BGH : Annual Report 2012 thai

Page 1

รายงานประจำป

บร�ษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน)

2555


ปรัชญา

ณ สถานที่แหงนี้คือสถานที่ซึ่งความเจริญกาวหนาทางการแพทย และคุณธรรมมาบรรจบกัน

ว�สัยทัศน

โรงพยาบาลกรุงเทพ จะเปนสถานบริการทางการแพทย ในระดับตติยภูมิที่เปนเลิศ ที่มีมาตรฐานสูงดวยคุณภาพในระดับสากล เพื่อความไววางใจ และพึงพอใจสูงสุดของผูรับบริการ

พันธกิจ

เรามุงมั่นที่จะเปนผูนำในการใหบริการทางการแพทย ที่ไดรับการยอมรับในระดับมาตรฐานสากล โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัย การบริหารธุรกิจที่มีเครือขายอยางมีประสิทธิภาพ โดยทีมบุคลากรที่มีความสามารถ ยึดมั่นเชิดชูมาตรฐาน และจริยธรรมแหงวิชาชีพ มุงพัฒนาคุณภาพบริการอยางตอเนื่อง เพื่อประโยชนและความพึงพอใจสูงสุดของผูรับบริการ รวมถึงการเจริญเติบโตที่มั่นคงขององคกร



กายฟ�ต

PHYSICAL HEALTH

green health

กายสดใส ใจสีเข�ยว

จ�ตพรอม

MENTAL HEALTH


ดูแลปองกันทันโรค

MEDICAL

HEALTH CARE

ใสใจการบร�โภคและโภชนาการ

FOOD & NUTRITION

ไมมองขามสิ�งแวดลอม

ENVIRONMENT


สารบัญ 05 06 08 12 14 16 24 34 38 42 44 48 52 62 74 78 83 85 86 87 88 100 149 150

สารประธานกรรมการบร�ษัท สารประธานกรรมการบร�หาร ภาพรวมทางการเง�น แผนผังนิตบิ คุ คลทีบ่ ร�ษทั ถือหุน ตัง� แตรอ ยละ 10 ข�น้ ไป คณะกรรมการบร�ษัท ประวัติคณะกรรมการและผูบร�หาร ลักษณะการประกอบธุรกิจ กิจกรรมเพ��อสังคม โครงการ Green Health งานว�จัยและพัฒนา ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน ปจจัยความเสี่ยง โครงสรางการถือหุนและการจัดการ รายงานการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี รายการระหวางกัน คำอธิบายและว�เคราะหงบการเง�นประจำป คาตอบแทนของผูสอบบัญช� รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเง�น รายงานของผูสอบบัญช�รับอนุญาต งบการเง�น หมายเหตุประกอบงบการเง�นรวม ขอมูลทั�วไปของบร�ษัทและขอมูลอางอิงอื่นๆ นิติบุคคลที่บร�ษัทถือหุนตั�งแตรอยละ 10 ข�้นไป


เพื่อสรางความแข็งแกรงใหกับธุรกิจ และพรอมรับมือกับการแขงขัน บริษัทฯ จะยังคงใหความสำคัญกับการลงทุนในดานบุคลากร ทางการแพทย และการรักษามาตรฐานการรักษาพยาบาล ทัง้ ในแงของคุณภาพการบริการ และการนำนวัตกรรมทางการแพทยทท่ี นั สมัย มาใชพฒ ั นาการบริการอยางตอเนือ่ ง นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังคาดวาการเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในป 2558 ทีจ่ ะถึงนี้ ยังเปนการเพิ่มโอกาสในการเติบโตใหแกธุรกิจการบริการสุขภาพของไทย ใหเปนประเทศชั้นนำทางการแพทยเชิงทองเที่ยว เนื่องจากมี ขอไดเปรียบในเชิงภูมศิ าสตรทต่ี ง้ั อยูศ นู ยกลางของภูมภิ าคอาเซียน อันจะนำไปสูก ารขยายตัวของอุปสงคของการบริการสุขภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมถึงสงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจในประเทศ ทำใหประชาชนมีกำลังซื้อมากขึ้นและหันมาสนใจตอสุขภาพมากขึ้น ดวยความมุง มัน่ ในการบริการ และความเปนหนึง่ เดียวกันของทีมแพทยและพยาบาล ซึง่ นำพาใหเครือโรงพยาบาลกรุงเทพเปนสถาบัน ทางการแพทยที่มีความแข็งแกรงและเติบโตคูกับสังคมไทยมากวา 40 ป ในโอกาสนี้ ผมในนามของคณะกรรมการบริษัท ขอถือโอกาส ขอบคุณทานผูถือหุน ผูถือหุนกู เพื่อนแพทยและพนักงานทุกทาน รวมถึงผูมีสวนไดเสียในทุกภาคสวน ที่ใหความไววางใจในเครือ โรงพยาบาลกรุงเทพและใหการสนับสนุนตอบริษัทดวยดีเสมอมา

(ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยอรุณ เผาสวัสดิ์) ประธานกรรมการบร�ษัท

5 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

สถานการณโดยรวมของภาวะธุรกิจและเศรษฐกิจในป 2555 เปนไปตามความคาดหมาย โดยเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศยังมีการเติบโตอยางตอเนื่องแมวาความไมแนนอนของ สถานการณทางเศรษฐกิจในหลายพื้นที่ของโลกจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ อยูบ า ง แตกม็ ไิ ดสง ผลกระทบตอธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในประเทศ และดวยการทีบ่ ริษทั ฯ ไดมกี ารเตรียมพรอมดานบุคลากรและการปรับกลยุทธไดอยางเหมาะสม ทำใหผลการดำเนิน งานของบริษทั ฯ มีการเติบโตไดตามเปาหมายทีว่ างไว โดยมีอตั ราการขยายตัวของรายไดถงึ รอยละ 25 จากปที่ผานมา และคาดวานาจะมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ตามการเพิ่มขึ้น ของรายไดตอหัวของประชากร และการเพิ่มขึ้นของจำนวนผูปวยอันเปนผลมาจากการที่ประชาชนหันมาใหความสำคัญกับการรักษา สุขภาพเพิม่ มากขึน้ การมีประชากรผูส งู อายุมากขึน้ และคนไขตา งประเทศทีม่ ารับการบริการสุขภาพในไทย (Medical Tourism) เพิม่ ขึน้

ส า ร ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร บ ร� ษั ท

สารประธานกรรมการบร�ษัท


ส า ร ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร บ ร� ห า ร

สารประธานกรรมการบร�หาร

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

6

โรงพยาบาลกรุงเทพเปนธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนทีเ่ ติบโตคูก บั สังคมไทยมานานกวา 40 ป ปจจุบันเรามีโรงพยาบาลในเครือขายทั้งไทยและตางประเทศ รวมถึง 30 แหง ดวยขนาดจำนวนเตียงใหบริการกวา 5,400 เตียง ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพ ปริมณฑล และจังหวัดขนาดใหญ โดยในชวงหลายปทผ่ี า นมานี้ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพไดพฒ ั นา และปรับปรุงคุณภาพการรักษาพยาบาลอยางตอเนื่อง จนถึงปจจุบันเรามีโรงพยาบาล ทีไ่ ดรบั การรับรองคุณภาพในระดับสากลจากสถาบัน JCI (Joint Commission International) สหรัฐอเมริกา 12 แหง และโรงพยาบาลกรุงเทพยังไดรบั การรับรองอยางเปน ทางการจาก FIFA โดยมอบประกาศนียบัตร FIFA Medical Centre of Excellence หรือ “ศูนยเพื่อความเปนเลิศทางการแพทยของสหพันธฟุตบอลนานาชาติ” ซึ่งถือเปน โรงพยาบาลเอกชนแหงแรกของประเทศไทยและอาเซียน และเปนแหงทีส่ ามของเอเชีย (ประเทศญีป่ นุ กาตาร ไทย และซาอุดอิ าระเบีย) ทีผ่ า นการรับรองอยางเปนทางการจาก FIFA นอกจากนีใ้ นป 2555 เครือโรงพยาบาลกรุงเทพยังไดนำนวัตกรรม คุณหมอหุน ยนต “ROBO DOCTOR” ซึ่งถือเปนโรงพยาบาลเอกชนแหงแรกในประเทศที่นำเทคโนโลยีสนับสนุนงานทางการแพทยมาใชใหผูปวยเขาถึงการรักษา อยางทันทวงทีและชวยใหผูปวยที่อยูหางไกลไดรับโอกาสทางการรักษาจากแพทยผูเชี่ยวชาญ ไมเพียงแตความกาวหนาและเปาหมายที่จะพัฒนามาตรฐานการบริการของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพใหเปนโรงพยาบาลของคนไทย ที่มีมาตรฐานทัดเทียมระดับสากลเทานั้น เรายังมีปณิธานที่จะเติบโตควบคูไปกับการดูแลสังคมไทย โดยนอกจากกิจกรรมทางสังคมที่ได ดำเนินการรวมกับมูลนิธเิ วชดุสติ อยางตอเนือ่ งทุกปแลว บริษทั ฯ ยังไดรเิ ริม่ โครงการ Green Health ซึง่ เปนอีกหนึง่ โครงการเพือ่ ตอบแทน สังคมของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ทีจ่ ะนำองคความรูด า นการแพทยและสาธารณสุข มาดูแลสุขภาพให ประชาชนคนไทย โดยเฉพาะใหความชวยเหลือผูดอยโอกาสในสังคม และขยายขอบเขตสูการรณรงคสงเสริมใหเกิดสังคมสุขภาพดีแบบ องครวม ดำเนินการโดย 5 กลุมโรงพยาบาลในเครือ ไดแก กลุมโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุมโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบีเอ็นเอช กลุม โรงพยาบาลพญาไท และกลุม โรงพยาบาลเปาโล ซึง่ นับเปนโครงการแรกในประเทศไทยทีโ่ รงพยาบาลเอกชน 26 แหง รวมกันดำเนิน โครงการดานสาธารณสุขเพื่อสังคมอยางเปนรูปธรรม ในดานผลประกอบการ เมือ่ ยอนกลับไปในป 2553 ซึง่ เปนชวงเวลาทีค่ ณะกรรมการบริษทั ไดตดั สินใจเขารวมกิจการกับ เครือโรงพยาบาล พญาไทและเครือโรงพยาบาลเปาโล เรามีความกังวลวาผลของการควบรวมจะออกมาในรูปใด การเปลี่ยนถายระหวางวัฒนธรรมองคกร


ในนามของบริษทั กรุงเทพดุสติ เวชการ จำกัด (มหาชน) ผมขอขอบพระคุณทานผูถ อื หุน ผูใ ชบริการ รวมถึงพันธมิตรทางธุรกิจทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนการดำเนินงานของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพดวยดีเสมอมา ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรมการของบริษัท แพทย พยาบาล ผูบริหารและพนักงานทุกทาน ที่มุงมั่น และทุมเทแรงกายแรงใจปฏิบัติหนาที่ อยางเต็มความสามารถ เพื่อใหเครือโรงพยาบาล กรุงเทพเปนกิจการที่มีความมั่นคงและเจริญเติบโต อยางยั่งยืนตอไป

(นายแพทยปราเสร�ฐ ปราสาททองโอสถ)

ประธานกรรมการบร�หาร

ส า ร ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร บ ร� ห า ร

และในขณะทีป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกำลังจะเริม่ มีผลอยางเปนรูปธรรมในป 2558 นี้ ประสบการณและความไววางใจทีเ่ ราไดรบั มาอยางตอเนือ่ งยาวนาน เปนสิง่ ทีเ่ สริมสรางความมัน่ ใจใหเราพรอมตอการใหบริการแกประชากรจากอาเซียนทีจ่ ะเดินทางมาสูป ระเทศไทย ผมมีความเชือ่ มัน่ วา บุคลากรทางการแพทยของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพทุกคน พรอมทีจ่ ะรวมกันนําความรู ความสามารถและศักยภาพ ของตน เพือ่ พิสจู นความสามารถของแพทยไทยใหเปนทีป่ ระจักษในระดับสากล และจะรวมกันนําพาองคกรแหงนีใ้ หกา วสูค วามเปนหนึง่ ทางการแพทย ในระดับภูมิภาคเหมือนดังเชนที่ผานมา

7 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

และบุคคลากรในทุกระดับตลอดจนแพทย และพยาบาล แตวนั นีเ้ รามีความยินดีทจ่ี ะกลาววา การตัดสินใจและความมุง มัน่ ในครัง้ นัน้ ไดกอ ใหเกิดความรวมมือระหวางเครือขายโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญและสรางความแข็งแกรงใหแกบริษทั ฯ ดวยผลประกอบการใน ป 2555 ซึ่งมีอัตราการเติบโตอยางกาวกระโดด โดยมีรายไดการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น จาก 23,513 ลานบาท ในป 2553 เปน 35,224 ลานบาท ในป 2554 และ 44,307 ลานบาท ในป 2555 ดวยสินทรัพยขนาดใหญทเ่ี พิม่ ขึน้ จาก 32,197 ลานบาท ในป 2553 เปน 58,792 ลานบาท ในป 2554 และ 68,461 ลานบาท ในป 2555 และมีมลู คาหลักทรัพยตามราคาตลาด (Market Capitalization) เพิม่ ขึน้ จาก 57,940 ลานบาท ในป 2553 เปน 126,728 ลานบาท ในป 2554 และ 175,409 ลานบาท ณ สิ้นป 2555


ภาพรวมทางการเง�น รายไดคารักษาพยาบาลและอัตราการเติบโต

กำไรสุทธิและอัตรากำไรสุทธิ

25.8%

17.3%

49.8% 11.9%

ภ า พ ร ว ม ท า ง ก า ร เ ง� น

8.9% 9.6% 23,513

35,224

44,307

2,295

4,386

7,937

2553

2554

2555

2553

2554

2555

หมายเหตุ รวมรายการไมปกติ (Non-Recurring Items)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

8

รายไดคารักษาพยาบาล (ลานบาท)

กำไรสุทธิ (ลานบาท)

อัตราการเติบโตของรายไดคารักษาพยาบาล

อัตรากำไรสุทธิ

ราคาหุนสามัญยอนหลัง 5 ป (2551-2555) เปร�ยบเทียบดัชนีตลาดหลักทรัพย ดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0 ก.ค. 51 ม.ค. 51

ราคาหุนสามัญของบริษัท (บาท) 120 100 80 60 40 20 0 ม.ค. 52

ก.ค. 52

ม.ค. 53

ก.ค. 53

ม.ค. 54

ดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ ราคาหุนสามัญของ บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน)

ก.ค. 54

ม.ค. 55

ก.ค. 55


2554

2553

งบดุล (หนวย : ลานบาท) สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุนรวม

68,461 29,634 38,827

58,792 25,375 33,417

32,197 15,914 16,283

งบกำไรขาดทุน (หนวย : ลานบาท) รายไดคารักษาพยาบาล รายไดจากการดำเนินงานรวม1/ กำไรสุทธิ

44,307 45,994 7,937

35,224 36,726 4,386

23,513 23,968 2,295

ขอมูลเกี่ยวกับหุนสามัญ จำนวนหุนสามัญที่ออกและชำระเต็มมูลคา (ลานหุน) มูลคาตามบัญชีขั้นพื้นฐาน (บาท) กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) เงินปนผลจายตอหุน (บาท)

1,545.5 25.1 5.1 1.82/

1,545.5 21.6 3.0 1.1

1,246.0 13.1 1.9 0.8

9 25.8 81.0

49.8 91.1

8.9 33.0

23.3 13.4 17.3

23.2 10.6 11.9

23.0 9.5 9.6

12.5 22.9

9.6 18.4

7.3 15.4

0.8 30.8 12.3 47.4

1.2 26.5 12.2 39.8

0.8 26.5 8.7 31.5

0.5 0.4 1.5 12.6

0.5 0.4 1.5 11.1

0.7 0.5 1.5 9.5

1/ ไมรวมรายการไมปกติ (Non-Recurring Items) ซึ่งประกอบดวยกำไรจากการปรับมูลคาเงินยุติธรรมของเงินลงทุนในป 2555 และในป 2554 และกำไรจากการตอรองราคา ซื้อจากการลงทุนในบริษัท เอ.เอ็น.บี. ลาบาราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด ในป 2553 2/ เปนอัตราที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2556

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

อัตราสวนทางการเงินที่สำคัญ อัตราการเติบโต (รอยละ) อัตราการเติบโตของรายไดคารักษาพยาบาล อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิ ความสามารถในการทำกำไร (รอยละ) EBITDA Margin ไมรวมรายการไมปกติ (Non-Recurring Items)1/ อัตรากำไรสุทธิ ไมรวมรายการไมปกติ (Non-Recurring Items)1/ อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทน (รอยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยเฉลี่ย อัตราผลตอบแทนผูถือหุนเฉลี่ย การบริหารสินทรัพยและหนี้สิน อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาชำระหนี้เฉลี่ย (วัน) ภาระหนี้และความสามารถในการชำระหนี้ (เทา) อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิตอ EBITDA อัตราความสามารถในการชำระดอกเบี้ย

ภ า พ ร ว ม ท า ง ก า ร เ ง� น

2555


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5 10

Your Trusted Healthcare Network

Your Trusted Healthcare Network


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

11

Your Trusted Healthcare Network


นิติบุคคลที่บร�ษัทถือหุนตั�งแตรอยละ 10 ข�้นไป นิ ติ บุ ค ค ล ที่ บ ร� ษั ท ถื อ หุ น ตั� ง แ ต ร อ ย ล ะ 1 0 ข�้ น ไ ป

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

12

รอยละ 90 ข�้นไป

BPK

99.7

BNH

91.5

BHI

100.0

BHH

98.8

SVH

95.8

BPB

100.0

BSH

100.0

BKY

100.0

68.1

AIH

100.0

Royal Abu Dhabi

BTH

99.8

BDMS International 100.0

Irving 96.0

Royal BKK

100.0

ANB

BCH

99.7

PPMS 100.0

First Health

NPMS 100.0

BPH

97.3

BIO

95.0

BRH

100.0

GLS

100.0

BCM 100.0

BUD

100.0

BKH

90.4

ชื่อยอ AIH ANB BCH BCM B-Cop BDMS Inter BDMS Training BH BHH BHI BIO BKH

SSH

99.0

30.0 100.0

BDMS 100.0 Training Sodexho

ชื่อบริษัท บริษทั เอเชียอินเตอรเนชัน่ เนล เฮลธแคร จำกัด บริษัท เอ.เอ็น.บี.ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด บริษัท วัฒนเวช จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม จำกัด บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอรเซอรวิสเซส จำกัด BDMS International Medical Services Co., Ltd. บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด บริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด

74.0

ชื่อยอ BKY BNH BPD BPH BPK BRH BSH BTH BUD Cool & Joy First Health GLS Irving KDH MP

ชื่อบริษัท บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ จำกัด บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพตราด จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด บริษัท คูล แอนด จอย จำกัด บริษัท เฟสท เฮ็ลธ ฟูด จำกัด บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด บริษัท เออรวิ่ง เชอริเดน เอส อี จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด


BPD

79.0

S.R. Property

49.0

PMED 100.0

PYT1 100.0

NHS

74.0

Seam Reap

49.0

PSAMUT 93.3

PYT2 99.1

Angkor Pisith

80.0

PPFP

49.0

PCHOK

85.7

PYT3 98.2

Royal Rattanak

70.0

MP

49.0

PNW

99.8

PYTS 66.5

ชื่อยอ NHS NPMS PCHOK BPB PMED PNW PPCL PPFP PPMS PSAMUT PYT 1 PYT 2 PYT 3

ชื่อบริษัท บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด บริษัท เพชรบุรีตัดใหมการแพทย จำกัด บริษัท การแพทยสยาม จำกัด บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) Phnom Penh First Property Co., Ltd. Phnom Penh Medical Services Public Co., Ltd บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด

นอยกวารอยละ 20 Udon Pattana

15.3

B-COP 49.0 RAM

38.2

KDH

20.0

COOL & JOY

30.0

BH

23.9

ชื่อยอ PYTS RAH RAM Royal Abu Dhabi Royal BKK RRH S.R. Property Seam Reap Sodexho SSH SVH Udon Pattana

นิ ติ บุ ค ค ล ที่ บ ร� ษั ท ถื อ หุ น ตั� ง แ ต ร อ ย ล ะ 1 0 ข�้ น ไ ป

98.3

รอยละ 20-49

13

ชื่อบริษัท บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) Angkor Pisith Co., Ltd. บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) Al Ghaith Bangkok Dusit Management Service LLC. บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด Royal Rattanak Medical Services Co., Ltd. S.R. Property Co., Ltd. Seam Reap Invesment Co., Ltd. บริษัท โซเด็กซโซ เฮ็ลธแคร ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท สมิติเวช ศรีราชา จำกัด บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) บริษัท อุดรพัฒนา จำกัด

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

PPCL

รอยละ 50-89


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ร� ษั ท

คณะกรรมการบร�ษัท

14 1 2 3

5 6 7

9 10 11

13

14

15


2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล รองประธานกรรมการ คนที่ 1

10. นายธวัชวงค ธะนะสุมิต กรรมการ

3. นายว�ชัย ทองแตง รองประธานกรรมการ คนที่ 2

11. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล กรรมการอิสระ

4. นายแพทย ปราเสร�ฐ ปราสาททองโอสถ ประธานคณะผูบร�หาร และกรรมการผูอำนวยการใหญ

12. ดร.สมชัย สัจจพงษ� กรรมการอิสระ

5. นายแพทยพงษ�ศักดิ์ ว�ทยากร กรรมการ 6. นายแพทยชาตร� ดวงเนตร กรรมการ 12

9. ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยสันตศิร� ศรมณี กรรมการอิสระ

7. นายประดิษฐ ทีฆกุล กรรมการ 8. นายแพทยจ�โรจน สุชาโต กรรมการ

13. นายศร�ภพ สารสาส กรรมการอิสระ 14. นางสาวกนานุช เล็กว�จ�ตร กรรมการ 15. นายธงชัย จ�รอลงกรณ กรรมการ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ร� ษั ท

8

1. ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอรุณ เผาสวัสดิ์ ประธานกรรมการบร�ษัท

15 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

4


ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร

ประวัติคณะกรรมการและผูบร�หาร บร�ษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

16

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทย อรุณ เผาสวัสดิ์

นายแพทย ปราเสร�ฐ ปราสาททองโอสถ

ประธานกรรมการบร�ษัท อายุ 75 ป

ประธานกรรมการบร�หาร / ประธานคณะผูบร�หารและกรรมการผูอำนวยการใหญ อายุ 79 ป

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• Directors Accreditation Program รุนที่ 45, Thai Institute of Directors Association • Dr.med มหาวิทยาลัยฮัมบูรก เยอรมนี • Facharzt fur Chirurgie แพทยสภารัฐฮัมบูรก เยอรมนี • ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก มหาวิทยาลัยมหิดล • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ

• ผูชวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข • ที่ปรึกษา รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข • ประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย • เลขาธิการ ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย • ประธานฝายวิชาการ คณะกรรมการบริหารแพทยสมาคมแหงประเทศไทย • คณบดีคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล • นายกแพทยสภา • นายกแพทยสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภฯ

ตำแหนงงานอื่น

• ประธานกลุมสถาบันฝกอบรมแพทยเฉพาะทางแหงประเทศไทย • รองประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจาฟามหิดล • คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลป • รองประธาน ศิริราชมูลนิธิ • กรรมการ บริษัท เจาพระยาเวชกิจ จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลเจาพระยา จำกัด (มหาชน)

• Directors Accreditation Program รุนที่ 45, Thai Institute of Directors Association • วุฒิบัตร หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 1 • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร

ประสบการณ

• สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ • สมาชิกวุฒิสภา • อาจารยภาควิชาศัลยศาสตร โรงพยาบาลศิริราช

ตำแหนงงานอื่น

• กรรมการ/ประธานคณะผูบริหาร บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท บางกอกแอรเวยสโฮลดิ้ง จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท เอ. เอ็น. บี. ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2537

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 294,517,734 หุน (19.06%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2541

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 15/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 381,871 หุน (0.025%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555


วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

รองประธานกรรมการบร�ษัทคนที่ 1 อายุ 80 ป

• Directors Accreditation Program รุนที่ 45, Thai Institute of Directors Association • Diplomate of American Board of Surgery • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ

• หัวหนาฝายศัลยกรรม สถาบันมะเร็งแหงชาติ • ผูอำนวยการ โรงพยาบาลกรุณาพิทักษ • ผูอำนวยการ โรงพยาบาลกรุงเทพ

ตำแหนงงานอื่น

• ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด • กรรมการ บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2535

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 27,565,795 หุน (1.78%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

รองประธานกรรมการบร�ษัท คนที่ 2 อายุ 66 ป • Directors Accreditation Program (DAP) รุนที่ 15 • Audit Committee Program (ACP) รุนที่ 3 • Directors Certification Program รุนที่ 62, Thai Institute of Directors Association • Finance for Non-Finance Director (FND) รุนที่ 21 • Role of Chairman Program (RCP) รุนที่ 11 • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย • ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รม.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • ปริญญาตรี นิติศาสตร (นบ.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประสบการณ

• ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ศิครินทร จำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ กลุมบริษัท KPN, YAMAHA • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท เค พี เอ็น ออโตโมทีพ จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ยานภัณฑ จำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการบริหาร บริษทั หลักทรัพย ไอ วี โกลบอล จำกัด (มหาชน)

ตำแหนงงานอื่น

• ประธานกรรมการ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท การแพทยสยาม จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท สำนักกฎหมายวิชัย ทองแตง จำกัด • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท แกรนด แอสเซท จำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท เมโทร แมชินเนอรี่ จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท เคเบิลไทย โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2554

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 15/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 184,998,269 หุน (11.97%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร

นายว�ชัย ทองแตง

17 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล


ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

18

นายแพทยพงษ�ศักดิ์ ว�ทยากร กรรมการ อายุ 79 ป

ประธานคณะผูบร�หารศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ อายุ 68 ป

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา Humanities Universities of Baguio • Directors Accreditation Program รุน ที่ 45, Thai Institute of Directors Association • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยคริสเตียน • วุฒิบัตร หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร • DTM & H คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล • Post graduate study, University of Pennsylvania, Philadelphia, USA. • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ

• กรรมการผูอำนวยการใหญ/บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) • ผูอำนวยการกองสถานพยาบาล คุรุสภา • คณะกรรมการทีป่ รึกษา ผูว า ราชการกรุงเทพมหานคร ดานการแพทยและสังคม • นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน • กรรมการแพทยสมาคม

ตำแหนงงานอื่น

• รองประธานกรรมการ บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษัท การแพทยสยาม จำกัด • กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บริษทั ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ จำกัด • รองประธานกรรมการ Angkor Pisith Co., Ltd. • ประธานกรรมการ B.D.M.S. International Medical Services Co., Ltd. • กรรมการ บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด • ประธานกรรมการบริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด • ประธานกรรมการบริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2537

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 15/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • 100,000 หุน (0.01%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

นายแพทย ชาตร� ดวงเนตร กรรมการ / ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ-การแพทย/

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม • Directors Accreditation Program รุนที่ 54, Thai Institute of Directors Association • วุฒิบัตร หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 10 • Fellow, American College of Medical Quality • Certified, American Board of Quality Assurance & Utilization Review Physicians • Fellow, American Academy of Pediatrics • Certified, American Board of Pediatrics • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสบการณ • ผูอำนวยการดานปฏิบัติการทางการแพทย กลุมภูมิภาค โรงพยาบาลบำรุงราษฎร • ผูอำนวยการโรงพยาบาลกรุงเทพ • Clinical Assistant Professor of Paediatrics, College of Medicine, Pennsylvania State University, Pennsylvania, USA • Chairman of the Board, Jameson Physician Hospital Organization, New Castle, Pennsylvania, USA • President, Lawrence Independent Physician Association, Lawrence County, Pennsylvania, USA • Physician Executive, Jameson Health System, New Castle, Pennsylvania, USA • Training courses in QA/UR/RM. American Board of Quality Assurance & Utilization Review Physicians, USA ตำแหนงงานอื่น • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด • กรรมการ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด • กรรมการ บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด • กรรมการ บริษัท การแพทยสยาม จำกัด • กรรมการ บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด • กรรมการ บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส (ประเทศไทย) จำกัด • กรรมการ บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด • กรรมการ B.D.M.S. International Medical Services Co., Ltd. • กรรมการ Angkor Pisith Co., Ltd. • กรรมการ Phnom Penh Medical Services Co., Ltd. • กรรมการ บริษัท Rattanak Medical Services Co., Ltd. • กรรมการ บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด • กรรมการ บริษัท โซเด็กซโฮ เฮลธแคร ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด • กรรมการ บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด • กรรมการ บริษัท ซูพีเรีย ไบโอเทค โฮลดิ้ง จำกัด เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2549 จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16 จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • 180,000 หุน (0.01%) ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555


วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

กรรมการและที่ปร�กษาประธานคณะผูบร�หาร อายุ 54 ป • Directors Cecreditation Program รุนที่ 29, Thai Institute of Directors Association • นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย • ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ตำแหนงงานอื่น

• กรรมการ บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด • กรรมการ บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด • กรรมการ บริษัท การแพทยสยาม จำกัด • กรรมการ บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด • กรรมการ บริษัท เอ. เอ็น. บี. ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด • กรรมการ บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด • กรรมการ บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด • กรรมการ บริษัท โซเด็กซโซ เฮ็ลธแคร ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด • กรรมการ บริษัท โซเด็กซโฮ ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด • กรรมการรองผูอำนวยการใหญอาวุโสฝายบริหาร บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (ธุรกิจสายการบินและสนามบิน) • กรรมการ บริษัท บางกอกแอรเวยโฮลดิ้ง จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยปโตรเลียมเซอรวิส จำกัด • กรรมการ บริษัท ครัวการบินกรุงเทพ จำกัด • กรรมการ บริษัท บริการภาคพื้นการบินกรุงเทพเวิลดไวดไฟลทเซอรวิส จำกัด • กรรมการ บริษัท ดับบลิวเอฟเอสพีจีคารโก จำกัด

กรรมการ อายุ 77 ป

• Directors Accreditation Program รุนที่ 45, Thai Institute of Directors Association • Diplomate of American Board of Radiology, Downstate University of New York • Graduated Course Radiobiology at M.D. Anderson Hospital, Houston, Texas • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ

• ผูอำนวยการ โรงเรียนพนักงานวิทยาศาสตร (รังสีเทคนิค) • อาจารยภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี • ที่ปรึกษาดานรังสีวิทยา สถานพยาบาลคุรุสภา

ตำแหนงงานอื่น

• ประธานกรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ จำกัด • กรรมการ บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด • กรรมการ บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2537

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 39,408,009 หุน (2.55%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2551

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • 563,000 หุน (0.04%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร

นายแพทยจ�โรจน สุชาโต

19 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

นายประดิษฐ ทีฆกุล


ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

20

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยสันตศิร� ศรมณี

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ อายุ 78 ป วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• Directors Accreditation Program รุนที่ 43, Thai Institute of Directors Association • Ph.D. (Tropical Medicine), Liverpool University • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ

• รองอธิการบดี ฝายบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล • คณบดี คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล • Member, Expert Committee on Food Borne Parasitic Diseases, WHO

ตำแหนงงานอื่น

• ประธานกรรมการ บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด • รองประธานกรรมการ บริษัท จุรีเวช จำกัด (โรงพยาบาลจุรีเวช รอยเอ็ด)

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2537

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 1,715,127 หุน (0.11%)

นายธวัชวงค ธะนะสุมิต กรรมการ อายุ 65 ป

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• Directors Certification Program รุนที่ 27, Thai Institute of Directors Association • นิติศาสตรบัณฑิต

ประสบการณ

• กรรมการผูจัดการบริษัท Air Lanka Catering จำกัด

ตำแหนงงานอื่น

• กรรมการรองผูอำนวยการใหญฝายการเงิน บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด • กรรมการและผูอำนวยการใหญ บริษัท ไทยปโตรเลียมเซอรวิส จำกัด • กรรมการ บริษัท ครัวการบินกรุงเทพ จำกัด • กรรมการ บริษัท บริการภาคพื้นการบินกรุงเทพ เวิลดไวดไฟลทเซอรวิส จำกัด • กรรมการ บริษัท ดับบลิวเอฟเอสพีจีคารโก จำกัด

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2542

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 14/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 4,860,016 หุน (0.31%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555


วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

กรรมการอิสระ อายุ 65 ป

• รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุน 40 • เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • Directors Accreditation Program รุนที่ 6/2003, Thai Institute of Directors Association • Director Certification Program (DCP) รุนที่ 74, Thai Institute of Directors Association

ประสบการณ

• อธิบดีกรมศุลกากร • รองปลัดกระทรวงการคลัง • ผูตรวจราชการกระทรวงการคลัง • รองอธิบดีกรมสรรพสามิต • ประธานกรรมการ บรรษัท ประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดยอม (บยส.) • รองประธานกรรมการ การไฟฟานครหลวง • รองประธาน บริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) • รองประธาน บริษัท ที โอ ที จำกัด (มหาชน) • กรรมการ คณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานกฤษฎีกา • กรรมการ คณะกรรมการเนติบัณฑิตสภา

ตำแหนงงานอื่น

• ประธานคณะกรรมการ บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) • ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ศรีราชา ฮารเบอร จำกัด (มหาชน)

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2554

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 15/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • ไมมี

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ อายุ 51 ป • ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร พ.ศ. 2533/OHIO STATE UNIVERSITY (ไดรับทุนรัฐบาลศึกษาตอระดับปริญญาโท-เอก) • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร พ.ศ. 2528/OHIO STATE UNIVERSITY • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร (เกียรตินิยม) พ.ศ. 2527 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • Directors Accreditation Program รุนที่ 75, Thai Institute of Directors Association

ประสบการณ

• ผูอำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง • อธิบดีกรมศุลกากร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง • ผูอำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ที่ปรึกษาดานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • รองผูอำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ผูอำนวยการสำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ผูอำนวยการกลุมงานบริหารความเสี่ยงดานการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ผูอำนวยการกองนโยบายและวางแผนงานการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ผูอำนวยการกองนโยบายการออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ผูอำนวยการกองนโยบายและวางแผนฟนฟูเศรษฐกิจ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

ตำแหนงงานอื่น

• ผูอำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • คณะกรรมการ การไฟฟานครหลวง • กรรมการ บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน)

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2551

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 9/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • ไมมี

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร

ดร. สมชัย สัจจพงษ�

21 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล


ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

22

นายศร�ภพ สารสาส

นางสาวกนานุช เล็กว�จ�ตร

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ อายุ 56 ป • ประกาศนียบัตร Audit Committee Program - ACP รุนที่ 1/2547 • ประกาศนียบัตร หลักสูตร สถาบันกรรมการบริษัทไทย รุนที่ 22/2545 • วุฒิบัตร สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การเงิน), University of Southern California, USA

ประสบการณ

• กรรมการผูจัดการและประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน กรุงไทย จำกัด (มหาชน) • กรรมการผูจัดการ บริษัท เงินทุนภัทรธนกิจ จำกัด (มหาชน) • ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บริหารและพัฒนา เพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม จำกัด (มหาชน)

ตำแหนงงานอื่น

• กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท โรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท แอ็ดวานซ อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท เกียรติธนาขนสง จำกัด (มหาชน)

กรรมการ อายุ 56 ป

• ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร • Directors Accreditation Program รุนที่ 81, Thai Institute of Directors Association

ประสบการณ

• กรรมการ บริษัท กรณทิพย จำกัด • กรรมการ บริษัท เมโทรแกรนิต จำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน)

ตำแหนงงานอื่น

• กรรมการบริหาร บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทรทองธุรกิจ จำกัด

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2554

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 3,993,092 หุน (0.26%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2551

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 16/16

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • ไมมี

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

นายธงชัย จ�รอลงกรณ กรรมการ อายุ 53 ป

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ตำแหนงงานอื่น

• รองกรรมการผูจัดการ บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด • กรรมการและกรรมการผูจัดการ บริษัท ธนบุรีพานิชลีสซิ่ง จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วิริยะอินเตอรเนชั่นแนลโบรกเกอร จำกัด • ผูจัดการทั่วไป บริษัท วิริยะลีสซิ่ง จำกัด

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี) : ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555


เขารับตำแหนงกรรมการเมื่อ • พ.ศ. 2555

จำนวนครั�งที่เขาประชุมคณะกรรมการบร�ษัท • 10/10 **

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ*

• 1,137,336 หุน (0.07%)

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

ประสบการณ

• ผูอำนวยการอาวุโส ฝายวาณิชธนกิจ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) • ผูอำนวยการอาวุโส ฝายการเงิน บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ตำแหนงงานอื่น

• กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด • กรรมการ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด • กรรมการ บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด • กรรมการ บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด • กรรมการ บริษัท การแพทยสยาม จำกัด • กรรมการ บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) • กรรมการ Angkor Pisith Co., Ltd. • กรรมการ บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด • กรรมการ บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด • กรรมการ บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด • กรรมการ บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • ไมมี

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

ป ร ะ วั ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู บ ร� ห า ร

• กรรมการและผูจัดการทั่วไป บริษัท ทีบีบีลีสซิ่ง จำกัด • กรรมการและกรรมการผูจัดการ บริษัท ธนบุรีคารถยนต จำกัด • กรรมการและรองประธานกรรมการบริหาร บริษัท วีไอจี คารเรนท จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท เอส.วี.ที. พร็อพเพอรตี้ 2003 จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วิริยะนครินทร จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วิริยะออโตเซลส จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วี.เอส.ทีออโตเซลส (2002) จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วี.เอส.อาร ออโตเซลส จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วีไอจี ออโต โมบิล จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วีเอสเค ออโตโมบิล จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วิริยะมาสดา (2004) จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วี.เอ็ม.เอส.คาร เซลส จำกัด • กรรมการผูจัดการ บริษัท วี.กรุป มิตซูออโตเซลล จำกัด

นางนฤมล นอยอ่ำ

ประธานเจาหนาที่บร�หารดานการเง�น อายุ 55 ป วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• ปริญญาโทดานบริหารธุรกิจ (สาขาการเงินการธนาคาร) มหาวิทยาลัยนอรทเท็กซัสสเตท ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) การเงินและการคลัง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหารระดับสูง รุนที่ 15 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย • TLCA Leadership Development Program “Enhancing Competitiveness” • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง รุนที่ 13 สถาบันพระปกเกลา (ปปร.13) • Successful Formulation & Execution of Strategy Class 6/2010 จัดโดย Thai Institute of Directors Association • Directors Certification Program รุนที่ 107, จัดโดย Thai Institute of Directors Association • Financial Executive Development Program รุนที่ 12 จัดโดย The Thai Institute of Banking and Finance for Executives from Financial Institutions • Applied International Management Program, Sweden จัดโดยรัฐบาลสวีเดน

นายแพทยตฤณ จารุมิลินท ประธานฝายแพทย อายุ 62 ป

วุฒิการศึกษาและประวัติการฝกอบรม

• วุฒิบัตรผูเชี่ยวชาญ สาขากุมารเวชศาสตร ประเทศสหรัฐอเมริกา • วุฒิบัตรผูเชี่ยวชาญ สาขาภูมิแพ และหอบหืด ประเทศสหรัฐอเมริกา • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ประสบการณ

• ผูอำนวยการฝายแพทย ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ • ผูอำนวยการศูนยโรคภูมิแพและหอบหืดกรุงเทพ

จำนวนหุนบร�ษัทที่ถือ* • ไมมี

ความสัมพันธระหวางผูบร�หาร • ไมมี

หมายเหตุ * : จำนวนหุนบริษัทที่ถือ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 รวมคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ(ถามี)

: ขอมูลประวัติกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ** : ไดรับแตงตั้งตามมติที่ประชุมใหญสามัญประจำป 2555 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ใหดำรงตำแหนงกรรมการและเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ตั้งแตการประชุม ครั้งที่ 4/2555 เปนตนไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

23


ลักษณะการประกอบธุรกิจ ความเปนมา

บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2512 ในนาม “บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด” ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ลานบาท โดยเริ่มเปดดำเนินงาน “โรงพยาบาลกรุงเทพ” เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2515 และนำหุน เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2534 ตอมาไดจดทะเบียนแปรสภาพบริษทั เปน บริษทั มหาชนจำกัด ในป 2537 จนถึงปจจุบนั บริษทั มีทนุ จดทะเบียนทัง้ สิน้ จำนวน 1,700.00 ลานบาท เปนทุนทีอ่ อกและเรียกชำระแลว จำนวน 1,545.46 ลานบาท

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

พัฒนาการของบร�ษัทที่สำคัญในชวง 5 ปที่ผานมา

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

24

ป 2551 - บริษทั ไดจดั ตัง้ บริษทั ยอยแหงใหม ในนาม บริษทั กรีนไลน ซินเนอรจ้ี จำกัด โดยบริษทั ถือหุน รอยละ 100 เพือ่ เปนศูนยรวมการดำเนินงาน ทางดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกลุมใหเปนมาตรฐานเดียวกัน และสามารถประหยัดคาใชจายในการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ - บริษทั ไดซอ้ื เครือ่ ง 256-slice multi-detector CT scan เปนเครือ่ งเอกซเรยคอมพิวเตอรความเร็วสูงในการตรวจวินจิ ฉัยโรคหลอดเลือด หัวใจตีบ ที่โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ ป 2552 - บริษัทไดเขาลงทุนในบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ จำกัด เปนเงินทุน จำนวน 70 ลานบาท และถือหุนในอัตราสวนรอยละ 100 สำหรับการดำเนินกิจการโรงพยาบาลเพื่อรองรับประชาชนและนักทองเที่ยวบริเวณเขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา - บริษัทไดซื้อหุนเพิ่มทุนของบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) จำนวน 114,391,922 หุนในราคาหุนละ 1 บาท ทำใหบริษัทเพิ่ม สัดสวนการถือหุน ในบริษทั ดังกลาว จากรอยละ 16.31 เปนรอยละ 16.95 รวมถึงไดลงทุนซือ้ หุน บริษทั ประสิทธิพ์ ฒ ั นา จำกัด (มหาชน) เพิม่ เติมจากกลุม ผูถ อื หุน เดิม ทำใหสดั สวนการถือหุน ในบริษทั ดังกลาว เพิม่ ขึน้ เปนรอยละ 19.47 ของทุนทีอ่ อกและเรียกชำระแลวใน บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) - บริษัทไดนำระบบเทคโนโลยี Tele Interpreter เพื่อชวยการสื่อสารระหวางแพทยและผูปวยชาวตางชาติ ใหเขาใจกันมากขึ้น โดยการ นำระบบ วิดีโอโฟน มารองรับการใหบริการลามไดถึง 26 ภาษา มีแอพลิเคชั่น 3 ภาษาหลัก คือ ญี่ปุน อาหรับ และอังกฤษ โดยมีลาม คอยใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง บนเทคโนโลยี Unified Communication และติดตั้งโปรแกรมสำหรับสื่อสารไวที่เครื่องคอมพิวเตอร ทั้งของลามและแพทย เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนและติดตอสื่อสารขอมูลระหวางกัน และในกรณีที่ลามไมอยูที่โรงพยาบาล สามารถใช ระบบ Wireless IP Phone เพื่อใหบริการไดทุกเวลา


ป 2553 - บริษทั ไดเขาลงทุนในบริษทั โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) “KDH” ซึง่ เปนบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และประกอบธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนขนาด 150 เตียง โดยการเขาซื้อหุนจากกลุมผูถือหุนเดิมของ KDH ดวยมูลคาการ ลงทุนเริม่ แรก คิดเปนรอยละ 16.82 ของจำนวนทุนจดทะเบียน ทีอ่ อกและเรียกชำระแลวของ KDH ทัง้ นี้ ภายหลังบริษทั ไดเพิม่ สัดสวนการลงทุนในบริษทั ดังกลาวโดยการซือ้ หุน ผานตลาดหลักทรัพยฯ ทำใหสัดสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 20.01 ของทุนที่ออกและเรียกชำระแลวของ KDH - บริษทั ไดเพิม่ ทุนในบริษทั กรีนไลน ซินเนอรจ้ี จำกัด ซึง่ เปนบริษทั ยอยทีบ่ ริษทั ถือหุน ในสัดสวนรอยละ 100 จากทุนจดทะเบียนเดิม 30 ลานบาท เปน 200 ลานบาท เพือ่ ลงทุนปรับปรุงบริการดาน ระบบสารสนเทศที่ใหบริการแกเครือขายทั้งหมด - โรงพยาบาลวัฒโนสถ โรงพยาบาลเฉพาะทางดานโรคมะเร็งได เปดศูนยโลหิตวิทยากรุงเทพ (Bangkok Hematology Center) เมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2553 เพือ่ ใหบริการรักษาผูป ว ยโรคเลือด โดยทีมแพทยเฉพาะทางดานโลหิตวิทยา รวมทัง้ มีหอ งปฏิบตั กิ าร

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

เพือ่ การวินจิ ฉัยทีไ่ ดมาตรฐานระดับสูง และมีธนาคารเลือดในการ สำรองและเก็บเลือด ศูนยโลหิตวิทยากรุงเทพเนนการใหบริการ แบบองครวม เพื่อรักษาผูปวยโรคเลือดไดอยางมีประสิทธิภาพ - บริษัทไดปรับโครงสรางธุรกิจของกลุม โดยเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 บริษทั ไดดำเนินการโอนซือ้ กิจการทัง้ หมด (Entire Business Transfer) ของบริษทั โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน จำกัด ซึง่ เปน บริษัทยอยที่บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 100 และจัดตั้งขึ้น เพือ่ ประกอบธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ขนาด 60 เตียง ทีอ่ ำเภอ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ ทัง้ นี้ เพือ่ โอนการดำเนินโครงการ โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน จากบริษทั ยอยมาดำเนินงานเองภาย ใตบริษทั กรุงเทพดุสติ เวชการ จำกัด (มหาชน) โดยถือเปนสาขา หนึง่ ของโรงพยาบาลกรุงเทพ ทีห่ วั หิน เพือ่ ประโยชนในดานการ ลดคาใชจายที่ซ้ำซอนของการบริหารจัดการ เพิ่มความคลองตัว ในการบริหารงานและจัดการทรัพยากรระหวางกัน โดยเฉพาะ การบริหารจัดการทรัพยากรทางการแพทย ซึ่งจะชวยใหเกิด ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามนโยบายมากขึ้น ทั้งนี้ภาย หลังการโอนทรัพยสินทั้งหมดมายังบริษัทแมแลว บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน จำกัด ไดจดทะเบียนเลิกกิจการเมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 และปจจุบนั ไดทำการชำระบัญชีเรียบรอยแลว - บริษัทไดเพิ่มทุนในบริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด ซึ่ง เปนบริษัทยอยที่บริษัทถือหุน ในสัดสวนรอยละ 100 จากทุน จดทะเบียนเดิม จำนวน 1.0 ลานบาท เปน 736.0 ลานบาท โดย เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2553 บริษทั รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด ไดนำเงินเพิม่ ทุนดังกลาวไปลงทุนซือ้ หุน บริษทั เอ.เอ็น.บี. ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด (“ANB”) จากผูถือหุนเดิม ทั้งหมด เปนมูลคาเงินลงทุนทั้งสิ้น 734.0 ลานบาท ทั้งนี้ ANB เปนผูผ ลิตน้ำเกลือรายใหญเปนอันดับ 4 ของประเทศ นอกจาก นีย้ งั เปนผูผ ลิตและจำหนายยาและวัสดุภณ ั ฑทางการแพทย โดย มียอดการสงออกไปตางประเทศ ประมาณรอยละ 20 จากยอด ขายรวมทั้งหมด - บริษทั ไดลงทุนซือ้ เครือ่ ง Open MRI 1.0 T เครือ่ งเดียวในประเทศไทย โดยในการใชบริการผูป ว ยไมตอ งเขาอุโมงคเหมือนเครือ่ ง รุนกอน ซึ่งจะชวยลดความอึดอัดของผูปวยที่จะเขาในที่แคบ และไมตองดมยาสลบ

25 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

- สถาบันโรคกระดูกสันหลัง โรงพยาบาลกรุงเทพ ไดซื้อเครื่องมือ ชวยศัลยแพทยในการผาตัดไดแมนยำยิ่งขึ้นมาใชในการผาตัด โรคกระดูกสันหลังและโรคสมองคือ • Intraoperative CT scanner หรือที่เรียกกันวา O-arm ซึ่ง เปนเครื่องถายภาพกระดูกสันหลังและบริเวณขางเคียงโดยใช Computerized Tomography ผานทางรังสี X-Ray ภาพทีไ่ ด จะเปนภาพที่ชัดเจน และแสดงตำแหนงของกระดูกสันหลังใน ขณะที่ทำการผาตัด เทคโนโลยีใหมนี้ชวยใหแพทยสามารถทำ การผาตัดแผลขนาดเล็ก หรือในการวางเครื่องตรึงกระดูกสันหลังไดดวยความแมนยำอยางสูงสุด • Surgical Navigator (“Stealth 7”) คือเครือ่ งทีใ่ ชในการผาตัด กระดูกสันหลังและสมอง โดยเปนนวัตกรรมที่ทันสมัย ซึ่งชวย ใหศัลยแพทยสามารถกำหนดตำแหนงเนื้องอกในสมอง หรือ จุดตางๆ ในกระดูกสันหลังไดโดยมีความแมนยำมากถึงระดับ เศษสวนของมิลลิเมตร


ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

26

- สถาบันโรคกระดูกสันหลังกรุงเทพ (Bangkok Spine Academy) นำเทคนิคการผาตัดแผลเล็กมาใชในการผาตัดกระดูกสันหลัง โดยการ สองกลอง Microscope ลดความเจ็บปวด เสียเลือดนอย และหายเร็ว - โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพรวมกับ Pacific Rim Electrophysiology Research Institute จัดตั้ง “สถาบันวิจัยหัวใจเตนผิดจังหวะ แปซิฟก ริม โรงพยาบาลกรุงเทพ" และเปด “คลินิกหัวใจเตนผิดจังหวะ” นำทีมโดย นายแพทยกุลวี เนตรมณี แพทยอเมริกันบอรด ดานอายุรกรรมและดานสรีระไฟฟาหัวใจ ใหบริการดานบริการตรวจและรักษาผูที่มีภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ โดยการใชสายสวนพิเศษ จี้ทำลายจุดกำเนิดหรือวงจรที่ผิดปกติในหองหัวใจ การตรวจสรีระไฟฟาหัวใจและการฝงอุปกรณควบคุมไฟฟาหัวใจ - บริษทั ไดลงทุนซือ้ เครือ่ งตรวจวินจิ ฉัยและรักษาโรคหลอดเลือด (Bi-plane DSA) ใชในการตรวจวินจิ ฉัย และรักษาโรคหลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดทัว่ รางกาย โดยใหภาพเสมือนจริง ดวยภาพดิจติ อลคุณภาพสูง 2 ลานพิกเซล และทำใหแพทยวนิ จิ ฉัยโรคไดมปี ระสิทธิภาพมากขึ้นโดยการสรางภาพ 3 มิติ สามารถเห็นสายสวนหลอดเลือดที่ขนาดเล็กมากเทาเสนผมไดชัดเจนแมนยำยิ่งขึ้น ป 2554 - ในป 2554 บริษทั ไดลงทุนซือ้ หุน สามัญ บริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) จำนวน 103,827,600 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 14.22 ของทุนที่ออกและจำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) - ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติเห็นชอบการเขารวมกิจการระหวางบริษัท และบริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) (เครือโรงพยาบาลพญาไทและเปาโลเมโมเรียล) โดยใหบริษทั เขาซือ้ และรับโอนกิจการทัง้ หมด (Entire Business Transfer) ของบริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) ซึ่งถือหุนสวนใหญโดยนายวิชัย ทองแตง และครอบครัว โดยบริษัท ชำระคาตอบแทนการเขารวมกิจการทั้งหมดเปนจำนวนรวมไมเกิน 9,825,357,789 บาท ประกอบดวยหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท จำนวนรวมไมเกิน 230,870,405 หุน ที่ราคาหุนละ 37.75 บาท คิดเปนมูลคารวมไมเกิน 8,715,357,789 บาท และเปนเงินสดอีก ประมาณ 680,000,000 บาท รวมถึงการรับโอนหนีเ้ งินกูย มื และดอกเบีย้ คางจายจากเฮลท เน็ตเวิรค จำนวนไมเกิน 430,000,000 บาท รวมทั้งอนุมัติใหบริษัทเขาทำคำเสนอซื้อหลักทรัพยทั้งหมดของบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) - เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2554 บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนชำระแลวเปน 1,481,034,024 บาท เพื่อชำระเปนคาตอบแทนการโอนกิจการ ทัง้ หมด ของบริษทั เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) เปนผลใหบริษทั ไดถอื หุน ในบริษทั ประสิทธิพ์ ฒ ั นา จำกัด (มหาชน) (เครือโรงพยาบาล พญาไท : โรงพยาบาลพญาไท 1-3 และโรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา) เพิ่มขึ้นจากรอยละ 19.47 เปน รอยละ 68.64 รวมทั้งไดถือหุน ในบริษัทที่ประกอบกิจการเครือโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล อีก 4 แหง คือ บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด (โรงพยาบาล เปาโลเมโมเรียล พหลโยธิน) รอยละ 100.00 บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด (โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล สุมทรปราการ) รอยละ 88.73 บริษัท การแพทยสยาม จำกัด (โรงพยาบาล เปาโลเมโมเรียลโชคชัย 4) รอยละ 80.72 และ บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) (โรงพยาบาล เปาโลเมโมเรียล นวมินทร) รอยละ 99.76 เปนผลใหบริษัทมีโรงพยาบาลในเครือทั้งหมดภายหลังการควบรวม เพิ่มขึ้น จากเดิม 19 แหง เปน 27 แหง (โรงพยาบาลในประเทศ จำนวน 25 แหง และโรงพยาบาลในประเทศกัมพูชา จำนวน 2 แหง) และมี จำนวนเตียงใหบริการ ณ วันควบรวมเสร็จสิ้น จำนวน 4,987 เตียง จากเดิม 3,193 เตียง - บริษัทไดทำคำเสนอซื้อหลักทรัพยของบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) “PYT” โดยมีระยะเวลารับซื้อหลักทรัพยเปนเวลาทั้งสิ้น 25 วันทำการ ตัง้ แตวนั ที่ 8 เมษายน 2554 ถึงวันที่ 23 พฤษภาคม 2554 โดยเสนอคาตอบแทนเปน 2 ทางเลือก คือ เปนเงินสดทีร่ าคา 3.71 บาท ตอหุน หรือเปนหุนสามัญของบริษัท “BGH” ในอัตรา 10.1706 หุน PYT ตอ 1 หุน BGH (อัตราการแลกเปลี่ยนหุน) โดย ผูต อบรับคำเสนอซือ้ จะตองเลือกทางเลือกหนึง่ เทานัน้ ภายหลังเสร็จสิน้ การทำคำเสนอซือ้ หลักทรัพย บริษทั ถือหุน ในบริษทั ประสิทธิพ์ ฒ ั นา


- วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2554 บริษัทไดเปดใหบริการโรงพยาบาล กรุงเทพหัวหิน อยางเปนทางการ โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน เปนอาคาร 5 ชั้น มีหองผูปวยใน 60 หอง โดยชั้นที่ 1 เปนหอง ตรวจผูปวยนอกและหองตรวจผูปวยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ ชั้นที่ 2 เปนหองผาตัดและ ICU ชั้นที่ 3 เปนศูนยปฏิบัติการทางชีว โมเลกุล ฝายธุรการ บริหารและฝกอบรม ชั้นที่ 4 และ 5 เปน อาคารผูป ว ยใน มีพน้ื ทีใ่ ชสอยทัง้ สิน้ 12,000 ตารางเมตร สำหรับ ชั้นที่ 6 เปนลานจอดเฮลิคอปเตอร เพื่อใชในการลำเลียงผูปวย หนักไปรับการรักษาตอที่โรงพยาบาลในกรุงเทพฯ - โรงพยาบาลกรุงเทพ ไดเปด Bangkok Academy of Sports and Exercises Medicine (สถาบันเวชศาสตรการกีฬาและการ ออกกำลังกายกรุงเทพ) โดยนำวิทยาการดานเวชศาสตรการกีฬา และการออกกำลังกายมาใชในการรักษาและพัฒนา เสริมสราง สมรรถนะของรางกายใหเต็มศักยภาพแกนักกีฬา ทั้งอาชีพและ สมัครเลน ทั้งในระดับทีมชาติและประชาชนทั่วไป เพื่อใหเลน กีฬาหรือออกกำลังกายไดอยางมีประสิทธิภาพและมีการบาดเจ็บ นอยลง ตลอดจนการดูแลฟนฟูรางกายภายหลังการเลนกีฬา โดยมีแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเวชศาสตรการกีฬาเปน ผูดูแลและรักษา นอกจากนี้รพ.กรุงเทพ ยังเปนผูใหการตรวจ เช็ครางกายนักกีฬาทีมชาติไทยที่เขารวมการแขงขันกีฬาซีเกมส เอเชี่ยนเกมสและโอลิมปคเกมสและเปนผูสนับสนุนหลักของ สมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทยฯ ดูแลสุขภาพใหแกนกั ฟุตบอล ทีมชาติไทย มากวา 15 ป - โรงพยาบาลวัฒโนสถ ไดนำความกาวหนาทางการแพทยโดยการ ใชเครื่อง PET/CT มาใชในการตรวจความเสื่อมของเซลลสมอง เพื่อตรวจหาสาเหตุในระยะเริ่มแรกของโรคอัลไซเมอร

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

ดานการใหบร�การ

27 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

จำกัด (มหาชน) เพิ่มขึ้นจาก รอยละ 68.64 เปนรอยละ 97.10 ของทุนที่ออกและเรียกชำระแลวของ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) โดยบริษทั ไดออกหุน เพิม่ ทุนจำนวน 64,366,277 หุน ใหแกผทู ต่ี อบรับคำเสนอซือ้ หลักทรัพยทเ่ี ลือกหุน สามัญ BGH เปนสิง่ ตอบแทน ทำใหบริษทั มีทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลวเพิม่ ขึ้นจาก 1,481,034,024 บาท เปน 1,545,400,481 บาท - บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนชำระแลว อีกจำนวน 58,402 บาท เพื่อรองรับการแปลงสภาพหุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญของ บริ ษ ั ท ทำให บ ริ ษ ั ท มี ท ุ น จดทะเบี ย นชำระแล ว เพิ ่ ม ขึ ้ น เป น 1,545,458,883 บาท ทั้งนี้ หุนกูแปลงสภาพดังกลาวไดครบ กำหนดไถถอนในเดือนกรกฎาคม 2554 ปจจุบันบริษัทจึงไมมี ภาระหนี้หุนกูแปลงสภาพคงเหลือ - บริษัทไดลงทุนซื้อหุนสามัญบริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด (โรงพยาบาลเอกอุดร) เพิม่ จำนวน 1,474,000 หุน คิดเปนสัดสวน รอยละ 4.90 ทำใหบริษทั ถือหุน ทัง้ หมดในบริษทั ดังกลาวเพิม่ ขึน้ จากเดิม 3,000,000 หุน หรือรอยละ 10 เปน 4,474,000 หุน หรือรอยละ 14.90 ของทุนที่ออกและเรียกชำระแลวในบริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด และเมื่อรวมการถือหุนในบริษัทดัง กลาวผาน บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) และบริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทยอยและ บริษัทรวมตามลำดับ ทำใหบริษัทถือหุนในโรงพยาบาลเอกอุดร ทั้งสิ้นคิดเปน รอยละ 28.17 ของทุนที่ออกและเรียกชำระแลว ในบริษัทดังกลาว - บริษัทไดลงทุนจัดตั้งบริษัทยอย “บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด” โดยมีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียก ชำระแลว จำนวน 4.0 ลานบาท (มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 10 บาท) และปจจุบนั บริษทั ยอยดังกลาวมีทนุ จดทะเบียนทีอ่ อกและเรียก ชำระแลว จำนวน 20 ลานบาท


ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

28

- โรงพยาบาลวัฒโนสถ ไดลงทุนซือ้ เครือ่ ง CT Simulator เพือ่ ใหสามารถเห็นรายละเอียดของภาพเอกซเรยในลักษณะ 3 มิติ ไดชดั เจนขึน้ ทำใหใชระยะเวลาในการวางแผนการรักษาสั้นลง - สถาบันโรคกระดูกสันหลังกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพ จัดการประชุมวิชาการการผาตัดกระดูกสันหลังครัง้ ใหญแหงป “Master Classes in Advanced Spine Surgery” โดยไดรับเกียรติจากวิทยากรระดับโลก รศ.นพ. ริก ดีลามาเทอร (Dr. Rick Delamarter) และ ศ.นพ. แดเนียล เค ริว (Dr. Daniel K. Riew) ศัลยแพทยกระดูกสันหลังทีม่ ชี อ่ื เสียงจากสหรัฐอเมริกา โดยมีนายแพทยพทุ ธิพร เธียรประสิทธิ์ ผูอ ำนวยการอาวุโส สถาบันโรคกระดูกสันหลังกรุงเทพ พรอมทีมแพทยเขารวมประชุมเสริมศักยภาพและแลกเปลีย่ นประสบการณดา น กระดูกสันหลังอยางคับคั่ง - สถานทูตญีป่ นุ ประจำประเทศไทย รวมกับ โรงพยาบาลกรุงเทพ จัดพิธลี งนามเซ็นสัญญาความรวมมือทางการแพทยระหวางโรงพยาบาล กรุงเทพ และ โรงพยาบาลในประเทศญีป่ นุ 10 แหง โดยมี ฯพณฯ เซอิจิ โคจิมะ เอกอัครราชทูตญีป่ นุ ประจำประเทศไทย เปนประธาน ในการลงนาม รวมกับ นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ประธานคณะผูบ ริหารและกรรมการผูอ ำนวยการใหญ ของบริษทั ตลอด จนตัวแทนจากโรงพยาบาลในประเทศญี่ปุน รวมลงนามเพื่อเปนการกระชับความสัมพันธอันดีระหวางโรงพยาบาลในประเทศไทยกับ โรงพยาบาลในประเทศญี่ปุน - โรงพยาบาลกรุงเทพไดเปดใหบริการ อาคารบางกอก พลาซา (Bangkok Plaza) เพือ่ เปนศูนยรวม รานอาหาร รานสะดวกซือ้ 24 ชัว่ โมง และธนาคาร เพือ่ อำนวยความสะดวกใหแกผมู าใชบริการในโรงพยาบาลและประชาชนในยานซอยศูนยวจิ ยั เมือ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 - โรงพยาบาลกรุงเทพเปดเคานเตอรเซอรวิสโรงพยาบาลกรุงเทพ ที่บริเวณดานผูโดยสารขาออก ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่ออำนวย ความสะดวกใหบริการกับผูปวยชาวตางประเทศ ที่เดินทางเขามารักษาในโรงพยาบาล - บริษทั โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด ซึง่ เปนบริษทั ยอยทีบ่ ริษทั ถือหุน รอยละ 89.7 ไดเปดใหบริการ “โรงพยาบาลกรุงเทพปากชอง” ซึ่งเปนโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง ที่อำเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา นับเปนโรงพยาบาลแหงที่ 28 ของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ (โรงพยาบาลในประเทศ 26 แหง และในประเทศกัมพูชาอีก 2 แหง)

ป 2555 - บริษทั ลงทุนซือ้ หุน สามัญบริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เพิม่ เติม จำนวน 70,522,600 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 9.66 ของทุนที่ออกและเรียกชำระแลวทั้งหมดของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) ทำใหปจจุบันบริษัทถือหุนในบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) จำนวนทั้งสิ้น 174,350,200 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 23.88 ของทุนที่ออกจำหนายและ ชำระแลวทั้งหมดของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) - ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ประจำป 2555 ไดอนุมตั ใิ หบริษทั ลดทุนจดทะเบียนจำนวน 7,932,525 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 1,553,391,408 บาท เปนทุนจดทะเบียนใหมจำนวน 1,545,458,883 บาท และมีมติใหบริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนแบบมอบอำนาจทั่วไป (General Mandate) จำนวน 154,545,888 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 1,545,458,883 บาท เปนทุนจดทะเบียนใหมจำนวน 1,700,004,771 บาท เพือ่ ใหเกิดความคลองตัวในการระดมทุนของกิจการ อยางไรก็ตามปจจุบนั บริษทั ยังมิไดมกี ารเพิม่ ทุนแบบมอบอำนาจทัว่ ไปดังกลาว - บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ไดทำคำเสนอซื้อหลักทรัพยทั้งหมดของบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) “PYT” เพือ่ เพิกถอนหลักทรัพย PYT ออกจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตอสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ภายหลังเสร็จสิ้นการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ไดเพิก ถอนออกจากตลาดหลักทรัพยฯ เมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2555 และบริษทั มีสดั สวนการถือหุน ในบริษทั ประสิทธิพ์ ฒ ั นา จำกัด (มหาชน) ทั้งสิ้นรอยละ 98.32


ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

ประธานฝายแพทยของฟฟา นายแพทย จีรี โวดแรค (Jiri Dvorak, FIFA Chief Medical Officer) ซึ่งถือเปนแหงแรกของประเทศ ไทยและอาเซียน และเปนแหงที่สามของเอเชีย (ประเทศญี่ปุน กาตาร ไทย และซาอุดิอาระเบีย) โดยในปจจุบันมีสถาบันทาง การแพทยที่ไดรับการรับรองทั่วโลกอยู 26 สถาบันเทานั้น ซึ่ง สะทอนใหเห็นการดำเนินงานในดาน “เวชศาสตรการกีฬา” วา ทางศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพไดมบี ทบาทและใหความ สำคัญเปนอยางดีมาโดยตลอด โดยไดเปนผูรับผิดชอบดูแล สุขภาพของนักฟุตบอลทีมชาติ นักฟุตบอลประจำทีมสโมสร ฟุตบอลชั้นนำในไทยพรีเมียรลีก ทั้งในเรื่องของการดูแลรักษา นักกีฬาที่เกิดการบาดเจ็บ การฟนฟูและมุงเนนในเรื่องของการ เพิ่มสมรรถภาพดานรางกาย เทคนิคการเตรียมความพรอม เทคนิคการเลนกีฬาเพื่อใหมีประสิทธิภาพสูงสุดอีกทั้งยังรวมถึง งานดานโภชนาการ และจิตวิทยาการกีฬา ไดอยางมีมาตรฐาน - โรงพยาบาลกรุงเทพ เปด “สถาบันเวชศาสตรการกีฬาและออก กำลังกายกรุงเทพ” หรือ Bangkok Academy of Sports and Exercise Medicine (BASEM) อยางเต็มรูปแบบ เพิ่มความ แข็งแกรง ยกระดับความกาวหนาดานการบริการและการแพทย ดวยมูลคาลงทุนกวา 70 ลานบาท เพื่อตอบโจทยผูนำดานการ ดูแลสุขภาพ ตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหมเนนออกกำลังกาย และเลนกีฬา ใหบริการทางดานการรักษาอาการบาดเจ็บและ วิเคราะหผูที่มีปญหาดานการเลนกีฬา ทั้งในเรื่องของการดูแล รักษานักกีฬาทีเ่ กิดการบาดเจ็บ การฟน ฟูและมุง เนนในเรือ่ งการ เพิ่มสมรรถภาพดานรางกาย เทคนิคการเตรียมความพรอม เทคนิคการเลนกีฬาเพือ่ ใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด อีกทัง้ ยังรวมถึง งานดานโภชนาการ และจิตวิทยาการกีฬาไดอยางมีมาตรฐาน เสริมทัพเมดิคัลฮับ ปกธงเปนสถาบันดานเวชศาสตรการกีฬา ชั้นนำในอาเซียน - บริษทั ยอย “บริษทั กรุงเทพพรีเมียรนายหนาประกันชีวติ จำกัด” (Bangkok Premier Life Insurance Broker) ซึง่ เปนผูเ ชีย่ วชาญ ดานการคุม ครองดูแลสุขภาพในเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ ผสาน ความรวมมือกับบริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด ยกระดับ

29 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

- บริษัทไดจัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม ในนาม บริษัท โรงพยาบาล กรุงเทพเชียงใหม จำกัด โดยบริษทั ถือหุน รอยละ 100 เพือ่ รองรับ การกอสรางโรงพยาบาลขนาด 200 เตียง ทีอ่ ำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหมโดยมีทุนจดทะเบียน จำนวน 1,000 ลานบาท และ เรียกชำระแลว จำนวน 250 ลานบาท - บริษัทไดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม ในนามบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด โดยบริษัทถือหุนรอยละ 100 เพื่อดำเนินธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ขนาด 120 เตียง ที่ถนน ทองใหญ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีทุนจดทะเบียนเรียก ชำระเต็มจำนวน 500 ลานบาท โดยบริษัทยอยดังกลาวไดเขา ลงทุนซื้อกิจการโรงพยาบาลเดิมจากโรงพยาบาลอุดรปญญาเวช และเปดใหบริการอยางเปนทางการภายใตชื่อ “โรงพยาบาล กรุงเทพอุดร” ในวันที่ 12 ธันวาคม 2555 ซึง่ ถือเปนโรงพยาบาล แหงที่ 29 ของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ - เครือโรงพยาบาลกรุงเทพมีวิสัยทัศนนำหนาดานเทคโนโลยี นำ นวัตกรรม ROBO DOCTOR คุณหมอหุนยนต หรือ Remote Presence System จากประเทศสหรัฐอเมริกา เพิ่มประสิทธิ ภาพการใหการรักษาพยาบาลผูปวย โดยผูปวยสามารถเขาถึง การรักษาโดยแพทยผูเชี่ยวชาญไดอยางใกลชิดและทันทวงที เพิม่ โอกาสใหผปู ว ยทีอ่ ยูห า งไกลแพทยผเู ชีย่ วชาญไดรบั การรักษา อยางรวดเร็วและไดมาตรฐาน มาใชกับ 3 โรงพยาบาลนำรอง ไดแก โรงพยาบาลกรุงเทพ (ซอยศูนยวจิ ยั ) โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา เพิ่มประสิทธิภาพการสงตอ ผูปวย การเขาถึงการรักษาอยางทันทวงทีโดยแพทยผูเชี่ยวชาญ เฉพาะทาง สามารถซักถาม และโตตอบกันแบบเห็นหนาผูเกี่ยว ของ ตลอดจนแลกเปลี่ยนขอมูลการรักษา นับเปนการเสริม ประสิทธิภาพการรักษาพยาบาลใหผปู ว ยและเพิม่ ความมัน่ ใจให กับคนไขที่มารับบริการมากยิ่งขึ้น - ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ และวิทยาลัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล ไดรบั ประกาศนียบัตร FIFA Medical Centre of Excellence หรือ “ศูนยเพื่อความ เปนเลิศทางการแพทยของสหพันธฟุตบอลนานาชาติ” จาก


ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

30

คุณภาพชีวติ และการดูแลสุขภาพ ดวยการสรางสรรคนวัตกรรมดานผลิตภัณฑประกันชีวติ การประกันสุขภาพและบริการผานชองทาง ทีห่ ลากหลาย เพือ่ ยกระดับและดูแลคุณภาพชีวติ ในการพัฒนารูปแบบกรมธรรมใหมๆ ทีส่ ามารถตอบสนองตอความตองการของผูบ ริโภค ใหเขาถึงการรักษาพยาบาลที่ไดมาตรฐานและมีคุณภาพ โดยแบงเบาภาระคาใชจายยามเจ็บปวย - เครือโรงพยาบาลพญาไท และ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ ผนึกกำลังรุกตลาด เปดศูนยหัวใจแหงใหม “ศูนยหัวใจพญาไท 3 โดยโรง พยาบาลหัวใจกรุงเทพ” ทุม งบประมาณกวา 100 ลานบาท มุง ขยายฐานลูกคาฝง ธนบุรี ตอกย้ำความเปนผูน ำโรงพยาบาลหัวใจทีส่ มบูรณ แบบไดมาตรฐานระดับสากล ชูเทคนิคการผาตัดทำทางเบีย่ งหลอดเลือดหัวใจโดยหัวใจไมหยุดเตน (Off-Pump CABG) พรอมใหบริการ ดานสุขภาพและโรคหัวใจอยางครบครัน ดวยเทคโนโลยีทางการแพทยที่ทันสมัยและทีมแพทยผูเชี่ยวชาญโรคหัวใจครบทุกสาขา พรอม เสริมศักยภาพความแข็งแกรงในทุกดาน ยกระดับความกาวหนาของคุณภาพการรักษาสูมาตรฐานสากล (JCI) เพื่อดูแลหัวใจประชาชน ฝง ธนบุรใี นมาตรฐานเดียวกับ โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ โดยมีการใหบริการตรวจวินจิ ฉัยและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดอยางครบครัน ตั้งแตการตรวจวินิจฉัยเบื้องตน การตรวจดวยอุปกรณพิเศษ การดูแลและการปองกันโรคหัวใจ การรักษา การผาตัด การติดตามดูแล ในหองพักฟนผูปวยหัวใจ ตลอดจนการฟนฟูสมรรถภาพหัวใจ ดวยอุปกรณทางการแพทยและเทคโนโลยีอันทันสมัยไดมาตรฐานสากล ไมวาจะเปนหองผาตัด และเครื่องมือตรวจพิเศษหัวใจ - เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ ผนึกกำลังครั้งสำคัญกับ เครือโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล พัฒนาเทคโนโลยีและบริการทางการแพทย เปด “ศูนยมะเร็ง” โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล โดย โรงพยาบาลวัฒโนสถ เพื่อตอบสนองความตองการและไลฟสไตลของผูใชบริการได อยางตรงจุดและครอบคลุมมากทีส่ ดุ โดยใหบริการดานการปองกันและดูแลรักษา “โรคมะเร็ง” แบบครบวงจร ตัง้ แตการตรวจหามะเร็ง ในระยะแรก การวางแผน การรักษาเมือ่ ตรวจพบ จนกระทัง่ ถึงการรักษาแบบการฉายรังสีเพือ่ ยับยัง้ การแพรกระจายของเซลลมะเร็งใน อวัยวะตางๆ โดยทีมแพทยผูเชี่ยวชาญ - สถาบันโรคกระดูกสันหลังกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพ ประกาศความสำเร็จกับเทคนิคการผาตัดแบบใหมของไทย ดวยการผาตัดรักษา โรคปวดหลัง แบบแผลเล็กขางลำตัว โดยไมเลาะกลามเนือ้ หลัง หรือ Direct Lateral Interbody Fusion (DLIF) ชวยรักษาอาการโรค ปวดหลัง ปวดขาจากกระดูกสันหลังทับเสนประสาท หรือ กระดูกสันหลังคด โดยจุดเดนคือ การผาตัดโดยไมเลาะทำลายกลามเนือ้ หลัง เสียเลือดนอย แผลเล็ก ฟน ตัวเร็ว กลับบานไดเร็วกวาเดิม โดยเทคนิคนี้ อาศัยเครือ่ งมือติดตามการทำงานของระบบประสาทขณะผาตัด หรือ IOM (Intraoperative Neuromonitoring) สงผานทอขนาดเล็กประมาณ 1 นิ้ว เพื่อติดตามการทำงานของเสนประสาทและ ไขสันหลัง และ นำใสอุปกรณหนุนหมอนรองกระดูกไปแทนที่หมอนรองกระดูกที่เปนปญหาเดิม ทำใหกระดูกสันหลังขอนั้นแข็งแรงขึ้น รับน้ำหนักรางกายไดดขี น้ึ การปวดหลังจึงลดลง นอกจากนี้ ยังสามารถแกภาวะกระดูกสันหลังเคลือ่ นไปดานหนา (Spondylolisthesis) หรือ ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis) ในผูป ว ยสูงอายุอยางไดผล โดยไมจำเปนตองเลาะกลามเนือ้ หลังยาวตลอด ซึง่ จะชวยลดปญหา ปวดหลังเรื้อรัง ภาวะพังผืดเกาะเสนประสาท ภาวะสกรูหลุดหลวม หรือ ภาวะสูญเสียกลามเนื้อหลัง ซึ่งอาจเกิดขึ้นภายหลังการผาตัด แบบเดิมได - โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช โรงพยาบาลวัฒโนสถ และโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล นวมินทร ผนึกกำลัง 3 โรงพยาบาลภาครัฐและ เอกชนรวมมือกันจัดใหมพี ธิ ลี งนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ “โครงการสงตอผูป ว ยนอกเพือ่ รับบริการรังสีรกั ษา” รักษาผูป ว ย “มะเร็ง” โดยรังสีรักษา โดยใชเทคโนโลยีทันสมัยรวมกันใหบริการผูปวย เพื่อเพิ่มศักยภาพการรักษาผูปวยมะเร็งดวยเทคโนโลยีรังสีรักษา ใหกับ ผูปวยทุกกลุม


ขนาด (เตียง)

รวม อัตราการ (เตียง) ถือหุน

กลุมโรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพ 1 โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ 2 โรงพยาบาลวัฒโนสถ 3 โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน 4 โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง 5 โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา 6 โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง 7 โรงพยาบาลกรุงเทพจันทบุรี 8 โรงพยาบาลกรุงเทพตราด 9 โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา 10 โรงพยาบาลกรุงเทพปากชอง 11 โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร 12 โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย 13 โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต 14 โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ 15

บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพระยองจำกัด บริษัท วัฒนเวช จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพตราด จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด

343 97 48 60 60 400 220 170 114 300 30 120 50 317 165

2,494

79.00% 97.22% 100.00% 99.69% 99.76% 90.36% 90.36% 100.00% 100.00% 99.68% 98.79%

กลุมโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท 16 โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร 17 โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา 18 โรงพยาบาลบีเอ็นเอช 19

บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) บริษัท สมิติเวช ศรีราชา จำกัด บริษัท บี เอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด

275 400 150 144

825 144

95.76% 95.76% 68.06% 91.48%

กลุมโรงพยาบาลรอยัล Royal Angkor Pisith 20 Royal Rattanak Hospital 21

Angkor Pisith Co., Ltd. Rattanak Medical Services Co., Ltd.

21 30

51

80.00% 70.00%

กลุมโรงพยาบาลพญาไท (ถือหุนโดยผาน บมจ.ประสิทธิ์พัฒนา ซึ่งเปนบริษัทยอยรอยละ 98.32 ของ บมจ.กรุงเทพดุสิตเวชการ) โรงพยาบาลพญาไท 1 บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด 350 22 โรงพยาบาลพญาไท 2 บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด 260 23 โรงพยาบาลพญาไท 3 บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด 230 24 โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) 257 1,097 25

100.00% 99.15% 98.20% 66.53%

กลุมโรงพยาบาลเปาโล โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล พหลโยธิน 26 โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล สมุทรปราการ 27 โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล โชคชัย 4 28 โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล นวมินทร 29

100.00% 93.30% 85.69% 99.76%

รายชื่อโรงพยาบาล

บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด บริษัท การแพทยสยาม จำกัด บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน)

237 200 120 140

697 5,308

31 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ดำเนินการโดย

ลำดับ

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

1. ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน


ลำดับ

รายชื่อโรงพยาบาล

ดำเนินการโดย

กลุมโรงพยาบาลที่ลงทุนถือหุนแตไมไดมีสวนรวมในการบริหาร โรงพยาบาลเอกอุดร บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด 30 โรงพยาบาลรามคำแหง บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) 31 โรงพยาบาลกรุงธน บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) 32 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) 33

ขนาด (เตียง) 350 300 150 538

รวม อัตราการ (เตียง) ถือหุน

1,338

28.56%* 38.24% 20.01% 23.94%

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

หมายเหตุ : *บริษัท ถือหุนทางตรงรอยละ 15.26 และทางออม รอยละ13.3

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

32

2. ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการรักษาพยาบาลประเภทธุรกิจ ธุรกิจ

ดำเนินการโดย

1. ผลิตและจำหนายยา น้ำเกลือ และวัสดุภัณฑทางการแพทย

บริษัท เอ.เอ็น.บี.ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด (ถือหุนโดยบริษัท รอยัลบางกอกเฮ็ลธแคร จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอย รอยละ 100 ของบริษัท) บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด (ถือหุนทางตรงรอยละ 74.0 และทางออมรอยละ 24.9) บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส (ประเทศไทย) จำกัด

100.0

บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด (GLS) บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด

100.0 49.0

2. หองปฏิบัติการทางการแพทย (Lab) และ Share Services ดานจัดซื้อและบัญชี 3. หองปฏิบัติการทดลองชีวโมเลกุล (Bio Molecular Lab) 4. Share service ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. บริการขนสงผูปวยทางอากาศ (Medical Evacuation) 6. ประชาสัมพันธและสงเสริมการตลาด ใหแกกิจการในเครือ 7. บริการดานการจัดเลี้ยงและ อาหารใหแกผูใชบริการในกลุม

8. บริการใหเชาอสังหาริมทรัพย (ที่ดิน) เพื่อดำเนินธุรกิจโรงพยาบาล

9. กิจการเพื่อการลงทุนใน Healthcare Business (Holding Company) 10. ศูนยอบรมดานวิชาชีพเฉพาะทาง ใหแกกลุมบริษัท 11. ธุรกิจประกันสุขภาพ

อัตราการถือหุนรอยละ

49.0 98.9 95.0

บริษัท คูล แอนด จอย จำกัด

30.0

บริษัท เฟสท เฮ็ลธ ฟูด จำกัด (ถือหุนโดยบริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท) บริษัท โซเด็กซโซ เฮ็ลธแคร ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด (ถือหุนโดยบริษัท เฟสท เฮ็ลธ ฟูด จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของ บมจ. สมิติเวช) บริษัท เออรวิ่ง เชอริเดน เอส อี จำกัด (ถือหุนโดยบริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท) S.R. Property Investment Co., Ltd. Siem Reap Land Investment Co., Ltd. Phnom Penh First Property Co., Ltd บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮ็ลธแคร จำกัด (AIH) บริษัท รอยัล บางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด

99.0

49.0 49.0 49.0 100.0 100.0 100.0

บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด

100.0 100.0

74.0

96.0


โครงสรางรายไดของบร�ษัท และบร�ษัทยอย เปรียบเทียบระหวาง ป 2553-2555 ประกอบดวย

คารักษาพยาบาล บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ บมจ. สมิติเวช บจก. บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร บมจ. ประสิทธิ์พัฒนา (1) บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด (1) บริษัท การแพทยสยาม จำกัด (1) บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) (1) บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด (1) บจก.โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง บจก. โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา บจก.โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง บจก.โรงพยาบาลกรุงเทพตราด บจก. วัฒนเวช บจก.โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ บจก. โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย บจก. โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต บจก. โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา บจก. โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร (2) Angkor Pisith Co.. Ltd. Rattanak Medical Services Co., Ltd. รวม รายไดที่เกี่ยวของกับการรักษาพยาบาล บจก. เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส บจก. ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส (ประเทศไทย) รวม รวมรายไดจากการดำเนินงานหลัก หมายเหตุ 1 เปนบริษัทยอยที่ไดมาป 2554 2 เปนบริษัทยอยที่ไดมาป 2555

สัดสวน ถือหุน (%)

2555 รายได %

100.0 95.8 91.5 98.3 100.0 85.7 99.8 93.3 79.0 97.3 100.0 99.8 99.7 98.8 100.0 99.7 90.4 100.0 80.0 70.0

9,909.3 7,580.7 1,869.9 8,714.1 1,979.3 712.7 675.3 1,087.3 240.2 3,167.5 1,575.9 321.3 852.3 1,110.0 545.9 2,319.1 1,113.2 73.6 112.8 176.0 44,136.4

74.0 95.0

168.9 2.0

2554 รายได %

22.4 8,218.7 17.1 6,687.7 4.2 1,579.7 19.7 5,632.8 4.5 1,339.0 480.8 1.6 420.3 1.5 720.3 2.5 202.9 0.5 7.1 2,793.1 3.6 1,359.9 299.4 0.7 717.0 1.9 944.8 2.5 459.4 1.2 5.2 2,065.8 925.6 2.5 0.2 95.5 0.3 155.8 0.4 99.6 35,098.4 0.4 0.0

121.1 5.0

23.3 19.0 4.5 16.0 3.8 1.4 1.2 2.0 0.6 7.9 3.9 0.8 2.0 2.7 1.3 5.9 2.6

2553 รายได %

7,182.8 30.5 5,887.9 25.0 1,466.1 6.2

181.7 0.8 2,499.7 10.6 1,193.5 5.1 275.2 1.2 647.3 2.8 770.5 3.3 432.8 1.8 1,839.3 7.8 817.9 3.5

83.9 0.4 0.3 130.2 0.6 0.4 99.6 23,408.8 99.6 0.3 0.0

55.6 48.2

0.2 0.2

170.90 0.39 126.10 0.4 103.80 0.4 44,307.3 100.0 35,224.5 100.0 23,512.6 100.0

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

ดำเนินการโดย

33 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ประเภท ของรายได

(หนวย : ลานบาท)


กิจกรรมเพ��อสังคม

กิ จ ก ร ร ม เ พ�� อ สั ง ค ม

- โครงการ “รวมพลคนกรุงสุขภาพดี” โรงพยาบาลกรุงเทพ รวมกับ ศูนยเยาวชนลุมพินี สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว กรุงเทพมหานคร ไดเล็งเห็นประโยชนของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร จึงไดจัดกิจกรรมเพื่อดูแล สุขภาพขึ้น เปนประจำทุกเดือนตลอดระยะเวลากวา 14 ป ที่สวนลุมพินี จัดแพทยจากโรงพยาบาลกรุงเทพมาใหเคล็ดลับในการดูแล สุขภาพ ณ ดานหนาอาคารพลเมืองอาวุโส สวนลุมพินี ในงานมีบริการตรวจสุขภาพในดานตางๆ มากมาย โดยไมเสียคาใชจา ยใดๆ ทัง้ สิน้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

34

- โครงการอบรม “การชวยเหลือชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน (CPR)” โรงพยาบาลกรุงเทพ ไดตระหนักถึงอัตราการเสียชีวติ จากเหตุการณฉกุ เฉินตางๆ ที่มีมากขึ้นอยางตอเนื่อง จึงไดจัดอบรมการชวยเหลือชีวิตขั้นพื้นฐาน โดยแพทยประจำแผนกฉุกเฉิน นำทีมแพทยและพยาบาลแผนก ฉุกเฉิน โดยเริม่ ตนทีป่ ระชาชนในซอยศูนยวจิ ยั ซึง่ มีความใกลชดิ กับโรงพยาบาล โดยผูเ ขาอบรมไดรบั ฟงการบรรยาย และฝกปฏิบตั ชิ ว ย ชีวติ เชน ชวยคนหมดสติ คนสำลักอาหาร รวมถึงการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน เชน แผลไฟไหม เลือดกำเดาไหล น้ำรอนลวกหรือถูกสัตว มีพิษ เชน งูกัด ผึ้งตอย ณ หองประชุม นพ.พงษศักดิ์ วิทยากร อาคารเวชศาสตรฟนฟูกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพ


กิ จ ก ร ร ม เ พ�� อ สั ง ค ม

- เนือ่ งในวันหัวใจโลก โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ หนึง่ ในผูน ำทีใ่ หบริการทางการแพทยเฉพาะทางดานโรคหัวใจของประเทศไทย ไดจดั งาน “Healthy Heart Thailand” ในแนวคิดวา One World, One Heart, One Home ทีศ่ นู ยการคาเซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว เพือ่ ให ความรูในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยง แนะนำวิธีปองกันความรุนแรงของการเกิดภาวะ “โรคหัวใจและหลอดเลือด” ใหกับประชาชนคนไทยในวันนี้ตองตื่นตัวเพื่อรับรู เขาใจกับโรคภัยอันตรายที่ใกลตัวมากขึ้นและรวมปองกันการเกิดโรค กลับมาใสใจ ดูแลสุขภาพหัวใจทีด่ ขี องตนเองและคนรอบขางดวยวิธที ถ่ี กู ตองเหมาะสมและจริงจัง กิจกรรมการดูแลรักษาหัวใจแบบ Pro-Active ผาน Healthy Heart Model (4H) ไดแก Healthy Heart Active โปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อฟนฟูสุขภาพหัวใจใหแข็งแรงโดยทีม นักกายภาพบำบัด และกิจกรรมเพือ่ เสริมสรางหัวใจใหแข็งแรง Healthy Heart Diet โปรแกรมสาธิตการปรุงเมนูอาหารทีด่ ตี อ สุขภาพ หัวใจ Healthy Heart Emotion โปรแกรมการเพิ่มภาวะอารมณที่ดีกับหัวใจ และ Heart Don’t โปรแกรมการลดสิ่งที่ไมดีกับหัวใจ และแนะนำเทคนิคการปองกันและการรักษาโรคหัวใจ

- โรงพยาบาลกรุงเทพ รวมกับสมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย ปฏิบัติการเชิงรุกจัดอบรม “วิธีการวอรมอัพฟฟา 11+” (Warm - Up Programme) ดึงฟฟา ชวยเสริมเทคนิคการวอรมอัพ ปองกันอาการบาดเจ็บนักกีฬาฟุตบอลพรอมการถายทอดการอบรมไปทัว่ ประเทศ โดยคณะกรรมการฝายวิจัยทางการแพทยของฟฟา (F-MARC FIFA Medical Assessment and Research Committee) ซึ่งไดสง ดร.มาริโอ บิซซินี (Mario Bizzini, Ph.D, PT) มาสอนใหแกผูที่มีสวนเกี่ยวของในการฝกสอนนักกีฬา เชน ผูฝกสอน ผูชวยผูฝกสอน ผูด แู ลการออกกำลังกายประจำทีม นักวิทยาศาตรการกีฬา พยาบาลหรือนักกายภาพบำบัดประจำทีม เพือ่ ใหบคุ คลเหลานีไ้ ดนำเทคนิค ทีถ่ กู ตองไปใชกบั นักกีฬาฟุตบอลในทีมของตนเพือ่ เปนการลดการบาดเจ็บไดมากถึง 30% ขึน้ ไป ทัง้ นีจ้ ดั ใหมกี ารถายทอดสดผานระบบ Teleconference ไปยังโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต และโรงพยาบาลกรุงเทพ หาดใหญ เพื่อใหผูฝกสอน ผูดูแลการออกกำลังกายของทีมและนักกายภาพบำบัดประจำทีมฟุตบอลที่อยูในภูมิภาคไดมีโอกาสเขารับ การอบรมไปในครั้งเดียวกัน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

35


กิจกรรมมูลนิธเิ วชดุสติ ในพระอุปถัมภของสมเด็จพระเจาพ�น� างเธอ เจาฟากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคร�นทร ประจำป 2555

กิ จ ก ร ร ม เ พ�� อ สั ง ค ม

1. โครงการถักหมวกเพื่อนอง (BiGhat Biggive) ครั้งที่ 3 โดยมูลนิธิเวชดุสิตฯ รวมกับบริษัท Big Knit หมวกไหมพรมจากกิจกรรมในครั้งนี้ นำไปมอบใหผูดอยโอกาสที่อยูในถิ่นทุรกันดาร ตางจังหวัดของประเทศไทย โดยทูลเกลาถวายแด สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ .สยามบรมราชกุมารี จำนวน 1,200 ใบ

2. โครงการใหทุนสนับสนุนการวิจัยทางการแพทย พยาบาล และการสาธารณสุข ประจำป 2555 ไดมอบทุนจํานวน 5 ทุน รวมจำนวนเงินที่ใหการสนับสนุน 734,000 บาท ซึ่งไดดำเนินโครงการอยางตอเนื่องมาเปนเวลา 10 ป รวมทุนที่สนับสนุนทั้งสิ้น 57 ทุน เปนเงินทั้งสิ้น 7.7 ลานบาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

36

2. โครงการชวยเหลือผูยากไรสัญจร ประจำป 2555 เปนโครงการเพือ่ ชวยเหลือผูย ากไร และผูด อ ยโอกาส ใหมคี วามเปนอยูท ด่ี ขี น้ึ ในดานสุขพลานามัย และสุขภาพจิต โดยนำคณะแพทย พยาบาล และเจาหนาที่ออกตรวจสุขภาพ พรอมทั้งมอบยา เวชภัณฑ เครื่องมือแพทย และเครื่องอุปโภคบริโภคจำเปน แกผูดอยโอกาส หลากหลายกลุม อาทิเชน (เปนโครงการตอเนื่องประจำทุกเดือน)

• เด็กดอยโอกาส ณ สถานสงเคราะหเด็กชายบานบางละมุง จังหวัดชลบุรี


• เด็กออนในสลัม ณ มูลนิธเิ ด็กออนในสลัม ในพระอุปถัมภของสมเด็จพระเจาพีน่ างเธอ เจาฟากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร - ชุมชนกองขยะออนนุช - ชุมชนกองขยะหนองแขม

กิ จ ก ร ร ม เ พ�� อ สั ง ค ม

• เด็กดอยโอกาส ณ สถานสงเคราะหเด็กชายบานมหาเมฆ

• เด็กดอยโอกาส ณ โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดน บานแพรกตะครอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ • เด็กผูบกพรองทางสติปญญา ณ มูลนิธิเพื่อสถาบันราชานุกูล ในพระอุปถัมภของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร

37 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

• เด็กนักเรียนผูดอยโอกาส ที่ประสบภัยน้ำทวม ในโรงเรียนพื้นที่อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ โรงเรียนวัดบางเพลิง โรงเรียนวัดทางกลาง โรงเรียนวัดแกวตา โรงเรียนวัดตาลเอน


โครงการ Green Health ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

38

โครงการ Green Health เปนโครงการ CSR ของบริษทั กรุงเทพดุสติ เวชการจำกัด (มหาชน) โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ทีจ่ ะนำองคความรูด า นการแพทยและสาธาณสุข มาดูแลสุขภาพใหประชาชนคนไทย โดยเฉพาะใหความชวยเหลือผูด อ ยโอกาสในสังคม และขยายขอบเขตสูก ารรณรงคสง เสริม ใหเกิดสังคมสุขภาพดีแบบองครวม ดำเนินการโดย 5 กลุม โรงพยาบาลในเครือโรงพยาบาล กรุงเทพ ไดแก กลุม โรงพยาบาลโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุม โรงพยาบาลสมิตเิ วช โรงพยาบาล บีเอ็นเอช กลุมโรงพยาบาลพญาไท และกลุมโรงพยาบาลเปาโล นับเปนโครงการแรกใน ประเทศไทยทีโ่ รงพยาบาล 26 แหง รวมกันทำโครงการ Green Health อยางเปนรูปธรรม แนวคิดสุขภาพดีแบบองครวมซึ่งเปนหัวใจของโครงการฯ มีดังนี้

1. กายฟ�ต (Physical Health)

กายบริหารรางกายไมวาจะเปนการเดินแทนการขึ้นลงลิฟท และการออกกำลังกาย สม่ำเสมอ จะชวยใหสุขภาพแข็งแรง

2. จ�ตพรอม (Mental Health)

ยิ้มใหบอยขึ้นรับมือกับปญหาอยางใจเย็น ฝกรูเรียนจากการทำจิตใจใหปลอดโปรง สมองแจมใสผอนคลายจากความเครียดเพราะ‘จิต’ เปน ‘นาย’ ที่สงผลกับรางกาย

3. ดูแลปองกันทันโรค (Medical Health Care)

ควรใสใจตรวจเช็คสุขภาพและเลือกรับบริการกับโรงพยาบาลทีม่ มี าตรฐานอยางนอย ปละ 1 ครั้ง

4. ใสใจการบร�โภคและโภชนาการ (Food & Nutrition)

สำคัญกวากินใหอรอย คือ กินอยางมีคุณภาพเพื่อสุขภาพที่ดี 5 โรครายคราชีวิตคนไทย อยางเชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็ง ลวนมีที่มาจากพฤติกรรมการกินที่ไมเหมาะสม

5. ไมมองขามสิ�งแวดลอม (Environment)

ควรตองเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวใหมากขึน้ เพือ่ บานเมืองนาอยู และลด ละ เลิก การใชทรัพยากร อยางสิ้นเปลือง จะใสใจเรื่องสุขภาพทั้งทีตองมีการดูแลสิ่งแวดลอมควบคูไปดวย


กิจกรรมหลักของโครงการในป 2555 มีดังนี้:

2. Green Health @ School หรือ โครงการโรงเรียนนี้มีดีที่สุขภาพ เปนโครงการเพือ่ เด็กและเยาวชนดวยการมอบ “หองสุขภาพดี” โดยมีทมี เภสัชและพยาบาลเขาปรับปรุงหองพยาบาลพรอมสนับสนุน ยาเวชภัณฑ และอุปกรณปฐมพยาบาลที่มีคุณภาพตลอดจนอบรมใหความรูดานสาธารณสุข รวมถึงจัดกิจกรรมที่เปนประโยชนใหกับ โรงเรียนที่ยากไรในชนบททั่วประเทศไทย ปจจุบัน เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลสมิติเวช เครือโรงพยาบาลพญาไท และเครือโรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล ไดจัด กิจกรรมไปใหกับ 48 โรงเรียน ในทุกภูมิภาค อาทิ เชน กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสงคราม ชลบุรี ระยอง ตราด ประจวบคีรีขันธ พระนครศรีอยุธยา สระบุรี นครราชสีมา สงขลา และแมฮองสอน เปนตน ติดตอโครงการ Green Health โทร 1719 Website : www.greenhealthbangkokhospitalgroup.com http://www.facebook.com/GreenHealthbyBangkokHospitalGroup

1 1. นพ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญ พรอมทั้งผูบริหารจากเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ ทั้ง 5 กลุม ไดแก กลุมโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุมโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบีเอ็นเอช กลุมโรงพยาบาลพญาไท และกลุมโรงพยาบาลเปาโล

39 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ในป 2555 โครงการ Green Health Care & Share ไดรบั บริจาคอุปกรณทางการพยาบาลจำนวน 85 ชิน้ จากผูม จี ติ ศรัทธา 19 ทาน และไดรบั บริจาคเงินจำนวน 456,000.00 บาท จากผูม จี ติ ศรัทธา 18 ทาน โดยทางโครงการฯ ไดนำเงินบริจาคสวนหนึง่ จัดหาซือ้ อุปกรณ ทางการพยาบาลเพิม่ เติม รวมเปนจำนวน 171 ชิน้ และไดบริจาคไปแลว 101 ชิน้ อาทิเชน วีลแชร จำนวน 6 คัน รถเข็นนัง่ ถายสแตนเลส จำนวน 1 คัน เครือ่ งผลิตออกซิเจน 1 ชุด Walker, Singer Cane, Tripod Cane จำนวน 88 ชิน้ เครือ่ งวัดความดัน จำนวน 3 ชุด เตียง พยาบาลผูปวย และอุปกรณพยาบาลอื่นๆ

โครงการ Green Health

1. Green Health Care & Share โครงการแหงการแบงปนน้ำใจ และเปนศูนยรวมรับบริจาคอุปกรณทางการพยาบาลมือสอง หรือ ของใหม เพื่อมอบใหกับผูปวย ผูส งู อายุ และผูพ กิ ารทีข่ ดั สนหรือยากไร นอกจากจะไดชว ยเหลือผูข าดแคลนทีม่ คี วามจำเปนทีต่ อ งใชอปุ กรณพยาบาลดังกลาวแลวยังเปน การใชประโยชนจากสิ่งของอยางคุมคา ซึ่งสิ่งของเหลานี้ อาจไมไดใชงานแลวเนื่องจากคนไขหายเจ็บปวยหรือไดจากไปแลวบาง และยัง เปนการชวยอนุรักษสิ่งแวดลอมอีกดวย


โครงการ Green Health

2

3

4

5

6

6.1

7

7.1

7.2

8

9

10

11

11.1

12

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

40

2. Brand Ambassador โครงการ Green Health ทัง้ 5 มิตสิ ขุ ภาพ นพ.พงศกร จินดาวัฒนะ คุณอภิษฎา อุน สุพรรณ คุณภาวิตา ปญญาภู คุณชญาณภัต สุยะคต และคุณสิทธิรัตน แกววิเศษ 3. 30 ก.ค. 55 เปดโครงการ Green Health นพ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ประธานคณะผูบริหาร พรอมดาราและเซเลบที่มา รวมงาน รวมถึงผูบริจาคอุปกรณพยาบาลเขาโครงการ Green Health Care & Share 4. คุณอภิวันทน ปยสิรานนท มอบอุปกรณพยาบาล เกาอี้นั่งอาบน้ำ ไมเทาสามขา วอลคเกอร และแผนเจลกันแผลกดทับรวม 4 ชิ้น ให ณ บูธกรีนเฮลท ชั้น 1 รพ.กรุงเทพ 5. วีลแชรสงถึงพระภิกษุสงฆ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคกระดูก จ.เชียงใหม 6. ผูป ว ยอัมพฤกษ พิการ ขาลีบ จ.เชียงราย 6.1. วีลแชรสง ถึงผูป ว ย จ.เชียงราย 7. นพ.พงศกร จินดาวัฒนะ Brand Ambassador มิติ สุขภาพที่ 4 (ดูแล ปองกัน ทันโรค) รพ.กรุงเทพ สงมอบและแนะนำวิธกี ารใชวลี แชรใหกบั ญาติผปู ว ย 7.1. รศ.อัจจิมา เศรษฐบุตร นพ.พงศกร จินดาวัฒนะและ จนท.โครงการกรีนเฮลทมอบวีลแชรใหกบั ตัวแทน สนง. เขตหวยขวาง และภรรยาของผูป ว ยอัมพฤกษ ชุมชนบึงพระรามเกา กทม. ณ บูธกรีนเฮลท ชัน้ 1 รพ.กรุงเทพ 7.2. ผูป ว ยอัมพฤกษ และภรรยาพรอมวีลแชรทไ่ี ดรบั มอบจากโครงการฯ ณ ชุมชนบึงพระรามเกา กทม. 8. รศ.อัจจิมา เศรษฐบุตร มอบเครือ่ งผลิตออกซิเจนให กับบุตรชายของผูปวย มีอาการช็อค เลือดไปเลี้ยงสมองไมพอ นอนเปนเจาชายนิทรา ที่พุทธมณฑลสาย 1 กทม. 9. ตัวแทนจิตอาสา โครงการ Green Health Care & Share นำอุปกรณพยาบาล (ใหม) รวม 85 ชิน้ มอบใหกบั โรงพยาบาลพาน อ.พาน จ.เชียงราย 10. ครอบครัวพริง้ พวงแกวมอบวีลแชร จำนวน 2 คัน ใหโครงการGreen Health Care & Share 11. มอบเครื่องผลิตออกซิเจนใหผูปวยโรคมะเร็ง นางกอง ศรีชมภู จ.หนองคาย 11.1. เครื่องผลิตออกซิเจนสงถึง ผูปวยโรคมะเร็ง จ.หนองคาย 12. คุณธัณยจิรา ธนาวรพงศประภา บริจาคเตียงผูปวยใหกับผูปวยอัมพาต นายโสภณ นิลสมัคร จ.ชัยภูมิ


14

15

15.1

16

17

18

19

20

โครงการ Green Health

13

21

22

22.1

23

23.1

23.2

13. โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกบั โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบานแพรกตะครอ จ.ประจวบคีรขี นั ธ 14. กลุม โรงพยาบาลสมิตเิ วช และโรงพยาบาลบีเอ็นเอช มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกบั โรงเรียนหนองพลวงพิทยา จ.นครราชสีมา 15. ตัวแทนนักเรียน โรงเรียนมาบตาพุตพันพิทยาคาร จ.ระยอง รับมอบตูย าและปายหองสุขภาพดี 15.1. โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกบั โรงเรียนมาบตาพุตพันพิทยาคาร จ.ระยอง 16. โรงพยาบาล พญาไท 1 มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกับ ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนริมทางรถไฟมักกะสัน 17. โรงพยาบาลพญาไท 2 มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกับ โรงเรียน วัดบางเพลิงและวัดทางกลาง จ.พระนครศรีอยุธยา 18. โรงพยาบาลพญาไท 3 จัดกิจกรรม “ยุวฑูตกรีนเฮลท” นักเรียนจำนวนกวา 100 คน ยานฝงธนบุรีกวา 20 ร.ร มารวมกิจกรรมเพื่อสรางเยาวชนตนแบบ จัดอบรม 5 มิติสุขภาพ และจัด workshop รวมกันปลูกตนไม 19. กลุม โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล เขา ปรับปรุงหองพยาบาล ให กับโรงเรียนวัดบางโฉลงนอก จ.สมุทรปราการ 20. กลุม โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล รวมกันทาสีตกแตงและปรับปรุงอาคารเอนกประสงค ใหกบั โรงเรียนวัดคลองโคน จ.สมุทรสงคราม 21. กลุม โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล ปรับปรุงหองพยาบาล ใหกบั โรงเรียนบานดอนจัน่ จ.สมุทรสงคราม 22. โรงพยาบาลกรุงเทพ มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกับ โรงเรียนวัดแกวตา จ.พระนครศรีอยุธยา 22.1. พยาบาลจาก โรงพยาบาลกรุงเทพ อธิบายวิธีการใชยา และเวชภัณฑตา งๆ ใหกบั เจาหนาทีโ่ รงเรียนวัดแกวตา จ.พระนครศรีอยุธยา 23. ตัวแทนจาก โรงพยาบาลกรุงเทพ ปรับปรุงหองพยาบาล เชน เปลีย่ นผาปูเตียง พยาบาล ใหกับโรงเรียนบานโปงไทร จ.สระบุรี 23.1. เภสัชกรจาก โรงพยาบาลกรุงเทพ จัดยาและเวชภัณฑ พรอมมอบใหกับโรงเรียนบานโปงไทร จ.สระบุรี 23.2. โรงพยาบาลกรุงเทพ มอบ “หองสุขภาพดี” ใหกับ โรงเรียนบานโปงไทร จ.สระบุรี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

41


งานว�จัยและพัฒนา ความเปนมา

จากพันธกิจของการใหบริการทางการแพทยที่มีคุณภาพ ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพมุงมั่นที่จะสงเสริม และสนับสนุนการ ดำเนินการวิจัยในโรงพยาบาลตามมาตรฐานสากล เพื่อใหเกิดความรูหรือนวัตกรรม ที่นําไปสูการพัฒนาคุณภาพหรือเพิ่มประสิทธิภาพ การใหบริการทางการแพทย และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูปวย ในป 2555 มีงานวิจัยที่ไดเสร็จสิ้น และอยูในขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล และเขียนรายงานเพื่อตีพิมพจำนวน 4 เรื่อง ไดแก

ง า น ว� จั ย แ ล ะ พั ฒ น า

1. การเฝาระวังเชิงรุกดวยการคัดกรองหาเชื้อดื้อยาชนิด Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) ของผูปวยที่ รับ Refer มารักษาตอในหอผูปวยวิกฤตของเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ (Active Surveillance Cultures to Screen for MethicillinResistant Staphylococcus Aureus (MRSA) in Referral Patient in Critical Care Unit, Bangkok Hospital Medical Group)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

42

2. การศึกษาขอมูลยอนหลังของไขเลือดออกในผูป ว ย ทีเ่ ขารับการรักษาในศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ ระหวางเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 - ธันวาคม พ.ศ. 2553 (Retrospective Study of Hospitalized Patients with Dengue Infection During January 2010 December 2010) 3. การศึกษาขอมูลยอนหลังของไขหวัดใหญในผูปวยผูใหญ ที่เขารับการรักษาตัวในศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ ระหวาง เดือนมกราคม พ.ศ. 2553 – ธันวาคม พ.ศ. 2553 (Retrospective Study of Hospitalized Patients with Influenza in Adult During January 2010 – December 2010) 4. ความชุกและความสัมพันธกับปจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดแดงที่คอผิดปกติซึ่งไมมีอาการของประชากรไทย ที่มาตรวจสุขภาพ ประจำปที่โรงพยาบาลกรุงเทพ (Prevalence and Risk Factors of Asymptomatic Carotid Artery Disease in Thai Population who Attend Annual Check-up Program at Bangkok Hospital Medical Center) งานวิจัยใหมในป 2555 ซึ่งริเริ่มโดยบุคลากรทางการแพทยของโรงพยาบาล มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 8 เรื่อง ในจำนวนนี้ มีงานวิจัย 2 เรื่องไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการพิจารณาการวิจัยและจริยธรรมของโรงพยาบาล และไดเริ่มดำเนินการ ไดแก 1. การศึกษาเชิงคุณภาพประสิทธิผลของการทำกิจกรรมกลุม สนับสนุนทางสังคมในผูป ว ยโรคมะเร็งและครอบครัว ทีเ่ ขารวมกิจกรรม กลุมสนับสนุนทางสังคมของโรงพยาบาลวัฒโนสถ (A Qualitative Study of the Effectiveness of Group Support Activities in Patient and family at Watthanosoth hospital) 2. การแปลแบบประเมินผลกระทบกิจวัตรประจำวันจากโรคไมเกรน (MIDAS) เปนภาษาไทย และการศึกษาความเทีย่ งตรงของแบบ ประเมินฉบับภาษาไทย (Thai Translation of Migraine Disability Assessment (MIDAS) and Test-Retest Reliability Study of The Thai versions) สำหรับงานวิจัยใหมอีก 6 เรื่อง อยูในขั้นตอนการทบทวนและพิจารณาอนุมัติของคณะกรรมการพิจารณาการวิจัยและจริยธรรม ของโรงพยาบาล และจะดำเนินการวิจัยในป 2556 ไดแก 1. การศึกษาขอมูลยอนหลังประสิทธิผลวัคซีนปองกันไขหวัดใหญในบุคลาลกรทางการแพทย ที่ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ (Retrospective Study Effectiveness Influenza Vaccination in Healthcare workers: The Bangkok Medical Center Experience) 2. การศึกษาผลของการปองกันภาวะขอไหลหลวมในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองโดยการออกกำลังกายดวยไมเทารวมกับการออกกำลังกายแบบโบบาธเปรียบเทียบกับการออกกำลังกายแบบโบบาธอยางเดียว (The effect of Stick Exercise in Combination with Bobath Technique in the Prevention of Shoulder Subluxation in Acute Stroke Patients)


5. การสรางแบบคัดกรองทุพภาวะโภชนาการอยางงายสำหรับ นักกำหนดอาหาร (Creation of Simplified Nutrition Screening Tool for Dietitian) 6. การจัดเก็บขอมูลของผูปวยโรคศีรษะอยางเปนระบบ (Headache Registry Program)

3. การศึกษาวิจัยแบบสุมไปขางหนา ปดฉลากสองทางโดยผู วิจยั และผูป ว ยไมทราบชนิดของยา เพือ่ ประเมินประสิทธิภาพและ ความปลอดภัย ของการใชยาเอ็นเทอริคโคทเปปเปอรมินต ชนิด แคปซูล ในผูป ว ยไทยทีเ่ ปนโรคลำไสแปรปรวน (A randomized, prospective double blind study to assess the efficacy and safety of Enteric-coated peppermint-oil capsules in Thai irritable bowel syndrome) เพื่อเพิ่มศักยภาพการดำเนินการวิจัยของศูนยการแพทย โรงพยาบาลกรุงเทพ และขยายการใหการบริการเพื่อสนับสนุน งานวิจยั ในทุกๆ ดานของโรงพยาบาลในเครือขายกรุงเทพดุสติ เวชการ ไดมีการปรับโครงสรางและจัดตั้งหนวยงานวิจัยและพัฒนาใหม ภายใตชื่อ ศูนยวิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

1. โครงการคัดกรองโรคหัวใจพิการแตกำเนิดชนิดรุนแรงใน ทารกแรกเกิด (Screening for a critical congenital heart disease in neonate at the Bangkok hospital medical center)

ในป พ.ศ. 2555 ศูนยวิจัยสุขภาพกรุงเทพ ไดขยายงานวิจัย สุขภาพสูช มุ ชน ผานความรวมมือทางวิชาการ และการวิจยั สุขภาพ เชิงสำรวจ ระหวางศูนยวิจัยสุขภาพกรุงเทพ กับสำนักวิจัยเอแบค โพล มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โครงการวิจัยรวมโครงการแรกได ดำเนินการเสร็จสิ้น และเผยแพรผลการวิจัย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 ไดแก การสำรวจทัศนคติและพฤติกรรมการใชหมวก กันน็อคของผูขับขี่และซอนจักรยานยนต ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งความรูที่ไดจากการวิจัยนี้สามารถนำไปใชรณรงคสงเสริมการ สวมหมวกกันน็อค เพื่อปองกันการบาดเจ็บและการเสียชีวิตจาก การบาดเจ็บทางสมอง

2. การศึกษาขอมูลความปลอดภัยของยาไรวาร็อกซาแบน ซึ่ง ใชในการปองกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำหลังได รับการผาตัดกระดูกสะโพกหัก (Rivaroxaban Safety Profile in

ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ มุงหวังที่จะขยายความ รวมมือการวิจัยกับสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ และตาง ประเทศตอไปในอนาคต

นอกจากนี้ ในป พ.ศ. 2555 ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ มีงานวิจัยทางคลินิกซึ่งรวมกับหนวยงานวิจัยอื่น และไดรับอนุมัติ จากคณะกรรมการพิจารณาการวิจยั และจริยธรรมของโรงพยาบาล จำนวน 3 เรื่องไดแก

ง า น ว� จั ย แ ล ะ พั ฒ น า

4. ความชุกและปจจัยเสี่ยงของภาวะกอนเบาหวาน ในผูที่มา ตรวจสุขภาพประจำปที่ ศูนยการแพทยโรงพยาบาลกรุงเทพ (Prevalence and Risk Factors of Prediabetes in Checkup Patients at Bangkok Medical Center)

the Prophylaxis of Venous Thromboembolism After Hip Fracture Surgery)

43 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

3. การศึกษาการพัฒนาและประเมินแนวปฏิบัติการดูแลชอง ปาก เพือ่ ลดการเกิดและบรรเทาภาวะเยือ่ บุชอ งปากอักเสบระดับ รุนแรงมากในผูปวยมะเร็งศีรษะและคอ ในชวงระหวางไดรับการ รักษาดวยเคมีบำบัดรวมกับรังสีรกั ษาทีโ่ รงพยาบาลวัฒโนสถ (Study of Development and Effectiveness of Clinical Practice Guidelines for Minimization of Severe Oral Mucositis During Chemo-Radiotherapy in Head and Neck Cancer at Wattanosoth Hospital)


ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน ในป 2555 ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน มีแนวโนมเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง ตามการเพิ่มขึ้นของรายไดตอหัวของประชากร และการเพิ่ม ขึน้ ของจำนวนผูป ว ยอันเปนผลมาจากการทีป่ ระชาชนหันมาใหความสำคัญกับการรักษาสุขภาพเพิม่ มากขึน้ การมีประชากรผูส งู อายุมาก ขึน้ และคนไขตา งประเทศทีม่ ารับการบริการสุขภาพในไทย (Medical Tourism) ในระยะยาวธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ยังมีโอกาสในการ เติบโตขึน้ ไดอกี มากจากเหตุผลทีก่ ลาวมา ประกอบกับการเติบโตของโรงพยาบาลเอกชนในตางจังหวัด และการเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หรือ AEC ในป 2558 ทั้งนี้ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนสามารถแบงตลาดเปน 2 กลุมหลัก ไดแก ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น

1. คนไขในประเทศ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

44

จากขอมูลทางสถิติซึ่งเปรียบเทียบขนาดการเติบโตทางตลาดดานการบริการสุขภาพในประเทศไทยกับมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมใน ประเทศ (GDP) พบวา ในป 2554 การใชจายดานการบริการสุขภาพในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตที่รอยละ 3.1 หรือประมาณ 168,713 ลานบาท ทั้งนี้เมื่อเทียบในชวงระยะเวลาตั้งแตป 2545 ถึง 2554 มูลคาการใชจายดานการบริการสุขภาพมีอัตราการเติบโต เฉลี่ยตอป (CAGR) ที่รอยละ 5.6 ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกวามูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศที่ เติบโตรอยละ 4.0 ในชวงระยะเวลา เดียวกัน อัตราการเจริญเติบโตของมูลคาการใชจายดานการบริการสุขภาพเทียบกับผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป

มูลคา (ลานบาท)

3,237,042 2545 3,468,166 2546 3,688,189 2547 3,858,019 2548 4,054,504 2549 4,259,026 2550 4,364,833 2551 4,263,139 2552 4,596,112 2553 4,599,655 2554 อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอป

มูลคาการใชจายดานการบริการสุขภาพ

อัตราการเติบโต (รอยละ)

มูลคา (ลานบาท)

อัตราการเติบโต (รอยละ)

5.3 7.1 6.3 4.6 5.1 5.0 2.5 -2.3 7.8 0.1 4.0

103,705 111,784 120,577 130,213 138,970 143,280 150,192 158,499 163,630 168,713

3.1 7.8 7.9 8.0 6.7 3.1 4.8 5.5 3.2 3.1 5.6

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ขณะเดียวกัน ขอมูลทางสถิติยังชี้ใหเห็นถึงอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผูปวยในและผูปวยนอกในประเทศที่มีอยางตอเนื่อง จาก รอยละ 2.6 ในป 2545 เปนรอยละ 7.3 ในป 2554 โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยตอปจากป 2545 ถึง 2554 ที่รอยละ 6.8 ตอป


จำนวนผูปวยในและผูปวยนอกในประเทศ ปพ.ศ. 2545-2554 จำนวนผูปวยนอก

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

5,564,656 6,220,845 6,772,814 7,749,734 8,092,741 8,911,696 9,497,993 10,307,684 11,223,834 16,489,248

99,325,944 103,281,854 100,058,309 106,251,652 118,422,898 130,741,335 140,078,456 152,428,645 164,766,694 172,416,262

รวม 104,890,600 109,502,699 106,831,123 114,001,386 126,515,639 139,653,031 149,576,449 162,736,329 175,990,528 188,905,510

อัตราการเติบโต (รอยละ) 2.6 4.4 (2.4) 6.7 11.0 10.4 7.1 8.8 8.1 7.3

ที่มา : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข และ สำนักงานเศรษฐกิจแหงชาติ

