BCPG : Annual Report 2017 TH

Page 1



สารบัญ 6 8

สารจากประธานกรรมการ

20

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

32

36

75

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์ การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น โครงสร้างรายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้าแยกตามโครงการ การลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าโดยผ่านบริษัทร่วม

โครงสร้างการถือหุ้น

ทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระ โครงสร้างการถือหุ้น การออกหลักทรัพย์อื่น นโยบายการจ่ายเงินปันผล

โครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย คณะผู้บริหารและบุคลากร

85 93 95 97 103

การก�ำกับดูแลกิจการ

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน รายงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร รายงานของคณะกรรมการการลงทุน

ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายใน ปัจจัยความเสี่ยง รายการระหว่างกัน ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน

เหตุการณ์ส�ำคัญที่กระทบต่องบการเงิน ปี 2560 ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับไตรมาสที่ 4 ปี 2560 และปี 2560 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน งบการเงิน

รวมเปนสวนหนึ่งของสังคมแหงพลังงานสะอาด และโอกาสแหงการมีไฟฟาใชในทุกภาคสวน ผานเทคโนโลยีว�ดีโอมัลติมีเดีย ในรูปแบบ AR Code (Augmented Reality)

เลือก Application LAYAR ดาวน โหลดแอพพลิเคชั�นฟร� ระบบ IOS ระบบ Android

เป ด Application LAYAR

ส องไปที่บร�เวณหน าปกรายงานประจำป 2560 จากนั�นสัมผัสหน าจอบนข อความ “Tap screen to scan”

ภาพและเสียงในรูปแบบ มัลติมีเดียจะปรากฏข�้น


สารจาก

ประธานกรรมการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

ปี 2560 ที่ผ่านมา เป็นปีที่ บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) มุ่งมั่น ที่จะด�ำเนินธุรกิจให้บรรลุผลตามที่ได้ให้ค�ำมั่นสัญญาที่ให้กับผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท�ำธุรกิจด้วยการเติบโตอย่างต่อเนื่อง สู่ความเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรายใหญ่ ของภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก สามารถผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าที่ผลิต จากพลังงานหมุนเวียนหลากหลายรูปแบบจากหลายประเทศ จากปี 2559 ที่บีซีพีจีเป็นผู้ด�ำเนินธุรกิจเป็นผู้ผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น ในปี 2560 บีซพี จี ไี ด้ขยายธุรกิจด้วยการร่วมลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมใน ประเทศฟิลปิ ปินส์และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศ อินโดนีเซีย ท�ำให้ ณ สิ้นปี 2560 บีซพี ีจีมีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในประเทศไทยที่ได้ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว มีก�ำลัง การผลิตไฟฟ้ารวมทั้งสิ้น 182.0 เมกะวัตต์ และอยู่ระหว่างการพัฒนา โครงการอีก 8.9 เมกะวัตต์ ส่วนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญีป่ ุ่นทีเ่ ปิดด�ำเนินการแล้วมีกำ� ลังการผลิต 45.0 เมกะวัตต์ และอยู่ระหว่างการพัฒนาอีกราว 147.3 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ ยังมีโครงการร่วมทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ที่ เ ปิ ด ด� ำ เนิ น การแล้ ว 157.5 เมกะวั ต ต์ และอยู่ระหว่างพัฒนาโครงการฯ อีก 24.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการ ผลิตตามสัดส่วนการลงทุน) ขณะที่โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ในประเทศฟิลิปปินส์ด�ำเนินการไปแล้ว 14.4 เมกะวัตต์ และอยู่ ระหว่างการพัฒนาอีก 5.6 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตตามสัดส่วน การลงทุน) รวมก� ำลังการผลิตที่เปิดด� ำเนินการแล้วตามสัดส่วน ถือหุ้นทั้งหมดประมาณ 400 เมกะวัตต์ จากก�ำลังการผลิตติดตั้ง ทั้งหมดประมาณ 600 เมกะวัตต์ อย่างไรก็ดีแต่ถ้าเทียบเงินลงทุน และก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมที่เป็น สองเท่าของโครงการพลังงานแสงอาทิตย์และโครงการพลังงานความ ร้อนใต้พิภพที่เป็นสามเท่าแล้ว อาจกล่าวได้ว่าเรามีกำ� ลังการผลิต ไฟฟ้ารวมเทียบเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เกือบ 1,000 เมกะวัตต์ ซึ่งอาจถือเป็นการบรรลุเป้าหมาย 1,000 เมกะวัตต์ของ บีซีพีจีที่ต้งั ไว้ในปี 2563 ไปแล้ว


7

ด้วยเหตุผลนี้ อีกทั้งสภาวะโลกที่ก�ำลังเปลี่ยนโฉมสู่ยุคดิจิตอล ท�ำให้บซี พี จี กี ำ� ลังปรับบทบาทไปสูผ่ ทู้ ำ� การตลาดกับผูบ้ ริโภครายย่อย โดยตรงมากขึน้ โดยเน้นการเป็นผูผ้ ลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนให้กับผู้บริโภคโดยตรง และน�ำเทคโนโลยีล�้ำสมัยระดับโลก มาใช้ ช่วยเพิ่มทางเลือกให้ผู้บริโภคสามารถผลิตและบริหารจัดการ ไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้ด้วยตัวเอง และช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ย เพือ่ สร้างความเติบโตทางธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ในระยะยาว ซึ่งท�ำให้บีซีพีจีต้องทบทวนพั น ธกิ จ และเป้ า หมาย ในการด�ำเนินธุรกิจเพื่อให้สะท้อนถึงการท�ำธุรกิจในปัจจุบัน รวมถึง วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นแผนเติ บ โตของบริ ษั ท ฯ ในระยะยาว แต่ ก็ ยั ง ให้ความส�ำคัญกับการขยายธุรกิจผลิตไฟฟ้าด้วยการพัฒนาและ การขยายธุรกิจพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ ทุกพื้นที่ ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะอยู่ใกล้หรือไกล มีไฟฟ้าจากพลังงาน สะอาดใช้ หรือสามารถผลิตได้เองด้วยต้นทุนที่เหมาะสม (Low Cost, Low Carbon) ตามแนวคิด “Energy for Everyone” นับตัง้ แต่การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ในปี 2559 บีซพี จี ไี ด้ยดึ หลักการบริหารงานอย่าง มีหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และให้ความส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อมและสังคม จนเป็นทีย่ อมรับและได้ รับความไว้วางใจจากนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ ส่งผลให้มูลค่า หลักทรัพย์ของบริษัทฯ เข้าเกณฑ์ SET 100 เมื่อเดือนมิถุนายน 2560 นอกจากนี้ บีซีพีจียังได้รับรางวัลและการยอมรับในด้านต่างๆ จาก นานาสถาบัน ทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ อาทิ รางวัลธุรกรรม ทางการเงินดีเด่นในตลาดทุนจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อ ประชาชนทัว่ ไปเป็นครัง้ แรก (IPO) จากงาน SET AWARDS 2017 รางวัล “æ Renewable Energy Deal of the Year” จาก The Asset Asia Infrastructure Awards ที่ฮ่องกง รางวัล “Best Corporate Governance Principles – Renewable Energy Company – Southeast Asia” และ “Best Renewable Energy Company – Thailand” จาก The European Magazine ประเทศอังกฤษ

สารจากประธานกรรมการ

เป็นต้น รวมทั้งบีซีพีจียังได้รบั การรับรองเป็นแนวร่วมปฏิบัตขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) โดยเป็น 1 ใน 283 บริษัทที่ได้รับการรับรองจาก ผู้แสดงเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ 863 บริษัทอีกด้วย บีซีพีจีมีความมุ่งมั่นในการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ตลอดปี ไม่ว่าจะในระดับประเทศ หรือระดับท้องถิ่น ในด้านการส่งเสริมการศึกษาและการให้ความรู้ กิ จ กรรมยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชนรอบพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน กิจกรรมส่งเสริมศาสนาและวัฒนธรรม การกีฬา เสริมสร้างความ แข็งแกร่งให้แก่สังคม เพื่อพัฒนาและเติบโตไปพร้อมกับการด�ำเนิน กิจการของบริษัทฯ ทั้งนี้ในปี 2560 ที่ผ่านมา นับเป็นห้วงเวลาแห่ง การร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร ของคนไทยทัง้ ประเทศ ซึง่ บีซพี จี ไี ด้มี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพือ่ น้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ กับหน่วยงานและองค์กรหลายภาคส่วนโดยตลอด ควบคูไ่ ปกับการขยายธุรกิจ บีซพี จี ใี ห้ความส�ำคัญกับการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลในทุกระดับให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะใน ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี มีความคล่องตัว สามารถปรับตัวได้ อย่างรวดเร็วและพร้อมที่จะปรับตัวตลอดเวลา เพื่อให้สามารถก้าว ทันโลกสมัยใหม่ทกี่ �ำลังเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกัน ก็ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน โดยมีก�ำหนด นโยบายการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ กระบวนการท�ำธุรกิจ เพื่อให้ธุรกิจสามารถเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่ ไปกับสังคมและสิ่งแวดล้อม ผมในนามคณะกรรมการบริษัท คณะผู้บริหารและพนักงาน ของบีซีพีจี ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท�ำ ธุรกิจ ที่ได้ให้ความไว้วางใจ ความเชื่อมั่น และให้การสนับสนุนการ ด�ำเนินธุรกิจของบีซพี จี ดี ้วยดีเสมอมา และขอให้คำ� มัน่ ว่าเราจะมุ่งมัน่ ขยายธุรกิจเพื่อสร้างผลตอบแทนที่มั่นคงและอนาคตที่ยั่งยืนต่อไป

(นายพิชัย ชุณหวชิร) ประธานกรรมการ


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 8

นโยบายและภาพรวม

การประกอบธุรกิจ

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์ วิสัยทัศน์

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) (“BCPG” หรือ “บริษัทฯ”) และบริษทั ย่อยของบริษัทฯ (รวมเรียกว่า “กลุ่มบริษัทฯ”) มีวิสัยทัศน์ในการ ด�ำเนินธุรกิจคือ สร้างสรรค์ธุรกิจพลังงานด้วยนวัตกรรมอันเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน ด้วยบุคลากรที่รู้รอบและชาญฉลาด

พันธกิจ

ลงทุน พัฒนา และด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดทั่วโลกด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย บนรากฐานของคตินิยมร่วมขององค์กร การจัดการและหลักบริหารธุรกิจ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Spirit

Innovative รู้รอบ รู้ลึก คิดล�้ำ Integrity ยึดมั่นในหลักการ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล International มีความเป็นสากล เปิดรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม

เป้าหมายและกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

กลุ่มบริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทฯ มีแผนทีจ่ ะเข้าลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนรูปแบบต่างๆ เช่น โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม โครงการโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ โครงการโรงไฟฟ้าชีวมวล และโครงการโรงไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะ เป็นต้น ผ่านการเข้าซือ้ ธุรกิจ และ/หรือพัฒนา โครงการใหม่ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงประเทศในทวีปเอเชีย


9

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ ำ� คัญ บริษัทฯ จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ด้วย ทุนจดทะเบียนแรกเริม่ จ�ำนวน 20.00 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ จ�ำนวน 2.00 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10.00 บาท โดยมี บริษัท บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)”) (“BCP”) เป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษัทฯ ร้อยละ 99.9 ของทุนเรียกช�ำระ ต่อมาที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น BCP ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2558 มีมติอนุมัติแผนการปรับโครงสร้างกลุ่มธุรกิจไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียนและแผนการเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ต่อประชาชนทัว่ ไปเป็นครัง้ แรก (IPO) โดยในไตรมาสที่ 3 ปี 2558 บริษทั ฯ รับโอนสินทรัพย์โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์กําลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 38.0 เมกะวัตต์ ที่ตําบลบางกระสั้น อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (“โครงการระยะที่ 1”) จาก BCP และซื้อ หุ้นในบริษัทย่อยของ BCP ที่ดําเนินโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ทั้งหมด ท�ำให้บริษัทฯ เข้าถือหุ้นร้อยละ 99.9 ในบริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จํากัด (“BSE”) (“โครงการระยะที่ 2”) และบริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จํากัด (“BSE-BRM”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จํากัด (“BSE-BRM1”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จํากัด (“BSE-CPM1”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จํากัด (“BSE-NMA”) และบริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จํากัด (“BSE-PRI”) (“โครงการระยะที่ 3”) ตามแผนการปรับโครงสร้างกลุ่มธุรกิจข้างต้น กลุ่มบริษัทฯ มีกำ� ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 118.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิต ติดตัง้ รวมประมาณ 170.0 เมกะวัตต์) ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้รบั คัดเลือก ผ่านบริษัทย่อยโดยเป็นผู้สนับสนุนในการพัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง บนพื้ น ดิ น ส� ำ หรั บ สหกรณ์ ภาคการเกษตร จ�ำนวน 3 โครงการ ก�ำลังการผลิตตามสัญญาและ ก� ำ ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง รวม 12.0 เมกะวั ต ต์ และในปี 2560 บริษทั ฯ ได้รบั คัดเลือกตามโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แบบติ ด ตั้ ง บนพื้ น ดิ น ส� ำ หรั บ หน่ ว ยงานราชการและสหกรณ์ ภาคการเกษตร ระยะ 2 ซึ่ ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น โครงการฯ กั บ องค์ ก ารสงเคราะห์ ท หารผ่ า นศึ ก ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ (อผศ.) จ� ำ นวน 2 โครงการ ขนาดก� ำ ลั ง การผลิ ต ตามสั ญ ญาและ ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวม 8.9 เมกะวัตต์ (ซึง่ อยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการ) ท�ำให้กลุม่ บริษทั ฯ มีกำ� ลังการผลิตรวมตามสัญญาเท่ากับ 138.9 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 190.9 เมกะวัตต์) ส�ำหรับกิจการ โรงไฟฟ้าภายในประเทศ กลุ่มบริษัทฯ ได้ขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศได้แก่

(1) โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนมกราคม 2559 บริษัทฯ ลงทุนซื้อหุ้นทั้งหมดจาก SunEdison International LLC. และ SunEdison Energy Holding (Singapore) Pte. Ltd. ซึ่งท�ำให้กลุ่มบริษัทฯ ได้มาซึ่งโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ จ�ำนวน 14 โครงการ ขนาดก�ำลังการผลิตตามสัญญา 164.1 เมกะวัตต์ (ก� ำ ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง ประมาณ 200.0 เมกะวั ต ต์ ) ต่ อ มาเมื่ อ เดือนมกราคม 2560 บริษัทฯ ได้จ�ำหน่ายทรัพย์สินของโครงการ Suimei ให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ในราคา 1,600.00 ล้ า นเยน หรื อ ประมาณ 495.00 ล้ า นบาท การจ� ำ หน่ า ยทรั พ ย์ สิ น ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ เ กิ ด ก� ำ ไร จ� ำ นวน 61.58 ล้ า นบาท (ซึ่ ง ปรากฏในงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท ฯ ไตรมาสที่ 1 ปี 2560) ทั้งนี้ ถึงแม้คดีความสิ้นสุดตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2559 แต่ เ นื่ อ งจากโครงการ Suimei ยั ง คงมี ค วามเสี่ ย ง เรื่องระยะเวลาการบังคับคดีและการรับโอนทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องกับ โครงการ และอาจกระทบต่ออัตราผลตอบแทนของโครงการในอนาคต นอกจากโครงการโรงไฟฟ้าฯ ข้างต้น บริษทั ฯ ลงทุนผ่านบริษทั ย่อย โดยซื้อหุ้นทั้งหมดของ Huang Ming Japan Company Limited และซื้ อ ใบอนุ ญ าตที่ ส� ำ คั ญ และที่ ดิ น ที่ ใ ช้ ใ นการพั ฒ นาโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 2 แห่ง ขนาดก�ำลังการผลิตตามสัญญา 30.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตั้งประมาณ 36.0 เมกะวัตต์) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โครงการโรงไฟฟ้าฯ ในประเทศญีป่ ่นุ มีจ�ำนวน 15 โครงการ ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 150.5 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 192.3 เมกะวัตต์) แบ่งเป็น (ก) โครงการที่ด�ำเนินการแล้ว ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 34.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 45.0 เมกะวัตต์) และ (ข) โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา ขนาดก� ำ ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า ตามสั ญ ญารวม 116.5 เมกะวั ต ต์ (ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 147.3 เมกะวัตต์) (2) โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 บริษัทฯ ลงทุนผ่านบริษัทย่อย โดยซื้อหุ้น CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น BCPG Wind Cooperatief U.A.) ร้อยละ 100 ของทุนเรียกช�ำระ ซึ่งเป็นบริษัทที่ ถือหุ้นร้อยละ 40.0 ของทุนเรียกช�ำระใน PetroWind Energy Inc. ที่ด�ำเนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ที่เมือง Nabas ประเทศ ฟิลิปปินส์ ขนาดก�ำลังการผลิตที่เปิดด�ำเนินการ 36.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณตามสัดส่วนการลงทุนเทียบเท่า 14.4 เมกะวัตต์) และ อยูร่ ะหว่างการพัฒนาอีก 14.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณตามสัดส่วนการลงทุน เที ย บเท่ า 5.6 เมกะวั ต ต์ ) การลงทุ น ในโครงการนี้ ใ ช้ เ งิ น ทั้ ง สิ้ น 26.49 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 921.57 ล้านบาท


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 10

โครงการโรงไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทฯ

ญี่ปุน

192.3 เป ดดำเนินการ : 45.0 MW MW

DC

ระหว างพัฒนา : 147.3 MWDC

ฟ�ลิปปนส

20.0 เป ดดำเนินการ : 14.4 MW MW

ระหว างพัฒนา : 5.6 MW

อินโดนีเซ�ย

ไทย

190.9 เป ดดำเนินการ : 182.0 MW

181.5 เป ดดำเนินการ : 157.5 MW MW

MW

ระหว างพัฒนา : 8.9 MWDC

DC

ระหว างพัฒนา : 24.0 MW

พลังงานความรอนใตพ�ภพ พลังงานลม

20.0

181.5 MW

MW

เป ดดำเนินการแล ว : 398.9 MW ระหว างการพัฒนา : 185.8 MW

ลักษณะโครงการ

584.7 MW

เทคโนโลยีการผลิต

584.7 MW

พลังงานแสงอาทิตย

383.2 MW


11

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

(3) โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานความร้ อ นใต้ พิ ภ พ เมื่ อ วั น ที่ 26 กรกฎาคม 2560 บริ ษั ท ฯ ได้ ซื้ อ หุ ้ น จ� ำ นวน 280,000 หุ ้ น หรือคิดเป็นร้อยละ 33.3 ของทุนเรียกช�ำระใน Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. (SEGHPL) ประเทศสิงคโปร์ ใช้เงินลงทุนทั้งสิ้น 355.69 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 11,956.43 ล้านบาท SEGHPL เป็นบริษัทที่ลงทุนทางอ้อมผ่านบริษัทในกลุ่ม Star Energy ในโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ จ�ำนวน 3 โครงการ ตั้งในเขต West Java ประเทศอินโดนีเซีย ขนาดก�ำลังการผลิตติดตั้งที่เปิดด�ำเนินการ แล้วรวม 875.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณตามสัดส่วนการลงทุนเทียบเท่า 157.5 เมกะวัตต์) และอยู่ระหว่างการพัฒนา 120.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณ ตามสัดส่วนการลงทุนเทียบเท่า 24.0 เมกะวัตต์) ด้วยความช�ำนาญในการพัฒนาและการบริหารโครงการโรงไฟฟ้าสีเขียวขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม หรือโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ บริษัทฯ ยังวางแผนขยายธุรกิจในลักษณะค้าปลีกมากขึ้น โดยมีแนวคิดในการพัฒนาชุมชนพลังงานสีเขียวอัจฉริยะ หรือ Smart Green Energy Community โดยในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2560 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อพัฒนาโครงการฯ ประกอบกับการน�ำแนวคิดการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้บริหารการซื้อขายไฟฟ้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นโครงการน�ำร่องส�ำหรับการขยายไปยังโครงการอื่นๆ ต่อไปในอนาคต เมื่อเดือนมิถุนายน 2560 หุ้น BCPG ได้รับคัดเลือกเข้ารวมอยู่ในกลุ่มดัชนี MSCI Small Cap Index โดย MSCI เป็นดัชนีที่บริษัท Morgan Stanley Capital International จัดท�ำขึน้ เพือ่ ให้นกั ลงทุนต่างประเทศใช้เป็นบรรทัดฐานในการวัดผลตอบแทนของกองทุนต่างๆ ประกอบ การพิจารณาตัดสินใจลงทุน และได้รับคัดเลือกเข้าค�ำนวณในดัชนี FTSE SET Shariah Index ซึ่งเป็นดัชนีที่พัฒนาขึ้นเพื่อผู้ลงทุนทั้งในและ ต่างประเทศที่ประสงค์จะลงทุนตามหลักศาสนาอิสลาม รวมถึงการได้รับคัดเลือกเข้ารวมในกลุ่ม SET 100 ในตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2560 (ซึง่ เป็นวันท�ำการซือ้ ขายสุดท้ายของปี 2560) บริษทั ฯ มีมลู ค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดรวม เท่ากับ 47,416.84 ล้านบาท (โดยค�ำนวณที่ราคาปิด 23.80 บาทต่อหุ้น) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียนทัง้ สิน้ 10,000.00 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจ�ำนวน 2,000.00 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 5.00 บาท โดยเป็นทุนเรียกช�ำระ 9,961.52 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ จ�ำนวน 1,992.30 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 5.00 บาท

การเคลื่อนไหวของปริมาณและราคาหุ้นของบริษัทฯ 000 หุ้น

2559

600,000

24.85

400,000

200,000

30

บันทึกข อตกลง พัฒนาโครงการ Smart Green Energy

500,000

300,000

บาท/หุ้น

2560

13.91 11.05

40.0% ลงทุนใน พลังงานลม

14.20

23.80

33.3% ลงทุนในพลังงาน ความร อนใต พ�ภพ

25

20

15

13.89 14.84 15.38 100

10

100,000

5

-

-

28-ก.ย. 28-ต.ค. 28-พ.ย. 28-ธ.ค. 28-ม.ค. 28-ก.พ. 28-มี.ค. 28-เม.ย. 28-พ.ค. 28-มิ.ย. 28-ก.ค. 28-ส.ค. 28-ก.ย. 28-ต.ค. 28-พ.ย. 28-ธ.ค.

ที่มา : SETTRADE, บริษัทฯ

+67.8%


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 12

โครงสร้างกลุม่ บริษทั ฯ

Public 70.3% โครงการระยะที่ 1

99.9%

ไทย

BSE

29.7% (1)

99.9%

99.9%

99.9%

99.9%

99.9%

BSE-BRM

BSE-BRM 1

BSE-CPM 1

BSE-NMA

BSE-PRI(2)

โครงการระยะที่ 2

99.9%

BBP 1

BBP 2

โครงการระยะที่ 3

100.0%

100.0%

BSEH

สิงคโปร

99.9%

100.0%

BCPGI

100.0%

100.0% Greenergy Holdings

100.0% Greenergy Power

เนเธอร แลนด

100.0%

BCPG Wind

ฟ�ลิปป นส

BCPGJ

HMJ

33.3%

SEGHPL

ญี่ปุ น 100.0%

EPC

(3)

51.0%

AM

(4)

100.0%

ลงทุน

(5)

100.0% โครงการ ระหว างพัฒนา

โครงการที่ ดำเนินการแล ว

โครงการที่ ดำเนินการแล ว

40.0% Petrowind Energy

โครงการที่ ดำเนินการแล ว

หมายเหตุ : (1) BCPG เป็นผูส้ นับสนุนโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดินส�ำหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร ระยะ 2 (โซลาร์ฟาร์ม) โดยลงนามในสัญญาร่วมลงทุนกับ อผศ.จ�ำนวน 2 โครงการ ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้าติดตั้งและตามสัญญารวม 8.9 เมกะวัตต์ (2) BSE-PRI เป็นผู้สนับสนุนโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส�ำหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร จ�ำนวน 3 โครงการ ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้าติดตั้งและตามสัญญารวม 12 เมกะวัตต์ (3) EPC หมายถึง กลุ่มบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจ (1) ผู้รับเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) และ (2) ด�ำเนินการและซ่อมบ�ำรุง (O&M) โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่น (4) AM หมายถึง บริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจบริหารจัดการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ในฐานะบริษัทบริหารทรัพย์สิน (Asset Management Company) (5) ลงทุน (Investment) หมายถึง บริษัทที่ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศญี่ปุ่นในฐานะนักลงทุนทีเค


13

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

รายละเอียดบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ชื่อบริษัท บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (“BSE”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จ�ำกัด (“BSE-BRM”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จ�ำกัด (“BSE-BRM 1”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูม1ิ ) จ�ำกัด (“BSE-CPM 1”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จ�ำกัด (“BSE-NMA”) บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จ�ำกัด (“BSE-PRI”)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตัง้ ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ ไทย ระยะที่ 2 ทีอ่ ำ� เภอบ�ำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ และ อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ ไทย ระยะที่ 3 ทีอ่ ำ� เภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ และ ลงทุนใน HMJ ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ ไทย ระยะที่ 3 ที่อ�ำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์

ทุนเรียกช�ำระ 1,800.00 ล้านบาท

การถือหุน้ (1) (ร้อยละ) 99.9

755.00 ล้านบาท

99.9

765.00 ล้านบาท

99.9

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ ระยะที่ 3 ที่อ�ำเภอบ�ำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ

ไทย

705.00 ล้านบาท

99.9

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ ระยะที่ 3 ที่อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา

ไทย

684.10 ล้านบาท

99.9

ไทย

1,400.00 ล้านบาท

99.9

BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. (“BCPGI”)

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ ระยะที่ 3 ทีอ่ ำ� เภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี และ ด�ำเนินโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำ� หรับ หน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยการถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท อื่ น ใน ต่างประเทศ

สิงคโปร์

100.0

BSE Energy Holdings Pte. Ltd. (“BSEH”)

ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยการถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท อื่ น ใน ต่างประเทศ

สิงคโปร์

BCPG Japan Corporation (“BCPGJ”)

ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาโครงการ บริหารจัดการ ก่อสร้าง และด�ำเนินการ รวมถึงบริหารเงินลงทุนในโครงการ โรงไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศ ญี่ปุ่นในฐานะนักลงทุนทีเค

ญี่ปุ่น

1.00 ล้านดอลลาร์ สิงคโปร์ 1.00 ล้านดอลลาร์ สิงคโปร์ 249.50 ล้านเยน 2.00 ล้านเหรียญ สิงคโปร์ และ 2.00 ล้าน เหรียญสหรัฐ

100.0

Greenergy Holdings Pte. Ltd. (“Greenergy Holdings”)

สิงคโปร์

100.0 100.0


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 14

ชื่อบริษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตัง้

ทุนเรียกช�ำระ

การถือหุน้ (1) (ร้อยละ)

Greenergy Power Pte. Ltd. (“Greenergy Power”)

ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศ ญีป่ นุ่ ในฐานะนักลงทุนทีเค

สิงคโปร์

2.0 ล้านดอลลาร์ สิงคโปร์และ 5.8 ล้านเหรียญสหรัฐ

100.0

Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha (“TSS”)

บริหารจัดการและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในฐานะบริษทั บริหารสินทรัพย์ (Asset Management Company) ของ Tarumizu

ญี่ปุ่น

1.00 ล้านเยน

51.0(2)

Nakatsugawa PV Godo Kaisha (“Nakatsugawa”)

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทีค่ าโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

1.00 เยน (BCPGJ เป็นผู้ถอื หุ้นบุริมสิทธิ 1.9 ล้านเยน) (3)

-(3)

Godo Kaisha Inti

เพื่ อ รองรั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Takamori PV Godo Kaisha (“Takamori”)

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทีค่ มุ าโมโตะ ประเทศญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

1.00 เยน (BCPGJ เป็นผู้ถอื หุ้นบุริมสิทธิ 2.7 ล้านเยน) (3)

-(3)

Nojiri PV Godo Kaisha (“Nojiri”)

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทีม่ ยิ าซากิ ประเทศญีป่ นุ่

ญี่ปุ่น

1.00 เยน (BCPGJ เป็นผู้ถอื หุ้นบุริมสิทธิ 2.6 ล้านเยน) (3)

-(3)

Aten Godo Kaisha

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศ ญี่ปุ่น โดยโครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนา

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Nikaho PV Godo Kaisha (“Nikaho PV”)

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทีอ่ ากิตะ ประเทศญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

21.00 ล้านเยน

100.0

Gotenba 2 PV Godo Kaisha

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศ ญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Horus Godo Kaisha

เพื่ อ รองรั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Yabuki PV Godo Kaisha

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศ ญี่ปุ่น โดยโครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนา

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Komagane PV Godo Kaisha

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศ ญี่ปุ่น โดยโครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนา

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Helios Godo Kaisha

เพื่ อ รองรั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0


15

ชื่อบริษัท

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตัง้

ทุนเรียกช�ำระ

การถือหุ้น (1) (ร้อยละ)

Lugh Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Phoenix Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Gotenba 1 PV Godo Kaisha

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศ ญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Komagane Land Lease Godo Kaisha

ถือทีด่ ินของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ อยูร่ ะหว่างการพัฒนาทีป่ ระเทศญีป่ นุ่

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Nagi PV Godo Kaisha (“Nagi”)

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ประเทศ ญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Natosi Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Amaterasu Godo Kaisha เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Mithra Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Sol Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Saule Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Shamash Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Pusan Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Apolo Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Surya Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Nagi Land Lease Godo Kaisha (“Nagi Land”)

ถือที่ดินของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ประเทศญี่ปุ่น

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Rangi Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Dazbog Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Narang Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Malina Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0

Legba Godo Kaisha

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

1.00 เยน

100.0


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 16

ชื่อบริษัท J2 Investor Godo Kaisha J1 Investor Godo Kaisha (“J1”) BCPG Engineering Company (“BCPGE”) Tarumi Takatoge (“Tarumizu”) Godo Kaisha Huang Ming Japan Co., Ltd. (“HMJ”) บริษัท บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 1 จ�ำกัด (“BBP 1”) บริษัท บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร์ 2 จ�ำกัด (“BBP 2”) BCPG Wind Cooperatief U.A. PetroWind Energy Inc. Star Energy Group Holdings Pte.,Ltd.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศ ญีป่ นุ่ ในฐานะนักลงทุนทีเค ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศ ญีป่ นุ่ ในฐานะนักลงทุนทีเค ด�ำเนินธุรกิจเป็นผู้รับเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) และให้บริการและซ่อมบ�ำรุง (O&M) โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ที่คาโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตัง้ ญี่ปุ่น

ทุนเรียกช�ำระ 1.00 เยน

การถือหุ้น (1) (ร้อยละ) 100.0

ญี่ปุ่น

107.00 ล้านเยน

100.0

ญี่ปุ่น

40.00 ล้านเยน

100.0

ญี่ปุ่น

-(3)

100.0

ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ชิบะ ประเทศญี่ปุ่น โดยโครงการดังกล่าวอยู่ระหว่าง การพัฒนา เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ญี่ปุ่น

0.10 ล้านเยน (BCPGJ เป็นผู้ถือ หุ้นบุริมสิทธิ 19.3 ล้านเยน) (3) 0.10 ล้านเยน

ไทย

15.00 ล้านบาท

99.9

เพือ่ รองรับการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ในอนาคต

ไทย

5.00 ล้านบาท

99.9

เพือ่ การลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ประเทศฟิลปิ ปินส์ ด�ำเนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าพลังงานลม

เนเธอร์แลนด์

100.0

เพื่อการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้อนใต้พภิ พ ประเทศอินโดนีเซีย

สิงคโปร์

14.16 ล้านเหรียญสหรัฐ 1,285.10 ล้านเปโซ 840.01 ล้านเหรียญสหรัฐ

ฟิลิปปินส์

40.0 33.33

หมายเหตุ : (1) สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมการถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม (2) หุ้นส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 49.0 ถือโดยนิติบุคคลที่มิได้เป็นนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามนิยามในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ.21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน (3) ทุนจดทะเบียนในรูปแบบหุ้นบุริมสิทธิแสดงจ�ำนวนเงินลงทุนในบริษัทจีเค ที่ไม่มีสิทธิออกเสียง


17

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

ความสัมพันธ์กบั กลุม่ ธุรกิจของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่

กลุ่มธุรกิจโรงกลั่น และค้าน้ำ�มัน

กลุ่มธุรกิจการตลาด

พลังงานแสงอาทิตย์

ไทย

ญี่ปุ่น

ธุรกิจพลังงาน ไฟฟ้าสีเขียว

พลังงานลม

พลังงาน ความร้อนใต้พิภพ

ฟิลิปปินส์

อินโดนีเซีย

ธุรกิจผลิตภัณฑ์ ชีวภาพ

พลังงานน้ำ�

ธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ และพัฒนาธุรกิจใหม่

พลังงานชีวมวล

ที่มา : www.bangchak.co.th, ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และบริษัทฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีหุ้นสามัญถือโดย BCP ในสัดส่วนร้อยละ 70.3 ของทุนเรียกช�ำระ โดยที่กลุ่มบริษัทฯ และ BCP มีขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจและทรัพยากรหลักในการด�ำเนินธุรกิจทีแ่ ยกจากกันอย่างชัดเจน ซึง่ กลุม่ บริษทั ฯ เป็นผูด้ ำ� เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงาน หมุนเวียน (หรือ “พลังงานไฟฟ้าสีเขียว”) เชิงพาณิชย์ในรูปแบบต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เช่น โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม โครงการโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ โครงการโรงไฟฟ้าชีวมวล และโครงการ โรงไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทฯ และ BCP ยังคงมีรายการระหว่างกันในลักษณะเกื้อหนุนการด�ำเนินธุรกิจและ ส่งเสริมภาพลักษณ์ของกลุ่มบริษัท BCP (ซึ่งหมายรวมถึงภาพลักษณ์ของบริษัทฯ) ซึ่งเปิดเผยรายละเอียดในหัวข้อเรื่องรายการระหว่างกัน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 18

รางวั รางวัลล ต่าต่งๆางๆ ปี 2560 ปี 2560

รางวั ล ดี เ ด่ น ประเภทรางวั ล ธุ ร กรรม ทางการเงินในตลาดทุน (Deal of the Year Award) ประจ�ำปี 2560 จากตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย ร่ ว มกั บ วารสารการเงิ น ธนาคาร SET Awards 2017

รางวัล Best Renewable Energy Company รางวัล Best Corporate Governance รางวัล “Country Award - Best Deal Thailand 2017 จากวารสารทางการเงิ น Principles - South East Asia 2017 จากวารสาร South East Asia สาขา Best IPO” จากนิตยสาร ระดับนานาชาติ The European - Global Banking ทางการเงินระดับนานาชาติ The European - การเงินชัน้ น�ำของเอเชีย “The Asset” ประเทศ and Finance ประเทศอังกฤษ Global Banking and Finance ประเทศอังกฤษ ฮ่องกง


19

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

รางวัล Best Acquisition Financing รางวัล Renewable Energy Deal of the Year จากนิตยสารการเงินชั้นน�ำของเอเชีย จาก The Asset Triple A Country Awards 2017 จากนิ ต ยสารการเงิ น ชั้ น น� ำ ของเอเชี ย “The Asset” ประเทศฮ่องกง “The Asset” ประเทศฮ่องกง

รางวัลสุรยิ ศศิธร ชนะเลิศปฏิทนิ ชนิดตัง้ Corporate Identity ของบีซีพีจี ออกแบบ โล่เกียรติคุณ “7 องค์กรผู้นำ� ขับเคลื่อน โต๊ะประเภททั่วไป ประจ�ำปี 2560 โดยบริษัท Dentsu One ได้รบั รางวัล Bronze การประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จาก ADMAN Awards 2017 สาขา Corporate ภาคธุ ร กิ จ เอกชน” ของบริ ษั ท บางจาก Identity Design โซลาร์ เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (บริษทั ในกลุม่ บีซพี จี )ี


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 20

ลักษณะ

การประกอบธุรกิจ

กลุ่มบริษัทฯ ลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมทัง้ สิน้ 138.9 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 190.9 เมกะวัตต์) โดยแบ่งเป็น • โครงการที่เปิดด�ำเนินการแล้ว ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 130.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 182.0 เมกะวัตต์) ซึ่งประกอบไปด้วย – โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่บริษัทฯ เป็นผู้ดำ� เนินการ ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 38 เมกะวัตต์ และมีอัตรา ค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน (ค่าไฟฟ้าฐาน (Base Tariff) บวกกับค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft)) และบวกส่วนเพิ่มราคา (Adder) 10 ปี – โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ด�ำเนินการโดยบริษัทย่อยซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.9 ได้แก่ BSE BSE-BRM BSE-BRM 1 BSE-CPM 1 BSE-NMA และ BSE-PRI ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 80 เมกะวัตต์ และมีอัตราค่าพลังงานไฟฟ้า พื้นฐาน (Base Tariff + Ft) และบวกส่วนเพิ่มราคา (Adder) 10 ปี – โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ผสู้ นับสนุนในการพัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดินส�ำหรับ สหกรณ์ภาคการเกษตร โดยด�ำเนินการผ่าน BSE-PRI ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.9 จ�ำนวน 3 โครงการ ก�ำลังการผลิตตามสัญญาและโครงการ Solar Coop ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวม 12.0 เมกะวัตต์ มีอตั ราค่าไฟฟ้าแบบ Feed in Tariff (FiT) 5.66 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง (บาท/kWh) • โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนา ได้แก่ โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดินส�ำหรับหน่วยงานราชการ และสหกรณ์ภาคการเกษตร ระยะ 2 (โซลาร์ฟาร์ม) ซึ่งให้การสนับสนุนโครงการฯ กับ อผศ. จ�ำนวน 2 โครงการ ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ตามสัญญาและก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 8.9 เมกะวัตต์ และคาดว่าจะสามารถเปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ได้ภายในไตรมาสที่ 2 ปี 2561 อัตราค่าไฟฟ้าแบบ FiT 4.12 บาท/kWh (2) ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ จ�ำนวน 15 โครงการ ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม ประมาณ 150.5 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 192.3 เมกะวัตต์) อายุโครงการ 20 ปี อัตราค่าไฟฟ้าแบบ FiT 32-40 เยนต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง (เยน/kWh) โดยแบ่งเป็น • โครงการที่เปิดด�ำเนินการแล้ว จ�ำนวน 7 โครงการ ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมประมาณ 34.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการ ผลิตติดตั้งรวมประมาณ 45.0 เมกะวัตต์) • โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนา จ�ำนวน 8 โครงการ ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวมประมาณ 116.5 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 147.3 เมกะวัตต์)


21

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีโครงสร้างรายได้ส่วนใหญ่มาจากการประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ ร้อยละ 91.3 ของรายได้รวม โดยสามารถจ�ำแนกได้ดังนี้ รายการ

ส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (1) ล้านบาท

2559

2560

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

1. รายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้า - รายได้ตามอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพืน้ ฐาน

912.95

30.0

804.63

23.8

770.59

21.2

- รายได้ส่วนเพิม่ ราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)

2,111.27

69.5

2,022.92

59.9

1,972.85

54.2

- รายได้ตามอัตรารับซือ้ ไฟฟ้าในรูปแบบ FiT

-

-

255.36

7.6

579.04

15.9

3,024.23

99.5

3,083.91

91.2

3,322.48

91.3

13.68

0.5

26.76

0.8

40.94

1.1

3. ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

-

-

-

-

72.44

2.0

4. ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์(3)

-

-

-

-

42.73

1.2

5. ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ

-

-

226.59

6.7

-

-

0.34

-

43.10

1.3

161.33

4.4

3,038.24

100.0

3,380.37

100.0

3,639.92

100.0

รวมรายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้า 2. รายได้จากการลงทุน(2)

6. รายได้อนื่ (4) รวมรายได้

หมายเหตุ : (1) ข้อมูลทางการเงินรวมเสมือน (2) รายได้จากการลงทุน ได้แก่ รายได้ดอกเบี้ยรับ (3) ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ (4) รายได้อ่นื เช่น ก�ำไรจากการช�ำระค่าซื้อกิจการงวดสุดท้ายให้แก่กลุ่มบริษัท SunEdison เบี้ยปรับค่าส่งงานล่าช้า และก�ำไรจากการขายอุปกรณ์ เป็นต้น

Nabas, Philippines


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 22

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศไทย ลักษณะธุรกิจผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย

กลุม่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทยภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement (“PPA”)) ทัง้ สิน้ 15 สัญญา โดยแบ่งเป็น (1) สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) จ�ำนวน 1 สัญญา ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา 30.0 เมกะวัตต์ ตามโครงการรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก และ (2) สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (“กฟภ.”) จ�ำนวน 14 สัญญา ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา สัญญาละ 8.0 เมกะวัตต์ รวมก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ตามสัญญาทัง้ สิน้ 88.0 เมกะวัตต์ ตามโครงการรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก โดยสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าตาม (1) และ (2) ดังกล่าว เป็นสัญญาประเภท Non-Firm มีอายุสญ ั ญา 5 ปี และต่ออายุได้ครัง้ ละ 5 ปี ซึง่ ได้สว่ นเพิม่ ราคารับซือ้ ไฟฟ้า (Adder) ส�ำหรับผูผ้ ลิตไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียนในอัตรา 8.00 บาท/Kwh เป็นระยะเวลา 10 ปี นับตัง้ แต่วนั เริม่ เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ ทัง้ นี้ กลุม่ บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะ ต่ออายุสญ ั ญาเมือ่ ครบก�ำหนด 5 ปี จนสิน้ อายุโครงการดังกล่าว ซึง่ โดยทัว่ ไปมีอายุโครงการประมาณ 25 ปี นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทฯ มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟภ. ในสัญญาซื้อขายไฟฟ้าโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบน พื้นดินสําหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร (“โครงการฯ”) จํานวนทัง้ สิ้น 3 สัญญา รวมทั้งสิ้น 12.0 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็นสัญญา ซื้อขายไฟฟ้าระยะเวลา 25 ปี ในอัตราค่าไฟฟ้าแบบ FiT 5.66 บาท/kWh และได้ทําการผลิตไฟฟ้าเพื่อจําหน่ายเชิงพาณิชย์ครบแล้วทั้ง 3 โครงการ ประกอบด้วยโครงการฯ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จํากัด จังหวัดอ่างทอง กําลังการผลิต 5.0 เมกะวัตต์ และโครงการฯ สหกรณ์ การเกษตร บางปะอิน จํากัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กําลังการผลิต 2.0 เมกะวัตต์ และโครงการฯ สหกรณ์การเกษตร พระนครศรีอยุธยา จํากัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กําลังการผลิต 5.0 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ บริ ษัท ฯ ได้ ล งนามร่ ว มลงทุ น ให้ สิ ท ธิ ข ายไฟตามโครงการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง บนพื้น ดิ น ส�ำหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตรกับองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์ (อผศ.) จ�ำนวน 2 โครงการ จ�ำนวน 8.9 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย (1) โครงการฯ อ�ำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ร่วมกับส�ำนักงานสงเคราะห์ทหารผ่านศึกเขตลพบุรี ก�ำลังการผลิต ติดตัง้ และตามสัญญา 5.0 เมกะวัตต์ (2) โครงการอ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ร่วมกับส�ำนักงานสงเคราะห์ทหารผ่านศึกเขตสุพรรณบุรี ก�ำลัง การผลิตติดตัง้ และตามสัญญาประมาณ 3.9 เมกะวัตต์ โดยทัง้ สองโครงการฯ นีเ้ ป็นผูม้ สี ทิ ธิในการเข้าท�ำสัญญาซือ้ ไฟฟ้า โดยจะต้องท�ำสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟภ. โดยบริษทั ฯ คาดว่าจะเริม่ ด�ำเนินการก่อสร้างโครงการดังกล่าวได้ในต้นปี 2561 และจะแล้วเสร็จในไตรมาสที่ 2 ในปีเดียวกัน และสามารถรับรูร้ ายได้ดว้ ยอัตราค่าไฟฟ้าแบบ FiT 4.12 บาท/kWh เป็นระยะเวลา 25 ปี

อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


23

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ที่ตั้งโครงการแต่ละโครงการของกลุ่มบริษัทฯ ในประเทศไทย บำเหน็จณรงค -1 (ชัยภูมิ)

บำเหน็จณรงค (ชัยภูมิ)

MWPPA

MWPPA

8.0

16.0

โซลาร สหกรณ ว�เศษชัยชาญ (อ างทอง)

ด านขุนทด (นครราชสีมา)

MWPPA

MWPPA

5.0

8.0

หนองกี่ (บุร�รัมย )

บางปะอิน (พระนครศร�อยุธยา)

8.0

38.0

MWPPA

MWPPA

กบินทร บุร� (ปราจ�นบุร�)

บางปะหัน (พระนครศร�อยุธยา)

16.0

16.0

MWPPA

MWPPA

โซลาร สหกรณ บางปะอิน (พระนครศร�อยุธยา)

5.0

กาญจนบุร�

3.9

MWPPA

โซลาร สหกรณ พระนครศร�อยุธยา (พระนครศร�อยุธยา)

ประโคนชัย (บุร�รัมย )

8.0

MWPPA พระพุทธบาท (สระบุร�)

5.0

MWPPA

MWPPA

2.0

MWPPA

สัญญา

ติดตั�ง

MW

MW

138.9 190.9 โครงการที่ด�ำเนินการแล้ว

โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 24

การใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย

ความต้องการใช้ไฟฟ้าของระบบและผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ปี 2549-2559

ความต้องการใช้ไฟฟ้า (MW) 35,000

GDP (พันล้านบาท) 14,000

30,000

12,000

25,000

10,000

20,000

8,000

15,000

6,000

10,000

4,000

5,000

2,000 2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

CAGR 10 ปี

3.5%

3.2%

2559

GDP

ความต้องการใช้ไฟฟ้าในระบบ

ที่มา : กฟผ., www.egat.co.th และ ธนาคารแห่งประเทศไทย, www.bot.or.th

ความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการเพิ่มขึ้นของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product (GDP)) โดยระหว่างปี 2549 – 2559 ความต้องการใช้ไฟฟ้าของระบบเพิ่มขึ้นจาก 21,064 เมกะวัตต์ เป็น 29,619 เมกะวัตต์ คิดเป็น อัตราการเติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 3.5 ต่อปี ในขณะทีม่ ลู ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิม่ ขึน้ จาก 7,188.80 พันล้านบาท เป็น 9,823.10 พันล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.2 ต่อปี ประมาณการความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดและก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา ปี 2558-2579

(MW) 80,000 70,000 60,000

ความต้องการใช้ไฟฟ้า ของระบบ-CAGR 21 ปี

50,000

2.6%

40,000 30,000 20,000

ประมาณการความต้องการไฟฟ้าสูงสุด

2579

2578

2577

2576

2575

2574

2573

2572

2571

2570

2569

2568

2567

2566

2565

2564

2563

2562

2561

2560

2559

2558

10,000

ประมาณการกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา

ที่มา : แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015)

ตามแผน PDP 2015 อัตราการเติบโตเฉลีย่ ของความต้องการพลังงานไฟฟ้ารวมสุทธิของประเทศทีร่ ้อยละ 2.6 ต่อปี ระหว่างปี 2557-2579 โดยคาดว่าความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในอนาคตจะเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จาก 27,633 เมกะวัตต์ในปี 2557 เป็น 49,655 เมกะวัตต์ในปี 2579


25

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

สัดส่วนก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาจากพลังงานหมุนเวียนปี 2557 เปรียบเทียบกับเป้าหมายในปี 2579 ตามแผน AEDP 2015 19,684 MW คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.1 ของกำ�ลังการผลิตทั้งหมด

7,400 MW คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.9 ของกำ�ลังการผลิตทั้งหมด

69.5%

82.5%

CAGR

4.5%

30.5%

17.5% ปี 2557 พลังงานแสงอาทิตย์

เป้าหมายปี 2579 พลังงานหมุนเวียนประเภทอื่นๆ

ที่มา : กฟผ., www.egat.co.th และ ธนาคารแห่งประเทศไทย, www.bot.or.th

แนวโน้มอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2532 กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในการผลิตไฟฟ้า โดยเฉพาะการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน เพื่อกระจายโอกาสไปยังพื้นที่ห่างไกลให้มสี ่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า ลดความสูญเสียในระบบไฟฟ้า และลดภาระการลงทุนของ ภาครัฐ จากนโยบายส่งเสริมดังกล่าวส่งผลให้ก�ำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญาจากพลังงานหมุนเวียนมีปริมาณรวมเท่ากับ 7,400 เมกะวัตต์ โดย เป็นก�ำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญาจากพลังงานแสงอาทิตย์ ร้อยละ 17.5 และพลังงานหมุนเวียนประเภทอืน่ ๆ ร้อยละ 82.5 (ข้อมูล ณ สิน้ ปี 2559) ประกอบกับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579 (AEDP 2015) ที่จัดท�ำโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน ก�ำหนดเป้าหมายการเพิม่ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนจากร้อยละ 9.9 ของก�ำลังการผลิตไฟฟ้ารวมในปี 2557 เป็นร้อยละ 20.1 ของก�ำลังการผลิตไฟฟ้ารวมในปี 2579 ซึ่งคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 4.5 ต่อปี ซึ่งสอดคล้องกับแผน PDP 2015 ที่ ตั้งเป้าหมายสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในช่วงร้อยละ 15.0-20.0 ของก�ำลังการผลิตไฟฟ้ารวมภายในปี 2579 นอกจากนี้ ในปี 2549 ภาครัฐได้ออกมาตรการจูงใจด้านราคาผ่านระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP และ VSPP โดยสนับสนุนผ่าน มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) และต่อมาในปี 2557 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้อนุมัติหลักการในการ ปรับเปลี่ยนมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเป็นการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) คงที่ตลอดอายุสัญญา เช่น โครงการทีร่ ว่ มกับสหกรณ์การเกษตร ก�ำหนดอัตราค่าไฟ FiT 5.66 บาท/kWh และโครงการทีร่ ว่ มกับ อผศ. อัตราค่าไฟ FiT 4.12 บาท/kWh เป็นระยะเวลาสนับสนุน 25 ปี จากการเติบโตของการใช้ไฟฟ้าและภาวะอุตสาหกรรม กลุ่มบริษัทฯ คาดว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้าโครงการใหม่ของกลุ่มบริษัทฯ จะต้อง เผชิญกับการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นในการประมูลหรือยื่นขออนุญาตขายไฟฟ้า การจัดหาที่ดินขนาดใหญ่ในท�ำเลที่เหมาะสมในการประกอบธุรกิจ เป็นต้น อย่างไรก็ดี กลุ่มบริษัทฯ ตระหนักถึงการแข่งขันดังกล่าว จึงติดตามปัจจัยส�ำคัญที่อาจส่งผลต่อการแข่งขันในการด�ำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทฯ ในอนาคต เพื่อเตรียมความพร้อมของกลุ่มบริษัทฯ ในการประมูลหรือยื่นขออนุญาตขายไฟฟ้าโครงการใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 26

Nikaho

8.8

ที่ตั้งโครงการแต่ละโครงการของกลุ่มบริษัทฯ ในประเทศญี่ปุ่น

MWPPA

Komagane

Nagi

10.5

25.0

MWPPA

MWPPA

Yabuki

20.0

Takamori

1.0

MWPPA

MWPPA

Chiba

30.0

Shimoyunohira

8.0

MWPPA Nakatsugawa (0.7), Tarumizu (8.1)

8.8

MWPPA

Nagota (24.0), Isakida (3.5), S5 (6.0)

33.5

MWPPA

โครงการที่ด�ำเนินการแล้ว

Nojiri

0.9

MWPPA

MWPPA

Gotemba

4.0

MWPPA

สัญญา

ติดตั�ง

MW

MW

150.5 192.3 โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา


27

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ ลักษณะธุรกิจผลิตไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น

กลุม่ บริษทั ฯ มีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศ ญีป่ นุ่ ทีด่ าํ เนินการแล้ว รวมทัง้ สิน้ 7 โครงการ กําลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัญญารวม 34.0 เมกะวัตต์ (กําลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 45.0 เมกะวัตต์) ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement : PPA) ทั้งสิ้น 7 สัญญา มีอายุสัญญา 20 ปีนบั จากวันที่อ่านมิเตอร์ ขายไฟฟ้าครั้งแรก โดยที่ • 5 โครงการแรก (ได้ แ ก่ Takamori Nakatsugawa Nojiri Tarumizu และ Nikaho) มีขนาดกําลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา รวม 19.5 เมกะวัตต์ (กําลังการผลิตติดตัง้ รวมประมาณ 26.6 เมกะวัตต์) และอัตรารับซือ้ ไฟฟ้าแบบ FiT อยูท่ ี่ 40 เยน/kWh • 1 โครงการ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Nagi ที่เปิดด�ำเนินการเมื่อไตรมาสที่ 1 ปี 2560 ขนาดกําลังการผลิต ไฟฟ้าตามสัญญา 10.5 เมกะวัตต์ (กําลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 14.0 เมกะวัตต์) โดยมีอัตรารับซื้อไฟฟ้าแบบ FiT อยู่ท่ี 36 เยน/kWh • 1 โครงการ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Gotemba ตั้งอยู่ที่แขวง Shizuoka ได้เชื่อมต่อเข้ากับระบบสายส่งและ เปิดด�ำเนินการเมื่อปลายเดือนธันวาคม 2560 ขนาดก�ำลังการผลิต ไฟฟ้าตามสัญญา 4.0 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวม 4.4 เมกะวัตต์) มีอายุสัญญา 20 ปีนับจากวันที่อ่านมิเตอร์ขายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ ครั้งแรกและมีอัตรารับซื้อไฟฟ้าแบบ FiT ที่ 32 เยน/kWh นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทฯ ยังคงมีโครงการโรงไฟฟ้าที่อยู่ระหว่าง การก่อสร้างและพัฒนาอีก 116.5 เมกะวัตต์ (กําลังการผลิตติดตั้ง รวม 147.3 เมกะวัตต์) โดยมีอัตราการรับซื้อไฟฟ้าแบบ FiT ที่ 32-36 เยน/kWh

การใช้ไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น

ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รัฐบาลญี่ปุ่นได้เปิดเสรีอุตสาหกรรม ไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่าง เป็นธรรมและมีความโปร่งใส โดยโครงสร้างกิจการไฟฟ้าในประเทศ ญี่ปุ่น ประกอบด้วย (1) ระบบผลิตไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ ผู้ผลิตและค้าส่ง ไฟฟ้า (2) ระบบส่ง จัดจ�ำหน่าย และการบริหารโครงข่ายไฟฟ้า และ (3) การตลาดและการขาย โดยมีผปู้ ระกอบกิจการไฟฟ้าเอกชนจ�ำนวน 10 รายเป็นผู้ให้บริการจัดหาไฟฟ้าและรับผิดชอบระบบส่งไฟฟ้าจาก ระบบผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้าไปสู่ผู้ใช้ไฟฟ้าในภูมิภาคที่แต่ละ ผู้ประกอบกิจการรับผิดชอบ ในเดือนเมษายน 2548 สภาก�ำกับกิจการไฟฟ้าประเทศญี่ปุ่น (Electric Power System Council of Japan (“ESCJ”)) ได้ถูกจัดตั้งขึ้น เพื่อท�ำหน้าที่ออกกฎเกณฑ์ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานเพื่อให้ระบบ ส่งไฟฟ้า และระบบจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า ให้มคี วามโปร่งใสและเป็นธรรม นอกจากนี้ ตลาดซื้อขายไฟฟ้าประเทศญี่ปุ่น (Japan Electric Power Exchange (“JEPX”)) ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2546 และ

เริ่มด�ำเนินธุรกิจในเดือนเมษายน 2548 จากการลงทุนของผู้ประกอบ กิจการไฟฟ้า PPS และผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง ทั้งนี้ JEPX เปิดด�ำเนินการ เป็นตลาดค้าส่งไฟฟ้าทั้งการซื้อขายแบบส่งมอบทันที (Spot) และการ ซื้อขายล่วงหน้า (Forward) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวชี้วัดด้านราคา เพื่อใช้พิจารณาความเสี่ยงจากการลงทุนในอุตสาหกรรมไฟฟ้า และ เป็นตลาดกลางให้ผู้ประกอบกิจการที่มีแหล่งพลังงานไฟฟ้าส่วนเกิน และส่วนขาดสามารถซือ้ ขายแลกเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ากันได้

การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในประเทศญี่ปุ่น

เหตุการณ์อบุ ตั เิ หตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟกุ ชุ มิ ะไดอิชหิ ลังจากเหตุ แผ่นดินไหวและสึนามิครัง้ ใหญ่ในปี 2554 ส่งผลให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่เหลืออีก 48 แห่งในประเทศญี่ปุ่นต้องปิดด�ำเนินการเพื่อทดสอบ ความปลอดภัย และส่งผลให้อัตราค่าไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่นปรับตัว เพิ่มขึ้นอย่างมาก เนื่องจากการน�ำเข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลเพื่อทดแทน เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ โดยอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยส�ำหรับภาคครัวเรือนและ ภาคอุตสาหกรรมระหว่างปี 2553 - 2557 เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 25.2 และร้อยละ 38.2 ตามล�ำดับ รัฐบาลญี่ปุ่นได้ออกนโยบายและมาตรการหลายรูปแบบเพื่อ สร้างความมั่นคงและเสถียรภาพทางพลังงานทั้งในภาวะปกติและ ภาวะวิกฤต และหนึ่งในนโยบายและมาตรการพัฒนาแหล่งพลังงาน ภายในประเทศที่ส�ำคัญคือ การส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน โดยการพัฒนาโครงข่ายระบบไฟฟ้า การสนับสนุนด้านกฎระเบียบที่ เกีย่ วข้อง และการวิจยั และพัฒนาเพือ่ ลดต้นทุนการด�ำเนินการ เป็นต้น นอกจากนี้ สภานิติบัญญัติญี่ปุ่นได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติ การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนโดยบริษัทผู้ประกอบกิจการ ไฟฟ้า (The Act on Purchase of Renewable Energy Sourced Electricity by Electric Utilities) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 ได้ก�ำหนดกรอบการ รับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT ส�ำหรับพลังงานหมุนเวียน โดยที่ Ministry of Economy Trade and Industry (METI) จะก�ำหนดอัตราการรับซื้อ ไฟฟ้าในรูปแบบ FiT รายปี METI วางเป้าหมายเบือ้ งต้นในการเพิม่ สัดส่วนปริมาณการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเป็นร้อยละ 22.0-24.0 ของก�ำลังการผลิต ไฟฟ้าทั้งหมดในปี 2573 เพื่อปรับสัดส่วนเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิต ไฟฟ้าให้มคี วามเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัย ประสิทธิภาพ ทางเศรษฐกิจ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และความมั่นคงทาง พลัง งาน และเพื่อ ลดการพึ่ง พิง การใช้ พ ลัง งานนิว เคลีย ร์ ภ ายใต้ ขอบเขตทีส่ ามารถท�ำได้ ทัง้ นี้ ภายหลังการประกาศใช้กรอบการรับซือ้ ไฟฟ้าในรูปแบบ FiT สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนือ่ ง โดยปริมาณการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ จาก ร้อยละ 9.6 ของปริมาณการผลิตไฟฟ้ารวมในปี 2553 เป็นร้อยละ 12.2 ในปี 2557 และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 22.0 ถึงร้อยละ 24.0 ในปี 2573


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 28

ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในปี 2553 และปี 2557 และเป้าหมายในปี 2573 948 TWh

1,065 TWh

9.6%

12.2%

22.0%24.0%

28.6%

31.0%

20.0%22.0%

25.0%

26.0%

46.1% 29.3%

น้ำ�มัน

27.0%

7.5%

10.6%

3.0%

2553

2557

2573

ถ่านหิน

LNG

นิวเคลียร์

พลังงานหมุนเวียน

ที่มา : Japan’s Electricity Market Reform and Beyond วันที่ 7 กรกฎาคม 2558, METI และ Inside Japan’s Long-term Energy Policy, IEEJ : กันยายน 2558

อัตราการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ของโครงการ ที่ยื่นค�ำขอในแต่ละปี ระยะเวลาที่ยื่นค�ำขอ 1 กรกฎาคม 2555 - 31 มีนาคม 2556

Feed-in Tariff (FiT) (เยนต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง) 40

1 เมษายน 2556 - 31 มีนาคม 2557

36

1 เมษายน 2557 - 31 มีนาคม 2558

32

1 เมษายน 2558 - 30 มิถนุ ายน 2558

29

1 กรกฎาคม 2558 - 31 มีนาคม 2559

27

1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2560

24

1 เมษายน 2560 - 31 มีนาคม 2561

21(<2MW) หรือวิธีประมูลราคา(>2MW)

ภายหลังการประกาศใช้กรอบการรับซื้อไฟฟ้าในรูปแบบ FiT ในปี 2555 ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มีการปรับ ตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์จากโรงไฟฟ้าที่ลงทะเบียนภายใต้กรอบการรับซื้อไฟฟ้า ในรูปแบบ FiT เพิ่มขึ้นจาก 5 กิกะวัตต์ ในปี 2555 เป็น 79 กิกะวัตต์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1,586 ในขณะที่กำ� ลัง การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์จากโรงไฟฟ้าทีเ่ ปิดด�ำเนินการ แล้ ว เพิ่ ม ขึ้ น จาก 1 กิ ก ะวั ต ต์ ในปี 2555 เป็ น 26 กิ ก ะวั ต ต์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3,138 การเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ส่งผลให้ ผูป้ ระกอบกิจการไฟฟ้าเอกชนบางรายเริม่ ประสบข้อจ�ำกัดด้านความ สามารถของระบบโครงข่ายไฟฟ้าในการรับปริมาณพลังงานไฟฟ้า และท�ำให้อตั รารับซือ้ ไฟฟ้าปรับลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ รอบระยะเวลา 1 เมษายน 2560 ถึง วันที่ 31 มีนายน 2561 และอัตราการรับซือ้ ไฟฟ้า FiT ปรับลดลงเหลือ 21 เยน/KWh และ รวมถึงการใช้วิธีประมูลราคา

ที่มา : Settlement of FY2013 Purchase Prices for Newcomers and FY2013 Surcharge Rates under the Feed-in Tariff Scheme for Renewable Energy, Settlement of FY2014 Purchase Prices and FY2014 Surcharge Rates under the Feed-in Tariff Scheme for Renewable Energy, Settlement of FY2015 Purchase Prices and FY2015 Surcharge Rates under the Feed-in Tariff Scheme for Renewable Energy และ Settlement of FY2016 Purchase Prices and FY2016 Surcharge Rates under the Feed-in Tariff Scheme for Renewable Energy, www.meti.go.jp


29

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

โครงสร้างรายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้าแยกตามโครงการ รายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทฯ ตามข้อมูลทางการเงินรวม ในปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 และ 2560 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 2560 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ (1)

BCPG รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-BRM รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-BRM 1 รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-CPM 1 รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-NMA รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) BSE-PRI รายได้จากอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) รายได้ตามอัตราการรับซื้อในรูปแบบ FiT รวมโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศไทย Natkatsugawa Takamori Nojiri Tarumizu Nikaho Nagi รวมโครงการโรงไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น รวม หมายเหตุ: (1) ข้อมูลจากงบการเงินเสมือน

245.44 567.27

8.1 18.8

204.46 513.59

6.6 16.7

194.13 497.63

5.8 15.0

269.05 620.48

8.9 20.5

240.17 602.49

7.8 19.5

235.34 600.50

7.1 18.1

66.65 154.46

2.2 5.1

61.50 155.04

2.0 5.0

58.87 150.61

1.8 4.5

66.08 153.25

2.2 5.1

59.46 148.82

1.9 4.9

56.17 143.49

1.7 4.3

68.37 158.21

2.3 5.2

61.37 154.98

2.0 5.0

57.81 147.94

1.7 4.5

65.96 152.87

2.2 5.1

59.00 148.56

1.9 4.8

56.60 144.95

1.7 4.4

131.40 304.73 3,024.23 3,024.23

4.3 10.1 100.0 100.0

118.67 299.44 2.05 2,830.60 12.59 17.87 17.32 130.31 75.22 253.31 3,083.91

3.8 9.7 0.1 91.8 0.4 0.6 0.6 4.2 2.4 8.2 100.0

111.68 287.74 97.56 2,841.01 12.59 17.35 16.31 125.50 143.96 165.76 481.47 3,322.48

3.4 8.7 2.9 85.5 0.4 0.5 0.5 3.8 4.3 5.0 14.5 100.0


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 30

Nabas 14.4 + 5.6 (36.0)

(14.0)

MW

การลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าโดยผ่านบริษทั ร่วม โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมในประเทศฟิลิปปินส์

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม (สัดส่วนการลงทุนร้อยละ 40.0 ของทุ น เรี ย กช� ำ ระ) ตั้ ง อยู ่ ที่ เ มื อ ง Nabas ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เปิ ด ด� ำ เนิ น การตั้ ง แต่ วั น ที่ 10 มิ ถุ น ายน 2558 ขนาดก� ำ ลั ง การผลิ ต 36.0 เมกะวั ต ต์ (ค� ำ นวณตามสั ด ส่ ว นการลงทุ น เที ย บเท่ า 14.4 เมกะวั ต ต์ ) และอยู ่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นาอี ก 14.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณตามสัดส่วนการลงทุนเทียบเท่า 5.6 เมกะวัตต์) มีอัตราค่าไฟฟ้าแบบ FiT ที่ 7.40 เปโซ/kWh เป็นระยะเวลา 20 ปี และ เมือ่ ครบก�ำหนดระยะเวลาดังกล่าวสามารถขายไฟฟ้าได้ในราคาตลาด ในปี 2560 ส่วนแบ่งก�ำไรจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม เท่ากับ 1.06 ล้านบาท (ซึ่งเป็นก�ำไรจากผลการด�ำเนินงานในช่วง เดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม 2560) โครงการทีด่ ำ� เนินการแล้ว

โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนา

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ ตัง้ อยูใ่ นเขต West Java ประเทศอินโดนีเซีย จ�ำนวน 3 โครงการ มีขนาดก�ำลังการผลิตทีเ่ ปิด ด�ำเนินการแล้วรวม 875.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณตามสัดส่วนการลงทุนเทียบเท่า 157.5 เมกะวัตต์) และอยูร่ ะหว่างการพัฒนา 120.0 เมกะวัตต์ (ค�ำนวณตาม สัดส่วนการลงทุนเทียบเท่า 24.0 เมกะวัตต์) อัตรารับซื้อไฟฟ้าเฉลี่ย 0.06 - 0.09 เหรียญสหรัฐ/kWh ซึ่งแปรผันตามดัชนีเงินเฟ้อต่างๆ ได้แก่ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีราคาผู้บริโภค และดัชนีน�้ำมัน เป็นต้น รายละเอียดโครงการเป็นดังนี้ ชื่อโครงการ ที่ตั้ง สัดส่วนการถือหุ้นทางอ้อม ผู้รับซื้อไฟฟ้า

Wayang-Windu Pangaiengan Regency

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ Salak(1) Sukabumi Regency

ร้อยละ 20.0 PT Perusahaan Listrik Negara (PLN) (2)

ร้อยละ 17.3 PT Perusahaan Listrik Negara (PLN) (2)

ก�ำลังการผลิตตามสัญญา ไอน�้ำ: (เพื่อให้ PLN ผลิตไฟฟ้า) ไฟฟ้า: - โครงการที่เปิดด�ำเนินการแล้ว ยูนิต 1-2: 227.0 เมกะวัตต์ - โครงการระหว่างพัฒนา ยูนิต 3-4: 120.0 เมกะวัตต์ ก�ำลังการผลิตรวม 347.0 เมกะวัตต์

Darajat(1) Garat Regency และ Bandung regency ร้อยละ 17.3 PT Perusahaan Listrik Negara (PLN) (2)

ยูนิต 1-3: 180.0 เมกะวัตต์

ยูนิต 1: 55.0 เมกะวัตต์

ยูนิต 4-6: 197.0 เมกะวัตต์ 377.0 เมกะวัตต์

ยูนิต 2-3: 216.0 เมกะวัตต์ 271.0 เมกะวัตต์


31

ชื่อโครงการ Wayang-Windu ก�ำลังการผลิตตามสัญญาสัดส่วนการลงทุน ไอน�้ำ: (เพื่อให้ PLN ผลิตไฟฟ้า) ไฟฟ้า: - โครงการทีเ่ ปิดด�ำเนินการแล้ว ยูนิต 1-2: 45.4 เมกะวัตต์ - โครงการระหว่างพัฒนา ยูนิต 3-4: 24.0 เมกะวัตต์ ก�ำลังการผลิตรวม 69.4 เมกะวัตต์

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ Salak(1)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

Darajat(1)

ยูนิต 1-3: 31.1 เมกะวัตต์

ยูนิต 1: 9.5 เมกะวัตต์

ยูนิต 4-6: 34.1 เมกะวัตต์ 65.2 เมกะวัตต์

ยูนิต 2-3: 37.4 เมกะวัตต์ 46.9 เมกะวัตต์

หมายเหตุ: (1) กลุ่ม Star Energy เข้าซื้อโครงการ Salak และ โครงการ Darajat จากกลุ่ม Chevron เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2560 (2) หมายถึง การไฟฟ้าอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจเพียงแห่งเดียวที่มหี น้าที่หลักในการให้บริการด้านระบบไฟฟ้าในประเทศอินโดนีเซีย (3) อยู่ระหว่างการขุดหลุมส�ำรวจเพื่อพิจารณายืนยันความเป็นไปได้

ในปี 2560 ส่วนแบ่งก�ำไรจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ เท่ากับ 332.59 ล้านบาท และก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมเท่ากับ 312.58 ล้านบาท (ก�ำไรจากผลการด�ำเนินงานในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม 2560)

Salak

65.0 MW

Darajat

(377 MW)

Wayang Windu +

45.0 24.0 MW MW (227 MW)

47.0 MW (271 MW)

(120 MW)

โครงการทีด่ ำ� เนินการแล้ว

โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนา


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 32

โครงสร้างการถือหุ้น ทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระ เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2559 บริษัทฯ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์ฯ) ภายใต้หมวดพลังงานและ สาธารณูปโภค และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียน 10,000,000,000.00 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจ�ำนวน 2,000,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท และมีทุนเรียกช�ำระทั้งสิ้น 9,961,521,535.00 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 1,992,304,307 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท

โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2560(1) รายชื่อผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ มีดังนี้ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

จ�ำนวนหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)

1,399,999,994

70.3

2. บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จ�ำกัด

56,747,402

2.8

3. นายสมภพ ติงธนาธิกุล

18,000,000

0.9

4. นายภมร พลเทพ

14,000,000

0.7

5. ส�ำนักงานประกันสังคม

12,354,234

0.6

6. นางสาวพิสชา เหมวชิรวรากร

12,000,000

0.6

รวมผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่

1,513,101,630

75.9

รวมจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

1,992,304,307

100.0

1. BCP (2)

หมายเหตุ: (1) วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งล่าสุด (2) BCP เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน�ำ้ มันและธุรกิจจ�ำหน่ายน�ำ้ มัน ณ วันที่ 15 กันยายน 2560 (ซึ่งเป็นวันปิด สมุดทะเบียนล่าสุด) BCP มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ดังนี้


33

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 1. ส�ำนักงานประกันสังคม 2. บริษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 3. กระทรวงการคลัง 4. กองทุนรวม วายุภักษ์หนึ่ง โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จ�ำกัด (มหาชน) 5. กองทุนรวม วายุภักษ์หนึ่ง โดย บลจ.กรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) 6. กองทุนเปิด กรุงศรีหุ้นระยะยาวปันผล 7. AIA TH-EQ4-P 8. STATE STREET BANK EUROPE LIMITED 9. บริษทั กรุงเทพประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) 10. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD รวมผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก รวมจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์ฯ, www.set.or.th

Wayang-Windu, West Java, Indonesia

จ�ำนวนหุ้น 185,709,297 138,066,757 137,442,767 102,166,800 102,166,800 37,598,000 30,000,069 25,767,176 23,056,200 18,767,700 800,741,566 1,376,923,157

โครงสร้างการถือหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) 13.5 10.0 10.0 7.4 7.4 2.7 2.2 1.9 1.7 1.4 58.1 100.0


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 34

การออกหลักทรัพย์อนื่ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2560 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทฯ ไม่เกิน 10.00 ล้านหน่วย เพื่อเสนอขายให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (โครงการ “ESOP”) โดยมี รายละเอียดดังนี้ ชื่อหลักทรัพย์ ประเภท/ชนิด อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จัดสรร จ�ำนวนหุ้นสามัญที่จัดสรรไว้ เพื่อรองรับการใช้สิทธิ วันออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราการใช้สิทธิ

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษทั บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) ที่ออกให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย : ระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ เว้นแต่จะเป็นการโอนตามเงื่อนไขในข้อก�ำหนดสิทธิ : 5 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ ภายหลังการออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ บริษัทฯ จะไม่ ข ยายอายุ ใ บส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ แ ละจะเสนอขายหุ ้ น รองรั บ ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ตามอายุ ข อง ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ : 10,000,000 หน่วย : 10,000,000 หุน้ ซึง่ คิดเป็นประมาณร้อยละ 0.50 ของจ�ำนวนหุน้ ทีจ่ ำ� หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ

: 18 เมษายน 2560 : -0- บาท (ศูนย์บาท) : ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น เว้นแต่กรณีมีการปรับอัตรา การใช้สิทธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ ราคาการใช้สิทธิ : ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิแต่ละรายสามารถใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ได้ในราคา ดังต่อไปนี้ (1) ราคา 10.00 บาทต่อหุ้น ส�ำหรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิจ�ำนวนร้อยละ 50 ของ จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานแต่ละรายได้รบั จัดสรรจากบริษัทฯ (2) ราคา 13.82 บาทต่อหุ้นส�ำหรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออีกจ�ำนวน ร้อยละ 50 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดทีก่ รรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานแต่ละรายได้รบั จัดสรรจากบริษทั ฯ วันก�ำหนดการใช้สิทธิ : ทุ ก วั น ที่ 25 ของเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ พฤษภาคม สิ ง หาคม พฤศจิ ก ายน ตลอดอายุ ข อง ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ โดยวันก�ำหนดการใช้สิทธิครั้งแรก คือ วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 และวัน ก�ำหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย จะตรงกับระยะเวลา 5 วันท�ำการก่อนวันที่ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ มีอายุครบ 5 ปีนับแต่วันที่บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ ในกรณีที่ วันก�ำหนดการใช้สิทธิตรงกับวันหยุดท�ำการของบริษัทฯ ให้เลื่อนก�ำหนดวันใช้สิทธิดังกล่าวเป็น วันท�ำการก่อนหน้า สิทธิและประโยชน์อย่างอื่นนอกจาก : -ไม่มีสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ต ามปกติ ข องหุ ้ น สามัญ ตลาดรองของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ : บริษัทฯ จะไม่นำ� ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้ไปจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลาดรองของหุ้นสามัญที่เกิดจากการ : บริษัทฯ จะน�ำหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก ใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ในครั้งนี้เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ใช้สทิ ธิ จ�ำนวน 7.7 ล้านหน่วย หรือคิดเป็นร้อยละ 0.4 ของทุนเรียกช�ำระ


35

โครงสร้างการถือหุ้น

นโยบายจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ

บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 40.0 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการหลังจากการหัก ทุนส�ำรองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมายแล้ว โดยมติของคณะกรรมการบริษัทที่อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลจะ ต้องถูกน�ำเสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีอ� ำนาจอนุมัติ การจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานให้ทปี่ ระชุมผู้ถอื หุ้นรับทราบในการประชุมคราวต่อไป ทัง้ นี้ การจ่ายเงินปันผลขึน้ อยู่กบั ภาวะ เศรษฐกิจ กระแสเงินสดของบริษัทฯ และแผนการลงทุนของบริษัทฯ และบริษัทในเครือในแต่ละปี ตามความจ�ำเป็น ความเหมาะสม และ ข้อพิจารณาอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นสมควร

บริษัทย่อย บริษัทย่อยในประเทศไทย บริษัทย่อยในประเทศไทยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.0 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการหลังจากการ หักทุนส�ำรองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทแต่ละบริษัท และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดหลังจากหักข้อผูกพัน ของบริษัท แผนการลงทุนในแต่ละปี และข้อพิจารณาอื่นๆ ที่กรรมการของบริษัทแต่ละบริษัทเห็นสมควร ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม บริษัทย่อยในต่างประเทศ บริษัทย่อยในต่างประเทศมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 40.0 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจากการ หักทุนส�ำรองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทแต่ละบริษัท และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดหลังจากหักข้อผูกพัน ของบริษัท แผนการลงทุนในแต่ละปี และข้อพิจารณาอื่นๆ ที่กรรมการของบริษัทแต่ละบริษัทเห็นสมควร ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจากบริษัทย่อยที่จัดตั้งอยู่ในต่างประเทศให้แก่บริษัทฯ อาจมีต้นทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจากการจ่ายเงินปันผล ดังกล่าว เช่น ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (withholding tax) ภาษีที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องในการท�ำรายการ และผลก�ำไรหรือขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยน

ข้อมูลการจ่ายเงินปันผลย้อนหลัง ปี 2559 - 2560 บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถอื หุ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ การจ่ายปันผล

ปี 2559 ม.ค.-ธ.ค. 2559 0.77

เงินปันผลระหว่างกาล (บาทต่อหุ้น) อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

ก�ำไรต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

ม.ค.-มี.ค. 2560 0.23

ปี 2560 เม.ย.-มิ.ย. 2560 0.23

ก.ค.-ก.ย. 2560 0.26

0.60

0.15

0.15

0.15

77.9

65.2

65.2

57.7


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 36

โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวน 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการการลงทุน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และมีการแบ่งสายการบังคับบัญชาเป็นสายงานต่างๆ โดยสรุปเป็นแผนภาพผังโครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ดังนี้

คณะกรรมการบร�ษัท

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล (CGC)

คณะกรรมการบร�หาร ความเสี่ยงทั�งองค กร (ERMC)

คณะกรรมการสรรหาและ กำหนดค าตอบแทน (NRC)

คณะกรรมการการลงทุน(1) (IC)

คณะกรรมการตรวจสอบ (AC)

กรรมการผูจัดการใหญ

ฝ ายสื่อสารองค กร

สำนักตรวจสอบภายใน

สายงาน พัฒนาธุรกิจ

สายงาน ปฏิบัติการ

สายงาน ยุทธศาสตร องค กร

สายงาน การเง�นและ บัญช�

สายงานบร�หาร ความเป นเลิศ องค กร

หมายเหตุ: (1) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 13/2560 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 มีมติเห็นชอบให้เปลี่ยนชื่อเรียก “คณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน” เป็น “คณะกรรมการการลงทุน”


37

โครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กรรมการบริษัท มีจ�ำนวน 10 คน ดังนี้ รายชื่อ

1. นายพิชัย ชุณหวชิร (1)

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ

จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม / จ�ำนวนครั้งของการประชุมทั้งหมด คณะกรรมการ กรรมการ บริษัท ที่ไม่เป็นผู้บริหาร /กรรมการอิสระ 12/13 - (1)

2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ (2) รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (3) รองประธานกรรมการ / ประธานกรรมการการลงทุน 3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช

12/13

2/2

13/13

- (11)

4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์ (4)

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการการลงทุน / กรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร / กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

13/13

2/2

13/13

2/2

13/13

2/2

7/7

- (11)

13/13

2/2

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้ง องค์กร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการผู้จดั การใหญ่ / กรรมการการลงทุน / กรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร /กรรมการบรรษัทภิบาล/ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท

11/13

1/2

13/13

- (11)

5. พลเอก อุทศิ สุนทร (5) 6. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี (6) 7. นายธรรมยศ ศรีช่วย (7) 8. ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง (8) 9. ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ (9) 10. นายบัณฑิต สะเพียรชัย (10)

หมายเหตุ : (1) ประธานกรรมการไม่ได้เป็นสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยใดๆ เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 ที่ตลาด หลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด และเป็นกรรมการผู้แทนจากผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ คือ BCP จึงไม่เข้าข่ายนิยามกรรมการอิสระของบริษัทฯ (2) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 และเป็นประธานกรรมการ NRC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (3) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 และเป็นประธานกรรมการ IC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (4) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ประธานกรรมการ CGC และกรรมการ NRC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (5) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 และเป็นกรรมการ AC และ กรรมการ ERMC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (6) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 และเป็นประธานกรรมการ AC และกรรมการ CGC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (7) นายธรรมยศ ศรีช่วย ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทและกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 และเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 13/2560 มีมติแต่งตั้งนายณรงค์ บุณยสงวน ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทแทน นายธรรมยศ ศรีช่วย โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 เป็นต้นไป (8) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการ AC เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2560 (9) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 เป็นกรรมการ NRC กรรมการ ERMC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 และเป็นประธานกรรมการ ERMC เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2559 (10) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 และเป็นเลขานุการ CG กรรมการ ERMC และ กรรมการ IC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 (11) การด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการการลงทุนเข้าข่ายนิยามกรรมการที่มีอ�ำนาจบริหาร จึงไม่เข้าข่ายนิยามกรรมการอิสระของบริษัทฯ


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 38

กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ (ตามหนังสือ กรรมการอิสระ รับรองบริษัท ณ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560) คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอิสระ 6 ท่าน ซึ่ง ผูม้ อี าํ นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ คือ นายพิชยั ชุณหวชิร ประธาน กรรมการ ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ รวมเป็นสองคนและประทับตราสําคัญของบริษทั ฯ หรือ นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการ หรือ นายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ลงลายมือชือ่ ร่วมกับ นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช หรือ พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ หรือ พลเอก อุทิศ สุนทร หรือ นางวิไล ฉัททันต์รัศมี หรือ นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ หรือ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ หรือ นางพรรณขนิตตา บุญครอง รวมเป็น สองคนและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ

องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท

1. คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวนไม่นอ้ ย กว่า 5 คนและไม่มากกว่า 12 คน และกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของ จ�ำนวนกรรมการทัง้ หมดนัน้ ต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร และต้องมี คุณสมบัติตามที่กฎหมายและข้อบังคับบริษัทฯ ก�ำหนด โดยไม่มกี าร กีดกันทางเพศ 2. คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการที่มีความเป็น อิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และมีจำ� นวน ไม่น้อยกว่า 3 คน 3. คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยผู้มีความรอบรู้ ความ เชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในด้านธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ด้านธุรกิจระหว่างประเทศ ด้านบัญชีและการเงิน ด้านการควบคุม ภายใน ด้านกฎหมาย ด้านการพัฒนาองค์กร ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านบริหารความเสี่ยงและภาวะวิกฤติ ซึ่งมี กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เป็นผู้มคี วามรู้ความเชี่ยวชาญด้าน บัญชีและการเงิน โดยให้คณะกรรมการบริษัทเลือกกรรมการคนหนึ่ง เป็ น ประธานกรรมการ ในกรณี ท่ี ค ณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณา เห็นสมควร จะเลือกกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นรองประธาน กรรมการก็ได้ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจแต่งตั้งกรรมการ หรือบุคคลใดด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ และ มีอ�ำนาจถอดถอนบุคคลดังกล่าวจากการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ได้ดว้ ย ทัง้ นีใ้ ห้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นเลขานุการของ คณะกรรมการบริษัทโดยต�ำแหน่ง 4. ประธานกรรมการต้ อ งมิ ใ ช่ บุ ค คลเดี ย วกั น กั บ ผู ้ ที่ ด� ำ รง ต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ นอกจากนี้ประธานกรรมการต้องไม่ ด�ำรงต�ำแหน่งใดๆ ในคณะกรรมการชุดย่อยที่ได้จัดตั้งขึ้น เพื่อให้มี ความชัดเจนในการแบ่งแยกหน้าที่และการปฏิบัติงาน

มากกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด เพื่อให้กรรมการอิสระ เป็ น กลไกส� ำ คั ญ ในการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ดู แ ลผลประโยชน์ ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยสามารถถ่วงดุลอ�ำนาจการตัดสินใจของ กรรมการทั้งคณะ รวมถึงมีจิตส�ำนึกในการปฏิบัติหน้าที่ ตั้งมั่นบน ความถูกต้องและสามารถแสดงความเห็นที่เป็นอิสระ โดยไม่ตกอยู่ ภายใต้อิทธิพลหรือกลุ่มบุคคลใด คณะกรรมการบริษัทจึงก�ำหนด นิยามและคุณสมบัติของกรรมการอิสระในนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี (หมวดที่ 3) ดังต่อไปนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้าม ดั ง กล่ า วไม่ ร วมถึ ง กรณี ที่ ก รรมการอิ ส ระเคยเป็ น ข้ า ราชการ หรือทีป่ รึกษาของส่วนราชการซึง่ เป็นผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ หรือผู้มอี �ำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็น กรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริ ษั ท ฯ เว้ น แต่ จ ะได้ พ ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษทั ฯ และไม่เป็นผู้ถอื หุ้นทีม่ นี ยั ผู้มอี ำ� นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ ส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย


39

บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัด อยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการ ให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับ ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และ ไม่เป็นผู้ถอื หุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการ ทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วน ทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของ จ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการที่ มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษัทย่อย 9. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

ขอบเขต อ�ำนาจ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริ ษั ท

คณะกรรมการบริษทั ในการประชุม ครัง้ ที่ 13/2560 เมือ่ วันที่ 19 ธันวาคม 2560 มีมติอนุมตั ิการทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีของบริษัทฯ ซึ่งในนโยบายดังกล่าว ได้ระบุ บทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ไว้ดังนี้ 1. กรรมการใหม่ต้องเข้ารับการปฐมนิเทศความรู้เกี่ยวกับการ ประกอบธุรกิจของบริษัทฯ 2. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ ข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และมีความ รับผิดชอบเป็นธรรมต่อผู้ถอื หุ้น (Accountability to Shareholders) 3. ก�ำหนดนโยบาย และทิศทางการด�ำเนินงานของบริษัทฯ (Direct) และก�ำกับควบคุมดูแล (Monitoring and Supervision) ให้ฝ่าย จัดการด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย และระเบียบของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การ และความมัง่ คัง่ สูงสุด

โครงสร้างการจัดการ

ให้แก่ผู้ถอื หุ้น (Maximize Economic Value and Shareholders’ Wealth) รวมถึงน�ำนวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใช้จัดสรรทรัพยากรส�ำคัญเพื่อ เพิ่มคุณค่าให้แก่กจิ การอย่างยั่งยืน 4. ดูแลให้บริษทั ฯ มีการด�ำเนินธุรกิจต่อเนือ่ งในระยะยาว รวมทัง้ มีแผนการพัฒนาพนักงาน และความต่อเนือ่ งของผูบ้ ริหาร (Succession Plan) 5. ติดตามการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ ตลอดเวลาและ ตระหนั ก ถึ ง การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ ก�ำ หนดในสั ญ ญาที่ เกีย่ วข้องของบริษทั ฯ โดยก�ำหนดให้ฝา่ ยจัดการรายงานผลการปฏิบตั ิ งาน ตลอดจนเรื่องที่ส�ำคัญอื่นๆ ของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ เพือ่ ให้การด�ำเนิน กิจการของบริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล 6. รายงานให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทราบถึ ง สถานภาพขององค์ ก รโดย สม�่ำเสมอ และครบถ้วนตามความเป็นจริง รวมถึงแนวโน้มในอนาคต ขององค์กรทัง้ ในด้านบวกและลบ ด้วยเหตุผลสนับสนุนอย่างเพียงพอ 7. ด�ำเนินการให้บริษัทฯ มีระบบทางบัญชี การรายงานทาง การเงิน การควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่มีประสิทธิผลและเชื่อถือได้ 8. ทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นประจ�ำอย่าง สม�่ำเสมอ 9. มีบทบาทส�ำคัญในการด�ำเนินการเรือ่ งการบริหารความเสีย่ ง โดยจัดให้มแี นวทางและมาตรการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม เพียงพอ และมีการติดตามอย่างสม�่ำเสมอ 10. ควบคุม ดูแลให้ฝา่ ยจัดการมีการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทุกฝ่ายอย่างมีจริยธรรม และมีความเท่าเทียม 11. กรรมการอิสระและกรรมการจากภายนอกอืน่ มีความพร้อม ทีจ่ ะใช้ดลุ ยพินจิ ของตนอย่างเป็นอิสระในการพิจารณาก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง้ กรรมการ และการก�ำหนด มาตรฐานการด�ำเนินกิจการ ตลอดจนพร้อมที่จะคัดค้านการกระท�ำ ของกรรมการอืน่ ๆ หรือฝ่ายจัดการในกรณีทมี่ คี วามเห็นขัดแย้งในเรือ่ ง ที่มีผลกระทบต่อความเท่าเทียมกันของผู้ถอื หุ้นทุกราย 12. ในกรณีที่จ�ำเป็น คณะกรรมการบริษัทสามารถแสวงหา ความเห็นทางวิชาชีพจากทีป่ รึกษาภายนอกเกีย่ วกับการด�ำเนินกิจการ ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ 13. แต่งตัง้ เลขานุการบริษทั (Company Secretary) ตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อท�ำหน้าที่จัดท�ำและเก็บ รักษาเอกสาร และการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนก�ำหนด และช่วยด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริษัท และบริษัทฯ อันได้แก่ การประชุมคณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น ตลอดจน การให้คำ� แนะน�ำแก่กรรมการและบริษทั ฯ ในการปฏิบตั ติ น และด�ำเนิน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 40

กิจการให้ถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่างๆ อย่าง สม�่ำเสมอ อีกทั้งดูแลให้กรรมการและบริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส 14. จัดให้มบี ทบัญญัตเิ กีย่ วกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Corporate Conduct) จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน (Code of Ethics) เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั ภิ ายในองค์กร 15. งดซื้อขายหลักทรัพย์ ก่อนการประกาศแจ้งข่าวงบการเงิน อย่างน้อย 1 เดือน และหลังการประกาศแจ้งข่าวงบการเงินอย่างน้อย 3 วัน 16. รายงานการถือหลักทรัพย์ของตน ของคู่สมรส และของ บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะที่ถือในบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ในการ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และต้องแจ้ง ให้บริษัทฯ ทราบโดยมิชักช้า เมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ • มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ท�ำขึ้นระหว่างรอบปีบญ ั ชี • ถือหุ้นหรือหุ้นกู้ในบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 17. เข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต รของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย (IOD) ที่เกี่ยวกับกรรมการอย่างน้อย 1 หลักสูตร อันได้แก่ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) หรือหลักสูตร Director Certification Program (DCP) หรือเทียบเท่าเพื่อเพิ่มทักษะ ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน 18. กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ ใ นการประเมิ น ผล การปฏิบัตงิ านของกรรมการผู้จดั การใหญ่เป็นประจ�ำทุกปี 19. กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร และกรรมการอิสระประชุม ระหว่างกันเองตามความจ�ำเป็นอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี เพื่ออภิปราย ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความสนใจ โดยไม่มีฝ่าย จัดการร่วมด้วย และแจ้งให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ทราบถึงผลการประชุม 20. กรรมการแต่ละคนจะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้ไม่เกิน 5 บริษทั 21. พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ และก�ำหนดบทบาทหน้าทีข่ องคณะ กรรมการชุดย่อยต่างๆ ตามความเหมาะสมและความจ�ำเป็นเพื่อ สนับสนุนการบริหารงานของคณะกรรมการบริษัท 22. มีกลไกก�ำกับดูแลบริษัทย่อย เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ ในเงินลงทุนของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ในการ พิจารณาความเหมาะสมของบุคคลที่จะส่งไปเป็นกรรมการในบริษัท ย่อย เพื่อควบคุมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทฯ และ การท�ำรายการต่างๆ ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และหลักเกณฑ์ของ กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และประกาศของตลาด หลักทรัพย์ฯ

23. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารได้ ม าหรื อ จ� ำ หน่ า ยไปซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น การลงทุนในธุรกิจใหม่ การด�ำเนินการต่างๆ การกู้ยืม หรือ การขอ สินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้กู้ยืม ตลอดจนการเป็นผู้ค�้ำ ประกัน และการด�ำเนินการใดๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ ข้อก�ำหนด และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องของกฎหมายหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ 24. พิจารณาและหรือให้ความเห็นต่อรายการที่เกี่ยวโยงกัน และ/หรือการเข้าท�ำรายการ (ในกรณีที่ขนาดของรายการไม่ต้องได้ รับการอนุมัติโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น) ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยให้ เป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ ข้อก�ำหนด และระเบียบข้อบังคับที่ เกี่ยวข้อง 25. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทในการ จัดท�ำรายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบ บัญชีไว้ในรายงานประจ�ำปี และครอบคลุมเรื่องส�ำคัญต่างๆ ตาม นโยบายข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี ส� ำ หรั บ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 26. พิจารณาอนุมัติการจ่ายปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้น และรายงานการจ่ายปันผลดังกล่าวให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการ ประชุมผู้ถือหุ้นคราวต่อไป 27. พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติไม่ต้องห้าม ตามที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้ ง ที่ มี ก ารแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ) พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และกฎหมายต่างๆ รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการ ว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ น นอกจากออกตามวาระ ในกรณี ก ารแต่ ง ตั้ง กรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ และในกรณีการแต่งตั้ง กรรมการใหม่ รวมถึงการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการเพื่อน�ำเสนอ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 28. มอบหมายให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือบุคคล อื่นใดให้ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการบริษัทได้ ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจดังกล่าวจะต้องไม่เป็นการมอบอ�ำนาจ หรือ มอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้กรรมการ หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากกรรมการ สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วน ได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับ บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการ ที่ เ ป็ น ไปตามนโยบาย และหลั ก เกณฑ์ ที่ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น หรื อ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้เท่านั้น


41

การสรรหากรรมการ

การสรรหากรรมการก�ำหนดให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่ า ตอบแทนท�ำ หน้ า ที่ ส รรหาบุ ค คลผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ น�ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) โดยกระบวนการสรรหา กรรมการนั้น บริษัทฯ จะให้ความส�ำคัญกับบุคคลที่มีความรู้ความ สามารถ ประสบการณ์ มีประวัติการท�ำงานที่ดี และมีภาวะผู้น�ำ วิสยั ทัศน์กว้างไกล รวมทัง้ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทศั นคติทดี่ ี ต่อองค์กร สามารถอุทศิ เวลาให้ได้อย่างเพียงพอ อันเป็นประโยชน์ต่อ การด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ นอกจากนี้ ยังค�ำนึงถึงความหลากหลาย ในโครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Diversity) และจัดท�ำ Board Skill Matrix เพื่อก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการสรรหา โดย พิจารณาจากทักษะจ�ำเป็นทีย่ งั ขาด รวมถึงคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสมและ สอดคล้องกับองค์ประกอบและโครงสร้างของกรรมการตามกลยุทธ์ ทางธุรกิจของบริษัทฯ และจะใช้ฐานข้อมูลกรรมการ (Director Pool) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เป็นส่วนประกอบ ในการสรรหากรรมการใหม่ โดยมีกระบวนการที่โปร่งใส สร้างความ มั่ น ใจให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดคุ ณ สมบั ติ ข อง คณะกรรมการบริษทั ไว้ดงั นี้ 1. มีคุณสมบัติที่ไม่ขัดต่อมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และมาตรา 89/3 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 2. มีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์กว้างไกล มีคุณธรรม จริยธรรม และ มีประวัติการท�ำงานที่ดี 3. เป็นผู้ที่มีความสนใจในกิจการของบริษัทฯ และสามารถ อุทิศเวลาให้ได้อย่างเพียงพอ 4. ต้องเป็นผู้ท่ีไม่ประกอบกิจการหรือเข้าร่วมในกิจการอันมี สภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ ไม่ว่า จะท�ำเพือ่ ประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผอู้ นื่ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ทปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้เปิด โอกาสให้กรรมการและผูถ้ อื หุน้ มีสว่ นร่วมในการเสนอชือ่ กรรมการทีม่ ี คุณสมบัตเิ หมาะสม โดยให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สามารถเลือกตัง้ กรรมการ โดยใช้เสียงข้างมาก ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเนือ่ งจากเหตุอนื่ นอกจากการ ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตัง้ บุคคล ที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่ระบุข้างต้นเข้าเป็น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทคราวถัดไป เว้นแต่ วาระของกรรมการที่พ้นจากต�ำแหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดย

โครงสร้างการจัดการ

บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียง เท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน ทั้งนี้ มติการแต่งตั้ง บุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รบั คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่

การพ้นต�ำแหน่งของกรรมการบริษัท

ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจาก ต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสาม ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ซึ่งกรรมการ ทีอ่ อกตามวาระนัน้ อาจถูกเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่กไ็ ด้ แต่ทงั้ นี้ ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 3 วาระ ติดต่อกัน เว้นแต่กรรมการคนใดมีความเหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่ง นานกว่านั้น คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาความเป็นอิสระและ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการรายดังกล่าว และ ชี้แจงเหตุผลพร้อมผลการปฏิบัตหิ น้าที่ต่อผู้ถือหุ้น นอกจากการพ้ น ต�ำ แหน่ ง ตามวาระแล้ ว กรรมการพ้ น จาก ต�ำแหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 แห่ง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 4. ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ลงมติ ใ ห้ อ อกตามมาตรา 76 แห่ ง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 5. ศาลมีค�ำสั่งให้ออก 6. ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา 89/4 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ

กรรมการสามารถด�ำรงต�ำแหน่งได้รวมระยะเวลาไม่เกิน 9 ปี (วาระละ 3 ปี) เพือ่ ให้บริษทั ฯ ได้มโี อกาสสรรหากรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เหมาะสม เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ กล่าวคือ ระยะเวลาการ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 3 วาระติดต่อกัน เว้นแต่กรรมการคนใดมีความเหมาะสมทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งนานกว่านัน้ คณะกรรมการบริษทั จะพิจารณาความเป็นอิสระและประสิทธิภาพของ การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการรายดังกล่าว และชี้แจงเหตุผลพร้อม ผลการปฏิบัตหิ น้าที่ต่อผู้ถอื หุ้น


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 42

การประชุมคณะกรรมการบริษัท

1. คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดให้มกี ารประชุมอย่างสม�่ำเสมอ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง และตามความจ�ำเป็น โดยมีการก�ำหนด วาระการประชุมไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปี 2. ในการเรียกประชุมคณะกรรมการบริษัท ก�ำหนดให้มีหนังสือนัดประชุมส่งมอบให้แก่กรรมการหรือผู้แทนของกรรมการไม่น้อย กว่า 7 วันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ� เป็นเร่งด่วนเพือ่ รักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษทั ฯ อาจแจ้งการนัดประชุมโดยวิธอี นื่ และก�ำหนด วันประชุมให้เร็วกว่านั้น โดยฝ่ายจั ด การมีหน้าที่ต้องให้สารสนเทศที่เหมาะสมและทันเวลาแก่คณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ มี ห น้ า ที่ ดู แ ลให้ มั่ น ใจว่ า กรรมการทั้ ง หลายได้ รั บ สารสนเทศที่ เ กี่ ย วข้ อ งล่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย 5 วั น เพื่ อ ให้ มี เ วลาเพี ย งพอที่ จ ะศึ ก ษา พิจารณาและตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรื่องต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งดูแลให้รายงานการประชุมคณะกรรมการ บริษทั แต่ละครัง้ แล้วเสร็จภายใน 7 วันหลังการประชุม เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ได้สอบทานความถูกต้องของรายละเอียดก่อนการรับรองรายงาน การประชุมในการประชุมครัง้ ถัดไป 3. การประชุมคณะกรรมการบริษัทแต่ละครั้งควรมีกรรมการเข้าร่วมในที่ประชุมไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ในการลงมติควรมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด 4. กรรมการบริษัทควรเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจ�ำนวนการประชุมทั้งหมดในแต่ละปี 5. ประธานกรรมการเป็นผูใ้ ห้ความเห็นชอบในการจัดเรือ่ งทีจ่ ะเข้าวาระการประชุม โดยการปรึกษาหารือกับฝ่ายจัดการ ทัง้ นีฝ้ า่ ยจัดการ จะพิจารณาค�ำขอของกรรมการบางท่านที่จะบรรจุเรื่องอื่นที่ส�ำคัญเป็นวาระการพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไป 6. ประธานกรรมการมีหน้าที่จัดสรรเวลาให้อย่างเพียงพอที่ฝ่ายจัดการจะเสนอเอกสารข้อมูลเพื่อการอภิปรายและเพียงพอส�ำหรับ คณะกรรมการบริษัทที่จะอภิปรายในประเด็นที่ส�ำคัญ 7. ในการประชุม ประธานกรรมการเป็นผูก้ ล่าวสรุปประเด็นส�ำคัญของวาระการประชุมเพือ่ การพิจารณาของกรรมการ พร้อมทัง้ สนับสนุน และเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนแสดงความคิดเห็น เพื่อประมวลความคิดเห็นและสรุปเป็นมติที่ประชุม 8. ในการพิจารณาระเบียบวาระต่างๆ กรรมการซึง่ มีสว่ นได้เสียในเรือ่ งทีพ่ จิ ารณา ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงและต้องไม่อยูใ่ นทีป่ ระชุมในวาระ ดังกล่าว 9. กรรมการสามารถเข้าถึงและขอสารสนเทศ ค�ำปรึกษาและบริการต่างๆ ทีจ่ �ำเป็นเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ จากฝ่ายจัดการ และสามารถขอความเห็นที่เป็นอิสระจากที่ปรึกษาภายนอกได้

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการปฐมนิเทศส�ำหรับกรรมการใหม่โดยได้จดั ให้มีการบรรยายน�ำเสนอภาพรวมกิจการบริษทั ฯ ให้กรรมการใหม่ ได้รับทราบในหัวข้อดังต่อไปนี้ • กรอบในการด�ำเนินกิจการ (กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ ระเบียบ) • ข้อมูลการด�ำเนินงานและกิจกรรม - วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และเป้าหมายของบริษัทฯ - การพัฒนาองค์กร เช่น โครงสร้างการบริหารงานและผู้บริหาร และการปฏิบัตงิ าน เป็นต้น - ลักษณะธุรกิจ ผลการด�ำเนินงานในรอบปี และแผนการด�ำเนินงาน - โครงการส�ำคัญ - การลงทุน - แผนงานสิง่ แวดล้อมและชุมชน • บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ • การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ให้กรรมการใหม่เยีย่ มชมโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของบริษทั ฯ เพือ่ ท�ำความเข้าใจการด�ำเนินงาน ของธุรกิจ พร้อมทั้งได้จัดท�ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารเพื่อเป็นคู่มือ/ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับบริษัทฯ ให้แก่กรรมการ ใหม่เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติและหลักในการก�ำกับดูแลกิจการ


43

โครงสร้างการจัดการ

การพัฒนากรรมการ

บริษัทฯ สนับสนุนให้กรรมการเข้าร่วมอบรมและสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจถึง หลักการของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาทหน้าที่ของกรรมการบริษัทในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ สรุปการเข้าอบรมในหลักสูตรต่างๆ ทีจ่ ดั โดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (Thai Institute of Directors Association : IOD) รายชื่อ

DAP

DCP

ปี 2549

ปี 2554

2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สวุ รรณ

-

ปี 2552

3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช

-

ปี 2556

4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์

ปี 2559

-

5. พลเอก อุทศิ สุนทร

ปี 2559

-

6. นางวิไล ฉัททันต์รศั มี

-

ปี 2554

7. นายธรรมยศ ศรีชว่ ย(1)

-

ปี 2554

8. ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง

-

ปี 2549

9. ศ.ดร. สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์

-

ปี 2551

ปี 2547

ปี 2548

1. นายพิชัย ชุณหวชิร

10. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

หมายเหตุ: (1) นายธรรมยศ ศรีช่วย ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทและกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2560

ในปี 2560 บริษัทฯ ได้จดั หลักสูตรฝึกอบรมภายใน เช่น มาตรฐานบัญชีเรื่องเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ได้รับการรับรองจาก สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมี นายพิชยั ชุณหวชิร นางวิไล ฉัททันต์รัศมี และ ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง เข้าร่วมการอบรม ในครั้งนี้ และยังได้รบั เกียรติจากนายพิชัย ชุณหวชิร เป็นผู้บรรยายในหัวข้อ นักบัญชีในยุคดิจติ อล ให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัทฯ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในธุรกิจผลิตไฟฟ้า (เช่น แบตเตอรี่ ในยุคปัจจุบนั เป็นต้น) และแนวโน้มของธุรกิจพลังงานไฟฟ้าในอนาคต ให้กบั คณะกรรมการบริษทั ฯ และผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการเยีย่ มชม เทคโนโลยีผลิตแผงโซลาร์บนแผ่นฟิล์มที่พัฒนาโดย University of Newcastle ประเทศออสเตรเลีย


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 44

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท

บริษัทฯ จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อใช้เป็น กรอบในการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านว่าในระหว่างปีทผี่ า่ นมาคณะกรรมการมีการปฏิบตั งิ านครบถ้วนเหมาะสมตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละ เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีหรือไม่อย่างไร รวมทั้งยังเป็นการใช้ผลประเมินดังกล่าวเพื่อการพัฒนาในปีต่อไป

คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ประกอบด้วย

1. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษทั • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการบริษัทแบบรายบุคคล (โดยตนเอง) • มีหัวข้อที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ ความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของกรรมการ การฝึกอบรมและการพัฒนาตนเอง และ การปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการบริษัทแบบรายบุคคล (แบบไขว้โดยกลุ่ม : กรรมการ 3 ท่าน ซึ่งไม่เปิดเผยชื่อจะ ประเมินกรรมการ 1 ท่าน) • มีหวั ข้อที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ ความรับผิดชอบตามบทบาท หน้าที่ของกรรมการ และความเป็นอิสระของกรรมการ • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการแบบทั้งคณะ

มีหัวข้อที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ นโยบายของคณะกรรมการ โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ การปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการ 2. แบบประเมินส�ำหรับคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ มีหัวข้อที่ใช้ในการประเมินด้านความรับผิดชอบตามบทบาท หน้าที่ และการประชุมคณะกรรมการชุดย่อย โดยก�ำหนดวิธกี ารให้คะแนน เพือ่ ให้คณะกรรมการสามารถเปรียบเทียบผลประเมินในแต่ละหัวข้อได้ ซึง่ ความหมายของการให้คะแนนมีดงั นี้ 1 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือไม่มีการด�ำเนินการในเรื่องนั้น 2 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นเล็กน้อย 3 = เห็นด้วย หรือมีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นพอสมควร 4 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นดี 5 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการด�ำเนินการในเรื่องนั้นอย่างดีเยี่ยม และก�ำหนดเกณฑ์การประเมินผล โดยคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม ดังนี้ มากกว่าร้อยละ 85 = ดีเยี่ยม มากกว่าร้อยละ 75 = ดีมาก มากกว่าร้อยละ 65 = ดี มากกว่าร้อยละ 50 = พอใช้ ต�่ำกว่า/เท่ากับร้อยละ 50 = ควรปรับปรุง


45

โครงสร้างการจัดการ

ผลการประเมินคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2560

รายบุคคล ด วยตนเอง

รายบุคคล แบบไขว

92.9%

ทั�งคณะ

94.6%

98.2%

คณะกรรมการบร�ษัท

หน าที่โดยสังเขป

AC

NRC

ERMC

• สอบทานงบการเงินราย ไตรมาส และรายปี • สอบทานระบบควบคุม ภายใน • รายการที่เกี่ยวโยงกัน • คัดเลือก/เสนอแต่งตั้งผู้ สอบบัญชีและค่าตอบแทน

• สรรหากรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูง รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทน • ประเมินผลการด�ำเนินงาน ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ทบทวนแผนการสืบทอด ต�ำแหน่ง

CGC

• ก�ำหนดนโยบายยุทธศาสตร์ และเป้าหมายการบริหาร ความเสี่ยง • พัฒนาระบบจัดการ บริหารความเสี่ยง • ดูแลให้บริษัทฯ บริหารความเสี่ยง ที่เหมาะสม

IC

• เสนอแนะแนวปฏิบัติด้าน การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การต่อต้านคอร์รัปชัน และการดูแลสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม • ก�ำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็นตามหลัก CG

• ติดตามและประเมินผล การด�ำเนินการตามกลยุทธ์ องค์กร • พิจารณากลั่นกรองติดตาม และโอกาสการลงทุน ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ ของกลุ่มบริษัทฯ • เสนอแนะโครงสร้าง ทางการเงิน

จำนวนกรรมการอิสระ/ จำนวนกรรมการ

จำนวนการประชุม

11

6

8

5

11

ผลการประเมิน

95.0%

95.0%

100.0%

96.1%

93.3%


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 46

คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และได้มีมติให้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยขึ้นเพื่อช่วยปฏิบัติงาน ในการติดตามและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปอย่างทั่วถึงในทุกมิติ และสอดคล้องตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยในปี 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติให้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งมีหน้าที่และ ความรับผิดชอบในการด�ำเนินการเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ และการตรวจสอบภายใน ต่อมาในปี 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติให้จัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเพิ่มอีก 4 คณะ ซึ่งได้รับการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 ประกอบด้วย คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้งองค์กร คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหารและจัดการการลงทุน (ปัจจุบัน คือ คณะกรรมการการลงทุน)

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee - AC)

คณะกรรมการตรวจสอบ ต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด ซึ่งต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระ ไม่น้อยกว่า 3 คน และมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจ หรือมีประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน หรือ การตรวจสอบอย่างเพียงพอที่จะทําหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน

การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อ

ประธานกรรมการ

จํานวนการเข้าร่วมประชุม/ จํานวนการประชุมทั้งหมดในปี 2560 (ครั้ง) 11/11

พลเอก อุทิศ สุนทร

กรรมการ

11/11

ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง (1, 2)

กรรมการ

11/11

นางวิไล ฉัททันต์รัศมี (1)

ตําแหน่ง

หมายเหตุ: (1) เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทําหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ (2) คณะกรรมการบริษทั ในการประชุม ครั้งที่ 11/2559 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 มีมติแต่งตั้ง ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง เป็นกรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ แทน นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล กรรมการที่ลาออก ทั้งนี้ ให้มีผลบังคับตั้งแต่ วันที่ 2 มกราคม 2560 เป็นต้นไป (3) นางสาวทิพรัตน์ ซุ่ยกิ้ม ผู้ช่วยผู้จดั การ ส�ำนักตรวจสอบภายใน (รักษาการหัวหน้าส�ำนักตรวจสอบภายใน) ท�ำหน้าที่เลขานุการ

ขอบเขต อํานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ำ� หนดโดยกฎหมายอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิภาพ และสอบทานประสิทธิผล และความพอเพียงของกระบวนการบริหารความเสีย่ ง 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการได้มาและจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ ให้เป็นไปตาม กฎหมาย และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ 5. สอบทาน และพิจารณาร่วมกับฝ่ายจัดการในเรือ่ งข้อบกพร่องส�ำคัญทีต่ รวจพบ และการสนองตอบจากฝ่ายจัดการ


47

โครงสร้างการจัดการ

6. มีอำ� นาจตรวจสอบ และสอบสวนผูท้ เี่ กีย่ วข้องภายใต้ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบและมีอำ� นาจในการว่าจ้าง หรือ น�ำเอาผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านมาช่วยงานตรวจสอบและสอบสวน โดยปฏิบตั ติ ามระเบียบของบริษทั ฯ 7. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ 8. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคล ซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯเสนอค่าตอบแทน และเสนอการพิจารณา ถอดถอนบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับ ผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละหนึง่ ครัง้ 9. พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี และส�ำนักตรวจสอบภายในให้มคี วามสัมพันธ์ และเกือ้ กูลกัน และ ลดความซ�ำ้ ซ้อนในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการตรวจสอบด้านการเงิน 10. ให้ความเห็นชอบ กฎบัตร แผนงานตรวจสอบ งบประมาณ แผนการฝึกอบรม และอัตราก�ำลังของส�ำนักตรวจสอบภายใน 11. พิจารณา แต่งตัง้ โยกย้าย ถอดถอน และประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน รวมทัง้ พิจารณา ความเป็นอิสระของส�ำนักตรวจสอบภายใน 12. สอบทานความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ ง 13. ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบ หรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการ หรือ การกระท�ำซึง่ อาจมีผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญ ต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ได้แก่ - รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - การทุจริต หรือมีสงิ่ ผิดปกติ หรือมีความบกพร่องทีส่ ำ� คัญในระบบควบคุมภายใน - การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ของบริษทั ฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจ สอบเห็นสมควร หากคณะกรรมการบริษทั หรือผูบ้ ริหารไม่ดำ� เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีส่ มควร กรรมการตรวจสอบรายใดราย หนึง่ อาจรายงานว่ามีรายการ หรือการกระท�ำดังกล่าวต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 14. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee - NRC)

