AOT: รายงานประจำปี 2551

Page 1





30 ปีแห่งความมุ่งมั่น สู่ที่สุดแห่ง ท่าอากาศยานระดับโลก กว่า 30 ปี ที่ท่าอากาศยานไทย เป็นประตูด่านแรกในการต้อนรับ และเชื่อมต่อจุดหมายให้นักเดินทางทั่วโลก ถึงปลายทางด้วยรอยยิ้ม บนความพร้อมในด้านความปลอดภัย

ที่ได้มาตรฐานสากลและบริการด้วยหัวใจ วันนี้...เรายังคงเดินหน้า สู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อวันพรุ่งนี้...ที่ท่าอากาศยานไทย จะทะยานก้าวไกลสู่ที่สุดแห่งท่าอากาศยานระดับโลก


เส้นทาง สูค่ วามสำเร็จ ปี 2531

ปี 2523

ดำเนินโครงการพัฒนา

ท่าอากาศยานกรุงเทพ ให้มีความสามารถในการ รองรับผู้โดยสารทีม่ ากขึน้

ปี 2522

จัดตั้งการท่าอากาศยาน

แห่งประเทศไทย (ทอท.)

โดยได้รับโอนกิจการ

จากกรมการบินพลเรือน กองทัพอากาศ

ได้รับโอนท่าอากาศยาน ภูมภิ าค 3 ท่าอากาศยาน มาอยู่ในความดูแล ได้แก่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และ ท่าอากาศยานภูเก็ต

ปี 2528

เปิดอาคารคลังสินค้า

เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้น

ของการขนส่งทางอากาศ

ปี 2540

จัดโครงการห้องรับแขก

ของชาติเพื่อต้อนรับ

นักท่องเที่ยวในปี Amazing Thailand แสดงให้เห็นถึงความ เป็นเลิศในการให้บริการ ของ ทอท.

ปี 2535

เปิดให้บริการตรวจ กระเป๋าด้วยเครื่อง Common use X-Ray เพื่อความสะดวกและ ปลอดภัยของผู้ใช้บริการ


ก้าวสู่ปีที่ 30 ปี 2541

ท่าอากาศยานเชียงราย เป็นอีก 1 ท่าอากาศยาน ภูมภิ าคที่ได้รบั โอนมาอยู่ ในความดูแลของ ทอท.

ปี 2542

ทอท.ให้ความสำคัญกับ สังคม โดยการสนับสนุน งบประมาณในการก่อสร้าง โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทยเป็น แห่งแรกทีบ่ า้ นไอร์จาดา อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

ปี 2549

เติมเต็มความภาคภูมิใจ

ของคนไทยทั้งชาติ ด้วยการเปิดให้บริการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ปี 2545

พัฒนาศักยภาพด้วยการ

แปลงสภาพองค์กรเป็น

บริษัทมหาชนจำกัด

อนาคต

สู่ที่สุด... แห่งท่าอากาศยาน ระดับโลก

ปี 2551

ท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ได้รับรางวัลต่างๆ เช่น รางวัลท่าอากาศยานที่ดี ที่สุด อันดับ 4 ของโลก

จาก Smarttravelasia, ท่าอากาศยานดีเด่น อันดับ 3 ของโลก โดย นิตยสาร Wanderlust เป็นต้น



มั่นใจ ในความปลอดภัย สูงสุด

ส่งต่อความห่วงใย ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล


วางแผนพัฒนา เพื่ออนาคต

สานต่อธุรกิจ สู่ความเติบโตที่ไม่มีวันสิ้นสุด



การดำเนินงาน ด้านการบริการ

ความใส่ใจ ส่งถึงใจ ในรายละเอียดของบริการทุกขั้นตอน




เลือกสรร สินค้าคุณภาพ จากร้านชันนำ

ถ่ายทอดความคิดถึง ผ่านหลากร้านค้า หลายแบรนด์คุณภาพ



สังคมและ สิงแวดล้อม

เชื่อมโยงความสุขของนักเดินทาง สู่รอยยิ้มของโลก



ปฏิบัติตามหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี คุณภาพคู่คุณธรรม คือปรัชญาในการดำเนินธุรกิจของเรา



30 ปีแห่งความมุ่งมั่น สู่ที่สุดแห่ง ท่าอากาศยานระดับโลก กว่า 30 ปี ที่ท่าอากาศยานไทย เป็นประตูด่านแรกในการต้อนรับ และเชื่อมต่อจุดหมายให้นักเดินทางทั่วโลก ถึงปลายทางด้วยรอยยิ้ม บนความพร้อมในด้านความปลอดภัย

ที่ได้มาตรฐานสากลและบริการด้วยหัวใจ วันนี้...เรายังคงเดินหน้า สู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อวันพรุ่งนี้...ที่ท่าอากาศยานไทย จะทะยานก้าวไกลสู่ที่สุดแห่งท่าอากาศยานระดับโลก


เส้นทาง สูค่ วามสำเร็จ ปี 2531

ปี 2523

ดำเนินโครงการพัฒนา

ท่าอากาศยานกรุงเทพ ให้มีความสามารถในการ รองรับผู้โดยสารทีม่ ากขึน้

ปี 2522

จัดตั้งการท่าอากาศยาน

แห่งประเทศไทย (ทอท.)

โดยได้รับโอนกิจการ

จากกรมการบินพลเรือน กองทัพอากาศ

ได้รับโอนท่าอากาศยาน ภูมภิ าค 3 ท่าอากาศยาน มาอยู่ในความดูแล ได้แก่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และ ท่าอากาศยานภูเก็ต

ปี 2528

เปิดอาคารคลังสินค้า

เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้น

ของการขนส่งทางอากาศ

ปี 2540

จัดโครงการห้องรับแขก

ของชาติเพื่อต้อนรับ

นักท่องเที่ยวในปี Amazing Thailand แสดงให้เห็นถึงความ เป็นเลิศในการให้บริการ ของ ทอท.

ปี 2535

เปิดให้บริการตรวจ กระเป๋าด้วยเครื่อง Common use X-Ray เพื่อความสะดวกและ ปลอดภัยของผู้ใช้บริการ


ก้าวสู่ปีที่ 30 ปี 2541

ท่าอากาศยานเชียงราย เป็นอีก 1 ท่าอากาศยาน ภูมภิ าคที่ได้รบั โอนมาอยู่ ในความดูแลของ ทอท.

ปี 2542

ทอท.ให้ความสำคัญกับ สังคม โดยการสนับสนุน งบประมาณในการก่อสร้าง โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทยเป็น แห่งแรกทีบ่ า้ นไอร์จาดา อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

ปี 2549

เติมเต็มความภาคภูมิใจ

ของคนไทยทั้งชาติ ด้วยการเปิดให้บริการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ปี 2545

พัฒนาศักยภาพด้วยการ

แปลงสภาพองค์กรเป็น

บริษัทมหาชนจำกัด

อนาคต

สู่ที่สุด... แห่งท่าอากาศยาน ระดับโลก

ปี 2551

ท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ได้รับรางวัลต่างๆ เช่น รางวัลท่าอากาศยานที่ดี ที่สุด อันดับ 4 ของโลก

จาก Smarttravelasia, ท่าอากาศยานดีเด่น อันดับ 3 ของโลก โดย นิตยสาร Wanderlust เป็นต้น



มั่นใจ ในความปลอดภัย สูงสุด

ส่งต่อความห่วงใย ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล


วางแผนพัฒนา เพื่ออนาคต

สานต่อธุรกิจ สู่ความเติบโตที่ไม่มีวันสิ้นสุด



การดำเนินงาน ด้านการบริการ

ความใส่ใจ ส่งถึงใจ ในรายละเอียดของบริการทุกขั้นตอน




เลือกสรร สินค้าคุณภาพ จากร้านชันนำ

ถ่ายทอดความคิดถึง ผ่านหลากร้านค้า หลายแบรนด์คุณภาพ



สังคมและ สิงแวดล้อม

เชื่อมโยงความสุขของนักเดินทาง สู่รอยยิ้มของโลก



ปฏิบัติตามหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี คุณภาพคู่คุณธรรม คือปรัชญาในการดำเนินธุรกิจของเรา


ปลอดภัย คือ มาตรฐาน บริการ คือ หัวใจ


ข้อมูลทัว่ ไป ของบริษทั ชื่อบริษัท : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ชื่อย่อ : ทอท. เลขทะเบียนบริษัท : 0107545000292 ประเภทธุรกิจ : ประกอบกิจการท่าอากาศยาน รวมทั้งกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหรือ ต่อเนื่องกับการประกอบกิจการท่าอากาศยาน รอบปีบัญชี : 1 ตุลาคม - 30 กันยายน สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0 2535 1111 โทรสาร : 0 2535 4061 เว็บไซต์ : http://www.airportthai.co.th ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ : โทรศัพท์ 0 2535 5900, โทรสาร 0 2535 5909, E-mail : aotir@airportthai.co.th ทุนจดทะเบียน : 14,285,700,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ : 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ผู้ถือหุ้น : ปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ได้แก่ กระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 70 ส่วนที่เหลือเป็นการถือหุ้นโดยสถาบันและนักลงทุนทั่วไป ปีที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : 11 มีนาคม 2547 นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ที่ตั้ง : 2/7 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0 2596 9307 โทรสาร : 0 2832 4994-6 ผู้สอบบัญชี : สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ตั้ง : ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0 2273 9674-91 โทรสาร : 0 2618 5883


สารจาก ประธานกรรมการ ในการเปิดให้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ครบรอบ 2 ปี เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2551 ที่ผ่านมา

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) ได้มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพการบริการและการบริหารจัดการท่าอากาศยาน ด้วยมาตรฐานด้านความปลอดภัยและสิง่ อำนวยความสะดวกในระดับสากล ทำให้ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550- กันยายน 2551) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมสิ ามารถรองรับผู้โดยสารได้ถงึ 41,180,456 คน เทีย่ วบินจำนวน 256,118 เทีย่ วบิน ปริมาณสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออก (ไม่รวมสินค้าผ่าน) จำนวน 1,259,685 ตัน ด้วยความเชือ่ มัน่ และความพร้อมในการให้บริการ ทอท.จึงได้ นำท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเข้าร่วมโครงการจัดอันดับท่าอากาศยานของสมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ (Airport Council International : ACI) ภายใต้ชื่อโครงการสำรวจคุณภาพบริการของท่าอากาศยาน (Airport Service Quality Program : ASQ)

มีวตั ถุประสงค์เพือ่ นำไปสูก่ ารพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการบริการทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ทัง้ ด้านกระบวนการผ่านเข้า-ออกของ

ผู้โดยสาร ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ตลอดจนบริการต่างๆ ที่จัดไว้ภายในอาคารผู้ โดยสารและบริเวณ

ท่าอากาศยาน ทั้งนี้ ทอท.มีความมุ่งมั่นในการบริหารท่าอากาศยานให้เป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโลก (World Class Airport) หรือเป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุดในระดับเดียวกัน (Best in Class) นอกจากนี้ ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบอีก 5 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยาน เชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย มีปริมาณการจราจรทางอากาศเพิ่มสูงขึ้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุเนื่อง มาจากการเติบโตของสายการบินต้นทุนต่ำ (Low Cost Carriers) ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ผ่านมา ดังนั้น ทอท.จึงได้ พิจารณาเตรียมการในด้านต่างๆ เพื่อรองรับการเติบโตของปริมาณผู้ โดยสารที่คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ทั้งในส่วนของ

แผนพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมทั้งแผนพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาค โดยเฉพาะท่าอากาศยานภูเก็ต ซึ่งคาดว่าจะเต็มขีด ความสามารถในอนาคตอันใกล้นี้ เพือ่ ให้ ทอท.สามารถรักษาคุณภาพและมาตรฐานการบริการ ตลอดจนประสิทธิภาพการดำเนินงาน ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ในการเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่กำหนดไว้ สำหรับผลการดำเนินงานด้านปริมาณการจราจรทางอากาศโดยรวมของ ทอท. (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยาน ดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย) มีการขยายตัว

เพิม่ ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมา โดยมีจำนวนผู้โดยสารรวม 58,304,267 คน คิดเป็นอัตราเพิม่ ร้อยละ 4.08 มีปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุ ไปรษณี ย ภั ณ ฑ์ เ ข้ า -ออก (ไม่ ร วมสิ น ค้ า ผ่ า น) จำนวน 1,345,845 ตั น คิ ด เป็ น อั ต ราเพิ่ ม ร้ อ ยละ 6.65 และในส่ ว นของ

จำนวนเที่ยวบินมีทั้งสิ้น 394,057 เที่ยวบิน คิดเป็นอัตราเพิ่มร้อยละ 0.96


จากผลการดำเนินงานด้านปริมาณการจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้น รวมทั้ง การปรับขึ้นค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าธรรมเนียมการขึ้น-ลงของ อากาศยาน และค่าธรรมเนียมการจอดอากาศยาน ส่งผลให้ผลประกอบการ และฐานะทางการเงินของ ทอท.ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 กันยายน 2551) มีรายได้จากการดำเนินงาน 22,010.87 ล้านบาท ในขณะ

ที่มีค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน 18,515.89 ล้านบาท ถึงแม้ว่าจะได้รับ

ผลกระทบจากค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ ในหมวดของค่าเสือ่ มราคา แต่จากการดำเนิน นโยบายด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการควบคุมค่าใช้จ่าย ในการดำเนินงานอย่างจริงจัง ส่งผลให้ ทอท.มีกำไรจากการดำเนินงาน 3,494.98 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 133.51 และมีผลกำไร สุทธิ 7,321.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 571.80 ทั้งนี้ สาเหตุ ข องการเพิ่ ม ขึ้ น ของผลประกอบการส่ ว นหนึ่ ง เนื่ อ งมาจาก ทอท.

ได้บันทึกการรับรู้รายได้จากเงินทดแทนในการประกอบการจำหน่ายสินค้า ปลอดอากรและการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ จำนวน 8,331.54 ล้านบาท ตามทีศ่ าลแพ่งได้มคี ำสัง่ คุม้ ครองชัว่ คราว เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2551 และ วันที่ 25 เมษายน 2551 ที่ผ่านมา

ทัง้ นี้ ความสำเร็จจากการดำเนินงานข้างต้นเป็นผลมาจากความร่วมมือร่วมใจและการสนับสนุนของคณะกรรมการ ทอท. ผูบ้ ริหาร และพนักงานในทุกระดับ ทีม่ คี วามมุง่ มัน่ ในการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมแิ ละท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท.ทัง้ 5 แห่ง เพื่อบรรลุเป้าหมายสู่การเป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโลก โดยให้ความสำคัญในเรื่องการบริหารจัดการที่ดีภายใต้หลักธรรมาภิบาล

มุ่งสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย พัฒนารูปแบบการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพิ่มขีดความสามารถ

ในการแข่งขันด้านบริการในระดับสากล ตลอดจนมุง่ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงาน และเสริมสร้างศักยภาพของ บุคลากรเพือ่ พร้อมรับการเปลีย่ นแปลงจากสถานการณ์ตา่ งๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการบินและการขนส่งทางอากาศในอนาคต

( นายวุฒิพันธ์ุ วิชัยรัตน์ ) ประธานกรรมการ


คณะกรรมการ ทอท. รชัย ธารสิทธิ์พงษ์ 02 นายสุ กรรมการ

ยศักดิ์ อังค์สุวรรณ 04 นายชั กรรมการ

04

02

03

01

05

ระเด่น พึ่งพักตร์ 03 พลอากาศเอก กรรมการ

01

022 รายงานประจำปี 2551

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ ประธานกรรมการ

ทิศ ธรรมวาทิน 05 นายอุ กรรมการ


07

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ กรรมการ

สุเมธ โพธิ์มณี 09 พลอากาศเอก กรรมการ

12

นายถาวร พานิชพันธ์ กรรมการ

12

09

14

นายอภิชาติ สายะสิต กรรมการ

14

07

06

10

08

นัย วิทวัสการเวช 06 นายวิ กรรมการ

10

15

11

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ กรรมการ

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์

11

13

นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ กรรมการ

15 13

08 กรรมการ

023 รายงานประจำปี 2551

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ เลขานุการคณะกรรมการ ทอท.

เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ กรรมการ

024 รายงานประจำปี 2551


ผู้บริหาร ทอท. นายสุรจิต สุรพลชัย รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

05

06

05

เรืออากาศเอก วิวัฒน์ สมานรักษ์ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

08 07

นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานแผนงานและการเงิน)

เรืออากาศโท ณรงค์ชัย ถนัดช่างแสง ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานอำนวยการ)

09

06

15

14

09

07

นายเพิ่มศักดิ์ พัฒนพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

นายสุรธัส สุธรรมมนัส ผู้ช่วยกรรมการ

ผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานพัฒนาธุรกิจ)

08

04

02

16

นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์

04 รองกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่

(สายงานอำนวยการ)

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

025 รายงานประจำปี 2551

17

15

(สายงานพัฒนาธุรกิจ)

นางสาวสุวรรณี สำโรงวัฒนา รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำนวยการ)

ว่าที่ เรืออากาศโท ภาสกร สุระพิพิธ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

18 17

13

10

10

18

16

12

11

นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน

02 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

นางสมบัติ คุณประเสริฐ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

นายอดิเทพ นาคะวิสุทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

03

01

01

14

นายพรบรรจบ สมบัติเปี่ยม ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

นางกัลยา ผกากรอง

11

03 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานแผนงานและการเงิน)

026 รายงานประจำปี 2551

12

เรืออากาศโทหญิง เพิร์ล รักสำหรวจ เลขานุการบริษัท

นายชยากร อักษรมัต ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

13

นายสมชัย สวัสดีผล ผู้เชี่ยวชาญ 11 ทอท.


24

นาวาอากาศโท ณัฏฐ์ โหมาศวิน

นาวาอากาศโท วิชา เนินลพ ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานภูเก็ต

25

24

26 ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ว่าที่ เรืออากาศโท จตุรงคพล สดมณี ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

26

25

27

22

20 19

23

21 นายฉัตร หาญพัฒนนันท์

20 รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ (สายบำรุงรักษาและสารสนเทศ)

19

27

นายประเทือง ศรขำ ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานเชียงราย

นาวาอากาศโท ประทีป วิจิตรโท รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

(สายปฏิบัติการ)

21

ว่าที่ เรืออากาศโท วิศิษฐ์ อิ้วประภา

22 รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานดอนเมือง (สายอำนวยการ)

ว่าที่ เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานดอนเมือง

23

เรืออากาศตรี อนันต์ คงยืน รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานดอนเมือง

(สายปฏิบัติการ)

027

รายงานประจำปี 2551


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ÊӹѡµÃǨÊͺ Êӹѡ§Ò¹â¤Ã§¡ÒþÔàÈÉ

ÊÒ§ҹÍӹǡÒÃ

• ½†ÒÂÍӹǡÒáÅÒ§ • ½†Ò¡®ËÁÒ • ½†Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å • ½†Ò¾Ѳ¹Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å • ½†Ò»‡Í§¡Ñ¹ÍغѵÔÀÑÂáÅЪÕÇ͹ÒÁÑ • ½†Ò¾ÑÊ´Ø • ½†ÒÂá¾·Â

ÊÒ§ҹἹ§Ò¹ áÅСÒÃà§Ô¹ • ½†Ò¡ÅÂØ·¸ ͧ¤ ¡Ã • ½†Ò§º»ÃÐÁÒ³ • ½†Ò¡ÒÃà§Ô¹ • ½†ÒºÑÞªÕ

• Èٹ ¹Ñ¡Å§·Ø¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

ÊÒ§ҹ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÀÙÁÔÀÒ¤ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÀÙà¡çµ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹àªÕ§ãËÁ‹ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ËÒ´ãËÞ‹ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹àªÕ§ÃÒÂ

˹‹Ç¸ØáԨ ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ

• ʋǹºÃÔËÒáÅÒ§

ÊÒÂÍӹǡÒÃ

• ½†ÒÂÍӹǡÒà ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ • ½†ÒÂá¼¹§Ò¹áÅСÒÃà§Ô¹ • ½†Ò¡Ԩ¡ÒþÔàÈÉ • ʋǹᾷÂ

ÊÒ»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃ

• ½†Ò¡Ò÷‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†Ò»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃࢵ¡ÒúԹ • ½†ÒÂÃкºÅÓàÅÕ§¡ÃÐ້ÒÊÑÁÀÒÃÐ • ½†ÒÂÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ • ½†Ò´Ѻà¾ÅÔ§áÅСٌÀÑÂ


¼Ñ§¡ÒèѴʋǹ§Ò¹ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ¡Ó˹´¤‹ÒµÍºá·¹ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒøÃÃÁÒÀÔºÒÅ

ÊӹѡàŢҹءÒúÃÔÉÑ·

àŢҹءÒúÃÔÉÑ· ÊӹѡÁҵðҹáÅÐ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹

ÊÒ§ҹ¾Ñ²¹Ò¸ØáԨ • ½†Ò¾Ѳ¹Ò¸ØáԨ • ½†ÒºÃÔËÒøØáԨ

ÊӹѡÊ×èÍÊÒÃͧ¤ ¡Ã

ÊÒ§ҹÇÔÈÇ¡ÃÃÁáÅÐ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È

• ½†ÒÂá¼¹¾Ñ²¹Ò·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†ÒÂÇÔÈÇ¡ÃÃÁáÅÐʶһ˜µÂ¡ÃÃÁ • ½†ÒÂà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È • ½†ÒÂÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

˹‹Ç¸ØáԨ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹´Í¹àÁ×ͧ • ½†ÒÂÍӹǡÒà ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹´Í¹àÁ×ͧ • ½†Ò»¯ÔºÑµÔ¡Ò÷‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†Ò¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†ÒºÓÃاÃÑ¡ÉÒ

ʋǹÁҵðҹáÅÐ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹

• ʋǹᾷ • ʋǹ¾Ò³ÔªÂ áÅСÒÃà§Ô¹ • ʋǹÁҵðҹáÅФÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹

ÊÒºÓÃاÃÑ¡ÉÒáÅÐÊÒÃʹà·È • ½†ÒÂä¿¿‡ÒáÅÐà¤Ã×èͧ¡Å • ½†ÒÂʹÒÁºÔ¹áÅÐÍÒ¤Òà • ½†ÒÂÊÒÃʹà·È·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†ÒÂÊ×èÍÊÒÃÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊ

ÊÒ¡ÒþҳԪÂ

• ½†Ò¡ÒþҳԪ • ½†ÒºÃÔËÒáÒâ¹Ê‹§



ลักษณะ การประกอบธุรกิจ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า “ทอท.” ประกอบธุรกิจท่าอากาศยานหลักของประเทศไทย โดยธุรกิจหลักของ ทอท.ประกอบด้วย การจัดการ การดำเนินงาน และการพัฒนาท่าอากาศยานที่อยู่ในความรับผิดชอบ 6 แห่ง ประกอบด้วย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยาน หาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย ซึ่งท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง ให้บริการเที่ยวบินในประเทศและระหว่างประเทศ โดยมี

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ ได้เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 เพื่อรองรับปริมาณ

ผู้ โดยสารที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการรองรับผู้ โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี สามารถรองรับการขนส่ง

สินค้า 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง นอกจากนี้ ทอท.ได้ดำเนินกิจการโรงแรมท่าอากาศยาน

ที่ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ภายใต้ ชื่ อ โรงแรมโนโวเทลสุ ว รรณภู มิ ขนาด 600 ห้ อ ง โดยร่ ว มทุ น ดำเนิ น การร่ ว มกั บ

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เพื่อให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสาร ที่มาใช้บริการท่าอากาศยาน จากนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาท่าอากาศยาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห้เป็นศูนย์กลางการบิน การท่องเทีย่ ว และการขนส่ง สินค้าทางอากาศชัน้ นำของเอเชียและโลก กอปรกับนโยบายการท่องเทีย่ วไทย เชิงรุกของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ในการขยายกลุม่ ตลาดนักท่องเทีย่ ว ใหม่ๆ การตกลงร่วมกันของกลุ่มประเทศในอาเซียนที่จะเปิดเสรีการบิน และผ่ อ นคลายกฎระเบี ย บของภาครั ฐ โดยจะมี การผ่ อ นคลายระเบี ย บ

ข้อกำหนดต่างๆ ในการขนส่งทางอากาศให้มากขึ้นตามลำดับ อันจะช่วย

ส่งผลให้ปริมาณการจราจรทางอากาศและผู้โดยสารมีอตั ราทีเ่ พิม่ ขึน้


ในขณะที่นโยบายการเปิดเสรีทางด้านการบิน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ ส่งผลให้ธุรกิจ

สายการบินต้นทุนต่ำเข้ามาทำตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ สายการบินต้นทุนต่ำจึงเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งจำนวน

สายการบินและความถี่ของเที่ยวบิน และคาดว่าด้วยจำนวนประชากรที่มีรายได้ปานกลางที่เพิ่มขึ้นของจีนและอินเดีย จะทำให้

สายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีการขยายตัวได้อีกมากในอนาคต และนวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตอากาศยาน

แบบใหม่ เช่น อากาศยาน A380 จะช่วยทำให้ระบบการขนส่งทางอากาศโดยรวมมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ ต้นทุนลดลง ลดเวลาการบิน เนื่องจากสามารถบินตรงไปยังจุดหมายได้โดยไม่ต้องหยุดพัก ทำให้เกิดเส้นทางบินใหม่ๆ และทำให้เกิดการแข่งขันที่สูงขึ้นในการ แย่งชิงปริมาณเทีย่ วบินและผู้โดยสารทีจ่ ะมาลงยังท่าอากาศยานทีเ่ ป็นศูนย์กลางการบินในภูมภิ าค เพือ่ ผ่านไปยังจุดหมายปลายทาง เมืองอืน่ ๆ และจากการทีค่ า่ โดยสารมีราคาถูกลง ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการการขนส่งทางอากาศได้มากขึน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ เทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ผู้เดินทางสามารถค้นหาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว แหล่งธุรกิจตามที่ต้องการ ได้สะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้โดยสารที่เดินทางโดยเครื่องบินสามารถทำการจองเที่ยวบินได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ว และได้ใน ราคาที่ถูกลง อย่างไรก็ตาม ปัจจัยภายในประเทศ เช่น สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ การประท้วงปิดท่าอากาศยาน ความวุ่นวาย ทางการเมือง และการประกาศพระราชกำหนดภาวะฉุกเฉิน ล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางเข้ามาประเทศไทยของ

นักท่องเที่ยวต่างชาติ กอปรกับราคาต้นทุนน้ำมันดิบที่มีราคาสูงอย่างต่อเนื่อง ภาวะวิกฤติของตลาดสินเชื่อและความสั่นคลอนของ สถาบันการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกา และปัญหาเศรษฐกิจขาลงในที่อื่นๆ ทั่วโลก มีความสัมพันธ์เป็นอย่างมากต่อการเติบโต ของปริมาณการจราจรทางอากาศ เกิดผลกระทบทางจิตวิทยาทำให้การบริโภคและการลงทุนทั่วโลกชะลอตัวลง ส่งผลทั้งทางตรง และทางอ้อมต่ออุตสาหกรรมการบินและท่าอากาศยาน

032

รายงานประจำปี 2551


สำหรับแนวโน้มการเติบโตของ ทอท.ในอนาคต สมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ หรือ ACI คาดการณ์ถึงการเติบโต ของจำนวนผู้โดยสารในปี 2553 ว่าผู้โดยสารทัว่ โลกจะมีจำนวนมากกว่า 5 พันล้านคน และในปี 2563 จะเพิม่ ขึน้ เป็น 9 พันล้านคน โดยแบ่งเป็นผู้โดยสารที่ใช้บริการภายในประเทศประมาณ 5.1 พันล้านคน และผู้โดยสารที่ใช้บริการระหว่างประเทศประมาณ

4 พันล้านคน อย่างไรก็ตามอัตราการเติบโตของจำนวนผู้โดยสารทั่วโลกในอีก 20 ปีข้างหน้า (ปี 2549 - 2568) จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 4 ต่อปี สำหรับอัตราการเติบโตของผู้โดยสารในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะเติบโตในอัตราที่สูงกว่าทุกภูมิภาคในโลก คือ เฉลีย่ ประมาณร้อยละ 5.8 ต่อปี ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากหลายประเทศในภูมภิ าคเริม่ พัฒนาการขนส่งทางอากาศ และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่รวดเร็วของประเทศจีนและอินเดีย

033

รายงานประจำปี 2551



ข้อมูลทางการเงิน โดยสรุปของบริษทั


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท

ผลการดำเนินงาน (ล้านบาท) รายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน กำไรสุทธิ ฐานะการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้จากการดำเนินงาน (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)

036

รายงานประจำปี 2551

2551

2550

2549

22,010.87 18,515.89 3,494.98 7,321.05

19,501.41 18,004.68 1,496.73 1,089.76

16,240.86 9,420.07 6,820.79 10,473.99

146,455.97 70,147.58 76,308.39

143,466.98 73,789.75 69,677.23

150,505.06 79,341.54 71,163.52

2.38 33.26 10.03 5.05 0.92 53.24 5.12

1.74 5.59 1.55 0.74 1.06 48.57 0.76

1.68 64.49 15.44 7.35 1.11 49.81 7.33


แหล่งที่มาของรายได้จากการดำเนินงานสำหรับปี 2551

แหล่งที่มาของค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานสำหรับปี 2551

037

รายงานประจำปี 2551


วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (งบการเงินรวม)

ภาพรวมผลการดำเนินงานสำหรับปี 2551 เปรียบเทียบกับปี 2550

ทอท.และบริษัทย่อย มีรายได้จากการดำเนินงานสำหรับรอบปีบัญชี 2551 (1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2551) 22,010.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน (1 ตุลาคม 2549 - 30 กันยายน 2550) จำนวน 2,509.46 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.87 ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานรวม 18,515.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 511.21 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.84 กำไรจาก การดำเนินงาน 3,494.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,998.24 ล้านบาท หรือร้อยละ 133.51 กำไรสุทธิ 7,321.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 6,231.29 ล้านบาท หรือร้อยละ 571.80 ประกอบด้วย รายได้จากการดำเนินงาน รายได้ทเี่ กีย่ วกับกิจการบิน (Aeronautical Revenues) ทอท.มีรายได้ทเี่ กีย่ วกับกิจการบิน 15,065.12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68.44 ของรายได้จากการดำเนินงาน โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,919.14 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.60 เนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของปริมาณจราจรทางอากาศ โดยมีจำนวนเที่ยวบิน ผู้โดยสาร และปริมาณสินค้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.0 , 4.1 และ 5.7 ตามลำดับ ประกอบด้วย - รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน 4,216.35 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 278.95 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.08 - รายได้คา่ ธรรมเนียมการใช้สนามบิน 10,417.01 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 1,635.54 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.62 - รายได้ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก 431.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.65 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.09 รายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการบิน (Non - Aeronautical Revenues) ทอท.มีรายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการบิน 6,945.75 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.56 ของรายได้จากการดำเนินงาน โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 590.32 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.29 เนื่องจาก รายได้เกี่ยวกับบริการเพิ่มขึ้น ได้แก่ ค่าบริการรถลีมูซีน, ค่าไฟฟ้า, ค่าบริการลานจอด และรายได้จากโรงแรมท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ รวมทั้งรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์จากการจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม, ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และการให้ บริการต่างๆ เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 511.21 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.84 โดยเพิ่มขึ้นจากจำนวน 18,004.68 ล้านบาท ในรอบปีบัญชี 2550 เป็นจำนวน 18,515.89 ล้านบาท ในรอบปีบัญชี 2551 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก - ค่าใช้จ่ายพนักงาน 3,909.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 981.16 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.51 เป็นผลจากการรับพนักงานและ ลูกจ้างเพิ่ม การปรับบำเหน็จพนักงานประจำปี รวมทั้งเงินชดเชยและผลประโยชน์ตอบแทนให้กับพนักงานที่เข้าร่วมโครงการ เกษียณอายุก่อนกำหนด และโครงการร่วมใจจากองค์กรเพิ่มขึ้น - ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 5,100.31 ล้านบาท ลดลง 629.82 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.99 ส่วนหนึ่งเนื่องจากการเร่งรัด

เรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ค้างชำระ ส่งผลให้การบันทึกหนี้สงสัยจะสูญลดลง นอกจากนี้ ค่าจ้างเอกชนดำเนินการ และค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ลดลง

038 รายงานประจำปี 2551


- ค่าซ่อมแซม 683.96 ล้านบาท ลดลง 48.42 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.61 เนื่องจากค่าซ่อมแซมสายพานส่งกระเป๋า

และค่าซ่อมแซมทางวิ่งทางขับลดลง - ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ 955.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 109.41 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.93 ตามสัดส่วนของรายได้

จากการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น - ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินและค่าตัดจำหน่าย 7,866.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 98.88 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.27 เนื่องจาก

การลงทุนในสินทรัพย์เพิ่มขึ้น รายได้อื่น รายได้อื่นเพิ่มขึ้น 8,180.81 ล้านบาท สาเหตุสำคัญเกิดจากการรับรู้รายได้ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่งจำนวน 8,331.54 ล้านบาท ในขณะที่ดอกเบี้ยรับและอื่นๆ ลดลง 150.73 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มขึ้น 4,091.4 ล้านบาท สาเหตุสำคัญเนื่องจากปี 2551 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 928.72 ล้านบาท เปลีย่ นแปลงจากปี 2550 ซึง่ มีกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน 2,804.54 ล้านบาท ประกอบกับมีคา่ ใช้จา่ ยอืน่ เพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งจากการบันทึกค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากเงินทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 2,569.80 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 172.63 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.20 เนื่องจาก

การทำสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับสถาบันการเงินเพิ่มเติม เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2550

วิเคราะห์ฐานะการเงิน ปี 2551 เปรียบเทียบปี 2550

สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 146,455.97 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 2,988.99 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.08 สาเหตุสำคัญเกิดจากได้รับชำระค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง หนี้สิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 70,147.58 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 3,642.17 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.94 สาเหตุสำคัญเกิดจากการโอนรายได้ค่าสัมปทานรับล่วงหน้าจำนวน 4,460.00 ล้านบาท

เป็นรายได้ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 จำนวน 76,308.39 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 6,631.16 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 9.52 สาเหตุสำคัญเกิดจากผลประกอบการที่เพิ่มสูงขึ้น

สภาพคล่อง

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.และบริษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8,437.37 ล้านบาท ลดลงจาก

วันต้นงวดของปี 2551 (1 ตุลาคม 2550) จำนวน 1,794.02 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.53 โดยมีกระแสเงินสดสุทธิได้มาจาก กิจกรรมดำเนินงาน 11,837.95 ล้านบาท เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน 13,740.96 ล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นการลงทุน

ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จำนวน 5,666.37 ล้านบาท ในเงินลงทุนชั่วคราวและระยะยาวจำนวน 7,746.52 ล้านบาท เงินสด สุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 108.99 ล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นเงินสดรับจากเจ้าหนี้เงินกู้ระยะยาวจำนวน 2,256.30 ล้านบาท แต่ได้ถูกหักลบด้วยการชำระคืนเงินกู้จำนวน 1,565.88 ล้านบาท และการจ่ายเงินปันผลจำนวน 571.43 ล้านบาท

039

รายงานประจำปี 2551



ผลการดำเนินงาน ด้านการให้บริการ ทอท.ดำเนินกิจการทาอากาศยานในประเทศไทยทั้งหมด 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย ในปีงบประมาณ 2551

ท่าอากาศยานของ ทอท.ให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 108 สายการบิน เป็นสายการบินขนส่งผู้โดยสารผสมสินค้าจำนวน 98 สายการบิน และขนส่งสินค้าอย่างเดียวจำนวน 10 สายการบิน ปริมาณการขึ้นลงของอากาศยาน ณ ทาอากาศยานของ ทอท. 6 แห่ง รวม 394,057 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 0.96 ประกอบด้วยจำนวนเที่ยวบินระหว่างประเทศ 220,673 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 2.52 และเที่ยวบินภายในประเทศ 173,384 เที่ยวบิน ลดลงร้อยละ 0.96 ตามลำดับ ให้บริการผู้โดยสารรวมทั้งสิ้น 58,304,267 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 4.08 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำนวน 36,836,936 คน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.65 และผู้โดยสารภายในประเทศ 21,467,331 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 3.11 มีปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า -ออกจำนวน 1,345,845 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.65 โดยเป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 1,243,762 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 7.54 และในประเทศจำนวน 102,083 ตัน ลดลงคิดเป็น ร้อยละ 3.18 ปริมาณการจราจรทางอากาศโดยรวมของ ทอท.ในปีงบประมาณ 2551 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ง บประมาณ 2550 จากเหตุ ผ ลสนั บ สนุ น ได้ แ ก่ จำนวน

นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น ทางเข้ า ประเทศไทยและการเดิ น ทางของคนไทย

ทัง้ ในประเทศและระหว่างประเทศเพิม่ ขึน้ และการเติบโตของปริมาณจราจร ทางอากาศของสายการบินราคาประหยัด อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปจั จัยด้านลบ ของภาวะเศรษฐกิจโลกที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ใน

วงกว้าง รวมทั้งเหตุการณ์ไม่สงบภายในประเทศ ซึ่งส่งผลให้ปริมาณจราจร ทางอากาศเติบโตได้ไม่เต็มที่


ปีงบประมาณ

การขึ้น-ลงของอากาศยานพาณิชย์ (เที่ยวบิน) จำนวนผู้โดยสารรวม (คน) 2550 2551 ร้อยละ 2550 2551 307,244 ทสภ.+ทดม. 311,435 1.36 45,123,945 46,932,118 267,555 - ทสภ. 256,118 -4.27 41,934,995 41,180,456 39,689 - ทดม. 55,317 39.38 3,188,950 5,751,662 38,368 ทภก. 40,218 4.82 5,478,137 5,943,468 26,708 ทชม. 25,400 -4.90 3,370,690 3,276,309 11,748 ทหญ. 10,270 -12.58 1,335,679 1,380,086 6,232 711,662 ทชร. 6,734 8.06 772,286 รวม 6 แห่ง 390,300 394,057 0.96 56,020,113 58,304,267 ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า -ออก (ตัน) 2550 2551 1,207,970 ทสภ.+ ทดม. 1,291,931 1,191,858 - ทสภ. 1,259,685 16,112 - ทดม. 32,246 17,498 ทภก. 18,542 23,429 ทชม. 22,438 10,141 ทหญ. 10,407 2,909 ทชร. 2,527 รวม 6 แห่ง 1,261,947 1,345,845

042

รายงานประจำปี 2551

ร้อยละ 4.01 -1.80 80.36 8.49 -2.80 3.32 8.52 4.08

ร้อยละ 6.95 5.69 100.14 5.97 -4.23 2.62 -13.13 6.65


ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง

ในช่วงปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง ให้บริการเที่ยวบินขึ้น-ลงรวมกั น

311,435 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2550 คิดเป็นร้อยละ 1.36 รวมมีผู้โดยสารทัง้ สิน้ 46,932,118 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 4.01 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 1,291,931 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.95 ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ให้ บ ริ การสายการบิ น แบบประจำรวม 101 สายการบิน เป็นเที่ยวบินขนส่งผู้ โดยสารผสม

สินค้า 91 สายการบิน และเที่ยวบินขนส่งสินค้าอย่างเดียว 10 สายการบิน มีเที่ยวบินพาณิชย์ ขึ้น-ลงรวม 256,118 เที่ยวบิน

เป็นเทีย่ วบินระหว่างประเทศ 196,979 เที่ยวบิน และเที่ยวบิน ภายในประเทศจำนวน 59,139 เที่ ย วบิ น รองรั บ ผู้ โ ดยสารรวม 41,180,456 คน เป็ น ผู้ โ ดยสารระหว่างประเทศจำนวน 34,025,340 คน และผู้โดยสารภายในประเทศจำนวน 7,155,116 คน ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 1,259,685 ตัน เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 1,234,413 ตัน

และการขนส่งภายในประเทศจำนวน 25,272 ตัน

ท่าอากาศยานดอนเมือง ให้บริการสายการบินแบบประจำภายในประเทศรวม 4 สายการบิน มีเที่ยวบินพาณิชย์ขึ้น-ลง

รวม 55,317 เที่ยวบิน เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 2,526 เที่ยวบิน และเที่ยวบินภายในประเทศจำนวน 52,791 เที่ยวบิน รองรับผู้โดยสารรวม 5,751,662 คน เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำนวน 28,661 คน และผู้โดยสารภายในประเทศจำนวน 5,723,001 คน ปริมาณสินค้าเข้า-ออกจำนวน 32,246 ตัน เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 4,040 ตัน และการขนส่ง ภายในประเทศจำนวน 28,206 ตัน

043

รายงานประจำปี 2551


ท่าอากาศยานภูเก็ต

ปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานภูเก็ตให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 28 สายการบิน มีจำนวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 40,218 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 4.82 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศจำนวน 17,317 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.64 จากทั้งเที่ยวบินแบบประจำและเที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศมีจำนวน 22,901 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 3.49 ให้บริการผู้โดยสารรวมทั้งสิ้น 5,943,468 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 8.49 ประกอบด้วยผู้โดยสารระหว่างประเทศ จำนวน 2,411,625 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 17.36 ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 3,531,843 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 3.18 จากผู้โดยสารนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ ส่วนปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมทั้งสิ้น 18,542 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 5.99 ประกอบด้วยการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 4,932 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.67 และการขนส่ง

ในประเทศจำนวน 13,610 ตัน เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 2.04

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

ปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 15 สายการบิน มีเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 25,400 เที่ยวบิน ลดลงร้อยละ 4.90 จากจำนวนเที่ยวบินระหว่างประเทศจำนวน 3,621 เที่ยวบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 28.41

ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศมีจำนวน 21,779 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 0.60 รองรับจำนวนผู้โดยสารรวม 3,276,309 คน ลดลงร้อยละ 2.80 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 347,419 คน ลดลงร้อยละ 0.99 ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศจำนวน 2,928,890 คน ลดลงร้อยละ 3.01 การลดลงอย่างมากของปริมาณจราจรทางอากาศระหว่างประเทศมีสาเหตุจากการลดเที่ยวบินแบบประจำของ สายการบิน Bangkok Airways, China Airlines และการยกเลิกเที่ยวบินทั้งหมดของ Tiger Airways ส่วนปริมาณสินค้าและ

พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมจำนวน 22,438 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.23 เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 377 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.80 ส่วนการขนส่งภายในประเทศ 22,061 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.59

044

รายงานประจำปี 2551


ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ในปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีจำนวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 10,270 เที่ยวบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 12.58 จากการให้บริการสายการบินประจำรวม 4 สายการบิน ประกอบด้วยเทีย่ วบินระหว่างประเทศ 215 เทีย่ วบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 78.39 เที่ยวบินภายในประเทศ 10,055 เที่ยวบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 6.49 ให้บริการจำนวนผู้โดยสารรวม 1,380,086 คน เพิ่มขึ้น

คิดเป็นร้อยละ 3.32 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำนวน 23,667 คน ลดลงร้อยละ 74.99 สาเหตุจากเหตุการณ์ก่อความไม่สงบ ทางภาคใต้ของไทยทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวน้อยลง ส่วนจำนวนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 1,356,419 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 9.29 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมจำนวน 10,407 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 2.62 เป็นการขนส่ง ภายในประเทศทั้งหมด

ท่าอากาศยานเชียงราย

ท่าอากาศยานเชียงรายให้บริการสายการบินแบบประจำภายในประเทศรวม 5 สายการบิน ในปีงบประมาณ 2551 มีเที่ยวบิน ขึ้น-ลงรวม 6,734 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 8.06 มีเที่ยวบินระหว่างประเทศซึ่งเป็นการบินแบบไม่ประจำทั้งหมดรวม

15 เที่ยวบิน และเที่ยวบินในประเทศ 6,719 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.20 ให้บริการผู้โดยสารรวม 772,286 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น

ร้อยละ 8.52 ประกอบด้วยผู้โดยสารระหว่างประเทศ 224 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 772,062 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.50 ส่วนใหญ่จากผู้โดยสารที่เดินทางโดยสายการบินราคาประหยัดในเส้นทางระหว่างกรุงเทพ-เชียงราย ปริมาณการขนส่งสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออก ทั้งหมดเป็นการขนส่งสินค้าภายในประเทศรวม 2,527 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 13.13

045

รายงานประจำปี 2551


ตัน 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

046

รายงานประจำปี 2551

2542

2543

ระหวางประเทศ

2544

2545

ภายในประเทศ ผูโดยสารผาน

2546

2547

2548

2549

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน) 1,824,206 11,259,800 1,702,173 12,422,370 1,585,236 12,874,283

2548 2549 2550 2551 ปงบประมาณ

46,932,118

45,123,945

32,472,599

30,999,402

29,276,672 42,360,678

1,766,191 10,500,564

2550

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2550

53,478

2547

1,238,453 1,291,931

2546 2549

55,926

2545

1,152,044 1,207,970

2544 2548

60,515

2543

1,137,605 1,198,120

2542

57,689

ภายในประเทศ

2547

26,622,474 38,889,229

25,086,445 1,763,794 36,364,006 9,513,767

ภายในประเทศ

1,061,744 1,119,433

20,999,349 1,518,052 29,674,852 7,157,451

2546

51,232

978,336 1,029,568

ระหวางประเทศ

2545

47,361

22,284,375 1,676,669 31,205,692 7,244,648

ระหวางประเทศ

894,315 941,676

21,067,561 30,985,938 1,886,113 7,492,264

2544

48,912

881,858 930,770

20,101,314 29,054,259 1,770,184 7,182,761

2543

48,739

801,076 849,815

811,389 856,200

2542

44,811

41,531

คน 60,000,000 50,000,000 40,000,000 30,000,000 20,000,000 10,000,000 0 18,446,838 26,847,924 1,590,177 6,810,909 166,029

111,930

114,315

98,547

199,505

311,435

307,244

280,704

265,122

232,760

192,929

182,157

175,540

159,160

195,530

193,314

187,133

135,808

135,309

131,874

122,497 176,895

89,582

73,600

59,722

58,005

55,259

54,398

49,190

116,839

เที่ยวบิน 360,000 320,000 280,000 240,000 200,000 160,000 120,000 80,000 40,000 0

737,114 778,645

สถิติขนส่งทางอากาศ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

ผูโดยสารรวม

2551 ปงบประมาณ


ตัน 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2542

2543

ระหวางประเทศ

2544

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2547 2548 2549

2549 2550

2550

13,610

2546

18,542

2545 13,460

3,529,165

2,400,843

3,422,439 5,943,468

2550

4,932

2544 5,478,137

2543 2,038,965

2542 16,733

1,519,959 4,467,982 25,890 2,922,133

2549

17,498 13,338

1,065,607 3,472,652 49,387 2,357,658

2548

4,160

16,274 13,584

ผูโดยสารผาน

2,690

16,822 12,135

2547

4,687

ภายในประเทศ

12,841

1,832,505 4,522,098 77,201 2,612,392

ภายในประเทศ

19,907

1,359,380 3,461,710 51,408 2,050,922

2546

7,066

15,942 11,042

ระหวางประเทศ

2545

4,900

1,311,594 3,558,908 38,894 2,208,420

ระหวางประเทศ

10,341

15,592

1,371,115 3,679,310 63,095 2,245,100

2544

5,251

13,746

1,242,359 3,455,233 87,592 2,125,282

2543

8,669

5,077

16,433 11,215

2542

5,218

9,771

1,080,787 3,200,534 82,803 2,036,944

คน 8,000,000 7,000,000 6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0

15,142

22,901

22,129 17,317

16,239

28,991

26,803

29,817

24,301

22,911

25,370

22,824

20,619

16,304

12,687

15,335

11,468

14,995

14,822

12,456

11,845

10,883

12,028

12,842

12,528

11,309

11,515

8,910

11,709

40,218

38,368

เที่ยวบิน 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

5,371

ท่าอากาศยานภูเก็ต จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

รายงานประจำปี 2551

047


ตัน 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

048

รายงานประจำปี 2551

2542

2543

ระหวางประเทศ

2544

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

2550

2550

22,438 22,061

329,149 18,376

3,276,309 2,928,784

3,370,690 3,019,687

2550

377

2549 323,438 27,565

2549

23,429 23,122

ผูโดยสารผาน 3,078,156 2,748,077

3,011,917 2,757,255

2,663,990 2,408,752

2548

307

2548 295,672 34,407

2547

26,009 25,714

195,613 59,049

2546

295

24,376 23,707

ภายในประเทศ

2547

669

186,980 68,258

2,001,541 1,808,850

ภายในประเทศ

24,758 24,051

149,025 43,666

2546

707

ระหวางประเทศ

2545

24,917 24,236

2544 2,078,923 1,938,948

2,248,786 2,123,198

ระหวางประเทศ

2545

681

107,539 32,436

102,751 22,837

2,208,129 2,084,524

2544

24,336 23,960

2543

24,129 23,751

91,069 32,536

2543

376

378

2542

21,945 21,598

2,111,595 2,019,510

2542

347

68,685 23,400

คน 4,000,000 3,500,000 3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

17,440 17,318

3,621

5,058

5,690

4,884

20,214

25,400 21,779

26,708

24,469

21,650

18,779

22,362 17,478

14,727

15,774

16,183 13,694

15,357 13,589

15,864 13,996

16,196 14,658

11,779 5,487

3,995

2,489

1,768

1,868

1,538

เที่ยวบิน 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

122

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ


ท่าอากาศยานหาดใหญ่

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

2545

2546

ภายในประเทศ

2548

2549

2550

10,270 10,055 215

11,748 10,753 995

10,532 9,272

9,350

1,260

1,252

2547

1,782

7,784 6,532

5,590 3,976 1,614

4,413

4,513

8,926

10,815 4,748

6,067

9,982 4,798

5,184

8,492 4,176

4,316

เที่ยวบิน 18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

11,132

จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

2545

2546

ภายในประเทศ

2547 ผูโดยสารผาน

2549

1,380,086 1,356,068

1,335,679 1,240,569

2550

22,162 1,856

134,180 1,841

2548

94,454 656

1,293,268 1,157,247

1,287,477 1,137,544 147,046 2,887

1,009,640 907,820 93,723 8,097

718,621 615,739 97,162 5,720

128,387 5,507

761,499 627,605

824,186 668,635 147,853 7,698

873,649 665,094 200,729 7,826

215,262 6,262

คน 1,800,000 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

820,151 598,627

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

2550

10,407 10,407 0

10,141 10,141 0

10,338 10,335 3

10,957 10,931 26

9,385 9,240 145

9,351 9,170 181

11,973 11,752 221

14,435 14,172 263

11,865 11,543 322

448

ตัน 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

12,653 12,205

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

049

รายงานประจำปี 2551


ท่าอากาศยานเชียงราย

2542

2543

2544

2545

ระหวางประเทศ

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

2550

6,734 6,719 15

6,232 6,210 22

5,659 5,646 13

4,927 4,913 14

4,869 4,845 24

3,710 3,695 15

8

4,852 4,844

4,800 4,798 2

5,343 5,008 0

0

เที่ยวบิน 9,000 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

4,311 3,885

จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

2542

2544

2545

ระหวางประเทศ

2546

ภายในประเทศ

2547 ผูโดยสารผาน

2549

772,286 771,947

711,662 711,468

2550

224 115

22 75

2548

31 163

696,492 696,395

677,407 676,532 431 444

554,364 552,330 1,748 0

417,345 414,966 2,118 0

209 0

6 0

2543

476,524 476,315

556,677 556,671

575,565 560,152 13,250 0

19,186 0

คน 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0

540,389 519,423

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

050 รายงานประจำปี 2551

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

2550

2,527 2,527 0

0

0

0

2,909 2,909

4,698 4,698

5,070 5,070

4,879 4,879 0

4,238 4,238 0

5,075 5,075 0

0

4,097 4,097

4,264 4,231 0

0

ตัน 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

2,920 2,913

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ


ปริมาณการจราจรทางอากาศของ ทอท.

¨Ó¹Ç¹à·ÕèÂǺԹÃÇÁ¢Í§ ·Í·. (à·ÕèÂǺԹ) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานเชียงราย

256,118 55,317 40,218 25,400 10,270 6,734 394,057

¨Ó¹Ç¹¼ÙŒâ´ÂÊÒÃÃÇÁ¢Í§ ·Í·. (¤¹) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานเชียงราย

41,180,456 5,751,662 5,943,468 3,276,309 1,380,086 772,286 58,304,267

»ÃÔÁÒ³ÊÔ¹¤ŒÒáÅоÑÊ´Øä»ÃɳÕÂÀѳ± (äÁ‹ÃÇÁÊÔ¹¤ŒÒ¼‹Ò¹) ¢Í§ ·Í·. (µÑ¹) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานเชียงราย

1,259,685 32,246 18,542 22,438 10,407 2,527 1,345,845

051

รายงานประจำปี 2551


ปัจจัย ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงของ ทอท.

ทอท.ได้เริ่มนำระบบบริหารความเสี่ยงมาดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 และตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ ทอท.เป็นผู้กำหนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงของ ทอท. วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและผลกระทบต่อ ทอท. ทั้งนี้ เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม ช่วยลดความเสียหายต่อองค์กรให้น้อยที่สุด รวมทั้งติดตามการ เปลีย่ นแปลงของความเสีย่ งใหม่ทคี่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคต จากสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นไป สำหรับในปีงบประมาณ 2551 ปัจจัยความเสี่ยงของ ทอท. มีปัจจัยที่พอสรุปได้ดังนี้

1. ความเสี่ยงจากผลกระทบด้านเสียง

การชดเชยผู้ได้รบั ผลกระทบด้านเสียงจากการประกอบกิจการท่าอากาศยาน ด้วยการซือ้ อสังหาริมทรัพย์หรือด้วยการปรับปรุง

อาคารที่ได้รับผลกระทบ เป็นเรื่องใหม่สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง มีประเด็นละเอียดอ่อนที่ต้องพิจารณาทั้งทางเทคนิค ทางการเงิน และ ทางสังคม อย่างไรก็ตาม ทอท.ได้ดำเนินการในเรื่องนี้โดยให้ความเป็นธรรมอย่างถึงที่สุดกับผู้ได้รับผลกระทบภายใต้ข้อกฎหมาย ข้อบังคับ ฯลฯ ในขณะเดียวกัน ด้วยความตระหนักว่าการดำเนินการที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิอาจถูกนำไปใช้เป็นบรรทัดฐาน

ในการดำเนินงานเกี่ยวกับการชดเชยผลกระทบด้านเสียงที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินกิจการของท่าอากาศยานอื่นๆ ของ ทอท.

มาตรการป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยงของ ทอท.จากผลกระทบด้านเสียง ประกอบด้วยการเร่งรัดการดำเนินการ ชดเชยด้ ว ยการซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ห รื อ ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง อาคารที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ การทำความเข้ าใจกั บ ชุ ม ชนโดยรอบ

ท่าอากาศยาน การปรับเปลี่ยนเส้นทางการบินขึ้น-ลงของอากาศยาน ฯลฯ ทั้งนี้ ทอท.จะขายอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อไว้ออกไป

ในโอกาสและราคาที่เหมาะสม

052 รายงานประจำปี 2551


2. ความเสีย่ งจากพระราชบัญญัตกิ ารเดินอากาศ พ.ศ.2497 ฉบับปรับปรุงแก้ไข เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติ การเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551

ปัจจุบนั อัตราค่าภาระในท่าอากาศยาน ทีต่ อ้ งได้รบั ความเห็นชอบหรือกำหนดโดยคณะกรรมการการบินพลเรือน ประกอบด้วย ค่าธรรมเนียมการขึ้น-ลงของอากาศยาน ค่าธรรมเนียมการเก็บอากาศยาน และค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.2497 ฉบับปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 มีผลทำให้ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าบริการอื่นใด (ไม่เฉพาะแต่ค่าธรรมเนียมการขึ้น-ลงของอากาศยาน

ค่าธรรมเนียมการเก็บอากาศยาน และค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน) ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการบินพลเรือน พระราชบัญญัติการเดินอากาศฯ ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อความคล่องตัวในการดำเนินงานของ ทอท. ทอท.ได้ติดตามและประสานงานอย่างใกล้ชิดกับกรมการขนส่งทางอากาศ ซึ่งทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการ การบินพลเรือน ในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ ดังกล่าว เพื่อลดผลกระทบที่อาจมีขึ้น

3. ความเสี่ยงจากการปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุท่าอากาศยานดอนเมืองและ

ท่าอากาศยานภูมิภาค

กรมธนารักษ์เรียกเก็บค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุจาก ทอท.สำหรับท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิในอัตราร้อยละ 5 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สำหรับท่าอากาศยานภูมิภาคในอัตรา ร้อยละ 2 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ ให้ ทอท.ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุที่อยู่ในความปกครองดูแลของกองทัพอากาศ และกรมการบินพาณิชย์ พ.ศ. 2545 กำหนดให้ ปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูมิภาค ตามผลการศึกษาของที่ปรึกษาที่จะ จัดหาโดยกรมธนารักษ์ ภายหลังจากมีการเปิดใช้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเจรจาต่อรองกับกรมธนารักษ์ เพื่อกำหนดอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุดังกล่าว ให้มี ความเหมาะสมและเป็นธรรมต่อ ทอท. ต่อการประกอบธุรกิจ สถานะการเงินและผลประกอบการของ ทอท.

