ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
1
ÊÒö֧¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ àÃÕ¹ ·‹Ò¹¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ ป 2561 นั บ เป น ป ที่ ร าคานํ้ า ตาลทรายในตลาดโลก มีความผันผวนสูงและลดตํ่าลงมากเปนประวัติการณ โดย ระดับราคานํา้ ตาลทรายดิบในตลาดโลกเปดทีร่ าคา 15 เซนต/ปอนด ในชวงเดือนมกราคม และลดลงมากถึงระดับ 9.83 เซนต/ปอนด ในช ว งเดื อ นกั น ยายนก อ นจะปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น มาป ด ที่ 12.03 เซนต/ปอนด ในชวงปลายเดือนธันวาคม โดยระดับ ราคาเฉลี่ยอยูที่ 12-13 เซนต/ปอนด เทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอนที่ราคา 20 เซนต/ปอนด สาเหตุสําคัญเปนผล มาจากผลผลิตของประเทศผูผลิตสําคัญเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ทั้งอินเดีย ไทย สหภาพยุโรป และจีน การอุดหนุนการสงออก นํ้ า ตาลทรายของอิ น เดี ย เทรนด ก ารบริ โ ภคนํ้ า ตาลที่ เ ริ่ ม เปลี่ยนแปลง ประกอบกับสตอกนํ้าตาลทรายในตลาดโลก ยังคงสูงเมื่อเทียบกับปริมาณความตองการใชทําใหผลผลิต สวนเกินนีม้ ผี ลกดดันตอราคา ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจโลก ชะลอตัวจากสงครามการคาระหวางจีนกับสหรัฐอเมริกา ทําให ราคานํ้ามันมีแนวโนมตกตํ่าและสงผลกระทบตอราคาสินคา โภคภัณฑที่ปรับตัวลดลงตาม ขณะเดียวกันการประกาศปรับ โครงสรางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมออยและนํา้ ตาลทราย ของภาครัฐในชวงตนป โดยเฉพาะการยกเลิกระบบโควตา และการลอยตัวราคาจําหนายปลีกนํ้าตาลทรายอันเปนผล มาจากการกลาวหาของบราซิลตอไทยกับองคการการคาโลก (WTO) วาใหการอุดหนุนอุตสาหกรรมออยและนํ้าตาลทราย อั น เป น การบิ ด เบื อ นตลาดและก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หาย กับบราซิล ซึ่งการปรับโครงสรางนี้สงผลตอราคาจําหนาย นํา้ ตาลทรายภายในทีป่ รับลดตามราคาตลาดโลกและปริมาณ การจําหนายที่ลดลงตามไปดวยเชนกัน ทั้ ง นี้ จากป จ จั ย ทางด า นเศรษฐกิ จ และด า นอุ ป สงค อุปทานของนํ้าตาลทรายดังกลาว ทําใหผลการดําเนินงาน ในป 2561 ของบริษทั มีรายไดจากการขายสินคาและใหบริการ รวม 5,555.97 ลานบาท และมีกําไรสุทธิ 271.67 ลานบาท ซึ่ง แมวา ปจจัยภายนอกจะมีผลกระทบตอผลการดําเนินงานของ บริษัทโดยรวม แตอยางไรก็ตามบริษัทมีมาตรการระยะยาว เพือ่ ทําใหผลการดําเนินงานของบริษทั สามารถเติบโตไดอยาง ยั่งยืน โดยการสงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกรปลูกออยใน ลักษณะ Contract Farming รวมทัง้ พัฒนานวัตกรรมใหมเกีย่ ว 2
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
กับพันธุอ อ ย อีกทัง้ มีระบบการบริหารจัดการทีใ่ ชสนับสนุนการ เพาะปลูก การบริหารจัดการระบบชาวไรดว ยระบบไรออนไลน และระบบจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ รวมทั้งการให ความรูแกชาวไร เพื่อทําใหเกิดการพัฒนาผลิตภาพการผลิต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญของความสําเร็จในการพัฒนาธุรกิจของ บริษัทอยางยั่งยืน นอกจากนี้ การรองรั บ การตอบสนองพฤติ ก รรมของ ผู บ ริ โ ภคที่ จ ะเปลี่ ย นไปในอนาคตตามกระแสโลกาภิ วั ต น (Mega Trends) บริษัทไดศึกษาถึงความเปนไปไดในการ ขยายการลงทุนในธุรกิจใหม เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับบริษัท รวมทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาบุคลากรของบริษัทและชาวไร ออยควบคูกันไป ตามพันธกิจสราง “นักธุรกิจชาวไร” เพื่อ ใหอาชีพเพาะปลูกออยเปนอาชีพที่มั่นคง สรางรายไดที่ดี มีความสุข อีกทัง้ ยังสามารถถายทอดประสบการณและความรู จากรุนสูรุน และสืบทอดกิจการตอกันทุกชั่วอายุคน เพราะ บริษัทเชื่อวาสิ่งเหลานี้จะนํามาซึ่งความยั่งยืนทั้งดานวัตถุดิบ และการดําเนินธุรกิจของบริษัทเชนเดียวกัน
ดานธุรกิจไฟฟาชีวมวลในปที่ผานมา กลุมโรงไฟฟามี รายไดจากการดําเนินงานจํานวน 972 ลานบาท และมีกําไร สุทธิรวม 410 ลาบาท ซึง่ สูงกวาป 2560 รอยละ 78 นอกจากนัน้ บริษัท บุรีรัมยเพาเวอร จํากัด (“BPC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย ไดรบั รางวัลดีเดน ดานพลังงานทดแทน ประเภทโครงการผลิต ไฟฟาและความรอนรวม จากพลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม ในงาน Thailand Energy Awards 2018 ซึง่ จัดโดยกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน และ ไดรบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ดานพลังงานทดแทนประเภท โรงไฟฟ า พลั ง งานความร อ นร ว ม ในงาน 36 th ASEAN Ministers on Energy Meeting (36 AMEM) ณ ประเทศ สิงคโปร
ความเปนอยูของเกษตรกรชาวไรออย ชุมชนขางเคียง และ พนักงานใหดีขึ้นอยางยั่งยืน
¹Ò»ÃШǺ äªÂÊÒÊ ¹ ประธานกรรมการบริษัท
¹ÒÂ͹ѹµ µÑ้§µÃ§àǪ¡Ô¨ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจัดการ
สวนดานการกํากับดูแลกิจการนั้น บริษัทไดรับใบรับรอง ฐานะสมาชิกแนวรวมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการตอตาน การทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2561 ที่ผานมา ทั้งนี้ บริษัท มีความมุงมั่นสานตอการดําเนินตามนโยบายการตอตาน คอรรปั ชัน ตลอดจนการสือ่ สารและประกาศเรือ่ งดังกลาวไปยัง คูค า และผูเ กีย่ วของทุกภาคสวน รวมทัง้ ไดจดั อบรมใหบคุ ลากร และรณรงคภายในองคกรอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ไดเปด ชองทางการแจงขอรองเรียนและขอเสนอแนะ (Whistleblowing) เพื่อรับขอรองเรียนจากผูมีสวนไดเสีย ผานกลองรับความคิดเห็น และทางไปรษณีย ซึ่งสงถึงประธานกรรมการธรรมาภิบาล สําหรับธุรกิจผลพลอยไดในปที่ผานมา ไดจัดตั้งบริษัท โดยตรง โดยในปทผี่ า นมาไมปรากฏขอรองเรียนจากผูม สี ว นไดเสีย ชูการเคน อีโคแวร จํากัด (“SEW”) ซึ่งเปนบริษัทยอย โดยมี ดังนั้น จากการดําเนินงานดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี วัตถุประสงคผลิต จําหนาย นําเขาและสงออกบรรจุภัณฑ มาอยางตอเนื่องทําใหบริษัทไดรับผลประเมินระดับ “ดีเลิศ” อุปกรณ เครื่องมือและเครื่องใชที่ทําจากชานออยและวัสดุ หรือ “Excellent” โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยอยูที่รอยละ 93 ธรรมชาติอนื่ ๆ ทัง้ นี้ คาดการณวา SEW จะสามารถเริม่ การผลิต ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียนโดยรวมของ เชิงพาณิชยไดชวงกลางป 2562 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยทีอ่ ยูใ นระดับรอยละ 81 จาก นอกจากนัน้ ดานความรับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอม โครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน บริษทั ไดปฏิบตั งิ านบนพืน้ ฐานแนวคิด “การพัฒนาธุรกิจควบคู ประจําป 2561 ซึ่งจัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ กับการรักษาสิ่งแวดลอมและสรางความเจริญใหกับชุมชน บริษัทไทย (IOD) อยางยั่งยืน” โดยการสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนโดยรอบ ในนามของคณะกรรมการบริ ษั ท คณะผู บ ริ ห ารและ สถานประกอบการ อาทิ โครงการสงเสริมอาชีพเกษตรมะลิ พนักงานทุกคน บริษัทขอขอบคุณผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย ปลอดสาร ในเขตชุมชนโนนกลาง เพื่อเปนการเพิ่มรายไดและ ทุกกลุม ทีไ่ ดใหความไววางใจและสนับสนุนการดําเนินงานของ สรางความเขมแข็งใหกับชุมชน รวมทั้งไดรวมมือกับองคการ บริษัทดวยดีเสมอมา และขอใหเชื่อมั่นวาบริษัทมีความพรอม สวนสัตวในพระบรมราชูปถัมภ ในการกอสรางศูนยการเรียนรู ในการดําเนินธุรกิจใหเติบโตอยางยั่งยืน รวมทั้งการมุงสราง นกกระเรี ย นพั น ธุ ไ ทยของพระราชา ในเขตห า มล า สั ต ว ผลประโยชนแกประเทศชาติ ผูถือหุน และผูมีสวนเกี่ยวของ ห ว ยแสงเหนื อ อ.เมื อ ง จ.บุ รี รั ม ย ทั้ ง นี้ ความรั บ ผิ ด ชอบ ทุกฝายดวยหลักธรรมาภิบาลสืบไป ตอสังคมของบริษัทคือหนึ่งในกุญแจสําคัญที่จะนําพาองคกร ให เ ติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น ควบคู ไ ปกั บ การพั ฒ นาสภาพชี วิ ต
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
3
4
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
5
สั ดส่ วนรายได้ จากการขายและการให้ บริการ ปี 2561 4.94% 10.84% 9.52% 8.54%
น้ ำตำล
2561 66.15%
กำกน้ ำตำล
ไฟฟ้ ำ
อืน ่ ๆ
รำยได ้อืน ่
สิ นทรัพย์
6,764.48
7,226.86
4,638.30
2,092.77
2559
สินทรัพย์รวม
10,276.23
7,775.72
6,760.20
5,134.09
2,126.18
2558
9,232.74
หน่ วย : ล้ านบาท
2,472.52
2560
หนี ้สิน
2,500.51
2561
ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่ วนสภาพคล่อง (เท่ า) 1.04
0.85
0.73
0.51
2558
6
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
2559
2560
2561
ÊÃØ»¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹»‚ 2561 (»‚¡ÒüÅÔµ 2560/61)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
7
7
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1. นโยบาย ภาพรวม และเป้ าหมายการประกอบธุรกิจ 1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญาและค่ านิยมองค์ กร วิสัยทัศน์ สร้ างความมัน่ คงด้านผลผลิ ตและสร้างชี วิตที่ดีแก่ชาวไร่ ออ้ ย พัฒนาธุ รกิ จน้ าตาลทราย พลังงานทดแทน และธุ รกิจต่อเนื่องให้เติบโตอย่างยัง่ ยืนควบคู่กบั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ด้วยความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย ทุกฝ่ าย พันธกิจ 1. เป็ นเลิ ศ ในด้า นการบริ หารจัดการและการควบคุ ม คุ ณภาพผลผลิ ต อ้อย ผลผลิ ต น้ า ตาลทราย และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง รวมทั้งผลพลอยได้ต่าง ๆ ให้ได้มาตรฐานและมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด 2. ส่ งเสริ มชาวไร่ ออ้ ยในพื้นที่บริ เวณรอบโรงงานให้มีผลผลิ ตต่อไร่ สูงและมีคุณภาพดี ด้วยหลัก วิชาการ ความใส่ ใจ และความรับผิดชอบต่อเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย 3. พัฒนาระบบบริ หารงานและการจัดการอย่างต่อเนื่ อง เพื่อความมัน่ คงของผลผลิต และผลกาไร ของเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยและธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ 4. พัฒนานวัตกรรมและสนับสนุ นด้านการวิจยั เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน ให้กบั องค์กรและเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย 5. ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของบุคลากรในองค์กรและเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยให้เติบโตมัน่ คงไปพร้อมกัน 6. มุ่ ง ต่ อยอดอุ ตสาหกรรมและพัฒนาธุ รกิ จผลิ ต ภัณ ฑ์ ต่ อเนื่ องต่ าง ๆ ทั้งด้ านพลัง งานทดแทน และด้านอื่น ๆ รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ เพื่อการดาเนินธุรกิจที่เติบโตอย่างยัง่ ยืน 7. ดาเนินธุ รกิจตามหลักธรรมาภิบาล เที่ยงตรง โปร่ งใส มีจริ ยธรรม มีความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย ชุมชน สังคม และสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนป้ องกัน ต่อต้านและไม่สนับสนุนการคอร์ รัปชันทุกรู ปแบบ ปรัชญา “นา้ ตาลสร้ างในไร่ ” เป็ นปรัชญาที่กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ (“กลุ่มบริ ษทั ”) ยึดถือมากว่าทศวรรษ ซึ่ ง แสดงออกถึงความมุ่งมัน่ ที่จะดาเนินธุ รกิจให้เติบโตอย่างยัง่ ยืน เพราะกลุ่มบริ ษทั ฯ เชื่อว่าการผลิตน้ าตาลให้ได้ คุณภาพดีและปริ มาณสู งสุ ดในต้นทุนที่ต่า อันจะนามาซึ่งผลประกอบการที่ดีของกลุ่มบริ ษทั ฯ และความมัน่ คง และมัง่ คัง่ แก่ ชาวไร่ ออ้ ยนั้น ต้องเริ่ มจากการสนับสนุ นและส่ งเสริ มให้ชาวไร่ ออ้ ยและบุคลากรในองค์กรมี ความรู ้ และใส่ ใจในการบริ หารจัดการอ้อย ตั้งแต่กระบวนการเพาะปลูก การบารุ งรักษา และการเก็บเกี่ ยว รวมถึงการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้บริ หารจัดการอ้อย นอกจากนั้น ยังใส่ ใจดูแลเกษตรกร ชาวไร่ ออ้ ย ชุมชนรอบข้าง และสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย
1 10
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ค่ านิยมองค์ กร “TEAM” คือค่านิยมร่ วมกันของคนในองค์กรที่ได้มุ่งผลสาเร็ จจากการทางานเป็ นทีมอย่างยัง่ ยืน T > Talk E > Expert & Education A > Achievement M > Motivation
คือการสื่ อสารกับทุกฝ่ ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร คือการสร้างมืออาชีพจากการเรี ยนรู้และพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง คือการมีส่วนร่ วมรับผิดชอบทั้งทีมอย่างซื่ อสัตย์ คือจิตสานึกแห่งความสาเร็ จ
2. ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษั ท น้ า ตาลบุ รี รั ม ย์ จ ากั ด (มหาชน) (“BRR”) และบริ ษ ัท ย่ อ ย เป็ นหนึ่ งในบรรดาผู ้บุ ก เบิ ก อุตสาหกรรมน้ าตาลของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีนายวิเชียร ตั้งตรงเวชกิจ ผูร้ ิ เริ่ มปลูกอ้อยและส่ งเสริ ม ให้เกษตรกรปลู ก อ้อยในจัง หวัดบุ รีรัม ย์ เป็ นกลุ่ม บริ ษ ทั ที่ดาเนิ นธุ รกิ จผลิ ตและจาหน่ า ยน้ า ตาลทรายขาว สี รา และน้ า ตาลทรายดิ บ ทั้งในและต่างประเทศ นานกว่า 5 ทศวรรษ รวมถึงการนาผลพลอยได้ที่ได้จาก กระบวนการผลิ ต น้ า ตาล เช่ น กากอ้อ ย กากหม้อ กรอง และกากน้ า ตาล ต่ อ ยอดธุ ร กิ จ อย่ า งครบวงจร ประกอบด้วยธุ รกิจโรงไฟฟ้ าชีวมวล ธุรกิจผลิตและจาหน่ายปุ๋ ย และธุ รกิจบรรจุภณั ฑ์เพื่อสิ่ งแวดล้อม ธุรกิจนา้ ตาล (ธุรกิจหลัก) 1. บริ ษัท โรงงานน้าตาลบุ รีรัมย์ จากัด (“BSF”) จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2546 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท ต่อมาในปี 2553 ได้มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนและชาระแล้วเป็ น 990,637,000 บาท และได้เพิ่ม ทุ นจดทะเบี ย นที่ชาระแล้วอีก ครั้ ง ในปี 2554 เป็ นจานวน 1,050,000,000 บาท โดยในปี 2553 ถึ ง 2554 BSF ได้รับโอนพนักงานในฝ่ ายผลิ ต การตลาด สิ นเชื่ อ และรับโอนทรัพย์สิน รวมถึ งใบอนุ ญาตผลิตและ จาหน่ายน้ าตาลทราย ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโรงงาน เครื่ องหมายการค้าและใบอนุญาตผลิตและจาหน่าย ไฟฟ้ าจาก BRR ซึ่งถือหุน้ โดย BRR ร้อยละ 99.90 BSF ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ า ตาลทราย ซึ่ งมี โ รงงานตั้ง อยู่ ณ เลขที่ 237 หมู่ ที่ 2 ตาบลหิ นเหล็ ก ไฟ อาเภอคู เมื อง จัง หวัดบุ รีรัม ย์ มี ก าลัง การผลิ ตที่ ไ ด้รับ อนุ ญาต 17,000 ตันอ้อยต่อวัน และในฤดูการผลิตปี 2558/59 ได้เพิ่มกาลังการผลิตของเครื่ องจักรเป็ น 24,000 ตันอ้อยต่อวัน เพื่อรองรับ ปริ มาณอ้อยที่เพิ่มขึ้นกว่า 2.21 ล้านตัน ในปี 2559/60 และ 3.15 ล้านตัน ในปี 2560/61 ผลิ ตภัณฑ์ที่จาหน่าย แบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท ได้แ ก่ น้ า ตาลทรายดิ บ และน้ า ตาลทรายขาวสี ร า โดยจ าหน่ า ยให้ แ ก่ ลู ก ค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกเหนื อจากการผลิ ตน้ าตาลแล้ว BSF ยังสามารถผลิ ตไฟฟ้ าจากไอน้ า ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตน้ าตาลได้ประมาณ 14.5-15 เมกะวัตต์ จากกาลังการผลิตสู งสุ ด 18.5 เมกะวัตต์ เพื่อใช้ภายในพื้นที่บริ เวณโรงงานน้ าตาลอีกด้วย
2 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
11
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2. บริษัท โรงงานน้าตาลชานิ จากัด (“CSF”) เดิมชื่อ บริ ษทั บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด (“BSP”) จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2558 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน 5,000,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน โดยมี BRR ถือหุ ้น ร้ อยละ 99.99 ทั้งนี้ ได้เปลี่ ยนแปลงชื่ อและลักษณะการประกอบธุ รกิ จจากบริ ษทั บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด (“BSP”) ซึ่ งจดทะเบียนไว้เพื่อรองรับการดาเนิ นธุ รกิจโรงไฟฟ้ าชีวมวลในอนาคต เป็ นบริ ษทั โรงงานน้ า ตาลชานิ จากัด (“CSF”) เพื่ อ ดาเนิ น ธุ ร กิ จ ประเภทโรงงานน้ า ตาล ซึ่ ง ได้รั บ อนุ ม ตั ิ ใ ห้จ ดั ตั้ง จากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย (“สอน.”) เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2558 โดยอนุ ญาตให้จดั ตั้ง โรงงานน้ าตาล ณ อาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์ มีกาลังการผลิต 20,000 ตันต่อวัน ซึ่ งปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม (EIA) 3. บริษัท น้าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (“BSC”) เดิมชื่อ บริ ษทั บุรีรัมย์อะโกรเอ็นเนอร์ ยี่ จากัด (“BAE”) จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2558 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน 10,000,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน โดยมี BRR ถื อหุ ้น ร้ อ ยละ 99.99 ทั้ง นี้ ได้เปลี่ ย นแปลงชื่ อและลัก ษณะการประกอบธุ รกิ จจากบริ ษ ทั บุรี รัม ย์อะโกร เอ็น เนอร์ ยี่ จากัด (“BAE”) ซึ่ งจดทะเบี ยนไว้เพื่อรองรับการดาเนิ นธุ รกิ จเอทานอลในอนาคต เป็ นบริ ษทั น้ า ตาลทุ น บุ รี รั ม ย์ จ ากัด (“BSC”) เพื่ อ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ประเภทโรงงานน้ า ตาล ซึ่ งได้รั บ อนุ ม ัติ ใ ห้ จ ัด ตั้ง จากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย (“สอน.”) เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 โดยอนุญาตให้จดั ตั้ง โรงงานน้ าตาล ณ อาเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุ รินทร์ มีกาลังการผลิต 20,000 ตันต่อวัน ซึ่ งปั จจุบนั บริ ษทั ยังไม่ได้เริ่ มประกอบธุรกิจ ธุรกิจผลพลอยได้ 1. บริ ษัท บุรีรัมย์ พลังงาน จากัด (“BEC”) เดิมชื่ อ บริ ษทั บุรีรัมย์เอทานอล จากัด จดทะเบียนจัดตั้ง ในปี 2548 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท และเพิ่มทุนเป็ น 15,600,000 บาท ในเดือนสิ งหาคม 2549 เพื่อเตรี ยมการก่อสร้ างโรงงานเอทานอล แต่ได้ชะลอการก่อสร้างโรงงานเอทานอลไว้ก่อน ต่อมาในปี 2553 บริ ษทั ได้เปลี่ยนชื่ อเป็ นบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด และเพิ่มทุนจดทะเบียนและชาระแล้วเป็ น 135,600,000 บาท ในปี 2554 ซึ่ง BRR ถือหุน้ ร้อยละ 99.99 BEC ดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้ าชี วมวล มีกาลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ โดยใช้กากอ้อยเป็ นเชื้ อเพลิงหลัก และยังสามารถใช้ไม้สับ ใบอ้อย และแกลบเป็ นวัตถุ ดิบในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าได้ อีกด้วย BEC จาหน่ าย กระแสไฟฟ้ าให้แก่ การไฟฟ้ าส่ วนภูมิ ภาค (“กฟภ.”) จานวน 8 เมกะวัตต์ และใช้ภายในโรงงาน 1.9 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้ า BEC ตั้งอยู่บนพื้นที่ใกล้เคียงกับโรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ เพื่อความสะดวกในการนากากอ้อยที่ได้จาก กระบวนการผลิตน้ าตาลมาใช้เป็ นเชื้อเพลิง และสะดวกในการจ่ายไฟฟ้ า เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554 BEC ได้เข้าทาสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ ากับ กฟภ. ในระบบ Adder โดย กฟภ. ตกลง ซื้ อขายไฟฟ้ าในปริ มาณพลังงานไฟฟ้ าสู งสุ ด 8 เมกะวัตต์ ที่ระบบแรงดัน 22,000 โวลต์ และเริ่ มขายไฟฟ้ าให้แก่ กฟภ. ในเดื อนพฤษภาคม 2555 ทั้งนี้ การดาเนิ นกิ จการของ BEC ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจากสานักงาน 3 12
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนในการผลิตพลังงานไฟฟ้ า เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2554 ต่อมาเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 ได้เปลี่ยนจากระบบ Adder เป็ น Feed-in-Tariff (FiT) 2. บริ ษั ท บุ รีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด (“BPC”) จดทะเบี ย นจัดตั้งในปี 2554 ปั จจุ บนั มี ทุ นจดทะเบี ย น ที่ชาระแล้ว 170,000,000 บาท ซึ่ งถื อหุ ้นโดย BEC ร้ อยละ 99.99 เป็ นบริ ษทั ที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อดาเนิ นธุ รกิ จ โรงไฟฟ้ าชี วมวล ซึ่ งเป็ นโรงไฟฟ้ าแห่ งที่ 2 ของกลุ่ มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ มี กาลังการผลิ ตติ ดตั้งจานวน 9.9 เมกะวัตต์ โดยใช้กากอ้อยเป็ นเชื้ อเพลิ งหลัก และยังสามารถใช้ไม้สับ ใบอ้อย และแกลบ เป็ นวัตถุดิบ ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าได้อีกด้วย โรงไฟฟ้ า BPC ตั้งอยู่บริ เวณใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้ า BEC และโรงงาน น้ าตาล BSF เพื่อความสะดวกในการขนส่ งกากอ้อยที่ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า โดยไฟฟ้ าที่ผลิตได้จะ จาหน่ายให้แก่ กฟภ. ซึ่ง BPC ได้เข้าทาสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ ากับ กฟภ. ในระบบ Feed-in-Tariff (FiT) ที่ปริ มาณ พลังงานไฟฟ้ าสู งสุ ด 8 เมกะวัตต์ ที่ระบบแรงดัน 22,000 โวลต์ และเริ่ มจาหน่ายไฟฟ้ าในเดือนเมษายน 2558 ทั้งนี้ การผลิตไฟฟ้ าของ BPC ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนในการ ผลิตพลังงานไฟฟ้ า เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558 3. บริ ษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ พลัส จากัด (“BPP”) จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2558 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน 160,000,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน และถือหุ ้นโดย BRR ร้อยละ 99.99 เป็ นบริ ษทั ที่จดั ตั้งขึ้น เพื่อดาเนิ นธุ รกิ จโรงไฟฟ้ าชี วมวล มีกาลังการผลิตติดตั้งจานวน 9.9 เมกะวัตต์ โดยใช้กากอ้อยเป็ นเชื้ อเพลิ งหลัก และยังสามารถใช้ไม้สับ ใบอ้อย และแกลบ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตกระแสไฟฟ้ าได้อีกด้วย โรงไฟฟ้ า BPP ตั้งอยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้ า BEC และ BPC และโรงงานน้ าตาล BSF เพื่อความสะดวกในการขนส่ ง กากอ้อยที่ใช้เป็ นเชื้ อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า โดยจัดเป็ นโรงไฟฟ้ าแห่ งที่ 3 ของกลุ่มธุ รกิ จผลพลอยได้ดา้ น พลังงานของกลุ่มบริ ษทั ฯ ปั จจุบนั BPP ผลิ ตและจาหน่ ายไฟฟ้ า รวมถึ งไอดี และไอเสี ยให้แก่ BSF เพื่อ สนับสนุ นกระบวนการผลิ ต น้ า ตาลที่มี ก ารขยายตัวเพิ่ม ขึ้ น ให้มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ทั้ง นี้ BPP เริ่ ม ผลิ ตไฟฟ้ า เป็ นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 และวางแผนในการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้ าให้แก่ กฟภ. ในอนาคตด้วย 4. บริ ษั ท ปุ๋ ยตรากุ ญ แจ จ ากั ด (“KBF”) จดทะเบี ย นจัด ตั้ง ในปี 2554 ปั จ จุ บ ัน มี ทุ น จดทะเบี ย น 15,000,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน โดย BRR ถือหุ ้นร้อยละ 99.99 ดาเนิ นธุ รกิ จผลิตปุ๋ ยอินทรี ยแ์ ละเคมี โดยปุ๋ ยอินทรี ยท์ ี่ได้มาจากกากหม้อกรอง (ตะกอน) ของกระบวนการผลิ ตน้ าตาล และนามาผสมกับส่ วนของ ปุ๋ ยเคมี ทั้งนี้ KBF เริ่ มดาเนินการผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยเมื่อธันวาคม 2555 โดยมีกาลังการผลิตปุ๋ ย 30,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา KBF ได้พฒั นาการผลิตปุ๋ ยให้มีความหลากหลายมากขึ้น จนกระทัง่ ปั จจุบนั KBF ผลิตและจัดจาหน่ายปุ๋ ยซึ่ งแบ่งได้ 3 ประเภท คือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดเม็ด ปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดผง และปุ๋ ยเคมีชนิดเม็ด โดย KBF จาหน่ ายปุ๋ ยให้แก่ BRD เพื่อนาไปส่ งเสริ มเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยที่อยู่ในพื้นที่ส่งเสริ ม เพื่อนาไปใช้ ปรับปรุ งดินให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ซ่ ึ งทาให้ผลผลิตต่อไร่ ออ้ ยทั้งด้านปริ มาณและคุณภาพสู งขึ้น อีกทั้ง ในปี 2561 KBF ได้ขยายตลาดออกสู่ ภายนอกในนามสิ นค้าตรา “ปลาบิน” โดยจาหน่ า ยปุ๋ ยให้แก่ พืช เศรษฐกิ จ สาคัญ อาทิ อ้อย ยางพารา มันสาปะหลัง และพืชผักสวนครัว เป็ นต้น ซึ่ งมีผลิตภัณฑ์ที่วางจาหน่าย 4 ประเภท 4 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
13
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
คือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดผงและชนิดเม็ด ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี จานวน 3 สู ตร ปุ๋ ยเคมีน้ า และในปี 2562 KBF มีแผนเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี 5. บริ ษัท ชู การ์ เคน อีโคแวร์ จากัด (“SEW”) จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2561 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน 75,000,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน ซึ่ ง BRR ถื อหุ ้นร้ อยละ 99.99 โดยดาเนิ นธุ รกิ จผลิ ตบรรจุ ภณ ั ฑ์ เครื่ องใช้ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ จากชานอ้อย และเยื่อพืชธรรมชาติชนิ ดอื่น ซึ่ งคาดว่าจะเริ่ มดาเนิ นการผลิ ตได้ใน ช่ วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2562 ทั้งนี้ การผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ดงั กล่าวของ SEW ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน จากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2561 นอกจากนี้ SEW มีกาลังการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อยประมาณ 300 ล้านชิ้ นต่อปี โดยบรรจุภณ ั ฑ์ หลักจะเป็ นบรรจุ ภณ ั ฑ์สาหรับอาหารและบรรจุภณ ั ฑ์ทางการแพทย์ ทั้งนี้ SEW ยังสามารถผลิ ตบรรจุภณ ั ฑ์ ประเภทอื่น ๆ ตามที่ลูกค้าต้องการได้ อาทิ บรรจุ ภณ ั ฑ์สาหรับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิ กส์ SEW มี โรงงานตั้งอยู่ บริ เวณใกล้เคียงกับโรงงานน้ าตาล BSF เพื่อความสะดวกในการขนส่ งชานอ้อยที่ใช้เป็ นวัตถุดิบหลักในการผลิ ต โดยปั จจุบนั โครงการได้ดาเนินการก่อสร้างโรงงานไปแล้วมากกว่าร้อยละ 60 บริ ษทั มีแผนที่จะจาหน่ายสิ นค้า ไปยังต่างประเทศมากกว่าร้อยละ 75
5 14
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
6 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
15
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ธุรกิจสนับสนุน บริ ษัท บุ รี รั ม ย์ วิจั ย และพัฒ นาอ้ อย จ ากัด (“BRD”) เดิ ม ชื่ อ บริ ษ ัท บุ รีรั ม ย์จ ัก รกลพัฒ นา จากัด จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2539 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท และเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 บริ ษทั ได้ เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 70,880,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน และในปี เดี ยวกันบริ ษทั ได้มีการเปลี่ยนชื่อ เป็ นบริ ษทั บุรีรัมย์วจิ ยั และพัฒนาอ้อย จากัด โดย BRR ถือหุน้ ร้อยละ 99.99 BRD เป็ นบริ ษทั ย่อย ดาเนิ นการจัดหาวัตถุ ดิบ ให้ก บั BSF และดาเนิ นธุ รกิ จโดยการส่ ง เสริ ม และสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกอ้อยในลักษณะ Contract farming เพื่อให้มีวตั ถุดิบที่เพียงพอกับกาลังการผลิต ของ BSF รวมทั้ง พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ เกี่ ย วกับ พันธุ์ อ้อย ระบบการบริ หารจัดการน้ า เครื่ องจัก รที่ ใ ช้ สนับ สนุ นการเพาะปลู ก การบริ หารจัดการระบบชาวไร่ ด้วยระบบไร่ ออนไลน์ (Online) ระบบจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศแบบ MIS (Management Information System) และระบบแผนที่แปลงอ้อย GIS (Geographic Information System) และนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ เพื่อให้สามารถดาเนิ นงาน ควบคุม ติดตามผล และแก้ไขปัญหาได้ทนั ต่อสถานการณ์ รวมถึงการให้ความรู ้ท้งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิแก่เกษตรกรในการปลูกอ้อย เป็ นต้น ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มคุ ณภาพและปริ มาณผลผลิ ตต่อไร่ ให้แก่เกษตรกร และยังเป็ นการเสริ มสร้างศักยภาพ ให้แก่เกษตรกรเพื่อการประกอบอาชีพได้อย่างยัง่ ยืน และมีรายได้หลักในการเลี้ ยงครอบครัว รวมทั้งพัฒนา คุณภาพชีวติ ให้ดียงิ่ ขึ้น จากศักยภาพในการบริ หารจัดการพืชเกษตรและองค์ความรู้ของ BRD จึงได้ร่วมกับจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ งได้ รั บ เลื อ กเป็ นจัง หวัด น าร่ อ งในการบริ หารจัด การพื้ น ที่ เ กษตรกรรม (Zoning) โดยเปลี่ ย นพื้ น ที่ ที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืชเกษตรชนิ ดอื่น เช่น ข้าว ให้เป็ นพื้นที่ปลูกอ้อย ตามนโยบายกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ นอกจากนั้น ยังมุ่งมัน่ ยกระดับมาตรฐานการบริ หารจัดการการเกษตรด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และงานวิจยั ต่าง ๆ ให้สอดคล้องตามนโยบายเกษตรยุคไทยแลนด์ 4.0 (Thailand 4.0) ของรัฐบาลที่เน้น เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม วิสัยทัศน์ ของบริษัท บุรีรัมย์ วจิ ัยและพัฒนาอ้อย จากัด (“BRD”) “เป็ นองค์ กรที่ เป็ นเลิศด้ านวิชาการและการบริ หารจัดการ เพื่อสร้ างความมั่นคงด้ านผลผลิต และเพื่ อ ความเป็ นอยู่ที่ดีอย่ างยัง่ ยืนของชาวไร่ อ้อย” นโยบายและพันธกิจ - ส่ งเสริ มชาวไร่ ออ้ ยในพื้นที่บริ เวณรอบโรงงานรัศมี 40 กิ โลเมตร ให้มีผลผลิ ตต่อไร่ สูง และมี คุณภาพดีดว้ ยหลักวิชาการและความรับผิดชอบต่อชาวไร่ - พัฒนาระบบบริ หารงานการจัดการเพื่อความมัน่ คงของผลผลิตและผลกาไรของชาวไร่ - พัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรและชาวไร่ - ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของบุคลากรและชาวไร่ ออ้ ยให้เติบโตมัน่ คงไปพร้อมกัน - งานวิจยั และพัฒนาเพื่อตอบสนองความยัง่ ยืนของการประกอบอาชีพการทาไร่ ออ้ ย 7 16
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ค่ านิยมร่ วม
เอาใจใส่
พัฒนา Develop
Attentive
เน้นผลลัพธ์ Success
ภารกิจ ให้การส่ งเสริ มปั จจัยการผลิตในการปลูกอ้อยแก่เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย เพื่อให้ได้ออ้ ยเข้าหี บ ทั้งปริ มาณ และคุณภาพตามเป้ าหมาย เป็ นผูใ้ ห้คาแนะนา ถ่ายทอดองค์ความรู ้ เทคโนโลยีการผลิต และพัฒนาเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย ให้ปลูกอ้อยอย่างถูกวิธี เหมาะสม และถูกเวลา ส่ งผลให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนคุ ม้ ค่า จากอาชีพปลูกอ้อย มีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน และปลูกอ้อยเป็ นอาชีพอย่างยัง่ ยืน พัฒนาบุคลากรในสายจัดหาวัตถุดิบทุกระดับ ให้มีความชานาญการ มีศกั ยภาพในการดูแล และแก้ไ ขปั ญหา ช่ วยเหลื อเกษตรกรชาวไร่ อ้อยได้อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ และการพัฒนา เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยให้มีความรู้ เป็ นมืออาชีพมากยิง่ ขึ้น และยัง่ ยืนอย่างมีความสุ ข เป็ นผูศ้ ึ ก ษาและพัฒนารู ป แบบการปลู ก อ้อ ยแผนใหม่ พันธุ์ อ้อย และปั จจัย การผลิ ต ที่ เหมาะสมให้ก บั เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยของโรงงานแต่ล ะเขตพื้ นที่ ส่ ง เสริ ม เพื่อลดต้นทุน การผลิตและเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ให้สูงขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีปริ มาณอ้อยเข้าหีบ 3,000,000 ตัน เพื่อผลิตน้ าตาลต่อตันอ้อยได้สูงขึ้น เพื่อให้เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยมีความมัน่ คงจากการปลูกอ้อยและยึดเป็ นอาชีพหลักตลอดไป ผู้รับผิดชอบ บริ ษทั บุรีรัมย์วจิ ยั และพัฒนาอ้อย จากัด เป้าหมาย โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ มีปริ มาณอ้อยเข้าหีบ 3,000,000 ตัน 8 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
17
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การบริหารจัดการทีเ่ ป็ นเลิศซึ่งทาให้ เป็ นโรงงานนา้ ตาลต้ นแบบของประเทศไทย การจัดทาระบบ Smart Farm การใช้ระบบ GIS ในการวางแผนจัดการแปลงอ้อยรายแปลง เพื่อให้ได้ผลผลิตและน้ าตาลต่อไร่ สูงสุ ด ระบบการส่ งเสริ มและตรวจติดตามระดับรายแปลงตามหลักวิชาการ และการตรวจเยี่ย ม เกษตรกรตามรอบที่กาหนดให้ได้ผลผลิตตามเป้ าหมาย ระบบการส่ งเสริ มแบบการรวมกลุ่ มเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยเข้มแข็ง เพื่อพัฒนาการทาไร่ ออ้ ย ของเกษตรกรให้มีศกั ยภาพเพิ่มขึ้น การพัฒนาบุคลากรขององค์กรและเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับขีดความสามารถ การสร้างการมีส่วนร่ วมและสร้างความเชื่อมัน่ ในอาชีพการทาไร่ ออ้ ย กลยุทธ์ ทาการเกษตรแบบแม่นยา ด้วยการจัดการปัจจัยที่ทาให้ออ้ ยเติบโตได้ผลผลิตตามเป้ าหมาย บริ หารจัด การเป็ นกลุ่ ม เพื่ อสร้ า งเครื อ ข่ า ยเกษตรกรและใช้ท รั พ ยากรร่ วมกันอย่า งมี ประสิ ทธิภาพ ลดต้นทุน และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ลูกกลุ่มได้ ประชาสัมพันธ์ เพื่อส่ งผ่านองค์ความรู ้ในพื้นที่ปลูกอ้อยอย่างทัว่ ถึง ระบบการจัดการบริ หาร เพื่อสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าถึง และได้รับปัจจัยการผลิตให้ทนั เวลา สนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทางานได้สาเร็ จตามแผนงานอย่างมีความสุ ขและยัง่ ยืน สร้างเครื อข่ายพันธมิตรทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ วิธีการดาเนินงาน
งาน
สนับสนุน
งานวิจัย และพัฒนา งานจัดหาวัตถุดบิ
9 18
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1. งานจัดหาวัตถุดิบ 1.1 ด้านปริ มาณ โซนส่ งเสริมการปลูกอ้ อย รับผิดชอบส่ งเสริ มการปลูกอ้อยในพื้นที่รอบโรงงาน แบ่งเป็ น 16 โซนส่ งเสริ ม เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่การส่ งเสริ มมากยิง่ ขึ้น โดยมีการจัดตั้งสานักงานส่ งเสริ ม เพื่ออานวยความสะดวกเป็ นช่องทางการสื่ อสารและให้คาปรึ กษากับชาวไร่ กลยุทธ์ ในการส่ งเสริม เพือ่ เพิม่ ผลผลิตและลดต้ นทุน - การรักษาพื้นที่ปลูกอ้อยเดิมให้คงอยูไ่ ม่เปลี่ยนเป็ นพืชอื่น โดยทาให้เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย มีกาไร คุม้ ค่า โดยการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน - การทาเกษตรแม่นยาให้ได้ผลผลิตตามเป้ าหมาย โดยการจัดการในเรื่ องของปั จจัยหลักที่มี ความสาคัญต่อกระบวนการผลิตอ้อย การใช้เครื่ องมือ เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ รวมถึ ง การใช้เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารเข้ามาพัฒนาระบบการบริ หารที่ ถูกต้องและแม่นยามากยิง่ ขึ้น - พนักงานส่ งเสริ มถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กบั ชาวไร่ ออ้ ยเข้าใจกระบวนการผลิ ตอ้อยและ น้ าตาลทรายทั้งระบบ และเพื่อสร้างแนวความคิดการมีส่วนร่ วม - ระบบการตรวจติดตามแปลงอ้อย ตามงวดงานและกิจกรรมที่ออ้ ยต้องการ โดยใช้ระบบ ของสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการบริ หารจัดการ (Smart Farm System) 1.2 ด้านคุณภาพและการพัฒนาชาวไร่ ออ้ ย - การอบรมและสร้างองค์ความรู้ เพื่อนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ - สร้ างความเข้มแข็ง โดยจัดกลุ่มเกษตรกรร่ วมกัน ถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตอ้อยและ ติดตามการปฏิบตั ิงานของสมาชิกในกลุ่มแบบรายแปลง 1.3 สร้างความยัง่ ยืน - งานปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งดิ น ด้ว ยปุ๋ ยอิ น ทรี ย ์เ คมี และโดโลไมท์ เพื ่ อ ปรั บ ค่ า pH เพิ่ ม ความสามารถในการใช้ปุ๋ย และเพื่อปรับปรุ งสภาพทางโครงสร้างของดินให้เอื้ออานวย ต่อการเจริ ญเติบโตของพืชได้อย่างเหมาะสมและยัง่ ยืน - งานวิ จ ัย การใช้ ปุ๋ ยตามค่ า วิ เ คราะห์ ดิ น เพื่ อ ให้ พ้ื น ที่ ป ลู ก อ้อ ยแต่ ล ะแปลงได้รั บ ปุ๋ ย ที่เหมาะสม ได้ผลผลิตเพิ่มและลดต้นทุนการผลิตได้ - ปรั บ สั ดส่ วนพันธุ์ อ้อยให้ เหมาะสมต่ อช่ ว งเวลาการเก็ บ เกี่ ย ว และก าลัง การผลิ ต ของ โรงงาน เพื่อให้ได้วตั ถุดิบที่ดีที่สุด สาหรับการผลิตน้ าตาลที่มีประสิ ทธิภาพมากที่สุด - การจัดทาแปลงทดสอบพันธุ์ออ้ ย เพื่อคัดพันธุ์ออ้ ยให้เหมาะสมกับพื้นที่ปลูกของเกษตรกรมากที่สุด - การใช้ชีววิธี (Biological Control) เพื่อป้ องกันและกาจัดศัตรู ออ้ ย 10 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
19
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2. งานวิจัยและพัฒนา 2.1 แผนพัฒนาและส่ งเสริ มการผลิตอ้อยด้วยหลักวิชาการ “ผลผลิต นา้ ตาลต่ อไร่ สูงสุด และต้ านทานโรคแมลง” - ทดลองและตรวจสอบหาพันธุ์ออ้ ยที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ปลูกที่จงั หวัดบุรีรัมย์ เพื่อให้ ได้พนั ธุ์ออ้ ยที่ให้ผลผลิตน้ าตาลต่อไร่ สูงสุ ด - วิจยั ทดลอง ทดสอบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งแนวทางการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพอ้อย - ขยายพันธุ์ออ้ ยพันธุ์หลักให้กบั เกษตรกรเพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนในด้านผลผลิต - การพัฒนาและปรับปรุ งดิน กาหนดสู ตรปุ๋ ยให้เหมาะสมกับการผลิตอ้อย - การควบคุ มโรคและแมลงศัตรู อ้อย มี การส ารวจเฝ้ าระวังโรคและแมลงศัตรู อ้อย รวมทั้ง การเพาะเลี้ยงศัตรู ธรรมชาติ และเชื้อราที่เป็ นประโยชน์ มีการบริ หารจัดการโรคแมลงศัตรู ออ้ ย โดยใช้วิธีผสมผสาน การถ่ายทอดอบรมความรู้ และสร้างกลุ่มเกษตรกรเข็มแข็งในการจัดการ โรคแมลงศัตรู ออ้ ย - ส่ งเสริ มและพัฒนาการใช้น้ าในการเพิ่มผลผลิต 2.2 แผนพัฒนาเกษตรกรผูป้ ลูกอ้อย - การสร้างปราชญ์ชาวไร่ ออ้ ย (Training for the Trainer ) - การสร้างกลุ่มเกษตรกรเข็มแข็ง - การตรวจแปลงและตรวจเยีย่ มเกษตรกร - การสร้างหมู่บา้ นต้นแบบผลผลิตสู ง (Model) - โรงเรี ยนเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย (Training Center) - อบรมให้ความรู้ และศึกษาดูงาน 2.3 แผนการพัฒนาบุคคลากรและงานส่ งเสริ ม - พัฒนาความรู้และทักษะในงานอย่างต่อเนื่อง - อบรมศึกษาดูงานนอกสถานที่อย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มความรู ้และเพิ่มทักษะในการทางาน - ระบบตัวชี้วดั (KPI) และมี Incentive - การพัฒนาหลักสู ตรสาหรับพนักงาน 3. งานสนับสนุน 3.1 ระบบบริ หารจัดการ - ระบบ MIS (Management Information System) คือ การทางานบนเว็บไซต์ เพื่อการบริ หาร จัดการไร่ ออ้ ย การตรวจติดตามคุณภาพอ้อยรายแปลง การติดตามการปฏิบตั ิงานของเกษตรกร ตามงวดงาน และ Growth Rate ของอ้อย และระบบคิวลงอ้อย ตัดอ้อย และขนส่ งอ้อย
11 20
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
- ระบบ GIS (Geographic information system) คือ การวางแผนการส่ งเสริ ม และพัฒนา เพิ่มผลผลิต ติดตามมาตรฐานการปฏิบตั ิ งานของเกษตรกร (ตรวจ Route) ติดตาม ป้ องกัน และควบคุมการระบาดของโรคแมลงศัตรู ออ้ ย การบริ หารการให้สินเชื่อ การตัดและการขนส่ ง อ้อยของเกษตรกร - ระบบการตรวจติดตาม (Audit) UAV เพื่อการติดตามแปลงอ้อย - ระบบงวดงาน และ KPI 3.2 การใช้เครื่ องมือที่เหมาะสมกับระดับฟาร์มของเกษตรกร - เครื่ องมือในการเตรี ยมดินปลูก - เครื่ องมือในการบารุ งรักษา - เครื่ องมือในการเก็บเกี่ยวและขนส่ งอ้อย การนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS: Geographic Information System) เข้ามาใช้ในงาน ส่ งเสริ ม ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความแม่นยาในการพิจารณาการจ่ายปั จจัยการผลิต การป้ องกันความผิดพลาดในการ จ่ายสิ นเชื่อ รวมทั้งสร้างความเชื่ อมัน่ ให้กบั โรงงานในด้านปริ มาณผลผลิต ซึ่ งนามาใช้ในการส่ งเสริ มดังนี้ - กาหนดพื้ น ที่เ ป้ าหมายที่เ ป็ นพื้ น ที่ว ่า งเปล่า ที่ย งั ไม่ไ ด้ป ลูก อ้อ ยและมี ค วามเหมาะสม เพื่อจัดทาแผนงานในการส่ งเสริ ม - เก็บข้อมูลตาแหน่ งแปลงและพื้นที่ปลูกอ้อยที่มีความถูกต้อง สามารถนาไปตรวจสอบได้ โดยนักส่ งเสริ มจะต้องเก็บพิกดั ของแปลงปลูกอ้อยส่ งก่อนการขอรับการส่ งเสริ ม โดยใช้ เครื่ องวัดพิกดั (GPS) - ใช้สาหรับงานตรวจสอบ (Audit) การให้การส่ งเสริ มของหน่วยงานฝ่ ายตรวจสอบ - ใช้ในการตรวจติดตามการนาอ้อยเข้าหีบและหนี้สินของชาวไร่ ซึ่งมีประสิ ทธิภาพและรวดเร็ ว - ตรวจสอบความซ้ าซ้อนของแปลงปลูกอ้อยของเกษตรกรในแต่ละราย การนาระบบ MIS (Management Information System) มาใช้เพื่อบริ หารและจัดการระบบการส่ งเสริ ม เพื่อให้การดาเนินงานของฝ่ ายจัดหาวัตถุดิบมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด - การใช้ MIS ร่ วมกับ GIS ในการวิเคราะห์ความเสี่ ยงในการส่ งเสริ ม การจ่ายปัจจัยการผลิต และการพิจารณาการส่ งเสริ ม - การใช้ MIS ในการสรุ ปภาพรวมของฝ่ ายส่ งเสริ ม เพื่อประกอบการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร และกาหนดนโยบาย - ใช้สาหรับการวิเคราะห์การส่ งเสริ มการปลูกอ้อย การสร้างระบบเตือนภัย เพื่อกาหนดแนวทาง ในการป้ องกันแก้ไข 12 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
21
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
- เป็ นเครื่ องมือในการกาหนดการปฏิบตั ิงานให้ถูกทิศทางและมีเป้ าหมายที่ชดั เจน - พนักงานส่ งเสริ มสามารถทราบความเคลื่อนไหวของเกษตรกรจากรายงาน เพื่อใช้ในการ ติดตามการปฏิบตั ิงานของชาวไร่ ขั้นตอนการพิจารณาการจ่ ายสิ นเชื่อ โดยใช้ ระบบ GIS ร่ วมกับ MIS 1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริ มทาการประชุ มและทาสัญญาให้กบั เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยในการส่ งอ้อยให้กบั โรงงาน พร้อมวัดพื้นที่ปลูกอ้อยและเขียนแบบสารวจการปลูกอ้อย เพื่อเสนอขออนุมตั ิการส่ งเสริ ม 2. ส่ งแบบสารวจการปลูกอ้อย และรู ปแปลงที่วดั พื้นที่โดยใช้ Application ของระบบบริ หาร จัดการแบบใหม่ที่ทนั สมัย เพื่อเป็ นหลักฐานในการขออนุมตั ิการส่ งเสริ ม 3. ผูอ้ านวยการฝ่ ายส่ งเสริ มพิจารณาการเสนอจ่ายปั จจัยการผลิต และส่ งต่อให้กบั ฝ่ ายสิ นเชื่ อ เพื่อพิจารณาการจ่ายปั จจัยการผลิต 4. ฝ่ ายสิ นเชื่อวิเคราะห์การจ่ายสิ นเชื่อ โดยดูจากรายงานการขออนุมตั ิเงินส่ งเสริ ม ซึ่งประกอบไปด้วย 4.1 ประวัติการส่ งอ้อย หนี้สินคงค้าง (ย้อนหลัง 5 ปี ) 4.2 พื้นที่ปลูกอ้อยจากการสารวจ และวงเงินส่ งเสริ มที่ได้รับอนุมตั ิปีปัจจุบนั 4.3 วงเงินส่ งเสริ มที่ใช้ และวงเงินส่ งเสริ มคงเหลือ 4.4 บุคคลและหลักทรัพย์ค้ าประกัน 4.5 ความคิดเห็นของฝ่ ายสิ นเชื่อ และผูจ้ ดั การฝ่ ายสิ นเชื่อ 4.6 ข้อมูลโดยรวมของชาวไร่ และข้อมูลการตรจสอบ (Audit) แปลงอ้อย 4.7 ระบบฐานข้อมูลแปลงอ้อย และประวัติการบารุ งรักษาแปลงอ้อย 5. แจ้งการอนุมตั ิการส่ งเสริ มต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายส่ งเสริ ม เพื่อแจ้งให้เกษตรกรรับปัจจัยการผลิตตามที่อนุมตั ิ 6. หลังจากที่เกษตรกรรับ ปั จจัย การผลิ ต เจ้าหน้าที่ของฝ่ ายส่ งเสริ มต้องทาการตรวจสอบว่า เกษตรกรได้ปลูกและบารุ งรั กษาอ้อยแล้วหรื อไม่ โดยกรอกข้อมูล แปลงอ้อยและประวัติ การบารุ งรักษาอ้อยตามแผนกิ จกรรมของแปลง โดยจะมีนกั ส่ งเสริ มที่รับผิดชอบนาข้อมูล และรู ปถ่ ายลงในระบบออนไลน์มายังฐานข้อมูลของบริ ษทั เพื่อเป็ นข้อมูลในการพิจารณา ต่อไป ซึ่งการนาข้อมูลลงในระบบออนไลน์น้ ีจะต้องจัดทาทุกสองสัปดาห์
13 22
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
23
บจ. โรงงานน้ าตาล บุรีรมั ย์(ผลิตและ จาหน่ายน้ าตาลทราย)
99.90%
บจ. บุรีรมั ย์เพาเวอร์ (โรงไฟฟ้ าชีวมวล 9.9 เมกะวัตต์)
99.99%
บจ. บุรีรมั ย์พลังงาน (โรงไฟฟ้าชีวมวล 9.9 เมกะวัตต์)
99.99%
ความสั มพันธ์ กบั กลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ -ไม่ มี -
บจ. บุรีรมั ย์วิจัยและ พัฒนาอ้อย(ส่งเสริม การปลูกอ้อย)
99.99%
13
โรงงานน บจ. ปุ๋บจ. ยตรากุ ญแจ้ าตาล รีรมั ย์าหน่ (ผลิาตยปุ๋และ (ผลิตบุและจ ย ายน้ า)ตาลทราย) อินทรีจยาหน่ แ์ ละเคมี
99.90% 99.99% 99.99% 99.99%
บจ. บุรีรมั ย์เพาเวอร์ (โรงไฟฟ้ าชีวมวล 9.9 เมกะวัตต์)
99.99%
บจ. บุรีรมั ย์พลังงาน บจ. โรงงานน้ าตาลชานิ (โรงไฟฟ้าชีวมวล (ผลิตและจาหน่าย 9.9 เมกะวัตต์) น้ าตาลทราย)
%
99.99% 99.99%
บจ. ปุ๋ ยตรากุญแจ บจ. น้ าตาลทุนบุรีรมั ย์ (ผลิตและจาหน่ายปุ๋ ย (ผลิตและจาหน่าย อินทรียแ์ ละเคมี) น้ าตาลทราย)
13
99.99 99.99% %
บจ. ชูบุกราร์ ีรมั เคน ย์เพาเวอร์ พลัส บจ. อีโคแวร์ ้ าชีาวยมวล (ผลิ(โรงไฟฟ ตและจาหน่ ตต์)อย) บรรจุ9.9 ภณ ั ฑ์เมกะวั จากชานอ้
99.99%
โครงสร้ างบริษทั ย่ อยของกลุ่มบริษทั นา้ ตาลบุรีรัมย์
บริษทั น้ าตาลบุรีรมั ย์ จากัด (มหาชน)
ความสั มพันธ์ กบั กลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ -ไม่ มี -
ย์วิจัยและ บจ. บจ. บุรีรบุมั รย์ีรเมัพาเวอร์ พลัส พัฒนาอ้อ้ าชี ย(ส่ งเสริม (โรงไฟฟ วมวล การปลู กอ้อย) 9.9 เมกะวั ตต์)
บริษทั น้ าตาลบุรีรมั ย์ จากัด (มหาชน)
โครงสร้ างบริษทั ย่ อยของกลุ่มบริษทั นา้ ตาลบุรีรัมย์
บจ. โรงงานน้ าตาล (ผลิตและจาหน่าย น้ าตาลทราย)
99
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัทนา้ ตาลบุรีรัมย์ บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั Holding Company ปั จจุบนั มีบริ ษทั ในเครื อทั้งหมด 9 บริ ษทั ดังนี้ ทุนจด ทะเบียน (ล้ านบาท)
สัดส่ วน การลงทุน (ร้ อยละ)
การประกอบธุรกิจ
1,050.00
99.90
ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด
5.00
99.99
บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด
10.00
99.99
บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด
135.60
บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด ***
ชื่อบริษัท/จากัด ธุรกิจนา้ ตาล บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
ประเภทธุรกิจ ตามคานิยาม ของ ก.ล.ต.
