไรก็ดี วงเงินดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมโดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริษัท 5) พิจารณาทำ�สัญญาการค้าในวงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด

2. หน้าที่

1) พิจารณากลั่นกรอง แผนธุรกิจ แผนงบประมาณใช้จ่ายประจำ�ปี และแผนการลงทุนของบริษัท เพื่อนำ�เสนอขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริษัท 2) กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทให้เป็นไปตามแผนงานต่างๆ  รวมทั้งการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย  กฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษัท และกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) กำ�กับดูแลให้บริษทั มีระบบปฏิบตั กิ ารควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมรัดกุม  และเป็นไปตามข้อเสนอแนะและท้วงติงของคณะกรรมการ ตรวจสอบ 4) ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 5) จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานของบริษัท และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบในทุกๆ ไตรมาส ทั้งนี้ อำ�นาจในการดำ�เนินการดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถใช้กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้ส่วนเสียหรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อย  และไม่รวมถึงการดำ�เนินการเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน  และรายการได้ มาจำ�หน่ายไปซึ่งทรัพย์สินที่สำ�คัญของบริษัทจดทะเบียน  ตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์  และบริษัทจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ นอกจากนี้ อำ�นาจดังกล่าวข้างต้นไม่รวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่ข้อบังคับบริษัท กำ�หนดให้ต้องขออนุมัติจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

2555-2012 46

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการใหญ่

1. ปฏิบัติงานและดำ�เนินการตามที่คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหารได้มอบหมาย  โดยอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ กฎระเบียบข้อบังคับของบริษทั   ทัง้ นีม้ กี ารกำ�หนดวงเงินสำ�หรับแต่ละรายการอย่างชัดเจน  โดยมีวงเงินสูงสุดไม่เกินวงเงินทีก่ �ำ หนด ไว้ตามระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัท  ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทแล้ว  อย่างไรก็ดีวงเงิน ดังกล่าวอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสมโดยขึน้ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของคณะกรรมการบริษทั   ทัง้ นีก้ ารมอบอำ�นาจดังกล่าว จะต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำ�นาจที่ทำ�ให้กรรมการผู้จัดการใหญ่สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด  (ตามที่คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์หรือกลต.ประกาศ กำ�หนด)  กับบริษัทหรือบริษัทย่อยทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  เรื่องหลักเกณฑ์วิธีการและ การเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน  ยกเว้นรายการระหว่างกันที่เป็นรายการปกติธุรกิจและมีการกำ�หนด ราคาและเงื่อนไขที่เป็นราคาตลาดหรือไม่ต่างจากบุคคลภายนอก 2. จัดทำ�แผนธุรกิจแผนกลยุทธ์งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี เสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหาร 3. ดำ�เนินการตามแผนทางธุรกิจกลยุทธ์ธุรกิจและงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหาร 4. กำ�หนดโครงสร้างองค์กรและการบริหารโดยให้ครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก  การฝึกอบรม  การว่าจ้างและ การเลิกจ้างของพนักงานบริษัท 5. มีอำ�นาจแต่งตั้งถอดถอนเจ้าหน้าที่ของบริษัทในตำ�แหน่งที่ต่ำ�กว่ากรรมการผู้จัดการใหญ่ 6. ปฏิบัติงานด้วยความสุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท   คณะผู้บริหาร ประกอบด้วย

ชื่อ - นามสกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ 2. นายกิจจา เหล่าบุญชัย 3. นายสุรพร รักตประจิต 4. นายอัศวิน กังวลกิจ 5. นางเนตรนภิส อุ่นทรพันธุ์ 6. นายสมชาย วิภูภิญโญ 7. นายชุมเกียรติ เล้าเสรีวัฒนกุล 8. นายโชดิวัต ดั่นธนสาร 9. นายองอาจ หาญทวีสมพล 10. นายนราเชษฐ์ ฉัตราฐิติพันธ์ 11. นายสุพัฒน์ ดุลยคุปต์ 12. นายพุทธิ ธำ�รงศิริวัฒน์ 13. นางสาวสุรีรัตน์ ปราชญานุกุล 14. นายกริต คงเชื้อนาค 15. นายเกรียงไกร นิศยันต์ 16. นายราล์ฟ ฮุนเดิร์ทมาร์ค 17. นายวรวิทย์ วัฒนกุลจรัส

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและการขาย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริการลูกค้า รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและแผนงานยุทธศาสตร์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและธุรการ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีและบริการงานซอฟท์แวร์ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาด ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายขายเอกชนและราชการ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายขายระบบสื่อสารโทรคมนาคม ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายขายรัฐ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายบริการด้านเทคนิค ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายบริการลูกค้า ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายควบคุมการเงินและการบัญชี ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายบริหารโครงการ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้อ�ำ นวยการอาวุโส ฝ่ายเลขานุการบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 47


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารในปี 2555

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท

ชื่อ - นามสกุ ล

ตำ�แหน่ ง

เบี้ยประชุ ม

หน่วย:บาท

ค่าตอบแทน บำ�เหน็จ รายเดือนต่อปี ประจำ�ปี 2554

รวม

1. นายธนา ไชยประสิทธิ์ ประธานกรรมการ 40,000.00 180,000.00 1,695,652.17 1,915,652.17 2. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ รองประธานกรรมการ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 และกรรมการอิสระ 3. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ กรรมการ 48,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,274,434.78 4. นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย กรรมการ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 5. นายสุรพร รักตประจิต กรรมการ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 6. นายชาติชาย เย็นบำ�รุง (1) กรรมการอิสระ - 32,000.00 1,130,434.78 1,162,434.78 (2) 7. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา กรรมการอิสระ 48,000.00 64,000.00 - 112,000.00 8. นายกิจจา เหล่าบุญชัย กรรมการ 36,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,262,434.78 9. นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา กรรมการอิสระ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 10. นายศรีภพ สารสาส กรรมการอิสระ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 11. นายภิสัก จารุดิลก กรรมการ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 12. นายโชดิวัต ดั่นธนสาร กรรมการ 60,000.00 96,000.00 1,130,434.78 1,286,434.78 รวม 592,000.00 1,140,000 12,999,999.97 13,687,999.97 หมายเหตุ: (1) (2) (3)

คุณชาติชาย เย็นบำ�รุง อยู่ครบวาระจนถึงการประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้น 1/2555 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 เข้ารับตำ�แหน่งต่อจากคุณชาติชาย เย็นบำ�รุง ซึ่งรับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้น 1/2555 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 อัตราค่าตอบแทนกรรมการเป็นไปตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2552 ประธานกรรมการรับเบี้ยประชุมในอัตราครั้งละ 20,000 บาทและได้รับค่าตอบแทนรายเดือนในอัตราเดือนละ 15,000 บาท 1. กรรมการรับเบี้ยประชุมในอัตราเดือนละ 12,000 บาทและได้รับค่าตอบแทนรายเดือนในอัตราเดือนละ8,000 บาท 2. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 มีมติอนุมัติการจ่ายบำ�เหน็จคณะกรรมการบริษัท รวม 13 ล้านบาท

ค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบ

ชื่อ - นามสกุ ล

1. นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา 2. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 3. นายศรีภพ สารสาส

หมายเหตุ :

ตำ�แหน่ ง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ รวม

เบี้ยประชุ ม

80,000 60,000 60,000 200,000

หน่วย:บาท

ค่าตอบแทน บำ�เหน็จ รายเดือนต่อปี ประจำ�ปี 2554

180,000 120,000 120,000 420,000

อัตราค่าตอบแทนกรรมการเป็นไปตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1 / 2552 เมื่อวันที่ 24เมษายน 2552 1. ประธานกรรมการรับเบี้ยประชุมในอัตราครั้งละ 20,0000 บาทและได้รับค่าตอบแทนรายเดือนในอัตราเดือนละ 15,000 บาท 2. กรรมการรับเบี้ยประชุมในอัตราเดือนละ 15,000 บาทและได้รับค่าตอบแทนรายเดือนในอัตราเดือนละ10,000 บาท

2555-2012 48

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

- - - -

รวม

260,000 180,000 180,000 620,000


ค่าตอบแทนกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ชื่อ - นามสกุ ล

เบี้ยประชุ ม

ตำ�แหน่ ง

หน่วย:บาท

ค่าตอบแทน บำ�เหน็จ รายเดือนต่อปี ประจำ�ปี 2554

รวม

1. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์

ประธานกรรมการ

40,000

-

-

40,000

2. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธ์

กรรมการ

30,000

-

-

30,000

3. นายศรีภพ สารสาส

กรรมการ

30,000

-

-

30,000

4. นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย

กรรมการ

30,000

-

-

30,000

5. นายสุรพร รักตประจิต

กรรมการ

30,000

-

-

30,000

รวม

160,000

-

-

160,000

รายการค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

กลุ่มบุคคล

รายการ

หน่วย : ล้านบาท

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553

1. กรรมการตรวจสอบ

ผลประโยชน์ระยะสั้น

5

4

3

2. กรรมการที่เป็นผู้บริหาร และผู้บริหาร

ผลประโยชน์ระยะสั้น /ผลประโยชน์ระยะยาว

124

133

108

6

5

4

3. กรรมการที่ไม่ได้เป็นกรรมการ ผลประโยชน์ระยะสั้น ตรวจสอบและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนอื่น

ตามที่บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)ได้ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทเสนอขายแก่ กรรมการและพนักงาน (ESOP) จำ�นวน 3,000,000 หน่วย ซึ่งได้ก�ำ หนดระยะเวลาการใช้สิทธิของใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทในวันทำ�การสุดท้ายของเดือนสิงหาคมของทุกปี ทั้งนี้วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ คือ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 และใบสำ�คัญ แสดงสิทธินี้จะมีอายุ 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ โดยมีอัตราการใช้สิทธิที่ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยต่อ 1 หุ้นสามัญ และ ราคาใช้สิทธิหุ้นละ 10 บาท ในการใช้สิทธิของใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท (ESOP) ครั้งสุดท้ายในวันที่ 28 กันยายน 2555 ผลการใช้สิทธิ ของใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. จำ�นวนผู้บริหารที่ยื่นขอใช้สิทธิ 25 ราย 2. จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ใช้สิทธิ จำ�นวน 681,250 หน่วย 4. จำ�นวนเงินที่ได้รับจากการใช้สิทธิ 6,812,500 บาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 49


ระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยงจากโครงการ เนือ่ งจากบริษทั ทำ�ธุรกิจทีเ่ น้นการประมูลโครงการเป็นหลัก  บริษทั จึงได้ตระหนักถึงความเสีย่ งต่างๆ  ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการขาย แต่ละโครงการ  บริษัทจึงได้กำ�หนดนโยบายให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและมีคณะอนุกรรมการ บริหารความเสีย่ ง (Risk Committee) ทำ�หน้าทีป่ ระเมินความเสีย่ งต่างๆ ทัง้ ทีเ่ กิดจากเรือ่ งการเงิน การบริหารโครงการ ด้านเทคนิครวม ถึง ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก เพือ่ เสนอแนะแนวทางในการจัดการความเสีย่ งให้อยูร่ ะดับทีย่ อมรับได้ โดยโครงการสำ�เร็จลุลว่ ง และสามารถ สร้างผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมกํบบริษทั

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารมีหน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีและรักษาไว้ช่งึ ระบบควบคุมภายในรวมทั้ง ดำ�เนินการทบทวนความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมอย่างสมํ่าเสมอ  เพื่อปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของบริษัท การควบคุมภายในจะครอบคลุมถึง  การควบคุมทางการเงิน  การดำ�เนินงาน  การกำ�กํบดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและ ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และการบริหารความเสีย่ ง ระบบการควบคุมภายในทีบ่ ริษทั ได้จดั ไว้อย่างมีประสิทธิภาพ  จะช่วยให้บริษทั มีความมนใจอย่างสมเหตุสมผล  ทีจ่ ะสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีว่ างไว้ในเรือ่ งดังนี้ • ระบบข้อมูล และรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง เชือ่ ถือได้ • ได้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ นโยบาย กระบวนการทำ�งานของบริษทั และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง • ทรัพย์สนิ ของบริษทั มีอยูจ่ ริงและได้มกี ารควบคุม ดูแล จัดเก็บ รักษา เป็นอย่างดี • การดำ�เนินงานของบริษทั เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด • วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ของบริษทั ได้มกี ารบรรลุและดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิผล

ระบบการควบคุมภายในของบริษทั สรุปตามองค์ประกอบของการควบคุมแต่ละด้านด้งนี้

1. ด้านองค์กรและสภาพแวดล้อม (Organization &Control Environment)

2. ด้านการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

3. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร (Management Control)

บริษัทได้จัดให้มีโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมที่ดีชึ่งเป็นรากฐานที่สำ�คัญของการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล  โดย บริษัทฯมีการกำ�หนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย กลยุทธ์ งบประมาณ รวมทั้งกำ�หนดหลักเกณฑํในการวัดผลที่ชัดเจนในการดำ�เนินงาน และปรับ โครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจเป็นประจำ�ต่อเนื่อง  มีการปรับปรุงระบบการกำ�กับดูแลกิจการ  สรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีนโยบายและระเบียบในการปฏิบัติงานที่ครอบคลุมธุรกรรมทางด้านการเงิน จัดชื้อ การบริหารความเสี่ยงและ ด้านอื่นๆ อย่างครบถ้วน บริษัทกำ�หนดให้ทุกหน่วยงานประเมินและพิจารณาความเสี่ยงในการทำ�ธุรกรรมต่างๆ  โดยมิคณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าที่ กำ�กับดูแลความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่สามารถบริหารจัดการได้ บริษัทได้กำ�หนดให้มิการแบ่งแยกหน้าที่การงาน เพื่อให้เกิดระบบการควบคุมระหว่างกัน กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ ในการอนุมัติ รายการและวงเงินเป็นลายลักษณ์อักษร และได้จัดทำ�แนวทางการดูแลรายการที่เกี่ยวโยงและรายการระหว่างกันให้เป็นไปตามกฎหมาย

2555-2012 50

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


4. ด้านระบบสารสนเทศและสื่อสารข้อมูล (information &Communication)

5. ด้านระบบการติดตาม (Monitoring)

บริษัทจัดให้มีระบบข้อมูลเพื่อการตัดสินอย่างเพียงพอโดยมีหน่วยงานที่รวบรวม  วิเคราะห์และจัดเก็บในระบบคลังข้อมูล  ของ บริษัทระบบข้อมูลในองค์กรมีการสื่อสารทั้งสองทางอย่างมีประสิทธิภาพ  ในระดับคณะกรรมการบริษัทได้มีการจัดเตรียมข้อมูลและ เอกสารอย่างเพียงพอต่อการตัดสินใจ บริ ษั ท จั ด ให้ มี ร ะบบการติ ด ตามโดยผู้ บ ริ ห ารและคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ก ารดำ � เนิ นงานเป็ น ไปตามแผนที่ ว างไว้ แ ละ หน่วยงาน  ตรวจสอบภายในทำ�หน้าที่ติดตามและประเมินผลระบบการควบคุมอย่างอิสระ  และรายงานผลพร้อมข้อเสนอแนะให้ ฝ่ายบริหารดำ�เนิน  การแก้ไขคณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทตามแบบประเมินที่จัดทำ�ขึ้นโดย คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ทั้ง 5 ด้านคือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร ระบบสารสนเทศและ การสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม แล้วเห็นว่าบริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอในแต่ละด้าน นอกจากนี้ผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัท คือ บริษัท สำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด สอบษัญชี จำ�กัด เป็นผู้ตรวจสอบ งบการเงินประจำ�งวดบัญชี 2555 ได้ให้ความเห็นว่าไม่พบข้อบกพร่องที่มิสาระสำ�ค์ญเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในทางด้านบัญชีการเงิน ของบริษัทฯ

การตรวจสอบภายใน บริษัทได้ว่าจ้างบริษัท  ดีไอเอ  แอนด์  แอสโชชิเอทส์  จำ�กัด  ทำ�หน้าที่ตรวจสอบภายใน  โดยมีสายการบังคับบัญชารายงาน ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและรายงานด้านการบริหารต่อกรรมการผู้จัดการ  ส่วนงานตรวจสอบภายในมีหน้าที่ในการให้คำ�ปรึกษา และตรวจสอบ ประเมินระบบควบคุมภายในระบบบริหารความเสี่ยงและการกำ�กับดูแลกิจการ เพื่อให้แน่ใจว่าระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในและกระบวนการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทและบริษัทย่อย  ได้จัดให้มีขึ้นอย่างพอเพียง  มีประสิทธิภาพตรงตาม วัตถุประสงค์ที่วางไว้ ส่วนงานตรวจสอบภายในของบริษัท ได้จัดทำ�แผนการตรวจสอบประจำ�ปี โดยพิจารณาตามปัจจัยเสี่ยง (Risk based Approach) ชึ่งจะเน้นความเสี่ยงสำ�คัญต่างๆ ที่จะมีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทและความถูกต้องของการเงิน คณะกรรมการตรวจ สอบพิจารณาสอบทานและอนุมัติแผนการตรวจสอบประจำ�ปีด้งกล่าวและติดตามผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติงานของส่วนงาน ตรวจสอบภายในเป็นรายไตรมาส  ส่วนงานตรวจสอบภายในของบริษัทได้อ้างอิงมาตรฐานการปฏิษัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน ของสมาคมผู้ตรวจสอบภายใน เป็นกรอบในการปฏิษัติหน้าที่ มีความเป็นอิสระและความเที่ยงธรรม ตลอดจนได้รับการสนับสนุนในด้าน ทรัพยากรต่างๆ ที่จำ�เป็นอย่างเพียงพอ ในปี  2553  มีการจัดทำ�กฎบัตรของการตรวจสอบภายใน  โดยอ้างอิงมาตรฐานสากล  (The  Committee  of  Sponsoring Organizations  of  the  Tread  way  Commission,  COSO)  เพื่อรองรับการจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทในอนาคต โดยกฎษัตรของ การตรวจสอบภายในดังกล่าวมีการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2553

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 51


ข้อมูลทางการเงิน รายการระหว่างกัน บริษัทได้ก�ำ หนดแนวทางเกี่ยวการทำ�รายการระหว่างที่สอดคล้องกับข้อกำ�หนดตามประกาศ และข้อกำ�หนดของ สำ�นักงาน กลต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องดังนี้

1. มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติรายการระหว่างกัน

2. นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต

โดยปกติ  รายการระหว่างกันของบริษัท  จะเป็นเงินทดรองจ่ายแก่กรรมการ  หรือ  พนักงาน  เพื่อใช้ในการพัฒนา  และ/หรือ ดำ�เนินโครงการ ซึ่งจะถูกควบคุมโดยงบประมาณค่าใช้จ่ายของแต่ละโครงการ และบริษัทมีการกำ�หนดขั้นตอนในการขออนุมัติขั้นตอนใน การอนุมัติ และผู้มีอำ�นาจในการอนุมัติไว้อย่างชัดเจน สำ�หรับขั้นตอนในการอนุมัติรายการระหว่างกันในอนาคต  บริษัทได้ประกาศข้อกำ�หนดในการทำ�ธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ให้พนักงานทุกคนได้รับทราบและถือปฏิบัติแล้ว แนวโน้มของรายการระหว่างกันในอนาคตประกอบด้วย (1) เงินทดรองจ่ายให้แก่กรรมการและพนักงานถือเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามปกติ เนื่องจากลักษณะการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ต้องมีการส่งเจ้าหน้าที่ไปทำ�การส่งสินค้า ติดตั้งอุปกรณ์ หรือการเดินทางไปตรวจ รับตามขั้นตอนของผู้ซื้อตลอดเวลา  ดังนั้น  บริษัทจึงได้ตั้งงบประมาณค่าใช้จ่ายประเภทดังกล่าวไว้เพื่อควบคุมการเบิกเงินทดรอง  (2) เงินสดสำ�รองจ่ายประจำ�วัน ปัจจุบันบริษัทมีเงินสดสำ�รองจ่ายประจำ�วันหรือเงินสดย่อยประมาณ 250,000 บาท โดยให้ผู้ช่วยผู้อ�ำ นวย การ อาวุโสฝ่ายการเงิน เป็นผู้ดูแลและพิจารณาความเหมาะสมในการเบิกจ่ายแต่ละครั้ง นอกจากนี้ บริษัทได้ก�ำ หนดจำ�นวนเงินสดสำ�รอง จ่ายประจำ�วันไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ในทางปฏิบัติ และ (3) บริษัทไม่มีนโยบายใช้ทรัพย์สินของกรรมการเพื่อค้�ำ ประกันเงินกู้ ในการเข้าทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต บริษัทได้กำ�หนดให้กรรมการตรวจสอบ และ/หรือ กรรมการบริษัท ตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการเข้าทำ�รายการ โดยปฏิบัติตาม กฎหมาย ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนด ของ คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ก่อนที่จะเข้าทำ�รายการ

2555-2012 52

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ตามรายงาน และ งบการเงิน สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ของผู้ตรวจสอบบัญชี มีรายงานรายการระหว่างกันดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

นโยบายการกำ�หนดราคา

2555 2554 2555 2554

รายการธุรกิจก้บบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ซื้อสินค้าและบริการ - - 3 4 รายการธุรกิจก้บบริษัทที่เกี่ยวข้องก้น ขายสินค้าและบริการ 6 63 1 52 ซื้อสินค้าและบริการ 13 90 13 86

ราคาที่ตกลงร่วมกันที่สามารถแข่งขันได้ ราคาที่ตกลงร่วมกันที่สามารถแข่งขันได้ ราคาที่ตกลงร่วมกันที่สามารถแข่งขันได้

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม

2555

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 16) บริษัท วิชัยเทรดดิ้ง (1983) จำ�กัด