4. ความเสี่ยงด้านรายได้และโครงสร้างของรายได้

รายได้ของ ทอท.มากกว่าครึ่งหนึ่งมาจากค่าธรรมเนียมสนามบิน และค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ซึ่งเป็นรายได้ที่พึ่งพิง

การเติบโตของธุรกิจการบินและการท่องเที่ยวเป็นหลัก หากเกิดเหตุการณ์ที่มีผลกระทบกับการท่องเที่ยว จะส่งผลอย่างมากต่อ

ผลประกอบการท่าอากาศยาน นอกจากนีส้ ภาวะการแข่งขันทำให้การเพิม่ รายได้ในเวลาต่อไปด้วยการปรับอัตราค่าภาระเป็นไปได้ยาก ทอท.มีแนวทางลดผลกระทบจากการพึ่งพิงรายได้ที่เกี่ยวข้องกับการบิน ด้วยการเพิ่มรายได้จากกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวกับการบิน ด้วยการพัฒนาที่ดินที่มีอยู่ให้เกิดรายได้ เช่น ที่ดินประมาณ 1,000 ไร่ ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่สำรองไว้สำหรับกิจกรรม

เชิงพาณิชย์ รวมทั้งการเพิ่มบริการใหม่ๆ ในท่าอากาศยาน

053

รายงานประจำปี 2551


5. ความเสี่ยงจากผลกระทบต่อเนื่องจากราคาน้ำมัน

ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมีผลกระทบอย่างมากต่อกิจการสายการบิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

สายการบินแบบประหยัด (Low Cost Carrier) ในขณะเดียวกันราคาน้ำมันทั่วไปที่เพิ่มสูงขึ้นมีผลกระทบต่อธุรกิจโดยรวม ซึ่งมี

ผลต่อเนื่องไปถึงปริมาณการเดินทางของผู้โดยสารที่อาจลดลง

6. ความเสี่ยงในการใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองควบคู่ไปกับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ปัจจุบนั ท่าอากาศยานดอนเมืองให้บริการแก่สายการบินแบบประหยัด (Low Cost Carrier) ทำการบินส่งผู้โดยสารในประเทศ เฉพาะจุดต่อจุด (point-to-point) อย่างไรก็ตาม ด้วยปริมาณการจราจรทางอากาศทั้งต่างประเทศและในประเทศที่เพิ่มขึ้น

อย่างรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองให้บริการแก่สายการบินเพิ่มมากขึ้นในระยะยาว ซึ่งเป็นการใช้ ประโยชน์จากทรัพย์สินที่มีอยู่แล้ว การให้บริการท่าอากาศยานดอนเมืองควบคู่ ไปกับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หากไม่ดำเนินการพัฒนาและบริหารจัดการ

ในลักษณะที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน อาจส่งผลถึงความสามารถในการเป็นศูนย์กลางการบินชั้นนำในภูมิภาค ทอท.จึงว่าจ้าง องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) มาทำการศึกษาการใช้ประโยชน์จาก

ท่าอากาศยานทั้งสองในลักษณะ Bangkok Airport System โดยคำนึงถึงการพัฒนาและบริหารจัดการที่ประสานประโยชน์

ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยรวม ได้แก่ ผลประโยชน์ของชาติในการรักษาสถานะความเป็นศูนย์กลางการบินชั้นนำในภูมิภาค ความสะดวกสบายของผู้ โดยสาร ทั้งในการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในท่าอากาศยานและในการเดินทางทั้งภายใน ประเทศและการเชื่อมต่อไปยังจุดหมายปลายทางในทุกภูมิภาคของโลก ผลประโยชน์ของสายการบิน ตลอดจนผลประโยชน์ ของ ทอท.และผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ ผลการศึกษามีกำหนดแล้วเสร็จประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2552

7. ความเสี่ยงจากข้อพิพาทกับกรุงเทพมหานครในการคำนวณภาษีโรงเรือนและที่ดิน

กรุงเทพมหานครประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดินโดยนำผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ประกอบการมารวมเป็นฐานในการกำหนด ค่ารายปี เพื่อคำนวณภาษีโรงเรือนและที่ดิน ซึ่ง ทอท.ไม่เห็นด้วย จึงได้ยื่นหนังสืออุทธรณ์กบั สำนักงานอัยการสูงสุดทุกปี ตัง้ แต่

ปี 2538 เป็นต้นมา สำนักงานอัยการสูงสุดได้มีหนังสือแจ้งผลการชี้ขาดของคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของ

ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับการประเมินค่าภาษีตั้งแต่ปี 2538-2547 โดยหากกรุงเทพมหานครยอมรับผล

การชี้ขาดจะทำให้ ทอท.ได้รับค่าภาษีคืนจากกรุงเทพมหานครประมาณ 570 ล้านบาท

054

รายงานประจำปี 2551


กรุงเทพมหานครไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินภาษีตามทีค่ ณะกรรมการชีข้ าดฯ กำหนด และเมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2549 กรมธนารักษ์ ในฐานะเจ้าของที่ดินได้มีหนังสือถึง ทอท.แจ้งว่าได้มีหนังสือถึงสำนักงานอัยการสูงสุดเพื่อนำเรียนคณะรัฐมนตรี สั่งการให้กรุงเทพมหานครปฏิบัติตามต่อไป เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 กรุงเทพมหานครมีหนังสือขอให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาทบทวนความเห็น กรณีดังกล่าว ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาข้อเท็จจริงปรากฏว่า สำนักงานอัยการสูงสุดได้ส่งคำตัดสินชี้ขาดของ

คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ พร้อมทั้งมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางในการดำเนินคดีอาญา คดีแพ่ง และคดีปกครอง กรณี จึงเป็นที่ยุติแล้ว ดังนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม่อาจรับข้อหารือไว้พิจารณาได้ อย่างไรก็ดีหากกรุงเทพมหานครไม่ยอมรับ

ในผลการชี้ขาด ทอท.สามารถนำเรื่องสู่การพิจารณาของศาลได้

055 รายงานประจำปี 2551



โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ และการจัดการ


โครงสร้างการถือหุ้น ทอท. มีทุนจดทะเบียน 14,285,700,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ชำระ เต็มมูลค่าแล้ว รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ 27/02/2551 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) (AOT) จำนวนหุ้น ร้อยละของจำนวน หุ้นทั้งหมด

ลำดับ ชื่อ/สกุล 1 2 3 4 5 6 7 8 9

กระทรวงการคลัง CHASE NOMINEES LIMITED 1 NORTRUST NOMINEES LTD. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA, STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD. GOLDMAN SACHS INTERNATIONAL บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด DEUTSCHE BANK AG, LONDON PRIME BROKERAGE THE BANK OF NY NOMINEES LTD SUB A/C MACQUARIE GBL INFRASTRUCTURE FD

10

1,000,000,000 65,534,500 60,272,590 37,015,076 33,062,686 32,976,615 18,557,800 13,497,677 10,706,100

70.000 4.587 4.219 2.591 2.314 2.308 1.299 0.945 0.749

9,525,612

0.667

1,281,148,656

89.679

ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว รวม

058 รายงานประจำปี 2551

จำนวนผู้ถือหุ้น 10,717 101 10,818

ร้อยละ

จำนวนหุ้น

ร้อยละ

99.07 1,085,691,544 0.93 342,878,456 100.00 1,428,570,000

76.00 24.00 100.00


คณะกรรมการ ทอท. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 14 คน ดังนี้

1. นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ (อายุ 60 ปี) ประธานกรรมการ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ University of Arkansas, U.S.A. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ Stephen F. Austin State University, U.S.A. ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 38 • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 49/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร The Role of Chairman Program รุ่นที่ 3/2001 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2547 - 2550 กรรมการ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - 2549 กรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2545 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการสำนักงบประมาณ พ.ศ.2544 - 2545 รองผูอ้ ำนวยการสำนักงบประมาณ (นักบริหาร 10) พ.ศ.2542 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและ ผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง • เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนา

2. นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ (อายุ 59 ปี) กรรมการ ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงคมนาคม วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารจัดการ ภาครัฐ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ (การจัดการงานก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ

และเอกชน รุ่นที่ 15 • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม พ.ศ.2549 - 2550 ประธานกรรมการ บริษัท ขนส่ง จำกัด พ.ศ.2545 - 2549 อธิบดี (นักบริหาร 10) กรมทาง

หลวงชนบท กระทรวงคมนาคม พ.ศ.2544 - 2545 รองอธิบดี (นักบริหาร 9) กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการคมนาคม • เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนา • เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม

059 รายงานประจำปี 2551


3. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (อายุ 61 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง ข้าราชการบำนาญ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (Ex-MBA) รุ่นที่ 7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 39 • วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 26 • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 107/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - 2550 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด พ.ศ.2545 - 2548 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.2543 - 2544 ผู้บัญชาการกองบัญชาการยุทธ ทางอากาศ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการบิน • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ

060 รายงานประจำปี 2551

4. นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (อายุ 58 ปี) กรรมการ ตำแหน่ง อธิบดีกรมการขนส่งทางอากาศ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาการจัดการ ภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่น 4414) • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 51/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร The Role of Chairman Program

รุ่นที่ 13/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั วิทยุการบิน แห่งประเทศไทย จำกัด พ.ศ.2547 - ปัจจุบนั อธิบดีกรมการขนส่งทางอากาศ พ.ศ.2546 - 2547 รองอธิบดี (ฝ่ายเศรษฐกิจ)

กรมการขนส่งทางอากาศ พ.ศ.2545 - 2546 รองอธิบดี (ฝ่ายวิชาการ)

กรมการบินพาณิชย์ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการขนส่งทางอากาศและกฎหมาย เกี่ยวกับการเดินอากาศ • เชี่ยวชาญด้านการบริหารกิจการท่าอากาศยาน


6. นายวินัย วิทวัสการเวช (อายุ 58 ปี) 5. นายอุทิศ ธรรมวาทิน (อายุ 58 ปี) กรรมการ กรรมการ ตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงการคลัง วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) • ปริญญาโท นิติศาสตร์ University of California, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Berkeley, U.S.A. • ปริญญาตรี บัญชี (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย เนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (เกียรตินิยมดี) ประวัติการอบรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 47) • หลักสูตร Director Certification Program ประวัติการอบรม รุ่นที่ 77/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

บริษัทไทย (IOD) (วปรอ. 399) • หลักสูตร Director Certification Program รุน่ ที่ 3/2000 ประสบการณ์ทำงาน สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โรงแรมเอราวัณ ประสบการณ์ทำงาน จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท จัดการ พ.ศ.2548 - 2551 ที่ปรึกษาด้านพัฒนาฐานภาษี และพัฒนาทรัพยากรน้ำ

กรมสรรพากร ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2546 - 2548 รองอธิบดีกรมสรรพากร พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้า กลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง • เชี่ยวชาญด้านภาษีอากร พ.ศ.2547 - 2549 อธิบดีกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง พ.ศ.2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย์ สุขุมวิท จำกัด พ.ศ.2545 - 2549 รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้า กลุ่มภารกิจด้านรายได้ สำนักงาน ปลัดกระทรวงการคลัง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย • เชี่ยวชาญด้านการเงิน การคลัง

061

รายงานประจำปี 2551


7. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (อายุ 57 ปี) 8. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (อายุ 62 ปี) กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ตำแหน่ง ปลัดกรุงเทพมหานคร ตำแหน่ง ทีป่ รึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา • ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ สาขาทฤษฎีการเมือง • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต และการปกครองไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พัฒนบริหารศาสตร์ กฎหมายการปกครอง นโยบายสาธารณะ ประวัติการอบรม และรัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 34 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • วิทยาลัยวิชาการตำรวจ เอฟ.บี.ไอ (U.S.A.) • ปริญญาโท การปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program

• ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ ประวัติการอบรม บริษัทไทย (IOD) • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.4212) • หลักสูตร Director Certification Program

• หลักสูตร Audit Committee Program รุน่ ที่ 22/2008 รุ่นที่ 107/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน ปลัดกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง พ.ศ.2545 - 2549 รองปลัดกรุงเทพมหานคร ยุติธรรม พ.ศ.2543 - 2545 ผู้อำนวยการ สำนักนโยบายและ พ.ศ.2550 - 2551 รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แผนกรุงเทพมหานคร (งานความมั่นคง) สำนักงานตำรวจ พ.ศ.2541 - 2543 หัวหน้าคณะผู้ตรวจราชการ แห่งชาติ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2547 - 2549 อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. พ.ศ.2544 - 2547 รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ • เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง

062 รายงานประจำปี 2551


9. พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (อายุ 59 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม วุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 48 • หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ 30 • หลักสูตรการฝึกอบรมอุปกรณ์การฝึกเรดาร์ ประเทศอังกฤษ ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการ ประจำ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2549 - 2550 เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ พ.ศ.2548 - 2549 ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการ อากาศโยธิน กองบัญชาการยุทธ ทางอากาศ พ.ศ.2545 - 2548 ผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการบิน • เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ

10. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (อายุ 52 ปี) กรรมการ ตำแหน่ง รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ Williams College, U.S.A. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 46 • นักบริหารระดับสูง ก.พ. รุ่นที่ 35 • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 51/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program

รุ่นที่ 97/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program

รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2548 - 2549 กรรมการ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา

การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2546 - 2547 ทีป่ รึกษาด้านนโยบายและแผนงาน ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง • เชี่ยวชาญด้านคมนาคมและการสื่อสาร • เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนา

063

รายงานประจำปี 2551


11. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ (อายุ 58 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง รองอัยการสูงสุด วุฒิการศึกษา • ปริญญาโททางกฎหมายเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา • เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (เกียรตินิยม)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.388) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 35/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 17/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

064

รายงานประจำปี 2551

ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน รองอัยการสูงสุด พ.ศ.2548 ผู้ตรวจราชการอัยการ สำนักงาน อัยการสูงสุด พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุร ี โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - 2548 อธิบดีอัยการฝ่ายที่ปรึกษากฎหมาย สำนักงานที่ปรึกษากฎหมาย สำนักงานอัยการสูงสุด พ.ศ.2541 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและ ผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย • เชี่ยวชาญด้านคมนาคมและการสื่อสาร • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ


12. นายถาวร พานิชพันธ์ (อายุ 58 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง รองอัยการสูงสุด วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแห่ง เนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (เกียรตินิยม)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.4313) • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 108/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน รองอัยการสูงสุด พ.ศ.2549 - 2551 กรรมการ บริษทั ไปรษณีย์ไทย จำกัด พ.ศ.2548 - 2549 อธิบดีอัยการ ฝ่ายปรึกษา สำนักงานอัยการสูงสุด พ.ศ.2546 - 2548 อธิบดีอัยการ ฝ่ายคดียาเสพติด สำนักงานอัยการสูงสุด ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ

13. เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ (อายุ 63 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง ประธานบริหารทับอุสารีสอร์ทสวนเกษตรชีวภาพ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐศาสตร์ (บริหารรัฐกิจ)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (ทอ.) โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 59/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - 2549 กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - 2548 กรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน แห่งประเทศไทย พ.ศ.2542 - 2544 รองผู้ว่าการ (ฝ่ายบริหาร)

การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านบริหารกิจการท่าอากาศยาน

065 รายงานประจำปี 2551


14. นายอภิชาติ สายะสิต (อายุ 42 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ ออดิท แอนด์ แอ็ดไวเซอร์รี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี ด้านการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 72/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 108/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

066

รายงานประจำปี 2551

ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท เบเคอร์ ทิลลี่ ออดิท แอนด์ แอ็ดไวเซอร์รี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ.2549 - 2550 กรรมการบริหาร บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด พ.ศ.2547 - 2548 กรรมการรองผู้อำนวยการ บริษัท โฮร์เวิธ (ประเทศไทย) จำกัด ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านบัญชี การเงิน • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ


คณะผู้บริหาร ทอท. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

1. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ (อายุ 57 ปี) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ วุฒิการศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง • การพัฒนา Good Governance ในองค์กร • หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport • การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน • การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า

2. นางกัลยา ผกากรอง (อายุ 58 ปี) ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) วุฒิการศึกษา • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร นักลงทุนสัมพันธ์ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program • หลักสูตร Competitiveness : Challenges and Opportunities for Asian Countries • หลักสูตร การปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ธุรกรรม อนุพันธ์และตลาดตราสารเงินทุน • หลักสูตร Director Accreditation Program รุน่ ที่ 64/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการท่าอากาศยาน ประสบการณ์ทำงาน สุวรรณภูมิ รักษาการกรรมการ

พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) พ.ศ.2550 - 2551 ผู้อำนวยการท่าอากาศยาน และรักษาการ กรรมการ

สุวรรณภูมิ ผู้อำนวยการใหญ่ ระหว่าง

พ.ศ.2548 - 2550 รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน วันที่ 2 กุมภาพันธ์ - 7 ตุลาคม 2551 ภูมิภาค (สายปฏิบัติการ) พ.ศ.2545 - 2549 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ พ.ศ.2545 - 2548 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) (สายงานกิจการพิเศษ) พ.ศ.2544 - 2545 ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การฝ่ายแผนงานและการเงิน พ.ศ.2539 - 2544 ผู้อำนวยการฝ่ายแผนงาน

067

รายงานประจำปี 2551


3. นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ (อายุ 55 ปี) ประสบการณ์ทำงาน ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ) (สายงานอำนวยการ) วุฒิการศึกษา พ.ศ.2548 - 2549 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต การจัดการภาครัฐ (กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร)

และภาคเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และรักษาการรองผู้อำนวยการ

• รัฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) ประวัติการอบรม พ.ศ.2545 - 2548 ผูเ้ ชีย่ วชาญ 11 ทอท. และรักษาการ • หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน • หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสำหรับ สุวรรณภูมิ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) นักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า พ.ศ.2545 - 2548 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (สายงานอำนวยการ) • การพัฒนา Good Governance ในองค์กร

068 รายงานประจำปี 2551


4. นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน (อายุ 57 ปี) 5. นายสุรจิต สุรพลชัย (อายุ 60 ปี) ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา • ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • รัฐศาสตร์บัณฑิต (บริหารงานบุคคล)

• หลักสูตร การพัฒนาความรู้การบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกฎหมายธุรกิจ ประวัติการอบรม • หลักสูตร The Zuyder Zee Project • หลักสูตร แผนวิสาหกิจสำหรับนักบริหาร ทอท. • หลักสูตร Aerial Photography ระดับสูง • หลักสูตร Design and Coust. on Soft Clay • สัมมนา Leadership/Team Development ประสบการณ์ทำงาน • อบรม Maintenance and Troubleshooting of พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ Airfield Lighting System ประเทศเบลเยี่ยม (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำงาน สารสนเทศ) พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ พ.ศ.2550 - 2551 ผู้เชี่ยวชาญ 11 (สายงานพัฒนาธุรกิจ) พ.ศ.2547 - 2550 รองผู้จัดการใหญ่ พ.ศ.2547 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายบริหารโครงการและก่อสร้าง) (สายงานอำนวยการ) บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ พ.ศ.2541 - 2547 ผู้อำนวยการฝ่ายธุรการ แห่งใหม่ จำกัด

069 รายงานประจำปี 2551


6. เรืออากาศเอก วิวัฒน์ สมานรักษ์ (อายุ 60 ปี) ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) วุฒิการศึกษา • วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร • หลักสูตร Media Training Program • หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport • หลักสูตร การพัฒนาความรู้การบริหารธุรกิจ และกฎหมายธุรกิจ ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) พ.ศ.2547 - 2550 รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน ดอนเมือง (สายอำนวยการ) พ.ศ.2544 - 2547 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายไฟฟ้าและเครือ่ งกล พ.ศ.2540 - 2544 ผู้อำนวยการท่าอากาศยานเชียงใหม่

070

รายงานประจำปี 2551

7. นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี (อายุ 55 ปี) ตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) วุฒิการศึกษา • บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร การบริหารการเงินและงบประมาณ • หลักสูตร Mini MBA รุ่นที่ 1 • หลักสูตร Airport Management Commercial ประเทศสิงคโปร์ • หลักสูตร Strategic Airport Development ประเทศเยอรมัน ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) พ.ศ.2548 - 2549 ผู้เชี่ยวชาญ 10 พ.ศ.2537 - 2548 ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน


การจัดการ

โครงสร้างกรรมการ

โครงสร้างกรรมการ ทอท.ประกอบด้วย คณะกรรมการ ทอท.จำนวน 15 คน ซึ่งเป็นจำนวนที่เหมาะสมกับขนาดกิจการ

และคณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง เพื่ อ ช่ ว ยกลั่ น กรองงานที่ ส ำคั ญ ตามข้ อ บั ง คั บ ทอท. ได้ แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาล และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยมี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัท

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ ทอท. ในปีงบประมาณ 2551 มีจำนวนกรรมการทัง้ หมด 15 คน โดยมีประธานกรรมการทีเ่ ป็นกรรมการอิสระ และมีกรรมการอิสระ 9 คน ซึ่งมีจำนวนมากกว่าที่ข้อบังคับ ทอท.กำหนดไว้ให้มีไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการเป็นผู้มีความรู้ หลากหลายอาชีพเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจของ ทอท. และอย่างน้อย 1 คน มีความรู้ความสามารถในด้านการบัญชี

และการเงิน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง วันที่ ได้รับตำแหน่ง 1

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์

2

นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์

3

พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

4

นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ

5

นายอุทิศ ธรรมวาทิน

ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) 14 มีนาคม 2551 14 มีนาคม 2551

กรรมการ (แทน พลเอก สพรั่ง กัลยาณมิตร) 14 มีนาคม 2551

กรรมการอิสระ (แทน พลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์) 14 มีนาคม 2551

กรรมการ (แทน นายไมตรี ศรีนราวัฒน์) 14 มีนาคม 2551

กรรมการ (แทน นางดนุชา ยินดีพิธ)

6

นายวินัย วิทวัสการเวช

กรรมการ

7

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

กรรมการอิสระ

8

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์

กรรมการอิสระ

9

พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี

กรรมการอิสระ

14 มีนาคม 2551 14 มีนาคม 2551

(แทน นายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง) 14 มีนาคม 2551

(แทน นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม) 14 มีนาคม 2551

(แทน พลอากาศเอก ณรงค์ศกั ดิ์ สังขพงศ์)

071

รายงานประจำปี 2551


ลำดับ

รายชื่อกรรมการ

ตำแหน่ง

10 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

กรรมการ

11 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

กรรมการอิสระ

12 นายถาวร พานิชพันธ์

กรรมการอิสระ

13 เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์

กรรมการอิสระ

14 นายอภิชาติ สายะสิต

กรรมการอิสระ กรรมการและเลขานุการ (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่)

15 พลอากาศโท ชนะ อยู่สถาพร

วันที่ ได้รับตำแหน่ง 14 มีนาคม 2551 14 มีนาคม 2551

(แทน นายคัมภีร์ แก้วเจริญ) 25 มกราคม 2551 14 มีนาคม 2551

(แทน นายยอดเยี่ยม เทพธรานนท์) 14 มีนาคม 2551

(แทน นายนนทพล นิ่มสมบุญ) รับตำแหน่งเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2550 และลาออกเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2551

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 1 - 11 ได้รับการแต่งตั้งจากมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2551 - กรรมการในลำดับที่ 11 ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2551 - กรรมการในลำดับที่ 12 ได้รับการแต่งตั้งจากมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 - กรรมการในลำดับที่ 14 ดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจสอบ เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน

การเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ ทอท.ได้จัดเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และบรรยาย สรุปลักษณะธุรกิจของ ทอท.ให้แก่กรรมการชุดใหม่ด้วย คณะกรรมการ ทอท.ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระและมีการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ระหว่างประธาน กรรมการและกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ออกจากกันอย่างชัดเจน ดังนี้

1. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ทอท.

ดำเนินกิจการของ ทอท.ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริต

มีจริยรรมและจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ รวมทัง้ จะต้องระมัดระวังและรักษาผลประโยชน์ของ ทอท. และผูถ้ อื หุน้ อย่างดีทสี่ ดุ

2. อำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

บริหารกิจการ ทอท.ตามที่คณะกรรมการ ทอท.มอบหมาย และต้องบริหาร ทอท.ตามแผนงานหรืองบประมาณที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการ ทอท.อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของ ทอท.และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด อำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ตามข้อบังคับ ทอท.ให้รวมถึงเรื่องหรือกิจการต่างๆ ดังต่อไปนี้ด้วย

072

รายงานประจำปี 2551


(1) ดำเนินกิจการและ/หรือบริหารงานประจำวันของ ทอท. (2) บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจน

ให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตำแหน่งตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการ ทอท.กำหนด แต่ถา้ เป็นพนักงานระดับฝ่ายหรือเทียบเท่าขึน้ ไป จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ทอท.ก่อน (3) ดำเนินการให้มีการจัดทำและส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของ ทอท. รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อขออนุมัติและมีหน้าที่รายงานความก้าวหน้าตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ทอท. ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ ทอท.เห็นสมควร

3. คณะกรรมการ ทอท.จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยตามข้อบังคับ ทอท.เพื่อช่วยดำเนินงาน ดังนี้

3.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนมีความรูด้ า้ นบัญชีและการเงิน มีการประชุม 10 ครัง้

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) นายถาวร พานิชพันธ์ (2) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (3) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (4) นายอภิชาติ สายะสิต

ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

หมายเหตุ - กรรมการลำดับที่ 3 เป็นกรรมการที่ ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ ทอท. ต่ออีกวาระหนึ่ง และเคยดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการตรวจสอบชุดที่ผ่านมา ดังนั้น จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบในคณะกรรมการชุดปัจจุบันเพื่อให้งานมีความต่อเนื่อง - กรรมการตรวจสอบในลำดับที่ 4 เป็นผูท้ มี่ คี วามรูด้ า้ นบัญชีและการเงิน โดยมีประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริษัท อาทิเช่น บริษัท ยูนคิ เรียลเอสเตท แอนด์ ดีเวลล็อปเม้นท์ จำกัด, บริษัท ยูไนเต็คฟลาวมิลล์ จำกัด (มหาชน), บริษัทไทยเศรษฐกิจ ประกันภัย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

073

รายงานประจำปี 2551


หน้าที่และความรับผิดชอบ

(1) สอบทานให้ ทอท.มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ (2) สอบทานให้ ทอท.มีระบบการควบคุมภายใน มีการบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและ

มีประสิทธิภาพ (3) สอบทานให้ ทอท.ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ ไข

ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ ทอท. (4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของ ทอท.ในกรณีที่เห็นว่าจำเป็นต้องมี

ผู้สอบบัญชี นอกเหนือจากการสอบบัญชีของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (5) พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของ ทอท.ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง

ทางผลประโยชน์ ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน (6) จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของ ทอท. ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ (7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ทอท.มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยให้ จัดทำเป็นกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3.2 คณะกรรมการสรรหา ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 3 ครั้ง

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (2) นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (3) นายอุทิศ ธรรมวาทิน (4) เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์

074

รายงานประจำปี 2551

ประธานกรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)


หน้าที่และความรับผิดชอบ

พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการใหม่ เพื่อนำเสนอคณะกรรมการ ทอท. และผู้ถือหุ้น โดยให้มีการกำหนดวิธีการสรรหากรรมการอย่างมีหลักเกณฑ์และโปร่งใส ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และตามประกาศ กระทรวงการคลัง

3.3 คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 2 ครั้ง

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) นายอุทิศ ธรรมวาทิน (2) พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (3) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (4) นายถาวร พานิชพันธ์

ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ)

หน้าที่และความรับผิดชอบ

(1) พิจารณาแนวทางการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ทอท. และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ที่จะสรรหา เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ (2) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำหนดค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ให้แก่กรรมการ ทอท. และกรรมการ

ผูอ้ ำนวยการใหญ่ ทีเ่ ป็นธรรมและสมเหตุสมผล และนำเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้

พิจารณาอนุมัติ (3) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่บุคคลภายนอกที่ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ทำงาน และนำเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อพิจารณาอนุมัติ

075

รายงานประจำปี 2551


3.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 6 ครั้ง

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (2) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (3) พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (4) นายถาวร พานิชพันธ์ หน้าที่และความรับผิดชอบ

ประธานกรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(1) กำหนดนโยบายและทิศทางการกำกับดูแลกิจการของ ทอท. และมอบหมายให้สว่ นงาน ทอท.นำไปปฏิบตั ใิ ห้เป็น รูปธรรม (2) ปรั บ ปรุ ง จรรยาบรรณ ทอท.ให้ มี เ นื้ อ หาที่ ค รอบคลุ ม หลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์

แห่งประเทศไทย (3) กำกับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี (4) เสนอแนวทางปฏิบัติการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัท

076

รายงานประจำปี 2551


3.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน มีการประชุม 1 ครั้ง ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ (2) นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (3) นายวินัย วิทวัสการเวช (4) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

หน้าที่และความรับผิดชอบ

(1) กำหนดนโยบายและกรอบการดำเนินงานการบริหารความเสี่ยงของ ทอท. (2) กำกับดูแล สนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงประสบความสำเร็จในระดับองค์กร (3) เสนอแนะวิธีป้องกันและวิธีลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (4) ติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนการดำเนินงานเพือ่ ลดความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ งและเหมาะสมกับสภาวะการ ดำเนินธุรกิจ

077

รายงานประจำปี 2551


4. หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระและกระบวนการสรรหา

4.1 หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ ทอท.กำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ทอท.ให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 และได้กำหนด คุณสมบัติกรรมการอิสระของ ทอท.ที่มีหลักเกณฑ์เข้มงวดกว่าหลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดใน ทอท. บริษัทในเครือบริษัทร่วมทุนหรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง (2) ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมในการบริหารงาน รวมทัง้ ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ได้รบั เงินเดือนประจำ รวมถึง

ที่ปรึกษาตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาด้านอื่นๆ หรือไม่เป็นผู้มีอำนาจควบคุม ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือไม่เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง โดยต้องไม่มผี ลประโยชน์หรือส่วนได้เสียในลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี (3) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ เช่น เป็นลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้/ลูกหนี้การค้า หรือเจ้าหนี้/ลูกหนี้เงินกู้ เป็นต้น รวมทั้งไม่มี

ผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงินและการบริหารงานของ ทอท. บริษัทในเครือ บริษัท ร่วมทุน หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่จะทำให้ขาดความเป็นอิสระ (4) ไม่เป็นญาติสนิทหรือมีความสัมพันธ์อนื่ ทีอ่ าจทำให้ขาดความอิสระกับผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุนหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รวมทั้งไม่ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการ

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 4.2 กระบวนการสรรหากรรมการอิสระ การสรรหากรรมการ ทอท.จะสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระมาทดแทนเป็นอันดับแรก เพื่อให้ โครงสร้างคณะกรรมการ ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี ที่จะช่วยให้การทำงานของคณะกรรมการเป็นไปด้วย

ความราบรื่น สามารถควบคุมการจัดการได้อย่างมีประสิทธิผล รวมทั้งช่วยถ่วงดุลในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น

และผู้มีส่วนได้เสีย แต่อย่างน้อย ทอท.จะรักษาจำนวนกรรมการอิสระไม่น้อยกว่าสามคน ให้ครบถ้วนตามองค์ประกอบของ

คณะกรรมการบริษัทตามที่กำหนดในข้อบังคับ ทอท.เสมอ และจะตรวจสอบคุณสมบัติกรรมการในระหว่างปี หากกรรมการคนอื่น

ที่มีคุณสมบัติกรรมการอิสระตามที่กำหนด กรรมการนั้นๆ ก็จะมีฐานะเป็นกรรมการอิสระทันที 4.3 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการ ทอท. จัดให้มีการประเมินตนเองเพื่อให้คณะกรรมการได้พิจารณาผลงาน ปัญหาที่ผ่านมา แล้วนำผลการ ประเมินมาวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และนำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงและพัฒนาต่อไป

078

รายงานประจำปี 2551


4.4 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการ ทอท.ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้มีการพัฒนากรรมการ โดยจัดให้กรรมการตรวจสอบ และผู้บริหาร ระดับสูงที่ยังไม่เคยผ่านการอบรมหลักสูตรสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน หลักสูตรสำหรับกรรมการตรวจสอบของสมาคม

ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รวมทั้งสนับสนุนให้เลขานุการบริษัท เข้ารับการอบรมหลักสูตรสำหรับเลขานุการบริษัท

เพื่อรับทราบบทบาทหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้ ทอท.ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายจากบริษัท เบเคอร์ แอนด์ แมคเคนซี่ จำกัด บรรยายสรุปเกีย่ วกับพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 ซึง่ เป็นกฎหมายใหม่ ทีก่ ำหนดบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ ผูบ้ ริหารของบริษัทจดทะเบียน ให้คณะกรรมการ ทอท. และผูบ้ ริหารระดับสูง ของ ทอท.ทราบ 4.5 เลขานุการบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 89/15 กำหนดให้คณะกรรมการ ต้องจัดให้มี เลขานุการบริษัทรับผิดชอบดำเนินการในนามบริษัทหรือคณะกรรมการ และในปีงบประมาณ 2551 ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2550 จนถึง 7 สิงหาคม 2551 คณะกรรมการ ทอท.ได้มกี ารแต่งตัง้ นางสาวสุวรรณี สำโรงวัฒนา ทำหน้าที่ในตำแหน่งเลขานุการบริษัท และตัง้ แต่ 8 สิงหาคม 2551 จนถึงปัจจุบนั คณะกรรมการ ทอท.ได้แต่งตัง้ ให้ เรืออากาศโทหญิง เพิรล์ รักสำหรวจ ดำรงตำแหน่ง เลขานุการบริษั ทแทน นางสาวสุวรรณี สำโรงวัฒนา ที่ย้ายไปดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

(สายอำนวยการ)

5. จำนวนหุ้น ทอท.ของคณะกรรมการ ทอท. รวมทั้งจำนวนครั้งและเวลาในการเข้าร่วมการประชุม

คณะกรรมการ ปี 2551

ทอท.กำหนดแผนการประชุมคณะกรรมการ ทอท.ทุกวันพฤหัสบดีที่สามของเดือน ประชุมเดือนละครั้ง ยกเว้นถ้ามีวาระ

เร่งด่วน ในการประชุมแต่ละครั้ง ทอท.จะส่งเอกสารประกอบการประชุม เพื่อให้คณะกรรมการได้ศึกษาล่วงหน้าก่อนการประชุม และทุ ก ครั้ ง จะมี การบั น ทึ ก รายงานการประชุ ม เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรและจั ด เก็ บ รายงานการประชุ ม ที่ ผ่ า นการรั บ รองจาก

คณะกรรมการไว้เป็นหลักฐาน ทั้งนี้รายละเอียดจำนวนถือหุ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และสัดส่วนจำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละคนเข้าประชุมต่อจำนวน ครั้งการประชุมของคณะกรรมการ ดังนี้

079

รายงานประจำปี 2551


(ครั้ง)

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

รายชื่อกรรมการบริษัท นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ นายอุทิศ ธรรมวาทิน นายวินัย วิทวัสการเวช นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นายถาวร พานิชพันธ์ เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ นายอภิชาติ สายะสิต พลอากาศโท ชนะ อยู่สถาพร

ตำแหน่ง ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการและเลขานุการ (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่)

จำนวนถือหุ้น การเข้าร่วมประชุม

ณ 30 ก.ย. 51 กรรมการ ทอท. รวม 14 ครัง้ (หุ้น) ไม่มี 14/14 ไม่มี 8/14 ไม่มี 13/14 ไม่มี 10/14 ไม่มี 9/14 ไม่มี 11/14 ไม่มี 8/14 ไม่มี 9/14 ไม่มี 13/14 ไม่มี 12/14 ไม่มี 12/14 ไม่มี 11/14 ไม่มี 14/14 ไม่มี 10/14 ไม่มี 9/9

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 11 ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 - กรรมการในลำดับที่ 15 ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการและเลขานุการ และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม 2551

080 รายงานประจำปี 2551


6. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ทอท.มีนโยบายการกำหนดค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการเฉพาะเรื่อง โดยมีคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

ทำหน้าที่พิจารณาทบทวน โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันและได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้น ในคราวประชุมสามัญประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 ที่มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการเฉพาะเรื่อง

ในปีงบประมาณ 2551 ดังนี้ 6.1 ค่าตอบแทนกรรมการ (1) ค่าตอบแทนรายเดือนคนละ 20,000 บาท หากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้คำนวณตามสัดส่วนของเดือน (2) ค่าเบี้ยประชุมครั้งละ 15,000 บาทต่อครั้งที่เข้าประชุม หากเดือนใดมีการประชุมเกิน 1 ครั้ง คงให้ได้รับเบี้ยประชุม เพียงครั้งเดียว (3) กรรมการตรวจสอบ ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 20,000 บาท โดยเดือนใดไม่มีการประชุม คงให้ ได้รับ

ค่าตอบแทนด้วย และหากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้คำนวณตามสัดส่วนของเดือน (4) กรรมการ ทอท.ที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง โดยคณะกรรมการ ทอท.ให้ เ ป็ น กรรมการ อนุ ก รรมการหรื อ ผู้ ท ำงานใน

คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานชุดย่อยอื่นๆให้ได้รับเบี้ยประชุมคนละ 10,000 บาทต่อครั้งที่เข้าประชุม และ ให้ได้รับค่าตอบแทนรวมทั้งสิ้นไม่เกินคนละ 20,000 บาทต่อเดือน ทั้งนี้ไม่รวมค่าตอบแทนของกรรมการตรวจสอบ (5) ประธานและรองประธานให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มอีกร้อยละ 25 และ 12.5 ตามลำดับ (6) กำหนดค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมของกรรมการ ทอท.ประจำปีงบประมาณ 2551 ไม่เกิน 15,000,000 บาท ทั้ ง นี้ ก ารรายงานจะเป็ น รายงานเฉพาะค่ า ตอบแทนกรรมการ และกรรมการเฉพาะเรื่ อ งตามข้ อ บั ง คั บ ทอท. คื อ

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิ บ าล และ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

081

รายงานประจำปี 2551


6.2 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ทอท.และคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในปี 2551 หน่วย : บาท

รายชื่อกรรมการบริษัท

ลำดับ 1

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์

2

นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์

คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำหนด

ธรรมา

บริ ห าร รวม บริษัท ตรวจสอบ สรรหา ค่าตอบแทน ภิบาล ความเสี่ยง 293,669.36 293,669.36

พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ 236,612.90 นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ 236,612.90 นายอุทิศ ธรรมวาทิน 221,612.90 นายวินัย วิทวัสการเวช 250,094.55 นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 221,612.90 113,333.33 พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวฒ ั น์ 236,612.90 พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี 236,612.90 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 236,612.90 202,298.85 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ 213,612.90 นายถาวร พานิชพันธ์ 269,516.13 141,666.67 เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ 236,612.90 นายอภิชาติ สายะสิต 221,612.90 113,333.33 พลอากาศโท ชนะ อยู่สถาพร 329,913.98

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

221,612.90

12,500.00 234,112.90

236,612.90 10,000.00 246,612.90

221,612.90 10,000.00 260,094.55

10,000.00

344,946.23

12,500.00

249,112.90

10,000.00

236,612.90

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 11 ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 - กรรมการในลำดับที่ 15 ลาออกจากการเป็นกรรมการและเลขานุการ และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2551

082 รายงานประจำปี 2551

438,911.75 213,612.90 421,182.80 236,612.90 334,946.23 329,913.98


6.3 ค่าตอบแทนกรรมการที่ลาออกระหว่างปี (ช่วงเดือน ตุลาคม 2550 – มกราคม 2551) หน่วย : บาท

ลำดับ

รายชื่อกรรมการบริษัท

1 พลเอก สพรั่ง กัลยาณมิตร

คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำหนด

บริษัท ตรวจสอบ สรรหา ค่าตอบแทน ธรรมา

ภิบาล 229,956.90

2 พลอากาศเอก ณรงค์ศกั ดิ์ สังขพงศ์ 206,961.21

3 นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล

156,838.71

4 นายคัมภีร์ แก้วเจริญ

183,965.52 88,965.52 25,000.00

6 7 8 9 10 11 12 13 14

153,965.52

รวม

235,200.00 465,156.90

20,000.00

238,500.00 465,461.21

25,000.00

210,825.00 392,663.71 22,500.00 189,000.00 509,431.04

นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ 145,483.87 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 156,724.14 30,000.00 พลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์ 153,965.52 30,000.00 นายนนทพล นิ่มสมบุญ 183,965.52 111,206.90 20,000.00 นายต่อตระกูล ยมนาค 155,483.87 75,483.87 50,000.00 นายยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ 183,965.22 88,965.52 นายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง 186,724.14 10,000.00 20,000.00 พลตำรวจเอกเสรีพศิ ทุ ธิ์ เตมียาเวส 81,483.87 นางดนุชา ยินดีพิธ 30,000.00 183,965.52

5 นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์

โบนัส

ปีงบประมาณ 2550 จ่ายใน ปีงบประมาณ 2551

216,000.00 369,965.52 216,000.00 361,483.87 216,000.00 402,724.14 189,000.00 372,965.52 189,000.00 504,172.42 189,000.00 469,967.74 189,000.00 461,930.74 147,483.87 364,208.01 68,400.00 149,883.87 18,000.00 231,965.52

หมายเหตุ - โบนัสประจำปีงบประมาณ 2550 ของคณะกรรมการชุดที่ผ่านมาข้างต้น จ่ายจริงในปีงบประมาณ 2551 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551

083 รายงานประจำปี 2551


7. การกำกับดูแลกิจการ

ในปี 2551 คณะกรรมการ ทอท.ได้ดำเนินงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษั ทจดทะเบียนปี 2549 ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังสรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้ 7.1 นโยบายธรรมาภิบาลของ ทอท. คณะกรรมการ ทอท.เห็นชอบให้ปรับปรุงนโยบายกำกับดูแลกิจการของ ทอท.เดิม ให้มีเนื้อหาครอบคลุมรายละเอียดตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นนโยบายธรรมาภิบาล

ของ ทอท. และประกาศให้ส่วนงาน ทอท.ทราบทั่วกัน เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 รวมทั้งเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ ทอท. 7.2 สิทธิของผู้ถือหุ้น ทอท.ตระหนักและให้ความสำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้กำหนดไว้ในนโยบายธรรมาภิบาลเพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้น ได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงการใช้สิทธิ ผู้ถือหุ้น รายหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือ ลงคะแนนในเรื่องที่สำคัญๆ ของ ทอท. รวมทั้งการมีส่วนแบ่งในกำไร ดังนี้ (1) ทอท.จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้า โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดวาระ

การประชุม รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ผ่านมา พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ ทอท. หนังสือมอบฉันทะทุกแบบตามที่ กระทรวงพาณิชย์กำหนด และรายชือ่ ของกรรมการอิสระ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเลือกทีจ่ ะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ รวมทัง้ แผนที่แสดงสถานที่ประชุม รวมถึงข้อบังคับบริษัทเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น และการออกเสียงลงคะแนน นอกจากนี้ผู้ถือหุ้น

ยังสามารถเข้าดูหนังสือเชิญประชุม กำหนดการประชุมและข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของแต่ละครั้ง และ หนังสือมอบฉันทะทุกแบบได้ทางเว็บไซต์ของ ทอท.เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 20 วันด้วย (2) ทอท.ได้กำหนดสถานที่ วัน เวลาการประชุมทีถ่ อื ได้วา่ เป็นการอำนวยความสะดวกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกันทุกราย ให้ความมั่นใจด้านการรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ถือหุ้น กำหนดจุดบริการรับลงทะเบียนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยให้

ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุมอย่างน้อย 2 ชั่วโมง และต่อเนื่องจนกว่าการประชุม

จะแล้วเสร็จ โดยใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับคะแนน เพื่อความรวดเร็วและความสะดวกของผู้ถือหุ้น รวมทั้ง

จัดของที่ระลึกและการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วย (3) ในการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ประธานกรรมการทำหน้ า ที่ ป ระธานในที่ ป ระชุ ม โดยก่ อ นเริ่ ม การประชุ ม ทุ ก ครั้ ง

ประธานกรรมการจะอธิบายวิธกี ารลงคะแนน การนับคะแนน และการใช้บตั รลงคะแนน โดย ทอท.เปิดเผยผลการนับคะแนนเสียง ของผู้ถือหุ้น และแสดงผลสรุปของคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระอย่างชัดเจนในห้องประชุม และจัดให้มีอาสาสมัครจากผู้ถือหุ้น

มาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนด้วย ซึ่ง ทอท.จะมีการบันทึกคะแนนเสียงและเปิดเผยผลการนับคะแนนในแต่ละวาระ

อย่างชัดเจน โปร่งใส เพื่อรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น

084 รายงานประจำปี 2551


ทั้งนี้ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 กรรมการที่เข้าประชุมประกอบด้วย ประธาน กรรมการ ทอท. ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา ประธานกรรมการกำหนด ค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง ร่วมชี้แจงรายละเอียดวาระต่างๆ และตอบ

ข้อซักถามของผู้ถือหุ้น โดยจัดให้มีผู้สอบบัญชีของ ทอท.และที่ปรึกษากฎหมายเข้าร่วมประชุมกรณีมีข้อโต้แย้งตลอดการประชุม พร้อมทั้งทำหน้าที่ตรวจสอบหนังสือมอบฉันทะและเป็นสักขีพยานในการตรวจสอบบัตรคะแนน ซึ่งประธานกรรมการได้ดำเนินการ อย่างครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด (4) ประธานกรรมการจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอและดำเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและโปร่งใส โดยใน ระหว่างการประชุม จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็น และซักถามอย่างทั่วถึง ก่อนจะลงคะแนนและสรุปมติที่ประชุม แต่ละวาระ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและเสนอคำถามที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทในระหว่างการ ประชุม (5) ให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่มาลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ภายหลังเริ่มการประชุมแล้ว และมีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในวาระ ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ (6) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างสม่ำเสมอผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเว็บไซต์ ของ ทอท. (7) จัดให้ผู้ถือหุ้นไปเยี่ยมชมกิจการเพื่อความเข้าใจในธุรกิจของ ทอท. (8) จั ดให้ มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถติ ด ต่ อ ขอข้ อ มู ลได้ โ ดยตรงทาง E-mail Address ของคณะกรรมการ

ธรรมาภิบาล หรือเลขานุการบริษัท และหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (9) ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม 7.3 ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ทอท.ให้ความสำคัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยได้ดำเนินการต่างๆ

ดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระการประชุมและบุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการได้ล่วงหน้าก่อนการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่งได้ประกาศแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบโดยทั่วกัน ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยล่วงหน้า

3 เดือนก่อนสิ้นรอบปีบัญชี (วันที่ 30 กันยายน 2551) หรือก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 6 เดือน รวมทั้งได้แจ้งให้

ผู้ถือหุ้นทราบถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณารับเรื่องที่เสนอมานั้นอย่างชัดเจน โดยได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของ ทอท.

085 รายงานประจำปี 2551


ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นล่วงหน้า 3 เดือน (ก่อนสิ้นรอบปีบัญชี วันที่ 30 กันยายน 2551) หรืออย่างน้อย 6 เดือนก่อน การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอชื่อบุคคล เพื่อพิจารณาเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ โดยได้

เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และบนเว็บไซต์ของ ทอท. จากนั้น ทอท.ได้เสนอคณะกรรมการ สรรหา เพื่อดำเนินการตามกระบวนการสรรหาของ ทอท. ว่าผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับคุณสมบัติกรรมการ ทอท. และเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อให้ความเห็นชอบก่อนเสนอผู้ถือหุ้นพิจารณาในที่ประชุมสามัญ

ผู้ถือหุ้น ซึ่ง ทอท.จัดให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล (2) ดำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลำดับระเบียบวาระที่ ได้แจ้งไว้ ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่ม ระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระก่อน ตัดสินใจ อนึ่ง ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อ 25 มกราคม 2551 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ได้เสนอวาระเพิ่มเติมในที่ประชุม ซึ่งเป็นการเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ ทำให้ ทอท.ไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า (3) จัดให้มหี นังสือมอบฉันทะให้แก่ผถู้ อื หุน้ เพือ่ สนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ สามารถกำหนดการลงคะแนนเสียงได้เอง และเสนอรายชือ่ กรรมการอิสระ เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกมอบฉันทะแก่กรรมการอิสระได้ (4) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงทุกวาระ โดยจัดทำบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ

ลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร ซึ่งในระหว่างประชุม จะมีการเก็บบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อนำผลคะแนนของผู้ถือหุ้น

ที่เข้าประชุมมารวมคำนวณกับคะแนนเสียงที่ผู้ถือหุ้นได้ลงไว้ล่วงหน้าในหนังสือมอบฉันทะ ก่อนประกาศผลคะแนนเสียงและ

มติทปี่ ระชุม และเพือ่ ความโปร่งใส ทอท.จะจัดเก็บบัตรลงคะแนนทีผ่ ถู้ อื หุน้ อาสาสมัครมาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนได้ลงชือ่ ไว้ เพื่อการตรวจสอบในภายหลังด้วย (5) บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นต่อตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสมอ และ

ได้เผยแพร่ภาพและเสียงของการประชุมผู้ถือหุ้นผ่าน Webcast บนเว็บไซต์ ทอท.ด้วย (6) ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และผู้อำนวยการฝ่าย

ด้านการเงินและบัญชี จะต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ ทอท.เมื่อแรกเข้ารับตำแหน่ง และรายงานทุกครั้งเมื่อมีการซื้อ ขาย หรือ รับโอนหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะมีมูลค่าหรือจำนวนเท่าใด ภายใน 3 วันทำการต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (7) ทอท.กำหนดแนวทางในการเก็บรักษาข้อมูลและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นลายลักษณ์อักษรในนโยบายธรรมาภิบาล

ที่แจ้งคณะกรรมการและพนักงานทุกระดับทราบและถือปฏิบัติ โดยเฉพาะข้อมูลภายในที่เป็นสาระสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง

ราคาหุ้น ทอท.

086 รายงานประจำปี 2551


7.4 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ให้ความสำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มทั้งภายนอกและภายใน ตั้งแต่ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน รัฐบาล ผู้ร่วมทุน

คู่ค้า เจ้าหนี้ สังคม ชุมชน โดยกำหนดนโยบายแนวทางการปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ซึ่ง ได้เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ ทอท.ด้วย และในการดำเนินการต่างๆ ทอท.เคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียในทุกๆ ที่

ที่ ทอท. ดำเนินธุรกิจเสมอ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มหลักๆ ของ ทอท. ทอท.มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียในการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความ

ยั่งยืนของกิจการ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น

ทอท.มีความมุ่งมั่นในการเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส โดยคำนึงถึงความเจริญเติบโตของ มูลค่าบริษัทในระยะยาวและผลตอบแทนที่ดี พนักงาน

ทอท.ถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยความสำเร็จของ ทอท. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความสามารถของพนักงานทุกระดับอย่าง

ต่อเนื่องตลอดทั้งปี และจัดให้มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียน หากมีปัญหาระหว่างพนักงาน หรือระหว่างพนักงานกับผู้บังคับ บัญชา พนักงานมีสิทธิร้องทุกข์ตามขั้นตอนที่ ทอท.กำหนดไว้ โดยผู้ที่ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กำหนดไว้และ พิสูจน์ได้ว่ากระทำไปโดยสุจริต จะได้รับความคุ้มครองโดยไม่ส่งผลกระทบใดๆ ซึ่ง ทอท.จะไม่ถือเป็นเหตุเลิกจ้างหรือกระทำ การลงโทษในอันที่จะส่งผลเสียต่อพนักงานหรือพยานผู้เกี่ยวข้องแต่ประการใด นอกจากนั้นผู้บริหารระดับสูง ยังเปิดโอกาสให้ พนักงานทุกระดับได้เสนอความคิดเห็นแนวคิดอันเป็นประโยชน์ต่อบริษัท เช่น มาตรการลดค่าใช้จ่ายการใช้กระแสไฟฟ้า

และยังให้ความมัน่ ใจในคุณภาพชีวติ การทำงานอย่างเท่าเทียม โดยได้รบั ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม รัฐบาล

ทอท.ถือปฏิบัติเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อภาครัฐ โดยดำเนินธุรกิจภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานที่กำกับดูแลอย่างเคร่งครัด และให้การสนับสนุนโครงการจากภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สูงสุดของ สังคมส่วนรวม และดำรงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับหน่วยงานภาครัฐ โดยการติดต่อประสานงานอย่างเปิดเผย และพร้อมให้ ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ครบถ้วน ถูกต้องตามที่หน่วยงานภาครัฐร้องขอ เพื่อแสดงถึงความโปร่งใส ตลอดจน สร้างความมั่นใจ และความเชื่อถือร่วมกัน

087

รายงานประจำปี 2551


สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

ทอท.มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเรื่องสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สำนักสื่อสารองค์กร ฝ่ายกิจการพิเศษ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และฝ่ายสิ่งแวดล้อม โดยได้ดำเนินการควบคู่ไปกับการประกอบธุรกิจหลักมาอย่างต่อเนื่อง คือการ ดูแลรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมสำหรับชุมชนทั้งในและนอกพื้นที่ปฏิบัติการ โดย ทอท.ร่วม สนับสนุนทางด้านการศึกษา กีฬา วัฒนธรรม การพัฒนาอาชีพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชุมชน นอกจากนี้ ทอท.ยังให้ความ สำคัญต่อการอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมในพื้นที่ปฏิบัติการ โดยการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน ร่วมแก้ปัญหาเพื่อสร้างความ เชือ่ มัน่ แก่ชมุ ชนและสังคมอย่างต่อเนือ่ ง โดยสามารถดูขอ้ มูลรายละเอียดการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมได้จากเว็บไซต์ของ ทอท. คู่ค้า

ทอท.มีนโยบายปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเสมอภาคกัน อยู่บนพื้นฐานของการแข่งขัน และเป็นธรรมโปร่งใส เพื่อประโยชน์สูงสุด ของทุกฝ่าย รวมถึงไม่กีดกันผู้อื่นในการเข้าร่วมแข่งขันทางธุรกิจ ทอท. เจ้าหนี้

ทอท.จะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้โดยเคร่งครัด

ช่องทางการแจ้งเบาะแส และกลไกคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส

ทอท.มีเป้าหมายสูงสุดในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ โดยสร้างมูลค่าเพิ่ม และความเชื่อมั่นต่อผู้ถือหุ้น ทอท. ได้จัดทำช่องทางการรับเรื่องเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดีไว้ สำหรับเปิดรับข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ รวมถึงพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริต หรือประพฤติมิชอบของบุคคลในองค์กร ทั้งจากพนักงานเอง และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ทอท.ให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลร้องเรียนเป็นความลับ ซึ่งเรื่องร้องเรียนดังกล่าวจะรับรู้เพียงเฉพาะในกลุ่มบุคคลที่

ได้รับมอบหมายและเกี่ยวข้องด้วยเท่านั้น เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ร้องเรียน และได้กำหนดขั้นตอนการรับเรื่องและการ สอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยช่องทางการรับเรื่อง มีดังนี้ (1) E-mail ที่ goodgovernance@airportthai.co.th (2) ตู้ ปณ. 1001 ดอนเมือง กทม. 10210 (3) ตู้รับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ติดตั้ง ณ สำนักงานใหญ่ และบริเวณสำนักงาน ท่าอากาศยานที่ ทอท.

รับผิดชอบทั้ง 6 แห่ง 7.5 เปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส การเปิดเผยสารสนเทศเป็นหนึ่งในหลักการที่มีความสำคัญต่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทอท.ให้ความสำคัญกับข้อมูลข่าวสาร ทีต่ อ้ งแจ้งแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ในด้านของความถูกต้อง ความเพียงพอ ความรวดเร็ว และความเท่าเทียมกัน ของการให้ข้อมูลแก่ทุกกลุ่ม ซึ่งการจัดเตรียมข้อมูลดังกล่าว มีสำนักเลขานุการบริษัท และ ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ คอยดูแล

ให้ข้อมูล ตอบข้อซักถาม และการเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

088 รายงานประจำปี 2551


(1) สารสนเทศที่สำคัญของ ทอท.ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงิน ในปี 2551 การเปิดเผย ข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่วนของงบการเงินนั้น ได้ผ่านการสอบทาน/ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีว่าถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการ ทอท.ก่อน

เปิดเผยแก่ผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการ ทอท.รายงานความรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจำปีด้วย นอกจากนี้ ทอท.ได้เปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสฉบับก่อนสอบทาน และงบการเงินประจำปีฉบับก่อนตรวจสอบเพิ่มเติมจากข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ และนักลงทุนได้รบั ข้อมูลทางการเงินทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ ซึง่ ข้อมูลก่อนและหลัง การสอบทาน/ตรวจสอบ ไม่มีผลแตกต่างที่มีสาระสำคัญแต่อย่างใด สำหรับการเปิดเผยรายการระหว่างกัน บทวิเคราะห์ของ

ฝ่ายจัดการ และการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงรายงานการกำกับดูแลกิจการไว้ในรายงานประจำปี และแบบแสดงรายการประจำปี 2551 หรือแบบ 56-1 เป็นต้น (2) ข้อมูลต่างๆ ของ ทอท.ที่ได้เปิดเผยแก่สาธารณชน รวมถึงผู้ถือหุ้น และนักลงทุนแล้ว จะเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของ ทอท. ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น รายงานประจำปี แบบ 56-1 หนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นต้น โดยในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2550 เมือ่ วันที่ 25 มกราคม 2551 ทอท.ได้เพิม่ เติมการถ่ายทอดภาพ และเสียง ของประธานกรรมการผ่าน Webcast นอกจากนี้ ทอท.ได้มีการปรับปรุงหน้าเว็บไซต์และข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ ใช้ สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงได้โดยสะดวก และได้รับประโยชน์มากที่สุด ในรอบปี 2551 ทอท.จัดให้

ผู้ถือหุ้นและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ได้ ไปเยี่ยมชมพื้นที่ดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่เป็นท่าอากาศยานหลัก และ

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ และเข้าใจจากการได้เห็นการดำเนินธุรกิจของ ทอท.อย่างเป็นรูปธรรม (3) ทอท.ได้เปิดเผยบทบาท และหน้าทีข่ องคณะกรรมการ และคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง และจำนวนครัง้ ทีก่ รรมการแต่ละคน เข้าร่วมการประชุม และเปิดเผยการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ที่เป็นไปตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงไว้ ใน รายงานประจำปี และแบบ 56-1 ด้วย ดูรายละเอียดตามข้อ 3.1-3.4, ข้อ 5 และข้อ 6.2 (4) จั ดให้ มี ศู น ย์ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ รั บ ผิ ด ชอบในการสื่ อ สารข้ อ มู ล ข่ า วสาร ที่ ส ะท้ อ นมู ล ค่ า ที่ แ ท้ จ ริ ง ของ ทอท.ให้ แ ก่

นักวิเคราะห์ ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุนทั่วไปตามระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และรับผิดชอบในการสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับนักวิเคราะห์ และผู้ลงทุน รวมถึงเสริมสร้างภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่อนักลงทุน โดยการประสานงานและ

ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานนักลงทุนสัมพันธ์แก่ผู้บริหารของ ทอท. ซึ่งนักลงทุนหรือผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลข่าวสาร ของ ทอท. เช่น ข้อมูลงบการเงิน รายงานประจำปี และข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้โดยตรงจากเจ้าหน้าที่ IR ของ ทอท. โดยติดต่อได้ 4 วิธี ดังนี้ - ทางโทรศัพท์ : 0 2535 5900 - ทางโทรสาร : 0 2535 5909 - ทาง E-mail : aotir@airportthai.co.th - ทางไปรษณีย์ : เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210

089 รายงานประจำปี 2551


ทอท.ตระหนักถึงความสำคัญของการเปิดเผยข้อมูลทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส จึงจัดให้มศี นู ย์นกั ลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นตัวแทนในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งได้นำเสนอ

ผลงาน และแจ้งสารสนเทศของ ทอท.ต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้เกี่ยวข้องตลอดปีงบประมาณ 2550 สรุปได้ดังนี้ ปีงบประมาณ 2550 - Roadshow ต่างประเทศ 0 ครั้ง / ปี - Analyst Briefing 2 ครั้ง / ปี - Company Visit 240 ครั้ง / ปี - Conference Call 22 ครั้ง / ปี - จัดโครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 1 ครั้ง / ปี (5) ทอท.มีการเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลสำคัญอย่างถูกต้องครบถ้วน และเป็นไปตามข้อกำหนด ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนั้นในปี 2550 ทอท.ได้จัดทำบทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร (MD&A) ประกอบงบการเงินทุกไตรมาส (6) จัดทำรายงานข้อมูลทางการเงิน ที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่าข้อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง (7) ทอท.ได้จัดโครงการ Company Visit โดยร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ ความสำคัญกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ให้มีการประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูง เพื่อรับทราบและซักถาม

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของ ทอท. และหลังจากนั้นจัดให้เยี่ยมชมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์และนักลงทุนสถาบัน

090 รายงานประจำปี 2551


การควบคุมภายใน

ทอท.ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน โดยมุ่งเน้นให้มีระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับธุรกิจ สอดคล้องกับระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ที่กำหนดให้ ทอท.จัดวางระบบการควบคุมภายใน และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิด ความมั่นใจว่าระบบที่วางไว้สามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสำนักตรวจสอบ ทำหน้าที่ตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจ ว่าการปฏิบตั งิ านหลัก และกิจกรรมทางการเงินทีส่ ำคัญของ ทอท.ได้ดำเนินการตามแนวทางทีก่ ำหนดไว้ และมีประสิทธิภาพ รวมถึง ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. (Compliance Control) และมีคณะกรรมการตรวจสอบ ทำหน้าที่สอบทานระบบการควบคุมภายในของ ทอท.ให้เหมาะสมและมีประสิทธิผล ทอท.ได้เสนอรายงานการควบคุมภายในให้คณะกรรมการตรวจสอบ ผ่านเลขานุการคณะกรรมการ เพือ่ ประเมินความเพียงพอ

และความเหมาะสมของการควบคุมภายใน ดำเนินการป้องกันและแก้ไขความเสียหายที่จะเกิดต่อทรัพย์สินของ ทอท.รวมทั้งหา แนวทางและข้อเสนอแนะที่จะลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ และนำรายงานการควบคุมภายในนี้เสนอเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสให้การ รับรองแล้วนำเรียนกรรมการผู้อำนวยการใหญ่และเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อทราบ โดยที่ผ่านมา คณะกรรมการ ทอท.

เห็นชอบกับระบบการควบคุมภายในของ ทอท.ว่ามีความเพียงพอและเหมาะสม

091

รายงานประจำปี 2551


รายการ ระหว่างกัน ลักษณะของรายการ ทอท. ได้เข้าร่วมทุนกับบริษัทต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด, บริษัท ไทย แอร์พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด, บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชัน่ แนลแอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด, บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตีฟ้ รี จำกัด, บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด, บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตีฟ้ รี จำกัด, บริษัท แอร์พอร์ต แอสโซซิเอท จำกัด, บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด และได้เข้าทำสัญญาต่างๆ กับ บริษัทร่วมทุนที่ได้รับอนุญาตในการประกอบกิจการต่างๆ ที่เกี่ยวกับกิจการท่าอากาศยาน เช่น กิจการร้านค้าปลอดอากรบริเวณ

คลังสินค้า, โรงแรม และบริการเติมน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยที่บริษัทดังกล่าวจะให้ผลตอบแทนแก่ ทอท.ในลักษณะของ ส่วนแบ่งผลประโยชน์หรืออัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำที่ ทอท.กำหนด (แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่ากัน) นอกจากนี้ ทอท.ยังได้ ให้

ผู้ประกอบการที่ ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการในบริเวณท่าอากาศยานเช่าพื้นที่ ในบริเวณท่าอากาศยานต่างๆ เพื่อประกอบ กิจการที่ได้รับอนุญาต โดยมีสัญญาที่สำคัญๆ ดังนี้ 1. บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด 2. บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด 3. บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด 4. บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 5. บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด

092 รายงานประจำปี 2551


รายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องหรือบริษัทร่วมทุน บริษัทที่เกี่ยวข้อง

การถือหุ้น

ผู้แทน ทอท.

ผู้บริหารของ ทอท. (นางกัลยา ผกากรอง) เป็นกรรมการและรักษาการผู้จัดการของบริษัท ผู้บริหารของ ทอท. (ว่าที่ เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร, 2. บริษัท ไทย แอร์พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด ร้อยละ 28.50 นายสุรธัส สุธรรมมนัส และว่าที่ เรืออากาศโท ภาสกร สุระพิพิธ) เป็นกรรมการของบริษัท 3. บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต หารของ ทอท. (นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน) ร้อยละ 9 ผูเป็้บนริกรรมการของบริ โฮเต็ล จำกัด ษัท 4. บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด ร้อยละ 10 ผู้บริหารของ ทอท. (ว่าที่ เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) เป็นกรรมการบริษัท 5. บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด ร้อยละ 5 - 6. บริษัท แอร์พอร์ต แอสโซซิเอท จำกัด ร้อยละ 10 - ผู้บริหารของ ทอท. (นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์) นประธานกรรมการของบริษัท 7. บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด ร้อยละ 10 เป็ ผู้บริหารของ ทอท. (เรืออากาศเอก วิวัฒน์ สมานรักษ์) เป็นกรรมการของบริษัท 8. บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด ร้อยละ 4.9 - (มหาชน)

1. บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

ร้อยละ 60

(ข้อมูล ณ 30 ก.ย. 51)

093

รายงานประจำปี 2551



การพัฒนาในทุกด้าน ของ ทอท.อย่างต่อเนือ่ ง


ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน

ภารกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของท่าอากาศยาน คือ งานบริการด้านต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการการบิน ซึ่งให้บริการแก่หน่วย งานภาครัฐและเอกชน รวมถึงสายการบิน ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการ ซึ่ง ทอท.ในฐานะผู้บริหารท่าอากาศยานนานาชาติทั้ง 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่

และท่าอากาศยานเชียงราย ตระหนักดีที่จะผลักดันให้ทุกท่าอากาศยาน บริการให้เป็นที่ประทับใจแก่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ

ท่าอากาศยานและประชาชนทั่วไป โดยมุ่งเน้นมาตรฐานความปลอดภัย สะดวกและรวดเร็ว การจัดตั้งศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน หรือ Airport One Stop Service ขึ้นเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการให้ บริการ ด้วยการรวมการให้บริการที่ผู้ใช้บริการต้องการติดต่อขอรับบริการหลายจุดมาเป็นการให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว เป็นการบริการแบบต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งขณะนี้ได้เปิดให้บริการ ณ ศูนย์บริการนี้แล้ว 2 แห่ง คือ ที่ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เรียกว่า “ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ” (Suvarnabhumi Airport One Stop Service : SOS) ตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณชัน้ 4 ห้องโถงผู้โดยสารขาออก ติดต่อได้ทเี่ ลขหมายโทรศัพท์ 0 2132 9111-2 และทีท่ า่ อากาศยานเชียงใหม่ ตัง้ อยูท่ ี่ บริเวณโถงผู้โดยสารขาเข้าภายในประเทศ เรียกว่า “ศูนย์บริการครบวงจรท่าอากาศยานเชียงใหม่” (Chiang Mai Airport One Stop Service Center) ติดต่อได้ที่เลขหมายโทรศัพท์ 0 5392 4444 การให้บริการข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานและการอำนวยความสะดวกต่างๆ ณ “ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ” (Suvarnabhumi Airport One Stop Service : SOS) นอกจากจะเป็นจุดที่รับแจ้งเหตุข้อขัดข้องของสิ่งอำนวยความ สะดวก ข้ อ ร้ อ งเรี ย นต่ า งๆ รวมถึ ง ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ บริการแล้ว ยังเป็นศูนย์รวมข้อมูลเกีย่ วกับขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน (Standard Operation Procedure : SOP) ของส่วนงาน

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยการจัดเตรียมไว้เพื่อเป็นข้อมูล แก่สายการบินและผู้ปฏิบัติงานเมื่อได้รับการร้องขอ และเป็น ศูนย์กลางติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในท่าอากาศยาน

สุวรรณภูมิและหน่วยเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้า การปฏิบัติงานและรายงานผลให้ผู้ใช้บริการทราบ อันจะเป็น

การสร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ สายการบิ น หน่ ว ยราชการ

และผู้ ป ระกอบการ เพื่ อ พั ฒ นาภาพรวมของการบริ ห าร จัดการ รวมถึงการนำเสนอบริการต่างๆ ของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิต่อไป

096

รายงานประจำปี 2551


สำหรับผลของการให้บริการ ผู้แทนคณะกรรมการดำเนินงานธุรกิจการบินกรุงเทพ (Airline Operation Committee Bangkok : AOC) กล่าวถึงการให้บริการที่ SOS ว่าเป็นความพยายามที่ดีของ ทอท. สมควรทำให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้หลายเรื่องเป็นอย่างดี ซึ่งเรื่องนี้ผู้บริหารระดับสูงของ ทอท.ได้ให้ความสำคัญและเร่งรัด ติดตามผล การดำเนินงาน มีการจัดสรรทรัพยากรที่สำคัญและจำเป็นในการบริหารงาน ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ์ โดย เฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์เครื่องใช้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การบริหารจัดการบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ ได้กำหนดไว้ ซึ่ง

ผู้รับผิดชอบและผู้ปฏิบัติงานคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ ใช้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ โดย

มีการพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่องต่อไป ทั้งนี้ เพื่อตอกย้ำถึงความมุ่งมั่นของ ทอท.ที่จะรังสรรค์คุณภาพบริการที่ดีที่สุดแก่ ลูกค้า อันจะนำไปสู่การจัดอันดับและคุณภาพการให้บริการในระดับสากลของท่าอากาศยานไทยในอนาคต

097

รายงานประจำปี 2551


การพัฒนาบุคลากรของ ทอท.

