AOT: รายงานประจำปี 2554

Page 1

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

333 ¶¹¹àªÔ´ÇزҡÒÈ á¢Ç§Êաѹ à¢μ´Í¹àÁ×ͧ ¡Ãا෾ 10210 â·ÃÈѾ· (66) 2535 1111 â·ÃÊÒà (66) 2535 4061 E-mail : aotpr@airportthai.co.th www.airportthai.co.th

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2011 2554

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

1


2

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

3


4

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


ÊÒúÑÞ ÃÒ§ҹ »ÃШӻ‚ 2554 007 ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà 009 ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ 010 ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÓ˹´¤‹ÒµÍºá·¹ 011 ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ 012 ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒøÃÃÁÒÀÔºÒÅ Òº 014 013 ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ 016 ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ·Í·. 020 ¤³Ð¼ÙŒºÃÔËÒà ·Í·. 024 ¼Ñ§â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡Ã 026 ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» 028 ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹â´ÂÊÃØ» 036 ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ 038 ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ 044 â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹ áÅСÒèѴ¡Òà 102 ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ 104 ʶԵԡÒâ¹Ê‹§·Ò§ÍÒ¡ÒÈ 114 ¡ÒþѲ¹ÒÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧ㹷ء´ŒÒ¹ 116 ¡ÒþѲ¹Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å 120 ÁҵáÒáÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ áÅСÒÃãËŒºÃÔ¡Òâͧ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ 128 ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹´ŒÒ¹¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ÍÒªÕÇ͹ÒÁÑ áÅÐÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ㹡Ò÷ӧҹ 131 ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑÞµ‹ÍªØÁª¹áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ 136 ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºµ‹ÍÊѧ¤Á 145 §º¡ÒÃà§Ô¹

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

5


นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต

ประธานกรรมการ (ตัง้ แต่วนั ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 9 มีนาคม พ.ศ. 2554)

นายธีรพล นพรัมภา

ประธานกรรมการ (ตัง้ แต่วนั ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2554 16 กันยายน พ.ศ. 2554)

6

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


สารจาก ประธานกรรมการ

คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทอท. ได้เล็งเห็นความสำ�คัญของภาคอุตสาหกรรมการขนส่งทางอากาศ ซึง่ เป็นพืน้ ฐานสำ�คัญในการขับเคลือ่ นการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพือ่ มุง่ สูก่ ารเป็นผูน้ �ำ ธุรกิจท่าอากาศยาน ในภูมภิ าคเอเชีย : Asia’s Leading Airport Business ดังนัน้ ในการพัฒนาธุรกิจให้เติบโตอย่างยัง่ ยืน ทอท. ได้ค�ำ นึงถึง การมุ่งสร้างองค์กรสู่ความเป็นเลิศ : High Performance Organization มุ่งมั่นยกระดับการพัฒนาคุณภาพบริการ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร การปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงที่ก้าวไป อย่างไม่หยุดนิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การตระหนักถึงการสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม : Corporate Social Responsibility ซึ่งได้กำ�หนดกรอบแนวทางการดำ�เนินงานที่ครอบคลุมแนวปฏิบัติและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง โดยสร้างการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่สังคม ชุมชน เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่าง เหมาะสม และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อีกทั้งได้ให้ความสำ�คัญกับการส่งเสริมการดำ�เนินงานท่าอากาศยานสีเขียว : Green Airport มุง่ เน้นการลดใช้พลังงาน และสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด ควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตลอดจน ให้ความสำ�คัญต่อระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล อันจะเป็นแนวทางหนึง่ ทีน่ �ำ ไปสูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน สำ�หรับผลการดำ�เนินงานปี 2554 ทอท. เร่งพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและคุณภาพบริการ โดยนำ� ศักยภาพที่มีอยู่มาใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ และเร่งสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ ส่งผลให้ ทอท. มี ร ายได้จากการดำ � เนิ น งาน 28,640.69 ล้านบาท เพิ ่ ม ขึ ้ น จากปี ท ี ่ ผ่านมาร้อยละ 19.17 กำ� ไรสุทธิ 2,528.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 23.98 สำ�หรับผลการดำ�เนินงานด้านปริมาณการจราจรทางอากาศ ของท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. มีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับการดำ�เนินงานในรอบปีที่ผ่านมา โดยมีจำ�นวนผู้โดยสารรวมทั้งสิ้น 66,300,666 คน ขยายตัวจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 15.46 ปริมาณการขนส่งสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์ผ่านเข้าและออก 1.41 ล้านตัน และจำ�นวนเที่ยวบินรวม 441,440 เทีย่ วบิน คิดเป็นอัตราการขยายตัว เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.85 และ 14.43 ตามลำ�ดับ นอกจากนัน้ การฟืน้ ตัวของธุรกิจท่องเทีย่ วหลังวิกฤตการณ์ทางการเมืองยังส่งผล ให้มเี ทีย่ วบินและผูโ้ ดยสารเข้า - ออกจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมเิ พิม่ ขึน้ เป็น 288,540 เทีย่ วบิน และ 47,800,585 คน คิดเป็นร้อยละ 10.22 และ 12.48 ตามลำ�ดับ มีสินค้าและพัสดุไปรษณีย์ผ่านเข้าและออกทั้งสิ้น 1.33 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนร้อยละ 4.77 จากผลการดำ�เนินงานและความสำ�เร็จในปีทผ่ี า่ นมา ทอท. ขอขอบคุณหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกภาคส่วน รวมถึงสื่อมวลชนแขนงต่างๆ และประชาชนที่ให้ความไว้วางใจ ความเชื่อมั่นและสนับสนุนการดำ�เนินงาน ของ ทอท. ด้วยดีมาโดยตลอด ทั้งนี้ ทอท. ได้ตระหนักในหน้าที่อันสำ�คัญในฐานะหน่วยงานหลักในการพัฒนาระบบ ขนส่งทางอากาศของประเทศ และยังคงยึดมัน่ ในพันธกิจการดำ�เนินธุรกิจท่าอากาศยานด้วยมาตรฐานเหนือระดับ ให้บริการ ด้วยใจรัก พร้อมเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย และสำ�นึกในความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน เพือ่ จุดหมายในการเป็นผูน้ �ำ ธุรกิจ ท่าอากาศยานของภูมภิ าคเอเชีย นำ�ความภาคภูมใิ จมาสูค่ นไทย และเป็นหนึง่ ในปัจจัยทีจ่ ะสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างยั่งยืนต่อไป

นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต ประธานกรรมการ

นายธีรพล นพรัมภา ประธานกรรมการ

(ตัง้ แต่วนั ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2554) (ตัง้ แต่วนั ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2554 - 16 กันยายน พ.ศ. 2554)

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

7


สารจาก ประธานกรรมการ

ปัจจุบันทั่วโลกประสบผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ภาวะวิกฤต เศรษฐกิจ และสถานการณ์พลังงานที่ผันผวน การเปลี่ยนแปลงของ ปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ ท่าอากาศยานของ ทอท. อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในฐานะรัฐวิสาหกิจ และบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทอท. มุง่ มัน่ ในการดำ�เนินงาน ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อประเทศชาติ และเพิม่ มูลค่า ให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ อีกทั้งให้ความสำ�คัญต่อ การลดผลกระทบต่างๆ ทีเ่ กิดจากการดำ�เนินงานของท่าอากาศยานและ สร้างการยอมรับจากชุมชนและสังคม ให้ความสำ�คัญกับความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืนขององค์กร ดังนั้นการบริหารจัดการท่าอากาศยานให้ประสบความสำ�เร็จ จึงต้องอาศัยการวางแผนและการดำ�เนินงานที่มีทิศทางชัดเจน ทั้งใน ระยะสัน้ และระยะยาว เพือ่ ตอบสนองต่อปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องให้ได้มากทีส่ ดุ ตลอดจนเป็ น ไปตามนโยบายและแนวทางการปฏิ บั ติ ง านของ กระทรวงคมนาคมในการปรับปรุงศักยภาพการรองรับของท่าอากาศยาน เพื่ออำ � นวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตามแนวนโยบายท่าอากาศยานเดียว โดย การก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศ โครงการก่อสร้างทางวิง่ เส้น ที่ 3 และส่วนประกอบอืน่ ทีจ่ �ำ เป็นต่อการเชือ่ มโยงของผูโ้ ดยสารระหว่าง อาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศ และอาคารผูโ้ ดยสาระระหว่างประเทศ รวมทัง้ เร่งรัดการดำ�เนินการเยียวยาประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบเรือ่ งเสียง โดยเร่งด่วน นอกจากนี้โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต และ โครงการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง นับเป็นโครงการสำ�คัญ ที่จะต้องเร่งรัดดำ�เนินการต่อไป การดำ�เนินธุรกิจท่าอากาศยานของ ทอท. จะสำ�เร็จได้ด้วย ความร่วมมือร่วมใจจากพนักงาน ทอท. สายการบิน หน่วยงานราชการ และผู้ประกอบการที่ปฏิบัติงาน ณ ท่าอากาศยานทุกท่าน โดยมี จุ ด ประสงค์ เ ดี ย วกั น คื อ การพั ฒ นาและผลั ก ดั น ท่ า อากาศยาน ในความรั บ ผิ ด ชอบของ ทอท. ทั้ง 6 แห่ง ให้เป็นท่าอากาศยาน ระดับโลกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (World Class Green Airport) เพื่อ แข่งขันในเวทีโลกได้อย่างภาคภูมิ

พลอากาศเอก

(สุเมธ โพธิ์มณี)

ประธานกรรมการ (ดำ�รงตำ�แหน่งวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554)

8

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


รายงาน ของคณะกรรมการสรรหา เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ ทอท. มีมติในการประชุม ครัง้ ที่ 9/2554 เมือ่ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2554 ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาโดยมี พลอากาศเอก ระเด่น พึง่ พักตร์ เป็นประธานกรรมการ นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ และนายพงษ์ศักติฐ์ เสมสันต์ เป็นกรรมการ คณะกรรมการสรรหา มีหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการ ทอท. ในการกำ�หนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหากรรมการ ทอท. พร้อมทั้งพิจารณาคัดเลือก บุคคลที่มีคุณสมบัติ ตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกำ�หนด นำ�เสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการ ทอท. รวมถึ ง การดำ� เนิ น การอื่นตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย และรายงานผลต่อคณะกรรมการในเดือนถัดไป รวมทั้งต้องรายงาน ผลการดำ�เนินงาน ต่อผูถ้ อื หุน้ ในรายงานประจำ�ปีและแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี ในปี 2554 คณะกรรมการสรรหา มีการประชุมรวม 2 ครั้ง เพื่อ ปฏิบัติหน้าที่ในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. โดยยึดถือกฎบัตรของ คณะกรรมการสรรหา ที่ผ่านการลงมติรับรองของคณะกรรมการ ทอท. ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา พร้อมทั้งยึดถือหลักเกณฑ์ ตามหลักกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัตมิ าตรฐานของกรรมการและพนักงาน รัฐวิสาหกิจ หลักกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำ�กัด หลักกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มติคณะรัฐมนตรี และข้อบังคับ ทอท. เป็นหลักในการพิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม รวมทั้งคำ�นึงถึงคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีภาวะ ผู้นำ� มีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนทัศนคติที่ดีต่อองค์กร สามารถ อุทิศเวลาให้ได้อย่างเพียงพออันเป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินกิจการ ของ ทอท. โดยมีกระบวนการสรรหาที่โปร่งใส สร้างความมั่นใจให้กับ ผู้ถือหุ้น โดยปัจจุบัน คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้วยกรรมการ ทั้งหมด 13 คน เป็นกรรมการอิสระ 9 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารอีก 4 คน และมีรักษาการผู้อำ�นวยการใหญ่ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ โดยมีข้อมูล ประวัติกรรมการปรากฏในหัวข้อ คณะกรรมการ

พลอากาศเอก

(ระเด่น พึ่งพักตร์)

ประธานกรรมการสรรหา

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

9


รายงาน ของคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ ทอท. มีมติในการประชุมครั้งที่ 2/2553 เมื่อ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 แต่งตั้งคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมี พลอากาศเอก บุรรี ตั น์ รัตนวานิช เป็นประธานกรรมการ นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ และนายประสงค์ พูนธเนศ เป็นกรรมการ เพื่อทำ�หน้าที่ พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำ�หนดค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ให้แก่กรรมการ ทอท. และบุคคลภายนอก คณะกรรมการกำ � หนดค่ า ตอบแทนได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตามที่ได้รับ มอบหมายอย่างรอบคอบสมเหตุสมผล โดยในปี 2554 มีการประชุม คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน 1 ครั้ง เพื่อพิจารณากำ�หนดแนวทาง ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ให้แก่กรรมการ ทอท. และบุคคลภายนอก ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ท�ำ งาน โดยยึดถือกฎบัตร ของคณะกรรมการกำ � หนดค่ า ตอบแทนที่ ผ่ า นการลงมติ รั บ รองของ คณะกรรมการ ทอท. ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2552 อนึง่ ในการพิจารณาค่าตอบแทนดังกล่าว คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน จะคำ�นึงถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบและสามารถ เทียบเคียงได้กับบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่อยู่ในอุตสาหกรรมและธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกันเพียงพอที่จะจูงใจให้ กรรมการมีคณ ุ ภาพและสามารถปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้บรรลุเป้าหมาย และทิศทาง ทีบ่ ริษทั กำ�หนด โดยมีกระบวนการทีโ่ ปร่งใส สร้างความมัน่ ใจให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ นีข้ อ้ มูลค่าตอบแทนกรรมการแต่ละท่านปรากฏอยูใ่ นหัวข้อค่าตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร

พลอากาศเอก

(บุรีรัตน์ รัตนวานิช)

ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

Airport 10 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


รายงาน ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

(นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ)

ในปีงบประมาณ 2554 คณะกรรมการ ทอท. ได้ให้ความสำ�คัญกับเรื่อง การบริหารความเสี่ยงของ ทอท. ต่อเนื่องจากปีก่อน มีการแต่งตั้งกรรมการ ทอท. 3 คน ประกอบด้วย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็นประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ และ นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ เป็น กรรมการ โดยมีกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ เป็นกรรมการและเลขานุการ และมี รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) และผู้อ�ำ นวยการ สำ�นักบริหารความเสี่ยง เป็นผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ เพื่อให้การถ่ายทอดนโยบาย ลงสู่ภาคปฏิบัติเป็นไปอย่างใกล้ชิด ด้วยประสบการณ์และความตั้งใจของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงที่ ต้องการให้ ทอท. นำ�ระบบการบริหารความเสี่ยงมาใช้ในองค์กรเพื่อเป็นเครื่องมือ ประกอบการกำ�หนดทิศทางการวางแผนกลยุทธ์และการดำ�เนินธุรกิจของ ทอท. ที่จะเสริมสร้างศักยภาพและเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ รวมทั้งการปรับปรุงกระบวนการ ปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนือ่ งอันจะเป็นการสนับสนุนให้ ทอท. สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ และพันธกิจหลักของ ทอท. โดยในปีงบประมาณ 2554 ที่ผ่านมา คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงได้ให้ความเห็นชอบกับนโยบายการบริหารความเสี่ยง กรอบการ บริหารความเสี่ยงของ ทอท. รวมทั้งกำ�ชับให้ ทอท. เผยแพร่ให้พนักงานทุกคน นำ�แนวคิดเรือ่ งการบริหารความเสีย่ งไปถือปฏิบตั ใิ ห้เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมองค์กร นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงยังได้ก�ำ กับดูแลการบริหารความเสี่ยง ของ ทอท. โดยให้ความเห็นชอบกับการกำ�หนดเหตุการณ์ ความเสี่ยงระดับองค์กร ประจำ�ปีงบประมาณ 2554 จำ�นวน 7 เหตุการณ์ความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ ยอมรับได้ (Risk Appetite) ช่วงเบี่ยงเบนของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) แนวทางการตอบสนองต่อความเสี่ยง และเป้าหมายของการบริหาร ความเสี่ยง พร้อมทั้งให้ ทอท. ติดตามและรายงานผลการดำ�เนินงานในเรื่องการ บริหารความเสี่ยง และเรื่องที่เกี่ยวข้องอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยการกำ�หนดให้มี การประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทุกๆ 2 เดือน รวมทัง้ การให้ความสำ�คัญ ในเรื่องการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management) สำ�หรับการดำ�เนินงานในปีต่อๆ ไป เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงของ ทอท. มีประสิทธิภาพมากขึน้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้ให้แนวทางในการพิจารณา เหตุการณ์ความเสี่ยงระดับองค์กรโดยให้หลักการว่า ควรเป็นเหตุการณ์ความเสี่ยง ทีเ่ ป็นธุรกิจหลักของ ทอท. (Core Business) และกระทบต่อผลประกอบการด้านการเงิน การให้บริการและภาพลักษณ์ขององค์กรอย่างมีนัยสำ�คัญ ตลอดจนกระทบต่อ การดำ�เนินงานตามนโยบายหรือเรื่องที่คณะกรรมการ ทอท. วิตกกังวลเป็นพิเศษ ต้องเป็นเหตุการณ์ที่ฝ่ายบริหารไม่สามารถนำ�ไปบริหารจัดการได้ทันที หรือจัดการ แล้วแต่ไม่สามารถลดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ความเสี่ยงให้ลงมาอยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

11


รายงาน ของคณะกรรมการธรรมาภิบาล เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

(นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์) ประธานกรรมการธรรมาภิบาล

Airport 12 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการ ทอท. มีมติในการประชุมครัง้ ที่ 2/2554 เมือ่ วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 ให้แต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาล โดยมี นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ เป็นประธานกรรมการ พลอากาศเอก บุรรี ตั น์ รัตนวานิช นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ และกรรมการผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ ทอท. เป็นกรรมการ คณะกรรมการธรรมาภิบาล ให้ความสำ�คัญในการบริหารจัดการ ทอท. ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยส่งเสริมและสนับสนุนกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการสร้างวัฒนธรรมธรรมาภิบาลตามข้อกำ�หนด ของหน่วยงานที่กำ�กับดูแล และติดตามให้ผู้มีหน้าที่ ปฏิบัติตามคู่มือ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. อย่างจริงจัง เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การดำ�เนินงาน ของ ทอท. ด้วย ในปี 2554 คณะกรรมการธรรมาภิบาล มีการประชุมทัง้ หมด 2 ครั้ง เพื่อพัฒนาและติดตามการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยสรุปสาระสำ�คัญดังนี้ 1. ด้านสิทธิผู้ถือหุ้น ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อ วันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2554 ทอท. สนับสนุนการใช้สทิ ธิของผูถ้ อื หุน้ โดยดำ�เนินการ ตาม “Annual General Meeting Checklist” ที่กำ�หนดโดยสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เช่นการเปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า การเผยแพร่ ข้อมู ล การประชุ ม ให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบล่วงหน้าเป็นเวลา 30 วัน ในเว็บไซต์ ทอท. การอำ�นวยความสะดวกในการมอบฉันทะในกรณี ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ การสร้างบรรยากาศให้ผู้ถือหุ้นได้ซักถาม และแสดงความคิดเห็นในการประชุมได้อย่างเต็มที่ การจัดทำ�รายงาน การประชุมทีม่ กี ารบันทึกข้อมูลสำ�คัญในระหว่างการประชุมอย่างครบถ้วน เป็นต้น 2. ด้านการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน - เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุมและเสนอ ชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ ทอท. ในการประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีลว่ งหน้าโดยเปิดรับเรือ่ งจากผูถ้ อื หุน้ ในช่วง 3 เดือน สุดท้าย ก่อนวันสิ้นรอบปีบัญชี (ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี) 3. ด้านบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย - เพิ่มช่องทางรับเรื่องร้องเรียนผ่านสำ�นักสื่อสารองค์กร ที่เป็นหน่วยงานกลางรับเรื่องร้องเรียนของทั้ง 6 ท่าอากาศยาน และ เว็บไซต์ของ ทอท. - รับรายงานข้อร้องเรียนผ่านเว็บไซต์ ทอท.


4. ด้านการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส - รายงานให้ผู้ถือหุ้นทราบสถานการณ์สำ�คัญอย่างสม่�ำ เสมอและมีข้อมูลครบถ้วนตามความเป็นจริง 5. ด้านความรับผิดชอบของคณะกรรมการ - ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ ทอท. ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของ ทอท. และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด - จัดให้มีนโยบายธรรมาภิบาลและมีการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจ ทอท. เป็นประจำ�สม่ำ�เสมอ อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง - ปรับปรุงคุณสมบัติกรรมการอิสระของ ทอท. ให้สอดคล้องกับนิยามกรรมการอิสระของ ก.ล.ต. โดย เพิ่มข้อความว่า “กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ทอท. ให้ตัดสินใจในการดำ�เนินกิจการของ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจ ในรูปแบบขององค์คณะได้ (Collective Decision)” - รับทราบหลักเกณฑ์การประเมินของทริสตัวชี้วัด การบริหารจัดการองค์กรประจำ�ปี 2554 เฉพาะ บทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ซึ่งส่งเสริมให้คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจมุ่งเน้นในเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และสนับสนุนให้คณะกรรมการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพ - ปรับปรุงแก้ไขนโยบายธรรมาภิบาลให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งกำ�หนดให้ผู้ที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจ และ/หรือนิตบิ คุ คลทีร่ ฐั วิสาหกิจเป็นผูถ้ อื หุน้ อยูใ่ นวันทีค่ ณะรัฐมนตรี มีมติเกินกว่า 3 แห่ง ให้ผู้นั้นลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการดังกล่าว หรือให้ผู้มีอ�ำ นาจสั่งให้ออกจากตำ�แหน่งกรรมการ เพื่อให้เหลือการเป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจ และ/หรือนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นไม่เกิน 3 แห่ง ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีมีมติ 6. ด้านกิจกรรมส่งเสริมด้านธรรมาภิบาลและจริยธรรม - จัดการอบรมเรื่อง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีโดยหลักสูตรปฐมนิเทศพนักงานใหม่ - จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลและจริยธรรมให้กับพนักงานระดับกลาง ทั้งที่ สำ�นักงานใหญ่ และพนักงานประจำ�ท่าอากาศยาน ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ ทอท. ทั้ง 6 แห่ง เพื่อเป็นการขับเคลื่อน จริยธรรมสู่ภาคปฏิบัติ - ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ในการต่อต้านการทุจริต ของภาคเอกชนไทย จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หอการค้าไทย สมาคมธนาคารไทย หอการค้าต่างชาติ และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - เข้าร่วมโครงการพัฒนาบริษทั จดทะเบียนด้านการกำ�กับดูแลกิจการ และงานนักลงทุนสัมพันธ์ ประจำ�ปี 2554 เป็นระยะเวลา 1 ปี (เมษายน พ.ศ. 2554 - มีนาคม พ.ศ. 2555) โดยเป็นความร่วมมือระหว่างฝ่ายพัฒนาธรรมาภิบาล เพื่อตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) กับบริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด เพื่อเพิ่มศักยภาพ ด้านการกำ�กับดูแลกิจการของ ทอท. และที่ให้ความสำ�คัญกับการนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบัติให้เกิด ผลสำ�เร็จเป็นรูปธรรมมากที่สุด จากการที่ ทอท. ให้ความสำ�คัญต่อการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ ทอท. ได้รับคะแนนผลการ สำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจำ�ปี 2553 จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) ในภาพรวมเท่ากับ 94 คะแนน หรืออยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” และได้รับผลการ ประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2554 อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม+สมควรเป็นตัวอย่าง” ด้วย คะแนนเต็ม 100 คะแนน ในโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น (Annual General Meeting : AGM) ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

13


รายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) (ทอท.) ได้รับการแต่งตั้งตามคำ�สั่ง ทอท.ที่ 459/2554 ลงวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ประกอบด้วย ผู้ทรงคุ ณ วุ ฒ ิ และกรรมการ อิสระ โดยมี นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ และ นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ เป็นกรรมการ และ ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบเป็นเลขานุการ ซึ่งต่อมาได้มีคำ�สั่ง ทอท. ที่ 1088/2554 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบชุดใหม่ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 จนถึง ปัจจุบันประกอบด้วย นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ เป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ พลอากาศเอก ระเด่น พึง่ พักตร์ และ นางจันทิมา สิรแิ สงทักษิณ Mr. Piyapan Champasut เป็นกรรมการ Chairman และผู้อ�ำ นวยการสำ�นักตรวจสอบ เป็นเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ร่วมกั น ปฏิ บ ั ต ิ ห น้าที่ตามที่ได้รับ นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ประธานกรรมการษัท และตามกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง คุณสมบัติและขอบเขตการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2551 ในปี ง บประมาณ 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้จัดให้มี การประชุม จำ�นวน 12 ครั้ง ซึ่งมีทั้งผู้บริหารระดับสูง ผู้เกี่ยวข้องร่วมประชุม ตามวาระต่างๆ และประชุ ม ร่วมกั บ ผู้สอบบั ญ ชี โดยไม่มีฝ่ายบริหาร ร่วมด้วย และได้จัดทำ �รายงานผลการดำ� เนิ น งานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ แจ้งให้คณะกรรมการบริษัท ทราบเป็นประจำ�และอย่างต่อเนื่อง สรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้ - สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจำ�ปี 2554 และ รายงานผลการดำ�เนินงานประจำ�เดือนโดยพิจารณาร่วมกับฝ่ายบริหาร ที่เกี่ยวข้องของบริษัท และผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงิน ได้จัดทำ�ขึ้นอย่างถูกต้องในสาระสำ�คัญที่ควรมีการเปิดเผยข้อมูลอย่าง เพียงพอ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป - ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมประชุมด้วย ในเรื่อง งบการเงินของบริษัท ข้อสังเกตจากการสอบทานงบการเงินและ อื่นๆ

(นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์) ประธานกรรมการตรวจสอบ

Airport 14 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


- สอบทานรายการระหว่างกันซึ่งอาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ บริษัท ผลการสอบทานรายการระหว่างกันเป็นไปตามลักษณะธุรกิจการค้าปกติทั่วไป - จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอให้คณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส - สอบทานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบควบคุมภายในได้ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร เพื่อปรับปรุงระบบควบคุมภายในของ ทอท. ให้มีประสิทธิผล และสอบทานการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนี้ได้สอบทานและให้ข้อเสนอแนะรายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำ�หนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 - สอบทานรายงานผลการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ปีงบประมาณ 2554 เพื่อให้ ทอท. มีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีส�ำ หรับบริษัทจดทะเบียน - กำ�กับดูแล แนะนำ� และสนับสนุนการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระของสำ�นักตรวจสอบ สอบทานรายงานผล การตรวจสอบภายในปี 2554 และติดตามให้มีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของรายงานผลการตรวจสอบ เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล นอกจากนี้ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการ ตรวจสอบภายในของ ทอท. ประจำ�ปี 2555 และแผนการตรวจสอบภายในของ ทอท. ระยะยาวประจำ�ปี 2556 - 2558 ที่จัดทำ�ขึ้นตามปัจจัยเสี่ยงของ ทอท. เพื่อให้ครอบคลุมกระบวนการทำ�งานที่สำ�คัญอย่างครบถ้วน รวมทั้งยังได้ประเมิน ผลการปฏิบัติงาน และพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบด้วย - พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีและกำ�หนดค่าตอบแทนเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อนำ�เสนอผู้ถือหุ้น อนุมัติให้สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้สอบบัญชีบริษัท ประจำ�ปี 2554 - ทบทวนปรับปรุงกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ อนุมตั กิ ฎบัตรของสำ�นักตรวจสอบ และคูม่ อื การปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบภายในของสำ�นักตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความอิสระ การเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง การดำ�เนินงาน เพื่อนำ�ไปสู่การบริหารจัดการที่ดี ในปีงบประมาณ 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ทอท. มีกระบวนการจัดทำ�รายงานทางการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายใน ที่เพียงพอเหมาะสม รวมทั้ง มีการปฏิบัติงานตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

15


คณะกรรมการ

(ระหว่างปี พ.ศ. 2554)

1

2

3

4

5

6

7

8

1. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต

4. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช 7. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

2. นายธีรพล นพรัมภา

5. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

3. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

6. นายมานิต วัฒนเสน

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ (ลาออกเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2554)

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ (ลาออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554) กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการ (ลาออกเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554)

Airport 16 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา

8. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออกเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554)


9

10

11

12

13

14

16

15

17

9. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

12. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

15. นายสมชัย สัจจพงษ์

10. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

13. นายชวนชัย อัชนันท์

16. นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล

11. นายประสงค์ พูนธเนศ

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง (ลาออกเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554) กรรมการอิสระ (ลาออกเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554)

14. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

17. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ กรรมการและเลขานุการ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (ลาออกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554)

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

17


คณะกรรมการ (ชุดปัจจุบัน)

2

1 1. พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ

2. พลตำ�รวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ

3

4

5

6

7

4. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

6. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

5. เรืออากาศโท นรหัช พลอยใหญ่

7. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ

3. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล

Airport 18 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา


8

9

10

11

12

14

13

8. นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์

11. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

13. นายสมชัย สัจจพงษ์

9. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ

12. นายประสงค์ พูนธเนศ

14. นายวัฒนา เตียงกูล

กรรมการ

กรรมการ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการ

กรรมการอิสระ

10. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

19


คณะผู้บริหาร ทอท. (ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2554)

1 1 นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน

รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) รักษาการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

3

2

4

3 นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน)

2 นางสาวศศิศุภา สุคนธทรัพย์ 4 นายนิตินัย ศิริสมรรถการ รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานอำ�นวยการ)

รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด)

Airport 20 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

5

6 5 นายสมชัย สวัสดีผล

รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและการก่อสร้าง)

6 ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร

ผู้อำ�นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ


7 7 นายมนตรี มงคลดาว

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานอำ�นวยการ)

8 นางพูลศิริ วิโรจนาภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน)

8

9

10

9 นายศิโรตม์ ดวงรัตน์

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด)

10 ว่าที่เรืออากาศโท จตุรงคพล สดมณี

11

12

11 ว่าที่เรืออากาศโท ภาสกร สุระพิพิธ

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายมาตรฐานท่าอากาศยาน และอาชีวอนามัย)

12 นายอมฤต ทองสิริประภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและการก่อสร้าง)

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร)

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

21


13

14

15

16

17

18

13 นายเชาวลิต ภคอริยะ

15 นางสาววิไลวรรณ นัดวิไล

17 นางอังคณา ทันตวิวัฒนานนท์

14 ว่าที่เรืออากาศโท วิศิษฐ์ อิ้วประภา

16 เรืออากาศโท ณรงค์ชัย ถนัดช่างแสง

18 นาวาอากาศโท สุข พึ่งธรรม

ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน บริหารการก่อสร้าง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

รองผู้อ�ำ นวยการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำ�นวยการ)

รองผู้อ�ำ นวยการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายปฏิบัติการ)

Airport 22 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

รองผู้อ�ำ นวยการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายการพาณิชย์)

รองผู้อ�ำ นวยการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายบำ�รุงรักษา)


19

20

21

22

23

19 นาวาอากาศโท ประทีป วิจิตรโท

24 21 นางระวีวรรณ เนตระคะเวสนะ 23 นาวาอากาศเอก นรนิติ์ ผลกานนท์ ผู้อำ�นวยการ

20 นางสาวชนาลัย ฉายากุล

22 นางดวงใจ คอนดี

ผู้อำ�นวยการ ท่าอากาศยานดอนเมือง เลขานุการบริษัท

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

ผู้อำ�นวยการ ท่าอากาศยานภูเก็ต

ผู้อำ�นวยการ ท่าอากาศยานหาดใหญ่

24 นายยุทธนา จิตรอบอารีย์

ผู้อำ�นวยการ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

23


ผูถ อื หุน ทอท.

ผังโครงสร้างองค์กร (ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2554)

คณะกรรมการตรวจสอบ

สำนักเลขานุการบริษัท สำนักสื่อสารองคกร

คณะกรรมการบริษัท บริษทั ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

สำนักตรวจสอบ เลขานุการบริษัท

สายมาตรฐานทาอากาศยานและอาชีวอนามัย • ฝายมาตรฐานและความปลอดภัยทาอากาศยาน • ฝายมาตรฐานและควบคุมคุณภาพ การรักษาความปลอดภัยกิจการการบิน • ฝายปองกันอุบัติภัยและอาชีวอนามัย

สายงานอำนวยการ

• ฝายอำนวยการกลาง • ฝายกฎหมาย • ฝายทรัพยากรบุคคล • ฝายพัฒนาทรัพยากรบุคคล • ฝายพัสดุ • ฝายแพทย

สายงานแผนงานและการเงิน

• ศูนยนักลงทุนสัมพันธ • ฝายกลยุทธองคกร • ฝายงบประมาณ • ฝายการเงิน • ฝายบัญชี

สายงานทาอากาศยานภูมภิ าค

• สวนบริหารกลาง • ทาอากาศยานเชียงใหม • ทาอากาศยานหาดใหญ • ทาอากาศยานภูเก็ต • ทาอากาศยานแมฟาหลวง เชียงราย

หนวยธุรกิจ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ศูนยบริการแบบครบวงจร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ

สายอำนวยการ • ฝายอำนวยการทาอากาศยานสุวรรณภูมิ • ฝายแผนงานและการเงิน • ฝายกิจการพิเศษ สวนแพทย

Airport 24 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

สายปฏิบตั กิ าร

• ฝายการทาอากาศยาน • ฝายปฏิบัติการเขตการบิน • ฝายระบบลำเลียงกระเปาสัมภาระ • ฝายรักษาความปลอดภัย • ฝายดับเพลิงและกูภัย


คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง สำนักบริหารความเสี่ยง ศูนยปฏิบัติการพิเศษ

สายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร • ฝายกลยุทธเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • ฝายระบบสารสนเทศ • ฝายระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย • ฝายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส

สายงานพัฒนาธุรกิจ และการตลาด

• ฝายพัฒนาธุรกิจและการตลาด • ฝายบริหารธุรกิจ

สายงานวิศวกรรมและการกอสราง

• สำนักงานบริหารการกอสราง ทสภ. • ฝายแผนพัฒนาทาอากาศยาน • ฝายวิศวกรรมโครงการ • ฝายสิ่งแวดลอม • ฝายบำรุงรักษา

ทาอากาศยานดอนเมือง ฝายมาตรฐานทาอากาศยาน และอาชีวอนามัย

สายบำรุงรักษา

• ฝายไฟฟาและเครื่องกล • ฝายสนามบินและอาคาร ฝายระบบสารสนเทศ ฝายระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย ฝายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส

สายการพาณิชย

• ศูนยบริหารพื้นที่เขตปลอดอากรและคลังสินคา • ฝายการพาณิชย • ฝายบริหารการขนสง

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

25


ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

ชื่อบริษัท : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) หรือ ทอท. เลขทะเบียนบริษัท : ทะเบียนเลขที่ บมจ. 0107545000292 ประเภทธุรกิจ : ประกอบกิจการท่าอากาศยาน รวมทั้งกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหรือต่อเนื่องกับ การประกอบกิจการท่าอากาศยาน ทุนจดทะเบียน : 14,285,700,000.- บาท จำ�นวนหุ้นสามัญ : 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10.- บาท ผู้ถือหุ้น : ปัจจุบนั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ได้แก่ กระทรวงการคลัง ถือหุน้ ร้อยละ 70 ส่วนทีเ่ หลือเป็นการถือหุน้ โดยสถาบันและนักลงทุนทั่วไป ปีที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 รอบปีบัญชี : 1 ตุลาคม - 30 กันยายน เว็บไซต์ : http://www.airportthai.co.th ติดต่อ : สำ�นักงานใหญ่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0 2535 1111 โทรสาร 0 2535 4061 หรือ 0 2504 3846 สำ�นักเลขานุการบริษัท : โทรศัพท์ 0 2535 5858 โทรสาร 0 2535 5540 E-mail: secretary.off@airportthai.co.th

Airport 26 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ : โทรศัพท์ 0 2535 5900 โทรสาร 0 2535 5909 E-mail: aotir@airportthai.co.th สำ�นักสื่อสารองค์กร : โทรศัพท์ 0 2535 3738 โทรสาร 0 2535 4099 E-mail: aotpr@airportthai.co.th นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 2/7 หมู่ 4 อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชัน้ 2 โครงการนอร์ธปาร์ค ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0 2596 9000 หรือ 0 2596 9302-11 โทรสาร 0 2832 4994-6 หรือ : 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชัน้ 4 และ 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2229 2800 โทรสาร 0 2359 1262-3 ผูส้ อบบัญชี : สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2273 9674-91 โทรสาร 0 2618 5883

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

27


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ของบริษัท 2554

2553 (ปรับปรุง)

2552 (ปรับปรุง)

ผลการดำ�เนินงาน (ล้านบาท) รายได้จากการดำ�เนินงาน

28,640.69 24,032.62 21,502.39

ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน

21,432.92 19,629.66 18,511.13

กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน

7,207.77 4,402.96 2,991.27

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

2,528.30

2,039.25

(4,250.90)

147,119.79

141,588.99

144,140.74

หนี้สินรวม

75,565.21

71,743.19

75,760.10

ส่วนของผู้ถือหุ้น

71,554.58

69,845.80

68,390.65

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

1.91

2.00

1.88

อัตรากำ�ไรสุทธิต่อรายได้จากการดำ�เนินงาน (ร้อยละ)

8.83

8.49

(19.77)

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

3.58

2.85

(5.87)

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ)

1.75

1.40

0.49

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

1.06

1.03

1.11

49.99

48.76

47.71

1.77

1.43

ฐานะการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม

อัตราส่วนทางการเงิน

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท)

28

(2.98)


แหล่งที่มาของรายได้จากการดำ�เนินงานสำ�หรับปี 2554 2% ค่าเครื่องอำ�นวยความสะดวก

6% ค่าเช่าสำ�นักงานและพื้นที่

43%

12%

ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน

รายได้เกี่ยวกับบริการ

22% รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์

15% ค่าธรรมเนียมสนามบิน

หน่วย : ล้านบาท ร้อยละ

แยกตามประเภทรายได้ ค่าธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครื่องอำ�นวยความสะดวก ค่าเช่าสำ�นักงานและพื้นที ่ รายได้เกี่ยวกับบริการ รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์

4,370.34 15 12,334.06 43 465.00 2 1,718.26 6 3,311.25 12 6,441.77 22 28,640.69 100

2% ท่าอากาศยานดอนเมือง

2% โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

13%

83%

ท่าอากาศยานภูมิภาค

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

แยกตามโครงสร้างองค์กร สำ�นักงานใหญ่ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูมิภาค โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

หน่วย : ล้านบาท ร้อยละ

- 645.36 2 23,603.38 83 3,805.80 13 586.15 2 28,640.69 100

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

29


แหล่งที่มาของค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานสำ�หรับปี 2554 18% ค่าใช้จ่ายพนักงาน

37%

28%

ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน

ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน

6% ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ

11% ค่าซ่อมแซม

หน่วย : ล้านบาท ร้อยละ

แยกตามประเภทค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน ค่าซ่อมแซม ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน

3,871.15 18 62.95 0 6,081.07 28 2,304.69 11 1,247.40 6 7,865.65 37 21,432.92 100

7% ท่าอากาศยานภูมิภาค

3% โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

8%

79%

สำ�นักงานใหญ่

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

3% ท่าอากาศยานดอนเมือง

หน่วย : ล้านบาท ร้อยละ

แยกตามโครงสร้างองค์กร สำ�นักงานใหญ่ 1,628.69 8 ท่าอากาศยานดอนเมือง 721.76 3 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 17,024.26 79 ท่าอากาศยานภูมิภาค 1,470.27 7 บริษทั ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำ�กัด 0.02 0 โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 587.93 3 21,432.92 100

30


บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย คำ�อธิบายและการวิเคราะห์งบการเงินสำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 และ 2553 มาตรการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ สายการบิ น และ ผู้ ป ระกอบการปี 2553 ที่ ยั ง มี ผ ลกระทบต่ อ ผลประกอบการ ประกอบด้วย 1) ปรับลดค่าธรรมเนียมในการขึ้นลงของอากาศยาน ในอัตราร้อยละ 10 และค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานใน อัตราร้อยละ 20 เป็นระยะเวลา 10 เดือน ให้แก่ทุกเที่ยวบิน ตั้งแต่เดือนมีนาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2553 (สำ�หรับเที่ยวบินที่ ได้รับส่วนลดค่าธรรมเนียมในการขึ้นลงของอากาศยาน และ/ หรือค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานจากโครงการอื่นของ ทอท. อยูแ่ ล้วให้ได้รบั ส่วนลดค่าธรรมเนียมในโครงการเดียว โดยให้ใช้ อัตราส่วนลดค่าธรรมเนียมในการขึ้นลงของอากาศยานและ ค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานของโครงการที่มีอัตราส่วนลด สู ง กว่ า ซึ่ ง ไม่ ร วมถึ ง โครงการส่ ง เสริ ม ผู้ โ ดยสารการบิ น และ สายการบินสำ�หรับ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) 2) ปรับลดค่าตอบแทนเฉพาะสัญญาทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ ประกอบกิจการจาก ทอท. หรือสัญญาที่มีการลงนามก่อนวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ดังนี้ 2.1 กรณีค่าตอบแทนคงที่ ให้ปรับลดค่าตอบแทน คงที่ในอัตราร้อยละ 5 เป็นระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือน มีนาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2553 2.2 กรณี ก ารเรี ย กเก็ บ ค่ า ตอบแทนเป็ น ร้ อ ยละ และกำ�หนดค่าตอบแทนขั้นต่ำ�ด้วย (1) กรณี อ ายุ สั ญ ญามากกว่ า 5 ปี ขึ้ น ไป ให้ เ ลื่ อ นอั ต ราร้ อ ยละและอั ต ราค่ า ตอบแทนขั้ น ต่ำ � จากการ ประกอบกิจการทีก่ �ำ หนดไว้ในสัญญาในปีสญ ั ญาที่ 2 ไปกำ�หนด เป็นอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�จากการประกอบ กิจการในปีสัญญาที่ 4 และตั้งแต่ปีสัญญาที่ 3 เป็นต้นไป ให้ เลือ่ นอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขัน้ ต่�ำ จากการประกอบ กิ จ การที่ กำ � หนดไว้ เ ป็ น ลั ก ษณะเดี ย วกั น กั บ การเลื่ อ นอั ต รา ร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�จากการประกอบกิจการ ในปีสัญญาที่ 2 ข้างต้นจนครบกำ�หนดอายุสัญญา (2) กรณีอายุสัญญา 3 – 5 ปี ให้เลื่อนอัตรา ร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ� ดังนี้

- อั ต ราร้ อ ยละและอั ต ราค่ า ตอบแทน ขั้ น ต่ำ � จากการประกอบกิ จ การที่ กำ � หนดไว้ ใ นปี สั ญ ญาที่ 1 ไปกำ�หนดเป็นอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�จาก การประกอบกิจการในปีสัญญาที่ 3 - อั ต ราร้ อ ยละและอั ต ราค่ า ตอบแทน ขั้ น ต่ำ � จากการประกอบกิ จ การที่ กำ � หนดไว้ ใ นปี สั ญ ญาที่ 2 ไปกำ�หนดเป็นอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�จาก การประกอบกิจการในปีสัญญาที่ 4 (ถ้ามี) - อั ต ราร้ อ ยละและอั ต ราค่ า ตอบแทน ขั้ น ต่ำ � จากการประกอบกิ จ การที่ กำ � หนดไว้ ใ นปี สั ญ ญาที่ 3 ไปกำ�หนดเป็นอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�จาก การประกอบกิจการในปีสัญญาที่ 5 (ถ้ามี) 3) โครงการส่งเสริมผู้โดยสารการบินและสาย การบินสำ�หรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดย ทอท. จะให้ผล ตอบแทนผ่านการลดค่าธรรมเนียมในการขึน้ ลงของอากาศยาน สำ�หรับเที่ยวบินแบบประจำ�ที่เข้าร่วมโครงการ โดยการคำ�นวณ ส่ ว นลดจะคำ � นวณเป็ น อั ต ราร้ อ ยละของค่ า ธรรมเนี ย มที่ สายการบิน ต้องชำ�ระในปี 2553 ซึ่งอัตราดังกล่าวเป็นไป ตามสั ด ส่ ว นจำ � นวนที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของผู้ โ ดยสารระหว่ า งประเทศ ที่สายการบินนำ�ผ่านเข้าหรือออกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในปี 2553 เมื่อเทียบกับจำ�นวนที่นำ�ผ่านในปี 2552 ทั้งนี้ ทอท. จะลดค่าธรรมเนียมย้อนหลังให้สายการบินโดยคำ� นวณจาก วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

มาตรการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ สายการบิ น และ ผู้ ป ระกอบการ ปี 2553 เพิ่ ม เติ ม เฉพาะที่ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ และท่ า อากาศยาน ดอนเมือง เนือ่ งจากได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ ความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ในช่วง เดือนเมษายน – ธันวาคม พ.ศ. 2553 ดังนี้ 1) มาตรการให้ความช่วยเหลือในครั้งนี้ให้ถือปฏิบัติ เฉพาะกับโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบ กิจการเป็นลายลักษณ์อักษรจาก ทอท. หรือที่มีการลงนาม ในสัญญา ภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2553 รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

31


2) ปรับลดค่าธรรมเนียมในการขึ้นลงของอากาศยาน ในอัตราร้อยละ 15 และค่าธรรมเนียมทีเ่ ก็บอากาศยาน ในอัตรา ร้อยละ 50 เป็นระยะเวลา 9 เดือน ให้แก่ทกุ เทีย่ วบิน ตัง้ แต่เดือน เมษายน – ธันวาคม พ.ศ. 2553 (สำ�หรับเทีย่ วบินทีไ่ ด้รบั ส่วนลด ค่ า ธรรมเนี ย มในการขึ้ น ลงของอากาศยาน และ/หรื อ ค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานจากโครงการอื่นๆ ของ ทอท. อยู่แล้วให้ได้รับส่วนลดค่าธรรมเนียมในโครงการเดียวโดยให้ใช้ อัตราส่วนลดค่าธรรมเนียมในการขึ้นลงของอากาศยานและ ค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานของโครงการที่มีอัตราส่วนลด สูงกว่า ทั้งนี้ ไม่รวมถึงโครงการส่งเสริมผู้โดยสารการบินและ สายการบินสำ�หรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) 3) ปรับลดค่าเช่าพื้นที่ และ/หรือค่าธรรมเนียมการใช้ บริการในอาคารในอัตราร้อยละ10 ให้แก่ผเู้ ช่าทุกราย เป็นระยะ เวลา 9 เดือน ตั้งแต่เดือนเมษายน – ธันวาคม พ.ศ. 2553 4) ปรับลดค่าตอบแทน ดังนี้ 4.1 กรณีคา่ ตอบแทนคงที่ ปรับลดค่าตอบแทนคงที่ เป็นระยะเวลา 9 เดือน ตั้งแต่เดือน เมษายน – ธันวาคม พ.ศ. 2553 ในอัตรา ดังนี้

ปรับลด

เมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2553 กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2553 ตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2553

ร้อยละ 30 ร้อยละ 20 ร้อยละ 10

4.2 กรณี ค่ า ตอบแทนร้ อ ยละที่ มี ก ารกำ � หนด ค่ า ตอบแทนขั้ น ต่ำ � ให้ เรี ย กเก็ บ เฉพาะค่ า ตอบแทนในอั ต รา ร้อยละของยอดขายตามสัญญา โดยไม่เรียกเก็บค่าตอบแทน ขั้นต่�ำ เป็นระยะเวลา 9 เดือน ตั้งแต่เดือน เมษายน – ธันวาคม พ.ศ. 2553 ทัง้ นี้ ให้เลือ่ นการเรียกเก็บเงินค่าตอบแทนอัตราร้อยละ และอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�ของปีสัญญาปัจจุบัน ไปกำ�หนด เป็ น ค่ า ตอบแทนอั ต ราร้ อ ยละและอั ต ราค่ า ตอบแทนขั้ น ต่ำ � ของปีสัญญาถัดไปจนครบอายุสัญญา และให้คำ�นวณอัตรา ค่ า ตอบแทนขั้ น ต่ำ � ของเดื อ นที่ เ หลื อ ในปี สั ญ ญาปั จ จุ บั น โดยวิธีการเฉลี่ยอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�เท่าๆ กันทุกเดือน กรณีผู้ประกอบการที่มีค่าตอบแทนที่คำ�นวณจาก อัตราร้อยละสูงกว่าอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ�ให้เรียกเก็บเงิน ค่ า ตอบแทนในอั ต ราค่ า ตอบแทนขั้ น ต่ำ � เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ เท่าเทียมกันในการปฏิบัติงาน สำ�หรับผู้ประกอบการที่ได้รับส่วนลดค่าตอบแทน ในมาตรการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ใดอยู่ แ ล้ ว ให้ ไ ด้ รั บ ส่ ว นลด

32

ค่าตอบแทนในมาตรการให้ความช่วยเหลือเดียว โดยให้ใช้ อัตราส่วนลดค่าตอบแทนของมาตรการให้ความช่วยเหลือที่มี อัตราส่วนลดสูงกว่า ทัง้ นี้ ในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2553 หากมี ผู้ประกอบการรายใดที่ชำ�ระค่าตอบแทนเรียบร้อยแล้ว แต่ ปรากฏว่ามาตรการให้ความช่วยเหลือฯ ปี 2553 ทำ�ให้ผปู้ ระกอบ การรายดังกล่าวต้องชำ�ระค่าตอบแทนมากขึ้นกว่าก่อนที่จะมี มาตรการให้ความช่วยเหลือฯ ดังกล่าวให้ยกเว้นการเรียกเก็บ ค่าตอบแทน ในส่วนที่เพิ่มขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว 5) ขยายระยะเวลาการชำ�ระเงินค่าธรรมเนียมในการขึน้ ลง ของอากาศยาน ค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยาน ค่าเช่าพื้นที่ และค่าตอบแทนจากวันครบกำ�หนดชำ�ระเงินเดิมของเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2553 ออกไปอีก 4 เดือน โดยยกเว้นค่าปรับ 6) ขยายอายุ สั ญ ญาให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการกิ จ กรรม เชิ ง พาณิ ช ย์ ต ามสั ญ ญาอนุ ญ าตทุ ก ราย ที่ ท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมืองออกไปอีก 6 เดือน – 2 ปี ตามสั ด ส่ ว นของอายุ สัญ ญา โดยมี ร ายละเอียด ดัง นี้

อายุสัญญา

< 3 ปี 3 ปี 5 ปี 8 ปี ≥ 10 ปี

อายุสัญญาที่ขยายให้

6 เดือน 8 เดือน 1 ปี 1 ปี 8 เดือน 2 ปี

ทัง้ นี้ รวมถึงสัญญาเช่ารถยนต์พร้อมพนักงานขับรถยนต์ สำ�หรับให้บริการรถยนต์รับ – ส่งผู้โดยสาร (Limousine) ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เนือ่ งจากเป็นกิจการทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากการลดลงของจำ�นวนผูโ้ ดยสารโดยตรง และหากผูป้ ระกอบการ ได้ปรับปรุงรถให้มีสภาพใหม่อยู่เสมอ โดยจะต้องมีสภาพรถ เทียบเท่ากับรถที่มีอายุใช้งานไม่เกิน 5 ปี ตลอดอายุสัญญา ทอท. จะขยายอายุสัญญาให้เพิ่มขึ้นอีก 1 ปี รวมเป็น 2 ปี 7) มาตรการทีใ่ ห้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการดังกล่าว ข้างต้น หากเป็นผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้เข้าดำ�เนินงาน ตามพระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการให้ เ อกชนเข้ า ร่ ว มงานหรื อ ดำ�เนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 และกรณีอื่นๆ ที่ต้อง ดำ�เนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ทอท. จะ พิจารณาดำ�เนินการให้เป็นไปตามขัน้ ตอนทีก่ ฎหมายหรือสัญญา กำ�หนด


8) ผูป้ ระกอบการจะต้องยกเว้นค่าบริการให้กบั สายการบิน หรือผูใ้ ช้บริการในอัตราทีไ่ ม่นอ้ ยกว่าทีไ่ ด้รบั ความช่วยเหลือจาก ทอท. 1. ผลการดำ�เนินงานของ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย (ทอท.) ผลการดำ � เนิ น งานสำ � หรั บ ปี 2554 ซึ่ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ 1 ตุลาคม 2553 – 30 กันยายน พ.ศ. 2554 เปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปี 2553 ทอท. มีรายได้จากการดำ�เนินงาน รวม 28,640.69 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4,608.07 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 19.17 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานรวม 21,432.92

ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,803.26 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.19 กำ�ไร จากการดำ�เนินงาน 7,207.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,804.81 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 63.70 เมื่ อ รวมรายได้ อื่ น 920.59 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอื่น 2,237.82 ล้านบาท ต้นทุนทางการเงิน 2,223.81 ล้านบาท ขาดทุนในส่วนของผูถ้ ือหุ้นส่วนน้อย 43.88 ล้านบาท และภาษีเงินได้ 1,182.31 ล้านบาทแล้ว มีก�ำ ไรสุทธิ 2,528.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 489.05 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.98 กำ�ไรต่อหุ้น 1.77 บาท เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ซึ่งมีกำ�ไร ต่อหุ้น 1.43 หน่วย : ล้านบาท

2554

2553

เพิ่ม (ลด)

ร้อยละ

รายได้จากการดำ�เนินงานรวม - รายได้ที่เกี่ยวกับกิจการการบิน - รายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการการบิน ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานรวม กำ�ไรจากการดำ�เนินงานรวม รายได้อื่นรวม ค่าใช้จ่ายอื่นรวม ต้นทุนทางการเงิน กำ�ไรสุทธิ

28,640.69 24,032.62 4,608.07 19.17 17,169.41 14,005.95 3,163.45 22.59 11,471.28 10,026.67 1,444.62 14.41 21,432.92 19,629.66 1,803.26 9.19 7,207.77 4,402.96 2,804.81 63.70 920.59 966.26 (45.67) (4.73) 2,237.82 166.38 2,071.44 1,245.03 2,223.81 2,389.71 (165.90) (6.94) 2,528.30 2,039.25 489.05 23.98

รายได้ ที่ เ กี่ ย วกั บ กิ จ การการบิ น (Aeronautical Revenues) จำ�นวน 17,169.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,163.45 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.59 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณ การจราจรทางอากาศรวม 6 ท่าอากาศยานโดยจำ�นวนเทีย่ วบิน ผูโ้ ดยสาร และปริมาณสินค้า ในปีนเี้ พิม่ ขึน้ ร้อยละ 14.43, 15.46 และ 3.97 ตามลำ�ดับ รายได้ทไี่ ม่เกีย่ วกับกิจการการบิน (Non – Aeronautical Revenues) จำ�นวน 11,471.28 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,444.62 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 14.41 เนื่ อ งจากจำ � นวนผู้ โ ดยสาร เพิม่ ขึน้ ส่งผลให้รายได้สว่ นแบ่งผลประโยชน์เพิม่ ขึน้ ประกอบกับ มาตรการให้ ค วามช่วยเหลือ สายการบิน และผู้ป ระกอบการ ได้สิ้นสุดลงตั้งแต่เดือนธันวาคม 2553 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน จำ�นวน 21,432.92 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1,803.26 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.19 ประกอบด้วย - ค่ า ใช้ จ่ า ยพนั ก งานและค่ า ตอบแทนผู้ บ ริ ห าร 3,934.11 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 52.45 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.35 เนื่องจากการปรับบำ�เหน็จพนักงานประจำ�ปี

- ค่ า ใช้ จ่ า ยดำ � เนิ น งาน 6,081.07 ล้ า นบาท เพิ่มขึ้น 532.22 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.59 สาเหตุสำ�คัญ เกิดจากค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน ค่าจ้างเอกชนดำ�เนินการ ค่าไฟฟ้าและค่าเบี้ยประกันภัยเพิ่มขึ้น ประกอบกับค่าใช้จ่าย ส่ ว นหนึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น ตามสั ด ส่ ว นของรายได้ จ ากการดำ � เนิ น งาน ที่เพิ่มขึ้น เช่น ค่าตอบแทนการจัดเก็บรายได้ค่าธรรมเนียม การใช้สนามบิน สัญญาจ้างให้บริการรถลีมูซีน เป็นต้น - ค่าซ่อมแซมและบำ�รุงรักษา 2,304.69 ล้านบาท เพิ่ ม ขึ้ น 764.93 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 49.68 เนื่ อ งจาก ค่าซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาครุภัณฑ์ไฟฟ้า ลิฟท์ บันไดเลื่อน เครื่ อ งปรั บ อากาศและทางวิ่ ง ทางขั บ เพิ่ ม ขึ้ น โดยส่ ว นหนึ่ ง เป็นการบำ�รุงรักษาตามคู่มือ และอีกส่วนหนึ่งเป็นสัญญาจ้าง บำ�รุงรักษาแบบรวมอะไหล่ เพื่อให้มีความพร้อมในการใช้งาน ตลอดเวลา - ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ 1,247.40 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 213.35 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.63 ตามสัดส่วนของ รายได้จากการดำ�เนินงานที่เพิ่มขึ้น รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