2

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

-

2555

2

2554

-

2555-2012 53


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท  แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี  จำ�กัด  (มหาชน)  และ บริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป  โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม  และถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ  และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง  และประมาณการที่ดีที่สุด ในการจัดทำ� รวมทั้งให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น และ นักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง  และให้มีการดำ�รงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม  และมี ประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินตลอดจน เพื่อไม่ให้เกิดการทุจริต หรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญในการนี้คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำ�หน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชี และคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับ เรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว งบการเงินของบริษัทฯ และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือบริษัท สำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด ในการตรวจสอบนั้นทางคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชี สามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี  โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯโดยรวมอยู่ในระดับดีเป็นที่น่าพอใจ  และสามารถสร้าง ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินรวมของบริษัท  แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี  จำ�กัด  และบริษัทย่อย  สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่  31  ธันวาคม  2555  มีความเชื่อถือได้  โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป  และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

นายธนา ไชยประสิทธิ์ ประธานกรรมการ

2555-2012 54

นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั แอ็ดวานซ์อนิ ฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและ งบกระแสเงินสดรวม สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทส่ี �ำ คัญและหมายเหตุเรือ่ งอืน่ ๆ และได้ตรวจสอบ งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจ สอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงิน  วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี  ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด  ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว  ผู้สอบบัญชี พิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ  เพื่อออกแบบวิธีการ ตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์  แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่ จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสด สำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท แอ็ดวานซ์ อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

กฤษดา เลิศวนา

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4958 บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด กรุงเทพฯ: 14 พฤศจิกายน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 55


งบการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 8 รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระ สินค้าคงเหลือ 9 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากประจำ�ธนาคาร ที่มีภาระค้ำ�ประกัน 10 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 11 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 12 ส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์ 13 อุปกรณ์ส�ำ หรับให้เช่า 14 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 15 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

56

245,379,616 217,149,463 244,379,616 215,461,148 1,877,928,699 1,017,921,782 1,877,928,699 1,017,921,782 823,205,393 615,237,152 823,205,393 603,692,009 461,583,317 570,995,209 461,583,317 569,549,065 21,095,478 55,138,853 21,092,708 55,105,099 3,429,192,503 2,476,442,459 3,428,189,733 2,461,729,103 7,836,967 8,690,922 7,836,967 8,690,922 24,999,950 - 24,999,950 - - 999,800 10,999,400 47,508,064 46,959,709 47,508,064 46,864,025 144,826,363 185,420,234 144,826,363 185,420,234 10,590,754 8,741,109 10,590,754 8,711,715 8,870,542 9,263,179 8,870,542 9,117,780 244,632,640 259,075,153 245,632,440 269,804,076 3,673,825,143 2,735,517,612 3,673,822,173 2,731,533,179

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555-2012

2554

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

2554

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 360,000,000 - 360,000,000 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 16 1,074,432,624 668,167,104 1,074,386,127 667,807,352 ต้นทุนที่ยังไม่เรียกชำ�ระ 332,812,593 257,785,185 332,812,593 257,619,463 ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึง กำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 17 33,235,036 24,801,252 33,235,036 24,801,252 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 42,007,121 102,770,016 42,007,121 102,758,710 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 18 295,922,139 203,689,595 295,922,139 202,901,150 รวมหนี้สินหมุนเวียน 2,138,409,513 1,257,213,152 2,138,363,016 1,255,887,927 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึง กำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 17 42,981,015 50,198,748 42,981,015 50,198,748 สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 19 45,922,930 38,465,520 45,922,930 37,501,170 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 88,903,945 88,664,268 88,903,945 87,699,918 รวมหนี้สิน 2,227,313,458 1,345,877,420 2,227,266,961 1,343,587,845 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 69,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท 345,000,000 345,000,000 345,000,000 345,000,000 ทุนออกจำ�หน่ายและชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 68,773,636 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท (31 ธันวาคม 2554: หุ้นสามัญ 67,492,472 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) 20 343,868,180 337,462,360 343,868,180 337,462,360 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 20 303,437,091 293,131,830 303,437,091 293,131,830 กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย 22 34,500,000 34,500,000 34,500,000 34,500,000 ยังไม่ได้จัดสรร 764,706,223 718,833,205 764,749,941 722,851,144 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 1,446,511,494 1,383,927,395 1,446,555,212 1,387,945,334 ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัทย่อย 191 5,712,797 - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,446,511,685 1,389,640,192 1,446,555,212 1,387,945,334 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 3,673,825,143 2,735,517,612 3,673,822,173 2,731,533,179

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 57


งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

2554

กำ�ไรขาดทุน: รายได้ รายได้จากการขายและบริการ 4,063,835,420 4,735,411,147 4,055,677,135 4,723,866,004 รายได้ค่าเช่าและค่าบริการจากอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า 75,271,766 65,669,059 75,271,766 65,669,059 รายได้อื่น 48,954,400 34,302,425 48,202,297 34,438,518 รวมรายได้ 4,188,061,586 4,835,382,631 4,179,151,198 4,823,973,581 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและบริการ 3,142,768,321 3,619,545,761 3,138,825,228 3,614,398,747 ต้นทุนอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า 43,067,671 32,875,165 43,067,671 32,875,165 ค่าใช้จ่ายในการขาย 219,791,024 241,372,304 217,124,347 239,332,066 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 281,923,402 278,223,293 283,322,388 274,253,447 รวมค่าใช้จ่าย 3,687,550,418 4,172,016,523 3,682,339,634 4,160,859,425 กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล 500,511,168 663,366,108 496,811,564 663,114,156 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (17,040,245) (15,619,884) (17,040,245) (15,619,884) กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 483,470,923 647,746,224 479,771,319 647,494,272 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (116,152,213) (208,830,232) (116,152,213) (208,569,087) กำ�ไรสำ�หรับปี 367,318,710 438,915,992 363,619,106 438,925,185 กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำ�หรับปี - - - กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี 367,318,710 438,915,992 363,619,106 438,925,185 การแบ่งปันกำ�ไร ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 367,593,327 438,920,129 363,619,106 438,925,185 ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย (274,617) (4,137) 367,318,710 438,915,992 กำ�ไรต่อหุ้น 24 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 5.41 6.57 5.35 6.57 กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 5.41 6.43 5.35 6.43

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555-2012 58

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012

59

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

34,500,000 - - - - - 34,500,000

34,500,000 - - - 34,500,000

718,833,205 1,383,927,395 - 16,711,081 (321,720,309) (321,720,309) 367,593,327 367,593,327 - - - - 764,706,223 1,446,511,494

579,684,425 1,227,951,550 - 16,827,065 (299,771,349) (299,771,349) 438,920,129 438,920,129 718,833,205 1,383,927,395

รวม ส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

5,712,797 1,389,640,192 - 16,711,081 - (321,720,309) (274,617) 367,318,710 200 200 (5,438,189) (5,438,189) 191 1,446,511,685

5,716,934 1,233,668,484 - 16,827,065 - (299,771,349) (4,137) 438,915,992 5,712,797 1,389,640,192

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ ส่วนของผู้มีส่วน ทุนเรือนหุ้น รวม ได้เสียที่ไม่มี ส่วนเกิน กำ�ไรสะสม ที่ออก ส่วนของผู้ถือหุ้น อำ�นาจควบคุม มูลค่าหุ้นสามัญ และชำ�ระแล้ว จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จัดสรร ของบริษัทฯ ของบริษัทย่อย

337,462,360 293,131,830 6,405,820 10,305,261 - - - - - - - - 343,868,180 303,437,091

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 20) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27) กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น ขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

330,929,310 282,837,815 6,533,050 10,294,015 - - - - 337,462,360 293,131,830

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 20) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27) กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


2555-2012

60

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และชำ�ระแล้ว

งบการเงินเฉพาะกิจการ กำ�ไรสะสม ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จัดสรร

รวม ส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 330,929,310 282,837,815 34,500,000 583,697,308 1,231,964,433 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 20) 6,533,050 10,294,015 - - 16,827,065 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27) - - - (299,771,349) (299,771,349) กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี - - - 438,925,185 438,925,185 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 337,462,360 293,131,830 34,500,000 722,851,144 1,387,945,334 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 337,462,360 293,131,830 34,500,000 722,851,144 1,387,945,334 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 20) 6,405,820 10,305,261 - - 16,711,081 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27) - - - (321,720,309) (321,720,309) กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี - - - 363,619,106 363,619,106 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 343,868,180 303,437,091 34,500,000 764,749,941 1,446,555,212

บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


งบกระแสเงินสด บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรก่อนภาษี 483,470,923 647,746,224 479,771,319 647,494,272 รายการปรับกระทบยอดกำ�ไรก่อนภาษี เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย 64,671,345 48,839,297 64,573,388 48,631,389 หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (14,985,718) 8,036,339 (14,985,718) 8,036,340 ตัดจำ�หน่ายภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย - 341,640 - ขาดทุน (กำ�ไร) จากการจำ�หน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อย (854,129) - 3,499,400 ขาดทุน (กำ�ไร) จากการจำ�หน่ายอุปกรณ์ 560,113 (1,046,100) 560,113 (1,046,100) ขาดทุน (กำ�ไร) จากการจำ�หน่ายอุปกรณ์ให้เช่า 713,220 (92,345) 713,220 (92,345) สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 8,740,232 5,536,278 8,421,760 5,252,756 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 1,367,828 7,179,861 1,367,828 7,179,861 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 21,860,119 16,416,322 21,860,119 16,416,322 กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์ และหนี้สินดำ�เนินงาน 565,543,933 732,957,516 565,781,429 731,872,495 สินทรัพย์ดำ�เนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น (841,299,827) 38,562,485 (837,521,199) 29,710,574 รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระ (219,368,241) (542,200,614) (219,513,384) (530,655,471) สินค้าคงเหลือ 109,411,892 236,365,082 107,965,748 235,776,386 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 33,857,900 40,064,817 34,012,391 39,458,325 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 248,237 1,759,490 247,238 1,766,609 หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 407,545,320 (92,283,241) 407,793,562 (91,140,353) ต้นทุนที่ยังไม่เรียกชำ�ระ 75,619,137 92,124,467 75,193,130 92,513,633 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 91,403,195 34,665,706 90,066,555 34,235,632 เงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 222,961,546 542,015,708 224,025,470 543,537,830 จ่ายดอกเบี้ย (21,522,434) (16,416,322) (21,522,434) (16,416,322) จ่ายภาษีเงินได้ (176,915,108) (149,125,789) (176,903,802) (148,606,340) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 24,524,004 376,473,597 25,599,234 378,515,168

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 61


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวลดลง เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกันลดลง เงินสดจ่ายลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดจ่าย (รับ) สุทธิจากการลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายสุทธิจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดจ่ายซื้อส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า เงินสดจ่ายซื้อคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ เงินสดรับจากการจำ�หน่ายอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจำ�หน่ายอุปกรณ์ให้เช่า เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดจ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดรับจากการเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิ ตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ จ่ายเงินปันผล เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

2555

2554

- 3,022,894 853,955 47,537,820 (24,999,950) - 200 - (595,624) - (24,743,062) (42,290,697) - (211,545,982) (3,050,327) (3,184,167) - 2,140,840 - 92,345 (52,534,808) (204,226,947) 360,000,000 - 25,000,000 75,000,000 (23,783,949) -

62

2555

2554

- 3,022,894 853,955 47,537,820 (24,999,950) (999,800) - (24,725,601) (42,290,697) - (211,545,982) (3,050,327) (3,184,167) - 2,140,840 - 92,345 (52,921,723) (204,226,947) 360,000,000 25,000,000 75,000,000 (23,783,949) -

16,711,081 16,827,065 16,711,081 16,827,065 (321,686,175) (299,729,059) (321,686,175) (299,729,059) 56,240,957 (207,901,994) 56,240,957 (207,901,994) 28,230,153 (35,655,344) 217,149,463 252,804,807 245,379,616 217,149,463

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555-2012

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

28,918,468 (33,613,773) 215,461,148 249,074,921 244,379,616 215,461,148


บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 1. ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ

บริษัท  แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี  จำ�กัด  (มหาชน)  (“บริษัทฯ”)  จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำ�เนาใน ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือ การขาย ออกแบบและรับเหมาวางโครงข่ายและติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งให้เช่าคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเลคโทรนิค โดยที่อยู่ตามที่จดทะเบียนคือเลขที่ 37/2 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

2. เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน

2.1 งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานบัญชีที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี  พ.ศ.  2547  โดยแสดงรายการใน งบการเงินตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย  งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท  แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี  จำ�กัด  (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

อัตราร้อยละ ของการถื อหุ้น จัดตั้งขึ้นใน ประเทศ 2555 2554 ร้อยละ ร้อยละ

บริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด

ขายและติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์และอุปกรณ์สื่อสาร

ไทย

-

55

บริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์เอเซีย จำ�กัด

จำ�หน่ายอุปกรณ์สื่อสารและให้ค�ำ ปรึกษา เกี่ยวกับธุรกิจการสื่อสาร

ไทย

100

-

ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯได้จ�ำ หน่ายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ให้กับบุคคลภายนอก (ตามที่ กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12) ข) บริษทั ฯนำ�งบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทำ�งบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯมีอ�ำ นาจในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำ คัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว จ) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม  คือ  จำ�นวนกำ�ไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้ เป็นของบริษัทฯ  และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดง ฐานะการเงินรวม

2.3 บริษทั ฯจัดทำ�งบการเงินเฉพาะกิจการเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ  โดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมตามวิธรี าคาทุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 63


3. มาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ยังไม่มีผลบังคับใช้

สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้

มาตรฐานการบัญชี

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

การตีความมาตรฐานการบัญชี

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้

ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)

ภาษีเงินได้ การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล  และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือ จากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

ฉบับที่ 8

ส่วนงานดำ�เนินงาน

ฉบับที่ 10 ความช่วยเหลือจากรัฐบาล  -  กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ดำ�เนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิด ค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่ ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินเมื่อนำ�มาถือปฏิบัติ ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำ�หนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สิน ระหว่างเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร  เพื่อรับรู้ผลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่ กำ�หนด การนำ�มาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมาถือปฏิบัติในปี 2556 จะมีผลทำ�ให้บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำ ไรสำ�หรับปี 2555 เพิ่มขึ้น ประมาณ 2.5 ล้านบาท (0.04 บาทต่อหุ้น) และมีกำ�ไรสะสมยกมาของปี 2555 เพิ่มขึ้นประมาณ 7.5 ล้านบาท (0.11 บาทต่อหุ้น) (เฉพาะบริษัทฯ: มีก�ำ ไรสำ�หรับปี 2555 เพิ่มขึ้นประมาณ 2.5 ล้านบาท หรือ 0.04 บาทต่อหุ้น และมีก�ำ ไรสะสมยกมาของปี 2555 เพิ่ม ขึ้นประมาณ 7.5 ล้านบาท หรือ 0.11 บาทต่อหุ้น) นอกจากนี้ สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 30/2555 - 34/2555 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 ให้ใช้แนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐานการบัญชี ดังต่อไปนี้ วันที่มีผลบังคับใช้ แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน 1 มกราคม 2556 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 12 ข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า 1 มกราคม 2557 ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเชื่อว่าแนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระ สำ�คัญต่องบการเงินเมื่อนำ�มาถือปฏิบัติ

2555-2012 64

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


4. นโยบายการบัญชีที่ส�ำ คัญ

4.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย

4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

4.3 ลูกหนี้การค้า

4.4 สินค้าคงเหลือ

4.5 เงินลงทุน

ก) รายได้ ขายและบริการ รายได้จากการขายพร้อมออกแบบและรับเหมาวางโครงข่ายและติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ถือเป็นรายได้ตามส่วนของงานที่แล้วเสร็จจากการประเมินของวิศวกร/ผู้ควบคุมโครงการของบริษัทฯ รายได้ที่รับรู้แล้ว แต่ยังไม่ถึงกำ�หนด เรียกชำ�ระตามสัญญาแสดงไว้เป็น “รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระ” ในงบแสดงฐานะการเงิน รายได้จากการขายสินค้ารับรูเ้ มือ่ บริษทั ฯได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีม่ นี ยั สำ�คัญของความเป็นเจ้าของสินค้า ให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำ�กับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม สำ�หรับสินค้าที่ได้ ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้จากการบริการรับรู้เป็นรายได้เมื่อให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความสำ�เร็จของงาน ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการที่เกี่ยวข้องรับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาที่ให้เช่าและให้บริการ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำ�นึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง ข) ค่าใช้จ่าย ต้นทุนจากการขายพร้อมออกแบบและรับเหมาวางโครงข่ายและติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บันทึกตามอัตราส่วนของงานที่ทำ�เสร็จ  (รับรู้รายได้แล้ว)  ของประมาณการต้นทุน  โดยจะบันทึกค่าเผื่อผลขาดทุน สำ�หรับโครงการทั้งจำ�นวน  เมื่อทราบแน่ชัดว่าโครงการนั้นจะประสบผลขาดทุน  ผลต่างระหว่างต้นทุนที่บันทึกตาม อัตราส่วนของงานที่ทำ�เสร็จของประมาณการต้นทุนและต้นทุนงานโครงการที่เกิดขึ้นจริงบันทึกเป็น  “งานระหว่างทำ�” ภายใต้สินค้าคงเหลือหรือ “ต้นทุนที่ยังไม่เรียกชำ�ระ” ภายใต้หนี้สินหมุนเวียน ค่าใช้จ่ายอื่นบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด  หมายถึง  เงินสดและเงินฝากธนาคาร  และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึงกำ�หนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้ ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจำ�นวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ  บริษัทฯบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับผลขาดทุน โดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ ม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์ อายุหนี้ อุปกรณ์  งานระหว่างทำ�และสินค้าระหว่างทางแสดงตามราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ราคาทุนดังกล่าวประกอบด้วยต้นทุนของค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ค่างานผู้รับเหมาช่วงและค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน   บริษัทฯ จะบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนต่อเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับของเงินลงทุนต่�ำ กว่าราคาทุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 65


4.6 ส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์และอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า และค่าเสื่อมราคา

4.7 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนและค่าตัดจำ�หน่าย

ส่วนปรับปรุงอาคาร  อุปกรณ์และอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่าแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม  และ ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่ า เสื่ อ มราคาของส่ ว นปรั บ ปรุ ง อาคาร  อุ ป กรณ์ แ ละอุ ป กรณ์ สำ � หรั บ ให้ เช่ า คำ � นวณจากราคาทุ นของสิ นทรั พ ย์ โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ โดยประมาณดังนี้ ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า 5 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์ส�ำ นักงาน 5 ปี คอมพิวเตอร์ 3, 5 ปี อุปกรณ์ใช้ในโครงการ 3 ปี ยานพาหนะ 5 ปี อุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า อายุสัญญาเช่า (3.5 - 5.5 ปี) ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน บริษัทฯตัดรายการส่วนปรับปรุงอาคาร  อุปกรณ์และอุปกรณ์ให้เช่า  ออกจากบัญชี  เมื่อจำ�หน่ายสินทรัพย์หรือ คาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์  รายการผลกำ�ไรหรือขาดทุน จากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ จะรับรู้ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี สินทรัพย์ไม่มีตัวตนบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์ตามราคาทุน   ภายหลังการรับรู้รายการเริ่มแรกสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริ ษั ท ฯตั ด จำ � หน่ า ยสิ นทรั พ ย์ ไม่ มี ตั ว ตนที่ มี อ ายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ จำ � กั ด อย่ า งมี ร ะบบตลอดอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจำ�หน่ายและวิธีการตัดจำ�หน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำ�หน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัด เป็นคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ซึ่งมีอายุการให้ประโยชน์ 10 ปี 4.8 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ  หมายถึง  บุคคลหรือกิจการที่มีอำ�นาจควบคุมบริษัทฯหรือถูกบริษัทฯ ควบคุมไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับ บริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือ ทางอ้อมซึ่งทำ�ให้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่อบริษัทฯ ผู้บริหารสำ�คัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอ�ำ นาจ ในการวางแผนและควบคุมการดำ�เนินงานของบริษัทฯ

4.9 สัญญาเช่าระยะยาว

สัญญาเช่าอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญา เช่าการเงิน  สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ของจำ�นวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำ�กว่า  ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน จะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว  ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า  สินทรัพย์ ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า  หรืออายุของสัญญาเช่า  แล้วแต่ ระยะเวลาใดจะต่ำ�กว่า จำ�นวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดำ�เนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุ สัญญาเช่า

2555-2012 66

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


4.10 เงินตราต่างประเทศ

4.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์

4.12 ผลประโยชน์พนักงาน

4.13 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์

รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน  ณ  วันที่เกิดรายการ  สินทรัพย์ และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน  ณ  วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน กำ�ไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนรวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน  บริษัทฯจะทำ�การประเมินการด้อยค่าของส่วนปรับปรุงอาคาร  อุปกรณ์และ อุปกรณ์สำ�หรับให้เช่าหรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนของบริษัทฯหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า  บริษัทฯรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น  ทั้งนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า บริษัทฯจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริ ษั ท ฯและพนั ก งานได้ ร่ ว มกั นจั ด ตั้ ง กองทุ น สำ � รองเลี้ ย งชี พ   ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเงิ นที่ พ นั ก งานจ่ า ยสะสมและ เงินที่บริษัทฯจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน  สินทรัพย์ของกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯ เงินที่บริษัทฯจ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษัทฯมีภาระสำ�หรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน  ซึ่งบริษัทฯ ถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสำ�หรับพนักงาน บริษัทฯคำ�นวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน  โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วย ที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ทำ�การประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลกำ�ไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย  สำ�หรับโครงการผลประโยชน์หลัง ออกจากงานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในกำ�ไรหรือขาดทุน ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่  19  เรื่อง  ผลประโยชน์ของพนักงานเป็นครั้งแรกในปี  2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยเลือกรับรู้หนี้สินในช่วงการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าหนี้สินที่รับรู้  ณ  วันเดียวกันตามนโยบาย การบัญชีเดิม  โดยใช้วิธีปรับย้อนหลังเสมือนว่าได้บันทึกค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มาโดยตลอด บริษัทฯได้ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯ  ซึ่งจะบันทึก รายการในงบการเงินเมื่อมีการใช้สิทธิ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 67