ขนาดของบริษัทย่ อย ต่ อขนาดของ Holding Company*
บริ ษทั ที่ประกอบ ธุรกิจหลัก ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย บริ ษทั ย่อย (ยังไม่เริ่ มดาเนินการ) ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย บริ ษทั ย่อย (ยังไม่เริ่ มดาเนินการ)
72.96* (74.60)** N.A.**** (1.27)** N.A.**** (0.52)**
99.99
โรงไฟฟ้ าชีวมวล
บริ ษทั ย่อย
170.00
99.99
โรงไฟฟ้ าชีวมวล
บริ ษทั ย่อย
บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จากัด
160.00
99.99
บริ ษทั ย่อย
บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด
15.00
99.99
บริ ษทั ชูการ์เคน อีโคแวร์ จากัด
75.001
99.99
โรงไฟฟ้ าชีวมวล (เริ่ มผลิต ไฟฟ้ าเมื่อธันวาคม 2559) ผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยอินทรี ย ์ และเคมี ผลิตและจาหน่ายบรรจุภณ ั ฑ์ จากชานอ้อย
5.39* (4.46)** 6.22* (6.33)** 3.12* (5.92)** 4.47* (1.50)** N.A.**** (2.27)**
70.88
99.99
วิจยั พัฒนาเพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพการปลูกและ บารุ งรักษาอ้อย
บริ ษทั ย่อย
ธุรกิจผลพลอยได้
บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย
ธุรกิจสนับสนุน บริ ษทั บุรีรัมย์วจิ ยั และพัฒนาอ้อย จากัด
7.84* (4.22)**
หมายเหตุ : * ขนาดของบริ ษทั ย่อยต่อขนาดของ Holding Company คานวณโดยนารายได้ของธุ รกิจหลักของบริ ษทั ย่อย หารด้วยรายได้รวมปี 2561 แทนการใช้วิธี ก ารแบ่ ง ตามขนาดของสิ น ทรั พ ย์ เนื่ อ งจากบริ ษ ัท เชื่ อ ว่า การใช้รายได้ใ นการระบุ ขนาดจะท าให้ส ามารถแสดงผล การดาเนินงาน และผลตอบแทนการลงทุนจากบริ ษทั ย่อยต่าง ๆ ได้ใกล้เคียงกว่าขนาดของสิ นทรัพย์ ** ขนาดของบริ ษทั ย่อยต่อขนาดของ Holding Company คานวณโดยใช้เกณฑ์สินทรัพย์ โดยนาสิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ย่อยหลังหัก รายการระหว่างกันมาหารด้วยสิ นทรัพย์รวมของงบการเงินรวม ณ สิ้ นปี 2561 *** ถือหุน้ โดยบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด ****ในปี 2561 บริ ษทั ย่อยดังกล่าวยังไม่เริ่ มดาเนิ นธุรกิจ จึงยังไม่มีรายได้ที่นามาคานวณขนาดของบริ ษทั ย่อยต่อขนาดของ Holding Company ได้ 1 เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 75,000,000 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 5,000,000 บาท เมื่อเดือนมกราคม 2562
14 24
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3. ประวัติความเป็ นมา การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคัญ บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“BRR”) เดิมชื่อ บริ ษทั โรงงานน้ าตาลสหไทยรุ่ งเรื อง (2506) จากัด (ได้รับโอนกิจการมาจากห้างหุ น้ ส่ วนจากัด โรงงานน้ าตาลสหไทยรุ่ งเรื อง) จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2506 ด้วยทุนจดทะเบียน 2 ล้านบาท เพื่อประกอบธุ รกิจโรงงานน้ าตาลทรายแดง ที่จงั หวัดบุรีรัมย์ โดยบริ ษทั มีพฒั นาการ และเหตุการณ์ที่สาคัญในอดีต ดังต่อไปนี้ ปี
เหตุการณ์ ทสี่ าคัญ
2506
- ก่อตั้ง บริ ษทั โรงงานน้ าตาลสหไทยรุ่ งเรื อง (2506) จากัด ด้วยทุ นจดทะเบี ยน 2 ล้านบาท มี ก าลัง การผลิ ต ที่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าตเริ่ ม แรกเท่ า กับ 3,003 ตัน อ้อ ยต่ อ วัน กลุ่ ม ผู้ถื อ หุ ้น หลัก ในช่ ว งแรก ได้แ ก่ กลุ่ ม นายวิเชี ย ร ตั้ง ตรงเวชกิ จ กลุ่ ม นายสมชัย ศิ ริภ าณุ ม าศ และกลุ่ ม นายพิชยั เหลียงกอบกิจ
2523
- บริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนและชาระแล้วเป็ น 15 ล้านบาท
2529
- กลุ่ ม นายสมชัย ศิ ริภาณุ ม าศ และกลุ่มนายพิชัย เหลี ยงกอบกิ จ ได้ขายหุ ้นทั้ง หมดให้กลุ่ ม ครอบครัวตั้งตรงเวชกิ จ และเปลี่ยนชื่ อเป็ นบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด เพื่อประกอบธุ รกิ จ ผลิตน้ าตาลทรายดิบและน้ าตาลทรายขาวภายใต้เครื่ องหมายการค้า “กุญแจคู่”
2533
- ได้รับอนุ ญาตให้ขยายโรงงาน ครั้งที่ 2 ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2533 เพิ่มกาลังการผลิตเป็ น 7,700 ตันอ้อยต่อวัน
25342537
- เพิ่มทุนจดทะเบียนและชาระอย่างต่อเนื่อง จนมีทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท - ได้รั บ อนุ ญ าตให้ เ พิ่ ม ก าลัง การผลิ ต เป็ น 8,991 ตัน อ้อ ยต่ อ วัน ในเดื อ นตุ ล าคม ปี 2537 โดยไม่ได้เพิ่มกาลังแรงม้าเครื่ องจักร
2539
- ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท บุ รี รั มย์ วิ จ ั ย แ ล ะ พั ฒ น า อ้ อ ย จ า กั ด ( “ BRD” ) ซึ่ ง เป็ น บ ริ ษั ท ย่ อ ย เพื่อสนับสนุ นด้านวิชาการและการจัดการอ้อย เพื่อสร้ างความมัน่ คงด้านผลผลิต และสร้าง ชีวติ ที่ดีแก่ชาวไร่ ออ้ ย - ได้รั บ อนุ ญาตให้ เพิ่ ม ก าลัง การผลิ ต เป็ น 12,000 ตันอ้อ ยต่ อวัน ในเดื อนกุ ม ภาพัน ธ์ 2539 โดยไม่ได้เพิม่ กาลังแรงม้าเครื่ องจักร
2540
- บริ ษทั เริ่ มประสบปั ญหาทางการเงิน จากวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศ
2544
- BRD เริ่ มนาระบบจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบ MIS (Management Information System) และ GIS (Geographic Information System) มาใช้เพื่อบริ หารจัดการการดาเนินงาน ครั้งแรกเดือนกรกฎาคม 2544
2546
- ก่อตั้งบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) เพื่อดาเนินกิจการซื้ อขายน้ าตาล 15 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
25
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
26
ปี
เหตุการณ์ ทสี่ าคัญ
2548
- ก่ อตั้ง บริ ษ ทั บุ รีรัมย์พลังงาน จากัด (“BEC”) เพื่อรองรับ การดาเนิ นกิ จการด้านพลัง งาน ในอนาคต - บริ ษทั เริ่ มปรับปรุ งโครงสร้างหนี้ และเข้าสู่ กระบวนการฟื้ นฟูกิจการ
2552
- ได้รั บ อนุ ญ าตให้ เ พิ่ ม ก าลัง การผลิ ต จากเดิ ม 12,000 ตัน อ้อ ยต่ อ วัน เป็ น 17,000 ตัน อ้อ ย ต่อวัน ในเดือนกันยายน 2552 - BRD เริ่ ม ใช้ร ะบบน้ า หยดเป็ นครั้ งแรก เพื่อ ให้แ ปลงอ้อ ยของสมาชิ ก ชาวไร่ ไ ด้รับ น้ า ในปริ มาณที่เหมาะสมต่อการให้ผลผลิตสู งสุ ดของอ้อย - BRD เริ่ มใช้ระบบไร่ ออนไลน์ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 เพื่อตรวจและติดตามแปลงอ้อยของ สมาชิกชาวไร่
2553
- บริ ษทั น้ าตาลบุ รีรัมย์ จากัด ทาสัญญาจะขายสิ นทรัพย์ และใบอนุ ญาตการประกอบธุ รกิ จ ให้ แ ก่ บริ ษั ท โรงงานน้ าตาลบุ รี รั ม ย์ จ ากั ด ตามแผนฟื้ นฟู กิ จ การ ซึ่ งส่ งผลให้ มี การเปลี่ยนแปลง ดังต่อไปนี้ - BRR โอนพนักงานในฝ่ ายผลิ ต จัดซื้ อ การตลาด และสิ นเชื่ อ ให้แก่ BSF และพนักงาน ในฝ่ ายจัด หาวัต ถุ ดิ บ และสิ น เชื่ อ ปุ๋ ยยาและอุ ป กรณ์ ให้แ ก่ BRD เพื่ อ ความคล่ อ งตัว ในการบริ หารบุ ค ลากร และผูเ้ ชี่ ย วชาญ ทั้ง นี้ ในส่ วนงานสายปฏิ บตั ิ ก ารและสนับสนุ น (ยกเว้นฝ่ ายสิ นเชื่ อ) ยัง คงอยู่ภ ายใต้ก ารบริ หารจัดการของบริ ษ ทั โดยสาเหตุ หลัก ที่ โอน บุคลากรไปยังบริ ษทั ในเครื อก่อนเนื่องจากยังไม่ได้รับการอนุมตั ิในเรื่ องการโอนใบอนุญาต จากคณะกรรมการอ้อ ยและน้ า ตาลทรายแต่ ใ กล้ร ะยะเวลาเปิ ดหี บ อ้อ ย จึ ง ต้อ งโอนย้า ย บุคลากรเพื่อให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างต่อเนื่อง - BRR ออกจากแผนฟื้ นฟูกิจการ
2554
- BRR จาหน่ายทรัพย์สิน รวมถึงใบอนุญาตผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย ใบอนุ ญาตประกอบ กิจการโรงงาน ให้แก่ BSF - BRR เปลี่ยนเป็ นดาเนิ นกิ จการ Holding company ในขณะที่ BSF ดาเนิ นกิ จการผลิตและ จาหน่ายน้ าตาล - BEC มีกาลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ได้เข้าทาสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ ากับ กฟภ. จานวน 8 เมกะวัตต์ ส่ วนที่เหลื อ 1.9 เมกะวัตต์ใช้ภายในโรงงาน และได้รับบัตรส่ งเสริ มการลงทุน เลขที่ 2003(1)/2554 - ก่ อตั้งบริ ษ ทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (“KBF”) เพื่ อดาเนิ นธุ รกิ จผลิ ตและจาหน่ ายปุ๋ ยอินทรี ย ์ และเคมี - ก่ อ ตั้ง บริ ษัท บุ รี รั ม ย์เ พาเวอร์ จ ากัด (“BPC”) เพื่ อ รองรั บ การขยายการด าเนิ น กิ จ การ
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
16
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ปี
เหตุการณ์ ทสี่ าคัญ ด้า นการผลิ ตพลัง งานไฟฟ้ าชี วมวล อันเนื่ องมาจากการเติ บโตของปริ ม าณอ้อยที่ เข้าหี บ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้มี ก ากอ้อยน ามาเป็ นเชื้ อเพลิ ง ในการผลิ ตไฟฟ้ ามากขึ้ น ทั้ง นี้ BPC มี ก าลัง การผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ และได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้ ากับ กฟภ. จานวน 8 เมกะวัตต์
2555
-
BRR เพิ่มทุนจดทะเบียนและชาระแล้วเป็ นจานวน 320 ล้านบาท BEC เริ่ มมีการขายไฟฟ้ าให้ กฟภ. ในเดือน พฤษภาคม 2555 KBF เริ่ มผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยอินทรี ย ์ โดยมีกาลังการผลิตประมาณ 30,000 ตันต่อปี BRR เข้าร่ วมโครงการ “หุ ้นใหม่ ความภูมิใจของจังหวัด” ซึ่ งเป็ นโครงการของสานักงาน คณะกรรมการก ากับหลักทรัพ ย์และตลาดหลักทรัพ ย์ ทั้งนี้ ท าให้บริ ษทั ได้รับสิ ทธิ พิเศษ ต่าง ๆ เช่ น การอบรมความรู ้ เกี่ ยวกับตลาดทุน การให้คาแนะนาจากหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง และโล่เชิดชูเกียรติ เป็ นต้น
2556
- บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด แปลงสภาพเป็ น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) - BRR เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 676,750,000 บาท เพื่อรองรับการเสนอขายหุ ้นแก่ประชาชน ทัว่ ไป โดยแบ่งเป็ น หุ ้นสามัญเพิ่มทุน จานวน 180,800,000 หุ ้น เสนอขายแก่ผถู ้ ือหุ ้นเดิมในราคามูลค่า ที่ตราไว้ หุ ้นสามัญเพิ่มทุ น จานวนไม่เกิน 6,767,500 หุ ้น เสนอขายแก่กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ในราคา 2.70 บาทต่อหุน้ หุน้ สามัญเพิ่มทุน จานวนไม่เกิน 169,182,500 หุ น้ เสนอขายแก่ประชาชนทัว่ ไป - BEC ออกรายการ “พลังไทยรักพลังงาน” ออกอากาศช่อง TNN วันที่ 22 กรกฎาคม 2556 - BRD มี จ านวนชาวไร่ อ้อ ยเพิ่ ม ขึ้ น 872 ราย และมี พ้ื น ที่ ป ลู ก อ้อ ยมากขึ้ น 8,153.92 ไร่ ในปี การผลิ ต 2555/2556 รวมทั้ง สิ้ น มี ช าวไร่ อ้อ ย 7,133 ราย และพื้ น ที่ ก ารปลู ก อ้อ ย 129,516.73 ไร่ - BRD สร้ างอากาศยานไร้ คนบังคับ (UAV) สาหรับสารวจไร่ ออ้ ยเสร็ จสมบูรณ์ และเริ่ มใช้ บินจริ ง เมื่อเดือนมกราคม 2556 สามารถบินสารวจได้นาน 20 นาที ที่ความสู ง 300 เมตร
2557
- BSF ขยายกาลังการผลิตเป็ น 17,000 ตันอ้อยต่อวัน - BEC ออกรายการ “อิเล็กตะลอน ชีวติ มีไฟ” ออกอากาศช่อง ททบ. 5 วันที่ 4 สิ งหาคม 2557 - BRD มี จานวนชาวไร่ ออ้ ยเพิ่ม ขึ้น 2,754 ราย และมี พ้ืนที่ ปลู กอ้อยมากขึ้ น 38,857.92 ไร่ ในปี การผลิ ต 2556/2557 รวมทั้ง สิ้ น มี ช าวไร่ อ้อ ย 9,887 ราย และพื้ น ที่ ก ารปลู ก อ้อ ย 168,374.65 ไร่ - BRR ได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 17
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
27
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
28
ปี
เหตุการณ์ ทสี่ าคัญ
2558
- ก่อตั้ง บริ ษทั บุรีรัมย์อะโกรเอ็นเนอร์ ยี่ จากัด (“BAE”) ซึ่ งถือหุ ้นโดย BRR ร้อยละ 99.99 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายเอทานอล - ก่อตั้ง บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ พลัส จากัด (“BPP”) เพื่อประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้ าชีวมวล - ก่อตั้ง บริ ษทั บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด (“BSP”) ซึ่ งถือหุ ้นโดย BEC ร้อยละ 99.99 เพื่อรองรับการดาเนินกิจการพลังงาน - มติที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2558 อนุ มตั ิการออกและเสนอขายหุ ้นกูว้ งเงิ น 2,000 ล้า นบาท เพื่ อ รองรั บ การขยายก าลัง การผลิ ต เพิ่ ม เป็ น 23,000 ตัน อ้อ ยต่ อ วัน และ/หรื อ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั - ได้รับอนุ มตั ิจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2558 ให้ต้ งั โรงงานน้ า ตาลเพิ่ ม อี ก 1 แห่ ง ในพื้ นที่ อาเภอช านิ จัง หวัด บุ รีรั ม ย์ มี ก าลัง การผลิ ต 20,000 ตันอ้อยต่อวัน - BRR ได้รับการประเมินผลการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2558 โดยสมาคมส่ งเสริ ม ผูล้ งทุนไทย คิดเป็ น 100 คะแนนเต็ม
2559
- ได้รับอนุ มตั ิจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ให้ต้ งั โรงงานน้ า ตาลเพิ่ม อี ก 1 แห่ ง ในพื้นที่ อาเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุ รินทร์ มี ก าลัง การผลิต 20,000 ตันอ้อยต่อวัน - BEC เปลี่ยนรู ปแบบการซื้ อขายไฟฟ้ ากับ กฟภ. จาก Adder เป็ น Feed-in-Tariff เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 - BRR ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่ วมโครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 - BPP เพิ่มทุ นจดทะเบี ยนและชาระแล้วเป็ นจานวน 160 ล้านบาท จากเดิ ม 10 ล้านบาท และมีการปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ โดย BRR เข้าถือหุ ้นร้อยละ 99.99 แทน BEC - BRR ได้รับการประเมินผลการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2559 โดยสมาคมส่ งเสริ ม ผูล้ งทุนไทย คิดเป็ น 100 คะแนนเต็ม - ที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559 มีมติอนุมตั ิการจัดตั้งกองทุน รวมโครงสร้ างพื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่มน้ าตาลบุ รีรัมย์ (Buriram Sugar Group Power Plant Infrastructure Fund หรื อ BRRGIF) - เมื่ อวันที่ 5 ตุ ล าคม 2559 BRR ได้รับ เกี ย รติ บ ตั รรั บ รองความสามารถทางนวัตกรรม และองค์ก รนวัต กรรม (Innovative Organization) จากส านัก งานนวัตกรรมแห่ ง ชาติ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
18
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ปี
เหตุการณ์ ทสี่ าคัญ - เมื่อ 28 ตุลาคม 2559 บริ ษทั บุ รีรัมย์อะโกรเอ็นเนอร์ ยี่ จากัด (“BAE”) เปลี่ ยนชื่ อบริ ษ ทั และลัก ษณะการประกอบธุ รกิ จ จากการประกอบธุ รกิ จผลิ ตและจาหน่ ายเอทานอล เป็ น บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (“BSC”) เพื่อประกอบธุ รกิจผลิตและจาหน่ ายน้ าตาลทราย ณ อาเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุ รินทร์ ตามที่ได้รับอนุมตั ิจากสานักงานคณะกรรมการอ้อย และน้ าตาลทราย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 - เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2559 บริ ษทั บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด (“BSP”) เปลี่ยนชื่ อบริ ษทั และลักษณะการประกอบธุ รกิจ จากการประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้ าชีวมวล เป็ น บริ ษทั โรงงาน น้ าตาลชานิ จากัด (“CSF”) เพื่อประกอบธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย ณ อาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์ ตามที่ได้รับอนุมตั ิจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2558 - BPP ซึ่ งเป็ นโรงไฟฟ้ าแห่งที่ 3 เริ่ มผลิตไฟฟ้ า เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 - BRR ได้รับการประเมินโครงการสารวจการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนไทย ประจาปี 2559 อยูใ่ นเกณฑ์ “ดี” คะแนนเฉลี่ยคิดเป็ น 74% - BSF ขยายกาลังการผลิ ตของเครื่ องจักรจาก 17,000 ตันอ้อยต่อวัน เป็ น 24,000 ตันอ้อย ต่อวัน เพื่อรองรับการหีบอ้อยในฤดูการผลิต 2559/60 - ฤดูการผลิตปี 2558/59 มีปริ มาณอ้อยเข้าหี บเพิ่มขึ้น 2.06 ล้านตัน มีจานวนชาวไร่ คู่สัญญา เพิ่มขึ้น 11,587 ราย และมีพ้นื ที่ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้น 189,382 ไร่
2560
- BRR เพิ่มทุ นจดทะเบียนจาก 676,750,000 บาท เป็ นจานวน 812,100,000 บาท และมี ทุนชาระแล้วจานวน 812,099,845 บาท เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2560 เพื่อรองรับการจ่าย ปั นผลเป็ นหุ น้ สามัญให้กบั ผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั - ส านักงาน ก.ล.ต. อนุ ม ัติ ใ ห้จ ดทะเบี ย นจัด ตั้ง กองทุ น รวมโครงสร้ า งพื้ น ฐานโรงไฟฟ้ า กลุ่ มน้ าตาลบุ รีรัมย์ (BRRGIF) เมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2560 และเสนอขายหน่ วยลงทุนได้ ทั้งหมดจานวน 350 ล้านหน่ วย ในราคาเสนอขายสุ ดท้ายและมูลค่าที่ตราไว้ต่อหน่วยลงทุน 10.30 บาท ซึ่ งมีจานวนเงินทุนที่ได้จากการเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรกเท่ากับ 3,605 ล้านบาท และกองทุนดังกล่าวเริ่ มทาการซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็ นวันแรกในวันที่ 7 สิ งหาคม 2560 - BRR ได้รับการประเมินโครงการสารวจการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนไทย ประจาปี 2560 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) อยูใ่ นเกณฑ์ “ดีมาก” จากเกณฑ์ “ดี ” ของปี ก่ อนหน้า โดยมี คะแนนเฉลี่ยคิดเป็ น 87% ซึ่ งสู งกว่าคะแนนเฉลี่ ยของบริ ษทั จดทะเบียนโดยรวม 19 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
29
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ปี
เหตุการณ์ ทสี่ าคัญ - BEC ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภทโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่ วม ในงาน Thailand Energy Awards 2017 ซึ่ งจัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง พลังงาน - BEC ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่ วม ในงาน 35th ASEAN Ministers on Energy Meeting (35 AMEM) ณ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
2561
30
- ฤดูการผลิตปี 2560/61 มีปริ มาณอ้อยเข้าหี บเพิ่มขึ้น 3.15 ล้านตัน ซึ่ งทาได้ตามเป้ าหมายและ แผนกลยุทธ์ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ โดยมีจานวนชาวไร่ คู่สัญญาเพิ่มขึ้น 11,780 ราย และมีพ้ืนที่ ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้น 239,523 ไร่ - ลดทุนจดทะเบียนจาก 812,100,000 บาท เป็ น 812,099,845 บาท โดยตัดหุ ้นที่เหลือจาก การจัดสรรหุน้ สามัญเพื่อรองรับการจ่ายหุน้ ปั นผล จานวน 155 หุน้ - BRR จัดตั้งบริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด (“SEW”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อผลิ ตสิ นค้าเกี่ ยวกับบรรจุภณ ั ฑ์ดา้ นอุปโภคและบริ โภค อุปกรณ์ ที่ทาจากชานอ้อยและ เยื่อพืชธรรมชาติชนิ ดอื่น ทั้งจาหน่ายปลีก-ส่ ง นาเข้าและส่ งออก ซึ่ งมีทุนจดทะเบียนจานวน 5 ล้านบาท และได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 75 ล้านบาท เมื่อเดือนมกราคม ปี 2562 - BRR ได้รับการรั บ รองฐานะสมาชิ ก แนวร่ วมปฏิ บ ตั ิข องภาคเอกชนไทยในการต่อต้า น การทุจริ ต (Collective Action Coalition Against Corruption หรื อ CAC) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2561 - BRR ได้รับการประเมินโครงการสารวจการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนไทย ประจาปี 2561 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) อยูใ่ นเกณฑ์ “ดีเลิศ” จากเกณฑ์ “ดีมาก” ของปี ก่อนหน้า โดยมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็ น 93% ซึ่ งสู งกว่าคะแนนเฉลี่ยของบริ ษทั จดทะเบียนโดยรวม - BRR ได้รับการประเมินผลการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2561 โดยสมาคมส่ งเสริ ม ผูล้ งทุนไทย คิดเป็ น 100 คะแนนเต็ม - BRR ได้รับคัดเลือกเป็ นหลักทรัพย์ของกองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (Stock Universe of Thai CG Funds) เป็ นครั้งแรก ณ วันที่ 1 สิ งหาคม 2561 (ติดอันดับ 172 บริ ษทั จดทะเบียน) - BPC ได้รับรางวัลดีเด่น ด้านพลังงานทดแทน ประเภทโครงการผลิตไฟฟ้ าและความร้อนร่ วม ในงาน Thailand Energy Awards 2018 ซึ่ งจัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน กระทรวงพลังงาน - BPC ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่ วม ในงาน 36th ASEAN Ministers on Energy Meeting (36 AMEM) ณ ประเทศสิ งคโปร์
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
20
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4. เป้าหมาย (กลยุทธ์ ) การดาเนินธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั ฯ มีเป้ าหมายในการดาเนินธุ รกิจอย่างยัง่ ยืน ทั้งในระยะสั้นและระยาว เพื่อให้เป็ นไปตาม วิสัยทัศน์และพันธกิจที่ได้วางไว้ 4.1 เป้าหมายระยะสั้ น สร้ างความมั่นคงด้ านผลผลิตและสร้ างชีวติ ทีด่ ีแก่ชาวไร่ อ้อย บริ ษ ัท ตั้ง เป้ าหมายพัฒ นาผลผลิ ต อ้อ ยในฤดู ก ารผลิ ต 2-3 ปี ข้า งหน้า โดยส่ ง เสริ ม การปลู ก อ้อ ย และขยายพื้นที่เพาะปลูกกว่า 250,000 ไร่ เพื่อเพิ่มผลผลิตกว่า 3 ล้านตัน ควบคู่ไปกับการรักษามาตรฐาน คุณภาพอ้อยให้ได้ผลผลิตต่อไร่ สูงสุ ด ในฤดูการผลิตปี 2560/61 บริ ษทั มีปริ มาณอ้อยเข้าหี บ 3.15 ล้านตัน โดยเพิ่มขึ้นจากฤดูการผลิต ปี 2559/60 ซึ่ งมีออ้ ยเข้าหี บจานวน 2.21 ล้านตัน อยู่ประมาณ 940,000 ตัน สาหรับพื้นที่ ปลู กอ้อยในปั จจุบนั (ปี การผลิ ต 2560/61) มีพ้ืนที่ประมาณ 239,523 ไร่ เพิ่มขึ้นจากฤดูการผลิตปี 2559/60 จานวน 54,411 ไร่ (ปี การผลิต 2559/60 มี พื้นที่จานวน 185,112 ไร่ ) รวมทั้งมีจานวนชาวไร่ คู่สัญญาในปี 2560/61 จานวน 11,780 ราย เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนซึ่ ง มีจานวน 11,023 ราย และในด้านคุณภาพอ้อย ปี 2560/61 มีค่าความหวานของอ้อย (“CCS.”) อยูท่ ี่ 13.71 และมี ผลผลิตน้ าตาลต่อตันอ้อยที่ 119.88 กิโลกรัม ต่อตันอ้อย ขยายการลงทุน สร้ างมูลค่ าเพิม่ ให้ แก่ผลิตภัณฑ์ และพัฒนาธุรกิจผลพลอยได้ ตามที่บริ ษทั มีแผนการลงทุนผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ (Refined Sugar) เพื่อสร้าง มู ล ค่ า เพิ่ ม และรองรั บ ปริ ม าณน้ า ตาลที่ ผ ลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น โดยเน้น การส่ ง ออกให้ ก ับ โรงงานอุ ต สาหกรรมใน ต่างประเทศนั้น บัดนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2561 มีมติอนุ มตั ิ โครงการผลิตน้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ (Refined Sugar) ซึ่งมีกาลังการผลิตสู งสุ ด 1,200 ตันต่อวัน และคาดว่าจะ ติดตั้งเครื่ องจักรสาหรับโครงการแล้วเสร็ จเพื่อผลิ ตน้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ (Refined Sugar) ได้ทนั สาหรับ ฤดูการผลิต ปี 2561/62 โดยโครงการนี้มีมูลค่าการลงทุน 393.75 ล้านบาท สาหรับธุ รกิจพลังงานไฟฟ้ าชีวมวล ปัจจุบนั บริ ษทั มีโรงไฟฟ้ าชีวมวลทั้งสิ้ น 3 แห่ ง ได้แก่ BEC, BPC และ BPP โดย BPP ขายไฟฟ้ าให้กบั โรงงานน้ าตาล เพื่อรองรับกาลังการผลิตของโรงงานน้ าตาลที่เพิ่มขึ้น และหากการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (“กฟภ.”) เปิ ดรอบการเจรจารับซื้ อไฟฟ้ า บริ ษทั คาดว่าจะเข้าเจรจาขายไฟฟ้ า ให้กบั กฟภ. ต่อไป นอกจากนั้น บริ ษทั ยังได้จดั ตั้งบริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด (“SEW”) เพื่อดาเนิ นธุ รกิจผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ เครื่ องใช้ และอุปกรณ์ต่าง ๆ จากชานอ้อย และเยื่อพืชธรรมชาติชนิ ดอื่น ซึ่ งคาดว่าจะเริ่ มดาเนิ นการผลิ ตได้ใน ช่ วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2562 การดาเนิ นธุ รกิ จผลพลอยได้ดงั กล่าวสอดคล้องกับปริ มาณชานอ้อย (กากอ้อย) ที่เพิ่มขึ้นถึง 900,000 ตันต่อปี เนื่ องจากปริ มาณอ้อยเข้าหี บที่เพิ่มขึ้น 3 ล้านกว่าตัน อีกทั้ง บริ ษทั เล็งเห็ นโอกาส ในการทาธุ รกิ จ ซึ่ งปั จจุบนั ความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ที่ย่อยสลายทางชี วภาพ มีแนวโน้มสู งขึ้นอย่างต่อเนื่ อง 21 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
31
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เนื่ องจากปริ มาณขยะที่ เพิ่มขึ้นและผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งผลิตภัณฑ์ของบริ ษ ทั เป็ นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ใน แนวโน้มความต้องการของโลกที่ เปลี่ ยนแปลงการใช้ผลิ ตภัณฑ์เพื่อสิ่ งแวดล้อมมากขึ้น ดังนั้น ผลิ ตภัณฑ์ เพื่อสิ่ งแวดล้อมจะเข้ามาแทนที่โฟมและพลาสติกในสัดส่ วนที่เพิ่มมากขึ้น 4.2 เป้าหมายระยะยาว บริ ษทั มุ่งมัน่ รักษามาตรฐานและความเป็ นหนึ่งในด้านการบริ หารจัดการและควบคุมคุณภาพผลผลิตอ้อย เพื่อผลิตน้ าตาลทราย และผลิ ตภัณฑ์ผลพลอยได้ให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด เพราะบริ ษทั เข้าใจดี ว่าวัตถุดิบคือ ความเสี่ ย งสู ง สุ ดของธุ ร กิ จ ดัง นั้น หากมี ก ารบริ หารจัดการและควบคุ ม ดู แลได้อย่า งดี แ ละมี เ สถี ย รภาพ ตลอดจนการพัฒนาระบบและเครื่ องมืออย่างต่อเนื่อง จะทาให้บริ ษทั สามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน ด้านกิ จการโรงงานน้ าตาล บริ ษทั มีแผนขยายการลงทุนเพิ่มเติมในอนาคต ตามที่บริ ษทั ได้รับอนุ มตั ิ ให้จดั ตั้งโรงงานน้ าตาลเพิ่มอีก 2 แห่ง ซึ่ งมีกาลังการผลิตแห่งละ 20,000 ตัน จากสานักงานคณะกรรมการอ้อย และน้ าตาลทราย (“สอน.”) โดยได้จดั ตั้งบริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด (“CSF”) และบริ ษทั น้ าตาลทุ น บุรีรัมย์ จากัด (“BSC”) เพื่อรองรับการดาเนิ นธุ รกิ จดังกล่าว โดยปั จจุบนั โครงการของ CSF อยู่ระหว่าง การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม (EIA) นอกจากนี้ บริ ษ ัท ก าลังศึ กษาเกี่ ยวกับผลิ ตภัณฑ์เอทานอล และผลิ ตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ ส ามารถต่ อยอด ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ รวมทั้งศึกษาการลงทุนในธุรกิจประเภทใหม่ ๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั กลุ่มบริ ษทั ฯ 4.3 เป้าหมายการดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน การดาเนินธุ รกิจขององค์กรให้เติบโตและก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืนนั้น นอกจากความเก่งและความสามารถ ในการทากาไรเพียงอย่างเดี ยวคงมิอาจทาให้องค์กรดารงอยู่ได้อย่างยัง่ ยืน แต่ตอ้ งประกอบด้วยการดาเนิ น ธุ รกิจด้วยหลักธรรมาภิบาลและจริ ยธรรม การดู แลเอาใจใส่ ผมู้ ีส่วนได้เสี ย รวมถึ งการเรี ยนรู้ พัฒนาตนเอง และคิดค้นต่อยอดสิ่ งใหม่อยูเ่ สมอ ด้วยเหตุน้ ี กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จึงมุ่งมัน่ พัฒนา 5 ด้านดังนี้ 1. การพัฒนาบุคลากร บุคลากรเป็ นทรัพยากรที่มีความสาคัญอย่างยิง่ ในการพัฒนา กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงให้ความสาคัญในทุกขั้นตอน ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคล ทั้งในด้านการจัดหาบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน โดยคานึ งถึงกระบวนการสรรหา พนักงานจากภายในและภายนอกองค์ กรที่ มี ความสามารถเหมาะสมเข้ามาด ารงต าแหน่ ง พร้ อมทั้งติ ดตาม ประเมิ นผลการปฏิ บ ัติ งานให้เป็ นไปตามมาตรฐานที่ ก าหนดอย่างต่ อเนื่ อง และการรั กษาไว้ซ่ ึ งบุ คลากรที่ มี ความสาคัญ อี กทั้งมี การควบคุ มให้พนักงานปฏิ บตั ิตามข้อบังคับบริ ษทั และ“คู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุ ร กิ จ ” เพื่อ คานึ ง ถึ ง ผูม้ ี ส่ ว นได้เ สี ย ตลอดจนการทาให้บุค ลากรในองค์ก รตระหนัก รู ้ ถึ ง ความรับผิดชอบต่อสังคม และมีส่วนรวมในการดาเนินกิจกรรมดังกล่าว
32
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
22
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้กาหนด “นโยบายการพัฒนาบุคลากร” ซึ่ งรวบรวมอยูใ่ น “คู่มือการกากับ ดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจ ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 3” ซึ่ งนโยบายดังกล่าวได้ประกาศและนาใช้มาตั้งแต่ปี 2560 โดยมีรายละเอียดดังนี้ นโยบายการพัฒนาบุคลากร กลุ่มบริ ษทั ฯ มีแนวทางในการส่ งเสริ มให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานได้รับการพัฒนา ความรู้ ทั ก ษะ และศั ก ยภาพ ที่ จ าเป็ นในการปฏิ บั ติ ง านทั้ งในปั จจุ บ ั น และในอนาคต เนื่ องจาก กลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักดีว่า ทรัพยากรบุคคลเป็ นสิ นทรัพย์ที่มีค่าสู งสุ ดในการดาเนินธุ รกิจ ดังนั้น แนวคิดเกี่ยวกับ การพัฒนาบุ คลากรควรเป็ นการลงทุ นอย่างต่ อเนื่ องระยะยาว กลุ่ มบริ ษ ทั ฯ ได้ดาเนิ นการพัฒนาบุ คลากรให้ สอดคล้องกับนโยบายและสภาวการณ์ ด้วยการพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุ ณลักษณะที่จาเป็ นของบุคลากร โดยใช้ เครื่ องมือในการพัฒนาบุคลากร ได้แก่ การสอนงาน (Coaching) การแบ่งปั นความรู้ (Knowledge Sharing) และการมอบหมาย โครงการ (Project Assignment) เพื่อให้บุคลากรสามารถนาความรู้ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงาน ซึ่ งจะสร้าง ความแข็งแกร่ งให้กบั องค์กร และรองรับการเติบโตของธุ รกิจ กลุ่มบริ ษทั ฯ มุ่งมัน่ พัฒนาและเตรี ยมความพร้ อมในด้านการพัฒนาบุคลากร สาหรั บกลุ่ มที่ เป็ นก าลัง สาคัญของหน่วยงาน หรื อ Key Person โดยพิจารณาคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม มีความรู้ ความเชี่ ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ มีบุคลิ กภาพและพฤติกรรมการทางานด้วยความมุ่งมัน่ ตั้งใจ รวมทั้งมีทศั นคติ ที่ดีต่อการทางานและต่อองค์กรซึ่ งฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและธุ รการได้ร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดจัดทาแผนพัฒนา พนักงานรายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) ด้วยรู ปแบบการเรี ยนรู้พฒั นาที่หลากหลาย เช่น การสอนงาน การแบ่ งปั นความรู ้ การมอบหมายโครงการ การฝึ กอบรมภายในและภายนอก เพื่ อให้ได้ข ้อมู ลในการพัฒนา บุคลากรอย่างแท้จริ ง โดยจัดให้มีการประเมินรายบุคคล ซึ่ งให้ผบู้ งั คับบัญชา และ/หรื อ ผูเ้ กี่ยวข้องเป็ นผูป้ ระเมิน ตลอดจนดาเนินการติดตามผลกับผูบ้ งั คับบัญชา ปี ละ 2 ครั้ง กลุ่ มบริ ษ ัทฯ ได้เล็ งเห็ นความส าคัญต่อการสร้ างและเตรี ยมความพร้ อมด้านบุ คลากรที่ จะมารองรั บ การขยายตัวทางธุ รกิ จ โดยได้ก าหนดแนวทางในการพัฒนาพนักงานกลุ่ มผูม้ ี ศ ักยภาพสู ง (High Potential Development) โดยคัดเลือกจากกลุ่มที่เป็ นกาลังสาคัญของหน่วยงาน หรื อ Key Person และได้มีการกาหนดแผนการ พัฒนารายบุคคลที่เหมาะสม (Individual Development Plan : IDP) สาหรับกลุ่มผูม้ ีศกั ยภาพสู ง (High Potential Development) ซึ่งพนักงานที่ได้รับคัดเลือกจะมีโอกาสในการเรี ยนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง อาทิ การเรี ยนรู้ งานจากฝ่ ายต่าง ๆ ภายในองค์กร (Rotation) เป็ นต้น นอกจากนี้ กลุ่มบริ ษทั ฯ ยังส่ งเสริ มให้พนักงานมีเวทีแสดงออก ถึงศักยภาพ โดยมอบหมายโครงการพิเศษที่ทา้ ทาย อาทิ โครงการด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อตอบสนองการดาเนิน ธุ รกิ จหรื อการผลิ ตของกลุ่มบริ ษทั ฯ สาหรับโครงการที่ได้รับการคัดเลือก ทางกลุ่มบริ ษทั ฯ จะให้การสนับสนุ น เพื่อให้สิ่งผลิตหรื อนวัตกรรมของพนักงานนั้นสามารถนามาใช้งานและเกิดประโยชน์ต่อองค์กรได้อย่างแท้จริ ง
23
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
33
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2. การพัฒนาเกษตรกรชาวไร่ อ้อย ตามวิสัยทัศน์และพันธกิ จที่ กลุ่ มบริ ษทั ฯ มุ่งมัน่ สร้ างความมัน่ คงด้านผลผลิ ตและสร้ างชี วิตที่ ดีแก่ ชาวไร่ ออ้ ย ตามปรัชญา “น้าตาลสร้ างในไร่ ” ดังนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้ส่งเสริ มและพัฒนาชาวไร่ ออ้ ยให้มี ความรู ้ ใ นการบริ หารจัดการอ้อยทั้ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิ บ ตั ิ ตั้ง แต่ก ระบวนการเพาะปลูก การบารุ งรัก ษา และการเก็บเกี่ ยว รวมถึงความรู ้ในการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้บริ หารจัดการอ้อย และการนา คณะชาวไร่ ออ้ ยไปศึกษาดู งานทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนาความรู้ มาต่อยอดและประยุกต์ใช้ การพัฒนา ในด้านนี้ ถือเป็ นการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนที่สามารถเพิ่มคุณภาพและปริ มาณผลผลิตต่อไร่ ให้แก่เกษตรกร และยัง สามารถลดความเสี่ ยงในการจัดหาวัตถุดิบและสร้างความมัน่ คงด้านผลผลิตให้แก่กลุ่มบริ ษทั ฯได้อีกด้วย นอกจากนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ ยังมีแนวคิดเปลี่ยนเกษตรกรเป็ น “นักธุรกิจชาวไร่ ” โดยแนวคิดดังกล่าว มุ่งให้เกษตรกรสามารถวางแผนและบริ หารจัดการในการเพาะปลูกอ้อยและกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้วยการสนับสนุนองค์ความรู้และการส่ งเสริ มจากกลุ่มบริ ษทั ฯ อย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างให้อาชีพเพาะปลูกอ้อย เป็ นอาชี พที่มนั่ คง สร้ างรายได้ที่ดี มีความสุ ขในการทางาน อีกทั้งยังสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ และสามารถสื บทอดกิจการจากรุ่ นสู่ รุ่น 3. การพัฒนางานวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยี ตลอดระยะเวลาการดาเนินงานที่ผา่ นมา กลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญในการพัฒนางานวิจยั นวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนามาพัฒนา ปรับปรุ ง และเสริ มศักยภาพในการประกอบธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ และเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย กลุ่มบริ ษทั ฯ มีการบริ หารจัดการระบบไร่ ออนไลน์ (Online) การจัดทาระบบสมาร์ ทฟาร์ ม (Smart Farm) รวมทั้งระบบจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบ MIS (Management Information System) และ ระบบแผนที่แปลงอ้อย GIS (Geographic Information System) รวมทั้งนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ เพื่อส่ งเสริ ม การปลู ก อ้อย และตรวจติ ดตามรายแปลงอ้อยได้ตามหลัก วิชาการ รวมทั้งสามารถแก้ไ ขปั ญหาได้ทนั ต่อ สถานการณ์ นอกจากนั้น ยังมีงานวิจยั เพื่อป้ องกันและกาจัดโรคพืชและศัตรู พืช อาทิ งานวิจยั การควบคุม การระบาดของโรคและแมลง โดยใช้วิธีธรรมชาติและมีการเพาะเลี้ยงศัตรู ธรรมชาติ เช่น แตนเบียน เพื่อควบคุม การระบาดของหนอนกออ้อย และเชื้อราเขียว เพื่อกาจัดด้วงหนวดยาว เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม กลุ่ มบริ ษทั ฯ ยังคงมุ่งมัน่ พัฒนาอย่างต่อเนื่ อง เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริ หารจัดการ การเกษตรด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และงานวิจยั ต่ าง ๆ ให้สอดคล้องตามนโยบายเกษตรยุคไทยแลนด์ 4.0 (Thailand 4.0) ของรัฐบาล ที่เน้นเศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม 4. การพัฒนาชุ มชนและสิ่ งแวดล้อม กลุ่มบริ ษทั ฯ เชื่อว่าการพัฒนาธุรกิจต้องทาควบคู่กบั การพัฒนาชุมชน และการรักษาสิ่ งแวดล้อม ด้ านการพัฒนาชุ มชน กลุ่มบริ ษทั ฯ มีพนั ธกิจสาคัญในการยกระดับความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชนให้ดีข้ ึน โดยการพัฒนาความรู ้ และส่ งเสริ มอาชี พให้แก่คนในชุมชน จัดกิจกรรมศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่ ผลิ ตภัณฑ์ ตลอดจนช่ วยโฆษณาประชาสั มพันธ์ และรับซื้ อสิ นค้าจากชุ มชน เพื่ อจัดท าเป็ นของที่ ระลึ ก 24 34