33


- ค่ า เสื่ อ มราคาทรั พ ย์ สิ น และค่ า ตั ด จำ � หน่ า ย 7,865.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 240.31 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 3.15 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ รายได้อื่น จำ�นวน 920.59 ล้านบาท ลดลง 45.67 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.73 เนื่องจากกำ�ไรจากการจำ�หน่าย เงินลงทุนและรายได้อื่นลดลง 263.16 ล้านบาท (ปีก่อนขายหุ้น ในบริษัท คิงเพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำ�กัด และบริษัท ขนส่งน้ำ�มัน ทางท่อ จำ�กัด รวม 185.53 ล้านบาท) แต่ดอกเบี้ยรับเพิ่มขึ้น 217.49 ล้านบาท

ค่าใช้จ่ายอื่น จำ�นวน 2,237.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,071.44 ล้านบาท ประกอบด้วย 1) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จำ�นวน 1,538.12 ล้านบาท เนื่องจากการแข็งค่าของเงินเยนเมื่อเทียบกับปีก่อน ทำ�ให้เกิดผลขาดทุนจากการปรับมูลค่าตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด ของหนี้สินส่วนที่เป็นเงินตราต่างประเทศ จำ�นวน 6,152.03 ล้ า นบาท เมื่ อ รวมกั บ กำ � ไรจากสั ญ ญาป้ อ งกั น ความเสี่ยง 4,613.91 ล้านบาทแล้ว ทำ�ให้มีผลขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนรวมทั้งสิ้น 1,538.12 ล้านบาทโดยมีอัตรา แลกเปลี่ยนเปรียบเทียบ ดังนี้

อัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน บาท/100เยน บาท/US$ บาท/100เยน บาท/US$ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 41.0878 31.3072 30 กันยายน พ.ศ. 2553 36.7503 30.5578 30 กันยายน พ.ศ. 2553 36.7503 30.5578 30 กันยายน พ.ศ. 2552 37.6809 33.6972 เพิ่มขึ้น 4.3375 0.7494 ลดลง (0.9306) (3.1394)

2) ขาดทุ น จากการด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ จำ � นวน 357.88 ล้านบาท สาเหตุสำ�คัญเกิดจากในงวดบัญชีนี้บันทึก ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย จำ�นวน 294.47 ล้านบาท เนื่องจากพบข้อบ่งชี้ของ การด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าว และเมื่อประเมินมูลค่าจาก การใช้สนิ ทรัพย์แล้วพบว่าไม่ครอบคลุมมูลค่าคงเหลือตามบัญชี ทัง้ นี้ ทอท.ได้มกี ารว่าจ้างบริษทั ทีป่ รึกษาทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเป็น ผูป้ ระเมินการด้อยค่าให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 เรื่องการด้อยค่าของสินทรัพย์ 3) ค่าใช้จ่ายอื่น จำ�นวน 341.82 ล้านบาท สาเหตุ สำ � คั ญ เกิ ด จากการบั น ทึ ก ประมาณการหนี้ สิ น จากคดี ค วาม ที่ ทอท.ถูกฟ้องร้องจำ�นวน 1 คดี ซึ่งศาลชั้นต้นพิพากษาให้ ทอท. ชำ�ระเงินแก่โจทก์พร้อมดอกเบีย้ จำ�นวน 331.47 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างการยื่นอุทธรณ์

ต้นทุนทางการเงิน จำ�นวน 2,223.81 ล้านบาท ลดลง 165.90 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.94 สาเหตุสำ�คัญ เกิดจากดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินลดลง 157.41 ล้านบาท ตามสัดส่วนของยอดเงินกู้ที่ลดลงจากการจ่ายชำ�ระ คื น เงิ น ต้ น ดอกเบี้ ย จ่ า ยจากหนี้ สิ น ตามสั ญ ญาเช่ า การเงิ น ลดลง 8.49 ล้านบาท 2. ฐานะทางการเงินของ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ทอท. มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 147,119.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 จำ�นวน 5,530.80 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.91 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

30 กันยายน 30 กันยายน พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2553

เพิ่ม (ลด)

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาว อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ สินทรัพย์รวม

31,954.28 6,151.59 89,707.05 6,696.62 12,610.25 147,119.79

3,665.26 793.33 (2,800.19) (229.17) 4,101.57 5,530.80

34

28,289.02 5,358.26 92,507.24 6,925.79 8,508.68 141,588.99

ร้อยละ 12.96 14.81 (3.03) (3.31) 48.20 3.91


สินทรัพย์หมุนเวียน จำ�นวน 31,954.28 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,665.26 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.96 เนื่องจาก การลงทุนในเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น เงินลงทุนระยะยาว จำ�นวน 6,151.59 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 793.33 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.81 จากการลงทุน ในเงินฝากประจำ�เพิ่มขึ้น อาคารและอุ ป กรณ์ - สุ ท ธิ จำ � นวน 89,707.05 ล้านบาท ลดลง 2,800.19 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.03 สาเหตุ สำ � คั ญ เกิ ด จากการบั น ทึ ก ค่ า เสื่ อ มราคาและค่ า ตั ด จำ � หน่ า ย ประจำ�ปี และการบันทึกการด้อยค่าของสินทรัพย์ทา่ อากาศยาน แม่ฟา้ หลวงเชียงราย

สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง จำ�นวน 6,696.62 ล้านบาท ลดลง 229.17 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.31 เกิดจากการโอน สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างที่พร้อมใช้งานไปบัญชีอาคารและ อุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ จำ�นวน 12,610.25 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4,101.57 ล้านบาท หรือร้อยละ 48.20 สาเหตุสำ�คัญเกิดจากการแข็งค่าของเงินเยนทำ�ให้มูลค่าของ สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น หนี้สิน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ทอท. มี หนีส้ นิ รวมทัง้ สิน้ 75,565.21 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3,822.02 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.33 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

30 กันยายน 30 กันยายน พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2553 14,176.72 56,196.45 1,370.02 71,743.19

เพิ่ม (ลด)

ร้อยละ

2,582.24 1,317.16 (77.38) 3,822.02

18.21 2.34 (5.65) 5.33

หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินรวม

16,758.96 57,513.61 1,292.64 75,565.21

หนี้สินหมุนเวียน จำ�นวน 16,758.96 ล้ านบาท เพิ่มขึ้น 2,582.24 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.21 สาเหตุสำ�คัญ เกิดจากการบันทึกประมาณการหนี้สินจากค่าชดเชยผลกระทบ ทางเสียง และหนีส้ ินส่วนที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่ถงึ กำ�หนด ชำ�ระภายในหนึ่งปีเพิ่มสูงขึ้นจากการแข็งค่าของเงินเยน เงินกูร้ ะยะยาว จำ�นวน 57,513.61 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1,317.16 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.34 เกิดจากการแข็งค่าของ เงินเยน ทำ�ให้หนี้สินส่วนที่เป็นเงินตราต่างประเทศเพิ่มสูงขึ้น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จำ�นวน 1,292.64 ล้านบาท ลดลง 77.38 ล้านบาทหรือร้อยละ 5.65 สาเหตุสำ�คัญเกิดจาก การจ่ายชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น เท่ า กั บ 71,554.58 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 1,708.78 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 2.45 เกิ ด จากกำ � ไรสุ ท ธิ ที่เพิ่มขึ้น

3. สภาพคล่อง ทอท. มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 เท่ากับ 5,179.44 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 จำ�นวน 1,660.53 ล้านบาท หรือร้อยละ 47.19 โดยมีเงินสดสุทธิที่ได้มาและใช้ไป ในกิจกรรมต่างๆดังนี้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 16,726.22 ล้านบาท เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำ�นวน 7,403.37 ล้านบาท จากการลงทุนในอาคาร อุปกรณ์ และงานระหว่าง ก่อสร้าง และการนำ�เงินไปลงทุนชั่วคราวและระยะยาวเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้รับผลตอบแทนที่ดีขึ้น เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมจั ด หาเงิ น จำ � นวน 7,662.32 ล้านบาท จากการจ่ายชำ�ระคืนเงินต้นและดอกเบี้ย ของเงินกู้ยืม การจ่ายเงินปันผลประจำ�ปี 2553 และการจ่าย ชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

35


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ทอท.ประกอบธุ ร กิ จ ท่ า อากาศยานของประเทศไทย โดยธุรกิจหลัก ประกอบด้วยการจัดการ การดำ�เนินงานและ การพัฒนาท่าอากาศยาน โดยมีท่าอากาศยานที่อยู่ในความ รับผิดชอบ 6 แห่ง ประกอบด้วยท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยาน หาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ซึ่งท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง นี้ให้บริการเที่ยวบิน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีท่าอากาศยาน สุวรรณภูมเิ ป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ ซึง่ ได้เปิดให้บริการ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 เพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสาร ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการรองรั บ ผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้า ได้ 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับเที่ยวบินได้ 76 เที่ยวบิน ต่อชั่วโมง รายได้จากการดำ�เนินงานของ ทอท. ประกอบด้วยรายได้ จาก 2 ส่วนที่ส�ำ คัญ คือรายได้จากกิจการการบินและรายได้ ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการการบิน โดยรายได้จากกิจการการบินเป็น รายได้ที่เกี่ยวข้องกับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ ค่าธรรมเนียมสนามบิน รายได้ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน และรายได้ค่าสิ่งอำ�นวยความสะดวก ส่วนรายได้ที่ไม่เกี่ยวกับ

Airport 36 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

กิจการการบินเป็นรายได้ทไ่ี ม่เกีย่ วข้องกับการจราจรทางอากาศ โดยตรง เช่น รายได้ค่าเช่า สำ� นั กงานและอสั ง หาริมทรัพย์ รายได้เกี่ยวกับการบริการ และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ นอกจากนี้ ทอท. ยังถือหุ้นใน 9 บริษัท ซึ่งเป็นผู้ให้บริการและ จำ�หน่ายสินค้าที่เกี่ยวข้องกับกิจการท่าอากาศยานของ ทอท. ได้แก่ บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำ�กัด บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำ�กัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำ�กัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำ�กัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด และบริษัท เทรดสยาม จำ�กัด สภาพการตลาด แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม สภาพ การแข่งขันในอนาคตและนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนา ท่าอากาศยาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการบิ น การท่ อ งเที่ ย วและการขนส่ ง สิ น ค้ า ทางอากาศชั้นนำ�ของเอเชียและของโลก กอปรกับนโยบาย การท่องเที่ยวไทยเชิงรุกของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในการขยายกลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวใหม่ๆ การตกลงร่วมกัน ของกลุ่มประเทศในอาเซียนที่จะเปิดเสรีการบินและผ่อนคลาย


กฎระเบียบของภาครัฐ โดยจะมีการผ่อนคลายระเบียบข้อกำ�หนด ต่างๆ ในการขนส่งทางอากาศให้มากขึ้นตามลำ�ดับ จะช่วย ส่งผลให้ปริมาณการจราจรทางอากาศและผู้โดยสารมีอัตราที่ เพิ ่ ม ขึ ้ น สำ �หรั บ แนวโน้มการเติบโตของ ทอท. ในอนาคต สมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ (Airports Council International: ACI) คาดการณ์ถึงอัตราการเติบโตของจำ�นวน ผู้โดยสารทั่วโลกในอีก 20 ปีข้างหน้า (ปี 2551 - 2570) จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 4.2 ต่อปี และอัตราการเติบโตของ จำ�นวนผู้โดยสารในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกร้อยละ 6.3 ซึ่งเป็น อัตราการเติบโตที่สูงกว่าทุกภูมิภาคในโลก อันมีสาเหตุจาก การเริม่ พัฒนาการขนส่งทางอากาศและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่รวดเร็วของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐอินเดีย ในขณะที่นโยบายการเปิดเสรีด้านการบิน และการ ขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ และการค้ า ระหว่ า งประเทศส่ ง ผลให้ ธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำ�สามารถทำ�ตลาดทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ สร้างความเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ทั้งจำ�นวน สายการบินและความถีข่ องเทีย่ วบิน และคาดว่าจำ�นวนประชากร ที่มีรายได้ปานกลางที่เพิ่มขึ้นของสาธารณรัฐประชาชนจีนและ สาธารณรั ฐ อิ น เดี ย จะทำ � ให้ ส ายการบิ น ต้ น ทุ น ต่ำ � ในภู มิ ภ าค เอเชียแปซิฟิกมีการขยายตัวได้อีกมากในอนาคต นอกจากนั้น

ด้ ว ยนวั ต กรรมเทคโนโลยี ก ารผลิ ต อากาศยานแบบใหม่ เช่น อากาศยานแบบ A380 จะช่วยทำ�ให้ระบบการขนส่ง ทางอากาศโดยรวมมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ต้นทุนลดลง ลดเวลา การบิน เนื่องจากสามารถบินตรงไปยังจุดหมายปลายทางได้ โดยไม่ต้องหยุดพัก ทำ�ให้เกิดเส้นทางบินใหม่ๆ และทำ�ให้ เกิดโอกาสในการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ และจากการทีค่ า่ โดยสารมีราคา ถูกลงทำ�ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการการขนส่งทางอากาศ ได้มากขึ ้ น ยิ ่ ง ไปกว่านั ้ น เทคโนโลยี ด้า นการสื ่ อ สารได้รับ การพัฒนาอย่างรวดเร็วผู้เดินทางสามารถค้นหาข้อมูลแหล่ง ท่องเที่ยว แหล่งธุรกิจตามที่ต้องการได้สะดวก โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ผู้โดยสารที่เดินทางโดยเครื่องบินสามารถจองเที่ยวบิน ได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็วและได้ในราคาที่ถูกลง อย่างไรก็ตาม อุทกภัยที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างในหลายจังหวัดของประเทศ ในช่วงปลายไตรมาสของปี 2554 เป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบ ต่อการเดินทางเข้ามาประเทศไทยของนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทำ�ให้นักท่องเที่ยวหลีกเลี่ยงที่จะเดินทางเข้ามาในประเทศไทย ส่งผลต่อการเติบโตของปริมาณการจราจรทางอากาศ ทำ�ให้ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการลงทุนชะลอตัวลง

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

37


การบริหารความเสี่ยง

ทอท. ได้ให้ความสำ�คัญต่อการดำ�เนินงานด้านการบริหาร ความเสี่ ย ง ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในกลไกหลั ก ในการบริ ห ารจั ด การ องค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาโดยตลอด ในการดำ � เนิ น งานด้ า น การบริ ห ารความเสี่ ย ง ทอท. ได้ กำ � หนดกรอบการบริ ห าร ความเสีย่ ง (Risk Framework) ทีป่ ระกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแล (Risk Governance) 1.1 คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง : คณะ กรรมการ ทอท. ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยให้กรรมการ ทอท. ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ เป็นกรรมการและ เลขานุการ รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานแผนงาน และการเงิน) และผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหารความเสี่ยง เป็น ผูช้ ว่ ยเลขานุการ ทัง้ นี้ เพือ่ กำ�หนดนโยบาย กรอบการดำ�เนินงาน ด้านการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงให้ค�ำ แนะนำ�แก่คณะกรรมการ ทอท. และฝ่ายบริหารในเรื่องของการบริหารความเสี่ยงของ องค์กร 1.2 คณะทำ � งานบริ ห ารความเสี่ ย งของ ทอท.: คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้แต่งตั้งคณะทำ�งานบริหาร ความเสี่ ย งของ ทอท. โดยมี กรรมการผู้ อำ � นวยการใหญ่ เป็ น หั ว หน้ า คณะทำ � งาน รองกรรมการผู้ อำ � นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) เป็นรองหัวหน้าคณะทำ�งาน รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ของทุกสายงาน ผู้อำ�นวยการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผูอ้ �ำ นวยการท่าอากาศยานดอนเมือง

38


เป็นผู้ทำ�งาน และ ผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหารความเสี่ยง เป็น ผูท้ �ำ งานและเลขานุการ รองผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักบริหารความเสีย่ ง เป็ น ผู้ ทำ � งานและผู้ ช่ ว ยเลขานุ ก าร ทั้ ง นี้ เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบ การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กรของ ทอท. และดำ�เนินการ ตามนโยบายของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1.3 คณะทำ�งานจัดระบบการควบคุมภายใน และ การบริ ห ารความเสี่ ย งของส่ ว นงาน ทอท. : ผู้ อำ � นวยการ ท่าอากาศยานภูมิภาค และผู้อำ�นวยการส่วนงาน ทอท. แต่งตั้ง คณะทำ � งานจั ด ระบบการควบคุ ม ภายใน และการบริ ห าร ความเสี่ยงของท่าอากาศยานภูมิภาค และส่วนงาน ทอท. ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการดำ�เนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง และ การควบคุมภายในของท่าอากาศยานภูมิภาค และส่วนงาน ทอท. 1.4 สำ � นั ก บริ ห ารความเสี่ ย ง : รั บ ผิ ด ชอบและ สนับสนุนการดำ�เนินการตามกรอบการบริหารความเสี่ยงของ ทอท. 2. โครงสร้างพื้นฐานของการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Infrastructure) ประกอบด้วย 2.1 นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง และคู่ มื อ การบริหารความเสี่ยง 2.2 ผังความเสี่ยงองค์กร 2.3 เกณฑ์การประเมินความเสี่ยง 2.4 ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 2.5 ระบบฐานข้ อ มู ล และเครื่ อ งมื อ การบริ ห าร ความเสี่ยง 2.6 กรอบการบริหารความเสี่ยง 3. กระบวนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Process)

3.1 การกำ�หนดวัตถุประสงค์ 3.2 การระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง 3.3 การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง 3.4 การตอบสนองความเสี่ยง 3.5 การกำ�หนดมาตรการ และการควบคุมเพิ่มเติม 3.6 การติดตาม และรายงานความเสี่ยง

เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี่ ย งของ ทอท. ในปี งบประมาณ 2554 มีดังนี้ 1. ทอท. ไม่สามารถบริหารจัดการให้ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและ นํ้าเย็น จำ�กัด (DCAP) ควบคุมอุณหภูมินํ้าเย็นที่ส่งให้อาคาร ผู้โดยสารและอาคารเทียบเครื่องบิน ได้ตามเงื่อนไขสัญญา อย่างถาวร จากความสำ�เร็จของการเปิดให้บริการท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา ทอท. ในฐานะผู้บริหาร ท่ า อากาศยานนานาชาติ ห ลั ก ของประเทศไทย มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะ บริ ห ารทุ ก ท่ า อากาศยานในความรั บ ผิ ด ชอบให้ เ ป็ น ไปตาม มาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และการสร้างความ พอใจสูงสุดให้แก่ผู้มาใช้บริการ โดยเฉพาะกับผู้โดยสารและ สายการบิน การสร้างบรรยากาศภายในอาคารผู้โดยสารของ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ถื อ เป็ น ปั จ จั ย พื้ น ฐานในการสร้ า ง ความพึ ง พอใจให้ กั บ ผู้ ม าใช้ บ ริ ก ารที่ ส ะท้ อ นถึ ง ภาพลั ก ษณ์ โดยรวมของท่าอากาศยาน ทีผ่ า่ นมาด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมของอาคารผูโ้ ดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่ใช้กระจกเป็นโครงสร้างหลัก ส่งผล ต่อบรรยากาศและอุณหภูมิภายในอาคารในบางฤดู ในขณะที่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้�ำ เย็น จำ�กัด (DCAP) ผู้มีบทบาทสำ�คัญ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

39


ในฐานะผู้ผลิตน้ำ�เย็นส่งป้อนให้กับอาคารผู้โดยสารและอาคาร เที ย บเครื่ อ งบิ น ก็ เ ป็น อีกสาเหตุ และมีค วามสำ� คัญโดยตรง ต่อการทำ�ให้อุณหภูมิภายในอาคารเป็นไปตามความต้องการ ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ในเรื่องการสร้างความพึงพอใจ และชื่อเสียงภาพลักษณ์โดยรวมของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้ ง บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า และน้ำ � เย็ น จำ � กั ด และ ทอท. ได้ดำ�เนินการในหลายโครงการ เช่น การติดตั้ง Helper Cooling Tower, Electric Chiller และเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน เพิ่ ม เติ ม ส่ ง ผลให้ อุ ณ หภู มิ ภ ายในอาคารผู้ โ ดยสารและ อาคารเทียบเครื่องบินเป็นไปตามความต้องการ 2. โครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ร ะยะที่ 2 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ทอท. นำ�เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติโครงการ พั ฒ นาท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ว งเงิ น ลงทุ น 62,503.214 ล้านบาท และคณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการโครงการพัฒนา ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ (ปี ง บประมาณ 2554 - 2559) ในการประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 โดยมีวตั ถุประสงค์และเป้าหมาย เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้สามารถรองรับผู้โดยสารได้เพิ่มขึ้น 15 ล้านคนต่อปี จาก 45 ล้านคนต่อปี เป็น 60 ล้านคนต่อปี (ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 48 ล้านคนต่อปี และผู้โดยสาร ภายในประเทศ 12 ล้านคนต่อปี) ประกอบด้วย งานก่อสร้าง ส่วนขยายอาคารผู้โดยสารหลักด้านทิศตะวันออก งานก่อสร้าง อาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 งานระบบสาธารณูปโภค และงานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ โดยมีแนวทาง การดำ�เนินงานโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะ เวลาดำ�เนินการ 6 ปี (ปีงบประมาณ 2554 - 2559) เพื่ อ เร่ ง รั ด การดำ � เนิ น การก่ อ สร้ า งโครงการพั ฒ นา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

40

เนื่ อ งจากจำ � นวนผู้ โ ดยสารขาเข้ า - ออก ท่ า อากาศยาน เมื่อสิ้นปีงบประมาณ (30 กันยายน พ.ศ. 2554) รวม 47.8 ล้านคน ซึ่งเกินขีดความสามารถของท่าอากาศยานที่รองรับ ผู้ โ ดยสารขาเข้ า /ขาออกได้ เ พี ย ง 45 ล้ า นคน ประกอบกั บ คณะกรรมการบริหาร ทอท. ได้ให้ความเห็นชอบผลการศึกษา การพั ฒ นาท่ า อากาศยานดอนเมื อ งและท่ า อากาศยาน สุ ว รรณภู มิ ข ององค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศ (ICAO) และ สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ�แผนแม่บทการพัฒนาระบบ ท่าอากาศยานฯ มีความเห็นให้มีการรวมงานก่อสร้างอาคาร ผู้โดยสารภายในประเทศและทางวิ่งเส้นที่ 3 เพิ่มเติม จาก ขอบเขตรายละเอียดงานจ้าง (TOR) ที่ปรึกษาบริหารจัดการ โครงการ (PMC) ตามที่ ค ณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบ แล้วเมื่อ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 จากลักษณะข้อเท็จจริง ที่เปลี่ยนไป จะทำ�ให้โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ปีงบประมาณ 2554 - 2559) มีแนวโน้มที่จะล่าช้าไปกว่าแผนฯ เนื่องจากจะต้องทบทวนขอบเขตรายละเอียดงานจ้าง (TOR) ที่ ป รึ ก ษาบริ ห ารจั ด การโครงการใหม่ พ ร้ อ มเสนอขอ ความเห็ น ชอบกรอบวงเงิ น งบประมาณและขอบเขต รายละเอี ย ดงานจ้ า งที่ ป รึ ก ษาบริ ห ารจั ด การโครงการ เพิ่มเติมจากคณะรัฐมนตรีคู่ขนานไปกับการศึกษาผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ มในระดั บ ยุ ท ธศาสตร์ (SEA) การวิ เ คราะห์ ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม (EIA) และผลกระทบด้ า นสุ ข ภาพ (HIA) เพื่ อ เสนอขอความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ สิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ ห ากไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในกรอบเวลา ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ คาดว่าจะดำ�เนินการได้ในช่วงปีงบประมาณ 2555 - 2560 เพือ่ แก้ปญ ั หาความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รั ฐ บาลได้ มี น โยบายที่ จ ะเพิ่ ม ขี ด ความสามารถให้ ร องรั บ


ผู้โดยสารได้ปีละ 65 ล้านคนขึ้นไป ประกอบกับผลการศึกษา ขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ได้แนะนำ�ให้สร้าง อาคารผู้โดยสารภายในประเทศ เพื่อบรรเทาปัญหาดังกล่าว ทอท. จึงได้มีแผนที่จะก่อสร้างอาคารผู้โดยสารภายในประเทศ ให้ มี ขี ด ความสามารถรองรั บ ผู้ โ ดยสารได้ 20 ล้ า นคนต่ อ ปี เมื่ อ ทั้ ง 2 โครงการแล้ ว เสร็ จ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ จะมีขีดความสามารถรองรับผู้โดยสารได้กว่า 80 ล้านคนต่อปี เพ่ือให้การดำ�เนินงานโครงการพัฒนาท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิระยะที่ 2 เป็นไปตามเป้าหมาย ทอท. ได้ปรับปรุง ร่างขอบเขตรายละเอียด (TOR) ให้เป็นภาษาไทยตามความเห็น ของสำ�นักงานอัยการสูงสุด และได้มีแผนการจัดจ้างที่ปรึกษา จากภายนอกหรือ PMC เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้บริหารจัดการ โครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ (ปี ง บประมาณ 2553 - 2559) และผู้บริหารจัดการโครงการก่อสร้างกลุ่มอาคาร ผู้ โ ดยสารภายในประเทศ รวมถึ ง ได้ ป รั บ แบบก่ อ สร้ า งให้ สอดคล้ อ งกั บ สภาพปั จ จุ บั น เนื่ อ งจากขณะนี้ มี ผู้ โ ดยสาร ใช้ท่าอากาศยานถึง 46 ล้านคน ซึ่งเกินขีดความสามารถในการ รองรับของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 3. โครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต (ปี ง บประมาณ 2553 - 2557) ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552 คณะกรรมการ ทอท. ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ ทอท. ดำ � เนิ น โครงการพั ฒ นา ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต และในการประชุ ม คณะกรรมการ รัฐมนตรีเศรษฐกิจ (รศก.) ครัง้ ที่ 8/2553 เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ที่ มี นายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ นายกรั ฐ มนตรี เป็นประธาน ที่ประชุมฯ มีมติเห็นชอบให้เร่งรัดการดำ�เนิน โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ประกอบด้วยงานหลัก คือ การก่อสร้างทางขับและลานจอดอากาศยาน งานก่อสร้าง อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ และงานก่อสร้างปรับปรุง อาคารผู้ โ ดยสารเดิ ม เป็ น อาคารผู้ โ ดยสารภายในประเทศ ซึ่งขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการออกแบบอาคาร โดยมีจุดเด่น คือ จะนำ�แนวคิด Green Building มาใช้ โดยเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ การก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นอาคารประหยัด พลังงาน การพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ตจะแล้วเสร็จในปี 2557 ซึ่งจะทำ�ให้ท่าอากาศยานภูเก็ตมีศักยภาพรองรับผู้โดยสารได้ 12.5 ล้านคน การพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ปัจจุบันประสบปัญหา ความแออั ด ทั้ ง นี้ ทอท. คาดการณ์ ว่ า สิ้ น ปี ง บประมาณ ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต จะมี ผู้ โ ดยสาร 7.96 ล้ า นคน ในขณะ ที่มีศักยภาพรองรับผู้โดยสารได้ 6.5 ล้านคนต่อปี ซึ่งทำ�ให้ ทอท. ต้องเร่งพัฒนาเพิ่มศักยภาพของท่าอากาศยาน โดยมี

แผนระยะสั้นเพื่อบรรเทาความแออัด เช่น การปรับปรุงพื้นที่ อาคารผูโ้ ดยสาร การเพิม่ เก้าอีพ้ กั คอย รวมทัง้ การปรับปรุงระบบ สายพานรับ - ส่งกระเป๋า เป็นต้น ข้อจำ�กัดในการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต เนื่องจาก พื้นที่บริเวณโดยรอบของท่าอากาศยานเป็นพื้นที่เขตอนุรักษ์ และมี ชุ ม ชนอาศั ย อยู่ ใ นบริ เวณใกล้ เ คี ย ง รวมทั้ ง อยู่ ติ ด กั บ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 อาจไม่ได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตลอดจนจะต้องใช้วงเงิน ลงทุนจำ�นวนมากในการชดเชยผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ การรื้ อ ย้ า ยระบบสาธารณู ป โภคจากการที่ ค วามยาวทางวิ่ ง 3,000 เมตร วางตัวอยู่ในแนวตะวันออกและตะวันตก (09/27) โดยปลายทางวิ่ ง 27 (ด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก) ไม่ ส ามารถขยาย ความยาวทางวิ่งได้ เนื่องจากติดกับทะเลอันดามัน ซึ่งชายหาด เป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ทอท. ได้จ้างบริษัทที่ปรึกษาดำ�เนินการศึกษาผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ มโครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต ทั้ ง ใน ส่วนระยะก่อสร้างและในระยะดำ�เนินการ จัดให้มีการสัมมนา รับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้ง ควบคุมการดำ�เนินการงานศึกษาของบริษัทที่ปรึกษาให้เป็น ไปตามแนวทางการจั ด ทำ � รายงานการศึ ก ษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อมของสำ�นักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (สผ.) รวมทั้งมีการประสานงานเพื่อแก้ไขหรือ เพิ่มเติมข้อมูลตามข้อคิดเห็นของคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการ ของสำ�นักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อลดความเสี่ยงจาก การพิจารณารายงานดำ�เนินการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาจจะไม่ ผ่ า นความเห็ น ชอบหรื อ มี ก ารให้ เ พิ่ ม เติ ม ข้ อ มู ล / รายละเอียดโครงการฯ ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ ผู้ชำ�นาญการของสำ�นักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ คณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ หลายครั้งซึ่งอาจจะใช้ระยะเวลาในการพิจารณารายงานและ แก้ไขเพิ่มเติมตามข้อคิดเห็นดังกล่าวเป็นระยะเวลานาน ทอท. จึงได้มอบหมายให้ส่วนงานของ ทอท. ที่รับผิดชอบในเรื่อง ดั ง กล่ า วดำ � เนิ น การติ ด ต่ อ ประสานฝ่ า ยเลขานุ ก ารของ คณะกรรมการผู้ ชำ � นาญการของสำ � นั ก นโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อขอรับทราบข้อคิดเห็น เพิ่มเติมล่วงหน้าก่อนการประชุมคณะกรรมการฯ ในครั้งต่อไป เพื่ อ แจ้ ง ให้ บ ริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาดำ � เนิ น การจั ด เตรี ย มข้ อ มู ล หรื อ ความคิดเห็นเพิ่มเติม เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการฯ ต่อไป 4. ทอท. อาจต้ อ งชำ � ระค่ า เสี ย หายเป็ น จำ � นวนมาก กรณี ถูกฟ้องร้องจากผู้รับจ้าง รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

41


ทอท. จำ � เป็ น ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามนโยบายรั ฐ บาลเร่ ง ดำ � เนิ น การให้ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก าร เชิ ง พาณิ ช ย์ ใ นปี 2549 และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถการ รองรั บ จำ � นวนผู้ โ ดยสารจาก 30 ล้ า นคนต่ อ ปี เป็ น 45 ล้ า นคนต่ อ ปี ซึ่ ง มี ผ ลทำ � ให้ เ กิ ด การเร่ ง รั ด ให้ ง านก่ อ สร้ า ง แล้ ว เสร็ จ ทั น กำ � หนด และได้ มี ก ารสั่ ง เปลี่ ย นแปลงงาน เป็ น จำ � นวนมากในช่ ว งเวลาของการดำ � เนิ น การก่ อ สร้ า ง เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามความจำ � เป็ น เหมาะสมแก่ ก ารใช้ ง านของ หน่วยงานผู้ใช้อาคารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิซึ่งทำ�ให้เกิดมี ข้อพิพาทระหว่าง ทอท. กับผู้รับจ้างก่อสร้างจะมีผลให้ ทอท. อาจต้องชำ�ระค่าเสียหายกรณีการถูกฟ้องร้องเป็นมูลค่าเงิน จำ�นวนมาก ในการนี้ ทอท. จึงได้พิจารณาดำ�เนินการอย่างรอบคอบ และระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในกรณี พิพาท และในเวลาเดียวกัน ทอท. เองก็จำ�เป็นต้องดำ�เนินการ ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติ ตามเงื่อนไขของสัญญาทุกๆ สัญญา รวมทั้งติดตามเร่งรัด ประสานผู้ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ดำ � เนิ น การในแต่ ล ะขั้ น ตอนของ สัญญาให้แล้วเสร็จครบถ้วนเพื่อให้สามารถเบิกจ่ายได้โดยเร็ว เพื่อลดปัญหาข้อพิพาทลง ในการนี้ ทอท. ได้แต่งตั้งคณะ อนุกรรมการพิจารณาแก้ไขปัญหาด้านเทคนิคและวิศวกรรม ณ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ แ ละคณะอนุ ก รรมการเพื่ อ ตรวจสอบงานด้านกฎหมาย ซึ่งมีผู้แทนสำ�นักงานอัยการสูงสุด เป็นอนุกรรมการเพื่อให้คำ�ปรึกษาในการพิจารณาดำ�เนินการ ต่อข้อพิพาทที่เกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด เพื่อเจรจากับคู่กรณีและ ดำ�เนินการตามแนวทางการต่อสู้คดีตามที่คณะกรรมการ ทอท. ให้ความเห็นชอบในประเด็นต่างๆ โดยเคร่งครัด 5. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีผลการจัดอันดับท่าอากาศยาน ตํ่ากว่าอันดับที่ 24 ของ ASQ ในปี 2554 โครงการจัดอันดับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยาน (Airport Service Quality Program: ASQ) เป็นโครงการของ สมาคมท่ า อากาศยานระหว่างประเทศ (Airports Council International: ACI) ซึ่งมีสำ�นักงาน อยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ โดยมีท่าอากาศยานชั้นนำ�ทั่วโลกสมัครเข้าร่วม โครงการ รวมทั้ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งได้สมัครเข้าร่วม โครงการตั้งแต่ปี 2550 ในลำ�ดับที่ 98 ในการดำ � เนิ น โครงการ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ สำ � คั ญ เพื่ อ การสำ �รวจความพึ งพอใจของผู้โดยสารที่มาใช้บ ริการ ด้ ว ย แบบสอบถามชุดมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ในประเด็นสำ�คัญ รวม 34 หัวข้อ เช่น ระบบขนส่ง การตรวจบัตรโดยสาร การตรวจคน

42

เข้าเมือง ร้านอาหาร ร้านค้า ความสะอาด และบรรยากาศ ภายในอาคารผู้โดยสาร เป็นต้น ซึง่ การเข้าร่วมโครงการดังกล่าวของ ทอท. มีจดุ มุง่ หมาย สำ � คั ญ เพื่ อ รั บ ฟั ง ความเห็ น ของผู้ โ ดยสารที่ ม าใช้ บ ริ ก าร ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ นแต่ละหัวข้อบริการเพือ่ นำ�มาเป็น แนวทางในการปรับปรุงการบริการอย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล ในปี 2554 ทอท. ได้ตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยงที่จะส่งผล ให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้รับการจัดอันดับต่ำ�กว่าอันดับที่ 24 ด้ ว ยปั จ จั ย ภายในที่ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ มี ป ริ ม าณ ผู้โดยสารเพิ่มขึ้นมากกว่าขีดความสามารถในการรองรับของ อาคารผู้โดยสาร โดยคาดการณ์ว่าในปี 2554 นี้จะมีปริมาณ ผู้โดยสารสูงถึง 46 ล้านคน และปัจจัยภายนอกที่เกิดจากความ มีมาตรฐาน และความน่าเชือ่ ถือเป็นทีย่ อมรับของท่าอากาศยาน ชั้นนำ�ทั่วโลก ทำ�ให้มีท่าอากาศยานแห่งใหม่สมัครเป็นสมาชิก โครงการจัดอันดับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยาน เพิ่ม มากขึ้นจน ณ มิถุนายน พ.ศ. 2554 มีสมาชิกจำ�นวน 182 ท่าอากาศยาน จึงส่งผลให้เกิดการแข่งขัน เร่งรัดพัฒนา และ ปรับปรุงการบริการอย่างไม่หยุดนิ่ง ดังนั้นความพยายามที่เกิดขึ้นตลอดปี 2554 จึงเกิด โครงการสำ�คัญๆ เช่น โครงการบริหารจัดการความหนาแน่น ของผูโ้ ดยสารให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ในขณะทีโ่ ครงการพัฒนา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมริ ะยะที่ 2 อยูใ่ นระหว่างเริม่ ดำ�เนินการ และโครงการปรับปรุงระบบประเมินผลของแผนการปรับปรุง ประสิทธิภาพการให้บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมเิ ป็นต้น เพื่อลดความคับคั่งและการรอคิวของผู้โดยสาร 6. ทอท. อาจไม่สามารถเบิกจ่ายงบลงทุนได้ตามวงเงินอนุมัติ เบิกจ่าย ทอท. มีงบลงทุนประจำ�ปี 2554 ในการพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และเพิ่มเติมโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำ�นวย ความสะดวกต่างๆ ภายในท่าอากาศยานทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ ของ ทอท. ให้มีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพียงพอ ต่อการให้บริการ และลดความแออัดภายในอาคารผู้โดยสาร จากปริ ม าณการจราจรทางอากาศที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมถึ ง เพิ่ ม ระดั บ ความปลอดภั ย ให้ กั บ ผู้ ใช้ บ ริ ก ารมากขึ้ น ดังนัน้ ถ้าเกิดความล่าช้าในการเบิกจ่ายงบประมาณลงทุน ที่ไม่เป็นไปตามแผนการเบิกจ่ายที่กำ�หนดไว้ ทำ�ให้ไม่สามารถ ได้สนิ ทรัพย์เพือ่ ใช้ประโยชน์ ตามแผนงานทีก่ �ำ หนดไว้ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการเบิกจ่ายงบลงทุนของ ทอท. ได้จัดทำ�แผน เบิกจ่ายงบลงทุน มีการแต่งตั้งคณะทำ�งานเร่งรัดการเบิกจ่าย งบประมาณลงทุนประจำ�ปี และมอบหมายให้รองกรรมการ


ผู้อำ�นวยการใหญ่ทุกสายงาน ดำ�เนินการเร่งรัดการเบิกจ่าย งบประมาณลงทุนของส่วนงานในสังกัด และยังกำ�หนดตัวชี้วัด ความสามารถในการเบิกจ่ายงบประมาณลงทุนเพื่อประเมินผล สำ�เร็จของการปฏิบัติงานสำ�หรับผู้บริหาร ทอท. ทอท. ได้บริหารความเสีย่ งจากการทีไ่ ม่สามารถเบิกจ่าย งบลงทุนได้ตามวงเงินอนุมัติเบิกจ่าย โดยคณะทำ�งานบริหาร ความเสีย่ งของ ทอท. ได้ก�ำ หนดให้สว่ นงานเจ้าของงบประมาณ วิเคราะห์ความสามารถในการเบิกจ่ายในแต่ละรายการและ พิจารณาความเหมาะสมของการใช้งบประมาณเพื่อประกอบ การพิจารณาในการเบิกจ่ายต่อไป 7. ทอท. ต้ อ งบั น ทึ ก การด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ ท่ า อากาศยาน ดอนเมืองในงบการเงินของ ทอท. เนือ่ งด้วยมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 เรือ่ ง การด้อยค่า สินทรัพย์ กำ�หนดให้กิจการต้องพิจารณาการด้อยค่าสินทรัพย์ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่า กิจการจะไม่แสดงมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์สงู กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์นนั้ หาก มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่าจำ�นวนเงินที่คาดว่าจะได้ รั บ คื น จากการใช้ ห รื อ ขายสิ น ทรั พ ย์ นั้ น กรณี ดั ง กล่ า วถื อ ว่ า สินทรัพย์เกิดการด้อยค่า และมาตรฐานการบัญชีกำ�หนดให้ กิจการต้องรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำ�ไรขาดทุน อาคารและอุปกรณ์ของท่าอากาศยานดอนเมือง จำ�นวน 4,960.22 ล้ า นบาท มี ข้ อ บ่ ง ชี้ ใ นปี 2552 ว่ า สิ น ทรั พ ย์ อาจเกิ ด การด้ อ ยค่ า แต่ ยั ง ไม่ ส ามารถวั ด มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะ ได้ รั บ คื น ของสิ น ทรั พ ย์ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งได้ อ ย่ า ง น่ า เชื่ อ ถื อ เพื่ อ พิ จ ารณาว่ า สิ น ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า วด้ อ ยค่ า หรื อ ไม่ เพียงใดเนื่องจากแผนการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ส่วนใหญ่ ของท่าอากาศยานดอนเมืองคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ ได้มีมติให้สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงคมนาคม ร่วมกันศึกษา ความเหมาะสมของแนวทางการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ในการนี้ กระทรวงคมนาคมได้มอบหมายให้ ทอท. ว่าจ้างสมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) ศึกษา และสมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ ศึกษา แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดย ทอท. ได้สรุปรายงานผลการศึกษาให้กระทรวงคมนาคม เรียบร้อยแล้ว ปั จ จุ บั น ทอท. ได้ ว่ า จ้ า งบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาฯ ทดสอบ การด้ อ ยค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งโดยการ

หามู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ คื น ซึ่ ง คำ � นวณจากมู ล ค่ า จาก การใช้ของสินทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์แสดงมูลค่าสอดคล้อง กั บ ห ลั ก ก า ร ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร บั ญ ชี ฉ บั บ ดั ง ก ล่ า ว ข้ า งต้ น รายงานผลการทดสอบปรากฏว่ า สิ น ทรั พ ย์ ข อง ท่ า อ า ก า ศ ย า น ด อ น เ มื อ ง ด้ อ ย ค่ า ทั้ ง จำ � น ว น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี ถู ก ต้ อ งตามมาตรฐานการบั ญ ชี ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ทอท. จึงได้บันทึกปรับปรุงการรับรู้ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ท่าอากาศยานดอนเมือง จำ�นวน 4,906.22 ล้านบาท ย้อนหลังเสมือนมีการรับรูผ้ ลขาดทุน จากการด้อยค่าดังกล่าวตั้งแต่ปี 2552 โดยไม่มีผลต่อกำ�ไรสุทธิ ในปี 2554 อย่างไรก็ตาม การดำ�เนินการดังกล่าวยังไม่ผ่าน การตรวจสอบรับรองจากผู้สอบบัญชี (สตง.) จากการดำ � เนิ น การตามแผนบริ ห ารความเสี่ ย งในปี งบประมาณ 2554 ที่ ผ่ า นมา ทอท. ได้ บ ริ ห ารความเสี่ ย ง เป็นไปตามเป้าหมาย คือ อยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ จำ�นวน 5 เหตุการณ์ความเสี่ยงได้แก่ 1. ทอท. ไม่สามารถบริหารจัดการให้ บริษทั ผลิตไฟฟ้า และน้ำ�เย็น จำ�กัด (DCAP) ควบคุมอุณหภูมิน้ำ�เย็นที่ส่งให้ อาคารผูโ้ ดยสารและอาคารเทียบเครือ่ งบิน ได้ตามเงือ่ นไขสัญญา อย่างถาวร 2. โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต (ปีงบประมาณ 2553 - 2557) ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 3. ทอท. อาจต้องชำ�ระค่าเสียหายเป็นจำ�นวนมาก กรณีถูกฟ้องร้องจากผู้รับจ้าง 4. ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ มี ผ ลการจั ด อั น ดั บ ท่าอากาศยานต่�ำ กว่าอันดับที่ 24 ของ ASQ ในปี 2554 5. ทอท. อาจไม่สามารถเบิกจ่ายงบลงทุนได้ตามวงเงิน อนุมัติเบิกจ่าย ยกเว้ น เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี่ ย ง ทอท. ต้ อ งบั น ทึ ก การด้อยค่าสินทรัพย์ท่าอากาศยานดอนเมืองในงบการเงินของ ทอท. ซึง่ ทอท. ได้ยอมรับความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ สำ�หรับเหตุการณ์ ความเสี่ยงโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะ ที่ 2 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ยังไม่สามารถบริหารความเสี่ยง ให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ อย่างไรก็ตาม ทอท. จะพิจารณา นำ � เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี่ ย งโครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ไม่เป็นไปตามเป้าหมายเป็นเหตุการณ์ ความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยงของ ทอท. ในปีต่อไป

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

43


โครงสร้างการถือหุ้น

ทอท. มีทุนจดทะเบียน 14,285,700,000.- บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10.- บาท ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2553 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) (ทอท.) (AOT) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ชื่อ/สกุล

จำ�นวนหุ้น

ร้อยละของจำ�นวน หุ้นทั้งหมด

กระทรวงการคลัง 1,000,000,000 NORTRUST NOMINEES LTD. 71,000,000 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA 40,867,400 CHASE NOMINEES LIMITED 1 34,791,750 NORTRUST NOMINEES LIMITED-MELBOURNE BRANCH 29,469,700 FUTURE FUND CLIENTS บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 21,561,819 สำ�นักงานประกันสังคม (2 กรณี) 12,713,100 AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, 7,902,900 LIMITED-TIGER กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 4,843,100 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว (2) โดยธนาคารกรุงเทพ STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR LONDON 4,842,000 รวม 1,227,991,769

Airport 44 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

70.000 4.970 2.861 2.435 2.063 1.509 0.890 0.553 0.339 0.339 85.959


ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว รวม

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

จำ�นวนผู้ถือหุ้น 14,270 80 14,350

ร้อยละ 99.44 0.56 100.00

จำ�นวนหุ้น

ร้อยละ

1,215,766,155 212,803,845 1,428,570,000

85.10 14.90 100.00

ทอท. จะจ่ายเงินปันผลไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิที่เหลือหลังหักเงินสำ�รองต่างๆ ทุกประเภทที่ ทอท. ได้กำ�หนดไว้ อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึน้ อยูก่ บั แผนการลงทุน ความจำ�เป็น และความเหมาะสมอืน่ ๆ ในอนาคต มติคณะกรรมการ บริษัทฯ ที่อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลนั้น ให้นำ�เสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำ�นาจอนุมัติให้จ่ายได้ และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2553 เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 ได้มีมติจ่ายเงินปันผลประจำ�ปี 2553 ในอัตราหุน้ ละ 0.55 บาท รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 785,711,227.40 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 52.39 ของกำ�ไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะบริษทั ซึ่ง ทอท. ได้จ่ายเงินปันผลไปแล้ว เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

โครงสร้างเงินทุนของบริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำ�กัด (บทม.)

ในรอบปีบญ ั ชีน้ี บริษทั ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำ�กัด มีทนุ จดทะเบียน 50,000,000,000.- บาท แบ่งเป็น 500,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100.- บาท ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ชำ�ระแล้ว 39,029,000,000.- บาท และได้จดทะเบียนเลิกกิจการ ต่อกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ปัจจุบันอยู่ระหว่างการชำ�ระบัญชี

โครงสร้างเงินทุนของบริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด (รทส.)

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 บริษทั โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด มีทนุ จดทะเบียนจำ�นวน 1,017,780,000.- บาท โดยมี ทอท. เป็นผู้ถือหุ้น จำ�นวน 6,106,680 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100.- บาท ซึง่ คิดเป็นร้อยละ 60 ของหุน้ ทีอ่ อกและจำ�หน่ายแล้ว ทัง้ หมด โดยได้มกี ารชำ�ระค่าหุน้ แล้วเต็มจำ�นวน

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

45


โครงสร้างการจัดการ 1. โครงสร้างการจัดการ ผู้ถือหุ้น ทอท. คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการธรรมาภิบาล

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่

คณะกรรมการตรวจสอบ

สำ�นักตรวจสอบ

สำ�นักบริหารความเสี่ยง

เลขานุการบริษัท

ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ

สายมาตรฐานท่าอากาศยาน และอาชีวอนามัย

สายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

สายงานอำ�นวยการ

สายงานแผนงาน และการเงิน

สายงานท่าอากาศยาน ภูมิภาค

46

สายงานพัฒนาธุรกิจ และการตลาด

หน่วยธุรกิจท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ

สายงานวิศวกรรม และการก่อสร้าง

ท่าอากาศยานดอนเมือง


2. คณะกรรมการ ทอท.

ข้อบังคับ ทอท. ระบุว่า ให้บริษัทมีกรรมการคณะหนึ่งเพื่อดำ�เนินกิจการของบริษัท มีจ�ำ นวน ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน เลือกตั้งโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ต้องเป็นกรรมการอิสระ อย่างน้อยหนึ่งในสามของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการไม่น้อย กว่ากึง่ หนึง่ ของจำ�นวนกรรมการทัง้ หมดต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร โดยกรรมการต้องมีคณ ุ สมบัติ ตามที่กฎหมายและข้อบังคับ ทอท. กำ�หนด ทั้งนี้ กรรมการบริษัทอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นผู้มี ความรู้ความสามารถในด้านการบัญชีและการเงิน คณะกรรมการ ทอท. ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 มีรายชื่อดังนี้ ล�ำ ดับ

รายชื่อกรรมการ

1 พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี 2 พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ 3 พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช 4 พลตำ�รวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ 5 เรืออากาศโท นรหัช พลอยใหญ่ 6 นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ 7 นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 8 นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์ 9 นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ 10 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ 11 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 12 นายประสงค์ พูนธเนศ 13 นายสมชัย สัจจพงษ์ 14 นายวัฒนา เตียงกูล

ตำ�แหน่ง

วันที่ได้รับตำ�แหน่ง

ประธานกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำ�หนด ค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยง กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการอิสระ

29 กันยายน พ.ศ. 2554 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

29 กันยายน พ.ศ. 2554 29 กันยายน พ.ศ. 2554 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

21 มกราคม พ.ศ. 2554 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 22 มกราคม พ.ศ. 2553 29 กันยายน พ.ศ. 2554

หมายเหตุ - กรรมการในลำ�ดับที่ 7 เป็นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

47


คุณสมบัติของกรรมการ

มีคณ ุ สมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จำ�กัด ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำ�หรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 และข้อบังคับ ทอท. อาทิ - มีอายุไม่เกินหกสิบห้าปีบริบูรณ์ - เป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจรวมกันไม่เกิน 3 แห่ง - ไม่เคยได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงที่สุดให้จำ�คุก เว้นแต่เป็นโทษสำ�หรับความผิด ที่ได้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ - ไม่เป็นข้าราชการการเมืองเว้นแต่เป็นการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย - ไม่เป็นกรรมการพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง - ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออกหรือปลดออกจากราชการ หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ฐานทุจริตต่อหน้าที่ - ไม่เป็นผู้ถือหุ้นของรัฐวิสาหกิจนั้นหรือผู้ถือหุ้นของนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจนั้นถือหุ้นอยู่ - ไม่เป็นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งใดในนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ถือหุ้น เว้นแต่ คณะกรรมการ ของรัฐวิสาหกิจนัน้ มอบหมายให้ด�ำ รงตำ�แหน่งอืน่ ในนิตบิ คุ คลทีร่ ฐั วิสาหกิจนัน้ เป็นผูถ้ อื หุน้ - ไม่เป็นกรรมการ หรือผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำ นาจในการจัดการ หรือมีส่วนได้เสียในนิติบุคคล ซึง่ เป็นผูร้ บั สัมปทาน ผูร้ ว่ มทุน หรือมีประโยชน์ได้เสียเกีย่ วข้องกับกิจการของรัฐวิสาหกิจนัน้ เว้นแต่เป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผูบ้ ริหารโดยการมอบหมายของรัฐวิสาหกิจนัน้

คุณสมบัติของกรรมการอิสระ

ตามข้อบังคับของ ทอท. กำ�หนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ทอท. ให้ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ อย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน ในปี 2554 คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้ ว ย กรรมการอิ ส ระ 9 คน ซึ่ ง เกิ น กว่ า จำ � นวน ที่ข้อบังคับ ทอท. กำ�หนด และได้ก�ำ หนดคุณสมบัติกรรมการอิสระของ ทอท. ที่มีหลักเกณฑ์เข้มงวด กว่าหลักเกณฑ์ขั้นต่ำ�ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และในปี 2554 คณะกรรมการ ทอท. มีการปรับปรุง คุณสมบัติกรรมการอิสระ ตามความเห็นของคณะกรรมการธรรมาภิบาล ดังนี้ (1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดใน ทอท. บริษทั ในเครือ บริษัทร่วมทุนหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (2) ไม่มสี ว่ นร่วมในการบริหารงาน รวมทัง้ ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือน ประจำ� รวมถึงที่ปรึกษาตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาด้านอื่นๆ หรือไม่ เป็นผู้มีอำ�นาจควบคุม ทอท. บริษัท ในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือไม่เป็นบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง โดยต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียในลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็น เวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี (3) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ เช่น เป็นลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้/ลูกหนี้การค้า หรือเจ้าหนี้/ ลูกหนี้เงินกู้ เป็นต้น รวมทั้งไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทัง้ ในด้านการเงินและการบริหารงานของ ทอท. บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่จะทำ�ให้ขาดความเป็นอิสระ

48


(4) ไม่เป็นญาติสนิทหรือมีความสัมพันธ์อื่นที่อาจทำ �ให้ขาดความเป็นอิสระกับผู้บริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ ทอท. บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง รวมทั้งไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการ และ/หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (5) กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ทอท. ให้ตัดสินใจในการดำ�เนิน กิจการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจ ในรูปแบบขององค์คณะได้ (Collective Decision)

การแต่งตั้งและการพ้นตำ�แหน่งของกรรมการ

1. ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการโดยใช้เสียงข้างมาก โดยผู้ถือหุ้นรายหนึ่งมีคะแนน เสียงเท่ากับจำ�นวนหุ้นที่ตนถือในการเลือกตั้งกรรมการหนึ่งคน ทั้งนี้ บุคคลซึ่งได้รับ คะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมา เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคล ซึ่งได้รับการเลือกตั้งใน ลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งใน ครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด 2. ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งตามวาระ 1 ใน 3 เป็นอัตรา ถ้าจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะออกจากตำ�แหน่งตามวาระแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วน ไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวน ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่ง ในปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้กรรมการจับสลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนในปีทสี่ ามและปีหลังต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นตำ�แหน่งนานทีส่ ดุ เป็นผูอ้ อกจาก ตำ�แหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ก็ได้ 3. นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (มีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัท) (3) ที่ประชุมมีมติออก (4) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (5) ขาดการประชุมคณะกรรมการเกิน 3 ครั้ง ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (6) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่กำ�หนดไว้ในกฎหมาย หรือในข้อบังคับบริษัท (7) ศาลมีคำ�สั่งให้ออกหรือพ้นจากตำ�แหน่ง (8) ต้องคำ�พิพากษาให้จำ�คุก (9) มีอายุครบ 65 ปี (มีผลนับแต่วันถัดจากวันที่มีอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์) 4. ในกรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ น นอกจากถึ ง คราวออกตามวาระ คณะกรรมการ อาจเลือกตัง้ บุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามทีก่ �ำ หนด ไว้ในข้อบังคับบริษทั เข้าเป็นกรรมการแทน ในตำ�แหน่งทีว่ า่ งในการประชุมคณะกรรมการ คราวถัดไปก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจากตำ�แหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน มติของคณะกรรมการต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ �นวน กรรมการ ทีย่ งั เหลืออยู่ บุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตำ�แหน่งได้เพียงเท่าวาระ ที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

49


บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

50

1. ดำ�เนินกิจการของ ทอท. ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติทปี่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ รวมทัง้ จะต้องระมัดระวังและรักษาผลประโยชน์ของ ทอท. และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด 2. กำ�หนดทิศทาง เป้าหมาย นโยบายทางธุรกิจ และกำ�กับควบคุมดูแลให้ฝา่ ยบริหารดำ�เนินการ ให้เป็นไปตามนโยบายและระเบียบของ ทอท. อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใต้ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการและความมั่งคั่ง สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น 3. รายงานการมีส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ผู้ถือหุ้นทราบ ซึ่ง เป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกิจการของ ทอท. หรือบริษัทย่อย และ รายงานข้อมูลเพิ่มเติมทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง 4. จัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีทมี่ คี วามน่าเชือ่ ถือ รวมทัง้ ดูแลให้มกี ระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายในให้มีประสิทธิภาพ 5. แต่งตั้งเลขานุการบริษัท ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อ ทำ�หน้าทีจ่ ดั ทำ�และเก็บรักษาเอกสาร และการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน กำ� หนด และเพื่ อช่ ว ยดำ� เนิ น กิ จกรรมต่ า งๆ ของคณะกรรมการและ ทอท. ได้แก่ การประชุมคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้น ตลอดจนการให้คำ�แนะนำ�แก่กรรมการ และ ทอท. ในการปฏิบัติตนและดำ�เนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง ต่างๆ อย่างสม่�ำ เสมอ อีกทั้งดูแลให้กรรมการและ ทอท. มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส 6. ประเมินผลงานของกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่อย่างสม่�ำ เสมอ และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ให้สอดคล้องกับผลการดำ�เนินงาน 7. บทวนและให้ความเห็นชอบกับกลยุทธ์และนโยบายทีส่ �ำ คัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ทางการเงินและแผนงานต่างๆ ของ ทอท. และติดตามให้ผบู้ ริหารมีการปฏิบตั ติ ามแผนงาน ทิศทางและกลยุทธ์องค์กรอย่างสม่�ำ เสมอ 8. จัดให้มีการพิจารณาถึงปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญที่อาจเกิดขึ้นและกำ�หนดแนวทางการบริหาร จัดการความเสี่ยงดังกล่าวอย่างครอบคลุม ดูแลให้ผู้บริหารมีระบบหรือกระบวนการที่มี ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจที่อาจ จะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว 9. จัดให้มกี ารทำ�งบดุล และบัญชีก�ำ ไรขาดทุน และรายงานการตรวจสอบบัญชีของผูส้ อบบัญชี ั ชีของบริษทั เสนอต่อ พร้อมทัง้ รายงานประจำ�ปีของคณะกรรมการ ณ วันสิน้ สุดรอบปีบญ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญประจำ�ปีเพือ่ พิจารณาอนุมตั ภิ ายในกำ�หนด 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี (30 กันยายน ของทุกปี) 10. จัดให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุมและข้อมติทั้งหมดของที่ประชุมผู้ถือหุ้นและ ของที่ประชุมคณะกรรมการไว้ในรูปแบบของรายงานการประชุมที่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยถูกต้อง และให้เก็บรักษารายงานการประชุมไว้ ณ สำ�นักงานของบริษัท เมื่อประธาน กรรมการบริษัทผู้เป็นประธานการประชุมซึ่งได้ลงมติ ในการประชุมถัดจากครั้งนั้นมา ลงลายมือชื่อพร้อมกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ผู้เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ให้ถือว่า


เป็นหลักฐานอันถูกต้องของเรื่องที่ปรากฏอยู่ในรายงานการประชุมนั้น และให้ถือว่ามติ และการพิจารณา ที่บันทึกไว้ได้ด�ำ เนินการไปโดยถูกต้อง 11. จัดส่งเอกสารดังต่อไปนี้ให้ผู้ถือหุ้น พร้อมกับหนังสือนัดประชุมสามัญประจำ�ปี (1) สำ�เนางบดุลและบัญชีกำ�ไรขาดทุนที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้ว พร้อมทั้งรายงาน การตรวจสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี (2) รายงานประจำ�ปีของ ทอท. จัดให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่าง เหมาะสมและมีการประเมินผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้มั่นใจว่ามีความ ถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชื่อถือและมีมาตรฐานสูง

การประชุมคณะกรรมการ

ทอท. ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกำ�หนดให้ มีการประชุมไว้เป็นทางการเป็นการล่วงหน้าทุกวันพฤหัสบดีที่สามของเดือน ประชุมเดือนละครั้ง เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้อย่างสม่ำ�เสมอ ในการประชุมแต่ละครั้ง ประธานกรรมการจะแจ้งให้ที่ประชุมทราบถึงกำ�หนดการประชุมครั้งถัดไปด้วยเสมอ เว้นแต่กรณี มีวาระพิเศษ ประธานกรรมการหรือกรรมการตามจำ�นวนที่กฎหมายกำ�หนดสามารถเรียกประชุม เพิ่มเติมได้ตามความจำ�เป็น ก่อนการประชุม สำ�นักเลขานุการบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระ การประชุมและเอกสารประกอบการประชุมที่มีสารสนเทศสำ�คัญครบถ้วน ในรูปแบบเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ให้กรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อนการประชุมแต่ละครั้ง โดยปกติ ระเบียบวาระการประชุมจะกำ�หนดขึ้นโดยการพิจารณาร่วมกันระหว่างประธาน กรรมการ ทอท. และกรรมการผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ นอกจากนี้ กรรมการสามารถเสนอเรือ่ งเข้าพิจารณา ได้เช่นกัน ในปีงบประมาณ 2554 คณะกรรมการ ทอท. มีการประชุมทั้งหมด 15 ครั้ง โดยเป็น การประชุมนอกสถานที่ 1 ครั้ง ที่ท่าอากาศยานภูเก็ต ซึ่งส่วนใหญ่กรรมการจะเข้าร่วมประชุม ครบถ้วน เว้นแต่ติดภารกิจสำ�คัญเร่งด่วนจะแจ้งให้ทราบล่วงหน้าเสมอ ในการประชุมทุกครัง้ ประธานกรรมการจะทำ�หน้าทีป่ ระธานในทีป่ ระชุม ดูแลให้มกี ารพิจารณา ในแต่ละวาระอย่างรอบคอบและเปิดโอกาสให้กรรมการทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและอภิปราย ร่วมกัน และให้ผบู้ ริหารระดับสูง เข้าร่วมประชุมเพือ่ ชีแ้ จงข้อมูลในฐานะผูเ้ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั งิ าน โดยตรงจนเป็นที่พอใจก่อนการลงมติในแต่ละวาระ ซึ่งการประชุมปกติแต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ ก่อนการประชุม ประธานกรรมการจะเชิญกรรมการร่วมหารือถึงประเด็นต่างๆ ทั้งในแต่ละวาระ และนอกเหนือจากวาระการประชุมโดยที่ไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารหรือผู้บริหาร เข้าร่วมประชุมด้วย เลขานุการบริษัทได้จัดทำ�รายงานการประชุมเก็บไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีข้อมูลที่ ครบถ้วน และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองแล้วจากคณะกรรมการ ทอท. เพื่อให้ กรรมการและผูเ้ กีย่ วข้องตรวจสอบได้ โดยมีระบบการจัดเก็บทีด่ ี สามารถสืบค้นได้งา่ ย และไม่สามารถ แก้ไขโดยไม่ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท.

