BCPG : Annual Report 2016 TH

Page 1

*ปกให้ใช้จากไฟล์ Illus ที่แนบมา

รายงานประจำป 2559 บร�ษัท บีซ�พ�จ� จำกัด (มหาชน)


2

รายงานประจำ�ปี 2559


สารบัญ 15

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

5

สารจาก ประธานกรรมการ

30

โครงสร้างการถือหุ้น

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

• นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี • รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ • รายงานของคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน • รายงานของคณะกรรมการ บรรษัทภิบาล • รายงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร • รายงานของคณะกรรมการ บริหารและจัดการการลงทุน

85

ปัจจัยความเสี่ยง

• วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์ • การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการที่สำ�คัญ • ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจ ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่

33

โครงสร้างการจัดการ

• คณะกรรมการบริษัท • คณะกรรมการชุดย่อย • คณะผู้บริหารและบุคลากร

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

72

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

3

• โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศไทย • โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่น • การตลาดและการแข่งขัน

6

81

การควบคุมภายใน

87

98

ความรับผิดชอบต่อสังคม

รายการระหว่างกัน

83

ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน


World’s Greenergy Iconic Creator

4

รายงานประจำ�ปี 2559

ต้นแบบผู้เปลี่ยนแปลงโลกด้วยวิถีพลังงานสะอาด

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) พร้อมร่วมมือ ร่วมคิดและร่วมประสานพลัง กับเพื่อนร่วมอุดมการณ์จากทุกมุมโลก ด้วยวิสัยทัศน์ในการดำ�เนินธุรกิจ “สร้างสรรค์ธุรกิจพลังงาน ด้วยนวัตกรรมอันเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมุ่งมั่นพัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน ด้วยบุคลากรที่รู้รอบและชาญฉลาด” โดยยึดมั่นต่อพันธกิจ ในการ “ลงทุน พัฒนา และดำ�เนินธุรกิจ โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนทั่วโลก ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย บนรากฐานของคตินิยมร่วมขององค์กร การจัดการและหลักบริหารธุรกิจ เพื่อการเติบโต อย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม”


สารจาก

ประธานกรรมการ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) “บีซีพีจี” หรือ บริษัทฯ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 เพื่อประกอบธุรกิจไฟฟ้าจากพลังงาน สะอาดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้นำ�หุ้นเข้าจดทะเบียนและทำ�การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2559 เพือ่ เสริมสร้างความสามารถในการขยายการลงทุน มีความแข็งแกร่งในการทำ�ธุรกิจระดับสากล และเป็นบริษทั ชัน้ นำ�ของภูมภิ าคอย่างมัน่ คง ในอนาคต ดำ�เนินงานทีส่ ร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั องค์กรและ สังคมในวงกว้าง ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้าง รายได้ให้กบั ชุมชนตามแนวทางการทำ�กิจการ เพือ่ สังคม (Social Enterprise) บีซีพีจี เล็งเห็นถึงความสำ�คัญในการ ขยายตัวของพลังงานหมุนเวียน จึงได้ก�ำ หนด แนวทางการดำ�เนินธุรกิจที่นอกจากจะตั้งเป้า เติบโตอย่างต่อเนือ่ งในธุรกิจพลังงานหลากหลาย รูปแบบแล้ว ยังให้ความสำ�คัญกับนวัตกรรม เพือ่ ค้นหาแนวทางใหม่ของพลังงานหมุนเวียน ที่ จ ะผสานอย่ า งลงตั ว กั บ ชี วิ ต ประจำ � วั น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภคให้มากขึ้น เพื่อสร้างความยั่งยืนใน การทำ�ธุรกิจและความแตกต่างให้กับบริษัทฯ ในฐานะผู้นำ�ด้านพลังงานทดแทนที่สามารถ เปลี่ยนวิถีการใช้พลังงานของผู้บริโภค ผม ในนามคณะกรรมการบริษัท คณะ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ขอให้ คำ �มั่ นว่ าเราพร้ อมจะใช้ ประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญในการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อสร้าง รายได้ที่มั่นคงและผลักดันผลการดำ�เนินงาน ให้เติบโตได้อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต

นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

จัด การกระจายหุ้ นและกำ �หนดราคาอย่ าง เหมาะสม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้รบั คัดเลือก จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ฟุ ต ซี่ รั ส เซล (FTSE Russell) ซึ่ ง เป็ น ผู้จัดทำ�ดัชนี FTSE และดัชนี Russell เข้าร่วม คำ�นวณดัชนี FTSE SET Index Series ในกลุม่ FTSE SET Mid Cap Index อีกด้วย ในด้านการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ มอบโล่ เ กี ย รติ ย ศในงาน “ร้อยดวงใจ ร่วมใจลดโลกร้อน” จากการที่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของ บี ซี พี จี จำ � นวน 7 โครงการ ได้ รั บ การขึ้ น ทะเบียนและรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจก ที่ลดได้ จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน กระจก (อบก.) รวมทั้ ง สิ้ น 150,984 ตั น คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ซึง่ สูงเป็นอันดับ 1 ในปี 2559 และเป็นอันดับ 2 นับตั้งแต่ที่ อบก. เคยให้ ก ารรั บ รองมา นอกจากนี้ โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แบบติ ด ตั้ ง บนพื้ น ดิ น สำ � หรั บ หน่ ว ยงาน ราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร (โซลาร์ สหกรณ์) ของบริษัทฯ ที่ได้เริ่มขายไฟฟ้าเข้า ระบบเชิงพาณิชย์เป็นรายแรกของประเทศไทย เมือ่ เดือนธันวาคม 2559 ยังมีสว่ นสร้างรายได้ ให้ ส มาชิ ก สหกรณ์ แ ละชุ ม ชนในพื้ นที่ ร อบ โครงการ ตามนโยบายของ บริษัทฯ ในการ

5

บีซพี จี ี ดำ�เนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า ง ยั่งยืน ยึดมั่นต่อพันธกิจในการลงทุน พัฒนา และดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ทั่ ว โลกด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ การ เติบโตอย่างยัง่ ยืนและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยในปี 2559 บริษัทฯ มีโครงการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทยและ ประเทศญี่ปุ่น กำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวมกว่า 400 เมกะวัตต์ และมีแผนขยายการลงทุนไป ยังประเทศอื่นๆ ในธุรกิจพลังงานหมุนเวียน ในรูปแบบต่างๆ ทั้งโรงไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิ ต ย์ โรงไฟฟ้ า พลั ง งานลม โรงไฟฟ้ า พลั ง งานความร้ อ นใต้ พิ ภ พ โรงไฟฟ้ า ก๊า ซ ชีวภาพ โรงไฟฟ้าชีวมวล ฯลฯ หลั ง จากนำ � หุ้ น เข้ า จดทะเบี ย นและ ทำ � การซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ด้วยการเสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่มทุน (IPO) จำ�นวน 590 ล้านหุ้น บริษัทฯ และบริษทั ทีป่ รึกษาทางการเงิน และผูจ้ ดั การ การจัดจำ�หน่าย และรับประกันการจำ�หน่ายหุน้ ของบีซีพีจี ก็ได้รับรางวัล “Best IPO Award” จากงานประกาศรางวัล The Asset Country Award 2016 ทีฮ่ อ่ งกง ซึง่ จัดขึน้ โดย The Asset นิ ต ยสารการเงิ น ชั้ น แนวหน้ า ของเอเชี ย เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2560 จากการบริหาร


นโยบายและภาพรวม

การประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์ วิสัยทัศน์

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) (“บีซีพีจี” หรือ “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อยของบริษัทฯ (รวมเรียกว่า “กลุ่มบริษัทฯ”) มีวิสัยทัศน์ในการดำ�เนินธุรกิจ คือ สร้างสรรค์ธุรกิจพลังงานด้วยนวัตกรรมอันเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม และมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ อย่างยั่งยืน ด้วยบุคลากรที่รู้รอบและชาญฉลาด

พันธกิจ

ลงทุน พัฒนา และดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงาน สะอาดทั่วโลกด้วยเทคโนโลยีที่ทนั สมัย บนรากฐานของ คตินยิ มร่วมขององค์กร การจัดการและหลักบริหารธุรกิจ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Spirit

Innovative รู้รอบ รู้ลึก คิดล้ำ� Integrity ยึดมัน่ ในหลักการ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล International มีความเป็นสากล เปิดรับความ หลากหลายทางวัฒนธรรม

เป้าหมายและกลยุทธ์ในการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ

กลุ่มบริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะลงทุนในโครงการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรวมทัง้ สิน้ 1,000 เมกะวัตต์ ภายในปี 2563 ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ทัง้ นี้ กลุม่ บริษัทฯ มีแผนที่จะเข้าลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าพลังงาน หมุนเวียนรูปแบบต่างๆ เช่น โครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้ อ นใต้ พิ ภ พ โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานลม โครงการโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ โครงการโรงไฟฟ้าชีวมวล และโครงการโรงไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะ เป็นต้น ผ่านการ เข้าซือ้ ธุรกิจ และ/หรือการพัฒนาโครงการใหม่ทงั้ ในและ ต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงประเทศในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะ ในแถบเอเชียเหนือและเอเชียแปซิฟิก


การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญ บริษัทฯ จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ด้วยทุนจดทะเบียนแรกเริ่มจำ�นวน 20.00 ล้านบาท แบ่งออก เป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 2.0 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10.00 บาท โดยมีบริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (“BCP”) เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ร้อยละ 99.9 Purchase Agreement) กับนิตบิ คุ คลรายหนึง่ (1) เพื่อซื้อหุ้นของ Huang Ming Japan Company Limited (“HMJ”) ทำ�ให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นาโรงไฟฟ้ า พลั ง งาน แสงอาทิตย์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่นจำ�นวน 2 โครงการ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา รวม 30.0 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวม ประมาณ 36.0 เมกะวัตต์) ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทฯ ประกอบธุรกิจ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทง้ั ในประเทศและ ต่างประเทศ และทั้งที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ แล้วและอยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมทั้งสิ้น 324.1 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวม ประมาณ 418.0 เมกะวัตต์) เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2559 บริษัทฯ เข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยภายใต้ ห มวดพลั ง งานและ สาธารณู ป โภค มี ทุ น จดทะเบี ย นทั้ ง สิ้ น 10,000.00 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ จำ�นวน 2,000.0 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท โดยเป็นทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว 9,950.00 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ จำ�นวน 1,990.0 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด รวมเท่ากับ 27,860.00 ล้านบาท

(1) นิติบุคคลดังกล่าวมิได้เป็นนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามนิยามในประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ.21/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการทำ� รายการที่เกี่ยวโยงกัน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

แบบติ ด ตั้ ง บนพื้ นดิ น สำ � หรั บ สหกรณ์ ภ าค การเกษตร (โครงการฯ) ที่กลุ่มบริษัทฯ เป็นผู้ สนับสนุนโครงการฯ ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม โครงการฯ โดยมีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 12.0 เมกะวัตต์ ซึ่งก่อสร้างและ เปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว 7.0 เมกะวัตต์ เมื่อเดือนธันวาคม 2559 นอกจากการขยายธุรกิจภายในประเทศ กลุม่ บริษทั ฯ ได้เข้าลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น โดย ลงนามในสัญญาซือ้ ขายหุน้ (Purchase and Sale Agreement) กับ SunEdison International LLC. (“SEI”) และ SunEdison Energy Holding (Singapore) Pte. Ltd. (“SEH”) (รวมเรียกว่า “กลุ่ม SunEdison”) วันที่ 29 มกราคม 2559 เพือ่ เข้าซือ้ ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่นจากกลุ่ม SunEdison มีกำ�ลัง การผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 164.1 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 200.0 เมกะวัตต์) แบ่งเป็นโครงการที่ดำ�เนินการ เชิงพาณิชย์แล้ว มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 19.5 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิต ติดตั้งรวมประมาณ 26.0 เมกะวัตต์) และ โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและพัฒนา มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 144.6 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 174 เมกะวัตต์) ในไตรมาสที่ 2 ปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ ได้ ลงนามในสัญญาซื้อขายสินทรัพย์ (Asset

7

ต่อมาที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น BCP ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2558 มีมติ อนุมตั แิ ผนการปรับโครงสร้างกลุม่ ธุรกิจไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียนและแผนการเสนอขายหุ้น สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ต่อประชาชนทัว่ ไป เป็นครั้งแรก (IPO) ปรับโครงสร้างกลุ่มธุรกิจ ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนและรองรับการขยาย ธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนในอนาคต โดย ให้บริษทั ฯ รับโอนสินทรัพย์และกิจการ โดยการ ซื้อสินทรัพย์ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กำ � ลั ง การผลิ ตไฟฟ้ าตามสัญ ญารวม 38.0 เมกะวัตต์ ทีต่ �ำ บลบางกระสัน้ อำ�เภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (“โครงการระยะที่ 1”) จาก BCP และเข้าซื้อหุ้นบริษัทย่อยของ BCP ที่ ดำ � เนิ น โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย์ทง้ั หมด ส่งผลให้บริษทั ฯ เป็นเจ้าของ โครงการระยะที่ 1 และเข้าถือหุ้นร้อยละ 99.9 ในบริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด (“BSE”) (“โครงการระยะที่ 2”) และบริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด (“BSE-BRM”) บริษทั บางจากโซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุ รี รั ม ย์ 1 ) จำ � กั ด (“BSE-BRM1”) บริ ษั ท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จำ�กัด (“BSE-CPM1”) บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด (“BSE-NMA”) และ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุร)ี จำ�กัด (“BSE-PRI”) (“โครงการระยะที่ 3”) ต่ อ มาเมื่ อ วั นที่ 26 เมษายน 2559 โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์


โครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ

Public 29.6%

70.4%

โครงการระยะที่ 1

ประเทศไทย

99.9%

BSE-BRM

99.9%

BSE-BRM 1

99.9%

BSE-CPM 1

99.9%

BSE-NMA

99.9%

99.9%

BSE-PRI(1)

BBP 1

100.0%

BCPGI 100.0%

Greenergy

HMJ

EPC(2)

51.0%

AM(3)

100.0%

Greenergy Power

100.0% Holdings

100.0%

100.0%

BBP 2

100.0%

BSEH

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศญี่ปุ่น

99.9%

โครงการระยะที่ 3

โครงการระยะที่ 2

8

รายงานประจำ�ปี 2559

BSE

99.9%

BCPGJ 100.0%

ลงทุน(4)

100.0%

โครงการดำ�เนินการในเชิงพาณิชย์ และอยู่ระหว่างการพัฒนา

โครงการดำ�เนินการ ในเชิงพาณิชย์

หมายเหตุ : (1) BSE-PRI เป็นผู้สนับสนุนโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานเรื่องการรับซื้อไฟฟ้า จากโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดินส�ำหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร พ.ศ. 2558 ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา รวม 12 เมกะวัตต์ (2) EPC หมายถึง กลุ่มบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจ (1) ผู้รับเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) และ (2) ด�ำเนินการและซ่อมบ�ำรุง (O&M) โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่น (3) AM หมายถึง บริษทั ทีด่ �ำเนินธุรกิจบริหารจัดการและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ ในฐานะบริษทั บริหารทรัพย์สนิ (Asset Management Company) ของโครงการ Tarumizu และหุ้นส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 49.0 ถือโดยนิติบุคคลที่มิได้เป็นนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามนิยามในประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ.21/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน (4) ลงทุน หมายถึง บริษัทที่ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่นในฐานะนักลงทุนทีเค


รายละเอียดบริษัทย่อย ชื่อบริษัท บริษัท บางจาก โซลาร์ เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด (“BSE”)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

การถือหุ้น(1) (ร้อยละ)

ไทย

1,800.00 ล้านบาท

99.9

ไทย

755.00 ล้านบาท

99.9

ไทย

765.00 ล้านบาท

99.9

ไทย

705.00 ล้านบาท

99.9

ไทย

684.10 ล้านบาท

99.9

ไทย

1,400.00 ล้านบาท

99.9

สิงคโปร์

1.00 ดอลลาร์สิงคโปร์

100.0

สิงคโปร์

1.00 ดอลลาร์สิงคโปร์

100.0

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว

9

ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการระยะ ที่ 2 ที่อำ�เภอบำ�เหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ และอำ�เภอ บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กำ�ลังการผลิต ไฟฟ้าตามสัญญารวม 32 เมกะวัตต์ บริษัท บางจาก โซลาร์ ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการระยะ เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์)จำ�กัด ที่ 3 ที่อำ�เภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ กำ�ลังการผลิต (“BSE-BRM”) ไฟฟ้าตามสัญญารวม 8 เมกะวัตต์ ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการระยะ บริษัท บางจาก โซลาร์ เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) ที่ 3 ที่อำ�เภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (“BSE-BRM 1”) ตามสัญญารวม 8 เมกะวัตต์ ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการระยะ บริษัท บางจาก โซลาร์ เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูม1ิ ) จำ�กัด ที่ 3 ทีอ่ �ำ เภอบำ�เหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ กำ�ลังการผลิต (“BSE-CPM 1”) ไฟฟ้าตามสัญญารวม 8 เมกะวัตต์ บริษัท บางจาก โซลาร์ ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการระยะ เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) ที่ 3 ที่อำ�เภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา กำ�ลังการ จำ�กัด (“BSE-NMA”) ผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 8 เมกะวัตต์ บริษัท บางจาก โซลาร์ ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการระยะ เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) ที่ 3 ที่อำ�เภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี กำ�ลังการผลิต จำ�กัด (“BSE-PRI”) ไฟฟ้าตามสัญญารวม 16 เมกะวัตต์ และดำ�เนินโครงการ ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ส�ำ หรับหน่วยงานราชการ และสหกรณ์ภาคการเกษตร กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 12 เมกะวัตต์ BCPG Investment ดำ�เนินธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่นในต่างประเทศ Holdings Pte. Ltd. (“BCPGI”) BSE Energy Holdings ดำ�เนินธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่นในต่างประเทศ Pte. Ltd. (“BSEH”)

ประเทศ


ชื่อบริษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

10

รายงานประจำ�ปี 2559

BCPG Japan Corporation ดำ�เนินธุรกิจพัฒนาโครงการ บริหารจัดการ ก่อสร้างและ (“BCPGJ”) ดำ�เนินการ รวมถึงบริหารเงินลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า ในประเทศญี่ปุ่น Greenergy Holdings Pte. Ltd. ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ ุน่ ใน (“Greenergy Holdings”) ฐานะนักลงทุนทีเค

ประเทศ

ทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว

การถือหุ้น(1) (ร้อยละ)

ญี่ปุ่น

249.50 ล้านเยน

100.0

สิงคโปร์

2.00 ดอลลาร์ สิงคโปร์ และ 2.00 ล้านเหรียญสหรัฐ 2.00 ดอลลาร์ สิงคโปร์ และ 5.80 ล้านเหรียญสหรัฐ 1.00 ล้านเยน

100.0

Greenergy Power Pte. Ltd. ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่น (“Greenergy Power”) ในฐานะนักลงทุนทีเค

สิงคโปร์

Tarumizu Solar Solutions บริ ห ารจั ด การและบำ � รุ ง รั ก ษาโรงไฟฟ้ า พลั ง งาน Godo Kaisha (”TSS”) แสงอาทิตย์ในฐานะบริษัทบริหารสินทรัพย์ (Asset Management Company) ของโครงการ Tarumizu Nakatsugawa PV Godo ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการ S1 Kaisha (“Nakatsugawa”) ที่คาโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 0.7 เมกะวัตต์

ญี่ปุ่น

Godo Kaisha Inti

ญี่ปุ่น

เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

Takamori PV Godo Kaisha ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ S11 (“Takamori”) ที่คุมาโมโตะ ประเทศญี่ปุ่น กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 1 เมกะวัตต์

ญี่ปุ่น

Nojiri PV Godo Kaisha ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ S19 (“Nojiri”) ที่ มิ ย าซากิ ประเทศญี่ ปุ่ น กำ � ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า ตาม สัญญารวม 0.9 เมกะวัตต์

ญี่ปุ่น

Godo Kaisha Aten

ญี่ปุ่น

ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยโครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนา Nikaho PV Godo Kaisha ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ Nikaho (“Nikaho”) ทีอ่ ากิตะ ประเทศญีป่ นุ่ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา รวม 8.8 เมกะวัตต์ Gotenba 2 PV Godo Kaisha ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ (“Gotemba”) โดยโครงการ Gotemba อยู่ระหว่างการพัฒนา Godo Kaisha Horus เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต Yabuki PV Godo Kaisha ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ (“Yabuki”) โดยโครงการ Yabuki อยู่ระหว่างการพัฒนา

1.00 เยน (BCPGJ เป็นผู้ถือหุ้น บุริมสิทธิ 1.90 ล้านเยน)(3) 1.00 เยน 1.00 เยน (BCPGJ เป็นผู้ถือหุ้น บุริมสิทธิ 2.70 ล้านเยน)(3) 1.00 เยน (BCPGJ เป็นผู้ถือหุ้น บุริมสิทธิ 2.60 ล้านเยน)(3) 1.00 เยน

100.0

51.0(2) -(3)

100.0 -(3)

-(3)

100.0

ญี่ปุ่น

21.00 ล้านเยน

100.0

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

1.00 เยน 1.00 เยน

100.0 100.0


ประเทศ ญี่ปุ่น

ทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว 1.00 เยน

การถือหุ้น(1) (ร้อยละ) 100.0

Komagane PV Godo Kaisha (“Komagane”) Godo Kaisha Helios Godo Kaisha Lugh Godo Kaisha Phoenix Gotenba 1 PV Godo Kaisha Komagane Land Lease Godo Kaisha Nagi PV Godo Kaisha (“Nagi”) Godo Kaisha Natosi (“Suimei”) Godo Kaisha Amaterasu Godo Kaisha Mithra Godo Kaisha Sol Godo Kaisha Saule Godo Kaisha Shamash Godo Kaisha Pusan Godo Kaisha Apolo Godo Kaisha Surya Nagi Land Lease Godo Kaisha (“Nagi Land”) Godo Kaisha Rangi Godo Kaisha Dazbog

ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยโครงการ Komagane อยู่ระหว่างการพัฒนา เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยโครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนา ถือที่ดินของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่อยู่ ระหว่างการพัฒนาที่ประเทศญี่ปุ่น ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยโครงการ Nagi อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยโครงการ Suimei อยู่ระหว่างการพัฒนา เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต ถือที่ดินของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์(Nagi) ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาที่ประเทศญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน

100.0 100.0 100.0 100.0

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน

100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

1.00 เยน 1.00 เยน

100.0 100.0

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

11

ชื่อบริษัท


12

รายงานประจำ�ปี 2559

ชื่อบริษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ประเทศ

Godo Kaisha Narang Godo Kaisha Malina Godo Kaisha Legba J2 Investor Godo Kaisha (“J2”) J1 Investor Godo Kaisha (“J1”) BCPG Engineering Company (“BCPGE”) Godo Kaisha Tarumi Takatoge (“Tarumizu”)

เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่น ในฐานะนักลงทุนทีเค ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่น ในฐานะนักลงทุนทีเค ดำ�เนินธุรกิจเป็นผูร้ บั เหมาแบบเบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) และให้บริการและซ่อมบำ�รุง (O&M) โรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ ดำ � เนิ นธุ ร กิ จ โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ โครงการ Tarumizu ที่คาโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น กำ�ลังผลิตไฟฟ้า ตามสัญญารวม 8.1 เมกะวัตต์

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

Huang Ming Japan Co., Ltd. (“HMJ”) บริษทั บีซพี จี ี ไบโอเพาเวอร์ 1 จำ�กัด (“BBP 1”) บริษทั บีซพี จี ี ไบโอเพาเวอร์ 2 จำ�กัด (“BBP 2”)

ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยโครงการ Chiba อยู่ระหว่างการพัฒนา เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต

ไทย

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

ไทย

ทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน 1.00 เยน

การถือหุ้น(1) (ร้อยละ) 100.0 100.0 100.0 100.0

107.00 ล้านเยน 40.00 ล้านเยน

100.0

0.10 ล้านเยน (BCPGJ เป็นผู้ถือหุ้น บุริมสิทธิ 19.30 ล้านเยน)(3) 0.10 ล้านเยน 15.00 ล้านบาท 5.00 ล้านบาท

100.0 -(3)

100.0

หมายเหตุ : (1) สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมการถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม (2) หุ้นส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 49.0 ถือโดยนิติบุคคลที่มิได้เป็นนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามนิยามในประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ.21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน (3) ทุนจดทะเบียนในรูปแบบหุ้นบุริมสิทธิแสดงจำ�นวนเงินลงทุนในบริษัทจีเค ที่ไม่มีสิทธิออกเสียง

99.9 99.9


ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นรายใหญ่

ธุรกิจโรงกลั่น

ธุรกิจการตลาด

ธุรกิจพลังงานหมุนเวียน

ธุรกิจสำ�รวจและผลิต

ธุรกิจอื่นๆ

ธุรกิจพลังงานไฟฟ้าหมุนเวียน

70.4%

99.9%

BSE-PRI

100.0%

BSEH

99.9%

BSE-BRM

100.0%

HMJ

99.9%

BSE-BRM 1

99.9%

BSE-CPM 1

99.9%

BSE-NMA

100.0%

BCPGI

99.9%

BPP 1

99.9%

BPP 2

100.0%

100.0%

100.0%

BCPGJ

Greenergy Holdings Greenergy Power

ที่มา : บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน), www.bangchak.co.th, ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ถือหุ้นสามัญโดย BCP ในสัดส่วนร้อยละ 70.4 ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว โดยที่กลุ่มบริษัทฯ และ BCP มีขอบเขตการดำ�เนินธุรกิจและทรัพยากรหลักในการดำ�เนินธุรกิจที่แยกจากกันอย่างชัดเจน ทั้งนี้เป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท BCP ครั้งที่ 10/2558 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2558 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท BCP ครั้งที่ 7/2559 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 ซึ่งปัจจุบันกลุ่มบริษัทฯ เป็นผู้ดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนเชิงพาณิชย์รูปแบบต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น โครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม โครงการโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ โครงการ โรงไฟฟ้าชีวมวล และโครงการโรงไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะ เป็นต้น นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทฯ และ BCP ยังคงมีรายการระหว่างกันในลักษณะ เกื้อหนุนทางธุรกิจและส่งเสริมภาพลักษณ์ของกลุ่มบริษัท BCP (ซึ่งรวมถึงภาพลักษณ์ของบริษัทฯ) และเปิดเผยรายละเอียดในหัวข้อเรื่อง รายการระหว่างกัน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

BSE

13

99.9%


14

รายงานประจำ�ปี 2559

รางวัลและความสำ�เร็จ • รางวั ล “Best IPO Award” จากงาน ประกาศรางวัล The Asset Country Awards 2016 ที่ ฮ่องกง ซึ่งจัดขึ้นโดย The Asset นิตยสารการเงินชั้น แนวหน้าของเอเชีย เมือ่ วันที่ 11 มกราคม 2560 ในฐานะ ที่ เป็ น องค์ ก รที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ อย่ า งมี ประสิทธิภาพ สามารถจัดการกระจายหุน้ และกำ�หนด ราคาอย่ า งเหมาะสมในการนำ � หุ้ น เข้ า ซื้ อ ขายใน ตลาดหลั กทรั พย์ แห่ งประเทศไทยเมื่ อปลายเดือน กันยายน 2559 • ได้ รั บ คั ด เลื อ กจากตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และฟุตซี่ รัสเซล (FTSE Russell) ซึ่งเป็น ผู้จัดทำ�ดัชนี FTSE และดัชนี Russell เข้าร่วมคำ�นวณ ดัชนี FTSE SET Index Series ในกลุ่ม FTSE SET Mid Cap Index เมื่อเดือนธันวาคม 2559 • ได้ รั บ โล่ เ กี ย รติ ย ศในงาน “ร้ อ ยดวงใจ ร่วมใจลดโลกร้อน” ประจำ�ปี 2559 เนื่องในโอกาส ที่โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของบีซีพีจี จำ�นวน 7 โครงการที่ได้รับการขึ้นทะเบียนและรับรอง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีล่ ดได้ จากองค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) รวมทัง้ สิน้ 150,984 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ซึง่ สูงเป็นอันดับ 1 ในปีน้ี และเป็นอันดับ 2 นับตัง้ แต่ท่ี อบก.เคยให้การรับรองมา สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ที่ให้ความ สำ�คัญด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน


ลักษณะ

การประกอบธุรกิจ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

15

กลุม่ บริษทั ฯ ลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าพลังงาน หมุนเวียนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมี รายละเอียดดังนี้ (1) ธุ ร กิ จ โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสง อาทิตย์ในประเทศไทย กำ�ลังการผลิตไฟฟ้า ตามสั ญ ญารวม 130.0 เมกะวั ต ต์ (กำ � ลั ง การผลิตติดตั้งรวมประมาณ 182.0 เมกะวัตต์) โดยแบ่งเป็น - โครงการที่ ดำ � เนิ นการเชิ ง พาณิ ช ย์ แล้ว กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 125.0 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 177.0 เมกะวัตต์) ซึง่ ประกอบไปด้วย (1) โรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ที่บริษัทฯ เป็นผู้ดำ�เนินการ กำ � ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า ตามสั ญ ญารวม 38.0 เมกะวัตต์ และ (2) โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ดำ�เนินการโดยบริษัทย่อยซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้น ร้อยละ 99.9 ได้แก่ BSE BSE-BRM BSE-BRM 1 BSE-CPM 1 BSE-NMA และ BSE-PRI กำ�ลังการ ผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 87.0 เมกะวัตต์ - โครงการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นา กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาและกำ�ลังการ ผลิตติดตั้งรวม 5.0 เมกะวัตต์ และคาดว่าจะ สามารถเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ได้ภายใน ไตรมาสที่ 1 ปี 2560


16

รายงานประจำ�ปี 2559

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Nikaho ประเทศญี่ปุ่น (8.8 MWPPA)

(2) ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา(2) รวม 194.1 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวม ประมาณ 236 เมกะวัตต์) โดยแบ่งเป็น - โครงการที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 19.5 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 26 เมกะวัตต์) - โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและการพัฒนา กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 174.6 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 210 เมกะวัตต์) โดยกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาสำ�หรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาในประเทศญี่ปุ่น หมายถึง กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามที่ระบุในใบอนุญาตดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งออกโดย กระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรม (Ministry of Economy, Trade and Industry: METI) (“METI ID”) ซึ่งหากกลุ่มบริษัทฯ พัฒนาโครงการแล้วเสร็จ จะเข้าทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ ผู้ประกอบกิจการ ตามอัตรา Feed-In-Tariff และระยะเวลาตามที่กำ�หนดไว้ในใบอนุญาต METI ID

(2) “กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา” สำ�หรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทอี่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนาในประเทศญีป่ นุ่ หมายถึง กำ�ลังการผลิตไฟฟ้า ตามที่ระบุในใบอนุญาตดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งออกโดย METI


โครงสร้างรายได้ กลุ่มบริษัทฯ มีโครงสร้างรายได้ส่วนใหญ่มาจากการประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เกินกว่าร้อยละ 90.0 ของรายได้รวม โดยสามารถจำ�แนกได้ดังนี้

2558(1)

2557(1)

2559

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

- รายได้ตามอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน

847.46

31.2

912.95

30.0

804.62

23.8

- รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

1,844.86

67.8

2,111.27

69.5

2,023.93

59.9

-

-

-

-

255.36

7.5

2,692.32

99.0

3,024.23

99.5

3,083.91

91.2

27.88

1.0

13.68

0.5

26.76

0.8

-

-

-

-

226.59

6.7

0.08

0.0

0.0

0.0

43.10

1.3

2,720.27

100.0

3,038.24

100.0

3,380.36

100.0

1. รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า

- รายได้ตามอัตรารับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT รวมรายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า 2. รายได้จากการลงทุน(2) 3. กำ�ไรจากการต่อรองราคาซื้อ 3. รายได้อื่น(3) รวมรายได้

หมายเหตุ : (1) ข้อมูลทางการเงินรวมเสมือน (2) รายได้จากการลงทุน ได้แก่ รายได้ดอกเบี้ยรับ (3) รายได้อื่น เช่น เบี้ยปรับค่าส่งงานล่าช้า และกำ�ไรจากการขายอุปกรณ์ เป็นต้น

17

ล้านบาท

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม


18

รายงานประจำ�ปี 2559

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ประเทศไทย (16.0 MWPPA)

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย กลุม่ บริษทั ฯ ดำ�เนินธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement (“PPA”)) ทั้งสิ้น 15 สัญญา โดย แบ่งเป็น (1) สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) จำ�นวน 1 สัญญา ขนาดกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา 30.0 เมกะวัตต์ ตามโครงการรับซือ้ ไฟฟ้าจาก ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก และ (2) สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (“กฟภ.”) จำ�นวน 14 สัญญา ขนาดกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา สัญญาละ 8.0 เมกะวัตต์ รวมกำ�ลัง การผลิตไฟฟ้าตามสัญญาทัง้ สิน้ 88.0 เมกะวัตต์ ตามโครงการรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน รายเล็กมาก โดยสัญญาซื้อขายไฟฟ้าตาม (1) และ (2) ดังกล่าวเป็นสัญญาประเภท Non-Firm มีอายุสัญญา 5 ปี และต่ออายุได้ครั้งละ 5 ปี ซึ่งได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) สำ�หรับ ผูผ้ ลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในอัตรา 8.00 บาทต่อกิโลวัตต์-ชัว่ โมง (บาท-kWh) เป็นระยะ เวลา 10 ปี นับตั้งแต่วันเริ่มเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทฯ มีนโยบายที่จะต่อ อายุสญ ั ญาเมือ่ ครบกำ�หนด 5 ปี จนสิน้ อายุโครงการดังกล่าว ซึง่ โดยทัว่ ไปมีอายุโครงการ 25 ปี นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ฯ มีสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟภ. ในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าโครงการ ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินสำ�หรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ ภาคการเกษตร (“โครงการฯ”) จำ�นวนทั้งสิ้น 3 สัญญา รวมทั้งสิ้น 12.0 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็น สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะเวลา 25 ปี ในราคา 5.66 บาท-kWh และได้ทำ�การผลิตไฟฟ้าเพื่อ จำ�หน่ายเชิงพาณิชย์แล้วจำ�นวน 2 สัญญา ประกอบด้วยโครงการฯ สหกรณ์การเกษตร วิเศษชัยชาญ จำ�กัด จังหวัดอ่างทอง กำ�ลังการผลิต 5.0 เมกะวัตต์ และโครงการฯ สหกรณ์ การเกษตร บางปะอิน จำ�กัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กำ�ลังการผลิต 2.0 เมกะวัตต์ สำ�หรับ โครงการฯ สหกรณ์การเกษตร พระนครศรีอยุธยา จำ�กัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กำ�ลังการผลิต 5.0 เมกะวัตต์ คาดว่าจะทำ�การผลิตไฟฟ้าเพื่อจำ�หน่ายในไตรมาสที่ 1 ปี 2560


บำเหน็จณรงค (ชัยภูมิ) 16.0 MWPPA บำเหน็จณรงค -1 (ชัยภูมิ) 8.0 MWPPA

ด านขุนทด (นครราชสีมา) 8.0 MWPPA

โซลาร สหกรณ ว�เศษชัยชาญ (อ างทอง) 5.0 MWPPA

กบินทร บุร� (ปราจ�นบุร�) 16.0 MWPPA

ประโคนชัย (บุร�รัมย ) 8.0 MWPPA

19

บางปะหัน (พระนครศร�อยุธยา) 16.0 MWPPA

โซลาร สหกรณ บางปะอิน (พระนครศร�อยุธยา) 5.0 MWPPA โซลาร สหกรณ พระนครศร�อยุธยา (พระนครศร�อยุธยา) 2.0 MWPPA

โครงการที่ดำเนินการเช�งพาณิชย แล ว กำลังการผลิตไฟฟ า ตามสัญญารวม 125.0 MWPPA

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

หนองกี่ (บุร�รัมย ) 8.0 MWPPA

บางปะอิน (พระนครศร�อยุธยา) 38.0 MWPPA

โครงการที่อยู ระหว างการพัฒนา กำลังการผลิตไฟฟ าตามสัญญารวม 5.0 MWPPA


โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมเพิ่มขึ้น อีก 10.5 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวม ประมาณ 14 เมกะวัตต์) มีอายุสัญญา 20 ปี นั บ จากวั นที่ อ่ า นมิ เตอร์ ข ายไฟฟ้ า ครั้ ง แรก และมีอัตรารับซื้อแบบ Feed-in Tariff (FiT) 36 เยน-kWh ดังนั้น กลุ่มบริษัทฯ จะมีกำ�ลัง การผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมเพิ่มขึ้นเป็น 30.0 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวม ประมาณ 40.5 เมกะวัตต์) นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ฯ ยังคงมีโครงการ โรงไฟฟ้าทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและพัฒนา อีก 164.1 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวม 195.5 เมกะวัตต์) โดยมีอัตราการรับซื้อแบบ Fit 32-36 เยน-kWh

20

รายงานประจำ�ปี 2559

กลุ่ ม บริ ษั ท ฯ มี โ ครงการโรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ ทีด่ �ำ เนินการ เชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว รวมทั้ ง สิ้ น 5 โครงการ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 19.5 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 26 เมกะวั ต ต์ ) ภายใต้ สั ญ ญาซื้ อ ขาย ไฟฟ้า (Power Purchase Agreement : PPA) ทั้งสิ้น 5 สัญญา มีอายุสัญญา 20 ปีนับจาก วันทีอ่ า่ นมิเตอร์ขายไฟฟ้าครัง้ แรก และมีอตั รา รับซื้อแบบ Feed-in Tariff (FiT) 40 เยนต่อกิโล วัตต์-ชั่วโมง (เยน-kWh) นอกจากนี้ ในช่วง ไตรมาสที่ 1 ของปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ จะมี โครงการโรงไฟฟ้าฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ Nagi เปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์อีก 1 แห่ง

โครงสร้างของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่น จำ�แนกตาม กำ�ลังการผลิตตามสัญญาและระยะเวลาการพัฒนาโครงการ โครงการที่ดำ�เนินงานเชิงพาณิชย์ (1) 15.5%

โครงการอยู่ระหว่างการพัฒนา 43.8%

โครงการที่ดำ�เนินงานเชิงพาณิชย์

194.1 MW

โครงการพร้อมก่อสร้าง

PPA

โครงการอยู่ระหว่างการพัฒนา

โครงการพร้อมก่อสร้าง 40.7%

หมายเหตุ : (1) โครงการที่ดำ�เนินงานเชิงพาณิชย์ นับรวมโครงการ Nagi


Nikaho 8.8 MWPPA

Komagane 25.0 MWPPA Nagi 10.5 MWPPA

Takamori 1.0 MWPPA

21

Yabuki 20.0 MWPPA Chiba 30.0 MWPPA

Shimoyunohira 8.0 MWPPA

Nakatsugawa (0.7), Tarumizu (8.1) 8.8 MWPPA

Nojiri 0.9 MWPPA

Gotemba 4.0 MWPPA

Nagota (24.0), Isakida (3.5), S5 (6.0) 33.5 MWPPA

โครงการที่ดำเนินการเช�งพาณิชย แล ว กำลังการผลิตไฟฟ าตามสัญญารวม 30.0 MWPPA

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

Suimei 43.6 MWPPA

โครงการที่อยู ระหว างการก อสร างและพัฒนา กำลังการผลิตไฟฟ าตามสัญญารวม 164.1 MWPPA


โครงสร้างรายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าแยกตามโครงการ รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทฯ ตามข้อมูลทางการเงินรวมเสมือน ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557, 2558 และ 2559 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

โครงการระยะที่ 3

22

Annual รายงานประจำ Report �ปี 2559 2016

โครงการระยะที่ 2 โครงการระยะที่ 1

2557

2558

2559

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-BRM รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-BRM 1 รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-CPM 1 รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-NMA รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-PRI รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน

257.78 560.52

9.6 20.8

245.44 567.27

8.1 18.8

204.45 513.60

6.6 16.7

289.72 629.16

10.8 23.4

269.05 620.48

8.9 20.5

240.16 602.50

7.8 19.5

54.19 118.61

2.0 4.4

66.65 154.46

2.2 5.1

61.50 155.05

2.0 5.0

50.10 109.93

1.9 4.1

66.08 153.25

2.2 5.1

59.46 148.56

1.9 4.9

49.86 108.60

1.9 4.0

68.37 158.21

2.3 5.2

61.37 154.97

2.0 5.0

50.39 109.82

1.9 4.1

65.96 152.87

2.2 5.1

59.01 148.56

1.9 4.8

95.42

3.5

131.40

4.3

12.58

3.8

รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

208.22

7.7

304.73

10.1

299.44

9.7

รายได้ตามอัตราการรับซื้อในรูปแบบ FiT รวมโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศไทย Nakatsugawa (S1) Takamori (S11) Nojiri (S19) Tarumizu Nikaho รวมโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น รวม

2,692.32

100.0

3,024.23

100.0

2,692.32

100.0

3,024.23

100.0

2.05 2,830.60 12.58 17.89 17.33 130.23 75.28 253.31 3,083.91

0.1 91.8 0.4 0.6 0.6 4.2 2.4 8.2 100.0

BCPG


การตลาดและการแข่งขัน ภาพรวมการใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย แผนภาพแสดงความต้องการใช้ไฟฟ้าของระบบและ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศปี 2547-2557 ความต้องการใช้ไฟฟ้า ของระบบ(MW) 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

ปี 3.4%

CAGR 10 า้ ของระบบ-

ารใช้ไฟฟ

ความต้องก

2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 GDP

ที่มา : แผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015)

ความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทย เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตามการเพิ่ ม ขึ้ นของ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product (GDP)) โดยระหว่างปี 2547 - 2557 ความต้ อ งการใช้ ไฟฟ้ า ของระบบ เพิ่ ม ขึ้ น จาก 19,325.80 เมกะวั ต ต์ เป็ น 26,942.10 เมกะวัตต์ คิดเป็นอัตราการเติบโต เฉลี่ ย ร้ อ ยละ 3.4 ต่ อ ปี ในขณะที่ มู ล ค่ า ผลิ ต ภั ณฑ์ ม วลรวมในประเทศเพิ่ ม ขึ้ นจาก 6,573 พันล้านบาท เป็น 9,234 พันล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.5 ต่อปี

23

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ความต้องการใช้ไฟฟ้าของระบบ

12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

แผนภาพแสดงประมาณการความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดและ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาปี 2558-2579 (MW)

ความต้อ

ปี 2.6%

-CAGR 21

้าของระบบ งการใช้ไฟฟ

แผน PDP 2015 ประมาณการอัตราการ เติบโตเฉลี่ยของความต้องการพลังงานไฟฟ้า รวมสุ ท ธิ ข องประเทศที่ ร้ อ ยละ 2.6 ต่ อ ปี ระหว่ า งปี 2557-2579 โดยคาดว่ า ความ ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในอนาคตจะเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง จาก 27,633 เมกะวัตต์ในปี 2557 เป็น 49,655 เมกะวัตต์ในปี 2579

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 2574 2575 2576 2577 2578 2579

80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0

ประมาณการความต้องการไฟฟ้าสูงสุด

ประมาณการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา

ที่มา : แผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015)


แผนภาพแสดงสัดส่วนกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าใหม่ แยกตามประเภทโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 30.4%

โรงไฟฟ้าโคเจเนอเรชั่น 7.2%

โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 21.1%

57,459 MW

โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�แบบสูบกลับ 3.7%

โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน 37.7%

นอกจากนี้ แผน PDP 2015 ได้กำ�หนด แนวทางการจั ด สรรกำ � ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า และ กำ�หนดสัดส่วนเชื้อเพลิงให้มีกำ�ลังการผลิต สำ � รองไม่ ต่ำ � กว่ า ร้ อ ยละ 15.0 ของความ ต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุด เพือ่ ความมัน่ คง ของระบบไฟฟ้าของประเทศ และกระจาย สัดส่วนการใช้เชือ้ เพลิงเพือ่ ลดความเสีย่ งจาก การพึ่งพิงเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยที่ กำ � ลั ง การผลิ ต ของโรงไฟฟ้ า ใหม่ จำ � นวน 57,459 เมกะวัตต์ จะเป็นกำ�ลังการผลิตของ โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนในสัดส่วนสูงทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 37.7 ของกำ�ลังการผลิตใหม่ ทั้งหมด

24

รายงานประจำ�ปี 2559

ที่มา : แผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015)

แผนภาพแสดงสัดส่วนกำ�ลังการผลิต ไฟฟ้าตามสัญญาจากพลังงาน ตั้งแต่ปี 2532 กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในการผลิต หมุนเวียน ปี 2557 เทียบกับเป้าหมาย ไฟฟ้า โดยเฉพาะการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เพื่อกระจายโอกาสไปยังพื้นที่ห่างไกล ในปี 2579 • แนวโน้มอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย

ให้มสี ว่ นร่วมในการผลิตไฟฟ้า ลดความสูญเสียในระบบไฟฟ้า และลดภาระการลงทุนของภาครัฐ จากนโยบายส่งเสริมดังกล่าวส่งผลให้กำ�ลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญาจากพลังงานหมุนเวียนมี ปริมาณรวมเท่ากับ 7,400 เมกะวัตต์ โดยเป็นกำ�ลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญาจากพลังงาน แสงอาทิตย์ ร้อยละ 17.5 และพลังงานหมุนเวียนประเภทอืน่ ๆ ร้อยละ 82.5 (ข้อมูล ณ สิน้ ปี 2559) (MW) ประกอบกับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579 (AEDP 25,000 19,684 MW คิ ด เป็ นสัดส่วนร้อยละ 20.1 % 5 . 2015) ที่จัดทำ�โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กำ�หนดเป้าหมายการเพิ่ม R4 G ของกำ �ลังการผลิตทัง้ หมด A 20,000 C สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนจากร้อยละ 9.9 ของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวมใน ปี 2557 เป็นร้อยละ 20.1 ของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวมในปี 2579 คิดเป็นอัตราการเติบโต 15,000 7,400 MW 69.5% เฉลี่ยร้อยละ 4.5 ต่อปี ซึ่งสอดคล้องกับแผน PDP 2015 ที่ตั้งเป้าหมายสัดส่วนการผลิตไฟฟ้า คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10,000 ของกำ�ลังการผลิต 9.9 ทัง้ หมด จากพลังงานหมุนเวียนในช่วงร้อยละ 15.0-20.0 ของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวมภายในปี 2579 การส่งเสริมจากภาครัฐโดยการออกมาตรการจูงใจด้านราคาผ่านระเบียบการรับซือ้ ไฟฟ้า 5,000 82.5% 30.5% จากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก และผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก โดยสนับสนุนผ่านมาตรการ 17.5% 0 ส่วนเพิม่ ราคารับซือ้ ไฟฟ้า (Adder) ในปี 2549 และการรับซือ้ ไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ปี 2557 เป้าหมายปี 2579 คงที่ตลอดอายุสัญญาในปี 2557 นับเป็นปัจจัยที่ผลักดันให้ภาคเอกชนต่างๆ ยังคงมีความ สนใจที่จะลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้น พลังงานแสงอาทิตย์ จากการเติบโตของการใช้ไฟฟ้าและภาวะอุตสาหกรรม กลุ่มบริษัทฯ คาดว่าการพัฒนา พลังงานหมุนเวียนประเภทอื่นๆ โรงไฟฟ้าโครงการใหม่ของกลุม่ บริษทั ฯ จะต้องเผชิญกับการแข่งขันทีเ่ พิม่ ขึน้ ในการประมูลหรือ ที่มา : แผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ยื่นขออนุญาตขายไฟฟ้า การจัดหาที่ดินขนาดใหญ่ในทำ�เลที่เหมาะสมในการประกอบธุรกิจ พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015) เป็นต้น อย่างไรก็ดี กลุ่มบริษัทฯ ตระหนักถึงการแข่งขันดังกล่าว จึงติดตามปัจจัยสำ�คัญที่อาจ ส่งผลต่อการแข่งขันในการดำ�เนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต เพือ่ เตรียมความพร้อมของ กลุ่มบริษัทฯ ในการประมูลหรือยื่นขออนุญาตขายไฟฟ้าโครงการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง


ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันในประเทศญี่ปุ่น รัฐบาลญี่ปุ่นได้เปิดเสรีอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมและมีความโปร่งใส โดย โครงสร้างกิจการไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย (1) ระบบผลิตไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ ผู้ผลิตและค้าส่งไฟฟ้า (2) ระบบส่ง จัดจำ�หน่าย และการ บริหารโครงข่ายไฟฟ้า และ (3) การตลาดและการขาย โดยมีผู้ประกอบกิจการไฟฟ้าเอกชนจำ�นวน 10 รายเป็นผู้ให้บริการจัดหาไฟฟ้าและ รับผิดชอบระบบส่งไฟฟ้าจากระบบผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้าไปสู่ผู้ใช้ไฟฟ้าในภูมิภาคที่แต่ละผู้ประกอบกิจการรับผิดชอบ ในเดือนเมษายน 2548 สภากำ�กับกิจการไฟฟ้าประเทศญี่ปุ่น (Electric Power System Council of Japan (“ESCJ”)) ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อทำ� หน้าที่ออกกฎเกณฑ์ กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานเพื่อให้ระบบส่งไฟฟ้า และระบบจัดจำ�หน่ายไฟฟ้า ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรม นอกจากนี้ ตลาดซื้อขายไฟฟ้าประเทศญี่ปุ่น (Japan Electric Power Exchange (“JEPX”)) ได้จัดตั้งขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2546 และเริ่มดำ�เนินธุรกิจใน เดือนเมษายน 2548 จากการลงทุนของผู้ประกอบกิจการไฟฟ้า PPS และผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง ทั้งนี้ JEPX เปิดดำ�เนินการเป็นตลาดค้าส่งไฟฟ้าทั้ง การซื้อขายแบบส่งมอบทันที (Spot) และการซื้อขายล่วงหน้า (Forward) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวชี้วัดด้านราคาเพื่อใช้พิจารณาความเสี่ยง จากการลงทุนในอุตสาหกรรมไฟฟ้า และเป็นตลาดกลางให้ผู้ประกอบกิจการที่มีแหล่งพลังงานไฟฟ้าส่วนเกินและส่วนขาดสามารถซื้อขาย แลกเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ากันได้

• การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในประเทศญี่ปุ่น

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย (38 MWPPA)

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

(3) FY2014 Annual Report on Energy, (Energy White Paper 2015) Outline, July 2015, Agency for Natural Resources and Energy

25

เหตุการณ์อุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิหลังจากเหตุแผ่นดินไหวและสึนามิครั้งใหญ่ในปี 2554 ส่งผลให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่เหลืออีก 48 แห่งในประเทศญี่ปุ่นต้องปิดดำ�เนินการเพื่อทดสอบความปลอดภัย ส่งผลให้อัตราค่าไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่นปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่าง มาก เนื่องจากการนำ�เข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลเพื่อทดแทนเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ โดยอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยสำ�หรับภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม ระหว่างปี 2553 - 2557 เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 25.2 และร้อยละ 38.2 ตามลำ�ดับ(3) รัฐบาลญีป่ นุ่ ได้ออกนโยบายและมาตรการหลายรูปแบบเพือ่ สร้างความมัน่ คงและเสถียรภาพทางพลังงานทัง้ ในภาวะปกติและภาวะวิกฤต และหนึ่งในนโยบายและมาตรการพัฒนาแหล่งพลังงานภายในประเทศที่สำ�คัญคือ การส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน โดยการพัฒนา โครงข่ายระบบไฟฟ้า การสนับสนุนด้านกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง การวิจัยและพัฒนาเพื่อลดต้นทุนการดำ�เนินการ เป็นต้น นอกจากนี้ สภานิติบัญญัติญี่ปุ่นได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนโดยบริษัทผู้ประกอบกิจการไฟฟ้า (The Act on Purchase of Renewable Energy Sourced Electricity by Electric Utilities) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 ได้กำ�หนดกรอบการรับซื้อ ไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) สำ�หรับพลังงานหมุนเวียน โดยที่ METI จะกำ�หนดอัตราการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT รายปี


ภายหลังการประกาศใช้กรอบการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT ในปี 2555 กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง โดยกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์จากโรงไฟฟ้าที่ลงทะเบียนภายใต้กรอบการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT เพิ่มขึ้น จาก 5.0 กิกะวัตต์ ในปี 2555 เป็น 79.0 กิกะวัตต์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1,586 ในขณะที่กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์จากโรงไฟฟ้าที่เปิดดำ�เนินการแล้วเพิ่มขึ้นจาก 1.0 กิกะวัตต์ ในปี 2555 เป็น 26.0 กิกะวัตต์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2,138

แผนภาพแสดงกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ภายใต้กรอบการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ในปี 2555-กุมภาพันธ์ 2559 (GW)

80

80

79

71

70 60 50 40 28

26

รายงานประจำ�ปี 2559

30

25

20 10

26

15 5

0

1

2555

7 2556

2557

2558

ก.พ. 2559

กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์จากโรงไฟฟ้าที่ลงทะเบียน กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์จากโรงไฟฟ้าที่เปิดดำ�เนินการแล้ว ที่มา : Japan Renewable Energy Foundation, www.jref.or.jp หมายเหตุ : นับตัง้ แต่เดือนเมษายน 2557 ข้อมูลกำ�ลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์สะสมของโครงการทีม่ กี ารดำ�เนินการแล้วนับรวมเพียงโครงการทีม่ กี ารลงทะเบียน ภายใต้กรอบการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) เท่านั้น

อัตราการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ของโครงการที่ยื่นคำ�ขอในแต่ละปี ระยะเวลาที่ยื่นคำ�ขอ 1 กรกฎาคม 2555 - 31 มีนาคม 2556 1 เมษายน 2556 - 31 มีนาคม 2557 1 เมษายน 2557 - 31 มีนาคม 2558 1 เมษายน 2558 - 30 มิถุนายน 2558 1 กรกฎาคม 2558 - 31 มีนาคม 2559 1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2560 ที่มา : www.meti.go.jp

Feed-in Tariff (FiT) (เยนต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง) 40 36 32 29 27 24


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

27


สืบสานพระราชปณิธาน ร่วมพัฒนาชุมชน และสังคม

28

รายงานประจำ�ปี 2559

สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ “พระองค์ผู้ทรงทำ�” ปลูกหญ้าแฝกในโครงการโซลาร์สหกรณ์เพื่ออนุรักษ์ดินและน้ำ�

ร่วมเป็นเจ้าภาพโครงการ ไถ่ชวี ติ โค-กระบือ เพื่อถวายพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช

ลดผลกระทบ

ต่อสิ่งแวดล้อม

ได้รับ การขึ้น ทะเบีย นและรับ รองปริม าณ ก๊าซเรือนกระจกที่สามารถลดได้ จากการ ปฏิบัติงานจากองค์การบริหารจัดการก๊าซ เรือนกระจก (อบก.)