4.14 ประมาณการหนี้สิน

4.15 ภาษีเงินได้

4.16 ตราสารอนุพันธ์

บริษัทฯจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น  และ บริษัทฯสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ บริษัทฯบันทึกภาษีเงินได้ตามจำ�นวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ  โดยคำ�นวณจากกำ�ไร ทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดในกฎหมายภาษีอากร สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ลู ก หนี้ แ ละเจ้ า หนี้ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ นตราต่ า งประเทศล่ ว งหน้ า จะถู ก แปลงค่ า ตามอั ต ราแลกเปลี่ ย น  ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน  กำ�ไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึก ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน

5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำ คัญ

ในการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่ มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจำ�นวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่ แสดงในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการ ที่สำ�คัญ มีดังนี้

การประมาณการรายได้และต้นทุนขายพร้อมออกแบบและรับเหมาวางโครงข่ายและติดตั้งระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

สัญญาเช่า

ในการคำ�นวนรายได้และต้นทุนขายพร้อมออกแบบและรับเหมาวางโครงข่ายและติดตั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร  ฝ่ายบริหารใช้ดุลยพินิจบนพื้นฐานของข้อมูลที่ดีที่สุดที่มีในสภาวะปัจจุบันและประสบการณ์จากการประกอบธุรกิจ โดยอิงข้อมูลจากวิศวกร/ผู้ควบคุมโครงการในการประมาณการส่วนของงานที่แล้วเสร็จและต้นทุนทั้งหมดของแต่ละสัญญาและ จะทบทวนการประมาณการดังกล่าวเป็นระยะ ๆ หรือเมื่อต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างจากประมาณการอย่างมีสาระสำ�คัญ ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน   ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯได้โอนหรือรับความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย  โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต  อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ ในขณะนั้น เป็นต้น

2555-2012 68

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์ และอุปกรณ์ส�ำ หรับให้เช่า และค่าเสื่อมราคา

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนและค่าตัดจำ�หน่าย

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์

ในการคำ�นวณค่าเสื่อมราคาของส่วนปรับปรุงอาคาร  อุปกรณ์และอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า  ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องทำ�การ ประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของส่วนปรับปรุงอาคาร  อุปกรณ์และอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า และต้องทำ�การทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของส่วนปรับปรุงอาคาร  อุปกรณ์และอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่าใน แต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ ฝ่ า ยบริ ห ารจำ � เป็ นต้ อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การคาดการณ์ ร ายได้ แ ละค่ า ใช้ จ่ า ยในอนาคตซึ่ ง เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ สินทรัพย์นั้น ในการบันทึกและวัดมูลค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหาร จำ�เป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์  หรือ  หน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำ�นวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย  ซึ่งต้องอาศัย ข้อสมมติฐานต่างๆ  ในการประมาณการนั้น  เช่น  อัตราคิดลด  อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต  อัตรามรณะ  และอัตรา การเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนพนักงาน เป็นต้น

6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำ คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านี้  ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ  โดย สามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 2554 2555 2554

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ซื้อสินค้าและบริการ - - 3 4 รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้าและบริการ 6 63 1 52 ซื้อสินค้าและบริการ 13 90 13 86

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

นโยบายการกำ�หนดราคา

ราคาที่ตกลงร่วมกันที่สามารถแข่งขันได้ ราคาที่ตกลงร่วมกันที่สามารถแข่งขันได้ ราคาที่ตกลงร่วมกันที่สามารถแข่งขันได้

2555-2012 69


ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 16) บริษัท วิชัยเทรดดิ้ง (1983) จำ�กัด รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2 2

- -

2555 2554 2 2

-

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ ให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

รายการที่เกี่ยวข้องกัน

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

2554

กรรมการตรวจสอบ ผลประโยชน์ระยะสั้น 5 4 5 กรรมการที่เป็นผู้บริหารและผู้บริหาร ผลประโยชน์ระยะสั้น 123 131 120 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 5 4 4 กรรมการที่ไม่ได้เป็นกรรมการ ผลประโยชน์ระยะสั้น 6 5 6 ตรวจสอบและผู้บริหาร

4 129 4 5

7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

260 245,120 245,380

255 216,894 217,149

260 244,120 244,380

250 215,211 215,461

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำ�มีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.1 - 1.8 ต่อปี (2554: ร้อยละ 0.1 - 1.9 ต่อปี)

2555-2012 70

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


8. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 2554 2555 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน - 31,351 - 3 - 6 เดือน - 23,219 - รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - 54,570 - ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 1,131,403 544,800 1,131,403 ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 220,186 190,323 220,186 3 - 6 เดือน 78,424 52,253 78,424 มากกว่า 6 - 12 เดือน 216,254 172,203 216,254 มากกว่า 12 เดือน 110,382 7,946 110,382 ถึงกำ�หนดชำ�ระเมื่อลูกค้าได้รับเงินจากผู้ว่าจ้าง 124,875 21,908 124,875 (Back-to-back) รวม 1,881,524 989,433 1,881,524 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (11,095) (26,081) (11,095) รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ 1,870,429 963,352 1,870,429 ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้จากการขายเงินลงทุน 7,500 - 7,500 รวมลูกหนี้อื่น 7,500 - 7,500 รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ 1,877,929 1,017,922 1,877,929

2554

31,351 23,219 54,570

544,800 190,323 52,253 172,203 7,946 21,908 989,433 (26,081) 963,352 1,017,922

ลูกหนี้การค้าที่ค้างเกินกำ�หนดชำ�ระส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานราชการและบริษัทซึ่งมีรัฐบาลถือหุ้นใหญ่   ซึ่งผู้บริหารของบริษัทฯ คาดว่าจะได้รับชำ�ระเงินเต็มจำ�นวน และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญข้างต้นมีจ�ำ นวนที่เพียงพอในสถานการณ์ปัจจุบัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 71


9. สินค้าคงเหลือ

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

อุปกรณ์และงานระหว่างทำ� สินค้าระหว่างทาง รวม หัก: ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

426,397 56,017 482,414 (20,831) 461,583

588,136 3,690 591,826 (20,831) 570,995

426,397 56,017 482,414 (20,831) 461,583

586,690 3,690 590,380 (20,831) 569,549

10. เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้�ำ ประกัน

ยอดคงเหลือนี้ คือ เงินฝากประจำ�ซึ่งบริษัทฯได้นำ�ไปค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อ

11. เงินลงทุนในบริษัทร่วม

ลักษณะธุรกิจ

(หน่วย: ล้านบาท)

ชื่อบริษัท

บริษัท ล็อกซ์เล่ย์ แอนด์ เอไอที โฮลดิ้ง จำ�กัด

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

จัดตั้งขึ้น มูลค่าตามบัญชี ในประเทศ สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2555 2554 2555 2554 2555 2554

ให้บริการรับเหมาติดตั้ง ไทย งานด้านสื่อสาร โทรคมนาคม โรงงานไฟฟ้า และซื้อขายอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

(ร้อยละ)

(ร้อยละ)

50

-

25

-

25

-

เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 4/2555 มีมติให้บริษัทฯลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ล็อกซ์เล่ย์ แอนด์ เอไอที โฮลดิ้ง จำ�กัด จำ�นวน 999,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 50 ของหุ้นสามัญทั้งหมดของบริษัท ล็อกซ์เลย์ แอนด์ เอไอที โฮลดิ้ง จำ�กัด ในราคา 25 ล้านบาท (เรียกชำ�ระร้อยละ 25)

2555-2012 72

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

ทุนเรียกชำ�ระแล้ว 2555 2554

สัดส่วนเงินลงทุน 2555 2554

(ร้อยละ)

(ร้อยละ)

บริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด - 20 - 55 บริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์เอเซีย จำ�กัด 1 - 100 -

(หน่วย: ล้านบาท) ราคาทุน 2555 2554

- 1 1

11 11

ในระหว่างปี 2555 และ 2554 บริษัทย่อยไม่มีการจ่ายเงินปันผล เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 4/2555 มีมติให้ (1) บริษัทฯลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์ เอเซีย จำ�กัด จำ�นวน 9,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 100 ของหุ้นสามัญ ทั้งหมดของบริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์ เอเซีย จำ�กัด ในราคา 1 ล้านบาท (2) บริษัทฯขายหุ้นที่ถือในบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ทั้งจำ�นวนให้แก่บุคคลภายนอกในราคา 7.5 ล้านบาท และได้ดำ�เนินการ โอนกรรมสิทธิ์ในหุ้นดังกล่าวให้แก่ผู้ซื้อแล้ว โดยมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ณ วันที่ขายมีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระ สินทรัพย์อื่น หนี้สิน สินทรัพย์สุทธิ

จำ�นวนเงินค่าหุ้นจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย หัก: เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด จำ�นวนเงินรับสุทธิจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย หัก: ลูกหนี้จากการขายเงินลงทุน (หมายเหตุ 8) เงินสดจ่ายสุทธิจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย

596 3,779 11,400 374 (4,065) 12,084

มูลค่าสินทรัพย์สุทธิส่วนของบริษัทฯ มูลค่าสินทรัพย์สุทธิส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำ นาจควบคุม

6,646 5,438 12,084 7,500 (596) 6,904 (7,500) (596)

จำ�นวนเงินค่าหุ้นจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย หัก: มูลค่าสินทรัพย์สุทธิของบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัดตามสัดส่วนการลงทุน กำ�ไรจากการขายเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย จำ�นวนเงินค่าหุ้นจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย หัก: มูลค่าเงินลงทุนในบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ตามวิธีราคาทุน ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

7,500 (6,646) 854 7,500 (10,999) (3,499)

2555-2012 73


13. ส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ส่วนปรั บปรุง เครื่องตกแต่ง อุปกรณ์ และอุ ป กรณ์ คอมพิ ว เตอร์ ยานพาหนะ อาคารเช่า ใช้ในโครงการ สำ�นักงาน

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 8,854 14,580 75,212 8,000 382 107,028 ซื้อเพิ่ม 4,048 3,110 5,869 28,457 806 42,290 จำ�หน่าย - - - - (1,188) (1,188) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 12,902 17,690 81,081 36,457 - 148,130 ซื้อเพิ่ม 3,272 1,458 9,272 10,214 527 24,743 จำ�หน่าย (584) (94) (778) (989) - (2,445) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 15,590 19,054 89,575 45,682 527 170,428 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 6,321 11,071 66,675 80 84 84,231 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 1,299 1,490 6,788 7,446 9 17,032 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนที่จ�ำ หน่าย - - - - (93) (93) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 7,620 12,561 73,463 7,526 - 101,170 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 1,507 1,706 6,472 13,848 82 23,615 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนที่จ�ำ หน่าย (584) (77) (775) (429) - (1,865) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 8,543 14,190 79,160 20,945 82 122,920 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 2,533 3,509 8,537 7,920 298 22,797 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 5,282 5,129 7,618 28,931 - 46,960 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 7,047 4,864 10,415 24,737 445 47,508 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2554 (7.4 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 17,032 2555 (13.8 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 23,615

2555-2012 74

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนปรั บปรุง เครื่องตกแต่ง อุปกรณ์ ยานพาหนะ อาคารเช่า และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ใช้ในโครงการ สำ�นักงาน

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 8,270 14,504 74,434 8,000 382 ซื้อเพิ่ม 4,048 3,110 5,869 28,457 806 จำ�หน่าย - - - - (1,188) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 12,318 17,614 80,303 36,457 - ซื้อเพิ่ม 3,272 1,440 9,272 10,214 527 จำ�หน่าย - - - (989) - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 15,590 19,054 89,575 45,682 527 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 5,926 11,022 65,980 80 84 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 1,183 1,474 6,717 7,446 9 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนที่จำ�หน่าย - - - - (93) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 7,109 12,496 72,697 7,526 - ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 1,434 1,694 6,463 13,848 82 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนที่จำ�หน่าย - - - (429) - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 8,543 14,190 79,160 20,945 82 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 2,344 3,482 8,454 7,920 298 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 5,209 5,118 7,606 28,931 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 7,047 4,864 10,415 24,737 445 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2554 (7.4 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2555 (13.8 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร)

รวม

105,590 42,290 (1,188) 146,692 24,725 (989) 170,428 83,092 16,829 (93) 99,828 23,521 (429) 122,920 22,498 46,864 47,508 16,829 23,521

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์จ�ำ นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้ว แต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำ นวนเงินประมาณ 85.0 ล้านบาท (2554: 79.5 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 85.0ล้านบาท 2554: 79.1 ล้านบาท)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 75


14. อุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 205,548 ซื้อเพิ่ม 211,546 จำ�หน่าย (136,826) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 280,268 จำ�หน่าย (51,814) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 228,454 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 145,137 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 30,910 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนที่จำ�หน่าย (121,757) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 54,290 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 39,881 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนที่จำ�หน่าย (11,101) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 83,070 ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 55,627 ลดลงระหว่างปี (15,069) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 40,558 ลดลงระหว่างปี (40,000) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 4,784 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 185,420 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 144,826 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2554 (รวมอยู่ในต้นทุนอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า) 30,910 2555 (รวมอยู่ในต้นทุนอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า) 39,881 ณ  วันที่  31  ธันวาคม  2555  บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอุปกรณ์สำ�หรับให้เช่าจำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ ยังใช้งานอยู่  มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำ�นวนเงินประมาณ  15.4 ล้านบาท (2554: 6.2 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 15.4 ล้านบาท 2554: 2.0 ล้านบาท) ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯได้โอนกรรมสิทธิในอุปกรณ์ให้เช่าบางส่วน ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่า เผื่อการด้อยค่าจำ�นวน 51.8 ล้านบาทให้กับบริษัทแห่งหนึ่งตามเงื่อนไขที่ระบุในบันทึกข้อตกลง

2555-2012 76

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


15. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

ราคาทุน หัก: ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

13,742 (3,151) 10,591

10,735 (1,994) 8,741

13,742 (3,151) 10,591

10,692 (1,980) 8,712

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสำ�หรับปี 2555 และ 2554 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

มูลค่าตามบัญชีสุทธิต้นปี ซื้อซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ ค่าตัดจำ�หน่าย จำ�หน่าย มูลค่าตามบัญชีสุทธิปลายปี

8,741 3,050 (1,175) (25) 10,591

6,454 3,184 (897) - 8,741

8,712 3,050 (1,171) - 10,591

6,420 3,184 (892) 8,712

16. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

เจ้าหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวมเจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

1,624 967,276 968,900 37 105,496 1,074,433

- 562,130 562,130 143 105,894 668,167

1,584 967,276 968,860 37 105,489 1,074,386

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2554 562,130 562,130 93 105,584 667,807

2555-2012 77


17. เงินกู้ยืมระยะยาว

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

เงินกู้ยืมระยะยาว หัก: เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี

76 (33) 43

75 (25) 50

จำ�นวนนี้เป็นเงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึ่งของบริษัทฯ  เพื่อซื้ออุปกรณ์สำ�หรับงานโครงการ  โดยมีวงเงินกู้ 100 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.7 ต่อปี และมีกำ�หนดชำ�ระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 - มีนาคม 2558 รวม 36 งวด งวดละ 3.06 ล้านบาท และไม่มีหลักประกันใดๆ ภายใต้สัญญาเงินกู้ บริษัทฯต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น การดำ�รงอัตราส่วนหนี้สินต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระหนี้ให้เป็นไปตามสัญญา เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯไม่มีวงเงินกู้ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้ (2554: 25 ล้านบาท)

18. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

รายได้รับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น

2555-2012 78

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

181,487 48,704 34,083 27,596 4,052 295,922

116,968 30,272 25,347 29,945 1,158 203,690

181,487 48,704 34,083 27,596 4,052 295,922

116,246 30,272 25,347 29,893 1,143 202,901

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


19. สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

จำ�นวนเงินสำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงานแสดงได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

ยอดคงเหลือต้นปี ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

32,929 6,734 1,318 (2,515) 38,466

25,936 5,956 1,037 - 32,929

32,248 6,478 1,290 (2,515) 37,501

25,513 5,715 1,020 32,248

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุนแสดงได้ดังนี้

งบการเงินรวม

2555

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

2554

ต้นทุนบริการในปัจจุบัน 7,202 6,734 6,922 ต้นทุนดอกเบี้ย 1,538 1,318 1,500 รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน 8,740 8,052 8,422 ค่าใช้จ่ายดังกล่าวรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน ต้นทุนขาย 2,977 2,118 2,926 ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร 5,763 5,934 5,496

2,075 5,693

สมมติฐานที่สำ�คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้

งบการเงินรวม

6,478 1,290 7,768

2555

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนใน อนาคต (ขึ้นกับช่วงอายุของพนักงาน) อัตราการเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนพนักงาน

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

2554

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

4

4

4

4

3 - 7 3 - 7

3 - 7 3 - 7

3 - 6 3 - 7

3-6 3-7

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 79


จำ�นวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์สำ�หรับปีปัจจุบันและสองปีย้อนหลังแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

45,923 38,466 32,929

45,923 37,501 32,248

20. ทุนเรือนหุ้น

การเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุ้นสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี้

ทุนที่ออกจำ�หน่ายและ ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว (พันบาท)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 330,929 เพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิในเดือน มีนาคม 2554 2,018 มิถุนายน 2554 398 สิงหาคม 2554 3,640 กันยายน 2554 324 ธันวาคม 2554 153 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 337,462 เพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิในเดือน มีนาคม 2555 1,067 มิถุนายน 2555 473 กันยายน 2555 4,866 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 343,868

2555-2012 80

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ (พันบาท)

วันที่จดทะเบียนเพิ่มทุนจาก การใช้สิทธิตามใบสำ�คัญ แสดงสิทธิกับกระทรวงพาณิชย์

282,838 4,641 915 3,640 745 353 293,132

4 เมษายน 2554 6 กรกฏาคม 2554 6 กันยายน 2554 5 ตุลาคม 2554 10 มกราคม 2555

2,453 1,087 6,765 303,437

4 เมษายน 2555 5 กรกฎาคม 2555 9 ตุลาคม 2555

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


21. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ

เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2550 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯได้มีมติอนุมัติให้ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญโดยไม่คิดมูลค่า ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

วันที่ออก จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญที่ออก (หน่วย) อายุของใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (ปี) กำ�หนดเวลาการใช้สิทธิ ราคาใช้สิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ (บาท) อัตราส่วนการใช้สิทธิ (ใบสำ�คัญแสดงสิทธิต่อหุ้นสามัญ)

ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม

ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญที่ออก ให้แก่กรรมการและ/ หรือพนักงานของบริษัทฯ

1 ตุลาคม 2550 6,000,000 5 28 ธันวาคม 2550 - 30 กันยายน 2555 16.50 1:1

1 ตุลาคม 2550 3,000,000 5 31 สิงหาคม 2552 30 กันยายน 2555 10.00 1:1

การเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนหน่วยของใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญแสดงดังนี้ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญที่ออก ใช้สิทธิในระหว่างปี 2552 หมดสิทธิในระหว่างปี 2552 ใช้สิทธิในระหว่างปี 2553 ใช้สิทธิในระหว่างปี 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ใช้สิทธิในระหว่างปี 2555 หมดสิทธิในระหว่างปี 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

5,999,972 (765) - (4,798,097) (578,610) 622,500 (599,914) (22,586) -

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย) ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญที่ออก ให้แก่กรรมการและ/ หรือพนักงานของบริษัทฯ 3,000,000 (689,500) (180,000) (697,500) (728,000) 705,000 (681,250) (23,750) -

2555-2012 81


22. สำ�รองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำ�รองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รองนี้จะมี จำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผลได้ ปัจจุบันบริษัทฯได้ จัดสรรสำ�รองตามกฎหมายครบถ้วนแล้ว

23. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำ คัญดังต่อไปนี้

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

เงินเดือน โบนัส ค่าคอมมิชชั่นและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน 498,383 ค่าติดตั้งและบริการ 597,472 ค่าซ่อมบำ�รุงและรักษา 122,567 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย 64,671 ค่ารับรอง 52,446 ซื้อสินค้า 1,746,550 การเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงเหลือ 288,478

529,717 825,940 122,482 48,839 46,406 2,013,828 68,042

493,124 597,455 122,561 64,573 52,441 1,744,708 286,606

24. กำ�ไรต่อหุ้น

2554 524,491 825,929 122,482 48,631 47,380 2,007,751 67,107

กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยหารกำ�ไรสำ�หรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำ�นวน ถัวเฉลี่ยถ่วงน้�ำ หนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี กำ�ไรต่อหุ้นปรับลดคำ�นวณโดยหารกำ�ไรสำ�หรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยผลรวม ของจำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักที่ออกอยู่ในระหว่างปีกับจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯอาจต้องออกเพื่อ แปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญ โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออก หุ้นสามัญ เทียบเท่า อย่างไรก็ตามไม่มีการคำ�นวณกำ�ไรต่อหุ้นปรับลดสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เนื่องจากใบสำ�คัญแสดงสิทธิได้หมด อายุการใช้สิทธิแล้วตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 21

2555-2012 82

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและกำ�ไรต่อหุ้นปรับลด แสดงการคำ�นวณได้ดังนี้

งบการเงินรวม

กำ�ไรสำ�หรับปี

จำ�นวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก

กำ�ไรต่อหุ้น

2555 2554 2555 2554 2555 2554

(พันบาท)

(พันบาท)

(พันหุ้น)

(พันหุ้น)

(บาท)

(บาท)

กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ 367,593 438,920 67,967 66,812 5.41 6.57 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญที่ออก ให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯ - - - 924 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม - - - 542 กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการใช้สิทธิ ซื้อหุ้นสามัญจากใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 367,593 438,920 67,967 68,278 5.41 6.43

งบการเงินเฉพาะกิจการ

กำ�ไรสำ�หรับปี

จำ�นวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก

กำ�ไรต่อหุ้น

2555 2554 2555 2554 2555 2554

(พันบาท)

(พันบาท)

(พันหุ้น)

(พันหุ้น)

(บาท)

กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ 363,619 438,925 67,967 66,812 5.35 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญที่ออก ให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯ - - - 924 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม - - - 542 กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการใช้สิทธิ ซื้อหุ้นสามัญจากใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 363,619 438,925 67,967 68,278 5.35

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

(บาท)

6.57

6.43

2555-2012 83


25. ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยดำ�เนินกิจการใน 2 ส่วนงานธุรกิจหลักคือ (1) ขายและบริการและ (2) ให้เช่าอุปกรณ์และดำ�เนินธุรกิจ ในส่วนงานทางภูมิศาสตร์หลักในประเทศไทย ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มี กิจกรรมที่เป็นสาระสำ�คัญในส่วนงานให้เช่าอุปกรณ์  ดังนั้นจึงไม่มีการแสดงข้อมูลจำ�แนกตามส่วนงานทั้งส่วนงานธุรกิจและส่วนงานทาง ภูมิศาสตร์ บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการกำ�หนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6

26. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ  พ.ศ.  2530 โดยบริษัทฯและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 - 15 ของเงินเดือน กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำ�กัด และ จะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯได้จ่ายเงินสมทบ กองทุนเป็นจำ�นวนเงิน 20.5 ล้านบาท (2554: 19.1 ล้านบาท)

27. เงินปันผล

เงินปันผล

อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย (ล้านบาท)

เงินปันผลประจำ�ปีจากการดำ�เนินงาน ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2554 สำ�หรับปี 2553 ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 เงินปันผลระหว่างกาลจากการดำ�เนินงาน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ สำ�หรับงวดหกเดือนสิ้นสุด เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2554 วันที่ 30 มิถุนายน 2554 เงินปันผลประจำ�ปีจากการดำ�เนินงาน ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 สำ�หรับปี 2554 ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2555 เงินปันผลระหว่างกาลจากการดำ�เนินงาน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ สำ�หรับงวดหกเดือนสิ้นสุด เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 วันที่ 30 มิถุนายน 2555

2555-2012 84

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาท)

199.8

3.00

100.0 299.8

1.50 4.50

237.0

3.50

84.7 321.7

1.25 4.75


28. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

28.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำ�เนินงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เข้าทำ�สัญญาเช่าดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าอาคารและยานพาหนะ อายุของสัญญา มีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 4 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีจ�ำ นวนเงินขั้นต่ำ�ที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้น ภายใต้สัญญาเช่าดำ�เนินงาน ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

จ่ายชำ�ระ ภายใน 1 ปี 1 ถึง 3 ปี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม 2555 2554 10.8 11.7

28.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับการขายหรือให้บริการตามสัญญา

28.3 การค้ำ�ประกัน

1. 2.