บุคลากรเป็นทรัพยากรที่สำคัญขององค์กร ที่จะขับเคลื่อนให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมาย ทอท.จึงให้ความ สำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนา เรียนรู้ ฝึกฝนในทุกๆ ด้าน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพพนักงานให้ สามารถปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานสากล และเป็นมืออาชีพ ในปี 2551 ทอท.ได้มุ่งดำเนินการพัฒนาบุคลากร โดยการจัดโครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม และการสนับสนุนทุนศึกษาต่อใน ระดับปริญญาโท ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน และสอดคล้องกับกลยุทธ์ของแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. และเป้าหมายธุรกิจของ ทอท.โดยมีผลการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้

1. หลักสูตรหลักท่าอากาศยาน

เสริมสร้างความรู้ท่าอากาศยานให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 482 คน คือ หลักสูตรการปฏิบัติการท่าอากาศยาน และ หลักสูตรการจัดการท่าอากาศยานระดับต้น, ระดับกลาง และระดับสูง

2. หลักสูตรความรู้ความชำนาญในสายอาชีพ

เสริมสร้างความรู้ความชำนาญในสายอาชีพให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 3,231 คน เช่น หลักสูตร Safety Management System, นิรภัยท่าอากาศยาน, ความรู้ด้านการบินสำหรับผู้ทำงานด้านการบิน และ Aerodrome Apron เป็นต้น

3. หลักสูตรความรู้ทั่วไป

เสริมสร้างความรู้ทั่วไปให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 7,776 คน เช่น - การอบรมภาษาต่างประเทศ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ, เกาหลี, จีน และ ญี่ปุ่น เป็นต้น - บรรยายพิเศษ ได้แก่ ภาวะโลกร้อน, ผลกระทบของ พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพฉบับใหม่, สร้างสุขในงาน สร้างสีสันให้กับชีวิต และสร้างพรุ่งนี้จากวันนี้ เป็นต้น ภาพรวมการพัฒนาบุคลากร ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. ประจำปีงบประมาณ 2551 สรุปได้ดังนี้

การฝึกอบรมภายใน ทอท. (ศ.1) การฝึกอบรมภายนอก ทอท. (ศ.2) การฝึกอบรม ณ ต่างประเทศ (ศ.3)

098 รายงานประจำปี 2551

จำนวนโครงการจัดฝึกอบรม

จำนวนผู้เข้ารับการอบรม

212 505 38

10,226 1,161 102

(โครงการ)

(คน)


นอกเหนื อ จากการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ทอท.ให้

มีศักยภาพตามแผนพัฒนาบุคคล ทอท.ประจำปีแล้ว ทอท.ยัง

มุ่งให้ความรู้ ด้านการดั บ เพลิ ง และกู้ ภั ย กั บ หน่ ว ยงานภายใน

ท่าอากาศยาน และชุมชนรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดย เน้ น ให้ ชุ ม ชนมี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การดั บ เพลิ ง และกู้ ภั ย

ท่าอากาศยาน สามารถช่วยเหลือตนเองเบื้องต้นได้ ในกรณี

เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ขึ้ น ภายในหรื อ บริ เ วณรอบท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ โดยวิทยากรเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการดับเพลิงและ กู้ภัย จากฝ่ายดับเพลิงและกู้ภัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึง่ ได้ รับการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น หน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ จากสวัสดิการและคุม้ ครอง แรงงาน เลขทะเบียนที่ ดพ.500903016 ทั้งนี้ เปิดให้บริการ จำนวน 3 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตร “ฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น” ระยะเวลา 1 วัน แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 3.30 ช.ม. 2. หลักสูตร “ฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ” ระยะเวลา 1 วัน แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 3.30 ช.ม. 3. หลักสูตร “ฝึกอบรมทบทวนการดับเพลิงสำหรับลูกเรือ” ระยะเวลา 3 ช.ม. แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 2 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 1 ช.ม. สำหรับในปีงบประมาณ 2551 นี้ ทอท.ได้มกี ารจัดวิทยากรด้านการดับเพลิงและกูภ้ ยั ไปให้บริการกับหน่วยงานภายนอกหลายแห่ง อาทิ ฝ่ายช่าง และฝ่ายครัวการบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน), สายการบินบางกอก แอร์เวย์, สายการบินแอร์เอเชีย, บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด และ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้ำเย็น จำกัด เป็นต้น นับได้ว่า การพัฒนาบุคลากรของ ทอท.ในปัจจุบันนี้ ไม่เพียงมุ่งพัฒนาศักยภาพพนักงาน ทอท.เท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือ

ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องและชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ผ่านการให้ความรู้และการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน และสามารถพัฒนาเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการสร้างรายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการการบิน (non-aeronautical revenue) ให้กับองค์กรได้อีกด้วย

099 รายงานประจำปี 2551


การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย

ภายในอาคารผู้โดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทอท.มีนโยบายที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการตรวจค้นผู้ โดยสารและสัมภาระติดตัวก่อนขึ้นอากาศยาน ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ จากระบบเดิมแบบ Gate Screening สำหรับผู้โดยสารขาออกเที่ยวบินภายในประเทศ และ Concourse Screening สำหรับผู้โดยสารขาออกเที่ยวบินระหว่างประเทศ ให้เป็นระบบการรักษาความปลอดภัยแบบ Centralized Security Screening โดยนอกจากจะมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานของท่าอากาศยานชั้นนำแล้ว ยังเป็นการขยายพื้นที่ปลอดภัย (Sterile Area) ภายในอาคารผู้ โดยสารและลดปัญหาอันอาจเกิดจากโครงสร้างภายในอาคาร

ผู้โดยสารบางจุดที่ล่อแหลมต่อการละเมิดมาตรการรักษาความปลอดภัยอีกด้วย ระบบการรักษาความปลอดภัยแบบ Centralized Security Screening จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกในการตรวจค้น โดยการตั้งจุดตรวจค้นผู้ โดยสารและสัมภาระติดตัวบริเวณหลังเคาน์เตอร์ตรวจบัตร โดยสาร ซึ่งจะมีการติดตั้งเครื่อง X-Ray และเครื่องตรวจจับโลหะชนิดเดินผ่าน (Walk Through Metal Detector) รวมทั้งตรวจ การนำของเหลว เจล สเปรย์ หรือวัตถุและสารอื่นๆ ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน มารวมไว้ที่จุดเดียวกันก่อนเข้า Sterile Area นอกจากการตรวจค้นผู้โดยสารและสัมภาระติดตัวอย่างละเอียดแล้ว บุคคลทุกคนที่จะเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ภายใน Sterile Area

ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ ทอท. เจ้าหน้าที่สายการบิน เจ้าหน้าที่จากหน่วยราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการร้านค้า และ สัมภาระติดตัว รวมถึงสินค้าทุกชิ้นที่ผู้ประกอบการจะนำเข้าไปขายใน Sterile Area จะต้องผ่านการตรวจค้นเช่นเดียวกัน สำหรับ วัตถุแหลมคมทุกชิ้นที่มีความจำเป็นต้องถูกนำเข้าไปใช้ภายใน Sterile Area จะต้องลงทะเบียนและมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งงดจำหน่ายสินค้าที่เป็นวัตถุแหลมคม วัตถุอันตราย และวัตถุต้องห้ามนำพาไปกับอากาศยานทุกชนิด หลังจุดตรวจค้นแบบ Centralized Security Screening ทอท.ได้เริ่มนำระบบ Centralized Security Screening มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ในส่วนของผู้ โดยสาร

ขาออกภายในประเทศก่อน สำหรับผู้โดยสารขาออกเทีย่ วบิน ระหว่างประเทศ และผู้โดยสารเปลีย่ นเทีย่ วบิน และผู้โดยสาร ผ่านระหว่างประเทศ ขณะนี้อยู่ ในระหว่างการเตรียมการ

และกำหนดพื้นที่ ในการติดตั้งจุดตรวจค้น และดำเนินการ

ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในต้ น ปี 2552 เพื่ อให้ การรั ก ษาความ ปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับผู้ใช้บริการทุกคน

100 รายงานประจำปี 2551


การบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ทอท. ได้ ด ำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัย ในการทำงานและ ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน ที่ออกตามความใน

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 กฎหมายความปลอดภัย อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาโดยตลอด และได้ปฏิบัติตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี

ที่ประกาศนโยบาย “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” เป็น ระเบียบวาระแห่งชาติ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในการทำงานกับพนักงานและลูกจ้าง ทอท.ทุกส่วนงาน และ ลดความสูญเสียด้านแรงงาน ความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม

จากการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานอย่างเป็นระบบ ครบถ้วนและสอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย รวมถึงมาตรฐานสากลอื่นๆ และตามที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ได้จัดให้มีการประกวดสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำงานแห่งชาติ โดย

มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการ มีการบริหารและการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการทำงาน ที่เป็นมาตรฐานสากลและสอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย รวมทั้งเพื่อประกาศเกียรติคุณและ

ยกย่องนายจ้าง สถานประกอบกิจการ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพต่อสาธารณชนนั้น ทอท.จึงได้ส่งสำนักงานใหญ่ ทอท.เข้าประกวดสถาน ประกอบกิจการดีเด่น ด้านความปลอดภัยในการทำงานฯ ระดับประเทศ ในปี 2550 และ ในปี 2551 ซึ่งผลการประกวด สำนักงานใหญ่ ทอท.ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ ทั้ง 2 ปี ติดต่อกัน การที่ ทอท.ได้รับรางวัลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ทอท. โดยฝ่ายป้องกันอุบัติภัยและอาชีวอนามัย ซึ่งเป็นหัวหน้าสายวิชาการ ด้ า นการป้ อ งกั นอุบัติภัยและอาชีวอนามัยของ ทอท. ได้ ด ำเนิ น การในเรื่ อ งความปลอดภั ย ในการทำงานอย่ า งจริ ง จั ง และ

ต่อเนื่อง เช่น การฝึกอบรม การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การตรวจสอบด้านความปลอดภัย และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้

พนักงานและลูกจ้างมีจิตสำนึกด้านความปลอดภัย และปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยตามกฎหมาย ข้อบังคับที่กำหนด รวมถึงการ รักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่พนักงานและลูกจ้างในการทำงาน จากการดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานตามกฎหมายความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทำให้

ผู้ปฏิบัติงานเกิดความปลอดภัยและมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี ปราศจากการเจ็บป่วยหรือโรคอันเนื่องมาจากการทำงาน

อีกทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี ในการเป็นองค์กรแห่งความปลอดภัย ต่อหน่วยงานภายนอก ทั้งนี้ ทอท.จะรักษาสภาพ

การเป็นสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ เพื่อพร้อมสำหรับการพัฒนา ทอท.ให้เป็นองค์กรชั้นนำในระดับสากล และ

เป็นแบบอย่างแก่สถานประกอบกิจการอื่นต่อไป

101

รายงานประจำปี 2551


การพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ 2552-2557)

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปัจจุบัน อยู่ ในช่วงของการพัฒนาระยะที่ 1 ซึ่งได้มีการกำหนดขีดความสามารถให้รองรับ

ผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี (ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 33 ล้านคนต่อปี และผู้ โดยสารภายในประเทศ 12 ล้านคนต่อปี)

มีทางวิ่ง 2 เส้นรองรับเที่ยวบินได้ 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง มีหลุมจอดอากาศยาน จำนวน 124 หลุมจอด แบ่งเป็น หลุมจอดประชิด อาคาร จำนวน 51 หลุมจอด และหลุมจอดระยะไกล จำนวน 73 หลุมจอด เมื่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดให้บริการในวันที่ 28 กันยายน 2549 นั้น รัฐบาลมีนโยบายให้ย้ายปริมาณการจราจร

ทางอากาศเชิงพาณิชย์ทั้งหมดจากท่าอากาศยานกรุงเทพมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ส่วนท่าอากาศยานกรุงเทพ ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นท่าอากาศยานดอนเมือง และเปิดให้บริการเฉพาะเที่ยวบิน Non Schedule Flights, Charter Flights และ General Aviation นับจากช่วงเวลาที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดให้บริการเป็นต้นมา ปริมาณการจราจรทางอากาศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

โดยมีปัจจัยสำคัญ คือ การเปิดให้บริการของสายการบินต้นทุนต่ำ เป็นเหตุให้ปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมเิ พิม่ ขึน้ เป็น 46 ล้านคนต่อปี ในปี 2550 เกินกว่าขีดความสามารถทีก่ ำหนดไว้ เกิดเป็นความแออัดคับคัง่ และส่งผลกระทบ ต่อคุณภาพของการให้บริการและความสามารถในการเป็นศูนย์กลางการบินระหว่างประเทศของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิซึ่งเริ่ม ปรากฏชัดตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา เพื่อบรรเทาความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2550 อนุมัติตามที่

คณะกรรมการนโยบายดำเนินกิจการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมืองเสนอ คือ ให้สายการบิน ภายใน ประเทศที่ไม่มีการเชื่อมต่อเที่ยวบินระหว่างประเทศกลับมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมืองตามความสมัครใจในระยะแรก และให้ ศึ ก ษาความเหมาะสมในการใช้ ป ระโยชน์ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง เพื่ อ แบ่ ง เบาปริ ม าณการจราจรทางอากาศจาก

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในระยะต่อไป ในการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีในระยะแรก ทอท.ได้เริ่มให้บริการสายการบินภายในประเทศจำนวน 3 สายการบิน

ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้แก่ การบินไทย, นกแอร์ และ วัน ทู โก อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการย้ายสายการบินภายในประเทศทั้ง 3 สายดังกล่าวมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง แต่ก็ เพียงสามารถบรรเทาความแออัดของปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศ บางส่วนเท่านั้น ขณะที่เที่ยวบินระหว่างประเทศแบบประจำทั้งหมดซึ่งยังคงให้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ก็ยังคงประสบ ปัญหาแออัดคับคั่งเช่นเดิม คณะกรรรมการ ทอท.จึงได้มีมติเมื่อ 1 ธันวาคม 2550 ให้ ทอท.ดำเนินการขยายขีดความสามารถของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เพื่อรองรับปริมาณการจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นโดยเร่งด่วน นอกจากนี้ยังให้สายการบินสามารถทำการบินที่

ท่าอากาศยานดอนเมืองเพิ่มเติมได้ ทั้งเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศตามความสมัครใจ เพื่อให้การใช้ทรัพย์สิน

ของชาติเกิดประโยชน์อย่างเต็มที่

102

รายงานประจำปี 2551


ทอท.จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ขึ้น โดยมีแผนที่จะดำเนินโครงการในช่วงปีงบประมาณ 2552-2557 กำหนดขีดความสามารถให้รองรับผู้ โดยสารได้ 60 ล้านคนต่อปี (ผู้ โดยสารระหว่างประเทศ 52 ล้านคนต่อปี

และผู้โดยสารภายในประเทศ 8 ล้านคนต่อปี) และรองรับอากาศยานขึ้น-ลงได้ 90-95 เที่ยวบินต่อชั่วโมง ซึ่งจะเพียงพอในการ รองรับผู้โดยสารและปริมาณการจราจรทางอากาศได้ถึงปี 2561 ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในหลักการแนวทางการ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 เมื่อ 29 เมษายน 2551 ซึ่งมีโครงการสำคัญประกอบด้วย การก่อสร้างอาคารเทียบ เครื่องบินรองหลังที่ 1 และทางวิ่งเส้นที่ 3 โดยให้ ทอท.นำเสนอโครงการต่อกระทรวงคมนาคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ

คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป ทั้งยังเห็นชอบในหลักการให้ ทอท.เปิดให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ และ

เส้นทางการบินระหว่างประเทศจุดต่อจุดตามความสมัครใจ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยให้กรมการขนส่งทางอากาศพิจารณา ประเด็นข้อผูกพันด้านการบินระหว่างประเทศเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรอบคอบ และให้ ทอท.ศึกษาแนวทางการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมืองในกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องเพิ่มเติม โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 มีประมาณการวงเงินลงทุน 77,885.777 ล้านบาท (รวมสำรองราคาและ ปริมาณงานเปลี่ยนแปลงร้อยละ 10 และภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7) ประกอบด้วย 6 กลุ่มงาน ดังนี้ 1. การชดเชยผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 2. กลุ่มงาน Airfield Pavement - งานก่อสร้างทางวิ่งเส้นที่ 3 3. กลุ่มงานอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 3.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารเทียบเครื่องบิน รองหลังที่ 1 3.2 งานก่อสร้างลานจอดอากาศยานประชิดอาคาร เทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 3.3 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนต่อเชื่อมอุโมงค์ ด้านทิศใต้ 3.4 งานออกแบบและติดตั้งระบบขนส่งผู้โดยสาร 4. กลุ่มงานอาคารผู้โดยสาร 4.1 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนขยายอาคาร

ผู้โดยสารด้านทิศตะวันออก 4.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงานสายการบินและที่จอดรถด้านทิศตะวันออก (อาคารจอดรถ 1) 5. กลุ่มงานระบบสาธารณูปโภค - งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค 6. งานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ

103

รายงานประจำปี 2551


การใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง

จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2550 เห็นชอบให้ ใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นท่าอากาศยาน

นานาชาติอีกแห่งควบคู่กับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และต่อมาเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2550 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเพิ่มเติม คือ

ในระยะแรกให้สายการบินภายในประเทศที่ไม่มีการเชื่อมต่อเที่ยวบินระหว่างประเทศใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองตามความสมัครใจ และเมื่อ 25 มีนาคม 2550 ได้มีเที่ยวบินแบบประจำภายในประเทศจำนวน 3 สายการบิน ย้ายจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

มาทำการบินที่ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้แก่ การบินไทย, นกแอร์ และ วัน ทู โก ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมืองได้เปิดใช้อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ อาคาร 1 และอาคารผู้โดยสารภายในประเทศ สำหรับให้บริการการบินประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. การบินประเภททั่วไป (General Aviation) 2. การบินเพื่อธุรกิจการค้า (Commercial Aviation) 3. การบินเพื่อการฝึกบิน (Training) 4. การบินแบบไม่ประจำประเภทเช่าเหมาลำ (Non-scheduled Charter Flight) 5. เที่ยวบินภายในประเทศ ทั้งแบบประจำและไม่ประจำ (Domestic Scheduled and Non-scheduled Flights) ในสถานการณ์ปัจจุบัน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรองรับการ ขยายตัวอย่างรวดเร็วของปริมาณจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นเป็น 46 ล้านคนต่อปี ในปี 2550 ส่งผลให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เผชิญกับความแออัดตั้งแต่ปี 2550 ทั้งนี้ เนื่องมาจากโครงการ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ดำเนินการล่าช้ากว่า แผนที่ ก ำหนดไว้ รั ฐ บาลจึ ง มี น โยบายให้ ส ายการบิ น ภายใน ประเทศที่ ไม่มีการเชื่อมต่อมาใช้ท่าอากาศยานดอนเมือง โดย ความสมัครใจ และให้ศึกษาความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ท่าอากาศยานดอนเมือง เพื่อช่วยบรรเทาความแออัดของปริมาณ การจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และแนว นโยบายการใช้ พื้ น ที่ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งโดยรวมให้ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในอนาคตนั้ น ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งได้ เ สนอ โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการบิน ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่าง

ดำเนินการพิจารณาโครงการดังกล่าว ได้แก่

104

รายงานประจำปี 2551


1. โครงการศูนย์ฝึกบินจำลอง (Simulator Training Center) ใช้อาคาร 4A (อาคาร Catering ของบริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด เดิม) มีพื้นที่ 2,258 ตร.ม. ลานจอดรถยนต์มีพื้นที่ 465 ตร.ม. 2. โครงการอาคารผู้โดยสารสำหรับอากาศยานส่วนตัว โดยใช้อาคารห้องรับรองพิเศษซึ่งมีห้องรับรองพิเศษจำนวน 9 ห้อง และมีพื้นที่รวม 2,888 ตร.ม. 3. โครงการคลังสินค้าเร่งด่วนและไปรษณียภัณฑ์ทางอากาศ โดยใช้อาคารคลังสินค้าที่ 1 มีพื้นที่เก็บสินค้า 21,104 ตร.ม. รองรับสินค้าได้ 211,040 ตันต่อปี 4. ศูนย์ให้บริการสินค้าประเภทเน่าเสียง่ายและสินค้าตามฤดูกาล (Perishable Center) และสินค้าควบคุมอุณหภูมิ (Cool Cargo) โดยใช้คลังสินค้าที่ 2 มีพื้นที่เก็บสินค้า 31,475 ตร.ม. รองรับสินค้าได้ 314,750 ตันต่อปี 5. โครงการศูนย์ซ่อมอากาศยานในรูปแบบเขตปลอดอากร (Customs Free Zone)โดยใช้คลังสินค้าที่ 3, 4 รวมพื้นที่

ต่อเนื่อง มีพื้นที่ 59,790 ตร.ม.

105

รายงานประจำปี 2551



ความรับผิดชอบ ของ ทอท.ต่อสังคม ทอท.มุ่งมั่นให้ชุมชนยั่งยืนด้วย CSR

นับเป็นเวลาถึง 30 ปีแล้วที่ ทอท. ในฐานะรัฐวิสาหกิจ ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงคมนาคม และแปลงสภาพเป็น บริษัทมหาชนจำกัด ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปัจจุบนั โดยเป็นองค์กรในการบริหารท่าอากาศยานนานาชาติรวม 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงราย และ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังนั้น ทอท.จึงเป็นองค์กรที่ผูกพันกับการเดินทางทางอากาศยานของคนไทย พร้อมทั้งเอื้ออำนวยให้เกิด การพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด โดยทั่วไปเมื่อธุรกิจขนาดใหญ่มีการขยายตัวมากขึ้นก็จะนำพาความเจริญพร้อมกับปัญหาใหม่ๆ เข้าสู่สังคมและชุมชนโดยรอบ การดำเนินธุรกิจของท่าอากาศยานแต่ละแห่งก็เช่นกันต้องเกี่ยวข้องกับความคาดหวังของสังคมและชุมชน ทอท.จึงมุ่งมั่นในการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การแก้ไขปัญหามลภาวะด้านเสียงที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ควบคู่ ไปกับการคำนึงถึงแนวคิดการแสดงความรับผิดชอบของ ทอท.ต่อสังคมและสภาพแวดล้อม การดำเนิ น กิ จ กรรมแสดงความรั บ ผิ ด ชอบของ ทอท.ต่ อ สั ง คม “Corporate Social Responsibility : CSR” เริ่ ม จากแนวคิ ด ที่ 1

คือ ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ (Public Responsibility) ซึ่งย้ำเตือนให้ ทอท.ต้องระมัดระวัง และใส่ใจถึงผลทีต่ ามมา (Outcome) จากการดำเนินธุรกิจ ของ บริษั ทฯ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยตรงและพื้นที่ต่อเนื่อง นอกเหนือจาก

พืน้ ทีภ่ ายในของตนเอง ซึง่ จะกลายเป็นประเด็นทางสังคม (Social Issues) ต่อไป แนวคิดที่ 2 คือ ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Theory) ซึ่งเป็นเรื่อง ของการจัดการผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร ไม่วา่ จะเป็นลูกค้า พนักงาน ผูถ้ อื หุน้ คูค่ า้ คูแ่ ข่ง ภาครัฐและชุมชน และ แนวคิดที่ 3 คือ บริษัทคือพลเมืองของ สังคม (Corporate Citizenship) ซึ่งต้องมีความรับผิดชอบด้านมนุษยธรรม เพื่อช่วยให้สังคมเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ต้องมีการบริจาคด้วยความ สมัครใจเพื่อช่วยให้สังคมดีขึ้นอย่างยั่งยืน


จากแนวคิด CSR ดังกล่าวข้างต้น ทอท.ได้ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดรูปแบบในการดำเนินการด้าน CSR ของ ทอท. โดย แบ่งเป็น 4 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 การส่งเสริมสังคมจากการทำการตลาด (Cause-related Marketing) โดยการนำส่วนแบ่ง รายได้หรือกำไรจากการประกอบกิจการไปดำเนินการด้านการกุศล รูปแบบที่ 2 การบริจาค (Corporate Philanthropy) และ

รู ป แบบที่ 3 การเป็ น อาสาสมั ค รช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชน (Volunteering) แนวทางนี้ มุ่ ง ให้ อ งค์ ก รกั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในสั ง คม

มีความสัมพันธ์อันดี โดยการให้ผู้บริหาร พนักงาน ตลอดจนชักชวนคู่ค้าเข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมเพื่อสังคมในพื้นที่ การพัฒนา คุณภาพของเยาวชน ทัง้ ด้านชีวติ ความเป็นอยูแ่ ละสุขภาพจิต เป็นตัวอย่างที่ ทอท.ให้ความสำคัญ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อันดีกับ ชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ตลอดจนส่งเสริมเยาวชนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต เช่น การสนับสนุนการก่อสร้างโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำนวน 3 โรงเรียน ในจังหวัดนราธิวาส มุกดาหาร และเชียงราย ตลอดจน ดูแลมอบเงินสนับสนุนรายปีอย่างต่อเนื่องให้กับโรงเรียนดังกล่าวเป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว ซึ่งเป็นโครงการสำคัญหนึ่งที่ ทอท.

มีนโยบายขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับนักเรียนในถิ่นทุรกันดารให้เพิ่มมากขึ้นทุกปี และการติดตั้งเครื่องเล่นสนามและ

เครื่องออกกำลังกายกลางแจ้งให้แก่โรงเรียนที่อยู่โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินงาน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 22 โรงเรียน เป็นสิง่ ที่ ทอท.ได้ดำเนินการไปแล้วเช่นกัน รูปแบบที่ 4 การดำเนินธุรกิจอย่าง

มีความรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsibility Business Practice) คือการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินธุรกิจขององค์กร เพื่อไม่ ให้เกิดผลกระทบด้านลบกับสังคมและสิ่งแวดล้อม หรือให้เกิดขึน้ น้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ เช่น เนือ่ งจากการดำเนินงาน

ของ ทอท.มีส่วนเกี่ยวข้องกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม ทอท.จึงมีการให้บริการกับสายการบินด้วยระบบ PC AIR และระบบไฟฟ้า 400 Hertz เพือ่ ลดมลภาวะที่เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงอากาศยานภายในลานจอดมากว่า 10 ปีแล้วเช่นกัน การทำ CSR ของ ทอท.เปิดโอกาสให้พนักงานร่วมแสดงความคิดเห็น เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในองค์กรที่ทำประโยชน์เพื่อ สังคมและเกิดความรักในองค์กร และยังเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อให้ ทอท.ได้รับความไว้วางใจ จากชุมชนและสังคม ให้คนในชุมชนมีคุณภาพ ทำให้ชุมชนเข้มแข็งและเป็นสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขตลอดไป

108

รายงานประจำปี 2551


109

รายงานประจำปี 2551


การสนับสนุนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

ทอท.สนับสนุนการก่อสร้างโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยจำนวน 3 โรงเรียน ในจังหวัด นราธิวาส มุกดาหาร และเชียงราย ตลอดจนดูแลมอบเงินสนับสนุนรายปีให้ทั้ง 3 โรงเรียนนี้อย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 10 ปี แล้ว เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจการของโรงเรียนเป็นรายปีโรงเรียนละ 150,000.- บาท ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2542 จนถึงปัจจุบัน โดยในแต่ละปีจะมีผู้บริหาร ทอท.ไปตรวจเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียน พร้อมทั้งนำอุปกรณ์การศึกษาไปมอบ ให้กับนักเรียนและคณะครู ตชด. และจัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ การดำเนินกิจกรรมดังกล่าว สอดคล้องกับนโยบายของ ทอท.ในการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศไทยมาโดยตลอด โดยเฉพาะ การขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่เขตพื้นที่ทุรกันดาร กอปรกับเพื่อเป็นการสนองพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และแสดงถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ทอท.สนับสนุนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทั้ง 3 แห่ง ดังนี้

1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

ตั้งอยู่ ณ บ้านไอร์จาดา อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2543 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา ทำการสอนตั้งแต่ชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ใช้งบประมาณ ก่อสร้างฯ เป็นเงิน 4,000,000.- บาท และในปี 2549 ทอท.ได้ให้การสนับสนุนโครงการ ก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 6 ห้องเรียนเพิ่มเติม เป็นเงิน 2,530,000.- บาท

110

รายงานประจำปี 2551


2. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ในวโรกาสเฉลิมฉลอง 100 ปี

วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ตั้งอยู่บ้านถาวรพนา ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 26 กันยายน 2544 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา ทำการสอน

ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ใช้งบประมาณก่อสร้าง เป็นเงิน 4,000,000.- บาท และได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมและ ติดตามงานโครงการพระราชดำริฯ เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2549

3. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 4 รอบ 2 เมษายน 2546

ตั้งอยู่บ้านนาโต่ ตำบลแม่สลองใน อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 25 มีนาคม 2546 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา แห่งแรกของ ร.ร.ตชด.ทั่วประเทศ ทำการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ใช้งบประมาณก่อสร้างฯ เป็นเงิน 11,000,000.- บาท และในปี 2547 ทอท.ได้ให้การสนับสนุนโครงการก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 3 ห้องเรียนเพิ่มเติมเป็นเงิน 1,100,000.- บาท และได้เสด็จ พระราชดำเนินทรงเยี่ยมและติดตามงานโครงการพระราชดำริฯ เมื่อ 1 มีนาคม 2549 และ 18 กุมภาพันธ์ 2551

111

รายงานประจำปี 2551


การสนับสนุนองค์การสหประชาชาติ (United Nations)

โครงการอาหารโลกแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations World Food Programme - WFP) ได้ ข อใช้ พื้ น ที่

ท่าอากาศยานของไทยเป็นศูนย์รวบรวมรับส่งสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อลำเลียงส่งมอบให้ผู้ประสบภัยจากพายุไซโคลนนาร์กิสใน สหภาพพม่า ด้วยเหตุผลด้านมนุษยธรรมและความร่วมมือระหว่างประเทศ ทอท.จึงอนุญาตให้ WFP ใช้พื้นที่อาคารคลังสินค้า 3

ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นศูนย์รวบรวมรับส่งสิง่ ของบรรเทาทุกข์เพือ่ ลำเลียงส่งมอบให้พม่าเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ตัง้ แต่ วันที่ 24 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 23 สิงหาคม 2551 โดยมีบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เป็นตัวแทนด้านการให้บริการ ภาคพื้น และบริษัท Cargo Marketing International จำกัด (CMI) เป็นผู้ดำเนินการด้านพิธีการศุลกากร ซึ่ง ทอท.ได้ยกเว้นการ เรียกเก็บค่าเช่าพื้นที่ และเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 ได้มีพิธีเปิดเที่ยวบินปฐมฤกษ์ของสหประชาชาติสำหรับลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัย ให้ แ ก่ ผู้ ป ระสบภั ย จากพายุ ไ ซโคลนนาร์ กิ ส ในสหภาพพม่ า จากพื้ น ที่ ร วบรวมและลำเลี ย งสั ม ภาระของสหประชาชาติ

(United Nations’ Staging Area – UNSA) ที่ ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยมี นายปัน กีมุน เลขาธิการสหประชาชาติ,

นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีของไทย, นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน, นายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศ และ นางกัลยา ผกากรอง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ทอท.เป็นผู้แทน ทอท.เข้าร่วมพิธีดังกล่าว

112

รายงานประจำปี 2551


กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์

ทอท.เน้นความสำคัญของกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนรอบท่าอากาศยานทุกแห่ง โดยให้การสนับสนุน ส่งเสริม และริเริ่มสร้างสรรค์กิจกรรมและโครงการอันเป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรอบทั้งทางด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เยาวชน และสิ่งแวดล้อมด้วยดีเสมอมา

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นับตัง้ แต่เปิดดำเนินการเมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2549 เป็นต้นมา ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมชุ ม ชน สัมพันธ์ต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำ ทุกปี เพื่อให้ความสำคัญแก่เด็กและเยาวชนที่จะเติบโตเป็นกำลัง สำคัญของชาติต่อไปในอนาคต การสนับสนุนการเรียนการสอน ของศูนย์เด็กเล็กในชุมชนต่างๆ โครงการ “มอบความรู้สู่ชุมชน สร้างสัมพันธ์สมานฉันท์สวุ รรณภูม”ิ โดยจัดทำตูห้ นังสือจำนวน 40 ตู้ สำหรับจัดเก็บหนังสือในหมวดต่างๆ นอกจากนั้นท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิยังให้การสนับสนุนงานประเพณีท้องถิ่นโดยไม่จำกัด

เชื้อชาติและศาสนา เช่น ประเพณี โยนบัว และงานประเพณี

อั๊ ล บุ้ ซ รอของศาสนาอิสลาม รวมถึงให้ความช่วยเหลื อ เมื่ อ เกิ ด เหตุการณ์ฉุกเฉิน

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเปิดให้บริการเที่ยวบินระหว่าง ประเทศในลักษณะเช่าเหมาลำและรองรับเที่ยวบินภายในประเทศ บางส่ ว นยั ง คงมุ่ ง เน้ น การเสริ ม สร้ า งประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนอย่ า ง

ต่ อ เนื่ อ ง เช่ น มอบเงิ น สนั บ สนุ น ปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซมจุ ด ควบคุ ม สัญญาณไฟจราจรแยกสถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง เพื่ออำนวย ความสะดวกกับเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในการให้บริการประชาชน ในชุมชน และยังมอบเสื้อกันฝนแก่ฝ่ายงานป้องกันปราบปราม สถานีตำรวจนครบาลดอนเมืองเพื่อให้เจ้าหน้าที่สวมใส่ปฏิบัติงาน ในช่วงหน้าฝน นอกเหนือจากการมอบเงินและสิ่งของสนับสนุนแล้ว ท่าอากาศยานดอนเมืองยังมีการจัดกิจกรรมวันเด็กเป็นประจำทุกปี ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนโดยรอบอย่างสม่ำเสมอ เช่น กิจกรรมร่วมกับทางวัดและทางโรงเรียน เป็นต้น

113

รายงานประจำปี 2551


ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานภูเก็ตตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชน ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไปในอนาคต จึงได้ จัดงานวันเด็กแห่งชาติเป็นประจำทุกปี เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตลอดจนได้เรียนรู้และเพิ่มพูน ทักษะในด้านต่างๆ อีกหนึ่งกิจกรรมที่สำคัญของท่าอากาศยานภูเก็ตคือ การให้บริการอำนวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางไป และ เดินทางกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์ ณ นครมักกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งในแต่ละปีจะมีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก

ท่าอากาศยานภูเก็ตจึงต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ และประสานกับชุมชนโดยรอบเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงาน

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานเชียงใหม่

เพื่อก้าวสู่การเป็นประตูแห่งเมืองทองของล้านนาได้อย่างเต็มภาคภูมิ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนโดยรอบ งานทอดกฐินประจำปีเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลักที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่ได้จัดขึ้นร่วมกับชุมชน โดยสลับหมุนเวียนไปตามวัดต่างๆ ซึ่งนอกจากจะเป็นการทำนุบำรุงพุทธศาสนาแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างพนักงานลูกจ้างท่าอากาศยานเชียงใหม่กับชาวบ้านในชุมชน นอกจากนั้นยังได้จัดและร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่ชุมชน จัดขึ้น อาทิ กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติ การถวายเทียนพรรษา การมอบทุนการศึกษาและอุปกรณ์การเรียนแก่เด็กนักเรียน และ การขุดลอกคูคลองระบายน้ำ เป็นต้น

114

รายงานประจำปี 2551


ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานหาดใหญ่

กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์เป็นหนึ่งในพันธกิจสำคัญของท่าอากาศยานหาดใหญ่ โดยในรอบปีที่ผ่านมา ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ อาทิ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี กิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติโครงการ “ทอท.รวมใจ ภักดิ์รกั ในหลวง” เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การอำนวยความสะดวกให้กับพี่น้อง มุสลิมที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ ประเทศซาอุดิอาระเบีย และกิจกรรมเลี้ยงอาหารกลางวันแก่เด็กพิการทางปัญญาบ้าน สงขลา และมอบเงินสนับสนุนทางโรงเรียน เป็นต้น

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานเชียงราย

ท่าอากาศยานเชียงรายมีการดำเนินกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งทางด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กีฬา ฯลฯ เช่น การจัดงานวันเด็กแห่งชาติ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี การเปิดโอกาสให้สถาบันการศึกษาต่าง ๆ

เข้าเยี่ยมชมและศึกษากิจการการบินของทางท่าอากาศยาน การสนับสนุนให้พนักงานและชุมชนออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง สุขภาพ การจัดให้มกี ารรับบริจาคโลหิตภายในท่าอากาศยานเชียงรายในวาระสำคัญ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือต่อสังคม

ในกรณีฉุกเฉินต่างๆ

115

รายงานประจำปี 2551


การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

ทอท.ดำเนินกิจการท่าอากาศยานในความรับผิดชอบด้วยความห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม และตระหนักถึงความรับผิดชอบในการ รักษา แก้ไข ป้องกัน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกับชุมชนโดยรอบท่าอากาศยานตลอดมา โดยท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง มี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่ว่าจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลัก สุขาภิบาล โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบประปา และสถานีสูบระบายน้ำได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 14001, ISO 18001 และ ISO 9001 และยังได้รับการรับรองน้ำประปาดื่มได้ในพื้นที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

จากการประปานครหลวงเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2550 นอกจากนี้ท่าอากาศยานแต่ละแห่งยังมีการดำเนินการตามมาตรการ ป้องกัน แก้ ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างครบถ้วน ส่งผลให้

ท่าอากาศยานเชียงรายได้รับรางวัล EIA MONITORING AWARD จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประจำปี 2549 และ 2550 อีกด้วย สำหรับผูท้ ี่ได้รบั ผลกระทบสิง่ แวดล้อมด้านเสียงจากการดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมทิ งั้ ทีเ่ ป็นบ้านพักอาศัย ศาสนสถาน สถานศึกษา และสถานพยาบาลนั้น ทอท.ได้ดำเนินการชดเชยตามมาตรการที่ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนแล้วในรายงานการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพิ่มเติม (สืบเนื่องจากการเพิ่มจำนวนผู้ โดยสารในปีเปิดดำเนินการ)

(Environmental Impact Assessment : EIA) ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ เมือ่ 10 มีนาคม 2548 และตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 29 พฤษภาคม 2550 สรุปความคืบหน้าการดำเนินงานจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 ดังนี้

116

รายงานประจำปี 2551


1. พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF>40 มีอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 503 อาคาร โดยมีเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินและ

สิ่ ง ปลู ก สร้ า งต้ อ งการขายจำนวน 153 อาคาร ทอท.ได้ ป ระเมิ น ราคาที่ ดิ น และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งแล้ ว จำนวน 54 อาคาร

ซึ่งในจำนวนนี้มีการจ่ายเงินเพื่อซื้อขายและโอนกรรมสิทธิ์แล้ว 16 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือจำนวน 99 อาคาร ทอท.จะ

ดำเนิ น การประเมิ น ราคาโดยเที ย บเคี ย งแนวทางการกำหนดค่ า ทดแทนความเสี ย หายที่ ต้ อ งออกจากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่

ถูกเวนคืนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 ต่อไป สำหรับเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ต้องการปรับปรุง อาคาร จำนวน 342 อาคาร ทอท.ได้มอบเงินให้ไปดำเนินการปรับปรุงอาคารเองแล้วจำนวน 231 อาคาร และปัจจุบันอยู่ระหว่าง ติดตามเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ยังไม่แสดงความประสงค์ในการรับการชดเชยอีก 8 อาคาร 2. พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF 30-40 ที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 8,966 อาคาร ทอท.จะสนับสนุนการปรับปรุงอาคาร และสิง่ ปลูกสร้างโดยทำการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนภายในอาคาร หากพบว่าโครงการทำให้มรี ะดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล (เอ) ทอท.จะมอบเงินให้ ไปดำเนินการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบ

ด้านเสียง จากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โดยในปีงบประมาณ 2551 ทอท.ได้ดำเนินการตรวจวัด ระดับเสียงรบกวนภายในอาคารและประเมินงบประมาณค่าปรับปรุงอาคารให้อาคารทีม่ เี สียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล (เอ) แล้วประมาณ 1,000 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือจะดำเนินการในปีงบประมาณต่อไป 3. ทอท.ได้ ส นั บ สนุ น งบประมาณให้ ส ถานที่ อ่ อ นไหวต่ อ ผลกระทบด้ า นเสี ย งได้ แ ก่ สถานศึ ก ษา สถานพยาบาลและ

ศาสนสถาน จำนวน 11 แห่ง เพื่อไปปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง เป็นเงินงบประมาณ 190.5 ล้านบาท

117

รายงานประจำปี 2551



งบการเงิน


รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ทอท. ต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของ ทอท. ซึ่งจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยได้มกี ารพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นอิสระกำกับดูแลงบการเงินและประเมินระบบ การควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่ามีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถูกต้องครบถ้วน อย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติ ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของ

คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจำปีนี้แล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท สามารถสร้างความเชื่อมั่นได้ว่างบการเงินของ ทอท.แสดง ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดถูกต้องในสาระสำคัญแล้ว

( นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ ) ประธานกรรมการ

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

120

รายงานประจำปี 2551


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำปีงบประมาณ 2551 คณะกรรมการตรวจสอบได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ทอท. ในการ ประชุมครั้งที่ 6 /2551 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 ประกอบด้วย นายถาวร พานิชพันธ์ เป็น ประธานกรรมการ นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ เป็น กรรมการ นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็น กรรมการ นายอภิชาติ สายะสิต เป็น กรรมการ นายกมล แดงพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบ เป็น เลขานุการ ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 - กันยายน 2551) คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดให้มีการประชุม 9 ครั้ง โดยมุ่งเน้น ให้เป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพของคณะกรรมการบริษัทในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบกิจการภายใน ซึ่งจะช่วยให้ฝ่ายบริหารของ ทอท.สามารถบริหารและควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของ ทอท.ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดได้ดียิ่งขึ้น ในการดำเนินงานระหว่างปี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานทางการเงินร่วมกับผูบ้ ริหารด้านการบัญชีและการเงิน และผู้สอบบัญชีของ ทอท. คือ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. ซึ่งผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายงานทางการเงินของ ทอท.ได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควร และเป็นตามมาตรฐานการบัญชีรับรองทั่วไป และการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินเป็นไป อย่างเพียงพอ ซึ่งรวมถึงรายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ถูกต้อง ครบถ้วน การจัดทำรายงานการเงินทันเวลาและจัดส่ง

ให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ตามเวลาทีก่ ำหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในด้านการเงิน และด้านการปฏิบัติการดำเนินงานของ ทอท. ได้ ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร เพื่อการปรับปรุงงาน

ด้านการบริหารความเสีย่ ง และด้านระบบการควบคุมภายในของ ทอท.ให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ นอกจากนีย้ งั ได้รบั ทราบ และให้

ข้อเสนอแนะรายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ในการนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ใช้รายงานผลการตรวจสอบภายใน

ซึ่งดำเนินการโดยสำนักตรวจสอบ ทอท. เป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการนำข้อเสนอแนะ และปรับปรุงงานของ ทอท. ด้วย คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรอบคอบ มีความเป็นอิสระ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล

ที่ดี ซึ่งจากการสอบทานและพิจารณาเรื่องต่างๆ ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ดำเนินการมาตลอดปี 2551 คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า ทอท.มีกระบวนการจัดทำรายงานทางการเงิน รายงานการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และ

การตรวจสอบภายใน เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตามหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบรัฐวิสาหกิจ ซึง่ กำหนดโดยกระทรวงการคลัง รวมทัง้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษัทกำหนด ( นายถาวร พานิชพันธ์ ) ประธานกรรรมการตรวจสอบ 29 ตุลาคม 2551

121

รายงานประจำปี 2551


รายงานของผู้สอบบัญชี เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550

งบกำไรขาดทุ น รวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษั ท งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงในส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น รวมและงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ของแต่ละปี ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนสำนักงาน

การตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้สำนักงาน

การตรวจเงินแผ่นดินต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำนวนเงินและการเปิดเผย ข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่บริษัทใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็น สาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอใน

งบการเงินโดยรวม สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดง ความเห็นของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและแสดง ฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษัท

การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไม่เป็นเงื่อนไขในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินขอให้สังเกตเรื่องต่อไปนี้ 1. หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4.1 บริษัท ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จากวิธีส่วนได้เสียมาเป็นวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) 2. หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.31.2 เรื่องข้อพิพาทกับบริษัทเอกชน

( คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ) ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน

สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน วันที่ 21 พฤศจิกายน 2551

122

รายงานประจำปี 2551

( นางดาหวัน วงศ์พยัคฆ์ ) นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน 9 ชช.


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า-สุทธิ ลูกหนี้อื่น สินค้าและวัสดุคงเหลือ-สุทธิ รายได้ค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

งบการเงินรวม 2551

หมายเหตุ

6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 6.10 6.11 6.12 6.13

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

8,437,365,623.51 10,231,387,965.24 8,338,266,634.60 10,208,038,131.42 11,557,828,924.58 4,503,250,658.11 11,557,828,924.58 4,503,250,658.11 1,654,325,763.81 1,789,511,118.90 1,582,781,489.87 1,720,916,200.99 1,269,139,769.25 1,271,179,754.84 1,255,384,381.92 1,263,010,384.13 209,706,665.33 130,979,381.95 201,740,621.84 122,950,562.76 1,367,353,328.17 989,891,553.77 1,374,666,257.50 1,013,055,710.77 190,399,417.96 226,295,352.50 175,833,767.76 213,621,854.81 24,686,119,492.61 19,142,495,785.31 24,486,502,078.07 19,044,843,502.99 191,740,321.88 174,653,058.38 39,789,293,000.00 39,789,293,000.00 989,758,437.98 379,710,000.00 989,758,437.98 379,710,000.00 108,182,166,353.72 111,805,660,295.60 105,995,565,167.80 109,398,661,834.03 6,154,117,881.81 5,855,330,700.22 6,154,117,881.81 5,855,330,700.22 1,029,199,964.25 1,045,450,652.88 1,029,199,964.25 1,045,450,652.88 5,222,870,555.28 5,063,684,401.25 5,222,870,555.28 5,063,684,401.25

121,769,853,514.92 124,324,489,108.33 159,180,805,007.12 161,532,130,588.38 146,455,973,007.53 143,466,984,893.64 183,667,307,085.19 180,576,974,091.37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

123

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้งานระหว่างทำ ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินมัดจำและเงินประกันสัญญา หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกองทุนสงเคราะห์ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย รายได้สัมปทานรับล่วงหน้า หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินรวม 2551

หมายเหตุ

505,069,868.31 924,055,458.52 339,166,054.60 108,098,250.14 1,229,233,331.48 108,098,250.14 339,782,446.97 624,190,821.57 339,782,446.97 2,709,446,981.87 2,987,646,211.43 2,773,925,424.65 6.16 6.14 6.15 6.16

1,861,573,394.89 - 182,244,749.68 4,682,376,761.49 10,388,592,453.35 58,564,516,506.32

6.17

38,941,079.00 - 6.18 1,155,528,960.03 59,758,986,545.35 70,147,578,998.70

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

124

รายงานประจำปี 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

1,418,392,233.29 10,000,000.00 175,048,679.63 3,629,822,651.51 10,998,389,387.43 52,840,027,292.30

1,713,173,394.89 38,483,807,107.71 182,239,216.68 4,665,799,674.95 48,605,991,570.59 57,193,456,506.32

788,151,810.72 1,229,233,331.48 624,190,821.57 3,034,849,686.02 1,307,092,233.29 38,483,807,107.71 175,043,146.63 3,609,462,008.69 49,251,830,146.11 51,421,327,292.30

45,007,712.48 38,941,079.00 45,007,712.48 4,460,000,000.00 - 4,460,000,000.00 5,446,328,880.53 1,153,144,231.06 5,428,609,747.59 62,791,363,885.31 58,385,541,816.38 61,354,944,752.37 73,789,753,272.74 106,991,533,386.97 110,606,774,898.48


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ทุนที่ออกและเรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม 2551

หมายเหตุ

6.19

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

2550

(ปรับปรุงใหม่)

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63

169,260,000.00 251,160,000.00 169,260,000.00 251,160,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 47,599,934,819.22 40,850,307,728.53 48,224,574,455.59 41,437,099,950.26 76,051,134,061.85 69,383,406,971.16 76,675,773,698.22 69,970,199,192.89 257,259,946.98 293,824,649.74 - -

76,308,394,008.83 69,677,231,620.90 76,675,773,698.22 69,970,199,192.89 146,455,973,007.53 143,466,984,893.64 183,667,307,085.19 180,576,974,091.37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

125

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำไรขาดทุน

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

รายได้จากการดำเนินงาน ค่าธรรมเนียมสนามบิน 4,216,347,087.06 3,937,398,190.24 4,216,347,087.06 3,937,398,190.24 ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน 10,417,014,355.44 8,781,477,837.24 10,417,014,355.44 8,781,477,837.24 ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก 431,753,772.00 427,099,436.29 431,753,772.00 427,099,436.29 ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์ 1,480,644,986.59 1,524,609,856.42 1,503,324,986.59 1,547,289,856.42 รายได้เกี่ยวกับบริการ 3,164,293,042.18 2,818,541,249.62 2,445,224,332.21 2,175,992,917.24 รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ 2,300,812,726.57 2,012,283,931.37 2,315,855,925.67 2,025,900,262.19 รวมรายได้จากการดำเนินงาน 22,010,865,969.84 19,501,410,501.18 21,329,520,458.97 18,895,158,499.62 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ค่าใช้จ่ายพนักงาน 3,909,003,249.71 2,927,842,273.10 3,904,204,764.43 2,924,344,143.71 ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 5,100,310,429.64 5,730,128,875.22 4,650,568,876.43 5,323,710,883.58 ค่าซ่อมแซม 683,958,088.13 732,378,685.46 683,958,088.13 732,378,685.46 ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ 6.22 955,728,995.98 846,318,824.62 955,728,995.98 846,318,824.62 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 7,866,887,359.25 7,768,007,172.49 7,642,077,350.08 7,552,525,786.23 รวมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 18,515,888,122.71 18,004,675,830.89 17,836,538,075.05 17,379,278,323.60 กำไรจากการดำเนินงาน 3,494,977,847.13 1,496,734,670.29 3,492,982,383.92 1,515,880,176.02 รายได้อื่น ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง 6.25 8,331,532,705.39 - 8,331,532,705.39 - ดอกเบี้ยรับ 566,650,671.58 693,302,924.11 564,437,627.49 692,633,882.99 กำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ 5,898,714.25 1,293,714.83 5,898,714.25 1,293,714.83 รายได้อื่น ๆ 262,475,207.16 291,145,659.45 262,472,785.49 286,717,225.12 รวมรายได้อื่น 9,166,557,298.38 985,742,298.39 9,164,341,832.62 980,644,822.94

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

126

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำไรขาดทุน

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

ค่าใช้จ่ายอื่น ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน 6.26 928,721,631.36 (2,804,543,423.41) 928,721,631.36 (2,804,543,423.41) ค่าใช้จ่ายอื่น 425,408,676.18 67,308,497.86 425,408,676.18 67,308,497.86 รวมค่าใช้จ่ายอื่น 1,354,130,307.54 (2,737,234,925.55) 1,354,130,307.54 (2,737,234,925.55) ส่วนแบ่งกำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน 17,087,263.50 (48,092,932.74) - - ตามวิธีส่วนได้เสีย กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษีเงินได้ 11,324,492,101.47 5,171,618,961.49 11,303,193,909.00 5,233,759,924.51 ดอกเบี้ยจ่าย 2,569,798,136.56 2,397,166,007.14 2,474,087,826.69 2,316,045,622.44 ภาษีเงินได้ 1,470,205,064.18 1,722,755,472.46 1,470,205,064.18 1,722,755,472.46 กำไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 7,284,488,900.73 1,051,697,481.89 7,358,901,018.13 1,194,958,829.61 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 36,564,702.76 38,061,365.99 - - ในขาดทุนสุทธิของบริษัทย่อย กำไรสุทธิ 7,321,053,603.49 1,089,758,847.88 7,358,901,018.13 1,194,958,829.61 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิ 5.12 0.76 5.15 0.84

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

127

รายงานประจำปี 2551


128

รายงานประจำปี 2551

- - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

(567,396.47) (1,418,491.18) 331,886,015.73 71,162,100,139.01

ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย รวม 332,453,412.20 71,163,518,630.19

- - (5,957,664.62) 251,160,000.00 1,428,570,000.00 40,850,307,728.53

(3,971,776.40) (9,929,441.02) 293,824,649.74 69,677,231,620.90

34,860,000.00 - - - 34,860,000.00 - - 1,089,758,847.88 - 1,089,758,847.88 - - (2,571,426,000.00) - (2,571,426,000.00) - - - (38,061,365.99) (38,061,365.99) 251,160,000.00 1,428,570,000.00 40,850,307,728.53 293,824,649.74 69,677,231,620.90 251,160,000.00 1,428,570,000.00 40,856,265,393.15 297,796,426.14 69,687,161,061.92

- - (851,094.71) 216,300,000.00 1,428,570,000.00 42,331,974,880.65

ส่วนเกินทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน สำรองตามกฎหมาย กำไรสะสม 216,300,000.00 1,428,570,000.00 42,332,825,975.36

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

- - (81,900,000.00) - - - (81,900,000.00) - - - - 7,321,053,603.49 - 7,321,053,603.49 6.21 - - - - (571,426,512.80) - (571,426,512.80) - - - - - (36,564,702.76) (36,564,702.76) 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 169,260,000.00 1,428,570,000.00 47,599,934,819.22 257,259,946.98 76,308,394,008.83

4.2

- - - - - - - - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

- - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

4.2

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2549 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชีของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2550 ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2550 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชีของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

ทุนเรือนหุ้นที่ออก หมายเหตุ และชำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


รายงานประจำปี 2551

129

4.1 4.1 6.21

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2549 ผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเงินลงทุน ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2550 ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2550 ผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเงินลงทุน ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

หมายเหตุ

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 ทุนเรือนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว 14,285,700,000.00 - 14,285,700,000.00 - - - 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 - 14,285,700,000.00 - - - 14,285,700,000.00

ส่วนเกินทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน 216,300,000.00 - 216,300,000.00 34,860,000.00 - - 251,160,000.00 251,160,000.00 - 251,160,000.00 (81,900,000.00) - - 169,260,000.00 สำรองตามกฎหมาย 1,428,570,000.00 - 1,428,570,000.00 - - - 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 - 1,428,570,000.00 - - - 1,428,570,000.00

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 12,567,669,242.63 - 12,567,669,242.63 - - - 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 - 12,567,669,242.63 - - - 12,567,669,242.63

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รวม 70,831,065,217.99 480,741,145.29 71,311,806,363.28 34,860,000.00 1,194,958,829.61 (2,571,426,000.00) 69,970,199,192.89 69,389,364,635.78 580,834,557.11 69,970,199,192.89 (81,900,000.00) 7,358,901,018.13 (571,426,512.80) 76,675,773,698.22

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

กำไรสะสม 42,332,825,975.36 480,741,145.29 42,813,567,120.65 - 1,194,958,829.61 (2,571,426,000.00) 41,437,099,950.26 40,856,265,393.15 580,834,557.11 41,437,099,950.26 - 7,358,901,018.13 (571,426,512.80) 48,224,574,455.59

หน่วย : บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ รายการปรับปรุงกระทบยอดกำไรสุทธิ เป็นเงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดำเนินงาน หนี้สงสัยจะสูญ สำรองวัสดุคงเหลือเสื่อมสภาพ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรจากการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนแบ่ง(กำไร)ขาดทุนสุทธิ ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (รายได้)ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี สำรองหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น รายได้เงินปันผล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ในขาดทุนสุทธิของบริษัทย่อย กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน

รายงานประจำปี 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

7,321,053,603.49 1,089,758,847.88 7,358,901,018.13 1,194,958,829.61

(42,357,111.64) 255,152,860.76 (43,963,774.64) 255,005,221.76 (22,392,913.86) 4,142,265.99 (22,392,913.86) 4,142,265.99 7,866,887,359.25 7,768,007,172.49 7,642,077,350.08 7,552,525,786.23 1,048,525,912.12 (2,523,217,361.02) 1,048,525,912.12 (2,523,217,361.02) (5,203,514.43) (17,087,263.50) (4,458,233,333.35) 425,330,761.18 (29,413,700.00) (36,564,702.76)

(939,135.38)

(5,203,514.43)

(939,135.38)

48,092,932.74 - 9,971,942.15 (4,458,233,333.35) 30,219,374.00 425,330,761.18 (24,602,000.00) (29,413,700.00)

- 9,971,942.15 30,219,374.00 (24,602,000.00)

(38,061,365.99)

-

-

12,050,545,096.50 6,618,525,533.62 11,915,627,805.23 6,498,064,923.34

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

130

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดำเนินงาน ลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น วัสดุคงคลัง รายได้ค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดำเนินงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินมัดจำและเงินประกันสัญญา เงินกองทุนสงเคราะห์ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

177,542,466.73 (1,290,997,186.03) 182,098,485.76 (1,230,605,778.07) (77,565,298.53) 188,201,367.11 (71,904,281.91) 159,224,174.93 (56,334,369.52) (55,561,175.65) (56,397,145.22) (52,598,615.65) (377,461,774.40) (815,626,520.40) (361,610,546.73) (830,325,612.87) 35,895,934.54 150,671.76 37,788,087.05 (199,434.15) (395,193,501.61) (284,408,374.60) (277,492,029.74) 7,196,070.05

737,180,954.64 (425,193,667.52) 70,522,046.93 (284,408,374.60) 765,378,577.58 (260,292,061.55) 27,136,794.58 7,196,070.05

679,831,823.62 70,522,046.93 709,752,410.58 27,459,078.58

(6,066,633.48) (362,321.75) (6,066,633.48) (362,321.75) 1,041,292,470.89 (938,941,022.10) 1,045,076,027.17 (957,767,753.12) 11,837,950,056.83 5,305,607,720.29 11,721,913,764.25 5,072,994,942.37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

131

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น (7,054,578,266.47) (3,282,336,753.10) (7,054,578,266.47) (3,282,336,753.10) เงินสดรับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ 5,246,634.09 964,212.53 5,246,634.09 964,212.53 เงินปันผลรับจากเงินลงทุน 29,413,700.00 24,602,000.00 29,413,700.00 24,602,000.00 ลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (5,666,365,718.58) (7,473,282,306.63) (5,661,952,985.06) (7,269,968,798.33) และงานระหว่างก่อสร้าง ลงทุนในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (100,183,630.73) (183,956,335.63) (100,183,630.73) (183,956,335.63) เงินลงทุนระยะยาวเพิ่มขึ้น (691,948,437.98) - (691,948,437.98) - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น (1,541,590,304.16) (1,341,027,631.06) (1,541,590,304.16) (1,342,402,964.42) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 1,279,041,039.70 556,539,704.27 1,294,375,443.67 772,025,314.96 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (13,740,964,984.13) (11,698,497,109.62) (13,721,217,846.64) (11,281,073,323.99) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจ่ายจากการเบิกเกินบัญชี (10,000,000.00) (28,978,147.16) - - ชำระคืนเงินกู้ระยะยาว (1,565,884,650.65) (1,087,942,662.42) (1,454,584,650.65) (1,087,942,662.42) เงินกู้ระยะยาวเพิ่มขึ้น 2,256,303,749.02 1,910,099,910.31 2,155,543,749.02 1,680,099,910.31 จ่ายเงินปันผล (571,426,512.80) (3,928,567,500.00) (571,426,512.80) (3,928,567,500.00) เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน 108,992,585.57 (3,135,388,399.27) 129,532,585.57 (3,336,410,252.11)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

132

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิน้ งวด ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายในระหว่างงวด ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

(1,794,022,341.73) (9,528,277,788.60) (1,869,771,496.82) (9,544,488,633.73) 10,231,387,965.24 19,759,665,753.84 10,208,038,131.42 19,752,526,765.15 8,437,365,623.51 10,231,387,965.24 8,338,266,634.60 10,208,038,131.42 2,694,945,424.74 2,231,486,459.06 2,599,235,114.87 2,150,366,074.36 1,754,602,653.89 1,771,929,737.83 1,754,407,927.71 1,771,781,887.50

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

133

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550

1. ข้อมูลทั่วไป

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 สำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ ประกอบและส่ ง เสริ ม กิ จ การท่ า อากาศยาน รวมทั้ ง การดำเนิ น กิ จ การอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ต่ อ เนื่ อ งกั บ การประกอบกิ จ การ

ท่าอากาศยาน ปัจจุบันบริหารกิจการท่าอากาศยาน จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ท่าอากาศยาน ดอนเมือง (ทดม.) และท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง (เชียงใหม่ หาดใหญ่ ภูเก็ตและเชียงราย ) ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท. มีพนักงานและลูกจ้างประจำ จำนวน 4,057 คน

2. เกณฑ์การเสนองบการเงิน

งบการเงินของ ทอท. ประกอบด้วยงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2.1 งบการเงินรวม แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ ทอท. และบริษัทย่อย บริษทั ย่อยประกอบด้วย บริษทั ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด ระหว่างชำระบัญชี (บทม.) และ บริษทั โรงแรม

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด (รทส.) โดย ทอท. ถือหุ้นร้อยละ 100 และ 60 ตามลำดับ 2.2 งบการเงินเฉพาะบริษัท แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ ทสภ. ซึ่งรับโอนกิจการจาก บทม. เมื่อวันที่

1 มกราคม 2549 ทดม. ท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง และกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย รายการบัญชีทเี่ ป็นสาระสำคัญทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษัทใหญ่ และบริษัทย่อย ได้ถกู หักกลบลบกันแล้วในการจัดทำงบการเงินรวม

3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 นโยบายการบัญชีที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 3.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย 3.1.1 รายได้คา่ ธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครือ่ งอำนวยความสะดวก และรายได้เกีย่ วกับบริการ รับรู้เป็นรายได้ในงวดบัญชีที่มีการให้บริการ 3.1.2 รายได้ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ รับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาและ อัตราค่าตอบแทนตามที่ระบุไว้ในสัญญา 3.1.3 รายได้จากกิจการโรงแรมและภัตตาคาร บันทึกเป็นรายได้ตามราคาในใบแจ้งหนี้โดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับ ค่าสินค้าและบริการหลังจากหักส่วนลดและค่าบริการที่บวกเพิ่มแล้ว 3.1.4 ดอกเบี้ยรับ รับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของระยะเวลา โดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 3.1.5 เงินปันผล รับรู้ในวันประกาศจ่าย 3.1.6 ค่าใช้จ่ายบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง

134

รายงานประจำปี 2551


3.2 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตั้งเป็นจำนวนเท่ากับผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ โดยประมาณขึ้น จากประสบการณ์ในการเก็บเงินในอดีต และตามสถานะปัจจุบันของลูกหนี้คงค้าง ณ วันที่ในงบดุล หนี้สูญจะตัดบัญชีตามรายที่ ระบุได้ในระหว่างปี 3.3 สินค้าและวัสดุคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าคำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนในการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้านั้น มูลค่าที่จะได้รับประมาณ จากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายในการขาย สำหรับวัสดุคงเหลือบันทึกบัญชีโดยวิธีราคาทุนถัวเฉลี่ย วัสดุในส่วนที่ไม่เคลื่อนไหวเกิน 5 ปี จะตั้งสำรองการเสื่อมสภาพไว้เต็มจำนวน 3.4 เงินลงทุน 3.4.1 เงินลงทุนระยะยาว เงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่อยู่ ในความต้องการของตลาดที่เป็นเงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วย ราคาทุนปรับด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน 3.4.2 เงินลงทุนในตราสารทุน ทีอ่ ยู่ในความต้องการของตลาดทีเ่ ป็นเงินลงทุนเผือ่ ขายแสดงด้วยมูลค่ายุตธิ รรม กำไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายจะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้น 3.4.3 เงินลงทุนในบริษั ทย่อย และบริษั ทร่วม บันทึกบัญชีเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ตามสัดส่วนของการลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม และในงบการเงินเฉพาะบริษัทแสดงตามวิธีราคาทุน 3.5 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ บันทึกบัญชี ในราคาทุน ณ วันที่ ได้มาหรือก่อสร้างแล้วเสร็จ ทอท. ก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมดในที่ราชพัสดุ

ซึ่งเช่าจากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เดิมระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศกำหนดให้อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลังนับตั้งแต่วันก่อสร้างแล้วเสร็จ แต่ ทอท. บันทึกอาคารและสิ่งปลูกสร้างเป็นสินทรัพย์ เนื่องจาก ทอท. เป็นผู้รับความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ดังกล่าว และจ่ายค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุให้กรมธนารักษ์ เมื่อ ทอท. แปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน จำกัด กระทรวงการคลังได้จัดทำระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศ จำนวน หนึ่งระเบียบ และระเบียบกระทรวงการคลังและกรมการบินพาณิชย์ จำนวนสองระเบียบ ซึ่งทัง้ สามระเบียบมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 30 กันยายน 2545 โดยข้อ 8 ของทัง้ สามระเบียบกำหนดให้กรรมสิทธิอ์ าคาร และสิง่ ปลูกสร้างตกเป็นกรรมสิทธิข์ องกระทรวงการคลัง เมือ่ ข้อตกลงการใช้ประโยชน์ในทีร่ าชพัสดุทที่ ำขึน้ ตามระเบียบนีส้ นิ้ ผลบังคับผูกพัน ซึง่ เมือ่ รวมระยะเวลาทัง้ สิน้ แล้วต้องไม่เกิน 50 ปี นับแต่วันที่ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์ ทอท. ได้ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์รวมสี่ฉบับ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 และทำ

ข้อตกลงการใช้ประโยชน์ฉบับปรับปรุงแก้ไขอีก 1 ฉบับ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2547 โดยให้ ทอท.ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ

มีกำหนดเวลา 30 ปี (วันที่ 30 กันยายน 2575) และยินยอมให้ ทอท. แจ้งขอใช้ประโยชน์ตอ่ ไปได้อกี สองครัง้ ๆ ละ 10 ปี (วันที่ 30 กันยายน 2595) ซึง่ ทอท. จ่ายค่าตอบแทนการใช้ทรี่ าชพัสดุ ให้กรมธนารักษ์ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.22 เครื่องใช้ในการดำเนินงานของกิจการโรงแรม บันทึกค่าเสื่อมราคาตามประมาณการอายุการใช้งานของทรัพย์สิน

135

รายงานประจำปี 2551


ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละประเภท ดังนี้ อาคาร สิ่งก่อสร้างและภูมิสถาปัตยกรรม งานระบบ ไฟฟ้า ประปา เชื้อเพลิงและสื่อสาร เครื่องจักรกล เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องตกแต่งติดตั้งและเครื่องใช้สำนักงาน

อายุการใช้งาน (ปี) ของสินทรัพย์ที่ได้มา ก่อนวันที่ 28 กันยายน 2545

ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2545

10 - 30 10 - 20 5 - 10 5 - 8 5

20 - 50 10 - 20 5 - 10 5 - 8 3 - 10

3.6 รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ บันทึกบัญชีเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ รายการสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ คงเหลือ ณ วันสิ้นงวดจะปรับมูลค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตามอ้างอิงประจำวันที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศไว้ ผล กำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในงบกำไรขาดทุน 3.7 ดอกเบี้ยเงินกู้ จากการกู้ยืมเพื่อนำมาใช้ในโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการก่อสร้าง และเมื่อโครงการ ก่อสร้างแล้วเสร็จจะบันทึกดอกเบี้ยเงินกู้เป็นค่าใช้จ่าย 3.8 ผลประโยชน์พนักงาน ทอท. ได้ จั ดตั้ ง “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานการท่ า อากาศยานแห่ ง ประเทศไทยซึ่ ง จดทะเบี ย นแล้ ว” เมื่ อ วั น ที ่ 28 มีนาคม 2537 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งพนักงานและลูกจ้างประจำจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุน ในอัตราร้อยละ 2 - 10 ของเงินเดือน ทัง้ นีต้ อ้ งไม่เกินอัตราที่ ทอท.จ่ายสมทบ โดย ทอท.จะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฯ ให้พนักงาน ที่เป็นสมาชิกแต่ละรายตามอัตราที่กำหนด คณะกรรมการ ทอท.ได้มมี ติในคราวประชุมครัง้ ที่ 9/2548 เมือ่ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2548 ให้ปรับอัตราเงินสมทบของสมาชิก ดังนี้ อายุการทำงาน

อัตราร้อยละของเงินเดือน

ไม่เกิน 10 ปี เกินกว่า 10 ปี เกินกว่า 20 ปี เกินกว่า 25 ปี

9 10 12 15

สมาชิกขอเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมได้ตามอายุการทำงานในอัตราร้อยละ 2 - 15 ของเงินเดือน โดยมีผลตั้งแต่เดือน ตุลาคมของทุกปี ทอท.รับรู้เงินจ่ายสมทบเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ ได้แยกออกจาก ทอท.และบริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

136

รายงานประจำปี 2551


3.9 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายความรวมถึงเงินสดและเงินฝากธนาคารทีม่ กี ำหนดจ่ายคืนในรอบระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน 3.10 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ทอท. นำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือ่ วันที่ 11 มีนาคม 2547 จึงได้รับลดหย่อนอัตราภาษี เงินได้นติ บิ คุ คลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิหลังจากปรับปรุงด้วยรายได้และค่าใช้จา่ ยที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของกรมสรรพากร ทั้งนี้ ตั้งแต่รอบระยะบัญชีวันที่ 1 ตุลาคม 2547 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2552 3.11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม ประกอบด้วย - สิทธิในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สามารถแยกจากเครื่องมือที่เกี่ยวข้องได้ การตัดจำหน่าย คำนวณโดยวิธีเส้นตรง โดยประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์ระหว่าง 5-10 ปี - ค่าชดเชยผลกระทบทางเสียง เป็นการจ่ายในการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้กับหน่วยงาน / เจ้าของสถานที่ เพือ่ ป้องกันผลกระทบทางเสียงทีเ่ กิดจากการดำเนินงานของสนามบินสุวรรณภูมิ การตัดจำหน่ายคำนวณโดยวิธเี ส้นตรง ในระยะเวลา 20 ปี 3.12 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายในระหว่างปี 3.13 การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางกรณีฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การประมาณการรายการบัญชี

บางรายการซึง่ มีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนผี้ ลทีเ่ กิดขึน้ จริงในภายหลัง จึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้ 3.14 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ในการทำอนุพนั ธ์ทางการเงินทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งใช้เกณฑ์คงค้าง กำไรขาดทุนทีเ่ กิดจากการแปลงค่าเงินบาท รับรู้ในงบกำไรขาดทุน ส่วนดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามนโยบายการบัญชีข้อ 3.7