การกำ�กับดูแล

ต่อต้านการทุจริต

คอร์รัปชั่น

รณรงค์ให้เกิดการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในองค์กร ร่วมกิจกรรม วันต่อต้านคอร์รัปชั่น

กิจการที่ดี


ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็ น เจ้ า ภาพและสนั บ สนุ น การ ทอดผ้าป่า ทอดกฐิน เทศกาลต่างๆ ประจำ�ปี ร่วมกับชุมชนใกล้เคียง พื้นที่ปฏิบัติการ

ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

ส่งเสริมกีฬา

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

สนับสนุนนักกีฬาระดับประเทศ ให้ก้าวสู่ระดับโลก จัดการแข่งขันกีฬาต่างๆ ให้เยาวชนในท้องที่

สนับสนุนการศึกษา

29

และการเรียนรู้

อนุรักษ์ ธรรมชาติ “โครงการอ่านออกเขียนได้ง่ายนิดเดียว” ส่งเสริมทักษะการอ่านของนักเรียน มอบแผงโซลาร์เพื่อการศึกษาให้กับ หน่วยงานราชการและโรงเรียนต่างๆ

ร่วมทำ�โป่งอาหารช้าง และปลูกพืชอาหารช้าง ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ใกล้พื้นที่ปฏิบัติการ

สร้างรายได้ให้ชุมชน โครงการโซลาร์สหกรณ์


โครงสร้างการถือหุ้น ทุนจดทะเบียนและเรียกชำ�ระ

30

รายงานประจำ�ปี 2559

ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ มี ทุ น จดทะเบี ย น 10,000,000,000.00 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ จำ�นวน 2,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 5.00 บาท และมีทนุ จดทะเบียนชำ�ระแล้ว ทัง้ สิน้ 9,950,000,000.00 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจำ�นวน 1,990,000,000 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท


โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2559 (ซึ่งเป็นวันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นครั้งล่าสุด) มีดังนี้ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

หมายเหตุ: (1) BCP เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน้ำ�มันและธุรกิจจำ�หน่ายน้ำ�มัน ณ วันที่ 9 กันยายน 2559 โดย BCP มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรกดังนี้

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก สำ�นักงานประกันสังคม กระทรวงการคลัง กองทุนรวม วายุภักษ์หนึ่ง โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวม วายุภักษ์หนึ่ง โดย บลจ.กรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด กองทุนเปิด กรุงศรีหุ้นระยะยาวปันผล STATE STREET BANK EUROPE LIMITED AIA Company Limited-DI-LIFE STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) รวมผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก รวมจำ�นวนหุ้นทั้งหมด ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, www.set.or.th

จำ�นวนหุ้น 197,084,697 137,442,767 107,433,200 107,433,200 87,506,245 38,826,600 38,077,883 33,510,069 23,394,698 21,456,800 792,166,159 1,376,923,157

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) 14.3 10.0 7.8 7.8 6.4 2.8 2.8 2.4 1.7 1.6 57.6 100.0

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

1,399,999,994 17,504,000 17,084,081 12,354,234 11,869,800 10,500,000 1,469,312,109 1,990,000,000

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) 70.4 0.9 0.9 0.6 0.6 0.5 73.9 100.0

31

BCP (1) นางสาวธนวดี ตั้งสิทธิโชค บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด สำ�นักงานประกันสังคม กองทุนเปิด ไทย แวลู โฟกัส อิควิตี้ ปันผล นายคเณศ ตั้งคารวคุณ รวมผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รวมจำ�นวนหุ้นทั้งหมด

จำ�นวนหุ้น


นโยบายจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ

บริษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40.0 ของกำ�ไรสุทธิ ตามงบการเงินเฉพาะกิจการหลังจากการหักทุนสำ�รองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของ บริษทั ฯ และตามกฎหมายแล้ว โดยมติของคณะกรรมการบริษทั ทีอ่ นุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลจะต้อง ถูกนำ�เสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่ง คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำ�นาจอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นรับทราบในการประชุมคราวต่อไป ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลขึ้นอยู่กับภาวะ เศรษฐกิจ กระแสเงินสดของบริษทั ฯ และแผนการลงทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือในแต่ละปี ตามความจำ�เป็น ความเหมาะสม และข้อพิจารณาอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร

บริษัทย่อย บริษัทย่อยในประเทศไทย

32

รายงานประจำ�ปี 2559

บริษัทย่อยในประเทศไทยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.0 ของกำ�ไร สุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการหลังจากการหักทุนสำ�รองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของ บริษัทแต่ละบริษัท และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับกระแสเงินสด หลังจากหักข้อผูกพัน ของบริษัท แผนการลงทุนในแต่ละปี และข้อพิจารณาอื่นๆ ที่กรรมการของบริษัทแต่ละบริษัท เห็นสมควร ตามความจำ�เป็นและเหมาะสม

บริษัทย่อยในต่างประเทศ

บริษัทย่อยในต่างประเทศมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 40.0 ของกำ�ไร สุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจากการหักทุนสำ�รองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับ ของบริษัทแต่ละบริษัท และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกระแสเงินสด หลังจากหักข้อ ผูกพันของบริษัท แผนการลงทุนในแต่ละปี และข้อพิจารณาอื่นๆ ที่กรรมการของบริษัทแต่ละ บริษัทเห็นสมควร ตามความจำ�เป็นและเหมาะสม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจากบริษัทย่อยที่จัดตั้งอยู่ในต่างประเทศให้แก่บริษัทฯ อาจมี ต้นทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจากการจ่ายเงินปันผลดังกล่าว เช่น ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (withholding tax) (ในกรณีเป็นการจัดสรรส่วนแบ่งกำ�ไรให้แก่นักลงทุนทีเค ภาษีหัก ณ ที่จ่ายตามกฎหมาย ญี่ปุ่นเท่ากับร้อยละ 20.42) ภาษีที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องในการทำ�รายการ และผลกำ�ไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

ข้อมูลการจ่ายเงินปันผลย้อนหลัง วันที่ประกาศจ่ายปันผล

กำ�ไรต่อหุ้น (บาท/หุ้น) เงินปันผลระหว่างกาล (บาทต่อหุ้น) อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

14 ธันวาคม 2559 สำ�หรับงวดไตรมาสที่ 3 ปี 2559 0.18 0.15 83.3

18 ตุลาคม 2559 สำ�หรับงวด 6 เดือนแรก สำ�หรับกำ�ไรสะสม ปี 2559 เดือนธันวาคม ปี 2558 0.42 0.09 0.30 0.09 71.4 100.0


โครงสร้างการจัดการ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

33


ณ ปัจจุบนั โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยจำ�นวน 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ตามโครงสร้างการบริหารงานดังนี้

คณะกรรมการ บริษัท เลขานุการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหารและ จัดการการลงทุน

คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งทั้งองค์กร

คณะกรรมการ การบรรษัทภิบาล

กรรมการผู้จัดการใหญ่ ส่วนบริหารความมั่นคง ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ส่วนสื่อสารองค์กร

34

รายงานประจำ�ปี 2559

สำ�นักงานตรวจสอบภายใน

สายงานการเงินและบัญชี

สายงานยุทธศาสตร์องค์กรและ พัฒนาธุรกิจ

สายงานปฏิบัติการ

สายงานบริหารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ หนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย (8 MWPPA)


คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กรรมการบริษัท มีจำ�นวน 10 คน ดังนี้ รายชื่อ นายพิชัย ชุณหวชิร

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ

วันที่ได้รับตำ�แหน่งเป็นกรรมการ วันที่ 17 กรกฎาคม 2558

(วันที่เริ่มเป็นประธานกรรมการ วันที่ 24 มีนาคม 2559)

ผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการ ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ รวมเป็นสองคนและประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ หรือ นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการ หรือ นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผู้จัดการใหญ่ ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช หรือ พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ หรือ พลเอก อุทิศ สุนทร หรือ นางวิไล ฉัททันต์รัศมี หรือ นายธรรมยศ ศรีช่วย หรือ นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ หรือ นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล หรือ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ รวมเป็นสองคนและประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุ: (1) ลาออกจากการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการโดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 11/2559 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 มีมติให้ แต่งตั้งนางพรรณขนิตตา บุญครอง ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ (กรรมการอิสระ) แทน

35

พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / วันที่ 1 ธันวาคม 2558 (วั น ที ่ เ ริ ่ ม เป็ น รองประธานกรรมการ วันที่ 24 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช รองประธานกรรมการ / วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ประธานกรรมการบริ ห ารและจั ด การการ (วันที่เริ่มเป็นรองประธานกรรมการ วันที่ 24 มีนาคม 2559) ลงทุน พลเอก คณิต สาพิทักษ์ กรรมการอิสระ / วันที่ 25 มีนาคม 2559 ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล / กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน พลเอก อุทิศ สุนทร กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / วันที่ 1 ธันวาคม 2558 กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร นางวิไล ฉัททันต์รัศมี กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / วันที่ 1 ธันวาคม 2558 กรรมการบรรษัทภิบาล นายธรรมยศ ศรีช่วย กรรมการ / กรรมการบรรษัทภิบาล/ กรรมการ วันที่ 1 ธันวาคม 2558 บริห ารและจัด การการลงทุ น / กรรมการ บริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร (1) นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบริหาร วันที่ 1 ธันวาคม 2558 ความเสี่ยงทั้งองค์กร / กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการ / กรรมการผู้จัดการใหญ่ / กรรมการบริ ห ารและจั ด การการลงทุ น / กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร / กรรมการบรรษัทภิบาล / เลขานุการคณะกรรมการบริษัท


36

รายงานประจำ�ปี 2559

องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คนและไม่ มากกว่า 12 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่ง หนึง่ ของจำ�นวนกรรมการทัง้ หมดนัน้ ต้องมีถนิ่ ที่อยู่ในราชอาณาจักร และต้องมีคุณสมบัติ ตามทีก่ ฎหมายและข้อบังคับบริษทั ฯ กำ�หนด โดยไม่มีการกีดกันทางเพศ 2. คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย กรรมการที่มีความเป็นอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด และมีจำ�นวน ไม่น้อยกว่า 3 คน 3. คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย ผู้ มี ค วามรอบรู้ ความเชี่ ย วชาญ และ ประสบการณ์ ในด้ า นธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า พลั ง งาน หมุนเวียน ด้านธุรกิจระหว่างประเทศ ด้าน บัญชีและการเงิน ด้านการควบคุมภายใน ด้านกฎหมาย ด้านการพัฒนาองค์กร ด้าน สังคม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ด้าน บริ ห ารความเสี่ ย งและภาวะวิ ก ฤติ ซึ่ ง มี กรรมการอิ ส ระอย่ า งน้ อ ย 1 คน เป็ น ผู้ มี ความรูค้ วามเชีย่ วชาญด้านบัญชีและการเงิน โดยให้คณะกรรมการบริษัทเลือกกรรมการ คนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ ในกรณีที่คณะ กรรมการบริษทั พิจารณาเห็นสมควร จะเลือก กรรมการคนหนึ่ ง หรื อ หลายคนเป็ น รอง ประธานกรรมการก็ได้ ทั้งนี้ คณะกรรมการ บริษทั มีอ�ำ นาจแต่งตัง้ กรรมการหรือบุคคลใด ดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ข อง บริษทั ฯ และมีอ�ำ นาจถอดถอนบุคคลดังกล่าว จากการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ได้ด้วย ทั้งนี้ให้กรรมการผู้จัดการใหญ่เป็น เลขานุ ก ารของคณะกรรมการบริ ษั ท โดย ตำ�แหน่ง 4. ประธานกรรมการต้องมิใช่บุคคล เดี ย วกั น กั บ ผู้ ที่ ดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ นอกจากนี้ประธานกรรมการ ต้องไม่ดำ�รงตำ�แหน่งใดๆ ในคณะกรรมการ ชุดย่อยที่ได้จัดตั้งขึ้น เพื่อให้มีความชัดเจน ในการแบ่งแยกหน้าที่และการปฏิบัติงาน

ขอบเขต อำ�นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 ได้มีมติอนุมัติ ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทไว้ดังนี้ 1. กรรมการใหม่ ต้ อ งเข้ า รั บ การ ปฐมนิเทศความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ ของบริษัทฯ 2. ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ให้ เป็ น ไป ต า ม กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของ บริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วย ความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผล ประโยชน์ของบริษัทฯ และมีความรับผิดชอบ เป็ นธรรมต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น (Accountability to Shareholders) 3. กำ�หนดนโยบายและทิศทางการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ (Direct) และกำ�กับ ควบคุมดูแล (Monitoring and Supervision) ให้ ฝ่ายบริหารดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบาย และระเบียบของบริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ภายใต้การกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่ กิจการและความมั่งคั่งสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น (Maximize Economic Value and Shareholders’ Wealth) 4. ดูแลให้บริษัทฯ มีการดำ�เนินธุรกิจ ต่อเนือ่ งในระยะยาว รวมทัง้ มีแผนการพัฒนา พนัก งาน และความต่ อเนื่ องของผู้ บริ หาร (Succession Plan) 5. ติ ด ตามการดำ � เนิ น กิ จ การของ บริษทั ฯ ตลอดเวลาและตระหนักถึงการปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและข้ อ กำ � หนดในสั ญ ญาที่ เกี่ ย วข้ อ งของบริ ษั ท ฯ โดยกำ � หนดให้ ฝ่ า ย บริหารรายงานผลการปฏิบัติงาน ตลอดจน เรื่ อ งที่ สำ � คั ญ อื่ น ๆ ของบริ ษั ท ฯ ให้ ค ณะ กรรมการบริษัทรับทราบในการประชุมคณะ กรรมการบริษัททุกเดือน เพื่อให้การดำ�เนิน กิจการของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล 6. ร า ย ง า น ให้ ผู้ ถื อ หุ้ นท ร า บ ถึ ง สถานภาพขององค์ ก รโดยสม่ำ � เสมอ และ

ครบถ้วนตามความเป็นจริง รวมถึงแนวโน้ม ในอนาคตขององค์กรทั้งในด้านบวกและลบ ด้วยเหตุผลสนับสนุนอย่างเพียงพอ 7. ดำ�เนินการให้บริษัทฯ มีระบบทาง บัญชี การรายงานทางการเงิน การควบคุม ภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่มีประสิทธิผลและ เชื่อถือได้ 8. ทบทวนนโยบายการกำ � กั บ ดู แ ล กิจการที่ดีเป็นประจำ�อย่างสม่ำ�เสมอ 9. มีบทบาทสำ�คัญในการดำ�เนินการ เรื่ อ งการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยจั ด ให้ มี แนวทางและมาตรการบริหารความเสี่ยงที่ เหมาะสม เพียงพอ และมีการติดตามอย่าง สม่ำ�เสมอ 10. ควบคุม ดูแลให้ฝ่ายบริหารมีการ ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยอย่ า งมี จริยธรรมและมีความเท่าเทียม 11. กรรมการอิสระและกรรมการจาก ภายนอกอื่น มีความพร้อมที่จะใช้ดุลยพินิจ ของตนอย่างเป็นอิสระในการพิจารณากำ�หนด กลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การ แต่งตั้งกรรมการ และการกำ�หนดมาตรฐาน การดำ�เนินกิจการ ตลอดจนพร้อมทีจ่ ะคัดค้าน การกระทำ�ของกรรมการอืน่ ๆ หรือฝ่ายจัดการ ในกรณี ที่ มี ค วามเห็ นขั ด แย้ ง ในเรื่ อ งที่ มี ผ ล กระทบต่อความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย 12. ในกรณีที่จำ�เป็น คณะกรรมการ บริษัทสามารถแสวงหาความเห็นทางวิชาชีพ จากที่ปรึกษาภายนอกเกี่ยวกับการดำ�เนิน กิจการด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ 13. แต่งตัง้ เลขานุการบริษทั (Company Secretary) ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ เพือ่ ทำ�หน้าทีจ่ ดั ทำ�และ เก็บรักษาเอกสาร และการอื่นๆ ตามที่คณะ กรรมการกำ�กับตลาดทุนกำ�หนด และช่วย ดำ � เนิ นกิ จ กรรมต่ า งๆ ของคณะกรรมการ บริษัทและบริษัทฯ อันได้แก่ การประชุมคณะ กรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น ตลอดจนการให้ คำ�แนะนำ�แก่กรรมการและบริษัทฯ ในการ ปฏิบัติตนและดำ�เนินกิจการให้ถูกต้องตาม


26. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารจ่ า ยปั น ผล ระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้น และรายงานการ จ่ายปันผลดังกล่าวให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ในการประชุมผู้ถือหุ้นคราวต่อไป 27. พิ จ า ร ณา อ นุ มั ติ บุ ค ค ล ที่ ไม่ มี คุ ณ สมบั ติ ต้ อ ง ห้ า ม ต า ม ที่ กำ � ห นด ใ น พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และกฎหมาย ต่างๆ รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการ ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอนื่ นอกจากออกตามวาระ ในกรณี การแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตาม วาระ และในกรณีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ รวมถึงการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการเพื่อ นำ � เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ พิ จ ารณา อนุมัติ 28. มอบหมายให้กรรมการคนหนึง่ หรือ หลายคน หรือบุคคลอืน่ ใดให้ปฏิบตั กิ ารอย่าง หนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการได้ ทั้งนี้ การ มอบอำ�นาจดังกล่าวจะต้องไม่เป็นการมอบ อำ�นาจหรือมอบอำ�นาจช่วงที่ทำ�ให้กรรมการ หรือผู้รับมอบอำ�นาจจากกรรมการสามารถ อนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ เว้นแต่เป็นการ อนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และ หลั ก เกณฑ์ ที่ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น หรื อ คณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้เท่านั้น กรรมการอิสระ คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ย กรรมการอิสระ 6 ท่าน ซึ่งมากกว่า 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทัง้ หมด เพือ่ ให้กรรมการ อิ ส ระเป็ น กลไกสำ � คั ญ ในการกำ � กั บ ดู แ ล กิจการทีด่ ี ดูแลผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และ ผูถ้ อื หุน้ โดยสามารถถ่วงดุลอำ�นาจการตัดสินใจ ของกรรมการทั้งคณะ รวมถึงมีจิตสำ�นึกใน การปฏิบัติหน้าที่ ตั้งมั่นบนความถูกต้องและ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

20. กรรมการแต่ละคนจะดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ไม่เกิน 5 บริษทั 21. พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ และกำ�หนด บทบาทหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ต่างๆ ตามความเหมาะสมและความจำ�เป็น เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห ารงานของคณะ กรรมการบริษัท 22. มีกลไกกำ�กับดูแลบริษัทย่อย เพื่อ ดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน์ ใ นเงิ น ลงทุ น ของ บริษทั ฯ โดยคณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีใ่ นการ พิจารณาความเหมาะสมของบุคคลทีจ่ ะส่งไป เป็นกรรมการในบริษัทย่อย เพื่อควบคุมการ บริหารให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัท และ การทำ�รายการต่างๆ ให้ถกู ต้องตามกฎหมาย และหลั ก เกณฑ์ ข องกฎหมายหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และประกาศของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 23. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารได้ ม าหรื อ จำ�หน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน การลงทุนในธุรกิจ ใหม่ การดำ�เนินการต่างๆ การกู้ยืม หรือการ ขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้ กู้ยืม ตลอดจนการเป็นผู้ค้ำ�ประกัน และการ ดำ � เนิ น การใดๆ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ประกาศ ข้อกำ�หนด และระเบียบข้อบังคับที่ เกี่ ย วข้ อ งของกฎหมายหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ 24. พิจารณาและหรือให้ความเห็นต่อ รายการที่เกี่ยวโยงกัน และ/หรือการเข้าทำ� รายการ (ในกรณีที่ขนาดของรายการไม่ต้อง ได้รับการอนุมัติโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น) ของ บริษัทและบริษัทย่อยให้เป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ ข้อกำ�หนด และระเบียบข้อบังคับที่ เกี่ยวข้อง 25. รายงานความรับผิดชอบของคณะ กรรมการบริษทั ในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ ในรายงานประจำ � ปี และครอบคลุ ม เรื่ อ ง สำ � คั ญ ต่ า งๆ ตามนโยบายข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ดีสำ�หรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน

37

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่างๆ อย่าง สม่�ำ เสมอ อีกทัง้ ดูแลให้กรรมการและบริษทั ฯ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส 14. จั ด ใ ห้ มี บ ท บั ญ ญั ติ เ กี่ ย ว กั บ จรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Corporate Conduct) จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน (Code of Ethics) เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติภายในองค์กร 15. งดซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ก่ อ นการ ประกาศแจ้งข่าวงบการเงินอย่างน้อย 1 เดือน และหลั ง การประกาศแจ้ ง ข่ า วงบการเงิ น อย่างน้อย 3 วัน 16. รายงานการถือหลักทรัพย์ของตน ของคู่ ส มรส และของบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิติภาวะที่ถือในบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั เป็นประจำ� ทุกเดือน และต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบโดย มิชักช้า เมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ • มีสว่ นได้เสียไม่วา่ โดยตรงโดยอ้อม ในสัญญาใดๆ ทีบ่ ริษทั ฯ ทำ�ขึน้ ระหว่างรอบปี บัญชี • ถื อ หุ้ น หรื อ หุ้ นกู้ ในบริ ษั ท ฯ และ บริษัทในเครือ 17. เข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต รของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ทีเ่ กีย่ วกับกรรมการอย่างน้อย 1 หลักสูตร อันได้แก่ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) หรื อ หลั ก สู ต ร Director Certification Program (DCP) หรือเทียบเท่า เพือ่ เพิม่ ทักษะความสามารถในการปฏิบตั งิ าน 18. คณะกรรมการที่ ไม่ เป็ น ผู้ บ ริ ห าร มีหน้าที่ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นประจำ�ทุกปี 19. คณะกรรมการที่ ไม่ เป็ น ผู้ บ ริ ห าร และคณะกรรมการอิ ส ระประชุ ม ระหว่ า ง กันเองตามความจำ�เป็นอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี เพือ่ อภิปรายปัญหาต่างๆ เกีย่ วกับการจัดการ ที่อยู่ในความสนใจ โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วม ด้วย และแจ้งให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ทราบ ถึงผลการประชุม


38

รายงานประจำ�ปี 2559

สามารถแสดงความเห็ นที่ เป็ น อิ ส ระ โดย ไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลหรือกลุ่มบุคคลใด คณะกรรมการบริษัทจึงกำ�หนดนิยามและ คุณสมบัติของกรรมการอิสระในนโยบายการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี (หมวดที่ 3) ดังต่อไปนี้ 1. ถื อ หุ้ น ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.5 ของ จำ � นวนหุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งทั้ ง หมดของ บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่ เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่ เป็ น หรื อ เคยเป็ นกรรมการที่ มี ส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรื อ ของผู้ มี อำ � นาจควบคุ ม ของ บริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ทัง้ นี้ ลักษณะ ต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการ อิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของ ส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทาง สายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู่ ส มรสของบุ ต ร ของ กรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการ เสนอให้เป็นกรรมการ ผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทาง ธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษทั ฯ ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการ ขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้ ง ไม่ เป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการ

มีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของ บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัยผู้มีอำ�นาจ ควบคุม หรือหุน้ ส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่ ง มี ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้น แต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทาง วิชาชีพใดๆ ซึ่ งรวมถึ งการให้ บริ การเป็ นที่ ปรึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจาก บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุ ม หรื อ หุ้ น ส่ ว นของผู้ ให้ บ ริ ก ารทาง วิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่าง เดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการ ของบริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย หรื อ ไม่ เป็ น หุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการ ที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มี สภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 9. ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ น ใดที่ ทำ � ให้ ไ ม่ สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับ การดำ�เนินงานของบริษัทฯ

การสรรหากรรมการ การสรรหากรรมการกำ � หนดให้ ค ณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทำ� หน้าทีส่ รรหาบุคคลผูท้ รงคุณวุฒเิ พือ่ นำ�เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่ กรณี) โดยกระบวนการสรรหากรรมการนั้น บริษทั ฯ จะให้ความสำ�คัญกับบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีประวัติการ ทำ�งานทีด่ ี และมีภาวะผูน้ �ำ วิสยั ทัศน์กว้างไกล รวมทั้ ง มี คุ ณธรรม จริ ย ธรรม ตลอดจนมี ทัศนคติทดี่ ตี อ่ องค์กร สามารถอุทศิ เวลาให้ได้ อย่างเพียงพอ อันเป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�เนิน กิจการของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังคำ�นึงถึง ความหลากหลายในโครงสร้ า งของคณะ กรรมการ (Board Diversity) และจัดทำ� Board Skill Matrix เพื่ อ กำ � หนดคุ ณ สมบั ติ ข อง กรรมการที่ต้องการสรรหา โดยพิจารณาจาก ทักษะจำ�เป็นที่ยังขาด รวมถึงคุณสมบัติที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับองค์ประกอบและ โครงสร้างของกรรมการตามกลยุทธ์ทางธุรกิจ ของบริษัทฯ และจะใช้ฐานข้อมูลกรรมการ (Director Pool) สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย (IOD) เป็นส่วนประกอบ ในการสรรหากรรมการใหม่ โดยมีกระบวนการ ทีโ่ ปร่งใส สร้างความมัน่ ใจให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทัง้ นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กำ � หนดคุ ณ สมบั ติ ข องคณะ กรรมการบริษัทไว้ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติที่ไม่ขัดต่อมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และมาตรา 89/3 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 2. มีภาวะผู้นำ� วิสัยทัศน์กว้างไกล มี คุณธรรม จริยธรรม และมีประวัตกิ ารทำ�งานทีด่ ี 3. เป็นผู้ที่มีความสนใจในกิจการของ บริษัทฯ และสามารถอุทิศเวลาให้ได้อย่าง เพียงพอ 4. ต้องเป็นผู้ที่ไม่ประกอบกิจการหรือ เข้าร่วมในกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ ไม่ ว่าจะทำ�เพื่อประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น เว้นแต่จะได้แจ้งให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อน ที่จะมีมติแต่งตั้ง


ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการ ทั้งหมด ในการลงมติควรมีกรรมการเข้าร่วม ประชุ ม ไม่ น้ อ ยกว่ า 3 ใน 4 ของจำ � นวน กรรมการทั้งหมด 4. กรรมการบริษทั ควรเข้าร่วมประชุม ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 ของจำ�นวนการประชุม ทั้งหมดในแต่ละปี 5. ประธานกรรมการเป็นผู้ให้ความ เห็ นชอบในการจั ด เรื่ อ งที่ จ ะเข้ า วาระการ ประชุม โดยการปรึกษาหารือกับฝ่ายบริหาร ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยบริ ห ารจะพิ จ ารณาคำ � ขอของ กรรมการบางท่านที่จะบรรจุเรื่องอื่นที่สำ�คัญ เป็นวาระการพิจารณาในการประชุมครัง้ ต่อไป 6. ประธานกรรมการมีหน้าที่จัดสรร เวลาให้อย่างเพียงพอที่ฝ่ายบริหารจะเสนอ เอกสารข้อมูลเพื่อการอภิปรายและเพียงพอ สำ�หรับคณะกรรมการบริษัทที่จะอภิปรายใน ประเด็นที่สำ�คัญ 7. ในการประชุม ประธานกรรมการ เป็นผู้กล่าวสรุปประเด็นสำ�คัญของวาระการ ประชุมเพือ่ การพิจารณาของกรรมการ พร้อม ทั้ ง สนั บ สนุ น และเปิ ด โอกาสให้ ก รรมการ แต่ละคนแสดงความคิดเห็น เพื่อประมวล ความคิดเห็นและสรุปเป็นมติที่ประชุม 8. ในการพิจารณาระเบียบวาระต่างๆ กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณา ไม่มีสิทธิออกเสียงและต้องไม่อยู่ในที่ประชุม ในวาระดังกล่าว 9. กรรมการสามารถเข้ า ถึ ง และขอ สารสนเทศ คำ�ปรึกษาและบริการต่างๆ ที่ จำ�เป็นเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ จากฝ่ายบริหาร และสามารถขอความเห็นที่ เป็นอิสระจากที่ปรึกษาภายนอกได้ การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริษัทฯ ได้กำ�หนดให้มีการปฐมนิเทศ สำ � หรั บ กรรมการใหม่ โ ดยได้ จั ด ให้ มี ก าร บรรยายนำ�เสนอภาพรวมกิจการบริษัทฯ ให้ กรรมการใหม่ได้รับทราบในหัวข้อดังต่อไปนี้ • ก ร อ บ ใ น ก า ร ดำ � เนิ น กิ จ ก า ร (กฎหมาย มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ข้ อ บั ง คั บ ระเบียบ) • ข้อมูลการดำ�เนินงานและกิจกรรม • โครงการสำ�คัญ • การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

5. ศาลมีคำ�สั่งให้ออก 6. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้อง ห้ามตามมาตรา 89/4 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 วาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ กรรมการสามารถดำ�รงตำ�แหน่งได้รวม ระยะเวลาไม่เกิน 9 ปี (วาระละ 3 ปี) เพื่อให้ บริ ษั ท ฯ ได้ มี โ อกาสสรรหากรรมการที่ มี คุณสมบัติเหมาะสม เพื่อประโยชน์สูงสุดของ บริษทั ฯ กล่าวคือ ระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการทีเ่ หมาะสมไม่ควรเกิน 3 วาระติดต่อ กัน เว้นแต่กรรมการคนใดมีความเหมาะสม ทีจ่ ะดำ�รงตำ�แหน่งนานกว่านัน้ คณะกรรมการ บริ ษั ท จะพิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระและ ประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง กรรมการรายดังกล่าว และชีแ้ จงเหตุผลพร้อม ผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น การประชุมคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดให้มี การประชุมอย่างสม่�ำ เสมอ อย่างน้อยไตรมาส ละ 1 ครั้ง และตามความจำ�เป็น โดยมีการ กำ�หนดวาระการประชุมไว้ลว่ งหน้าตลอดทัง้ ปี 2. ในการเรียกประชุมคณะกรรมการ บริษัท กำ�หนดให้มีหนังสือนัดประชุมส่งมอบ ให้แก่กรรมการหรือผู้แทนของกรรมการไม่ น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณี จำ�เป็นเร่งด่วนเพือ่ รักษาสิทธิหรือประโยชน์ของ บริษัทฯ อาจแจ้งการนัดประชุมโดยวิธีอื่น และกำ�หนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้น โดยฝ่าย บริหารมีหน้าที่ต้องให้สารสนเทศที่เหมาะสม และทันเวลาแก่คณะกรรมการบริษทั ประธาน กรรมการมีหน้าที่ดูแลให้มั่นใจว่ากรรมการ ทัง้ หลายได้รบั สารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องล่วงหน้า อย่างน้อย 5 วัน เพื่อให้มีเวลาเพียงพอที่จะ ศึกษา พิจารณาและตัดสินใจอย่างถูกต้องใน เรือ่ งต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั รวมทั้ ง ดู แ ลให้ ร ายงานการประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทแต่ละครั้งแล้วเสร็จภายใน 7 วั น หลั ง การประชุ ม เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการ บริ ษั ท ได้ ส อบทานความถู ก ต้ อ งของราย ละเอียดก่อนการรับรองรายงานการประชุม ในการประชุมครั้งถัดไป 3. การประชุมคณะกรรมการบริษัท แต่ละครั้งควรมีกรรมการเข้าร่วมในที่ประชุม

39

ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนได้เปิดโอกาสให้กรรมการและ ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการเสนอชื่อกรรมการที่ มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม โดยให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สามารถเลือกตัง้ กรรมการโดยใช้เสียงข้างมาก ในกรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการว่ า งลง เนื่องจากเหตุอื่นนอกจากการถึงคราวออก ตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามที่ระบุข้างต้นเข้าเป็นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการบริษทั คราว ถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจาก ตำ�แหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคล ซึ่ ง เข้ า เป็ นกรรมการแทนจะอยู่ในตำ� แหน่ง กรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของ กรรมการซึง่ ตนแทน ทัง้ นีม้ ติการแต่งตัง้ บุคคล เข้ า เป็ น กรรมการแทนดั ง กล่ า วต้ อ งได้ รั บ คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวน กรรมการที่ยังเหลืออยู่ การพ้นตำ�แหน่งของกรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทกุ ครัง้ ให้ กรรมการออกจากตำ�แหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวน กรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วน ไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ซึ่งกรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูก เลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่กไ็ ด้ แต่ทง้ั นีร้ ะยะ เวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่เหมาะสม ไม่ควรเกิน 3 วาระติดต่อกัน เว้นแต่กรรมการ คนใดมีความเหมาะสมที่จะดำ�รงตำ�แหน่ง นานกว่านัน้ คณะกรรมการบริษทั จะพิจารณา ความเป็ น อิ ส ระและประสิ ท ธิ ภาพของการ ปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการรายดังกล่าว และ ชี้ แจงเหตุ ผ ลพร้ อ มผลการปฏิบัติห น้าที่ต่อ ผู้ถือหุ้น นอกจากการพ้นตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้อง ห้ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 4. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ลงมติให้ออกตาม มาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535


• การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี • ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ให้กรรมการ ใหม่เยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ พร้อมทั้งได้ จั ด ทำ � ข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ คณะกรรมการ บริษัทและผู้บริหารเพื่อเป็นคู่มือ/คำ�แนะนำ� ให้ แ ก่ ก รรมการใหม่ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลั ก ใน การกำ�กับดูแลกิจการ เช่น • วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย ของบริษัทฯ • การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ

• บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของกรรมการ • โครงสร้ า งการบริ ห ารงาน และ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นต้น การพัฒนากรรมการ บริษัทฯ สนับสนุนให้กรรมการเข้าร่วม อบรมและสัมมนาหลักสูตรทีเ่ ป็นประโยชน์ใน การปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความ เข้าใจถึงหลักการของการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาท หน้าที่ของกรรมการบริษัทในการบริหารงาน ให้มีประสิทธิภาพ

ในปี 2559 มีกรรมการเข้าร่วมอบรม/ หลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ดังนี้ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) ได้แก่ นายธรรมยศ ศรีช่วย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ได้แก่ พลเอก อุทิศ สุนทร พลเอก คณิต สาพิทักษ์ และนายธีรพงษ์ นิลวรสกุล

40

รายงานประจำ�ปี 2559

สรุปปีที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรหลักของคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ รายชื่อ นายพิชัย ชุณหวชิร พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช พลเอก คณิต สาพิทักษ์ พลเอก อุทิศ สุนทร นางวิไล ฉัททันต์รัศมี นายธรรมยศ ศรีช่วย นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายบัณฑิต สะเพียรชัย นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ดำ � เนิ นการ สมั ค รสมาชิ ก สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) ให้ ก รรมการ ทุกท่าน เพือ่ ประโยชน์ในการรับรูข้ า่ วสารและ เพิ่มเติมความรู้ การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะ กรรมการบริษัท บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบการปฏิบัติ งานว่าในระหว่างปีที่ผ่านมาคณะกรรมการมี การปฏิ บั ติ ง านครบถ้ ว นเหมาะสมตาม ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และเป็นไปตามหลัก

DAP ปี 2549 ปี 2559 ปี 2559 ปี 2559 ปี 2547 การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีหรือไม่อย่างไร รวม ทั้งยังเป็นการใช้ผลประเมินดังกล่าวเพื่อการ พัฒนาในปีต่อไป คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ทำ � แบบ ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย ประกอบด้วย 1) แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ กรรมการบริษัทสำ�หรับกรรมการรายบุคคล • แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ กรรมการบริษัทแบบรายบุคคล (โดยตนเอง) มีหวั ข้อทีใ่ ช้ในการประเมิน ได้แก่ ความ รับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของกรรมการ การฝึกอบรมและการพัฒนาตนเอง และการ ปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

DCP ปี 2554 ปี 2552 ปี 2556 ปี 2554 ปี 2559 ปี 2551 ปี 2548 • แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ กรรมการบริษัทแบบรายบุคคล แบบไขว้โดย กลุ่ม (กรรมการ 3-4 ท่านซึ่งไม่เปิดเผยชื่อจะ ประเมินกรรมการ 1 ท่าน) มีหวั ข้อทีใ่ ช้ในการประเมิน ได้แก่ ความ รับผิดชอบตามบทบาท หน้าที่ ของกรรมการ และความเป็นอิสระของกรรมการ 2) แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ กรรมการบริษัทแบบทั้งคณะ มี หั ว ข้ อ ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ได้ แ ก่ นโยบายของคณะกรรมการ โครงสร้างและ คุ ณ สมบั ติ ข องคณะกรรมการ การปฏิ บั ติ หน้าที่ของคณะกรรมการ การประชุมคณะ กรรมการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการ


คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญในการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และได้มมี ติให้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยขึน้ เพือ่ ช่วยปฏิบตั งิ านในการติดตาม และกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปอย่างทัว่ ถึงในทุกมิติ และสอดคล้องตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยในปี 2558 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติให้จดั ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการดำ�เนินการเกีย่ วกับการ กำ�กับดูแลกิจการ และการตรวจสอบภายใน ต่อมาในปี 2559 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2559 เมือ่ วันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มมี ติให้จดั ตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยเพิม่ อีก 4 คณะ ซึง่ ได้รบั การพิจารณาอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เมือ่ วันที่ 24 มีนาคม 2559 ประกอบด้วย คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee - AC) คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแต่งตัง้ จากกรรมการซึง่ มีคณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กำ�หนด คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษทั ฯ ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน และมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน เป็นผูม้ คี วามรู้ ความเข้าใจหรือมีประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน หรือตรวจสอบอย่างเพียงพอทีจ่ ะทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน

41

ในปี 2559 คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยได้ทำ�แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยสามารถสรุปผลการประเมินได้ดังนี้ 1. กรรมการรายบุคคล • แบบรายบุคคล (โดยตนเอง) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 90.8 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม • แบบรายบุคคล (แบบไขว้โดยกลุ่ม) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 94.0 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม 2. คณะกรรมการบริษัททั้งคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 93.2 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม 3. คณะกรรมการชุดย่อย • คณะกรรมการตรวจสอบแบบทั้งคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 97.7 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม • คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนแบบทั้งคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 98.3 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม • คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแบบทั้งคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 92.1 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรแบบทั้งคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 95.0 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม • คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุนแบบทั้งคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 86.7 อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

3) แบบประเมินสำ�หรับคณะกรรมการชุดย่อย มีหัวข้อที่ใช้ในการประเมินด้านความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่และการประชุมคณะกรรมการชุดย่อย ประกอบด้วย • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบแบบทั้งคณะ • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนแบบทั้งคณะ • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาลแบบทั้งคณะ • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรแบบทั้งคณะ • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุนแบบทั้งคณะ โดยกำ�หนดวิธกี ารให้คะแนน เพือ่ ให้คณะกรรมการสามารถเปรียบเทียบผลประเมินในแต่ละหัวข้อได้ ซึง่ ความหมายของการให้คะแนนมีดงั นี้ 1 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือไม่มีการดำ�เนินการในเรื่องนั้น 2 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นเล็กน้อย 3 = เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นพอสมควร 4 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นดี 5 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นอย่างดีเยี่ยม และกำ�หนดเกณฑ์การประเมินผล โดยคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม ดังนี้ มากกว่าร้อยละ 85 = ดีเยี่ยม มากกว่าร้อยละ 75 = ดีมาก มากกว่าร้อยละ 65 = ดี มากกว่าร้อยละ 50 = พอใช้ ต่ำ�กว่า/เท่ากับร้อยละ 50 = ควรปรับปรุง


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีคณะกรรมการตรวจสอบ 3 คน ดังนี้ รายชื่อ

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

นางวิไล ฉัททันต์รัศมี(1) พลเอก อุทิศ สุนทร นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล(2)

หมายเหตุ: (1) เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทำ�หน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ (2) ลาออกจากการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบโดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 11/2559 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 มีมติให้แต่งตั้งนางพรรณขนิตตา บุญครอง ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ (กรรมการอิสระ) แทน

42

รายงานประจำ�ปี 2559

และมีนายประสิทธิ์ สกุลเกสรีวรรณ ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายในเป็นเลขานุการ

ขอบเขต อำ�นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติ อนุมัติกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบของ บริษัทฯ ซึ่งกำ�หนดขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ไว้ดังนี้ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงาน ทางการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ �ำ หนด โดยกฎหมายอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมภายใน (Internal Control) และการ ตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ และสอบทานประสิทธิผล และความพอเพียงของกระบวนการบริหาร ความเสี่ยง 3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาด หลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและ เป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ

5. สอบทานและพิจารณาร่วมกับฝ่าย จัดการในเรื่องข้อบกพร่องสำ�คัญที่ตรวจพบ และการสนองตอบจากฝ่ายจัดการ 6. มี อำ � นาจในการตรวจสอบและ สอบสวนผู้ที่เกี่ยวข้องภายใต้ขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ และมี อำ�นาจในการว่าจ้างหรือนำ�ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะ ด้านมาช่วยงานตรวจสอบและสอบสวน โดย ปฏิบัติตามระเบียบของบริษัทฯ 7. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี ของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้อง ประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทาง การเงินของบริษัทฯ (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาด หลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสม ของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์

(6) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ และการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของ กรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่ คณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบตั ิ หน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (8) รายการอื่ นที่ เห็ น ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น และ ผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ 8. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง บุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็น ผูส้ อบบัญชีของบริษทั เสนอค่าตอบแทน และ เสนอการพิจารณาถอดถอนบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มี ฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อย ปีละหนึ่งครั้ง 9. พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี และ สำ�นักตรวจสอบภายในให้มคี วามสัมพันธ์และ เกือ้ กูลกัน และลดความซ้�ำ ซ้อนในส่วนทีเ่ กีย่ ว กับการตรวจสอบด้านการเงิน 10. ให้ความเห็นชอบ กฎบัตร แผนงาน ตรวจสอบ งบประมาณ แผนการฝึกอบรม และอัตรากำ�ลังของสำ�นักตรวจสอบภายใน 11. พิ จ ารณา แต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย ถอดถอน และประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ประจำ � ปี ข องหั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบ


ภายใน รวมทั้งพิจารณาความเป็นอิสระของ สำ�นักตรวจสอบภายใน 12. สอบทานความมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การควบคุ ม ภายในและการ บริหารความเสี่ยง 13. ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะ กรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่า มีรายการหรือการกระทำ�ซึ่งอาจมีผลกระทบ อย่างมีนยั สำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ ได้แก่ (1) รายการที่ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์

(2) การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมี ความบกพร่ อ งที่ สำ � คั ญ ในระบบควบคุ ม ภายใน (3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ � หนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อดำ�เนินการปรับปรุง แก้ ไ ขภายในระยะเวลาที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร หากคณะกรรมการของ บริ ษั ท หรื อ ผู้ บ ริ ห ารไม่ ดำ � เนิ นการให้ มี ก าร

ปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีส่ มควร กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่ ง อาจรายงานว่ า มี ร ายการหรื อ การกระทำ � ดั ง กล่ า วต่ อ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 14. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะ กรรมการบริษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบดำ�รงตำ�แหน่ง คราวละ 3 ปี เมื่อพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee - NRC)

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน/ เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติอนุมัติขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ดังนี้ 1. กำ�หนดวิธีการสรรหาและคุณสมบัติของผู้ที่จะมาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูง 2. ดำ�เนินการสรรหาและเสนอแนะผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหาร ระดับสูงต่อคณะกรรมการบริษัท 3. กำ�หนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการกำ�หนดค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูง 4. พิจารณาเสนอค่าตอบแทนกรรมการต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อเห็นชอบและนำ�เสนอต่อผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5. พิจารณาเสนอค่าตอบแทน กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูงต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 6. ทบทวนและสรุปผลการจัดทำ�แผนการสืบทอดงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูงประจำ�ทุกปีและรายงานให้ คณะกรรมการบริษัทรับทราบ 7. ปฏิบัติตามหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนดำ�รงตำ�แหน่ง คราวละ 3 ปี เมื่อพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

รายชื่อ พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

43

คณะกรรมการบริษัทได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อทำ�หน้าที่สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน แก่กรรมการบริษัทและกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน ซึ่งมีกรรมการ อย่างน้อย 1 คนเป็นกรรมการที่มีความรู้ความสามารถหรือความเชี่ยวชาญในการบริหารงานบุคคล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3 คน ดังนี้


คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร (Enterprise-wide Risk Management Committee - ERMC) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายการบริหารความเสี่ยงของทั้งองค์กร รวมถึงการดูแลบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กรประกอบด้วยกรรมการ 4 คน ซึง่ มีกรรมการอย่างน้อย 1 คนที่เป็นกรรมการที่มีความรู้ความสามารถหรือความเชี่ยวชาญในธุรกิจและ/หรือการบริหารงานความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร 4 คน ดังนี้ รายชื่อ

44

รายงานประจำ�ปี 2559

ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ พลเอก อุทิศ สุนทร นายธรรมยศ ศรีช่วย นายบัณฑิต สะเพียรชัย

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร/ เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร

ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติอนุมัติขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร ดังนี้ 1. กำ�หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และเป้าหมายการบริหารความเสี่ยงองค์กรทั้งองค์กร 2. พัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 3. สนับสนุนผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการบริหารความเสี่ยงในทุกองค์กร 4. ดูแลให้บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5. ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรเป็นผู้รายงานผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัทในคราวถัดไป 6. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Committee - CGC) คณะกรรมการบริษัทได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เพื่อทำ�หน้าที่กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของทุกส่วนในองค์กรให้เป็นไป ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนทำ�หน้าที่พิจารณาปรับปรุงนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ อย่างสม่ำ�เสมอเพื่อให้ เป็นตามมาตรฐานสากล คณะกรรมการบรรษัทภิบาลประกอบด้วยกรรมการ 4 คน ซึ่งมีกรรมการอย่างน้อย 1 คนเป็นกรรมการที่มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ทีพ่ งึ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากลต่างๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ มีคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 4 คน ดังนี้ รายชื่อ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ นายธรรมยศ ศรีช่วย นางวิไล ฉัททันต์รัศมี นายบัณฑิต สะเพียรชัย

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล/ เลขานุการคณะกรรมการบรรษัทภิบาล


ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติอนุมัติขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ดังนี้ 1. เสนอแนะแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการต่อต้านคอร์รัปชั่นต่อคณะกรรมการบริษัท 2. กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการเพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการต่อต้าน คอร์รัปชั่น 3. ทบทวนแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการต่อต้านคอร์รัปชั่น โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากลและเสนอแนะต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง 4. ทบทวนและปรับปรุงนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการต่อต้านคอร์รัปชั่น 5. มอบนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ให้คณะทำ�งาน เพือ่ ทำ�หน้าทีส่ นับสนุนงานบรรษัทภิบาลได้ตามความ เหมาะสม 6. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบรรษัทภิบาลดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้

คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน (Executive and Investment Committee - EIC)

ตำ�แหน่ง นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช ประธานกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน นายธรรมยศ ศรีช่วย กรรมการ นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการบริหารและจัดการการลงทุน และมีนายสมชาย เกษมล้นนภา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กรและพัฒนาธุรกิจ ทำ�หน้าที่เลขานุการ ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติอนุมัติขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน ดังนี้ 1. ติดตาม ประเมินผลการดำ�เนินการตามกลยุทธ์องค์กร และสามารถพัฒนาองค์กรได้อย่างยั่งยืนโดยคำ�นึงถึงธุรกิจที่มีอยู่ในปัจจุบัน ข้อจำ�กัด ความหลากหลายและความสามารถในการขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศให้เป็นไปตามทิศทางเป้าหมายและแนวนโยบายของ คณะกรรมการบริษัท 2. พิจารณากลั่นกรอง ติดตามโครงการและโอกาสลงทุนต่างๆ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ ก่อนนำ�เสนอพร้อมความเห็นต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 3. ให้ข้อเสนอแนะโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมของบริษัทฯ เพื่อตอบสนองต่อกลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้น แล้วนำ�เสนอคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 4. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

รายชื่อ

45

คณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุนเพื่อทำ�หน้าที่ให้ข้อเสนอแนะ ติดตาม และประเมินผลการ ดำ�เนินการตามกลยุทธ์องค์กร ตลอดจนพิจารณากลั่นกรองติดตามโครงการ และโอกาสลงทุนต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศให้สอดคล้องกับ กลยุทธ์ที่กำ�หนดตามแนวทางนโยบายของคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน 3 คน ดังนี้


อำ�นาจดำ�เนินการของคณะกรรมการบริหารและจัดการลงทุน 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดหา จัดซือ้ จัดจ้าง ลงทุนสำ�หรับโครงการทีไ่ ด้รบั อนุมตั แิ ผนงานและงบประมาณจากคณะกรรมการ บริษัทแล้ว ในวงเงินไม่เกิน 300 ล้านบาท 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดหา จัดซือ้ จัดจ้าง รวมถึงการจัดจ้างทีป่ รึกษา สำ�หรับโครงการธุรกิจใหม่ทย่ี งั ไม่ได้รบั อนุมตั แิ ผนงาน และงบประมาณจากคณะกรรมการบริษัทในวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท 3. พิจารณาแต่งตั้งและกำ�หนดค่าตอบแทนที่ปรึกษาของคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน 4. สั่งการและเรียกข้อมูลจากฝ่ายจัดการตามที่เห็นควร

การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย

46

รายงานประจำ�ปี 2559

รายชื่อ นายพิชัย ชุณหวชิร (1) พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ (2) นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช (3) พลเอก คณิต สาพิทักษ์ (4) พลเอก อุทิศ สุนทร (5) นางวิไล ฉัททันต์รัศมี (6) นายธรรมยศ ศรีช่วย (7) นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล (8) ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ (9) นายบัณฑิต สะเพียรชัย (10)

จำ�นวนการเข้าร่วมประชุม/จำ�นวนการประชุมทั้งหมด (ครั้ง) คณะ คณะกรรมการชุดย่อย กรรมการ AC NRC ERMC CGC บริษัท 11/11 9/11 6/6 11/11 8/9 6/6 2/2 10/11 11/11 6/6 11/11 11/11 2/2 10/11 6/6 2/2 9/10 7/7 7/11 3/4 5/6 6/6 11/11 6/6 2/2

EIC 10/10 4/4 10/10

หมายเหตุ : (1) ประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย (2) ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ NRC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (3) ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ EIC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (4) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท กรรมการ NRC และประธานกรรมการ CGC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (5) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ AC และ กรรมการ ERMC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (6) ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ AC และกรรมการ CGC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (7) ได้รับการแต่งตั้งประธานกรรมการ ERMC และกรรมการ CGC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 และได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ERMC และ EIC เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2559 (8) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการ AC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (9) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท กรรมการ NRC กรรมการ ERMC และพ้นจากการเป็นกรรมการ AC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 และได้รับการแต่งตั้ง เป็นประธานกรรมการ ERMC เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2559 (10) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการและเลขานุการ CGC กรรมการ ERMC และ กรรมการ EIC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559


ค่าตอบแทนกรรมการ 1. คณะกรรมการบริษทั ได้รบั ค่าตอบแทนตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยค่าตอบแทนดังกล่าวได้มกี ารกำ�หนดให้อยูใ่ นระดับ ที่เทียบเคียงได้กับที่ปฏิบัติกันในอุตสาหกรรม และมีลักษณะที่เชื่อมโยงกับผลปฏิบัติงานของบริษัทฯ และของกรรมการแต่ละคน 2. กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้ทำ�หน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเป็นพิเศษ (เช่น เป็นกรรมการชุดย่อย) จะได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม โดยเชื่อมโยงกับระดับความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายนั้น 3. คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีรายงานเกี่ยวกับค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคลและค่าตอบแทนของผู้บริหาร ซึ่งรวมถึงการ เปิดเผยค่าตอบแทนที่กรรมการและ/หรือผู้บริหารได้รับในกรณีที่ได้รับการแต่งตั้งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ในบริษัทย่อยไว้ในรายงานประจำ�ปีของ บริษัทฯ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการนัน้ บริษทั ฯ จะคำ�นึงถึงความเหมาะสมกับภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย และสามารถ เทียบเคียงได้กับบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่อยู่ในอุตสาหกรรมและธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน โดยค่าตอบแทน กรรมการดังกล่าวนั้น เพียงพอที่จะจูงใจให้กรรมการมีคุณภาพและสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุเป้าหมายและทิศทางธุรกิจที่บริษัทกำ�หนด โดยมีกระบวนการที่โปร่งใส เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น

ตำ�แหน่ง

ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท / เดือน)

1 ม.ค. - 30 ก.ย. 59 (1) 1 ต.ค. - 30 ธ.ค. 59 (2) 1 ม.ค. - 30 ก.ย. 59 (1) 1 ต.ค. - 30 ธ.ค. 59 (2)

คณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร ประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน ประธานกรรมการ กรรมการ

31,250 28,125 25,000

37,500 33,750 30,000

31,250 28,125 25,000

37,500 33,750 30,000

12,500 10,000

12,500 10,000

15,625 12,500

18,750 15,000

-

-

15,625 12,500

18,750 15,000

-

-

15,625 12,500

18,750 15,000

-

-

15,625 12,500

18,750 15,000

-

-

15,625 12,500

18,750 15,000

หมายเหตุ : ทั้งนี้ กรณีพนักงานของบริษัทฯ บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) เป็นกรรมการผู้แทนจะได้รับค่าตอบแทนในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัทฯ รวมถึงกรรมการ ชุดย่อยอื่นๆ ภายหลังจากที่บริษัทฯมีสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว

47

เบี้ยประชุม (บาท / คน / ครั้ง) (เฉพาะกรรมการที่เข้าร่วมประชุม)

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

1. ค่าตอบแทนรายเดือนและเบี้ยประชุม ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 (1) และที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2559 (2) มีมติกำ�หนดอัตราค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทฯ รวมถึงกรรมการชุดย่อยอื่นๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้


2. โบนัส ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2559 อนุมัติการจ่ายโบนัสให้แก่กรรมการของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการ บริษัทได้รับเงินโบนัสประจำ�ปีในอัตราร้อยละ 0.75 ของกำ�ไรสุทธิ แต่ไม่เกิน 3,000,000.00 บาทต่อกรรมการ 1 ท่าน และให้คำ�นวณจ่ายตาม ระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่ง โดยประธานกรรมการบริษทั และรองประธานกรรมการบริษทั จะได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นเงินโบนัส สูงกว่ากรรมการ ในอัตราร้อยละ 25.0 และ 12.5 ตามลำ�ดับ ทั้งนี้กรณีที่เป็นกรรมการผู้แทนจากบริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (BCP) มีสิทธิได้รับโบนัสไม่เกิน 12 เดือนของเบี้ยประชุม ที่ได้รับ และหากได้รับโบนัสเกิน 12 เดือน ให้ส่งส่วนที่เกินแก่ BCP ต่อไป 3. ค่าใช้จ่ายอื่นของกรรมการ ได้แก่ • บัตรเติมน้ำ�มันเพื่อใช้ในการปฎิบัติหน้าที่ตามจริงสำ�หรับกรรมการ แต่ไม่เกิน 400 ลิตร/เดือน/คน • ประกันความรับผิดของกรรมการ วงเงินรวมไม่เกิน 250.00 ล้านบาท • รถยนต์เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการปฏิบัติหน้าที่ของประธานกรรมการบริษัท

รายชื่อ

48

รายงานประจำ�ปี 2559

ค่าตอบแทนกรรมการรายบุคคลปี 2559

นายพิชัย ชุณหวชิร พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สวุ รรณ นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช พลเอก คณิต สาพิทักษ์ พลเอก อุทิศ สุนทร นางวิไล ฉัททันต์รัศมี นายธรรมยศ ศรีช่วย นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายบัณฑิต สะเพียรชัย รวม

คณะ กรรมการ บริษัท 737,500 608,750 202,500 450,000 580,000 605,000 580,000 530,000 500,000 180,000 4,973,750

AC

265,000 331,250 185,000 67,500 848,750

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (บาท) NRC ERMC

103,125 82,500 67,500 253,125

82,500 95,625 90,000 45,000 313,125

CGC

EIC

รวมสุทธิ

34,375 27,500 27,500 15,000 104,375

93,750 60,000 75,000 228,750

737,500 711,875 296,250 566,875 927,500 963,750 763,125 715,000 725,000 315,000 6,721,875


คณะผู้บริหารและบุคลากร คณะผู้บริหาร ผู้บริหารของบริษัทมีจำ�นวน 6 คน ดังนี้ รายชื่อ นายบัณฑิต สะเพียรชัย นายวัชรพงศ์ ใสสุก นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล นายสมชาย เกษมล้นนภา

49

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร ดังนี้ 1. ดำ�เนินกิจการและบริหารงานประจำ�วันของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน เป้าหมาย ข้อบังคับ และระเบียบบริษัทฯ ที่คณะ กรรมการบริษัทกำ�หนด 2. ดำ�เนินกิจการและบริหารงานให้เป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ด้วยงบประมาณที่ได้รับอนุมัติอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด 3. รายงานความก้าวหน้าจากการดำ�เนินงานตามมติ และผลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ทีส่ �ำ คัญต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ 4. ดำ�เนินกิจการของบริษัทฯ ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดไว้ 5. ต้องไม่ประกอบกิจการหรือเข้าร่วมในกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ฯ ไม่วา่ จะทำ�เพือ่ ประโยชน์ ตนหรือผู้อื่น เว้นแต่จะได้แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาและสำ�นักตรวจสอบภายในรับทราบและได้รับการพิจารณาเห็นชอบให้ประกอบกิจการนั้นๆ ได้ 6. การไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั อืน่ หรือตำ�แหน่งอืน่ ใดในองค์กรธุรกิจของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัทก่อน ส่วนผู้บริหารตั้งแต่ผู้อำ�นวยการขึ้นไปจะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ก่อน เว้นแต่การไปดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการผู้แทนในบริษัทร่วมทุนจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท 7. ผู้บริหารระดับสูงอันหมายรวมถึงผู้ที่ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ลงมา ผู้ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่ง เทียบเท่ากับผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่ เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า ต้องงดซื้อขายหลักทรัพย์ ก่อนการประกาศแจ้งข่าวงบการเงินอย่างน้อย 1 เดือน และหลังการ ประกาศแจ้งข่าวงบการเงินอย่างน้อย 3 วัน และจะต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน ของคู่สมรสและของบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะที่ถือ ในบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง และต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบโดยมิชักช้า เมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช ดร. ภาวัน สยามชัย

ตำ�แหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ และรักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ และเลขานุการบริษัท ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายยุทธศาสตร์องค์กร และพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ ดำ�รงตำ�แหน่ง Country Manager, BCPG Japan Corporation


- มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ทำ�ขึ้นระหว่างรอบปีบัญชี - ถือหุ้นหรือหุ้นกู้ในบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 8. มีหน้าที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวเนื่องกับการดำ�เนินกิจการและการบริหารงานประจำ�วันด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ เพื่อให้มี ความรอบรู้ และเพิ่มทักษะความสามารถในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ สำ�หรับผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษัท ได้ส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หรือ เทียบเท่า เพื่อให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท อันนำ�มาซึ่งประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร

50

รายงานประจำ�ปี 2559

การสรรหาผู้บริหารระดับสูง การสรรหาตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาจเป็นบุคคลภายนอกหรือบุคคลภายในสามารถเข้ารับการ คัดเลือกในตำ�แหน่งต่างๆ นี้ได้หากมีคุณสมบัติที่เหมาะสม และตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ของบริษัทฯ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ และเพื่อจัด เตรียมบุคลากรภายในองค์กรให้ปฏิบัติหน้าที่แทนในกรณีที่กรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง หรือตำ�แหน่งว่างลงด้วยเหตุอื่นใด ตลอดจนลดความเสี่ยงหรือผลกระทบจากการขาดความต่อเนื่องในการบริหาร จัดการ บริษัทฯ จึงได้มีการจัดทำ�แผนการสืบทอดตำ�แหน่ง ทั้งนี้บุคคลที่เหมาะสมจะถูกคัดเลือกโดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนหรือโดยฝ่ายบริหาร ตามหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหาคัดเลือกของบริษัทฯ ที่ได้มีการกำ�หนดไว้ นอกจากนี้ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในการคัดเลือกผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ คณะกรรมการ บริษัทได้มอบหมายให้ฝ่ายบริหารทำ�หน้าที่ดูแลการอบรมและพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการหมุนเวียนหน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้มีความเข้าใจ มีประสบการณ์ และความพร้อมในการบริหารองค์กรโดยรวม ทั้งนี้ พนักงานตั้งแต่ ระดับผู้อำ�นวยการอาวุโสขึ้นไปมีสิทธิที่จะสมัครเข้ารับการคัดเลือกในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ได้ หากมี คุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้ ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2558 ได้มีมติอนุมัติขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ดังนี้ 1. กำ�หนดนโยบาย วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณร่วมกับคณะกรรมการบริษัท 2. กำ�กับดูแล บริหาร จัดการ และปฏิบตั งิ านประจำ�ตามปกติธรุ กิจ เพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามนโยบาย วิสยั ทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณตามที่ได้รับความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. บริหารจัดการธุรกิจของบริษัทฯ ตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดและเป็นไปตามแผนธุรกิจ งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางธุรกิจที่ได้รับความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 4. ประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อให้การดำ�เนินการทางธุรกิจ รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติคณะกรรมการบริษัท และ/หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น 5. กำ�กับดูแลการบริหารจัดการด้านการเงิน การตลาด ทรัพยากรบุคคล และด้านการปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ โดยรวมเพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนธุรกิจของบริษัทฯ ตามที่ได้รับความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 6. เจรจาและเข้าทำ�สัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ ที่เป็นธุรกิจปกติของบริษัทฯ ภายในกำ�หนดวงเงินของธุรกรรมตามที่กำ�หนดในตาราง อำ�นาจอนุมัติรายจ่ายซึ่งได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 7. สั่งการ ออกระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศ และบันทึกภายในสำ�หรับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ บริษัทฯ และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ รวมทั้งรักษาระเบียบอันดีงามภายในองค์กร 8. ติดตาม ตรวจสอบ และควบคุมผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วม เพื่อให้มีผลประกอบการที่ดีตาม เป้าหมาย และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส รวมถึงหาโอกาสปรับปรุงและพัฒนาให้มีผลประกอบการที่ดีขึ้น 9. พัฒนาองค์กรให้มีผลการดำ�เนินงานและผลประกอบการที่ดี และมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างสม่ำ�เสมอต่อเนื่องเพื่อให้องค์กรเติบโต อย่างยั่งยืน 10. ดำ�เนินการให้มกี ารศึกษาโอกาสในการลงทุนในโครงการใหม่ๆ ทีด่ ี โดยทำ�การศึกษาทางด้านเทคนิคและด้านการเงินอย่างเหมาะสม และครบถ้วนเพื่อประกอบการตัดสินใจ