10.5 4.9

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 10.8 11.7

10.4 4.9

บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี สั ญ ญาขายสิ นค้ า และบริ ก ารกั บ ลู ก ค้ า ซึ่ ง ยั ง ไม่ ได้ ส่ ง มอบหรื อ ให้ บ ริ ก ารเป็ นจำ � นวน เงินประมาณ 3,018 ล้านบาท (2554: 2,764 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 3,018 ล้านบาท 2554: 2,757 ล้านบาท) บริษทั ฯ ได้ท�ำ สัญญาหลายสัญญาเพือ่ ให้เช่าอุปกรณ์อเิ ลคโทรนิคกับบริษทั ซึง่ มีรฐั บาลถือหุน้ ใหญ่แห่งหนึง่ หน่วยงาน ราชการและโรงเรียนหลายแห่งโดยมีมูลค่าที่ต้องให้บริการตามสัญญาในอนาคตรวมทั้งสิ้น 257 ล้านบาท (2554: 331  ล้านบาท)  โดยบริษัทฯผูกพันที่จะต้องดำ�เนินการติดตั้งอุปกรณ์ให้เช่าให้แล้วเสร็จตามสัญญาและให้บริการ บำ�รุงรักษาตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯมีหนังสือค้�ำ ประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯ บริษัทย่อย คู่สัญญา ของบริษัทฯและกิจการค้าร่วม  (Consortium)  ระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย/คู่สัญญาของบริษัทฯ  โดยบริษัทฯเป็น ผู้ค�้ำ ประกันเหลืออยู่เป็นจำ�นวน 1,187.5 ล้านบาท (2554: 1,137.3 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทาง ปฏิ บั ติ บ างประการตามปกติ ธุร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ  ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยหนั ง สื อ ค้ำ � ประกั น เพื่ อ ค้ำ � ประกั นการปฏิ บั ติ ง าน ตามสัญญาจำ�นวน 1,185.1 ล้านบาท (2554: 1,134.9 ล้านบาท) และเพื่อค้�ำ ประกันการจ่ายชำ�ระเงินให้กับเจ้าหนี้ จำ�นวน 2.4 ล้านบาท (2554: 2.4 ล้านบาท)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 85


29. เครื่องมือทางการเงิน

29.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง

เครื่องมือทางการเงินที่สำ�คัญของบริษัทฯตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่  107  “การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและ ลูกหนี้อื่น  เงินฝากประจำ�ธนาคาร  เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น  เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาว  บริษัทฯมี ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น  ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้ โดยการกำ�หนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม และลูกค้าส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานราชการ หรือ บริษัทฯซึ่งมีรัฐบาลถือหุ้นใหญ่  ดังนั้นบริษัทฯจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำ�คัญจากการให้สินเชื่อ โดยจำ�นวนสูงสุดที่บริษัทฯอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นที่แสดง อยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำ�คัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากธนาคาร  เงินกู้ยืมระยะสั้นและ  เงินกู้ยืม ระยะยาว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯจึงอยู่ในระดับต่�ำ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำ�คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย  และสำ�หรับสินทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำ�หนดหรือวันที่มีการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่ มีการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม

อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตรา ไม่ม ี รวม ดอกเบี้ย ภายใน 1 ปี ระหว่าง 1 - 5 ปี อัตราดอกเบี้ย 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 (ร้อยละต่อปี) สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 65.5 217.1 - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - - - เงินฝากประจำ�ธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกัน 7.8 8.7 - 73.3 225.8 - หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 360.0 - - เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - - - เงินกู้ยืมระยะยาว 33.2 24.8 43.0 393.2 24.8 43.0

2555-2012 86

- 179.9 - 245.4 217.1 0.1-1.8 0.1-1.9 - 1,877.9 1,017.9 1,877.9 1,017.9 - - - - 7.8 8.7 1.7-2.5 1.9-3.3 - 2,057.8 1,017.9 2,131.1 1,243.7 - - - 1,074.4 50.2 - 50.2 1,074.4

- 360.0 668.2 1,074.4 - 76.2 668.2 1,510.6

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

- 3.4 668.2 - 75.0 5.7 743.2

5.7


(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตรา ไม่ม ี รวม ดอกเบี้ย ภายใน 1 ปี ระหว่าง 1 - 5 ปี อัตราดอกเบี้ย 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 (ร้อยละต่อปี) สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 65.4 213.0 - - 179.0 2.5 244.4 215.5 0.1-1.8 0.1-1.9 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - - - - 1,877.9 1,017.9 1,877.9 1,017.9 - เงินฝากประจำ�ธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกัน 7.8 8.7 - - - - 7.8 8.7 1.7-2.5 1.9-3.3 73.2 221.7 - - 2,056.9 1,020.4 2,130.1 1,242.1 หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 360.0 - - - - - 360.0 - 3.4 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - - - - 1,074.4 667.8 1,074.4 667.8 - เงินกู้ยืมระยะยาว 33.2 24.8 43.0 50.2 - - 76.2 75.0 5.7 5.7 393.2 24.8 43.0 50.2 1,074.4 667.8 1,510.6 742.8

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำ�คัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ  บริษัทฯ ได้ตกลงทำ�สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า  ซึ่งมีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร ความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯมียอดคงเหลือของเจ้าหนี้การค้าที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศจำ�นวน 14.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (2554: 5.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) และมียอดคงเหลือของสัญญาซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพื่อใช้สำ�หรับจ่ายชำ�ระค่าสินค้าเป็นจำ�นวน 12.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (2554: 2.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) โดยมีอัตรา แลกเปลี่ยนที่ตกลงล่วงหน้าไว้คือ 30.60 ถึง 31.45 บาท ต่อหนึ่งเหรียญสหรัฐฯ (2554: 29.87 ถึง 30.91 บาท ต่อหนึ่งเหรียญสหรัฐฯ)

29.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น บริษัทฯจึงประมาณมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงใน งบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันหรือจ่ายชำ�ระหนี้สิน ในขณะที่ ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้  และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มี ความเกี่ยวข้องกัน  วิธีการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน  มูลค่ายุติธรรมจะกำ�หนด จากราคาตลาดล่าสุด หรือกำ�หนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 87


30. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำ�คัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดำ�รงไว้ซึ่ง ความสามารถในการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง กลุ่มบริษัทบริหารจัดการสถานะของทุนโดยใช้อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt-to-Equity Ratio) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.5:1 (2554: 1.0:1) และเฉพาะบริษัทฯมีอัตราส่วนเท่ากับ 1.5:1 (2554: 1.0:1)

31. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน

เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯครั้งที่ 1/2556 ได้มีมติให้เสนอจ่ายเงินปันผลจาก การดำ�เนินงานในรอบปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 2.75 บาท เพิ่มเติมจากที่จ่ายปันผลระหว่างกาลไปแล้วหุ้นละ 1.25 บาท ในเดือน กันยายน 2555 โดยบริษัทฯจะนำ�เสนอเพื่อขออนุมัติการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวในที่ประชุมสามัญประจำ�ปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯต่อไป

32. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556

2555-2012 88

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ 1. ผลการดำ�เนินงาน

จากเหตุการณ์อุทกภัยร้ายแรงที่สุดในรอบหลายสิบปีในช่วงปลายปี  2554  นั้นทำ�ให้รัฐบาลได้ให้ความสำ�คัญกับการป้องกัน อุทกภัยที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและการฟื้นฟูสภาพเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบต่อเนื่องจากปัญหาอุทกภัยร้ายแรงส่งผลให้งบประมาณ ของภาครัฐในปี 2555 ต้องปรับงบประมาณในด้านอื่นลง เห็นได้จากโครงการด้านระบบสารสนเทศที่ออกประมูลจากภาครัฐในปี 2555 มีจำ�นวนและมูลค่าลดลง ดังนั้นผลประกอบการทั้งในส่วนของรายได้รวมและกำ�ไรสุทธิของบริษัทในปี 2555 จึงลดลงเมื่อเทียบกับของ ปี 2554 ส่วนบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด ซึ่งเดิมเป็นบริษัทย่อยนั้น บริษัทได้ขายเงินลงทุนในหุ้นออกไปทั้งหมด โดยในงบกำ�ไรขาดทุน แบบเบ็ดเสร็จได้รวมผลประกอบการของบริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด และได้บันทึกผลขาดทุนจากการขายเงินทุนตามวิธีราคาทุนไว้แล้วใน งบการเงิน ในขณะเดียวกัน บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ทาวเวอร์เอ็กซ์เอเชีย จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย และบริษัท ล็อกซเล่ย์ แอนด์ เอไอที โฮลดิ้ง  จำ�กัด  ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างบริษัท  ล็อกซเล่ย์  ไวร์เลส  จำ�กัด  กับบริษัทฯ  ทั้งนี้ผลประกอบการของบริษัทย่อยเป็น จำ�นวนเงินที่ยังไม่มีสาระสำ�คัญในงบการเงินรวม ดังนั้นในการอธิบายและวิเคราะห์งบการเงินของปี 2555 นี้ จึงแสดงเฉพาะในส่วนของ งบการเงินเฉพาะกิจการ

ผลการดำ�เนินงานของบริษัทสามารถสรุปตามส่วนงานธุรกิจได้ดังนี้

1.1 รายได้และต้นทุนจากธุรกิจจากการขายและบริการ

รายได้จากธุรกิจการขายและบริการ ประกอบด้วย รายได้จากการขายเฉพาะอุปกรณ์ การขายซอฟต์แวร์และพัฒนาระบบ โปรแกรม และการขายทั้งระบบแบบเบ็ดเสร็จ ซึ่งรวมถึงการให้ค�ำ ปรึกษา ออกแบบ ติดตั้งและการฝึกอบรมการใช้งาน นอกจากนี้ยังรวม ถึงส่วนของธุรกิจการซ่อมและบำ�รุงรักษาตามสัญญาบำ�รุงรักษาและบริการหลังการขายตามเงื่อนไขการรับประกันคุณภาพ รายได้ส่วนใหญ่ของบริษัทส่วนใหญ่มาจากลูกค้าภาครัฐ ซึ่งได้แก่ บมจ. ทีโอที บมจ. กสท โทรคมนาคม สำ�นักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น นอกจากนี้ยังมาจากบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ต่างๆ ด้วย ทั้งนี้ผลการดำ�เนินงานของธุรกิจจากการขายและบริการสามารถสรุปเป็นข้อมูลทางการเงินที่ส�ำ คัญดังนี้ 5,000 4,500 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0

30

4,724 4,520 3,587

25

4,056 3,641

3,139

รายได้จากธุรกิจการขายและบริการ (ล้านบาท) ต้นทุนของธุรกิจการขายและบริการ (ล้านบาท)

933

2555

1,110

2554

21.4

20

กำ�ไรขั้นต้นของธุรกิจการขายและบริการ (ล้านบาท)

917

15

17.6

อัตราการเปลี่ยนแปลงรายได้เมื่อ เทียบกับของปีก่อน (ร้อยละ)

0 -5

อัตราการเปลี่ยนแปลงต้นทุนเมื่อ เทียบกับของปีก่อน (ร้อยละ)

4.5

5 0.8 2555

2554

2553

อัตรากำ�ไรขั้นต้นจากธุรกิจการขาย และบริการ (ร้อยละ)

(13.1)

-15

(14.1)

-20

แผนภูมิแสดงการเปลี่ยนแปลงของรายได้ ต้นทุน และอัตรากำ�ไรขั้นต้น ของธุรกิจการขายและบริการ

22.5

10

-10

2553

23.5

20.6

แผนภูมิแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ ต้นทุน และอัตรากำ�ไรขั้นต้นของธุรกิจการขายและบริการ

จากแผนภูมิข้างต้น ในปี 2555 บริษัทมีรายได้จากการขายและบริการเป็นจำ�นวน 4,056 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากของปี 2554 ซึ่งมีรายได้ 4,724 ล้านบาท เป็นจำ�นวน 668 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.1 เนื่องจากลูกค้าหลักของบริษัทเป็นหน่วยงานภาครัฐ ดังนั้นเมื่อทางภาครัฐจัดสรรงบประมาณงานโครงการทางด้านระบบสารสนเทศลดลงจึงทำ�ให้บริษัทได้งานโครงการลดลงไปด้วย ในขณะ ที่รายได้จากการขายและบริการของปี 2554 เป็นจำ�นวน 4,724 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากของปี 2553 ซึ่งมีรายได้เท่ากับ 4,520 ล้านบาท เท่ากับ 204 ล้านบาท หรือคิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เนื่องจากบริษัทได้งานโครงการขนาดใหญ่กว่าเดิม และการได้จ�ำ นวนงานโครงการ เพิ่มขึ้นประกอบกับได้งานโครงการจากลูกค้าหน่วยงานราชการรายใหม่

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 89


ตารางเปรียบเทียบรายได้จากงานโครงการธุรกิจการขายและบริการ

รายได้ที่รับรู้จากโครงการ

จำ�นวนโครงการ (โครงการ) 2555

2554

2553

มากกว่า 100 ล้านบาท

8

6

11

ตั้งแต่ 50 – 100 ล้านบาท

5

12

7

ตั้งแต่ 20 – 50 ล้านบาท

40

44

30

ตั้งแต่ 10 – 20 ล้านบาท

22

30

28

537

555

415

รายได้รวมของโครงการที่มีจำ�นวนตั้งแต่ 100 ล้านบาท (ล้านบาท)

1,276

1,290

2,037

รายได้รวมของโครงการที่มีจำ�นวนตั้งแต่ 50 – 100 ล้านบาท (ล้านบาท)

1,619

2,118

2,544

มูลค่ารวมของโครงการ (ล้านบาท)

4,056

4,724

4,520

612

647

491

น้อยกว่า 10 ล้านบาท

จำ�นวนโครงการ (โครงการ)

จากตารางเปรียบเทียบรายได้จากมูลค่างานโครงการ พบว่า หากเปรียบเทียบจำ�นวนงานโครงการรวมพบว่าจำ�นวนงานโครงการ ของปี 2555 ลดลงจากของปี 2554 ลดลงเล็กน้อย กล่าวคือลดลงจาก 647 โครงการในปี 2554 เหลือ 612 โครงการในปี 2555 เช่นเดียวกับรายได้ที่รับรู้จากงานโครงการที่มากกว่า 100 ล้านบาทของปี 2555 เมื่อเทียบกับของปี 2554 ลดลงเล็กน้อย กล่าวคือจาก 1,290 ล้านบาท ในปี 2554 เป็น 1,276 ล้านบาทในปี 2555 ในขณะที่รายได้ที่รับรู้จากงานโครงการที่มีจ�ำ นวนตั้งแต่ 50 – 100 ล้านบาทของปี 2555 ซึ่งมีรายได้ 1,619 ล้านบาท ลดลงอย่างมากจากของปี 2554 ซึ่งมีรายได้ 2,118 ล้านบาท เป็นจำ�นวน 499 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23.6 ดังนั้นจะเห็นได้ว่า รายได้จากการขายและบริการของปี 2555 ที่ลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับของปี 2554 เกิดจากรายได้จากงานโครงการที่มีจำ�นวนตั้งแต่ 50 – 100 ล้านบาท ในปี 2554 บริษัทมีรายได้จากการขายและบริการเป็นจำ�นวน 4,724 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากของปี 2553 ซึ่งมีรายได้เท่ากับ 4,520 ล้านบาท เท่ากับ 204 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.5 เนื่องจากจำ�นวนโครงการที่รับรู้รายได้ในปี 2554 ซึ่งมี 647 โครงการ มากกว่าจำ�นวนโครงการในปี 2553 ซึ่งมี 491 โครงการ ถึงแม้รายได้จากโครงการที่รับรู้รายได้เกิน 50 ล้านบาทขึ้นไปในปี 2554 จะน้อยกว่าของปี 2553 ก็ตาม ดังแสดงในตารางเปรียบเทียบรายได้จากงานโครงการ ในส่วนของต้นทุนขายและบริการนั้น เป็นต้นทุนของงานโครงการธุรกิจการขาย และบริการทั้งนี้ต้นทุนของงานโครงการส่วนใหญ่ ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายตั้งแต่การยื่นแบบและประมูลโครงการ ต้นทุนในการซื้ออุปกรณ์ การซื้อซอฟต์แวร์และค่าจ้างในการพัฒนาระบบ ค่าจ้างออกแบบและติดตั้ง ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับพนักงานในส่วนดำ�เนินงานโครงการ และในส่วนของบริการหลังการขายและ บำ�รุงรักษา ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของต้นทุนขายและบริการจะแปรผันโดยตรงตามการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของรายได้ โดยในปี 2555 ต้นทุนขายและบริการลดลงตามการลดลงของรายได้เมือ่ เทียบกับของปี 2554 กล่าวคือ ต้นทุนขายในปี 2555 ซึง่ เท่ากับ 3,139 ล้านบาท ลดลงจากของปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 3,614 ล้านบาท คิดเป็นลดลง 475 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.1 จะเห็นได้ว่าอัตราการลดลงของ ต้นทุนขายและบริการลดลงน้อยกว่าอัตราการลดลงของรายได้ซง่ึ เท่ากับร้อยละ  14.1  เล็กน้อยเนือ่ งจากอัตรากำ�ไรขัน้ ต้นของโครงการในปี 2555 ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับของปี 2554 เนื่องจากมีโครงการขนาดใหญ่ในปี 2555 บางโครงการซึ่งมีทั้งงานติดตั้งและงานขาย เฉพาะอุปกรณ์มอี ตั รากำ�ไรขัน้ ต้นค่อนข้างต่�ำ เนือ่ งจากการแข่งขันและเป็นลักษณะเฉพาะของการขายเฉพาะอุปกรณ์ซง่ึ มีก�ำ ไรขัน้ ต้นต่�ำ อยูแ่ ล้ว

2555-2012 90

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ในขณะที่ต้นทุนขายและบริการในปี 2554 เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของรายได้ กล่าวคือ ต้นทุนขายในปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 3,614 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากของปี 2553 ซึ่งเท่ากับ 3,587 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 27 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.8 แต่จะเห็นได้ว่าอัตรา การเพิ่มขึ้นของต้นทุนขายและบริการนั้นเพิ่มขึ้นน้อยกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ ซึ่งเท่ากับร้อยละ 4.5 เนื่องจากหลายโครงการในปี 2554 มีอัตรากำ�ไรในโครงการค่อนข้างสูงกว่าของปี 2553 อันเป็นผลมาจากลักษณะเฉพาะของโครงการกล่าวคือ โครงการขนาดใหญ่ ของปี 2553 มีลักษณะของการขายที่เป็นการขายเฉพาะอุปกรณ์ซึ่งปกติจะมีกำ�ไรขั้นต้นต่�ำ จากเหตุผลดังกล่าวของลักษณะโครงสร้างต้น ทุนดังกล่าวยังส่งผลต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของต้นทุนเมื่อเทียบกับการอัตราการเพิ่มขึ้นของยอดขายในปีแต่ละปีนั้น

1.2 รายได้และต้นทุนธุรกิจให้เช่าเครื่องและอุปกรณ์

รายได้จากธุรกิจให้เช่าเครื่องและอุปกรณ์  เป็นรายได้จากค่าให้เช่าอุปกรณ์โทรคมนาคม  และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยลูกค้าของบริษัทเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการและสถาบันการศึกษา โดยผลการดำ�เนินงานของธุรกิจให้เช่าเครื่องและ อุปกรณ์สามารถสรุปเป็นข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญดังนี้ 1,200

250

150 100 50 0

66 19 16 3 3 2553

33 2554

1,000

1,000

212

200

75 43 32 0

รายได้ค่าเช่าจากอุปกรณ์ให้เช่า (ล้านบาท)

800

อัตราการเปลี่ยนแปลงรายได้ค่าเช่า เมื่อเทียบกับของปีก่อน (ร้อยละ)

ต้นทุนของอุปกรณให้เช่า (ล้านบาท)