4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

4.1 ตั้งแต่งบการเงินประจำปี 2551 (1 ตุลาคม 2550) ทอท. ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุน ในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะบริษัท จากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ซึ่งกำหนดให้เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในกิจการที่ ควบคุมร่วมกัน และเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะบริษัทต้องแสดงตามวิธีราคาทุน ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว ทอท. ได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะบริษั ทงวดก่อน ที่นำมาแสดง

เปรียบเทียบเสมือนว่า ทอท. ได้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม ตามวิธี ราคาทุนมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้ ทอท. มีกำไรสุทธิสำหรับปี 2550 เพิ่มขึ้น 100.09 ล้านบาทและมีผลทำให้กำไร สะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 และ 2550 เพิ่มขึ้น 480.74 ล้านบาท และ 580.83 ล้านบาทตามลำดับ

137

รายงานประจำปี 2551


4.2 บริษั ทย่อย (บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด : รทส.) ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ

การบันทึกค่าใช้จ่ายเครื่องใช้ ในการดำเนินงาน จากบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทันทีเมื่อมีการเบิกใช้ เป็นบันทึกค่าเสื่อมราคาตาม ประมาณการอายุการใช้งานของทรัพย์สิน ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว รทส.ได้ปรับปรุงย้อนหลังงบการเงิน

งวดก่อนที่นำมาเปรียบเทียบเสมือนว่าบริษั ทได้ถือปฎิบัติเกี่ยวกับการบันทึกค่าเสื่อมราคาของเครื่องใช้ ในการดำเนินงานมา

โดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้งบการเงินรวมของ ทอท. มีกำไรสุทธิสำหรับปี 2550 ลดลง 5.11 ล้านบาท และมีผลทำให้ กำไรสะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 และ 2550 ลดลง 0.85 ล้านบาท และ 5.96 ล้านบาท ตามลำดับ

5. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

ทอท. และบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจ 2 ส่วนงานหลักได้แก่ กิจการท่าอากาศยาน และธุรกิจโรงแรม ในปี 2551 และ 2550 ทอท. และบริษัทย่อยไม่มีกิจกรรมที่เป็นสาระสำคัญในส่วนงาน ดังนั้นจึงไม่แสดงข้อมูลจำแนกตามส่วนงานทั้งในส่วนงานธุรกิจ และส่วนงานทางภูมิศาสตร์

6. ข้อมูลเพิ่มเติม 6.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หน่วย : ล้านบาท

เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ พันธบัตร เงินฝากออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. รวม

งบการเงินรวม 2551 618.15 (95.63) 1,622.90 4,500.00 1,718.77 73.18 8,437.37

2550 176.30 (115.38) 2,599.89 7,500.00 - 70.58 10,231.39

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 617.09 (82.63) 1,511.86 4,500.00 1,718.77 73.18 8,338.27

175.24 (95.18) 2,557.40 7,500.00 - 70.58 10,208.04

ณ วั น สิ้ น งวดปี 2551 และ 2550 เงิ น ฝากธนาคารประเภทออมทรั พ ย์ ได้ ร วมเงิ น ฝากของกองทุ น สงเคราะห์

การท่าอากาศยานฯ จำนวน 8.0 ล้านบาท และ 7.98 ล้านบาท ตามลำดับ ส่วนเงินฝากออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. จำนวน 73.18 ล้านบาท และ 70.58 ล้านบาท ตามลำดับ เป็นเงินฝากของกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานฯ ซึ่งได้รับความ เห็นชอบจากกระทรวงการคลัง (หนังสือกระทรวงการคลังที่ กค.0511/59136 ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2535)

138

รายงานประจำปี 2551


6.2 เงินลงทุนชั่วคราว งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

เงินฝากประจำ พันธบัตร รวม

2551

2550

6,903.35 4,654.48 11,557.83

4,503.25 - 4,503.25

เงินฝากประจำและพันธบัตรเป็นเงินฝากที่มีวันครบกำหนดเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ วันสิ้นงวดปี 2551 และ 2550 เงินฝากประจำได้รวมเงินฝากของกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานฯ จำนวน 3.35 ล้านบาท และ 3.25 ล้านบาท ตามลำดับ 6.3 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

ลูกหนี้การค้า-บุคคลภายนอก ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า-สุทธิ

งบการเงินรวม 2551 2,104.76 42.57 2,147.33 493.00 1,654.33

2550 2,252.22 72.65 2,324.87 535.36 1,789.51

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2,027.50 46.53 2,074.03 491.25 1,582.78

2,180.98 75.15 2,256.13 535.21 1,720.92

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำนวน 493.00 ล้านบาท ประกอบด้วยหนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี 7 ราย จำนวนเงิน 9.41 ล้านบาท

อยู่ระหว่างดำเนินการรวบรวมหลักฐานเพื่อดำเนินคดี 8 ราย จำนวนเงิน 17.53 ล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาของพนักงาน อัยการ 3 ราย จำนวนเงิน 191.71 ล้านบาท อยู่ระหว่างผ่อนชำระ 1 ราย จำนวนเงิน 47.86 ล้านบาท และอยู่ระหว่าง

การประนอมหนี้และติดตามทวงถาม 128 ราย จำนวนเงิน 226.49 ล้านบาท

139

รายงานประจำปี 2551


ลูกหนี้การค้า แยกตามอายุหนี้ได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ไม่เกิน 6 เดือน เกินกว่า 6 เดือน - 1 ปี เกินกว่า 1 ปี - 2 ปี เกินกว่า 2 ปี รวม

งบการเงินรวม 2551 1,289.21 259.85 86.79 188.73 322.75 2,147.33

2550 801.65 752.47 427.83 56.77 286.15 2,324.87

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 1,264.75 235.44 79.28 171.81 322.75 2,074.03

771.12 729.13 412.96 56.77 286.15 2,256.13

6.4 ลูกหนี้อื่น มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

กรมสรรพากร เงินยืมทดรอง อื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 1,246.83 8.00 14.31 1,269.14

2550 1,247.43 5.74 18.01 1,271.18

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 1,246.68 8.00 0.70 1,255.38

1,246.68 5.74 10.59 1,263.01

ลูกหนี้กรมสรรพากร จำนวน 1,246.83 ล้านบาท ในงบการเงินรวม ณ วันสิ้นงวดปี 2551 เป็น ภาษีซื้อที่ขอคืนจาก

กรมสรรพากรของ รทส. จำนวน 0.15 ล้านบาท และของ ทอท. จำนวน 1,246.68 ล้านบาท ในส่วนของ ทอท. เป็นภาษีซื้อที่ เกิดจากการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2539 ถึงเดือน ธันวาคม 2548 ที่ ทอท.รับโอนมาจาก บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 ซึ่งในการขอคืนภาษีนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นในประเด็นการสืบสิทธิและหน้าที่แทน บทม. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ว่า ทอท. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ตามมติคณะรัฐมนตรีและสัญญาโอน กิจการ ชอบที่จะได้รับโอนสิทธิและหน้าที่ของ บทม. ในการขอคืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อ) ที่ยังคงค้างการพิจารณาจาก

กรมสรรพากร โดย ทอท. ต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ประมวลรัษฎากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้เพื่อ การนั้น

140

รายงานประจำปี 2551


ทอท. ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกำหนด โดยยื่นประมาณการการใช้พื้นที่อาคารและขอขยายเวลาการยื่น แบบแจ้งรายการเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารและการใช้พื้นที่อาคาร ต่ออธิบดีกรมสรรพากรแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างรอผล

การพิจารณาของกรมสรรพากรเพื่อให้ได้ข้อยุติ 6.5 สินค้า และวัสดุคงเหลือ – สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

สินค้าและวัสดุคงเหลือ หัก สำรองการเสื่อมสภาพของวัสดุคงเหลือ สินค้าและวัสดุคงเหลือ - สุทธิ

งบการเงินรวม 2551 210.33 0.62 209.71

2550 153.99 23.01 130.98

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 202.36 0.62 201.74

145.96 23.01 122.95

6.6 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงกำหนด สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวม

งบการเงินรวม 2551 144.47 45.93 190.40

2550 177.58 48.72 226.30

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 133.80 42.03 175.83

168.21 45.41 213.62

141

รายงานประจำปี 2551


6.7 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม งบการเงินรวม หน่วย : ล้านบาท

ชื่อบริษัท

สัดส่วนการถือหุ้น (%) 2551

บริษัทร่วม บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด รวม

2550

28.50

28.50

จำนวนเงินลงทุน วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้ส่วนเสีย 2551 2550 2551 2550 149.62 149.62

149.62 149.62

191.74 191.74

174.65 174.65

การบันทึกเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทร่วม ใช้งบการเงินที่ยังไม่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต โดยบริษัทร่วมได้ปรับปรุงรายการให้แสดงเงินลงทุนตามนโยบายบัญชีเดียวกับ ทอท. งบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ชื่อบริษัท

2551 บริษัท ย่อย บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ แห่งใหม่ จำกัด (บทม.) ระหว่างชำระบัญชี บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด (รทส.) บริษัทร่วม บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด รวม

142

รายงานประจำปี 2551

2550

100.00 60.00 28.50

100.00 60.00 28.50

จำนวนเงินลงทุน วิธีราคาทุน 2551 2550

39,029.00 610.67 149.62 39,789.29

39,029.00 610.67 149.62 39,789.29


6.8 เงินลงทุนระยะยาวอื่น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ชื่อบริษัท 1. เงินลงทุนทีบ่ นั ทึกด้วยราคาทุน บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตีฟ้ รี จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชัน่ แนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตีฟ้ รี จำกัด บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด บริษัท เทรดสยาม จำกัด บริษัท ไทยเชือ้ เพลิงการบิน จำกัด หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด รวม 2. เงินลงทุนทีบ่ นั ทึกด้วยราคายุตธิ รรม บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 3. พันธบัตร รวมทัง้ สิน้

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ราคาทุน

ราคายุติธรรม

ราคาตามบัญชี

2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550

10.00 10.00 20.00 20.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 3.00 3.00

- - -

- 20.00 20.00 - 10.00 10.00 - 3.00 3.00

9.00 9.00 5.00 5.00 1.38 1.38 1.50 1.50 10.00 10.00

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

- - - - -

- - - - -

(22.00) (22.00) 107.55 107.55

- -

- (22.00) (22.00) - 107.55 107.55

4.94

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

4.94 21.00 21.00 190.26 272.16 190.26 272.16 691.95 - - - 691.95 - 820.50 128.55 190.26 272.16 989.76 379.71

143

รายงานประจำปี 2551


6.9 รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินได้รวมรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นไปตามธุรกิจปกติทั่วไป สรุปได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

6.9.1 ลูกหนี้การค้า บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) รวม 6.9.2 รายได้ค้างรับ บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม 6.9.3 เจ้าหนี้การค้า บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม 6.9.4 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม 6.9.5 รายได้รับล่วงหน้า บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

144

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2551 2550 14.74 0.37 - 8.12 19.34 42.57 9.53 620.91 - 630.44 10.91 - 10.91 34.03 - 34.03 -

50.36 0.33 - - 21.96 72.65 9.72 - - 9.72 51.42 - 51.42 9.92 - 9.92 -

14.74 0.37 3.96 8.12 19.34 46.53 9.53 620.91 - 630.44 10.91 - 10.91 34.03 0.01 34.04 1.89

50.36 0.33 2.50 - 21.96 75.15 9.72 - 15.18 24.90 51.42 0.08 51.50 9.92 0.75 10.67 1.89


หน่วย : ล้านบาท

6.9.6 เจ้าหนี้อื่น บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด 6.9.7 รายได้และค่าใช้จ่าย รายได้ดำเนินงาน บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม รายได้อื่น บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2551 2550 - 56.09 16.84 5.53 278.65 10.55 - 367.66 360.98 - 360.98 4,758.25 4.37

- 93.69 10.86 5.53 274.63 9.08 - 393.79 364.04 - 364.04 29.41 4.37

0.03 56.09 16.84 5.53 278.65 10.55 75.33 442.99 360.98 0.57 361.55 4,758.25 4.37

- 93.69 10.86 5.53 274.63 9.08 71.51 465.30 364.04 2.44 366.48 29.41 4.37

145

รายงานประจำปี 2551


6.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

อาคารและ เครื่องมือและ อาคารและ เครื่องมือและ สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ รวม สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ รวม 98,063.65 37,355.86 135,419.51 95,958.67 36,799.08 132,757.75 2,652.54 1,493.23 4,145.77 2,632.76 1,489.83 4,122.59 (14.66) 14.66 - (14.66) 14.66 - - (60.96) (60.96) - (42.20) (42.20) 100,701.53 38,802.79 139,504.32 98,576.77 38,261.37 136,838.14 12,548.37 11,065.48 23,613.85 12,412.78 10,946.31 23,359.09 2,660.80 5,089.65 7,750.45 2,543.37 4,982.26 7,525.63 - (42.15) (42.15) - (42.15) (42.15) 15,209.17 16,112.98 31,322.15 14,956.15 15,886.42 30,842.57 85,515.28 26,290.38 111,805.66 83,545.89 25,852.77 109,398.66 85,492.36 22,689.81 108,182.17 83,620.62 22,374.95 105,995.57

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 สินทรัพย์เพิ่ม โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจำหน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสำหรับงวด ขายและจำหน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

6.11 สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ยอดยกมา 1 ตุลาคม 2550 เพิ่มขึ้น โอนไปที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

146

รายงานประจำปี 2551

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูมิภาค ท่าอากาศยานดอนเมือง 5,745.11 4,028.08 (3,676.44) 6,096.75

108.89 203.26 (260.55) 51.60

1.33 16.88 (12.44) 5.77

รวม 5,855.33 4,248.22 (3,949.43) 6,154.12


6.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ราคาทุน

ตัดจำหน่าย

ราคาตามบัญชี

ยอดยกมา 1 ตุลาคม 2550 เพิ่ม/(ลด)ระหว่างปี ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

1,240.07 100.18 1,340.25

194.62 116.43 311.05

1,045.45 (16.25) 1,029.20

6.13 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของที่ดินที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ คงเหลือสุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้า เงินประกัน ลูกหนี้การรถไฟแห่งประเทศไทย สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ลูกหนี้รอเรียกชำระ รวม

2551

2550

1,834.53 971.66 862.87 18.94 0.69 4,075.69 264.68 - 5,222.87

1,730.67 971.66 759.01 75.31 0.67 3,996.16 - 232.53 5,063.68

147

รายงานประจำปี 2551


6.13.1 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ใช้ประโยชน์

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท. มีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างทีย่ งั ไม่ได้ใช้ประโยชน์สทุ ธิ จำนวน 862.87 ล้านบาท ประกอบด้วย - ทีด่ นิ ทีย่ งั ไม่ใช้ประโยชน์ ณ ทสภ. มีเนือ้ ทีร่ วม 692 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา ราคาตามบัญชี 1,730.67 ล้านบาท หักค่าเผือ่ การด้อยค่าของที่ดินที่ยังไม่ใช้ประโยชน์จำนวน 971.66 ล้านบาท คงเหลือสุทธิ 759.01 ล้านบาท ทอท.มีนโยบายศึกษา

ความเป็นไปได้ ในการจัดทำโครงการจัดสรรในรูปแบบที่อยู่อาศัย (Residence) ให้แก่พนักงานและลูกจ้าง ทอท.

โดยคณะกรรมการ ทอท.ได้มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 22/2550 เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 ให้ ทอท.จัดจ้างองค์การ

การบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) เป็นผู้ศึกษาทบทวนแผนแม่บท

การพัฒนา ทสภ. และ ทดม. โดยมีวัตถุประสงค์ส่วนหนึ่งเพื่อให้พัฒนาพื้นที่ที่มีอยู่ ณ ทสภ. ให้เต็มขีดความสามารถ ทอท.จึงชะลอการศึกษาโครงการไว้ก่อน เพื่อรอความชัดเจนจากผลการศึกษาของ ICAO - ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน 103.86 ล้านบาท ทอท.รับซื้อคืนจากราษฎรที่ได้รับผลกระทบทางเสียง โดยมีนโยบายให้ ว่าจ้างบริษัทบริหารสินทรัพย์เป็นผู้บริหารจัดการการขาย หรือบริหารการประมูลเพื่อขายทรัพย์สินดังกล่าว 6.13.2 ลูกหนี้การรถไฟแห่งประเทศไทย

ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการก่อสร้างอุโมงค์สถานีรถไฟฟ้าสายพญาไท - มักกะสัน - สนามบินสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link Project) โดยให้การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) เป็นผู้ดำเนินการ แต่การก่อสร้างอุโมงค์มีส่วนที่อยู่ใต้อาคาร รทส. และอาคารจอดรถ เพือ่ ไปยังสถานีรถไฟใต้อาคารผู้โดยสารภายในท่าอากาศยาน ซึง่ การลงทุนก่อสร้างเฉพาะส่วนนี้ให้ บทม.ออกแทน รฟท.ไปก่อนตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2547 ทีก่ ระทรวงคมนาคมได้เสนอวงเงินก่อสร้างอุโมงค์ 4,082.94 ล้านบาท ทอท.(บทม.เดิม)ได้ทำสัญญาก่อสร้างรวมภาษีมลู ค่าเพิม่ เป็นเงิน 4,362.19 ล้านบาท และได้จา่ ยค่าก่อสร้างถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 รวมภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเงิน 4,075.69 ล้านบาท โดยบันทึก รฟท.เป็นลูกหนี้ และมียอดคงเหลือยังมิได้จ่ายตามสัญญา

เป็นเงิน 286.50 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ให้ รฟท. กู้เงินจำนวน 9,940.322 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลัง

ค้ำประกันและให้จา่ ยเงินค่าก่อสร้างอาคารสถานีและอุโมงค์ใต้อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูม(ิ รวมดอกเบีย้ จ่าย) คืนแก่

ทอท.ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ โดยให้กระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณพิจารณารายละเอียด วิธีการและเงื่อนไขของ

เงินกู้ต่อไป 6.14 ตั๋วสัญญาใช้เงิน งบการเงินเฉพาะบริษัท

ทอท.ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 จำนวน 38,483.81 ล้านบาท เพื่อจ่ายเป็นส่วนต่าง

ของการโอนทรัพย์สนิ และหนีส้ นิ กำหนดจ่ายชำระดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี และไม่คดิ ดอกเบีย้ ตัง้ แต่วนั ที่ บทม.เลิกกิจการ กำหนดชำระคืนตั๋วสัญญาใช้เงินเมื่อถึงวันทำการสุดท้ายก่อนวันที่ บทม.จะได้คืนเงินลงทุนที่เหลืออยู่ให้กับ ทอท. (ถ้ามี)

148

รายงานประจำปี 2551


6.15 หนี้สินหมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2551 2550

โบนัสพนักงานค้างจ่าย ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า ภาษีหัก ณ ที่จ่าย หนี้สินอื่นๆ เงินบำเหน็จค้างจ่าย(กองทุนสงเคราะห์ ทอท.) รวม

1,094.13 447.25 2,202.89 45.73 417.49 46.44 417.82 10.63 4,682.38

504.76 396.91 2,193.15 37.67 357.03 16.59 119.41 4.30 3,629.82

1,094.13 441.49 2,202.89 45.73 419.37 45.13 406.43 10.63 4,665.80

504.76 392.84 2,193.15 37.67 358.39 14.76 103.59 4.30 3,609.46

6.16 เงินกู้ยืมระยะยาว

งบการเงินรวม 2551

2550

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550

ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน เงินกู้ยืมต่างประเทศ 178,576.91 58,906.63 175,812.38 52,728.42 178,576.91 หัก ส่วนที่ครบกำหนดชำระ 5,193.53 1,713.17 4,358.24 1,307.09 5,193.53 ภายใน 1 ปี คงเหลือ 173,383.38 57,193.46 171,454.14 51,421.33 173,383.38 เงินกู้ยืมในประเทศ - 1,519.46 - 1,530.00 - หัก ส่วนที่ครบกำหนดชำระ - 148.40 - 111.30 - ภายใน 1 ปี คงเหลือ - 1,371.06 - 1,418.70 - ยอดรวม 173,383.38 58,564.52 171,454.14 52,840.03 173,383.38

ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท 58,906.63 175,812.38 52,728.42 1,713.17 4,358.24 1,307.09 57,193.46 171,454.14 51,421.33 - - - - - - - - - 57,193.46 171,454.14 51,421.33

149

รายงานประจำปี 2551


เงินกู้ยืมต่างประเทศ ทอท. ได้กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในต่างประเทศเป็นสกุลเงินเยน โดยมีกระทรวงการคลังค้ำประกัน อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 0.75 - 2.70 ต่อปี ครบกำหนดชำระคืนปี 2546 - 2585 (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 100 เยน เท่ากับ 32.9867 บาท) เงินกู้ยืมในประเทศ เป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใช้ในการก่อสร้าง รทส. วงเงินกู้ 1,630.76 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยตั้งแต่วันทำสัญญาถึง 30 กันยายน 2550 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MLR - 2.0 ต่อปี และวันที่ 1 ตุลาคม 2550 เป็นต้นไป อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ MLR - 1.0 ต่อปี กำหนดการชำระเงินเป็นงวดรายสามเดือน จำนวน 44 งวด ๆ ละ 37.10 ล้านบาท โดยเริ่มผ่อนชำระงวดแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 และชำระให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 รทส. ได้ชำระเงินกู้แล้วจำนวน 111.30 ล้านบาท คงเหลือเงินกู้จำนวน 1,519.46 ล้านบาท 6.17 เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ทอท. ได้จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย โดยจ่ายสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 10 ของ

เงินเดือนพนักงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 มียอดคงเหลือดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

สินทรัพย์ เงินฝากธนาคารและสหกรณ์ออมทรัพย์ ลูกหนี้เงินให้กู้ยืม รายได้ค้างรับ รวม หนี้สินและเงินกองทุน เงินบำเหน็จค้างจ่าย เจ้าหนี้ เงินกองทุน รวม ภาระผูกพันที่ต้องจ่ายให้พนักงาน

150

รายงานประจำปี 2551

2551

2550

84.52 0.03 1.13 85.68 10.63 36.11 38.94 85.68 38.94

81.81 0.31 1.13 83.25 4.30 33.94 45.01 83.25 45.01


6.18 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

เงินประกันผลงาน สำรองหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้า รายได้รอตัดบัญชี สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รายได้รอรับรู้ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 455.17 629.53 49.45 - - 21.38 1,155.53

2550 672.57 204.19 51.22 4,167.99 328.97 21.39 5,446.33

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 452.78 629.53 49.45 - - 21.38 1,153.14

654.85 204.19 51.22 4,167.99 328.97 21.39 5,428.61

ทอท. ได้ใช้เครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยทำสัญญา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับสถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ 6.19 ทุนเรือนหุ้น บริษัทจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจำนวน 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นที่ออกและเรียกชำระ

เต็มมูลค่าแล้ว เป็นเงิน 14,285.70 ล้านบาท 6.20 สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 ทอท.ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็น ทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซึ่ง ทอท. มีสำรองตามกฎหมายเท่ากับร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว 6.21 เงินปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลประจำปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 0.40 บาท เป็นจำนวนเงิน 571.43 ล้านบาท โดยจ่ายในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2551

151

รายงานประจำปี 2551


6.22 ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์เรียกเก็บค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุจาก ทอท. สำหรับ ทดม. และ ทสภ. ในอัตราร้อยละ 5 และ สำหรับท่าอากาศยานภูมิภาค ในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น และเมื่อ ทสภ. เปิดใช้จะมีการปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุสำหรับ ทดม. และท่าอากาศยานภูมิภาคใหม่ ตามผลการศึกษา ของที่ปรึกษาที่จัดหาโดยกรมธนารักษ์ ในงวดบัญชีนี้ กรมธนารักษ์ กับ ทอท. อยู่ระหว่างเจรจาต่อรองเพื่อกำหนดอัตราค่า ตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุดังกล่าว จึงได้บันทึกในอัตราเดิมซึ่งตั้งค้างจ่ายไว้แล้วตั้งแต่วันที่ ทสภ. เปิดใช้บริการ ซึ่งใน งวดบัญชีนี้มีค่าตอบแทน 952.97 ล้านบาท ส่วนค่าเช่าที่ราชพัสดุที่รับจากบริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด ต้องนำส่งกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าเช่าโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น จำนวน 2.76 ล้านบาท รวมเป็นค่าตอบแทนจำนวน 955.73 ล้านบาท 6.23 ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหารสูงสุด ประกอบด้วย หน่วย : ล้านบาท

ค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมกรรมการ โบนัสกรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด รวม

งบการเงินรวม 2551

2550

6.96 5.68 8.80 21.44

8.35 9.52 8.06 25.93

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 6.08 5.68 7.50 19.26

7.73 9.52 5.42 22.67

6.24 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี หน่วย : ล้านบาท

ค่าสอบบัญชี ค่าใช้จ่ายอื่น รวม

152

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม 2551 2.65 0.41 3.06

2550 2.65 0.34 2.99

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2.25 0.41 2.66

2.25 0.34 2.59


6.25 ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่งจำนวน 8,331.53 ล้านบาท เป็นรายได้ที่เกิดจากการชำระค่าทดแทนให้แก่ ทอท. ของบริษัท เอกชนสองราย และส่วนหนึ่งบันทึกรับรู้เพิ่มเติมตามข้อตกลงในสัญญา รวมเป็นจำนวน 3,871.53 ล้านบาท และโอนมาจากบัญชี รายได้ค่าสัมปทานรับล่วงหน้า จำนวน 4,460 ล้านบาท ตามคำสั่งศาลแพ่งคดีหมายเลขดำที่ 2440/2550 และ 2441/2550 ที่ กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.31.2 6.26 ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

หน่วย : ล้านบาท

ขาดทุน (กำไร) ที่เกิดขึ้นจริง ขาดทุน (กำไร) ที่ยังไม่เกิดขึ้น รวม

2551

2550

(208.45) 1,137.17 928.72

(286.32) (2,518.22) (2,804.54)

6.27 เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของ ทอท. ทอท.จึงมีเงินฝากทั้งระยะสั้นและระยะยาวในธนาคารและสถาบันการเงินต่าง ๆ บริษัทย่อยของ ทอท. มีหนี้สินจากการกู้ยืมที่มีทั้งอัตราดอกเบี้ยคงที่ และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

ทอท.มีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศซึง่ มีผลกระทบต่อหนีส้ นิ และค่าใช้จา่ ยดำเนินงาน และดอกเบี้ยของบริษัทย่อยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ทอท.มีนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยมีการจัดตั้งคณะทำงานบริหาร

ความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศ คณะทำงานฯได้ป้องกันความเสี่ยงสำหรับหนี้สินที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศบางส่วน โดยการใช้อนุพันธ์ ทางการเงินประเภทสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย (Cross Currency Interest Rate Swap) กับสถาบัน การเงินทั้งไทยและต่างประเทศ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ

ความเสี่ยงด้านสินเชื่อเกิดจากการที่ลูกค้าไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาหรือสัญญา ทอท.ป้องกันความเสี่ยงโดยกำหนดระยะ เวลาชำระค่าบริการแต่ละประเภทอย่างชัดเจน ติดตามลูกหนี้ที่มียอดค้างชำระอย่างต่อเนื่อง และมีการเรียกหลักประกันจาก ลูกค้า มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้ที่แสดงไว้ในงบดุล คือยอดสุทธิของลูกหนี้หลังจากหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

153

รายงานประจำปี 2551


ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง

ทอท. และบริษัทย่อยบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องโดยรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดไว้อย่างเพียงพอ และมีวงเงินสินเชื่อเพียงพอที่จะนำไปใช้ได้ การวิเคราะห์อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินแบบมีดอกเบี้ย ณ วันที่ในงบดุล ปี 2551 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนระยะยาว เงินกู้ยืมภายในประเทศ เงินกู้ยืมต่างประเทศ

ปี 2550 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินกู้ยืมภายในประเทศ เงินกู้ยืมต่างประเทศ

154

รายงานประจำปี 2551

อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.32 3.75 3.73 6.31 1.69 อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.13 3.76 4.30 4.93 1.74

ภายใน 1 ปี 522.52 7,914.85 11,557.83 - 19,995.20 148.40 1,713.17 1,861.57 ภายใน 1 ปี 60.92 10,170.47 4,503.25 14,734.64 10.00 111.30 1,307.09 1,428.39

มากกว่า 1 ปี - - - 691.95 691.95 148.40 4,160.95 4,309.35 มากกว่า 1 ปี - - - - - 148.40 1,588.48 1,736.88

มากกว่า 2 ปี - - - - - 296.80 12,598.14 12,894.94 มากกว่า 2 ปี - - - - - 445.20 11,469.82 11,915.02

งบการเงินรวม มากกว่า 5 ปี - - - - - 925.86 40,434.37 41,360.23 มากกว่า 5 ปี - - - - - 825.10 38,363.03 39,188.13

หน่วย : ล้านบาท

รวม 522.52 7,914.85 11,557.83 691.95 20,687.15 1,519.46 58,906.63 60,426.09 หน่วย : ล้านบาท

รวม 60.92 10,170.47 4,503.25 14,734.64 10.00 1,530.00 52,728.42 54,268.42


งบการเงินเฉพาะบริษัท ปี 2551 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนระยะยาว เงินกู้ยืมต่างประเทศ

ปี 2550 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินกู้ยืมต่างประเทศ

อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.34 3.75 3.73 - 1.69 อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.14 3.76 - 1.74

ภายใน 1 ปี 534.46 7,803.81 11,557.83 - 19,896.10 1,713.17 ภายใน 1 ปี 80.06 10,127.98 4,503.25 14,711.29 1,307.09

มากกว่า 1 ปี - - - 691.95 691.95 4,160.95 มากกว่า 1 ปี - - - - 1,588.48

มากกว่า 2 ปี - - - - - 12,598.14 มากกว่า 2 ปี - - - - 11,469.82

มากกว่า 5 ปี - - - - - 40,434.37 มากกว่า 5 ปี - - - - 38,363.03

หน่วย : ล้านบาท

รวม 534.46 7,803.81 11,557.83 691.95 20,588.05 58,906.63 หน่วย : ล้านบาท

รวม 80.06 10,127.98 4,503.25 14,711.29 52,728.42

มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทระยะสั้น รวมทั้งเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ย ในตลาด ผู้บริหารจึงเชื่อว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินจะไม่แตกต่างอย่างเป็นสาระสำคัญกับมูลค่า

ตามบัญชี ความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ยที่เป็นหนี้สิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 เป็นจำนวนเงิน 3,387.53 ล้านบาท คำนวณโดยใช้อัตราคิดลดที่กำหนดโดยคู่สัญญาดังกล่าวและถือเสมือนว่าได้ยกเลิก สัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ในงบดุล

155

รายงานประจำปี 2551


6.28 ภาระผูกพัน งบการเงินรวมและเฉพาะบริษัท

ทอท.มีภาระผูกพัน ดังนี้ รายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.คงเหลือภาระผูกพันตามสัญญาจ้างโครงการพัฒนาท่าอากาศยานต่าง ๆ เป็นเงิน 451.13 ล้านบาท (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) และสัญญาก่อสร้าง ทสภ. เป็นเงิน 3,223.17 ล้านบาท (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) รายจ่ายดำเนินงาน(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ประกอบด้วย สัญญาจ้างเอกชนดำเนินงาน สัญญาซ่อมบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ การเช่าทรัพย์สินและอื่น ๆ รวม

หน่วย : ล้านบาท

5,739.68 248.81 132.33 6,120.82

รทส. มีภาระผูกพันจากการทำสัญญาจ้างบริหารกิจการโรงแรม เป็นค่าสิทธิในการใช้ชื่อเครื่องหมายการค้า (Logo) จำนวน เงิน 21.40 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) แบ่งจ่าย 20 ปี (สัญญาเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2548 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2568) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้ว จำนวน 4.28 ล้านบาท คงเหลือยังเป็นภาระผูกพัน จำนวน 17.12 ล้านบาท และค่าจ้างในการ บริหารกิจการโรงแรม (ค่าจ้างและค่าใช้จ่ายบุคลากรหลัก) จำนวนเงิน 1,995.24 ล้านบาท บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้ว จำนวน 177.62 ล้านบาท ยังเป็นภาระผูกพัน จำนวน 1,817.62 ล้านบาท รวมเป็นภาระผูกพัน จำนวน 1,834.74 ล้านบาท 6.29 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้า 6.29.1 การประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน

ทอท.ได้ถูกประเมินภาษีจากกรุงเทพมหานคร (กทม.) เป็นภาษี โรงเรือนและที่ดินตั้งแต่ปี 2538 โดย กทม.ได้นำค่า

ผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ประกอบการมารวมเป็นฐานในการคำนวณ ในส่วนพื้นที่ที่ ทอท.ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่ง ทอท.ไม่เห็นด้วย จึงได้ยื่นหนังสืออุทธรณ์กับสำนักงานอัยการสูงสุด เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2542 เพื่อเสนอคณะกรรมการ พิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาชี้ขาดให้ต่อไป จากเหตุดังกล่าว คณะกรรมการ ทอท. ได้มมี ติตามรายงานการประชุม ครัง้ ที่ 6/2542 เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2542 ให้ ทอท.ชำระค่าภาษีโรงเรือน และที่ดินตามอัตราที่สมควรจ่าย กทม.ได้แจ้งการประเมินภาษีผ่านทางกรมธนารักษ์ซึ่งเป็นเจ้าของอาคารและที่ดินทุกปี โดยใช้ หลักเกณฑ์เดิมตั้งแต่ปี 2538 ซึ่ง ทอท. ไม่เห็นด้วยจึงได้อุทธรณ์ทุกปี ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา สำนักงานอัยการสูงสุดได้มีหนังสือที่ อส(สฝบพ) 0015/5219 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2548 แจ้งผลการชี้ขาดของคณะ กรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หาก กทม.ยอมรับผลการพิจารณา ของคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ จะทำให้ ทอท. ได้รับค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน(ปี 2538-2546) คืนจาก กทม.ประมาณ 570.69 ล้านบาท (ทอท.ได้มีหนังสือขอคืนจาก กทม.แล้ว) ต่อมาได้รับแจ้งจากสำนักอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์ว่าในปี 2547

คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้มีความเห็นเช่นเดียวกับปี 2546

156

รายงานประจำปี 2551


กทม.ได้มหี นังสือถึงกรมธนารักษ์เมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2549 ไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินภาษีตามทีค่ ณะกรรมการฯ กำหนด และกรมธนารักษ์ ได้มีหนังสือเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2549 ถึง ทอท.แจ้งว่าได้มีหนังสือถึงสำนักงานอัยการสูงสุด

เพื่อนำเรียนคณะรัฐมนตรีสั่งการให้กทม.ปฏิบัติตามต่อไป ในงวดบัญชีนี้ ทอท.ได้รับแจ้งการประเมินให้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินจาก กทม. ในส่วนพื้นที่ที่ ทอท.ให้ผู้ประกอบการเช่า ใช้ประโยชน์ ณ สนามบินดอนเมืองของปี 2549 (เพิ่มเติม) และปี 2550 จำนวน 386.90 ล้านบาท โดยใช้หลักเกณฑ์เดิมตั้งแต่ปี 2538 ทอท. จึงชำระค่าภาษีฯ จำนวน 134.45 ล้านบาท โดยวิธีการหักกลบลบหนี้กับเงินที่ กทม. ควรจะจ่ายคืนให้แก่ ทอท.ตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้สำหรับ การประเมินภาษีฯ ปี 2547 ส่วนทีเ่ หลือจำนวน 252.45 ล้านบาท ทอท.ได้อทุ ธรณ์ตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการพิจารณาชีข้ าดฯ ได้ชี้ขาดไว้ ทำให้ ณ วันสิ้นงวด ทอท. มีค่าภาษีที่ยังอยู่ระหว่างอุทธรณ์รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,353.11 ล้านบาท (กทม.ได้ประเมิน ภาษีจำนวน 3,799.88 ล้านบาท หักยอดเงินที่ ทอท. ชำระแล้ว 1,446.77 ล้านบาท) และได้บนั ทึกค่าปรับเพิม่ เติมในงวดนี้จำนวน 23.78 ล้านบาท รวมเป็นค่าปรับทั้งสิ้น 226.98 ล้านบาท ตามนัยมาตรา43(4) แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475 แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษี โรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2534 หากผลการอุทธรณ์เป็นไปตาม

การประเมินของ กทม. 6.29.2 คดีความ

ทอท. ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีจำนวน 27 คดี โดยโจทก์ฟอ้ งให้ ทอท.ชดใช้คา่ เสียหายรวมเป็นเงินประมาณ 5,894.37 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบี้ย) เรื่องอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลโดยมีพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด เป็นทนายความแก้ต่างคดี และการพิจารณาของบริษัทประกันภัย ทอท. ถูกบริษัทเอกชน 2 ราย ยื่นฟ้องศาลแพ่งตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.31.2 ทอท. ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีเกี่ยวกับผลกระทบจากมลภาวะทางเสียงจำนวน 13 คดี โดยโจทก์ฟ้องให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสีย หายรวมเป็นเงินประมาณ 601.39 ล้านบาท เรื่องอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง โดยมีพนักงานอัยการ สำนักงาน อัยการสูงสุดเป็นทนายความแก้ต่างคดี 6.29.3 ผลกระทบจากมลภาวะทางเสียง

คณะกรรมการ ทอท. มีมติเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 เห็นชอบให้ดำเนินการชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงจาก การดำเนินกิจการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตามสถานการณ์การบินจริง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2550 เฉพาะอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 ดังนี้ - พืน้ ที่ NEF มากกว่า 40 ให้เจรจาซือ้ ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง โดยเทียบเคียงแนวทางการกำหนดค่าทดแทนความเสียหายทีต่ อ้ ง ออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 และหากเจ้าของ

ไม่ประสงค์จะขาย ให้รับเงินไปดำเนินการปรับปรุงอาคารเอง

157

รายงานประจำปี 2551


- พื้นที่ NEF 30-40 ให้สนับสนุนการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยการทำการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน หากพบว่า โครงการทำให้ระดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล(เอ) ให้รับเงินไปดำเนินการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้ หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบด้านเสียงจากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) จำนวนอาคารและพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การบินจริงตามมติคณะรัฐมนตรีข้างต้นมีมากกว่าตามที่ประเมินไว้ ในรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาจส่งผลให้ ทอท. ต้องเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายจำนวนมาก และอาจส่งผลกระทบต่อ

ผลการดำเนินงานของ ทอท. อย่างไรก็ตาม ทอท.ได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานศึกษาแนวทางการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ จากผู้ที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 6.29.4 เงินชดเชยในกรณีเลิกจ้างพนักงานทั้งหมด

ภายใต้ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรือ่ งมาตรฐานขัน้ ต่ำของสภาพการจ้างของรัฐวิสาหกิจ มีผลบังคับ ใช้เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2549 ในกรณีรัฐวิสาหกิจให้พนักงานทั้งหมดออกจากงาน ปลดออกจากงาน หรือไล่ออกจากงาน โดยที่ พนักงานไม่ได้กระทำความผิด มีสิทธิ์ได้รับเงินชดเชยตามอัตราที่กฎหมายกำหนด ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 เป็นจำนวนเงิน 1,346.63 ล้านบาท ซึ่ง ทอท. มิได้บันทึกไว้ในงบการเงิน 6.30 การโอนกิจการทั้งหมดของ บทม. มายัง ทอท. และดำเนินการเลิกกิจการ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2545 เห็นชอบการโอนกิจการ ทสภ. สิทธิ หนี้ ความรับผิด และสินทรัพย์ รวมทั้ง พนักงานของ บทม. มาเป็นของ ทอท. เมื่อ ทสภ. สร้างเสร็จก่อนการเปิดให้บริการ และให้ดำเนินการยุบเลิก บทม. โดยให้เป็น หน่วยธุรกิจหน่วยหนึ่งใน ทอท. ซึ่งได้ดำเนินการแล้ว มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 และมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 รับทราบ ซึ่งเป็นไปตามความเห็นของกระทรวงการคลัง และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนุษย์ โดย ทอท. รับโอนพนักงาน บทม. มาเป็นพนักงาน ทอท. ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2547 และรับโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ ความรับผิด และภาระผูกพันต่าง ๆ ของ บทม. มาเป็นของ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 ด้วยมูลค่าตามบัญชี (Book Value) ของทรัพย์สิน และหนี้สิน ที่ปรากฎในบัญชีของ บทม. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จำนวน 100,913.28 ล้านบาท (ประกอบด้วย สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง 91,820.25 ล้านบาท ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 149.35 ล้านบาท และรายการอืน่ ๆ 8,943.68 ล้านบาท) และ 62,429.47 ล้านบาทตามลำดับ ผลต่างจำนวน 38,483.81 ล้านบาท ทอท.ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้ กับ บทม. กำหนดจ่ายชำระดอกเบีย้ ของต้นเงินตามตัว๋ สัญญาใช้เงินในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี กำหนดจ่ายชำระคืนตัว๋ สัญญาใช้เงิน เมื่อถึงวันทำการสุดท้ายก่อนวันที่ บทม.จะได้คืนเงินลงทุนที่เหลืออยู่ให้กับ ทอท. (ถ้ามี) บทม. ได้จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2549 ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น บทม. ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่

28 กรกฎาคม 2549 ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างดำเนินการชำระบัญชี สำหรับตัว๋ สัญญาใช้เงินหยุดคิดดอกเบีย้ ตัง้ แต่วนั ที่ บทม. เลิกกิจการ 6.31 ข้อพิพาทกับบริษัทเอกชน 6.31.1 บริษัท แอร์พอร์ตดิวตี้ฟรี จำกัด

ทอท. มีขอ้ พิพาทกับ บริษัท แอร์พอร์ตดิวตีฟ้ รี จำกัด ในกรณีทแี่ จ้งให้บริษัทฯ ชำระเงินค่าตอบแทนขัน้ ต่ำตามสัญญาเพิม่ ขึน้ ในปี 2541 - 2544 เป็นจำนวนเงิน 442.17 ล้านบาท แต่บริษัทฯ ยังคงเพิกเฉย ทอท. จึงได้เจรจาทำความตกลงกับบริษัท บี.เอ.ดี.เอฟ.จำกัด ซึ่งเป็นคู่สัญญาร่วมทุนจัดตั้งบริษัท แอร์พอร์ตดิวตี้ฟรี จำกัด กับ ทอท.ให้เป็นผู้ชำระเงินแทนบริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ ทอท.จึงนำเรื่องเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการซึ่งเป็นไปตามมติคณะกรรมการ ทอท. จนถึงปัจจุบันนี้ ทอท. ยังไม่ได้บันทึกบัญชีค่าตอบแทนดังกล่าว

158

รายงานประจำปี 2551


6.31.2 บริษัทเอกชนสองราย

ตามที่ ทอท.ได้ทำสัญญากับบริษัทเอกชนสองรายในการประกอบการโครงการจำหน่ายสินค้าปลอดอากร และโครงการ บริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ซึ่งบริษั ทได้จ่ายค่าสัมปทานล่วงหน้าแล้วรวมเป็นเงิน 4,460 ล้านบาท ต่อมาได้มีมติ

คณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2550 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2550 ได้พิจารณาตามความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ กฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ประกอบกับข้อมูลเกี่ยวกับการคิดคำนวณมูลค่าการลงทุนของโครงการว่าการทำสัญญามิได้ดำเนินการให้ เป็นตามขั้นตอนพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 จึงเป็นสัญญาที่

ไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่มีผลผูกพันคู่สัญญา ทอท. จึงไม่บันทึกรับรู้รายได้จากการดำเนินงานตามสัญญาดังกล่าว และได้มี หนังสือถึงบริษัทเอกชนทั้งสองรายเพื่อแจ้งมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ดังกล่าว บริษัทเอกชนดังกล่าวได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้องศาลแพ่งตามคดีหมายเลขดำที่ 2440/2550 และ 2441/2550 ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2550 ให้ ทอท. ปฏิบัติตามสัญญา หาก ทอท.ไม่อาจกระทำได้ ให้ชดใช้ค่าเสียหายกับโจทก์เป็นเงิน 20,878.51 ล้านบาท และ 48,074.15 ล้านบาท ตามลำดับ พร้อมทั้งดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีนับแต่วันฟ้อง จนกว่า ทอท. จะชำระหนี้เสร็จสิ้นโดย ทอท. ได้เสนอเรือ่ งให้สำนักงานอัยการสูงสุดดำเนินการว่าต่าง แก้ตา่ งต่อบริษัททัง้ สองตามมติคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 17/2550 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2550 ซึ่งพนักงานอัยการได้ยื่นคำให้การแก้ต่างคดีให้ ทอท. แล้ว เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 ศาลแพ่งได้พิเคราะห์คดีหมายเลขดำที่ 2441/2550 เห็นว่ามีเหตุจำเป็นและสมควรที่จะนำวิธี คุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษามาใช้บังคับ จึงมีคำสั่งให้ ทอท. อนุญาตให้บริษัทเอกชนเข้าประกอบกิจการตามสัญญาตามจำนวน พื้นที่เพียงเท่าที่บริษัทเอกชนได้เข้าประกอบกิจการอยู่แล้วในวันที่มีคำสั่ง และให้บริษัทเอกชนชำระค่าทดแทนแก่ ทอท. ตามข้อ ตกลงในสัญญา และให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายของ ทอท. หากต่อไปภายหน้าศาลได้มีคำพิพากษาว่าสัญญาไม่มีผล ผูกพัน และเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2551 ศาลแพ่งอนุญาตให้บริษัทเอกชนได้รับความคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา ตามคดี

หมายเลขดำที่ 2440/2550 โดย ทอท. และบริษัทเอกชนตกลงกันว่า ทอท. ยอมให้บริษัทเอกชนและผูป้ ระกอบการรายย่อยที่ได้รบั

อนุญาตจากบริษัทเอกชนเข้าประกอบการในพื้นที่โครงการทั้งหมด 25,827.67 ตารางเมตร และให้บริษัทเอกชนชำระค่าทดแทน ต่าง ๆ ให้แก่ ทอท. ตามข้อตกลงในสัญญาหรือตามที่ ทอท. แจ้งวันให้ชำระ โดยให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายที่น้อยที่สุด หากต่อไปในภายหน้าศาลมีคำพิพากษาว่าสัญญาไม่มีผลผูกพัน ดังนั้น จึงยังไม่อาจประมาณการได้ว่าจะเกิดความเสียหายจากการยื่นฟ้องของบริษัทเอกชนทั้งสองอย่างไร เท่าใด หรือไม่ 6.32 การอนุมัติให้ออกงบการเงิน งบการเงินนี้ ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการตรวจสอบที่ ได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2551

159

รายงานประจำปี 2551


Created & Designed by Post-Card Co., Ltd. Tel. 0 2511 1190 www.greezcards.com





30 ปีแห่งความมุ่งมั่น สู่ที่สุดแห่ง ท่าอากาศยานระดับโลก กว่า 30 ปี ที่ท่าอากาศยานไทย เป็นประตูด่านแรกในการต้อนรับ และเชื่อมต่อจุดหมายให้นักเดินทางทั่วโลก ถึงปลายทางด้วยรอยยิ้ม บนความพร้อมในด้านความปลอดภัย

ที่ได้มาตรฐานสากลและบริการด้วยหัวใจ วันนี้...เรายังคงเดินหน้า สู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อวันพรุ่งนี้...ที่ท่าอากาศยานไทย จะทะยานก้าวไกลสู่ที่สุดแห่งท่าอากาศยานระดับโลก


เส้นทาง สูค่ วามสำเร็จ ปี 2531

ปี 2523

ดำเนินโครงการพัฒนา

ท่าอากาศยานกรุงเทพ ให้มีความสามารถในการ รองรับผู้โดยสารทีม่ ากขึน้

ปี 2522

จัดตั้งการท่าอากาศยาน

แห่งประเทศไทย (ทอท.)

โดยได้รับโอนกิจการ

จากกรมการบินพลเรือน กองทัพอากาศ

ได้รับโอนท่าอากาศยาน ภูมภิ าค 3 ท่าอากาศยาน มาอยู่ในความดูแล ได้แก่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และ ท่าอากาศยานภูเก็ต

ปี 2528

เปิดอาคารคลังสินค้า

เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้น

ของการขนส่งทางอากาศ

ปี 2540

จัดโครงการห้องรับแขก

ของชาติเพื่อต้อนรับ

นักท่องเที่ยวในปี Amazing Thailand แสดงให้เห็นถึงความ เป็นเลิศในการให้บริการ ของ ทอท.

ปี 2535

เปิดให้บริการตรวจ กระเป๋าด้วยเครื่อง Common use X-Ray เพื่อความสะดวกและ ปลอดภัยของผู้ใช้บริการ


ก้าวสู่ปีที่ 30 ปี 2541

ท่าอากาศยานเชียงราย เป็นอีก 1 ท่าอากาศยาน ภูมภิ าคที่ได้รบั โอนมาอยู่ ในความดูแลของ ทอท.

ปี 2542

ทอท.ให้ความสำคัญกับ สังคม โดยการสนับสนุน งบประมาณในการก่อสร้าง โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทยเป็น แห่งแรกทีบ่ า้ นไอร์จาดา อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

ปี 2549

เติมเต็มความภาคภูมิใจ

ของคนไทยทั้งชาติ ด้วยการเปิดให้บริการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ปี 2545

พัฒนาศักยภาพด้วยการ

แปลงสภาพองค์กรเป็น

บริษัทมหาชนจำกัด

อนาคต

สู่ที่สุด... แห่งท่าอากาศยาน ระดับโลก

ปี 2551

ท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ได้รับรางวัลต่างๆ เช่น รางวัลท่าอากาศยานที่ดี ที่สุด อันดับ 4 ของโลก

จาก Smarttravelasia, ท่าอากาศยานดีเด่น อันดับ 3 ของโลก โดย นิตยสาร Wanderlust เป็นต้น



มั่นใจ ในความปลอดภัย สูงสุด

ส่งต่อความห่วงใย ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล


วางแผนพัฒนา เพื่ออนาคต

สานต่อธุรกิจ สู่ความเติบโตที่ไม่มีวันสิ้นสุด



การดำเนินงาน ด้านการบริการ

ความใส่ใจ ส่งถึงใจ ในรายละเอียดของบริการทุกขั้นตอน




เลือกสรร สินค้าคุณภาพ จากร้านชันนำ

ถ่ายทอดความคิดถึง ผ่านหลากร้านค้า หลายแบรนด์คุณภาพ



สังคมและ สิงแวดล้อม

เชื่อมโยงความสุขของนักเดินทาง สู่รอยยิ้มของโลก



ปฏิบัติตามหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี คุณภาพคู่คุณธรรม คือปรัชญาในการดำเนินธุรกิจของเรา


ปลอดภัย คือ มาตรฐาน บริการ คือ หัวใจ


ข้อมูลทัว่ ไป ของบริษทั ชื่อบริษัท : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ชื่อย่อ : ทอท. เลขทะเบียนบริษัท : 0107545000292 ประเภทธุรกิจ : ประกอบกิจการท่าอากาศยาน รวมทั้งกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหรือ ต่อเนื่องกับการประกอบกิจการท่าอากาศยาน รอบปีบัญชี : 1 ตุลาคม - 30 กันยายน สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0 2535 1111 โทรสาร : 0 2535 4061 เว็บไซต์ : http://www.airportthai.co.th ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ : โทรศัพท์ 0 2535 5900, โทรสาร 0 2535 5909, E-mail : aotir@airportthai.co.th ทุนจดทะเบียน : 14,285,700,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ : 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ผู้ถือหุ้น : ปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ได้แก่ กระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 70 ส่วนที่เหลือเป็นการถือหุ้นโดยสถาบันและนักลงทุนทั่วไป ปีที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : 11 มีนาคม 2547 นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ที่ตั้ง : 2/7 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0 2596 9307 โทรสาร : 0 2832 4994-6 ผู้สอบบัญชี : สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ตั้ง : ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0 2273 9674-91 โทรสาร : 0 2618 5883


สารจาก ประธานกรรมการ ในการเปิดให้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ครบรอบ 2 ปี เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2551 ที่ผ่านมา

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) ได้มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพการบริการและการบริหารจัดการท่าอากาศยาน ด้วยมาตรฐานด้านความปลอดภัยและสิง่ อำนวยความสะดวกในระดับสากล ทำให้ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550- กันยายน 2551) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมสิ ามารถรองรับผู้โดยสารได้ถงึ 41,180,456 คน เทีย่ วบินจำนวน 256,118 เทีย่ วบิน ปริมาณสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออก (ไม่รวมสินค้าผ่าน) จำนวน 1,259,685 ตัน ด้วยความเชือ่ มัน่ และความพร้อมในการให้บริการ ทอท.จึงได้ นำท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเข้าร่วมโครงการจัดอันดับท่าอากาศยานของสมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ (Airport Council International : ACI) ภายใต้ชื่อโครงการสำรวจคุณภาพบริการของท่าอากาศยาน (Airport Service Quality Program : ASQ)

มีวตั ถุประสงค์เพือ่ นำไปสูก่ ารพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการบริการทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ทัง้ ด้านกระบวนการผ่านเข้า-ออกของ

ผู้โดยสาร ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ตลอดจนบริการต่างๆ ที่จัดไว้ภายในอาคารผู้ โดยสารและบริเวณ

ท่าอากาศยาน ทั้งนี้ ทอท.มีความมุ่งมั่นในการบริหารท่าอากาศยานให้เป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโลก (World Class Airport) หรือเป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุดในระดับเดียวกัน (Best in Class) นอกจากนี้ ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบอีก 5 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยาน เชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย มีปริมาณการจราจรทางอากาศเพิ่มสูงขึ้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุเนื่อง มาจากการเติบโตของสายการบินต้นทุนต่ำ (Low Cost Carriers) ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ผ่านมา ดังนั้น ทอท.จึงได้ พิจารณาเตรียมการในด้านต่างๆ เพื่อรองรับการเติบโตของปริมาณผู้ โดยสารที่คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ทั้งในส่วนของ

แผนพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมทั้งแผนพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาค โดยเฉพาะท่าอากาศยานภูเก็ต ซึ่งคาดว่าจะเต็มขีด ความสามารถในอนาคตอันใกล้นี้ เพือ่ ให้ ทอท.สามารถรักษาคุณภาพและมาตรฐานการบริการ ตลอดจนประสิทธิภาพการดำเนินงาน ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ในการเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่กำหนดไว้ สำหรับผลการดำเนินงานด้านปริมาณการจราจรทางอากาศโดยรวมของ ทอท. (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยาน ดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย) มีการขยายตัว

เพิม่ ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมา โดยมีจำนวนผู้โดยสารรวม 58,304,267 คน คิดเป็นอัตราเพิม่ ร้อยละ 4.08 มีปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุ ไปรษณี ย ภั ณ ฑ์ เ ข้ า -ออก (ไม่ ร วมสิ น ค้ า ผ่ า น) จำนวน 1,345,845 ตั น คิ ด เป็ น อั ต ราเพิ่ ม ร้ อ ยละ 6.65 และในส่ ว นของ

จำนวนเที่ยวบินมีทั้งสิ้น 394,057 เที่ยวบิน คิดเป็นอัตราเพิ่มร้อยละ 0.96


จากผลการดำเนินงานด้านปริมาณการจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้น รวมทั้ง การปรับขึ้นค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าธรรมเนียมการขึ้น-ลงของ อากาศยาน และค่าธรรมเนียมการจอดอากาศยาน ส่งผลให้ผลประกอบการ และฐานะทางการเงินของ ทอท.ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 กันยายน 2551) มีรายได้จากการดำเนินงาน 22,010.87 ล้านบาท ในขณะ

ที่มีค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน 18,515.89 ล้านบาท ถึงแม้ว่าจะได้รับ

ผลกระทบจากค่าใช้จา่ ยทีเ่ พิม่ ขึน้ ในหมวดของค่าเสือ่ มราคา แต่จากการดำเนิน นโยบายด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการควบคุมค่าใช้จ่าย ในการดำเนินงานอย่างจริงจัง ส่งผลให้ ทอท.มีกำไรจากการดำเนินงาน 3,494.98 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 133.51 และมีผลกำไร สุทธิ 7,321.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 571.80 ทั้งนี้ สาเหตุ ข องการเพิ่ ม ขึ้ น ของผลประกอบการส่ ว นหนึ่ ง เนื่ อ งมาจาก ทอท.

ได้บันทึกการรับรู้รายได้จากเงินทดแทนในการประกอบการจำหน่ายสินค้า ปลอดอากรและการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ จำนวน 8,331.54 ล้านบาท ตามทีศ่ าลแพ่งได้มคี ำสัง่ คุม้ ครองชัว่ คราว เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2551 และ วันที่ 25 เมษายน 2551 ที่ผ่านมา

ทัง้ นี้ ความสำเร็จจากการดำเนินงานข้างต้นเป็นผลมาจากความร่วมมือร่วมใจและการสนับสนุนของคณะกรรมการ ทอท. ผูบ้ ริหาร และพนักงานในทุกระดับ ทีม่ คี วามมุง่ มัน่ ในการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมแิ ละท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท.ทัง้ 5 แห่ง เพื่อบรรลุเป้าหมายสู่การเป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโลก โดยให้ความสำคัญในเรื่องการบริหารจัดการที่ดีภายใต้หลักธรรมาภิบาล

มุ่งสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย พัฒนารูปแบบการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพิ่มขีดความสามารถ

ในการแข่งขันด้านบริการในระดับสากล ตลอดจนมุง่ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงาน และเสริมสร้างศักยภาพของ บุคลากรเพือ่ พร้อมรับการเปลีย่ นแปลงจากสถานการณ์ตา่ งๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการบินและการขนส่งทางอากาศในอนาคต

( นายวุฒิพันธ์ุ วิชัยรัตน์ ) ประธานกรรมการ


คณะกรรมการ ทอท. รชัย ธารสิทธิ์พงษ์ 02 นายสุ กรรมการ

ยศักดิ์ อังค์สุวรรณ 04 นายชั กรรมการ

04

02

03

01

05

ระเด่น พึ่งพักตร์ 03 พลอากาศเอก กรรมการ

01

022 รายงานประจำปี 2551

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ ประธานกรรมการ

ทิศ ธรรมวาทิน 05 นายอุ กรรมการ


07

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ กรรมการ

สุเมธ โพธิ์มณี 09 พลอากาศเอก กรรมการ

12

นายถาวร พานิชพันธ์ กรรมการ

12

09

14

นายอภิชาติ สายะสิต กรรมการ

14

07

06

10

08

นัย วิทวัสการเวช 06 นายวิ กรรมการ

10

15

11

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ กรรมการ

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์

11

13

นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ กรรมการ

15 13

08 กรรมการ

023 รายงานประจำปี 2551

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ เลขานุการคณะกรรมการ ทอท.

เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ กรรมการ

024 รายงานประจำปี 2551


ผู้บริหาร ทอท. นายสุรจิต สุรพลชัย รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

05

06

05

เรืออากาศเอก วิวัฒน์ สมานรักษ์ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

08 07

นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานแผนงานและการเงิน)

เรืออากาศโท ณรงค์ชัย ถนัดช่างแสง ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานอำนวยการ)

09

06

15

14

09

07

นายเพิ่มศักดิ์ พัฒนพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

นายสุรธัส สุธรรมมนัส ผู้ช่วยกรรมการ

ผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานพัฒนาธุรกิจ)

08

04

02

16

นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์

04 รองกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่

(สายงานอำนวยการ)

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

025 รายงานประจำปี 2551

17

15

(สายงานพัฒนาธุรกิจ)

นางสาวสุวรรณี สำโรงวัฒนา รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำนวยการ)

ว่าที่ เรืออากาศโท ภาสกร สุระพิพิธ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

18 17

13

10

10

18

16

12

11

นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน

02 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

นางสมบัติ คุณประเสริฐ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

นายอดิเทพ นาคะวิสุทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญ 10 ทอท.

03

01

01

14

นายพรบรรจบ สมบัติเปี่ยม ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

นางกัลยา ผกากรอง

11

03 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานแผนงานและการเงิน)

026 รายงานประจำปี 2551

12

เรืออากาศโทหญิง เพิร์ล รักสำหรวจ เลขานุการบริษัท

นายชยากร อักษรมัต ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

(สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

13

นายสมชัย สวัสดีผล ผู้เชี่ยวชาญ 11 ทอท.