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

51


การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการแต่ละคน (จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม/จำ�นวนครั้งที่ ประชุมทั้งหมด) สรุปได้ดังนี้ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554 คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ รายชื่อ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำ�หนดค่า ธรรมา บริหาร คณะ กรรมการ บริษัท ตรวจสอบ สรรหา ตอบแทน ภิบาล ความเสี่ยง

1. พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี 2. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ 3. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช 4. พลตำ�รวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ 5. เรืออากาศโท นรหัช พลอยใหญ่ 6. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ 7. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 8. นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์ 9. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ 10. นายวุฒศิ กั ดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ 11. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 12. นายประสงค์ พูนธเนศ 13. นายสมชัย สัจจพงษ์ 14. นายวัฒนา เตียงกูล 15. นายมานิต วัฒนเสน 16. นายชวนชัย อัชนันท์ 17. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต 18. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ 19. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ 20. นายธีรพล นพรัมภา 21. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

1/1 14/15 15/15

7/8

3/3

13/13

1/1

3/3

1/1 1/1 12/15 12/13 3/3 14/15 10/10 1/1 6/8 14/15 12/15 3/3 8/15 1/1 9/15 0/1 9/15 1/1 4/6 6/6 8/8 10/10 1/2 12/13 2/2 6/6 13/13 13/13 3/3

4/4

1/2 3/4 3/4

หมายเหตุ - กรรมการในลำ�ดับที่ 1 ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 10/2554 เมือ่ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 4 ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 10/2554 เมือ่ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 5 ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 10/2554 เมือ่ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 8 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 14 ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 10/2554 เมือ่ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 15 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 16 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 17 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2554

52


- กรรมการในลำ�ดับที่ 18 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. และทุกตำ�แหน่งที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ทอท. โดยมีผล ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป เนื่องจาก เป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาจ้างผู้บริหารในตำ�แหน่งกรรมการ ผู้อำ�นวยการใหญ่ ซึ่งอายุครบ 60 ปี วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554 จากนั้นได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ทอท. เมื่อ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 และลาออกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 19 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 20 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 21 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554

การประเมินตนเองของคณะกรรมการ

ทอท. ได้กำ�หนดไว้ในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ให้คณะกรรมการ ทอท. ต้องมี การประเมินตนเองรายปี เพือ่ ใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านในหน้าทีข่ องคณะกรรมการ และร่วมกันพิจารณาผลงาน และปัญหาเพื่อปรับปรุงแก้ไขผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตามแนวทางการประเมินของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลังทีก่ �ำ หนด ไว้ในเอกสาร “แนวทางการดำ�เนินงานของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจอย่างมีประสิทธิผล” ในการประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 14/2553 เมือ่ วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ทีป่ ระชุม มีมติเห็นชอบแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ทอท. ตามทีค่ ณะกรรมการธรรมาภิบาล เสนอ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบประเมินตนเองของกรรมการ (Self Assessment) และ แบบประเมินผลคณะกรรมการ (Board Evaluation) ทอท. ได้สรุปผลการประเมิน ของคณะกรรมการ ทอท. โดยกำ�หนดเป็นวาระแจ้งให้คณะกรรมการ ทอท. ทราบ และมีขอ้ เสนอแนะจากการประเมินผล เพื่อให้ ทอท. นำ�มากำ�หนดแนวทางที่จะปรับปรุงแก้ไข หรือแนวทางที่ทำ�ให้การปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการมีประสิทธิภาพอย่างเป็นรูปธรรม โดยสรุปผลการประเมินได้ดังนี้ 1. การประเมินผลคณะกรรมการ (Board Evaluation) แบบประเมินแบ่งเป็น 6 ส่วน มีค�ำ ถาม ทั้งหมด 42 ข้อ มีหัวข้อประเมิน ดังนี้ - โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ - บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ - แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ - การสื่อสารของคณะกรรมการ - ความสัมพันธ์ของคณะกรรมการกับฝ่ายบริหาร - การจัดเตรียมและดำ�เนินการประชุม สรุปการประเมินผลคณะกรรมการในภาพรวม เห็นว่าประสิทธิภาพในการทำ�งานอยูใ่ นเกณฑ์ ดีเยี่ยมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 96.34 2. การประเมินตนเองของกรรมการ (Self Assessment) แบบประเมินประกอบด้วย 6 ส่วน มีค�ำ ถามทั้งหมด 32 ข้อ มีหัวข้อประเมิน ดังนี้ - ความโดดเด่นในความรู้ความสามารถ (Core Competency) - ความเป็นอิสระ (Independence) - ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) - ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ (Practice as a Director) - การปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) - การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว (Vision to Create Long – Term Value)

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

53


สรุปการประเมินตนเองของกรรมการในภาพรวม เห็นว่าประสิทธิภาพในการทำ�งานอยู่ใน เกณฑ์ดี มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 87.80 ทั้งนี้ คณะกรรมการได้ให้ความเห็นเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ในการพิจารณาทำ�ให้สามารถ ไตร่ตรองได้อย่างรอบคอบมากขึ้น ฝ่ายเลขานุการสามารถประสานงานและจัดทำ �เอกสารข้อมูล ให้กรรมการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ ทอท. ได้จัดเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ เช่น ข้อบังคับ ทอท. คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับบริษัทจดทะเบียน หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีส�ำ หรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 และ คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. เป็นต้น นอกจากนี้ ทอท. ยังได้จัดการบรรยายสรุปเกี่ยวกับ ลักษณะธุรกิจของ ทอท. ผลประกอบการ แผนการดำ�เนินงานในอนาคต ประเด็นต่างๆ ทีม่ นี ยั สำ�คัญ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ ตลอดจนอำ�นาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำ� หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทจดทะเบียน โดยผู้บริหารที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฏหมาย

การพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูง ทอท.

คณะกรรมการ ทอท. ให้ความสำ�คัญในการเข้าอบรมหรือสัมมนาในหลักสูตรต่างๆ เพือ่ พัฒนา ความรู้ความสามารถ โดยหลักสูตรที่ได้จัดให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงเข้าอบรมกับสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หรือ IOD แล้ว ได้แก่ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) หลักสูตร Director Certification Program (DCP) หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) และ ทอท. ยังได้มีการประสานกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งกรรมการและผู้บริหาร เข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่างๆ ตามที่สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทยจัดขึ้น รวมทั้งสนับสนุนให้เลขานุการบริษัทและผู้ที่ต้องทำ�หน้าที่เกี่ยวข้อง เข้ารับการ อบรมหลักสูตรสำ�หรับเลขานุการบริษัท Company Secretary Program (CSP) เพื่อรับทราบบทบาท หน้าที่ ตามที่กฎหมายกำ�หนด หลักสูตร Effective Minute Taking (EMT) เพื่อเป็นมาตรฐานของ การจัดทำ�บันทึกรายงานการประชุม รูปแบบของรายงานการประชุม แนวทางการบันทึกรายงาน การประชุม ประเด็นการกำ�กับดูแลกิจการ กฎหมาย และข้อกำ�หนดที่ควรปฏิบัติ หลักสูตร Board Reporting Program (BRP) เพื่อจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมนำ�เสนอกรรมการ ทั้งรายงาน ทางการเงิน และรายงานที่ไม่ใช่ทางการเงิน รวมทั้งเขียนรายงานเพื่อแสดงความคิดเห็นในประเด็น สำ�คัญ และหลักสูตร Company Reporting Program (CRP) เพื่อช่วยให้เลขานุการบริษัทและ ผูบ้ ริหารระดับสูงสามารถจัดเตรียมข้อมูลได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามหลักกฎหมายและกฎเกณฑ์ เพื่อทำ�ให้ผู้มีส่วนได้เสียเกิดความเชื่อมั่นและยอมรับบริษัท คณะกรรมการ ทอท. ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมการดำ�เนินงานของท่าอากาศยานภูเก็ต ตลอดจนรับทราบแผนการพัฒนา และปัญหาข้อขัดข้อง เพื่อเป็นข้อมูลสำ �หรับคณะกรรมการฯ ใช้ประกอบการพิจารณาเรือ่ งต่างๆ ของท่าอากาศยานภูเก็ต ระหว่างวันที่ 28 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554 พร้อมทั้งได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการฯ ในโอกาสดังกล่าวด้วย คณะกรรมการ ทอท. ได้เดินทางไปดูงานท่าอากาศยานมิวนิก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งเป็นท่าอากาศยานที่ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงเป็น Sister Airport เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านเทคโนโลยีการบริหารท่าอากาศยาน และท่าอากาศยานฮีทโธรว์ สหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่

54


13-20 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 นอกจากนี้ คณะกรรมการฯ ได้มมี ติอนุมตั ใิ นหลักการให้คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ และคณะทำ�งานทีม่ กี รรมการ ทอท. เป็นประธาน เดินทางไปดูงานท่าอากาศยาน ต่างประเทศ ด้วยเล็งเห็นว่าการเดินทางไปดูงานท่าอากาศยานต่างประเทศของคณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการชุดย่อยต่างๆ มีความสำ�คัญและความจำ�เป็น เพื่อให้เกิดการพัฒนาหรือการให้ บริการด้านต่างๆ ของท่าอากาศยานทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของ ทอท. อย่างมีประสิทธิภาพ เนือ่ งจาก วิทยาการและเทคโนโลยีก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา เป็นการเปิดโลกทัศน์ และนำ�เอาประสบการณ์ที่ ได้รับมาปรับใช้ในการกำ�หนดนโยบาย และให้ข้อเสนอแนะการดำ�เนินงานแก่ ทอท. ได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม การเดินทางไปดูงานต้องคำ�นึงถึงความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร อนึ่ง ทอท. ได้ว่าจ้าง บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำ�กัด เป็นที่ปรึกษาทางด้าน กฎหมายที่เกี่ยวกับบริษัทจดทะเบียนเพื่อให้ค�ำ แนะนำ�ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหารต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ และความระมัดระวัง ทอท. จึงได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย มาให้ความรู้กับผู้บริหารตั้งแต่ระดับ ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายขึน้ ไปทราบเกีย่ วกับบทบาทและหน้าทีข่ องกรรมการและผูบ้ ริหารตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ปัจจุบัน คณะกรรมการ ทอท. มีประสบการณ์ด้านการอบรมหลักสูตรสำ�หรับกรรมการที่จัด โดยสถาบันการศึกษาชั้นสูงทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ดังนี้ การกำ�กับดูแลกิจการ Director Director ผู้บริหาร สำ�หรับกรรมการ Accredi- Certifica- Audit ระดับสูง และผู้บริหารระดับสูง tation tion Committee (สถาบัน ของรัฐวิสาหกิจ Program Program Program วิทยาการ และองค์การมหาชน รายชื่อกรรมการ (IOD) (IOD) (IOD) ตลาดทุน) (สถาบันพระปกเกล้า) 1. พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี - 110/2008 - - 2. พลอากาศเอก ระเด่น 73/2008 107/2008 - พึ่งพักตร์ 29/2009 3. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ 26/2004 122/2009 - - รัตนวานิช 4. พลตำ�รวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ - 108/2008 - - 5. เรืออากาศโท นรหัช ThaiAir - - วตท. พลอยใหญ่ 2004 รุ่นที่ 11 6. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ - 79/2006 - วตท. รุ่นที่ 7 7. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 79/2009 122/2009 22/2008 วตท. รุ่นที่ 9 8. นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์ - - - - 9. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ - - - - 10. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ 80/2009 126/2009 - - 11. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 51/2006 92/2007 22/2008 วตท. รุ่นที่ 11 12. นายประสงค์ พูนธเนศ - 76/2006 - -

รุ่นที่ 4 รุ่นที่ 5 รุ่นที่ 8 รุ่นที่ 5 -

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

55


การกำ�กับดูแลกิจการ Director Director ผู้บริหาร สำ�หรับกรรมการ Accredi- Certifica- Audit ระดับสูง และผู้บริหารระดับสูง tation tion Committee (สถาบัน ของรัฐวิสาหกิจ Program Program Program วิทยาการ และองค์การมหาชน รายชื่อกรรมการ (IOD) (IOD) (IOD) ตลาดทุน) (สถาบันพระปกเกล้า) 13. นายสมชัย สัจจพงษ์ - 75/2006 - วตท. รุ่นที่ 2 14. นายวัฒนา เตียงกูล - - - - 15. นายมานิต วัฒนเสน - - - วตท. รุ่นที่ 11 16. นายชวนชัย อัชนันท์ - 107/2008 - - 17. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต - 105/2008 - วตท. รุ่นที่ 10 18. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ 80/2009 126/2009 - - 19. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ 79/2009 - - - 20. นายธีรพล นพรัมภา - - - - 21. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ - 116/2009 26/2009 -

รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 4 รุ่นที่ 4 รุ่นที่ 2

3. คณะกรรมการชุดย่อย

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยกลั่นกรองงานที่สำ�คัญ ตามข้อบังคับ ทอท. มีวาระอยู่ในตำ�แหน่งคราวละ 1 ปี โดย 1 ปี ในที่นี้ หมายถึงช่วงเวลาระหว่าง การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของปีที่ได้รับการแต่งตั้ง และการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในปีถัดไป มีหน้าที่ รับผิดชอบตามที่กำ�หนดในกฎบัตรทั้งหมด 5 ชุด ดังนี้

3.1 คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบตามข้อบังคับ ทอท. ซึ่งกำ�หนดให้ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องมี ความรูด้ า้ นบัญชีและการเงิน โดยมีคณ ุ สมบัติ ตามทีก่ ฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กำ�หนด ในปี 2554 มีการประชุม 13 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน ทุกคนเป็นกรรมการอิสระ ดังรายชื่อต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ (1) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (2) พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (3) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช (4) นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

หมายเหตุ - กรรมการตรวจสอบในลำ�ดับที่ 1 มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน และมีความสามารถในการสอบทาน งบการเงินของ ทอท.

56


คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง โดยเชิญผู้อื่นที่ไม่ใช่ กรรมการตรวจสอบเข้าร่วมการประชุมครัง้ หนึง่ ครัง้ ใดด้วยหรือไม่กไ็ ด้ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดขึน้ ในการประชุมแต่ละครั้งต้องมีกรรมการตรวจสอบเข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนที่มีอยู่ ทั้งหมดจึงถือเป็นองค์ประชุม การลงมติ ให้ประธานและกรรมการตรวจสอบมีเสียงคนละหนึ่งเสียง และให้ถือคะแนนเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ กรณีที่มีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานมีสิทธิลงคะแนน อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำ หนดให้ ทอท. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีจากสำ�นักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ปีละ 2 ครั้ง ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่สูงกว่าที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กำ�หนดไว้ปีละ 1 ครั้ง

หน้าที่และความรับผิดชอบ (1) สอบทานผลการปฏิบัติงานภายใน ทอท. ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ทอท. และหรือ ฝ่ายบริหาร ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า จะเป็นประโยชน์ตอ่ การกำ�กับดูแลให้การปฏิบตั งิ านของ ทอท. และส่วนงาน ของ ทอท. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวตั ถุประสงค์โดยสอดคล้อง กับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (2) สอบทานระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง ระบบการตรวจสอบ ภายในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศของ ทอท. ให้รัดกุม มีประสิทธิผล ตามกรอบมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล (3) สอบทานการปฏิบัติงานของ ทอท. ให้เป็นไปตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และข้อกำ�หนดด้านจริยธรรม (4) สอบทานให้ ทอท. ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของ ทอท. (5) สอบทานความถู ก ต้ อ งและเหมาะสมของมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ ใช้ และ สอบทานรายงานทางการเงินของ ทอท. และส่วนงาน ทอท. ให้มคี วามถูกต้อง ตรงตามที่ควรเชื่อถือได้ และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไปและมาตรฐานการบัญชีสากล (6) พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้ง เข้าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อย ปีละสองครั้ง (7) ส่งเสริมความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และสนับสนุนการปฏิบัติงานของ สำ�นักตรวจสอบให้มีความเป็นอิสระ เที่ยงตรง และเป็นไปตามมาตรฐาน สากล รวมทั้งส่งเสริมให้มีการประสานงานระหว่างฝ่ายบริหารของ ทอท. ผู้สอบบัญชี และสำ�นักตรวจสอบ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

57


(8) ศึกษาหนังสือทีผ่ สู้ อบบัญชีมถี งึ ผูบ้ ริหาร ทอท. แจ้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการแก้ไขจุดอ่อน รายการผิดปกติ หรือข้อบกพร่องที่มีนัยสำ�คัญ ทีพ่ บจากการตรวจสอบ พิจารณา และให้ขอ้ คิดเห็นต่อคณะกรรมการ ทอท. โดยอาจสอบถาม ขอข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้สอบบัญชีก่อน เพื่อความเข้าใจ ที่ถูกต้องในหนังสือดังกล่าว และติดตามเพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสังเกตและ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการ ทอท. และนำ�ไปสู่การปฏิบัติ ในกรณีที่ข้อสังเกต หรือข้อเสนอแนะใดไม่ได้รับ การพิจารณา หรือดำ�เนินการโดยไม่มีเหตุผลอันควร ให้หารือฝ่ายบริหาร และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง (9) ให้คำ�แนะนำ�ในการแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย และเลิกจ้างผู้อำ�นวยการ สำ�นักตรวจสอบต่อคณะกรรมการ ทอท. (10) พิจารณาความดีความชอบประจำ�ปีของผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักตรวจสอบ ร่วมกับ กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ และพิจารณาความเหมาะสมของการแต่งตั้ง โยกย้าย และพิจารณาความดีความชอบของพนักงานในสำ�นักตรวจสอบ ร่วมกับผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบ และกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (11) กำ�กับดูแล แนะนำ� และสนับสนุนการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระของสำ�นัก ตรวจสอบ สอบทานรายงานการตรวจสอบของสำ�นักตรวจสอบ เพื่อให้ รายงานการตรวจสอบมีคุณภาพ เป็นประโยชน์ สามารถใช้ปรับปรุงการ ปฏิบตั งิ านของส่วนงาน ทอท. และให้มกี ารนำ�ข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ ไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ มี่ สี ว่ นช่วยลดระดับความเสีย่ งด้านต่างๆ ของ ทอท. สูร่ ะดับ ที่ยอมรับได้ (12) ให้ความเห็นชอบแผนงาน แผนการตรวจสอบประจำ�ปี แผนอัตรากำ�ลัง และแผนพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะของบุคลากรสำ�นัก ตรวจสอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ การตรวจสอบเป็นไปอย่างครอบคลุม ทัง้ ด้าน การเงิน การบัญชี และการปฏิบัติการ พร้อมทั้งติดตามผลการปฏิบัติงาน ตามแผนการต่างๆ เหล่านั้น (13) พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สงู สุด ต่อ ทอท. (14) จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี ของ ทอท. ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของ รายงานทางการเงินของ ทอท.

58


2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ ทอท. 3) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ ทอท. 4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วม ประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละคน 7) ความเห็น หรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 8) รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่า ผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการ ทอท. (15) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย ทั้งนี้ ต้องอยู่ใน ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ (16) สอบทานข้อสรุปและหลักฐานประกอบในกรณีทพี่ นักงานหรือผูบ้ ริหารอาจ มีการกระทำ�อันเป็นการทุจริตหรือใช้อำ�นาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นผล ให้ ทอท. ได้รับความเสียหาย นำ�เสนอผลการสอบทานดังกล่าวต่อคณะ กรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาโดยเร็ว (17) ให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทบทวนข้อบังคับ ระเบียบ ข้อกำ�หนด คำ�สั่ง ประกาศ และแนวทางปฏิบัติของ ทอท. เกี่ยวกับการกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ ของสำ�นักตรวจสอบ เป็นระยะทุกหนึ่งปี เพื่อให้มั่นใจได้เสมอว่ายังคงมี ความเหมาะสม ทันสมัย และสำ�นักตรวจสอบ คงความเป็นอิสระอย่าง เพียงพอในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ในการนี้ ให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ นำ�เสนอข้อจำ�กัดและจุดอ่อนทีอ่ าจมีอยูต่ อ่ คณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาแก้ ไข ปรับปรุง ในการดำ�เนินงานตามข้อ 1 – 17 ข้างต้น ให้คณะกรรมการตรวจสอบคำ�นึงถึงความมีสาระสำ�คัญของเรื่องที่อาจมี ผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของ ทอท. (18) จัดทำ� กฎบัต รคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Charter) เสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยกฎบัตรที่จัดทำ�ขึ้น ต้องครอบคลุมประเด็นต่างๆ เพื่อใช้เป็นกรอบกำ�หนดโครงสร้าง อำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ และสอบทาน กฎบัตรดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับการปฏิบตั งิ านจริง

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

59


3.2 คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการ ทอท. มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาตามข้ อ บั ง คั บ ทอท. ซึ่งกำ�หนดให้ประกอบด้วย กรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ แต่ปัจจุบัน คณะกรรมการสรรหาทุกคนเป็นกรรมการอิสระ ในปี 2554 มีการประชุม 3 ครั้ง คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. จำ�นวน 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง

(1) พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

ประธานกรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)

(2) นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)

(3) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)

หน้าที่และความรับผิดชอบ (1) กำ�หนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหากรรมการ ทอท. (2) สรรหาและคัดเลือกบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ตามระเบียบและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กำ�หนด แล้วนำ�เสนอคณะกรรมการ ทอท. (3) เพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการ ทอท.เสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อ พิจารณาแต่งตั้งกรรมการ ทอท. แทนกรรมการที่พ้นจากตำ �แหน่งตาม ข้อบังคับดำ�เนินการอื่นตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย

3.3 คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนตามข้อบังคับ ทอท. ซึง่ กำ�หนดให้ตอ้ งประกอบด้วยกรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ส่วนกรรมการ อีก 2 คน เป็นกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมในการทำ�หน้าทีค่ ณะกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทน ในปี 2554 มีการประชุม 1 ครั้ง คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. จำ�นวน 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้

60

รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง

(1) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ)

(2) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

(3) นายประสงค์ พูนธเนศ

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน


หน้าที่และความรับผิดชอบ (1) พิจารณาแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ทอท. (2) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำ�หนดค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ให้แก่ กรรมการ ทอท. ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล และนำ�เสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ (3) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่บุคคลภายนอก ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ทำ�งาน และนำ�เสนอ คณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ

3.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาล

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลตามข้อบังคับ ทอท. ซึ่งกำ�หนดให้ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ แต่ปัจจุบัน คณะกรรมการธรรมาภิบาลประกอบด้วยกรรมการอิสระ ทัง้ 3 คน ในปี 2554 มีการประชุม 3 ครัง้ คณะกรรมการธรรมาภิบาล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง

(1) นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

ประธานกรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(2) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(3) นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(4) กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่

กรรมการธรรมาภิบาล

หมายเหตุ : กรรมการในลำ�ดับที่ (3) ลาออกเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554

หน้าที่และความรับผิดชอบ (1) กำ�หนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. (2) ตรวจสอบและให้คำ�แนะนำ�ในเรื่องหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. แก่คณะกรรมการ ทอท. เพื่อให้เกิดการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการ ที่กระทรวงการคลังและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด รวมทั้ง หลักปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล (3) จัดทำ�คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. และปรับปรุงสาระสำ�คัญใน คู่มือดังกล่าวให้ทันสมัย และมีความเป็นสากลอยู่เสมอ (4) ปรับปรุงจรรยาบรรณของ ทอท. ให้เหมาะสม ทันสมัย และกำ�หนดแนวทาง ปฏิบัติให้สอดคล้องกับจรรยาบรรณที่กำ�หนดไว้ (5) ประชาสัมพันธ์นโยบายและแนวทางปฏิบัติ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของ ทอท. (6) รายงานผลการดำ�เนินงานต่อคณะกรรมการ ทอท. เป็นระยะ (7) แต่งตั้งคณะทำ�งานเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานได้ตามความเหมาะสม (8) ปฎิบัติงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

61


3.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงตามข้อบังคับ ทอท. ซึ่งกำ�หนดให้ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน ในปี 2554 มีการประชุม 4 ครั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. 4 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง

(1) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

(2) นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ)

(3) นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ)

(4) กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่

กรรมการบริหารความเสี่ยง

หมายเหตุ : กรรมการในลำ�ดับที่ (2) ลาออกเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554 และกรรมการในลำ�ดับที่ (3) ลาออก เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554

62

หน้าที่และความรับผิดชอบ (1) กำ � หนดนโยบาย แนวทาง และกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง รวมถึ ง การสอบทานและทบทวนเป็ น ประจำ � อย่ า งน้ อ ยทุ ก ปี เพื่ อ ให้ แ น่ ใจว่ า นโยบาย แนวทาง และกรอบการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว ยังคงสอดคล้อง และเหมาะสมกับสภาพการดำ�เนินธุรกิจในภาพรวม และกิจกรรมการบริหาร ความเสี่ยงของ ทอท. (2) พิจารณากำ�หนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ขององค์กร (3) รับทราบ พิจารณา และให้ความเห็นชอบในผลการประเมินความเสี่ยง แนวทางและมาตรการจัดการความเสี่ยง และแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการ ความเสีย่ งทีเ่ หลืออยูข่ อง ทอท. เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า ทอท. มีการบริหารความเสีย่ ง ที่เพียงพอและเหมาะสม (4) กำ�กับดูแล สนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงประสบความสำ �เร็จในระดับ องค์กร เสนอแนะวิธีป้องกัน และวิธีลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ ติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนการดำ�เนินงาน เพื่อ ลดความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับสภาวะการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อ ให้มั่นใจว่าความเสี่ยงได้รับการบริหารจัดการอย่างเพียงพอและเหมาะสม (5) ให้ค�ำ แนะนำ� และการสนับสนุนแก่คณะกรรมการ ทอท. ฝ่ายบริหาร ทอท. และคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยงของ ทอท. ในเรื่องการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์กร รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุนให้มกี ารปรับปรุง และพัฒนาระบบ การบริหารความเสี่ยงภายใน ทอท. อย่างต่อเนื่องและสม่�ำ เสมอ (6) กำ�กับ ดูแล และติดตามประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหาร ความเสี่ยง รวมถึงการปฏิบัติตามนโยบาย แนวทาง กรอบ และกระบวนการ บริหารความเสี่ยง โดยฝ่ายบริหารและส่วนงานต่างๆ ทั่วทั้งองค์กร


(7) กำ � หนดให้ มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ประจำ � ทุ ก ไตรมาส หรือเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่เป็นสาระสำ�คัญต่อการดำ�เนินงานของ ทอท. หรือตามที่ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงจะเห็นสมควร (8) รายงานความเสี่ ย งที่ สำ � คั ญ ขององค์ ก ร รวมถึ ง สถานะของความเสี่ ย ง แนวทางในการจัดการความเสี่ยง ความคืบหน้า และผลของการบริหาร ความเสี่ยงให้แก่คณะกรรมการ ทอท. เพื่อรับทราบในทุกไตรมาส (9) สือ่ สารแลกเปลีย่ นข้อมูล และประสานงานเกีย่ วกับความเสีย่ ง และการควบคุม ภายในกับคณะกรรมการตรวจสอบ (10) แต่ง ตั้ง คณะทำ� งาน และ/หรื อฝ่ า ยบริ หาร ทอท. เพื่ อให้ ก ารสนั บสนุ น กระบวนการและกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้ตามความเหมาะสมและ ความจำ�เป็น (11) มอบหมายอำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบข้างต้นให้แก่คณะทำ�งาน บริหารความเสีย่ งของ ทอท. ดำ�เนินการแทนคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ในกรณีจ�ำ เป็น

4. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ทอท. มีนโยบายการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการเฉพาะเรือ่ งไว้อย่างชัดเจนและ โปร่งใส มีคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนทำ�หน้าที่พิจารณาทบทวน โดยคำ�นึงถึงความเหมาะสม และสอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน และธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุมมี มติอนุมัติค่าตอบแทนเบี้ยประชุมกรรมการประจำ�ปี 2554 และเงินโบนัสคณะกรรมการประจำ�ปี บัญชี 2553 ดังนี้

4.1 ค่าตอบแทนกรรมการ

(1) ค่าตอบแทนรายเดือน คนละ 30,000.- บาท หากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้ คำ�นวณตามสัดส่วนของเดือน (2) ค่าเบีย้ ประชุมต่อครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม คนละ 20,000.- บาท หากเดือนใดมีการประชุม เกิน 1 ครั้ง คงให้ได้เบี้ยประชุมเพียง 1 ครั้ง

4.2 ค่าตอบแทนกรรมการชุดย่อย

4.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ค่าตอบแทนรายเดือน คนละ 20,000.- บาท เดือนใดไม่มกี ารประชุม คงให้ได้รบั ค่าตอบแทนด้วย และหากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้ค�ำ นวณตามสัดส่วน ของเดือน 4.2.2 กรรมการ ทอท. ที่ได้รับแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ ทอท. ให้เป็นกรรมการ อนุกรรมการ หรือผูท้ �ำ งานในคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำ�งาน ชุดย่อยอื่นๆ ให้ได้รับค่าเบี้ยประชุมต่อครั้งที่เข้าประชุม คนละ 15,000.- บาท และให้ได้รับค่าตอบแทนรวมทั้งสิ้น ไม่เกินเดือนละ 30,000.- บาทต่อคน ทั้งนี้ ไม่รวมค่าตอบแทนของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

63


4.3 ประธานและรองประธานของทุกคณะได้เพิ่มอีกร้อยละ 25 และ 12.5 ตามลำ�ดับ

4.4 กำ�หนดวงเงินค่าตอบแทนของกรรมการ ทอท. ประจำ�ปีงบประมาณ 2554 ไม่เกิน 17,000,000.- บาท

4.5 กำ�หนดวงเงินโบนัสกรรมการ ทอท. ประจำ�ปีงบประมาณ 2553 (1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553)

กำ � หนดให้ จ่ า ยเงิ น โบนั ส ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.5 ของเงิ น ปั น ผลจ่ า ย โดยหลั ก เกณฑ์ การจัดสรรเป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการกำ�หนด ทัง้ นี้ ไม่เกิน 1,000,000.- บาทต่อคน ยกเว้นกรรมการ ผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ (กอญ.) ซึง่ เป็นหนึง่ ในคณะกรรมการของ ทอท. ทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั เงินโบนัสกรรมการ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553) หน่วย : บาท ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

64

รายชื่อกรรมการบริษัท พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ นายประสงค์ พูนธเนศ นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ นายมานิต วัฒนเสน นายชวนชัย อัชนันท์ นายสมชัย สัจจพงษ์ นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ รวม

เงินโบนัส 289,620.00 289,620.00 289,620.00 172,870.00 289,620.00 289,620.00 289,620.00 362,025.00 289,620.00 289,620.00 289,620.00 289,620.00 200,866.00 200,866.00 95,740.50 3,928,567.50


4.6 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ทอท. และคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในปี 2554

(1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 30 กันยายน พ.ศ. 2554) หน่วย : บาท คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ รายชื่อ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำ�หนด ธรรมา บริหาร ชุดย่อย กรรมการบริษัท บริษัท ตรวจสอบ สรรหา ค่าตอบแทน ภิบาล ความเสีย่ ง อื่นๆ

รวม

1. พลอากาศเอก 22,500.00 22,500.00 สุเมธ โพธิ์มณี 2. พลอากาศเอก 530,475.81 161,935.48 50,000.00 162,500.00 904,911.29 ระเด่น พึ่งพักตร์ 3. พลอากาศเอก 523,225.81 240,000.00 12,500.00 40,000.00 86,250.00 901,975.81 บุรีรัตน์ รัตนวานิช 4. พลตำ�รวจตรี 22,000.00 22,000.00 พีรพันธุ์ เปรมภูต ิ 5. เรืออากาศโท 22,000.00 22,000.00 นรหัช พลอยใหญ่ 6. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ 503,225.81 240,000.00 25,000.00 358,750.00 1,126,975.81 7. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 523,225.81 179,564.52 15,000.00 717,790.33 8. นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์ 349,677.42 349,677.42 9. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ 523,225.81 153,750.00 676,975.81 10. นายวุฒิศักดิ์ 488,225.81 50,000.00 120,000.00 658,225.81 ลาภเจริญทรัพย์ 11. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 453,225.81 10,000.00 62,500.00 118,750.00 644,475.81 12. นายประสงค์ พูนธเนศ 483,225.81 249,375.00 732,600.81 13. นายสมชัย สัจจพงษ์ 468,225.81 468,225.81 14. นายวัฒนา เตียงกูล 22,000.00 22,000.00 15. นายมานิต วัฒนเสน 133,548.39 50,000.00 183,548.39 16. นายชวนชัย อัชนันท์ 133,548.39 20,000.00 153,548.39 17. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต 251,209.67 251,209.67 18. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ 293,225.81 293,225.81 19. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ 487,225.81 25,000.00 35,000.00 145,000.00 692,225.81 20. นายธีรพล นพรัมภา 426,491.93 426,491.93 21. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ 489,225.81 288,333.33 40,000.00 30,000.00 25,000.00 872,559.14 รวม 7,148,935.52 1,109,833.33 115,000.00 22,500.00 130,000.00 127,500.00 1,489,375.00 10,143,143.85 หมายเหตุ - กรรมการในลำ�ดับที่ 1 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2554 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 4 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2554 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 5 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2554 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

65


- กรรมการในลำ�ดับที่ 8 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 14 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2554 เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 15 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 16 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 17 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 18 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. และทุกตำ�แหน่งที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ทอท. โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป เนื่องจาก เป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาจ้างผู้บริหารในตำ�แหน่งกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ ซึ่งอายุครบ 60 ปี วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554 จากนั้นได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 และลาออกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 19 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 20 ลาออกจากตำ�แหน่งประธานกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 - กรรมการในลำ�ดับที่ 21 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554 - คณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ ทอท. ได้แก่ คณะอนุกรรมการกฎหมาย คณะอนุกรรมการพิจารณาการเงินและ การลงทุนของ ทอท. คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ คณะอนุกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ คณะอนุกรรมการบริหาร ความเสีย่ งหนีต้ า่ งประเทศของ ทอท. คณะอนุกรรมการตรวจสอบแก้ปญ ั หาด้านเทคนิคฯ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะอนุกรรมการเพือ่ ตรวจสอบงาน ด้านกฎหมาย คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานชดเชยผลกระทบด้านเสียง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลการจัดทำ�และการบริหารงานให้เป็นไปตามแผนวิสาหกิจของ ทอท. คณะทำ�งานพิจารณาดำ�เนินงานกับบริษัทร่วมทุน ของ ทอท. คณะอนุกรรมการพิจารณาเรียกเก็บเงินค่าตอบแทน KPS คณะอนุกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ทอท. คณะทำ�งานพิจารณา มาตรการให้ความช่วยเหลือสายการบินและผู้ประกอบการ คณะทำ�งานตรวจสอบและประเมินผลกระทบที่ ทอท. ได้รับจาก TAGS คณะทำ�งานตรวจสอบ ข้อเท็จจริง และคณะอนุกรรมการสอบทานฐานะทางการเงินแล้วให้ข้อเสนอต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

4.7 ค่าตอบแทนผู้บริหาร

เกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนผูบ้ ริหารระดับสูง หรือ กรรมการผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ คณะอนุ ก รรมการพิ จ ารณากำ � หนดผลตอบแทนของกรรมการผู้ อำ � นวยการใหญ่ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการ ทอท. และผู้แทนกระทรวงการคลัง (สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย รั ฐ วิ ส าหกิ จ ) จะพิ จ ารณากำ � หนดอั ต ราค่ า ตอบแทนของกรรมการผู้ อำ � นวยการใหญ่ รวมถึ ง กรอบการพิจารณาปรับอัตราค่าตอบแทนในแต่ละปีภายใต้ กรอบอัตราค่าตอบแทนขั้นต่�ำ - ขั้นสูง ที่กระทรวงการคลังได้ให้ความเห็นชอบไว้แล้ว ทั้ ง นี้ การพิ จ ารณาปรั บ ค่ า ตอบแทนของกรรมการผู้ อำ � นวยการใหญ่ ในแต่ ล ะปี จะพิจารณาจากผลการประเมินการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินที่คณะกรรมการ ทอท. กำ�หนด เกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนผู้บริหาร ทอท. การกำ�หนดโครงสร้างเงินเดือนของพนักงาน และลูกจ้าง ทอท. จะกำ�หนดเทียบเคียง จากอัตราการจ่าย และผลการสำ�รวจค่าตอบแทนของบริษัทชั้นนำ� ซึ่งอยู่ในธุรกิจด้านการบิน โดยเปรียบเทียบจากหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมาย สำ�หรับการปรับเงินเดือนประจำ�ปีของผู้บริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายหรือเทียบเท่า ขึ้นไปนั้น คณะกรรมการ ทอท. จะเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยในปีงบประมาณ 2554 คณะกรรมการ ทอท. ได้มอบอำ�นาจให้กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่มีอำ�นาจในการบริหารหรือ พิจารณาความดีความชอบประจำ�ปีให้กบั พนักงานและลูกจ้างประจำ� ตัง้ แต่ระดับผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายหรือ เทียบเท่าขึ้นไป โดยจะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน รายบุคคล ประกอบกับผลการปฏิบัติงาน ตามเป้าหมายที่ได้ก�ำ หนดไว้ล่วงหน้าของแต่ละสายงานด้วย

66


ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ทอท. มีตำ�แหน่งผู้บริหารตามนิยามในประกาศ คณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ. 23/2551 จำ�นวนทั้งสิ้น 11 ตำ�แหน่ง ประกอบด้วย 1. นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) รักษาการ ผู้อำ�นวยการใหญ่ 2. นายสมชัย สวัสดีผล รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและการก่อสร้าง) 3. ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร ผู้อำ�นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ 4. นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี (สายงานแผนงานและการเงิน) 5. นายนิตินัย ศิริสมรรถการ รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด) 6. นาวสาวศศิศุภา สุคนธทรัพย์ รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานอำ�นวยการ) 7. นางพูลศิริ วิโรจนาภา ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) 8. นางสาววิไลวรรณ นัดวิไล รองผูอ้ �ำ นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายงานอำ�นวยการ) 9. นายนพปฎล มงคลสินธุ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายบัญชี 10. นายสุนทร สิทธิธนาลาภ ผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงิน 11. นายสมบูรณ์ น้อยน้�ำ คำ� ผู้อำ�นวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ปี 2554 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 หน่วย : ล้านบาท

ค่าตอบแทน

ปี 2553 จำ�นวน ราย

เงินเดือน โบนัสและอื่นๆ

จำ�นวน เงิน

13 33,834,110.20 13 13,565,661.67

ปี 2554 จำ�นวน ราย

จำ�นวน เงิน

11 23,949,660.00 11 16,878,351.50

• ค่าตอบแทนอื่น - เงินสวัสดิการกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ทอท. ได้จดทะเบียนจัดตั้งกองทุนฯ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2537 โดย ทอท. จะจ่ายเงินสมทบ ให้แก่สมาชิกแต่ละรายเพื่อเข้ากองทุนภายในวันเดียวกับที่สมาชิกจ่ายเงินสะสม เข้ากองทุนของสมาชิกในอัตรา ตามจำ�นวนปีที่ทำ�งาน ดังต่อไปนี้

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

67


(1) ผูท้ มี่ จี �ำ นวนปีทที่ �ำ งานไม่เกิน 10 ปี จ่ายให้ในอัตราร้อยละ 9 ของค่าจ้าง (2) ผู้ที่มีจำ�นวนปีที่ทำ�งานเกินกว่า 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี จ่ายให้ในอัตรา ร้อยละ 10 ของค่าจ้าง (3) ผู้ที่มีจำ�นวนปีที่ทำ�งานเกินกว่า 20 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี จ่ายให้ในอัตรา ร้อยละ 12 ของค่าจ้าง (4) ผู้ที่มีจำ�นวนปีที่ทำ�งานเกินกว่า 25 ปีขึ้นไป จ่ายให้ในอัตราร้อยละ 15 ของค่าจ้าง หน่วย : ล้านบาท ค่าตอบแทน

เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

ปี 2553

ปี 2554

จำ�นวน ราย

จำ�นวน เงิน

จำ�นวน ราย

จำ�นวน เงิน

13

3,096,819.00

11

2,996,907.90

5. การสรรหากรรมการและผู้อ�ำ นวยการใหญ่ ทอท. 5.1 การสรรหากรรมการ

คณะกรรมการ ทอท. แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. 3 คน มีหน้าที่สรรหาบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการ โดยพิจารณาบุคคลที่มีประสบการณ์ คุณสมบัติเฉพาะด้านต่างๆ ที่คณะกรรมการยังขาดอยู่ และมีความจำ�เป็นต่อธุรกิจ ทอท. เป็นลำ�ดับ แรก เพือ่ ให้องค์ประกอบของคณะกรรมการ ทอท. มีความสมบูรณ์ สามารถปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์ ของ ทอท. และผู้ถือหุ้น คณะกรรมการสรรหาจะพิจารณาคุณสมบัติบุคคลที่ได้รับการสรรหา ดังนี้ (1) มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่างๆ ซึ่ง เป็นประโยชน์และเพิ่มมูลค่าให้ ทอท. (2) มีคุณสมบัติสอดคล้องตามข้อบังคับ ทอท. พระราชบัญญัติว่าด้วยคุณสมบัติ มาตรฐานสำ�หรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3) มีคุณลักษณะที่ส่งเสริมการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการ ความเป็นอิสระ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ (Accountability) ความระมัดระวัง (Care) และ ความซื่อสัตย์ (Loyalty) อุทิศเวลาอย่างเต็มที่ เป็นต้น (4) คณะกรรมการสรรหาจะเลือกตั้งกรรมการทดแทนกรรมการที่ออกจากตำ�แหน่ง เมื่อครบวาระ เสนอคณะกรรมการ ทอท.ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอขออนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปี (5) การเลือกตั้งกรรมการทดแทนตำ�แหน่งที่ว่างในกรณีอื่นที่มิใช่เนื่องมาจากการ ครบวาระ ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. โดยบุคคลที่เข้ามา เป็นกรรมการทดแทน จะมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการที่ตนแทน

68


5.2 การสรรหาผู้อ�ำ นวยการใหญ่ ทอท.

(1) คณะกรรมการ ทอท. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้อำ�นวยการใหญ่ ทอท. ซึ่ง ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. 5 คน พร้อมทั้ง กำ�หนดกรอบอำ�นาจหน้าที่ใน การดำ � เนิ น การเพื่ อ สรรหาผู้ อำ � นวยการใหญ่ ทอท. ให้ เ ป็ น ไปตามความใน พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำ�หรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2543 และ (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2550 โดยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้อง ห้ามตามมาตรา 8 ตรี (1) (3) (4) (5) (6) (11) และ (12) รวมทั้งตามคุณสมบัติเฉพาะ ตำ�แหน่งที่คณะกรรมการ ทอท. ได้เห็นชอบในหลักการ (2) คณะกรรมการสรรหาผู้อำ�นวยการใหญ่ ทอท. ดำ�เนินการเพื่อสรรหาบุคคลที่มี ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เหมาะสมที่จะเป็นผู้บริหารของ ทอท. ซึ่งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 8 ตรี (1) (3) (4) (5) (6) (9) (10) (11) และ (12) แห่ง พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำ�หรับกรรมการและ พนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2550 (3) การสรรหาให้ ใช้ วิ ธี ป ระกาศรั บ สมั ค รอย่ า งเปิ ด เผยตามสื่ อ ต่ า งๆ อย่ า งน้ อ ย 2 ประเภท (4) เมือ่ สรรหาได้ผทู้ มี่ คี วามเหมาะสมแล้ว คณะกรรมการสรรหาผูอ้ ำ�นวยการใหญ่ ทอท. เสนอชื่อต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณา (5) คณะกรรมการ ทอท. ส่งรายชือ่ ผูท้ ผี่ า่ นการคัดเลือกพร้อมประวัตแิ ละคุณสมบัตใิ ห้ คณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทนของผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ ทอท. (คณะกรรมการ ทอท. แต่งตั้ง) เพื่อพิจารณาผลตอบแทน (6) คณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทนของผู้อำ�นวยการใหญ่ ทอท. ดำ�เนินการ ในการพิจารณากำ�หนดผลตอบแทน เงื่อนไขการจ้าง และรายละเอียดสัญญาจ้าง รวมทั้งเจรจาต่อรองเรื่องผลตอบแทนกับผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ตามหลักเกณฑ์ และแนวทางการจ่ายผลตอบแทนฯ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2543 และวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2547 โดยมีประเด็นสำ�คัญที่ควรพิจารณา ดังนี้ (6.1) การกำ � หนดเงิ น ค่ า ตอบแทน ต้ อ งพิ จ ารณาให้ เ หมาะสมสอดคล้ อ งกั บ คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้ที่จะมาเป็น ผูบ้ ริหารสูงสุด ตลอดจนภารกิจและเป้าประสงค์ทจี่ ะมอบหมายให้รบั ผิดชอบ ดำ�เนินการให้บรรลุต่อไป (6.2) การทำ�สัญญาจ้าง ต้องกำ�หนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่จะต้องดำ�เนินการ ให้ได้ผลในระยะเวลาที่กำ�หนด สำ�หรับประเมินผู้บริหารสูงสุด (6.3) เพื่อให้ได้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการอย่างแท้จริง ต้องกำ�หนดระดับความสำ�เร็จของเป้าหมายหรือพันธกิจของรัฐวิสาหกิจ ที่ต้องการให้ผู้บริหารสูงสุดเข้ามารับผิดชอบ หรือดำ�เนินการ รวมทั้งตัวชี้วัด อย่างชัดเจน หากไม่สามารถดำ�เนินการให้บรรลุผลได้ ก็สามารถยกเลิก สัญญาจ้างได้ (7) คณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทนผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ ทอท. เสนอผลการพิจารณา ตามข้อ (6) พร้อมร่างสัญญาจ้างต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณา แล้วเสนอ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

69


กระทรวงการคลัง ให้ความเห็นชอบ (8) เมื่อกระทรวงการคลังให้ความเห็นชอบค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างแล้ว ทอท. เสนอผู้มีอำ�นาจแต่งตั้ง (ตามกฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจนั้น) เพื่อแต่งตั้ง โดย ในการทำ�สัญญาจ้าง ให้ประธานกรรมการ ทอท. หรือกรรมการที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการ ทอท. (ในกรณีที่ไม่มีประธาน) เป็นผู้ลงนามในสัญญาจ้าง

6. อำ�นาจหน้าที่ของผู้อ�ำ นวยการใหญ่ ทอท.

ตามข้อบังคับ ทอท. กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของผู้อ�ำ นวยการใหญ่ ไว้ดังนี้ ผู้อ�ำ นวยการใหญ่ ทอท. มีอ�ำ นาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารบริษัท ตามที่คณะกรรมการ จะมอบหมายและจะต้องบริหารตามแผนงานหรืองบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการอย่าง เคร่งครัด ซือ่ สัตย์สจุ ริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ อย่างดีทสี่ ดุ อำ�นาจ หน้าที่ของผู้อำ�นวยการใหญ่ ทอท. ให้รวมถึงเรื่องหรือกิจกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ดำ�เนินกิจการ และ/หรือบริหารงานประจำ�วันของ ทอท. (2) บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย พนักงานและลูกจ้าง ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตำ�แหน่งตามระเบียบ ที่คณะกรรมการ ทอท. กำ�หนด แต่ถ้าเป็นพนักงานระดับฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ทอท. ก่อน (3) ดำ�เนินการให้มีการจัดทำ�และส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของ ทอท. รวมถึงแผนงานและ งบประมาณต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อขออนุมัติ และมีหน้าที่รายงานความก้าวหน้า ตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ทอท. ตาม ระยะเวลาที่คณะกรรมการ ทอท. เห็นสมควร (4) ดำ�เนินการ และ/หรือปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทอท. (5) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ ทอท.

7. แผนการสืบทอดตำ�แหน่งและการพัฒนาผู้บริหาร

ปัจจุบัน ทอท. อยู่ระหว่างการจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่งในตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ ผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของ ทอท. โดยในเบื้องต้นได้มีการสำ�รวจและ วิเคราะห์เกี่ยวกับตำ�แหน่งของผู้บริหารระดับสูงที่จะเกษียณอายุในอีก 3 ปีข้างหน้า รวมถึงเตรียม คัดเลือกบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพและความเหมาะสมทีจ่ ะทดแทนตำ�แหน่ง ซึง่ บุคคลทีม่ ศี กั ยภาพดังกล่าว จะต้องผ่านกระบวนการคัดเลือกด้วยเครื่องมือวัดเชิงจิตวิทยา (Psychometrics) และการสัมภาษณ์ แบบตัวต่อตัวและขึ้นบัญชีรายชื่อ (Executive List) เพื่อรับการพัฒนาให้มีความพร้อมสำ�หรับ การสืบทอดตำ�แหน่งที่จะว่างลงต่อไป

8. การประเมินผลการปฏิบัติงานผู้อ�ำ นวยการใหญ่ ทอท.

คณะอนุกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อำ�นวยการใหญ่ ทอท. ซึ่งแต่งตั้งโดย คณะกรรมการ ทอท. จะพิจารณาประเมินผลการปฏิบตั งิ านของผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ ทอท. ทุก 6 เดือน ซึ่งในแต่ละปี คณะอนุกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อำ�นวยการใหญ่ ทอท. จะวัดผล การดำ � เนิ น งานของผู้ อำ � นวยการใหญ่ ทอท. ในรอบปี ที่ ผ่ า นมาตามตั ว ชี้ วั ด ที่ กำ � หนดไว้ เ ป็ น เป้าหมายจากแผนการดำ�เนินงานที่เสนอต่อคณะกรรมการ ทอท. ซึ่งแผนการดำ�เนินงานดังกล่าว จะต้องครอบคลุมด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านการพัฒนาธุรกิจ ด้านการเงิน ด้านลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และพัฒนา

70


9. บุคลากรและค่าตอบแทนพนักงาน บุคลากร

จำ�นวนบุคลากรที่ทำ�งานเต็มเวลาที่ว่าจ้างโดย ทอท. ให้ทำ�งาน ณ สำ�นักงานใหญ่ และ ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง (ไม่รวมแรงงานจัดจ้างภายนอก Outsource Worker) ปรากฏตามตาราง ดังต่อไปนี้ หน่วย : คน

ณ วันที่ 30 กันยายน สำ�นักงานใหญ่ 1.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2.ท่าอากาศยานดอนเมือง 3.ท่าอากาศยานเชียงใหม่ 4.ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 5.ท่าอากาศยานภูเก็ต 6.ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย รวม

2554

2553

2552

2551

2550

1159 2,568 281 189 175 281 137 4,790

820 2,625 480 173 142 222 108 4,570

778 2,562 543 172 135 222 105 4,517

788 2,563 554 172 139 214 105 4,535

764 2,579 503 161 142 173 107 4,429

การบริหารท่าอากาศยานสากลทั้ง 6 แห่ง ของ ทอท. บุคลากรเป็นทรัพยากรที่มีความสำ�คัญ และสัมพันธ์โดยตรงกับคุณภาพของการให้บริการด้านต่างๆ ในท่าอากาศยานซึง่ เปิดให้บริการตลอด 24 ชัว่ โมง ดังนัน้ ผูป้ ฏิบตั งิ านส่วนใหญ่จะปฏิบตั งิ านเวรในงานทีต่ อ้ งเตรียมความพร้อมเพือ่ การแก้ไข ปัญหาและงานกะในงานที่จะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ทอท. ยังจัดจ้างบริษัทในงานที่ ไม่จำ�เป็นต้องใช้ทักษะหรือกึ่งทักษะ ซึ่งต้องใช้แรงงานจำ�นวนมาก เช่น งานรักษาความปลอดภัย รวมทั้ง งานที่ต้องการทักษะความชำ�นาญเฉพาะสูง เช่น เจ้าหน้าที่กู้และทำ�ลายวัตถุระเบิด โดย ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ทอท. มีจ�ำ นวนบุคลากรรวมทั้งสิ้น 4,790 คน และแรงงานจัดจ้าง ภายนอกอีกประมาณ 9,448 คน ทอท. เชือ่ ว่า ปัจจุบนั อัตราค่าตอบแทนพนักงานอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมกับอัตราค่าตอบแทน ของตลาดโดยมีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงาน ประกอบด้วย เงินเดือนค่าจ้าง โบนัส เงินเบีย้ เลีย้ ง และเงินช่วยเหลือต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าที่พักสำ�หรับการเดินทางไปปฏิบัติงานต่างจังหวัด ค่าช่วยเหลือการศึกษา และอืน่ ๆ ค่าตอบแทนพนักงานยังรวมถึงเงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพของ พนักงานแต่ละคน ซึง่ เป็นหน้าทีท่ ี่ ทอท. ต้องจ่ายให้โดยจ่ายเงินสมทบให้เป็นรายเดือนตามอายุงาน คือ อายุงานไม่เกิน 10 ปี จ่ายในอัตราร้อยละ 9 ของเงินเดือน อายุงานเกินกว่า 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี จ่ายในอัตราร้อยละ10 ของเงินเดือน อายุงานเกินกว่า 20 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี จ่ายในอัตราร้อยละ 12 ของเงินเดือนและอายุงานเกินกว่า 25 ปี ขึ้นไป จ่ายในอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือน โดยพนักงาน สามารถเลือกที่จะจ่ายเงินสะสมเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือนตามอายุงาน ของพนักงาน ซึ่งจะได้รับเงินดังกล่าวต่อเมื่อเสียชีวิต เกษียณอายุ หรือถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด ตามที่ก�ำ หนดไว้ในข้อบังคับกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ โดยชำ�ระให้เป็นเงินก้อนในครั้งเดียว นอกจากนี้ ยังมีกองทุนสงเคราะห์ซึ่งมีพนักงานเป็นสมาชิกเก่า 10 คน จากข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 โดยจะไม่มีการรับสมาชิกใหม่เพิ่ม ทั้งนี้ ทอท. ได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน ทั้งสองกองทุนเป็นประจำ�ทุกเดือน รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

71


การกำ�กับดูแลกิจการ

ทอท. มีการบริหารงานโดยยึดถือแนวปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยตระหนัก ถึงความสำ�คัญ และความรับผิดชอบที่มีต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียของ ทอท. อย่างต่อเนื่อง รวมถึงคณะกรรมการ ทอท. ได้ให้ความสำ�คัญต่อการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อ เพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในปี 2554 ทอท. ได้ปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามที่ก�ำ หนดใแต่ละด้าน สรุปผลการดำ�เนินงาน ดังนี้

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

(1) ทอท. ตระหนักถึงความสำ�คัญของผูถ้ อื หุน้ และสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในความเป็นเจ้าของ ซึ่งควบคุม ทอท. โดยผ่านคณะกรรมการ ทอท. ที่เลือกตั้งเข้ามา และมีสิทธิในการ ตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำ คัญ ทอท. จึงได้ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิ ของตน และได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน โดยดำ�เนินการให้ผู้ถือหุ้นได้รับ ข้อมูล ข่าวสารของ ทอท. ที่ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา สิทธิในการเข้าร่วม ประชุมผูถ้ อื หุน้ การให้สทิ ธิ ผูถ้ อื หุน้ รายหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับจำ�นวนหุน้ ทีต่ นถือ ลงคะแนนในเรื่องที่ส�ำ คัญๆ ของ ทอท. รวมทั้งการมีส่วนแบ่งในกำ�ไร สิทธิการมอบ ฉันทะให้บคุ คลอืน่ เข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน สิทธิการแสดงความคิดเห็น และซักถามในการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อร่วมตัดสินใจในเรื่องสำ�คัญของ ทอท. เช่น การจัดสรรเงินกำ�ไร การเลือกตัง้ กรรมการ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี กำ�หนดจำ�นวนเงินค่าสอบบัญชี และการอนุมตั ธิ รุ กรรมทีส่ �ำ คัญทีม่ ผี ลต่อ ทิศทางการดำ�เนินธุรกิจของ ทอท. เป็นต้น โดยคณะกรรมการ ทอท. ได้กำ�หนด นโยบายธรรมาภิบาลไว้ชัดเจนว่า ทอท. จะส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิขั้นพื้นฐาน โดย ทอท. จะไม่กระทำ�การใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือจำ�กัดสิทธิของผู้ถือหุ้น (2) ทอท. ได้ให้ความสำ�คัญต่อการประชุมผู้ถือหุ้น โดยเน้นเรื่องการจัดสถานที่ที่ เหมาะสมและสะดวกต่อการเดินทางของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ ทอท. ได้จดั รถรับผูถ้ อื หุน้ จาก กรมการขนส่งทางบกมาประชุม และจัดรถส่งผู้ถือหุ้นเมื่อเลิกประชุม โดย ทอท. ได้ จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อวันศุกร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 14.00 น. ณ ห้องจัดเลีย้ ง อาคารสโมสรท่าอากาศยาน ชัน้ 2 สำ�นักงานใหญ่ ทอท. (3) ทอท. ได้จัดส่ง หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยหนังสือเชิญประชุมมีขอ้ มูลรายละเอียด ประกอบวาระการประชุม รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ผ่านมาพร้อมความเห็น ของคณะกรรมการ ทอท. หนังสือมอบฉันทะทุกแบบตามที่ กระทรวงพาณิชย์ก�ำ หนด คำ�ชี้แจงวิธีการมอบฉันทะ ข้อบังคับ ทอท. เฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น รายชื่อ และรายละเอียดของกรรมการอิสระจำ�นวน 2 ราย ที่เสนอให้เป็นผู้รับมอบ ฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ เงื่อนไข หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติในการเข้าร่วมประชุม การมอบฉันทะและการออกเสียง ลงคะแนน แผนที่แสดงสถานที่ประชุม ส่งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม รวมทั้ง ลงประกาศในหนังสือพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน นอกจากนี้ ทอท. ได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุม กำ�หนดการประชุม และข้อมูล

72


(4)

(5)

(6)

(7)

ต่างๆ เกีย่ วกับระเบียบวาระการประชุม และหนังสือมอบฉันทะทุกแบบทางเว็บไซต์ ของ ทอท. เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมมากกว่า 30 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลา พิจารณารายละเอียดของแต่ละวาระ สำ�หรับผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วย ตนเอง ทอท. ได้เสนอให้มอบอำ�นาจให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลอืน่ เข้าร่วมประชุม และลงคะแนนเสียงแทน ในวันประชุม ทอท. ได้อำ�นวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย ให้ความมั่นใจ ด้านการรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ถือหุ้น กำ�หนดจุดตรวจเอกสาร จุดบริการรับลงทะเบียนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยให้ผู้ถือหุ้นสามารถลง ทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุมไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง และ ต่อเนื่อง จนกว่าการประชุมจะแล้วเสร็จ โดยจัดเจ้าหน้าที่อำ�นวยความสะดวกใน การลงทะเบียนให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะ ที่เข้าร่วมประชุม รวมถึงการใช้ ระบบบาร์โค้ดในการลงทะเบียน และการนับคะแนนเพื่อความสะดวกรวดเร็วของ ผู้ถือหุ้น การจัดเตรียมอากรแสตมป์ไว้ให้บริการแก่ผู้ถือหุ้นที่มอบฉันทะให้บุคคล อื่นเข้าร่วมประชุมแทน และการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วย คณะกรรมการ ทอท. และผูบ้ ริหารของ ทอท. ได้ให้ความสำ�คัญในการเข้าร่วมประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่กรรมการทีต่ ดิ ภารกิจสำ�คัญไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ทัง้ นี้ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อวันศุกร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554 กรรมการที่เข้าประชุมประกอบด้วย ประธานกรรมการ ทอท. ทำ�หน้าที่ ประธาน ในทีป่ ระชุม ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการธรรมาภิบาล กรรมการธรรมาภิบาล ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ ผู้บริหาร ระดั บ สู ง รวมถึ ง หั ว หน้ า เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารด้ า นการเงิ น หรื อ CFO ร่ ว มชี้ แจง รายละเอียดวาระต่างๆ ตอบข้อซักถามและรับฟังข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้น โดยจัด ให้มีผู้สอบบัญชีของ ทอท. และที่ปรึกษากฎหมายเข้าร่วมประชุมกรณีมีข้อโต้แย้ง ตลอดการประชุ ม พร้ อ มทั้ ง ทำ � หน้ า ที่ ต รวจสอบหนั ง สื อ มอบฉั น ทะและเป็ น สักขีพยานในการตรวจสอบบัตรลงคะแนน ซึ่ง ทอท. ได้ดำ�เนินการอย่างครบถ้วน ตามที่กฎหมายกำ�หนด ในการประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมดำ�เนินไปตามลำ�ดับของระเบียบวาระการประชุม ที่ก�ำ หนดไว้ในหนังสือเชิญประชุมที่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า และเปิดโอกาส ให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถาม เรื่องต่างๆ ในแต่ละวาระ โดยก่อนเริ่ม การประชุมทุกครัง้ ประธานในทีป่ ระชุมจะอธิบายถึงวิธกี ารลงคะแนน การนับคะแนน การใช้บัตรลงคะแนน และสิทธิของผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน โดย ทอท. ได้เปิดเผย ผลการนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้น และแสดงผลสรุปของคะแนนเสียงทุกระเบียบ วาระอย่ า งชั ด เจนในห้ อ งประชุ ม และได้ จั ด ให้ มี อ าสาสมั ค รจากผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น สั ก ขี พ ยานในการนั บ คะแนนด้ ว ย ซึ่ ง ทอท. จะลงคะแนนเสี ย งและเปิ ด เผย ผลการนับคะแนนในแต่ละวาระอย่างชัดเจน โปร่งใส เพื่อรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น ประธานกรรมการดำ � เนิ น การประชุ ม อย่ า งเหมาะสมและโปร่ ง ใส จั ด สรรเวลา การประชุมอย่างเพียงพอ โดยในระหว่างการประชุม จะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้แสดง รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

73


ความคิดเห็น และซักถามอย่างทั่วถึง ก่อนจะลงคะแนนและสรุปมติที่ประชุมแต่ละ วาระ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและเสนอคำ�ถาม ที่เกี่ยวกับ การดำ�เนินงานของบริษทั ในระหว่างการประชุม ถ้าคำ�ถามใดไม่เกีย่ วกับการพิจารณา ในวาระนั้นๆ ประธานกรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงจะนำ�ไปตอบข้อซักถามใน วาระเรือ่ งอืน่ ๆ เพือ่ ให้การใช้เวลาในการพิจารณา แต่ละวาระเป็นไปอย่างเหมาะสม (8) ทอท. ให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่มาลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ภายหลังเริ่มการประชุมแล้ว และมีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนน ในวาระที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ ลงมติ (9) ทอท. ได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ถือหุ้น อย่างสม่ำ�เสมอผ่านช่องทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเว็บไซต์ของ ทอท. และดำ�เนินงานอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม (10) ทอท. จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงจาก เลขานุการบริษัท หรือศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ และจัดให้ผู้ถือหุ้นไปเยี่ยมชมกิจการ ท่าอากาศยานเพื่อความเข้าใจในธุรกิจของ ทอท. (11) ทอท.ได้จัดทำ�รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และส่งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หลังการประชุม เสร็จสิ้น 14 วัน หลังการประชุมเสมอ โดยได้บันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และชัดเจนเกี่ยวกับรายชื่อกรรมการที่เข้าร่วมประชุม คำ�ชี้แจงที่เป็นสาระสำ�คัญ คำ�ถาม-คำ�ตอบ หรือข้อคิดเห็น โดยสรุปมติที่ประชุมแยกเป็นคะแนนที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง รวมถึงเผยแพร่รายงานการประชุมเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษผ่านเว็บไซต์ของ ทอท. www.airportthai.co.th เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ได้รับข้อมูลข่าวสารรวดเร็ว และส่งรายงานการประชุมให้ผู้ถือหุ้นทราบและรับรอง โดยไม่ต้องรอรับรองรายงานในการประชุมครั้งต่อไป (12) ทอท. เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมอย่างชัดเจนไว้ใน เว็บไซต์ ทอท. และรายงานประจำ�ปี เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มัน่ ใจว่ามีโครงสร้างการดำ�เนินงาน ที่มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ (13) ทอท. ดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพในการสร้างความเจริญเติบโตให้ผลประกอบการดี เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

ทอท. ให้ความสำ�คัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและ เป็นธรรม โดยไม่คำ�นึงถึงเพศ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อ ฐานะทางสังคม หรือ ความพิการ โดยได้ด�ำ เนินการต่างๆ ดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยที่มีสัดส่วนการถือหุ้นขั้นต่ำ�ไม่น้อยกว่า 100,000 หุ้น โดยอาจเป็นผู้ถือหุ้นรายเดียวหรือหลายรายรวมกันได้ สามารถเสนอวาระ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อเข้ารับ การพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการสำ�หรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีของ ทอท. ได้ลว่ งหน้าก่อนการประชุม โดยมีหลักเกณฑ์ ซึง่ ทอท. ได้ประกาศแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบโดยทั่วกันผ่านทางเว็บไซต์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยล่วงหน้า

74


(2)

(3)

(4)

(5) (6)

3 เดือนก่อนสิ้นรอบปีบัญชี (ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) หรือ ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 6 เดือน รวมทั้งได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบถึง หลักเกณฑ์ในการพิจารณาบนเว็บไซต์ของ ทอท. ด้วย โดยคณะกรรมการจะเป็น ผู้ พิ จ ารณาความเหมาะสมในการบรรจุ ไว้ ใ นระเบี ย บวาระการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รวมทัง้ บุคคลทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ จากนัน้ จะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการสรรหาเพือ่ ดำ�เนินการตามกระบวนการสรรหาของ ทอท. ว่า ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติ กรรมการ ทอท. และเสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อให้ความเห็นชอบก่อนเสนอ ผู้ถือหุ้น พิจารณาเลือกตั้งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่ง ทอท. จัดให้ผู้ถือหุ้น ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลำ�ดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม เสมอ และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระการประชุมในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบการ พิจารณาระเบียบวาระต่างๆ ก่อนตัดสินใจ อำ�นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สทิ ธิ ออกเสียง โดยมอบฉันทะให้บุคคลอื่นไปประชุมและออกเสียงลงมติแทน รวมถึง ได้เสนอชื่อกรรมการอิสระจำ�นวน 2 ราย เพื่อเป็นทางเลือกในการมอบฉันทะได้ และหนังสือมอบฉันทะเป็นไปตามแบบที่กระทรวงพาณิชย์กำ�หนด โดยมีรูปแบบที่ ผู้ถือหุ้น สามารถกำ�หนดทิศทางการลงคะแนนเสียงเองได้ เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้ใช้สทิ ธิ ในการเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระ ทัง้ นี้ ทอท. ได้จัดส่งหนังสือมอบฉันทะไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น โดยระบุถึง เอกสารและหลักฐานที่ใช้ในการมอบฉันทะไว้อย่างชัดเจน พร้อมกับแนะนำ�ขั้นตอน ทีส่ ะดวกในการมอบฉันทะเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถจัดเตรียมได้อย่างครบถ้วนถูกต้อง และไม่เกิดความยุ่งยากในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระ โดยจัดทำ�บัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร ซึ่งในระหว่างประชุม จะมี การเก็บบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ โดย ทอท. ได้นำ�ระบบบาร์โค้ดมาใช้ใน การบั น ทึ ก และแสดงผลการลงคะแนนดั ง กล่ า ว พร้ อ มทั้ ง จั ด ให้ มี เ จ้ า หน้ า ที่ อำ � นวยความสะดวกในการจั ด เก็ บ บั ต รลงคะแนนเสี ย งในห้ อ งประชุ ม เพื่ อ นำ � ผลคะแนนของผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าประชุมมารวมคำ�นวณกับคะแนนเสียงทีผ่ ถู้ อื หุน้ ได้ลงไว้ ล่วงหน้าในหนังสือมอบฉันทะก่อนประกาศผลคะแนนเสียงและมติทปี่ ระชุม และเพือ่ ความโปร่งใส ทอท. ได้จัดเก็บบัตรลงคะแนนของผู้ถือหุ้น โดยให้อาสาสมัครที่เป็น สักขีพยาน ในการนับคะแนนได้ลงชื่อกำ�กับไว้ เพื่อการตรวจสอบได้ในภายหลังด้วย ในวาระเลือกตั้งกรรมการ ทอท. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการเลือกตั้ง กรรมการเป็นรายบุคคล ทอท. ได้กำ�หนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ของ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร ผู้ อำ � นวยการฝ่ า ยการเงิ น และฝ่ า ยบั ญ ชี เมื่ อ แรกเข้ า รั บ ตำ�แหน่ง โดยการแจ้งทุกคนให้ทราบบทบาท ภาระ หน้าที่ที่ต้องรายงานการถือ หลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะซึ่งถือหลักทรัพย์ของ รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

75


ทอท. ต่อคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และรับทราบการจัดทำ� รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลักทรัพย์ ไม่ว่าจะมีมูลค่าหรือจำ�นวนเท่าใด ภายใน 3 วันทำ�การ หลังจากมีการ เปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (7) ทอท. กำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร ต้องรายงานการมีส่วนได้เสียของตนและบุคคล ที่มีความเกี่ยวข้อง รวมทั้งกรรมการและผู้บริหารเข้าใหม่ ต้องจัดทำ�รายงานการมี ส่วนได้เสียตามแบบฯ ที่คณะกรรมการเห็นชอบให้แก่เลขานุการบริษัทภายใน 7 วัน ทำ�การ นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจาก ทอท. และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ต้องแจ้ง เลขานุการบริษทั ภายใน 7 วันทำ�การ นับแต่วนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และให้เลขานุการ บริษัทสำ�เนาให้ประธานกรรมการ ทอท. และประธานกรรมการตรวจสอบทราบ และเก็บรักษาต้นฉบับแบบฯ นั้นไว้สำ�หรับใช้เฉพาะเป็นการภายใน ทอท. เท่านั้น

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

ทอท. ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงานและผู้บริหารของ ทอท. และบริษัทย่อย หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า รัฐบาล ผู้ร่วมทุน คู่ค้า เจ้าหนี้ สังคม ชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มั่นใจได้ว่า สิทธิขั้นพื้นฐาน ของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้ได้รับการคุ้มครองและดูแลเป็นอย่างดี ตามข้อกำ�หนดของ กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เนือ่ งจาก ทอท.ตระหนักถึงแรงสนับสนุนจากผูม้ สี ว่ นได้เสีย ต่างๆ ซึ่งจะสร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างกำ�ไรให้กับ ทอท. ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างความ สำ�เร็จในระยะยาวของ ทอท. โดยคณะกรรมการ ทอท. ได้กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติที่ดีเป็น ลายลักษณ์อักษรไว้ในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ซึ่งได้เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ ของ ทอท. ด้วย และในการดำ�เนินการต่างๆ ทอท. เคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ในทุกๆ ที่ที่ ทอท. ดำ�เนินธุรกิจเสมอ นอกจากนี้ ทอท. ยังได้ให้ความสำ�คัญต่อการติดต่อสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มเพื่อ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และคำ�แนะนำ�ของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการปฏิบัติของ ทอท. สามารถร้องเรียนต่อ ทอท. ได้ โดย ทอท. ได้จดั ทำ�ช่องทางทีเ่ ปิดเผยข้อมูลสำ�คัญให้ผมู้ สี ว่ นได้เสีย รับทราบผ่านเว็บไซต์ www.airportthai.co.th และสามารถติดต่อหรือร้องเรียนด้านธรรมาภิบาล โดยจัดตูร้ บั ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ณ จุดบริการทีท่ า่ อากาศยานทุกแห่ง ในความรับผิดชอบของ ทอท. รวมถึงพฤติกรรมทีอ่ าจส่อถึงการทุจริตหรือประพฤติมชิ อบของบุคคลในองค์กร ทัง้ จากพนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียอื่นด้วย ซึ่งในปี 2554 ได้รับเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 8 เรื่อง และได้ดำ�เนินการ เสร็จสิ้นแล้ว 3 เรื่อง ทอท. ให้ความสำ�คัญกับการเก็บข้อมูลร้องเรียนเป็นความลับ ซึ่งเรื่องร้องเรียน ดังกล่าวจะรับรู้ เพียงเฉพาะในกลุม่ บุคคลทีไ่ ด้รบั มอบหมาย และเกีย่ วข้องด้วยเท่านัน้ เพือ่ สร้างความ มั่นใจให้แก่ผู้ร้องเรียน และได้ก�ำ หนดขั้นตอนการรับเรื่อง และการสอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีช่องทางการติดต่อ หรือร้องเรียน ด้านธรรมาภิบาล ดังนี้ (1) ทางเว็บไซต์ www.airportthai.co.th หัวข้อแนะนำ�ติชม ในส่วนของการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี (ติดต่อเลขานุการบริษัท) (2) ตู้รับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ติดตั้ง ณ สำ�นักงานใหญ่ และบริเวณสำ�นักงาน ท่าอากาศยาน ในความรับผิดชอบของ ทอท. ทั้ง 6 แห่ง

76


(3) ห้องสมุดธรรมาภิบาล เป็นพื้นที่ต่างหากที่จัดไว้ในห้องสมุดและศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ทอท. เพือ่ เผยแพร่การดำ�เนินงานของ ทอท. เช่น เอกสารแผนพัฒนาท่าอากาศยาน เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง และสัญญาต่างๆ ของ ทอท. ที่วงเงินเกิน 1 ล้านบาท เป็นต้น

การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มหลักๆ ของ ทอท.

ทอท. มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียในการ สร้างความมั่นคงทางการเงินและความยั่งยืนของกิจการ ในปี 2554 ทอท. ได้ดูแลและคำ�นึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งภายในและภายนอก ทอท. ดังที่ได้กำ�หนดเป็นจรรยาบรรณไว้ในคู่มือ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ที่ได้แจกพนักงานและเผยแพร่ในเว็บไซต์ ทอท. ดังนี้

ผู้ถือหุ้น

• ทอท. มีความมุ่งมั่นในการเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใส โดยคำ�นึงถึงความเจริญเติบโตของมูลค่าบริษัทในระยะยาวและผลตอบแทนที่ดี • ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์ สุจริต และเป็นธรรม โดยคำ�นึงถึงผูถ้ อื หุน้ ทัง้ รายใหญ่และ รายย่อย เพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องโดยรวม • บริหารกิจการของ ทอท. ให้มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคง และก่อให้เกิดผลตอบแทนที่ดี ให้แก่ผู้ถือหุ้น • เปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศทั้งทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน ที่เกี่ยวกับธุรกิจและ ผลประกอบการของ ทอท. ทีเ่ ป็นจริงอย่างครบถ้วนเพียงพอ สม่�ำ เสมอ ทันเวลา และแสดง ให้เห็นถึงสถานภาพของการประกอบการและสถานภาพทางการเงินที่แท้จริงของ ทอท.

พนักงาน

• ทอท. ถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยหนึง่ สูค่ วามสำ�เร็จ จึงส่งเสริมให้มกี ารพัฒนาความสามารถ ของพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี • ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ลงนามในบันทึกข้อตกลง Sister Airport Agreement กับ ท่าอากาศยานมิวนิค สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ท่าอากาศยานอินชอน ประเทศ เกาหลีใต้ และท่าอากาศยานนาริตะ ประเทศญี่ปุ่นเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี เกีย่ วกับการบริหารท่าอากาศยาน รวมทัง้ การให้ความร่วมมือด้านธุรกิจการบินในรูปแบบ ต่างๆ แก่กนั ในปี 2554 ทอท. ได้ส่งพนักงานไปร่วมปฏิบัตงิ าน (on the job training) กับ พนักงานของท่าอากาศยานมิวนิค และท่าอากาศยานอินชอน ซึง่ เป็นท่าอากาศยานชัน้ นำ� ในทวีปเอเชีย เพื่อให้พนักงานได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเรียนรู้เทคโนโลยี การบริหารท่าอากาศยานที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อนำ�ความรู้ที่ได้มาพัฒนาการบริการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้ดียิ่งขึ้น เพื่อก้าวสู่การเป็นท่อากาศยานที่มีการบริการดีเด่น ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกต่อไป • จัดให้มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียน หากมีปัญหาระหว่างพนักงาน หรือระหว่างพนักงานกับ ผู้บังคับบัญชา พนักงานมีสิทธิร้องทุกข์ตามขั้นตอนที่ ทอท. กำ�หนดไว้ โดยผู้ที่รับผิดชอบ ดำ�เนินการตามหลักเกณฑ์และขัน้ ตอนทีก่ �ำ หนดไว้ และหากพิสจู น์ได้วา่ กระทำ�ไปโดยสุจริต จะได้รับความคุ้มครองโดยไม่ส่งผลกระทบใดๆ ซึ่ง ทอท. จะไม่ถือเป็นเหตุเลิกจ้างหรือ กระทำ�การลงโทษในอันที่จะส่งผลเสียต่อพนักงานหรือพยานผู้เกี่ยวข้องแต่ประการใด รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

77


78

• ผู้บริหารระดับสูง เปิดโอกาสให้พนักงานทุกระดับได้เสนอความคิดเห็น แนวคิดอันเป็น ประโยชน์ต่อ ทอท. โดยเฉพาะท่าอากาศยานสุวรรณภูมิซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลัก มีนโยบายการอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งต้องเป็นหน้าที่ของพนักงานทุกคนที่ต้องร่วมมือกัน จัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง และเกิดประโยชน์สูงสุด ภายใต้แนวคิด Green Airport • ทอท. ได้ปฏิบัติกับพนักงานอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน พร้อมทั้งให้ความมั่นใจใน คุณภาพชีวิตการทำ�งาน และการให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม เช่น การจัดตัง้ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ สิทธิในการเบิกค่ารักษาพยาบาลจากสถานพยาบาล ของรัฐบาลและเอกชนตามเกณฑ์ที่ ทอท. กำ�หนด การจัดตัง้ สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. เพือ่ เป็นสวัสดิการในการฝาก-ถอนเงิน และกูย้ มื เงินสำ�หรับพนักงาน การจัดตัง้ สมาคมสโมสร ท่าอากาศยานเพือ่ ส่งเสริมสนับสนุนสวัสดิการด้านต่างๆ เช่น ทัศนศึกษา ท่องเทีย่ ว กีฬา ภายใน ทอท. กีฬารัฐวิสาหกิจ • ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทำ�งานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงาน • ทอท. ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนา การถ่ายทอดความรู้ และความสามารถของพนักงาน โดยสนับสนุนและให้โอกาสพนักงานอย่างทัว่ ถึงและสม่�ำ เสมอ เพือ่ เพิม่ พูนความรู้ โดยให้ ทุนการศึกษาในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง ปีละ 10 ทุน

รัฐบาล

• ทอท. ถือปฏิบัติเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อภาครัฐโดยดำ�เนินธุรกิจภายใต้ข้อกำ�หนด ของกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานที่กำ�กับดูแลอย่างเคร่งครัด และให้การ สนับสนุนโครงการจากภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของสังคมส่วนรวม และ ดำ�รงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับหน่วยงานภาครัฐ โดยการติดต่อประสานงาน อย่างเปิดเผย และพร้อมให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ครบถ้วน ถูกต้องตามที่หน่วยงาน ภาครัฐร้องขอ เพือ่ แสดงถึงความโปร่งใส ตลอดจนสร้างความมัน่ ใจและความเชือ่ ถือร่วมกัน

สังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

• ทอท. ซึง่ หมายรวมถึงท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูมภิ าคในความรับผิดชอบ ทุกแห่งมีสำ�นักสื่อสารองค์กร เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเรื่องสังคม ชุมชน และ มีฝา่ ยสิง่ แวดล้อม ดูแลผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมจากการดำ�เนินงานท่าอากาศยาน สำ�หรับ ชุมชนรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีหน่วยงานที่กำ�กับดูแลได้แก่ ฝ่ายกิจการพิเศษ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยได้ดำ�เนินการควบคู่ไปกับการประกอบธุรกิจหลักมาอย่าง ต่อเนื่อง จัดกิจกรรมสำ�หรับชุมชน ทั้งใน และนอกพื้นที่ปฏิบัติการ นอกจากนั้น ทอท. ยังได้ร่วมสนับสนุนทางด้านการศึกษา กีฬา วัฒนธรรม การพัฒนาอาชีพ เพื่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นของชุมชน และยังให้ความสำ�คัญต่อการอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมในพื้นที่ ปฏิบัติการโดยการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน ร่วมแก้ปัญหา เพื่อสร้างความเชื่อมั่น แก่ชุมชน และสังคมอย่างต่อเนื่อง (ดูรายละเอียดได้ที่รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมประจำ�ปี 2554)


คู่ค้า

• ทอท. ปฏิบตั ติ ามสัญญา ข้อตกลง หรือเงือ่ นไขต่างๆ ทีม่ ตี อ่ คูค่ า้ ของ ทอท. บนพืน้ ฐานของการ ได้รับผลตอบแทนอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม เพื่อประโยชน์สูงสุดร่วมกันทั้งสองฝ่าย • ทอท. เพิ่มช่องทางการติดต่อผ่านเว็บไซต์ ให้คู่ค้าและผู้มีส่วนได้เสียสามารถประสาน งานด้านกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ขั้นตอน วิธีปฏิบัติการเช่าพื้นที่ การทำ�สัญญา รวมทั้งแบบ ฟอร์ม การขอเข้าประกอบการ ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นการอำ�นวยความสะดวก และสามารถติดต่อ สอบถามข้อสงสัยผ่านเว็บไซต์ได้ด้วย โดยมีส่วนงาน ทอท. รับผิดชอบดูแลบริหารลูกค้า สัมพันธ์ (Customer Relation Management: CRM) ผ่านช่องทางดังกล่าว

คู่แข่ง

• ประพฤติปฏิบัติตามกรอบกติกาทางการแข่งขันที่ดี โดยการปรับปรุงการให้บริการต่างๆ ให้ดีขึ้น และอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพึงพอใจให้ผู้โดยสารโดยใช้กลยุทธ์ Airport of Smiles เพื่อสร้างความประทับใจแก่ผู้โดยสารด้วยรอยยิ้ม ทอท. จะแข่งขันอย่างเต็มที่ เป็นอิสระไม่ขึ้นกับใคร ด้วยความยุติธรรม โดยใช้ข้อเสนอในการแข่งขันบนพื้นฐานของ Airports Council International : ACI หรือสภาท่าอากาศยานสากลที่ก�ำ กับดูแลมาตรฐาน การให้บริการ และสิง่ อำ�นวยความสะดวกทีเ่ กีย่ วกับกิจการการบินของท่าอากาศยานทัว่ โลก

เจ้าหนี้

• ทอท. ปฏิบัติต่อเจ้าหนี้อย่างเป็นธรรม มีความรับผิดชอบ และโปร่งใส โดยปฏิบัติตาม เงื่อนไข ข้อกำ�หนดของสัญญา และพันธะทางการเงินที่มีต่อเจ้าหนี้โดยเคร่งครัด ทั้งการ ชำ�ระคืน การดูแลหลักทรัพย์ค้ำ�ประกัน และเงื่อนไขอื่นๆ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการ กู้ยืมเงิน ไปในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ท�ำ กับผู้ให้กู้ยืมเงิน ตลอดจนไม่ใช้วิธี การ ที่ไม่สุจริต ปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จจริงอันจะทำ�ให้เจ้าหนี้เกิดความเสียหาย

ลูกหนี้

• ทอท. จะปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกหนี้โดยไม่เลือก ปฏิบัติในการติดตามเร่งรัดหนี้สิน กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติได้ ต้องรีบเจรจากับลูกหนี้ เป็นการล่วงหน้า เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา และป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย โดยใช้หลักธรรมาภิบาล รายงานข้อมูลลูกหนีค้ า้ งชำ�ระทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน และตรงเวลาให้ แก่ลูกหนี้อย่างสม่ำ�เสมอ • ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติที่มีต่อลูกหนี้

พนักงานจัดจ้างแรงงานภายนอก (Outsource)

• ทอท. บริ ห ารท่ า อากาศยานขนาดใหญ่ และมี บ ริ ษั ท ที่ จั ด จ้ า งแรงงานภายนอก ที่ปฏิบัติหน้าที่ให้บริการผู้โดยสารโดยตรงเป็นจำ �นวนมาก ทอท. จึงกำ�หนดให้มีการ ฝึกอบรมพนักงานจัดจ้างแรงงานภายนอกเพื่อพัฒนาบุคลากรอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อ ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จัดสัมมนาเพื่อร่วมกันปรับปรุงคุณภาพการบริการเพื่อสร้างความประทับใจให้ผู้โดยสาร ภายใต้โครงการสัมมนา “คนบ้านเดียวกัน” ซึ่ง ทอท. จะจัดเป็นประจำ�ทุกปี โดยพนักงาน จัดจ้างแรงงานภายนอกได้เข้าร่วมสัมมนาด้วย

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

79


4. การเปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส

การเปิดเผยสารสนเทศเป็นหนึ่งในหลักการที่มีความสำ�คัญต่อการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทอท. ให้ความสำ�คัญกับข้อมูลข่าวสารที่ต้องแจ้งแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้ถือหุ้น โดยมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา น่าเชือ่ ถือ และทุกฝ่ายสามารถเข้าถึงข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน ซึง่ การจัดเตรียมข้อมูลดังกล่าว มีส�ำ นักเลขานุการบริษทั กำ�กับดูแลการเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ กำ�กับดูแลให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามแก่นักลงทุนและ ผู้ถือหุ้น ในการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญของ ทอท. นอกจากเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่กำ�หนดผ่าน ช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แล้ว ทอท. จะเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของ ทอท. ทัง้ ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ เช่น รายงานประจำ�ปี นโยบายธรรมาภิบาล ข้อมูลบริษัท ข่าวประชาสัมพันธ์ โดยการปรับปรุงเว็บไซต์อย่างสม่ำ�เสมอ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และบุคคลภายนอกสามารถรับข้อมูลข่าวสาร ได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงโดยสะดวก และได้รับประโยชน์มากที่สุด ดังนี้ (1) สารสนเทศที่สำ�คัญของ ทอท. ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่ไม่ใช่ ทางการเงิน การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่วนของงบการเงินนั้น ได้ผา่ นการสอบทาน/ตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีวา่ ถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำ�คัญ ตามหลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไปและผ่ า นความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ/คณะกรรมการ ทอท. ก่อนเปิดเผยแก่ผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการ ทอท. รายงานความรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงิน ควบคู่กับรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจำ�ปีด้วย นอกจากนี้ ทอท. ได้เปิดเผยรายการระหว่างกัน รวมถึงบทวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร ไว้ในรายงานประจำ�ปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี 2554 หรือแบบ 56-1 เป็นต้น (2) ข้อมูลต่างๆ ของ ทอท. ที่ได้เปิดเผยแก่สาธารณชน ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนตาม พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ ปี 2541 ในห้องสมุดธรรมาภิบาลแล้ว ยังเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของ ทอท. ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เช่น รายงาน ประจำ�ปี หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น (3) ทอท. ได้เปิดเผยบทบาท และหน้าทีข่ องคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย จำ�นวนครัง้ ของการประชุม และจำ�นวนครัง้ ทีก่ รรมการแต่ละคนเข้าร่วมประชุมในปี 2554 และเปิดเผยการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นไปตามมติที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบ 56-1 ด้วย (4) จัดให้มศี นู ย์นกั ลงทุนสัมพันธ์รบั ผิดชอบในการสือ่ สารข้อมูลข่าวสารทีส่ ะท้อนมูลค่า ที่แท้จริงของ ทอท. ให้แก่นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนสถาบันและ ผู้ลงทุนทั่วไปตามระเบียบและข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อสร้างความเชื่อมั่น รวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่อผู้ถือหุ้น และนักลงทุนโดยนักลงทุนหรือผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลข่าวสารของ ทอท. เช่น ข้อมูลงบการเงิน รายงานประจำ�ปี และข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้โดยตรงจากเจ้าหน้าที่ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ของ ทอท. โดยติดต่อ ได้ 4 วิธี ดังนี้

80


• ทางโทรศัพท์: 0 2535 5900 • ทางโทรสาร: 0 2535 5909 • ทาง E-mail : aotir@airportthai.co.th • ทางไปรษณีย์ ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพ 10210 ทอท. ตระหนักถึงความสำ�คัญของการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และ โปร่งใส โดยศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ ซึ่งเป็นตัวแทนของ ทอท. ในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้นำ�เสนอผลงาน และแจ้งสารสนเทศของ ทอท. ต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้เกี่ยวข้องตลอดปี 2554 สรุปได้ดังนี้ ปีงบประมาณ 2554 • Company Visit 41 ครั้ง/ปี • Conference Call/Telephone Call/E-mail 415 ครั้ง/ปี • Analyst Briefing 1 ครั้ง/ปี • Roadshow 4 ครั้ง/ปี ในประเทศ 1 ครั้ง/ปี ต่างประเทศ (5) ทอท. ได้เปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลทัว่ ไป และข้อมูลสำ�คัญอย่างถูกต้องครบถ้วน และเป็นไปตามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนัน้ ในปี 2554 ทอท. ได้จดั ทำ�บทรายงานและ การวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร (MD&A) ประกอบงบการเงินทุกไตรมาส (6) จัดทำ �รายงานข้อ มูล ทางการเงิน ที่ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ ผ่ า นการ ตรวจสอบจากสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มัน่ ใจว่าข้อมูลทีแ่ สดง ในรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง (7) ทอท. ได้จดั โครงการพาผูถ้ อื หุน้ เยีย่ มชมท่าอากาศยานทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของ ทอท. เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้มโี อกาสรับทราบและซักถามนโยบายและผลการดำ�เนินงาน รวมถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของ ทอท. จากผู้บริหารระดับ สูง เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและความสัมพันธ์ที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น ซึ่งโครงการ จะจัดปีละ 1 ครั้ง โดยคัดเลือกผู้ถือหุ้นที่จะเข้าร่วมโครงการด้วยวิธีการจับสลาก จากใบสมัครที่ผู้ถือหุ้นส่งเข้ามา ทั้งนี้ ในปี 2554 ทอท. ได้พาผู้ถือหุ้นเยี่ยมชม ท่าอากาศยานภูเก็ต เมือ่ วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โดยมีผถู้ อื หุน้ เข้าร่วม โครงการจำ�นวนทั้งสิ้น 50 คน

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

81


5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ นโยบายธรรมาภิบาลของ ทอท.

คณะกรรมการ ทอท. ได้กำ�หนดให้มีนโยบายธรรมาภิบาลเป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่ ปี 2549 และมีการสอบทานเป็นประจำ� สำ�หรับปี 2554 ทอท. ได้ปรับปรุงนโยบายธรรมาภิบาล 2 ครั้ง โดยครั้งแรกปรับปรุงนโยบายธรรมาภิบาลเป็นฉบับที่ 4 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 คณะกรรมการเห็นชอบให้ปรับปรุงโครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการ เรื่อง การประชุม คณะกรรมการบริษัท โดยกำ�หนดว่า คณะกรรมการ ทอท. มีนโยบาย ในการจัดประชุมระหว่าง กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร โดยไม่มีฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และครั้งที่ 2 ปรับปรุงนโยบาย ธรรมาภิบาลเป็นฉบับที่ 5 ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ซึง่ เป็นฉบับปัจจุบนั ทีใ่ ช้อยู่ คณะกรรมการ ทอท. เห็นชอบให้ปรับปรุงโครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการ โดยกรรมการที่ได้รับ การแต่งตั้งใหม่จะได้รับฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับข้อมูลที่จำ�เป็นและเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติ หน้าที่กรรมการ ทอท. ภายในเวลาสามเดือนนับจากที่ได้รับการแต่งตั้ง และจะต้องดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการในรัฐวิสาหกิจและหรือนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นไม่เกินสาม (3) แห่ง เพื่อให้ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการมีจำ�นวนที่เหมาะสมและทำ�ให้กรรมการสามารถจัดสรรเวลาทำ�งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังได้แก้ไขเพิ่มเติมการพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการ โดยกำ�หนดให้ คณะกรรมการ ทอท. พ้นจากตำ�แหน่งเมือ่ อายุครบ 65 ปี โดยมีผลตัง้ แต่วนั ถัดจากวันทีม่ อี ายุครบ 65 ปี และต้องส่งหนังสือแจ้ง ทอท. เป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ ทอท. ได้เปิดเผยนโยบายธรรมาภิบาลไว้ในเว็บไซต์ ทอท.

เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการ ทอท. ได้แต่งตั้ง นางสาวชนาลัย ฉายากุล เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อรับ ผิดชอบในการให้ค�ำ แนะนำ�ด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการ ทอท. และผู้บริหาร จะต้องทราบ และปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ทอท. รวมทั้งประสานงานให้ มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ ทอท. และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้เป็นไปตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. โดยเลขานุการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบหลัก ดังนี้ (1) ให้คำ�แนะนำ�และคำ�ปรึกษาแก่คณะกรรมการ ทอท. และผู้บริหารเพื่อปฏิบัติได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามกฎหมาย กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย คณะกรรมการตลาดทุน สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องต่างๆ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ที่สอดคล้อง กับแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (2) จัดทำ�และเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ (3) จัดทำ�และเก็บรักษาหนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ ทอท. เอกสารประกอบการ ประชุมคณะกรรมการ ทอท. และรายงานการประชุมคณะกรรมการ ทอท. ให้ ครบถ้วนสมบูรณ์ (4) จัดทำ�และจัดเก็บรักษาหนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ เอกสารประกอบการประชุมผูถ้ อื หุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ให้ครบถ้วนภายในกำ�หนดเวลาของกฎหมาย (5) จัดเก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้บริหาร (6) ดูแล กำ�กับ รับผิดชอบการจัดทำ� และจัดเก็บรักษาแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2)

82


(7) ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานที่กำ�กับดูแล (8) ส่งเสริมให้มกี ารฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ และให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั ิ หน้าที่ของกรรมการ (9) ภารกิจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย

คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ทอท. ได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี นั บ แต่ ปี 2545 ทอท. ได้ ประกาศจรรยาบรรณเพื่อแสดงปณิธานที่จะดำ �เนินธุรกิจที่มีการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี มีความ โปร่งใส น่าเชื่อถือ และเป็นปัจจัยสำ �คัญที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้องค์กรและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ทอท. ได้ปรับปรุงแก้ไขจรรยาบรรณ ทอท. ปี 2545 เป็นคู่มือ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ฉบับปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 1 ซึ่งในเนื้อหาประกอบด้วยนโยบาย ธรรมาภิบาล หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. จรรยาบรรณ ทอท. แนวปฏิบัติที่ดีด้านต่างๆ มีความชัดเจน เหมาะสมกับโครงสร้างการกำ�กับดูแลกิจการของ ทอท. และได้แจกจ่ายหนังสือคู่มือ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2552) ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน เพื่อใช้อ้างอิงและถือปฏิบัติด้วย ซึ่งทุกคนต้องลงนามในพันธสัญญาที่จะยึดถือ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. เป็นหลักปฏิบัติในการดำ�เนินงาน เพื่อสร้างความมั่นใจว่า ทอท. จะพัฒนาระบบการจัดการให้เหมาะสมเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ตลอดจนคำ�นึงถึงผู้มีส่วน ได้เสีย และมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยได้เผยแพร่ บนเว็บไซต์ภายใต้หัวข้อ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่สนใจได้เข้าดูได้อย่างสะดวกด้วย ทอท. ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านธรรมาภิบาล และประชาสัมพันธ์คู่มือการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี ของ ทอท. และจัดเสวนาจริยธรรมทีม่ คี วามสำ�คัญต่อการบริหารองค์กร โดยเชิญกรรมการ ผูบ้ ริหารทุกระดับ และพนักงาน ทอท. เข้าร่วมรับฟังการเสวนา และได้บนั ทึกภาพการเสวนา เผยแพร่ ไว้ในอินเตอร์เน็ต เพื่อให้พนักงาน ทอท. ที่ไม่มีโอกาสเข้ารับฟังสามารถเข้าชมได้ด้วย นอกจากนี้ ยั ง ใช้ คู่ มื อ ฯ ประกอบการบริ ห ารงานบุ ค คล โดยเป็ น เอกสารสำ � หรั บ การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ และสอดแทรกเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีไว้ในหลักสูตรพื้นฐาน ที่ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคลจัดอบรมพนักงานตามแผนพัฒนาบุคคลประจำ�ปี

การจัดกิจกรรมส่งเสริมธรรมาภิบาลและจริยธรรม

ทอท. ส่งเสริมงานด้านธรรมาภิบาล จริยธรรม และการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ ง นับแต่การประกาศนโยบายธรรมาภิบาล ทอท. และมีการทบทวนนโยบายฯ เป็นประจำ�ทุกปี การจัดทำ�และแจกจ่ายคูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี อง ทอท. ให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทุกคนในองค์กรเพื่อเป็นพันธะสัญญาในการปฏิบัติงาน ในปี 2554 ทอท. ได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ดังนี้ • คณะกรรมการบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) เห็นชอบให้ประกาศ ระเบียบว่าด้วยประมวลจริยธรรมของผู้ปฏิบัติงาน พ.ศ. 2554 ตามเจตนารมณ์ ของบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 โดยระเบียบดัง กล่าว มีกลไกระบบในการบั งคั บใช้ ต ามข้ อเสนอแนะของ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้มีอำ�นาจกำ�กับดูแลตามมาตรา 280 เพื่อให้ทุกหน่วยงาน นำ�คุณธรรมและจริยธรรม เป็นกลไกในการควบคุมธรรมาภิบาลในองค์กร ซึ่ง ทอท. รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

83


ได้เผยแพร่ให้พนักงานทราบและถือปฏิบตั ทิ วั่ กันผ่านหนังสือเวียน สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเว็บไซต์ ทอท. และ intranet • การจัดกิจกรรมหลังจากออกระเบียบฯ ดังกล่าว เพือ่ ส่งเสริมให้พนักงานได้มสี ว่ นร่วม และแสดงความคิดเห็นด้านจริยธรรม ทอท. โดยการเชิญวิทยากรจากสถาบัน พระปกเกล้า จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ณ ส่วนกลางและท่าอากาศยานภูมิภาค โดยวิธีประชาเสวนา (Citizen Dialogue) เพื่อขับเคลื่อนจริยธรรม ทอท. สู่ภาคปฏิบัติ ให้แก่ผู้บริหาร ทอท. ระดับกลาง ของสำ�นักงานใหญ่ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานภูมิภาคที่อยู่ในความรับผิดชอบทั้ง 4 แห่ง และรายงานสรุปผลการสัมมนาดังกล่าวให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลทราบ และเสนอให้กับฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อทราบความเห็นของพนักงานต่อ จริยธรรม ทอท. เพื่อการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคลของ ทอท. ต่อไป • การจัดเสวนาจริยธรรมกับการสร้างมาตรฐานในการทำ�งาน ระหว่างวิทยากรจาก สำ�นักผูต้ รวจการแผ่นดิน สถาบันพระปกเกล้า และกรรมการผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ ทอท. โดยมี คณะกรรมการธรรมาภิบาล เข้าร่วมฟังด้วย • การปฐกถาพิเศษโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กร โดยเชิญกรรมการ ทอท. เข้ารับฟังด้วย

การประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต

ทอท. ได้ร่วมประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ที่สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ร่วมกับ หอการค้าไทย สมาคมธนาคารไทย หอการค้าต่างชาติ และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ซึ่งจะเป็น มาตรฐานร่วมด้านจริยธรรมของภาคธุรกิจในการแสดงความมุ่งมั่นที่จะร่วมมือในการป้องกันและ ต่อต้านการทุจริต

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์

คณะกรรมการ ทอท. ถือเป็นนโยบายสำ�คัญทีจ่ ะไม่ให้มคี วามขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ของบริษัท ซึ่งได้กำ�หนดเป็นหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. จึงกำ�หนดให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานต้องรายงานการมีส่วนได้เสียของตนและบุคคลที่มี ความเกี่ยวข้อง เพื่อหลีกเลี่ยง การใช้โอกาสจากการเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน ทอท. แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน ทอท. จึงกำ�หนด ข้อปฎิบัติส�ำ หรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ของ ทอท. ดังต่อไปนี้ (1) หลีกเลี่ยงการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์กับ ทอท. (2) ในกรณี ที่ จำ � เป็ น ต้ อ งทำ � รายการเพื่ อ ประโยชน์ ข อง ทอท. ให้ ทำ � รายการนั้ น เสมือนการทำ�รายการกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ กรรมการ ผู้บริหารหรือพนักงาน ที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้นจะต้องไม่มีส่วนในการพิจารณาอนุมัติ (3) ในกรณีที่เข้าข่ายเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งของ ผลประโยชน์ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ

84


ทอท. จะดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ าม หลักเกณฑ์ วิธกี าร และการเปิดเผยข้อมูลรายการ ที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียนอย่างเคร่งครัด (4) ในกรณีทผี่ บู้ ริหาร พนักงาน หรือบุคคลในครอบครัวเข้าไปมีสว่ นร่วม หรือเป็นผูถ้ อื หุน้ ในกิจการใดๆ ซึง่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั ทอท. จะต้องแจ้งให้ ผู้บริหารสูงสุดทราบ เป็นลายลักษณ์อักษร (5) กรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานไปเป็นกรรมการ หรือที่ปรึกษาในบริษัท หรือองค์กรทางธุรกิจอื่นๆ การไปดำ�รงตำ�แหน่งนั้นจะต้องไม่ขัดต่อประโยชน์ของ ทอท. และการปฏิบัติหน้าที่ โดยตรงใน ทอท. นอกจากนี้ ในส่วนของกรรมการและผู้บริหารได้มีการจัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสีย ของตน และของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ ทอท. ทราบ เพื่อเป็นข้อมูลและเครื่องมือให้เลขานุการ บริษัทใช้ในการช่วยติดตาม ดูแลการมีส่วนได้เสียของกรรมการ และผู้บริหารของ ทอท. หรือของ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้องซึ่งเป็นส่วนได้เสีย ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกิจการของ ทอท. หรือ บริษัทย่อย โดยเลขานุการบริษัทได้ส่งสำ�เนารายงานให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการ ตรวจสอบทราบด้วย

การควบคุมภายใน

ทอท. ให้ความสำ�คัญกับระบบการควบคุมภายใน ในการดำ�เนินธุรกิจและมีการติดตาม ประเมินผลอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในที่วางไว้สามารถ ดำ � เนิ น ไปได้ อ ย่ า งเหมาะสมกั บ สภาพแวดล้ อ มที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงจากปั จ จั ย ทั้ ง ภายในและ ภายนอก ทอท. โดยกำ�หนดให้มีโครงสร้างการควบคุมภายในครบทั้ง 5 องค์ประกอบ ได้แก่ สภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม การประเมิ น ความเสี่ ย ง กิ จ กรรมการควบคุ ม สารสนเทศและ การสื่อสาร และการติดตามประเมินผล โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าที่ในการสอบทาน ระบบการควบคุมภายในให้รดั กุมมีประสิทธิผลและเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำ�หนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

85


คณะกรรมการ ทอท. คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้วย กรรมการทั้งหมด 14 คน ดังนี้ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (อายุ 62 ปี)

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ • วิทยาลัยการทัพบก ชุดที่ 41 ปี 2539 • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปม. รุ่นที่ 3) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 110/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) (มีนาคม 2551 - มกราคม พ.ศ. 2552) • หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการประจำ�รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม • ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน • ผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • ไม่มี

86


พลตำ�รวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ (อายุ 62 ปี)

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • ศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • Master of Public Affairs, Kentucky State University, U.S.A. • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 45) • หลักสูตร นักบริหารระดับสูง (นบส.1 รุ่นที่ 33) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 108/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ� (นักบริหาร 11) • ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี • ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ� ด้านการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน (นักบริหาร 10) ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน)

พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช (อายุ 63 ปี)

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ • วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 28 • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 42) • หลักสูตร การกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุน่ ที่ 5 สถาบันพัฒนากรรมการและผูบ้ ริหาร ระดับสูงภาครัฐ (Public Director Institute: PDI) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 26/2004 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 122/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด • รองเสนาธิการทหาร ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท ทีโอเอ โดฟเคม อินดัสตรีส์ จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

87


พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (อายุ 64 ปี)

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา กรรมการตรวจสอบ ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Ex-MBA) รุ่นที่ 7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 26 • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 39) • หลักสูตร การกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและ ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและ องค์การมหาชน รุ่นที่ 4 สถาบันพัฒนากรรมการและ ผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (Public Director Institute: PDI) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 73/2008 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 107/2008 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 29/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด • ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทิลิตี้ส์ จำ�กัด • รองประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด

88


เรืออากาศโท นรหัช พลอยใหญ่ (อายุ 61 ปี)

กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ • หลักสูตร การป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ. รุ่นที่ 16) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร การบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง (วปอ.มส. รุ่นที่ 1) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูงด้านการค้า การพาณิชย์ และ อุตสาหกรรม (TEPCoT) รุ่นที่ 3 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ThaiAir 2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • รองกรรมการผูอ้ �ำ นวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร บริษทั การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) • รักษาการ กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) • รักษาการ กรรมการผู้จัดการฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่สังกัดสำ�นักงานกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • ไม่มี

นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ (อายุ 61 ปี)

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย สำ�นักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 41) • หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำ�หรับ นักบริหารระดับสูง (ปปร. รุ่นที่ 11) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 7 สถาบันวิทยาการตลาดทุน การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 79/2006 • หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) รุ่นที่ 4/2010 • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) รุ่นที่ 10/2010 • หลักสูตร Audit Committee and Continuing Development Program (ACP) รุ่นที่ 34/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • อธิบดีอัยการสำ�นักงานคดีพิเศษ • อธิบดีอัยการสำ�นักงานคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท ขนส่ง จำ�กัด • กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

89


นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (อายุ 60 ปี)

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • รัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาทฤษฎีการเมืองและการปกครองไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กฎหมาย การปกครองนโยบายสาธารณะ และ รัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรชัน้ สูงด้านการบริหารและการจัดการ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ • ประกาศนียบัตรทางด้านการบริหารการคลังและงบประมาณ สถาบันการบริหารงานภาษีอากร ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่นที่ 4212) • หลักสูตร การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายเอกชน (ปรม. รุ่นที่ 1) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร การปกครองชั้นสูง รุ่นที่ 34 วิทยาลัยการปกครอง • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตร การบริหารและการจัดการความมั่นคงชั้นสูง (วปอ.มส. รุ่นที่ 1) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 22/2008 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 79/2009 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 122/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ� • ปลัดกรุงเทพมหานคร ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

90


นายวีระ เรืองสุขศรีวงศ์ (อายุ 60 ปี)

กรรมการ ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (วิศวกรรมโยธา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 46) • หลักสูตร การกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 5 สถาบันพัฒนากรรมการและ ผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (Public Director Institute :PDI) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน • อธิบดีกรมทางหลวง • รองอธิบดีฝ่ายบริหารงาน กรมทางหลวง • ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักทางหลวงที่ 10 ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย • กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ (อายุ 59 ปี)

กรรมการ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 46) • หลักสูตร นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 28 (ก.พ.) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน • อธิบดีกรมเจ้าท่า • รองปลัดกระทรวงคมนาคม • ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย • กรรมการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

91


นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (อายุ 62 ปี)

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • รัฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Master of Arts, University of Chicago, U.S.A. การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 80/2009 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 126/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • อธิการบดี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • คณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • รักษาการผู้อ�ำ นวยการสำ�นักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • ประธานคณะกรรมการบริหารกิจการ สำ�นักงานตลาด กรุงเทพมหานคร • กรรมการ บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำ�กัด

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (อายุ 54 ปี)

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต Williams College, U.S.A. • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 46) • หลักสูตร นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 35 (ก.พ.) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 51/2006 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 92/2007 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ • รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

92


นายประสงค์ พูนธเนศ (อายุ 50 ปี)

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการการบริหารองค์กร) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • หลักสูตร นักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 49 สถาบันดำ�รงราชานุภาพ การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 76/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • อธิบดีกรมศุลกากร • ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง • รองอธิบดีกรมสรรพากร • ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักมาตรฐานการจัดเก็บภาษี ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • กรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

นายสมชัย สัจจพงษ์ (อายุ 50 ปี)

กรรมการ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • เศรษฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท ประเทศสหรัฐอเมริกา • เศรษฐศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ. รุ่นที่ 20) • หลักสูตร ผูบ้ ริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCot) รุน่ ที่ 2/2552 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยร่วมกับกระทรวงพาณิชย์และหอการค้าไทย • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 2 สถาบันวิทยาการตลาดทุน การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 75/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

93


ประสบการณ์การทำ�งาน • ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) • อธิบดีกรมศุลกากร • ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง • ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลังสำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด • กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง

นายวัฒนา เตียงกูล (อายุ 48 ปี)

กรรมการอิสระ ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี การศึกษา / การฝึกอบรม • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • เนติบัณฑิตไทย • นิติศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ • ปัจจุบันกำ�ลังศึกษาหลักสูตรนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี • หลักสูตร การวิเคราะห์ และบริหารงานสินเชื่อครบวงจร รุ่นที่ 20 จัดโดย ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) • หลักสูตร การพัฒนาภาวะผู้น�ำ สำ�หรับหัวหน้าแผนก จัดโดย ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน • กรรมการผู้จัดการ บริษัท โนเบิ้ล พร็อพเพอร์ตี้ แวลูเอชั่น จำ�กัด • กรรมการและผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามแอพเพรซัล แอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด • กรรมการ บริษัท กฎหมายศุภวัฒน์ จำ�กัด ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน • ไม่มี

94


คณะผู้บริหาร ทอท.