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ของกลุ่ มบริ ษทั ฯ เพื่อมอบในเทศกาลปี ใหม่หรื อในโอกาสต่าง ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้คนในชุ มชนสามารถดารงชี พได้ อย่างมัน่ คงและมีความภูมิใจในตนเอง นอกจากนั้น ยังพัฒนาและสนับสนุนการศึกษาของบุตรหลานและโรงเรี ยน ในชุมชนรอบสถานประกอบการของกลุ่มบริ ษทั ฯ อีกด้วย ด้ านการพัฒนาสิ่ งแวดล้ อม กลุ่มบริ ษทั ฯ ดู แลรักษาสิ่ งแวดล้อม โดยเริ่ มจากการจัดการภายในโรงงาน ซึ่ งใส่ ใจตั้งแต่กระบวนการผลิ ต และการจัดภูมิท ศั น์รอบโรงงาน เป็ นต้น นอกจากนั้น ยังได้จดั กิ จกรรมรักษา สิ่ งแวดล้อม โดยให้ชุมชน หน่วยงานราชการท้องถิ่น และพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ฯ เข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรม ดังกล่าว เพื่อความร่ วมมือเป็ นหนึ่งเดียวกัน และสร้างจิตสานึกในการรักษาสิ่ งแวดล้อมของชุ มชนร่ วมกัน 5. การพัฒนาและบริหารงานด้ วยหลักธรรมาภิบาลและจริยธรรม ความมุ่งมัน่ ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยัง่ ยืนด้วยหลักธรรมาภิบาลและจริ ยธรรม เป็ นอีกสิ่ ง หนึ่ งที่กลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญและพัฒนามาอย่างต่อเนื่ อง กลุ่ มบริ ษทั ฯ ดาเนิ นงานด้วยความโปร่ งใส โดยมีการเปิ ดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อสร้างความเป็ นธรรมและเสริ มสร้างความเท่าเทียมกัน ระหว่างผูถ้ ือหุ ้นทุกราย นอกจากนั้น ยังจัดให้มีระบบการตรวจสอบภายในโดยผูต้ รวจสอบอิสระภายในและ ภายนอกองค์กร เพื่อความถูกต้องและความโปร่ งใสในการดาเนินกิจการ ในปี 2561 บริ ษ ทั ได้รับการรั บรองฐานะสมาชิ กแนวร่ วมปฏิ บ ตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่ อต้า น การทุจริ ต (Collective Action Coalition Against Corruption หรื อ CAC) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2561 ทั้งนี้ บริ ษทั มีความมุ่งมัน่ สานต่อการดาเนินตามนโยบายการต่อต้านคอร์ รัปชัน ตลอดจนการสื่ อสารและประกาศ เรื่ องดังกล่าวไปยังคู่คา้ และผูเ้ กี่ยวข้องทุกภาคส่ วน รวมทั้งได้จดั อบรมให้บุคลากรและรณรงค์ภายในองค์กร อย่างต่ อเนื่ อง นอกจากนี้ ได้เปิ ดช่ องทางการแจ้งข้อร้ องเรี ยนและข้อเสนอแนะ (Whistleblowing) เพื่ อรั บ ข้อร้องเรี ยนจากผูม้ ีส่วนได้เสี ย ผ่านกล่องรับความคิดเห็นและทางไปรษณี ย ์ ซึ่งส่ งถึงประธานกรรมการธรรมาภิบาล โดยตรง โดยในปี ที ่ผ ่า นมาไม่ป รากฏข้อ ร้ อ งเรี ย นจากผูม้ ีส่ ว นได้เ สี ย นอกจากนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ ยังได้ ทบทวนคู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจ ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 2 ซึ่ งประกาศใช้ในปี 2561 และ ต่อมาได้ปรับปรุ งอีกครั้งในเดื อนกุมภาพันธ์ ปี 2562 เป็ นฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 3 ซึ่ งได้เผยแพร่ คู่มือดังกล่าวบน เว็บไซต์ของบริ ษทั จากความมุ่ งมั่นในการด าเนิ นงานด้านการก ากับดู แลกิ จการที่ ดี มาอย่างต่ อเนื่ องท าให้ บริ ษ ัทได้รั บ ผลประเมินระดับ “ดีเลิศ” หรื อ “Excellent” โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยอยูท่ ี่ร้อยละ 93 ซึ่ งสู งกว่าคะแนนเฉลี่ ย ของบริ ษทั จดทะเบี ยนโดยรวมของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย จากโครงการสารวจการกากับดูแล กิจการของบริ ษทั จดทะเบียนประจาปี 2561 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
25
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
35
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ (1) โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ประเภทที่มาของรายได้ 1. รายได้จากการจาหน่ ายนา้ ตาลและ กากนา้ ตาล 1.1 รายได้จากการขายน้ าตาลทรายขาว สี ราในประเทศ 1.2 รายได้จากการขายน้ าตาลทรายขาว ต่างประเทศ 1.3 รายได้จากการขายน้ าตาลทรายดิบ ต่างประเทศ 1.4 รายได้จากการขายกากน้ าตาล ในประเทศ รวมรายได้จากการขายน้าตาลทราย และกากนา้ ตาล 2. รายได้จากธุรกิจเกีย่ วเนื่อง 2.1 รายได้จากการขายไฟฟ้ า 2.2 รายได้จากการขายปุ๋ ย 2.3 รายได้จากการขายและบริ การอื่น ๆ รวมรายได้จากธุรกิจเกีย่ วเนื่องอืน่ ๆ 3. รายได้อนื่ ๆ* 4. กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้รวม
บริษทั ที่ ดาเนินการ
ปี 2559 ล้านบาท ร้ อยละ
ปี 2560 ล้านบาท ร้ อยละ
BSF
1,162.02
24.80
1,144.94
19.42
658.77
11.27
BSF
53.29
1.14
6.67
0.11
-
-
BSF
2,230.29
47.60
3,114.99
52.83
3,207.49
54.88
BSF
283.60
6.05
437.44
7.42
499.28
8.54
3,729.19
79.59
4,704.04
79.79
4,365.54
74.69
383.81
8.19
492.14
8.35
556.57
9.52
328.83 137.38 850.02
7.02 2.93 18.14
335.51 208.75 1,036.40
5.69 3.54 17.58
370.71 263.15 1,190.43
6.35 4.50 20.37
95.22
2.03
151.72
2.57
253.05
4.33
11.09 4,685.52
0.24 100.00
3.59 5,895.76
0.06 100.00
35.79 5,844.81
0.61 100.00
BEC / BPC/ BPP KBF BSF / BRD BRR / BSF / BRD / BEC / BPC BSF
ปี 2561 ล้านบาท ร้ อยละ
หมายเหตุ: *รายได้ อื่น ๆ ได้ แก่ กาไรจากการขายสิ นทรั พย์ หนีส้ ูญได้ รับคืน รายได้ เงินชดเชยค่ าผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ าย นา้ ตาล และดอกเบีย้ รั บ เป็ นต้ น
26 36
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
(2) ธุรกิจผลิตและจาหน่ ายน้าตาล ดาเนินการโดยบริ ษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) BSF เป็ นโรงงานผลิ ตน้ าตาลแห่ งแรกของกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ ที่ อยู่คู่กบั ชุ ม ชนเป็ นระยะเวลากว่า 5 ทศวรรษ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา BSF มุ่งมัน่ ผลิตน้ าตาลที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค และเป็ นที่ พึงพอใจแก่ลูกค้า ด้วยเหตุน้ ี BSF จึงพัฒนากระบวนการผลิตและจัดจาหน่ ายน้ าตาลที่มีคุณภาพและได้รับ การรั บ รองในระดับ มาตรฐานสากล ซึ่ งผ่า นการตรวจรั บ รองระบบบริ ห ารจัด การคุ ณ ภาพตาม ISO 9001:2015 มาตรฐานสาหรับระบบบริ หารคุณภาพ “QMS” (“Quality Management System”) การรับรอง คุณภาพมาตรฐานการผลิต “GMP” (“Good Manufacturing Practice”) มาตรฐานระบบวิเคราะห์อนั ตรายและ จุดวิกฤตที่ตอ้ งควบคุม “HACCP” มาตรฐานอาหารฮาลาลของศาสนาอิสลาม ซึ่ งอนุญาตให้มุสลิมบริ โภคได้ รวมทั้งมาตรฐานการบริ หารจัดการการผลิ ตที่ไ ม่กระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม อาทิ Carbon Footprint ซึ่ งเป็ น การรั บรองการลดปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกที่ ปล่ อยออกมาจากการผลิ ต และ Water Footprint ซึ่ งเป็ น การรับรองด้านการจัดการการใช้น้ าอย่างยัง่ ยืน เป็ นต้น 2.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ BSF สามารถผลิ ตน้ าตาลทราย ซึ่ งจาแนกได้ตามประเภทและเกรดของความบริ สุทธิ์ ของน้ าตาล ออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ น้ าตาลทรายขาวสี รา และน้ าตาลทรายดิบ ซึ่ งแบ่งเป็ นน้ าตาลทรายดิบเทกอง และน้ า ตาลทรายดิ บ บรรจุ ก ระสอบ นอกจากนี้ ในกระบวนการผลิ ตน้ า ตาลยัง มี ผลิ ตภัณฑ์ผลพลอยได้ ที่ BSF สามารถนาไปจาหน่ ายต่อเพื่อสร้ างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิ ตภัณฑ์ อันได้แก่ กากน้ าตาล (Molasses) กากอ้อย (Bagasses) กากหม้อกรอง (Filter Cake) และไอน้ า (Steam) ปริมาณการผลิตน้าตาลทรายจาแนกแต่ ละประเภทของ BSF หน่ วย : ตัน 254,577.60
148,239.84
46,378.74 36,790.08
157,113.32 130,654.18
65,562.10 38,436.06
2557/58 น้ ำตำลทรำยขำวสีรำ
69,208.61 60,138.40
2558/59
2559/60
น้ ำตำลทรำยดิบบรรจุกระสอบ
77,845.30 45,762.78
2560/61 น้ ำตำลทรำยดิบเทกอง
27 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
37
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นา้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar) น้ าตาลทรายดิ บ ผลิ ต จากอ้ อ ยโดยตรง เป็ นน้ าตาลที่ ไ ด้ จ ากกระบวนการผลิ ต ขั้น ต้ น โดยกระบวนการเคี่ยวและตกผลึกน้ าตาล ซึ่ งมีค่าสี สูงกว่า 1,500 ICUMSA สี จะมีลกั ษณะเป็ นสี น้ าตาลเข้ม มี สิ่ ง สกปรกเจื อ ปนสู ง ความบริ สุ ท ธิ์ ต่า เป็ นเกล็ ด ใสสี น้ า ตาลอ่ อ นถึ ง เข้ม มี ค วามชื้ น ปานกลาง เกล็ ด น้ าตาลจะจับติดกันไม่ร่วน น้ าตาลชนิ ดนี้ ไม่สามารถนาไปบริ โภคได้โดยตรง ต้องนาน้ าตาลไปผ่าน กระบวนการ (Reprocess) หรื อทาให้บริ สุทธิ์ ก่อน เพื่อผลิตเป็ นน้ าตาลทรายขาวหรื อน้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ การขนถ่ายน้ าตาลทรายดิบจะขนถ่ายในลักษณะ Bulk เพื่อจาหน่ายให้แก่ลูกค้าต่างประเทศ นอกจากนี้ น้ า ตาลทรายดิ บ บรรจุ ก ระสอบ หรื อ น้ า ตาลทรายดิ บ คุ ณภาพสู ง (Very High Polarization Sugar: VHP) เป็ นน้ าตาลทรายดิบซึ่ งผ่านกระบวนการทาให้บริ สุทธิ์ บางส่ วน ทาให้สีของ น้ าตาลเป็ นสี เหลื องแกมน้ าตาล โดยทัว่ ไปจะมีค่าสี อยู่ระหว่าง 1,000 - 1,500 ICUMSA สามารถนามา บริ โภคได้โดยตรง ในการจาหน่ าย BSF จะนาผลิตภัณฑ์น้ าตาลทรายดิ บคุ ณภาพสู งบรรจุในกระสอบและ ส่ งออกไปขายต่างประเทศ แบ่งเป็ น 2 ขนาด ได้แก่ ขนาด 50 กิโลกรัม และขนาด 15 กิโลกรัม นา้ ตาลทรายขาวสี รา (Brown Sugar) น้ า ตาลทรายขาวสี รา เป็ นน้ าตาลทรายที่ ผ่า นกระบวนการทาให้บ ริ สุ ทธิ์ แล้ว แต่ไ ม่ ไ ด้ผ่า น กระบวนการลดค่าสี ทาให้สีของน้ าตาลเป็ นสี ทอง โดยทัว่ ไปมีค่าสี ไม่เกิน 1,000 ICUMSA บริ ษทั ผลิตน้ าตาลทรายขาว เกรด 3 (น้ าตาลทรายขาวสี รา) ค่าสี 800-1,000 ICUMSA ความชื้ นไม่เกินร้อยละ 0.1 เพื่อจาหน่ายแก่ยี่ปั๊ว บริ เวณชุมชนพื้นที่ใกล้เคียงในจังหวัดบุรีรัมย์ และต่างจังหวัดซึ่ งส่ วนใหญ่อยูใ่ นพื้นที่ภาคอีสาน ภาคใต้ และ เขตกรุ งเทพมหานคร รวมทั้งในตลาดธุ รกิจค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) และช่องทาง Food Service ตารางจาแนกค่ าสี ค่ าโพลาไรเซชั่น และค่ าความชื้นของน้าตาลแต่ ละประเภทของ BSF ผลิตภัณฑ์ นา้ ตาลทราย
ค่ าสี (ICUMSA)
น้ าตาลทรายดิบเทกอง น้ าตาลทรายดิบบรรจุกระสอบ (VHP) น้ าตาลทรายขาว (สี รา) น้ าตาลเกรดพรี เมียม
>1,001 1,000 – 1,500 800 – 1,000 > 1,000
ค่ าโพลาไรเซชั่น (ร้ อยละ) >95.00 99.20 - 99.49 > 99.20 > 99.20
ค่ าความชื้น (ร้ อยละ) < 0.6 < 0.2 < 0.1 < 0.2
ผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตนา้ ตาล นอกจากผลผลิ ต น้ า ตาลที่ ไ ด้จ ากการผลิ ต ของโรงงานน้ า ตาลแล้ว โดยทั่ว ไปปริ ม าณอ้อ ย 14,000 ตัน BSF จะสามารถผลิ ตน้ าตาลได้ประมาณ 1,600 ตัน และได้ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากการผลิต น้ าตาล ได้แก่ กากน้ าตาล ประมาณ 600 ตัน กากอ้อยประมาณ 3,800 ตัน และกากหม้อกรอง ประมาณ 600 ตัน
28 38
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในฤดูการผลิตปี 2560/61 BSF มีปริ มาณอ้อยเข้าหี บประมาณ 3.15 ล้านตัน สามารถผลิตน้ าตาลได้ 378,185.67 ตัน ซึ่ งผลิตผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้เป็ นกากน้ าตาลได้ 122,144.49 ตัน กากอ้อย 903,607.57 ตัน และกาก หม้อกรอง 124,507.70 ตัน สัดส่ วนผลผลิตน้าตาลและผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ 8.15% 7.99%
24.74%
ปริ มาณกากอ้อย
2560/61
ปริ มาณน้ าตาล
59.12%
ปริ มาณกากน้ าตาล
ปริ มาณกากหม้อกรอง
ทั้งนี้ ลักษณะและการนาไปใช้ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ มีรายละเอียดดังนี้ กากนา้ ตาล หรือโมลาส (Molasses) เป็ นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการเคี่ยวน้ าตาล ซึ่ งเป็ นส่ วนของเหลวที่เหลือหลังจาก การแยกเอาผลึ กของน้ าตาลออกแล้ว มีลกั ษณะเหนี ยวข้นสี น้ าตาลเข้ม องค์ประกอบส่ วนใหญ่เป็ นน้ าตาล ซูโครสที่ไม่ตกผลึก ในกระบวนการผลิตน้ าตาลทรายจะได้กากน้ าตาล ประมาณ 38-42 กิโลกรัมต่อปริ มาณ อ้อยเข้าหี บ 1 ตัน ทั้ง นี้ กากน้ า ตาลสามารถนาไปใช้เ ป็ นวัตถุ ดิ บ ในการผลิ ตอาหารและเครื่ อ งดื่ ม อาทิ การผลิตแอลกอฮอล์ ยีสต์ ผงชูรส อาหารสัตว์ น้ าส้ มสายชู ซี อิ๊ว และซอสปรุ งรส เป็ นต้น โดยในปั จจุบนั BSF จาหน่ายกากน้ าตาลที่ผลิตได้ให้แก่อุตสาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่ม กากอ้อย (Bagasses) เป็ นผลิ ตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการหี บอ้อย ประกอบด้วยธาตุคาร์ บอน ไฮโดรเจน ออกซิ เจน และไนโตรเจน ซึ่ งมีคุณสมบัติเหมาะสมที่ สามารถใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้อย่างดี เมื่อนากากอ้อยไป ตากจนแห้ง จะสามารถใช้เป็ นเชื้ อเพลิ ง ในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าได้ นอกจากจะใช้เป็ นเชื้ อเพลิ งแล้วยัง สามารถนาไปใช้ใ นอุ ตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์และเครื่ องใช้จากชานอ้อย กระดาษไม้อดั (Fiber Board) แผ่น Particle Board และการผลิตเซลลูโลสได้อีกด้วย โดยปั จจุบนั BSF จาหน่ายกากอ้อยให้แก่กลุ่มบริ ษทั โรงไฟฟ้ าในเครื อ และรับซื้ อไฟฟ้ าที่เหลือจากการจาหน่ายให้แก่การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (“กฟภ.”) มาใช้ใน โรงงานน้ าตาลต่อไป 29 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
39
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กากหม้ อกรอง (Filter cake) เป็ นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการกรองน้ าอ้อยหลังจากพักใสแล้ว กากตะกอนจะมี น้ าตาลติดออกมาพอสมควร มีสารอาหาร เช่น โปรตีน และแร่ ธาตุต่าง ๆ สามารถใช้ในการปรับปรุ งดินได้ เพราะมีความพรุ นในตัวจึงช่ วยการกระจายน้ าในดิน นอกจากนี้ ยังพบว่าสามารถปรับสภาพดินให้ร่วนซุ ย มีความเป็ นกรดลดลง หรื อใช้แก้น้ าที่มีสภาพเป็ นกรดได้ นอกจากกากหม้อกรองจะใช้เป็ นปุ๋ ยแล้ว ยังสามารถ นาไปใช้ทาอาหารสัตว์ หรื อผลิตก๊าซชี วภาพได้อีกด้วย ปั จจุบนั BSF จาหน่ายกากหม้อกรองให้แก่บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (“KBF”) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ โดยได้ใช้กากหม้อกรองเป็ นวัตถุดิบหลัก ในการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยแ์ ละจาหน่ ายปุ๋ ยให้แก่บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด(“BRD”) เพื่อนาไป ส่ งเสริ มแก่ชาวไร่ ออ้ ยในพื้นที่ส่งเสริ ม เพื่อให้ชาวไร่ ออ้ ยได้ปุ๋ยที่มีคุณภาพ ทาให้ผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้น ไอนา้ (Steam) เป็ นผลพลอยได้ที่ เกิ ดจากกระบวนการผลิ ต ซึ่ งใช้ป ระโยชน์ใ นการขับ เคลื่ อนเครื่ องจัก ร รวมถึงผลิตไฟฟ้ า ทั้งนี้ BSF มีกาลังการผลิตไฟฟ้ าจากไอน้ าสู งสุ ดรวม 18.5 เมกะวัตต์ ซึ่ งปั จจุบนั ผลิตไฟฟ้ า จริ งเฉลี่ย 14.5-15 เมกะวัตต์ สาหรับใช้ภายในโรงงานน้ าตาล เพื่อช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้ า และเป็ นการบริ หาร ทรัพยากรที่มีอยูเ่ พื่อประโยชน์สูงสุ ดแก่บริ ษทั 2.2 โครงการในอนาคต ปลายปี 2558 และปี 2559 กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้รับอนุญาตให้จดั ตั้งโรงงานผลิ ตน้ าตาล จานวน 2 แห่ ง ในอาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์ และอาเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุ รินทร์ ซึ่ งมีกาลังการผลิตแห่ งละ 20,000 ตัน ต่อวัน จากส านัก งานคณะกรรมการอ้อยและน้ า ตาลทราย (“สอน.”) โดยโรงงานน้ า ตาลทั้ง 2 แห่ ง นี้ จดทะเบี ย นจัดตั้ง ในนามบริ ษ ทั โรงงานน้ า ตาลช านิ จากัด (“CSF”) (ซึ่ งเดิ ม คื อ บริ ษ ทั บุ รีรัม ย์ซุ ปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด) และบริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (“BSC”) (ซึ่ งเดิมคือ บริ ษทั บุรีรัมย์อะโกรเอ็นเนอร์ ยี่ จากัด) ตามลาดับ สาหรับการดาเนิ นงานในปั จจุบนั ของ CSF อยู่ระหว่างการจัดทารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบด้า นสิ่ ง แวดล้อ ม (EIA) ส่ ว นโครงการแปรรู ป น้ า ตาลทรายขาวบริ สุ ท ธิ์ (Refined Sugar) เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์น้ าตาล คาดว่าจะเริ่ มผลิตน้ าตาลทรายขาวชนิ ดดังกล่าวได้ ภายในช่วงไตรมาส 3 ของปี 2562 2.3 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน กลยุทธ์ ในการแข่ งขัน กลุ่มบริ ษทั ฯ มีประสบการณ์และความเชี่ ยวชาญในการผลิตและจัดจาหน่ายน้ าตาลมาเป็ นเวลากว่า 56 ปี เพื่อเสริ มสร้ างความแข็งแกร่ งให้กบั กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้มีการจัดตั้งบริ ษทั บุ รีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด (“BRD”) เพื่อดาเนิ นงานบริ หารจัดการวัตถุ ดิบ โดยส่ งเสริ มและสนับ สนุ นเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย เพื่อสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขันทางด้านธุรกิจ โดยกาหนดกลยุทธ์ในการส่ งเสริ มที่มุ่งเป้ าหมายเห็นผล 30 40
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ชัดเจนไปพร้อมกับการพัฒนาบุคลากรและเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย มีการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ของ คุณภาพอ้อยในการเพิ่มผลผลิต การทดลอง ทดสอบพันธุ์ออ้ ยที่ให้ผลผลิตและคุณภาพต้านทานโรคแมลง ศัตรู ออ้ ย และไว้ตอได้ดีเหมาะสมกับพื้นที่ปลูกของเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยจังหวัดบุรีรัมย์ มีการบริ หารจัดการ ศัตรู ออ้ ยโดยใช้ชีววิธี มี ก ารขยายผลและสร้ า งเครื อข่า ยกลุ่ มเกษตรกรชาวไร่ อ้อยให้เข้มแข็ง ขึ้นในเรื่ อง การบริ หารจัดการโรคแมลงศัตรู ออ้ ย มีการพัฒนาเครื่ องมือทางการเกษตรเพื่อลดรายจ่าย ลดการใช้แรงงาน ส่ งเสริ มและสนับสนุนใช้น้ าเพื่อการเพิ่มผลผลิต มีการส่ งเสริ มการปลูกอ้อยโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การบริ หารจัดการระบบไร่ ออ้ ยภายใต้การส่ งเสริ ม แบบพันธสัญญา (Contract Farming) การสร้ างกลุ่ ม เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยให้เข้มแข็งด้วยการส่ งเสริ มและสนับสนุนให้ความรู ้ในการพัฒนาและเพิ่มผลผลิตในทุกด้าน เพื่อเป็ นการสร้ างองค์ความรู้ และเพิ่มทักษะ เพื่อนาความรู้ ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการผลิ ตอ้อยของตนเอง อัน จะน าไปสู่ ก ารพัฒ นาที่ ย งั่ ยืนและสร้ า งคุ ณภาพชี วิต ที่ ดีใ ห้แก่ ช าวไร่ อ้อ ย และเพื่อ ให้ส อดคล้องกับ วิสัยทัศน์ในการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ คือ “สร้ างความมั่นคงด้ านผลผลิตและสร้ างชี วิตที่ดีแก่ ชาวไร่ อ้อยฯ” โดยมีการดาเนินการในหลายรู ปแบบดังนี้ 1. การส่ งเสริมการปลูกอ้ อยแบบพันธสั ญญา (Contract Farming) Contract Farming บริ ษทั ได้จดั ทาสัญญากับชาวไร่ ออ้ ยด้วยระบบ Contract Farming เพื่อส่ งเสริ มปั จจัยการผลิตและสิ นเชื่อ (เงินเกี๊ยว) เพื่อเป็ นการสร้างความมัน่ คงทางด้านวัตถุดิบและผลผลิต โดยมีการพัฒนา Application เพื่อการบริ หาร กิจกรรมการผลิตเป็ นรายแปลง เพื่อให้ทราบตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ ของแปลงอ้อยเพื่อช่ วยในการบริ หารจัดการ แปลงอ้อยให้ตอบสนองต่อผลผลิ ตมากที่สุด และเชื่ อมต่อกับระบบไร่ ออนไลน์ มีการบันทึกกิจกรรมแปลงอ้อย และข้อมูลของแปลงอ้อย รหัสแปลง ขนาดพื้นที่ ลักษณะรู ปแปลงอ้อย ประเภทอ้อย การใช้ปัจจัยการผลิต และเงิน ส่ งเสริ ม เป็ นต้น เพื่อนามาช่วยประกอบการตัดสิ นใจในการบริ หารจัดการดังกล่าว พืน้ ทีส่ ่ งเสริม พื้นที่ ส่ งเสริ มการปลู กอ้อยของบริ ษทั ส่ วนใหญ่ อยู่ในรัศมี 40 กม.จากโรงงาน พื้นที่ ส่วนใหญ่มี การปลูกข้าวมาก่อนแต่ได้ผลผลิตไม่คุม้ ค่า (พื้นที่นาดอน) จึงมีการปรับตัวและเปลี่ยนพื้นที่มาเพาะปลูกอ้อย ซึ่ งพื้นที่ดงั กล่าวเหมาะสมต่อการปลูกอ้อย ประกอบกับการส่ งเสริ มในรู ปแบบ Contract Farming ที่มี การตรวจติ ดตามและจ่ า ยปั จจัย การผลิ ตรายแปลง จึ ง ท าให้ผ ลการดาเนิ นงานทางด้า นส่ ง เสริ ม ประสบ ผลสาเร็ จ เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป ซึ่ งเห็นได้จากการที่มีปริ มาณเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย พื้นที่ปลูกและปริ มาณ รวมถึงคุณภาพอ้อยที่เพิ่มขึ้นในทุกปี
31 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
41
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
พืน้ ทีส่ ่ งเสริ มส่ วนใหญ่ ในรั ศมี 40 กิโลเมตรรอบโรงงาน
40 กม.
ตารางแสดงจานวนชาวไร่ อ้อยคู่สัญญา พืน้ ทีป่ ลูกอ้ อย และปริมาณอ้ อยทีน่ าเข้ าหีบ รายการ จำนวนชำวไร่ (ครอบครัว) พื้นทีป่ ลูก (ไร่ ) ปริ มำณอ้อยเข้ำหี บ(ตัน) คุณภำพอ้อย (CCS.) น้ ำตำล/ตันอ้อย
ปี การผลิ ต 2557/58 2558/59 2559/60 2560/61 10,777 11,587 11,023 11,780 180,046.23 189,381.90 185,112.91 239,523 1,951,247.12 2,060,649.65 2,212,736.63 3,154,586.44 13.48 118.6
13.45 117.06
13.18 112.59
13.71 119.88
2561/62 11,369 240,000
2562/63 11,657 240,000
2,900,000 13.70 120.00
3,100,000 13.80 122.00
หมายเหตุ : - ปี กำรผลิต 2561/62 เป็ นกำรคำดกำรณ์เนื่ องจำกอยูใ่ นช่ วงกำรหี บอ้อย ทัง้ นี้ ปริ มำณอ้อยลดลง เนื่ องจำกภำวะภัยแล้ง อย่ำงไรก็ตำม บริ ษทั สำมำรถควบคุมผลผลิต ให้เป็ นไปอย่ำงเพียงพอตำมเป้ ำหมำยทีว่ ำงไว้ - ปี กำรผลิต 2562/63 เป็ นเป้ ำหมำยกำรดำเนิ นงำน
2. การให้ การส่ งเสริมและตรวจติดตามระดับรายแปลง บริ ษทั ได้คดั เลือกบุคลากรเพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาในการผลิตอ้อยที่เรี ยกว่า “นักวิชาการส่ งเสริ ม เพิ่มผลผลิ ต” (“นักวิชาการฯ”) ให้บริ การแก่เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยในด้านการบริ หารจัดการปั จจัยการผลิ ต และการผลิตอ้อย ตั้งแต่เริ่ มปลูกจนกระทัง่ ถึงการเก็บเกี่ยว ซึ่ งทุกขั้นตอนล้วนแล้วแต่มีความสาคัญ มีการจัดตั้ง ส านัก งานเขตส่ ง เสริ ม ในพื้ นที่ ส่ ง เสริ ม ของบริ ษ ทั กว่า 16 เขตส่ ง เสริ ม กระจายตามพื้น ที่ ที่ ปลู ก อ้อ ย เพื่อใกล้ชิดกับเกษตรกรในทุกพื้นที่ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและเป็ นศูนย์เรี ยนรู้ ในการผลิตอ้อย การตรวจ ติดตามกิจกรรมของเกษตรกรเป็ นขั้นตอนในการปฏิ บตั ิงานขั้นตอนหนึ่ง เพื่อที่จะให้บริ ษทั สามารถเข้าถึง สถานะของแปลงอ้อ ย ระดับ การเจริ ญเติ บ โตของอ้อ ย เพื่ อ ที่ จะสามารถด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขได้ 32 42
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทันท่วงที โดยใช้การตรวจกิจกรรมแปลงของพนักงานซึ่ งตรวจตามเส้นทาง (Route) ของแปลงอ้อย เพื่อให้ ทุกแปลงได้รับการตรวจอย่างครบถ้วน โดยมีรอบการตรวจที่แน่นอน ในขณะที่ทาการตรวจแปลงจะบันทึก สถานะแปลงผ่านแอปพลิ เคชัน (Application) และนาข้อมูลเข้า ระบบเซิ ร์ฟ เวอร์ (Server) เพื่อนาไป ประมวลผลแบบโดยทันที หรื อ Real-Time แบบรายคนให้กบั ผูบ้ ริ หารและผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูล สถานะแปลงอ้อยนั้น ๆ เพื่อการจัดการต่อไป
Route System
3. ให้ การส่ งเสริมตามช่ วงการเจริญเติบโตของอ้อย (Growth Phase) ระยะการเจริ ญเติ บโตของอ้อยแบ่งเป็ น 4 ระยะ ซึ่ งแต่ละระยะมี ความต้องการปั จจัยการผลิ ตและ การจัดการที่แตกต่างกัน เพื่อให้การจัดการและการบริ หารปั จจัยการผลิตได้ผลลัพธ์ท่ีดีที่สุด การติดตามงานและ การส่ งเสริ มจึงเป็ นไปในทิศทางเดียวกับระยะของการเจริ ญเติบโตของอ้อย เช่ น การสารวจเปอร์ เซ็นต์การงอก ช่วง 45 วัน การตรวจนับจานวนหน่อ จานวนลาอ้อย ช่วงอายุออ้ ย 4-5 เดือน และการประเมินผลผลิตและคุณภาพ อ้อยช่ วงอ้อยอายุ 11-12 เดื อน นอกจากนี้ ยังต้องมี การกาหนดกิ จกรรมที่ จะต้องแนะนา ตรวจสอบ ติดตาม การดาเนินงานของชาวไร่ ออ้ ย ตั้งแต่การบารุ งรักษา เช่น การใส่ ปุ๋ย และการกาจัดวัชพืช เป็ นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ชาวไร่ ออ้ ย เข้าใจสรี ระของอ้อย เพื่ อการบริ หารจัดการด้ านต่ าง ๆ ได้อย่ างถู กต้องและเหมาะสม เข้าใจธรรมชาติ และ ความต้องการของอ้อยแต่ละช่วงอายุ สามารถตรวจสอบหรื อสอบกลับกิจกรรมที่ทาไป และเพื่อที่จะประเมินผลผลิต และคุณภาพอ้อย รวมถึงเกษตรกรจะต้องเข้าใจถึงระยะ Growth Phase ของอ้อย เพื่อนาไปจัดการอ้อยให้ได้ตาม เป้ าหมาย
33 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
43
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4. สร้ างระบบบริหารจัดการทีม่ ุ่งเน้ นความสาเร็จและยัง่ ยืนของเกษตรกร บริ ษ ัทให้ความส าคัญในการบริ หารจัดการวัตถุ ดิ บ เนื่ องจากวัตถุ ดิ บที่ มี ท้ งั ปริ มาณและคุ ณภาพ เป็ นสิ่ งที่ สร้ างผลประกอบการให้แก่ เกษตรกรชาวไร่ อ้อยรวมถึ งโรงงานน้ าตาลที่ เป็ นหุ ้นส่ วนทางธุ รกิ จ การจัดหาวัตถุ ดิบให้ มี ปริ มาณเพี ยงพอต่ อก าลังการผลิ ตของโรงงานเป็ นเรื่ องส าคัญ ซึ่ งพื้นที่ การปลู กอ้อย ในรัศมีไม่เกิน 40 กม.จากโรงงานนั้นเป็ นระยะการส่ งเสริ มที่สร้างความยัง่ ยืนทั้งชาวไร่ ออ้ ยและโรงงาน เนื่องจาก เป็ นระยะที่สามารถควบคุมการให้บริ การและลดค่าใช้จ่ายในการขนส่ งได้ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านผลผลิต และคุ ณภาพ และเพื่อความยัง่ ยืน ซึ่ งสอดคล้องกับพันธกิจของบริ ษทั ที่จะพัฒนาชาวไร่ ออ้ ยในพื้นที่ 40 กม. รอบโรงงานให้มีผลผลิตต่อไร่ ที่สูง และมีคุณภาพดีดว้ ยหลักวิชาการและความรับผิดชอบต่อชาวไร่ ออ้ ย พัฒนา ระบบบริ หารงานการจัดการเพื่อความมัน่ คงของผลผลิตและผลกาไรของชาวไร่ ออ้ ย พัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่ม ศักยภาพขององค์กรและชาวไร่ ออ้ ย ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของบุคลากรและชาวไร่ ออ้ ยให้เติบโตมัน่ คงไปพร้ อมกัน และเพื่อให้ชาวไร่ ออ้ ยสามารถพัฒนาเพิ่มผลผลิ ตได้ตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ จึงจาเป็ นต้องกาหนดกระบวนการ ในการส่ งเสริ มกลยุทธ์และวิธีการทางาน รวมทั้งกรอบเวลาการปฏิบตั ิงานให้แก่บุคลากรและเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย ที่ชดั เจน เพื่อให้ปฏิบตั ิไปในทิศทางเดียวกัน ในการนี้ จึงมีการกาหนดต้นแบบ “บุรีรัมย์โมเดล” (Buriram Model) เพื่อกาหนดทิศทางของรู ปแบบการดาเนิ นงานของชาวไร่ ออ้ ยของบริ ษทั ซึ่งโมเดลดังกล่าวประกอบไปด้วย -
น้ าตาลสร้างในไร่ สร้างการรวมกลุ่ม “ระบบกลุ่มนักธุ รกิจไร่ ออ้ ยเข้มแข็ง” ใช้ระบบบริ หารจัดการ MIS และใช้เทคโนโลยี GIS เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิต ระบบตรวจติ ด ตามอ้อ ยรายแปลงทุ ก แปลง ในการใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากร ในตาแหน่งนั้น ๆ สู งสุ ด (x,y Coordinate) - เน้ น การพัฒ นาบุ ค ลากรและนัก ธุ ร กิ จ ไร่ อ้อ ย เพื่ อ ให้ ทุ ก คนท างานอย่า งมี ค วามรู้ โดยก าหนดผลลัพ ธ์ แ ละวางแผนงานร่ ว มกัน ซึ่ งในการพัฒนาทรั พยากรบุ คคลนั้น ได้พฒั นาทั้งในส่ วนบุคลากรของบริ ษทั และเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย ควบคู่กนั เพื่อให้สามารถ ดาเนินงานพัฒนาเพิม่ ผลผลิตไปในทิศทางเดียวกัน
5. สร้ างความสั มพันธ์ และการมีส่วนร่ วมระหว่างเกษตรกรและบริษัท จากความมุ่ งมัน่ ในการสร้ างความมัน่ คง และการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตที่ดีให้แก่ เกษตรกรชาวไร่ อ้อย ในปี 2561 บริ ษทั มี แนวคิ ดที่จะเปลี่ ยนจากเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย เป็ น “นักธุ รกิ จไร่ ออ้ ย” เพื่อสร้ างแนวคิ ด การพัฒนาการผลิ ตอ้อย พัฒนาเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยให้เป็ นนักธุ รกิ จไร่ อ้อย ที่เป็ นเลิ ศด้านการบริ หารจัดการ รู ้ตน้ ทุน รู้ค่าใช้จ่าย รู้การจัดการที่เหมาะสม และสามารถพัฒนาอาชีพของตนเองได้ ทั้งนี้ เพื่อให้อาชีพการทาไร่ ออ้ ย เป็ นอาชีพที่มนั่ คง สร้างรายได้ และสร้างความสุ ข เป็ นอาชีพที่น่าภาคภูมิใจและส่ งต่ออาชีพแก่ทายาทได้
34 44
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น บริ ษ ทั มี ช่ องทางสื่ อสารเพื่อประชาสัมพันธ์ ข่าวสารส าคัญ และกิ จกรรมที่ มีประโยชน์ ให้แก่เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย อาทิ ทางวิทยุประชาสัมพันธ์คลื่ น FM 92.0 MHz เครื อข่ายสังคมออนไลน์ เช่ น เฟซบุก๊ (Facebook) ป้ ายประกาศ และวารสาร เป็ นต้น
6. การทางานวิจัยและพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการผลิตอ้อย บริ ษ ทั มุ่ งเน้นการสร้ างองค์กรที่ เป็ นเลิ ศด้านวิชาการและการบริ หารจัดการ เพื่ อสร้ างความมัน่ คง ด้านผลผลิตและเพื่อความเป็ นอยู่ที่ดีอย่างยัง่ ยืนของชาวไร่ ออ้ ย มีการพัฒนาการผลิตด้วยหลักวิชาการ โดยผ่าน กระบวนการเรี ยนรู ้ในหลายรู ปแบบ ทั้งในรู ปแบบการฝึ กอบรม การสาธิ ต รวมถึงการจัดกิจกรรมสัมมนา การทา กิจกรรมเวิร์กชอป (Work Shop) เพื่อสร้างความร่ วมมือและกาหนดทิศทางในการดาเนินงานให้เป็ นไปในทิศทาง เดี ยวกัน เพื่ อเป็ นการสร้ างความมัน่ คงด้านวัตถุ ดิบ โดยได้วางแผนพัฒนาบุ คลากรและเกษตรกรชาวไร่ อ้อย ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ รวมทั้งจัดการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อนาความรู ้ เทคนิคและ วิธีการมาปรับใช้ เพื่อการพัฒนาและเพิ่มผลผลิตต่อไป
35 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
45
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
6.1 การบริหารงานส่ งเสริมโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ บริ ษทั ได้พฒั นาระบบการบริ หารจัดการภายใต้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ MIS (Management Information System) รวมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS (Geographic Information System) ผ่านระบบ Online มีการบันทึกกิ จกรรมผ่าน Application ที่สามารถทราบข้อมูลได้ทนั ที (RealTime) เพื่อใช้บริ หารจัดการผลผลิตอ้อยของเกษตรกรให้มีประสิ ทธิ ภาพ จากการใช้ตน้ ทุนและทรัพยากร ของตาแหน่งแปลง (Coordinate) นั้น ๆได้อย่างเหมาะสม สาหรับแปลงอ้อยกว่า 10,000 แปลง ในทุก 15 วัน จะมีการออกตรวจแปลงและบันทึกข้อมูลหรื อกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการเบิกปั จจัยการผลิต การบันทึกกิจกรรม ซึ่ งจะบันทึกลงบนระบบ MIS ทั้งหมด เพื่อนาข้อมูลมาประมวลผลเพื่อให้ทราบสถานะของแปลงสาหรับ ประกอบการตัดสิ นใจในการบริ หารจัดการแปลงอ้อยทุกแปลงให้มีผลผลิตตามเป้ าหมาย ระบบจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศแบบ MIS (Management Information System)
6.2 การทดสอบและคัดเลือกพันธุ์อ้อยทีเ่ หมาะสม บริ ษทั ได้จดั ตั้งหน่ วยงานวิจยั ขึ้นเพื่อทดลองและทดสอบพันธุ์ออ้ ย เพื่ อเป็ นการพัฒนาองค์ความรู้ และคัด สรรพัน ธุ์ อ้อ ยที่ ใ ห้ผ ลผลิ ต และความหวานสู ง เหมาะสมกับพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ของจัง หวัด บุ รี รั ม ย์ ซึ่ งพื้นที่ปลูกอ้อยนั้นค่อนข้างมีความแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละสถานที่ จึงมีความจาเป็ น ที่จะต้องคัดเลือกพันธุ์ออ้ ยที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ซึ่ งแตกต่างกันทั้งเรื่ องดินและสภาพความสู งต่าของ พื้นที่ การคัดสรรพันธุ์ออ้ ยที่เหมาะนั้นมีความสาคัญต่อผลผลิตที่จะได้รับ และเพื่อพัฒนาผลผลิต การคัดเลือก และทดสอบพันธุ์ออ้ ยจึงจาเป็ นต้องทาควบคู่กบั วิธีการเพิ่มผลผลิตอื่น ๆ ตามหลักวิชาการ เพื่อให้สอดคล้อง กับ นโยบายการพัฒนาของบริ ษ ทั โดยบริ ษ ทั ได้เข้า ร่ วมกลุ่ ม เครื อข่า ยผูผ้ ลิ ตและทดสอบพันธุ์ ออ้ ย อาทิ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีเป้ าหมายเพื่อเปลี่ยนพันธุ์ออ้ ยพันธุ์ใหม่ทุก 4-5 ปี 6.3 การวิจัยพัฒนาเพิม่ ผลผลิต บริ ษทั มีการวิจยั เพื่อหาปั จจัยที่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิตอ้อย โดยการทดลองและวิจยั เพื่อหาวิธีการ และแนวทางที่ เ หมาะสม เพื่อ ให้ เ กิ ด ความยัง่ ยืนของผลผลิ ตและสร้ า งชี วิต ที่ ดีแ ก่ ช าวไร่ อ้อย และยัง มี การพัฒนานวัตกรรมและวิธีการใหม่ ๆ รวมทั้งมีการทดลองและวิจยั เพื่อหาแนวทางพัฒนาการเพิ่มผลผลิต และการทดสอบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่ใช้เพิ่มผลผลิตก่อนที่จะส่ งต่อให้แก่เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย 36 46
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
6.4 การพัฒนาส่ งเสริมปรับปรุงดินและปุ๋ ย พื้นฐานของการเพาะปลูกอ้อยมีปัจจัยหลักที่สาคัญอย่างมากคือ การพัฒนาคุณภาพและความสมดุล ของดิน นอกจากเป็ นวัสดุที่ใช้เพาะปลูกอ้อยแล้ว ดินยังทาให้รากอ้อยยึดเกาะและใช้ประโยชน์ในการดูดซับ ธาตุอาหาร ทั้งนี้ บริ ษ ทั ได้พ ฒ ั นาสู ตรปุ๋ ยที่ มีค วามเหมาะสมกับ สภาพดิ นของพื้นที่ป ลูก อ้อยแต่ล ะพื้นที่ ของบริ ษัท โดยใช้ข ้อ มู ล การวิ เ คราะห์ ดิ น จากตัว แทนของทุ ก พื้ น ที่ ที่ ป ลู ก อ้อ ย เพื่ อ ก าหนดสู ต รปุ๋ ย ที่เหมาะสมกับดินของจังหวัดบุรีรัมย์ การส่ งเสริ มการใช้ปุ๋ยตามเป้ าหมายผลผลิตรายแปลง เพราะคุณสมบัติ ของดินรายแปลงมีความแตกต่างกัน จึงต้องมีวธิ ี การจัดการที่แตกต่างกันด้วย โดยเกษตรกรสามารถเก็บตัวอย่างดิ นเพื่ อวิเคราะห์ ได้ด้วยตนเองจากการฝึ กอบรมของบริ ษทั เช่ น การวัดค่า pH การแยกประเภทเนื้อดินและกลุ่มดิน เป็ นต้น ส่ วนตัวอย่างดินที่เหลือจะส่ งให้กบั ห้องปฏิบตั ิการ (Lab) ของสานักงานอ้อย เพื่อตรวจหาธาตุอ าหาร จากนั้นจะนาผลการวิเคราะห์ มาประมวลผลการเพิ่ม ผลผลิตให้ได้ตามเป้ าหมายเป็ นรายแปลง และนามาเป็ นฐานข้อมูลเพื่อประมวลผลในระบบ GIS และใช้ สาหรับการบริ หารจัดการในภาพรวมของบริ ษทั ที่แม่นยาและมีประสิ ทธิภาพต่อไป นอกจากนั้น ได้พฒั นาแอปพลิ เคชัน (Application) เพื่อเผยแพร่ ให้เกษตรกรใช้เป็ นเครื่ องมือใน การตัด สิ น ใจที่ อ ัจ ฉริ ย ะ และให้บ ริ ษ ัท ปุ๋ ยตรากุ ญ แจ จ ากัด เป็ นผูผ้ ลิ ต ปุ๋ ยให้ก ับ เกษตรกรชาวไร่ อ้อ ย โดยปัจจุบนั มีปุ๋ยจานวน 2 สู ตรคือ 18-8-18 และ 22-8-18 และได้พฒั นาองค์ความรู้และเผยแพร่ ให้เกษตรกร ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาปรับปรุ งดิน โดยส่ งเสริ มการใช้ปุ๋ยอินทรี ยร์ ่ วมกับปุ๋ ยเคมีเพื่อให้ออ้ ย ได้ใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 6.5 การพัฒนาระบบนา้ และการส่ งเสริมการใช้ นา้ ในไร่ อ้อย บริ ษทั ได้พฒั นาและส่ งเสริ มการใช้น้ าในไร่ ออ้ ยในทุกรู ปแบบโดยมี เกษตรกรผูใ้ ช้น้ าในการเพิ่ม ผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่ งในปี 2561/62 มีพ้ืนที่ใช้น้ ากว่าร้อยละ 18.11 ซึ่ งน้ าเป็ นปั จจัยสาคัญอันดับต้นที่ นามาใช้ในการพัฒนาเพิ่มผลผลิต เนื่ องจากพื้นที่ปลูกอ้อยของจังหวัดบุ รีรัมย์เป็ นพื้นที่การเพาะปลูกที่ไม่มี ระบบชลประทาน การเพาะปลู กส่ วนใหญ่จึงอาศัยน้ าฝนเพียงอย่างเดี ยว ซึ่ งทาให้ไม่สามารถพัฒนาเพิ่ม ผลผลิตได้ตามเป้ าหมาย จึงทาให้ต้องส่ งเสริ มและพัฒนาการใช้น้ าของเกษตรกรให้เหมาะสมกับพื้นที่และ แหล่งน้ าที่มี รวมถึงจัดหาแหล่งเงินกูด้ อกเบี้ยต่าของสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย กระทรวง อุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มทางเลื อกและช่วยเหลื อด้านปั จจัยการผลิต ทั้งวัสดุอุปกรณ์ระบบน้ า และการขุดเจาะ บ่อบาดาลเพื่อนาน้ า ใต้ดินมาใช้ ในกรณี ที่เกษตรกรไม่มี แหล่ งน้ าธรรมชาติ หรื อ บ่อน้ าของตนเอง ทั้ง นี้ เพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งและพัฒนาเพิ่มผลผลิตโดยไม่ตอ้ งรอฝนเพียงอย่างเดียว ซึ่งจะทาให้ผลผลิตอ้อยของบริ ษทั เพิ่มขึ้นทุกปี อีกด้วย
37 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
47
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
6.6 การบริหารโรคและแมลงศัตรูอ้อย กระบวนการพัฒนาเพิ่มผลผลิตอ้อย จะสาเร็ จได้โดยการบริ หารจัดการโรคและแมลงศัตรู ออ้ ยที่ดี และทันต่อสถานการณ์การทาลายที่เกิดขึ้น เนื่องจากเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่มีผลต่อด้านปริ มาณและคุณภาพของ ผลผลิ ต ซึ่ งการท าลายของโรคและแมลงศัต รู อ้อ ยในแต่ ล ะปี จะแตกต่ า งกัน ไปตามสภาพอากาศและ ระยะเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่ งบริ ษทั เตรี ยมความพร้อมเรื่ องดังกล่าวโดยการจัดตั้งหน่วยงานบริ หารจัดการโรคและ แมลงศัตรู ออ้ ย เพื่อทาหน้าที่ในการบริ หารจัดการแบบผสมผสาน และเน้นการสารวจเพื่อทราบสถานการณ์ และประเมินการทาลายและความเสี ยหายที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งวิเคราะห์สภาพการและแนวโน้มความรุ นแรงของ โรคและแมลงศัตรู อ้อย โดยใช้ ข้อมู ลจากการส ารวจและสภาพอากาศ และมี การเพาะเลี้ ยงศัตรู ธ รรมชาติ เพื่อควบคุมโดยชี ววิธี (Bio-Control) เช่น การใช้แตนเบียนโคทีเซี ย (Cotesia flavipes) กาจัดหนอนกออ้อย การเพาะเลี้ยงเชื้ อราเขียวเมตาไรเซี ยม (Metarhizium anisopliae) เพื่อกาจัดด้วงหนวดยาว การขยายเชื้ อรา ไตรโคเดอร์ มา (Trichoderma sp.) เพื่อป้ องกันและกาจัดโรครากเน่ า รวมทั้งได้อบรมให้ความรู้และสร้าง การมี ส่ ว นร่ ว มของเกษตรกรโดยการก่ อ ตั้ง กลุ่ ม เกษตรกรให้ เ ข้ม แข็ ง เพื่ อ ผลิ ต และขยายเชื้ อ ราที่ เ ป็ น ประโยชน์และแมลงศัตรู ธรรมชาติ ทั้งนี้ เพื่อให้เกษตรกรตระหนักถึ งความสาคัญของงานอารักษ์ขาพืช รู้ วิธี การที่ จะจัดการกับ แปลงอ้อยของตนเอง และสามารถบริ หารจัดการแปลงอ้อยได้อย่า งถูก ต้องและ เหมาะสม แมลงศัตรูธรรมชาติและเชื้ อราทีเ่ ป็ นประโยชน์ ในการป้ องกันและกาจัดโรคและแมลงศัตรูอ้อย
Cotesia flaviopes
48
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
Metarhizium anisopliae
38
Trichoderma spp.