24

นาวาอากาศโท ณัฏฐ์ โหมาศวิน

นาวาอากาศโท วิชา เนินลพ ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานภูเก็ต

25

24

26 ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ว่าที่ เรืออากาศโท จตุรงคพล สดมณี ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

26

25

27

22

20 19

23

21 นายฉัตร หาญพัฒนนันท์

20 รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ (สายบำรุงรักษาและสารสนเทศ)

19

27

นายประเทือง ศรขำ ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานเชียงราย

นาวาอากาศโท ประทีป วิจิตรโท รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

(สายปฏิบัติการ)

21

ว่าที่ เรืออากาศโท วิศิษฐ์ อิ้วประภา

22 รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานดอนเมือง (สายอำนวยการ)

ว่าที่ เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร ผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานดอนเมือง

23

เรืออากาศตรี อนันต์ คงยืน รองผู้อำนวยการ

ท่าอากาศยานดอนเมือง

(สายปฏิบัติการ)

027

รายงานประจำปี 2551


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ

ºÃÔÉÑ· ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ä·Â ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ÊӹѡµÃǨÊͺ Êӹѡ§Ò¹â¤Ã§¡ÒþÔàÈÉ

ÊÒ§ҹÍӹǡÒÃ

• ½†ÒÂÍӹǡÒáÅÒ§ • ½†Ò¡®ËÁÒ • ½†Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å • ½†Ò¾Ѳ¹Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å • ½†Ò»‡Í§¡Ñ¹ÍغѵÔÀÑÂáÅЪÕÇ͹ÒÁÑ • ½†Ò¾ÑÊ´Ø • ½†ÒÂá¾·Â

ÊÒ§ҹἹ§Ò¹ áÅСÒÃà§Ô¹ • ½†Ò¡ÅÂØ·¸ ͧ¤ ¡Ã • ½†Ò§º»ÃÐÁÒ³ • ½†Ò¡ÒÃà§Ô¹ • ½†ÒºÑÞªÕ

• Èٹ ¹Ñ¡Å§·Ø¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

ÊÒ§ҹ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÀÙÁÔÀÒ¤ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÀÙà¡çµ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹àªÕ§ãËÁ‹ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ËÒ´ãËÞ‹ • ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹àªÕ§ÃÒÂ

˹‹Ç¸ØáԨ ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ

• ʋǹºÃÔËÒáÅÒ§

ÊÒÂÍӹǡÒÃ

• ½†ÒÂÍӹǡÒà ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ • ½†ÒÂá¼¹§Ò¹áÅСÒÃà§Ô¹ • ½†Ò¡Ԩ¡ÒþÔàÈÉ • ʋǹᾷÂ

ÊÒ»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃ

• ½†Ò¡Ò÷‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†Ò»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃࢵ¡ÒúԹ • ½†ÒÂÃкºÅÓàÅÕ§¡ÃÐ້ÒÊÑÁÀÒÃÐ • ½†ÒÂÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ • ½†Ò´Ѻà¾ÅÔ§áÅСٌÀÑÂ


¼Ñ§¡ÒèѴʋǹ§Ò¹ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ¡Ó˹´¤‹ÒµÍºá·¹ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒøÃÃÁÒÀÔºÒÅ

ÊӹѡàŢҹءÒúÃÔÉÑ·

àŢҹءÒúÃÔÉÑ· ÊӹѡÁҵðҹáÅÐ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹

ÊÒ§ҹ¾Ñ²¹Ò¸ØáԨ • ½†Ò¾Ѳ¹Ò¸ØáԨ • ½†ÒºÃÔËÒøØáԨ

ÊӹѡÊ×èÍÊÒÃͧ¤ ¡Ã

ÊÒ§ҹÇÔÈÇ¡ÃÃÁáÅÐ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È

• ½†ÒÂá¼¹¾Ñ²¹Ò·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†ÒÂÇÔÈÇ¡ÃÃÁáÅÐʶһ˜µÂ¡ÃÃÁ • ½†ÒÂà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È • ½†ÒÂÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

˹‹Ç¸ØáԨ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹´Í¹àÁ×ͧ • ½†ÒÂÍӹǡÒà ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹´Í¹àÁ×ͧ • ½†Ò»¯ÔºÑµÔ¡Ò÷‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†Ò¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†ÒºÓÃاÃÑ¡ÉÒ

ʋǹÁҵðҹáÅÐ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹

• ʋǹᾷ • ʋǹ¾Ò³ÔªÂ áÅСÒÃà§Ô¹ • ʋǹÁҵðҹáÅФÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹

ÊÒºÓÃاÃÑ¡ÉÒáÅÐÊÒÃʹà·È • ½†ÒÂä¿¿‡ÒáÅÐà¤Ã×èͧ¡Å • ½†ÒÂʹÒÁºÔ¹áÅÐÍÒ¤Òà • ½†ÒÂÊÒÃʹà·È·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹ • ½†ÒÂÊ×èÍÊÒÃÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊ

ÊÒ¡ÒþҳԪÂ

• ½†Ò¡ÒþҳԪ • ½†ÒºÃÔËÒáÒâ¹Ê‹§



ลักษณะ การประกอบธุรกิจ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า “ทอท.” ประกอบธุรกิจท่าอากาศยานหลักของประเทศไทย โดยธุรกิจหลักของ ทอท.ประกอบด้วย การจัดการ การดำเนินงาน และการพัฒนาท่าอากาศยานที่อยู่ในความรับผิดชอบ 6 แห่ง ประกอบด้วย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยาน หาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย ซึ่งท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง ให้บริการเที่ยวบินในประเทศและระหว่างประเทศ โดยมี

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ ได้เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 เพื่อรองรับปริมาณ

ผู้ โดยสารที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการรองรับผู้ โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี สามารถรองรับการขนส่ง

สินค้า 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง นอกจากนี้ ทอท.ได้ดำเนินกิจการโรงแรมท่าอากาศยาน

ที่ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ภายใต้ ชื่ อ โรงแรมโนโวเทลสุ ว รรณภู มิ ขนาด 600 ห้ อ ง โดยร่ ว มทุ น ดำเนิ น การร่ ว มกั บ

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เพื่อให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสาร ที่มาใช้บริการท่าอากาศยาน จากนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาท่าอากาศยาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห้เป็นศูนย์กลางการบิน การท่องเทีย่ ว และการขนส่ง สินค้าทางอากาศชัน้ นำของเอเชียและโลก กอปรกับนโยบายการท่องเทีย่ วไทย เชิงรุกของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ในการขยายกลุม่ ตลาดนักท่องเทีย่ ว ใหม่ๆ การตกลงร่วมกันของกลุ่มประเทศในอาเซียนที่จะเปิดเสรีการบิน และผ่ อ นคลายกฎระเบี ย บของภาครั ฐ โดยจะมี การผ่ อ นคลายระเบี ย บ

ข้อกำหนดต่างๆ ในการขนส่งทางอากาศให้มากขึ้นตามลำดับ อันจะช่วย

ส่งผลให้ปริมาณการจราจรทางอากาศและผู้โดยสารมีอตั ราทีเ่ พิม่ ขึน้


ในขณะที่นโยบายการเปิดเสรีทางด้านการบิน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ ส่งผลให้ธุรกิจ

สายการบินต้นทุนต่ำเข้ามาทำตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ สายการบินต้นทุนต่ำจึงเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งจำนวน

สายการบินและความถี่ของเที่ยวบิน และคาดว่าด้วยจำนวนประชากรที่มีรายได้ปานกลางที่เพิ่มขึ้นของจีนและอินเดีย จะทำให้

สายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีการขยายตัวได้อีกมากในอนาคต และนวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตอากาศยาน

แบบใหม่ เช่น อากาศยาน A380 จะช่วยทำให้ระบบการขนส่งทางอากาศโดยรวมมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ ต้นทุนลดลง ลดเวลาการบิน เนื่องจากสามารถบินตรงไปยังจุดหมายได้โดยไม่ต้องหยุดพัก ทำให้เกิดเส้นทางบินใหม่ๆ และทำให้เกิดการแข่งขันที่สูงขึ้นในการ แย่งชิงปริมาณเทีย่ วบินและผู้โดยสารทีจ่ ะมาลงยังท่าอากาศยานทีเ่ ป็นศูนย์กลางการบินในภูมภิ าค เพือ่ ผ่านไปยังจุดหมายปลายทาง เมืองอืน่ ๆ และจากการทีค่ า่ โดยสารมีราคาถูกลง ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการการขนส่งทางอากาศได้มากขึน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ เทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ผู้เดินทางสามารถค้นหาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว แหล่งธุรกิจตามที่ต้องการ ได้สะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้โดยสารที่เดินทางโดยเครื่องบินสามารถทำการจองเที่ยวบินได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ว และได้ใน ราคาที่ถูกลง อย่างไรก็ตาม ปัจจัยภายในประเทศ เช่น สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ การประท้วงปิดท่าอากาศยาน ความวุ่นวาย ทางการเมือง และการประกาศพระราชกำหนดภาวะฉุกเฉิน ล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางเข้ามาประเทศไทยของ

นักท่องเที่ยวต่างชาติ กอปรกับราคาต้นทุนน้ำมันดิบที่มีราคาสูงอย่างต่อเนื่อง ภาวะวิกฤติของตลาดสินเชื่อและความสั่นคลอนของ สถาบันการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกา และปัญหาเศรษฐกิจขาลงในที่อื่นๆ ทั่วโลก มีความสัมพันธ์เป็นอย่างมากต่อการเติบโต ของปริมาณการจราจรทางอากาศ เกิดผลกระทบทางจิตวิทยาทำให้การบริโภคและการลงทุนทั่วโลกชะลอตัวลง ส่งผลทั้งทางตรง และทางอ้อมต่ออุตสาหกรรมการบินและท่าอากาศยาน

032

รายงานประจำปี 2551


สำหรับแนวโน้มการเติบโตของ ทอท.ในอนาคต สมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ หรือ ACI คาดการณ์ถึงการเติบโต ของจำนวนผู้โดยสารในปี 2553 ว่าผู้โดยสารทัว่ โลกจะมีจำนวนมากกว่า 5 พันล้านคน และในปี 2563 จะเพิม่ ขึน้ เป็น 9 พันล้านคน โดยแบ่งเป็นผู้โดยสารที่ใช้บริการภายในประเทศประมาณ 5.1 พันล้านคน และผู้โดยสารที่ใช้บริการระหว่างประเทศประมาณ

4 พันล้านคน อย่างไรก็ตามอัตราการเติบโตของจำนวนผู้โดยสารทั่วโลกในอีก 20 ปีข้างหน้า (ปี 2549 - 2568) จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 4 ต่อปี สำหรับอัตราการเติบโตของผู้โดยสารในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะเติบโตในอัตราที่สูงกว่าทุกภูมิภาคในโลก คือ เฉลีย่ ประมาณร้อยละ 5.8 ต่อปี ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากหลายประเทศในภูมภิ าคเริม่ พัฒนาการขนส่งทางอากาศ และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่รวดเร็วของประเทศจีนและอินเดีย

033

รายงานประจำปี 2551



ข้อมูลทางการเงิน โดยสรุปของบริษทั


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท

ผลการดำเนินงาน (ล้านบาท) รายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน กำไรสุทธิ ฐานะการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้จากการดำเนินงาน (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)

036

รายงานประจำปี 2551

2551

2550

2549

22,010.87 18,515.89 3,494.98 7,321.05

19,501.41 18,004.68 1,496.73 1,089.76

16,240.86 9,420.07 6,820.79 10,473.99

146,455.97 70,147.58 76,308.39

143,466.98 73,789.75 69,677.23

150,505.06 79,341.54 71,163.52

2.38 33.26 10.03 5.05 0.92 53.24 5.12

1.74 5.59 1.55 0.74 1.06 48.57 0.76

1.68 64.49 15.44 7.35 1.11 49.81 7.33


แหล่งที่มาของรายได้จากการดำเนินงานสำหรับปี 2551

แหล่งที่มาของค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานสำหรับปี 2551

037

รายงานประจำปี 2551


วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (งบการเงินรวม)

ภาพรวมผลการดำเนินงานสำหรับปี 2551 เปรียบเทียบกับปี 2550

ทอท.และบริษัทย่อย มีรายได้จากการดำเนินงานสำหรับรอบปีบัญชี 2551 (1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2551) 22,010.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน (1 ตุลาคม 2549 - 30 กันยายน 2550) จำนวน 2,509.46 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.87 ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานรวม 18,515.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 511.21 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.84 กำไรจาก การดำเนินงาน 3,494.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,998.24 ล้านบาท หรือร้อยละ 133.51 กำไรสุทธิ 7,321.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 6,231.29 ล้านบาท หรือร้อยละ 571.80 ประกอบด้วย รายได้จากการดำเนินงาน รายได้ทเี่ กีย่ วกับกิจการบิน (Aeronautical Revenues) ทอท.มีรายได้ทเี่ กีย่ วกับกิจการบิน 15,065.12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68.44 ของรายได้จากการดำเนินงาน โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,919.14 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.60 เนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของปริมาณจราจรทางอากาศ โดยมีจำนวนเที่ยวบิน ผู้โดยสาร และปริมาณสินค้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.0 , 4.1 และ 5.7 ตามลำดับ ประกอบด้วย - รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน 4,216.35 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 278.95 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.08 - รายได้คา่ ธรรมเนียมการใช้สนามบิน 10,417.01 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 1,635.54 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.62 - รายได้ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก 431.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.65 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.09 รายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการบิน (Non - Aeronautical Revenues) ทอท.มีรายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการบิน 6,945.75 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.56 ของรายได้จากการดำเนินงาน โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 590.32 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.29 เนื่องจาก รายได้เกี่ยวกับบริการเพิ่มขึ้น ได้แก่ ค่าบริการรถลีมูซีน, ค่าไฟฟ้า, ค่าบริการลานจอด และรายได้จากโรงแรมท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ รวมทั้งรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์จากการจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม, ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม และการให้ บริการต่างๆ เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 511.21 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.84 โดยเพิ่มขึ้นจากจำนวน 18,004.68 ล้านบาท ในรอบปีบัญชี 2550 เป็นจำนวน 18,515.89 ล้านบาท ในรอบปีบัญชี 2551 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก - ค่าใช้จ่ายพนักงาน 3,909.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 981.16 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.51 เป็นผลจากการรับพนักงานและ ลูกจ้างเพิ่ม การปรับบำเหน็จพนักงานประจำปี รวมทั้งเงินชดเชยและผลประโยชน์ตอบแทนให้กับพนักงานที่เข้าร่วมโครงการ เกษียณอายุก่อนกำหนด และโครงการร่วมใจจากองค์กรเพิ่มขึ้น - ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 5,100.31 ล้านบาท ลดลง 629.82 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.99 ส่วนหนึ่งเนื่องจากการเร่งรัด

เรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ค้างชำระ ส่งผลให้การบันทึกหนี้สงสัยจะสูญลดลง นอกจากนี้ ค่าจ้างเอกชนดำเนินการ และค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ลดลง

038 รายงานประจำปี 2551


- ค่าซ่อมแซม 683.96 ล้านบาท ลดลง 48.42 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.61 เนื่องจากค่าซ่อมแซมสายพานส่งกระเป๋า

และค่าซ่อมแซมทางวิ่งทางขับลดลง - ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ 955.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 109.41 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.93 ตามสัดส่วนของรายได้

จากการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น - ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินและค่าตัดจำหน่าย 7,866.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 98.88 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.27 เนื่องจาก

การลงทุนในสินทรัพย์เพิ่มขึ้น รายได้อื่น รายได้อื่นเพิ่มขึ้น 8,180.81 ล้านบาท สาเหตุสำคัญเกิดจากการรับรู้รายได้ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่งจำนวน 8,331.54 ล้านบาท ในขณะที่ดอกเบี้ยรับและอื่นๆ ลดลง 150.73 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มขึ้น 4,091.4 ล้านบาท สาเหตุสำคัญเนื่องจากปี 2551 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 928.72 ล้านบาท เปลีย่ นแปลงจากปี 2550 ซึง่ มีกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน 2,804.54 ล้านบาท ประกอบกับมีคา่ ใช้จา่ ยอืน่ เพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งจากการบันทึกค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากเงินทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 2,569.80 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 172.63 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.20 เนื่องจาก

การทำสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับสถาบันการเงินเพิ่มเติม เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2550

วิเคราะห์ฐานะการเงิน ปี 2551 เปรียบเทียบปี 2550

สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 146,455.97 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 2,988.99 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.08 สาเหตุสำคัญเกิดจากได้รับชำระค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง หนี้สิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 70,147.58 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 3,642.17 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.94 สาเหตุสำคัญเกิดจากการโอนรายได้ค่าสัมปทานรับล่วงหน้าจำนวน 4,460.00 ล้านบาท

เป็นรายได้ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 จำนวน 76,308.39 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 6,631.16 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 9.52 สาเหตุสำคัญเกิดจากผลประกอบการที่เพิ่มสูงขึ้น

สภาพคล่อง

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.และบริษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8,437.37 ล้านบาท ลดลงจาก

วันต้นงวดของปี 2551 (1 ตุลาคม 2550) จำนวน 1,794.02 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.53 โดยมีกระแสเงินสดสุทธิได้มาจาก กิจกรรมดำเนินงาน 11,837.95 ล้านบาท เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน 13,740.96 ล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นการลงทุน

ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จำนวน 5,666.37 ล้านบาท ในเงินลงทุนชั่วคราวและระยะยาวจำนวน 7,746.52 ล้านบาท เงินสด สุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 108.99 ล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นเงินสดรับจากเจ้าหนี้เงินกู้ระยะยาวจำนวน 2,256.30 ล้านบาท แต่ได้ถูกหักลบด้วยการชำระคืนเงินกู้จำนวน 1,565.88 ล้านบาท และการจ่ายเงินปันผลจำนวน 571.43 ล้านบาท

039

รายงานประจำปี 2551



ผลการดำเนินงาน ด้านการให้บริการ ทอท.ดำเนินกิจการทาอากาศยานในประเทศไทยทั้งหมด 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย ในปีงบประมาณ 2551

ท่าอากาศยานของ ทอท.ให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 108 สายการบิน เป็นสายการบินขนส่งผู้โดยสารผสมสินค้าจำนวน 98 สายการบิน และขนส่งสินค้าอย่างเดียวจำนวน 10 สายการบิน ปริมาณการขึ้นลงของอากาศยาน ณ ทาอากาศยานของ ทอท. 6 แห่ง รวม 394,057 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 0.96 ประกอบด้วยจำนวนเที่ยวบินระหว่างประเทศ 220,673 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 2.52 และเที่ยวบินภายในประเทศ 173,384 เที่ยวบิน ลดลงร้อยละ 0.96 ตามลำดับ ให้บริการผู้โดยสารรวมทั้งสิ้น 58,304,267 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 4.08 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำนวน 36,836,936 คน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.65 และผู้โดยสารภายในประเทศ 21,467,331 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 3.11 มีปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า -ออกจำนวน 1,345,845 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.65 โดยเป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 1,243,762 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 7.54 และในประเทศจำนวน 102,083 ตัน ลดลงคิดเป็น ร้อยละ 3.18 ปริมาณการจราจรทางอากาศโดยรวมของ ทอท.ในปีงบประมาณ 2551 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ง บประมาณ 2550 จากเหตุ ผ ลสนั บ สนุ น ได้ แ ก่ จำนวน

นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น ทางเข้ า ประเทศไทยและการเดิ น ทางของคนไทย

ทัง้ ในประเทศและระหว่างประเทศเพิม่ ขึน้ และการเติบโตของปริมาณจราจร ทางอากาศของสายการบินราคาประหยัด อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปจั จัยด้านลบ ของภาวะเศรษฐกิจโลกที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ใน

วงกว้าง รวมทั้งเหตุการณ์ไม่สงบภายในประเทศ ซึ่งส่งผลให้ปริมาณจราจร ทางอากาศเติบโตได้ไม่เต็มที่


ปีงบประมาณ

การขึ้น-ลงของอากาศยานพาณิชย์ (เที่ยวบิน) จำนวนผู้โดยสารรวม (คน) 2550 2551 ร้อยละ 2550 2551 307,244 ทสภ.+ทดม. 311,435 1.36 45,123,945 46,932,118 267,555 - ทสภ. 256,118 -4.27 41,934,995 41,180,456 39,689 - ทดม. 55,317 39.38 3,188,950 5,751,662 38,368 ทภก. 40,218 4.82 5,478,137 5,943,468 26,708 ทชม. 25,400 -4.90 3,370,690 3,276,309 11,748 ทหญ. 10,270 -12.58 1,335,679 1,380,086 6,232 711,662 ทชร. 6,734 8.06 772,286 รวม 6 แห่ง 390,300 394,057 0.96 56,020,113 58,304,267 ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า -ออก (ตัน) 2550 2551 1,207,970 ทสภ.+ ทดม. 1,291,931 1,191,858 - ทสภ. 1,259,685 16,112 - ทดม. 32,246 17,498 ทภก. 18,542 23,429 ทชม. 22,438 10,141 ทหญ. 10,407 2,909 ทชร. 2,527 รวม 6 แห่ง 1,261,947 1,345,845

042

รายงานประจำปี 2551

ร้อยละ 4.01 -1.80 80.36 8.49 -2.80 3.32 8.52 4.08

ร้อยละ 6.95 5.69 100.14 5.97 -4.23 2.62 -13.13 6.65


ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง

ในช่วงปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง ให้บริการเที่ยวบินขึ้น-ลงรวมกั น

311,435 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2550 คิดเป็นร้อยละ 1.36 รวมมีผู้โดยสารทัง้ สิน้ 46,932,118 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 4.01 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 1,291,931 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.95 ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ให้ บ ริ การสายการบิ น แบบประจำรวม 101 สายการบิน เป็นเที่ยวบินขนส่งผู้ โดยสารผสม

สินค้า 91 สายการบิน และเที่ยวบินขนส่งสินค้าอย่างเดียว 10 สายการบิน มีเที่ยวบินพาณิชย์ ขึ้น-ลงรวม 256,118 เที่ยวบิน

เป็นเทีย่ วบินระหว่างประเทศ 196,979 เที่ยวบิน และเที่ยวบิน ภายในประเทศจำนวน 59,139 เที่ ย วบิ น รองรั บ ผู้ โ ดยสารรวม 41,180,456 คน เป็ น ผู้ โ ดยสารระหว่างประเทศจำนวน 34,025,340 คน และผู้โดยสารภายในประเทศจำนวน 7,155,116 คน ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 1,259,685 ตัน เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 1,234,413 ตัน

และการขนส่งภายในประเทศจำนวน 25,272 ตัน

ท่าอากาศยานดอนเมือง ให้บริการสายการบินแบบประจำภายในประเทศรวม 4 สายการบิน มีเที่ยวบินพาณิชย์ขึ้น-ลง

รวม 55,317 เที่ยวบิน เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 2,526 เที่ยวบิน และเที่ยวบินภายในประเทศจำนวน 52,791 เที่ยวบิน รองรับผู้โดยสารรวม 5,751,662 คน เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำนวน 28,661 คน และผู้โดยสารภายในประเทศจำนวน 5,723,001 คน ปริมาณสินค้าเข้า-ออกจำนวน 32,246 ตัน เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 4,040 ตัน และการขนส่ง ภายในประเทศจำนวน 28,206 ตัน

043

รายงานประจำปี 2551


ท่าอากาศยานภูเก็ต

ปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานภูเก็ตให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 28 สายการบิน มีจำนวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 40,218 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 4.82 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศจำนวน 17,317 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 6.64 จากทั้งเที่ยวบินแบบประจำและเที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศมีจำนวน 22,901 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 3.49 ให้บริการผู้โดยสารรวมทั้งสิ้น 5,943,468 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 8.49 ประกอบด้วยผู้โดยสารระหว่างประเทศ จำนวน 2,411,625 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 17.36 ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 3,531,843 คน เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 3.18 จากผู้โดยสารนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ ส่วนปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมทั้งสิ้น 18,542 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 5.99 ประกอบด้วยการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 4,932 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.67 และการขนส่ง

ในประเทศจำนวน 13,610 ตัน เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 2.04

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

ปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 15 สายการบิน มีเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 25,400 เที่ยวบิน ลดลงร้อยละ 4.90 จากจำนวนเที่ยวบินระหว่างประเทศจำนวน 3,621 เที่ยวบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 28.41

ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศมีจำนวน 21,779 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 0.60 รองรับจำนวนผู้โดยสารรวม 3,276,309 คน ลดลงร้อยละ 2.80 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 347,419 คน ลดลงร้อยละ 0.99 ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศจำนวน 2,928,890 คน ลดลงร้อยละ 3.01 การลดลงอย่างมากของปริมาณจราจรทางอากาศระหว่างประเทศมีสาเหตุจากการลดเที่ยวบินแบบประจำของ สายการบิน Bangkok Airways, China Airlines และการยกเลิกเที่ยวบินทั้งหมดของ Tiger Airways ส่วนปริมาณสินค้าและ

พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมจำนวน 22,438 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.23 เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 377 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.80 ส่วนการขนส่งภายในประเทศ 22,061 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.59

044

รายงานประจำปี 2551


ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ในปีงบประมาณ 2551 ท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีจำนวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 10,270 เที่ยวบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 12.58 จากการให้บริการสายการบินประจำรวม 4 สายการบิน ประกอบด้วยเทีย่ วบินระหว่างประเทศ 215 เทีย่ วบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 78.39 เที่ยวบินภายในประเทศ 10,055 เที่ยวบิน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 6.49 ให้บริการจำนวนผู้โดยสารรวม 1,380,086 คน เพิ่มขึ้น

คิดเป็นร้อยละ 3.32 เป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศจำนวน 23,667 คน ลดลงร้อยละ 74.99 สาเหตุจากเหตุการณ์ก่อความไม่สงบ ทางภาคใต้ของไทยทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวน้อยลง ส่วนจำนวนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 1,356,419 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 9.29 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมจำนวน 10,407 ตัน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 2.62 เป็นการขนส่ง ภายในประเทศทั้งหมด

ท่าอากาศยานเชียงราย

ท่าอากาศยานเชียงรายให้บริการสายการบินแบบประจำภายในประเทศรวม 5 สายการบิน ในปีงบประมาณ 2551 มีเที่ยวบิน ขึ้น-ลงรวม 6,734 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 8.06 มีเที่ยวบินระหว่างประเทศซึ่งเป็นการบินแบบไม่ประจำทั้งหมดรวม

15 เที่ยวบิน และเที่ยวบินในประเทศ 6,719 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.20 ให้บริการผู้โดยสารรวม 772,286 คน เพิ่มขึ้นคิดเป็น

ร้อยละ 8.52 ประกอบด้วยผู้โดยสารระหว่างประเทศ 224 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 772,062 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.50 ส่วนใหญ่จากผู้โดยสารที่เดินทางโดยสายการบินราคาประหยัดในเส้นทางระหว่างกรุงเทพ-เชียงราย ปริมาณการขนส่งสินค้าและ พัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออก ทั้งหมดเป็นการขนส่งสินค้าภายในประเทศรวม 2,527 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 13.13

045

รายงานประจำปี 2551


ตัน 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

046

รายงานประจำปี 2551

2542

2543

ระหวางประเทศ

2544

2545

ภายในประเทศ ผูโดยสารผาน

2546

2547

2548

2549

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน) 1,824,206 11,259,800 1,702,173 12,422,370 1,585,236 12,874,283

2548 2549 2550 2551 ปงบประมาณ

46,932,118

45,123,945

32,472,599

30,999,402

29,276,672 42,360,678

1,766,191 10,500,564

2550

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2550

53,478

2547

1,238,453 1,291,931

2546 2549

55,926

2545

1,152,044 1,207,970

2544 2548

60,515

2543

1,137,605 1,198,120

2542

57,689

ภายในประเทศ

2547

26,622,474 38,889,229

25,086,445 1,763,794 36,364,006 9,513,767

ภายในประเทศ

1,061,744 1,119,433

20,999,349 1,518,052 29,674,852 7,157,451

2546

51,232

978,336 1,029,568

ระหวางประเทศ

2545

47,361

22,284,375 1,676,669 31,205,692 7,244,648

ระหวางประเทศ

894,315 941,676

21,067,561 30,985,938 1,886,113 7,492,264

2544

48,912

881,858 930,770

20,101,314 29,054,259 1,770,184 7,182,761

2543

48,739

801,076 849,815

811,389 856,200

2542

44,811

41,531

คน 60,000,000 50,000,000 40,000,000 30,000,000 20,000,000 10,000,000 0 18,446,838 26,847,924 1,590,177 6,810,909 166,029

111,930

114,315

98,547

199,505

311,435

307,244

280,704

265,122

232,760

192,929

182,157

175,540

159,160

195,530

193,314

187,133

135,808

135,309

131,874

122,497 176,895

89,582

73,600

59,722

58,005

55,259

54,398

49,190

116,839

เที่ยวบิน 360,000 320,000 280,000 240,000 200,000 160,000 120,000 80,000 40,000 0

737,114 778,645

สถิติขนส่งทางอากาศ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

ผูโดยสารรวม

2551 ปงบประมาณ


ตัน 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2542

2543

ระหวางประเทศ

2544

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2547 2548 2549

2549 2550

2550

13,610

2546

18,542

2545 13,460

3,529,165

2,400,843

3,422,439 5,943,468

2550

4,932

2544 5,478,137

2543 2,038,965

2542 16,733

1,519,959 4,467,982 25,890 2,922,133

2549

17,498 13,338

1,065,607 3,472,652 49,387 2,357,658

2548

4,160

16,274 13,584

ผูโดยสารผาน

2,690

16,822 12,135

2547

4,687

ภายในประเทศ

12,841

1,832,505 4,522,098 77,201 2,612,392

ภายในประเทศ

19,907

1,359,380 3,461,710 51,408 2,050,922

2546

7,066

15,942 11,042

ระหวางประเทศ

2545

4,900

1,311,594 3,558,908 38,894 2,208,420

ระหวางประเทศ

10,341

15,592

1,371,115 3,679,310 63,095 2,245,100

2544

5,251

13,746

1,242,359 3,455,233 87,592 2,125,282

2543

8,669

5,077

16,433 11,215

2542

5,218

9,771

1,080,787 3,200,534 82,803 2,036,944

คน 8,000,000 7,000,000 6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0

15,142

22,901

22,129 17,317

16,239

28,991

26,803

29,817

24,301

22,911

25,370

22,824

20,619

16,304

12,687

15,335

11,468

14,995

14,822

12,456

11,845

10,883

12,028

12,842

12,528

11,309

11,515

8,910

11,709

40,218

38,368

เที่ยวบิน 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

5,371

ท่าอากาศยานภูเก็ต จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

รายงานประจำปี 2551

047


ตัน 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

048

รายงานประจำปี 2551

2542

2543

ระหวางประเทศ

2544

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

2550

2550

22,438 22,061

329,149 18,376

3,276,309 2,928,784

3,370,690 3,019,687

2550

377

2549 323,438 27,565

2549

23,429 23,122

ผูโดยสารผาน 3,078,156 2,748,077

3,011,917 2,757,255

2,663,990 2,408,752

2548

307

2548 295,672 34,407

2547

26,009 25,714

195,613 59,049

2546

295

24,376 23,707

ภายในประเทศ

2547

669

186,980 68,258

2,001,541 1,808,850

ภายในประเทศ

24,758 24,051

149,025 43,666

2546

707

ระหวางประเทศ

2545

24,917 24,236

2544 2,078,923 1,938,948

2,248,786 2,123,198

ระหวางประเทศ

2545

681

107,539 32,436

102,751 22,837

2,208,129 2,084,524

2544

24,336 23,960

2543

24,129 23,751

91,069 32,536

2543

376

378

2542

21,945 21,598

2,111,595 2,019,510

2542

347

68,685 23,400

คน 4,000,000 3,500,000 3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

17,440 17,318

3,621

5,058

5,690

4,884

20,214

25,400 21,779

26,708

24,469

21,650

18,779

22,362 17,478

14,727

15,774

16,183 13,694

15,357 13,589

15,864 13,996

16,196 14,658

11,779 5,487

3,995

2,489

1,768

1,868

1,538

เที่ยวบิน 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

122

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ


ท่าอากาศยานหาดใหญ่

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

2545

2546

ภายในประเทศ

2548

2549

2550

10,270 10,055 215

11,748 10,753 995

10,532 9,272

9,350

1,260

1,252

2547

1,782

7,784 6,532

5,590 3,976 1,614

4,413

4,513

8,926

10,815 4,748

6,067

9,982 4,798

5,184

8,492 4,176

4,316

เที่ยวบิน 18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

11,132

จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

2545

2546

ภายในประเทศ

2547 ผูโดยสารผาน

2549

1,380,086 1,356,068

1,335,679 1,240,569

2550

22,162 1,856

134,180 1,841

2548

94,454 656

1,293,268 1,157,247

1,287,477 1,137,544 147,046 2,887

1,009,640 907,820 93,723 8,097

718,621 615,739 97,162 5,720

128,387 5,507

761,499 627,605

824,186 668,635 147,853 7,698

873,649 665,094 200,729 7,826

215,262 6,262

คน 1,800,000 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

820,151 598,627

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

2550

10,407 10,407 0

10,141 10,141 0

10,338 10,335 3

10,957 10,931 26

9,385 9,240 145

9,351 9,170 181

11,973 11,752 221

14,435 14,172 263

11,865 11,543 322

448

ตัน 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

12,653 12,205

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

049

รายงานประจำปี 2551


ท่าอากาศยานเชียงราย

2542

2543

2544

2545

ระหวางประเทศ

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

2550

6,734 6,719 15

6,232 6,210 22

5,659 5,646 13

4,927 4,913 14

4,869 4,845 24

3,710 3,695 15

8

4,852 4,844

4,800 4,798 2

5,343 5,008 0

0

เที่ยวบิน 9,000 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

4,311 3,885

จำนวนเที่ยวบิน

2551 ปงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

2542

2544

2545

ระหวางประเทศ

2546

ภายในประเทศ

2547 ผูโดยสารผาน

2549

772,286 771,947

711,662 711,468

2550

224 115

22 75

2548

31 163

696,492 696,395

677,407 676,532 431 444

554,364 552,330 1,748 0

417,345 414,966 2,118 0

209 0

6 0

2543

476,524 476,315

556,677 556,671

575,565 560,152 13,250 0

19,186 0

คน 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0

540,389 519,423

จำนวนผู้โดยสาร

2551 ปงบประมาณ

ผูโดยสารรวม

2542

2543

2544

ระหวางประเทศ

050 รายงานประจำปี 2551

2545

2546

ภายในประเทศ

2547

2548

2549

การขนถายรวม (ไมรวมสินคาผาน)

2550

2,527 2,527 0

0

0

0

2,909 2,909

4,698 4,698

5,070 5,070

4,879 4,879 0

4,238 4,238 0

5,075 5,075 0

0

4,097 4,097

4,264 4,231 0

0

ตัน 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

2,920 2,913

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2551 ปงบประมาณ


ปริมาณการจราจรทางอากาศของ ทอท.

¨Ó¹Ç¹à·ÕèÂǺԹÃÇÁ¢Í§ ·Í·. (à·ÕèÂǺԹ) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานเชียงราย

256,118 55,317 40,218 25,400 10,270 6,734 394,057

¨Ó¹Ç¹¼ÙŒâ´ÂÊÒÃÃÇÁ¢Í§ ·Í·. (¤¹) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานเชียงราย

41,180,456 5,751,662 5,943,468 3,276,309 1,380,086 772,286 58,304,267

»ÃÔÁÒ³ÊÔ¹¤ŒÒáÅоÑÊ´Øä»ÃɳÕÂÀѳ± (äÁ‹ÃÇÁÊÔ¹¤ŒÒ¼‹Ò¹) ¢Í§ ·Í·. (µÑ¹) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง ทาอากาศยานภูเก็ต ทาอากาศยานเชียงใหม ทาอากาศยานหาดใหญ ทาอากาศยานเชียงราย

1,259,685 32,246 18,542 22,438 10,407 2,527 1,345,845

051

รายงานประจำปี 2551


ปัจจัย ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงของ ทอท.

ทอท.ได้เริ่มนำระบบบริหารความเสี่ยงมาดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 และตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ ทอท.เป็นผู้กำหนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงของ ทอท. วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและผลกระทบต่อ ทอท. ทั้งนี้ เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม ช่วยลดความเสียหายต่อองค์กรให้น้อยที่สุด รวมทั้งติดตามการ เปลีย่ นแปลงของความเสีย่ งใหม่ทคี่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคต จากสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นไป สำหรับในปีงบประมาณ 2551 ปัจจัยความเสี่ยงของ ทอท. มีปัจจัยที่พอสรุปได้ดังนี้

1. ความเสี่ยงจากผลกระทบด้านเสียง

การชดเชยผู้ได้รบั ผลกระทบด้านเสียงจากการประกอบกิจการท่าอากาศยาน ด้วยการซือ้ อสังหาริมทรัพย์หรือด้วยการปรับปรุง

อาคารที่ได้รับผลกระทบ เป็นเรื่องใหม่สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง มีประเด็นละเอียดอ่อนที่ต้องพิจารณาทั้งทางเทคนิค ทางการเงิน และ ทางสังคม อย่างไรก็ตาม ทอท.ได้ดำเนินการในเรื่องนี้โดยให้ความเป็นธรรมอย่างถึงที่สุดกับผู้ได้รับผลกระทบภายใต้ข้อกฎหมาย ข้อบังคับ ฯลฯ ในขณะเดียวกัน ด้วยความตระหนักว่าการดำเนินการที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิอาจถูกนำไปใช้เป็นบรรทัดฐาน

ในการดำเนินงานเกี่ยวกับการชดเชยผลกระทบด้านเสียงที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินกิจการของท่าอากาศยานอื่นๆ ของ ทอท.

มาตรการป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยงของ ทอท.จากผลกระทบด้านเสียง ประกอบด้วยการเร่งรัดการดำเนินการ ชดเชยด้ ว ยการซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ห รื อ ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง อาคารที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ การทำความเข้ าใจกั บ ชุ ม ชนโดยรอบ

ท่าอากาศยาน การปรับเปลี่ยนเส้นทางการบินขึ้น-ลงของอากาศยาน ฯลฯ ทั้งนี้ ทอท.จะขายอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อไว้ออกไป

ในโอกาสและราคาที่เหมาะสม

052 รายงานประจำปี 2551


2. ความเสีย่ งจากพระราชบัญญัตกิ ารเดินอากาศ พ.ศ.2497 ฉบับปรับปรุงแก้ไข เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติ การเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551

ปัจจุบนั อัตราค่าภาระในท่าอากาศยาน ทีต่ อ้ งได้รบั ความเห็นชอบหรือกำหนดโดยคณะกรรมการการบินพลเรือน ประกอบด้วย ค่าธรรมเนียมการขึ้น-ลงของอากาศยาน ค่าธรรมเนียมการเก็บอากาศยาน และค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.2497 ฉบับปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 มีผลทำให้ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าบริการอื่นใด (ไม่เฉพาะแต่ค่าธรรมเนียมการขึ้น-ลงของอากาศยาน

ค่าธรรมเนียมการเก็บอากาศยาน และค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน) ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการบินพลเรือน พระราชบัญญัติการเดินอากาศฯ ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อความคล่องตัวในการดำเนินงานของ ทอท. ทอท.ได้ติดตามและประสานงานอย่างใกล้ชิดกับกรมการขนส่งทางอากาศ ซึ่งทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการ การบินพลเรือน ในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ ดังกล่าว เพื่อลดผลกระทบที่อาจมีขึ้น

3. ความเสี่ยงจากการปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุท่าอากาศยานดอนเมืองและ

ท่าอากาศยานภูมิภาค

กรมธนารักษ์เรียกเก็บค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุจาก ทอท.สำหรับท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิในอัตราร้อยละ 5 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สำหรับท่าอากาศยานภูมิภาคในอัตรา ร้อยละ 2 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ ให้ ทอท.ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุที่อยู่ในความปกครองดูแลของกองทัพอากาศ และกรมการบินพาณิชย์ พ.ศ. 2545 กำหนดให้ ปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูมิภาค ตามผลการศึกษาของที่ปรึกษาที่จะ จัดหาโดยกรมธนารักษ์ ภายหลังจากมีการเปิดใช้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเจรจาต่อรองกับกรมธนารักษ์ เพื่อกำหนดอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุดังกล่าว ให้มี ความเหมาะสมและเป็นธรรมต่อ ทอท. ต่อการประกอบธุรกิจ สถานะการเงินและผลประกอบการของ ทอท.

4. ความเสี่ยงด้านรายได้และโครงสร้างของรายได้

รายได้ของ ทอท.มากกว่าครึ่งหนึ่งมาจากค่าธรรมเนียมสนามบิน และค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ซึ่งเป็นรายได้ที่พึ่งพิง

การเติบโตของธุรกิจการบินและการท่องเที่ยวเป็นหลัก หากเกิดเหตุการณ์ที่มีผลกระทบกับการท่องเที่ยว จะส่งผลอย่างมากต่อ

ผลประกอบการท่าอากาศยาน นอกจากนีส้ ภาวะการแข่งขันทำให้การเพิม่ รายได้ในเวลาต่อไปด้วยการปรับอัตราค่าภาระเป็นไปได้ยาก ทอท.มีแนวทางลดผลกระทบจากการพึ่งพิงรายได้ที่เกี่ยวข้องกับการบิน ด้วยการเพิ่มรายได้จากกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวกับการบิน ด้วยการพัฒนาที่ดินที่มีอยู่ให้เกิดรายได้ เช่น ที่ดินประมาณ 1,000 ไร่ ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่สำรองไว้สำหรับกิจกรรม

เชิงพาณิชย์ รวมทั้งการเพิ่มบริการใหม่ๆ ในท่าอากาศยาน

053

รายงานประจำปี 2551


5. ความเสี่ยงจากผลกระทบต่อเนื่องจากราคาน้ำมัน

ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมีผลกระทบอย่างมากต่อกิจการสายการบิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

สายการบินแบบประหยัด (Low Cost Carrier) ในขณะเดียวกันราคาน้ำมันทั่วไปที่เพิ่มสูงขึ้นมีผลกระทบต่อธุรกิจโดยรวม ซึ่งมี

ผลต่อเนื่องไปถึงปริมาณการเดินทางของผู้โดยสารที่อาจลดลง

6. ความเสี่ยงในการใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองควบคู่ไปกับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ปัจจุบนั ท่าอากาศยานดอนเมืองให้บริการแก่สายการบินแบบประหยัด (Low Cost Carrier) ทำการบินส่งผู้โดยสารในประเทศ เฉพาะจุดต่อจุด (point-to-point) อย่างไรก็ตาม ด้วยปริมาณการจราจรทางอากาศทั้งต่างประเทศและในประเทศที่เพิ่มขึ้น

อย่างรวดเร็ว จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองให้บริการแก่สายการบินเพิ่มมากขึ้นในระยะยาว ซึ่งเป็นการใช้ ประโยชน์จากทรัพย์สินที่มีอยู่แล้ว การให้บริการท่าอากาศยานดอนเมืองควบคู่ ไปกับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หากไม่ดำเนินการพัฒนาและบริหารจัดการ

ในลักษณะที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน อาจส่งผลถึงความสามารถในการเป็นศูนย์กลางการบินชั้นนำในภูมิภาค ทอท.จึงว่าจ้าง องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) มาทำการศึกษาการใช้ประโยชน์จาก

ท่าอากาศยานทั้งสองในลักษณะ Bangkok Airport System โดยคำนึงถึงการพัฒนาและบริหารจัดการที่ประสานประโยชน์

ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยรวม ได้แก่ ผลประโยชน์ของชาติในการรักษาสถานะความเป็นศูนย์กลางการบินชั้นนำในภูมิภาค ความสะดวกสบายของผู้ โดยสาร ทั้งในการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในท่าอากาศยานและในการเดินทางทั้งภายใน ประเทศและการเชื่อมต่อไปยังจุดหมายปลายทางในทุกภูมิภาคของโลก ผลประโยชน์ของสายการบิน ตลอดจนผลประโยชน์ ของ ทอท.และผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ ผลการศึกษามีกำหนดแล้วเสร็จประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2552

7. ความเสี่ยงจากข้อพิพาทกับกรุงเทพมหานครในการคำนวณภาษีโรงเรือนและที่ดิน

กรุงเทพมหานครประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดินโดยนำผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ประกอบการมารวมเป็นฐานในการกำหนด ค่ารายปี เพื่อคำนวณภาษีโรงเรือนและที่ดิน ซึ่ง ทอท.ไม่เห็นด้วย จึงได้ยื่นหนังสืออุทธรณ์กบั สำนักงานอัยการสูงสุดทุกปี ตัง้ แต่

ปี 2538 เป็นต้นมา สำนักงานอัยการสูงสุดได้มีหนังสือแจ้งผลการชี้ขาดของคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของ

ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับการประเมินค่าภาษีตั้งแต่ปี 2538-2547 โดยหากกรุงเทพมหานครยอมรับผล

การชี้ขาดจะทำให้ ทอท.ได้รับค่าภาษีคืนจากกรุงเทพมหานครประมาณ 570 ล้านบาท

054

รายงานประจำปี 2551


กรุงเทพมหานครไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินภาษีตามทีค่ ณะกรรมการชีข้ าดฯ กำหนด และเมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2549 กรมธนารักษ์ ในฐานะเจ้าของที่ดินได้มีหนังสือถึง ทอท.แจ้งว่าได้มีหนังสือถึงสำนักงานอัยการสูงสุดเพื่อนำเรียนคณะรัฐมนตรี สั่งการให้กรุงเทพมหานครปฏิบัติตามต่อไป เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 กรุงเทพมหานครมีหนังสือขอให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาทบทวนความเห็น กรณีดังกล่าว ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาข้อเท็จจริงปรากฏว่า สำนักงานอัยการสูงสุดได้ส่งคำตัดสินชี้ขาดของ

คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ พร้อมทั้งมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางในการดำเนินคดีอาญา คดีแพ่ง และคดีปกครอง กรณี จึงเป็นที่ยุติแล้ว ดังนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม่อาจรับข้อหารือไว้พิจารณาได้ อย่างไรก็ดีหากกรุงเทพมหานครไม่ยอมรับ

ในผลการชี้ขาด ทอท.สามารถนำเรื่องสู่การพิจารณาของศาลได้

055 รายงานประจำปี 2551



โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ และการจัดการ


โครงสร้างการถือหุ้น ทอท. มีทุนจดทะเบียน 14,285,700,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ชำระ เต็มมูลค่าแล้ว รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ 27/02/2551 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) (AOT) จำนวนหุ้น ร้อยละของจำนวน หุ้นทั้งหมด

ลำดับ ชื่อ/สกุล 1 2 3 4 5 6 7 8 9

กระทรวงการคลัง CHASE NOMINEES LIMITED 1 NORTRUST NOMINEES LTD. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA, STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD. GOLDMAN SACHS INTERNATIONAL บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด DEUTSCHE BANK AG, LONDON PRIME BROKERAGE THE BANK OF NY NOMINEES LTD SUB A/C MACQUARIE GBL INFRASTRUCTURE FD

10

1,000,000,000 65,534,500 60,272,590 37,015,076 33,062,686 32,976,615 18,557,800 13,497,677 10,706,100

70.000 4.587 4.219 2.591 2.314 2.308 1.299 0.945 0.749

9,525,612

0.667

1,281,148,656

89.679

ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว รวม

058 รายงานประจำปี 2551

จำนวนผู้ถือหุ้น 10,717 101 10,818

ร้อยละ

จำนวนหุ้น

ร้อยละ

99.07 1,085,691,544 0.93 342,878,456 100.00 1,428,570,000

76.00 24.00 100.00


คณะกรรมการ ทอท. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 14 คน ดังนี้

1. นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ (อายุ 60 ปี) ประธานกรรมการ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ University of Arkansas, U.S.A. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ Stephen F. Austin State University, U.S.A. ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 38 • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 49/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร The Role of Chairman Program รุ่นที่ 3/2001 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2547 - 2550 กรรมการ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - 2549 กรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2545 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการสำนักงบประมาณ พ.ศ.2544 - 2545 รองผูอ้ ำนวยการสำนักงบประมาณ (นักบริหาร 10) พ.ศ.2542 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและ ผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง • เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนา

2. นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ (อายุ 59 ปี) กรรมการ ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงคมนาคม วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารจัดการ ภาครัฐ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ (การจัดการงานก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ

และเอกชน รุ่นที่ 15 • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม พ.ศ.2549 - 2550 ประธานกรรมการ บริษัท ขนส่ง จำกัด พ.ศ.2545 - 2549 อธิบดี (นักบริหาร 10) กรมทาง

หลวงชนบท กระทรวงคมนาคม พ.ศ.2544 - 2545 รองอธิบดี (นักบริหาร 9) กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการคมนาคม • เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนา • เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม

059 รายงานประจำปี 2551


3. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (อายุ 61 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง ข้าราชการบำนาญ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (Ex-MBA) รุ่นที่ 7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 39 • วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 26 • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 107/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - 2550 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด พ.ศ.2545 - 2548 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.2543 - 2544 ผู้บัญชาการกองบัญชาการยุทธ ทางอากาศ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการบิน • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ

060 รายงานประจำปี 2551

4. นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (อายุ 58 ปี) กรรมการ ตำแหน่ง อธิบดีกรมการขนส่งทางอากาศ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาการจัดการ ภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่น 4414) • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 51/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร The Role of Chairman Program

รุ่นที่ 13/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั วิทยุการบิน แห่งประเทศไทย จำกัด พ.ศ.2547 - ปัจจุบนั อธิบดีกรมการขนส่งทางอากาศ พ.ศ.2546 - 2547 รองอธิบดี (ฝ่ายเศรษฐกิจ)

กรมการขนส่งทางอากาศ พ.ศ.2545 - 2546 รองอธิบดี (ฝ่ายวิชาการ)

กรมการบินพาณิชย์ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการขนส่งทางอากาศและกฎหมาย เกี่ยวกับการเดินอากาศ • เชี่ยวชาญด้านการบริหารกิจการท่าอากาศยาน


6. นายวินัย วิทวัสการเวช (อายุ 58 ปี) 5. นายอุทิศ ธรรมวาทิน (อายุ 58 ปี) กรรมการ กรรมการ ตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงการคลัง วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) • ปริญญาโท นิติศาสตร์ University of California, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Berkeley, U.S.A. • ปริญญาตรี บัญชี (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย เนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (เกียรตินิยมดี) ประวัติการอบรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 47) • หลักสูตร Director Certification Program ประวัติการอบรม รุ่นที่ 77/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

บริษัทไทย (IOD) (วปรอ. 399) • หลักสูตร Director Certification Program รุน่ ที่ 3/2000 ประสบการณ์ทำงาน สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โรงแรมเอราวัณ ประสบการณ์ทำงาน จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท จัดการ พ.ศ.2548 - 2551 ที่ปรึกษาด้านพัฒนาฐานภาษี และพัฒนาทรัพยากรน้ำ

กรมสรรพากร ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2546 - 2548 รองอธิบดีกรมสรรพากร พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้า กลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง • เชี่ยวชาญด้านภาษีอากร พ.ศ.2547 - 2549 อธิบดีกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง พ.ศ.2546 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย์ สุขุมวิท จำกัด พ.ศ.2545 - 2549 รองปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้า กลุ่มภารกิจด้านรายได้ สำนักงาน ปลัดกระทรวงการคลัง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย • เชี่ยวชาญด้านการเงิน การคลัง

061

รายงานประจำปี 2551


7. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (อายุ 57 ปี) 8. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (อายุ 62 ปี) กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ตำแหน่ง ปลัดกรุงเทพมหานคร ตำแหน่ง ทีป่ รึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา • ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ สาขาทฤษฎีการเมือง • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต และการปกครองไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พัฒนบริหารศาสตร์ กฎหมายการปกครอง นโยบายสาธารณะ ประวัติการอบรม และรัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 34 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • วิทยาลัยวิชาการตำรวจ เอฟ.บี.ไอ (U.S.A.) • ปริญญาโท การปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program

• ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ ประวัติการอบรม บริษัทไทย (IOD) • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.4212) • หลักสูตร Director Certification Program

• หลักสูตร Audit Committee Program รุน่ ที่ 22/2008 รุ่นที่ 107/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน ปลัดกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง พ.ศ.2545 - 2549 รองปลัดกรุงเทพมหานคร ยุติธรรม พ.ศ.2543 - 2545 ผู้อำนวยการ สำนักนโยบายและ พ.ศ.2550 - 2551 รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แผนกรุงเทพมหานคร (งานความมั่นคง) สำนักงานตำรวจ พ.ศ.2541 - 2543 หัวหน้าคณะผู้ตรวจราชการ แห่งชาติ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2547 - 2549 อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. พ.ศ.2544 - 2547 รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ • เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง

062 รายงานประจำปี 2551


9. พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (อายุ 59 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม วุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 48 • หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ 30 • หลักสูตรการฝึกอบรมอุปกรณ์การฝึกเรดาร์ ประเทศอังกฤษ ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการ ประจำ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2549 - 2550 เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ พ.ศ.2548 - 2549 ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการ อากาศโยธิน กองบัญชาการยุทธ ทางอากาศ พ.ศ.2545 - 2548 ผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านการบิน • เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ

10. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (อายุ 52 ปี) กรรมการ ตำแหน่ง รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ Williams College, U.S.A. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 46 • นักบริหารระดับสูง ก.พ. รุ่นที่ 35 • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 51/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program

รุ่นที่ 97/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program

รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2548 - 2549 กรรมการ บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา

การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2546 - 2547 ทีป่ รึกษาด้านนโยบายและแผนงาน ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง • เชี่ยวชาญด้านคมนาคมและการสื่อสาร • เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนา

063

รายงานประจำปี 2551


11. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ (อายุ 58 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง รองอัยการสูงสุด วุฒิการศึกษา • ปริญญาโททางกฎหมายเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา • เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (เกียรตินิยม)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.388) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 35/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 17/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

064

รายงานประจำปี 2551

ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน รองอัยการสูงสุด พ.ศ.2548 ผู้ตรวจราชการอัยการ สำนักงาน อัยการสูงสุด พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุร ี โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - 2548 อธิบดีอัยการฝ่ายที่ปรึกษากฎหมาย สำนักงานที่ปรึกษากฎหมาย สำนักงานอัยการสูงสุด พ.ศ.2541 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและ ผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย • เชี่ยวชาญด้านคมนาคมและการสื่อสาร • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ


12. นายถาวร พานิชพันธ์ (อายุ 58 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง รองอัยการสูงสุด วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแห่ง เนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (เกียรตินิยม)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.4313) • หลักสูตร Director Accreditation Program

รุ่นที่ 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 108/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน รองอัยการสูงสุด พ.ศ.2549 - 2551 กรรมการ บริษทั ไปรษณีย์ไทย จำกัด พ.ศ.2548 - 2549 อธิบดีอัยการ ฝ่ายปรึกษา สำนักงานอัยการสูงสุด พ.ศ.2546 - 2548 อธิบดีอัยการ ฝ่ายคดียาเสพติด สำนักงานอัยการสูงสุด ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ

13. เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ (อายุ 63 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง ประธานบริหารทับอุสารีสอร์ทสวนเกษตรชีวภาพ วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท รัฐศาสตร์ (บริหารรัฐกิจ)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (ทอ.) โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 59/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2548 - 2549 กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2547 - 2548 กรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน แห่งประเทศไทย พ.ศ.2542 - 2544 รองผู้ว่าการ (ฝ่ายบริหาร)

การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านบริหารกิจการท่าอากาศยาน

065 รายงานประจำปี 2551


14. นายอภิชาติ สายะสิต (อายุ 42 ปี) กรรมการอิสระ ตำแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เบเคอร์ ทิลลี่ ออดิท แอนด์ แอ็ดไวเซอร์รี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี ด้านการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 72/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 22/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 108/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

066

รายงานประจำปี 2551

ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท เบเคอร์ ทิลลี่ ออดิท แอนด์ แอ็ดไวเซอร์รี่ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ.2549 - 2550 กรรมการบริหาร บริษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด พ.ศ.2547 - 2548 กรรมการรองผู้อำนวยการ บริษัท โฮร์เวิธ (ประเทศไทย) จำกัด ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. • เชี่ยวชาญด้านบัญชี การเงิน • เชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ บริหารธุรกิจ


คณะผู้บริหาร ทอท. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

1. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ (อายุ 57 ปี) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ วุฒิการศึกษา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง • การพัฒนา Good Governance ในองค์กร • หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport • การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน • การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า

2. นางกัลยา ผกากรอง (อายุ 58 ปี) ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) วุฒิการศึกษา • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร นักลงทุนสัมพันธ์ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program • หลักสูตร Competitiveness : Challenges and Opportunities for Asian Countries • หลักสูตร การปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ธุรกรรม อนุพันธ์และตลาดตราสารเงินทุน • หลักสูตร Director Accreditation Program รุน่ ที่ 64/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการท่าอากาศยาน ประสบการณ์ทำงาน สุวรรณภูมิ รักษาการกรรมการ

พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) พ.ศ.2550 - 2551 ผู้อำนวยการท่าอากาศยาน และรักษาการ กรรมการ

สุวรรณภูมิ ผู้อำนวยการใหญ่ ระหว่าง

พ.ศ.2548 - 2550 รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน วันที่ 2 กุมภาพันธ์ - 7 ตุลาคม 2551 ภูมิภาค (สายปฏิบัติการ) พ.ศ.2545 - 2549 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ พ.ศ.2545 - 2548 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) (สายงานกิจการพิเศษ) พ.ศ.2544 - 2545 ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การฝ่ายแผนงานและการเงิน พ.ศ.2539 - 2544 ผู้อำนวยการฝ่ายแผนงาน

067

รายงานประจำปี 2551


3. นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ (อายุ 55 ปี) ประสบการณ์ทำงาน ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ) (สายงานอำนวยการ) วุฒิการศึกษา พ.ศ.2548 - 2549 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ • พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต การจัดการภาครัฐ (กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร)

และภาคเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และรักษาการรองผู้อำนวยการ

• รัฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) ประวัติการอบรม พ.ศ.2545 - 2548 ผูเ้ ชีย่ วชาญ 11 ทอท. และรักษาการ • หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน • หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสำหรับ สุวรรณภูมิ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) นักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า พ.ศ.2545 - 2548 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (สายงานอำนวยการ) • การพัฒนา Good Governance ในองค์กร

068 รายงานประจำปี 2551


4. นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน (อายุ 57 ปี) 5. นายสุรจิต สุรพลชัย (อายุ 60 ปี) ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา • ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • รัฐศาสตร์บัณฑิต (บริหารงานบุคคล)

• หลักสูตร การพัฒนาความรู้การบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกฎหมายธุรกิจ ประวัติการอบรม • หลักสูตร The Zuyder Zee Project • หลักสูตร แผนวิสาหกิจสำหรับนักบริหาร ทอท. • หลักสูตร Aerial Photography ระดับสูง • หลักสูตร Design and Coust. on Soft Clay • สัมมนา Leadership/Team Development ประสบการณ์ทำงาน • อบรม Maintenance and Troubleshooting of พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ Airfield Lighting System ประเทศเบลเยี่ยม (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยี ประสบการณ์ทำงาน สารสนเทศ) พ.ศ.2551 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ พ.ศ.2550 - 2551 ผู้เชี่ยวชาญ 11 (สายงานพัฒนาธุรกิจ) พ.ศ.2547 - 2550 รองผู้จัดการใหญ่ พ.ศ.2547 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายบริหารโครงการและก่อสร้าง) (สายงานอำนวยการ) บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ พ.ศ.2541 - 2547 ผู้อำนวยการฝ่ายธุรการ แห่งใหม่ จำกัด

069 รายงานประจำปี 2551


6. เรืออากาศเอก วิวัฒน์ สมานรักษ์ (อายุ 60 ปี) ตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) วุฒิการศึกษา • วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม • หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร • หลักสูตร Media Training Program • หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport • หลักสูตร การพัฒนาความรู้การบริหารธุรกิจ และกฎหมายธุรกิจ ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2550 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) พ.ศ.2547 - 2550 รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน ดอนเมือง (สายอำนวยการ) พ.ศ.2544 - 2547 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายไฟฟ้าและเครือ่ งกล พ.ศ.2540 - 2544 ผู้อำนวยการท่าอากาศยานเชียงใหม่

070

รายงานประจำปี 2551

7. นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี (อายุ 55 ปี) ตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) วุฒิการศึกษา • บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร การบริหารการเงินและงบประมาณ • หลักสูตร Mini MBA รุ่นที่ 1 • หลักสูตร Airport Management Commercial ประเทศสิงคโปร์ • หลักสูตร Strategic Airport Development ประเทศเยอรมัน ประสบการณ์ทำงาน พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) พ.ศ.2548 - 2549 ผู้เชี่ยวชาญ 10 พ.ศ.2537 - 2548 ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน


การจัดการ

โครงสร้างกรรมการ

โครงสร้างกรรมการ ทอท.ประกอบด้วย คณะกรรมการ ทอท.จำนวน 15 คน ซึ่งเป็นจำนวนที่เหมาะสมกับขนาดกิจการ

และคณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง เพื่ อ ช่ ว ยกลั่ น กรองงานที่ ส ำคั ญ ตามข้ อ บั ง คั บ ทอท. ได้ แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาล และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยมี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัท

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ ทอท. ในปีงบประมาณ 2551 มีจำนวนกรรมการทัง้ หมด 15 คน โดยมีประธานกรรมการทีเ่ ป็นกรรมการอิสระ และมีกรรมการอิสระ 9 คน ซึ่งมีจำนวนมากกว่าที่ข้อบังคับ ทอท.กำหนดไว้ให้มีไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการเป็นผู้มีความรู้ หลากหลายอาชีพเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจของ ทอท. และอย่างน้อย 1 คน มีความรู้ความสามารถในด้านการบัญชี

และการเงิน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง วันที่ ได้รับตำแหน่ง 1

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์

2

นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์

3

พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

4

นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ

5

นายอุทิศ ธรรมวาทิน

ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) 14 มีนาคม 2551 14 มีนาคม 2551

กรรมการ (แทน พลเอก สพรั่ง กัลยาณมิตร) 14 มีนาคม 2551

กรรมการอิสระ (แทน พลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์) 14 มีนาคม 2551

กรรมการ (แทน นายไมตรี ศรีนราวัฒน์) 14 มีนาคม 2551

กรรมการ (แทน นางดนุชา ยินดีพิธ)

6

นายวินัย วิทวัสการเวช

กรรมการ

7

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

กรรมการอิสระ

8

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์

กรรมการอิสระ

9

พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี

กรรมการอิสระ

14 มีนาคม 2551 14 มีนาคม 2551

(แทน นายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง) 14 มีนาคม 2551

(แทน นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม) 14 มีนาคม 2551

(แทน พลอากาศเอก ณรงค์ศกั ดิ์ สังขพงศ์)

071

รายงานประจำปี 2551


ลำดับ

รายชื่อกรรมการ

ตำแหน่ง

10 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

กรรมการ

11 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

กรรมการอิสระ

12 นายถาวร พานิชพันธ์

กรรมการอิสระ

13 เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์

กรรมการอิสระ

14 นายอภิชาติ สายะสิต

กรรมการอิสระ กรรมการและเลขานุการ (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่)

15 พลอากาศโท ชนะ อยู่สถาพร

วันที่ ได้รับตำแหน่ง 14 มีนาคม 2551 14 มีนาคม 2551

(แทน นายคัมภีร์ แก้วเจริญ) 25 มกราคม 2551 14 มีนาคม 2551

(แทน นายยอดเยี่ยม เทพธรานนท์) 14 มีนาคม 2551

(แทน นายนนทพล นิ่มสมบุญ) รับตำแหน่งเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2550 และลาออกเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2551

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 1 - 11 ได้รับการแต่งตั้งจากมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2551 - กรรมการในลำดับที่ 11 ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2551 - กรรมการในลำดับที่ 12 ได้รับการแต่งตั้งจากมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 - กรรมการในลำดับที่ 14 ดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจสอบ เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน

การเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ ทอท.ได้จัดเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และบรรยาย สรุปลักษณะธุรกิจของ ทอท.ให้แก่กรรมการชุดใหม่ด้วย คณะกรรมการ ทอท.ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระและมีการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ระหว่างประธาน กรรมการและกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ออกจากกันอย่างชัดเจน ดังนี้

1. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ทอท.