600

อัตราการเปลี่ยนแปลงต้นทุน เมื่อเทียบกับของปีก่อน (ร้อยละ)

กำ�ไรขั้นต้นจากธุรกิจให้เช่าเครื่อง และอุปกรณ์ (ล้านบาท)

400

อัตรากำ�ไรขั้นต้นจากธุรกิจให้เช่า เครื่องและอุปกรณ์ (ร้อยละ)

รายจ่ายลงทุนในอุปกรณ์ใหเช่า (ล้านบาท)

200 0 (200)

2555

แผนภูมิแสดงรายได้ ต้นทุน กำ�ไรขั้นต้น และรายจ่ายลงทุน ของธุรกิจให้เช่าเครื่องและอุปกรณ์ให้เช่า

81.5 (32) (87) 2553

247.4 49.9 2554

42.7 30 13.6 2555

แผนภูมิแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ และต้นทุน อัตรากำ�ไรขั้นต้น และรายจ่ายลงทุนของธุรกิจให้เช่าเครื่องและอุปกรณ์ให้เช่า

จากแผนภูมิข้างต้นหากพิจารณาเรื่องรายจ่ายลงทุนในอุปกรณ์ให้เช่าพบว่า ในปี 2555 บริษัทไม่มีการลงทุนเพิ่มในอุปกรณ์ให้ เช่า เนื่องจากบริษัทไม่ได้มีโครงการใหม่ในธุรกิจส่วนนี้ โดยโครงการที่มีรายได้ค่าเช่าสูงสุดนั้นได้ลงทุนไปแล้วในปี 2554 ซึ่งได้ลงทุนใน โครงการอุปกรณ์สื่อสารให้เช่า เป็นจำ�นวนเงิน 212 ล้านบาท รายได้จากการให้เช่าอุปกรณ์ในปี 2555 ซึ่งเท่ากับ 75 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากของปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 66 ล้านบาท คิดเป็น เพิ่มขึ้น 9 ล้านบาทหรือร้อยละ 13.6 ซึ่งการเพิ่มขึ้นของรายได้ในปี 2555 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากโครงการอุปกรณ์ให้เช่าที่ลงทุนในระหว่าง ปี 2554 โดยรับรู้รายได้เต็มปีในปี 2555 และรับรู้บางส่วนในปี 2554 ซึ่งเป็นเหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้ท�ำ ให้รายได้จาการให้เช่าอุปกรณ์ ในปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 66 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากของปี 2553 ซึ่งเท่ากับ 19 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 47 ล้านบาทหรือร้อยละ 247.4 นอกจากนี้ยังเป็นผลมาจากในปี 2553 ที่มีสัญญาเช่าเดิมเริ่มทยอยครบอายุสัญญาเช่าลงหรือหากมีการต่อสัญญาเช่าอุปกรณ์ ก็มีอัตรา ค่าเช่าที่ต่ำ�กว่าเดิมมาก

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 91


สำ�หรับต้นทุนของธุรกิจให้เช่าอุปกรณ์ส่วนใหญ่คือ ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ ซึ่งการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของต้นทุนอุปกรณ์ยังคงสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของการใช้งานอุปกรณ์ตามสัญญาให้เช่าอุปกรณ์ อัตรากำ�ไรขั้นต้นของ ของธุรกิจให้เช่าอุปกรณ์ของปี 2555 และของปี 2554 ใกล้เคียงกันกล่าวคือ ร้อยละ 42.7 ในปี 2555 และร้อยละ 49.9 ในปี 2554 เนื่องจากโครงการที่รับรู้รายได้ของทั้ง 2 ปีส่วนใหญ่จะเป็นโครงการเดียวกัน ส่วนอัตรากำ�ไรขั้นต้นในปี 2553 เมื่อเทียบกับของปี 2554 นั้นมีอัตราค่อนข้างต่างกันมาก เนื่องจากในปี 2554 อัตรากำ�ไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 49.9 เป็นผลจากต้นทุนของโครงการที่ได้สัญญา มาใหม่ แต่ในปี 2553 มีอัตรากำ�ไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 81.5 ทั้งนี้อัตรากำ�ไรขั้นต้นที่สูงมากเนื่องจากโครงการอุปกรณ์ให้เช่าได้รับการ ต่ออายุสัญญาเช่าจากสัญญาเดิม  ทำ�ให้เกิดรายได้จากอุปกรณ์ให้เช่า  ในขณะที่อุปกรณ์ให้เช่าเหล่านั้นได้ครบอายุและตัดค่าเสื่อมราคา ครบถ้วนแล้ว จึงทำ�ให้มีรายได้เกิดขึ้นแต่ต้นทุนหลักของอุปกรณ์ให้เช่านั้นไม่มี

1.3 รายได้อื่น

รายได้อื่นเป็นรายได้ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของบริษัทได้แสดงไว้ในรายได้อื่นโดยสามารถแสดงเปรียบเทียบตามประเภท ของรายได้ หลักในแต่ละปี ดังแผนภูมิต่อไปนี้

ปะเภทรายได้อื่น

หน่วย : ล้านบาท

อื่นๆ การโอนกลับหนี้สงสัยจะสูญ กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2553

กำ�ไรจากการขายสินทรัพย์

2554

รายได้จากการส่งเสริมการขาย

2555

ดอกเบี้ยรับ 0

5

10

15

20

25

30

แผนภูมิเปรียบเทียบรายได้อื่นในแต่ละปี

ดังแผนภูมขิ า้ งต้นจะเห็นว่า ปัจจัยทีท่ �ำ ให้รายได้อน่ื เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจากปี 2553 ถึง 2555 นัน้ มาจากรายได้สง่ เสริมการขาย ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากยอดซือ้ จากผูข้ ายในต่างประเทศตามเงือ่ นไขส่งเสริมการขาย  และการโอนกลับหนีส้ งสัยจะสูญทีไ่ ด้รบั ชำ�ระเงินจากลูกหนี ้ ส่งผล ให้รายได้อน่ื รวมของปี 2555 ซึง่ เท่ากับ 48.2 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากของปี 2554 ซึง่ เท่ากับ 34.4 ล้านบาท คิดเป็นเพิม่ ขึน้ 13.8 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 40.1 และรายได้อน่ื ของปี 2554 ซึง่ เท่ากับ 34.4 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากของปี 2553 ซึง่ เท่ากับ 26.4 ล้านบาท คิดเป็น เพิม่ ขึน้ 8 ล้านบาทหรือร้อยละ 30.3 อย่างไรก็ตามรายได้อน่ื ๆ ของปี 2554 และ 2555 ทีล่ ดลงจากของปี 2553 คือกำ�ไรจากอัตรา แลกเปลีย่ นทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2553 จากการทีค่ า่ เงินบาทแข็งตัวเมือ่ เทียบกับเงินสกุล US Dollar ในช่วงปลายปี 2553

2555-2012 92

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


1.4 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของปี 2553 – 2555 สามารถแสดงยอดคงเหลือในแต่ละปีดังต่อไปนี้ ตารางการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 20

รวมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ล้านบาท) รวมค่าใช้จ่ายในการะบริหาร (ล้านบาท) รวมค่าใช้จ่ายในการขาย (ล้านบาท) 2553

2554

15

239

2555

15.8

10

443

236 207

17.6

5 513

274

500

283 217

4.5

0 -5

2553

2554

อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่าย ในการขายและบริการ (ร้อยละ)

(2.5) 2555

อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ (ร้อยละ)

-10 (14.1)

-15 -20

แผนภูมิแสดงยอดคงเหลือของค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหารในแต่ละปี

แผนภูมิเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ กับอัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายของการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารยังคงมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของยอดรายได้  ดังจะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของปี 2555 ซึ่งเท่ากับ 500 ล้านบาท ลดลงจากของปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 513 ล้านบาท คิดเป็นลดลง 13 ล้านบาทหรือร้อยละ 2.5 ลดลงน้อยกว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ซึ่งเท่ากับร้อยและ 14.1 ส่วนใหญ่เนื่องมาจาก ค่าใช้จ่าย ต่างๆ เช่นโบนัสพนักงาน ค่านายหน้า และค่าใช้จ่ายสำ�นักงานอื่นซึ่งได้ลดลงโดยแปรผันตรงกับรายได้ของบริษัทที่ลดลงในปี 2555 แต่การลดลงของค่าใช้จ่ายเหล่านี้ต้องสุทธิด้วยการเพิ่มขึ้นของค่าปรับงานล่าช้า  25  ล้านบาท  ค่ารับรองที่ต้องพบปะลูกค้ามากขึ้น เนื่องจากต้องกระตุ้นยอดขาย 6 ล้านบาท ค่าที่ปรึกษาทางการเงินในการลงทุนที่เพิ่มขึ้น 3 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายสำ�รองผลประโยชน์ พนักงานหลังออกจากงานเพิ่มขึ้น 3 ล้านบาท เป็นต้น จึงทำ�ให้อัตราการลดลงของค่าใช้จ่ายต่�ำ กว่าของรายได้ ส่วนค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 513 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากของปี 2553 ซึ่งเท่ากับ 443 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 70 ล้านบาทหรือร้อยละ 15.8 สูงกว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้ซึ่งเท่ากับ 4.5 ส่วนใหญ่เนื่องมาจาก ในปี 2554 ได้บันทึกสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้คงค้างนาน 22 ล้านบาท โบนัสพนักงานและค่านายหน้าเพิ่มขึ้น 32 ล้านบาทเป็นผลมา จากผลประกอบการของโครงการสูงมากกว่าของปี  2553  เงินสวัสดิการพนักงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งเงินช่วยเหลือพนักงานที่ประสบภัย น้�ำ ท่วม 5 ล้านบาท และค่าเลี้ยงรับรองลูกค้าที่เพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท

1.5 กำ�ไรสุทธิและอัตรากำ�ไรสุทธิ

โดยปกติแล้วการเปลี่ยนแปลงของกำ�ไรสุทธิมักจะแปรผันโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงของรายได้  อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของค่าใช้จ่ายบางรายการไม่ได้สัมพันธ์กันไปในทางเดียวกับรายได้  ทำ�ให้อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้และกำ�ไรสุทธิไม่เป็น ไปในทางเดียวกันได้ ซึ่งในช่วงปี 2553 – 2555 สามารถสรุปสาระสำ�คัญทางการเงินได้ดังนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 93


2555 2554 2553

-

2,000

รายได้รวม (ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ล้านบาท) กำ�ไรสุทธิ (ล้านบาท)

4,000

6,000

2553

2554

2555

4,565 443 379

4,824 513 439

4,179 500 364

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบกำ�ไรสุทธิและรายได้ในแต่ละปี 9.2 9

24.3

8.8 15.8

8.6 8.4 8.2

2553

2554

2555

8 7.8

2553 อัตรากำ�ไรสุทธิ (ร้อยละ)

8.3

2554

9.1

แผนภูมิแสดงอัตรากำ�ไรสุทธิในแต่ละปี

(17.1)

2555

8.7

อัตราเปลี่ยนแปลงกำ�ไรสุทธิ (ร้อยละ)

แผนภูมิแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงกำ�ไรสุทธิเมื่อเทียบกับปีก่อน

กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี  2555  ซึ่งเท่ากับ  364  ล้านบาท  ลดลงจากกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี  2554  ซึ่งเท่ากับ  439  ล้านบาท เป็นจำ�นวน  75  ล้านบาท  หรือคิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ  17.1  ซึ่งเป็นผลมาจากยอดรายได้ของงานโครงการในปี  2555  ลดลงจาก ของปี  2554  นอกจากนี้ยังมีผลมาจากค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารบางรายการในปี  2555  เช่นค่าปรับงานล่าช้า  เงินเดือน ที่เพิ่มขึ้นจากการปรับฐานเงินเดือนประจำ�ปี  ค่ารับรองที่ต้องเพิ่มขึ้นเพื่อให้ได้ยอดขายที่ดีในสภาวะที่การแข่งขันสูงแต่งบประมาณและ จำ�นวนโครงการจากภาครัฐกลับลดลง และค่าที่ปรึกษาทางการเงินเพื่อหาช่องทางการขยายกิจการของบริษัทให้เติบโตได้มากขึ้น เป็นต้น จึงส่งผลให้อัตรากำ�ไรสุทธิของปี 2555 ลดลงเป็น 8.7 จากเดิม 9.1 ในปี 2554 กำ�ไรสุทธิส�ำ หรับปี 2554 ซึ่งเท่ากับ 439 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกำ�ไรสุทธิส�ำ หรับปี 2553 ซึ่งเท่ากับ 379 ล้านบาท เป็นจำ�นวน 60 ล้านบาท หรือคิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.8 เป็นผลมาจากยอดรายได้และอัตรากำ�ไรขั้นต้นของงานโครงการในปี 2554 สูงมากกว่า ของปี 2553 จึงทำ�ให้กำ�ไรสามารถครอบคลุมค่าใช้จ่ายคงที่ได้ดียิ่งขึ้นและทำ�ให้อัตรากำ�ไรสุทธิสูงขึ้นเป็นร้อยละ 9.1 เพิ่มขึ้นจากอัตรา กำ�ไรสุทธิของปี 2553 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 8.3 ถึงแม้จะมีการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายซึ่งสูงขึ้นในอัตราที่สูงกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ ก็ตาม

2555-2012 94

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


2. ฐานะการเงิน

2.1 สินทรัพย์

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 2554 2553

พันบาท

ร้อยละ

พันบาท

ร้อยละ

พันบาท

ร้อยละ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน

244,380

6.7

215,461

7.9

249,075

10.4

-

-

-

-

3,023

0.1

1,877,929

51.1

1,017,922

37.2 1,055,669

44.1

รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระ

823,205

22.4

603,692

22.1

73,037

3.1

สินค้าคงเหลือ

461,583

12.5

569,549

20.9

805,325

33.7

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

21,093

0.6

55,105

2.0

94,563

3.9

3,428,190

93.3

2,461,729

90.1

2,280,692

95.3

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากประจำ�ธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกัน

7,837

0.2

8,691

0.3

56,229

2.4

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

25,000

0.7

-

-

-

-

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

1,000

-

10,999

0.4

10,999

0.5

47,508

1.3

46,864

1.7

22,498

0.9

อุปกรณ์สำ�หรับให้เช่า

144,826

4.0

185,420

6.8

4,784

0.2

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

10,591

0.3

8,712

0.3

6,420

0.3

8,870

0.2

9,118

0.4

10,884

0.4

245,632

6.7

269,804

9.9

111,814

4.7

3,673,822

100.0

2,731,533

100.0

2,392,506

100.0

ส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 95


ในปี 2555 สินทรัพย์รวมของบริษัทเพิ่มขึ้นจากของปี 2554 เป็นจำ�นวน 942 ล้านบาท กล่าวคือจาก 2,732 ล้านบาทในปี 2554 เป็น 3,674 ล้านบาท ในปี 2555 หรือคิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.5 โดยสินทรัพย์ส่วนใหญ่ของบริษัทเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนซึ่ง คิดเป็นร้อยละ 93.3 ของสินทรัพย์รวม ใกล้เคียงกับอัตราส่วนของปี 2554 และ 2553 สินทรัพย์หลักที่เพิ่มขึ้นได้แก่ลูกหนี้การค้า และ รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระ ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวน 860 ล้านบาท และ 220 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.5 และร้อยละ 36.4 ตาม ลำ�ดับ  ทั้งนี้การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้มาจากในช่วงปลายปี  บริษัทได้งานโครงการจำ�นวนมากอันเนื่องมาจากโครงการในงบประมาณของปี ใหม่ซึ่งได้ผ่านช่วงที่ทุ่มเทงบเพื่อป้องกันอุทกภัยในช่วงปี 2555 แล้ว ส่วนรายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระนั้นเป็นการรับรู้ความสำ�เร็จของงานที่ได้ ทำ�แล้วหลายโครงการแต่งานยังไม่ถึงเกณฑ์ที่สามารถออกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บกับลูกค้าได้  โดยโครงการเหล่านี้เป็นบางโครงการเกี่ยวข้อง กับการพัฒนาระบบซึ่งต้องใช้เวลาค่อนข้างนานในการทำ�งาน  หรือโครงการที่อยู่ระหว่างการติดตั้งและรอส่งมอบ  เช่นงานโครงการ ระบบใบแจ้งหนี้  ของบมจ.  ทีโอที  และโครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค  และโครงการ จ้างเหมา ออกแบบ ติดตั้งโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนำ�แสงของสำ�นักคณะกรรมการการอุดมศึกษา นอกจากนี้บางโครงการเป็นงานติดตั้งที่ เสร็จเรียบร้อยแล้ว  แต่ต้องออกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงินตามสัญญาตามงวดที่กำ�หนดไว้เช่น  โครงการติดตั้งระบบกล้องวงจรปิดของ การนิคมอุตสาหกรรม จึงทำ�ให้รายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระเพิ่มขึ้น สำ�หรับรายการสินทรัพย์อื่นๆ  ที่เพิ่มขึ้นมาจากของปี  2554  ได้แก่  การลงทุนในบริษัทร่วมจำ�นวน  25  ล้านบาทโดยลงทุน ร่วมกับ  บริษัท  ล็อกซเล่ย์  ไวร์เลส  จำ�กัด  เป็นบริษัทร่วม  เพื่อรองรับการขยายธุรกิจในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และระบบโครงข่ายโทรคมนาคมในกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์รวมนั้นได้ สุทธิด้วยการลดลงของสินทรัพย์บางรายที่สำ�คัญได้แก่ การลดลงของสินค้าคงเหลือจาก 570 ล้านบาท ในปี 2554 เป็น 462 ล้านบาท ในปี 2555 คิดเป็นลดลง 108 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 23.4 เนื่องมาจากการส่งมอบงานโครงการจำ�นวนมากที่ทำ�เรียบร้อยแล้วซึ่ง ส่งผลให้ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น  นอกจากนี้ในระหว่างปี  2555  บริษัทได้ขายเงินลงทุนในบริษัทย่อยเมเปิลพลัส เนื่องจากไม่ได้มีแนวโน้ม การทำ�กำ�ไรในระยะยาว  แต่สุทธิด้วยการลงทุนในบริษัทย่อยทาวเวอร์เอ็กซ์เอเชีย  เพื่อรองรับงานโครงการเกี่ยวกับเสารับส่งสัญญาณ  ทำ�ให้เงินลงทุนในบริษัทย่อยลดลงสุทธิ 10 ล้านบาท และสินทรัพย์หมุนเวียนอื่นของปี 2555 ลดลงอันเนื่องมาจากเงินจ่ายล่วงหน้า ค่าสินค้าและบริการที่ลดลงจากของปี 2554 จำ�นวน 34 ล้านบาทเนื่องจากจ่ายเงินล่วงหน้าลดลงและในระหว่างปี 2555 ได้รับสินค้า และบริการที่เคยจากล่วงหน้ามาแล้วตอนต้นปี ส่วนสินทรัพย์รวมของบริษัทในปี  2554  นั้นเพิ่มขึ้นจากของปี  2553  เป็นจำ�นวน  339  ล้านบาท  กล่าวคือจาก  2,393 ล้านบาท ในปี 2553 เป็น 2,732 ล้านบาทในปี 2554 หรือคิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.2 สินทรัพย์หลักที่เพิ่มขึ้นได้แก่ รายได้ที่ยัง ไม่เรียกชำ�ระซึ่งเพิ่มขึ้น  531  ล้านบาท  เนื่องมาจากได้รับรู้รายได้ตามความสำ�เร็จของงานโครงการที่ได้ทำ�แล้วหลายโครงการแต่งาน ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่สามารถออกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บกับลูกค้าได้  โดยงานโครงการที่สำ�คัญได้แก่  งานโครงการจัดทำ�ระบบใบแจ้งหนี้  และ งานทำ�ระบบปรับปรุงคุณภาพข้อมูลลูกค้า ของ บมจ.ทีโอที และ โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ ของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค  เป็นต้น  นอกจากนี้สินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งในปี  2554  คือการลงทุนในอุปกรณ์ให้เช่าซึ่งเป็นงานโครงการที่ทาง บริษัทประมูลได้มา  และการซื้ออุปกรณ์อะไหล่เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเพียงพอ  และทดแทนของเดิมที่หมดอายุการใช้งานโดย เป็นการเพิ่มขึ้น 181 ล้านบาทสำ�หรับอุปกรณ์ให้เช่า และเพิ่มขึ้น 24 ล้านบาทสำ�หรับอุปกรณ์อะไหล่

2555-2012 96

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ถึงแม้สินทรัพย์โดยรวมของบริษัทจะเพิ่มขึ้น แต่สินทรัพย์บางส่วนของบริษัทในปี 2554 ก็มียอดลดลงได้แก่ 1) สินค้าคงเหลือ ซึง่ ลดลง 236 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ได้รบั รูร้ ายได้จากงานระหว่างทำ�ของโครงการทีย่ กมาในปี 2553 แล้ว ในขณะทีช่ ว่ งปลายปี 2554 การลงทุนในโครงการใหม่ได้ชะลอตัวลงไปเมื่อเทียบกับของในช่วงปลายปี 2553 เนื่องจากเหตุการณ์อุทกภัยในปี 2554 2) ลูกหนี้ การค้าลดลง  38  ล้านบาท  ซึ่งเป็นการลดลงเนื่องจากการรับรู้รายได้จากโครงการขนาดใหญ่หลายโครงการยังไม่ได้ออกใบแจ้งหนี้ เนื่องจากยังไม่ถึงเกณฑ์การออกใบแจ้งหนี้ทำ�ให้อยู่ในสถานะเป็นรายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระซึ่งเพิ่มขึ้นแทน 3) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นลดลง 39 ล้านบาท ซึ่งมาจากการลดลงของเงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าและบริการลดลง 46 ล้านบาท เนื่องจากในช่วงปลายปี 2553 มีงาน ระหว่างทำ�โครงการขนาดใหญ่หลายโครงการที่ได้จ่ายเงินล่วงหน้าสำ�หรับค่าบริการเพื่อทำ�งานซึ่งได้แล้วเสร็จในปี  2554  จึงทำ�ให้เงิน จ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าและบริการลดลง ในขณะที่ปลายปี 2554 มีเงินจ่ายล่วงหน้าของงานโครงการระหว่างทำ�ลดลงตามปริมาณงาน ที่คงเหลืออยู่ในช่วงปลายปี 2554 4) เงินฝากประจำ�ธนาคารที่มีภาระค้�ำ ประกันซึ่งได้ลดลง 48 ล้านบาทเนื่องจากอันเนื่องมาจากเพื่อ ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารเงินและเสริมสภาพคล่องให้กับบริษัท  โดยบริษัทได้ดำ�เนินการเจรจาต่อรองให้สถาบันการเงินปลด ภาระหลั กประกันเงินฝากที่เป็นประกันวงเงินสินเชื่อ