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
% การทาลาย
% การทาลายของโรคและแมลงศัตรูอ้อยใน 5 ปี 4.00 3.21 2.87
3.50 3.00 2.50
3.43
2.19
2.17
2.00
2.10 1.6
1.50
1.47
1.14
1.00
0.56
0.50
2.002.00
0.65
0.90
1.04
1.00
0.00
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ด้ วง
ใบขาว
ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562(เป้าหมาย)
หนอนกออ้ อย
การสร้ างการมีส่วนร่ วมของเกษตรกรในการบริ หารศัตรูอ้อยแบบครบวงจร
6.7 การถ่ ายทอดเทคโนโลยี บริ ษทั เน้นการส่ งเสริ มเพิ่มผลผลิตให้กบั เกษตรกร โดยใช้หลักวิชาการนาหน้าการส่ งเสริ ม ดังนั้น การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการผลิตอ้อย จึงเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งดาเนินการอย่างเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งการที่จะถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ นั้น จะต้องมีเครื่ องมือและกระบวนการที่ดีและเหมาะสม จึงจะสามารถถ่ายทอดองค์ความรู ้ต่าง ๆ ได้ โดยในปี 2561 มีการดาเนินการ ดังนี้ 6.7.1 การจัดอบรมและสาธิตการพัฒนาเพิม่ ผลผลิต การพัฒนาบุคลากร บุคลากรของบริ ษทั เป็ นกลไกและเครื่ องมือการทางานที่ทาให้การส่ งเสริ มและการพัฒนา ด้า นการผลิ ต อ้อ ยประสบผลส าเร็ จ เนื่ อ งจากเป็ นผู้ที่ ดู แ ล ควบคุ ม และก ากับ กิ จ กรรมตั้ง แต่ ก ารปลู ก และการบารุ งรักษาอ้อย และสาหรับการพัฒนาเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยให้ประสบผลสาเร็ จจะต้องดาเนินการให้ ความรู้ เพิ่มทักษะการผลิ ตอ้อยให้กบั พนักงานควบคู่ไปด้วย เพื่อให้บุคลากรมี ความรู้ และความสามารถ 39 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
49
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เพียงพอที่จะถ่ายทอดหรื อให้คาแนะนาแก่เกษตรกร ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการสร้างองค์ความรู ้และเพิ่มทักษะในการผลิตอ้อย บริ ษ ทั ได้อ บรมให้ค วามรู ้ ก บั บุค ลากรของบริ ษ ทั เช่ น พื้ น ฐานสรี ร ะวิท ยาของอ้อ ย และการอบรม โครงการ “30 ตันต่อไร่ เราทาได้” ซึ่งเป็ นการอบรมการทาธุรกิจอย่างมีเป้ าหมาย การอบรมเพือ่ พัฒนาบุคลากรของบริษทั
การพัฒนาเกษตรกรชาวไร่ อ้อย บริ ษ ัทได้ส ร้ างกลุ่ มเกษตรกรชาวไร่ อ้อยเข้มแข็ ง ขึ้ น เพื่ อให้ เกษตรกรสร้ างองค์ความรู้ ในการบริ หารจัดการ และการพัฒนาด้านผลผลิ ต เพื่อสร้ างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการผลิ ตอ้อย ทั้งนี้ เพื่อให้เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยได้รับความรู ้ และนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการผลิตอ้อยตลอดเวลา บริ ษทั จึงได้พฒั นา รู ปแบบการอบรมให้หลากหลาย ตั้งแต่การอบรมให้ความรู้ การฝึ กอบรมสาธิ ตการพัฒนาเพิ่มผลผลิต การจัดงาน Field Day เพื่อให้ความรู ้และให้ชาวไร่ ออ้ ยได้สัมผัสกับการผลิตจริ ง รวมถึงการให้เกษตรกรเข้าถึงนวัตกรรมใหม่ ๆ การถ่ายทอดเทคโนโลยีงาน Field day
40 50
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น บริ ษทั ยังมีการพัฒนาเกษตรกรในรู ปแบบอื่น ๆ เช่น การสัมมนาหัวหน้ากลุ่ ม ชาวไร่ ออ้ ย และการสัมมนานักคีบมือ 1 เพื่อปรับทัศนคติที่ดีระหว่างบริ ษทั และเกษตรกร และเป็ นการสร้าง จิ ตส านึ ก ในการรั บ ผิด ชอบต่ อหน้า ที่ ให้ เห็ น ความส าคัญ ของหน้าที่ ที่ ไ ด้รั บมอบหมาย อัน จะส่ ง ผลให้ การผลิตอ้อยได้ปริ มาณและคุณภาพตามเป้ าหมายที่กาหนด การทากิจกรรมพัฒนาศักยภาพหัวหน้ ากลุ่มชาวไร่ อ้อยเข้ มแข็ง ปี 2561
หลักสู ตรพัฒนาการเก็บเกีย่ วอ้ อย ในโครงการ “นักคีบมือ 1” ปี 2561
6.7.2 การรณรงค์ ประชาสั มพันธ์ การพัฒนาคุณภาพอ้อย การพัฒนาด้านการผลิตและกระบวนการผลิตอ้อย รวมทั้งมีการพัฒนาในเรื่ องการเก็บเกี่ยว ซึ่งเริ่ มตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ออ้ ยที่ให้ค่าความหวานสู ง เมื่อเก็บเกี่ยวตามอายุและประเภทของอ้อย การตัดอ้อย ตามลาดับความสุ กแก่และประเภทของอ้อย (อ้อยต้นหี บ กลางหี บและปลายหี บ) เพื่อให้ออ้ ยสะสมน้ าตาล และมี คุ ณ ภาพสู ง สุ ด การให้ ค วามส าคัญ กับ การตัด อ้ อ ยคุ ณ ภาพ โดยให้ ค วามรู้ ค วามเข้า ใจที่ ถู ก ต้อ ง และประชาสั มพันธ์ เ พื่ อ กระตุ ้น ให้ช าวไร่ อ้อ ยตัด อ้อ ยให้ ไ ด้คุ ณ ภาพ การให้ร างวัล เพื่ อ ตอบแทนที่ ใ ห้ 41 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
51
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ความสาคัญ ทุ่มเทเสี ยสละ และร่ วมมือกันทางานในการพัฒนาคุณภาพอ้อย รวมถึ งชี้ให้เห็นผลกระทบจาก การนาอ้อยคุณภาพต่าเข้าสู่ กระบวนการผลิต นอกจากนั้น มีการให้ความรู ้แก่หวั หน้ากลุ่มเข้มแข็ง คนตัดอ้อย และพนักงานขับรถคีบในช่วงที่ตดั อ้อยอีกด้วย
6.8 การจัดทาสื่ อประชาสั มพันธ์ นอกเหนื อ จากที่ มี ก ารด าเนิ น กิ จกรรมต่ า ง ๆ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และเพิ่ ม ผลผลิ ต แล้ว ยัง มี ก ารจัด ท า สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ เพื่ อประชาสั มพัน ธ์ และใช้เ ป็ นสื่ อ ในการน าเสนอและทาความเข้า ใจเรื่ อ งกิ จ กรรมต่ า ง ๆ กับ ชาวไร่ อ้อยอี กด้วย โดยจัดท าสื่ อความรู้ ให้ส อดคล้องกับ นโยบายการผลิ ต รวมทั้งให้มีค วามถู กต้อง ตามหลักวิชาการ เพื่อเป็ นการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในการผลิตอ้อยให้กบั เกษตรกรในทุกด้าน
42 52
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น BSF ยัง ได้ป รั บ ปรุ งรางหี บ โดยปั จจุ บ ันใช้เป็ นระบบรางหี บ คู่ และเพิ่ ม หม้อต้ม เพื่อรองรับการเพิ่มกาลังการผลิต และเพื่อรักษาความหวานและคงกลิ่นหอมจากน้ าอ้อย ซึ่ งเป็ นคุ ณลักษณะเด่น ของน้ าตาลของกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ BSF จึงให้ความสาคัญในเรื่ องคุณภาพอ้อยที่เข้าหีบ โดยเน้นการใช้ อ้อยสดในการผลิ ตน้ าตาล ทั้งยังมุ่งเน้นการซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรให้มีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้สามารถผลิ ต น้ าตาลได้อย่างต่อเนื่ องเพื่อให้ทนั ต่ออ้อยที่รอเข้ากระบวนการหี บ ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญอย่างหนึ่ งที่ ทาให้ ผลผลิตน้ าตาลต่อตันอ้อยของ BSF มีประสิ ทธิภาพสู งกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมน้ าตาลทัว่ ประเทศ 7. การเพิม่ มูลค่ าผลิตภัณฑ์ กลุ่ มบริ ษ ทั ฯ ก าลังจะผลิ ตน้ าตาลทรายขาว และน้ าตาลทรายขาวบริ สุ ทธิ์ เพื่ อจัดจ าหน่ ายสู่ ตลาด ต่างประเทศ ซึ่ งราคาน้ าตาลทรายขาวในตลาดโลกมี ราคาซื้ อขายที่สูงกว่าราคาน้ าตาลทรายดิ บ และยังมีแผน จาหน่ ายสู่ ตลาดภายในประเทศ ผ่านตัวแทนจาหน่ าย ห้างค้าปลี กสมัยใหม่ ลู กค้ากลุ่ มอุ ตสาหกรรม และ กลุ่ ม ร้ า นอาหารเครื่ องดื่ ม ทั้ง ยัง ให้ ค วามส าคัญ ในการพัฒ นาสิ นค้า และบรรจุ ภ ัณ ฑ์ ที่ ตอบสนองตรง ความต้องการของผู้บ ริ โภค โดยมี แผนน าน้ าตาลสี ร าธรรมชาติ และน้ าตาลทรายขาวมาบรรจุ ก ระสอบ ขนาด 25 กิ โลกรัม ภายใต้ตราสิ นค้า “กุญแจคู่ ” จาหน่ ายผ่านตัวแทนและร้ านค้า รวมทั้งนาน้ าตาลทรายอ้อย ธรรมชาติคดั พิเศษมาบรรจุลงขวด ภายใต้ตราสิ นค้า “BRUM” เพื่อจาหน่ ายไปยังกลุ่มผูบ้ ริ โภคและร้านอาหาร เครื่ องดื่ม โดยกระจายสิ นค้าผ่านช่องทางตัวแทนจาหน่าย ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ และร้านค้าส่ งในส่ วนภูมิภาคทัว่ ประเทศ 8. การสร้ างความพึงพอใจและรักษาความสั มพันธ์ อนั ดีกบั ลูกค้ า กลุ่ ม บริ ษัท ฯ มุ่ ง เน้ นพัฒนาการให้ บ ริ การที่ มี คุ ณภาพ เพื่ อตอบสนองความต้องการของลู ก ค้า กลุ่ มเป้ าหมาย และเปิ ดส ารวจรั บฟั งข้อเสนอแนะและข้อร้ องเรี ยนจากกลุ่ มลู กค้า เพื่อนามาปรั บปรุ งพัฒนา คุ ณภาพสิ นค้าและงานบริ การอย่า งสม่ าเสมอ ซึ่ งเป็ นส่ วนส าคัญในการสร้ างความพึ งพอใจ ก่ อให้ เกิ ด สัมพันธภาพที่ดีแก่กลุ่มลูกค้า อีกทั้งยังช่วยกระตุน้ ให้เกิดการซื้ อสิ นค้าอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งเป็ นการสร้างฐานลูกค้า ในระยะยาว รวมทั้งก่ อให้เกิ ดความจงรักภักดี กบั สิ นค้า ซึ่ งเป็ นการรักษาฐานลู กค้าและสัดส่ วนทางการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสภาวะตลาดที่มีการแข่งขันสู งในปั จจุบนั ช่ องทางการจาหน่ ายและกลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย ในการจาหน่ า ยน้ า ตาลทั้ง ในประเทศและต่า งประเทศนั้น ได้มี ก ารก าหนดกลุ่ ม ลู ก ค้า และ สัดส่ วนประเภทผลิ ตภัณฑ์ในแต่ละช่ องทางจาหน่ าย โดยมี สัดส่ วนรายได้จากการจาหน่ า ยน้ าตาลทราย ในประเทศและต่างประเทศ ในปี 2559-2561 ดังนี้
43 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
53
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ตารางแสดงรายได้ การขายน้าตาลโดยแบ่ งเป็ นยอดขายในประเทศและต่ างประเทศ ปี 2559 ล้านบาท ร้ อยละ ขายในประเทศ นา้ ตาลทรายขาวสี รา ขายต่างประเทศ นา้ ตาลทรายขาว นา้ ตาลทรายดิบ รวม
ปี 2560 ล้านบาท ร้ อยละ
ปี 2561 ล้านบาท ร้ อยละ
1,162.02
24.80
1,144.94
19.42
658.77
11.27
53.29 2,230.29 3,445.60
1.14 47.60 73.54
6.67 3,114.99 4,266.60
0.11 52.83 72.36
3,207.49 3,866.26
54.88 66.15
1. การขายภายในประเทศ การจ าหน่ า ยน้ าตาลทรายภายในประเทศ ฤดู ก ารผลิ ต 2560/2561 ประมาณการจัด สรร จานวน 2,600,00 ตัน หรื อ 26 ล้านกระสอบ ทั้งประเทศ โดยบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุ รีรัมย์ จากัด (“BSF”) มี ป ริ ม าณการจ าหน่ า ยน้ าตาลทรายในประเทศ จ านวน 60,787 ตัน หรื อคิ ดเป็ น 607,870 กระสอบ และในวันที่ 15 มกราคม 2561 ได้มีการประกาศลอยตัวราคาจาหน่ายน้ าตาลทรายเพื่อการบริ โภคภายในประเทศ และยกเลิ กระบบโควตาน้ าตาลจ าหน่ ายในประเทศ หรื อโควตา ก. ส่ งผลให้ราคาน้ าตาลทรายที่ จ าหน่ าย ภายในประเทศต่าลงตามแนวโน้มราคาน้ าตาลในตลาดโลกในช่วงเวลานั้น ปริ มาณการจาหน่ ายน้ าตาลภายในประเทศ ตั้งแต่เดื อนมกราคม - ธันวาคม ปี 2561 มี ปริ มาณ การจาหน่ ายทั้งสิ้ น จานวน 2,498,517 ตัน หรื อคิดเป็ น 24,985,170 กระสอบ โดยเมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2560 มีปริ มาณการจาหน่ ายภายในประเทศ จานวน 2,603,351 ตัน หรื อคิดเป็ น 26,033,510 กระสอบ ซึ่ งปริ มาณ การจาหน่ ายหรื อการบริ โภคน้ าตาลภายในประเทศ ปี 2561 ลดลงจานวน 104,833 ตัน หรื อ 1,048,330 กระสอบ คิดเป็ นร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับปี 2560 ในช่วงเวลาเดียวกัน ตารางแสดงปริมาณนา้ ตาลทรายจาหน่ ายภายในประเทศที่ BSF ได้ รับการจัดสรร หน่วย : ตัน 80,000 60,000
43,866
53,247
62,355
65,543
ปี 2558/59
ปี 2559/60
60,787
40,000 20,000 0 ปี 2556/57
ปี 2557/58
44 54
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ปี 2560/61
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด ได้กาหนดแผนการจาหน่ายน้ าตาลทรายขาวสี ราภายในประเทศ โดยการกระจายสิ นค้าเข้าสู่ ช่องทางจาหน่ายที่หลากหลาย ทั้งผ่านตัวแทนจาหน่ายสิ นค้า (ยี่ปั๊ว) รายใหญ่และ รายย่อยในแต่ละภูมิภาค หรื อการนาสิ นค้าเข้าจาหน่ายในธุ รกิจค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ที่มีหลาย สาขาทัว่ ประเทศ รวมทั้งการกระจายสิ นค้าเข้าสู่ ร้านอาหารหรื อเครื่ องดื่ม ภายใต้ตราสิ นค้า “กุญแจคู่” ที่มี หลากหลายขนาดบรรจุภณ ั ฑ์ สั ดส่ วนปริมาณจาหน่ ายนา้ ตาลในประเทศแต่ ละช่ องทางจาหน่ าย ปี 2561 (6.2%) (0.2%)
(93.6%) ยีป ่ ๊ว ั /ต ัวแทน Modern Trade Food Service
1.1 ตัวแทนจาหน่ ายสิ นค้ า (ยีป่ ั๊ว) น้ าตาลสี ราธรรมชาติ ตรา “กุญแจคู่” เป็ นน้ า ตาลทรายอ้อยธรรมชาติ คงความหอมหวาน เป็ นคุ ณสมบัติเฉพาะของสิ นค้า ซึ่ งตัวแทนจาหน่ายสิ นค้า (ยี่ปั๊ว) ทั้งรายใหญ่และรายย่อยในแต่ละภูมิภาค จะกระจายสิ นค้าจาหน่ ายต่อไปยังกลุ่มร้ านค้า โรงงานอุตสาหกรรม และผูบ้ ริ โภค โดยรู ปแบบการดาเนิ น ธุ รกิจของตัวแทนจาหน่าย (ยี่ปั๊ว) นั้นจะสื บทอดจากรุ่ นสู่ รุ่น เป็ นคู่คา้ ที่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจอย่างยาวนาน ต่อเนื่องกับโรงงานผูผ้ ลิต จึงมีความสาคัญและเป็ นช่องทางจาหน่ายหลักในการกระจายสิ นค้าให้เข้าถึงกลุ่ม ลูกค้าทัว่ ประเทศ สั ดส่ วนตัวแทนจาหน่ ายสิ นค้ า (ยีป่ ั๊ว) ในแต่ ละภูมิภาค ปี 2561
45 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
55
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.2 ธุรกิจค้ าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ตลาดธุ รกิ จค้าปลี กสมัยใหม่ (Modern Trade) เป็ นอีกหนึ่ งช่ องทางที่ ช่วยกระจายสิ นค้าให้ เข้า ถึ ง ผูบ้ ริ โ ภคทางตรงผ่า นตราสิ นค้า “กุ ญแจคู่” และยัง มี ส่ วนกระตุ ้นให้เกิ ดการรั บ รู ้ จดจาตราสิ นค้า ปั จจุบนั ธุ รกิจค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ได้เข้ามาอานวยความสะดวกสบายให้แก่ผบู ้ ริ โภคได้เข้าถึง สิ นค้าที่หลากหลายและมีสาขากระจายทัว่ ประเทศ รวมทั้งยังเป็ นช่องทางที่สามารถจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการขาย ขยายฐานลูกค้าทางตรงและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่ตราสิ นค้า โดยน้ าตาลตรา “กุญแจคู่” ได้วางจาหน่ายผ่าน วิลล่ามาร์ เก็ต (Villa Market) และเดอะมอลล์ (The Mall) ทุกสาขาทัว่ ประเทศ รวมทั้งยังมีแผนขยายสัดส่ วน ช่องทางการจาหน่ายเข้าสู่ หา้ งสรรพสิ นค้าชั้นนาอื่น ๆ อีกด้วย 1.3 แผนการขายและกลยุทธ์ การตลาดภายในประเทศ ในภาวะสถานการณ์ ตลาดที่มี การแข่งขันสู งในกลุ่ มอุตสาหกรรม การวางกลยุทธ์ การตลาดที่ สอดคล้องตรงต่อความต้องการของลูกค้ากลุ่ มเป้ าหมาย เป็ นเครื่ องมือในการสร้างความสาเร็ จและส่ งผลให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ทางการตลาดที่ต้งั ไว้ โดยมีแผนการขายและกลยุทธ์การตลาด ดังต่อไปนี้ แผนการขาย : ได้วางสัดส่ วนผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทและขนาดบรรจุให้มีความหลากหลาย เหมาะสมในแต่ละช่องทางจาหน่าย และติดตามสถานการณ์ตลาดปั จจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อรายได้และ ปริ ม าณจาหน่ า ย รวมทั้ง ประเมิ น ยอดขายรายเดื อน เพื่ อรั ก ษาฐานลูก ค้า เดิ ม และเพิ่ม กลุ่ ม ลูก ค้า ใหม่ ที่ มี ศักยภาพในการกระจายสิ นค้าในแต่ละพื้นที่ทวั่ ประเทศ แผนกลยุทธ์ การตลาด : เน้นการสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึ งบรรจุภณ ั ฑ์รูปแบบใหม่ เพื่ อ ตอบสนองต่ อ พฤติ ก รรมของผูบ้ ริ โ ภคในปั จ จุ บ ัน รวมถึ ง แผนการขยายฐานลู ก ค้า เข้า สู่ ช่ อ งทาง การจาหน่ ายใหม่ ๆ จัดกิ จกรรมส่ งเสริ มการขาย เพื่อช่วยเพิ่มส่ วนแบ่งทางการตลาด ผลักดันยอดขายและ การซื้อสิ นค้าต่อเนื่อง อีกทั้งยังช่วยสร้างการรับรู้และจดจาตราสิ นค้า “กุญแจคู่” ที่จาหน่ายออกสู่ ตลาด นา้ ตาลสี ราธรรมชาติ ตรา “กุญแจคู่” ทีว่ างจาหน่ ายมีขนาดบรรจุ ดังนี้ 1. ขนาดบรรจุ 50 กิโลกรัม 2. ขนาดบรรจุ 1 กิโลกรัม*50 ถุง 3. ขนาดบรรจุ 1 กิโลกรัม*25 ถุง 4. ขนาดบรรจุ 500 กรัม*50 ถุง นา้ ตาลอ้อยธรรมชาติคัดพิเศษ “BRUM” ทีว่ างจาหน่ ายมีขนาดบรรจุ ดังนี้ 1. ขนาดบรรจุ 300 กรัม*25 ถุง ในปี 2562 บริ ษทั มีแผนการผลิ ตและจาหน่ายน้ าตาลอ้อยธรรมชาติคดั พิเศษมาบรรจุลงขวด ที่ออกแบบโดยคานึ งถึ งฟั งก์ชนั่ การใช้งานที่สะดวก สะอาด และรู ปลักษณ์ในการตั้งวางที่มีความสวยงาม ภายใต้ตราสิ นค้า “BRUM” เพื่อเจาะกลุ่ มเป้ าหมายร้ านอาหาร(Food Service) และตลาดธุ รกิ จค้าปลี ก 46 56
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สมัยใหม่ (Modern Trade) เพื่อขยายกลุ่มลูกค้า สร้างความหลายหลายและเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั อีกทั้งยังมีแผนบรรจุน้ าตาลทรายขาวและน้ าตาลสี ราธรรมชาติ ลงบรรจุภณ ั ฑ์กระสอบขนาด 25 กิโลกรัม เพื่ อ เพิ่ ม ความสะดวกในการขนย้า ยและลดพื้ น ที่ จ ัด เก็ บ สิ น ค้า ซึ่ งเป็ นอี ก หนึ่ งปั จ จัย ที่ ก ลุ่ ม ลู ก ค้า ให้ ความสาคัญในปัจจุบนั 2. การขายต่ างประเทศ การขายน้ าตาลไปยังต่างประเทศ ประกอบด้วย 2 ส่ วน ได้แก่ น้ าตาลทรายที่บริ ษทั ต้องส่ งมอบ ให้กบั บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด (“อนท.”) เป็ นผูข้ าย และน้ าตาลทรายส่ วนที่โรงงานสามารถขาย และส่ งออกได้อย่างอิสระ โดย BSF จะสามารถส่ งออกน้ าตาลผ่านตัวแทนการส่ งออกที่ได้รับอนุญาตจาก คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย (“กอน.”) จานวน 7 บริ ษทั โดยบริ ษทั ร่ วมกับโรงงานน้ าตาล 19 แห่ ง จัดตั้งบริ ษทั ค้าผลผลิ ตน้ าตาล จากัด เพื่อเป็ นตัวแทนส่ งออกน้ าตาลของ BSF โดยบริ ษทั เป็ นผูด้ าเนินการ ติดต่อขายน้ าตาลกับลูกค้าในต่างประเทศเอง และบริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด มีหน้าที่ดงั นี้ - บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด เป็ นผูด้ าเนินการส่ งสิ นค้า จัดเตรี ยมเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการส่ งออกและดาเนินพิธีการทางศุลกากร รวมถึงการเรี ยกเก็บเงินจากลูกค้าของ BSF - บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด เข้าทาสัญญาสิ นเชื่อเพื่อการส่ งออกกับธนาคารพาณิ ชย์ให้แก่ BSF ในนามบริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด เพื่อรับการสนับสนุนทางการเงิน - บริ ษ ทั ค้าผลผลิ ตน้ า ตาล จากัด จะโอนเงิ นที่ ได้รับตามวงเงิ นสิ นเชื่ อเพื่อการส่ ง ออกกับ ธนาคารพาณิ ชย์ให้ BSF โดย BSF ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้แก่บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด เพื่อเป็ นหลักฐานการรับเงินโดยอัตราดอกเบี้ยที่ BSF จ่ายให้กบั บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด ตามตัว๋ สัญญาใช้เงิน เป็ นอัตราเดียวกับอัตราดอกเบี้ยที่บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด จ่ายให้กบั ธนาคารพาณิ ชย์ ในการตกลงซื้ อขายน้ าตาลกับลูกค้าในต่างประเทศโควตา ค. BSF จะทาสัญญาในลักษณะ เป็ นครั้ง ๆ ไป ในสัญญาจะมีอายุประมาณ 3 เดื อน โดยจะระบุปริ มาณที่จะต้องจัดส่ งให้กบั ผูซ้ ้ื อ แต่จะไม่ กาหนดราคา ซึ่ งราคาที่ตกลงกันในภายหลังจะอ้างอิงราคาตลาดโลก ณ วันที่มีการทาราคา ลูกค้าของ BSF ส่ วนใหญ่เป็ นบริ ษทั ผูค้ า้ ส่ งระหว่างประเทศขนาดใหญ่ เช่น Sucden, Olam, Wilmar, Alvean, Itochu และ Cofco เป็ นต้น ซึ่ งบริ ษทั เหล่านี้ มีฐานะการเงินที่ดี ทั้งนี้ จะมีการตรวจสอบฐานะการเงินของผูซ้ ้ื อผ่านทาง บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด
47 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
57
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นโยบายราคา นับตั้งแต่มีการเปลี่ ยนแปลงระบบการบริ หารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทราย ตั้งแต่วนั ที่ 15 มกราคม 2561 ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรี ยบร้ อยแห่ งชาติที่ 1/2561 เรื่ องการแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทรายทั้งระบบ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1. การประกาศให้มีการยกเลิ กประกาศคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายเรื่ อง กาหนด ราคาจาหน่ ายน้ าตาลทรายพื่อใช้บริ โภคในราชอาณาจักร โดยทันที ทาให้ต้ งั แต่วนั ที่ 15 มกราคม 2561 ไม่มีการกาหนดราคาจาหน่ายน้ าตาลทรายที่ใช้บริ โภคภายในราชอาณาจักร ณ หน้าโรงงาน และโรงงานน้ าตาลสามารถจาหน่ายน้ าตาลทรายที่ใช้บริ โภคภายในราชอาณาจักรได้โดยเสรี ไม่มี ราคาที่กาหนดบังคับแต่จะถูกควบคุมโดยกลไกการค้าจากกระทรวงพาณิ ชย์เพื่อคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค ภายในประเทศให้ได้รับราคาที่เป็ นธรรมและเป็ นไปตามกลไกทางการค้าปกติ 2. ยกเลิกการกาหนดน้ าตาลทรายโควตา ก. โควตา ข. และ โควตา ค. โดยโรงงานน้ าตาล สามารถจ าหน่ า ยน้ าตาลทรายภายในราชอาณาจัก รหรื อส่ ง ออกน้ าตาลทรายออกไปนอก ราชอาณาจักรได้โดยเสรี 3. ยกเลิ กการกาหนดปริ มาณน้ าตาลทราย (โควตา ข.) ที่ทุกโรงงานต้องส่ งมอบให้บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด โดยให้ส มาคมโรงงานดาเนิ นการจัดสรรปริ มาณน้ าตาลทรายที่ ตอ้ ง ส่ งมอบให้บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด ให้กบั ทุกโรงงานน้ าตาลตามปริ มาณที่เคยปฏิ บตั ิมา อย่างเป็ นธรรมและให้โรงงานน้ าตาลไปตกลงทาสัญญาส่ งมอบน้ าตาลทรายให้กบั บริ ษทั อ้อยและ น้ าตาลไทย จากัด โดยตรง 4. คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายจะได้มีการกาหนดให้ทุกโรงงานต้องมีการสารอง น้ าตาลทรายไว้ต ลอดเวลาโดยจะค านวณจากปริ มาณการบริ โภคน้ าตาลโดยเฉลี่ ย ภายใน ราชอาณาจักรหนึ่งเดือนของฤดูการผลิตที่ผา่ นมา 1. การขายภายในประเทศ ราคาน้ า ตาลภายในประเทศมี ก ระทรวงรั บ ผิด ชอบทั้ง หมด 2 กระทรวง คื อ กระทรวง อุตสาหกรรม โดยคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย เป็ นผูก้ าหนดราคาน้ าตาลทราย ณ หน้า โรงงาน ส่ วนกระทรวงพาณิ ชย์ โดยคณะกรรมการกลางกาหนดราคาสิ นค้าและบริ การ เป็ นผูก้ าหนดราคาจาหน่ าย น้ าตาลทรายขายปลี ก ตั้งแต่ปี 2523 เป็ นต้นมา ซึ่ งกาหนดราคาจาหน่ายน้ าตาลทรายขาวหน้าโรงงาน 19 บาท/ กิโลกรัม ราคาจาหน่ายน้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์หน้าโรงงาน 20 บาท/กิโลกรัม และกาหนดราคาเพดานน้ าตาลทราย ขายปลีกสู งสุ ดไม่เกิน 23.50 บาท 48 58
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในวันที่ 15 มกราคม 2561 ได้มีประกาศยกเลิ กการกาหนดราคาจาหน่ายน้ าตาลทรายที่ใช้บริ โภค ภายในราชอาณาจักร (ลอยตัวราคาน้ าตาลทรายที่จาหน่ายหน้าโรงงาน) เพื่อให้เป็ นไปตามกลไกราคาน้ าตาลทราย ในตลาดโลก ส่ งผลให้ ร าคาน้ าตาลทรายในประเทศประเภทราคาขายหน้ า โรงงานที่ อ ยู่ ใ นระดั บ 19-20 บาท/กิ โลกรั ม ปรั บตัวลดลงมาอยู่ที่ ระดับ 17-18 บาท/กิ โลกรั ม ตามราคาน้ าตาลทรายในตลาดโลก ขณะนั้น โดยราคาจาหน่ ายน้ าตาลทรายภายในประเทศจะเพิ่มขึ้นหรื อลดลงนั้นขึ้นกับราคาน้ าตาลทรายใน ตลาดลอนดอนหมายเลข 5 (London Sugar No.5) อีกทั้งได้ปรั บโครงสร้ างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาล รู ปแบบใหม่ คือการยกเลิกระบบโควตาน้ าตาลบริ โภคในประเทศ (โควตา ก.) โดยระบบจัดการรู ปแบบใหม่จะ มี ก ารก าหนดให้ โรงงานจัดสรรน้ าตาลในประเทศให้ เ พี ย งพอ การด าเนิ นการดัง กล่ า วจะท าให้ ร ะบบ อุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทรายของประเทศสอดรับกับข้อตกลงทางการค้าภายใต้องค์กรการค้าโลก (WTO) และเขตการค้าเสรี อาเชียน (AFTA) ที่ มา :
สานักงานคณะกรรมการอ้ อยและนา้ ตาลทราย (2561). ราคานา้ ตาลทรายภายในประเทศ. http://www.ocsb.go.th/th/faq/index.php?gpid=18 สานักเลขาธิ การคณะรั ฐมนตรี (16 มกราคม 2561). มติคณะรั ฐมนตรี เรื่ องการแก้ ไขกฎหมายเพื่อรองรั บการปรั บปรุ งโครงสร้ างอุตสาหกกรรมอ้ อย และนา้ ตาลทรายทั้งระบบ. สื บค้ น 18 มกราคม 2561. http://www.cabinet.soc.go.th/soc
2. การขายต่ างประเทศ ราคาขายน้ าตาลที่ส่งมอบให้กบั บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด การขายน้ า ตาลไปยัง ต่ า งประเทศในส่ ว นของบริ ษ ัท อ้อยและน้ า ตาลไทย จากัด (“อนท.”) จะขายในปริ มาณที่อนท. กาหนด ดังนั้น อนท. จะเป็ นหน่วยงานที่กาหนดราคาน้ าตาลส่ งออก โดยบริ ษทั ยัง ใช้นโยบายในการกาหนดสัดส่ วนการขาย ราคาขายและอัตราแลกเปลี่ ยนให้ใกล้เคียงกับสัดส่ วนการขาย ราคาขายและอัตราแลกเปลี่ยนของอนท. เพื่อลดความเสี่ ยงในเรื่ องความผันผวนของราคาน้ าตาลและอัตรา แลกเปลี่ยนสาหรับน้ าตาลทรายส่ วนที่เหลืออีกด้วย ราคาขายน้ าตาลต่างประเทศ บริ ษทั มีนโยบายกาหนดราคาขายน้ าตาลต่างประเทศ โดยอ้างอิงจากราคาน้ าตาลในตลาดโลก ได้แก่ ราคาสัญญาซื้ อขายล่วงหน้าน้ าตาลทรายหมายเลข 11 ในตลาดล่วงหน้านิ วยอร์ กสาหรับน้ าตาลทรายดิบ และราคาสัญญาซื้ อขายล่วงหน้าน้ าตาลทรายหมายเลข 5 ในตลาดล่วงหน้าลอนดอนสาหรับน้ าตาลทรายขาว
49 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
59
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2.4 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน 1) ภาพรวมอุตสาหกรรมนา้ ตาลทราย 1.1) อุปสงค์และอุปทานน้ าตาลทรายของโลก
ผลิต บริ โภค คงเหลือ
2553/54 165,201 162,774 55,951
2554/55 174,575 168,425 57,130
หน่วย: ล้านตัน1
ปริมาณการผลิต การบริโภค และปริมาณน้าตาลคงเหลือของโลก (ตุลาคม – กันยายน)
2555/56 184,098 172,461 63,684
2556/57 181,347 175,997 72,787
2557/58 181,729 178,851 77,491
2558/59 174,672 181,050 70,613
2559/60 179,594 180,548 67,442
2560/61 193,257 183,744 75,747
2561/622 184,969 186,279 74,044
ที่มา: World Sugar Balances 2009/10 – 2018/19 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 20.12.2018 หมายเหตุ: 1. ตันน้ าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์
อุปสงค์ และอุปทานนา้ ตาลทรายของโลก
คงเหลือ บริ โภค ผลิต
ฤดูการผลิตปี 2560/61 เป็ นปี ที่ราคาน้ าตาลทรายในตลาดโลกมีความผันผวนสู งและราคาปรับลด มากถึ ง ระดับ 9.83 เซนต์/ปอนด์ ในเดื อนกันยายน ขณะที่ ราคาเฉลี่ ยทั้ง ปี ต่ า กว่า ปี 2559/60 มากถึ ง 20% โดยปั จจัยสาคัญที่มีผลกดดันราคามาจากผลผลิ ตน้ าตาลทรายส่ วนเกินของโลกที่มีปริ มาณกว่า 10 ล้านตัน ปั จจัยทางเศรษฐกิจระดับมหภาพของโลก และราคาน้ ามันในตลาดโลก
50 60
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.2) อุตสาหกรรมน้ าตาลทรายของโลก ประเทศผู้ผลิตนา้ ตาล รายใหญ่ บราซิล อินเดีย จีน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริ กา ไทย ออสเตรเลีย
ผลผลิตนา้ ตาล (ตุลาคม – กันยายน) 2558/59 2559/60 40.5 41.9 27.2 20.5 9.5 10.0 15.0 17.5 8.1 8.1 10.0 10.2 5.1 4.7
2557/58 34.7 29.0 11.4 19.0 7.8 11.3 5.1
หน่วย: ล้านตัน1
2560/61 32.6 35.2 11.2 21.1 8.4 15.0 4.8
2561/622 30.8 32.6 11.5 18.1 8.1 14.5 4.9
ที่มา:
1. World Sugar Balances 2009/10 - 2018/19 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 20.12.2018 2. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย หมายเหตุ 1. ตันน้ าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์ ผลผลิตนา้ ตาลทรายของประเทศสาคัญ (ต.ค. - ก.ย.)
ออสเตรเลีย ไทย
สหรัฐอเมริ กา
สหภาพยุโรป จีน
2557/58
2558/59
2559/60
2560/61
2561/62*
อินเดีย
ผลผลิ ตน้ าตาลทรายของหลายประเทศเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะอินเดีย ไทย และสหภาพยุโรป ขณะที่ผลผลิตน้ าตาลทรายของบราซิ ล โดยเฉพาะในแถบภาคกลาง-ใต้ ของเซาเปาโล ลดลงอย่างมีนยั สาคัญ จากส่ วนต่างผลกาไรจากการขายเอทานอลเทียบกับน้ าตาลทราย ทาให้ผผู้ ลิตหันไปผลิตเอทานอล ส่ งผลให้ ปริ มาณผลผลิ ตน้ าตาลทรายของเขตนี้ เทียบกับปี ที่ผ่านมาลดลงจาก 35 ล้านตัน เหลือประมาณ 27 ล้านตัน แต่การปรับลดนี้ ก็ยงั ไม่ได้ทาให้ราคาน้ าตาลทรายปรับตัวสู งขึ้น เนื่ องจากยังมีปริ มาณน้ าตาลทรายเกินดุล ค่อนข้างมากในโลก นอกจากนี้ อีกปั จจัยที่มีส่วนกดดันราคาก็คือการบริ โภคที่เติบโตลดลงอันเป็ นผลจาก การรณรงค์ต่อต้านการบริ โภคน้ าตาลทราย โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่มที่มีการลด ส่ วนผสมของน้ า ตาลทรายในผลิ ต ภัณ ฑ์ต่า ง ๆ ขณะที่ ใ นบางประเทศน้ า ตาลทรายก็ ถู ก คู่ แข่ง ส าคัญคื อ น้ าเชื่อมจากข้าวโพดเข้ามาแย่งตลาด โดยเฉพาะในสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริ กา และจีน เป็ นต้น 51 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
61
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.3) การบริ โภคน้ าตาลทรายของประเทศผูบ้ ริ โภคสาคัญของโลก ประเทศผู้บริโภค สาคัญของโลก อินเดีย สหภาพยุโรป จีน บราซิล สหรัฐอเมริ กา อินโดนีเซีย
2557/58 27.8 19.2 16.6 12 10.9 6.6
ปริมาณการบริโภค (ตุลาคม - กันยายน) 2558/59 2559/60 2560/61 27 26.6 27.2 18.6 18.5 18.5 17.2 16.7 17 11.7 11.8 12 10.9 11.1 11.1 7 7.4 7.4
หน่วย: ล้านตัน1
2561/622 27.4 18.5 17.1 12.1 11.2 7.7
ที่มา:
1. World Sugar Balances 2009/10 - 2018/19 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 20.12.2018 2. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย หมายเหตุ 1. ตันน้ าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์ ปริมาณการบริโภคนา้ ตาลทรายของประเทศผู้บริโภคสาคัญ (ต.ค. - ก.ย.)
อินโดนีเซี ย
สหรัฐอเมริ กา
บราซิ ล
จีน
สหภาพยุโรป
อินเดีย
2557/58
2558/59
2559/60
2560/61
2561/62*
อินเดียและสหภาพยุโรปยังครองตาแหน่งประเทศผูบ้ ริ โภคอันดับหนึ่งและสองของโลกตามลาดับ ขณะที่การบริ โภคของทั้งโลกเติบโตต่ ากว่าร้อยละ 2 ต่อปี จากปกติที่เติบโตในระดับร้อยละ 2 ติดต่อกัน หลายปี ซึ่ งปั จจัยที่มีผลมากก็คือการรณรงค์ให้ลดการบริ โภคน้ าตาลทรายในหลายประเทศ โดยเฉพาะใน ภาคอุตสาหกรรมเครื่ องดื่มและอาหาร ขณะที่การบริ โภคในครัวเรื อนยังไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก
52 62
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.4) การส่ งออกน้ าตาลทรายของประเทศผูส้ ่ งออกสาคัญ
1
หน่วย: ล้านตัน
ประเทศผู้ส่งออกสาคัญ
ปริมาณการส่ งออก (ตุลาคม - กันยายน) 2558/59 2559/60 2560/61 2561/622 29.7 29.5 23.2 18.6 7.8 7.0 9.8 11.4 4.0 2.9 3.8 3.8 2.1 2.0 1.7 1.9 4.1 2.2 2.3 4.5 27.0 27.2 28.4 28.7
2557/58 22.7 8.0 2.7 2.4 2.6 24.7
บราซิล ไทย ออสเตรเลีย กัวเตมาลา อินเดีย ประเทศอื่น ๆ
ที่มา: 1. World Sugar Balances 2009/10 - 2018/19 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 20.12.2018 หมายเหตุ 1. ตันน้ าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์
ปริมาณการส่ งออกนา้ ตาลทรายของประเทศผู้ส่งออกสาคัญ (ต.ค. - ก.ย.)
ประเทศอื่น ๆ
อินเดีย
กัวเตมาลา
ออสเตรเลีย
ไทย
บราซิ ล
2557/58
2558/59
2559/60
2560/61
2561/62*
การส่ งออกนา้ ตาลทรายของประเทศสาคัญ ช่วงปี ที่ผา่ นมาบราซิ ลและไทยยังครองตาแหน่งผูส้ ่ งออกน้ าตาลทรายมากที่สุดของโลกอันดับหนึ่ง และสองตามลาดับ ตลาดส่ วนใหญ่ของไทยอยูใ่ นทวีปเอเชียซึ่ งไทยยังมีความได้เปรี ยบเรื่ องที่ต้ งั อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่กดดันตลาดส่ งออกในปี ที่ผา่ นมาคือ ผลผลิตส่ วนเกินของโลกที่มีมากกว่า 10 ล้านตัน ซึ่ งมีผลกดดัน ราคา และส่ งผลต่อระยะเวลาของการส่ งออกที่ยดื ออกไปตลอดทั้งปี จากปกติที่มกั จะส่ งออกมากในช่วงครึ่ ง แรกของปี ยอดส่ งออกน้ าตาลทรายตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2561 ของไทยอยู่ที่ 10.7 ล้านตัน โดยตลาดที่สาคัญประกอบด้วย อินโดนีเซีย พม่า กัมพูชา เกาหลีใต้ ไต้หวัน และมาเลเซี ย 53 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
63
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.5) ตารางแสดงการนาเข้าน้ าตาลทรายของประเทศผูน้ าเข้าสาคัญของโลก ประเทศผู้นาเข้ าสาคัญ
2557/58 5.0 3.1 3.3 1.9 2.0 47.7
จีน อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริ กา สหรัฐอาหรับเอมิเรต มาเลเซีย ประเทศอื่น ๆ
ปริมาณการนาเข้ า (ตุลาคม - กันยายน)
2558/59 6.1 4.0 3.0 2.2 2.0 51.3
2559/60 3.6 5.1 2.8 2.5 1.9 54.1
2560/61 5.5 4.6 3.1 2.4 2.0 51.6
หน่วย: ล้านตัน1
2561/622 5.5 4.9 2.6 2.3 1.9 51.2
ที่มา:
1. World Sugar Balances 2009/10 - 2018/19 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 20.12.2018 2. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม หมายเหตุ 1. ตันน้ าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์ ปริมาณการนาเข้ านา้ ตาลทรายของประเทศผู้นาเข้ าสาคัญของโลก (ต.ค. - ก.ย.)