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน และมากกว่ากึ่งหนึ่งควรเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ และมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน เป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ หรือ ความเชี่ยวชาญในการบริหารงานบุคคล การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

รายชื่อ

พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

ตําแหน่ง

ประธานกรรมการ

จํานวนการเข้าร่วมประชุม/ จํานวนการประชุมทั้งหมดในปี 2560 (ครั้ง) 6/6

กรรมการ

6/6

กรรมการ และ เลขานุการ

6/6


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 48

ขอบเขต อํานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 1. ก�ำหนด และทบทวนวิธกี ารสรรหา และคุณสมบัตขิ องผูท้ จี่ ะมาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และผูบ้ ริหารระดับสูง 2. ด�ำเนินการสรรหา และเสนอแนะผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมในการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และผูบ้ ริหารระดับสูง 3. ก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธกี ารก�ำหนดค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูง 4. พิจารณาเสนอค่าตอบแทนกรรมการต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อเห็นชอบ และน�ำเสนอต่อผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5. พิจารณาเสนอค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูงต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ 6. ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการก�ำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการ บริษัท ในการพิจารณาอนุมัติ 7. ทบทวน และสรุปผลการจัดท�ำแผนการสืบทอดงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูงประจ�ำทุกปี และรายงานให้ คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ 8. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และจัดให้มกี ารรายงานผลให้คณะกรรมการบริษทั ฯทราบ และเปิดเผยในรายงานประจ�ำปี 9. พิจารณาผู้ที่เหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการบริษทั เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 10. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร (Enterprise wide Risk Management Committee - ERMC)

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน ซึ่งมีกรรมการอย่างน้อย 1 คนที่เป็นกรรมการที่มี ความรู้ความสามารถหรือความเชี่ยวชาญในธุรกิจและ/หรือการบริหารงานความเสี่ยง โดยให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ บริหารความเสี่ยงฯ และเป็นเลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ โดยต�ำแหน่ง การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร รายชื่อ

ประธานกรรมการ

จํานวนการเข้าร่วมประชุม/ จํานวนการประชุมทั้งหมดในปี 2560 (ครั้ง) 8/8

พลเอก อุทิศ สุนทร

กรรมการ

8/8

นายธรรมยศ ศรีช่วย (1)

กรรมการ

5/5

นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ และเลขานุการ

8/8

ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

ตําแหน่ง

หมายเหตุ : (1) นายธรรมยศ ศรีช่วย ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ และกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2560

ขอบเขต อํานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร 1. ก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร 2. พัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 3. สนับสนุนผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการบริหารความเสี่ยงทุกระดับขององค์กร 4. ดูแลให้บริษทั ฯ มีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5. ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรเป็นผู้รายงานผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัทในคราวถัดไป 6. ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท


49

โครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Committee - CG)

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน และมากกว่ากึ่งหนึ่งควรเป็นกรรมการอิสระ โดยมีกรรมการอย่าง น้อย 1 คนเป็นกรรมการทีม่ ีความรู้ความเข้าใจในหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ที่พึงปฏิบัติตามมาตรฐานสากลต่างๆ การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รายชื่อ

ประธานกรรมการ

จํานวนการเข้าร่วมประชุม/ จํานวนการประชุมทั้งหมดในปี 2560 (ครั้ง) 5/5

นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

กรรมการ

5/5

นายธรรมยศ ศรีช่วย (1)

กรรมการ

3/3

นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ และเลขานุการ

5/5

พลเอก คณิต สาพิทักษ์

ตําแหน่ง

หมายเหตุ : (1) นายธรรมยศ ศรีช่วย ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ และกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2560

ขอบเขต อํานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 1. เสนอแนะแนวปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การต่อต้านคอร์รปั ชัน และการดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมต่อคณะกรรมการบริษทั 2. มอบนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การต่อต้านคอร์รปั ชัน และการดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมให้คณะท�ำงานเพือ่ ท�ำหน้าที่ สนับสนุนงานบรรษัทภิบาลได้ตามความเหมาะสม 3. ก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการเพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และการต่อต้านคอร์รปั ชัน 4. ทบทวนนโยบาย และแนวปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การต่อต้านคอร์รัปชัน และการดูแลสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล และเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง 5. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการการลงทุน (Investment Committee - IC)

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 13/2560 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 มีมติเห็นชอบให้เปลี่ยนชื่อเรียก “คณะกรรมการบริหารและ จัดการการลงทุน” เป็น “คณะกรรมการการลงทุน” โดยคณะกรรมการการลงทุน ประกอบด้วย กรรมการบริษทั ฯ และผู้เชีย่ วชาญอืน่ ทีม่ คี วาม รู้ความสามารถ และประสบการณ์ด้านธุรกิจพลังงาน หรือธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ด้านการเงินและบัญชี หรือด้านบริหารจัดการ หรือด้านเทคโนโลยี และก�ำหนดสัดส่วนของจ�ำนวนกรรมการบริษทั ฯ เกินกว่ากึง่ หนึง่ ของคณะกรรมการการลงทุน ทัง้ นีใ้ ห้กรรมการผู้จดั การใหญ่เป็นกรรมการการ ลงทุน โดยต�ำแหน่ง และให้คณะกรรมการการลงทุนเป็นผู้แต่งตั้งเลขานุการคณะกรรมการการลงทุน ซึ่งปัจจุบันเลขานุการของคณะกรรมการ IC ได้แก่ นายสมชาย เกษมล้นนภา ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กร การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการการลงทุน รายชื่อ

ประธานกรรมการ

จํานวนการเข้าร่วมประชุม/ จํานวนการประชุมทั้งหมดในปี 2560 (ครั้ง) 13/13

นายธรรมยศ ศรีช่วย (1)

กรรมการ

8/8

นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ

13/13

นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช

ตําแหน่ง

หมายเหตุ (1) นายธรรมยศ ศรีช่วยลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทและกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 (2) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครั้งที่ 13/2560 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 มีมติเห็นชอบให้เปลี่ยนชื่อเป็น “คณะกรรมการการลงทุน” และแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญจาก ภายนอกได้แก่ นายสุชาติ เจียรานุสสติ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการการลงทุน และนายธันวา เลาหศิริวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการการลงทุน โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 50

ขอบเขต อํานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการการลงทุน 1. ติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินการตามกลยุทธ์องค์กร และสามารถพัฒนาองค์กรได้อย่างยั่งยืนโดยค�ำนึงถึงธุรกิจที่มีอยู่ในปัจจุบัน ข้อจ�ำกัด ความหลากหลาย และความสามารถในการขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศให้เป็นไปตามทิศทาง เป้าหมาย และแนวนโยบายของ คณะกรรมการบริษัท 2. พิจารณากลั่นกรอง ติดตามโครงการ และโอกาสลงทุนต่างๆ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ ก่อนน�ำเสนอพร้อมความเห็นต่อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 3. ให้ข้อเสนอแนะโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมของบริษัทฯ เพื่อตอบสนองต่อกลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้น แล้วน�ำเสนอคณะกรรมการ บริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 4. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท อ�ำนาจด�ำเนินการของคณะกรรมการการลงทุน 1. พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดหา จัดซือ้ จัดจ้าง ลงทุนส�ำหรับโครงการทีไ่ ด้รบั อนุมตั แิ ผนงาน และงบประมาณจากคณะกรรมการ บริษัทแล้ว ในวงเงินไม่เกิน 300 ล้านบาท 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดหา จัดซือ้ จัดจ้าง รวมถึงการจัดจ้างทีป่ รึกษา ส�ำหรับโครงการธุรกิจใหม่ทยี่ งั ไม่ได้รบั อนุมตั แิ ผนงาน และงบประมาณจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท 3. พิจารณาแต่งตั้ง และก�ำหนดค่าตอบแทนที่ปรึกษาของคณะกรรมการการลงทุน 4. สั่งการ และเรียกข้อมูลจากฝ่ายจัดการตามที่เห็นควร

ค่าตอบแทนกรรมการ 1. คณะกรรมการบริษัทได้รับค่าตอบแทนตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยค่าตอบแทนดังกล่าวได้มีการก�ำหนดให้อยู่ใน ระดับที่เทียบเคียงได้กับที่ปฏิบตั ิกันในอุตสาหกรรม และมีลักษณะที่เชื่อมโยงกับผลปฏิบัติงานของบริษัทฯ และของกรรมการแต่ละคน 2. กรรมการที่ได้รบั มอบหมายให้ทำ� หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเพิม่ ขึน้ เป็นพิเศษ (เช่น เป็นกรรมการชุดย่อย) จะได้รบั ค่าตอบแทนเพิม่ โดยเชื่อมโยงกับระดับความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายนั้น 3. คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มรี ายงานเกีย่ วกับค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคลและค่าตอบแทนของผูบ้ ริหาร ซึง่ รวมถึงการเปิด เผยค่าตอบแทนทีก่ รรมการและ/หรือผู้บริหารได้รบั ในกรณีทไี่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้ไปปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นบริษทั ย่อยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

การก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ

การก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการนัน้ บริษทั ฯ จะค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย และสามารถ เทียบเคียงได้กบั บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรมและธุรกิจทีม่ ขี นาดใกล้เคียงกัน โดยค่าตอบแทนกรรมการดังกล่าว นัน้ เพียงพอทีจ่ ะจูงใจให้กรรมการมีคณ ุ ภาพและสามารถปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้บรรลุเป้าหมายและทิศทางธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯ ก�ำหนด โดยมีกระบวนการ ที่โปร่งใส เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถอื หุ้น ในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาความเหมาะสมของค่าตอบแทน ดังกล่าวและน�ำเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท แล้วจึงเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นทุกปี และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2559 มีมติอนุมัติค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยส�ำหรับปี 2560 ไว้ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนประจ�ำส�ำหรับกรรมการบริษัทฯ (ก) คณะกรรมการบริษทั ได้รับในอัตราเดือนละ 30,000 บาท (ข) คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับในอัตราเดือนละ 10,000 บาท 2. ค่าเบี้ยประชุม ซึ่งจะจ่ายให้เฉพาะกรรมการที่เข้าร่วมประชุม (ก) คณะกรรมการบริษทั ได้รับในอัตรา 30,000 บาท/คน/ครั้ง (ข) กรรมการชุดย่อยต่างๆ ได้รับในอัตรา 15,000 บาท/คน/ครั้ง


51

โครงสร้างการจัดการ

ทั้งนี้ ประธานกรรมการบริษัท และประธานคณะกรรมการชุดย่อยจะได้รับค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุมสูงกว่ากรรมการ ในอัตราร้อยละ 25 และ รองประธานกรรมการบริษัทจะได้รบั ค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุมสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 12.5 3. เงินโบนัส คณะกรรมการบริษัทจะได้รับเงินโบนัสประจ�ำปีในอัตราร้อยละ 0.75 ของก�ำไรสุทธิ แต่ไม่เกิน 3,000,000 บาทต่อ กรรมการ 1 ท่าน และให้คำ� นวณจ่ายตามระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง โดยประธานกรรมการและรองประธานกรรมการจะได้รับค่าตอบแทน ที่เงินโบนัสสูงกว่ากรรมการในอัตราร้อยละ 25.0 และ12.5 ตามล�ำดับ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษทั ฯ ให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หรือ โครงการ ESOP จ�ำนวน 10,000,000 หน่วย โดยจัดสรรให้แก่กรรมการจ�ำนวน 3,300,000 หน่วย เมือ่ เดือนเมษายน 2560 ทั้งนี้การเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเป็นไปตามมติและได้เปิดเผยรายละเอียดในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 สรุปค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของกรรมการบริษัท ปี 2560 ได้ ดังนี้ (ล้านบาท) รายชื่อ

BoD

AC

NRC

ERMC

CG

IC

900,000

-

-

-

-

-

1,419,778

264,375

2,584,153

2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สวุ รรณ 810,000

-

112,500

-

-

-

1,277,800

238,230

2,438,530

3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช (1)

843,750

-

-

-

-

243,750

405,000

171,279

1,663,779

4. พลเอก คณิต สาพิทกั ษ์

750,000

-

90,000

-

93,750

-

875,142

211,500

2,020,392

5. พลเอก อุทศิ สุนทร

750,000 285,000

-

120,000

-

-

1,135,822

211,500

2,502,322

6. นางวิไล ฉัททันต์รศั มี

750,000 356,250

-

-

75,000

-

1,135,822

211,500

2,528,572

7. ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง 750,000 285,000

-

-

-

-

-

152,250

1,187,250

1. นายพิชยั ชุณหวชิร

โบนัสจาก ก�ำไรจาก ผลด�ำเนินงาน การใช้สทิ ธิ ปี 2559 ตามโครงการ ESOP

รวมสุทธิ

8. ศ.ดร. สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์

690,000

-

90,000

150,000

-

-

1,135,822

152,250

2,218,072

9. นายบัณฑิต สะเพียรชัย (1)

750,000

-

-

120,000

60,000

195,000

360,000

228,375

1,713,375

10. นายธรรมยศ ศรีชว่ ย (2)

420,000

-

-

75,000

45,000

120,000

1,135,822

211,500

2,007,322

-

-

-

-

-

-

1,030,310

-

1,030,310

9,911,318

2,052,759

21,894,077

11. นายธีระพงษ์ นิลวรสกุล (3) รวม

7,413,750 926,250 292,500 465,000 273,750 558,750

หมายเหตุ : (1) ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2559 มีมติก�ำหนดให้กรรมการผู้แทนจาก BCP มีสิทธิได้รับโบนัสไม่เกิน 12 เดือนของเบี้ยประชุม ที่ได้รับ และหากได้รบั โบนัสเกิน 12 เดือน ให้ส่งส่วนที่เกินแก่ BCP ต่อไป (2) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท กรรมการ NRC และกรรมการ CG เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 และได้รับต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ERMC และ IC เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2559 และลาออกเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 (3) ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการ AC เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 และลาออกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2560


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 52

ค่าใช้จ่ายอื่นของกรรมการ

บริษัทฯ ไม่ได้ก�ำหนดค่าตอบแทนอื่น ยกเว้นค่าใช้จ่ายของกรรมการที่เกี่ยวข้องจากการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ - รถยนต์เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบัติหน้าที่ของประธานกรรมการบริษัทฯ - บัตรเติมน�้ำมันเพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่จ่ายจริงส�ำหรับกรรมการ ไม่เกิน 400 ลิตร/คน/เดือน - ค่าบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่สําหรับกรรมการไม่เกิน 900 บาท/คน/เดือน - การจัดท�ำประกันความรับผิดชอบของกรรมการ และผู้บริหารในวงเงินรวมไม่เกิน 250 ล้านบาท

คณะผูบ้ ริหารและบุคลากร คณะผู้บริหาร ผู้บริหารของบริษัทมีจ�ำนวน 6 คน ดังนี้ รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

1. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการผู้จดั การใหญ่ และรักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจองค์กร

2. นางสาวเรวดี พรพัฒน์กลุ (1)

รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร

3. นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช

รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานบริหารความเป็นเลิศองค์กร และเลขานุการบริษัท

4. นางสาวณินทิรา อภิสิงห์ (2)

รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี

5. นายสมชาย เกษมล้นนภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กร

6. ดร. ภาวัน สยามชัย

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานปฏิบัติการ และ Country Manager, BCPG Japan Corporation

หมายเหตุ: (1) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2560 มีมติโอนย้ายผู้บริหาร ได้แก่ นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล ด�ำรงต�ำแหน่ง รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปปฏิบัติหน้าที่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เป็นต้นไป (2) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2560 มีมติแต่งตั้งให้ นางสาวณินทิรา อภิสิงห์ ด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของฝ่ายจัดการ 1) ด�ำเนินกิจการและบริหารงานประจ�ำวันของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน เป้าหมาย ข้อบังคับ และระเบียบบริษัทฯ ที่ คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด 2) ด�ำเนินกิจการและบริหารงานให้เป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ด้วยงบประมาณที่ได้รับอนุมัติอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด 3) รายงานความก้าวหน้าจากการด�ำเนินงานตามมติ และผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ทีส่ ำ� คัญต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ 4) ด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีที่คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดไว้ 5) ต้องไม่ประกอบกิจการหรือเข้าร่วมในกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ ไม่ว่าจะท� ำเพื่อ ประโยชน์ตนหรือผู้อื่น เว้นแต่จะได้แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาและส�ำนักตรวจสอบภายในรับทราบและได้รับการพิจารณาเห็นชอบให้ประกอบ กิจการนั้นๆ ได้ 6) การไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นหรือต�ำแหน่งอื่นใดในองค์กรธุรกิจของกรรมการผู้จัดการใหญ่จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริษัทก่อน ส่วนผู้บริหารตั้งแต่ผู้อ�ำนวยการขึ้นไปจะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ก่อน เว้นแต่การ ไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้แทนในบริษัทร่วมทุนจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท


53

โครงสร้างการจัดการ

7) ผูบ้ ริหารระดับสูง อันหมายรวมถึงผูท้ ดี่ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารสีร่ ายแรกนับต่อจากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ลงมา ผูซ้ งึ่ ด�ำรงต�ำแหน่ง เทียบเท่ากับผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารรายทีส่ ที่ กุ ราย และให้หมายความรวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็น ระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า ต้องงดซือ้ ขายหลักทรัพย์ ก่อนการประกาศแจ้งข่าวงบการเงินอย่างน้อย 1 เดือน และหลังการประกาศ แจ้งข่าวงบการเงินอย่างน้อย 3 วัน และจะต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน ของคูส่ มรส และของบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะทีถ่ อื ในบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และต้องแจ้งให้บริษทั ฯ ทราบโดยมิชกั ช้า เมือ่ มีกรณีดงั ต่อไปนี้ - มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ท�ำขึ้นระหว่างรอบปีบัญชี - ถือหุ้นหรือหุ้นกู้ในบริษทั ฯ และบริษัทในเครือ มีหน้าทีเ่ ข้ารับการอบรมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการด�ำเนินกิจการและการบริหารงานประจ�ำวันด้วยค่าใช้จา่ ยของบริษทั ฯ เพือ่ ให้มคี วาม รอบรู้ และเพิ่มทักษะความสามารถในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ส�ำหรับผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษัทได้ส่ง เสริมให้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หรือเทียบเท่า เพื่อให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท อันน�ำมาซึ่งประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร การสรรหาผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั ท�ำหน้าทีด่ แู ลให้มแี ผนสืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) ในต�ำแหน่งทีส่ ำ� คัญในองค์กร เช่น กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และผู้บริหารระดับสูง โดยให้กรรมการผู้จดั การใหญ่ รายงานผลการด�ำเนินงานตามแผนอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง รวมถึงก�ำหนดนโยบายการ สรรหากรรมการผู้จดั การใหญ่ ว่าหากมีคุณสมบัติท่เี หมาะสม บุคคลภายนอกหรือพนักงานตั้งแต่ระดับผู้อ�ำนวยการอาวุโสขึ้นไปสามารถเข้า รับการคัดเลือกในต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่/ผู้จัดการใหญ่ได้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้งมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา พัฒนา ประเมินผลกรรมการผู้จัดการใหญ่ หลักเกณฑ์ และโครงสร้างค่า ตอบแทนของกรรมการผู้จดั การใหญ่ คณะกรรมการบริษัทควรด�ำเนินการให้ม่ันใจว่า กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูงมีทักษะ และคุณลักษณะที่จ�ำเป็นต่อการ ขับเคลือ่ นองค์กรตามแผนยุทธศาสตร์องค์กร และบรรลุตามเป้าหมาย โดยมอบหมายให้คณะกรรมการพัฒนาบุคลากรและการบริหารเพือ่ ท�ำ หน้าทีด่ แู ลการอบรมและพัฒนาความรูค้ วามสามารถของผูบ้ ริหารระดับสูง โดยให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่รายงานเป็นประจ�ำทุกปี ถึงสิง่ ทีไ่ ด้ทำ� ไปในระหว่างปีและควรพิจารณาควบคู่กบั แผนสืบทอดต�ำแหน่ง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทได้วางแนวทางการพัฒนาเพิ่มเติม โดยให้มี การหมุนเวียนหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้มีความเข้าใจมีประสบการณ์และความพร้อมในการบริหารองค์กรโดยรวม ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 1. ก�ำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณร่วมกับคณะกรรมการบริษัท 2. ก�ำกับดูแล บริหาร จัดการ และปฏิบัติงานประจ�ำตามปกติธุรกิจ เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามนโยบาย วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณตามที่ได้รับความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. บริหารจัดการธุรกิจของบริษทั ฯ ตามวิสยั ทัศน์และพันธกิจทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดและเป็นไปตามแผนธุรกิจ งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางธุรกิจที่ได้รบั ความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 4. ประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้การด�ำเนินการทางธุรกิจ รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนมติคณะกรรมการบริษัท และ/หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น 5. ก�ำกับดูแลการบริหารจัดการด้านการเงิน การตลาด ทรัพยากรบุคคล และด้านการปฏิบัติงานอื่นๆ โดยรวมเพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายและแผนธุรกิจของบริษัทฯ ตามที่ได้รบั ความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น 6. เจรจาและเข้าท�ำสัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ ทีเ่ ป็นธุรกิจปกติของบริษทั ฯ ภายในก�ำหนดวงเงินของธุรกรรมตามทีก่ ำ� หนดในตาราง อ�ำนาจอนุมัติรายจ่ายซึ่งได้รับมติอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 7. สั่งการ ออกระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศ และบันทึกภายในส�ำหรับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ บริษัทฯ และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ รวมทั้งรักษาระเบียบอันดีงามภายในองค์กร 8. ติดตาม ตรวจสอบ และควบคุมผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วม เพื่อให้มีผลประกอบการที่ดีตาม เป้าหมาย และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส รวมถึงหาโอกาสปรับปรุงและพัฒนาให้มีผลประกอบการที่ดีขึ้น 9. พัฒนาองค์กรให้มผี ลการด�ำเนินงานและผลประกอบการที่ดี และมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างสม�่ำเสมอต่อเนื่องเพื่อให้องค์กรเติบโต อย่างยั่งยืน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 54

10. ด�ำเนินการให้มกี ารศึกษาโอกาสในการลงทุนในโครงการใหม่ๆ ทีด่ ี โดยท�ำการศึกษาทางด้านเทคนิคและด้านการเงินอย่างเหมาะสม และครบถ้วนเพื่อประกอบการตัดสินใจ 11. การบรรจุ การแต่งตั้ง การถอดถอน การก�ำหนด การเลื่อน การลด การตัดเงินเดือน หรือ ค่าจ้าง การโยกย้าย การพ้นสภาพและ อื่นๆ ยกเว้นพนักงานตั้งแต่ระดับรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ข้นึ ไป ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท 12. การโยกย้ายพนักงานระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ ยกเว้น การบรรจุ การแต่งตั้ง การถอดถอน การก�ำหนด การเลื่อน การลด การตัดเงินเดือนหรือค่าจ้างการพ้นสภาพ และอื่นๆ ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท 13. พิจารณาอนุมัติการด�ำเนินงานที่เป็นธุรกรรมปกติธุรกิจตลอดจนการด�ำเนินงานที่เป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัทฯ ซึ่งมี เงื่อนไขทางการค้าทั่วไป ในวงเงินไม่เกินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 14. ด�ำเนินการให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยเกี่ยวกับการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ รวมตลอดจนตารางก�ำหนดอ�ำนาจอนุมัติรายจ่าย ซึ่งได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 15. พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินการของบริษัทฯ 16. มอบอ�ำนาจช่วง และ/หรือมอบหมายให้บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลอื่นใดปฏิบัติงานที่ก�ำหนดในนามของกรรมการผู้จดั การใหญ่ ภายใต้ ขอบเขตอ�ำนาจทีร่ ะบุไว้ในหนังสือมอบอ�ำนาจของบริษทั ฯ และ/หรือระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือมติของคณะกรรมการบริษทั และไม่กอ่ ให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือความขัดแย้งไม่ว่าในรูปแบบใดๆ กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ในกรณีที่มีความขัดแย้ง ต้องเสนอธุรกรรมดังกล่าว ให้คณะกรรมการของบริษทั และ/หรือทีป่ ระชุมผู้ถอื หุ้น (แล้วแต่กรณี) พิจารณาและให้ความเห็นชอบ เว้นแต่ธรุ กรรมดังกล่าวเป็นธุรกรรมปกติ ของบริษัทฯ และมีหลักเกณฑ์เดียวกับการท�ำรายการกับบุคคลภายนอก (arm’s length) 17. ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ กรรมการผู้จัดการใหญ่มีอำ� นาจในการสั่งจ่ายเงินเพื่อกิจการของบริษัทฯ นอกเหนือจากตามสัญญา หรือข้อผูกพันใดๆ รวมถึงมี อ�ำนาจในการด�ำเนินการ หรือก�ำหนดและอนุมัติวิธีการจัดหาพัสดุ ครั้งละไม่เกิน 50.0 ล้านบาท ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารประกอบด้วย (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินซึ่งประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และ (2) ค่าตอบแทนให้กับผู้บริหาร (ซึ่งรวมถึงพนักงานของบริษัทฯ) ในรูปอื่น ได้แก่ ค่าตรวจสุขภาพประจ�ำปี ค่าวัคซีนป้องกันโรค ค่ารักษาพยาบาล กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และ ค่าเบี้ยประกันชีวิต และรวมถึงใบส�ำคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP ในปี 2560 บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารในรูปเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 44.10 ล้านบาท เลขานุการบริษัท เลขานุการบริษัทมีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุนและดูแลกิจกรรมต่างๆของคณะกรรมการบริษัทให้ดำ� เนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักธรรมาภิบาล เพือ่ ให้เป็นไปตามกฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มาตรา 89/15 และ 89/16 คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมในการ ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท และได้ก�ำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัทไว้ดังนี้ 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนกรรมการ รายงานประจ�ำปีของบริษัท หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัท และ รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานประจ�ำปี 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 3. จัดส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ประธานกรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่บริษัทได้รบั รายงานนั้น 4. จัดการประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ประสาน งานให้มกี ารปฏิบัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น 5. ให้คำ� แนะน�ำในการด�ำเนินงานของบริษทั และคณะกรรมการบริษทั ให้เป็นไปตามหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับของบริษทั พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. เป็นศูนย์กลางการติดต่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น


55

โครงสร้างการจัดการ

7. ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศในส่วนที่รับผิดชอบต่อหน่วยงานที่กำ� กับดูแลตามระเบียบและข้อก�ำหนดของ หน่วยงานทางการ 8. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ในปี 2560 นางสาวเรวดี พรพัฒน์กลุ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ท�ำหน้าทีเ่ ลขานุการบริษทั จนถึง วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 และเนื่องจากการได้รบั มอบหมายภารกิจอื่น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2560 มีมติแต่งตั้ง นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช ด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่สายงานบริหารความเป็นเลิศองค์กร (ซึ่งเดิมคือ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ) รวมทั้ง ท�ำหน้าที่เลขานุการบริษัท (แทน นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล) อีกหน้าที่หนึ่ง โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เป็นต้นไป รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการและผู้บริหาร กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อ ก.ล.ต. ภายใน 30 วันนับตั้งแต่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการและผู้บริหารของบริษัท และทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ดังกล่าว ต้อง รายงานต่อ ก.ล.ต. ภายใน 3 วันท�ำการ ซึ่งในปี 2560 กรรมการและผู้บริหาร (ซึ่งนับรวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) เป็นดังนี้ (หุน้ ) รายชื่อ

จ�ำนวนการถือครองหุ้น ณ 1 มกราคม 2560

ได้มา/จ�ำหน่ายไประหว่างปี ได้จากการใช้ ซื้อ/ขายใน สิทธิ ESOP ตลาดหลัก ทรัพย์ฯ

จ�ำนวนการถือครองหุน้ ณ 31 ธันวาคม 2560

กรรมการบริษัทฯ 1. นายพิชยั ชุณหวชิร

400,000

93,750

-

493,750

-

84,374

-84,000

374

3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช

50,000

84,374

150,000

284,374

4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์

-

75,000

-75,000

-

5. พลเอก อุทศิ สุนทร

-

75,000

-

75,000

6. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

2,500

75,000

-

77,500

7. ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง

-

75,000

-

75,000

8. ศ. ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

-

75,000

-

75,000

1,596

112,500

100,000

214,096

10. นางสาวเรวดี พรพัฒน์กลุ

850

73,200

-

74,050

11. นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช

-

62,000

-

62,000

12. นางสาวณินทิรา อภิสิงห์

157,800

-

-

157,800

13. นายสมชาย เกษมล้นนภา

-

75,400

-74,000

1,400

14. นายภาวัน สยามชัย

-

94,250

-94,250

-

2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สวุ รรณ

9. นายบัณฑิต สะเพียรชัย ผู้บริหาร


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 56

Nagi, Japan


57

โครงสร้างการจัดการ

บุคลากร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีจ�ำนวนบุคลากรทั้งหมด (ไม่รวมผู้บริหาร) เท่ากับ 91 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้

36

ชั�วโมงอบรม

20

ชั�วโมง/คน/ป

ชั�วโมงความปลอดภัย

368

29

สายงานกรรมการผู จัดการใหญ

7

91

11 3 5 3

คน

13

สายงานการเง�นและบัญช� สายงานยุทธศาสตร องค กร สายงานพัฒนาธุรกิจ สายงานปฏิบัติการ สายงานบร�หารความเป นเลิศองค กร กลุ มบร�ษัท BSE BCPG Japan

พันชั�วโมง

ค่าตอบแทนพนักงาน บริษัทฯ ได้ก�ำหนดผลตอบแทนพนักงานทั้งระยะสั้นและระยะ ยาว เพือ่ ให้พนักงานได้รบั ผลตอบแทนจากการท�ำงานอย่างเป็นธรรม ได้แก่ 1. เงินเดือนและโบนัสก�ำหนดตามหน้าที่ความรับผิดชอบของ แต่ ล ะคนโดยพิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บจากบริ ษั ท จดทะเบี ย นอื่ น ใน อุตสาหกรรมที่ใกล้เคียงกัน ประสบการณ์ และคุณวุฒิ เป็นส�ำคัญ รวมทั้งผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ 2. สวัสดิการ เช่น กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ประกันสุขภาพ ประกันชีวติ ประกันอุบตั เิ หตุ ตรวจสุขภาพประจ�ำปี ค่ารักษาพยาบาลผูป้ ว่ ยนอก ของพนักงานและครอบครัว วัคซีนป้องกันโรคระบาด เงินประกันสังคม ค่าเบี้ยเลี้ยงส�ำหรับเดินทางไปต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เป็นต้น 3. อื่นๆ ได้แก่ โครงการ ESOP เป็นต้น นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทฯ ได้ให้สิทธิต่างๆ แก่พนักงานตาม นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น สิทธิการหยุดพักผ่อนประจ�ำปี สิทธิการลาประเภทต่างๆ เป็นต้น ในปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนพนักงาน (ไม่นบั รวม ผู้บริหาร) ซึ่งประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ เงินประกันสังคม เท่ากับ 206.89 ล้านบาท

มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และความช�ำนาญ รวมทั้ง ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของพนักงานในทุกระดับ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะส่งเสริมให้บุคลากรสามารถพัฒนาความรู้ความช�ำนาญจากการ ปฏิบัติงานจริง (On the Job Training) รวมทั้งจะมีการจัดอบรมภายใน บริษัทฯ เพื่อให้มีการถ่ายทอดประสบการณ์และให้ความรู้เพิ่มเติม แก่พนักงานอยู่เป็นประจ�ำ และบริษัทฯ จะพิจารณาจัดส่งพนักงาน และผู้บริหารในสายงานต่างๆ เข้าร่วมการอบรมและสัมมนาในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของแต่ละฝ่ายเป็นการเพิ่มเติม เพื่อน�ำ ความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุงการด�ำเนินของบริษัทฯ ให้ดียิ่งขึ้น เช่น - จัดอบรมหลักสูตรพื้นฐาน เช่น Presentation Skill, Advance Excel, มาตรฐานบัญชีเรื่องเครื่องมือทางการเงิน ภาษาอังกฤษ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น - จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) เพื่อสร้างวัฒนธรรมแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ ประสบการณ์ ในงานที่พนักงานงานแต่ละคนรับผิดชอบให้แก่เพื่อนพนักงาน เพื่อ ให้เกิดความเข้าใจ และสร้างเสริมความเข้าใจ และเกิดความร่วมมือ ร่วมใจระหว่างฝ่ายงานให้มากยิ่งขึ้น - ส่งเสริมให้ผู้บริหารระดับสูงเข้ารับการฝึกอบรมกับสถาบัน การฝึกอบรมชั้นน�ำภายนอก เช่น IOD หรือสถาบันการศึกษาชั้นน�ำ ต่างๆ ที่มีการจัดหลักสูตรการฝึกอบรมผู้บริหารระดับสูง เป็นต้น ข้อพิพาทด้านแรงงาน ซึง่ ได้แก่หลักสูตร Executive Development Program (EDP) หรือหลักสูตรที่ ในปี 2560 บริษทั ฯ ไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานที่มีนัยส�ำคัญ เกีย่ วกับกรรมการบริษทั เพือ่ ให้ผบู้ ริหารได้รบั ทราบ และเข้าใจบทบาท และความคาดหวังของกรรมการต่อฝ่ายจัดการ เพือ่ ให้สามารถตอบสนอง นโยบายการพัฒนาบุคลากร ข้อมูล และด�ำเนินการได้สอดคล้องตามนโยบายที่คณะกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรอย่างสม�ำ่ เสมอ โดย บริษัทก�ำหนดต่อไป


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 58

6 1. นายพิชัย ชุณหวชิร 2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ 3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช 4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์ 5. พลเอก อุทิศ สุนทร

9

4

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการการลงทุน กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร

2


59

1

3

6. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี 7. ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง 8. ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ ์ 9. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

8

คณะกรรมการบริษัท

5

กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริษัท

7


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 60

คณะกรรมการบริษัท 1. นายพิชัย ชุณหวชิร

ประธานกรรมการ และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) อายุ 68 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท Business Administration, Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ บริหารการเงิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 13 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 49/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 143/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงรุ่นที่ 5 (วตท. 5) สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประสบการณ์การทํางาน • 2557 - 2560 : กรรมการ ธนาคารแห่งประเทศไทย • 2544 - 2556 : กรรมการ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) • 2553 - 2555 : ประธานกรรมการ บริษัทไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) • 2551 - 2555 : ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จํากัด • 2552 - 2554 : กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) : กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) • 2548 - 2554 : กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) • 2543 - 2554 : กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จํากัด • 2541 - 2554 : กรรมการ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) • 2551 - 2552 : ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) • 2550 - 2552 : กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) • 2548 - 2552 : กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) • 2543 - 2552 : ประธานกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด • 2539 - 2552 : กรรมการ บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) • 2546 - 2551 : กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) • 2544 - 2550 : รองกรรมการผู้จดั การใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)


61

คณะกรรมการบริษัท

การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษัท บีบีจีไอ จ�ำกัด - นายกสมาคมมวยสากลแห่งประเทศไทย

2. พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ

รองประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน อายุ 70 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกลเรือ) โรงเรียนนายเรือ • หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ รุ่นที่ 43 กองทัพเรือ • หลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ 26 กองทัพเรือ • หลักสูตรการซ่อมเครื่องยนต์ MTU ประเทศเยอรมนี • หลักสูตรการซ่อมเครื่องยนต์ (Gas Turbine Engine Repairing Course) ประเทศอังกฤษ • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 117/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทํางาน • 2552 : กรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กระทรวงมหาดไทย : ประธานกรรมการการเคหะแห่งชาติ • 2550 : ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพเรือ • 2545 : รองผู้บัญชาการ กองเรือยุทธการ กองทัพเรือ • 2541 : เจ้ากรมโรงงานฐานทัพเรือสัตหีบ กองทัพเรือ การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษทั จดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - ผู้จดั การกิจการไฟฟ้า สัตหีบ

3. นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช

รองประธานกรรมการ และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการการลงทุน อายุ 51 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินยิ ม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • Investment Banking, Kellogg Business School, Northwestern University • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 168/2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 4/2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 62

• หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 58 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.10) สถาบันวิทยาการพลังงาน ประสบการณ์การทํางาน • 2550 - 2557 : ที่ปรึกษา บริษัท อวานการ์ด แคปปิตอล จํากัด • 2545 - 2549 : กรรมการผู้จดั การ บริษัท เทิร์น อะราวด์ จํากัด • 2539 - 2545 : กรรมการ บริษัท SG Securities (Singapore) PTE.LTD. • 2543 - 2544 : กรรมการ ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ • 2536 - 2539 : วาณิชธนากร บริษัท หลักทรัพย์ แอสเซท พลัส จํากัด • 2530 - 2536 : วิศวกร บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ Star Energy Group Holdings Pte Ltd. - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก รีเทล จ�ำกัด - ประธานกรรมการ มูลนิธิใบไม้ปันสุข - กรรมการ บริษัท บีบีจีไอ จ�ำกัด - กรรมการ Nido Petroleum Limited - กรรมการ บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ และอนุกรรมการฯ กองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ - กรรมการ สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบ ในพระบรมราชูปถัมภ์ - อุปนายก คณะกรรมการบริหารของสมาคมนักเรียนเก่า สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - กรรมการ มูลนิธิประชาบดีธุรกิจเพื่อสังคม

4. พลเอก คณิต สาพิทักษ์

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน อายุ 65 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 24 • เตรียมทหารรุ่นที่ 13 • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 49 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • หลักสูตรหลักประจําชุดที่ 63 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 129/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทํางาน • 2557 - 2560 : ประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด • 2554 : ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม : ราชองครักษ์พเิ ศษ : ตุลาการศาลทหารสูงสุด • 2553 : ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพบก : แม่ทัพภาคที่ 1 • 2551


63

คณะกรรมการบริษัท

การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - กรรมการอํานวยการราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - กรรมการมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด

5. พลเอก อุทิศ สุนทร

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร อายุ 63 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์ (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 25 • โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 14 • หลักสูตรเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจํา ชุดที่ 65 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 50 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 129/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทํางาน • 2555 - 2557 : หัวหน้าคณะทํางานขับเคลื่อนนโยบายและสั่งการของผู้บังคับบัญชาในการแก้ไขปัญหา จชต. : ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพบก • 2554 - 2555 : แม่ทัพน้อยที่ 1 • 2553 - 2554 : ผบ. ฉก. นราธิวาส : รองแม่ทัพภาคที่ 1 : นายทหารพิเศษประจํา กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ : ตุลาการศาลทหารชั้นกลางกรุงเทพ • 2552 : ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 9 : ตุลาการศาลทหาร ศาลทหารกรุงเทพ : ผบ.กกล.สุรสีห์ • 2549 : ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกเพชรบุรี : นายทหารพิเศษประจํา กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ • 2545 - 2547 : ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกกาญจนบุรี • 2544 - 2545 : รอง เสธ.กกล.สุรสีห์ : รองเสนาธิการ กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ • 2538 : รองผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ : เสนาธิการ กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ : หัวหน้าแผนกแผนและปฏิบัตกิ าร กองยุทธการ กอ.รมน.ทภ.1 • 2536 • 2535 : ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กฯ รักษาพระองค์ • 2526 - 2527 : ผบ.ร้อย.อวบ.ที่ 2 พัน.ร.ฉก.102 กกล.บูรพา


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 64

การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - เลขานุการและกรรมาธิการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ - กรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ - รองประธานอนุกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทางบก ในคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ

6. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล อายุ 64 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาโท การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • การทดสอบหลักสูตรอบรมกรรมการ (Directors Diploma Examination 5/2001) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 13/2001) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP Refresher 2/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Independent Observer Program (IOP 4/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทํางาน • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายการเงินและบัญชี บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน) • Chief Financial Officer บริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จํากัด (มหาชน) • Executive Vice President - Finance and Accounting บริษัท สยามเหล็กรีดเย็นครบวงจร จํากัด (มหาชน) • Executive Vice President - Finance and Accounting บริษัท เนชั่น พับบลิชิ่ง กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) • Finance and Administration Manager บริษทั ดิจิตอล อีควิปเมนท์ จํากัด • Controller บริษัท ที เอ็ม เอ็กซ์ วอทช์ จํากัด • ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท สวีเดนมอร์เตอร์ส จํากัด • Senior Auditor บริษัท สํานักงาน เอส จี วี ณ ถลาง จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในอดีต • เลขาธิการ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท เหล็กรีดเย็นไทย จํากัด (มหาชน) • ที่ปรึกษาทางบัญชีและการเงิน บริษัท ท่าเรือประจวบ จํากัด • ที่ปรึกษาทางบัญชีและการเงิน บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด • กรรมการตรวจสอบ บริษัท ห้องเย็นเอเชี่ยนซีฟู้ด จํากัด (มหาชน) • รองประธานในคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านการวางระบบบัญชี • เหรัญญิก สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • กรรมการในคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านบัญชีบริหาร • อนุกรรมการกลั่นกรองมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • วิทยากรในหลักสูตรของคณะกรรมการบัญชีบริหารและคณะกรรมการด้านการวางระบบ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์


65

คณะกรรมการบริษัท

การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการตรวจสอบ บริษทั เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) - กรรมการ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหไทย เทอร์มินอล จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท ฮอร์ต้นั อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด - กรรมการตรวจสอบ บริษทั สหไทยสตีลไพพ์ จํากัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - ผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพด้านบัญชีการเงินประจําคณะกรรมการตรวจสอบ การประปานครหลวง - ผู้สงั เกตการณ์อิสระตามข้อตกลงคุณธรรม องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) - อนุกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

7. ดร. พรรณขนิตตา บุญครอง

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 2 มกราคม 2560) กรรมการตรวจสอบ อายุ 61 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม • ปริญญาโท การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 72/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP 24/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 15/2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP 37/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 8/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Board Matters and Trends (BMT 1/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรวุฒิบัตร การก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน (PDI) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง (ปริญญาบัตร วปม.) รุ่นที่ 5 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.5) สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรผู้ตรวจราชการระดับกระทรวง ประจ�ำปี 2559 สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี และส�ำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน ประสบการณ์การทํางาน • 2557 - 2560 : กรรมการและประธานกรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) • 2557 - 2559 : กรรมการและประธานกรรมการบริหาร ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย • 2558 - 2559 : ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง • 2555 - 2558 : ที่ปรึกษาด้านพัฒนารัฐวิสาหกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ • 2553 - 2555 : รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 66

การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย์ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย จ�ำกัด - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ประธานกรรมการตรวจสอบประจ�ำมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร - อนุกรรมาธิการด้านการเงิน การธนาคาร สถาบันการเงินและตลาดทุน สภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติ - กรรมการจรรยาบรรณ สถาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

8. ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

กรรมการ (กรรมการอิสระ) และผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน อายุ 45 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม) Massachusetts Institute of Technology (MIT), USA • ปริญญาโท นโยบายและเทคโนโลยี Massachusetts Institute of Technology (MIT), USA • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม) The University of Winconsin-Madison, USA • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • หลักสูตรนักบริหารงบประมาณระดับสูง สํานักงบประมาณ (นงส. 1) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.5) สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง “มหานคร” (มหานคร รุ่นที่ 5) • หลักสูตรหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน (RoLD Program) • หลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมภิบาลทางการแพทย์ส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 (2559) • หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รุ่นที่ 3) • หลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาคณะ สถาบันคลังสมองของชาติ (รุ่นที่ 6) • หลักสูตรการพัฒนาอุดมศึกษาไทยสู่โลกศตวรรษที่ 21 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน กระทรวงอุตสาหกรรม (วธอ. 1) • หลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา สถาบันคลังสมองของชาติ (รุ่นที่ 9) • หลักสูตร Executive Development Program สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (EDP 11) • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงรุ่นที่ 13 (วตท.13) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้นํายุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย (ปนป. 1) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการจัดการภัยพิบัติแห่งชาติ ศูนย์ฝึกอบรมของ Japan International Cooperation Agency (JICA) ประเทศญี่ปุ่น • หลักสูตรผู้บงั คับบัญชาลูกเสือ ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ • หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน สถาบันพระปกเกล้าและ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจและส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (รุ่นที่ 3) • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 105/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program (ACP 27/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM 1/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD 6/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 8/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA 8/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 8/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงมหาวิทยาลัย (นบม. 10) ส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


67

คณะกรรมการบริษัท

ประสบการณ์การทํางาน • 2560 - ปัจจุบนั : ประธานที่ประชุม อธิการบดีแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานเลขาธิการที่ประชุมอธิการบดี • 2558 - ปัจจุบนั : อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • 2557 - 2559 : นายก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ • 2555 - 2556 : ประธานกรรมการ การเคหะแห่งชาติ • 2554 - 2557 : กรรมการยุทธศาสตร์ การประกันสังคม กระทรวงแรงงาน • 2554 - 2557 : กรรมการนโยบาย สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • 2554 - 2554 : กรรมการ บริษัทเดินรถไฟฟ้า รฟท. (Airport Link) • 2553 - 2555 : กรรมการบริหาร องค์การสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • 2553 - 2557 : คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • 2553 - 2554 : ประธานคณะกรรมการติดตามการดําเนินโครงการระบบขนส่งทางรถไฟ Airport Rail Link การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) • 2552 - 2553 : ประธานสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • 2552 - 2554 : กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง • 2546 - 2547 : ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การดํารงตําแหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษทั จดทะเบียนอื่น - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - กรรมการสภาวิศวกร สภาวิศวกร - กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั - กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

9. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริษทั อายุ 53 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 28/2004) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 53/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND 15/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร The Board’s Role in Mergers and Acquisitions (M&A 1/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 1/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปอ.2555 / ปริญญาบัตร ปรอ. รุ่นที่ 25) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 20 (วตท.20) สถาบันวิทยาการตลาดทุน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 68

ประสบการณ์การทํางาน • 2556 - 2558 : รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานด้านธุรกิจพลังงานทดแทน บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) • 2555 - 2556 : รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจและยุทธศาสตร์องค์กร บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) • 2551 - 2555 : ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจองค์กร บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) • 2547 - 2551 : รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ ด้านกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปุ๋ยเอ็นเอฟซี จํากัด (มหาชน) • 2540 - 2547 : ผู้จัดการฝ่ายแผนและพัฒนาธุรกิจ บริษัท แอร์ลิควิด (ประเทศไทย) จํากัด • 2537 - 2540 : ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท ปตท. ปิโตรเคมีคอล จํากัด • 2531 - 2537 : ผู้จัดการส่วนการพาณิชย์ บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จํากัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูม1ิ ) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จํากัด - กรรมการ Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. - กรรมการ Star Energy Geothermal Pte. Ltd. - กรรมการ Star Phoenix Geothermal JV B.V. - กรรมการ Star Energy Geothermal Holdings (Salak - Darajat) B.V. - กรรมการ Star Energy Geothermal (Salak - Darajat) B.V. - กรรมการ Huang Ming Japan Company Limited - กรรมการ BCPG Wind Cooperatief U.A. - กรรมการ PetroWind Energy Inc. (PWEI)


71

คณะผู้บริหาร

- กรรมการ Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. - กรรมการ Star Energy Geothermal Pte. Ltd. - กรรมการ Star Phoenix Geothermal JV B.V. - กรรมการ Star Energy Geothermal Holdings (Salak - Darajat) B.V. - กรรมการ Star Energy Geothermal (Salak - Darajat) B.V. - กรรมการ Huang Ming Japan Company Limited - กรรมการ BCPG Wind Cooperatief U.A. - กรรมการ PetroWind Energy Inc. (PWEI) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ฯ : 214,096 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี

2. นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล

รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร (ปฏิบตั หิ น้าทีร่ องกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2560) อายุ 58 ปี การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง • ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม / สัมมนา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 99/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Company Secretary Program (CSP 71 / 2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Executive Development Program (EDP 12/2013) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตร Smart Disclosure Program (SDP 2015) • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Executive Energy Management Program (EEM/2017) ประสบการณ์การทํางาน • 2558 - 2560 : รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) • 2558 - 2560 : ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ธุรกิจบริษทั ร่วม บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ปฏิบัติหน้าที่ ที่ บริษัท บีซีพจี ี จ�ำกัด (มหาชน) • 2556 - 2558 : ผู้อํานวยการ ธุรกิจบริษัทร่วม บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จํากัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุร)ี จํากัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูม1ิ ) จํากัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จํากัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จํากัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จํากัด • 2550 - 2556 : ผูอ้ าํ นวยการสายบัญชีและภาษี สายงานด้านบัญชีและภาษี บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) • 2547 - 2550 : ผูจ้ ดั การอาวุโสส่วนบัญชี และรักษาการผูอ้ าํ นวยการบัญชีและภาษี บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 72

การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ ธุรกิจบริษัทร่วม บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จํากัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุร)ี จํากัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูม1ิ ) จํากัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จํากัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จํากัด - กรรมการ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จํากัด - กรรมการ บริษัท บีซพี ีจี ไบโอพาวเวอร์ 1 จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท บีซพี ีจี ไบโอพาวเวอร์ 2 จ�ำกัด - กรรมการ BSE Energy Holdings - กรรมการ BCPG Japan Corporation - กรรมการ BCPG Engineering Company สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ฯ : 74,050 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี

3. นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช

รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานบริหารความเป็นเลิศองค์กร และเลขานุการบริษัท (เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 13/2560 มีมติแต่งตั้งเป็นรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานบริหารความเป็นเลิศองค์กร มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 เป็นต้นไป) อายุ 52 ปี การศึกษา • ปริญญาโท International Business and Information Management System, Widener University Pennsylvania, USA • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ การเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การฝึกอบรม / สัมมนา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Company Secretary Program (CSP 82/2017) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (SEP/2017) • Advance Senior Executive Program (ASEP-3) Sasin and Kellogg School of Management ประสบการณ์การทํางาน • 2559 - 2560 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) • 2549 - 2559 : กรรมการบริหาร บริษัท อวานการ์ด แคปปิตอล จํากัด การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. - กรรมการ Greenergy Holdings Pte. Ltd. - กรรมการ Greenergy Power Pte. Ltd - กรรมการ บริษัท อวานการ์ด แคปปิตอล จํากัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ฯ : 62,000 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี


73

4. นางสาวณินทิรา อภิสิงห์

คณะผู้บริหาร

รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี อายุ 51 ปี การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Case Western Reserve University, USA (ทุนธนาคารกสิกรไทย) • ปริญญาตรี พาณิชยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม / สัมมนา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 213/2015) สมาคมสถาบันส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย • นักบริหารด้านพลังงานระดับสูง รุ่นที่ 6 กระทรวงพลังงาน • TLCA Executive Development Program (EDP11) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • Executive Development Program (EDP 8/2012) มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง • CFO Certification Program (รุ่น 15/2011) สภาวิชาชีพบัญชี • Smart Branding & Marketing for Digital Economy (Class 5/2016) มูลนิธสิ ถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ • ผู้น�ำพอเพียงเพื่อความมั่นคง รุ่นที่ 1 (พ.ศ.2560) มูลนิธิคลังสอง วปอ.เพื่อสังคม ประสบการณ์ท�ำงาน • 2559 - ปัจจุบนั : กรรมการชมรมบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • 2560 : ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ธุรกิจบริษทั ร่วม บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • 2558 - 2560 : ผูอ้ �ำนวยการอาวุโส ฝ่ายยุทธศาสตร์องค์กรและบริหารการลงทุนธุรกิจ บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) • 2557 - 2558 : ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายแผนงานและยุทธศาสตร์องค์กร บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • 2551 - 2557 : ผูอ้ �ำนวยการสายการเงินองค์กร สายงานด้านบัญชีและการเงิน บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) • 2548 - 2550 : คณะอนุกรรมการก�ำหนดมาตรฐานฝีมอื แรงงานแห่งชาติ สาขาช่างโทรคมนาคม กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน • 2547 - 2550 : ผู้อ�ำนวยการ บจก. สามารถคอมเทค • 2544 - 2547 : ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาองค์กร บมจ. สามารถ คอร์ปอเรชั่น • 2542 - 2544 : รองกรรมการผู้จดั การ บจก. แคปปิตัลเทเลคอม • 2537 - 2542 : ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการลงทุน บจก. แคปปิตัล แมเนจเมนท์ • 2536 : หัวหน้าส่วนส่งเสริมธุรกิจ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ฯ : 157,800 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 74

5. นายสมชาย เกษมล้นนภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กร อายุ 53 ปี การศึกษา • ปริญญาโท Electrical Engineering (Computer Network and Telecommunication), University of Washington, USA • ปริญญาตรี Electrical Engineering (Computer Engineering and Telecommunication), University of Washington, Seattle, USA การฝึกอบรม / สัมมนา • Management Training Program, Nokia Networker (1996), International Institute for Management Development, Switzerland ประสบการณ์การทํางาน • 6/2560 - ปัจจุบัน : ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กร บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กรและพัฒนาธุรกิจ บริษทั บีซพี จี ี จ�ำกัด (มหาชน) • 2559 - 6/2560 : • 2556 - 2559 : ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจในประเทศออสเตรเลีย บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจพลังงานทดแทน • 2556 - 2557 : บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ผู้อํานวยการฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ บริษัท ทรูมูฟ จํากัด • 2552 - 2556 : การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ PetroWind Energy Inc (PWEI) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ฯ : 1,400 หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี

6. นายภาวัน สยามชัย

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานปฏิบัติการดํารงตําแหน่ง Country Manager, BCPG Japan Corporation อายุ 48 ปี การศึกษา • ปริญญาเอก วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การฝึกอบรม / สัมมนา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 123/2016) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทํางาน • 2548 - 2558 : กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ด้านปฏิบัติการ บริษัท โซลาร์ตรอน จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการ / อื่นๆในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไม่มี • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ บริษัท BCPG Japan Corporation - กรรมการ บริษัท BCPG Engineering Company สัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ฯ : ไม่มี (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทย่อย : ไม่มี


69

6

4

1. นายบัณฑิต สะเพียรชัย 2. นางสาวเรวดี พรพัฒน์กุล 3. นางสาวสัตยา มหัตถนาพาณิช 4. นางสาวณินทิรา อภิสิงห์ 5. นายสมชาย เกษมล้นนภา 6. นายภาวัน สยามชัย

1

3

คณะผู้บริหาร

2

กรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการผู้มีอำ� นาจลงนาม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายงานบริหารความเป็นเลิศองค์กร และเลขานุการบริษัท รักษาการรองกรรมการผู้จดั การใหญ่ สายการเงินและบัญชี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานยุทธศาสตร์องค์กร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ ด�ำรงต�ำแหน่ง Country Manager, BCPG Japan Corporation

5


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 70

คณะผู้บริหาร 1. นายบัณฑิต สะเพียรชัย

กรรมการ และกรรมการผู้มอี ํานาจลงนาม (วันที่เริ่มเป็นกรรมการ 25 มีนาคม 2559) กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริษทั อายุ 53 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา / การฝึกอบรม • วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 28/2004) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program (DCP 53/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND 15/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร The Board’s Role in Mergers and Acquisitions (M&A 1/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 1/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปอ.2555 / ปริญญาบัตร ปรอ. รุ่นที่ 25) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • ประกาศนียบัตร หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 20 (วตท.20) สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประสบการณ์การทํางาน • 2556 - 2558 : รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานด้านธุรกิจพลังงานทดแทน บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) • 2555 - 2556 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจและยุทธศาสตร์องค์กร บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) • 2551 - 2555 : ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานด้านพัฒนาธุรกิจองค์กร บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) • 2547 - 2551 : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปุ๋ยเอ็นเอฟซี จํากัด (มหาชน) • 2540 - 2547 : ผู้จัดการฝ่ายแผนและพัฒนาธุรกิจ บริษัท แอร์ลคิ วิด (ประเทศไทย) จํากัด • 2537 - 2540 : ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษทั ปตท. ปิโตรเคมีคอล จํากัด • 2531 - 2537 : ผู้จัดการส่วนพาณิชย์ บริษัท. ปิโตรเคมีแห่งชาติ จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการ/อื่นๆ ในปัจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จํากัด - ประธานกรรมการ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ปราจีนบุรี) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (ชัยภูมิ1) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (บุรีรัมย์1) จํากัด - ประธานกรรมการ บริษทั บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี (นครราชสีมา) จํากัด