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

เลขานุการบริษัท เลขานุการบริษัทมีบทบาทสำ�คัญในการสนับสนุนและดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการให้ดำ�เนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มาตรา 89/15 และ 89/16 คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมในการทำ� หน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท และได้กำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัทไว้ดังนี้ 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสารเกีย่ วกับทะเบียนกรรมการ รายงานประจำ�ปีของบริษทั หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษทั และรายงาน การประชุมคณะกรรมการบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานประจำ�ปี 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 3. จัดส่งสำ�เนารายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้องให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการ ตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทำ�การนับแต่วันที่บริษัทได้รับรายงานนั้น 4. จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประสาน งานให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น 5. ให้คำ�แนะนำ�ในการดำ�เนินงานของบริษัทและคณะกรรมการบริษัทให้เป็นไปตามหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับของบริษัท พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. เป็นศูนย์กลางการติดต่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น 7. ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศในส่วนที่รับผิดชอบต่อหน่วยงานที่กำ�กับดูแลตามระเบียบและข้อกำ�หนดของ หน่วยงานทางการ 8. ดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

51

11. การบรรจุ การแต่งตัง้ การถอดถอน การกำ�หนด การเลือ่ น การลด การตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง การโยกย้าย การพ้นสภาพและอืน่ ๆ ยกเว้นพนักงานตั้งแต่ระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท 12. การโยกย้ายพนักงานระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ยกเว้น การบรรจุ การแต่งตั้ง การถอดถอน การกำ�หนด การเลื่อน การลด การตัดเงินเดือนหรือค่าจ้างการพ้นสภาพ และอื่นๆ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท 13. พิจารณาอนุมัติการดำ�เนินงานที่เป็นธุรกรรมปกติธุรกิจตลอดจนการดำ�เนินงานที่เป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัทฯ ซึ่งมี เงื่อนไขทางการค้าทั่วไป ในวงเงินไม่เกินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 14. ดำ�เนินการให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการได้มาจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ รวมตลอดจนตารางกำ�หนดอำ�นาจอนุมัติ รายจ่ายซึ่งได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 15. พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อการดำ�เนินการของบริษัทฯ 16. มอบอำ�นาจช่วง และ/หรือมอบหมายให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลอื่นใดปฏิบัติงานที่กำ�หนดในนามของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ภายใต้ ขอบเขตอำ�นาจทีร่ ะบุไว้ในหนังสือมอบอำ�นาจของบริษทั ฯ และ/หรือระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือมติของคณะกรรมการบริษทั และไม่กอ่ ให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือความขัดแย้งไม่ว่าในรูปแบบใดๆ กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ในกรณีที่มีความขัดแย้ง ต้องเสนอธุรกรรมดังกล่าว ให้คณะกรรมการของบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) พิจารณาและให้ความเห็นชอบ เว้นแต่ธุรกรรมดังกล่าวเป็นธุรกรรมปกติ ของบริษัทฯ และมีหลักเกณฑ์เดียวกับการทำ�รายการกับบุคคลภายนอก (arm’s length) 17. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ กรรมการผู้จัดการใหญ่มีอำ�นาจในการสั่งจ่ายเงินเพื่อกิจการของบริษัทฯ นอกเหนือจากตามสัญญา หรือข้อผูกพันใดๆ รวมถึงมี อำ�นาจในการดำ�เนินการ หรือกำ�หนดและอนุมัติวิธีการจัดหาพัสดุ ครั้งละไม่เกิน 50.00 ล้านบาท ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารประกอบด้วย (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินซึ่งประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และ (2) ค่าตอบแทนให้กับผู้บริหาร (ซึ่ง รวมถึงพนักงานของบริษัทฯ) ในรูปอื่น ได้แก่ ค่าตรวจสุขภาพประจำ�ปี ค่าวัคซีนป้องกันโรค ค่ารักษาพยาบาล กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และ ค่าเบี้ยประกันชีวิต ในปี 2559 บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารในรูปเงินเดือน โบนัส เงินบำ�เหน็จ และเงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพเป็น เงินรวม 18.33 ล้านบาท


52

รายงานประจำ�ปี 2559

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2559 ได้มีมติแต่งตั้งนางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน 2559 โดยมีประวัติดังนี้ นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล อายุ 57 ปี การศึกษา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม Director Accreditation Program (DAP 99/2555) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ทำ�งาน • บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) - 2558 - ปัจจุบัน : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ • บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) - 2559 - ปัจจุบัน : ผู้อำ�นวยการอาวุโสธุรกิจบริษัทร่วม - 2556 - 2558 : ผู้อำ�นวยการธุรกิจบริษัทร่วม - 2550 - 2556 : ผู้อำ�นวยการสายบัญชีและภาษี สายงานด้านบัญชีและภาษี - 2547 - 2550 : ผู้จัดการอาวุโสส่วนบัญชี และรักษาการผู้อำ�นวยการบัญชีและภาษี • อื่นๆ - 2556 – 2558 : กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด • สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : 850 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีจำ�นวนบุคลากรทั้งหมด (ไม่รวมผู้บริหาร) เท่ากับ 90 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้ สายงาน/บริษัทย่อย สายงานกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี สายงานยุทธศาสตร์องค์กรและพัฒนาธุรกิจ สายงานปฏิบัติการ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท บางจากโซลาร์ เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด BCPG Japan Corporation รวม

จำ�นวนบุคลากร (คน) 4 8 8 5 15 27 23 90


ค่าตอบแทนพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมต่อพนักงาน รวมถึงสอดคล้องกับผลการดำ�เนินงานทั้งในระยะสั้น คือ โบนัส ซึ่งเชื่อมโยง กับผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และระยะยาว คือ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นสวัสดิการที่เป็นหลักประกันทางการเงินให้แก่พนักงาน พนักงานจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน ค่าทำ�งานล่วงเวลา เงินวินัยการปฏิบัติงาน พนักงานมีสิทธิสมัครเข้าเป็นสมาชิก “กองทุน สำ�รองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (ในส่วนของ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน))” โดยเลือกสะสมเป็นอัตรา ร้อยละ 5 หรือร้อยละ 10 ของเงินเดือน และบริษัทฯ สมทบให้ในอัตราเดียวกันเช้าเป็นเงินกองทุน ในปี 2559 บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนพนักงานในรูปเงินเดือน เงินวินัยปฏิบัติงาน เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และเงินรางวัลเพิ่ม พิเศษ เป็นเงินรวม 37.38 ล้านบาท ข้อพิพาทด้านแรงงานอันเป็นสาระสำ�คัญ ตั้งแต่จัดตั้งบริษัทฯ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 จนถึงปัจจุบัน บริษัทฯ ไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานอันเป็นสาระสำ�คัญ นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ มีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรอย่างสม่ำ�เสมอ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และความชำ�นาญ รวมทั้ง ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของพนักงานในทุกระดับ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะส่งเสริมให้บคุ ลากรสามารถพัฒนาความรูค้ วามชำ�นาญจากการปฏิบตั ิ งานจริง (On the Job Training) รวมทั้งจะมีการจัดอบรมภายในบริษัทฯ เพื่อให้มีการถ่ายทอดประสบการณ์และให้ความรู้เพิ่มเติมแก่พนักงาน อยู่เป็นประจำ� และบริษัทฯ จะพิจารณาจัดส่งพนักงานและผู้บริหารในสายงานต่างๆ เข้าร่วมการอบรมและสัมมนาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานของแต่ละฝ่ายเป็นการเพิ่มเติม เพื่อนำ�ความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุงการดำ�เนินของบริษัทฯ ให้ดียิ่งขึ้น บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

53


54

รายงานประจำ�ปี 2559 54 Annual Report 2016

คณะกรรมการบริษัท

2

8 5 6 10

1. นายพิชัย ชุณหวชิร 2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ 3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช 4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์ 5. พลเอก อุทิศ สุนทร

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร


Annual Report 2016

55

4

3 1

7

9

6. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี 7. นายธรรมยศ ศรีช่วย 8. นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล 9. ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ 10. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ กรรมการบริหารและจัดการการลงทุน กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการการตรวจสอบ กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารและจัดการการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริษัท


คณะกรรมการบริษัท

56

รายงานประจำ�ปี 2559

1. นายพิชัย ชุณหวชิร

ประธานกรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 17 กรกฎาคม 2558) อายุ 68 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท Business Administration, Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ บริหารการเงิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 13 • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 49/2549) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 143/2554) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 5) ประสบการณ์การทำ�งาน • 2544 - 2556 : กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2555 : ประธานกรรมการ บริษัทไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2555 : ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จำ�กัด • 2552 - 2554 : กรรมการ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) : กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2548 - 2554 : กรรมการ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) • 2543 - 2554 : กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จำ�กัด • 2541 - 2554 : กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2552 : ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2550 - 2552 : กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) • 2548 - 2552 : กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) • 2543 - 2552 : ประธานกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำ�กัด • 2539 - 2552 : กรรมการ บริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) • 2546 - 2551 : กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) • 2544 - 2550 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)


การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ประธานกรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ ธนาคารแห่งประเทศไทย - ที่ปรึกษาสมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - นายกสมาคมมวยสากลแห่งประเทศไทย

2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

57

รองประธานกรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 1 ธันวาคม 2558) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ 70 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกลเรือ) โรงเรียนนายเรือ • หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ รุ่นที่ 43 กองทัพเรือ • หลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ 26 กองทัพเรือ • หลักสูตรการซ่อมเครื่องยนต์ MTU ประเทศเยอรมนี • หลักสูตรการซ่อมเครื่องยนต์ (Gas Turbine Engine Repairing Course) ประเทศอังกฤษ • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 2552) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน • 2552 : กรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กระทรวงมหาดไทย : ประธานกรรมการการเคหะแห่งชาติ • 2550 : ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพเรือ • 2545 : รองผู้บัญชาการ กองเรือยุทธการ กองทัพเรือ • 2541 : เจ้ากรมโรงงานฐานทัพเรือสัตหีบ กองทัพเรือ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - ผู้จัดการกิจการไฟฟ้า สัตหีบ


58

รายงานประจำ�ปี 2559

3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช

รองประธานกรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 17 กรกฎาคม 2558) ประธานกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน อายุ 50 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • Investment Banking, Kellogg Business School, Northwestern University • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP168/2556) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Role of the Nomination and Governance Committee (RNG4/2556) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (NDC) รุ่นที่ 58 วิทยาลัยป้องกันราชาอาณาจักร ประสบการณ์การทำ�งาน • 2550 - 2557 : ที่ปรึกษา บริษัท อวานการ์ด แคปปิตอล จำ�กัด • 2545 - 2549 : กรรมการผู้จัดการ บริษัท เทิร์น อะราวด์ จำ�กัด • 2539 - 2545 : กรรมการ บริษัท SG Securities (Singapore) PTE.LTD. • 2543 - 2544 : กรรมการ ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ • 2536 - 2539 : วาณิชธนากร บริษัท หลักทรัพย์ แอสเซท พลัส จำ�กัด • 2530 - 2536 : วิศวกร บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธารกรรมการ บริษัท บางจาก รีเทล จำ�กัด - กรรมการ Nido Petroleum Limited - กรรมการ และอนุกรรมการ กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ - กรรมการ สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบ ในพระบรมราชูปถัมภ์ - อุปนายก สมาคมศิษย์เก่าสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - กรรมการมูลนิธิประชาบดีธุรกิจเพื่อสังคม

4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ 64 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 24 • เตรียมทหารรุ่นที่ 13


กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 1 ธันวาคม 2558) กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร อายุ 61 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์ (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 25 • โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 14 • หลักสูตรเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจำ� ชุดที่ 65 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 50 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 2559) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน • 2555 - 2557 : หัวหน้าคณะทำ�งานขับเคลื่อนนโยบายและสั่งการของผู้บังคับบัญชาในการแก้ไขปัญหา จชต. : ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพบก • 2555 - 2557 : แม่ทัพน้อยที่ 1 • 2553 - 2554 : ผบ. ฉก. นราธิวาส : รองแม่ทัพภาคที่ 1 : นายทหารพิเศษประจำ� กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ : ตุลาการศาลทหารชั้นกลางกรุงเทพ

59

5. พลเอก อุทิศ สุนทร

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 49 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรหลักประจำ�ชุดที่ 63 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก • หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP 2559) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน • 2554 : ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม : ราชองครักษ์พิเศษ : ตุลาการศาลทหารสูงสุด • 2553 : ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพบก • 2551 : แม่ทัพภาคที่ 1 การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำ�กัด - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - กรรมการอำ�นวยการราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์


60

รายงานประจำ�ปี 2559

• 2552 : ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 9 : ตุลาการศาลทหาร ศาลทหารกรุงเทพ : ผบ.กกล.สุรสีห์ • 2551 : ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 11 • 2549 : ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเพชรบุรี : นายทหารพิเศษประจำ� กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ • 2544 - 2545 : รอง เสธ.กกล.สุรสีห์ : ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกกาญจนบุรี : รองเสนาธิการ กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ • 2538 : รองผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ : เสนาธิการ กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ • 2536 : หัวหน้าแผนกแผนและปฏิบัติการ กองยุทธการ กอ.รมน.ทภ.1 • 2535 : ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ • 2526 - 2527 : ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ 2 พัน.ร.ฉก.102 กกล.บูรพา การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - เลขานุการและกรรมาธิการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ - กรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ - รองประธานอนุกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทางบก ในคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ

6. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 1 ธันวาคม 2558) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล อายุ 63 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP Refresher 2/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 13/2544) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


กรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 1 ธันวาคม 2558) กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบริหารและจัดการการลงทุน อายุ 58 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 52 สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 56 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน (กพ.) สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 47 สถาบันวิชาการป้องกันประเทศกองบัญชาการทหารสูงสุด • นักบริหารพลังงานระดับสูง รุ่นที่ 1 กระทรวงพลังงาน • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 2559) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

7. นายธรรมยศ ศรีช่วย

61

ประสบการณ์การทำ�งาน • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายการเงินและบัญชี บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) • Chief Financial Officer บริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • Executive Vice President - Finance and Accounting บริษัท สยามเหล็กรีดเย็นครบวงจร จำ�กัด (มหาชน) • Executive Vice President - Finance and Accounting บริษัท เนชั่น พับบลิชิ่ง กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) • Finance and Administration Manager บริษัท ดิจิตอล อีควิปเมนท์ จำ�กัด • Controller บริษัท ที เอ็ม เอ็กซ์ วอทช์ จำ�กัด • ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท สวีเดนมอร์เตอร์ส จำ�กัด • Senior Auditor บริษัท สำ�นักงาน เอส จี วี ณ ถลาง จำ�กัด • กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท เหล็กรีดเย็นไทย จำ�กัด (มหาชน) • ที่ปรึกษาทางบัญชีและการเงิน บริษัท ท่าเรือประจวบ จำ�กัด • ที่ปรึกษาทางบัญชีและการเงิน บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด • กรรมการตรวจสอบ บริษัท ห้องเย็นเอเชี่ยนซีฟู้ด จำ�กัด (มหาชน) • รองประธานในคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านการวางระบบบัญชี • เหรัญญิก สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • กรรมการในคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านบัญชีบริหาร • อนุกรรมการกลั่นกรองมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • วิทยากรในหลักสูตรของคณะกรรมการบัญชีบริหารและคณะกรรมการด้านการวางระบบ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการตรวจสอบ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท ฮอร์ตั้นอินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด - กรรมการตรวจสอบ บริษัท สหไทยสตีลไพพ์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ บริษัท สหไทยเทอร์มินอล จำ�กัด - กรรมาการตรวจสอบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - ผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพด้านบัญชีการเงินประจำ�คณะกรรมการตรวจสอบ การประปานครหลวง - เลขาธิการ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์


ประสบการณ์การทำ�งาน • 2557 - 2559 : อธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน • 2550 - 2557 : รองอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน • 2548 - 2550 : ผู้อำ�นวยการ สำ�นักกำ�กับและอนุรักษ์พลังงาน • 2546 - 2548 : กลุ่มกำ�กับการอนุรักษ์พลังงาน 2 สำ�นักกำ�กับและอนุรักษ์พลังงาน • 2543 - 2546 : ผู้อำ�นวยการส่วน (วิศวกร 8) สำ�นักกำ�กับและอนุรักษ์พลังงาน • 2542 : วิศวกรรมไฟฟ้า 8 วช สำ�นักกำ�กับและอนุรักษ์พลังงาน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - รองปลัดกระทรวงพลังงาน

62

รายงานประจำ�ปี 2559

8. นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล

กรรมการ (กรรมการอิสระ) (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 4 กุมภาพันธ์ 2559) กรรมการตรวจสอบ อายุ 47 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท Management (Finance), Northwestern University, USA • ปริญญาตรี วิศกรรมศาสตร์ (อุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 2559) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน • 2553 - 2557 : ผู้อำ�นวยการอาวุโสหัวหน้าฝ่ายการลงทุนทางเลือก กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ • 2553 - 2556 : กรรมการ บริษัทสหไทย สตีลไพพ์ จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - 2555 : กรรมการ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนภัทร จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการ บริษัท รอยัล ปอร์ชเลน จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ผู้ช่วยเลขาธิการ งานบริหารเงินลงทุนไพรเวทมาร์เก็ต กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ - กรรมการ บริษัท ไทยพรอสเพอริตี้ แอ็ดไวซอรี่ จำ�กัด - กรรมการจัดการการลงทุน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าเทสโก้ โลตัส รีเทล โกรท - กรรมการ บริษัท จีพีเอฟ พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จำ�กัด


9. ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

63

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 1 ธันวาคม 2558) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ 44 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม) Massachusetts Institute of Technology (MIT), USA • ปริญญาโท นโยบายและเทคโนโลยี Massachusetts Institute of Technology (MIT), USA • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม) The University of Winconsin-Madison, USA • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • หลักสูตรนักบริหารงบประมาณระดับสูง สำ�นักงบประมาณ (นงส. 1) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน. 5) • หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รุ่น 3) • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน สถาบันธุรกิจและอุตสาหกรรม (วธอ. 1) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท. 13) • หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงมหาวิทยาลัย (นบม. 10) • หลักสูตรกลยุทธ์การบริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (RE-CU 43) • หลักสูตรผู้นำ�ยุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า (ปนป. 1) • หลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา สถาบันคลังสมองของชาติ (รุ่น 9) • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน (PDI 3) • หลักสูตร Executive Development program สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (EDP 11) • หลักสูตรการพัฒนาอุดมศึกษาไทยสู่โลกศตวรรษที่ 21 สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา • หลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาคณะ สถาบันคลังสมองของชาติ • หลักสูตรสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Director Certification Program, DCP 105) • หลักสูตรกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Program, ACP) • หลักสูตรการบริหารความเสี่ยง (Monitoring Fraud Risk Management, MFM) • หลักสูตรการเงินและบัญชี (Financial Statement for Directors, FSD) • หลักสูตรการวัดผลระบบการตรวจสอบภายในองค์กร (Monitoring the Internal Audit Function, MIA) • หลักสูตรการพัฒนาและบรรลุผลยุทธศาสตร์ (Successful Formulation & Execution of Strategy, SFE) ประสบการณ์การทำ�งาน • 2558 - ปัจจุบัน : อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • 2557 - 2559 : นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) • 2554 - 2557 : กรรมการนโยบายส่งเสริมการลงทุน สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • 2552 - 2557 : คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • 2555 - 2556 : ประธานกรรมการ การเคหะแห่งชาติ • 2553 - 2554 : กรรมการและประธานคณะกรรมการติดตามการดำ�เนินโครงการระบบขนส่งทางรถไฟ Airport Rail Link • 2552 - 2554 : กรรมการและกรรมการตรวจสอบ โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง • 2551 : กรรมการและโฆษกคณะกรรมการ การรถไฟแห่งประเทศไทย (2 วาระ)


การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทใหญ่/บริษัทย่อย/บริษัทย่อยในลำ�ดับเดียวกัน - ไม่มี • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานมูลนิธิอาคารเขียวไทย - กรรมการ มูลนิธิสัมมาชีพ

64

รายงานประจำ�ปี 2559

10. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 17 กรกฎาคม 2558) กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารและจัดการการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริษัท อายุ 52 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิติมศั​ักดิ์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 28/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 53/2548) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วปอ.2555 • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 20 (วตท.20) ประสบการณ์ทำ�งาน • 2556 - 2558 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านธุรกิจพลังงานทดแทน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2555 - 2556 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจและยุทธศาสตร์องค์กร บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2555 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจองค์กร บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2547 - 2551 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปุ๋ยเอ็นเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) • 2540 - 2547 : ผู้จัดการฝ่ายแผนและพัฒนาธุรกิจ บริษัท แอร์ลิควิด (ประเทศไทย) จำ�กัด • 2537 - 2540 : ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ปตท. ปิโตรเคมีคอล จำ�กัด • 2531 - 2537 : ผู้จัดการส่วนการพาณิชย์ บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำ�กัด (มหาชน)


การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

65 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Tarumizu ประเทศญี่ปุ่น (8.1 MWPPA)


66

รายงานประจำ�ปี 2559

คณะผู้บริหาร 1. นายบัณฑิต สะเพียรชัย 2. นายวัชรพงศ์ ใสสุก 3. นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล 4. นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช 5. นายสมชาย เกษมล้นนภา 6. นายภาวัน สยามชัย

4

2

1

3

5 6

กรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กรและพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ ดำ�รงตำ�แหน่ง Country Manager, BCPG Japan Corporation


คณะผู้บริหาร 1. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

67

กรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 17 กรกฎาคม 2558) กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารและจัดการการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริษัท และรักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี อายุ 52 ปี การศึกษา • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิติมศั​ักดิ์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การฝึกอบรม / สัมมนา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 28/2547) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 53/2548) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วปอ.2555 • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 20 (วตท.20) ประสบการณ์ทำ�งาน • 2556 - 2558 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านธุรกิจพลังงานทดแทน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2555 - 2556 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจและยุทธศาสตร์องค์กร บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2555 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจองค์กร บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2547 - 2551 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปุ๋ยเอ็นเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) • 2540 - 2547 : ผู้จัดการฝ่ายแผนและพัฒนาธุรกิจ บริษัท แอร์ลิควิด (ประเทศไทย) จำ�กัด • 2537 - 2540 : ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ปตท. ปิโตรเคมีคอล จำ�กัด • 2531 - 2537 : ผู้จัดการส่วนการพาณิชย์ บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด


- ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จำ�กัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : 1,596 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี

68

รายงานประจำ�ปี 2559

2. นายวัชรพงศ์ ใสสุก

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ อายุ 51 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (เครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม / สัมมนา • Director Certification Program (158/2555) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Executive Development Program (13/2558) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ประสบการณ์ทำ�งาน • 2558 - 2559 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กร และพัฒนาธุรกิจใหม่ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) • 2558 : ผู้อำ�นวยการอาวุโส สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2558 : ผู้อำ�นวยการ สายงานคลังและขนส่ง บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - 2556 : กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ผู้อำ�นวยการอาวุโส ธุรกิจบริษัทร่วม บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท BCPG JAPAN CORPORATION - กรรมการ บริษัท บีซีพีจี ไบโอพาวเวอร์ 1 จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บีซีพีจี ไบโอพาวเวอร์ 2 จำ�กัด - กรรมการ บริษัท BCP Innovation Pte.Ltd. สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : 2 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี

3. นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ อายุ 57 ปี การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม / สัมมนา • Director Accreditation Program (DAP 99/2555) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี อายุ 51 ปี การศึกษา • ปริญญาโท International Business and Information Management System, Widener University Pennsylvania, USA • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ การเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การฝึกอบรม / สัมมนา • Advance Senior Executive Program (ASEP-3) Sasin and Kellogg School of Management ประสบการณ์ทำ�งาน • 2549 – 2559 : กรรมการบริหาร บริษัทอวานการ์ด คอปปิตอล จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท อวานการ์ด แคปปิตอล จำ�กัด - กรรมการ BCPG Investment Holdings Pte. Ltd.

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

4. นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช

69

ประสบการณ์ทำ�งาน • 2556 – 2558 : ผู้อำ�นวยการธุรกิจบริษัทร่วม บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด • 2550 - 2556 : ผู้อำ�นวยการสายบัญชีและภาษี สายงานด้านบัญชีและภาษี บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2547 - 2550 : ผู้จัดการอาวุโสส่วนบัญชี และรักษาการผู้อำ�นวยการบัญชีและภาษี บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ผู้อำ�นวยการอาวุโส ธุรกิจบริษัทร่วม บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท BSE Energy Holdings Pte. Ltd. - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด - กรรมการ มูลนิธิสื่อสร้างสรรค์ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : 850 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี


- กรรมการ Greenergy Holdings Pte. Ltd. - กรรมการ Greenergy Power Pte. Ltd. สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี

70

รายงานประจำ�ปี 2559

5. นายสมชาย เกษมล้นนภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กรและพัฒนาธุรกิจ อายุ 52 ปี การศึกษา • ปริญญาโท Electrical Engineering (Computer Network and Telecommunication), University of Washington, USA • ปริญญาตรี Electrical Engineering (Computer Engineering and Telecommunication), University of Washington, Seattle, USA การฝึกอบรม / สัมมนา • Management Training Program, Nokia Networker (1996), International Institute for Management Development, Switzerland ประสบการณ์ทำ�งาน • 2556 - 2559 : ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจในประเทศออสเตรเลีย บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2557 : ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจพลังงานทดแทน บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) • 2552 - 2556 : ผู้อำ�นวยการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ บริษัท ทรูมูฟ จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี


6. นายภาวัน สยามชัย

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ ดำ�รงตำ�แหน่ง Country Manager, BCPG Japan Corporation อายุ 47 ปี การศึกษา • ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม / สัมมนา • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน • 2548 - 2558 : กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ด้านปฏิบัติการ บริษัท โซลาร์ตรอน จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท BCPG Japan Corporation สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

71


72

รายงานประจำ�ปี 2559

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ได้ ยึ ด ถื อ และปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ล กิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน (The Principles of Good Corporate Governance of Listed Companies, 2012) ตามแนวทางที่ต ลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์ฯ) กำ�หนด เพือ่ เป็นแนวทางในการดำ�เนินงานของ

บริษทั ฯ ให้เกิดประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน และความโปร่งใสต่อนักลงทุน อันจะทำ�ให้เกิด ความเชื่อมั่นในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก ซึง่ ปัจจุบนั บริษทั ฯ จัดทำ� นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (ซึ่งรวมถึง นโยบายเกี่ยวกับการต่อต้านคอร์รัปชั่น) เพื่อ เผยแพร่ให้แก่พนักงานทุกคนเพือ่ รับทราบและ ตระหนักถึงข้อพึงปฏิบัติต่างๆ ตามนโยบาย ดังกล่าว


คอร์ รั ป ชั่ น ของบุ ค คลในองค์ ก ร ทั้ ง จาก พนักงานและผู้มีส่วนได้เสียอื่น หมวดที่ 4 การเปิ ด เผยข้ อ มู ล และความ โปร่งใส (Disclosure and Transparency) บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญทั้ง ข้อมูลทางการเงินและมิใช่ทางการเงินอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่อง ทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียม และน่าเชื่อถือ โดยกำ�หนดแนวปฏิบัติไว้ดังนี้ • มุง่ มัน่ ในการให้ขอ้ มูลอย่างเท่าเทียม กันแก่ผู้ถือหุ้น สถาบันการเงิน บริษัทหลัก ทรัพย์ นักลงทุน รวมไปถึงผู้ที่ต้องการใช้ ข้อมูลและสาธารณชนทั่วไป โดยให้ความ สำ�คัญกับการสื่อสารอย่างโปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและสม�่ำ เสมอ นโยบายการ เปิ ด เผยข้ อ มู ล นี้ ค รอบคลุ ม ถึ ง ทุ ก วิ ธี เช่ น รายงานประจำ�ปี และรายงานผลการดำ�เนิน งานรายไตรมาสต่อนักวิเคราะห์และนักลงทุน ทั่วไป ข่าว เอกสารแถลงข่าว จดหมายถึง ผู้ถือหุ้น เว็บไซต์ของบริษัทฯ และสื่ออื่นๆ • ไม่เปิดเผยข้อมูลที่มีนัยสำ�คัญที่ยัง ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนให้แก่พนักงานที่ ไม่ได้รับอนุญาต ให้แก่กลุ่มบุคคลหรือบุคคล อื่ น ใด (รวมถึ ง นั ก ลงทุ น สื่ อ มวลชนและ นักวิเคราะห์) จนกว่าข้อมูลนั้นจะได้เปิดเผย ต่อสาธารณชนแล้ว • หลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลเกี่ยวกับผล การดำ�เนินงานทีม่ ผี ลกระทบต่อราคาหุน้ หรือ เป็นประโยชน์ต่อผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ ในช่วง เวลาก่ อนที่ จะมี การจั ดส่ งงบการเงิ นให้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ผู้อำ�นวยการที่ ดูแลหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ มีหน้าทีห่ ลัก ในการติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ นั ก วิ เคราะห์ นักลงทุน และบุคคลอื่นๆ ที่ต้องการข้อมูล ทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน ฐานะของบริษทั ฯ และธุรกรรมใดๆ ที่มีผลกระทบต่อบริษัทฯ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

• บริ ษั ท ฯ จะเผยแพร่ ส ารสนเทศ เกีย่ วกับผลการพิจารณาและมติของทีป่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ ผ่านช่องทางต่างๆ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบภายหลังการ ประชุมผู้ถือหุ้น หมวดที่ 2 การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า ง เท่าเทียม (The Equitable Treatment of Shareholders) คณะกรรมการบริษัทจะกำ�กับดูแลให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายพึ ง ได้ รั บ การปฏิ บั ติ อ ย่ า ง เท่ า เที ย มกั น และเป็ น ธรรม โดยบริ ษั ท ฯ ได้กำ�หนดแนวปฏิบัติไว้ดังนี้ • ผู้ถือหุ้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ตามจำ�นวนหุ้นที่ตนมี • ผู้ ถื อ หุ้ น จะได้ รั บ สารสนเทศที่ จำ�เป็นอย่างเท่าเทียม เพียงพอ ยุติธรรม และ ทันเวลา • ผู้ถือหุ้นจะได้รับการปฏิบัติอย่าง เป็ น ธรรมและเท่ า เที ย มกั น ในการประชุ ม ผู้ถือหุ้น • ผูถ้ อื หุน้ สามารถติดต่อกับกรรมการ อิสระในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิทธิของตนได้ โดยตรงผ่านทาง Email: ico@bcpggroup.com หมวดที่ 3 บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Roles of Stakeholders) บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะดูแลผู้มีส่วน ได้เสียตามสิทธิที่มีตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการเคารพหลักสิทธิมนุษยชนและการ ปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ซึ่งคณะ กรรมการบริษัทจะพิจารณาให้มีกระบวนการ ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษัทฯ กั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในการสร้ า งความมั่ ง คั่ ง ความมั่นคงทางการเงินและความยั่งยืนของ กิจการ โดยจัดให้มีช่องทางในการสื่อสาร ข้อมูลกับผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมถึงการจัด ให้มีมาตรการในการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้อง เรียนการกระทำ�ผิดกฎหมาย จรรยาบรรณ หรื อ พฤติ ก รรมที่ อ าจส่ อ ถึ ง การทุ จ ริ ต หรื อ

73

การปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ้ อื หุน้ (The Rights of Shareholders) ผู้ถือหุ้นมีสิทธิในความเป็นเจ้าของโดย ใช้สทิ ธิผา่ นการแต่งตัง้ กรรมการเพือ่ ทำ�หน้าที่ แทนตนและมี สิ ท ธิ ตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ การ เปลีย่ นแปลงทีส่ �ำ คัญ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ตระหนั ก และให้ ค วามสำ � คั ญ ถึ ง สิ ท ธิ ข อง ผู้ ถื อ หุ้ น โดยส่ ง เสริ มให้ผู้ถือหุ้น ใช้สิท ธิและ จะไม่กระทำ�การใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือ ริดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น เช่น • คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึง หน้าทีใ่ นการสนับสนุนและส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ทุ ก รายได้ รั บ สิ ท ธิ พื้ นฐาน อั น ได้ แ ก่ สิ ท ธิ ซือ้ ขายและโอนหุน้ สิทธิในส่วนแบ่งกำ�ไร สิทธิ ได้รับสารสนเทศ สิทธิเข้าร่วมประชุมและ ออกเสียงลงคะแนน และสิทธิประการอื่นๆ ที่ ผู้ถือหุ้นพึงได้รับตามกฎหมาย • การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม วาระ การประชุมและข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ เรือ่ งทีต่ อ้ งพิจารณา โดยจัดส่งให้ผถู้ อื หุน้ และ นายทะเบียนทราบไม่นอ้ ยกว่า 14 วันก่อนการ ประชุมและโฆษณาคำ�บอกกล่าวนัดประชุม ในหนังสือพิมพ์ 3 วัน ติดต่อกันและไม่น้อย กว่า 3 วันก่อนวันประชุม รวมถึงเผยแพร่ ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วล่ ว งหน้ า ไว้ ใ นเว็ บ ไซต์ ข อง บริษัทฯ มากกว่า 30 วันก่อนการประชุม เว้น แต่มีเหตุจำ�เป็นหรือสมควรประการอื่นใด • ผู้ถือหุ้นสามารถเพิ่มเรื่องในวาระ การประชุมและสามารถตั้งคำ�ถาม ขอคำ� อธิบาย และแสดงความเห็นของตนได้อย่าง เหมาะสม โดยการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี 2560 บริษทั ฯ ได้เปิดให้ผถู้ อื หุน้ เสนอ วาระเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 ผ่าน Website ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ Website ของบริษัทฯ


74

รายงานประจำ�ปี 2559

หมวดที่ 5 ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะ กรรมการ (Responsibilities of the Board of Directors) กรรมการพึ ง ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความ รับผิดชอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์สจุ ริต และเป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และ มติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ตลอดจนมติ ที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมถึงมีบทบาทในการกำ�กับ ดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ อันนำ�ไปสู่ความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน โดย รั บ ผิ ด ชอบผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว น ได้เสียอื่น รวมถึงเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ นอกจากนี้ ค ณะกรรมการบริษัท ได้จัด ให้มี คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยเพื่ อ การกำ � กั บ ดู แ ล กิจการทีด่ ี โดยทำ�หน้าทีเ่ ฉพาะด้านช่วยศึกษา กลั่ น กรองงานของคณะกรรมการบริ ษั ท อีกด้วย โดยในช่วงปี 2559 บริษัทฯ ได้ดำ�เนิน การดังนี้ • การจัดให้มีประชุมคณะกรรมการ บริษัทเป็นประจำ�ทุกเดือนเพื่อพิจารณาและ ติดตามเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนิน กิจการ รวมทัง้ การรายงานผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ โดยฝ่ายบริหาร • การรายงานผลประกอบการและ ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ เป็นประจำ�ทุก รายไตรมาสต่อคณะกรรมการบริษัท พร้อม ทั้งการรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่เกี่ยวข้องกับงบการเงิน • การประชุ ม ของคณะกรรมการ อิสระประจำ�ปีเพื่อให้ข้อสังเกตหรือข้อเสนอ แนะต่อฝ่ายบริหารระดับสูงของบริษัทฯ เพื่อ ใช้ในการพัฒนาการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพต่อไป • ก า ร จั ด ให้ มี ก า ร นำ � เ ส น อ ข้ อ กฎหมายหรือประกาศที่เกี่ยวข้องกับบริษัท จดทะเบียนให้แก่คณะกรรมการบริษัทอย่าง สม่ำ�เสมอโดยที่ปรึกษากฎหมาย • จัดให้มีระบบควบคุมภายใน และ มาตรการบริหารความเสี่ยง พร้อมทั้งมีการ ทบทวนและประเมินระบบฯ หรือมาตรการ ต่างๆ อย่างสม่ำ�เสมอ และจัดทำ�รายงาน

ประจำ � ปี เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท และ ฝ่ายบริหารรับทราบเพื่อใช้ในปรับปรุงเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน • การเยี่ ย มชมกิ จ การในประเทศ ญี่ ปุ่ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจลั ก ษณะการ ดำ�เนินงาน และข้อกำ�หนดหรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม บริษัทฯ มีนโยบายการกำ�กับดูแลการ ดำ�เนินงานของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมของ บริษัทฯ รวมถึงบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุ้น (รวม เรียกว่า “บริษัทร่วมทุน”) โดยบริษัทฯ ได้ กำ�หนดแนวปฏิบัติโดยสรุปไว้ดังนี้ • การส่งผู้แทนของบริษัทฯ เข้าดำ�รง ตำ�แหน่งเป็นกรรมการในบริษัทร่วมทุนตาม สัดส่วนการถือหุ้นในแต่ละบริษัท (“กรรมการ ผู้แทนของบริษัทฯ”) เพื่อทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล ให้บริษัทร่วมทุนดำ�เนินการสอดคล้องตาม กฎหมาย นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของ บริษัทร่วมทุน รวมถึงนโยบายอื่นของบริษัทฯ • กรรมการผู้ แทนของบริ ษั ท ฯ ใน บริษทั ร่วมทุนแต่ละบริษทั จะต้องได้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการของบริษทั ฯ ก่อนออกเสียง ลงมติในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั ร่วมทุนแต่ละบริษทั (เว้นแต่บริษทั ร่วมทุนทีไ่ ม่ เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยหรื อ บริ ษั ท ร่ ว มของบริ ษั ท ฯ กรรมการผู้แทนของบริษัทฯ ออกเสียงลงมติ ในเรื่องต่างๆ ได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบ จากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของบริษทั ฯ ก่อน) • บริษัทร่วมทุนที่เป็นบริษัทย่อยของ บริษัทฯ ดำ�เนินการใดที่เข้าข่ายหรือเป็นการ ได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ หรือรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน และส่งผลให้บริษัทฯ มีหน้าที่ ต้ อ งขออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการของ บริษัทฯ หรือดำ�เนินการอื่นใดตามข้อกำ�หนด หรือประกาศของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือ สำ � นั ก งาน ก.ล.ต. บริ ษั ท ย่ อ ยจะเข้ า ทำ � รายการหรือดำ�เนินการนั้นได้เมื่อได้รับอนุมัติ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ และ/

หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ และ/หรือ หน่วยงานกำ�กับทีเ่ กีย่ วข้อง (แล้วแต่กรณี) เป็น ที่เรียบร้อยแล้ว • บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ที่ เ ป็ น บริ ษั ท ย่ อ ย จัดให้มีระบบควบคุมภายใน ระบบบริหาร ความเสี่ยง และระบบป้องกันการทุจริต รวม ทัง้ กำ�หนดให้มมี าตรการในการติดตามผลการ ดำ�เนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่ เหมาะสม • บริ ษั ท ร่ ว มทุ นที่ เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยมี การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำ�เนินงาน และฐานะทางการเงิน รวมถึงข้อมูลต่างๆ ที่ ต้ อ งเปิ ด เผยแก่ ห น่ ว ยงานกำ � กั บ ดู แ ลและ หน่วยงานราชการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง นักลงทุน ภายนอก รวมถึ ง สาธารณชน ให้ มี ค วาม ถูกต้อง ครบถ้วน และน่าเชื่อถือ บริ ษั ท ฯ ได้ ป ระกาศใช้ น โยบายการ กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยและ บริ ษั ท ร่ ว มและดำ � เนิ นการให้ ผู้ บ ริ ห ารของ บริษทั ฯ ทีไ่ ปปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นกรรมการผูแ้ ทน ของบริ ษั ท ฯ ในบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว ม ลงนามรับทราบหน้าที่และความรับผิดชอบที่ ระบุไว้ในนโยบายดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายและวิธีการ กำ�กับดูแลกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ของบริ ษั ท ฯ ในการนำ � ข้ อ มู ล ภายในของ บริษัทฯ ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือผู้อื่น โดย บริษัทฯ ได้กำ�หนดแนวปฏิบัติไว้ดังนี้ • การรับทราบหน้าที่ในการรายงาน การถือครอง การเปลีย่ นแปลงการถือครอง และ การรายงานการได้มาหรือจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ โดยกรรมการและผู้บริหาร รวม ถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงาน บัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้น ไปหรือเทียบเท่า รวมถึงคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดไว้ ใ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการ แก้ไขเพิ่มเติม)


• การห้ า มซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข อง บริษัทฯ เป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือนล่วงหน้า ก่ อ นการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ภายในเกี่ ย วกั บ งบ การเงิน ฐานะการเงินหรือผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ รวมถึงข้อมูลภายในอื่นที่เป็น สาระสำ�คัญ ซึง่ มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงราคา หลักทรัพย์ต่อสาธารณชน และควรรอคอย อย่างน้อย 3 วัน ภายหลังการเปิดเผยข้อมูล ให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทัง้ ห้ามไม่ให้เปิดเผย ข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญนั้นต่อบุคคลอื่น

• กำ�หนดบทลงโทษทางวินัยหากมี การฝ่าฝืนนำ�ข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์ ส่วนตน โดยเริม่ ตัง้ แต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน เท่าที่กฎหมายอนุญาต ให้ท�ำ ได้ ซึง่ การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนา ของการกระทำ�และความร้ายแรงของความ ผิดนั้นๆ

ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทน ให้แก่ผสู้ อบบัญชีคอื บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำ�กัด และบริษัทในกลุ่มเคพีเอ็มจี สำ�หรับการสอบบัญชีงบการเงิน (Audit fee) เป็นจำ�นวนเงิน 1.51 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น ค่าสอบบัญชี จำ�นวน 0.90 ล้านบาท และ สำ�หรับค่าบริการอื่น (Non-audit fee) เป็น จำ�นวนเงิน 0.61 ล้านบาท

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ นางวิไล ฉัททันต์รัศมี พลเอกอุทิศ สุนทร นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล (2) ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ (2)

จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วม / จำ�นวนครั้งทั้งหมด 11 / 11 11 / 11 7 / 7 (2) 3 / 4 (2)

หมายเหตุ (1) เป็นการประชุมภายหลังการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด จำ�นวน 7 ครั้ง (โดยก่อนการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด มีการประชุมรวม 4 ครั้ง) (2) ก่อนการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นางวิไล ฉัททันต์รัศมี เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ พลเอกอุทิศ สุนทร และ ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ ต่อมาภายหลังเมื่อมีการแปรสภาพจากบริษัทจำ�กัด เป็น บริษัทมหาชนจำ�กัด ได้เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยนายธีระพงษ์ นิลวรสกุล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ แทน ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ไว้ โดยเป็นผูท้ รงคุณวุฒใิ นด้านการบัญชี การ ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ เงิน และด้านกฎหมาย จำ�นวน 3 คน ประกอบ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) มีการประชุม ด้วย นางวิไล ฉัททันต์รัศมี ดำ�รงตำ�แหน่ง ทั้งสิ้น 11 ครั้ง(1) สรุปได้ดังนี้ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ พลเอกอุทศิ สุ นทรและนายธี ร ะพงษ์ นิ ล วรสกุ ล เป็ น กรรมการตรวจสอบ

75

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ส อดคล้ อ งตามที่ ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำ หนด


76

รายงานประจำ�ปี 2559

คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั งิ านตาม ขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายไว้ โดยประชุ ม หารื อ ร่ ว มกั บ ฝ่า ย บริหาร ผูต้ รวจสอบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายใน ของบริษัทฯ สรุปสาระสำ�คัญของการดำ�เนินงาน ในรอบปี 2559 ที่ผ่านมา ดังนี้ 1. การสอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจำ�ปี 2559 ของบริษทั ฯ โดยได้เชิญ ฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้อง และผู้สอบบัญชี สังกัด บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำ�กัด เข้าร่วม ประชุ ม ในระเบี ย บวาระเรื่ อ งการสอบทาน งบการเงินทุกครั้ง เพื่อชี้แจง และตอบข้อซักถาม ในประเด็นที่เป็นสาระสำ�คัญต่างๆ รวมถึงการ ติ ด ตามความก้ า วหน้ า และผลของคดี ค วาม ที่ บ ริ ษั ท เป็ น คู่ ค วาม และอยู่ ร ะหว่ า งดำ � เนิ น กระบวนการยุติธรรม เพื่อประกอบการพิจารณา จนมั่นใจว่า การจัดทำ�รายงานทางการเงิน ได้ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองโดยทั่ ว ไป และมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการ เปิดเผยข้อมูลต่างๆ มีความเพียงพอ ทันเวลา ซึ่งผู้สอบบัญชี ได้สอบทาน และ/หรือ ตรวจสอบ และรายงานความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข สำ�หรับ งบการเงิน ประจำ�ไตรมาส และประจำ�ปี 2559 ดังกล่าว อีกทั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้จัด ประชุมหารือเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชี โดย ไม่มฝี า่ ยบริหารเข้าร่วมด้วย เพือ่ อภิปรายกันอย่าง กว้างขวาง และเป็นอิสระ เกีย่ วกับข้อมูลทีม่ สี าระ สำ�คัญ และประเด็นปัญหาในระบบการควบคุม ภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดทำ�บัญชี และรายงาน ทางการเงิน และเรื่องอื่นๆ รวมถึงการสอบถาม และได้รับการยืนยันจากผู้สอบบัญชีว่า ได้ปฏิบัติ ตามข้อปฏิบัติในการรักษาความเป็นอิสระของ ผู้ตรวจสอบ ตามที่ International Federation of Accountants (IFAC) กำ�หนด และกฎเกณฑ์เกีย่ วกับ ความเป็นอิสระของไทย ซึ่งถูกกำ�หนดภายใต้ พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 2. การสอบทานความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจว่า การดำ�เนิน งานของบริษทั ฯ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้

3. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนด ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย หรื อ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. การสอบทานรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยได้พิจารณาถึงความ สมเหตุ ผ ลในการเข้ า ทำ � รายการกั บ บุ ค คลที่ เกี่ยวโยงกัน ว่าเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และฝ่ายบริหารได้รายงานความเคลื่อนไหวของ รายการต่างๆ ต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็น ประจำ�ทุกไตรมาส 5. พิจารณาข้อมูลจากระบบงานบริหาร ความเสี่ยง โดยมอบหมายให้สำ�นักตรวจสอบ ภายใน นำ�ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ มาประกอบการ พิ จ ารณาจั ด ทำ � แผนการตรวจสอบตามลำ � ดั บ ความเสี่ยง (Risk Based Audit Plan) เพื่อประเมิน ความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกระบวนการ บริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร 6. มีสายการบังคับบัญชาโดยตรง ในการ กำ�กับดูแลสำ�นักตรวจสอบภายใน ผ่านกระบวนการ พิจารณาอนุมตั แิ ผนปฏิบตั กิ าร กรอบงบประมาณ กรอบอั ต รากำ � ลั ง ของสำ � นั ก ตรวจสอบภายใน รวมถึงการกำ�หนดเกณฑ์ และการประเมินผลการ ปฏิ บั ติ ง านของหั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบ ภายใน เพื่อให้ความเชื่อมั่นว่า การดำ�เนินงาน ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ ในการตรวจ ประเมิน และการให้คำ�ปรึกษากับฝ่ายงานต่างๆ ในองค์กร เพือ่ ให้ทกุ กิจกรรม ทุกฝ่ายงาน สามารถ บรรลุเป้าหมาย และนำ�มาซึ่งความสำ�เร็จตาม เป้าประสงค์โดยรวมขององค์กร 7. ประสานงานอย่างใกล้ชิด กับคณะ กรรมการบรรษัทภิบาล เพื่อกำ�กับดูแลให้องค์กร มีระบบการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ในทุกกระบวนการ ดำ�เนินงาน พร้อมทัง้ ส่งเสริมให้บริษทั ฯ สมัครเพือ่ ขอรับการรับรอง (Certification) จากคณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้าน การทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) ซึ่ง คาดว่าจะได้รบั การรับรองภายในกรอบระยะเวลา

ที่กำ�หนดต่อไป จากการดำ�เนินงานต่างๆ ข้างต้น คณะ กรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า งบการเงิน ของบริษัทฯ ได้จัดทำ�ขึ้นตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ มีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ โดยมีระบบ การควบคุมภายในที่เพียงพอ มีประสิทธิภาพ มีการแบ่งแยกอำ�นาจ หน้าที่งานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับหลักการสอบทานระหว่างกัน โดย ไม่พบจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การประเมิ น โดยผู้ ส อบบั ญ ชี อีกทั้งการดำ�เนินการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สอดคล้ อ งตามกฎหมาย กฎระเบี ย บว่ า ด้ ว ย หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อกฎหมาย อี่นที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทจดทะเบียน ที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด คณะ กรรมการตรวจสอบ ได้ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ตนเองสำ�หรับการปฏิบัติงานประจำ�ปี 2559 เพื่อ นำ�ข้อพิจารณาต่างๆ มาพัฒนา และปรับปรุงการ ดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบอย่าง ต่อเนื่อง อนึง่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจิ ารณา ให้ ค วามเห็ นชอบในเบื้ อ งต้ น เสนอให้ แต่ ง ตั้ ง นายเจริ ญ ผู้ สั ม ฤทธิ์ เ ลิ ศ ผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4068 หรือ นายวัยวัฒน์ กอสมานชัยกิจ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียน เลขที่ 6333 หรือ นายณัฐพงศ์ ตันติจัตตานนท์ ผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต ทะเบี ย นเลขที่ 8829 ซึ่งสังกัด บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด โดยให้คนใดคนหนึ่ง เป็นผู้สอบบัญชี และ ลงนามเพือ่ แสดงความเห็นต่อรายงานทางการเงิน ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ประจำ�ปี 2560 ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอเรือ่ งดังกล่าวต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา และนำ�เสนอ ขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป

(นางวิไล ฉัททันต์รัศมี)

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เลขานุการคณะกรรมการบริษัท โดยมีข้อมูล ประวั ติ แ ต่ ล ะท่ า นปรากฏในหั ว ข้ อ คณะ กรรมการ ส่ ว นการกำ � หนดค่ า ตอบแทนของ กรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูงของ บริษัทฯ จะคำ�นึงถึงความเหมาะสมกับภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ให้ สามารถเทียบเคียงได้กับบริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่อยู่ใน อุ ต สาหกรรมและธุ ร กิ จ ขนาดใกล้ เคี ย งกั น เพียงพอที่จะจูงใจให้กรรมการหรือผู้บริหารมี คุณภาพและสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุ เป้าหมายและทิศทางที่บริษัทฯ กำ�หนด โดย มีกระบวนการทีโ่ ปร่งใสสร้างความมัน่ ใจให้แก่ ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน ได้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทอย่างครบถ้วน ด้วย ความระมัดระวัง รอบคอบ เต็มความสามารถ และเป็นอิสระ เพื่อผลประโยชน์โดยรวมต่อ บริษัทและผู้ถือหุ้น อย่างเหมาะสมแล้ว

พลเรือเอก (ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ)

ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ตอบแทนพิ จ ารณาสรรหาบุ ค คลดั ง กล่ า ว โดยคำ�นึงถึงคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ มี ป ระสบการณ์ แ ละประวั ติ ก ารทำ � งานที่ ดี และมีภาวะผู้นำ� วิสัยทัศน์กว้างไกล รวมทั้งมี คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทศั นคติทดี่ ตี อ่ องค์กร สามารถอุทศิ เวลาให้ได้อย่างเพียงพอ อันเป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินกิจการของ บริษัทฯ นอกจากนี้ ในการสรรหากรรมการ บริ ษั ท คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน ยังคำ�นึงถึงความหลากหลายใน โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Diversity) และจัดทำ� Board Skill Matrix เพื่อกำ�หนด คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการที่ ต้ อ งการ โดย พิจารณาจากทักษะจำ�เป็นที่ยังขาด รวมถึง คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ องค์ประกอบและโครงสร้างของกรรมการตาม กลยุทธ์ด�ำ เนินกิจการของบริษทั ฯ อีกด้วย โดย มีกระบวนการที่โปร่งใส สร้างความมั่นใจให้ แก่ผถู้ อื หุน้ โดยปัจจุบนั คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 10 ท่าน เป็น กรรมการอิสระ 6 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหาร 3 ท่าน และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร อีก 1 ท่าน คือ กรรมการผู้จัดการใหญ่ซึ่งเป็น

77

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ของบริษัท บีซีพีจี จำ�กัด เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนภายหลังการแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด โดยมี พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ เป็นประธานกรรมการ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ เป็นกรรมการ และ ศ.ดร.สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นกรรมการและ เลขานุการ ในปี 2559 คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน มีการประชุมรวม 6 ครั้ง โดยสรุ ป สาระสำ � คั ญ ประกอบด้ ว ย การ พิ จ ารณาสรรหาบุ ค คลเป็ นกรรมการแทน กรรมการที่ลาออกตามวาระและกรรมการที่ ลาออกก่ อ นครบวาระ ทำ � หน้ า ที่ พิ จ ารณา กำ�หนดคุณสมบัตแิ ละวิธกี ารสรรหากรรมการ บริษัทและผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งพิจารณา เสนอค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท และ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่อพิจารณาอนุมัติ การสรรหากรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ระดับสูง คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า


78

รายงานประจำ�ปี 2559

รายงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เรียน ท่านผู้ถือหุ้น นับตัง้ แต่บริษทั บีซพี จี ี จำ�กัด (มหาชน) ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน จำ � กั ด เมื่ อ วั นที่ 25 มี น าคม 2559 เพื่ อ เตรียมการที่จะเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ต่อมาได้ ดำ�เนินการเข้าเป็นบริษทั จดทะเบียน เมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2559 นัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี หรือ Corporate Governance (CG) นั่นคือ การจัดให้มีโครงสร้างและกระบวนการความ สัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างความ สามารถในการแข่งขันแก่องค์กร อันจะนำ�ไปสู่ ความเจริญเติบโตทางธุรกิจและสร้างมูลค่า เพิ่มให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว โดยคำ�นึงถึง ผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ด้วยเป็นสำ�คัญ ด้วยความมุง่ มัน่ ดังกล่าว คณะกรรมการ บริษัทจึงได้มีการกำ�หนดนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และ ประกาศใช้นโยบายฯ เพื่อให้ม่ันใจได้ว่าการ ดำ � เนิ นงานขององค์ ก รจะดำ� เนิน ไปอย่างมี ประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายทีว่ างไว้บนแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ ที่ยึดมั่นในความโปร่งใส รับผิดชอบต่อผู้มี ส่วนได้เสียทุกฝ่าย ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ได้ มี ม ติ ต ามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท เสนอ แต่งตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาลโดยมีผล วันที่ 25 มีนาคม 2559 เพือ่ ทำ�หน้าทีใ่ นการ กำ�กับดูแลให้ทุกส่วนขององค์กรมีการกำ�กับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี อ ย่ า งเหมาะสมตามแนว นโยบายฯ ทีค่ ณะกรรมการกำ�หนด ตลอดจน ทำ�หน้าทีพ่ จิ ารณาปรับปรุงหลักการกำ�กับดูแล กิ จ การที่ ดี แ ละการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ นของ

บริ ษั ท ฯ อย่ า งสมำ่ � เสมอเพื่ อ ให้ เป็ น ตาม มาตรฐานสากล คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ 2 ท่าน จากกรรมการ 4 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 50 โดยมี พลเอก คณิต สาพิ ทัก ษ์ (กรรมการอิ ส ระ) เป็ น ประธาน กรรมการ นางวิไล ฉัททันต์รัศมี (กรรมการ อิสระ) นายธรรมยศ ศรีช่วย เป็นกรรมการ และนายบั ณฑิ ต สะเพี ย รชั ย (กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่) เป็นกรรมการและเลขานุการ ในปี 2559 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ได้ปฏิบัติหน้าที่กำ�กับดูแลกิจการตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั โดยมีการ ประชุมรวม 2 ครัง้ เพือ่ พิจารณาแผนงานการ พั ฒ นาการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทบทวน นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ตลอดจนติดตามการดำ�เนินงาน ตามแผนงาน การประชุมทัง้ 2 ครัง้ มีสดั ส่วน การเข้าร่วมประชุมของกรรมการคิดเป็นร้อยละ 100 สรุปสาระสำ�คัญได้ดงั นี้ - ทบทวนแนวปฏิบัติในนโยบายการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และให้มกี ารปรับปรุงเพือ่ ความชัดเจน เป็นปัจจุบนั และสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยมี ความรู้ความเข้าใจ และมีความมุ่งมั่นในการ ปฏิบตั งิ านโดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ ดีผา่ นการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ในหลากหลาย รูปแบบ รวมถึงการสือ่ สารนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีให้แก่บุคคลภายนอกผ่านทาง เว็บไซต์บริษัทฯ ตลอดจนการให้พนักงาน ทุกคนตอบรับการยึดถือปฏิบตั ติ ามนโยบายฯ เป็นลายลักษณ์อกั ษร และการทดสอบความรู้ ความเข้าใจของพนักงานเพื่อให้ม่ันใจได้ว่า นโยบายฯ จะได้รบั การนำ�ไปปฏิบตั ดิ ว้ ยความ