ดำเนินกิจการของ ทอท.ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริต

มีจริยรรมและจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ รวมทัง้ จะต้องระมัดระวังและรักษาผลประโยชน์ของ ทอท. และผูถ้ อื หุน้ อย่างดีทสี่ ดุ

2. อำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

บริหารกิจการ ทอท.ตามที่คณะกรรมการ ทอท.มอบหมาย และต้องบริหาร ทอท.ตามแผนงานหรืองบประมาณที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการ ทอท.อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของ ทอท.และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด อำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ตามข้อบังคับ ทอท.ให้รวมถึงเรื่องหรือกิจการต่างๆ ดังต่อไปนี้ด้วย

072

รายงานประจำปี 2551


(1) ดำเนินกิจการและ/หรือบริหารงานประจำวันของ ทอท. (2) บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจน

ให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตำแหน่งตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการ ทอท.กำหนด แต่ถา้ เป็นพนักงานระดับฝ่ายหรือเทียบเท่าขึน้ ไป จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ทอท.ก่อน (3) ดำเนินการให้มีการจัดทำและส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของ ทอท. รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อขออนุมัติและมีหน้าที่รายงานความก้าวหน้าตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ทอท. ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ ทอท.เห็นสมควร

3. คณะกรรมการ ทอท.จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยตามข้อบังคับ ทอท.เพื่อช่วยดำเนินงาน ดังนี้

3.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนมีความรูด้ า้ นบัญชีและการเงิน มีการประชุม 10 ครัง้

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) นายถาวร พานิชพันธ์ (2) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (3) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (4) นายอภิชาติ สายะสิต

ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

หมายเหตุ - กรรมการลำดับที่ 3 เป็นกรรมการที่ ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ ทอท. ต่ออีกวาระหนึ่ง และเคยดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการตรวจสอบชุดที่ผ่านมา ดังนั้น จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบในคณะกรรมการชุดปัจจุบันเพื่อให้งานมีความต่อเนื่อง - กรรมการตรวจสอบในลำดับที่ 4 เป็นผูท้ มี่ คี วามรูด้ า้ นบัญชีและการเงิน โดยมีประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริษัท อาทิเช่น บริษัท ยูนคิ เรียลเอสเตท แอนด์ ดีเวลล็อปเม้นท์ จำกัด, บริษัท ยูไนเต็คฟลาวมิลล์ จำกัด (มหาชน), บริษัทไทยเศรษฐกิจ ประกันภัย จำกัด (มหาชน) เป็นต้น

073

รายงานประจำปี 2551


หน้าที่และความรับผิดชอบ

(1) สอบทานให้ ทอท.มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ (2) สอบทานให้ ทอท.มีระบบการควบคุมภายใน มีการบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและ

มีประสิทธิภาพ (3) สอบทานให้ ทอท.ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ ไข

ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ ทอท. (4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของ ทอท.ในกรณีที่เห็นว่าจำเป็นต้องมี

ผู้สอบบัญชี นอกเหนือจากการสอบบัญชีของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (5) พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของ ทอท.ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง

ทางผลประโยชน์ ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน (6) จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของ ทอท. ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ (7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ทอท.มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยให้ จัดทำเป็นกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3.2 คณะกรรมการสรรหา ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 3 ครั้ง

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (2) นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (3) นายอุทิศ ธรรมวาทิน (4) เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์

074

รายงานประจำปี 2551

ประธานกรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)


หน้าที่และความรับผิดชอบ

พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการใหม่ เพื่อนำเสนอคณะกรรมการ ทอท. และผู้ถือหุ้น โดยให้มีการกำหนดวิธีการสรรหากรรมการอย่างมีหลักเกณฑ์และโปร่งใส ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และตามประกาศ กระทรวงการคลัง

3.3 คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 2 ครั้ง

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) นายอุทิศ ธรรมวาทิน (2) พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (3) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (4) นายถาวร พานิชพันธ์

ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ)

หน้าที่และความรับผิดชอบ

(1) พิจารณาแนวทางการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ทอท. และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ที่จะสรรหา เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ (2) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำหนดค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ให้แก่กรรมการ ทอท. และกรรมการ

ผูอ้ ำนวยการใหญ่ ทีเ่ ป็นธรรมและสมเหตุสมผล และนำเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้

พิจารณาอนุมัติ (3) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่บุคคลภายนอกที่ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ทำงาน และนำเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อพิจารณาอนุมัติ

075

รายงานประจำปี 2551


3.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 6 ครั้ง

ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (2) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (3) พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (4) นายถาวร พานิชพันธ์ หน้าที่และความรับผิดชอบ

ประธานกรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(1) กำหนดนโยบายและทิศทางการกำกับดูแลกิจการของ ทอท. และมอบหมายให้สว่ นงาน ทอท.นำไปปฏิบตั ใิ ห้เป็น รูปธรรม (2) ปรั บ ปรุ ง จรรยาบรรณ ทอท.ให้ มี เ นื้ อ หาที่ ค รอบคลุ ม หลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์

แห่งประเทศไทย (3) กำกับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี (4) เสนอแนวทางปฏิบัติการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัท

076

รายงานประจำปี 2551


3.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ ทอท.อย่างน้อย 3 คน มีการประชุม 1 ครั้ง ดังมีรายชือ่ ต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง (1) นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ (2) นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (3) นายวินัย วิทวัสการเวช (4) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

หน้าที่และความรับผิดชอบ

(1) กำหนดนโยบายและกรอบการดำเนินงานการบริหารความเสี่ยงของ ทอท. (2) กำกับดูแล สนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงประสบความสำเร็จในระดับองค์กร (3) เสนอแนะวิธีป้องกันและวิธีลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (4) ติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนการดำเนินงานเพือ่ ลดความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ งและเหมาะสมกับสภาวะการ ดำเนินธุรกิจ

077

รายงานประจำปี 2551


4. หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระและกระบวนการสรรหา

4.1 หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ ทอท.กำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ทอท.ให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 และได้กำหนด คุณสมบัติกรรมการอิสระของ ทอท.ที่มีหลักเกณฑ์เข้มงวดกว่าหลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดใน ทอท. บริษัทในเครือบริษัทร่วมทุนหรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง (2) ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมในการบริหารงาน รวมทัง้ ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ได้รบั เงินเดือนประจำ รวมถึง

ที่ปรึกษาตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาด้านอื่นๆ หรือไม่เป็นผู้มีอำนาจควบคุม ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือไม่เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง โดยต้องไม่มผี ลประโยชน์หรือส่วนได้เสียในลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี (3) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ เช่น เป็นลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้/ลูกหนี้การค้า หรือเจ้าหนี้/ลูกหนี้เงินกู้ เป็นต้น รวมทั้งไม่มี

ผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงินและการบริหารงานของ ทอท. บริษัทในเครือ บริษัท ร่วมทุน หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่จะทำให้ขาดความเป็นอิสระ (4) ไม่เป็นญาติสนิทหรือมีความสัมพันธ์อนื่ ทีอ่ าจทำให้ขาดความอิสระกับผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุนหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รวมทั้งไม่ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการ

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 4.2 กระบวนการสรรหากรรมการอิสระ การสรรหากรรมการ ทอท.จะสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระมาทดแทนเป็นอันดับแรก เพื่อให้ โครงสร้างคณะกรรมการ ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี ที่จะช่วยให้การทำงานของคณะกรรมการเป็นไปด้วย

ความราบรื่น สามารถควบคุมการจัดการได้อย่างมีประสิทธิผล รวมทั้งช่วยถ่วงดุลในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น

และผู้มีส่วนได้เสีย แต่อย่างน้อย ทอท.จะรักษาจำนวนกรรมการอิสระไม่น้อยกว่าสามคน ให้ครบถ้วนตามองค์ประกอบของ

คณะกรรมการบริษัทตามที่กำหนดในข้อบังคับ ทอท.เสมอ และจะตรวจสอบคุณสมบัติกรรมการในระหว่างปี หากกรรมการคนอื่น

ที่มีคุณสมบัติกรรมการอิสระตามที่กำหนด กรรมการนั้นๆ ก็จะมีฐานะเป็นกรรมการอิสระทันที 4.3 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการ ทอท. จัดให้มีการประเมินตนเองเพื่อให้คณะกรรมการได้พิจารณาผลงาน ปัญหาที่ผ่านมา แล้วนำผลการ ประเมินมาวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และนำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงและพัฒนาต่อไป

078

รายงานประจำปี 2551


4.4 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการ ทอท.ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้มีการพัฒนากรรมการ โดยจัดให้กรรมการตรวจสอบ และผู้บริหาร ระดับสูงที่ยังไม่เคยผ่านการอบรมหลักสูตรสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน หลักสูตรสำหรับกรรมการตรวจสอบของสมาคม

ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รวมทั้งสนับสนุนให้เลขานุการบริษัท เข้ารับการอบรมหลักสูตรสำหรับเลขานุการบริษัท

เพื่อรับทราบบทบาทหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้ ทอท.ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายจากบริษัท เบเคอร์ แอนด์ แมคเคนซี่ จำกัด บรรยายสรุปเกีย่ วกับพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 ซึง่ เป็นกฎหมายใหม่ ทีก่ ำหนดบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ ผูบ้ ริหารของบริษัทจดทะเบียน ให้คณะกรรมการ ทอท. และผูบ้ ริหารระดับสูง ของ ทอท.ทราบ 4.5 เลขานุการบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 89/15 กำหนดให้คณะกรรมการ ต้องจัดให้มี เลขานุการบริษัทรับผิดชอบดำเนินการในนามบริษัทหรือคณะกรรมการ และในปีงบประมาณ 2551 ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2550 จนถึง 7 สิงหาคม 2551 คณะกรรมการ ทอท.ได้มกี ารแต่งตัง้ นางสาวสุวรรณี สำโรงวัฒนา ทำหน้าที่ในตำแหน่งเลขานุการบริษัท และตัง้ แต่ 8 สิงหาคม 2551 จนถึงปัจจุบนั คณะกรรมการ ทอท.ได้แต่งตัง้ ให้ เรืออากาศโทหญิง เพิรล์ รักสำหรวจ ดำรงตำแหน่ง เลขานุการบริษั ทแทน นางสาวสุวรรณี สำโรงวัฒนา ที่ย้ายไปดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

(สายอำนวยการ)

5. จำนวนหุ้น ทอท.ของคณะกรรมการ ทอท. รวมทั้งจำนวนครั้งและเวลาในการเข้าร่วมการประชุม

คณะกรรมการ ปี 2551

ทอท.กำหนดแผนการประชุมคณะกรรมการ ทอท.ทุกวันพฤหัสบดีที่สามของเดือน ประชุมเดือนละครั้ง ยกเว้นถ้ามีวาระ

เร่งด่วน ในการประชุมแต่ละครั้ง ทอท.จะส่งเอกสารประกอบการประชุม เพื่อให้คณะกรรมการได้ศึกษาล่วงหน้าก่อนการประชุม และทุ ก ครั้ ง จะมี การบั น ทึ ก รายงานการประชุ ม เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรและจั ด เก็ บ รายงานการประชุ ม ที่ ผ่ า นการรั บ รองจาก

คณะกรรมการไว้เป็นหลักฐาน ทั้งนี้รายละเอียดจำนวนถือหุ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และสัดส่วนจำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละคนเข้าประชุมต่อจำนวน ครั้งการประชุมของคณะกรรมการ ดังนี้

079

รายงานประจำปี 2551


(ครั้ง)

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

รายชื่อกรรมการบริษัท นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ นายอุทิศ ธรรมวาทิน นายวินัย วิทวัสการเวช นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ นายถาวร พานิชพันธ์ เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ นายอภิชาติ สายะสิต พลอากาศโท ชนะ อยู่สถาพร

ตำแหน่ง ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการและเลขานุการ (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่)

จำนวนถือหุ้น การเข้าร่วมประชุม

ณ 30 ก.ย. 51 กรรมการ ทอท. รวม 14 ครัง้ (หุ้น) ไม่มี 14/14 ไม่มี 8/14 ไม่มี 13/14 ไม่มี 10/14 ไม่มี 9/14 ไม่มี 11/14 ไม่มี 8/14 ไม่มี 9/14 ไม่มี 13/14 ไม่มี 12/14 ไม่มี 12/14 ไม่มี 11/14 ไม่มี 14/14 ไม่มี 10/14 ไม่มี 9/9

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 11 ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 - กรรมการในลำดับที่ 15 ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการและเลขานุการ และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม 2551

080 รายงานประจำปี 2551


6. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ทอท.มีนโยบายการกำหนดค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการเฉพาะเรื่อง โดยมีคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน

ทำหน้าที่พิจารณาทบทวน โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันและได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้น ในคราวประชุมสามัญประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 ที่มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการเฉพาะเรื่อง

ในปีงบประมาณ 2551 ดังนี้ 6.1 ค่าตอบแทนกรรมการ (1) ค่าตอบแทนรายเดือนคนละ 20,000 บาท หากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้คำนวณตามสัดส่วนของเดือน (2) ค่าเบี้ยประชุมครั้งละ 15,000 บาทต่อครั้งที่เข้าประชุม หากเดือนใดมีการประชุมเกิน 1 ครั้ง คงให้ได้รับเบี้ยประชุม เพียงครั้งเดียว (3) กรรมการตรวจสอบ ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 20,000 บาท โดยเดือนใดไม่มีการประชุม คงให้ ได้รับ

ค่าตอบแทนด้วย และหากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้คำนวณตามสัดส่วนของเดือน (4) กรรมการ ทอท.ที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง โดยคณะกรรมการ ทอท.ให้ เ ป็ น กรรมการ อนุ ก รรมการหรื อ ผู้ ท ำงานใน

คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานชุดย่อยอื่นๆให้ได้รับเบี้ยประชุมคนละ 10,000 บาทต่อครั้งที่เข้าประชุม และ ให้ได้รับค่าตอบแทนรวมทั้งสิ้นไม่เกินคนละ 20,000 บาทต่อเดือน ทั้งนี้ไม่รวมค่าตอบแทนของกรรมการตรวจสอบ (5) ประธานและรองประธานให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มอีกร้อยละ 25 และ 12.5 ตามลำดับ (6) กำหนดค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมของกรรมการ ทอท.ประจำปีงบประมาณ 2551 ไม่เกิน 15,000,000 บาท ทั้ ง นี้ ก ารรายงานจะเป็ น รายงานเฉพาะค่ า ตอบแทนกรรมการ และกรรมการเฉพาะเรื่ อ งตามข้ อ บั ง คั บ ทอท. คื อ

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิ บ าล และ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

081

รายงานประจำปี 2551


6.2 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ทอท.และคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในปี 2551 หน่วย : บาท

รายชื่อกรรมการบริษัท

ลำดับ 1

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์

2

นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์

คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำหนด

ธรรมา

บริ ห าร รวม บริษัท ตรวจสอบ สรรหา ค่าตอบแทน ภิบาล ความเสี่ยง 293,669.36 293,669.36

พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ 236,612.90 นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ 236,612.90 นายอุทิศ ธรรมวาทิน 221,612.90 นายวินัย วิทวัสการเวช 250,094.55 นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 221,612.90 113,333.33 พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวฒ ั น์ 236,612.90 พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี 236,612.90 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 236,612.90 202,298.85 นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ 213,612.90 นายถาวร พานิชพันธ์ 269,516.13 141,666.67 เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ 236,612.90 นายอภิชาติ สายะสิต 221,612.90 113,333.33 พลอากาศโท ชนะ อยู่สถาพร 329,913.98

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

221,612.90

12,500.00 234,112.90

236,612.90 10,000.00 246,612.90

221,612.90 10,000.00 260,094.55

10,000.00

344,946.23

12,500.00

249,112.90

10,000.00

236,612.90

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 11 ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 - กรรมการในลำดับที่ 15 ลาออกจากการเป็นกรรมการและเลขานุการ และกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2551

082 รายงานประจำปี 2551

438,911.75 213,612.90 421,182.80 236,612.90 334,946.23 329,913.98


6.3 ค่าตอบแทนกรรมการที่ลาออกระหว่างปี (ช่วงเดือน ตุลาคม 2550 – มกราคม 2551) หน่วย : บาท

ลำดับ

รายชื่อกรรมการบริษัท

1 พลเอก สพรั่ง กัลยาณมิตร

คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำหนด

บริษัท ตรวจสอบ สรรหา ค่าตอบแทน ธรรมา

ภิบาล 229,956.90

2 พลอากาศเอก ณรงค์ศกั ดิ์ สังขพงศ์ 206,961.21

3 นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล

156,838.71

4 นายคัมภีร์ แก้วเจริญ

183,965.52 88,965.52 25,000.00

6 7 8 9 10 11 12 13 14

153,965.52

รวม

235,200.00 465,156.90

20,000.00

238,500.00 465,461.21

25,000.00

210,825.00 392,663.71 22,500.00 189,000.00 509,431.04

นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ 145,483.87 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 156,724.14 30,000.00 พลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์ 153,965.52 30,000.00 นายนนทพล นิ่มสมบุญ 183,965.52 111,206.90 20,000.00 นายต่อตระกูล ยมนาค 155,483.87 75,483.87 50,000.00 นายยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ 183,965.22 88,965.52 นายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง 186,724.14 10,000.00 20,000.00 พลตำรวจเอกเสรีพศิ ทุ ธิ์ เตมียาเวส 81,483.87 นางดนุชา ยินดีพิธ 30,000.00 183,965.52

5 นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์

โบนัส

ปีงบประมาณ 2550 จ่ายใน ปีงบประมาณ 2551

216,000.00 369,965.52 216,000.00 361,483.87 216,000.00 402,724.14 189,000.00 372,965.52 189,000.00 504,172.42 189,000.00 469,967.74 189,000.00 461,930.74 147,483.87 364,208.01 68,400.00 149,883.87 18,000.00 231,965.52

หมายเหตุ - โบนัสประจำปีงบประมาณ 2550 ของคณะกรรมการชุดที่ผ่านมาข้างต้น จ่ายจริงในปีงบประมาณ 2551 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551

083 รายงานประจำปี 2551


7. การกำกับดูแลกิจการ

ในปี 2551 คณะกรรมการ ทอท.ได้ดำเนินงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษั ทจดทะเบียนปี 2549 ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังสรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้ 7.1 นโยบายธรรมาภิบาลของ ทอท. คณะกรรมการ ทอท.เห็นชอบให้ปรับปรุงนโยบายกำกับดูแลกิจการของ ทอท.เดิม ให้มีเนื้อหาครอบคลุมรายละเอียดตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นนโยบายธรรมาภิบาล

ของ ทอท. และประกาศให้ส่วนงาน ทอท.ทราบทั่วกัน เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 รวมทั้งเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ ทอท. 7.2 สิทธิของผู้ถือหุ้น ทอท.ตระหนักและให้ความสำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้กำหนดไว้ในนโยบายธรรมาภิบาลเพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้น ได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงการใช้สิทธิ ผู้ถือหุ้น รายหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือ ลงคะแนนในเรื่องที่สำคัญๆ ของ ทอท. รวมทั้งการมีส่วนแบ่งในกำไร ดังนี้ (1) ทอท.จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้า โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดวาระ

การประชุม รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ผ่านมา พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ ทอท. หนังสือมอบฉันทะทุกแบบตามที่ กระทรวงพาณิชย์กำหนด และรายชือ่ ของกรรมการอิสระ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเลือกทีจ่ ะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ รวมทัง้ แผนที่แสดงสถานที่ประชุม รวมถึงข้อบังคับบริษัทเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น และการออกเสียงลงคะแนน นอกจากนี้ผู้ถือหุ้น

ยังสามารถเข้าดูหนังสือเชิญประชุม กำหนดการประชุมและข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของแต่ละครั้ง และ หนังสือมอบฉันทะทุกแบบได้ทางเว็บไซต์ของ ทอท.เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 20 วันด้วย (2) ทอท.ได้กำหนดสถานที่ วัน เวลาการประชุมทีถ่ อื ได้วา่ เป็นการอำนวยความสะดวกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกันทุกราย ให้ความมั่นใจด้านการรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ถือหุ้น กำหนดจุดบริการรับลงทะเบียนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยให้

ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุมอย่างน้อย 2 ชั่วโมง และต่อเนื่องจนกว่าการประชุม

จะแล้วเสร็จ โดยใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับคะแนน เพื่อความรวดเร็วและความสะดวกของผู้ถือหุ้น รวมทั้ง

จัดของที่ระลึกและการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วย (3) ในการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ประธานกรรมการทำหน้ า ที่ ป ระธานในที่ ป ระชุ ม โดยก่ อ นเริ่ ม การประชุ ม ทุ ก ครั้ ง

ประธานกรรมการจะอธิบายวิธกี ารลงคะแนน การนับคะแนน และการใช้บตั รลงคะแนน โดย ทอท.เปิดเผยผลการนับคะแนนเสียง ของผู้ถือหุ้น และแสดงผลสรุปของคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระอย่างชัดเจนในห้องประชุม และจัดให้มีอาสาสมัครจากผู้ถือหุ้น

มาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนด้วย ซึ่ง ทอท.จะมีการบันทึกคะแนนเสียงและเปิดเผยผลการนับคะแนนในแต่ละวาระ

อย่างชัดเจน โปร่งใส เพื่อรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น

084 รายงานประจำปี 2551


ทั้งนี้ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 กรรมการที่เข้าประชุมประกอบด้วย ประธาน กรรมการ ทอท. ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา ประธานกรรมการกำหนด ค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง ร่วมชี้แจงรายละเอียดวาระต่างๆ และตอบ

ข้อซักถามของผู้ถือหุ้น โดยจัดให้มีผู้สอบบัญชีของ ทอท.และที่ปรึกษากฎหมายเข้าร่วมประชุมกรณีมีข้อโต้แย้งตลอดการประชุม พร้อมทั้งทำหน้าที่ตรวจสอบหนังสือมอบฉันทะและเป็นสักขีพยานในการตรวจสอบบัตรคะแนน ซึ่งประธานกรรมการได้ดำเนินการ อย่างครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด (4) ประธานกรรมการจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอและดำเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและโปร่งใส โดยใน ระหว่างการประชุม จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็น และซักถามอย่างทั่วถึง ก่อนจะลงคะแนนและสรุปมติที่ประชุม แต่ละวาระ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและเสนอคำถามที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทในระหว่างการ ประชุม (5) ให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่มาลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ภายหลังเริ่มการประชุมแล้ว และมีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในวาระ ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ (6) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างสม่ำเสมอผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเว็บไซต์ ของ ทอท. (7) จัดให้ผู้ถือหุ้นไปเยี่ยมชมกิจการเพื่อความเข้าใจในธุรกิจของ ทอท. (8) จั ดให้ มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถติ ด ต่ อ ขอข้ อ มู ลได้ โ ดยตรงทาง E-mail Address ของคณะกรรมการ

ธรรมาภิบาล หรือเลขานุการบริษัท และหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (9) ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม 7.3 ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ทอท.ให้ความสำคัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยได้ดำเนินการต่างๆ

ดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระการประชุมและบุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการได้ล่วงหน้าก่อนการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่งได้ประกาศแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบโดยทั่วกัน ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยล่วงหน้า

3 เดือนก่อนสิ้นรอบปีบัญชี (วันที่ 30 กันยายน 2551) หรือก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 6 เดือน รวมทั้งได้แจ้งให้

ผู้ถือหุ้นทราบถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณารับเรื่องที่เสนอมานั้นอย่างชัดเจน โดยได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของ ทอท.

085 รายงานประจำปี 2551


ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นล่วงหน้า 3 เดือน (ก่อนสิ้นรอบปีบัญชี วันที่ 30 กันยายน 2551) หรืออย่างน้อย 6 เดือนก่อน การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอชื่อบุคคล เพื่อพิจารณาเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ โดยได้

เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และบนเว็บไซต์ของ ทอท. จากนั้น ทอท.ได้เสนอคณะกรรมการ สรรหา เพื่อดำเนินการตามกระบวนการสรรหาของ ทอท. ว่าผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับคุณสมบัติกรรมการ ทอท. และเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อให้ความเห็นชอบก่อนเสนอผู้ถือหุ้นพิจารณาในที่ประชุมสามัญ

ผู้ถือหุ้น ซึ่ง ทอท.จัดให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล (2) ดำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลำดับระเบียบวาระที่ ได้แจ้งไว้ ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่ม ระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระก่อน ตัดสินใจ อนึ่ง ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2550 เมื่อ 25 มกราคม 2551 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ได้เสนอวาระเพิ่มเติมในที่ประชุม ซึ่งเป็นการเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ ทำให้ ทอท.ไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า (3) จัดให้มหี นังสือมอบฉันทะให้แก่ผถู้ อื หุน้ เพือ่ สนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ สามารถกำหนดการลงคะแนนเสียงได้เอง และเสนอรายชือ่ กรรมการอิสระ เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกมอบฉันทะแก่กรรมการอิสระได้ (4) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงทุกวาระ โดยจัดทำบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ

ลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร ซึ่งในระหว่างประชุม จะมีการเก็บบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อนำผลคะแนนของผู้ถือหุ้น

ที่เข้าประชุมมารวมคำนวณกับคะแนนเสียงที่ผู้ถือหุ้นได้ลงไว้ล่วงหน้าในหนังสือมอบฉันทะ ก่อนประกาศผลคะแนนเสียงและ

มติทปี่ ระชุม และเพือ่ ความโปร่งใส ทอท.จะจัดเก็บบัตรลงคะแนนทีผ่ ถู้ อื หุน้ อาสาสมัครมาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนได้ลงชือ่ ไว้ เพื่อการตรวจสอบในภายหลังด้วย (5) บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นต่อตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสมอ และ

ได้เผยแพร่ภาพและเสียงของการประชุมผู้ถือหุ้นผ่าน Webcast บนเว็บไซต์ ทอท.ด้วย (6) ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และผู้อำนวยการฝ่าย

ด้านการเงินและบัญชี จะต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ ทอท.เมื่อแรกเข้ารับตำแหน่ง และรายงานทุกครั้งเมื่อมีการซื้อ ขาย หรือ รับโอนหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะมีมูลค่าหรือจำนวนเท่าใด ภายใน 3 วันทำการต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (7) ทอท.กำหนดแนวทางในการเก็บรักษาข้อมูลและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นลายลักษณ์อักษรในนโยบายธรรมาภิบาล

ที่แจ้งคณะกรรมการและพนักงานทุกระดับทราบและถือปฏิบัติ โดยเฉพาะข้อมูลภายในที่เป็นสาระสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง

ราคาหุ้น ทอท.

086 รายงานประจำปี 2551


7.4 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ให้ความสำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มทั้งภายนอกและภายใน ตั้งแต่ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน รัฐบาล ผู้ร่วมทุน

คู่ค้า เจ้าหนี้ สังคม ชุมชน โดยกำหนดนโยบายแนวทางการปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ซึ่ง ได้เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ ทอท.ด้วย และในการดำเนินการต่างๆ ทอท.เคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียในทุกๆ ที่

ที่ ทอท. ดำเนินธุรกิจเสมอ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มหลักๆ ของ ทอท. ทอท.มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียในการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความ

ยั่งยืนของกิจการ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น

ทอท.มีความมุ่งมั่นในการเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส โดยคำนึงถึงความเจริญเติบโตของ มูลค่าบริษัทในระยะยาวและผลตอบแทนที่ดี พนักงาน

ทอท.ถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยความสำเร็จของ ทอท. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความสามารถของพนักงานทุกระดับอย่าง

ต่อเนื่องตลอดทั้งปี และจัดให้มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียน หากมีปัญหาระหว่างพนักงาน หรือระหว่างพนักงานกับผู้บังคับ บัญชา พนักงานมีสิทธิร้องทุกข์ตามขั้นตอนที่ ทอท.กำหนดไว้ โดยผู้ที่ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กำหนดไว้และ พิสูจน์ได้ว่ากระทำไปโดยสุจริต จะได้รับความคุ้มครองโดยไม่ส่งผลกระทบใดๆ ซึ่ง ทอท.จะไม่ถือเป็นเหตุเลิกจ้างหรือกระทำ การลงโทษในอันที่จะส่งผลเสียต่อพนักงานหรือพยานผู้เกี่ยวข้องแต่ประการใด นอกจากนั้นผู้บริหารระดับสูง ยังเปิดโอกาสให้ พนักงานทุกระดับได้เสนอความคิดเห็นแนวคิดอันเป็นประโยชน์ต่อบริษัท เช่น มาตรการลดค่าใช้จ่ายการใช้กระแสไฟฟ้า

และยังให้ความมัน่ ใจในคุณภาพชีวติ การทำงานอย่างเท่าเทียม โดยได้รบั ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม รัฐบาล

ทอท.ถือปฏิบัติเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อภาครัฐ โดยดำเนินธุรกิจภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานที่กำกับดูแลอย่างเคร่งครัด และให้การสนับสนุนโครงการจากภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สูงสุดของ สังคมส่วนรวม และดำรงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับหน่วยงานภาครัฐ โดยการติดต่อประสานงานอย่างเปิดเผย และพร้อมให้ ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ครบถ้วน ถูกต้องตามที่หน่วยงานภาครัฐร้องขอ เพื่อแสดงถึงความโปร่งใส ตลอดจน สร้างความมั่นใจ และความเชื่อถือร่วมกัน

087

รายงานประจำปี 2551


สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

ทอท.มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเรื่องสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สำนักสื่อสารองค์กร ฝ่ายกิจการพิเศษ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และฝ่ายสิ่งแวดล้อม โดยได้ดำเนินการควบคู่ไปกับการประกอบธุรกิจหลักมาอย่างต่อเนื่อง คือการ ดูแลรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมสำหรับชุมชนทั้งในและนอกพื้นที่ปฏิบัติการ โดย ทอท.ร่วม สนับสนุนทางด้านการศึกษา กีฬา วัฒนธรรม การพัฒนาอาชีพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชุมชน นอกจากนี้ ทอท.ยังให้ความ สำคัญต่อการอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมในพื้นที่ปฏิบัติการ โดยการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน ร่วมแก้ปัญหาเพื่อสร้างความ เชือ่ มัน่ แก่ชมุ ชนและสังคมอย่างต่อเนือ่ ง โดยสามารถดูขอ้ มูลรายละเอียดการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมได้จากเว็บไซต์ของ ทอท. คู่ค้า

ทอท.มีนโยบายปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเสมอภาคกัน อยู่บนพื้นฐานของการแข่งขัน และเป็นธรรมโปร่งใส เพื่อประโยชน์สูงสุด ของทุกฝ่าย รวมถึงไม่กีดกันผู้อื่นในการเข้าร่วมแข่งขันทางธุรกิจ ทอท. เจ้าหนี้

ทอท.จะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้โดยเคร่งครัด

ช่องทางการแจ้งเบาะแส และกลไกคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส

ทอท.มีเป้าหมายสูงสุดในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ โดยสร้างมูลค่าเพิ่ม และความเชื่อมั่นต่อผู้ถือหุ้น ทอท. ได้จัดทำช่องทางการรับเรื่องเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดีไว้ สำหรับเปิดรับข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ รวมถึงพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริต หรือประพฤติมิชอบของบุคคลในองค์กร ทั้งจากพนักงานเอง และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ทอท.ให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลร้องเรียนเป็นความลับ ซึ่งเรื่องร้องเรียนดังกล่าวจะรับรู้เพียงเฉพาะในกลุ่มบุคคลที่

ได้รับมอบหมายและเกี่ยวข้องด้วยเท่านั้น เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ร้องเรียน และได้กำหนดขั้นตอนการรับเรื่องและการ สอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยช่องทางการรับเรื่อง มีดังนี้ (1) E-mail ที่ goodgovernance@airportthai.co.th (2) ตู้ ปณ. 1001 ดอนเมือง กทม. 10210 (3) ตู้รับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ติดตั้ง ณ สำนักงานใหญ่ และบริเวณสำนักงาน ท่าอากาศยานที่ ทอท.

รับผิดชอบทั้ง 6 แห่ง 7.5 เปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส การเปิดเผยสารสนเทศเป็นหนึ่งในหลักการที่มีความสำคัญต่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทอท.ให้ความสำคัญกับข้อมูลข่าวสาร ทีต่ อ้ งแจ้งแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ในด้านของความถูกต้อง ความเพียงพอ ความรวดเร็ว และความเท่าเทียมกัน ของการให้ข้อมูลแก่ทุกกลุ่ม ซึ่งการจัดเตรียมข้อมูลดังกล่าว มีสำนักเลขานุการบริษัท และ ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ คอยดูแล

ให้ข้อมูล ตอบข้อซักถาม และการเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

088 รายงานประจำปี 2551


(1) สารสนเทศที่สำคัญของ ทอท.ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงิน ในปี 2551 การเปิดเผย ข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่วนของงบการเงินนั้น ได้ผ่านการสอบทาน/ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีว่าถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการ ทอท.ก่อน

เปิดเผยแก่ผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการ ทอท.รายงานความรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจำปีด้วย นอกจากนี้ ทอท.ได้เปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสฉบับก่อนสอบทาน และงบการเงินประจำปีฉบับก่อนตรวจสอบเพิ่มเติมจากข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ และนักลงทุนได้รบั ข้อมูลทางการเงินทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ ซึง่ ข้อมูลก่อนและหลัง การสอบทาน/ตรวจสอบ ไม่มีผลแตกต่างที่มีสาระสำคัญแต่อย่างใด สำหรับการเปิดเผยรายการระหว่างกัน บทวิเคราะห์ของ

ฝ่ายจัดการ และการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงรายงานการกำกับดูแลกิจการไว้ในรายงานประจำปี และแบบแสดงรายการประจำปี 2551 หรือแบบ 56-1 เป็นต้น (2) ข้อมูลต่างๆ ของ ทอท.ที่ได้เปิดเผยแก่สาธารณชน รวมถึงผู้ถือหุ้น และนักลงทุนแล้ว จะเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของ ทอท. ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น รายงานประจำปี แบบ 56-1 หนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นต้น โดยในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2550 เมือ่ วันที่ 25 มกราคม 2551 ทอท.ได้เพิม่ เติมการถ่ายทอดภาพ และเสียง ของประธานกรรมการผ่าน Webcast นอกจากนี้ ทอท.ได้มีการปรับปรุงหน้าเว็บไซต์และข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ ใช้ สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงได้โดยสะดวก และได้รับประโยชน์มากที่สุด ในรอบปี 2551 ทอท.จัดให้

ผู้ถือหุ้นและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ได้ ไปเยี่ยมชมพื้นที่ดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่เป็นท่าอากาศยานหลัก และ

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ และเข้าใจจากการได้เห็นการดำเนินธุรกิจของ ทอท.อย่างเป็นรูปธรรม (3) ทอท.ได้เปิดเผยบทบาท และหน้าทีข่ องคณะกรรมการ และคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง และจำนวนครัง้ ทีก่ รรมการแต่ละคน เข้าร่วมการประชุม และเปิดเผยการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ที่เป็นไปตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงไว้ ใน รายงานประจำปี และแบบ 56-1 ด้วย ดูรายละเอียดตามข้อ 3.1-3.4, ข้อ 5 และข้อ 6.2 (4) จั ดให้ มี ศู น ย์ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ รั บ ผิ ด ชอบในการสื่ อ สารข้ อ มู ล ข่ า วสาร ที่ ส ะท้ อ นมู ล ค่ า ที่ แ ท้ จ ริ ง ของ ทอท.ให้ แ ก่

นักวิเคราะห์ ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุนทั่วไปตามระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และรับผิดชอบในการสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับนักวิเคราะห์ และผู้ลงทุน รวมถึงเสริมสร้างภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่อนักลงทุน โดยการประสานงานและ

ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานนักลงทุนสัมพันธ์แก่ผู้บริหารของ ทอท. ซึ่งนักลงทุนหรือผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลข่าวสาร ของ ทอท. เช่น ข้อมูลงบการเงิน รายงานประจำปี และข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้โดยตรงจากเจ้าหน้าที่ IR ของ ทอท. โดยติดต่อได้ 4 วิธี ดังนี้ - ทางโทรศัพท์ : 0 2535 5900 - ทางโทรสาร : 0 2535 5909 - ทาง E-mail : aotir@airportthai.co.th - ทางไปรษณีย์ : เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210

089 รายงานประจำปี 2551


ทอท.ตระหนักถึงความสำคัญของการเปิดเผยข้อมูลทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส จึงจัดให้มศี นู ย์นกั ลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นตัวแทนในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งได้นำเสนอ

ผลงาน และแจ้งสารสนเทศของ ทอท.ต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้เกี่ยวข้องตลอดปีงบประมาณ 2550 สรุปได้ดังนี้ ปีงบประมาณ 2550 - Roadshow ต่างประเทศ 0 ครั้ง / ปี - Analyst Briefing 2 ครั้ง / ปี - Company Visit 240 ครั้ง / ปี - Conference Call 22 ครั้ง / ปี - จัดโครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 1 ครั้ง / ปี (5) ทอท.มีการเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลสำคัญอย่างถูกต้องครบถ้วน และเป็นไปตามข้อกำหนด ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนั้นในปี 2550 ทอท.ได้จัดทำบทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร (MD&A) ประกอบงบการเงินทุกไตรมาส (6) จัดทำรายงานข้อมูลทางการเงิน ที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่าข้อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง (7) ทอท.ได้จัดโครงการ Company Visit โดยร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ ความสำคัญกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ให้มีการประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูง เพื่อรับทราบและซักถาม

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของ ทอท. และหลังจากนั้นจัดให้เยี่ยมชมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์และนักลงทุนสถาบัน

090 รายงานประจำปี 2551


การควบคุมภายใน

ทอท.ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน โดยมุ่งเน้นให้มีระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับธุรกิจ สอดคล้องกับระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ที่กำหนดให้ ทอท.จัดวางระบบการควบคุมภายใน และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิด ความมั่นใจว่าระบบที่วางไว้สามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสำนักตรวจสอบ ทำหน้าที่ตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจ ว่าการปฏิบตั งิ านหลัก และกิจกรรมทางการเงินทีส่ ำคัญของ ทอท.ได้ดำเนินการตามแนวทางทีก่ ำหนดไว้ และมีประสิทธิภาพ รวมถึง ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับ ทอท. (Compliance Control) และมีคณะกรรมการตรวจสอบ ทำหน้าที่สอบทานระบบการควบคุมภายในของ ทอท.ให้เหมาะสมและมีประสิทธิผล ทอท.ได้เสนอรายงานการควบคุมภายในให้คณะกรรมการตรวจสอบ ผ่านเลขานุการคณะกรรมการ เพือ่ ประเมินความเพียงพอ

และความเหมาะสมของการควบคุมภายใน ดำเนินการป้องกันและแก้ไขความเสียหายที่จะเกิดต่อทรัพย์สินของ ทอท.รวมทั้งหา แนวทางและข้อเสนอแนะที่จะลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ และนำรายงานการควบคุมภายในนี้เสนอเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสให้การ รับรองแล้วนำเรียนกรรมการผู้อำนวยการใหญ่และเสนอคณะกรรมการ ทอท.เพื่อทราบ โดยที่ผ่านมา คณะกรรมการ ทอท.

เห็นชอบกับระบบการควบคุมภายในของ ทอท.ว่ามีความเพียงพอและเหมาะสม

091

รายงานประจำปี 2551


รายการ ระหว่างกัน ลักษณะของรายการ ทอท. ได้เข้าร่วมทุนกับบริษัทต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด, บริษัท ไทย แอร์พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด, บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชัน่ แนลแอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด, บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตีฟ้ รี จำกัด, บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด, บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตีฟ้ รี จำกัด, บริษัท แอร์พอร์ต แอสโซซิเอท จำกัด, บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด และได้เข้าทำสัญญาต่างๆ กับ บริษัทร่วมทุนที่ได้รับอนุญาตในการประกอบกิจการต่างๆ ที่เกี่ยวกับกิจการท่าอากาศยาน เช่น กิจการร้านค้าปลอดอากรบริเวณ

คลังสินค้า, โรงแรม และบริการเติมน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยที่บริษัทดังกล่าวจะให้ผลตอบแทนแก่ ทอท.ในลักษณะของ ส่วนแบ่งผลประโยชน์หรืออัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำที่ ทอท.กำหนด (แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่ากัน) นอกจากนี้ ทอท.ยังได้ ให้

ผู้ประกอบการที่ ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการในบริเวณท่าอากาศยานเช่าพื้นที่ ในบริเวณท่าอากาศยานต่างๆ เพื่อประกอบ กิจการที่ได้รับอนุญาต โดยมีสัญญาที่สำคัญๆ ดังนี้ 1. บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด 2. บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด 3. บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด 4. บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 5. บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด

092 รายงานประจำปี 2551


รายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องหรือบริษัทร่วมทุน บริษัทที่เกี่ยวข้อง

การถือหุ้น

ผู้แทน ทอท.

ผู้บริหารของ ทอท. (นางกัลยา ผกากรอง) เป็นกรรมการและรักษาการผู้จัดการของบริษัท ผู้บริหารของ ทอท. (ว่าที่ เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร, 2. บริษัท ไทย แอร์พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด ร้อยละ 28.50 นายสุรธัส สุธรรมมนัส และว่าที่ เรืออากาศโท ภาสกร สุระพิพิธ) เป็นกรรมการของบริษัท 3. บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต หารของ ทอท. (นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน) ร้อยละ 9 ผูเป็้บนริกรรมการของบริ โฮเต็ล จำกัด ษัท 4. บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด ร้อยละ 10 ผู้บริหารของ ทอท. (ว่าที่ เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร) เป็นกรรมการบริษัท 5. บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด ร้อยละ 5 - 6. บริษัท แอร์พอร์ต แอสโซซิเอท จำกัด ร้อยละ 10 - ผู้บริหารของ ทอท. (นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์) นประธานกรรมการของบริษัท 7. บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด ร้อยละ 10 เป็ ผู้บริหารของ ทอท. (เรืออากาศเอก วิวัฒน์ สมานรักษ์) เป็นกรรมการของบริษัท 8. บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด ร้อยละ 4.9 - (มหาชน)

1. บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

ร้อยละ 60

(ข้อมูล ณ 30 ก.ย. 51)

093

รายงานประจำปี 2551



การพัฒนาในทุกด้าน ของ ทอท.อย่างต่อเนือ่ ง


ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน

ภารกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของท่าอากาศยาน คือ งานบริการด้านต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการการบิน ซึ่งให้บริการแก่หน่วย งานภาครัฐและเอกชน รวมถึงสายการบิน ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการ ซึ่ง ทอท.ในฐานะผู้บริหารท่าอากาศยานนานาชาติทั้ง 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่

และท่าอากาศยานเชียงราย ตระหนักดีที่จะผลักดันให้ทุกท่าอากาศยาน บริการให้เป็นที่ประทับใจแก่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ

ท่าอากาศยานและประชาชนทั่วไป โดยมุ่งเน้นมาตรฐานความปลอดภัย สะดวกและรวดเร็ว การจัดตั้งศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน หรือ Airport One Stop Service ขึ้นเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการให้ บริการ ด้วยการรวมการให้บริการที่ผู้ใช้บริการต้องการติดต่อขอรับบริการหลายจุดมาเป็นการให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว เป็นการบริการแบบต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งขณะนี้ได้เปิดให้บริการ ณ ศูนย์บริการนี้แล้ว 2 แห่ง คือ ที่ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เรียกว่า “ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ” (Suvarnabhumi Airport One Stop Service : SOS) ตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณชัน้ 4 ห้องโถงผู้โดยสารขาออก ติดต่อได้ทเี่ ลขหมายโทรศัพท์ 0 2132 9111-2 และทีท่ า่ อากาศยานเชียงใหม่ ตัง้ อยูท่ ี่ บริเวณโถงผู้โดยสารขาเข้าภายในประเทศ เรียกว่า “ศูนย์บริการครบวงจรท่าอากาศยานเชียงใหม่” (Chiang Mai Airport One Stop Service Center) ติดต่อได้ที่เลขหมายโทรศัพท์ 0 5392 4444 การให้บริการข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานและการอำนวยความสะดวกต่างๆ ณ “ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ” (Suvarnabhumi Airport One Stop Service : SOS) นอกจากจะเป็นจุดที่รับแจ้งเหตุข้อขัดข้องของสิ่งอำนวยความ สะดวก ข้ อ ร้ อ งเรี ย นต่ า งๆ รวมถึ ง ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ บริการแล้ว ยังเป็นศูนย์รวมข้อมูลเกีย่ วกับขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน (Standard Operation Procedure : SOP) ของส่วนงาน

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยการจัดเตรียมไว้เพื่อเป็นข้อมูล แก่สายการบินและผู้ปฏิบัติงานเมื่อได้รับการร้องขอ และเป็น ศูนย์กลางติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในท่าอากาศยาน

สุวรรณภูมิและหน่วยเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้า การปฏิบัติงานและรายงานผลให้ผู้ใช้บริการทราบ อันจะเป็น

การสร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ สายการบิ น หน่ ว ยราชการ

และผู้ ป ระกอบการ เพื่ อ พั ฒ นาภาพรวมของการบริ ห าร จัดการ รวมถึงการนำเสนอบริการต่างๆ ของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิต่อไป

096

รายงานประจำปี 2551


สำหรับผลของการให้บริการ ผู้แทนคณะกรรมการดำเนินงานธุรกิจการบินกรุงเทพ (Airline Operation Committee Bangkok : AOC) กล่าวถึงการให้บริการที่ SOS ว่าเป็นความพยายามที่ดีของ ทอท. สมควรทำให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้หลายเรื่องเป็นอย่างดี ซึ่งเรื่องนี้ผู้บริหารระดับสูงของ ทอท.ได้ให้ความสำคัญและเร่งรัด ติดตามผล การดำเนินงาน มีการจัดสรรทรัพยากรที่สำคัญและจำเป็นในการบริหารงาน ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ์ โดย เฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์เครื่องใช้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การบริหารจัดการบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ ได้กำหนดไว้ ซึ่ง

ผู้รับผิดชอบและผู้ปฏิบัติงานคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ ใช้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ โดย

มีการพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่องต่อไป ทั้งนี้ เพื่อตอกย้ำถึงความมุ่งมั่นของ ทอท.ที่จะรังสรรค์คุณภาพบริการที่ดีที่สุดแก่ ลูกค้า อันจะนำไปสู่การจัดอันดับและคุณภาพการให้บริการในระดับสากลของท่าอากาศยานไทยในอนาคต

097

รายงานประจำปี 2551


การพัฒนาบุคลากรของ ทอท.

บุคลากรเป็นทรัพยากรที่สำคัญขององค์กร ที่จะขับเคลื่อนให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมาย ทอท.จึงให้ความ สำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนา เรียนรู้ ฝึกฝนในทุกๆ ด้าน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพพนักงานให้ สามารถปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานสากล และเป็นมืออาชีพ ในปี 2551 ทอท.ได้มุ่งดำเนินการพัฒนาบุคลากร โดยการจัดโครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม และการสนับสนุนทุนศึกษาต่อใน ระดับปริญญาโท ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน และสอดคล้องกับกลยุทธ์ของแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. และเป้าหมายธุรกิจของ ทอท.โดยมีผลการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้

1. หลักสูตรหลักท่าอากาศยาน

เสริมสร้างความรู้ท่าอากาศยานให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 482 คน คือ หลักสูตรการปฏิบัติการท่าอากาศยาน และ หลักสูตรการจัดการท่าอากาศยานระดับต้น, ระดับกลาง และระดับสูง

2. หลักสูตรความรู้ความชำนาญในสายอาชีพ

เสริมสร้างความรู้ความชำนาญในสายอาชีพให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 3,231 คน เช่น หลักสูตร Safety Management System, นิรภัยท่าอากาศยาน, ความรู้ด้านการบินสำหรับผู้ทำงานด้านการบิน และ Aerodrome Apron เป็นต้น

3. หลักสูตรความรู้ทั่วไป

เสริมสร้างความรู้ทั่วไปให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 7,776 คน เช่น - การอบรมภาษาต่างประเทศ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ, เกาหลี, จีน และ ญี่ปุ่น เป็นต้น - บรรยายพิเศษ ได้แก่ ภาวะโลกร้อน, ผลกระทบของ พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพฉบับใหม่, สร้างสุขในงาน สร้างสีสันให้กับชีวิต และสร้างพรุ่งนี้จากวันนี้ เป็นต้น ภาพรวมการพัฒนาบุคลากร ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. ประจำปีงบประมาณ 2551 สรุปได้ดังนี้

การฝึกอบรมภายใน ทอท. (ศ.1) การฝึกอบรมภายนอก ทอท. (ศ.2) การฝึกอบรม ณ ต่างประเทศ (ศ.3)

098 รายงานประจำปี 2551

จำนวนโครงการจัดฝึกอบรม

จำนวนผู้เข้ารับการอบรม

212 505 38

10,226 1,161 102

(โครงการ)

(คน)


นอกเหนื อ จากการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ทอท.ให้

มีศักยภาพตามแผนพัฒนาบุคคล ทอท.ประจำปีแล้ว ทอท.ยัง

มุ่งให้ความรู้ ด้านการดั บ เพลิ ง และกู้ ภั ย กั บ หน่ ว ยงานภายใน

ท่าอากาศยาน และชุมชนรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดย เน้ น ให้ ชุ ม ชนมี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การดั บ เพลิ ง และกู้ ภั ย

ท่าอากาศยาน สามารถช่วยเหลือตนเองเบื้องต้นได้ ในกรณี

เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ขึ้ น ภายในหรื อ บริ เ วณรอบท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ โดยวิทยากรเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการดับเพลิงและ กู้ภัย จากฝ่ายดับเพลิงและกู้ภัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึง่ ได้ รับการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น หน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ จากสวัสดิการและคุม้ ครอง แรงงาน เลขทะเบียนที่ ดพ.500903016 ทั้งนี้ เปิดให้บริการ จำนวน 3 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตร “ฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น” ระยะเวลา 1 วัน แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 3.30 ช.ม. 2. หลักสูตร “ฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ” ระยะเวลา 1 วัน แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 3.30 ช.ม. 3. หลักสูตร “ฝึกอบรมทบทวนการดับเพลิงสำหรับลูกเรือ” ระยะเวลา 3 ช.ม. แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 2 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 1 ช.ม. สำหรับในปีงบประมาณ 2551 นี้ ทอท.ได้มกี ารจัดวิทยากรด้านการดับเพลิงและกูภ้ ยั ไปให้บริการกับหน่วยงานภายนอกหลายแห่ง อาทิ ฝ่ายช่าง และฝ่ายครัวการบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน), สายการบินบางกอก แอร์เวย์, สายการบินแอร์เอเชีย, บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด และ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้ำเย็น จำกัด เป็นต้น นับได้ว่า การพัฒนาบุคลากรของ ทอท.ในปัจจุบันนี้ ไม่เพียงมุ่งพัฒนาศักยภาพพนักงาน ทอท.เท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือ

ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องและชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ผ่านการให้ความรู้และการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน และสามารถพัฒนาเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการสร้างรายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการการบิน (non-aeronautical revenue) ให้กับองค์กรได้อีกด้วย

099 รายงานประจำปี 2551


การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย

ภายในอาคารผู้โดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทอท.มีนโยบายที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการตรวจค้นผู้ โดยสารและสัมภาระติดตัวก่อนขึ้นอากาศยาน ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ จากระบบเดิมแบบ Gate Screening สำหรับผู้โดยสารขาออกเที่ยวบินภายในประเทศ และ Concourse Screening สำหรับผู้โดยสารขาออกเที่ยวบินระหว่างประเทศ ให้เป็นระบบการรักษาความปลอดภัยแบบ Centralized Security Screening โดยนอกจากจะมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานของท่าอากาศยานชั้นนำแล้ว ยังเป็นการขยายพื้นที่ปลอดภัย (Sterile Area) ภายในอาคารผู้ โดยสารและลดปัญหาอันอาจเกิดจากโครงสร้างภายในอาคาร

ผู้โดยสารบางจุดที่ล่อแหลมต่อการละเมิดมาตรการรักษาความปลอดภัยอีกด้วย ระบบการรักษาความปลอดภัยแบบ Centralized Security Screening จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกในการตรวจค้น โดยการตั้งจุดตรวจค้นผู้ โดยสารและสัมภาระติดตัวบริเวณหลังเคาน์เตอร์ตรวจบัตร โดยสาร ซึ่งจะมีการติดตั้งเครื่อง X-Ray และเครื่องตรวจจับโลหะชนิดเดินผ่าน (Walk Through Metal Detector) รวมทั้งตรวจ การนำของเหลว เจล สเปรย์ หรือวัตถุและสารอื่นๆ ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน มารวมไว้ที่จุดเดียวกันก่อนเข้า Sterile Area นอกจากการตรวจค้นผู้โดยสารและสัมภาระติดตัวอย่างละเอียดแล้ว บุคคลทุกคนที่จะเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ภายใน Sterile Area

ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ ทอท. เจ้าหน้าที่สายการบิน เจ้าหน้าที่จากหน่วยราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการร้านค้า และ สัมภาระติดตัว รวมถึงสินค้าทุกชิ้นที่ผู้ประกอบการจะนำเข้าไปขายใน Sterile Area จะต้องผ่านการตรวจค้นเช่นเดียวกัน สำหรับ วัตถุแหลมคมทุกชิ้นที่มีความจำเป็นต้องถูกนำเข้าไปใช้ภายใน Sterile Area จะต้องลงทะเบียนและมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งงดจำหน่ายสินค้าที่เป็นวัตถุแหลมคม วัตถุอันตราย และวัตถุต้องห้ามนำพาไปกับอากาศยานทุกชนิด หลังจุดตรวจค้นแบบ Centralized Security Screening ทอท.ได้เริ่มนำระบบ Centralized Security Screening มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ในส่วนของผู้ โดยสาร

ขาออกภายในประเทศก่อน สำหรับผู้โดยสารขาออกเทีย่ วบิน ระหว่างประเทศ และผู้โดยสารเปลีย่ นเทีย่ วบิน และผู้โดยสาร ผ่านระหว่างประเทศ ขณะนี้อยู่ ในระหว่างการเตรียมการ

และกำหนดพื้นที่ ในการติดตั้งจุดตรวจค้น และดำเนินการ

ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในต้ น ปี 2552 เพื่ อให้ การรั ก ษาความ ปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับผู้ใช้บริการทุกคน

100 รายงานประจำปี 2551


การบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ทอท. ได้ ด ำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัย ในการทำงานและ ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน ที่ออกตามความใน

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 กฎหมายความปลอดภัย อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาโดยตลอด และได้ปฏิบัติตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี

ที่ประกาศนโยบาย “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” เป็น ระเบียบวาระแห่งชาติ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในการทำงานกับพนักงานและลูกจ้าง ทอท.ทุกส่วนงาน และ ลดความสูญเสียด้านแรงงาน ความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม

จากการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานอย่างเป็นระบบ ครบถ้วนและสอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย รวมถึงมาตรฐานสากลอื่นๆ และตามที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ได้จัดให้มีการประกวดสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำงานแห่งชาติ โดย

มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการ มีการบริหารและการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการทำงาน ที่เป็นมาตรฐานสากลและสอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย รวมทั้งเพื่อประกาศเกียรติคุณและ

ยกย่องนายจ้าง สถานประกอบกิจการ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพต่อสาธารณชนนั้น ทอท.จึงได้ส่งสำนักงานใหญ่ ทอท.เข้าประกวดสถาน ประกอบกิจการดีเด่น ด้านความปลอดภัยในการทำงานฯ ระดับประเทศ ในปี 2550 และ ในปี 2551 ซึ่งผลการประกวด สำนักงานใหญ่ ทอท.ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ ทั้ง 2 ปี ติดต่อกัน การที่ ทอท.ได้รับรางวัลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ทอท. โดยฝ่ายป้องกันอุบัติภัยและอาชีวอนามัย ซึ่งเป็นหัวหน้าสายวิชาการ ด้ า นการป้ อ งกั นอุบัติภัยและอาชีวอนามัยของ ทอท. ได้ ด ำเนิ น การในเรื่ อ งความปลอดภั ย ในการทำงานอย่ า งจริ ง จั ง และ

ต่อเนื่อง เช่น การฝึกอบรม การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การตรวจสอบด้านความปลอดภัย และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้

พนักงานและลูกจ้างมีจิตสำนึกด้านความปลอดภัย และปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยตามกฎหมาย ข้อบังคับที่กำหนด รวมถึงการ รักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่พนักงานและลูกจ้างในการทำงาน จากการดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานตามกฎหมายความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทำให้

ผู้ปฏิบัติงานเกิดความปลอดภัยและมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี ปราศจากการเจ็บป่วยหรือโรคอันเนื่องมาจากการทำงาน

อีกทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี ในการเป็นองค์กรแห่งความปลอดภัย ต่อหน่วยงานภายนอก ทั้งนี้ ทอท.จะรักษาสภาพ

การเป็นสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ เพื่อพร้อมสำหรับการพัฒนา ทอท.ให้เป็นองค์กรชั้นนำในระดับสากล และ

เป็นแบบอย่างแก่สถานประกอบกิจการอื่นต่อไป

101

รายงานประจำปี 2551


การพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ 2552-2557)

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปัจจุบัน อยู่ ในช่วงของการพัฒนาระยะที่ 1 ซึ่งได้มีการกำหนดขีดความสามารถให้รองรับ

ผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี (ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 33 ล้านคนต่อปี และผู้ โดยสารภายในประเทศ 12 ล้านคนต่อปี)

มีทางวิ่ง 2 เส้นรองรับเที่ยวบินได้ 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง มีหลุมจอดอากาศยาน จำนวน 124 หลุมจอด แบ่งเป็น หลุมจอดประชิด อาคาร จำนวน 51 หลุมจอด และหลุมจอดระยะไกล จำนวน 73 หลุมจอด เมื่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดให้บริการในวันที่ 28 กันยายน 2549 นั้น รัฐบาลมีนโยบายให้ย้ายปริมาณการจราจร

ทางอากาศเชิงพาณิชย์ทั้งหมดจากท่าอากาศยานกรุงเทพมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ส่วนท่าอากาศยานกรุงเทพ ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นท่าอากาศยานดอนเมือง และเปิดให้บริการเฉพาะเที่ยวบิน Non Schedule Flights, Charter Flights และ General Aviation นับจากช่วงเวลาที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดให้บริการเป็นต้นมา ปริมาณการจราจรทางอากาศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

โดยมีปัจจัยสำคัญ คือ การเปิดให้บริการของสายการบินต้นทุนต่ำ เป็นเหตุให้ปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมเิ พิม่ ขึน้ เป็น 46 ล้านคนต่อปี ในปี 2550 เกินกว่าขีดความสามารถทีก่ ำหนดไว้ เกิดเป็นความแออัดคับคัง่ และส่งผลกระทบ ต่อคุณภาพของการให้บริการและความสามารถในการเป็นศูนย์กลางการบินระหว่างประเทศของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิซึ่งเริ่ม ปรากฏชัดตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา เพื่อบรรเทาความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2550 อนุมัติตามที่

คณะกรรมการนโยบายดำเนินกิจการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมืองเสนอ คือ ให้สายการบิน ภายใน ประเทศที่ไม่มีการเชื่อมต่อเที่ยวบินระหว่างประเทศกลับมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมืองตามความสมัครใจในระยะแรก และให้ ศึ ก ษาความเหมาะสมในการใช้ ป ระโยชน์ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง เพื่ อ แบ่ ง เบาปริ ม าณการจราจรทางอากาศจาก

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในระยะต่อไป ในการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีในระยะแรก ทอท.ได้เริ่มให้บริการสายการบินภายในประเทศจำนวน 3 สายการบิน

ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้แก่ การบินไทย, นกแอร์ และ วัน ทู โก อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการย้ายสายการบินภายในประเทศทั้ง 3 สายดังกล่าวมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง แต่ก็ เพียงสามารถบรรเทาความแออัดของปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศ บางส่วนเท่านั้น ขณะที่เที่ยวบินระหว่างประเทศแบบประจำทั้งหมดซึ่งยังคงให้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ก็ยังคงประสบ ปัญหาแออัดคับคั่งเช่นเดิม คณะกรรรมการ ทอท.จึงได้มีมติเมื่อ 1 ธันวาคม 2550 ให้ ทอท.ดำเนินการขยายขีดความสามารถของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เพื่อรองรับปริมาณการจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นโดยเร่งด่วน นอกจากนี้ยังให้สายการบินสามารถทำการบินที่

ท่าอากาศยานดอนเมืองเพิ่มเติมได้ ทั้งเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศตามความสมัครใจ เพื่อให้การใช้ทรัพย์สิน

ของชาติเกิดประโยชน์อย่างเต็มที่

102

รายงานประจำปี 2551


ทอท.จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ขึ้น โดยมีแผนที่จะดำเนินโครงการในช่วงปีงบประมาณ 2552-2557 กำหนดขีดความสามารถให้รองรับผู้ โดยสารได้ 60 ล้านคนต่อปี (ผู้ โดยสารระหว่างประเทศ 52 ล้านคนต่อปี

และผู้โดยสารภายในประเทศ 8 ล้านคนต่อปี) และรองรับอากาศยานขึ้น-ลงได้ 90-95 เที่ยวบินต่อชั่วโมง ซึ่งจะเพียงพอในการ รองรับผู้โดยสารและปริมาณการจราจรทางอากาศได้ถึงปี 2561 ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในหลักการแนวทางการ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 เมื่อ 29 เมษายน 2551 ซึ่งมีโครงการสำคัญประกอบด้วย การก่อสร้างอาคารเทียบ เครื่องบินรองหลังที่ 1 และทางวิ่งเส้นที่ 3 โดยให้ ทอท.นำเสนอโครงการต่อกระทรวงคมนาคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ

คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป ทั้งยังเห็นชอบในหลักการให้ ทอท.เปิดให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ และ

เส้นทางการบินระหว่างประเทศจุดต่อจุดตามความสมัครใจ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยให้กรมการขนส่งทางอากาศพิจารณา ประเด็นข้อผูกพันด้านการบินระหว่างประเทศเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรอบคอบ และให้ ทอท.ศึกษาแนวทางการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมืองในกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องเพิ่มเติม โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 มีประมาณการวงเงินลงทุน 77,885.777 ล้านบาท (รวมสำรองราคาและ ปริมาณงานเปลี่ยนแปลงร้อยละ 10 และภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7) ประกอบด้วย 6 กลุ่มงาน ดังนี้ 1. การชดเชยผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 2. กลุ่มงาน Airfield Pavement - งานก่อสร้างทางวิ่งเส้นที่ 3 3. กลุ่มงานอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 3.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารเทียบเครื่องบิน รองหลังที่ 1 3.2 งานก่อสร้างลานจอดอากาศยานประชิดอาคาร เทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 3.3 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนต่อเชื่อมอุโมงค์ ด้านทิศใต้ 3.4 งานออกแบบและติดตั้งระบบขนส่งผู้โดยสาร 4. กลุ่มงานอาคารผู้โดยสาร 4.1 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนขยายอาคาร

ผู้โดยสารด้านทิศตะวันออก 4.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงานสายการบินและที่จอดรถด้านทิศตะวันออก (อาคารจอดรถ 1) 5. กลุ่มงานระบบสาธารณูปโภค - งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค 6. งานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ

103

รายงานประจำปี 2551


การใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง

จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2550 เห็นชอบให้ ใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นท่าอากาศยาน

นานาชาติอีกแห่งควบคู่กับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และต่อมาเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2550 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเพิ่มเติม คือ

ในระยะแรกให้สายการบินภายในประเทศที่ไม่มีการเชื่อมต่อเที่ยวบินระหว่างประเทศใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองตามความสมัครใจ และเมื่อ 25 มีนาคม 2550 ได้มีเที่ยวบินแบบประจำภายในประเทศจำนวน 3 สายการบิน ย้ายจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

มาทำการบินที่ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้แก่ การบินไทย, นกแอร์ และ วัน ทู โก ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมืองได้เปิดใช้อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ อาคาร 1 และอาคารผู้โดยสารภายในประเทศ สำหรับให้บริการการบินประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. การบินประเภททั่วไป (General Aviation) 2. การบินเพื่อธุรกิจการค้า (Commercial Aviation) 3. การบินเพื่อการฝึกบิน (Training) 4. การบินแบบไม่ประจำประเภทเช่าเหมาลำ (Non-scheduled Charter Flight) 5. เที่ยวบินภายในประเทศ ทั้งแบบประจำและไม่ประจำ (Domestic Scheduled and Non-scheduled Flights) ในสถานการณ์ปัจจุบัน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรองรับการ ขยายตัวอย่างรวดเร็วของปริมาณจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นเป็น 46 ล้านคนต่อปี ในปี 2550 ส่งผลให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เผชิญกับความแออัดตั้งแต่ปี 2550 ทั้งนี้ เนื่องมาจากโครงการ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ดำเนินการล่าช้ากว่า แผนที่ ก ำหนดไว้ รั ฐ บาลจึ ง มี น โยบายให้ ส ายการบิ น ภายใน ประเทศที่ ไม่มีการเชื่อมต่อมาใช้ท่าอากาศยานดอนเมือง โดย ความสมัครใจ และให้ศึกษาความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ท่าอากาศยานดอนเมือง เพื่อช่วยบรรเทาความแออัดของปริมาณ การจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และแนว นโยบายการใช้ พื้ น ที่ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งโดยรวมให้ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในอนาคตนั้ น ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งได้ เ สนอ โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการบิน ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่าง

ดำเนินการพิจารณาโครงการดังกล่าว ได้แก่

104

รายงานประจำปี 2551


1. โครงการศูนย์ฝึกบินจำลอง (Simulator Training Center) ใช้อาคาร 4A (อาคาร Catering ของบริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด เดิม) มีพื้นที่ 2,258 ตร.ม. ลานจอดรถยนต์มีพื้นที่ 465 ตร.ม. 2. โครงการอาคารผู้โดยสารสำหรับอากาศยานส่วนตัว โดยใช้อาคารห้องรับรองพิเศษซึ่งมีห้องรับรองพิเศษจำนวน 9 ห้อง และมีพื้นที่รวม 2,888 ตร.ม. 3. โครงการคลังสินค้าเร่งด่วนและไปรษณียภัณฑ์ทางอากาศ โดยใช้อาคารคลังสินค้าที่ 1 มีพื้นที่เก็บสินค้า 21,104 ตร.ม. รองรับสินค้าได้ 211,040 ตันต่อปี 4. ศูนย์ให้บริการสินค้าประเภทเน่าเสียง่ายและสินค้าตามฤดูกาล (Perishable Center) และสินค้าควบคุมอุณหภูมิ (Cool Cargo) โดยใช้คลังสินค้าที่ 2 มีพื้นที่เก็บสินค้า 31,475 ตร.ม. รองรับสินค้าได้ 314,750 ตันต่อปี 5. โครงการศูนย์ซ่อมอากาศยานในรูปแบบเขตปลอดอากร (Customs Free Zone)โดยใช้คลังสินค้าที่ 3, 4 รวมพื้นที่

ต่อเนื่อง มีพื้นที่ 59,790 ตร.ม.

105

รายงานประจำปี 2551


ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน

ภารกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของท่าอากาศยาน คือ งานบริการด้านต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการการบิน ซึ่งให้บริการแก่หน่วย งานภาครัฐและเอกชน รวมถึงสายการบิน ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการ ซึ่ง ทอท.ในฐานะผู้บริหารท่าอากาศยานนานาชาติทั้ง 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่

และท่าอากาศยานเชียงราย ตระหนักดีที่จะผลักดันให้ทุกท่าอากาศยาน บริการให้เป็นที่ประทับใจแก่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ

ท่าอากาศยานและประชาชนทั่วไป โดยมุ่งเน้นมาตรฐานความปลอดภัย สะดวกและรวดเร็ว การจัดตั้งศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน หรือ Airport One Stop Service ขึ้นเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการให้ บริการ ด้วยการรวมการให้บริการที่ผู้ใช้บริการต้องการติดต่อขอรับบริการหลายจุดมาเป็นการให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว เป็นการบริการแบบต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งขณะนี้ได้เปิดให้บริการ ณ ศูนย์บริการนี้แล้ว 2 แห่ง คือ ที่ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เรียกว่า “ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ” (Suvarnabhumi Airport One Stop Service : SOS) ตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณชัน้ 4 ห้องโถงผู้โดยสารขาออก ติดต่อได้ทเี่ ลขหมายโทรศัพท์ 0 2132 9111-2 และทีท่ า่ อากาศยานเชียงใหม่ ตัง้ อยูท่ ี่ บริเวณโถงผู้โดยสารขาเข้าภายในประเทศ เรียกว่า “ศูนย์บริการครบวงจรท่าอากาศยานเชียงใหม่” (Chiang Mai Airport One Stop Service Center) ติดต่อได้ที่เลขหมายโทรศัพท์ 0 5392 4444 การให้บริการข้อมูลข่าวสารการดำเนินงานและการอำนวยความสะดวกต่างๆ ณ “ศูนย์บริการแบบครบวงจรท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ” (Suvarnabhumi Airport One Stop Service : SOS) นอกจากจะเป็นจุดที่รับแจ้งเหตุข้อขัดข้องของสิ่งอำนวยความ สะดวก ข้ อ ร้ อ งเรี ย นต่ า งๆ รวมถึ ง ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ บริการแล้ว ยังเป็นศูนย์รวมข้อมูลเกีย่ วกับขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน (Standard Operation Procedure : SOP) ของส่วนงาน

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยการจัดเตรียมไว้เพื่อเป็นข้อมูล แก่สายการบินและผู้ปฏิบัติงานเมื่อได้รับการร้องขอ และเป็น ศูนย์กลางติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในท่าอากาศยาน

สุวรรณภูมิและหน่วยเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้า การปฏิบัติงานและรายงานผลให้ผู้ใช้บริการทราบ อันจะเป็น

การสร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ สายการบิ น หน่ ว ยราชการ

และผู้ ป ระกอบการ เพื่ อ พั ฒ นาภาพรวมของการบริ ห าร จัดการ รวมถึงการนำเสนอบริการต่างๆ ของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิต่อไป

096

รายงานประจำปี 2551


สำหรับผลของการให้บริการ ผู้แทนคณะกรรมการดำเนินงานธุรกิจการบินกรุงเทพ (Airline Operation Committee Bangkok : AOC) กล่าวถึงการให้บริการที่ SOS ว่าเป็นความพยายามที่ดีของ ทอท. สมควรทำให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้หลายเรื่องเป็นอย่างดี ซึ่งเรื่องนี้ผู้บริหารระดับสูงของ ทอท.ได้ให้ความสำคัญและเร่งรัด ติดตามผล การดำเนินงาน มีการจัดสรรทรัพยากรที่สำคัญและจำเป็นในการบริหารงาน ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ์ โดย เฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์เครื่องใช้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การบริหารจัดการบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ ได้กำหนดไว้ ซึ่ง

ผู้รับผิดชอบและผู้ปฏิบัติงานคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ ใช้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ โดย

มีการพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่องต่อไป ทั้งนี้ เพื่อตอกย้ำถึงความมุ่งมั่นของ ทอท.ที่จะรังสรรค์คุณภาพบริการที่ดีที่สุดแก่ ลูกค้า อันจะนำไปสู่การจัดอันดับและคุณภาพการให้บริการในระดับสากลของท่าอากาศยานไทยในอนาคต

097

รายงานประจำปี 2551


การพัฒนาบุคลากรของ ทอท.