2.2 หนี้สิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้อยละเทียบกับจำ�นวนรวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น) 2555 2554 2553 พันบาท ร้อยละ พันบาท ร้อยละ พันบาท ร้อยละ

หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ต้นทุนที่ยังไม่เรียกชำ�ระ ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ระยะยาว-สุทธิจากส่วนที่ ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

360,000 1,074,386 332,813

9.8 29.2 9.1

33,235 42,007 295,922 2,138,363 42,981 45,923 88,904 2,227,267 1,446,555 3,673,822

- 667,807 257,620

- 754,807 165,106

31.6 6.9

0.9 24,801 1.1 102,759 8.1 202,901 58.2 1,255,888

0.9 - 3.8 42,796 7.4 165,584 46.0 1,128,293

1.8 6.9 47.2

1.2 50,199 1.2 37,501 2.4 87,700 60.6 1,343,588 39.4 1,387,945 100.0 2,731,533

1.8 - 1.4 32,248 3.2 32,248 49.2 1,160,541 50.8 1,231,965 100.0 2,392,506

1.3 1.3 48.5 51.5 100.0

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

- 24.5 9.4

2555-2012 97


หลายปีที่ผ่านมาหนี้สินของบริษัทส่วนใหญ่เป็นหนี้สินหมุนเวียน โดยในปี 2555 บริษัทมีหนี้สินรวมเท่ากับ 2,227 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 884 ล้านบาท หรือร้อยละ 65.8 โดยหนี้สินเพิ่มขึ้นจาก 1) เงินกู้ยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้น 360 ล้านบาท เนื่องจากมีโครงการ ขนาดใหญ่ที่มีขั้นตอนการตรวจรับล่าช้าส่งผลให้ต้องใช้เวลานานในกระบวนการเก็บเงินจากลูกค้าไปด้วย  2)  เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 407 ล้านบาท เนื่องจากในช่วงปลายปี 2555 มีงานโครงการเข้ามามากทำ�ให้ยอดซื้อสินค้าและเจ้าหนี้สูงมากขึ้น 3) ต้นทุนที่ยังไม่เรียก ชำ�ระเพิม่ ขึน้   75  ล้านบาท  เนือ่ งจากในช่วงปลายปี  2555  มีการส่งมอบงานโครงการจำ�นวนมาก  ทำ�ให้มคี า่ ใช้จา่ ยทีย่ งั ไม่เรียกเก็บหรือ ค่าใช้จา่ ยตามเงือ่ นไขการรับประกันหลังการขาย  4)  หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้   93  ล้านบาทซึง่ ส่วนใหญ่ได้แก่  การเพิม่ ขึน้ ของภาษีขาย ทีร่ อเรียกชำ�ระและภาษีขายรอนำ�ส่งตามยอดใบแจ้งหนีห้ รือใบกำ�กับภาษีทอ่ี อกเนือ่ งจากการส่งมอบงานในช่วงปลายปี  และเงินรับล่วงหน้า จากลูกค้า โดยได้รับเงินล่วงหน้าของงานโครงการขนาดใหญ่เพิ่มขึ้นในช่วงปลายปีอย่างไรก็ตาม หนี้สินของบริษัทบางรายการลดลง ได้แก่ ภาษีเงินได้ค้างจ่ายที่ลดลงจากปี 2554 จำ�นวน 61 ล้านบาท เนื่องจากผลประกอบการที่มีรายได้และกำ�ไรสุทธิลดน้อยลง ประกอบกับ อัตราภาษีเงินได้ของปี 2555 ที่ลดลงจากของปี 2554 กล่าวคือ ลดลงจากอัตราร้อยละ 30 ของกำ�ไรสุทธิในปี 2554 เป็นอัตราร้อยละ 23 ของกำ�ไรสุทธิในปี 2555 ปี 2554 บริษัทมีหนี้สินรวมซึ่งเท่ากับ 1,344 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากของปี 2553 ซึ่งเท่ากับ 1,161 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 183 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.8 โดยหนี้สินที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่ประกอบด้วย 1) เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น 75 ล้านบาท ทั้งนี้แบ่งเป็น ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 25 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิจากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปีอีก 50 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทได้กู้ยืมเงินระยะยาวนี้เพื่อรองรับงานโครงการที่มีระยะเวลาการรับเงินจากลูกค้าเป็นรายงวดโดยมีระยะเวลาทั้งสิ้น  5  ปี  2) ภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น 60 ล้านบาท อันเนื่องมาจากผลประกอบการที่มีก�ำ ไรเพิ่มมากขึ้น และอัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของกำ�ไรสุทธิในปี 2554 จากเดิมร้อยละ 25 สำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่ไม่เกิน 300 ล้านบาทและร้อยละ 30 สำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่เกิน 300 ล้านบาท ในปี 2553 3) หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 37 ล้านบาท ซึ่งได้แก่ รายได้รับล่วงหน้าจากลูกค้า โดยเพิ่มขึ้นเนื่องจากใน ช่วงปลายปีได้รับเงินล่วงหน้าของงานโครงการขนาดใหญ่  ประกอบกับยังมีงานโครงการที่เคยรับเงินล่วงหน้าแล้วยังคงมียอดคงเหลืออยู่ ตามงวดงานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ หากมองภาพรวมของเจ้าหนี้การค้ากับต้นทุนที่ยังไม่เรียกชำ�ระแล้วด้วยกันแล้วพบว่า ยอดรวมของทั้งสอง รายการนี้ เท่ากับ 925 ล้านบาท และ 920 ล้านบาท สำ�หรับยอดคงเหลือในปี 2554 และ 2553 ตามลำ�ดับ ซึ่งพบว่าใกล้เคียงกันมาก เพียงแต่แยกรายการกันเพื่อแสดงว่า โครงการที่ได้ส่งมอบในปี 2554 นั้น ผู้ให้บริการ (supplier) ยังไม่ได้เรียกเก็บชำ�ระจากทางบริษัท มากกว่า จึงทำ�ให้มีต้นทุนค้างชำ�ระอยู่ ในขณะที่โครงการที่ได้ส่งมอบในปี 2553 นั้น ผู้ให้บริการ (supplier) ได้ส่งใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงิน ซึ่งได้แสดงเป็นเจ้าหนี้การค้าแล้ว

2.3 ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทุนเรือนหุ้นและใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ จากมติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ นของบริ ษั ท เมื่ อ วั นที่   20  เมษายน  2550  ได้ อ นุ มั ติ ให้ อ อกและเสนอใบสำ � คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญโดยไม่คิดมูลค่า โดยแบ่งเป็นส่วนที่จะออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม จำ�นวน 5,999,972 หน่วย และออกให้แก่กรรมการและ/ หรือพนักงานของบริษัทจำ�นวน 3,000,000 หน่วย ซึ่งได้หมดอายุการใช้สิทธิเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2555 สามารถสรุปผู้ได้รับใบ สำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญโดยมาใช้สิทธิจำ�นวน  8,773,636  หน่วยและไม่มาใช้สิทธิหรือหมดสิทธิจำ�นวน  226,336  หน่วย ตามแผนภาพดังนี้ หมดสิทธิ 226,336 (3%)

ใช้สิทธิ 8,773,636 (97%) ใบสำ�คัญแสดงสิทธิรวม 8,999,972 หน่วย

2555-2012 98

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


เงินปันผลและผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น จากผลการดำ�เนินการที่ผ่านมา บริษัทมีการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นมาโดยตลอดทุกปีอย่างต่อเนื่อง และในช่วงเวลา 3 ปี บริษัทได้มีการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลนับจากปี 2553- 2555 ดังตารางแสดงการจ่ายเงินปันผลนี้

ตารางแสดงการจ่ายเงินปันผล

2555****

2554***

2553**

กำ�ไรสุทธิ (ล้านบาท)

364

439

379

เงินปันผลจ่าย (ล้านบาท)

275

336

295

เงินปันผล (บาทต่อหุ้น)

4.0

5.0

4.50

กำ�ไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

5.35

6.57

5.97

อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

75.32

76.60

77.91

68.8

67.5

66.2

จำ�นวนหุ้น(ล้านหุ้น)*

หมายเหตุ : * มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 5 บาท ** จากการประชุมคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2553 คณะกรรมการมีมติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท และจากการประชุม คณะกรรมการในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 มีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลจากผลการดำ�เนินงานของปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 3.00 บาท *** จากการประชุมคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2554 คณะกรรมการมีมติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท และจากการประชุม คณะกรรมการในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 มีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลจากผลการดำ�เนินงานของปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 3.50 บาท **** จากการประชุมคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการมีมติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 1.25 บาท และจากการประชุม คณะกรรมการในวันที่  14  กุมภาพันธ์  2556  มีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลจากผลการดำ�เนินงานของปี  2555  ในอัตราหุ้นละ  2.75  บาท  โดยบริษัทฯ จะนำ�เสนอเพื่อขออนุมัติการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯต่อไป

2.4 สภาพคล่อง

งบกระแสเงินสด

หน่วย : พันบาท 2555

2554

2553

25,599

378,515

168,300

(52,922)

(204,227)

(10,340)

กระแสเงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

56,241

(207,902)

(152,069)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

28,918

(33,614)

5,891

งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน กระแสเงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 99


ในปี 2555 บริษัทมีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 29 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นกระแสเงินสดจากการการดำ�เนินงาน 26 ล้านบาท อันเนื่องมาจากผลประกอบการที่มีกำ�ไรสำ�หรับปี โดยสามารถส่งมอบงานโครงการได้มากขึ้น จนทำ�ให้งานระหว่างทำ�ที่คงเหลืออยู่ลดลง 108 ล้านบาท ในช่วงสิ้นปี 2555 นอกจากนี้ ยังมีกระแสเงินสดจากการที่ยังไม่ได้ช�ำ ระเจ้าหนี้การค้าที่มีการซื้อจำ�นวนมาก ค่าใช้จ่าย ในการรับประกันหลังการขาย  และเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าในช่วงปลายปีรวมจำ�นวน  573  ล้านบาท  แต่สุทธิด้วยกระแสเงินสด ที่ใช้ไปในลูกหนี้การค้าและรายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระจำ�นวน  1,057  ล้านบาท  อันเนื่องมาจากลูกหนี้ส่วนใหญ่เพิ่งส่งมอบงานในเดือน ธ.ค.  55  ทำ�ให้ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระเงินและงานโครงการที่ยังไม่ได้เรียกชำ�ระจากลูกค้าได้เนื่องจากงานยังไม่แล้วเสร็จตามเกณฑ์ ที่กำ�หนดในการออกใบแจ้งหนี้โดยโครงการเหล่านี้มักเป็นโครงการที่ต้องใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานเนื่องจากมีความล่าช้าและยุ่งยาก ในการตรวจรับงาน ซึ่งทำ�ให้กระแสเงินสดยังคงอยู่ในรายการนี้อยู่ ส่วนกิจกรรมการลงทุนนั้น บริษัทได้ใช้กระแสเงินสดไป 53 ล้านบาท โดยลงทุนในบริษัทร่วมทุนและบริษัทย่อยจำ�นวน 26 ล้านบาท และซื้ออุปกรณ์และส่วนปรับปรุงอาคารและลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์จ�ำ นวน  27  ล้านบาท  บริษัทมีกระแสเงินสดเข้าจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 56 ล้านบาท โดยเป็นการรับเงินจากเงินกู้ยืม 360 ล้านบาท และเงินรับจากการเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 17 ล้านบาท แต่สุทธิจากการจ่ายเงินปันผล 322 ล้านบาท ในปี 2554 บริษัทมีกระแสเงินสดลดลงสุทธิ 34 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นกระแสเงินสดได้มาจากการดำ�เนินงาน 379 ล้านบาท อันเนื่องมาจากผลประกอบการที่มีกำ�ไร นอกจากนี้การส่งมอบงานโครงการได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับของปี 2553 และเก็บเงินจากลูกหนี้ ได้ในช่วงปลายปี 2553 ทำ�ให้มีกระแสดเงินสดที่ได้มาสูงขึ้น ประกอบกับบริษัทลดการจ่ายเงินล่วงหน้าค่าสินค้าและบริการ และสามารถ เรียกเก็บเงินล่วงหน้าจากลูกค้าได้บางส่วนด้วย  แต่บริษัทก็ยังมีกระแสเงินสดที่ใช้ไปในการดำ�เนินงานรายการที่สำ�คัญคืองานโครงการ ที่ยังไม่ได้เรียกชำ�ระจากลูกค้าเนื่องจากงานยังไม่แล้วเสร็จตามเกณฑ์ที่กำ�หนดในการออกใบแจ้งหนี้  ซึ่งทำ�ให้กระแสเงินสดยังคงอยู่ใน รายการนี้อยู่ ยังไม่สามารถกลับเข้ามาเป็นกระแสเงินสดได้ สำ�หรับกิจกรรมการลงทุนนั้น บริษัทได้ใช้กระแสเงินสดไป 204 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการลงทุนในโครงการอุปกรณ์ให้เช่า  และการซื้ออุปกรณ์อะไหล่ทั้งแบบเป็นการซื้อเพิ่มเติมและทดแทนอุปกรณ์เก่าที่ครบอายุ การใช้งานเพื่อบริการลูกค้า  และอุปกรณ์สำ�นักงานเพื่อทดแทนของเดิมที่ครบอายุการใช้งานแล้วเช่นกัน  อย่างไรก็ตามบริษัทก็มีกระแส เงินสดรับจากเงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกันโดยการไถ่ถอนภาระค้ำ�ประกันเพื่อนำ�มาใช้ในการดำ�เนินงานของกิจการ  และในส่วน ของกิจกรรมจัดหาเงินนั้น  บริษัทได้ใช้กระแสเงินสดไป  208  ล้านบาท  โดยบริษัทได้จ่ายเงินปันผลเป็นเงินจำ�นวน  300  ล้านบาท แต่ได้รับกระแสเงินสดจากเงินกู้ยืมระยะยาวเพื่อรองรับโครงการที่ได้รับเงินเป็นรายงวดเกิน 1 ปี และได้รับกระแสเงินสดจากการเพิ่มทุน โดยการใช้สิทธิใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญทั้งจากผู้ถือหุ้นเดิมและจากกรรมการและ/หรือพนักงาน ในปี 2553 บริษัทมีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 6 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นกระแสเงินสดรับจากการดำ�เนินงาน 168 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นตามผลประกอบการที่ดีขึ้น ประกอบกับมีระยะเวลาการจ่ายชำ�ระหนี้ที่ยาวนานขึ้นจาก 42 วันในปี 2552 เป็น 57 วัน ในปี  2553  อย่างไรก็ตามกระแสเงินสดส่วนหนึ่งยังใช้ไปอยู่ในสินค้าคงเหลือและเงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้าซึ่งมียอดคงเหลือเพิ่มขึ้น สำ�หรับกิจกรรมการลงทุนนั้น  บริษัทได้ใช้กระแสเงินสดไป  16  ล้านบาทโดยลงทุนในส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์สำ�นักงาน ซึ่งซื้อมาเพื่อทดแทนกับอุปกรณ์เดิมที่หมดอายุการใช้งานแล้ว  นอกจากนี้บริษัทยังได้ลงทุนเพิ่มในลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์และอุปกรณ์ให้เช่า และเพิ่มเงินลงทุนในบริษัทย่อย (บริษัท เมเปิลพลัส จำ�กัด) แต่บริษัทก็ได้กระแสเงินสดรับจากเงินฝากธนาคารที่มีภาระค้�ำ ประกันมา บางส่วน ในส่วนของกิจกรรมการจัดหาเงิน บริษัทได้ใช้กระแสเงินสดไป 152 ล้านบาทโดยเป็นการจ่ายเงินปันผลโดยเป็นการจ่ายเงิน ปันผลประจำ�ปีและเงินปันผลระหว่างกาล สุทธิด้วยเงินสดรับจากการเพิ่มทุนโดยการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ

2555-2012 100

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


อัตราส่วนสภาพคล่อง

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) 2555 2554 2553

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

1.60

1.96

2.02

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)

1.38

1.46

1.22

อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า)

0.02

0.32

0.16

อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)

1.91

3.48

4.05

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)

191

105

90

อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า)

6.17

5.31

5.88

59

69

62

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า)

3.65

5.13

5.85

ระยะเวลาการชำ�ระหนี้ (วัน)

100

71

62

Cash Cycle (วัน)

150

103

90

ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)

จากตารางอัตราส่วนทางการเงินด้านสภาพคล่องพบว่า  แนวโน้มของอัตราส่วนด้านสภาพคล่องนับแต่ปี  2553  –  2555 มีสภาพคล่องที่ลดลง กล่าวคือจาก 2.02 เป็น 1.96 และเป็น 1.60 ในปี 2553 2554 และ 2555 ตามลำ�ดับ และระยะเวลา การเก็บหนี้จากปี 2553 – 2555 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องกล่าวคือจาก 90 วัน เป็น 105 วัน และเป็น 191 วัน ในปี 2553 2554 และ 2555 ตามลำ�ดับ และระยะเวลาการหมุนของเงินสด (Cash cycle) ใช้เวลายาวนานขึ้นนับจากปี 2553 – 2555 กล่าวคือ จาก 90 วัน เป็น 103 วัน และเป็น 150 วัน ในปี 2553 2554 และ 2555 ตามลำ�ดับ โดยอัตราส่วนสภาพคล่องข้างต้นทั้งหมด ซึ่งได้แสดงแนวโน้มทางเดียวกันอันเนื่องมาจากรายได้ที่ยังไม่เรียกชำ�ระที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  โดยเป็นงานโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ ตามเกณฑ์ที่กำ�หนดในการออกใบแจ้งหนี้ได้  และโครงการเหล่านี้มักเป็นโครงการที่ต้องใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานเนื่องจากมีความล่าช้า และยุ่งยากในการตรวจรับงาน จึงทำ�ให้บริษัทยังไม่ได้กระแสเงินสดกลับคืนมา ส่งผลให้ระยะเวลาการหมุนของเงินสดนานขึ้น นอกจากนี้ ทำ�ให้ระยะเวลาเก็บหนี้นานขึ้น  และส่งผลให้บริษัทต้องหาแหล่งที่มาของเงินเพิ่มเติมจากเงินทุนเรือนหุ้นของบริษัทโดยการกู้ยืมเงิน ทั้งเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวทำ�ให้อัตราส่วนสภาพคล่องลดลงอย่างต่อเนื่องการหมุนเวียนสินค้าลดลงในปี  2553  เมื่อเทียบกับ ของปี 2552

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 101


2.5 แหล่งที่มาของเงินทุน

อัตราส่วนการวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อั ตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

1.54

0.97

2553 0.94

เมื่อพิจารณาอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่ผ่านมาในแต่ละปีพบว่าก่อนปี  2555  มีอัตราหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 0.94 0.97 และ 1.54 สำ�หรับปี 2553 2554 และ 2555 ตามลำ�ดับ แสดงให้เห็นว่าก่อนปี 2555 แหล่งที่มาของเงินทุน มาจากส่วนของผู้ถือหุ้นมากกว่าการกู้ยืมเงิน แต่ในปี 2555 บริษัทมีแหล่งที่มาของเงินทุนจากเงินกู้ยืมมากกว่าผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผลมาจาก งานโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จตามเกณฑ์ที่กำ�หนดในการออกใบแจ้งหนี้และเรียกเก็บเงินจากลูกค้าได้ นอกจากนี้ยังเป็นงานที่ใช้ระยะเวลา ค่อนข้างนานเนื่องจากมีความล่าช้าและยุ่งยากในการตรวจรับงาน  ดังนั้นเมื่อบริษัทได้โครงการใหม่เข้ามาจึงต้องหาแหล่งเงินทุนจาก การกู้ยืมเงินเพิ่มขึ้น

2555-2012 102

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibilities) 1. การกำ�กับดูแลกิจการ โดยทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการกำ�กับดูแลกิจการทีด่  ี จึงนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นเครือ่ งมือ เพิ่มมูลค่าและส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท ซึ่งจะเสริมสร้างระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งจะ ช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความ สำ�คัญต่อการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จึงได้จัดทำ�นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีขึ้นและได้มีการพิจารณาปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันเสมอมา บริษัทได้ปลูกฝังให้พนักงานทุกฝ่ายตระหนักถึงความสำ�คัญและนำ�หลักการกำ�กับดูแลไปปฏิบัติ โดยมีคณะกรรมการบริหาร และ ฝ่ายตรวจสอบภายในภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบ  และรายงานผลให้คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริษัททราบ การกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ครอบคลุมเนื้อหา แบ่งออกเป็น 5 หมวด ดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

นอกจากที่บริษัทจะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นในฐานะเจ้าของบริษัทซึ่งมีสิทธิพื้นฐานตามที่กฎหมายกำ �หนดแล้ว  บริษัทยังมีนโยบาย ที่จะปฏิบัติและดูแลผู้ถือหุ้นมากกว่าสิทธิตามกฎหมาย เช่น การให้ข้อมูลสำ�คัญที่เป็นปัจจุบัน การไม่ลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้นในการศึกษา สารสนเทศของบริษัท และการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นเป็นต้น โดยได้กำ�หนดสิทธิของผู้ถือหุ้นสำ�หรับการประชุมผู้ถือหุ้นดังนี้