ดังนั้นจะพบวาอุปสงคในดานการใชบริการสุขภาพของประเทศไทยมีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในชวง 10 ปที่ผานมา โดยมีสาเหตุจากปจจัยหลักดังนี้ 1. รายไดตอหัวของประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น เนือ่ งดวยในป 2555 รัฐบาลไดดำเนินนโยบายเพือ่ เพิม่ รายไดใหแกประชาชน ทัง้ นโยบายการปรับขึน้ เงินเดือนขาราชการขัน้ ต่ำ และ การปรับคาจางแรงงานขั้นต่ำ สงผลใหภาคประชาชนมีกำลังซื้อเพิ่มสูงขึ้น และชวยเพิ่มความสามารถในการใชบริการดานสุขภาพ ทั้งนี้ ประชาชนมีพฤติกรรมในการหันมาใหความสำคัญดานสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยจะพบวา อัตราสวนมูลคาการใชจายดานการบริการสุขภาพ ตอคาใชจายทั้งหมดในภาคครัวเรือน เพิ่มสูงขึ้นจากรอยละ 5.8 ในป 2545 เปนรอยละ 7.1 ในป 2554 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร ปจจุบันประเทศไทยกำลังกาวเขาสูยุคเศรษฐกิจผูสูงวัย เนื่องจากจำนวนประชากรมีอัตราการเพิ่มที่ลดลง ขณะที่มีการเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนือ่ งของประมาณการอายุเฉลีย่ และสัดสวนของประชากรอายุตง้ั แต 60 ปขน้ึ ไป อันเปนผลมาจากการศึกษาทีด่ ขี น้ึ และการใชบริการ สุขภาพที่มากขึ้น สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ประมาณการวาอัตราสวนรอยละของประชากร ที่มีอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป จะเพิ่มจากรอยละ 9.4 ในป 2543 เปนรอยละ 25.1 ในป 2573 และ เนื่องจากผูสูงอายุมีอัตราการใช บริการดานสุขภาพและบริการรักษาพยาบาลที่สูงกวาประชากรในวัยอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากรนี้ จึงนำมาสูการ ขยายตัวของอุปสงคในดานการบริการสุขภาพ 3. การขยายตัวของความเปนเมืองในประเทศ สำนักงานสถิติแหงชาติประมาณการวา อัตราสวนรอยละของประชากรที่อาศัยอยูในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลจะเพิ่มสูงขึ้นจาก รอยละ 31.1 ในป 2543 เปนรอยละ 38.0 ในป 2563 และเนือ่ งจากพืน้ ทีใ่ หบริการของโรงพยาบาลเอกชนสวนใหญตง้ั อยูใ นเขตเมือง การ เพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและความตองการขยายชุมชนเมือง จึงเปนปจจัยสำคัญที่เพิ่มอุปสงคในดานการบริการสุขภาพใหเติบโต นอกจากนี้การขยายตัวของเมืองยังนำมาซึ่งวิถีชีวิตที่เสี่ยงตอสุขภาพและการเจ็บปวยเรื้อรัง

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น

จำนวนผูปวยใน

45 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ป


ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น

2. คนไขตางประเทศ (Medical tourism) ที่มารับการบร�การสุขภาพในไทย

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

46

ตัง้ แตป 2545 เปนตนมา พบวามีชาวตางประเทศทีเ่ ขามารับบริการรักษาพยาบาลเปนจำนวนมากและมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ทุกป สวนหนึ่งเปนผลมาจากนโยบายของภาครัฐที่สนับสนุนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวเชิงสุขภาพในภูมิภาคเอเชีย (Medical Hub of Asia) โดยประเทศไทยมีความไดเปรียบในดานคุณภาพการบริการ ความพรอมของบุคลากรดานการแพทยทเ่ี ปนทีย่ อมรับในระดับ สากล ความทันสมัยของอุปกรณและเทคโนโลยีทางการแพทย และเมื่อเทียบอัตราคารักษาพยาบาลกับประเทศอื่นๆ แลวจะพบวา ประเทศไทยมีอตั ราคารักษาพยาบาลทีส่ มเหตุสมผล ทัง้ นีเ้ พราะโรงพยาบาลเอกชนมียทุ ธศาสตรทม่ี งุ เนนการบริหารงานในรูปแบบเครือขาย ทีช่ ว ยใหโรงพยาบาลสามารถควบคุมตนทุนการใหบริการได นอกจากนีโ้ รงพยาบาลเอกชนไทยหลายแหงไดผา นการรับรองมาตรฐานความ นาเชื่อถือในระดับสากล ซึ่งสรางความมั่นใจในคุณภาพมาตรฐานการรักษาพยาบาลใหแกชาวตางชาติ จากขอมูลของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พบวาจำนวนชาวตางชาติทเ่ี ขารับบริการสุขภาพในไทยเพิม่ ขึน้ จาก 1,373,807 คน ในป 2550 เปน 2,240,000 คน ในป 2554 โดยคิดเปนอัตราการเติบโตเฉลี่ยตอปที่รอยละ 13.0 ซึ่งสงผลใหรายไดจาก การรักษาพยาบาลเพิ่มสูงขึ้น จาก 41,000 ลานบาท ในป 2550 เปน 97,874 ลานบาท ในป 2554 สำหรับป 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขประมาณการจำนวนชาวตางชาติทเ่ี ขารับบริการสุขภาพราว 2,530,000 คน และ ประมาณการรายได 121,658 ลานบาท สภาวะการตลาดและการแขงขัน การบริการสุขภาพในไทยประกอบไปดวยสถานพยาบาลภาครัฐ และภาคเอกชน โดยสามารถแบงตามมาตรฐานของการใหบริการ ทางการแพทยไดเปน ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) คือ สถานบริการผูป ว ยนอกสำหรับการรักษาทัว่ ไป เชน คลินกิ หรือสถานพยาบาล ขนาดเล็ก ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) คือ สถานบริการในระดับที่มีศักยภาพในการรักษาสูงขึ้น มีการใหบริการผูปวยนอกและ ผูปวยใน และรักษาโรคที่ซับซอนมากขึ้น และระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) คือ สถานบริการที่สามารถใหการรักษาครบวงจรในโรค เฉพาะทาง และโรคที่มีความซับซอนสูง พรอมดวยเครื่องมือทางการแพทยที่ทันสมัย โดยการใหบริการทั้ง 3 ระดับมีความเชื่อมโยงกัน ดวยระบบสงตอ (Referral System) เพื่อใหสามารถจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และเกิดการใชทรัพยากรที่มีอยางมีประสิทธิภาพ เมื่อเทียบจำนวนเตียงของโรงพยาบาลภาคเอกชนกับจำนวนเตียงของโรงพยาบาลทั่วประเทศ พบวาจำนวนเตียงของโรงพยาบาล ภาคเอกชน มีสัดสวนเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 24.5 ในป 2553 จำนวนเตียงของโรงพยาบาลทั่วประเทศ และโรงพยาบาลเอกชน ปพ.ศ. 2546-2553 ป

โรงพยาบาลทั่วประเทศ (เตียง)

โรงพยาบาลภาคเอกชน (เตียง)

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

134,622 133,245 132,920 134,763 139,715 125,866 117,568 134,105

34,863 35,267 35,506 35,806 35,792 36,004 33,405 32,872

ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร และ กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ทัง้ นี้ ขอมูลจากสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ พบวาในป 2554 มีจำนวนโรงพยาบาลเอกชนทัง้ หมด 321 แหง และ มีจำนวนเตียงทั้งสิ้น 32,828 เตียง


ทั่วราชอาณาจักร ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต

2550

2552

2554

อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอป (รอยละ)

18,660 35,007 18,932 13,568 12,995 19,716

20,904 37,732 20,960 15,727 15,358 22,926

23,236 41,631 20,822 17,350 18,217 27,326

5.6 4.4 2.4 6.3 8.8 8.5

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

พื้นที่ในตางจังหวัดจึงเปนตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบกับมีความตองการโรงพยาบาลเอกชน จึงเปนโอกาสในการขยายธุรกิจใหแกธรุ กิจโรงพยาบาลเอกชนในระยะยาว โดยกลุม พืน้ ทีท่ เ่ี ปนเปาหมายหลัก คือ พืน้ ทีท่ อ งเทีย่ ว ซึง่ มีเงิน หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจจำนวนมาก และมีความพรอมดานสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ ทั้งโรงแรมที่พัก ระบบสาธารณูปโภค และ การคมนาคม นอกจากนี้การเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในป 2558 เปนการเพิ่มโอกาสในการเติบโตใหแกธุรกิจการบริการ สุขภาพของไทยจากการเปนประเทศชัน้ นำทางการแพทยเชิงทองเทีย่ วในเอเชีย และมีขอ ไดเปรียบในเชิงภูมศิ าสตรทต่ี ง้ั อยูศ นู ยกลางของ ภูมิภาคอาเซียน อันจะนำไปสูการขยายตัวของอุปสงคของการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งจากประชากรผูสูงอายุของ ภูมิภาคอาเซียนและชาวตางชาติที่เดินทางเขามาทำงานในประเทศไทย นอกจากนี้ยังเปนการเปดโอกาสใหนักลงทุนจากประเทศในกลุม สมาชิกอาเซียนขยายการลงทุนเขามาในประเทศ และเปดโอกาสใหโรงพยาบาลเอกชนไดเขาไปขยายการลงทุนในกลุมประเทศอาเซียน เพิ่มขึ้น พรอมทั้งสนับสนุนการใหบริการทางการแพทยขามพรมแดน และการเคลื่อนยายแรงงานเสรีใน 3 สาขาวิชาชีพทางการแพทย คือ พยาบาล ทันตแพทย และแพทย ยังอาจชวยลดปญหาดานการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทยในประเทศอีกดวย สำหรับคนไขในประเทศ การกาวเขาไปสูก ารเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะสงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจในประเทศ ประชาชน จะมีกำลังซื้อมากขึ้น และหันมาสนใจสุขภาพมากขึ้น ทำใหรายไดจากคนไขในประเทศเพิ่มขึ้นไปดวย แนวโนมของการดำเนินธุรกิจโรงพยาบาลในป 2556 จะยังมุงเนนไปที่การสรางเครือขายโรงพยาบาล (Chain Hospital) โดยเฉพาะ ในพื้นที่ตางจังหวัด เพื่อสรางความแข็งแกรงใหกับธุรกิจ และพรอมรับมือกับการแขงขัน นอกจากนี้ยังตองใหความสำคัญกับการลงทุน ดานบุคลากรทางการแพทยอกี ดวย อยางไรก็ตาม สิง่ ทีส่ ำคัญในการดำเนินธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนคือ การรักษามาตรฐานการรักษาพยาบาล ทัง้ ในแงของคุณภาพการบริการ ความชำนาญของบุคลากรทางการแพทย และความทันสมัยของเครือ่ งมือทางการแพทย และการพัฒนาการ อยางตอเนื่องในการดำเนินธุรกิจ

ภ า ว ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร แ ข ง ขั น

รายไดเฉลี่ยตอเดือนตอครัวเรือน จำแนกตามภาค ปพ.ศ. 2550-2554

47 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ปจจุบัน โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญในประเทศไทยแขงขันกันในรูปแบบเครือขายโรงพยาบาล (Chain Hospital) ที่สามารถ ดำเนินการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ ทัง้ ในดานฐานลูกคาทีม่ ขี นาดใหญ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ารใหบริการไดกวางขวาง การไดประโยชน จากการประหยัดขนาดตนทุน (Economic of Scale) การใชทรัพยากรกลางและเครือขาย การเสริมสรางการสงตอผูปวย (Referral System) ภายในเครือขายโรงพยาบาล และการใชประโยชนจากแบรนดที่รูจักและเปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวาง นอกจากนี้ เพื่อ ตอบสนองความตองการของกลุม ลูกคาเปาหมายไดอยางครบวงจร ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนรายใหญ จึงมุง เนนการแขงขันกันในดานการ ใหบริการ ความเชี่ยวชาญทางการแพทย การมีเครื่องมือทางการแพทยที่ทันสมัย และการจัดตั้งศูนยเฉพาะทางตางๆ ทิศทางตลาดในอนาคต การเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงวิถีชีวิตในสังคมเมือง ไดกระจายไปสูพื้นที่ตางจังหวัดมากขึ้น จากขอมูลสำนักงานสถิติ แหงชาติพบวา รายไดเฉลี่ยตอคน และคาใชจายเฉลี่ยตอครัวเรือนในพื้นที่ตางจังหวัดเพิ่มสูงขึ้น ในอัตราที่สูงกวากรุงเทพและปริมณฑล โดยในชวงระยะเวลาตัง้ แตป 2550 ถึง 2554 อัตราการเพิม่ ขึน้ ของรายได(ตอเดือน)เฉลีย่ ตอปในกรุงเทพและปริมณฑล และในตางจังหวัด อยูที่รอยละ 4.4 และ 6.4 ตามลำดับ ทั้งนี้การเติบโตที่รวดเร็วมีผลมาจากราคาสินคาเกษตรที่เพิ่มขึ้น และการขยายตัวของโรงงาน อุตสาหกรรมไปสูตางจังหวัด


ปจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงจากความผันผวนทางเศรษฐกิจ

ป จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง

แมวาในป 2555 เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวจากภาวะน้ำทวมใหญในชวงปลายป 2554 แตก็ยังคงไดรับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกที่ ชะลอตัวลง อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศที่แทจริงในป 2555 ตามการคาดการณของธนาคารโลกจึงคาดวาจะอยู ทีร่ อ ยละ 4.7 โดยแรงผลักดันทีส่ ำคัญมาจากการฟน ตัวของการบริโภคภาคครัวเรือน และการลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางมากจากทัง้ ภาคเอกชน และภาครัฐ สืบเนื่องมาจากมาตรการฟนฟูภายหลังน้ำทวมและมาตรการกระตุนการบริโภคของภาครัฐ การไหลเขาของเงินลงทุน โดย เฉพาะการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศยังคงมีอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม การสงออกสุทธิกลับสงผลในทางลบตออัตราการขยายตัว ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ เนื่องจากการสงออกไดรับผลกระทบจากภาคการผลิตที่หยุดชะงักลงในชวงครึ่งแรกของป รวมถึงการ ชะลอตัวลงของอุปสงคจากสหภาพยุโรป จีน และอาเซียนในชวงครึ่งหลังของป

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

48

จากการคาดการณของธนาคารโลก อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในป 2556 คาดวาจะอยูที่รอยละ 5 เนื่องจาก ภาคอุตสาหกรรมมีการฟนตัวจากอุทกภัยอยางเต็มที่ และเศรษฐกิจโลกฟนตัวอยางชาๆ สำหรับมูลคาการสงออกในป 2556 คาดวาจะ ขยายตัวที่อัตรารอยละ 5.5 เปรียบเทียบกับรอยละ 3.6 ในป 2555 อุปสงคภายในประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคการลงทุนจะยังคง เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากป 2555 อันเปนผลมาจากการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และจากการที่รัฐบาล สนับสนุนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการทองเทีย่ วเชิงสุขภาพในภูมภิ าคเอเชีย (Medical Hub of Asia) สงผลใหมจี ำนวนชาวตางชาติ ทีเ่ ขามารับบริการสุขภาพในประเทศไทยเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง เปนแรงผลักดันอุปสงคในดานการใชบริการสุขภาพ และสรางรายไดใหกบั บริษัท ดังนั้นความผันผวนทางเศรษฐกิจของประเทศผูรับบริการ และเศรษฐกิจโลก จึงกระทบตอรายได และจำนวนผูเขารับบริการ ชาวตางชาติ ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพิงภาวะเศรษฐกิจโลก หากปญหาความผันผวนของเศรษฐกิจโลก เชน ความผันผวนทางการเงินในประเทศกลุม ยูโรโซน โดยเฉพาะในประเทศกรีซและสเปน และความผันผวนของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ยังคง ยืดเยื้อออกไป อาจลุกลามใหเศรษฐกิจไทยเขาสูภาวะถดถอย ดังจะเห็นไดจากมูลคาการสงออกในป 2555 ที่มีการปรับตัวลดลงตามการ ชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก สงผลกระทบตอรายไดของประชาชน และลดความสามารถในการใชจายของประชาชน ซึ่งกระทบตอรายได ของบริษัทในที่สุด ดังนัน้ การทีโ่ รงพยาบาลในเครือขายของบริษทั บางแหง ซึง่ ไดแก โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลสมิตเิ วช โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา และโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต เปนโรงพยาบาลทีร่ กั ษาโรคซับซอน โดยคณะแพทยผเู ชีย่ วชาญในระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) จึงมีตน ทุน การบริการที่สูง บริษัทจึงอาจไดรับผลกระทบจากความไมแนนอนของภาวะเศรษฐกิจที่มากกวาโรงพยาบาลเอกชนอื่น

2. ความเสี่ยงทางดานการดำเนินงาน

2.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานหรือกฎระเบียบตางๆ ที่ใชกับบริษัทในอนาคต บริษัทดำเนินธุรกิจภายใตการกำกับควบคุมดูแลโดยกระทรวงสาธารณสุข และหนวยงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงตองไดรับ ใบอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาล และใบอนุญาตใหดำเนินการสถานพยาบาล ตามทีก่ ำหนดไวในกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล นอกจากนี้ บริษัทยังตองปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานพยาบาล กฎหมายเกี่ยวกับบริษัท และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ การเปลีย่ นแปลงใดๆ ในการตีความกฎระเบียบในปจจุบนั หรือการประกาศใชกฎหมาย หรือกฎระเบียบใหม หรือการกำหนดนโยบาย ใหมที่มีแนวโนมวาจะมีความเขมงวดมากขึ้น อาจมีผลกระทบตอการดำเนินงานของบริษัท การประกาศใชกฎหมาย หรือกฎระเบียบใหม ดังกลาว รวมถึงการพิจารณารางพระราชบัญญัตคิ มุ ครองผูเ สียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ซึง่ เปนกฎหมายทีม่ งุ คุม ครองผูเ สียหาย จากการรับบริการสาธารณสุข และมีเปาหมายเพือ่ ชดเชยความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ใหแกผเู สียหายในเวลาอันรวดเร็ว โดยไมตอ งพิสจู นความ รับผิด รวมทัง้ การกำหนดใหมกี ารจัดตัง้ กองทุนคุม ครองผูเ สียหายจากการรับบริการสาธารณสุข เพือ่ ใชจา ยเปนเงินชดเชยใหแกผเู สียหาย ซึ่งสถานพยาบาลที่รางพระราชบัญญัติกำหนด (รวมถึงบริษัทในฐานะผูประกอบกิจการสถานพยาบาล) มีหนาที่ตองจายเงินสมทบเขา กองทุนดังกลาวตามหลักเกณฑ วิธีการ และอัตราตามที่คณะกรรมการคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขกำหนด ดังนั้น บริษทั ไมอาจรับรองไดวา การเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบตางๆ หรือการประกาศใชกฎหมาย หรือกฎระเบียบใหม หรือการกำหนดนโยบาย ใหมที่เกี่ยวของกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทในอนาคตจะไมสงผลกระทบตอผลการดำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัท


2.3 ความเสี่ยงจากการที่ไมสามารถรักษาบุคลากรทางการแพทยหรือผูบริหารที่สำคัญไวได ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนของบริษัทตองพึ่งพิงบุคลากรทางการแพทยที่ชำนาญการ ซึ่งไดแก แพทย พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร และ เจาหนาทีเ่ ทคนิคตางๆ ดังนัน้ การสูญเสียบุคลากรทางการแพทยหรือผูบ ริหารทีส่ ำคัญดังกลาว หรือการไมสามารถสรรหาบุคลากรทดแทน ที่เหมาะสม หรือมีความสามารถใกลเคียงกันอาจมีผลกระทบในทางลบตอบริษัท ปจจุบันธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศประสบปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย โดยการผลิตบุคลากรทางการแพทยตอง พึ่งพาภาครัฐเปนหลัก และที่ผานมาจำนวนบุคลากรทางการแพทยก็ไมเพียงพอตอความตองการ ทำใหบริษัทตองแขงขันกับผูประกอบ การรายอื่น เพื่อรักษาและดึงดูดบุคลากรทางการแพทยที่มีความชำนาญ ซึ่งอาจสงผลตอตนทุนในการดำเนินงานของบริษัท อยางไรก็ตาม เนื่องจากเครือโรงพยาบาลกรุงเทพเปนเครือขายโรงพยาบาลขนาดใหญ และมีการสนับสนุนงบประมาณในดานการ ศึกษาและวิจัยใหแกบุคลากรทางการแพทยอยางตอเนื่อง เพื่อเปนการเพิ่มความชำนาญเฉพาะทาง และเปนองคกรแหงการเรียนรู เพื่อ เพิ่มพูนความรูทางวิชาการแพทยในดานตางๆ รวมถึงการมีเทคโนโลยีทางการแพทยที่ทันสมัย อีกทั้งบริษัทยังมีมาตรการในการกำหนด คาตอบแทนทีเ่ หมาะสมเมือ่ เปรียบเทียบกับผูป ระกอบการรายอืน่ ในกลุม ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน ผลกระทบในดานนีต้ อ บริษทั ในปจจุบนั นี้ จึงยังไมรุนแรงมากนัก 2.4 ความเสี่ยงจากการถูกฟองรอง เนื่องจากปจจุบันประชาชนรับทราบขอมูลในเรื่องสิทธิของผูปวยมากขึ้น โดยเฉพาะในป 2551 ทางภาครัฐไดออกพระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.2551 เพื่ออำนวยความสะดวกแกผูบริโภค รวมทั้งผูปวยในการดำเนินคดีกับผูใหบริการสถานพยาบาลเพิ่ม มากขึ้น กฎหมายฉบับดังกลาวจึงอาจมีผลกระทบตอผูประกอบการสถานพยาบาลตลอดจนบุคลากรทางการแพทย ซึ่งอาจทำใหบริษัทมี ความเสี่ยงจากการถูกฟองรองจากการใหบริการดานการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น อยางไรก็ดี ฝายบริหารไดใหความสำคัญในการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพการรักษาพยาบาล การคัดกรองแพทย รวมทัง้ คำนึงถึง สิทธิของผูปวย ทั้งในดานการใหขอมูล การบริหารความคาดหวังของผูใชบริการ การมีกระบวนการรายงานและการแกไขปญหาเมื่อมี คำรองเรียนจากผูใ ชบริการ รวมไปถึงการปรับคุณภาพและมีเครือ่ งมือชีว้ ดั การใหบริการใหไดตามมาตรฐานสากลมาอยางตอเนือ่ งโดยตลอด เพื่อเปนการปองกันความเสี่ยงในดานนี้

49 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

2.2 ความเสี่ยงในดานการแขงขัน ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูงและมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตลอดมา นอกจากการแขงขันกับโรงพยาบาลเอกชนใน ระดับเดียวกันกับบริษทั แลว บริษทั ยังตองแขงขันกับโรงพยาบาลเอกชนระดับกลาง ซึง่ มีการปรับปรุงและพัฒนาการใหบริการทางการแพทย รวมถึงการจัดหาอุปกรณทางการแพทยทท่ี นั สมัยเพือ่ ขยายฐานลูกคา นอกจากนีโ้ รงพยาบาลของรัฐก็เริม่ ขยายลักษณะการใหบริการ เชน คลินิกพิเศษนอกเวลา โรงพยาบาลเอกชนภายใตการบริหารงานของโรงพยาบาลรัฐบาล ซึ่งอาจมีผลเปนการดึงฐานลูกคา บริษัทจึงอาจ ไดรับผลกระทบจากการแขงขันที่สูงขึ้นดังกลาว นอกจากนี้ ในระยะเวลาที่ผานมาผูประกอบการโรงพยาบาลเอกชนและโรงพยาบาลของ รัฐมีการขยายการลงทุน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใหบริการและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และคาดวาจะยังคงดำเนินตอไป ทั้งในระยะใกลและระยะกลาง ดังนั้น เพื่อคงความสามารถในการแขงขัน บริษัทอาจตองลงทุนเพิ่มเติมอยางมีนัยสำคัญในเทคโนโลยี และอุปกรณเครื่องมือทางการแพทยที่ทันสมัย รวมทั้งการลงทุนในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การเพิ่มเครือขายโรงพยาบาล และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการสงตอผูปวย และลงทุนในพื้นที่ตางจังหวัดเพื่อสนับสนุนและรองรับการใหบริการทางการแพทยของบริษัท ซึ่งอาจ สงผลตอตนทุนการดำเนินการของบริษัท

ป จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง

อยางไรก็ตาม บริษทั และโรงพยาบาลเครือขายของบริษทั ไดดำเนินการ และปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของระบบคุณภาพตางๆ ทีส่ ำคัญคือ มาตรฐาน JCI (Joint Commission International) มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ HA (Hospital Accreditation) โดยการ ดำเนินการและการปฏิบัติตามแนวทางภายใตระบบ HA กำหนดใหมีคณะกรรมการดูแลคุณภาพการรักษาผูปวยใหเปนไปตามมาตรฐาน กำกับดูแลความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม รวมถึงครอบคลุมความเสี่ยงในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความเสี่ยงเกี่ยวกับการใหบริการ ทางการแพทยและรักษาพยาบาล การดำเนินการตางๆ ดังกลาว อาจชวยลดผลกระทบที่อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงกฎหมายเกี่ยวกับ สุขภาพ และสิ่งแวดลอมได


ป จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง

2.5 ความเสี่ยงจากการพึ่งพารายไดจากผูรับบริการชาวตางชาติ รายไดคารักษาพยาบาลจากผูรับบริการชาวตางชาติ ซึ่งรวมถึงผูที่มีภูมิลำเนาหรือทำงานในประเทศไทย หรือที่เดินทางเขามาใน ประเทศไทยเพือ่ การทองเทีย่ วหรือเพือ่ เขารับการรักษาโดยเฉพาะ ตลอดจนเจาหนาทีข่ องรัฐบาลตางประเทศ หรือหนวยงานของรัฐ หรือ พนักงานของบริษัทเอกชนในตางประเทศ ถือเปนรายไดสวนสำคัญของรายไดจากการรักษาพยาบาลของบริษัท โดยมีจำนวนเทากับ 9,863 ลานบาท ในป 2554 และ 12,267 ลานบาท ในป 2555 หรือคิดเปนรอยละ 26 และรอยละ 28 ของรายไดรวมของบริษัทในป 2554 และ ป 2555 ตามลำดับ โดยปจจัยที่ทำใหผูรับบริการกลุมนี้เขามาใชบริการของบริษัทมีหลายประการ ซึ่งรวมถึงมาตรฐานและ คุณภาพของการใหบริการทางการแพทย คาใชจายดานการรักษาพยาบาลที่ต่ำกวาประเทศอื่น ภาวะอุตสาหกรรมการทองเที่ยว และ เสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ เนือ่ งจากอัตราผลตอบแทนทีด่ จี ากรายไดทไ่ี ดรบั จากกลุม ผูร บั บริการชาวตางชาติ จึงมีการแขงขัน สูงในการใหบริการแกผูรับบริการกลุมนี้ระหวางผูประกอบกิจการธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

50

หากมีเหตุการณที่มีผลกระทบตอปจจัยในการตัดสินใจเขามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทย เชน สถานการณทางการเมือง ภายในประเทศไทย ปจจัยอืน่ ทีม่ ผี ลกระทบตออุตสาหกรรมทองเทีย่ ว การแข็งขึน้ ของคาเงินบาทอยางมีนยั สำคัญเมือ่ เทียบกับเงินสกุลอืน่ ภาพลักษณในดานลบของประเทศไทยในมุมมองของชาวตางชาติ การแขงขันทีเ่ พิม่ ขึน้ จากประเทศอืน่ ทีม่ กี ารรักษาพยาบาลเชิงทองเทีย่ ว อาจสงผลใหผูรับบริการชาวตางชาติไมเขามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทย และอาจสงผลตอโอกาสทางธุรกิจของบริษัท อยางไรก็ตาม บริษัทไดขยายเครือขายการใหบริการใหครอบคลุมหลายพื้นที่ในกรุงเทพมหานคร และในภูมิภาคตางๆ ของประเทศ เพื่อขยายฐานลูกคาในประเทศใหเพิ่มขึ้น และลดการพึ่งพิงฐานลูกคาชาวตางชาติ นอกจากนี้ บริษัทไดขยายฐานลูกคาชาวตางชาติให ครอบคลุมกลุมลูกคาจากหลากหลายประเทศมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพิงฐานลูกคาชาวตางชาติเฉพาะกลุม 2.6 ความเสี่ยงจากการลงทุนในตางประเทศ บริษัทมีการลงทุนในตางประเทศ โดยมีมูลคาการลงทุน (ที่อยูในรูปของทุน เงินใหกูยืมแกบริษัทยอย และภาระค้ำประกันที่บริษัท ค้ำประกันการกูยืมของบริษัทยอยกับบุคคลภายนอก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เทากับ 47.5 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนเงินสกุลบาท ประมาณ 1,444 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 2.1 ของสินทรัพยรวมของบริษทั โดยการลงทุนในตางประเทศของบริษทั รวมถึงการถือหุน ใน Angkor Pisith Co., Ltd. (ซึ่งบริหารโรงพยาบาลรอยัลอังกอรอินเตอรเนชั่นแนล (Royal Angkor International Hospital)) และ การถือหุน ใน Rattanak Medical Services Co., Ltd. (ซึง่ บริหารโรงพยาบาลรอยัลรัตนะ (Royal Rattanak Hospital)) ในอัตรารอยละ 80.0 และรอยละ 70.0 ตามลำดับ และการลงทุนรอยละ 100.0 ใน Phnom Penh Medical Services Co., Ltd. และ BDMS International Medical Services Co., Ltd. ซึ่งยังไมไดเริ่มดำเนินการ โดยปจจัยที่อาจมีผลกระทบในทางลบตอการลงทุนในตางประเทศ ของบริษัท เชน กฎหมาย กฎระเบียบ หรือนโยบายของรัฐบาลตางประเทศที่ใชบังคับกับการดำเนินธุรกิจในตางประเทศของบริษัท หรือ สภาวะทางการเมืองและเศรษฐกิจในประเทศดังกลาว ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา หรือคาใชจายในการลงทุนหรือการ ดำเนินงานที่สูงกวาที่คาดการณไว อาจสงผลใหบริษัทไมไดรับผลตอบแทนตามที่คาดไว และอาจสงผลกระทบตอฐานะการเงิน และผล การดำเนินงานของบริษัท

3. ความเสี่ยงทางดานการเง�น

3.1 ความเสี่ยงดานการรับชำระคารักษาพยาบาล ความเสีย่ งดานการรับชำระคารักษาพยาบาลเปนความเสีย่ งทางการเงินทีบ่ ริษทั มี กลาวคือ การใหรกั ษาพยาบาลผูป ว ยกอนการเรียก เก็บคารักษา กอใหเกิดความเสี่ยงที่อาจจะไมสามารถเรียกเก็บเงินคารักษาพยาบาลได อยางไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายบริหารจัดการเพื่อ ลดความเสี่ยงที่สำคัญดังตอไปนี้ 1. การใหการรักษาพยาบาลผูป ว ยทีร่ บั ผิดชอบคารักษาพยาบาลดวยตนเอง ในกรณีทไ่ี มใชกรณีฉกุ เฉินบริษทั มีนโยบายในการประเมิน ราคาคาใชจายสำหรับการรักษาพยาบาลกอนเพื่อใหผูรับผิดชอบคาใชจายทราบถึงงบประมาณและชำระคาบริการลวงหนา 2. บริษัทยังไดกำหนดใหมีการแจงคาใชจายที่เกิดขึ้นใหกับผูรับผิดชอบคาใชจายทราบเปนระยะ ตลอดการรักษาและใหทยอยชำระ เพื่อเปนการแบงเบาภาระการชำระเงินคารักษาพยาบาลครั้งเดียวทั้งจำนวนแทนที่จะเรียกชำระครั้งเดียวเมื่อเสร็จสิ้นการรักษา


3. สำหรับการเรียกเก็บคารักษาพยาบาลจากบริษทั คูส ญ ั ญานัน้ บริษทั มีนโยบายในการใหเครดิตอยางระมัดระวัง โดยจะมีการวิเคราะห เครดิตและฐานะการเงินของบริษัทคูสัญญากอน พรอมทั้งทบทวนผลการติดตอของบริษัทดังกลาวอยางสม่ำเสมอ ซึ่งนโยบาย ดังกลาวชวยใหบริษัทลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเรียกเก็บเงินได ทั้งนี้ บริษัทมีคณะกรรมการบริหารลูกหนี้ มีการประชุมอยางสม่ำเสมอ คณะกรรมการประกอบดวยผูบริหารฝายการเงิน และฝาย ปฏิบัติการ คณะกรรมการจะพิจารณาถึงการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทบทวนและกำหนดมาตรการปองกัน รวมทั้งหาทางออกที่ เหมาะสมใหกับบริษัทและผูปวยในกรณีที่เกิดปญหาการชำระคารักษาพยาบาล เพื่อลดความเสี่ยงดานนี้ได

51 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

3.3 ผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจในตางประเทศและความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา บริษัทมีรายไดสวนหนึ่งจากการใหบริการแกผูรับบริการชาวตางชาติที่เดินทางเขามาในประเทศไทย สภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ของผูรับบริการชาวตางชาติ จึงมีผลตอจำนวนผูรับบริการชาวตางชาติที่เขามาใชบริการในเครือขายโรงพยาบาลของบริษัท ในลักษณะ เดียวกันกับปจจัยทางเศรษฐกิจในประเทศที่มีผลกระทบตอจำนวนผูรับบริการในประเทศ ดังนั้น ธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทจึงอาจไดรับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจในประเทศตางๆ ของผูรับบริการชาวตางชาติ นอกจากนี้ ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศกับสกุลเงินบาท ซึง่ เปนตัวกำหนดความสามารถในการแขงขันดาน ราคาของบริษทั เทียบกับผูใ หบริการทางดานการรักษาพยาบาลในประเทศอืน่ เปนปจจัยหนึง่ ทีอ่ าจมีผลกระทบตอรายไดของบริษทั ในป 2555 คาเงินบาทเคลือ่ นไหวในทิศทางทีแ่ ข็งคาสลับกับออนคาตลอดทัง้ ป โดยเคลือ่ นไหวอยูร ะหวาง 30.3 - 31.9 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ บริษัทจึงมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศซึ่งเปนปจจัยภายนอกที่อยูนอกเหนือความควบคุมของ บริษัท โดยในกรณีนี้ บริษัทพยายามที่จะรักษาสัดสวนของผูรับบริการในประเทศ และผูรับบริการชาวตางชาติใหอยูในระดับที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น

ป จ จั ย ค ว า ม เ สี่ ย ง

3.2 ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีหนี้สินทางการเงินสวนที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (float rate) จำนวน 8,158 ลานบาท จาก ทั้งหมดจำนวน 19,910 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 41.0 ของหนี้สินทางการเงินทั้งหมด ดังนั้น ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย อาจ สงผลกระทบตอตนทุนทางการเงินของบริษัท บริษัทมีนโยบายการปองกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ซึ่งรวมถึงการเขาทำสัญญาปอง กันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) ซึ่งบริษัทจะพิจารณากำหนดตามภาวะตลาดในขณะนั้นๆ


โครงสรางการถือหุนและการจัดการ 1. โครงสรางการถือหุน

รายชื่อผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ของบริษัท ณ วันปดสมุดทะเบียนลาสุด เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 มีดังนี้

โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

ชื่อ-สกุล

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

52

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ และภรรยา นายวิชัย ทองแตง และภรรยา นายสาธิต วิทยากร และภรรยา บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด และ บริษัท บางกอกแอรเวยสโฮลดิ้ง จำกัด บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด แพทยหญิงปรมาภรณ ปราสาททองโอสถ DEUTSCHE BANK AG SINGAPORE (DCS) A/C CLIENT นายแพทยจิโรจน สุชาโต และภรรยา CREDIT SUISSE AG, SINGAPORE BRANCH นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล และภรรยา

รวม

อัตราสวนการถือหุน

196,704,984 184,998,269 122,681,981 121,938,769 99,544,463 49,662,607 44,694,900 39,408,009 31,337,598 27,565,795 918,537,375

12.73% 11.97% 7.94% 7.89% 6.44% 3.21% 2.89% 2.55% 2.03% 1.78% 59.43%

ที่มา : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด

ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2555 บริษทั ไดรบั ทราบการไดมาและจำหนายไปในหลักทรัพย BGH ของผูถ อื หุน อันดับ 1, 3 และ 4 และบริษทั ไดรายงานการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการถือหุนดังกลาวตอตลาดหลักทรัพยฯ โดยภายหลังการไดมาและจำหนายไปดังกลาว ผูถือหุนทั้ง สามรายมีสัดสวนการถือหุน BGH เปนดังนี้ - ผูถือหุนอันดับ 1 จำนวน 295,372,734 หุน คิดเปนรอยละ 19.1 294,281 หุน คิดเปนรอยละ 0.02 - ผูถือหุนอันดับ 3 จำนวน - ผูถือหุนอันดับ 4 จำนวน 130,580,194 หุน คิดเปนรอยละ 8.4

2. การจัดการ

2.1 บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีพนักงาน จำนวนรวม 3,237 คน และแพทย อีกจำนวน 1,022 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้คือ ประเภท

แพทยและพนักงานประจำ

แพทยที่ปรึกษาและพนักงานชั่วคราว

รวม

พยาบาล พนักงานทั่วไป รวมพนักงานทั้งสิ้น แพทย

926 1,817 2,743 379

161 333 494 643

1,087 2,150 3,237 1,022

หมายเหตุ แพทยประจำ หมายถึง แพทยที่ทำงานกับบริษัทตั้งแต 40 ชั่วโมงตอสัปดาหขึ้นไป แตแพทยดังกลาวไมถือวาเปนพนักงานของบริษัท

2.2 โครงสรางการจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โครงสรางการจัดการภายในองคกรของบริษัทประกอบดวย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหาร และผูบริหาร 4 ลำดับแรก รายละเอียดดังนี้


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร 53 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

คณะกรรมการบริษัท 1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยอรุณ เผาสวัสดิ์ ประธานกรรมการ 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล รองประธานกรรมการบริษัทคนที่ 1 3. นายวิชัย ทองแตง รองประธานกรรมการบริษัทคนที่ 2 4. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ กรรมการผูอำนวยการใหญ 5. นายแพทยพงษศักดิ์ วิทยากร กรรมการ 6. นายแพทยจิโรจน สุชาโต กรรมการ 7. นายประดิษฐ ทีฆกุล กรรมการ 8. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี กรรมการอิสระ 9. นายธวัชวงค ธะนะสุมิต กรรมการ 10. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร กรรมการ 11. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล กรรมการอิสระ 12. ดร.สมชัย สัจจพงษ กรรมการอิสระ 13. นายศรีภพ สารสาส กรรมการอิสระ 14. นางสาวกนานุช เล็กวิจิตร กรรมการ 15. นายธงชัย จิรอลงกรณ กรรมการ กรรมการผูมีอำนาจลงนาม นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ นายแพทยพงษศกั ดิ์ วิทยากร นายแพทยจลุ เดช ยศสุนทรากุล นายแพทยจโิ รจน สุชาโต และ นายแพทยชาตรี ดวงเนตร กรรมการสองในหาทานนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราบริษัท เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้ง นางสาวเกษรา วงศเกตุ Assistant Vice President ทำหนาที่เลขานุการบริษัท เพื่อรับผิดชอบการ ทำหนาทีต่ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และประกาศทีค่ ณะกรรมการกำกับตลาดทุนกำหนด ตลอดจนหนาทีอ่ น่ื ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย รวมถึงประสานงานและติดตามงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัท และมติที่ประชุม ผูถือหุน เพื่อใหงานสำเร็จลุลวงและเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการจะตองปฏิบัติหนาที่โดยใชความรู ความสามารถใหเปนประโยชนตอการดำเนินงานของบริษัท ใหเปนไปตามขอบังคับ ของบริษทั และตามมติของทีป่ ระชุมผูถ อื หุน และมีอำนาจกระทำการใดๆ ตามทีร่ ะบุไวในหนังสือบริคณหสนธิ และ พรบ. บริษทั มหาชน หรือกฎที่เกี่ยวของตางๆ 2. ปฏิบัติตามขอกำหนดและขอพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน ตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 3. กำหนดนโยบายและกำกับดูแลใหฝา ยจัดการดำเนินการใหเปนไปตามนโยบายทีก่ ำหนดไว รวมถึงพิจารณาอนุมตั แิ ผนธุรกิจ งบประมาณ ประจำป อนุมัติการลงทุน และการตัดสินใจทางการเงิน 4. กำกับดูแลการดำเนินงานของผูบ ริหาร ติดตามผลการดำเนินงานของบริษทั เพือ่ ใหมน่ั ใจวาเปนไปตามเปาหมายและแผนงานทีก่ ำหนดไว 5. จัดใหมรี ะบบการควบคุมภายในและตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ดำเนินการตรวจสอบ ดูแลการปฏิบตั งิ าน และประสานงาน รวมกับคณะกรรมการตรวจสอบ 6. มีความรับผิดชอบตอผูถือหุน ดำเนินงานโดยรักษาผลประโยชนของผูถือหุน มีการเปดเผยขอมูลอยางเปนมาตรฐานและโปรงใส 7. รายงานสวนไดเสียของตน คูสมรส และผูที่เกี่ยวของตามที่กำหนดไวใน พรบ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมถึงแจงการถือ หลักทรัพยของตน คูสมรส และบุตร (ที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ) ตอเลขานุการบริษัทเพื่อรายงานการเปลี่ยนแปลงดังกลาวตอที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ คณะกรรมการตรวจสอบ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2554 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย กรรมการอิสระจำนวน 3 ทาน และมีวาระในการดำรงตำแหนงเปนเวลา 3 ป โดยมีรายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบดังนี้ 1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. ดร.สมชัย สัจจพงษ กรรมการตรวจสอบ 3. นายศรีภพ สารสาส กรรมการตรวจสอบ


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

54

คุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. กรรมการตรวจสอบของบริษทั ตองเปนกรรมการอิสระ และไดรบั การแตงตัง้ จากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน หรือทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ ผูท ด่ี ำรงตำแหนงกรรมการอิสระของบริษทั จะตองมีคณ ุ สมบัตติ ามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนี้ 1.1 ถือหุนไมเกินรอยละ 1.0 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย (ผูที่เกี่ยวของ หมายถึง บุคคล ตามมาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย) 1.2 ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจำ หรือผูมีอำนาจควบคุมของ บริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป ทัง้ นี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีทก่ี รรมการอิสระเคยเปนขาราชการ หรือทีป่ รึกษาของสวนราชการซึง่ เปนผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั (บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน หมายถึงบริษทั ยอยที่มีบริษัทแมเปนบริษัทเดียวกัน) 1.3 ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทัง้ คูส มรสของบุตร ของผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี ำนาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะไดรบั การเสนอใหเปนผูบ ริหาร หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย 1.4 ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของ บริษัท ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมี อำนาจควบคุม ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ ควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 1.5 ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี ำนาจควบคุม หรือหุน สวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอย กวา 2 ป 1.6 ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงินซึ่งไดรับคา บริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 1.7 ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของ กับผูถือหุนรายใหญ 1.8 นอกเหนือจากคุณสมบัตขิ องกรรรมการบริษทั เกีย่ วกับการประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันกับบริษทั และบริษทั ยอยแลว กรรมการอิสระยังจะตองไมเปนลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ หรือถือหุน เกินรอยละ 1.0 ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือ บริษัทยอย 1.9 ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนินการของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะได (Collective Decision) 2. นอกเหนือจากคุณสมบัติการเปนกรรมการอิสระแลว กรรมการตรวจสอบตองมีคุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ใหตัดสินใจในการดำเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 2) ตองเปนผูมีความรู ประสบการณ และสามารถอุทิศเวลาไดอยางเพียงพอในการปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมาย 3. ตองไมเปนกรรมการตรวจสอบของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ซึง่ อยูใ นธุรกิจหรืออุตสาหกรรมเดียวกัน และไมเปนกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ อื่นเกินกวา 5 บริษัท เนื่องจากอาจมีผลใหการปฏิบัติหนาที่ในบริษัทใดบริษัท หนึ่งทำไดไมเต็มที่


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร 55 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

รายการตอไปนี้ไมถือวามีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่และการใหความเห็นที่เปนอิสระของกรรมการตรวจสอบ 1. รายการระหวางกรรมการตรวจสอบหรือผูท เ่ี กีย่ วของกับกรรมการตรวจสอบทีก่ ระทำกับบริษทั บริษทั ในเครือ บริษทั รวม หรือผูถ อื หุน รายใหญของบริษัท เกี่ยวกับการไดมาหรือจำหนายสินคาหรือบริการตามเงื่อนไขดังนี้ 1) การไดมาหรือจำหนายสินคาหรือบริการนั้นอยูบนพื้นฐานของการดำเนินธุรกิจปกติและเปนเงื่อนไขการคาโดยทั่วไปที่กำหนดโดยมี หลักเกณฑชัดเจน และเปนที่เปดเผย 2) ราคาสินคาหรือคาบริการเปนราคาที่เทียบเคียงไดกับราคาสินคาหรือคาบริการที่ใหลูกคารายอื่น 2. การทำรายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งไดดำเนินการตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ ที่เกี่ยวของแลว 3. รายการอืน่ ใดทีไ่ ดดำเนินการตามกฎ ระเบียบ ขอกำหนด หรือประกาศทีต่ ลาดหลักทรัพยฯ กำหนดแลวตามหนาทีข่ องคณะกรรมการ ตรวจสอบเพือ่ ชวยคณะกรรมการปฏิบตั หิ นาทีก่ ำกับดูแลเกีย่ วกับความถูกตองของรายงานทางการเงิน ประสิทธิภาพระบบการควบคุม ภายใน และการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักจรรยาบรรณตางๆ เพื่อสงเสริมใหเกิดการกำกับดูแลกิจการที่ดี ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบสามารถปฏิบัติงานไดตามหนาที่ที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ และความรับผิดชอบดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 2. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานและการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงินของบริษัท ใหมีความถูกตองครบถวนเปนที่เชื่อถือได โดยการประสานงานกับผูตรวจสอบบัญชีภายนอกและผูบริหารที่รับผิดชอบจัดทำรายงานทางการเงินตามกรอบระยะเวลาที่ตลาด หลักทรัพยฯ กฎหมาย และหนวยงานราชการกำหนด 3. คัดเลือก และเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีและคาสอบบัญชีบริษัทประจำปตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติ 4. จัดใหมีกระบวนการรับแจงเบาะแสจากพนักงานเกี่ยวกับรายการในงบการเงินที่ไมเหมาะสมหรือประเด็นอื่นๆ โดยตองทำใหผูแจง เบาะแสมั่นใจไดวามีกระบวนการสอบสวนที่เปนอิสระ และมีการดำเนินการในการติดตามที่เหมาะสม 5. สอบทานใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและ มีประสิทธิภาพ โดยสอบทานรวมกับผูตรวจสอบอิสระภายนอกและผูตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบควรพิจารณา ความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน 6. สอบทานหลักฐานการไตสวนภายในเมือ่ มีขอ สงสัยหรือสันนิษฐานวาอาจมีการทุจริตหรือมีสง่ิ ผิดปกติหรือความบกพรองสำคัญในระบบ การควบคุมภายใน และนำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาตอไป 7. สัง่ การและสอบทานหลักฐาน หากมีขอ สงสัยวาอาจมีการฝาฝนกฎหมายหรือขอกำหนดใดๆ ของตลาดหลักทรัพยฯ ซึง่ มีหรืออาจมีผล กระทบตอฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทอยางมีนัยสำคัญ 8. วาจางหรือนำผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานมาสนับสนุนงานตรวจสอบและสอบสวน โดยปฏิบตั ติ ามระเบียบของบริษทั ในกรณีทค่ี ณะกรรมการ ตรวจสอบพบหรือมีขอ สงสัยวามีรายการหรือการกระทำซึง่ อาจมีผลกระทบอยางมีนยั สำคัญตอฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ บริษัท โดยบริษัทรับผิดชอบคาใชจาย 9. ในกรณีที่บริษัทมีหนวยงานตรวจสอบภายในของบริษัทเอง คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจในการใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนางานตรวจสอบภายใน และประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของผูที่ดำรงตำแหนงหัวหนาหนวยตรวจสอบภายใน แตในกรณีที่บริษัทใชบริการหนวยงานภายนอกเปนผูใหบริการดานการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจใหความ เห็นชอบการวาจางและกำหนดคาธรรมเนียมตอบแทนการวาจางดังกลาว 10. สอบทานใหบริษัทมีระบบการจัดการและควบคุมความเสี่ยงที่เหมาะสม ครอบคลุมทั้งองคกร และเสนอแนะแนวทางในการบริหาร ความเสี่ยงตางๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 11. สอบทานการรายงานการบริหารความเสี่ยง และติดตามความเสี่ยงที่สำคัญ และนำเสนอรายงานความเห็นที่เกี่ยวกับความพอเพียง ของระบบ และการควบคุมความเสี่ยงตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 12. สอบทานไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน โดยการสอบทานการทำรายการระหวางบริษทั หรือบริษทั ยอยกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ 13. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจำปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองมีรายละเอียดตาม ประกาศตลาดหลักทรัพยฯ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวของ


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

56

14. สอบทานใหกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจำทุกป โดยกฎบัตรดังกลาวควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตของการ ดำเนินงานของคณะกรรมการอยางนอยตามที่กำหนดไวในขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ วาดวยคุณสมบัติและขอบเขตการ ดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และมีขอกำหนดที่รองรับการทำหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบอยางเพียงพอ เชน การจางผูเชี่ยวชาญใหความเห็นในเรื่องที่ตองใชความชำนาญเฉพาะดาน โดยรับผิดชอบคาใชจาย เปนตน ในกรณีที่คณะกรรมการ เห็นวามีความจำเปนตองปรับเปลีย่ นเนือ้ ความในกฎบัตรดังกลาวใหเหมาะสมกับระเบียบ ขอบังคับ และสถานการณทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ใหคณะกรรมการเสนอตอคณะกรรมการบริษัทใหมีการพิจารณาใหความเห็นชอบตอไป 15. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ 2555 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน โดยสมาชิกสวนใหญประกอบดวยกรรมการอิสระ และมีวาระในการดำรงตำแหนงเปนระยะเวลา 3 ป รายชือ่ คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวย 1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 3. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล กรรมการและพิจารณาคาตอบแทน 4. ดร.สมชัย สัจจพงษ กรรมการและพิจารณาคาตอบแทน 5. นายศรีภพ สารสาส กรรมการและพิจารณาคาตอบแทน ขอบเขตหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 1. กำหนดคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสมของกรรมการบริษทั วิธกี ารสรรหา และหลักเกณฑในการสรรหากรรมการบริษทั รวมทัง้ ดำเนินการสรรหา บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับการเขาดำรงตำแหนงกรรมการและนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาเสนอใหที่ประชุม ผูถือหุนเลือกตั้งตอไป 2. พิจารณารูปแบบ หลักเกณฑการจายคาตอบแทน และกำหนดคาตอบแทนของกรรมการบริษัท กรรมการชุดยอย เพื่อนำเสนอตอ คณะกรรมการบริษทั กอนเสนอใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน พิจารณา โดยรูปแบบ หลักเกณฑ และอัตราคาตอบแทนเหลานัน้ ตองมีความชัดเจน โปรงใส เปนธรรม และสอดคลองกับความรับผิดชอบ และผลการดำเนินงาน ในลักษณะทีส่ ามารถจูงใจและรักษากรรมการทีม่ คี ณ ุ ภาพ และศักยภาพไวได 3. กำหนดคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสม วิธกี ารสรรหา และหลักเกณฑในการสรรหาตำแหนงประธานคณะผูบ ริหารและกรรมการผูอ ำนวยการใหญ รวมทั้งดำเนินการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับการเขาดำรงตำแหนงนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อให ความเห็นชอบ 4. พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทนของประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญ เพื่อนำเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อใหความเห็นชอบ โดยรูปแบบและหลักเกณฑเหลานั้น ตองมีความชัดเจน โปรงใส เปนธรรม และ สอดคลองกับหนาที่ ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบตั หิ นาที่ 5. จัดทำหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญใหคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาใหความเห็นชอบ 6. ประเมินการผลปฏิบัติหนาที่ของประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญตามหลักเกณฑที่ไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัท และพิจารณากำหนดคาตอบแทนประจำป โดยพิจารณาจากผลการประเมิน และเสนอใหคณะกรรมการบริษัท พิจารณาใหความเห็นชอบ 7. จัดทำแผนการสืบทอดตำแหนงผูบริหาร (Succession planning) สำหรับตำแหนงประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการ ใหญ และเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาใหความเห็นชอบ 8. สอบทานกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเปนประจำทุกป ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นวามีความจำเปน ตองปรับเปลี่ยนเนื้อความในกฎบัตรดังกลาวใหเหมาะสมกับระเบียบ ขอบังคับ และสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปใหคณะกรรมการ สรรหาฯเสนอตอคณะกรรมการบริษัทใหมีการพิจารณาเปลี่ยนแปลง 9. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร 57 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

คณะกรรมการบริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2555 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร ประกอบดวย 1. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล รองประธานกรรมการบริหาร 3. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร กรรมการบริหาร 4. นายประดิษฐ ทีฆกุล กรรมการบริหาร 5. นายธงชัย จิรอลงกรณ กรรมการบริหาร ขอบเขตอำนาจหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหาร 1. กำหนดวิสัยทัศน ทิศทางการดำเนินธุรกิจ นโยบาย กลยุทธของบริษัท เพื่อนำเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท 2. ทบทวนแผนธุรกิจ แผนงบประมาณ รายจายประจำป แผนการลงทุน และแผนงานดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร (Corporate Social Responsibility: CSR) ของบริษัท ใหสอดคลองกับนโยบายและกลยุทธที่วางไวและนำเสนอขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัท 3. กำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท ใหเปนไปตามแผนงานตางๆ ที่วางไว รวมทั้งใหเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ และขอกำหนด ของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของตลอดจนกฎระเบียบ ขอบังคับของบริษัท 4. พิจารณารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของบริษัท และเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบทุกไตรมาส 5. อนุมัติรายจายเพื่อการลงทุนและคาใชจายในการดำเนินงาน ตามขอบเขตอำนาจที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 6. อนุมัติหรือทบทวนวงเงินใหกูยืมแกบริษัทยอยตามขอบเขตอำนาจที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. กำกับดูแลใหบริษัทมีระบบปฏิบัติการควบคุมภายใน และระบบการจัดการและควบคุมความเสี่ยงที่เหมาะสมรัดกุม และเปนไปตาม ขอเสนอและทวงติงของคณะกรรมการตรวจสอบ 8. กลัน่ กรองและทบทวนรูปแบบโครงสรางองคกร และขอบเขตอำนาจ หนาที่ ความรับผิดชอบระดับบน เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณาใหความเห็นชอบ 9. ใหความเห็นชอบแผนการสืบทอดตำแหนงผูบ ริหาร (Succession planning) สำหรับตำแหนงผูอ ำนวยการโรงพยาบาลหรือเทียบเทา จนถึงตำแหนงประธานเจาหนาที่หรือเทียบเทา 10. ใหความเห็นชอบแตงตั้ง โยกยาย หรือปลดผูบริหารตามขอบเขตอำนาจที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนให ความเห็นชอบในการพิจารณากำหนดรายชื่อกรรมการบริษัทยอย และกรรมการผูจัดการของบริษัทยอย เพื่อเปนแนวทางการ ดำเนินงานของบริษัทยอยในการนำรายชื่อดังกลาวผานขั้นตอนอนุมัติตามกฎหมาย หรือตามกฎระเบียบและขอบังคับของแตละ บริษัทตอไป 11. กลั่นกรองและทบทวนโครงสรางเงินเดือน (Pay Scale) และหลักการการปรับเงินเดือนประจำปของบริษัท และบริษัทยอย (ทั้งนี้ไม รวมตำแหนงประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญ) เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาใหความเห็นชอบ 12. แตงตั้งคณะทำงาน เพื่อปรับปรุงแกไขปญหาตางๆ เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของบริษัท 13. สอบทานกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารเปนประจำทุกป ในกรณีทค่ี ณะกรรมการบริหารเห็นวามีความจำเปนตองปรับเปลีย่ นเนือ้ ความในกฎบัตรดังกลาวใหเหมาะสมกับระเบียบ ขอบังคับ และสถานการณทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ใหคณะกรรมการบริหารเสนอตอคณะ กรรมการบริษัทใหมีการพิจารณาใหความเห็นชอบตอไป 14. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ อำนาจ หนาที่ และความรับผิดชอบดังกลาวขางตนไมสามารถใชกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทยอย และไมรวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับรายการเกี่ยวโยง และ รายการไดมาหรือจำหนายไปซึง่ ทรัพยสนิ ทีส่ ำคัญของบริษทั จดทะเบียน ตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือประกาศ อืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ และบริษทั จะตองปฏิบตั ใิ หเปนไปตามกฎระเบียบ และขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือประกาศอืน่ ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ นอกจากนี้ อำนาจ หนาที่ และความรับผิดชอบดังกลาวขางตนดังกลาวขางตนไมรวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่ขอบังคับบริษัท กำหนดใหตองขออนุมัติจากมติที่ประชุมผูถือหุน


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

ผูบริหาร 4 อันดับแรก

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

58

รายชื่อผูบริหาร

ตำแหนง

1. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ 2. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร 3. นางนฤมล นอยอ่ำ 4. นายแพทยตฤณ จาลุมิลินท

ประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญ / ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ-กิจการองคกร ประธานคณะเจาหนาที่ปฏิบัติการ-การแพทย ประธานเจาหนาที่บริหารดานการเงิน ประธานฝายแพทย

ขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบของผูบริหาร 1. ดำเนินกิจการ และ/หรือบริหารงานของบริษัทใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน เปาหมาย ระเบียบขอบังคับ และหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดีที่บริษัทกำหนด ทั้งนี้ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดตางๆ ที่เกี่ยวของกับบริษัทอยางเครงครัด 2. ดำเนินการบริหารงานใหเปนไปตามมติที่ประชุมผูถือหุน มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร (แลวแตกรณี) ภายใตขอบเขตอำนาจหนาทีแ่ ละระเบียบอำนาจอนุมตั ดิ ำเนินการทีไ่ ดรบั การอนุมตั ไิ ว ดวยความซือ่ สัตยสจุ ริต ระมัดระวัง และรักษาผลประโยชนของบริษทั เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุดแกองคกรและผูถ อื หุน โดยคำนึงถึงผูม สี ว นไดเสียทีเ่ กีย่ วของอยางเปนธรรม 3. รายงานผลงาน และความกาวหนาในการดำเนินงานของบริษัทในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจำเพื่อใหเกิดผลในทาง ปฏิบัติและใหมั่นใจไดวาการดำเนินงานของบริษัทเปนไปตามเปาหมายและแผนงานที่กำหนดไว 4. รายงานสวนไดเสียของตน คูส มรส และผูท เ่ี กีย่ วของตามทีก่ ำหนดไวในพรบ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมถึงแจงการถือหลักทรัพย ของตน คูส มรส และบุตร (ทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ) ตอเลขานุการบริษทั เพือ่ รายงานการเปลีย่ นแปลงดังกลาวตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทเพื่อทราบ 5. พิจารณากลั่นกรองเรื่องที่จะตองนำเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการของบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท (แลวแตกรณี) รวมตลอดถึงการพิจารณาหาแนวทางเพื่อการแกไขปญหาของบริษัท 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท (แลวแตกรณี) ทั้งนี้ อำนาจหนาที่ในการดำเนินงานขางตน ไมสามารถใชกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชนในลักษณะอืน่ ใดกับบริษทั หรือบริษทั ยอย และไมรวมถึงการดำเนินการเกีย่ วกับรายการเกีย่ วโยง และรายการไดมาหรือ จำหนายไป ซึง่ ทรัพยสนิ ทีส่ ำคัญของบริษทั จดทะเบียน ตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือประกาศอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ และบริษทั จะตองปฏิบตั ใิ หเปนไปตามกฎระเบียบ และขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือประกาศอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งนัน้ ๆ นอกจากนี้ อำนาจดังกลาวขางตนไมรวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่ขอบังคับกำหนดใหตองขออนุมัติจากมติที่ประชุมผูถือหุน