บุคลากรเป็นทรัพยากรที่สำคัญขององค์กร ที่จะขับเคลื่อนให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมาย ทอท.จึงให้ความ สำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนา เรียนรู้ ฝึกฝนในทุกๆ ด้าน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพพนักงานให้ สามารถปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานสากล และเป็นมืออาชีพ ในปี 2551 ทอท.ได้มุ่งดำเนินการพัฒนาบุคลากร โดยการจัดโครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม และการสนับสนุนทุนศึกษาต่อใน ระดับปริญญาโท ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน และสอดคล้องกับกลยุทธ์ของแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. และเป้าหมายธุรกิจของ ทอท.โดยมีผลการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้

1. หลักสูตรหลักท่าอากาศยาน

เสริมสร้างความรู้ท่าอากาศยานให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 482 คน คือ หลักสูตรการปฏิบัติการท่าอากาศยาน และ หลักสูตรการจัดการท่าอากาศยานระดับต้น, ระดับกลาง และระดับสูง

2. หลักสูตรความรู้ความชำนาญในสายอาชีพ

เสริมสร้างความรู้ความชำนาญในสายอาชีพให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 3,231 คน เช่น หลักสูตร Safety Management System, นิรภัยท่าอากาศยาน, ความรู้ด้านการบินสำหรับผู้ทำงานด้านการบิน และ Aerodrome Apron เป็นต้น

3. หลักสูตรความรู้ทั่วไป

เสริมสร้างความรู้ทั่วไปให้กับบุคลากรรวมทั้งสิ้น จำนวน 7,776 คน เช่น - การอบรมภาษาต่างประเทศ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ, เกาหลี, จีน และ ญี่ปุ่น เป็นต้น - บรรยายพิเศษ ได้แก่ ภาวะโลกร้อน, ผลกระทบของ พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพฉบับใหม่, สร้างสุขในงาน สร้างสีสันให้กับชีวิต และสร้างพรุ่งนี้จากวันนี้ เป็นต้น ภาพรวมการพัฒนาบุคลากร ตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. ประจำปีงบประมาณ 2551 สรุปได้ดังนี้

การฝึกอบรมภายใน ทอท. (ศ.1) การฝึกอบรมภายนอก ทอท. (ศ.2) การฝึกอบรม ณ ต่างประเทศ (ศ.3)

098 รายงานประจำปี 2551

จำนวนโครงการจัดฝึกอบรม

จำนวนผู้เข้ารับการอบรม

212 505 38

10,226 1,161 102

(โครงการ)

(คน)


นอกเหนื อ จากการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ทอท.ให้

มีศักยภาพตามแผนพัฒนาบุคคล ทอท.ประจำปีแล้ว ทอท.ยัง

มุ่งให้ความรู้ ด้านการดั บ เพลิ ง และกู้ ภั ย กั บ หน่ ว ยงานภายใน

ท่าอากาศยาน และชุมชนรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดย เน้ น ให้ ชุ ม ชนมี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การดั บ เพลิ ง และกู้ ภั ย

ท่าอากาศยาน สามารถช่วยเหลือตนเองเบื้องต้นได้ ในกรณี

เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ขึ้ น ภายในหรื อ บริ เ วณรอบท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ โดยวิทยากรเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการดับเพลิงและ กู้ภัย จากฝ่ายดับเพลิงและกู้ภัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึง่ ได้ รับการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น หน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ จากสวัสดิการและคุม้ ครอง แรงงาน เลขทะเบียนที่ ดพ.500903016 ทั้งนี้ เปิดให้บริการ จำนวน 3 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตร “ฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น” ระยะเวลา 1 วัน แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 3.30 ช.ม. 2. หลักสูตร “ฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ” ระยะเวลา 1 วัน แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 3.30 ช.ม. 3. หลักสูตร “ฝึกอบรมทบทวนการดับเพลิงสำหรับลูกเรือ” ระยะเวลา 3 ช.ม. แบ่งเป็นภาคทฤษฎี จำนวน 2 ช.ม. และภาคปฏิบัติ จำนวน 1 ช.ม. สำหรับในปีงบประมาณ 2551 นี้ ทอท.ได้มกี ารจัดวิทยากรด้านการดับเพลิงและกูภ้ ยั ไปให้บริการกับหน่วยงานภายนอกหลายแห่ง อาทิ ฝ่ายช่าง และฝ่ายครัวการบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน), สายการบินบางกอก แอร์เวย์, สายการบินแอร์เอเชีย, บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด และ บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้ำเย็น จำกัด เป็นต้น นับได้ว่า การพัฒนาบุคลากรของ ทอท.ในปัจจุบันนี้ ไม่เพียงมุ่งพัฒนาศักยภาพพนักงาน ทอท.เท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือ

ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องและชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ผ่านการให้ความรู้และการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน และสามารถพัฒนาเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการสร้างรายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการการบิน (non-aeronautical revenue) ให้กับองค์กรได้อีกด้วย

099 รายงานประจำปี 2551


การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย

ภายในอาคารผู้โดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทอท.มีนโยบายที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการตรวจค้นผู้ โดยสารและสัมภาระติดตัวก่อนขึ้นอากาศยาน ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ จากระบบเดิมแบบ Gate Screening สำหรับผู้โดยสารขาออกเที่ยวบินภายในประเทศ และ Concourse Screening สำหรับผู้โดยสารขาออกเที่ยวบินระหว่างประเทศ ให้เป็นระบบการรักษาความปลอดภัยแบบ Centralized Security Screening โดยนอกจากจะมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานของท่าอากาศยานชั้นนำแล้ว ยังเป็นการขยายพื้นที่ปลอดภัย (Sterile Area) ภายในอาคารผู้ โดยสารและลดปัญหาอันอาจเกิดจากโครงสร้างภายในอาคาร

ผู้โดยสารบางจุดที่ล่อแหลมต่อการละเมิดมาตรการรักษาความปลอดภัยอีกด้วย ระบบการรักษาความปลอดภัยแบบ Centralized Security Screening จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกในการตรวจค้น โดยการตั้งจุดตรวจค้นผู้ โดยสารและสัมภาระติดตัวบริเวณหลังเคาน์เตอร์ตรวจบัตร โดยสาร ซึ่งจะมีการติดตั้งเครื่อง X-Ray และเครื่องตรวจจับโลหะชนิดเดินผ่าน (Walk Through Metal Detector) รวมทั้งตรวจ การนำของเหลว เจล สเปรย์ หรือวัตถุและสารอื่นๆ ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน มารวมไว้ที่จุดเดียวกันก่อนเข้า Sterile Area นอกจากการตรวจค้นผู้โดยสารและสัมภาระติดตัวอย่างละเอียดแล้ว บุคคลทุกคนที่จะเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ภายใน Sterile Area

ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ ทอท. เจ้าหน้าที่สายการบิน เจ้าหน้าที่จากหน่วยราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการร้านค้า และ สัมภาระติดตัว รวมถึงสินค้าทุกชิ้นที่ผู้ประกอบการจะนำเข้าไปขายใน Sterile Area จะต้องผ่านการตรวจค้นเช่นเดียวกัน สำหรับ วัตถุแหลมคมทุกชิ้นที่มีความจำเป็นต้องถูกนำเข้าไปใช้ภายใน Sterile Area จะต้องลงทะเบียนและมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งงดจำหน่ายสินค้าที่เป็นวัตถุแหลมคม วัตถุอันตราย และวัตถุต้องห้ามนำพาไปกับอากาศยานทุกชนิด หลังจุดตรวจค้นแบบ Centralized Security Screening ทอท.ได้เริ่มนำระบบ Centralized Security Screening มาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 ในส่วนของผู้ โดยสาร

ขาออกภายในประเทศก่อน สำหรับผู้โดยสารขาออกเทีย่ วบิน ระหว่างประเทศ และผู้โดยสารเปลีย่ นเทีย่ วบิน และผู้โดยสาร ผ่านระหว่างประเทศ ขณะนี้อยู่ ในระหว่างการเตรียมการ

และกำหนดพื้นที่ ในการติดตั้งจุดตรวจค้น และดำเนินการ

ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในต้ น ปี 2552 เพื่ อให้ การรั ก ษาความ ปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับผู้ใช้บริการทุกคน

100 รายงานประจำปี 2551


การบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ทอท. ได้ ด ำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัย ในการทำงานและ ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน ที่ออกตามความใน

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 กฎหมายความปลอดภัย อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาโดยตลอด และได้ปฏิบัติตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี

ที่ประกาศนโยบาย “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี” เป็น ระเบียบวาระแห่งชาติ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในการทำงานกับพนักงานและลูกจ้าง ทอท.ทุกส่วนงาน และ ลดความสูญเสียด้านแรงงาน ความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม

จากการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานอย่างเป็นระบบ ครบถ้วนและสอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย รวมถึงมาตรฐานสากลอื่นๆ และตามที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ได้จัดให้มีการประกวดสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำงานแห่งชาติ โดย

มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการ มีการบริหารและการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการทำงาน ที่เป็นมาตรฐานสากลและสอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย รวมทั้งเพื่อประกาศเกียรติคุณและ

ยกย่องนายจ้าง สถานประกอบกิจการ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพต่อสาธารณชนนั้น ทอท.จึงได้ส่งสำนักงานใหญ่ ทอท.เข้าประกวดสถาน ประกอบกิจการดีเด่น ด้านความปลอดภัยในการทำงานฯ ระดับประเทศ ในปี 2550 และ ในปี 2551 ซึ่งผลการประกวด สำนักงานใหญ่ ทอท.ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ ทั้ง 2 ปี ติดต่อกัน การที่ ทอท.ได้รับรางวัลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ทอท. โดยฝ่ายป้องกันอุบัติภัยและอาชีวอนามัย ซึ่งเป็นหัวหน้าสายวิชาการ ด้ า นการป้ อ งกั นอุบัติภัยและอาชีวอนามัยของ ทอท. ได้ ด ำเนิ น การในเรื่ อ งความปลอดภั ย ในการทำงานอย่ า งจริ ง จั ง และ

ต่อเนื่อง เช่น การฝึกอบรม การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การตรวจสอบด้านความปลอดภัย และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้

พนักงานและลูกจ้างมีจิตสำนึกด้านความปลอดภัย และปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยตามกฎหมาย ข้อบังคับที่กำหนด รวมถึงการ รักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่พนักงานและลูกจ้างในการทำงาน จากการดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานตามกฎหมายความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทำให้

ผู้ปฏิบัติงานเกิดความปลอดภัยและมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี ปราศจากการเจ็บป่วยหรือโรคอันเนื่องมาจากการทำงาน

อีกทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี ในการเป็นองค์กรแห่งความปลอดภัย ต่อหน่วยงานภายนอก ทั้งนี้ ทอท.จะรักษาสภาพ

การเป็นสถานประกอบกิจการดีเด่นระดับประเทศ เพื่อพร้อมสำหรับการพัฒนา ทอท.ให้เป็นองค์กรชั้นนำในระดับสากล และ

เป็นแบบอย่างแก่สถานประกอบกิจการอื่นต่อไป

101

รายงานประจำปี 2551


การพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 (ปีงบประมาณ 2552-2557)

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในปัจจุบัน อยู่ ในช่วงของการพัฒนาระยะที่ 1 ซึ่งได้มีการกำหนดขีดความสามารถให้รองรับ

ผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี (ผู้โดยสารระหว่างประเทศ 33 ล้านคนต่อปี และผู้ โดยสารภายในประเทศ 12 ล้านคนต่อปี)

มีทางวิ่ง 2 เส้นรองรับเที่ยวบินได้ 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง มีหลุมจอดอากาศยาน จำนวน 124 หลุมจอด แบ่งเป็น หลุมจอดประชิด อาคาร จำนวน 51 หลุมจอด และหลุมจอดระยะไกล จำนวน 73 หลุมจอด เมื่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดให้บริการในวันที่ 28 กันยายน 2549 นั้น รัฐบาลมีนโยบายให้ย้ายปริมาณการจราจร

ทางอากาศเชิงพาณิชย์ทั้งหมดจากท่าอากาศยานกรุงเทพมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ส่วนท่าอากาศยานกรุงเทพ ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นท่าอากาศยานดอนเมือง และเปิดให้บริการเฉพาะเที่ยวบิน Non Schedule Flights, Charter Flights และ General Aviation นับจากช่วงเวลาที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดให้บริการเป็นต้นมา ปริมาณการจราจรทางอากาศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

โดยมีปัจจัยสำคัญ คือ การเปิดให้บริการของสายการบินต้นทุนต่ำ เป็นเหตุให้ปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมเิ พิม่ ขึน้ เป็น 46 ล้านคนต่อปี ในปี 2550 เกินกว่าขีดความสามารถทีก่ ำหนดไว้ เกิดเป็นความแออัดคับคัง่ และส่งผลกระทบ ต่อคุณภาพของการให้บริการและความสามารถในการเป็นศูนย์กลางการบินระหว่างประเทศของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิซึ่งเริ่ม ปรากฏชัดตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา เพื่อบรรเทาความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2550 อนุมัติตามที่

คณะกรรมการนโยบายดำเนินกิจการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมืองเสนอ คือ ให้สายการบิน ภายใน ประเทศที่ไม่มีการเชื่อมต่อเที่ยวบินระหว่างประเทศกลับมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมืองตามความสมัครใจในระยะแรก และให้ ศึ ก ษาความเหมาะสมในการใช้ ป ระโยชน์ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง เพื่ อ แบ่ ง เบาปริ ม าณการจราจรทางอากาศจาก

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในระยะต่อไป ในการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีในระยะแรก ทอท.ได้เริ่มให้บริการสายการบินภายในประเทศจำนวน 3 สายการบิน

ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้แก่ การบินไทย, นกแอร์ และ วัน ทู โก อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการย้ายสายการบินภายในประเทศทั้ง 3 สายดังกล่าวมาให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง แต่ก็ เพียงสามารถบรรเทาความแออัดของปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศ บางส่วนเท่านั้น ขณะที่เที่ยวบินระหว่างประเทศแบบประจำทั้งหมดซึ่งยังคงให้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ก็ยังคงประสบ ปัญหาแออัดคับคั่งเช่นเดิม คณะกรรรมการ ทอท.จึงได้มีมติเมื่อ 1 ธันวาคม 2550 ให้ ทอท.ดำเนินการขยายขีดความสามารถของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เพื่อรองรับปริมาณการจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นโดยเร่งด่วน นอกจากนี้ยังให้สายการบินสามารถทำการบินที่

ท่าอากาศยานดอนเมืองเพิ่มเติมได้ ทั้งเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศตามความสมัครใจ เพื่อให้การใช้ทรัพย์สิน

ของชาติเกิดประโยชน์อย่างเต็มที่

102

รายงานประจำปี 2551


ทอท.จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ขึ้น โดยมีแผนที่จะดำเนินโครงการในช่วงปีงบประมาณ 2552-2557 กำหนดขีดความสามารถให้รองรับผู้ โดยสารได้ 60 ล้านคนต่อปี (ผู้ โดยสารระหว่างประเทศ 52 ล้านคนต่อปี

และผู้โดยสารภายในประเทศ 8 ล้านคนต่อปี) และรองรับอากาศยานขึ้น-ลงได้ 90-95 เที่ยวบินต่อชั่วโมง ซึ่งจะเพียงพอในการ รองรับผู้โดยสารและปริมาณการจราจรทางอากาศได้ถึงปี 2561 ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในหลักการแนวทางการ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 เมื่อ 29 เมษายน 2551 ซึ่งมีโครงการสำคัญประกอบด้วย การก่อสร้างอาคารเทียบ เครื่องบินรองหลังที่ 1 และทางวิ่งเส้นที่ 3 โดยให้ ทอท.นำเสนอโครงการต่อกระทรวงคมนาคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ

คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป ทั้งยังเห็นชอบในหลักการให้ ทอท.เปิดให้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ และ

เส้นทางการบินระหว่างประเทศจุดต่อจุดตามความสมัครใจ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยให้กรมการขนส่งทางอากาศพิจารณา ประเด็นข้อผูกพันด้านการบินระหว่างประเทศเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรอบคอบ และให้ ทอท.ศึกษาแนวทางการพัฒนา และการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมืองในกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องเพิ่มเติม โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 มีประมาณการวงเงินลงทุน 77,885.777 ล้านบาท (รวมสำรองราคาและ ปริมาณงานเปลี่ยนแปลงร้อยละ 10 และภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7) ประกอบด้วย 6 กลุ่มงาน ดังนี้ 1. การชดเชยผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 2. กลุ่มงาน Airfield Pavement - งานก่อสร้างทางวิ่งเส้นที่ 3 3. กลุ่มงานอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 3.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารเทียบเครื่องบิน รองหลังที่ 1 3.2 งานก่อสร้างลานจอดอากาศยานประชิดอาคาร เทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 3.3 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนต่อเชื่อมอุโมงค์ ด้านทิศใต้ 3.4 งานออกแบบและติดตั้งระบบขนส่งผู้โดยสาร 4. กลุ่มงานอาคารผู้โดยสาร 4.1 งานออกแบบและก่อสร้างส่วนขยายอาคาร

ผู้โดยสารด้านทิศตะวันออก 4.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงานสายการบินและที่จอดรถด้านทิศตะวันออก (อาคารจอดรถ 1) 5. กลุ่มงานระบบสาธารณูปโภค - งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค 6. งานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ

103

รายงานประจำปี 2551


การใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง

จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2550 เห็นชอบให้ ใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นท่าอากาศยาน

นานาชาติอีกแห่งควบคู่กับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และต่อมาเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2550 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเพิ่มเติม คือ

ในระยะแรกให้สายการบินภายในประเทศที่ไม่มีการเชื่อมต่อเที่ยวบินระหว่างประเทศใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองตามความสมัครใจ และเมื่อ 25 มีนาคม 2550 ได้มีเที่ยวบินแบบประจำภายในประเทศจำนวน 3 สายการบิน ย้ายจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

มาทำการบินที่ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้แก่ การบินไทย, นกแอร์ และ วัน ทู โก ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมืองได้เปิดใช้อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ อาคาร 1 และอาคารผู้โดยสารภายในประเทศ สำหรับให้บริการการบินประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. การบินประเภททั่วไป (General Aviation) 2. การบินเพื่อธุรกิจการค้า (Commercial Aviation) 3. การบินเพื่อการฝึกบิน (Training) 4. การบินแบบไม่ประจำประเภทเช่าเหมาลำ (Non-scheduled Charter Flight) 5. เที่ยวบินภายในประเทศ ทั้งแบบประจำและไม่ประจำ (Domestic Scheduled and Non-scheduled Flights) ในสถานการณ์ปัจจุบัน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรองรับการ ขยายตัวอย่างรวดเร็วของปริมาณจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นเป็น 46 ล้านคนต่อปี ในปี 2550 ส่งผลให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เผชิญกับความแออัดตั้งแต่ปี 2550 ทั้งนี้ เนื่องมาจากโครงการ พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 ดำเนินการล่าช้ากว่า แผนที่ ก ำหนดไว้ รั ฐ บาลจึ ง มี น โยบายให้ ส ายการบิ น ภายใน ประเทศที่ ไม่มีการเชื่อมต่อมาใช้ท่าอากาศยานดอนเมือง โดย ความสมัครใจ และให้ศึกษาความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ท่าอากาศยานดอนเมือง เพื่อช่วยบรรเทาความแออัดของปริมาณ การจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และแนว นโยบายการใช้ พื้ น ที่ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งโดยรวมให้ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในอนาคตนั้ น ท่ า อากาศยานดอนเมื อ งได้ เ สนอ โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการบิน ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่าง

ดำเนินการพิจารณาโครงการดังกล่าว ได้แก่

104

รายงานประจำปี 2551


1. โครงการศูนย์ฝึกบินจำลอง (Simulator Training Center) ใช้อาคาร 4A (อาคาร Catering ของบริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด เดิม) มีพื้นที่ 2,258 ตร.ม. ลานจอดรถยนต์มีพื้นที่ 465 ตร.ม. 2. โครงการอาคารผู้โดยสารสำหรับอากาศยานส่วนตัว โดยใช้อาคารห้องรับรองพิเศษซึ่งมีห้องรับรองพิเศษจำนวน 9 ห้อง และมีพื้นที่รวม 2,888 ตร.ม. 3. โครงการคลังสินค้าเร่งด่วนและไปรษณียภัณฑ์ทางอากาศ โดยใช้อาคารคลังสินค้าที่ 1 มีพื้นที่เก็บสินค้า 21,104 ตร.ม. รองรับสินค้าได้ 211,040 ตันต่อปี 4. ศูนย์ให้บริการสินค้าประเภทเน่าเสียง่ายและสินค้าตามฤดูกาล (Perishable Center) และสินค้าควบคุมอุณหภูมิ (Cool Cargo) โดยใช้คลังสินค้าที่ 2 มีพื้นที่เก็บสินค้า 31,475 ตร.ม. รองรับสินค้าได้ 314,750 ตันต่อปี 5. โครงการศูนย์ซ่อมอากาศยานในรูปแบบเขตปลอดอากร (Customs Free Zone)โดยใช้คลังสินค้าที่ 3, 4 รวมพื้นที่

ต่อเนื่อง มีพื้นที่ 59,790 ตร.ม.

105

รายงานประจำปี 2551



ความรับผิดชอบ ของ ทอท.ต่อสังคม ทอท.มุ่งมั่นให้ชุมชนยั่งยืนด้วย CSR

นับเป็นเวลาถึง 30 ปีแล้วที่ ทอท. ในฐานะรัฐวิสาหกิจ ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงคมนาคม และแปลงสภาพเป็น บริษัทมหาชนจำกัด ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปัจจุบนั โดยเป็นองค์กรในการบริหารท่าอากาศยานนานาชาติรวม 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงราย และ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังนั้น ทอท.จึงเป็นองค์กรที่ผูกพันกับการเดินทางทางอากาศยานของคนไทย พร้อมทั้งเอื้ออำนวยให้เกิด การพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด โดยทั่วไปเมื่อธุรกิจขนาดใหญ่มีการขยายตัวมากขึ้นก็จะนำพาความเจริญพร้อมกับปัญหาใหม่ๆ เข้าสู่สังคมและชุมชนโดยรอบ การดำเนินธุรกิจของท่าอากาศยานแต่ละแห่งก็เช่นกันต้องเกี่ยวข้องกับความคาดหวังของสังคมและชุมชน ทอท.จึงมุ่งมั่นในการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การแก้ไขปัญหามลภาวะด้านเสียงที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ควบคู่ ไปกับการคำนึงถึงแนวคิดการแสดงความรับผิดชอบของ ทอท.ต่อสังคมและสภาพแวดล้อม การดำเนิ น กิ จ กรรมแสดงความรั บ ผิ ด ชอบของ ทอท.ต่ อ สั ง คม “Corporate Social Responsibility : CSR” เริ่ ม จากแนวคิ ด ที่ 1

คือ ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ (Public Responsibility) ซึ่งย้ำเตือนให้ ทอท.ต้องระมัดระวัง และใส่ใจถึงผลทีต่ ามมา (Outcome) จากการดำเนินธุรกิจ ของ บริษั ทฯ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยตรงและพื้นที่ต่อเนื่อง นอกเหนือจาก

พืน้ ทีภ่ ายในของตนเอง ซึง่ จะกลายเป็นประเด็นทางสังคม (Social Issues) ต่อไป แนวคิดที่ 2 คือ ทฤษฎีผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Theory) ซึ่งเป็นเรื่อง ของการจัดการผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร ไม่วา่ จะเป็นลูกค้า พนักงาน ผูถ้ อื หุน้ คูค่ า้ คูแ่ ข่ง ภาครัฐและชุมชน และ แนวคิดที่ 3 คือ บริษัทคือพลเมืองของ สังคม (Corporate Citizenship) ซึ่งต้องมีความรับผิดชอบด้านมนุษยธรรม เพื่อช่วยให้สังคมเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ต้องมีการบริจาคด้วยความ สมัครใจเพื่อช่วยให้สังคมดีขึ้นอย่างยั่งยืน


จากแนวคิด CSR ดังกล่าวข้างต้น ทอท.ได้ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดรูปแบบในการดำเนินการด้าน CSR ของ ทอท. โดย แบ่งเป็น 4 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 การส่งเสริมสังคมจากการทำการตลาด (Cause-related Marketing) โดยการนำส่วนแบ่ง รายได้หรือกำไรจากการประกอบกิจการไปดำเนินการด้านการกุศล รูปแบบที่ 2 การบริจาค (Corporate Philanthropy) และ

รู ป แบบที่ 3 การเป็ น อาสาสมั ค รช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชน (Volunteering) แนวทางนี้ มุ่ ง ให้ อ งค์ ก รกั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในสั ง คม

มีความสัมพันธ์อันดี โดยการให้ผู้บริหาร พนักงาน ตลอดจนชักชวนคู่ค้าเข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมเพื่อสังคมในพื้นที่ การพัฒนา คุณภาพของเยาวชน ทัง้ ด้านชีวติ ความเป็นอยูแ่ ละสุขภาพจิต เป็นตัวอย่างที่ ทอท.ให้ความสำคัญ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อันดีกับ ชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ตลอดจนส่งเสริมเยาวชนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต เช่น การสนับสนุนการก่อสร้างโรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำนวน 3 โรงเรียน ในจังหวัดนราธิวาส มุกดาหาร และเชียงราย ตลอดจน ดูแลมอบเงินสนับสนุนรายปีอย่างต่อเนื่องให้กับโรงเรียนดังกล่าวเป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว ซึ่งเป็นโครงการสำคัญหนึ่งที่ ทอท.

มีนโยบายขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับนักเรียนในถิ่นทุรกันดารให้เพิ่มมากขึ้นทุกปี และการติดตั้งเครื่องเล่นสนามและ

เครื่องออกกำลังกายกลางแจ้งให้แก่โรงเรียนที่อยู่โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินงาน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 22 โรงเรียน เป็นสิง่ ที่ ทอท.ได้ดำเนินการไปแล้วเช่นกัน รูปแบบที่ 4 การดำเนินธุรกิจอย่าง

มีความรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsibility Business Practice) คือการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินธุรกิจขององค์กร เพื่อไม่ ให้เกิดผลกระทบด้านลบกับสังคมและสิ่งแวดล้อม หรือให้เกิดขึน้ น้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ เช่น เนือ่ งจากการดำเนินงาน

ของ ทอท.มีส่วนเกี่ยวข้องกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม ทอท.จึงมีการให้บริการกับสายการบินด้วยระบบ PC AIR และระบบไฟฟ้า 400 Hertz เพือ่ ลดมลภาวะที่เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงอากาศยานภายในลานจอดมากว่า 10 ปีแล้วเช่นกัน การทำ CSR ของ ทอท.เปิดโอกาสให้พนักงานร่วมแสดงความคิดเห็น เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในองค์กรที่ทำประโยชน์เพื่อ สังคมและเกิดความรักในองค์กร และยังเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อให้ ทอท.ได้รับความไว้วางใจ จากชุมชนและสังคม ให้คนในชุมชนมีคุณภาพ ทำให้ชุมชนเข้มแข็งและเป็นสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขตลอดไป

108

รายงานประจำปี 2551


109

รายงานประจำปี 2551


การสนับสนุนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

ทอท.สนับสนุนการก่อสร้างโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยจำนวน 3 โรงเรียน ในจังหวัด นราธิวาส มุกดาหาร และเชียงราย ตลอดจนดูแลมอบเงินสนับสนุนรายปีให้ทั้ง 3 โรงเรียนนี้อย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 10 ปี แล้ว เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจการของโรงเรียนเป็นรายปีโรงเรียนละ 150,000.- บาท ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2542 จนถึงปัจจุบัน โดยในแต่ละปีจะมีผู้บริหาร ทอท.ไปตรวจเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียน พร้อมทั้งนำอุปกรณ์การศึกษาไปมอบ ให้กับนักเรียนและคณะครู ตชด. และจัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ การดำเนินกิจกรรมดังกล่าว สอดคล้องกับนโยบายของ ทอท.ในการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศไทยมาโดยตลอด โดยเฉพาะ การขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่เขตพื้นที่ทุรกันดาร กอปรกับเพื่อเป็นการสนองพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และแสดงถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ทอท.สนับสนุนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทั้ง 3 แห่ง ดังนี้

1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

ตั้งอยู่ ณ บ้านไอร์จาดา อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2543 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา ทำการสอนตั้งแต่ชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ใช้งบประมาณ ก่อสร้างฯ เป็นเงิน 4,000,000.- บาท และในปี 2549 ทอท.ได้ให้การสนับสนุนโครงการ ก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 6 ห้องเรียนเพิ่มเติม เป็นเงิน 2,530,000.- บาท

110

รายงานประจำปี 2551


2. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ในวโรกาสเฉลิมฉลอง 100 ปี

วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ตั้งอยู่บ้านถาวรพนา ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 26 กันยายน 2544 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา ทำการสอน

ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ใช้งบประมาณก่อสร้าง เป็นเงิน 4,000,000.- บาท และได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมและ ติดตามงานโครงการพระราชดำริฯ เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2549

3. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 4 รอบ 2 เมษายน 2546

ตั้งอยู่บ้านนาโต่ ตำบลแม่สลองใน อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 25 มีนาคม 2546 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา แห่งแรกของ ร.ร.ตชด.ทั่วประเทศ ทำการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ใช้งบประมาณก่อสร้างฯ เป็นเงิน 11,000,000.- บาท และในปี 2547 ทอท.ได้ให้การสนับสนุนโครงการก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 3 ห้องเรียนเพิ่มเติมเป็นเงิน 1,100,000.- บาท และได้เสด็จ พระราชดำเนินทรงเยี่ยมและติดตามงานโครงการพระราชดำริฯ เมื่อ 1 มีนาคม 2549 และ 18 กุมภาพันธ์ 2551

111

รายงานประจำปี 2551


การสนับสนุนองค์การสหประชาชาติ (United Nations)

โครงการอาหารโลกแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations World Food Programme - WFP) ได้ ข อใช้ พื้ น ที่

ท่าอากาศยานของไทยเป็นศูนย์รวบรวมรับส่งสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อลำเลียงส่งมอบให้ผู้ประสบภัยจากพายุไซโคลนนาร์กิสใน สหภาพพม่า ด้วยเหตุผลด้านมนุษยธรรมและความร่วมมือระหว่างประเทศ ทอท.จึงอนุญาตให้ WFP ใช้พื้นที่อาคารคลังสินค้า 3

ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นศูนย์รวบรวมรับส่งสิง่ ของบรรเทาทุกข์เพือ่ ลำเลียงส่งมอบให้พม่าเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ตัง้ แต่ วันที่ 24 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 23 สิงหาคม 2551 โดยมีบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เป็นตัวแทนด้านการให้บริการ ภาคพื้น และบริษัท Cargo Marketing International จำกัด (CMI) เป็นผู้ดำเนินการด้านพิธีการศุลกากร ซึ่ง ทอท.ได้ยกเว้นการ เรียกเก็บค่าเช่าพื้นที่ และเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 ได้มีพิธีเปิดเที่ยวบินปฐมฤกษ์ของสหประชาชาติสำหรับลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัย ให้ แ ก่ ผู้ ป ระสบภั ย จากพายุ ไ ซโคลนนาร์ กิ ส ในสหภาพพม่ า จากพื้ น ที่ ร วบรวมและลำเลี ย งสั ม ภาระของสหประชาชาติ

(United Nations’ Staging Area – UNSA) ที่ ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยมี นายปัน กีมุน เลขาธิการสหประชาชาติ,

นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีของไทย, นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน, นายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศ และ นางกัลยา ผกากรอง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ทอท.เป็นผู้แทน ทอท.เข้าร่วมพิธีดังกล่าว

112

รายงานประจำปี 2551


กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์

ทอท.เน้นความสำคัญของกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนรอบท่าอากาศยานทุกแห่ง โดยให้การสนับสนุน ส่งเสริม และริเริ่มสร้างสรรค์กิจกรรมและโครงการอันเป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรอบทั้งทางด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เยาวชน และสิ่งแวดล้อมด้วยดีเสมอมา

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นับตัง้ แต่เปิดดำเนินการเมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2549 เป็นต้นมา ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมชุ ม ชน สัมพันธ์ต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำ ทุกปี เพื่อให้ความสำคัญแก่เด็กและเยาวชนที่จะเติบโตเป็นกำลัง สำคัญของชาติต่อไปในอนาคต การสนับสนุนการเรียนการสอน ของศูนย์เด็กเล็กในชุมชนต่างๆ โครงการ “มอบความรู้สู่ชุมชน สร้างสัมพันธ์สมานฉันท์สวุ รรณภูม”ิ โดยจัดทำตูห้ นังสือจำนวน 40 ตู้ สำหรับจัดเก็บหนังสือในหมวดต่างๆ นอกจากนั้นท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิยังให้การสนับสนุนงานประเพณีท้องถิ่นโดยไม่จำกัด

เชื้อชาติและศาสนา เช่น ประเพณี โยนบัว และงานประเพณี

อั๊ ล บุ้ ซ รอของศาสนาอิสลาม รวมถึงให้ความช่วยเหลื อ เมื่ อ เกิ ด เหตุการณ์ฉุกเฉิน

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเปิดให้บริการเที่ยวบินระหว่าง ประเทศในลักษณะเช่าเหมาลำและรองรับเที่ยวบินภายในประเทศ บางส่ ว นยั ง คงมุ่ ง เน้ น การเสริ ม สร้ า งประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนอย่ า ง

ต่ อ เนื่ อ ง เช่ น มอบเงิ น สนั บ สนุ น ปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซมจุ ด ควบคุ ม สัญญาณไฟจราจรแยกสถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง เพื่ออำนวย ความสะดวกกับเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในการให้บริการประชาชน ในชุมชน และยังมอบเสื้อกันฝนแก่ฝ่ายงานป้องกันปราบปราม สถานีตำรวจนครบาลดอนเมืองเพื่อให้เจ้าหน้าที่สวมใส่ปฏิบัติงาน ในช่วงหน้าฝน นอกเหนือจากการมอบเงินและสิ่งของสนับสนุนแล้ว ท่าอากาศยานดอนเมืองยังมีการจัดกิจกรรมวันเด็กเป็นประจำทุกปี ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนโดยรอบอย่างสม่ำเสมอ เช่น กิจกรรมร่วมกับทางวัดและทางโรงเรียน เป็นต้น

113

รายงานประจำปี 2551


ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานภูเก็ตตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชน ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไปในอนาคต จึงได้ จัดงานวันเด็กแห่งชาติเป็นประจำทุกปี เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตลอดจนได้เรียนรู้และเพิ่มพูน ทักษะในด้านต่างๆ อีกหนึ่งกิจกรรมที่สำคัญของท่าอากาศยานภูเก็ตคือ การให้บริการอำนวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางไป และ เดินทางกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์ ณ นครมักกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งในแต่ละปีจะมีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก

ท่าอากาศยานภูเก็ตจึงต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ และประสานกับชุมชนโดยรอบเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงาน

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานเชียงใหม่

เพื่อก้าวสู่การเป็นประตูแห่งเมืองทองของล้านนาได้อย่างเต็มภาคภูมิ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนโดยรอบ งานทอดกฐินประจำปีเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลักที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่ได้จัดขึ้นร่วมกับชุมชน โดยสลับหมุนเวียนไปตามวัดต่างๆ ซึ่งนอกจากจะเป็นการทำนุบำรุงพุทธศาสนาแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างพนักงานลูกจ้างท่าอากาศยานเชียงใหม่กับชาวบ้านในชุมชน นอกจากนั้นยังได้จัดและร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่ชุมชน จัดขึ้น อาทิ กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติ การถวายเทียนพรรษา การมอบทุนการศึกษาและอุปกรณ์การเรียนแก่เด็กนักเรียน และ การขุดลอกคูคลองระบายน้ำ เป็นต้น

114

รายงานประจำปี 2551


ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานหาดใหญ่

กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์เป็นหนึ่งในพันธกิจสำคัญของท่าอากาศยานหาดใหญ่ โดยในรอบปีที่ผ่านมา ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ อาทิ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี กิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติโครงการ “ทอท.รวมใจ ภักดิ์รกั ในหลวง” เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การอำนวยความสะดวกให้กับพี่น้อง มุสลิมที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ ประเทศซาอุดิอาระเบีย และกิจกรรมเลี้ยงอาหารกลางวันแก่เด็กพิการทางปัญญาบ้าน สงขลา และมอบเงินสนับสนุนทางโรงเรียน เป็นต้น

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานเชียงราย

ท่าอากาศยานเชียงรายมีการดำเนินกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งทางด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กีฬา ฯลฯ เช่น การจัดงานวันเด็กแห่งชาติ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี การเปิดโอกาสให้สถาบันการศึกษาต่าง ๆ

เข้าเยี่ยมชมและศึกษากิจการการบินของทางท่าอากาศยาน การสนับสนุนให้พนักงานและชุมชนออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง สุขภาพ การจัดให้มกี ารรับบริจาคโลหิตภายในท่าอากาศยานเชียงรายในวาระสำคัญ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือต่อสังคม

ในกรณีฉุกเฉินต่างๆ

115

รายงานประจำปี 2551


การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

ทอท.ดำเนินกิจการท่าอากาศยานในความรับผิดชอบด้วยความห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม และตระหนักถึงความรับผิดชอบในการ รักษา แก้ไข ป้องกัน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกับชุมชนโดยรอบท่าอากาศยานตลอดมา โดยท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง มี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่ว่าจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลัก สุขาภิบาล โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบประปา และสถานีสูบระบายน้ำได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 14001, ISO 18001 และ ISO 9001 และยังได้รับการรับรองน้ำประปาดื่มได้ในพื้นที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

จากการประปานครหลวงเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2550 นอกจากนี้ท่าอากาศยานแต่ละแห่งยังมีการดำเนินการตามมาตรการ ป้องกัน แก้ ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างครบถ้วน ส่งผลให้

ท่าอากาศยานเชียงรายได้รับรางวัล EIA MONITORING AWARD จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประจำปี 2549 และ 2550 อีกด้วย สำหรับผูท้ ี่ได้รบั ผลกระทบสิง่ แวดล้อมด้านเสียงจากการดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมทิ งั้ ทีเ่ ป็นบ้านพักอาศัย ศาสนสถาน สถานศึกษา และสถานพยาบาลนั้น ทอท.ได้ดำเนินการชดเชยตามมาตรการที่ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนแล้วในรายงานการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพิ่มเติม (สืบเนื่องจากการเพิ่มจำนวนผู้ โดยสารในปีเปิดดำเนินการ)

(Environmental Impact Assessment : EIA) ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ เมือ่ 10 มีนาคม 2548 และตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 29 พฤษภาคม 2550 สรุปความคืบหน้าการดำเนินงานจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 ดังนี้

116

รายงานประจำปี 2551


1. พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF>40 มีอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 503 อาคาร โดยมีเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินและ

สิ่ ง ปลู ก สร้ า งต้ อ งการขายจำนวน 153 อาคาร ทอท.ได้ ป ระเมิ น ราคาที่ ดิ น และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งแล้ ว จำนวน 54 อาคาร

ซึ่งในจำนวนนี้มีการจ่ายเงินเพื่อซื้อขายและโอนกรรมสิทธิ์แล้ว 16 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือจำนวน 99 อาคาร ทอท.จะ

ดำเนิ น การประเมิ น ราคาโดยเที ย บเคี ย งแนวทางการกำหนดค่ า ทดแทนความเสี ย หายที่ ต้ อ งออกจากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่

ถูกเวนคืนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 ต่อไป สำหรับเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ต้องการปรับปรุง อาคาร จำนวน 342 อาคาร ทอท.ได้มอบเงินให้ไปดำเนินการปรับปรุงอาคารเองแล้วจำนวน 231 อาคาร และปัจจุบันอยู่ระหว่าง ติดตามเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ยังไม่แสดงความประสงค์ในการรับการชดเชยอีก 8 อาคาร 2. พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF 30-40 ที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 8,966 อาคาร ทอท.จะสนับสนุนการปรับปรุงอาคาร และสิง่ ปลูกสร้างโดยทำการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนภายในอาคาร หากพบว่าโครงการทำให้มรี ะดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล (เอ) ทอท.จะมอบเงินให้ ไปดำเนินการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบ

ด้านเสียง จากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โดยในปีงบประมาณ 2551 ทอท.ได้ดำเนินการตรวจวัด ระดับเสียงรบกวนภายในอาคารและประเมินงบประมาณค่าปรับปรุงอาคารให้อาคารทีม่ เี สียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล (เอ) แล้วประมาณ 1,000 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือจะดำเนินการในปีงบประมาณต่อไป 3. ทอท.ได้ ส นั บ สนุ น งบประมาณให้ ส ถานที่ อ่ อ นไหวต่ อ ผลกระทบด้ า นเสี ย งได้ แ ก่ สถานศึ ก ษา สถานพยาบาลและ

ศาสนสถาน จำนวน 11 แห่ง เพื่อไปปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง เป็นเงินงบประมาณ 190.5 ล้านบาท

117

รายงานประจำปี 2551


การสนับสนุนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน

ทอท.สนับสนุนการก่อสร้างโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยจำนวน 3 โรงเรียน ในจังหวัด นราธิวาส มุกดาหาร และเชียงราย ตลอดจนดูแลมอบเงินสนับสนุนรายปีให้ทั้ง 3 โรงเรียนนี้อย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 10 ปี แล้ว เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจการของโรงเรียนเป็นรายปีโรงเรียนละ 150,000.- บาท ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2542 จนถึงปัจจุบัน โดยในแต่ละปีจะมีผู้บริหาร ทอท.ไปตรวจเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียน พร้อมทั้งนำอุปกรณ์การศึกษาไปมอบ ให้กับนักเรียนและคณะครู ตชด. และจัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ การดำเนินกิจกรรมดังกล่าว สอดคล้องกับนโยบายของ ทอท.ในการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศไทยมาโดยตลอด โดยเฉพาะ การขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่เขตพื้นที่ทุรกันดาร กอปรกับเพื่อเป็นการสนองพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และแสดงถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ทอท.สนับสนุนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทั้ง 3 แห่ง ดังนี้

1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

ตั้งอยู่ ณ บ้านไอร์จาดา อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2543 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา ทำการสอนตั้งแต่ชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ใช้งบประมาณ ก่อสร้างฯ เป็นเงิน 4,000,000.- บาท และในปี 2549 ทอท.ได้ให้การสนับสนุนโครงการ ก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 6 ห้องเรียนเพิ่มเติม เป็นเงิน 2,530,000.- บาท

110

รายงานประจำปี 2551


2. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ในวโรกาสเฉลิมฉลอง 100 ปี

วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ตั้งอยู่บ้านถาวรพนา ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 26 กันยายน 2544 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา ทำการสอน

ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ใช้งบประมาณก่อสร้าง เป็นเงิน 4,000,000.- บาท และได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมและ ติดตามงานโครงการพระราชดำริฯ เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2549

3. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 4 รอบ 2 เมษายน 2546

ตั้งอยู่บ้านนาโต่ ตำบลแม่สลองใน อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดโรงเรียนฯ เมื่อ 25 มีนาคม 2546 ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา แห่งแรกของ ร.ร.ตชด.ทั่วประเทศ ทำการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ใช้งบประมาณก่อสร้างฯ เป็นเงิน 11,000,000.- บาท และในปี 2547 ทอท.ได้ให้การสนับสนุนโครงการก่อสร้างอาคารเรียนขนาด 3 ห้องเรียนเพิ่มเติมเป็นเงิน 1,100,000.- บาท และได้เสด็จ พระราชดำเนินทรงเยี่ยมและติดตามงานโครงการพระราชดำริฯ เมื่อ 1 มีนาคม 2549 และ 18 กุมภาพันธ์ 2551

111

รายงานประจำปี 2551


การสนับสนุนองค์การสหประชาชาติ (United Nations)

โครงการอาหารโลกแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations World Food Programme - WFP) ได้ ข อใช้ พื้ น ที่

ท่าอากาศยานของไทยเป็นศูนย์รวบรวมรับส่งสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อลำเลียงส่งมอบให้ผู้ประสบภัยจากพายุไซโคลนนาร์กิสใน สหภาพพม่า ด้วยเหตุผลด้านมนุษยธรรมและความร่วมมือระหว่างประเทศ ทอท.จึงอนุญาตให้ WFP ใช้พื้นที่อาคารคลังสินค้า 3

ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นศูนย์รวบรวมรับส่งสิง่ ของบรรเทาทุกข์เพือ่ ลำเลียงส่งมอบให้พม่าเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ตัง้ แต่ วันที่ 24 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 23 สิงหาคม 2551 โดยมีบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เป็นตัวแทนด้านการให้บริการ ภาคพื้น และบริษัท Cargo Marketing International จำกัด (CMI) เป็นผู้ดำเนินการด้านพิธีการศุลกากร ซึ่ง ทอท.ได้ยกเว้นการ เรียกเก็บค่าเช่าพื้นที่ และเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 ได้มีพิธีเปิดเที่ยวบินปฐมฤกษ์ของสหประชาชาติสำหรับลำเลียงสิ่งของบรรเทาสาธารณภัย ให้ แ ก่ ผู้ ป ระสบภั ย จากพายุ ไ ซโคลนนาร์ กิ ส ในสหภาพพม่ า จากพื้ น ที่ ร วบรวมและลำเลี ย งสั ม ภาระของสหประชาชาติ

(United Nations’ Staging Area – UNSA) ที่ ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยมี นายปัน กีมุน เลขาธิการสหประชาชาติ,

นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีของไทย, นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน, นายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศ และ นางกัลยา ผกากรอง รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ทอท.เป็นผู้แทน ทอท.เข้าร่วมพิธีดังกล่าว

112

รายงานประจำปี 2551


กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์

ทอท.เน้นความสำคัญของกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนรอบท่าอากาศยานทุกแห่ง โดยให้การสนับสนุน ส่งเสริม และริเริ่มสร้างสรรค์กิจกรรมและโครงการอันเป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรอบทั้งทางด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เยาวชน และสิ่งแวดล้อมด้วยดีเสมอมา

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นับตัง้ แต่เปิดดำเนินการเมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2549 เป็นต้นมา ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมชุ ม ชน สัมพันธ์ต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำ ทุกปี เพื่อให้ความสำคัญแก่เด็กและเยาวชนที่จะเติบโตเป็นกำลัง สำคัญของชาติต่อไปในอนาคต การสนับสนุนการเรียนการสอน ของศูนย์เด็กเล็กในชุมชนต่างๆ โครงการ “มอบความรู้สู่ชุมชน สร้างสัมพันธ์สมานฉันท์สวุ รรณภูม”ิ โดยจัดทำตูห้ นังสือจำนวน 40 ตู้ สำหรับจัดเก็บหนังสือในหมวดต่างๆ นอกจากนั้นท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิยังให้การสนับสนุนงานประเพณีท้องถิ่นโดยไม่จำกัด

เชื้อชาติและศาสนา เช่น ประเพณี โยนบัว และงานประเพณี

อั๊ ล บุ้ ซ รอของศาสนาอิสลาม รวมถึงให้ความช่วยเหลื อ เมื่ อ เกิ ด เหตุการณ์ฉุกเฉิน

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเปิดให้บริการเที่ยวบินระหว่าง ประเทศในลักษณะเช่าเหมาลำและรองรับเที่ยวบินภายในประเทศ บางส่ ว นยั ง คงมุ่ ง เน้ น การเสริ ม สร้ า งประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนอย่ า ง

ต่ อ เนื่ อ ง เช่ น มอบเงิ น สนั บ สนุ น ปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซมจุ ด ควบคุ ม สัญญาณไฟจราจรแยกสถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง เพื่ออำนวย ความสะดวกกับเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในการให้บริการประชาชน ในชุมชน และยังมอบเสื้อกันฝนแก่ฝ่ายงานป้องกันปราบปราม สถานีตำรวจนครบาลดอนเมืองเพื่อให้เจ้าหน้าที่สวมใส่ปฏิบัติงาน ในช่วงหน้าฝน นอกเหนือจากการมอบเงินและสิ่งของสนับสนุนแล้ว ท่าอากาศยานดอนเมืองยังมีการจัดกิจกรรมวันเด็กเป็นประจำทุกปี ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนโดยรอบอย่างสม่ำเสมอ เช่น กิจกรรมร่วมกับทางวัดและทางโรงเรียน เป็นต้น

113

รายงานประจำปี 2551


ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานภูเก็ตตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชน ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไปในอนาคต จึงได้ จัดงานวันเด็กแห่งชาติเป็นประจำทุกปี เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตลอดจนได้เรียนรู้และเพิ่มพูน ทักษะในด้านต่างๆ อีกหนึ่งกิจกรรมที่สำคัญของท่าอากาศยานภูเก็ตคือ การให้บริการอำนวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางไป และ เดินทางกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์ ณ นครมักกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งในแต่ละปีจะมีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก

ท่าอากาศยานภูเก็ตจึงต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ และประสานกับชุมชนโดยรอบเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงาน

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานเชียงใหม่

เพื่อก้าวสู่การเป็นประตูแห่งเมืองทองของล้านนาได้อย่างเต็มภาคภูมิ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนโดยรอบ งานทอดกฐินประจำปีเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลักที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่ได้จัดขึ้นร่วมกับชุมชน โดยสลับหมุนเวียนไปตามวัดต่างๆ ซึ่งนอกจากจะเป็นการทำนุบำรุงพุทธศาสนาแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างพนักงานลูกจ้างท่าอากาศยานเชียงใหม่กับชาวบ้านในชุมชน นอกจากนั้นยังได้จัดและร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่ชุมชน จัดขึ้น อาทิ กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติ การถวายเทียนพรรษา การมอบทุนการศึกษาและอุปกรณ์การเรียนแก่เด็กนักเรียน และ การขุดลอกคูคลองระบายน้ำ เป็นต้น

114

รายงานประจำปี 2551


ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานหาดใหญ่

กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์เป็นหนึ่งในพันธกิจสำคัญของท่าอากาศยานหาดใหญ่ โดยในรอบปีที่ผ่านมา ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ อาทิ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี กิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติโครงการ “ทอท.รวมใจ ภักดิ์รกั ในหลวง” เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การอำนวยความสะดวกให้กับพี่น้อง มุสลิมที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ ประเทศซาอุดิอาระเบีย และกิจกรรมเลี้ยงอาหารกลางวันแก่เด็กพิการทางปัญญาบ้าน สงขลา และมอบเงินสนับสนุนทางโรงเรียน เป็นต้น

ชุมชนสัมพันธ์ท่าอากาศยานเชียงราย

ท่าอากาศยานเชียงรายมีการดำเนินกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งทางด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กีฬา ฯลฯ เช่น การจัดงานวันเด็กแห่งชาติ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี การเปิดโอกาสให้สถาบันการศึกษาต่าง ๆ

เข้าเยี่ยมชมและศึกษากิจการการบินของทางท่าอากาศยาน การสนับสนุนให้พนักงานและชุมชนออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง สุขภาพ การจัดให้มกี ารรับบริจาคโลหิตภายในท่าอากาศยานเชียงรายในวาระสำคัญ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือต่อสังคม

ในกรณีฉุกเฉินต่างๆ

115

รายงานประจำปี 2551


การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

ทอท.ดำเนินกิจการท่าอากาศยานในความรับผิดชอบด้วยความห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม และตระหนักถึงความรับผิดชอบในการ รักษา แก้ไข ป้องกัน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกับชุมชนโดยรอบท่าอากาศยานตลอดมา โดยท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง มี ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่ว่าจะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลัก สุขาภิบาล โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบประปา และสถานีสูบระบายน้ำได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO 14001, ISO 18001 และ ISO 9001 และยังได้รับการรับรองน้ำประปาดื่มได้ในพื้นที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

จากการประปานครหลวงเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2550 นอกจากนี้ท่าอากาศยานแต่ละแห่งยังมีการดำเนินการตามมาตรการ ป้องกัน แก้ ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างครบถ้วน ส่งผลให้

ท่าอากาศยานเชียงรายได้รับรางวัล EIA MONITORING AWARD จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประจำปี 2549 และ 2550 อีกด้วย สำหรับผูท้ ี่ได้รบั ผลกระทบสิง่ แวดล้อมด้านเสียงจากการดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมทิ งั้ ทีเ่ ป็นบ้านพักอาศัย ศาสนสถาน สถานศึกษา และสถานพยาบาลนั้น ทอท.ได้ดำเนินการชดเชยตามมาตรการที่ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนแล้วในรายงานการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเพิ่มเติม (สืบเนื่องจากการเพิ่มจำนวนผู้ โดยสารในปีเปิดดำเนินการ)

(Environmental Impact Assessment : EIA) ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ เมือ่ 10 มีนาคม 2548 และตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 29 พฤษภาคม 2550 สรุปความคืบหน้าการดำเนินงานจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 ดังนี้

116

รายงานประจำปี 2551


1. พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF>40 มีอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 503 อาคาร โดยมีเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินและ

สิ่ ง ปลู ก สร้ า งต้ อ งการขายจำนวน 153 อาคาร ทอท.ได้ ป ระเมิ น ราคาที่ ดิ น และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งแล้ ว จำนวน 54 อาคาร

ซึ่งในจำนวนนี้มีการจ่ายเงินเพื่อซื้อขายและโอนกรรมสิทธิ์แล้ว 16 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือจำนวน 99 อาคาร ทอท.จะ

ดำเนิ น การประเมิ น ราคาโดยเที ย บเคี ย งแนวทางการกำหนดค่ า ทดแทนความเสี ย หายที่ ต้ อ งออกจากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่

ถูกเวนคืนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 ต่อไป สำหรับเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ต้องการปรับปรุง อาคาร จำนวน 342 อาคาร ทอท.ได้มอบเงินให้ไปดำเนินการปรับปรุงอาคารเองแล้วจำนวน 231 อาคาร และปัจจุบันอยู่ระหว่าง ติดตามเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ยังไม่แสดงความประสงค์ในการรับการชดเชยอีก 8 อาคาร 2. พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ NEF 30-40 ที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 8,966 อาคาร ทอท.จะสนับสนุนการปรับปรุงอาคาร และสิง่ ปลูกสร้างโดยทำการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนภายในอาคาร หากพบว่าโครงการทำให้มรี ะดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล (เอ) ทอท.จะมอบเงินให้ ไปดำเนินการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบ

ด้านเสียง จากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โดยในปีงบประมาณ 2551 ทอท.ได้ดำเนินการตรวจวัด ระดับเสียงรบกวนภายในอาคารและประเมินงบประมาณค่าปรับปรุงอาคารให้อาคารทีม่ เี สียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล (เอ) แล้วประมาณ 1,000 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือจะดำเนินการในปีงบประมาณต่อไป 3. ทอท.ได้ ส นั บ สนุ น งบประมาณให้ ส ถานที่ อ่ อ นไหวต่ อ ผลกระทบด้ า นเสี ย งได้ แ ก่ สถานศึ ก ษา สถานพยาบาลและ

ศาสนสถาน จำนวน 11 แห่ง เพื่อไปปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง เป็นเงินงบประมาณ 190.5 ล้านบาท

117

รายงานประจำปี 2551



งบการเงิน


รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ทอท. ต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของ ทอท. ซึ่งจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยได้มกี ารพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นอิสระกำกับดูแลงบการเงินและประเมินระบบ การควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่ามีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถูกต้องครบถ้วน อย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติ ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของ

คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจำปีนี้แล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท สามารถสร้างความเชื่อมั่นได้ว่างบการเงินของ ทอท.แสดง ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดถูกต้องในสาระสำคัญแล้ว

( นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ ) ประธานกรรมการ

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

120

รายงานประจำปี 2551


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำปีงบประมาณ 2551 คณะกรรมการตรวจสอบได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ทอท. ในการ ประชุมครั้งที่ 6 /2551 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 ประกอบด้วย นายถาวร พานิชพันธ์ เป็น ประธานกรรมการ นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ เป็น กรรมการ นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็น กรรมการ นายอภิชาติ สายะสิต เป็น กรรมการ นายกมล แดงพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบ เป็น เลขานุการ ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 - กันยายน 2551) คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดให้มีการประชุม 9 ครั้ง โดยมุ่งเน้น ให้เป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพของคณะกรรมการบริษัทในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบกิจการภายใน ซึ่งจะช่วยให้ฝ่ายบริหารของ ทอท.สามารถบริหารและควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของ ทอท.ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดได้ดียิ่งขึ้น ในการดำเนินงานระหว่างปี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานทางการเงินร่วมกับผูบ้ ริหารด้านการบัญชีและการเงิน และผู้สอบบัญชีของ ทอท. คือ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. ซึ่งผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายงานทางการเงินของ ทอท.ได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควร และเป็นตามมาตรฐานการบัญชีรับรองทั่วไป และการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินเป็นไป อย่างเพียงพอ ซึ่งรวมถึงรายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ถูกต้อง ครบถ้วน การจัดทำรายงานการเงินทันเวลาและจัดส่ง

ให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ตามเวลาทีก่ ำหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในด้านการเงิน และด้านการปฏิบัติการดำเนินงานของ ทอท. ได้ ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร เพื่อการปรับปรุงงาน

ด้านการบริหารความเสีย่ ง และด้านระบบการควบคุมภายในของ ทอท.ให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ นอกจากนีย้ งั ได้รบั ทราบ และให้

ข้อเสนอแนะรายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ในการนี้คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ใช้รายงานผลการตรวจสอบภายใน

ซึ่งดำเนินการโดยสำนักตรวจสอบ ทอท. เป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการนำข้อเสนอแนะ และปรับปรุงงานของ ทอท. ด้วย คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรอบคอบ มีความเป็นอิสระ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล

ที่ดี ซึ่งจากการสอบทานและพิจารณาเรื่องต่างๆ ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ดำเนินการมาตลอดปี 2551 คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า ทอท.มีกระบวนการจัดทำรายงานทางการเงิน รายงานการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และ

การตรวจสอบภายใน เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตามหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบรัฐวิสาหกิจ ซึง่ กำหนดโดยกระทรวงการคลัง รวมทัง้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษัทกำหนด ( นายถาวร พานิชพันธ์ ) ประธานกรรรมการตรวจสอบ 29 ตุลาคม 2551

121

รายงานประจำปี 2551


รายงานของผู้สอบบัญชี เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550

งบกำไรขาดทุ น รวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษั ท งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงในส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น รวมและงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ของแต่ละปี ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนสำนักงาน

การตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้สำนักงาน

การตรวจเงินแผ่นดินต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำนวนเงินและการเปิดเผย ข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่บริษัทใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็น สาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอใน

งบการเงินโดยรวม สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดง ความเห็นของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและแสดง ฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษัท

การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไม่เป็นเงื่อนไขในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินขอให้สังเกตเรื่องต่อไปนี้ 1. หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4.1 บริษัท ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จากวิธีส่วนได้เสียมาเป็นวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) 2. หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.31.2 เรื่องข้อพิพาทกับบริษัทเอกชน

( คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ) ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน

สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน วันที่ 21 พฤศจิกายน 2551

122

รายงานประจำปี 2551

( นางดาหวัน วงศ์พยัคฆ์ ) นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน 9 ชช.