(1.) นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน (อายุ 60 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • รัฐศาสตร์บัณฑิต (บริหารงานบุคคล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ • สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร • หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำ�หรับผู้บริหารระดับสูง • หลักสูตร นักบริหารในกระแสโลกาภิวัฒน์ • หลักสูตร IT for Management of A Modern Airport • หลักสูตร NIDA Wharton Executive Leadership Program สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) รักษาการ ผู้อำ�นวยการใหญ่ • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 - 30 เมษายน พ.ศ. 2554 รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) • 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ผู้อำ�นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552 รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) • 17 ตุลาคม พ.ศ. 2548 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานอำ�นวยการ)

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

95


(2.) นายสมชัย สวัสดีผล (อายุ 53 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.) รุ่นที่ 4919 ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 63/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 120/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • 15 มิถุนายน พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและการก่อสร้าง) • 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554 รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) • 27 มีนาคม - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552 รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) รักษาการ กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ • 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2552 รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

(3.) ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร (อายุ 56 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • วิทยาศาสตร์บัณฑิต (ทอ.) โรงเรียนนายเรืออากาศ • รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร Airport Management • หลักสูตร นักบริหารในกระแสโลกาภิวัฒน์ • หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำ�หรับผู้บริหารระดับสูง • หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร • หลักสูตร IT for Management of A Modern Airport ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553 • 1 สิงหาคม - 30 กันยายน พ.ศ. 2550 • 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

96

ไม่มี ไม่มี

ผู้อ�ำ นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผู้อ�ำ นวยการท่าอากาศยานดอนเมือง รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) ผู้อ�ำ นวยการท่าอากาศยานภูมิภาค


(4.) นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี (อายุ 58 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำ�หรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 7 สถาบันพระปกเกล้า • วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ. 35) • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program • หลักสูตร Strategic Airport Development ประเทศเยอรมัน • หลักสูตร Airport Management Commercial ประเทศสิงคโปร์ • หลักสูตร MINI MBA รุ่นที่ 1 ประสบการณ์การทำ�งาน • 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) • 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) • 28 มิถุนายน พ.ศ. 2549 - 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ผู้เชี่ยวชาญ 10 รักษาการ ผู้อำ�นวยการฝ่ายการพาณิชย์ และบริหารการลงทุน

(5.) นายนิตินัย ศิริสมรรถการ (อายุ 39 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา • เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Master of Public Administrations, University of Southern California • Doctor of Philosophy (Economics), Florida State University ประวัติการอบรม • ไม่มี ประสบการณ์การทำ�งาน • 2 มีนาคม พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน รองกรรมการผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด) • พ.ศ. 2552 ผู้อำ�นวยการอาวุโส กลยุทธ์การลงทุน บริษัท หลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ จำ�กัด • พ.ศ. 2552 ที่ปรึกษาธนาคารโลก กระทรวงแผนงานและการลงทุน รัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน กรรมการที่ปรึกษานายกเมืองพัทยา

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

97


(6.) นางสาวศศิศุภา สุคนธทรัพย์ (อายุ 52 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • บริหารธุรกิจบัณฑิต (บริหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • การจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 87/2011 • หลักสูตร บทบาทและหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหารบริษัท • หลักสูตร วิสัยทัศน์รัฐวิสาหกิจไทยเพื่อเศรษฐกิจไทยเข้มแข็ง • หลักสูตร NIDA Wharton Executive Leadership Program, U.S.A. • หลักสูตร IT for Management of A Modern Airport ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่ (สายงานอำ�นวยการ) • 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด) • 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550 - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ผู้อ�ำ นวยการฝ่ายอำ�นวยการกลาง • 17 ตุลาคม พ.ศ. 2548 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ

7.) นางพูลศิริ วิ โรจนาภา (อายุ 53 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา • บัญชีบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร ผู้บริหารการเงินภาครัฐวิสาหกิจ (CFO) รุ่นที่ 1 • หลักสูตร การเงินธุรกิจสำ�หรับผู้บริหาร • หลักสูตร Advanced Derivative and Financial Risk Management ธนาคารกลาง ประเทศอังกฤษ • หลักสูตร Derivative and Swap Management ณ ประเทศฮ่องกง • หลักสูตร Bond Market and Interest Rate Risk Management ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) • 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ผู้อ�ำ นวยการฝ่ายงบประมาณ • 17 ตุลาคม พ.ศ. 2548 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ผู้อ�ำ นวยการฝ่ายการพาณิชย์และบริหารการลงทุน

98


(8.) นางสาววิ ไลวรรณ นัดวิไล (อายุ 57 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต University of New England, Australia ประวัติการอบรม • หลักสูตร กลยุทธ์และเทคนิคการตัดสินใจและแก้ปัญหาของนักบริหาร • หลักสูตร การปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ธุรกรรมอนุพันธ์และตลาดตราสารทุน • หลักสูตร IT for Management of A Modern Airport • หลักสูตร มาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทางการบัญชี ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 เมษายน พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน รองผู้อ�ำ นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำ�นวยการ) • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2553 ผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รักษาการ รองผู้อ�ำ นวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ผู้อำ�นวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550 - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 รองผู้อ�ำ นวยการฝ่ายงบประมาณ รักษาการผู้อ�ำ นวยการส่วนจัดจ้างภายนอก ฝ่ายงบประมาณ

(9.) นางสาวชนาลัย ฉายากุล (อายุ 52 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา • นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • เนติบัณฑิตไทย สำ�นักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ประวัติการอบรม • หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุ่นที่ 33/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Board Reporting Program (BRP) รุ่นที่ 1/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Effective Minute Taking (EMT) รุ่นที่ 16/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Company Reporting Program (CRP) รุ่นที่ 1/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท • 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ผู้อำ�นวยการฝ่ายกฎหมาย • 17 ตุลาคม พ.ศ. 2548 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัสดุ • 11 มกราคม - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ผู้จัดการสำ�นักกฎหมาย รักษาการ ผู้อำ�นวยการส่วนจัดจ้างภายนอก ฝ่ายงบประมาณ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

99


(10.) นายนพปฎล มงคลสินธุ์ (อายุ 53 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก ประวัติการอบรม • หลักสูตร การพัฒนาความรู้การบริหารธุรกิจและกฎหมายธุรกิจ • หลักสูตร ปัญหาและแนวทางปฏิบัติบัญชีทรัพย์สินทั้งระบบ • หลักสูตร มาตรฐานการบัญชีส�ำ หรับผู้บริหารและผู้ท�ำ บัญชี • หลักสูตร โครงการอบรมผู้บริหารการเงินภาควุฒิบัตรรัฐวิสาหกิจ (CFO) รุ่นที่ 3 ประสบการณ์การทำ�งาน • 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการฝ่ายบัญชี • 8 ธันวาคม พ.ศ. 2547 - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ผู้เชี่ยวชาญ 9

(11.) นายสุนทร สิทธิธนาลาภ (อายุ 58 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยสยาม ประวัติการอบรม • ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำ�หรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า • โครงการพัฒนาผู้บริหาร (MINI MBA) รุ่นที่ 56 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร หลักการจัดการด้านการเงินสำ�หรับผู้บริหาร รุ่นที่ 5 คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำ�งาน • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงิน • 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552 รองผู้อ�ำ นวยการฝ่ายการเงิน • 14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ผู้ชำ�นาญการ 8 ฝ่ายการเงิน

100


(12.) นายสมบูรณ์ น้อยนํ้าคำ� (อายุ 50 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร วุฒิการศึกษา • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร การนำ�มาตรฐานการบัญชีสากล (IFRS) มาใช้ในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน ทอท. • หลักสูตร การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลและจริยธรรมเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร • หลักสูตร การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) สำ�หรับหน่วยธุรกิจ ทสภ. • หลักสูตร ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับตลาดเงินและตลาดทุน ประสบการณ์การทำ�งาน • 15 มิถุนายน พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • 14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554 รองผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

101


รายการระหว่างกัน

ลั ก ษณะของรายการ ทอท. ได้ เข้ า ร่ ว มลงทุ น ในบริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ กิ จ การ ท่าอากาศยานและธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้องหรือต่อเนื่องกับกิจการของ ทอท. รวมทั้งสิ้น 9 บริษัท โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวร้อยละ 1.43 – 60 ของทุนจดทะเบียน แบ่งเป็นบริษัทย่อย หรือบริษัทที่ ทอท. ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนบริษัท คือ บริษัท โรงแรม ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด และบริษัทร่วมทุน ได้แก่ บริษัทที่ ทอท. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียน จำ�นวน 8 บริษัท โดย ทอท. เข้าทำ�สัญญาต่างๆ กับบริษัทดังกล่าว เพื่อ ประกอบกิจการภายในท่าอากาศยาน เช่น กิจการร้านค้าปลอดอากร บริการคลังสินค้า โรงแรม บริการเติมน้�ำ มันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยมีสัดส่วนการถือหุ้น ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ดังนี้ บริษัทย่อยและบริษัทร่วมทุนของ ทอท. รายชื่อบริษัท ลักษณะกิจการ

102

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)

บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด

กิจการโรงแรม

60.00

บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำ�กัด

ค้าปลีกสินค้าปลอดอากร

10.00

บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด

ให้บริการท่อส่งน้ำ�มันและเติมน้ำ�มัน ด้วยระบบ Hydrant

10.00

บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำ�กัด

ให้บริการครัวการบิน

10.00

บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำ�กัด

ให้บริการเดินรถยนต์บริการ(ลีมูซีน)

10.00

บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำ�กัด

บริหารงานและดำ�เนินการเกี่ยวกับ โรงแรม

9.00

บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)

ให้บริการจัดส่งเชื้อเพลิงการบิน

4.94

บริษัท เทรดสยาม จำ�กัด

ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูล ทางอิเล็กทรอนิกส์

1.50

บริษัท ไทย แอร์พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด

ให้บริการคลังสินค้า บริการในลานจอด อากาศยานและบริการช่างอากาศยาน

1.43


รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

103


สถิติการขนส่ง ทางอากาศ

ผลการดำ�เนินงานด้านการให้บริการ

ทอท. ดำ�เนินกิจการทาอากาศยานในประเทศไทยทั้งหมด 6 แห่ง ได้แก่ สุวรรณภูมิ (ทสภ.) ดอนเมือง (ทดม.) เชียงใหม่ (ทชม.) หาดใหญ่ (ทหญ.) ภูเก็ต (ทภก.) และแม่ฟ้าหลวงเชียงราย (ทชร.) ในปีงบประมาณ 2554 ให้บริการ สายการบินแบบประจำ�รวม 109 สายการบิน เป็นสายการบินขนส่งผู้โดยสาร และสินค้าจำ�นวน 97 สายการบิน และขนส่งสินค้าอย่างเดียว จำ�นวน 12 สายการบิน ปริมาณการขึ้น - ลงของอากาศยาน ณ ทาอากาศยานของ ทอท. 6 แห่ง 441,440 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 14.43 ประกอบด้วย จำ�นวนเที่ยวบิน ระหว่างประเทศ 248,388 เที่ยวบิน และภายในประเทศ 193,052 เที่ยวบิน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 15.18 และ 13.48 ตามลำ�ดับ ให้บริการผูโ้ ดยสารรวมทัง้ สิน้ 66,300,666 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 15.46 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ จำ�นวน 42,110,806 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.53 และผู้โดยสารภายในประเทศ 24,189,860 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 12.02 มีปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุ ไปรษณียภัณฑ์เข้าออกจำ�นวน 1,408,068 ตัน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 4.85 โดยเป็น การขนส่งระหว่างประเทศจำ�นวน 1,291,243 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 4.59 และในประเทศจำ�นวน 116,825 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 7.79 ปริมาณการจราจรทางอากาศโดยรวมของ ทอท. ในปีงบประมาณ 2554 เติบโตอย่างต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2553 จากที่ได้รับผลกระทบจาก ความไม่สงบทางการเมืองในช่วง 2 ปีก่อนหน้า แต่อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัย ความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติและปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา และยุโรปที่อาจส่งผลกระทบต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยวมายังประเทศไทย : ปีงบประมาณ

การขึ้น-ลงของอากาศยานพาณิชย์ (เที่ยวบิน)

2553

2553

2554

ทสภ+ทดม

295,385

336,048

13.77

45,255,781

51,773,461

14.40

ทสภ.

261,782

288,540

10.22

42,496,950

47,800,585

12.48

ทดม.

33,603

47,508

41.38

2,758,831

3,972,876

44.01

ทชม.

27,422

30,800

12.32

3,182,980

3,680,390

15.63

ทหญ.

11,116

13,678

23.05

1,464,984

1,834,568

25.23

ทภก.

46,132

55,110

19.46

6,797,098

8,206,405

20.73

ทชร.

5,714

5,804

1.58

724,241

805,842

11.27

385,769

441,440

14.43

57,425,084

66,300,666

15.46

รวม 6 แห่ง

2554

Airport 104 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

%

จำ�นวนผู้โดยสารรวม (คน) %


ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออก (ตัน)

2553

2554

ทสภ+ทดม

1,280,271

1,341,352

4.77

ทสภ.

1,273,504

1,334,218

4.77

ทดม.

6,767

7,134

5.42

ทชม.

20,641

20,528

-0.55

ทหญ.

13,464

14,826

10.12

ทภก.

25,921

27,587

6.43

ทชร.

2,682

3,775

40.75

รวม 6 แห่ง

1,342,979

1,408,068

4.85

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานดอนเมือง

%

ในช่วงปีงบประมาณ 2554 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและดอนเมือง ให้บริการเที่ยวบิน ขึ้น - ลงรวม 336,048 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 13.77 โดยมีผู้โดยสาร รวมทั้งสิ้น 51,773,461 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.40 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ เข้า-ออกจำ�นวน 1,341,352 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.77 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ให้บริการสายการบินแบบประจำ�รวม 100 สายการบิน เป็นเทีย่ วบิน ขนส่งผู้โดยสารและสินค้า 88 สายการบิน และเที่ยวบินขนส่งสินค้าอย่างเดียว 12 สายการบิน ในปีงบประมาณ 2554 มีเที่ยวบินพาณิชย์ขึ้น-ลงรวม 288,540 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 10.22 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 212,959 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.92 และ เทีย่ วบินภายในประเทศ 75,581 เทีย่ วบิน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.26 รองรับผูโ้ ดยสารรวม 47,800,585 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.48 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำ�นวน 37,386,227 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.46 และภายในประเทศจำ�นวน 10,414,358 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.95 ปริมาณสินค้าและพัสดุ ไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำ�นวน 1,334,218 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.77 เป็นการขนส่งระหว่าง ประเทศจำ�นวน 1,281,611 ตัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.62 และการขนส่งภายในประเทศจำ�นวน 52,607 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.44 ท่าอากาศยานดอนเมือง ให้บริการสายการบินแบบประจำ�ภายในประเทศรวม 2 สายการบิน มีเที่ยวบินพาณิชย์ขึ้น-ลงรวม 47,508 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.38 เป็นเที่ยวบินระหว่าง ประเทศแบบไม่ประจำ� 2,507 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 46.87 สำ�หรับเที่ยวบินภายในประเทศ มีจ�ำ นวน 45,001 เทีย่ วบิน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 41.09 รองรับผูโ้ ดยสารรวมทัง้ สิน้ 3,972,876 คน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 44.01 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำ�นวน 28,798 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.51 และ ผู้โดยสารภายในประเทศจำ�นวน 3,944,078 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.83 มีปริมาณสินค้าและพัสดุ ไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำ�นวน 7,134 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.42 เป็นการขนถ่ายระหว่างประเทศ จำ�นวน 24 ตัน และการขนถ่ายสินค้าภายในประเทศมีจำ�นวน 7,110 ตัน

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

105


ท่าอากาศยานเชียงใหม่

ในปีงบประมาณ 2554 ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ให้บริการสายการบินแบบประจำ�รวม 13 สายการบิน มีเทีย่ วบินขึน้ - ลงรวม 30,800 เทีย่ วบิน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.32 จากจำ�นวนเทีย่ วบิน ระหว่างประเทศจำ�นวน 3,746 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 36.52 ส่วนเที่ยวบินภายใน ประเทศมีจำ�นวน 27,054 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 9.63 รองรับจำ�นวนผู้โดยสารรวม 3,680,390 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.63 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 345,320 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.11 ผู้โดยสารภายในประเทศ 3,335,070 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.71 มีปริมาณสินค้าและพัสดุ ไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำ�นวน 20,528 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 0.55 เป็นการขนถ่ายระหว่าง ประเทศจำ�นวน 109 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.81 ส่วนการขนถ่ายสินค้าภายในประเทศ 20,419 ตัน ลดลงร้อยละ 0.57 ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ในปีงบประมาณ 2554 ท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีจำ�นวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 13,678 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.05 ให้บริการสายการบินประจำ�รวม 7 สายการบิน ประกอบด้วย เที่ยวบินระหว่างประเทศ 1,635 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 118.29 จากการเริ่มให้บริการ ของสายการบิน Tiger Airways และ Air Asia และเทีย่ วบินภายในประเทศ 12,043 เทีย่ วบิน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 16.17 ให้บริการผู้โดยสารรวม 1,834,568 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 25.23 เป็นผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศจำ�นวน 204,152 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 127.86 ส่วนผูโ้ ดยสาร ภายในประเทศมีจำ�นวน 1,630,416 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 18.54 มีปริมาณสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้าออกจำ�นวน 14,826 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 10.12 โดยทั้งหมดเป็น การขนส่งภายในประเทศ ท่าอากาศยานภูเก็ต

ปีงบประมาณ 2554 ท่าอากาศยานภูเก็ตให้บริการสายการบินแบบประจำ�รวม 34 สายการบิน มีจำ�นวนเที่ยวบินขึ้น - ลงรวม 55,110 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 19.46 เป็นเที่ยวบิน ระหว่างประเทศจำ�นวน 27,389 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 25.53 จากทั้งเที่ยวบิน แบบประจำ�และเทีย่ วบินแบบเช่าเหมาลำ� ส่วนเทีย่ วบินภายในประเทศมีจ�ำ นวน 27,721 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 14.01 ให้บริการผู้โดยสารรวมทั้งสิ้น 8,206,405 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 20.73 ประกอบด้วยผู้โดยสารระหว่างประเทศจำ�นวน 4,136,812 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 33.78 ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำ�นวน 4,069,593 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 9.84 จากจำ�นวนผู้โดยสารนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ ส่วนปริมาณสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า - ออกรวมทั้งสิ้น 27,587 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.43 ประกอบด้วย การขนถ่ายสินค้าระหว่างประเทศจำ�นวน 9,499 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.35 และการขนถ่ายสินค้า ในประเทศจำ�นวน 18,088 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.92 ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ให้บริการสายการบินแบบประจำ�ภายในประเทศ รวม 4 สายการบิน ในปีงบประมาณ 2554 มีเที่ยวบินขึ้น - ลงรวม 5,804 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.58 มีเที่ยวบินระหว่างประเทศซึ่งเป็นการบินแบบไม่ประจำ�ทั้งหมดรวม 152 เที่ยวบิน และ เที่ยวบินในประเทศ 5,652 เที่ยวบิน ลดลงร้อยละ 0.28 ให้บริการผู้โดยสารรวม 805,842 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.27 ประกอบด้วยผู้โดยสารระหว่างประเทศ 9,497 คน และผู้โดยสารภายใน ประเทศ 796,345 คน ปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า - ออก ทั้งหมดเป็น การขนส่งสินค้าภายในประเทศรวม 3,775 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.75

Airport 106 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)


สถิติการขนสงทางอากาศ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิและดอนเมือง จํานวนเที่ยวบิน

89,582

73,600

182,157

192,929

199,505

177,356

190,293

215,466

59,722

175,540

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

ระหวางประเทศ

ภายในประเทศ

จํานวนผู โดยสาร

30,907,223

35,812,750

14,348,685

26,707,121

2550

2551

2552

2553

2554

ภายในประเทศ

1,702,173 1,585,236 1,431,976 1,498,007 1,612,026

ผูโดยสารผาน

ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

59,717

894,315

978,336

1,061,744

1,137,605

1,152,044

1,238,453

947,348

1,225,027

1,281,635

46,421

993,769

55,244

1,280,271 1,341,352

1,291,931 53,478

60,515

1,198,120 1,207,970

881,858

400,000

1,119,433 57,689

941,676 47,361

48,912

930,770

1,029,568 51,232

1,200,000

200,000

12,850,551

32,472,599

2549

1,824,206

ปริมาณสินคาและพัสดุไปรษณียภัณฑ

ตัน

600,000

11,695,843

30,999,402

2548

1,766,191

1,400,000

800,000

12,874,283

29,276,672

2547

1,676,669 1,518,052 1,763,794

ระหวางประเทศ

1,000,000

12,422,370

10,500,564 26,622,474

2546

39,834,940

9,513,767

20,999,349 7,157,451

2545

36,364,006

42,360,678

51,773,461 45,255,781

25,086,445

22,284,375 7,244,648

31,205,692 29,674,852

38,889,229

45,123,945 46,932,118

11,259,800

คน

60,000,000 50,000,000 45,000,000 40,000,000 35,000,000 30,000,000 25,000,000 20,000,000 15,000,000 10,000,000 5,000,000 0

ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

55,926

0

159,160

50,000

135,808

100,000

58,005

150,000

232,760

195,530

295,385

135,309

200,000

193,314

273,072

120,582

250,000

280,704 98,547

265,122

114,315

300,000

336,048

311,435

105,092

307,244

95,716

350,000

111,930

เที่ยวบิน

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

0 ระหวางประเทศ

ภายในประเทศ

ปงบประมาณ

การขนถายรวม (ไมรวมผาน)

Green Airport

ÃÒ§ҹ»ÃШํา»‚ 2554 ºÃÔÉ·Ñ ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨ํา¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

AR_AOT p16-23, 104-112 Pc23.indd 107

107 27/12/2552 19:52:23


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานเชียงใหม่

เที่ยวบิน

จำ�นวนเที่ยวบิน

2545 2546 2547

27,054 3,746

24,678 2,744

20,231 2,651

2551 2552

2553 2554

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

ระหว่างประเทศ

249,221

231,605

18,376

5,235

1,088

3,334,927

3,680,390

344,576

2,932,671

2551 2552

3,182,980

2,635,506

2550

27,565

ผู้โดยสารผ่าน

ภายในประเทศ

ตัน

2,928,784

2548 2549

329,149

34,407

2,872,346

3,019,687

59,049

3,276,309

323,438

2545 2546 2547

2,748,077

68,258

295,672

2,408,752

43,666

186,980

149,025 1,808,850

32,436

3,370,690

887

2553 2554

ปีงบประมาณ

ผู้โดยสารรวม

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ 24,051

23,707

707

20,641

17,262

17,617

20,528 20,419

24,236 681

15,000

22,438

109

23,960

23,429

20,537

20,000

26,009

104

24,376

355

24,758

22,061

24,917

377

24,336

23,122

25,000

376

30,000

25,714

0

2,078,923 2,001,541 107,539 1,938,948

500,000

2,663,990

3,078,156

2,757,255

3,000,000

3,011,917

195,613

3,500,000

1,000,000

22,882

30,800

จำ�นวนผู้ โดยสาร

4,000,000

1,500,000

2550

27,422

25,400

ภายในประเทศ

คน

2,000,000

21,650

2548 2549

ระหว่างประเทศ

2,500,000

5,058

18,779 5,690

17,478

14,727 5,487

0

11,779

5,000

3,995

10,000

15,774

13,694

15,000

16,183

2,489

20,000

20,214

24,469

22,362

4,884

25,000

26,708

21,779

30,000

3,621

35,000

10,000

2545 2546 2547

2548 2549

ระหว่างประเทศ

Airport 108 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

ภายในประเทศ

307

295

0

669

5,000

2550

2551 2552

2553 2554

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

ปีงบประมาณ


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จำ�นวนเที่ยวบิน

2545 2546 2547

ระหว่างประเทศ

2550

10,367 10,367

10,04412,043 1,3461,635

9,043 8,916 8,916

2551 2552

ภายในประเทศ

749 749

995 995

2548 2549

11,116

10,270

127 127

9,272 9,272 1,260 1,260

6,532 6,532

9,350 9,350

0

10,532

1,782 1,782

2,000

4,513 4,513

4,000

5,590

1,252 1,252

6,000

7,784

3,976 1,614 1,6143,976

5,000

8,926 4,413 4,413

10,000

13,678

11,748

10,055 10,055

12,000

11,132

215 215

14,000

10,753 10,753

เที่ยวบิน

2553 2554

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำ�นวนผู้ โดยสาร

คน 2,000,000

1,356,068

1,269,109

22,162

12,936

5,507

5,720

8,097

2545 2546 2547 ระหว่างประเทศ

ตัน

1,127

2551 2552

ผู้โดยสารผ่าน

15

2553 2554

10,407

ปีงบประมาณ

ผู้โดยสารรวม

11,150

13,464

10,141

949

14,826

11,142

10,338

10,407

9,240 145

6,000

10,957

10,141

9,351 9,170

9,385

10,335

11,973

181

8,000

2550

1,856

13,464

11,752

10,000

2548 2549 ภายในประเทศ

221

12,000

656

1,841

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

16,000 14,000

2,887

10,931

0

14,826

97,162 615,739

200,000

203,965

1,240,569

128,387 627,605

400,000

1,157,247

600,000

134,180

718,621

1,137,544

761,499

93,723

800,000

907,820

1,009,640

1,000,000

147,046

1,200,000

1,464,984 1,375,377

1,283,172

1,335,679 1,287,477 1,293,268

1,400,000

89,592

1,380,086

94,454

1,600,000

1,629,654

1,834,568

1,800,000

2545 2546 2547 ระหว่างประเทศ

2548 2549

2550

ภายในประเทศ

2551 2552

0

0

8

0

0

0

3

2,000

26

4,000

2553 2554

ปีงบประมาณ

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

109


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานภูเก็ต จำ�นวนเที่ยวบิน

เที่ยวบิน

40,218

2545 2546 2547

19,484

22,129

2548 2549

2551 2552

ภายในประเทศ

ระหว่างประเทศ

9,000,000

8,206,405

2545 2546 2547 ระหว่างประเทศ

ตัน

2548 2549

2550

2545 2546 2547

2548 2549

ระหว่างประเทศ

Airport 110 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

ภายในประเทศ

2550

ปีงบประมาณ

18,088

16,455

27,587

2551 2552

9,499

9,466

11,600

16,068

4,468

13,610

18,542

4,932

13,338

17,498

4,160

13,584 2,690

16,274

12,135

16,822

4,687

12,841 7,066

15,942 11,042

15,592

4,900

0

19,907

10,341

5,000

2553 2554

25,921

5,251

10,000

44,108

ผู้โดยสารรวม

25,000

15,000

27,677

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

30,000

20,000

4,068,009

14,987

2551 2552

ผู้โดยสารผ่าน

ภายในประเทศ

3,212,804

13,460

4,094,288

16,733

3,529,165

3,422,439

25,890

3,704,384

49,387

2,213,794

77,201

2,038,965

51,408

1,519,959 2,922,133

2,208,420 1,311,594

38,894

2,357,658 1,065,607

3,000,000

3,461,710

3,472,652

1,832,505 2,612,392

3,558,908

2,050,922 1,359,380

4,000,000

0

4,467,982

4,522,098

2,400,843

5,478,137

6,000,000

5,943,468 5,441,585

3,065,037

6,797,098

7,000,000

1,000,000

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

8,000,000

2,000,000

2553 2554

จำ�นวนผู้ โดยสาร

คน

5,000,000

27,389

16,511

17,317

2550

21,818

16,304 12,687

15,335 11,468

12,456 11,845

14,822

10,883

14,995

24,301

22,911

28,991

26,803

16,239

29,817

35,995

22,901

38,368

24,314

46,132

27,721

55,110

12,028

60,000 55,000 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2553 2554

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

ปีงบประมาณ


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

คน

จำ�นวนผู้ โดยสาร

2545 2546 2547 ระหว่างประเทศ

ตัน

673

130

2551 2552 ผู้โดยสารผ่าน

280

796,336 9,497

723,288

485

724,241

648,168

771,947

711,468 31

224

696,395

648,783

115

2550

ภายในประเทศ

9

2553 2554

ปีงบประมาณ

ผู้โดยสารรวม

4,698

1,000

2,626

3,775

2,287

2,626

2,527

2,287

2,000

3,775

2,527

2,909 2,909

4,698

5,070 5,070

4,879 4,879

4,238 4,238

3,000

5,075 5,075

4,000

2548 2549

805,842

772,286

711,662

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

6,000 5,000

444

696,492

22

552,330 286

431

261

1,748

414,966

417,345

2,118

476,315

476,524

676,532

677,407 554,364

209

900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0

0

2545 2546 2547 ระหว่างประเทศ

2548 2549 ภายในประเทศ

2550

2551 2552

2553 2554

ปีงบประมาณ

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

111


ปริมาณการจราจรทางอากาศของ ทอท. 1.31% จำ�นวนเที่ยวบินรวมของ ทอท. ปีงบประมาณ 2554 รวม 441,440 เที่ยวบิน

ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

12.48%

ท่าอากาศยานภูเก็ต

3.10%

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

6.98%

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

65.36%

10.76%

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

จำ�นวนผู้ โดยสารรวมของ ทอท. ปีงบประมาณ 2554 รวม 66,300,666 คน

ท่าอากาศยานดอนเมือง

1.22%

ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

12.38%

ท่าอากาศยานภูเก็ต

2.77%

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

5.55%

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

72.10% ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ (ไม่รวมผ่าน) ของ ทอท. ปีงบประมาณ 2554 รวม 1,408,068 ตัน

5.99%

ท่าอากาศยานดอนเมือง

0.27%

ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย

1.96%

ท่าอากาศยานภูเก็ต

1.05%

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

94.76%

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

Airport 112 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

1.46%

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

0.51%

ท่าอากาศยานดอนเมือง


Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

113


การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ในทุกด้าน

ข้อมูลการดำ�เนินงานโครงการบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างท่าอากาศยาน (Sister Airport Agreement) บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (Sister Agreement) เป็นการ ตกลงให้ความร่วมมือซึ่งกันและกันระหว่างผู้ประกอบธุรกิจ ประเภทเดียวกันหรืออยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยไม่จำ�เป็น ต้ อ งอยู่ ใ นลั ก ษณะภู มิ ศ าสตร์ ค ล้ า ยคลึ ง กั น หรื อ ใช้ ภ าษา เดียวกัน ทัง้ นี้ การจัดทำ�ข้อตกลงในลักษณะนีเ้ ป็นทีน่ ยิ มแพร่หลาย ในวงการการศึกษา โรงพยาบาล ท่าเรือ และเมืองต่างๆ สำ�หรับการจัดทำ�ข้อตกลงระหว่างท่าอากาศยานต่างๆ ในปัจจุบันพบว่ามีการจัดทำ� Sister Airport Agreement ระหว่าง ท่าอากาศยานหลายแห่งทั่วโลก เช่น Denver International Airport และ Munich International Airport, Central Japan International Airport Co., Ltd. (Nagoya International Airport) และ Flughafen Munchen GmbH (Munich International Airport) เป็นต้น ทั้งนี้ ทอท. ได้เริ่มจัดทำ�ข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง ท่าอากาศยานกับท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการให้บริการที่ เป็นเลิศตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมา โดยเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ทอท. ได้จัดทำ�บันทึกบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างท่าอากาศยานกับท่าอากาศยานมิวนิค เยอรมนี ซึง่ ได้รบั การประกาศว่าเป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุดของยุโรปหลายปี ต่อเนื่องกัน จากการสำ�รวจของสถาบัน Skytrax

Airport 114 Green รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

ต่อมาเมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ทอท. ได้ลงนาม ในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ กั บ ท่ า อากาศยานอิ น ชอน ซึ่งได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุดของโลกเป็นระยะเวลา 5 ปีซ้อนจากโครงการ Airport Service Quality (ASQ) และเมื่อ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ทอท. และคณะผู้บริหารของ ท่าอากาศยานนาริตะ ซึง่ ได้รบั การจัดอันดับให้เป็นท่าอากาศยาน ที ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด 1 ใน 10 ของโลกจากโครงการจั ด อั น ดับคุณภาพ การให้บ ริ ก าร (ASQ) ได้ร่วมกั น ลงนามในบั น ทึกข้อตกลง ความร่วมมือระหว่างท่าอากาศยานที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของ ทอท. กับ ท่าอากาศยานนาริตะ ในปี 2554 ทอท.ได้ทำ�บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ ท่าอากาศยานปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน และท่าอากาศยาน ออสติน ณ มลรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 และเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554 ตามลำ�ดับ ในการนี้ ทอท. หวั ง ว่าการจั ด ทำ � บั น ทึ ก ข้อ ตกลง ความร่วมมือระหว่างท่าอากาศยานจะช่วยเพิม่ โอกาสทางธุรกิจ ให้กับ ทอท. และเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยยกระดับคุณภาพการให้ บริการของท่าอากาศยานที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของ ทอท. โดยการเรียนรู้การปฏิบัติการที่ดีที่สุด (Best Practice) จาก ท่าอากาศยานชั้นนำ�ทั้ง 5 แห่ง


การดำ�เนินโครงการจัดอันดับคุณภาพการบริการท่าอากาศยาน (Airport Service Quality หรือ ASQ) โครงการจัดอันดับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยาน (Airport Service Quality Program หรือ ASQ) เป็นโครงการของ สมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ (Airports Council International หรือ (ACI) ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ในปี 2554 มีท่าอากาศยานชั้นนำ�ทั่วโลก สมั ค รเข้าร่ว มโครงการกว่า 180 ท่าอากาศยานรวมทั ้ ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งได้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ ตั้งแต่ ไตรมาส 3 ปี 2550 ในการดำ�เนินโครงการฯ ท่าอากาศยานจะสำ�รวจคะแนน ความพึงพอใจของผู้โดยสารที่มาใช้ท่าอากาศยานด้วยแบบ สอบถามมาตรฐานเดี ย วกั น ทั่ ว โลกโดยสำ � รวจเกี่ ย วกั บ การบริการของท่าอากาศยานรวม 34 หัวข้อ เช่น ระบบขนส่ง การตรวจบัตรโดยสาร การตรวจคนเข้าเมือง ร้านค้า ร้านอาหาร ความสะอาด และบรรยากาศภายในอาคารผู้โดยสาร เป็นต้น จากนัน้ ท่าอากาศยานจะรวบรวมแบบสอบถามและส่งกลับไปยัง โครงการเพือ่ ดำ�เนินการประมวลผล และจัดทำ�รายงานผลคะแนน และอั น ดั บ เปรี ย บเที ย บกั บ ท่ า อากาศยานสมาชิ ก ที่ เข้ า ร่ ว ม โครงการฯ ทุกปีสมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ จะประกาศ ผลอันดับของท่าอากาศยานดีเด่นห้าอันดับแรกของโลกและ ของแต่ละประเภท โดยแบ่งตามปริมาณผู้โดยสาร และตาม ภูมิภาค ทั้งนี้ ในปี 2554 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีผล การจั ด อั น ดั บ อยู่ ใ นกลุ่ ม ท่ า อากาศยานชั้ น นำ� ของประเภท ท่าอากาศยานที่มีปริมาณผู้โดยสารมากกว่า 40 ล้านคน/ปี ซึง่ มีจ�ำ นวนสมาชิกในกลุม่ ทัง้ หมด 16 ท่าอากาศยาน โดยมี กลุ่มท่าอากาศยานชั้นนำ�ในกลุ่ม คือ ท่าอากาศยานชางงี สหพั น ธรั ฐ สิ ง คโปร์ ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง และ ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ท่าอากาศยานดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นต้น

จากการเข้าร่วมโครงการนี้ ทำ�ให้ ทอท. ทราบถึงระดับ ความพึงพอใจของผู้โดยสารที่มาใช้บริการ ณ ท่าอากาศยาน สุ ว รรณภู ม ิ ใ นแต่ละหัวข้อบริ ก ารอย่างชั ด เจน และใช้เป็น แนวทางการปรับปรุงการบริการอย่างถูกต้องตามมาตรฐานการให้ บริการในระดับสากล พร้อมทั้งได้เรียนรู้ถึงวิธีการและแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริการจากท่าอากาศยานชั้นนำ�ต่างๆ ซึ่ง ทอท. มีความมุ่งมั่นที่จะทำ�ให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นท่าอากาศยานชั้นนำ�ของโลกในด้านการบริการที่เป็นเลิศ โดยมีนโยบายและเป้าหมายชัดเจนที่จะพัฒนาคุณภาพการให้ บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้ได้รับการจัดอันดับติด 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลก จากการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ทา่ อากาศยานสุวรรณภูมิ ได้ระดับคะแนนความพึงพอใจ จากผู้โดยสารเพิ่มขึ้นทุกปี โดยโครงการ ASQ ได้ประกาศ ผลการจั ด อั น ดั บ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ดี ขึ้ น เป็ น ลำ � ดั บ กล่าวคือ ปี 2550 อยู่ในอันดับที่ 41 ปี 2551 อยู่ในอันดับที่ 28 ปี 2552 อยูใ่ นอันดับที่ 24 และ ปี 2553 อยูใ่ นอันดับที่ 45 แม้ว่า ปี 2553 อันดับจะลดลงไปอยู่ในอันดับที่ 45 เนื่องจากมีปริมาณ ผู้โดยสารเพิ่มขึ้นเฉลี่ยสูงถึงวันละ 120,000–140,000 คน ซึ่งส่งผลต่อการให้บริการ อย่างไรก็ดี ในปี 2554 ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ได้มีการบริหารจัดการความหนาแน่น และส่งเสริม พนักงานให้บริการด้วยความสุภาพ และความมีน�ำ้ ใจ พร้อมกันนี้ ทอท. ได้ให้ท่าอากาศยานเชียงใหม่สมัครเข้าร่วมโครงการ ASQ ในต้นปี 2554 เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ซึง่ เป็นการแสดงถึงความมุง่ มัน่ ของ ทอท. ที่จะพัฒนาคุณภาพการบริการของท่าอากาศยาน ทุกแห่งที่อยู่ภายใต้การดูแลของ ทอท. สู่การเป็นท่าอากาศยาน ที่มีคุณภาพการบริการดีเด่นมาตรฐานระดับโลกต่อไป

Green Airport

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

115


การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล ของ ทอท.

นโยบาย

ทอท. ตระหนักถึงความสำ�คัญของ “ทรัพยากรบุคคล” และถือว่าทรัพยากรบุคคลเป็นทรัพย์สินที่มีค่า รวมทั้งเป็น พลังขับเคลื่อนให้ ทอท. ประสบความสำ�เร็จได้อย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและ สลับซับซ้อน ดังนั้น ทอท. จึงให้ความสำ�คัญกับ “การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล” ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการบริหาร จัดการท่าอากาศยานทีส่ �ำ คัญและจำ�เป็นในการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง สร้างคุณค่าให้แก่องค์กร โดย มุ่ ง พั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ให้ มี ศั ก ยภาพความชำ � นาญ ในระบบงานสามารถปฏิ บั ติ ง าน ได้ ต ามมาตรฐานสากล ด้านการขนส่งทางอากาศโดยเฉพาะขององค์การการบินพลเรือน ระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) เพื่อให้ ทอท. เป็นผู้นำ�ธุรกิจท่าอากาศยานในภูมิภาคเอเชีย

116


การดำ�เนินการ

ทอท. มุง่ พัฒนาบุคลากรให้มศี กั ยภาพในการปฏิบตั งิ าน และเป็นไปตามมาตรฐานสากล รวมถึงเพิ่มขีดความสามารถ ในการเติบโตของธุรกิจ คือ การพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูมภิ าค และขยายกิจกรรมเชิงพาณิชย์ทา่ อากาศยาน ดอนเมื อ ง เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รไปสู่ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละประสบ ความสำ � เร็ จ ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น โดยพั ฒ นาบุ ค ลากร ทอท. ตามแผนพัฒนาบุคคลประจำ�ปี และดำ�เนินการเพิ่มเติม ดังนี้ 1. โครงการ/หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมที่ ไ ด้ ดำ � เนิ น การ อย่างต่อเนื่องตามแผนพัฒนาบุคคล ประจำ�ปี 1.1 หลั ก สู ต รหลั ก ด้ า นท่ า อากาศยาน ได้ แ ก่ โครงการปฐมนิเทศ การปฏิบัติการท่าอากาศยาน (Airport Operations) และหลักสูตรการจัดการท่าอากาศยาน (Airport Management) 3 ระดับ คือ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง 1.2 หลั ก สู ต รด้ า นการปฏิ บั ติ ก าร เช่ น การบิ น ด้ ว ยเครื่ อ งวั ด ประกอบการบิ น สำ � หรั บ ผู้ ทำ � งานด้ า นการบิ น (Instrument Rating Ground: IRG), ความรู้ ด้ า นการบิ น สำ�หรับผู้ทำ�งานด้านการบิน (Private Pilot License: PPL), นิ ร ภั ย ท่ า อากาศยาน, Accident/Incident Investigation and Root Cause Analysis, การทบทวนวิธีปฏิบัติงานกับระบบ ลำ�เลียงกระเป๋าสัมภาระ, การทบทวนการใช้อาวุธปืนประจำ�กาย และระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน เป็นต้น

1.3 หลักสูตรด้านการบริหารธุรกิจและการจัดการทัว่ ไป เช่น หลักสูตรมาตรฐานการบัญชีสากลสำ�หรับคณะกรรมการ และผู้ปฏิบัติ, IT Auditing, ภาษาต่างประเทศ (ญี่ปุ่น เกาหลี จีน), การจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) และการจัด ทำ�คู่มือและข้อบังคับความปลอดภัยในการทำ�งาน เป็นต้น 1.4 หลักสูตรสำ�หรับคณะกรรมการ ทอท. และ ผูบ้ ริหารระดับสูง เช่น หลักสูตร Director Accreditation Program ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หลักสูตรนักบริหาร การยุติธรรมทางปกครองระดับสูงของสำ�นักงานศาลปกครอง, สัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ตามระบบประเมินคุณภาพ รัฐวิสาหกิจของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสัมมนาการลดความเหลือ่ มล้�ำ และสร้างโอกาส ทางเศรษฐกิจ ของมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย เป็นต้น 1.5 หลั ก สู ต รฝึ ก อบรม ประชุ ม และสั ม มนา ณ ต่างประเทศ ได้แก่ ACI Asia-Pacific Human Resources Best Practice Seminar ณ ประเทศมาเลเซีย, International Visitors Leadership Project ณ สหรัฐอเมริกา, Senior Crisis Management Seminar ณ สหรัฐอเมริกา, Advance Imaging Technology International Policy Summit ณ สหรัฐอเมริกา และ The 28th ASEAN International Airports Association Conference ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นต้น

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

117


2. โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรมที่ได้ดำ�เนินการเพิ่มเติม 2.1 หลักสูตรผูจ้ ดั การสนามบินสาธารณะของ ทอท. เพือ่ เพิม่ พูลความรูใ้ ห้ผอู้ �ำ นวยการท่าอากาศยาน และรองผูอ้ �ำ นวยการท่าอากาศยานของ ทอท. เกีย่ วกับมาตรฐาน กฎหมาย และข้อปฏิบัติต่างๆ ในการดำ�เนินงานสนามบิน สาธารณะให้เป็นไปตามข้อบังคับของคณะกรรมการการบิน พลเรือน (กบร.) 2.2 โครงการฝึกอบรมตามแผนการส่งเสริมการเรียนรู้ ของพนักงานภายในองค์กร ภายใต้บนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิกับท่าอากาศยานนานาชาติ ที่จัดทำ�บันทึกข้อตกลงร่วมกัน (Sister Airport Agreement) เพือ่ ให้พนักงานได้รบั โอกาสในการเรียนรู้ แลกเปลีย่ น ความคิดเห็นและประสบการณ์ในการทำ�งาน รวมถึงการเตรียม ความพร้อมและพัฒนาศักยภาพของพนักงานในการรองรับ การดำ�เนินงานด้านต่างๆ กับท่าอากาศยานที่ได้จัดทำ�บันทึก ข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้ • ท่าอากาศยานมิวนิค สหพันธรัฐเยอรมนี โดยส่ง พนักงานเข้ารับการฝึกปฏิบตั งิ านในหน้าที่ (On the Job Training: OJT) ด้าน Aviation Marketing และ Terminal Services • ท่าอากาศยานอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี โดย ส่งพนักงานเข้ารับการอบรมด้าน Airside Operation, Airport Planning & Design และ Customer Satisfaction

118

2.3 โครงการฝึกอบรม การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal: SEPA) เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ พ นั ก ง า น มี ค ว า ม รู้ ความเข้ า ใจในเกณฑ์ ก ารประเมิ น SEPA ของสำ � นั ก งาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และแนวทางการนำ� ไปใช้อย่างถูกต้อง รวมถึงเพื่อพัฒนาระบบการตรวจประเมิน ภายในองค์กรตามแนวทาง SEPA 2.4 โครงการพัฒนาระบบสมรรถนะ (Competency) ของ ทอท. เป็นการดำ�เนินการเพื่อรองรับแผนวิสาหกิจ ทอท. กลยุทธ์ด้านบริหารจัดการองค์กรมุ่งสู่ประสิทธิภาพสูง และแผนงาน/โครงการเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ (Strategic Improvement Plan: SIPs) หัวข้อการบริหารทรัพยากรบุคคล เพือ่ พัฒนา Competency Model ของ ทอท. ได้แก่ สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะด้านการจัดการ (Managerial Competency) และสมรรถนะตามหน้ า ที่ ง าน (Functional Competency) และนำ �ระบบสมรรถนะไปเชื่อมโยงประยุกต์ เป็นแนวทางในการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์การ 2.5 โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษสำ�หรับพนักงาน ทอท. โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ผ่านระบบ E-learning ของ Tell me more


เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นภาษาอั ง กฤษให้ กั บ พนั ก งานที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการให้ บ ริ ก ารผู้ โ ดยสารโดยตรง (Frontline Staff) และเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้ ว ยตนเอง (Self – Learning) ของพนักงาน รวมถึงสนับสนุน ทอท. ให้ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ทอท. มีผลการดำ�เนินการพัฒนาบุคลากร ประจำ �ปี งบประมาณ 2554 รวมจำ � นวน 48 โครงการ/หลั ก สู ต ร ฝึกอบรม และมีผู้เข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร รวมจำ�นวน 4,216 คน แบ่งตามหมวดความรู้ได้ดังนี้ 1. การฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการท่าอากาศยาน (Airport Management Training) • โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม จำ�นวน 112 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 26.17 • ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำ�นวน 1,127 คน คิดเป็นร้อยละ 26.75

2. การฝึ ก อบรมด้ า นการบริ ห ารจั ด การทั่ ว ไป (General Management Training) • โครงการ/หลั ก สู ต รฝึ ก อบรม จำ � นวน 78 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 18.22 • ผู้เข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำ�นวน 746 คน คิดเป็นร้อยละ 17.70 3. การฝึ ก อบรมด้ า นวิ ช าชี พ และการปฏิ บั ติ ก าร (Functional & Operations Training) • โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม จำ�นวน 165 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 38.55 • ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำ�นวน 1,612 คน คิดเป็นร้อยละ 38.24 4. การฝึกอบรมด้านความรูท้ ว่ั ไป (Soft Skills Training) • โครงการ/หลั ก สู ต รฝึ ก อบรม จำ � นวน 73 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 17.06 • ผู้เข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำ�นวน 731 คน คิดเป็นร้อยละ 17.31

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

119


มาตรการ การรักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดำ�เนินการด้านการรักษา ความปลอดภัย โดยพิจารณาดำ�เนินการให้เป็นไปตามมาตรฐาน และวิ ธี ป ฏิ บั ติ ข ององค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) และ พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551) เพื่อป้องกันภัยต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในเขตพื้นที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยได้ก�ำ หนดแนวทางในการกำ�หนด มาตรการการรักษาความปลอดภัยเชิงป้องกัน (Preventive Security Measures) ไว้ดังนี้ 1. มาตรการการรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยาน การสร้างแนวป้องกันเพือ่ รักษาความปลอดภัย โดยมี แนวรั้ ว ชั้ น นอกรอบท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ พร้ อ มแนว คูคลองขนานกับแนวรั้วความยาว 28 กิโลเมตร และแนวรั้วเขต พื้นที่การบิน (Airside) ความยาวรวม 23 กิโลเมตร ความสูง 3.00 เมตร พร้อมขดลวดหนามด้านบน ความสูง 50 เซนติเมตร รวมทั้งติดตั้งป้อมรักษาการณ์ ระบบแสงสว่าง และโทรทัศน์ วงจรปิด เพื่อป้องกันผู้บุกรุกเข้าเขตพื้นที่การบิน จัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ตระเวนตรวจ รักษาความปลอดภัยพื้นที่โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และพื้นที่ที่อยู่ในการกำ�กับดูแลของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพือ่ สังเกตและป้องกันการกระทำ�อันอาจทำ�ให้เกิดความเสียหาย ต่อผู้ใช้บริการและต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การกำ � หนดพื้ น ที่ เ พื่ อ การรั ก ษาความปลอดภั ย ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แบ่งเป็นพื้นที่ควบคุมและพื้นที่ หวงห้ า ม ซึ่ ง การผ่ า นเข้ า -ออกพื้ น ที่ ดั ง กล่ า ว จะต้ อ งผ่ า น การตรวจค้นจากเจ้าหน้าทีท่ คี่ วบคุมการผ่านเข้า-ออกพืน้ ที่ และ

120


ปัจจุบนั ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งอ่านบัตรรักษา ความปลอดภัยบุคคล เพื่อให้มั่นใจว่าบุคคลที่จะผ่านเข้าไปยัง พื้นที่หวงห้าม ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง 2. มาตรการการรักษาความปลอดภัยผู้โดยสาร และ สัมภาระก่อนขึ้นอากาศยาน จัดให้มีการตรวจค้นผู้โดยสารและสัมภาระติดตัว ก่อนขึน้ อากาศยานด้วยเครือ่ งตรวจจับโลหะชนิดเดินผ่าน (Walk Through Metal Detector : WTMD) และ เครื่อง X-Ray สำ�หรับ การตรวจสัมภาระบรรทุกจะใช้ระบบ Inline Screening System ด้วยเครือ่ ง CTX 9400 DSi ซึง่ เป็นเทคโนโลยีขนั้ สูงในการตรวจหา ร่องรอยวัตถุระเบิด ประกอบกับอุปกรณ์ Explosive Trace Detector (ETD) เพื่อป้องกันมิให้มีการส่งหรือพาวัตถุอันอาจ เป็นอันตรายต่ออากาศยานและผู้โดยสารในอากาศยาน และ วัตถุต้องห้าม ซึ่งอาจใช้ในการกระทำ�อันเป็นการแทรกแซง โดยมิชอบด้วยกฎหมายไปกับอากาศยานได้ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้ใช้ระบบการตรวจค้น ผู้โดยสารและสัมภาระติดตัวก่อนขึ้นอากาศยานแบบรวมศูนย์ (Centralize Screening) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การรั ก ษาความปลอดภัย ซึ่ง ก่อ ให้เ กิดความมั่น ใจในระบบ การรักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และ เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ผู้โดยสาร 3. มาตรการการรั ก ษาความปลอดภั ย สิ น ค้ า และ ไปรษณียภัณฑ์ ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุญาตจากท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ จะเป็นผู้ควบคุมกำ�กับดูแลการขนส่งให้เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย บุคคลหรือยานพาหนะที่ผ่านเข้าเขตลานจอด

อากาศยาน จะต้องผ่านการตรวจค้นตามมาตรการการรักษา ความปลอดภัย ของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยผูป้ ระกอบการ ต้องจัดทำ�แผนการดำ�เนินงานรักษาความปลอดภัยให้สอดคล้อง กับแผนการการรักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 4. การเตรียมความพร้อมในการรักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยาน ปัจจุบนั ภัยคุกคามกิจการการบินพาณิชย์และภัยจาก การก่อการร้ายมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึน้ ท่าอากาศยาน สุ ว รรณภู มิ ไ ด้ เ ตรี ย มความพร้ อ มโดยแบ่ ง ระดั บ การรั ก ษา ความปลอดภัยเป็น 4 ระดับ ดังนี้ ระดับ 1 - ระดับต่ำ�/ปรากฏข่าวว่าจะมีการก่อการร้าย ระดับ 2 - ระดับความเสี่ยง/เสี่ยงต่อการโจมตี ระดับ 3 - ระดับสูง/เสี่ยงต่อการโจมตีระดับสูง ระดับ 4 - การเสีย่ งต่อการก่อการร้ายอย่างรุนแรง/ได้รบั ข่าวกรองว่าจะมีการโจมตีอย่างแน่นอน รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