3. การสรรหากรรมการ

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีหนาที่ในการสรรหากรรมการที่ครบกำหนดออกตามวาระ การแตงตั้งทดแทนหรือ แตงตัง้ ใหม โดยการพิจารณาคัดเลือกรายชือ่ ผูท ม่ี คี วามเหมาะสม และนำเสนอรายชือ่ ตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ เห็นชอบ (กรณีแตงตัง้ ทดแทนกรรมการเดิม) หรือเพื่อพิจารณาเสนอชื่อใหผูถือหุนเพื่อพิจารณาแตงตั้งตอไป คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีหนาทีพ่ จิ ารณาผูท รงคุณวุฒทิ เ่ี หมาะสม โดยพิจารณาจากความรู ความสามารถและประสบการณการทำงานในอดีตทีจ่ ะเปนประโยชน ตอบริษัท มีความเปนผูนำ วิสัยทัศนกวางไกล เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรม มีประวัติการทำงานที่โปรงใสไมดางพรอย และมีความเปน อิสระในการตัดสินใจอยางมืออาชีพ ดวยความซื่อสัตย และเปนผูที่มีคุณสมบัติตามกฎบัตรคณะกรรมการบริษัท และเปนผูที่คุณสมบัติ ตามขอกำหนดของสำนักงานก.ล.ต. โดยในการเลือกตั้งกรรมการของบริษัทแทนกรรมการที่ออกตามวาระ หรือแตงตั้งใหม จะตองไดรับ อนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน ตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 1. ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจำนวนหุนที่ตนถือ 2. ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม ขอ 1 เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้ง บุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได 3. บุคคลซึง่ ไดรบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมาเปนผูไ ดรบั การเลือกตัง้ เปนกรรมการเทาจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี คุ คลซึง่ ไดรบั การเลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด นอกจากนี้ การแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการบริษัท จะเปนไปตามขอบังคับบริษัทที่กำหนดไวดังนี้คือ 1) คณะกรรมการบริษัทตองประกอบดวยกรรมการอยางนอย 5 ทาน และไมนอยกวากึ่งหนึ่งตองมีถิ่นที่อยูในประเทศ


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร 59 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

2) กรรมการตองเปนบุคคลธรรมดา และมีคุณสมบัติดังนี้ • บรรลุนิติภาวะ • ไมเปนบุคคลลมละลาย ไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ • ไมเคยรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพยที่ไดโดยทุจริต • ไมเคยถูกลงโทษ ไลออก หรือปลดออกจากราชการ องคการ หรือหนวยงานของรัฐในฐานทุจริตตอหนาที่ 3) ในการประชุมสามัญประจำปทุกครั้ง กรรมการจะตองออกจากตำแหนงอยางนอยจำนวนหนึ่งในสาม (1/3) โดยอัตรา ถาจำนวน กรรมการจะแบงออกใหเปนสามสวนไมไดก็ใหออกโดยจำนวนใกลเคียงที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการผูออกจากตำแหนง ไปนั้นอาจจะเลือกเขารับตำแหนงอีกก็ได 4) นอกจากกรรมการพนจากตำแหนงตามวาระแลว กรรมการจะพนจากตำแหนงเมื่อ • ตาย • ลาออก • ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย • ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน มีมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวาสามในสีข่ องจำนวนหุน ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ นับรวมกัน ไดไมนอยกวาครึ่งหนึ่งของจำนวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง • ศาลมีคำสั่งใหออก 5) กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหนง ใหยื่นใบลาออกตอบริษัท การลาออกมีผลนับแตเมื่อใบลาออกถึงบริษัท 6) ถาตำแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากการออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัตแิ ละไมมลี กั ษณะตอง หามตามกฎหมายเขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการเหลือนอยกวาสองเดือน บุคคลซึง่ เขาเปนกรรมการแทนนัน้ ใหอยูใ นตำแหนงไดเพียงเทาวาระทีย่ งั เหลืออยูข องกรรมการซึง่ ตนแทน ทัง้ นีม้ ติของกรรมการขางตน ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจำนวนกรรมการที่เหลืออยู 7) ในกรณีที่ตำแหนงกรรมการวางลงจนเหลือนอยกวาจำนวนที่จะเปนองคประชุม ใหกรรมการที่เหลืออยูกระทำการในนามของคณะ กรรมการไดแตเฉพาะการจัดใหมีการประชุมผูถือหุน เพื่อเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหนงที่วางทั้งหมดเทานั้น การประชุมใหกระทำ ภายในหนึง่ เดือน นับแตวนั ทีจ่ ำนวนกรรมการวางลงเหลือนอยกวาจำนวนทีจ่ ะเปนองคประชุม และบุคคลซึง่ เขาเปนกรรมการแทนนัน้ ใหอยูในตำแหนงไดเพียงวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน อนึ่ง เนื่องจากองคประกอบของคณะกรรมการบริษัท จะตองประกอบดวยกรรมการอิสระ เปนจำนวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของ กรรมการทั้งคณะ โดยกระบวนการในการสรรหากรรมการอิสระของบริษัท จะใชวิธีเดียวกันกับกระบวนการในการสรรหากรรมการ แต บริษัทไดกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมสำหรับผูที่จะดำรงตำแหนงกรรมการอิสระของบริษัท ซึ่งเปนไปตามขอกำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต. ดังตอไปนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1.0 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแยง ทัง้ นี้ ใหนบั รวมการถือหุน ของผูท เ่ี กีย่ วของของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ดวย (ผูท เ่ี กีย่ วของ หมายถึง บุคคลตามมาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย) 2. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ดเงินเดือนประจำ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป ทัง้ นี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีทก่ี รรมการอิสระเคยเปนขาราชการ หรือทีป่ รึกษา ของสวนราชการซึง่ เปนผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั (บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน หมายถึงบริษทั ยอยทีม่ บี ริษทั แม เปนบริษัทเดียวกัน) 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นอง และ บุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมี อำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 4. ไมมหี รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ในลักษณะทีอ่ าจเปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของตน รวมทัง้ ไมเปนหรือเคยเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั หรือผูม อี ำนาจควบคุม ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ ควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป


โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

60

5. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท และ ไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั สังกัดอยู เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป 6. ไมเปนหรือเคยเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการใหบริการเปนทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงินซึง่ ไดรบั คาบริการ เกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั และไมเปน ผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม นอยกวา 2 ป 7. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับ ผูถือหุนรายใหญ 8. นอกเหนือจากคุณสมบัติของกรรมการบริษัทเกี่ยวกับการประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันกับบริษัทและบริษัทยอยแลว กรรมการอิสระยังจะตองไมเปนลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ หรือถือหุน เกินรอยละ 1.0 ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออก เสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย 9. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนินการของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะได (Collective Decision)

4. คาตอบแทนผูบร�หาร

4.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน คาตอบแทนกรรมการบริษัท สำหรับงวด 1 ป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำแหนง

ประธานกรรมการ 1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยอรุณ เผาสวัสดิ์ รองประธานกรรมการ คนที่ 1 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล รองประธานกรรมการ คนที่ 2 3. นายวิชัย ทองแตง กรรมการผูอำนวยการใหญ 4. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ กรรมการ 5. นายแพทยพงษศักดิ์ วิทยากร กรรมการ 6. นายแพทยจิโรจน สุชาโต กรรมการ 7. นายประดิษฐ ทีฆกุล กรรมการอิสระ 8. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี กรรมการ 9. นายธวัชวงค ธะนะสุมิต กรรมการ 10. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร กรรมการอิสระ 11.นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล กรรมการอิสระ 12. ดร. สมชัย สัจจพงษ กรรมการอิสระ 13. นายศรีภพ สารสาส กรรมการ 14. นางสาวกนานุช เล็กวิจิตร กรรมการ 15. นายธงชัย จิรอลงกรณ (1) รวมคาตอบแทนทั้งสิ้น

(หนวย : บาท)

จำนวนครั้ง ที่เขาประชุม

บำเหน็จ กรรมการ

15/16 16/16 15/16 16/16 15/16 16/16 16/16 16/16 14/16 16/16 15/16 9/16 16/16 16/16 10/10

2,322,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 1,548,400 22,451,600

คาเบี้ยประชุม 800,000 550,000 525,000 550,000 510,000 550,000 550,000 550,000 470,000 550,000 510,000 300,000 550,000 550,000 400,000

หมายเหตุ : (1) นายธงชัย จิรอลงกรณ ไดรับแตงตั้งตามมติที่ประชุมใหญสามัญประจำป 2555 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ใหดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท เริ่มเขารวมประชุม


คาตอบแทนกรรมการชุดยอย

(หนวย : บาท) 8/8 3/8 8/8

1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี 2. ดร. สมชัย สัจจพงษ 3. นายศรีภพ สารสาส รวมคาตอบแทนทั้งสิ้น

คาเบี้ยประชุม (บาท) 360,000 120,000 260,000 740,000 (หนวย : บาท)

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

จำนวนครั้งที่เขาประชุม 2/2 2/2 2/2 1/2 2/2

1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล 3. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล 4. ดร. สมชัย สัจจพงษ 5. นายศรีภพ สารสาส รวมคาตอบแทนทั้งสิ้น

คาเบี้ยประชุม (บาท) 60,000 50,000 50,000 25,000 50,000 235,000

คาตอบแทนผูบริหารสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ในป 2555 บริษทั ไดจา ยคาตอบแทนใหแกผบู ริหาร 4 ลำดับแรก ในรูปของเงินเดือน โบนัสและเบีย้ ประชุม เปนเงินรวม 81.0 ลานบาท และบริษัทไดจายเงินเขากองทุนสำรองเลี้ยงชีพใหแกผูบริหารดังกลาว ซึ่งเปนไปตามสิทธิสวัสดิการเชนเดียวกับพนักงานทั่วไปอีกจำนวน 1.6 ลานบาท 4.2 คาตอบแทนอื่น • กรรมการและกรรมการชุดยอย นอกเหนือจากคาตอบแทนในรูปของคาเบีย้ ประชุมและบำเหน็จกรรมการ ทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากผูถ อื หุน แลว เนือ่ งจากบริษทั เปนกิจการทีใ่ หบริการดานการรักษาพยาบาล ดังนัน้ กรรมการจึงไดรบั สวัสดิการรักษาพยาบาลตามระเบียบของบริษทั ที่ไดวางไวเชนเดียวกับพนักงานทั่วไป • ผูบริหาร นอกเหนือจากผลตอบแทนอื่นในรูปของรถประจำตำแหนง และโทรศัพทมือถือ ผูบริหารของบริษัทจะไดรับสวัสดิการรักษา พยาบาลตามระเบียบของบริษัทที่ไดวางไว เชนเดียวกับพนักงานทั่วไปของบริษัท

5. นโยบายการจายเง�นปนผล

บริษัทไดกำหนดนโยบายการจายเงินปนผลอยางเปนรูปธรรม ตั้งแตการประชุมผูถือหุนประจำป 2552 เปนตนไป โดยบริษัทมี นโยบายจะจายเงินปนผลเปนจำนวนไมต่ำกวารอยละ 50 ของกำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการขยายธุรกิจและ ความตองการใชเงินทุนของบริษทั ในแตละปดว ยโดยตองไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ยกเวนการจายเงินปนผลระหวางกาลซึง่ สามารถ อนุมัติจายไดโดยคณะกรรมการบริษัท หากคณะกรรมการบริษัทเห็นวา บริษัทมีผลประกอบการที่ดีและมีสภาพคลองเพียงพอ ทั้งนี้ บริษัทไดประกาศจายเงินปนผล จากผลการประกอบการของบริษัทในป 2550-2554 สรุปไดดังนี้คือ วันจายเงินปนผล

อัตราการจายเงินปนผล (บาทตอหุน)

4 พฤษภาคม 2555 12 มกราคม 2554 19 เมษายน 2553 30 เมษายน 2552 25 เมษายน 2551

1.10 บาทตอหุน 0.80 บาทตอหุน(1) 0.70 บาทตอหุน 0.60 บาทตอหุน 0.50 บาทตอหุน

การจายเงินปนผล สำหรับผลการดำเนินงานของงวด มกราคม 2554 - ธันวาคม 2554 มกราคม 2553 – ธันวาคม 2553 มกราคม 2552 - ธันวาคม 2552 มกราคม 2551 - ธันวาคม 2551 มกราคม 2550 - ธันวาคม 2550

(1) บริษัทไดประกาศจายเงินปนผลระหวางกาล ในป 2554 และที่ประชุมผูถือหุนประจำป 2554 มีมติไมจายเงินปนผลเพิ่มเติม

โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ถื อ หุ น แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร

จำนวนครั้งที่เขาประชุม

61 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

คณะกรรมการตรวจสอบ


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

62

บริษทั ไดตระหนักถึงบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบในการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยเชือ่ วาการกำกับดูแลกิจการเปนตัวกำหนด โครงสรางและกระบวนการของความสัมพันธระหวางผูถือหุน คณะกรรมการ ฝายบริหาร และผูมีสวนไดเสียทุกฝาย โดยมีเปาหมาย เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการแขงขันและเพิม่ มูลคาของกิจการใหแกผถู อื หุน ในระยะยาว พรอมกับการคำนึงถึงผลประโยชนของผูม สี ว นได เสียรายอื่น ซึ่งจะมีสวนชวยใหการดำเนินธุรกิจมีความเจริญเติบโตอยางตอเนื่องและมั่นคง คณะกรรมการ มีบทบาทสำคัญหลายประการ หนึง่ ในบทบาทดังกลาว คือ การดูแลการกำกับกิจการ ตามทีไ่ ดมอบหมายใหกรรมการ ผูอำนวยการใหญ และผูบริหาร ปฏิบัติตามนโยบายดานการกำกับกิจการตางๆ ที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัท เปนไปตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด ทั้งนี้บริษัทไดติดตามกฎ ระเบียบใหมๆ ทีป่ ระกาศใชและปรับแนวปฏิบตั ขิ องบริษทั ใหเขากับกฎระเบียบดังกลาว ซึง่ ไดรบั การสนับสนุนเปนอยางดีจากคณะกรรมการ และฝายบริหาร เพื่อใหเกิดการปฏิบัติและตัวอยางที่เหมาะสม

1. นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการ

คณะกรรมการมีความรับผิดชอบตอผูถ อื หุน ทุกคน และตองทุม เท เพือ่ พัฒนาความเขาใจเกีย่ วกับความตองการของผูถ อื หุน ตลอดจน ประเมินประเด็นเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดลอม และจริยธรรมทีอ่ าจสงผลกระทบตอผลประโยชนของ ผูถ อื หุน อยางมีระบบ กรรมการแตละ ทานจะตองมีความซื่อสัตยสุจริต ความมุงมั่น และความเปนอิสระในเชิงความคิดและการตัดสินใจในระดับสูง นอกจากนี้คณะกรรมการ ยังคำนึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียอื่นๆ อีกดวย นโยบายการกำกับดูแลกิจการนี้ตระหนักถึงบทบาทพิเศษของคณะกรรมการในการเปนตัวเชื่อมระหวางผูถือหุนและกรรมการ ผูอ ำนวยการใหญ ตลอดจนทีมผูบ ริหาร นอกจากนีน้ โยบายยังมีเนือ้ หาครอบคลุมอยางชัดเจนถึงบทบาทควบคูข องกรรมการผูอ ำนวยการใหญ และกรรมการที่เปนผูบริหารอื่นๆ ในฐานะที่เปนทั้งกรรมการและผูบริหารระดับสูงอีกดวย ตัง้ แตป 2551 คณะกรรมการไดทบทวนและแกไขเพิม่ เติมนโยบายดานการกำกับดูแลกิจการทีม่ อี ยู และไดทำการเปลีย่ นแปลงหลาย ประการ เพื่อใหสอดคลองกับแนวปฏิบัติระดับสากลที่ถือกันวาเปนแนวปฏิบัติที่ดีคณะกรรมการไดเนนย้ำการกำกับดูแลกิจการดวยการ รวมนโยบายและทิศทางในการดำเนินธุรกิจ การจัดตัง้ ระบบควบคุมภายในและระบบตรวจสอบใหเพียงพอ ตลอดจนการดูแลฝายบริหาร ใหปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพภายใตนโยบายเพื่อใหธุรกิจ ของบริษัทมีความโปรงใส มีจริยธรรม และปฏิบัติตามกฎหมายที่ใชบังคับ ทั้งหมด คณะกรรมการไดมอบหมายคณะกรรมการตรวจสอบใหรางแผนการดำเนินการตรวจสอบภายในเพื่อใหมั่นใจวาองคกรปฏิบัติตาม นโยบายทัง้ หมด ติดตามผล ทบทวน และปรับเปลีย่ นนโยบายอยางสม่ำเสมอ เพือ่ ใหนโยบายดานการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ทันสมัย และเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน นโยบายดานการกำกับดูแลกิจการมีแนวทางครอบคลุมเนื้อหาในหัวขอตอไปนี้ 1. สิทธิและการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันตอผูถือหุนและการประชุมผูถือหุน 2. นโยบายดานผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย 3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย 5. จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ

2. สิทธิและการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันตอผูถือหุน

2.1 สิทธิทั่วไปและความเทาเทียมกัน บริษทั รับผิดชอบตอผูถ อื หุน ในดานการเปดเผยขอมูล การจัดทำงบการเงิน การใชขอ มูลภายในและผลประโยชนทข่ี ดั แยง ผูบ ริหารจะ ตองมีจริยธรรม และในการตัดสินใจใดๆ จะตองทำดวยความซื่อสัตย และเปนธรรมทั้งตอผูถือหุนรายใหญและผูถือหุนรายยอย เพื่อผล ประโยชนโดยรวมของทุกฝาย บริษทั ตระหนักถึงความรับผิดชอบของตนในการใหความสำคัญกับสิทธิทป่ี ราศจากอคติและการปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน ทุกคนอยางเทาเทียมกัน บริษัทมีหนาที่ปกปองผลประโยชนและสิทธิของผูถือหุน ซึ่งรวมถึงสิทธิในการไดรับเงินปนผลและรับทราบขอมูลที่เกี่ยวของและเพียงพอ จากบริษัทในเวลาอันสมควรอยางสม่ำเสมอ นอกจากนี้บริษัทยังมีหนาที่เผยแพรขอมูลอยางโปรงใสและแสดงความรับผิดชอบของฝาย บริหารผานการจัดประชุมผูถือหุน


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี 63 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

บริษทั มีนโยบายสนับสนุนการเปดเผยขอมูลและธุรกรรมทางธุรกิจเพือ่ ใหผถู อื หุน มีความเขาใจในการดำเนินธุรกิจของบริษทั อยางชัดเจน โดยบริษทั มุง มัน่ ในการสรางความเทาเทียมกันใหเกิดขึน้ กับผูถ อื หุน ทุกราย ทุกกลุม ไมวา จะ เปนผูถ อื หุน รายใหญ ผูถ อื หุน รายยอย นักลงทุน สถาบัน หรือผูถ อื หุน ตางชาติ ตางไดรบั ขอมูลเกีย่ วกับการดำเนินธุรกิจ นโยบายดานบริหารจัดการและรายงานการเงินอยางเทาเทียมกัน และมีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางยุติธรรม ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้ง บริษัทไดจัดสงหนังสือเชิญประชุมใหแกผูถือหุนลวงหนา เพื่อแจงวาระการประชุม พรอมความคิดเห็น ของคณะกรรมการในแตละวาระ รวมถึงเอกสารประกอบตางๆ เพือ่ ใหผถู อื หุน มีขอ มูลเพียงพอในการตัดสินใจ และไดชแ้ี จงสิทธิของผูถ อื หุน ในการเขารวมประชุมและสิทธิออกเสียงลงมติของผูถ อื หุน ไวดว ยกัน นอกจากนี้ เพือ่ อำนวยความสะดวกใหแกผถู อื หุน บริษทั มีการเปดเผย หนังสือเชิญประชุมบนเว็บไซตของบริษัท และเพื่อเปนการสงเสริมสิทธิการรับรูขาวสารแกผูถือหุนยิ่งขึ้น บริษัทไดเปดเผยหนังสือเชิญ ประชุมผานทางเว็บไซตของบริษัทลวงหนากอนวันประชุม 30 วัน ตั้งแตการประชุมผูถือหุนในป 2554 เปนตนไป ผูถ อื หุน จะไดรบั แบบฟอรมหนังสือมอบฉันทะ เพือ่ เปดโอกาสใหผถู อื หุน ทีไ่ มสามารถเขารวมประชุมดวยตนเองไดแตงตัง้ ตัวแทนผูไ ด รับมอบอำนาจของตน เขารวมประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนตนได นอกจากนีเ้ พือ่ เพิม่ ชองทางในการรักษาสิทธิของผูถ อื หุน บริษทั ไดเสนอทางเลือกใหผถู อื หุน มอบอำนาจใหกรรมการอิสระ 1 ทาน ใหเขารวมการประชุมและออกเสียงในกรณีทผ่ี ถู อื หุน ไมสามารถเขารวม ประชุมนัน้ ๆ ได โดยการมอบอำนาจดังกลาวผูถ อื หุน สามารถใชหนังสือมอบฉันทะแบบหนึง่ แบบใด หรือใชหนังสือมอบอำนาจแบบละเอียด ทีบ่ ริษทั ไดจดั สงไปพรอมกับหนังสือนัดประชุม หรือผูถ อื หุน สามารถ Download แบบฟอรมหนังสือมอบฉันทะผานทางเว็บไซตของบริษทั ไดอีกดวย เพื่อเปนการเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสวนรวมในการเสนอเรื่องที่เห็นวาสำคัญและควรบรรจุเปนวาระในการประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป รวมถึงเสนอชื่อบุคคลที่มีความรูความสามารถและคุณสมบัติที่เหมาะสมเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเปนกรรมการของบริษัท ลวงหนากอนการประชุมผูถือหุนประจำป บริษัทจึงไดเปดโอกาสใหผูถือหุนดำเนินการดังกลาวได เปนเวลา 45 วันโดยผูถือหุนสามารถ ดูรายละเอียดหลักเกณฑและเงือ่ นไขการเสนอวาระและเสนอรายชือ่ ไดในเว็บไซตของบริษทั ในกรณีทค่ี ณะกรรมการพิจารณาแลวเห็นวา เรือ่ งดังกลาวมีความเหมาะสมสรางสรรค และเปนประโยชนตอ องคกร คณะกรรมการจะบรรจุเรือ่ งดังกลาวเปนวาระการประชุมเพือ่ เสนอ ตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาตอไป แตหากคณะกรรมการเห็นวาเรือ่ งดังกลาวไมมคี วามเหมาะสม คณะกรรมการจะรายงานสรุปเรือ่ ง ดังกลาวตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ ทราบ พรอมทัง้ เหตุผลทีไ่ มนำเสนอเรือ่ งดังกลาวใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน พิจารณา ทัง้ นี้ ในป 2555 บริษทั ได เปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอวาระสำหรับการประชุมผูถือหุนลวงหนารวมถึงเสนอรายชื่อบุคคลที่มีความเหมาะสมเพื่อพิจารณาแตงตั้งเปน กรรมการบริษัทดังกลาวลวงหนา มายังคณะกรรมการบริษัท ในระหวางวันที่ 1 ธันวาคม 2555 ถึง 14 มกราคม 2556 ในระหวางการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนทุกคนมีสิทธิอยางเทาเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและซักถามภายใตเวลาที่เหมาะสม การลงคะแนนและนับคะแนนเสียงเปนไปอยางเปดเผยและรวดเร็ว ซึ่งการออกเสียงลงคะแนนบริษัทจะนับ 1 หุนเปน 1 เสียง และถือ เสียงขางมากเปนมติ (สำหรับในวาระปรกติทั่วไปซึ่งกฎหมายมิไดกำหนดเปนอยางอื่น) ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานที่ประชุมเปนผู ชี้ขาดอีกเสียงหนึ่งตางหากนอกเหนือจากการออกเสียงในฐานะเปนผูถือหุน และใชบัตรลงคะแนนเฉพาะกรณีที่ผูถือหุนคัดคาน งดออก เสียง หรือแยกคะแนนเสียง และเก็บบัตรลงคะแนนเหลานีไ้ วเพือ่ ใหสามารถตรวจสอบไดภายหลัง รวมทัง้ ไดมกี ารบันทึกมติทป่ี ระชุมโดย แบงเปนจำนวนเสียงที่เห็นชอบ ไมเห็นชอบ และงดออกเสียง ในแตละวาระ ไวเปนลายลักษณอักษรในรายงานการประชุม และมีการ บันทึกคำถาม คำชี้แจง และความคิดเห็นของที่ประชุม เพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได กรณีที่ผูถือหุนคนใดมีสวนไดเสียเปนพิเศษในวาระการประชุมเรื่องใด หามออกเสียงในเรื่องนั้น ยกเวนการออกเสียงเลือกตั้งหรือ ถอดถอนกรรมการ 2.2 การประชุมผูถือหุน นโยบายของบริษัท คือ การจัดประชุมผูถือหุนอยางเหมาะสมตามกฎหมายและเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิของตนอยางเต็มที่และ ในรูปแบบที่ไดรับขอมูลอยางดีกอนหนาที่จะใชสิทธิดังกลาว ทั้งนี้ บริษัทไดจัดประชุมผูถือหุนสามัญประจำปภายใน 4 เดือน นับจากวัน สิน้ สุดปงบการเงินบริษทั การจัดประชุมจะจัดตามกฎหมายทีใ่ ชบงั คับและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นับตัง้ แตการ เรียกประชุม การจัดประชุม และหลังจากจัดการประชุม ทั้งนี้ ผูถือหุนที่มีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวาหนึ่งในหาของจำนวนหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมด หรือผูถือหุนไมนอยกวายี่สิบหาคน ซึ่งมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจำนวนหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมด สามารถเขาชื่อทำหนังสือขอใหคณะกรรมการบริษัท เรียกประชุมวิสามัญผูถือหุนไดตามที่ขอบังคับบริษัทกำหนดไว โดยระบุเหตุผลในการขอเรียกประชุมอยางชัดเจน โดยคณะกรรมการ ตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุนภายใน 1 เดือน นับแตวันที่ไดรับหนังสือจากผูถือหุน รายละเอียดกระบวนการประชุมผูถือหุนแตละครั้ง มีดังนี้


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

64

กอนการประชุม บริษัทไดสงหนังสือบอกกลาวนัดประชุมเปนจดหมายลงทะเบียนไปยังผูถือหุนทุกราย ลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวา 10 วัน สำหรับ วาระทัว่ ไปซึง่ สูงกวาตามทีก่ ฎหมายกำหนด และอยางนอย 14 วัน กรณีทเ่ี ปนการขออนุมตั ริ ายการทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกันหรือเปนมติพเิ ศษ โดยไดตีพิมพหนังสือบอกกลาวการประชุมในหนังสือพิมพรายวันฉบับภาษาไทยอยางนอย 1 ฉบับ และหนังสือพิมพรายวันฉบับภาษา อังกฤษอยางนอย 1 ฉบับ เปนเวลา 3 วันติดตอกัน กอนวันประชุมผูถือหุน ทัง้ นี้ ตัง้ แตการประชุมใหญสามัญประจำป 2550 เปนตนไป บริษทั ไดเผยแพรหนังสือบอกกลาวการจัดประชุมผูถ อื หุน พรอมเอกสาร ประกอบการประชุมทั้งหมดทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษไวในเวบไซตของบริษัท (http://www.bangkokhospital.com) ภายใต หัวขอ “นักลงทุนสัมพันธ” เพือ่ เปนการขยายชองทางการใหขอ มูลแกผถู อื หุน ทุกทานอยางเทาเทียมกัน และเพือ่ เปนการสงเสริมสิทธิการ รับรูขาวสารแกผูถือหุนยิ่งขึ้น ตั้งแตป 2554 เปนตนมา บริษัทไดเปดเผยหนังสือเชิญประชุมทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษผานทาง เวบไซต ของบริษัทลวงหนากอนวันประชุม 30 วัน ในหนังสือบอกกลาวนัดประชุม ผูถ อื หุน จะไดรบั รายละเอียดการประชุม เชน เวลา และสถานทีจ่ ดั การประชุม วาระการประชุม พรอม ทั้งความคิดเห็นของคณะกรรมการในแตละวาระและเอกสารประกอบตางๆ ในแตละวาระ (ถามี) เพื่อใหผูถือหุนมีขอมูลรายละเอียด เพียงพอตอการตัดสินใจ รายงานประจำปของบริษัท แบบฟอรมหนังสือมอบฉันทะ และรายการเอกสารที่ตองใชในการเขารวมประชุม รวมทั้งบริษัทยังไดสงรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการประชุมและการแตงตั้งผูรับมอบฉันทะ ตลอดจนไดเสนอแนะใหผูถือหุนแตงตั้ง กรรมการอิสระเปนผูร บั มอบฉันทะของตนดวย เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดรบั ทราบและพิจารณากอนการเขาประชุม เพือ่ ชวยผูถ อื หุน ในการใชสทิ ธิ และลงคะแนนเสียงในแตละวาระการประชุมไดอยางรอบคอบ เพื่อเปนการอำนวยความสะดวกตอผูถือหุน บริษัทไดจัดใหมีการลงทะเบียนประชุมผูถือหุนโดยใชระบบบารโคด และมีการทำบัตร ลงคะแนนเสียงแยกตางหากเปนชุดสำหรับการลงคะแนนเสียงแตละวาระ เพื่อความรวดเร็วและสามารถตรวจสอบได โดยเฉพาะวาระ การแตงตัง้ กรรมการ บริษทั ไดจดั ทำบัตรลงคะแนนรายตัวของกรรมการ เพือ่ ใหผถู อื หุน ลงคะแนนเปนรายบุคคล ทัง้ นี้ ผูถ อื หุน หรือผูร บั มอบ ฉันทะจะไดรับบัตรลงคะแนนเสียงดังกลาวตั้งแตขั้นตอนการลงทะเบียนเขาประชุม ระหวางการประชุม บริษทั ไดกำหนดให ผูท ท่ี ำหนาทีป่ ระธานในทีป่ ระชุม แจงและอธิบายวิธลี งคะแนนเสียงในวาระตางๆ กอนการประชุมจะเริม่ ขึน้ อยาง ละเอียดชัดเจนและใหกรรมการผูอำนวยการใหญทำหนาที่ตอบขอซักถามของผูถือหุน และมีการประกาศผลการลงคะแนนเสียงเมื่อจบ แตละวาระการประชุม พรอมทั้งบันทึกผลคะแนนที่ไดในแตละวาระอยางชัดเจน เพื่ออำนวยความสะดวกใหกับผูถือหุนและเพื่อใหเกิดความชัดเจน บริษัทมีการใชสื่อมัลติมีเดียในการนำเสนอขอมูลเพื่อประกอบการ พิจารณาของผูถ อื หุน ในระหวางการประชุมรวมถึงแสดงผลการลงคะแนนตอทีป่ ระชุมเมือ่ ผูถ อื หุน ใชสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในแตละวาระ แลว ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายในการจัดการประชุมตามระเบียบวาระที่ไดกำหนดไวตามลำดับอยางชัดเจน และเปดโอกาสใหผูถือหุนทุกคน ไดลงคะแนนเสียงของตนอยางเทาเทียมกัน เพือ่ เปนการใหความสำคัญตอสิทธิของผูถ อื หุน ทุกทาน บริษทั ไดกำหนดเปนนโยบายใหกรรมการบริษทั ทุกทาน ตลอดจนคณะกรรมการ ชุดยอย ผูต รวจสอบบัญชี และผูบ ริหารระดับสูงทีเ่ กีย่ วของ อาทิ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารดานการเงิน ผูอ ำนวยการฝายบัญชี ผูอ ำนวยการ ฝายการเงินซึง่ ดูแลดานนักลงทุนสัมพันธ เขารวมประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ หากกรรมการหรือผูบ ริหารระดับสูงรายใดไมสามารถเขารวมประชุม ผูถ อื หุน ได จะตองมีหนังสือชีแ้ จงเหตุผลตอประธานกรรมการ (กรณีทเ่ี ปนกรรมการ) หรือกรรมการผูอ ำนวยการใหญ (กรณีทเ่ี ปนผูบ ริหาร ระดับสูง) เพื่อทราบทุกครั้ง ทัง้ นี้ ประธานในทีป่ ระชุม ไดเปดโอกาสแกผถู อื หุน อยางเพียงพอในการตัง้ คำถามและใหคำแนะนำเกีย่ วกับการดำเนินการของบริษทั ตลอดจนรายงานการเงินประจำปโดยไมทำใหสิทธิของผูถือหุนใดตองเสื่อมเสีย โดยประธานกรรมการ และกรรมการผูอำนวยการใหญ จะเปนผูใ หความกระจางในเรือ่ งขอมูลตางๆ ระหวางการประชุม และเปดโอกาสใหกรรมการทุกทานพบปะกับผูถ อื หุน อยางไมเปนทางการ หลังจบการประชุมนั้นๆ หลังการประชุม บริษทั ไดจดั ทำรายงานการประชุมผูถ อื หุน อยางครบถวนรวมถึงมีการบันทึกมติทป่ี ระชุมสำหรับการออกเสียงลงคะแนน โดยแบงเปน จำนวนเสียงทีเ่ ห็นชอบ ไมเห็นชอบ และงดออกเสียง ในแตละวาระ ไวเปนลายลักษณอกั ษรในรายงานการประชุม และมีการบันทึกคำถาม


บริษัทเล็งเห็นและตระหนักในความสำคัญของกลุมผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนบุคลากรภายในหรือผูมีสวนไดเสียภายนอก องคกร เชน ผูถือหุน ผูรับบริการ เจาหนี้ คูคา ชุมชน หนวยงานราชการและองคกรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ บริษัทตระหนักเปนอยางยิ่งวาการ สนับสนุนจากผูมีสวนไดเสียแตละกลุมจะสรางความยั่งยืนและความคงอยูขององคกรในระยะยาว ดังนั้นบริษัทจึงมีนโยบายที่จะปกปองสิทธิของบุคคลเหลานี้ดวยการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่ใชบังคับตลอดจนคำนึงถึง ผลประโยชนผูที่เกี่ยวของทุกฝาย ดังนี้ 3.1 นโยบายดานธุรกรรมที่อาจทำใหเกิดผลประโยชนที่ขัดแยงและธุรกรรมระหวางบริษัท คณะกรรมการเขาใจวาธุรกรรมที่อาจนำไปสูการขัดแยงทางผลประโยชน และ/หรือธุรกรรมกับคูสัญญาที่เกี่ยวของ จะตองไดรับการ พิจารณาอยางรอบคอบเพื่อใหเปนไปตามกฎและระเบียบที่เกี่ยวของของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และสำนักงานตลาดทุนและนโยบายตลอดจนแนวทางภายในของบริษัท นอกจากนี้ธุรกรรมดังกลาวจะตองทำในลักษณะเสมือนทำ รายการกับบุคคลภายนอกที่ไมมีความสัมพันธกับบริษัทอยางเครงครัด และดำเนินการโดยใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่กับบริษัท และ ผูถือหุนทั้งหมด ขอกำหนดและเงื่อนไขของธุรกรรมดังกลาวจะตองเปนไปตามขอกำหนดและเงื่อนไขตามมาตรฐานทางการคาที่ยอมรับ กันทั่วไปเสมอ บริษัทมีนโยบายที่จะปองกันไมใหกรรมการ ผูบริหารและพนักงานใชสถานภาพของตนเพื่อหาผลประโยชนสวนตัว โดยกรรมการ ผูบริหารและพนักงานจะตองละเวนจากการทำธุรกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัท นอกจากนี้ กรรมการ ผูบ ริหารและพนักงานใดทีม่ สี ว นไดเสียจะไมไดรบั อนุญาตใหเขารวมในกระบวนการ ตัดสินใจ โดยเฉพาะอยางยิง่ กรรมการจะถูกหามไมให พิจารณาหรือลงคะแนนเสียงในเรื่องที่ตนมีสวนไดเสียที่เปนประโยชน รวมถึงธุรกรรมระหวางบริษัท และบริษัทยอยกับบุคคลผูมีสวน ไดสวนเสียอยางรอบคอบและไมมีอคติดวย 3.2 นโยบายเรื่องการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการหามมิให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานไมใหใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดรับขณะทำงานในตำแหนงของตนเพื่อหาผล ประโยชนสวนตัว หรือเพื่อจัดตั้งธุรกิจที่แขงหรือเกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท ซึ่งรวมถึงการหามใชขอมูลภายในที่เปนสาระสำคัญเพื่อซื้อ หรือขายหุนและหลักทรัพยของบริษัท เพื่อผลประโยชนของบุคคลเหลานั้นอยางเด็ดขาด และ หามการใหขอมูลภายในแกบุคคลหรือ นิติบุคคลอื่นเพื่อซื้อหรือขายหุนและหลักทรัพยของบริษัท กรรมการและผูบริหารจะตองรายงานธุรกรรมการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท และสถานะการถือครองหุนของตนรวมถึงคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ตอเลขานุการบริษัททุกเดือน เพื่อเลขานุการบริษัทจะไดจัดทำรายงานการ เปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยดังกลาวตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ 3.3 นโยบายตอผูถือหุน บริษทั มุง หวังทีจ่ ะดำเนินการเพือ่ ใหเกิดผลประโยชนในระยะยาวสูงสุดแกผถู อื หุน ดวยการจัดการใหธรุ กิจเติบโตและ มีความสามารถ ในการทำกำไรอยางยั่งยืนภายใตธรรมาภิบาลที่ดีและมีความรับผิดชอบตอสังคม รวมทั้งดำรงความสามารถในการแขงขันโดยคำนึงถึง ความเสีย่ งทางธุรกิจในปจจุบนั และอนาคตอยางรอบคอบ บริษทั เนนการดำเนินการเพือ่ ใหไดผลกำไรอยางสม่ำเสมอผานการพัฒนาธุรกิจ อยางตอเนื่องในระยะยาว การควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการตรวจสอบ และการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแรง เพื่อเปนการ ตอบแทนและแสดงความรับผิดชอบตอผูถือหุนทุกทาน ทั้งนี้ นอกเหนือไปจากสิทธิพื้นฐานของผูถือหุน เชน สิทธิในการตรวจสอบจำนวนหุน สิทธิในการรับใบหุน สิทธิในการเขาประชุม ผูถือหุนและออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะขอคิดเห็นตางๆ เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทอยาง อิสระในที่ประชุมผูถือหุน สิทธิที่จะไดรับผลตอบแทนอยางเปนธรรม และสิทธิอื่นๆ ของผูถือหุนตามกฎหมายแลว บริษัทยังมีนโยบายใน การเปดเผยขอมูลทั้งหมดอยางยุติธรรม และโปรงใส ในเวลาอันสมควรภายใตขอจำกัดทางธุรกิจ เพื่อใหผูถือหุนทุกทานสามารถไดรับรู ขอมูลอยางเทาเทียมกัน

ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี

3. นโยบายวาดวยความเทาเทียมและสิทธิของผูมีสวนไดเสีย

65 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

คำชีแ้ จง และความคิดเห็นของทีป่ ระชุมไวอยางละเอียดดวยโดยไดนำสงรายงานการประชุมดังกลาวตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ภายในระยะเวลาที่กำหนด 14 วันหลังการประชุม รวมถึงไดเผยแพรรายงานการประชุมผูถือหุนดังกลาวบนเวบไซตของบริษัท (http:// www.bangkokhospital.com) ภายใตหัวขอ “นักลงทุนสัมพันธ” เพื่อใหผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไปไดรับทราบรายงานการประชุม อยางรวดเร็วและสามารถตรวจสอบได


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

66

3.4 นโยบายตอพนักงาน พนักงานถือวาเปนทรัพยากรทีท่ รงคุณคาของบริษทั โดยบริษทั ไดดแู ลพนักงานทีม่ คี วามสามารถและประสบการณอยางตอเนือ่ งตาม แผนกลยุทธและแผนปฏิบตั กิ ารของบริษทั พรอมทัง้ ใหโอกาสในการทำงานทีเ่ ทาเทียมกัน และมีมาตรการทีจ่ ะใหผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม นอกจากนีบ้ ริษทั ไดจดั การฝกอบรมความรูท จ่ี ำเปน เพือ่ เพิม่ พูนทักษะความสามารถของพนักงานอยางตอเนือ่ งผานการฝกอบรมทีจ่ ดั โดย บุคคลภายนอกและภายในองคกร มีการสงเสริมวัฒนธรรมและบรรยากาศทีด่ ใี นองคกร ตลอดจนปฏิบตั ติ อ พนักงานทุกคนอยางเทาเทียม และยุตธิ รรม โดยบริษทั ไดจดั กิจกรรมใหพนักงานแสดงความคิดเห็น ตลอดจนเสนอขอแนะนำกับผูบ ริหารโดยตรงผาน website ภายใน ขององคกร บริษัทไดจัดสวัสดิการและความปลอดภัยใหกับพนักงานซึ่งรวมทั้งผลประโยชนตางๆ เชน สวัสดิการดานการรักษาพยาบาล กองทุน สำรองเลี้ยงชีพ การจัดมอบทุนแกแพทย พยาบาล และพนักงาน เพื่อใหบุคลากรเหลานี้ไดเพิ่มองคความรู เพื่อนำมาใชในการพัฒนา องคกรตอไป โดยมุงหวังใหองคกรแหงนี้เปนองคกรแหงการเรียนรูของบุคลากร และเพื่อเปนการสรางแรงจูงใจใหบุคลากรที่มีความรู ความสามารถอยูกับองคกรในระยะยาว ดังนั้น บริษัทจึงมีการกำหนดแนวทางในการบริหารทรัพยากรมนุษยตั้งแตกระบวนการสรรหา คัดเลือก พัฒนาสงเสริม และรักษาไวซึ่งพนักงานที่มีคุณภาพ ดังตอไปนี้ การสรรหาและความกาวหนาในอาชีพของพนักงาน บริษัทไดใหความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรตั้งแตกระบวนการสรรหา โดยบริษัทจะกำหนดลักษณะของวุฒิการศึกษา ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และขอกำหนดอื่นๆ ของแตละตำแหนงงานอยางชัดเจน เพื่อที่จะไดเลือกสรรอยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งนี้ บริษัทจะพิจารณาพนักงานภายในเปนอันดับแรก เพื่อใหโอกาสในการพัฒนาความกาวหนาในการทำงาน หากไมมีผูใดเหมาะสมจึงจะ พิจารณาคัดเลือกจากบุคคลภายนอก นอกจากนี้ พนักงานใหมทุกคนจะไดเขารับการอบรมปฐมนิเทศเพื่อชวยใหพนักงานไดทราบถึง กระบวนการและขั้นตอนการทำงานของฝายตางๆ ในองคกร จึงทำใหพนักงานสามารถวางแผนและปฏิบัติงานไดตรงตามวัตถุประสงค อีกทั้งบริษัทยังใหความสำคัญในการใหโอกาสเติบโตในหนาที่การงานแกพนักงานตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ เพื่อรักษาคนเกง และคนดีใหอยูกับองคกรตลอดไป โครงการฝกอบรมพนักงาน บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะสนับสนุนการฝกอบรมและการพัฒนาพนักงาน ทัง้ นีเ้ พือ่ พัฒนาทักษะในการทำงานของพนักงานอยางสม่ำเสมอ เพิม่ พูน และตอเนือ่ ง โดยไดจดั ใหมกี ารฝกอบรมทัง้ ภายในและภายนอกองคกร สำหรับการฝกอบรมภายในองคกร นอกจากจะไดจดั ใหมี การฝกอบรมในเรือ่ งทักษะการทำงานตางๆ แลว ยังไดจดั ใหมกี ารแลกเปลีย่ นความรูเ ชิงประสบการณระหวางพนักงานฝายตางๆ ไมวา จะ โดยการประชุมรวมกัน หรือการแลกเปลี่ยนความรูผานสื่อระบบ Intranet สำหรับการฝกอบรมภายนอกองคกร บริษัท จะใหพนักงาน กรอกแบบสอบถามความตองการฝกอบรมและสงใหเขาอบรมตามความเหมาะสม โดยมีการติดตามผลหรือวัดการเรียนรูใ นแตละหลักสูตร เพื่อใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งบริษัท และพนักงาน จัดใหมีระบบการประเมินผลงานของพนักงาน บริษัท มีการประเมินความรูความสามารถของพนักงานในการปฏิบัติงาน โดยมีการกำหนดเกณฑในการประเมินพนักงานทุกระดับ อยางชัดเจนและเปนธรรม โดยจะประเมินจากความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะของพนักงานใน 4 สวน คือ ทักษะ (Skill) ความรู (Knowledge) คุณสมบัติ (Attributes) และผลการปฏิบัติงาน (Performance) และบริษัทไดมีการสื่อสารเกณฑตางๆ ในการประเมิน ใหพนักงานทราบลวงหนาอยางทัว่ ถึง ทัง้ นี้ ในการพิจารณากำหนดคาตอบแทนแกพนักงาน นอกจากจะคำนึงถึงผลการประกอบการของ บริษัทและสถานการณทางเศรษฐกิจในแตละปแลว ผลการประเมินก็เปนสวนสำคัญในการพิจารณากำหนดคาตอบแทนแกพนักงาน ซึ่งการจัดใหมีระบบการประเมินผลงานของพนักงานและการพิจารณากำหนดคาตอบแทนแกพนักงานตามผลการประเมินนี้ จะสงผลให พนักงานสามารถทำงานและพัฒนาศักยภาพอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความเทาเทียมในการปฏิบัติตอพนักงานในองคกร บริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันกับพนักงานทุกคนในองคกร ตั้งแตกระบวนการคัดเลือกบุคคล ตลอดจนการเลื่อนตำแหนงจากความสามารถ โดยไมมีอคติหรือใชระบบเครือญาติในการวัดผลงาน การแสดงความคิดเห็นและแนวทาง การปฏิบัติงาน การสำรวจความพึงพอใจของพนักงาน เพื่อใหทราบถึงความพึงพอใจหรือความสุขในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานแตละคน บริษัทไดกำหนดใหมีการสำรวจขอคิดเห็น และขอเสนอแนะตางๆ ของพนักงานทุกระดับ ซึง่ ขอมูลทีไ่ ดรบั มานัน้ จะสามารถนำมาปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการบริหารจัดการองคกร


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี 67 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

และทรัพยากรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งบริษัทยังไดกำหนดระเบียบปฏิบัติวาดวยการยื่นคำรองทุกขเพื่อใหพนักงานไดใชใน การยื่นเรื่องราวรองทุกข เพื่อเปนแนวทางในการแกไขขอคับของใจในการทำงานของพนักงานอยางเสมอภาคและเปนธรรม สรางคุณภาพชีวิตที่ดีแกพนักงาน บริษัทเห็นความสำคัญของคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน ซึ่งจะชวยสงเสริมใหพนักงานทำงานอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บริษัทจึงเอาใจใสดูแลรักษาสถานที่ทำงานใหมีความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ เพื่อสวัสดิภาพที่ดีและสุขพลานามัยที่สมบูรณของ พนักงาน โดยบริษัทไดจัดใหมีการตรวจสุขภาพแกพนักงานเปนประจำทุกป นอกจากนี้ หากจำนวนพนักงานในหนวยงานใดไมเพียงพอ ตอปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น บริษัทก็จะจัดจางพนักงานที่เหมาะสมกับตำแหนงงานเพิ่มเติม เพื่อใหปริมาณงานในหนวยงานสอดคลองกับ จำนวนพนักงานและสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงานแกพนักงาน สรางระบบบริหารและการทำงานรวมกันที่ดี บริษัทไดเล็งเห็นความสำคัญในระบบการทำงานใหมีความตอเนื่องตั้งแตตนทางไปยังปลายทาง และกอใหเกิดผลงานที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน ขจัดและลดความขัดแยงในการทำงาน จึงไดใหทุกฝายในองคกรรวมกันจัดทำคูมือระบบการทำงานรวมกัน (Operational Manual) เพื่อเปนระเบียบวิธีปฏิบัติงานในการติดตอประสานงานกันระหวางหนวยงานภายในองคกรและไดมีการเผยแพรระบบการ ทำงานรวมกันนี้ผานระบบ Intranet โดยบริษัทไดจัดใหมีการทบทวนและแกไขตามความเหมาะสม สรางสัมพันธที่ดีระหวางผูบริหารและพนักงาน บริษัทไดตระหนักถึงความสำคัญของความสัมพันธที่ดีในการทำงานรวมกันระหวางผูบริหารและพนักงานเพื่อซึ่งมีผลกระทบตอ ประสิทธิภาพในการทำงานรวมกัน ดังนั้น จึงไดจัดใหมีกิจกรรมรวมกันระหวางพนักงานและผูบริหาร ซึ่งจะเปนปจจัยที่สามารถพัฒนา ความสัมพันธทด่ี แี ละเปนการสนับสนุนใหเกิดความสุขใจในการทำงาน เชน งานสังสรรควนั ปใหม งานทำบุญรวมกัน งานกีฬาสี นอกจากนี้ ผูบ ริหารไดจดั ประชุมรวมกันกับพนักงานอยางสม่ำเสมอ เพือ่ เปนการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นระหวางผูบ ริหารและพนักงาน ซึง่ จะนำพา องคกรไปสูเปาหมายการทำงานในทิศทางเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สรางพนักงานใหเปนคนดีขององคกรและสังคม เพือ่ ใหพนักงานยึดถือปฏิบตั ติ ามและเพือ่ ประโยชนแหงความมีวนิ ยั อันดีงามของหมูค ณะ เมือ่ พนักงานผูใ ดหลีกเลีย่ งหรือฝาฝนระเบียบ ขอบังคับการทำงานจะถือวาพนักงานผูนั้นกระทำผิด ซึ่งจะตองไดรับการพิจารณาและดำเนินการตามมาตรการแกไขอยางใดอยางหนึ่ง ตามระเบียบขอบังคับการทำงานอยางเหมาะสมแกกรณี โดยยึดหลักธรรมาภิบาลที่ดี (Corporate Governance) ที่บริษัทกำหนด ซึ่งเปนกรอบใหผูบริหารและพนักงานถือปฏิบัติ ทั้งนี้ บริษัทเชื่อมั่นวาการพัฒนาพนักงานใหเปนคนดี และคนเกงนั้น จะชวยใหองคกร เจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน 3.5 นโยบายตอฝายบริหาร บริษัทตระหนักวาฝายบริหารเปนปจจัยสูความสำเร็จที่สำคัญประการหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ ดวยเหตุนี้บริษัทจึงไดมีการจัดทำ โครงสรางคาตอบแทนของผูบริหารอยางเหมาะสม โดยสามารถเปรียบเทียบไดกับผูบริหารระดับเดียวกันของธุรกิจ Health Care นอก จากนี้ฝายบริหารยังมีโอกาสทำงานตามหนาที่และความรับผิดชอบของตนอยางอิสระ ปราศจากการแทรกแซง ซึ่งเปนไปเพื่อประโยชน สูงสุดรวมกันขององคกรและผูเกี่ยวของทุกฝาย 3.6 นโยบายตอคูคา บริษัทดำเนินธุรกิจกับหุนสวน คูแขง เจาหนี้ คูคา และอื่นๆ ตามขอกำหนดและเงื่อนไขการซื้อขายที่ไดทำเปนสัญญาอยางยุติธรรม และมีจริยธรรม ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายหลีกเลี่ยงการกระทำใดก็ตามที่อาจสงผลใหเกิดความไมซื่อสัตยสุจริต หรือที่อาจละเมิดสิทธิของ คูสัญญาตามที่กฎหมายกำหนดหรือที่ไดตกลงรวมกัน และเปนไปตามจริยธรรมหรือจรรยาบรรณทางธุรกิจ 3.7 นโยบายตอผูรับบริการ บริษัทตระหนักวาผูรับบริการเปนปจจัยสูความสำเร็จที่สำคัญประการหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ บริษัทมุงหวังที่จะทำใหผูรับบริการ พอใจดวยการใหบริการที่มีคุณภาพสูง และมีความมุงหวังที่จะปรับปรุงคุณภาพดานการรักษาพยาบาลใหดียิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองความ ตองการและความคาดหวังของผูรับบริการอยางยุติธรรมในระดับมืออาชีพ โดยองคกรนี้ถือวาขอมูลของผูรับบริการทุกทานเปนความลับ และจะไมถูกนำมาเปดเผย เวนแตกฎหมายกำหนด หรือจนกวาจะไดรับความยินยอมจากผูรับบริการโดยตรง 3.8 นโยบายความรับผิดชอบตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม บริษทั มีความมุง หวังทีจ่ ะปฏิบตั ติ อ สังคมและสิง่ แวดลอมดวยมาตรฐานทีส่ งู อยางตอเนือ่ ง โดยยึดมัน่ ในการรักษามาตรฐานดานความ ปลอดภัยและการควบคุมมลภาวะในการดำเนินธุรกิจ บริษทั รับมือกับประเด็นตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับผลประโยชนสาธารณะและเขารวมใน


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

68

กิจกรรมที่เปนประโยชนตอชุมชนและสิ่งแวดลอม โดยบริษัทมีนโยบายที่จะดำเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบตอสังคม ตอผูที่เกี่ยวของ และบุคลากรทุกคนในองคกร (โปรดดูรายละเอียดขอมูลภายใตหวั ขอ “กิจกรรมเพือ่ สังคม” ทีป่ รากฏในหนา 34 ของ รายงานประจำป) ทั้งนี้ บริษัทไดคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการรักษาพยาบาลตอสิ่งแวดลอม รวมถึงความปลอดภัยตอผูใชบริการ และ สุขภาพอนามัยของบุคลากรทุกระดับซึง่ เปนผูใ หบริการโดยตรง โดยแรกเริม่ ไดนำเอามาตรฐาน ISO 14001 ระบบการจัดการสิง่ แวดลอม และมาตรฐาน มอก. 18001/OHSAS18001 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาปรับใชภายในองคกร และผานการ รับรองระบบการจัดการทั้งสองจากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ตั้งแตป 2546 จนถึงป 2552 นับเปนการเริ่มตนของการ ประกาศ “นโยบายสิ่งแวดลอม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย” เพื่อกำหนดใชภายในโรงพยาบาล และไดถายทอดใหพนักงานตลอด จนผูที่เกี่ยวของทราบโดยทั่วกัน โดยมีการนำไปปฏิบัติอยางจริงจังและตอเนื่องจนเปนความตระหนักและวัฒนธรรมขององคกร จนถึง ปจจุบนั แมไมตอ งมีการรับรองจากสถาบันใด นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีสว นชวยเหลือกิจกรรมการกุศลหลายอยาง และสนับสนุนความหวงใย ของพนักงานทีม่ ตี อ สิง่ แวดลอมและชุมชน โดยตัง้ แตป 2550 บริษทั ไดจดั ตัง้ “คณะกรรมการชุมชนสัมพันธ” เพือ่ ดูแล ประสานงาน และ ติดตอสื่อสารระหวางองคกรกับชุมชน

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะเปดเผยขอมูลทัง้ ทางการเงินและขาวสารทัว่ ไปของบริษทั ตอผูถ อื หุน นักลงทุนและนักวิเคราะหหลักทรัพย รวม ถึงสาธารณชนทัว่ ไป เปนไปอยางถูกตอง ครบถวน ทัว่ ถึง เทาเทียม โปรงใส และทันการณ รวมทัง้ เปนไปตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะเปดเผยขอมูลการเงินของบริษทั ขอมูลทีเ่ ปนสาระสำคัญ ตลอดจนขอมูลอืน่ ๆ ทีอ่ าจสงผลกระทบตอสวนไดเสีย ของผูถ อื หุน หรือการตัดสินใจลงทุน ซึง่ อาจสงผลตอราคาหุน หรือหลักทรัพยใดของบริษทั ขอมูลนีจ้ ะเผยแพรในเวลาอันเหมาะสม เพียงพอ และครบถวน ดวยวิธีที่โปรงใสผานชองทางที่ยุติธรรมและสมควร โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ เพื่อใหมั่นใจวาการลงทุนในหลักทรัพยของ บริษัทเกิดจากการตัดสินใจที่ยุติธรรมและไดรับขอมูลอยางทั่วถึงเทาเทียมกัน ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ไดจดั ใหมรี ายงานความรับผิดชอบตอรายงานทางการเงิน ควบคูไ ปกับรายงานการตรวจสอบของผูส อบบัญชี แสดงไวในรายงานประจำป และแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1) เพือ่ ใหฝา ยจัดการมีความตระหนักอยางยิง่ ถึงพันธกิจ และ หนาที่ความรับผิดชอบตอขอมูลและรายงานทางการเงินที่ตองมีความถูกตองครบถวนกอนที่จะมีการแพรหลายตอผูลงทุน สำหรับการสื่อสารตอบุคคลภายนอกนั้น ผูบริหารระดับสูงที่ไดรับมอบหมายใหเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของกับบริษัท คือ กรรมการผู อำนวยการใหญ ประธานเจาหนาที่บริหารดานการเงิน และผูอำนวยการฝายการเงินที่ดูแลดานนักลงทุนสัมพันธ โดย ในรอบป 2555 ที่ผานมา ผูบริหารระดับสูงของบริษัท รวมถึง ผูอำนวยการฝายการเงินที่ดูแลดานนักลงทุนสัมพันธไดพบปะและใหขอมูลตอผูเกี่ยวของ ในโอกาสตางๆ ดังนี้ 1. การนำเสนอขอมูลแกนักลงทุน (Roadshow) 7 ครั้ง โดย Roadshow ในประเทศ 4 ครั้ง และตางประเทศ 3 ครั้ง 2. จัดการประชุมแถลงผลการดำเนินงานแกนักลงทุนและนักวิเคราะห (Analyst Meeting) 5 ครั้ง 3. ตอนรับนักลงทุนและนักวิเคราะหทข่ี อพบเพือ่ รับทราบการดำเนินงานของบริษทั (Company Visits และ Conference Call) 135 ครัง้ 4. นำนักลงทุนและนักวิเคราะหพบผูบริหารและเยี่ยมชมกิจการ (Site Visits) 10 ครั้ง บริษทั มีการใหขอ มูลเกีย่ วกับบริษทั ผลการดำเนินงาน งบการเงิน และสารสนเทศทีบ่ ริษทั แจงตอตลาดหลักทรัพยฯโดยผูส นใจสามารถ อานขอมูลไดทาง website ของตลาดหลักทรัพยฯ ที่ http://www.set.or.th และ website ของบริษทั ที่ http://www.bangkokhospital.com กรณีที่ผูลงทุนและผูที่เกี่ยวของมีขอสงสัยและตองการสอบถามสามารถติดตอมายังผูอำนวยการฝายการเงินที่ดูแลดานนักลงทุนสัมพันธ โทร. 0-2755-1793 E-mail: investor@bangkokhospital.com หรือผาน website ของบริษทั ที่ http://www.bangkokhospital.com