1.1 การจัดประชุมผู้ถือหุ้น

บริษัทฯ ได้กำ�หนดให้มีการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี ของบริษัท โดยให้ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าประชุมและออกเสียงต้องเป็นผู้ถือหุ้นที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่คณะกรรมการกำ�หนด (Record Date) และจำ�นวนหุ้นที่ถือหุ้นแต่ละรายจะมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนให้เป็นไปตามที่ปรากฏในทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันเดียวกัน นั้น (Record Date) ซึ่งวันที่คณะกรรมการกำ�หนด (Record Date) ต้องเป็นวันที่ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2 เดือน แต่ต้อง ไม่ก่อนวันที่คณะกรรมการอนุมัติให้มีการเรียกประชุมผู้ถือหุ้น  และเมื่อคณะกรรมการกำ�หนดวันเพื่อกำ�หนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้า ประชุม (Record Date) แล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ และในกรณีจ�ำ เป็นเร่งด่วนบริษัทจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป ทั้งนี้ในปี 2555 บริษัทได้จัดการประชุมใหญ่สามัญ ผู้ถือหุ้นครั้ง ที่1/2555 ในวันที่ 6 เมษายน 2555 ณ ห้องบอลรูม 2 โรงแรม โซฟิเทล โซ แบงคอก โดยคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม  เพื่อตอบคำ�ถามต่อผู้ถือหุ้น  รวมทั้งมีผู้บริหารระดับสูง  ผู้สอบบัญชีจากบริษัทสำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด ซึ่งประธานได้ด�ำ เนินการประชุมครบถ้วนตามที่กฎหมายกำ�หนด โดยมีมติอนุมัติในทุกวาระ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 103


1.2 การส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้า

1.3 การอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น

1.4 การดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้น

1.5 การปฏิบัติเกี่ยวกับการรายงานความขัดแย้งของผลประโยชน์

บริษทั ฯได้มอบหมายให้  บริษทั   ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์  (ประเทศไทย)  จำ�กัด  ซึง่ เป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์เป็นผูด้ �ำ เนินการ จัดส่งหนังสือเชิญประชุมทีม่ รี ายละเอียดวาระการประชุม ข้อมูลประกอบทีส่ �ำ คัญและจำ�เป็นสำ�หรับการตัดสินใจความเห็นของคณะกรรมการ บริษัทได้ส่งรายงานการประชุมที่ผ่านมาซึ่งมีรายละเอียดครบถ้วน  รายงานประจำ�ปี  พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุม  เอกสาร ที่ต้องใช้ในการมอบฉันทะ  และระบุวิธีการมอบฉันทะไว้ชัดเจน  โดยกำ�หนดจัดส่งให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า  มากกว่า  7  วันก่อนวันประชุม ผู้ถือหุ้น  และประกาศลงหนังสือพิมพ์รายวัน  ก่อนวันประชุม  3  วันเพื่อเป็นการบอกกล่าวเรียกประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่าง เพียงพอสำ�หรับการเตรียมตัว  ก่อนการเข้าร่วมประชุม  และได้นำ�ข้อมูลเชิญประชุมผู้ถือหุ้นเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัท  www.ait.co.th ก่อนวันประชุมล่วงหน้า ในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น  บริษัทฯได้อำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย  ในด้านการจัดสถานที่ ประชุมและเวลาที่เหมาะสมต่อการประชุมผู้ถือหุ้นรวมถึงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยดูแลต้อนรับให้ความสะดวกเปิดรับการลงทะเบียน ก่อนกำ�หนดเวลาประชุม 2 ชั่วโมง พร้อมจัดเลี้ยงรับรองแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมการประชุมทุกท่าน ก่อนเริ่มการประชุม  ประธานที่ประชุมได้ให้เลขานุการเป็นผู้ชี้แจงวิธีการออกคะแนนเสียง  และวิธีนับคะแนนเสียงของ ผู้ถือหุ้นซึ่งต้องลงมติในแต่ละวาระประชุม   ตามข้อบังคับของบริษัทในแต่ละวาระอย่างชัดเจน   พร้อมเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุม สอบถาม  หรือเสนอแนะข้อคิดเห็นในแต่ละวาระโดยผู้บริหารจะตอบคำ�ถามอย่างชัดเจนในทุกคำ�ถาม  ทั้งนี้ประธานดำ�เนินการประชุม ตามลำ�ดับวาระการประชุม  และจะไม่เพิ่มวาระการประชุมโดยไม่แจ้งผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า  ในการประชุมทุกครั้งจะมีการจดบันทึก รายงานการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน  และสรุปผลการลงคะแนนเสียงไว้อย่างชัดเจน  ในการประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปี  2555  บริษัท ใช้ระบบ Electronics Voting และการลงทะเบียนโดยใช้ Barcode เพื่อเป็นการอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการประชุม อย่างโปร่งใสตามหลักการกำ�กับกิจการที่ดี บริษัทได้ปฏิบัติตามมาตรา 89/14 แห่ง พรบ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทต้องรายงานให้บริษัททราบถึงการ มีส่วนได้เสียของตน  หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง  ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ  กิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย  และ ประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนที่ ทจ.2/2552 ลงวันที่ 26 มกราคม 2552 เรื่องการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร  และบุคคลที่เกี่ยวข้อง  ซึ่งเป็นรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์  และการปฏิบัติตามหลักกำ�กับกิจการที่ดี คณะกรรมการฝ่ายบริหารจึงพิจารณากำ�หนดหลักเกณฑ์  และวิธีการรายงานมีส่วนได้เสียของกรรมการผู้บริหาร  และบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ให้กรรมการและผู้บริหารรายงานการมีส่วนได้เสียครั้งแรกของการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผู้บริหารและทุกครั้ง ที่มีการเปลี่ยนแปลงภายใน  7  วัน  ตามแบบแจ้งรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ  และส่งให้เลขานุการบริษัท เพื่อดำ�เนินการและจัดเก็บ 2. ให้เลขานุการจัดส่งสำ�เนารายงานการมีส่วนได้เสียให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7  วั นทำ � การ  นั บ แต่ วั นที่ ได้ รั บ รายงานนั้ น   เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการทำ � การตรวจสอบโดยผ่ า นความเห็ นชอบโดย คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2552 โดยให้หลักเกณฑ์และแบบฟอร์มการรายงาน การมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2552เป็นต้นไป ในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น หากกรรมการท่ า นใดมี ส่ ว นได้ เ สี ย   หรื อ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในวาระใด  กรรมการท่ า นนั้ นจะ งดออกเสียงในวาระนั้นๆ

2555-2012 104

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


1.6 การดำ�เนินการหลังการประชุมผู้ถือหุ้น

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

บริษัทจะจัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น  ซึ่งจดบันทึกรายงานการประชุมในแต่ละวาระอย่างละเอียดและจัดส่งให้ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักหรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ภายในกำ�หนด 14 วันนับจากวันที่ประชุม ผู้ถือหุ้น และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัท www.ait.co.th ให้ผู้ลงทุนรับทราบ

คณะกรรมการได้กำ�หนดนโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันในเรื่องต่างๆดังนี้

2.1 การแสดงวาระการประชุมและเอกสารที่ใช้ในการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัท

บริษัทได้แจ้งระเบียบวาระการประชุมสามัญประจำ�ปีและเอกสารประกอบต่างๆของบริษัทประกาศผ่านช่องทางเผยแพร่ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษัท www.ait.co.th ใน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยและผู้สนใจอื่นได้รับทราบข้อมูล ดังกล่าว

2.2 การมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุมแทน

เพื่อเป็นการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าร่วมการประชุมด้วยตนเอง  ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่นหรือ กรรมการอิสระของบริษัท  ท่านใดท่านหนึ่งเข้าร่วมประชุม  โดยบริษัทได้ระบุรายชื่อไว้ในหนังสือมอบฉันทะตามแบบที่กระทรวงพาณิชย์ กำ�หนดเพื่อให้เป็นผู้เข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงมติแทนผู้ถือหุ้น  โดยบริษัทยังได้เผยแพร่แบบหนังสือแบบหนังสือมอบฉันทะ  พร้อม รายละเอียดและขั้นตอนการมอบฉันทะต่างๆบนเว็บไซต์ของบริษัท www.ait.co.th ก่อนวันประชุมล่วงหน้า 2.3 การเข้าถึงข้อมูลของบริษัท ผู้ถือหุ้นของบริษัททุกท่านสามารถเข้าถึงข้อมูลของบริษัทผ่านช่องทางต่างๆ  อย่างเท่าเทียมกัน  ซึ่งบริษัทมีช่องทาง ในการเผยแพร่ข้อมูลดังนี้ โทรศัพท์ : 02-2759400 Web Site : http://www.ait.co.th อีเมล์ : ir@ait.co.th

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

บริษัทฯ  ตระหนักถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ  และมีนโยบายที่จะดูแลให้ความมั่นใจ  โดยจัดให้ลำ�ดับความสำ�คัญแก่ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทั้งแก่ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง ตลอดจนสาธารณชนและสังคมโดยรวมอย่างเหมาะสม และจะให้มีการร่วมมือ กันระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกลุ่มต่างๆ  ตามบทบาทและหน้าที่เพื่อให้กิจการของบริษัทดำ�เนินไปด้วยดี  มีความมั่นคงและตอบสนองผล ประโยชน์ที่เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย  ดังนั้น  คณะกรรมการจึงได้จัดให้มีคู่มือจรรยาบรรณธุรกิจ  ประกอบด้วยจรรยาบรรณของผู้บริหารต่อ ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ และจรรยาบรรณพนักงานขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมทั้งแจ้งให้ทราบโดยทั่วกันเพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน ทุกคนได้ปฏิบัติโดยทั่วกันและกำ�หนดให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นมีหน้าที่กำ�กับดูแลส่งเสริมให้มีการปฏิบัติ  เพื่อให้มั่นใจว่าสิทธิขั้นพื้น ฐานของผู้มีส่วนได้เสียได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติเป็นไปได้ด้วยดี ดังนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 105


จรรยาบรรณ: กำ�หนดเพือ่ ให้ผบู้ ริหารปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ เจ้าหนี้ คูแ่ ข่งทางการค้า และสังคมส่วนรวม ดังนี้

ผู้ถือหุ้น :

พนักงาน :

ลูกค้า :

คู่ค้า และ/หรือเจ้าหนี้ :

คู่แข่งทางการค้า :

1. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส เป็นธรรม เพือ่ ทำ�ให้มน่ั ใจได้วา่ ในการตัดสินใจและกระทำ�การใดๆ มีการคำ�นึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องโดยรวมแล้ว 2. ปฏิบัติหน้าที่อย่างมืออาชีพด้วยความรู้ ความชำ�นาญ ความมุ่งมั่น และด้วยความระมัดระวัง ตลอดจนการประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะในการบริหารจัดการบริษัทอย่างเต็มความสามารถ 3. รายงานสถานภาพขององค์กรสม่ำ�เสมอ ครบถ้วนตามความเป็นจริง 4. ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ตนเอง และผู้ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ข้อมูลใดๆขององค์กรซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน 5. ไม่เปิดเผยข้อมูลลับขององค์กรต่อบุคคลภายนอก โดยเฉพาะคู่แข่งทางการค้า 6. ไม่ดำ�เนินการใดๆในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อองค์กร 1. ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรมแก่พนักงาน โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงาน 2. ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงาน โดยให้โอกาสกับพนักงานอย่างทั่วถึงและสม่�ำ เสมอ 3. หลีกเลีย่ งการดำ�เนินการใดๆทีไ่ ม่เป็นธรรมซึง่ อาจคุกคาม และสร้างความกดดันต่อสภาพจิตใจของพนักงาน หรืออาจมีผลกระทบ ต่อความมั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงาน 4. ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต  ร่างกาย  สุขภาพอนามัย  และทรัพย์สินของพนักงาน อยู่เสมอ 5. ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน 1. จำ�หน่ายสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ตลอดจนรักษาคุณภาพให้ได้มาตรฐานตลอดเวลา 2. เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 3. ให้รับประกันบริการ ภายใต้เงื่อนไขและเวลาอันเหมาะสม 4. ไม่ส่งมอบสินค้าและบริการให้แก่ลูกค้าโดยทราบว่าสินค้าและบริการนั้นมีข้อบกพร่องเสียหาย 5. จัดระบบเพื่อให้ลูกค้ามาสามารถแจ้งเกี่ยวกับสินค้าและบริการ และสามารถตอบสนองอย่างรวดเร็ว 6. รักษาความลับของลูกค้า รวมถึงไม่นำ�มาใช้ประโยชน์แก่ตนเองและผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ 7. ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ  ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด  กรณีที่อาจไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขจะต้องรีบดำ�เนินการแจ้งให้ ลูกค้าทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา 1. ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ  ที่มีต่อคู่ค้าและ/หรือเจ้าหนี้  กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข  จะต้องรีบแจ้งให้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข และป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย 2. ไม่เรียก หรือไม่รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตในการค้ากับคู่ค้า ลูกหนี้และ/หรือเจ้าหนี้ 3. รายงานข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง ครบถ้วน ตามความเป็นจริง 1. ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี 2. ไม่ทำ�ลายชื่อเสียงและกล่าวหาคู่แข่งทางการค้า  หรือผลิตภัณฑ์ของบริษัทคู่แข่งด้วยความไม่สุจริต  และปราศจากข้อมูล ความจริง 3. ไม่เข้าถึงสารสนเทศที่เป็นความลับของลูกค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต หรือไม่เหมาะสม

2555-2012 106

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


สังคมส่วนรวม :

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

4.1 กำ�หนดให้คณะกรรมการมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการรายงานข้อมูลทางการเงิน

4.2 กำ�หนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่างกันอย่างเพียงพอ

4.3 กำ�หนดนโยบายกำ�กับดูแลในการป้องกันผู้บริหารและพนักงานที่เกี่ยวข้องนำ�ข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้

1. ให้การสนับสนุนกิจการอันเป็นประโยชน์ต่อชุมชน และสังคมส่วนรวม 2. คืนผลกำ�ไรส่วนหนึ่งขององค์กรให้แก่กิจกรรมที่จะมีส่วนสร้างสรรค์สังคมอย่างสม่�ำ เสมอ 3. ไม่กระทำ�การใดๆ ที่มีผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม 4. ปลูกฝังจิตสำ�นึกของความรับผิดชอบต่อชุมชน และสังคมให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง 5. ปฏิบัติหรือควบคุมให้มีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบที่ออกโดยหน่วยงานกำ�กับดูแล

รวมถึงข้อมูลทั่วไปต่อผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เชื่อถือได้ และทันเวลา โดยมีค�ำ อธิบาย อย่างมีเหตุผล พร้อมตัวเลข สนับสนุนทั้งในด้านผลการดำ�เนินงาน นโยบาย และแนวโน้มในอนาคต ตลอดจนผลสำ�เร็จและอุปสรรคของ กิจการเปิดเผยในรายงานประจำ�ปี ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และใน Website ของบริษัท www.ait.co.th ทั้งภาค ภาษาไทยและภาคภาษาอังกฤษ เพื่อเผยแพร่แก่ผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทได้รับทราบสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน ตามกฎหมาย ข้อกำ�หนดตามเกณฑ์ของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป โดยรายงานทางการเงินทุกฉบับจะได้รับการสอบทานหรือตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบบัญชี ของบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ไม่ว่าจะเป็นนโยบายการกำ�หนดราคาระหว่างกันไม่ว่าจะเป็นกรณีการซื้อขายสินค้าระหว่างกัน  เงินให้กู้ยืมแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ และเจ้าหนี้การค้าในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การค้ำ�ประกัน และการให้หลักประกันแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อให้ผู้ลงทุนและผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับทราบข้อมูลและความโปร่งใส โดยละเอียด ภายใต้มาตรการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน โดยบริษัทและบริษัทย่อยจะมีการดำ�เนินธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องหรือ บุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ต้องดำ�เนินการภายใต้เงื่อนไขปฏิบัติในการดำ�เนินธุรกิจตามปกติและเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป เสมือนทำ� รายการกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้หากมีรายการระหว่างกันที่เข้าเงื่อนไขรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียนกับบริษัทย่อย บริษัท ร่วม ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้พิจารณา และดำ�เนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเปิดเผยรายการ ที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทโดยครบถ้วน และเป็นไปตามระเบียบของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพื่อประโยชน์ส่วนตน หรือผู้อื่นโดยมิชอบ และกำ�หนดให้ผู้บริหารต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัททุกครั้งที่ มีการเปลี่ยนแปลงการถือครอง (ตามแบบฟอร์ม 59-2) ไปยังคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามระเบียบ การดูแลการใช้ข้อมูลภายในนอกจากมาตรการที่เป็นข้อกำ�หนดของกฎหมายแล้ว  บริษัทมีนโยบายและยึดมั่นใน จริยธรรมความซื่อสัตย์และความสุจริตในการดำ�เนินธุรกิจต่อลูกค้า คู่ค้า ผู้ลงทุน และผู้ถือหุ้นโดย กำ�หนดแนวทางไว้ในจรรยาบรรณของ บริษัทให้กรรมการผู้บริหารและ พนักงานทุกระดับยึดถือ และนำ�ไปปฏิบัติเพื่อป้องกันมิให้ข้อมูลและข่าวสารที่ส�ำ คัญถูกเปิดเผย มีการเข้า ถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารโดยพลการ หรือโดยมีเจตนาที่ไม่บริสุทธิ์ โดยหากฝ่าฝืนเป็นความผิดอย่างร้ายแรงและอาจถูกลงโทษทางวินัย

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 107


บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหารในการนำ�ข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทจะต้องรักษาความลับและ/หรือข้อมูลภายในของบริษัท 2. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทจะต้องไม่น�ำ ความลับและ/หรือข้อมูลของบริษัทไป เปิดเผย หรือ แสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือเพื่อประโยชน์แก่บุคคลอื่นใดไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม  และไม่ว่าจะได้รับ ผลตอบแทนหรือไม่ก็ตาม 3. กรรมการ  ผู้บริหาร  พนักงาน  และลูกจ้างของบริษัทจะต้องไม่ทำ�การซื้อขาย  โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัท โดยใช้ความลับ  และ/หรือเข้าทำ�นิติกรรมอื่นใด  โดยใช้ความลับและ/หรือข้อมูลภายในของบริษัท  อันอาจก่อให้เกิด ความเสียหายต่อบริษัทไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ข้อกำ�หนดนี้ให้รวมความถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ของกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทด้วย ผู้ใดที่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับ ดังกล่าวจะถือว่าได้กระทำ�ผิด อย่างร้ายแรง 4 ให้ความรู้แก่กรรมการรวมทั้งผู้บริหารระดับต่างๆเกี่ยวกับหน้าที่ต้องรายงานการถือครองทรัพย์ของตนคู่สมรส  และ บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ  และบทกำ�หนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  พ.ศ.2535  และ ตามข้อกำ�หนดขอตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5. บริษทั จะกำ�หนดให้ผบู้ ริหารรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ตอ่ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และจัดส่งสำ�เนา รายงานนี้ให้แก่บริษัทในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 6. บริษัทเปิดเผยการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร ครบถ้วน ถูกต้อง ไว้ในรายงานประจำ�ปี ตามทีสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำ หนด 7. บริษัทจะดำ�เนินการส่งหนังสือเวียนแจ้งผู้บริหารเพื่อทราบว่า  ผู้บริหารที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง ก่อนที่งบการเงินหรือ ข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณะชนและห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญ  นั้นต่อบุคคลอื่นนอกจากนี้ เพื่อให้พนักงานทุกคนปฏิบัติในแนวทางเดียวกันเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายในองค์กร  บริษัทได้ระบบแนวทางดังกล่าว เพิ่มเติมในคู่มือพนักงาน

2555-2012 108

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

5.1 โครงสร้างคณะกรรมการ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

5.2 การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

5.3 คณะกรรมการชุดย่อย

โครงสร้างการจัดการบริษัทมีคณะกรรมการทั้งสิ้น  4  คณะ  ได้แก่  คณะกรรมการบริษัท  คณะกรรมกาตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน  และคณะกรรมการบริหาร  ทั้งนี้  เพื่อการแบ่งอำ�นาจหน้าที่ให้ชัดเจน  ซึ่งจะทำ�ให้ การกำ�หนดทิศทางและการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทมีประสิทธิภาพสูงสุด  คณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้พิจารณากำ�หนดเป้าหมายของ บริษัทและกำ�หนดบทบาทและมอบหมายอำ�นาจหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบ  คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สำ�หรับคณะกรรมการบริหารจะเป็นผู้ก�ำ หนดนโยบายทิศทาง และกลยุทธ์ในการ ดำ�เนินธุรกิจ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำ�หนดโดยคณะกรรมการบริษัท โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้สอบทานการปฏิบัติงาน ของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ขณะที่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน พิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ บริษัท กรรมการย่อยชุดต่างๆกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือบุคคลอื่นที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท นอกจากนั้นยังรวมถึง การพิจารณาผลตอบแทนผู้บริหารและพนักงานในรูปของโบนัสและการขึ้นเงินเดือนประจำ�ปีโดยรวมแล้วนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือเห็นชอบ  นอกจากนี้  คณะกรรมการบริษัทยังได้จัดให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน  การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผลรวมทั้งมีการติดตามการดำ�เนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอในการประชุม คณะกรรมการบริษัททุกครั้ง โครงสร้างของคณะกรรมการ  กำ�หนดตามข้อบังคับของบริษัทในข้อ  14  ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย  5  ท่าน ซึ่งเป็นบุคคลผู้มีประสบการณ์ในหลายสาขา โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการของบริษัทมีจ�ำ นวน 11 ท่าน ประกอบ ด้วยกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน และเป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 7 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 36 ในจำ�นวนกรรมการทั้งหมดและ กรรมการอิสระจำ�นวน 4 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 36 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด โดยมีจ�ำ นวนกรรมการอิสระเป็นไปตามหลักเกณฑ์ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาการกำ�หนดค่าตอบแทน  และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น  หากผู้ถือหุ้นได้พิจารณาแล้วว่ามีความเหมาะสมโดยคำ�นึงถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากคณะ กรรมการฯ  และอยู่ในระดับที่เทียบเคียงได้กับของอุตสาหกรรมเดียวกัน  จะอนุมัติตามที่คณะกรรมการบริษัทเสนอ  บริษัทมีนโยบาย ในการกำ�หนดค่าตอบแทนแก่กรรมการในระดับเดียวกับในอุตสาหกรรมเดียวกัน  เพื่อจูงใจและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถและ ความรับผิดชอบต่อกรรมการ โดยค่าตอบแทนของคณะกรรมการสำ�หรับงวดปี 2555 แสดงไว้ในตารางเรื่องโครงสร้างการจัดการ ส่วน การสรรหาบุคคลเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงจะพิจารณาจากปัจจัยหลายประการ เช่น ความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ  สำ�หรับการพิจารณาสรรหาผู้บริหารนั้น  คณะกรรมการบริหารจะเป็นผู้พิจารณาผู้ที่มีความรู้ความ สามารถ และประสบการณ์ตามรายละเอียดในข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบ กำ�กับดูแลกระบวนการจัดทำ�รายงานทางการเงินของบริษัทให้ถูกต้องและเพียงพอ และกำ�กับ ดูแลให้บริษัท  มีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม  และมีประสิทธิภาพ  ตลอดจนดูแลให้บริษัทปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีบทบาทหน้าที่ตามที่ปรากฏในปี 2555 คณะกรรมการตวจสอบมีการประชุมตามวาระจำ�นวน 5 ครั้ง โดยมีสถิติการเข้าร่วมประชุม ของกรรมการแต่ละท่านดังนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 109