ประเทศอื่น ๆ
มาเลเซี ย
สหรัฐอาหรับเอมิเรต
สหรัฐอเมริ กา
อินโดนีเซี ย
จีน
2557/58
2558/59
2559/60
2560/61
2561/62*
สาหรับปี 2561 จีนยังเป็ นประเทศผูน้ าเข้าที่สาคัญจากความต้องการบริ โภคน้ าตาลทรายที่ค่อนข้าง คงที่ราว 16 ล้านตัน ขณะที่มีผลผลิต 11.5 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม ปั จจัยที่น่ากังวลในส่ วนของประเทศจีนคือ การขยายตัวของการใช้น้ าเชื่ อมจากข้าวโพดที่มีการเติบโตมากขึ้นทาให้การใช้น้ าตาลทรายค่อนข้างคงที่ ส่ วนอินโดนีเซี ยก็ยงั คงมีความต้องการนาเข้ามากถึง 4.9 ล้านตัน เพื่อสนองความต้องการบริ โภคปี ละ 6 ล้านตัน ทั้งนี้ ในช่วงฤดูการผลิต 2560/61 ไทยส่ งออกน้ าตาลทรายไปอินโดนีเซี ยมากถึง 4.1 ล้านตัน เทียบกับช่วง เดี ยวกันของปี ก่ อนที่ส่งออกไปเพียง 2.5 ล้านตัน เหตุผลสาคัญก็คือ ออสเตรเลียเพิ่งการส่ งออกไปญี่ปุ่น ขณะที่บราซิลลดการผลิตน้ าตาลทรายเพื่อมาผลิตเอทานอลทาให้อินโดนีเซี ยนาเข้าจากไทยเป็ นหลัก
54 64
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
บทวิเคราะห์ 1) ฤดูการผลิตปี 2560/61 เป็ นอีกปี ที่มีความผันผวนด้านราคาและสถานการณ์การผลิตและจาหน่าย น้ าตาลทรายค่อนข้างสู ง เป็ นปี ที่ราคาน้ าตาลทรายดิ บตกต่ าสุ ดในรอบ 10 ปี โดยราคาในเดื อนกันยายน ลดต่าลงถึง 9.83 เซนต์/ปอนด์ ก่อนที่จะปรับขึ้นมาปิ ดที่ 10 เซนต์/ปอนด์ในช่ วงปลายปี ปั จจัยกดดันต่อตัว ราคามาจากสภาพเศรษฐกิ จระดับ มหภาคของโลก การผันผวนของราคาน้ า มัน สงครามการค้า ระหว่า ง สหรั ฐอเมริ ก า และจี น โดยปั จจัย มหภาพเหล่ า นี้ ก่ อ ให้เกิ ด ความกัง วลต่ อ การเติ บ โตของเศรษฐกิ จโลก ซึ่งส่ งผลไปถึงความไม่แน่นอนต่อความต้องการสิ นค้าโภคภัณฑ์ การเคลือ่ นไหวของราคานา้ ตาลทรายดิบ NY No. 11 (มีนาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562)
ที่มา: https://www.barchart.com/futures/quotes/SBH19/interactive-chart 2) สาหรับปัจจัยพื้นฐานหลักที่มีส่วนกดดันราคาน้ าตาลทรายประกอบด้วยผลผลิตส่ วนเกินของโลก กว่า 10 ล้านตัน อันมีที่มาจากประเทศผูผ้ ลิตต่าง ๆ มีการเพิ่มผลผลิตน้ าตาลทรายทั้งอินเดีย ปากีสถาน ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีการอุดหนุนการส่ งออกของอินเดียและปากีสถานที่มีส่วนช่วยกดดันราคา อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ปั จจัยที่ยงั มีส่วนช่วยเสริ มดุลยภาพน้ าตาลทรายของโลกในปี ที่ผา่ นมาคือบราซิ ล ที่มี ความยืดหยุ่นในการผลิ ตน้ าตาลทรายและเอทานอล ทาให้ในเขตภาคกลาง-ใต้ ของเซาเปาโล ซึ่ งเป็ นแหล่ง ปลูกอ้อยที่ใหญ่ที่สุดของบราซิ ลมีการนาน้ าอ้อยไปผลิ ตเอทานอลมากถึ งร้อยละ 64.4 ขณะที่ผลิ ตน้ าตาลทราย เพียงร้อยละ 35.6 เทียบกับปี 2560/61 ที่สัดส่ วนเท่ากับ 53:47 ส่ งผลให้ปริ มาณผลผลิตน้ าตาลทรายในเขตนี้ ลดลงจาก 35 ล้านตัน เหลือเพียง 27 ล้านตัน กล่าวได้วา่ ความยืดหยุน่ ด้านการผลิตของบราซิ ลช่วยลดอุปทาน น้ าตาลทรายของโลกได้กว่า 7 ล้านตัน 3) นอกเหนื อจากเรื่ องปริ มาณการผลิ ตแล้ว ปี ที่ผ่านมายังปรากฏชัดเจนมากขึ้นว่าการเติบโตของ การบริ โภคน้ าตาลทรายเริ่ มต่ากว่าระดับเฉลี่ ยที่ร้อยละ 2 ต่อปี โดยเติบโตที่ระดับ ร้อยละ 1.4 - 1.5 ต่อปี จากระดับเฉลี่ ย ที่ ร้อยละ 2 ปริ ม าณการบริ โภคน้ า ตาลทรายที่ล ดลงเป็ นผลบางส่ วนจากการรณรงค์ล ด 55 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
65
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การบริ โภคหวานเพื่อรักษาสุ ขภาพ และมาตรการภาษีความหวานที่มีการบังคับใช้แล้วใน 28 ประเทศทัว่ โลก รวมทั้งไทยด้วย โดยกลุ่มที่มีการปรับลดการใช้น้ าตาลทรายเป็ นหลักได้แก่อุตสาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่ม ขณะที่การบริ โภคในระดับครัวเรื อนยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก อีกทั้ง การเติบโตของการบริ โภคน้ าตาลทราย ยังถูกกระทบจากการแข่งขันกับน้ าเชื่ อมข้าวโพด (High-Fructose Corn Syrup – HFCS) ที่เข้ามาแย่งตลาด น้ าตาลทรายในหลายประเทศ เช่น สหภาพยุโรป จีน สหรัฐอเมริ กา เม็กซิ โก อาร์ เจนติน า โคลัมเบีย และชิลี สาหรับปั จจัยที่มีอิทธิ พลสู งต่อการเติบโตของการบริ โภคยังประกอบด้วยการขยายตัวของประชากรและ รายได้ต่อหัวคนในประเทศ เมื่อมองในระดับภูมิภาคแล้ว การบริ โภคยังคงมีการเติบโตในเอเชียและแอฟริ กาในหลาย ประเทศที่ ยังมีการเติบโตของประชากรและระดับรายได้ต่อหัวที่เพิ่มขึ้น ในเอเชี ย คาดว่าปี 2561/62 การบริ โภคจะอยูท่ ี่ 89.3 ล้านตัน จากปี ก่อนที่ 87.5 ล้านตัน ส่ วนที่แอฟริ กา คาดว่าอยูท่ ี่ 23.0 ล้านตัน จาก 22.4 ล้านตัน สาหรับ การบริ โ ภคในยุ โ รป อเมริ ก าเหนื อ และกลาง อเมริ ก าใต้ และแถบซี กโลกใต้ร วมออสเตรเลี ย ไม่ ไ ด้ เปลี่ยนแปลงมากนัก อยูท่ ี่ 31 ล้านตัน, 21.2 ล้านตัน, 20.1 ล้านตัน 1.6 ล้านตัน และ 1.3 ล้านตัน ตามลาดับ ปริมาณการบริโภคนา้ ตาลทรายของโลก
ที่มา: F.O. Lichts’ International Sugar & Sweetener Report, Vol. 150 No. 36, December 20, 2018
การเติบ โตของการบริ โภคน้ า ตาลทรายยัง คงมีอยู่อย่างต่อเนื่ อง แต่ไ ม่ไ ด้เติบ โตเหมือนในอดี ต จากปั จจัยที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น 4) ในส่ วนการค้าน้ าตาลทรายนั้น อุปสงค์ต่อตัวน้ าตาลทรายดิบยังถูกกระทบจากการปรับขึ้นภาษี นาเข้าน้ าตาลทรายนอกโควตาของจีนเป็ นร้อยละ 90 จากเดิมร้อยละ 50 ในช่ วงเดื อนสิ งหาคม ที่สาคัญ ประเทศผูส้ ่ งออกยังถูกผลกระทบจากการอุดหนุนการส่ งออกน้ าตาลทรายของอินเดียที่เมื่อรวมการอุดหนุ น 56 66
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ค่าขนส่ งเข้าไปด้วยแล้วเท่ากับผูผ้ ลิตอินเดี ยได้รับเงินอุดหนุ นการส่ งออกน้ าตาลทรายจากภาครัฐมากถึ ง ตันละ 150 เหรี ยญสหรัฐ อีกทั้งภาครัฐยังกาหนดโควตาส่ งออกในปี 2561/62 ไว้มากถึง 5 ล้านตัน กล่าวได้วา่ การอุ ดหนุ น การส่ ง ออกของอิ นเดี ย ส่ ง ผลกระทบต่ อการส่ ง ออกของไทยค่ อนข้า งมาก เนื่ อ งจากตลาด ปลายทางเป็ นตลาดเดียวกัน โดยเฉพาะในแถบเอเชียใต้และแอฟริ กา เปรียบเทียบปริมาณการส่ งออกนา้ ตาลทรายของไทย เดือนมกราคม - ธันวาคม 2561 และ 2562 ประเทศปลายทาง
ปี 2561
ปี 2562 4,108,404.875
2,544,934.433
เมียนมา
923,435.740
602,866.520
กัมพูชา
735,787.400
815,565.256
เกาหลีใต้
723,118.556
123,922.570
ไต้หวัน
721,293.810
855,246.610
มาเลเซีย
642,240.950
174,134.070
ฟิ ลิปปิ นส์
526,747.086
55,636.000
จีน
400,387.540
432,454.400
ญี่ปุ่น
398,675.850
306,554.100
อื่น ๆ
1,536,275.140
1,037,894.700
10,716,366.930
6,949,208.650
อินโดนีเซีย
รวม ที่มา: บริ ษทั ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จากัด
เปรียบเทียบปริมาณการส่ งออกนา้ ตาลทรายของไทย มกราคม - ธันวาคม 2561 และ 2562 12,000,000.00 10,000,000.00 8,000,000.00 6,000,000.00 4,000,000.00 2,000,000.00 0.00
ปี 2561
ปี 2562
57 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
67
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สาหรับในปี 2561 อินโดนีเซี ย ยังเป็ นตลาดส่ งออกที่ใหญ่ที่สุดของไทยโดยปริ มาณการส่ งออกน้ าตาลทราย ไทยไปอินโดนี เซี ย เพิ่มขึ้นจาก 2.5 ล้านตัน เป็ น 4 ล้านตัน โดยเฉพาะน้ าตาลทรายดิบ สาเหตุสาคัญคือ บราซิ ล มีผลผลิตน้อยลงและค่าขนส่ งราคาแพงขึ้น ขณะที่ออสเตรเลียลดการส่ งออกในตลาดนี้และไปเพิ่มการส่ งออกที่ ตลาดญี่ ปุ่นแทน จากความได้เปรี ยบเรื่ องข้อตกลงทางการค้าระหว่างญี่ ปุ่นและออสเตรเลี ย ตลาดอื่ น ๆ ที่ มี การส่ งออกเพิ่มเติ มอย่างมีนัยสาคัญได้แก่ พม่า เกาหลี ใต้ มาเลเซี ย และฟิ ลิ ปปิ นส์ โดยเฉพาะเกาหลี ใต้และ มาเลเซี ย ที่นาเข้าจากบราซิ ลและออสเตรเลี ยลดน้อยลง ขณะที่ฟิลิ ปปิ นส์ ประสบปั ญหาภัยแล้งทาให้ผลิตไม่ เพียงพอต่อการบริ โภคและต้องนาเข้าในปริ มาณมาก ในส่ วนของบริ ษ ทั นั้น ยอดส่ งออกน้ าตาลทรายของปี 2561 อยู่ที่ 297,285 ตัน เพิ่ มขึ้ นจากปี 2560 ที่ส่งออกรวม 177,353 ตัน ซึ่ งต่างกันอยู่ที่ 119,932 ตัน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 40 เหตุผลสาคัญคือปริ มาณอ้อยที่ เพิม่ ขึ้นเกือบ 1 ล้านตัน โดยในปี การผลิต 2559/60 อยูท่ ี่ 2.21 ล้านตัน ขณะที่ปี 2560/61 อยูท่ ี่ 3.15 ล้านตัน ทาให้ ได้น้ าตาลทรายสาหรับส่ งออกเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ตลาดส่ งออกที่สาคัญของบริ ษทั ได้แก่ อินโดนี เซี ย แทนซาเนี ย เกาหลีใต้ ไต้หวัน และเวียดนาม เป็ นต้น สาหรับในฤดูการผลิตปี 2561/62 นั้น คาดว่าจะมีออ้ ยเข้าหี บประมาณ 2.8 ล้านตัน มีน้ าตาลทราย 310,000 - 320,000 ตัน หน่ วย: ตัน
ปริมาณการส่ งออกของบริษัท ปี และ
2560
4
4
4
2561
4
*บันทึกตามปริ มาณส่งมอบ ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2561
แนวโน้ มตลาดในปี 2561/62 สาหรับสถานการณ์ในปี การผลิต 2561/62 นั้น ตัวแปรสาคัญที่ขอกล่าวถึงคือ บราซิล อินเดีย จีน และ ไทย สี่ ผผู้ ลิตรายใหญ่ที่มีอิทธิ พลต่อทิศทางตลาดน้ าตาลทรายของโลก
58 68
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
คาดการณ์ ดุลยภาพนา้ ตาลทรายโลก หน่วย: ล้านตัน
สถาบัน Green Pool ISO F.O. Licht Marex Datagro Kingsman Rabobank INTL FC Stone
2561/62 2.64 + 2.1 - .7 - 1.05 -2 na .5 -.7
2562/63 - 1.36 -2 Na Na Na - 3.29 Na Na
ที่มา: บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด และบริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด
1) บราซิ ล ในปี ที่ผา่ นมา ผลผลิตน้ าตาลทรายบราซิ ลลดลงจากเดิม 35 ล้านตัน เหลือประมาณ 28 ล้านตัน อันเป็ นผลจากการนาน้ าอ้อยไปผลิตเอทานอลซึ่ งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า ส่ งผลให้อุปทานน้ าตาลทรายของโลก ลดลงแม้วา่ ผลผลิตของประเทศอื่น ๆ จะเติบโตขึ้นมาก สาหรับในปี 2562 นั้น นักวิเคราะห์คาดว่า อันดับแรก ปริ มาณอ้อยของบราซิ ลน่าจะลดลงจาก 596 ล้านตัน ในปี 2560/61 เหลือประมาณ 575 ล้านตัน หรื อน้อยกว่า ในปี 2561/62 เนื่องจากสภาพอากาศที่แห้งกว่าปกติและอ้อยเริ่ มมีอายุใกล้ 4 ปี และเริ่ มมีผลผลิตน้อยลง ทั้งนี้ สถานการณ์ จะขึ้นอยู่กบั สภาพอากาศด้วย ประการถัดมา ถ้ายังมีการนาน้ าอ้อยไปทาเอทานอลในปริ มาณมาก กว่าเดิมก็จะทาให้ผลผลิตน้ าตาลทรายลดลงอีก 1-2 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม บราซิ ลมีระบบการผลิตที่ยืดหยุ่น กรณี ที่ราคาสิ นค้าชนิดใดดีกว่าก็สามารถหันไปผลิตสิ นค้านั้น ๆ ได้อย่างรวดเร็ ว 2) อินเดีย เป็ นตัวแปรที่สาคัญเนื่องจากสมาคมโรงงานน้ าตาลทรายอินเดีย (ISMA) ยังคาดว่าผลผลิตน้ าตาลทราย ในปี 2561/62 อยูใ่ นระดับสู งกว่า 30 ล้านตันเทียบกับ 32.5 ล้านตัน ในปี ก่อน ส่ วนการบริ โภคมีเพียง 26 ล้านตัน ทาให้มีน้ าตาลทรายเหลื อควบคู่กบั สต๊อกของปี ก่อนหน้ายังอยู่ในปริ มาณมาก ประกอบกับการกาหนดโควตา ส่ งออก 5 ล้านตัน และการอุดหนุนการส่ งออกอีกตันละ 150 เหรี ยญสหรัฐ ควบคู่กบั มาตรการอื่น ๆ ของรัฐบาล อิ นเดี ยน่ าจะยังมีผลกดดันตลาดน้ าตาลทรายโลก แม้ว่าอินเดี ยจะยังไม่สามารถส่ งออกได้มากตามที่ รัฐบาล กาหนดโควตาไว้ก็ตามจากราคาน้ าตาลทรายในตลาดโลกที่ยงั ต่า 3) หลังจากที่รัฐบาลจีน (หนึ่งในตลาดนาเข้าน้ าตาลทรายที่สาคัญของโลก) ประกาศเก็บภาษีนาเข้าน้ าตาลทราย นอกโควตาที่ร้อยละ 90 เมื่อช่ วงกลางปี ที่ผ่านมาจากเดิมที่ร้อยละ 50 ทาให้ปริ มาณการนาเข้าน้ าตาลทรายดิบ ลดลงจาก 2.79 ล้านตัน ในปี 2558/59 เหลือ 1.8 ล้านตันในปี 2559/60 และในปี ที่ผา่ นมาเหลือเพียง 1.4 ล้านตัน ส่ วนในฤดูการผลิตปี 2561/62 การนาเข้าน้ าตาลทรายดิบน่าจะมีไม่เกิน 2 ล้านตัน ดังนั้น ในปี นี้จีนน่าจะไม่ได้มี บทบาทกับราคาน้ าตาลทรายดิบมากนักเมื่อพิจารณาจากปริ มาณการนาเข้า อย่างไรก็ตาม สาหรับน้ าตาลทรายขาวนั้น 59 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
69
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นักวิเคราะห์ยงั คาดว่าน่ าจะยังนาเข้ามากถึง 500,000 ตัน ในช่วงปลายปี 2561 และน่ าจะยังมีการนาเข้า อย่างต่อเนื่องในปี 2562 ถึงกระนั้น การเติบโตของตลาดน้ าตาลทรายในจีนก็ยงั ไม่ได้เติบโตมากนัก เนื่องจากยัง ถูกแข่งขันจากน้ าเชื่อมข้าวโพดที่ราคาถูกกว่า
ที่มา: F.O. Lichts’ International Sugar & Sweetener Report, Vol. 150 No. 36, December 20, 2018
4) สาหรับประเทศไทยในฤดูการผลิตปี 2561/62 จากการประเมินเบื้องต้นคาดว่าจะมีออ้ ยเข้าหี บรวม 120 127 ล้านตัน มีผลผลิ ตน้ าตาลทราย 13 ล้านตันเศษ เที ยบกับปี การผลิ ตที่ ผ่านมามี ออ้ ยเข้าหี บ 134.9 ล้านตัน ผลผลิตน้ าตาลทราย 14.6 ล้านตัน โดยผลผลิตอ้อยที่ลดลงมีที่มาจากสาเหตุสาคัญคือ สภาพอากาศแล้งและการลด พื้นที่ปลูกอ้อยจากราคาอ้อยที่ปรับตัวลดลงตามการเคลื่อนไหวของราคาน้ าตาลทรายในตลาดโลกหลังการปรับ โครงสร้างระบบโควตาและราคา 5) ในภาพรวมของสถานการณ์ การผลิตและการบริ โภคของโลก นักวิเคราะห์หลายสถาบันเห็นว่าตลาด น้ าตาลทรายโลกในปี 2561/62 กาลังเข้าสู่ ภาวะสมดุลจนถึงขาดแคลนบ้างเล็กน้อย และจะอยูใ่ นภาวะที่อุปสงค์ ต่อตัวน้ าตาลทรายสู งกว่าอุปทาน 2 ปี ก่อนที่จะกลับมาสู่ ภาวะน้ าตาลทรายล้นตลาด วงจรลักษณะนี้ จะเกิ ดขึ้น ในทุก ๆ 2-3 ปี ที่มา: 1) F.O. Licht’s International Sugar & Sweetener Report, Vol. 150 No. 29, October 19, 2018 2) F.O. Licht’s International Sugar & Sweetener Report, Vol. 150 No. 36, December 20, 2018 3) S&P Global Platts’ Kingsman Sugar Editorial, January 4, 2019
ภาคผนวก ในฤดูการผลิตปี 2559/60 ไทยมีโรงงานน้ าตาลทรายรวม 55 โรงงาน มีกาลังหี บอ้อยราว 120 ล้านตัน/ปี ผลิ ตน้ าตาลทรายได้ 14.6 ล้านตัน มีระยะเวลาการหี บอ้อยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึ งเดือนเมษายนของปี ถัดไป (ยกเว้นในปี 2559/60 ที่ปริ มาณฝนดีมากควบคู่กบั การขยายพื้นที่เพาะปลูกทาให้มีการหี บอ้อยจนถึ ง ต้นเดือนมิถุนายน)
60 70
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กลุ่มบริษัทนา้ ตาลของไทย ณ สิ้นสุ ดฤดูการผลิตปี 2560/61 กลุ่ม
จานวนโรงงาน
ผลผลิตนา้ ตาลทราย (ตัน)
ส่ วนแบ่ งตลาด (%)
มิตรผล
6
2,722,840
18.55
ไทยรุ่ งเรื อง
9
2,500,704
17.04
เคเอสแอล
5
1,196,657
8.15
ไทยเอกลักษณ์
3
1,181,641
8.05
น้ าตาลโคราช
2
906,470
6.18
วังขนาย
4
785,036
5.35
น้ าตาลชลบุรี
4
674,088
4.59
น้ าตาลบ้านโป่ ง
2
521,704
3.55
น้ าตาลกุมภวาปี
2
409,576
2.79
โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์
1
378,185
2.58
น้ าตาลไทยกาญจนบุรี
2
347,263
2.37
อุตสาหกรรมมิตรเกษตร
2
320,014
2.18
น้ าตาลราชบุรี
2
225,105
1.53
น้ าตาลระยอง
2
220,050
1.50
อื่น ๆ
9
2,290,218
15.6
55
14,679,558
100
รวม ที่มา: บริ ษทั ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จากัด
(3) ธุรกิจผลพลอยได้ 3.1 ธุรกิจโรงไฟฟ้าชี วมวล ดาเนินการโดยบริ ษัท บุรีรัมย์ พลังงาน จากัด (“BEC”), บริ ษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากั ด (“BPC”) และบริ ษั ท บุ รีรั มย์ เพาเวอร์ พลัส จากั ด (“BPP”) โดยมี แนวคิ ด “พลังงานไฟฟ้ า เพื่อชุ มชนและสั งคม” ซึ่ งยึดถื อมาโดยตลอด ทั้งนี้ นอกจากการผลิตไฟฟ้ าที่มีประสิ ทธิ ภาพแล้ว การรักษา สิ่ งแวดล้อม และการคานึงถึงชุมชนและสังคม รวมทั้งผูม้ ีส่วนได้เสี ย ยังเป็ นพันธกิจสาคัญในการดาเนินงาน ของกลุ่มธุ รกิจโรงไฟฟ้ าของกลุ่มน้ าตาลบุรีรัมย์ โดยเห็นได้จากรางวัลหรื อการรับรองคุณภาพที่กลุ่มบริ ษทั โรงไฟฟ้ าได้รับ อาทิ รางวัลธรรมาภิบาลธุ รกิ จดีเด่นระดับจังหวัด ประจาปี 2559 การรับรองอุตสาหกรรม สี เขียวระดับ 2 (ปฏิบตั ิการสี เขียว Green Activity) และระดับ 3 (ระบบสี เขียว Green System) สาหรับในปี 61 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
71
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2561 นั้น กระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้จดั การประกวด Thailand Energy Awards 2018 ซึ่ ง BPC ได้รับรางวัลดี เด่น ด้านพลังงานทดแทน ประเภทโครงการผลิต ไฟฟ้ าและความร้อนร่ วม พร้อมกันนี้ยงั ได้เข้าร่ วมประกวด 36th ASEAN Ministers on Energy Meeting (36 AMEM) ที่ประเทศสิ งคโปร์ และ BPC ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภทโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่ วม ได้ รับรางวัลดีเด่ น งาน Thailand Energy Awards 2018
ได้ รับรางวัลรองชนะเลิศ งาน 36 AMEM 2018
3.1.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ กลุ่มบริ ษทั ฯ ดาเนิ นธุ รกิจผลิตไฟฟ้ าประเภทโรงงานไฟฟ้ าชีวมวล โดยมีกาลังการผลิตติดตั้งสู งสุ ด 9.9 เมกะวัตต์ ซึ่ งเป็ นผูผ้ ลิตไฟฟ้ าขนาดเล็กมาก หรื อ Very Small Power Producer (“VSPP”) โดยใช้กากอ้อย ซึ่ งได้ จากกระบวนการผลิ ตน้ าตาลเป็ นเชื้ อเพลิ งหลักในการผลิ ตไฟฟ้ า นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ใบอ้อย ไม้สั บ และแกลบเป็ นวัตถุดิบได้อีกด้วย ทั้งนี้ ธุ รกิจผลิตไฟฟ้ าของกลุ่มบริ ษทั ฯ ดาเนินงานภายใต้ 3 บริ ษทั ในเครื อ ได้แก่ 1. บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด (“BEC”) 2. บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด (“BPC”) 3. บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ พลัส จากัด (“BPP”) 1. บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จากัด (“BEC”) BEC เป็ นโรงไฟฟ้ าแห่ งแรกของกลุ่มบริ ษทั ฯ มีกาลังการผลิ ตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ โดยผลิตและ จาหน่ายกระแสไฟฟ้ าให้แก่การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (“กฟภ.”) จานวน 8 เมกะวัตต์ และใช้ภายในโรงงาน 1.9 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ BEC ได้ทาสัญญาเปลี่ยนแปลงการจาหน่ ายไฟฟ้ ากับ กฟภ. จากระบบ Adder เป็ นระบบ Feed-in-Tariff (“FiT”) เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 ซึ่งส่ งผลให้ราคาจาหน่ายไฟฟ้ าเพิ่มสู งขึ้นประมาณ ร้อยละ 23 2. บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด (“BPC”) BPC จดทะเบี ยนจัดตั้ง ในปี 2554 ปั จจุบนั ถื อหุ ้นโดย BEC ร้ อยละ 99.99 ซึ่ ง ถื อเป็ นโรงไฟฟ้ า แห่ งที่ 2 ของกลุ่มบริ ษทั ฯ มีกาลังการผลิตติดตั้งขนาด 9.9 เมกะวัตต์ ซึ่ งผลิตไฟฟ้ าเพื่อจาหน่ายให้แก่ กฟภ. จานวน 8 เมกะวัตต์ ในระบบ FiT โดยเริ่ มจาหน่ายไฟฟ้ าให้แก่ กฟภ.ในเดือนเมษายน ปี 2558 และไฟฟ้ าอีก 1.9 เมกะวัตต์ ใช้ภายในโรงงาน
62 72
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทั้งนี้ BEC และ BPC ได้เข้าทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้ ากับ กฟภ. โดยมีรายละเอียดดังนี้ บริษัท
บริษัท บุรีรัมย์ พลังงาน จากัด
บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด
สัญญาเลขที่
VSPP-PEA 044/2554
VSPP-PEA 008/2556
วันที่ทาสัญญา
30 ธันวาคม 2554
4 เมษายน 2556
วันจ่ายไฟฟ้ า เข้าระบบ เชิงพาณิ ชย์ (COD)
11 พฤษภาคม 2555
7 เมษายน 2558
กาลังการผลิต
ปริ มาณพลังงานไฟฟ้ าสูงสุด 8 เมกะวัตต์ ที่ระดับแรงดัน 22,000 โวลต์
ระยะเวลา
5 ปี และต่อเนื่องครั้งละ 5 ปี โดยอัตโนมัติ
20 ปี นับจากวันที่เริ่ มจาหน่ายเชิงพาณิ ชย์
(อายุสญ ั ญาคงเหลือในแบบ FiT 10 ปี / สัญญาสิ้นสุด 10 สิ งหาคม 2571)
(อายุสญ ั ญาคงเหลือในแบบ FiT 17 ปี / สัญญาสิ้นสุด 6 เมษายน 2578)
4.54 บาท/หน่วย
4.54 บาท/หน่วย
ราคารับซื้อไฟฟ้ าระบบ FiT
3. บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ พลัส จากัด (“BPP”) จดทะเบี ย นจัดตั้ง ในปี 2558 หลัง จากการเปลี่ ย นโครงสร้ า งภายในกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ ปั จจุ บนั ถื อหุ ้น โดย BRR ร้อยละ 99.99 BPP จัดเป็ นโรงไฟฟ้ าแห่งที่ 3 ของกลุ่มบริ ษทั ฯ เริ่ มผลิตไฟฟ้ าเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 ทั้งนี้ จัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับกาลังการผลิ ตของโรงงานน้ าตาลที่เพิ่มขึ้น และหากการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กฟภ.) เปิ ดรอบการเจรจารับซื้ อไฟฟ้ า บริ ษทั คาดว่าจะเข้าเจรจาจาหน่ายไฟฟ้ าให้กบั กฟภ. ต่อไป สาหรับที่ต้ งั ของโรงไฟฟ้ าทั้ง 3 แห่ ง ตั้งอยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียงกับโรงงานน้ าตาลของกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ ซึ่ งทาให้สะดวกในการขนส่ งกากอ้อยที่ได้จากกระบวนการผลิตน้ าตาลมาใช้เป็ นเชื้ อเพลิ ง และเป็ นการลดต้นทุนค่าขนส่ งวัตถุดิบ ทั้งยังสะดวกในการจาหน่ายไฟฟ้ าและไอน้ าให้แก่โรงงานน้ าตาลอีกด้วย 3.1.2 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน กลยุทธ์ ในการแข่ งขัน ต้ นทุนการผลิตทีต่ ่าและการบริหารทรัพยากรอย่ างมีประสิ ทธิภาพ BEC, BPC และ BPP ผลิตไฟฟ้ าชีวมวลจากกากอ้อย ซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต น้ าตาลของ BSF โดยไฟฟ้ าที่ ผลิ ตได้ส่วนหนึ่ ง รวมถึ งไอดี และไอเสี ย ที่ได้จากการใช้ระบบผลิ ตไฟฟ้ า และความร้อนร่ วม (Cogeneration) จะส่ งกลับไปใช้ในโรงงานน้ าตาล และไฟฟ้ าอีกส่ วนหนึ่งจะขายให้แก่ กฟภ. ทั้งนี้ การใช้กากอ้อยซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตน้ าตาลของ BSF และการใช้ระบบผลิต ไฟฟ้ าและความร้ อนร่ วม (Cogeneration) เพื่อเพิ่มมูลค่าของพลังงานเหลื อใช้จากการผลิ ตไฟฟ้ าถื อเป็ น การบริ หารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดประโยชน์สูงสุ ด 63 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
73
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น โรงไฟฟ้ าทั้ง 3 แห่ง ตั้งอยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียงกับโรงงานน้ าตาลของกลุ่มบริ ษทั ฯ ซึ่ งเป็ นแหล่งจาหน่ายวัตถุดิบ จึงใช้ระบบสายพานลาเลียงกากอ้อยจากลานกองเชื้ อเพลิงของโรงงานน้ าตาล มาเก็บไว้ในอาคารเก็บเชื้อเพลิง (Fuel Storage Building) ของโรงไฟฟ้ า ทั้งนี้ จึงทาให้สะดวกในการขนส่ ง กากอ้อย และลดต้นทุนค่าขนส่ งวัตถุดิบ ความใส่ ใจชุ มชน สั งคม และสิ่ งแวดล้อม ด้วยความมุ่งมัน่ ในการดาเนิ นธุ รกิจโรงไฟฟ้ าให้สามารถอยูร่ ่ วมกับชุ มชนและสังคมได้อย่างยัง่ ยืน ตลอดจนสามารถดาเนิ นธุ รกิ จได้อย่างราบรื่ น กลุ่มโรงไฟฟ้ าจึงให้ความสาคัญในการดู แลรั กษาสิ่ งแวดล้อม โดยในปี 2559 โรงไฟฟ้ า BEC ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO 14001:2004 ซึ่ งเป็ นการรับรองว่าเป็ นองค์กรที่มี ความตระหนักถึ งความสาคัญของการจัดการสิ่ งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาสิ่ งแวดล้อมควบคู่กบั การพัฒนา ธุ รกิ จ โดยมุ่งเน้นการป้ องกันมลพิษ (Prevention of Pollution) และการปรั บปรุ งให้ดีข้ ึนอย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ โรงไฟฟ้ าอีก 2 แห่ ง อยูร่ ะหว่างการพัฒนาเพื่อให้ได้รับรองมาตรฐาน ISO ดังกล่าว นอกจากนั้น ยังได้รับรางวัล อื่น ๆ ตามรายละเอียดในรายงานประจาปี ฉบับนี้ ในเอกสารแนบ 11 หัวข้อ “รางวัลและการรับรองคุ ณภาพ” โดยรางวัลต่าง ๆ ที่ได้รับนั้น เพื่อเป็ นการยืนยันว่ากลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักและใส่ ใจในการดาเนินงานด้านดังกล่าว อย่างแท้จริ ง ลักษณะลูกค้ า ช่ องทางการจาหน่ าย BEC และ BPC ดาเนิ นการผลิต และจาหน่ ายกระแสไฟฟ้ าชี วมวล มีกาลังการผลิตติดตั้ง รวมกันทั้งสิ้ น 19.8 เมกะวัตต์ โดยกระแสไฟฟ้ า ขนาด 16 เมกะวัตต์ จะจาหน่ายให้แก่ลูกค้าภายนอกเพียง รายเดียวคือ การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค ตามสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ าเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554 และ 4 เมษายน 2556 โดยกระแสไฟฟ้ าส่ วนที่เหลืออีก 3.8 เมกะวัตต์ จะใช้เพื่อดาเนินงานภายในกลุ่มบริ ษทั ฯ ส่ วน BPP จะผลิต และจาหน่ายไฟฟ้ าเพื่อสนับสนุ นกระบวนการผลิตของโรงงานน้ าตาล โดยมีกาลังการผลิตสู งสุ ด 9.9 เมกะวัตต์ และจาหน่ายไฟฟ้ าให้แก่ BSF 8 เมกะวัตต์ นอกจากนั้น โรงไฟฟ้ าทั้ง 3 แห่ ง ยังจาหน่ายไอดีและไอเสี ยให้แก่ BSF อีกด้วย นโยบายราคา ราคาขายไฟฟ้ าให้แ ก่ ก ารไฟฟ้ าส่ วนภูมิ ภาคจะมี ก ารก าหนดไว้ใ นนโยบายของโครงการ โรงไฟฟ้ าขนาดเล็กมาก (VSPP) ตามหัวข้อราคาขายไฟฟ้ า โดย BEC และ BPC จาหน่ายไฟฟ้ าให้แก่ กฟภ. ตามราคารั บซื้ อไฟฟ้ าระบบ FiT ซึ่ งมีราคาประมาณ 4.54 บาทต่อหน่ วย (กิ โลวัตต์ต่อชัว่ โมง) และ BPP จาหน่ายไฟฟ้ าให้แก่โรงงานน้ าตาลโดยใช้ราคาอ้างอิงราคารับซื้อไฟฟ้ าในระบบ FiT ของ กฟภ. 3.1.3 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน ภาครัฐและฝ่ ายงานที่เกี่ ยวข้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาพลังงานทดแทนอย่างจริ งจังมากขึ้น และส่ ง เสริ ม ให้มี ก ารใช้ท รั พ ยากรภายในประเทศอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเฉพาะพลัง งานหมุ น เวีย น 64 74
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เนื่องจากเป็ นพลังงานที่สะอาดและสามารถนามาใช้ได้อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้ ามีตน้ ทุนต่า การสนับสนุนด้านพลังงานหมุนเวียน สามารถลดการพึ่งพาการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานเชิงพาณิ ชย์ ซึ่ งเป็ น การลดค่าใช้จ่ายในการนาเข้าเชื้ อเพลิ งจากต่างประเทศ และลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และช่ วยแบ่งเบา ภาระด้านการลงทุนของรัฐในระบบการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้ า โดยในปี 2561 โรงไฟฟ้ าชีวมวลประเภท VSPP ในประเทศไทยมีท้ งั หมด 2,050 โครงการ โดยเป็ น โครงการในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ 620 โครงการ ซึ่ งจ่ายไฟเข้าระบบเชิ งพาณิ ชย์ (COD) แล้ว 952 โครงการ มีกาลังการผลิตติดตั้งรวม 11,035.93 เมกะวัตต์ และมีปริ มาณขายตามสัญญารวม 8,789.30 เมกะวัตต์ ตารางแสดงสถานะและจานวนโรงไฟฟ้ าชีวมวลประเภท VSPP ในประเทศไทย ปี 2561 โรงไฟฟ้าชีวมวลประเภท VSPP สถานะ
กาลังการผลิตติดตั้ง (MW)
โครงการ
ปริมาณขาย ตามสั ญญา (MW)
ยืน่ คาขอแต่ยงั ไม่ได้ตอบรับซื้ อ
0
0
0
ตอบรับซื้อแล้ว ยังไม่ลงนาม PPA
0
0
0
43
235.21
210.66
COD แล้ว
952
5,102.18
3,876.45
ยกเลิกตอบรับซื้ อ
134
422.7
375.14
ยกเลิกแบบคาขอ
265
1,357.75
1,113.33
ยกเลิกสัญญา
656
3,918.09
3,213.73
0 0
0 0
0 0
2,050
11,035.93
8,789.30
ลงนาม PPA แล้ว ยังไม่ COD
โครงการอยูร่ ะหว่างพิจารณาคดี โครงการที่อยูร่ ะหว่างการอุทธรณ์ รวม
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (สานักงาน กกพ.) http://www.erc.or.th/ERCSPP/
นอกจากนั้น กระทรวงพลังงานร่ วมกับการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยได้จดั ทาแผนพัฒนากาลัง การผลิ ตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2558 - 2579 (แผน PDP2015) โดยเน้นการเสริ ม ความมัน่ คงระบบ ไฟฟ้ า ด้วยการกระจายเชื้ อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ า การลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ การเพิ่มสัดส่ วนการผลิ ต ไฟฟ้ าจากถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด การจัดหาไฟฟ้ าจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น การเพิ่มสัดส่ วนการผลิตไฟฟ้ า จากพลังงานหมุนเวียน รวมทั้งการพัฒนาระบบส่ งไฟฟ้ า และระบบจาหน่ายไฟฟ้ า เพื่อรองรับการพัฒนา พลังงานทดแทน และการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 65 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
75
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทั้งนี้ สาหรับข้อมูลการผลิตและการใช้พลังงานไฟฟ้ าในประเทศไทยของแผนพัฒนากาลังการผลิต ไฟฟ้ าของประเทศไทย ปี 2558 - 2579 (PDP2015) สรุ ปได้โดยสังเขปดังนี้ - กาลังการผลิตไฟฟ้ า ณ ธันวาคม 2557 - กาลังการผลิตไฟฟ้ าใหม่ ในช่วงปี 2558 - 2579 - กาลังการผลิตไฟฟ้ าที่ปลดออกจากระบบ ในช่วงปี 2558 - 2579 - รวมกาลังการผลิตไฟฟ้ าทั้งสิ้ น ณ สิ้ นปี 2579
37,612 เมกะวัตต์ 57,459 เมกะวัตต์ -24,736 เมกะวัตต์ 70,335 เมกะวัตต์
เป้าหมายการใช้ พลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟ้า พลังงานทดแทน
ปี 2555
แสงอาทิตย์ พลังงานลม ชีวมวล ขยะ พลังน้ าขนาดเล็ก พลังน้ าขนาดใหญ่ รวม
376.72 111.73 1,959.95 42.72 101.75 2,592.87
ปี 2556 823.46 222.71 2,320.78 47.48 108.80 3,523.23
ปี 2557 1,298.51 224.47 2,451.82 65.72 142.01 4,182.53
ปี 2558 1,419.58 233.90 2,726.60 131.68 172.12 2,906.40 7,590.28
เป้าหมายปี 2579 6,000.00 3,002.00 5,570.00 500.00 376.00 2,906.40 18,354.40
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (สานักงาน กกพ.)
การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า การจัดท าค่า พยากรณ์ ค วามต้องการใช้ไ ฟฟ้ าของประเทศ โดยส านัก งานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จดั ทาประมาณการแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว (GDP) ปี 2557 - 2579 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 3.94 ต่อปี โดยใช้อตั ราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยร้อยละ 0.03 ต่อปี และมี ก ารประยุก ต์ใ ช้แผนอนุ รัก ษ์พ ลัง งาน (EEDP)โดยมี เป้ าหมายลดการใช้พ ลังงานไฟฟ้ า ณ ปี 2579 เท่ากับ 89,672 ล้านหน่วย รวมทั้งได้พิจารณากรอบของแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) สาหรับภาคการผลิตไฟฟ้ าในปี 2579 ซึ่ งจะมีกาลังการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนเข้าระบบ จานวน 19,634.40 เมกะวัตต์ ค่าพยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้ าที่ใช้ในการจัดทาแผน PDP 2015 เมื่อรวมผลของแผนอนุ รัก ษ์ พลังงานและแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกแล้ว ในช่วงปี 2557 - 2579 ความต้องการ พลัง งานไฟฟ้ ารวมสุ ท ธิ ข องประเทศมี อตั ราการเติ บโตเฉลี่ ย ร้ อยละ 2.67 ต่ อ ปี ในปี 2579 ค่ า พยากรณ์ ความต้องการพลังงานไฟฟ้ ารวมสุ ทธิ (Energy) และพลังไฟฟ้ าสู งสุ ดสุ ทธิ (Peak) ของประเทศมีค่าประมาณ 326,119 ล้านหน่วย และ 49,655 เมกะวัตต์ 66 76
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ที่มา : กองสื่ อสารภายนอก ฝ่ ายสื่ อสารและประชาสัมพันธ์ องค์ การ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย (กฟผ.)