75

การกำ�กับดูแลกิจการ

การกำ�กับดูแลกิจการ นโยบายการกาํ กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ รวมทั้ง ได้ยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ภี ายในประเทศ เช่น หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์ตามโครงการ ส� ำ รวจการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท จดทะเบี ย น (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies - CGR) ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รวมถึงหลักเกณฑ์ในระดับ สากล เช่น ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) เป็นต้น โดยได้มอบหมายให้คณะกรรมการบรรษัทภิบาล เป็นผู้ติดตาม พิจารณา และน�ำเสนอการปรับปรุงนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ ที่ประกาศใช้ใหม่จากหน่วยงานก�ำกับดูแล และน�ำเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติใช้นโยบายดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ซึง่ ล่าสุด คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ ให้สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 ที่ประกาศใช้ใหม่ โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พร้อมได้ เผยแพร่นโยบายดังกล่าวบน Website ของบริษทั ฯ ที่ http://investor-th. bcpggroup.com/cg_principle.html

การปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บริษัทฯ ก�ำหนดเป็นนโยบายที่จะยึดมั่นและปฏิบัติตามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด โดยในปี 2560 บริษัทฯ ได้ผล การประเมินในเรื่องการก�ำกับดูแลกิจการและรางวัลต่างๆ ในระดับ ประเทศ และระดับสากล ดังนี ้ • ได้รบั ผลส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียน (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies - CGR) ประจ�ำปี 2560 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ในระดับดีมาก (Very Good) ซึ่งเป็นปีแรกที่ได้รับการประเมินนับจากที่ บริษัทมีสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ • ได้คะแนนประเมิน 100 คะแนน จากผลประเมินคุณภาพ การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 (AGM Checklist) โดย สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย

• ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) เมือ่ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 • ได้รับรางวัล Best Renewable Energy Company - Thailand 2017 และ Best Corporate Governance Principles - Renewable Energy Company - South East Asia 2017 จากวารสารทางการเงินระดับ นานาชาติ The European - Global Banking and Finance • ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO / IEC 27001 : 2013 ซึ่งเป็น มาตรฐานสากลส�ำหรับข้อมูลหรือการจัดการความปลอดภัยในด้าน สารสนเทศ มีผลตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม 2560 โดยมีรายละเอียดมาตรการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมเพื่อการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีครอบคลุมหลักการทั้ง 5 หมวด ดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ้ อื หุน้ (The Rights of Shareholders) ผู้ถือหุ้นมีสิทธิในความเป็นเจ้าของโดยใช้สิทธิผ่านการแต่งตั้ง กรรมการเพื่ อ ทํ า หน้ า ที่ แ ทนตนและมี สิ ท ธิ ตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ การ เปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ตระหนักและให้ความสําคัญถึง สิทธิของผู้ถือหุ้น โดยส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิและจะไม่กระทําการ ใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น เช่น • การสนับ สนุน และส่ ง เสริม ให้ ผู ้ ถือ หุ้ น ทุก รายได้ รับ สิท ธิ พื้นฐาน อันได้แก่ สิทธิซื้อขายและโอนหุ้น สิทธิในส่วนแบ่งกําไร สิทธิ ได้รบั สารสนเทศ สิทธิเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนน และสิทธิ ประการอื่นๆ ที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รบั ตามกฎหมาย • การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม วาระการประชุมและข้อมูล ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องพิจารณา โดยน�ำส่งข้อมูลเป็นการ ล่วงหน้า เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้มโี อกาสพิจารณาศึกษาข้อมูลอย่างรอบคอบ ก่อนการประชุม ได้แก่ การจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้ถึงผู้ถือหุ้น ไม่นอ้ ยกว่า 21 วันก่อนการประชุม และโฆษณาคําบอกกล่าวนัดประชุม ในหนังสือพิมพ์ 3 วันติดต่อกันและไม่น้อยกว่า 3 วันก่อนวันประชุม รวมถึงเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์บริษัทฯ ไม่น้อยกว่า 30 วันก่อน การประชุม เว้นแต่มเี หตุจาํ เป็นประการอืน่ ใด บริษทั ฯ จะพยายามน�ำ ส่งข้อมูลที่ครบถ้วนถูกต้องยังผู้ถือหุ้นให้รวดเร็วที่สุด • การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอระเบียบวาระการประชุมและ เสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อพิจารณาเลือกตั้งเป็น กรรมการบริษทั ฯ และสามารถตัง้ คําถาม ขอคําอธิบาย และแสดงความเห็น ของตนได้อย่างเหมาะสมเป็นการล่วงหน้า โดยในการประชุมสามัญ


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 76

ผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2561 บริษทั ฯ ได้แจ้งเป็นข่าวการให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ใน เรื่องดังกล่าวผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 และมีก�ำหนดสิ้นสุดการเสนอเรื่องกลับมา ยังบริษัทฯ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ซึ่งเป็นระยะเวลาล่วงหน้า กว่า 4 เดือน โดยหากมีกรณีที่มีการเสนอเรื่องกลับมา บริษทั ฯ จะน�ำ เข้าสู่กระบวนการพิจารณาภายในของบริษัทฯ ก่อนสรุปน�ำเสนอยัง ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ปี 2561 เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป • การเผยแพร่สารสนเทศเกี่ยวกับผลการพิจารณาและมติ ของที่ประชุมผู้ถือหุ้นผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ บริษทั ฯ ทันทีหรืออย่างช้าในวันท�ำการถัดไป เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบ มติที่ประชุมภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้นโดยพลัน

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม (The Equitable Treatment of Shareholders) คณะกรรมการบริษทั จะกํากับดูแลให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายพึงได้รบั การ ปฏิบตั อิ ย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยบริษทั ฯ กําหนดแนวปฏิบตั ิ ไว้ดงั นี้ • ผู้ถือหุ้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนตามจํานวนหุ้นที่ตนมี • ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั สารสนเทศทีจ่ าํ เป็นอย่างเท่าเทียม เพียงพอ ยุติธรรม และทันเวลา ทั้งนี้บริษัทฯ ได้จัดท�ำข้อมูลเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้น หรือนักลงทุนที่เป็นชาวต่างประเทศได้อย่าง กว้างขวาง • ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั การปฏิบตั จิ ากบริษทั ฯ อย่างเป็นธรรมและ เท่าเทียมกัน ภายใต้สทิ ธิตามทีบ่ ทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย หรือตามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีปี พ.ศ. 2560 ที่ ก.ล.ต. ประกาศก�ำหนด • กรณีการเข้าท�ำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทฯ ได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงเหตุผลและความจ�ำเป็นก่อนการเข้าท�ำ รายการ โดยกระบวนการอนุมตั กิ อ่ นเข้าท�ำรายการเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่หน่วยงานก�ำกับดูแลก�ำหนดไว้ พร้อมทั้งผ่านการพิจารณาเพื่อ ขอความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ และเปิดเผยไว้ในรายงาน ประจ�ำปีและแบบแสดงข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56- 1) ให้ผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ รับทราบอย่างครบถ้วน • การติดต่อสือ่ สารกับกรรมการอิสระในเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับ สิทธิของตนได้ โดยผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น การส่งจดหมาย ลงทะเบียนส่งถึงบริษัทฯ หรือการติดต่อผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ และ เว็บลิงค์ ดังนี้ http://www.bcpggroup.com/th/contactus หรือติดต่อโดย ทาง Electronic mail ที่: ico@bcpggroup.com เป็นต้น

หมวดที่ 3 การค�ำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Roles of Stakeholders) บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดูแลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่งขันทางการค้า พนักงาน เจ้าหนี้ หน่วยงานภาครัฐ รวมถึง ชุมชนและสังคม เพือ่ ให้พงึ ได้รบั สิทธิทมี่ ตี ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรมจากการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดเป็ น นโยบายและแนวทาง ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มเพื่อเป็นบรรทัดฐานอ้างอิง ในการปฏิบตั งิ าน เช่น มุง่ เน้นเรือ่ งการเคารพในหลักสิทธิมนุษยชนและ การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การก�ำกับดูแลป้องกันการล่วง ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาและลิขสิทธิ์ การปฏิบัติต่อคู่ค้า หรือ คูแ่ ข่งขันทางการค้าอย่างยุตธิ รรม การสร้างจิตส�ำนึก และค�ำนึงถึงผล กระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาให้มี กระบวนการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษทั ฯ กับผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียในการสร้างความมัง่ คัง่ ความมัน่ คงทางการเงินและความยัง่ ยืน ของกิจการ พร้อมทัง้ จัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพกับ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียแต่ละกลุม่ รวมถึงการจัดให้มมี าตรการรับแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนจากทั้งพนักงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น เกี่ยวกับ การกระทําผิดกฎหมาย จรรยาบรรณหรือพฤติกรรมทีอ่ าจส่อถึงการทุจริต หรือคอร์รปั ชันของบุคคลในองค์กร (ถ้ามี) นอกจากนี้กลุ่มบริษัทฯ ได้ ร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังนโยบาย และแนวปฏิบัติที่ดีในการต่อ ต้านการทุจริตคอร์รปั ชันของกลุม่ บริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ งเป็นประจ�ำทุก ปี อีกทั้งบริษัทฯ ได้บกุ เบิกในการด�ำเนินธุรกิจในลักษณะเป็นกิจการ เพื่อสังคม (Social Enterprise) โดยประสานความร่วมมือกับสหกรณ์ การเกษตรเพื่อร่วมกันด�ำเนินธุรกิจโรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิตย์ในพื้นที่ต่างๆ (โครงการ Solar Cooperation) ด้วย ส�ำหรับด้านการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ปลูกฝังและ เน้นย�้ำเป็นวัฒนธรรมองค์กรแก่พนักงานทุกระดับให้ตระหนักรู้เสมอ ว่าการด�ำเนินการต่างๆ จะต้องพิจารณาป้องกันมิให้เกิดผลกระทบ ในเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม หรือให้มีผลกระทบน้อย ที่สุด โดยต้องมีกระบวนการเพื่อติดตามก�ำกับดูแลให้เกิดความมั่นใจ และเป็นที่น่าเชื่อถือ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน สากลในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO14001:2008) ซึ่งต้องได้รับ การตรวจติดตามการปฏิบัติให้สอดคล้องกับมาตรฐานดังกล่าวจาก ผู้ตรวจประเมินอิสระภายนอกอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยปัจจุบัน บริษัทฯ อยู่ระหว่างการเตรียมความพร้อมเพื่อรับการตรวจประเมินขอรับการ รับรองตามมาตรฐาน ISO14001 version ใหม่ ปี 2015 ซึง่ คาดการณ์วา่ จะได้รับการรับรองในปี 2561 ต่อไป


77

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลที่สําคัญทั้งข้อมูลทางการเงินและมิใช่ ทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางที่ เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมและน่าเชื่อถือ โดยกําหนดแนว ปฏิบตั ิไว้ดงั นี้ • มุง่ มัน่ ในการให้ขอ้ มูลอย่างเท่าเทียมกันแก่ผถู้ อื หุน้ สถาบัน การเงิน บริษทั หลักทรัพย์ นักลงทุน รวมไปถึงผูท้ ตี่ อ้ งการใช้ขอ้ มูลและ สาธารณชนทั่วไป โดยให้ความสําคัญกับการสื่อสารอย่างโปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและสม�ำ่ เสมอ นโยบายการเปิดเผยข้อมูลนี้ ครอบคลุมถึงทุกวิธี เช่น รายงานประจําปี และรายงานผลการดําเนินงาน รายไตรมาสต่อนักวิเคราะห์และนักลงทุนทั่วไป ข่าวสาร จดหมาย ถึงผู้ถือหุ้น เว็บไซต์ของบริษัทฯ และสื่ออื่นๆ • ไม่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ มี นั ย สํ า คั ญ ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณชนให้แก่พนักงานที่ไม่ได้รับอนุญาต ให้แก่กลุ่มบุคคลหรือ บุคคลอื่นใด (รวมถึงนักลงทุน สื่อมวลชนและนักวิเคราะห์) จนกว่า ข้อมูลนั้นจะได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว • หลี ก เลี่ ย งการให้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผลการดํ า เนิ น งานที่ มี ผลกระทบต่อราคาหุน้ หรือเป็นประโยชน์ตอ่ ผูห้ นึง่ ผูใ้ ด โดยเฉพาะในช่วง เวลาก่อนที่จะมีการจัดส่งงบการเงินให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ • บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ผู้อํานวยการที่ดูแลหน่วยงาน นักลงทุนสัมพันธ์ มีหน้าทีห่ ลักในการติดต่อประสานงานกับนักวิเคราะห์ นักลงทุน และบุคคลอื่นๆ ที่ต้องการข้อมูลทางการเงิน ผลการดําเนิน งาน ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ และธุรกรรมใดๆ ที่มีผลกระทบต่อ บริษัทฯ โดยตลอดปี 2560 บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรมของตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการเผยแพร่ ข ้ อ มู ล ต่ อ นั ก ลงทุ น ในกิ จ กรรม Opportunity Day รวมถึงได้จัดกิจกรรมเพื่อชี้แจงผลการด�ำเนินงานประจ�ำไตรมาสกับ นักวิเคราะห์ และนักวิเคราะห์ของสถาบันต่างๆ (Analyst ‘s Meeting Day) รวมถึงให้การต้อนรับนักลงทุนทัง้ แบบสถาบัน และบุคคลธรรมดา (กิจกรรม One on One Meeting) ทีข่ อนัดหมายเข้ามาขอรับทราบข้อมูล จากบริษัทฯ อย่างต่อเนือ่ ง

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of the Board of Directors) กรรมการพึงปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซือ่ สัตย์สจุ ริต และเป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติ คณะกรรมการบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงมีบทบาท ในการกํากับดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ อันนําไป สู่ความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน โดยรับผิดชอบผลการปฏิบัติหน้าที่ ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่น รวมถึงเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ นอกจากนี้

การกำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ค ณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยเพื่ อ การ กํากับดูแลกิจการที่ดี โดยทําหน้าที่เฉพาะด้านช่วยศึกษากลั่นกรอง งานของคณะกรรมการบริษัทอีกด้วย โดยในช่วงปี 2560 บริษัทฯ ได้ดําเนินการดังนี้ • การจัดให้มปี ระชุมคณะกรรมการบริษทั เป็นประจ�ำทุกเดือน เพื่อพิจารณาและติดตามเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินกิจการ รวมทั้ ง การรายงานผลการด�ำ เนิ น งานรายเดื อ นของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ โดยฝ่ายจัดการ ซึ่งได้น�ำเสนอยังคณะกรรมการชุดย่อยเฉพาะเรื่อง เพื่ อ พิ จ ารณากลั่ น กรองในรายละเอี ย ดก่ อ นน� ำ เสนอยั ง ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ • การเข้าร่วมประชุม Workshop เพือ่ พิจารณาทบทวนกลยุทธ์ และแผนยุทธศาสตร์องค์กรในช่วง 3-5 ปีข้างหน้า เพื่อให้บริษัทฯ ใช้ ก� ำ หนดทิ ศ ทางการด� ำ เนิ น การทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว ของบริษัทฯ ต่อไป • การรายงานผลประกอบการและฐานะทางการเงินของ บริษัทฯ เป็นประจําทุกรายไตรมาสต่อคณะกรรมการบริษัท พร้อมทั้ง การรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบที่เกี่ยวข้องกับงบการเงิน • การประชุมของคณะกรรมการอิสระเพื่อให้ข้อสังเกตหรือ ข้อเสนอแนะต่อฝ่ายจัดการ เพื่อใช้ในการพัฒนาการดําเนินงานของ บริษัทฯ ให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป • การจัดให้มกี ารนําเสนอข้อกฎหมายหรือประกาศทีเ่ กีย่ วข้อง กับบริษัทจดทะเบียนให้แก่คณะกรรมการบริษัทอย่างสม�ำ่ เสมอโดย ที่ปรึกษากฎหมาย • จัดให้มีระบบควบคุมภายใน และมาตรการบริหารความ เสี่ยง พร้อมทั้งมีการทบทวนและประเมินระบบฯ หรือมาตรการต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ และจัดทํารายงานประจําปีเพื่อให้คณะกรรมการ บริษัท และฝ่ า ยจัด การรับ ทราบเพื่อ ใช้ ป รับ ปรุง เพิ่ม ประสิท ธิภ าพ ในการดําเนินงาน • การเยี่ ย มชมกิ จ การในประเทศญี่ ปุ ่ น และในประเทศ อินโดนีเซียเพื่อให้เกิดความเข้าใจลักษณะการดําเนินงาน และข้อ ก�ำหนดหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องและติดตามผลการด�ำเนินงานอย่าง ใกล้ชิด

การกาํ กับดูแลการดาํ เนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม บริษทั ฯ ได้ประกาศใช้นโยบายการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของ บริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม และด�ำเนินการให้ผบู้ ริหารของบริษทั ฯ ทีไ่ ป ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นกรรมการผูแ้ ทนของบริษทั ฯ ในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ลงนามรั บ ทราบหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นนโยบาย ดังกล่าวแล้ว โดยกรรมการผูแ้ ทนซึง่ มีหน้าทีก่ �ำกับดูแลบริษทั ย่อยและ บริ ษั ท ร่ ว มแทนคณะกรรมการบริ ษั ท ต้ อ งสรุ ป รายงานผลการ ด�ำเนินการของบริษทั ทีต่ นไปด�ำรงต�ำแหน่ง ยังทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทเพื่อทราบ เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 78

บริษทั ฯ มีนโยบายการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วมของบริษทั ฯ รวมถึงบริษทั ทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ (รวมเรียกว่า “บริษัทร่วมทุน”) โดยบริษทั ฯ ได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติโดยสรุปไว้ดงั นี้ • การส่งผู้แทนของบริษัทฯ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ในบริษัทร่วมทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นในแต่ละบริษัท (“กรรมการ ผูแ้ ทนของบริษทั ฯ”) เพือ่ ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลให้บริษทั ร่วมทุนด�ำเนินการ สอดคล้องตามกฎหมาย นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นโยบาย การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทร่วมทุน รวมถึงนโยบายอื่น ของบริษัทฯ • กรรมการผู้แทนของบริษัทฯ ในบริษัทร่วมทุนแต่ละบริษัท จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทฯ ก่อนออกเสียงลง มติในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั ร่วมทุนแต่ละบริษทั (เว้นแต่ บริษทั ร่วมทุนทีไ่ ม่เป็นบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วมของบริษทั ฯ กรรมการ ผู้แทนของบริษัทฯ ออกเสียงลงมติในเรื่องต่างๆ ได้ต่อเมื่อได้รบั ความ เห็นชอบจากกรรมการผู้จดั การใหญ่ของบริษัทฯ ก่อน) • บริษัทร่วมทุนที่เป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ด�ำเนินการใด ที่เข้าข่ายหรือเป็นการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินหรือรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน และส่งผลให้บริษัทฯ มีหน้าที่ต้องขออนุมัติที่ประชุม คณะกรรมการของบริษัทฯ หรือด�ำเนินการอื่นใดตามข้อก�ำหนดหรือ ประกาศของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือส�ำนักงาน ก.ล.ต. บริษทั ย่อย จะเข้าท�ำรายการหรือด�ำเนินการนั้นได้เมื่อได้รับอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการของบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ และ/หรือ หน่วยงานก�ำกับทีเ่ กีย่ วข้อง (แล้วแต่กรณี) เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว • บริษทั ร่วมทุนทีเ่ ป็นบริษทั ย่อยจัดให้มรี ะบบควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสี่ยง และระบบป้องกันการทุจริต รวมทั้งก�ำหนด ให้มีมาตรการในการติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมที่เหมาะสม • บริษัทร่วมทุนที่เป็นบริษัทย่อยมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ผลการด�ำเนินงานและฐานะทางการเงิน รวมถึงข้อมูลต่างๆ ที่ต้อง เปิดเผยแก่หน่วยงานก�ำกับดูแลและหน่วยงานราชการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง นักลงทุนภายนอก รวมถึงสาธารณชน ให้ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และน่าเชื่อถือ

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั ฯ กําหนดนโยบายและวิธกี ารกํากับดูแลกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ในการนําข้อมูลภายในของบริษัทฯ ซึ่งยัง ไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือ ผู้อื่น โดยบริษัทฯ ได้กําหนดแนวปฏิบตั ิไว้ดังนี้ • การรับทราบหน้าทีใ่ นการรายงานการถือครอง การเปลีย่ นแปลง การถือครอง และการรายงานการได้มาหรือจําหน่ายหลักทรัพย์ของ บริษทั ฯ โดยกรรมการและผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ าํ รงตําแหน่งระดับบริหาร ในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า รวมถึงคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ตามหลักเกณฑ์ทกี่ าํ หนด ไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) • การก�ำหนดระยะเวลาห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ (Blackout Period) เป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือนล่วงหน้าก่อนการเปิดเผย ข้อมูลภายในเกี่ยวกับงบการเงิน ฐานะการเงินหรือผลการดําเนินงาน ของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง ข้ อ มู ล ภายในอื่ น ที่ เ ป็ น สาระสํ า คั ญ ซึ่ ง มี ผ ล ต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต่อสาธารณชน และควรรอคอย อย่างน้อย 3 วันภายหลังการเปิดเผยข้อมูลให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทัง้ ห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระสําคัญนั้นต่อบุคคลอื่น กําหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝ่าฝืนนําข้อมูลภายใน ไปใช้หาประโยชน์ส่วนตน โดยเริ่มตั้งแต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชั่วคราวโดยไม่ได้รับค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน เท่าทีก่ ฎหมายอนุญาตให้ทาํ ได้ ซึง่ การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนา ของการกระทําและความร้ายแรงของความผิดนั้นๆ

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี สําหรับงวดปีบญ ั ชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้สอบบัญชีคือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด และบริษัทในกลุ่มเคพีเอ็มจีสําหรับการสอบบัญชี งบการเงิน (Audit fee) เป็นจํานวนเงิน 1.18 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น ค่าสอบบัญชี จํานวน 1.00 ล้านบาท และสําหรับค่าบริการอืน่ (Nonaudit fee) เป็นจํานวนเงิน 0.18 ล้านบาท


79

การกำ�กับดูแลกิจการ

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท บี ซี พี จี จ�ำ กั ด (มหาชน) ได้รับการแต่งตั้งขึ้นตามมติของคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 ท่าน คือ นางวิไล ฉัททันต์รศั มี เป็นประธาน กรรมการตรวจสอบ พลเอกอุทศิ สุนทร และนางพรรณขนิตตา บุญครอง เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสาวทิพรัตน์ ซุย่ กิม้ รักษาการหัวหน้า ส�ำนักตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าทีเ่ ป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 11 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบทุกท่านได้เข้าร่วมประชุมครบทุกครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษทั และตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องตามแนวปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ โดยให้ความส�ำคัญกับการสอบทานงบการเงิน ความถู ก ต้ อ งและความมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานรายงานการเงิน สอบทานระบบการ ควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี สอบทานให้ บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยง การป้องกันการทุจริต รวมทัง้ การเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี สรุปสาระส�ำคัญ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ในรอบปี 2560 ดังนี้ 1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจ�ำปีของบริษัท และงบการเงินรวม ร่วมกับฝ่ายจัดการ ส�ำนักตรวจสอบภายใน และผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยได้ ส อบทานประเด็ น ที่ เ ป็ น สาระส� ำ คั ญ การปรับปรุงรายการบัญชีที่ส�ำคัญ และความเหมาะสมของวิธีการ บันทึกบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่าการจัดท�ำรายงานทางการเงิน ได้ปฏิบัติ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards-TFRS) รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูล มีความเพียงพอ ตลอดจน การแสดงความเห็นของผูส้ อบบัญชี โดยให้ความส�ำคัญกับการน�ำเสนอ ข้อมูลเพิ่มเติม ในรายงานของผู้สอบบัญชี นอกจากนี้คณะกรรมการ ตรวจสอบมีการประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วม เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ผู ้ ส อบบั ญ ชี ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ง านและแสดงความเห็ น อย่างอิสระ โดยไม่ถกู จ�ำกัดขอบเขต รวมทัง้ การจัดท�ำแผนการตรวจสอบ 2. การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการด�ำเนินงานของบริษทั มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำ� หนดไว้ รวมทั้งการติดตามการปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ ตู้ รวจสอบภายใน

และผูส้ อบบัญชีเสนอนัน้ ฝ่ายจัดการได้นำ� ไปปรับปรุงตามความเหมาะสม ส�ำหรับด้านการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารสอบทาน แผนการปฏิบัติงานประจ�ำปีของหน่วยงานตรวจสอบภายใน โดยให้ ความส�ำคัญเรื่องการก�ำหนดแผนงานการตรวจให้มีความเหมาะสม รวมทั้งได้อนุมัติการทบทวนกฎบัตร งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และอัตราก�ำลังคนของส�ำนักตรวจสอบภายใน ตลอดจนการก�ำหนดเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า หน่ ว ยงานตรวจสอบภายในสามารถท� ำ หน้ า ที่ ไ ด้ อย่างเป็นอิสระ และตรงไปตรงมาเพื่อประโยชน์ของบริษัท 3. การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน การปฏิบตั ติ ามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ของคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัท ส�ำหรับรายการระหว่างกัน และรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ได้พิจารณาถึงความสมเหตุผลในการ เข้าท�ำรายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ว่าเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั และฝ่ายจัดการได้รายงานความเคลื่อนไหวของรายการต่างๆ ต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส นอกจากนี้บริษัท ยังจัดให้มีช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียน และเบาะแสการทุจริต (Whistle blowing) ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้มอบหมายให้ ส�ำนักตรวจสอบภายในมีหน้าทีร่ บั เรือ่ งร้องเรียน เพือ่ รวบรวมน�ำเสนอ ยังคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ พิจารณาอย่างเหมาะสม 4. การสอบทานระบบการบริหารความเสีย่ ง บริษทั บีซพี จี ี จ�ำกัด (มหาชน) มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร ซึ่งมีหน้าที่ ก�ำกับดูแลและพิจารณานโยบายการบริหารจัดการความเสี่ยงหลัก ทีส่ ำ� คัญของบริษทั นอกจากนีไ้ ด้มอบหมายให้สำ� นักตรวจสอบภายใน น�ำปัจจัยเสีย่ งต่างๆ มาประกอบการพิจารณาจัดท�ำแผนการตรวจสอบ ตามล� ำ ดั บ ความเสี่ ย ง (Risk Based Audit Plan) เพื่ อ ประเมิ น ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ลของกระบวนการด� ำ เนิ น งาน คณะกรรมการตรวจสอบได้ ติ ด ตามความเสี่ ย งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การด�ำเนินงานของบริษทั เป็นประจ�ำทุกไตรมาส เช่น จากการทีบ่ ริษทั เข้าลงทุนในต่างประเทศ เป็นต้น 5. การสอบทานการป้องกันการทุจริต คณะกรรมการตรวจสอบ สนับสนุนให้บริษัทฯ มีแนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน อย่างเป็นรูปธรรม โดยการท�ำงานร่วมกันกับคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ในการก�ำกับดูแลให้องค์กรมีระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในทุก


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 80

กระบวนการด�ำเนินงาน โดยได้สนับสนุนให้บริษัทร่วมมือกับองค์กร ภาครัฐและเอกชน เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption: CAC) ทัง้ นีร้ ายงานความเสีย่ งด้านคอร์รปั ชัน ของบริษัท ได้รบั การรับรองจากคณะกรรมการ CAC ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2560 รวมถึงการแจ้งเบาะแสการทุจริต ตามที่กล่าวไว้ใน ข้อที่ 3 เรื่องการสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีแล้ว 6. การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าสอบบัญชี ประจ�ำปี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแต่งตั้งและก�ำหนด ค่าตอบแทนผู้สอบประจ�ำปี โดยประเมินจากผลงานผู้สอบบัญชี รวมถึงประสบการณ์ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และความเป็นอิสระ รวมถึง ค่ า สอบบัญ ชีที่เ สนอมา เปรีย บเทีย บกับ ปริม าณงานและ ธุรกิจของบริษทั โดยผลการพิจารณาได้นำ� เสนอยังคณะกรรมการบริษทั ตามล�ำดับ

7. การรักษาคุณภาพของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ตรวจสอบได้กำ� หนดให้มกี ารทบทวนกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นประจ�ำทุกปี และเพือ่ ให้สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษัทจดทะเบียนที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก� ำหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบัติงานตนเอง เป็นราย บุคคล ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี 2560 เพือ่ น�ำข้อพิจารณาต่างๆ มาพัฒนา และปรับปรุงการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ อย่างต่อเนื่อง โดยสรุป จากการด�ำเนินงานข้างต้นคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า รายงานข้อมูลทางการเงินของบริษัท มีความถูกต้อง เปิดเผยครบถ้วนตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยมีระบบ การควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติงาน ที่สอดคล้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ

(นางวิไล ฉัททันต์รัศมี) ประธานกรรมการตรวจสอบ


81

การกำ�กับดูแลกิจการ

รายงานของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน ซึ่งประกอบด้วย พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ เป็นประธานกรรมการ พลเอก คณิต สาพิทักษ์ เป็นกรรมการ และ ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นกรรมการและเลขานุการ เพื่อท�ำ หน้าที่ก�ำหนดหลักเกณฑ์การสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการ บริษัท กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ/หรือผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการ ก�ำหนดและทบทวนค่าตอบแทนให้เหมาะสม เพือ่ พิจารณากลัน่ กรอง และเสนอข้ อ คิ ด เห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท โดยในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจัดให้มีการประชุม จ�ำนวน 6 ครั้ง ซึ่งมีสาระส�ำคัญดังนี้ 1. การสรรหากรรมการและผู้บริหาร การสรรหากรรมการ: คณะกรรมการสรรหาฯ สรรหาบุคคลที่มี ความรู้ความสามารถแทนกรรมการที่ลาออกตามวาระและกรรมการ ที่ลาออกระหว่างปี 2560 โดยพิจารณาจากคุณสมบัติและประวัติการ ท�ำงาน รวมถึงการวิเคราะห์ Board Skill Matrix เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยเสนอรายชือ่ บุคคลเข้ารับการคัดเลือก เป็นกรรมการของบริษัทในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดยแจ้ง ผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การสรรหาผู้บริหารระดับสูง: คณะกรรมการสรรหาฯ ได้ท�ำ หน้าที่พิจารณาคัดเลือกผู้บริหารระดับสูง โดยค�ำนึงถึงคุณสมบัติ ประสบการณ์และผลงาน และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณา นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาฯ ให้ความส�ำคัญถึงการ พัฒนาบุคลากรภายในองค์กรที่มีศักยภาพ และการจัดท�ำแผนการ สืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) เพื่อให้การบริหารงานมีความ ต่อเนื่อง 2. ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อย พิจารณาทบทวนค่าตอบแทนในแต่ละปี โดยค�ำนึงถึงความ เหมาะสมกั บ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ รวมทั้ ง เที ย บเคี ย งกั บ

ค่าตอบแทนของบริษัทจดทะเบียนอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน และ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อพิจารณา 3. ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละประเมิ น ผลงานของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เพื่อพิจารณาและก�ำหนดค่าตอบแทนในแต่ละปีและ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 4. การสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง พิจารณาจากประสบการณ์ ความเหมาะสม หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ รวมทั้งเปรียบเทียบกับค่าตอบแทนของบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมที่ ใกล้เคียงกัน โดยน�ำเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาแต่งตั้งต่อไป รวมทั้งการให้ข้อเสนอแนะหรือข้อสังเกตุ เกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งการบริ ห ารจั ด การให้ แ ก่ ฝ ่ า ยจั ด การและคณะ กรรมการบริษัท 5. พิจารณาค่าตอบแทนอืน่ ๆ (ได้แก่ โครงการการออกและเสนอ ขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย: Employee Stock Option) ให้แก่กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั และ ผู้ถือหุ้นพิจารณาในการประชุมสามัญผู้ถอื หุ้นประจ�ำปี 2560 6. จั ด ท� ำ กฎบั ต รของคณะกรรมการสรรหาฯ โดยก� ำ หนด องค์ประกอบและคุณสมบัติ รวมทั้งทบทวนหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและให้สอดคล้องกับหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปี 2560 และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ ซึ่งได้ประกาศใช้กฎบัตรดังกล่าว เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการสรรหาฯ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง หน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยปฏิบัติ งานด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง โปร่งใสและเป็นธรรมตามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และรายงานความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของ บริษัทฯ และผู้ถอื หุ้นเป็นส�ำคัญ

พลเรือเอก

(ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ) ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 82

รายงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) (“บีซีพีจี”) ให้ความส�ำคัญ ในการยึดถือปฏิบตั ติ ามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจในทุกพืน้ ที่ และทุกกระบวนการปฏิบตั งิ าน พร้อมทัง้ ได้ตดิ ตาม การเปลี่ยนแปลงในหลักการ และนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จากหน่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ลทั้ ง ภายในประเทศและในระดั บ สากล เพื่อน�ำมาพิจารณาทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บีซีพีจี ให้เป็นปัจจุบันอย่างสม�่ำเสมอ ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ ค ณะกรรมการ บรรษัทภิบาล ซึง่ ประกอบด้วย พลเอกคณิต สาพิทกั ษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธาน และนางวิไล ฉัททันต์รศั มี กรรมการอิสระ และนายบัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นกรรมการบรรษัทภิบาล เพื่อท�ำหน้าที่ สนั บ สนุ น คณะกรรมการบริ ษั ท ในการก� ำ กั บ และส่ ง เสริ ม ให้ มี การปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของบริษัทตามที่ได้ก�ำหนดไว้ ในทุกระดับขององค์กร ในปี 2560 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลจัดประชุม รวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยสรุปสาระส�ำคัญของการปฏิบัติหน้าที่ได้ ดังนี้ 1) น� ำ เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ทบทวนนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัทเพื่อให้สอดคล้องตามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน ปี 2560 ตามทีส่ ำ� นักงาน คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) ได้ ป ระกาศบั ง คั บ ใช้ ใ หม่ ทดแทนหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ของบริ ษั ท จดทะเบี ย น ปี 2555 ที่ ป ระกาศบั ง คั บ ใช้ เ ดิ ม โดย ตลาดหลักทรัพย์ฯ 2) หารือคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาทบทวนบทบาท และขยายขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เพิม่ เติม ในการช่วยคณะกรรมการบริษทั ก�ำกับดูแลการด�ำเนินนโยบาย และกิจกรรมด้านชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มบริษัทฯ 3) ส่งเสริมให้การด�ำเนินกิจการของกลุ่มบริษัท บีซีพีจี และ การปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานสอดคล้อง กั บ นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ พร้อมทัง้ ส่งเสริม และติดตามผลการจัดกิจกรรมการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณทางธุรกิจ เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง 4) ก�ำกับดูแลให้กลุ่มบริษัท บีซีพีจี มีกระบวนการประเมิน ความเสี่ยง และมีมาตรการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชันเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ ในการป้องปราม โดยการจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายใน ที่เหมาะสม และได้ทบทวนเป็นระยะให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ ปัจจุบนั ควบคูไ่ ปกับการปลูกฝังเป็นวัฒนธรรมองค์กร และด�ำเนินการ ส่ ง เสริ ม ให้ คู ่ ค ้ า ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งโปร่ ง ใส

ปฏิ บั ติ ต ามนโยบายด้ า นการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น ของ กลุ่มบริษัท พร้อมกันนี้ ได้แจ้งให้ฝ่ายจัดการจัดท�ำระบบการรับ ข้อร้องเรียน และสือ่ สารให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ทราบผ่านทาง Website ของบริษทั ฯ เพือ่ ร่วมสอดส่องก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของกลุม่ บริษทั ฯ พร้อมทั้งได้ประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการตรวจสอบในการ ติดตามประเด็นข้อร้องเรียน หรือการแจ้งเบาะแสจากช่องทางต่างๆ ที่บริษัทก�ำหนด (กรณีถ้าเกิดประเด็นข้อร้องเรียนขึ้น) อีกทัง้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลยังสนับสนุนให้บริษทั เข้าร่วม แสดงเจตนารมณ์เป็นภาคีแนวร่วมของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน คอร์ รั ป ชั น และยื่ น ขอรั บ รองการเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มดั ง กล่ า ว โดยในปี 2560 ได้ติดตามกระบวนการขอรับการรับรองอย่างใกล้ชิด เช่นการร่วมพิจารณารายละเอียดของการประเมินประเด็นความเสีย่ ง และการระบุ ม าตรการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ประกอบการยื่ น ขอรั บ รอง ส่ ง ผลให้ ใ น เดือนสิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ก็ได้รับการรับรองเป็นภาคี แนวร่วมของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านคอร์รปั ชันอย่างเป็นทางการ 5) มอบหมายให้ฝ่ายจัดการ จัดท�ำแผนกลยุทธ์ระยะยาว ส�ำหรับการด�ำเนินโครงการเพือ่ ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อมมาน�ำเสนอ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา อนุมตั ติ อ่ ไป รวมถึงให้ฝา่ ยจัดการรายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงาน ตามแผนโครงการเพื่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่ากลุม่ บริษทั จะเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน และได้รบั ความไว้วางใจจากผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ในทุกพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน 6) สอบทานความครอบคลุม ครบถ้วน และความสอดคล้อง ตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนดของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ที่จะใช้เผยแพร่ ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ยังผู้มสี ่วนได้เสียต่างๆ (Stakeholders) ว่ามีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ซึ่ ง คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลได้ ร ายงานผลการประชุ ม และการปฏิบัติงานยังคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำ อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ สรุปในภาพรวมปี 2560 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ได้ปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายอย่างเต็มความสามารถผ่านกระบวนการ สอบทานและให้ ค วามเห็ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของกลุม่ บริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ ทุกกลุม่ และผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ พลเอก

(คณิต สาพิทักษ์)

ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล


83

การกำ�กับดูแลกิจการ

รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กรของ บริษทั บีซพี จี ี จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ ด้านการบริหารองค์กร โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นประธานกรรมการ พลเอก อุทิศ สุนทร และนายธรรมยศ ศรีช่วย เป็นกรรมการ ต่อมา นายธรรมยศ ศรีช่วย ได้ลาออกจากต�ำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ส่งผลให้มีจ�ำนวนคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร 3 ท่าน รวม นายบัณฑิต สะเพียรชัย ซึ่ ง เป็ น กรรมการและเลขานุ ก าร โดยมี บ ทบาทหน้ า ที่ ก�ำ กั บ ดู แ ล เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างครบถ้วน ในทุกๆ กิจกรรมหลัก โดยมีการพิจารณาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งมีการพิจารณาก�ำหนดแผนงานเพื่อลดหรือรองรับผลกระทบ จากความเสี่ยง (Mitigation Plan) ที่เชื่อมโยงกันของทุกธุรกิจ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีโดยเฉพาะ อย่างยิง่ การบริหารจัดการความเสีย่ งองค์กร เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ สามารถบริ ห ารจั ด การความไม่ แ น่ น อนที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ การด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กรได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทในหลัก เกณฑ์ก ารบริห ารจัด การความเสี่ยง ทัง้ องค์กรปี 2560 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กร ได้จดั ให้มี การประชุมหารือร่วมกับฝ่ายจัดการจัดการ รวม 8 ครั้ง ซึ่งสามารถ สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติงานประจ�ำปี 2560 ได้ดังนี้ • การก�ำกับดูแลและพิจารณานโยบายการบริหารจัดการ ความเสี่ยงหลักของบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ท� ำ แผนการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง ตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์หลักของบริษทั ฯ ซึง่ ครอบคลุมความเสีย่ ง ในทุกๆ ด้าน ประกอบด้วย 15 ความเสี่ยงที่สำ� คัญ ดังนี้ ความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ ด้านธุรกิจเชิงพาณิชย์ ด้านการก่อสร้างและพัฒนาโครงการ

ด้านการปฏิบตั กิ าร ด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และด้านสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัย รวมถึงชือ่ เสียงภาพลักษณ์ของบริษทั ฯ ซึง่ โดยภาพรวม สามารถด�ำเนินการบรรลุผลได้ตามเป้าหมายในปี 2560 คณะกรรมการฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งต่ า งๆ ที่ อ าจจะ ส่งผลกระทบต่อเป้าหมายขององค์กร ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาแนวทางการประเมินความเสีย่ ง การจัดล�ำดับความส�ำคัญ การก�ำหนดมาตรการบริหารจัดการความเสี่ยง และการติดตาม ความก้าวหน้าของผลการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรได้ค�ำนึงถึงความเสี่ยงของโครงการลงทุน ในธุรกิจใหม่ เช่น โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ ทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์รว่ มกับองค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อผศ.) เป็นต้น เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ ในการลงทุนและเตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลง • การก�ำกับดูแลและให้ขอ้ เสนอแนะต่อการลงทุนของบริษทั ฯ คณะกรรมการฯ ได้ ใ ห้ ข ้ อ เสนอแนะ ข้ อ สั ง เกตในประเด็ น การบริหารความเสี่ยงของโครงการลงทุนทั้งในธุรกิจปัจจุบันและ ธุรกิจใหม่ท่มี ีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานของบริษัท ก่อนน�ำเสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ เพื่อสร้างความมั่นใจได้ว่า ธุรกิจนั้นมีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม และมีโอกาส บรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนด คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งทั้ ง องค์ ก ร มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่จะด�ำเนินการให้บริษัทมีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) และบริหารความเสีย่ งในระดับทีเ่ หมาะสม พร้อมสนับสนุน ให้หน่วยงานมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริหารจัดการความเสี่ยง จากการด�ำเนินการดังกล่าว ท�ำให้มั่นใจได้ว่าบริษัทได้ด�ำเนินงาน ตามนโยบายและบรรลุเป้าหมายทั่วทั้งองค์กร

(ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 84

รายงานของคณะกรรมการการลงทุน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) ก�ำหนดเป้าหมายการเป็นผู้น�ำ ธุ ร กิ จ พลั ง งานไฟฟ้ า สี เ ขี ย วด้ ว ยก� ำ ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง รวมทั้ ง สิ้ น 1,000 เมกะวัตต์ ในปี 2563 จากการขยายการลงทุนในธุรกิจใหม่ และฐานการลงทุนในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยให้ความส�ำคัญ กั บ การเพิ่ ม มู ล ค่ า โครงการควบคู ่ กั บ การพิ จ ารณาการบริ ห าร จัดการความเสี่ยง ซึ่งมีค ณะกรรมการการลงทุ น ประกอบด้วย นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช เป็นประธานกรรมการ นายธรรมยศ ศรีชว่ ย และนายบัณฑิต สะเพียรชัย เป็นกรรมการ ต่อมา นายธรรมยศ ศรีชว่ ย ได้ลาออกจากต�ำแหน่งในวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ส่งผลให้มจี �ำนวน คณะกรรมการการลงทุนเหลือ 2 ท่าน คือ นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช เป็นประธานกรรมการ และนายบัณฑิต สะเพียรชัย เป็นกรรมการ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างครบถ้วนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริ ษั ท ในปี 2560 และในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้งที่ 13/2560 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2560 ได้แต่งตั้งกรรมการ บุ ค คลภายนอก ได้ แ ก่ นายสุ ช าติ เจี ย รานุ ส สติ และที่ ป รึ ก ษา นายธันวา เลาหศิริวงศ์ เพื่อให้การท� ำงานมีมุมมองที่กว้างขวาง และครอบคลุมเพิ่มขึ้น คณะกรรมการการลงทุนร่วมกับฝ่ายจัดการ ได้ พิ จ ารณาการปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นา โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ใ นประเทศไทยและประเทศญี่ ปุ ่ น เพิม่ เติม การลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมในประเทศฟิลปิ ปินส์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพในประเทศอินโดนีเซีย โดยมีการจัดประชุมหารือรวมทัง้ สิน้ 13 ครัง้ ซึง่ สามารถสรุปสาระส�ำคัญ ได้ดังนี้

• พิจารณากลั่นกรอง และติดตามโครงการลงทุนต่างๆ คณะกรรมการการลงทุ น ได้ ติ ด ตาม พิ จ ารณาความ คื บ หน้ า โอกาส และอุ ป สรรคของโครงการลงทุ น ใหม่ ใ นธุ ร กิ จ พลังงานไฟฟ้าสีเขียวทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เพือ่ กลัน่ กรองรวมถึงให้ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ทัง้ องค์กร และคณะกรรมการบริษทั ในการพิจารณาคัดเลือกโครงการ ลงทุนทีจ่ ะเพิม่ รายได้และก�ำไรให้แก่บริษทั ฯ ทัง้ นี้ การลงทุนในธุรกิจใหม่ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ตามเป้ า หมายของบริ ษั ท ฯ ที่ต้ องการลงทุน พัฒนา และด�ำเนินธุรกิจพลังงานไฟฟ้ าสีเขียว ด้วยนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม • ให้ ข ้ อ เสนอแนะติ ด ตามผลการด�ำ เนิ น งานตามกลยุ ท ธ์ และการบริหารจัดการองค์กร คณะกรรมการการลงทุน ได้ ติด ตามการเปลี่ย นแปลงสภาพ แวดล้ อ มที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ การด�ำ เนิ น งานตามกลยุ ท ธ์ ข อง บริษัทฯ รวมถึงได้ตดิ ตามพิจารณา และให้ข้อเสนอแนะต่อโครงสร้าง องค์กร โครงสร้างทางการเงิน การบริหารจัดการทางด้านการเงิน รวมทั้งงบประมาณที่เหมาะสม พร้อมรองรับการขยายตัวของธุรกิจ เพือ่ ให้คงความสามารถในการแข่งขันสอดคล้องต่อทิศทางการพัฒนา ธุรกิจ ทัง้ นี้ คณะกรรมการการลงทุนปฏิบตั หิ น้าที่ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และประโยชน์ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ว่าบริษทั ฯ มีการบริหารจัดการ ด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปเพื่อความมั่นคงและยั่งยืน

(นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช) ประธานกรรมการการลงทุน


85

ความรับผิดชอบต่อสังคม

ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ ดังนั้น บริษัทฯ จะด�ำเนินธุรกิจ อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาล เป็นเครือ่ งก�ำกับให้การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต โปร่งใส และยุติธรรม และตระหนักถึงผลกระทบทางลบ ที่อาจเกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงพร้อม จะแก้ ไ ขเพื่ อ ลดผลกระทบดั ง กล่ า ว โดยมี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ ผลดี ต่อความยั่งยืนของกิจการ พร้อมกับแสดงความรับผิดชอบต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมดังนี้ 1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม โดยยึดมั่นใน การด�ำเนินธุรกิจที่สุจริตและเป็นธรรม ตามกรอบกติกาการแข่งขัน ภายใต้ ก ฎหมายและระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ และผลกระทบจากการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ ต่อ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ นักลงทุน เจ้าหนี้ และชุมชนโดยรอบกลุ่มบริษัทฯ เป็นต้น 2. การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยมุ่งมั่นสร้างวัฒนธรรม การต่อต้านการกระท�ำฉ้อฉล หรือทุจริตคอร์รัปชัน และเน้นส่งเสริม การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม มีจริยธรรม มีความซื่อสัตย์ รวมทั้งมีความแน่วแน่ที่จะระงับยับยั้ง ป้องกัน และแก้ไขการกระท�ำ ที่เป็นการฉ้อฉล หรือทุจริตคอร์รัปชัน 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน ประกอบธุรกิจด้วยความเคารพ ต่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนโดยมี ก ารส่ ง เสริ ม และคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพ ตลอดจนปฏิ บั ติ ต ่ อ กั น อย่ า งเสมอภาค ซึ่ ง เป็ น รากฐานของการ บริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. การปฏิบัติต ่อแรงงานอย่างเป็น ธรรม โดยตระหนักถึง ความส�ำคัญของการพัฒนาบุคลากรว่าเป็นหัวใจส�ำคัญส�ำหรับการ พัฒนาที่ยั่งยืน บริษัทฯ จึงให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดนโยบาย การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ท่ี ต้ั ง อยู ่ บ นพื้ น ฐานความเป็ น ธรรม ทั้งในด้านการสรรหา การพัฒนาบุคลากร ด้านสุขภาพและความ ปลอดภัยในการท�ำงาน 5. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค โดยปฏิบัติตามมาตรฐาน และกฎระเบียบข้อบังคับด้านความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด โดย

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุกโครงการของกลุ่มบริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานทั้งระดับสากลและระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน OHSAS 18001:2007 และ ISO 9001:2008 6. การดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด และ มี ก ารก� ำ หนดมาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขเมื่ อ เกิ ด ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอั น เนื่ อ งมาจากการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง พัฒนากระบวนการด�ำเนินธุรกิจให้สามารถลดผลกระทบ พร้อมกับ ปกป้องและบูรณะฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทฯ ยังได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001:2004 อีกด้วย นอกจากนี้โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ต�ำบลบางกระสั้น อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับมาตรฐานมงกุฎไทย (Crown Standard) จากองค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก เนื่องจากเป็นโครงการที่มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม ซึ่งเป็นมาตรฐานแสดงคุณภาพโครงการกลไกการพัฒนา ที่สะอาดของประเทศไทยที่เทียบเท่ามาตรฐานระดับสากล 7. การร่ ว มพั ฒ นาชุ ม ชนหรื อ สั ง คม การให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การร่ ว มมื อ และการมี ส ่ ว นร่ ว มระหว่ า งกิ จ การกั บ ชุ ม ชนและ สังคม โดยให้การสนับสนุนการด�ำเนินกิจกรรมอาสาที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาชุมชนและสังคม

การด�ำเนินการหรือกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม

บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยการยึดหลักธรรมาภิบาล ให้ความ ส�ำคัญกับการสร้างความสมดุลระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับ การรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ เพือ่ ความยัง่ ยืนในการเติบโตทางธุรกิจ และให้ภาคธุรกิจสามารถด�ำรงอยูเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของชุมชนและสังคมได้ อย่างเป็นสุข และมีการเจริญเติบโตและพัฒนาไปด้วยกัน หลักการในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของบีซีพีจีสามารถแบ่งออกเป็น 2 แนวทาง ใหญ่ๆ โดยยึดหลักการเดียวกันกับ BCP คือ CSR in Process และ CSR after Process


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 86

CSR in Process 1. ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร • ด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ มีการก�ำหนดนโยบาย และการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ให้น้อยที่สุด • ดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างเหมาะสม ค�ำนึงถึง ผลประโยชน์ของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม เปิดเผยข้อมูล อย่างโปร่งใส ตระหนักในความส�ำคัญของการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี • ยึดหลักการบริหารค่าจ้างด้วยความเป็นธรรม มีสวัสดิการ ด้านต่างๆ ที่เหมาะสม • ส่ ง เสริม ให้พนัก งานมีส่ว นร่ว มในการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร ร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมให้มกี ารว่าจ้างผูร้ บั เหมาแรงงานและวัสดุอปุ กรณ์ใน พื้นที่ในท้องที่ที่บริษัทฯ มีการปฏิบัติงาน • ด� ำ เนิน งานที่ส ร้างมู ล ค่าเพิ่ม ให้ กับ องค์ ก รและสัง คมใน วงกว้าง ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ตามแนวทางการท�ำกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)

ในปี 2559 โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ข อง บี ซี พี จี ใ นประเทศไทยได้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นและรั บ รองปริ ม าณ ก๊าซเรือนกระจกจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) ด้วยความสมัครใจ โดยในปี 2560 โครงการของบีซีพีจีสามารถ ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ 373,240 tCO2e ได้รบั การรับรองเป็นแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อ ต้านการทุจริต (CAC - Collective Action Coalition Against Corruption (เป็น 1 ใน 283 บริษัทที่ได้รับการรับรองจากผู้แสดงเจตนารมณ์ เข้าร่วมโครงการ 863 บริษัท) ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ BCP ในการสานต่อความยั่งยืนด้วย เศรษฐกิจพอเพียง ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณการเข้าร่วมขับเคลื่อน การประยุ ก ต์ ใ ช้ ป รั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ในงานประชุ ม เชิงปฏิบัติการ “การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนการ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน” โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน้ ดิน ส�ำหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร ให้ผลตอบแทน ที่แน่นอน สร้างงานให้แก่สมาชิกและชุมชนในพื้นที่ สร้างกองทุน ให้ความรู้ในการพัฒนาศักยภาพทางการเกษตรแก่สมาชิก รวมถึง สร้างโอกาสท�ำอาชีพเสริม


87

ความรับผิดชอบต่อสังคม


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 88

CSR After Process 2. กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท ฯ มี ก ารร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานและองค์ ก รต่ า งๆ ในการจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมีการจัดกิจกรรมให้พนักงานได้มีส่วนร่วม และให้พนักงานริเริ่มจัด กิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสังคมและชุมชนในระดับท้องถิ่นด้วยตนเองในด้านต่างๆ ดังนี้ - คุณภาพชีวิต - การศึกษา - กีฬา - ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม - สิง่ แวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากร


89

ความรับผิดชอบต่อสังคม

กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร - สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ “พระองค์ผู้ทรงท�ำ” โดย ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ เมื่อเดือนธันวาคม 2559 - ร่วมเป็นเจ้าภาพพิธีบ�ำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพ (มิถุนายนและกันยายน 2560) - สนับสนุนส�ำนักงานเขตพระโขนง ในการจัดกิจกรรม “ดอกไม้จันทน์ จากดวงใจ ถวายพ่อหลวง” และจัดให้คณะกรรมการ พนักงานและครอบครัว ผู้ถือหุ้น ได้ร่วมประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ ส่งมอบให้สำ� นักงานเขตพระโขนง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 - แจกต้นดาวเรืองให้คณะกรรมการและพนักงาน คนละ 9 ต้น เพื่อน�ำไปปลูกเฉลิมพระเกียรติในเดือนตุลาคม 2560 - ร่วมจัดกิจกรรมสถิตในดวงใจตราบนิรันดร์ ของกลุ่มบางจาก จัดการแสดงดนตรี Vie Trio และเลี้ยงอาหารกลางวันศิลปิน ผู้พิการทางสายตา ในวันที่ 12 ตุลาคม 2560 - สนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ “วิชา ๙ หน้า” ศาสตร์พระราชาจากต�ำราของพ่อ แจกให้คณะกรรมการ พนักงานและแฟนเพจ เฟซบุ๊กบีซีพีจใี นเดือนตุลาคม 2560 - ผูบ้ ริหารและพนักงานร่วมกิจกรรมจิตอาสาทีว่ ดั บางนาใน พระอารามหลวง เพือ่ เตรียมสถานทีส่ ำ� หรับพิธถี วายดอกไม้จนั ทน์ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวันที่ 25 ตุลาคม 2560 - สนับสนุนการจัดดอกไม้ประดับเมรุวัดบางนาใน พระอารามหลวง ส�ำหรับพิธีถวายดอกไม้จันทน์ พระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวันที่ 26 ตุลาคม 2560 - ออกซุ้มอาหารร่วมกับ BCP ที่วัดวชิรธรรมสาธิต และวัดบางนาใน ในวันที่ 26 ตุลาคม 2560 - สนับสนุนน�้ำดื่ม 5,000 ขวดให้วดั วชิรธรรมสาธิต ในวันที่ 26 ตุลาคม 2560 - ร่วมสนับสนุนการจัดพิมพ์นติ ยสารแพรว ฉบับพิเศษ ธ ประทับในใจชนตราบนิรันดร์ ธันวาคม 2560


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 90

กิจกรรมยกระดับคุณภาพชีวิต - มอบเงินแก่มลู นิธอิ าสาเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้ - มอบชุดผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาด 20 กิโลวัตต์ ส� ำ หรั บ ใช้ ป ระโยชน์ ในโรงเรี ย นปลู ก รากแก้ ว แผ่ น ดิ น อ.ชะอ� ำ จ.เพชรบุรี ณ วัดสุวรรณมาศมงคล จ.เพชรบุรี - มอบระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ณ วัดบางเพลิง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา - ส่งมอบถนนทางเข้าหมู่บ้าน บริเวณหน้าโครงการโรงไฟฟ้า