รายชื่อคณะกรรมการ

จำ�นวนครั้งการประชุม

2553 2554 2555

1. นายโชคชัย

ตั้งพูลสินธนา

5/5

5/6

5/5

2. นายพงษ์เทพ

ผลอนันต์

4/5

6/6

5/5

สารสาส

5/5

6/6

5/5

3. นายศรีภพ

หมายเหตุ มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบโดยไม่มีผู้บริหาร 1 ครั้ง

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนในปี  2555  คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีการประชุมตาม วาระจำ�นวน 2 ครั้ง โดยมีสถิติการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านดังนี้ จำ�นวนครั้งการประชุม รายชื่อคณะกรรมการ 2553 2554 2555

1. นายพงษ์เทพ

ผลอนันต์

2/2

3/3*

2/2

2. นายศิริพงษ์

อุ่นทรพันธ์

2/2

3/3*

2/2

3. นายกิตติศักดิ์

สพโชคชัย

2/2

3/3*

2/2

4. นายสุรพร

รักตประจิต

2/2

3/3*

2/2

5. นายศรีภพ

สารสาส

2/2

3/3*

2/2

* หมายเหตุ ในการประชุมครั้งที่ 2/2554 เป็นการประชุมวาระพิเศษเพื่อพิจารณามาตราการช่วยเหลือพนักงานที่ประสบภัยน้ำ�ท่วม คณะกรรมการสรรหาฯ ไม่ขอรับเบี้ยประชุมดังกล่าว

5.4 การประชุมคณะกรรมการ

การประชุมคณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดไว้ล่วงหน้าอย่างน้อยปีละ  4  ครั้งทุกไตรมาส  ในกรณีพิเศษประธาน จะพิจารณาเห็นสมควรเรียกประชุมเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น  โดยในแต่ละครั้งกำ�หนดให้มีกรรมการเข้าร่วมประชุมเกินกว่าร้อยละ 50  ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด  กรณีมีเหตุจำ�เป็นที่กรรมการไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้  จะต้องแจ้งให้บริษัททราบล่วงหน้าก่อน การประชุมประมาณ  1-2  วัน  ทั้งนี้บริษัทได้คำ�นึงถึงความสะดวกในการเข้าร่วมประชุมโดยจัดการประชุมที่สำ�นักงานใหญ่ของบริษัท มีการกำ�หนดวาระการประชุมล่วงหน้าที่ชัดเจนเป็นระเบียบวาระ พร้อมเอกสารประกอบการประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสือเชิญประชุม ให้แก่กรรมการทุกท่านก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนการประชุม เว้นแต่กรณีมีเหตุ จำ�เป็นเร่งด่วน นอกจากนี้บริษัทยังมีการบันทึกรายงานการประชุม และจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรองแล้ว เพื่อใช้ในการอ้างอิง และสามารถตรวจสอบได้

2555-2012 110

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ในการประชุมประธานกรรมการได้จัดสรรเวลาให้อย่างเพียงพอ  เพื่อพิจารณาผลการดำ�เนินงานของบริษัทภายหลังจากผู้สอบ บัญชีของบริษัทได้สอบทานงบการเงิน  หรือตรวจสอบรับรองงบการเงินของบริษัทเสร็จแล้ว  และเพื่อให้กรรมการได้อภิปราย  ซักถาม และชี้แนะในประเด็นสำ�คัญแก่ฝ่ายบริหาร กรรมการทุกท่านมีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง ทุกประการ ในปี 2555 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมตามวาระจำ�นวน 5 ครั้ง โดยมีสถิติการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ในปี 2553-2555 ดังนี้

รายชื่อคณะกรรมการ

จำ�นวนครั้งการเข้าประชุม/จำ�นวนครั้งการประชุมทั้งหมด การประชุมคณะกรรมการ 2553 2554 2555

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2555

1. นายธนา ไชยประสิทธิ์

5/5

5/5

2/5

เข้าร่วมประชุม

2. นายโชคชัย ตั้งพูลสินธนา

5/5

4/5

4/5

เข้าร่วมประชุม

3. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์

4/5

5/5

5/5

เข้าร่วมประชุม

4. นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์

4/5

5/5

4/5

เข้าร่วมประชุม

5. นายกิตติศักดิ์ สพโชคชัย

4/5

5/5

5/5

เข้าร่วมประชุม

6. นายสุรพร รักตประจิต

5/5

5/5

5/5

เข้าร่วมประชุม

7. นายศรีภพ สารสาส

5/5

5/5

5/5

เข้าร่วมประชุม

8. นายกิจจา เหล่าบุญชัย

4/5

5/5

3/5

เข้าร่วมประชุม

9. นายชาติชาย เย็นบำ�รุง

4/5

3/5

-

ไม่ได้เข้าร่วมประชุม

10. นายภิสัก จารุดิลก

4/5

5/5

5/5

เข้าร่วมประชุม

11. นายโชดิวัต ดั่นธนสาร

4/5

5/5

5/5

เข้าร่วมประชุม

-

-

4/5

-

12. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา*

เลขานุการบริษัท : นายวรวิทย์ วัฒนกุลจรัส หมายเหตุ * การประชุมครั้งที่ 1/2555 นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา ยังไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

ทั้งนี้ ในปี 2555 ได้มีการนำ�เสนอระเบียบวาระเพื่อพิจารณาโดยเป็นระเบียบวาระที่ส�ำ คัญ เช่น พิจารณางบการเงินบริษัทกำ�หนด ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทประจำ�ปี กำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทประจำ�ปี จัดสรรเงินสำ�รองตามกฎหมายและจัดสรรกำ�ไร กำ�หนดการจ่ายเงินปันผล วันประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นเพื่อสิทธิในการเข้าร่วมประชุม ประเมินการ ปฏิบัติตามหลักการปฏิบัติตามหลักหารกำ�กับดูแลกิจการที่ดีประจำ�ปี 2555 แผนงบประมาณประจำ�ปี 2555 กำ�หนดวันประชุมคณะ กรรมการบริษัทประจำ�ปี 2555 ทั้งนี้มีเลขานุการบริษัทเข้าร่วมการประชุมด้วยทุกครั้ง โดยเป็นผู้บันทึกรายงานการประชุมและจัดเก็บ ข้อมูล  หรือเอกสารเกี่ยวกับการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน  รวมทั้งให้คำ�แนะนำ�ในด้านกฎเกณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องด้วย  ทั้งนี้รายงาน การประชุมครอบคลุมสาระสำ�คัญต่างๆอย่างครบถ้วนและเป็นมติเอกฉันท์ทั้งหมด  โดยมีการตอบข้อซักถามและคำ�ชี้แจงเพิ่มเติมของ ฝ่ายจัดการ รวมถึงข้อคิดเห็นของกรรมการไว้อย่างชัดเจนและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 111


5.5 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ

5.6 ค่าตอบแทน

5.7 กรรมการใหม่

เพือ่ มุง่ เน้นนำ�ผลประเมินไปใช้ประโยชน์เพือ่ การปรับปรุงการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ  ทีป่ ระชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 5/2555 เมือ่ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 เห็นชอบแบบประเมินผลตนเอง และให้คณะกรมการบริษทั ดำ�เนินการประเมินตนเองประจำ�ปี 2555 โดยมีเกณฑ์ในการประเมินคณะกรรมการบริษทั ทัง้ คณะประกอบด้วย 6 หัวข้อคือ โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ/บาบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ/การประชุมคณะกรรมการ/การทำ�หน้าที่ของกรรมการ/ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ/การพัฒนา ตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร ซึง่ ผลการประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ดี ทีป่ ระชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี  2555  ของบริษทั กำ�หนดค่าตอบแทนแก่กรรมการในระดับทีเ่ หมาะสมภายในอุตสาหกรรม เดียวกันและขนาดใกล้เคียงกัน เพือ่ จูงใจ และให้เกิดความเหมาะสมต่อความรูค้ วามสามารถ และความรับผิดขอบในรูปของเบีย้ ประชุม สำ�หรับ ค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการตรวจสอบจะได้รบั ค่าตอบแทนเป็นค่าเบีย้ ประชุมเช่นกัน  สำ�หรับกรรมการซึง่ ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการชุด ย่อยจะได้รับค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อยด้วย  ซึ่งมีรายละเอียดค่าตอบแทนตามตารางแสดงค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริษัท เรือ่ งค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร คณะกรรมการได้จดั ให้มกี ฎบัตรของคณะกรรมการต่างๆ  เพือ่ กำ�หนดขอบเขต  แนวทาง  รวมทัง้ กฎ  ระเบียบ  ข้อบังคับ ของบริษัทต่าง  สำ�หรับกรรมการใหม่ได้รับทราบแนวนโยบายธุรกิจของบริษัท  ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  กฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ  พร้อม ส่งมอบเพือ่ เป็นคูม่ อื กรรมการ โดยการประชุมสามัญประจำ�ปีผถู้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2555 มีการแต่งตัง้ กรรมการใหม่ 1 ท่าน คือ นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา

2. ข้อกำ�หนดทางจริยธรรมของพนักงาน กำ�หนดให้พนักงานต้องปฏิบตั ติ น ดังนี้ 1. เคารพกฎหมายและระเบียบคำ�สั่งของบ้านเมืองทั้งตามลายลักษณ์อักษรและตามเจตนารมณ์  และปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของ บริษทั ฯ 2. สร้างสัมพันธภาพทีท่ �ำ ให้มคี วามเชือ่ ถือไว้วางใจซึง่ กันและกันระหว่างบริษทั กับผูม้ อี �ำ นาจกำ�กับดูแล 3. เสนอบริการลูกค้าภายในขอบเขตที่บริษัทมีความรู้ความชำ�นาญโดยสุจริตและชัดเจน  ไม่กระทำ�การโฆษณาชักจูงใจลูกค้า ในลักษณะทีเ่ ป็นเท็จหรือเข้าใจผิด 4. รักษาความลับของลูกค้า คูค่ า้ และองค์กรอย่างเคร่งครัด 5. ห้ามการใช้ขอ้ มูลวงในเพือ่ ประโยชน์สว่ นตัวในการค้าหลักทรัพย์ 6. พนักงานต้องไม่เล่นการพนัน หรือการเสีย่ งโชคเก็งกำ�ไร 7. พนักงานต้องไม่มสี ว่ นได้เสียหรือแสวงหาผลประโยชน์ในธุรกรรมที่ บริษทั ฯ เป็นคูส่ ญ ั ญาอยูด่ ว้ ย 8. พนักงานไม่ควรรับของขวัญหรือประโยชน์ตอบแทนอื่นที่มีมูลค่าสูงหรือไม่ได้อยู่ในวาระโอกาส  ตามจารีตประเพณีของ ประเทศนัน้ ๆ 9. ห้ามมิให้พนักงาน บริษทั ฯให้หรือรับสินบนหรือสิง่ จูงใจใดๆ หรือมอบหมายให้ผอู้ น่ื ให้หรือรับสินบนหรือสิง่ จูงใจแทนตนเอง

2555-2012 112

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)


ทั้งนี้  บริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง  เพื่อดูแลสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียข้างต้นเป็นอย่างไรก็ตาม บริษัทได้กำ�หนดหลักจรรยาบรรณ  เพื่อให้พนักงานปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด  โดยพนักงานทุกคนจะยึดมั่นในมาตรฐานความซื่อสัตย์ ส่วนบุคคลเป็นสำ�คัญ  นอกจากนี้เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถสื่อสารและแจ้งเบาะแสต่อคณะกรรมการของบริษัทในประเด็นต่างๆ  เช่น การทำ�ผิดกฎหมาย ความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายในที่บกพร่อง หรือการผิดจรรยาบรรณ บริษัทจึงได้แจ้งเบอร์ โทรศัพท์ติดต่อกับคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท โดยประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของ บริษัทอีกด้วย

3. การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทได้เล็งเห็นถึงความสำ�คัญถึงการเคารพสิทธิมนุษยชนอันเป็นรากฐานของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล อันมีส่วนสัมพันธ์กับ ธุรกิจในลักษณะการเพิ่มคุณค่า โดยทรัพยากรบุคคลนับเป็นปัจจัยสำ�คัญของของธุรกิจในการสร้างมูลค่าและเพิ่มผลผลิต ดังนั้น ธุรกิจ ควรปรับปรุงสภาพแวดล้อมและเงื่อนไขในการทำ�งาน ให้พนักงานคุณภาพชีวิตที่ดี และได้มีโอกาสแสดงศักยภาพ ตลอดจนได้รับโอกาส ในการฝึกฝนและเพิ่มพูนทักษะในการทำ�งาน โดยบริษัทฯได้ยึดแนวปฎิบัติดังต่อไปนี้ 1. สนับสนุนและเคารพในการปกป้องสิทธิมนุษยชน โดยหมั่นตรวจตราดูแลมิให้ธุรกิจของบริษัทเข้าไปมีส่วมเกี่ยวข้องกับ การล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน 2. ส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านสิทธิมนุษยชนภายในบริษัท 3. จัดให้มีระบบการทำ�งานที่มุ่งเน้นความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานที่ท�ำ งานอย่างเหมาะสม 4. พัฒนาพนักงานเพื่อฝึกฝนทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพ  โดยเปิดโอกาสให้พนักงานมีการเรียนรู้  และเลื่อนตำ�แหน่งเมื่อมี โอกาสเหมาะสม 5. จัดให้มีเงื่อนไขการจ้างงานที่เป็นธรรมสำ�หรับพนักงาน และให้พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักยภาพ 6. จัดให้มีกระบวนการร้องเรียนอย่างเหมาะสมสำ�หรับพนักงานที่ได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 7. จัดให้มีการดูแลในเรื่องสวัสดิการแก่พนักงานที่เหมาะสม  เช่น  จัดให้มีวันลาพักผ่อนประจำ�ปี  การทำ�งานล่วงเวลาที่สมเหตุ สมผล การรักษาพยาบาลตามความจำ�เป็นและสมควรเป็นต้น 8. ส่งเสริมให้พนักงานมีดลุ ยภาพในการใช้ชวี ติ ระหว่างการทำ�งานและชีวติ ส่วนตัว  มีการพิจารณาใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาสบำ�เพ็ญประโยชน์ ทำ�ความดีเพื่อสังคมรวมทั้งการปฎิบัติตามหลักธรรมของศาสนา 9. ให้ข้อมูลสำ�คัญแก่พนักงานและตัวแทนพนักงานเพื่อให้ทราบผลการดำ�เนินงานและสภาพที่แท้จริงขององค์กรธุรกิจ 10. เคารพสิทธิในการแสดงความคิดเห็นของพนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงการมีอิสระในการให้ความเห็นโดยปราศจากการแทรกแซง การได้รับข้อมูลหรือความคิดเห็นผ่านสื่อต่างๆ  รวมทั้งจัดให้มีช่องทางการสื่อสารเพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย อย่างเสรี

4. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม บริษทั ยังคงยึดมัน่ หลักการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมเสมอมา  และยังคงมองว่าการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมเป็นหน้าทีร่ ว่ มกันของทุกคน ในสังคม แนวปฏิบัติที่บริษัทได้นำ�มาประยุกต์ใช้มีดังต่อไปนี้ 1. ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตราการประหยัดพลังงาน และมีการนำ�ทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เช่น การรณรงค์ให้ ปิดน้ำ�ปิดไฟเมื่อไม่ต้องการใช้และการใช้กระดาษรีไซเคิลในสำ�นักงานเป็นต้น 2. เสริมสร้างและสนับสนุนให้คืนธรรมชาติกลับสู่ระบบนิเวศน์ เช่น บริษัทได้จัดมีการปล่อยเต่าคืนสู่ทะเล ในวันงานกีฬาสีประจำ�ปี ของบริษัท เพื่อให้พนักงานทุกคนมีส่วนรวมและสร้างจิตสำ�นึกรักธรรมชาติร่วมกัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 113


5. รายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทตระหนักดีว่าความสำ�เร็จขององค์กรมิได้วัดจากความสามารถในการทำ�กำ�ไรการเติบโตของผลประกอบการ  และตัวเลข ทางการเงินเท่านั้นหากยังรวมถึงการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม  การดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรมและมีส่วนช่วยเหลือสนับสนุนชุมชนรวม ทั้งผู้ด้อยโอกาสในสังคมให้ได้พัฒนาและพึ่งพาตนเองได้ทั้งนี้เพราะรากฐานที่มั่นคงทางสังคม เป็นปัจจัยสำ�คัญของการเติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้นองค์กรต้องดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับการแสดงความรับผิดชอบและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนสังคม และสิ่งแวดล้อม ในปีที่ผ่าน มาบริษัทได้ด�ำ เนินกิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในหลายพื้นที่รายละเอียดตามตารางด้านล่าง

สรุปรวมกิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมประจำ�ปี 2555

ครั้งที่

ชื่อกิจกรรม

สถานที่

ยอดบริจาคเงิน/สิ่งของ

1

ร่วมกันปล่อยเต่าคืนสู่ทะเล

อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

2

ร่วมกันบริจาคโลหิต

สภากาชาดไทย

3.

ร่วมบริจาคเงินเพื่อสร้างอาคาร “ปฐมวัย”

4.

ร่วมเสวนา “อนาคตประเทศไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สารสนเทศและการสื่อสาร”

2555-2012 114

จ. ลพบุรี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

- 359,100 บาท -


กิจกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมประจำ�ปี 2555

พนักงานบริษัทได้ร่วมกันบริจาคโลหิตแก่สภากาชาดไทย เมื่อช่วงสงกรานต์ที่ผ่านมา

เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2555 บริษัทได้ร่วมบริจาคเงินเพื่อสร้างอาคารเรียน “ปฐมวัย” จังหวัด ลพบุรี เป็นเงินจำ�นวน 359,100 บาท และบริจาคอุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พร้อมช่วยติดตั้งระบบ นอกจากนี้พนักงานบริษัทยังได้ ช่วยกันสละแรงกายเพื่อร่วมกันสร้างห้องสมุดใต้อาคารเรียนดังกล่าว

ในช่ ว งเดื อ นมี น าคม  2555  ที่ ผ่ า นมา  คุ ณ ราล์ ฟ ฮุ น เดิ ร์ ท มาร์ ค   ผู้ อำ � นวยการอาวุ โส  ฝ่ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ บมจ.แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี  ได้รับเชิญร่วม เสวนาในงาน “อนาคตประเทศไทย ภายใต้การเปลีย่ นแปลง สารสนเทศและการสื่อสาร” ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ สั ง เวี ย น  อิ น ทรวิ ชั ย   อาคารตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

2555-2012 115


ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน คณะกรรมการให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง  ครบถ้วน  โปร่งใสและทั่วถึงการรายงานข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไป  ตลอดจนข้อมูลสำ�คัญที่มีผลต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัท  โดยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ  เพื่อให้ผู้ลงทุนและ ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบผ่านซ่องทางและสื่อเผยแพร่ของตลาดหลักทรัพย์   และบริษัทได้ตั้งหน่วยงานนักลงทุนลัมพันธ์   (investor Relation) เป็นหน่วยงานเฉพาะเพื่อดูแลในการเผยแพร่ข้อมูลกับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้บริษัทได้เปิดซ่องทางให้กับผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสามารถรับข่าวสารของบริษัท  ผ่านทาง  Website  :  www.ait.co.th ชึ่ ง บริ ษั ท   ได้ ร วบรวมข้ อ มู ล สำ � คั ญ ต่ า งๆ  ของบริ ษั ท   รายซื่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท   ข้ อ สรุ ป ทางการเงิ น   ข้ อ มู ล ราคาหลั ก ทรั พ ย์ รายงานประจำ�ปี ข้อมูลสำ�หรับผู้ถือหุ้น เช่น ผู้ถือหุ้นหลัก การประชุมผู้ถือหุ้น นโยบายการจ่ายเงินปันผล รวมถึงการเปิดซ่องทาง ให้กับผู้ถือหุ้นหรือ  นักลงทุนหากมีคำ�ถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัท  ชึ่งสามารถส่งคำ�ถามหรือข้อสงสัย โดยกรอกรายละเอียด แบบฟอร์มที่บริษัทกำ�หนดผ่านช่องทาง website ของบริษัท หรือ โทรศัพท์มาที่เบอร์ +66(0)2275-9400 หรือ  อีเมล์ใปยัง  ir@ait.co.th  นอกจากนั้นบริษัทยังได้ไปออกงาน  Opportunity  Day  ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นประจำ� ทุกไตรมาส เพื่อให้ นักลงทุนและผู้ที่สนใจสามารถพบผู้บริหารและรับฟังทิศทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท

2555-2012 116

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)



THE ICT SOLUTION

บริษัท แอ็ดวานซ์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

37/2 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามแสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์ 0-2275-9400 โทรสาร 0-2275-9100, 0-2275-9200

ADVANCED INFORMATION TECHNOLOGY PUBLIC COMPANY LIMITED 37/2 Suthisarnvinijchai Rd., Samseannok, Huaykwang Bangkok 10320 Tel: 0-2275-9400 Fax: 0-2275-9100, 0-2275-9200

www.ait.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.