ทั้งนี้ ความต้องการพลังไฟฟ้ าสู งสุ ดของระบบเดือนมกราคมระบบเกิ ดขึ้น เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2562 เวลา 19.00 น. มีค่าเท่ากับ 25,898.30 เมกะวัตต์ ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา 773.90 เมกะวัตต์ หรื อลดลง ร้อยละ 2.90 ส่ วนความต้องการพลังไฟฟ้ าสู งสุ ดของระบบเกิดขึ้น เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 เวลา 22.28 น. มีค่าเท่ากับ 29,618.80 เมกะวัตต์ 3.1.4 การจัดหาวัตถุดิบ โรงไฟฟ้ าชีวมวลของกลุ่มบริ ษทั ฯ ใช้กากอ้อยเป็ นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้ า โดยกากอ้อยเป็ น ผลพลอยได้จากการผลิตน้ าตาลของโรงงานน้ าตาล นอกจากนั้น โรงไฟฟ้ าชี วมวลได้ออกแบบเพื่อรองรับ วัตถุ ดิบ ชนิ ดอื่ น ๆ เช่ น ใบอ้อ ย ไม้สับ และแกลบ ทั้ง นี้ จากการที่ ก ลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ สร้ า งโรงไฟฟ้ าเพิ่ ม ขึ้ น เพื่อรองรับการขยายกาลังการผลิตน้ าตาล ทาให้มีความต้องการวัตถุดิบในปริ มาณมากขึ้น โดยในปี การผลิต ที่ผา่ นมา กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้รับซื้ อใบอ้อยจากเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยมากกว่า 20,000 ครอบครัว เพื่อนาใบอ้อย มาใช้เป็ นเชื้ อเพลิ ง เนื่ องจากใบอ้อยมี ค่าความชื้ นต่ ากว่ากากอ้อย จึ งท าให้นามาเป็ นเชื้ อเพลิ งในการผลิ ต กระแสไฟฟ้ าได้เป็ นอย่างดี ทาให้สามารถควบคุมความเสี่ ยงในการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ สาหรับปี การผลิต 2561/62 บริ ษทั คาดว่าจะใช้ไม้สับเป็ นวัตถุดิบสารอง และจากประมาณการที่กลุ่มบริ ษทั ฯ จะมีปริ มาณอ้อยเข้าหี บจานวน 3.1 ล้านตันในปี การผลิต 2562/63 นั้น จะทาให้มีปริ มาณกากอ้อยเพียงพอ เพื่อเป็ นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ าได้เต็มกาลังการผลิตสาหรับโรงไฟฟ้ าทั้ง 3 แห่ง 67 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
77
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.1.5 แผนงานในอนาคต ภายหลังจากที่ กองทุ นรวมโครงสร้ างพื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่มน้ าตาลบุ รีรัมย์ (BRRGIF) ของกลุ่ ม บริ ษทั ฯ ได้รับอนุ มตั ิ ให้จดทะเบี ยนจัดตั้งเมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2560 จากสานักงาน ก.ล.ต. และเสนอขาย หน่วยลงทุนได้ท้ งั หมดแล้วนั้น บริ ษทั ได้นาเงินจากการระดมทุนดังกล่าวมาใช้เพื่อขยายกิ จการโรงไฟฟ้ า โครงการน้ าตาลทรายขาวบริ สุท ธิ์ และโครงการบรรจุภณ ั ฑ์ชานอ้อย รวมทั้ง ศึกษาความเป็ นไปได้ของ โครงการอื่น ๆ ที่สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่มและสร้างความเติบโตให้กบั ธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯได้อย่างยัง่ ยืน นอกจากนั้น สาหรับโรงไฟฟ้ าแห่ งที่ 3 (BPP) ที่เริ่ มดาเนินการผลิตแล้ว ยังคงมีแผนเข้าเจรจาการจาหน่าย ไฟฟ้ าหาก กฟภ. เปิ ดรอบการเจรจารับซื้อไฟฟ้ าต่อไป 3.2 ธุรกิจผลิตปุ๋ ยอินทรีย์ ดาเนินการโดยบริ ษัท ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (“KBF”) 3.2.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด หรื อ KBF จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2554 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว 15 ล้านบาท KBF ได้เริ่ มดาเนิ นธุ รกิ จผลิ ตและจาหน่ ายปุ๋ ยอินทรี ย ์ เมื่ อเดื อนธันวาคม 2555 โดยใช้กากหม้อกรองซึ่ งเป็ นผลิ ตภัณฑ์ผลพลอยได้จากการผลิ ตน้ าตาลของกลุ่ มบริ ษทั ฯ มาเป็ นวัตถุ ดิบ ในการผลิตปุ๋ ยอินทรี ย ์ และได้เริ่ มผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยเคมีในปี ต่อมา เพื่อตอบสนองความต้องการของชาวไร่ ออ้ ย อย่างครบถ้วน เพื่อการบารุ งอ้อยให้มีประสิ ทธิภาพ โรงงานของ KBF ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ใกล้เคียงโรงงานน้ าตาล เพื่ออานวยความสะดวกในการขนส่ ง กากหม้อกรอง ซึ่ งเป็ นวัตถุดิบหลักในการผลิ ตปุ๋ ย ทั้งยังสามารถประหยัดค่าขนส่ งวัตถุ ดิบให้แก่บริ ษทั ได้อีกด้วย โดย KBF ผลิตและจัดจาหน่ายปุ๋ ยซึ่ งแบ่งตามชนิดของปุ๋ ยได้ 3 ประเภท คือ ปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดเม็ด ปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดผง และปุ๋ ยเคมีชนิดเม็ด เปรียบเทียบสั ดส่ วนการผลิตและจัดจาหน่ ายปุ๋ ยแต่ ละประเภทให้ แก่ BRD สัดส่วนการผลิตและจาหน่าย 13%
2%
11% 1% 73% ปุ๋ยอินทรี ย์ชนิดเทกอง
ปุ๋ยอินทรี ย์ชนิดเม็ด
ปุ๋ยเคมี 18-8-18TE
68 78
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ปุ๋ยเคมี 22-8-18
ปุ๋ยเคมี 10-0-10
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เปรียบเทียบสั ดส่ วนการผลิตและจัดจาหน่ ายปุ๋ ยแต่ ละประเภทให้ กบั ตลาดภายนอก สัดส่วนการผลิตและจาหน่าย 8% 2% 4% 86% ปุ๋ยอินทรี ย์ชนิดเทกอง
ปุ๋ยอินทรี ย์ชนิดผง
ปุ๋ยอินทรี ย์ชนิดเม็ด
ปุ๋ยอินทรี ย์เคมี
3.2.2 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน กลยุทธ์ ในการแข่ งขัน KBF มีเป้ าหมายในการดาเนิ นธุ รกิจโดยเน้นให้ชาวไร่ ออ้ ยได้ใช้ปุ๋ยคุณภาพดี ราคาถูก เพื่อช่วย ลดต้นทุนให้แก่ชาวไร่ ออ้ ย และเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ทาให้ชาวไร่ ออ้ ยมีรายได้มากขึ้น ผลิตภัณฑ์ ทมี่ ีคุณภาพและมีความเหมาะสมกับพืน้ ทีแ่ ต่ ละแปลง KBF มุ่งเน้นการปลูกอ้อยให้ได้คุณภาพและการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ในอัตราสู ง จึงได้วิจยั และ พัฒนาสู ตรปุ๋ ยร่ วมกับ BRD เพื่อให้ได้สูตรที่เหมาะกับสภาพดินและผลผลิตในแต่ละแปลง จากการมุ่งเน้นส่ งเสริ มการใช้ปุ๋ยอินทรี ยช์ นิ ดผงในปี 2559 ส่ งผลให้ค่าอินทรี ยวัตถุ ในดิ น เพิ่มสู ง ขึ้น อี กทั้งปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิ ดผงได้รับการยอมรั บจากเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย ทาให้มียอดการสั่งผลิ ต เพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มการใช้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561-2562 KBF อยูร่ ะหว่างพัฒนาสู ตรปุ๋ ยอินทรี ย ์ ชนิดผงใหม่ เพื่อให้ได้ประสิ ทธิภาพที่ดีข้ ึน อย่างไรก็ตาม จะต้องทดลองและผ่านการพิจารณาอีกครั้ง ในปี 2560 KBF ได้ติดตั้งเครื่ องจักรสาหรับปุ๋ ยเคมีใหม่ เพื่อพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการ ควบคุมคุณภาพการผลิตปุ๋ ยให้ได้ทุกกระสอบ โดยปุ๋ ยที่ผลิตสามารถนาไปใช้กบั พืชเศรษฐกิ จชนิ ดอื่น ๆ ได้ ซึ่งก่อนนาผลิตภัณฑ์ไปจาหน่าย KBF ได้วจิ ยั และทดลองการใช้งานกับแปลงสาธิ ต เพื่อศึกษาถึงการตอบสนอง อัตราการเติบโตของอ้อย เมื่อพบว่ามีประสิ ทธิ ภาพจึงแนะนาให้ชาวไร่ ออ้ ยนาไปใช้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา จนถึงปั จจุบนั ผลิตภัณฑ์ของ KBF ส่ งผลต่อการเจริ ญเติบโตของอ้อยเป็ นอย่างดี และมีคุณภาพตามมาตรฐาน พระราชบัญญัติปุ๋ย พุทธศักราช 2518 รวมทั้งมีตน้ ทุนต่า จนเป็ นที่ยอมรับของชาวไร่ ออ้ ย มีศูนย์ กระจายสิ นค้ าทัว่ ถึงทุกเขตส่ งเสริมการปลูกอ้ อย KBF ได้ร่วมกับ BRD จัดตั้งศูนย์กระจายสิ นค้าทัว่ ทุกเขตส่ งเสริ มการปลูกอ้อยของ BRD เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ชาวไร่ ออ้ ยในการรับปุ๋ ย และความสะดวกในการเดินทางมาซื้ อและรับปุ๋ ยนั้น จะทาให้ชาวไร่ ออ้ ยสามารถปรับปรุ งดินได้ตรงเวลาและเหมาะสมกับสภาพดิน ซึ่ งจะส่ งผลให้ผลผลิตต่อไร่ 69 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
79
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เพิ่มสู ง ขึ้ นและมี คุ ณภาพที่ ดี ตลอดจนเป็ นประโยชน์ต่อ การดาเนิ นงานของกลุ่ม บริ ษ ทั ฯ ในด้า นการมี ปริ มาณวัตถุดิบที่เพียงพอและมีคุณภาพ 3.2.3 ลักษณะลูกค้ า ช่ องทางการจาหน่ าย ชาวไร่ อ้อยของบริษัท บุรีรัมย์ วจิ ัยและพัฒนาอ้อย จากัด (“BRD”) ปั จจุบนั KBF จาหน่ ายปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิ ดผง และปุ๋ ยเคมีชนิดเม็ด คิดเป็ นร้อยละ 100 ให้แก่ BRD เพื่อให้ BRD นาไปจาหน่ายต่อให้แก่ชาวไร่ ออ้ ย ในรู ปแบบการส่ งเสริ มด้านปั จจัยการผลิต หรื อการปล่อย สิ นเชื่อสนับสนุนการปลูกอ้อย (“เงินเกี๊ยว”) เพื่อให้ชาวไร่ ออ้ ยสามารถลดต้นทุนในการปลูกอ้อย ได้ผลผลิต ต่อไร่ สูงและมีคุณภาพดี รวมทั้งทาให้ชาวไร่ ออ้ ยสามารถนาผลผลิ ตส่ งโรงงาน เพื่อหักชาระเงินเกี๊ ยวที่ได้ จ่ายล่วงหน้าไว้แล้ว ซึ่ งส่ งผลดีท้ งั ต่อชาวไร่ ออ้ ยและบริ ษทั ผลิ ตภัณฑ์ของ KBF ร้อยละ 99 ได้จาหน่ ายให้กบั BRD เพื่อนาไปจาหน่ ายต่อให้แก่ชาวไร่ ออ้ ย ทั้งนี้ เพื่ออานวยความสะดวกและทาให้ชาวไร่ ออ้ ยได้รับปุ๋ ยอย่างทัว่ ถึง KBF จึงจัดตั้งศูนย์กระจายสิ นค้า ในเขตพื้นที่ส่งเสริ มการปลูกอ้อยของ BRD โดยแบ่งเป็ น 11 ศูนย์กระจายสิ นค้าตามพื้นที่ส่งเสริ มการปลูกอ้อย ในจังหวัดบุรีรัมย์ ดังนี้ เขตส่ งเสริม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ศูนย์ กระจายสิ นค้ า บ้านสาวเอ้ อาเภอคูเมือง บ้านหนองเครื อ อาเภอเมือง บ้านโนนเขวา และบ้านหนองจาน อาเภอสตึก บ้านละกอ อาเภอสตึก บ้านลาทะเมนชัย อาเภอลาปลายมาศ บ้านนาศรี นวล และบ้านลุงม่วง อาเภอลาปลายมาศ บ้านหนองไผ่ และบ้านสวายตางาน อาเภอสตึก บ้านเสม็ด และบ้านทุ่งวัง อาเภอสตึก บ้านชายแดน และบ้านกระเดื่อง อาเภอนางรอง บ้านปลัดปุ๊ ก และบ้านด่าน อาเภอบ้านด่าน บ้านจอมพระ อาเภอสตึก
ตลาดภายนอก KBF ได้ขยายตลาดสู่ ภายนอกโดยเริ่ มจากจังหวัดใกล้เคียงกับพื้นที่ต้ งั ของโรงงานเป็ นอับดับแรก โดยในปี ที่ผ่านมา KBF ได้เริ่ มดาเนิ นแผนการตลาดในการจาหน่ายปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิ ดผง ปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดเม็ด ปุ๋ ยอินทรี ยเ์ คมี ผ่านร้านค้าการเกษตรหลายแห่ งและผ่านช่องทางผูใ้ ช้โดยตรง เพื่อให้เกษตรกรทัว่ ไปได้ลองใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและราคาย่อมเยา อีกทั้งเป็ นการสร้ างตราสิ นค้าให้เป็ นที่รู้จกั ในหมู่เกษตรกรทัว่ ไป 70 80
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
โดยในปี 2561 พื้นที่จงั หวัดที่มีการส่ งเสริ มการขายมีท้ งั หมด 7 อาเภอ ได้แก่ อ.คูเมือง อ.แคนดง อ.บ้านใหม่ ไชยพจน์ อ.พุทไธสง อ.หนองหงส์ อ.ปะคา และอ.เมือง (จังหวัดสุ รินทร์ ) ซึ่ งแบ่งเป็ นเขตพื้นที่ 2 จังหวัด ได้แก่ บุ รีรัม ย์ และสุ รินทร์ รวมทั้ง มี ก ารออกบู ธ จาหน่ า ยสิ นค้า การประชุ ม นอกสถานที่ ก ับ หน่ วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และการลงพื้นที่เยี่ยมเกษตรกร ซึ่ งพืชหลักที่เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรี ยข์ อง KBF ได้แก่ยางพารา มันสาปะหลัง เมล่อน และพืชผักสวนครัว เช่น มะนาว ถัว่ และกล้วย เป็ นต้น 3.2.4 นโยบายราคา เนื่ องด้วยปุ๋ ยเคมีและปุ๋ ยอินทรี ย ์เป็ นหนึ่ งในปั จจัย ที่ BRD ให้การส่ งเสริ มแก่ ชาวไร่ ออ้ ย ดังนั้น การกาหนดราคาปุ๋ ยจึงแบ่งเป็ น 2 กรณี โดยปุ๋ ยเคมีสาเร็ จรู ปที่ซ้ื อมาเพื่อจาหน่ายจะกาหนดราคาตามปุ๋ ยเคมีที่ จาหน่ายในท้องตลาด ในขณะที่ราคาปุ๋ ยอินทรี ยท์ ี่ผลิตขึ้นเองจะกาหนดราคาโดยคิดเป็ นส่ วนเพิ่มจากต้นทุน การผลิต (Cost Plus Method) ทั้งนี้ เพื่อให้ชาวไร่ ออ้ ยได้ใช้ปุ๋ยคุณภาพดี ราคาถูก และเป็ นสู ต รที่ตรงตาม ความต้องการในการเจริ ญเติบโตของอ้อย 3.2.5 แผนส่ งเสริมการขาย ในปี 2561 KBF ได้มีการส่ งเสริ มกิจกรรมระหว่างบริ ษทั กับลูกค้าคือ BRD และร้านค้า โดยกาหนด แผนงานร่ วมกันและส่ งเสริ มการขายในพื้นที่มากขึ้น ทีมส่ งเสริ มการขายของ KBF จะทางานร่ วมกับลูกค้า ในแต่ละพื้นที่ เพื่อศึ กษาพื้นที่ เพาะปลูก วิเคราะห์ปัญหาและร่ วมกันแก้ไขปั ญหา รวมทั้งการปรับเปลี่ยน แผนงานให้สอดคล้องกับแต่ละพื้นที่ และการตรวจติดตามแปลงเพาะปลูกของลูกค้าอย่างเป็ นระยะ นอกจากนี้ KBF ยังมีแผนการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ผา่ นช่องทางต่าง ๆ อาทิ เว็บไซต์ของ KBF และของ BRR รวมทั้งช่ องทีวีทอ้ งถิ่ น วิทยุชุมชน และสิ่ งพิมพ์ (นิ ตยสารเทคโนโลยีชาวบ้าน) เป็ นต้น เพื่อสร้างการรับรู้และจดจาในตราสิ นค้า รวมถึงความน่าเชื่อถือของสิ นค้า ตลอดจนการตอกย้ าให้ชาวไร่ ออ้ ย มีความเชื่อมัน่ ในตัวสิ นค้ามากขึ้น 3.2.6 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน อุ ต สาหกรรมปุ๋ ยเคมี ถื อ เป็ นอุ ต สาหกรรมที่ มี ค วามส าคัญ ต่ อ ประเทศไทย ซึ่ งเป็ นประเทศ เกษตรกรรม เนื่ องจากมี บ ทบาทส าคัญ ต่ อการเพิ่ม ผลผลิ ต ในภาคเกษตรกรรมเป็ นอย่า งมาก ในขณะที่ ประเทศไทยกลับไม่สามารถผลิตปุ๋ ยเคมีได้เพียงพอกับความต้องการ เพราะต้นทุนการผลิตสู ง จึงต้องพึ่งพา การนาเข้าจากต่างประเทศ จากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดาเนิ นการให้องค์ความรู้แก่เกษตรกรในเรื่ องการใช้ปุ๋ยเคมี และปุ๋ ยอินทรี ยใ์ ห้เกิดความสมดุลถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพดิน และสนับสนุ นให้เกษตรกรผสมปุ๋ ยเคมี ใช้เอง และให้มีก ารผลิ ตปุ๋ ยอิ นทรี ย ์จากวัส ดุ เหลื อใช้ใ นไร่ นาให้ม ากขึ้ น รวมทั้งส่ ง เสริ ม ให้มี ก ารใช้ปุ๋ ย แบบผสมผสาน คือใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ ยอินทรี ยห์ รื อปุ๋ ยชีวภาพในอัตราที่เหมาะสมกับการผลิตพืชแต่ละชนิด ซึ่ งการใช้ปุ๋ยแบบผสมผสานจะช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้ส่วนหนึ่ง และยังเป็ นการช่วยเพิ่มอินทรี ยวัตถุในดิน 71 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
81
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ตามธรรมชาติ เพื่อเป็ นอีกหนึ่ งมาตรการในการช่วยลดต้นทุนการผลิ ตให้แก่ เกษตรกรได้ทางหนึ่ง เพราะปุ๋ ยเคมีเป็ นหนึ่งปัจจัยการผลิตที่สาคัญที่ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ตามที่เกษตรกรทั้งประเทศประสบปัญหาจากสภาวะภัยแล้งที่ยาวนาน และราคาพืชผลที่ตกต่า ทาให้ ภาครั ฐ หันมาส่ ง เสริ ม การเพาะปลู ก พืช อิ นทรี ย ์ เพื่ อจาหน่ า ยให้แก่ ก ลุ่ ม ลู ก ค้า ที่ มี ค วามต้องการบริ โภค เพื่ อ สุ ข ภาพ นอกจากนี้ ยัง สามารถจ าหน่ า ยผลผลิ ต ได้ใ นราคาที่ สู ง กว่า ผลผลิ ต พื ช ทั่ว ไป ซึ่ งส่ ง ผลดี ต่อการประกอบธุ รกิจในตลาดปุ๋ ยอินทรี ยข์ อง KBF โดยตรง ด้านราคาปุ๋ ย เนื่ องจากประเทศไทยยังไม่สามารถผลิตแม่ปุ๋ยเคมีได้เองภายในประเทศจึงจาเป็ นต้อง นาเข้าจากประเทศผูผ้ ลิตปุ๋ ยเคมี แต่อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการติดตามสถานการณ์ ราคาปุ๋ ย เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมต่อเกษตรกร 3.2.7 การจัดหาวัตถุดิบ KBF ใช้กากหม้อกรองซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากการผลิตน้ าตาลของ BSF เพื่อนามาเป็ นวัตถุดิบผสม ในการผลิตปุ๋ ยเพื่อจาหน่าย กากหม้อกรองที่ได้น้ นั จะคิดเป็ นประมาณร้อยละ 5 ของปริ มาณอ้อยเข้าหี บของ ปี การผลิตนั้น ๆ 3.2.8 แผนงานในอนาคต ปั จจุ บ นั แผนการผลิ ตและจัดจาหน่ า ยปุ๋ ยของ KBF เป็ นไปตามความต้องการของชาวไร่ อ้อย ที่ได้รับการส่ งเสริ มการปลูกอ้อยจาก BRD โดยใช้วตั ถุดิบซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิ ตน้ าตาล เพื่ อนามาผลิ ตปุ๋ ย เพื่อเป็ นการลดต้นทุ นการผลิ ต และสร้ างมูลค่ า เพิ่มให้แก่ ผลิ ตภัณฑ์ อย่า งไรก็ดี KBF มีเป้ าหมายในการพัฒนาองค์กรและยกระดับคุณภาพของผลิ ตภัณฑ์อย่างต่อเนื่ อง โดยได้วางแผนขยายตลาด เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการจาหน่ายเครื่ องจักรและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ทางการเกษตร อันเป็ นการสร้างรายได้ให้กบั บริ ษทั มากขึ้น ทั้งนี้ แผนการขยายตลาดมีประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1. การเพิ่มประสิ ทธิภาพของการผลิตและจัดจาหน่ ายปุ๋ ยให้ แก่ ตลาดภายใน โดยการผลิตสู ตรปุ๋ ย ทีม่ ีความหลากหลายให้ เหมาะสมกับสภาพดินในแต่ ละพืน้ ทีเ่ พาะปลูก เพื่ อ ตอบโจทย์ก ารเพาะปลู ก อ้อ ยที่ มี ส ภาพดิ น และปั จ จัย แวดล้ อ มในแต่ ล ะแปลงปลู ก ที่ แ ตกต่ า งกัน ให้เ จริ ญ เติ บ โตและมี คุ ณ ภาพที่ ดี KBF จึ งได้ร่ว มวิ จ ัย และพัฒนากับ BRD ในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการเพาะปลูกและคุ ณภาพของอ้อย โดยปั จจุบนั ได้ผลิ ตปุ๋ ยสั่งตัด รายแปลงตามสภาพพื้นที่ เพาะปลู กอ้อย เนื่ องจากพื้นที่เพาะปลู กอ้อยในแต่ละเขตมี สภาพดิ น ที่แตกต่ างกัน การใช้ปุ๋ยสู ตรเดี ย วกันอาจไม่สามารถทาให้อ้อยเจริ ญเติบ โตและมี คุณภาพดี ได้อย่างเต็มที่ ด้วยเหตุน้ ี KBF จึงมุ่งมัน่ ที่จะสนองนโยบายการส่ งเสริ มการเพาะปลูกอ้อยเชิงลึก โดยผลิตปุ๋ ยสู ตรใหม่และมีความหลากหลายตามความต้องการของชาวไร่ ออ้ ย
72 82
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2. การเพิ่มประสิ ทธิภาพการจาหน่ ายสู่ ตลาดภายนอก โดยการจัดจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร อย่างครบวงจร KBF ได้พฒั นาการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิดเม็ดให้มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลอย่างต่อเนื่ อง และจะ พัฒนาคุณภาพของปุ๋ ยให้ดียงิ่ ขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของเกษตรกรให้ได้มากที่สุด โดยในปี 2562 KBF จะเพิ่มผลิตภัณฑ์คือ ปุ๋ ยเคมี ซึ่งเป็ นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการของ ตลาดภายนอก คาดว่าจะออกจาหน่ายสู่ ตลาดภายนอกช่วงไตรมาสที่สองของปี 2562 นอกจากนี้ ยังได้วางแผนจัดจาหน่ ายผลิตภัณฑ์และเครื่ องจักรทางการเกษตรอย่างครบวงจร อาทิ ปุ๋ ยน้ า จุลินทรี ยน์ ้ า และเครื่ องจักรกลทางการเกษตร เป็ นต้น เพื่อเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร ซึ่ ง จะช่ วยอานวยความสะดวกและเพิ่มคุ ณภาพของผลผลิ ตให้แก่ เกษตรกร ในการเพาะปลูก รวมถึงเป็ นการเพิ่มช่องทางธุ รกิจในการจาหน่ ายสู่ ตลาดภายนอก อันจะเป็ น การสร้างรายได้ให้แก่บริ ษทั เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย โดย KBF ได้จดทะเบียนตราสิ นค้าเพื่อจาหน่ าย สู่ ตลาดภายนอกในนามตราสิ นค้า “ปลาบิน” กิจกรรมส่ งเสริมการขายของ KBF กิจกรรมออกบูทตามร้านค้า
กิจกรรมออกบูทงานประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2561 (โดยสมาคมชาวไร่ ออ้ ยบุรีรัมย์ และ BRR)
กิจกรรมเยี่ยมชมกิจการโดยบริษัท นา้ ตาลและอ้อยตะวันออก จากัด (มหาชน)
73 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
83
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กิจกรรมเยี่ยมชมกิจการโดยหัวหน้ ากลุ่มนักธุรกิจชาวไร่ อ้อย จังหวัดบุรีรัมย์ จานวนกว่ า 200 คน
กิจกรรมเยี่ยมชมกิจการโดยกลุ่มลูกค้ าต่ างประเทศ (ประเทศญีป่ ุ่ น และประเทศเวียดนาม)
กิจกรรมเยี่ยมลูกค้ าทีใ่ ช้ ผลิตภัณฑ์ ตราปลาบิน
กิจกรรมเสวนาเรื่องประโยชน์ ของปุ๋ ยอินทรีย์กบั กลุ่มส่ งเสริมอาชีพปุ๋ ยหมักอินททรีย์ ชุ มชนโนนเต่ าทอง จังหวัดบุรีรัมย์
84
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
74
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.3 ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ เพือ่ สิ่ งแวดล้อม ดาเนินการโดยบริ ษัท ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด (“SEW”) 3.3.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ บริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด หรื อ “SEW” จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2561 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน 75,000,000 บาท เรี ยกชาระแล้วเต็มจานวน โดยดาเนินธุ รกิจผลิตบรรจุภณ ั ฑ์เพื่อสิ่ งแวดล้อม ประเภทต่าง ๆ ทั้งบรรจุภณ ั ฑ์สาหรับบรรจุอาหารและเครื่ องดื่ม เครื่ องใช้และอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่ งจาหน่ายให้กบั ร้านค้าปลี ก สมัยใหม่ และร้านค้าส่ ง รวมถึงร้านอาหาร โรงแรม สายเดินเรื อ สายการบิน และอื่น ๆ ซึ่ งใช้ชานอ้อยเป็ น วัตถุดิบหลักในการผลิต และจากเยื่อพืชธรรมชาติชนิ ดอื่น โดยมีกาลังการผลิตอยูท่ ี่ประมาณ 300 ล้านชิ้นต่อปี ทั้งนี้ คาดว่าจะเริ่ มดาเนินธุ รกิจเชิงพาณิ ชย์ได้ภายในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2562 ปั จจุบนั โครงการได้ดาเนิ นการไปแล้วมากกว่าร้อยละ 60 ในการก่อสร้ างโรงงาน ซึ่ งส่ วนสาคัญที่ ทาให้บริ ษทั ได้เปรี ยบคู่แข่งขันคือการผลิตเยื่อเพื่อนาไปขึ้ นรู ปเป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทต่าง ๆ โดยบริ ษทั ได้รับองค์ความรู้ในการผลิตเยือ่ จากบุคลากรผูม้ ีความเชี่ยวชาญในการผลิตเยื่อกระดาษจากเยื่อพืชธรรมชาติ ทาให้มีตน้ ทุนในการผลิตต่ ากว่าโรงงานอื่นถึงร้อยละ 60 ทั้งนี้ เมื่อโรงงานสร้างเสร็ จ บริ ษทั มีแผนการขาย สิ นค้าไปยังต่างประเทศมากกว่าร้อยละ 75 คุณลักษณะเด่นของบรรจุภณั ฑ์จากชานอ้อยมีดงั นี้ -
มีแบบให้เลือกมากมาย สามารถขึ้นแบบได้ตามต้องการ เข้าเตาอบและไมโครเวฟได้ ย่อยสลายในธรรมชาติได้ 100% ใน 45 วัน เก็บรักษาได้นาน ไม่มีสารเคมีอนั ตรายในขั้นตอนการผลิต ใช้พลังงานน้อยในขั้นตอนการผลิต ไม่มีกาก น้ าเสี ย และของเสี ยจากการผลิต ทนในอุณหภูมิต้ งั แต่ -40 ºC ถึง 250 ºC ใส่ น้ าร้อนและน้ ามันได้ถึง 150 ºC ไม่เป็ นพิษต่อสิ่ งแวดล้อม ราคาถูก ไม่มีสารปนเปื้ อนก่อมะเร็ งในบรรจุภณั ฑ์ เสริ มสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กรที่ใช้บรรจุภณั ฑ์ชนิดนี้
75 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
85
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.3.2 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน ปัจจุบนั ความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ที่ยอ่ ยสลายทางชี วภาพ มีแนวโน้มสู งขึ้นอย่างต่อเนื่ อง เนื่ องจาก ปริ มาณขยะที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั เป็ นผลิตภัณฑ์ที่อยูใ่ นแนวโน้ม ความต้องการของโลกที่ตอ้ งการเปลี่ ยนแปลงการใช้ผลิ ตภัณฑ์เพื่อสิ่ งแวดล้อมมากขึ้น ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ เพื่อสิ่ งแวดล้อมจะเข้ามาแทนที่โฟมและพลาสติกในสัดส่ วนที่เพิ่มมากขึ้น กลยุทธ์ ทางการตลาด 1. ลักษณะลูกค้ า ช่ องทางการจาหน่ าย ระยะสั้ น บริ ษทั จะเจาะตลาดในกลุ่มร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ร้ านค้าส่ ง ตลอดจนร้ านค้าทัว่ ไป รวมถึงร้านอาหาร โรงแรม สายเดินเรื อ สายการบิน และอื่น ๆ ที่ทาธุ รกิจเกี่ ยวกับอาหาร ซึ่ งในตลาด กลุ่มนี้มีการจาหน่ายและใช้บรรจุภณั ฑ์ประเภทพลาสติกและโฟมเป็ นจานวนมาก ระยะยาว การเข้าสู่ ตลาดล่างเพื่อใช้ทดแทนบรรจุภณั ฑ์ที่ทาจากโฟมและพลาสติก ซึ่งเป็ นตลาด ที่มียอดการบริ โภคสู งที่สุด โดยมีปัจจัยพื้นฐานคือ ผูบ้ ริ โภคต้องมี ความรู้ และความเข้าใจในประโยชน์ ของผลิ ตภัณฑ์ที่ เป็ นมิ ตรต่ อสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งโทษของบรรจุภณั ฑ์ที่ทาจากโฟมและพลาสติก ราคาของผลิตภัณฑ์จะต้องสามารถแข่งขันกับบรรจุภณั ฑ์ที่ทาจากโฟมและพลาสติกได้ แบบของผลิตภัณฑ์ตอ้ งมีให้เลือกหลากหลายตามความต้องการของผูบ้ ริ โภค 2. นโยบายราคา แม้ว่า ราคาของบรรจุ ภ ัณ ฑ์ที่ ท าจากเยื่อ ธรรมชาติ น้ ัน จะมี ร าคาที่ ถู ก กว่า พลาสติ ก แต่ เ มื่ อ เปรี ยบเทียบกับโฟมก็ยงั มีราคาที่สูงกว่ามาก ซึ่ งทาให้ยงั ไม่สามารถเข้าถึ งตลาดล่างได้ อย่างไรก็ตาม การตั้งราคาในช่ วงแรกควรเป็ นราคาที่ ต่ ากว่าบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติ กและสู งกว่าบรรจุภณ ั ฑ์ที่ทาจากโฟม และต่ อมาการตั้ง ราคาจะถู ก ปรั บ ให้ต่ า ลงเพื่ อ ให้ส ามารถแข่ง ขัน กับ บรรจุ ภ ัณ ฑ์ที่ ท าจากโฟมที่ มี แนวโน้มราคาที่สูงขึ้น โดยส่ วนต่างกาไรต่อหน่วยที่ลดลงจะถูกทดแทนด้วยจานวนการบริ โภคที่สูงขึ้น ซึ่ งเมื่อผูบ้ ริ โภคหันมาใช้บรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อยเพื่อทดแทนบรรจุภณ ั ฑ์ที่ทาจากโฟม ราคาของโฟม และพลาสติกที่สูงขึ้นจะช่วยลดช่องว่างด้านราคาในอนาคต 3. แผนส่ งเสริมการขาย การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ที่จะสื่ อสารถึงผูใ้ ช้สินค้าโดยตรง โดยเน้นข้อความบนฉลาก ของบรรจุ ภ ัณ ฑ์ เ พื่ อ ให้ ผู ้บ ริ โ ภคสามารถเห็ น ได้อ ย่ า งชัด เจน ทั้ง ด้า นความปลอดภัย ต่ อ สุ ข ภาพ โดยปราศจากสารพิ ษ ปนเปื้ อน ความปลอดภัย ต่อสิ่ ง แวดล้อม และความสามารถในการย่อยสลาย ในธรรมชาติได้หมดภายใน 45 วัน 76 86
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4. การจัดหาวัตถุดิบ เนื่ องจากกลุ่ม บริ ษทั ฯ เป็ นผูผ้ ลิ ตน้ าตาล ท าให้มี ป ริ มาณชานอ้อยมากถึ ง 900,000 ตันต่อปี ซึ่ งบริ ษทั มีความต้องการใช้ชานอ้อยในการผลิตเยือ่ และนาไปขึ้นรู ปเพียง 18,000 ตันต่อปี ดังนั้น บริ ษทั จึงมีวตั ถุดิบเพียงพอต่อการผลิต 5. ด้ านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปั จจุบนั พฤติกรรมการบริ โภคของผูบ้ ริ โภคมีการปรับเปลี่ ยน โดยความต้องการใช้บรรจุภณ ั ฑ์ ประเภทใช้ค รั้ งเดี ย วเพิ่มขึ้ นอย่า งต่อเนื่ อง ดังนั้นการพัฒนาบรรจุ ภณ ั ฑ์ป ระเภทใช้ครั้ งเดี ย วจึ ง เป็ น แนวคิดที่สอดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริ โภคทั้งในปั จจุบนั และในอนาคต ซึ่ งความใส่ ใจทางด้าน สิ่ งแวดล้อมเป็ นปั จจัยที่ผบู้ ริ โภคคานึ งถึง โดยเฉพาะบรรจุภณ ั ฑ์อาหารประเภทใช้ครั้งเดียวที่เป็ นมิตรต่อ สิ่ งแวดล้อม ด้วยเหตุ น้ ี จึ งท าให้มี การคิดค้นบรรจุภณ ั ฑ์ที่ มี คุณสมบัติที่ส อดคล้องกับความต้องการ ข้างต้นทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งมีการคิดค้นวัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิต เพื่อให้เกิดบรรจุภณ ั ฑ์ ชนิดใหม่ ๆ ซึ่ งถือเป็ นนวัตกรรมของบรรจุภณั ฑ์ในอนาคต โดยคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ใหม่น้ ีสามารถ บรรจุอาหารได้เทียบเท่ากับโฟม พลาสติก และกระดาษ นอกจากนี้ ยังสามารถประยุกต์เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ ของสิ น ค้า อื่ น ๆ ที่ ไ ม่ใ ช่ อาหารได้อี ก ด้วย นอกจากนั้น บริ ษ ทั มีแ ผนที่จ ะจัดตั้ง หน่ ว ยงานวิจ ยั ขึ้ น เพื่อคิดค้นและวิจยั เกี่ยวกับบรรจุภณั ฑ์จากเยือ่ ชานอ้อย 3.3.3 ภาพรวมของอุตสาหกรรม ปั จจุ บนั ความต้องการใช้ บรรจุ ภณ ั ฑ์ประเภทใช้ครั้ งเดี ย วเพิ่ม ขึ้นอย่า งต่อเนื่ อง โดยมี การพัฒนา วัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิตในหลายรู ปแบบเพื่อตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้งานทั้งในปั จจุบนั และ อนาคต ส่ วนใหญ่ บ รรจุ ภ ัณ ฑ์ ป ระเภทดัง กล่ า วผลิ ต จากโฟมและพลาสติ ก แต่ เนื่ องจากผลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้อมซึ่ งเป็ นปั ญหาที่มีความรุ นแรงมากขึ้น โดยข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษระบุวา่ ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา ตั้งแต่ปี 2555-2559 พบว่าปริ มาณขยะประเภทโฟมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 56 ล้านใบต่อวันเป็ น 61 ล้านใบ ต่อวัน โดยในปี 2559 มีปริ มาณขยะประเภทโฟมเกิดขึ้นประมาณ 1.3 ล้านตันต่อปี เฉลี่ยวันละ 3,704 ตันต่อวัน รวมประมาณ 61 ล้านใบต่อวัน โดยคนไทยสร้างขยะประเภทโฟม 1 ใบต่อคนต่อวัน โฟมใช้เวลาย่อยสลายหลายร้อยปี เมื่อเทียบกับวัสดุอื่น ซึ่ งโฟมส่ วนใหญ่ที่ใช้ในปั จจุบนั จะใช้เป็ น ภาชนะบรรจุอาหาร โดยเมื่อผ่านการใช้งานแล้วจะนามารี ไซเคิล จะต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน ส่ งผลให้มีตน้ ทุนสู ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงพยายามแก้ปัญหาเรื่ องนี้ โดยสานักงานคณะกรรมการคุม้ ครอง ผูบ้ ริ โภคร่ วมกับฝ่ ายที่เกี่ยวข้องได้หารื อถึงมาตรการลดการใช้โฟม ทั้งนี้ คาดว่าภายในไม่กี่ปีข้างหน้าจะเริ่ ม มีการบังคับใช้ นอกจากนี้ ปั ญหาสารพิษปนเปื้ อนที่พบได้จากบรรจุภณั ฑ์ประเภทพลาสติกและโฟมที่ใช้เป็ น ภาชนะบรรจุอาหารยังส่ งผลต่อคุณภาพชีวติ ทั้งทางด้านสุ ขภาพและอนามัยของผูบ้ ริ โภคในระยะยาวอีกด้วย ที่มา: http://www.tnnthailand.com/v1/news_detail.php?id=132980&t=news_special
77 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
87
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
แนวโน้มของตลาดในประเทศ ปั จจุ บนั รั ฐบาลได้เห็ นความสาคัญต่อสิ่ งแวดล้อม จึ งมี นโยบาย สนับ สนุ น ผลิ ต ภัณ ฑ์ที่ เ ป็ นมิ ต รกับ สิ่ ง แวดล้อ มมากขึ้ น อย่า งไรก็ต าม ผู ป้ ระกอบการยัง คงต้อ งการ การสนับสนุ น และผลัก ดัน จากภาครั ฐ อย่า งต่อ เนื่ องในการกระตุ ้นให้เกิ ด การตื่ นตัว และปลู ก จิ ตส านึ ก ตลอดจนเสริ มสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั ผูบ้ ริ โภค ให้ตระหนักถึงความสาคัญของการใช้บรรจุภณ ั ฑ์ ย่อยสลายได้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวเป็ นที่ยอมรับ ส่ วนแนวโน้มของตลาดโลก หลายประเทศในทวีปยุโรปและเอเชี ยมีมาตรการลดการใช้พลาสติก และโฟม ซึ่ งมาตรการดังกล่าว ทาให้ผผู ้ ลิตผลิ ตภัณฑ์พลาสติกต้องรับภาระค่ากาจัดขยะเพิ่มมากขึ้น ด้วยเหตุน้ ี จึ ง ส่ ง ผลให้ ร าคาบรรจุ ภ ัณ ฑ์ พ ลาสติ ก เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ขณะเดี ย วกัน ความต้อ งการของผู้ใ ช้ บ รรจุ ภ ัณ ฑ์ เพื่อ สิ่ ง แวดล้อ มมี ม ากขึ้ น แต่มีผู ผ้ ลิ ต เพีย งน้อ ยรายที ่จ ะสามารถผลิ ต สิ น ค้า ดัง กล่ า วเพื่อ ตอบสนอง ความต้องการที่ เพิ่ มขึ้ นได้อย่า งเพีย งพอ จึ ง เห็ นได้ว่า ประเทศที่ พ ฒ ั นาแล้วส่ วนใหญ่ ใ ห้ค วามสนใจกับ สิ่ งแวดล้อม เพื่อยกระดับความเป็ นอยูข่ องประชากรในประเทศ บริ ษทั จึงมุ่งเน้นทาตลาดไปยังประเทศที่ให้ ความสาคัญกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่ออกกฎหมายห้ามไม่ให้ใช้บรรจุภณ ั ฑ์ที่ทา จากโฟม หรื อประเทศที่กาลังจะออกกฎหมายบังคับใช้ เช่น จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริ กา และทวีปยุโรป เป็ นต้น จากแนวโน้มที่กล่าวมาข้างต้นเป็ นแนวโน้มที่สอดคล้องกันทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นจึงมีการคิดค้น และพัฒนาทั้งวัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิต ก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว
78 88
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
3. ปัจจัยความเสี่ ยง ความเสี่ ยงอันเกี่ยวกับลักษณะการประกอบธุรกิจของกลุ่มธุรกิจ กลุ่มธุ รกิจของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มีดงั นี้ 1. ธุ รกิจผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยดิบ และน้ ำตำลทรำยขำวสี รำ ซึ่งดำเนินกำรโดยบริ ษทั โรงงำน น้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (“BSF”) 2. ธุ รกิจผลพลอยได้ของบริ ษทั ได้แก่ - ธุรกิจโรงไฟฟ้ ำชีวมวล ซึ่งดำเนินกำรโดยบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงำน จำกัด (“BEC”) บริ ษทั บุรีรัมย์ เพำเวอร์ จำกัด (“BPC”) และบริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์พลัส จำกัด (“BPP”) - ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยสำรอินทรี ยป์ รับปรุ งดิน ซึ่งดำเนินกำรโดยบริ ษทั ปุ๋ ยตรำกุญแจ จำกัด (“KBF”) 3. ธุรกิจสนับสนุน ซึ่งดำเนินกำรโดยบริ ษทั บุรีรัมย์วจิ ยั และพัฒนำอ้อย จำกัด (“BRD”) ความเสี่ ยงเกีย่ วกับการประกอบธุรกิจของบริษัท โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) 1.1
ความเสี่ ยงจากการจัดหาวัตถุดิบ
บริ ษทั เป็ นผูผ้ ลิ ตและจำหน่ ำยน้ ำตำลทรำยดิ บ และน้ ำตำลทรำยขำวสี รำ ซึ่ งใช้ออ้ ยเป็ นวัตถุ ดิบหลัก ในกำรผลิ ต แต่ เ นื่ อ งจำกบริ ษ ัท มิ ไ ด้มี ไ ร่ อ้อ ยเป็ นของตัว เองที่ เ พี ย งพอต่ อ กำรผลิ ต กำรจัด หำอ้อ ยเข้ำ หี บ ให้เพียงพอกับกำลังกำรผลิตจึงเป็ นปั จจัยสำคัญต่อธุ รกิจและผลประกอบกำรของบริ ษทั ปริ มำณอ้อยจะจัดหำ เข้ำหีบในแต่ละฤดูกำรหีบอ้อยจะขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยหลักดังนี้ ก. ปั จจัย เสี่ ย งเรื่ องปริ มำณพื้นที่ ในกำรเพำะปลู กอ้อยที่ เปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง อำจเกิ ดจำกเกษตรกร ชำวไร่ ออ้ ยเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิ ดอื่นที่ให้ผลตอบแทนสู งกว่ำ หรื ออำจเกิดจำกนโยบำยกำรส่ งเสริ มของภำครัฐ ผ่ำนนโยบำยส่ งเสริ มกำรจัดพื้นที่เพำะปลูกให้เหมำะสมหรื อโซนนิ่ ง อย่ำงไรก็ตำม จังหวัดบุรีรัมย์เป็ นจังหวัด ในกำรน ำร่ อ งกำรเปลี่ ย นพื้ น ที่ ป ลู ก ข้ำ วให้ เ ป็ นพื้ น ที่ ป ลู ก อ้อ ยตำมนโยบำยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นอกจำกนี้ บริ ษ ทั มี ก ำรส ำรวจและประเมิ นกำรเปลี่ ย นแปลงหำสำเหตุ และได้แก้ไ ขในจุ ดปั ญหำที่ เกิ ดขึ้ น ที่ผ่ำนมำในช่วงระหว่ำงปี 2555 ถึงปี 2561 ปริ มำณกำรปลูกอ้อยของบริ ษทั เพิ่มขึ้นโดยตลอด แต่จะมีบำงปี ที่ บริ ษทั ประสบภัยแล้ง ส่ งผลให้พ้นื ที่ปลูกอ้อยน้อยลง ดังแสดงในตำรำงต่อไปนี้
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
89
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ปี การผลิต
พืน้ ทีป่ ลูกอ้อย (ไร่ )
2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 2560/61
129,571.31 168,763.90 177,167.67 185,062.64 181,202.71 247,090.68
จานวนแปลง (แปลง) 21,876.00 28,460.00 30,934.00 32,876.00 30,872.00 40,003.00
ผลผลิต (ตัน/ไร่ ) 13.51 10.43 11.01 12.15 13.22 13.76
ข. ปั จจัยเสี่ ยงเรื่ องสภำพภูมิอำกำศ ปริ มำณฝน ระบบชลประทำน ควำมสมบูรณ์ของดิน พันธุ์ออ้ ย และโรคของอ้อยอื่น ๆ ต่ำงส่ งผลต่อปริ มำณอ้อยที่จะปลูกได้ต่อไร่ หำกปั จจัยต่ำง ๆ มีกำรเปลี่ยนแปลงอำจจะ ทำให้ปริ มำณอ้อยต่อไร่ ลดลงได้ จำกสภำพภูมิอำกำศและปริ มำณน้ ำฝน บริ ษทั ได้ให้กำรส่ งเสริ มกำรให้น้ ำอ้อย ในช่ วงที่แห้งแล้งผ่ำนระบบน้ ำหยดในไร่ ออ้ ย โดยร่ วมกับกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำย (กอน.) ให้เงิ นกู้ ดอกเบี้ยต่ำร้อยละ 2 ต่อปี และผ่อนชำระในระยะยำว เพื่อให้ชำวไร่ นำไปใช้ติดตั้งระบบน้ ำหยดในไร่ ออ้ ย ค. ปัจจัยควำมเสี่ ยงเรื่ องควำมอุดมสมบูรณ์ของดิน บริ ษทั มีนโยบำยให้ควำมสำคัญในกำรปรับปรุ ง บ ำรุ ง ดิ น ฟื้ นฟู ส ภำพควำมอุ ดมสมบู รณ์ ใ นพื้ น ที่ ป ลู ก อ้อย เช่ น กำรตัดอ้อ ยสด คื น อิ น ทรี ย วัต ถุ ก ลับ ลงดิ น กำรปรับค่ำควำมเป็ นกรด-ด่ำง (pH) เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภำพกำรใช้ปุ๋ย โดยบริ ษทั ผลิตปุ๋ ยอินทรี ยจ์ ำกผลพลอยได้ จำกกำรผลิตน้ ำตำลนัน่ คือกำกหม้อกรอง ง. ปั จ จั ย ควำมเสี่ ยงเรื่ องพัน ธุ์ อ้ อ ย บริ ษัท ได้ จ ัด หำพัน ธุ์ อ้ อ ยให้ เ หมำะสมกั บ พื้ น ที่ ป ลู ก มีแปลงทดสอบพันธุ์ ออ้ ยและคัดเลื อกพันธุ์อ้อยใหม่ ๆ เพื่อทดแทนพันธุ์ อ้อยที่เสื่ อมสภำพ มี กำรใช้ก ำรจัด สัดส่ วนพันธุ์ออ้ ยปลูก และใช้พนั ธุ์ออ้ ยที่ให้ผลตอบแทนชำวไร่ สูง และสำมำรถผลิตน้ ำตำลต่อตันอ้อยได้มำกขึ้น จ. ปั จจัยเสี่ ยงด้ำนกำรแย่งอ้อยในพื้นที่ หำกโรงงำนน้ ำตำลบริ เวณใกล้เคียงเสนอรำคำรับซื้ ออ้อย จำกชำวไร่ ที่รำคำสู งกว่ำที่ BSF เสนอให้ ชำวไร่ ออ้ ยอำจนำอ้อยไปขำยให้แก่โรงงำนนั้น ๆ แทน ทำให้ BSF มีจำนวนอ้อยเข้ำหี บลดลง BRD มีกำรบริ หำรจัดกำรเรื่ องกำรจัดหำอ้อย โดยกำรส่ งเสริ มแบบมีสัญญำระหว่ำง บริ ษัท และชำวไร่ ทั้ง ในรู ป เงิ น และปั จ จัย อื่ น ๆ อำทิ ปุ๋ ย สำรเคมี พัน ธุ์ อ้อ ย และเครื่ องจัก รเครื่ องมื อ ทำงกำรเกษตรในพื้นที่ส่งเสริ มซึ่ งมีรัศมีครอบคลุมระยะ 40 กิโลเมตรรอบโรงงำน เพื่อให้ชำวไร่ ยกกรรมสิ ทธิ์ อ้อย ให้ แก่ โ รงงำนล่ ว งหน้ำ ก่ อ นถึ ง ฤดู หีบ อ้อย มี ก ำรสร้ ำ งควำมสั ม พันธ์ ที่ ดีก ับ ชำวไร่ อ้อ ย โดยส่ ง นัก ส่ ง เสริ ม เกษตรกร ซึ่งประกอบด้วย 17 โซน กระจำยลงพื้นที่แบบรำยแปลง เพื่อแนะนำพันธุ์ออ้ ยให้มีควำมเหมำะสมกับ
90
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
พื้นที่ปลูก บริ หำรจัดกำรตรวจสอบสภำพดินและน้ ำ และช่วยดูแลในแต่ละช่วงเวลำตั้งแต่กำรปลูกจนกระทัง่ ถึง กำรเก็บเกี่ยวและขำยให้แก่ BSF ณ แปลงอ้อย ด้วยระบบออนไลน์และระบบดำวเทียมสำรวจพิกดั พื้นที่ปลูกอ้อย เพื่อให้แปลงปลูกอ้อยทุกแปลงได้รับกำรตรวจติดตำม และให้กำรสนับสนุ นตำมควำมเป็ นจริ ง ทำให้ชำวไร่ ได้ออ้ ยที่มีคุณภำพ มีผลผลิตเฉลี่ยต่อหน่วยพื้นที่ของชำวไร่ สูง มีรำยได้ที่มนั่ คง และเป็ นพันธมิตรที่ดีของบริ ษทั จำกกำรบริ หำรจัดกำรดังกล่ำวทำให้ที่ผำ่ นมำ BSF ไม่เคยมีปัญหำในกำรจัดหำอ้อยให้ได้เพียงพอในฤดูกำรหี บอ้อย นอกจำกนี้ บริ ษทั ยังมี กำรจัดตั้งแนวเขตกำรแบ่งพื้นที่ หรื อกำรสร้ ำงโซนนิ่ ง ระหว่ำงพื้นที่ ปลูกอ้อย และโรงงำนน้ ำตำลด้วยกัน ซึ่ งอยูใ่ นเขตจังหวัดบุรีรัมย์ สุ รินทร์ และนครรำชสี มำ เพื่อป้ องกันปั ญหำกำรแย่งอ้อย ระหว่ำงโรงงำนน้ ำตำล BRD มีแผนจัดกำรควำมเสี่ ยงเพิ่มเติ มเพื่อให้ได้ผลผลิ ตของชำวไร่ ออ้ ยเพิ่มขึ้น และมีประสิ ทธิ ภำพ ในกำรส่ งเสริ มให้กบั ชำวไร่ ออ้ ยในแต่ละแปลง โดยเน้นนโยบำยเกษตรแม่นยำ ซึ่ งประกอบไปด้วย 3 ส่ วน คือ ระบบสำรสนเทศ (Information Technology) เทคโนโลยี (Know-how) และกำรบริ หำรจัดกำร (Management) โดยตั้งอยูบ่ นแนวคิดที่วำ่ พืชที่นำมำปลูก และสภำพแวดล้อม เช่น ดิน น้ ำ แสง และอำกำศในไร่ โดยพื้นที่ในไร่ เดี ย วกัน มี ค วำมแตกต่ ำ งกัน ตำมสภำพแวดล้อ มโดยรอบ และในควำมแตกต่ ำ งกัน นี้ ท ำให้ ผ ลผลิ ต ที่ ไ ด้ มีควำมแตกต่ำงกันด้วย ดังนั้นกำรดูแลพื้นที่ในไร่ เดียวกันจึงมีควำมแตกต่ำงกัน ซึ่ งต้องทำให้เกิดประสิ ทธิ ผล ด้ำนผลผลิตให้ได้มำกที่สุด โดยในฤดูกำรผลิตปี 2562/2563 ทำง BRD มีนโยบำยกำรส่ งเสริ มระบบน้ ำในไร่ ออ้ ย แบบครบวงจร โดยใช้ระบบน้ ำเพื่อกำรบริ หำรจัดกำรน้ ำในไร่ ออ้ ยอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ เพิ่มผลผลิตอ้อยให้สูงขึ้น และสร้ำงควำมยัง่ ยืนในกำรผลิตอ้อย เป้ ำหมำยของ BRD ต้องกำรทำไร่ ออ้ ยทุกแปลงให้เป็ นเกษตรแม่นยำ เพื่อสร้ำงผลผลิตให้เพิ่มมำกขึ้น และประโยชน์ที่ จะได้รับ ตำมมำคื อ ต้น ทุ นลดลง ผลผลิ ตเพิ่ม ขึ้ น คุ ณภำพที่ ไ ด้เ ป็ นที่ ย อมรั บ ใช้ทรั พ ยำกร อย่ำงคุม้ ค่ำ และรักษำสภำพแวดล้อม 1.2
ความเสี่ ยงจากการผันผวนของราคานา้ ตาลในตลาดโลก
กำรซื้ อขำยน้ ำ ตำลในตลำดโลกนั้น น้ ำ ตำลจัดเป็ นสิ นค้ำ ทำงกำรเกษตรชนิ ดหนึ่ งที่ มี ค วำมผันผวน ด้ำนรำคำค่อนข้ำงสู งเมื่อเทียบกับสิ นค้ำเกษตรอื่น ๆ ซึ่ งกำรผันผวนของรำคำน้ ำตำลในตลำดโลกนั้นขึ้นอยู่กบั ปั จจัยด้ำนอุปสงค์และอุปทำนของประเทศผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค ปริ มำณนำเข้ำและส่ งออกในแต่ละประเทศ รวมถึ ง กำรเก็ งกำไรจำกนัก เก็ งก ำไรในตลำดสิ นค้ำโภคภัณฑ์ (Commodity Market) อี กทั้งยัง เกี่ ยวพันกับสภำพ ภูมิอำกำศที่เอื้ออำนวยต่อกำรเพำะปลูกของแต่ละประเทศที่มีนโยบำยในกำรส่ งเสริ ม กำรแทรกแซง กำรส่ งออก กำรนำเข้ำของกลุ่มอุตสำหกรรมน้ ำตำลของภำครัฐ โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ ประเทศที่พฒั นำแล้ว นอกจำกนี้ ปั จจุบนั รำคำน้ ำตำลยังมีส่วนหนึ่ งที่สัมพันธ์กบั รำคำน้ ำมันเชื้อเพลิงด้วย เนื่ องจำกน้ ำอ้อยรวมถึงกำกน้ ำตำลยังสำมำรถ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
91
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
นำไปผลิตเป็ นเอทำนอลเพื่อใช้ผสมกับน้ ำมันเป็ นเชื้ อเพลิงสำหรับรถยนต์ได้ ด้วยเหตุปัจจัยดังกล่ำวส่ งผลให้ รำคำซื้ อขำยน้ ำตำลในตลำดโลกมีควำมผันผวนไปตำมปัจจัยหลำยประกำรดังที่ได้กล่ำวมำ ภำยใต้พระรำชบัญญัติออ้ ยและน้ ำตำลทรำย พ.ศ. 2527 โรงงำนน้ ำตำลในประเทศไทยจะส่ งออกน้ ำตำล ไปจำหน่ ำยในต่ำงประเทศได้ จะต้องส่ งออกผ่ำนบริ ษทั ตัวแทนตำมที่ ได้ระบุไว้เท่ำนั้น และรำคำขำยในกำร ส่ งออกจะใช้รำคำน้ ำตำลในตลำดโลกเป็ นหลัก ซึ่ งรำคำน้ ำตำลในตลำดโลกจะเปลี่ยนแปลงไปตำมอุปสงค์และ อุปทำนของตลำดโลกโดยรวม รำยได้ของบริ ษทั จึงได้รับผลกระทบหำกรำคำน้ ำตำลในตลำดโลกเปลี่ยนแปลง โดยในปี 2561 รำคำน้ ำตำลทรำยดิบตลำดนิวยอร์ กมีควำมเคลื่อนไหวเฉลี่ยอยูท่ ี่ 12.24 เซนต์ต่อปอนด์ ราคาเฉลีย่ นา้ ตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์ กหมายเลข 11 ปี บัญชี ราคาเฉลีย่ (เซนต์ /ปอนด์)