121


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยาน ดอนเมือง

มาตรการการรักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยาน ดอนเมือง มีการดำ�เนินการให้เป็นไปตามระเบียบสำ�นักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 พระราชบัญญัตกิ ารเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และพระราชบัญญัติ การเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 รวมทัง้ ข้อบังคับของคณะ กรรมการการบินพลเรือน พระราชบัญญัติการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 ประกอบพระราชกฤษฎีกากำ�หนด อำ�นาจ สิทธิ และประโยชน์ของบริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) พ.ศ. 2545 ภาคผนวกที่ 17 (ANNEX 17) ขององค์การ การบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ว่าด้วยการป้องกัน การบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศให้ พ้ น จากการกระทำ � อั น เป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การกำ�หนดมาตรการ การรักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยานดอนเมืองมีดังนี้ 1. กำ�หนดพื้นที่เพื่อการรักษาความปลอดภัย ได้แก่ พื้นที่ควบคุมและพื้นที่หวงห้าม 2. กำ�หนดมาตรการการผ่านเข้า-ออก หรืออยู่ในพื้นที่ หวงห้ามของบุคคลหรือยานพาหนะ ซึ่งบุคคลหรือยานพาหนะ ที่ จ ะเข้ า -ออก หรื อ อยู่ ใ นพื้ น ที่ ห วงห้ า มต้ อ งมี บั ต รรั ก ษา ความปลอดภัยที่ออกโดยท่าอากาศยานดอนเมือง หรือบัตร รั ก ษาความปลอดภัยของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ� กั ด (มหาชน) ทีอ่ นุญาตให้ผา่ นเข้า-ออก ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง และต้ อ งถู ก ตรวจสอบหรื อ ค้ น ร่ า งกายหรื อ ยานพาหนะโดย เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยานดอนเมืองก่อน ผ่านเข้า-ออกพื้นที่หวงห้าม 3. กำ � หนดมาตรการป้ อ งกั น การก่ อ วิ น าศกรรม ท่าอากาศยาน ได้แก่ การเฝ้าตรวจทางโทรทัศน์วงจรปิดตลอด

122

24 ชั่วโมง การประกาศเสียงตามสายแจ้งเตือนไม่ให้ผู้ใช้บริการ ท่าอากาศยานวางสิง่ ของทิง้ ไว้โดยไม่มผี ดู้ แู ล การตระเวนตรวจตรา พืน้ ทีภ่ ายในอาคารผูโ้ ดยสาร พืน้ ทีเ่ ขตการบินและนอกเขตการบิน โดยเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยและรถยนต์สายตรวจของ ท่าอากาศยานดอนเมือง การตรวจสอบวัตถุต้องสงสัยโดย เจ้าหน้าที่ท�ำ ลายวัตถุระเบิด 4. กำ�หนดมาตรการป้องกันการลักทรัพย์ การก่อความ ไม่สงบ หรือการก่ออาชญากรรมอื่นๆ ภายในท่าอากาศยาน 5. กำ � หนดมาตรการป้ อ งกั น การก่ อ วิ น าศกรรม อากาศยานหรือการเข้าถึงอากาศยานโดยมิชอบ 6. กำ�หนดมาตรการเกี่ยวกับผู้โดยสาร สัมภาระติดตัว และสัมภาระเดินทาง มีการตรวจค้นสัมภาระติดตัว สัมภาระ เดินทางของผู้โดยสารและลูกเรือที่ผ่านเข้าสู่อากาศยาน 7. กำ�หนดมาตรการการควบคุมโภชนาการ ผู้ดำ�เนิน การเดินอากาศหรือผู้แทน หรือผู้ประกอบการจะเป็นผู้ควบคุม ดู แ ลการบรรจุ อ าหารใส่ ตู้ สำ � หรั บ เก็ บ และขนส่ ง อาหารจาก อาคารโภชนาการจนลำ�เลียงเข้าสูอ่ ากาศยาน ณ ท่าอากาศยาน ดอนเมืองเพือ่ ป้องกันไม่ให้มกี ารลักลอบการนำ�อาวุธวัตถุระเบิด ซุกซ่อนไปกับยานพาหนะที่ใช้ขนส่ง 8. กำ�หนดมาตรการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัย โดยจั ด ให้ มี แ ผนควบคุ ม คุ ณ ภาพการรั ก ษาความปลอดภั ย ตรวจสอบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความ ปลอดภั ย และเจ้ า หน้ า ที่ ต รวจค้ น จั ด ฝึ ก อบรมเพิ่ ม เติ ม หรื อ ทบทวนให้ความรู้แก่บุคลากร รวมทั้งจัดการฝึกซ้อมตามแผน เผชิญเหตุ แผนฉุกเฉิน หรือแผนรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยาน เชียงใหม่

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของ องค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศ ภาคผนวกที่ 17 ว่าด้วยเรื่องการรักษาความปลอดภัย (Security) โดยได้ผ่าน การตรวจสอบด้ า นมาตรฐานการรั ก ษาความปลอดภั ย จาก กรมการบินพลเรือน และผ่านการประเมินจากหน่วยงานบริหาร การรักษาความปลอดภัยการขนส่งแห่งสหรัฐอเมริกา (Transportation Security Administration:TSA) เมื่อต้นปี 2554 ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นถึงมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย ของท่าอากาศยานเชียงใหม่ที่เป็นสากลและเป็นที่ยอมรับของ หน่วยงานด้านการรักษาความปลอดภัยชั้นนำ�ระดับโลก ถึ ง แม้ ว่ า ปั จ จุ บั น ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ จ ะมี ก ารให้ บริ ก ารและการรั ก ษาความปลอดภั ย ที่ ไ ด้ ม าตรฐานสากล

แต่ก็ยังเดินหน้าพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการพัฒนา บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการรักษาความปลอดภัยซึ่งถือว่า เป็ น หั ว ใจสำ � คั ญ ในการปฏิ บั ติ ง านโดยได้ จั ด ให้ มี ก ารอบรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเป็นประจำ�และต่อเนื่อง เพื่อให้ ทันกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทันสมัย และไม่เพียงความเชื่อมั่นในการเดินทาง ผู้มาใช้บริการ ณ ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ ยั ง ได้ รั บ ความสะดวกรวดเร็ ว ในการปฏิ บัติ ต ามขั้ น ตอนการรั ก ษาความปลอดภัย ซึ่ง เป็น ส่ ว นหนึ่ ง ของแผนปฏิ บั ติ ก ารตามโครงการเข้ า ร่ ว มประกวด ท่ า อากาศยานที่ มี คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารที่ ดี ที่ สุ ด ของโลก (Airport Service Quality Program : ASQ) เพื่อให้ผู้โดยสาร เกิดความพึงพอใจสูงสุดในการใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานเชียงใหม่

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

123


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยาน หาดใหญ่

ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ยึดถือข้อกำ�หนดขององค์การ การบิ น ระหว่ า งประเทศ ภาคผนวกที่ 17 พระราชบั ญ ญั ติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497, พระราชบัญญัติการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2517 และข้อบังคับ คณะกรรมการการบินพลเรือน เป็นแนวปฏิบตั งิ านด้านการรักษา ความปลอดภัยท่าอากาศยาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน การแทรกแซงที่มิชอบด้วยกฎหมาย เนื่ อ งจากมี เ หตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบเกิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ และเพื่ อ ป้ อ งกั น การก่ อ การร้ า ย ท่ า อากาศยานหาดใหญ่ ได้ เ พิ่ ม มาตรการในการรั ก ษา ความปลอดภั ย เป็ น กรณี พิ เ ศษเพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ผู้โดยสารและผู้มาใช้บริการท่าอากาศยาน ดังนี้ 1. กำ � หนดทางเข้ า - ออก ท่าอากาศยานหาดใหญ่ เหลือทางเดียว 2. ตรวจค้นและบันทึกภาพยานพาหนะทุกคัน 3. กำ�หนดทางเข้า - ออก อาคารผูโ้ ดยสารเหลือทางเดียว 4. ตรวจบุคคลทุกคนและสัมภาระทุกชิน้ ก่อนเข้าอาคาร ผู้โดยสาร

124

5. ห้ามรถทุกชนิดจอดใต้อาคารผู้โดยสาร 6. เปรียบเทียบปรับกรณีวางกระเป๋าและสัมภาระทิง้ ไว้ 7. จั ด เจ้ า หน้ า ที่ ทำ � ลายวั ต ถุ ร ะเบิ ด และเจ้ า หน้ า ที่ ชุดสุนขั ทหารลาดตระเวนตรวจตราพืน้ ทีภ่ ายในและ ภายนอกอาคารผู้โดยสาร รวมถึงลานจอดรถยนต์ 8. จัดเจ้าหน้าทีท่ หารอากาศโยธิน รักษาความปลอดภัย พื้นที่ลานจอดรถยนต์ 9. เจ้าหน้าที่ทหาร ตำ�รวจรักษาควาปลอดภัยประจำ� ศูนย์รว่ มรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยานทุกวัน 10. เจ้าหน้าทีส่ ายตรวจตระเวนตรวจตราพืน้ ทีโ่ ดยรอบ ทุก 1 ชั่วโมง 11. จัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยตรวจสอบการ รั ก ษาความปลอดภั ย พื้ น ที่ ทั้ ง หมดด้ ว ยระบบ โทรทัศน์วงจรปิด 12. จั ด เจ้ า หน้ า ที่ ส ารวั ต รทหารอากาศประจำ � พื้ น ที่ ทำ�การบิน


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต ยึ ด มาตรฐานในการรั ก ษาความ ปลอดภัย ตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่าง ประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ซึ่งกำ�หนดไว้ในภาคผนวกที่ 17 (Annex 17) เป็นมาตรฐาน ระหว่ า งประเทศสู ง สุ ด เกี่ ย วกั บ การรั ก ษาความปลอดภั ย การบินพาณิชย์ เพือ่ ป้องกันภัยทีเ่ กิดจากการแทรกแซงโดยมิชอบ ด้วยกฎหมาย (Preventive Security Measures) จึงได้กำ�หนด มาตรการการรักษาความปลอดภัย ดังนี้ 1. มาตรการการรักษาความปลอดภัยพืน้ ฐาน ประกอบด้วย 1.1 การกำ�หนดพืน้ ทีห่ วงห้าม (Security Prohibited Area) เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ระเบี ย บสำ � นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 และ ข้ อ เสนอแนะขององค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศ จึงได้กำ�หนดพื้นที่บางส่วนเป็นพื้นที่หวงห้ามเฉพาะ และพื้นที่ หวงห้ามเด็ดขาด บุคคลและยานพาหนะที่จะผ่านเข้า-ออก จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำ�หนดไว้ เช่น ต้องติดบัตรรักษา ความปลอดภัย ผ่านการตรวจค้นร่างกายและสัมภาระ ฯลฯ 1.2 การป้องกันพืน้ ทีร่ อบท่าอากาศยาน (Perimeter Protection) การระแวดระวังพื้นที่โดยรอบและพื้นที่ต่อเนื่อง ถือว่าเป็นภารกิจสำ�คัญ จึงจัดให้มีการลาดตระเวน ทั้งโดยการ เดินเท้าและรถสายตรวจ รวมทั้งมาตรการป้องกันอื่นๆ เช่น ระบบโทรทัศน์วงจรปิดบริเวณลานจอดอากาศยาน จัดกำ�ลัง ประจำ�ลานจอดรถยนต์ ประสานกับ สภานีตำ�รวจภูธรท่าฉัตร ไชย จัดกำ�ลังลาดตระเวนพื้นที่ต่อเนื่องกับท่าอากาศยาน ฯลฯ 1.3 การป้องกันพื้นที่ภายในอย่างใกล้ชิด (Close Protection) เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า จะไม่ มี ก ารจู่ โจมทาง

ภาคพื้นดิน จึงจัดให้มีการรักษาการณ์พื้นที่ต่างๆ เช่น บริเวณ จุดจอดอากาศยาน ช่องทางเข้าสู่พื้นที่ลานจอดอากาศยาน ห้องคัดแยกสัมภาระ พื้นที่จัดเก็บสัมภาระ ไปรษณียภัณฑ์ ฯลฯ 1.4 การรั ก ษาความปลอดภั ย เที่ ย วบิ น ที่ มี ค วาม เสี่ยงภัยสูง (High Risk Flights) เมื่อรัฐหรือบริษัทการบิน ได้ ร้ อ งขอ จึ ง จั ด ให้ มี ก ารส่ ง เสริ ม มาตรการการรั ก ษาความ ปลอดภัยสำ�หรับเทีย่ วบินทีม่ คี วามเสีย่ งสูง เช่น เทีย่ วบินประมุข ของประเทศและเทีย่ วบินทีอ่ ยูใ่ นสถานการณ์ทไี่ ม่ปลอดภัยทีม่ า จังหวัดภูเก็ต 1.5 การจัดกำ�ลังรักษาความปลอดภัย (Security Forces) การรักษาความปลอดภัยตามข้อ 1.1-1.4 ท่าอากาศยาน ภูเก็ต ได้คำ�นึงถึงความพร้อมของกำ�ลังที่มีความคล่องตัวสูง รวมทั้ง ได้จัดวิทยุสื่อสารและอาวุธต่างๆ เพื่อการประสานและ ป้องกันภัยในท่าอากาศยานได้ทันต่อเหตุการณ์ 2. มาตรการการรั ก ษาความปลอดภั ย เฉพาะด้ า น ประกอบด้วย 2.1 การตรวจค้ น ผู้ โ ดยสารและสั ม ภาระติ ด ตั ว (Screening of Passengers and Cabin Baggage) ให้มี การตรวจค้นผู้โดยสารและสัมภาระติดตัวอย่างละเอียด รวมทั้ง จำ�กัดบุคคลทีไ่ ม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้อง ผ่านจุดตรวจค้นอย่างเด็ดขาด 2.2 การตรวจค้ น และควบคุ ม สั ม ภาระเดิ น ทาง (Checked – Baggage) สัมภาระเดินทางจะได้รบั การติดสัญลักษณ์ เมื่อผ่านการตรวจค้นจะถูกควบคุมจากท่าอากาศยานภูเก็ต และบริษัทสายการบินขณะลำ�เลียงไปบรรทุกในอากาศยาน 2.3 การควบคุมผู้โดยสารที่ผ่านการตรวจค้นแล้ว (Screened – Passenger Controls) เพื่อป้องกันการหยิบยื่น รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

125


อาวุธหรือวัตถุอันตรายไปกับผู้โดยสารที่ผ่านการตรวจค้นแล้ว ท่าอาศยานภูเก็ต กำ�หนดไว้ว่าจะไม่มีการปะปนกับผู้โดยสาร ที่ยังไม่ผ่านการตรวจค้นอย่างเด็ดขาด 2.4 การควบคุ ม สิ น ค้ า ไปรษณี ย ภั ณ ฑ์ อาหาร และสิ่งที่ใช้บริการในอากาศยาน (Cargo/Mail/Courier/Operator Stores) บุคคลและยานพาหนะทีน่ �ำ สินค้า ไปรษณียภัณฑ์ อาหาร และสิ่งที่ใช้บริการในอากาศยาน จะต้องหยุดให้พนักงานรักษา ความปลอดภัยประจำ�ช่องทาง รปภ.1 ตรวจค้นร่างกาย และ บัตรอนุญาตก่อนผ่านเข้า-ออกพืน้ ทีห่ วงห้ามทุกครัง้ กรณีสงสัย พนักงานรักษาความปลอดภัยจะขอเปิดตรวจสิง่ ทีน่ �ำ พาตามความ เหมาะสม 2.5 การป้ อ งกั น อากาศยาน (Protection of Aircraft) อากาศยานใดที่มีข้อมูลเบื้องต้นว่าเป็นเป้าหมายของ การถูกแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมายท่าอากาศยานภูเก็ต จัดให้มกี ารแจ้งเตือนและตรวจค้นภายในอากาศยาน (Notification and Inspection of Aircraft Threat) ยิ่งกว่านั้นยังจัดให้มีการ เฝ้าระมัดระวังอากาศยานเมื่อได้รับการร้องขออีกด้วย 2.6 การควบคุ ม และการอนุ ญ าตให้ นำ � อาวุ ธ ขึ้นอากาศยาน (Authorized Carriage of Weapons) อาวุธ ทุกประเภทโดยเฉพาะอาวุธปืน ก่อนนำ�ขึน้ บรรทุกบนอากาศยาน จะต้องได้รบั อนุญาตจากพนักงานตรวจค้นท่าอากาศยานภูเก็ต และปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำ�หนดไว้ 2.7 มาตรการควบคุมการผ่านเข้า-ออก (Access Control) ท่าอาศยานภูเก็ตได้กำ�หนดพื้นที่หวงห้ามและแนวรั้ว กำ�หนดเขตพืน้ ทีห่ วงห้ามบุคคลและยานพาหนะจะผ่านเข้า-ออก ได้เฉพาะช่องทางที่กำ�หนดและจะต้องให้พนักงานรักษาความ ปลอดภัยตรวจค้นร่างกายและความถูกต้องของบัตรรักษาความ ปลอดภัยทุกครั้ง 2.8 การสำ � รวจและการตรวจสอบมาตรการการ รักษาความปลอดภัย (Surveys and inspection) มาตรการ การรักษาความปลอดภัยอาจมีข้อบกพร่อง หรือไม่เพียงพอ อันอาจเกิดจากปัจจัยของภัยการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมายที่ เปลี่ยนไป จึงจำ�เป็นต้องมีการสำ�รวจเพื่อจัดให้มีมาตรการใหม่ หรือการตรวจสอบเพื่อทบทวนความเพียงพอของมาตรการ ที่มีอยู่เดิม ซึ่งตามแผนการรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยาน ภูเก็ตจะสำ�รวจและตรวจสอบมาตรการทุกๆ 6 เดือน อย่างไรก็ตาม องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศและสหพันธ์บริหาร การบินแห่งสหรัฐอเมริกา (Federal Aviation Administration : FAA ปั จ จุ บั น เปลี่ ย นเป็ น Transportation Security Administration: TSA) ได้จัดเจ้าหน้าที่มาสำ�รวจและตรวจสอบ มาตรการการรักษาความปลอดภัยที่ท่าอากาศยานภูเก็ตเสริม

126

จากที่ ทอท. ได้ก�ำ หนดไว้อกี ชัน้ หนึง่ ด้วย แล้วให้ท่าอากาศยาน ภูมิภาคทราบเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกัน 3. เมื่อมีเหตุการณ์ก่อวินาศกรรมตามประเทศต่างๆ ท่าอากาศยานภูเก็ต มีแนวทางการป้องกันพร้อมมีมาตรการ ดูแลความปลอดภัย 3.1 ในการปฏิ บั ติ ต ามภาวะปกติ ท่ า อากาศยาน ภู เ ก็ ต ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามมาตรการการรั ก ษาความปลอดภั ย ตามที่กล่าวไว้ในข้อ 1 นับตั้งแต่สถานการณ์การก่อการร้าย ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ทีส่ หรัฐอเมริกา ท่าอากาศยาน ภู เ ก็ ต ได้ จั ด ทำ � ระบบสั ญ ญาณการเตื อ นภั ย การก่ อ การร้ า ย หรือ Level of Threat ได้จำ�แนกสถานการณ์การเตือนภัย ออกเป็น 4 ระดับสถานการณ์ ดังนี้ • สถานการณ์ระดับ 1 – สถานการณ์ปกติ ไม่มี ข่าวความเคลื่อนไหวของการก่อการร้าย • สถานการณ์ระดับ 2 – สถานการณ์ทมี่ คี วาม เสี่ยงภัยต่อการก่อการร้ายในระดับมาตรฐาน • สถานการณ์ระดับ 3 – สถานการณ์ทมี่ คี วาม เสี่ยงภัยต่อการก่อการร้ายในระดับพิเศษในขั้นที่มีการคุกคาม แบบเจาะจงต่อกิจการบิน • สถานการณ์ระดับ 4 – สถานการณ์ทเี่ ตรียม พร้อมเต็มกำ�ลังต่อต้านการก่อการร้าย ณ สถานการณ์ปัจจุบัน ท่าอากาศยานภูเก็ตได้ปฏิบัติตามระบบสัญญาณเตือนภัยการ ก่อการร้าย สถานการณ์ระดับ 2 ซึ่งมีหลักการในการ ปฏิบัติ ดังนี้ 3.1.1 เพิ่มจำ�นวนบุคลากรปฏิบัติงานรักษา ความปลอดภัย และเพิม่ ความเข้มงวดในการรักษาความปลอดภัย ของท่ า อากาศยาน เช่ น เพิ่ ม ความถี่ ใ นการตระเวนตรวจ ทั้ ง ภายในอาคารและนอกอาคารหรื อ เพิ่ ม ความเข้ ม งวด ในการสุ่มตรวจกระเป๋าสัมภาระก่อนขึ้นเครื่องบิน อนุญาตให้ รถยนต์จอดที่บริเวณชานชาลาเฉพาะรับส่งผู้โดยสารเท่านั้น 3.1.2 จัดให้มีระบบการตรวจสอบมาตรการ การรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยาน ซึ่งในการตรวจสอบนี้ จะตรวจสอบทั้งการปฏิบัติและระบบการป้องกันภัย 3.1.3 จัดให้มีการวิเคราะห์สถานการณ์การ ก่อการร้ายสากล โดยการประสานงานการข่าวทัง้ จากหน่วยข่าว ภายในประเทศและต่ า งประเทศ เพื่ อ ประเมิ น สถานการณ์ การก่อการร้ายสากลทีอ่ าจเกิดขึน้ ในประเทศไทย ซึง่ ผลการประเมิน จะเป็นสิง่ บ่งชีว้ า่ ควรปรับระดับสีให้เป็นระดับปัจจุบนั หรือระดับสูงขึน้ 3.2 ได้มกี ารประชุมและขอความร่วมมือจากหน่วยงาน ราชการและเอกชนที่ประกอบการในท่าอากาศยาน ให้ร่วมมือ สอดส่องบุคคลทีม่ พี ฤติกรรมต้องสงสัยและทรัพย์สนิ ทีว่ างทิง้ ไว้


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยาน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย

ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย ยึดมาตรฐานในการ รักษาความปลอดภัยตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือน ระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) ซึง่ กำ�หนดไว้ในภาคผนวกที่ 17 (Annex 17) เป็นมาตรฐาน ระหว่ า งประเทศสู ง สุ ด เกี่ ย วกั บ การรั ก ษาความปลอดภั ย การบิ น พาณิ ช ย์ เพื่ อ ป้ อ งกั น ภั ย ที่ เ กิ ด การแทรกแซงโดย มิชอบด้วยกฎหมาย ส่วนรักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยาน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรักษาความปลอดภัยและการบริการ แก่ผู้ใช้บริการ ในปีงบประมาณ 2554 ดังนี้ 1. โครงการฝึกอบรมหลักสูตร 3 ม. เพื่อเพิ่มมาตรฐาน การรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย การตรวจค้นและการรักษาความปลอดภัยเป็นส่วนหนึ่งของ งานรักษาความปลอดภัยซึง่ เป็นภารกิจสำ�คัญของการดำ�เนินการ กิจการท่าอากาศยาน ทีจ่ ะต้องรับผิดชอบต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของผู้โดยสารและผู้มาใช้บริการ หากเกิดความบกพร่องใน การปฏิบัติงานแล้ว ไม่เพียงแต่จะทำ�ให้ชีวิตและทรัพย์สินได้รับ

ความเสียหายเท่านั้น แต่จะมีผลต่อภาพลักษณ์และชื่อเสียง ของประเทศอีกด้วย ดังนั้นการฝึกอบรมต้องเป็นระบบและ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล 2. โครงการฝึกอบรมหลักสูตร ภาษาอังกฤษสำ�หรับ พนักงานตรวจค้นและรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยาน แม่ฟา้ หลวง เชียงราย การใช้ภาษาอังกฤษในท่าอากาศยานจำ�เป็น ต้องพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของพนักงานตรวจค้น และรักษาความปลอดภัยให้มีความรู้และทักษะในการสื่อสาร สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้โดยสารและผู้มาใช้บริการด้วยภาษา อังกฤษได้อย่างถูกต้องเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด 3. โครงการฝึกซ้อมการใช้อาวุธปืน และการบำ�รุงรักษาปืน ส่วนรักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มีเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการรักษาความปลอดภัย และมี อาวุธปืนอยูใ่ นความรับผิดชอบจำ�เป็นต้องมีการฝึกการใช้อาวุธปืน และการบำ�รุงรักษาปืนขั้นต้นด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและ ถูกวิธี เพือ่ ให้เกิดความคุน้ เคยและความมัน่ ใจในการใช้อาวุธปืน และหลักการยิงปืนที่ถูกต้อง

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

127


การดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน

การบริ ห ารและการจั ด การด้ า นความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน

ทอท. ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำ�คัญในเรื่องการ บริหารงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน โดยในปี 2554 ได้ปรับปรุงโครงสร้างองค์กร ซึ่ง ได้ จั ด ให้ มี ส ายมาตรฐานท่ า อากาศยานและอาชี ว อนามั ย ซึ่งประกอบด้วยส่วนงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านมาตรฐาน ท่าอากาศยาน และด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำ�งานโดยเฉพาะ รวมทั้งได้ตั้งหน่วยงาน ความปลอดภัยในการทำ�งานขึ้นในทุกท่าอากาศยานที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของ ทอท. รวมทั้งมีบุคลากรที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าการดำ�เนินงาน กิจกรรมหรือ โครงการต่างๆ ของท่าอากาศยาน จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ ด้านความปลอดภัยทั้งต่อพนักงาน ทรัพย์สิน รวมถึงผู้รับเหมา ที่เข้ามาปฏิบัติงานในบริษัทด้วย

128

การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย

ทอท. ได้จัดให้มีการฝึกอบรม ให้ความรู้ในหลักสูตร ต่างๆ ทัง้ ในส่วนทีก่ ฎหมายกำ�หนดและหลักสูตรทีเ่ พิม่ พูนความรู้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการปฏิ บั ติ ง าน เช่ น หลั ก สู ต รเจ้ า หน้ า ที่ ความปลอดภัยในการทำ�งานระดับต่างๆ หลักสูตรการดับเพลิง ขั้นต้น หลักสูตรการรายงานและสอบสวนอุบัติเหตุ หลักสูตร การยศาสตร์สำ�หรับผู้ปฏิบัติงานในท่าอากาศยาน หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น การฝึ ก ซ้ อ มดั บ เพลิ ง และหนี ไ ฟ ประจำ�ปี หลักสูตรกฎหมายความปลอดภัยในรอบปีที่ผ่านมา และแนวทางการปฏิบัติ หลักสูตรสาเหตุและวิธีการป้องกัน อุบัติเหตุ เป็นต้น


การตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน และการตรวจสุ ข ภาพพนั ก งานที่ ทำ � งาน เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง

ทอท. ได้ ดำ � เนิ น การตรวจวั ด สภาพแวดล้ อ มในการ ทำ � งาน เช่ น แสงสว่ า ง เสี ย ง โดยเฉพาะเสี ย งดั ง ซึ่ ง เป็ น ปัจจัยเสี่ยงหลักในการทำ�งานที่อาจมีผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงาน ในเขตท่ า อากาศยาน เพื่ อ กำ � หนดมาตรการและแนวทาง ป้องกันและแก้ไข เพื่อให้พนักงานปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อม ในการทำ�งานที่ดี อันจะไม่ก่อให้เกิดโรคจากการทำ�งานและ มีสุขอนามัยที่ดี นอกจากการดำ � เนิ น การด้ า นความปลอดภั ย รวมถึ ง การจัดสภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้เป็นไปตามที่กฎหมาย กำ�หนดแล้ว ทอท. ได้จัดให้มีการตรวจสุขภาพประจำ�ปี รวมถึง การรวบรวมข้อมูลของพนักงานที่ทำ�งานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง ในปีที่ผ่านๆ มา เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจสุขภาพ ตามปั จ จั ย เสี่ ย งและการจั ด ทำ � สมุ ด สุ ข ภาพประจำ � ตั ว ของ พนั ก งาน โดยคาดว่ า จะดำ � เนิ น การแล้ ว เสร็ จ ครอบคลุ ม ทุ ก ท่ า อากาศยานภายในปี ง บประมาณ 2555 ซึ่ ง จะทำ � ให้ พนักงานกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจสุขภาพที่ครอบคลุมตาม ปัจจัยเสี่ยง และมีการจัดเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังสุขภาพที่เป็น ระบบ สามารถค้นหา ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลได้สะดวก

สถิติการเกิดอุบัติเหตุของพนักงาน (เฉพาะ กรณีถึงขั้นหยุดงาน)

จากการดำ�เนินงานด้านการรณรงค์สง่ เสริมความปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุมาอย่างต่อเนื่อง ทำ �ให้จำ�นวนการเกิด อุ บั ติ เ หตุ ถึ ง ขั้ น หยุ ด งาน มี แ นวโน้ ม ลดลง โดยในปี 2550 มีจำ�นวนอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน 9 ครั้ง และลดลงมาอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยในปี 2554 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554) มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน 3 ครั้ง กราฟแสดงจำ�นวนอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน

อัตราความถี่ (IFR) และอัตราความรุนแรง (ISR) ของการ บาดเจ็บเป็นค่าที่สะท้อนถึงจำ�นวนพนักงาน ที่ได้รับบาดเจ็บ ถึ ง ขั้ น หยุ ด งาน (ราย/ล้ า นชั่ ว โมงการทำ � งาน) และจำ � นวน วันทีส่ ญ ู เสียไปจากการเกิดอุบตั เิ หตุ (วัน/ล้านชัว่ โมงการทำ�งาน) ตามลำ�ดับ โดยตัง้ แต่ปี 2550 เป็นต้นมา อัตราความถีแ่ ละอัตรา ความรุนแรงของการบาดเจ็บ มีแนวโน้มลดลงโดยในปี 2554 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554) มีค่า IFR เท่ากับ 0.43 และ ISR เท่ากับ 7.25 กราฟแสดงอัตราความถี่ของการบาดเจ็บ (ราย/ล้านชั่วโมงการทำ�งาน)

2

1

0

1.09

2550

0.87

2551

0.42

0.39

0.43

2552

2553

2554

กราฟแสดงอัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ (วัน/ล้านชั่วโมงการทำ�งาน)

50

44.56

40 30 20 10

6.29

4.46

6.46

7.25

0

(ครั้ง)

2550 2551 2552 2553 2554 หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

10 8 6 4 2 0

อั ต ราความถี่ ข องการบาดเจ็ บ (Injury Frequency Rate:IFR) และอัตราความ รุนแรงของการบาดเจ็บ (Injury Severity Rate:ISR) (เฉพาะกรณีถึงขั้นหยุดงาน)

2550

2551

2552

2553

2554

ในการป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการทำ�งาน จำ�เป็น ทีจ่ ะต้องมีแนวทางในการทำ�งานที่ปลอดภัยสำ�หรับให้พนักงาน ศึ ก ษาและใช้ ป ระกอบการทำ � งาน ทอท. จึ ง ได้ จั ด ทำ � คู่ มื อ ความปลอดภั ย ในการทำ �งานขึ้ น โดยมี เ นื้ อหาที่ค รอบคลุม ลักษณะงานส่วนใหญ่ของ ทอท. อันจะทำ�ให้การป้องกันและ ลดอุบตั เิ หตุ การป้องกันโรคจากการทำ�งานมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

129


ความรับผิดชอบต่อสังคมกับงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน

การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน เพือ่ ให้ พนักงานมีความปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยที่ดี ไม่บาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือเป็นโรคจากการทำ�งาน เป็นการดำ�เนินงานด้าน ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมอย่ า งหนึ่ ง ที่ ทอท. ได้ เ ล็ ง เห็ น ความสำ � คั ญ ของทรั พ ยากรทางด้ า นแรงงาน จึ ง ได้ ส่ ง เสริ ม สนับสนุนให้มกี ารดำ�เนินกิจกรรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานอย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง ทำ�ให้อตั ราการบาดเจ็บจากการทำ�งานของพนักงาน มีแนวโน้ม ลดลง สภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ความเสีย่ งและสภาพความ ไม่ปลอดภัยต่างๆ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขตามแนวทางและ วิธีการที่ถูกต้อง ทอท. ได้จดั ให้มโี ครงการทีเ่ กีย่ วข้องด้านความปลอดภัย คื อ “โครงการรณรงค์ ก ารสวมหมวกนิ ร ภั ย แก่ นั ก เรี ย นของ โรงเรียนที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงสำ�นักงานใหญ่ ทอท.” เพื่อส่งเสริม และกระตุ้นให้เด็กนักเรียนใส่ใจ ความปลอดภัยในการใช้รถ จักรยานยนต์ ซึ่งสอดคล้องตามมติ ครม. ที่กำ�หนดให้สถาน ที่ ร าชการและรั ฐ วิ ส าหกิ จ เป็ น เขตสวมหมวกนิ ร ภั ย 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งในปี 2554 ทอท. ได้จัดทำ�โครงการนี้ในโรงเรียน

130

จำ�นวน 4 แห่ง และได้มอบหมวกนิรภัยสำ�หรับนักเรียน และ บุคลากรในโรงเรียน เพื่อใช้ในการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ด้วย

สถานประกอบกิ จ การดี เ ด่ น ด้ า นความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน ระดับประเทศ

เพื่ อ เป็ น การกระตุ้ น และส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งาน ทอท. ได้ตระหนักและมีสว่ นร่วมในการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย ทอท. จึงได้สนับสนุนให้ท่าอากาศยานของ ทอท. ส่งประกวด สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานทุกปี และได้รางวัล “สถาน ประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำ�งานระดับประเทศ” จากกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยสำ�นักงานใหญ่ ได้รับรางวัลดังกล่าวต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ท่าอากาศยานภูเก็ต ได้รับรางวัลต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 และท่าอากาศยานเชียงราย ได้รับรางวัลระดับประเทศ 2 ปีติดต่อกัน


การให้ความสำ�คัญต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม

การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ทอท. ได้ด�ำ เนินกิจการควบคู่ ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยให้การดูแลชุมชนโดยรอบ ท่ า อากาศยาน เช่น การชดเชยผู้ไ ด้รับ ผลกระทบทางเสี ย ง การจั ด กิ จ กรรมด้ า นชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม ศาสนาและกีฬา เป็นต้น สำ�หรับ ปีงบประมาณ 2554 ทอท.ได้จดั ทำ�แผนแม่บทด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมของ ทอท. ปีงบประมาณ 2554 - 2557 รวมทั้ง แผนปฏิบัติการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งแผนแม่บท ดั ง กล่ า วได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ทอท.ใน การประชุม ครั้งที่ 3/2554 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 และ ทอท.ได้มีค�ำ สั่ง ทอท.ที่ 946/2554 ลงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554 ตั้ ง ส่ ว นกิ จ การเพื่ อ สั ง คม อยู่ ใ นสำ � นั ก สื่ อ สาร องค์กร มีภารกิจหลักในการกำ�หนดนโยบาย จัดทำ�แผนแม่บท แผนปฏิบัติการ และดำ�เนินการโครงการด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR) ตามแผนแม่บทด้านความรับผิดชอบต่อสังคมได้ก�ำ หนด แนวทางการดำ�เนินการ เรื่อง “รักษ์อากาศ” ซึ่งกำ�หนดกรอบ การดำ�เนินการ 3 ด้าน คือ คนดีอากาศดี อากาศสะอาด และ หายใจเต็มปอด 1. คนดีอากาศดี เป็นกิจกรรมที่ดำ�เนินการในระดับ ประเทศและสังคม รวมถึงระดับชุมชนและพื้นที่โดยรอบ ซึ่งจะ

เน้นการสร้างและพัฒนาคน ชุมชน ครอบคลุมในทุกมิติ ทัง้ ด้าน การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา และกีฬา 2. อากาศสะอาด เป็นกิจกรรมที่ดำ�เนินการในระดับ ประเทศและสังคม รวมถึงระดับชุมชนและพืน้ ทีโ่ ดยรอบ โดยจะ มุง่ เน้นด้านการลดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม ทัง้ ในด้านมลภาวะ ต่างๆ ได้แก่ ฝุ่นละออง ควัน ก๊าซเรือนกระจก ผลกระทบด้าน เสียง การกำ�จัดขยะ และน้ำ�เสีย นอกจากนี้ได้ให้ความสำ�คัญ กับการใช้พลังงานสะอาดและพลังงานทดแทน ทั้งในด้านการ รณรงค์และการสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

131


3. หายใจเต็มปอด เป็นกิจกรรมที่ด�ำ เนินการในระดับ องค์กร โดยคำ�นึงถึงหลักสำ�คัญของการปฏิบัติตามเเนวทาง ใน หัวข้อสำ�คัญอื่นๆ 4 เรื่อง ได้แก่ • การกำ�กับดูเเลกิจการทีด่ ี : ความโปร่งใส เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ • การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม และมี ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค • การเคารพสิทธิและการปฎิบตั ติ อ่ เเรงงานอย่าง เป็นธรรม ให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีและได้มีโอกาสแสดง ศักยภาพ ตลอดจนได้รับโอกาสในการฝึกฝนและเพิ่มพูนทักษะ ในการทำ�งาน ่ นักงานในการช่วยเหลือ • การสร้างจิตอาสาในหมูพ สังคม สำ�หรับการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมนั้น ทอท. มีคณะทำ�งานเพื่อดำ�เนินงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมของ ทอท. (Corporate Social Responsibility :

132

CSR) ซึ่ ง มี ก รรมการผู้ อำ � นวยการใหญ่ เ ป็ น ประธาน ทั้ ง นี้ คณะทำ � งานฯ มี ก ารประชุ ม เป็ น รายเดื อ น เพื่ อ ติ ด ตาม ผลการดำ �เนินงาน ตลอดจนพิจารณากิจกรรมให้เหมาะสม และให้เป็นไปตามแนวทางที่กำ�หนดไว้ในแผนแม่บทฯ และ คณะทำ � งานฯ ได้ กำ � หนดให้ มี ก ารรายงานการดำ � เนิ น งาน ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมให้ ค ณะกรรมการ ทอท. รับทราบอย่างต่อเนื่องเป็นรายไตรมาส นอกจากนั้น ทอท. ยั ง ได้ จั ด ทำ � รายงานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมประจำ � ปี งบประมาณ 2554 ตามกรอบการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) ขึ้นเป็นฉบับแรกของ ทอท. เพื่อ เผยแพร่ ข้ อ มู ล การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ท่ า อากาศยานควบคู่ ไ ปกั บ ความรับผิดชอบต่อสังคมของ ทอท. ตลอดจนเป็นสื่อในการ สร้างความเข้าใจระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงใช้เป็น แนวทางในการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและ การเพิ่ ม คุ ณ ค่ า ให้ กั บ องค์ ก รเพื่ อ พั ฒ นาสู่ ค วามยั่ ง ยื น ต่ อ ไป


ทอท. ใส่ ใจสิ่งแวดล้อมและสังคม

คนดี อากาศดี อากาศสะอาด

หายใจเต็มปอด

รักษอากาศ

แนวทาง

1. การประกอบกิจการของ ทอท. ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2. อากาศเป็นสิง่ แวดล้อมด้านหนึง่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ เนือ่ งจาก ปริมาณการจราจรทางอากาศ 3. คำ�ว่า “อากาศ” มีความสอดคล้องกับภารกิจ และชื่อของ องค์กร

วัตถุประสงค์

1. เพื่ อ ร่ ว มรั ก ษาสภาพแวดล้ อ ม โดยเฉพาะพื้ น ที่ ร อบ ท่าอากาศยาน 2. เพือ่ ภาพลักษณ์การเป็นองค์กรทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดแนวความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรม เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

133


แผนภูมิ CSR ของ ทอท.

ชุมชนต้นแบบ สนามบินแห่งการเรียนรู้

คนดี อากาศดี

สนับสนุนเยาวชนคนดี การอนุรักษ์และส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม/ศาสนา/ กีฬา ชุมชนสัมพันธ์

Green Airport

รักษ์อากาศ

กองทุนสิ่งแวดล้อม

อากาศสะอาด

พลังงานทดแทน การปรับปรุง คุณภาพอากาศ

ธรรมาภิบาล (CG)

หายใจเต็มปอด

สวัสดิการสิทธิแรงงาน จิตอาสา

134


การดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อม 1. การดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมในภาพรวม

ทอท. ดำ�เนินกิจการท่าอากาศยานในความรับผิดชอบ ทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยาน ดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ด้วยความห่วงใยต่อสิง่ แวดล้อมและตระหนักถึงความรับผิดชอบ ในการรักษา แก้ไข ป้องกัน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกับ ชุมชนรอบท่าอากาศยานตลอดมาโดยท่าอากาศยานทัง้ 6 แห่ง มีระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ไม่วา่ จะเป็นระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย ที่มีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตาม หลักสุขาภิบาล โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งระบบ บำ�บัดน้ำ�เสีย ระบบประปา และสถานีสูบระบายน้ำ�ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ISO 14001, ISO 18001 และ ISO 9001แล้ว นอกจากนี้ในปี 2554 ทอท.ยังได้เริ่มศึกษาแนวทาง ดำ�เนินการโครงการ AIRPORT FOOTPRINT และโครงการ ผลิตน้ำ�ประปาจากน้ำ�ผิวดินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิอีกด้วย

2. การดำ�เนินงานลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านเสียงที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทอท. มีการดำ�เนินงานลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้ า นเสี ย งตามมาตรการที่ ไ ด้ กำ � หนดไว้ อ ย่ า งชั ด เจนแล้ ว ใน รายงานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมโครงการท่าอากาศยาน สุ ว รรณภู มิ เ พิ่ ม เติ ม (สื บ เนื่ อ งจากการเพิ่ ม จำ � นวนผู้ โ ดยสาร ในปี เ ปิ ด ดำ � เนิ น การ) (EIA) ซึ่ ง ได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เมื่อ 10 มีนาคม พ.ศ. 2548 และ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2553 สรุปความคืบหน้าการดำ�เนินงาน จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ดังนี้ 2.1 พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF>40 ที่สร้างก่อน ปี 2544 จำ�นวน 648 อาคาร ทอท. ดำ�เนินการซื้อที่ดินและ

สิ่งปลูกสร้างโดยมีการโอนกรรมสิทธิ์แล้ว 104 อาคาร เป็นเงิน 466.371 ล้านบาท สำ�หรับเจ้าของกรรมสิทธิอ์ าคารทีไ่ ม่ตอ้ งการ ขาย ทอท. ได้มอบเงินค่าปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้ไป ดำ�เนินการเองแล้วจำ�นวน 356 อาคาร เป็นเงิน 91.982 ล้านบาท 2.2 พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF 30- 40 ที่ก่อสร้าง ก่อนปี 2544 จำ�นวน 15,040 อาคาร ทอท. จะสนับสนุน การปรั บ ปรุ ง อาคารและสิ่ ง ปลู ก สร้ า งโดยใช้ ห ลั ก เกณฑ์ ก าร ปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบด้านเสียงจากผลการศึกษา ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โดย ทอท. ได้มอบเงินค่าปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้ไปดำ�เนินการ เองแล้วจำ�นวน 4,672 อาคาร เป็นเงิน 1,003.648 ล้านบาท อาคารที่อยู่ในระหว่างการตรวจสอบเอกสาร จำ�นวน 6,689 อาคาร อาคารทีอ่ ยูร่ ะหว่างตรวจสอบผลการประเมินค่าปรับปรุง อาคาร 303 อาคาร ทั้งนี้คาดว่าจะสามารถจ่ายเงินค่าปรับปรุง อาคารให้กบั เจ้าของกรรมสิทธิท์ ไี่ ม่มปี ญ ั หาเอกสารประกอบการ รับเงินได้เสร็จสิ้นภายในปี 2555 3. ทอท. ได้สนับสนุนงบประมาณให้สถานที่อ่อนไหว ต่อผลกระทบด้านเสียงได้แก่ สถานศึกษา สถานพยาบาลและ ศาสนสถาน จำ�นวน 21 แห่ง เป็นเงิน 292.536 ล้านบาท นอกจากนี้ใ นปี ง บประมาณ 2554 ทอท. มี ก ารเฝ้ า ติดตามคุณภาพเสียงและอากาศที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้ ง ภายในพื้ น ที่ ท่ า อากาศยานและในชุ ม ชนโดยรอบ ด้ ว ย ระบบตรวจวัดเสียงอากาศยานอัตโนมัติ จำ�นวนรวมทั้งสิ้น 19 สถานี เพื่อตรวจวัดค่า L90, Leq 24hrs., Lmax และ Ldn อย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง และสถานีตรวจวัดคุณภาพ อากาศแบบเคลื่อนที่ จำ�นวน 1 สถานี สามารถตรวจวัดดัชนี คุณภาพอากาศได้แก่ PM10, NOx, CO, และ THC-NMHC สำ�หรับการเฝ้าระวังผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการดำ�เนินงาน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิต่อชุมชนโดยรอบต่อไป

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

135


การดำ�เนินงาน ด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) โดยในการดำ�เนินงานทุกขั้นตอนได้มีการคำ�นึงถึง สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง มี ทั้ ง การป้ อ งกั น ติ ด ตามและตรวจสอบคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มทุ ก ด้ า นทั้ ง ทาง ด้านอากาศ น้ำ�และเสียงให้มีมาตรฐานรวมทั้งได้ให้ความสำ�คัญต่อการส่งเสริมและพัฒนาชุมชน โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีควบคู่กับการให้บริการของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ โดยในปีงบประมาณ 2554 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีการดำ�เนินโครงการต่างๆ ดังนี้

ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ 1. ด้ า นการศึกษา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มี ก าร ส่งเสริมและพัฒนาเยาวชนในด้านต่างๆ 3 โครงการ คือ 1.1 โครงการ “มอบความรู้สู่ชุมชน สร้างสัมพันธ์ สมานฉันท์สุวรรณภูมิ” โดยการมอบหนังสือสารานุกรมและ หนังสือทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การเรียนรูข้ องเยาวชนให้กบั โรงเรียน โดยรอบพื้นที่ จำ�นวน 38 แห่ง และห้องสมุดประชาชน 2 แห่ง รวม 40 แห่ ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอ่ า นหนั ง สื อ และการเรี ย นรู้ นอกตำ�รา ซึ่งโครงการนี้ได้ดำ�เนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2551 โดยได้มอบหนังสือไปแล้วกว่า 13,000 เล่ม 1.2 โครงการ “เยาวชนคนเก่ง” ปี 2 จัดให้นักเรียน ที่ได้รับมอบหนังสือตามโครงการ “มอบความรู้สู่ชุมชน สร้าง สั ม พั น ธ์ ส มานฉั น ท์ สุ ว รรณภู มิ ” เข้ า แข่ ง ขั น ตอบปั ญ หาจาก หนังสือสารานุกรมที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้มอบให้เพื่อ

136

ชิงทุนการศึกษา ซึ่งการแข่งขันมี 3 ระดับคือ ระดับนักเรียน ชั้นประถมปีที่ 1-3 ระดับนักเรียนชั้นประถมปีที่ 4-6 และระดับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 1.3 โครงการ “หนูรักสุวรรณภูมิ” โดยเชิญชวนให้ นักเรียนโดยรอบ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�นวน 38 โรงเรียน ส่งเรียงความในหัวข้อ “หนูรกั สุวรรณภูม”ิ ร่วมแข่งขันชิงทุนการศึกษา ซึง่ การแข่งขันจะแบ่งเป็น 2 รอบ คือ รอบคัดเลือกระดับโรงเรียน และรอบชิงชนะเลิศ โดยแต่ละรอบจะแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 2. ด้านสังคมชุมชนและสิ่งแวดล้อม ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ มีการส่งเสริมและพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจชุมชน รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3 โครงการ คือ 2.1 โครงการ “เยาวชนสุวรรณภูมิ ปี 2” โดยนำ� นักเรียนโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ นระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาจาก 25 โรงเรียน จำ�นวนรวม 220 คนไป เข้าค่ายเพือ่ อบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียง และการ รักษาสิง่ แวดล้อมหรือการลดภาวะโลกร้อน ณ ฐานทัพเรือสัตหีบ


เพือ่ ให้นกั เรียนนำ�ความรูท้ ไ่ี ด้มาใช้ในชีวติ ประจำ�วัน ซึง่ โครงการ ดั ง กล่ า วเป็ น โครงการที่ มี ก ารอบรมต่ อ เนื่ อ งจากปี ที่ ผ่ า นมา 2.2 โครงการ “รักษ์โรงเรียน” เป็นโครงการทีส่ ง่ เสริม ให้ นั ก เรี ย นร่ ว มกั น นำ � หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและ ลดภาวะโลกร้ อ นมาปฏิ บั ติ ใ นโรงเรี ย น โดยการให้ โรงเรี ย น ทีส่ ง่ นักเรียนเข้าร่วมอบรมในโครงการ “เยาวชนสุวรรณภูมิ ปี 2” จัดทำ�โครงการเกี่ยวกับการนำ�หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการลดภาวะโลกร้อนส่งเข้าประกวด เพื่อชิงทุนการศึกษา จากท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ เ ยาวชน ในโรงเรียนดังกล่าวได้เรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงและ ความร่วมมือในการช่วยกันลดภาวะโลกร้อน 2.3 โครงการ “สุวรรณภูมิแฟร์ 2010” เนื่องจาก พื้นที่โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีชุมชนที่มีศักยภาพ ในการผลิตอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์ต่างๆ รวมทั้ง ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ได้ จั ด อบรมวิ ช าชี พ เกี่ ย วกั บ การ ประกอบอาหารและสิ่งประดิษฐ์ให้แก่แม่บ้านโดยรอบพื้นที่ ดังนัน้ เพือ่ เป็นการส่งเสริมชุมชนให้มรี ายได้เสริม ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ จึงได้จัดงาน “สุวรรณภูมิแฟร์ 2010” เพื่อให้ชุมชน นำ � อาหารและสิ น ค้ า มาขาย ณ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ปีละ 1 ครั้งจำ�นวน 3 วัน โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ซึ่งในปีนี้ชุมชน มีรายได้จากการขายตามโครงการนี้กว่า 2 ล้านบาท 3. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม กีฬา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้มีการส่งเสริมและพัฒนาด้านศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬา แก่ชุมชนโดยรอบพื้นที่อย่างต่อเนื่อง คือ 3.1 โครงการ “ศาสนอุปถัมภ์” เพือ่ ทำ�นุบ�ำ รุงศาสนา โดยทางพุทธศาสนาได้ถวายเทียนพรรษา เครื่องไทยธรรม และจัตุปัจจัยแก่วัดโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�นวน 12 วั ด รวมทั้ ง มี ก ารจั ด ทอดกฐิ น ให้ กั บ วั ด ต่ า งๆ โดยรอบ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี ตั้ ง แต่ ปี 2546 เป็นต้นมา และทางศาสนาอิสลามได้มอบอินทผลัมให้แก่มสั ยิด โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�นวน 5 มัสยิดเนื่องใน เทศกาลถือศีลอดหรือรอมฎอน

3.2 โครงการ “ศิลปะ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ” โดยนำ�นักเรียนจากโรงเรียนโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทีม่ คี วามสามารถด้านการบรรเลงดนตรีไทยมาแสดงภายในอาคาร ผู้โดยสาร เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรักในดนตรีไทยรวมทั้ง ยั ง เป็ น การเผยแพร่ วั ฒ นธรรมไทยให้ ช าวต่ า งชาติ ไ ด้ ชื่ น ชม 3.3 โครงการ “ฟุตบอลเยาวชนสุวรรณภูมิ คัพ 2011” โดยจัดแข่งขันฟุตบอลระดับมัธยมศึกษาโดยรอบท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ อายุไม่เกิน 18 ปีเข้าแข่งขัน ณ สนามฟุตบอล ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพือ่ ชิงถ้วยเกียรติยศและทุนการศึกษา เพือ่ พัฒนาการเล่นกีฬาฟุตบอลและส่งเสริมให้เยาวชนโดยรอบ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง นอกจากโครงการต่างๆ แล้ว ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ยั ง มี เจ้ า หน้ า ที่ ชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ร่ ว มพบปะทำ � ความเข้ า ใจ และให้ความช่วยเหลือ รวมทั้งสนับสนุนการจัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น ประเพณีรับบัว งานวันผู้สูงอายุ งานตลาดโบราณบางพลี งานวันเด็กแห่งชาติ งานประเพณี ลอยกระทง ฯลฯ เพื่ อ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ชุ ม ชน โดยรอบอีกด้วย

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

137


ท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง ให้ ค วาม

กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ สำ � คั ญ และส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมชุ ม ชนสั ม พั น ธ์

ท่าอากาศยาน ดอนเมือง

ซึ่งเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ น การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ระหว่ า งท่ า อากาศยานและชุ ม ชนโดยรอบ ท่าอากาศยาน ในช่วงที่ผ่านมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้จัด ทำ�โครงการ AOT พี่อาสาซึ่งเป็นโครงการที่เสริมสร้างความรู้ ให้กับเยาวชนและบุคคลในชุมชนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โครงการนีเ้ ป็นการจัดการฝึกอบรมหลักสูตร การดับเพลิงขัน้ ต้น ให้กบั โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำ�รุง โดยมีเนือ้ หาความรู้ เกี่ยวกับทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ การแบ่งประเภทของเพลิง จิตวิทยาเมือ่ เกิดอัคคีภยั การป้องกันแหล่งกำ�เนิดของการติดไฟ และวิธีการดับเพลิงประเภทต่างๆ (สาธิต และฝึกปฏิบัติจริง) นอกจากนี้ ยังมีการมอบหนังสือที่ได้รับจากการบริจาคให้กับ โรงเรียนในวันที่จัดฝึกอบรมดังกล่าวอีกด้วย

138


ในรอบปีทผ่ี า่ นมา แม้วา่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่จะมุง่ มัน่ ในการพัฒนาด้านการให้บริการ และสิ่งอำ�นวยความสะดวก ต่างๆ เพือ่ เตรียมพร้อมในการเข้าร่วมประกวดสนามบินทีด่ ที สี่ ดุ ของโลก โดยมีเป้าหมายติดอันดับ 1 ใน 10 ในปี 2555 และ 1 ใน 5 ในปี 2557 แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ ละเลยทีจ่ ะทำ�ประโยชน์ให้แก่ชมุ ชนและสังคม กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ โดยตลอดปี ที่ ผ่ า นมาได้ จั ด กิ จ กรรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้าน การทำ�นุบ�ำ รุงพระพุทธศาสนา ด้วยการทอดกฐิน และถวายเทียนพรรษา ด้านการศึกษา ได้เปิด โอกาสให้เยาวชนได้เยี่ยมชมและศึกษาเรียนรู้การดำ�เนินงาน ของท่ า อากาศยาน อั น จะเป็ น การเสริ ม สร้ า งประสบการณ์ และเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วมกับท่าอากาศยาน ด้านการกีฬา ได้จัดการแข่งขันฟุตบอลเยาวชน และสนับสนุนอุปกรณ์กีฬา แก่ โรงเรี ย นต่ า งๆ รวมทั้ ง ยั ง ได้ บำ � เพ็ ญ ประโยชน์ ต่ อ สั ง คม ในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น ร่วมกับสภากาชาดไทยตัง้ จุดรับบริจาค โลหิต การบริจาคผ้าห่มและอุปกรณ์กันหนาวให้แก่ผู้ประสบภัย หนาว และบริจาคช่วยเหลือผูป้ ระสบสาธารณภัยหรือภัยธรรมชาติ อืน่ ๆ นอกจากนีย้ งั ได้จดั พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน อย่างสม่�ำ เสมอ เพราะเราตระหนักดีวา่ เราเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชน ความพึงพอใจของผู้โดยสาร ผู้ใช้บริการ และความ ก้าวหน้าของผลประกอบการ แม้จะเป็นปัจจัยสำ�คัญที่จะวัด ความสำ�เร็จของการดำ�เนินงานของท่าอากาศยานเชียงใหม่ แต่หากขาดความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชนโดยรอบ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ก็คงไม่สามารถก้าวไปสูก่ ารเป็นสนามบิน ที่ดีที่สุดของโลกได้อย่างเต็มภาคภูมิ

ท่าอากาศยาน เชียงใหม่

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

139


ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ให้ความสำ�คัญและส่งเสริม กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ ซึ่งเป็นกิจกรรมแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) ในระดับ หน่วยงานและชุมชนรอบท่าอากาศยาน เพื่อเป็นการสร้าง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งท่ า อากาศยานและชุ ม ชนโดยรอบ ท่าอากาศยาน เช่น การจัดกิจกรรมรับบริจาคโลหิตเพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา โดยร่วมกับสำ�นักงาน เหล่ากาชาดจังหวัดสงขลาและโรงพยาบาล กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ สงขลานคริ น ทร์ เพื่ อ นำ � ไปให้ กั บ ผู้ ป่ ว ย ในโรงพยาบาลต่างๆ ในจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ยังร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ เนื่องในวันต้นไม้ประจำ�ปี 2554 ณ บริเวณ ด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ได้รบั รางวัลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานประจำ�ปี 2554 (รางวั ล ดี เ ด่ น ระดั บ ภู มิ ภ าค) ณ โรงแรมทวิ น โลตั ส จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช ด้านการศึกษา ได้จัดการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนอายุ 18 ปี “HAT YAI AIRPORT CUP” ครั้งที่ 1 เพื่อเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ เนื่ อ งในวโรกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา 84 พรรษา และมอบเงินสนับสนุนโครงการ ทางการศึ ก ษารายปี และมอบทุ น การศึ ก ษาพร้ อ มอุ ป กรณ์