พลังงานแสงอาทิตย์ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา - จัดโครงการ “คุณก้าว เราให้ บีซพี จี รี วมน�ำ้ ใจ ก้าวคนละก้าว” โดยรณรงค์ให้พนักงานออกก�ำลังกาย บริษัทสมทบทุนทุกๆ ครั้งที่ พนักงานออกก�ำลังกายด้วยวิธีต่างๆ รวบรวมเงินไปมอบให้โครงการ “ก้าวคนละก้าว” เพื่อ 11 โรงพยาบาล - มอบชุดทดลองระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ให้ หน่วยงานราชการในท้องถิ่นน�ำไปใช้ประโยชน์ - มอบถุงยังชีพเพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร


91

ความรับผิดชอบต่อสังคม

กิจกรรมส่งเสริมการกีฬา กิจกรรมส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากร - สนับสนุนและพัฒนานักกีฬากอล์ฟสู่ความเป็นเลิศ เพื่อ - โครงการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน เพื่อการท่องเที่ยวและ มอบโอกาสและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬากอล์ฟหญิง การอนุรกั ษ์อย่างยัง่ ยืน–ความร่วมมือกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ไทยที่สร้างชื่อเสียงให้กบั ประเทศไทย และสิ่งแวดล้อม เพื่อผลิตไฟฟ้าในอุทยานแห่งชาติทั้งบนบกและ - สนับสนุนการจัดแข่งขันกีฬาในพืน้ ทีใ่ กล้โครงการปฏิบตั กิ าร ในทะเล ส�ำหรับใช้ในกิจการท่องเที่ยว ของบริษัทฯ เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาและความสามัคคี


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 92

กิจกรรมส่งเสริมการศึกษา - โครงการอ่านออกเขียนได้งา่ ยนิดเดียว เพือ่ ส่งเสริมให้นกั เรียนในโรงเรียนบริเวณพืน้ ทีร่ อบโครงการของบริษทั สามารถอ่านออกเขียนได้ แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่องของนักเรียน ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ที่อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ คนในสังคมไทย และการพัฒนาประเทศในอนาคต - โครงการสนับสนุนการศึกษา และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน เช่น ปรับปรุงห้องพยาบาล ปรับปรุง ห้องน�ำ้ สร้างสนามเด็กเล่น ทาสีรวั้ โรงเรียน ปลูกต้นไม้ในโรงเรียน มอบอุปกรณ์การเรียน ทุนการศึกษา อุปกรณ์กฬี า ฯลฯ ในพืน้ ทีใ่ กล้โครงการ ปฏิบัติการของบริษัทฯ


93

การควบคุมภายใน

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ และเห็ น ถึ ง ประโยชน์ของการควบคุมภายใน จึงได้มอบหมายให้ฝ่ายจัดการ ประเมินความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน ตามแบบประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในที่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) ก�ำหนดขึ้นตามแนวทางของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) โดยผ่านการ สอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าทุกกระบวนการ ภายใต้การด�ำเนินงานของบริษทั มีการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพียงพอ การรายงานมีความถูกต้องเชื่อถือได้ และได้ปฏิบัติตาม ระเบียบข้อบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั มีความเห็นสอดคล้องกับความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบว่า ระบบการควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั ฯ มีความเพียงพอ มีประสิทธิภาพ มีการแบ่งแยกอ�ำนาจหน้าที่งาน และมีการสอบทานงานระหว่างกันซึ่งสอดคล้องกับการประเมินโดย ผู้สอบบัญชี โดยผลการประเมินการควบคุมภายในตามองค์ประกอบ 5 ด้าน สรุปได้ดังนี้

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment)

คณะกรรมการบริษัทยึดมั่นในคุณค่าของความซื่อตรง ทั้งด้าน จรรยาบรรณทางธุรกิจ และ จรรยาบรรณของกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ที่ได้ ก�ำหนดไว้อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และถือเป็นระเบียบสูงสุดที่ใช้ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งการป้องกันความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ทีไ่ ด้ประกาศให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทัง้ องค์กร ลงนามรับทราบเมื่อเข้าใหม่ และให้มีการทบทวนปีละครั้งหรือเมื่อมี การเปลี่ยนแปลงข้อมูล นอกจากนี้ ได้ก�ำหนดบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท รวมถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ตามกฎบัตรของคณะกรรมการชุดย่อยไว้อย่างชัดเจน มีการจัดให้มี โครงสร้างสายการรายงาน การก�ำหนดอ�ำนาจอนุมตั ิ และความรับผิด ชอบทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให้องค์กรบรรลุวตั ถุประสงค์ภายใต้การก�ำกับดูแล (Oversight) ของคณะกรรมการบริษัท ในด้านการบริหารงานบุคคล บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายการสรรหาและพัฒนาบุคลากร รวมทั้ง แผนการสืบทอดต�ำแหน่งและการพัฒนาผู้บริหาร แผนการหมุนเวียน ต�ำแหน่งงาน และแผนการเลือ่ นต�ำแหน่งเพือ่ เป็นแรงจูงใจแก่พนักงาน

รวมทั้งการส�ำรวจความพึงพอใจของพนักงาน (BCPG Satisfaction Survey) เพื่อรักษาความพึงพอใจและความสุขของพนักงาน

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การด� ำ เนิ น ตามนโยบาย และ กระบวนการบริหารความเสี่ยง จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งทั้ ง องค์ ก ร (Enterprise-wide Risk Management Committee-ERMC) โดยมีหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ เป้าหมายการบริหารความเสี่ยง เพื่อพัฒนาระบบการบริหารความ เสี่ยงให้ครอบคลุมทั้งกลุ่มบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง ครอบคลุมความเสีย่ งทุกระดับขององค์กร ได้แก่ ระดับการด�ำเนินงาน ให้บรรลุเป้าหมายในระดับสายงาน และกระบวนการท�ำงาน รวมถึง การจัดท�ำคู่มือบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร โดยในคู่มือฯ ได้ระบุถึง กระบวนการตั้งแต่การก�ำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การประเมิน ความเสีย่ งในทุกประเภทอย่างครอบคลุม พร้อมทัง้ มาตรการและแผน ด�ำเนินการเพื่อจัดการกับความเสี่ยงนั้น รวมถึงการบริหารความเสี่ยง ในการพิจารณาเพื่อสร้างความมั่นใจว่าการลงทุนธุรกิจนั้นจะบรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์กร และสร้างรายได้ให้กบั บริษัทฯ อย่างยั่งยืน

3. การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activity)

มาตรการการควบคุมที่ช่วยลดความเสี่ยงที่จะท�ำให้ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์ของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยก�ำหนด กิจกรรมการควบคุม โดยใช้ดชั นีวดั ผลการปฏิบตั งิ าน (KPI) เป็นเครือ่ ง มือในการวางแผนและควบคุม มีการก�ำหนดระเบียบวิธปี ฏิบตั ใิ นเรือ่ ง ต่างๆ เช่น การงบประมาณ การเงินและการบัญชี การบริหารงาน บุคคล และการจัดหาพัสดุ ตลอดจนการจัดท�ำขั้นตอนการท�ำงาน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร รวมถึงก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และขนาดวงเงินของผูบ้ ริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน รัดกุม เพือ่ เป็นการกระจายอ�ำนาจและป้องกันการทุจริต มีการควบคุมโครงสร้าง พืน้ ฐานของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยจัดให้มกี ารควบคุมการเข้า ถึงและความปลอดภัยของข้อมูล ทั้งนี้บริษัทฯ ได้รับการรับรองและ ผ่านมาตรฐาน ISO 27001: 2013 เมื่อเดือนตุลาคม 2560 นอกจากนี้ บริษัทฯ มีกระบวนการติดตามดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม รวมทั้งก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลบริษัทร่วมทุน เพื่อเป็นแนวทางให้บุคคลที่บริษัทฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการหรือผู้


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 94

บริหารในบริษัทย่อย หรือร่วมนั้น ถือปฏิบัติ มีการก�ำหนดวิธีการ เพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกระบวนการท�ำงานของบริษัทฯ ในกรอบเงื่อนไขของระยะ เวลาที่กำ� หนด

รวมถึ ง การจั ด ท� ำ รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ มี รายละเอียดตามควร เพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ ตลอดจน จัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อเป็นช่องทางการสื่อสารกับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย และช่องทางพิเศษส�ำหรับรับเรื่องร้องเรียนหรือแจ้ง เบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต (Whistle blowing) อย่างปลอดภัย

4. ระบบสารสนเทศ และการสือ่ สารข้อมูล (Information & Communication) 5. ระบบการติดตามประเมินผล (Monitoring Activity)

บริษทั ฯ จัดให้มรี ะบบสารสนเทศและช่องทางการสือ่ สารทัง้ ภายใน และภายนอกองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้มอบหมายให้ฝา่ ยบริหาร ทัว่ ไป เป็นผูด้ แู ลรับผิดชอบบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกลุม่ บริษทั ฯ โดยมีการประกาศใช้ และให้พนักงานทุกคนรับทราบนโยบาย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าว ทัง้ นี้ ก่อนการพิจารณาประยุกต์ใช้ ระบบงานใหม่ใดๆ บริษทั ฯ ได้พจิ ารณาโดยเปรียบเทียบระหว่างเงินลงทุน ในการจัดหาระบบ กับผลประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั พร้อมทัง้ จัดท�ำเป็น แผนการพัฒนาและแนวทางในการประยุกต์ใช้ระบบทีจ่ ดั หามาใช้งานจริง ปัจจุบนั บริษทั ฯ ประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบตั งิ าน ต่างๆ เพือ่ ควบคุมการด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ ทัง้ ในด้านการจัดท�ำ งบการเงินและการรายงานข้อมูลสารสนเทศ งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานด้านกฎหมาย และสายปฏิบตั กิ าร การสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ ได้มอบหมายให้หน่วยงานก�ำกับ องค์กรท�ำหน้าที่ในการประสานงานเพื่อรวบรวมรายละเอียดของ เรื่องที่เสนอเพื่อพิจารณา อนุมัติ ตามระเบียบวาระการประชุมฯ และ จัดเตรียมข้อมูลผ่านระบบ Boardvantage เพื่อส่งให้คณะกรรมการ พิจารณาเป็นการล่วงหน้าก่อนถึงวันประชุมคณะกรรมการบริษัท

บริษัทฯ มีการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในอย่าง สม�่ำเสมอ เพือ่ ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ก�ำหนด เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจตามแผนกลยุทธ์ และแผนธุรกิจ โดย ก�ำหนดเป็นดัชนีประเมินผลการปฏิบัติงานให้ทุกสายงาน มีการ ประเมินผล วิเคราะห์สาเหตุ และสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุม ภายในและด�ำเนินการเพือ่ ติดตามแก้ไขอย่างทันท่วงที หากผลปฏิบตั ิ งานจริง กับเป้าหมายมีความต่างกันอย่างมีนัยส� ำคัญ พร้อมทั้ง ก�ำหนดแนวทางปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ทางส�ำนักตรวจสอบภายใน ซึ่งมีสายการบังคับบัญชา ขึ้นตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ จะตรวจประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การปฏิบตั งิ าน และระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยในด้านต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ เมือ่ พบข้อบกพร่อง หรือ สิง่ ทีค่ วรปรับปรุงของระบบการควบคุมภายใน จะรายงานให้ผู้บริหาร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และคณะกรรมการตรวจสอบทราบ เพื่อให้ฝ่าย บริหารก�ำหนดแนวทางการแก้ไข และด�ำเนินการ โดยส�ำนักตรวจสอบ ภายในจะติดตามผลการด�ำเนินการแก้ไข และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่อพิจารณาอย่างต่อเนื่อง


95

ปัจจัยความเสี่ยง

ปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยความเสีย่ งส�ำหรับกลุม่ บริษทั ฯ แบ่งออกเป็นความเสีย่ งใน การประกอบธุรกิจ ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ ความเสี่ยงด้าน การเงิน และความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการใหม่ รายละเอียดมี ดังต่อไปนี้

ฐานะทางการเงิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของอุปกรณ์ทใี่ ช้ และ ขอบเขตการรับประกันผลงานและการบริการ หลังจากนัน้ จึงพิจารณา ความเหมาะสมทางด้านราคา เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ากลุม่ บริษทั ฯ ได้วา่ จ้าง ผูร้ บั เหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จทีม่ คี ณ ุ ภาพในระดับราคาทีเ่ หมาะสม นอกจากนี้ ฝ่ายจัดการจะน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการการลงทุนและ ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กรเพือ่ ประเมินผลอีกครัง้ หนึง่ 1. ความเสี่ยงจากปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อปริมาณ ก่อนด�ำเนินการว่าจ้างให้ดำ� เนินการก่อสร้างโครงการ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนผลิตไฟฟ้า เนื่ อ งจากโรงไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต จากพลั ง งานหมุ น เวี ย น ซึ่ ง ได้ แ ก่ 3. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานความร้อนใต้พิภพ กลุม่ บริษทั ฯ มีลกู ค้ารายใหญ่นอ้ ยราย ได้แก่ กฟผ. กฟภ. Kyushu เป็นต้น เป็นพลังงานที่ไม่สามารถควบคุมได้ โดยขึ้นกับค่าความ Electric Power Company และ Tohoku Electric Power Company ซึ่ง เข้มของแสง ความเร็วของลม หรืออุณหภูมิและปริมาณไฟฟ้าใต้ดิน เป็นผู้รับซื้อไฟฟ้าที่กลุ่มบริษัทฯ ผลิตได้ทั้งหมดตามสัญญาซื้อขาย ทีอ่ าจเปลีย่ นแปลงได้ตามกาลเวลา อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ จะค�ำนึงถึง ไฟฟ้า ดังนั้น หากลูกค้ารายใหญ่ดังกล่าวบอกเลิกสัญญาซื้อขาย ค่าพลังงานต่างๆ โดยประเมินจากตัวเลขสถิติของพลังงานเหล่านั้น ไฟฟ้าดังกล่าว อาจส่งผลต่อผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษทั ฯ อย่าง หรือการส�ำรวจขุดเจาะเพือ่ ประเมินปริมาณความร้อนส�ำหรับพลังงาน มีนัยส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทฯ มีการควบคุมการปฏิบัตงิ าน ความร้อนใต้พิภพ ก่อนลงทุนก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าแต่ละแห่ง ของโรงไฟฟ้าพลังงานพลังงานหมุนเวียนให้เป็นไปตามสัญญาซื้อ รวมถึงการคัดเลือกอุปกรณ์ทมี่ มี าตรฐานระดับสากลและเป็นทีย่ อมรับ ขายไฟฟ้าอย่างเคร่งครัด รวมถึงปฏิบัติตามมาตรฐานสากล และ ส�ำหรับติดตั้งในโครงการ และการควบคุมดูแลการผลิตอย่างใกล้ชิด ข้อก�ำหนดอื่นๆ เพื่อให้กลุ่มบริษัทฯ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามสัญญา โดยติดตัง้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์สำ� หรับการวางแผนบ�ำรุงรักษาและ/หรือ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทฯ ยังมีนโยบาย สร้างระบบสัญญานเตือนกรณีอปุ กรณ์มปี ญ ั หา ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้การบริหาร แสวงหาโอกาสการขยายธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนในต่างประเทศ จัดการโครงการสามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ รวมทั้งการวางแผนขยายธุรกิจโซล่าร์รูฟท็อปเพิ่มขึ้นในลักษณะ P2P เพื่อลดความเสี่ยงจากลูกค้าน้อยราย 2. ความเสี่ ย งจากการพึ่ ง พิ ง ผู ้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า งแบบ ความเสี่ยงในการบริหารจัดการ เบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ถือหุ้นโดย BCP ในสัดส่วน กลุม่ บริษทั ฯ พัฒนาและก่อสร้างโรงไฟฟ้าเพือ่ ผลิตและจ�ำหน่าย ร้ อ ยละ 70.3 ของทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว ซึ่งนับว่า BCP เป็นผู้ ไฟฟ้า โดยว่าจ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จในการออกแบบ จัดหา อุปกรณ์ และก่อสร้างโรงไฟฟ้าแต่ละโรง ซึง่ ต้องอาศัยประสบการณ์ ความ ถือหุน้ รายใหญ่สดุ ของบริษทั ฯ และมีอำ� นาจในการควบคุมการบริหาร ช�ำนาญในด้านต่างๆ และความรูด้ า้ นเทคโนโลยี รวมถึงความแข็งแกร่ง จัดการของบริษัทฯ ผ่านทางกรรมการตัวแทนและการส่งตัวแทนเข้า ของฐานะทางการเงินของผูร้ บั เหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ เนือ่ งจากผูร้ บั มาบริหารงาน รวมถึงการควบคุมผ่านการลงคะแนนเสียงในเรื่องที่ เหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จเป็นผูใ้ ห้การรับประกันผลงาน หากผูร้ บั เหมา ส�ำคัญต่างๆ (เช่น เรื่องการเพิ่มทุน/ลดทุน การลงทุน การได้มาและ ก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จมีเหตุขดั ข้องในการด�ำเนินงาน อันเป็นเหตุให้ไม่ จ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ เป็นต้น) ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น อย่างไรก็ตาม สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข และ/หรือ ภาระหน้าทีต่ ามสัญญา อาจส่ง โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทปัจจุบัน ประกอบด้วย กรรมการอิสระ ผลกระทบทางลบต่อผลการด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม 7 ท่าน ซึ่งท�ำหน้าที่ดูแลการบริหารจัดการเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ กลุ่มบริษัทฯ มีกระบวนการคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ โดยเฉพาะนักลงทุนรายย่อย และผู้มีส่วนได้เสียอื่น รวมทั้งบริษัทฯ ทีเ่ ข้มงวด โดยพิจารณาจากข้อมูลทางเทคนิคของผูร้ บั เหมาแต่ละราย ยังเพิม่ ช่องทางให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอเพิม่ วาระการประชุมและเสนอ เป็นหลัก ได้แก่ ประสบการณ์ ความช�ำนาญ ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี รายชื่อบุคคลเข้าเป็นกรรมการได้


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 96

ความเสี่ยงด้านการเงิน

1. ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีเงินกู้รวมทั้งสิ้น เท่ากับ 17,028.39 ล้านบาท โดยที่เป็นเงินกู้ที่ก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่และแบบ ลอยตัวในสัดส่วนประมาณร้อยละ 21.5 : 78.5 ตามล�ำดับ ดังนั้น จึงยังคงมีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ แบบลอยตัว ที่อาจเพิ่มขึ้นหรือลดลง และส่งผลกระทบต่อต้นทุนทางการเงินของ กลุ่มบริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษทั ฯ มีการติดตามการเคลือ่ นไหว ของอัตราดอกเบีย้ และอาจปรับเป็นอัตราดอกเบีย้ แบบคงทีต่ ามความ เหมาะสมของสภาวะตลาดเงิน ณ ขณะนั้น 2. ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทฯ ขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ จึงมีเงินลงทุนและเงินกู้ในสกุลเงิน ต่างๆ เช่น เงินสกุลบาท เยน และเหรียญสหรัฐ เป็นต้น ความหลาก หลายของสกุลเงินดังกล่าวท�ำให้เกิดความผันผวนของค่าเงินตราต่าง ประเทศที่อาจกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัทฯ โดยในปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 72.44 ล้านบาท และมี ขาดทุนจากสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) 304.19 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจากการซื้อเงินสกุลเหรียญ สหรัฐเพื่อใช้ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ ประเทศอินโดนีเซีย ในช่วงที่ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นมากประมาณ ไตรมาสที่ 3 ปี 2560 อย่างไรก็ดี บริษัทฯ มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงจากความ ผันผวนของค่าเงินดังกล่าว แบบ Natural Hedge บางส่วน ตัวอย่าง เช่น เงินกู้บางส่วนที่ใช้เป็นเงินลงทุนในต่างประเทศจะใช้เงินสกุล

เดียวกันและเพื่อให้สอดคล้องกับรายได้ที่ได้รับในโครงการนั้นๆ เช่น การใช้เงินกู้เป็นเงินสกุลเยนเป็นหลักลงทุนโครงการในประเทศญี่ปุ่น หรือการใช้เงินกู้เป็นเงินสกุลเหรียญสหรัฐลงทุนโครงการในประเทศ อินโดนีเซีย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังติดตามความเคลื่อนไหวของอัตรา แลกเปลีย่ นเพือ่ ก�ำหนดเครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ หมาะสมเพือ่ ลดความ เสี่ยงดังกล่าว 3. ความเสี่ยงจากความสามารถในการช�ำระหนี้ เนื่องจากธุรกิจผลิตไฟฟ้ามีมูลค่าเงินลงทุนสูงท�ำให้ต้องกู้เงิน จากสถาบันการเงินภายนอกในลักษณะของเงินกู้โครงการ (Project Financing) อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีรายได้ลักษณะที่ค่อนข้างคงที่ (Stable Income) ตามเงือ่ นไขการรับซือ้ ไฟฟ้าอายุสญ ั ญา 20-25 ปี และ ณ สิน้ ปี 2560 กลุม่ บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ สุทธิตอ่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Net Debt to Equity ratio) เท่ากับ 1.05 เท่า จึงถือว่ามีความเสี่ยงต�่ำ

ความเสี่ยงจากการลงทุนในโครงการใหม่

ในการพัฒนาโครงการใหม่ทั้งในประเทศและต่างประเทศให้ ส�ำเร็จนั้นขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น การได้รับใบอนุญาตที่เกี่ยวข้อง กับการด�ำเนินธุรกิจ การปฏิบัติให้ได้ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาซื้อ ขายไฟฟ้าหรือใบอนุญาตต่างๆ การจัดหาเงินทุน และการจัดหาที่ดิน เป็นต้น รวมถึงความเสี่ยงของการด�ำเนินงานที่ไม่เป็นไปตามที่คาด ไว้ท�ำให้อาจกระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุน นอกจากนี้ยังมี ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจ นโยบายของภาครัฐ และข้อก�ำหนดที่ เกีย่ วข้องส�ำหรับการลงทุนในต่างประเทศ ซึง่ บริษทั ฯ จะศึกษาประเมิน ความเสีย่ งต่างๆ ก่อนเริม่ ลงทุน รวมทัง้ ก�ำหนดให้มกี ารตรวจสอบและ ประเมินความเสี่ยงของโครงการที่อาจเกิดขึ้นเป็นระยะๆ


97 รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในงวดปีบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สามารถสรุปได้ดังนี้

บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) (“BCP”)

BCP เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจาก BCP เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ โดยถือหุน้ ร้อยละ 70.3 (ข้อมูล จากตลาดหลักทรัพย์ ฯ ณ วันที่ 15 กันยายน 2560 - ซึ่งเป็นวันที่ปิดสมุดทะเบียนล่าสุด) โดยมีกรรมการร่วมกันสองท่าน ได้แก่ (1) นายพิชัย ชุณหวชิร และ (2) นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช และ (3) นายบัณฑิต สะเพียรชัย ซึ่งเป็นผู้บริหารของ BCP และด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2560

การเช่าที่ดิน - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า

6.06 5.78

6.38 5.76

การเช่าพื้นที่ส�ำนักงาน ห้องควบคุม และ ห้องวางระบบไฟฟ้า - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง - เงินมัดจ�ำ

0.92 0.08 0.23

0.92 0.23

ความจ�ำเป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ บริษทั ฯ เช่าทีด่ นิ ที่ อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา เนือ้ ทีร่ วม 457-2-53 ไร่ จาก BCP เพื่อใช้เป็นที่ตั้งของโครงการระยะที่ 1 สัญญาเช่าทีด่ นิ ดังกล่าวมีอตั ราค่าเช่าทีป่ ระเมินโดยผูป้ ระเมิน ราคาอิ ส ระที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากส� ำ นั ก งาน ก.ล.ต. มีอายุสัญญาเช่า 22 ปี และบริษัทฯ มิได้มีแผนที่จะน�ำที่ดิน ดังกล่าวไปด�ำเนินธุรกิจอื่นเมื่อสิ้นสุดอายุโครงการระยะที่ 1 ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2559 บริษัทฯ ได้เช่าที่ดินเพิ่มเติม จ�ำนวน 32-3-70 ไร่ จาก BCP เป็นระยะเวลา 21 ปี 2 เดือน ซึ่งสิ้นสุดระยะเวลาเดียวกับสัญญาเช่าที่ดินข้างต้น และมี เงื่อนไขการช�ำระค่าเช่าและเงื่อนไขอื่นมีลักษณะเดียวกัน บริษัทฯ เช่าพื้นที่ส�ำหรับเป็นส�ำนักงาน ห้องควบคุม และ ห้องวางระบบไฟฟ้าจาก BCP พื้นที่รวม 377 ตารางเมตร โดยมีอัตราค่าเช่าเป็นไปตามอัตราที่ก�ำหนดในสัญญาเช่า อายุ 3 ปี ซึง่ เป็นอัตราค่าเช่าทีป่ ระเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ ทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทัง้ นี้ การทีบ่ ริษทั ฯ เข้าท�ำสัญญาระยะสั้นอายุ 3 ปี เนื่องจากในอนาคตบริษทั ฯ อาจพิจารณาย้ายพื้นที่ส�ำนักงานหากบริษัทฯ จัดหาพื้นที่ ส�ำนักงานแห่งใหม่ได้


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 98

ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2560

ค่าใช้จ่ายตามสัญญาจ้าง บริหารงานกับ BCP - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง

42.48 3.79

35.19 -

รายได้ค่าไฟฟ้าศูนย์เรียนรู้ - รายได้สำ� หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง

0.35 0.14

0.30 0.02

ค่าเช่าห้องประชุม

-

0.15

ค่าใช้จา่ ยตามสัญญาบริการ ด้านระบบสารสนเทศ - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง

-

2.10 2.10

ค่าใช้จ่ายต้นทุนบุคลากร - รายได้ส�ำหรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง

-

0.23 0.22

ความจ�ำเป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ บริษัทฯ มีการท�ำสัญญาจ้างบริหารงานกับ BCP ซึ่งสัญญา ดังกล่าวจะสิน้ สุดอายุสญ ั ญาในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 โดยตาม สัญญาดังกล่าว BCP จะจัดส่งพนักงานมาปฏิบตั งิ านทีบ่ ริษทั ฯ ตามขอบเขตการปฏิบตั งิ านทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูก้ ำ� หนด พนักงานที่ BCP ส่งมาปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะเป็นผู้บริหารระดับสูงและ กลุม่ บุคลากรในสายปฏิบตั กิ าร ซึง่ มีสว่ นในการบริหารจัดการ และด�ำเนินงานธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนมาตัง้ แต่เริม่ จัดตัง้ ธุรกิจไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ทั้งนี้ BCP จะเรียกเก็บค่าบริการจากการปฏิบัติงานดังกล่าว จากประมาณการค่าใช้จา่ ยเงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทนอืน่ ๆ ของบุคลากรที่ส่งมาปฏิบัติงานตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา จ้างบริหารงาน บริษัทฯ มีการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าส�ำหรับศูนย์เรียนรู้พลังงาน ทดแทน ในพื้ น ที่ โ ครงการระยะที่ 1 ที่ อ.บางปะอิ น จ.พระนครศรีอยุธยา จาก BCP เนื่องจากบริษัทฯ เป็นเจ้าของ มิเตอร์ซอื้ ไฟฟ้าเพือ่ ใช้ในพืน้ ทีอ่ าคารศูนย์เรียนรู้ ซึง่ เป็นอาคาร เดียวกับที่ตั้งของพื้นที่ส�ำนักงาน ห้องควบคุม และห้องวาง ระบบไฟฟ้าของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ จะด�ำเนินการเรียกเก็บค่า ใช้ไฟฟ้าตามจ�ำนวนทีจ่ า่ ยจริง ซึง่ เป็นไปตามข้อก�ำหนดภายใต้ สัญญาเช่าพื้นที่อาคารและห้องควบคุม อายุ 3 ปี เป็นค่าเช่าห้องประชุมส�ำหรับจัดประชุมผู้ถือหุ้น (AGM และ EGM) ของบริษัทฯ โดยอัตราค่าเช่าดังกล่าวใกล้เคียงและ ต�่ำกว่าผู้ประกอบการรายอื่นที่ให้บริการในลักษณะเดียวกัน และ BCP เรียกเก็บค่าเช่าตามการใช้จริง เป็นค่าบริการด้านระบบสารสนเทศ (ได้แก่ การวางระบบ และการดูแลรักษาระบบ) และค่าสิทธิในการใช้ SAP License ตามสัญญาบริการ ซึ่งมีอายุ 1 ปี 5 เดือน โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษทั ในกลุม่ BCP การก�ำหนด อัตราค่าบริการคิดตามต้นทุนส�ำหรับ SAP License และค่าบริการ ด้านระบบสารสนเทศอื่นก�ำหนดตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป โดยบริษัทฯ เทียบอัตราค่าบริการกับผู้ประกอบการรายอื่น BCP มีการเรียกเก็บค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับค่าบริการสรรหาบุคลากร และค่ า บริ ก ารพนั ก งานขั บ รถของกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ตามจริง


99 รายการระหว่างกัน

ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2560

ค่าที่จอดรถศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง ค่าบริการรักษาความ ปลอดภัย - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด

0.24 0.02

-

1.55

-

ค่ า ภาษี โ รงเรื อ นและที่ ดิ น และภาษีป้าย - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด

3.92

-

เงินกู้ยืมจาก BCP วงเงินไม่เกิน 830 ล้านบาท - ค่าใช้จ่ายดอกเบีย้

3.84

-

เงินกู้ยืมจาก BCP วงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท - ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย

16.69

-

0.10

-

เงินน�ำส่งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า - เงินน�ำส่งกองทุนพัฒนา ไฟฟ้า

ความจ�ำเป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ BCP เรียกเก็บค่าที่จอดรถศูนย์เอ็นเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ท้ังหมด ของพนักงานและผูม้ าติดต่อของบริษทั ฯ ซึง่ BCP เป็นผูร้ บั ผิดชอบ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวไปก่อน และจะน�ำมาเรียกเก็บจากบริษัทฯ อีกทอดหนึ่งตามจ�ำนวนที่จ่ายจริง BCP มี ก ารเรี ย กเก็ บ ค่ า บริ ก ารรั ก ษาความปลอดภั ย ของ โครงการระยะที่ 1 ตามอัตราที่ก�ำหนดในสัญญาบริการรักษา ความปลอดภัยที่ BCP ท�ำกับส�ำนักงานรักษาความปลอดภัย องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึง่ BCP เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าวไปก่อน และเรียกเก็บจาก บริษัทฯ อีกทอดหนึ่งตามจ�ำนวนที่จ่ายจริง BCP มีการเรียกเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีป้าย ส�ำหรับปี 2559 ของโครงการระยะที่ 1 เนื่องจากทรัพย์สิน ดังกล่าวจดทะเบียนภายใต้ช่อื BCP ดังนั้น BCP จึงรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวไปก่อน และด�ำเนินการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ดังกล่าวจากบริษัทฯ อีกทอดหนึ่งตามจ�ำนวนที่ BCP จ่ายจริง เงินกู้ยืมดังกล่าวเพื่อใช้ส�ำหรับลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น โดยก� ำ หนดอั ต รา ดอกเบี้ย เท่ากับร้อยละ 2.5 ต่อปี ซึ่งไม่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ย ที่ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งจ่ า ยหากกู ้ ยื ม จากสถาบั น การเงิ น และ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 บริษัทฯ ได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืม พร้อมทั้งดอกเบี้ยทั้งหมดให้แก่ BCP แล้ว เงินกู้ยืมดังกล่าวเพื่อใช้ส�ำหรับลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ โดยก�ำหนดอัตราดอกเบีย้ เท่ากับร้อยละ 2.9 ต่อปี ซึ่งไม่สูงกว่าอัตรา ดอกเบี้ยที่บริษัทฯ ต้องจ่ายหากกู้ยืมจากสถาบันการเงิน และเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 บริษัทฯ ได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืมพร้อมทั้งดอกเบี้ย ทั้งหมดให้แก่ BCP แล้ว BCP มีการเรียกเก็บเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้าส�ำหรับเดือน ตุลาคมและเดือนพฤศจิกายน 2558 ของโครงการระยะที่ 1 โดยบริ ษั ท ฯ ได้ รั บ คื น เงิ น น� ำ ส่ ง กองทุ น พั ฒ นาไฟฟ้ า จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน ซึ่งโครงการ ระยะที่ 1 ยังเป็นทรัพย์สินของ BCP ดังนั้น BCP จึงเรียกเก็บ เงินจ�ำนวนดังกล่าว


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 100

บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งอืน่ ลักษณะรายการ

ค่าเช่าอาคารพหลโยธินเพลส - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - เงินมัดจ�ำ - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า

ค่าทีจ่ อดรถอาคารพหลโยธินเพลส - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ -บจก. บางจากรีเทล - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายอื่นๆ - บจก.บางจาก กรีนเนท - ค่าใช้จ่ายส�ำหรับงวด

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2559 วันที่ 31 ธ.ค. 2560 0.46 0.18 0.10

0.25 -

0.002

0.002

-

0.42 0.11

-

0.04

ความจ�ำเป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ เมือ่ วันที่ 15 กันยายน 2559 บริษทั ฯ ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าพืน้ ที่ ส�ำนักงานกับบริษทั อาร์ทเี อ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) ชัน้ ที่ 28 อาคารชุดพหลโยธินเพลส ขนาดพืน้ ที่ 245 ตาราง เมตร โดยมีระยะเวลาเช่า 7 เดือนนับตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม 2559 จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 การก�ำหนดอัตราค่าเช่า เป็นไปตามราคาตลาด และค่าเช่าตลอดอายุสัญญาเท่ากับ 649,250 บาท ในเดือนสิงหาคม 2559 บริษทั อาร์ทเี อฯ ได้เรียก เก็บค่าเช่าพื้นที่ส�ำนักงานดังกล่าวส�ำหรับเดือนสิงหาคมและ เดือนกันยายนซึง่ เป็นตามข้อตกลงเบือ้ งต้น เนือ่ งจากกรรมการ ของบริษทั อาร์ทเี อ เป็นกรรมการอิสระของบริษทั ฯ จึงนับเป็น รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน รายการค่าใช้จา่ ยส�ำหรับการใช้ทจี่ อดรถอาคารพหลโยธิเพลส ส�ำหรับเดือนสิงหาคม 2559 ซึง่ เรียกเก็บค่าใช้จา่ ยตามจริง BCP มีการเรียกเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีป้าย ส�ำหรับปี 2559 ของโครงการระยะที่ 1 เนื่องจากทรัพย์สิน ดังกล่าวจดทะเบียนภายใต้ชอื่ BCP ดังนัน้ BCP จึงรับผิดชอบ ค่าใช้จา่ ยดังกล่าวไปก่อน และด�ำเนินการเรียกเก็บค่าใช้จา่ ย ดังกล่าวจากบริษทั ฯ อีกทอดหนึง่ ตามจ�ำนวนที่ BCP จ่ายจริง รายการค่าใช้จ่ายส�ำหรับถุงยังชีพเพื่อแจกผู้ประสบอุทกภัย


101 รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันของบริษทั ย่อยกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในงวดปีบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สามารถสรุปได้ดังนี้ BCP ลักษณะรายการ

ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. วันที่ 31 ธ.ค. 2559 2560

ค่ า ด� ำ เนิ น การติ ด ตั้ ง ระบบ ชาร์ทมือถือ - เจ้าหนีค้ งค้าง

0.39

ความจ�ำเป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ

BCP มีการเรียกเก็บค่าด�ำเนินการติดตัง้ ระบบชาร์จโทรศัพท์มอื ถือด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ทีส่ ถานีบริการอินทนิลของ BCP - จ�ำนวน 3 แห่ง เพือ่ ให้ผใู้ ช้บริการของสถานีและ/หรือประชาชน สามารถใช้บริการได้ โดย BCP ได้รบั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยดังกล่าวไป ก่อน และด�ำเนินการเรียกเก็บจาก BSE อีกทอดหนึง่ ตามจ�ำนวน ที่ BCP จ่ายจริง

มาตรการและขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารท�ำรายการระหว่างกัน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2558 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ได้พิจารณาอนุมัตินโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และ หลักการในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งมีข้อตกลงทางการค้าซึ่งมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการการท�ำรายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ตามประกาศของ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับความ สมเหตุสมผลในการเข้าท�ำรายการและความเหมาะสมทางด้านราคาของรายการนั้นๆ โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการ ด�ำเนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และ/หรือ มีการเปรียบเทียบกับราคาตลาด และ/หรือ มีราคาหรือเงือ่ นไขของการท�ำรายการดังกล่าวในระดับ เดียวกันกับบุคคลภายนอก และ/หรือ สามารถแสดงให้เห็นได้ว่าการท�ำรายการดังกล่าวนั้นมีการก�ำหนดราคาหรือเงื่อนไขที่สมเหตุสมผลหรือ เป็นธรรม หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระ เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ผู้ถอื หุ้น (แล้วแต่กรณี)

นโยบายการท�ำรายการระหว่างกัน • •

• •

ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหาร ต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบถึงความสัมพันธ์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกันในกิจการที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการและผู้บริหาร ต้องหลีกเลี่ยงการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ หรือบริษัท ย่อยของบริษทั ฯ ในกรณีที่จ�ำเป็นต้องท�ำรายการที่ไม่ใช่การด�ำเนินธุรกิจตามปกติ หรือมีเงื่อนไขทางการค้าแตกต่างจากการท�ำรายการ กับลูกค้าทั่วไปหรือบุคคลภายนอก บริษัทฯ จะต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามข้อก�ำหนด บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกันตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลัก ทรัพย์ฯ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และส�ำนักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนด ก�ำหนดให้มีการสอบทานการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยส�ำนักตรวจสอบภายใน ซึ่งต้องรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นราย ไตรมาส รวมทั้งก�ำหนดให้มีมาตรการควบคุม ตรวจสอบ ดูแลให้มีการสุ่มสอบทานการท�ำรายการจริง ถูกต้องตรงตามสัญญาหรือ นโยบายหรือเงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้


รายงานประจ�ำปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) 102

แนวโน้มในการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต

แม้วา่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะมีนโยบายหลีกเลีย่ งการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ แต่บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจจะยังคงต้องมีการท�ำรายการระหว่างกันกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันในอนาคต ซึง่ เป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ ตามความจ�ำเป็นและเป็น ไปตามความต่อเนื่องของสัญญา เช่น • การเช่าที่ดิน พื้นที่ส�ำนักงาน ห้องควบคุม และห้องวางระบบไฟฟ้าจาก BCP • การท�ำสัญญาจ้างบริหารงานกับ BCP • สัญญาบริการด้านระบบสารสนเทศกับ BCP หากมีการเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันนอกเหนือจากรายการดังกล่าวในอนาคต บริษทั ฯ จะปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของส�ำนักงาน ก.ล.ต. คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ฯ และในกรณีที่เป็นรายการธุรกิจปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัทฯ และเป็นรายการที่อาจเกิดขึ้นต่อเนื่องในอนาคต บริษัทฯ มีนโยบายในการก�ำหนดกรอบของรายการดังกล่าวให้มีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระท�ำกับคู่สัญญา ทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน และให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ ส�ำนักตรวจสอบภายในท�ำการตรวจสอบธุรกรรมดังกล่าวว่ามีราคาที่อ้างอิงได้กับราคาตลาดและมีเงื่อนไขทางการค้าโดย ทั่วไปที่เป็นปกติธุรกิจ เปรียบเทียบได้กับคู่ค้าที่เป็นบุคคลภายนอก เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ พร้อมทั้งน�ำเสนอผลการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณารับทราบเป็นรายไตรมาส และในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบพบว่ามีการด�ำเนินการไม่เป็นไปตาม นโยบายที่ก�ำหนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบจะแจ้งให้คณะกรรมการบริษัท หรือกรรมการผู้จัดการใหญ่ทราบ และร่วมกันหาทางแก้ไข

อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


103

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

ฐานะทางการเงินและ

ผลการดำ�เนินงาน

เหตุการณ์ส�ำคัญทีก่ ระทบต่องบการเงิน ในปี 2560 • มกราคม 2560: การจ�ำหน่ายสินทรัพย์ของโครงการ Suimei บริษทั ฯ ได้จำ� หน่ายสินทรัพย์ (ได้แก่ ทีด่ นิ และสิทธิในการประกอบธุรกิจ สินทรัพย์) ของโครงการ Suimei ประเทศญีป่ นุ่ ในราคา 1,600.00 ล้านเยน หรือประมาณ 495 ล้านบาท การจ�ำหน่ายสินทรัพย์ดังกล่าว คิดเป็น ร้อยละ 1.9 ของสินทรัพย์รวม ณ สิ้นไตรมาสที่ 1/2560 • มีนาคม 2560: การเปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ของโครงการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ และ ในประเทศไทย - โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ Nagi ประเทศญี่ปุ่น ก�ำลังการผลิตติดตั้งขนาด 10.5 เมกะวัตต์ เริม่ เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2560 - โครงการ Solar ที่อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา (“CBPI”) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาด 5.0 เมกะวัตต์ เริม่ เปิดด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 • เมษายน 2560: การออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษทั และบริษทั ย่อย (โครงการ Employee Stock Option Program: ESOP) และการประกาศจ่ายเงินปันผล - วันที่ 4 เมษายน 2560 ทีป่ ระชุมสามัญผู้ถือหุ้นได้มมี ติ จ่ายเงินปันผลจากก�ำไรสุทธิสำ� หรับผลด�ำเนินการในไตรมาสที่ 4/2559 ในอัตรา 0.15 บาทต่อหุ้น คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 298.50 ล้านบาท และได้ จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 20 เมษายน 2560 - วันที่ 18 เมษายน 2560 บริษทั ฯ ออกและเสนอขายใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ จ�ำนวน 10 ล้านหน่วย ให้แก่กรรมการ ผู้บริหารระดับสูงและพนักงานของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อย (เรียกว่า “โครงการ ESOP”) (รายละเอียดตามหัวข้อ 3.3 การออกหลักทรัพย์อื่น) • พฤษภาคม 2560: กลุ่มบริษัทฯ เข้าท�ำการลงทุนซื้อและ รับโอนหุน้ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ประเทศฟิลปิ ปินส์ การใช้สทิ ธิ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิโครงการ ESOP รวมทัง้ การประกาศจ่ายเงินปันผล - วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. (ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษทั ฯ) เข้าลงทุนซื้อและรับโอนหุ้น ของบริษัท CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. (ต่อมา เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท BCPG Wind Cooperatief U.A.) ซึง่ เป็นบริษัทที่ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ใน PetroWind Energy Inc. (“PWEI”) ที่ ด�ำเนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ซึ่งมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้าที่เปิด

ด�ำเนินการแล้วจ�ำนวน 36 เมกะวัตต์ ตัง้ อยูท่ เี่ มือง Nabas ประเทศฟิลปิ ปินส์ บริษทั ฯ ใช้เงินลงทุนทัง้ สิน้ 26.49 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 921.57 ล้านบาท และสามารถรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนทันที - วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 มีการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญ แสดงสิทธิให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ครั้งที่ 1 ตามโครงการ ESOP อายุ 5 ปี ตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด ในข้อก�ำหนดสิทธิ ดังนี้ (1) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทรี่ าคาการใช้สทิ ธิ เท่ากับ 10 บาท ต่อหุ้น มีการใช้สิทธิจ�ำนวน 1,031,406 หน่วย และมีจ�ำนวนที่ยังไม่ได้ ใช้สิทธิ 3,968,594 หน่วย (2) ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ ร าคาการใช้ สิ ท ธิ เท่ า กั บ 13.82 บาทต่อหุ้น มีการใช้สิทธิแล้ว 301,799 หน่วย และมีจ�ำนวนที่ ยังไม่ได้ใช้สทิ ธิ 4,698,201 หน่วย - วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากก�ำไรสุทธิ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ส� ำ หรั บ ผลการด� ำ เนิ น งานในไตรมาสที่ 1/2560 ในอัตรา 0.15 บาทต่อหุ้น คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 298.70 ล้านบาท และได้ จ่ายเงินปันผลจ�ำนวนดังกล่าวให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในวันที่ 26 มิถนุ ายน 2560 • กรกฎาคม 2560: การลงนามสัญญาเงินกู้ และการเข้าลงทุน ในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย - วันที่ 20 กรกฎาคม 2560 บริษทั ฯ ได้ลงนามสัญญาเงินกู้ วงเงินเทียบเท่าประมาณ 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ กับธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับ ธนาคารมิซูโฮ จ�ำกัด สาขากรุงเทพฯ และ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เงินกู้ดังกล่าวประกอบด้วย เงินกู้สกุลบาท สกุลเหรียญสหรัฐฯ และสกุลเยน ระยะเวลาเงินกู้ 6 ปี และมีอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับ THBFIX USDLIBOR และ JPYTIBOR - วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 บริษทั ฯ เข้าซือ้ หุน้ ในบริษทั Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. จ�ำนวนร้อยละ 33.33 ของหุน้ สามัญ ทีอ่ อกและช�ำระแล้วทัง้ หมด เพือ่ ร่วมลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย จ�ำนวน 3 โครงการ ขนาดก�ำลัง การผลิต 995 เมกะวัตต์ (ประกอบด้วยโครงการทีเ่ ปิดด�ำเนินการเชิง พาณิชย์แล้ว 875 เมกะวัตต์ และอยูร่ ะหว่างการพัฒนา 120 เมกะวัตต์) ใช้ เงินลงทุนทัง้ สิน้ 355.69 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 11,956.43 ล้าน บาท ทัง้ นี้ บริษทั ฯ สามารถรับรูส้ ว่ นแบ่งก�ำไรจากการลงทุนทันที (ตาม มติทปี่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2560 เมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน 2560)


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 104

ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับไตรมาสที่ 4 และ ปี 2560 ของบริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

1. ภาพรวม ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (รวมเรียกว่า “กลุ่มบริษัทฯ”) มีการรับรู้ผลการด�ำเนินงานจากการ จ�ำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทฯ และรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษัทย่อย โดยกลุ่มบริษัทฯ มีรายได้จากการขายไฟฟ้าเท่ากับ 780.97 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 YoY จากการที่มีก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากโครงการ Solar Coop ที่อำ� เภอพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเริ่มด�ำเนิน การในเชิงพาณิชย์ขนาดก�ำลังการผลิตตามสัญญา 5.0 เมกะวัตต์ ตั้งแต่กลางเดือนมีนาคม 2560 และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Nagi ในประเทศญี่ปุ่น ขนาดก�ำลังการผลิตตามสัญญา 10.5 เมกะวัตต์ ตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคม 2560 รวมทั้งการบันทึกผลการด�ำเนินงานเต็ม ไตรมาสของโครงการ Solar Coop ที่ก�ำลังการผลิตตามสัญญา 7.0 เมกะวัตต์ (ซึง่ เริ่มด�ำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ในปลายเดือนธันวาคม 2559) อย่างไรก็ตาม หากเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า รายได้ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 ลดลงร้อยละ 8.5 QoQ สาเหตุหลักมาจากปัจจัยด้านฤดูกาลของ ประเทศญี่ปุ่นที่เข้าสู่ฤดูหนาว และประเทศไทยที่มีฝนตกหนักกว่าปกติในระหว่างไตรมาส ส�ำหรับการลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานลมที่ประเทศฟิลิปปินส์และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพในประเทศอินโดนีเซีย มีการรับรู้ ส่วนแบ่งก�ำไรและการประเมินค่าทรัพย์สินจากการเข้าลงทุนของทั้งสองกิจการตามมาตรฐานการบัญชี ทั้งนี้ผลก�ำไรสุทธิก่อนผลกระทบจาก อัตราแลกเปลี่ยนและรายการพิเศษ เท่ากับ 553.22 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.2 YoY และลดลงร้อยละ 18.6 QoQ ส�ำหรับไตรมาสที่ 4 ปี 2560 กลุม่ บริษทั ฯ มีกำ� ไรจากอัตราแลกเปลีย่ นทัง้ สิน้ 51.17 ล้านบาท ท�ำให้มกี ำ� ไรสุทธิเพิม่ ขึน้ เป็น 586.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 415.8 YoY และร้อยละ 14.1 QoQ ก�ำไรอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวเกิดจากการแข็งค่าของค่าเงินบาทระหว่างไตรมาส ซึ่งส่งผลให้การแปลงค่าหนี้ที่เป็นเงินตราสกุลต่างประเทศเป็นสกุลเงินบาท ณ วันสิ้นงวดมีจำ� นวนลดลง ผลการด�ำเนินงานปี 2560 บริษทั ฯ มีรายได้จากการขายไฟฟ้าเท่ากับ 3,322.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 YoY และมีการรับรู้ส่วนแบ่ง ก�ำไรจากการลงทุน 749.43 ล้านบาท ซึ่งประกอบไปด้วยผลการด�ำเนินงานปกติและก�ำไรจากการเข้าซื้อในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม (ซึง่ โครงการลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานลมประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระและโครงการลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พประเมินเบือ้ งต้นโดย ฝ่ายจัดการ) ท�ำให้บริษทั ฯ มีผลก�ำไรสุทธิกอ่ นผลระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นและรายการพิเศษเท่ากับ 2,073.66 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 50.0 YoY ส�ำหรับในปี 2560 บริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการด�ำเนินงานปกติและการแปลงค่างบการเงินในส่วนหนี้ที่เป็นสกุลเงิน ต่างประเทศจ�ำนวน 72.44 ล้านบาท และมีการขาดทุนจากสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 304.19 ล้านบาท ซึง่ เกิดจากการขาดทุน ตามสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและการแปลงค่าเงินจากการทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำการป้องกันความเสีย่ งในการลงทุนในอินโดนีเซียและ ฟิลิปปินส์ และกลุ่มบริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิ 2,016.15 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.8 YoY ผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ +30.8%

(ล้านบาท)

รายได้จากการขายไฟฟ้า

780.97 1,128.03 876.22 553.22 586.12

Q3 2560

Q4 2560

รายได้จากการขายไฟฟ้า และส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุน

EBITDA รวมก�ำไร จากส่วนแบ่งการลงทุน

4,071.92 3,146.76

2559 ก�ำไรสุทธิ ไม่รวมรายได้อื่น และ FX

2,068.05 2,016.15

853.94 1,213.16 968.75 679.75 513.57

756.63 756.63 533.45 332.81 113.64

+66.2 %

2,263.00 1,401.07 1,541.33

3,080.91 3,080.91

+415.8%

Q4 2559

3,322.48

+47.6%

2560 ก�ำไรสุทธิ


105

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

โครงสร้างรายได้จ�ำแนกตามโครงการ 3,322.48 ล้านบาท

3,083.91 ล้านบาท 8.2 % 13.6 % 6.7 % 7.2 % 6.8 % 7.0 %

118

MWPPA

27.3 %

14.5 % 2.9 % 12.0 % 6.1 % 6.2 % 6.0 % 6.3 % 25.2 %

BCPGJ Group BSE - PRI (Solar Coop) BSE - PRI BSE - NMA BSE - CPM 1 BSE - BRM 1 BSE - BRM

23.3 %

20.8 %

BSE BCPG

2559

2560

โครงสร้างรายได้จ�ำแนกตามโครงการ ส่วนผู้ถือหุ้นอื่น

(ล้านบาท)

ก�ำไรสะสม

32,099.23

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ทุนที่เรียกช�ำระ

25,488.56

หนี้สินอื่น

+25.9%

เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงก�ำหนดช�ำระในหนึ่งปี สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เงินลงทุนในบริษัทร่วม ที่ดิน อาคารอุปกรณ์

A

L+E 2559

A

L+E 2560

เงินสดและรายการเทียบเท่า

ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มี สิ น ทรั พ ย์ ร วม 32,099.23 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 6,610.67 ล้ า นบาท หรื อ ร้อยละ 25.9 เทียบกับสิ้นปี 2559 โดย มีสาเหตุหลักมาจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม 13,529.72 ล้านบาท ซึ่งเป็นการ ลงทุ น ในโครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งาน ลมในประเทศฟิลิปปินส์และโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพใน ประเทศอินโดนีเซีย และคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 42.1 ของสินทรัพย์รวม ขณะที่ บริษทั ฯ ใช้เงินกูจ้ ากสถาบันการเงินเพือ่ ลงทุนในโครงการดังกล่าว จึงท�ำให้เงินกู้ ระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เป็น 15,613.15 ล้านบาท กลุ่มบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สิน ต่อทุนเท่ากับ 1.23 เท่า ณ สิ้นปี 2560 เพิม่ ขึ้นจาก 0.89 เท่า ณ สิ้นปี 2559 มีสาเหตุหลักจากการกู้เงินที่ใช้ส�ำหรับ การลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 106

ผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจโดยรวม

รายได้จากการขายไฟฟ้า

(ล้านบาท) Q4 Q3 Q4 YoY QoQ 2559 2560 YoY 2559 2560 2560 756.63 853.94 780.97 3.2% -8.5% 3,083.91 3,322.48 7.7%

รายได้อื่น

34.84

20.06

2.02

-94.2%

-89.9%

65.15

-6.7%

รายได้รวม

791.47

874.00

782.99

-1.1%

-10.4% 3,153.78 3,387.63

7.4%

ต้นทุนการขายและบริการ

226.31

245.03

254.58

12.5%

3.9%

822.26

968.47

17.8%

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

149.39

179.44

176.47

18.1%

-1.7%

600.17

658.88

9.8%

ค่าใช้จ่ายรวม

375.70

244.68

431.05

14.7%

76.2% 1,422.43 1,627.35

14.4%

EBITDA 1/

533.49

609.25

529.17

-0.8%

-13.1% 2,263.00 2,397.32

5.9%

94.56

130.77

135.20

43.0%

3.4%

349.32

436.05

24.8%

ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษทั ร่วม

-

359.22

347.06

n.a.

-3.4%

-

749.43

n.a.

ก�ำไรก่อนรายการพิเศษ และผลกระทบ อัตราแลกเปลี่ยน รายการพิเศษ

321.20

677.99

563.80

75.5%

-16.8% 1,382.02 2,073.66

50.0%

ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ

-

-

-

-

n.a.

226.59

137.12

-39.5%

ก�ำไรจากการซื้อขายทรัพย์สิน

-

-

-18.27

-

n.a.

-

42.73

n.a.

ขาดทุน/(ก�ำไร) จากการจ�ำหน่ายทรัพย์สิน

-

0.53

-

- -100.0%

-

-

-

ก� ำ ไรก่ อ นผลกระทบจากอั ต ราแลก เปลี่ยน ขาดทุน/(ก�ำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ

321.20

677.46

545.53

-19.5% 1,608.61 2,253.51

40.1%

219.17

-89.27

ขาดทุน/(ก�ำไร) จากสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า ขาดทุน/(ก�ำไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นสุทธิ

-

254.92

219.17

ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้

ต้นทุนทางการเงิน

69.8%

-51.17 -123.3%

69.86

-42.7%

86.34

n.a. -100.0%

-

165.65

-51.17 -123.3% -130.9%

86.34

102.03

511.81

596.70 484.8%

ภาษีเงินได้

-11.61

-1.76

ก�ำไรสุทธิ

113.64

513.57

-

304.19

-19.05

n.a.