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบร�ษัทและคณะกรรมการชุดยอย

5.1 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีจำนวนทั้งสิ้น 15 ทาน ประกอบดวยกรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จำนวน 7 ทาน และ กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร (Non- Executive Directors) จำนวน 8 ทาน ซึ่งในจำนวนนี้เปนกรรมการอิสระ จำนวน 4 ทาน กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร ไดแก กรรมการบริหาร หรือกรรมการที่เปนผูบริหารที่มีสวนเกี่ยวของกับการบริหารจัดการเต็มเวลาและ ไดรับคาตอบแทนรายเดือนเปนประจำจากบริษัท ในรูปของเงินเดือน หรือผลตอบแทนอื่นๆ ตามระเบียบการหรือสวัสดิการของบริษัท กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี 69 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คือ กรรมการที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับการบริหารงานประจำหรือไดรับคาตอบแทนเปนรายไดประจำจาก บริษัท ทั้งนี้ กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารดังกลาวอาจเปนผูที่ไดรับแตงตั้งหรือเปนตัวแทนจากผูถือหุนรายใหญ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ คือ กรรมการที่ไมไดบริหารจัดการบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม หรือบริษัทที่มีความเกี่ยวของกัน โดยเปนอิสระตอ การบริหารจัดการ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่มีอำนาจควบคุมกิจการและเปนผูที่ไมมีธุรกิจหรือความเกี่ยวของทางผลประโยชนในบริษัท บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือบริษทั ทีม่ คี วามเกีย่ วของกัน ซึง่ อาจทำใหผลประโยชนของบริษทั และ/หรือผลประโยชนของผูถ อื หุน ตองลดลง คุณสมบัติหลักของกรรมการอิสระ ตามที่บริษัทกำหนดเปนไปตามขอกำหนดของ ก.ล.ต. ซึ่งประกอบดวย 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1.0 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแยง ทัง้ นี้ ใหนบั รวมการถือหุน ของผูท เ่ี กีย่ วของของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ดวย (ผูท เ่ี กีย่ วของ หมายถึง บุคคลตามมาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย) 2. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ดเงินเดือนประจำ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป ทั้งนี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเปนขาราชการ หรือที่ ปรึกษาของสวนราชการซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท (บริษัทยอยลำดับเดียวกัน หมายถึงบริษัทยอยที่มี บริษัทแมเปนบริษัทเดียวกัน) 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นองและ บุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมี อำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 4. ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท ในลักษณะทีอ่ าจเปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของตน รวมทัง้ ไมเปนหรือเคยเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั หรือผูม อี ำนาจควบคุม ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ ควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 5. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท และ ไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั สังกัดอยู เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป 6. ไมเปนหรือเคยเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการใหบริการเปนทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงินซึง่ ไดรบั คาบริการ เกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท และไม เปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี ำนาจควบคุม หรือหุน สวนของผูใ หบริการทางวิชาชีพนัน้ ดวย เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวา 2 ป 7. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับ ผูถือหุนรายใหญ 8. นอกเหนือจากคุณสมบัติของกรรมการบริษัทเกี่ยวกับการประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันกับบริษัท และบริษัทยอยแลว กรรมการอิสระยังจะตองไมเปนลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ หรือถือหุน เกินรอยละ 1.0 ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออก เสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย 9. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนินการของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะได (Collective Decision) การแยกตำแหนง 1. ปจจุบนั ประธานกรรมการบริษทั เปนกรรมการทีไ่ มมสี ว นรวมในการบริหารงาน และบริษทั ไดกำหนดใหประธานกรรมการและกรรมการผูอ ำนวยการใหญ ตองไมเปนบุคคลคนเดียวกัน เพือ่ ใหประธานกรรมการบริษทั สามารถทำหนาทีไ่ ดอยางเปนอิสระจากฝายบริหาร ทั้งนี้ ประธานกรรมการจะทำหนาที่อยางเที่ยงธรรมในการดูแลการใชนโยบายและแนวทางเชิงกลยุทธตามที่จัดทำขึ้นตลอดจนดำเนิน การเพือ่ ใหมน่ั ใจไดวา มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริษทั จนสำเร็จและดูแลใหกรรมการทุกทานมีสว นรวมในการประชุมและตัง้ คำถาม ที่เปนประโยชนอยางมีอิสระจากฝายบริหารในระหวางการประชุมแตละครั้ง


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

70

2. บริษัทไดกำหนดใหประธานกรรมการบริษัท จะตองไมเปนสมาชิกในคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน เพื่อใหกรรมการ สรรหาสามารถตัดสินใจในการทำหนาที่ไดอยางเปนอิสระจากคณะกรรมการบริษัท อำนาจของคณะกรรมการบริษัทและฝายบริหารไดรับการจำกัดความและแยกออกจากกันอยางชัดเจน คณะกรรมการบริษัทจะประชุมกันเปนประจำทุกเดือนเพื่อติดตามและสนับสนุนนโยบายเชิงกลยุทธของบริษัท ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการบริษัทจะไมยุงเกี่ยวกับงานประจำ หรือกิจกรรมทางธุรกิจภายใตความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารและกรรมการ ผูอ ำนวยการใหญ กรรมการผูอ ำนวยการใหญเทานัน้ ทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการบริหารใหทำงานเหลานี้ ดังนัน้ อำนาจและความรับผิดชอบของกรรมการผูอ ำนวยการใหญ จึงไดรบั ตอบสนองจากฝายบริหารอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนีบ้ ริษทั ยังไดกำหนดขอบเขตหนาที่และอำนาจของฝายบริหารทุกระดับไวอยางชัดเจน การจำกัดระยะเวลาในการดำรงตำแหนง แมวา ในหลักการ กรรมการบริษทั ไมควรดำรงตำแหนงติดตอกันยาวนานในระดับหนึง่ อยางไรก็ตาม เนือ่ งจากการขาดแคลนบุคลากร ที่มีประสบการณ ความรูความเขาใจในสายอาชีพดานการรักษาพยาบาล และขอจำกัดในการสรรหาบุคลากร ผูเขามาดำรงตำแหนงแทน อยางเหมาะสม รวมทัง้ ประโยชนทเ่ี กิดจากความรู ความเขาใจในธุรกิจ ตลอดจนประเด็นความเสีย่ งจากการบริหารจัดการหากขาดความรู ความเขาใจในธุรกิจดานการรักษาพยาบาล ซึง่ เปนประเด็นทีส่ ำคัญในการนำมาพิจารณาคัดสรรกรรมการ ซึง่ ตองอาศัยผูท ม่ี คี วามชำนาญ เฉพาะดานอยางแทจริงทีจ่ ะสามารถเขาใจในธุรกิจของบริษทั ไดอยางถองแท ดังนัน้ บริษทั จึงยังไมไดกำหนดขอจำกัดของเวลาในการดำรง ตำแหนงของกรรมการอยางเปนทางการ หนาที่ของกรรมการบริษัท กรรมการบริษัททุกคนมีหนาที่และความรับผิดชอบในการกำหนดและติดตามนโยบายการดำเนินงานของบริษัทซึ่งนอกจากอำนาจ หนาทีข่ องคณะกรรมการตามทีบ่ ริษทั ไดกำหนดไวในหัวขอ “โครงสรางการถือหุน และการจัดการ” ตามทีป่ รากฏอยูใ นหนา 53 ของรายงาน ประจำป ยังรวมถึงหนาที่ในเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ 1. กรรมการควรสามารถเขาถึงขอมูลการเงินและขอมูลธุรกิจอื่นอยางเพียงพอเพื่อทำงานของตนอยางมีประสิทธิภาพ 2. กรรมการควรเขาประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง รวมทั้งการประชุมคณะกรรมการชุดยอยและตั้งคำถามที่สำคัญเพื่อปกปองและรักษา สิทธิและผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัท ตลอดจนเพื่อใหมั่นใจวาบริษัทไดปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ดี 3. กรรมการควรเขารวมประชุมผูถือหุนทุกครั้ง โดยเฉพาะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งเปนคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อรวมกันตอบคำถาม และชี้แจงในประเด็นที่ผูถือหุนมีขอซักถาม ตลอดจนรับทราบประเด็นขอเสนอแนะจากผูถือหุน 4. กรรมการควรมีความสามารถและประสงคจะเรียนรูธ รุ กิจของบริษทั รวมทัง้ แสดงความคิดเห็นของตนอยางอิสระดวยการเสียสละเวลา และความสนใจมากพอใหกับเรื่องที่มีความสำคัญทั้งหมด 5. กรรมการอิสระควรสงหนังสือยืนยันใหกบั บริษทั เพือ่ รับรองความเปนอิสระของตนตามคำจำกัดความของบริษทั ในวันทีก่ รรมการอิสระ ยอมรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนงและทุกๆ ปหลังจากนั้น 6. กรรมการจะตองจัดสงและปรับปรุงแบบรายงานสวนไดเสียของตน และรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพยของตนและคูส มรส รวมถึงบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ (ถามี) เพือ่ เปนการแสดงความโปรงใสและมีการรายงานตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ทีม่ ี การเปลี่ยนแปลงขอมูล 7. หนาที่อื่นใดของกรรมการตามที่กำหนดไวในประกาศ ขอกำหนด พระราชบัญญัติ หรือกฎหมายอื่นใดที่กำกับดูแลบริษัท 5.2 คณะกรรมการชุดยอย 5.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบไดรบั อำนาจอยางเต็มทีจ่ ากคณะกรรมการบริษทั ใหทำงานของตน ซึง่ รวมถึงการติดตามการปฏิบตั งิ านอยาง เปนระบบ และดำเนินการใหมั่นใจวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในอยางรัดกุม มีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการปฏิบัติตามที่กฎหมาย กำหนดในการเปดเผยขอมูล และมีมาตรการในการปองกันความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจและเรื่องการเงินอยางครบถวน โดยกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทในปจจุบัน จำนวน 2 ทาน เปนผูที่มีความรอบรูและมีประสบการณที่เกี่ยวของโดยตรงทางดานบัญชี และการเงิน ในการวางแผนการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบจะใหผตู รวจสอบภายในวางแผนการตรวจสอบภายในของบริษทั ตลอด ทั้งป โดยบริษัทไดวาจางบริษัทจากภายนอกที่ไดรับอนุญาตและมีคุณสมบัติครบถวนในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของกิจการที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยตามที่ ก.ล.ต. ไดกำหนดไวเพือ่ ทำหนาทีเ่ ปนผูต รวจสอบภายในของกิจการ ซึง่ บริษทั เชือ่ วาการวาจางบุคคล


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี 71 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ภายนอกเขามาปฏิบัติหนาที่ดังกลาว จะทำใหผูปฏิบัติงานมีความเปนอิสระและมีความคลองตัวในการรายงานขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นอยาง เที่ยงธรรมและมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมของการตรวจสอบภายในตอที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัททันทีหลังการประชุมทุกครั้ง ทั้งนี้ ในการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบที่เกี่ยวของกับงบการเงินและการเปดเผยรายงานทางการเงินของบริษัท ประธาน เจาหนาที่บริหารดานการเงิน และผูอำนวยการฝายบัญชีของบริษัท ตางเขารวมการประชุมดวยทุกครั้ง ทั้งนี้ กอนการประชุมในวาระที่ เกี่ยวของกับงบการเงินกับฝายบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบจะประชุมแยกกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายบริหารรวมในการประชุมแต ประการใด เพื่อสอบถามประเด็นความเสี่ยงที่สำคัญที่อาจเกิดขึ้นกับงบการเงินหรือฐานะการเงินของกิจการซึ่งผูสอบบัญชีไดตรวจพบ หรือขอจำกัดทีเ่ กิดขึน้ จากการตรวจสอบงบการเงินของบริษทั และบริษทั ยอย รวมถึงมีการประชุมประจำปรว มกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ย บริหาร เพื่อใหมั่นใจวาผูสอบบัญชีสามารถปฏิบัติงานอยางอิสระจากฝายบริหารและไมมีขอจำกัดในการตรวจสอบบัญชี 5.2.2 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน เพือ่ ใหเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน คณะกรรมการบริษทั ไดมมี ติแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน โดยกำหนดใหสมาชิกของคณะกรรมการสรรหาฯ สวนใหญประกอบดวยกรรมการอิสระ เพือ่ ทำหนาทีส่ รรหาบุคคล ทีม่ คี วามรูค วามสามารถมาดำรงตำแหนงกรรมการบริษทั ทัง้ ในกรณีทเ่ี ปนการแตงตัง้ ทดแทนตามวาระหรือกรณีการแตงตัง้ กรรมการใหม รวมถึงทำหนาที่ในการสรรหาประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูอำนวยการใหญ ตลอดจนมีหนาที่ในการกำหนดหลักเกณฑในการ กำหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดยอย และประธานคณะผูบ ริหารและกรรมการผูอ ำนวยการใหญ อยางเหมาะสม 5.2.3 คณะกรรมการบริหาร เพื่อใหการดำเนินงานของบริษัทเปนไปตามกลยุทธ เปาหมายและแผนงานประจำปที่ไดวางไว ประกอบกับในป 2554 ที่ผานมา บริษัทมีการเติบโตในลักษณะกาวกระโดดหลังจากการควบรวมกิจการกับกลุมโรงพยาบาลพญาไทและเปาโล ดังนั้น คณะกรรมการ บริษัทจึงไดแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร จำนวน 5 ทาน เพื่อทำหนาที่กำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทและบริษัทในเครือใหเปนไป ตามแผนงานตางๆ ที่วางไว รวมถึงกลั่นกรองงานจากฝายบริหารกอนนำเสนอคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนมีอำนาจอนุมัติการทำงาน ทีเ่ กีย่ วของกับงานในธุรกิจปรกติหรืองานทีส่ นับสนุนธุรกิจปรกติของบริษทั ในระดับวงเงินหนึง่ ทัง้ นี้ อำนาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริหาร จะไมสามารถใชกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัท หรือ บริษัทยอย และไมรวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับรายการเกี่ยวโยง และรายการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งทรัพยสินที่สำคัญของบริษัท จดทะเบียน ตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือประกาศอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และบริษัทจะตองปฏิบัติใหเปนไปตาม กฎระเบียบ และขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือประกาศอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ รวมถึงอำนาจดังกลาวขางตน ไมรวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่ขอบังคับบริษัทกำหนดใหตองขออนุมัติจากมติที่ประชุมผูถือหุน 5.3 การประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอย บริษทั ไดมกี ำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษทั ลวงหนาตลอดป โดยจัดใหมกี ารประชุมทุกวันพุธสุดทายของทุกเดือน และกำหนด ใหคณะกรรมการบริหารมีการประชุมทุกวันพุธกอนการประชุมคณะกรรมการบริษทั 1 สัปดาห เพือ่ ใหกรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร ทุกทานทราบกำหนดการประชุมลวงหนาและสามารถจัดสรรเวลาเขารวมประชุมไดทกุ ครัง้ โดยในการประชุมในวาระปรกติจะมีการกำหนด วาระการประชุมตางๆ ไวลว งหนา และมีวาระสืบเนือ่ ง เพือ่ ติดตามงานทีไ่ ดมอบหมายไว ซึง่ เลขานุการการบริษทั ไดจดั สงหนังสือเชิญประชุม และวาระการประชุมลวงหนาอยางนอย 7 วันทำการ เพือ่ ใหกรรมการไดมเี วลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนการเขารวมประชุมพรอมทัง้ นำสงรายงานการประชุมภายใน 14 วัน หลังจากวันประชุม เพือ่ ใหกรรมการไดทบทวนขอความตามรายงานการประชุมดังกลาววาเปนไป ตามมติซึ่งที่ประชุมไดอนุมัติไว สำหรับการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษทั มิไดกำหนดตารางเวลาการประชุม ลวงหนา ทั้งนี้ การประชุมของคณะกรรมการชุดยอยทั้งสองคณะเปนไปตามความเหมาะสมและโอกาสในการพิจารณาเรื่องที่จะตองเขา ประชุมตามหนาที่ที่ไดกำหนดไว โดยบริษัทกำหนดใหภายหลังการประชุมของคณะกรรมการชุดยอยทั้งสองคณะ ประธานฯ ของคณะ กรรมการดังกลาว หรือผูที่ไดรับการมอบหมายจะตองรายงานผลการประชุมและการปฏิบัติงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทในครั้ง ถัดไป


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี

ทั้งนี้ สามารถสรุปจำนวนครั้งในการเขาประชุมของกรรมการบริษัท และกรรมการชุดยอยในป 2555 ดังนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

72

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำแหนง

จำนวนครั้งเขาประชุม

1. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยอรุณ เผาสวัสดิ์ 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล 3. นายวิชัย ทองแตง 4. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ 5. นายแพทยพงษศักดิ์ วิทยากร 6. นายแพทยจิโรจน สุชาโต 7. นายประดิษฐ ทีฆกุล 8. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี 9. นายธวัชวงค ธะนะสุมิต 10. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร 11. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล 12. ดร. สมชัย สัจจพงษ 13. นายศรีภพ สารสาส 14. นางสาวกนานุช เล็กวิจิตร 15. นายธงชัย จิรอลงกรณ

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ คนที่ 1 รองประธานกรรมการ คนที่ 2 กรรมการผูอำนวยการใหญ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ

15/16 16/16 15/16 16/16 15/16 16/16 16/16 16/16 14/16 16/16

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ

15/16 9/16 16/16 16/16 10/10

หมายเหตุ : นายธงชัย จิรอลงกรณ ไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท ตามมติที่ประชุมใหญสามัญประจำป 2555 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 และไดเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัท ตั้งแตการประชุมครั้งที่ 4/2555 เปนตนไป

รายชื่อกรรมการชุดยอย

ตำแหนง

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร/กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน กรรมการบริหาร 3. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร กรรมการบริหาร 4. นายประดิษฐ ทีฆกุล กรรมการบริหาร 5. นายธงชัย จิรอลงกรณ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ 6. ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี ตรวจสอบ/ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหา 7. นายชวลิต เศรษฐเมธีกุล และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ 8. ดร. สมชัย สัจจพงษ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ 9. นายศรีภพ สารสาส กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 1. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล

จำนวนครั้งที่เขา จำนวนครั้งที่เขา จำนวนครั้งที่เขา ประชุมคณะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการ บริหาร ตรวจสอบ สรรหา ฯ

10/10 7/7 10/10 9/10 5/7 8/8

2/2

2/2 3/8

1/2

8/8

2/2

หมายเหตุ : ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2555 เมือ่ วันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ไดมมี ติแตงตัง้ นายแพทยจลุ เดช ยศสุนทรากุล และนายธงชัย จิรอลงกรณ เปนกรรมการบริหาร แทนกรรมการบริหารเดิมทีล่ าออกและครบวาระ โดยทัง้ สองทานไดเขารวมประชุมคณะกรรมการบริหาร ตัง้ แตการประชุมครัง้ ที่ 4/2555 เปนตนไป


ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี 73 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

5.4 การกำหนดคาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร ปจจุบันบริษัทไดกำหนดใหคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเปนผูพิจารณาคาตอบแทนของกรรมการอยางเปนธรรม และเหมาะสมกับภาระหนาที่ตลอดจนความรับผิดชอบของกรรมการ โดยเปรียบเทียบกับกิจการที่มีขนาดใกลเคียงในธุรกิจเดียวกัน สำหรับการพิจารณาคาตอบแทนของผูบ ริหารระดับสูง บริษทั ไดจดั ใหมกี ารพิจารณาคาตอบแทนทีเ่ หมาะสม ผานกระบวนการประเมินผลงานตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทและฝายทรัพยากรบุคคลกำหนดไวสำหรับผูบริหารในแตละระดับ โดยเชื่อมโยงกับผล การประกอบการของบริษัทและผลงานของผูบริหารแตละทาน 5.5 การพัฒนาความรูของกรรมการ บริษทั มีโยบายในการสนับสนุนใหกรรมการของบริษทั และบริษทั ในเครือไดเขาอบรมหลักสูตร Director Certificate Program (DCP) และ Director Accreditation Program (DAP) กับสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เพื่อสงเสริมใหกรรมการมีความ เขาใจในเรือ่ งการกำกับดูแลธุรกิจใหมปี ระสิทธิผลสูงสุดและสามารถนำความรูม าใชในการดำเนินนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ไี ดอยาง ตอเนื่อง โดยกรรมการของบริษัทไดผานการอบรมหลักสูตร Director Certificate Program และ/หรือ Director Accreditation Program แลวจำนวน 15 ทาน รวมทัง้ ไดสนับสนุนใหกรรมการเขาอบรมกฎระเบียบ นโยบาย หรือขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย และ สำนักงาน ก.ล.ต. ที่ไดมีการปรับปรุงใหม เพื่อถือปฏิบัติใหถูกตอง ทัง้ นี้ บริษทั ไดกำหนดใหเลขานุการดำเนินการสรุปการเปลีย่ นแปลงกฎเกณฑหรือขอกำหนดตางๆ ทีม่ นี ยั สำคัญ ตอกรรมการผูอ ำนวย การใหญ เพื่อรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบและถือปฏิบัติอยางถูกตองตอไป หรือในบางกรณีอาจเชิญผูที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะดานเพื่อมาอบรมและเผยแพรขอมูลหรือขอกำหนดดังกลาวตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบและถือปฏิบัติ อยางถูกตองตอไป พรอมกันนีบ้ ริษทั ไดสนับสนุนใหเลขานุการบริษทั ผานการอบรมหลักสูตร Director Certificate Program ในป 2555


รายการระหวางกัน ลักษณะรายการและขั�นตอนการเขาทำรายการ

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

เนื่องจากการเขาทำรายการระหวางบริษัทหรือบริษัทยอยกับบุคคลที่มีความขัดแยงกัน มีลักษณะเปนรายการที่มีเงื่อนไขการคาปกติ และมีเงือ่ นไขในลักษณะเดียวกับทีบ่ ริษทั พึงกระทำกับบุคคลภายนอก ซึง่ เปนการเขาทำรายการทีเ่ ปนไปตามหลักการทีอ่ นุมตั โิ ดยทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2551 ดังนั้น คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งไดพิจารณารายการดังกลาวที่ปรากฏตามงบการเงิน สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และมีความเห็นวารายการกับบุคคลที่มีความขัดแยงดังกลาว เปนรายการ ที่มีเงื่อนไขทางการคาในลักษณะเดียวกันกับที่บริษัทเขาทำกับบุคคลภายนอก ไมมีการถายเทผลประโยชนระหวางบริษัทกับบุคคลที่มี ความขัดแยง และเปนไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ โดยสามารถจำแนกลักษณะรายการไดเปน 2 ประเภท คือ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

74

1. รายการธุรกรรมที่เปนการคาปกติหรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ บริษัทมีมาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการเขาทำธุรกรรมที่เปนการคาปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ดังนี้ ฝายจัดการจะ เปนผูพิจารณาอนุมัติในกรณีที่เปนการทำรายการระหวางกันที่มีขนาดเล็ก และเปนรายการที่มีเงื่อนไขการคาปกติและมีเงื่อนไขการคา ในลักษณะเดียวกับที่บริษัทพึงกระทำกับบุคคลภายนอก และคณะกรรมการบริษัทจะเปนผูพิจารณาอนุมัติในกรณีที่เปนการทำรายการ ระหวางกันที่มีขนาดกลางรวมถึงรายการที่มีขนาดเล็กที่ไมเปนไปตามเงื่อนไขการคาปกติ แตสำหรับรายการที่มีขนาดใหญและไมเปนไป ตามเงือ่ นไขการคาปกตินน้ั คณะกรรมการจะเสนอเรือ่ งใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน เปนผูพ จิ ารณาอนุมตั กิ ารเขาทำรายการ โดยการพิจารณาขนาด ของรายการแบงเปนดังนี้ • รายการขนาดเล็ก คือ รายการที่มีมูลคานอยกวาหรือเทากับ 1 ลานบาท หรือ นอยกวาหรือเทากับรอยละ 0.03 ของสินทรัพยที่มี ตัวตนสุทธิแลวแตจำนวนใดจะสูงกวา • รายการขนาดกลาง คือ รายการทีม่ มี ลู คามากกวา 1 ลานบาท แตนอ ยกวา 20 ลานบาท หรือมากกวารอยละ 0.03 แตไมเกินรอยละ 3 ของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิ แลวแตจำนวนใดจะสูงกวา • รายการขนาดใหญ คือ รายการที่มีมูลคามากกวาหรือเทากับ 20 ลานบาท หรือมากกวารอยละ 3 ของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิ แลวแตจำนวนใดจะสูงกวา อยางไรก็ตาม สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ฉบับแกไขเพิ่มเติม ซึ่งมีผลบังคับ ใชในวันที่ 31 สิงหาคม 2551 และตามหนังสือเวียนของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ฉบับลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2551 เพือ่ ใหการบริหารงานของบริษทั มีความคลองตัว บริษทั อาจนำรายการเกีย่ วโยงกันทีเ่ ปนรายการธุรกรรมทางการคาปกติ หรือรายการสนับสนุนการคาทีม่ เี งือ่ นไขการคาทัว่ ไประหวางบริษทั และบริษทั ยอยกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน นำเสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพื่อขออนุมัติในหลักการจากคณะกรรมการบริษัท ดังนัน้ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8/2551 เมือ่ วันที่ 27 สิงหาคม 2551 จึงไดมมี ติอนุมตั ใิ นหลักการใหฝา ยจัดการสามารถ เขาทำรายการธุรกรรมระหวางกันที่เปนรายการทางการคาปกติหรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขขอตกลงทางการคาทั่วไป ซึ่ง มีราคาหรืออัตราคาบริการตามราคาตลาด และมีเงื่อนไขการคาในลักษณะเดียวกับที่บริษัทพึงกระทำกับบุคคลภายนอกได 2. รายการที่เกี่ยวกับการใหความชวยเหลือทางการเงิน บริษทั มีมาตรการใหความชวยเหลือทางการเงินแกบริษทั ในเครือทีบ่ ริษทั ถือหุน เกินกวารอยละ 50 ซึง่ หมายถึงบริษทั ยอยเทานัน้ ทัง้ นี้ ตองอยูภ ายใตเงือ่ นไขวาบริษทั ยอยดังกลาวตองไมมบี คุ คลทีเ่ กีย่ วโยงกันถือหุน ในสวนทีเ่ หลือเกินกวารอยละ 10 ซึง่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2551 และครั้งที่ 5/2551 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทเขาทำ รายการความชวยเหลือทางการเงินแกบริษัทยอยภายใตเงื่อนไขดังกลาวได ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีธุรกรรมการใหความ ชวยเหลือทางการเงินระหวางกันใน 3 ลักษณะคือ


2.1 เงินใหกูยืมแกบริษัทยอย โดยบริษัทจะเปนผูกูเงินโดยตรงจากตลาดเงินหรือสถาบันการเงิน และนำเงินกูดังกลาวไปใหกูยืมแก บริษัทยอย และคิดอัตราดอกเบี้ยระหวางกันในอัตราที่สูงกวาตนทุนทางการเงินที่เกิดขึ้นจริง ไมเกินรอยละ 1 ตอป ซึ่งโดยรวมแลวเปน อัตราที่ต่ำกวาอัตราดอกเบี้ยที่บริษัทยอยกูเองโดยตรง ประโยชนทไ่ี ดรบั บริษทั ยอยสามารถกูเ งินไดในอัตราดอกเบีย้ ทีต่ ำ่ กวาการกูย มื เงินโดยตรงจากสถาบันการเงิน เนือ่ งจากบริษทั มีความ สามารถในการหาแหลงเงินกูในอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำกวา

ประโยชนที่ไดรับ เพื่อเปนการบริหารจัดการสภาพคลองภายในกลุม โดยบริษัทที่มีสภาพคลองสวนเกินจะไดรับดอกเบี้ยในอัตราที่ สูงกวาดอกเบี้ยเงินฝากที่ไดรับจากสถาบันการเงิน ขณะที่บริษัทที่มีความตองการใชเงินสามารถกูเงินโดยมีตนทุนทางการเงินไมสูงกวา อัตราดอกเบี้ยตามอัตราตลาด

75 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

2.3 การทำ Centralize Liquidity Management (Cash Pooling) เพือ่ ประโยชนในการบริหารสภาพคลองทางการเงินในกลุม โดย ณ สิ้นวันทำการ ระบบ Liquidity Management จะทำหนาที่โอนเงินฝากจากบัญชีของบริษัทยอยไปฝากไวที่บัญชีเงินฝากของ บริษัทแม ซึ่งเงินฝากที่โอนไปไวที่บัญชีของบริษัทแม จะแสดงสถานะเปนบัญชีเงินกูระยะสั้นจากบริษัทในเครือ และมีการคิดอัตราดอก เบี้ยระหวางกันตามอัตราตลาด ในขณะเดียวกันหากบริษัทยอยรายใดมีความตองการใชเงิน บริษัทจะนำสภาพคลองสวนเกินโอนไปยัง บริษทั ยอยทีต่ อ งการใชเงิน ซึง่ เงินทีโ่ อนไปดังกลาวจะแสดงฐานะแบบบัญชีใหกยู มื ระยะสัน้ แกบริษทั ในเครือ และมีการคิดอัตราดอกเบีย้ ระหวางกันตามอัตราตลาดเชนกัน

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

2.2 การค้ำประกันเงินกูแกบริษัทยอยในตางประเทศ ประโยชนที่ไดรับ เพื่อใหบริษัทยอยที่จัดตั้งในตางประเทศสามารถหาแหลงเงินกูโดยตรงจากสถาบันการเงินในประเทศนั้นๆ โดยได รับเงื่อนไขอัตราดอกเบี้ยสำหรับลูกคาชั้นดี (Prime Rate) จากผูใหกู


บริษัทถือหุน 97.3% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 98.8% บริษัทถือหุน 99.7% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 99.8% บริษัทถือหุน 90.4% บริษัทถือหุน 99.7% บริษัทถือหุน 79% บริษัทถือหุน 95.8% บริษัทถือหุน 91.5% บริษัทถือหุน 98.3% บริษัทถือหุน 99.9% บริษัทถือหุน 85.7% บริษัทถือหุน 99.8% บริษัทถือหุน 93.3% บริษัทถือหุน 80% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 70.0% บริษัทถือหุน 74.0% บริษัทถือหุน 95.0% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทยอยถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 100.0% บริษัทถือหุน 100.0%

ลักษณะความสัมพันธ 223,900,000 3,327,020,000 508,540,000 559,000,000 101,270,000 38,107,125 354,220,963 58,921,976 100,000,000 54,000,000 5,324,980,064

เงินใหกูระยะยาว

(1) เปนภาระหนี้เงินใหกูในรูปเงินตราตางประเทศ จำนวน 1.25 ลานเหรียญสหรัฐ (เทียบเทา 38.11 ลานบาท) (2) เปนภาระหนี้เงินใหกูในรูปเงินตราตางประเทศ จำนวน 11.62 ลานเหรียญสหรัฐ (เทียบเทา 354.22 ลานบาท) (3) เปนภาระหนี้เงินใหกูในรูปเงินตราตางประเทศ จำนวน 1.92 ลานเหรียญสหรัฐ (เทียบเทา 58.92 ลานบาท)

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด บริษัท วัฒนเวช จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพตราด จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด (รพ.เปาโลพหลโยธิน) บริษัท การแพทยสยาม จำกัด (รพ. เปาโลโชคชัย) บริษทั ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) (รพ. เปาโล นวมินทร) บริษทั เปาโล สมุทรปราการ จำกัด (รพ. เปาโล สุมทรปราการ) Ankor Pisith Co., Ltd. (1) Phnom Penh Medical Services Co., Ltd.(2) Royal Rattanak Medical Services Co., Ltd.(3) บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด บริษทั ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรีส่  (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม จำกัด บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ เขาใหญ จำกัด

หมายเหตุ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

บริษัทที่เกี่ยวของ

สรุปภาระหนี้การใหความชวยเหลือทางการเง�นระหวางกัน ณ สิ�นป 2555

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

11,700,794 130,374,543 207,098,786

21,345,798 43,677,651 -

-

-

-

-

เงินทดรองจาย

16,026,419

473,593

149,251 149,234 1,595,147 243,820 268,014 48,554 12,746 12,573,905 439,863 54,795 17,497 -

ดอกเบี้ยคางรับ

ภาระหนี้เงินใหกูแกบริษัทในเครือ

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

เงินใหกูระยะสั้น

76 245,395,049 43,826,885 3,328,615,147 508,783,820 559,268,014 101,318,554 38,119,871 366,794,868 59,361,839 100,054,795 11,718,291 184,848,136 5,548,105,269

รวมภาระหนี้ N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A USD 3,898,357 N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A USD 3,898,357

ภาระค้ำประกัน 418,118,951 26,520,305 60,312,687 148,635,103 55,943,321 35,442,759 188,237,152 84,566,865 83,978,040 749,946,256 122,760,472 93,171,851 110,618,174 125,342,079 43,475,988 4,943,161 195,363,379 233,748,005 13,500,000 2,000,000 2,796,624,548

เงินกูยืมระยะสั้น จากบริษัทในเครือ

1,628,165 131,654 186,908 374,035 135,534 94,235 14,593 422,108 181,925 409,286 1,847,740 447,201 226,851 275,450 338,470 163,960 21,367 547,395 506,768 7,953,645

ดอกเบี้ย คางจาย

(หนวย : บาท)


นโยบายและแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต ประเภทรายการ

แนวโนมและนโยบาย

รายการธุรกรรมที่เปนการคาปกติ เชน การใหบริการรักษาพยาบาล การสงตอคนไขระหวางกัน การใหบริการวิเคราะห Lab เปนตน

บริษัทมีนโยบายใหบริษัทและบริษัทยอยคิดคาตอบแทนระหวางกัน หรือระหวางบริษัท หรือบริษัทยอย กับบุคคลที่มีความเกี่ยวโยงกันในราคาตลาด โดยมีอัตราคาบริการรักษาพยาบาลและมีเงื่อนไขการชำระเงิน ตลอดจนเงื่อนไขการคาอื่นๆ เทาเทียมหรือเปนเงื่อนไขในลักษณะเดียวกันหรือไมแตกตางกับที่บริษัท และบริษัทยอย พึงกระทำกับผูรับบริการอื่นซึ่งเปนบุคคลธรรมดา หรือบริษัทคูสัญญาอื่นๆ ทั่วไปภายใต สถานการณเดียวกัน

รายการธุรกรรมที่สนับสนุนการคาทั่วไป เชน ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา เปนตน

ในกรณีที่บริษัทและบริษัทยอยมีรายการซื้อสินคาและบริการ วัตถุดิบและเวชภัณฑตางๆ การจัดซื้อจัดจาง การเขาทำสัญญาวาจาง สัญญากอสราง หรือสัญญาจัดซื้อจัดจางระหวางกัน หรือระหวางบริษัท หรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่มีความเกี่ยวโยงกับบริษัท ซึ่งรายการดังกลาวเปนรายการที่เกิดขึ้นเพื่อสนับสนุน ธุรกิจปกติของบริษัทหรือบริษัทยอย รายการดังกลาวจะตองมีราคาคาสินคาหรืออัตราคาบริการตามราคา ตลาดทีส่ ามารถแขงขันหรืออางอิงทีม่ าของราคาคาสินคาหรือคาบริการดังกลาวได และมีเงือ่ นไขการชำระเงิน ตลอดจนเงื่อนไขขอตกลงทางการอื่นๆ ไมแตกตางจากการที่บริษัทและบริษัทยอยเขาทำธุรกรรมกับคูคา รายอื่นๆ ทั่วไปภายใตสถานการณเดียวกัน

การใหความชวยเหลือทางการเงิน

บริษัทมีเปาหมายและนโยบายใหความชวยเหลือทางการเงินแกบริษัทยอยภายในกลุม โดยรวมการบริหาร จัดการทางการเงินไวทส่ี ว นกลางเพือ่ ใหเกิดการบริหารจัดการตนทุนทางการเงินทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะกอประโยชนสูงสุดแกองคกรโดยรวม ทั้งนี้ ในการกำหนดวงเงินใหกูยืมบริษัทจะประเมินในดานความ สามารถในการชำระหนี้ มากกวาอัตราสวนในการถือหุน ของบริษทั โดยอัตราดอกเบีย้ จะตองไมตำ่ กวาตนทุน ทางการเงินของบริษัท ทั้งนี้ การเขาทำรายการดังกลาวจะตองเปนไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย และหรือกฎระเบียบหรือขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และ/หรือประกาศของ คณะกรรมการกำกับตลาดทุน

77 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

3. บุคคลที่มีผลประโยชนรวมถือหุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมเกินรอยละ 5 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงของบริษัทดังกลาว - ไมมี สำหรับรายการธุรกรรมประเภทอื่นๆ ที่นอกเหนือจากที่กลาวมาขางตนหรือธุรกรรมที่เปนรายการที่เกี่ยวโยงกันตามความหมายของ พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ในการเขาทำรายการระหวางกันในอนาคต บริษทั จะปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและขอบังคับ ที่กำหนดไวตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และประกาศอื่นๆ ที่เกี่ยวของทุกประการ และเพื่อเปนการคุมครอง ผูลงทุน บริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบดูแลใหรายการระหวางกันเปนไปอยางยุติธรรม และในกรณีที่คณะกรรมการ ตรวจสอบไมมีความชำนาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทมีนโยบายที่จะจัดใหบุคคลที่มีความเปนอิสระและมี ความรูความชำนาญตามวิชาชีพเปนผูใหความเห็นตอรายการดังกลาว และนำความเห็นนั้นไปประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผูถือหุน แลวแตกรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายการระหวางกันในหมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุที่ 10 เรื่องรายการกับกิจการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่ง งบการเงินดังกลาวเปนงบการเงินประจำปที่ไดรับการตรวจสอบจากผูตรวจสอบบัญชี

ร า ย ก า ร ร ะ ห ว า ง กั น

บุคคลที่มีความเกี่ยวของโดยเปนกรรมการและผูบริหารรวม ไดแก 1. นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ 2. นายแพทยจุลเดช ยศสุนทรากุล 3. นายวิชัย ทองแตง 4. นายแพทยพงษศักดิ์ วิทยากร 5. นายแพทยจิโรจน สุชาโต 6. นายแพทยชาตรี ดวงเนตร 7. นายประดิษฐ ทีฆกุล 8. นางสาวกนานุช เล็กวิจิตร 9. นางนฤมล นอยอ่ำ โดยการเขาเปนกรรมการรวมในบริษทั ยอยดังกลาว ไมไดเขาไปดำรงตำแหนงโดยสวนตัว แตเปนกรรมการในฐานะตัวแทนของบริษทั ซึ่งถือเปนผูถือหุนรายใหญ


คำอธิบายและว�เคราะหงบการเง�นประจำป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ว� เ ค ร า ะ ห ง บ ก า ร เ ง� น ป ร ะ จํ า ป

เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2554 บริษัทเขาซื้อและรับโอนกิจการทั้งหมด (Entire Business Transfer) ของบริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) (“เฮลท เน็ตเวิรค ”) สงผลใหบริษทั เปนผูถ อื หุน ใหญและนำงบการเงินของเครือโรงพยาบาลดังตอไปนีร้ วมในงบการเงินรวมของ บริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

78

1. เครือโรงพยาบาลพญาไท ซึง่ มีบริษทั ประสิทธิพ์ ฒ ั นา จำกัด (มหาชน) (“บมจ. ประสิทธิพ์ ฒ ั นา”) เปนผูถ อื หุน รายใหญ ประกอบดวย บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด และบริษัท โรงพยาบาล ศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) 2. เครือโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล ประกอบดวยบริษทั เปาโลเมดิค จำกัด (โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล พหลโยธิน) บริษทั เปาโล สมุทรปราการ จำกัด (โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล สมุทรปราการ) บริษทั การแพทยสยาม จำกัด (โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล โชคชัย 4) และบริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน) (โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล นวมินทร) สรุปผลประกอบการของบริษัทและบริษัทยอย รายไดคารักษาพยาบาล รายไดจากการจำหนายสินคาและอาหาร รายไดอื่น รวมรายไดจากการดำเนินงาน ตนทุนคารักษาพยาบาลและอื่นๆ คาใชจายในการบริหาร และคาตอบแทนผูบริหาร รวมคาใชจายในการดำเนินงานและคาเสื่อมราคา กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับ สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กำไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได คาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินไดนิติบุคคล สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมของบริษัทยอย กำไรกอนรายการไมปกติ (Non-Recurring Items) Non - Recurring Items - กำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน กำไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทใหญ

(หนวย : ลานบาท)

2555

2554

เปลี่ยนแปลง

44,307 1,171 516 45,994 (29,239) (8,969) (38,207) 7,787 57 17 968 8,827 (849) (1,521) (315) 6,142 1,795 7,937

35,224 1,009 492 36,726 (23,675) (7,224) (30,900) 5,826 63 104 382 6,374 (770) (1,456) (241) 3,907 479 4,386

26% 16% 5% 25% 23% 24% 24% 34% (10)% (84)% 154% 37% 10% 4% 31% 57% 81%


วิเคราะหความสามารถในการทำกำไร 10,737 23.3% 8,827 19.2% 13.4% 17.3% 3.97 5.14

8,534 23.2% 6,374 17.4% 10.6% 11.9% 2.67 3.00

เปลี่ยนแปลง 26% 38%

49% 71%

หมายเหตุ * ไมรวม Non- Recurring items

ผลการดำเนินงานตามงบการเง�นรวม สำหรับ ป 2555

สำหรับผลการดำเนินงาน สำหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั และบริษทั ยอยมีกำไรสุทธิจำนวน 7,937 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 3,551 ลานบาทหรือรอยละ 81 จากงวดเดียวกันของปกอน ผลการดำเนินงานโดยสรุป มีดังนี้ 1. รายไดจากการดำเนินงาน รายไดจากการดำเนินงานในป 2555 มีจำนวน 45,994 ลานบาท เพิ่มขึ้น 9,268 ลานบาทหรือรอยละ 25 จากป 2554 สวนใหญ เกิดจาก - รายไดคา รักษาพยาบาลในป 2555 มีจำนวน 44,307 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 9,083 ลานบาทหรือรอยละ 26 จากป 2554 สวนใหญเกิดจาก การเพิม่ ขึน้ ของจำนวนผูป ว ยนอกและผูป ว ยใน จากการมีเครือขายโรงพยาบาลทีก่ วางขวาง การเพิม่ ขึน้ ของคารักษาพยาบาลตามอัตรา เงินเฟอและการเพิม่ ขึน้ ของการรักษาโรคทีม่ คี วามซับซอน นอกจากนีย้ งั มีการรวมรายไดของเครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือโรงพยาบาล เปาโล เมโมเรียล ตั้งแตไตรมาส 2/2554 - ในป 2555 นี้รายไดจากคนไขชาวไทยเพิ่มขึ้นรอยละ 151 และรายไดจากคนไขชาวตางชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 241 สงผลใหสัดสวนรายได จากคนไขชาวไทย ตอชาวตางชาติเปลี่ยนแปลงจากรอยละ 74 ตอรอยละ 26 ในป 2554 เปนรอยละ 72 ตอรอยละ 28 ในป 2555 โดยการเพิ่มขึ้นในป 2555 นี้มาจากรายไดจากผูปวยนอกเพิ่มขึ้นรอยละ 171 สวนรายไดจากผูปวยในเพิ่มขึ้นรอยละ 181 จากป 2554

- รายไดจากการจำหนายสินคาและอาหารซึ่งมีจำนวน 1,171 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 161 ลานบาท หรือรอยละ 16 จากป 2554 สวนใหญเกิดจากการเพิ่มขึ้นของรายไดจากการขายสินคาของบริษัท เอ.เอ็น.บี. ลาบาราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด - รายไดอื่นรวม 516 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 5 จากป 2554 2. คาใชจายในการดำเนินงาน - บริษัทและบริษัทยอย มีตนทุนคารักษาพยาบาลและอื่นๆ (รวมคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย) รวม 29,239 ลานบาทในป 2555 เพิ่มขึ้นรอยละ 23 จากป 2554 สาเหตุหลักจากการรวมตนทุนคารักษาพยาบาลและอื่นๆ ของเครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือ โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล การเพิ่มขึ้นตามรายไดคารักษาพยาบาล ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของบุคลากรทางการแพทย โดยเฉพาะ การรับพยาบาลที่จบใหมเขาทำงานและพยาบาลที่มีประสบการณเพื่อเสริมการขยายตัวของธุรกิจ

1 เพือ่ การเปรียบเทียบอัตราการเติบโตของรายไดคา รักษาพยาบาล จึงคำนวณเสมือนการรวมรายไดของเครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียลตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2554

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ว� เ ค ร า ะ ห ง บ ก า ร เ ง� น ป ร ะ จํ า ป

2554

79 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

EBITDA* (ลานบาท) อัตรากำไร EBITDA* EBIT* (ลานบาท) อัตรากำไร EBIT* อัตรากำไรสุทธิ * อัตรากำไรสุทธิ กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน* (บาท) กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

2555


คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ว� เ ค ร า ะ ห ง บ ก า ร เ ง� น ป ร ะ จํ า ป ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

80

- คาใชจายในการบริหาร (รวมคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย) มีจำนวน 8,969 ลานบาทในป 2555 เพิ่มขึ้นรอยละ 24 จากป 2554 สวนใหญเกิดจากการรวมคาใชจายในการบริหารของเครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล ประกอบกับการ เพิ่มขึ้นของคาใชจายในการบริหารทั่วไป ซึ่งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของคาแรงในการจางบุคคลภายนอกสำหรับงานทำความสะอาดและ งานรักษาความปลอดภัยและการเพิ่มขึ้นของคาซอมแซมและบำรุงรักษา อยางไรก็ตามกำไรจากการดำเนินงานกอนหักคาใชจา ยทางการเงิน ภาษี คาเสือ่ มราคาและคาตัดจำหนาย (“EBITDA”) เพิม่ ขึน้ จาก 8,534 ลานบาทในป 2554 เปน 10,737 ลานบาทในป 2555 คิดเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 26 นอกจากนี้อัตรากำไร EBITDA (“EBITDA Margin”) ปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากรอยละ 23.2 ในป 2554 เปนรอยละ 23.3 ในป 2555 3. คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย มีจำนวน 2,951 ลานบาทในป 2555 เพิ่มขึ้นรอยละ 9 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2554 สาเหตุหลักเกิด จากการรวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณของเครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือโรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล และการขยายโรงพยาบาล เครือขายที่มีอยูในปจจุบันเพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของคนไขในอนาคต 4. รายการอื่นๆ - ดอกเบี้ยรับจำนวน 57 ลานบาท ลดลงเล็กนอย รอยละ 10 จากป 2554 - เงินปนผลรับจำนวน 17 ลานบาท ลดลงรอยละ 84 จากป 2554 เนือ่ งจากบริษทั บันทึกเงินปนผลรับจากการลงทุนในบริษทั โรงพยาบาล บำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) จำนวน 104 ลานบาทในไตรมาส 4/2554 อยางไรก็ตาม ตอมาบริษัทไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนรอยละ 23.88 สงผลใหบริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนบริษทั รวม - สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั รวม มีจำนวน 968 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 154 จากป 2554 จากการรับรูข องสวนแบงกำไรจาก เงินลงทุนในบริษทั โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) จำนวน 431 ลานบาทและสวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั โรงพยาบาล บำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) จำนวน 498 ลานบาท - คาใชจายทางการเงินเพิ่มขึ้นเปน 849 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากป 2554 จากการออกหุนกูและการเพิ่มขึ้นของเงินกูยืม ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ภาษีเงินไดนิติบุคคลจำนวน 1,521 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 1,456 ลานบาทจากป 2554 จากการเพิ่มขึ้นของกำไรกอนภาษีนิติบุคคล สุทธิดวยการลดลงของอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลที่ลดลงเปนรอยละ 23 5. รายการไมปกติ (“Non-Recurring Items”) ในไตรมาส 1/2555 บริษทั ไดซอ้ื หุน สามัญในบริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนจำนวนรวม 44.2 ลานหุน รวมเปน เงิน 2,234.9 ลานบาท คิดเปนสัดสวนการถือหุน รอยละ 6.06 ทำใหบริษทั มีอตั ราสวนการถือหุน ในบริษทั ดังกลาวทัง้ สิน้ เปนรอยละ 20.28 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 และเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทรวม อยางไรก็ตาม ตอมาในไตรมาสที่ 2/2555 บริษัทเพิ่มสัดสวนการลงทุนใน บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนรอยละ 23.88 ทั้งนี้บริษัทบันทึก Non-Recurring Items ในไตรมาส 1/2555 ไดแกกำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนรวมจำนวน 1,795 ลานบาท ซึ่งเกิดจากการรวมธุรกิจที่ดำเนินการสำเร็จเปนขั้นๆ (“Step Acquisition”) ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่องการรวมธุรกิจ ซึ่งมีผลบังคับใชในประเทศไทยในเดือน มกราคม 2554 โดยบริษัทตองวัดมูลคาเงินลงทุนที่ถือกอนหนาการซื้อหุนใหมโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อและรับรูผลตางที่เกิดขึ้น ในงบกำไรขาดทุน ในไตรมาส 2/2554 บริษัทและบริษัทยอยบันทึก Non-Recurring Items ไดแกกำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนรวม จำนวน 479 ลานบาท ซึง่ เกิดจากการรวมธุรกิจทีด่ ำเนินการสำเร็จเปนขัน้ ๆ (“Step Acquisition”) สำหรับการลงทุนใน บริษทั ประสิทธิ-์ พัฒนา จำกัด (มหาชน) และการลงทุนใน บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด


งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

(หนวย : ลานบาท)

2555 กำไรสำหรับงวด ผลกำไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย กลับรายการกำไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ผลกำไรจากการตีราคาที่ดิน ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยน สวนแบงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทรวม กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับงวด

8,252 5 (1,372) (132) 634 (35) 114 7,467

2554 4,627 1,372 (3) 9 51 65 6,121

เปลี่ยนแปลง 78% (100)% N/A N/A N/A (168)% 75% 22%

สำหรับ ป 2555 บริษัทและบริษัทยอยมีกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ จำนวน 8,252 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 78 จากป 2554 สวนใหญ เกิดจากกำไรที่เพิ่มขึ้นสุทธิดวยกลับรายการกำไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายเนื่องจากโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน จากการเปลีย่ นสถานะของเงินลงทุนในบริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนบริษทั รวม จำนวน 1,372 ลานบาท ประกอบ กับผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยจำนวน 132 ลานบาท นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทยอยไดรับรู ผลกำไรจากการตีราคาที่ดินจำนวน 634 ลานบาท และบริษัทไดรับรูสวนแบงกำไรเบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทรวมจำนวน 114 ลานบาท ซึ่ง สวนใหญเกิดจากผลกำไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายของบริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) ฐานะการเงินรวม สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุนของบริษัทใหญรวม สวนของผูถือหุนรวม

(หนวย : ลานบาท)

2555

2554

เปลี่ยนแปลง

68,461 29,634 37,296 38,827

58,792 25,375 31,995 33,417

16% 17% 17% 16%

คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ว� เ ค ร า ะ ห ง บ ก า ร เ ง� น ป ร ะ จํ า ป

หากรวม Non-Recurring Items บริษัทและบริษัทยอยมีกำไรสุทธิจำนวน 7,937 ลานบาท เพิ่มขึ้น 3,551 ลานบาทหรือรอยละ 81 จากป 2554 โดยอัตรากำไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากรอยละ 11.9 ในป 2554 เปนรอยละ 17.3 ในป 2555 และกำไรตอหุนขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น จาก 3.00 บาท ในป 2554 เปน 5.14 บาทในป 2555 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 71

81 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

จากผลการดำเนินงานที่กลาวมาขางตน หากไมรวม Non-Recurring Items ซึ่งไดแกกำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน ดังทีก่ ลาวมาขางตน บริษทั และบริษทั ยอยมีกำไรสุทธิจำนวน 6,142 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 2,235 ลานบาทหรือรอยละ 57 จากป 2554 โดย อัตรากำไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากรอยละ 10.6 ในป 2554 เปนรอยละ 13.4 ในป 2555 และกำไรตอหุนขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นจาก 2.67 บาท ในป 2554 เปน 3.97 บาทในป 2555 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 49


คํ า อ ธิ บ า ย แ ล ะ ว� เ ค ร า ะ ห ง บ ก า ร เ ง� น ป ร ะ จํ า ป ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

82

งบการเงินรวมของบริษทั และบริษทั ยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั และบริษทั ยอยมีสนิ ทรัพยรวม 68,461 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 9,669 ลานบาท หรือรอยละ 16 จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สวนใหญเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนในบริษทั รวมจำนวน 10,048 ลานบาท สุทธิดว ยการลดลงของเงินลงทุนระยะยาวอืน่ จำนวน 4,554 ลานบาท การเปลีย่ นแปลงดังกลาวเกิดจากการเพิม่ สัดสวนการลงทุน ในบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) สงผลใหบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนบริษัทรวม นอกจากนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณเพิ่มขึ้น 3,722 ลานบาท จากการขยายโรงพยาบาลเครือขายที่มีอยูในปจจุบันเพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของคนไข ในอนาคต นอกจากนีย้ งั มีการสรางและลงทุนในโรงพยาบาลแหงใหมในตางจังหวัด ไดแก การซือ้ ทีด่ นิ สำหรับโรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม การซื้อสินทรัพยถาวรสำหรับโรงพยาบาลกรุงเทพอุดร หนี้สินรวมของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีจำนวน 29,634 ลานบาท เพิ่มขึ้น 4,259 ลานบาท หรือรอยละ 17 จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สวนใหญเกิดจากการเพิ่มขึ้นของเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงินจำนวน 994 ลานบาท การออก หุนกูจำนวน 600 ลานบาทและการเพิ่มขึ้นของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินจำนวน 1,684 ลานบาท เพื่อใชเปนสวนหนึ่งในเงิน ลงทุนในบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) และการลงทุนในการขยายเครือขายโรงพยาบาล สงผลใหอัตราสวนหนี้สินรวม ตอทุนไมเปลีย่ นแปลงที่ 0.5 เทา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยอัตราสวนหนีส้ นิ สุทธิตอ ทุนไมเปลีย่ น แปลงที่ 0.4 เทา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สวนของผูถือหุนของบริษัท มีจำนวน 38,827 ลานบาท เพิ่มขึ้น 5,410 ลานบาท หรือรอยละ 16 จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สวนใหญเกิดจากกำไรเบ็ดเสร็จในป 2555 สุทธิดวยเงินปนผลจายจำนวน 1,700 ลานบาท สภาพคลอง สำหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั และบริษทั ยอยมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิจำนวน 286 ลานบาท โดยบริษทั และบริษทั ยอยมีเงินสดสุทธิยกมา ณ วันตนงวดจำนวน 3,876 ลานบาท เปนผลใหเงินสดสุทธิปลายงวดคงเหลือเทากับ 3,590 ลานบาท รายละเอียดกระแสเงินสดแตละกิจกรรม มีดังนี้ (หนวย : ลานบาท) 2555 เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดสุทธิ(ใชไป)ในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด

8,409 (9,716) 1,020 (286) 3,876 3,590

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จำนวน 8,409 ลานบาท สวนใหญเกิดจากการกำไรของป 2555 สวนกระแสเงินสดใชไปใน กิจกรรมลงทุน จำนวน 9,716 ลานบาท สวนใหญเกิดจากการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และเงินลงทุนอื่น จำนวน 4,267 ลานบาท และการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณจำนวน 5,791 ลานบาท กระแสเงินสดที่ไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน จำนวน 1,020 ลานบาท กิจกรรมจัดหาเงินนีส้ ว นใหญเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินสุทธิจำนวน 995 ลานบาท และการเพิม่ ขึน้ ของ เงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินจำนวน 6,618 ลานบาท การจายชำระคืนเงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินจำนวน 4,931 ลานบาท และการจายเงินปนผลจำนวน 1,700 ลานบาท


คาตอบแทนของผูสอบบัญช� บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด ไดเปนผูตรวจสอบบัญชีของบริษัทและบริษัทยอย ตั้งแตการตรวจสอบงบการเงินประจำป 2548 ถึงปจจุบัน ทั้งนี้ ในป 2555 บริษัทและบริษัทยอย ไดจายคาบริการแกผูสอบบัญชี โดยแยกเปน 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัทและบริษัทยอยไดจายคาตอบแทนจากการสอบบัญชีใหแกผูสอบบัญชีเปนเงินรวม 17,296,500 บาทรายละเอียดดังนี้

(หนวย : บาท)

2. คาบริการอื่น - ไมมี -

1,030,000 10,100,000

รวมทั้งหมด 1,900,000 15,396,500 17,296,500

ค า ต อ บ แ ท น ข อ ง ผู ส อ บ บั ญ ช�

870,000 บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) 5,296,500 กลุมบริษัทในเครือ 37 บริษัท รวมคาตอบแทนผูสอบบัญชีทั้งหมด

คาตรวจสอบบัญชี ประจำป

83 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

คาสอบทานงบไตรมาส ทั้งหมด 3 ไตรมาส


ร า ย ง า น แ ล ะ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

84

รายงานและงบการเง�นรวม บร�ษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) และบร�ษัทยอย

31 ธันวาคม 2555


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

ในป พ.ศ. 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมทัง้ หมด 8 ครัง้ เพือ่ ดำเนินงานตามความรับผิดชอบทีไ่ ดรบั มอบหมาย โดยมี ประเด็นที่เปนสาระสำคัญคือ 1. สอบทานงบการเงินของบริษัทและบริษัทยอยกอนนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท จากการสอบทานและฟงคำชี้แจงจากผูตรวจ สอบบัญชีและฝายบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นและเชื่อไดวางบการเงินดังกลาวไดจัดทำตามมาตรฐานบัญชีโดยมี การเปดเผยขอมูลที่สำคัญอยางถูกตองและครบถวน 2. พิจารณาเสนอแนะการแตงตัง้ ผูส อบบัญชีจากบริษทั สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด และการกำหนดคาตอบแทนผูส อบบัญชี ประจำปตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นวา บุคคลที่ไดรับ การเสนอชือ่ เปนผูส อบบัญชีดงั กลาว มีความเหมาะสมทัง้ ในดานความรู ความสามารถ และมีความเปนอิสระอยางเพียงพอในการ ทำหนาที่เปนผูสอบบัญชีใหแกบริษัทและบริษัทยอย 3. พิจารณาการทำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน การเปดเผยสารสนเทศของรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือ จำหนายไปซึ่งสินทรัพย ใหเปนไปตามขอกำหนดและกฎหมายที่กำกับดูแล 4. พิจารณาอนุมัติ แผนงานการตรวจสอบประจำป ทบทวนกระบวนการตรวจสอบภายในซึ่งเปนสวนหนึ่งของนโยบายการบริหาร งานของบริษัท และใหความเห็นชอบในการกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายในเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหเปน หลักเกณฑในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล 5. พิจารณาและรับฟงคำชีแ้ จงรายงานผลการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในจากผูต รวจสอบภายใน โดยวาจางบริษทั ผูต รวจสอบ ภายในที่ไดรับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยใหทำหนาที่เปนหนวยตรวจสอบภายใน ของบริษทั โดยกำหนดใหหนวยตรวจสอบเขาตรวจสอบงานตามความสำคัญของความเสีย่ งทีป่ ระเมินไว คณะกรรมการตรวจสอบ ไดสรุปประเด็นสำคัญจากการตรวจสอบแตละครั้งนำเสนอและแนะนำแกคณะกรรมการและผูบริหาร เกี่ยวกับการกำกับดูแล กิจการทีด่ ี นอกจากนีย้ งั ใหความสำคัญในการจัดประชุมผูถ อื หุน อยางเหมาะสมตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ และความมีประสิทธิภาพที่เพียงพอในการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมปองกัน ความเสี่ยงของฝายตางๆ และขององคกร 6. สอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจำปของบริษทั ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเพียงพอกับการปองกันความเสี่ยงจากการดำเนินงาน ตามแนวนโยบายและกลยุทธตางๆ ของบริษัท 7. ประชุมรวมกับผูตรวจสอบบัญชี โดยไมมีผูบริหาร เพื่อความเปนอิสระของผูตรวจสอบบัญชีในการรายงานการถึงปญหา หรือขอ จำกัดที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบงบการเงิน ทั้งนี้ผูสอบบัญชีไดรายงานไมขอจำกัด ใดที่เปนสาระสำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายดวยความระมัดระวังและอยางเต็มความสามารถ เพื่อประโยชนของ บริษัท ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียทั้งปวง

(ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิร� ศรมณี) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

85 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

คณะกรรมการบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย กรรมการบริษัทที่เปน อิสระจำนวน 3 ทาน คือ ศาสตราจารยเกียรติคุณนายแพทยสันตศิริ ศรมณี เปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายศรีภพ สารสาส และดร.สมชัย สัจจพงษ เปนกรรมการตรวจสอบ หนาที่และความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ ไดแก การดูแลและ สอบทานรายงานทางการเงินของบริษทั ใหเปนไปตามมาตรฐานบัญชี มีการเปดเผยขอมูลอยางถูกตองและเพียงพอ ดูแลใหบริษทั มีระบบ การควบคุมภายใน การประเมินความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีการปฏิบัติตามขอกำหนดและ กฎหมายที่เกี่ยวของ และดูแลกรณีที่อาจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนในการทำรายการระหวางบริษัทกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เร�ยน ทานผูถือหุน บร�ษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน)


ร า ย ง า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ร� ษั ท ต อ ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ ง� น

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบร�ษัทตอรายงานทางการเง�น

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

86

คณะกรรมการบริษทั ไดใหความสำคัญตอหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบดูแลกิจการของบริษทั ใหเปนไปตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการ ทีด่ โี ดยรายงานการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำป 2555 มีขอ มูลทีถ่ กู ตองครบถวน เปดเผยอยางเพียงพอ และไดถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน การบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป โดยเลือกนโยบายการบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ ตลอดจนไดใชดลุ ยพินจิ อยางระมัดระวัง ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบทำการสอบทานงบการเงินของบริษทั ทีผ่ า นมา และไดรบั รายงานวารายงาน ทางการเงินของบริษัทไดถือปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการใชนโยบายทางบัญชีที่เหมาะสมและจัดทำขึ้นอยางระมัดระวัง โดยจัดทำขึ้นอยางระมัดระวังตลอดจนประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม รวมทั้งมีการ เปดเผยขอมูลอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดรายงานความเห็นเหลานี้ในรายงานคณะ กรรมการตรวจสอบที่ปรากฏในรายงานประจำป 2555 และแบบแสดงรายการขอมูลประจำป 2555 (แบบ 56-1) ของบริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อใหมั่นใจวาขอมูลทางบัญชีมี การบันทึกอยางครบถวน ถูกตอง และมีระบบการจัดเก็บรักษาทรัพยสิน เพื่อปองกันการทุจริตหรือเสียหายอยางมีสาระสำคัญ โดยสรุปแลว คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยรวมอยูใ นระดับทีน่ า พอใจ และสามารถเชือ่ มัน่ อยางมีเหตุผลตอความนาเชือ่ ถือของงบการเงินของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ซึง่ ผูต รวจสอบบัญชีไดตรวจสอบตามมาตรฐาน การสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป และแสดงความเห็นวางบการเงินดังกลาว แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานโดยถูกตองตามที่ควร ในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

(นายแพทยปราเสร�ฐ ปราสาททองโอสถ)

ประธานคณะผูบร�หารและกรรมการผูอำนวยการใหญ


รายงานของผูสอบบัญช�รับอนุญาต

ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงิน ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทำและการนำเสนองบการเงินเหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู ริหารพิจารณาวาจำเปนเพือ่ ใหสามารถจัดทำงบการเงินทีป่ ราศจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอกำหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อ ใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบ การเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญของงบการเงินไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชี พิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการจัดทำและการนำเสนองบการเงินโดยถูกตองตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการ ตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี ที่จัดทำขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนำเสนองบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด สำหรับ ปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการจำกัด (มหาชน) และบริษัทยอยและเฉพาะของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการจำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ว�ชาติ โลเกศกระว�

ผูสอบบัญช�รับอนุญาต เลขทะเบียน 4451

บร�ษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 27 กุมภาพันธ 2556

87 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกำไรขาดทุนรวม งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน รวม และงบกระแสเงินสดรวม สำหรับปสน้ิ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทส่ี ำคัญและหมายเหตุเรือ่ งอืน่ ๆ และไดตรวจ สอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ดวยเชนกัน

ร า ย ง า น ข อ ง ผู ส อ บ บั ญ ช� รั บ อ นุ ญ า ต

เสนอตอผูถือหุนของบร�ษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน)


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบแสดงฐานะการเง�น สินทรัพย

(หนวย : บาท)

ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ ง� น

งบการเงินรวม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

88

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินปนผลคางรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากระยะยาวกับสถาบันการเงิน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ำประกัน เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ที่ดินและอาคารที่ยังไมไดใชเพื่อการดำเนินงาน คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สิทธิการเชา อื่นๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ

2555

2554

2555

2554

6

3,589,575,612 267,768,130 4,287,063,795 11,268,600 779,882,276 150,337,990 9,085,896,403

3,875,733,420 464,365,921 3,377,111,722 1,037,726,798 121,792,752 8,876,730,613

1,567,094,336 10,209 962,104,787 7,797,600 207,098,786 91,267,248 19,547,968 2,854,920,934

1,520,306,827 10,032 829,289,509 307,097,286 230,927,282 14,872,145 2,902,503,081

23,022,448 12,864,094,347 495,775,237 222,795,000 33,151,946,067 633,123,001 10,609,368,928 568,719,716

50,000,000 24,685,891 2,815,613,743 5,049,423,501 190,226,327 29,430,070,630 511,202,630 10,609,368,928 482,139,079

9,188,934,474 1,735,973,111 24,917,353,505 23,925,320,165 322,451,390 4,876,099,654 5,324,980,064 1,665,538,184 458,385,000 425,816,327 6,448,076,571 4,978,103,389 632,796,658 510,876,287 184,271,166 72,988,099

552,715,404 253,524,385 59,375,084,533 68,460,980,936

557,137,056 195,333,849 49,915,201,634 58,791,932,247

99,317,055 106,061,020 24,734,463 14,455,744 47,601,300,346 38,311,231,980 50,456,221,280 41,213,735,061

6 8, 9, 10 10 10 11

6, 7 12 13 14 10 15 16 17 13.3 18 10, 19 10


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบแสดงฐานะการเง�น (ตอ) หนี้สินและสวนของผูถือหุน

(หนวย : บาท)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุ

2555

2554

2555

2554

20 10

1,225,104,808 3,614,105,602 -

231,170,205 3,391,190,815 -

1,200,000,000 961,204,100 2,796,624,548

942,752,305 1,627,946,051

22

889,645,572

813,214,841

820,198,400

436,300,000

23

92,712,864 1,999,885,487 606,750,181 2,276,914,656 667,591,078 11,372,710,248

149,722,523 725,829,097 1,815,833,234 451,509,847 7,578,470,562

6,150,454 1,999,885,487 39,514,847 519,201,230 203,262,053 8,546,041,119

3,051,032 48,526,497 397,328,233 158,023,562 3,613,927,680

22

8,558,261,019

6,951,172,278

8,254,981,600

2,705,410,000

23

86,073,514 7,063,968,777 1,108,655,624 131,391,804 1,312,845,086 18,261,195,824 29,633,906,072

185,304,941 8,461,262,680 862,972,388 173,449,698 1,162,070,430 17,796,232,415 25,374,702,977

10, 21

34

34 24 10

11,436,066 6,927,699 7,063,968,777 8,461,262,680 212,524,251 148,516,084 74,862,285 108,620,182 192,004,068 106,791,206 15,809,777,047 11,537,527,851 24,355,818,166 15,151,455,531

ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ ง� น ( ต อ )

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สวนของหุนกูที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป ภาษีเงินไดคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิจาก สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิจาก สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกู - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สำรองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน รายไดรอตัดบัญชี หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

89 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบการเงินรวม


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบแสดงฐานะการเง�น (ตอ) หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ)

(หนวย : บาท)

งบการเงินรวม

ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ ง� น ( ต อ )

หมายเหตุ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

90

สวนของผูถือหุน 25 ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 1,700,004,771 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท (2554: หุนสามัญ 1,553,391,408 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) ทุนออกจำหนายและชำระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 1,545,458,883 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ ผลตางจากการปรับโครงสรางการถือหุน กำไรสะสม จัดสรรแลว - สำรองตามกฎหมาย 27 ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวนของผูถือหุนของบริษัท สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมของบริษัทยอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

1,700,004,771

1,553,391,408

1,700,004,771

1,553,391,408

1,545,458,883

1,545,458,883

1,545,458,883

1,545,458,883

20,022,497,644 305,000,325

20,022,497,644 305,000,325

19,959,573,716 19,959,573,716 -

170,000,477 15,081,806,199 170,748,104 37,295,511,632 1,531,563,232 38,827,074,864 68,460,980,936

155,339,141 9,003,545,079 963,350,808 31,995,191,880 1,422,037,390 33,417,229,270 58,791,932,247

155,339,141 170,000,477 3,433,450,234 2,516,503,383 991,919,804 1,885,404,407 26,100,403,114 26,062,279,530 26,100,403,114 26,062,279,530 50,456,221,280 41,213,735,061


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบกำไรขาดทุน (หนวย : บาท)

รายได 10 รายไดคารักษาพยาบาล 10 รายไดอื่น รายไดจากการจำหนายสินคาและอาหาร ดอกเบี้ยรับ 12, 13, 14 เงินปนผลรับ กำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน 12.1, 13.3 อื่น ๆ รวมรายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย 10 ตนทุนคารักษาพยาบาลและตนทุนขาย 10 คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนสวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได 12 สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กำไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได 10 คาใชจายทางการเงิน กำไรกอนภาษีเงินได 29, 35 ภาษีเงินได กำไรสำหรับป การแบงปนกำไร สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมของบริษัทยอย กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท จำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก (หุน) หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555

2554

2555

2554

44,307,328,175

35,224,466,182

10,001,426,497

8,258,839,349

1,170,942,346 56,501,930 16,564,227 1,795,048,116 515,774,275 3,554,830,894 47,862,159,069

1,009,460,204 63,051,703 103,527,505 479,028,410 491,804,455 2,146,872,277 37,371,338,459

47,620,553 42,371,398 202,430,001 71,717,388 2,155,163,968 1,979,139,621 449,760,125 407,838,566 2,854,974,647 2,501,066,973 12,856,401,144 10,759,906,322

29,238,818,033 8,968,658,289 38,207,476,322

23,675,485,850 7,224,190,229 30,899,676,079

6,369,648,903 2,839,790,823 9,209,439,726

5,479,336,126 2,302,468,571 7,781,804,697

9,654,682,747 967,663,398 10,622,346,145 (849,405,902) 9,772,940,243 (1,520,706,466) 8,252,233,777

6,471,662,380 381,645,368 6,853,307,748 (770,451,369) 6,082,856,379 (1,456,317,745) 4,626,538,634

3,646,961,418 3,646,961,418 (810,684,404) 2,836,277,014 (157,925,291) 2,678,351,723

2,978,101,625 2,978,101,625 (571,660,686) 2,406,440,939 (109,428,864) 2,297,012,075

7,936,947,120 315,286,657 8,252,233,777

4,385,987,305 240,551,329 4,626,538,634

2,678,351,723

2,297,012,075

5.14 1,545,458,883

3.00 1,461,915,619

1.73 1,545,458,883

1.57 1,461,915,619

30

ง บ ก ำ ไ ร ข า ด ทุ น

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

91 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบการเงินรวม


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร�จ (หนวย : บาท)

งบการเงินรวม

ง บ ก ำ ไ ร ข า ด ทุ น เ บ็ ด เ ส ร� จ

หมายเหตุ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

92

กำไรสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลกำไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย โอนกลับรายการกำไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนใน หลักทรัพยเผื่อขายเนื่องจากโอนเปลี่ยนประเภท เงินลงทุน จากเงินลงทุนระยะยาวอื่นเปนเงินลงทุน 12.1 ในบริษัทรวม ผลขาดทุนจากการประมาณการตาม 24 หลักคณิตศาสตรประกันภัย 16, 17 ผลกำไรจากการตีราคาที่ดิน ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคา งบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ สวนแบงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทรวม กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป การแบงปนกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมของบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

8,252,233,777

4,626,538,634

2,678,351,723

2,297,012,075

4,796,669

1,372,437,827

4,506,245

1,372,272,360

(1,372,147,918)

-

(1,372,147,918)

-

(131,630,157) 634,445,804

(3,309,777) 8,985,000

(46,747,333) 474,157,070

-

(34,518,057) 114,186,053 (784,867,606)

51,099,075 65,309,329 1,494,521,454

(940,231,936)

1,372,272,360

7,467,366,171

6,121,060,088

1,738,119,787

3,669,284,435

7,154,141,916 313,224,255 7,467,366,171

5,885,182,971 235,877,117 6,121,060,088

1,738,119,787

3,669,284,435


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบกระแสเง�นสด กระแสเง�นสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

(หนวย : บาท)

กำไรกอนภาษีเงินได 9,772,940,243 ปรับรายการที่กระทบกำไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนเงินสดรับ(จาย)จากกิจกรรมดำเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย 2,950,574,134 รายการตัดบัญชีสินทรัพย 19,699,358 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 108,788,432 ขาดทุน(กลับรายการขาดทุน)จากการดอยคาของสินทรัพย 1,914,699 ขาดทุนจากสำรองสินคาเสื่อมสภาพ 1,061,037 รายไดรอตัดบัญชีตัดจาย (42,057,894) สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม (967,663,398) รับรูคาความนิยมติดลบ กำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน (1,795,048,116) คาใชจายในการออกหุนกูแปลงสภาพ หุนกูและ เงินกูยืมตัดจำหนาย 3,361,984 ขาดทุน(กำไร)จากการจำหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ 4,620,158 กำไรจากการปรับมูลคาอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (17,876,855) ขาดทุนจากการชำระบัญชีของบริษัทยอย ขาดทุน(กำไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง คาใชจายผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน 132,811,572 รายไดดอกเบี้ยรับ (56,501,930) รายไดเงินปนผลรับ (16,564,227) คาใชจายดอกเบี้ย 849,405,902 กำไรจากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดำเนินงาน 10,949,465,099 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

2554

2555

2554

6,082,856,379

2,836,277,014

2,406,440,939

2,707,488,415 18,628,818 116,796,026 (13,083,042) 913,628 (43,745,508) (381,645,368) (25,266,375) (479,028,410)

664,350,916 764,124 14,850,406 794,531 (33,757,897) -

701,608,922 276,429 58,859,014 (12,333,020) 737,983 (37,492,080) -

93 4,010,911 (9,915,912) (1,045,000) 107,180,693 (63,051,703) (103,527,505) 770,451,369 8,688,017,416

3,361,984 3,277,578 3,715,104 (2,552,500) (17,876,855) (18,069,000) 1,031,853 14,055,135 (12,870,015) 22,484,630 22,241,974 (202,430,001) (71,717,388) (2,155,163,968) (1,979,139,621) 810,684,404 571,660,686 1,962,109,527

1,631,961,754

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ง บ ก ร ะ แ ส เ ง� น ส ด

งบการเงินรวม


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบกระแสเง�นสด (ตอ) กระแสเง�นสดจากกิจกรรมดำเนินงาน

(หนวย : บาท)

งบการเงินรวม

ง บ ก ร ะ แ ส เ ง� น ส ด ( ต อ )

2555

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

94

สินทรัพยดำเนินงานลดลง(เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น สำรองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน ดอกเบี้ยรับ จายดอกเบี้ย เงินสดรับจากการขอคืนภาษี จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ำประกันลดลง เงินฝากระยะยาวสถาบันการเงินลดลง เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับจากการลงทุน เงินสดจายซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทอื่น เงินสดรับจากเงินคืนทุนของบริษัทยอย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนระยะยาวอื่นที่ครบกำหนด เงินสดจายซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เงินสดรับสุทธิจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ เงินสดจายซื้อสิทธิการเชา เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น รับชำระเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2555

2554

(1,017,021,032) 256,783,484 (28,545,237) (55,511,843)

(714,466,815) (482,018,260) 105,300,148 (35,341,337)

(134,327,592) 138,865,503 (4,675,823) (8,677,347)

(331,495,962) (173,832,564) 59,850,137 (351,887)

(111,254,687) 478,385,266 216,081,232 (18,758,494) 150,774,655 10,820,398,443 42,783,342 (779,629,930) 25,059,813 (1,699,131,065) 8,409,480,603

625,615,414 151,864,550 (87,604,617) (23,122,000) 49,562,945 8,277,807,444 62,891,993 (737,131,245) 15,041,752 (1,423,883,387) 6,194,726,557

(54,830,925) 120,654,607 45,238,490 (5,223,796) 85,212,862 2,144,345,506 187,557,719 (757,011,458) (167,851,367) 1,407,040,400

180,733,708 17,448,294 25,503,007 (6,353,393) 13,020,475 1,416,483,569 70,192,988 (555,288,206) (69,068,435) 862,319,916

196,888,215 1,663,443 50,000,000 280,599,833 11,999,118 (4,266,954,772) (19,620,675) 37,051,249 (5,791,020,424) (17,280,536) (198,978,746) (9,715,653,295)

1,539,710,529 61,067,509 166,639,607 15,111,753 (2,188,039,086) 500,000,000 (135,177,289) 18,300,692 (3,559,683,668) (52,960,502) (140,325,399) (3,775,355,854)

(177)

1,739,532,850 1,979,139,621 15,111,753 (4,607,666,211) 258,968,147 500,000,000 (135,177,289) 5,725,129 (762,812,347) (52,960,502) (164,527,385) (1,010,593,176) 641,837,422 (9,472,731) (1,602,894,719)

2,147,366,368 1,534,191 (5,258,988,113) (19,620,675) 16,203,628 (1,743,480,338) (83,639,987) (4,173,846,818) 683,988,290 (125,534,806) (8,556,018,437)


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบกระแสเง�นสด (ตอ) (หนวย : บาท)

ขอมูลเพิ่มเติมประกอบกระแสเงินสด รายการที่ไมใชเงินสด สินทรัพยซื้อภายใตสัญญาเชาการเงิน เจาหนี้คาซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณเพิ่มขึ้น เจาหนี้คาซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนลดลง เจาหนี้กอสรางและเงินประกันผลงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินปนผลคางรับ ซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอยโดยการออกหุนทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555

2554

2555

2554

-

-

1,168,678,497

988,344,818

9,150,000,000

4,401,208,517

9,150,000,000

4,200,000,000

(8,155,066,935) 6,617,777,800 (4,930,611,323) (209,638,666) 599,229,600 -

(4,209,929,219) 4,616,390,400 (5,019,926,849) (137,403,367) 3,494,818,102 (3,000,000,000)

(7,950,000,000) (4,200,000,000) 6,617,777,800 1,021,610,000 (684,307,800) (343,800,000) (5,616,348) (2,154,273) 599,229,600 3,494,818,102 (3,000,000,000)

(266,547,297) (1,699,996,203) (85,132,092)

(131,467,725) 9,717,108 (989,912,836) (66,586,442)

(1,699,996,203) -

9,717,108 (989,912,836) -

95

1,020,014,884 (286,157,808) 3,875,733,420 3,589,575,612 -

(1,033,092,311) 1,386,278,392 2,489,455,028 3,875,733,420

7,195,765,546 46,787,509 1,520,306,827 1,567,094,336 -

1,178,622,919 438,048,116 1,082,258,711 1,520,306,827

33,715,736 185,539,074 (7,613,155) 106,149,426 11,268,600 -

90,571,481 48,301,606 166,135,869 13,321,247,595

12,479,609 11,159,376 10,676,268 25,939,443 (7,613,155) 17,291,190 (13,722,006) 7,797,600 13,321,247,595

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดจายเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจายชำระคืนเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจายชำระเจาหนี้สัญญาเชาการเงิน เงินสดรับจากการออกหุนกู เงินสดจายชำระไถถอนหุนกู เงินสดจายซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอยจากผูมีสวนไดเสีย ที่ไมมีอำนาจควบคุม เงินสดรับสุทธิจากการจำหนายหุนเพิ่มทุน เงินปนผลจาย เงินปนผลจายของบริษัทยอยแกผูมีสวนไดเสียที่ ไมมีอำนาจควบคุม เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นป

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ง บ ก ร ะ แ ส เ ง� น ส ด ( ต อ )

งบการเงินรวม


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ว น ข อ ง ผู ถื อ หุ น

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

96

กำไรสะสม ทุนเรือนหุนที่ออก และชำระแลว

สวนเกินมูลคา หุนสามัญ

ผลตางจากการ ปรับโครงสราง การถือหุน

จัดสรรแลว สำรอง ตามกฎหมาย

ยังไมไดจัดสรร

สวนเกิน(ต่ำกวา)ทุน จากการวัด มูลคาเงินลงทุนใน หลักทรัพยเผื่อขาย (179,008)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงาน ซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอยโดยการออกหุนทุน (หมายเหตุ 25) ออกหุนสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 25) แปลงสภาพหุนกูแปลงสภาพ สำรองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 27) กำไรสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป การเปลี่ยนแปลงสวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจ ควบคุมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม ลดลงจากการจายเงินปนผลของบริษัทยอย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

1,246,035,935

6,988,760,633

305,000,325

131,226,422

5,161,968,125

-

-

-

-

(517,149,736)

-

295,236,682 4,127,864 58,402 -

12,879,901,154 151,699,002 2,136,855 -

-

24,112,719 -

(24,112,719) 4,385,987,305 (3,147,896) 4,382,839,409

1,372,433,095 1,372,433,095

-

-

-

-

-

-

1,545,458,883

20,022,497,644

305,000,325

155,339,141

9,003,545,079

1,372,254,087

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 26) สำรองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 27) กำไรสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป สวนแบงดอกเบี้ยจายสำหรับหุนกูแปลงสภาพ ที่ถือเปนตราสารทุนของบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงสวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจ ควบคุมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม ลดลงจากการจายเงินปนผลของบริษัทยอย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

1,545,458,883 -

20,022,497,644 -

305,000,325 -

155,339,141 14,661,336 -

9,003,545,079 1,372,254,087 (1,699,996,203) (14,661,336) 7,936,947,120 (144,028,461) (1,367,356,128) 7,792,918,659 (1,367,356,128)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,545,458,883

20,022,497,644

305,000,325

170,000,477

15,081,806,199

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

4,897,959


(หนวย : บาท)

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน สวนเกินมูลคา เงินลงทุน ที่สูงกวามูลคา ตามบัญชี ของบริษัทยอย

รวมสวนของ ผูถือหุน ของบริษัท

ผูมีสวนไดเสีย ที่ไมมี อำนาจควบคุม ของบริษัทยอย

รวม สวนของ ผูถือหุน

15,634,492,800

648,411,734

16,282,904,534

(517,149,736)

(19,303,550)

(536,453,286)

สวนเกินทุน จากการตีราคา ที่ดิน

ผลตางจากการ แปลงคา งบการเงินที่เปน เงินตรา ตางประเทศ

หุนกู แปลงสภาพ องคประกอบ ที่เปนทุน

สวนแบง องคประกอบอื่น ของสวนของ ผูถือหุน ของบริษัทรวม

1,949,627,079

(168,801,173)

20,187

20,834,275

-

1,801,501,360

-

-

-

-

-

-

58,745,231 58,745,231

(20,187) -

65,309,329 65,309,329

-

(20,187) 1,502,343,562 1,502,343,562

13,175,137,836 155,826,866 2,175,070 4,385,987,305 1,499,195,666 5,885,182,971

13,175,137,836 155,826,866 2,175,070 240,551,329 4,626,538,634 (4,674,212) 1,494,521,454 235,877,117 6,121,060,088

-

-

-

-

(2,340,473,927)

(2,340,473,927)

(2,340,473,927)

623,638,531

1,955,482,986

(110,055,942)

-

86,143,604

(2,340,473,927)

963,350,808

31,995,191,880

(66,586,442) (66,586,442) 1,422,037,390 33,417,229,270

1,955,482,986 632,633,745 632,633,745

(110,055,942) (34,410,371) (34,410,371)

-

86,143,604 130,356,011 130,356,011

(2,340,473,927) -

963,350,808 (638,776,743) (638,776,743)

31,995,191,880 (1,699,996,203) 7,936,947,120 (782,805,204) 7,154,141,916

1,422,037,390 17,134,324,736 (1,699,996,203) 315,286,657 8,252,233,777 (2,062,402) (784,867,606) 313,224,255 7,467,366,171

-

-

-

(5,847,717)

-

(5,847,717)

(5,847,717)

-

-

-

-

(147,978,244)

(147,978,244)

(147,978,244)

2,588,116,731

(144,466,313)

-

210,651,898

(2,488,452,171)

170,748,104

37,295,511,632

5,855,907 5,855,907

รวมองคประกอบ อื่นของสวน ของผูถือหุน

(118,566,321)

(1,716,835,396)

(5,847,717) (266,544,565)

(85,132,092) (85,132,092) 1,531,563,232 22,544,170,330

97 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

สวนของผูถือหุนของบริษัท

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ว น ข อ ง ผู ถื อ หุ น

งบการเงินรวม


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ว น ข อ ง ผู ถื อ หุ น ( ต อ )

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

98

กำไรสะสม ทุนเรือนหุนที่ออก และชำระแลว

สวนเกินมูลคา หุนสามัญ

จัดสรรแลว สำรอง ตามกฎหมาย

ยังไมไดจัดสรร

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงาน ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอยโดยการออกหุนทุน (หมายเหตุ 25) ออกหุนสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 25) แปลงสภาพหุนกูแปลงสภาพ สำรองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 27) กำไรสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

1,246,035,935

6,925,836,705

131,226,422

186,554,761

-

-

-

(158,120,879)

-

-

-

215,170,145

295,236,682 4,127,864 58,402 1,545,458,883

12,879,901,154 151,699,002 2,136,855 19,959,573,716

24,112,719 155,339,141

(24,112,719) 2,297,012,075 2,297,012,075 2,516,503,383

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 26) สำรองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 27) กำไรสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับป กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

1,545,458,883 1,545,458,883

19,959,573,716 19,959,573,716

155,339,141 14,661,336 170,000,477

2,516,503,383 (1,699,996,203) (14,661,336) 2,678,351,723 (46,747,333) 2,631,604,390 3,433,450,234

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน สวนเกิน(ต่ำกวา)ทุน จากการวัด มูลคาเงินลงทุนใน หลักทรัพยเผื่อขาย (179,008)

รวม สวนของ ผูถือหุน

สวนเกินทุน จากการตีราคา ที่ดิน

หุนกู แปลงสภาพ องคประกอบ ที่เปนทุน

รวมองคประกอบ อื่นของสวน ของผูถือหุน

728,481,200

20,187

728,322,379

9,217,976,202

-

-

-

-

(158,120,879)

-

(215,170,145)

-

(215,170,145)

-

1,372,272,360 1,372,272,360 1,372,093,352

513,311,055

(20,187) -

(20,187) 1,372,272,360 1,372,272,360 1,885,404,407

13,175,137,836 155,826,866 2,175,070 2,297,012,075 1,372,272,360 3,669,284,435 26,062,279,530

1,372,093,352 (1,367,641,673) (1,367,641,673) 4,451,679

513,311,055 474,157,070 474,157,070 987,468,125

-

1,885,404,407 (893,484,603) (893,484,603) 991,919,804

26,062,279,530 (1,699,996,203) 2,678,351,723 (940,231,936) 1,738,119,787 26,100,403,114

99 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ง บ แ ส ด ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ว น ข อ ง ผู ถื อ หุ น ( ต อ )

(หนวย : บาท)


บ ร� ษั ท ก รุ ง เ ท พ ดุ สิ ต เ ว ช ก า ร จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) แ ล ะ บ ร� ษั ท ย อ ย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

หมายเหตุประกอบงบการเง�นรวม 1. ขอมูลทั�วไป

บริษทั กรุงเทพดุสติ เวชการ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ”) เปนบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ ภายใตกฎหมายไทย และมีภมู ลิ ำเนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษทั คือ กิจการโรงพยาบาล โดยมีทอ่ี ยูจ ดทะเบียนเลขที่ 2 ซอยศูนยวจิ ยั 7 ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

2. เกณฑในการจัดทำงบการเง�น

2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิน ตามขอกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงิน ฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัท”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้ ชื่อบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

100

ลักษณะธุรกิจ

อัตรารอยละของการถือหุน โดยบริษัท (รอยละ)

ทุนจดทะเบียน 2555

2554

2555

2554

ถือหุนโดยบริษัท บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

1,000 ลานบาท

1,000 ลานบาท

95.76

95.76

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด

โรงพยาบาล

500 ลานบาท

500 ลานบาท

98.79

98.78

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด

โรงพยาบาล

500 ลานบาท

500 ลานบาท

99.68

99.68

บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด

โรงพยาบาล

586 ลานบาท

586 ลานบาท

91.48

91.48

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด

โรงพยาบาล

105 ลานบาท

105 ลานบาท

79.00

79.00

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ พัทยา จำกัด

โรงพยาบาล

280 ลานบาท

280 ลานบาท

97.27

97.22

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง จำกัด

โรงพยาบาล

400 ลานบาท

400 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด

โรงพยาบาล

150 ลานบาท

150 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพตราด จำกัด

โรงพยาบาล

250 ลานบาท

250 ลานบาท

99.76

99.76

บริษัท วัฒนเวช จำกัด

โรงพยาบาล

180 ลานบาท

180 ลานบาท

99.69

99.69

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ ราชสีมา จำกัด

โรงพยาบาล

300 ลานบาท

300 ลานบาท

90.36

89.73

บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด

เซ็นทรัลแลป

75 ลานบาท

75 ลานบาท

74.02

74.02

บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส

เซ็นทรัลแลป

10 ลานบาท

10 ลานบาท

95.00

95.00

Angkor Pisith Co., Ltd.

โรงพยาบาล

10 ลานเหรียญสหรัฐฯ

10 ลานเหรียญสหรัฐฯ

80.00

80.00

Phnom Penh Medical Services Co., Ltd.

โรงพยาบาล

10 ลานเหรียญสหรัฐฯ

10 ลานเหรียญสหรัฐฯ

100.00

100.00

(ประเทศไทย) จำกัด


ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

อัตรารอยละของการถือหุน โดยบริษัท (รอยละ)

ทุนจดทะเบียน 2555

2554

2555

2554

70.00

70.00

โรงพยาบาล

B.D.M.S. International Medical Services Co., Ltd.

โรงพยาบาล

9,200 ลานเรียล

9,200 ลานเรียล

100.00

100.00

บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด

การลงทุน

35 ลานบาท

35 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท เพชรบุรีตัดใหมการแพทย จำกัด

ไมไดดำเนินธุรกิจ

1 ลานบาท

1 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน)

ประกันสุขภาพ

105 ลานบาท

105 ลานบาท

99.94

99.94

บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด

บริหารจัดการ

736 ลานบาท

736 ลานบาท

100.00

100.00

บริการดานเทคโนโลยี และสารสนเทศ

200 ลานบาท

200 ลานบาท

100.00

100.00

โรงพยาบาล

70 ลานบาท

70 ลานบาท

100.00

100.00

บริการจัดฝกอบรม

1 ลานบาท

1 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ จำกัด บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน)

การลงทุน

1,108 ลานบาท

2,341 ลานบาท

98.32

97.14

บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด

โรงพยาบาล

300 ลานบาท

300 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด

โรงพยาบาล

42 ลานบาท

42 ลานบาท

93.30

88.73

บริษัท การแพทยสยาม จำกัด

โรงพยาบาล

100 ลานบาท

100 ลานบาท

85.69

80.72

บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

201 ลานบาท

201 ลานบาท

99.76

99.76

นายหนาประกันชีวิต

20 ลานบาท

4 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม จำกัด

โรงพยาบาล

250 ลานบาท

-

100.00

-

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด

โรงพยาบาล

500 ลานบาท

-

100.00

-

บริษัท เนชั่นแนลเฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด

เซ็นทรัลแลป

75 ลานบาท

75 ลานบาท

25.97

25.97

บริษัท สมิติเวช ศรีราชา จำกัด

โรงพยาบาล

188 ลานบาท

188 ลานบาท

68.06

68.06

บริษัท เออรวิ่ง เชอริเดน เอส อี จำกัด

ใหบริการจัดการและ บริหารทรัพยสินที่ เกี่ยวของในธุรกิจ รักษาพยาบาล

0.1 ลานบาท

0.1 ลานบาท

96.03

96.03

บริษัท เฟสท เฮ็ลธ ฟูด จำกัด

ภัตตาคารและ ประกอบการอาหาร สุขภาพและบริการ จัดการอาคาร และสถานที่

14 ลานบาท

14 ลานบาท

100.00

100.00

บริษัท โซเด็กซโซ เฮ็ลธแคร ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด

ภัตตาคารและ ประกอบอาหาร สุขภาพ

15 ลานบาท

15 ลานบาท

74.00

74.00

บริษัท ภูเก็ตเฮลท แอนด ทราเวิล จำกัด (จดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีในป 2555)

การทองเที่ยว เพื่อสุขภาพ

5 ลานบาท

-

100.00

100.00

100.00

บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด

ถือหุนโดยบริษัทยอย

บริษัท เอ.เอ็น.บี. ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด

ผูผลิตและจำหนาย ผลิตภัณฑเกี่ยวกับ ยารักษาโรคและวัสดุ ทางการแพทย

499 ลานบาท

499 ลานบาท

101 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

26,000 ลานเรียล 26,000 ลานเรียล

Royal Rattanak Medical Services Co., Ltd.

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ถือหุนโดยบริษัท (ตอ)


ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัทยอยทุกบริษัทจัดตั้งในประเทศไทยทั้งหมดยกเวน B.D.M.S. International Medical Services Co., Ltd., Angkor Pisith Co., Ltd., Phnom Penh Medical Services Co., Ltd. และ Royal Rattanak Medical Services Co., Ltd. ซึ่งจดทะเบียนใน ประเทศกัมพูชา ข) บริษัทนำงบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแตวันที่บริษัท มีอำนาจในการควบคุมบริษัทยอยจนถึง วันที่บริษัทสิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทำขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีที่สำคัญเชนเดียวกันกับของบริษัท ง) สินทรัพยและหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทยอยซึ่งจัดตั้งในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้น รอบระยะเวลารายงาน สวนรายไดและคาใชจายแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลตางซึ่งเกิดขึ้น จากการแปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ” ในงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน จ) ยอดคงคางระหวางบริษัทและบริษัทยอยรายการคาระหวางกันที่มีสาระสำคัญไดถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แลว ฉ) สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวนที่ไมไดเปนของ บริษัท และแสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกำไรหรือขาดทุนรวมและสวนของผูถือหุนในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษัทไดจัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมตามวิธีราคาทุน

3. มาตรฐานการบัญช�ใหมที่ยังไมมีผลบังคับใช

สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมซง่ึ มีผลบังคับใชสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดขางลางนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

102 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 21 ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สวนงานดำเนินงาน ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดำเนินงาน ภาษีเงินได - การไดรับประโยชนจากสินทรัพยที่ไมไดคิดคาเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผูถือหุน

ฝายบริหารของบริษทั เชือ่ วามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) และการตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 ฉบับที่ 21 และฉบับที่ 25 ไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท สวนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) และมาตรฐานการรายงานทางการ เงินฉบับที่ 8 จะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินเมื่อนำมาถือปฏิบัติ และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 จะมีผลกระทบ ตองบการเงินดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดใหกิจการระบุผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากความแตกตางของมูลคาสินทรัพยและหนี้สินระหวาง เกณฑทางบัญชีและภาษีอากร เพื่อรับรูผลกระทบทางภาษีเปนสินทรัพยหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑที่กำหนด การนำมาตรฐานการบัญชีดังกลาวมาถือปฏิบัติในป 2556 จะมีผลดังตอไปนี้


งบการเงินเฉพาะกิจการ

215 (519)

2 (198)

19

(8)

194

180

นอกจากนี้ สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 30/2555 - 34/2555 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 17 มกราคม 2556 ใหใชแนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐานการบัญชี ดังตอไปนี้ วันที่มีผลบังคับใช แนวทางปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพยทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ฉบับที่ 12 ขอตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา

1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

ฝายบริหารของบริษัท ไดประเมินแลวเห็นวาแนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพยทางการเงิน การตีความ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 ไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท สวนการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 อยูระหวางการประเมินผล กระทบตองบการเงินในปที่เริ่มใช ซึ่งยังไมสามารถสรุปผลไดในขณะนี้

4. นโยบายการบัญช�ที่สำคัญ

4.1 การรับรูรายได รายไดคารักษาพยาบาล รายไดจากการประกอบกิจการโรงพยาบาลโดยสวนใหญประกอบดวยรายไดคารักษาพยาบาล คาหองพัก คายา โดยจะบันทึกเปน รายไดเมื่อไดใหบริการหรือจำหนายแลว รายไดจากการจำหนายสินคาและอาหาร รายไดจากการขายสินคาและอาหารรับรูเ มือ่ ความเสีย่ งและผลตอบแทนทีม่ นี ยั สำคัญของความเปนเจาของสินคาไดโอนใหกบั ผูซ อ้ื แลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกำกับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สำหรับสินคาและอาหารที่ไดสงมอบหลังจากหัก สวนลดแลว รายไดคาบริการ รายไดคาบริการรับรูเมื่อไดใหบริการแลว

103 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กำไรสะสมเพิ่มขึ้น องคประกอบอื่นของสวนผูถือหุนลดลง งบกำไรขาดทุน กำไรสำหรับป 2555 เพิ่มขึ้น (ลดลง) งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับป 2555 เพิ่มขึ้น

งบการเงินรวม

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

(หนวย : ลานบาท)


รายไดคาบัตรสมาชิก รายไดคาบัตรสมาชิก คือ เงินรับจากการขายบัตรสมาชิกซึ่งบันทึกเริ่มแรกเปนรายไดรอตัดบัญชี และทยอยตัดบัญชีเปนรายไดตาม อายุสมาชิก สวนเงินรับลวงหนาคารักษาพยาบาลจากสมาชิกบัตรโครงการชีวีมีสุข (Life Privilege membership program) กำหนด ตัดบัญชีเปนรายไดภายในระยะเวลา 10 ป

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

104

เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อบริษัทมีสิทธิในการรับเงินปนผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึงกำหนด จายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจำกัดในการเบิกใช 4.3 ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจำนวนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดย ประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุหนี้ 4.4 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตอยางใดจะต่ำกวา ซึ่งมูลคาสุทธิที่ จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดำเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จำเปนในการขาย 4.5 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคาแสดงตามมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของหลักทรัพยบันทึกในสวนของกำไร หรือขาดทุน ข) เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายแสดงตามมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของหลักทรัพยดังกลาวบันทึกเปน รายการตางหากในสวนของผูถือหุน และจะบันทึกในสวนของกำไรหรือขาดทุนเมื่อไดจำหนายหลักทรัพยนั้นออกไป ค) เงินลงทุนในตราสารหนีท้ จ่ี ะครบกำหนดชำระในหนึง่ ป รวมทัง้ ทีจ่ ะถือจนครบกำหนดแสดงมูลคาตามวิธรี าคาทุนตัดจำหนาย บริษทั ตัดบัญชีสว นเกิน/รับรูส ว นต่ำกวามูลคาตราสารหนีต้ ามอัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ทจริง ซึง่ จำนวนทีต่ ดั จำหนาย/รับรูน จ้ี ะแสดงเปนรายการ ปรับกับดอกเบี้ยรับ ง) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอยูในความตองการของตลาดถือเปนเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อการดอยคา (ถามี) จ) เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินรวมแสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย ฉ) เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตองการของตลาดคำนวณจากราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้นวันทำการสุดทายของป 4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย (ถามี)


- บริษัทและบริษัทยอยรับรูราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ลดลงจากการตีราคาใหมในสวนของกำไรหรือขาดทุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงคางของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” อยูในสวนของผูถือหุน สวนที่ ลดลงจากการตีราคาใหมจะถูกรับรูใ นกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ในจำนวนทีไ่ มเกินยอดคงเหลือของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ ” คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคำนวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนโดยประมาณดังนี้ สวนปรับปรุงที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสรางและสวนปรับปรุง เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยและเครื่องจักร อุปกรณโครงสราง เครื่องตกแตงและอุปกรณสำนักงาน ยานพาหนะ

5 - 20 ป 5 - 40 ป 3 - 10 ป 3 - 15 ป 5 - 8 ป

คาเสื่อมราคาของสวนที่คำนวณจากราคาทุนรวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดิน และสินทรัพยระหวางกอสรางและติดตั้ง บริษัทและบริษัทยอยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณออกจากบัญชี เมื่อจำหนายสินทรัพยหรือคาดวาจะไมไดรับประโยชน เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใชหรือการจำหนายสินทรัพย รายการผลกำไรหรือขาดทุนจากการจำหนายสินทรัพยจะรับรูในสวนของ กำไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทและบริษัทยอยตัดรายการสินทรัพยนั้นออกจากบัญชี 4.7 สินทรัพยไมมีตัวตน บริษัทและบริษัทยอยบันทึกตนทุนเริ่มแรกของสินทรัพยไมมีตัวตนที่ไดมาจากการรวมธุรกิจตามมูลคายุติธรรมของสินทรัพยนั้น ณ วันที่ซื้อธุรกิจ สวนสินทรัพยไมมีตัวตนที่ไดมาจากการอื่น บริษัทและบริษัทยอยจะบันทึกตนทุนเริ่มแรกของสินทรัพยนั้นตามราคาทุน ภายหลังการรับรูร ายการเริม่ แรก สินทรัพยไมมตี วั ตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจำหนายสะสมและคาเผือ่ การดอยคาสะสม (ถามี) ของสินทรัพยนั้น บริษัทและบริษัทยอยตัดจำหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจำกัดอยางมีระบบตลอดอายุการใหประโยชนเชิง เศรษฐกิจของสินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเมื่อมีขอบงชี้วาสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา บริษัทและ บริษัทยอยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำหนายและวิธีการตัดจำหนายของสินทรัพยไมมีตัวตนดังกลาวทุกสิ้นปเปนอยางนอย คาตัด จำหนายรับรูเปนคาใชจายในสวนของกำไรหรือขาดทุน

105 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

บริษัทและบริษัทยอยบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการตีราคาสินทรัพยดังตอไปนี้ - บริษัทและบริษัทยอยบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและรับรูจำนวน สะสมในบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” ในสวนของผูถือหุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการตีราคาลดลงและบริษัท และบริษัทยอยไดรับรูราคาที่ลดลงในสวนของกำไรหรือขาดทุนแลว สวนที่เพิ่มจากการตีราคาใหมนี้จะถูกรับรูเปนรายไดไมเกินจำนวนที่ เคยลดลงซึ่งรับรูเปนคาใชจายปกอนแลว

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัทและบริษัทยอยบันทึกมูลคาเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ไดสินทรัพยมา หลังจากนั้นบริษัท และบริษัทยอยจัดใหมี การประเมินราคาที่ดินโดยผูประเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพยดังกลาวในราคาที่ตีใหม ทั้งนี้บริษัท และบริษัทยอยจัดใหมีการ ประเมินราคาสินทรัพยดังกลาวเปนครั้งคราวเพื่อมิใหราคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยาง มีสาระสำคัญ


สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจำกัดมีดังนี้ คอมพิวเตอรซอฟทแวร 5 - 10 ป

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

4.8 คาความนิยม/การรวมธุรกิจ บริษทั บันทึกบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบตั ติ ามวิธซี อ้ื บริษทั (ผูซ อ้ื ) วัดมูลคาตนทุนการซือ้ ธุรกิจดวยผลรวมของสิง่ ตอบแทน ที่โอนใหซึ่งวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ และจำนวนของสวนของผูที่ไมมีอำนาจควบคุมในผูถูกซื้อ ในการรวมธุรกิจแตละครั้ง ผูซ อ้ื จะวัดมูลคาสวนของผูท ไ่ี มมอี ำนาจควบคุม (ถามี) ในผูถ กู ซือ้ ดวยมูลคายุตธิ รรมหรือมูลคาของสินทรัพยสทุ ธิทร่ี ะบุไดของผูถ กู ซือ้ ตาม สัดสวนของหุนที่ถือโดยผูที่ไมมีอำนาจควบคุมนั้น

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

106

บริษัทบันทึกตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อธุรกิจเปนคาใชจายในงวดที่ตนทุนดังกลาวเกิดขึ้นและเมื่อไดรับบริการ บริษัทบันทึกมูลคาเริ่มแรกของคาความนิยมในราคาทุน ซึ่งเทากับตนทุนการรวมธุรกิจสวนที่สูงกวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิ ที่ไดมา หากมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมาสูงกวาตนทุนการรวมธุรกิจ บริษัทจะรับรูสวนที่สูงกวานี้เปนกำไรในสวนของกำไร หรือขาดทุนทันที บริษทั แสดงคาความนิยมตามราคาทุนหักคาเผือ่ การดอยคาสะสม และจะทดสอบการดอยคาของคาความนิยมทุกปหรือเมือ่ ใดก็ตาม ที่มีขอบงชี้ของการดอยคาเกิดขึ้น เพื่อวัตถุประสงคในการทดสอบการดอยคา บริษัทจะปนสวนคาความนิยมที่เกิดขึ้นจากการรวมกิจการใหกับหนวยสินทรัพยที่กอ ใหเกิดเงินสด (หรือกลุมของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด) ที่คาดวาจะไดรับประโยชนเพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และบริษัทจะทำ การประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของหนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดแตละรายการ (หรือกลุมของหนวยของสินทรัพยที่กอให เกิดเงินสด) หากมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของหนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดต่ำกวามูลคาตามบัญชี บริษัทจะรับรูขาดทุนจาก การดอยคาในสวนของกำไรหรือขาดทุน และบริษัทไมสามารถกลับบัญชีขาดทุนจากการดอยคาไดในอนาคต 4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัท หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัท หรือถูกบริษัทควบคุมไมวาจะเปน โดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัท นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางออมซึ่งทำใหมี อิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญตอบริษัท ผูบริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการ ดำเนินงานของบริษัท 4.10 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณทค่ี วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกบั ผูเ ชาถือเปนสัญญาเชา การเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยทเ่ี ชาหรือมูลคาปจจุบนั สุทธิของจำนวนเงินทีต่ อ ง จายตามสัญญาเชาแลวแตมลู คาใดจะต่ำกวา ภาระผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจา ยทางการเงินจะบันทึกเปนหนีส้ นิ ระยะยาว สวนดอกเบีย้ จายจะบันทึกในสวนของกำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุ การใหประโยชนของสินทรัพยที่เชา 4.11 สัญญาเชาดำเนินงาน สัญญาเชาสินทรัพยซึ่งความเสี่ยง และกรรมสิทธิ์ของสินทรัพยที่เชาเปนของผูใหเชาไดจัดประเภทเปนสัญญาเชาดำเนินงาน คาเชาที่ จายภายใตสัญญาเชาดำเนินงานไดบันทึกเปนคาใชจายในสวนของกำไรขาดทุนตามวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชา


หากในการประเมินการดอยคาของสินทรัพย มีขอบงชี้ที่แสดงใหเห็นวาผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่รับรูในงวดกอนได หมดไปหรือลดลง บริษัทและบริษัทยอยจะประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยนั้น และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการ ดอยคาที่รับรูในงวดกอนก็ตอเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชกำหนดมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนภายหลังจากการรับรูผลขาดทุน จากการดอยคาครั้งลาสุด โดยมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาตองไมสูงกวามูลคา ตามบัญชีที่ควรจะเปนหากกิจการไมเคยรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยในงวดกอนๆ บริษัทและบริษัทยอยจะบันทึกกลับ รายการผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยโดยรับรูไปยังสวนของกำไรหรือขาดทุนทันที เวนแตสินทรัพยนั้นแสดงดวยราคาที่ตีใหม การกลับรายการสวนที่เกินกวามูลคาตามบัญชีที่ควรจะเปนถือเปนการตีราคาสินทรัพยเพิ่ม 4.13 สิทธิการเชา บริษัทและบริษัทยอยตัดจำหนายสิทธิการเชาโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชา 4.14 เงินตราตางประเทศ รายการทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ สินทรัพยและหนีส้ นิ ทีเ่ ปนตัวเงิน ซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน 4.15 ผลประโยชนพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน บริษัทและบริษัทยอยรับรู เงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทและบริษัทยอย และพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและเงินที่บริษัท และบริษัทยอยจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพไดแยกออกจากสินทรัพยของบริษัทและบริษัทยอย เงิน ที่บริษัทและบริษัทยอยจายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่เกิดรายการ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัทและบริษัทยอยจะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกำไรหรือขาดทุน ยกเวนในกรณีที่ ที่ดิน ซึ่งใชวิธีการตีราคา ใหมและไดบันทึกสวนเกินทุนจากการตีราคาใหมไวในสวนของผูถือหุน ขาดทุนจากการดอยคาจะรับรูในสวนของผูถือหุนไมเกินไปกวา สวนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว

107 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

4.12 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทและบริษัทยอยจะทำการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณหรือสินทรัพยที่ ไมมีตัวตนอื่นของบริษัทและบริษัทยอย หากมีขอบงชี้วาสินทรัพยดังกลาวอาจดอยคา บริษัทและบริษัทยอยรับรูขาดทุนจากการดอยคา เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยมีมูลคาต่ำกวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ทั้งนี้มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคา ยุตธิ รรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสนิ ทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชสนิ ทรัพย บริษัทและบริษัทยอยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดวาจะไดรับจากสินทรัพยและคำนวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบัน โดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีที่สะทอนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเปน ลักษณะเฉพาะของสินทรัพยที่กำลังพิจารณาอยู ในการประเมินมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย บริษัทและบริษัทยอยใชแบบจำลอง การประเมินมูลคาที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย ซึ่งสะทอนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะไดมาจากการจำหนายสินทรัพยหักดวย ตนทุนในการจำหนาย โดยการจำหนายนั้นผูซื้อกับผูขายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยาง เปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน


โครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน บริษทั และบริษทั ยอยมีภาระสำหรับเงินชดเชยทีต่ อ งจายใหแกพนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง่ บริษทั และบริษทั ยอย ถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานสำหรับพนักงาน บริษัทและบริษัทยอยคำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โดยใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณ การไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเชี่ยวชาญอิสระไดทำการประเมินภาระผูกพันดังกลาวตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ผลกำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยสำหรับโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน จะรับรูทันทีในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

108

ในการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรือ่ ง ผลประโยชนของพนักงาน เปนครัง้ แรก บริษทั และบริษทั ยอยเลือกรับรูห นีส้ นิ ในชวงการเปลี่ยนแปลงที่มากกวาหนี้สินที่รับรู ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยบันทึกปรับกับกำไรสะสม ณ วันตนงวดของ ป 2554 ประมาณการหนี้สินสำหรับวันหยุดพนักงาน บริษัทและบริษัทยอยตั้งประมาณการหนี้สินสำหรับวันหยุดพนักงาน ซึ่งคำนวณตามนโยบายและสูตรการคำนวณของบริษัท และ บริษัทยอยโดยขึ้นอยูกับเงินเดือนของพนักงาน อายุการทำงานและจำนวนวันหยุดที่ไมไดใช ซึ่งจะบันทึกปรับปรุงปตอป 4.16 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษัทและบริษัทยอยวัดมูลคาเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยราคาทุนซึ่งรวมตนทุนการทำรายการ หลังจากนั้น บริษัทและบริษัทยอยจะวัดมูลคาอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยมูลคายุติธรรม บริษัทและบริษัทยอยรับรูผลกำไรหรือขาดทุนที่เกิด ขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในสวนของกำไรหรือขาดทุนในปที่เกิดขึ้น บริษัทและบริษัทยอยรับรูผลตางระหวางจำนวนเงินที่ไดรับสุทธิจากการจำหนายกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยในสวนของกำไร หรือขาดทุนในปที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 4.17 เครื่องมือทางการเงิน สินทรัพยทางการเงินทีแ่ สดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารคา และลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ำประกัน และเงิน ลงทุน หนี้สินทางการเงินที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินประกอบดวย เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาว เจาหนี้สัญญาเชาระยะยาว หุนกูแปลงสภาพ และหุนกู บริษัทและบริษัทยอยไมมีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารอนุพันธทางการเงินนอกงบแสดงฐานะการเงินเพื่อการเก็งกำไร หรือเพื่อการคา 4.18 ภาษีเงินได บริษัทและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดตามจำนวนที่คาดวาจะจายใหกับหนวยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคำนวณจากกำไรทาง ภาษีตามหลักเกณฑที่กำหนดในกฎหมายภาษีอากร 4.19 ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการไดมา การกอสราง หรือการผลิตสินทรัพยที่ตองใชระยะเวลานานในการแปลงสภาพใหพรอมใช หรือขาย ไดถูกนำไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนั้นจะอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามที่มุงประสงค สวนตนทุนการ กูยืมอื่นถือเปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูยืมประกอบดวยดอกเบี้ยและตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น


4.20 ประมาณการหนี้สิน บริษัทและบริษัทยอยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิดขึ้นแลว และ มีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทและบริษัทยอยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัท และบริษัทยอยสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ

ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารจำเปนตองใชดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่มี ความไมแนนอนเสมอ การใชดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกลาวนีส้ ง ผลกระทบตอจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและตอขอมูลทีแ่ สดง ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากจำนวนที่ประมาณการไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการที่ สำคัญมีดังนี้ สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดำเนินงานหรือสัญญาเชาทางการเงิน ฝายบริหารไดใชดลุ ยพินจิ ในการประเมิน เงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาวาบริษัทและบริษัทยอยไดโอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชนในสินทรัพยที่เชา ดังกลาวแลวหรือไม คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจำเปนตองใชดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ จากลูกหนีแ้ ตละราย โดยคำนึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ ค่ี งคางและสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ปนอยูใ นขณะนัน้ เปนตน ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ในการคำนวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจำเปนตองทำการประมาณอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือ เมื่อเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือใหมหากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทยอยแสดงมูลคาของที่ดินดวยราคาที่ตีใหม ซึ่งราคาที่ตีใหมนี้ไดประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระ โดยใชวิธีเปรียบ เทียบราคาตลาด ซึ่งการประเมินมูลคาดังกลาวตองอาศัยขอสมมติฐานและการประมาณการบางประการ นอกจากนี้ ฝายบริหารจำเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการ ดอยคาหากคาดวามูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนต่ำกวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนน้ั ในการนีฝ้ า ยบริหารจำเปนตองใชดลุ ยพินจิ ทีเ่ กีย่ วของ กับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในหลักทรัพย บริษัทและบริษัทยอยจะตั้งคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายและเงินลงทุนทั่วไปเมื่อมูลคายุติธรรมของเงิน ลงทุนดังกลาวไดลดลงอยางมีสาระสำคัญและเปนระยะเวลานานหรือเมื่อมีขอบงชี้ของการดอยคา การที่จะสรุปวาเงินลงทุนดังกลาวได ลดลงอยางมีสาระสำคัญหรือเปนระยะเวลานานหรือไมนั้นจำเปนตองใชดุลยพินิจของฝายบริหาร อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษัทและบริษัทยอยแสดงอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยมูลคายุติธรรมซึ่งประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระและรับรูการเปลี่ยน แปลงมูลคายุติธรรมในสวนของกำไรหรือขาดทุน การประเมินมูลคาดังกลาวตองอาศัยขอสมมติฐานและการประมาณการบางประการ

109 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

5. การใชดุลยพ�นิจและประมาณการทางบัญช�ที่สำคัญ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

4.21 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย บริษัทรับรูจำนวนสุทธิของดอกเบี้ยที่ไดรับจาก/จายใหแกคูสัญญาตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเปนรายได/คาใชจายตาม เกณฑคงคาง


คาความนิยม และสินทรัพยไมมีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของคาความนิยมและสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ไดมา ตลอดจนการทดสอบการดอยคาในภายหลัง ฝาย บริหารจำเปนตองประมาณการกระแสเงินสดทีค่ าดวาจะไดรบั ในอนาคตของสินทรัพย หรือ หนวยของสินทรัพยทก่ี อ ใหเกิดเงินสด รวมทัง้ การเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำนวณหามูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน หนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึน้ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึง่ ตองอาศัยขอสมมติฐาน ตางๆ ในการประมาณการนั้น เชน อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจำนวน พนักงาน เปนตน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

110

คดีฟองรอง บริษัทและบริษัทยอยมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย ซึ่งฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประเมินผล ของคดีที่ถูกฟองรองแลว ในคดีที่ฝายบริหารพิจารณาวาจะมีผลเสียหายเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทยอยจะทำการตั้งประมาณการหนี้สิน ไวในบัญชีและในคดีที่ฝายบริหารพิจารณาแลวและเชื่อมั่นวาจะไมมีความเสียหายเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทยอยจะไมบันทึกประมาณ การหนี้สินดังกลาว ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

6. เง�นสดและรายการเทียบเทาเง�นสด

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวยรายการ ดังตอไปนี้

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินฝากประจำ ตั๋วเงิน และเงินลงทุนในกองทุนรวม หัก: เงินฝากประจำ ตั๋วเงิน ซึ่งถึงกำหนดจายคืนเกินกวา 3 เดือน (เงินลงทุนชั่วคราว) เงินฝากที่นำไปค้ำประกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

3,138,217 742,149 3,880,366

3,346,104 1,018,681 4,364,785

1,567,094 10 1,567,104

1,520,307 10 1,520,317

(267,768) (23,022) 3,589,576

(464,366) (24,686) 3,875,733

(10) 1,567,094

(10) 1,520,307

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินฝากออมทรัพย เงินฝากประจำ และตัว๋ แลกเงินมีอตั ราดอกเบีย้ ระหวางรอยละ 0.13 ถึง 3.40 ตอป (2554: รอยละ 0.50 ถึง 3.90 ตอป)