เข้าใจและมุง่ มัน่ ของพนักงานทุกระดับ - กำ�หนดแนวทางในการส่งเสริมและ สนับสนุนให้การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ทุกรูปแบบเป็นวัฒนธรรมที่สำ�คัญขององค์กร โดยผลักดันให้มีการประเมินความเสี่ยงด้าน การทุจริตคอร์รปั ชัน่ และจัดทำ�แผนบริหารและ จัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตคอร์รัปชั่น การแสดงออกถึงความมุ่งมั่นในการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชั่นโดยการขอรับรองฐานะ สมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริตจากคณะกรรมการแนว ร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ประกาศเจตนารมณ์ เข้าร่วมเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2559 และ ยื่ น แบบประเมิ นตนเองเกี่ ย วกั บ มาตรการ ต่อต้านคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ขอรับรองฐานะสมาชิกฯ เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2559 การแสดงออกถึง ความมุ่งมั่นยังหมายรวมถึงการดำ�เนินการ อืน่ ใดทีม่ ตี อ่ สาธารณะและผูม้ สี ว่ นได้เสีย อาทิ การประกาศนโยบายงดรับของขวัญ โดยออก หนังสือแจ้งผู้มีส่วนได้เสียงดการรับของขวัญ ในช่วงเทศกาลและในทุกโอกาส การเข้าร่วม กิจกรรมวันต่อต้านคอร์รัปชั่นแห่งชาติ เมื่อ วันที่ 11 กันยายน 2559 เพือ่ แสดงพลังความ ร่วมมือในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลจะยังคง มุ่งมั่นเพื่อพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มุ่ ง สู่ ก ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความโปร่ ง ใส เป็ นธรรม ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มการทำ � งานด้ ว ย ความซื่อสัตย์สุจริตและมีคุณธรรมจริยธรรม ให้กบั พนักงาน สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และคำ � นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุกฝ่าย อันจะเป็นการสร้างคุณค่าให้กิจการ อย่างยัง่ ยืน

พลเอก (คณิต สาพิทักษ์)

ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล


รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกตในประเด็นการบริหาร ความเสี่ ย งของโครงการลงทุ นทั้ ง ในธุ ร กิ จ ปัจจุบนั และธุรกิจใหม่ทมี่ คี วามสำ�คัญต่อการ ดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ก่ อ นนำ � เสนอคณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ เพื่อสร้าง ความมัน่ ใจได้วา่ ธุรกิจนัน้ มีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงที่เหมาะสม และมีโอกาสบรรลุ เป้าหมายตามที่กำ�หนด คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งทั้ ง องค์กร มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดำ�เนินการให้บริษทั มี ก ารกำ � กั บ ดู แ ล และบริ ห ารความเสี่ ย ง ในระดั บ ที่ เหมาะสม พร้ อ มสนั บ สนุ น ให้ หน่วยงานมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ความเสีย่ ง จากการดำ�เนินการดังกล่าว ทำ�ให้ มั่นใจได้ว่าบริษัทได้ดำ�เนินงานตามนโยบาย และบรรลุเป้าหมายทั่วทั้งองค์กร

(ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

พัฒนาโครงการ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการ ปฏิบัติตามกฎหมาย และด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ซึ่งในภาพรวมสามารถ ดำ�เนินการบรรลุผลตามเป้าหมาย ในปี 2559 คณะกรรมการฯ ให้ความสำ�คัญในการบริหาร จั ด การความเสี่ ย งต่ า งๆ ที่ อ าจจะส่ ง ผล กระทบต่อเป้าหมายขององค์กร ให้อยูใ่ นระดับที่ ยอมรับได้ เพื่อเสริมสร้างกระบวนการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) นำ�ไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มของกิจการ สร้าง ความได้เปรียบทางการแข่งขัน ขับเคลือ่ นการ ดำ�เนินงานทั่วทั้งองค์กร รวมถึงมีการติดตาม ผลการดำ�เนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง ผ่ า นแผนบริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เตรี ย มรั บ มื อ กั บ ความ เปลี่ยนแปลง • กำ�กับดูแลและให้ข้อเสนอแนะต่อ การลงทุนของบริษัท คณะกรรมการฯ ได้ให้

79

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯ สามารถบริหารจัดการความไม่แน่นอนที่อาจ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การดำ � เนิ นงานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและเหมาะสม คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ใน หลักเกณฑ์การบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร ปี 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้ง องค์กร ได้ประชุมหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ซึง่ สามารถสรุปสาระสำ�คัญของงานที่ปฏิบัติใน ปี 2559 ได้ดังนี้ • กำ�กับดูแลและพิจารณานโยบาย การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งหลั ก บริ ษั ท ครอบคลุมความเสี่ยงในทุกๆ ด้านดังนี้ ด้าน กลยุ ท ธ์ ด้ า นธุ ร กิ จ เชิ ง พาณิ ช ย์ ด้ า นการ


80

รายงานประจำ�ปี 2559

รายงานของคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษทั บีซพี จี ี จำ�กัด (มหาชน) ได้น�ำ หุน้ เข้ า จดทะเบี ย นและซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ใ น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นวันแรก เมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2559 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ระดมทุนสำ�หรับสนับสนุนการเจริญเติบโต ของบริษัทฯ ในการก้าวสู่เป้าหมายการเป็น ผู้ นำ � ธุ ร กิ จ พลั ง งานไฟฟ้ า สี เขี ย วด้ ว ยกำ � ลั ง การผลิตติดตั้งรวมทั้งสิ้น 1,000 เมกะวัตต์ ในปี 2563 จากการขยายการลงทุนในธุรกิจใหม่ และฐานการลงทุนในต่างประเทศเพิม่ มากขึน้ คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน ซึง่ ประกอบด้วย นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช เป็น ประธานกรรมการ นายธรรมยศ ศรีชว่ ย และ นายบัณฑิต สะเพียรชัย เป็นกรรมการ ได้ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งครบถ้ ว นตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ในปี 2559 คณะกรรมการบริหารและ จั ด การการลงทุ น ร่ ว มกั บ ฝ่ า ยจั ด การได้ พิจารณาการลงทุนในโครงการใหม่ๆ การสร้าง ฐานธุรกิจ (business platform) เพือ่ ขยายธุรกิจ

ไปยังต่างประเทศ เช่น ประเทศญีป่ นุ่ และได้ ดำ�เนินการอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีการจัดประชุม หารือรวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง ซึ่งสามารถสรุป สาระสำ�คัญ ได้ดงั นี้ • พิจารณากลั่นกรอง และติดตาม โครงการลงทุนต่างๆ คณะกรรมการบริหารและจัดการการ ลงทุ น ได้ ติ ด ตาม พิ จ ารณาความคื บ หน้ า โอกาส และอุปสรรคของโครงการลงทุนใหม่ใน ธุรกิจพลังงานไฟฟ้าสีเขียวทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ โดยเฉพาะภูมภิ าค Asia Pacific เพื่อกลั่นกรองรวมถึงให้ข้อเสนอแนะต่อคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร และ คณะกรรมการบริษทั ในการพิจารณาคัดเลือก โครงการลงทุนที่จะเพิ่มรายได้และกำ�ไรให้แก่ บริษทั ฯ ทัง้ นี้ การลงทุนในธุรกิจใหม่ให้ความ สำ � คั ญ กั บ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ตามเป้ า หมาย ของบริษัทฯ ที่ต้องการลงทุน พัฒนา และ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ พลั ง งานไฟฟ้ า สะอาดด้ ว ย นวัตกรรมทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม

• ให้ ข้ อ เสนอแนะติ ด ตามผลการ ดำ�เนินงานตามกลยุทธ์ และการบริหารจัดการ องค์กร คณะกรรมการบริ ห ารและจั ด การ การลงทุนได้ติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงาน ตามกลยุทธ์ของบริษัทฯ รวมถึงได้ติดตาม พิจารณา และให้ข้อเสนอแนะต่อโครงสร้าง องค์กร โครงสร้างทางการเงิน การบริหาร จัดการทางด้านการเงินและทางบัญชี รวมทัง้ งบประมาณที่เหมาะสม พร้อมรองรับการ ขยายตัวของธุรกิจ เพื่อให้คงความสามารถ ในการแข่ ง ขั น สอดคล้ อ งต่ อ ทิ ศ ทางการ พัฒนาธุรกิจ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารและจัดการ การลงทุนปฏิบัติหน้าที่เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และประโยชน์ให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มว่า บริษัทฯ มีการบริหารจัดการดำ�เนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปเพื่อความมั่นคง และยัง่ ยืน

(นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช)

ประธานคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน


ความรับผิดชอบต่อสังคม

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

1. การประกอบกิจการด้วยความเป็น ธรรม โดยยึดมั่นในการดำ�เนินธุรกิจที่สุจริต และเป็นธรรม ตามกรอบกติกาการแข่งขัน ภายใต้ ก ฎหมายและระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ที่ เกี่ยวข้อง โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ และ ผลกระทบจากการดำ � เนิ น งานของกลุ่ ม บริษัทฯ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า นักลงทุน เจ้าหนี้ และ ชุมชนโดยรอบกลุ่มบริษัทฯ เป็นต้น 2. การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น โดยมุ่ ง มั่ น สร้ า งวั ฒ นธรรมการต่ อ ต้ า นการ กระทำ�ฉ้อฉล หรือทุจริตคอร์รัปชั่น และเน้น ส่งเสริมการดำ�เนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม มีจริยธรรม มีความซื่อสัตย์ รวมทั้งมีความ แน่วแน่ทจี่ ะระงับยับยัง้ ป้องกัน และแก้ไขการ กระทำ�ที่เป็นการฉ้อฉล หรือทุจริตคอร์รัปชั่น 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน ประกอบ ธุรกิจด้วยความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนโดยมี การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตลอด จนปฏิ บั ติ ต่ อ กั น อย่ า งเสมอภาค ซึ่ ง เป็ น รากฐานของการบริหารและพัฒนาทรัพยากร บุคคล

81

บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงผู้มี ส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นสำ�คัญ ดังนั้น บริษัทฯ จะดำ�เนินธุรกิจ บริษัทฯ อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาลเป็น เครื่องกำ�กับให้การดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ เป็น ไปด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส และ ยุติธรรม และตระหนักถึงผลกระทบทางลบ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม และ สิ่งแวดล้อม รวมถึงพร้อมจะแก้ไขเพื่อลดผล กระทบดังกล่าว โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ผลดีตอ่ ความยั่งยืนของกิจการ พร้อมกับแสดงความ รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมดังนี้


82

รายงานประจำ�ปี 2559

4. การปฏิ บั ติ ต่ อ แรงงานอย่ า งเป็ น ธรรม โดยตระหนักถึงความสำ�คัญของการ พัฒนาบุคลากรว่าเป็นหัวใจสำ�คัญสำ�หรับ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน บริษทั ฯ จึงให้ความสำ�คัญ กับการกำ�หนดนโยบายการบริหารทรัพยากร มนุษย์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นธรรม ทั้ง ในด้านการสรรหา การพัฒนาบุคลากร ด้าน สุขภาพและความปลอดภัยในการทำ�งาน 5. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค โดย ปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานและกฎระเบี ย บ ข้อบังคับด้านความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด โดยโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทุกโครงการของกลุม่ บริษทั ฯ ได้รบั การรับรอง มาตรฐานทั้งระดับสากลและระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน OHSAS 18001:2007 และ ISO 9001:2008 6. การดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม โดย ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับ การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด และมี การกำ�หนดมาตรการป้องกันและแก้ไขเมื่อ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจาก การดำ�เนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งพัฒนา กระบวนการดำ�เนินธุรกิจให้สามารถลดผล กระทบ พร้ อ มกั บ ปกป้องและบูรณะฟื้น ฟู สิ่งแวดล้อม และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทฯ ยัง ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 14001:2004 อีก ด้วย นอกจากนีโ้ รงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทีต่ �ำ บลบางกระสัน้ อำ�เภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ได้รบั มาตรฐานมงกุฎไทย (Crown Standard) จากองค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก เนื่องจากเป็นโครงการที่มี ความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็นมาตรฐาน แสดงคุณภาพโครงการกลไกการพัฒนาสะอาด ของประเทศไทยที่เทียบเท่ามาตรฐานระดับ สากล 7. การร่ ว มพั ฒ นาชุ ม ชนหรื อ สั ง คม การให้ความสำ�คัญกับการร่วมมือและการมี

ส่วนร่วมระหว่างกิจการกับชุมชนและสังคม โดยให้การสนับสนุนการดำ�เนินกิจกรรมอาสา ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนและสังคม การดำ�เนินการหรือกิจกรรมเพื่อประโยชน์ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจโดยการยึดหลัก ธรรมาภิบาล ให้ความสำ�คัญกับการสร้าง ความสมดุลระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจ กั บ การรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดล้อม คำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ น ได้เสียทุกกลุ่มเพื่อความยั่งยืนในการเติบโต ทางธุรกิจ และให้ภาคธุรกิจสามารถดำ�รงอยู่ เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคมได้อย่าง เป็นสุข และมีการเจริญเติบโตและพัฒนาไป ด้วยกัน โดยมีหลักการสำ�คัญในการดำ�เนิน ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนดังนี้ 1. CSR in Process ความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร บริษทั ฯ ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ มีการกำ�หนดนโยบายและการดำ�เนินงานเพือ่ ให้เกิดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมให้นอ้ ยทีส่ ดุ เช่นการเลือกใช้เทคโนโลยีชั้นนำ�ในระดับโลก ในโครงการปฏิ บั ติ ก ารต่ า งๆ การเข้ า ร่ ว ม โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตาม มาตรฐานของประเทศไทย เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างเหมาะสม คำ�นึงถึงผลประโยชน์ของ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม รวมทั้งมีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างโปร่งใส ตระหนักในความสำ�คัญ ของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในด้านการจ้างงาน บริษทั ฯ ยึดหลักการ บริหารค่าจ้างด้วยความเป็นธรรม มีสวัสดิการ ด้านต่างๆ ทีเ่ หมาะสม เช่น ค่ารักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพประจำ�ปี การประกันชีวิต ฯลฯ อีกทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมใน การประหยัดพลังงาน ทรัพยากร รวมถึงมีการ ร่ ว มกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม

นอกจากนัน้ ยังส่งเสริมให้มกี ารว่าจ้างผูร้ บั เหมา แรงงาน และวัสดุอุปกรณ์ในพื้นที่ในท้องที่ ที่บริษัทมีการปฏิบัติงานอีกด้วย 2. CSR After Process กิจกรรมเพือ่ สังคม และสิ่งแวดล้อม นอกเหนื อ จากการดำ � เนิ นธุ ร กิ จ แล้ ว บริษัทฯ ยังสนับสนุนและส่งเสริมให้พนักงาน ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยมี ก ารจั ด กิ จ กรรมให้ พนักงานได้มีส่วนร่วม และให้พนักงานริเริ่ม จัดกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสังคมและชุมชนใน ระดับท้องถิ่นด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมเกี่ยว กับการศึกษา การให้ความรู้ กิจกรรมยกระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และกิจกรรมด้านกีฬา เป็นต้น 3. Social Enterprise กิจการเพื่อสังคม นอกจากการดำ�เนินการในเชิงธุรกิจแล้ว บริษทั ฯ ยังมีนโยบายในการดำ�เนินงานทีส่ ร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรและสังคมในวงกว้าง ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับ ชุมชน ตามแนวทางการทำ�กิจการเพื่อสังคม โดยมี โ ครงการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดินสำ�หรับหน่วย งานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็น โครงการต้นแบบ โดยนอกจากสมาชิกสหกรณ์ จะได้ รั บ ผลตอบแทนที่ ไ ม่ ผั น ผวนเหมื อ น รายได้จากการเกษตรแล้ว ยังเป็นการสร้าง ความมั่นคงทางด้านพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ โดยรอบและสร้างงานให้แก่สมาชิกและชุมชน ในพื้นที่ สร้างกองทุนให้ความรู้ในการพัฒนา ศักยภาพทางการเกษตรแก่สมาชิก รวมถึง โอกาสได้อาชีพเสริมผ่านการทำ�การเกษตร ใต้แผงที่บริษัทฯ กำ�ลังศึกษาอยู่อีกด้วย


การควบคุมภายใน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

83

บริ ษั ท บี ซี พี จี จำ � กั ด (มหาชน) “บริษัทฯ”ตระหนักถึงความสำ�คัญของการ ควบคุมภายในอย่างต่อเนื่องเสมอมา โดย คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะ กรรมการตรวจสอบ ทำ�หน้าที่สอบทานและ ติดตามประเมินความเพียงพอของระบบการ ควบคุ ม ภายในที่ ฝ่ า ยบริ ห ารจั ด ให้ มี ขึ้ น โดยวางระบบการควบคุมภายในทีค่ รอบคลุม ทุ ก กิ จ กรรมอย่ า งเหมาะสม เพี ย งพอกั บ การดำ�เนินธุรกิจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การดำ�เนินงาน มีการรายงานทางการเงิน การบัญชีและรายงานอื่นๆ ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้ อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า ง เคร่งครัด ซึ่งการประเมินระบบการควบคุม ภายในของบริษัทฯ ในด้านต่างๆ ตามกรอบ แนวทางปฏิบัติด้านการควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสีย่ งของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) 5 องค์ประกอบ สรุปได้ ดังนี้


84

รายงานประจำ�ปี 2559

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม คณะกรรมการบริษทั กำ�หนดจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นลายลักษณ์อกั ษรให้กรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานทั้งองค์กรลงนามรับทราบและ ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ และมีการทบทวน ตามระยะเวลาที่เหมาะสม มีการจัดอบรมให้ พนักงานใหม่มีความเข้าใจ และรับทราบวิธี ปฏิบัติ รวมทั้งการป้องกันความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ทั้งนี้ได้กำ�หนดโครงสร้างการ บริหาร อำ�นาจอนุมตั ิ และการแบ่งแยกหน้าที่ ในส่วนงานทีส่ �ำ คัญ เพือ่ ให้เกิดการตรวจสอบ ถ่วงดุลระหว่างกัน บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญ กับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และมีจริยธรรม ธุรกิจ เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหาร และ พนั ก งานมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามโปร่ ง ใส ยึดมัน่ ในความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีจริยธรรม และ รับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย รวมทัง้ มีชอ่ งทาง รับเรื่องร้องเรียน หรือข้อมูลเกี่ยวกับการ ทุจริตต่างๆ ที่เป็นอิสระ โดยให้ความสำ�คัญ ในการคุม้ ครองสิทธิของผูแ้ จ้งเบาะแสโดยการ เก็บรักษาความลับเกีย่ วกับผูแ้ จ้งเบาะแสและ ข้อร้องเรียนต่างๆ 2. การประเมินความเสี่ยง บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนิน ตามนโยบาย และกระบวนการบริหารความ เสีย่ ง จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความ เสี่ ย งทั้ ง องค์ ก ร (Enterprise-wide Risk Management Committee-ERMC) โดยมี หน้ า ที่ กำ � หนดนโยบาย ยุ ท ธศาสตร์ และ เป้ า หมายการบริ ห ารความเสี่ ย ง รวมถึ ง การพั ฒ นาระบบการบริ ห ารความเสี่ ย งให้ ครอบคลุมทัง้ กลุม่ บริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง ครอบคลุมความเสี่ยงทุกระดับ ขององค์กร ได้แก่ ระดับการดำ�เนินงานให้ บรรลุเป้าหมายในระดับสายงาน ส่วนงาน

กระบวนการทำ�งาน รวมถึงการบริหารความ เสี่ยงในการพิจารณาเพื่อสร้างความมั่นใจ ว่าการลงทุนธุรกิจนัน้ จะบรรลุ และสร้างรายได้ ให้กับบริษัทฯ อย่างยั่งยืน 3. การควบคุมการปฏิบัติงาน เพื่อให้มั่นใจในแนวทาง และนโยบายที่ คณะกรรมการบริษทั และฝ่ายบริหารกำ�หนด ไว้ ได้รับการปฏิบัติตาม บริษัทฯ จึงกำ�หนด กิจกรรมการควบคุม โดยใช้ดัชนีวัดผลการ ปฏิบตั งิ าน (KPI) เป็นเครือ่ งมือในการวางแผน และควบคุม มีการแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิด ชอบเพื่อตรวจสอบซึ่งกันและกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมถึงกำ�หนดให้มีระบบการ ควบคุมภายในที่เพียงพอ ขณะเดียวกันยังมี การถ่ ว งดุ ล และตรวจสอบอำ � นาจจาก หน่วยงาน และคณะกรรมการที่ได้รับการ แต่ ง ตั้ ง โดยเฉพาะ เช่ น สำ � นั ก ตรวจสอบ ภายใน คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ อาทิ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริ ห ารและจั ด การการลงทุ น และคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร มีการ กำ � หนดวิ ธีก ารเพื่ อ ให้ แน่ ใจว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง รวมถึ ง กระบวนการทำ � งานของบริ ษั ท ฯ ในกรอบเงื่อนไขของระยะเวลาที่กำ�หนด 4. ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ฝ่ายบริหาร ทั่ ว ไปเป็ น ผู้ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบบริ ห ารระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศของกลุ่มบริษัทฯ โดยมี การประกาศใช้ และให้ พ นั ก งานทุ ก คน รับทราบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังกล่าว ทั้งนี้ก่อนการพิจารณาประยุกต์ใช้ ระบบงานใหม่ใดๆ บริษัทฯ ได้พิจารณาโดย เปรียบเทียบระหว่างเงินลงทุนในการจัดหา ระบบ กั บ ผลประโยชน์ ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ พร้ อ มทั้ ง จั ด ทำ � เป็ น แผนการพั ฒ นา และ

แนวทางในการประยุกต์ใช้ระบบทีจ่ ดั หามาใช้ งานจริง ในปัจจุบนั บริษทั ฯ ประยุกต์ใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการปฏิบัติ งานต่างๆ เพื่อควบคุมการดำ�เนินงานให้มี ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง อยู่ ร ะหว่ า งการขอ รั บรองมาตรฐานระบบบริ หารความมั่นคง ปลอดภัยสารสนเทศ (ISO 27001) 5. ระบบการติดตามประเมินผล บริษทั ฯ กำ�หนดเป้าหมายในการดำ�เนิน ธุรกิจตามแผนกลยุทธ์ และแผนธุรกิจโดย กำ�หนดเป็นดัชนีประเมินผลการปฏิบตั งิ านให้ ทุ ก สายงาน โดยติ ด ตามเปรี ย บเที ย บผล ปฏิบัติงานจริง กับเป้าหมายเป็นระยะ เพื่อ วิเคราะห์หาสาเหตุของความแตกต่าง และ กำ � หนดแนวทางปรั บ ปรุ ง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพการณ์ปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ทาง สำ�นักตรวจสอบภายใน ซึ่งมีสายการบังคับ บัญชาขึ้นตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ จะตรวจสอบและประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน และระบบการ ควบคุมภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยใน ด้านต่างๆ อย่างสม�่ำ เสมอ เมือ่ พบข้อบกพร่อง หรือสิ่งที่ควรปรับปรุงของระบบการควบคุม ภายใน จะรายงานให้ผู้บริหารหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง และคณะกรรมการตรวจสอบทราบ เพื่อให้ฝ่ายบริหารกำ�หนดแนวทางการแก้ไข และดำ�เนินการ โดยสำ�นักตรวจสอบภายใน จะติดตามผลการดำ�เนินการแก้ไข และนำ� เสนอต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ พิจารณาอย่างต่อเนื่อง


สภาพอากาศแปรปรวน อาจจะส่ ง ผลให้ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของกลุม่ บริษทั ฯ ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้เต็มที่ ซึ่งอาจส่งผล ถึงรายได้จากการขายไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทฯ อย่างไรก็ดี ในการเลือกทีต่ งั้ โรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ กลุ่มบริษัทฯ ได้ทำ�การศึกษา ความเข้มของแสงในแต่ละพื้นที่โดยใช้ข้อมูล ความเข้มของแสงย้อนหลังจากองค์กรที่มี ความน่าเชือ่ ถือ เพือ่ ให้แน่ใจว่าบริเวณทีส่ ร้าง โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ใ นแต่ ล ะ โครงการมีความเข้มแสงอยู่ในระดับสูง แผงเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ เ ป็ น หนึ่ ง ใน อุปกรณ์หลักในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ หากแผงเซลล์ แ สง อาทิตย์มีการเสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ อาจ

ส่งผลต่อปริมาณพลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ โดย อาจทำ�ให้ผลิตไฟฟ้าได้น้อยลง และจะส่งผล กระทบทางลบต่อผลการดำ�เนินงานของกลุ่ม บริษัทฯ อย่างไรก็ตาม โรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้วของ กลุ่มบริษัทฯ มีประกันคุณภาพของแผงเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ และมี ก ารรั บ ประกั น ปริ ม าณ พลังงานไฟฟ้าขัน้ ต�่ำ ทีส่ ามารถผลิตได้ (Energy Output Warranty) นับตั้งแต่วันเริ่มเปิดดำ�เนิน การเชิ ง พาณิ ช ย์ จากผู้ ผ ลิ ต แผงเซลล์ แ สง อาทิ ต ย์ และ/หรื อ ผู้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งแบบ เบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) ของแต่ละโครงการ 1.2. ค ว า ม เ สี่ ย ง จ า ก ก า ร พึ่ ง พิ ง ผู้รับเหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ (EPC Contractor)

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยงสำ�หรับกลุ่มบริษัทฯ แบ่งออกเป็นความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ ในประเทศ ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ ในประเทศญี่ ปุ่ น ความเสี่ ย งด้ า นการ บริหารจัดการ ความเสี่ยงด้านการเงิน และ ความเสี่ ย งจากการลงทุ น ในโครงการใหม่ รายละเอียดมีดังต่อไปนี้ 1. ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ 1.1. ความเสี่ ย งจากปั จ จั ย ที่ ทำ � ให้ โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ผ ลิ ต พลังงานไฟฟ้าได้น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ต้ อ ง พึ่งพิงแสงอาทิตย์ในการผลิตไฟฟ้าเป็นหลัก หากแสงอาทิตย์มคี วามเข้มแสงน้อยกว่าปกติ หรือในบางปีประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นมี

85

ปัจจัยความเสี่ยง


86

รายงานประจำ�ปี 2559

กลุ่ ม บริ ษั ท ฯ พั ฒ นาและก่ อ สร้ า ง โรงไฟฟ้าเพื่อผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า โดย ว่ า จ้ า งผู้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งแบบเบ็ ด เสร็ จ ในการออกแบบ จัดหาอุปกรณ์ และก่อสร้าง โรงไฟฟ้าแต่ละโรง ซึง่ ต้องอาศัยประสบการณ์ ความชำ�นาญในด้านต่างๆ และความรู้ด้าน เทคโนโลยี รวมถึงความแข็งแกร่งของฐานะ ทางการเงิ น ของผู้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งแบบ เบ็ดเสร็จ เนื่องจากผู้รับเหมาก่อสร้างแบบ เบ็ดเสร็จเป็นผู้ให้การรับประกันผลงาน หาก ผู้รับเหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จมีเหตุขัดข้อง ในการดำ�เนินงาน อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถ ปฏิบัติตามเงื่อนไข และ/หรือภาระหน้าที่ตาม สัญญา อาจส่งผลกระทบทางลบต่อผลการ ดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม กลุม่ บริษทั ฯ มีกระบวนการคัดเลือกผูร้ บั เหมา ก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จทีเ่ ข้มงวด โดยพิจารณา จากข้อมูลทางเทคนิคของผูร้ บั เหมาแต่ละราย เป็นหลัก ได้แก่ ประสบการณ์ ความชำ�นาญ ความรู้ ด้ า นเทคโนโลยี ฐานะทางการเงิ น ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของอุปกรณ์ ที่ใช้ และขอบเขตการรับประกันผลงานและ การบริการ หลังจากนั้น จึงพิจารณาความ เหมาะสมทางด้านราคา เพื่อให้มั่นใจว่ากลุ่ม บริ ษั ท ฯ ได้ ว่ า จ้ า งผู้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งแบบ เบ็ดเสร็จทีม่ คี ณ ุ ภาพ ในระดับราคาทีเ่ หมาะสม 1.3. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้า รายใหญ่ ณ ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทฯ มีลูกค้าราย ใหญ่จำ�นวน 4 ราย คือ กฟผ. กฟภ. Kyushu Electric Power Company และ Tohoku Electric Power Company ซึ่งเป็นผู้รับซื้อไฟฟ้าที่กลุ่ม บริษัทฯ ผลิตได้ทั้งหมดตามสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้า ดังนัน้ หาก กฟผ. และ/หรือ กฟภ. และ/ หรือ Kyushu Electric Power Company และ/ หรือ Tohoku Electric Power Company บอก เลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าว อาจส่งผล ต่อผลการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทฯ อย่าง มีนยั สำ�คัญ อย่างไรก็ตาม กลุม่ บริษทั ฯ มีการ ควบคุมการปฏิบัติงานของโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ของกลุ่มบริษัทฯ ให้เป็นไปตาม สัญญาซื้อขายไฟฟ้าอย่างเคร่งครัด รวมถึง ปฏิบัติตามมาตรฐานสากล และข้อกำ�หนด อืน่ ๆ เพือ่ ให้กลุม่ บริษทั ฯ มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน

ตามสั ญ ญาและกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ฯ ยังมีนโยบายแสวงหา โอกาสการขยายธุรกิจโดยการลงทุนในธุรกิจ ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนในต่างประเทศ เพื่อ ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิง กฟผ. กฟภ. Kyushu Electric Power Company และ Tohoku Electric Power Company อีกด้วย 2. ความเสี่ยงในการบริหารจัดการ ปัจจุบัน บริษัทฯ ถือหุ้นโดย BCP ใน สัดส่วนร้อยละ 70.4 ของทุนจดทะเบียนเรียก ชำ�ระแล้ว ซึง่ นับว่า BCP เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ สุดของบริษัทฯ และมีอำ�นาจในการควบคุม การบริ ห ารจั ด การของบริ ษั ท ฯ ผ่ า นทาง กรรมการตัวแทนและการส่งตัวแทนเข้ามา บริหารงาน รวมถึงการควบคุมผ่านการลง คะแนนเสียงในเรื่องที่สำ�คัญต่างๆ (เช่น เรื่อง การเพิ่มทุน/ลดทุน การลงทุน การได้มาและ จำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ เป็นต้น) ในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น อย่างไรก็ตาม โครงสร้างการจัดการ ของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 6 ท่าน ซึง่ ทำ�หน้าทีด่ แู ลการบริหารจัดการเพือ่ ประโยชน์ของบริษัทฯ โดยเฉพาะนักลงทุน รายย่อย และผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ รวมทัง้ บริษทั ฯ ยังเพิ่มช่องทางให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอเพิ่ม วาระการประชุมและเสนอรายชื่อบุคคลเข้า เป็นกรรมการได้ 3. ความเสี่ยงด้านการเงิน 3.1. ความเสี่ ย งจากความผั น ผวน ของอัตราดอกเบี้ย ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีเงินกู้รวม ทั้งสิ้น เท่ากับ 10,150.22 ล้านบาท โดยที่เป็น เงิ น กู้ ที่ กำ � หนดอั ต ราดอกเบี้ ย แบบคงที่ และแบบลอยตัวในสัดส่วนประมาณร้อยละ 40 : 60 ตามลำ�ดับ ดังนัน้ จึงยังคงมีความเสีย่ ง จากความผั น ผวนของอั ต ราดอกเบี้ ย แบบ ลอยตัวที่อาจเพิ่มขึ้นหรือลดลง และส่งผล กระทบต่อต้นทุนทางการเงินของกลุม่ บริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทฯ มีการติดตามการ เคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย และอาจปรับ เป็นอัตราดอกเบีย้ แบบคงทีต่ ามความเหมาะสม ของสภาวะตลาดเงิน ณ ขณะนั้น โดยเฉพาะ โครงการในประเทศญี่ปุ่นจะปรับเป็นอัตรา ดอกเบี้ยเป็นแบบคงที่เป็นระยะๆ

3.2. ความเสี่ ย งจากความผั น ผวน ของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา กลุ่มบริษัทฯ เริ่ม ขยายการลงทุนในญีป่ นุ่ จึงมีความจำ�เป็นต้อง ใช้เงินสกุลเยนเพื่อลงทุนซื้อกิจการและเพื่อ พัฒนาโครงการ จึงทำ�ให้เกิดความเสี่ยงจาก ความผันผวนของค่าเงินเยน โดยในช่วงครึ่งปี หลังของปี 2559 ค่าเงินเยนอ่อนค่าอย่าง ต่อเนือ่ งทำ�ให้เกิดขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น ทั้งนี้สาเหตุหลักเกิดจากส่วนต่างระหว่างเงิน ให้กแู้ ละเงินกู้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้จดั หา เงินกู้สกุลเยนเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้เงิน ลงทุนในญี่ปุ่น เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยน รวมทั้งติดตามความเคลื่อนไหว ของอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อกำ�หนดเครื่องมือ ทางการเงินที่เหมาะสมในการป้องกันความ เสี่ยงดังกล่าว 3.3. ความเสี่ย งจากความสามารถ ในการชำ�ระหนี้ เนื่ อ งจากลั ก ษณะธุ ร กิ จ มี มู ล ค่ า เงิ น ลงทุนสูงทำ�ให้ต้องกู้เงินจากสถาบันการเงิน ภายนอกในลั ก ษณะของเงิ น กู้ โ ครงการ (Project Financing) อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มี รายได้ที่ค่อนข้างคงที่ (Stable Income) ตาม เงื่อนไขการรับซื้อไฟฟ้าอายุสัญญา 20-25 ปี จึงถือว่ามีความเสี่ยงต่ำ�ในการชำ�ระหนี้ 4. ความเสีย่ งจากการลงทุนในโครงการใหม่ ในการพั ฒ นาโครงการใหม่ ทั้ ง ใน ประเทศและต่างประเทศให้สำ�เร็จนั้นขึ้นกับ หลายปั จ จั ย เช่ น การได้ รั บ ใบอนุ ญ าตที่ เกีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ การปฏิบตั ใิ ห้ได้ ตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าหรือ ใบอนุญาตต่างๆ การจัดหาเงินทุน และการ จัดหาทีด่ นิ เป็นต้น รวมถึงความเสีย่ งของการ ดำ � เนิ นงานที่ ไม่ เป็ น ไปตามที่ ค าดไว้ ทำ � ให้ อาจกระทบต่ อ ผลตอบแทนจากการลงทุ น นอกจากนีย้ งั มีความเสีย่ งจากภาวะเศรษฐกิจ นโยบายของภาครั ฐ และข้ อ กำ � หนดที่ เกี่ยวข้องสำ�หรับการลงทุนในต่างประเทศ ซึ่ง บริษัทฯ จะศึกษาประเมินความเสี่ยงต่างๆ ก่ อ นเริ่ ม ลงทุ น รวมทั้ ง กำ � หนดให้ มี ก าร ตรวจสอบและประเมิ น ความเสี่ ย งของ โครงการที่อาจเกิดขึ้นเป็นอย่างสม่ำ�เสมอ


รายการระหว่างกัน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

87


รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2559 สามารถสรุปได้

ดังนี้ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (“BCP”) BCP เป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจาก BCP เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ โดยถือหุ้นร้อยละ 70.4 โดยมีกรรมการร่วมกัน สองท่าน ได้แก่ (1) นายพิชัย ชุณหวชิร และ (2) นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช และมีผู้บริหารของ BCP ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผู้บริหารของ บริษัทฯ หนึ่งท่าน ได้แก่ นายบัณฑิต สะเพียรชัย

88

รายงานประจำ�ปี 2559

ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการเช่าที่ดิน - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - เจ้าหนี้คงค้าง

0.50 5.45 5.95

6.06 5.78 -

ค่ า ใช้ จ่ า ยสำ � หรั บ การเช่ า พื้ นที่ สำ�นักงาน ห้องควบคุม และห้อง วางระบบไฟฟ้า - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เงินมัดจำ� - เจ้าหนี้คงค้าง

0.08 0.23 0.31

0.92 0.08 0.23

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ บริษทั ฯ เช่าทีด่ นิ ที่ อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา เนือ้ ทีร่ วม 457-2-53 ไร่ จาก BCP เพือ่ ใช้เป็นทีต่ ง้ั ของโครงการระยะที่ 1 สัญญาเช่าทีด่ นิ ดังกล่าวมี อัตราค่าเช่าทีป่ ระเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระทีไ่ ด้ รับความเห็นชอบจากสำ�นักงาน ก.ล.ต. มีอายุ สัญญาเช่า 22 ปี ตามอายุคงเหลือของโครงการ ระยะที่ 1 บริ ษั ท ฯ เช่ า พื้ นที่ สำ � หรั บ เป็ น สำ � นั ก งาน ห้ อ ง ควบคุม และห้องวางระบบไฟฟ้าจาก BCP พื้นที่ รวม 377 ตารางเมตร โดยมีอัตราค่าเช่าเป็นไป ตามอัตราที่กำ�หนดในสัญญาเช่า อายุ 3 ปี ซึ่ง เป็นอัตราค่าเช่าที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคา อิสระทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากสำ�นักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ การที่บริษัทฯ เข้าทำ�สัญญาระยะสั้นอายุ 3 ปี เนื่องจากในอนาคตบริษัทฯ อาจพิจารณา ย้ า ยพื้ นที่ สำ � นั ก งานหากบริ ษั ท ฯ จั ด หาพื้ นที่ สำ�นักงานแห่งใหม่ได้


ลักษณะรายการ

ค่าใช้จ่ายตามสัญญาจ้างบริหาร งานกับ BCP - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

42.48 3.79

0.03 0.03

0.35 0.14

-

0.24 0.02

บริษัทฯ มีการทำ�สัญญาจ้างบริหารงานกับ BCP ซึ่งสัญญาดังกล่าวจะสิ้นสุดอายุสัญญาในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 โดยตามสัญญาดังกล่าว BCP จะจัดส่งพนักงานมาปฏิบตั งิ านทีบ่ ริษทั ฯ สำ�หรับ ปี 2560 รวม 10 ตำ�แหน่ง ตามขอบเขตการปฏิบตั ิ งานที่บริษัทฯ เป็นผู้กำ�หนด พนักงานที่ BCP ส่ง มาปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะเป็นผู้บริหารระดับสูง และกลุ่มบุคลากรในสายปฏิบัติการ ซึ่งมีส่วนใน การบริ ห ารจั ด การและดำ � เนิ นงานธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า พลังงานหมุนเวียนมาตั้งแต่เริ่มจัดตั้งธุรกิจไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน ทั้งนี้ BCP จะเรียกเก็บค่า บริการจากการปฏิบัติงานดังกล่าวจากประมาณ การค่าใช้จ่ายเงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทน อื่นๆ ของบุคลากรที่ส่งมาปฏิบัติงานตามเงื่อนไข ที่ระบุในสัญญาจ้างบริหารงาน บริ ษั ท ฯ มี ก ารเรี ย กเก็ บ ค่ า ไฟฟ้ า สำ � หรั บ ศู น ย์ เรียนรูพ้ ลังงานทดแทน ในพืน้ ทีโ่ ครงการระยะที่ 1 ที่ อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา จาก BCP เนื่องจากบริษัทฯ เป็นเจ้าของมิเตอร์ซื้อไฟฟ้าเพื่อ ใช้ในพื้นที่อาคารศูนย์เรียนรู้ ซึ่งเป็นอาคารเดียว กับทีต่ งั้ ของพืน้ ทีส่ �ำ นักงาน ห้องควบคุม และห้อง วางระบบไฟฟ้าของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ จะดำ�เนิน การเรียกเก็บค่าใช้ไฟฟ้า ตามจำ�นวนที่จ่ายจริง ซึ่งเป็นไปตามข้อกำ�หนดภายใต้สัญญาเช่าพื้น ที่อาคารและห้องควบคุม BCP เรี ย กเก็ บ ค่ า ที่ จ อดรถศู น ย์ เ อ็ น เนอร์ ยี่ คอมเพล็กซ์ทั้งหมดของพนักงานและผู้มาติดต่อ ของบริษัทฯ ซึ่ง BCP เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ดั ง กล่ า วไปก่ อ น และจะนำ � มาเรี ย กเก็ บ จาก บริษัทฯ อีกทอดหนึ่งตามจำ�นวนที่จ่ายจริง

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการใช้ที่จอดรถ ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

6.19 6.62

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

89

รายได้ค่าไฟฟ้าศูนย์เรียนรู้ - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559


ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

ค่าบริการรักษาความปลอดภัย - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด

-

1.55

ค่าใช้จ่ายภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีป้าย - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด

-

3.92

210.00 0.16 0.16

3.84 -

90

รายงานประจำ�ปี 2559

ลักษณะรายการ

เงินกู้ยืมจาก BCP วงเงินไม่เกิน 830 ล้านบาท - ยอดเงินกู้ยืมคงค้าง - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยค้างจ่าย

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ BCP มีการเรียกเก็บค่าบริการรักษาความปลอดภัย ของโครงการระยะที่ 1 ตามอัตราที่กำ�หนดใน สั ญ ญาบริ ก ารรั ก ษาความปลอดภั ย ที่ BCP ทำ�กับสำ�นักงานรักษาความปลอดภัย องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่ง BCP เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าวไป ก่อน และเรียกเก็บจากบริษัทฯ อีกทอดหนึ่งตาม จำ�นวนที่จ่ายจริง ทั้งนี้ รายการดังกล่าวจะไม่ เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ สิ้ น สุ ด สั ญ ญาฯ หรื อ หลั ง วั นที่ 31 พฤษภาคม 2559 และบริษัทฯ ได้เข้าทำ�สัญญา บริการรักษาความปลอดภัยกับสำ�นักงานรักษา ความปลอดภัยฯ โดยตรง BCP มีการเรียกเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน และ ภาษีป้ายสำ�หรับปี 2559 ของโครงการระยะที่ 1 เนือ่ งจากทรัพย์สนิ ดังกล่าวจดทะเบียนภายใต้ชอื่ BCP ดังนั้น BCP จึงรับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว ไปก่ อ น และดำ � เนิ น การเรี ย กเก็ บ ค่ า ใช้ จ่ า ย ดังกล่าวจากบริษัทฯ อีกทอดหนึ่งตามจำ�นวนที่ BCP จ่ายจริง เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้เข้าทำ� สัญญาเงินกู้วงเงินไม่เกิน 830.00 ล้านบาท และ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้ทำ�การ เบิกเงินกู้จำ�นวน 210.00 ล้านบาท โดยสัญญา เงินกู้ดังกล่าวเป็นสัญญาเงินกู้ระยะสั้น และมี กำ�หนดชำ�ระคืนภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2559 เพือ่ ใช้ในการลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีอัตราดอกเบี้ย เท่ า กั บ ร้ อ ยละ 2.5 ต่ อ ปี ซึ่ ง ไม่ สู ง กว่ า อั ต รา ดอกเบี้ยที่บริษัทฯ ต้องจ่ายหากกู้ยืมจากสถาบัน การเงิน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 บริษัทฯ ได้ช�ำ ระคืนเงินกูย้ มื พร้อมทัง้ ดอกเบีย้ ทัง้ หมดให้แก่ BCP แล้ว ต่อมาเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 บริษทั ฯ ได้ท�ำ การเบิกเงินกูจ้ �ำ นวน 620.00 ล้านบาท จากวงเงินกูข้ า้ งต้นเพือ่ ใช้ในการลงทุนในโครงการ ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่น อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ได้ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมพร้อมทัง้ ดอกเบี้ ย ทั้ ง หมดให้ แ ก่ BCP แล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 30 มิถุนายน 2559


ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

เงินกู้ยืมจาก BCP วงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย

-

16.69

เงินนำ�ส่งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า - เงินนำ�ส่งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า

-

0.10

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

ลักษณะรายการ

ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการเช่าอาคาร พหลโยธินเพลส - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เงินมัดจำ� - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

-

0.46 0.18 0.10

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2559 บริษัทฯ ได้เข้าทำ� สั ญ ญาเช่ า พื้ นที่ สำ � นั ก งานกั บ บริ ษั ท อาร์ ที เ อ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ชั้นที่ 28 อาคารชุดพหลโยธินเพลส ขนาดพืน้ ที่ 245 ตาราง เมตร โดยมีระยะเวลาเช่า 7 เดือนนับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2559 จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559 การกำ�หนดอัตราค่าเช่าเป็นไปตามราคาตลาด และค่าเช่าตลอดอายุสญ ั ญาเท่ากับ 649,250 บาท ในเดือนสิงหาคม 2559 บริษัท อาร์ทีเอฯ ได้เรียก เก็บค่าเช่าพื้นที่สำ�นักงานดังกล่าวสำ�หรับเดือน สิงหาคมและเดือนกันยายนซึ่งเป็นตามข้อตกลง เบื้องต้น เนื่องจากกรรมการของบริษัท อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นกรรมการ อิสระของบริษทั ฯ จึงนับเป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งอื่น

91

เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 บริษัทฯ ได้เข้าทำ� สัญญาเงินกูว้ งเงินไม่เกิน 2,000.00 ล้านบาท และ เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 บริษัทฯ ได้ทำ�การ เบิกเงินกูจ้ �ำ นวน 1,500.00 ล้านบาท เพือ่ ใช้ในการ ลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ประเทศญี่ปุ่น สัญญาเงินกู้ดังกล่าวเป็นสัญญา เงินกู้ระยะสั้น และมีกำ�หนดชำ�ระคืนภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2560 โดยมีอตั ราดอกเบีย้ เท่ากับร้อยละ 2.9 ต่อปี ซึง่ ไม่สงู กว่าอัตราดอกเบีย้ ทีบ่ ริษทั ฯ ต้อง จ่ายหากกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 บริษัทฯ ได้ชำ�ระคืนเงินกู้ยืม พร้อมทั้งดอกเบี้ยทั้งหมดให้แก่ BCP แล้ว BCP มี ก ารเรี ย กเก็ บ เงิ นกองทุ น พั ฒ นาไฟฟ้ า สำ�หรับเดือนตุลาคมและเดือนพฤศจิกายน 2558 ของโครงการระยะที่ 1 โดยบริษัทฯ ได้รับคืนเงิน นำ�ส่งกองทุนพัฒนาไฟฟ้าจากสำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน ซึง่ โครงการระยะ ที่ 1 ยังเป็นทรัพย์สินของ BCP ดังนั้น BCP จึง เรียกเก็บเงินจำ�นวนดังกล่าว


รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ดังนี้

รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2559 สามารถสรุปได้ BCP ลักษณะรายการ

92

รายงานประจำ�ปี 2559

รายได้ค่าบริหารและดำ�เนินการ โครงการระยะที่ 1 ของ BSE - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง

ค่าใช้จ่ายตามสัญญาจ้างบริหาร งานกับ BCP ค่าใช้จ่ายของ BSE - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง ค่าใช้จ่ายของ BSE-BRM - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง ค่าใช้จ่ายของ BSE-BRM1 - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง ค่าใช้จ่ายของ BSE-CPM1 - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง ค่าใช้จ่ายของ BSE-NMA - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง ค่าใช้จ่ายของ BSE-PRI - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

4.05 -

-

3.40 -

-

0.85 -

-

0.85 -

-

0.85 -

-

0.85 -

-

1.70 -

-

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ BCP จ้าง BSE บริหารและดำ�เนินการโครงการ ระยะที่ 1 โดย BSE จัดหาบุคลากร เครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ สัมภาระ การขนส่ง การ ป้องกันอุบัติเหตุ และสิ่งจำ�เป็นต่างๆ ทั้งหมดใน การทำ�งานเพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ โครงการระยะที่ 1 โดย BCP เป็นผูร้ บั ผิดชอบชำ�ระ เงินค่าจ้างตามอัตราที่ตกลงกันระหว่างคู่สัญญา ทั้งนี้ รายการดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้นในอนาคต เนื่องจากภายหลังการปรับโครงสร้างกลุ่มธุรกิจ ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน โครงการระยะที่ 1 จะ อยู่ภายใต้การดำ�เนินงานของบริษัทฯ BSE BSE-BRM BSE-BRM1 BSE-CPM1 BSE-NMA และ BSE-PRI มีการทำ�สัญญาจ้างบริหารงานกับ BCP อายุคราวละ 1 ปี โดย BCP จัดส่งพนักงาน มาปฏิ บั ติ ง านที่ แต่ ล ะบริ ษั ท ดั ง กล่ า ว ภายใต้ ขอบเขตการปฏิบัติงานตามที่แต่ละบริษัทเป็น ผู้กำ�หนด โดยบุคคลที่ BCP จัดส่งมาจะต้อง สามารถปฏิบัติงานได้ตามคำ�บรรยายลักษณะ งาน (Job Description) ที่กำ�หนด และมีคุณสมบัติ ตามมาตรฐานทีย่ อมรับโดยทัว่ ไปในธุรกิจเดียวกัน ทั้งนี้ พนักงานที่ BCP ส่งมาปฏิบัติงานส่วนใหญ่ จะเป็นผู้บริหารระดับสูงและกลุ่มบุคลากรซึ่งมี ส่วนในการบริหารจัดการและดำ�เนินงานธุรกิจ ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนมาตั้งแต่เริ่มจัดตั้งธุรกิจ ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน BCP จะเรียกเก็บค่าบริการจากการปฏิบัติงาน ดั ง กล่ า วจากประมาณการค่ า ใช้ จ่ า ยเงิ น เดื อ น โบนัส และค่าตอบแทนอืน่ ๆ ของบุคลากรทีส่ ง่ มา ปฏิบัติงาน จากบริษัทนั้นๆ ตามที่ระบุในสัญญา จ้างบริหารงาน อย่างไรก็ตาม ภายหลังการปรับ โครงสร้ า งกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า พลั ง งานหมุ น เวี ย น บริษัทดังกล่าวข้างต้นเข้าทำ�สัญญาจ้างบริหาร งานกับบริษัทฯ แทน


ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

การสนั บ สนุ น วงเงิ น กู้ ยื ม จาก สถาบันการเงินสำ�หรับเงินกู้ยืม จากสถาบันการเงินต่างประเทศ และธนาคารพาณิชย์ในประเทศ เพื่ อ เป็ น เงิ น ทุ น ในการพั ฒ นา โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของ BSE ค่าดำ�เนินการติดตั้งระบบชาร์จ มือถือ เจ้าหนี้คงค้าง

-

0.39

ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

93

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

BSE มีสัญญากู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน ซึ่งได้ รับการสนับสนุนวงเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน โดย BCP ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ จำ�นวนไม่เกิน 400 ล้านบาท ทั้งนี้ BCP ไม่มีการ คิดค่าธรรมเนียมการสนับสนุนวงเงินกูย้ มื ดังกล่าว อย่างไรก็ดี ปัจจุบันกลุ่มบริษัทฯ อยู่ระหว่างการ เจรจากับสถาบันการเงินดังกล่าวให้ปลดภาระการ สนับสนุนวงเงินกู้ยืมโดย BCP BCP มีการเรียกเก็บค่าดำ�เนินการติดตั้งระบบ ชาร์จโทรศัพท์มือถือด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ที่ สถานีบริการอินทนิลของ BCP จำ�นวน 3 แห่ง เพือ่ ให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารของสถานี แ ละ/หรื อ ประชาชน สามารถใช้บริการได้ โดย BCP ได้รับผิดชอบค่า ใช้จ่ายดังกล่าวไปก่อน และดำ�เนินการเรียกเก็บ จาก BSE อีกทอดหนึง่ ตามจำ�นวนที่ BCP จ่ายจริง

รายการระหว่างกันตามแผนการปรับโครงสร้างของกลุ่มบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการตามแผนการปรับโครงสร้างกลุ่มธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนให้มีโครงสร้างที่ชัดเจน และเพื่อเตรียมความพร้อม สำ�หรับการเสนอขายหุ้นสามัญของบริษัทฯ ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) และเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งประกอบด้วย (1) รายการซือ้ ขายหุน้ (2) รายการซื้อขายสินทรัพย์ และ (3) รายการกู้ยืมเงินเพื่อใช้ในการปรับโครงสร้าง โดยมีรายละเอียดของรายการปรับ โครงสร้างกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งดังต่อไปนี้ รายการซื้อขายหุ้น บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญใน BSE BSE-BRM BSE-BRM1 BSE-CPM1 BSE-NMA และ BSE-PRI ทีร่ าคามูลค่าตามบัญชีลา่ สุดก่อนทำ�รายการ(1) ปรับปรุงด้วยรายการสำ�คัญที่เกิดขึ้นภายหลังวันสิ้นงวดบัญชีล่าสุดก่อนทำ�รายการจนถึงวันที่ตกลงทำ�รายการโดยมีรายละเอียดดังนี้

หมายเหตุ : (1) ราคามูลค่าตามบัญชีที่ใช้ในการทำ�รายการมาจากงบการเงินภายในของบริษัทย่อย


หุ้นของบริษัท

BSE-BRM BSE-BRM1 BSE-CPM1

94

รายงานประจำ�ปี 2559

BSE-NMA

BSE-PRI BSE BSE-BRM BSE-BRM1 BSE-CPM1

วันที่ทำ�รายการ

รายการ

2 พฤศจิกายน 2558 หุน้ สามัญ จำ�นวน 3,699,498 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 49.0 ของหุ้นทั้งหมด 2 พฤศจิกายน 2558 หุน้ สามัญ จำ�นวน 3,748,498 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 49.0 ของหุ้นทั้งหมด 2 พฤศจิกายน 2558 หุ้นสามัญจำ�นวน 3,821,998 หุ้นคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 49.0 ของหุน้ ทัง้ หมด โดย แบ่ ง เป็ น หุ้ น สามั ญ ที่ ชำ � ระแล้ ว ร้ อ ยละ 100.0 จำ�นวน 146,998 หุ้น และหุ้น สามัญที่ชำ�ระแล้วร้อยละ 90.0 จำ�นวน 3,675,000 หุ้น 2 พฤศจิกายน 2558 หุน้ สามัญจำ�นวน 3,723,998 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 49.0 ของหุน้ ทัง้ หมด โดย แบ่ ง เป็ น หุ้ น สามั ญ ที่ ชำ � ระแล้ ว ร้ อ ยละ 100.0 จำ�นวน 4,898 หุ้น และหุ้นสามัญ ที่ ชำ � ระแล้ ว ร้ อ ยละ 90.0 จำ � นวน 3,719,100 หุ้น 2 พฤศจิกายน 2558 หุน้ สามัญจำ�นวน 6,859,998 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 49.0 ของหุ้นทั้งหมด 2 ธันวาคม 2558 หุน้ สามัญจำ�นวน 17,999,998 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 100.0 ของหุ้นทั้งหมด 3 ธันวาคม 2558 หุน้ สามัญ จำ�นวน 3,850,500 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.0 ของหุ้นทั้งหมด 3 ธันวาคม 2558 หุน้ สามัญ จำ�นวน 3,901,500 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.0 ของหุ้นทั้งหมด 3 ธันวาคม 2558 หุ้นสามัญจำ�นวน 3,978,000 หุ้นคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.0 ของหุน้ ทัง้ หมด โดย แบ่ ง เป็ น หุ้ น สามั ญ ที่ ชำ � ระแล้ ว ร้ อ ยละ 100.0 จำ�นวน 153,000 หุ้น และหุ้น สามัญที่ชำ�ระแล้วร้อยละ 90.0 จำ�นวน 3,825,000 หุ้น

ผู้ซื้อ

ผู้ขาย

บริษัทฯ

BCP

ขนาดของรายการ สำ�หรับงวดปีบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2558 (ล้านบาท) 377.35

บริษัทฯ

BCP

382.35

บริษัทฯ

BCP

352.58

บริษัทฯ

BCP

342.61

บริษัทฯ

BCP

699.72

บริษัทฯ

BCP

1,930.50

บริษัทฯ

BSE

393.71

บริษัทฯ

BSE

398.93

บริษัทฯ

BSE

367.97


หุ้นของบริษัท

รายการ

ผู้ซื้อ

ผู้ขาย

หุน้ สามัญจำ�นวน 3,876,000 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.0 ของหุน้ ทัง้ หมด โดย แบ่ ง เป็ น หุ้ น สามั ญ ที่ ชำ � ระแล้ ว ร้ อ ยละ 100.0 จำ�นวน 5,100 หุ้น และหุ้นสามัญ ที่ ชำ � ระแล้ ว ร้ อ ยละ 90.0 จำ � นวน 3,870,900 หุ้น หุน้ สามัญจำ�นวน 7,140,000 หุน้ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 51.0 ของหุ้นทั้งหมด

บริษัทฯ

BSE

ขนาดของรายการ สำ�หรับงวดปีบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2558 (ล้านบาท) 357.56

บริษัทฯ

BSE

730.07

วันที่ทำ�รายการ

BSE-NMA

3 ธันวาคม 2558

BSE-PRI

3 ธันวาคม 2558

รายการซื้อขายสินทรัพย์

ผู้ซื้อ

ผู้ขาย

1 ธันวาคม 2558

บริษัทฯ

BCP

ค่าใช้จา่ ยในการกูย้ มื เงินรอตัดบัญชี 1 ธันวาคม 2558

บริษัทฯ

BCP

สินทรัพย์ของโครงการระยะที่ 1

วันที่ทำ�รายการ

95

หุ้นของบริษัท

ขนาดของรายการ สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2558 (ล้านบาท) สินทรัพย์: 3,273.84 เจ้าหนี้ค่าสินทรัพย์: 7.68 ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงิน: 0.22 ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงินรอตัดบัญชี: 25.47 เจ้าหนี้ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงินรอตัดบัญชี: 25.69

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทฯ ซื้อสินทรัพย์ของโครงการระยะที่ 1 (ไม่รวมที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของโครงการระยะที่ 1 ซึ่งบริษัทฯ จะเช่าที่ดินและพื้นที่อื่นที่เกี่ยวข้อง กับการประกอบธุรกิจของโครงการระยะที่ 1 จาก BCP โดยจะทำ�เป็นสัญญาเช่าระยะยาวแทนการซื้อ) โดยมีรายละเอียดดังนี้


รายการกู้ยืมเงินเพื่อใช้ในการปรับโครงสร้าง บริษัทฯ กู้ยืมเงินจาก BCP เพื่อใช้ในการปรับโครงสร้างโดยมีรายละเอียดดังนี้ รายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2558 วันที่ 31 ธ.ค. 2559

3,028.00 10.85 10.85

เงิ น กู้ ยื ม เพื่ อ ดำ � เนิ น การตาม แผนการปรับโครงสร้าง - ยอดเงินกู้ยืมคงค้าง - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยค้างจ่าย