231.75 168.4%

16.6% 1,522.27 2,021.76

10.58 -191.1% -701.0% 586.12 415.8%

-72.44 -183.9%

32.8%

5.61 -129.4%

14.1% 1,541.33 2,016.15

30.8%


107

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

Gotemba, Japan

ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้จากการจ�ำหน่าย ไฟฟ้าเท่ากับ 780.97 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 YoY จากก�ำลัง การผลิตเพิ่มขึ้นจากโครงการ Solar Coop (ขนาดก�ำลังการผลิต 12.0 เมกะวัตต์) และโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โครงการ Nagi ในประเทศ ญี่ปุ่น (ขนาดก�ำลังการผลิตตามสัญญา 10.5 เมกะวัตต์) และกรณี เทียบระหว่างไตรมาส รายได้จากการขายไฟฟ้าในไตรมาสนี้ลดลง ร้อยละ 8.5 QoQ เนือ่ งจากประเทศญีป่ นุ่ เริม่ เข้าสูฤ่ ดูหนาวและมีหมิ ะ ตกมาก รวมทั้งสภาพภูมอิ ากาศในประเทศไทยมีฝนตกหนักกว่าปกติ ส่งผลให้ปริมาณผลิตไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่ายลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจาก จากการด�ำเนินงานปกติในโรงไฟฟ้าพลังงานลมที่ประเทศฟิลิปปินส์ (ก�ำลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุน้ เท่ากับ 14.4 เมกกะวัตต์) เท่ากับ 15.43 ล้านบาท ซึง่ ผลการด�ำเนินงานทีด่ ขี นึ้ กว่าสองไตรมาสก่อนหน้า นอกจากนี้กลุ่มบริษัทฯ บันทึกส่วนแบ่งก�ำไรจากการด�ำเนินงานปกติ จากโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพที่ประเทศอินโดนีเซีย (ก�ำลัง การผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นเท่ากับ 157.5 เมกะวัตต์) เท่ากับ 207.10 ล้านบาท ซึ่งเป็นการรับรู้รายได้เต็มไตรมาสของก�ำลังการ ผลิตของทั้งสองโครงการที่ลงทุนผ่านบริษัทร่วม ซึ่งในไตรมาสที่แล้ว มีการรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรย้อนกลับไปถึงต้นปี ประกอบด้วย ส่วนแบ่ง

ก�ำไรจากผลการด�ำเนินงาน 9 เดือนของโครงการโรงไฟฟ้า Wayang Windu ก�ำลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้น 45.4 เมกะวัตต์ และ ส่วนแบ่งก�ำไรจากผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนของโครงการโรงไฟฟ้า Salak และ Darajat ก�ำลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้น 65.2 และ 46.9 เมกะวัตต์ ตามล�ำดับ ส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้จาก การจ�ำหน่ายไฟฟ้าเท่ากับ 3,322.48 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 YoY เนื่องจากก�ำลังการผลิตตามสัญญาเพิ่มขึ้น 15.5 เมกะวัตต์ รวม ถึงการรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจากกิจการร่วมทุนเท่ากับ 749.43 ล้านบาท จากก�ำลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นในกิจการร่วมทุนประมาณ 172 เมกกะวัตต์ โดยกลุ่มบริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิก่อนรายได้อื่นและ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน เท่ากับ 2,253.51 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 40.1 YoY ในปี 2560 บริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งมาจากผล การด�ำเนินงานปกติและการแปลงค่างบการเงินในส่วนของหนีส้ นิ ในรูป สกุลเงินต่างประเทศจ�ำนวน 72.44 ล้านบาท และมีบันทึกการขาดทุน จากสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 304.19 ล้านบาท ท�ำให้กลุ่มบริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิ เท่ากับ 2,016.15 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 30.8 YoY


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 108

รายได้จากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จ�ำแนกตามโครงการ โครงการ

Q42559 Q32560 Q42560

(ล้านบาท) YoY

1. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย 692.82 703.85 702.31 1.4% 1.1 BCPG 47.15 49.93 49.65 5.3% รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 122.44 124.86 126.61 3.4% 1.2 BSE 57.77 59.07 57.40 -0.6% รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 149.84 147.10 145.72 -2.7% 1.3 BSE - BRM รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 14.56 14.70 14.48 -0.5% รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 37.91 36.49 36.72 -3.1% 1.4 BSE - BRM1 14.19 14.22 13.60 -4.1% รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 36.95 35.35 34.46 -6.7% 1.5 BSE - CPM1 รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน 14.81 14.45 13.73 -7.3% รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 38.66 35.97 35.41 -8.4% 1.6 BSE - NMA 14.18 14.45 13.65 -3.7% รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 37.02 36.18 34.76 -6.1% 1.7 BSE - PRI 29.11 27.10 28.48 -2.2% รายได้จากการขายไฟฟ้าพื้นฐาน รายได้เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า 76.18 67.42 72.21 -5.2% รายได้ตามอัตราการรับซือ้ ในรูปแบบ Feed-in Tariff 2.05 26.54 25.40 1138.8% 2. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ น่ ุ 63.81 150.06 78.65 3.34 2.36 2.1 Natkatsugawa 2.75 2.2 Takamori 3.70 4.41 3.41 2.3 Nojiri 3.40 4.36 3.02 2.4 Tarumizu 30.23 33.33 24.60 2.5 Nikaho 23.73 51.35 16.42 2.6 Nagi - 53.27 28.84 รายได้รวม 756.63 853.90 780.95

QoQ

2559

2560

YoY

-0.2% 2,830.61 2,841.00

0.4%

-0.6% 1.4%

204.46 513.60

194.13 497.63

-5.0% -3.1%

-2.8% -0.9%

240.17 602.49

235.34 600.49

-2.0% -0.3%

-1.5% 0.6%

61.50 155.04

58.87 150.61

-4.3% -2.9%

-4.3% -2.5%

59.46 149.82

56.16 143.49

-5.5% -4.2%

-5.0% -1.6%

61.37 154.98

57.81 147.94

-5.8% -4.6%

-5.5% -3.9%

59.00 148.56

56.60 144.95

-4.1% -2.4%

5.1% 7.1% -4.3%

118.67 299.44 2.05

111.68 -5.9% 287.74 -3.9% 97.56 4658.9%

23.3% -47.6% 253.30 481.48 -14.1% -29.2% 12.59 12.59 -8.0% -22.8% 17.87 17.35 -11.1% -30.6% 17.32 16.31 -18.6% -26.2% 130.31 125.51 -30.8% -68.0% 75.22 143.96 n.a. -45.9% - 165.76 3.2% -8.5% 3,083.91 3,322.48

90.1% -0.4% -2.9% -5.9% -3.7% 89.2% 0.0% 7.7%


109

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

รายได้จากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จ�ำแนกตามโครงการ

(เมกะวัตต์-ช.ม.)

Q4 2559 Q3 2560 Q4 2560

YoY

QoQ

2559

2560

YoY

67,926.25 78,160.58 74,121.20

9.1%

-5.2% 273,991.25 307,341.36

12.2%

ปริมาณการผลิตไฟฟ้า -โครงการ 63,021.25 65,384.32 65,716.49 ในประเทศไทย BCPG 15,318.89 15,619.94 15,840.06

4.3%

0.5% 254,487.25 265,166.18

4.2%

3.4%

1.4%

64,229.39 62,257.21

- 3.1%

ปริมาณการผลิตรวม

BSE

18,834.05 18,486.24 18,317.57

- 2.7%

-0.9%

75,754.55 75,453.67

- 0.4%

BSE - BRM

4,768.45

4,590.33

4,621.34

- 3.1%

0.7%

19,470.45 18,942.78

- 2.7%

BSE - BRM1

4,647.23

4,447.07

4,338.16

- 6.7%

-2.4%

18,854.23 18,051.07

- 4.3%

BSE - CPM1

4,653.23

4,525.92

4,367.91

- 6.1%

-3.5%

19,274.23 18,522.60

- 3.9%

BSE - NMA

4,862.05

4,546.46

4,455.21

- 8.4%

-2.0%

18,887.05 18,319.65

- 3.0%

BSE - PRI

9,575.44

8,478.40

9,079.66

- 5.2%

7.1%

37,655.44 36,172.96

- 3.9%

3.06

3.19

3.13

2.3%

-1.9%

3.16

2.91 - 8.1%

161.70

810.18

762.60

371.6%

- 5.9%

161.70

3,081.13 1805.5%

200.22

1,913.88

1,963.80

880.8%

2.6%

200.22

8,001.69 3896.4%

-

1,965.90

1,970.20

n.a.

0.2%

-

6,363.42

n.a.

อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน 5.66 5.66 5.66 เฉลีย่ ปริมาณการผลิตไฟฟ้า - โครงการ 4,904.79 12,776.27 8,404.71 ในประเทศญี่ปุ่น Natkatsugawa 216.85 275.07 211.51

0.0%

0.0%

5.66

5.66

0.0%

อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย (ไม่รวม Adder) CAYA CWSC CBPI

71.3%

- 34.2% 19,504.25 42,175.18 116.2%

-2.5%

- 23.1%

976.15

1,029.39

5.5%

Takamori

297.01

343.64

304.62

2.6%

- 11.4%

1,318.95

1,363.26

3.4%

Nojiri

274.82

340.76

278.22

1.2%

- 18.4%

1,284.21

1,316.39

2.5%

Tarumizu

2,251.05

2,671.85

2,261.46

0.5%

- 15.4%

10,107.12 10,309.79

2.0%

Nikaho

1,865.06

4,246.35

2,382.52

27.7%

- 43.9%

5,817.82 12,760.14

27.7%

-

4,898.60

2,966.37

n.a.

- 39.4%

- 15,396.22

n.a.

40.00

38.60

38.60

- 3.5%

0.0%

Nagi อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 1/ หมายเหตุ : 1/ ราคาเฉลี่ยตามสัญญาการผลิต

40.00

38.95 - 2.6%


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 110

รายได้อื่น

ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้อื่นทั้งหมดเท่ากับ 34.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.2 YoY และ หากเทียบระหว่างไตรมาส รายได้อื่นทั้งหมดลดลงร้อยละ 68.1 QoQ สาเหตุหลักมาจากการลดลงของก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนและการตัด จ�ำหน่ายทางบัญชี (write-off) ของแผงโซลาร์บางส่วนในโครงการ Nagi ที่ประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่นในช่วงปลายเดือน ตุลาคม 2560 ในปี 2560 รายได้อื่นทั้งหมดเพิ่มขึ้นจาก 296.45 ล้านบาท มาอยู่ที่ 317.44 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 สาเหตุหลักมาจากการ บันทึกก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ จ�ำนวน 72.4 ล้านบาท ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์สุทธิ เท่ากับ 42.7 ล้านบาท และก�ำไรจากการ ช�ำระเงินลงทุนงวดสุดท้ายให้แก่กลุ่มบริษัท SunEdison Q4 2559 20.26

Q3 2560 3.20

Q4 2560 1.69

YoY

QoQ

2559

2560

(ล้านบาท) YoY

-91.7%

-47.2%

26.76

40.94

53.0%

ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ

-

89.30

51.17

n.a.

-42.7%

-

72.44

n.a.

ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายทรัพย์สิน

-

-

-18.27

n.a.

n.a.

-

42.73

n.a.

ก�ำไรจากการต่อรองการซื้อขาย

-

-

-

n.a.

n.a.

226.59

-

n.a.

รายได้อ่นื

14.58

16.80

0.33

-97.7%

-98.0%

43.10

161.33

274.3%

รวม

34.84

109.30

34.92

0.2%

-68.1%

296.45

317.44

7.1%

รายการ รายได้จากการลงทุน

ต้นทุนและค่าใช้จ่าย

ต้นทุนขายและบริการ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีต้นทุนขายและบริการ เท่ากับ 254.58 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.5 YoY และลดลงร้อยละ 3.9 QoQ ส�ำหรับปี 2560 กลุม่ บริษทั ฯ มีตน้ ทุนขายและบริการ เท่ากับ 968.47 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 17.8 YoY สาเหตุหลักมาจากค่าเสือ่ ม ราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายของอุปกรณ์โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ เปิดด�ำเนินงานเพิ่มขึ้นทั้งในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการบริหาร เท่ากับ 176.47 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นร้อยละ 18.1 YoY แต่ลดลงร้อยละ 1.7 QoQ ส�ำหรับปี 2560 ค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 658.88 ล้าน บาท เพิม่ ขึ้นร้อยละ 9.8 YoY สาเหตุหลักมาจากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง กับบุคลากรที่เพิ่มขึ้นตามก�ำลังคน และค่าใช้จ่ายของบุคลากรที่เกิด ขึน้ ทางบัญชีจากการเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP

ต้นทุนทางการเงิน

ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีเงินกู้จากสถาบันการเงินเพื่อใช้ ลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ เท่ากับ 17,028.39 ล้าน บาท เพิม่ ขึ้นร้อยละ 67.8 เทียบกับสิ้นปี 2559 และท�ำให้กลุ่มบริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินเท่ากับ 436.05 ล้านบาท โดยคิดเป็นต้นทุนเฉลี่ย เท่ากับร้อยละ 3.2

ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

ณ สิน้ ปี 2560 กลุม่ บริษทั ฯ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา ต่างประเทศ จ�ำนวน 231.75 ล้านบาท ประกอบด้วย - ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจากการด�ำเนินงานปกติและการ แปลงค่างบการเงินจ�ำนวน 72.44 ล้านบาท ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนส่วนนี้มาจากการแปลงค่าสินทรัพย์ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และการซือ้ หรือขายสินทรัพย์ รวม ทั้งการรับหรือจ่ายที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งในปีนี้เป็นผลมาจาก ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวในแนวโน้มที่เป็นผลบวกต่อบริษัทฯ โดยใน ระหว่างปี ค่าเงินบาทแข็งค่าขึน้ ส่งผลให้กลุม่ บริษทั ฯ ได้ประโยชน์จาก การทีม่ ีหนี้ในรูปสกุลเงินต่างประเทศทั้งในสกุลเหรียญสหรัฐและเยน - ขาดทุนจากสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 304.19 ล้านบาท บริษัทได้เข้าท�ำการป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน ในการ เข้าซือ้ กิจการ โรงไฟฟ้าพลังงานลม และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ใต้พภิ พ ซึง่ กลุ่มบริษทั ฯ จะต้องท�ำการเข้าซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าเพือ่ จัดเตรียมเงิน โดยภายหลังการท�ำสัญญาแล้วค่าเงินบาท ยังคงแข็งค่าอย่างต่อเนื่อง จึงท�ำให้กลุ่มบริษัทฯ เกิดการขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว


111

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุน

ในปี 2560 บริษัทฯ เข้าลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานลมที่ประเทศฟิลปิ ปินส์และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพในประเทศอินโดนีเซีย จึงมีการรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และรายการประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มา ดังนี้

Q2/60

Q3/60

Q4/60

(ล้านบาท) 2560

ก�ำไรจากการซือ้ ในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม

53.05

-

308.77

361.82

ส่วนแบ่งก�ำไรจากการด�ำเนินงาน

-9.90

-4.47

15.43

1.06

-

-

-21.61

-21.61

43.15

-4.47

302.59

341.27

-

238.20

57.56

295.75

ส่วนแบ่งก�ำไรจากการด�ำเนินงาน

-

125.49

207.10

332.59

ค่าตัดจ�ำหน่ายสิทธิในการขายไฟฟ้า

-

-

-220.18

-220.18

-

363.69

44.48

408.16

รายการ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ประเทศฟิลิปปินส์

ค่าตัดจ�ำหน่ายสิทธิในการขายไฟฟ้า รวม โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพ ประเทศอินโดนีเซีย ก�ำไรจากการซือ้ ในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม

รวม

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมที่ประเทศฟิลิปปินส์ บริษัทฯ รับรู้ผลก�ำไรจากการด�ำเนินงานของโครงการตั้งแต่ ไตรมาสที่ 2 (วันที่ 16 พฤษภาคม 2560) และมีการบันทึกผลก�ำไร จากการด�ำเนินงานย้อนกลับไปถึงต้นปี โดยเป็นการรับรูส้ ว่ นแบ่งก�ำไร จากการลงทุนตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม – 15 พฤษภาคม เป็นจ�ำนวน 53.05 ล้านบาท และรับรู้การขาดทุนจากการด�ำเนินงานระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม - 30 มิถุนายน จ�ำนวน 9.90 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทฯ บันทึกก�ำไรจากการลงทุนสุทธิในไตรมาสที่ 2 ปี 2560 เป็นจ�ำนวน 43.15 ล้านบาท และรับรู้ผลขาดทุนจากการด�ำเนินงานในไตรมาส 3 จ�ำนวน 4.47 ล้านบาท ส�ำหรับไตรมาสที่ 4 ปี 2560 บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจาก การด�ำเนินงานจ�ำนวน 15.43 ล้านบาท และรับรู้การประเมินมูลค่า การลงทุนตามมาตรฐานบัญชีเป็น ก�ำไรจากการซือ้ การลงทุนจ�ำนวน 308.77 ล้านบาท รวมทัง้ มีการบันทึกค่าตัดจ�ำหน่ายจากสิทธิในการซือ้ ขายไฟ จ�ำนวน 21.61 ล้านบาท ซึ่งบันทึกย้อนกลับไปตั้งแต่วนั ที่เข้า ลงทุน ส่งผลให้ในปี 2560 บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมนี้เป็นจ�ำนวน 341.27 ล้านบาท โดยมีการบันทึกรายการ ก�ำไรจากการซือ้ ในราคาทีต่ ำ�่ กว่ามูลค่ายุตธิ รรมจ�ำนวน 361.82 ล้านบาท

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย บริษัทฯ รับรู้ผลก�ำไรจากการด�ำเนินงานของโครงการตั้งแต่ ไตรมาสที่ 3 (1 สิงหาคม 2560) และมีการบันทึกผลก�ำไรจากการ ด�ำเนินงานย้อนกลับไปถึงต้นปี โดยเป็นการรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจาก การลงทุนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 31 กรกฎาคม 2560 เป็นจ�ำนวน 238.20 ล้านบาท และรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจากการด�ำเนินงานระหว่าง วันที่ 1 สิงหาคม - 30 กันยายน จ�ำนวน 125.49 ล้านบาท ส�ำหรับไตรมาสที่ 4 ปี 2560 บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจาก การด�ำเนินงานจ�ำนวน 207 ล้านบาท และรับรู้การประเมินมูลค่าการ ลงทุนตามมาตรฐานบัญชีเป็น ก�ำไรจากการซือ้ การลงทุนจ�ำนวน 57.56 ล้านบาท และมีการบันทึกค่าใช้จา่ ยตัดจ�ำหน่ายจากสิทธิในสัญญาซือ้ ขายไฟในระหว่างไตรมาสทีบ่ นั ทึกย้อนกลับไปตัง้ แต่บริษทั ฯ เข้าลงทุน จ�ำนวน 220.18 ล้านบาท ส่งผลให้ในปี 2560 บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่ง ก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมนี้เป็นจ�ำนวน 408.16 ล้านบาท โดยมีการบันทึกรายการก�ำไรจากการซือ้ ในราคาทีต่ ำ�่ กว่ามูลค่ายุตธิ รรม จ�ำนวน 296.75 ล้านบาท


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 112

ก�ำไรต่อหุ้น บาทต่อหุ้น 0.23

0.29 0.23

0.26

1.01 บาทต อหุ น Q1 2560

Q2 2560

Q3 2560

Q4 2560

ฐานะการเงินของกลุม่ บริษทั ฯ ภาพรวม

ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีสนิ ทรัพย์รวมเท่ากับ 32,099.23 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.9 เทียบกับสิ้นปี 2559 มีสาเหตุหลักมา จากการเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม จ�ำนวน 13,529.72 ล้านบาท โดยใช้เงินสดภายในบริษทั ฯ และเงินกูจ้ ากสถาบันการเงินเพือ่ ใช้ลงทุน ในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ประเทศฟิลิปปินส์ และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ ประเทศอินโดนีเซีย จึงส่งผลให้เงินกู้ยืม ระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นเป็น 15,613.15 ล้านบาท และท�ำให้หนี้สินรวมเพิ่มขึ้นเป็น 17,330.29 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 48.1 เทียบกับสิ้นปี 2559 ส�ำหรับส่วนของผู้ถอื หุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 14,368.93 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3 เทียบกับสิ้นปี 2559 และกลุ่มบริษัทฯ มีอตั ราส่วนหนี้สินต่อทุน 1.23 เท่า ณ สิ้นปี 2560 (ล้านบาท) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน 2559 2560 % เปลี่ยนแปลง 1.23 สินทรัพย์รวม 25,488.56 32,099.23 25.9% 9,181.55

2,696.92

-70.6%

16,307.01

29,402.31

80.3%

11,971.85

17,730.29

48.1%

หนี้สินหมุนเวียน

2,530.04

1,654.36

-34.6%

หนีส้ ินไม่หมุนเวียน

9,441.80

16,075.94

70.3%

13,516.56

14,368.79

6.3%

12,770.90

12,810.85

0.3%

655.72

1,477.01

125.2%

89.94

80.92

-10.0%

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินรวม

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรียกช�ำระ และส่วนเกิน ก�ำไรสะสม องค์ประกอบอืน่ ของส่วนผูถ้ อื หุน้

0.89

2559

2560


113

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

สินทรัพย์

สินทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์หมุนเวียนลดลงเป็น 2,696.92 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 70.6 เทียบกับสิ้นปี 2559 โดยมีสาเหตุ หลักมาจากการใช้เงินสดและเงินลงทุนระยะสัน้ ทีค่ รบก�ำหนดส�ำหรับลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ ประเทศอินโดนีเซีย รายละเอียดสินทรัพย์หมุนเวียน

(ล้านบาท)

รายการ

2559

2560

% เปลี่ยนแปลง

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

7,361.16

2,003.98

-72.8%

เงินลงทุนระยะสั้น

700.00

-

-100.0%

ลูกหนี้การค้า

486.40

507.24

4.3%

ลูกหนี้อื่น

632.79

182.71

-71.1%

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

1.21

2.98

147.1%

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

9,181.55

2,696.92

-70.6%

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็น 29,402.31 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 80.3 เทียบกับสิ้นปี 2559 จาก เงินลงทุนในบริษัทร่วมของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมในประเทศฟิลปิ ปินส์ และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพในประเทศอินโดนีเซีย รายละเอียดสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รายการ

(ล้านบาท) 2559

2560

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

-

13,529.72

n.a.

ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์

14,194.63

13,890.32

-2.1%

สินทรัพย์ไม่มตี ัวตน

2,015.83

1,892.27

-6.1%

9.29

9.86

6.2%

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

87.26

80.14

-8.2%

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

16,307.01

29,402.31

80.3%

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

% เปลี่ยนแปลง


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 114

หนี้สิน

หนี้สินหมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีหนี้สินหมุนเวียนเท่ากับ 1,654.36 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 34.6 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก (1) การลดลงของเจ้าหนี้ค่าก่อสร้างโครงการ ซึ่งเป็นการช�ำระค่าก่อสร้างโครงการ Nagi ประเทศญี่ปุ่น และโครงการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส�ำหรับสหกรณ์การเกษตร (2) ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯ มีเงินปันผลระหว่างกาลค้างจ่าย จ�ำนวน 298.49 ล้านบาท ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานในไตรมาสที่ 3 ปี 2559 และจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2560 ขณะที่ ณ สิ้นปี 2560 ไม่มีเงินปันผลค้างจ่าย รายละเอียดหนี้สินหมุนเวียน รายการ

(ล้านบาท) 2559

2560

% เปลี่ยนแปลง

เจ้าหนี้ค่าก่อสร้างโครงการ

176.46

-

-100.0%

เจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น

335.70

229.66

-31.6%

21.53

3.56

-83.5%

298.49

-

-100.0%

89.77

88.88

-1.0%

1,103.96

1,326.35

20.1%

502.16

-

-100.0%

ภาษีเงินได้ค้างจ่าย

0.72

5.90

723.0%

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

1.26

-

-100.0%

รวมหนี้สินหมุนเวียน

2,530.04

1,654.36

-34.6%

เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เงินปันผลค้างจ่าย เงินกู้ยมื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระในหนึง่ ปี ประมาณการหนี้สินหมุนเวียนอื่น

หนี้สินไม่หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีหนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็น 16,075.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 70.3 เทียบกับสิ้นปี 2559 โดยมีสาเหตุ หลักมาจากเบิกรับเงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงินส�ำหรับลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ ประเทศอินโดนีเซีย รายละเอียดหนี้สินไม่หมุนเวียน รายการ เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงงาน ประมาณการหนี้สินส�ำหรับต้นทุนในการรื้อถอน หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

(ล้านบาท) % เปลี่ยนแปลง

2559

2560

8,956.49

15,613.15

74.3%

450.89

412.59

9.3%

4.55

13.23

190.4%

29.87

32.83

9.9%

-

4.14

n.a.

9,441.80

16,075.94

70.3%


115

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีส่วนของผู้ถอื หุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 14,368.79 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3 เทียบกับสิ้นปี 2559 โดยมีสาเหตุ หลักมาจากก�ำไรสะสมที่เพิ่มขึ้นเป็น 1,477.01 ล้านบาท จากผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษทั ฯ และทุนเรียกช�ำระที่เพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิซื้อ หุ้นตามเงื่อนไขของใบส�ำคัญแสดงสิทธิของ โครงการ ESOP รายละเอียดส่วนของผู้ถือหุ้น

(ล้านบาท)

รายการ

2559

2560

% เปลี่ยนแปลง

ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว

9,950.00

9,961.52

0.1%

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

2,820.90

2,849.33

1.0%

41.03

41.03

0.0%

655.72

1,477.01

125.2%

-

27.22

n.a.

48.91

12.67

-74.1%

13,516.56

14,368.79

6.3%

0.15

0.15

0.0%

13,516.71

14,368.93

6.3%

ส่วนเกินทุนจากการจัดโครงสร้างภายใต้การควบคุมเดียวกัน ก�ำไรสะสม ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น องค์ประกอบอืน่ ของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ

ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพคล่องโดยรวมลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นปี 2559 ซึง่ เป็นผลมาจากเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดลดลงจากการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นตามจ�ำนวน โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่พฒ ั นาแล้วเสร็จ และส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุน อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน เท่ากับ 1.23 เท่า อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ รายการ

2559

2560

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

3.63

1.63

อัตราผลตอบแทนจากทรัพย์สนิ

6.0%

6.7%

อัตราหนี้สินต่อทุน (เท่า)

0.89

1.23


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 116

กระแสเงินสดของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ สิ้นปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เท่ากับ 2,003.98 ล้านบาท ลดลง 5,357.18 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นปี 2559 เนื่องจากเงินสดส่วนใหญ่ใช้ในการช�ำระคืนเงินกู้ การลงทุนโครงการต่างๆ และดอกเบี้ย รวมถึงเงินปันผลจ่าย รายละเอียดการได้มา (ใช้ไป) ของเงินสดในแต่ละกิจกรรม รายการ

2559

2560

เงินสดสุทธิจากการด�ำเนินงาน

1,961.05

2,351.43

เงินสดสุทธิจากการการลงทุน

-4,873.87

-13,026.38

เงินสดสุทธิจากการจัดหาเงินทุน

9,364.98

5,362.24

6,452.16

-5,312.71

เงินสดสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม

974.62

7,361.16

ผลกระทบอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือ ณ สิ้นงวด

-65.62

-44.47

7,361.16

2,003.98

เงินสดเพิ่มขึ้น/ลดลง สุทธิ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิ้นงวด

ปัจจัยหลักที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ กลุ่มบริษัทฯ คาดว่าจะมีปัจจัยหลักที่จะสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในอนาคต ได้แก่ (1) การปรับเพิ่มขึ้นของค่าไฟฟ้าพื้นฐาน (Ft) จะส่งผลให้รายได้จากการจ�ำหน่ายไฟของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น (2) การแข็งค่าของค่าเงินบาทต่อสกุลเงินเหรียญสหรัฐและเยน จะส่งผลให้บริษทั ฯ มีกำ� ไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจากการด�ำเนินงานรวม ทั้งการแปลงค่างบการเงิน ในกรณีบริษัทฯ มีสถานะหนี้สินในรูปสกุลเงินตราต่างประเทศสุทธิ (3) การลดลงของอัตราดอกเบี้ยจะส่งผลให้ต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯ ลดลง

แนวโน้มการด�ำเนินธุรกิจในปี 2561 ในปี 2561 นั้น บริษทั ฯ ยังคงตั้งเป้าหมายในการเป็นต้นแบบ ผู้เปลี่ยนแปลงโลกด้วยวิถีพลังงานสะอาด โดยการสร้างสรรค์ธุรกิจ พลังงานด้วยนวัตกรรมที่ทันสมัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มีแผนการลงทุนเพือ่ สร้างการเติบโตให้แก่องค์กร โดยมุง่ หวังให้องค์กร สามารถเติบโตได้ทั้งการเติบโตจากธุรกิจปัจจุบัน (organic growth) ดังเช่น การเติบโตจากธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทั้งใน ประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น การร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ จากหลายภาคส่วน การร่วมพัฒนากลยุทธ์การด�ำเนินงานกับโครงการ ที่บริษัทฯ เข้าร่วมลงทุนในประเทศฟิลปิ ปินส์และอินโดนีเชีย รวมทัง้ การเติบโตจากการเข้าซื้อกิจการหรือร่วมทุน (Inorganic growth) และ จากการลงทุนใหม่ (New investment) ส�ำหรับการเติบโตจากภายในตามแผนธุรกิจปัจจุบันมีดังนี้ (1) บริษทั ฯ คาดว่าโครงการโซลาร์ฟาร์ม ส�ำหรับหน่วยงานราชการ และสหกรณ์ ภ าคการเกษตรกับ องค์ ก ารสงเคราะห์ ท หารผ่ า นศึก

ในพระบรมราชูปภัมภ์ (อผศ.) ตั้งอยู่ที่ประเทศไทย จะสามารถเปิด ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ได้ภายในไตรมาสที่ 2/2561 และสามารถรับรู้ รายได้ด้วยอัตราการรับซื้อไฟฟ้าที่ 4.12 บาท-kWh เป็นระยะเวลา 25 ปี โดยมีก�ำลังการผลิตตามสัญญาที่ 8.9 เมกะวัตต์ (2) บริษัทฯ คาดว่าโครงการโซลาร์ฟาร์ม Gotemba ตั้งอยู่ที่ แขวง Shizuoka ประเทศญี่ปุ่น จะสามารถเปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ ได้ภายในไตรมาสที่ 1 ของปี 2561 ทัง้ นี้โครงการนี้ได้ทดลองจ่ายไฟ เข้าระบบเรียบร้อยแล้ว ส�ำหรับก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม อยู่ที่ 4.0 เมกะวัตต์ อายุสญ ั ญา 20 ปี และมีอัตราการรับซื้อไฟแบบ Feed-in-Tariff ที่ 32 เยน-kWh (3) การร่วมเป็นพันธมิตรกับพันธมิตรทางธุรกิจ อาทิเช่น (1) บริษัทฯ ได้ร่วมบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับบริษทั แสนสิริ จ�ำกัด (มหาชน) เพือ่ พัฒนาชุมชน Smart Green Energy Community โดย บริษัทฯ คาดว่ าโครงการดังกล่ าวจะสามารถเปิ ดด�ำเนินการเชิง


117

พาณิชย์ได้ในช่วงกลางปี 2561 และนับเป็นโครงการน�ำร่องส�ำหรับ โครงการอื่นของกลุ่มบริษัทฯ ต่อไป (2) บริษัทฯ ยังได้ร่วมบันทึกข้อ ตกลงความร่วมมือกับบริษทั Power Ledger จากประเทศออสเตรเลีย เพื่อน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาเป็นกลไกลในการบริหารจัดการซื้อ ขายไฟผ่านอินเตอร์เน็ตแบบ P2P เพื่อเป็นการพัฒนาต่อยอดให้กับ ชุมชน Smart Green Energy Community โดยโครงการน�ำร่องนี้น่าจะ เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ได้ในช่วงปลายปี 2561 (3) การจับมือกับ พันธมิตร 6 หน่วยงาน เพื่อลงนามข้อตกลงกับการนิคมอุตสาหกรรม แห่ ง ประเทศไทย เพื่ อ พั ฒ นานิ ค มอุ ต สาหกรรมในพื้ น ที่ ร ะเบี ย ง เศรษฐกิจภาคตะวันออกหรือ Eastern Economic Corridor ให้เป็นนิคม อุตสาหกรรม Smart Park ซึ่งจะเป็นนิคมอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงาน สะอาด พัฒนาอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมเพือ่ ความยัง่ ยืน และใช้เทคโนโลยีข้นั สูงหรือนวัตกรรมในการต่อยอด โดยบริษทั ฯ จะ เป็นผู้ดำ� เนินการบริหารพลังงานทดแทนรวมทั้งร่วมลงทุนในโครงการ พลังงานทดแทน (4) การร่วมพัฒนากลยุทธ์การด�ำเนินงานกับโครงการที่ทาง บริษัทฯ ได้เข้าร่วมลงทุนในประเทศฟิลิปปินส์และอินโดนีเชีย โดย ผู้บริหารระดับสูง 2 ท่าน ของบริษัทฯ ได้เข้าร่วมการประชุมคณะ กรรมการบริษัททั้งในโครงการในประเทศฟิลิปปินส์และอินโดนีเชีย

ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน

โดยรูปแบบการประชุมนั้นแบ่งออกเป็น การประชุมรายเดือน ซึ่ง เป็นการจัดการประชุมผ่านทางโทรศัพท์ (Conference Call) และการประชุม รายไตรมาส ซึง่ ผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องเดินทางไปประชุมด้วยตนเอง ส�ำหรับการเติบโตจากการเข้าซื้อกิจการ การร่วมทุน หรือการ ลงทุนใหม่นั้น บริษัทฯ ให้ความสนใจในธุรกิจพลังงานสะอาดในรูป แบบอืน่ ทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโตและสอดคล้องกับทิศทางการเติบโต ของบริษัท ดังเช่น การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม การผลิตไฟฟ้า จากพลังงานน�้ำ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวมวลหรือชีวภาพ ฯลฯ เป็นต้น โดยบริษัทฯ ใช้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ของโครงการ (EIRR) ในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ที่จะลงทุน โดย EIRR นั้นจะต้องอยู่ประมาณร้อยละ 12 – 15 บริษัทฯ ประมาณการเติบโตส�ำหรับปี 2561 ไว้ดังนี้ - รายได้จากการขายและบริการคาดว่า เพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 10 - EBITDA (รวมส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมและ บริษัทย่อย) คาดว่าเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 15-20 - เงินลงทุน ประมาณ 10,000 ล้านบาท - ข้อจ�ำกัดทางการเงิน (Covenant) หนี้สิน/ทุน ≤ 3 เท่า

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รบั ผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะกิจการและงบการเงินรวมของบริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําปี 2560 ซึ่งจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่ได้พิจารณาเลือก ใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังในการประมาณการที่สมเหตุสมผล รวมทั้งมีการ เปิดเผยข้อมูลสําคัญอย่างเพียงพอและโปร่งใส ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เหมาะสม เพื่อให้มั่นใจ ได้ว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน ทันเวลา และเพียงพอ ที่จะดํารงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัทฯ ตลอดจนป้องกัน การทุจริตหรือการดําเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสําคัญ โดยคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อทําหน้าที่ก�ำกับดูแลสอบทานความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของรายงาน ทางการเงิน ประเมินระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล และการเปิดเผยรายการระหว่างกัน กับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนการปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ปรากฏ ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจําปีฉบับนี้ คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในของบริษัท สามารถสร้างความเชื่อมั่นได้อย่าง สมเหตุสมผลว่า งบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษทั บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มี ความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

(นายพิชัย ชุณหวชิร)

(นายบัณฑิต สะเพียรชัย)

ประธานกรรมการ

กรรมการผู้จัดการใหญ่


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 118

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินส�ำหรับปีนี้สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เสนอผู้ถือหุ้นบริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) และ ของเฉพาะบริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามล�ำดับ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะ กิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุน เฉพาะกิจการ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบ กระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสด เฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการบัญชีท่ี ส�ำคัญและเรื่องอื่นๆ ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุม่ บริษทั และบริษทั ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิดชอบของ ผูส้ อบบัญชีตอ่ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุม่ บริษทั และบริษทั ตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่า หลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้น�ำเรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทัง้ นีข้ ้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากส�ำหรับเรือ่ งเหล่านี้


119

งบการเงิน

การซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วม อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ก) และ 11 เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ

ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวอย่างไร

ในระหว่างปี 2560 กลุม่ บริษทั ได้เข้าซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ร่วม 2 แห่ง ซึง่ ด�ำเนินธุรกิจพลังงานทางเลือกในต่างประเทศกลุม่ บริษทั ได้ท�ำการ ประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มา โดยกลุ่มบริษทั ซื้อ เงินลงทุนในบริษัทร่วมดังกล่าวในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรมจึง รับรู้เป็นส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม เนื่องจากความมีสาระส�ำคัญของรายการและเกี่ยวข้องกับการใช้ ดุลยพินิจที่ส�ำคัญและมีความซับซ้อนในการประเมินมูลค่ายุติธรรม ข้าพเจ้าจึงถือเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบของข้าพเจ้า

วิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้ารวมถึง - ประเมินความเหมาะสมของการระบุสินทรัพย์สุทธิที่ได้มา ณ วันที่ซื้อธุรกิจ รวมถึงการท�ำความเข้าใจขั้นตอนการก�ำหนดมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิท่ไี ด้มาที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร - ประเมินความเป็นอิสระและความรู้ความสามารถของผู้ประเมิน ราคาอิสระ - การหารือผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินมูลค่าของเคพีเอ็มจี ใน การประเมินความเหมาะสมของวิธกี ารประเมินมูลค่าและค่าตัวแปร ทางการเงินที่ใช้ในการก�ำหนดอัตราคิดลด - ประเมินความเหมาะสมของข้อสมมติที่ส�ำคัญในการประมาณ มูลค่ายุติธรรมโดยอ้างอิงจากข้อมูลทั้งภายในและภายนอก และ ทดสอบการค�ำนวณ - พิจารณาความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน

ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น ข้าพเจ้าขอให้สงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 กลุ่มบริษัทได้จ้างผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อหามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิ ที่ได้มาจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วมในประเทศอินโดนีเซีย อย่างไรก็ตามการประเมินราคายังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นมูลค่าที่รับรู้รวมถึง การปันส่วนยังไม่เป็นที่สิ้นสุดและอาจมีการปรับปรุง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผลของการประเมินราคาจากผู้ประเมินราคาอิสระ ทั้งนี้ข้าพเจ้ามิได้แสดง ความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในเรื่องนี้ ข้อมูลอื่น ผู้บริหารเป็นผู้รบั ผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วยข้อมูลซึ่งรวมอยู่ในรายงานประจ�ำปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและงบการ เงินเฉพาะกิจการและรายงานของผูส้ อบบัญชีทอี่ ยูใ่ นรายงานนัน้ ซึง่ คาดว่ารายงานประจ�ำปีจะถูกจัดเตรียมให้ขา้ พเจ้าภายหลังวันทีใ่ นรายงาน ของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมั่น ต่อข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ คือ การอ่านข้อมูลอื่นตามที่ระบุ ข้างต้นเมื่อจัดท�ำแล้ว และพิจารณาว่าข้อมูลอื่นมีความขัดแย้งที่มีสาระส�ำคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการหรือกับความรู้ที่ ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารมีหน้าทีผ่ ดิ ชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านีโ้ ดยถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 120

ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม่ บริษทั และบริษทั ในการ ด�ำเนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ� หรับการด�ำเนินงานต่อ เนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทและบริษัท หรือหยุดด�ำเนินงานหรือไม่สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทและบริษัท ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของ ผู้สอบบัญชีซ่งึ รวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการ ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบ ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระส�ำคัญเมื่อคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพ ตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง • ระบุและประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี ารตรวจสอบเพือ่ ตอบสนองต่อความเสีย่ งเหล่านัน้ และ ได้หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสีย่ งทีไ่ ม่พบข้อมูลทีข่ ดั ต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญซึง่ เป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสีย่ งทีเ่ กิดจากข้อผิดพลาดเนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับ การสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการ แทรกแซงการควบคุมภายใน • ท�ำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทและบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูล ที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร • สรุปเกีย่ วกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ� หรับการด�ำเนินงานต่อเนือ่ งของผูบ้ ริหารและจากหลักฐานการสอบบัญชีที่ ได้รบั สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม่ สี าระส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ทอี่ าจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อ ความสามารถของกลุ่มบริษัทและบริษัทในการด�ำเนินงานต่อเนื่องหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ข้อสังเกตถึงการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการทีเ่ กีย่ วข้อง หรือถ้าการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลีย่ นแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้า ขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทและบริษทั ต้องหยุดการด�ำเนินงานต่อเนื่อง • ประเมินการน�ำเสนอโครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณ์ในรูปแบบทีท่ ำ� ให้มกี ารน�ำเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามทีค่ วรหรือไม่ • ได้รบั หลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอเกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุม่ หรือกิจกรรมทางธุรกิจภายใน กลุ่มบริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบัติงาน ตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็นผู้รบั ผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า


121

งบการเงิน

ข้าพเจ้าได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลในเรือ่ งต่าง ๆ ทีส่ ำ� คัญซึง่ รวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยส�ำคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการ ตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้ค�ำรับรองแก่ผมู้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็นอิสระและได้ สือ่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธ์ทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่า กระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเป็นอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่างๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบันและก�ำหนดเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่า ไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบ มากกว่าผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว

(ณัฐพงศ์ ตันติจัตตานนท์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 8829 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 27 กุมภาพันธ์ 2561


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 122

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิ น และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม สินทรัพย

หมายเหตุ

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2560 2559

2559 (บาท)

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา เงินปนผลคางรับ ลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

6 7 8 5 5, 9 5

2,003,983,515 507,242,620 182,714,516 2,977,199 2,696,917,850

7,361,159,641 700,000,000 486,395,212 632,785,367 1,205,016 9,181,545,236

205,697,788 117,217,387 92,400,000 183,837,465 2,840,208 601,992,848

5,754,696,857 700,000,000 116,737,714 72,141,900 2,932,760,113 1,148,697 9,577,485,281

5, 10 11 12 13 5

13,529,716,547 13,890,324,481 1,892,266,769 9,861,766 80,140,466 29,402,310,029

14,194,632,358 2,015,829,724 9,288,228 87,261,329 16,307,011,639

6,353,336,375 11,956,425,502 2,983,038,304 56,824,554 4,463,764,713 9,737,577 1,714,500 25,824,841,525

6,353,336,375 3,100,874,459 18,645,954 260,000,000 9,231,696 9,742,088,484

32,099,227,879

25,488,556,875

26,426,834,373

19,319,573,765

รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 6


123

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิ น และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2560 2559

2559 (บาท)

หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้คากอสรางโครงการ เจาหนี้อื่น เจาหนี้เงินประกันผลงาน เงินปนผลคางจาย เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งป ภาษีเงินไดคางจาย ประมาณการหนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินไมหมุนเวียน สําหรับผลประโยชนพนักงาน ประมาณการหนี้สินสําหรับตนทุนในการรื้อถอน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

5, 14 5 15 15 4

15

รวมหนี้สิน

229,659,813 3,559,655 88,883,931

176,464,040 335,697,831 21,531,415 298,489,620 89,768,786

91,583,744 1,048,282 -

44,767,285 298,489,620 -

1,326,354,784 5,899,509 1,654,357,692

1,103,961,836 716,866 502,155,651 1,255,803 2,530,041,848

1,017,430,714 1,110,062,740

825,721,917 1,255,803 1,170,234,625

15,613,152,350 412,594,378

8,956,491,916 450,886,860

11,960,977,806 -

4,950,965,781 -

13,227,736 32,827,078 4,135,304 16,075,936,846

4,554,593 29,870,196 9,441,803,565

4,203,912 4,135,304 11,969,317,022

1,674,509 4,952,640,290

17,730,294,538

11,971,845,413

13,079,379,762

6,122,874,915

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 7


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 124

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิ น และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2560 2559

2559 (บาท)

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ สวนเกินทุนจากการจัดโครงสรางธุรกิจ ภายใตการควบคุมเดียวกัน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวนของบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของผูถือหุน

16 10,000,000,000 9,961,521,535

10,000,000,000 9,950,000,000

10,000,000,000 9,961,521,535

10,000,000,000 9,950,000,000

17

2,849,332,559

2,820,904,051

2,849,332,559

2,820,904,051

17 16

41,025,877 27,224,284

41,025,877 -

27,224,284

17

159,463,298 1,317,546,653 12,672,181 14,368,786,387 146,954 14,368,933,341

95,537,415 560,183,035 48,914,130 13,516,564,508 146,954 13,516,711,462

159,463,298 349,912,935 13,347,454,611 13,347,454,611

95,537,415 330,257,384 13,196,698,850 13,196,698,850

32,099,227,879

25,488,556,875

26,426,834,373

19,319,573,765

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

(นายพิชัย ชุณหวชิร) ประธานกรรมการ

(นายบัณฑิต สะเพียรชัย) กรรมการผูจัดการใหญ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8

-


125

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพีจี จํน ากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบก�ำไรขาดทุ งบกําไรขาดทุน

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 (บาท)

รายได

รายไดจากการขายและบริการ รายไดดอกเบี้ยและเงินปนผล กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ กําไรจากการจําหนายสินทรัพย กําไรจากการตอรองราคาซื้อ รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการบริหาร ขาดทุนจากสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ตนทุนทางการเงิน รวมคาใชจาย

5, 19, 26 5, 20

4

5 5, 21

5, 24

สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรกอนภาษีเงินได คาใชจาย (รายได) ภาษีเงินได กําไรสําหรับป

11

กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

27

25

กําไรตอหุนปรับลด (บาท)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

9

3,322,481,229 40,940,605 72,440,984 42,729,195 161,328,524 3,639,920,537

3,083,912,597 26,763,521 226,592,414 43,099,031 3,380,367,563

733,761,049 1,741,481,270 69,430,433 8,392 1,710,128 2,546,391,272

746,846,899 1,564,049,275 348,931 2,311,245,105

968,472,025 658,882,465 304,188,178 436,052,229 2,367,594,897

822,261,990 600,170,392 86,340,577 349,320,373 1,858,093,332

247,116,454 416,697,061 304,188,178 300,452,808 1,268,454,501

231,551,520 327,162,842 82,438,717 237,609,770 878,762,849

749,434,539 2,021,760,179 5,609,460 2,016,150,719

1,522,274,231 (19,051,046) 1,541,325,277

1,277,936,771 (505,881) 1,278,442,652

1,432,482,256 (8,730,105) 1,441,212,361

1.01

1.10

0.64

1.03

1.01

1.10

0.64

1.03


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 126

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท บีซีพีจี จํน ากัเบ็ ด (มหาชน) งบก�ำไรขาดทุ ดเสร็จ และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 กําไรสําหรับป

2,016,150,719

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่อาจถูกจัดประเภทรายการใหมไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน รวมรายการที่อาจถูกจัดประเภทใหมไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559

(บาท) 1,541,325,277 1,278,442,652

(16,236,049) (16,236,049)

48,914,130 48,914,130

รายการที่จะไมถูกจัดประเภทรายการใหมไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกําไรจากการวัดมูลคาใหมของผลประโยชนพนักงานที่กําหนดไว สวนแบงกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทรวม รวมรายการที่จะไมถูกจัดประเภทใหมไวในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป - สุทธิจากภาษี กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

(20,005,900) (20,005,900) (36,241,949) 1,979,908,770

17,216 17,216 48,931,346 1,590,256,623

1,278,442,652

17,216 17,216 17,216 1,441,229,577

การแบงปนกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

1,979,908,770 1,979,908,770

1,590,256,623 1,590,256,623

1,278,442,652 1,278,442,652

1,441,229,577 1,441,229,577

(นายพิชัย ชุณหวชิร) ประธานกรรมการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

1,441,212,361

(นายบัณฑิต สะเพียรชัย) กรรมการผูจัดการใหญ

10

-


ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

9,950,000,000

-

17

โอนไปสํารองตามกฎหมาย

6,250,000,000 -

4

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไรหรือขาดทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

การเปลี่ยนแปลงในสวนไดเสียในบริษัทยอย การไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมการเปลี่ยนแปลงในสวนไดเสียในบริษัทยอย รวมรายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

6,250,000,000 6,250,000,000

รายการกับผูเปนผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน เพิ่มหุนสามัญ เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน

16, 17 28

3,700,000,000

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุนที่ ออกและชําระแลว

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

2,820,904,051

-

-

2,820,904,051

2,820,904,051 2,820,904,051

-

สวนเกินมูลคาหุน สามัญ

41,025,877

-

-

-

-

41,025,877

สวนเกินทุนจาก การจัดโครงสราง ธุรกิจภายใตการ ควบคุมเดียวกัน

95,537,415

95,537,415

-

-

-

-

ทุนสํารองตามกฎหมาย

560,183,035

(95,537,415)

1,541,325,277 17,216 1,541,342,493

(1,074,587,670)

(1,074,587,670) (1,074,587,670)

188,965,627

ยังไมไดจัดสรร (บาท)

กําไรสะสม

งบการเงินรวม

48,914,130

-

48,914,130 48,914,130

-

-

-

การแปลงคา งบการเงิน

องคประกอบ อื่นของสวน ของผูถือหุน

13,516,564,508

-

1,541,325,277 48,931,346 1,590,256,623

7,996,316,381

9,070,904,051 (1,074,587,670) 7,996,316,381

3,929,991,504

รวมสวนของผูถือ หุนของบริษัทใหญ

146,954

-

-

146,954 146,954 146,954

-

-

13,516,711,462

-

1,541,325,277 48,931,346 1,590,256,623

146,954 146,954 7,996,463,335

9,070,904,051 (1,074,587,670) 7,996,316,381

3,929,991,504

สวนของสวนได เสียที่ไมมีอํานาจ รวมสวนของผูถือ หุน ควบคุม

127 งบการเงิน


ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

9,961,521,535

-

17

โอนไปสํารองตามกฎหมาย

11,521,535 11,521,535 11,521,535

9,950,000,000

-

16, 17 16 28

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุนที่ ออกและชําระแลว

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไรหรือขาดทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป

รายการกับผูเปนผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน หุนทุนออกใหตามสิทธิ การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน รวมรายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

2,849,332,559

-

-

28,428,508 28,428,508 28,428,508

2,820,904,051

สวนเกินมูลคาหุน สามัญ

41,025,877

-

-

-

41,025,877

สวนเกินทุนจาก การจัดโครงสราง ธุรกิจภายใตการ ควบคุมเดียวกัน

27,224,284

-

-

(12,593,430) 39,817,714 27,224,284 27,224,284

-

ใบสําคัญ แสดงสิทธิที่ จะซื้อหุนสามัญ

159,463,298

63,925,883

-

-

95,537,415

ทุนสํารองตามกฎหมาย

1,317,546,653

(63,925,883)

2,016,150,719 2,016,150,719

(1,194,861,218) (1,194,861,218) (1,194,861,218)

560,183,035

ยังไมไดจัดสรร (บาท)

กําไรสะสม

งบการเงินรวม

32,678,081

-

(16,236,049) (16,236,049)

-

48,914,130

(20,005,900)

-

(20,005,900) (20,005,900)

-

-

12,672,181

-

(36,241,949) (36,241,949)

-

48,914,130

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน สวนแบงกําไร รวม ขาดทุน องคประกอบ การแปลงคา เบ็ดเสร็จอื่น อื่นของสวน งบการเงิน ในบริษัทรวม ของผูถือหุน

14,368,786,387

-

2,016,150,719 (36,241,949) 1,979,908,770

27,356,613 39,817,714 (1,194,861,218) (1,127,686,891) (1,127,686,891)

13,516,564,508

146,954

-

-

-

146,954

สวนของสวนได รวมสวนของผูถือ เสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุม หุนของบริษัทใหญ

14,368,933,341

-

2,016,150,719 (36,241,949) 1,979,908,770

27,356,613 39,817,714 (1,194,861,218) (1,127,686,891) (1,127,686,891)

13,516,711,462

รวมสวนของผู ถือหุน

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 128


129

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี นแปลงส่ บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน)่ยและบริ ษัทยอย วนของผู้ถือหุ้น งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 รายการกับผูเปนผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน เพิ่มหุนสามัญ เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมรายการกับผูเปนผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

3,700,000,000

16, 17 28

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไรหรือขาดทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป โอนไปสํารองตามกฎหมาย

ทุนเรือนหุนที่ออก และชําระแลว

17

6,250,000,000 6,250,000,000

ใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญ

สวนเกิน มูลคาหุน

-

2,820,904,051 2,820,904,051

กําไรสะสม ทุนสํารองตาม กฎหมาย (บาท)

ยังไมไดจัดสรร

รวมสวนของ ผูถือหุน

-

-

59,152,892

3,759,152,892

-

-

(1,074,587,670) (1,074,587,670)

9,070,904,051 (1,074,587,670) 7,996,316,381

-

1,441,212,361 17,216 1,441,229,577

1,441,212,361 17,216 1,441,229,577

-

-

-

-

-

-

95,537,415

(95,537,415)

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

9,950,000,000

2,820,904,051

-

95,537,415

330,257,384

13,196,698,850

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

9,950,000,000

2,820,904,051

-

95,537,415

330,257,384

13,196,698,850

11,521,535 11,521,535

28,428,508 28,428,508

-

(1,194,861,218) (1,194,861,218)

27,356,613 39,817,714 (1,194,861,218) (1,127,686,891)

-

1,278,442,652 1,278,442,652

1,278,442,652 1,278,442,652

รายการกับผูเปนผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนและการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุน หุนทุนออกใหตามสิทธิ การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท รวมรายการกับผูเปนผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน

16, 17 16 28

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป กําไรหรือขาดทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

17

(12,593,430) 39,817,714 27,224,284

-

-

-

-

-

-

9,961,521,535

2,849,332,559

27,224,284

63,925,883

(63,925,883)

159,463,298

349,912,935

13,347,454,611


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 130

บริบริ ษัทษัทบีบีซซีพีพีจีจี จํี าจ�ำกั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย กัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับป รายการปรับปรุง คาใชจาย (รายได) ภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้น ประมาณการหนี้สินสําหรับผลประโยชนพนักงาน การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ รายไดดอกเบี้ยและเงินปนผล สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิจากภาษี) กําไรจากการตอรองราคาซื้อ กลับรายการประมาณการหนี้สิน (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพย การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น ภาษีมูลคาเพิ่มรอขอคืน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เจาหนี้เงินประกันผลงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี้สินไมหมุนเวียนสําหรับผลประโยชน พนักงาน กระแสเงินสดสุทธิไดมาจากการดําเนินงาน ภาษีเงินไดจายออก กระแสเงินสดสุทธิไดมาจากการดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

2,016,150,719

1,541,325,277

1,278,442,652

1,441,212,361

5,609,460 436,052,229 702,196,644 55,184,657 9,101,296 39,817,714 (40,940,605) (749,434,539) (137,121,038) (42,729,195) 2,293,887,342

(19,051,046) 349,320,373 601,519,224 53,001,763 4,718,438 (26,763,521) (226,592,414) 107,847 2,277,585,941

(505,881) 300,452,808 164,918,801 60,266,420 2,529,403 39,817,714 (1,741,481,270) (8,392) 104,432,255

(8,730,105) 237,609,770 162,142,973 52,987,875 1,576,634 (1,564,049,275) 322,750,233

(22,481,737) 75,274,241 4,248,964 24,836,955 (17,971,760) 2,879,501

(20,513,785) (82,467,406) (1,877,442) (31,952,231) (190,421,851) 10,636,807 19,362,759 -

(479,673) (9,459,299) 46,526,286 1,048,282 2,879,501

(47,771,265) (3,534,488) 286,420 (13,597,503) 1,603,553 -

2,360,673,506 (9,244,073) 2,351,429,433

(6,424,855) 1,973,927,937 (12,873,834) 1,961,054,103

144,947,352 (1,691,511) 143,255,841

259,736,950 (1,129,673) 258,607,277

14


131

งบการเงิน

บริบริ ษัทษัทบีบีซซีพีพีจีจี จํี าจ�ำกั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย กัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ เงินลงทุนชั่วคราว (เพิ่มขึ้น) ลดงลง เงินปนผลรับ เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพย เงินสดจายเพื่อซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายเพื่อการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ตนทุนทางการเงินจาย เงินปนผลจายใหผูถือหุนของบริษัท เงินสดจายเพื่อชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดจายเพื่อชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายเพื่อชําระเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจายเพื่อชําระเงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายเพื่อลดจํานวนหนี้สินซึ่งเกิดขึ้นจากสัญญาเชาการเงิน เงินสดรับจากการออกหุนทุน เงินสดรับจากหุนทุนออกใหตามสิทธิ เงินสดรับจากการออกหุนสามัญในบริษัทยอย กระแสเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ กอนผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยน ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนที่มีตอเงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

47,895,472 700,000,000 (836,475,543) 484,278,041 (62,636,681) (13,359,443,202) (13,026,381,913)

20,106,026 (700,000,000) (3,053,443,242) (177,797,881) (962,736,249) (4,873,871,346)

52,550,255 700,000,000 1,492,550,000 (44,584,208) 10,841 (42,009,086) (126,216,924) (1,420,073,319) (11,956,425,502) (11,344,197,943)

13,907,321 (700,000,000) 1,489,071,000 (21,097,943) (400,000) (3,115,723,426) (260,000,000) (19,999,850) (2,614,242,898)