7. เง�นฝากสถาบันการเง�นที่มีภาระค้ำประกัน

จำนวนนี้เปนเงินฝากธนาคารซึ่งบริษัทยอยนำไปวางไวกับธนาคารเพื่อเปนประกันหนังสือ ค้ำประกันที่ธนาคารออกใหในนามของ บริษทั ยอย เงินฝากธนาคารซึง่ บริษทั ยอยใหนำไปวางไวกบั หนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เพือ่ ค้ำประกันการปฏิบตั ติ ามสัญญา และเปนเงินฝากไวในบัญชีดูแลผลประโยชนของคูสัญญา (Escrow Account)


8. ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (หนวย : พันบาท)

2,277 4,029,369 20,489 234,929 4,287,064

2,913 3,192,485 13,791 167,923 3,377,112

21,674 800,365 60,488 79,578 962,105

7,724 746,315 33,694 41,557 829,290

9. ลูกหนี้การคา

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 แยกตามอายุหนี้ที่คางชำระไดดังนี้ งบการเงินรวม 2555 2554

กิจการที่เกี่ยวของกัน ไมเกิน 3 เดือน 3 ถึง 6 เดือน 6 ถึง 12 เดือน รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ไมเกิน 3 เดือน 3 ถึง 6 เดือน 6 ถึง 12 เดือน มากกวา 12 เดือนขึ้นไป รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน -สุทธิ รวมลูกหนี้การคา - สุทธิ

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

1,997 278 2 2,277

2,400 144 369 2,913

21,086 570 18 21,674

7,538 180 6 7,724

3,374,010 500,470 238,351 224,223 4,337,054 (307,685) 4,029,369 4,031,646

2,613,130 400,660 245,702 233,893 3,493,385 (300,900) 3,192,485 3,195,398

601,912 129,413 110,271 85,767 927,363 (126,998) 800,365 822,039

526,491 121,141 131,735 101,585 880,952 (134,637) 746,315 754,039

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน-สุทธิ ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้การคา และลูกหนี้อื่น-สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

111 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบการเงินรวม 2555 2554


10. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน

บริษัทและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทาง การคาและเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน โดยสามารถสรุปไดดังนี้

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

รายการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

112

รายไดคารักษาพยาบาลและวิเคราะหแลป รายไดและคาใชจายที่ปรึกษาและบริหารงาน คาเชารับและคาเชาจาย ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมและเงินกูยืม ซื้อและจำหนายทรัพยสิน ซื้อเงินลงทุน

นโยบายการกำหนดราคาและการกูยืม ราคาที่คิดกับลูกคาทั่วไป อัตราตามที่ระบุในสัญญา อัตราตามที่ระบุในสัญญา อัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย ราคาตามสภาพของสินทรัพย ราคาเดียวกับราคาที่ซื้อจากบุคคลภายนอก

รายการธุรกิจที่สำคัญสามารถสรุปไดดังนี้

(หนวย : ลานบาท)

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม 2555 2554 บริษัทรวม รายไดคารักษาพยาบาลและวิเคราะหแลป เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 12) รายไดอื่น ตนทุนบริการ คาใชจายอื่น เงินปนผลจาย บริษัทยอย รายไดคารักษาพยาบาลและวิเคราะหแลป รายไดคาที่ปรึกษาและบริหารงาน ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 13) รายไดอื่น ตนทุนบริการ คาใชจายที่ปรึกษาและบริหารงาน คาใชจายอื่น ดอกเบี้ยจาย จำหนายอุปกรณการแพทยและยานพาหนะ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

10.0 32.3 157.9 0.8 0.6

3.2 26.2 99.2 1.8 -

5.0 268.2 0.1 83.3 0.6

1.1 61.8 0.2 36.7 -

-

-

92.1 293.7 190.3 1,874.1 36.1 485.8 207.4 151.2 70.0 -

40.2 236.8 55.2 1,818.2 37.3 367.9 206.2 153.1 36.6 1.2


(หนวย : ลานบาท)

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

3.6 8.0 11.7 2.5 8.9 134.2

4.7 11.0 10.5 14.9 5.8 -

1.3 8.0 0.1 0.9 1.0 134.2

1.9 11.0 13.6 0.1 -

ยอดคงคางของรายการขางตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ไดแสดงแยกตางหากในงบแสดงฐานะการเงินซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้ (หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทรวม บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินปนผลคางรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมเงินปนผลคางรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดคาที่ปรึกษาและบริหารงานคางรับ บริษัทยอย รวม อื่นๆ บริษัทรวม บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวม รวมลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

1,601 676 2,277

894 2,019 2,913

630 20,905 139 21,674

6,617 1,107 7,724

3,471 7,798 11,269

-

7,798 7,798

-

-

-

30,612 30,612

22,491 22,491

17,451 3,038 20,489 20,489

8,484 5,307 13,791 13,791

5 29,842 29 29,876 60,488

11,203 11,203 33,694

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดคารักษาพยาบาลและวิเคราะหแลป เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 14) รายไดอื่น ตนทุนบริการ คาใชจายอื่น เงินปนผลจาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

113 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบการเงินรวม 2555 2554


(หนวย : พันบาท)

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

งบการเงินรวม 2555 2554

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

114

สิทธิการเชา - กิจการที่เกี่ยวของกัน (รวมอยูในสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น) บริษัทรวม กิจการที่เกี่ยวของกัน รวมสิทธิการเชา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินมัดจำและคาใชจายจายลวงหนาระยะยาว - กิจการที่เกี่ยวของ (รวมอยูในสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น) บริษัทรวม บริษัทยอย รวมเงินมัดจำ - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทรวม บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมเจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทรวม บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมเจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินมัดจำรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน (รวมอยูในหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น) บริษัทรวม บริษัทยอย รวมเงินมัดจำรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน

274,062 78,576 352,638

272,672 85,708 358,380

2,700 2,700

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 -

-

2,700 2,700

2,700 6,029 8,729

2,700 122 2,822

75,356 27 75,383

89,466 715 90,181

53,220 72,989 126,209

73,782 54,499 530 128,811

7,059 3,611 10,670

13,126 5,769 18,895

4 88,233 1,008 89,245

46,676 195 46,871

-

61 2,399 2,460

2,399 2,399

61 61

รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมและเงินกูยืมกับกิจการที่เกี่ยวของกันระหวางปสามารถสรุปไดดังนี้ 31 ธันวาคม 2554 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย รวมเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย รวมเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง

(หนวย : พันบาท)

31 ธันวาคม 2555

307,097 307,097

456,769 456,769

(556,767) (556,767)

207,099 207,099

1,665,538 1,665,538

4,173,847 4,173,847

(514,405) (514,405)

5,324,980 5,324,980

1,627,946 1,627,946

2,796,625 2,796,625

(1,627,946) (1,627,946)

2,796,625 2,796,625


บริษัทยอย บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญารับจางบริหารงานโรงพยาบาลกับบริษัทยอยอีกแหงหนึ่งซึ่งมีระยะเวลาสิ้นสุดวันที่ 28 พฤษภาคม 2565 โดยคิดคาจางบริหารงานจากสัดสวนผลการดำเนินงานตามขอตกลงที่ระบุไวในสัญญา บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดทำสัญญารับจางบริหารงานโรงพยาบาลกับกลุม บริษทั ยอยของบริษทั นัน้ จำนวน 4 บริษทั และกับบริษทั ยอยอืน่ อีก 4 บริษัท เปนระยะเวลา 1 - 2.5 ป และสามารถตอสัญญาออกไปไดอีก โดยคิดคาจางบริหารงานในอัตราที่ตกลงกันตามสัญญาและ ชำระคาจางบริหารงานเปนรายเดือน บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญารับจางบริหารงานโรงพยาบาลกับกลุมบริษัทยอยจำนวน 3 บริษัทเปนระยะเวลา 1 ป และสามารถ ตอสัญญาออกไปไดอีก โดยคิดคาจางบริหารงานในอัตราที่ตกลงกันตามสัญญาและชำระคาจางบริหารงานเปนรายเดือน สัญญาเชาระยะยาว บริษัท ในเดือนพฤษภาคม 2547 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญาเชาที่ดินกับบริษัทเปนระยะเวลา 3 ป เพื่อประกอบกิจการโรงพยาบาล โดยบริษทั ยอยแหงนัน้ ตองชำระคาเชาเปนรายเดือนตามอัตราทีร่ ะบุในสัญญา ตอมาบริษทั ยอยดังกลาวไดตอ สัญญาโดยมีระยะเวลาสิน้ สุด วันที่ 30 เมษายน 2556 บริษัทยอย บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดทำสัญญาเชาทีด่ นิ กับบริษทั ยอยอีกแหงหนึง่ เพือ่ ปลูกสรางอาคาร ซึง่ มีระยะเวลาสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และบริษัทยอยตองชำระคาเชาเปนรายเดือนตามอัตราที่ระบุในสัญญา นอกจากนี้บริษัทยอยอีกแหงหนึ่งนั้นไดทำสัญญาเชาอาคารกับ บริษัทยอย เพื่อใชดำเนินงานของโรงพยาบาล ซึ่งมีระยะเวลาสิ้นสุดวันที่ 30 เมษายน 2557 โดยบริษัทยอยอีกแหงหนึ่งตองชำระคาเชา เปนรายเดือนตามอัตราที่ระบุในสัญญา สัญญาบริการและบริหารงาน บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญาใหบริการและบริหารงานกับบริษัทและบริษัทยอย โดยบริษัทและบริษัทยอยตองชำระคาบริการ และบริหารงานเปนรายเดือนตามที่ระบุไวในสัญญา บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญาใหบริหารงานสารสนเทศกับบริษัทและบริษัทยอย โดยบริษัทและบริษัทยอยชำระคาบริการเปน รายเดือนตามอัตราที่ระบุในสัญญา บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดทำสัญญาใหบริการดานอาหารและการซอมบำรุงกับบริษทั และบริษทั ยอย โดยบริษทั และบริษทั ยอยตองชำระ คาบริการเปนรายเดือนตามอัตราที่ระบุในสัญญา

115 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

สัญญารับจางบริหารงานโรงพยาบาล บริษัท บริษัทไดใหบริการรับจางบริหารงานโรงพยาบาลกับบริษัทยอย ซึ่งไดกำหนดคาจางบริหารงานเปนอัตรารอยละของรายไดคารักษา พยาบาลสุทธิ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

เงินใหกูยืมระยะสั้นและระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทไดทำสัญญาใหกูยืมเงินระยะสั้นและระยะยาวระยะเวลา 3 - 8 ป กับบริษัทยอยหลายแหงโดยคิดดอกเบี้ยสำหรับเงินใหกูยืม แกกิจการที่เกี่ยวของกันในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ บวกอัตราคงที่ตอป และ LIBOR บวกอัตราคงที่ตอป และ MLR ลบอัตราคงที่ ตอป ตามทีร่ ะบุในสัญญา ซึง่ มีกำหนดชำระดอกเบีย้ เปนรายเดือนและมีกำหนดชำระคืนเงินตนตามทีร่ ะบุไวในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีเงินใหกูยืมระยะสั้นและระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกันเปนจำนวนเงินคงเหลือรวม 5,532.1 ลานบาท (2554 : 1,972.6 ลานบาท)


บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดทำสัญญาวาจางการบริหารจัดการกับบริษทั ยอยอีกแหงหนึง่ โดยจะตองชำระคาบริการเปนรายเดือนตามอัตรา ที่ระบุในสัญญา

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

สัญญาบริการขนสงผูปวยทางอากาศ บริษัทรวม เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2550 บริษัทรวมแหงหนึ่งไดทำสัญญาใหบริการขนสงผูปวยทางอากาศกับบริษัทเปนระยะเวลา 3 ป นับตั้งแต วันเริ่มใหบริการและสามารถตอสัญญาออกไปไดอีก โดยสัญญาดังกลาวไดกำหนดอัตราคาบริการขั้นต่ำ ซึ่งบริษัทรวมจะไดรับจากบริษัท เปนรายเดือน บริษัทไดตอสัญญาออกไปอีก 25 เดือน โดยมีระยะเวลาสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

116

ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทไดค้ำประกันเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินจำนวนเงิน 3.1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2554: 3.6 ลานเหรียญสหรัฐ อเมริกา) และเงินเบิกเกินบัญชีจำนวนเงิน 0.8 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (2554: 1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) ใหกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง ในตางประเทศ บริษัทยอยแหงหนึ่งไดค้ำประกันวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินในวงเงิน 3.9 ลานบาท ใหกับบริษัทรวมแหงหนึ่ง คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทและบริษัทยอยมีคาตอบแทนใหแกกรรมการและผูบริหาร ดังตอไปนี้ (หนวย : ลานบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน รวม

115.0 0.6 115.6

81.7 0.5 82.2

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 115.0 0.6 115.6

11. สินคาคงเหลือ

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 ยา และเวชภัณฑ น้ำยาตรวจวิเคราะห พัสดุและอื่นๆ หัก: สำรองสินคาเสื่อมสภาพ รวม

81.7 0.5 82.2

672,814 71,834 37,854 782,502 (2,620) 779,882

904,876 84,825 49,584 1,039,285 (1,558) 1,037,727

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 93,063 93,063 (1,796) 91,267

231,928 231,928 (1,001) 230,927


12. เง�นลงทุนในบร�ษัทรวม (หนวย : พันบาท)

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

ทุนชำระแลว

อัตรารอยละของ การถือหุน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

วิธีสวนไดเสีย

วิธีราคาทุน

2555

2554

2555

2554

2555

2554

21.4 ลานบาท

49.00

49.00

165,167

144,140

52,500

52,500

โทรทัศนและวิทยุ

5 ลานบาท

30.00

30.00

1,069

1,069

1,500

1,500

S.R. Property Investment Co., Ltd.

อสังหาริมทรัพย

20 ลานเรียล

49.00

49.00

2,093

1,837

101

101

Siem Reap Land Investment Co., Ltd.

อสังหาริมทรัพย

20 ลานเรียล

49.00

49.00

1,764

1,529

101

101

Phnom Penh First Property Co., Ltd.

อสังหาริมทรัพย

20 ลานเรียล

49.00

49.00

3,532

2,947

88

88

บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด

บริการ

100 ลานบาท

49.00

49.00

34,977

38,134

50,859

50,859

บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

120 ลานบาท

38.24

38.24

2,835,589

2,329,480

1,459,800

1,459,800

บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

150 ลานบาท

20.01

20.01

104,179

107,865

101,072

101,072

บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด (ถือหุนโดย

โรงพยาบาล

300 ลานบาท

25.09

24.97

185,430

180,101

69,952

69,952

โรงพยาบาล

730 ลานบาท

23.88

-

9,523,489

-

7,452,961

-

12,857,289

2,807,102

9,188,934

1,735,973

บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด

ผลิตและจำหนายยา

บริษัท คูล แอนด จอย จำกัด

ผูผลิตรายการ

บริษัท รอยละ 15.26, ถือหุนทางออมโดย บริษัทยอยรอยละ 9.83 (2554: รอยละ 9.71)) รวมเงินลงทุนในบริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัท

117

บริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัทยอย บริษัท โซเด็กซโซ ซัพพอรท เซอรวิส

บริหารการจัดการ

5 ลานบาท

26.00

26.00

6,412

8,118

บริหารการจัดการ

0.15 ลาน เหรียญสหรัฐ อาหรับดีแรหม

30.00

30.00

393

393

6,805

8,511

12,864,094

2,815,613

(ประเทศไทย) จำกัด Al Ghaith Bangkok Dusit Management Services LLC. รวมเงินลงทุนในบริษัทรวมของบริษัทยอย รวมเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินรวม

12.1 เงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทรวม บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) ในไตรมาสที่ 1 ป 2555 บริษัทไดซื้อหุนสามัญเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนจำนวนรวม 44.2 ลานหุน รวมเปนเงิน 2,234.9 ลานบาท คิดเปนสัดสวนการถือหุนรอยละ 6.06 ทำใหบริษัทมีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาว ทั้งสิ้นเปนรอยละ 20.28 และเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทรวม บริษัทไดรับรูกำไรจากการปรับมูลคาเงินลงทุนในสวนที่บริษัทถือไวอยูเดิม ใหเปนมูลคายุติธรรมในงบกำไรขาดทุนรวมจำนวน 1,795.0 ลานบาท ภายใตหัวขอ “กำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน” และไดโอนกลับรายการกำไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายเนื่องจากโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากเงินลงทุนระยะ ยาวอื่นเปนเงินลงทุนในบริษัทรวมจำนวน 1,372.3 ลานบาท ในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ในไตรมาสที่ 2 ป 2555 บริษัทไดซื้อหุนสามัญเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) เปนจำนวนรวม 26.3 ลานหุน รวมเปนเงิน 1,762.2 ลานบาท ทำใหบริษัทมีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 23.88

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน)

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัท


ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด จากการซือ้ เงินลงทุนตามทีก่ ลาวในหมายเหตุ 13.3 และ 13.4 บริษทั ประสิทธิพ์ ฒ ั นา จำกัด (มหาชน) ซึง่ เปนบริษทั ยอยมีเงินลงทุน ในบริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด ในสัดสวนรอยละ 10 ซึ่งคิดเปนสัดสวนการถือหุนทางออมโดยบริษัทรอยละ 9.71 และตอมาใน ระหวางป 2554 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด จำนวนรวม 1,577,000 หุน รวมเปนเงิน 38.30 ลานบาท คิดเปนสัดสวนการถือหุน รอยละ 5.26 ทำใหบริษทั มีอตั ราสวนการถือหุน ในบริษทั ดังกลาวทัง้ สิน้ เปนรอยละ 24.97 และเปลีย่ น สถานะเปนบริษัทรวม บริษัทไดรับรูกำไรจากการปรับมูลคาเงินลงทุนในสวนที่บริษัทถือไวอยูเดิมใหเปนมูลคายุติธรรมในงบกำไรขาดทุน รวมจำนวน 39 ลานบาท ภายใตหวั ขอ “กำไรจากการปรับมูลคายุตธิ รรมของเงินลงทุน” และบริษทั ไดโอนกลับรายการคาเผือ่ การดอยคา ของเงินลงทุนดังกลาวจำนวน 12.3 ลานบาท ในป 2554

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

118

12.2 รายละเอียดของสวนแบงกำไรและเงินปนผลรับจากบริษัทรวมในระหวางปมีดังนี้ (หนวย : พันบาท)

ชื่อบริษัท บริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัท บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด บริษัท คูล แอนด จอย จำกัด S.R. Property Investment Co., Ltd. Siem Reap Land Investment Co., Ltd. Phnom Penh First Property Co., Ltd. บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) บริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัทยอย บริษัท โซเด็กซโซ ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด Al Ghaith Bangkok Dusit Management Services LLC. รวม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สวนแบงกำไร/(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม 2555 2554

เงินปนผลรับในระหวางป 2555

2554

27,327 317 303 683 (3,157) 431,080 2,658 5,329 497,719

22,811 339 309 693 (2,827) 349,806 7,006 -

6,300 55,061 6,004 200,828

5,250 55,061 1,501 -

5,404 967,663

3,508 381,645

268,193

61,812

มูลคายุติธรรมของบริษัทรวมที่เปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีดังตอไปนี้ ชื่อบริษัท บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) รวม

(หนวย : พันบาท)

มูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 7,231,356 139,594 12,901,915 20,272,865

3,588,148 97,566 3,685,714


12.3 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทรวมมีดังนี้

(หนวย : ลานบาท)

ทุนเรียกชำระ 2555

บริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัท บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด บริษัท คูล แอนด จอย จำกัด S.R. Property Investment Co., Ltd. Siem Reap Land Investment Co., Ltd. Phnom Penh First Property Co., Ltd. บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด บริษัท โรงพยาบาล บำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) บริษัทรวมที่ถือหุนโดยบริษัทยอย บริษทั โซเด็กซโซ ซัพพอรท เซอรวสิ (ประเทศไทย) จำกัด Al Ghaith Bangkok Dusit Management Services LLC.

21 ลานบาท 5 ลานบาท 20 ลานเรียล 20 ลานเรียล 20 ลานเรียล 100 ลานบาท 120 ลานบาท 150 ลานบาท 300 ลานบาท 730 ลานบาท

2554

สินทรัพยรวม 2555

2554

หนี้สินรวม 2555

รายไดรวม

2554

2555

กำไร(ขาดทุน)

2554

2555

2554

21 ลานบาท 415.4 356.5 105.7 91.4 467.0 371.5 57.5 55.7 5 ลานบาท 2.9 2.9 20 ลานเรียล 67.4 69.8 63.1 66.0 0.7 0.7 0.6 0.7 20 ลานเรียล 61.4 63.5 57.8 60.4 0.6 0.6 0.6 0.6 20 ลานเรียล 141.0 145.9 133.8 139.9 1.4 1.5 1.4 1.4 100 ลานบาท 235.1 258.5 164.9 180.7 61.4 70.0 (7.5) (5.9) 120 ลานบาท 6,766.5 5,415.0 2,143.2 2,110.2 3,572.1 3,044.1 1,127.3 909.0 150 ลานบาท 305.7 312.9 48.7 37.5 304.4 295.9 13.3 35.0 300 ลานบาท 1,086.5 1,071.1 361.9 361.7 430.8 393.5 21.3 22.9 15,861.8 7,474.2 - 14,041.6 - 2,667.5 -

5 ลานบาท 5 ลานบาท 0.15 ลาน 0.15 ลาน เหรียญสหรัฐ เหรียญสหรัฐ อาหรับดีแรหม อาหรับดีแรหม

152.6 -

105.7 -

127.9 -

74.5 -

443.9 -

319.3 -

20.8 -

13.5 -

สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมสามแหงซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยสำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จำนวนประมาณ 931 ลานบาท (2554: สองแหงจำนวน 357 ลานบาท) หรือรอยละ 96 (2554: รอยละ 94) ของสวนแบงกำไรจากบริษัทรวมทั้งหมด คำนวณขึ้นจากงบการเงินซึ่งผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีของบริษัทรวมเหลานั้น

13. เง�นลงทุนในบร�ษัทยอย ชื่อบริษัท

(หนวย : พันบาท)

ลักษณะธุรกิจ

ทุนชำระแลว

อัตรารอยละของ การถือหุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุน (วิธีราคาทุน)

เงินปนผลรับในระหวางป

2555

2554

2555

2554

2555

2554

บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

1,000 ลานบาท

95.76

95.76

1,639,071

1,639,071

430,936

384,970

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด

โรงพยาบาล

500 ลานบาท

98.79

98.78

574,458

574,373

59,274

34,573

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด

โรงพยาบาล

500 ลานบาท

99.68

99.68

610,153

610,153

124,606

79,739

บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด

โรงพยาบาล

586 ลานบาท

91.48

91.48

602,655

602,655

160,857

147,447

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด

โรงพยาบาล

105 ลานบาท

79.00

79.00

96,775

96,775

-

-

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ พัทยา จำกัด

โรงพยาบาล

280 ลานบาท

97.27

97.22

708,966

708,196

517,382

244,982

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง จำกัด

โรงพยาบาล

400 ลานบาท

100.00

100.00

415,020

415,020

-

180,000

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด

โรงพยาบาล

150 ลานบาท

100.00

100.00

150,000

150,000

33,750

45,000

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพตราด จำกัด

โรงพยาบาล

250 ลานบาท

99.76

99.76

245,889

245,889

14,963

19,951

บริษัท วัฒนเวช จำกัด

โรงพยาบาล

180 ลานบาท

99.69

99.69

450,643

450,643

35,890

179,450

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ ราชสีมา จำกัด

โรงพยาบาล

300 ลานบาท

90.36

89.73

923,936

917,286

-

-

บริษัท เนชั่นแนลเฮลทแคร ซิสเท็มส จำกัด

เซ็นทรัลแลป

75 ลานบาท

74.02

74.02

56,768

56,768

-

66,622

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ชื่อบริษัท

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

119 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ณ วันที่ 31 ธันวาคม


(หนวย : พันบาท)

ชื่อบริษัท

บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส

ลักษณะธุรกิจ

ทุนชำระแลว

อัตรารอยละของ การถือหุน 2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุน (วิธีราคาทุน) 2555

2554

เงินปนผลรับในระหวางป 2555

2554

เซ็นทรัลแลป

10 ลานบาท

95.00

95.00

9,502

9,502

โรงพยาบาล

10 ลาน

80.00

80.00

287,840

287,840

-

-

10 ลาน 100.00 100.00

338,323

338,323

-

-

70.00

154,063

154,063

-

-

7,600

4,750

(ประเทศไทย) จำกัด Angkor Pisith Co., Ltd.

เหรียญสหรัฐฯ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

Phnom Penh Medical Services Co., Ltd.

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

120

โรงพยาบาล

เหรียญสหรัฐฯ Royal Rattanak Medical Services Co.,Ltd

โรงพยาบาล

B.D.M.S. International Medical Services

โรงพยาบาล

9,200 ลานเรียล 100.00 100.00

94,208

94,208

-

-

บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด

การลงทุน

35 ลานบาท 100.00 100.00

35,000

35,000

-

-

บริษัท เพชรบุรีตัดใหมการแพทย จำกัด

โรงพยาบาล

1 ลานบาท 100.00 100.00

999

999

-

-

26,000 ลานเรียล

70.00

Co., Ltd.

บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน)

ประกันสุขภาพ

105 ลานบาท

99.94

47,027

47,027

-

บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด

บริหารจัดการ

736 ลานบาท 100.00 100.00

736,000

736,000

63,296

บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด

บริการดาน เทคโนโลยีและ สารสนเทศ โรงพยาบาล

200 ลานบาท 100.00 100.00

200,000

200,000

-

-

70 ลานบาท 100.00 100.00

70,000

70,000

-

-

1 ลานบาท 100.00 100.00

1,000

1,000

-

-

97.14

9,236,292

9,109,950

414,054

-

300 ลานบาท 100.00 100.00

2,922,872

2,922,872

-

399,900

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ จำกัด บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด

บริการจัดฝกอบรม

1,108 ลานบาท

99.94

98.32

18,400

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน)

การลงทุน

บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด

โรงพยาบาล

บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด

โรงพยาบาล

42 ลานบาท

93.30

88.73

1,733,240

1,675,754

7,453

7,453

บริษัท การแพทยสยาม จำกัด

โรงพยาบาล

100 ลานบาท

85.69

80.72

939,589

904,818

4,036

4,931

บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

201 ลานบาท

99.76

99.76

887,135

887,135

-

-

20 ลานบาท 100.00 100.00

20,000

4,000

-

-

บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด

นายหนา ประกันชีวิต

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม จำกัด

โรงพยาบาล

250 ลานบาท 100.00

-

250,000

-

-

-

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด

โรงพยาบาล

500 ลานบาท 100.00

-

499,930

-

-

-

รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย

24,937,354

23,945,320 1,874,097

หัก: คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน

(20,000)

(20,000)

รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ

24,917,354

23,925,320

1,818,168

13.1 เงินลงทุนเพิ่มเติมในป 2555 ในบริษัทยอยที่บริษัทและบริษัทยอยถืออยูเดิม บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด ในป 2555 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด เปนจำนวนเงิน 0.1 ลานบาท ทำใหบริษัท มีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.79 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ พัทยา จำกัด ในป 2555 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ พัทยา จำกัด เปนจำนวนเงิน 0.8 ลานบาท ทำใหบริษัทมี อัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 97.27


บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ ราชสีมา จำกัด ในป 2555 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ ราชสีมา จำกัด เปนจำนวนเงิน 6.7 ลานบาท ทำใหบริษัท มีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 90.36

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) และบริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด ในป 2555 บริษัทยอยไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด เปนจำนวนเงิน 0.7 ลานบาท ทำใหบริษัทยอย มีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 99.15 บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) และบริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด ในป 2555 บริษัทยอยไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด เปนจำนวนเงิน 2.4 ลานบาท ทำใหบริษัทยอย มีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.20 บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) และบริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) ในป 2555 บริษัทยอยไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) เปนจำนวนเงิน 37.3 ลานบาท ทำใหบริษัทยอยมีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 66.53 บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด ในป 2555 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด เปนจำนวนเงิน 57.5 ลานบาท ทำใหบริษัทมีอัตรา สวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 93.30 บริษัท การแพทยสยาม จำกัด ในป 2555 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท การแพทยสยาม จำกัด เปนจำนวนเงิน 34.8 ลานบาท ทำใหบริษัทมีอัตราสวน การถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 85.69 บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด เมือ่ วันที่ 3 กันยายน 2555 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 3/2555 ของบริษทั กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวติ จำกัด ไดมมี ติ อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิมทุนจดทะเบียนจำนวน 4 ลานบาท เปนทุนจดทะเบียนใหมจำนวน 20 ลานบาท โดยการออก หุนสามัญเพิ่มทุนจำนวน 1,600,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 16 ลานบาท โดยบริษัทไดซื้อหุนเพิ่มทุน ดังกลาวทั้งจำนวน

121 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

นอกจากนี้ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ไดลดทุนจดทะเบียนจำนวน 390,773,228 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท รวมเปน จำนวน 390,773,228 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 2,732,047,520 บาท เปนทุนจดทะเบียนใหม 2,341,274,292 บาท โดยการตัดหุน สามัญที่ยังมิไดจำหนาย รวมทั้งไดลดทุนออกจำหนายและชำระเต็มมูลคาแลว เพื่อลางขาดทุนสะสมจำนวน 1,233,066,272 บาท จาก ทุนออกจำหนายและชำระเต็มมูลคาแลวเดิมจำนวน 2,341,274,292 บาท ใหเปนทุนออกจำหนายและชำระเต็มมูลคาแลวจำนวน 1,108,208,020 บาท

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ในป 2555 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) เปนจำนวนเงิน 126.3 ลานบาท ทำใหบริษัท มีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.32


ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

13.2 เงินลงทุนในบริษัทยอยที่จัดตั้งใหมในระหวางป บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม จำกัด เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติใหจัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม ชื่อบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ เชียงใหม จำกัด เพื่อดำเนินธุรกิจโรงพยาบาลที่จังหวัดเชียงใหม โดยมีทุนจดทะเบียน 1,000 ลานบาท บริษัทถือหุนในบริษัทดังกลาว รอยละ 100 บริษัทยอยดังกลาวดำเนินการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทแลวในเดือนพฤษภาคม 2555 โดยมีทุนที่เรียกชำระคาหุนแลวเปน จำนวนเงิน 250 ลานบาท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

122

บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด ในไตรมาสที่ 2 ป 2555 บริษัทไดลงทุนในบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด ในอัตราสวนการถือหุนรอยละ 100 เปนจำนวน เงิน 499.9 ลานบาท เพื่อดำเนินธุรกิจโรงพยาบาลในจังหวัดอุดรธานี 13.3 การเขารวมกิจการกับบริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) ในป 2554 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทไดมีมติอนุมัติการเขารวมกิจการกับ บริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) และบริษัทไดดำเนินการเขาซื้อและรับโอนกิจการดังกลาวในวันที่ 1 เมษายน 2554 โดยชำระคาตอบแทนเปนจำนวน ทั้งสิ้น 11,484 ลานบาท (ดูรายละเอียดในการคำนวณสิ่งตอบแทนในการซื้อในขอ ก) ภายหลังการเขารวมกิจการบริษัทไดเงินลงทุนใน บริษัทยอยใหมดังนี้ บริษัท 1) บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2) บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด 3) บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด 4) บริษัท การแพทยสยาม จำกัด 5) บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน)

สัดสวนการถือหุน 68.64%* 100.00% 88.73% 80.72% 99.76%

* สัดสวนการถือหุนในบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ดังกลาวไดรวมสัดสวนที่บริษัทมีอยูเดิม รอยละ 19.47 ผลจากการเขารวมกิจการทำใหบริษัทดังกลาว เปลี่ยนสถานะเปนบริษัทยอย บริษัทไดรับรูกำไรจากการปรับมูลคาเงินลงทุนในสวนที่บริษัทถือไวอยูเดิมใหเปนมูลคายุติธรรมในงบกำไรขาดทุนรวมจำนวน 440 ลานบาท ภายใตหัวขอ “กำไรจากการปรับมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน”

ทั้งนี้บริษัทและบริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) จะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ที่กำหนดไวในสัญญาการโอนกิจการทั้งหมด คาความนิยมจากการเขารวมกิจการ ก) สิ่งตอบแทนในการซื้อบริษัทยอยสำหรับการคำนวณคาความนิยมสรุปไดดังนี้

บริษัท ออกหุนสามัญเพิ่มทุนจำนวน 230,870,405 หุน (โดยคำนวณจากมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนกิจการ) เงินสด รับโอนภาระหนี้สินการกูยืม รวมคาตอบแทนในการเขารวมกิจการ บวก: มูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัท ประสิทธิ์พัฒนาจำกัด (มหาชน) ที่บริษัท ถืออยูเดิมรอยละ 19.47 รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อสำหรับการคำนวณคาความนิยม

(หนวย : พันบาท)

10,424,687 680,000 379,416 11,484,103 1,512,559 12,996,662


1,986,099 264,357 818,977 360,000 158,317 110,889 50,000 24,094 244,233 34,400 9,342,016 188,269 62,315 (463,867) (311,239) (833,921) (5,565,664) (205,270) (304,132) (937,341) 5,022,532 (1,336,070) 3,686,462 12,996,662 9,310,200

ตนทุนการทำรายการเขารวมกิจการเปนจำนวนทั้งสิ้น 189.5 ลานบาท โดยตนทุนจำนวน 43.4 ลานบาท ไดบันทึกเปนคาใชจายใน งบกำไรขาดทุน สวนตนทุนอีกจำนวน 146.1 ลานบาท ซึ่งเกี่ยวของกับการเพิ่มทุนนำไปหักกับสวนเกินมูลคาหุนสามัญภายใตสวนของ ผูถือหุนในงบแสดงฐานะการเงิน 13.4 การยื่นคำเสนอซื้อหลักทรัพยของบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ในป 2554 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2554 บริษัทไดยื่นคำเสนอซื้อหลักทรัพยของบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) และเสนอคาตอบแทน ใหกับผูถือหุนของกิจการ เปน 2 ทางเลือก คือ 1. เงินสดที่ราคา 3.71 บาทตอหุน 2. หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทในอัตรา 10.1706 หุนของ บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) ตอ 1 หุนของบริษัทหรือคิดเปน ราคา 37.75 บาทตอหุน

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - สุทธิ เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินฝากระยะยาวกับสถาบันการเงิน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน สำรองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิ หัก:สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมา สิ่งตอบแทนในการซื้อ คาความนิยม

(หนวย : พันบาท)

123 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ข) มูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและหนี้สินที่รับมาของบริษัทยอยใหม ณ วันที่ซื้อมีดังนี้


ภายหลังเสร็จสิ้นการรับซื้อหลักทรัพยจากผูถือหุนรายยอยในวันที่ 23 พฤษภาคม 2554 บริษัทมีเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัท ประสิทธิพ์ ฒ ั นา จำกัด (มหาชน) เพิม่ เติมจำนวน 666.34 ลานหุน รวมเปนเงิน 2,939.9 ลานบาท โดยแบงเปนชำระเงินสดจำนวน 43.34 ลานบาท และออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจำนวน 64.4 ลานหุน คิดเปนจำนวนเงิน 2,896.56 ลานบาท (โดยคำนวณจากมูลคา ยุติธรรม ณ วันที่โอนกิจการ) ทำใหบริษัทมีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 97.10

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

นอกจากนี้ในไตรมาสที่ 3 ป 2554 บริษัทไดซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) จากผูถือหุนเดิมจำนวน รวม 1.09 ลานหุน รวมเปนเงิน 4.04 ลานบาท ทำใหบริษัทมีอัตราสวนการถือหุนในบริษัทดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ใน อัตรารอยละ 97.14

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

124

14. เง�นลงทุนระยะยาวอื่น (หนวย : พันบาท)

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

ทุนชำระแลว (ลานบาท)

อัตรารอยละ ของการ ถือหุน

งบการเงินรวมและงบเฉพาะกิจการ เงินลงทุน (ราคาทุน) 2555

2554

เงินปนผลรับในระหวางป 2555

2554

เงินลงทุนโดยบริษัทหลักทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนในหลักทรัพยจดทะเบียน ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคาร

41,372

-

1,770

1,770

2

1

350

350

88

63

บริษัท โรงพยาบาล เอกชล จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

125

0.20

บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

730

14.22

-

3,455,835

-

87,281

บริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน)

โรงพยาบาล

1,995

1.50

269,829

-

4,541

-

271,949

3,457,955

4,631

87,345

4,451

1,372,094

-

-

276,400

4,830,049

4,631

87,345

สวนเกินทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพย เผื่อขาย เงินลงทุนในหลักทรัพยจดทะเบียน เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด บริษัท เอกซเรย คอมพิวเตอร อุรุพงษ จำกัด

สายการบิน

1,200

1.20

36,000

36,000

7,798

10,830

100

4.09

4,520

4,520

245

245

40,520

40,520

8,043

11,075

-

-

วินิจฉัยโรคดวย เครื่องเอกซเรย

เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในบริษัทที่ไมเกี่ยวของกัน ธุรกิจนำเที่ยว

100

1.06

531

531

บริษัท ซูพีเรียไบโอเทค โฮลดิ้ง จำกัด

การลงทุน

44

9.09

5,000

5,000

200

140

บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด *

โรงพยาบาล

300

10.00

-

-

600

5,531

5,531

200

740

322,451

4,876,100

12,874

99,160

บริษัท ไทยจัดการลองสเตย จำกัด

เงินลงทุนในบริษัทที่ไมเกี่ยวของกัน รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่นในงบการเงินเฉพาะกิจการ

* เปลี่ยนสถานะเปนบริษัทรวมในระหวางป 2554

-


(หนวย : พันบาท)

ลักษณะธุรกิจ

ชื่อบริษัท

ทุนชำระ อัตรารอยละ แลว ของการ (ลานบาท) ถือหุน

งบการเงินรวมและงบเฉพาะกิจการ เงินลงทุน (ราคาทุน) 2555

2554

เงินปนผลรับในระหวางป 2555

2554

50

48

เงินลงทุนโดยบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทที่ไมเกี่ยวของกัน 80

0.60

290

290

บริษัท ประสิทธิรัตน จำกัด

สถานศึกษา

150

33.33

107,192

107,192

บริษัท ภูเก็ต อินเตอรเนชั่นแนล ฮอสปตอล จำกัด

โรงพยาบาล

195

6.15

29,552

29,552

บริษัท อุดรพัฒนา (1994) จำกัด*

โรงพยาบาล

300

10.00

-

บริษัท เอเชีย แลบบอราทอรี่ เซ็นเตอร จำกัด

เซ็นทรัลแลป

5

8.00

เงินลงทุนในบริษัทที่ไมเกี่ยวของกัน

-

1,000

3,600 -

-

2,700 600

400

400

40

20

137,434

137,434

3,690

4,368

เงินลงทุนในหุนสามัญ (สถานะหยุดดำเนินกิจการ) บริษัทยอย บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 4 (ถนนเพชรบุรี) จำกัด

ศาลพิพากษาใหลมละลาย

328

89.79

-

-

-

-

บริษัท คลาส-วี จำกัด

ศาลพิพากษาใหลมละลาย

250

89.66

-

-

-

-

บริษัท ภูเก็ตพาราไดซ จำกัด

ศาลพิพากษาใหลมละลาย

409

72.26

-

-

-

-

บริษัท สมุนไพรพญาไท จำกัด

อยูระหวางการชำระบัญชี

196

63.64

42,889

-

-

โรงพยาบาล

358

19.08

-

-

-

42,889

บริษัทที่ไมเกี่ยวของกัน บริษัท โรงพยาบาลภูเก็ต จำกัด (มหาชน) หัก: คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน

-

42,889

42,889

-

-

(7,000)

(7,000)

-

-

35,889

35,889

-

-

495,774

5,049,423

16,564

103,528

เงินลงทุนในหุนสามัญ (สถานะหยุดดำเนินกิจการ) - สุทธิ รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิในงบการเงินรวม

* เปลี่ยนสถานะเปนบริษัทรวมในระหวางป 2554

บริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน) ในไตรมาสที่ 2 ป 2555 บริษัทไดลงทุนซื้อหุนสามัญในบริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน) เปนจำนวนรวม 30 ลาน หุน รวมเปนเงิน 269.83 ลานบาท คิดเปนสัดสวนการถือหุนรอยละ 1.50 บริษัท ประสิทธิรัตน จำกัด บริษัทยอยมีสัดสวนความเปนเจาของในบริษัท ประสิทธิรัตน จำกัด รอยละ 33.33 แตไมไดจัดประเภทเปนเงินลงทุนในบริษัทรวม เนื่องจากบริษัทยอยไมมีอำนาจในการเขาไปมีสวนรวมตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษัทดังกลาว เงินลงทุนในหุนสามัญที่หยุดดำเนินกิจการ-บริษัทยอย บริษทั ยอยมีเงินลงทุนในบริษทั ทีม่ สี ถานะหยุดดำเนินกิจการแตไมไดจดั ประเภทเปนเงินลงทุนในบริษทั ยอย เนือ่ งจากบริษทั ยอยไมมี อำนาจในการควบคุมบริษัทดังกลาว

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

จำหนายยาสมุนไพร

125 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

บริษัท ผลิตภัณฑ สมุนไพรไทย จำกัด


ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

15. อสังหาร�มทรัพยเพ��อการลงทุน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

126

31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นจากการซื้อกิจการ ซื้อเพิ่ม รับโอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ ผลกำไรสุทธิจากการ ตีราคาเปนมูลคายุติธรรม 31 ธันวาคม 2554 ซื้อเพิ่ม รับโอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ ผลกำไรสุทธิจากการ ตีราคาเปนมูลคายุติธรรม 31 ธันวาคม 2555

(หนวย : พันบาท)

ที่ดิน

งบการเงินรวม อาคาร

งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน อาคาร รวม

รวม

34,400 -

135,177 19,604

34,400 135,177 19,604

252,966 -

135,177 19,604

252,966 135,177 19,604

1,045 35,445 -

154,781 12,008 2,684

1,045 190,226 12,008 2,684

18,069 271,035 -

154,781 12,008 2,684

18,069 425,816 12,008 2,684

35,445

17,877 187,350

17,877 222,795

271,035

17,877 187,350

17,877 458,385

อสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุนของบริษทั และบริษทั ยอยประกอบดวยทีด่ นิ และอาคารใหเชา บริษทั และบริษทั ยอยแสดงอสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุนดวยมูลคายุติธรรมซึ่งประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระโดยใชวิธีคิดเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) สำหรับ ที่ดิน สำหรับอาคารใหเชาแสดงมูลคาตามวิธีวิเคราะหจากรายได (Income Approach)

16. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม สินทรัพยซึ่ง แสดงตามราคาทุน หรือราคาที่ตีใหม

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน ราคาทุน/ราคาที่ตีใหม 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มจากการซื้อกิจการ เพิ่มขึ้นจากการตีราคา ซื้อเพิ่ม โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้นจากการตีราคา ซื้อเพิ่ม โอนเขา /(โอนออก)

5,345,964 2,860,267 8,985 330,145 49 8,545,410 512,526 1,092,854 -

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาทุน เครื่องมือ อุปกรณโครงสราง เครื่องจักร เครื่องตกแตง อาคารและสวน และอุปกรณ และอุปกรณ ปรับปรุงอาคาร การแพทย สำนักงาน ยานพาหนะ 16,130,196 7,079,417 629,089 370,332 (35,925) 17,571 24,190,680 793,454 1,223,027

7,633,783 2,969,286 1,354,679 66,232 (196,395) 3,493 11,831,078 1,810,257 64,852

4,282,332 1,006,114 518,730 101,924 (106,133) 4,514 5,807,481 635,547 216,474

462,439 121,255 67,475 1,177 (33,312) 240 619,274 90,440 2,431

อาคารระหวาง กอสรางและ เครื่องมือและอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

รวม

822,939 279,925 964,574 (595,984) (288) 25,264 1,496,430 1,693,874 (1,512,759)

34,677,653 14,316,264 8,985 3,864,692 (56,270) (372,053) 51,082 52,490,353 512,526 6,116,426 (5,975)


(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม (ตอ) สินทรัพยซึ่ง แสดงตามราคาทุน หรือราคาที่ตีใหม

อาคารระหวาง กอสรางและ เครื่องมือและอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

รวม

10,150,790

(32,292) (12,098) 26,162,771

(367,228) (1,955) 13,337,004

(148,551) (2,911) 6,508,040

(19,165) (208) 692,772

(1,517) (17,384) 1,658,644

(568,753) (34,556) 58,510,021

17,482 7,011 330 16 24,839 458 25,297

7,161,985 2,468,573 1,089,527 4,775 (25,304) 2,696 10,702,252 1,139,359 (1,254) (27,009) (2,045) 11,811,303

4,843,502 1,717,567 1,036,963 53,134 (193,226) 2,686 7,460,626 1,149,986 (325,328) (2,133) 8,283,151

3,425,594 711,822 422,604 (58,215) (96,028) 3,643 4,409,420 462,811 100 (139,351) (2,845) 4,730,135

367,289 69,275 56,119 (744) (31,952) 203 460,190 61,574 (18,287) (157) 503,320

-

15,815,852 4,974,248 2,605,543 (1,034) (346,510) 9,228 23,057,327 2,814,188 (1,154) (509,975) (7,180) 25,353,206

2,955 2,955 1,914 4,869

750 (750) -

-

-

-

-

3,705 (750) 2,955 1,914 4,869

13,488,428 14,351,468

4,370,452 5,053,853

1,398,061 1,777,905

159,084 189,452

1,496,430 1,658,644

8,517,616 10,120,624

คาเสื่อมราคาที่รวมอยูในงบกำไรขาดทุนสำหรับป 2554 (จำนวน 2,114 ลานบาท รวมอยูในตนทุนคารักษาพยาบาล ตนทุนขายและบริการ สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2555 (จำนวน 2,294 ลานบาท รวมอยูในตนทุนคารักษาพยาบาล ตนทุนขายและบริการ สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

29,430,071 33,151,946

2,605,543 2,814,188

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

จำหนายและตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 ธันวาคม 2555 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มจากการซื้อกิจการ คาเสื่อมราคาสำหรับป โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคาสำหรับป โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 ธันวาคม 2555 คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย 31 ธันวาคม 2553 กลับรายการคาเผื่อการดอยคา 31 ธันวาคม 2554 คาเผื่อการดอยคา 31 ธันวาคม 2555 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555

เครื่องมือ อุปกรณโครงสราง เครื่องจักร เครื่องตกแตง อาคารและสวน และอุปกรณ และอุปกรณ ปรับปรุงอาคาร การแพทย สำนักงาน ยานพาหนะ

127 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาทุน


(หนวย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพยซึ่ง แสดงตามราคาทุน หรือราคาที่ตีใหม

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ที่ดินและสวน ปรับปรุงที่ดิน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

128

ราคาทุน/ราคาที่ตีใหม 31 ธันวาคม 2553 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี ซื้อเพิ่ม โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้นจากการตีราคา ซื้อเพิ่ม โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย 31 ธันวาคม 2555 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคาสำหรับป โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคาสำหรับป โอนเขา /(โอนออก) จำหนายและตัดจำหนาย 31 ธันวาคม 2555 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาทุน เครื่องมือ อุปกรณโครงสราง เครื่องจักร เครื่องตกแตง อาคารและสวน และอุปกรณ และอุปกรณ ปรับปรุงอาคาร การแพทย สำนักงาน ยานพาหนะ

อาคารระหวาง กอสรางและ เครื่องมือและอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

รวม

1,018,331

4,352,682

2,606,095

1,248,721

143,389

249,510

9,618,728

(252,966) 24,532 789,897 352,237 721,250 1,863,384

104,529 130,548 4,587,759 91,199 3,262 (8,184) 4,674,036

400,663 425 (4,943) 3,002,240 465,521 4,700 (83,005) 3,389,456

112,964 94,705 (7,633) 1,448,757 163,613 62,982 (25,639) 1,649,713

19,452 (14,978) 147,863 28,859 (3,681) 173,041

124,050 (246,520) (10) 127,030 313,487 (74,782) 365,735

(252,966) 786,190 (20,842) (27,564) 10,103,546 352,237 1,783,929 (3,838) (120,509) 12,115,365

-

1,627,979 273,402 (2,051) 1,899,330 222,817 (1,153) (3,893) 2,117,101

1,612,937 326,642 (4,623) 1,934,956 334,441 (67,398) 2,201,999

1,101,093 77,309 946 (5,510) 1,173,838 75,706 (25,452) 1,224,092

124,604 6,638 (13,923) 117,319 10,391 (3,614) 124,096

-

4,466,613 683,991 (1,105) (24,056) 5,125,443 643,355 (1,153) (100,357) 5,667,288

789,897 1,863,384

2,688,429 2,556,935

1,067,284 1,187,457

274,919 425,621

30,544 48,945

127,030 365,735

4,978,103 6,448,077

คาเสื่อมราคาที่รวมอยูในงบกำไรขาดทุนสำหรับป 2554 (จำนวน 594 ลานบาท รวมอยูในตนทุนคารักษาพยาบาล ตนทุนขายและบริการ สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2555 (จำนวน 573 ลานบาท รวมอยูในตนทุนคารักษาพยาบาล ตนทุนขายและบริการ สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

683,991 643,355

ในป 2554 บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดบนั ทึกผลการประเมินราคาทีด่ นิ โดยผูป ระเมินราคาอิสระ ซึง่ ใชวธิ เี ปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) โดยราคายุติธรรมของที่ดินประเมินใหมมีราคารวม 203 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากราคาตามบัญชีจำนวน 9 ลานบาท โดย บริษัทบันทึกสวนเพิ่มขึ้นนี้เปน “ผลกำไรจากการตีราคาที่ดิน” ในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม


ในป 2555 บริษทั และบริษทั ยอยหกแหงไดบนั ทึกผลการประเมินราคาทีด่ นิ โดยผูป ระเมินราคาอิสระ ซึง่ ใชวธิ เี ปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) โดยราคายุตธิ รรมของทีด่ นิ ประเมินใหมในงบการเงินรวมมีราคารวม 2,631 ลานบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากราคาตามบัญชี จำนวน 513 ลานบาท และลดลงจากราคาตามบัญชีจำนวน 2 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ราคายุติธรรมของที่ดินประเมินใหม 1,141 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากราคาตามบัญชีจำนวน 352 ลานบาท) บริษัทและบริษัทยอยไดบันทึกสวนเพิ่มขึ้นเปน “ผลกำไรจากการ ตีราคาที่ดิน” ในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และบันทึกสวนที่ลดลงเปน “ผลขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน” ในงบกำไรขาดทุน

(หนวย : พันบาท)

มูลคาสุทธิตามบัญชี (ตามวิธีราคาทุน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

6,806,326 5,715,550

1,179,380 458,130

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั และบริษทั ยอยมียอดคงเหลือของเครือ่ งมือแพทย อุปกรณ และยานพาหนะซึง่ ไดมาภายใตสญ ั ญา เชาทางการเงิน โดยมีมูลคาสุทธิตามบัญชีเปนจำนวนเงิน 244.0 ลานบาท และเฉพาะกิจการ 21.1 ลานบาท (2554: 420.3 ลานบาท และเฉพาะกิจการ 11.2 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทยอยมีสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องมือแพทย อุปกรณและยานพาหนะจำนวนหนึ่งซึ่ง ตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใชงานอยู ราคาทุนของสินทรัพยดังกลาวมีจำนวนเงินประมาณ 11,631.4 ลานบาท และเฉพาะกิจการ 2,962.4 ลานบาท (2554: 9,752.8 ลานบาท และเฉพาะกิจการ 2,130.1 ลานบาท)

17. ที่ดินและอาคารที่ยังไมไดใชเพ��อการดำเนินงาน

ที่ดินและอาคารที่ยังไมไดใชเพื่อการดำเนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย

ที่ดินและอาคารตามราคาทุนเดิม สวนเพิ่มจากการประเมินราคาใหม คาเผื่อการดอยคา รวม

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

368,174 265,668 (719) 633,123

367,847 265,668 (719) 632,796

368,174 143,748 (719) 511,203

367,847 143,748 (719) 510,876

ในป 2555 บริษทั ไดบนั ทึกผลการประเมินราคาทีด่ นิ โดยผูป ระเมินราคาอิสระ ซึง่ ใชวธิ เี ปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) โดยราคายุตธิ รรมของทีด่ นิ ประเมินใหมมรี าคารวม 602 ลานบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากราคาตามบัญชีจำนวน 122 ลานบาท โดยไดบนั ทึกสวน เพิ่มขึ้นนี้เปน “ผลกำไรจากการตีราคาที่ดิน” ในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ยอดสะสมของดอกเบีย้ เงินกูย มื ทีบ่ นั ทึกไวเปนสวนหนึง่ ของตนทุนทีด่ นิ ทีย่ งั ไมไดใชเพือ่ การดำเนินงานมีจำนวนประมาณ 29 ลานบาท (2554: 29 ลานบาท)

129 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

หากบริษทั และบริษทั ยอยแสดงมูลคาของทีด่ นิ ดังกลาวดวยวิธรี าคาทุน มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ตามวิธีราคาทุนจะเปนดังนี้

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยดังกลาวไมสามารถนำมาหักกับขาดทุนสะสมและไมสามารถนำไปจายเงินปนผลได


18. สินทรัพย ไมมีตัวตน

มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมมีตัวตนซึ่งเปนคอมพิวเตอรซอฟทแวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 แสดงไดดังนี้

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

(หนวย : พันบาท)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

130

ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นจากการซื้อกิจการ ซื้อเพิ่ม โอนเขา จำหนาย/ตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อเพิ่ม โอนเขา จำหนาย/ตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นจากการซื้อกิจการ คาตัดจำหนายสำหรับป โอนออก จำหนาย/ตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาตัดจำหนายสำหรับป จำหนาย/ตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

471,726 349,676 140,325 35,122 (384) 102 996,567 198,979 2,135 (4,223) (70) 1,193,388

148,344 9,473 133 157,950 125,535 283,485

270,306 161,407 82,904 (83) (141) 35 514,428 114,249 (3,980) (29) 624,668

73,247 11,715 84,962 14,252 99,214

482,139 568,720

72,988 184,271


19. สิทธิการเชา

(หนวย : พันบาท)

ราคาทุน หัก: คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ คาตัดจำหนายสำหรับป

733,767 (181,052) 552,715 22,137

716,587 (159,450) 557,137 19,041

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 133,010 (33,693) 99,317 6,744

การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของสิทธิการเชาสำหรับป 2555 และ 2554 แสดงไดดังนี้

มูลคาตามบัญชีตนป เพิ่มขึ้นจากการซื้อกิจการ ซื้อเพิ่ม หัก: คาตัดจำหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน มูลคาตามบัญชีปลายป

133,010 (26,949) 106,061 5,903

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

557,137 27,281 (22,137) (9,566) 552,715

106,061 (6,744) 99,317

509,064 141 52,961 (19,041) 14,012 557,137

59,003 52,961 (5,903) 106,061

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

งบการเงินรวม 2555 2554

20. เง�นเบิกเกินบัญช�ธนาคารและเง�นกูยืมระยะสั�นจากสถาบันการเง�น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทยอยมีวงเงินเบิกเกินบัญชีกับธนาคารเปนจำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 1,205 ลานบาท และ 1 ลานเหรียญสหรัฐ (2554: 450 ลานบาท และ 1 ลานเหรียญสหรัฐ) และเฉพาะของบริษัท 850 ลานบาท (2554: 150 ลานบาท) โดย จายดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินเบิกเกินบัญชีขั้นต่ำของธนาคารสำหรับวงเงินกูที่เปนสกุลเงินบาท และ LIBOR บวกอัตราคงที่สำหรับ วงเงินกูที่เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐ

21. เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้คากอสรางและเงินประกันผลงาน รวมเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

75,383 2,149,653 10,670 987,864 390,536 3,614,106

90,181 2,266,225 18,895 731,504 284,386 3,391,191

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 126,209 315,400 89,245 358,602 71,748 961,204

128,811 454,895 46,871 257,719 54,456 942,752

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

131


22. เง�นกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเง�น

(หนวย : พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม 2555 2554

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

เงินกูยืมระยะยาว หัก:สวนที่จะถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

132

9,447,906 (889,645) 8,558,261

7,764,387 (813,215) 6,951,172

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 9,075,180 (820,198) 8,254,982

3,141,710 (436,300) 2,705,410

บริษัท ก) ในป 2551 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับธนาคารแหงหนึ่งในวงเงิน 3,438 ลานบาท มีกำหนดระยะเวลา 10 ป เงินกูยืม ดังกลาวคิดดอกเบีย้ ในอัตราดอกเบีย้ เงินฝากประจำ บวกอัตราคงทีต่ อ ปตามทีร่ ะบุในสัญญา โดยมีกำหนดชำระดอกเบีย้ และเงินตน เปนรายเดือนตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา เงินกูยืมดังกลาวระบุเงื่อนไขใหบริษัทและบริษัทยอยไมสามารถนำทรัพยสินของบริษัท และบริษัทยอยไปค้ำประกันใดๆ และระบุขอปฏิบัติและขอจำกัดบางประการที่บริษัทและบริษัทยอยตองปฏิบัติตาม และบริษัท ไดทำสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ สำหรับเงินกูย มื ระยะยาวกับสถาบันการเงินแหงหนึง่ ตามทีก่ ลาวในหมายเหตุ 36.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมียอดคงเหลือของเงินกูยืมเปนจำนวน 1,776.3 ลานบาท (2554: 2,120.1 ลานบาท) ข) ในเดือนพฤศจิกายน 2554 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งในวงเงิน 1,000 ลานบาท เงินกูยืมดังกลาว คิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือน บวกอัตราคงที่ตอปตามที่ระบุในสัญญา โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ยเปน รายเดือนและชำระเงินตนเปนราย 6 เดือนตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญาและมีกำหนดระยะเวลาเบิกเงินกูภายใน 1 ปนับจากวันทำ สัญญา และมีการตอสัญญาออกไปอีก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทยังไมไดเบิกเงินกูยืมจากวงเงินดังกลาว ค) ในเดือนพฤศจิกายน 2554 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งในวงเงิน 3,000 ลานบาท มีกำหนดระยะ เวลา 7 ป 6 เดือน เงินกูยืมดังกลาวคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือน บวก อัตราคงที่ตอปตามที่ระบุในสัญญา โดยมีกำหนดชำระดอกเบีย้ เปนรายเดือนและชำระเงินตนเปนรายไตรมาสตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมียอดคงเหลือของเงินกูยืมเปนจำนวน 2,569.0 ลานบาท (2554: 1,021.6 ลานบาท) ง) ในเดือนมกราคม 2555 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งในวงเงิน 586 ลานบาท มีกำหนดระยะเวลา 8 ป 6 เดือน เงินกูยืมดังกลาวคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือน บวกอัตราคงที่ตอปตามที่ระบุในสัญญา โดยมี กำหนดชำระดอกเบี้ยและเงินตนเปนรายเดือนตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมียอดคงเหลือของ เงินกูยืมเปนจำนวน 558.5 ลานบาท จ) ในเดือนมิถุนายน 2555 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งในวงเงิน 1,766 ลานบาท มีกำหนดระยะเวลา 7 ป 6 เดือน เงินกูยืมดังกลาวคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือน บวกอัตราคงที่ตอปตามที่ระบุในสัญญา โดยมี กำหนดชำระดอกเบีย้ เปนรายเดือนและชำระเงินตนเปนรายไตรมาสตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั มียอดคงเหลือของเงินกูยืมเปนจำนวน 1,671.4 ลานบาท ฉ) ในเดือนกรกฎาคม 2555 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งจำนวนเงิน 2,500 ลานบาท มีกำหนดระยะ เวลา 5 ป เงินกูยืมดังกลาวคิดดอกเบี้ยในอัตราคงที่ตอปตามที่ระบุในสัญญา โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ยทุกครึ่งป และกำหนด ชำระเงินตนเมือ่ สัญญาครบกำหนด 5 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั มียอดคงเหลือของเงินกูย มื เปนจำนวน 2,500 ลานบาท บริษทั ยอย ก) ในป 2550 และ 2551 Angkor Pisith Co., Ltd. ซึ่งเปนบริษัทยอยไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งในตาง ประเทศในวงเงิน 4 ลานเหรียญสหรัฐ มีกำหนดระยะเวลา 7 ป 10 เดือน เงินกูย มื ดังกลาวคิดดอกเบีย้ ในอัตรารอยละ LIBOR บวก อัตราคงที่ตอป โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ยเปนรายเดือนและชำระเงินตนเปนรายไตรมาสตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา เงินกูยืมนี้ ค้ำประกันโดยบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ยอยมียอดคงเหลือของเงินกูย มื เปนจำนวน 3.1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเทา 94.4 ลานบาท (2554: 3.6 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเทา 113.8 ลานบาท)