2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 11.37
18.08
22.14
27.09
21.55
17.47
16.32
13.12
18.18
15.78
12.24
ราคาเฉลีย่ นา้ ตาลทรายขาวตลาดลอนดอนหมายเลข 5 ปี บัญชี
2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
ราคาเฉลีย่ (เหรียญสหรัฐ/ เมตริกตัน)
351.38 487.86 614.79 706.39 587.68 489.71 440.04 373.40 500.39 433.25 343.79
ที่มำ: Investing.com
อย่ำ งไรก็ ต ำม ต้น ทุ น หลัก ในกำรผลิ ต น้ ำตำลคื อ รำคำอ้อ ย ซึ่ งจะผัน แปรตำมรำยได้ข องบริ ษ ัท (จำกระบบกำรแบ่งปั นผลประโยชน์ที่ รัฐบำลก ำหนด โดยผ่ำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำ ตำลทรำย 70:30) ดังนั้น หำกรำคำน้ ำตำลในตลำดโลกลดลง ต้นทุนค่ำอ้อยที่จ่ำยให้ชำวไร่ ออ้ ยก็จะลดลงด้วยในสัดส่ วนร้อยละ 70 ตำมกำรแบ่งปั นผลประโยชน์ ดังนั้นจะช่วยลดผลกระทบจำกรำคำน้ ำตำลได้ระดับหนึ่ง อย่ำงไรก็ดี จำกเดิ มที่ผลประกอบกำรของบริ ษทั ขึ้นอยู่กบั ธุ รกิ จน้ ำตำลและกำกน้ ำตำลเพียงอย่ำงเดียว ทำให้ควำมผันผวนของรำคำน้ ำตำลตลำดโลกส่ งผลต่อผลประกอบกำรของบริ ษทั ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ จึงได้ลงทุนในโครงกำรต่อเนื่ องจำกน้ ำตำลและกำกน้ ำตำล ได้แก่ โรงงำนไฟฟ้ ำจำกกำกอ้อย และโรงงำนผลิ ต และจำหน่ ำยสำรอินทรี ยป์ รับปรุ งดิน ซึ่ งทำให้ช่วยลดผลกระทบที่มีต่อรำยได้ หรื อผลประกอบกำรของบริ ษทั ที่อำ้ งอิงกับรำคำน้ ำตำลในตลำดโลกน้อยลง
92
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
1.3
ความเสี่ ยงจากการเกิดหนีเ้ สี ยจากการให้ เงินสนับสนุนชาวไร่ อ้อย (เงินเกี๊ยว)
BRD/BSF ได้ให้กำรสนับสนุนชำวไร่ ออ้ ย โดยกำรปล่อยเงินเกี๊ยวอ้อยเป็ นรำยแปลงและปล่อยเงินเกี๊ยว ตำมกิ จกรรมกำรเจริ ญเติ บ โตแต่ ล ะช่ วงอำยุข องอ้อย ณ แปลงอ้อย ด้วยระบบฐำนข้อมูล และใช้ระบบพิก ัด ดำวเทียมในกำรสำรวจพิกดั พื้นที่ปลูกอ้อย (GPS: Global Position System) เพื่อให้พ้ืนที่แปลงปลูกอ้อยทุกแปลง ได้รับกำรตรวจและติดตำม เพื่อให้กำรสนับสนุนสอดคล้องกับควำมเป็ นจริ ง กำรปล่อยเงินสนับสนุนให้ชำวไร่ ออ้ ยจะเป็ นในรู ปแบบโอนเงินเข้ำบัญชี ของชำวไร่ ออ้ ย เพื่อให้ชำวไร่ ออ้ ย นำไปลงทุนเรื่ องพันธุ์ออ้ ย ที่ดิน ระบบชลประทำน และปุ๋ ย เป็ นต้น โดยกำรปล่อยเงินเกี๊ยวจะเป็ นเสมือนกำรจองอ้อย ของชำวไร่ ที่ ไ ด้รั บ กำรสนับ สนุ น เงิ น เกี๊ ย ว โดยชำวไร่ อ้อ ยที่ ไ ด้รั บ เงิ น เกี๊ ย วจะน ำอ้อ ยมำขำยให้ โ รงงำน ภำยหลังจำกที่ออ้ ยโตขึ้นพร้อมตัด ซึ่ งจะเป็ นช่วงเดียวกับที่โรงงำนน้ ำตำลเริ่ มเปิ ดหี บอ้อย เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ย จะตัดอ้อยและส่ งอ้อยให้กบั โรงงำน และโรงงำนจะจ่ำยค่ำอ้อยให้ชำวไร่ ออ้ ยและหักเงินเกี๊ยวที่ได้จ่ำยล่วงหน้ำไว้ จำกกำรให้กำรสนับสนุ นเงิ นเกี๊ยวดังกล่ำว หำกชำวไร่ ออ้ ยไม่สำมำรถนำอ้อยมำเข้ำหี บได้ตำมที่ตกลงไว้ ซึ่ งอำจมีสำเหตุจำกหลำยประกำร อำทิ กำรเกิ ดภัยแล้ง อุทกภัย หรื อโรคระบำด เป็ นต้น ทำให้บริ ษทั มีควำมเสี่ ยง ในเรื่ องชำวไร่ ออ้ ยไม่สำมำรถจ่ำยช ำระหนี้ คืนได้ตำมที่ก ำหนด ส่ งผลให้บริ ษทั ต้องตั้งสำรองหนี้ สงสัยจะสู ญ เพิ่มขึ้น ทั้งยังส่ งผลกระทบโดยตรงต่อผลประกอบกำรของ BSF โดยในระหว่ำงปี 2557 ถึงปี 2561 บริ ษทั ได้มี กำรตั้งค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญดังนี้ (หน่วย:ล้ำนบำท)
รายการ ตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสู ญ ลูกหนี้ชำวไร่ (เกี๊ยว) ร้อยละของหนี้สงสัยจะสู ญ
2557 1.05 880.52 0.12
2558 3.44 782.61 0.44
2559 0.74 1,069.92 0.07
2560 10.28 957.07 1.07
2561 4.56 682.56 0.67
ทั้งนี้ ร้อยละของหนี้ สงสัยจะสู ญในระหว่ำงปี 2557 ถึงปี 2561 โดยเฉลี่ยคิดเป็ นประมำณร้อยละ 0.47 ของลูกหนี้ชำวไร่ ออ้ ย ณ วันสิ้ นงวด บริ ษทั ได้ให้ควำมสำคัญและบริ หำรควำมเสี่ ยงดังกล่ำว โดยในกำรพิจำรณำ กำรให้สินเชื่อแก่ชำวไร่ ออ้ ย จะมีกำรกำหนดคุณสมบัติและแบ่งเกรดของชำวไร่ มีระบบกำรพิจำรณำกำรให้เงิน สิ นเชื่ อ โดยจ่ำยเงิ นเกี๊ ยวตำมงวดงำนของชำวไร่ ที่ปฏิ บตั ิ ได้ในแต่ละงวดงำน รวมถึ งกำหนดหลักทรั พย์และ บุคคลค้ ำประกัน นอกจำกนี้ บริ ษทั ยังติดตำมดูแลชำวไร่ ออ้ ยอย่ำงทัว่ ถึงโดยนักส่ งเสริ มกำรเกษตร และระบบ ดำวเทียมในกำรสำรวจพิกดั พื้นที่ปลูกอ้อย ซึ่ งจะสำมำรถติดตำมข้อมูลพื้นที่ปลูกอ้อยรำยแปลงได้อย่ำงแม่นยำ ทรำบควำมคืบหน้ำของงวดงำน ทรำบถึงข้อมูลว่ำอ้อยแปลงใดเกิดปั ญหำอย่ำงไร ทำให้สำมำรถแก้ไขปั ญหำได้ อย่ำงทันท่วงที
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
93
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
1.4
ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น
เนื่ อ งจำกบริ ษ ัท รั บ รู ้ ร ำยได้จ ำกกำรส่ ง ออกน้ ำ ตำลเป็ นเงิ น สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก ำเป็ นสั ด ส่ ว น ประมำณร้อยละ 70 ของรำยได้จำกกำรจำหน่ำยน้ ำตำลทั้งหมด ดังนั้น รำยได้ของบริ ษทั จะผันผวนตำมอัตรำ แลกเปลี่ยนบำทต่อเหรี ยญสหรัฐอเมริ กำ อย่ำงไรก็ดี บริ ษทั มี มำตรกำรในกำรป้ องกันควำมเสี่ ยงโดยเข้ำทำสัญญำซื้ อขำยเงิ นตรำต่ำงประเทศ ล่วงหน้ำ (Forward Contract) ทั้งหมด โดยอัตรำแลกเปลี่ยนที่ทำสัญญำจะพยำยำมให้มำกกว่ำอัตรำแลกเปลี่ยนที่ บริ ษทั อ้อยและน้ ำตำลไทย จำกัด (อนท.) ใช้ในกำรคำนวณรำคำจำหน่ำยโควตำ ข. แต่ท้ งั นี้ข้ ึนอยูก่ บั ดุลพินิจของ ผูบ้ ริ หำรในกำรพิจำรณำถึงแนวโน้มอัตรำแลกเปลี่ยนในช่วงเวลำนั้นด้วย นอกจำกนี้ บริ ษ ทั มี ก ำรติ ดตำมควำมเคลื่ อนไหวของอัตรำแลกเปลี่ ย นอย่ำ งใกล้ชิ ดเพื่ อให้ส ำมำรถ ดำเนินกำรได้ทนั ต่อสถำนกำรณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป อย่ำงไรก็ตำม กำรป้ องกันควำมเสี่ ยงดังกล่ำว อำจไม่สำมำรถ ป้ องกันควำมเสี่ ยงได้ หำกค่ำเงินบำทมีแนวโน้มที่จะแข็งค่ำขึ้นติดต่อกันเป็ นระยะเวลำนำน 1.5
ความเสี่ ยงจากการควบคุมจากภาครัฐ
1.5.1 ความเสี่ ยงจากนโยบายภาครัฐ อุ ตสำหกรรมอ้อ ยและน้ ำ ตำลในประเทศไทยต้องเผชิ ญกับ กำรเปลี่ ย นแปลงครั้ งใหญ่ ที่ ค่ อนข้ำ งมี ผลกระทบอย่ำงมำก โดยเมื่อวันที่ 15 มกรำคม 2561 คณะรัฐมนตรี มีมติรับทรำบคำสั่งหัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบ แห่งชำติ ที่ 1/2561 เรื่ องกำรแก้ไขกฎหมำยเพื่อรองรับกำรปรับปรุ งโครงสร้ำงอุตสำหกรรมอ้อยและน้ ำตำลทรำย ทั้งระบบ เพื่อยกเลิกกำรกำหนดรำคำจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยที่ใช้บริ โภคภำยในรำชอำณำจักร และให้เป็ นไปตำม กลไกของรำคำน้ ำตำลทรำยในตลำดโลก โดยให้นำส่ วนต่ำงที่เกิดขึ้นจำกกำรสำรวจรำคำเฉลี่ยของน้ ำตำลทรำย ภำยในรำชอำณำจักรที่ขำยได้จริ งในหนึ่งเดือนกับรำคำเฉลี่ยของรำคำน้ ำตำลทรำยขำวตลำดลอนดอนหมำยเลข 5 บวกพรี เมียมน้ ำตำลทรำยไทยที่เกิดขึ้นในหนึ่ งเดือน โดยส่ งเข้ำกองทุนเพื่อใช้ในกำรรักษำเสถียรภำพของระบบ อุตสำหกรรมอ้อยและน้ ำตำลทรำย และออกระเบียบคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำยว่ำด้วยกำรจัดเก็บเงิน จำกกำรจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยภำยในรำชอำณำจักรเข้ำกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำย พ.ศ.2561 นอกจำกนี้ มีกำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงอุตสำหกรรมอ้อยและน้ ำตำลรู ปแบบใหม่คือ กำรยกเลิกระบบ โควตำน้ ำตำลทั้ง 3 ส่ วน ได้แก่ บริ โภคในประเทศ (โควตำ ก) ส่ งออกเพื่อทำรำคำขำย (โควตำ ข) และส่ งออก โดยโรงงำน (โควตำ ค) ทั้งนี้ ระบบกำรจัดกำรรู ปแบบใหม่จะมีกำรกำหนดให้โรงงำนจัดสรรน้ ำตำลในประเทศ ให้เพียงพอ ขณะที่กำรส่ งออกจะมี ตวั แทนหน่ วยงำนที่เกี่ยวข้องร่ วมหำรื อเพื่อให้ทุกฝ่ ำยพอใจกับหลักเกณฑ์ ในกำรส่ งออก
94
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
อย่ ำ งไรก็ ต ำม กำรลอยตัว รำคำน้ ำตำลจะไม่ มี ปั ญ หำเรื่ องโควตำน้ ำตำลทรำย โดยส ำนั ก งำน คณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย (สอน.) จะกำหนดให้โรงงำนน้ ำตำลสำรองน้ ำตำลทรำย 1 เดือน ป้ องกัน กำรขำดแคลน และให้มีกำรนำเข้ำน้ ำตำลทรำยภำยใต้กรอบกำรค้ำเสรี อำเซี ยนที่อตั รำภำษี 0% เพื่อป้ องกัน กำรผูกขำด เพิ่มประสิ ทธิ ภำพกำรผลิตและกำรบริ หำรกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำยที่จะถูกกำหนดให้นำเงินเก็บ จำกส่ วนต่ำงของรำคำหน้ำโรงงำนกับรำคำเฉลี่ยที่ขำยได้จริ งนำเข้ำกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำย เพื่อเก็บสะสม ไว้ดูแลเสถี ยรภำพรำคำอ้อยให้กบั ชำวไร่ เพื่อควำมเข้มแข็ง ทั้งนี้ โดยหลักกำรแล้วกรมกำรค้ำภำยในจะกำหนดให้ น้ ำตำลทรำยอยู่ในบัญชี สินค้ำควบคุมต่อไป เพรำะน้ ำตำลทรำยเป็ นสิ นค้ำที่จำเป็ นต่อกำรครองชี พ อีกทั้งเป็ น สิ นค้ำโภคภัณฑ์ที่ รำคำผันผวนตำมตลำดโลก เพื่อให้ง่ ำยต่อกำรบริ หำรจัดกำรโดยไม่ให้เกิ ดผลกระทบเป็ น วงกว้ำงต่อผูบ้ ริ โภค 1.5.2 ความเสี่ ยงจากการผันผวนของรายได้ จากการขายนา้ ตาล เนื่องจำกฤดูกำรหีบอ้อยจะอยูใ่ นช่วงเดือนพฤศจิกำยนจนถึงเดือนเมษำยน ดังนั้น บริ ษทั จะเริ่ มทยอยขำย น้ ำตำลตั้งแต่เดือนธันวำคมและมกรำคมเป็ นต้นไป และจะทยอยขำยไปเรื่ อย ๆ จนสิ้ นฤดูกำรผลิต อย่ำงไรก็ตำม กำรจำหน่ำยน้ ำตำลโควตำ ก. ที่ขำยในประเทศไทย บริ ษทั จะทยอยขำยน้ ำตำลภำยใน 52 สัปดำห์ ส่ วนโควตำ ค. ที่บริ ษทั มีกำรจำหน่ำยไปต่ำงประเทศเองนั้น บริ ษทั จะพิจำรณำช่วงกำรจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยตำมระดับน้ ำตำลที่มีอยู่ ปริ มำณผลผลิ ต รำคำน้ ำตำลในตลำดโลก รวมถึ ง รำคำขำยที่ท ำงบริ ษ ทั อ้อยและน้ ำ ตำลไทย จำกัด (อนท.) ขำยน้ ำตำลไปยังตลำดโลกผ่ำนโควตำ ข. เพื่อเป็ นมำตรฐำนในกำรพิจำรณำรำคำขำยโควตำ ค. อย่ำงไรก็ดี ในแต่ละปี ช่วงปริ มำณกำรขำยน้ ำตำลไม่เท่ำกัน ดังนั้น รำยได้จำกกำรขำยน้ ำตำลของบริ ษทั แต่ละไตรมำสอำจจะเพิ่มหรื อลดลงขึ้นอยู่กบั ปั จจัยดังกล่ำว และปริ มำณกำรขำยในแต่ละไตรมำส รวมถึ งยัง เกี่ ยวข้องกับกำรเปลี่ ยนแปลงโครงสร้ ำงอุตสำหกรรมอ้อยและน้ ำตำลทรำยที่มีกำรยกเลิกระบบโควตำน้ ำตำล และยกเลิกกำรกำหนดรำคำจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยที่ใช้บริ โภคภำยในรำชอำณำจักรให้เป็ นไปตำมกลไกของรำคำ น้ ำ ตำลทรำยในตลำดโลก ทั้งนี้ บริ ษทั มี มำตรกำรจัดกำรควำมเสี่ ยงด้ำนกำรขำยภำยในประเทศเพื่อรองรั บ กำรปรั บ เปลี่ ย นกฎระเบี ย บ และมี ก ำรติ ด ตำมประกำศ/ กฎระเบี ย บจำกหน่ ว ยงำนภำครั ฐ ที่ ท ยอยออกมำ อย่ำงใกล้ชิด โดยในปี 2562 บริ ษทั มุ่งเน้นกำรตลำดผ่ำน 3 ช่องทำงหลัก ได้แก่ ช่องทำงยี่ปั๊ว ช่องทำง Modern Trade และช่องทำง Food Service ซึ่ งเป็ นช่องทำงใหม่ของบริ ษทั อย่ำงไรก็ตำม บริ ษทั มีสัดส่ วนกำรขำยน้ ำตำล ในประเทศคิดเป็ นร้อยละ 30 1.6
ความเสี่ ยงจากราคาต้ นทุนวัตถุดิบ
รำคำอ้อยได้มีกำรกำหนดในแบบระบบจัดสรรผลประโยชน์ในกำรแบ่งปั นรำยได้จำกกำรค้ำน้ ำตำล 70:30 โดยชำวไร่ ออ้ ยจะได้ผลประโยชน์จำกกำรขำยน้ ำตำลร้อยละ 70 ซึ่ งรำคำน้ ำตำลที่นำมำคำนวณรำคำอ้อย ที่จะต้องจ่ำยชำวไร่ ออ้ ยนั้น คำนวณมำจำกรำคำขำยเฉลี่ยของบริ ษทั อ้อยและน้ ำตำลไทย จำกัด (อนท.) ดังนั้น
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
95
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ถ้ำหำกบริ ษทั อ้อยและน้ ำตำลไทย จำกัด (อนท.) ขำยน้ ำตำลได้ในรำคำสู ง รำคำวัตถุ ดิบก็ จะสู งตำมไปด้วย แต่ในทำงกลับกันหำก อนท. ขำยน้ ำตำลได้ในรำคำต่ำ รำคำวัตถุ ดิบก็จะลดลงตำม ซึ่ งควำมผันผวนของรำคำ วัตถุดิบจะส่ งผลต่ออัตรำกำไรของบริ ษทั ดังนั้น เพื่อลดควำมเสี่ ยง บริ ษทั ต้องขำยน้ ำตำลให้ได้รำคำสู งกว่ำรำคำขำยเฉลี่ยของ อนท. เพื่อให้บริ ษทั ไม่ได้รับผลขำดทุนจำกรำคำวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้น โดยบริ ษทั มีกำรบริ หำรควำมเสี่ ยงในเรื่ องรำคำขำยน้ ำตำล ซึ่ งมี ทีมงำนติดตำมกำรขำยของ อนท. อย่ำงใกล้ชิด เพื่อให้บริ ษทั สำมำรถบริ หำรจัดกำรกำรขำยน้ ำตำลให้ได้รำคำที่ เหมำะสมเมื่อเปรี ยบเทียบกับรำคำเฉลี่ยของ อนท. ความเสี่ ยงเกีย่ วกับการประกอบธุรกิจผลพลอยได้ ของบริษัท ธุรกิจโรงไฟฟ้าชี วมวล ดาเนินการโดยบริ ษัท บุรีรัมย์ พลังงาน จากัด (BEC), บริ ษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด (BPC) และบริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ พลัส จากัด (BPP) 1.1
ความเสี่ ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบทีใ่ ช้ เป็ นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ปัจจุบนั บริ ษทั โรงงำนน้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด หรื อ BSF เป็ นผูจ้ ดั หำวัตถุดิบกำกอ้อย ซึ่ งเป็ นผลพลอยได้ จำกกระบวนกำรผลิตน้ ำตำล ให้แก่ BEC, BPC และ BPP เพื่อใช้เป็ นเชื้ อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำ ดังนั้น ในกรณี ที่ ฤ ดู ก ำรผลิ ต มี ป ริ ม ำณอ้อ ยในระดับ ต่ ำ จะส่ ง ผลต่ อ ปริ ม ำณกำกอ้อ ยที่ น ำส่ ง โรงไฟฟ้ ำ ท ำให้เ กิ ด ควำมเสี่ ย งในกำรขำดเชื้ อเพลิ ง ในกำรผลิ ต และอำจส่ ง ผลให้ก ระบวนกำรผลิ ตกระแสไฟฟ้ ำหยุด ชะงัก ได้ โดยในปี กำรผลิต 2560/2561บริ ษทั มีกำกอ้อยหลังกำรหี บสกัดประมำณ 903,607.57 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 28.64 ของปริ มำณอ้อยที่เข้ำหี บ ซึ่ งโรงงำนน้ ำตำลใช้เป็ นเชื้ อเพลิ งส ำหรับกำรผลิ ตควำมร้ อนในกระบวนกำรผลิ ต น้ ำตำลของบริ ษทั เท่ำกับ 303,349.04 ตัน และในส่ วนของโรงไฟฟ้ ำแต่ละโรงมีควำมต้องกำรเชื้อเพลิงประมำณ 600 ถึง 1,000 ตันต่อวัน ทั้งนี้ บริ ษทั มีเครื่ องจักรที่สำมำรถใช้วตั ถุดิบเชื้อเพลิงชนิดอื่นทดแทนได้ เช่ น ไม้สับ ใบอ้อย และแกลบ โดยในปี กำรผลิ ตที่ ผ่ำ นมำ กลุ่ มบริ ษ ทั น้ ำ ตำลบุรีรัมย์ไ ด้เพิ่ มโครงกำรรับ ซื้ อใบอ้อยจำก เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยมำกกว่ำ 20,000 ครอบครัว เพื่อนำใบอ้อยมำใช้เป็ นเชื้อเพลิง เนื่ องจำกใบอ้อยมีค่ำควำมชื้น ต่ำกว่ำกำกอ้อย จึงทำให้นำมำเป็ นเชื้ อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำได้เป็ นอย่ำงดี ทำให้สำมำรถควบคุมควำมเสี่ ยง ในกำรขำดแคลนวัตถุ ดิบ ในกำรผลิ ต กระแสไฟฟ้ ำได้ แต่หำกบริ ษ ทั ต้องซื้ อเชื้ อเพลิ ง ชนิ ดอื่ นมำใช้ท ดแทน อำจจะทำให้ตน้ ทุนกำรผลิตไฟฟ้ ำของบริ ษทั สู งขึ้น ซึ่งจะส่ งผลต่อกำไรสุ ทธิของบริ ษทั ได้ 1.2
ความเสี่ ยงจากผลกระทบด้ านสิ่ งแวดล้อม
กำรประกอบธุ รกิ จผลิตกระแสไฟฟ้ ำอยู่ภำยใต้กฎหมำยและกฎระเบียบด้ำนสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งครอบคลุม ถึงเรื่ องกำรควบคุมมลพิษทั้งทำงดิน น้ ำ และอำกำศ ตลอดระยะเวลำกำรดำเนิ นธุ รกิจที่ผ่ำนมำ บริ ษทั ได้ดำเนิ น มำตรกำรป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมต่ำง ๆ อำทิ ระบบกำรระบำยสสำรออกจำกโรงงำน ระบบควบคุม
96
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
มลสำร ระบบกำรจัดกำรน้ ำทิ้ง ระบบกำจัดกำกและของเสี ย ประกอบกับมีพ้ืนที่สีเขียวในโครงกำรโรงไฟฟ้ ำ ในพื้นที่ 25 ไร่ ตลอดจนมีกำรติดตำมและตรวจสอบกำรดำเนิ นงำนด้ำนผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมอย่ำงใกล้ชิด เพื่ อ ให้ก ระบวนกำรผลิ ต กระแสไฟฟ้ ำเป็ นไปตำมกฎหมำยและกฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้อ ง และลดมลภำวะ ด้ำนสิ่ งแวดล้อม รวมถึงมีกำรใช้ไอน้ ำดักจับฝุ่ นกลำยเป็ นดิน โดยใช้ระบบกำจัดฝุ่ นแบบม่ำนน้ ำ (Wet Scrubber) และมี กำรนำไอเสี ยจำกปล่ องไปใช้ประโยชน์ในกระบวนกำรพัฒนำผลิ ตภัณฑ์น้ ำตำล ทำให้ช่วยลดปริ มำณ ไอเสี ยที่เกิดขึ้น ที่ผำ่ นมำในเดือนกรกฎำคม พ.ศ. 2555 ทำง BEC ได้รับรำงวัลปฏิบตั ิกำรสี เขียว (Green Activity) ระดับ ที่ 2 จำกนั้นในเดือนเดี ยวกันของปี พ.ศ. 2559 ได้เลื่อนขั้นรำงวัลปฏิบตั ิกำรสี เขียว (Green Activity) เป็ นระดับ ที่ 3 ซึ่ งเป็ นกำรเพิ่มระดับกำรรักษำสิ่ งแวดล้อม และในเดือนมีนำคม พ.ศ. 2559 ยังได้รับผลกำรรับรองระบบ กำรจัดกำรด้ำนสิ่ งแวดล้อม ISO 14001:2004 อีกด้วย ในเดือนเมษำยน พ.ศ. 2559 BPC ได้รับรำงวัลควำมมุ่งมัน่ สี เขียว (Green Commitment) เป็ นระดับที่ 2 จำกระดับที่ 1 ในปี พ.ศ. 2558 ในโครงกำรโรงไฟฟ้ ำสี เขียว (Green Industry Certificate) จำกสำนักงำน อุตสำหกรรมจังหวัดและนิ คมอุตสำหกรรมจังหวัด นัน่ หมำยถึงกำรให้ควำมสำคัญต่อกำรบริ หำรจัดกำรด้ำน สิ่ งแวดล้อมอย่ำงเป็ นระบบมีกำรติดตำมประเมินผลและทบทวนเพื่อพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ปี 2560 ได้รั บ อี ก 2 รำงวัล คื อ รำงวัล ด้ำ นพลัง งำนทดแทนโครงกำรพลัง งำนควำมร้ อ นร่ ว ม (Cogeneration) ในงำน Thailand Energy Awards 2017 จำกรัฐมนตรี วำ่ กำรกระทรวงพลังงำน และรำงวัล The Winner Cogeneration Category ในงำน ASEAN Energy Awards จำกกำรประชุม ASEAN Ministers on Energy Meeting ครั้งที่ 35 ณ เมืองปำไซ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ นอกจำกนี้ ทำงบริ ษทั ยังคงมีกำรพัฒนำและให้ควำมสำคัญด้ำนสิ่ งแวดล้อมอย่ำงต่อเนื่อง โดยในปี 2561 บริ ษทั ได้รับรำงวัลดีเด่น ด้ำนพลังงำนทดแทน ประเภทโครงกำรผลิตไฟฟ้ ำและควำมร้อนร่ วม (Cogeneration) ในงำน Thailand Energy Awards 2018 จำกรองนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี วำ่ กำรกระทรวงยุติธรรม และรำงวัล ASEAN Energy Award 2018 ประเภทโรงไฟฟ้ ำพลังงำนควำมร้อนร่ วม (Cogeneration) จำกเลขำธิ กำรอำเซี ยน ในกำรประชุม ASEAN Ministers on Energy Meeting ครั้งที่ 36 ณ ประเทศสิ งคโปร์ ธุรกิจผลิตและจาหน่ ายปุ๋ ยอินทรีย์ ดาเนินการโดยบริษัท ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (KBF) 1.1
ความเสี่ ยงอันเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคทีม่ ีอยู่เดิม
บริ ษ ัท ปุ๋ ยตรำกุ ญ แจ จ ำกัด หรื อ KBF เริ่ ม ด ำเนิ น กำรผลิ ต ปุ๋ ยอิ น ทรี ย ์เ พื่ อ มุ่ ง เน้น กำรปรั บ ปรุ ง ดิ น เพิ่มธำตุอำหำรในดิน โดยเริ่ มจัดตั้งในเดือนธันวำคม 2555 ซึ่ งลูกค้ำส่ วนใหญ่เป็ นชำวไร่ ออ้ ย และช่วงระยะเวลำ 3-5 ปี ที่ผ่ำนมำ ชำวไร่ ออ้ ยมี ควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ ยวกับกำรปรับปรุ งดิ นด้วยอินทรี ยวัตถุ และปรับสภำพดิ น
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
97
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ที่ เ ป็ นกรดด้ว ยโดโลไมท์ม ำกขึ้ น ซึ่ งเป็ นกำรช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ ำพกำรใช้ปุ๋ ยเคมี แ ละปรั บ ปรุ ง คุ ณสมบัติ ทำงกำยภำพและทำงเคมีของดินค่อนข้ำงมำก ปั จจุบนั บริ ษทั ได้มีวิธีกำรใส่ ปุ๋ยอินทรี ยช์ นิ ดผงที่จะช่วยให้กำรทำงำนของชำวไร่ ออ้ ยมีประสิ ทธิ ภำพ มำกยิ่งขึ้น ซึ่ งได้พฒั นำมำตลอดระยะเวลำ 3 ปี โดยจำกเดิมได้พฒั นำเครื่ องจักรและออกแบบกำรขนส่ งบรรจุ ถุงบิ๊กแบ๊ค และให้รถสำหรับคีบอ้อยยกถุงบิ๊กแบ๊คใส่ เครื่ องใส่ ปุ๋ย ต่อมำเครื่ องจักรได้ถูกพัฒนำโดยกำรติดตั้ง ระบบไฮโดรลิ กซ์สำหรับตักปุ๋ ยอินทรี ยช์ นิ ดผงนำไปกองตำมไร่ และนำไปใส่ ในไร่ ได้ทนั ที ซึ่ งชำวไร่ ไม่ตอ้ ง รอคิ วรถคีบอ้อยเพื่อยกปุ๋ ยอิ นทรี ยช์ นิ ดผงบรรจุถุงบิ๊กแบ๊กลงเครื่ องใส่ ปุ๋ยอีกต่อไป ทั้งนี้ เป็ นกำรลดขั้นตอน กำรท ำงำน ลดระยะเวลำกำรเตรี ยมแปลงเพำะปลู กให้ ท ันฤดู ฝน และเพิ่ มปริ มำณกำรใช้ปุ๋ ยอิ นทรี ย ์ชนิ ดผง ได้แพร่ หลำยมำกขึ้น อย่ำงไรก็ตำม ทำงบริ ษทั ยังมีกำรให้ควำมรู ้เกี่ยวกับปุ๋ ยอินทรี ย ์ และพำชมแปลงตัวอย่ำงที่ใช้ปุ๋ยอินทรี ย ์ รวมทั้งให้ขอ้ มูลสนับสนุ นทำงวิชำกำร ซึ่ งส่ งผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกำรบริ โภคของชำวไร่ ในกำร นำไปใช้มำกขึ้น 1.2
ความเสี่ ยงเรื่องผลกระทบจากสิ่ งแวดล้อม
กำรประกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต และจัด จ ำหน่ ำ ยสำรอิ น ทรี ย ์ป รั บ ปรุ ง ดิ น ของบริ ษ ัท ปุ๋ ยตรำกุ ญ แจ จ ำกัด อยู่ภำยใต้กฎหมำยและ พ.ร.บ.ปุ๋ ย พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ปุ๋ ย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 เกี่ ยวกับ กำรควบคุมคุณภำพเพื่อรักษำไว้ซ่ ึงประโยชน์ของเกษตรกรและภำคกำรเกษตร ซึ่งกฎหมำย และ พ.ร.บ. ดังกล่ำว ครอบคลุ ม ถึ ง เรื่ องกำรควบคุ มมลพิษ ทั้ง ทำงดิ น น้ ำ อำกำศ และสำรพิษ กำรกำจัดขยะและของเสี ย สุ ข ภำพ และควำมปลอดภัย ในกำรท ำงำนและกำรจัดกำรวัตถุ ที่เป็ นอันตรำย ซึ่ ง ข้อก ำหนดดัง กล่ำ วมีค วำมซับซ้อน มีกำรเปลี่ ยนแปลงอย่ำงต่อเนื่ อง และกำรบังคับใช้กฎหมำยและ พ.ร.บ.ดังกล่ำว บำงกรณี ข้ ึนอยูก่ บั กำรตีควำม ของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ที่ผ่ำนมำ KBF ได้รับใบอนุ ญำตตั้งโรงงำน และใบอนุ ญำตผลิตปุ๋ ยอินทรี ย ์ อย่ำงถูกต้องตำมกฎหมำย และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงได้มีมำตรกำรดำเนินกำรป้ องกันผลกระทบทำงสิ่ งแวดล้อม ทั้งจำกตัวพนักงำน และพื้นที่ใกล้เคียงต่ำง ๆ อำทิ กำรฉีดจุลินทรี ยเ์ ร่ งกำรย่อยสลำยและกำจัดกลิ่น กำรจัดทำบ่อเก็บน้ ำเสี ยในฤดูฝน กำรจัด ทำห้อ งดัก ฝุ่ นและมีร ะบบสเปรย์น้ ำ กำรจัด รถฉี ด น้ ำ บริ เ วณพื้น ที่ร อบโรงงำน และกำรจัด เตรี ย ม อุปกรณ์ควำมปลอดภัยให้พนักงำน เพื่อลดผลกระทบจำกระดับเสี ยงเครื่ องจักร กำรเข้ำร่ วมกิ จกรรม CSR เพื่อร่ วมพัฒนำชุ มชนอย่ำงยัง่ ยืน ประกอบกับสถำนที่ต้ งั ของโรงงำนผลิ ต สำรอินทรี ยป์ รับปรุ งดินตั้งห่ ำงไกลจำกบริ เวณชุ มชน ทำให้ KBF มีควำมเชื่ อมัน่ ว่ำ ควำมเสี่ ยงเรื่ องผลกระทบ จำกสิ่ งแวดล้อมอยูใ่ นระดับต่ำ โดยเมื่อเดือนสิ งหำคม ปี 2561 KBF ได้รับรำงวัลสถำนประกอบกำรอุตสำหกรรมที่ ดำเนินงำนตำมหลักเกณฑ์ธรรมำภิบำลสิ่ งแวดล้อม ในโครงกำรธรรมำภิบำลสิ่ งแวดล้อม จำกกระทรวงอุตสำหกรรม
98
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ความเสี่ ยงอืน่ ๆ 1.1
ความเสี่ ยงจากการมีอตั ราส่ วนหนีส้ ิ นต่ อส่ วนของผู้ถือหุ้นสู ง
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 และ 2560 กลุ่มบริ ษทั ฯ มีอตั รำส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเท่ำกับ 3.11 และ 2.73 เท่ำ ตำมลำดับ อย่ำงไรก็ตำม เนื่ องจำกบริ ษทั เป็ น Holding Company สัญญำเงินกูท้ ี่มีกบั ธนำคำร พำณิ ชย์ กำรทำสัญญำกับกองทุนรวมโครงสร้ำงพื้นฐำนโรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ ำตำลบุรีรัมย์ และบริ ษทั ย่อยที่ดำเนิ น ธุ รกิ จ เช่ น BSF เป็ นต้น จะมีขอ้ กำหนดด้ำนกำรรักษำอัตรำส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นแยกรำยบริ ษทั ไม่ได้นำมำคิดรวมทั้งกลุ่มบริ ษทั ฯ ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 อัตรำส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นของ BSF ยังคงเป็ นไปตำมข้อกำหนดของสัญญำเงินกูท้ ี่มีกบั ธนำคำรพำณิ ชย์ ส่ วนอัตรำหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ดังกล่ำว ทำงบริ ษทั สำมำรถแยกกำรคำนวณได้ดงั ต่อไปนี้ กรณี ที่ 1 อัตรำส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ (Debt to Equity: D/E Ratio) เท่ำกับ 3.11 เท่ำ กรณี ที่ 2 อัตรำส่ วนหนี้สินที่มีภำระดอกเบี้ย (Interest Bearing Debt to Equity: IBD/E Ratio) เท่ำกับ 2.76 เท่ำ กรณี ที่ 3 อัตรำส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Debt to Equity: D/E Ratio) Excluding Infrastructure Fund เท่ำกับ 1.84 เท่ำ กรณี ที่ 4 อัตรำส่ วนหนี้ สินที่มีภำระดอกเบี้ย (Interest Bearing Debt to Equity: IBD/E Ratio) Excluding Infrastructure Fund เท่ำกับ 1.49 เท่ำ โดยในปี 2560 บริ ษทั ออกหน่วยลงทุนใน “กองทุนรวมโครงสร้ำงพื้นฐำนโรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ ำตำลบุรีรัมย์ หรื อ Buriram Sugar Group Power Plant Infrastructure Fund (BRRGIF)” ให้แก่สถำบันกำรเงินและประชำชน ทัว่ ไปในตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย แต่เนื่องจำกยังไม่มีมำตรฐำนกำรบัญชีที่รองรับกำรลงบัญชี ในส่ วน ของกองทุนรวม ยกเว้นแต่ให้ลงบัญชีเป็ นภำระหนี้สิน จึงมีผลทำให้อตั รำส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั สู งขึ้น สำหรับมำตรกำรลดควำมเสี่ ยงของบริ ษทั ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับเงินกูจ้ ำกธนำคำรพำณิ ชย์ ทำงบริ ษทั ได้ มีขอ้ ตกลงกันเรื่ องอัตรำส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น และส่ วนที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย โดยไม่มี ข้อกำหนดในกำรรักษำอัตรำส่ วนทำงกำรเงินอื่น ๆ นอกเหนือจำกอัตรำส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น 1.2
ความเสี่ ยงจากการทีบ่ ริษัทมีผ้ ถู ือหุ้นใหญ่ มีอทิ ธิพลต่ อการกาหนดนโยบายการบริหารงาน
กลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิ จและบริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จำกัด ที่กลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิ จ เป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ ถือหุ ้นรวมกันในบริ ษทั คิดเป็ นร้อยละ 74.93 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและชำระแล้วหลังจำกกำรเสนอขำยหุ ้ น สำมัญในครั้งนี้ และกลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิจ ยังดำรงตำแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หำรและกรรมกำรผูม้ ีอำนำจลงนำม ของบริ ษทั ด้วย บริ ษทั และ/หรื อผูถ้ ือหุ ้นรำยย่อยอำจมีควำมเสี่ ยงจำกกำรที่กลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่จะมีอิทธิ พล ต่ อ กำรก ำหนดนโยบำยกำรบริ หำรงำนไปในทิ ศ ทำงใดทิ ศ ทำงหนึ่ ง และสำมำรถควบคุ ม นโยบำยและ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
99
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
กำรบริ หำรงำนในบริ ษทั ได้ รวมถึงสำมำรถควบคุมกำรอนุมตั ิมติ ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นที่ตอ้ งกำรเสี ยงส่ วนใหญ่ได้ ยกเว้นเรื่ องที่กฎหมำยหรื อข้อบังคับของบริ ษทั กำหนดให้ตอ้ งได้รับเสี ยง 3 ใน 4 ของที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ดังนั้น ผูถ้ ือหุ ้นรำยอื่นอำจไม่สำมำรถรวบรวมคะแนนเสี ยงเพื่อตรวจสอบและถ่วงดุลเรื่ องที่กลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่เสนอได้ อย่ำงไรก็ตำม บริ ษทั ได้กำหนดหลักกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี เพื่อให้กรรมกำรบริ ษทั และผูบ้ ริ หำรได้ปฏิบตั ิตำม ทั้งกำรคำนึงถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ และกำรเปิ ดเผยข้อมูลและควำมโปร่ งใส เป็ นต้น ทั้ง นี้ เพื่ อ ควำมโปร่ ง ใสในกำรบริ ห ำรจัด กำรและกำรตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล อ ำนำจผูบ้ ริ ห ำรและ กรรมกำรบริ ษทั บริ ษทั มีหน่วยงำนตรวจสอบภำยใน (Internal Audit Unit ) ภำยใต้คณะกรรมกำรตรวจสอบ (Audit Committee) และหน่ วยงำนตรวจสอบจำกภำยนอก (External Audit) ทั้งนี้ เพื่อทำหน้ำที่ตรวจสอบ ถ่วงดุลกำรตัดสิ นใจ และพิจำรณำอนุ มตั ิรำยกำรต่ำง ๆ ก่อนนำเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น เพื่อมิให้เกิดรำยกำรที่ ก่อให้เกิดควำมขัดแย้ง และเพื่อก่อให้เกิดควำมโปร่ งใสในกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั และมีสำนักบริ หำรควำมเสี่ ยง (Risk Management Unit) ภำยใต้คณะกรรมกำรบริ หำรควำมเสี่ ยง (Risk Management Committee) ดูแลเรื่ อง กำรบริ หำรควำมเสี่ ยงขององค์กรทั้งกลุ่มบริ ษทั ให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) นอกจำกนี้ บริ ษทั ได้มี กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรสรรหำและพิจำรณำค่ำตอบแทน (Nomination and Compensation Committee) และ คณะกรรมกำรธรรมำภิบำล (Corporate Governance Committee) เพื่อให้เกิดควำมโปร่ งใส ควำมชัดเจน และรักษำ ประโยชน์สูงสุ ดของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทั้งหมด
100
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
4. ทรัพย์ สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ 4.1 สิ นทรัพย์ถาวรหลักของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สิ นทรัพย์ถาวรหลักที่ใช้ในการประกอบธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั มีมูลค่าสุ ทธิ หลังหักค่าเสื่ อมราคาสะสมตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะทางการเงิ นรวมของบริ ษทั รวมทั้งหมดเท่ากับ 5,432,152,570 บาทโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ รายการ งบการเงินรวม ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อาคารและส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องจักร เครื่ องตกแต่ง อุปกรณ์ และยานพาหนะ สิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง รวมทั้งหมด
มูลค่ าสุ ทธิหลังหัก ค่ าเสื่ อม (บาท)
ลักษณะกรรมสิ ทธิ์
ภาระผูกพัน
412,396,841 เป็ นเจ้าของ/ เช่าระยะยาว เป็ นหลักประกันการกูย้ มื 1 959,091,934 เป็ นเจ้าของ เป็ นหลักประกันการกูย้ มื 1 3,507,505,783
เป็ นเจ้าของ
เป็ นหลักประกันการกูย้ มื 1
553,158,012 5,432,152,570
เป็ นเจ้าของ
-
หมายเหตุ: 1 บริ ษทั ได้จดจานองที่ดิน สิ่ งปลูกสร้างบนที่ดิน และเครื่ องจักรส่วนใหญ่ไว้กบั สถาบันการเงิน เพื่อเป็ นหลักทรัพย์ ค้ าประกันวงเงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิน
ทั้งนี้ รายละเอียดที่ต้ งั พื้นที่ใช้งาน และวัตถุประสงค์การถือครองสิ นทรัพย์ที่สาคัญในการดาเนิ น กิจการของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ 4.1.1 ทีด่ ิน สิ นทรัพย์ ที่ดิน
ที่ดิน
ที่ดิน
วัตถุประสงค์
ลักษณะ
การถือครอง
กรรมสิ ทธิ์
- ต.หิ นเหล็กไฟ - 1,240 ไร่ 3 งาน อ.คูเมือง 47 ตารางวา จ.บุรีรัมย์ - ต.หิ นเหล็กไฟ - 636ไร่ 1 งาน อ.คูเมือง 26 ตารางวา จ.บุรีรัมย์
ใช้เป็ นที่ต้ งั โรงงาน สาหรับการผลิต น้ าตาล ใช้เป็ นที่ต้ งั โรงไฟฟ้ า ชีวมวล และ โรงงานผลิตปุ๋ ย อินทรี ย ์
เป็ นเจ้าของ
- ต.หนองปล่อง - 660 ไร่ 2 งาน อ.ชานิ 74 ตารางวา จ.บุรีรัมย์
ใช้เป็ นที่ต้ งั โรงงาน สาหรับการผลิต น้ าตาล
ที่ต้งั
พืน้ ที่
90
เป็ นเจ้าของ และบางส่ วน ทาสัญญาเช่า ระยะยาว
ภาระผูกพัน บางส่ วนเป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม1 บางส่ วนเป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม1
เป็ นเจ้าของ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
-
101
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
สิ นทรัพย์ ที่ดิน
ที่ดิน
ที่ต้งั - ต.ไทยเจริ ญ อ.ละหาน ทราย จ.บุรีรัมย์ - ต.นานวน อ. สนม จ.สุ รินทร์
วัตถุประสงค์
พืน้ ที่
การถือครอง
- 51 ไร่ 3 งาน 93 ตารางวา
- 188 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา 2,724 ไร่ 8 งาน 241 ตารางวา
รวม
ใช้เป็ นพื้นที่ปลูกอ้อย สาหรับเป็ นแปลง ทดลอง เพื่อใช้ใน การวิจยั และพัฒนา ใช้เป็ นที่ต้ งั โรงงาน สาหรับการผลิต น้ าตาล
ลักษณะ กรรมสิ ทธิ์
ภาระผูกพัน
เป็ นเจ้าของ
-
เป็ นเจ้าของ
-
หมายเหตุ: 1 บริ ษทั ได้จดจานองที่ดินบางส่วนไว้กบั สถาบันการเงิน เพื่อเป็ นหลักทรัพย์ค้ าประกันวงเงินกูร้ ะยะยาว จากสถาบันการเงิน
สาหรับสัญญาเช่าที่ดินระยะยาว เป็ นสัญญาเช่าระหว่างบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด และนายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั และกรรมการบริ หาร (โปรดพิจารณารายละเอียดในส่ วนที่ 2 ข้อ 12 รายการ ระหว่างกัน) ทั้งนี้ สัญญาเช่ามีระยะเวลา 25 ปี ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 1 มกราคม 2579 4.1.2 อาคารและสิ่ งปลูกสร้ างของกลุ่มบริษัท สิ นทรัพย์ โรงงานน้ าตาล BSF - อาคารโรงงานน้ าตาล พื้นที่รวม 11,967 ตารางเมตร - โกดังเก็บน้ าตาลและวัตถุดิบ พื้นที่รวม 24,236 ตารางเมตร - อาคารสานักงาน อาคารซ่อมบารุ ง - อาคารที่พกั พนักงาน ป้ อมยาม อาคารพัสดุ และอื่น ๆ โรงไฟฟ้ า BEC - อาคารเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า พื้นที่ 1,440 ตารางเมตร - โรงงานและอาคาร พื้นที่รวม 50,192 ตารางเมตร 102
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
สถานที่ต้ งั ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ. บุรีรัมย์
91
วัตถุประสงค์ ลักษณะ ภาระผูกพัน1 การถือครอง กรรมสิ ทธิ์ ใช้ในการ เป็ น เป็ น ผลิตและ เจ้าของ หลักประกัน จัดเก็บ ในการกูย้ ืม น้ าตาล
ใช้ในการผลิต เป็ น และจาหน่าย เจ้าของ ไฟฟ้ า
เป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
สิ นทรัพย์ - โกดังเก็บกากอ้อย 1โรง พื้นที่ 3,170 ตารางเมตร - บ่อบาบัดน้ าเสี ยพื้นที่ 430 ตารางเมตร โรงไฟฟ้ า BEC (ต่อ) - อาคารสานักงานสาขา - อาคารที่พกั พนักงาน ป้ อมยาม อาคารพัสดุ โรงไฟฟ้ า BPC - อาคารเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า พื้นที่ 19,500 ตารางเมตร - โรงงานและอาคาร พื้นที่รวม 12,100 ตารางเมตร - บ่อบาบัดน้ าเสี ยพื้นที่ 430 ตารางเมตร - โกดังเก็บกากอ้อย 1 โรง พื้นที่ 3,170 ตารางเมตร โรงไฟฟ้ า BPP - อาคารเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า พื้นที่ 19,500 ตารางเมตร - โรงงานและอาคาร พื้นที่รวม 12,100 ตารางเมตร - บ่อบาบัดน้ าเสี ยพื้นที่ 430 ตารางเมตร - โกดังเก็บกากอ้อย 1 โรง พื้นที่ 3,170 ตารางเมตร โรงปุ๋ ย KBF - ลานพักหม้อกรอง พื้นที่ 48,000 ตารางเมตร - อาคารผลิต พื้นที่ 2,000 ตารางเมตร - โกดังเก็บสิ นค้า พื้นที่ 3,000 ตารางเมตร - อาคารโรงจักร และสานักงาน พื้นที่ 5,000 ตารางเมตร - พื้นที่ระบบบาบัดน้ าเสี ย พื้นที่ 60 ตารางเมตร
สถานที่ต้ งั
วัตถุประสงค์ ลักษณะ ภาระผูกพัน1 การถือครอง กรรมสิ ทธิ์
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ. บุรีรัมย์
ใช้ในการผลิต เป็ น และจาหน่าย เจ้าของ ไฟฟ้ า
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ. บุรีรัมย์
ใช้ในการผลิต เป็ น และจาหน่าย เจ้าของ ไฟฟ้ า
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ. บุรีรัมย์
ใช้ในการ ผลิตและ จัดเก็บปุ๋ ย
92
เป็ น เจ้าของ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
เป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม
เป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม
103
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
สิ นทรัพย์ สานักงานเขตส่ งเสริ ม 16 เขต 13 สถานี - สานักงานส่ งเสริ มเขต 2 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 3.1 และ 4 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 9 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 10.1 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 10.2 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 5
- สานักงานส่ งเสริ มเขต 1.1 และ 1.2 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 3.2 และ 7.1 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 6.1 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 6.2 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 7.2 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 8.1 - สานักงานส่ งเสริ มเขต 8.2 อาคารสานักงานของบริ ษทั - ห้อง 128/77-78 - ห้อง 128/80 - ห้อง 128/75
สถานที่ต้ งั จ.บุรีรัมย์ บ.หนองเครื อ อ.เมือง, บ.ละกอ อ.สตึก, บ.กระเดื่อง อ.นางรอง บ้านปลัดปุ๊ ก อ.บ้านด่าน บ้านด่าน อ.บ้านด่าน จ.นครราชสี มา บ.หนองบัววงษ์ อ. ลาทะเมนชัย จ.บุรีรัมย์ บ.สาวเอ้ อ.คูเมือง บ.หนองไผ่ อ.สตึก บ.นาศรี นวล อ.ลาปลายมาศ บ.ตลาดโพธิ์ อ.ลาปลายมาศ บ.สวายตางวน อ.สตึก บ.เสม็ด อ.สตึก บ.ทุ่งวัง อ.สตึก ชั้น 7 นิติบุคล อาคาร พญาไท พลาซ่า
วัตถุประสงค์ ลักษณะ ภาระผูกพัน1 การถือครอง กรรมสิ ทธิ์ -
เช่า
เป็ นที่ต้ งั สานักงาน เขตส่ งเสริ ม ให้บริ การ ชาวไร่ เกี่ยวกับการ เพาะปลูก
เช่า
เป็ น เจ้าของ
ใช้เป็ นที่ต้ งั สานักงาน สาขา กรุ งเทพฯ
เป็ น เจ้าของ
-
หมายเหตุ: 1 บริ ษทั ได้จดจานองอาคารไว้กบั สถาบันการเงิน เพื่อเป็ นหลักทรัพย์ค้ าประกันวงเงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิน
104
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
93
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
4.1.3 เครื่องจักรของกลุ่มบริษัท สิ นทรัพย์ เครื่ องจักรหลักที่ใช้ในการผลิตน้ าตาล ของ BSF - เครื่ องจักรที่ใช้ในกระบวนการหี บสกัดน้ าอ้อย ขนาด 17,000 ตันอ้อยต่อวัน เครื่ องลงอ้อยจานวน 7 เครื่ อง เครื่ องเตรี ยมอ้อยจานวน 2 เครื่ อง ชุดหี บอ้อยจานวน 10 ชุด - กระบวนการทาน้ าอ้อยให้ใสขนาด 14,000 ตันน้ าอ้อยต่อวัน หม้ออุ่นจานวน 6 หม้อ ชุดหม้อต้มจานวน 3 หม้อ หม้อกรองจานวน 4 หม้อ - กระบวนการต้มเคี่ยวน้ าตาลให้ตกผลึกขนาด 1,680 ตันน้ าตาลต่อวัน หม้อเคี่ยวน้ าเชื่อมให้ตกผลึกจานวน 6 หม้อ - กระบวนการปั่นแยกน้ าตาลและทาให้แห้ง ขนาด 1,680 ตันน้ าตาลต่อวัน หม้อปั่ นแยกน้ าเลี้ยงออกจากน้ าตาลจานวน 11 หม้อ - กระบวนการอบแห้งน้ าตาล 1,680 ตัน น้ าตาลต่อวัน เครื่ องอบน้ าตาลจานวน 2 เครื่ อง - ชุดกาเนิดไฟฟ้ า เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจานวน 1 เครื่ อง หม้อแปลงไฟฟ้ าจานวน 9 เครื่ อง ปั้นจัน่ จานวน 9 เครื่ อง โรงไฟฟ้ า BEC - ชุดกาเนิดไฟฟ้ า เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจานวน 2 เครื่ อง หม้อแปลงไฟฟ้ าจานวน 2 เครื่ อง หม้อไอน้ า (Boiler)
ที่ต้งั ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
94
วัตถุประสงค์ ลักษณะ ภาระผูกผัน 1 การถือครอง กรรมสิ ทธิ์ ใช้ในการ เป็ น เป็ น ผลิตน้ าตาล เจ้าของ หลักประกัน ในการกูย้ ืม
ใช้ในการ ผลิตไฟฟ้ า
เป็ น เจ้าของ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
เป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม
105
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
สิ นทรัพย์ โรงไฟฟ้ า BPC - ชุดกาเนิดไฟฟ้ า เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจานวน 2 เครื่ อง หม้อแปลงไฟฟ้ าจานวน 2 เครื่ อง หม้อไอน้ า (Boiler) โรงไฟฟ้ า BPP - ชุดกาเนิดไฟฟ้ า เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจานวน 2 เครื่ อง หม้อแปลงไฟฟ้ าจานวน 2 เครื่ อง หม้อไอน้ า (Boiler) โรงปุ๋ ย KBF - เครื่ องคัดเม็ดปุ๋ ยจานวน 2 เครื่ อง - เครื่ องตีวตั ถุดิบปั้นใหม่จานวน 3 เครื่ อง - เครื่ องมือและเครื่ องใช้โรงงาน เครื่ องตกแต่ง และอุปกรณ์สานักงานและยานพาหนะ
ที่ต้งั ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
วัตถุประสงค์ ลักษณะ ภาระผูกผัน 1 การถือครอง กรรมสิ ทธิ์ ใช้ในการ เป็ น เป็ น ผลิตไฟฟ้ า เจ้าของ หลักประกัน ในการกูย้ ืม
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
ใช้ในการ ผลิตไฟฟ้ า
เป็ น เจ้าของ
เป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม
ต.หิ นเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
ใช้ในการ ผลิตปุ๋ ย
เป็ น เจ้าของ
เป็ น หลักประกัน ในการกูย้ ืม
หมายเหตุ: 1บริ ษทั ได้จดจานองเครื่ องจักรส่วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั ไว้กบั สถาบันการเงิน เพื่อเป็ นหลักทรัพย์ค้ าประกัน วงเงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิน
4.1.4 อุปกรณ์ อุปกรณ์ ของ BRD รถตัดอ้อย 3 คัน
วัตถุประสงค์ ในการถือครอง ใช้เพิ่มบริ การรับจ้างตัดอ้อย แก่เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ย
มูลค่ าสุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 9,393,907.30
4.1.5 สิ นทรัพย์ ทไี่ ม่ มีตัวตนของกลุ่มบริษัท สิ นทรัพย์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
106
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
วัตถุประสงค์ ในการถือครอง สิ ทธิ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในงานทัว่ ไป ซึ่งรวมถึงโปรแกรมบัญชี โปรแกรมบันทึกข้อมูลฝ่ ายไร่ และข้อมูลการผลิตน้ าตาล เป็ นต้น 95
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
4.1.6 เครื่องหมายการค้ าของกลุ่มบริษัท เครื่องหมายการค้ า