2,990.00 5.97 5.97

96

รายงานประจำ�ปี 2559

เงิ น กู้ ยื ม เพื่ อ ซื้ อ สิ น ทรั พ ย์ ข อง โครงการระยะที่ 1 - ยอดเงินกู้ยืมคงค้าง - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยค้างจ่าย

ลักษณะรายการ

เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 บริษัทฯ ได้เข้าทำ� สัญญากู้ยืมเงินจาก BCP ในวงเงินรวม 3,028.00 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้ท�ำ การเบิกเงินกูจ้ �ำ นวน 3,028.00 ล้านบาท โดย สัญญาเงินกู้ดังกล่าวเป็นสัญญาเงินกู้ระยะยาว 10 ปี เพื่อใช้ซื้อสินทรัพย์ของโครงการระยะที่ 1 โดยจ่ายดอกเบีย้ ในอัตราประมาณร้อยละ 4.2 ต่อ ปี ซึ่งบริษัทฯ จะชำ�ระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยทุก 6 เดือน รวมทั้งสิ้น 20 งวด โดยจะชำ�ระคืนเงินกู้ งวดแรกในเดือนมีนาคม 2559 ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ฯ ได้ช�ำ ระคืนเงินกูย้ มื พร้อม ทั้งดอกเบี้ยทั้งหมดให้แก่ BCP แล้ว พร้อมทั้งตัด จำ�หน่ายค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงินรอตัดบัญชีซึ่ง บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของยอดเงินกู้ยืมคงค้างเป็น ค่าใช้จ่ายต้นทุนทางการเงินทั้งจำ�นวน เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 บริษัทฯ ได้เข้าทำ� สัญญากู้ยืมเงินจาก BCP ในวงเงินรวม 3,100.00 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้ท�ำ การเบิกเงินกูจ้ �ำ นวน 2,990.00 ล้านบาท โดย สัญญาเงินกู้ดังกล่าวเป็นสัญญาเงินกู้ระยะสั้น และมีกำ�หนดชำ�ระคืนภายในวันที่ 9 พฤษภาคม 2560 เพื่อนำ�มาใช้ดำ�เนินการตามแผนการปรับ โครงสร้าง โดยจ่ายดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.5 ต่อปี ซึ่งไม่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยที่บริษัทฯ ต้อง จ่ายหากกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 บริษัทฯ ได้ชำ�ระคืนเงินกู้ยืม พร้อมทั้งดอกเบี้ยทั้งหมดให้แก่ BCP แล้ว


มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน • การเช่าที่ดิน พื้นที่สำ�นักงาน ห้อง ควบคุม และห้องวางระบบไฟฟ้าจาก BCP • การทำ�สัญญาจ้างบริหารงานกับ BCP ซึ่งสัญญาดังกล่าวจะสิ้นสุดอายุสัญญา ในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 หากมีการเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน นอกเหนื อ จากรายการดั ง กล่ า วในอนาคต บริษัทฯ จะปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของ สำ � นั ก งาน ก.ล.ต. คณะกรรมการกำ � กั บ ตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ฯ และในกรณี ที่ เ ป็ น รายการธุ ร กิ จ ปกติ หรื อ รายการ สนั บ สนุ นธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท ฯ และเป็ น รายการที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ งในอนาคต บริษัทฯ มีนโยบายในการกำ�หนดกรอบของ รายการดังกล่าวให้มีข้อตกลงทางการค้าใน ลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทำ�กับ คูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน และให้ เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ สำ � นั ก ตรวจสอบภายใน ทำ�การตรวจสอบธุรกรรมดังกล่าวว่ามีราคาที่ อ้างอิงได้กับราคาตลาด และมีเงื่อนไขทาง การค้าโดยทัว่ ไปทีเ่ ป็นปกติธรุ กิจ เปรียบเทียบ ได้กบั คูค่ า้ ทีเ่ ป็นบุคคลภายนอก เพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯ พร้อมทั้งนำ�เสนอผลการ ตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อ พิจารณารับทราบเป็นรายไตรมาส และใน กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบพบว่ามีการ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบจะแจ้ ง ให้ ค ณะ กรรมการบริษัท หรือกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทราบ และร่วมกันหาทางแก้ไข

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

• กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหาร ต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบถึงความสัมพันธ์ หรื อ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ในกิ จ การที่ อ าจ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • กรรมการและผูบ้ ริหาร ต้องหลีกเลีย่ ง การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ฯ หรือ บริษัทย่อยของบริษัทฯ ในกรณีที่จำ�เป็นต้อง ทำ�รายการที่ไม่ใช่การดำ�เนินธุรกิจตามปกติ หรือมีเงื่อนไขทางการค้าแตกต่างจากการทำ� รายการกับลูกค้าทั่วไปหรือบุคคลภายนอก บริษัทฯ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ คณะกรรมการกำ � กั บ ตลาดทุน และสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตามข้อกำ�หนด • บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลการทำ� รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่ เ กี่ ยวโยงกั นตามหลั กเกณฑ์ ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ คณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุน และสำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด • กำ�หนดให้มีการสอบทานการทำ� รายการที่เกี่ยวโยงกันโดยสำ�นักตรวจสอบ ภายใน ซึ่ ง ต้ อ งรายงานต่ อ คณะกรรมการ ตรวจสอบเป็นรายไตรมาส รวมทั้งกำ�หนดให้ มี ม าตรการควบคุ ม ตรวจสอบ ดู แ ลให้ มี การสุ่มสอบทานการทำ�รายการจริง ถูกต้อง ตรงตามสัญญาหรือนโยบายหรือเงื่อนไขที่ กำ�หนดไว้ แนวโน้ ม ในการทำ � รายการระหว่ า งกั น ในอนาคต แม้ ว่ า บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะมี นโยบายหลีกเลี่ยงการทำ�รายการที่เกี่ยวโยง กันทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ แต่บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจจะยังคงต้องมี การทำ�รายการระหว่างกันกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยง กันในอนาคต ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นตาม ความจำ�เป็นและเป็นไปตามความต่อเนื่อง ของสัญญา เช่น

97

ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 4/2558 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ได้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ น โยบายการทำ � รายการที่ เกี่ยวโยงกัน และหลักการในการทำ�รายการที่ เกี่ ย วโยงกั นซึ่ ง มี ข้ อ ตกลงทางการค้ า ซึ่ ง มี เงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป โดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กำ � หนดมาตรการการทำ � รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ/หรือ บริ ษั ท ย่ อ ย กั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตาม ประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และคณะกรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะ เป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับความสมเหตุสมผล ในการเข้ า ทำ � รายการและความเหมาะสม ทางด้านราคาของรายการนั้นๆ โดยพิจารณา เงื่ อ นไขต่ า งๆ ให้ เป็ น ไปตามลั ก ษณะการ ดำ�เนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และ/หรือ มีการเปรียบเทียบกับราคาตลาด และ/หรือ มี ร าคาหรื อ เงื่ อ นไขของการทำ � รายการ ดังกล่าวในระดับเดียวกันกับบุคคลภายนอก และ/หรือสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าการทำ� รายการดังกล่าวนั้นมีการกำ�หนดราคาหรือ เงื่อนไขที่สมเหตุสมผลหรือเป็นธรรม หาก คณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามชำ�นาญใน การพิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษัทฯ จะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระเป็นผู้ให้ ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนำ�ไปใช้ประกอบการพิจารณาของคณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) นโยบายการทำ�รายการระหว่างกัน เพื่อให้การดำ�เนินการเกี่ยวกับรายการ ระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับบุคคลที่ เกี่ ย วโยงกั น เป็ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ ง โปร่ ง ใส พร้อมที่จะเปิดเผยข้อมูลเรื่องดังกล่าวอย่าง เพียงพอ บริษัทฯ จึงได้กำ�หนดนโยบายและ แนวทางการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันไว้ดังนี้


ฐานะทางการเงิน

98

รายงานประจำ�ปี 2559

และผลการดำ�เนินงาน


เหตุการณ์ที่สำ�คัญในปี 2559 เปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ โครงการ Nikaho ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ที่ จั ง หวั ด อากิตะ ประเทศญี่ปุ่น กำ�ลังการผลิตไฟฟ้า ตามสัญญา 8.8 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติด ตั้ง 13.2 เมกะวัตต์) เริ่มเปิดดำ�เนินการเชิง พาณิชย์ ส่งผลให้โครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ของบริษัทฯ ที่ประเทศญี่ปุ่นเปิด ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้วทั้งสิ้น 5 โครงการ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 19.5 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 26 เมกะวัตต์) • กันยายน 2559 เสนอขายหุน้ สามัญ เพิ่มทุนต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) และเข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย บริษัทฯ เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อ ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) ระหว่าง วันที่ 14-16 และ 19-20 กันยายน 2559 จำ�นวน รวม 590 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ 10.00 บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุนสำ�หรับ การขยายธุ ร กิ จ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ และเข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยภายใต้หมวดพลังงานและ สาธารณูปโภค เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2559 • กันยายน 2559 ข้อยุตขิ องข้อพิพาท ทางกฎหมายโครงการ Suimei สืบเนื่องจากบริษัท Godo Kaisha Natosi (“Natosi”) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยทางอ้ อ ม มีข้อพิพาทกับบุคคลภายนอก (“โจทก์”) โดย โจทก์ได้ยื่นฟ้อง Natosi และผู้เริ่มต้นพัฒนา โครงการ Suimei อีกจำ�นวน 3 ราย (รวมเรียก ว่า “จำ�เลย”) ต่อ Tokyo District Court ซึ่งอ้าง ว่าตนเองมีกรรมสิทธิ์เหนือโครงการดังกล่าว การฟ้องร้องในครั้งนี้มีมูลค่าความเสียหาย 2.20 พันล้านเยนและดอกเบี้ยปรับจากการ ชำ�ระล่าช้าในอัตราร้อยละ 6.0 ต่อปีนับตั้งแต่ วันที่ 29 เมษายน 2558 โดยจำ�เลยมีความผิด

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ครั้งแรก (IPO) ซึ่งรวมถึงแต่ไม่จำ�กัดเพียงการ เสนอขายให้แก่ (I) ผูถ้ อื หุน้ ของ BCP เพือ่ รักษา สิทธิ (Pre-emptive Rights) และ (II) ประชาชน ทั่วไป • เมษายน 2559 ลงทุ น โรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ ุน่ เพิม่ เติม กลุ่มบริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นร้อยละ 100.0 ของ Huang Ming Japan Company Limited (HMJ) และเข้าซื้อใบอนุญาตที่สำ�คัญและ ที่ ดิ น ที่ ใ ช้ ใ นการประกอบธุ ร กิ จ โรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น กำ�ลัง การผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 30.0 เมกะวัตต์ (กำ � ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง รวมประมาณ 36.0 เมกะวัตต์) • เมษายน 2559 ได้รับคัดเลือกโดย วิธีการจับฉลากในโครงการผลิตไฟฟ้าจาก พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แบบติ ด ตั้ ง บนพื้ นดิ น สำ�หรับสหกรณ์ภาคการเกษตร โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง บนพื้ น ดิ น สำ � หรั บ สหกรณ์ภาคการเกษตร (“โครงการฯ) ซึง่ กลุม่ บริษัทฯ เป็นผู้สนับสนุนจำ�นวน 3 แห่ง ได้รับ คัดเลือกโดยวิธกี ารจับฉลากและมีสทิ ธิเข้าทำ� สัญญากับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) โดย มีกำ�ลังการผลิตตามสัญญาและกำ�ลังการ ผลิตติดตั้งรวม 12.0 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย (1) โครงการฯ สหกรณ์ ก ารเกษตร วิเศษชัยชาญ จำ�กัด จังหวัดอ่างทอง ขนาด 5.0 เมกะวัตต์ (2) โครงการฯ สหกรณ์ ก ารเกษตร บางปะอิน จำ�กัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาด 5.0 เมกะวัตต์ (3) โครงการฯ สหกรณ์ ก ารเกษตร พ ร ะ นค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า จำ � กั ด จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา ขนาด 2.0 เมกะวัตต์ • กรกฎาคม 2559 โครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ Nikaho ประเทศญี่ปุ่น

99

• กุมภาพันธ์ 2559 เริ่มขยายธุรกิจสู่ ต่างประเทศด้วยการเข้าซื้อธุรกิจโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ จากกลุม่ บริษัท SunEdison 14 โครงการ โดยมีกำ�ลัง การผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมสูงสุดประมาณ 164.1 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตั้งรวม สูงสุดประมาณ 200 เมกะวัตต์) • มีนาคม 2559 แปรสภาพเป็นบริษทั มหาชน จำ�กัด บริษัทฯ ได้จดทะเบียนแปรสภาพจาก บริษัทจำ�กัดเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 พร้อมเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ ตราไว้ของหุน้ สามัญจากเดิมหุน้ ละ 10.00 บาท เป็นหุ้นละ 5.00 บาท ส่งผลให้จำ�นวนหุ้น สามัญของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจาก 370 ล้านหุ้น เป็น 740 ล้านหุ้น • มีนาคม 2559 เพิ่มทุนจดทะเบียน เป็ น 10,000.00 ล้ า นบาท เพื่ อ รองรั บ การเข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย บริ ษั ท ฯ เพิ่ ม ทุ นจดทะเบี ย นจำ � นวน ไม่ เ กิ น 6,300.00 ล้ า นบาท ส่ ง ผลให้ ทุ น จดทะเบียนเพิ่มขึ้นจาก 3,700.00 ล้านบาท เป็น 10,000.00 ล้านบาท โดยการออกหุ้น สามัญเพิ่มทุนจำ�นวนไม่เกิน 1,260 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท โดยแบ่งการ จัดสรรออกเป็น (1) จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน ไม่เกิน 660 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท เพือ่ เสนอขายให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของ บริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ (Right Offering) ทั้งนี้ การชำ�ระค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนในส่วนนี้ ได้ ดำ � เนิ น การเสร็ จ สิ้ น แล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 28 มีนาคม 2559 (2) จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน ไม่เกิน 600 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 5.00 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่ประชาชนทั่วไปเป็น


แบบร่วมกันและแทนกัน (Jointly and Severally) และเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2559 โจทก์ และ Natosi สามารถตกลงระงับข้อพิพาททาง กฎหมายระหว่างกันได้ โดยผู้พิพากษาได้ รับคำ�ยืนยันจากโจทก์ในการถอนฟ้องคดีจาก Natosi และคดีความถือเป็นที่สิ้นสุด • ธันวาคม 2559 โครงการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดิน สำ�หรับสหกรณ์ภาคการเกษตรเริม่ เปิดดำ�เนินการ เชิงพาณิชย์ โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสง อาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินสำ�หรับสหกรณ์

ภาคการเกษตรทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ เป็นผูส้ นับสนุน จำ�นวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการฯ สหกรณ์ การเกษตร วิเศษชัยชาญ จำ�กัด (ขนาด 5.0 เมกะวัตต์) และโครงการฯ สหกรณ์การเกษตร พระนครศรีอยุธยา จำ�กัด (ขนาด 2.0 เมกะวัตต์) ส่ ง ผลให้ โ ครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสง อาทิ ต ย์ ข องบริ ษั ท ฯ ในประเทศไทย เปิ ด ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้วทัง้ สิน้ 10 โครงการ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 125.0 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 177 เมกะวัตต์)

คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 36.7 YoY และ ลดลงร้อยละ 10.4 QoQ แต่หากไม่นับรวม ขาดทุ น จากอั ต ราแลกเปลี่ ย น กำ � ไรสุ ท ธิ เท่ากับ 545.96 ล้านบาท สำ�หรับปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้ เท่ากับ 3,083.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 YoY โดยที่มี EBITDA (ไม่นับรวมรายได้อื่น และผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ) เท่ากับ 2,263.00 ล้านบาท ลดลงร้ อ ยละ 20.1 YoY และกำ � ไรสุ ท ธิ (ไม่นับรวมผลของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ) เท่ากับ 1,627.67 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 24.3 YoY

100

รายงานประจำ�ปี 2559

1. ภาพรวม ในไตรมาสที่ 4/2559 กลุม่ บริษทั ฯ มีรายได้ จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าเท่ากับ 756.63 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.3 YoY และลดลงร้อยละ 3.6 QoQ กำ�ไรก่อนหักต้นทุนทางการเงิน ภาษี แ ละค่ า เสื่ อ มราคาและตั ด จำ � หน่ า ย (“EBITDA”) (ไม่นับรวมรายได้อื่นและผลของ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ) เท่ากับ 533.49 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 23.8 YoY และเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 QoQ และกำ�ไรจาก การดำ�เนินงาน เท่ากับ 364.00 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 37.2 YoY และเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.3 QoQ ขณะที่กำ�ไรสุทธิเท่ากับ 326.79

แผนภูมิแสดงผลการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทฯ (ล้านบาท) 3,500 3,000 ยอดขาย

2,500

กำ�ไรขั้นต้น

2,000

Q4 2559

3,083.91 2,261.65 2,263.00 1,661.48 1,627.67 1,541.33

Q3 2559

3,024.23 2,400.16 2,832.72 2,354.72 2,148.95 2,147.37

Q4 2558

326.79

0.0

545.96

500 364.00

กำ�ไรสุทธิ (หักกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน)

756.63 513.39 533.49

กำ�ไรสุทธิ

1,000 785.05 575.04 598.29 445.33 377.30 364.85

กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน

1,500

766.35 605.07 700.34 579.78 517.82 516.24

EBITDA

2558

2559


แผนภูมิแสดงโครงสร้างรายได้จำ�แนกตามโครงการสำ�หรับปี 2558-2559

2558

2559

8.1%

โครงการในญี่ปุ่น

3,024.23

3,083.91

ล้านบาท

ล้านบาท

BCPG

BSE

BSE-BRM

BSE-BRM1

BSE-CPM1

BSE-NMA

BSE-PRI

Nakatsugawa

Takamori

Nojiri

Tarumizu

Nikaho

101

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

แผนภูมิแสดงโครงสร้างสินทรัพย์ หนี้สิน-ทุน (ล้านบาท) 30,000

25,488.56 25,000

.4%

8 11

+ 11,670.94

20,000 10,000 5,000 -

A

L+E 2558

A

ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์ เพิ่มขึ้นเป็น 25,488.56 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 118.4 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยกว่า ร้อยละ 55 ของสินทรัพย์รวมเป็นสินทรัพย์ ประเภทที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ รองลงมา เป็นเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดร้อยละ 31.6 ของสินทรัพย์รวม กลุ่มบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน ลดลงเป็น 0.89 เท่า ณ สิ้นปี 2559 เทียบกับ 1.97 เท่า ณ สิ้นปี 2558

L+E 2559

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์อื่น

เงินกู้ระยะสั้น

เงินกู้ระยะยาว

หนี้สินอื่น

ทุนเรียกชำ�ระ

ส่วนของผู้ถือหุ้น


2. ผลการดำ�เนินงาน ตารางแสดงผลการดำ�เนินงานของธุรกิจโดยรวม

(ล้านบาท)

รายการ Q4 2558 Q3 2559 Q4 2559 รายได้จากการขายไฟฟ้า 766.35 785.05 756.63 กำ�ไรขั้นต้น 605.07 575.04 513.39 (1) EBITDA 700.34 598.29 533.49 EBITDA 701.74 599.42 349.16 (1) กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน 579.78 445.33 364.00 กำ�ไรสุทธิ (2) 517.82 377.30 545.96 กำ�ไรสุทธิ (หลังกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน) 516.24 364.85 326.79

YoY -1.3% -15.2% -23.8% -50.2% -37.2% 5.4% -36.7%

QoQ -3.6% -10.7% -10.8% -41.8% -18.3% 44.7% -10.4%

2558 3,024.23 2,400.16 2,832.72 2,845.15 2,354.72 2,148.95 2,147.37

2559 3,083.91 2,261.65 2,263.00 2,559.45 1,661.48 1,627.67 1,541.33

YoY 2.0% -5.8% -20.1% -10.0% -29.4% -24.3% -28.2%

102

รายงานประจำ�ปี 2559

หมายเหตุ: (1) EBITDA และกำ�ไรจากการดำ�เนินงานที่ไม่นับรวมรายได้อื่น และกำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน (2) กำ�ไรสุทธิไม่นับรวมกำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

แผนภูมิแสดงโครงสร้างรายได้จำ�แนกตามภูมิภาค

100.0%

8.1%

แผนภูมิแสดงกำ�ลังการผลิตไฟฟ้า

MWPPA 150

75.0%

+7.0 +8.8

50.0%

100.0%

91.9%

100

25.0% 0.0%

2558

2559 ไทย

ญี่ปุ่น

+10.7

125

75

144.5 MWPPA4

118.0 Q3 2558 Q2 2559 Q3 2559 Q4 2559 ไทย

ญี่ปุ่น


ต่อหน่วยของกิจการในประเทศไทย สำ�หรับ EBITDA (ไม่นบั รวมรายได้อนื่ และผลของอัตรา แลกเปลี่ ย นเงิ นตราต่ า งประเทศ) เท่ า กั บ 533.49 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 23.8 YoY และร้ อ ยละ 10.8 QoQ เป็ น ผลมาจาก ค่าใช้จ่ายในการบริหารที่สูงขึ้นจากการขยาย กิจการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรที่ สูงขึ้น ค่าที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ เสนอขายหุ้น IPO และค่าเดินทาง เป็นต้น โดยที่ค่าใช้จ่ายบางส่วนเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานปกติ (One Time Cost) ค่าใช้จ่ายดังกล่าวยังสะท้อนในกำ�ไร สุทธิ (ไม่นับรวมกำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตรา แลกเปลี่ยนเงิน) ของกลุ่มบริษัทฯ เท่ากับ 545.96 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.4 YoY และ ร้อยละ 44.7 QoQ ในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีกำ�ไรขั้นต้น เท่ากับ 2,261.65 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 5.8 YoY เป็นผลมาจากต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น จากกิ จ การในประเทศญี่ ปุ่ น และค่ า ตั ด จำ � หน่ า ยส่ ว นเพิ่ ม ที่ สู ง ขึ้ นจากการประเมิ น มูลค่ายุตธิ รรมของโครงการต่างๆ ทีไ่ ด้มาจาก การเข้ า ซื้ อ หุ้ นของกลุ่ ม บริ ษั ท SunEdison ขณะที่รายได้ลดลงเนื่องจากปัจจัยภายนอก เช่น สภาพอากาศและอัตราค่าไฟฟ้า EBITDA (ไม่ นั บ รวมรายได้ อื่ น และผลของอั ต รา แลกเปลี่ ย นเงิ นตราต่ า งประเทศ) เท่ า กั บ 2,263.00 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 20.1 YoY เป็นผลมาจากค่าใช้จ่ายในการบริหารที่ สูงขึ้นจากการขยายกิจการ และสะท้อนใน กำ�ไรสุทธิ (ไม่นบั รวมผลของอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ) เท่ากับ 1,627.67 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 24.3 YoY

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

การผลิตติดตั้งใน Portfolio เพิ่มขึ้นอีก 200 เมกะวั ต ต์ เป็ นกำ � ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง 418 เมกะวัตต์ ตามเงื่อนไขของสัญญาการเข้าซื้อ กิจการทำ�ให้กลุม่ บริษทั ฯ สามารถรับรูผ้ ลการ ดำ � เนิ นงานของกิ จ การในประเทศญี่ ปุ่ น ได้ ตั้งแต่เดือนมกราคม ปี 2559 เป็นต้นไป โดย ในปี 2559 มีรายได้เท่ากับ 253.31 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การรับรู้รายได้ดังกล่าวเกิดจาก การทยอยเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ในแต่ละ โครงการ ดังนัน้ บางโครงการจึงยังไม่รบั รูร้ ายได้ เต็มปี เช่น โครงการ Nikaho กำ�ลังการผลิต ตามสัญญา 8.8 เมกะวัตต์ (กำ�ลังการผลิต ติดตัง้ 13.2 เมกะวัตต์) เปิดดำ�เนินการในเดือน กรกฎาคม 2559 กลุม่ บริษทั ฯ ยังคงมีรายได้จากการขาย ไฟฟ้ามาจากกิจการในประเทศไทยเป็นหลัก หรือคิดเป็นร้อยละ 91.8 ของรายได้จากการ ขายไฟฟ้ารวม โดยในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มี รายได้ จ ากการขายไฟฟ้ า ในประเทศไทย เท่ากับ 2,830 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 6.4 YoY ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากค่าความเข้มแสง (Irradiance) ภายในประเทศที่ลดลงเมื่อเทียบ กับปี 2558 ทำ�ให้ปริมาณการผลิตไฟฟ้าเป็น 254,397 เมกะวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง หรือลดลงร้อยละ 3.4 YoY นอกจากนี้อัตราค่าไฟฟ้าพื้นฐานที่ ลดลงเหลือ 3.14 บาท-kWh เมื่อเทียบกับ 3.48 บาท-kWh ในปี 2558 เป็นอีกสาเหตุหนึง่ ทีท่ �ำ ให้รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าลดน้อยลง ในไตรมาสที่ 4/2559 กลุ่มบริษัทฯ มี กำ�ไรขั้นต้นเท่ากับ 513.39 ล้านบาท ลดลง ร้อยละ 15.2 YoY และลดลงร้อยละ 10.7 QoQ ซึง่ เป็นผลมาจากต้นทุนของกิจการในประเทศ ญีป่ นุ่ ต่อหน่วยค่อนข้างสูงเมือ่ เทียบกับต้นทุน

103

ในช่วงไตรมาสที่ 4/2559 กลุม่ บริษทั ฯ มี รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าเท่ากับ 756.63 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.3 YoY และ ร้อยละ 3.6 QoQ ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจาก (1) โครงการภายในประเทศ ปริมาณการผลิต ไฟฟ้ า ที่ ล ดน้ อ ยลงตามค่ า ความเข้ ม แสง (Irradiance) ที่ลดลงในปี 2559 เมื่อเทียบกับปี 2558 และราคาค่าไฟฟ้าพื้นฐานลดลงอย่าง ต่อเนื่อง จาก 3.54 บาท-kWh ในไตรมาสที่ 4 ปี 2558 เป็น 3.06 บาท-kWh ในไตรมาสที่ 4 ปี 2559 จึงทำ�ให้รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ลดลง และ (2) สภาพอากาศของประเทศ ญี่ปุ่นที่เริ่มเข้าฤดูหนาวในช่วงไตรมาสที่ 4 ทำ�ให้ปริมาณการผลิตลดลง ในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้จาก การขายไฟฟ้าเท่ากับ 3,083.91 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นร้อยละ 2.0 YoY ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรายได้จาก การจำ�หน่ายไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่นเป็นหลัก และชดเชยรายได้ ที่ ล ดลงของกิ จ การใน ประเทศไทยจากปริมาณการผลิตและอัตรา ค่าไฟพื้นฐานที่ปรับลดลง รายได้จากการ จำ�หน่ายไฟฟ้าที่มาจากประเทศญี่ปุ่นและ ประเทศไทย มีสัดส่วนเท่ากับ 8 ต่อ 92 ตาม ลำ�ดับ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ที่ผ่านมา กลุ่ ม บริ ษั ท ฯ เข้ า ซื้ อ กิ จ การของโรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์จากกลุม่ บริษทั SunEdison โดย ณ สิน้ ปี 2559 โครงการดังกล่าวประกอบ ด้วยโครงการที่ดำ�เนินกิจการแล้ว 5 โครงการ (ขนาดกำ�ลังการผลิตติดตัง้ 26 เมกะวัตต์) และ โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและพัฒนา อีก 9 โครงการ (ขนาดกำ�ลังการผลิตติดตั้ง 174 เมกะวัตต์) ซึ่งทำ�ให้กลุ่มบริษัทฯ มีกำ�ลัง


2.1. รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า

104

รายงานประจำ�ปี 2559

ตารางแสดงรายได้จากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำ�แนกตามโครงการ รายการ Q4 2558 Q3 2559 Q4 2559 766.35 679.70 692.82 1. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ใน ประเทศไทย 1.1 BCPG รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 61.36 50.79 47.15 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 145.86 126.88 122.44 1.2 BSE รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 65.75 57.21 57.77 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 155.27 143.17 149.84 1.3 BSE-BRM รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 16.54 14.99 14.56 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 39.44 37.73 37.91 1.4 BSE-BRM 1 รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 16.32 14.49 14.19 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 38.88 36.45 36.95 1.5 BSE-CPM 1 รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 16.90 14.50 14.81 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 40.02 36.62 38.66 1.6 BSE-NMA รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 16.13 14.16 14.18 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 38.45 35.52 37.02 1.7 BSE-PRI รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 34.08 27.63 29.11 รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 81.35 69.56 76.18 รายได้ตามอัตราการรับซือ้ ในรูปแบบ 2.05 Feed-in Tariff - 105.35 63.81 2. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ใน ประเทศญี่ปุ่น 2.1 โครงการ Nakatsugawa 3.95 2.75 2.2 โครงการ Takamori 5.13 3.70 2.3 โครงการ Nojiri 5.23 3.40 2.4 โครงการ Tarumizu 39.55 30.23 2.5 โครงการ Nikaho 51.50 23.73 766.35 785.05 756.63 รายได้รวม

(ล้านบาท) YoY -9.6%

QoQ 2558 2559 1.9% 3,024.23 2,830.60

YoY -6.4%

-23.2% -16.1%

-7.2% -3.5%

245.44 567.28

204.45 513.60

-16.7% -9.5%

-12.1% -3.5%

1.0% 4.7%

269.05 620.48

240.16 602.50

-10.7% -2.9%

-12.0% -3.9%

-2.9% 0.5%

66.65 154.46

61.50 155.05

-7.7% 0.4%

-13.0% -5.0%

-2.0% 1.4%

66.08 153.25

59.46 149.81

-10.0% -2.2%

-12.4% -3.4%

2.1% 5.6%

68.37 158.21

61.37 154.97

-10.2% -2.0%

-12.1% -3.7%

0.1% 4.2%

65.96 152.87

59.01 148.56

-10.5% -2.8%

-14.6% -6.4% n.a.

5.3% 9.5% n.a.

131.40 304.73 -

118.67 299.44 2.05

-9.7% -1.7% n.a.

n.a.

-39.4%

-

253.31

n.a.

-30.4% 12.58 -27.9% 17.89 -35.0% 17.33 -23.6% - 130.23 n.a. 75.28 -1.3% 3,024.23 3,083.91

n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. 2.0%

n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. -3.6%


ตารางแสดงปริมาณการผลิตไฟฟ้าเพื่อจำ�หน่ายจำ�แนกตามโครงการ Q4 2558 Q3 2559 Q4 2559 66,400 61,007 63,021

YoY -5.1%

QoQ 3.3%

2558 263,323

2559 254,397

YoY -3.4%

15,873 17,994 4,744 4,583 4,605 4,464 8,745 3.14 8,067

15,319 18,834 4,768 4,647 4,862 4,653 9,575 162 200 3.06 4,905

-9.9% -3.3% -3.9% -5.3% -3.4% -4.7% -5.5% n.a. n.a. -13.7% n.a.

-3.5% 4.7% 0.5% 1.4% 5.6% 4.2% 9.5% n.a. n.a. -2.7% -39.2%

69,716 77,790 19,418 19,231 19,826 19,212 38,130 3.48 n.a.

64,254 75,681 19,495 18,836 19,466 18,671 37,632 162 200 3.14 19,504

-7.8% -2.7% 0.4% -2.1% -1.8% -2.8% -1.3% n.a. n.a. -9.8% n.a.

n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. n.a.

296 368 376 3,073 3,953 40.00

217 297 275 2,251 1,865 40.00

n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. n.a.

-26.6% -19.4% -26.9% -26.8% -52.8% -

n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. n.a.

977 1,319 1,284 10,106 5,818 40.00

n.a. n.a. n.a. n.a. n.a. n.a.

หมายเหตุ: (1) อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐานข้างต้นไม่นับรวม Adder (2) อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าฐานตามอัตรารับซื้อในรูปแบบ Feed-in-Tariff (3) อัตราค่าไฟฟ้า = บาทต่อหน่วย (4) อัตราค่าไฟฟ้า = เยนต่อหน่วย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

17,004 19,476 4,961 4,905 5,036 4,883 10,136 3.54 n.a.

105

(เมกะวัตต์-ชม.) ปริมาณการผลิตไฟฟ้า - โครงการใน ประเทศไทย BCPG BSE BSE-BRM BSE-BRM 1 BSE-CPM 1 BSE-NMA BSE-PRI CAYA CWSC อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐานเฉลี่ย (1) (3) ปริมาณการผลิตไฟฟ้า - โครงการใน ประเทศญี่ปุ่น Nakatsugawa Takamori Nojiri Tarumizu Nikaho อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐานเฉลี่ย (2) (4)


2.2. รายได้อื่น ในช่วงไตรมาสที่ 4/2559 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้อื่นเท่ากับ 261.37 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8,669.2 YoY และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1,824.9 QoQ โดยมีสาเหตุหลักมาจากกำ�ไรจากการต่อรองราคาซื้อกิจการในประเทศญี่ปุ่นจากกลุ่ม SunEdison จำ�นวน 226.59 ล้านบาท และผลกำ�ไร ดังกล่าวทำ�ให้รายได้อื่นเพิ่มขึ้นเป็น 296.45 ล้านบาท ในปี 2559 ตารางแสดงรายละเอียดของรายได้อื่น

106

รายงานประจำ�ปี 2559

รายการ รายได้จากการลงทุน - ดอกเบี้ยรับ กำ�ไรจากการต่อรองราคาซื้อ รายได้อื่น รวมรายได้อื่น 2.3. ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ต้นทุนการขายและบริการ ในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีต้นทุนขาย และบริการเท่ากับ 822.26 ล้านบาท หรือเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 31.8 YoYสาเหตุหลักมาจาก (1) การเพิ่ ม ขึ้ น ของค่ า เสื่ อ มราคาและค่ า ตั ด จำ � หน่ า ยของโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศ ญี่ปุ่น 5 โครการ และ (2) ค่าบริหารโครงการ ในประเทศญี่ปุ่น เช่น ค่าบริหารจัดการ ค่า ไฟฟ้า-น้ำ�ประปา และค่าภาษีที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจ เป็นต้น ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายใน การบริหารเท่ากับ 600.17 ล้านบาท หรือเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 1,220.8 YoY สาเหตุหลักมาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับบุคลากร

(ล้านบาท) Q4 2558 Q3 2559 Q4 2559 YoY QoQ 2.66 2.49 20.26 662.0% 712.0% - 226.59 n.a. n.a. 0.32 11.09 14.58 4416.8% 31.5% 2.98 13.58 261.43 8669.2% 1824.9% ซึง่ ประกอบด้วยค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับบุคลากรใน ประเทศไทยจากเดิมค่าใช้จา่ ยบางส่วนรวมอยู่ ใน BCP และบางส่วนเพิ่มขึ้นจากการปรับ โครงสร้างองค์กรภายในประเทศเพื่อรองรับ การขยายตัวของธุรกิจ และค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับ บุคลากรในประเทศญีป่ นุ่ และ (2) การเพิม่ ขึน้ ของค่าที่ปรึกษาจำ�นวน 208.50 ล้านบาท ซึ่ง บางรายการเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวข้องการ ดำ�เนินงานตามปกติ เช่น ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้อง กับการเข้าซือ้ กิจการ ค่าทีป่ รึกษาอืน่ ค่าจัดตัง้ บริษัท เป็นต้น รวมทั้งสิ้น 183.96 ล้านบาท โดยที่ส่วนใหญ่เป็นค่าที่ปรึกษาในการเข้าซื้อ กิจการในประเทศญี่ปุ่นจากกลุ่ม SunEdison 2.4. ต้นทุนทางการเงิน ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีเงินกู้ คงเหลือ เท่ากับ 10,150.22 ล้านบาท เพิ่มขึ้น

2558 13.68 0.34 14.02

2559 YoY 26.76 95.7% 226.59 n.a. 43.10 12620.9% 296.45 2015.2%

ร้อยละ 39.1 เทียบกับสิ้นปี 2558 ในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นเป็น 349.32 ล้านบาท หรือคิดเป็นต้นทุนเฉลี่ย เท่ากับร้อยละ 3.9 2.5. ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ สินปี 2559 บริษทั ฯ ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ จำ�นวน 86.34 ล้ านบาท สาเหตุ หลั กมาจากเงิ นลงทุนใน กิจการในประเทศญี่ปุ่นและเงินกู้จากสถาบัน การเงินในรูปสกุลเยน ซึ่งในช่วงปลายปี 2559 เงินสกุลเยนอ่อนค่าลง จึงทำ�ให้เกิดขาดทุน จากอัตราแลกเปลีย่ น อย่างไรก็ตาม ผลกระทบ ดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นการขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง


2.6. ความสามารถในการทำ�กำ�ไร แผนภูมิแสดงความสามารถในการทำ�กำ�ไร

93.7%

100.0%

79.4%

77.9%

75.0%

70.7%

73.3% 73.4% 53.9%

50.0%

48.2%

20.0%

2558

2559 EBITDA margin

กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน

แผนภูมิแสดงอัตรากำ�ไรต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น)

1.60

1.46 1.10

1.20 0.80 0.40 -

2558

2559

หมายเหตุ: ค�ำนวณที่มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท และจ�ำนวนหุ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักระหว่างปี

กำ�ไรสุทธิ

107

อัตรากำ�ไรขั้นต้น

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

0


3. ฐานะการเงินของกลุ่มบริษัทฯ 3.1. ภาพรวม ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 25,488.56 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 118.4 เทียบกับสิ้นปี 2558 มีสาเหตุหลักมา จากสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการเข้าซื้อกิจการในประเทศญี่ปุ่นจากบริษัทในกลุ่ม SunEdison การลงทุนในโครงการต่างๆ ในประเทศญี่ปุ่น การลงทุนของ Huang Ming Japan และเงินสดทีไ่ ด้รบั จากการเสนอขายหุน้ เพิม่ ทุน IPO ขณะทีห่ นีส้ นิ รวมเพิม่ ขึน้ เป็น 11,971.85 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึ้นร้อยละ 54.7 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจากเงินกู้ยืมสำ�หรับลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น เงินกู้ยืมเพื่อชำ�ระคืน เงินกูใ้ ห้แก่ BCP และเงินกูเ้ พือ่ ใช้พฒ ั นาโครงการในประเทศญีป่ นุ่ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ เป็น 13,516.71 ล้านบาทหรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 243.9 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนและกำ�ไรสะสมที่เพิ่มขึ้นจากการดำ�เนินงาน กลุ่มบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนลดลงจาก 1.97 เท่า ณ สิ้นปี 2558 เป็น 0.89 เท่า ณ สิ้นปี 2559 ตารางแสดงสรุปงบแสดงฐานะทางการเงิน

108

รายงานประจำ�ปี 2559

รายการ สินทรัพย์รวม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินรวม หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรียกชำ�ระและส่วนเกินทุน กำ�ไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

(ล้านบาท) 2558 11,670.94 1,430.96 10,239.99 7,740.95 801.72 6,939.23 3,929.99 3,741.03 188.97 -

2559 25,488.56 9,181.55 16,307.01 11,971.85 2,530.04 9,441.80 13,516.71 12,811.93 655.72 48.91

อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (เท่า) 2.50

2.00

1.97

1.50

0.89

1.00

0.50

-

2558

2559

สินทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็น 9,181.55 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 541.6 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยมี สาเหตุหลักมาจาก (1) เงินสดที่เพิ่มขึ้นเป็น 7,361.16 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในเดือนมีนาคม 2559 และการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ประชาชนทั่วไป (“IPO”) ในเดือนกันยายน 2559 (รายละเอียดเพิ่มเติมดูหัวข้อ 3.3) กลุ่มบริษัทฯ ฝากเงิน บางส่วนเป็นเงินฝากประเภทออมทรัพย์และออมทรัพย์พิเศษ (2) ลูกหนี้การค้า ได้แก่ ผู้ผลิต/รับซื้อไฟฟ้า เป็นหลัก และลูกหนี้อื่นที่เพิ่มขึ้นเป็น 486.40 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้น ของลูกหนี้ของกิจการในประเทศญี่ปุ่น [3] สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 232.26 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากภาษีมูลค่าเพิ่มรอขอคืนของบริษัทย่อยในประเทศญี่ปุ่น


ตารางแสดงรายละเอียดสินทรัพย์หมุนเวียน

(ล้านบาท)

รายการ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

2559

% เปลี่ยนแปลง

974.62 440.80 15.23 0.31 1,430.96

7,361.16 700.00 486.40 401.73 232.26 9,181.55

655.3% n.a. 10.3% 2537.2% 75939.0% 541.6%

ของกิ จ การโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ในประเทศญี่ ปุ่ น ที่ เ ข้ า ซื้ อ จากกลุ่ ม บริ ษั ท SunEdison ขนาดกำ�ลังการผลิตติดตั้งรวม ประมาณ 200 เมกะวัตต์ ซึ่งประเมินโดย ผู้ ป ระเมิ น อิ ส ระ (ตามมาตรฐานรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การรวมธุรกิจ) เท่ากับ 1,789.64 ล้านบาท

ตารางแสดงรายละเอียดสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รายการ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

(ล้านบาท) 2558

2559

10,219.50 18.52 0.54 1.42 10,239.99

14,194.63 2,015.83 9.29 87.26 16,307.01

% เปลี่ยนแปลง 38.9% 10786.9% 1605.1% 6036.1% 59.2%

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ในประเทศญี่ปุ่น 3,982.70 ล้านบาท ขณะที่ กิจการในประเทศไทยมีการลงทุนเพิ่มเติม เล็กน้อยสำ�หรับโครงการ Solar Coop โดยมี สัดส่วนระหว่างสินทรัพย์ประเภททีด่ นิ อาคาร และอุ ป กรณ์ ในประเทศไทยต่ อ ในประเทศ ญี่ปุ่น เท่ากับ 72:28 ตามลำ�ดับ (2) สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน 2,015.83 ล้านบาท การเพิม่ ขึน้ มีสาเหตุหลักมาจากมูลค่ายุตธิ รรม

109

สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็น 16,307.01 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 59.2 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก (1) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้น เป็น 14,194.63 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจาก การเพิ่มขึ้นของที่ดิน และอุปกรณ์ของกิจการ

2558


3.2. หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีหนี้สิน หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ เป็น 2,530.04 ล้านบาท จาก 801.72 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2558 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 215.6 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก (1) เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินที่ถึง กำ�หนดชำ�ระในหนึง่ ปีของกิจการในประเทศไทย

จำ�นวน 977.92 ล้านบาท ตามเงื่อนไขของ สัญญาเงินกู้ และเงินกู้ของกิจการในประเทศ ญี่ปุ่น 126.03 ล้านบาท (2) ประมาณการหนี้ สิ น ระยะสั้ น 502.16 ล้านบาท ซึ่งเป็นประมาณการค่า ตอบแทนส่วนที่เหลือสำ�หรับการซื้อกิจการใน ประเทศญี่ปุ่นจากกลุ่ม SunEdison ซึ่งคาดว่า จะชำ � ระภายในปี 2560 ตามเงื่ อ นไขของ

สัญญาซื้อขายหุ้น (3) เจ้าหนีค้ า่ ก่อสร้าง 176.46 ล้านบาท มาจากโครงการ Nagi ประเทศญี่ปุ่น และ โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แบ บ ติ ด ตั้ ง บ น พื้ นดิ น สำ � ห รั บ ส ห ก ร ณ์ การเกษตร

ตารางแสดงรายละเอียดหนี้สินหมุนเวียน

110

รายงานประจำ�ปี 2559

รายการ หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้งานก่อสร้าง เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เงินปันผลค้างจ่าย เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี ประมาณการหนี้สินระยะสั้น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

2558

2559

(ล้านบาท) % เปลี่ยนแปลง

120.35 2.17 210.00 145.48 300.20 0.17 11.46 11.90 801.72

176.46 309.43 21.53 298.49 89.77 1,103.96 502.16 0.72 27.52 2,530.04

n.a. 157.1% 892.8% n.a. n.a. -100.0% 658.9% -100.0% -100.0% n.a. -93.7% 131.2% 215.6%

หนี้สินไม่หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีหนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็น 9,441.80 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.1 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยมี สาเหตุหลักมาจาก (1) เงินกู้ยืมระยะยาว 8,956.49 ล้านบาท ซึ่งมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ที่จัดหามาเพื่อชำ�ระคืนให้ BCP และสำ�หรับลงทุนในกิจการใน ประเทศญี่ปุ่น รวมถึงเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินของกิจการในประเทศญี่ปุ่น (2) หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 450.89 ล้านบาท


ตารางแสดงรายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาว

(ล้านบาท)

รายการ เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้อง เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมสำ�หรับโครงการระยะที่ 2 เงินกู้ยืมสำ�หรับลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า - ประเทศญี่ปุ่น เงินกู้ยืมเพื่อชำ�ระคืนเงินกู้ BCP และลงทุนในโครงการต่างๆ เงินกู้ยืมรวม

2558 5,692.33

2559

1,246.64 6,938.97

1,094.44 2,904.71 4,957.33 8,956.49

-

หมายเหตุ: สัดส่วนเงินกู้ยืมสกุลเงินบาทต่อเงินเยน เท่ากับ 59 : 41 ตามลำ�ดับ (ข้อมูล ณ สิ้นปี 2559)

ตารางแสดงรายละเอียดหนี้สินไม่หมุนเวียน

(ล้านบาท)

3.3. ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีส่วนของ ผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 13,516.71 ล้านบาท จาก 3,929.99 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 243.9 เทียบกับสิ้นปี 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก (1) ทุนเรียกชำ�ระและส่วนเกินมูลค่า หุ้น 12,770.90 ล้านบาท ซึ่งเป็นเงินที่มาจาก การเสนอขายหุ้นเพิ่มทุน 3,300 ล้านบาท เสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมเมื่อเดือนมีนาคม 2559 และการเสนอขายหุ้น IPO จำ�นวน 590

2559

% เปลี่ยนแปลง

1,246.64 5,692.33 0.26 6,939.23

8,956.49 450.89 4.55 29.87 9,441.80

618.4% -100.0% n.a. 1654.3% n.a. n.a. 36.1%

ล้านหุ้น ในราคาเสนอขายหุ้นละ 10.00 บาท มูลค่ารวม 5,900.00 ล้านบาท เมื่อเดือน กันยายน 2559 การเสนอขายหุน้ IPO ดังกล่าว ประกอบด้วย (ก) ทุนเรียกชำ�ระ 2,950.00 ล้านบาท ซึ่งทำ�ให้ทุนเรียกชำ�ระเพิ่มขึ้นเป็น 9,950.00 ล้านบาท และ (ข) ส่วนเกินมูลค่า หุ้ น หลั ง หั ก ค่ า ใช้ จ่ า ยในการเพิ่ ม ทุ น บาง รายการ (เช่น ค่ารับประกันและจัดจำ�หน่าย หลักทรัพย์ ค่าที่ปรึกษา และค่าจดทะเบียน เพิ่มทุน) เท่ากับ 2,820.90 ล้านบาท

(2) กำ�ไรสะสม 655.72 ล้านบาทจาก ผลการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทฯ โดยแบ่ง เป็นทุนสำ�รองตามกฎหมาย 95.54 ล้านบาท และส่ ว นที่ เหลื อ เป็ นกำ � ไรสะสมที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ จัดสรร (3) องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ 48.91 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากส่วนต่างของการ แปลงค่างบการเงินจากเงินเยนเป็นเงินบาท

111

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี้สินสำ�หรับต้นทุนในการรื้อถอน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

2558

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

รายการ


ตารางแสดงรายละเอียดส่วนของผู้ถือหุ้น

(ล้านบาท)

รายการ

112

รายงานประจำ�ปี 2559

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรียกชำ�ระ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้างธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน กำ�ไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

3.4. อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีอัตราส่วน สภาพคล่องโดยรวมสูงขึน้ เมือ่ เทียบกับปี 2558 ซึ่งเป็นผลมาจากผลการดำ�เนินงานที่เพิ่มขึ้น และเงินเพิ่มทุนตามที่กล่าวในข้อ 3.3 อัตรา หมุนเวียนลูกหนี้การค้าเท่ากับ 6.65 เท่า ณ

2558

2559

3,700.00 41.03 188.97 3,929.99 3,929.99

9,950.00 2,820.90 41.03 655.72 48.91 13,516.56 0.15 13,516.71

สิ้นปี 2559 หรือมีระยะเวลาเรียกเก็บลูกหนี้ 54 วัน ขณะที่ อั ตราหมุ นเวี ยนของเจ้ าหนี้ เท่ากับ 2.61 เท่า และมีระยะเวลาชำ�ระหนี้ 138 วัน ณ สิ้นปี 2559 อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนมี อัตราที่ดีขึ้นเป็น 0.89 เท่า เนื่องจากผลการ

% เปลี่ยนแปลง 168.9% n.a. 0.0% 247.0% n.a. 243.9% n.a. 243.9%

ดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทฯ และการเพิ่มทุน แต่อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ยลด ลงเป็น 7.33 เท่า เนื่องจากดอกเบี้ยจ่ายที่เพิ่ม ขึน้ ตามภาระเงินกูท้ เี่ พิม่ ขึน้ เพือ่ ใช้ในการลงทุน ในกิจการ ขณะที่ EBITDA ลดลง


ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ

(เท่า) 2559

1.78 1.77 n.a. n.a. n.a. n.a.

3.63 3.10 6.65 54 2.61 138

n.a. n.a. n.a.

8.8% 13.3% 0.17

1.97 13.65

0.89 7.33

หมายเหตุ: 1/ เนื่องจากกลุ่มบริษัทฯ ไม่ได้จัดทำ�งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ สิ้นปี 2557 ที่สะท้อนเนื้อหาทางเศรษฐกิจของบริษัทในกลุ่มซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน (Business Combination of Entities under Common Control) จึงไม่สามารถคำ�นวณตัวเลขอัตราเฉลี่ยในปี 2558

4. กระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด เท่ากับ 7,361.16 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 655.3 เทียบกับ

ณ สิ้นปี 2558 ซึ่งเป็นผลมาจากเงินสดสุทธิที่ ได้มาจากผลการดำ�เนินงาน และเงินสดได้มา จากการจัดหาเงินกู้และการเพิ่มทุนในช่วงปี 2559 ขณะทีเ่ งินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเข้าซื้อกิจการใน ประเทศญี่ปุ่นของกลุ่ม SunEdison และลงทุน ซือ้ ทีด่ นิ สำ�หรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิตย์ของบริษัทในกลุ่มที่ประเทศญี่ปุ่น

ตารางแสดงรายละเอียดการได้มา (ใช้ไป) ของเงินสดในแต่ละกิจกรรม รายการ เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) ในกิจกรรมดำ�เนินงาน เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) ในกิจกรรมลงทุน เงินสดได้มา(ใช้ไป) ในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดของผู้ถือหุ้นเดิมก่อนการจัดโครงสร้างธุรกิจ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

(ล้านบาท) 2558 2,879.77 (5,794.24) 5,204.32 2,289.84 1,748.25 (3,061.90) (1.57) 974.62

2559 1,961.05 (4,873.87) 9,364.98 6,452.16 974.62 0.00 (65.62) 7,361.16

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

25581/

113

รายการ อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราหมุนเวียนเจ้าหนี้ ระยะเวลาการชำ�ระหนี้ (วัน) อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย


5. แนวโน้มผลการดำ�เนินของกลุ่มบริษัทฯ ในปี 2560 ในปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ ประมาณการ EBITDA เพิ่มขึ้นจากปี 2559 อย่างน้อย 20% โดยในประเทศญี่ปุ่นจะเริ่มรับรู้รายได้จาก โรงไฟฟ้า Nagi กำ�ลังการผลิตติดตั้ง 14.4

เมกะวั ต ต์ (10.5 MW PPA) ซึ่ ง จะเริ่ ม เปิ ด ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ในเดือนมีนาคม และ รับรูร้ ายได้เต็มปีเป็นปีแรกจากโรงไฟฟ้า Nikaho ในจังหวัดอะกิตะ กำ�ลังการผลิตติดตั้ง 13.2 เมกะวัตต์ (8.8 MWPPA) อีกทัง้ รับรูร้ ายได้เพิม่ ขึน้ จากโครงการโซลาร์สหกรณ์ในประเทศไทย

กำ�ลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 12 เมกะวัตต์ และรวมถึงรายได้จากโครงการใหม่ๆ ทีค่ าดว่า จะมีการลงทุนในปี 2560 ซึ่งคาดว่าจะใช้ งบประมาณในการลงทุนกว่า 16,000 ล้านบาท หากเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ จะสามารถ รับรู้รายได้และกำ�ไรได้ทันที

114

รายงานประจำ�ปี 2559

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน เพื่อแสดงฐานะทางการเงิน และ ผล ประกอบการดำ�เนินงานของบริษัทประจำ�ปี 2559 ภายใต้พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน เรือ่ ง หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารรายงานการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบ ต่องบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวม ถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏใน รายงานประจำ�ปี 2559 ซึ่งงบการเงินดังกล่าว จั ด ทำ � ขึ้ น ตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพ บั ญ ชี พ .ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบ การเงินตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออก ตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งสม่ำ � เสมอ และใช้ ดุลยพินิจอย่างรอบคอบและสมเหตุสมผล และประมาณการทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจัดทำ� รวมทัง้

มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล สำ � คั ญ อย่ า งเพี ย งพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็น ประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไปอย่าง โปร่งใส นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังได้ จัดให้มรี ะบบการบริหารความเสีย่ งและระบบ ควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ อ ย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า การบั นทึ ก ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี มี ค วามถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน เพียงพอ และทันเวลาในอันที่จะ ดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ ตลอด จนป้ อ งกั นการทุ จ ริ ต หรื อ การดำ � เนิ นการที่ ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ และได้แต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการอิสระทีเ่ ป็นผูท้ รงคุณวุฒิ มีคณ ุ สมบัติ ครบถ้วนตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ ให้เข้ามาทำ�หน้าทีส่ อบทานนโยบายการบัญชี คุณภาพของรายงานทางการเงิน ระบบการ ควบคุมภายใน และกระบวนการตรวจสอบ ภายในให้มีความถูกต้อง เพียงพอ และมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการเปิดเผยรายการที่ เกี่ยวโยงกัน หรือที่อาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อย่างถูกต้อง และครบถ้วนตามข้อ กำ�หนดตลาดหลักทรัพย์และกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง โดยความเห็นของคณะกรรมการ

ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ใน รายงานประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว งบการเงิ น และงบการเงิ น รวมของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้รับการตรวจสอบ โดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือ บริษัท เคพี เอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำ�กัด ในการตรวจสอบ นั้ นทางคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ส นั บ สนุ น ข้อมูล และเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชี สามารถตรวจสอบ และแสดงความเห็นได้ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยผูส้ อบบัญชี แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ได้ปรากฏ ในรายงานของผู้ ส อบบั ญ ชี ซึ่ ง แสดงไว้ ใ น รายงานประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามเห็ น ว่ า ระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมมี ความเพียงพอและเหมาะสม และสามารถ สร้างความเชื่อมั่นได้อย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย สำ � หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั นที่ 31 ธั น วาคม 2559 มี ค วามเชื่ อ ถื อ ได้ ต าม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่รับรอง ทั่ ว ไป และถู ก ต้ อ งตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการ

นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผู้จัดการใหญ่


งบการเงิน บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บีซีพีจี จำ�กัด) งบการเงินสำ�หรับปีนี้สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผู้ถือหุ้นบริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ เรือ่ งสำ�คัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งต่างๆ ทีม่ นี ยั สำ�คัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสำ�หรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้นำ�เรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสำ�หรับเรื่องเหล่านี้

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุ่มบริษัท และ บริษัทตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่กำ�หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ติ ามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอืน่ ๆ ซึง่ เป็นไปตามข้อกำ�หนด เหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

115

ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) และ ของเฉพาะบริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามลำ�ดับ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะ กิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการบัญชีที่ สำ�คัญและเรื่องอื่นๆ ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุม่ บริษทั และบริษัท ตามลำ�ดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการดำ�เนินงานรวมและผลการดำ�เนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน


การซื้อธุรกิจ อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ ในระหว่างปี 2559 กลุ่มบริษัทได้เสร็จสิ้นการเข้าซื้อธุรกิจโรงไฟฟ้า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ในประเทศญี่ ปุ่ น โดยกลุ่ ม บริ ษั ท ได้ ว่ า จ้ า ง ผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อหามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่ ได้มา การประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้นมีการใช้ การประมาณการและข้อสมมติที่สำ�คัญ นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทมีสิ่ง ตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพิ่มเติม ทั้งนี้การประมาณการสำ�หรับ สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพิ่มเติมนั้นเป็นการใช้วิจารณญาณ ของผู้บริหารและมีความไม่แน่นอน ดังนั้นข้าพเจ้าจึงถือเป็นเรื่อง สำ�คัญในการตรวจสอบของข้าพเจ้า

ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวอย่างไร วิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้ารวมถึงการประเมินความเป็นอิสระและ ความรู้ความสามารถของผู้ประเมินราคาอิสระ ข้าพเจ้าได้ทดสอบ ความเหมาะสมของข้อสมมติที่สำ�คัญ ข้าพเจ้าได้ให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน การประเมินมูลค่าของเคพีเอ็มจีฯ พิจารณาความเหมาะสมของการ ประเมินมูลค่ายุติธรรมและทดสอบความถูกต้องของการคำ�นวณ ข้ า พเจ้ า ได้ ท ดสอบความเหมาะสมของการประมาณการสำ � หรั บ สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายที่จัดทำ�โดยผู้บริหาร นอกจากนี้ ข้าพเจ้ายังพิจารณาถึงความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ การซื้อธุรกิจ

116

รายงานประจำ�ปี 2559

ข้อมูลอื่น ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วยข้อมูลซึ่งรวมอยู่ในรายงานประจำ�ปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและงบการ เงินเฉพาะกิจการและรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานนั้น ซึ่งคาดว่ารายงานประจำ�ปีจะถูกจัดเตรียมให้ข้าพเจ้าภายหลังวันที่ในรายงาน ของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอืน่ และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชือ่ มัน่ ต่อ ข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ คือ การอ่านข้อมูลอื่นตามที่ระบุ ข้างต้นเมือ่ จัดทำ�แล้ว และพิจารณาว่าข้อมูลอืน่ มีความขัดแย้งทีม่ สี าระสำ�คัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการหรือกับความรูท้ ไี่ ด้ รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการจัดทำ�งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริษัทและบริษัทใน การดำ�เนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดำ�เนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ�หรับการดำ�เนินงาน ต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทและบริษัท หรือหยุดดำ�เนินงานหรือไม่สามารถดำ�เนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทำ�รายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทและบริษัท ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของ ผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญทีม่ อี ยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำ�คัญเมื่อคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริง แต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการเหล่านี้


บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด กรุงเทพมหานคร 14 กุมภาพันธ์ 2560

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

(ณัฐพงศ์ ตันติจัตตานนท์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 8829

117

ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพตลอด การตรวจสอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลัก ฐานการสอบบัญชีทเี่ พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสีย่ งทีไ่ ม่พบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระสำ�คัญซึ่งเป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาดเนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอม แปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ทำ�ความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทและบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูล ที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร • สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ�หรับการดำ�เนินงานต่อเนื่องของผู้บริหารและจากหลักฐานการสอบบัญชี ที่ได้รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำ�คัญต่อความ สามารถของกลุม่ บริษทั และบริษทั ในการดำ�เนินงานต่อเนือ่ งหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม่ สี าระสำ�คัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าว ไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือถ้าการเปิดเผยข้อมูล ดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงาน ของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทและบริษัทต้องหยุดการดำ�เนินงาน ต่อเนื่อง • ประเมินการนำ�เสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณ์ในรูปแบบ ที่ทำ�ให้มีการนำ�เสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร • ได้รบั หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอเกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุม่ หรือกิจกรรมทางธุรกิจภายใน กลุม่ บริษทั เพือ่ แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการกำ�หนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม่ บริษัท ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการกำ�กับดูแลเกีย่ วกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ ประเด็นทีม่ นี ยั สำ�คัญ ที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยสำ�คัญในระบบการควบคุมภายในซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คำ�รับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระและ ได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการกำ�กับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธ์ทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณา ว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเป็นอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบันและกำ�หนดเป็นเรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าว หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึน้ ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควร สือ่ สารเรือ่ งดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทำ�ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่า ผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว


บริษทั บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย บริมษชื่ อัทบริบีษทัซบี​ีพซีจีพีจี จำี จ�ำกักัด)ด (มหาชน) (เดิ งบแสดงฐำนะกำรเงิ (เดิมชื่อ บริษนัท บีซีพีจี จำ�กัด)

และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิน

สินทรัพย์

หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

31 ธันวาคม

31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

(บาท) สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

6 7

7,361,159,641 700,000,000

974,618,872 -

5,754,696,857 700,000,000

364,957,633 -

5, 8

486,395,212

440,798,439

116,737,714

68,966,449

9

401,733,734

15,233,500

72,141,900

7,536,458

5

2,048,155

286,420

2,932,760,113 -

286,420

118

รายงานประจำ�ปี 2559

ภาษีมูลค่าเพิ่มรอขอคืน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

230,208,494

19,024

1,148,697

19,024

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

9,181,545,236

1,430,956,255

9,577,485,281

441,765,984

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย

5, 10

6,353,336,375

6,333,336,500

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

11

14,194,632,358

10,219,504,362

3,100,874,459

3,241,082,996

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

12

2,015,829,724

18,516,043

18,645,954

17,752,848

9,288,228

544,722

260,000,000 9,231,696

505,896

สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

5, 14

-

-

87,261,329

1,422,100

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

16,307,011,639

10,239,987,227

9,742,088,484

9,592,678,240

รวมสินทรัพย์

25,488,556,875

11,670,943,482

19,319,573,765

10,034,444,224

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

6

-

-


บริษทั บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย บริมชืษ่ อัทบริบีษทั ซบี​ีพซี​ีจพจี ี ีจำจำกั�กัด)ด (มหาชน) (เดิ งบแสดงฐำนะกำรเงิ (เดิมชื่อ บริษนัท บีซีพีจี จำ�กัด)

และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิน

หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

งบกำรเงินรวม 31 ธันวาคม หมายเหตุ

2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวาคม 2559 2558

2558 (บาท)

หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ค่าก่อสร้างโครงการ

176,464,040

-

เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน

5, 13

309,433,553 21,531,415

เงินปันผลค้างจ่าย เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

5,29

298,489,620

14 5, 14

89,768,786 -

210,000,000

1,103,961,836

145,475,044

เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี

ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินสาหรับต้นทุนในการรื้ อถอน รวมหนีส้ ินไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

300,198,667

298,489,620 825,721,917 -

72,616,444 210,000,000 300,198,667

14 4

502,155,651 716,866 27,520,081 2,530,041,848

170,895 11,458,767 11,900,880 801,718,049

1,630,433 1,170,234,625

26,880 582,841,991

14 5, 14

8,956,491,916 -

1,246,644,353 5,692,329,945

15

4,554,593 450,886,860 29,870,196

259,631 -

4,950,965,781 1,674,509 -

5,692,329,945 119,396 -

9,441,803,565

6,939,233,929

4,952,640,290

5,692,449,341

11,971,845,413

7,740,951,978

6,122,874,915

6,275,291,332

119

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

5, 14

-

44,392,655 -

-

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ ถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี ประมาณการหนี้สินระยะสั้น ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน

14

120,345,140 2,168,656

-

7


บริษทั บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย บริมษชื่ อัทบริบีษทัซบี​ีพซีจีพจี​ี จำี จ�ำกักัด)ด (มหาชน) (เดิ (เดิมชื่อ บริษนัท บีซีพีจี จำ�กัด) งบแสดงฐำนะกำรเงิ

และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิน

หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

งบกำรเงินรวม 31 ธันวาคม หมายเหตุ

2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวาคม 2558

2559

2558

(บาท) ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน

16

ทุนที่ออกและชาระแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้างธุรกิจ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน กาไรสะสม จัดสรรแล้ว

120

รายงานประจำ�ปี 2559

ทุนสารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ ือหุ้น

17

10,000,000,000

3,700,000,000

10,000,000,000

3,700,000,000

9,950,000,000

3,700,000,000

9,950,000,000

3,700,000,000

2,820,904,051

1, 17

41,025,877

18

95,537,415

41,025,877

-

2,820,904,051 -

95,537,415

-

-

560,183,035

188,965,627

330,257,384

59,152,892

รวมส่ วนของบริษทั ใหญ่

48,914,130 13,516,564,508

3,929,991,504

13,196,698,850

3,759,152,892

ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น

146,954 13,516,711,462

3,929,991,504

13,196,698,850

3,759,152,892

รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

25,488,556,875

11,670,943,482

19,319,573,765

10,034,444,224

(นายพิชัย ชุณหวชิ ร)

(นายบัณฑิต สะเพียรชัย)

ประธานกรรมการ

กรรมการผู้จัดการใหญ่

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

8


บริษทั บีซีพีจี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย (เดิมชื่ อ บริษทั บีซีพีจี จำกัด) งบกำไรขำดทุน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด) งบกำ�ไรขาดทุน

งบกำรเงินรวม

สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

หมายเหตุ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา บัญชีต้งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 2559 2558 (บาท)

รายได้

รายได้จากการขายและบริ การ รายได้จากการลงทุน กาไรจากการต่อรองราคาซื้ อ รายได้อื่น รวมรำยได้ ค่าใช้ จ่าย ต้นทุนขายและบริ การ ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รวมค่ำใช้ จ่ำย

3,083,912,597 26,763,521 226,592,414 43,099,031 3,380,367,563

3,024,226,269 13,676,890 338,804 3,038,241,963

746,846,899 1,564,049,275 348,931 2,311,245,105

68,671,049 44,657,985 25,521 113,354,555

5 5, 22

822,261,990 600,170,392 86,340,577 1,508,772,959

624,063,222 45,438,246 1,579,683 671,081,151

231,551,520 327,162,842 82,438,717 641,153,079

18,439,901 17,489,499 1,578,834 37,508,234

1,871,594,604 349,320,373 1,522,274,231 (19,051,046) 1,541,325,277

2,367,160,812 208,374,299 2,158,786,513 11,415,438 2,147,371,075

1,670,092,026 237,609,770 1,432,482,256 (8,730,105) 1,441,212,361

75,846,321 17,199,325 58,646,996 (505,896) 59,152,892

1,541,325,277 1,541,325,277

1,958,591,499 188,779,576 2,147,371,075

1,441,212,361 1,441,212,361

59,152,892 59,152,892

1.10

15.20 1.46

1.03

0.46

5, 25 26

121

กำรแบ่ งปันกำไร ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นเดิมก่อนการจัดโครงสร้างธุรกิจ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั หลังการจัดโครงสร้างธุรกิจ กำไรสำหรับปี /งวด กำไรต่อหุ้นขั้นพืน้ ฐำน กาไรส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นเดิมก่อนการจัดโครงสร้างธุรกิจ กาไรส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั หลังการจัดโครงสร้างธุรกิจ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

กำไรก่ อนต้นทุนทำงกำรเงินและค่ำใช้ จ่ำยภำษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กำไรก่ อนภำษีเงินได้ ค่าใช้จ่าย (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี /งวด

5, 20 5, 21 4

28

9


บริษทั บีซีพีจี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย (เดิมชื่ อ บริษทั บีซีพีจี จำกัด) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด) งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา บัญชีต้งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 2559 2558 (บาท)

สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 กาไรสาหรับปี /งวด กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ ถูกจัดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ ในกาไรหรือขาดทุน กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย สาหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน - สุทธิจากภาษี

2,147,371,075

1,441,212,361

17,216 17,216

186,051 186,051

17,216 17,216

-

-

-

48,914,130 48,914,130

-

59,152,892

กำไรเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี /งวด - สุ ทธิจำกภำษี กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี /งวด

48,931,346 1,590,256,623

186,051 2,147,557,126

17,216 1,441,229,577

59,152,892

กำรแบ่ งปันกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นเดิมก่อนการจัดโครงสร้างธุรกิจ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั หลังการจัดโครงสร้างธุรกิจ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี /งวด

1,590,256,623 1,590,256,623

1,958,591,499 188,965,627 2,147,557,126

1,441,229,577 1,441,229,577

59,152,892 59,152,892

122

รายงานประจำ�ปี 2559

รายการที่อาจถูกจัดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ ในกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่าหน่วยงานต่างประเทศ

1,541,325,277

(นายพิชัย ชุณหวชิ ร) ประธานกรรมการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(นายบัณฑิต สะเพียรชัย) กรรมการผู้จัดการใหญ่

10


หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบกำรเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับปี กำไรหรื กำไรหรื อขำดทุ อ (ขำดทุ น น) กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับปี

การจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้นเดิมก่อนการจัดโครงสร้ างธุรกิจ เงินปันผล รวมรำยกำรกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่ วนของผู้ถือหุ้ น

การจัดโครงสร้ างธุรกิจ 1

11

3,700,000,000

41,025,877

-

41,025,877

(2,511,459,000)

-

41,025,877

(6,211,459,000)

-

3,700,000,000

รำยกำรกับผู้เป็ นผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่ วนของผู้ถือหุ้ น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้น เพิ่มหุ ้นสำมัญ 16

-

6,211,459,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2558

ทุนเรื อนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว

หมายเหตุ

ส่วนเกินทุนจำกกำร จัดโครงสร้ำงธุรกิจ ภำยใต้กำรควบคุม เดียวกัน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือทุ้น

(เดิมชื่อ บริษ่ยัทนแปลงส่ บีซีพีจวนของผู ี จำ�กัด้ ถ)ือหุ้น งบแสดงกำรเปลี

(เดิ ) บริมษชืัท่ อ บริบีซษทัีพบี​ีจซี จำีพ�ีจกัี จดำกัด(มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษทั บีซีพีจี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

123

188,965,627

188,779,576 186,051 188,965,627

-

-

-

-

1,958,591,499 1,958,591,499

(812,384,663) (4,395,700,908)

(3,583,316,245)

-

2,437,109,409

ยังไม่ได้จดั สรร

-

ยังไม่ได้จดั สรร

กำไรสะสม (บาท)

กำไรสะสมก่อนกำร จัดโครงสร้ำงธุรกิจ

งบกำรเงินรวม

3,929,991,504

2,147,371,075 186,051 2,147,557,126

(812,384,663) (6,866,134,031)

(9,753,749,368)

3,700,000,000

8,648,568,409

ผูถ้ ือหุ้น

รวมส่วนของ


หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

9,950,000,000

-

18

โอนไปสำรองตำมกฎหมำย

6,250,000,000

-

4

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับปี กำไรหรื กำไรหรื อขำดทุ อ (ขำดทุ น น) กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับปี

การเปลีย่ นแปลงในส่ วนได้ เสียในบริษทั ย่ อย กำรได้มำซึ่ งบริ ษทั ย่อยที่มีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม รวมการเปลีย่ นแปลงในส่ วนได้เสียในบริษทั ย่ อย รวมรำยกำรกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่ วนของผู้ถือหุ้น

6,250,000,000 6,250,000,000

รำยกำรกับผู้เป็ นผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ ำส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุ้นสำมัญ เงินปั นผลให้ผถู ้ ือหุ้นของบริ ษทั รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น 16, 17 29

3,700,000,000

ทุนเรื อนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2559

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

หมายเหตุ

บริ ษทัษบีัท ซีพบี ีจี จซ ำกัีพ ด (มหำชน) ษทั ย่ อย บริ ีจี จำ�กัและบริ ด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิ ม ชื ่ อ บริ ษ ท ั บี ซ ี พ จ ี ี จ ำกั ด ) (เดิมชื่อ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด) งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น งบแสดงการเปลี ่ยนแปลงส่วนของผู้ถือทุ้น

2,820,904,051

-

-

2,820,904,051

2,820,904,051 2,820,904,051

-

ส่วนเกินมูลค่ำหุ้น สำมัญ

12

41,025,877

-

-

-

-

41,025,877

ส่วนเกินทุนจำกกำร จัดโครงสร้ำงธุรกิจ ภำยใต้กำรควบคุม เดียวกัน

124

งบกำรเงินรวม

95,537,415

95,537,415

-

-

-

-

560,183,035

(95,537,415)

1,541,325,277 17,216 1,541,342,493

(1,074,587,670)

(1,074,587,670) (1,074,587,670)

188,965,627

(บาท)

กำไรสะสม ทุนสำรองตำม กฎหมำย ยังไม่ได้จดั สรร

รายงานประจำ�ปี 2559

48,914,130

-

48,914,130 48,914,130

-

-

-

องค์ประกอบอื่นของ ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ผลต่ำงจำกกำรแปลง ค่ำงบกำรเงิน

13,516,564,508

-

1,541,325,277 48,931,346 1,590,256,623

7,996,316,381

9,070,904,051 (1,074,587,670) 7,996,316,381

3,929,991,504

รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น ของบริ ษทั

146,954

-

-

146,954 146,954 146,954

-

-

ส่ วนของส่วนได้ เสี ยที่ไม่มีอำนำจ ควบคุม

13,516,711,462

-

1,541,325,277 48,931,346 1,590,256,623

146,954 146,954 7,996,463,335

9,070,904,051 (1,074,587,670) 7,996,316,381

3,929,991,504

รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น


บริษทั บีซีพีจี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริ ษัท วบีนของผู ซีพ้ถีจือีหุจำ้น �กัด) งบแสดงกำรเปลี ่ยนแปลงส่ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือทุ้น (เดิมชื่ อ บริษทั บีซีพีจี จำกัด)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กำไรสะสม หมายเหตุ

ทุนเรื อนหุ้นที่ออก

ส่วนเกิน

และชำระแล้ว

มูลค่ำหุ้น

ทุนสำรองตำม กฎหมำย

รวมส่วนของ ยังไม่ได้จดั สรร

ผูถ้ ือหุ้น

(บาท) สำหรับรอบระยะเวลำบัญชีต้งั แต่วนั ที่ 17 กรกฎำคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2558 เงินทุนจัดตั้งบริษทั ณ วันที่ 17 กรกฎำคม 2558

16

20,000,000

-

-

-

20,000,000

16

3,680,000,000

-

-

-

3,680,000,000

3,680,000,000

-

-

-

3,680,000,000

รำยกำรกับผู้เป็ นผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้น เพิ่มหุ้นสำมัญ รวมรายการกับผู้เป็ นผู้ถอื หุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถอื หุ้น กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด กำไรหรื กำไรหรื อขำดทุ อ (ขำดทุ น น)

-

-

-

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น

-

-

-

-

-

-

59,152,892

59,152,892

3,700,000,000

-

-

59,152,892

3,759,152,892

3,700,000,000

-

-

59,152,892

3,759,152,892

รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

59,152,892 -

59,152,892 -

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2559

เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น เพิ่มหุ้นสำมัญ เงินปั นผลให้ผถู้ ือหุ้นของบริ ษทั

16, 17

6,250,000,000

29

6,250,000,000

รวมรายการกับผู้เป็ นผู้ถอื หุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถอื หุ้น

2,820,904,051 2,820,904,051

-

-

9,070,904,051

-

(1,074,587,670)

(1,074,587,670)

-

(1,074,587,670)

7,996,316,381

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับปี กำไรหรื กำไรหรื อขำดทุ อ (ขำดทุ น น)

-

-

-

1,441,212,361

1,441,212,361

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับปี

-

-

-

17,216 1,441,229,577

17,216 1,441,229,577

-

-

โอนไปสำรองตำมกฎหมำย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้

18

9,950,000,000

13

2,820,904,051

95,537,415

(95,537,415)

95,537,415

330,257,384

13,196,698,850

125

รำยกำรกับผู้เป็ นผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่ วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559


บริ ีพดีจ(มหำชน) ี จำ�กัดและบริ (มหาชน) บริษษ ัท บีัทซีพบีจี ีซจำกั ษัทย่อย และบริษัทย่อย (เดิ (เดิมชืม่ อ ชืบริ่อษัทบริ บีซษ ีพจี ัที จำกับีดซ) ีพีจี จำ�กัด) งบกระแสเงินสด นสด งบกระแสเงิ

งบกำรเงินรวม

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558

126

รายงานประจำ�ปี 2559

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กำไรสำหรับปี /งวด รายการปรั บปรุง ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย รำยได้จำกกำรลงทุน กำไรจำกกำรต่อรองรำคำซื้อ สำรองผลประโยชน์พนักงำน ต้นทุนทำงกำรเงิน ขำดทุนจำกอัตรำแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง ขำดทุนจำกกำรตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ ค่ำใช้จ่ำย (ผลประโยชน์) ภำษีเงินได้ การเปลีย่ นแปลงในสิ นทรั พย์และหนีส้ ิ นดาเนินงาน ลูกหนี้กำรค้ำ ลูกหนี้อื่น ภำษีมูลค่ำเพิ่มรอขอคืน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้ำหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เจ้ำหนี้เงินประกันผลงำน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน เงินสดได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงำน จ่ำยภำษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้มำจำก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดำเนินงำน

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับรอบระยะเวลำ บัญชีต้งั แต่วนั ที่ 17 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 กรกฎำคม 2558 ถึงวันที่ ธันวำคม 31 ธันวำคม 2559 2558 (บาท)

1,541,325,277

2,147,371,075

1,441,212,361

59,152,892

601,519,224 (26,763,521) (226,592,414) 4,718,438 349,320,373 53,001,763 107,847 (19,051,046) 2,277,585,941

477,991,487 (13,676,890) 240,977 208,374,299 1,579,683 11,415,438 2,833,296,069

162,142,973 (1,564,049,275) 1,576,634 237,609,770 52,987,875 (8,730,105) 322,750,233

13,752,105 (44,657,985) 119,396 17,199,325 1,578,834 (505,896) 46,638,671

(20,513,785) 42,137,177 (1,877,442) (124,604,583) (31,952,231) (190,421,851) 10,636,807 19,362,759 (6,424,855) 1,973,927,937 (12,873,834) 1,961,054,103

23,300,672 (5,089,618) 9,607,301 559,215 (50,100) 23,240,415 (829,606) 563,128 2,884,597,476 (4,823,584) 2,879,773,892

(47,771,265) (3,534,488) 286,420 (13,597,503) 1,603,553 259,736,950 (1,129,673) 258,607,277

(68,966,449) (5,735,485) (286,420) 21,728,053 26,880 (6,594,750) (19,024) (6,613,774)

14


บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ (เดิมชืม่อ ชื บริ่อษัทบริ บีซีพษจี ีัท จำกับี ด)ซีพีจี จำ�กัด) งบกระแสเงิ งบกระแสเงินสด นสด

งบกำรเงินรวม

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้

14,334,203 608,277,965

13,907,321 (700,000,000)

1,902,422 -

(3,053,443,242) (177,797,881) (962,736,249) (4,873,871,346)

(2,300,000,000) (4,085,103,500) (31,753,886) (5,794,245,218)

1,489,071,000 (21,097,943) (400,000) (3,115,723,426) (260,000,000) (19,999,850) (2,614,242,898)

(6,333,336,500) 42,740,985 (161,200) (6,288,854,293)

(476,907,590) (776,098,050)

(204,091,864) -

(301,666,497) (776,098,050)

89,687,052 620,000,000 (830,000,000) 8,569,332,776 1,500,000,000 (82,099,429) (801,668,686) (7,518,000,000) (172,627) 9,070,904,051 150 9,364,977,647

(812,384,663) 210,000,000 2,752,000,000 (440,644,991) (563,294) 3,700,000,000 5,204,315,188

620,000,000 (830,000,000) 6,551,250,000 1,500,000,000 (568,913,875) (7,518,000,000) 9,070,904,051 7,747,475,629

15

210,000,000 2,752,000,000 3,700,000,000 6,662,000,000

127

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ำยต้นทุนทำงกำรเงิน จ่ำยเงินปันผลให้ผถู้ ือหุ้นของบริ ษทั จ่ำยเงินปันผลให้ผถู้ ือหุ้นสำหรับระยะเวลำ ก่อนกำรจัดโครงสร้ำงธุรกิจ เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ชำระคืนเงินกูร้ ะยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยำวสถำบันกำรเงิน ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน จ่ำยชำระหนี้สินตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน เงินสดรับจำกกำรออกหุ้นสำมัญ เงินสดรับจำกกำรออกหุ้นสำมัญในบริ ษทั ย่อย เงินสดสุ ทธิได้มำจำกกิจกรรมจัดหำเงิน

20,106,026 (700,000,000)

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย เงินลงทุนชัว่ ครำว (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินสดจ่ำยจำกกำรลดทุนของบริ ษทั ย่อย ก่อนกำรปรับโครงสร้ำงธุรกิจ เงินสดจ่ำยจำกกำรซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินปันผลรับ ซื้อที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ำยสุ ทธิเพื่อกำรลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับรอบระยะเวลำ บัญชีต้งั แต่วนั ที่ 17 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 กรกฎำคม 2558 ถึงวันที่ ธันวำคม 31 ธันวำคม 2559 2558 (บาท)


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด) งบกระแสเงินสด

บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) งบกระแสเงินสด

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดเพิ่มขึน้ สุ ทธิ เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ณ วันที่ 1 มกรำคม เงินสดของผูถ้ ือหุ้นเดิมก่อนกำรจัดโครงสร้ำงธุรกิจ ผลกระทบจำกอัตรำแลกเปลี่ยนของเงินตรำต่ำงประเทศ คงเหลือสิ้นปี /งวด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับรอบระยะเวลำ บัญชีต้งั แต่วนั ที่ 17 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 กรกฎำคม 2558 ถึงวันที่ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม ธันวำคม 31 ธันวำคม 2559 2558 2559 2558 (บาท) 6,452,160,404 2,289,843,862 5,391,840,008 366,531,933 974,618,872 1,748,254,258 364,957,633 (3,061,904,948) (65,619,635) 7,361,159,641

(1,574,300) 974,618,872

(2,100,784) 5,754,696,857

(1,574,300) 364,957,633

รายการทีไ่ ม่ ใช่ เงินสด

128

รายงานประจำ�ปี 2559

ในระหว่ำงปี 2558 บริ ษทั ได้เข้ำซื้อกิจกำรโรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์กำลังกำรผลิตไฟฟ้ำรวม 38 เมกะวัตต์จำกบริ ษทั ใหญ่ เป็ นจำนวนเงิน 3,266.16 ล้ำนบำท โดยบริ ษทั ได้ทำกำรกูย้ มื เงิน ระยะยำวจำกบริ ษทั ใหญ่เป็ นจำนวนเงิน 3,266 ล้ำนบำทเพื่อกำรทำรำยกำรดังกล่ำว โดยบริ ษทั และบริ ษทั ใหญ่ได้ทำกำรหักกลบรำยกำรระหว่ำงกันโดยบริ ษทั ได้ชำระส่ วนต่ำงจำนวน 0.16 ล้ำน บำทเป็ นเงินสด

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้

16


(เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรั (เดิ มชื่อบปีบริสิษ้นัทสุ ดบีวัซนีพที​ีจี ่ จำ31�กัธัดน) วำคม 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุ สำรบัญ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลทัว่ ไปและการจัดโครงสร้างธุรกิจ เกณฑ์ในการจัดทางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สาคัญ การซื้ อธุรกิจ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เจ้าหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรื อนหุน้ ส่ วนเกินทุน สารอง ส่ วนงานดาเนิ นงาน รายได้จากการขายและบริ การ รายได้จากการลงทุน ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ สิ ทธิ ประโยชน์จากการส่ งเสริ มการลงทุน กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน เงินปั นผล

129

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

17


130

รายงานประจำ�ปี 2559

บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิ มชื่อ บริษปัทระกอบงบกำรเงิ บีซีพีจี จำ�กัด) น หมายเหตุ หรับปีส2559 ิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปีปสิระกอบงบการเงิ ้นสุ ดวันที่ 31นธัสำน�วำคม หมำยเหตุ

สำรบัญ

30 31 32 33

เครื่ องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงั ไม่ได้ใช้


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 1

ข้ อมูลทั่วไปและกำรจัดโครงสร้ ำงธุรกิจ

(ก) ข้ อมูลบริ ษทั บริ ษทั บีซีพีจี จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นนิ ติบุคคลที่จดั ตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 และ มีที่อยู่จดทะเบี ยนตั้งอยู่เลขที่ 99/1 หมู่ที่ 9 ตาบลบางกระสั้น อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ประเทศ ไทย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 บริ ษทั จดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจากัดกับกระทรวงพาณิ ชย์และได้เปลี่ยน ชื่อบริ ษทั จาก “บริ ษทั บีซีพีจี จากัด” เป็ น “บริ ษทั บีซีพีจี จากัด (มหาชน)”

บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยดาเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์และการลงทุนใน ธุรกิจพลังงานทางเลือก รายละเอียดของบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 และ 10 (ข) การจัดโครงสร้ างธุรกิจ บริ ษทั ถูกจัดตั้งขึ้ นเพื่อการจัดโครงสร้างใหม่ของกลุ่มบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) โดยบริ ษทั ได้ซ้ื อ ธุรกิจและหุน้ ของบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั จากบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ในกลุ่ม ในไตรมาส 4 ปี 2558 การจัด โครงสร้ า งใหม่ น้ ี ถื อ เป็ นการรวมธุ ร กิ จภายใต้ก ารควบคุ ม เดี ย วกัน (Business Combination of Entities under Common Control) โดยถือเสมือนว่าบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั ย่อยทั้งหมดมาตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2558 ในการนี้ บริ ษทั ได้จดั ทางบการเงินรวมโดยรวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2558 ซึ่ งการนาเสนอข้อ มู ลดังกล่ าวจะสะท้อนเนื้ อหาทางเศรษฐกิ จของบริ ษ ทั ในกลุ่มซึ่ งอยู่ภ ายใต้การควบคุ ม เดี ยวกันตลอดระยะเวลาที่ เกี่ ยวข้องเสมือนว่าบริ ษทั ในกลุ่มได้ดาเนิ นธุ รกิจเป็ นหน่ วยเศรษฐกิจเดี ยวกันตั้งแต่ก่อน 19

131

บริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ใหญ่ในลาดับสู งสุ ดในระหว่างปี ได้แก่บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นนิ ติ บุคคลที่จดั ตั้งขึ้นในประเทศไทย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บริ ษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2559


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 วันที่ 1 มกราคม 2558 ถึงแม้ว่าความสัมพันธ์ของบริ ษทั กับบริ ษทั ย่อยทางกฎหมายจะเกิดขึ้ นในภายหลัง โดยส่ วน ต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อย ณ วันจัดโครงสร้างธุ รกิจกับต้นทุนการจัดโครงสร้าง ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันจานวน 41.03 ล้านบาท ได้แสดงรวมไว้ในบัญชี “ส่ วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้าง ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน” ในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ในงบการเงินรวม 2

เกณฑ์ ในกำรจัดทำงบกำรเงิน

(ก) เกณฑ์ การถือปฏิบัติ

132

รายงานประจำ�ปี 2559

งบการเงินนี้ จดั ทาขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น รวมถึงแนวปฏิ บตั ิ ทางการบัญชี ที่ประกาศใช้โดยสภา วิชาชีพบัญชี ฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี ”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ เกี่ยวข้อง สภาวิชาชี พ บัญ ชี ได้ออกและปรั บ ปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นหลายฉบับ ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ต้ งั แต่ รอบ ระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 การปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ออกและ ปรับปรุ งใหม่น้ นั มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั ในบางเรื่ อง การเปลี่ยนแปลงนี้ ไม่มี ผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงิน นอกเหนื อจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ออกและปรั บ ปรุ งใหม่ ข ้างต้น สภาวิช าชี พ บัญ ชี ได้ออกและ ปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับอื่น ๆ ซึ่ งมีผลบังคับสาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2560 เป็ นต้นไป และไม่ได้มีการนามาใช้สาหรับการจัดทางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ที่เกี่ยวกับการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษทั ได้เปิ ดเผยในหมายเหตุขอ้ 33 (ข) เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี้จดั ทาขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายการบัญชี (ค) สกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานและนาเสนองบการเงิน งบการเงิ นนี้ จดั ทาและแสดงหน่ วยเงิ นตราเป็ นเงิ นบาทซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในการด าเนิ นงานของบริ ษ ทั ข้อมู ล ทางการเงินทั้งหมดมีการปั ดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็ นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็ น อย่างอื่น 20


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 (ง)

การใช้ วิจารณญาณและการประมาณการ ในการจัดทางบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริ หารต้องใช้วิ จารณญาณ การประมาณ และข้อสมมติ หลายประการ ซึ่ งมีผลกระทบต่อการกาหนดนโยบายการบัญชี และการรายงานจานวนเงินที่ เกี่ ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็ นต้นไป ข้อมูลเกี่ยวกับข้อสมมติและความไม่แน่นอนของการประมาณการที่สาคัญซึ่ งมีความเสี่ ยงอย่างมีนยั สาคัญที่เป็ นเหตุ ให้ตอ้ งมีการปรับปรุ งจานวนเงินที่รับรู ้ในงบการเงิน ประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้

การวัดมูลค่ ายุติธรรม นโยบายการบัญชี และการเปิ ดเผยข้อมูลของกลุ่มบริ ษทั หลายข้อกาหนดให้มีการวัดมูลค่ายุติธรรมทั้งสิ นทรัพย์และ หนี้สินทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน ลาดับการวัดมูลค่ ายุติธรรม เมื่อวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สิน กลุ่มบริ ษทั ได้ใช้ขอ้ มูลที่สามารถสังเกตได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ มูลค่ายุติธรรมเหล่านี้ถูกจัดประเภทในแต่ละลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมตามข้อมูลที่ใช้ในการประเมินมูลค่า ดังนี้   

ข้อมูลระดับ 1 เป็ นราคาเสนอซื้ อขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สิน อย่างเดียวกัน ข้อมูลระดับ 2 เป็ นข้อมูลอื่นที่ สังเกตได้โดยตรง (เช่ น ราคาขาย) หรื อโดยอ้อม (เช่ น ได้มาจากราคา) สาหรับ สิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้ อขายซึ่ งรวมอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ข้อมูลระดับ 3 เป็ นข้อมูลสาหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินที่ ไม่ได้มาจากข้อมูลที่ สังเกตได้ (ข้อมูลที่ ไม่สามารถ สังเกตได้) 21

133

การซื้ อธุรกิจ การวัด มู ล ค่ า ภาระผู ก พัน ของโครงการผลประโยชน์ ที่ ก าหนดไว้ เกี่ ยวกับข้อสมมติ หลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุขอ้ 4 หมายเหตุขอ้ 15


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 หากข้อมูลที่ นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินถูกจัดประเภทลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ แตกต่างกัน การจัดลาดับชั้นดังกล่าวจะจัดประเภทตามข้อมูลที่อยูใ่ นระดับต่าสุ ดที่มีนยั สาคัญในกรณี ที่กลุ่มบริ ษทั มี การเปลี่ยนลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมให้รับรู ้ในงบการเงิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อสมมติที่ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม แสดงในหมายเหตุขอ้ 30 3

นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญ นโยบายการบัญชีที่นาเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบตั ิโดยสม่าเสมอสาหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

(ก) เกณฑ์ ในการจัดทางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (รวมกันเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”)

134

รายงานประจำ�ปี 2559

การรวมธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั บันทึ กบัญชี สาหรับการรวมธุ รกิ จตามวิธีซ้ื อ เมื่อการควบคุมถูกโอนไปยังกลุ่มบริ ษทั ยกเว้นในกรณี ที่ เป็ นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน การควบคุ มเกิ ดขึ้ นเมื่อกลุ่มบริ ษทั เปิ ดรับหรื อมี สิทธิ ในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ ยวข้องกับกิ จการนั้นและมี ความสามารถในการใช้อานาจเหนื อกิจการนั้นทาให้เกิดผลกระทบต่อจานวนเงินผลตอบแทนของกลุ่มบริ ษทั วันที่ ซื้ อกิจการคือวันที่อานาจในการควบคุมนั้นได้ถูกโอนไปยังผูซ้ ้ื อ การกาหนดวันที่ซ้ื อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการ โอนอานาจควบคุมจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่งต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามาเกี่ยวข้อง ค่าความนิ ยมถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ ซ้ื อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ซ่ ึ งรวมถึงการรับรู ้จานวน ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ หักด้วยมูลค่าสุ ทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและ หนี้สินที่รับมาซึ่ งวัดมูลค่า ณ วันที่ซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ตอ้ งวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่โอนไป หนี้ สินที่ กลุ่มบริ ษทั ก่อขึ้ นเพื่ อจ่ายชาระ ให้แก่เจ้าของเดิ ม และส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของที่ ออกโดยกลุ่มบริ ษทั ทั้งนี้ สิ่งตอบแทนที่ โอนให้ยงั รวมถึ ง มูลค่ายุติธรรมของหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นและมูลค่าของโครงการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ที่ออกแทนโครงการของผูถ้ ูก ซื้ อเมื่อรวมธุรกิจ หากการรวมธุรกิจมีผลให้สิ้นสุ ดความสัมพันธ์ของโครงการเดิมระหว่างกลุ่มบริ ษทั และผูถ้ ูกซื้ อ ให้ ใช้ราคาที่ ต่ากว่าระหว่าง มูลค่าจากการยกเลิกสัญญาตามที่ ระบุในสัญญา และมูลค่าองค์ประกอบนอกตลาด ไปหัก จากสิ่ งตอบแทนที่โอนให้และรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายอื่น 22


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมบริชื่ษอัทบริบีษซัทีพีจบี​ี ซจำ�ีพกัจี ดี จ(มหาชน) ำกัด) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อประกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำ�นกัด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 หนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้ นของบริ ษทั ที่ ถูกซื้ อที่ รับมาจากการรวมธุ รกิ จ รับรู ้เป็ นหนี้ สินหากมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ่ ง เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ ต้น ทุ นที่ เกี่ ยวข้อ งกับ การซื้ อของกลุ่มบริ ษ ทั ที่ เกิ ดขึ้ น ซึ่ งเป็ นผลมาจากการรวมธุ รกิ จ เช่ น ค่ าที่ ป รึ กษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าที่ปรึ กษาอื่นๆ ถือเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น การรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การรวมธุ รกิ จของกิ จการหรื อการรวมธุ รกิ จภายใต้การควบคุมเดี ยวกันบันทึ กบัญชี โดยใช้วิธีเสมือนว่าเป็ นวิธีการ รวมส่ วนได้เสี ย และตามแนวปฏิบตั ิที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2552

บริ ษทั ย่อยเป็ นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริ ษทั การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริ ษทั เปิ ดรับหรื อมีสิทธิ ใน ผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวข้องกับกิจการนั้นและมีความสามารถในการใช้อานาจเหนือกิจการนั้นทาให้เกิดผล กระทบต่อจานวนเงินผลตอบแทนของกลุ่มบริ ษทั งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม นับแต่วนั ที่ มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้ นสุ ดลง ส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มอี านาจควบคุม ณ วันที่ซ้ื อธุ รกิจ กลุ่มบริ ษทั วัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมตามอัตราส่ วนได้เสี ยในสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ได้มา จากผูถ้ ูกซื้ อ การเปลี่ยนแปลงส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั ที่ไม่ทาให้กลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยอานาจการควบคุมจะบันทึ ก บัญชีโดยถือเป็ นรายการในส่ วนของเจ้าของ 23

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บริ ษัทย่ อย

135

การรวมธุ รกิจซึ่ งเกิดจากการโอนส่ วนได้เสี ยในกิจการภายใต้การควบคุมของผูถ้ ือหุ ้นซึ่ งควบคุมกลุ่มบริ ษทั ถือเป็ น การเข้าครอบครองเสมือนว่าได้เกิดขึ้ นตั้งแต่วนั ต้นงวดของปี เปรี ยบเทียบก่อนหน้าสุ ดหรื อ ณ วันที่ มีการรวมธุ รกิ จ ภายใต้การควบคุมเดียวกันแล้วแต่วนั ใดจะหลังกว่า เพื่อปรับปรุ งงบการเงินเปรี ยบเทียบ สิ นทรัพย์และหนี้สินที่ได้มา จะถู กรั บ รู ้ด ้วยมูลค่ าตามบัญ ชี ก่อนการจัด ทางบการเงิ นรวมภายใต้การควบคุ มของผูถ้ ื อ หุ ้น ที่ กลุ่มบริ ษ ทั มี ส่ วน ควบคุม ส่ วนประกอบอื่นของส่ วนของเจ้าของที่ได้มาจากการรวมธุ รกิจถือเป็ นส่ วนหนึ่งของทุนของกลุ่มบริ ษทั เว้น แต่ส่วนที่ ได้มานั้นได้รับรู ้เป็ นส่ วนหนึ่ งของส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ เงินสดจ่ายในการรวมธุ รกิจรับรู ้โดยตรงในส่ วนของ เจ้าของ


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 การสู ญเสี ยการควบคุม เมื่อกลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั ย่อย กลุ่มบริ ษทั ตัดรายการสิ นทรัพย์และหนี้ สินของบริ ษทั ย่อยนั้นออก รวมถึงส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอานาจควบคุมและส่ วนประกอบอื่นในส่ วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ย่อยนั้น กาไร หรื อขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสู ญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั ย่อยรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยเดิม ที่ยงั คงเหลืออยูใ่ ห้วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสี ยการควบคุม การตัดรายการในงบการเงินรวม

136

รายงานประจำ�ปี 2559

ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้ หรื อค่าใช้จ่ายที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งซึ่ งเป็ นผลมาจาก รายการระหว่างกิ จการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดทางบการเงินรวม กาไรที่ ยงั ไม่เกิดขึ้ นจริ งซึ่ งเป็ นผลมาจาก รายการกับบริ ษทั ร่ วมและกิจการที่ควบคุมร่ วมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ยในกิจการ ที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง แต่เท่าที่เมื่อไม่มี หลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ ใช้ในการดาเนิ นงานของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั โดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สิ นทรัพ ย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงิ นและเป็ นเงิ นตราต่ างประเทศ ณ วันที่ รายงาน แปลงค่ าเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในการ ดาเนินงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สิ นทรัพ ย์และหนี้ สินที่ ไม่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งเกิ ดจากรายการบัญชี ที่เป็ นเงิ นตราต่างประเทศซึ่ งบันทึ กตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิม แปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงค่า ให้รับรู ้เป็ นกาไรหรื อขาดทุนในงวดบัญชีน้ นั หน่ วยงานในต่ างประเทศ สิ นทรัพย์และหนี้ สินของหน่วยงานในต่างประเทศ รวมถึงค่าความนิ ยมและรายการปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมที่เกิดขึ้น จากการซื้ อหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน 24


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ค่าความนิยมและรายการปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้ อหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดย ใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่า บันทึกในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และแสดงเป็ นรายการผลต่าง จากอัตราแลกเปลี่ยนในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น จนกว่ามีการจาหน่ ายเงิ นลงทุนนั้นออกไป ยกเว้นผลต่างจากการแปลง ค่าที่ถูกปันส่ วนให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

(ค) เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เครื่ องมือทางการเงินที่ เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ได้ถูกนามาใช้เพื่อจัดการความเสี่ ยงที่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ย และความเสี่ ยงของราคาสิ นค้าโภคภัณฑ์ ที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพนั ธ์ที่ไม่ เข้าเงื่อนไข การกาหนดให้เป็ นเครื่ องมือป้องกันความเสี่ ยงถือเป็ นรายการเพื่อค้า

25

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

รายการที่ เป็ นตัวเงินที่ เป็ นลูกหนี้ หรื อเจ้าหนี้ กบั หน่ วยงานในต่างประเทศ ซึ่ งรายการดังกล่าวมิได้คาดหมายว่าจะมี แผนการชาระหนี้ หรื อไม่มีความเป็ นไปได้ว่าจะชาระเงินในอนาคตอันใกล้ กาไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จากรายการทางการเงินดังกล่าวจะถูกพิจารณาเป็ นส่ วนหนึ่งของเงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่วยงานต่างประเทศ และรับรู ้ใน กาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่ น และแสดงเป็ นรายการผลต่ างจากอัตราแลกเปลี่ ยนในส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น จนกว่ามี การ จาหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป

137

เมื่ อหน่ วยงานต่ างประเทศถูกจาหน่ ายส่ วนได้เสี ยทั้งหมดหรื อเพี ยงบางส่ วนที่ ทาให้สูญเสี ยการควบคุ ม ความมี อิ ทธิ พ ลอย่างมี ส าระส าคัญ หรื อการควบคุ มร่ ว มกัน ผลสะสมของผลต่ างจากอัต ราแลกเปลี่ ยนที่ เกี่ ย วข้อ งกับ หน่ วยงานต่ างประเทศนั้นต้องถู กจัดประเภทเป็ นกาไรหรื อขาดทุ นโดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของกาไรขาดทุ นจากการ จาหน่าย หากกลุ่มบริ ษทั จาหน่ ายส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยเพียงบางส่ วนแต่ยงั คงมีการควบคุม ผลสะสมต้องถูกปั น สัดส่ วนให้กบั ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ที่ไม่มีอานาจควบคุม หากกลุ่มบริ ษทั จาหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้า เพียงบางส่ วนโดยที่กลุ่มบริ ษทั ยังคงมีอิทธิ พลหรื อการควบคุมร่ วมที่มีสาระสาคัญอยู่ กลุ่มบริ ษทั ต้องจัดประเภทยอด สะสมบางส่ วนที่เกี่ยวข้องเป็ นกาไรหรื อขาดทุน


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเที ยบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อ เรี ยกและเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสู ง (จ) ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้ หกั ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญประเมิ นโดยการวิเคราะห์ประวัติการชาระหนี้ และการคาดการณ์ เกี่ ยวกับการชาระหนี้ ใน อนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจาหน่ายจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี้สูญ

138

รายงานประจำ�ปี 2559

(ฉ) เงินลงทุนในบริ ษทั ย่ อย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน (ช) ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ การรั บรู้ และการวัดมูลค่ า สิ นทรั พย์ ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุ น รวมถึ งต้นทุ นทางตรงที่ เกี่ ยวข้องกับ การได้มาของสิ นทรัพ ย์ ต้นทุ นของการก่ อสร้ างสิ นทรั พย์ที่กิจการ ก่อสร้างเอง รวมถึ งต้นทุ นของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุ นทางตรงอื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับการจัดหาสิ นทรัพ ย์ เพื่อให้สินทรัพย์น้ นั อยูใ่ นสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้ อถอน การขนย้าย การบูรณะ สถานที่ ต้ งั ของสิ นทรัพย์และต้นทุนการกูย้ ืม นอกจากนี้ ตน้ ทุนอาจรวมถึ งกาไรหรื อขาดทุนจากการป้ องกันความ เสี่ ย งกระแสเงิ นสดจากการซื้ อ ที่ ดิ น อาคารและอุป กรณ์ ที่ เป็ นเงิ นตราต่ างประเทศ ซึ่ งถู กโอนจากกาไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จอื่ น สาหรั บเครื่ องมื อที่ ค วบคุ ม โดยลิ ข สิ ท ธิ์ ซอฟต์แ วร์ ซ่ ึ งไม่ ส ามารถท างานได้โ ดยปราศจากลิ ข สิ ท ธิ์ ซอฟต์แวร์น้ นั ให้ถือว่า ลิขสิ ทธิ์ ซอฟต์แวร์ดงั กล่าวเป็ นส่ วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่ วนประกอบของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละ ส่ วนประกอบที่มีนยั สาคัญแยกต่างหากจากกัน 26


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิ้นประกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 กาไรหรื อขาดทุ นจากการจาหน่ ายที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ คื อผลต่ างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจากการ จาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู ้สุทธิ เป็ นรายได้อื่นในกาไรหรื อขาดทุน เมื่อมีการ ขายสิ นทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ จานวนเงินที่ บนั ทึกอยู่ในส่ วนเกินทุนจากการตีราคาของสิ นทรัพย์จะถูกโอนไปยังกาไร สะสม สิ นทรั พย์ ที่เช่ า

ต้ นทุนที่เกิดขึน้ ในภายหลัง

ค่ าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาคานวณจากมูลค่าเสื่ อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ์ ซึ่ งประกอบด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์ หรื อต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์

27

139

ต้น ทุ นในการเปลี่ ย นแทนส่ วนประกอบจะรั บรู ้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของมู ลค่ าตามบัญ ชี ข องรายการที่ ดิ น อาคารและ อุปกรณ์ ถ้ามีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริ ษทั จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และ สามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่ อถือ ชิ้นส่ วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจาหน่ายตามมูลค่าตาม บัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่ อมบารุ งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นประจาจะรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อ เกิดขึ้น

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

การเช่าซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ได้รับส่ วนใหญ่ของความเสี่ ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จดั ประเภทเป็ นสัญญาเช่าการเงิน ส่ วนที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ได้มาโดยทาสัญญาเช่ าการเงินบันทึ กเป็ นสิ นทรัพย์ ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่ าแล้วแต่จานวนใดจะต่ ากว่า หัก ด้วยค่าเสื่ อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่ าที่ ชาระจะแยกเป็ นส่ วนที่ เป็ นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และ ส่ วนที่ จะหักจากหนี้ ตามสัญญา เพื่ อทาให้อตั ราดอกเบี้ ยแต่ ละงวดเป็ นอัตราคงที่ สาหรั บยอดคงเหลื อของหนี้ สิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกาไรหรื อขาดทุน


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริษมชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีดพจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ค่ าเสื่ อมราคาบันทึ กเป็ นค่ าใช้จ่ายในกาไรหรื อขาดทุ น คานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ประโยชน์ โดยประมาณของส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์แสดง ได้ดงั นี้ อาคาร ส่ วนปรับปรุ งที่ดินและระบบสาธารณู ปโภค เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เครื่ องใช้สานักงาน ยานพาหนะ

20 - 25 20 - 25 10 - 25 3-5 5

ปี ปี ปี ปี ปี

กลุ่มบริ ษทั ไม่คิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

140

รายงานประจำ�ปี 2559

วิธีการคิดค่าเสื่ อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้ นรอบ ปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม (ซ) สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตนอื่นๆ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่นๆ ที่ กลุ่มบริ ษทั ซื้ อมาและมีอายุการใช้งานจากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ ายสะสม และผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ค่ าตัดจาหน่ าย ค่าตัดจาหน่ายคานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์หรื อจานวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่ า ตัด จาหน่ า ยรั บ รู ้ ในกาไรหรื อ ขาดทุ น โดยวิ ธี เส้ น ตรงซึ่ งโดยส่ ว นใหญ่ จะสะท้อ นรู ป แบบที่ ค าดว่าจะได้รั บ ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากสิ นทรัพย์น้ ันตามระยะเวลาที่ คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสิ นทรั พย์ไม่มี ตัวตนซึ่ งไม่รวมค่าความนิยม โดยเริ่ มตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื่อสิ นทรัพย์น้ นั พร้อมที่จะให้ประโยชน์

28


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์สาหรับปี ปัจจุบนั และปี เปรี ยบเทียบแสดงได้ดงั นี้ ลิขสิ ทธิ์ การใช้และต้นทุนพัฒนาโปรแกรมสาเร็ จรู ป สิ ทธิ ในการเชื่อมโยงระบบจาหน่ายไฟฟ้า สัญญาซื้ อขายไฟฟ้าแบบ Feed-in Tariff

3 ปี 20 - 25 ปี 20 ปี

วิธีการตัดจาหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์และมูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้ นรอบปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม (ฌ) การด้ อยค่ า ยอดสิ นทรัพย์ตามบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั ได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีขอ้ บ่งชี้ เรื่ องการด้อยค่าหรื อไม่ ใน กรณี ที่มีขอ้ บ่งชี้จะทาการประมาณมูลค่าสิ นทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน

มูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่ สินทรัพย์ทางการเงิ นหมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์หรื อ มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หักต้นทุ นในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสู งกว่า ในการประเมิ นมูลค่าจากการใช้ของ สิ นทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนคานึ ง ภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อสิ นทรัพย์ สาหรับสิ นทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสิ นทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคื น รวมกับหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์น้ นั เกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้ อยค่ า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ทางการเงิน จะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่ สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่ เคยรับรู ้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุก วัน ที่ ที่ อ อกรายงานว่า มี ข ้อ บ่ งชี้ เรื่ อ งการด้อ ยค่ า หรื อ ไม่ ขาดทุ น จากการด้อ ยค่ าจะถู ก กลับ รายการ หากมี ก าร เปลี่ยนแปลงประมาณการที่ ใช้ในการคานวณมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคื น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ 29

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

การคานวณมูลค่ าที่คาดว่ าจะได้ รับคื น

141

ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู ้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชี ของหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงิน สดสู งกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในกาไรหรื อขาดทุน


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริษมชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพด จี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 เพี ยงเท่ าที่ มูลค่ าตามบัญ ชี ข องสิ นทรั พ ย์ไม่ เกิ นกว่ามู ลค่ าตามบัญชี ภายหลังหักค่ าเสื่ อมราคาหรื อค่ าตัด จาหน่ าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้ สินที่ มีภาระดอกเบี้ ยบันทึ กเริ่ มแรกในมูลค่ ายุติ ธรรมหักค่ าใช้จ่ายที่ เกี่ ยวกับ การเกิ ดหนี้ สิน ภายหลังจากการ บันทึ กหนี้ สินที่ มีภาระดอกเบี้ ยจะบันทึ กต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจาหน่ าย ผลต่างระหว่างยอดหนี้ เริ่ มแรกและยอด หนี้เมื่อครบกาหนดไถ่ถอนจะบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุการกูย้ ืมโดยใช้วิธีอตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง (ฎ) เจ้ าหนี้อื่น เจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน

142

รายงานประจำ�ปี 2559

(ฏ) ผลประโยชน์ พนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงิ นจะถู กรั บ รู ้ เป็ นค่ าใช้จ่ายพนักงานในกาไรหรื อขาดทุ นในรอบ ระยะเวลาที่พนักงานได้ทางานให้กบั กิจการ โครงการผลประโยชน์ ที่กาหนดไว้ ภาระผูกพันสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั จากโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ถูกคานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่ เกิดจากการทางานของพนักงานในงวดปั จจุบนั และงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็ นมูลค่าปัจจุบนั การคานวณภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้น้ ันจัดทาโดยนักคณิ ตศาสตร์ ป ระกันภัยที่ ได้รับ อนุญาตเป็ นประจาทุกปี โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ในการวัดมูลค่ าใหม่ของหนี้ สินผลประโยชน์ที่กาหนดไว้สุทธิ กาไรหรื อขาดทุ นจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัยจะถู กรับ รู ้ รายการในกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่ นทันที กลุ่มบริ ษ ทั กาหนดดอกเบี้ ยจ่ ายของ หนี้สินผลประโยชน์ที่กาหนดไว้สุทธิ โดยใช้อตั ราคิดลดที่ใช้วดั มูลค่าภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ ต้นปี โดยคานึ งถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในหนี้ สินผลประโยชน์ที่กาหนดไว้สุทธิ ซ่ ึ งเป็ นผลมาจากการสมทบเงินและการ 30


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริษมัทชื่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพด จี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 จ่ายชาระผลประโยชน์ ดอกเบี้ยจ่ายสุ ทธิ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์รับรู ้รายการในกาไร หรื อขาดทุน เมื่ อมี การเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ของโครงการหรื อการลดขนาดโครงการ การเปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์ที่ เกี่ยวข้องกับการบริ การในอดีต หรื อ กาไรหรื อขาดทุนจากการลดขนาดโครงการต้องรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุนทันที กลุ่มบริ ษทั รับรู ้กาไรและขาดทุนจากการจ่ายชาระผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชน์ ระยะสั้ นของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อพนักงานทางานให้ หนี้ สินรับรู ้ดว้ ยมูลค่าที่ คาดว่าจะจ่าย ชาระ หากกลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุ มานที่ จะต้องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่ พนักงานได้ทางานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล

หุ น้ สามัญจัดประเภทเป็ นทุน ต้นทุนส่ วนเพิ่มที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการออกหุ น้ สามัญรับรู ้เป็ นรายการหักจากส่ วน ของทุน (ฑ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้ สินจะรับรู ้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันจากการอนุมานที่เกิดขึ้ น ในปั จจุบนั อันเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ใ นอดีตซึ่ งสามารถประมาณจานวนของภาระผูกพันได้อย่างน่าเชื่ อถือ และมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชาระภาระหนี้ สินดังกล่าว ประมาณ การหนี้ สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อตั ราคิดลดในตลาดปัจจุบนั ก่อนคานึ งถึง ภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนจานวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปั จจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อหนี้ สิน ประมาณการหนี้สินส่ วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผา่ นไปรับรู ้เป็ นต้นทุนทางการเงิน

31

143

หุ้นสามัญ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

(ฐ) ทุนเรื อนหุ้น


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพด จี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 (ฒ) รายได้ รายได้ที่รับรู ้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุ ทธิ จากส่ วนลดการค้า รายได้ ค่าขายไฟฟ้า รายได้จากการขายกระแสไฟฟ้าจะรับรู ้ในงบกาไรขาดทุนตามจานวนหน่วยวัดที่ส่งด้วยอัตราที่กาหนดไว้ รายได้จาก การขายกระแสไฟฟ้ าสาหรับกิ จการในประเทศไทยจะได้รับส่ วนเพิ่ม ("ADDER") นับจากวันเริ่ มต้นขายไฟฟ้ าเชิ ง พาณิ ชย์ เป็ นระยะเวลา 10 ปี หลังจากนั้น รายได้จากการขายกระแสไฟฟ้าจะได้รับในอัตราปกติ การให้ บริ การ รายได้จากการให้บริ การรับรู ้เมื่อมีการให้บริ การ

144

รายงานประจำ�ปี 2559

การลงทุน รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยเงินปันผลและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนในวันที่กลุ่มบริ ษทั มีสิทธิ ได้รับเงินปั นผล ดอกเบีย้ รั บ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกาไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ณ) ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ ยจ่ายของเงินกูย้ ืมและประมาณการหนี้ สินส่ วนที่ เพิ่มขึ้นเนื่ องจากเวลาที่ ผ่าน ไปและสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย ต้นทุนการกูย้ ืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรื อ การผลิตสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน โดยใช้วิธีอตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง

32


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีดพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 (ด) สัญญาเช่ าดาเนินงาน รายจ่ายภายใต้สญ ั ญาเช่าดาเนินงานบันทึกในกาไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ที่ได้รับ ตามสัญญาเช่าจะรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุนเป็ นส่ วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้ นตามสัญญาตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องนามารวมคานวณจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับ การยืนยันการปรับค่าเช่า (ต) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาหรับปี ประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของ งวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน เว้นแต่ในส่ วนที่เกี่ยวกับรายการที่บนั ทึกในส่ วน ของผูถ้ ือหุน้ รับรู ้โดยตรงในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ หรื อกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น

การวัดมูลค่ าของภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี ตอ้ งสะท้อนถึ งผลกระทบทางภาษี ที่จะเกิ ดจากลักษณะวิธีการที่ กลุ่ม บริ ษ ัทคาดว่าจะได้รับ ผลประโยชน์ จากสิ นทรั พ ย์ห รื อจะจ่ ายช าระหนี้ สิ นตามมู ลค่ าตามบัญ ชี ณ วันที่ สิ้ น รอบ ระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี วดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีที่คาดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการกลับรายการโดย ใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก าหนดมู ล ค่ าของภาษี เงิ น ได้ข องงวดปั จจุ บัน และภาษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี กลุ่ ม บริ ษ ัท ต้อ งค านึ งถึ ง ผลกระทบของสถานการณ์ ทางภาษีที่ไม่แน่ นอนและอาจทาให้จานวนภาษีที่ตอ้ งจ่ายเพิ่ มขึ้ น และมีดอกเบี้ ยที่ ตอ้ ง 33

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บนั ทึกโดยคานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ และหนี้ สิ นและจานวนที่ ใช้เพื่ อความมุ่ งหมายทางภาษี ภาษี เงิ น ได้ร อการตัดบัญ ชี จะไม่ ถูกรั บรู ้ เมื่ อเกิ ดจากผล แตกต่างชัว่ คราวต่อไปนี้ การรับรู ้ค่าความนิ ยมในครั้งแรก การรับรู ้สินทรัพย์หรื อหนี้ สินในครั้งแรกซึ่ งเป็ นรายการที่ ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อกาไรขาดทุนทางบัญชีหรื อทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้อง กับเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยหากเป็ นไปได้วา่ จะไม่มีการกลับรายการในอนาคตอันใกล้