ท่าอากาศยาน หาดใหญ่

140


ท่าอากาศยานภูเก็ต ให้ความสำ�คัญต่อชุมชน สังคม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยสร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ชุ ม ชน โดยรอบท่าอากาศยาน ให้ความร่วมมือและร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของจังหวัดภูเก็ต ดูแลและพัฒนาสังคม จนก่อเกิดเป็นความรัก และความผูกพันกับท่าอากาศยาน ซึง่ จะทำ�ให้งา่ ยต่อการพัฒนา ท่าอากาศยานร่วมกัน ในรอบปีทผ่ี า่ นมามีการดำ�เนินกิจกรรม กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และการมี ส่ ว นร่ ว มทำ � กิ จ กรรมกั บ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ฯลฯ อาทิ เช่ น การเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ชุ ม ชน โดยรอบท่าอากาศยานอย่างสม่�ำ เสมอ การจัด งานวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ การเปิ ด โอกาสให้ ส ถาบั น การศึ ก ษา ต่ า งๆ เข้ า เยี่ ย มชมและศึ ก ษากิ จ การของท่ า อากาศยาน การทำ � นุ บำ � รุ ง พุ ท ธศาสนา การอำ � นวยความสะดวกให้ กั บ พี่น้องมุสลิมที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์เป็นหน่วยงานที่ให้ การสนับสนุนด้านการจัดหาผู้บริจาคโลหิตให้แก่ภาคบริการ โลหิตแห่งชาติจังหวัดภูเก็ต อีกทั้งพบปะกับผู้นำ�ชุมชนและ ชาวบ้านร่วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อ ท่าอากาศยานต่อไป

ท่าอากาศยาน ภูเก็ต

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

141


ท่ า อากาศยานแม่ ฟ้ า หลวง เชี ย งราย ตระหนั ก ถึ ง ความรับผิดชอบและการเอาใจใส่ต่อสังคม โดยมีการส่งเสริม กิจกรรมต่างๆ โดยรอบท่าอากาศยาน เพื่อสร้างความรู้จัก คุ้นเคย และความเข้าใจอันดีต่อชุมชน เช่น โครงการพลิกฟื้น ผื น ป่ า ด้ ว ยพระบารมี เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั และเพือ่ ถวายความจงรักภักดี เนือ่ งในมหามงคล สมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา ในปี 2554 โครงการถนนพุทธรักษา ถวายแม่ฟ้าหลวง เพื่อเป็น การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วในโอกาสครบรอบ 750 ปี ของ เมืองเชียงรายในปี 2555 ณ บริเวณคลองระบายน้ำ�ด้านหน้า ท่าอากาศยานฯ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ ให้ความสำ�คัญด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบ ต่ อ ท่ า อากาศยาน โดยขอความร่ ว มมื อ ไปยังองค์กรปกครองท้องถิ่น และหน่วยงาน ในเขตจังหวัดเชียงรายให้ช่วยประชาสัมพันธ์ การแก้ ไ ขปั ญ หาหมอกควั น และไฟป่ า พร้อมแจกซีดีรณรงค์ให้หลีกเลี่ยงการกระทำ �ใดๆ ที่จะทำ�ให้ เกิ ด หมอกควั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ด้ า นการบิ น และ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังร่วมเยี่ยมชมการดำ�เนินงานของโรงเรียน ตำ � รวจตระเวณชายแดนฯ พร้ อ มมอบทุ น การศึ ก ษาให้ แ ก่ เด็กนักเรียน ณ โรงเรียนบ้านนาโต่ อำ�เภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัด เชี ย งราย และร่ ว มกิ จ กรรมวั น ต้ น ไม้ ป ระจำ � ปี 2554 เพื่ อ สนองพระราชดำ�ริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทั้งเป็นการกระตุ้นจิตสำ�นึก ของประชาชน โดยมีพนักงาน ลูกจ้าง ท่าอากาศยาน ร่วมกัน ปลูกต้นไม้บริเวณลานจอดรถยนต์ด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร และโครงการ AOT พี่ อ าสา ณ โรงเรี ย นคริ ส เตี ย น ไพศาลศาสตร์บ้านฟาร์ม หมู่ที่ 1 ตำ�บลริมกก อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย โดยนักเรียนและชาวบ้านต่างได้รบั ความรูเ้ รือ่ ง “การดับเพลิงขัน้ ต้น” รวมถึงความรูจ้ ากหนังสือบริจาค 666 เล่ม ตามโครงการ “แบ่งปันความรู้สู่น้อง” อีกด้วย

ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

142


Green Airport

ÃÒ§ҹ»ÃШํา»‚ 2554 ºÃÔÉ·Ñ ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨ํา¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

143 new.indd 1

143 4/1/2553 18:12:58


รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ทอท. ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการ ทอท. เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของ ทอท. ซึง่ จัดทำ�ขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระกำ�กับดูแลงบการเงินและประเมิน ระบบการควบคุมภายในให้มปี ระสิทธิผล เพือ่ ให้มคี วามมัน่ ใจได้วา่ มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถกู ต้องครบถ้วนอย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติ ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ ตามที่ได้แสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีนี้แล้ว คณะกรรมการฯ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท สามารถสร้างความเชื่อมั่นได้ว่างบการเงินของ ทอท. แสดง ฐานะการเงิน ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสดถูกต้องในสาระสำ�คัญแล้ว

พลอากาศเอก (สุเมธ โพธิ์มณี) ประธานกรรมการ

144

ว่าที่เรืออากาศโท (อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่


รายงานของผู้สอบบัญชี เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553 งบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) ตามลำ�ดับ ซึง่ ผูบ้ ริหารของบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำ�หนดให้สำ�นักงาน การตรวจเงินแผ่นดินต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผย ข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่บริษัทใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็น สาระสำ�คัญซึง่ ผูบ้ ริหารของบริษทั เป็นผูจ้ ดั ทำ�ขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ �ำ เสนอในงบการเงิน โดยรวม สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของ สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะ การเงินเฉพาะบริษทั ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553 ผลการดำ�เนินงานรวมและผลการดำ�เนินงานเฉพาะบริษทั และกระแสเงินสดรวม และกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้เคยรายงานไว้เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 โดยได้แสดงความเห็นต่องบการเงินปี 2553 อย่างมีเงื่อนไขเนื่องจากไม่สามารถตรวจสอบให้ได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเกี่ยวกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ของสินทรัพย์ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองซึ่งแสดงอยู่ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 อย่างไร ก็ตาม ดังที่อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.2 ในปี 2554 บริษัทได้ประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองและได้รับรู้การด้อยค่าของสินทรัพย์แล้วโดยปรับปรุงย้อนหลังงบการเงินปี 2553 ที่นำ�มาเปรียบเทียบ ดังนั้น ความเห็นของสำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินในปัจจุบันต่องบการเงินปี 2553 ที่แสดงเปรียบเทียบจึงแตกต่างไปจาก ความเห็นที่แสดงไว้เดิม

(นางสาวจิราภรณ์ พิริยะกิจไพบูลย์) ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน 1

วันที่ 8 ธันวาคม 2554

(นางดาหวัน วงศ์พยัคฆ์) ผู้อำ�นวยการสำ�นัก รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

145


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

หน่วย : บาท

หมายเหตุ

2554

งบการเงินรวม

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7.1 เงินลงทุนชั่วคราว 7.2 ลูกหนี้การค้า-สุทธิ 7.3 ลูกหนี้อื่น 7.4 สินค้าและวัสดุคงเหลือ-สุทธิ 7.5 รายได้ค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 7.6 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 5.1, 7.7 เงินลงทุนระยะยาว 7.8 อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 5.2, 5.4, 7.10 สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง 7.11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-สุทธิ 5.2, 7.12 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 7.13 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

5,179,436,615.71 21,712,546,737.45 1,660,192,869.08 2,265,714,288.03 313,235,723.22 450,669,920.49 372,487,277.91 31,954,283,431.89

(ปรับปรุงใหม่)

3,518,906,400.34 18,547,572,949.19 3,283,905,392.62 1,307,623,881.64 254,270,727.52 237,386,907.37 1,139,353,015.79 28,289,019,274.47

5,172,703,000.39 21,712,546,737.45 1,626,662,455.71 2,254,773,356.81 306,715,860.43 489,550,678.17 354,854,836.20 31,917,806,925.16

(ปรับปรุงใหม่)

3,494,062,191.84 18,547,572,949.19 3,253,614,093.60 1,296,262,412.99 248,323,134.91 263,756,629.11 1,124,232,417.56 28,227,823,829.20

- - 39,197,778,745.29 39,197,778,745.29 6,151,590,000.00 5,358,260,141.18 6,151,590,000.00 5,355,760,000.00 89,707,049,738.18 92,507,241,942.47 87,963,537,505.47 90,603,402,092.07 6,696,619,860.03 6,925,787,663.03 6,696,619,860.03 6,925,787,663.03 691,558,610.58 1,305,694,513.37 691,558,610.58 1,305,694,513.37 11,918,687,204.28 7,202,984,306.68 11,918,675,204.28 7,202,972,306.68 115,165,505,413.07 113,299,968,566.73 152,619,759,925.65 150,591,395,320.44 147,119,788,844.96 141,588,987,841.20 184,537,566,850.81 178,819,219,149.64

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

146

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล (ต่อ)

ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

หน่วย : บาท

หมายเหตุ

2554

งบการเงินรวม

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี 108,589.80 - - เจ้าหนี้การค้า 1,042,039,585.38 798,935,742.76 808,240,622.87 เจ้าหนี้งานระหว่างทำ� 120,547,422.27 140,885,353.31 120,547,422.27 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 3,752,286,854.43 3,756,100,693.45 3,818,260,981.96 ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำ�หนด ชำ�ระภายในหนึ่งปี 7.16,7.17 5,517,617,691.18 4,997,010,432.84 5,368,926,991.68 ตั๋วสัญญาใช้เงิน 7.14 - - 38,483,807,107.71 เงินมัดจำ�และเงินประกันสัญญา 305,310,736.66 252,456,316.00 304,490,683.66 ประมาณการหนี้สินระยะสั้น 7.19 1,367,320,582.70 - 1,367,320,582.70 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 7.15 4,653,728,597.62 4,231,333,456.30 4,609,639,787.65 รวมหนี้สินหมุนเวียน 16,758,960,060.04 14,176,721,994.66 54,881,234,180.50 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว 7.16 57,513,610,907.45 56,196,451,782.97 56,563,120,907.45 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 7.17 525,773,682.41 790,508,342.81 525,205,034.45 เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย 7.18 10,125,647.82 26,070,075.87 10,125,647.82 ประมาณการหนี้สินระยะยาว 7.19 596,673,775.99 397,141,246.49 596,673,775.99 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 7.20 160,062,947.69 156,295,462.23 160,062,947.69 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 58,806,246,961.36 57,566,466,910.37 57,855,188,313.40 75,565,207,021.40 71,743,188,905.03 112,736,422,493.90 รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 ทุนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้ว หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 ส่วนเกินทุนจากการเปลีย่ นแปลงมูลค่าเงินลงทุน 236,040,000.00 225,960,000.00 236,040,000.00 กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 ยังไม่ได้จัดสรร 42,890,889,850.09 41,148,301,963.74 43,283,165,114.28 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 71,408,869,092.72 69,656,201,206.37 71,801,144,356.91 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 145,712,730.84 189,597,729.80 - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 71,554,581,823.56 69,845,798,936.17 71,801,144,356.91 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 147,119,788,844.96 141,588,987,841.20 184,537,566,850.81 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ว่าที่เรืออากาศโท

(อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

600,777,076.85 140,885,353.31 3,836,780,774.54 4,848,343,207.85 38,483,807,107.71 251,732,103.00 - 4,209,689,807.27 52,372,015,430.53 55,097,521,782.97 789,685,567.80 26,070,075.87 397,141,246.49 156,295,462.23 56,466,714,135.36 108,838,729,565.89

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 225,960,000.00 1,428,570,000.00 41,472,590,341.12 69,980,489,583.75 - 69,980,489,583.75 178,819,219,149.64

(นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี) รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

147


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุน

สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

หน่วย : บาท

หมายเหตุ

2554

งบการเงินรวม

รายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครื่องอำ�นวยความสะดวก ค่าเช่าสำ�นักงานและอสังหาริมทรัพย์ รายได้เกี่ยวกับบริการ รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าตอบแทนผู้บริหาร 7.24 ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน ค่าซ่อมแซมและบำ�รุงรักษา ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ 7.25 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย รวมค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ กำ�ไร (ขาดทุน) จากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน รายได้อื่น รวมรายได้อื่น

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

4,370,340,726.49 12,334,061,716.45 465,004,842.07 1,718,258,855.37 3,311,251,719.96 6,441,771,511.28 28,640,689,371.62

3,407,113,662.93 10,180,500,288.71 418,339,275.23 1,615,819,803.86 3,127,571,817.86 5,283,274,171.35 24,032,619,019.94

4,370,340,726.49 12,334,061,716.45 465,004,842.07 1,736,631,973.78 2,751,252,888.19 6,452,571,511.28 28,109,863,658.26

3,407,113,662.93 10,180,500,288.71 418,339,275.23 1,638,441,931.22 2,496,624,459.04 5,294,074,171.35 23,435,093,788.48

3,871,152,814.13 62,954,311.95 6,081,073,200.13 2,304,693,186.81 1,247,403,821.59 7,865,645,620.40 21,432,922,955.01 7,207,766,416.61

3,814,343,164.87 67,314,537.01 5,548,853,057.20 1,539,765,710.56 1,034,050,782.10 7,625,331,461.70 19,629,658,713.44 4,402,960,306.50

3,865,773,664.54 58,559,239.70 5,668,352,282.28 2,304,693,186.81 1,247,403,821.59 7,701,536,974.47 20,846,319,169.39 7,263,544,488.87

3,808,546,987.93 62,629,537.01 5,128,088,999.90 1,539,765,710.56 1,034,050,782.10 7,446,884,141.49 19,019,966,158.99 4,415,127,629.49

795,357,033.40 7,923,859.63 - 117,308,115.28 920,589,008.31

577,872,001.87 (6,089,196.31) 185,532,000.00 208,948,275.74 966,263,081.30

795,217,871.78 7,247,652.51 - 116,555,800.41 919,021,324.70

577,757,059.84 (6,767,032.54) 185,532,000.00 206,501,670.16 963,023,697.46

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

148

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุน (ต่อ) สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

หมายเหตุ

หน่วย : บาท

2554

งบการเงินรวม

ค่าใช้จ่ายอื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ 5.2, 7.26 ขาดทุน (กำ�ไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน 7.27 ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการลงทุน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายอื่น ต้นทุนทางการเงิน 7.28 กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิสำ�หรับงวด การแบ่งปันกำ�ไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

2553

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

357,882,652.61 1,538,115,339.02 - 341,819,065.00 2,237,817,056.63 2,223,809,686.24 3,666,728,682.05 1,182,314,567.26 2,484,414,114.79

177,221,246.87 (309,382,677.47) 135,375,000.00 163,163,296.45 166,376,865.85 2,389,712,450.43 2,813,134,071.52 800,908,714.49 2,012,225,357.03

355,382,511.43 1,538,176,919.39 - 341,819,065.00 2,235,378,495.82 2,168,586,749.93 3,778,600,567.82 1,182,314,567.26 2,596,286,000.56

153,469,905.65 (309,259,969.49) 135,375,000.00 163,163,296.45 142,748,232.61 2,330,803,111.80 2,904,599,982.54 800,908,714.49 2,103,691,268.05

2,528,299,113.75 (43,884,998.96) 2,484,414,114.79

2,039,245,200.85 (27,019,843.82) 2,012,225,357.03

2,596,286,000.56 - 2,596,286,000.56

2,103,691,268.05 2,103,691,268.05

1.77

1.43

1.82

1.47

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ ว่าที่เรืออากาศโท

(อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

(นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี) รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

149


150

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

กำ�ไรสุทธิ เงินปันผล 7.23 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2554

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน

ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ผลกระทบจากการปรับปรุงการด้อยค่าสินทรัพย์ 5.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชี 5.4

-

64,982,099.54

64,982,099.54

(4,987,437,514.03) (4,987,437,514.03)

43,321,399.70

-

108,303,499.24

(4,987,437,514.03)

- -

-

84,256,983.17

84,256,983.17 -

-

10,080,000.00

140,428,305.29 -

10,080,000.00

189,597,729.80 69,845,798,936.17

56,171,322.12

(อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

(นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี) รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่

- - 2,528,299,113.75 2,528,299,113.75 (43,884,998.96) 2,484,414,114.79 - - (785,711,227.40) (785,711,227.40) - (785,711,227.40) 236,040,000.00 1,428,570,000.00 42,890,889,850.09 71,408,869,092.72 145,712,730.84 71,554,581,823.56

10,080,000.00

225,960,000.00 1,428,570,000.00 41,148,301,963.74 69,656,201,206.37

-

225,960,000.00 1,428,570,000.00 45,447,485,862.26 73,955,385,104.89 133,426,407.68 74,088,811,512.57 - - (4,383,440,881.69) (4,383,440,881.69) - (4,383,440,881.69)

ว่าที่เรืออากาศโท

- - - - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

-

14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

-

14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 - -

189,597,729.80 69,845,798,936.17

225,960,000.00 1,428,570,000.00 41,148,301,963.74 69,656,201,206.37

-

-

14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

-

-

รวม 173,296,173.92 73,259,782,780.07

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทใหญ่ ส่วนน้อย

173,040,000.00 1,428,570,000.00 39,709,051,949.03 68,164,031,191.66 216,617,573.62 68,380,648,765.28 - - 52,920,000.00 - 52,920,000.00 - - 2,039,245,200.85 2,039,245,200.85 (27,019,843.82) 2,012,225,357.03 - - (599,995,186.14) (599,995,186.14) - (599,995,186.14)

-

5.4

-

กำ�ไรสะสม

173,040,000.00 1,428,570,000.00 44,631,507,363.52 73,086,486,606.15

สำ�รองตาม กฎหมาย

หน่วย : บาท

14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 - 52,920,000.00 - - - -

-

14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

5.2

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

ส่วนเกินทุนจาก ทุนเรือนหุ้นที่ออก การเปลี่ยนแปลง หมายเหตุ และชำ�ระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น มูลค่าเงินลงทุน

ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำ�ไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 หลังปรับปรุง

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ผลกระทบจากการปรับปรุง การด้อยค่าสินทรัพย์ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ประมาณการทางบัญชี

สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

151

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ (อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

- - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 - - - - - - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

ว่าที่เรืออากาศโท

ผลกระทบจากการปรับปรุงการด้อยค่าสินทรัพย์ 5.2 ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำ�ไรสุทธิ เงินปันผล 7.23 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2554

14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 - -

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 5.1 ผลกระทบจากการปรับปรุงการบันทึกเงินลงทุน

สำ�รองตาม กฎหมาย

กำ�ไรสะสม

รวม

หน่วย : บาท

(นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี) รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่

- - (4,383,440,881.69) (4,383,440,881.69) 225,960,000.00 1,428,570,000.00 41,472,590,341.12 69,980,489,583.75 10,080,000.00 - - 10,080,000.00 - - 2,596,286,000.56 2,596,286,000.56 - - (785,711,227.40) (785,711,227.40) 236,040,000.00 1,428,570,000.00 43,283,165,114.28 71,801,144,356.91

225,960,000.00 1,428,570,000.00 46,297,920,477.52 74,805,819,720.15 - - (441,889,254.71) (441,889,254.71)

173,040,000.00 1,428,570,000.00 45,398,221,027.95 73,853,200,270.58 - - (441,889,254.71) (441,889,254.71) - - (4,987,437,514.03) (4,987,437,514.03) 173,040,000.00 1,428,570,000.00 39,968,894,259.21 68,423,873,501.84 52,920,000.00 - - 52,920,000.00 - - 2,103,691,268.05 2,103,691,268.05 - - (599,995,186.14) (599,995,186.14) 225,960,000.00 1,428,570,000.00 41,472,590,341.12 69,980,489,583.75

ส่วนเกินทุนจาก ทุนเรือนหุ้นที่ออก การเปลี่ยนแปลง และชำ�ระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น มูลค่าเงินลงทุน 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 - - - - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 - - - - - - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ผลกระทบจากการปรับปรุงการบันทึกเงินลงทุน 5.1 ผลกระทบจากการปรับปรุงการด้อยค่าสินทรัพย์ 5.2 ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำ�ไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 หลังปรับปรุง

สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

หน่วย : บาท

2554

งบการเงินรวม

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ 3,666,728,682.05 2,813,134,071.52 3,778,600,567.82 2,904,599,982.54 รายการปรับปรุงกระทบยอดกำ�ไรสุทธิ เป็นเงินสดรับ(จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน หนี้สงสัยจะสูญ (131,823,064.74) 61,027,000.52 (130,695,511.87) 59,420,495.45 สำ�รองวัสดุคงเหลือเสื่อมสภาพ 26,213.51 (1,117,811.96) 26,213.51 (1,117,811.96) ขาดทุนจากสินทรัพย์เสื่อมสภาพ 96,143.95 187,514.93 - ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย 7,865,645,620.40 7,625,331,461.70 7,701,536,974.47 7,446,884,141.49 ขาดทุนจากการด้อยค่า 357,882,652.61 177,221,246.87 355,382,511.43 153,469,905.65 ขาดทุน(กำ�ไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน 1,538,768,430.24 (300,257,997.89) 1,538,768,430.24 (300,257,997.89) กำ�ไรจากการจำ�หน่ายอาคาร และอุปกรณ์ (6,192,265.61) (5,351,635.22) (5,516,058.49) (4,673,798.99) กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน - (185,532,000.00) - (185,532,000.00) ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี 11,329,197.20 22,947,579.59 11,329,197.20 22,947,579.59 ประมาณการหนี้สิน 334,907,529.50 163,166,999.53 334,907,529.50 163,166,999.53 รายได้เงินปันผล (36,727,700.00) (37,845,800.00) (36,727,700.00) (37,845,800.00) ดอกเบี้ยรับ (795,357,033.40) (577,872,001.87) (795,217,871.78) (577,757,059.84) ต้นทุนทางการเงิน 2,223,809,686.24 2,389,712,450.43 2,168,586,749.93 2,330,803,111.80 กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน 15,029,094,091.95 12,144,751,078.15 14,920,981,031.96 11,974,107,747.37 การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์ด�ำ เนินงานลดลง (เพิม่ ขึน้ ) ลูกหนี้การค้า 1,755,535,588.28 (669,405,088.42) 1,757,647,149.76 (662,393,065.18) ลูกหนี้อื่น 6,557,458.16 4,736,364,643.25 6,136,920.73 4,748,919,212.96 วัสดุคงคลัง (58,991,209.21) (46,606,654.53) (58,418,939.03) (47,108,652.00) รายได้ค้างรับ (32,088,427.13) (10,998,821.55) (44,399,722.13) (22,557,116.55) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 19,847,430.80 (22,855,713.47) 21,957,820.23 (20,558,987.93) การเปลีย่ นแปลงในหนีส้ นิ ดำ�เนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า 290,442,967.19 25,619,787.94 255,214,909.49 (23,037,861.19) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 100,139,767.87 479,869,990.57 85,433,814.31 462,232,143.98 เงินมัดจำ�และเงินประกันสัญญา 52,854,420.66 16,011,305.81 52,758,580.66 16,022,305.81 เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย (15,944,428.05) (9,573,020.14) (15,944,428.05) (9,573,020.14) หนี้สินหมุนเวียนอื่น 364,552,832.02 407,678,128.73 342,107,671.08 397,122,362.34 17,512,000,492.54 17,050,855,636.34 17,323,474,809.01 16,813,175,069.47 เงินสดรับจากดอกเบี้ย 613,954,742.41 485,338,181.95 613,823,544.85 485,235,637.76 เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ (1,399,736,419.73) (1,336,827,946.51) (1,399,542,670.68) (1,336,500,391.93) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 16,726,218,815.22 16,199,365,871.78 16,537,755,683.18 15,961,910,315.30 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

152


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

หน่วย : บาท

2554

งบการเงินรวม

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ เงินปันผลรับจากเงินลงทุน ลงทุนในอาคารและอุปกรณ์ และงานระหว่างก่อสร้าง ลงทุนในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนทั่วไป เงินลงทุนระยะยาว (เพิ่มขึ้น) ลดลง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับ (จ่าย) จากการเบิกเกินบัญชี เงินสดจ่ายชำ�ระตั๋วสัญญาใช้เงิน จ่ายชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน จ่ายชำ�ระเงินกู้ระยะยาว เงินสดรับจากเงินกู้ระยะยาว จ่ายเงินปันผล เงินสดจ่ายดอกเบี้ย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิน้ งวด

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

(3,164,973,788.26) 8,896,503.98 36,727,700.00

(6,452,728,530.46) 8,623,314.21 37,845,800.00

(3,164,973,788.26) 8,071,745.48 36,727,700.00

(6,452,728,530.46) 6,743,193.26 37,845,800.00

(3,402,243,803.28) (55,434,132.76) - (800,000,000.00) (31,224,005.39) 4,879,062.42 (7,403,372,463.29)

(2,260,912,055.22) (370,530,938.38) 195,532,000.00 300,000,000.00 (196,574,219.22) (103,759,420.93) (8,842,504,050.00)

(3,398,630,318.61) (55,434,132.76) - (800,000,000.00) (31,224,005.39) 4,879,062.42 (7,400,583,737.12)

(2,259,947,054.89) (370,530,938.38) 195,532,000.00 300,000,000.00 (196,574,219.22) (103,759,420.93) (8,843,419,170.62)

108,589.80 - (299,377,709.08) (4,377,578,820.02) - (785,711,227.40) (2,199,756,969.86) (7,662,316,136.56) 1,660,530,215.37 3,518,906,400.34 5,179,436,615.71

(4,474,563.86) (30,000,000.00) (157,014,700.36) (4,391,408,126.52) 388,798,473.67 (599,995,186.14) (2,390,864,350.00) (7,184,958,453.21) 171,903,368.57 3,347,003,031.77 3,518,906,400.34

- - (299,147,056.54) (157,014,700.36) (4,229,138,820.02) (4,267,718,126.52) - 388,798,473.67 (785,711,227.40) (599,995,186.14) (2,144,534,033.55) (2,331,955,011.37) (7,458,531,137.51) (6,967,884,550.72) 1,678,640,808.55 150,606,593.96 3,494,062,191.84 3,343,455,597.88 5,172,703,000.39 3,494,062,191.84

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ ว่าที่เรืออากาศโท

(อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) กรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

(นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี) รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการใหญ่

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

153


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2553

1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) (ทอท. ) จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 สำ�นักงานใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประกอบ และส่งเสริมกิจการท่าอากาศยาน รวมทั้งการดำ�เนินกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องหรือต่อเนื่องกับการประกอบกิจการท่าอากาศยาน ปัจจุบัน บริหารกิจการท่าอากาศยาน จำ�นวน 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) และ ท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง (ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย) ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ทอท. มีพนักงานและลูกจ้างประจำ� จำ�นวน 4,272 คน

2. เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายความรวมถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามข้อกำ�หนด ของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทำ�และนำ�เสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 การจัดทำ�รายการในงบการเงินเป็นไปตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง “กำ�หนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552” ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ซึ่งออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ใช้บังคับ สำ�หรับการจัดทำ�งบการเงินซึ่งมีรอบปีบัญชีเริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ได้จดั ทำ�ขึน้ ด้วยข้อสมมติฐานทีว่ า่ ผูใ้ ช้งบการเงินมีความเข้าใจหลักการและวิธปี ฏิบตั ิ ทางบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย หลักการบัญชีที่ใช้อาจแตกต่างไปจากหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งใช้ในประเทศอื่น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ได้จดั ทำ�ขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้นบัญชีบางประเภทซึ่งใช้มูลค่ายุติธรรมตามที่อธิบายในนโยบายการบัญชี รายการที่มีสาระสำ�คัญซึ่งเกิดขึ้นระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยได้ถูกตัดรายการในการจัดทำ�งบการเงินรวม 2.1 งบการเงินรวม แสดงฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของ ทอท. และบริษัทย่อย บริษทั ย่อยประกอบด้วย บริษทั ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำ�กัด ระหว่างชำ�ระบัญชี (บทม.) และ บริษทั โรงแรม ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด (รทส.) โดย ทอท. ถือหุ้นร้อยละ 100 และ 60 ตามลำ�ดับ 2.2 งบการเงินเฉพาะบริษัท แสดงฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของ ทสภ. ทดม. ท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง และ กองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เพือ่ ความสะดวกของผูใ้ ช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั จึงได้มกี ารแปลงบการเงินเป็นภาษาอังกฤษจากงบการเงิน ที่จัดทำ�เป็นภาษาไทย

3. มาตรฐานการบัญชี 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 49/2553 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2553 เรื่อง การจัดเลขระบุ ฉบับมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินบางรายการ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2553 ทอท. ได้แสดงเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เปิดเผยในงบการเงินตามประกาศดังกล่าว 3.2 แม่บทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีทมี่ กี ารปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553 วันที่ 30 สิงหาคม 2553 วันที่ 15 ธันวาคม 2553 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 และวันที่ 6 พฤษภาคม 2554 มีรายละเอียดดังนี้

154


มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2553 - แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำ�เสนองบการเงิน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินค้าคงเหลือ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบกระแสเงินสด - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง รายได้ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อ ออกจากงาน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีเ่ งินเฟ้อรุนแรง - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง กำ�ไรต่อหุ้น - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ประมาณการหนีส้ นิ หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ และสินทรัพย์ทอี่ าจ เกิดขึ้น - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2552) - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำ�เนินงาน (ปรับปรุง 2552) ที่ยกเลิก - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 เรื่อง การสำ�รวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ - การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ ฉบับที่ 15 - การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่อง รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม 2554 - มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำ�หรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs) มีผลบังคับใช้ส�ำ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

155


- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงของอั ต ราแลกเปลี่ ย น เงินตราต่างประเทศ - การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 เรื่อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล-กรณีทไี่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดำ�เนินงาน - การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 เรื่อง ภาษีเงินได้-การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิด ค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่ - การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 เรื่อง ภาษีเงินได้-การเปลีย่ นแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรือของผู้ถือหุ้น 3.3 มาตรฐานการบัญชีที่ยกเลิก ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2553 มีรายละเอียดดังนี้ มีผลบังคับใช้ส�ำ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 102 (เดิมฉบับที่ 26) เรื่อง การรับรู้รายได้ส�ำ หรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3.4 มาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ที่มีผลกระทบต่อ งบการเงิน ทอท. ในงวดบัญชีปี 2555 มีผลบังคับใช้ส�ำ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำ�เสนองบการเงิน ห้ามมิให้แสดงรายการรายได้ และค่าใช้จ่ายในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของกิจการ สามารถเลือกแสดงงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จแบบงบเดียวหรือ แบบสองงบ (งบกำ�ไรขาดทุนและงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) ในกรณีที่กิจการมีการปรับปรุงย้อนหลังหรือจัดประเภทรายการใหม่ กิจการ ต้องนำ�เสนองบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่นำ�มาเปรียบเทียบล่าสุดนอกเหนือจากการนำ�เสนองบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวดปัจจุบัน และ ณ วันสิ้นงวดก่อน อย่างไรก็ดีส�ำ หรับงบการเงินซึ่งมีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 และเป็นรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่กิจการนำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาใช้บังคับ กิจการสามารถเลือก ที่จะนำ�เสนองบแสดงฐานะการเงินเพียงสองงวด โดยไม่นำ�เสนองบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่นำ�มาเปรียบเทียบ ซึ่ง ทอท. จะเลือกนำ�เสนองบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จแบบสองงบ - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กำ�หนดให้กิจการต้องรวมต้นทุน ที่ประมาณในเบื้องต้นสำ�หรับการรื้อ การขนย้าย และการบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์ซึ่งเป็นภาระผูกพันของกิจการเป็นส่วนหนึ่ง ของราคาทุนของสินทรัพย์ กิจการต้องคิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนประกอบของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละส่วนแยกต่างหาก จากกันเมือ่ ส่วนประกอบแต่ละส่วนนัน้ มีตน้ ทุนทีม่ นี ยั สำ�คัญเมือ่ เทียบกับต้นทุนทัง้ หมดของสินทรัพย์นนั้ มาตรฐานทีม่ กี ารปรับปรุงใหม่ กำ�หนดให้กิจการต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์ มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี ทอท. จะนำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับนีม้ าถือปฏิบตั ติ งั้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2554 โดยมีผลกระทบในเรือ่ งการแยกส่วนประกอบทีม่ นี ยั สำ�คัญของ สินทรัพย์และการทบทวนอายุการให้ประโยชน์ ซึ่ง ทอท. ใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เกี่ยวข้องกับการบัญชีส�ำ หรับผลประโยชน์พนักงาน ซึ่งสามารถจัดประเภทได้ 4 ประเภท ได้แก่ ก) ผลประโยชน์ระยะสั้น ข) ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมถึงโครงการสมทบเงินและ โครงการผลประโยชน์พนักงาน ค) ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น และ ง) ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำ หนดให้ วัดมูลค่าโครงการผลประโยชน์พนักงานและผลประโยชน์ระยะยาวอืน่ โดยใช้วธิ คี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ กิจการสามารถเลือก รับรูผ้ ลกำ�ไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสำ�หรับโครงการผลประโยชน์ในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จหรือ งบกำ�ไรงบขาดทุน ส่วนผลกำ�ไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย สำ�หรับผลประโยชน์ระยะยาวอื่นให้ รับรูใ้ นงบกำ�ไรขาดทุน ทอท. จะนำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับนีม้ าถือปฏิบตั ติ งั้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2554 และรับรูภ้ าระผูกพันผลประโยชน์ พนักงานโดยวิธีปรับย้อนหลัง และเลือกรับรู้กำ�ไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสำ�หรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงานในงบกำ�ไรขาดทุนทันทีที่เกิดรายการ ผลกระทบเมื่อเริ่มนำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ ทำ�ให้กำ�ไร สะสมยกมา ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ลดลงประมาณ 1,054 ล้านบาทในงบการเงินรวม และประมาณ 1,053 ล้านบาทในงบการเงิน เฉพาะบริษัท และประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้นประมาณ 1,505 ล้านบาทในงบการเงินรวม และประมาณ 1,504 ล้านบาทในงบการเงินเฉพาะบริษัท

156


- มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้ข้อกำ�หนดสำ�หรับการแสดง รายการและการวัดมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน กิจการต้องแสดงรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็นรายการแยก ต่างหากในงบแสดงฐานะการเงิน กิจการสามารถวัดมูลค่าได้สองวิธี คือ วิธีราคาทุน และวิธีมูลค่ายุติธรรม สำ�หรับวิธีมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องรับรู้ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในงบกำ�ไรขาดทุน ทอท. จะนำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 และได้เลือกใช้วิธีราคาทุนในการวัดมูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยแยกแสดงรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มีผลบังคับใช้ส�ำ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ เกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ ซึ่งรวมถึงภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินหรือสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคำ�นวณจากจำ�นวนที่คาดว่าจะต้องจ่ายหรือได้รับคืนจาก หน่วยงานจัดเก็บภาษี โดยใช้อัตราภาษีและกฎหมายภาษีอากรที่บังคับใช้อยู่หรือที่คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลา ที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคำ�นวณโดยอ้างอิงจากผลแตกต่างชั่วคราวของฐานภาษีของสินทรัพย์หรือหนี้สิน และมูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ นัน้ ด้วยอัตราภาษีส�ำ หรับงวดทีก่ จิ การคาดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หรือในงวดที่กิจการคาดว่าจะต้องจ่ายชำ�ระหนี้สินภาษี โดยใช้อัตราภาษีและกฎหมายภาษีอากรที่บังคับใช้อยู่หรือที่คาดได้ค่อนข้าง แน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้น ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 แต่ ทอท. จะนำ�มาถือปฏิบัติก่อนตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 โดยการปรับปรุงย้อนหลัง

4. นโยบายการบัญชีที่ส�ำ คัญ นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญสรุปได้ดังนี้ 4.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายรวมถึง เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสัน้ อืน่ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ มีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันทีไ่ ด้มา และเงินเบิกเกินบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่วนของของหนีส้ นิ หมุนเวียนในงบดุล 4.2 เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนชั่วคราว หมายถึง เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจำ� ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินลงทุนในตราสารหนี้ ซึ่งมีอายุเกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มาแต่ไม่เกินสิบสองเดือน และเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนที่ฝ่ายบริหารมีความตั้งใจ ที่จะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่าสิบสองเดือน 4.3 ลูกหนี้การค้า ลูกหนีก้ ารค้ารับรูเ้ ริม่ แรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจำ�นวนเงินทีเ่ หลืออยูห่ กั ด้วยค่าเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญซึง่ ประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ งวด ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนี้ การค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั จากลูกหนีก้ ารค้าโดยประมาณขึน้ จากประสบการณ์ในการเก็บเงินในอดีต และตามสถานะ ปัจจุบันของลูกหนี้คงค้าง ณ วันที่ในงบดุล หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ไว้ในงบกำ�ไรขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริหาร 4.4 สินค้าและวัสดุคงเหลือ สินค้าและวัสดุคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ราคาทุนของสินค้าและ วัสดุคงเหลือคำ�นวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก ต้นทุนของการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการ ซื้อสินค้าและวัสดุนั้น เช่น ค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ง เป็นต้น มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับประมาณจากราคาปกติที่คาดว่าจะขายได้ ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายในการขาย ทอท. บันทึกบัญชีค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัย หรือเสื่อมคุณภาพเท่าที่จำ�เป็น สำ�หรับวัสดุในส่วนที่ไม่เคลื่อนไหวเกิน 5 ปี จะตั้งสำ�รองการเสื่อมสภาพไว้เต็มจำ�นวน

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

157


4.5 เงินลงทุน 4.5.1 เงินลงทุนระยะยาว เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดที่เป็นเงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วย ราคาทุนปรับด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน 4.5.2 เงินลงทุนในตราสารทุน ทีอ่ ยูใ่ นความต้องการของตลาดทีเ่ ป็นเงินลงทุนเผือ่ ขายแสดงด้วยมูลค่ายุตธิ รรม กำ�ไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายจะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้น 4.5.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บันทึกบัญชีเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ตามสัดส่วนของการลงทุนในบริษัทย่อย และใน งบการเงินเฉพาะบริษัทแสดงตามวิธีราคาทุน 4.6 อาคาร และอุปกรณ์ อาคารและอุปกรณ์ บันทึกบัญชีในราคาทุน ณ วันที่ได้มาหรือก่อสร้างแล้วเสร็จ ทอท. ก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ทัง้ หมดในทีร่ าชพัสดุซงึ่ เช่าจากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เดิมระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศกำ�หนดให้อาคารและ สิง่ ปลูกสร้างตกเป็นกรรมสิทธิข์ องกระทรวงการคลังนับตัง้ แต่วนั ก่อสร้างแล้วเสร็จ แต่ ทอท. บันทึกอาคารและสิง่ ปลูกสร้างเป็นสินทรัพย์ เนื่องจาก ทอท. เป็นผู้รับความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ดังกล่าว และจ่ายค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุให้กรมธนารักษ์ เมื่อ ทอท. แปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน จำ�กัด กระทรวงการคลังได้จัดทำ�ระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศ จำ�นวน หนึ่งระเบียบ และระเบียบกระทรวงการคลังและกรมการบินพาณิชย์ จำ�นวนสองระเบียบ ซึ่งทั้งสามระเบียบมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2545 โดยข้อ 8 ของทั้งสามระเบียบกำ�หนดให้กรรมสิทธิ์อาคาร และสิ่งปลูกสร้างตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลัง เมื่อข้อตกลงการใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุที่ทำ�ขึ้นตามระเบียบนี้สิ้นผลบังคับผูกพันซึ่งเมื่อรวมระยะเวลาทั้งสิ้นแล้วต้องไม่เกิน 50 ปี นับแต่วันที่ทำ�ข้อตกลงการใช้ประโยชน์ ทอท. ได้ท�ำ ข้อตกลงการใช้ประโยชน์รวมสี่ฉบับ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 และทำ�ข้อตกลง การใช้ประโยชน์ฉบับปรับปรุงแก้ไขอีก 1 ฉบับ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2547 โดยให้ ทอท. ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ มีก�ำ หนดเวลา 30 ปี ( วันที่ 30 กันยายน 2575 ) และยินยอมให้ ทอท. แจ้งขอใช้ประโยชน์ต่อไปได้อีกสองครั้งๆ ละ 10 ปี (วันที่ 30 กันยายน 2595) ซึ่ง ทอท. จ่ายค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ ให้กรมธนารักษ์ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 7.25 อาคารและอุปกรณ์แสดงรายการด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาทุนของรายการอาคารและอุปกรณ์ รวมถึง ราคาซื้อ อากรขาเข้า ภาษีซื้อที่เรียกคืนไม่ได้ (หลังหักส่วนลดการค้า และ จำ�นวนที่ได้รับคืนจากผู้ขาย) และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสถานที่และสภาพที่ พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ของฝ่ายบริหาร รวมทัง้ ต้นทุนทีป่ ระมาณทีด่ ที ส่ี ดุ สำ�หรับการรือ้ การขนย้าย และการบูรณะสถานทีต่ ง้ั ของสินทรัพย์ ซึ่งเป็นภาระผูกพันของกิจการที่เกิดขึ้นเมื่อกิจการได้สินทรัพย์นั้นมาหรือเป็นผลจากการใช้สินทรัพย์นั้นในช่วงเวลาหนึ่ง ทอท. จะรับรูต้ น้ ทุนในการเปลีย่ นแทนส่วนประกอบของรายการอาคารและอุปกรณ์เป็นส่วนหนึง่ ของมูลค่าตามบัญชีของ รายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องเมื่อต้นทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่ ทอท. และจะ ตัดมูลค่าตามบัญชีของชิน้ ส่วนทีถ่ กู เปลีย่ นแทนออกจากรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สำ�หรับค่าซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาอืน่ ๆ ทอท. จะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น เครื่องใช้ในการดำ�เนินงานของกิจการโรงแรม บันทึกค่าเสื่อมราคาตามประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาคำ�นวณโดยใช้วิธีเส้นตรงเพื่อลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ อายุการใช้งาน (ปี) ของสินทรัพย์ 20 - 50 - อาคาร สิ่งก่อสร้างและภูมิสถาปัตยกรรม 10 - 20 - งานระบบ ไฟฟ้า ประปา เชื้อเพลิงและสื่อสาร - เครื่องจักรกล เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ 5 - 10 - ยานพาหนะ 5-8 3 - 10 - เครื่องตกแต่งติดตั้งและเครื่องใช้ส�ำ นักงาน ทอท. มีการทบทวนอายุการให้ประโยชน์ มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้ว่าอาคารและอุปกรณ์มีมูลค่าลดลงอย่างถาวรและราคาตามบัญชีสูงกว่าราคาขายหักต้นทุนในการขาย ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับราคาขายหักต้นทุนในการขายทันที และจะรับรู้ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของรายการอาคาร และอุปกรณ์ในงบกำ�ไรขาดทุน

158


การซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาจะรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการนั้น ต้นทุนของการปรับปรุงให้ดีขึ้น ทีส่ �ำ คัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ การปรับปรุงนัน้ จะทำ�ให้บริษทั ได้ประโยชน์ กลับคืนมามากกว่าการใช้ประโยชน์โดยไม่มีการปรับปรุง สินทรัพย์ที่ได้มาจากการปรับปรุงหลักจะตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการให้ ประโยชน์ที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินมาใช้ในการได้มาซึ่งอาคารและอุปกรณ์ได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนของสินทรัพย์นั้น ตลอดช่วงเวลาการก่อสร้างและเตรียมสินทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ 4.7 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ทอท. แปลงค่ารายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ และ แปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศในงบดุล ณ วันสิ้นงวดให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตาม อ้างอิงประจำ�วันที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศไว้ รายการกำ�ไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายชำ�ระที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินดังกล่าว ได้บันทึกไว้ในงบกำ�ไรขาดทุน 4.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนของ ทอท. คือ สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สามารถแยกจากเครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องได้แสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า การตัดจำ�หน่ายคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงตลอด ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์ภายในระยะเวลา 5 ถึง 10 ปี 4.9 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทอท. นำ � หลั ก ทรั พ ย์ เข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยเมื่ อ วั น ที่ 11 มี น าคม 2547 จึ ง ได้ รั บ ลดหย่อนอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิหลังจากปรับปรุงด้วยรายได้และค่าใช้จ่าย ที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร ตั้งแต่รอบปีบัญชี 2548 – 2552 และในรอบปีบัญชี 2553 ทอท. สามารถใช้สิทธิ ได้ต่อเนื่องอีก 1 รอบปีบัญชี ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 475 โดยสามารถชำ�ระภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 25 ของ กำ�ไรสุทธิเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท สำ�หรับส่วนที่เกิน 300 ล้านบาท ทอท. ต้องชำ�ระในอัตราร้อยละ 30 ของกำ�ไรสุทธิ ในรอบปีบญ ั ชี 2554 ทอท. บันทึกภาษีเงินได้โดยคำ�นวณจากกำ�ไรสุทธิทางภาษีตามเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดไว้ในประมวลรัษฎากร 4.10 ประมาณการหนี้สิน ทอท. จะบันทึกประมาณการหนี้สินอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งการชำ�ระภาระผูกพันนั้นมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้ ทอท. ต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที่น่าเชื่อถือของจำ�นวนที่ต้องจ่าย 4.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการใช้งานจำ�กัดจะมีการทบทวนการด้อยค่าเมื่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์ บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจำ�นวนที่สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้ สินทรัพย์ สินทรัพย์จะถูกจัดเป็นกลุ่มที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ ซึ่งรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้วจะถูกประเมินความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ในงบดุล 4.12 การรับรู้รายได้ 4.12.1 รายได้คา่ ธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครือ่ งอำ�นวยความสะดวก และรายได้เกีย่ วกับ บริการรับรู้เป็นรายได้เมื่อมีการให้บริการ 4.12.2 รายได้คา่ เช่าสำ�นักงานและอสังหาริมทรัพย์และรายได้สว่ นแบ่งผลประโยชน์ รับรูเ้ ป็นรายได้ตามระยะเวลาและ อัตราค่าตอบแทนตามที่ระบุไว้ในสัญญา 4.12.3 รายได้จากกิจการโรงแรม และภัตตาคาร บันทึกเป็นรายได้เมื่อมีการให้บริการตามราคาในใบแจ้งหนี้โดยไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่มสำ�หรับค่าสินค้าและบริการหลังจากหักส่วนลดและค่าบริการที่บวกเพิ่มแล้ว รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

159


4.12.4 ดอกเบี้ยรับ รับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของระยะเวลา โดยคำ�นึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 4.12.5 เงินปันผล รับรู้ในวันประกาศจ่าย 4.13 ดอกเบีย้ เงินกู้ จากการกูย้ มื เพือ่ นำ�มาใช้ในโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างจะถือเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนการก่อสร้าง และเมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จจะบันทึกดอกเบี้ยเงินกู้เป็นค่าใช้จ่าย 4.14 กองทุนสงเคราะห์ และกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ 4.14.1 ทอท. ได้จัดตั้ง “กองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย” โดยจ่ายสมทบเข้ากองทุนฯ ในอัตรา ร้ อ ยละ 10 ของเงิ น เดื อ นพนั ก งานเฉพาะพนั ก งานที่ เ ลื อ กไม่ โ อนไปกองทุ น สำ � รองเลี้ ย งชี พ ตามข้ อ 4.14.2 เพื่ อ ให้ ก องทุ น ฯ มีเงินสำ�รองเพียงพอที่พึงต้องจ่ายพนักงาน ณ วันสิ้นงวดบัญชีโดยรวมไว้เป็นหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นในงบดุล ส่วนรายได้และ ค่าใช้จ่ายของกองทุนฯ รับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุน 4.14.2 ทอท. ได้จัดตั้ง “กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พนักงานการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย” ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2537 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งพนักงานและลูกจ้างประจำ�จ่ายเงินสะสม เข้ากองทุนฯ ในอัตราร้อยละ 2 - 15 ของเงินเดือน ทั้งนี้ต้องไม่เกินอัตราที่ ทอท. จ่ายสมทบ โดย ทอท. จะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฯ ให้พนักงานที่เป็นสมาชิกแต่ละรายตามอัตราที่กำ�หนด คณะกรรมการ ทอท. ได้มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 9/2548 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ให้ปรับอัตราเงินสมทบของ สมาชิก ดังนี้ อัตราร้อยละของเงินเดือน อายุการทำ�งาน ไม่เกิน 10 ปี 9 10 เกินกว่า 10 ปี เกินกว่า 20 ปี 12 เกินกว่า 25 ปี 15 สมาชิกสามารถขอเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมได้ตามอายุการทำ�งานในอัตราร้อยละ 2 - 15 ของเงินเดือน โดยจะมีผล บังคับใช้ในเดือนเมษายนและเดือนตุลาคมของทุกปี ทอท. รับรู้เงินจ่ายสมทบเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพนี้ ได้แยกออกจาก ทอท. และบริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการกองทุนสำ�รองเลื้ยงชีพ 4.15 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน คำ�นวณโดยการหารกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปีด้วยจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่ ออกจำ�หน่ายในระหว่างปี 4.16 การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำ�งบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมุติฐานหลายประการ ซึง่ มีผลต่อการกำ�หนดนโยบายและรายงานจำ�นวนเงินทีเ่ กีย่ วกับ สินทรัพย์ หนีส้ นิ รายได้และค่าใช้จา่ ย การประมาณและข้อสมมุตฐิ าน มาจากประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ประมาณการและข้อสมมุติฐานที่ใช้ในการจัดทำ�งบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และ จะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปัจจุบันและอนาคต 4.17 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ในการทำ�อนุพันธ์ทางการเงินที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสี่ยงใช้เกณฑ์คงค้าง กำ�ไรขาดทุนที่เกิดจากการ แปลงค่าเงินบาทรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุน ส่วนดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามนโยบายการบัญชีข้อ 4.13

160


5. การปรับปรุงงบการเงินในงวดก่อน 5.1 เงินลงทุนในบริษัทย่อย ในปี 2551 ทอท. ได้ เ ปลี่ ย นแปลงนโยบายการบั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ การบั น ทึ ก เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว ม ในงบการเงินเฉพาะบริษัท จากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท ซึ่งในการบันทึกตามวิธีราคาทุนจะต้องพิจารณาข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าเงินลงทุนดังกล่าวตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ด้วย เงินลงทุนในบริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำ�กัด (บทม.) ในช่วงระหว่างชำ�ระบัญชี มีราคาทุนจำ�นวน 39,029 ล้านบาท ได้เกิดข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าแล้ว เนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีให้ดำ�เนินการยุบเลิก บทม. และรับโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ ความรับผิด และภาระผูกพันต่างๆ ของ บทม. มาเป็นของ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 โดย ทอท. ได้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากสินทรัพย์สุทธิของ บทม. ซึ่งมีราคาตามบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2550 จำ�นวน 38,587.11 ล้านบาท แต่ ทอท. ยังมิได้ดำ�เนินการในงวดบัญชีดังกล่าว ดังนั้น ทอท. จึงได้ปรับปรุงรับรู้ค่าเผื่อการด้อยค่าเงินลงทุน บทม. จำ�นวน 441.89 ล้านบาท ย้อนหลังเสมือนมีการรับรู้ค่าเผื่อการด้อยค่าดังกล่าวตั้งแต่วันที่ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี ตามที่กล่าวในวรรคก่อน รายการปรับปรุงนี้มีผลทำ�ให้เงินลงทุนในบริษัทย่อยของงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ลดลง 441.89 ล้านบาท และกำ�ไรสะสมต้นงวดของงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 และ 2553 ลดลงด้วยจำ�นวน เดียวกัน โดยไม่มีผลต่อกำ�ไรสุทธิในงวดบัญชีที่ได้รายงานไปแล้ว 5.2 สินทรัพย์ของ ทดม. อาคารและอุปกรณ์ของท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) ซึ่งภายหลังจากการเปิดให้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ในปี 2552 มีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ ทดม.อาจเกิดการด้อยค่า และยังไม่สามารถวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ ทดม. ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ เพือ่ พิจารณาว่าสินทรัพย์ดงั กล่าวด้อยค่าหรือไม่ เพียงใด เนือ่ งจากแผนการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ส่วนใหญ่ของ ทดม. คณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจได้มมี ติให้ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวง คมนาคม (คค.) ร่วมกันศึกษาความเหมาะสมของแนวทางการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง ในการนี้ คค. ได้มอบหมายให้ ทอท. ว่าจ้างสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) ทำ�การศึกษาทางเลือก 3 แนวทาง สรุปได้ดงั นี้ (1) กรณีเปิดใช้ ทดม. ให้บริการเทีย่ วบินเช่นในปัจจุบนั และเร่งการลงทุนใน ทสภ. เพือ่ ให้เพียงพอกับปริมาณการจราจร ในอนาคต (2) กรณีเปิดใช้ ทดม.เพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสารประมาณ 10 ล้านคน/ปี ที่จะช่วยชะลอการลงทุนเพิ่มเติมใน ทสภ. โดยเปิดให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศที่ไม่มีการต่อเครื่อง (Non-connecting Fight) หรือสายการบินต้นทุนต่�ำ (Low Cost Carriers) หรือเที่ยวบินระหว่างประเทศภายในภูมิภาค (3) กรณี ทดม.ยกเลิกการบริการเที่ยวบินแบบประจำ�ทั้งหมด พร้อมทั้งพัฒนากิจกรรมเชิงพาณิชย์อื่นๆ และเร่ง การลงทุนเพิ่มใน ทสภ. เพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสารที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 60-65 ล้านคน/ปี ในงวดบัญชี 2554 ฝ่ายบริหารเห็นว่าทางเลือกที่ (1) น่าจะเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน ทอท. จึงทดสอบการด้อยค่าสินทรัพย์ ทดม. บนข้อสมมุตฐิ านทีฝ่ า่ ยบริหารเลือก ซึง่ พิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ในระดับหน่วยสินทรัพย์ ที่ก่อให้เกิดเงินสดเป็นหน่วยของท่าอากาศยานดอนเมือง โดยกำ�หนดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากมูลค่าจากการใช้ เนื่องจาก ทอท. เช่าใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุในการดำ�เนินกิจการท่าอากาศยาน และระเบียบกระทรวงการคลังฯ ว่าด้วยการให้ ทอท. ใช้ประโยชน์ ในที่ราชพัสดุกำ�หนดว่า การปลูกสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างใดๆ ในที่ราชพัสดุให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลัง มูลค่า ยุติธรรมหักต้นทุนในการขายของทรัพย์สินส่วนใหญ่จึงมีค่าเท่ากับศูนย์ การพิจารณามูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ของ ทดม. ได้ประมาณการกระแสเงินสดที่ได้ตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ โดยใช้อัตราการเจริญเติบโตคงที่สำ�หรับประมาณการกระแสเงินสดหลังจากปีที่ 5 ซึ่งเป็นอัตราที่ไม่เกินไปกว่าอัตราเติบโตถัวเฉลี่ย ระยะยาวของกิ จ การ การประมาณการกระแสเงิ น สดนี้ ฝ่ า ยบริ ห ารได้ ศึ ก ษาและพิ จ ารณาความเป็ น ไปได้ อ ย่ า งสมเหตุ ส มผล ของทางเลือกร่วมกับประมาณการจราจรทางอากาศ ซึ่งเป็นการประมาณการที่ดีที่สุดมาประกอบการคำ�นวณ โดยใช้อัตราต้นทุน ของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (WACC) ของ ทอท. ในอัตราร้อยละ 11.87 เป็นอัตราคิดลด