(455,739,690) (1,493,350,838) (88,214,444) 8,847,773,966 (1,475,581,480) 27,356,613 5,362,244,127

(476,907,590) (776,098,050) (82,099,429) (830,000,000) 89,687,052 620,000,000 8,569,332,776 1,500,000,000 (801,668,686) (7,518,000,000) (172,627) 9,070,904,051 150 9,364,977,647

(310,233,492) (1,493,350,838) 8,530,999,400 (1,104,988,105) 27,356,613 5,649,783,578

(301,666,497) (776,098,050) (830,000,000) 620,000,000 6,551,250,000 1,500,000,000 (568,913,875) (7,518,000,000) 9,070,904,051 7,747,475,629

(5,312,708,353)

6,452,160,404

(5,551,158,524)

5,391,840,008

(44,467,773) (5,357,176,126) 7,361,159,641 2,003,983,515

(65,619,635) 6,386,540,769 974,618,872 7,361,159,641

2,159,455 (5,548,999,069) 5,754,696,857 205,697,788

(2,100,784) 5,389,739,224 364,957,633 5,754,696,857

15


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 132

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงินนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ การซื้อธุรกิจ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เจาหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ทุนเรือนหุน สวนเกินทุนและสํารอง สวนงานดําเนินงาน รายไดจากการขายและบริการ รายไดดอกเบี้ยและเงินปนผล คาใชจายในการบริหาร คาใชจายผลประโยชนของพนักงาน คาใชจายตามลักษณะ ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน กําไรตอหุน เงินปนผล เครื่องมือทางการเงิน

16


133

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงินนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 หมายเหตุ

สารบัญ

30 31

ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน

17

งบการเงิน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 134

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธัน วาคม หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2561 1

ขอมูลทั่วไป บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 และ มีที่ อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร ชั้น 12 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนงใต เขตพระโขนง จังหวัด กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2559 บริษัทใหญในระหวางปไดแกบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)) ซึ่งเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย บริษัทและบริษัทยอยดําเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยและการลงทุนใน ธุรกิจพลังงานทางเลือก รายละเอียดของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 และ 10

2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน

(ก) เกณฑการถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่ เกี่ยวของ สภาวิชาชีพ บั ญ ชีไดออกและปรับ ปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับ ใชตั้งแต รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุงใหมนั้น มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุมบริษัทในบางเรื่อง การเปลี่ยนแปลงนี้ไมมี ผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงิน

18


135

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 นอกเหนื อ จากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่อ อกและปรับ ปรุงใหมข างตน สภาวิชาชี พ บั ญ ชีไดอ อกและ ปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2561 เปนตนไป และไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ กลุมบริษัทไดประเมินในเบื้องตนถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตองบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ จากการ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่ อ อกและปรับ ปรุ งใหม เหล านี้ ซึ่ ง คาดว าไม มี ผ ลกระทบที่ มี สาระสําคัญตองบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ (ข) เกณฑการวัดมูลคา งบการเงินนี้จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวในนโยบายการบัญชี (ค) สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาทซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของบริษัท (ง)

การใชวิจารณญาณและการประมาณการ ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชวิจารณญาณ การประมาณ และขอสมมติหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเปนตนไป ขอมูลเกี่ยวกับขอสมมติและความไมแนนอนของการประมาณการที่สําคัญซึ่งมีความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญที่เปนเหตุ ใหตองมีการปรับปรุงจํานวนเงินที่รับรูในงบการเงิน ประกอบดวยหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้ หมายเหตุขอ 4, 11

หมายเหตุขอ 3 (ฏ)

การซื้อธุรกิจ ซึ่งการวัดมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให (รวม สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจาย) และมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ ไดมาและหนี้สินที่รับมา วัดมูลคาโดยใชเกณฑการประมาณการ การวั ด มู ล ค าภาระผู ก พั น ของโครงการผลประโยชน ที่ กํ าหนดไว เกี่ ยวกับ ขอสมมติห ลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร ประกันภัย 19


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 136

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธัน วาคม หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 การวัดมูลคายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปดเผยขอมูลของกลุมบริษัทหลายขอกําหนดใหมีการวัดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและ หนี้สินทางการเงินและไมใชทางการเงิน เมื่อวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สิน กลุมบริษัทไดใชขอมูลที่สามารถสังเกตไดใหมากที่สุดเทาที่จะทําได มูลคายุติธรรมเหลานี้ถูกจัดประเภทในแตละลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมตามขอมูลที่ใชในการประเมินมูลคา ดังนี้   

ขอมูลระดับ 1 เปนราคาเสนอซื้อขาย (ไมตองปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคลองสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สิน อยางเดียวกัน ขอมูลระดับ 2 เปนขอมูลอื่นที่สังเกตไดโดยตรง (เชน ราคาขาย) หรือโดยออม (เชน ไดมาจากราคา) สําหรับ สินทรัพยนั้นหรือหนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยูในขอมูลระดับ 1 ขอมูลระดับ 3 เปนขอมูลสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่ไมไดมาจากขอมูลที่สามารถสังเกตได (ขอมูลที่ไม สามารถสังเกตได)

หากขอมูลที่นํามาใชในการวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สินถูกจัดประเภทลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมที่ แตกตางกัน การวัดมูลคายุติธรรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามลําดับชั้นของมูลคา ยุติธรรมของขอมูลที่อยูในระดับต่ําสุดที่มีนัยสําคัญสําหรับการวัดมูลคายุติธรรมโดยรวม ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอสมมติที่ใชในการวัดมูลคายุติธรรม แสดงในหมายเหตุขอ 29 3

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังตอไปนี้ไดถอื ปฏิบัติโดยสม่ําเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

(ก) เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท และบริษัทยอย (รวมกันเรียกวา “กลุมบริษัท”) และสวนไดเสีย ของกลุมบริษัทในบริษัทรวม การรวมธุรกิจ กลุมบริษัทบันทึกบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ เมื่อการควบคุมถูกโอนไปยังกลุมบริษัท ยกเวนในกรณีที่ เปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

20


137

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทเปดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับกิจการนั้นและมี ความสามารถในการใชอํานาจเหนือกิจการนั้นทําใหเกิดผลกระทบตอจํานวนเงินผลตอบแทนของกลุมบริษัท วันที่ ซื้อกิจการคือวันที่อํานาจในการควบคุมนั้นไดถูกโอนไปยังผูซื้อ การกําหนดวันที่ซื้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการ โอนอํานาจควบคุมจากฝายหนึ่งไปยังอีกฝายหนึ่งตองใชดุลยพินิจเขามาเกี่ยวของ คาความนิยมถูกวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนใหซึ่งรวมถึงการรับรูจํานวน สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อ หักดวยมูลคาสุทธิ (มูลคายุติธรรม) ของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและ หนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ กําไรจากการซื้อในราคาต่ํากวามูลคายุติธรรมรับรูในกําไรหรือขาดทุนทันที สิ่งตอบแทนที่โอนใหตองวัดดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่โอนไป หนี้สินที่กลุมบริษัทกอขึ้นเพื่อจายชําระ ใหแกเจาของเดิม และสวนไดเสียในสวนของเจาของที่ออกโดยกลุมบริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนใหยังรวมถึง มูลคายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและมูลคาของโครงการจายโดยใชหุนเปนเกณฑที่ออกแทนโครงการของผูถูก ซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หากการรวมธุรกิจมีผลใหสิ้นสุดความสัมพันธของโครงการเดิมระหวางกลุมบริษัทและผูถูกซื้อ ให ใชราคาที่ต่ํากวาระหวาง มูลคาจากการยกเลิกสัญญาตามที่ระบุในสัญญา และมูลคาองคประกอบนอกตลาด ไปหัก จากสิ่งตอบแทนที่โอนใหและรับรูเปนคาใชจายอื่น หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรูเปนหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปจจุบันซึ่ง เกิดขึ้นจากเหตุการณในอดีต และสามารถวัดมูลคายุติธรรมไดอยางนาเชื่อถือ ตน ทุ น ที่เกี่ยวข อ งกับ การซื้ อ ของกลุมบริษัท ที่ เกิดขึ้นซึ่งเป น ผลมาจากการรวมธุรกิจ เชน คาที่ป รึกษากฎหมาย คาธรรมเนียมวิชาชีพและคาที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น หากการบั น ทึ ก บั ญ ชี เมื่ อ เริ่ ม แรกสํ าหรับ การรวมธุ รกิ จไม เสร็ จสมบู รณ ภายในวัน สิ้ น รอบระยะเวลารายงานที่ การรวมธุรกิจเกิดขึ้น กลุมบริษัทประมาณการมูลคาของรายการซึ่งขอมูลทางบัญชียังไมสมบูรณเพื่อรายงาน มูลคา ประมาณการดังกลาวจะถูกปรับปรุง หรือรับรูสินทรัพย หรือหนี้สินเพิ่มเติมในระหวางชวงระยะเวลาในการวัดมูลคา เพื่อสะทอนผลของขอมูลเพิ่มเติมที่ไดรับเกี่ยวกับขอเท็จจริงและสถานการณแวดลอมที่มีอยู ณ วันที่ซื้อ ซึ่งขอมูล ดังกลาวมีผลตอการวัดมูลคาของจํานวนตางๆ ที่เคยรับรูไว ณ วันที่ซื้อ การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใชวิธีเสมือนวาเปนวิธีการ รวมสวนไดเสีย และตามแนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2552 การรวมธุรกิจซึ่งเกิดจากการโอนสวนไดเสียในกิจการภายใตการควบคุมของผูถือหุนซึ่งควบคุมกลุมบริษัท ถือเปน การเขาครอบครองเสมือนวาไดเกิดขึ้นตั้งแตวันตนงวดของปเปรียบเทียบกอนหนาสุดหรือ ณ วันที่มีการรวมธุรกิจ 21


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 138

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธัน วาคม ภายใตการควบคุมเดียวกันแลวแตวันใดจะหลังกวา เพื่อปรับปรุงงบการเงินเปรียบเทียบ สินทรัพยและหนี้สินที่ไดมา จะถูกรับรูดวยมูลคาตามบัญชีของกิจการที่นํามารวมในงบการเงินรวมของกลุมกิจการกอนการรวมธุรกิจเดียวกัน ภายใตการควบคุมเดียวกันสวนประกอบอื่นของสวนของเจาของที่ไดมาจากการรวมธุรกิจถือเปนสวนหนึ่งของสวน ของเจาของกลุมบริษัท เงินสดจายในการรวมธุรกิจรับรูโดยตรงในสวนของเจาของ บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทเปดรับหรือมีสิทธิใน ผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับกิจการนั้นและมีความสามารถในการใชอํานาจเหนือกิจการนั้นทําใหเกิดผล กระทบตอจํานวนเงินผลตอบแทนของกลุมบริษัท งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่ มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ณ วันที่ซื้อธุรกิจ กลุมบริษัทวัดมูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมตามอัตราสวนไดเสียในสินทรัพยสุทธิที่ไดมา จากผูถูกซื้อ การเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียในบริษัทยอยของกลุมบริษัทที่ไมทําใหกลุมบริษัทสูญเสียอํานาจการควบคุมจะบันทึก บัญชีโดยถือเปนรายการในสวนของเจาของ การสูญเสียการควบคุม เมื่อกลุมบริษัทสูญเสียการควบคุมในบริษัทยอย กลุมบริษัทตัดรายการสินทรัพยและหนี้สินของบริษัทยอยนั้นออก รวมถึงสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมและสวนประกอบอื่นในสวนของเจาของที่เกี่ยวของกับบริษัทยอยนั้น กําไร หรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียการควบคุมในบริษัทยอยรับรูในกําไรหรือขาดทุน สวนไดเสียในบริษัทยอยเดิม ที่ยังคงเหลืออยูใหวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียการควบคุม สวนไดเสียในเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสีย สวนไดเสียของกลุมบริษัทในเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสีย ประกอบดวยสวนไดเสียในบริษัทรวมและการ รวมคา บริษัทรวมเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญโดยมีอํานาจเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบายทางการเงินและการดําเนินงานแตไมถึงระดับที่จะควบคุมหรือควบคุมรวมในนโยบายดังกลาว การรวมคา 22


139

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม เปนการรวมการงานที่กลุมบริษัทมีการควบคุมรวมในการงานนั้น โดยมีสิทธิในสินทรัพยสุทธิของการรวมการงาน นั้นมากกวาการมีสิทธิในสินทรัพยและภาระผูกพันในหนี้สินที่เกี่ยวของกับการรวมการงานนั้น สวนไดเสียในบริษัทรวมและการรวมคาบันทึกบัญชีตามวิธีสวนไดเสีย โดยรับรูรายการเมื่อเริ่มแรกดวยราคาทุนซึ่ง รวมถึงตนทุนการทํารายการ ภายหลังการรับรูรายการเริ่มแรก สวนแบงกําไรหรือขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นของเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสียของกลุมบริษัท จะถูกบันทึกในงบการเงินรวมจนถึงวันที่กลุมบริษัท สูญเสียความมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ หรือการควบคุมรวม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายได หรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจาก รายการระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจาก รายการกับบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียในกิจการ ที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง แตเทาที่เมื่อไมมี หลักฐานการดอยคาเกิดขึ้น (ข) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของแตละบริษัทในกลุมบริษัท โดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนสกุลเงินที่ ใชในการ ดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญ ชีที่ เปนเงินตราตางประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ ราคา ทุนเดิม แปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงคา ใหรับรูเปนกําไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีนั้น หนวยงานในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของหนวยงานในตางประเทศ รวมถึงคาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุติธรรมที่เกิดขึ้น จากการซื้อหนวยงานในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน 23


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 140

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม คาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหนวยงานในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดย ใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายไดและคาใชจายของหนวยงานในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ใกลเคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตาง จากอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป ยกเวนผลตางจากการแปลง คาที่ถูกปนสวนใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เมื่อหนวยงานตางประเทศถูกจําหนายสวนไดเสียทั้งหมดหรือเพี ยงบางสวนที่ทําให สูญ เสียการควบคุม ความมี อิ ท ธิ พ ลอยางมี สาระสํ าคั ญ หรื อ การควบคุ ม ร วมกั น ผลสะสมของผลต างจากอั ต ราแลกเปลี่ ยนที่ เกี่ ยวข อ งกั บ หน วยงานตางประเทศนั้นตองถูกจัดประเภทเป นกําไรหรือ ขาดทุนโดยเป นสวนหนึ่ งของกําไรขาดทุ นจากการ จําหนาย หากกลุมบริษัทจําหนายสวนไดเสียในบริษัทยอยเพียงบางสวนแตยังคงมีการควบคุม ผลสะสมตองถูกปน สัดสวนใหกับสวนของผูถือหุนที่ไมมีอํานาจควบคุม หากกลุมบริษัทจําหนายเงินลงทุนในบริษัทรวมหรือการรวมคา เพียงบางสวนโดยที่กลุมบริษัทยังคงมีอิทธิพลหรือการควบคุมรวมที่มีสาระสําคัญอยู กลุมบริษัทตองจัดประเภทยอด สะสมบางสวนที่เกี่ยวของเปนกําไรหรือขาดทุน รายการที่เปนตัวเงินที่เปนลูกหนี้หรือเจาหนี้กับหนวยงานในตางประเทศ ซึ่งรายการดังกลาวมิไดคาดหมายวาจะมี แผนการชําระหนี้หรือไมมีความเปนไปไดวาจะชําระเงินในอนาคตอันใกล กําไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จากรายการทางการเงินดังกลาวจะถูกพิจารณาเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิในหนวยงานตางประเทศ และรับรูใน กําไรขาดทุน เบ็ ดเสร็จอื่น และแสดงเป นรายการผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนในส วนของผู ถือหุ น จนกวามี การ จําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธไดถูกนํามาใชเพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ อัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงของราคาสินคาโภคภัณฑ ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธไมไดมีไวเพื่อคา อยางไรก็ตาม ตราสารอนุพันธที่ไม เขาเงื่อนไข การกําหนดใหเปนเครื่องมือปองกันความเสี่ยงถือเปนรายการเพื่อคา

24


141

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม (ง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อ เรียกและเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง (จ) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ เกี่ยวกับการชําระหนี้ใน อนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายจากบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (ฉ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทรวมและบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวมและบริษัทยอย ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใชวิธีราคาทุน สวน การบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทรวม ในงบการเงินรวมใชวิธีสวนไดเสีย (ช) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ การรับรูและการวัดมูลคา สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณวัดมูลคาดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ราคาทุ นรวมถึงตนทุ นทางตรงที่เกี่ยวของกับ การไดมาของสินทรัพย ตนทุนของการกอสรางสินทรัพยที่กิจการ กอสรางเอง รวมถึงตนทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และตนทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดหาสินทรัพย เพื่อใหสินทรัพยนั้นอยูในสภาพที่พรอมจะใชงานไดตามความประสงค ตนทุนในการรื้อถอน การขนยาย การบูรณะ สถานที่ตั้งของสินทรัพยและตนทุนการกูยืม นอกจากนี้ตนทุนอาจรวมถึงกําไรหรือขาดทุนจากการปองกันความ เสี่ยงกระแสเงินสดจากการซื้อ ที่ ดิน อาคารและอุป กรณ ที่ เป นเงิน ตราต างประเทศ ซึ่ งถู กโอนจากกําไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็จ อื่น สํ าหรับ เครื่อ งมื อ ที่ ค วบคุ ม โดยลิข สิ ท ธิ์ ซ อฟต แ วรซึ่ ง ไม ส ามารถทํ างานได โดยปราศจากลิ ข สิ ท ธิ์ ซอฟตแวรนั้นใหถือวา ลิขสิทธิ์ซอฟตแวรดังกลาวเปนสวนหนึ่งของอุปกรณ

25


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 142

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม สวนประกอบของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณแตละรายการที่มีอายุการใหประโยชนไมเทากันตองบันทึกแตละ สวนประกอบที่มีนัยสําคัญแยกตางหากจากกัน กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุป กรณ คือผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการ จําหนายกับมูลคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ โดยรับรูในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการขายสินทรัพยที่ตี ราคาใหม จํานวนเงินที่บันทึกอยูในสวนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพยจะถูกโอนไปยังกําไรสะสม สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งกลุมบริษัทไดรับสวนใหญของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพยสินที่เชานั้นๆ ใหจัด ประเภทเปนสัญญาเชาการเงิน สวนที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาการเงินบันทึกเปนสินทรัพย ดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา หัก ดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชําระจะแยกเปนสวนที่เปนคาใชจายทางการเงิน และ สวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทําใหอัตราดอกเบี้ยแตละงวดเปนอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกําไรหรือขาดทุน ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ตน ทุ น ในการเปลี่ ยนแทนส วนประกอบจะรับ รูเป น ส วนหนึ่ งของมูล ค าตามบั ญ ชี ของรายการที่ดิ น อาคารและ อุปกรณ ถามีความเปนไปไดคอนขางแนที่กลุมบริษัทจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และ สามารถวัดมูลคาตนทุนของรายการนั้นไดอยางนาเชื่อถือ ชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหนายตามมูลคาตาม บัญชี ตนทุนที่เกิดขึ้นในการซอมบํารุงที่ดิน อาคารและอุปกรณที่เกิดขึ้นเปนประจําจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อ เกิดขึ้น คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาคํานวณจากมูลคาเสื่อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ ซึ่งประกอบดวยราคาทุนของสินทรัพย หรือตนทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักดวยมูลคาคงเหลือของสินทรัพย

26


143

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม คาเสื่ อ มราคาบัน ทึ กเป นคาใชจายในกํ าไรหรือขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสน ตรงตามเกณฑ อายุการให ป ระโยชน โดยประมาณของสวนประกอบของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใหประโยชนของสินทรัพยแสดง ไดดังนี้ อาคาร สวนปรับปรุงที่ดินและระบบสาธารณูปโภค เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ

10 - 25 20 - 25 10 - 25 3 - 10 5

ป ป ป ป ป

กลุมบริษทั ไมคดิ คาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง วิธีการคิดคาเสื่อมราคา อายุการใหประโยชนของสินทรัพยและมูลคาคงเหลือ ถูกทบทวนอยางนอยที่สุดทุกสิ้นรอบ ปบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ซ) สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่กลุมบริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด วัดมูลคาดวยราคาทุนหักคาตัดจําหนาย สะสมและผลขาดทุนจากการดอยคาสะสม คาตัดจําหนาย คาตัดจําหนายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยหรือจํานวนอื่นที่ใชแทนราคาทุนหักดวยมูลคาคงเหลือ ค าตั ด จํ าหน า ยรั บ รู ใ นกํ าไรหรือ ขาดทุ น โดยวิธี เส น ตรงซึ่ ง โดยส ว นใหญ จ ะสะท อ นรู ป แบบที่ ค าดว าจะได รับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพยนั้นตามระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยไมมี ตัวตนซึ่งไมรวมคาความนิยม โดยเริ่มตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนเมื่อสินทรัพยนั้นพรอมที่จะใหประโยชน

27


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 144

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนสําหรับปปจจุบันและปเปรียบเทียบแสดงไดดังนี้ ลิขสิทธิ์การใชและตนทุนพัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูป สิทธิในการเชื่อมโยงระบบจําหนายไฟฟา สัญญาซื้อขายไฟฟาแบบ Feed-in Tariff

3 ป 20 - 25 ป 20 ป

วิธีการตัดจําหนาย ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนและมูลคาคงเหลือ จะไดรับการทบทวนทุกสิ้นรอบปบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฌ) การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ใน กรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงิน สดสูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในกําไรหรือขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินหมายถึง มูลคาจากการใชของสินทรัพยหรือ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของ สินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึง ภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่น จะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรูในกําไรหรือขาดทุน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุก วั น ที่ ที่ อ อกรายงานว า มี ข อ บ งชี้ เรื่ อ งการด อ ยค า หรือ ไม ขาดทุ น จากการด อ ยค า จะถู ก กลั บ รายการ หากมี ก าร เปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ

28


145

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม เพี ยงเท าที่ มูล ค าตามบั ญ ชีของสิ นทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญ ชี ภายหลังหั กค าเสื่อมราคาหรือค าตัดจําหน าย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน (ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้ สินที่มีภาระดอกเบี้ ยบั นทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่ เกี่ยวกับ การเกิ ดหนี้สิน ภายหลังจากการ บันทึกหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกตอมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอด หนี้เมื่อครบกําหนดไถถอนจะบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกูยืมโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (ฎ) เจาหนี้อื่น เจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฏ) ผลประโยชนของพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระผูกพั น ในการสมทบเขาโครงการสมทบเงิน จะถูกรับ รูเป นคาใชจายพนักงานในกําไรหรือขาดทุ น ในรอบ ระยะเวลาที่พนักงานไดทํางานใหกับกิจการ โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว ภาระผูกพันสุทธิของกลุมบริษัทจากโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวถูกคํานวณแยกตางหากเปนรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชนในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในงวดปจจุบันและงวดกอนๆ ผลประโยชน ดังกลาวไดมีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบัน การคํานวณภาระผูกพันของโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวนั้นจัดทําโดยนักคณิ ตศาสตรประกันภัยที่ไดรับ อนุญาตเปนประจําทุกๆ 3 ป โดยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ในการวัดมูลคาใหมของหนี้สินผลประโยชนที่กําหนดไวสุท ธิ กําไรหรือขาดทุ นจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตรประกัน ภัยจะถูกรับ รูรายการในกําไรขาดทุ นเบ็ดเสร็จอื่น ทันที กลุมบริษัทกําหนดดอกเบี้ยจายของ หนี้สินผลประโยชนที่กําหนดไวสุทธิโดยใชอัตราคิดลดที่ใชวัดมูลคาภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน ณ ตนป โดยคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในหนี้สินผลประโยชนที่กําหนดไวสุทธิซึ่งเปนผลมาจากการสมทบเงินและการ จายชําระผลประโยชน ดอกเบี้ยจายสุทธิและคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการผลประโยชนรับรูรายการในกําไร หรือขาดทุน 29


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 146

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผลประโยชนของโครงการหรือการลดขนาดโครงการ การเปลี่ยนแปลงในผลประโยชนที่ เกี่ยวของกับการบริการในอดีต หรือ กําไรหรือขาดทุนจากการลดขนาดโครงการตองรับรูในกําไรหรือขาดทุนทันที กลุมบริษัทรับรูกําไรและขาดทุนจากการจายชําระผลประโยชนพนักงานเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงานรับรูเปนคาใชจายเมื่อพนักงานทํางานให หนี้สินรับรูดวยมูลคาที่คาดวาจะจาย ชําระ หากกลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายอันเปนผลมาจากการที่ พนักงานไดทํางานใหในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล (ฐ) การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ มูลคายุติธรรมของสิทธิซื้อหุน ณ วันที่ใหสิทธิแกพนักงาน (ชําระดวยตราสารทุน) รับรูเปนคาใชจายพรอมๆ ไปกับ การเพิ่มขึ้นในสวนของผูถือหุน ตลอดระยะเวลาที่พนักงานสามารถเขาใชสิทธิไดอยางไมมีเงื่อนไข จํานวนที่รับรู เปนคาใชจายจะถูกปรับปรุงเพื่อใหสะทอนถึงจํานวนสิทธิซื้อหุนที่แทจริงซึ่งเขาเงื่อนไขการใหบริการที่เกี่ยวของ และเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขเรื่องตลาดทุน ซึ่งเปนจํานวนที่เดิมเคยรับรูตามจํานวนสิทธิซื้อหุนที่เขา เงื่อ นไขการให บ ริก ารที่ เกี่ ยวขอ งและเงื่อ นไขการได รับ สิ ท ธิ ที่ ไม ใช เงื่อ นไขเรื่อ งตลาดทุ น ณ วัน ที่ ได รับ สิ ท ธิ สําหรับเงื่อนไขการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขการบริการหรือผลงาน มูลคายุติธรรมของสิทธิซื้อหุน ณ วันที่ใหสิทธิ จะถูกวัดคาเพื่อใหสะทอนถึงเงื่อนไขนั้นและไมมีการปรับปรุงสําหรับผลตางระหวางจํานวนที่คาดไวกับผลที่เกิดขึ้น จริง (ฑ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่เกิดขึ้น ในปจจุบันอันเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตซึ่งสามารถประมาณจํานวนของภาระผูกพันไดอยางนาเชื่อถือ และมี ความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระภาระผูกพันดังกลาว ประมาณ การหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงถึง ภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน ประมาณการหนี้สินสวนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผา นไปรับรูเปนตนทุนทางการเงิน

30


147

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม (ฒ) ทุนเรือนหุน หุนสามัญ หุนสามัญ จัดประเภทเปนทุน ตนทุนสวนเพิ่มที่เกี่ยวของโดยตรงกับการออกหุ นสามัญ และสิทธิซื้อหุ นรับรูเปน รายการหักจากสวนของทุน (ณ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา รายไดคาขายไฟฟา รายไดจากการขายกระแสไฟฟาจะรับรูในงบกําไรขาดทุนตามจํานวนหนวยวัดที่สงดวยอัตราที่กําหนดไว รายไดจาก การขายกระแสไฟฟาสําหรับกิจการในประเทศไทยจะไดรับสวนเพิ่ม ("ADDER") นับจากวันเริ่มตนขายไฟฟาเชิง พาณิชย เปนระยะเวลา 10 ป หลังจากนั้น รายไดจากการขายกระแสไฟฟาจะไดรับในอัตราปกติ การใหบริการ รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ การลงทุน รายไดจากการลงทุนประกอบดวยเงินปนผลและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร เงินปนผลรับ เงินปนผลรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในวันที่กลุมบริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง

31


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 148

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม (ด) ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินประกอบดวยดอกเบี้ยจายของเงินกูยืมและประมาณการหนี้สินสวนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผาน ไปและสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจาย ตนทุนการกูยืมที่ไมไดเกี่ยวกับการไดมา การกอสรางหรือ การผลิตสินทรัพยที่เขาเงื่อนไข รับรูในกําไรหรือขาดทุน โดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (ต) สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับ ตามสัญญาเชาจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญาตลอดอายุสัญญาเชา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นตองนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเชา เมื่อไดรับ การยืนยันการปรับคาเชา (ถ) ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดของ งวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูในกําไรหรือขาดทุน เวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่บันทึกในสวน ของผูถือหุนรับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชําระหรือไดรับชําระโดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําป ที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทาง ภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และหนี้ สิ น และจํานวนที่ ใช เพื่ อ ความมุงหมายทางภาษี ภาษี เงิน ได รอการตัด บั ญ ชี จะไม ถูก รับ รู เมื่ อ เกิด จากผล แตกตางชั่วคราวตอไปนี้ การรับรูคาความนิยมในครั้งแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเปนรายการที่ ไมใชการรวมธุรกิจและรายการนั้นไมมีผลกระทบตอกําไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของ กับเงินลงทุนในบริษัทยอยหากเปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล การวัดมูลคาของภาษีเงินไดรอการตัดบัญ ชีตองสะทอนถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่ กลุม บริ ษั ท คาดวาจะได รับ ผลประโยชน จากสิ น ทรัพ ยห รือ จะจ ายชําระหนี้ สิ น ตามมู ล ค าตามบั ญ ชี ณ วัน ที่ สิ้ น รอบ ระยะเวลาที่รายงาน 32


149

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดย ใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน ในการกํ า หนดมู ล ค าของภาษี เงิน ได ข องงวดป จจุบั น และภาษี เงิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี กลุ ม บริ ษั ท ต อ งคํ านึ งถึ ง ผลกระทบของสถานการณทางภาษีที่ไมแนนอนและอาจทําใหจํานวนภาษีที่ตองจายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตอง ชํ าระ กลุ ม บริษั ท เชื่อ วาได ตั้ งภาษี เงิน ไดค างจายเพี ยงพอสํ าหรับ ภาษี เงิ น ไดที่ จะจายในอนาคต ซึ่ งเกิ ด จากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณในอดีต การประเมินนี้ อยูบนพื้นฐานการประมาณการและขอสมมติ และอาจจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณในอนาคต ขอมูลใหมๆ อาจจะทําใหกลุมบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยูกับความเพียงพอของภาษีเงินไดคางจายที่มีอยู การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินไดคางจายจะกระทบตอคาใชจายภาษีเงินไดในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสามารถหักกลบไดเมื่อกิจการมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะนําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงิน ไดนี้ประเมินโดยหนวยงานจัดเก็บภาษีหนวยงานเดียวกันสําหรับหนวยภาษีเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกัน สําหรับ หนวยภาษีตางกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจายชําระหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันดวยยอดสุทธิ หรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพยและจายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคต จะมีจํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูก ทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ท) กําไรตอหุน กลุมบริษัทแสดงกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดสําหรับหุนสามัญ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณ โดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผูถือหุนสามัญของบริษัท ดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนาย ระหวางปปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญที่ซื้อคืน กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผูถือ หุนสามัญที่ปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายและปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญที่ ซื้อคืน และผลกระทบของตราสารที่อาจเปลี่ยนเปนหุนสามัญปรับลดทั้งหมดและสิทธิซื้อหุนของพนักงาน (ธ) รายงานทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ผลการดําเนินงานของสวนงานที่รายงานตอประธานเจาหนาที่บริหารของกลุมบริษัท (ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดาน การดําเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากสวนงานดําเนินงานนั้น 33


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 150

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 4

การซื้อธุรกิจ เมื่ อ วั น ที่ 15 และ 18 กุ ม ภาพั น ธ 2559 BSE Energy Holding Private Limited และ BCPG Investment Holding Private Limited (บริษัทยอยทางออมและทางตรงตามลําดับซึ่งจดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) ไดเสร็จสิ้นการซื้อ ธุรกิจโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในประเทศญี่ปุนทั้งหมดของกลุม SunEdison ในวงเงินไมเกิน 9,626 ลานเยน (ประมาณ 2,915 ลานบาท) ซึ่งประกอบดวยโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยกําลังการผลิตรวม 198 เมกะวัตต (โครงการที่เปดดําเนินการแลว 13 เมกะวัตต / โครงการระหวางกอสราง 27 เมกะวัตต / โครงการระหวางการพัฒนา 158 เมกะวัต ต) โดยการซื้ อ หุ น ร อ ยละ 100 ของ SunEdison Japan Corporation, SunEdison Japan Debt Financing Pte. Ltd. แ ล ะ SunEdison TK Investor 1 Pte. Ltd. จ าก SunEdison International LLC แ ล ะ SunEdison Energy Holding (Singapore) Pte. Ltd. ตามสัญญาซื้อขายหุน (โดยมีเงื่อนไขบังคับกอน) ลงวันที่ 29 มกราคม 2559 ทั้งนี้ไดมี การชําระแลวตามเงื่อนไขสัญญา เปนจํานวน 4,256 ลานเยน (ประมาณ 1,275.33 ลานบาท) สําหรับสวนที่เหลือจะ ชําระตามเงื่อนไขความสําเร็จสําหรับโครงการระหวางพัฒนา ทั้งนี้ไมเกิน 18 เดือน ผูบริหารเชื่อวาการซื้อธุรกิจนี้จะทําใหกลุมบริษัทสามารถขยายการลงทุน พัฒนา และบริหารโรงไฟฟาพลังงาน สะอาดในแถบเอเชีย การซื้อธุรกิจนี้เขาเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ ซึ่งกําหนดใหบันทึก สินทรัพย หนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ไดระบุได ณ วันที่ซื้อธุรกิจในมูลคายุติธรรม กลุมบริษัทไดจางผูประเมิน ราคาอิสระเพื่อหามูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ไดมาภายในระยะเวลาในการวัดมูลคา (measurement period) ซึ่งตองไมเกินหนึ่งป นับตั้งแตวันที่ซื้อกิจการเพื่อสะทอนผลของขอมูลเพิ่มเติมที่ไดรับเกี่ยวกับขอเท็จจริง และสถานการณแวดลอมที่มีอยู ณ วันที่ซื้อ โดยขอมูลดังกลาวมีผลตอการวัดมูลคาของจํานวนตางๆ ที่เคยรับรู ณ วันที่ซื้อกิจการ ทั้งนี้การประเมินมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ไดมาจากการซื้อธุรกิจ ไดดําเนินการเสร็จ สิ้นในไตรมาสที่ 4 ของป 2559 ขอมูลของสิ่งตอบแทนทั้งหมดที่โอนใหและมูลคาที่รับรู ณ วันที่ซื้อสําหรับสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่รับมาแต ละประเภทที่สําคัญ มีดังนี้ สิ่งตอบแทนที่โอนให

มูลคาที่รับรู (พันบาท) 1,275,334 488,460 1,763,794

เงินสด สิ่งตอบแทนทีค่ าดวาจะตองจาย รวม 34


151

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม สินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่รับมา มูลคายุติธรรม (พันบาท) 354,284 23,930 408,232 107,328 1,410,352 1,789,646 54,581 (457,637) (80,334)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากกลุม SunEdison ที่ถึง กําหนดชําระในหนึ่งป** เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึง กําหนดชําระในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูยืมระยะยาวจากกลุม SunEdison** เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ประมาณการหนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวมสินทรัพยและหนี้สินสุทธิที่ระบุได หัก สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม สินทรัพยและหนี้สินสุทธิที่ไดมา ชําระคืนเงินกูยืม**และดอกเบีย้ คางจายที่มีกับ กลุม SunEdison ภายใตเงื่อนไขการซื้อ ธุรกิจ สินทรัพยและหนี้สินที่กลุมบริษัทไดมาสุทธิ กําไรจากการตอรองราคาซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให

(776,850) (47,757) (5,230) (144,504) (1,167,222) (35,453) (448,965) 984,401 (147) 984,254 1,006,132 1,990,386 (226,592) 1,763,794

35


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 152

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 บริษัทไดลงนามในสัญญา Settlement Agreement กับกลุม SunEdison สําหรับการชําระ คาตอบแทนสวนที่เหลือสําหรับการเขาซื้อธุรกิจโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในประเทศญี่ปุนและเงื่อนไขอื่นๆ ที่ เกี่ยวของเปนจํานวนเงิน 1,590.68 ลานเยน (ประมาณ 499.00 ลานบาท) โดยสัญญาดังกลาวไดรับอนุมัติจากศาล ลมละลายสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 กลุมบริษัทไดชําระคาหุนดังกลาวตามเงื่อนไขในสัญญาเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 การชําระดังกลาวเปนการปลดภาระผูกพันทั้งหมดที่กลุมบริษัทมีตอกลุม SunEdison โดยกลุมบริษัท รับรูการกลับรายการประมาณการหนี้สินของสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายจากการซื้อธุรกิจเปนจํานวนเงิน 453.04 ลานเยน (ประมาณ 138.73 ลานบาท) เปนรายไดอื่นในงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 5

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรือกิจการเปนบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับกลุมบริษัท หาก กลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมหรือควบคุมรวมกันทั้งทางตรงและทางออมหรือมีอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญตอบุคคล หรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหารหรือในทางกลับกัน โดยที่กลุมบริษัทมีการควบคุมเดียวกัน หรือมีอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญเดียวกัน การเกี่ยวของนี้อาจเปนรายบุคคลหรือเปนกิจการ ความสัมพันธที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท บางจาก ปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)) บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (ปราจีนบุรี) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (ชัยภูมิ1) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (บุรีรัมย) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (บุรีรัมย1) จํากัด

ประเทศที่จัดตั้ง / สัญชาติ ไทย

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

36

ลักษณะความสัมพันธ เปนบริษัทใหญ ถือหุนรอยละ 70.27 ในบริษัท และมีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท


153

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจีปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ชื่อกิจการ บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (นครราชสีมา) จํากัด บริษัท บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร 1 จํากัด

ประเทศที่จัดตั้ง / สัญชาติ ไทย

ญี่ปุน

เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีกรรมการรวมกันกับบริษัท เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และ มีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษั ท ยอ ยทางออ ม บริษัท ถือ หุนรอ ยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษั ท ยอ ยทางออ ม บริษั ท ถือ หุ นรอ ยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษัท ยอยทางออม บริ ษัท ถือหุนรอยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษั ท ยอ ยทางออ ม บริษั ท ถือ หุ นรอ ยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 51

ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน

เปนบริษัทยอยทางออมที่ผูกพันโดยสัญญาทีเค เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออมที่ผูกพันโดยสัญญาทีเค เปนบริษัทยอยทางออมที่ผูกพันโดยสัญญาทีเค เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100

ไทย

บริษัท บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร 2 จํากัด

ไทย

BCPG Investment Holdings Pte. Ltd.

สิงคโปร

BSE Energy Holdings Pte. Ltd.

สิงคโปร

BCPG Japan Corporation

ญี่ปุน

Greenergy Holdings Pte. Ltd.

สิงคโปร

Greenergy Power Pte. Ltd.

สิงคโปร

Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha Nakatsugawa PV Godo Kaisha Godo Kaisha Inti Takamori PV Godo Kaisha Nojiri PV Godo Kaisha Godo Kaisha Aten Nikaho PV Godo Kaisha Gotenba 2 PV Godo Kaisha Godo Kaisha Horus Yabuki PV Godo Kaisha Komagane PV Godo Kaisha Godo Kaisha Helios Godo Kaisha Lugh

ลักษณะความสัมพันธ

37


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 154

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ชื่อกิจการ Godo Kaisha Phoenix Gotenba 1 PV Godo Kaisha Komagane Land Lease Godo Kaisha Nagi PV Godo Kaisha Godo Kaisha Natosi Godo Kaisha Amaterasu Godo Kaisha Mithra Godo Kaisha Sol Godo Kaisha Saule Godo Kaisha Shamash Godo Kaisha Pusan Godo Kaisha Apolo Godo Kaisha Surya Nagi Land Lease Godo Kaisha Godo Kaisha Rangi Godo Kaisha Dazbog Godo Kaisha Narang Godo Kaisha Malina Godo Kaisha Legba J2 Investor Godo Kaisha J1 Investor Godo Kaisha BCPG Engineering Company

ประเทศที่จัดตั้ง / สัญชาติ ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน ญี่ปุน

Godo Kaisha Tarumi Takatoge Huang Ming Japan Company Limited

ญี่ปุน ญี่ปุน

BCPG Wind Cooperatief U.A. PetroWind Energy Inc.

เนเธอรแลนด ฟลิปปนส 38

ลักษณะความสัมพันธ เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัท ยอยทางออม บริษัท ถือหุนรอยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษัทยอยทางออมที่ผูกพันโดยสัญญาทีเค เปนบริษั ท ยอ ยทางออ ม บริษั ท ถือ หุนรอ ยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษั ท ยอ ยทางออ ม บริษั ท ถือ หุ นรอ ยละ 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เป น บริ ษั ท รวมทางอ อ ม บริษั ท ถื อ หุ น ร อ ยละ 40 และมีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ


155

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจีปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ชื่อกิจการ Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. บริษัท บางจาก รีเทล จํากัด บริษัท อารทีเอ เอ็นเตอรเทนเมนต จํากัด (มหาชน) ผูบริหารสําคัญ

ประเทศที่จัดตั้ง / สัญชาติ สิงคโปร ไทย ไทย ไทย/ญี่ปุน

ลักษณะความสัมพันธ เปน บริษั ท รวม บริษั ท ถือหุ น รอ ยละ 33.33 และมี ผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ เปนบริษัทยอยของบริษัทใหญ มีกรรมการรวมกัน บุคคลที่มีอํานาจและความรับผิดชอบการวางแผน สั่งการและควบคุมกิจกรรมตางๆ ของกิจการไม วาทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ รวมถึงกรรมการ ของกลุ ม บริ ษั ท (ไม ว า จะทํ า หน า ที่ ใ นระดั บ บริหารหรือไม)

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแตละประเภทอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ รายไดจากการใหบริการ คาจางบริหารงาน คาเชา ดอกเบี้ยเงินกูยืม

นโยบายการกําหนดราคา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตราดอกเบี้ยที่กําหนดในสัญญาโดยอางอิงราคาตลาดและอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจํา

39


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 156

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม รายการที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุปไดดังนี้ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม บริษัทใหญ รายไดอื่น คาจางบริหารงาน คาเชา เงินปนผลจาย ดอกเบี้ยจาย คาตัดจําหนายของตนทุนการทํารายการ สวนที่บันทึกรวมกับเงินกูยืม คาใชจายอื่น บริษัทยอย รายไดจากการใหบริการ คาจางบริหารงาน เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ บริษัทยอยทางออม ดอกเบี้ยรับ กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น คาเชา คาใชจายอื่น ผูบริหารสําคัญ ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ รวมคาตอบแทนผูบริหารสําคัญ

2560

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

2559 (พันบาท)

292 35,190 7,516 840,000 -

348 42,480 7,211 756,000 99,505

292 35,190 7,516 840,000 -

348 42,480 7,666 756,000 99,505

2,258

25,471 -

2,258

25,471 -

-

-

42,000 2,376 1,584,950 40,576

28,800 2,160 1,489,071 7,870

-

-

79,853

46,091

456

248 462

456 -

53,446 1,284 54,730

58,690 833 21,818 81,341

25,336 471 25,807

248 462 93,592 2,128 21,818 117,538

40

-


157

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559 ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทยอยทางออม กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น รวม

6,029 6,029

6,146 280 6,426

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท) 6,029 39,323 128,157 173,509

6,146 8,122 46,831 280 61,379

เงินปนผลคางรับ บริษัทยอย รวม

-

-

92,400 92,400

-

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัทยอย บริษัทยอยทางออม รวม

-

-

-

264,341 2,668,419 2,932,760

เงินใหกูยืมระยะยาว บริษัทยอย บริษัทยอยทางออม รวม

-

-

1,373,072 3,090,693 4,463,765

260,000 260,000

41


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 158

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้น กิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

2,932,760 126,217 (3,058,977) -

3,115,723 (182,963) 2,932,760

เงินใหกูยืมระยะยาว กิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

260,000 4,479,050 (275,285) 4,463,765

260,000 260,000

เงินลงทุนในบริษัทยอย (หมายเหตุ 10)

-

-

6,353,336

6,353,336

เงินลงทุนในบริษัทรวม (หมายเหตุ 11)

13,529,716

-

11,956,425

เจาหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทใหญ บริษัทยอย กิจการที่เกี่ยวของกันอื่น รวม

2,738 113 2,851

42

3,881 393 181 4,455

2,345 71 113 2,529

-

4,062 4,062


159

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจีปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม งบการเงินรวม 2560 2559 เงินปนผลคางจาย บริษัทใหญ รวม

-

(พันบาท)

210,000 210,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

-

210,000 210,000

สัญญาสําคัญที่ทํากับกิจการที่เกี่ยวของกัน สัญญาเชาที่ดิน ในเดือนธันวาคม 2558 บริษัทไดทําสัญญาเชาที่ดินจากบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัท ใหญของบริษัท เพื่อใชเปนที่ตั้งของโครงการโซลารฟารม บางปะอิน 38 MW และเพื่อวัตถุประสงคอื่นที่เกี่ยวของ โดยสัญ ญามี ผลบั งคั บใชตั้งแตวัน ที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึง 30 พฤศจิกายน 2580 รวมระยะเวลา 22 ป อัตราคาเช า เปนไปตามที่กําหนดในสัญญา ในเดือนตุลาคม 2559 บริษัท ไดทําสัญ ญาเชาที่ ดินเพิ่ มจากบริษัท บางจาก คอรป อเรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป น บริษัทใหญของบริษัท เพื่อวัตถุประสงคที่เกี่ยวของสําหรับโครงการผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย โดยสัญญามีผล บังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 พฤศจิกายน 2580 รวมระยะเวลา 21 ป 2 เดือน อัตราคาเชาเปนไปตามที่ กําหนดในสัญญา สัญญาเชาพื้นที่อาคารและหองควบคุม ในเดื อนธัน วาคม 2558 บริษัทไดทําสั ญ ญาเช าพื้ น ที่ สํานั กงาน ห อ งควบคุม และห องวางระบบไฟฟ าในสวนที่ เกี่ยวของกับโครงการโซลารฟารม บางปะอิน 38 MW จากบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปน บริษัทใหญของบริษัท โดยสัญญามีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึง 30 พฤศจิกายน 2561 รวมระยะเวลา 3 ป อัตราคาเชาเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา สัญญาเชาพื้นที่สํานักงาน ในเดือนกันยายน 2559 บริษัทไดทําสัญญาเชาพื้นที่สํานักงานกับบริษัท อารทีเอ เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัท เพื่อใชเปนที่ตั้งสํานักงานของบริษัท โดยสัญ ญามีผลบังคับ ใชตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ 2560 รวมระยะเวลา 7 เดือน อัตราคาเชาเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา

43


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 160

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม สัญญาจางบริหารงานและดําเนินการ โครงการโซลารฟารม บางปะอิน 38 MW ในเดือนพฤศจิกายน 2558 บริษัทไดทําสัญญาจางบริหารงาน และดําเนินการโครงการโซลารฟารมกับบริษัทยอย แหงหนึ่ง โดยบริษัทยอยดังกลาวมีหนาที่จัดหาพนักงานบริหารงานและอุปกรณทั่วไป เพื่อใหการผลิตไฟฟาดวย พลังงานแสงอาทิตยเปนไปอยางตอเนื่อง โดยสัญญานี้มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2561 รวมระยะเวลา 3 ป 1 เดือน อัตราคาบริการเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา สัญญาจางบริหารงาน ในเดือนธันวาคม 2560 บริษัทไดทําสัญญาจางงานบริการดานสารสนเทศกับบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทใหญของบริษัท โดยบริษัทใหญมีหนาที่บริหารจัดการงานดานระบบงานสารสนเทศ งาน บริ ก ารทางด านสารสนเทศและให ก ารปฏิ บั ติ ง านเป น ไปตามที่ บ ริ ษั ท กํ า หนด สั ญ ญานี้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช ตั้ ง แต วันที่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561 รวมระยะเวลา 1 ป 4 เดือน อัตราคาบริการเปนไปตามที่กําหนดใน สัญญา ในเดือนมกราคม 2559 บริษัทไดทําสัญญาจางบริหารงานกับบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปน บริษัทใหญของบริษัท โดยบริษัทใหญมีหนาที่จัดหาพนักงาน เพื่อบริหารงานทั่วไปใหเปนไปตามระบบและใหการ ปฏิบัติงานเปนไปตามที่บริษัทกําหนด สัญญานี้มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559 รวม ระยะเวลา 1 ป อัตราคาบริการเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา ตอมาบริษัทไดทําสัญญาจางบริหารงานฉบับใหมกับ บริษัทใหญ โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2562 รวมระยะเวลา 3 ป อัตราคาบริการ เปนไปตามที่กําหนดในสัญญา ในเดือนมกราคม 2559 บริษัทไดทําสัญ ญาจางบริหารงานกับกลุมบริษัทยอยในประเทศไทย โดยบริษัทมีหนาที่ จัดหาบุคลากร เพื่อบริหารงานทั่วไปใหเปนไปตามระบบและใหการปฏิบัติงานเปนไปตามที่บริษัทกําหนด สัญญานี้ มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559 รวมระยะเวลา 1 ป อัตราคาบริการเปนไปตามที่ กําหนดในสัญญา ตอมาบริษัทไดทําสัญญาจางบริหารงานฉบับกับกลุมบริษัทยอยในประเทศไทย โดยมีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560 รวมระยะเวลา 1 ป อัตราคาบริการเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา สัญญาเงินกูยืม ในเดือนกุมภาพันธ 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินเพื่อวัตถุประสงคในการซื้อธุรกิจของกลุมบริษัทโดยไม มีหลักประกันกับ BCPG Investment Holding Pte Ltd. ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 868 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูยืมเปนจํานวน 867 ลานเยน 44


161

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ในเดือนกุมภาพันธ 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินเพื่อวัตถุประสงคในการซื้อธุรกิจของกลุมบริษัทโดยไม มีหลักประกันกับ BSE Energy Holding Pte. Ltd. ซึ่งเปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 3,400 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดใน สัญญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูยืมเปนจํานวน 3,389 ลานเยน ในเดือนกุมภาพันธ 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ง เปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 170 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนดชําระคืนเมื่อ ทวงถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา ในเดือนมีนาคม 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่งเปน บริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 606 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวง ถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา ในเดือนมีนาคม 2559 บริษั ท ได ทําสัญ ญาเงิน ใหกูยืมเงินโดยไมมี หลัก ประกันกับ Huang Ming Japan Company Limited ซึ่งเปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 500 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนด ชําระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูสวน แรกจํานวน 475 ลานเยน ในเดือนเมษายน 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่งเปน บริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 320 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวง ถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา ในเดือนพฤษภาคม 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ Huang Ming Japan Company Limited ซึ่งเปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 2,000 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนด ชําระคืนเมื่อทวงถาม โดยมีอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูรวม เปนจํานวน 1,297 ลานเยน ในเดือนกรกฎาคม 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ง เปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 9,000 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวกําหนดชําระคืนเมื่อ ทวงถามโดยมีอัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามขอกําหนดใหสัญญาโดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูรวมเปนจํานวน 2,959 ลานเยน

45


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 162

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ในเดือนพฤศจิกายน 2559 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ บริษัท บางจาก โซลารเอ็น เนอรยี (ปราจีนบุรี) จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 310 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาว กําหนดชําระคืนภายใน 3 ปโดยมีอัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามขอกําหนดใหสัญญาโดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกู จํานวน 260 ลานบาท โดยระยะเวลาในการเบิกเงินกูไดหมดอายุลง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ในเดือนพฤษภาคม 2560 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 28.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ เงินใหกูยืมดังกลาว กําหนดชําระคืนภายใน 3 ป อัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญ ญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกู จํานวน 26.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยระยะเวลาในการเบิกเงินกูไดหมดอายุลง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2560 ในเดือนพฤษภาคม 2560 บริษัทไดทําสัญญาเงินใหกูยืมเงินโดยไมมีหลักประกันกับ BCPG Japan Corporation ซึ่ง เปน บริษัท ยอยทางออมของบริษัท เป น วงเงินให กูยืมจํานวน 500 ล านเยน เงินให กูยืมดั งกลาวกําหนดชําระคื น ภายใน 3 ป อัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูจํานวน 432 ลานเยน โดยระยะเวลาในการเบิกเงินกูไดหมดอายุลง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2560 ในเดือนพฤษภาคม 2560 บริษัท ไดทําสัญ ญาเงินให กูยืมเงินโดยไมมีห ลักประกันกับ BSE Energy Holdings Pte. Ltd. ซึ่งเปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท เปนวงเงินใหกูยืมจํานวน 1,200 ลานเยน เงินใหกูยืมดังกลาวกําหนดชําระ คืนภายใน 3 ป อัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามขอกําหนดในสัญญา โดยบริษัทดังกลาวไดเบิกเงินกูจํานวน 1,159 ลาน เยน โดยระยะเวลาในการเบิกเงินกูไดหมดอายุลง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2560 สัญญาค้ําประกัน บริษัทไดทําสัญญาใหการค้ําประกันกับ BCPG Engineering Company ตามเงื่อนไขสัญญาการปฏิบัติงานและการ บํ า รุ ง รั ก ษาระบบผลิ ต ไฟฟ า ด ว ยพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ BCPG Engineering Company มี กั บ Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha และ Nagi PV Godo Kaisha ใน กรณี ที่ BCPG Engineering Company ทํ าให เกิ ด ความ เสียหายตอสินทรัพยในโรงไฟฟาของ Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha และ Nagi PV Godo Kaisha และไม สามารถชดเชยคาเสียหายดังกลาวได สัญญาค้ําประกันดังกลาวมีวงเงินค้ําประกันรายป ปละ 28.02 ลานเยน และ 42.00 ลานเยน ตามลําดับ และมีภาระการค้ําประกันผูกพันตลอดอายุสัญญาการปฏิบัติงานและการบํารุงรักษาระบบ ผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยเทากับ 280.20 ลานเยน และ 504 ลานเยน ตามลําดับ ทั้งนี้เงื่อนไขในสัญญากูยืม เงิน ระหวาง Tarumizu Solar Solutions Godo Kaisha และ Nagi PV Godo Kaisha กับ สถาบั น การเงิน แห งหนึ่ งใน ประเทศญี่ปุนกําหนดใหบริษัทใหญมีหนาที่ค้ําประกันคาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น

46


163

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม วันที่ 31 มี น าคม 2560 บริษั ทไดลงนามสัญ ญา Amendment and Restatement and Novation Agreement (Sponsor Support Agreement) เพื่ อเปลี่ยนผูให การสนั บ สนุนวงเงินในสัญ ญา Sponsor Support Agreement แก บริษัท บาง จาก โซลารเอ็นเนอรยี จํากัด จากบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) โดยมีวงเงินรวมจํานวน 700 ลาน บาท โดยบริษัทเปนผูค้ําประกันวงเงินตามสัญญาดังกลาว 6

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม 2560 2559 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย รวม

188 276,545 1,727,250 2,003,983

114 713,890 6,647,156 7,361,160

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท) 14,837 (3,952) 190,861 5,758,649 205,698 5,754,697

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทยอยและบริษัทยอยทางออมมีเงินฝากสถาบันการเงินที่มีขอจํากัดในการเบิกใช จํ านวน 236.41 ลานบาท (31 ธั น วาคม 2559: 734.47 ลานบาท) จากการทํ าสั ญ ญากู ยืม เงิน ระยะยาวกั บ สถาบั น การเงินหลายแหงซึ่งมีขอกําหนดใหบริษัทยอยดังกลาวตองทําการขออนุญาตสถาบันการเงินในการเบิกใชเงินฝากที่ มีขอจํากัด 7

เงินลงทุนชั่วคราว งบการเงินรวม 2560 2559 เงินฝากระยะสั้นกับสถาบันการเงิน รวม

-

47

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท) 700,000 700,000 700,000 700,000


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 164

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 8

ลูกหนี้การคา งบการเงินรวม 2560 2559 กิจการอื่น หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับป

507,243 507,243

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(พันบาท) 486,395 117,217 486,395 117,217

-

-

-

116,738 116,738 -

การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคามีดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

กิจการอื่น ยังไมครบกําหนดชําระ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