145

ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชาระหรื อได้รับชาระโดยคานวณจากกาไรหรื อขาดทุนประจาปี ที่ตอ้ งเสี ยภาษี โดยใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทาง ภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อนๆ


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพด จี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ช าระ กลุ่ ม บริ ษ ทั เชื่ อว่าได้ต้ งั ภาษี เงิ น ได้ค ้างจ่ ายเพี ย งพอส าหรั บ ภาษี เงิ น ได้ที่จะจ่ ายในอนาคต ซึ่ งเกิ ด จากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้ อยู่บนพื้ นฐานการประมาณการและข้อสมมติ และอาจจะเกี่ ยวข้องกับการตัดสิ นใจเกี่ ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆ อาจจะทาให้กลุ่มบริ ษทั เปลี่ยนการตัดสิ นใจโดยขึ้ นอยู่กบั ความเพียงพอของภาษีเงิ นได้คา้ งจ่ายที่ มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้คา้ งจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง

146

รายงานประจำ�ปี 2559

สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิ ตาม กฎหมายที่จะนาสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี้ สินภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงิ น ได้น้ ี ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันสาหรับหน่ วยภาษีเดียวกันหรื อหน่ วยภาษีต่างกัน สาหรับ หน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายชาระหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ หรื อตั้งใจจะรับคืนสิ นทรัพย์และจ่ายชาระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่ากาไรเพื่อเสี ยภาษีในอนาคต จะมีจานวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จะถูก ทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริ ง (ถ) กาไรต่ อหุ้น กลุ่มบริ ษทั แสดงกาไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานสาหรับหุ น้ สามัญ กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานคานวณโดยการหารกาไรของผูถ้ ือ หุน้ สามัญของบริ ษทั ด้วยจานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักที่ออกจาหน่ายระหว่างปี (ท) รายงานทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน ผลการดาเนิ นงานของส่ วนงานที่รายงานต่อประธานเจ้าหน้าที่บริ หารของกลุ่มบริ ษทั (ผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้าน การดาเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากส่ วนงานดาเนินงานนั้น 4

กำรซื้ อธุรกิจ เมื่ อ วัน ที่ 15 และ 18 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 BSE Energy Holding Private Limited และ BCPG Investment Holding Private Limited (บริ ษทั ย่อยทางอ้อมและทางตรงตามลาดับซึ่ งจดทะเบียนในประเทศสิ งคโปร์ ) ได้เสร็ จสิ้ นการซื้ อ ธุ รกิ จโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิ ตย์ในประเทศญี่ ปุ่นทั้งหมดของกลุ่ม SunEdison ในวงเงินไม่เกิ น 9,626 ล้านเยน (ประมาณ 2,915 ล้านบาท) ซึ่ งประกอบด้วยโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์กาลังการผลิตรวม 198 เมกะวัตต์ (โครงการที่เปิ ดดาเนินการแล้ว 13 เมกะวัตต์ / โครงการระหว่างก่อสร้าง 27 เมกะวัตต์ / โครงการระหว่างการพัฒนา 34


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย พจี ี จำกัด)และบริษัทย่อย บริ(เดิ ษัทมบีชืซ่ อีพบริีจี ษจำัท�กับีดซี(มหาชน) (เดิหมำยเหตุ มชื่อ บริษปัทระกอบงบกำรเงิ บีซีพีจี จำ�กัด)น หมายเหตุ สำ�หรั2559 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปีปสิระกอบงบการเงิ ้นสุ ดวันที่ 31 ธันนวำคม

การซื้ อธุ รกิ จนี้ เข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การรวมธุ รกิ จ ซึ่ ง กาหนดให้บันทึ กสิ นทรั พย์ หนี้ สินและหนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้ นที่ ได้ระบุ ได้ ณ วันที่ ซ้ื อธุ รกิ จในมูลค่ ายุติธรรม กลุ่ม บริ ษทั ได้จา้ งผูป้ ระเมินราคาอิสระเพื่อหามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ได้มาภายในระยะเวลาในการวัด มูลค่า (measurement period) ซึ่ งต้องไม่เกินหนึ่งปี นับตั้งแต่วนั ที่ซ้ื อกิจการเพื่อสะท้อนผลของข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้รับ เกี่ ยวกับข้อเท็จจริ งและสถานการณ์แวดล้อมที่มีอยู่ ณ วันที่ ซ้ื อ โดยข้อมูลดังกล่าวมีผลต่อการวัดมูลค่าของจานวน ต่างๆ ที่เคยรับรู ้ ณ วันที่ซ้ื อกิจการ ทั้งนี้ การประเมินมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินที่ได้มาจากการซื้ อธุ รกิจ ได้ดาเนินการเสร็ จสิ้ นในไตรมาสที่ 4 ของปี 2559

35

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ผูบ้ ริ หารเชื่ อว่าการซื้ อธุ รกิ จนี้ จะทาให้กลุ่มบริ ษทั สามารถขยายการลงทุ น พัฒนา และบริ หารโรงไฟฟ้ าพลังงาน สะอาดในแถบเอเชีย

147

158 เมกะวัตต์) โดยการซื้ อ หุ ้น ร้ อ ยละ 100 ของ SunEdison Japan Corporation, SunEdison Japan Debt Financing Pte. Ltd. แ ล ะ SunEdison TK Investor 1 Pte. Ltd. จาก SunEdison International LLC แ ล ะ SunEdison Energy Holding (Singapore) Pte. Ltd. ตามสัญญาซื้ อขายหุน้ (โดยมีเงื่อนไขบังคับก่อน) ลงวันที่ 29 มกราคม 2559 ทั้งนี้ได้มี การชาระแล้วตามเงื่อนไขสัญญา เป็ นจานวน 4,256 ล้านเยน (ประมาณ 1,275.33 ล้านบาท) สาหรับส่ วนที่เหลือจะ ชาระตามเงื่อนไขความสาเร็ จสาหรับโครงการระหว่างพัฒนา ทั้งนี้ไม่เกิน 18 เดือน นอกจากนี้ ภายใต้เงื่อนไขสัญญา ซื้ อขายหุ น้ กลุ่มบริ ษทั และกลุ่ม SunEdison ตกลงที่จะทาการปรับปรุ งราคาซื้ อขายธุรกิจระหว่างข้อมูลทางการเงินที่ จัด ท าโดยผูบ้ ริ ห ารกลุ่ ม SunEdison และข้อมู ลทางการเงิ นที่ ผ่านการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญ ชี อื่น จากผลการ ตรวจสอบเบื้องต้น มีรายการปรับปรุ งเป็ นจานวนเงิน 70.61 ล้านเยน (ประมาณ 21.15 ล้านบาท) โดยกลุ่มบริ ษทั อยู่ ในฐานะผูไ้ ด้รับคืนมูลค่าจากการปรับปรุ ง อย่างไรก็ตามรายการดังกล่าวยังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาเห็นชอบจาก ทางกลุ่ม SunEdison ในระหว่างปี นับตั้งแต่วนั ที่ ซ้ื อกิจการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธุ รกิ จดังกล่าวมีรายได้รวม จานวน 904 ล้านเยน (ประมาณ 294.32 ล้านบาท) และขาดทุนสุ ทธิ จานวน 509 ล้านเยน (ประมาณ 165.61 ล้านบาท) ซึ่ งรวมเป็ นส่ วนหนึ่งของผลการดาเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ฝ่ ายบริ หารคาดว่าหากกลุ่มบริ ษทั ได้มีการซื้ อธุรกิจตั้งแต่ วัน ที่ 1 มกราคม 2559 จะมี ร ายได้ร วมจานวน 294.32 ล้านบาท และขาดทุ น สุ ท ธิ รวมส าหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 จานวนเงิน 165.61 ล้านบาท ในการกาหนดมูลค่าดังกล่าวฝ่ ายบริ หารใช้สมมติ ฐานในการปรับปรุ ง มูลค่ายุติธรรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการที่เกิดขึ้นในระหว่างงวดนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริษัทษัทบีซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี กัจำกั ด) ด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 ข้อมูลของสิ่ งตอบแทนทั้งหมดที่โอนให้และมูลค่าที่รับรู ้ ณ วันที่ซ้ื อสาหรับสิ นทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาแต่ ละประเภทที่สาคัญ มีดงั นี้ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้

มูลค่ ำที่รับรู้ (พันบาท) 1,275,334 488,460 1,763,794

148

รายงานประจำ�ปี 2559

เงินสด สิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย รวม

ตามที่ เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นข้อ 5 บริ ษทั ได้ให้เงิ นกูย้ ืมแก่ บริ ษทั ย่อยในกลุ่มเป็ นจานวนเงิ น 4,256 ล้านเยน (ประมาณ 1,275.33 ล้านบาท) เพื่อจ่ายซื้ อกลุ่มธุ รกิจโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิ ตย์และจ่ายชาระคื น เงินกูย้ ืมและดอกเบี้ยค้างจ่ายที่กลุ่มธุ รกิ จโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ดงั กล่าวมีกบั กลุ่ม SunEdison จานวน 3,358 ล้านเยน (ประมาณ 1,006.13 ล้านบาท) ภายใต้เงื่อนไขการซื้ อธุรกิจ สิ่ งตอบแทนที่คาดว่ าจะต้ องจ่ าย ภายใต้เงื่ อนไขสัญ ญาซื้ อขายหุ ้นกลุ่มบริ ษ ทั มี สิ่ งตอบแทนที่ ค าดว่าจะต้องจ่ ายเพิ่ มเติ มตามเงื่ อนไขความส าเร็ จ สาหรับโครงการระหว่างการพัฒนา โดยมีระยะเวลากาหนดจ่ายภายในเดื อนกรกฎาคม 2560 และมีมูลค่าสู งสุ ดไม่ เกิน 2,527 ล้านเยน (ประมาณ 757 ล้านบาท) ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้รับรู ้หนี้ สินที่อาจจะเกิดขึ้นดังกล่าวเป็ นจานวนเงิน 1,630 ล้านเยน (ประมาณ 488 ล้านบาท) สาหรับโครงการที่กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะสามารถพัฒนาได้สาเร็ จตามเงื่อนไข ในสัญญา นอกจากนี้ กลุ่มบริ ษทั ยังมีขอ้ ตกลงสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพิ่มเติมในกรณี ที่ค่าความเข้มของแสง สู งกว่าอัตราที่กาหนดไว้สาหรับ 5 โครงการ โดยมีมูลค่าสู งสุ ดไม่เกิน 2,454 ล้านเยน (ประมาณ 769 ล้านบาท) โดย การวัดค่าความเข้มของแสงมีระยะเวลา 1 ปี ฝ่ ายบริ หารได้มีการประเมินค่าความเข้มของแสงโดยใช้รายงานประเมิน ของผูป้ ระเมินอิสระที่ จดั ทาก่อนการซื้ อธุ รกิ จและสรุ ปว่าค่าความเข้มของแสงไม่น่าที่จะถึงอัตราที่ กลุ่มบริ ษทั ต้อง ชาระค่ าตอบแทนเพิ่ มเติ ม นอกจากนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ทางกลุ่ม SunEdison ยังไม่มีการตอบรั บที่ จะ แต่งตั้งผูป้ ระเมินอิสระร่ วมกันในการทาการประเมินค่าความความเข้มแสงใหม่ซ่ ึ งอาจจะทาให้การวัดค่าความเข้ม ของแสงที่มีกาหนดระยะเวลา 1 ปี นั้นไม่เข้าเงื่อนไขที่กาหนดในเงื่อนไขสัญญาซื้ อขายหุน้ ดังนั้นกลุ่มบริ ษทั จึงไม่ได้ บันทึกหนี้สินเพิ่มเติมสาหรับสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายจากเรื่ องดังกล่าว

36


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริษัทษัทบีซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี จกัำกั ) ด ด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคม น2559 สิ นทรั พย์ ที่ได้ มาและหนีส้ ิ นที่รับมา มูลค่ ำตำมบัญชี

(776,850) (47,757) (5,230) (144,504) (1,167,222) (35,453) (6,102) (253,161) (147) (253,308) 1,006,132 752,824

37

(442,863) 1,237,562

354,284 23,930 408,232 107,328 1,410,352 1,789,646 54,581 (457,637) (80,334) (776,850) (47,757) (5,230) (144,504) (1,167,222) (35,453) (448,965) 984,401 (147) 984,254 1,006,132 1,990,386 (226,592) 1,763,794

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

354,284 23,930 408,232 107,328 1,410,352 109,221 54,581 (457,637) (80,334)

มูลค่ ำยุตธิ รรม

149

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้อื่น เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกลุ่ม SunEdison ที่ถึง กาหนดชาระในหนึ่ งปี ** เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึง กาหนดชาระในหนึ่ งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกลุ่ม SunEdison** เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวมสิ นทรัพย์ และหนีส้ ิ นสุ ทธิที่ระบุได้ หั ก ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม สิ นทรัพย์ และหนีส้ ิ นสุ ทธิที่ได้ มำ ชาระคืนเงินกูย้ ืม**และดอกเบี้ยค้างจ่ายที่มีกบั กลุ่ม SunEdison ภายใต้เงื่อนไขการซื้ อ ธุรกิจ สิ นทรัพย์ และหนีส้ ิ นที่กลุ่มบริ ษทั ได้ มำสุ ทธิ กาไรจากการต่อรองราคาซื้ อ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้

รำยกำรปรับปรุ ง (พันบาท) 1,680,425 -


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ บริ ษัท บีซีพจี ี จำกัด) ษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดปวันระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559

150

รายงานประจำ�ปี 2559

การประเมินมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนโดยผูป้ ระเมิ นราคาอิสระนั้นใช้วิธีรายได้ (Income approach) ภายใต้วิธีกระแสเงินสดในอนาคตคิดลดเป็ นปัจจุบนั โดยมีระยะเวลาในการดาเนินงานทั้งหมด 20 ปี ภายใต้สญ ั ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ าแบบ Feed-in Tariff ข้อสมมติท่ีสาคัญในการคานวณ ได้แก่ ประมาณการรายได้ในอนาคต และอัตราคิ ด ลด การซื้ อธุ รกิ จได้รวมถึงการเข้าซื้ อกิจการ Godo Kaisha Natosi (เดิ มชื่ อ SunEdison Japan SPC 19 Godo Kaisha) ซึ่ ง เป็ นเจ้าของโครงการที่ Suimei มีขอ้ พิ พาททางกฎหมายกับบุคคลภายนอก (“โจทก์”) โดยโจทก์ได้ยื่นฟ้ อง Godo Kaisha Natosi และผูเ้ ริ่ มต้นพัฒนาโครงการที่ Suimei อี กจานวน 3 ราย (รวมเรี ยกว่า “จาเลย”) ต่ อ Tokyo District Court ซึ่ งโจทก์กล่ าวอ้างว่าตนเองเป็ นผูม้ ี กรรมสิ ทธิ์ เหนื อโครงการดังกล่าว ทั้งนี้ มู ลค่ าความเสี ยหายจากการ ฟ้ องร้องครั้งนี้ ประมาณ 2.2 พันล้านเยน และมีเบี้ ยปรับจากการชาระเงิ นล่าช้าในอัตราร้อยละ 6.0 ต่อปี นับตั้งแต่ เดื อนเมษายน 2558 โดยจาเลยมี ค วามรั บผิด แบบร่ วมกัน และแทนกัน (Jointly and Severally) ต่ อมาเมื่ อวันที่ 30 กัน ยายน 2559 โจทก์แ ละ Godo Kaisha Natosi ในฐานะจาเลยร่ วม สามารถตกลงระงับข้อพิ พ าททางกฎหมาย ระหว่างกันได้ โดยผูพ้ ิพากษาได้รับคายืนยันจากโจทก์ในการถอนฟ้องคดีจาก Godo Kaisha Natosi และคดีความถือ เป็ นที่สิ้นสุ ด การยื่ นขอความคุ้ มครองเพื่ อการฟื ้ นฟู กิจการภายใต้ กฎหมายในหั วข้ อที่ 11 ของกฎหมายสหรั ฐอเมริ กาของกลุ่ม SunEdison เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2559 กลุ่ม SunEdison ได้ยื่นขอความคุม้ ครองเพื่อการฟื้ นฟูกิจการภายใต้กฎหมายในหัวข้อที่ 11 ของกฎหมายสหรัฐอเมริ กาต่อศาลล้มละลายสหรัฐ โดยปั จจุบนั ศาลอนุ ญาตให้กลุ่ม SunEdison ปรับโครงสร้าง เพื่อให้สามารถดาเนิ นธุ รกิ จต่อไปได้ กลุ่มบริ ษทั คาดว่าเหตุการณ์ดงั กล่าวไม่มีผลกระทบที่ เป็ นสาระสาคัญต่อการ เข้าซื้ อกิจการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่นจากกลุ่ม SunEdison ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั และกลุ่ม SunEdison ได้ลงนามในสัญญาซื้ อขายหุ น้ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2559 และต่อมาได้บรรลุเงื่อนไขบังคับก่อนและได้มีการชาระ ราคาและโอนหุ ้น เสร็ จสมบู ร ณ์ แล้วเมื่ อวัน ที่ 15 และ 18 กุมภาพันธ์ 2559 โดยเงื่ อนไขต่ างๆ ในสั ญ ญาซื้ อขาย ดังกล่าวยังคงมีผลบังคับใช้ในปั จจุบนั และยังคงมี ผลบังคับใช้ต่อไปภายหลังจากการยื่นขอความคุม้ ครองเพื่อการ ฟื้ นฟูกิจการภายใต้กฎหมายในหัวข้อที่ 11 ของกฎหมายสหรัฐอเมริ กาต่อศาลล้มละลายสหรัฐ ต้ นทุนที่เกี่ยวข้ องกับการซื ้อ กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการซื้ อประมาณ 107.91 ล้านบาท ที่ เกี่ ยวข้องกับค่าที่ ปรึ กษากฎหมายภายนอก ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสถานะทางการเงิน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ โดยได้ถูกรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริ หารในงบ กาไรขาดทุนรวมของกลุ่มบริ ษทั ในงวดที่เกิดรายการ 38


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีซบริีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี(มหาชน) ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 5

บุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงิน บุคคลหรื อกิจการเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มบริ ษทั หาก กลุ่มบริ ษทั มีอานาจควบคุมหรื อควบคุมร่ วมกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรื อมีอิทธิ พลอย่างมีสาระสาคัญต่อบุคคล หรื อกิ จการในการตัดสิ นใจทางการเงิ นและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน โดยที่ กลุ่มบริ ษทั มีการควบคุมเดียวกัน หรื อมีอิทธิ พลอย่างมีสาระสาคัญเดียวกัน การเกี่ยวข้องนี้อาจเป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ ความสัมพันธ์ที่มีกบั บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดงั นี้ ชื่ อกิจกำร

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

บริ ษทั บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 2 จากัด

ไทย

BCPG Investment Holdings Pte. Ltd.

สิ งคโปร์

39

เป็ นบริ ษทั ใหญ่ ถือหุ น้ ร้อยละ 70.35 ในบริ ษทั และมีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และ มีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ไทย

ลักษณะควำมสั มพันธ์

151

บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสี มา) จากัด บริ ษทั บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 1 จากัด

ประเทศที่จดั ตั้ง / สั ญชำติ ไทย


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ชื่ อกิจกำร

152

รายงานประจำ�ปี 2559

BSE Energy Holdings Pte. Ltd. BCPG Japan Corporation (เดิมชื่อ SunEdison Japan Corporation) Greenergy Holdings Pte. Ltd. (เดิมชื่อ SunEdison Japan Debt Financing Pte. Ltd.) Greenergy Power Pte. Ltd. (เดิมชื่อ SunEdison TK Investor 1 Pte. Ltd.) Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha Nakatsugawa PV Godo Kaisha Godo Kaisha Inti (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 4 Godo Kaisha) Takamori PV Godo Kaisha Nojiri PV Godo Kaisha Godo Kaisha Aten (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 7 Godo Kaisha) Nikaho PV Godo Kaisha Gotenba 2 PV Godo Kaisha Godo Kaisha Horus (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 10 Godo Kaisha) Yabuki PV Godo Kaisha Komagane PV Godo Kaisha Godo Kaisha Helios (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 13 Godo Kaisha)

ประเทศที่จดั ตั้ง / สั ญชำติ สิ งคโปร์ ญี่ปุ่น สิ งคโปร์

สิ งคโปร์

ลักษณะควำมสั มพันธ์ เป็ นบริ ษ ทั ย่อยทางอ้อม บริ ษ ทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ เป็ นบริ ษ ทั ย่อยทางอ้อม บริ ษ ทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษ ทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 51

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมที่ผกู พันโดยสัญญาทีเค เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมที่ผกู พันโดยสัญญาทีเค เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมที่ผกู พันโดยสัญญาทีเค เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

40


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ชื่ อกิจกำร

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

41

ลักษณะควำมสั มพันธ์

153

Godo Kaisha Lugh (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 14 Godo Kaisha) Godo Kaisha Phoenix (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 15 Godo Kaisha) Gotenba 1 PV Godo Kaisha Komagane Land Lease Godo Kaisha Nagi PV Godo Kaisha Godo Kaisha Natosi (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 19 Godo Kaisha) Godo Kaisha Amaterasu (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 20 Godo Kaisha) Godo Kaisha Mithra (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 21 Godo Kaisha) Godo Kaisha Sol (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 22 Godo Kaisha) Godo Kaisha Saule (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 23 Godo Kaisha) Godo Kaisha Shamash (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 24 Godo Kaisha)

ประเทศที่จดั ตั้ง / สั ญชำติ ญี่ปุ่น


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

154

รายงานประจำ�ปี 2559

ชื่ อกิจกำร Godo Kaisha Pusan (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 25 Godo Kaisha) Godo Kaisha Apolo (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 26 Godo Kaisha) Godo Kaisha Surya (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 27 Godo Kaisha) Nagi Land Lease Godo Kaisha Godo Kaisha Rangi (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 29 Godo Kaisha) Godo Kaisha Dazbog (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 30 Godo Kaisha) Godo Kaisha Narang (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 31 Godo Kaisha) Godo Kaisha Malina (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 32 Godo Kaisha) Godo Kaisha Legba (เดิมชื่อ SunEdison Japan SPC 33 Godo Kaisha) J2 Investor Godo Kaisha J1 Investor Godo Kaisha

ประเทศที่จดั ตั้ง / สั ญชำติ ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100

42

ลักษณะควำมสั มพันธ์


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ชื่ อกิจกำร BCPG Engineering Company (เดิมชื่อ SunEdison Construction Company) Godo Kaisha Tarumi Takatoge Huang Ming Japan Company Limited บริ ษทั อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จากัด (มหาชน) ผูบ้ ริ หารสาคัญ

ประเทศที่จดั ตั้ง / สั ญชำติ ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ไทย ไทย/ญี่ปุ่น

ลักษณะควำมสั มพันธ์ เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษ ทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมที่ผกู พันโดยสัญญาทีเค เป็ นบริ ษ ทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที่เป็ นกรรมการ มีกรรมการร่ วมกัน

.

รำยกำร รายได้จากการให้บริ การ ค่าจ้างบริ หารงาน ค่าเช่า ดอกเบี้ยเงินกูย้ ืม

นโยบำยกำรกำหนดรำคำ ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตราดอกเบี้ ยที่ กาหนดในสัญญาโดยอ้างอิงราคาตลาดและอัตราดอกเบี้ ย เงินฝากประจา

43

155

นโยบายการกาหนดราคาสาหรับรายการแต่ละประเภทอธิ บายได้ดงั ต่อไปนี้

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บุคคลที่ มีอานาจและความรับผิดชอบการวางแผน สัง่ การและควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของกิจการไม่ ว่าทางตรงหรื อทางอ้อม ทั้งนี้ รวมถึงกรรมการ ของกลุ่ ม บริ ษัท (ไม่ ว่ า จะท าหน้ า ที่ ใ นระดับ บริ หารหรื อไม่)


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ่ อษบริัท ษบีัทซีพบี​ีจซี ีจำพ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน 2559 รายการที่สาคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม สรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

156

รายงานประจำ�ปี 2559

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 บริษทั ใหญ่ รายได้อื่น ค่าจ้างบริ หารงาน ค่าเช่า เงินปันผลจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย ค่าตัดจาหน่ายของต้นทุนการทารายการ ส่ วนที่บนั ทึกรวมกับเงินกูย้ ืม บริษทั ย่ อย รายได้จากการให้บริ การ ค่าจ้างบริ หารงาน เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ บริษทั ย่ อยทำงอ้ อม ดอกเบี้ยรับ กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกันอื่น ค่าเช่า ผู้บริหำรสำคัญ ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมค่ ำตอบแทนผู้บริหำรสำคัญ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี สิ้ นสุ ด บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

348 42,480 7,211 756,000 99,505

14,865 572 16,983

348 42,480 7,666 756,000 99,505

6,185 572 16,983

25,471

-

25,471

-

-

-

28,800 2,160 1,489,071 7,870

-

-

46,091

-

-

456

-

456 53,446 1,284 54,730

1,162 57 1,219 44

25,336 471 25,807

4,220 180 42,741 -

1,162 57 1,219


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ่ อ ษบริัท ษบีัทซีพบี​ีจซี ีพจำ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน 2559 ยอดคงเหลือกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

-

-

1,819 899 450 449 449

-

-

-

449 4,515 4,515

งบกำรเงินรวม

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสู ญสาหรับปี /งวด

-

-

45

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

(พันบาท)

-

-

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

-

157

ลูกหนี้การค้ า - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสี มา) จากัด รวม หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ่ อ ษบริัท ษบีัทซีพบี​ีจซี ีพจำ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน 2559

158

รายงานประจำ�ปี 2559

งบกำรเงินรวม 2559 2558 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ใหญ่ บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จากัด BCPG Investment Holding Pte. Ltd. บริษทั ย่ อยทำงอ้ อม BSE Energy Holding Pte. Ltd. BCPG Japan Corporation Greenergy Holdings Pte. Ltd. Greenergy Power Pte. Ltd. Huang Ming Japan Company Limited กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกันอื่น บริ ษทั อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จากัด (มหาชน) รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

6,146

5,683

6,146

5,683

-

-

1,019 7,103

-

-

-

26,976 14,771 256 264 4,564

-

280 6,426

5,683

280 61,379

5,683

46


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ่ อ ษบริัท ษบีัทซีพบี​ีจซี ีพจำ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน 2559 งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

-

264,341

-

บริษทั ย่ อยทำงอ้ อม BSE Energy Holding Pte. Ltd. BCPG Japan Corporation Huang Ming Japan Company Limited รวม

-

-

1,032,277 1,235,153 400,989 2,932,760

-

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาว บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จากัด รวม

-

-

260,000 260,000

-

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

-

159

เงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้น บริษทั ย่ อย BCPG Investment Holding Pte. Ltd.

47


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท(เดิบีมซชืีพ่อจี บริ ี จำกั ษัทด บี(มหำชน) ซีพีจี จำ�กัและบริ ด) ษัทย่อย (เดิมชืหมายเหตุ ่ อ บริษัท ปบีระกอบงบการเงิ ซีพจี ี จำกัด) น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม

160

รายงานประจำ�ปี 2559

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีต้ งั แต่ สาหรับปี สิ้ นสุ ด วันที่ 17 กรกฎาคม วันที่ 31 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

เงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั้น กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน ยอดยกมา เพิ่มขึ้น ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวำคม

-

-

3,115,723 (182,963) 2,932,760

-

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาว กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน ยอดยกมา เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม

-

-

260,000 260,000

-

งบกำรเงินรวม 2559 2558 เงินลงทุนในบริ ษทั ย่ อย (หมายเหตุ 10)

-

- -

48

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2558 2559

(พันบาท) 6,353,336 6,333,337 6,353,336

6,333,337


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ ษบริัทษบีัทซีพบีซีจี ีพจำ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชื่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน2559 งบกำรเงินรวม 2559 2558

เงินกู้ยมื ระยะยาว บริ ษทั ใหญ่ หั ก ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี รวม สรุปเงินกู้ยมื จากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน เงินกูย้ ืมระยะสั้น เงินกูย้ ืมระยะยาวส่ วนที่ถึงกาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี เงินกูย้ ืมระยะยาว รวมเงินกู้ยืมจำกกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน

63,220

4,062

63,220

393

-

-

181 4,455

63,220

4,062

63,413

-

210,000 210,000

-

210,000 210,000

-

5,992,529 5,992,529 (300,199) 5,692,330

-

5,992,529 5,992,529 (300,199) 5,692,330

-

210,000

-

210,000

-

300,199 5,692,330 6,202,529

-

300,199 5,692,330 6,202,529

193

161

เงินกู้ยมื จากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน เงินกู้ยมื ระยะสั้น บริ ษทั ใหญ่ รวม

3,881

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

เจ้ าหนี้อื่น-กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริษทั ใหญ่ บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จากัด กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกันอื่น บริ ษทั อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จากัด (มหาชน) รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

49


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ่ อ ษบริัทษบีัทซีพบี​ีจซี ีพจำ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) หมำยเหตุ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน 2559 รายการเคลื่อนไหวของเงินกูย้ ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้นสุด กรกฎาคม 2558 ถึง สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 2559 2558 (พันบาท)

162

รายงานประจำ�ปี 2559

งบกำรเงินรวม

เงินกู้ยมื จากกิจการทีเกีย่ วข้ องกัน เงินกู้ยมื ระยะสั้น บริษทั ใหญ่ ยอดยกมา เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม

210,000 620,000 (830,000) -

210,000 210,000

210,000 620,000 (830,000) -

210,000 210,000

เงินกู้ยมื ระยะยาว บริษทั ใหญ่ ยอดยกมา 5,992,529 เพิ่มขึ้น 1,500,000 ลดลง (7,518,000) ตัดจาหน่ายต้นทุนการทารายการเงินกูย้ ืม 25,471 รวม หั ก ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม -

5,992,529 5,992,529 (300,199) 5,692,330

5,992,529 1,500,000 (7,518,000) 25,471 -

5,992,529 5,992,529 (300,199) 5,692,330

50


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริ ด) ษัทษัทบีซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี กัจำกั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 หมายเหตุ เงินปันผลค้ างจ่ าย บริษทั ใหญ่ บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) รวม

29

งบกำรเงินรวม 2559 2558

210,000 210,000

-

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

210,000 210,000

-

สัญญาสาคัญที่ทากับกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน

ในเดือนตุลาคม 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่าที่ดินเพิ่มจากบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั เพื่อวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องสาหรับโครงการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ โดยสัญญามีผลบังคับ ใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 พฤศจิกายน 2580 รวมระยะเวลา 21 ปี 2 เดือน อัตราค่าเช่าเป็ นไปตามที่กาหนด ในสัญญา สัญญาเช่ าพืน้ ที่อาคารและห้ องควบคุม ในเดื อนธันวาคม 2558 บริ ษ ทั ได้ทาสัญ ญาเช่ าพื้ นที่ ส านักงาน ห้องควบคุ ม และห้องวางระบบไฟฟ้ าในส่ วนที่ เกี่ยวข้องกับโครงการโซลาร์ ฟาร์ม บางปะอิน 38 MW จากบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั โดยสัญญามีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึง 30 พฤศจิ กายน 2561 รวมระยะเวลา 3 ปี อัตราค่าเช่าเป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญา

51

163

ในเดื อนธันวาคม 2558 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่ าที่ ดินจากบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั เพื่อใช้เป็ นที่ต้ งั ของโครงการโซลาร์ ฟาร์ม บางปะอิน 38 MW และเพื่อวัตถุประสงค์อื่นที่เกี่ยวข้อง โดยสัญญามี ผ ลบังคับใช้ต้ งั แต่ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึ ง 30 พฤศจิ กายน 2580 รวมระยะเวลา 22 ปี อัต ราค่ าเช่ า เป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญา

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

สัญญาเช่ าที่ดนิ


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 สัญญาเช่ าพืน้ ที่สานักงาน ในเดือนกันยายน 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่าพื้นที่สานักงานกับบริ ษทั อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันกับบริ ษทั เพื่ อใช้เป็ นที่ ต้ งั สานักงานของบริ ษทั โดยสัญญามีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 สิ งหาคม 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560 รวมระยะเวลา 7 เดือน อัตราค่าเช่าเป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญา สัญญาจ้ างบริ หารงานและดาเนินการ โครงการโซลาร์ ฟาร์ ม บางปะอิน 38 MW

164

รายงานประจำ�ปี 2559

ในเดื อนพฤศจิ กายน 2558 บริ ษทั ได้ทาสัญญาจ้างบริ หารงาน และดาเนิ นการโครงการโซลาร์ ฟาร์ มกับบริ ษทั ย่อย แห่ งหนึ่ ง โดยบริ ษทั ย่อยดังกล่าวมีหน้าที่ จดั หาพนักงานบริ หารงานและอุปกรณ์ทวั่ ไป เพื่ อให้การผลิตไฟฟ้ าด้วย พลังงานแสงอาทิ ตย์เป็ นไปอย่างต่ อเนื่ อง โดยสัญญานี้ มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึ ง 31 ธันวาคม 2561 รวมระยะเวลา 3 ปี 1 เดือน อัตราค่าบริ การเป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญา สัญญาจ้ างบริ หารงาน ในเดือนพฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ได้ทาสัญญาจ้างบริ หารงานกับบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั โดยบริ ษทั ใหญ่มีหน้าที่จดั หาพนักงาน เพื่อบริ หารงานทัว่ ไปให้เป็ นไปตามระบบและให้การ ปฏิ บตั ิ งานเป็ นไปตามที่ บริ ษทั กาหนด สัญญานี้ มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 พฤศจิ กายน 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2558 รวมระยะเวลา 2 เดื อน อัตราค่าบริ การเป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญา ต่อมาบริ ษทั ได้ทาสัญญาจ้างบริ หารงานฉบับ ใหม่กบั บริ ษทั ใหญ่ โดยมี ผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559 รวมระยะเวลา 1 ปี อัตรา ค่าบริ การเป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญา ในปัจจุบนั บริ ษทั และบริ ษทั ใหญ่อยูใ่ นระหว่างการจัดทาสัญญาใหม่ สัญญาเงินกู้ยืม ในเดือนพฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินกูย้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั เป็ นวงเงินกูย้ ืมจานวน 3,028 ล้านบาท เงิ นกูย้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคื น เงินต้นทุก 6 เดือนจานวน 20 งวดโดยงวดแรกเริ่ มชาระในเดือน มีนาคม 2559 เป็ นต้นไป โดยมีอตั ราดอกเบี้ ยและ เงื่ อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา ต่ อมาในเดื อนมกราคม 2559 บริ ษทั ใหญ่ได้ยกเลิ กสัญญาเงิ นกูย้ ืมดังกล่าวและ จัดทาสัญญาเงินกูย้ ืมใหม่ต่อเนื่องจากสัญญาเงินกูย้ ืมเดิมโดยมีเงื่อนไขและข้อกาหนดเช่นเดียวกันกับสัญญาเงินกูย้ ืม เดิม ในระหว่างไตรมาสที่ 2 ของปี 2559 บริ ษทั ได้ชาระเงินกูย้ ืมดังกล่าวก่อนกาหนดทั้งจานวน

52


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 ในเดือนพฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินกูย้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั เป็ นวงเงินกูย้ ืมจานวน 3,100 ล้านบาท เงินกูย้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนใน เดื อนมกราคม 2559 โดยมีอตั ราดอกเบี้ ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา โดยบริ ษทั ได้เบิ กเงิ นกูเ้ ป็ นจานวน 2,990 ล้านบาท ต่อมาในเดือนมกราคม 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินกูย้ ืมต่อเนื่ องจากสัญญาเงินให้ยืมเดิมและขยาย ระยะเวลากาหนดชาระคื นเป็ นเดือนพฤษภาคม 2560 โดยมีเงื่อนไขและข้อกาหนดเช่ นเดี ยวกันกับสัญญาเงินกูเ้ ดิ ม ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปี 2559 บริ ษทั ได้ชาระเงินกูย้ ืมดังกล่าวก่อนกาหนดทั้งจานวน

ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินให้กยู้ ืมเงินเพื่อวัตถุประสงค์ในการซื้ อธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั โดยไม่ มีหลักประกันกับ BCPG Investment Holding Pte Ltd. ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั เป็ นวงเงิ นให้กูย้ ืมจานวน 868 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา โดยบริ ษทั ดังกล่าวได้เบิกเงินกูย้ ืมเป็ นจานวน 867 ล้านเยน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินให้กยู้ ืมเงินเพื่อวัตถุประสงค์ในการซื้ อธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั โดยไม่ มีหลักประกันกับ BSE Energy Holding Pte. Ltd. ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงิ นให้กูย้ ืมจานวน 3,400 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดใน สัญญา โดยบริ ษทั ดังกล่าวได้เบิกเงินกูย้ ืมเป็ นจานวน 3,389 ล้านเยน

53

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินกูย้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 2,000 ล้านบาท เงินกูย้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืน ในเดื อนธันวาคม 2560 โดยมีอตั ราดอกเบี้ ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา โดยบริ ษทั ได้เบิ กเงินกูส้ ่ วนแรก จานวน 1,500 ล้านบาท ในระหว่างไตรมาสที่ 2 ของปี 2559 บริ ษทั ได้ชาระเงินกูย้ ืมดังกล่าวก่อนกาหนดทั้งจานวน

165

ในเดื อนธันวาคม 2558 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงิ นกูย้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับบริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใหญ่ของบริ ษทั เป็ นวงเงินกูย้ ืมจานวน 830 ล้านบาท เงินกูย้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนใน เดื อนมกราคม 2559 โดยมีอตั ราดอกเบี้ ย เงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา บริ ษทั ได้เบิ กเงินกูส้ ่ วนแรกจานวน 210 ล้า นบาท ต่ อ มาในเดื อ นมกราคม 2559 บริ ษ ัท ได้ท าสั ญ ญาเงิ น กู้ยื ม ต่ อ เนื่ อ งจากสั ญ ญาเงิ น กู้ยื ม เดิ ม และขยาย ระยะเวลากาหนดชาระคืนเป็ นเดือนธันวาคม 2559 โดยมีเงื่อนไขและข้อกาหนดเช่นเดียวกันกับสัญญาเงินกูเ้ ดิม ใน ระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปี 2559 บริ ษทั ได้ชาระเงินกูย้ ืมจานวน 210 ล้านบาทก่อนกาหนดทั้งจานวน ต่อมาในเดือน เมษายน 2559 บริ ษทั ได้เบิกเงินกูส้ ่ วนที่สองจานวน 620 ล้านบาท และในระหว่างไตรมาสที่ 2 ของปี 2559 บริ ษทั ได้ ชาระเงินกูย้ ืมดังกล่าวก่อนกาหนดทั้งจานวน


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีซบริีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี(มหาชน) ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ในเดื อนกุมภาพันธ์ 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินให้กูย้ ืมเงิ นโดยไม่มีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ ง เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 170 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนเมื่อ ทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา ในเดือนมีนาคม 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินให้กยู้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 606 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวง ถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา

166

รายงานประจำ�ปี 2559

ในเดื อนมี นาคม 2559 บริ ษ ทั ได้ทาสัญ ญาเงิ นให้กูย้ ืมเงิ นโดยไม่มีหลักประกันกับ Huang Ming Japan Company Limited ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 500 ล้านเยน เงินให้กูย้ ืมดังกล่าวมีกาหนด ชาระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา โดยบริ ษทั ดังกล่าวได้เบิกเงินกูส้ ่ วน แรกจานวน 475 ล้านเยน ในเดือนเมษายน 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินให้กยู้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 320 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวง ถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา ในเดือนพฤษภาคม 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินให้กูย้ ืมเงินโดยไม่มีหลักประกันกับ Huang Ming Japan Company Limited ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 2,000 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาหนด ชาระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอตั ราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามข้อกาหนดในสัญญา โดยบริ ษทั ดังกล่าวได้เบิกเงินกูร้ วม เป็ นจานวน 841 ล้านเยน ในเดื อนกรกฎาคม 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงิ นให้กูย้ ืมเงิ นโดยไม่มีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ ง เป็ นบริ ษทั ย่อยทางอ้อมของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมจานวน 9,000 ล้านเยน เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวกาหนดชาระคืนเมื่อ ทวงถามโดยมีอตั ราดอกเบี้ ย และเงื่อนไขตามข้อกาหนดให้สัญญาโดยบริ ษทั ดังกล่าวได้เบิ กเงิ นกูร้ วมเป็ นจานวน 2,959 ล้านเยน ในเดื อนพฤศจิ กายน 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงิ นให้กูย้ ืมเงิ นโดยไม่มีหลักประกันกับ บริ ษทั บางจาก โซลาร์ เอ็น เนอร์ ยี (ปราจีนบุรี) จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั เป็ นวงเงินให้กูย้ ืมจานวน 310 ล้านบาท เงินให้กยู้ ืมดังกล่าว กาหนดชาระคืนภายใน 3 ปี โดยมีอตั ราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามข้อกาหนดให้สัญญาโดยบริ ษทั ดังกล่าวได้เบิกเงินกู้ ส่ วนแรกจานวน 260 ล้านบาท

54


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีดพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 สัญญาค้าประกัน บริ ษทั ได้ทาสัญญาให้การค้ าประกันกับ BCPG Engineering Company ตามเงื่อนไขสัญญาการปฏิ บตั ิ งานและการ บ ารุ ง รั ก ษาระบบผลิ ต ไฟฟ้ า ด้ ว ยพลัง งานแสงอาทิ ต ย์ที่ BCPG Engineering Company มี กับ Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha ในกรณี ที่ BCPG Engineering Company ทาให้เกิ ดความเสี ยหายต่อสิ นทรัพย์ในโรงไฟฟ้ า ของ Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha และไม่สามารถชดเชยค่าเสี ยหายดังกล่าวได้ สัญญาค้ าประกันดังกล่าว มีวงเงินค้ าประกันรายปี ปี ละ 28.02 ล้านเยน และมีภาระการค้ าประกันผูกพันตลอดอายุสัญญาการปฏิ บตั ิ งานและ การบ ารุ งรักษาระบบผลิ ตไฟฟ้ าด้วยพลังงานแสงอาทิ ตย์เท่ ากับ 280.20 ล้านเยน ทั้งนี้ เงื่ อนไขในสัญ ญากูย้ ืมเงิ น ระหว่าง Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha กับ สถาบันการเงิ นแห่ งหนึ่ งในประเทศญี่ ปุ่นกาหนดให้บริ ษ ทั ใหญ่มีหน้าที่ค้ าประกันค่าความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้น 6

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด

114 713,890 6,647,155 7,361,159

45 3,517 757,101 213,956 974,619

ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558 สกุลเงินบาท สกุลเงินเยน สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา รวม

6,542,666 818,052 441 7,361,159 55

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท) 767,103 5,727,260 157,442 207,516 27,437 207,516 974,619 5,754,697 364,958

167

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสู ง รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท) (3,952) 5,758,649 364,958 5,754,697 364,958

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

งบกำรเงินรวม 2559 2558


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ย่อยมี เงิ นฝากสถาบันการเงิ นที่ มีขอ้ จากัดในการเบิ กใช้จานวน 734.47 ล้านบาท (2558 : 131.62 ล้ านบาท) จากการทาสัญญากูย้ ืมเงินระยะยาวกับสถาบันการเงินหลายแห่ งซึ่ งมีขอ้ กาหนดให้บริ ษทั ย่อยดังกล่าวต้องทาการขออนุญาตสถาบันการเงินในการเบิกใช้เงินฝากที่มีขอ้ จากัด 7

เงินลงทุนชั่วครำว งบกำรเงินรวม 2559 2558 เงินฝากระยะสั้นกับสถาบันการเงิน รวม

700,000 700,000

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท) 700,000 700,000 -

-

8

ลูกหนีก้ ำรค้ ำ

168

รายงานประจำ�ปี 2559

เงินลงทุนชัว่ คราวทั้งหมดของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เป็ นสกุลเงินบาท

หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

5

486,395 486,395 486,395

56

440,798 440,798 440,798

116,738 116,738 116,738

4,515 64,451 68,966 68,966


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริษัทษัทบีซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี จกัำกั ) ด ด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท) -

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสู ญสาหรับปี /งวด

-

-

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้ การค้ามีดงั นี้

กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน ยังไม่ครบกาหนดชาระ หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

-

-

-

4,515 4,515

กิจกำรอื่น ยังไม่ครบกาหนดชาระ หั ก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

486,395 486,395

440,798 440,798

116,738 116,738

64,451 64,451

รวม

486,395

440,798

116,738

68,966

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริ ษทั มีระยะเวลา 20 - 30 วัน

57

169

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

งบกำรเงินรวม 2559 2558


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558 สกุลเงินบาท สกุลเงินเยน รวม 9

470,320 16,075 486,395

ลูกหนีอ้ ื่น หมายเหตุ

170

รายงานประจำ�ปี 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท) 440,798 116,738 68,966 440,798 116,738 68,996

กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน กิจกำรอื่น ดอกเบี้ยค้างรับ เบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า เงินทดรองจ่ายสาหรับการเตรี ยมการ โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ อื่น รวม

งบกำรเงินรวม 2559 2558 6,426

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท) 5,683 61,379 5,683

7,235 7,429

578 5,826

7,124 655

15 1,340

352,481 28,163 401,734

3,147 15,234

2,984 72,142

498 7,536

5

58


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 10

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้ นสุ ด กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 (พันบาท) บริ ษทั ย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม / 17 กรกฎาคม ซื้ อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม

6,333,337 19,999 6,353,336

6,333,337 6,333,337 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

171

59


บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จากัด บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จากัด 100 1,400,000 1,400,000 100 100 100

100

100

100

100

765,000 765,000

755,000 755,000

705,000 705,000

100 1,800,000 1,800,000

31 ธันวาคม 2559 2558

ทุนชาระแล้ว

100

31 ธันวาคม 2559 2558 (ร้ อยละ)

สัดส่วนความ เป็ นเจ้าของ

60

781,275

771,063

720,545

1,429,785

1,930,500

781,275

771,063

720,545

1,429,785

1,930,500

31 ธันวาคม 2559 2558

ราคาทุน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

การด้อยค่า

781,275

771,063

720,545

1,429,785

1,930,500

781,275

771,063

720,545

1,429,785

1,930,500

31 ธันวาคม 2559 2558

ราคาทุน-สุทธิจากการ ด้อยค่า

159,503

165,118

166,062

250,040

590,040

6,635

6,955

7,262

15,298

-

เงินปั นผล สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี สาหรับปี ตั้งแต่วนั ที่ 17 สิ้นสุดวันที่ กรกฎาคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 และเงินปั นผลรับจากเงินลงทุนสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดงั นี้

บริษบริ ัท บีษซัทีพจบี​ี ี ซจีพ ำกัีจดี จำ(มหำชน) และบริษและบริ ัทย่อย ษัทย่อย �กัด (มหาชน) (เดิม(เดิ ชื่ อ มบริชืษ่อัทบริ บีซษีพัทจี บี​ี จซำกัีพดีจ) ี จำ�กัด) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

172

รายงานประจำ�ปี 2559


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษทั ย่ อย (ต่ อ) บริ ษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสี มา) จากัด BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. บริ ษทั บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 1 จากัด บริ ษทั บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 2 จากัด รวม

100 100 100 100

100 -

31 ธันวาคม 2559 2558 (ร้ อยละ)

สัดส่วนความ เป็ นเจ้าของ

684,100 684,100 15,000 5,000 -

31 ธันวาคม 2559 2558

ทุนชาระแล้ว

บริษ(เดิ ัท บีมซชืีพ่อจี บริ ี จำกัษดัท(มหำชน) บีซีพีจี จำและบริ �กัด) ษัทย่อย (เดิมหมายเหตุ ชื่ อ บริษัท บีปซระกอบงบการเงิ ีพจี ี จำกัด) น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

61

700,169 6,333,337

-

-

31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

31 ธันวาคม 2559 2558

700,169 14,999 5,000 6,353,336

การด้อยค่า

ราคาทุน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

173

700,169 14,999 5,000 6,353,336

700,169 6,333,337

31 ธันวาคม 2559 2558

ราคาทุน-สุทธิจากการ ด้อยค่า

158,308 1,489,071

6,591 42,741

เงินปั นผล สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี สาหรับปี ตั้งแต่วนั ที่ 17 สิ้นสุดวันที่ กรกฎาคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริษษัทัทบีบีซีพซีพีจี จี จำี �จกัำกัด ด(มหาชน) ) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิปมระกอบงบกำรเงิ ชื่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคม น2559 บริ ษทั ย่อยทั้งหมดดาเนินธุรกิจในประเทศไทยและประเทศสิ งคโปร์ เมื่ อวันที่ 1 กุม ภาพัน ธ์ 2559 บริ ษ ัทได้จดั ตั้ง BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. เป็ นนิ ติ บุค คลที่ จัด ตั้งขึ้ นใน ประเทศสิ งคโปร์ เพื่อลงทุนในต่างประเทศ โดยบริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 100 ทุนจดทะเบี ยน 40,000 สิ งคโปร์ ดอลลาร์ แบ่งเป็ น 40,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 สิ งคโปร์ ดอลลาร์ บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้เรี ยกชาระค่าหุ น้ จานวน 1 หุ น้ และรับ ชาระค่าหุน้ เป็ นจานวนเงิน 1 สิ งคโปร์ดอลลาร์

174

รายงานประจำ�ปี 2559

เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2559 บริ ษทั ได้จดั ตั้ง บริ ษทั บี ซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 1 จากัด เป็ นนิ ติบุคคลที่ จดั ตั้งขึ้ นใน ประเทศไทยเพื่อพัฒนาและดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวล โดยบริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 ทุนจดทะเบียน 100,000 บาท แบ่ งเป็ น 1,000 หุ ้น มูลค่ าหุ ้นละ 100 บาท บริ ษทั ย่อยดังกล่าวได้เรี ยกชาระค่ าหุ ้นร้ อยละ 25 ของ จานวนหุน้ ที่ออกใหม่มูลค่าหุ น้ ละ 25 บาท เป็ นจานวนเงินรวม 25,000 บาท เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2559 บริ ษทั ได้จดั ตั้ง บริ ษทั บี ซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 2 จากัด เป็ นนิ ติบุคคลที่ จดั ตั้งขึ้ นใน ประเทศไทยเพื่ อพัฒนาและดาเนิ นธุ รกิ จโรงไฟฟ้ าพลังงานชี วมวล โดยบริ ษทั ถือหุ ้นร้อยละ 100 ทุนจดทะเบี ยน 100,000 บาท แบ่ งเป็ น 1,000 หุ ้น มูลค่ าหุ ้นละ 100 บาท บริ ษ ทั ย่อยดังกล่าวได้เรี ยกช าระค่ าหุ ้นร้อยละ 25 ของ จานวนหุน้ ที่ออกใหม่มูลค่าหุ น้ ละ 25 บาท เป็ นจานวนเงินรวม 25,000 บาท การเพิ่มเงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย ในการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั บี ซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 1 จากัด เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2559 ผูถ้ ือหุ ้นมีมติ อนุ มตั ิ การเพิ่มทุ นจดทะเบี ยนจากจานวน 100,000 บาท (แบ่งเป็ น 1,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 60 ล้าน บาท (แบ่งเป็ น 600,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) ซึ่ งบริ ษทั ย่อยได้เรี ยกชาระค่าหุ ้นร้อยละ 25 ของจานวนหุ ้นที่ ออกใหม่พ ร้อมทั้งได้รับชาระค่ าหุ ้นที่ ออกใหม่มูลค่ าหุ ้นละ 25 บาท เป็ นจานวนเงิ นรวม 15 ล้านบาท ในเดื อน มิถุนายน 2559 ในการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั บี ซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 2 จากัด เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2559 ผูถ้ ือหุ ้นมีมติ อนุ มตั ิ การเพิ่มทุ นจดทะเบี ยนจากจานวน 100,000 บาท (แบ่งเป็ น 1,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 20 ล้าน บาท (แบ่งเป็ น 200,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) ซึ่ งบริ ษทั ย่อยได้เรี ยกชาระค่าหุ ้นร้อยละ 25 ของจานวนหุ ้นที่ ออกใหม่ พ ร้ อมทั้งได้รับช าระค่ าหุ ้นที่ ออกใหม่ มูลค่ าหุ ้นละ 25 บาท เป็ นจานวนเงิ นรวม 5 ล้านบาท ในเดื อน มิถุนายน 2559

62


ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 เพิ่มขึ้น ได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 4) โอน จาหน่าย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

11 ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์

188,114 17,082 860 (19,846) 186,210 622 1,030 19,701 (92) 207,471

368,340 265,337 61,573 62,350 (15,796) 741,804

อาคาร

368,340 -

ที่ดิน

1,025,220 9,240 41,008 26,817 44 1,102,329

1,035,834 217,655 19,916 (248,185)

63

ส่วนปรับปรุ งที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมมชืชื่​่ออ บริ (เดิ บริษษัทัท บีบีซซีพีพจี ีจี ี จจำำกั�กัดด) ) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิ หมายเหตุ ระกอบงบการเงินน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

152,780 24,744 15 (39,131) 138,408 1,848 11,698 3,035 (119) 494 155,364

9,693,738 2,998,648 (35) (3,510,193) 9,182,158 5,770 1,001,069 1,420,004 (31,369) 11,577,632

เครื่ องจักรและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ สานักงาน (พันบาท)

งบกำรเงินรวม

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

175

14,738 26,406 (20,776) 20,368 2,998,933 292,753 (1,574,576) (60,713) 1,676,765

10,602 1,843 (788) 11,657 3,217 1,221 37 16,132

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง

10,932,361 3,284,967 1,410,352 (42,669) (119) (107,395) 15,477,497

11,464,146 3,286,378 (20) (3,818,143)

รวม


ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 9,607 7,534 (2,915) 14,226 7,719 (6) 21,939

-

อาคาร

-

ที่ดิน

70,925 49,510 (244) 120,191

62,676 43,324 (35,075)

64

ส่วนปรับปรุ งที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

บริษบริ ัท บีษซัทีพบีจี ซี จีพำกัีจีดจำ�(มหำชน) และบริและบริ ษัทย่อษยัทย่อย กัด (มหาชน) (เดิม(เดิ ชื่ อ มบริชื่อษัทบริบีษซัทีพบีจี ีซจีพำกัีจดี จำ) �กัด) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม

572,569 483,930 (3,771) 1,052,728

691,392 399,297 (518,120) 50,087 29,729 (11) (61) 79,744

40,630 24,414 (14,957)

เครื่ องจักรและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ สานักงาน (พันบาท)

176

รายงานประจำ�ปี 2559

5,050 3,223 (10) 8,263

3,475 2,098 (523)

ยานพาหนะ

-

-

งานระหว่าง ก่อสร้าง

712,857 574,111 (11) (4,092) 1,282,865

807,780 476,667 (571,590)

รวม


ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน 178,507 178,507

171,984 171,984 185,532 185,532

368,340 368,340

741,804 741,804

อาคาร

368,340 368,340

ที่ดิน

982,138 982,138

954,295 954,295

973,158 973,158

65

ส่วนปรับปรุ งที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

บริษัทบริบีษซัทีพบีจี ซี จีพำกัีจดี จำ(มหำชน) และบริและบริ ษัทย่อษยัทย่อย �กัด (มหาชน) (เดิมชื(เดิ ่ อ มบริชื่อษัทบริบีษซัทีพจีบี​ี ซจีพำกัีจดี จำ) �กัด) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

112,150 112,150

88,321 88,321 75,620 75,620

9,002,346 9,002,346

8,609,589 8,609,589 10,524,904 10,524,904

เครื่ องจักรและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ สานักงาน (พันบาท)

งบกำรเงินรวม

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

177

7,869 7,869

6,090 517 6,607

6,099 1,028 7,127

ยานพาหนะ

1,676,765 1,676,765

20,368 20,368

14,738 14,738

งานระหว่าง ก่อสร้าง

14,194,632 14,194,632

10,218,987 517 10,219,504

10,655,338 1,028 10,656,366

รวม


66

ต้นทุนการกูย้ ืมที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้ าใหม่ได้บนั ทึกเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุนสิ นทรัพย์จานวน 16.82 ล้านบาท (2558:ไม่ มี) มีอตั ราดอกเบี้ยที่รับรู ้ร้อยละ 3.25 (2558: ไม่ ม)ี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาจานองที่ ดิน อาคารและเครื่ องจักรและอุปกรณ์กบั สถาบันการเงิ นเพื่อเป็ นหลักประกันวงเงินสิ นเชื่ อที่ ได้รับจากสถาบันการเงิ น เหล่านั้นเป็ นจานวน 13,021 ล้านบาท (2558: 3,043 ล้ านบาท) (ดูหมายเหตุ 14)

จำ�กัด (มหาชน) บริษัทบริ บีซษีพัทจี บี​ี จซำกัีพดีจี (มหำชน) และบริษและบริ ัทย่อยษัทย่อย ซีพดีจ) ี จำ�กัด) (เดิมชื่ อ(เดิบริมษชื่อัท บีบริซษีพัทจี ี บีจำกั หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

178

รายงานประจำ�ปี 2559


ราคาทุน ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 16,931 16,931 218 17,149

-

อาคาร

-

ที่ดิน

213,110 9,240 222,350

213,110

ส่วนปรับปรุ ง ที่ดินและระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีบริ ซีพษจี ัที จบีำกัซดีพีจ(มหำชน) และบริษัทและบริ ย่อย ษัทย่อย ี จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่ อ (เดิ บริษมัทชื่อบีซบริีพษจี ัที จบีำกัซดีพ) ีจี จำ�กัด) ประกอบงบการเงิ น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุหมายเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

67

24,398 24,398 410 24,808

2,999,749 2,999,749 3,608 3,003,357

เครื่ องจักรและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ สานักงาน (พันบาท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

179

265 3,217 3,482

265

ยานพาหนะ

312 4,716 (312) 4,716

312

งานระหว่าง ก่อสร้าง

3,254,765 21,409 (312) 3,275,862

3,254,765

รวม


มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 17 กรกฎำคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

16,863 16,286

-

68 795 863

-

-

68

อาคาร

-

ที่ดิน

212,229 211,084

-

881 10,385 11,266

881

ส่วนปรับปรุ ง ที่ดินและระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด) (เดิมชื่ อ บริ ษัท บีซีพประกอบงบการเงิ จี ี จำกัด) หมายเหตุ น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