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

161


ผลการทดสอบการด้อยค่าของสินทรัพย์ ทดม. พบว่า มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ไม่ครอบคลุมมูลค่าตามบัญชีคงเหลือ ของสินทรัพย์ ทอท. จึงตัง้ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ดงั กล่าวทัง้ จำ�นวน แต่เนือ่ งจากข้อบ่งชีข้ องการด้อยค่านีเ้ กิดขึน้ ตัง้ แต่ปี 2552 ดังนั้น ทอท. จึงได้ปรับปรุงการรับรู้ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ทดม. จำ�นวน 4,987.44 ล้านบาท ย้อนหลังเสมือนมีการรับรู้ ค่าเผื่อการด้อยค่าดังกล่าวตั้งแต่วันสิ้นงวดปี 2552 รายการปรับปรุงนี้มีผลทำ�ให้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีก�ำ ไรสุทธิ สำ�หรับ ปี 2552 ลดลง 4,987.44 ล้านบาท ปี 2553 เพิ่มขึ้น 604.00 ล้านบาท (ค่าเสื่อมราคาลดลง 615.40 ล้านบาท ค่าตัดจำ�หน่าย ลดลง 6.69 ล้านบาท และขาดทุนจากการด้อยค่าเพิ่มขึ้น 18.09 ล้านบาท) อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 และ 2553 ลดลง 4,960.23 ล้านบาท และ 4,378.70 ล้านบาทตามลำ�ดับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-สุทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 และ 2553 ลดลง 27.21 ล้านบาทและ 4.74 ล้านบาทตามลำ�ดับ และมีผลทำ�ให้ก�ำ ไรสะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 และ 2553 ลด ลง 4,987.44 ล้านบาท และ 4,383.44 ล้านบาทตามลำ�ดับ จากที่ได้เคยรายงานไว้เดิม 5.3 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (ค่าชดเชยผลกระทบทางเสียง) ค่าชดเชยผลกระทบทางเสียง เป็นรายจ่ายเพือ่ การปรับปรุงอาคารและสิง่ ปลูกสร้างให้กบั หน่วยงาน / เจ้าของสถานที่ เพือ่ ป้องกันผลกระทบด้านเสียงทีเ่ กิดจากการดำ�เนินงานของสนามบินสุวรรณภูมติ ามกฎหมายสิง่ แวดล้อม ทอท. ได้บนั ทึกรายการ จ่ายค่า ชดเชย จำ�นวนเงิน 580.64 ล้านบาท ไว้เป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนตั้งแต่ปี 2552 ตัดจำ�หน่ายคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรง ซึ่งค่าชดเชย ผลกระ ทบทางเสียงดังกล่าวไม่เข้านิยามของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 เนือ่ งจากไม่สามารถแบ่งหรือแยก ได้อย่าง เป็นเอกเทศ แต่รายจ่ายดังกล่าวจัดเป็นต้นทุนเพือ่ การได้มาซึง่ สินทรัพย์ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีอายุการให้ประโยชน์เท่ากับสิน ทรัพย์นนั้ ๆ ดังนัน้ ทอท. จึงได้จดั ประเภทรายการค่าชดเชยผลกระทบทางเสียงในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2553 ใหม่ และปรับปรุงการคิดค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์ดงั กล่าวแบบเปลีย่ นทันทีเป็นต้นไป การจัดประเภท รายการดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทที่ได้รายงานไว้เดิม ซึ่งการจัดประเภทรายการใหม่มีดังนี้ี

งบดุล ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 - อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น - สินทรัพย์ไม่มีตัวตนลดลง

หน่วย : ล้านบาท

580.64 580.64

5.4 การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี ในงวดบัญชีปี 2554 บริษัทย่อย (บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด : รทส.) ได้มีการเปลี่ยนแปลง ประมาณการทางบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกค่าเสื่อมราคาของอาคารและงานภูมิสถาปัตยกรรมตามอายุสัญญาเช่าที่ดิน เป็นบันทึก ค่าเสื่อมราคาตามประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ ในการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีดังกล่าว รทส. ได้ ปรับปรุงย้อนหลังงบการเงินงวดก่อนที่นำ�มาเปรียบเทียบเสมือนว่าบริษัทได้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกค่าเสื่อมราคาของอาคารและ ภูมิสถาปัตยกรรมตามอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ ข องสิ น ทรั พ ย์ ม าโดยตลอด ผลจากการเปลี่ ย นแปลงประมาณการทางบั ญ ชี ทำ � ให้ งบการเงินรวมมีกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 เพิ่มขึ้น 32.13 ล้านบาท อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 เพิ่มขึ้น 140.43 ล้านบาท และมีผลทำ�ให้กำ�ไรสะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 และ 2553 เพิ่มขึ้น 108.30 ล้านบาท และ 140.43 ล้านบาทตามลำ�ดับ

6. ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน ทอท. และบริษัทย่อยดำ�เนินธุรกิจ 2 ส่วนงานหลักได้แก่ กิจการท่าอากาศยาน และธุรกิจโรงแรม ในปี 2554 และ 2553 ทอท. และบริษทั ย่อยไม่มกี จิ กรรมทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญในส่วนงาน ดังนัน้ จึงไม่แสดงข้อมูลจำ�แนกตามส่วนงานทัง้ ในส่วนงานธุรกิจและส่วนงาน ทางภูมิศาสตร์

162


7. ข้อมูลเพิ่มเติม 7.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หน่วย : ล้านบาท

เงินสด เงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์ เงินฝากประจำ� ตั๋วแลกเงินที่มีอายุไม่เกิน 3 เดือน พันธบัตรที่มีอายุไม่เกิน 3 เดือน เงินฝากออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 182.44 82.89 1,951.49 1,076.77 200.00 - 2,800.00 500.00 - 1,789.39 45.51 69.86 5,179.44 3,518.91

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 181.21 81.66 1,945.98 1,053.15 200.00 2,800.00 500.00 - 1,789.39 45.51 69.86 5,172.70 3,494.06

ณ วันสิ้นงวดปี 2554 และ 2553 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดได้รวมเงินที่ ทอท. กันไว้ส�ำ หรับกองทุนสงเคราะห์ การท่าอากาศยานฯ จำ�นวน 28.85 ล้านบาท และ 58.89 ล้านบาท 7.2 เงินลงทุนชั่วคราว หน่วย : ล้านบาท

เงินฝากประจำ� ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนดภายใน 1 ปี ตั๋วแลกเงิน พันธบัตร รวม

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 19,653.56 16,853.50 2,000.00 58.99 21,712.55

1,000.00 694.07 18,547.57

เงินฝากประจำ� เป็นเงินฝากที่มีวันครบกำ�หนดเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ วันสิ้นงวดปี 2554 และ 2553 เงินฝากประจำ�ได้รวมเงินฝากกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานฯ จำ �นวน 3.56 ล้านบาท และ 3.50 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2554 ทอท. ได้นำ�พันธบัตรไปจำ�นำ�สิทธิไว้กับกรมสรรพากรเป็นจำ�นวน 55.00 ล้านบาท เพื่อเป็นหลักประกันชะลอการจ่ายภาษีอากรค้างชำ�ระ จนกว่าผลการพิจารณาคำ�ร้องของดหรือลดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มในส่วนที่ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มในการก่อสร้าง ทสภ. และการขยายอาคารผู้โดยสาร ทชม. และ ทภก. จะได้ข้อยุติ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

163


7.3 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

ลูกหนี้การค้า-บุคคลภายนอก ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า-สุทธิ

งบการเงินรวม 2554 2553 2,193.37 3,867.24 21.97 103.64 2,215.34 3,970.88 555.15 686.97 1,660.19 3,283.91

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2,147.01 3,819.44 24.93 110.14 2,171.94 3,929.58 545.28 675.97 1,626.66 3,253.61

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 555.15 ล้านบาท ประกอบด้วยหนี้อยู่ระหว่างดำ�เนินคดี 7 ราย จำ�นวนเงิน 9.40 ล้านบาท อยูร่ ะหว่างดำ�เนินการรวบรวมหลักฐานเพือ่ ดำ�เนินคดี 8 ราย จำ�นวนเงิน 17.49 ล้านบาท อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของพนักงานอัยการ 3 ราย จำ�นวนเงิน 191.65 ล้านบาท และอยู่ระหว่างการประนอมหนี้และติดตามทวงถาม 133 ราย จำ�นวนเงิน 336.61 ล้านบาท ลูกหนี้การค้า แยกตามอายุหนี้ได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ไม่เกิน 6 เดือน เกินกว่า 6 เดือน – 1 ปี เกินกว่า 1 ปี – 2 ปี เกินกว่า 2 ปี รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 1,560.88 3,105.47 47.05 76.54 90.64 93.53 22.79 214.64 493.98 480.70 2,215.34 3,970.88

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 1,542.99 3,094.50 33.28 60.84 89.56 89.22 22.44 214.64 483.67 470.38 2,171.94 3,929.58

7.4 ลูกหนี้อื่น หน่วย : ล้านบาท

กรมสรรพากร การรถไฟแห่งประเทศไทย เงินยืมทดรอง อื่นๆ รวม

164

งบการเงินรวม 2554 2553 2,211.83 1,247.19 37.70 37.70 3.18 2.58 13.00 20.15 2,265.71 1,307.62

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2,211.50 1,246.68 37.70 37.70 3.18 2.58 2.39 9.30 2,254.77 1,296.26


ลูกหนี้กรมสรรพากร จำ�นวน 2,211.83 ล้านบาท ในงบการเงินรวม ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ประกอบด้วย - ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ ทอท. ขอคืนจากกรมสรรพากร จำ�นวน 964.82 ล้านบาท - ภาษีซื้อที่ขอคืนจากกรมสรรพากรของ รทส. จำ�นวน 0.33 ล้านบาท และของ ทอท. จำ�นวน 1,246.68 ล้านบาท ในส่วนของ ทอท. เป็นภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2539 ถึงเดือน ธันวาคม 2548 ที่ ทอท. รับโอนมาจาก บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 ซึ่งในการขอคืนภาษีนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นในประเด็น การสืบสิทธิและหน้าที่แทน บทม. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ว่า ทอท. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ตามมติ คณะรัฐมนตรีและสัญญาโอนกิจการ ชอบที่จะได้รับโอนสิทธิและหน้าที่ของ บทม. ในการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อ) ที่ยังคงค้าง การพิจารณาจากกรมสรรพากร โดย ทอท. ต้องดำ�เนินการให้ถกู ต้องตามหลักเกณฑ์ทปี่ ระมวลรัษฎากรและกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกำ�หนดไว้ เพื่อการนั้น ซึ่ง ทอท. ได้ดำ�เนินการตามหลักเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกำ�หนด โดยยื่นประมาณการการใช้พื้นที่อาคารและได้รับการขยาย เวลาการยื่นแบบแจ้งรายการเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารและการใช้พื้นที่อาคารจากกรมสรรพากรแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างตรวจสอบ การขอคืนภาษีของกรมสรรพากร 7.5 สินค้า และวัสดุคงเหลือ – สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

สินค้าและวัสดุคงเหลือ หัก สำ�รองการเสื่อมสภาพของวัสดุคงเหลือ สินค้าและวัสดุคงเหลือ – สุทธิ

งบการเงินรวม 2554 2553 313.70 254.70 0.46 0.43 313.24 254.27

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 307.18 248.75 0.46 0.43 306.72 248.32

7.6 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

สินทรัพย์รอการขาย หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์รอการขาย - สุทธิ ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงกำ�หนด สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 159.13 159.13 (159.13) (159.13) - - 183.29 172.81 189.20 966.54 372.49 1,139.35

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 135.38 135.38 (135.38) (135.38) - 167.57 159.30 187.28 964.93 354.85 1,124.23

สินทรัพย์รอการขายจำ�นวน 159.13 ล้านบาทในงบการเงินรวม และจำ�นวน 135.38 ล้านบาทในงบการเงินเฉพาะบริษัท หักค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์จำ�นวน 159.13 ล้านบาท และ 135.38 ล้านบาทตามลำ�ดับ เกิดจากการโอนเปลี่ยนประเภท เงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด ซึ่งบริษัทฯ เรียกให้ ทอท. ชำ�ระค่าหุ้นให้เต็มจำ�นวน มูลค่าหุ้น โดยให้ชำ�ระเพิ่มอีกร้อยละ 50 เป็นเงิน 135.38 ล้านบาท แต่ ทอท. มีนโยบายไม่ช�ำ ระค่าหุ้นตามที่บริษัทฯ เรียกให้ช�ำ ระ ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2553 บริษัทฯ มีหนังสือบอกริบหุ้นเพื่อนำ�ไปขายทอดตลาด บริษัทฯ มีหนังสือลงวันที่ 5 ตุลาคม 2554 แจ้ง ทอท. ว่าไม่สามารถขายทอดตลาดหุ้นที่บอกริบ จึงขอยกเลิก การริบหุ้นตามที่บอกกล่าวไว้ พร้อมขอให้ ทอท. ชำ�ระค่าหุ้นให้เต็มมูลค่าหุ้นภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ ซึ่ง ทอท. ได้ประมาณการหนี้สินที่อาจเกิดจากการลงทุนในหุ้นสามัญดังกล่าวไว้แล้ว (หมายเหตุข้อ 7.19)

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

165


7.7 เงินลงทุนในบริษัทย่อย งบการเงินเฉพาะบริษัท ชื่อบริษัท

สัดส่วน จำ�นวนเงินลงทุน การถือหุ้น (%) วิธีราคาทุน 2554 2553 2554 2553 บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ แห่งใหม่ จำ�กัด (บทม.) ระหว่างชำ�ระบัญชี 100.00 100.00 39,029.00 39,029.00 หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน (441.89) (441.89) เงินลงทุนใน บทม.– สุทธิ (หมายเหตุ 7.33) 38,587.11 38,587.11 บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด (รทส.) 60.00 60.00 610.67 610.67 รวม 39,197.78 39,197.78

7.8 เงินลงทุนระยะยาว งบการเงินรวม

หน่วย : ล้านบาท

เงินปันผลรับ 2554 2553 -

-

-

-

หน่วย : ล้านบาท

ชื่อบริษัท สัดส่วนการถือหุ้น % ราคาทุน ราคายุติธรรม ราคาตามบัญชี เงินปันผลรับ 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 1. เงินลงทุนทั่วไป บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำ�กัด 10.00 10.00 20.00 20.00 - - 20.00 20.00 - - บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำ�กัด 10.00 10.00 10.00 10.00 - - 10.00 10.00 3.50 3.00 บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำ�กัด 10.00 10.00 3.00 3.00 - - - - - - หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน (3.00) (3.00) - - - - - - บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำ�กัด 9.00 9.00 10.80 10.80 - - 10.80 10.80 - 7.56 บริษัท เทรดสยาม จำ�กัด 1.50 1.50 0.75 0.75 - - 0.75 0.75 - - บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด 10.00 10.00 53.00 53.00 - - 53.00 53.00 17.86 15.19 บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด 1.43 1.43 16.75 16.75 - - - 16.75 - - (16.75) - - - - - - หั ก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน รวม 94.55 111.30 - - 94.55 111.30 2. หลักทรัพย์เผื่อขายในตราสารทุน บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพจำ�กัด (มหาชน) 4.94 4.94 21.00 21.00 257.04 246.96 257.04 246.96 15.37 12.10 3. เงินฝากประจำ� 5,800.00 5,000.00 - - 5,800.00 5,000.00 รวมทั้งสิ้น 5,915.55 5,132.30 257.04 246.96 6,151.59 5,358.26

166


7.8 เงินลงทุนระยะยาว (ต่อ) งบการเงินเฉพาะบริษัท

หน่วย : ล้านบาท

ชื่อบริษัท สัดส่วนการถือหุ้น % ราคาทุน ราคายุติธรรม ราคาตามบัญชี เงินปันผลรับ 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 1. เงินลงทุนทั่วไป บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำ�กัด 10.00 10.00 20.00 20.00 - - 20.00 20.00 - - บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำ�กัด 10.00 10.00 10.00 10.00 - - 10.00 10.00 3.50 3.00 บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำ�กัด 10.00 10.00 3.00 3.00 - - - - - หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน (3.00) (3.00) - - - - บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำ�กัด 9.00 9.00 10.80 10.80 - - 10.80 10.80 - 7.56 บริษัท เทรดสยาม จำ�กัด 1.50 1.50 0.75 0.75 - - 0.75 0.75 - - บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด 10.00 10.00 53.00 53.00 - - 53.00 53.00 17.86 15.19 บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด 1.43 1.43 14.25 14.25 - - - 14.25 - - หั ก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน (14.25) - - - - - - รวม 94.55 108.80 - - 94.55 108.80 2. หลักทรัพย์เผื่อขายในตราสารทุน บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) 4.94 4.94 21.00 21.00 257.04 246.96 257.04 246.96 15.37 12.10 3. เงินฝากประจำ� 5,800.00 5,000.00 - - 5,800.00 5,000.00 รวมทั้งสิ้น 5,915.55 5,129.80 257.04 246.96 6,151.59 5,355.76

7.9 รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินได้รวมรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นไปตามธุรกิจปกติทั่วไป สรุปได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

7.9.1 ลูกหนี้การค้า บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำ�กัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า – สุทธิ 7.9.2 รายได้ค้างรับ บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด รวม

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

- 1.41 - 0.04 20.52 21.97 - 21.97

21.08 0.99 - 0.63 80.94 103.64 0.16 103.48

- 1.41 2.96 0.04 20.52 24.93 0.36 24.57

21.08 0.99 6.50 0.63 80.94 110.14 0.16 109.98

9.97 - 9.97

9.17 - 9.17

9.97 29.85 39.82

9.17 18.30 27.47

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

167


7.9 รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท

7.9.3 เจ้าหนี้การค้า บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด รวม 7.9.4 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด รวม 7.9.5 รายได้รับล่วงหน้า บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด 7.9.6 รายได้และค่าใช้จ่าย รายได้ดำ�เนินงาน บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำ�กัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต จำ�กัด บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำ�กัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด รวม ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำ�กัด

168

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

- 39.87 39.87

- 18.77 18.77

- 39.87 39.87

0.02 18.77 18.79

- 69.20 69.20

- 83.64 83.64

- 69.20 69.20

0.16 83.64 83.80

-

-

1.68

1.89

- 33.79 261.44 5.53 15.23 - 315.99

20.23 25.39 245.45 4.88 14.22 - 310.17

- 33.79 261.44 5.53 15.23 55.33 371.32

20.23 25.39 245.45 4.88 14.22 59.68 369.85

28.08 - 28.08

71.40 - 71.40

28.08 0.98 29.06

71.40 1.05 72.45


7.10 อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 สินทรัพย์เพิ่ม โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจำ�หน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ผลกระทบจากการปรับปรุง การด้อยค่าสินทรัพย์ (หมายเหตุข้อ 5.2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ประมาณการทางบัญชี (หมายเหตุข้อ 5.4) ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับงวด โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจำ�หน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 หลังปรับปรุง ค่าเผื่อการด้อยค่าสำ�หรับงวด ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 หลังปรับปรุง ณ วันที่ 30 กันยายน 2554

งบการเงินรวม อาคาร เครื่องมือ และ และ สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ รวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท อาคาร เครื่องมือ และ และ สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ รวม

101,611.93 42,236.23 143,848.16 99,487.37 41,704.93 141,192.30 2,878.83 1,526.31 4,405.13 2,877.88 1,523.22 4,401.10 924.13 1.53 925.66 924.13 2.30 926.43 - (178.14) (178.14) - (175.69) (175.69) 105,414.89 43,585.93 149,000.82 103,289.38 43,054.76 146,344.14 20,539.88 26,562.77 47,102.65 20,054.84 26,155.36 46,210.20 (465.24)

(150.16)

(615.40)

(465.24)

(150.16)

(615.40)

(140.43) - (140.43) - - 19,934.21 26,412.61 46,346.82 19,589.60 26,005.20 45,594.80 2,211.34 5,508.89 7,720.23 2,127.08 5,429.04 7,556.12 58.35 1.57 59.92 58.35 2.23 60.58 - (166.64) (166.64) - (164.34) (164.34) 22,203.90 31,756.43 53,960.33 21,775.03 31,272.13 53,047.16 4,343.75 192.36 4,536.11

650.35 146.98 797.33

4,994.10 4,343.75 339.34 192.36 5,333.44 4,536.11

650.35 4,994.10 146.98 339.34 797.33 5,333.44

77,333.98 15,173.26 92,507.24 75,554.02 15,049.38 90,603.40 78,674.88 11,032.17 89,707.05 76,978.24 10,985.30 87,963.54

ในงวดบัญชีนี้ ทอท.บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย จำ�นวน 293.27 ล้านบาท เนื่องจากพบข้อบ่งชี้การด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าว และได้ประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วพบว่า ไม่ครอบคลุม มูลค่าตามบัญชีคงเหลือของสินทรัพย์ ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ทอท. มีอาคารและอุปกรณ์สุทธิ จำ�นวน 89,707.05 ล้านบาทในงบการเงินรวม และ 87,963.54 ล้านบาท ในงบการเงินเฉพาะบริษัท โดยมีสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งรวมอยู่ในเครื่องมือและอุปกรณ์ ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

169


หน่วย : ล้านบาท

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชี

งบการเงินรวม 2554 2553 1,303.93 1,287.50 497.48 244.28 806.45 1,043.22

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 1,302.88 1,286.45 497.22 244.28 805.66 1,042.17

7.11 สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ยอดยกมา 1 ตุลาคม 2553 เพิ่มขึ้น โอนไปอาคาร และอุปกรณ์ ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2554

ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ 6,898.69 3,991.13 (4,304.68) 6,585.14

ท่าอากาศยาน ภูมิภาค 25.70 281.93 (224.15) 83.48

ท่าอากาศยาน ดอนเมือง 1.40 67.18 (40.58) 28.00

รวม 6,925.79 4,340.24 (4,569.41) 6,696.62

7.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน – สุทธิ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 โอนเปลี่ยนประเภท สินทรัพย์เพิ่ม ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ตัดจำ�หน่าย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ผลกระทบจากการปรับปรุงการด้อยค่าสินทรัพย์ (หมายเหตุข้อ 5.2) ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง โอนเปลี่ยนประเภท ตัดจำ�หน่ายสำ�หรับงวด ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ค่าเผื่อการด้อยค่าสำ�หรับงวด ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ณ วันที่ 30 กันยายน 2554

170

1,888.93 (580.64) 54.87 1,363.16 578.50 (6.69) 571.81 (42.31) 129.48 658.98 11.43 1.19 12.62 1,305.69 691.56


7.13 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ เงินจ่ายล่วงหน้า เงินประกัน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 2,196.99 2,162.72 8.35 24.44 3.09 3.02 9,710.26 5,012.80 11,918.69 7,202.98

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2,196.99 2,162.72 8.35 24.44 3.08 3.01 9,710.26 5,012.80 11,918.68 7,202.97

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ จำ�นวน 2,196.99 ล้านบาท ประกอบด้วย - ที่ดินที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ ณ ทสภ. มีเนื้อที่รวม 692 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา จำ�นวน 1,730.68 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ ระหว่างการศึกษาวิเคราะห์และกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด โดยยังไม่มีแผนการ จัดการใช้ที่ดินอย่างถาวร - ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำ�นวน 466.31 ล้านบาท ทอท. รับซื้อคืนจากราษฎรที่ได้รับผลกระทบทางเสียง ทั้งนี้ ทอท. มีนโยบายจะให้สิทธิพนักงาน ทอท. หรือพนักงานของหน่วยงานอื่นที่ปฏิบัติงาน ณ ทสภ. ซื้อทรัพย์สินดังกล่าวได้ในราคาที่เหมาะสม ซึ่งอาจต่ำ�กว่าราคาที่ซื้อมา และให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจรับบริหารทรัพย์สินเข้ามาบริหารจัดการทรัพย์สินที่ได้มาทั้งหมด หรือ ส่วนที่เหลือจากการให้สิทธิพนักงานข้างต้น 7.14 ตั๋วสัญญาใช้เงิน ทอท. ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 จำ�นวน 38,483.81 ล้านบาท (หมายเหตุ 7.33) เพื่อจ่ายเป็นส่วนต่างของการโอนทรัพย์สินและหนี้สิน กำ�หนดจ่ายชำ�ระดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี และไม่คิดดอกเบี้ยตั้งแต่ วันที่ บทม. เลิกกิจการ กำ�หนดชำ�ระคืนตั๋วสัญญาใช้เงินเมื่อถึงวันทำ�การสุดท้ายก่อนวันที่ บทม. จะได้คืนเงินลงทุนที่เหลืออยู่ให้กับ ทอท. (ถ้ามี) 7.15 หนี้สินหมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

โบนัสพนักงานค้างจ่าย ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ค้างจ่าย หนี้สินอื่นๆ เงินบำ�เหน็จค้างจ่าย (กองทุนสงเคราะห์ ทอท. ) รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 996.25 822.97 122.68 226.10 2,637.32 2,312.73 86.83 26.15 421.54 386.97 30.88 31.50 354.79 412.03 3.44 12.88 4,653.73 4,231.33

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 996.25 822.97 119.22 222.34 2,637.32 2,312.73 86.83 26.15 423.22 388.86 30.71 30.81 312.65 392.95 3.44 12.88 4,609.64 4,209.69

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

171


7.16 เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกู้ยืมต่างประเทศ หัก ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี คงเหลือ เงินกู้ยืมในประเทศ หัก ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี คงเหลือ ยอดรวม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2554 2553 ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท 149,924.01 61,600.47 162,163.61 59,595.61 149,924.01 61,600.47 162,163.61 59,595.61 12,259.98 5,037.35 12,239.60 4,498.09 12,259.98 5,037.35 12,239.60 4,498.09 137,664.03 56,563.12 149,924.01 55,097.52 137,664.03 56,563.12 149,924.01 55,097.52 - 1,098.93 - 1,247.37 - - - - 148.44 - 148.44 - - - - 950.49 - 1,098.93 - - - 137,664.03 57,513.61 149,924.01 56,196.45 137,664.03 56,563.12 149,924.01 55,097.52

7.16.1 เงินกู้ยืมต่างประเทศ ทอท. ได้กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในต่างประเทศเป็นสกุลเงินเยน โดยมีกระทรวงการคลังค้ำ�ประกันอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 – 2.70 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระคืนปี 2546 – 2585 โดย ทอท. ได้มีการทำ�สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและ อัตราดอกเบี้ยสำ�หรับเงินกู้ยืมต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 77.63 ของยอดเงินกู้คงเหลือ (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 100 เยน เท่ากับ 41.0878 บาท) 7.16.2 เงินกู้ยืมในประเทศ เป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศเพื่อใช้ในการก่อสร้าง รทส. วงเงินกู้ 1,630.76 ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ยตั้งแต่วันทำ�สัญญาถึง 30 กันยายน 2550 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MLR – 2.0 ต่อปี และวันที่ 1 ตุลาคม 2550 เป็นต้นไป อัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ MLR – 1.0 ต่อปี กำ�หนดการชำ�ระเงินเป็นงวดรายสามเดือน จำ�นวน 44 งวดๆ ละ 37.10 ล้านบาท โดยเริ่มผ่อนชำ�ระ งวดแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 และชำ�ระให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 และเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 รทส. ได้มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำ�ระคืนเงินกู้ โดยมีอัตราดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ถึงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MLR – 2.25 ต่อปี และตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 เป็นต้นไป อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MLR – 1.3 ต่อปี การชำ�ระเงินต้นให้ชำ�ระเป็นรายเดือนตั้งแต่เดือนมีนาคม 2553 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2559 เดือนละ 12.37 ล้านบาท และตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 เดือนละ 13.92 ล้านบาท 7.17 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หน่วย : ล้านบาท

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - ภายใน 1 ปี - เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคต มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - หนี้สินหมุนเวียน ( ภายใน 1 ปี ) - หนี้สินไม่หมุนเวียน ( เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ) รวม

172

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553

358.99 547.28 (48.68) 857.59

388.55 839.43 (86.99) 1,140.99

358.68 546.66 (48.56) 856.78

388.24 838.50 (86.80) 1,139.94

331.82 525.77 857.59

350.48 790.51 1,140.99

331.57 525.21 856.78

350.25 789.69 1,139.94


7.18 เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ทอท. ได้จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย โดยจ่ายสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนพนักงาน ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ทอท. มีภาระผูกพันที่พึงต้องจ่ายให้พนักงานจำ�นวน 10.13 ล้านบาท 7.19 ประมาณการหนี้สิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 - ประมาณการหนี้สินเพิ่มขึ้น - ใช้ไปในระหว่างปี ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 - ประมาณการหนี้สินระยะสั้น - ประมาณการหนี้สินระยะยาว รวม

สำ�รองภาษี สำ�รอง ผลกระทบ สำ�รอง โรงเรือน เรียก ทางเสียง คดีความ และที่ดิน ชำ�ระค่าหุ้น - 33.29 228.47 135.38 1,231.94 334.78 0.18 - - 0.05 - - 1,231.94 368.02 228.65 135.38 1,231.94 - - 135.38 - 368.02 228.65 - 1,231.94 368.02 228.65 135.38

รวม 397.14 1,566.90 0.05 1,963.99 1,367.32 596.67 1,963.99

7.20 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

เงินประกันผลงาน รายได้รอตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นๆ รวม

งบการเงินรวมงบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 97.18 90.00 44.15 46.37 18.73 19.93 160.06 156.30

7.21 ทุนเรือนหุ้น บริษัทจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นที่ออกและเรียกชำ�ระ เต็มมูลค่าแล้ว เป็นเงิน 14,285.70 ล้านบาท 7.22 สำ�รองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 ทอท. ต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีส่วนหนึ่งไว้เป็น ทุนสำ�รองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี จนกว่าทุนสำ�รองนี้จะมีจ�ำ นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซึ่ง ทอท. มีสำ�รองตามกฎหมายเท่ากับร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและเรียกชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว 7.23 เงินปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2554 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลประจำ�ปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.55 บาท เป็นจำ�นวนเงิน 785.71 ล้านบาท โดยจ่ายในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

173


7.24 ค่าตอบแทนผู้บริหาร ผู้บริหาร หมายถึง กรรมการบริษัท ผู้บริหารสูงสุด ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้บริหารสูงสุดลงมา และผู้ดำ�รงตำ�แหน่งเทียบเท่ากับผู้ดำ�รงตำ�แหน่งบริหารรายที่ 4 ทุกราย โดยรวมผู้ดำ�รงตำ�แหน่งบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงิน ที่เป็นระดับผู้อ�ำ นวยการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า ทั้งนี้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หน่วย : ล้านบาท

ค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมกรรมการ โบนัสกรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด ค่าตอบแทนผู้บริหารอื่น รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 10.97 9.27 1.40 4.19 8.91 11.93 41.67 41.93 62.95 67.32

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 10.12 7.94 1.40 4.19 5.37 8.57 41.67 41.93 58.56 62.63

7.25 ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์เรียกเก็บค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุจาก ทอท. สำ�หรับ ทดม. และ ทสภ. ในอัตราร้อยละ 5 และสำ�หรับท่าอากาศยานภูมิภาค ในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้ดำ�เนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น และเมื่อ ทสภ. เปิดใช้จะมีการปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุสำ�หรับ ทดม. และท่าอากาศยานภูมิภาคใหม่ตามผลการศึกษาของ ที่ปรึกษาที่จัดหาโดยกรมธนารักษ์ ปัจจุบันกรมธนารักษ์ กับ ทอท. อยู่ระหว่างเจรจาต่อรองเพื่อกำ�หนดอัตราค่าตอบแทนการใช้ ประโยชน์ทรี่ าชพัสดุดงั กล่าว จึงได้บนั ทึกในอัตราเดิมตัง้ แต่วนั ที่ ทสภ. เปิดใช้บริการ ซึง่ ในงวดบัญชีนมี้ คี า่ ตอบแทน 1,244.84 ล้านบาท ส่วนค่าเช่าที่ราชพัสดุที่รับจากบริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำ�กัด ต้องนำ�ส่งกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าเช่าโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น จำ�นวน 2.56 ล้านบาท รวมเป็นค่าตอบแทนจำ�นวน 1,247.40 ล้านบาท 7.26 ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2554 2553 ขาดทุนจากการด้อยค่าท่าอากาศยานดอนเมือง 46.66 18.09 46.66 18.09 ขาดทุนจากการด้อยค่าท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 294.47 - 294.47 ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุน 16.75 - 14.25 - 159.13 - 135.38 ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์รอการขาย รวม 357.88 177.22 355.38 153.47 7.27 ขาดทุน (กำ�ไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน หน่วย : ล้านบาท

ขาดทุน (กำ�ไร) ที่เกิดขึ้นจริง ขาดทุน (กำ�ไร) ที่ยังไม่เกิดขึ้น รวม

174

งบการเงินรวม 2554 2553 96.45 (56.04) 1,441.67 (253.34) 1,538.12 (309.38)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 96.51 (55.92) 1,441.67 (253.34) 1,538.18 (309.26)


7.28 ต้นทุนทางการเงิน หน่วย : ล้านบาท

ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายจากหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 2,186.08 2,343.49 37.73 46.22 2,223.81 2,389.71

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2,130.93 2,284.58 37.66 46.22 2,168.59 2,330.80

7.29 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี หน่วย : ล้านบาท

ค่าสอบบัญชี ค่าใช้จ่ายอื่น รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 3.15 2.65 0.46 0.40 3.61 3.05

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2554 2553 2.75 2.25 0.46 0.40 3.21 2.65

7.30 เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ ในตลาด ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสดทั้งในปัจจุบันและอนาคต ทอท.มีเงินฝากทั้งระยะสั้นและระยะยาวในสถาบันการเงินต่างๆ ทอท.มีหนี้สินจาก การกู้ยืมที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ และบริษัทย่อยของ ทอท. มีหนี้สินจากการกู้ยืมที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ทอท. มีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งมีผลกระทบต่อหนี้สิน ค่าใช้จ่าย ดำ�เนินงาน และดอกเบี้ยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ทอท. มีนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการบริหาร ความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศ และได้ทำ �สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินของหนี้สินจากสกุลเยนเป็นสกุลบาท คิดเป็นร้อยละ 77.63 ของยอดเงินกู้คงเหลือ โดยใช้อนุพันธ์ทางการเงินได้แก่ Cross Currency Swap , Participating Swap และ Cross Currency Swap ที่อ้างอิงความสามารถในการชำ�ระหนี้ของรัฐบาลไทยในสัดส่วน 42 : 33 : 25 กับสถาบันการเงินทั้งไทยและต่างประเทศ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อเกิดจากการที่ลูกค้าไม่ช�ำ ระหนี้ตามกำ�หนดเวลาหรือสัญญา ทอท. ป้องกันความเสี่ยงโดยกำ�หนด ระยะเวลาชำ�ระค่าบริการแต่ละประเภทอย่างชัดเจน ติดตามลูกหนี้ที่มียอดค้างชำ�ระอย่างต่อเนื่อง และมีการเรียกหลักประกัน จากลูกค้า มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้ที่แสดงไว้ในงบดุล คือยอดสุทธิของลูกหนี้หลังจากหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ทอท. และบริษัทย่อยบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องโดยรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานของบริษัท และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผลกระทบของความผันผวนในกระแสเงินสด การวิเคราะห์อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินแบบมีดอกเบี้ย ณ วันที่ในงบดุล

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

175


งบการเงินรวม

ปี 2554 หน่วย : ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ย ที่แท้จริง ภายใน มากกว่า มากกว่า มากกว่า (ร้อยละ) 1 ปี 1 ปี 2 ปี 5 ปี รวม เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน - 36.33 - - - 36.33 รายการเทียบเท่าเงินสด 2.78 5,143.11 - - - 5,143.11 เงินลงทุนชั่วคราว 3.38 21,712.55 - - - 21,712.55 เงินลงทุนระยะยาว 3.50 - 3,800.00 2,000.00 - 5,800.00 26,891.99 3,800.00 2,000.00 - 32,691.99 เงินกู้ยืมภายในประเทศ 5.84 148.44 148.44 148.44 653.61 1,098.93 เงินกู้ยืมต่างประเทศ 1.68 5,037.35 5,045.66 15,136.97 36,380.49 61,600.47 5,185.79 5,194.10 15,285.41 37,034.10 62,699.40

ปี 2553 หน่วย : ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ย ที่แท้จริง ภายใน มากกว่า มากกว่า มากกว่า (ร้อยละ) 1 ปี 1 ปี 2 ปี 5 ปี รวม เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน - (7.45) - - - (7.45) รายการเทียบเท่าเงินสด 1.31 3,526.36 - - - 3,526.36 เงินลงทุนชั่วคราว 2.03 18,547.57 - - - 18,547.57 เงินลงทุนระยะยาว 3.22 - 5,000.00 - - 5,000.00 22,066.48 5,000.00 - - 27,066.48 เงินกู้ยืมภายในประเทศ 4.12 148.44 148.44 296.88 653.61 1,247.37 เงินกู้ยืมต่างประเทศ 1.67 4,498.09 4,505.58 13,539.01 37,052.93 59,595.61 4,646.53 4,654.02 13,835.89 37,706.54 60,842.98 งบการเงินเฉพาะบริษัท ปี 2554 หน่วย : ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ย ที่แท้จริง ภายใน มากกว่า มากกว่า มากกว่า (ร้อยละ) 1 ปี 1 ปี 2 ปี 5 ปี รวม เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน - 35.09 - - - 35.09 รายการเทียบเท่าเงินสด 2.78 5,137.61 - - - 5,137.61 เงินลงทุนชั่วคราว 3.38 21,712.55 - - - 21,712.55 เงินลงทุนระยะยาว 3.50 - 3,800.00 2,000.00 - 5,800.00 26,885.25 3,800.00 2,000.00 - 32,685.25 เงินกู้ยืมต่างประเทศ 1.68 5,037.35 5,045.66 15,136.97 36,380.49 61,600.47

176


ปี 2553 หน่วย : ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ย ที่แท้จริง ภายใน มากกว่า มากกว่า มากกว่า (ร้อยละ) 1 ปี 1 ปี 2 ปี 5 ปี รวม เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน - (8.68) - - - (8.68) รายการเทียบเท่าเงินสด 1.32 3,502.74 - - - 3,502.74 เงินลงทุนชั่วคราว 2.03 18,547.57 - - - 18,547.57 เงินลงทุนระยะยาว 3.22 - 5,000.00 - - 5,000.00 22,041.63 5,000.00 - - 27,041.63 เงินกู้ยืมต่างประเทศ 1.67 4,498.09 4,505.58 13,539.01 37,052.93 59,595.61 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทระยะสั้น รวมทั้งเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตรา ดอกเบี้ยในตลาด ผู้บริหารจึงเชื่อว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินจะไม่แตกต่างอย่างเป็นสาระสำ�คัญกับมูลค่า ตามบัญชี ความเสีย่ งจากมูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ ป็นหนีส้ นิ หากมีการยกเลิก สัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ทอท. จะได้รับชดเชยเงินเป็นจำ�นวน 1,949.72 ล้านบาท คำ�นวณโดยใช้อัตราคิดลด ที่กำ�หนดโดยคู่สัญญาดังกล่าว 7.31 ภาระผูกพัน งบการเงินรวมและเฉพาะบริษัท ทอท. มีภาระผูกพันตามกฏหมายซึ่งยังไม่ถือเป็นรายจ่ายในงวดบัญชีนี้ ดังนี้ - รายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ประกอบด้วย ภาระผูกพันตามสัญญาจ้างโครงการพัฒนาท่าอากาศยานต่างๆ ภาระผูกพันตามสัญญาก่อสร้าง ทสภ. ภาระผูกพันเกี่ยวกับผลกระทบด้านเสียง ณ ทสภ. รวม

หน่วย : ล้านบาท

189.28 134.73 1,675.24 1,999.25

- รายจ่ายดำ�เนินงาน (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 ประกอบด้วย หน่วย : ล้านบาท

สัญญาจ้างเอกชนดำ�เนินงาน สัญญาซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ การเช่าทรัพย์สินและอื่นๆ รวม

5,056.80 2,389.00 437.03 7,882.83

รทส. มีภาระผูกพันจากการทำ�สัญญาจ้างบริหารกิจการโรงแรมเป็นระยะเวลา 20 ปี ( สัญญาเริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2548 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2568 ) เป็นค่าจ้างในการบริหารกิจการโรงแรม (ค่าจ้างและค่าใช้จ่ายบุคลากรหลัก) จำ�นวนเงิน 1,995.24 ล้านบาท บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้วจำ�นวน 465.09 ล้านบาท คงเหลือเป็นภาระผูกพัน จำ�นวน 1,530.15 ล้านบาท และเป็นค่าสิทธิ ในการใช้ชื่อเครื่องหมายการค้า (Logo) จำ�นวนเงิน 21.40 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้ว จำ�นวน 7.49 ล้านบาท คงเหลือเป็นภาระผูกพัน จำ�นวน 13.91 ล้านบาท รวมเป็นภาระผูกพันทั้งสิ้น 1,544.06 ล้านบาท รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

177


7.32 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 7.32.1 การประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ทอท. ได้ถูกประเมินภาษีจากกรุงเทพมหานคร (กทม.) เป็นภาษีโรงเรือนและที่ดินตั้งแต่ปี 2538 โดย กทม. ได้นำ�ค่าผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ประกอบการมารวมเป็นฐานในการคำ�นวณ ในส่วนพื้นที่ที่ ทอท. ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่ง ทอท. ไม่เห็นด้วย จึงได้ยื่นหนังสืออุทธรณ์กับสำ�นักงานอัยการสูงสุด เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2542 เพื่อเสนอคณะกรรมการ พิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำ�เนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาชี้ขาดให้ต่อไป จากเหตุดังกล่าว คณะกรรมการ ทอท. ได้มีมติตามรายงานการประชุม ครั้งที่ 6/2542 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2542 ให้ ทอท. ชำ�ระค่าภาษีโรงเรือนและ ทีด่ นิ ตามอัตราทีส่ มควรจ่าย กทม. ได้แจ้งการประเมินภาษีผา่ นทางกรมธนารักษ์ซง่ึ เป็นเจ้าของอาคารและทีด่ นิ ทุกปี โดยใช้หลักเกณฑ์ เดิมตั้งแต่ปี 2538 ซึ่ง ทอท. ไม่เห็นด้วยจึงได้อุทธรณ์ทุกปี ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา สำ�นักงานอัยการสูงสุดได้มีหนังสือที่ อส(สฝยพ) 0015/5291 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2548 แจ้งผลการชี้ขาดของ คณะกรรมการพิจารณาชีข้ าดการยุตใิ นการดำ�เนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง หาก กทม. ยอมรับผลการพิจารณา ของคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ จะทำ�ให้ ทอท. ได้รับค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ปี 2538-2546) คืนจาก กทม. ประมาณ 570.69 ล้านบาท (ทอท. ได้มีหนังสือขอคืนจาก กทม. แล้ว) ต่อมาได้รับแจ้งจากสำ�นักอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์ว่า ในปี 2547 คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้มีความเห็นเช่นเดียวกับปี 2546 กทม. ได้มีหนังสือถึงกรมธนารักษ์เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2549 ไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินภาษี ตามทีค่ ณะกรรมการฯ กำ�หนด และกรมธนารักษ์ได้มหี นังสือเมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2549 ถึง ทอท. แจ้งว่าได้มหี นังสือถึงสำ�นักงานอัยการ สูงสุดเพื่อนำ�เรียนคณะรัฐมนตรีสั่งการให้ กทม. ปฏิบัติตามต่อไป เมือ่ วันที่ 8 มกราคม 2553 และวันที่ 19 มกราคม 2553 ทอท. ได้รบั แจ้งจากสำ�นักอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์ ว่าคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้ตัดสินชี้ขาดการประเมินภาษีของปี 2548 และปี 2549 โดยใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับปี 2547 และ ปี 2548 ตามลำ�ดับ และเมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม 2554 ทอท. ได้รบั แจ้งจากสำ�นักอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์วา่ คณะกรรมการพิจารณา ชี้ขาดฯ ได้ตัดสินชี้ขาดการประเมินภาษีของปี 2550 และปี 2551 โดยใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับปี 2549 ในงวดบัญชีนี้ ทอท. ได้รับแจ้งการประเมินให้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินจาก กทม. ในส่วนพื้นที่ที่ ทอท. ให้ผู้ประกอบการเช่าใช้ประโยชน์ ณ สนามบินดอนเมืองของปี 2553 และ 2550 – 2552 เพิ่มเติม จำ�นวน 13.29 ล้านบาท โดยใช้หลักเกณฑ์เดิมตั้งแต่ปี 2538 ทอท. จึงชำ�ระค่าภาษีฯ จำ�นวน 11.43 ล้านบาท ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณา ชี้ขาดฯ กำ�หนด ส่วนที่เหลือจำ�นวน 1.86 ล้านบาท ทอท. ได้อุทธรณ์ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้ชี้ขาดไว้ ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ทอท. มีค่าภาษีที่ยังอยู่ระหว่างอุทธรณ์รวมทั้งสิ้นจำ�นวน 2,374.91 ล้านบาท (กทม. ได้ประเมินภาษีจำ�นวน 3,935.78 ล้านบาท หักยอดเงินที่ ทอท. ชำ�ระแล้ว 1,560.87 ล้านบาท) และได้บันทึกประมาณการหนี้สินอันเกิดจากค่าปรับไว้จ�ำ นวน 228.65 ล้านบาท ตามนัยมาตรา 43(4) แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษี โรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2534 หากผลการอุทธรณ์เป็นไปตามการประเมินของ กทม. 7.32.2 คดีความ ทอท. ถูกฟ้องร้องดำ�เนินคดีจำ�นวน 61 คดี ประกอบด้วย - ถูกฟ้องร้องดำ�เนินคดีทั่วไปจำ�นวน 47 คดี โดยโจทก์ฟ้องให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหายรวมเป็นเงินประมาณ 6,391.83 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบีย้ ) เรือ่ งอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลและคดียงั ไม่ถงึ ทีส่ ดุ โดยมีพนักงานอัยการ สำ�นักงานอัยการ สูงสุด เป็นทนายความแก้ต่างคดี และการพิจารณาของบริษัทประกันภัย - ถูกฟ้องร้องดำ�เนินคดีเกี่ยวกับผลกระทบจากมลภาวะทางเสียงจำ�นวน 14 คดี โดยโจทก์ฟ้องให้ ทอท. ชดใช้ ค่าเสียหายรวมเป็นเงินประมาณ 534.24 ล้านบาท เรื่องอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลและคดียังไม่ถึงที่สุด โดยมีพนักงานอัยการ สูงสุดเป็นทนายความแก้ต่างคดี สำ�หรับกรณีที่ ทอท. ได้บอกเลิกสัญญาอนุญาตให้ประกอบกิจการบริหารจัดการอาคารและลานจอดรถ ณ ทสภ. กับบริษทั เอกชนรายหนึง่ ซึง่ ต่อมาในวันที่ 18 มกราคม 2554 ทอท. ได้รบั หมายห้ามชัว่ คราวของศาลแพ่ง คดีหมายเลขดำ�ที่ 118/2554

178


ลงวันที่ 17 มกราคม 2554 โดยศาลได้มีคำ�สั่งคุ้มครองชั่วคราวให้บริษัทฯ เข้าไปดำ�เนินการบริหารจัดการอาคารและลานจอดรถ ณ ทสภ. จนกว่าศาลจะมีคำ�สั่งเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น และเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2554 ทอท. ได้ยื่นคำ�ร้องขอให้ศาลถอนหมาย และเพิกถอนคำ�สั่งห้ามชั่วคราว ศาลแพ่งพิจารณาแล้วว่าเป็นคดีฟ้องซ้อนกับคดีของศาลปกครองคดีหมายเลขดำ�ที่ 1628/2553 จึงมีคำ�สั่งเพิกถอนคำ�สั่งรับฟ้อง และมีค�ำ สั่งไม่รับฟ้อง จำ�หน่ายคดีออกจากสารบบความ และให้เพิกถอนหมายห้ามชั่วคราว ดังนั้น ประเด็นพิพาทต่างๆ ระหว่าง ทอท. กับบริษัทฯ จึงอยู่ในชั้นพิจารณาของศาลปกครองกลาง ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ทอท. ได้บันทึกประมาณการหนี้สินจากการถูกฟ้องร้องดำ�เนินคดีจำ�นวน 14 คดี เป็นเงิน 368.02 ล้านบาท 7.32.3 ผลกระทบจากมลภาวะทางเสียง คณะกรรมการ ทอท. มีมติเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 เห็นชอบให้ดำ�เนินการชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบ ด้านเสียงจากการดำ�เนินกิจการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตามสถานการณ์การบินจริง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2550 เฉพาะอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 ดังนี้ - พื้นที่ NEF มากกว่า 40 ให้เจรจาซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยเทียบเคียงแนวทางการกำ�หนดค่าทดแทน ความเสียหายที่ต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 และ หากเจ้าของไม่ประสงค์จะขาย ให้รับเงินไปดำ�เนินการปรับปรุงอาคารเอง - พื้นที่ NEF 30-40 ให้สนับสนุนการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยทำ�การตรวจวัดระดับเสียงรบกวน หากพบว่าโครงการทำ�ให้ระดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล(เอ) ให้รับเงินไปดำ�เนินการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้ หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบด้านเสียงจากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) อย่างไรก็ตาม ทอท. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งกองทุนชดเชยผลกระทบจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้กองทุนฯ ดังกล่าวเป็นกลไกในการกำ�หนดมาตรการ วิธกี ารช่วยเหลือและดำ�เนินการเพือ่ บรรเทาผลกระทบที่ ประชาชนอาจได้รบั จากการดำ�เนินงานของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ครัง้ ที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2552 ณ วันสิ้นงวดปี 2554 ทอท. ได้บันทึกประมาณการหนี้สินจากค่าชดเชยผลกระทบทางเสียงจำ�นวน 1,231.94 ล้านบาท โดยประมาณการหนี้สินจากผลการสำ�รวจประเมินราคาเพื่อปรับปรุงอาคารที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงในบริเวณพื้นที่ NEF 30-40 ของผู้ประเมินอิสระ ซึ่งสำ�รวจเสร็จแล้วประมาณร้อยละ 80 ของผู้ที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว 7.33 การโอนกิจการทั้งหมดของ บทม. มายัง ทอท. และดำ�เนินการเลิกกิจการ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2545 เห็นชอบการโอนกิจการ ทสภ. สิทธิ หนี้ ความรับผิด และสินทรัพย์ รวมทั้งพนักงานของ บทม. มาเป็นของ ทอท. เมื่อ ทสภ. สร้างเสร็จก่อนการเปิดให้บริการ และให้ด�ำ เนินการยุบเลิก บทม. โดยให้เป็น หน่วยธุรกิจหน่วยหนึง่ ใน ทอท. ซึง่ ได้ด�ำ เนินการแล้ว มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2549 และมีมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 รับทราบ ซึ่งเป็นไปตามความเห็นของกระทรวงการคลัง และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดย ทอท. รับโอนพนักงาน บทม. มาเป็นพนักงาน ทอท. ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2547 และรับโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ ความรับผิด และภาระผูกพันต่างๆ ของ บทม. มาเป็นของ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 ด้วยมูลค่าตามบัญชี (Book Value) ของทรัพย์สิน และหนี้สิน ที่ปรากฎในบัญชีของ บทม. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จำ�นวน 100,913.28 ล้านบาท (ประกอบด้วย สินทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง 91,820.25 ล้านบาท ที่ดินอาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 149.35 ล้านบาท และรายการอื่นๆ 8,943.68 ล้านบาท) และ 62,429.47 ล้านบาทตามลำ�ดับ ผลต่างจำ�นวน 38,483.81 ล้านบาท ทอท. ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บทม. กำ�หนดจ่ายชำ�ระดอกเบี้ยของ เงินต้นตามตั๋วสัญญาใช้เงินในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี กำ�หนดจ่ายชำ�ระคืนตั๋วสัญญาใช้เงินเมื่อถึงวันทำ�การสุดท้ายก่อนวันที่ บทม. จะได้คนื เงินลงทุนทีเ่ หลืออยูใ่ ห้กบั ทอท. (ถ้ามี) บทม. ได้จดทะเบียนเลิกกิจการเมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2549 ตามมติทปี่ ระชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น บทม. ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2549 ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำ�เนินการชำ�ระ บัญชี สำ�หรับตั๋วสัญญาใช้เงินหยุดคิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ บทม. เลิกกิจการ

รายงานประจำ�ปี 2554 บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน)

179


ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ ทอท. ได้บันทึกรายการที่เกี่ยวกับ บทม. ดังนี้ - ลูกหนี้อื่น 0.75 ล้านบาท - เงินลงทุนในบริษัทย่อยสุทธิ 38,587.11 ล้านบาท - ตั๋วสัญญาใช้เงิน 38,483.81 ล้านบาท - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 111.76 ล้านบาท - รายได้ค้างรับ 8.09 ล้านบาท 7.34 ข้อพิพาท ทอท. ได้รับหนังสือนำ�ส่งคำ�เสนอข้อพิพาทจากสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำ�นักงานศาลยุติธรรม ดังนี้ - กิจการร่วมค้าแห่งหนึ่งได้ยื่นคำ�เสนอข้อพิพาทตามสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารผู้โดยสาร ทสภ. และตามสัญญาจ้าง ก่อสร้างอาคารสะพานเทียบเครื่องบิน ทสภ. ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 103/2552 และข้อพิพาท หมายเลขดำ�ที่ 104/2552 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2552 ขอให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหายแก่กิจการร่วมค้า รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 7,070.69 ล้านบาท และ 568.77 ล้านเยน พร้อมดอกเบี้ย ปัจจุบันอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาคดี - กิจการร่วมค้าแห่งหนึ่งได้ยื่นคำ�เสนอข้อพิพาทตามสัญญาจ้างงานก่อสร้างทางยกระดับหน้าอาคารผู้โดยสาร ทสภ. ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 33/2553 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 ขอให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหายแก่ กิจการร่วมค้า รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,206.17 ล้านบาท และ 99.22 ล้านเยน พร้อมดอกเบี้ย ปัจจุบันอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณา แต่งตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาคดี ดังนัน้ ทอท. จึงยังไม่อาจประมาณการได้วา่ จะเกิดความเสียหายตามทีผ่ เู้ รียกร้องเสนอข้อพิพาทดังกล่าว อย่างไร เท่าใด หรือไม่ 7.35 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล ทอท. ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัย น้ำ�ท่วมบริเวณสำ�นักงานใหญ่และท่าอากาศยานดอนเมือง ตั้งแต่วันที่ 22 ตุลาคม 2554 ทำ�ให้สินทรัพย์ของสำ�นักงานใหญ่ และท่าอากาศยานดอนเมืองได้รับความเสียหาย สำ � หรั บ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งได้ รั บ ผลกระทบจากกระแสน้ำ � ท่ ว มขั ง ในพื้ น ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบประมาณ 3,000 ไร่ โดยระดับน้�ำ ท่วมสูงประมาณ 0.80 – 1.50 เมตร ตลอดพื้นที่ ทำ�ให้ ทางวิ่ง ทางขับ ลานจอดอากาศยาน ระบบไฟฟ้าสนามบิน ระบบ ไฟฟ้าแรงสูงที่จ่ายไฟให้แก่สนามบิน เครื่องช่วยเดินอากาศ ทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก รวมถึงอาคารผู้โดยสาร อาคารสำ�นักงาน ท่าอากาศยานดอนเมือง และอาคารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการการบิน ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ชำ�รุดเสียหาย ไม่สามารถเปิดให้บริการได้ตามปกติ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการประเมินมูลค่าความเสียหาย ซึ่งในเบื้องต้นคาดว่าจะมีค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูท่าอากาศยาน ดอนเมืองและอาคารสำ�นักงานใหญ่ ทอท. ประมาณ 1,700 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) เพื่อให้สามารถเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์ และให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้ตามปกติ อย่างไรก็ตาม ทอท. มีการทำ�ประกันภัยจากเหตุการณ์น้ำ�ท่วมที่เกิดขึ้น ณ ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยาน ภูมิภาคไว้ ภายในวงเงิน 1,000 ล้านบาท และส่วนหนึ่งจะได้รับการสนับสนุนงบประมาณแผ่นดินตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 ในการดำ�เนินการตามแผนฟืน้ ฟูทา่ อากาศยานดอนเมืองระยะที่ 1 การฟืน้ ฟูทางวิง่ ทางขับและลานจอดอากาศยาน ฝั่งตะวันออก เป็นเงิน 489.20 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) 7.36 การอนุมัติให้ออกงบการเงิน งบการเงินนี้ ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับมอบอำ�นาจจากคณะกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2554

180


ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

333 ¶¹¹àªÔ´ÇزҡÒÈ á¢Ç§Êաѹ à¢μ´Í¹àÁ×ͧ ¡Ãا෾ 10210 â·ÃÈѾ· (66) 2535 1111 â·ÃÊÒà (66) 2535 4061 E-mail : aotpr@airportthai.co.th www.airportthai.co.th

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2011 2554

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.