23. หนี้สินตามสัญญาเชาการเง�น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 เจาหนี้ตามสัญญาเชาการเงินประกอบดวย

(หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดบัญชี รวม หัก: สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน- สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

191,325 (12,538) 178,787 (92,713) 86,074

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

364,871 (29,843) 335,028 (149,723) 185,305

18,934 (1,348) 17,586 (6,150) 11,436

10,816 (837) 9,979 (3,051) 6,928

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาเชาขั้นต่ำตามสัญญา เชาการเงินดังนี้

(หนวย : พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ไมเกิน 1 ป ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาการเงิน ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงินรอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาการเงิน

101,651 (8,938) 92,713

งบการเงินรวม 1-5 ป 89,674 (3,600) 86,074

รวม 191,325 (12,538) 178,787 (หนวย : พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาการเงิน ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงินรอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาการเงิน

ไมเกิน 1 ป

งบการเงินรวม 1-5 ป

รวม

169,207 (19,484) 149,723

195,664 (10,359) 185,305

364,871 (29,843) 335,028

133 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

สัญญาเงินกูยืมระยะยาวของบริษัทและบริษัทยอยไดระบุขอปฏิบัติบางประการที่บริษัทและบริษัทยอยตองปฏิบัติตาม เชน การ ดำรงอัตราสวนทางการเงิน เปนตน

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ข) ในป 2551 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยไดเขาทำสัญญากูยืมเงินกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งใน วงเงิน 20 ลานบาท มีกำหนดระยะเวลา 7 ป เงินกูย มื ดังกลาวคิดดอกเบีย้ ในอัตราคงทีต่ อ ป โดยมีกำหนดชำระดอกเบีย้ และเงินตน เปนรายเดือนตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ยอยมียอดคงเหลือของเงินกูย มื เปนจำนวน 8.9 ลานบาท (2554: 12.2 ลานบาท) ค) ในป 2552 บริษัทโรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทยอยแหงหนึ่งไดทำสัญญากูยืมเงินกับ สถาบันการเงินอีกแหงหนึ่งเปนจำนวนเงิน 410 ลานบาท มีกำหนดระยะเวลา 9 ป เงินกูยืมดังกลาวตอมาไดมีการเปลี่ยนแปลง อัตราดอกเบี้ยเปนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือน บวกอัตราคงที่ตอป และมีกำหนดระยะเวลาการชำระคืนเงินตนและ ดอกเบี้ยตามที่ระบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทยอยมียอดคงเหลือของเงินกูยืมเปนจำนวน 269.4 ลานบาท (2554: 315.8 ลานบาท)


(หนวย : พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาระยะยาว ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาระยะยาวรอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาระยะยาว

ไมเกิน 1 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ 1-5 ป

รวม

6,844 (694) 6,150

12,090 (654) 11,436

18,934 (1,348) 17,586

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

(หนวย : พันบาท)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

134

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาระยะยาว ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาระยะยาวรอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชาระยะยาว

ไมเกิน 1 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ 1-5 ป

รวม

3,525 (474) 3,051

7,291 (363) 6,928

10,816 (837) 9,979

บริษัทและบริษัทยอยมีเจาหนี้สัญญาเชาการเงิน ซึ่งประกอบดวยสัญญาเชาหลายสัญญาเพื่อจัดหาเครื่องมือทางการแพทย อุปกรณ และยานพาหนะสำหรับใชในการดำเนินธุรกิจ โดยมีกำหนดชำระคาเชาเปนรายเดือนรวม 32 - 60 งวด และเมือ่ ครบกำหนดสัญญา

24. สำรองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน

จำนวนเงินสำรองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานซึ่งเปนเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม 2555 2554

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนตนป เพิ่มขึ้นจากการซื้อกิจการ ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนที่จายในระหวางป ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนปลายป

862,972 93,638 39,174 (18,758) 131,630 1,108,656

471,633 304,133 76,439 30,742 (23,122) 3,147 862,972

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 148,516 16,241 6,244 (5,224) 46,747 212,524

คาใชจายเกี่ยวกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงานรวมอยูในกำไรหรือขาดทุนแสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม 2555 2554 ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย รวมคาใชจายที่รับรูในกำไรหรือขาดทุน คาใชจายดังกลาวรับรูในรายการตอไปนี้ในงบกำไรขาดทุน ตนทุนคารักษาพยาบาล ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการบริหาร

(หนวย : พันบาท)

132,629 16,568 5,674 (6,355) 148,516 (หนวย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

93,638 39,174 132,812

76,439 30,742 107,181

16,241 6,244 22,485

16,568 5,674 22,242

78,287 54,525

59,989 47,192

8,360 14,125

7,958 14,284


สมมติฐานทีส่ ำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันประเมินสรุปไดดงั นี้

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (ขึ้นกับชวงอายุของพนักงาน)

จำนวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนสำหรับปปจ จุบนั และสองปยอ นหลังแสดงไดดงั นี้ ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ป 2555 ป 2554 ป 2553

1,108,656 862,972 471,633

(รอยละตอป)

4.1 6.0

4.7 6.0

(หนวย : พันบาท)

การปรับปรุงตามประสบการณที่เกิดจากหนี้สินโครงการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

212,524 148,516 132,629

68,661 -

31,203 -

25. ทุนเร�อนหุน

เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2554 ไดมีมติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจด ทะเบียนเดิมจำนวน 1,312,264,222 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจำนวน 1,312,264,222 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท เปนทุน จดทะเบียนใหมจำนวน 1,246,194,338 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจำนวน 1,246,194,338 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท และ อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท จำนวน 307,197,070 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจำนวน 307,197,070 หุน มูลคาที่ตราไว หุน ละ 1 บาท โดยทุนจดทะเบียนใหมเปนจำนวน 1,553,391,408 บาท แบงออกเปนหุน สามัญจำนวน 1,553,391,408 หุน มูลคาทีต่ ราไว หุนละ 1 บาท โดยบริษัทไดดำเนินการเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนเรียบรอยแลวในไตรมาสที่ 1 ป 2554 ตอมาในไตรมาสที่ 2 ป 2554 บริษัทไดออกหุนสามัญเพิ่มทุนจำนวนรวม 295.2 ลานหุน สำหรับการเขารวมกิจการและการยื่นคำ เสนอซื้อหลักทรัพยตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 13.3 และ 13.4 ตามลำดับ นอกจากนี้บริษัทไดออกและจำหนายหุนสามัญเพิ่มทุน เปน จำนวน 4.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ในราคาหุนละ 37.75 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 156 ลานบาท เพื่อเสนอขายตอบุคคล ในวงจำกัดใหแกกลุมผูถือหุนรายใหญของบริษัท เฮลท เน็ตเวิรค จำกัด (มหาชน) ผลจากการออกหุนดังกลาวและการแปลงสภาพหุนกู สวนที่เหลือ ทำใหทุนจดทะเบียนและชำระแลวของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจำนวน 1,545,458,883 บาท (หุนสามัญ 1,545,458,883 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญประจำปของผูถือหุนของบริษัทไดอนุมัติการลดทุน จดทะเบียนของบริษัท จำนวน 7,932,525 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 1,553,391,408 บาท เปนทุนจดทะเบียนใหมจำนวน 1,545,458,883 บาท และมีมติ อนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั แบบมอบอำนาจทัว่ ไป (General Mandate) จำนวน 154,545,888 บาท โดยการออกหุน สามัญ เพิม่ ทุนจำนวน 154,545,888 หุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท โดยทุนจดทะเบียนใหมจะเปนจำนวน 1,700,004,771 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจำนวน 1,700,004,771 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนแลวในเดือนพฤษภาคม 2555

26. เง�นปนผลจาย เงินปนผล เงินปนผลประจำป 2554 รวมเงินปนผลในระหวางป 2555

อนุมัติโดย ที่ประชุมสามัญผูถือหุนเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555

เงินปนผลจาย (ลานบาท) 1,700 1,700

เงินปนผลจายตอหุน (บาท) 1.10 1.10

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

(รอยละตอป) 3.7 - 4.1 3.7 - 5.0 3.0 - 7.5 3.0 - 7.5

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

135 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

งบการเงินรวม 2555 2554


27. สำรองตามกฎหมาย

เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทตองจัดสรรกำไรสุทธิประจำปสวนหนึ่งไว เปนทุนสำรองไมนอยกวารอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไมนอย กวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนำไปจายเงินปนผลได

28. คาใชจายตามลักษณะ

รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สำคัญสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ไดแก

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

(หนวย : ลานบาท)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

136

งบการเงินรวม 2555 2554 คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน คาแพทย ตนทุนยาและเวชภัณฑ คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาใชจายในการโฆษณาและประชาสัมพันธ คาเชาจาย

10,192.1 8,298.8 6,146.7 2,950.6 866.4 444.4

8,587.7 7,053.2 5,164.7 2,707.5 473.1 376.8

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2,199.4 1,444.8 1,123.6 664.4 394.7 69.2

1,786.0 1,325.4 953.3 701.6 198.0 40.1

29. ภาษ�เง�นได

ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสำหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 คำนวณขึน้ ในอัตรารอยละ 23 (2554: รอยละ 30) ของกำไรสุทธิทางภาษี

30. กำไรตอหุน

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสำหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัท (ไมรวมกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยจำนวน ถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางป

31. สัญญาเชาระยะยาว

บริษัท บริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดินเพื่อกอสรางเปนอาคารจอดรถ มีกำหนดระยะเวลาการเชา 20 ปนับตั้งแตวันที่ 26 กุมภาพันธ 2547 ถึงวันที่ 25 กุมภาพันธ 2567 กำหนดชำระคาเชาสำหรับ 17 เดือนแรก ในอัตราเดือนละ 200,000 บาทและเพิม่ อัตราคาเชาตามทีก่ ำหนด ไวในสัญญา สำหรับ 3 ปสุดทาย มีอัตราคาเชาเดือนละ 560,000 บาท บริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดินเพื่อกอสรางอาคารรับรองผูปวยนอกของโรงพยาบาล มีกำหนดระยะเวลาการเชา 30 ปนับตั้งแตวันที่ 28 กันยายน 2547 ถึงวันที่ 27 กันยายน 2577 โดยจะเริม่ ชำระคาเชาครัง้ แรกในวันที่ 10 ตุลาคม 2548 ในอัตราเดือนละ 50,000 บาท และ เพิ่มอัตราคาเชาทุก 3 ปในอัตรารอยละ 10 ของคาเชารายเดือนตามอัตราสุดทายของแตละชวง 3 ป บริษทั ไดทำสัญญาเชาทีด่ นิ เพือ่ กอสรางเปนลานจอดรถ มีกำหนดระยะเวลาการเชา 7 ป นับตัง้ แตวนั ที่ 1 กันยายน 2548 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2555 กำหนดชำระคาเชาเปนรายเดือน โดยเริ่มชำระครั้งแรกในวันที่ 1 กันยายน 2548 ในอัตราเดือนละ 131,000 บาท และ ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2549 เปนตนไป ชำระคาเชาในอัตราเดือนละ 175,000 บาท บริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดินแหงหนึ่งมีกำหนดระยะเวลาการเชา 30 ป นับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2578 กำหนดชำระคาเชาเปนรายเดือน โดยเริม่ ชำระครัง้ แรกในวันที่ 5 มกราคม 2549 ในอัตราเดือนละ 30,000 บาท และตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2570 เปนตนไป ชำระคาเชาในอัตราเดือนละ 100,000 บาท


บริษัทไดทำสัญญาเพื่อกอสรางอาคารโรงพยาบาลในที่ดินของราชการ ซึ่งตามสัญญาระบุวาบริษัทตองยกกรรมสิทธิในอาคารให หนวยงานราชการ เมื่อหนวยงานราชการไดทำการตรวจรับอาคารขางตนเรียบรอยแลว ในป 2549 บริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดินพรอม สิง่ ปลูกสรางจากหนวยงานราชการโดยมีกำหนดระยะเวลาการเชา 30 ป นับตัง้ แตวนั ทีล่ งนามในสัญญาเชา กำหนดชำระคาเชาเปนรายป โดย 5 ปแรกจายคาเชาในอัตราปละ 492,676 บาท และเพิม่ อัตราคาเชาทุก 5 ป และสำหรับ 5 ปสดุ ทายมีอตั ราคาเชาปละ 990,943 บาท

บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) บริษัทยอยทำสัญญาเชาอาคารที่จอดรถกับบริษัทแหงหนึ่งตามสัญญาลงวันที่ 10 กันยายน 2546 กำหนดระยะเวลาการเชา 30 ป ตั้งแตวันที่ 8 ธันวาคม 2547 รวมเปนคาเชาทั้งสิ้น 155.1 ลานบาท และบริษัทยอยตกลงชำระคาเชาลวงหนาแลวเปนจำนวน 38.8 ลานบาท ตามระยะเวลาที่กำหนด คาเชาสวนที่เหลือจายชำระเปนรายเดือน นอกจากนี้บริษัทยอยไดทำสัญญาบริการกับบริษัทเดียวกัน ในการใหบริการในอาคารจอดรถดังกลาวเปนระยะเวลา 30 ป เปนจำนวนเงินรวม 103.4 ลานบาท บริษัทยอยทำสัญญาใหบริการทางการแพทยกับบริษัทแหงหนึ่ง เพื่อใชเปนสถานที่ประกอบกิจการใหบริการคลินิกเวชกรรมกำหนด ระยะเวลา 5 ป ตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2553 โดยตกลงชำระคาตอบแทนตามอัตรารอยละที่ระบุในสัญญาของยอดรายไดจากการ ประกอบกิจการรายเดือนกอนหักคาใชจายใดๆ หรือตามจำนวนเงินคาตอบแทนขั้นต่ำตามที่ระบุในสัญญา แลวแตจำนวนใดจะสูงกวา บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด บริษัทยอยไดทำสัญญาเชาที่ดินกับสมาคมแหงหนึ่งซึ่งเปนผูถือหุนรายหนึ่ง เพื่อใชในการกอสรางโรงพยาบาลเปนระยะเวลา 30 ป เริ่มตั้งแต 1 กันยายน 2536 และอาจตออายุสัญญาได บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด บริษทั ยอยไดทำสัญญาเชาทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสราง ซึง่ จะหมดสัญญาในเดือนมกราคม 2580 โดยกำหนดชำระคาเชาเปนรายเดือน เปน จำนวนเงินตามที่ระบุไวในสัญญา บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด บริษัทยอยไดทำสัญญาเชาที่ดินกับรัฐวิสาหกิจแหงหนึ่ง ซึ่งมีกำหนดเวลา 3 ป สิ้นสุดป 2556 โดยบริษัทยอยจะตองจายคาเชารายป เปนจำนวนเงินตามที่ระบุไวในสัญญา

137 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

บริษัททำสัญญาเชาพื้นที่และใหบริการทางการแพทยกับบริษัทแหงหนึ่ง เพื่อใชเปนสถานที่ประกอบกิจการใหบริการคลินิกเวชกรรม กำหนดระยะเวลา 2 ป ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2554 และสิ้นสุดวันที่ 27 กันยายน 2556 โดยตกลงชำระคาตอบแทนตามอัตรารอยละ ที่ระบุในสัญญาของยอดรายไดจากการประกอบกิจการรายเดือนกอนหักคาใชจายใดๆ หรือตามจำนวนเงินคาตอบแทนขั้นต่ำตามที่ระบุ ในสัญญา แลวแตจำนวนใดจะสูงกวา

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดินแหงหนึ่งมีกำหนดระยะเวลาการเชา 30 ปนับตั้งแตวันที่ 18 มีนาคม 2554 ถึงวันที่ 17 มีนาคม 2584 กำหนดชำระคาเชาเปนรายเดือน โดยไมมีคาเชาในระยะเวลา 3 เดือนแรก และเริ่มชำระครั้งแรกในวันที่ 18 กรกฎาคม 2554 ในอัตรา เดือนละ 100,000 บาท และเพิ่มคาเชาทุก 3 ปในอัตรารอยละ 10 ของคาเชารายเดือนตามอัตราสุดทายของแตละชวง 3 ป


32. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดข�้น

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย

(หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

ภายใน 1 ป ภาระผูกพันตามสัญญา - สัญญาเชาอาคารและที่ดิน (รวมสัญญาเชาระยะยาวในหมายเหตุ 31) - สัญญาเชาอุปกรณสำนักงานและบริการอื่น - สัญญาเพื่อจัดหาและซอมบำรุง เครื่องมือทางการแพทย - สัญญาคากอสรางและตกแตงอาคาร - สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน รวม

มากกวา 5 ป

ภายใน 1 ป

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

98 270

222 97

426 -

21 29

46 9

132 -

236 748 1,352

56 3 80 458

24 450

23 267 340

55

132 (หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม

138 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

1 ถึง 5 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ภายใน 1 ป ภาระผูกพันตามสัญญา - สัญญาเชาอาคารและที่ดิน (รวมสัญญาเชาระยะยาวในหมายเหตุ 31) - สัญญาเชาอุปกรณสำนักงานและบริการอื่น - สัญญาเพื่อจัดหาและซอมบำรุง เครื่องมือทางการแพทย - สัญญาคากอสรางและตกแตงอาคาร - สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน รวม

1 ถึง 5 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ มากกวา 5 ป

ภายใน 1 ป

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

101 249

183 97

471 -

18 50

39 3

137 -

367 562 1,279

116 60 456

44 515

90 50 208

42

137

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทยอยมีหนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทและบริษัทยอยเหลืออยู เปนจำนวน 198 ลานบาท (2554: 189 ลานบาท) และ เฉพาะของบริษัท : จำนวน 26 ลานบาท (2554: 25 ลานบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่อง กับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจ เชน คาใชจายสาธารณูปโภคและการปฏิบัติตามสัญญา

33. การเสนอขอมูลทางการเง�นจำแนกตามสวนงาน

บริษัทและบริษัทยอยดำเนินกิจการหลักในสวนงานเดียวคือการประกอบกิจการโรงพยาบาลและบริการที่เกี่ยวของ โดยมีสวนงาน ทางภูมศิ าสตรหลักในประเทศไทย ดังนัน้ รายได กำไร และสินทรัพยโดยสวนใหญตามทีแ่ สดงไวในงบการเงินจึงเกีย่ วของกับสวนงานธุรกิจ และสวนงานทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว


34. หุนกู

การเปลีย่ นแปลงของบัญชีหนุ กูส ทุ ธิจากคาใชจา ยในการออกหุน กูแ ละตัดจำหนายสำหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย : พันบาท)

8,461,263 600,000 (770) 3,361 9,063,854 (1,999,885) 7,063,969

7,963,172 3,500,000 (3,000,000) (5,182) 3,273 8,461,263 8,461,263

เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2551 บริษัทไดออกหุนกูไมมีหลักประกัน ชนิดระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิและไมมีผูแทนผูถือหุนกู จำนวนรวม 5,000,000 หนวย ในราคาหนวยละ 1,000 บาท คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 5,000 ลานบาท โดยแบงเปน 2 ชุด คือ หุนกู อายุ 3 ป มูลคารวม 3,000 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.11 ตอป และ หุนกู อายุ 5 ป มูลคารวม 2,000 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.84 ตอป โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน บริษัทไดไถถอนหุนกู อายุ 3 ป มูลคารวม 3,000 ลานบาท ในไตรมาส 1 ป 2554 เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2552 บริษัทไดออกหุนกูไมมีหลักประกัน ชนิดระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิ จำนวนรวม 3,000,000 หนวย ในราคาหนวยละ 1,000 บาท คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 3,000 ลานบาท โดยแบงเปน 2 ชุด คือ หุนกู อายุ 5 ป มูลคารวม 2,000 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.80 ตอป และ หุนกู อายุ 7 ป มูลคารวม 1,000 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.35 ตอป โดยมีกำหนดชำระ ดอกเบีย้ ทุก 6 เดือน จนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ไดซอ้ื คืนหุน กูด งั กลาวนีจ้ ำนวน 30,000 หนวย เปนจำนวนเงิน 30 ลานบาท เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2554 บริษัทไดออกหุนกูไมมีหลักประกัน ชนิดระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิและไมมีผูแทนผูถือหุนกู จำนวนรวม 2,500,000 หนวย ในราคาหนวยละ 1,000 บาท คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 2,500 ลานบาท อายุ 4 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.99 ตอป โดยมี กำหนดชำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2554 บริษัทไดออกหุนกูไมมีหลักประกัน ชนิดระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิและไมมีผูแทนผูถือหุนกู จำนวน รวม 1,000,000 หนวย ในราคาหนวยละ 1,000 บาท คิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 1,000 ลานบาท อายุ 3 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.78 ตอป โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน ในเดือนสิงหาคม 2555 บริษัทไดออกหุนกูไมมีหลักประกัน ชนิดระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิและไมมีผูแทนผูถือหุนกู จำนวนรวม 600,000 หนวย ในราคาหนวยละ 1,000 บาท คิดเปนมูลคาทัง้ สิน้ 600 ลานบาท อายุ 10 ป อัตราดอกเบีย้ รอยละ 4.5 ตอป โดยมีกำหนด ชำระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน หุนกูมีขอปฏิบัติบางประการที่บริษัทตองปฏิบัติตาม เชน การดำรงอัตราสวนทางการเงิน การจายปนผล การจำหนายจายโอน ทรัพยสิน เปนตน

139 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ยอดคงเหลือตนป ออกหุนกูเพิ่มระหวางป ไถถอนหุนกูระหวางป คาใชจายในการออกหุนกู ตัดจำหนายคาใชจายในการออกหุนกู ยอดคงเหลือสิ้นป หัก: สวนของหุนกูที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกู - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

งบการเงินรวม / งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554


35. สิทธิและประโยชนดานการสงเสร�มการลงทุน

บริษัทไดรับสิทธิประโยชนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ตามบัตรสงเสริมของคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน เลขที่ 2302(2)/2553 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 โดยไดรับการสงเสริมการลงทุนในกิจการสถานพยาบาล ประเภท 7.7 สิทธิ ประโยชนสำคัญที่ไดรับไดแก:

กรณีที่กิจการประกอบกิจการขาดทุนในระหวางเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล ผูไดรับการสงเสริมจะไดรับอนุญาตใหนำผล ขาดทุนประจำปทเ่ี กิดขึน้ ในระหวางนัน้ ไปหักออกจากกำไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาทีไ่ ดรบั การยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลมีกำหนด เวลาไมเกิน 5 ป นับแตวันที่พนกำหนด โดยจะเลือกหักจากกำไรสุทธิของปใดปหนึ่งหรือหลายปก็ได

140

- ไดรับยกเวนอากรขาเขาสำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของ เงินลงทุนไมรวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียนมีกำหนดระยะเวลา 8 ป นับจากวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

- ไดรับยกเวนอากรขาเขาสำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของ เงินลงทุนไมรวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียนมีกำหนดระยะเวลา 8 ป นับจากวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น

- ไดรบั ยกเวนไมตอ งนำเงินปนผลจากกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริมซึง่ ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลไปรวมคำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได ตลอดระยะเวลาที่ผูไดรับการสงเสริมไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น บริษัท วัฒนเวช จำกัด บริษทั วัฒนเวช จำกัด ไดรบั สิทธิพเิ ศษทางดานภาษีอากรจากการสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัตสิ ง เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดยการอนุมตั ขิ องคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนตามบัตรสงเสริมเลขที่ 1686(2)/2547 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2547 โดยไดรบั การสงเสริม การลงทุนในกิจการสถานพยาบาล ประเภท 7.11 สิทธิประโยชนสำคัญที่ไดรับไดแก

กรณีที่กิจการประกอบกิจการขาดทุนในระหวางเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล ผูไดรับการสงเสริมจะไดรับอนุญาตใหนำผล ขาดทุนประจำปทเ่ี กิดขึน้ ในระหวางนัน้ ไปหักออกจากกำไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาทีไ่ ดรบั การยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลมีกำหนด เวลาไมเกิน 5 ป นับแตวันที่พนกำหนด โดยจะเลือกหักจากกำไรสุทธิของปใดปหนึ่งหรือหลายปก็ได - ไดรบั ยกเวนไมตอ งนำเงินปนผลจากกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริมซึง่ ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลไปรวมคำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได ตลอดระยะเวลาที่ผูไดรับการสงเสริมไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด บริษทั โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย จำกัด ไดรบั การสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัตสิ ง เสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ตามบัตรสงเสริมฯ เลขที่ 1719(2)/2547 ลงวันที่ 1 กันยายน 2547 โดยไดรับการสงเสริมการลงทุนในกิจการสถานพยาบาล ประเภท 7.11 สิทธิประโยชน สำคัญที่ไดรับไดแก - ไดรับยกเวนอากรขาเขาสำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของ เงินลงทุนไมรวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียนมีกำหนดระยะเวลา 8 ป นับจากวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น กรณีที่กิจการประกอบกิจการขาดทุนในระหวางเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล ผูไดรับการสงเสริมจะไดรับอนุญาตใหนำผล ขาดทุนประจำปทเ่ี กิดขึน้ ในระหวางนัน้ ไปหักออกจากกำไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาทีไ่ ดรบั การยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลมีกำหนด เวลาไมเกิน 5 ป นับแตวันที่พนกำหนด โดยจะเลือกหักจากกำไรสุทธิของปใดปหนึ่งหรือหลายปก็ได


- ไดรบั ยกเวนไมตอ งนำเงินปนผลจากกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริมซึง่ ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลไปรวมคำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได ตลอดระยะเวลาที่ผูไดรับการสงเสริมไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น

กรณีที่กิจการประกอบกิจการขาดทุนในระหวางเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล ผูไดรับการสงเสริมจะไดรับอนุญาตใหนำผล ขาดทุนประจำปทเ่ี กิดขึน้ ในระหวางนัน้ ไปหักออกจากกำไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาทีไ่ ดรบั การยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลมีกำหนด เวลาไมเกิน 5 ป นับแตวันที่พนกำหนด โดยจะเลือกหักจากกำไรสุทธิของปใดปหนึ่งหรือหลายปก็ได - ไดรบั ยกเวนไมตอ งนำเงินปนผลจากกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริมซึง่ ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลไปรวมคำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได ตลอดระยะเวลาที่ผูไดรับการสงเสริมไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทยอยตองปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ที่กำหนดไวในบัตรสงเสริมการลงทุน รายไดของบริษัทและบริษัทยอยสำหรับป 2555 และ 2554 จำแนกตามรายไดสวนไดรับการสงเสริมการลงทุนและสวนที่ไมไดรับ การสงเสริมการลงทุนแสดงไวดังนี้ (หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม สวนที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน 2555 2554 รายไดคารักษาพยาบาล รายไดอื่น รวมรายได

1,146,601 19,165 1,165,766

951,872 951,872

สวนที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุน 2555 2554 43,160,727 3,535,666 46,696,393

34,272,594 2,146,872 36,419,466

รวม 2555

2554

44,307,328 3,554,831 47,862,159

35,224,466 2,146,872 37,371,338 (หนวย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สวนที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน 2555 2554 รายไดคารักษาพยาบาล รายไดอื่น รวมรายได

341,128 341,128

190,257 190,257

สวนที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุน 2555 2554 9,660,298 2,854,975 12,515,273

8,068,582 2,501,067 10,569,649

รวม 2555

2554

10,001,426 2,854,975 12,856,401

8,258,839 2,501,067 10,759,906

141 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

- ไดรับยกเวนอากรขาเขาสำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของ เงินลงทุนไมรวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียนมีกำหนดระยะเวลา 5 ป นับจากวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

บริษัท เอ.เอ็น.บี. ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด บริษัท เอ.เอ็น.บี. ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด ไดรับการสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ตามบัตรสงเสริมฯ เลขที่ 1913(2)/2554 ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2554 โดยไดรับการสงเสริมการลงทุนในกิจการผลิตยาและ/หรือสารออก ฤทธิ์สำคัญในยา ประเภท 6.5 สิทธิประโยชนสำคัญที่ไดรับไดแก


36. เคร�่องมือทางการเง�น

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทและบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและ การเปดเผยขอมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวย สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินตามที่ระบุในหมายเหตุ 4.17 บริษัทและ บริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

142

36.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงเปนปกติจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศในตลาด และมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อจากการที่คูสัญญาจะไมปฏิบัติตามสัญญา บริษัทยอยไมไดใชตราสารอนุพันธทางการเงิน สวนบริษัท ใชตราสารอนุพันธทางการเงินในการบริหารความเสี่ยงดังกลาว เมื่อพิจารณาวาเหมาะสม บริษัทและบริษัทยอยไมมีนโยบายประกอบ ธุรกรรมตราสารอนุพันธเพื่อการคาหรือการเก็งกำไร 36.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืม ระยะสัน้ เงินกูย มื ระยะยาว และหุน กู อยางไรก็ตาม สินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินสวนใหญมอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบันและบริษัทจะพิจารณาเขาทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยสำหรับเงิน กูยืมเพื่อบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยดังกลาวตามความเหมาะสม รายละเอียดของเงินกูยืมระยะยาวและหุนกูแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 22 และ 34 ตามลำดับ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest rate swap contract) สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเปนสัญญาที่ชวยในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ย เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2551 บริษัทไดทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง มีกำหนดระยะเวลา 5 ป โดย เปลี่ยนจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำบวกอัตราคงที่ ตอป เปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอป ของยอดคงเหลือ เงินกูยืมระยะยาว มูลคายุติธรรมสุทธิของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม 2555 2554 มูลคายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (หนี้สิน)

(11.2)

(20.5)

(หนวย : ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (11.2)

(20.5)

มูลคายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยคำนวณโดยใชอัตราที่กำหนดโดยสถาบันการเงินเสมือนวาไดยกเลิกสัญญานั้น ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน


สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย ไดดังนี้

(หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

สินทรัพยทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด - เงินลงทุนชั่วคราว - ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ำประกัน - เงินลงทุน

451 211 21 683

-

-

3,120 2 3,035

19 57 4,287 13,360 17,810

3,590 268 4,287 23 13,360 21,528

หนี้สินทางการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน - เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น - เงินกูยืมระยะยาว - หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - หุนกู

1,200 3 93 2,000 3,296

2,506 86 6,464 9,056

600 600

25 6,939 6,964

3,614 3,614

1,225 3,614 9,448 179 9,064 23,530

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

รวม

(หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม

ภายใน 1 ป

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

อัตรา ดอกเบี้ยปรับ ขึ้นลงตาม ราคาตลาด

510 418 12 940

50 50

-

3,140 13 3,153

อัตราดอกเบี้ยคงที่

สินทรัพยทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด - เงินลงทุนชั่วคราว - ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - เงินฝากระยะยาวกับสถาบันการเงิน - เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ำประกัน - เงินลงทุน

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

รวม

226 46 3,377 7,865 11,514

3,876 464 3,377 50 25 7,865 15,657

143 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ภายใน 1 ป

อัตรา ดอกเบี้ยปรับ ขึ้นลงตาม ราคาตลาด

อัตราดอกเบี้ยคงที่

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

งบการเงินรวม


(หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม

ภายใน 1 ป

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

อัตรา ดอกเบี้ยปรับ ขึ้นลงตาม ราคาตลาด

-

-

4 150 154

9 185 8,461 8,655

-

231 7,751 7,982

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

อัตราดอกเบี้ยคงที่

หนี้สินทางการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน - เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น - เงินกูยืมระยะยาว - หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - หุนกู

รวม

3,391 3,391

231 3,391 7,764 335 8,461 20,182 (หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินเฉพาะกิจการ

ภายใน 1 ป

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

อัตรา ดอกเบี้ยปรับ ขึ้นลงตาม ราคาตลาด

-

-

-

1,564 207 5,325 7,096

3 962 34,429 35,394

1,567 962 207 5,325 34,429 42,490

1,200 6 2,000 3,206

2,500 11 6,464 8,975

600 600

2,797 6,575 9,372

961 961

1,200 961 2,797 9,075 17 9,064 23,114

อัตราดอกเบี้ยคงที่

144 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

สินทรัพยทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด - ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - เงินลงทุน หนี้สินทางการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น - เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน - เงินกูยืมระยะยาว - หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - หุนกู

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

รวม


(หนวย : ลานบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

สินทรัพยทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด - ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - เงินลงทุน

170 60 230

-

-

1,517 137 1,606 3,260

3 829 30,537 31,369

1,520 829 307 1,666 30,537 34,859

หนี้สินทางการเงิน - เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น - เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน - เงินกูยืมระยะยาว - หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - หุนกู

-

-

-

1,628 3,142 4,770

943 943

943 1,628 3,142 10 8,461 14,184

3 3

7 8,461 8,468

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

รวม

36.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้ออุปกรณการแพทยและการขายสินคาเปน เงินตราตางประเทศ บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดตกลงทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึง่ สวนใหญมอี ายุสญ ั ญาไมเกินหนึง่ ปเพือ่ ใชเปนเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทยอยแหงหนึ่งมีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือดังนี้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554

สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

จำนวนที่ซื้อ

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของจำนวนที่ซื้อ

255,442 482,588 3,465

(บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 30.89 - 31.14 30.75 - 31.63 41.52

145 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ภายใน 1 ป

อัตรา ดอกเบี้ยปรับ ขึ้นลงตาม ราคาตลาด

อัตราดอกเบี้ยคงที่

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

งบการเงินเฉพาะกิจการ


36.4 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ตั๋วแลกเงินและลูกหนี้อื่น ฝายบริหารควบคุม ความเสี่ยงนี้โดยการพิจารณากำหนดวงเงินสินเชื่อที่จะใหกับลูกคาหรือคูสัญญา และวิเคราะหฐานะทางการเงินของลูกคาหรือคูสัญญา อยางสม่ำเสมอ บริษัทและบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสำคัญจากการใหสินเชื่อดังกลาว

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

การใหสินเชื่อของบริษัทไมมีการกระจุกตัว เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอยมีฐานของลูกคาที่หลากหลายและมีอยูจำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั และบริษทั ยอยอาจตองสูญเสียจากการใหสนิ เชือ่ คือมูลคาตามบัญชีของลูกหนี้ เงินใหกยู มื และลูกหนีอ้ น่ื ทีแ่ สดง อยูในงบแสดงฐานะการเงิน

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

146

36.5 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญของบริษัทและบริษัทยอยมีอัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลงตามอัตราตลาดหรือมีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทและบริษัทยอยจึงประมาณมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงิน ใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันหรือจายชำระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝายมีความ รอบรู และเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะทีไ่ มมคี วามเกีย่ วของกัน วิธกี ารกำหนดมูลคา ยุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกำหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัด มูลคาที่เหมาะสม

37. การบร�หารจัดการทุน

วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทและบริษัทยอยคือการจัดใหมีซึ่งโครงสรางทุนเพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทและบริษัทยอย และเสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับ ผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กลุมบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอ ทุนเทากับ 0.8:1.0 (2554: 0.8:1.0) และ เฉพาะบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 0.9:1.0 (2554: 0.6:1.0)

38. คดีความ

38.1 คดีความป 2555 ในไตรมาสที่ 2 ป 2555 ผูอางวาเปนผูถือหุนของบริษัทจำนวน 5 ราย (“ผูถือหุน”) ไดยื่นคำรองตอศาล ขอใหศาลมีคำสั่งเพิกถอน มติที่ประชุมใหญสามัญประจำป 2555 วาระที่ 5 พิจารณาแตงตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ และใหบริษัทจัดการประชุม วาระพิจารณาแตงตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระขึ้นใหม โดยกลาวหาวา การประชุมใหญสามัญประจำป 2555 ของบริษัท เปนการลงมติที่ฝาฝนตอขอบังคับของบริษัท พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย พ.ศ. 2535 อันเปนการไมเปนธรรม เอาเปรียบ และสรางความเสียหายตอผูถือหุน ที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทไดศึกษาขอมูลตางๆ รวมถึงขั้นตอนดำเนินการจัดประชุมทั้งหมดของบริษัทมีความเห็นวา บริษัทได ดำเนินการเรียกประชุมและจัดการประชุมใหญสามัญประจำป 2555 เพือ่ พิจารณาอนุมตั วิ าระตางๆ รวมถึงวาระพิจารณาแตงตัง้ กรรมการ แทนกรรมการที่ออกตามวาระ โดยถูกตองตามกฎหมาย และขอบังคับของบริษัทและเปนการดำเนินการที่ชอบดวยกฎหมายทุกประการ ทั้งนี้ ที่ประชุมไดมีมติในวาระตางๆ ดวยคะแนนเสียงขางมาก รวมถึงวาระที่ 5 พิจารณาแตงตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ ซึ่งมีบุคคลจำนวน 7 ทานไดรับการเสนอชื่อใหที่ประชุมพิจารณาเปนกรรมการแทนกรรมการ 5 ทานที่ตองออกตามวาระ โดยที่ประชุม ผูถือหุนไดมีมติอนุมัติแตงตั้งบุคคลที่คณะกรรมการเสนอชื่อจำนวน 5 ทาน ซึ่งเปนผูที่ไดรับคะแนนเสียงสูงสุดในลำดับที่ 1 ถึงลำดับที่ 5


38.2 คดีความป 2554 ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ผูอ า งวาเปนผูถ อื หุน ของบริษทั จำนวน 5 ราย ไดยน่ื คำรองตอศาล โดยกลาวหาวา บริษทั ไดดำเนินการประชุม สามัญประจำป 2554 โดยไมชอบดวยกฎหมายและฝาฝนขอบังคับ เนื่องจากเปลี่ยนวิธีการลงคะแนน จึงรองขอใหศาลมีคำสั่งเพิกถอน มติทป่ี ระชุมสามัญประจำป 2554 ในการนี้ บริษทั ไดยน่ื คำคัดคานวา บริษทั มิไดเปลีย่ นวิธกี ารลงคะแนน บริษทั ไดจดั ใหมกี ารประชุมและ ที่ประชุมผูถือหุนมีการลงมติโดยชอบดวยขอบังคับและกฎหมาย ตลอดจนระเบียบปฏิบัติของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่บริษัท จดทะเบียนถือปฏิบัติเปนการทั่วไป โดยคำนึงถึงสิทธิตามกฎหมายของผูถือหุนทุกรายเปนสำคัญ ตอมาในระหวางการพิจารณา ผูรอง ทั้งหารายและบริษัทไดทำสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยมีสาระสำคัญวา บริษัทจะดำเนินการนัดเรียกประชุมใหญสามัญผูถือหุน ภายในเดือนเมษายน 2556 เพื่อใหผูถือหุนพิจารณาลงมติตามวาระการประชุมที่บัญญัติไวในกฎหมาย และผลการลงมติเปนประการใด ทัง้ สองฝายยินยอมผูกพันตามมตินน้ั โดยผูร อ งทัง้ หา ไมตดิ ใจรองหรือฟองเพิกถอนมติทป่ี ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2554 ตามคำรอง อีกตอไป และทุกฝายไมตดิ ใจเรียกรองสิง่ อืน่ ใดตอกัน ยอมใหคา ฤชาธรรมเนียมเปนพับ ในการนี้ ศาลแพงไดพจิ ารณาสัญญาประนีประนอม ยอมความแลว เห็นวาชอบดวยกฎหมาย จึงมีคำพิพากษาใหคดีเสร็จเด็ดขาดไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ

39. เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

จัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม ในเดือนกุมภาพันธ 2556 บริษัทไดจัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม ชื่อบริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพขอนแกน จำกัด เพื่อดำเนินธุรกิจ โรงพยาบาลที่จังหวัดขอนแกน โดยมีทุนจดทะเบียน 600 ลานบาท โดยบริษัทถือหุนในบริษัทดังกลาวรอยละ 100

147 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

นอกจากนี้ บริษัทมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟองรองเรียกคาเสียหายในคดีการเลิกจางไมเปนธรรม โดยมีทุนทรัพยในการ ฟองคดีเปนจำนวนเงิน 415 ลานบาท เนือ่ งจากบริษทั ไดวา จางทีป่ รึกษาซึง่ อดีตเปนผูบ ริหารระดับสูงซึง่ ไดเกษียณอายุงานไปแลว โดยได ทำสัญญาจางเปนที่ปรึกษาแบบมีกำหนดระยะเวลา ภายหลังเมื่อสัญญาสิ้นสุด บริษัทไมตอสัญญาดังกลาวออกไป ที่ปรึกษาทานดังกลาว จึงไปฟองตอศาล โดยขณะนี้คดีอยูในระหวางการพิจารณาของศาลแรงงานกลาง บริษัทไมไดบันทึกประมาณการหนี้สินไวในงบการเงิน เนือ่ งจากฝายบริหารของบริษทั เห็นวาคดียงั มีความไมแนนอนอยู ประกอบกับฝายบริหารมีความเชือ่ วาไดปฏิบตั ติ ามสัญญาและกฎหมาย ถูกตองแลว ประกอบกับที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทเห็นวาการเลิกจางดังกลาว ไมเปนการเลิกจางที่ไมเปนธรรม เนื่องจากสัญญาจาง ระหวางบริษัท และที่ปรึกษาไดสิ้นสุดลงแลวตามสัญญา และไมมีการตอสัญญาจาง ดังนั้นการเลิกจางในคดีนี้จึงชอบดวยกฎหมายทุก ประการ

ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

เปนกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ ดวยคะแนนเสียงขางมาก และบริษัทไดปฏิบัติตามมติที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2555 แลว โดยไดดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมการของบริษัทตอกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 ทั้งนี้เรื่องดังกลาวอยูระหวางขั้นตอนดำเนินการทางคดีความ อยางไรก็ตามฝายบริหารคาดวาจะไมมีผลกระทบตอการ เปลี่ยนแปลงมติที่ประชุมผูถือหุนดังกลาว


ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ ง� น ร ว ม

การเขาซื้อหุนบริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) โดยบริษัทยอย เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ไดมีมติอนุมัติให บริษทั ยอยเขาซือ้ หุน ของบริษทั โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) โดยบริษทั ยอยไดเขาซือ้ หุน ของบริษทั ดังกลาว จำนวน 3,741,612 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.94 ของหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทดังกลาวจากผูถือหุนเดิมในราคาหุนละ 55 บาท รวมเปนเงิน ทั้งสิ้น 205.79 ลานบาท ทำใหบริษัทและบริษัทยอยถือหุนรวมกันใน บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) คิดเปนสัดสวนรอยละ 44.96 ของหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมด

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

148

นอกจากนี้ เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ 2556 บริษทั รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด ไดยน่ื คำเสนอซือ้ หลักทรัพยของบริษทั โรงพยาบาล กรุงธน จำกัด (มหาชน) ในราคาหุนละ 55 บาท โดยกำหนดระยะเวลาการทำคำเสนอซื้อระหวางวันที่ 11 กุมภาพันธ 2556 ถึงวันที่ 18 มีนาคม 2556

40. การอนุมัติงบการเง�น

งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2556


Health Care Business

ที่ตั�งบร�ษัท

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท 1719, 02-310-3000 โทรสาร 02-310-3032, 02-310-3327

เลขทะเบียนบร�ษัท

บมจ. 0107537000025

Web site

www.bangkokhospital.com

ทุนจดทะเบียน

มูลคา 1,700.00 ลานบาท โดยเปนทุนที่ออกและเรียกชำระแลว จำนวน 1,545.46 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจำนวน 1,545.46 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท

ขอมูลอางอิงอื่น นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 4 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-229-2800, 02-654-5599 โทรสาร 0-2359-1259

นายทะเบียนหุนกู และตัวแทนชำระเง�น

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ชั้น 10 เลขที่ 393 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 02-230-5878, 02-230-5756 โทรสาร 02-230-6093

ผูแทนผูถือหุนกู

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ฝายบริการธุรกิจหลักทรัพย เลขที่ 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 11 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-470-1952, 02-470-3687 โทรสาร 02-470-3684

ผูสอบบัญช�

บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-661-9190, 02-264-0777 โทรสาร 02-661-9192, 02-264-0789-90

149 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

ประเภทธุรกิจ

ข อ มู ล ทั� ว ไ ป ข อ ง บ ร� ษั ท แ ล ะ ข อ มู ล อ า ง อิ ง อื่ น ๆ

ขอมูลทั�วไปของบร�ษัทและขอมูลอางอิงอื่นๆ


นิติบุคคลที่บร�ษัทถือหุนตั�งแตรอยละ 10 ข�้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

นิ ติ บุ ค ค ล ที่ บ ร� ษั ท ถื อ หุ น ตั� ง แ ต ร อ ย ล ะ 1 0 ข�้ น ไ ป

รายชื่อบริษัท

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

150

วันที่ จดทะเบียน

สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

จำนวนหุนที่ออก และเรียกชำระแลว

อัตราการ ถือหุน(รอยละ)

1 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม จำกัด

22 เม.ย. 2555

2 ซอยศูนยวจิ ยั 7 ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

100,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

2 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร จำกัด

26 ก.ค. 2555

111 ถนนทองใหญ ตำบลหมากแขง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

โรงพยาบาลเอกชน

50,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

3 บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) (PPCL)

18 มิ.ย. 2535

943 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ

Holding Company

1,108,208,020 มูลคาที่ตราไว 1 บาทตอหุน

98.32%

4 บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 1 จำกัด

11 ธ.ค. 2544

364/1 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

48,100,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

5 บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 2 จำกัด

15 ก.ย. 2527

943 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

22,511,351 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

99.15%

6 บริษัท โรงพยาบาลพญาไท 3 จำกัด

24 ก.ย. 2539

111 ถนนเพชรเกษม แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

7 บริษัท โรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด (มหาชน)

17 ก.พ. 2538

90 ถนนศรีราชานคร 3 ตำบลศรีราชา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

โรงพยาบาลเอกชน

35,954,180 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

66.53%

8 ต.ค. 2529

670/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

30,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

99.99%

30 ม.ค. 2535

123 ถนนศรีนครินทร ตำบลบางเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

โรงพยาบาลเอกชน

8,400,000 มูลคาที่ตราไว 5 บาทตอหุน

93.30%

10 บริษัท การแพทยสยาม จำกัด

17 ก.ค. 2513

1 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

หุนสามัญ 8,700,000 หุนบุริมสิทธิ์ 1,300,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

85.17% 89.13%

11 บริษัท ศูนยการแพทยไทย จำกัด (มหาชน)

27 ม.ค. 2536

44/505 ถนนนวมินทร เขตบึงกุม กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

200,538,671 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

99.76%

12 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ เขาใหญ จำกัด

18 ก.ค. 2550

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน (ยังไมเปดดำเนินการ)

7,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

13 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ สมุย จำกัด

14 ส.ค. 2546

57 หมู 3 ตำบลบอผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี

โรงพยาบาลเอกชน

15,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

14 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง จำกัด

13 ส.ค. 2545

8 หมู 2 ซอยแสงจันทรเนรมิตร ตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง

โรงพยาบาลเอกชน

40,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

15 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพตราด จำกัด

25 ม.ค. 2537

276 ถนนสุขุมวิท อำเภอเมือง จังหวัดตราด

โรงพยาบาลเอกชน

50,000,000 มูลคาที่ตราไว 5 บาทตอหุน

99.76%

16 บริษัท วัฒนเวช จำกัด

28 ต.ค. 2526

25/14 ถนนทาหลวง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี

โรงพยาบาลเอกชน

18,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

99.69%

17 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด

15 มี.ค. 2537

2/1 ถนนหงษหยกอุทิศ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

โรงพยาบาลเอกชน

100,000,000 มูลคาที่ตราไว 5 บาทตอหุน

99.68%

18 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ จำกัด

27 ก.ค. 2538

75 ซอย 15 ถนนเพชรเกษม อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

โรงพยาบาลเอกชน

100,000,000 มูลคาที่ตราไว 5 บาทตอหุน

98.79%

ถือผาน บมจ. ประสิทธิ์พัฒนา ถือผาน บมจ. ประสิทธิ์พัฒนา ถือผาน บมจ. ประสิทธิ์พัฒนา ถือผาน บมจ. ประสิทธิ์พัฒนา

8 บริษัท เปาโลเมดิค จำกัด 9 บริษัท เปาโล สมุทรปราการ จำกัด

หุนสามัญ 5,442,995 หุนบุริมสิทธิ์ 3,750,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

98.20% 100.00%

19 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จำกัด

1 พ.ค. 2532

301 ถนนสุขุมวิท กม.143 อำเภอเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

โรงพยาบาลเอกชน

28,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

97.27%

20 บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) (SVH)

28 ธ.ค. 2519

133 สุขุมวิท 49 แขวงคลองตัน เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

100,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

95.76%

21 บริษัท สมิติเวช ศรีราชา จำกัด

9 เม.ย. 2544

8 ซอยแหลมเกตุ ถนนเจิมจอมพล อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

โรงพยาบาลเอกชน

18,751,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

68.06%

22 บริษัท บีเอ็นเอช เมดิเคิล เซ็นเตอร จำกัด (BNH)

27 ส.ค. 2534

9/1 ถนนคอนแวนต แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

58,611,935 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

91.48%

23 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพ ราชสีมา จำกัด

27 พ.ย. 2535

1308/9 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

โรงพยาบาลเอกชน

30,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

90.36%

288 ถนนสุขสวัสดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

โรงพยาบาลเอกชน

10,500,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

79.00%

National Road No.6, Kruos Village, Svay Dangkom Commune, Siem Reap District, Siem Reap Province, Cambodia.

โรงพยาบาลเอกชน ที่ประเทศกัมพูชา

10,000 มูลคาที่ตราไว USD 1,000 ตอหุน

80.00%

No.11, Street 592, Sangkat Boeung Kak 2, Khan Toul Kok, Phnom Penh, Cambodia.

โรงพยาบาลเอกชน ที่ประเทศกัมพูชา

6,500 มูลคาที่ตราไว USD 1,000 ตอหุน

70.00%

ถือผาน SVH

24 บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพพระประแดง จำกัด 25 Angkor Pisith Co., Ltd. 26 Royal Rattanak Medical Services Co., Ltd.

7 ก.ย. 2535 20 ธ.ค. 2548 มิ.ย. 2550

(สมิติเวชสุขุมวิท และสมิติเวช ศรีนครินทร)


สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

จำนวนหุนที่ออก และเรียกชำระแลว

อัตราการ ถือหุน(รอยละ)

27 Phnom Penh Medical Services Co., Ltd.

27 พ.ย. 2549

Toeuk Thla Village, Russian Federation Blvd., Sangkat Toeuk Thla, Khan Russey Keo, Phnom Penh, Cambodia.

โรงพยาบาลเอกชนที่ประเทศ กัมพูชา (ยังไมเปดดำเนินการ)

10,000 มูลคาที่ตราไว USD1,000 ตอหุน

100.00%

28 B.D.M.S. International Medical Services Co., Ltd.

20 ธ.ค. 2548

61A Street 214, Sangkat Beong Rang, Khan Don Peh, Phnom Penh, Cambodia.

โรงพยาบาลเอกชนในประเทศ กัมพูชา (ยังไมเปดดำเนินการ)

1,000 มูลคาที่ตราไว KHR 9,200,000 ตอหุน

100.00%

29 S.R. Property Investment Co., Ltd.

20 ธ.ค. 2548

Company

1,000 มูลคาที่ตราไว KHR 20,000 ตอหุน

49.00%

30 Siem Reap Land Investment Co., Ltd.

10 ก.พ. 2549

Company

1,000 มูลคาที่ตราไว KHR 20,000 ตอหุน

49.00%

31 Phnom Penh First Property Co., Ltd.

27 พ.ย. 2549

517 Road No.6, Phum Salakanseng, Khum Svay Damdum, Srok Khet, Siem Reap, Cambodia. 517 Road No.6, Phum Salakanseng, Khum Svay Damdum, Srok Khet, Siem Reap, Cambodia. No.61 Street 214, Sangkat Beong Rang, Khan Don Peh, Phnom Penh, Cambodia.

Company

1,000 มูลคาที่ตราไว KHR 20,000 ตอหุน

49.00%

32 บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร แลบบอราทอรี่ส (ประเทศไทย) จำกัด

7 พ.ย. 2544

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

หองปฏิบัติการ ชีวโมเลกุล

1,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

95.00%

33 บริษัท เนชั่นแนล เฮลทแคร ซิสเต็มส จำกัด

25 ก.ค. 2544

2301/2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ

company

7,500,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

74.02%

34 บริษัท เอเชีย อินเตอรเนชั่นแนล เฮลธแคร จำกัด (AIH)

17 ก.ค. 2546

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ AI Gaith Tower 14th Floor, Office Number 1401, Hamdan Street, Abu Dhabi, United Arab Emirates

Holding Company

3,500,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

โรงพยาบาลเอกชน ในประเทศ UAE

10,000 (ราคาที่ตราไว) AED 1,000 ตอหุน

30.00%

ถือผาน SVH และ BNH อีกรอยละ 25.97

35 Al Ghaith Bangkok Dusit Management Services LLC. ถือผาน (AIH)

มิ.ย. 2550

36 บริษัท กรีนไลน ซินเนอรจี้ จำกัด

18 ส.ค. 2551

2301/2 อาคารศูนยทันตกรรม ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

ประกอบกิจการดาน เทคโนโลยีและสารสนเทศ

20,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

37 บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด

11 ก.พ. 2551

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

Holding Company ถือหุนใน บจก. เอ. เอ็น.บี. ลาบอราทอรี่ จำกัด

73,600,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

1 มิ.ย. 2504

39/1 ถนนรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพฯ

ผลิตและจำหนาย ผลิตภัณฑเกี่ยวกับยารักษาโรค

115,000 มูลคาที่ตราไว 1,000 บาทตอหุน

100.00%

39 บริษัท เพชรบุรีตัดใหมการแพทย จำกัด (อยูระหวางชำระบัญชี)

20 ธ.ค. 2545

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

Dormant Company

10,000 มูลคา ที่ตราไว 100 บาทตอหุน

99.93%

40 บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จำกัด (มหาชน)

2 ม.ค. 2524

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

ประกันสุขภาพ

10,500,000 มูลคาที่ ตราไว 10 บาทตอหุน

99.94%

41 บริษัท กรุงเทพพรีเมียร นายหนาประกันชีวิต จำกัด

29 ส.ค. 2554

2301/2 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

นายหนาประกันชีวิต

2,000,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

42 บริษัท สหแพทยเภสัช จำกัด

26 ส.ค. 2514

124 ถ.ธนบุรี-ปากทอ กรุงเทพฯ

จำหนายและผลิตยา

2,143,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

49.00%

43 บริษัท กรุงเทพเฮลิคอปเตอร เซอรวิสเซส จำกัด

29 มิ.ย. 2538

1111 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ

บริการขนสงผูปวย ทางอากาศ

10,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

49.00%

44 บริษัท คูลแอนดจอย จำกัด

20 พ.ค. 2546

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

ประชาสัมพันธ และสงเสริมการตลาด

500,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

30.00%

45 บริษทั โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) *** (RAM)

25 ส.ค. 2529

2138 ถนนรามคำแหง เขตบางกะป กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

12,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

38.24%

46 บริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร จำกัด (มหาชน) ***

15 ธ.ค. 2532

33 ถนนสุขุมวิท ซอย 3 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

หุนสามัญ 728,393,246 หุนบุริมสิทธิ 1,658,976 มูลคาทีต่ ราไว 10 บาทตอหุน

23.88%

47 บริษัท โรงพยาบาลกรุงธน จำกัด (มหาชน) ***

7 ม.ค. 2536

337 ถนนสมเด็จพระเจาตากสิน เขตธนบุรี กรุงเทพฯ

โรงพยาบาลเอกชน

15,000,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

20.01%

48 บริษัท อุดรพัฒนา จำกัด ***

9 มิ.ย. 2537

555/5 ถนนโพศรี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

โรงพยาบาลเอกชน

30,000,000 มูลคา ที่ตราไว 1 บาทตอหุน

15.26%

38 บริษทั เอ เอ็น บี ลาบอราตอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด ถือผาน บริษัท รอยัลบางกอก เฮ็ลธแคร จำกัด

ถือผาน PPCL และ RAM อีกรอยละ 19.33

49 บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด

23 ก.ย. 2553

2 ซอยศูนยวิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ

ศูนยจัดฝกอบรมใหกับ พนักงานในเครือ

100,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

100.00%

50 บริษัท เออรวิ่ง เชอริเดน เอส อี จำกัด

14 พ.ย. 2545

488 ถนนศรีนครินทร เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ

บริหารจัดการทรัพยสิน

10,000 มูลคาที่ตราไว 10 บาทตอหุน

96.03%

51 บริษัท เฟสท เฮ็ลธ ฟูด จำกัด

23 มี.ค. 2547

488 ถนนศรีนครินทร เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ

ภัตตาคารและ อาหารสุขภาพ

1,400,000 มูลคา ที่ตราไว 10 บาทตอหุน

99.99%

52 บริษัท โซเด็กซโซ เฮ็ลธแคร ซัพพอรท เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด ถือผาน First Health

15 พ.ค. 2547

23/93 อาคารสรชัย ซอยสุขุมวิท 63 ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

บริการเสริมแกลูกคา ในดานตางๆ

150,000 มูลคา ที่ตราไว 100 บาทตอหุน

74.00%

ถือผาน SVH ถือผาน SVH

หมายเหตุ : *** เขาไปลงทุนไมมีสวนรวมในการบริหาร

นิ ติ บุ ค ค ล ที่ บ ร� ษั ท ถื อ หุ น ตั� ง แ ต ร อ ย ล ะ 1 0 ข�้ น ไ ป

วันที่ จดทะเบียน

151 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2 5 5 5

รายชื่อบริษัท




บร�ษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) 2 ซอยศูนยว�จัย 7 ถนนเพชรบุร�ตัดใหม หวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 66-2310-3000 โทรสาร 66-2318-1546 www.bangkokhospital.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.