68

2,987,393 2,845,499

-

12,356 145,502 157,858

12,356

24,032 20,525

-

366 3,917 4,283

366

เครื่ องจักรและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ สานักงาน (พันบาท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

180

รายงานประจำ�ปี 2559

11

254 2,764

-

11 707 718

-

ยานพาหนะ

312 4,716

-

-

-

งานระหว่าง ก่อสร้าง

3,241,083 3,100,874

-

13,682 161,306 174,988

13,682

รวม


69

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ได้ทาสัญญาจานอง อาคารและเครื่ องจักรและอุปกรณ์กบั สถาบันการเงินเพื่อเป็ นหลักประกันวงเงินสิ นเชื่ อที่ได้รับจากสถาบันการเงินเหล่านั้นเป็ น จานวน 3,073 ล้านบาท (ดูหมายเหตุ 14)

การค้าประกัน

บริษัทบริ บีซษีพัทจี บี​ี จซำกั และบริษและบริ ัทย่อยษัทย่อย ีพดีจี (มหำชน) จำ�กัด (มหาชน) มชืษ่อัท บริ (เดิมชื(เดิ ่ อ บริ บีซษีพัทจี ีบีจซำกัีพดีจ)ี จำ�กัด) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

181


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิษมชืัท่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย (เดิ มชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 12

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน งบกำรเงินรวม สัญญาซื้อ สิ ทธิในการ ขายไฟฟ้า เชื่อมโยงระบบ แบบ Feedจาหน่ายไฟฟ้า in Tariff (พันบาท)

182

รายงานประจำ�ปี 2559

ลิขสิ ทธิ์ การใช้ และต้นทุน พัฒนาโปรแกรม หมายเหตุ สาเร็ จรู ป ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ได้มาจากการซื้ อธุรกิจ เพิม่ ขึ้น จาหน่าย โอน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

4

1,646 -

17,823

1,646 447 (2) 2,091

17,823 84,111 11,409 (4,144) 11,409 1,360 121,968

1,680,425 47,115 1,727,540

สิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตน ระหว่าง การพัฒนา

รวม

-

1,646 17,823

25,110 154,268 20,295 (8,559) 191,114

19,469 1,789,646 166,124 (4,144) 31,704 39,914 2,042,713 X

ค่าตัดจาหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี จาหน่าย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

385 498

70

-

-

385 568

883 461 1,344

70 4,481 (86) (191) 4,274

22,466 (1,201) 21,265

-

953 27,408 (86) (1,392) 26,883

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558

1,261

-

-

-

1,261

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559

763

17,753

-

-

18,516

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

747

117,694

70

1,706,275

191,114

2,015,830


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บีซษีพัทจี บี​ี จซำกัีพดีจี (มหำชน) (เดิบริ มชืษ่อัทบริ จำ�กัด) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อปบริ ษัท บีซีพจี ี จำกันด)สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ลิขสิ ทธิ์การใช้ และต้นทุน พัฒนาโปรแกรม สาเร็ จรู ป ราคาทุน ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

รวม

-

17,823

-

17,823

400 400

17,823 17,823

1,330 1,330

17,823 1,730 19,553

70

-

70

11 11

70 826 896

-

70 837 907

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที่ 17 กรกฎำคม 2558

-

-

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559

-

17,753

-

17,753

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

389

16,927

1,330

18,646

71

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

-

183

ค่าตัดจาหน่ าย ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 1 มกรำคม 2559 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สิ นทรัพย์ สิ ทธิในการ ไม่มีตวั ตน เชื่อมโยงระบบ ระหว่างการ จาหน่ายไฟฟ้า พัฒนา (พันบาท)


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 13

เจ้ ำหนีอ้ ื่น หมายเหตุ กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน

4,455 175,630 106,040 23,309 309,434

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท) 63,220 4,062 63,413

5,710 40,052 11,363 120,345

2,514 16,604 21,213 44,393

10 6 9,187 72,616

ประเภทสกุลเงินตราของเจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558

184

รายงานประจำ�ปี 2559

กิจการอื่น เจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย อื่น รวม

5

งบกำรเงินรวม 2559 2558

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินปอนด์สหราชอาณาจักร สกุลเงินเยน รวม

88,557 220,877 309,434

72

(พันบาท) 119,759 366 220 120,345

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 44,393 44,393

72,396 220 72,616


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 14

หนีส้ ิ นที่มภี ำระดอกเบีย้ หมายเหตุ

89,769

1,103,962

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

-

-

-

145,475

825,722

-

5

-

210,000

-

210,000

เงินกู้ยืมระยะยำวจำกกิจกำรที่ เกีย่ วข้ องกันส่ วนที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน

5

-

300,199

-

300,199

-

171

-

-

825,722

510,199

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่ วน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี รวมส่ วนที่หมุนเวียน

1,193,731

73

655,845

185

เงินกู้ยืมระยะสั้ นจำกกิจกำร ที่เกีย่ วข้ องกัน ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ส่ วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้ นจำกสถำบัน กำรเงิน ส่ วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบัน กำรเงินส่ วนที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ส่ วนที่มีหลักประกัน

งบกำรเงินรวม 2559 2558


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ บริ ด) ษัทษบีัทซบี​ีพซีจีพี จำจี �ีกัจดำกั(มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดปวันระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 หมายเหตุ ส่ วนที่ไม่ หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบัน กำรเงิน ส่ วนที่มีหลักประกัน

186

รายงานประจำ�ปี 2559

เงินกู้ยืมระยะยำวจำกกิจกำรที่ เกีย่ วข้ องกัน ส่ วนที่ไม่มีหลักประกัน

งบกำรเงินรวม 2559 2558

8,956,492

5

รวมส่ วนที่ไม่ หมุนเวียน รวม

-

1,246,644

5,692,330

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

4,950,966

-

-

5,692,330

8,956,492

6,938,974

4,950,966

5,692,330

10,150,223

7,594,819

5,776,688

6,202,529

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่ งไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบกาหนดการจ่ายชาระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558 ครบกาหนดภายในหนึ่งปี ครบกาหนดหลังจากหนึ่ งปี แต่ไม่เกินห้าปี ครบกาหนดหลังจากห้าปี รวม

1,193,731 3,613,655 5,342,837 10,150,223

74

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

(พันบาท) 655,674 825,722 4,829,687 2,312,757 2,109,287 2,638,209 7,594,648 5,776,688

510,199 4,190,795 1,501,535 6,202,529


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริษัทษัทบีซบี​ีพซีพีจี จี จำี �จกัำกัดด(มหาชน) ) และบริษัทย่อย (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพนีจี จำ�กัด) หมำยเหตุ น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคม 2559 ณ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินกูย้ ืมกับสถาบันการเงินโดยมีรายละเอียด ดังนี้ วงเงิน ดอกเบี้ย สกุลเงิน (ล้าน) อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี ระยะเวลาชาระคืน 450

บริ ษทั

บาท

270

บริ ษทั

บาท

750

บริ ษทั

บาท

1,050

บริ ษทั

บาท

630

บริ ษทั

บาท

1,750

บริ ษทั

เยนญี่ปุ่น

4,200

บริ ษทั

เยนญี่ปุ่น

570

บริ ษทั

เยนญี่ปุ่น

9,800

บริ ษทั

เยนญี่ปุ่น

1,330

บริ ษทั ย่อยทางตรง บริ ษทั ย่อยทางตรง บริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ย่อยทางอ้อม บริ ษทั ย่อยทางอ้อม

บาท

1,508 12

THBFIX 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม FDR 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม FDR 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม JPYTIBOR 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม JPYTIBOR 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม JPYTIBOR 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม JPYTIBOR 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราส่ วนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ยคงที่

เหรี ยญ สหรัฐฯ เยนญี่ปุ่น

1,366

อัตราดอกเบี้ยคงที่

เยนญี่ปุ่น

1,000

อัตราดอกเบี้ยคงที่

เยนญี่ปุ่น

900

อัตราดอกเบี้ยคงที่

เยนญี่ปุ่น

700

อัตราดอกเบี้ยคงที่

เยนญี่ปุ่น

4,176

อัตราดอกเบี้ยคงที่ 75

ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 15 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2559 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 15 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2559 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 27 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2559 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 17 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2560 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 17 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2560 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 29 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2560 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 27 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2559 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 15 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2559 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 29 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2560 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 17 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนธันวาคม 2560 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 20-34 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนสิ งหาคม 2556 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 34 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนสิ งหาคม 2556 ชาระเงินต้นทุกไตรมาส จานวน 68 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนกันยายน 2559 ชาระเงินต้นทุกไตรมาส จานวน 68 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนกันยายน 2559 ชาระเงินต้นทุกไตรมาส จานวน 68 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนกันยายน 2559 ชาระเงินต้นทุกไตรมาส จานวน 68 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนกันยายน 2559 ชาระคืนเงินต้นทุกหกเดือน จานวน 34 งวด โดยปี แรกชาระในเดือนกันยายน 2560

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บาท

187

บริ ษทั


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ บริ ด) ษัทษบีัทซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี กัจดำกั(มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 สัญญาเงินกูย้ ืมดังกล่าวได้ระบุเงื่อนไขบางประการเกี่ยวกับการรักษาอัตราส่ วนทางการเงิน และการโอนสิ ทธิ สัญญา ต่างๆ เงินกูย้ ืมดังกล่าวค้ าประกันโดยการจดจานองที่ ดิน อาคาร ส่ วนปรับปรุ งที่ดินและระบบสาธารณู ปโภค และ เครื่ องจักร หนี้ สินที่ มีภาระดอกเบี้ยส่ วนที่ มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่ งเป็ นสิ นทรัพย์ ดังนี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558 13,020,769 13,020,769

(พันบาท) 3,043,042 3,072,868 3,043,042 3,072,868

-

ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี้

188

รายงานประจำ�ปี 2559

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

งบกำรเงินรวม 2559 2558 สกุลเงินบาท สกุลเงินเยน รวม

5,886,196 4,264,027 10,150,223

76

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

(พันบาท) 7,594,819 4,639,552 1,137,136 7,594,819 5,776,688

6,202,529 6,202,529


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 หนี้สินตามสัญญาเช่ าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้ 2559 มูลค่าปัจจุบนั ของจานวน เงินขั้นต่าที่ ต้องจ่าย -

-

-

-

2558

มูลค่าอนาคต มูลค่าปัจจุบนั ของจานวนเงิน ของจานวน ขั้นต่าที่ตอ้ ง เงินขั้นต่าที่ จ่าย ต้องจ่าย (พันบาท) 171 -

171

ดอกเบี้ย

มูลค่าอนาคต ของจานวน เงินขั้นต่าที่ ต้องจ่าย

2

173

-

173

2

งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

งบแสดงฐำนะกำรเงิน ภำระผูกพันในงบแสดงฐำนะกำรเงิน สำหรับ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

4,555 4,555

77

260 260

1,675 1,675

119 119

189

15 ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ครบกาหนดชาระหลังจากหนึ่งปี แต่ ไม่เกินห้าปี รวม

ดอกเบี้ย

งบกำรเงินรวม


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ ษบริัทษบีัทซีพบีซีจี ีพจำจี�กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชื่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน2559 งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี ตั้งแต่วนั ที่ 17 สาหรับปี กรกฎาคม สิ้ นสุ ดวันที่ 31 2558 ถึงวันที่ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 31 ธันวาคม 2559 2558 2559 2558 (พันบาท)

190

รายงานประจำ�ปี 2559

งบกำไรขำดทุน รับรู้ ในกำไรหรื อขำดทุน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รับรู้ ในกำไรขำดทุนเบดดเสรดจอื่น กาไรจากการประมาณตามหลักการ คณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู ้ในระหว่าง ปี /งวด กาไรสะสมจากการประมาณตามหลักการ คณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู ้

4,718 4,718

240 240

1,577 1,577

119 119

21

231

21

-

252

231

21

-

โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้มีความเสี่ ยงจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ได้แก่ ความ เสี่ ยงของช่วงชีวิต ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ ยงจากตลาด (เงินลงทุน)

78


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ บริ ด) ษัทษบีัทซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี กัจดำกั(มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) หมำยเหตุ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2559

สาหรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม

สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี ตั้งแต่วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม

2559

2558

2558

(พันบาท) 251 -

119 -

-

4,710 8 4,718

229 11 240

1,574 3 1,577

119 119

(21) 341 320

(231) (231)

(21) (21)

-

อื่น ๆ ผลประโยชน์จ่าย

(6,425)

-

-

-

ภำระผูกพันของโครงกำรผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม

4,555

260

1,675

119

รับรู้ ในกำไรขำดทุน ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รับรู้ ในกำไรขำดทุนเบดดเสรดจอื่น กาไรจากการประมาณตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน

191

260 5,682

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม / 17 กรกฎาคม ได้มาจากการซื้ อธุรกิจ

79


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อบริบริ ด) ษัทษัทบีซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี กัจดำกั(มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู ้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น เกิดขึ้นจาก งบกำรเงินรวม 2559 2558 สมมติฐานประชากร สมมติฐานทางการเงิน การปรับปรุ งจากประสบการณ์ รวม

(3) (18) (21)

(พันบาท) (375) 53 91 (231)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (3) (18) (21)

-

192

รายงานประจำ�ปี 2559

ข้ อสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ข้อสมมติ หลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่ รายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลี่ ยถ่วง น้ าหนัก) ได้แก่ งบกำรเงินรวม 2559 2558 อัตราคิดลด (ร้อยละ) 3.14-3.95 การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (ร้อยละ) 6 อัตราการลาออก (ร้อยละ) 0-19 อายุเกษียณ (ปี ) 60

2.83-3.95 6 1-19 60

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 3.14 6 0-8 60

2.83 6 1-7 60

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กาหนดไว้เป็ น 23 - 31 ปี (2558: 16 - 32 ปี )

80


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่บริ อ บริ ด) ษัทษบีัทซบี​ีพซีจีพี จำจี �ี กัจดำกั(มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 การวิเคราะห์ ความอ่ อนไหว การเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อสมมติที่เกี่ ยวข้องในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่ อาจเป็ นไปได้ อย่างสมเหตุ สมผล ณ วันที่ รายงาน โดยถื อว่าข้อสมมติ อื่นๆ คงที่ จะมี ผลกระทบต่ อภาระผูกพันผลประโยชน์ที่ กาหนดไว้เป็ นจานวนเงินดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม เพิ่มขึ้น

ลดลง

ลดลง

341

(219)

265

328 (296)

(273) 215

254 (232)

(216) 191

เพิ่มขึ้น

(พันบาท)

ลดลง

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เพิ่มขึ้น

ลดลง

(43)

56

(10)

12

51 (47)

(41) 22

10 (11)

(8) 7

แม้วา่ การวิเคราะห์น้ ีไม่ได้คานึงการกระจายตัวแบบเต็มรู ปแบบของกระแสเงินสดที่คาดหวังภายใต้โครงการดังกล่าว แต่ได้แสดงประมาณการความอ่อนไหวของข้อสมมติต่างๆ

81

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

(277)

งบกำรเงินรวม ภำระผูกพันของโครงกำรผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 1) อัตราการลาออก (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1)

เพิ่มขึ้น

193

ภำระผูกพันของโครงกำรผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 1) อัตราการลาออก (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1)

(พันบาท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

194

รายงานประจำ�ปี 2559

16

ทุนเรื อนหุ้น

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม - หุน้ สามัญ เพิ่มทุน ลดมูลค่าหุน้ - จาก 10 บาท เป็ น 5 บาท ออกหุ น้ ใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม - หุ้นสำมัญ - หุ้นสำมัญ ทุนที่ออกและชาระแล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุน้ สามัญ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม - หุน้ สามัญ เพิ่มทุน ลดมูลค่าหุน้ - จาก 10 บาท เป็ น 5 บาท ออกหุ น้ ใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม - หุ้นสำมัญ - หุ้นสำมัญ

มูลค่าหุน้ ต่อหุน้ (บาท)

2559 จานวนหุน้

10

370,000

10 10

-

2558 จานวนเงิน จานวนหุน้ (พันหุ้ น/พันบาท)

3,700,000 -

2,000 368,000

5 5

370,000 1,260,000

6,300,000

-

10 5

2,000,000

10,000,000

370,000 -

10

370,000

3,700,000

-

10 10

-

-

2,000 368,000

5 5

370,000 1,250,000

6,250,000

-

10 5

1,990,000

9,950,000

370,000 -

82

จานวนเงิน

20,000 3,680,000 3,700,000 -

20,000 3,680,000 3,700,000 -


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั มีมติอนุมตั ิรายการดังต่อไปนี้ 

เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ ้นทุนจดทะเบี ยนของบริ ษทั ที่ ตราไว้จากเดิมมูลค่าหุ ้นละ 10 บาท เป็ นมูลค่าหุ ้นละ 5 บาท ซึ่ งมี ผลทาให้จานวนทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เปลี่ยนแปลงจานวนหุน้ สามัญจาก 370 ล้านหุ น้ เป็ น 740 ล้านหุ น้ การ เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุน้ ดังกล่าวไม่ทาให้ทุนจดทะเบียนโดยรวมของบริ ษทั เปลี่ยนแปลง บริ ษทั ได้จดทะเบียนการ เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุน้ ดังกล่าวกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559

เพิ่มทุนจดทะเบี ยนของบริ ษทั จาก 3,700 ล้านบาท (จานวน 740 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 5 บาท) เป็ น 10,000 ล้าน บาท (จานวน 2,000 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 5 บาท) โดยบริ ษทั ได้รับชาระเงิ นค่าหุ ้นจากการเพิ่มทุนจดทะเบี ยน จานวน 660 ล้านหุ น้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาท เป็ นจานวนเงิน 3,300 ล้านบาท เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 บริ ษทั ได้จด ทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์สาหรับการรับชาระค่าหุน้ เพิ่มทุนดังกล่าวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2559

195

การเสนอขายหุ้นใหม่ ต่อประชาชนทั่วไปเป็ นครั้ งแรก ในเดือนกันยายนปี 2559 บริ ษทั ได้เสนอขายหุ น้ ใหม่ต่อประชาชนทัว่ ไปเป็ นครั้งแรกเสร็ จสิ้ นจานวน 590 ล้านหุ ้น ในราคาหุ ้นละ 10 บาท (มูลค่าที่ ตราไว้ 5 บาท และส่ วนเกินมูลค่าหุ ้น 5 บาท) เป็ นจานวนเงินรวม 5,900 ล้านบาท ซึ่ งมี ส่วนเกิ นมู ลค่ าหุ ้นเป็ นจานวนเงิ น 2,950 ล้านบาท โดยมี ค่ าใช้จ่ายที่ เกี่ ยวข้องโดยตรงกับการเสนอขายหุ ้น จานวนเงิน 129.10 ล้านบาท แสดงหักจากส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ ที่ได้รับจากการเสนอขายหุ น้ ใหม่ โดยหุ น้ ของบริ ษทั เริ่ มการซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในวันที่ 28 กันยายน 2559 17

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ต่อมาในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่อวันที่ 17 สิ งหาคม 2559 ที่ ประชุ มมี มติ อนุ มตั ิ เสนอขายหุ ้นใหม่ ให้แก่ประชาชนเป็ นการทัว่ ไปครั้งแรกจานวน 590 ล้านหุ น้ และอนุมตั ิให้นาหุ น้ สามัญของบริ ษทั เข้าจดทะเบียนเป็ น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ส่ วนเกินทุน ส่ วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้ างธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน ผลต่ างระหว่างมู ลค่ าตามบัญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์สุ ท ธิ ข องบริ ษ ทั ย่อย ณ วัน จัด โครงสร้ างธุ ร กิ จกับ ต้นทุ น การจัด โครงสร้างธุ รกิ จภายใต้การควบคุมเดี ยวกันรวมอยู่ในส่ วนเกิ นทุนจากการจัดโครงสร้างธุ รกิ จภายใต้การควบคุม เดียวกันที่บนั ทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุน้

83


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ที่บริ ษทั เสนอขายหุ น้ สู งกว่า มูลค่าหุ น้ ที่จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนาค่าหุน้ ส่ วนเกินนี้ ต้ งั เป็ นทุนสารอง (“ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ”) ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ นี้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ 18

สำรอง สารองประกอบด้วย การจัดสรรกาไร และ/หรื อ กาไรสะสม สำรองตำมกฎหมำย

196

รายงานประจำ�ปี 2559

ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริ ษทั จะต้องจัดสรรทุ นสารอง (“สารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า สารองดังกล่าวมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสารองนี้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของผู้ถอื หุ้น ผลต่ ำงจำกกำรแปลงค่ ำงบกำรเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่ วนของเจ้าของประกอบด้วยผลต่างการแปลงค่าทั้งหมดจากงบการเงิน ของหน่วยงานในต่างประเทศ 19

ส่ วนงำนดำเนินงำน ส่ วนงานธุรกิจ ผูบ้ ริ ห ารเห็ น ว่ ากลุ่ ม บริ ษ ัท ด าเนิ น กิ จการในส่ ว นงานเดี ย วคื อ ธุ ร กิ จผลิ ต และจ าหน่ ายพลังงานไฟฟ้ าจากเซลล์ แสงอาทิตย์ ดังนั้นฝ่ ายบริ หารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริ ษทั มีส่วนงานที่รายงานเพียงส่ วนงานเดียว

84


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริซีพษัทีจี จำบี�ซกัีพดจี ี (มหาชน) (เดิ จำกัด) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ส่ วนงานภูมิศาสตร์ ในการนาเสนอจาแนกส่ วนงานภูมิศาสตร์รายได้จากการขายและบริ การแยกตามที่ต้ งั ทางภูมิศาสตร์ ของลูกค้า และ สิ น ทรั พ ย์ไม่ หมุ นเวียน (ไม่ รวมตราสารอนุ พ นั ธ์ และภาษี เงิ นได้รอการตัด บัญ ชี ) แยกแสดงตามสถานที่ ต้ งั ทาง ภูมิศาสตร์ของสิ นทรัพย์ รำยได้

2559 ไทย ญี่ปุ่น รวม

2,830,600 253,313 3,083,913

2558

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน 2559 2558

(พันบาท) 3,024,226 10,232,324 6,065,399 3,024,226 16,297,723

10,239,443 10,239,443

20

197

รายได้จากการขายของกลุ่มบริ ษทั ส่ วนใหญ่ จานวนเงิ นประมาณ 2,830.60 ล้านบาท (2558: 3,024.23 ล้ านบาท) ประกอบด้วยรายได้จากการขายไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยและการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค รำยได้ จำกกำรขำยและบริกำร งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ 2559 2558 2559 2558 (พันบาท) รายได้ค่าพลังงานไฟฟ้า 1,059,980 912,955 204,451 19,263 รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้ อไฟฟ้า 2,023,933 2,111,271 513,596 45,188 รายได้ค่าบริ การ 28,800 4,220 5 รวม 3,038,913 3,024,226 746,847 68,671

85

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ลูกค้ ารายใหญ่


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริซีพษัทีจี บีจำ�ซกัีพดจี ี (มหาชน) (เดิ จำกัด) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อ บริ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 21

รำยได้ จำกกำรลงทุน งบกำรเงินรวม

หมายเหตุ

198

รายงานประจำ�ปี 2559

เงินปันผลรั บ บริ ษทั ย่อย ดอกเบี้ยรั บ บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ย่อยทางอ้อม สถาบันการเงิน รวม

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

5

-

-

1,489,071 1,489,071

42,741 42,741

5

26,764 26,764 26,764

13,677 13,677 13,677

53,961 21,017 74,978 1,564,049

1,917 1,917 44,658

86


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 22

ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรบริหำร งบกำรเงินรวม

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 6,775 7,195 8,745 2,631 6,368 13,724 45,438

ค่ ำใช้ จ่ำยผลประโยชน์ ของพนักงำน งบกำรเงินรวม

หมายเหตุ ผู้บริ หารที่สาคัญ เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยง ชีพ อื่นๆ 5

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี สิ้ นสุ ด บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

40,391

1,105

19,721

1,105

887 13,452 54,730

40 74 1,219

887 5,199 25,807

40 74 1,219

87

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

23

210,342 8,025 13,682 34,155 209,530 124,436 600,170

199

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าจ้างบริ หารงาน ค่าใช้จ่ายการเดินทาง ค่าที่ปรึ กษา อื่นๆ รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี สิ้ นสุ ด บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท) 65,313 1,700 725 5,769 13,680 245 17,750 1,888 168,974 5,041 60,721 2,846 327,163 17,489


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิบริ มชืษ่ อัทบริบีษซัทีพีจบี​ี ซจำีพ�กัจี ดี จำกั ด) และบริษัทย่อย (มหาชน) (เดิมชื่อประกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ2559 �หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรั บปี สิ้นสุปดระกอบงบการเงิ วันที่ 31 ธันวำคม งบกำรเงินรวม

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

200

รายงานประจำ�ปี 2559

พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พ อื่นๆ รวม

113,303 2,294 51,515 167,112 221,842

10,561 294 3,286 14,141 15,360

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี สิ้ นสุ ด บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท) 19,388 1,949 18,169 39,506 65,313

970 66 86 1,122 2,341

โครงการสมทบเงินที่กาหนดไว้ บริ ษทั ได้จดั ตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พสาหรับพนักงานของบริ ษทั บนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็ น สมาชิ กของกองทุ น โดยพนักงานจ่ ายเงิ นสะสมในอัตราร้อยละ 5 หรื อ 10 ของเงิ นเดื อนทุ กเดื อน และบริ ษทั จ่ าย สมทบในอัตราร้อยละ 5 หรื อ 10 ของเงิ นเดื อนของพนักงานทุกเดื อน กองทุนสารองเลี้ยงชี พนี้ ได้จดทะเบี ยนเป็ น กองทุนสารองเลี้ยงชีพตามข้อกาหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจ้ ดั การกองทุนที่ได้รับอนุญาต

88


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 24

ค่ ำใช้ จ่ำยตำมลักษณะ งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิ ดเผยตามข้อกาหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับต่างๆ ดังนี้ งบกำรเงินรวม

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี สาหรับปี สิ้ นสุ ด ตั้งแต่วนั ที่ 17 วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

469,987 809

160,592 826

7,942 41

รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการบริ หาร ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่าย

7,564 461

6,680 515

714 11

5,740 29

89

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

566,547 26,947

201

รวมอยู่ในต้ นทุนขายและบริ การ ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่าย


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีซบริีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 25

ต้ นทุนทำงกำรเงิน งบกำรเงินรวม

202

รายงานประจำ�ปี 2559

หมายเหตุ ดอกเบี้ยจ่ าย บริ ษทั ใหญ่ สถาบันการเงิน รวมดอกเบีย้ จ่ ำย ค่าตัดจาหน่ายของต้นทุนการ ทารายการส่ วนที่บนั ทึกรวม กับเงินกูย้ ืม ต้นทุนทางการเงินอื่น หั ก จานวนที่รวมอยูใ่ นต้นทุน ของส่ วนที่บนั ทึกเป็ น ต้นทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ระหว่าง ก่อสร้าง รวม

5

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

99,505 219,861 319,366

16,983 184,860 201,843

99,505 101,136 200,641

16,983 16,983

46,352 422

6,507 24

36,969 -

216 -

(16,819) 349,321

208,374

237,610

17,199

90


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 26

ภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ที่รับรู้ในกาไรหรื อขาดทุน งบกำรเงินรวม

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

รวมค่ ำใช้ จ่ำย (ผลประโยชน์ ) ภำษีเงินได้

13,133 (25) 13,108

-

-

(20,016)

(1,693)

(8,730)

(506)

(20,016)

(1,693)

(8,730)

(506)

(19,051)

11,415

(8,730)

(506)

203

ภำษีเงินได้ รอกำรตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชัว่ คราว

965 965

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ภำษีเงินได้ ของงวดปัจจุบัน สาหรับปี ปัจจุบนั ภาษีงวดก่อนๆ ที่บนั ทึกสู งไป

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี สิ้ นสุ ด บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ถึง ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (พันบาท)

91


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจี นจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559 การกระทบยอดเพือ่ หาอัตราภาษีที่แท้ จริ ง

204

รายงานประจำ�ปี 2559

2559

กาไรก่อนภาษีเงินได้รวม จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ผลกระทบจากความแตกต่างของอัตราภาษี สาหรับกิจการในต่างประเทศ รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี/รายจ่ายที่มีสิทธิ หักได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี/รายการปรับปรุ ง ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีงวดก่อนๆ ที่บนั ทึกสู งไป กาไรจากการจาหน่ายเงินลงทุนภายใต้ การควบคุมเดียวกัน อื่นๆ รวม

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

งบกำรเงินรวม

(พันบาท) 1,522,274 304,455

อัตราภาษี (ร้ อยละ) 20

(556)

-

92

2558 (พันบาท) 2,158,787 431,757 -

(437,441) 2,185

(432,702) 339

103,046 -

(25)

9,260 (19,051)

10,118 1,928 11,415

0.53


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี ี จำกัด) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมปชืระกอบงบกำรเงิ ่อ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับหมายเหตุ ปี สิ้นสุ ดวัปนระกอบงบการเงิ ที่ 31 ธันวำคมน2559

(14,279) 116

54,213 8,415 (8,730)

1,928 (506)

-

-

-

การลดอัตราภาษีเงินได้ นิติบคุ คล พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 42 พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2559 ให้ปรับลดอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคลเหลืออัตราร้อยละ 20 ของกาไรสุ ทธิ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เป็ นต้นไป

93

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

(359,031) 1,177

205

กาไรก่อนภาษีเงินได้รวม จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี/รายจ่ายที่มีสิทธิ หักได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี/รายการปรับปรุ ง ผลขาดทุนในปี ปัจจุบนั ที่ไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี อื่นๆ รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ตั้งแต่วนั ที่ 17 กรกฎาคม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ธันวาคม 2559 2558 อัตราภาษี อัตราภาษี (ร้ อยละ) (พันบาท) (ร้ อยละ) (พันบาท) 1,432,482 58,647 20 286,496 20 11,729


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 27

สิ ทธิประโยชน์ จำกกำรส่ งเสริมกำรลงทุน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนอนุ มตั ิ ให้บริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์หลายประการในฐานะผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับ การผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่ งพอ สรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ (ก)

ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสาหรับเครื่ องจักรที่ได้รับอนุมตั ิโดยคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน

(ข)

ให้ได้รับยกเว้นภาษี เงิ นได้นิติบุ คคลสาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิ จการที่ ได้รับการส่ งเสริ มมี กาหนดเวลาแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น

รายได้ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

206

รายงานประจำ�ปี 2559

เนื่ องจากเป็ นกิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน บริ ษทั จะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้อกาหนดตามที่ระบุไว้ใน บัตรส่ งเสริ มการลงทุน

กิจการที่ได้รับการส่งเสริ มการลงทุน กิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริ มการลงทุน รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

สาหรับรอบระยะเวลา บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้นสุด กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2559 2558 2559 2558 (พันบาท) 2,830,600 3,018,320 718,047 58,545 253,313 5,906 28,800 10,126 3,083,913 3,024,226 746,847 68,671

รายได้ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนทั้งหมดนั้นเป็ นรายได้ที่เกิดจากการขายในประเทศ

94


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ษัทจำบี�กัซดีพจี (มหาชน) ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริษัทบริ บีซีพจี ี จซำกัีพดีจี (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ (เดิมชื่ อหมายเหตุ บริษัท บีปซระกอบงบการเงิ ีพจี ี จำกัด) น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับ28ปี สิ้นสุกดำไรต่ วันทีอ่หุ31้ นขัธั้ นนพืวำคม ้นฐำน2559 28

กำไรต่ อกหุาไรต่ ้ นขั้นอพืหุ้น้นฐำน ขั้นพื้นฐานสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 คานวณจากกาไรสาหรับปี ที่ เป็ น

ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ สามัญของบริ ษทั และจานวนหุ น้ สามัญที่ออกจาหน่ายแล้วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วง กาไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานสาหรับแต่ละปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 คานวณจากกาไรสาหรับปี ที่ เป็ น น้ าหนั ก โดยได้มี ก ารปรั บ จ านวนหุ ้ น สามัญ ตามสั ด ส่ ว นที่ เปลี่ ย นไปของจ านวนหุ ้ น สามัญ ที่ เกิ ด จากการ ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ สามัญของบริ ษทั และจานวนหุ น้ สามัญที่ออกจาหน่ายแล้วระหว่างปี ในแต่ละปี โดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วง เปลี่ ย นแปลงราคาหุ ้ น ที่ ต ราไว้จ ากมู ล ค่ า หุ ้ น ละ 10 บาท เป็ นมู ล ค่ า หุ ้ น ละ 5 บาท โดยให้ ถื อ เสมื อ นว่ า การ น้ าหนั ก โดยได้มี ก ารปรั บ จ านวนหุ ้ น สามัญ ตามสั ด ส่ ว นที่ เปลี่ ย นไปของจ านวนหุ ้ น สามัญ ที่ เกิ ด จากการ เปลี่ยนแปลงจานวนหุน้ ได้เกิดขึ้นตั้งแต่แรก เปลี่ ย นแปลงราคาหุ ้ น ที่ ต ราไว้จ ากมู ล ค่ า หุ ้ น ละ 10 บาท เป็ นมู ล ค่ า หุ ้ น ละ 5 บาท โดยให้ ถื อ เสมื อ นว่ า การ เปลี่ยนแปลงจานวนหุน้ ได้เกิดขึ้นตั้งแต่แรก งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

สาหรับรอบระยะเวลา งบกำรเงิ น เฉพำะกิ จ กำร สาหรับปี บัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 17 สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ สิ้ นสุ ดวันทีส่ าหรับรอบระยะเวลา กรกฎาคม 2558 ถึง ส าหรั บ ปี บั ญ ชี ต ง ั แต่ ้ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม วันวทีนั ่ ที31่ 17ธันวาคม สาหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ สิ้ นสุ ดวันที2559 ่ กรกฎาคม 25582558 ถึง 2559 2558 31 ธันวาคม ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม (พัน31 บาท/พั นหุ้น) 2559 2558 2559 2558 (พันบาท/พันหุ้น) 1,958,591 งบกำรเงินรวม

1,958,591 188,780

95

-

59,153

128,877

128,877

1,399,481 15.20

1.10

-

1.46 1.46

95

1,441,212

59,153 4,000 124,877 4,000 124,877128,877

15.20

1.10

-

188,780 4,000 1,441,212740,000 124,877 659,481 4,000 740,000 124,877128,877 659,481 1,399,481

-

-

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ถือหุ้นสำมัญเดิมก่อนกำรจัดโครงสร้ ำงธุรกิจ กำไรต่ อหุ้นขั้นพื้นฐำน (บาท) - ส่ วนที่เปด นของผู้ กำไรต่ อหุ้นขั้นพื้นฐำน (บาท) - ส่ วนที่เปด นของผู้ ถือหุ้นสำมัญเดิมก่อนกำรจัดโครงสร้ ำงธุรกิจ ถือหุ้นสำมัญของบริษัทหลังกำรจัดโครงสร้ ำง กำไรต่ อหุ้นธุขัร้นกิพืจ ้นฐำน (บาท) - ส่ วนที่เปด นของผู้ ถือหุ้นสำมัญของบริษัทหลังกำรจัดโครงสร้ ำง ธุรกิจ

207

กำไรส่ วนทีเ่ ปด นของผู้ถือหุ้นสำมัญเดิมก่ อน กำรจัดโครงสร้ ำงธุรกิจ กำไรส่ วนทีเ่ ปด นของผู้ถือหุ้นสำมัญเดิมก่ อน กำไรส่ วนที่เปด นของผู้ถือหุ้นสำมัญของบริษัท กำรจัดโครงสร้ ำงธุรกิจ หลังกำรจัดโครงสร้ ำงธุรกิจ 1,541,325 กำไรส่ วนที่เปด นของผู้ถือหุ้นสำมัญของบริษัท หลังกำรจั ดโครงสร้ 1,541,325740,000 จานวนหุ น้ สามัำงธุ ญทีร่อกิจอก ณ วันต้นปี /งวด ผลกระทบจากหุน้ สามัญที่ออกและจาหน่ายแล้ว 659,481 จานวนหุจน้ ำนวนหุ สามัญที้ น่อสำมั อกญณโดยวิ วันต้ธนีถปีัว/งวด 740,000 เฉลีย่ ถ่ วงน้ำหนัก ผลกระทบจากหุ 659,481 (ขั้นพืน้ ้นสามั ฐำน)ญที่ออกและจาหน่ายแล้ว 1,399,481 จำนวนหุ้นสำมัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถ่ วงน้ำหนัก (ขั้นพืก้นำไรต่ ฐำน)อหุ้นขั้นพื้นฐำน (บาท) - ส่ วนที่เปด นของผู้1,399,481

-

1.03 1.03

0.46 0.46


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 29

เงินปันผล ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 ที่ ประชุ มมีมติ อนุ มตั ิ จ่ายเงิ นปั นผลสาหรับผล ประกอบการไตรมาสสามของปี 2559 เป็ นเงิ นปั นผลระหว่างกาลในอัตราหุ ้นละ 0.15 บาท เป็ นจานวนเงิ นทั้งสิ้ น 298.50 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในวันที่ 9 มกราคม 2560 ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่ อวันที่ 17 ตุ ลาคม 2559 ที่ ประชุ มมี มติ อนุ มตั ิ จ่ายเงิ นปั นผลสาหรับผล ประกอบการของปี 2558 และงวด 6 เดือนแรกของปี 2559 เป็ นเงินปั นผลระหว่างกาลในอัตราหุน้ ละ 0.39 บาท เป็ น จานวนเงินทั้งสิ้ น 776.10 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559

30

เครื่ องมือทำงกำรเงิน

208

รายงานประจำ�ปี 2559

นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากการดาเนิ นธุ รกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และจากการไม่ปฏิบตั ิตาม ข้อกาหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการถือหรื อออกเครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพื่อ การเก็งกาไรหรื อการค้า การจัดการความเสี่ ยงเป็ นส่ วนที่สาคัญของธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั กลุ่มบริ ษทั มีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุล ของระดับความเสี่ ยงที่ ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่ เกิ ดจากความเสี่ ยงและต้นทุนของการจัดการความ เสี่ ยง ฝ่ ายบริ หารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ ยงของกลุ่มบริ ษทั อย่างต่อเนื่ องเพื่อให้มนั่ ใจว่ามี ความสมดุลระหว่างความเสี่ ยงและการควบคุมความเสี่ ยง การบริ หารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั คื อการรักษาระดับเงิ นทุนให้มนั่ คงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้ และความเชื่ อมัน่ ของตลาดและก่อให้เกิดการพัฒนาของธุ รกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการกากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั พิจารณาจากสัดส่ วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดาเนิ นงานต่อส่ วนของเจ้าของรวม อีกทั้งยังกากับ ดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ สามัญ

96


บริบริษษัทัทบีบีซซีพีพจี จี จี จำกัำกัดด(มหำชน) (มหำชน)และบริ และบริษัทย่อย (เดิ(เดิมมชืชื่ อ่ อบริบริษษัทัทบีบีซซีพีพจี จี ี จี จำกัำกัดด)) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ หมำยเหตุ (เดิมปปชืระกอบงบกำรเงิ ่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจีนนจำ�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ำหรับหมายเหตุ บปีปีสิสิ้น้นสุสุดดวัปวันระกอบงบการเงิ นทีที่ 31 ่ 31ธัธันนวำคม วำคมน2559 2559 สสำหรั ความเสี่ย่ยงด้งด้าานอั นอัตตราดอกเบี ราดอกเบี้ย้ย ความเสี ความเสี่ ย่ ยงด้งด้าานอั นอัตตราดอกเบี ราดอกเบี้ ย้ ย หมายถึ หมายถึงง ความเสี ความเสี่​่ยยงที ้ ยใน ความเสี งที่เ่เกิกิดดจากการเปลี จากการเปลี่ย่ยนแปลงที นแปลงที่จ่จะเกิ ะเกิดดในอนาคตของอั ในอนาคตของอัตราดอกเบี ตราดอกเบี ้ ยใน ตลาดซึซึ่ ง่ งส่ส่งงผลกระทบต่ ผลกระทบต่ออการด การดาเนิ าเนินนงานและกระแสเงิ งานและกระแสเงิ นนสดของกลุ านอั ตราตรา ตลาด สดของกลุ่ม่มบริบริษษทั ทั กลุกลุ่ ม่ มบริบริษษทั ทั มีมีคความเสี วามเสี่ ยงด้ ่ ยงด้ านอั ดอกเบี้ ย้ ยทีที่ เกิ่ เกิดดจากเงิ จากเงินนกูกูย้ ย้ ืมืม (ดู(ดูหหมายเหตุ มายเหตุ 14) 14) โดยกลุ ้ ยที้ ย่ ที่ ดอกเบี โดยกลุ่ม่มบริ บริษษทั ทั ได้ ได้ลลดความเสี ดความเสี่ ย่ ยงดังดังงกล่กล่าวโดยท าวโดยทาให้ าให้แน่แน่ใจว่ ใจว่าดอกเบี าดอกเบี จากเงินนกูกูย้ ย้ ืมืมส่ส่ววนใหญ่ นใหญ่มมีอีอตั ตั ราคงที ราคงที่ ่ เกิเกิดดจากเงิ ราดอกเบีย้ ยของหนี ของหนีส้ สิ นิ นทางการเงิ ทางการเงินนทีที่​่มมี​ี ภภ าระดอกเบี อัอัตตราดอกเบี าระดอกเบี้ ย้ ย ณณ วัวันนทีที่ ่ 3131ธัธันนวาคม วาคมและระยะที และระยะที่ ค่ ครบก รบกาหนดช าหนดชาระหรื าระหรือ อ ้ ้ กาหนดอัตราใหม่มีดงั นี กาหนดอัตราใหม่มีดงั นี้ ้

รวม รวม

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

ปี 2558 ปี หมุ 2558 นเวียน หมุนเงิเวีนยกูนย้ มื จากสถาบันการเงิน เงิเงินนกูกูย้ ยมื้ มื จากสถาบั นการเงิ น องกัน จากกิจการที ่เกี่ยวข้ เงินหกูมุย้ นมื เวีจากกิ ไม่ ยน จการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่ หเงิมุนนกูเวีย้ มื ยจากสถาบั น นการเงิน จากกิจการที ่เกี่ยวข้ เงิเงินนกูกูย้ ยมื้ มื จากสถาบั นการเงิ น องกัน รวม เงินกูย้ มื จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

ภายใน 1 ปี ภายใน 1 ปี

209

ปี 2559 ปี 2559 หมุนเวียน หมุนเงิเวีนยกูนย้ มื จากสถาบันการเงิน เงินหกูมุย้ นมื เวีจากสถาบั นการเงิน ไม่ ยน ไม่ หเงิมุนนกูเวีย้ มื ยจากสถาบั น นการเงิน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม รวม

อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย (ร้ อยละต่ อปี ) (ร้ อยละต่ อปี )

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม หลังจาก 1 ปี หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท) (พันบาท)

0.30 – 4.23 0.30 – 4.23

1,193,731 1,193,731

-

0.30 – 4.23 0.30 – 4.23

1,193,730 1,193,730

3,613,655 3,613,655 3,613,655 3,613,655

5,342,837 8,956,492 5,342,837 10,150,223 8,956,492 5,342,837 5,342,837 10,150,223

2.59 - 5.25 2.59 5.25 2.50 - 4.22 2.50 - 4.22 2.59 - 5.25 2.50 - 4.22 2.59 5.25 2.50 - 4.22

145,475 145,475 510,199 510,199 -655,674 655,674

-638,891 4,190,786 638,891 4,829,677 4,190,786 4,829,677

145,475 145,475 -510,199 510,199 607,753 1,246,644 1,501,544 607,753 5,692,330 1,246,644 2,109,297 1,501,544 7,594,648 5,692,330 2,109,297 7,594,648

97

-

-

-

1,193,731 1,193,731


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ ษบริัทษบีัทซีพบี​ีจซี ีพจำ�จี กัี จดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย หมำยเหตุ (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำน�กัด) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน2559

อัตราดอกเบี้ย (ร้ อยละต่ อปี )

210

รายงานประจำ�ปี 2559

ปี 2559 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน ไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม ปี 2558 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

ภายใน 1 ปี

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

1.60 - 4.23

825,722

-

-

825,722

1.60 - 4.23

825,722

2,312,757 2,312,757

2,638,209 2,638,209

4,950,966 5,776,688

2.50 - 4.22

510,199

-

-

510,199

2.50 - 4.22

510,199

4,190,786 4,190,786

1,501,544 1,501,544

5,692,330 6,202,529

ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่ งส่ วนใหญ่เกิดจากเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบัน การเงินที่ เป็ นเงินตราต่างประเทศ โดยกลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินบนสัญญาเงินกูเ้ พื่อป้ องกันความ เสี่ ยง ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ ความเสี่ ยงทางด้านสิ นเชื่อ คือความเสี่ ยงที่ลูกค้าหรื อคู่สัญญาไม่สามารถชาระหนี้ แก่กลุ่มบริ ษทั ตามเงื่อนไขที่ตกลง ไว้เมื่ อครบกาหนด ซึ่ งจะก่ อให้เกิ ด ความเสี ย หายทางการเงิ นแก่ กลุ่ มบริ ษทั กลุ่มบริ ษทั มี ค วามเสี่ ย งด้านเครดิ ต เนื่องจากรายได้ส่วนใหญ่ของบริ ษทั อยูภ่ ายใต้สญ ั ญาระยะยาวกับคู่สญ ั ญาน้อยราย อย่างไรก็ตามสัญญาโดยทัว่ ไปจะ เป็ นหน่วยงานภาครัฐและองค์กรภาครัฐหรื อเอกชนที่มีขนาดใหญ่และมีความเสี่ ยงที่รับรู ้อยูใ่ นระดับต่า

98


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ่ อ ษบริัทษบีัทซีพ บีซีจี​ีพจำจี �ีกัจดำกั(มหาชน) ด) และบริษัทย่อย (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจนี จำ�กัด) หมำยเหตุ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมน2559 ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุ่มบริ ษทั มีการควบคุมความเสี่ ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงิน สดให้เพียงพอต่อการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษทั และเพื่อทาให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลค่ ายุติธรรมของสินทรั พย์ และหนี้สินทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินมีมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่า ตามบัญชียกเว้นรายการดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

มูลค่าตามบัญชี หมุนเวียน ไม่หมุนเวียน

รวม บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

31 ธันวำคม 2558 สินทรัพย์ ทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุล เงิน หนี้สินทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว (ส่วน ที่มีดอกเบี้ยคงที่)

ระดับ 1 (พันบาท)

211

31 ธันวำคม 2559 สินทรัพย์ ทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุล เงินและอัตรา ดอกเบี้ย หนี้สินทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย เงินกูย้ มื ระยะยาว (ส่วน ที่มีดอกเบี้ยคงที่) 2,498,192

รวม

มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3

-

-

-

36,835

-

36,835

-

-

-

(54,499)

-

(54,499)

-

6,148,641

-

6,148,641

-

40,116

-

40,116

-

(7,133,502)

-

(7,133,502)

3,680,858

-

-

(587,522)

(6,454,711)

6,179,050

-

(7,042,233)

99


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย และบริษัทย่อย (เดิมชืบริ ่ อ ษบริัทษบีัทซบี​ีพซจี ีพี จจี ำกัี จดำกั(มหำชน) ด) บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่ อ บริษัท บีซีพจี นี จำกัด) หมำยเหตุ (เดิมชืป่อระกอบงบกำรเงิ บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด) หมำยเหตุ ระกอบงบกำรเงิ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรัหมายเหตุ บปี สิ้นสุ ดปปวัระกอบงบการเงิ นที่ 31 ธันวำคมนน2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

มูลค่ายุติธรรมระดับ 2 สาหรับตราสารอนุ พนั ธ์ที่ซ้ื อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ อ้างอิงราคาจากนายหน้า ซึ่ งได้มีการ ทดสอบความสมเหตุ ส มผลของราคาเหล่ านั้น พโดยการคิ ดลดกระแสเงิ นสดในอนาคตที าดการณ์ ไว้ดว้ ยอั มูลค่ายุติธรรมระดั บ 2 สาหรับตราสารอนุ นั ธ์ที่ซ้ื อขายนอกตลาดหลั กทรัพย์ อ้างอิง่ คราคาจากนายหน้ า ซึต่ งราได้มีการ ดอกเบีทดสอบความสมเหตุ อทางการเงินที่เหมื น ณ วันทีด่วลดกระแสเงิ ดั มูลค่า มูลค่นายุสดในอนาคตที ติธรรมของเครื่ อคงมื อทางการเงิ ้ ยในตลาดสาหรับเครื่ สองมื มผลของราคาเหล่ านัอ้ นนกัโดยการคิ าดการณ์ ไว้ดว้นยอัตรา สะท้อดอกเบี นผลกระทบของความเสี ตและได้ วมการปรั ต ของกลุ่มบริ และ น ่ องมืานเครดิ อทางการเงิ นที่เรหมื อนกัน ณบวัปรุนทีงความเสี ่วดั มูลค่า่ ยงด้ มูลาค่นเครดิ ายุติธรรมของเครื ่ องมืษอทั ทางการเงิ ้ ยในตลาดสาหรับเครื่ ยงด้ คู่สญ ั ญา สะท้ตามความเหมาะสม อนผลกระทบของความเสี่ ยงด้านเครดิ ตและได้รวมการปรับปรุ งความเสี่ ยงด้านเครดิ ต ของกลุ่มบริ ษทั และ คู่สญ ั ญา ตามความเหมาะสม 31 ภำระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจกำรที่ไม่ เกีย่ วข้ องกัน 31 ภำระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจกำรที่ไม่ เกีย่ วข้ องกัน งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 งบกำรเงิ2558 2559 งบกำรเงินเฉพำะกิ 2558 จกำร นรวม (พั นบาท) 2559 2558 2559 2558 ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน (พันบาท) อาคารภาระผู อุปกรณ์ ่ องจัากยฝ่ร และสิ กพัเครื นรายจ่ ายทุน่ งปลูก สร้างอื ่น อุปกรณ์ เครื่ องจักร และสิ่ งปลูก 216,103 4,945 3,195 อาคาร รวม สร้างอื่น 216,103 4,945 4,945 3,195 3,195 216,103 -

212

รายงานประจำ�ปี 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี ายุติธบรรม หมุนเวียน ไม่หมุมูนลเวีค่ยาตามบั น ญชี รวม ระดับ 1 ระดับ 2 มูลค่ระดั 3 รวม หมุนเวียน ไม่หมุนเวียน รวม (พันบาท)ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม (พันบาท) 31 ธันวำคม 2559 31 ธันวำคม 2559 31 ธันวำคม 2558 หนี้สิน31ทางการเงิ ธันวำคมน 2558 เงินกูย้ หนี มื ระยะยาว (ส่วนน ้สินทางการเงิ ที่มีดเงิอกเบี ่) (ส่ว(510,199) (5,692,330) (6,202,529) (6,249,245) (6,249,245) นกูย้ มื้ ยคงที ระยะยาว น ที่มีดอกเบี้ยคงที่) (510,199) (5,692,330) (6,202,529) (6,249,245) (6,249,245)

รวม

216,103

100

100

4,945

3,195

-


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (พันบาท)

1,493 1,493

1,804 2,441 4,245

1,493 1,493

ภาระผูกพันอื่นๆ หนังสื อค้ าประกันจากธนาคาร รวม

24,904 24,904

-

4,904 4,904

-

เหตุกำรณ์ ภำยหลังรอบระยะเวลำที่รำยงำน เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 บริ ษทั ได้ลงนามในเงื่อนไขการเข้าซื้ อกิจการ (Term Sheet) กับบริ ษทั CAIF III Pte.Ltd. เพื่อเข้าซื้ อเงินลงทุนทั้งหมดในบริ ษทั CapAsia ASEAN Wind Holding Cooperatief U.A. ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่ ง เป็ นบริ ษ ทั โฮลดิ้ งที่ ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้ อยละ 40 ในบริ ษทั PetroWind Energy Inc. ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ ด าเนิ นการใน ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ และประกอบธุ รกิจโรงไฟฟ้ าพลังงานลม โดยมีโรงไฟฟ้ าพลังงานลมที่ เปิ ดดาเนิ นการแล้วขนาด 36 เมกะวัตต์ และมีโครงการที่อยูร่ ะหว่างการพัฒนา 14 เมกะวัตต์ ตั้งอยูท่ ี่เมือง Nabas ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ การเข้าทา รายการดังกล่าวจะมี ผลสมบู รณ์ เมื่ อได้ลงนามในสัญญาซื้ อขายหุ ้นและปฏิ บตั ิ ตามเงื่ อนไขบังคับก่ อนในสัญ ญา ดังกล่าว ซึ่ งรวมถึงการได้รับอนุญาตจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง

101

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

3,234 9,135 44,237 56,606

213

32

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดาเนินงาน ที่ยกเลิกไม่ ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี หลังจาก 5 ปี รวม


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริมษชืัท่ อบีบริ ซีพษีจัที จำบี�ซกัีพดจี (มหาชน) (เดิมชื่อ บริประกอบงบกำรเงิ ษัท บีซีพีจี จำ�กันด) หมำยเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สหมายเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 33

มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงเงินที่ยงั ไม่ ได้ ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ออกและปรับปรุ งใหม่หลายฉบับได้มีการประกาศและยังไม่มีผลบังคับใช้และ ไม่ ไ ด้น ามาใช้ในการจัด ท างบการเงิ น นี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ ออกและปรั บ ปรุ งใหม่ เหล่ านี้ อาจ เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษทั และถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2560 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีแผนที่จะนามาตรฐานการรายงานทางการเงินเหล่านี้มาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน

214

รายงานประจำ�ปี 2559

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื่ อง การนาเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกูย้ ืม การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออก จากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ กาไรต่อหุน้ งบการเงินระหว่างกาล ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่ อาจเกิดขึ้น สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

102


บริษัท บีซีพจี ี จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย (เดิษมัทชื่ อบีบริ ี จำกัด) และบริษัทย่อย บริ ซีพษีจัที จำบี�กัซดีพจี (มหาชน) (เดิ มชื่อ บริปษระกอบงบกำรเงิ ัท บีซีพีจี จำ�กัดน) หมำยเหตุ หมายเหตุ น สำ�หรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำหรับปี สิป้นระกอบงบการเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน

เรื่ อง

103

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

กลุ่มบริ ษทั ได้ประเมินในเบื้องต้นถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่องบการเงินรวมหรื องบการเงินเฉพาะกิจการ จากการ ถื อ ปฏิ บัติ ต ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ ออกและปรั บ ปรุ งใหม่ เหล่ านี้ ซึ่ งคาดว่าไม่ มี ผ ลกระทบที่ มี สาระสาคัญต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบตั ิ

215

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 (ปรับปรุ ง 2559) การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสาหรับเครื่ องมือ ทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 การรวมธุรกิจ (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่ วนงานดาเนิ นงาน (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 งบการเงินรวม (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การวัดมูลค่ายุติธรรม (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การ ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) บูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 5/2559 แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีสาหรับการตัดรายการสิ นทรัพย์ ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน


ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลสำ�คัญอื่นๆ ข้อมูลบริษัท บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) ทะเบียนเลขที่ 0107559000095

216

รายงานประจำ�ปี 2559

ก่อตั้งบริษัทฯ และเริ่มประกอบกิจการ 17 กรกฎาคม 2558 ธุรกิจ ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน รวมถึงลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ลูกค้า • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • บริษัทรับซื้อไฟฟ้า (Electric Power Companies) ติดต่อบริษัทฯ • ส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0-2335-8945 โทรสาร 0-2335-8900 E-mail : ir@bcpggroup.com • สำ�นักเลขานุการคณะกรรมการบริษัท โทรศัพท์ 0-2335-4659 โทรสาร 0-2335-8900 E-mail : bcpg-secretary@bcpggroup.com • สำ�นักตรวจสอบภายใน โทรศัพท์ 0-2335-8902 โทรสาร 0-2335-8900 E-mail : iad@bcpggroup.com • Website : www.bcpggroup.com


ที่ตั้งสำ�นักงาน

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานใหญ่ 99/1 หมู่ที่ 9 ตำ�บลบางกระสั้น อำ�เภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 โทรศัพท์ 0-3527-6000 โทรสาร 0-3527-6014 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานกรุงเทพมหานคร 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ ชั้น 12 ถนนสุขุมวิท แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์ 0-2335-8999 โทรสาร 0-2335-8900 Website : www.bcpggroup.com บริษัทย่อย บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 99/1 หมู่ที่ 9 ตำ�บลบางกระสั้น อำ�เภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จำ�กัด 245 - 246 หมู่ที่ 3 ตำ�บลแสลงโทน อำ�เภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 31140

บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ) จำ�กัด 216 - 218 หมู่ที่ 4 ตำ�บลหัวทะเล อำ�เภอบำ�เหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ 36220 บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จำ�กัด 137 - 139 หมู่ที่ 3 ตำ�บลนาแขม อำ�เภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110 BCPG Japan Corporation Akasaka Intercity Building, 6th floor, 1-11-44 Akasaka, Minato-ku, Tokyo, Japan 107-0052 โทรศัพท์ +81-80-2301-7073 โทรสาร +81-3-5544-8689 Website : www.bcpg.jp Huang Ming Japan Company Limited 2 Matex Building 2, 8th Floor, 1-9-10, Matsugaya, Taito-ku, Tokyo, Japan111-0036 BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. (BCPGI) 8 Marina Boulevard # 05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 BSE Energy Holdings Pte. Ltd. (BSEH) 8 Marina Boulevard # 05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981

217

บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จำ�กัด 111 - 111/2 หมู่ที่ 9 ตำ�บลตะเคียน อำ�เภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 30210

บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จำ�กัด 120 - 120/2 หมู่ที่ 7 ตำ�บลบุกระสัง อำ�เภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ 31210


ข้อมูลบุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 ผู้สอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด ชั้น 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2677-2000 โทรสาร 0-2677-2222

218

รายงานประจำ�ปี 2559

อื่นๆ

• การให้บริการผู้ถือหุ้น • การแจ้งใบหุ้นสูญหาย • การแก้ไขข้อมูลผู้ถือหุ้น ติดต่อ ส่วนบริการผู้ลงทุน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991


บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน)

219


*ปกให้ใช้จากไฟล์ Illus ที่แนบมา

บร�ษัท บีซ�พ�จ� จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร ชั�น 12 ถนนสุขุมว�ท แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท 0 2335 8999 โทรสาร 0 2335 8900 www.bcpggroup.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.