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า-สุทธิ ลูกหนี้อื่น สินค้าและวัสดุคงเหลือ-สุทธิ รายได้ค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

งบการเงินรวม 2551

หมายเหตุ

6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 6.10 6.11 6.12 6.13

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

8,437,365,623.51 10,231,387,965.24 8,338,266,634.60 10,208,038,131.42 11,557,828,924.58 4,503,250,658.11 11,557,828,924.58 4,503,250,658.11 1,654,325,763.81 1,789,511,118.90 1,582,781,489.87 1,720,916,200.99 1,269,139,769.25 1,271,179,754.84 1,255,384,381.92 1,263,010,384.13 209,706,665.33 130,979,381.95 201,740,621.84 122,950,562.76 1,367,353,328.17 989,891,553.77 1,374,666,257.50 1,013,055,710.77 190,399,417.96 226,295,352.50 175,833,767.76 213,621,854.81 24,686,119,492.61 19,142,495,785.31 24,486,502,078.07 19,044,843,502.99 191,740,321.88 174,653,058.38 39,789,293,000.00 39,789,293,000.00 989,758,437.98 379,710,000.00 989,758,437.98 379,710,000.00 108,182,166,353.72 111,805,660,295.60 105,995,565,167.80 109,398,661,834.03 6,154,117,881.81 5,855,330,700.22 6,154,117,881.81 5,855,330,700.22 1,029,199,964.25 1,045,450,652.88 1,029,199,964.25 1,045,450,652.88 5,222,870,555.28 5,063,684,401.25 5,222,870,555.28 5,063,684,401.25

121,769,853,514.92 124,324,489,108.33 159,180,805,007.12 161,532,130,588.38 146,455,973,007.53 143,466,984,893.64 183,667,307,085.19 180,576,974,091.37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

123

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้งานระหว่างทำ ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินมัดจำและเงินประกันสัญญา หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกองทุนสงเคราะห์ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย รายได้สัมปทานรับล่วงหน้า หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินรวม 2551

หมายเหตุ

505,069,868.31 924,055,458.52 339,166,054.60 108,098,250.14 1,229,233,331.48 108,098,250.14 339,782,446.97 624,190,821.57 339,782,446.97 2,709,446,981.87 2,987,646,211.43 2,773,925,424.65 6.16 6.14 6.15 6.16

1,861,573,394.89 - 182,244,749.68 4,682,376,761.49 10,388,592,453.35 58,564,516,506.32

6.17

38,941,079.00 - 6.18 1,155,528,960.03 59,758,986,545.35 70,147,578,998.70

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

124

รายงานประจำปี 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

1,418,392,233.29 10,000,000.00 175,048,679.63 3,629,822,651.51 10,998,389,387.43 52,840,027,292.30

1,713,173,394.89 38,483,807,107.71 182,239,216.68 4,665,799,674.95 48,605,991,570.59 57,193,456,506.32

788,151,810.72 1,229,233,331.48 624,190,821.57 3,034,849,686.02 1,307,092,233.29 38,483,807,107.71 175,043,146.63 3,609,462,008.69 49,251,830,146.11 51,421,327,292.30

45,007,712.48 38,941,079.00 45,007,712.48 4,460,000,000.00 - 4,460,000,000.00 5,446,328,880.53 1,153,144,231.06 5,428,609,747.59 62,791,363,885.31 58,385,541,816.38 61,354,944,752.37 73,789,753,272.74 106,991,533,386.97 110,606,774,898.48


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ทุนที่ออกและเรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม 2551

หมายเหตุ

6.19

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

2550

(ปรับปรุงใหม่)

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63

169,260,000.00 251,160,000.00 169,260,000.00 251,160,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 47,599,934,819.22 40,850,307,728.53 48,224,574,455.59 41,437,099,950.26 76,051,134,061.85 69,383,406,971.16 76,675,773,698.22 69,970,199,192.89 257,259,946.98 293,824,649.74 - -

76,308,394,008.83 69,677,231,620.90 76,675,773,698.22 69,970,199,192.89 146,455,973,007.53 143,466,984,893.64 183,667,307,085.19 180,576,974,091.37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

125

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำไรขาดทุน

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

รายได้จากการดำเนินงาน ค่าธรรมเนียมสนามบิน 4,216,347,087.06 3,937,398,190.24 4,216,347,087.06 3,937,398,190.24 ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน 10,417,014,355.44 8,781,477,837.24 10,417,014,355.44 8,781,477,837.24 ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก 431,753,772.00 427,099,436.29 431,753,772.00 427,099,436.29 ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์ 1,480,644,986.59 1,524,609,856.42 1,503,324,986.59 1,547,289,856.42 รายได้เกี่ยวกับบริการ 3,164,293,042.18 2,818,541,249.62 2,445,224,332.21 2,175,992,917.24 รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ 2,300,812,726.57 2,012,283,931.37 2,315,855,925.67 2,025,900,262.19 รวมรายได้จากการดำเนินงาน 22,010,865,969.84 19,501,410,501.18 21,329,520,458.97 18,895,158,499.62 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ค่าใช้จ่ายพนักงาน 3,909,003,249.71 2,927,842,273.10 3,904,204,764.43 2,924,344,143.71 ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 5,100,310,429.64 5,730,128,875.22 4,650,568,876.43 5,323,710,883.58 ค่าซ่อมแซม 683,958,088.13 732,378,685.46 683,958,088.13 732,378,685.46 ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ 6.22 955,728,995.98 846,318,824.62 955,728,995.98 846,318,824.62 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 7,866,887,359.25 7,768,007,172.49 7,642,077,350.08 7,552,525,786.23 รวมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 18,515,888,122.71 18,004,675,830.89 17,836,538,075.05 17,379,278,323.60 กำไรจากการดำเนินงาน 3,494,977,847.13 1,496,734,670.29 3,492,982,383.92 1,515,880,176.02 รายได้อื่น ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง 6.25 8,331,532,705.39 - 8,331,532,705.39 - ดอกเบี้ยรับ 566,650,671.58 693,302,924.11 564,437,627.49 692,633,882.99 กำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ 5,898,714.25 1,293,714.83 5,898,714.25 1,293,714.83 รายได้อื่น ๆ 262,475,207.16 291,145,659.45 262,472,785.49 286,717,225.12 รวมรายได้อื่น 9,166,557,298.38 985,742,298.39 9,164,341,832.62 980,644,822.94

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

126

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำไรขาดทุน

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

ค่าใช้จ่ายอื่น ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน 6.26 928,721,631.36 (2,804,543,423.41) 928,721,631.36 (2,804,543,423.41) ค่าใช้จ่ายอื่น 425,408,676.18 67,308,497.86 425,408,676.18 67,308,497.86 รวมค่าใช้จ่ายอื่น 1,354,130,307.54 (2,737,234,925.55) 1,354,130,307.54 (2,737,234,925.55) ส่วนแบ่งกำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน 17,087,263.50 (48,092,932.74) - - ตามวิธีส่วนได้เสีย กำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษีเงินได้ 11,324,492,101.47 5,171,618,961.49 11,303,193,909.00 5,233,759,924.51 ดอกเบี้ยจ่าย 2,569,798,136.56 2,397,166,007.14 2,474,087,826.69 2,316,045,622.44 ภาษีเงินได้ 1,470,205,064.18 1,722,755,472.46 1,470,205,064.18 1,722,755,472.46 กำไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 7,284,488,900.73 1,051,697,481.89 7,358,901,018.13 1,194,958,829.61 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 36,564,702.76 38,061,365.99 - - ในขาดทุนสุทธิของบริษัทย่อย กำไรสุทธิ 7,321,053,603.49 1,089,758,847.88 7,358,901,018.13 1,194,958,829.61 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิ 5.12 0.76 5.15 0.84

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

127

รายงานประจำปี 2551


128

รายงานประจำปี 2551

- - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

(567,396.47) (1,418,491.18) 331,886,015.73 71,162,100,139.01

ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย รวม 332,453,412.20 71,163,518,630.19

- - (5,957,664.62) 251,160,000.00 1,428,570,000.00 40,850,307,728.53

(3,971,776.40) (9,929,441.02) 293,824,649.74 69,677,231,620.90

34,860,000.00 - - - 34,860,000.00 - - 1,089,758,847.88 - 1,089,758,847.88 - - (2,571,426,000.00) - (2,571,426,000.00) - - - (38,061,365.99) (38,061,365.99) 251,160,000.00 1,428,570,000.00 40,850,307,728.53 293,824,649.74 69,677,231,620.90 251,160,000.00 1,428,570,000.00 40,856,265,393.15 297,796,426.14 69,687,161,061.92

- - (851,094.71) 216,300,000.00 1,428,570,000.00 42,331,974,880.65

ส่วนเกินทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน สำรองตามกฎหมาย กำไรสะสม 216,300,000.00 1,428,570,000.00 42,332,825,975.36

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

- - (81,900,000.00) - - - (81,900,000.00) - - - - 7,321,053,603.49 - 7,321,053,603.49 6.21 - - - - (571,426,512.80) - (571,426,512.80) - - - - - (36,564,702.76) (36,564,702.76) 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 169,260,000.00 1,428,570,000.00 47,599,934,819.22 257,259,946.98 76,308,394,008.83

4.2

- - - - - - - - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

- - 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

4.2

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2549 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชีของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2550 ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2550 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชีของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

ทุนเรือนหุ้นที่ออก หมายเหตุ และชำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 14,285,700,000.00 12,567,669,242.63

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


รายงานประจำปี 2551

129

4.1 4.1 6.21

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2549 ผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเงินลงทุน ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2550 ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2550 ผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเงินลงทุน ยอดคงเหลือหลังปรับปรุง ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน กำไรสุทธิ เงินปันผล ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

หมายเหตุ

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 ทุนเรือนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว 14,285,700,000.00 - 14,285,700,000.00 - - - 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 - 14,285,700,000.00 - - - 14,285,700,000.00

ส่วนเกินทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน 216,300,000.00 - 216,300,000.00 34,860,000.00 - - 251,160,000.00 251,160,000.00 - 251,160,000.00 (81,900,000.00) - - 169,260,000.00 สำรองตามกฎหมาย 1,428,570,000.00 - 1,428,570,000.00 - - - 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 - 1,428,570,000.00 - - - 1,428,570,000.00

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 12,567,669,242.63 - 12,567,669,242.63 - - - 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 - 12,567,669,242.63 - - - 12,567,669,242.63

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รวม 70,831,065,217.99 480,741,145.29 71,311,806,363.28 34,860,000.00 1,194,958,829.61 (2,571,426,000.00) 69,970,199,192.89 69,389,364,635.78 580,834,557.11 69,970,199,192.89 (81,900,000.00) 7,358,901,018.13 (571,426,512.80) 76,675,773,698.22

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

กำไรสะสม 42,332,825,975.36 480,741,145.29 42,813,567,120.65 - 1,194,958,829.61 (2,571,426,000.00) 41,437,099,950.26 40,856,265,393.15 580,834,557.11 41,437,099,950.26 - 7,358,901,018.13 (571,426,512.80) 48,224,574,455.59

หน่วย : บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ รายการปรับปรุงกระทบยอดกำไรสุทธิ เป็นเงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดำเนินงาน หนี้สงสัยจะสูญ สำรองวัสดุคงเหลือเสื่อมสภาพ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรจากการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนแบ่ง(กำไร)ขาดทุนสุทธิ ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (รายได้)ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี สำรองหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น รายได้เงินปันผล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ในขาดทุนสุทธิของบริษัทย่อย กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน

รายงานประจำปี 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

7,321,053,603.49 1,089,758,847.88 7,358,901,018.13 1,194,958,829.61

(42,357,111.64) 255,152,860.76 (43,963,774.64) 255,005,221.76 (22,392,913.86) 4,142,265.99 (22,392,913.86) 4,142,265.99 7,866,887,359.25 7,768,007,172.49 7,642,077,350.08 7,552,525,786.23 1,048,525,912.12 (2,523,217,361.02) 1,048,525,912.12 (2,523,217,361.02) (5,203,514.43) (17,087,263.50) (4,458,233,333.35) 425,330,761.18 (29,413,700.00) (36,564,702.76)

(939,135.38)

(5,203,514.43)

(939,135.38)

48,092,932.74 - 9,971,942.15 (4,458,233,333.35) 30,219,374.00 425,330,761.18 (24,602,000.00) (29,413,700.00)

- 9,971,942.15 30,219,374.00 (24,602,000.00)

(38,061,365.99)

-

-

12,050,545,096.50 6,618,525,533.62 11,915,627,805.23 6,498,064,923.34

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

130

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดำเนินงาน ลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น วัสดุคงคลัง รายได้ค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดำเนินงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินมัดจำและเงินประกันสัญญา เงินกองทุนสงเคราะห์ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

177,542,466.73 (1,290,997,186.03) 182,098,485.76 (1,230,605,778.07) (77,565,298.53) 188,201,367.11 (71,904,281.91) 159,224,174.93 (56,334,369.52) (55,561,175.65) (56,397,145.22) (52,598,615.65) (377,461,774.40) (815,626,520.40) (361,610,546.73) (830,325,612.87) 35,895,934.54 150,671.76 37,788,087.05 (199,434.15) (395,193,501.61) (284,408,374.60) (277,492,029.74) 7,196,070.05

737,180,954.64 (425,193,667.52) 70,522,046.93 (284,408,374.60) 765,378,577.58 (260,292,061.55) 27,136,794.58 7,196,070.05

679,831,823.62 70,522,046.93 709,752,410.58 27,459,078.58

(6,066,633.48) (362,321.75) (6,066,633.48) (362,321.75) 1,041,292,470.89 (938,941,022.10) 1,045,076,027.17 (957,767,753.12) 11,837,950,056.83 5,305,607,720.29 11,721,913,764.25 5,072,994,942.37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

131

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น (7,054,578,266.47) (3,282,336,753.10) (7,054,578,266.47) (3,282,336,753.10) เงินสดรับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ 5,246,634.09 964,212.53 5,246,634.09 964,212.53 เงินปันผลรับจากเงินลงทุน 29,413,700.00 24,602,000.00 29,413,700.00 24,602,000.00 ลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (5,666,365,718.58) (7,473,282,306.63) (5,661,952,985.06) (7,269,968,798.33) และงานระหว่างก่อสร้าง ลงทุนในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (100,183,630.73) (183,956,335.63) (100,183,630.73) (183,956,335.63) เงินลงทุนระยะยาวเพิ่มขึ้น (691,948,437.98) - (691,948,437.98) - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น (1,541,590,304.16) (1,341,027,631.06) (1,541,590,304.16) (1,342,402,964.42) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 1,279,041,039.70 556,539,704.27 1,294,375,443.67 772,025,314.96 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (13,740,964,984.13) (11,698,497,109.62) (13,721,217,846.64) (11,281,073,323.99) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดจ่ายจากการเบิกเกินบัญชี (10,000,000.00) (28,978,147.16) - - ชำระคืนเงินกู้ระยะยาว (1,565,884,650.65) (1,087,942,662.42) (1,454,584,650.65) (1,087,942,662.42) เงินกู้ระยะยาวเพิ่มขึ้น 2,256,303,749.02 1,910,099,910.31 2,155,543,749.02 1,680,099,910.31 จ่ายเงินปันผล (571,426,512.80) (3,928,567,500.00) (571,426,512.80) (3,928,567,500.00) เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน 108,992,585.57 (3,135,388,399.27) 129,532,585.57 (3,336,410,252.11)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

132

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม 2551

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิน้ งวด ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายในระหว่างงวด ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้

2550

(ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 (ปรับปรุงใหม่)

(1,794,022,341.73) (9,528,277,788.60) (1,869,771,496.82) (9,544,488,633.73) 10,231,387,965.24 19,759,665,753.84 10,208,038,131.42 19,752,526,765.15 8,437,365,623.51 10,231,387,965.24 8,338,266,634.60 10,208,038,131.42 2,694,945,424.74 2,231,486,459.06 2,599,235,114.87 2,150,366,074.36 1,754,602,653.89 1,771,929,737.83 1,754,407,927.71 1,771,781,887.50

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

133

รายงานประจำปี 2551


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2551 และ 2550

1. ข้อมูลทั่วไป

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 สำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ ประกอบและส่ ง เสริ ม กิ จ การท่ า อากาศยาน รวมทั้ ง การดำเนิ น กิ จ การอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ต่ อ เนื่ อ งกั บ การประกอบกิ จ การ

ท่าอากาศยาน ปัจจุบันบริหารกิจการท่าอากาศยาน จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ท่าอากาศยาน ดอนเมือง (ทดม.) และท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง (เชียงใหม่ หาดใหญ่ ภูเก็ตและเชียงราย ) ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท. มีพนักงานและลูกจ้างประจำ จำนวน 4,057 คน

2. เกณฑ์การเสนองบการเงิน

งบการเงินของ ทอท. ประกอบด้วยงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 2.1 งบการเงินรวม แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ ทอท. และบริษัทย่อย บริษทั ย่อยประกอบด้วย บริษทั ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด ระหว่างชำระบัญชี (บทม.) และ บริษทั โรงแรม

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด (รทส.) โดย ทอท. ถือหุ้นร้อยละ 100 และ 60 ตามลำดับ 2.2 งบการเงินเฉพาะบริษัท แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ ทสภ. ซึ่งรับโอนกิจการจาก บทม. เมื่อวันที่

1 มกราคม 2549 ทดม. ท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง และกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย รายการบัญชีทเี่ ป็นสาระสำคัญทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษัทใหญ่ และบริษัทย่อย ได้ถกู หักกลบลบกันแล้วในการจัดทำงบการเงินรวม

3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 นโยบายการบัญชีที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 3.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย 3.1.1 รายได้คา่ ธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครือ่ งอำนวยความสะดวก และรายได้เกีย่ วกับบริการ รับรู้เป็นรายได้ในงวดบัญชีที่มีการให้บริการ 3.1.2 รายได้ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ รับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาและ อัตราค่าตอบแทนตามที่ระบุไว้ในสัญญา 3.1.3 รายได้จากกิจการโรงแรมและภัตตาคาร บันทึกเป็นรายได้ตามราคาในใบแจ้งหนี้โดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับ ค่าสินค้าและบริการหลังจากหักส่วนลดและค่าบริการที่บวกเพิ่มแล้ว 3.1.4 ดอกเบี้ยรับ รับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของระยะเวลา โดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 3.1.5 เงินปันผล รับรู้ในวันประกาศจ่าย 3.1.6 ค่าใช้จ่ายบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง

134

รายงานประจำปี 2551


3.2 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตั้งเป็นจำนวนเท่ากับผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ โดยประมาณขึ้น จากประสบการณ์ในการเก็บเงินในอดีต และตามสถานะปัจจุบันของลูกหนี้คงค้าง ณ วันที่ในงบดุล หนี้สูญจะตัดบัญชีตามรายที่ ระบุได้ในระหว่างปี 3.3 สินค้าและวัสดุคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าคำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนในการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้านั้น มูลค่าที่จะได้รับประมาณ จากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายในการขาย สำหรับวัสดุคงเหลือบันทึกบัญชีโดยวิธีราคาทุนถัวเฉลี่ย วัสดุในส่วนที่ไม่เคลื่อนไหวเกิน 5 ปี จะตั้งสำรองการเสื่อมสภาพไว้เต็มจำนวน 3.4 เงินลงทุน 3.4.1 เงินลงทุนระยะยาว เงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่อยู่ ในความต้องการของตลาดที่เป็นเงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วย ราคาทุนปรับด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน 3.4.2 เงินลงทุนในตราสารทุน ทีอ่ ยู่ในความต้องการของตลาดทีเ่ ป็นเงินลงทุนเผือ่ ขายแสดงด้วยมูลค่ายุตธิ รรม กำไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายจะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้น 3.4.3 เงินลงทุนในบริษั ทย่อย และบริษั ทร่วม บันทึกบัญชีเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ตามสัดส่วนของการลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม และในงบการเงินเฉพาะบริษัทแสดงตามวิธีราคาทุน 3.5 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ บันทึกบัญชี ในราคาทุน ณ วันที่ ได้มาหรือก่อสร้างแล้วเสร็จ ทอท. ก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมดในที่ราชพัสดุ

ซึ่งเช่าจากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เดิมระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศกำหนดให้อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลังนับตั้งแต่วันก่อสร้างแล้วเสร็จ แต่ ทอท. บันทึกอาคารและสิ่งปลูกสร้างเป็นสินทรัพย์ เนื่องจาก ทอท. เป็นผู้รับความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ดังกล่าว และจ่ายค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุให้กรมธนารักษ์ เมื่อ ทอท. แปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน จำกัด กระทรวงการคลังได้จัดทำระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศ จำนวน หนึ่งระเบียบ และระเบียบกระทรวงการคลังและกรมการบินพาณิชย์ จำนวนสองระเบียบ ซึ่งทัง้ สามระเบียบมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 30 กันยายน 2545 โดยข้อ 8 ของทัง้ สามระเบียบกำหนดให้กรรมสิทธิอ์ าคาร และสิง่ ปลูกสร้างตกเป็นกรรมสิทธิข์ องกระทรวงการคลัง เมือ่ ข้อตกลงการใช้ประโยชน์ในทีร่ าชพัสดุทที่ ำขึน้ ตามระเบียบนีส้ นิ้ ผลบังคับผูกพัน ซึง่ เมือ่ รวมระยะเวลาทัง้ สิน้ แล้วต้องไม่เกิน 50 ปี นับแต่วันที่ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์ ทอท. ได้ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์รวมสี่ฉบับ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 และทำ

ข้อตกลงการใช้ประโยชน์ฉบับปรับปรุงแก้ไขอีก 1 ฉบับ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2547 โดยให้ ทอท.ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ

มีกำหนดเวลา 30 ปี (วันที่ 30 กันยายน 2575) และยินยอมให้ ทอท. แจ้งขอใช้ประโยชน์ตอ่ ไปได้อกี สองครัง้ ๆ ละ 10 ปี (วันที่ 30 กันยายน 2595) ซึง่ ทอท. จ่ายค่าตอบแทนการใช้ทรี่ าชพัสดุ ให้กรมธนารักษ์ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.22 เครื่องใช้ในการดำเนินงานของกิจการโรงแรม บันทึกค่าเสื่อมราคาตามประมาณการอายุการใช้งานของทรัพย์สิน

135

รายงานประจำปี 2551


ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละประเภท ดังนี้ อาคาร สิ่งก่อสร้างและภูมิสถาปัตยกรรม งานระบบ ไฟฟ้า ประปา เชื้อเพลิงและสื่อสาร เครื่องจักรกล เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ ยานพาหนะ เครื่องตกแต่งติดตั้งและเครื่องใช้สำนักงาน

อายุการใช้งาน (ปี) ของสินทรัพย์ที่ได้มา ก่อนวันที่ 28 กันยายน 2545

ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2545

10 - 30 10 - 20 5 - 10 5 - 8 5

20 - 50 10 - 20 5 - 10 5 - 8 3 - 10

3.6 รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ บันทึกบัญชีเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ รายการสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ คงเหลือ ณ วันสิ้นงวดจะปรับมูลค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตามอ้างอิงประจำวันที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศไว้ ผล กำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในงบกำไรขาดทุน 3.7 ดอกเบี้ยเงินกู้ จากการกู้ยืมเพื่อนำมาใช้ในโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการก่อสร้าง และเมื่อโครงการ ก่อสร้างแล้วเสร็จจะบันทึกดอกเบี้ยเงินกู้เป็นค่าใช้จ่าย 3.8 ผลประโยชน์พนักงาน ทอท. ได้ จั ดตั้ ง “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานการท่ า อากาศยานแห่ ง ประเทศไทยซึ่ ง จดทะเบี ย นแล้ ว” เมื่ อ วั น ที ่ 28 มีนาคม 2537 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งพนักงานและลูกจ้างประจำจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุน ในอัตราร้อยละ 2 - 10 ของเงินเดือน ทัง้ นีต้ อ้ งไม่เกินอัตราที่ ทอท.จ่ายสมทบ โดย ทอท.จะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฯ ให้พนักงาน ที่เป็นสมาชิกแต่ละรายตามอัตราที่กำหนด คณะกรรมการ ทอท.ได้มมี ติในคราวประชุมครัง้ ที่ 9/2548 เมือ่ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2548 ให้ปรับอัตราเงินสมทบของสมาชิก ดังนี้ อายุการทำงาน

อัตราร้อยละของเงินเดือน

ไม่เกิน 10 ปี เกินกว่า 10 ปี เกินกว่า 20 ปี เกินกว่า 25 ปี

9 10 12 15

สมาชิกขอเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมได้ตามอายุการทำงานในอัตราร้อยละ 2 - 15 ของเงินเดือน โดยมีผลตั้งแต่เดือน ตุลาคมของทุกปี ทอท.รับรู้เงินจ่ายสมทบเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ ได้แยกออกจาก ทอท.และบริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

136

รายงานประจำปี 2551


3.9 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายความรวมถึงเงินสดและเงินฝากธนาคารทีม่ กี ำหนดจ่ายคืนในรอบระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน 3.10 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ทอท. นำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือ่ วันที่ 11 มีนาคม 2547 จึงได้รับลดหย่อนอัตราภาษี เงินได้นติ บิ คุ คลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิหลังจากปรับปรุงด้วยรายได้และค่าใช้จา่ ยที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของกรมสรรพากร ทั้งนี้ ตั้งแต่รอบระยะบัญชีวันที่ 1 ตุลาคม 2547 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2552 3.11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม ประกอบด้วย - สิทธิในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สามารถแยกจากเครื่องมือที่เกี่ยวข้องได้ การตัดจำหน่าย คำนวณโดยวิธีเส้นตรง โดยประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์ระหว่าง 5-10 ปี - ค่าชดเชยผลกระทบทางเสียง เป็นการจ่ายในการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้กับหน่วยงาน / เจ้าของสถานที่ เพือ่ ป้องกันผลกระทบทางเสียงทีเ่ กิดจากการดำเนินงานของสนามบินสุวรรณภูมิ การตัดจำหน่ายคำนวณโดยวิธเี ส้นตรง ในระยะเวลา 20 ปี 3.12 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายในระหว่างปี 3.13 การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางกรณีฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การประมาณการรายการบัญชี

บางรายการซึง่ มีผลกระทบต่อจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนผี้ ลทีเ่ กิดขึน้ จริงในภายหลัง จึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้ 3.14 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ในการทำอนุพนั ธ์ทางการเงินทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งใช้เกณฑ์คงค้าง กำไรขาดทุนทีเ่ กิดจากการแปลงค่าเงินบาท รับรู้ในงบกำไรขาดทุน ส่วนดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามนโยบายการบัญชีข้อ 3.7

4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

4.1 ตั้งแต่งบการเงินประจำปี 2551 (1 ตุลาคม 2550) ทอท. ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุน ในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะบริษัท จากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ซึ่งกำหนดให้เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในกิจการที่ ควบคุมร่วมกัน และเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะบริษัทต้องแสดงตามวิธีราคาทุน ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว ทอท. ได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะบริษั ทงวดก่อน ที่นำมาแสดง

เปรียบเทียบเสมือนว่า ทอท. ได้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม ตามวิธี ราคาทุนมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้ ทอท. มีกำไรสุทธิสำหรับปี 2550 เพิ่มขึ้น 100.09 ล้านบาทและมีผลทำให้กำไร สะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 และ 2550 เพิ่มขึ้น 480.74 ล้านบาท และ 580.83 ล้านบาทตามลำดับ

137

รายงานประจำปี 2551


4.2 บริษั ทย่อย (บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด : รทส.) ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ

การบันทึกค่าใช้จ่ายเครื่องใช้ ในการดำเนินงาน จากบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทันทีเมื่อมีการเบิกใช้ เป็นบันทึกค่าเสื่อมราคาตาม ประมาณการอายุการใช้งานของทรัพย์สิน ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว รทส.ได้ปรับปรุงย้อนหลังงบการเงิน

งวดก่อนที่นำมาเปรียบเทียบเสมือนว่าบริษั ทได้ถือปฎิบัติเกี่ยวกับการบันทึกค่าเสื่อมราคาของเครื่องใช้ ในการดำเนินงานมา

โดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้งบการเงินรวมของ ทอท. มีกำไรสุทธิสำหรับปี 2550 ลดลง 5.11 ล้านบาท และมีผลทำให้ กำไรสะสมต้นงวด ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 และ 2550 ลดลง 0.85 ล้านบาท และ 5.96 ล้านบาท ตามลำดับ

5. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

ทอท. และบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจ 2 ส่วนงานหลักได้แก่ กิจการท่าอากาศยาน และธุรกิจโรงแรม ในปี 2551 และ 2550 ทอท. และบริษัทย่อยไม่มีกิจกรรมที่เป็นสาระสำคัญในส่วนงาน ดังนั้นจึงไม่แสดงข้อมูลจำแนกตามส่วนงานทั้งในส่วนงานธุรกิจ และส่วนงานทางภูมิศาสตร์

6. ข้อมูลเพิ่มเติม 6.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หน่วย : ล้านบาท

เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ พันธบัตร เงินฝากออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. รวม

งบการเงินรวม 2551 618.15 (95.63) 1,622.90 4,500.00 1,718.77 73.18 8,437.37

2550 176.30 (115.38) 2,599.89 7,500.00 - 70.58 10,231.39

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 617.09 (82.63) 1,511.86 4,500.00 1,718.77 73.18 8,338.27

175.24 (95.18) 2,557.40 7,500.00 - 70.58 10,208.04

ณ วั น สิ้ น งวดปี 2551 และ 2550 เงิ น ฝากธนาคารประเภทออมทรั พ ย์ ได้ ร วมเงิ น ฝากของกองทุ น สงเคราะห์

การท่าอากาศยานฯ จำนวน 8.0 ล้านบาท และ 7.98 ล้านบาท ตามลำดับ ส่วนเงินฝากออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. จำนวน 73.18 ล้านบาท และ 70.58 ล้านบาท ตามลำดับ เป็นเงินฝากของกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานฯ ซึ่งได้รับความ เห็นชอบจากกระทรวงการคลัง (หนังสือกระทรวงการคลังที่ กค.0511/59136 ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2535)

138

รายงานประจำปี 2551


6.2 เงินลงทุนชั่วคราว งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

เงินฝากประจำ พันธบัตร รวม

2551

2550

6,903.35 4,654.48 11,557.83

4,503.25 - 4,503.25

เงินฝากประจำและพันธบัตรเป็นเงินฝากที่มีวันครบกำหนดเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ วันสิ้นงวดปี 2551 และ 2550 เงินฝากประจำได้รวมเงินฝากของกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานฯ จำนวน 3.35 ล้านบาท และ 3.25 ล้านบาท ตามลำดับ 6.3 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

ลูกหนี้การค้า-บุคคลภายนอก ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า-สุทธิ

งบการเงินรวม 2551 2,104.76 42.57 2,147.33 493.00 1,654.33

2550 2,252.22 72.65 2,324.87 535.36 1,789.51

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2,027.50 46.53 2,074.03 491.25 1,582.78

2,180.98 75.15 2,256.13 535.21 1,720.92

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำนวน 493.00 ล้านบาท ประกอบด้วยหนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี 7 ราย จำนวนเงิน 9.41 ล้านบาท

อยู่ระหว่างดำเนินการรวบรวมหลักฐานเพื่อดำเนินคดี 8 ราย จำนวนเงิน 17.53 ล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาของพนักงาน อัยการ 3 ราย จำนวนเงิน 191.71 ล้านบาท อยู่ระหว่างผ่อนชำระ 1 ราย จำนวนเงิน 47.86 ล้านบาท และอยู่ระหว่าง

การประนอมหนี้และติดตามทวงถาม 128 ราย จำนวนเงิน 226.49 ล้านบาท

139

รายงานประจำปี 2551


ลูกหนี้การค้า แยกตามอายุหนี้ได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ไม่เกิน 6 เดือน เกินกว่า 6 เดือน - 1 ปี เกินกว่า 1 ปี - 2 ปี เกินกว่า 2 ปี รวม

งบการเงินรวม 2551 1,289.21 259.85 86.79 188.73 322.75 2,147.33

2550 801.65 752.47 427.83 56.77 286.15 2,324.87

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 1,264.75 235.44 79.28 171.81 322.75 2,074.03

771.12 729.13 412.96 56.77 286.15 2,256.13

6.4 ลูกหนี้อื่น มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

กรมสรรพากร เงินยืมทดรอง อื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 1,246.83 8.00 14.31 1,269.14

2550 1,247.43 5.74 18.01 1,271.18

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 1,246.68 8.00 0.70 1,255.38

1,246.68 5.74 10.59 1,263.01

ลูกหนี้กรมสรรพากร จำนวน 1,246.83 ล้านบาท ในงบการเงินรวม ณ วันสิ้นงวดปี 2551 เป็น ภาษีซื้อที่ขอคืนจาก

กรมสรรพากรของ รทส. จำนวน 0.15 ล้านบาท และของ ทอท. จำนวน 1,246.68 ล้านบาท ในส่วนของ ทอท. เป็นภาษีซื้อที่ เกิดจากการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2539 ถึงเดือน ธันวาคม 2548 ที่ ทอท.รับโอนมาจาก บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 ซึ่งในการขอคืนภาษีนั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นในประเด็นการสืบสิทธิและหน้าที่แทน บทม. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ว่า ทอท. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ตามมติคณะรัฐมนตรีและสัญญาโอน กิจการ ชอบที่จะได้รับโอนสิทธิและหน้าที่ของ บทม. ในการขอคืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อ) ที่ยังคงค้างการพิจารณาจาก

กรมสรรพากร โดย ทอท. ต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ประมวลรัษฎากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้เพื่อ การนั้น

140

รายงานประจำปี 2551


ทอท. ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกำหนด โดยยื่นประมาณการการใช้พื้นที่อาคารและขอขยายเวลาการยื่น แบบแจ้งรายการเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารและการใช้พื้นที่อาคาร ต่ออธิบดีกรมสรรพากรแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างรอผล

การพิจารณาของกรมสรรพากรเพื่อให้ได้ข้อยุติ 6.5 สินค้า และวัสดุคงเหลือ – สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

สินค้าและวัสดุคงเหลือ หัก สำรองการเสื่อมสภาพของวัสดุคงเหลือ สินค้าและวัสดุคงเหลือ - สุทธิ

งบการเงินรวม 2551 210.33 0.62 209.71

2550 153.99 23.01 130.98

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 202.36 0.62 201.74

145.96 23.01 122.95

6.6 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงกำหนด สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวม

งบการเงินรวม 2551 144.47 45.93 190.40

2550 177.58 48.72 226.30

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 133.80 42.03 175.83

168.21 45.41 213.62

141

รายงานประจำปี 2551


6.7 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม งบการเงินรวม หน่วย : ล้านบาท

ชื่อบริษัท

สัดส่วนการถือหุ้น (%) 2551

บริษัทร่วม บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด รวม

2550

28.50

28.50

จำนวนเงินลงทุน วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้ส่วนเสีย 2551 2550 2551 2550 149.62 149.62

149.62 149.62

191.74 191.74

174.65 174.65

การบันทึกเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทร่วม ใช้งบการเงินที่ยังไม่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต โดยบริษัทร่วมได้ปรับปรุงรายการให้แสดงเงินลงทุนตามนโยบายบัญชีเดียวกับ ทอท. งบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ชื่อบริษัท

2551 บริษัท ย่อย บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ แห่งใหม่ จำกัด (บทม.) ระหว่างชำระบัญชี บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด (รทส.) บริษัทร่วม บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด รวม

142

รายงานประจำปี 2551

2550

100.00 60.00 28.50

100.00 60.00 28.50

จำนวนเงินลงทุน วิธีราคาทุน 2551 2550

39,029.00 610.67 149.62 39,789.29

39,029.00 610.67 149.62 39,789.29


6.8 เงินลงทุนระยะยาวอื่น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ชื่อบริษัท 1. เงินลงทุนทีบ่ นั ทึกด้วยราคาทุน บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตีฟ้ รี จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชัน่ แนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตีฟ้ รี จำกัด บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด บริษัท เทรดสยาม จำกัด บริษัท ไทยเชือ้ เพลิงการบิน จำกัด หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด รวม 2. เงินลงทุนทีบ่ นั ทึกด้วยราคายุตธิ รรม บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 3. พันธบัตร รวมทัง้ สิน้

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

ราคาทุน

ราคายุติธรรม

ราคาตามบัญชี

2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550

10.00 10.00 20.00 20.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 3.00 3.00

- - -

- 20.00 20.00 - 10.00 10.00 - 3.00 3.00

9.00 9.00 5.00 5.00 1.38 1.38 1.50 1.50 10.00 10.00

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

- - - - -

- - - - -

(22.00) (22.00) 107.55 107.55

- -

- (22.00) (22.00) - 107.55 107.55

4.94

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

10.80 10.00 22.00 0.75 53.00

4.94 21.00 21.00 190.26 272.16 190.26 272.16 691.95 - - - 691.95 - 820.50 128.55 190.26 272.16 989.76 379.71

143

รายงานประจำปี 2551


6.9 รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินได้รวมรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นไปตามธุรกิจปกติทั่วไป สรุปได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

6.9.1 ลูกหนี้การค้า บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) รวม 6.9.2 รายได้ค้างรับ บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม 6.9.3 เจ้าหนี้การค้า บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม 6.9.4 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม 6.9.5 รายได้รับล่วงหน้า บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

144

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2551 2550 14.74 0.37 - 8.12 19.34 42.57 9.53 620.91 - 630.44 10.91 - 10.91 34.03 - 34.03 -

50.36 0.33 - - 21.96 72.65 9.72 - - 9.72 51.42 - 51.42 9.92 - 9.92 -

14.74 0.37 3.96 8.12 19.34 46.53 9.53 620.91 - 630.44 10.91 - 10.91 34.03 0.01 34.04 1.89

50.36 0.33 2.50 - 21.96 75.15 9.72 - 15.18 24.90 51.42 0.08 51.50 9.92 0.75 10.67 1.89


หน่วย : ล้านบาท

6.9.6 เจ้าหนี้อื่น บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด 6.9.7 รายได้และค่าใช้จ่าย รายได้ดำเนินงาน บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม รายได้อื่น บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2551 2550 - 56.09 16.84 5.53 278.65 10.55 - 367.66 360.98 - 360.98 4,758.25 4.37

- 93.69 10.86 5.53 274.63 9.08 - 393.79 364.04 - 364.04 29.41 4.37

0.03 56.09 16.84 5.53 278.65 10.55 75.33 442.99 360.98 0.57 361.55 4,758.25 4.37

- 93.69 10.86 5.53 274.63 9.08 71.51 465.30 364.04 2.44 366.48 29.41 4.37

145

รายงานประจำปี 2551


6.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

อาคารและ เครื่องมือและ อาคารและ เครื่องมือและ สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ รวม สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์ รวม 98,063.65 37,355.86 135,419.51 95,958.67 36,799.08 132,757.75 2,652.54 1,493.23 4,145.77 2,632.76 1,489.83 4,122.59 (14.66) 14.66 - (14.66) 14.66 - - (60.96) (60.96) - (42.20) (42.20) 100,701.53 38,802.79 139,504.32 98,576.77 38,261.37 136,838.14 12,548.37 11,065.48 23,613.85 12,412.78 10,946.31 23,359.09 2,660.80 5,089.65 7,750.45 2,543.37 4,982.26 7,525.63 - (42.15) (42.15) - (42.15) (42.15) 15,209.17 16,112.98 31,322.15 14,956.15 15,886.42 30,842.57 85,515.28 26,290.38 111,805.66 83,545.89 25,852.77 109,398.66 85,492.36 22,689.81 108,182.17 83,620.62 22,374.95 105,995.57

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 สินทรัพย์เพิ่ม โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจำหน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 ค่าเสื่อมราคาสำหรับงวด ขายและจำหน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2550 ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

6.11 สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ยอดยกมา 1 ตุลาคม 2550 เพิ่มขึ้น โอนไปที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

146

รายงานประจำปี 2551

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูมิภาค ท่าอากาศยานดอนเมือง 5,745.11 4,028.08 (3,676.44) 6,096.75

108.89 203.26 (260.55) 51.60

1.33 16.88 (12.44) 5.77

รวม 5,855.33 4,248.22 (3,949.43) 6,154.12


6.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ราคาทุน

ตัดจำหน่าย

ราคาตามบัญชี

ยอดยกมา 1 ตุลาคม 2550 เพิ่ม/(ลด)ระหว่างปี ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2551

1,240.07 100.18 1,340.25

194.62 116.43 311.05

1,045.45 (16.25) 1,029.20

6.13 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของที่ดินที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ คงเหลือสุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้า เงินประกัน ลูกหนี้การรถไฟแห่งประเทศไทย สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ลูกหนี้รอเรียกชำระ รวม

2551

2550

1,834.53 971.66 862.87 18.94 0.69 4,075.69 264.68 - 5,222.87

1,730.67 971.66 759.01 75.31 0.67 3,996.16 - 232.53 5,063.68

147

รายงานประจำปี 2551


6.13.1 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ใช้ประโยชน์

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท. มีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างทีย่ งั ไม่ได้ใช้ประโยชน์สทุ ธิ จำนวน 862.87 ล้านบาท ประกอบด้วย - ทีด่ นิ ทีย่ งั ไม่ใช้ประโยชน์ ณ ทสภ. มีเนือ้ ทีร่ วม 692 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา ราคาตามบัญชี 1,730.67 ล้านบาท หักค่าเผือ่ การด้อยค่าของที่ดินที่ยังไม่ใช้ประโยชน์จำนวน 971.66 ล้านบาท คงเหลือสุทธิ 759.01 ล้านบาท ทอท.มีนโยบายศึกษา

ความเป็นไปได้ ในการจัดทำโครงการจัดสรรในรูปแบบที่อยู่อาศัย (Residence) ให้แก่พนักงานและลูกจ้าง ทอท.

โดยคณะกรรมการ ทอท.ได้มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 22/2550 เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 ให้ ทอท.จัดจ้างองค์การ

การบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) เป็นผู้ศึกษาทบทวนแผนแม่บท

การพัฒนา ทสภ. และ ทดม. โดยมีวัตถุประสงค์ส่วนหนึ่งเพื่อให้พัฒนาพื้นที่ที่มีอยู่ ณ ทสภ. ให้เต็มขีดความสามารถ ทอท.จึงชะลอการศึกษาโครงการไว้ก่อน เพื่อรอความชัดเจนจากผลการศึกษาของ ICAO - ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน 103.86 ล้านบาท ทอท.รับซื้อคืนจากราษฎรที่ได้รับผลกระทบทางเสียง โดยมีนโยบายให้ ว่าจ้างบริษัทบริหารสินทรัพย์เป็นผู้บริหารจัดการการขาย หรือบริหารการประมูลเพื่อขายทรัพย์สินดังกล่าว 6.13.2 ลูกหนี้การรถไฟแห่งประเทศไทย

ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการก่อสร้างอุโมงค์สถานีรถไฟฟ้าสายพญาไท - มักกะสัน - สนามบินสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link Project) โดยให้การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) เป็นผู้ดำเนินการ แต่การก่อสร้างอุโมงค์มีส่วนที่อยู่ใต้อาคาร รทส. และอาคารจอดรถ เพือ่ ไปยังสถานีรถไฟใต้อาคารผู้โดยสารภายในท่าอากาศยาน ซึง่ การลงทุนก่อสร้างเฉพาะส่วนนี้ให้ บทม.ออกแทน รฟท.ไปก่อนตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2547 ทีก่ ระทรวงคมนาคมได้เสนอวงเงินก่อสร้างอุโมงค์ 4,082.94 ล้านบาท ทอท.(บทม.เดิม)ได้ทำสัญญาก่อสร้างรวมภาษีมลู ค่าเพิม่ เป็นเงิน 4,362.19 ล้านบาท และได้จา่ ยค่าก่อสร้างถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 รวมภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเงิน 4,075.69 ล้านบาท โดยบันทึก รฟท.เป็นลูกหนี้ และมียอดคงเหลือยังมิได้จ่ายตามสัญญา

เป็นเงิน 286.50 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ให้ รฟท. กู้เงินจำนวน 9,940.322 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลัง

ค้ำประกันและให้จา่ ยเงินค่าก่อสร้างอาคารสถานีและอุโมงค์ใต้อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูม(ิ รวมดอกเบีย้ จ่าย) คืนแก่

ทอท.ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ โดยให้กระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณพิจารณารายละเอียด วิธีการและเงื่อนไขของ

เงินกู้ต่อไป 6.14 ตั๋วสัญญาใช้เงิน งบการเงินเฉพาะบริษัท

ทอท.ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 จำนวน 38,483.81 ล้านบาท เพื่อจ่ายเป็นส่วนต่าง

ของการโอนทรัพย์สนิ และหนีส้ นิ กำหนดจ่ายชำระดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี และไม่คดิ ดอกเบีย้ ตัง้ แต่วนั ที่ บทม.เลิกกิจการ กำหนดชำระคืนตั๋วสัญญาใช้เงินเมื่อถึงวันทำการสุดท้ายก่อนวันที่ บทม.จะได้คืนเงินลงทุนที่เหลืออยู่ให้กับ ทอท. (ถ้ามี)

148

รายงานประจำปี 2551


6.15 หนี้สินหมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2551 2550

โบนัสพนักงานค้างจ่าย ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า ภาษีหัก ณ ที่จ่าย หนี้สินอื่นๆ เงินบำเหน็จค้างจ่าย(กองทุนสงเคราะห์ ทอท.) รวม

1,094.13 447.25 2,202.89 45.73 417.49 46.44 417.82 10.63 4,682.38

504.76 396.91 2,193.15 37.67 357.03 16.59 119.41 4.30 3,629.82

1,094.13 441.49 2,202.89 45.73 419.37 45.13 406.43 10.63 4,665.80

504.76 392.84 2,193.15 37.67 358.39 14.76 103.59 4.30 3,609.46

6.16 เงินกู้ยืมระยะยาว

งบการเงินรวม 2551

2550

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550

ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท ล้านเยน เงินกู้ยืมต่างประเทศ 178,576.91 58,906.63 175,812.38 52,728.42 178,576.91 หัก ส่วนที่ครบกำหนดชำระ 5,193.53 1,713.17 4,358.24 1,307.09 5,193.53 ภายใน 1 ปี คงเหลือ 173,383.38 57,193.46 171,454.14 51,421.33 173,383.38 เงินกู้ยืมในประเทศ - 1,519.46 - 1,530.00 - หัก ส่วนที่ครบกำหนดชำระ - 148.40 - 111.30 - ภายใน 1 ปี คงเหลือ - 1,371.06 - 1,418.70 - ยอดรวม 173,383.38 58,564.52 171,454.14 52,840.03 173,383.38

ล้านบาท ล้านเยน ล้านบาท 58,906.63 175,812.38 52,728.42 1,713.17 4,358.24 1,307.09 57,193.46 171,454.14 51,421.33 - - - - - - - - - 57,193.46 171,454.14 51,421.33

149

รายงานประจำปี 2551


เงินกู้ยืมต่างประเทศ ทอท. ได้กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในต่างประเทศเป็นสกุลเงินเยน โดยมีกระทรวงการคลังค้ำประกัน อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 0.75 - 2.70 ต่อปี ครบกำหนดชำระคืนปี 2546 - 2585 (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 100 เยน เท่ากับ 32.9867 บาท) เงินกู้ยืมในประเทศ เป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใช้ในการก่อสร้าง รทส. วงเงินกู้ 1,630.76 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยตั้งแต่วันทำสัญญาถึง 30 กันยายน 2550 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MLR - 2.0 ต่อปี และวันที่ 1 ตุลาคม 2550 เป็นต้นไป อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ MLR - 1.0 ต่อปี กำหนดการชำระเงินเป็นงวดรายสามเดือน จำนวน 44 งวด ๆ ละ 37.10 ล้านบาท โดยเริ่มผ่อนชำระงวดแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 และชำระให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 รทส. ได้ชำระเงินกู้แล้วจำนวน 111.30 ล้านบาท คงเหลือเงินกู้จำนวน 1,519.46 ล้านบาท 6.17 เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ทอท. ได้จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย โดยจ่ายสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 10 ของ

เงินเดือนพนักงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 มียอดคงเหลือดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

สินทรัพย์ เงินฝากธนาคารและสหกรณ์ออมทรัพย์ ลูกหนี้เงินให้กู้ยืม รายได้ค้างรับ รวม หนี้สินและเงินกองทุน เงินบำเหน็จค้างจ่าย เจ้าหนี้ เงินกองทุน รวม ภาระผูกพันที่ต้องจ่ายให้พนักงาน

150

รายงานประจำปี 2551

2551

2550

84.52 0.03 1.13 85.68 10.63 36.11 38.94 85.68 38.94

81.81 0.31 1.13 83.25 4.30 33.94 45.01 83.25 45.01


6.18 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

เงินประกันผลงาน สำรองหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้า รายได้รอตัดบัญชี สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รายได้รอรับรู้ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 2551 455.17 629.53 49.45 - - 21.38 1,155.53

2550 672.57 204.19 51.22 4,167.99 328.97 21.39 5,446.33

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 452.78 629.53 49.45 - - 21.38 1,153.14

654.85 204.19 51.22 4,167.99 328.97 21.39 5,428.61

ทอท. ได้ใช้เครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยทำสัญญา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับสถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ 6.19 ทุนเรือนหุ้น บริษัทจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจำนวน 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นที่ออกและเรียกชำระ

เต็มมูลค่าแล้ว เป็นเงิน 14,285.70 ล้านบาท 6.20 สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 ทอท.ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็น ทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซึ่ง ทอท. มีสำรองตามกฎหมายเท่ากับร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว 6.21 เงินปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลประจำปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 0.40 บาท เป็นจำนวนเงิน 571.43 ล้านบาท โดยจ่ายในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2551

151

รายงานประจำปี 2551


6.22 ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์เรียกเก็บค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุจาก ทอท. สำหรับ ทดม. และ ทสภ. ในอัตราร้อยละ 5 และ สำหรับท่าอากาศยานภูมิภาค ในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น และเมื่อ ทสภ. เปิดใช้จะมีการปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุสำหรับ ทดม. และท่าอากาศยานภูมิภาคใหม่ ตามผลการศึกษา ของที่ปรึกษาที่จัดหาโดยกรมธนารักษ์ ในงวดบัญชีนี้ กรมธนารักษ์ กับ ทอท. อยู่ระหว่างเจรจาต่อรองเพื่อกำหนดอัตราค่า ตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุดังกล่าว จึงได้บันทึกในอัตราเดิมซึ่งตั้งค้างจ่ายไว้แล้วตั้งแต่วันที่ ทสภ. เปิดใช้บริการ ซึ่งใน งวดบัญชีนี้มีค่าตอบแทน 952.97 ล้านบาท ส่วนค่าเช่าที่ราชพัสดุที่รับจากบริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด ต้องนำส่งกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าเช่าโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น จำนวน 2.76 ล้านบาท รวมเป็นค่าตอบแทนจำนวน 955.73 ล้านบาท 6.23 ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหารสูงสุด ประกอบด้วย หน่วย : ล้านบาท

ค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมกรรมการ โบนัสกรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด รวม

งบการเงินรวม 2551

2550

6.96 5.68 8.80 21.44

8.35 9.52 8.06 25.93

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 6.08 5.68 7.50 19.26

7.73 9.52 5.42 22.67

6.24 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี หน่วย : ล้านบาท

ค่าสอบบัญชี ค่าใช้จ่ายอื่น รวม

152

รายงานประจำปี 2551

งบการเงินรวม 2551 2.65 0.41 3.06

2550 2.65 0.34 2.99

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2551 2550 2.25 0.41 2.66

2.25 0.34 2.59


6.25 ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่ง ค่าทดแทนตามคำสั่งศาลแพ่งจำนวน 8,331.53 ล้านบาท เป็นรายได้ที่เกิดจากการชำระค่าทดแทนให้แก่ ทอท. ของบริษัท เอกชนสองราย และส่วนหนึ่งบันทึกรับรู้เพิ่มเติมตามข้อตกลงในสัญญา รวมเป็นจำนวน 3,871.53 ล้านบาท และโอนมาจากบัญชี รายได้ค่าสัมปทานรับล่วงหน้า จำนวน 4,460 ล้านบาท ตามคำสั่งศาลแพ่งคดีหมายเลขดำที่ 2440/2550 และ 2441/2550 ที่ กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.31.2 6.26 ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

หน่วย : ล้านบาท

ขาดทุน (กำไร) ที่เกิดขึ้นจริง ขาดทุน (กำไร) ที่ยังไม่เกิดขึ้น รวม

2551

2550

(208.45) 1,137.17 928.72

(286.32) (2,518.22) (2,804.54)

6.27 เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของ ทอท. ทอท.จึงมีเงินฝากทั้งระยะสั้นและระยะยาวในธนาคารและสถาบันการเงินต่าง ๆ บริษัทย่อยของ ทอท. มีหนี้สินจากการกู้ยืมที่มีทั้งอัตราดอกเบี้ยคงที่ และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

ทอท.มีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศซึง่ มีผลกระทบต่อหนีส้ นิ และค่าใช้จา่ ยดำเนินงาน และดอกเบี้ยของบริษัทย่อยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ทอท.มีนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยมีการจัดตั้งคณะทำงานบริหาร

ความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศ คณะทำงานฯได้ป้องกันความเสี่ยงสำหรับหนี้สินที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศบางส่วน โดยการใช้อนุพันธ์ ทางการเงินประเภทสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย (Cross Currency Interest Rate Swap) กับสถาบัน การเงินทั้งไทยและต่างประเทศ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ

ความเสี่ยงด้านสินเชื่อเกิดจากการที่ลูกค้าไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาหรือสัญญา ทอท.ป้องกันความเสี่ยงโดยกำหนดระยะ เวลาชำระค่าบริการแต่ละประเภทอย่างชัดเจน ติดตามลูกหนี้ที่มียอดค้างชำระอย่างต่อเนื่อง และมีการเรียกหลักประกันจาก ลูกค้า มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้ที่แสดงไว้ในงบดุล คือยอดสุทธิของลูกหนี้หลังจากหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

153

รายงานประจำปี 2551


ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง

ทอท. และบริษัทย่อยบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องโดยรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดไว้อย่างเพียงพอ และมีวงเงินสินเชื่อเพียงพอที่จะนำไปใช้ได้ การวิเคราะห์อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินแบบมีดอกเบี้ย ณ วันที่ในงบดุล ปี 2551 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนระยะยาว เงินกู้ยืมภายในประเทศ เงินกู้ยืมต่างประเทศ

ปี 2550 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินกู้ยืมภายในประเทศ เงินกู้ยืมต่างประเทศ

154

รายงานประจำปี 2551

อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.32 3.75 3.73 6.31 1.69 อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.13 3.76 4.30 4.93 1.74

ภายใน 1 ปี 522.52 7,914.85 11,557.83 - 19,995.20 148.40 1,713.17 1,861.57 ภายใน 1 ปี 60.92 10,170.47 4,503.25 14,734.64 10.00 111.30 1,307.09 1,428.39

มากกว่า 1 ปี - - - 691.95 691.95 148.40 4,160.95 4,309.35 มากกว่า 1 ปี - - - - - 148.40 1,588.48 1,736.88

มากกว่า 2 ปี - - - - - 296.80 12,598.14 12,894.94 มากกว่า 2 ปี - - - - - 445.20 11,469.82 11,915.02

งบการเงินรวม มากกว่า 5 ปี - - - - - 925.86 40,434.37 41,360.23 มากกว่า 5 ปี - - - - - 825.10 38,363.03 39,188.13

หน่วย : ล้านบาท

รวม 522.52 7,914.85 11,557.83 691.95 20,687.15 1,519.46 58,906.63 60,426.09 หน่วย : ล้านบาท

รวม 60.92 10,170.47 4,503.25 14,734.64 10.00 1,530.00 52,728.42 54,268.42


งบการเงินเฉพาะบริษัท ปี 2551 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนระยะยาว เงินกู้ยืมต่างประเทศ

ปี 2550 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินกู้ยืมต่างประเทศ

อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.34 3.75 3.73 - 1.69 อัตราดอกเบีย้ ที ่ แท้จริง (ร้อยละ)

- 3.14 3.76 - 1.74

ภายใน 1 ปี 534.46 7,803.81 11,557.83 - 19,896.10 1,713.17 ภายใน 1 ปี 80.06 10,127.98 4,503.25 14,711.29 1,307.09

มากกว่า 1 ปี - - - 691.95 691.95 4,160.95 มากกว่า 1 ปี - - - - 1,588.48

มากกว่า 2 ปี - - - - - 12,598.14 มากกว่า 2 ปี - - - - 11,469.82

มากกว่า 5 ปี - - - - - 40,434.37 มากกว่า 5 ปี - - - - 38,363.03

หน่วย : ล้านบาท

รวม 534.46 7,803.81 11,557.83 691.95 20,588.05 58,906.63 หน่วย : ล้านบาท

รวม 80.06 10,127.98 4,503.25 14,711.29 52,728.42

มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทระยะสั้น รวมทั้งเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ย ในตลาด ผู้บริหารจึงเชื่อว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินจะไม่แตกต่างอย่างเป็นสาระสำคัญกับมูลค่า

ตามบัญชี ความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ยที่เป็นหนี้สิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 เป็นจำนวนเงิน 3,387.53 ล้านบาท คำนวณโดยใช้อัตราคิดลดที่กำหนดโดยคู่สัญญาดังกล่าวและถือเสมือนว่าได้ยกเลิก สัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ในงบดุล

155

รายงานประจำปี 2551


6.28 ภาระผูกพัน งบการเงินรวมและเฉพาะบริษัท

ทอท.มีภาระผูกพัน ดังนี้ รายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ทอท.คงเหลือภาระผูกพันตามสัญญาจ้างโครงการพัฒนาท่าอากาศยานต่าง ๆ เป็นเงิน 451.13 ล้านบาท (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) และสัญญาก่อสร้าง ทสภ. เป็นเงิน 3,223.17 ล้านบาท (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) รายจ่ายดำเนินงาน(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 ประกอบด้วย สัญญาจ้างเอกชนดำเนินงาน สัญญาซ่อมบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ การเช่าทรัพย์สินและอื่น ๆ รวม

หน่วย : ล้านบาท

5,739.68 248.81 132.33 6,120.82

รทส. มีภาระผูกพันจากการทำสัญญาจ้างบริหารกิจการโรงแรม เป็นค่าสิทธิในการใช้ชื่อเครื่องหมายการค้า (Logo) จำนวน เงิน 21.40 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) แบ่งจ่าย 20 ปี (สัญญาเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2548 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2568) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้ว จำนวน 4.28 ล้านบาท คงเหลือยังเป็นภาระผูกพัน จำนวน 17.12 ล้านบาท และค่าจ้างในการ บริหารกิจการโรงแรม (ค่าจ้างและค่าใช้จ่ายบุคลากรหลัก) จำนวนเงิน 1,995.24 ล้านบาท บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้ว จำนวน 177.62 ล้านบาท ยังเป็นภาระผูกพัน จำนวน 1,817.62 ล้านบาท รวมเป็นภาระผูกพัน จำนวน 1,834.74 ล้านบาท 6.29 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้า 6.29.1 การประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน

ทอท.ได้ถูกประเมินภาษีจากกรุงเทพมหานคร (กทม.) เป็นภาษี โรงเรือนและที่ดินตั้งแต่ปี 2538 โดย กทม.ได้นำค่า

ผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ประกอบการมารวมเป็นฐานในการคำนวณ ในส่วนพื้นที่ที่ ทอท.ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่ง ทอท.ไม่เห็นด้วย จึงได้ยื่นหนังสืออุทธรณ์กับสำนักงานอัยการสูงสุด เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2542 เพื่อเสนอคณะกรรมการ พิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาชี้ขาดให้ต่อไป จากเหตุดังกล่าว คณะกรรมการ ทอท. ได้มมี ติตามรายงานการประชุม ครัง้ ที่ 6/2542 เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2542 ให้ ทอท.ชำระค่าภาษีโรงเรือน และที่ดินตามอัตราที่สมควรจ่าย กทม.ได้แจ้งการประเมินภาษีผ่านทางกรมธนารักษ์ซึ่งเป็นเจ้าของอาคารและที่ดินทุกปี โดยใช้ หลักเกณฑ์เดิมตั้งแต่ปี 2538 ซึ่ง ทอท. ไม่เห็นด้วยจึงได้อุทธรณ์ทุกปี ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา สำนักงานอัยการสูงสุดได้มีหนังสือที่ อส(สฝบพ) 0015/5219 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2548 แจ้งผลการชี้ขาดของคณะ กรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หาก กทม.ยอมรับผลการพิจารณา ของคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ จะทำให้ ทอท. ได้รับค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน(ปี 2538-2546) คืนจาก กทม.ประมาณ 570.69 ล้านบาท (ทอท.ได้มีหนังสือขอคืนจาก กทม.แล้ว) ต่อมาได้รับแจ้งจากสำนักอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์ว่าในปี 2547

คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้มีความเห็นเช่นเดียวกับปี 2546

156

รายงานประจำปี 2551


กทม.ได้มหี นังสือถึงกรมธนารักษ์เมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2549 ไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินภาษีตามทีค่ ณะกรรมการฯ กำหนด และกรมธนารักษ์ ได้มีหนังสือเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2549 ถึง ทอท.แจ้งว่าได้มีหนังสือถึงสำนักงานอัยการสูงสุด

เพื่อนำเรียนคณะรัฐมนตรีสั่งการให้กทม.ปฏิบัติตามต่อไป ในงวดบัญชีนี้ ทอท.ได้รับแจ้งการประเมินให้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินจาก กทม. ในส่วนพื้นที่ที่ ทอท.ให้ผู้ประกอบการเช่า ใช้ประโยชน์ ณ สนามบินดอนเมืองของปี 2549 (เพิ่มเติม) และปี 2550 จำนวน 386.90 ล้านบาท โดยใช้หลักเกณฑ์เดิมตั้งแต่ปี 2538 ทอท. จึงชำระค่าภาษีฯ จำนวน 134.45 ล้านบาท โดยวิธีการหักกลบลบหนี้กับเงินที่ กทม. ควรจะจ่ายคืนให้แก่ ทอท.ตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดการยุติในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้สำหรับ การประเมินภาษีฯ ปี 2547 ส่วนทีเ่ หลือจำนวน 252.45 ล้านบาท ทอท.ได้อทุ ธรณ์ตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการพิจารณาชีข้ าดฯ ได้ชี้ขาดไว้ ทำให้ ณ วันสิ้นงวด ทอท. มีค่าภาษีที่ยังอยู่ระหว่างอุทธรณ์รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,353.11 ล้านบาท (กทม.ได้ประเมิน ภาษีจำนวน 3,799.88 ล้านบาท หักยอดเงินที่ ทอท. ชำระแล้ว 1,446.77 ล้านบาท) และได้บนั ทึกค่าปรับเพิม่ เติมในงวดนี้จำนวน 23.78 ล้านบาท รวมเป็นค่าปรับทั้งสิ้น 226.98 ล้านบาท ตามนัยมาตรา43(4) แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475 แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษี โรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2534 หากผลการอุทธรณ์เป็นไปตาม

การประเมินของ กทม. 6.29.2 คดีความ

ทอท. ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีจำนวน 27 คดี โดยโจทก์ฟอ้ งให้ ทอท.ชดใช้คา่ เสียหายรวมเป็นเงินประมาณ 5,894.37 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบี้ย) เรื่องอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลโดยมีพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด เป็นทนายความแก้ต่างคดี และการพิจารณาของบริษัทประกันภัย ทอท. ถูกบริษัทเอกชน 2 ราย ยื่นฟ้องศาลแพ่งตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.31.2 ทอท. ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีเกี่ยวกับผลกระทบจากมลภาวะทางเสียงจำนวน 13 คดี โดยโจทก์ฟ้องให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสีย หายรวมเป็นเงินประมาณ 601.39 ล้านบาท เรื่องอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง โดยมีพนักงานอัยการ สำนักงาน อัยการสูงสุดเป็นทนายความแก้ต่างคดี 6.29.3 ผลกระทบจากมลภาวะทางเสียง

คณะกรรมการ ทอท. มีมติเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 เห็นชอบให้ดำเนินการชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงจาก การดำเนินกิจการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตามสถานการณ์การบินจริง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2550 เฉพาะอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 ดังนี้ - พืน้ ที่ NEF มากกว่า 40 ให้เจรจาซือ้ ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง โดยเทียบเคียงแนวทางการกำหนดค่าทดแทนความเสียหายทีต่ อ้ ง ออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 และหากเจ้าของ

ไม่ประสงค์จะขาย ให้รับเงินไปดำเนินการปรับปรุงอาคารเอง

157

รายงานประจำปี 2551


- พื้นที่ NEF 30-40 ให้สนับสนุนการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยการทำการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน หากพบว่า โครงการทำให้ระดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล(เอ) ให้รับเงินไปดำเนินการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้ หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบด้านเสียงจากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) จำนวนอาคารและพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การบินจริงตามมติคณะรัฐมนตรีข้างต้นมีมากกว่าตามที่ประเมินไว้ ในรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาจส่งผลให้ ทอท. ต้องเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายจำนวนมาก และอาจส่งผลกระทบต่อ

ผลการดำเนินงานของ ทอท. อย่างไรก็ตาม ทอท.ได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานศึกษาแนวทางการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ จากผู้ที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 6.29.4 เงินชดเชยในกรณีเลิกจ้างพนักงานทั้งหมด

ภายใต้ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรือ่ งมาตรฐานขัน้ ต่ำของสภาพการจ้างของรัฐวิสาหกิจ มีผลบังคับ ใช้เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2549 ในกรณีรัฐวิสาหกิจให้พนักงานทั้งหมดออกจากงาน ปลดออกจากงาน หรือไล่ออกจากงาน โดยที่ พนักงานไม่ได้กระทำความผิด มีสิทธิ์ได้รับเงินชดเชยตามอัตราที่กฎหมายกำหนด ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 เป็นจำนวนเงิน 1,346.63 ล้านบาท ซึ่ง ทอท. มิได้บันทึกไว้ในงบการเงิน 6.30 การโอนกิจการทั้งหมดของ บทม. มายัง ทอท. และดำเนินการเลิกกิจการ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2545 เห็นชอบการโอนกิจการ ทสภ. สิทธิ หนี้ ความรับผิด และสินทรัพย์ รวมทั้ง พนักงานของ บทม. มาเป็นของ ทอท. เมื่อ ทสภ. สร้างเสร็จก่อนการเปิดให้บริการ และให้ดำเนินการยุบเลิก บทม. โดยให้เป็น หน่วยธุรกิจหน่วยหนึ่งใน ทอท. ซึ่งได้ดำเนินการแล้ว มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 และมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 รับทราบ ซึ่งเป็นไปตามความเห็นของกระทรวงการคลัง และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนุษย์ โดย ทอท. รับโอนพนักงาน บทม. มาเป็นพนักงาน ทอท. ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2547 และรับโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ ความรับผิด และภาระผูกพันต่าง ๆ ของ บทม. มาเป็นของ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 ด้วยมูลค่าตามบัญชี (Book Value) ของทรัพย์สิน และหนี้สิน ที่ปรากฎในบัญชีของ บทม. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จำนวน 100,913.28 ล้านบาท (ประกอบด้วย สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง 91,820.25 ล้านบาท ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 149.35 ล้านบาท และรายการอืน่ ๆ 8,943.68 ล้านบาท) และ 62,429.47 ล้านบาทตามลำดับ ผลต่างจำนวน 38,483.81 ล้านบาท ทอท.ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้ กับ บทม. กำหนดจ่ายชำระดอกเบีย้ ของต้นเงินตามตัว๋ สัญญาใช้เงินในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี กำหนดจ่ายชำระคืนตัว๋ สัญญาใช้เงิน เมื่อถึงวันทำการสุดท้ายก่อนวันที่ บทม.จะได้คืนเงินลงทุนที่เหลืออยู่ให้กับ ทอท. (ถ้ามี) บทม. ได้จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2549 ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น บทม. ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่

28 กรกฎาคม 2549 ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างดำเนินการชำระบัญชี สำหรับตัว๋ สัญญาใช้เงินหยุดคิดดอกเบีย้ ตัง้ แต่วนั ที่ บทม. เลิกกิจการ 6.31 ข้อพิพาทกับบริษัทเอกชน 6.31.1 บริษัท แอร์พอร์ตดิวตี้ฟรี จำกัด

ทอท. มีขอ้ พิพาทกับ บริษัท แอร์พอร์ตดิวตีฟ้ รี จำกัด ในกรณีทแี่ จ้งให้บริษัทฯ ชำระเงินค่าตอบแทนขัน้ ต่ำตามสัญญาเพิม่ ขึน้ ในปี 2541 - 2544 เป็นจำนวนเงิน 442.17 ล้านบาท แต่บริษัทฯ ยังคงเพิกเฉย ทอท. จึงได้เจรจาทำความตกลงกับบริษัท บี.เอ.ดี.เอฟ.จำกัด ซึ่งเป็นคู่สัญญาร่วมทุนจัดตั้งบริษัท แอร์พอร์ตดิวตี้ฟรี จำกัด กับ ทอท.ให้เป็นผู้ชำระเงินแทนบริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ ทอท.จึงนำเรื่องเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการซึ่งเป็นไปตามมติคณะกรรมการ ทอท. จนถึงปัจจุบันนี้ ทอท. ยังไม่ได้บันทึกบัญชีค่าตอบแทนดังกล่าว

158

รายงานประจำปี 2551


6.31.2 บริษัทเอกชนสองราย

ตามที่ ทอท.ได้ทำสัญญากับบริษัทเอกชนสองรายในการประกอบการโครงการจำหน่ายสินค้าปลอดอากร และโครงการ บริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ซึ่งบริษั ทได้จ่ายค่าสัมปทานล่วงหน้าแล้วรวมเป็นเงิน 4,460 ล้านบาท ต่อมาได้มีมติ

คณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 10/2550 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2550 ได้พิจารณาตามความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ กฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ประกอบกับข้อมูลเกี่ยวกับการคิดคำนวณมูลค่าการลงทุนของโครงการว่าการทำสัญญามิได้ดำเนินการให้ เป็นตามขั้นตอนพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 จึงเป็นสัญญาที่

ไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่มีผลผูกพันคู่สัญญา ทอท. จึงไม่บันทึกรับรู้รายได้จากการดำเนินงานตามสัญญาดังกล่าว และได้มี หนังสือถึงบริษัทเอกชนทั้งสองรายเพื่อแจ้งมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ ดังกล่าว บริษัทเอกชนดังกล่าวได้เป็นโจทก์ยื่นฟ้องศาลแพ่งตามคดีหมายเลขดำที่ 2440/2550 และ 2441/2550 ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2550 ให้ ทอท. ปฏิบัติตามสัญญา หาก ทอท.ไม่อาจกระทำได้ ให้ชดใช้ค่าเสียหายกับโจทก์เป็นเงิน 20,878.51 ล้านบาท และ 48,074.15 ล้านบาท ตามลำดับ พร้อมทั้งดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีนับแต่วันฟ้อง จนกว่า ทอท. จะชำระหนี้เสร็จสิ้นโดย ทอท. ได้เสนอเรือ่ งให้สำนักงานอัยการสูงสุดดำเนินการว่าต่าง แก้ตา่ งต่อบริษัททัง้ สองตามมติคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที่ 17/2550 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2550 ซึ่งพนักงานอัยการได้ยื่นคำให้การแก้ต่างคดีให้ ทอท. แล้ว เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 ศาลแพ่งได้พิเคราะห์คดีหมายเลขดำที่ 2441/2550 เห็นว่ามีเหตุจำเป็นและสมควรที่จะนำวิธี คุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษามาใช้บังคับ จึงมีคำสั่งให้ ทอท. อนุญาตให้บริษัทเอกชนเข้าประกอบกิจการตามสัญญาตามจำนวน พื้นที่เพียงเท่าที่บริษัทเอกชนได้เข้าประกอบกิจการอยู่แล้วในวันที่มีคำสั่ง และให้บริษัทเอกชนชำระค่าทดแทนแก่ ทอท. ตามข้อ ตกลงในสัญญา และให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายของ ทอท. หากต่อไปภายหน้าศาลได้มีคำพิพากษาว่าสัญญาไม่มีผล ผูกพัน และเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2551 ศาลแพ่งอนุญาตให้บริษัทเอกชนได้รับความคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา ตามคดี

หมายเลขดำที่ 2440/2550 โดย ทอท. และบริษัทเอกชนตกลงกันว่า ทอท. ยอมให้บริษัทเอกชนและผูป้ ระกอบการรายย่อยที่ได้รบั

อนุญาตจากบริษัทเอกชนเข้าประกอบการในพื้นที่โครงการทั้งหมด 25,827.67 ตารางเมตร และให้บริษัทเอกชนชำระค่าทดแทน ต่าง ๆ ให้แก่ ทอท. ตามข้อตกลงในสัญญาหรือตามที่ ทอท. แจ้งวันให้ชำระ โดยให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายที่น้อยที่สุด หากต่อไปในภายหน้าศาลมีคำพิพากษาว่าสัญญาไม่มีผลผูกพัน ดังนั้น จึงยังไม่อาจประมาณการได้ว่าจะเกิดความเสียหายจากการยื่นฟ้องของบริษัทเอกชนทั้งสองอย่างไร เท่าใด หรือไม่ 6.32 การอนุมัติให้ออกงบการเงิน งบการเงินนี้ ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการตรวจสอบที่ ได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการ ทอท. เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2551

159

รายงานประจำปี 2551


Created & Designed by Post-Card Co., Ltd. Tel. 0 2511 1190 www.greezcards.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.