507,243 507,243

486,395 486,395

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษทั มีระยะเวลา 20 - 30 วัน

48

117,217 117,217

116,738 116,738


165

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 9

ลูกหนี้อื่น งบการเงินรวม 2560 2559

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ดอกเบี้ยคางรับ คาเบี้ยประกันภัยจายลวงหนา เงินทดรองจายสําหรับการเตรียมการ โครงการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตย ลูกหนี้กรมสรรพากร อื่นๆ รวม 10

5

6,029

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท) 6,426 173,509 61,379

280 5,421

7,235 7,429

75 -

7,124 655

145,331 25,654 182,715

352,481 231,052 28,162 632,785

10,253 183,837

2,984 72,142

เงินลงทุนในบริษัทยอย งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท) บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

6,353,336 6,353,336

49

6,333,337 19,999 6,353,336


100

100

100

100

100

100 100 100 100

100

100

100

100

100

100 100 100 100

684,100 15,000 5,000

765,000

755,000

705,000

684,100 15,000 5,000

765,000

755,000

705,000

1,400,000 1,400,000

1,800,000 1,800,000

ทุนชําระแลว 2560 2559

บริษัทยอยทั้งหมดดําเนินธุรกิจในประเทศไทยและประเทศสิงคโปร

บริษัทยอย บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (ปราจีนบุรี) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (ชัยภูมิ1) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (บุรีรัมย) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (บุรีรัมย1) จํากัด บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี (นครราชสีมา) จํากัด BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. บริษัท บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร 1 จํากัด บริษัท บีซีพีจี ไบโอเพาเวอร 2 จํากัด รวม

สัดสวนความเปนเจาของ 2560 2559 (รอยละ)

50

700,169 14,999 5,000 6,353,336

781,275

771,063

720,545

1,429,785

1,930,500

2560

700,169 14,999 5,000 6,353,336

781,275

771,063

720,545

1,429,785

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ การดอยคา 2559 2560 2559 (พันบาท)

1,930,500

ราคาทุน

700,169 14,999 5,000 6,353,336

781,275

771,063

720,545

1,429,785

700,169 14,999 5,000 6,353,336

781,275

771,063

720,545

1,429,785

1,930,500

ราคาทุน-สุทธิ 2560 2559 1,930,500

เงินลงทุนในบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดังนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ส�ำหรั บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทยบอยปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

153,900 1,584,950

149,940

157,040

157,170

411,600

555,300

158,308 1,489,071

159,503

165,118

166,062

250,040

590,040

เงินปนผลรับ 2560 2559

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 166


167

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 11

เงินลงทุนในบริษัทรวม งบการเงินรวม 2560 2559 บริษัทรวม ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม สวนแบงกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นจากเงิน ลงทุนในบริษทั รวม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

12,877,998 749,434

-

11,956,425 -

-

(20,006) (77,710) 13,529,716

-

11,956,425

-

การซื้อเงินลงทุน PetroWind Energy Inc. เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2560 บริษัทไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุนกับบริษัท CAIF III Pte.Ltd. (“ผูขาย”) เพื่อเขาซื้อ เงิน ลงทุ น ทั้ งหมดในบริ ษั ท CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. ประเทศเนเธอร แ ลนด ซึ่ งเป น บริษั ท โฮลดิ้ งที่ ถื อ หุ น ในสั ด ส วนรอ ยละ 40 ในบริษั ท PetroWind Energy Inc. ซึ่ ง เป น บริษั ท ที่ ป ระกอบธุ รกิ จ โรงไฟฟาพลังงานลมตั้งอยูที่เมือง Nabas ประเทศฟลิปปนส โดยมีโครงการที่เปดดําเนินการเชิงพาณิชยแลวจํานวน 36 เมกะวัตต และมีโครงการที่อยูระหวางการพัฒนาจํานวน 14 เมกะวัตต ตอมาเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 บริษัท และผูขายไดบรรลุเงื่อนไขบังคับกอนตามสัญ ญาซื้อขายหุนครบถวนแลว โดย BCPG Investment Holdings Pte. Ltd. ซึ่งเปนบริษัทในกลุมบริษัทไดจายชําระคาหุนเปนจํานวนเงิน 26.49 ลานเหรียญสหรัฐฯ และไดรับโอนหุนของ บริษัท CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. ตอมาไดดําเนินการเปลี่ยนชื่อบริษัทดังกลาวเปน BCPG Wind Cooperatief U.A. ผูบ ริห ารเชื่ อวาการลงทุ น นี้ จะทําใหกลุมบริษั ท สามารถขยายการลงทุ นไปยังพลั งงานหมุน เวียนประเภทอื่นใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลุมบริษัทไดจางผูประเมินราคาอิสระเพื่อหามูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมา ณ วันที่ซื้อ โดยการประเมิน มู ล ค า ยุ ติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย สุ ท ธิ ที่ ไ ด ม าจากการซื้ อ เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ร ว ม ได ดํ า เนิ น การเสร็ จ สิ้ น ใน ไตรมาสที่ 4 ของป 2560 51


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 168

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม รายละเอียดของสิ่งตอบแทนที่ใชในการซื้อเงินลงทุนและมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมา ณ วันที่ซื้อตาม สวนไดเสียในเงินลงทุนของกลุมบริษัท มีดังนี้ (พันบาท) 966,411 316,978

สัญญาซื้อขายไฟฟา สินทรัพยสุทธิอื่นที่ไดมา กําไรจากการซื้อในราคาที่ต่ํากวามูลคายุติธรรม (รับรูในสวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม)

(361,816)

สิ่งตอบแทนที่ใชในการซื้อ – เงินสด

921,573

การประเมินมูลคายุติธรรมของสัญญาซื้อขายไฟฟา โดยผูประเมินราคาอิสระนั้นใชวิธีรายได (Income approach) ภายใตวิธี Multi-period Excess Earning Method (MEEM) โดยมีระยะเวลาในการดําเนินงานทั้งหมด 25 ปภายใต สัญญาซื้อขายไฟฟา ขอสมมติที่สําคัญในการคํานวณ ไดแก ประมาณการรายไดในอนาคต และอัตราคิดลด Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2560 บริษัทไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุนกับบริษัท Star Energy Investments Ltd. (“ผูขาย”) เพื่ อ เข าซื้ อเงินลงทุ น จํานวน 280,000 หุ น ในบริษัท Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. คิดเป นร อ ยละ 33.33 ของจํานวนหุนที่ออกและชําระแลวทั้งหมด เพื่อลงทุนในโครงการโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพในประเทศ อินโดนีเซีย โดยมีโครงการที่เปดดําเนินการเชิงพาณิชยแลวจํานวน 158 เมกะวัตต และมีโครงการที่อยูระหวางการ พัฒนาจํานวน 24 เมกะวัตต ตอมาเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 บริษัทและผูขายไดบรรลุเงื่อนไขบังคับกอนตาม สัญ ญาซื้ อ ขายหุ น ครบถวนแล ว บริษั ท จึงไดดําเนิ น การชําระค าหุ น เป น จํานวนเงิน 355.69 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 11,956.43 ลานบาท) และไดรับโอนหุนของ Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. เปนที่เรียบรอยแลว ผูบ ริห ารเชื่อวาการลงทุ น นี้ จะทําให กลุ มบริษั ท สามารถขยายการลงทุ นไปยังพลังงานหมุน เวียนประเภทอื่นใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลุมบริษัทไดจางผูประเมินราคาอิสระเพื่อหามูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ไดมา ณ วันที่ซื้อ อยางไรก็ ตามการประเมินมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมาจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทรวมยังไมแลวเสร็จ ดังนั้น สินทรัพยสุทธิที่ไดมา ณ วันที่ซื้อเงินลงทุนจึงใชมูลคาที่ประเมินโดยฝายจัดการ เมื่อผลการประเมินมูลคายุติธรรม จากผูประเมินราคาอิสระเสร็จสิ้นสมบูรณแลว จึงจะมีการปรับปรุงมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมาตอไป

52


169

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม รายละเอียดของสิ่งตอบแทนที่ใชในการซื้อเงินลงทุนและประมาณการมูลคายุติธรรมของสินทรัพย (หนี้สิน) สุทธิที่ ไดมา ณ วันที่ซื้อตามสวนไดเสียในเงินลงทุนของกลุมบริษัท มีดังนี้ (พันบาท) 21,442,595 (9,190,410)

สัญญาซื้อขายไฟฟาและสิทธิในสัมปทาน สินทรัพย (หนี้สิน) อื่นสุทธิที่ไดมา กําไรจากการซื้อในราคาที่ต่ํากวามูลคายุติธรรม (รับรูในสวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม) สิ่งตอบแทนที่ใชในการซื้อ – เงินสด

(295,760) 11,956,425

การประเมิ น มู ล คายุติ ธ รรมของสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ าและสิ ท ธิ ในสั ม ปทานนั้ น ใช วิธี รายได (Income approach) ภายใตวิธี Multi-period Excess Earning Method (MEEM) โดยมี ระยะเวลาในการดํ าเนิ น งานตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ไฟฟาและเงื่อนไขที่เกี่ยวของ ขอสมมติที่สําคัญในการคํานวณ ไดแก ประมาณการรายไดในอนาคต และอัตราคิด ลด

53


40.00

บริษัทรวมทางออม PetroWind Energy Inc.

-

-

894,790

28,236,600

-

-

ทุนชําระแลว 2560 2559

ราคาทุน

921,573 12,877,998

11,956,425

2560

-

-

2559

1,185,130 13,529,716

12,344,586

-

-

มูลคาตามวิธีสวนไดเสีย 2560 2559 (พันบาท)

งบการเงินรวม

-

-

-

การดอยคา 2559

-

2560

54

กลุมบริษัทไมมีเงินลงทุนในตราสารทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสียซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ดังนั้นจึงไมมีราคาที่เปดเผยตอสาธารณชน

33.33

บริษัทรวมทางตรง Star Energy Group Holdings Pte. Ltd.

สัดสวนความเปน เจาของ 2560 2559 (รอยละ)

เงินลงทุนในบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 และเงินปนผลรับสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ2559 มีดังนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น และบริ ส�ำหรัษบัทปียสอิ้นย สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทปบีระกอบงบการเงิ ซีพีจี จํากัด (มหาชน)

1,185,130 13,529,716

12,344,586

-

-

สวนไดเสีย-สุทธิ 2560 2559

-

-

-

-

เงินปนผลรับ 2560 2559

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 170


33.33

-

28,236,600

2560

-

2559

ทุนชําระแลว

11,956,425 11,956,425

2560

ราคาทุน

-

2559

-

2560 (พันบาท) -

2559

การดอยคา

งบการเงินเฉพาะกิจการ

55

บริษัทไมมีเงินลงทุนในตราสารทุนที่บันทึกตามวิธีสวนไดเสียซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ดังนั้นจึงไมมีราคาที่เปดเผยตอสาธารณชน

บริษัทรวมทางตรง Star Energy Group Holdings Pte. Ltd.

สัดสวนความเปน เจาของ 2560 2559 (รอยละ)

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ส�ำหรั บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทบยอปียสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

11,956,425 11,956,425

2560

-

2559

ราคาทุน-สุทธิ

-

2560

-

2559

เงินปนผลรับ

171 งบการเงิน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 172

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจีปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ตารางตอไปนี้สรุปขอมูลทางการเงินของบริษัทรวมที่รวมอยูในงบการเงินของบริษัทรวม Star Energy Group Holdings Pte.Ltd. 2560 2559

PetroWind Energy Inc. 2560 2559 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบกําไรขาดทุน รายได กําไรสุทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสวนที่เปนของกลุม บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพยสุทธิ

(พันบาท)

546,240 147,545 147,545

-

13,978,284 3,142,816 (110,264) 3,032,552

-

1,058

-

312,581

-

578,718 2,867,834 (465,411) (1,840,178) 1,140,963

-

9,784,563 95,796,084 (7,121,135) (76,993,226) 21,466,286

-

56


12

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้น ไดมาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 4) โอน จําหนาย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

186,210 622 1,030 19,701 (92) 207,471 17,910 (264) 225,117

741,804 47,842 (15,814) (63,624) (20,718) 689,490

อาคาร

368,340 265,337 61,573 62,350 (15,796)

ที่ดิน

57

1,102,329 998 94,207 (4,257) 1,193,277

1,025,220 9,240 41,008 26,817 44

สวนปรับปรุงที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรัษบัทปียสอิ้นย สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน)นและบริ

11,577,632 5,843 1,364,022 (18,160) (171,330) 12,758,007

9,182,158 5,770 1,001,069 1,420,004 (31,369) 155,364 1,171 26,186 (170) (787) 181,764

138,408 1,848 11,698 3,035 (119) 494

เครื่องจักรและ เครื่องใช อุปกรณ สํานักงาน (พันบาท)

งบการเงินรวม

16,132 2,520 (72) 18,580

11,657 3,217 1,221 37

ยานพาหนะ

1,676,765 596,025 (1,450,353) (2,613) (59,491) 760,333

20,368 2,998,933 292,753 (1,574,576) (60,713)

งานระหวาง กอสราง

15,477,497 654,399 36,158 (84,567) (256,919) 15,826,568

10,932,361 3,284,967 1,410,352 (42,669) (119) (107,395)

รวม

173 งบการเงิน


คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

14,226 7,719 (6) 21,939 9,040 (17) 30,962

-

อาคาร

-

ที่ดิน

120,191 53,275 (640) 172,826

70,925 49,510 (244)

58

สวนปรับปรุงที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรัษบัทปียสอยิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน)นและบริ

1,052,728 571,548 (605) (11,126) 1,612,545

572,569 483,930 (3,771) 79,744 29,302 (163) (454) 108,429

50,087 29,729 (11) (61)

เครื่องจักรและ เครื่องใช อุปกรณ สํานักงาน (พันบาท)

งบการเงินรวม

8,263 3,242 (23) 11,482

5,050 3,223 (10)

ยานพาหนะ

-

-

งานระหวาง กอสราง

1,282,865 666,407 (768) (12,260) 1,936,244

712,857 574,111 (11) (4,092)

รวม

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 174


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใตสัญญาเชาทางการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 ภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใตสัญญาเชาทางการเงิน

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใตสัญญาเชาทางการเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

171,984 171,984

185,532 185,532 194,155 194,155

741,804 741,804

689,490 689,490

อาคาร

368,340 368,340

ที่ดิน

1,020,451 1,020,451

982,138 982,138

954,295 954,295

59

สวนปรับปรุงที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรัษบัทปียสอิ้นย สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน)นและบริ

11,145,462 11,145,462

10,524,904 10,524,904

8,609,589 8,609,589

73,335 73,335

75,620 75,620

88,321 88,321

เครื่องจักรและ เครื่องใช อุปกรณ สํานักงาน (พันบาท)

งบการเงินรวม

7,098 7,098

7,869 7,869

6,090 517 6,607

ยานพาหนะ

760,333 760,333

1,676,765 1,676,765

20,368 20,368

งานระหวาง กอสราง

13,890,324 13,890,324

14,194,632 14,194,632

10,218,987 517 10,219,504

รวม

175 งบการเงิน


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 176

บริษบริัทษบีัท บีซซีพีพีจีจี จํี าจ�ำกั ด (มหาชน) กัด (มหาชน) และบริษัทยอยและบริษัทย่อย หมายเหตุป ประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ในระหวางไตรมาสที่ 1 ป 2560 BCPG Japan Corporation ซึ่งเปนบริษัทยอยในกลุมบริษัทไดทําสัญญาซื้อขายสินทรัพยกับบุคคลภายนอกเพื่อจําหนายที่ดิน สิทธิในการจําหนาย ไฟฟาและสินทรัพยที่เกี่ยวของกับโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย Suimei ประเทศญี่ปุน เปนจํานวนเงินรวม 1,600 ลานเยน (ประมาณ 494.25 ลานบาท) โดยกลุมบริษัท รับรูกําไรจากการจําหนายสินทรัพยดังกลาวเปนจํานวนเงินประมาณ 61.53 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุมบริษัทไดทําสัญญาจํานองที่ดิน อาคารและเครื่องจักรและอุปกรณกับสถาบันการเงินเพื่อเปนหลักประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากสถาบันการเงิน เหลานั้นเปนจํานวน 12,639.71 ลานบาท (2559: 13,020.77 ลานบาท) (ดูหมายเหตุ 15) ตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของกับการกอสรางโรงไฟฟาใหมไดบันทึกเปนสวนหนึ่งของตนทุนสินทรัพยจํานวน 2.64 ลานบาท (2559: 16.82 ลานบาท) มีอัตราดอกเบี้ยที่รับรูรอยละ 1.45 (2559: 3.25)

60


ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 17,149 444 17,593

21,549 (21,549) -

อาคาร

16,931 218 -

ที่ดิน

-

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

222,350 998 21,195 244,543

213,110 9,240 -

สวนปรับปรุง ที่ดินและระบบ สาธารณูปโภค

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรัษบัทปียสอิ้นย สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน)นและบริ

61

3,003,357 417 900 3,004,674

2,999,749 3,608 24,808 903 12,485 (140) 38,056

24,398 410 -

เครื่องจักรและ เครื่องใช อุปกรณ สํานักงาน (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

3,482 305 3,787

265 3,217 -

ยานพาหนะ

4,716 42,134 (35,196) 11,654

312 4,716 (312)

งานระหวาง กอสราง

3,275,862 66,306 (21,721) (140) 3,320,307

3,254,765 21,409 (312)

รวม

177 งบการเงิน


863 825 1,688

-

15,905

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

222,277

211,084

212,229

11,266 11,000 22,266

881 10,385

สวนปรับปรุงที่ดิน และระบบ สาธารณูปโภค

2,701,247

2,845,499

2,987,393

157,858 145,569 303,427

12,356 145,502

เครื่องจักรและ อุปกรณ

29,601

20,525

24,032

4,283 4,309 (137) 8,455

366 3,917

เครื่องใชสํานักงาน (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2,354

2,764

254

718 715 1,433

11 707

ยานพาหนะ

11,654

4,716

312

-

-

งานระหวาง กอสราง

2,983,038

3,100,874

3,241,083

174,988 162,418 (137) 337,269

13,682 161,306

รวม

62

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทไดทําสัญญาจํานอง อาคารและเครื่องจักรและอุปกรณกับสถาบันการเงินเพื่อเปนหลักประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากสถาบันการเงินเหลานั้นเปนจํานวน 2,939.43 ลานบาท (2559: 3,072.87 ลานบาท) (ดูหมายเหตุ 15)

การค้ําประกัน

16,286

-

16,863

68 795

อาคาร

-

ที่ดิน

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

มูลคาสุทธิทางบัญชี

คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาเสื่อมราคาสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรัษัทบยปีอสยิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัท บีซปีพระกอบงบการเงิ ีจี จํากัด (มหาชน)นและบริ

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 178


179

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 2560 13

สินทรัพยไมมีตัวตน ลิขสิทธิ์การใช และตนทุนพัฒนา โปรแกรม หมายเหตุ สําเร็จรูป

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ไดมาจากการซื้อธุรกิจ เพิ่มขึ้น จําหนาย โอน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น จําหนาย โอน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

สิทธิในการ เชื่อมโยงระบบ จําหนายไฟฟา

งบการเงินรวม สัญญาซื้อ ขายไฟฟา แบบ Feedสิทธิการ in Tariff ใชที่ดิน (พันบาท)

รวม

1,646 447 (2)

17,823 84,111 11,409 (4,144) 11,409 1,360

1,680,425 47,115

2,091 237 23,182 (186) 25,324

121,968 (17,634) (7,321) (5,092) 91,921

1,727,540 (19,432) (101,222) 1,606,886

883 461 -

70 4,481 (86) (191)

22,466 (1,201)

-

-

953 27,408 (86) (1,392)

1,344 2,832 (36) 4,140

4,274 3,697 (322) 7,649

21,265 29,260 (2,499) 48,026

-

-

26,883 35,789 (2,857) 59,815

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

763

17,753

-

-

-

18,516

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560

747

117,694

1,706,275

-

191,114

2,015,830

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

21,184

84,272

1,558,860

205,869

1,892,267

คาตัดจําหนาย ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาตัดจําหนายสําหรับป จําหนาย ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 คาตัดจําหนายสําหรับป ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

4

63

-

สินทรัพย ไมมีตัวตน ระหวางการ พัฒนา

22,082 22,082

22,082

25,110 154,268 20,295 (8,559)

19,469 1,789,646 166,124 (4,144) 31,704 39,914

191,114 104,061 (76,920) (12,386) 205,869

2,042,713 104,298 (37,066) (38,977) (118,886) 1,952,082


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 180

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ลิขสิทธิ์การใชและ ตนทุนพัฒนา โปรแกรมสําเร็จรูป ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สิทธิในการ เชื่อมโยงระบบ สิทธิการ จําหนายไฟฟา ใชที่ดิน

สินทรัพยไมมี ตัวตนระหวาง การพัฒนา

รวม

400

17,823 -

-

1,330

17,823 1,730

400 237 18,875 19,512

17,823 17,823

22,082 22,082

1,330 18,360 (18,875) 815

19,553 18,597 22,082 60,232

คาตัดจําหนาย ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560 คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

11

70 826

-

-

70 837

11 1,677 1,688

896 824 1,720

-

-

907 2,501 3,408

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

-

17,753

-

-

17,753

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 1 มกราคม 2560

389

16,927

-

1,330

18,646

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

17,824

16,103

22,082

815

56,824

64


181

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 14

เจาหนี้อื่น หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น เจาหนี้อื่น คาใชจายคางจาย เจาหนี้กรมสรรพากร รวม

15

งบการเงินรวม 2560 2559 2,851

5

71,566 129,326 25,917 229,660

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท) 4,455 2,529 4,062

198,938 106,040 26,265 335,698

48,959 33,252 6,844 91,584

24,101 16,604 44,767

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

สวนที่หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนที่มีหลักประกัน

88,884

89,769

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่มีหลักประกัน รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยหมุนเวียน

1,326,355 1,415,239

สวนที่ไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่มีหลักประกัน รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยไมหมุนเวียน รวม

-

-

1,103,962 1,193,731

1,017,431 1,017,431

825,722 825,722

15,613,152 15,613,152

8,956,492 8,956,492

11,960,978 11,960,978

4,950,966 4,950,966

17,028,391

10,150,223

12,978,409

5,776,688

65


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 182

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย แสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจายชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559 ครบกําหนดภายในหนึ่งป ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป ครบกําหนดหลังจากหาป รวม

1,415,239 5,522,028 10,091,124 17,028,391

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(พันบาท) 1,193,731 1,017,431 3,613,655 4,223,811 5,342,837 7,737,167 10,150,223 12,978,409

825,722 2,312,757 2,638,209 5,776,688

ณ 31 ธันวาคม 2559 กลุมบริษัทไดทําสัญญาเงินกูยืมกับสถาบันการเงินโดยมีรายละเอียด ดังนี้ สกุลเงิน

วงเงิน (ลาน)

บริษัท

บาท

450

บริษัท

บาท

270

บริษัท

บาท

750

บริษัท

บาท

1,050

บริษัท

บาท

630

บริษัท

บาท

1,750

บริษัท

บาท

2,400

บริษัท

บาท

2,740

บริษัท

เยนญี่ปุน

4,200

บริษัท

เยนญี่ปุน

570

ดอกเบี้ย อัตรา (รอยละ) ตอป THBFIX 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม FDR 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม FDR 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม THBFIX 6 เดือนบวก อัตราสวนเพิ่ม

ระยะเวลาชําระคืน

ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 17 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2559 ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 17 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2559 ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 29 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2559 ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 15 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 15 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 27 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน จํานวน 12 งวด โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 ชําระ คืนเงินตนในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา THBFIX 6 เดือนบวก ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน และชําระคืนเงินตน อัตราสวนเพิ่ม ในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา JPYTIBOR 6 เดือนบวก ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 17 งวด อัตราสวนเพิ่ม โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2559 JPYTIBOR 6 เดือนบวก ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 17 งวด อัตราสวนเพิ่ม โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2559 66


183

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 2560

สกุลเงิน

วงเงิน (ลาน)

บริษัท

เยนญี่ปุน

9,800

บริษัท

เยนญี่ปุน

1,330

บริษัท

เยนญี่ปุน

7,896

บริษัท

เยนญี่ปุน

1,128

บริษัท

เหรียญ สหรัฐฯ

10

บริษัท

เหรียญ สหรัฐฯ เหรียญ สหรัฐฯ บาท

40

754

บาท

754

เหรียญ สหรัฐฯ เยนญี่ปุน

12 1,366

เยนญี่ปุน

1,000

เยนญี่ปุน

900

เยนญี่ปุน

700

เยนญี่ปุน

4,176

บริษัท บริษัท ยอยทางตรง บริษัท ยอยทางตรง บริษัท ยอยทางตรง บริษัท ยอยทางออม บริษัท ยอยทางออม บริษัท ยอยทางออม บริษัท ยอยทางออม บริษัท ยอยทางออม

20

ดอกเบี้ย อัตรา (รอยละ) ตอป

ระยะเวลาชําระคืน

JPYTIBOR 6 เดือนบวก ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 15 งวด อัตราสวนเพิ่ม โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 JPYTIBOR 6 เดือนบวก ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 17 งวด อัตราสวนเพิ่ม โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 JPYTIBOR 6 เดือนบวก ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน จํานวน 12 งวด อัตราสวนเพิ่ม โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 ชําระ คืนเงินตนในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา JPYTIBOR 6 เดือนบวก ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน และชําระคืนเงินตน อัตราสวนเพิ่ม ในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา USDLIBOR 6 เดือนบวก ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน จํานวน 12 งวด อัตราสวนเพิ่ม โดยปแรกชําระในเดือนธันวาคม 2560 ชําระ คืนเงินตนในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา USDLIBOR 6 เดือนบวก ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน และชําระคืนเงินตน อัตราสวนเพิ่ม ในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา USDLIBOR 6 เดือนบวก ชําระดอกเบี้ยทุกหกเดือน และชําระคืนเงินตน อัตราสวนเพิ่ม ในปที่ 6 นับจากวันลงนามสัญญา THBFIX 6 เดือนบวก ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 20-34 อัตราสวนเพิ่ม งวด โดยปแรกชําระในเดือนสิงหาคม 2556 อัตราดอกเบี้ยคงที่ 6 ป ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 20-34 งวด โดยปแรกชําระในเดือนสิงหาคม 2556 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 34 งวด โดยปแรกชําระในเดือนสิงหาคม 2556 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระเงินตนทุกไตรมาส จํานวน 68 งวด โดยปแรกชําระในเดือนกันยายน 2559 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระเงินตนทุกไตรมาส จํานวน 68 งวด โดยปแรกชําระในเดือนกันยายน 2559 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระเงินตนทุกไตรมาส จํานวน 68 งวด โดยปแรกชําระในเดือนกันยายน 2559 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระเงินตนทุกไตรมาส จํานวน 68 งวด โดยปแรกชําระในเดือนกันยายน 2559 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระคืนเงินตนทุกหกเดือน จํานวน 34 งวด โดยปแรกชําระในเดือนกันยายน 2560

67


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 184

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม สัญญาเงินกูยืมดังกลาวไดระบุเงื่อนไขบางประการเกี่ยวกับการรักษาอัตราสวนทางการเงินและการโอนสิทธิสัญญา ตางๆ เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยการจดจํานองที่ดิน อาคาร ระบบสาธารณูปโภค และเครื่องจักร และการใชหุน ประมาณรอยละ 33.33 ของจํานวนหุนสามัญที่ออกและชําระแลวทั้งหมดของ Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. เปนหลักทรัพยค้ําประกัน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสวนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเปนสินทรัพย ดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินลงทุนในบริษัทรวม รวม 16

12,639,709 12,344,586 24,984,295

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(พันบาท) 2,939,429 13,020,769 11,956,425 13,020,769 14,895,854

3,072,868 3,072,868

ทุนเรือนหุน

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ - หุนสามัญ ลดมูลคาหุน - จาก 10 บาท เปน 5 บาท ออกหุนใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

มูลคาหุน ตอหุน (บาท)

2560 จํานวนหุน

จํานวนเงิน จํานวนหุน (พันหุน/พันบาท)

จํานวนเงิน

10 5

2,000,000

10,000,000

370,000 -

3,700,000 -

5 5

-

370,000 1,260,000

6,300,000

5

2,000,000

2,000,000

10,000,000

68

2559

10,000,000


185

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม

หุนที่ออกและชําระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ - หุนสามัญ ลดมูลคาหุน - จาก 10 บาท เปน 5 บาท ออกหุนใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

มูลคาหุน ตอหุน (บาท)

2560

2559

จํานวนหุน

จํานวนเงิน จํานวนหุน (พันหุน/พันบาท)

จํานวนเงิน

10 5

1,990,000

9,950,000

370,000 -

3,700,000 -

5 5

2,304

11,522

370,000 1,250,000

6,250,000

5

1,992,304

9,961,522

1,990,000

9,950,000

ในการประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 ผูถือหุนของบริษัทมีมติอนุมัติรายการดังตอไปนี้ 

เปลี่ยนแปลงมูลคาหุนทุนจดทะเบียนของบริษัทที่ตราไวจากเดิมมูลคาหุนละ 10 บาท เปนมูลคาหุนละ 5 บาท ซึ่งมีผล ทําให จํานวนทุ นจดทะเบียนของบริษัท เปลี่ยนแปลงจํานวนหุนสามัญ จาก 370 ลานหุ น เปน 740 ลานหุน การ เปลี่ยนแปลงมูลคาหุนดังกลาวไมทําใหทุนจดทะเบียนโดยรวมของบริษัทเปลี่ยนแปลง บริษัทไดจดทะเบียนการ เปลี่ยนแปลงมูลคาหุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559

เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก 3,700 ลานบาท (จํานวน 740 ลานหุน มูลคาหุนละ 5 บาท) เปน 10,000 ลานบาท (จํานวน 2,000 ลานหุน มูลคาหุนละ 5 บาท) โดยบริษัทไดรับชําระเงินคาหุนจากการเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 660 ลานหุน มูลคาหุนละ 5 บาท เปนจํานวนเงิน 3,300 ลานบาท เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 บริษัทไดจดทะเบียน กับกระทรวงพาณิชยสําหรับการรับชําระคาหุนเพิ่มทุนดังกลาวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2559

ตอมาในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2559 ที่ประชุมมีมติอนุมัติเสนอขายหุนใหม ใหแกประชาชนเปนการทั่วไปครั้งแรกจํานวน 590 ลานหุน และอนุมัติใหนําหุนสามัญของบริษัทเขาจดทะเบียนเปน หลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

69


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 186

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ในการประชุมสามัญประจําปของผูถือหุนของบริษัทเมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2560 ผูถือหุนมีมติอนุมัติใหออกและเสนอ ขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซือ้ หุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการ ผูบริหารและพนักงานของบริษัทและบริษัท ยอย (โครงการ BCPG ESOP Warrant) จํานวนไมเกิน 10 ลานหนวย ซึ่งคิดเปนหุนสามัญทีจ่ ัดสรรไวเพื่อรองรับ การใชสิทธิจํานวนไมเกิน 10 ลานหุน (ประมาณรอยละ 0.50 ของจํานวนหุนทีจ่ ําหนายไดแลวทัง้ หมดของบริษัท) โดยเปนโครงการ 5 ป ทยอยใชสิทธิแปลงเปนหุนตามเงือ่ นไขและระยะเวลาทีก่ ําหนด ในระหวางปวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีผูใชสิทธิแปลงใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญจํานวน 2.30 ลานหนวย เปนหุนสามัญจํานวน 2.30 ลานหุน การเสนอขายหุนใหมตอประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรก

ในเดือนกันยายนป 2559 บริษัทไดเสนอขายหุนใหมตอประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรกเสร็จสิ้นจํานวน 590 ลานหุน ในราคาหุนละ 10 บาท (มูลคาที่ตราไว 5 บาท และสวนเกินมูลคาหุน 5 บาท) เปนจํานวนเงินรวม 5,900 ลานบาท ซึ่งมีสวนเกินมู ลคาหุ นเปนจํานวนเงิน 2,950 ลานบาท โดยมีคาใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับการเสนอขายหุ น จํานวนเงิน 129.10 ลานบาท แสดงหักจากสวนเกินมูลคาหุนที่ไดรับจากการเสนอขายหุนใหม โดยหุนของบริษัท เริ่มการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในวันที่ 28 กันยายน 2559 17

สวนเกินทุนและสํารอง สวนเกินทุนจากการจัดโครงสรางธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ผลต างระหวางมู ล ค าตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ยสุท ธิ ข องบริษั ท ย อ ย ณ วัน จั ดโครงสรางธุ รกิ จกั บ ต น ทุ น การจั ด โครงสรางธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันรวมอยูในสวนเกินทุนจากการจัดโครงสรางธุรกิจภายใตการควบคุม เดียวกันที่บันทึกในสวนของผูถือหุน สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวา มูลคาหุนที่จดทะเบียนไว บริษัทตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุน นี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได

70


187

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญ ญัติแหงพระราชบัญ ญั ติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวา สํารองดังกลาวมีจํานวนไมนอ ยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได 18

สวนงานดําเนินงาน สวนงานธุรกิจ ผูบริหารเห็นวากลุมบริษัทดําเนินกิจการในสวนงานเดียวคือธุรกิจผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ดังนั้นฝายบริหาร จึงพิจารณาวากลุมบริษัทมีสว นงานที่รายงานเพียงสวนงานเดียว สวนงานภูมศิ าสตร ในการนําเสนอจําแนกสวนงานภูมิศาสตรรายไดจากการขายและบริการแยกตามที่ตั้งทางภูมิศาสตรของลูกคา และ สิ นทรัพ ยไม ห มุ น เวียน (ไม รวมตราสารอนุพัน ธแ ละภาษีเงิน ไดรอการตัดบั ญ ชี) แยกแสดงตามสถานที่ตั้งทาง ภูมิศาสตรของสินทรัพย 2560 ไทย ญี่ปุน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย รวม

2,841,005 481,476 3,322,481

รายได

2559

สินทรัพยไมหมุนเวียน 2560 2559

(พันบาท) 9,998,207 2,830,600 253,313 5,864,525 1,185,130 12,344,586 3,083,913 29,392,448

10,232,324 6,065,399 16,297,723

ลูกคารายใหญ รายไดจากการขายของกลุม บริษัท สวนใหญ จํานวนเงิน ประมาณ 2,841.01 ลานบาท (2559: 2,830.60 ลานบาท) ประกอบดวยรายไดจากการขายไฟฟาใหแกการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและการไฟฟาสวนภูมิภาค และ จํ านวนเงิ น ประมาณ 481.48 ล านบาท (2559: 253.31 ล านบาท) ประกอบด ว ยรายได จ ากการขายไฟฟ าให แ ก บริษัทเอกชนในประเทศญี่ปุน 71


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 188

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 19

รายไดจากการขายและบริการ หมายเหตุ รายไดคาพลังงานไฟฟา รายไดสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา รายไดคาบริการ รวม

20

5

งบการเงินรวม 2560 2559 1,349,629 1,972,852 3,322,481

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(พันบาท) 1,059,980 194,132 2,023,933 497,629 42,000 3,083,913 733,761

204,451 513,596 28,800 746,847

รายไดดอกเบี้ยและเงินปนผล หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

เงินปนผลรับ บริษัทยอย ดอกเบี้ยรับ บริษัทยอยและบริษัทยอยทางออม สถาบันการเงิน รวม

5

-

-

1,584,950 1,584,950

1,489,071 1,489,071

5

40,941 40,941 40,941

26,764 26,764 26,764

120,429 36,102 156,531 1,741,481

53,961 21,017 74,978 1,564,049

72


189

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจีปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 21

คาใชจายในการบริหาร งบการเงินรวม 2560 2559 คาใชจายเกี่ยวกับบุคลากร คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาจางบริหารงาน คาใชจายการเดินทาง คาที่ปรึกษา อื่นๆ รวม

22

279,059 9,711 1,320 27,854 155,067 185,871 658,882

(พันบาท) 210,342 8,025 13,682 34,155 209,530 124,436 600,170

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 164,892 4,010 1,320 15,134 106,408 124,933 416,697

65,313 725 13,680 17,750 168,974 60,721 327,163

คาใชจายผลประโยชนของพนักงาน งบการเงินรวม 2560 2559 เงินเดือนและคาแรง โครงการสมทบเงินที่กําหนดไว การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ อื่นๆ รวม

150,472 5,443 39,818 95,077 290,810

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

(พันบาท) 153,694 60,967 3,181 4,796 39,818 64,967 56,262 221,842 161,843

39,109 2,836 23,368 65,313

โครงการสมทบเงินที่กําหนดไว บริษัทไดจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเปน สมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจายเงินสะสมในอัตรารอยละ 5 หรือ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และบริษัทจาย สมทบในอัตรารอยละ 5 หรือ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้ไดจดทะเบียนเปน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามขอกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจัดการกองทุนที่ไดรับอนุญาต

73


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 190

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 23

คาใชจายตามลักษณะ งบการเงินไดรวมการวิเคราะหคาใชจายตามหนาที่ คาใชจายตามลักษณะไดเปดเผยตามขอกําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับตางๆ ดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

รวมอยูในตนทุนขายและบริการ คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย รวมอยูในคาใชจายในการบริหาร คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย

659,118 33,367

566,547 26,947

159,675 1,234

160,592 826

7,289 2,422

7,564 461

2,743 1,267

714 11

74


191

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจีปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 24

ตนทุนทางการเงิน หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

ดอกเบี้ยจาย กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูจากสถาบันการเงิน รวมดอกเบี้ยจาย คาตัดจําหนายของตนทุนการทํา รายการสวนที่บันทึกรวมกับ เงินกูยืม ตนทุนทางการเงินอื่น หัก จํานวนที่รวมอยูในตนทุน ของสวนที่บันทึกเปน ตนทุนของที่ดนิ อาคาร และอุปกรณระหวาง กอสราง สุทธิ

5

12

398,802 398,802

99,505 219,861 319,366

273,170 273,170

99,505 101,136 200,641

39,503 391 438,696

46,352 421 366,139

27,283 300,453

36,969 237,610

(2,644) 436,052

(16,819) 349,320

300,453

237,610

75


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 192

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 25

ภาษีเงินได ภาษีเงินไดที่รับรูในกําไรหรือขาดทุน งบการเงินรวม 2560 2559 ภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน สําหรับปปจจุบัน ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกต่ําไป ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลตางชั่วคราว รวมคาใชจาย (รายได) ภาษีเงินได

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

12,805 106 12,911

965 965

(7,302) (7,302) 5,609

76

-

-

(20,016) (20,016)

(506) (506)

(8,730) (8,730)

(19,051)

(506)

(8,730)


193

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง 2560

กําไรกอนภาษีเงินไดรวม จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได ผลกระทบจากความแตกตางของอัตราภาษี สําหรับกิจการในตางประเทศ รายไดที่ไมตองเสียภาษี/รายจายที่มีสิทธิ หักไดเพิ่มขึ้น คาใชจายตองหามทางภาษี/รายการปรับปรุง การใชขาดทุนทางภาษีที่เดิมไมไดบันทึก ผลขาดทุนในปปจจุบันที่ไมรับรูเปนสินทรัพย ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกสูงไป อื่นๆ รวมคาใชจาย (รายได) ภาษีเงินได

อัตราภาษี (รอยละ) 20

0.28

77

งบการเงินรวม

(พันบาท) 2,021,760 404,352

อัตราภาษี (รอยละ) 20

2559 (พันบาท) 1,522,274 304,455

(154)

(556)

(544,376) 26,028 (2,665)

(437,441) 2,185 -

122,317 106 1 5,609

103,046 9,260 (19,051)

-


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 194

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม

กําไรกอนภาษีเงินไดรวม จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได รายไดที่ไมตองเสียภาษี/รายจายที่มีสิทธิ หักไดเพิ่มขึ้น คาใชจายตองหามทางภาษี/รายการปรับปรุง ผลขาดทุนในปปจจุบันที่ไมรับรูเปนสินทรัพย ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี อื่นๆ รวมรายไดภาษีเงินได

อัตราภาษี (รอยละ) 20

-

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(พันบาท) 1,277,937 255,587

อัตราภาษี (รอยละ) 20

2559 (พันบาท) 1,432,482 286,496

(364,029) 17,465

(359,031) 1,177

90,471 (506)

54,213 8,415 (8,730)

-

การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 42 พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2559 ใหปรับลดอัตราภาษี เงินไดนิติบุคคลเหลืออัตรารอยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เปนตนไป 26

สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนอนุมัติใหบริษัทไดรับสิทธิประโยชนหลายประการในฐานะผูไดรับการสงเสริม การลงทุนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับ การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งพอ สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ (ก)

ใหไดรับยกเวนอากรขาเขาและภาษีสําหรับเครื่องจักรที่ไดรับอนุมัติโดยคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

(ข)

ใหไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมมี กําหนดเวลาแปดป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น

(ค)

ใหไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคล รอยละ 50 สําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับ การสงเสริมมีกําหนดเวลาหาป นับแตวันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชนตามขอ (ข) 78


195

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน)น และบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม เนื่องจากเปนกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน บริษัทจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอกําหนดตามที่ระบุไวใน บัตรสงเสริมการลงทุน รายไดที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุนสรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม

กิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน กิจการที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2559

2560

2,841,005 481,476 3,322,481

(พันบาท) 2,830,600 691,761 253,313 42,000 3,083,913 733,761

2559

718,047 28,800 746,847

รายไดทไี่ ดรับการสงเสริมการลงทุนทัง้ หมดนัน้ เปนรายไดที่เกิดจากการขายในประเทศ 27

กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 คํานวณจากกําไรสําหรับปที่เปนสวนของ ผูถือหุนสามัญของบริษัทและจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางปโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก แสดงการ คํานวณดังนี้ งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559

2559 (พันบาท/พันหุน) 1,541,325 1,278,443

กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนสามัญของบริษัท

2,016,151

จํานวนหุน สามัญที่ออก ณ วันตนป ผลกระทบจากหุน สามัญที่ออกและจําหนายแลว จํานวนหุนสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน)

1,990,000 1,081

740,000 659,481

1,990,000 1,081

740,000 659,481

1,991,081

1,399,481

1,991,081

1,399,481

1.01

1.10

0.64

1.03

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

79

1,441,212


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 196

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม กําไรตอหุนปรับลด กําไรตอหุนปรับลดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 คํานวณจากกําไร สําหรับปที่เปนสวนของผู ถือหุนสามัญของบริษัทและจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางปในแตละปโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก หลังจากที่ไดปรับปรุงผลกระทบของหุนปรับลด ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 (พันบาท/พันหุน) กําไรสําหรับปที่เปนสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จํานวนหุน สามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการออกสิทธิที่จะเลือกซื้อหุน จํานวนหุนสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ปรับลด)

2,016,151

1,541,325

1,278,443

1,441,212

1,991,081 1,742

1,399,481 -

1,991,081 1,742

1,399,481 -

1,992,823

1,399,481

1,992,823

1,399,481

1.01

1.10

0.64

1.03

กําไรตอหุน (ปรับลด) (บาท)

28

เงินปนผล ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560 ที่ประชุมมีมติอนุมัติจายเงินปนผลสําหรับผล ประกอบการไตรมาสที่ 3 ป 2560 เปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.15 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 298.84 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในวันที่ 22 ธันวาคม 2560 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2560 ที่ประชุมมีมติอนุมัติจายเงินปนผลสําหรับผล ประกอบการไตรมาสที่ 2 ป 2560 เปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.15 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 298.82 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในวันที่ 22 กันยายน 2560 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2560 ที่ประชุมมีมติอนุมัติจายเงินปนผลสําหรับผล ประกอบการไตรมาสที่ 1 ป 2560 เปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.15 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 298.70 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในวันที่ 26 มิถุนายน 2560 ในการประชุมสามัญประจําปของผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2560 ผูถือหุนมีมติอนุมัติจายเงินปนผล สําหรับผลประกอบการป 2559 ในอัตราหุนละ 0.69 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1,373.10 ลานบาท ซึ่งบริษัทได 80


197

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม จายเงินปนผลระหวางกาลไปแลวในอัตราหุนละ 0.54 บาท คงเหลือเปนเงินปนผลที่จะจายในอัตราหุนละ 0.15 บาท เปนเงินจํานวน 298.50 ลานบาท โดยบริษัทไดจายเงินปนผลดังกลาวเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2560 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมมีมติอนุมัติจายเงินปนผลสําหรับผล ประกอบการไตรมาสสามของป 2559 เปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.15 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 298.50 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในวันที่ 9 มกราคม 2560 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2559 ที่ประชุมมีมติอนุมัติจายเงินปนผลสําหรับผล ประกอบการของป 2558 และงวด 6 เดือนแรกของป 2559 เปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.39 บาท เปน จํานวนเงินทั้งสิ้น 776.10 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 29

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และจากการไมปฏิบัติตาม ขอกําหนดตามสัญญาของคูสัญญา กลุมบริษัทไมมีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อ การเก็งกําไรหรือการคา การจัดการความเสี่ยงเปนสวนที่สําคัญของธุรกิจของกลุมบริษัท กลุมบริษัทมีระบบในการควบคุมใหมีความสมดุล ของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได โดยพิจารณาระหวางตนทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและตนทุนของการจัดการความ เสี่ยง ฝายบริหารไดมีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุมบริษัทอยางตอเนื่องเพื่อใหมั่นใจวามี ความสมดุลระหวางความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนใหมั่นคงเพื่อรักษาความเชื่อมั่นของนักลงทุน เจาหนี้ และความเชื่ อ มั่ น ของตลาดและก อ ให เกิ ด การพั ฒ นาของธุ ร กิ จ ในอนาคต คณะกรรมการได มี ก ารกํ ากั บ ดู แ ล ผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งกลุมบริษัทพิจารณาจากสัดสวนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนินงานตอสวนของ เจาของรวม อีกทั้งยังกํากับดูแลระดับการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนสามัญ

81


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 198

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่ งสงผลกระทบตอการดําเนิ นงานและกระแสเงิน สดของกลุมบริษั ท กลุมบริษัท มี ความเสี่ยงดานอัตรา ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกูยืม (ดูหมายเหตุ 15) โดยกลุมบริษัทไดลดความเสี่ยงดังกลาวโดยทําใหแนใจวาดอกเบี้ยที่ เกิดจากเงินกูยืมสวนใหญมีอัตราคงที่ อัตราดอกเบี้ ยของหนี้ สิน ทางการเงิน ที่ มี ภาระดอกเบี้ ย ณ วันที่ 31 ธัน วาคม และระยะที่ ค รบกํ าหนดชํ าระหรื อ กําหนดอัตราใหมมีดังนี้

ป 2560 หมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน รวม ป 2559 หมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน รวม

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ป แตภายใน 5 ป หลังจาก 5 ป (พันบาท)

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

ภายใน 1 ป

0.30 – 5.25

1,415,239

-

0.30 – 5.25

1,415,239

5,522,028 5,522,028

0.30 – 4.23

1,193,731

-

-

1,193,731

0.30 – 4.23

1,193,730

3,613,655 3,613,655

5,342,837 5,342,837

8,956,492 10,150,223

82

10,191,124 10,191,124

รวม

1,415,239 15,613,152 17,028,391


199

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) ป 2560 หมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน รวม ป 2559 หมุนเวียน เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม

ภายใน 1 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ป แตภายใน 5 ป หลังจาก 5 ป (พันบาท)

รวม

1.60 – 4.23

1,017,431

-

-

1,017,431

1.60 – 4.23

1,017,431

4,223,811 4,223,811

7,737,167 7,737,167

11,960,978 12,978,409

1.60 - 4.23

825,722

-

-

825,722

1.60 - 4.23

825,722

2,312,757 2,312,757

2,638,209 2,638,209

4,950,966 5,776,688

ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ซึ่งสวนใหญเกิดจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ

83


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 200

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรัปบระกอบงบการเงิ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุมบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอันเปนผลมาจาก การมีสินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศดังนี้ งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

สกุลเงินเยนญีป่ ุน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ ีความเสี่ยง

979,402 30,556 (83,124) (9,042,915) (8,116,081)

818,052 16,075 (220,877) (4,264,027) (3,650,777)

7,096 (913) (6,087,377) (6,081,194)

สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เจาหนี้อื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง

5,037 (16,759) (542,343) (554,065)

442 442

1,616 (16,759) (326,897) (342,040)

-

สกุลเงินอื่น ๆ เจาหนี้อื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง

(9,744) (9,744)

(9,445) (9,445)

-

-

27,437 (1,137,136) (1,109,699)

ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชําระหนี้แกกลุมบริษัท ตามเงื่อนไขที่ตกลง ไวเมื่ อ ครบกํ าหนด ซึ่ งจะกอ ให เกิ ดความเสี ยหายทางการเงิน แก กลุม บริษั ท กลุ ม บริษั ท มีค วามเสี่ ยงด านเครดิ ต เนื่องจากรายไดสวนใหญของบริษัทอยูภายใตสัญญาระยะยาวกับคูสญ ั ญานอยราย อยางไรก็ตามสัญญาโดยทั่วไปจะ เปนหนวยงานภาครัฐและองคกรภาครัฐหรือเอกชนที่มีขนาดใหญและมีความเสี่ยงที่รับรูอยูในระดับต่ํา

84


201

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ น และบริษัทย่อย บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน) หมายเหตุ ส�ำหรั สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 2560บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุมบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทาเงิน สดใหเพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมบริษัทและเพื่อทําใหผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินมีมูลคาที่ใกลเคียงกับมูลคา ตามบัญชียกเวนรายการดังตอไปนี้

หมุนเวียน 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพยทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุล เงินและอัตรา ดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย หนี้สินทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย เงินกูยืมระยะยาว (สวน ที่มีดอกเบี้ยคงที่)

งบการเงินรวม

มูลคาตามบัญชี ไมหมุนเวียน

รวม

ระดับ 1 (พันบาท)

มูลคายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3

รวม

-

-

-

-

6,705

-

6,705

-

-

-

-

4,636

-

4,636

-

-

-

-

(44,111)

-

(44,111)

235,305

3,343,208

-

3,716,740

-

3,716,740

3,578,513

85


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 202

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ น และบริษัทย่อย บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจปี จ�ำกั ด (มหาชน) หมายเหตุ ส�ำหรั บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม 2560 งบการเงินรวม

มูลคาตามบัญชี หมุนเวียน ไมหมุนเวียน 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพยทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนสกุล เงินและอัตรา ดอกเบี้ย หนี้สินทางการเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย เงินกูยืมระยะยาว (สวน ที่มีดอกเบี้ยคงที่) 2,498,192

รวม

ระดับ 1 (พันบาท)

มูลคายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3

รวม

-

-

-

36,835

-

36,835

-

-

-

(54,499)

-

(54,499)

-

6,148,641

-

6,148,641

3,680,858

6,179,050

มูลคายุติธรรมระดับ 2 สําหรับตราสารอนุพันธที่ซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย อางอิงราคาจากนายหนา ซึ่งไดมีการ ทดสอบความสมเหตุ สมผลของราคาเหลานั้ น โดยการคิดลดกระแสเงิน สดในอนาคตที่ คาดการณ ไวดวยอัตรา ดอกเบี้ยในตลาดสําหรับเครื่องมือทางการเงินที่เหมือนกัน ณ วันที่วัดมูลคา มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน สะทอนผลกระทบของความเสี่ยงดานเครดิตและไดรวมการปรับ ปรุงความเสี่ยงดานเครดิตของกลุมบริษัทและ คูสัญญา ตามความเหมาะสม 30

ภาระผูกพันกับกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

ภาระผูกพันรายจายฝายทุน อาคาร อุปกรณ เครื่องจักร และสิ่งปลูกสรางอื่น รวม

43,605 43,605

86

216,103 216,103

2,480 2,480

3,195 3,195


203

งบการเงิน

บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ บริษัทหมายเหตุ บีซีพีจี ปจ�ำกั ด (มหาชน)นและบริษัทย่อย หมายเหตุ ส�ำหรั2560 บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สําหรับปประกอบงบการเงิ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันนวาคม งบการเงินรวม 2560 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (พันบาท)

จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตทั้งสิ้น ภายใตสัญญาเชาดําเนินงานที่บอกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป หลังจาก 5 ป รวม ภาระผูกพันอื่นๆ หนังสือค้ําประกันจากธนาคาร รวม 31

5,363 21,934 59,907 87,204

3,234 9,135 44,237 56,606

3,958 13,440 21,163 38,561

1,804 2,441 4,245

105,097 105,097

24,904 24,904

85,097 85,097

4,904 4,904

เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติเห็นชอบใหเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเรื่อง จายเงินปนผลสําหรับป 2560 ในอัตราหุนละ 0.61 บาท ซึ่งบริษัทไดจายเงินปนผลระหวางกาลไปแลวในอัตราหุนละ 0.45 บาท ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 28 และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 0.16 บาท ใหแกผูถือหุน เฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผล ทั้งนี้การจายเงินปนผลดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนใน วันที่ 24 เมษายน 2561

87


รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท บีซีพีจี จำ�กัด (มหาชน) 204

ข้อมูลทั่วไปและ

ข้อมูลส�ำคัญอื่นๆ

ข้อมูลบริษัท

บริษัท บีซพี ีจี จ�ำกัด (มหาชน) BCPG PUBLIC COMPANY LIMITED ทะเบียนเลขที่ 0107559000095

ก่อตั้งบริษัทและเริ่มประกอบกิจการ 17 กรกฎาคม 2558

ธุรกิจ

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน รวมถึงลงทุนใน บริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

ลูกค้า

• การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • บริษัทรับซือ้ ไฟฟ้า (Electric Power Company)

ติดต่อบริษัท • • • •

ส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0-2335-8945 โทรสาร 0-2335-8900 E-mail : IR@bcpggroup.com ส�ำนักเลขานุการบริษัท โทรศัพท์ 0-2335-8902 โทรสาร 0-2335-8900 E-mail : bcpg-secretary@bcpggroup.com ส�ำนักตรวจสอบภายใน โทรศัพท์ 0-2335-8906 โทรสาร 0-2335-8900 E-mail : iad@bcpggroup.com Website : www.bcpggroup.com

ที่ตั้งส�ำนักงาน

บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 2098 อาคารเอ็มทาวเวอร์ ชั้น 12 ถนนสุขมุ วิท แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์ 0-2335-8999 โทรสาร 0-2335-8900 Website : www.bcpggroup.com

บริษัทย่อยและบริษัทร่วม

บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด 99/1 หมู่ที่ 9 ต�ำบลบางกระสั้น อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (บุรีรัมย์) 245 - 246 หมู่ท่ี 3 ต�ำบลแสลงโทน อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (บุรีรัมย์1) 120 - 120/2 หมู่ท่ี 7 ต�ำบลบุกระสัง อ�ำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (นครราชสีมา) 111 - 111/2 หมู่ท่ี 9 ต�ำบลตะเคียน อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (ชัยภูมิ1) 216 - 218 หมู่ท่ี 4 ต�ำบลหัวทะเล อ�ำเภอบ�ำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ บริษัท บางจาก โซลาร์เอ็นเนอร์ยี จ�ำกัด (ปราจีนบุรี) 137 - 139 หมู่ท่ี 3 ต�ำบลนาแขม อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี


205

BCPG Japan Corporation Akasaka Intercity Building, 6th floor, 1-11-44 Akasaka, Minoto-ku, Tokyo, 107-0052 โทรศัพท์ +81-80-2301-7073 โทรสาร +81-3-5544-8689 Website : http://www.bcpg.jp

ข้อมูลบุคคลอ้างอิง

Huang Ming Japan Company Limited 2 Matex Building 2, 8th Floor, 1-9-10, Matsugaya, Taito-ku, Tokyo, Japan111-0036

ผู้สอบบัญชี

BCPG Investment Holding Pte. Ltd (BCPGI) 8 Marina Boulevard # 05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 BSE Energy Holding Pte. Ltd. (BSEH) 8 Marina Boulevard # 05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 BCPG Wind Cooperatief UA Naritaweg 165, 1043 BW Amsterdam, the Netherlands Petro Wind Energy 7/F JMT Building, ADB Avenue, Ortigas Business Center, Pasig City, Phillipines Star Energy Group Holding 9 Battery Road #15-01 MYP Centre, Singapore (049910)

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่นๆ

นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ชั้น 48-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2677-2000 โทรสาร 0-2677-2222

อื่นๆ

• การให้บริการผู้ถือหุ้น • การแจ้งใบหุ้นสูญหาย • การแก้ไขข้อมูลผู้ถือหุ้น

ติดต่อ

ส่วนบริการผู้ลงทุน บริษัท ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.