วัตถุประสงค์ ในการถือครอง ใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้า สาหรับน้ าตาลทรายสี รา และน้ าตาลทรายดิบ
วันทีไ่ ด้ รับการจดทะเบียน นา้ ตาลทรายขาว วันที่ยนื่ คาขอ : 11 กันยายน 2556 วันที่ประกาศโฆษณา : 18 กรกฎาคม 2557
ใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้า สาหรับปุ๋ ยอินทรี ย ์
รายการปุ๋ ยอินทรี ย์ วันที่ยนื่ คาขอ : 28 สิ งหาคม 2556 วันที่ประกาศโฆษณา : 26 มิถุนายน 2557 รายการปุ๋ ยเคมี วันที่ยนื่ คาขอ : 20 พฤษภาคม 2557 วันที่ประกาศโฆษณา : 20 สิ งหาคม 2557 รายการปุ๋ ยอินทรี ย ์ และปุ๋ ยเคมี ได้รับจดทะเบียน ณ วันที่ 3 กันยายน 2556 (ทางบริ ษทั ซื้อเครื่ องหมายการค้า และได้ดาเนินการโอนสิ ทธิบตั ร การค้าเรี ยบร้อยแล้ว)
ใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้า สาหรับปุ๋ ยเคมี
ใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้า สาหรับปุ๋ ยอินทรี ย ์ และปุ๋ ยเคมี
หมายเหตุ : นายทะเบี ยนจะประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียนไว้ในหนังสื อประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียนเครื่ องหมาย การค้า ที่ออกโดยสานักเครื่ องหมายการค้า กรมทรัพย์สินทางปั ญญา กระทรวงพาณิ ชย์ เป็ นระยะเวลา 90 วัน หากไม่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่จะจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าต่อไป
96
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
107
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
4.2
ประกันภัยธุรกิจและทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ
กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มบริ ษทั เป็ นประเภทกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยงภัย และกรมธรรม์ ประกันอัคคีภยั โดยกลุ่มบริ ษทั ฯ มีจานวนเงิ นเอาประกันตามกรมธรรม์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ทั้งหมดเป็ นจานวน 8,414,410,000 บาท ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ บริษทั
รายละเอียดทรัพย์ สิน เอาประกัน
BSF - สิ่ งปลูกสร้าง ตัวอาคารโรงงาน (ไม่รวมรากฐาน) อาคารโกดังเก็บน้ าตาล - เครื่ องจักรในการผลิต น้ าตาล - สต๊อกสิ นค้า น้ าตาลทรายขาว น้ าตาลทรายดิบ กากน้ าตาล และ กากอ้อย BEC - สิ่ งปลูกสร้างตัวอาคาร โรงงาน (ไม่รวม รากฐาน) - เครื่ องจักรในการผลิต ไฟฟ้ า - อุปกรณ์สานักงาน - สต๊อกวัตถุดิบ BPC - สิ่ งปลูกสร้างตัวอาคาร โรงงาน (ไม่รวม รากฐาน) อุปกรณ์ สานักงาน - เครื่ องจักรในการผลิต ไฟฟ้ า - สต๊อกวัตถุดิบ 108
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ลักษณะ ผู้รับ วันที่เริ่มทา วันหมดอายุ วงเงินประกัน การ ผลประโยชน์ ประกันภัย (บาท) ประกันภัย ประกัน สถาบัน 31 ตุลาคม 2561 31 ตุลาคม 2562 6,730,000,000 อัคคีภยั การเงิน แห่งหนึ่ง
ประกัน เสี่ ยงภัย ทรัพย์สิน
สถาบัน การเงิน แห่งหนึ่ง
31 ตุลาคม 2561 31 ตุลาคม 2562
914,400,000
ประกัน เสี่ ยงภัย ทรัพย์สิน
สถาบัน การเงิน แห่งหนึ่ง
31 ตุลาคม 2561 31 ตุลาคม 2562
953,900,000
97
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
บริษทั
รายละเอียดทรัพย์ สิน เอาประกัน
ลักษณะ ผู้รับ วันที่เริ่มทา วันหมดอายุ วงเงินประกัน การ ผลประโยชน์ ประกันภัย (บาท) ประกันภัย ประกัน สถาบัน 31 ตุลาคม 2561 31 ตุลาคม 2562 527,010,000 เสี่ ยงภัย การเงิน ทรัพย์สิน แห่งหนึ่ง
BPP - สิ่ งปลูกสร้างตัวอาคาร โรงงาน (ไม่รวม รากฐาน) อุปกรณ์ สานักงาน - เครื่ องจักรในการผลิต ไฟฟ้ า - สต๊อกวัตถุดิบ KBF - สิ่ งปลูกสร้างตัวอาคาร ประกัน โรงงาน (ไม่รวม อัคคีภยั รากฐาน) - เครื่ องจักรในการ ผลิตปุ๋ ย - สต็อคสิ นค้า รวมทั้งหมด
สถาบัน การเงิน แห่งหนึ่ง
10 กันยายน 2561
10 กันยายน
85,200,000
2562
8,414,410,000
ประกันอัคคีภัย บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด มีการทาประกันภัยเสริ มเพิ่มเติมจากการประกัน อัคคีภยั ดังต่อไปนี้ ความรับผิด จานวนเงินจากัด ความรับผิดแต่ ละครั้ง คุ ้ม ครองความสู ญ เสี ย หรื อ ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น แก่ เ ครื่ อ งไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า สู ง สุ ด 100 ล้ า น บ า ท พร้ อมทั้ง เครื่ องมื อเครื่ องใช้ไฟฟ้ าต่า ง ๆ ซึ่ งได้รับความเสี ย หาย เนื่ องจากหรื อเป็ น ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด เพราะการเดิ นเครื่ องเกิ นก าลัง การใช้ค วามกดดันเกิ ดกาหนด การเดิ นลัดวงจรของ ระยะเวลา เอาประกันภัย ไฟฟ้ า การเกิ ด ประกายของไฟฟ้ า การเผาไหม้ข องสายไฟในตัว เอง การรั่ ว ของ กระแสไฟฟ้ า หรื อการเดินลัดวงจร ซึ่ งเป็ นผลเนื่องมาจากสาเหตุใดก็ตาม รวมถึงฟ้ าผ่า คุ ม้ ครองความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายต่อกระจกที่ติดตั้งถาวร และกระจกที่ ไม่ได้ สู ง สุ ด 100 ล้ า น บ า ท ติดตั้งถาวร เครื่ องแก้ว เครื่ องกระเบื้ อง เครื่ องเคลือบ ดินเผา หิ นอ่อน หรื อวัตถุ อื่นที่ ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด เปราะหรื อ แตกง่ า ย อัน เนื่ อ งมาจากการโจรกรรม การปล้น ทรั พ ย์ การชิ ง ทรั พ ย์ ระยะเวลาเอาประกันภัย การลักทรัพย์ หรื ออุบตั ิเหตุอื่น ๆ เช่น การตกหล่น การชน การกระแทก คุ ม้ ครองความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยอันเนื่ องมาจาก สู ง สุ ด 100 ล้ า น บ า ท การลักทรัพย์ที่ทาให้เกิ ดร่ องรอยความเสี ยหายที่เห็นได้อย่างชัดเจนต่อตัวอาคารหรื อ ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด ต่ออาณาเขตสถานที่เอาประกันภัย ระยะเวลาเอาประกันภัย 98
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
109
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ความรับผิด
จานวนเงินจากัด ความรับผิดแต่ ละครั้ง คุม้ ครองความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายอันเนื่องมาจากลม ฝน ลูกเห็บ น้ าค้างแข็ง หิ มะ สู ง สุ ด 20 ล้ า น บ า ท น้ าท่วม ทรายหรื อฝุ่ น ซึ่งทาให้เกิดความเสี ยหายต่อสังหาริ มทรัพย์ ซึ่ งอยูก่ ลางแจ้งหรื อ ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด ที่เก็บอยู่ในอาคารโปร่ ง หรื ออาคารที่มีผนังด้านใดด้านหนึ่ งเปิ ดโล่ง หรื อต่อรั้ว หรื อ ระยะเวลาเอาประกันภัย ประตูร้ ัว คุ ้ม ครองความสู ญเสี ย หรื อความเสี ย หายต่อเครื่ องจัก รอุ ป กรณ์ และ/หรื อ อุ ปกรณ์ สู ง สุ ด 25 ล้ า น บ า ท อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด ระยะเวลาเอาประกันภัย สู ง สุ ด 50 ล้า นบาท คุ ้ม ครองความสู ญเสี ย หรื อ ความเสี ย หายต่ อ หม้อ ก าเนิ ด ไอน้ า และถัง อัดความดัน ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด อันเนื่องมาจากการระเบิด การฟุบแบน จากแรงอัดภายในหรื อแรงดันภายนอก ระยะเวลาเอาประกันภัย คุม้ ครองความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ สู ง สุ ด 20 ล้า นบาท และอุปกรณ์ ประมวลผลข้อมูล อันเนื่ องมาจากการลักทรัพย์ที่ ปรากฏร่ องรอย หรื อ ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด การลัก ทรั พ ย์ที่ ไ ม่ ป รากฏร่ อ งรอยต่ อ อาณาเขตสถานที่ เ อาประกัน ภัย รวมถึ ง ภัย ระยะเวลาเอาประกันภัย เนื่องจากน้ า และอุบตั ิเหตุต่าง ๆ เช่น การตกหล่น การชน การกระแทก การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน สู ง สุ ด 5 ล้ า นบาท ในนามของผู ้เ อาประกั น ภัย ส าหรั บ จ านวนเงิ น ที่ ผู้เ อาประกัน ภัย จะต้ อ งรั บ ผิ ด ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด ตามกฎหมาย ที่ จ ะต้อ งชดใช้ ค่ า เสี ยหายส าหรั บ ความบาดเจ็ บ ต่ อ ร่ า งกาย หรื อ ระยะเวลาเอาประกันภัย การเสี ยชี วิ ต หรื อความเสี ยหาย หรื อสู ญ เสี ยต่ อ ทรั พ ย์สิ นของบุ ค คลภายนอก อัน เนื่ อ งมาจากการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของผู ้เ อาประกัน ภัย และ/หรื อลู ก จ้า งของผู ้เ อา ประกันภัย และ/หรื อตัวแทนของผูเ้ อาประกันภัย และ/หรื อ ผูท้ ี่ ไ ด้รับมอบหมายให้ กระทาการใด ๆ ประกันความเสี่ ยงภัย ทรั พ ย์ สิน ของบริ ษ ทั บุรีรัม ย์พ ลัง งาน จากัด และบริ ษ ทั บุรีรัม ย์เพาเวอร์ จากัด เป็ นกรมธรรม์ประกันภัย ที่คุม้ ครองความเสี ยหายโดยตรงต่อสิ นทรัพย์ที่เอาประกันภัย อันมีสาเหตุ โดยตรงจากไฟไหม้ ฟ้ าผ่า ภัยลมพายุ ภัยน้ าท่วม ภัยลูกเห็บ ภัยแผ่นดินไหว หรื อภูเขาไฟระเบิด หรื อคลื่นใต้น้ า หรื อสึ นามิ ภัย จากยวดยานพาหนะ ภัย จากควัน ภัย ทางอากาศยาน ภัย ระเบิ ด ภั ย เนื่ อ งจากน้ า ภัยจากการนัดหยุดงาน การจลาจล หรื อการกระทาอันมีเจตนาร้าย ภัยจากการลุกไหม้ หรื อการระอุ หรื อการระเบิด ตามธรรมชาติ และอุบตั ิเหตุต่าง ๆ ที่มิอาจคาดถึงจากปัจจัยภายนอก โดยมีจานวนเงินจากัดความรับผิดดังนี้
110
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
99
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
จานวนเงินจากัด ความรับผิดแต่ ละครั้ง สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
จานวนเงินจากัด ความรับผิด ตลอดระยะเวลาประกันภัย สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
ความรับผิด คุ ้ ม ครองความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหาย ที่ เกิ ดขึ้ น แก่ เครื่ องไฟ ฟ้ า อุ ปก รณ์ ไ ฟ ฟ้ า พร้ อ มทั้ง เครื่ อ งมื อ เครื่ องใช้ ไ ฟฟ้ าต่ า ง ๆ ซึ่ ง ได้รั บ ความเสี ย หายเนื่ องจาก หรื อเป็ นเพราะ การเดินเครื่ องเกิ นกาลัง การใช้ความกดดันเกิ น ก าหนด การเดิ น ลัด วงจรของไฟฟ้ า การเกิ ด ประกายของไฟฟ้ า การเผาไหม้ของสายไฟใน ตัว เอง การรั่ ว ของกระแสไฟฟ้ า หรื อ การเดิ น ลัดวงจร ซึ่ งเป็ นผลเนื่ องมาจากสาเหตุใดก็ตาม รวมถึงฟ้ าผ่า คุ ้ม ครองความสู ญ เสี ย หรื อความเสี ย หายต่ อ กระจกที่ ติดตั้ง ถาวร และกระจกที่ ไม่ได้ติดตั้ง ถาวร เครื่ องแก้ว เครื่ องกระเบื้อง เครื่ องเคลือบ ดิ น เผา หิ นอ่ อ น หรื อวัต ถุ อื่ น ที่ เ ปราะหรื อ แตกง่าย อันเนื่ องมาจากการโจรกรรม การปล้น ทรัพย์ การชิ งทรัพย์ การลักทรัพย์ หรื ออุบตั ิเหตุ อื่น ๆ เช่น การตกหล่น การชน การกระแทก คุ ้ม ครองความสู ญ เสี ย หรื อความเสี ย หายต่ อ ทรั พ ย์ สิ นที่ เ อาประกั น ภั ย อั น เนื่ อ งมาจาก ก า ร ลั ก ท รั พ ย์ ที่ ไ ม่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ร่ อ ง ร อ ย ความเสี ยหายที่เห็ นได้อย่างชัดเจนต่อตัวอาคาร หรื อต่ออาณาเขตสถานที่เอาประกันภัย คุ ้ ม ครองความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหาย อันเนื่ องมาจากลม ฝน ลูกเห็ บ น้ าค้างแข็ง หิ มะ น้ าท่วม ทรายหรื อฝุ่ น ซึ่งทาให้เกิดความเสี ยหาย ต่อสังหาริ มทรัพย์ซ่ ึ งอยู่กลางแจ้ง หรื อที่เก็บอยู่ ในอาคารโปร่ ง หรื ออาคารที่ มี ผ นั ง ด้ า นใด ด้านหนึ่งเปิ ดโล่ง หรื อต่อรั้ว หรื อประตูร้ ัว
100
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
111
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
จานวนเงินจากัด ความรับผิดแต่ ละครั้ง
จานวนเงินจากัด ความรับผิด ความรับผิด ตลอดระยะเวลาประกันภัย คุ ้ม ครองความสู ญ เสี ย หรื อ ความเสี ย หายต่ อ สู งสุ ดไม่เกิน 100 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 100 ล้านบาท เ ค รื่ อ ง จั ก ร อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ / ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ต่าง ๆ และความเสี ยหายต่อหม้อ กาเนิ ดไอน้ า และถังอัดความดัน อันเนื่องมาจาก การระเบิด การฟุบแบน จากแรงอัดภายใน หรื อ แรงดันภายนอก คุ ้ม ครองความสู ญ เสี ย หรื อ ความเสี ย หายต่ อ สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และ อุ ป กรณ์ ป ระมวลผลข้ อ มู ล อัน เนื่ อ งมาจาก ก า ร ลั ก ท รั พ ย์ ที่ ป ร า ก ฏ ร่ อ ง ร อ ย ห รื อ การลักทรัพ ย์ที่ไม่ปรากฏร่ องรอยต่ออาณาเขต สถานที่ เ อาประกันภัย รวมถึ ง ภัย เนื่ อ งจากน้ า และอุ บ ตั ิ เหตุ ต่ า ง ๆ เช่ น การตกหล่ น การชน การกระแทก การประกั น ภั ย ความรั บ ผิ ด ตามกฎหมายต่ อ สู งสุ ดไม่เกิน 5 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 5 ล้านบาท บุคคลภายนอก ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนในนาม ของผู ้เ อาประกัน ภัย ส าหรั บ จ านวนเงิ น ที่ ผู้เ อา ประกัน ภัย จะต้อ งรั บ ผิ ด ตามกฎหมายที่ จ ะต้อ ง ชดใช้ค่าเสี ยหายสาหรับความบาดเจ็บต่อร่ างกาย หรื อการเสี ยชีวติ หรื อความเสี ยหายหรื อสู ญเสี ยต่อ ทรั พ ย์สิ น ของบุ ค คลภายนอก อัน เนื่ อ งมาจาก การด าเนิ น ธุ ร กิ จของผูเ้ อาประกัน ภัย และ/หรื อ ลูกจ้างของผูเ้ อาประกันภัย และ/หรื อตัวแทนของ ผูเ้ อาประกันภัย และ/หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมายให้ กระทาการใด ๆ จากผูเ้ อาประกันภัยภายในบริ เวณ สถานที่เอาประกันภัย
112
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
101
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ประกันความเสี่ ยงภัยทรั พย์ สิน ของบริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ พลัส จากัด เป็ นกรมธรรม์ประกันภัย ที่คุม้ ครองความเสี ยหายต่อสิ นทรัพย์ที่เอาประกันภัยอันมีสาเหตุโดยตรงจากไฟไหม้ ฟ้ าผ่า ภัยจากยวดยาน พาหนะ ภัย จากควัน ภัย ทางอากาศยาน ภัย เนื่ องจากน้ า ภัย จากไฟป่ า ภัย ระเบิ ด ภัย ลมพายุ ภัย น้ า ท่ ว ม ภัยลูกเห็บ ภัยแผ่นดินไหว หรื อภูเขาไฟระเบิด หรื อคลื่นใต้น้ า หรื อสึ นามิ ภัยจากการนัดหยุดงาน การจลาจล หรื อ การกระท าอัน มี เ จตนาร้ า ย ภัย จากการลุ ก ไหม้ หรื อ การระอุ หรื อ การระเบิ ด ตามธรรมชาติ แ ละ อุบตั ิเหตุต่าง ๆ ที่มิอาจคาดถึงจากปั จจัยภายนอก โดยมีจานวนเงินจากัดความรับผิดดังนี้
ความรับผิด - ภัยลมพายุ ภัยแผ่นดินไหว ภัยจากลูกเห็บ - ภัยน้ าท่วม - ความเสี ยหายจากการโจรกรรมที่ปรากฏ ร่ องรอยงัดแงะ การชิงสิ นทรัพย์ การปล้น สิ นทรัพย์ - ความเสี ยหายต่อกระจกที่ติดตั้งอยูก่ บั ตัวอาคาร - ความเสี ยหายต่อเครื่ องใช้ไฟฟ้ า - ความรับผิดชอบต่อชีวิต ร่ างกาย และ สิ นทรัพย์ต่อบุคคลภายนอก อันเนื่องมาจากความบกพร่ อง ความประมาทเลินเล่อของบริ ษทั - ความเสี ยหายต่อเครื่ องจักรอุปกรณ์ และ/หรื ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ - ความเสี ยหายต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ประมวลผลข้อมูล - ความเสี ยหายจากการลักทรัพย์ที่ไม่ทาให้ เกิดร่ องรอยชัดเจน - ความเสี ยหายต่อหม้อกาเนิ ดไอน้ า และถังอัดความดัน
จานวนเงินจากัด ความรับผิดแต่ ละครั้ง สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 50 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 500 ล้านบาท
จานวนเงินจากัด ความรับผิด ตลอดระยะเวลาประกันภัย สู งสุ ดไม่เกิน 200 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 50 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 500 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 5 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 5 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 25 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 25 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 20 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 25 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 25 ล้านบาท
102
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
113
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561
ประกันอัคคีภัยของบริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด มีเงื่อนไขอื่น ๆ นอกเหนื อจากการประกันอัคคีภยั ดังนี้ ความรับผิด - ข้อยกเว้นสงครามและการก่อการร้าย - คุม้ ครองความเสี ยหายอันเกิดจากลมพายุ - คุม้ ครองความเสี ยหายอันเกิดจาก ภัยน้ าท่วม - คุม้ ครองความเสี ยหายอันเกิดจาก ภัยแผ่นดินไหว หรื อภูเขาไฟระเบิด คลื่นใต้น้ า หรื อสึ นามิ
จานวนเงินจากัด ความรับผิดแต่ ละครั้ง สู งสุ ดไม่เกิน 1 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 1 ล้านบาท
จานวนเงินจากัด ความรับผิด ตลอดระยะเวลาประกันภัย สู งสุ ดไม่เกิน 1 ล้านบาท สู งสุ ดไม่เกิน 1 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 1 ล้านบาท
สู งสุ ดไม่เกิน 1 ล้านบาท
4.3
นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อย บริ ษทั มี นโยบายที่ จะลงทุ นเฉพาะในธุ รกิ จที่เกี่ ย วเนื่ องกับธุ รกิ จหลักของบริ ษทั ที่ บ ริ ษ ทั เห็ นว่า จะก่อให้เกิ ดประโยชน์ร่วม หรื อสนับสนุ นการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั เพื่อเพิ่มช่ องทางในการหารายได้ และเพิ่มความสามารถในการทากาไรของบริ ษทั ทั้งนี้ กรรมการบริ ษทั ในการบริ หารงานของบริ ษทั ย่อย ดังกล่าวเป็ นกรรมการบริ ษทั ชุ ดเดี ยวกับบริ ษทั เพื่อกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยให้เป็ นไปใน ทิศทางที่ เหมาะสม และเกิ ดประโยชน์ตอบแทนสู งสุ ดแก่ บริ ษทั ในภาพรวม ปั จจุ บนั บริ ษ ทั ได้ลงทุ นใน บริ ษทั ย่อย 9 บริ ษทั คือ บริษัทย่อย บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด (“BEC”) บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด (“BPC”) บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จากัด (“BPP”) บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด (“CSF”) (เดิมชื่อบริ ษทั บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด (“BSP”)) บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (“BSC”) (เดิมชื่อบริ ษทั บุรีรัมย์อะโกร เอ็นเนอร์ยี่ จากัด (“BAE”)) บริ ษทั บุรีรัมย์วจิ ยั และพัฒนาอ้อย จากัด (“BRD”) บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (“KBF”) บริ ษทั ชูการ์เคนอีโคแวร์ จากัด (“SEW”)
114
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
103
สั ดส่ วนการถือหุ้น (ร้ อยละ) 99.90 99.99 BEC ถือหุน้ ร้อยละ 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทไม่มีขอ้ พิพาททางกฎหมาย ซึ่ งอาจมีผลกระทบต่อทรัพย์สิน ของบริ ษทั ที่มีจานวนสู งกว่าร้อยละ 5 ของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น และไม่มีขอ้ พิพาททางกฎหมายใดที่มีผลกระทบ ในเชิงลบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั อย่างมีนัยสาคัญ
104 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
115
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอืน่ 6.1 ข้ อมูลทัว่ ไป ก. บริษัท บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ ที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่ สำนักงำนกรุ งเทพฯ ประเอทธุรกิจ
เลขทะเบียนบริ ษทั โทรศัพท์ โทรสำร เั็บไซต์
: บริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) : 237 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 : 128/77-78 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 : ประกอบธุ รกิ จโดยกำรถอ อหุ ้นในบริ ษ ทั ออ่น (Holding Company) ในธุ รกิ จที่เกี่ ยักับกำรผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำล ธุ รกิจผลพลอยได้ จำกกำรผลิตน้ ำตำล เช่น ธุ รกิจไฟฟ้ ำ ธุรกิจปุ๋ ย และธุ รกิจสนับสนุน ูออ กำรัิจยั และพัฒนำ : 0107556000523 : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 : 0-4465-9020, 0-2216-5823 : www.buriramsugar.com
ข. บริษัทย่อย 1. บริษัท โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด (BSF) ประเอทธุรกิจ : ผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำย สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 237 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4465-9020, 0-2216-5823 2. บริษัท บุรีรัมย์ วจิ ัยและพัฒนาอ้อย จากัด (BRD) ประเอทธุรกิจ : ัิจยั และพัฒนำเพอ่อเพิ่มประสิ ทธิอำพกำรปลูกและบำรุ งรักษำอ้อย สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 237 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 105 116
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3. บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จากัด (BEC) ประเอทธุ รกิจ : โรงไฟฟ้ ำชีัมัล สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 289 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4466-6368, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4466-6368, 0-2216-5823 4. บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด (BPC) ประเอทธุ รกิจ : โรงไฟฟ้ ำชีัมัล สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 289 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4466-6368, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4466-6368, 0-2216-5823 5. บริษัท ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (KBF) ประเอทธุ รกิจ : ผลิตและจำหน่ำยปุ๋ ยอินทรี ยแ์ ละเูมี สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 161 หมู่ที่ 16 ตำบลหินเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4465-9020, 0-2216-5823 6. บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ พลัส จากัด (BPP) ประเอทธุ รกิจ : โรงไฟฟ้ ำชีัมัล สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 317 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/80 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4466-6368, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4466-6368, 0-2216-5823 106 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
117
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
7. บริษัท โรงงานนา้ ตาลชานิ จากัด (CSF) [ชื่ อเดิม บริษัท บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด (BSP)] ประเอทธุ รกิจ : ผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำย สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 289 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4466-6368, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4466-6368, 0-2216-5823 8. บริษัท นา้ ตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (BSC) [ชื่ อเดิม บริษัท บุรีรัมย์อะโกรเอ็นเนอร์ ยี่ จากัด (BAE)] ประเอทธุ รกิจ : ผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำย สำนักงำนใหญ่/โรงงำน : 237 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนกรุ งเทพฯ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4465-9020, 0-2216-5823 9. บริษัท ชู การ์ เคน อีโคแวร์ จากัด (SEW) ประเอทธุ รกิจ : ผลิตและจำหน่ำยบรรจุอณ ั ฑ์จำกชำนอ้อยและััสดุธรรมชำติ สำนักงำนใหญ่ : 128/77 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 สำนักงำนบุรีรัมย์/โรงงำน : 237 หมู่ที่ 2 ตำบลหิ นเหล็กไฟ อำเออููเมออง จังหััดบุรีรัมย์ 31190 โทรศัพท์ : 0-4465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-4465-9020, 0-2216-5823 ค. ข้ อมูลติดต่ อฝ่ ายงานในบริษัท ฝ่ ายนักลงทุนสั มพันธ์ ที่อยู่ : 128/77 -78 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-2216-5820-2 โทรสำร : 0-2216-5823 E-mail : ir@buriramsugar.com 107 118
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ฝ่ ายสานักกรรมการ/เลขานุการบริษัท ที่อยู่ : 128/77-78 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 โทรศัพท์ : 0-2216-5820-2 ต่อ 301, 302 หรอ อ 303 โทรสำร : 0-2216-5823 E-mail : companysecretary@buriramsugar.com 6.2 บุคคลอ้างอิง 1. นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริ ษทั ที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่
โทรศัพท์ เั็บไซต์
: บริ ษทั ศูนย์รับฝำกหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด : อำูำรตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 93 ชั้น 14 ถนนรัชดำอิเษก แขังดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 : 0-2009-9999 : www.set.or.th/contactcenter
2. ผู้สอบบัญชี บริ ษทั ที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่ โทรศัพท์ โทรสำร
: บริ ษทั ไพร้ซัอเตอร์ เฮำส์ููเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด : 179/74-80 ชั้น 15 อำูำรบำงกอกซิ ต้ ีทำัเัอร์ ถนนสำทรใต้ แขังทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุ งเทพฯ 10120 : 0-2344-1000 : 0-2286-5050
6.3 ช่ องทางแจ้ งข้ อร้ องเรียนและข้ อเสนอแนะ ส่ งถึง ที่อยู่
โทรศัพท์ โทรสำร
: ประธำนกรรมกำรธรรมำอิบำล หรอ อ สำนักตรัจสอบอำยใน : บริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) 128/77 -78 ชั้น 7 อำูำรพญำไทพลำซ่ำ ถนนพญำไท แขังทุ่งพญำไท เขตรำชเทัี กรุ งเทพมหำนูร 10400 : 0-2216-5820-2 : 0-2216-5823
108 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
119
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
“ผูล้ งทุนสำมำรถศึกษำข้อมูลของบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จำกแบบแสดงรำยกำรข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ของบริ ษทั ที่ แสดงไั้ใน www.sec.or.th หรอ อเั็บไซต์ของบริ ษทั (ถ้ำมี) ทั้งนี้ ในกำรแสดงข้อมูลข้ำงต้น บริ ษทั ที่ ออกหลักทรัพย์ สำมำรถพิจำรณำรู ปแบบกำรอธิ บำยได้ตำมูัำมเหมำะสม โดยอำจใช้ัิธีกำรที่ช่ัยในกำรสอ่ อสำรเพอ่อให้ผลู ้ งทุนเข้ำใจได้ง่ำยขึ้น ด้ัยก็ได้ เช่ น กรำฟ อำพประกอบ เป็ นต้น อย่ำงไรก็ดี ข้อมูลที่ เปิ ดเผยไม่ั่ำจะอยู่ในรู ปแบบใดจะต้องไม่มีลกั ษณะเป็ น กำรแสดงข้อูัำมอันเป็ นเท็จ ปกปิ ดข้อูัำมจริ ง หรอ อทำให้บุููลออ่นสำูัญผิดในข้อมูล”
109 120
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1
หลักทรัพย์ของบริษัท
- ทุนจดทะเบียน 812,099,845 บาท* - ทุนที่ออกและชาระแล้ว 812,099,845 บาท ประกอบด้วยหุ ้นสามัญ 812,099,845 หุน้
- มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท - บริ ษทั ไม่มีการออกหุ ้นประเภทอื่น
*ลดทุนจาก 812,100,000 บาท เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2561 โดยตัดหุน้ ที่เหลือจากการจัดสรรหุ ้นสามัญ เพิม่ ทุนเพื่อรองรับการจ่ายหุ ้นปันผล 7.2
ผู้ถือหุ้น บริ ษทั มีโครงสร้างผูถ้ ือหุน้ ตามที่ปรากฏในสมุดทะเบียนหุน้ ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 ดังนี้
สั ญชาติ ผูถ้ ือหุน้ สัญชาติไทย ผูถ้ ือหุ น้ สัญชาติตา่ งด้าว รวม
จานวนราย 3,311 9 3,320
จานวนหุ้น 807,725,565 4,374,280 812,099,845
สั ดส่ วนการถือหุ้น(%) 99.46 0.54 100
7.2.1 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท รายชื่อผูถ้ ือหุน้ สู งสุ ด 10 รายแรกของบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) แบ่งเป็ นกลุ่มครอบครัว ดังนี้ 1.
2.
ชื่ อผู้ถือหุ้น กลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิจ บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นางสุ รีวรรณ ตั้งตรงเวชกิจ
จานวนหุ้น 607,688,320 410,069,000 33,099,000 32,939,000 32,889,000 32,889,000 32,889,000 32,889,000 25,320
กลุ่มครอบครัวเสรีววิ ฒ ั นา นางสาวพิชญ์สินี เสรี ววิ ฒั นา นางสาวพิมพ์ศิริ เสรี ววิ ฒั นา นางวราณี เสรี ววิ ฒั นา นายไพบูลย์ เสรี ววิ ฒั นา
49,914,880 19,209,600 18,000,000 10,100,880 2,604,400
สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 74.83 50.49 4.08 4.06 4.05 4.05 4.05 4.05 0.00 6.15 2.37 2.22 1.24 0.32
109 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
121
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
3.
4.
5.
6.
7. 8. 9. 10.
ชื่ อผู้ถือหุ้น กลุ่มครอบครัวเตชทิพากร นายสมศักดิ์ เตชทิพากร นายกิติศกั ดิ์ เตชทิพากร นายปิ ติ เตชทิพากร นางสาวสุ ปรี ยา เตชทิพากร นายปรี ชา เตชทิพากร นางสาวอาริ ยา เตชทิพากร กลุ่มครอบครัวคหนุรักษ์ นายณัฐพัฒน์ คหนุรักษ์ นางสาวพรรณนิตา อนันตกูล กลุ่มครอบครัวพรหมสาขา ณ สกลนคร นางสุ ลี พรหมสาขา ณ สกลนคร นายศรัณย์วชิ ญ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร กลุ่มครอบครัวชาติภิญโญ นางสาวจุติรัตน์ ชาติภิญโญ นายอุเทน ชาติภิญโญ นางสาวเบญจมาศ นันทวีรวัฒน์ กลุ่มครอบครัวเลิศลา้ ประเสริฐกุล นายณัฐพงษ์ เลิศล้ าประเสริ ฐกุล นายสมหมาย เลิศล้ าประเสริ ฐกุล นายชัชวาลย์ เปี่ ยมพงศ์สุข นายวรรธนะ เจริ ญนวรัตน์ รวม
จานวนหุ้น 14,645,000 7,422,200 3,488,300 3,478,300 116,200 80,000 60,000 11,181,720 8,928,720 2,253,000 10,448,620 5,781,340 4,667,280 8,153,900 6,768,000 1,385,900 3,145,500 2,235,000 1,970,000 265,000 2,234,760 2,232,000 711,879,700
สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 1.80 0.91 0.43 0.43 0.01 0.01 0.01 1.38 1.10 0.28 1.29 0.71 0.57 1.00 0.83 0.17 0.39 0.28 0.24 0.03 0.28 0.27 87.66
หมายเหตุ: บุคคลในกลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิจ (ตามรายชื่อในตารางข้างต้น) เป็ นกลุ่มบุคคลเดียวกันตามนิ ยาม Acting in Concert ซึ่ งเป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนที่ ทจ. 7/2552 และเป็ นกลุ่มเดียวกันแบบ Acting in Concert ตั้งแต่ ก่อนการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และเป็ นกลุ่มเดียวกันแบบ Acting in Concert เรื่ อยมาจนถึง ปั จจุ บันซึ่ งได้เปิ ดเผยข้อมู ลการถื อครองหุ ้นของบริ ษ ัทไว้ในหนังสื อชี้ ชวนการเสนอขายหลักทรั พย์ครั้ งแรกต่ อ ประชาชน/ (แบบ Filing IPO) แล้ว บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด เป็ นบริ ษทั ที่ดาเนิ นกิจการโดยการถือหุ ้นในบริ ษทั อื่น (Holding Company) มีทุนจดทะเบียน 339,380,000 บาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 3,393,800 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดยมีรายชื่ อผูถ้ ือหุ ้น ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561 ดังต่อไปนี้
122
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
110
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
รายชื่อผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 3. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 4. น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 5. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 6. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
จานวนหุ้นสามัญ 576,945 563,371 563,371 563,371 563,371 563,371 3,393,800
สัดส่ วนการถือหุ้น (%) 17.00 16.60 16.60 16.60 16.60 16.60 100.00
7.2.2 ผู้ถือหุ้นรายย่อย (ข้ อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561) บริ ษทั มีผถู้ ือหุ น้ สามัญรายย่อย (Free Float) จานวน 3,307 ราย คิดเป็ นร้อยละ 25.06 7.3
ข้ อตกลงระหว่ างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กลุ่ ม ผู ้ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ที่ โ ดยพฤติ ก ารณ์ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การก าหนดนโยบาย การจัด การหรื อ การดาเนิ นงานของบริ ษ ทั อย่างมีนัยส าคัญ ทั้งนี้ บริ ษั ทไม่ มี ข้อตกลงระหว่ างกลุ่มผู้ ถือหุ้ นรายใหญ่ (Shareholding Agreement) ในเรื่ องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรื อการบริ หารงาน ของบริ ษทั ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
(โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกาหนดนโยบาย)
จานวนหุ้น
กลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิจ บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นางสุ รีวรรณ ตั้งตรงเวชกิจ
607,688,320 410,069,000 33,099,000 32,939,000 32,889,000 32,889,000 32,889,000 32,889,000 25,320
111
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561)
สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 74.83 50.49 4.08 4.06 4.05 4.05 4.05 4.05 0.00
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
123
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
7.4
124
ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่ อย
บริษัท โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ น้ ดังนี้ ชื่อผู้ถือหุ้น จานวนหุ้น 1 บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) 10,490,000 2 นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 1,666 3 นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 1,666 4 นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 1,666 5 น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 1,666 6 นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 1,666 7 นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 1,666 8 นางภาคินี ตั้งตรงเวชกิจ 4 รวม 10,500,000
สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 99.904 0.016 0.016 0.016 0.016 0.016 0.016 0 100
บริษัท บุรีรัมย์ วจิ ัยและพัฒนาอ้อย จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ ้น ดังนี้ ชื่อผู้ถือหุ้น จานวนหุ้น 1 บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) 708,794 2 นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 1 3 นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 1 4 นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 1 5 น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 1 6 นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 1 7 นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 1 รวม 708,800
สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 100 0 0 0 0 0 0 100
บริษัท บุรีรัมย์ พลังงาน จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ ้น ดังนี้ ชื่อผู้ถือหุ้น จานวนหุ้น 1 บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) 1,355,993 2 นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 1 3 นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 1 4 นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 1 5 น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 1 6 นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 1 7 นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 1 8 นางภาคินี ตั้งตรงเวชกิจ 1 รวม 1,356,000
สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 100 0 0 0 0 0 0 0 100
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
112
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ น้ ดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7
ชื่ อผู้ถือหุ้น บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
จานวนหุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 1,699,994 100 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1,700,000 100
บริษัท ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ น้ ดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7
ชื่ อผู้ถือหุ้น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
จานวนหุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 149,994 100 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 150,000 100
บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ พลัส จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ น้ ดังนี้ 1 2 3 4 5 6
ชื่ อผู้ถือหุ้น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
จานวนหุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 1,599,995 100 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1,600,000 100
113 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
125
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
บริษัท โรงงานนา้ ตาลชานิ จากัด (ชื่อเดิม: บริ ษทั บุรีรัมย์ซุปเปอร์ เพาเวอร์ จากัด) มีรายชื่อผูถ้ ือหุน้ ดังนี้ 1 2 3 4 5 6
ชื่ อผู้ถือหุ้น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
จานวนหุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 49,995 100 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 50,000 100
บริษัท นา้ ตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (ชื่อเดิม: บริ ษทั บุรีรัมย์อะโกรเอ็นเนอร์ยี่ จากัด) มีรายชื่อผูถ้ ือหุน้ ดังนี้ 1 2 3 4 5 6
ชื่ อผู้ถือหุ้น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
จานวนหุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 99,995 100 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 100,000 100
บริษัท ชู การ์ เคน อีโคแวร์ จากัด มีรายชื่อผูถ้ ือหุ ้น ดังนี้ 1 2 3 4
126
ชื่ อผู้ถือหุ้น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ รวม
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
114
จานวนหุ้น สั ดส่ วนการถือหุ้น (%) 749,997 99.99 1 0 1 0 1 0 750,000 100
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
7.5
การออกหลักทรัพย์อนื่
7.5.1 หน่ วยลงทุนของกองทุนรวม กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่มน้ าตาลบุรีรัมย์ (BRRGIF) เป็ นกองทุนรวมที่จดั ตั้งขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อลงทุนในกิจการโครงสร้ างพื้นฐานประเภทโรงไฟฟ้ า ซึ่ งลงทุนในสิ ทธิ ในรายได้ สุ ทธิ จากการประกอบกิ จการโรงไฟฟ้ าของบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด (“BEC”) และบริ ษทั บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด (“BPC”) โดยจดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2560 และเริ่ มทาการซื้ อขายในตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เป็ นวันแรกเมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2560 โดยเสนอขายหน่วยลงทุนได้ท้ งั หมด จานวน 350 ล้านหน่ วย ในราคาเสนอขายสุ ดท้ายและมูลค่าที่ตราไว้ต่อหน่ วยลงทุนจานวน 10.30 บาท ซึ่ งจานวนเงินทุนที่ได้จากการเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรกเท่ากับ 3,605 ล้านบาท ทั้งนี้ บริ ษทั เป็ นผูถ้ ือ หน่วยลงทุนรายใหญ่ใน BRRGIF สัดส่ วนร้อยละ 33.05 (ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2561) ส าหรั บ ระยะเวลาสิ้ นสุ ด ของกองทุ น BRRGIF จะสอดคล้องกับ อายุสัญ ญาซื้ อขายไฟฟ้ ากับ การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กฟภ.) โดย BEC มีระยะเวลาของสัญญาคงเหลือ 10 ปี (สัญญาสิ้ นสุ ด 10 สิ งหาคม 2571) และ BPC มีระยะเวลาของสัญญาคงเหลือ 17 ปี (สัญญาสิ้ นสุ ด 6 เมษายน 2578) 7.6
นโยบายการจ่ ายเงินปันผล
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลแต่ละปี ในอัตรา ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุ ทธิ จากงบการเงินรวม แต่เนื่ องจากพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 กาหนดให้การจ่ายเงินปันผลสามารถจ่ายได้จากกาไรสะสมของงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านั้น แต่บริ ษทั เป็ นบริ ษทั ที่ดาเนิ นกิจการโดยการถือหุ ้นในบริ ษทั อื่น (Holding Company) และไม่มีรายได้จาก การดาเนิ นธุ รกิจของตนเอง ดังนั้น จึงต้องรอรับเงินปั นผลจากบริ ษทั ย่อย และนามารับรู้เป็ นรายได้ของ บริ ษทั ก่อน จึงจะดาเนินการจัดสรรทุนสารองตามกฎหมายและพิจารณาการจ่ายเงินปั นผลตามนโยบายของ บริ ษ ทั ได้ ดัง นั้น บริ ษ ทั อาจจะไม่ส ามารถจ่า ยเงิ นปั นผลในอัตราไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 50 ของกาไรสุ ทธิ จากงบการเงินรวม ตามนโยบายอย่างเคร่ งครัดได้ทุกปี นอกจากนี้ บริ ษทั อาจกาหนดให้การจ่ายเงินปั นผลมี อัตราน้อยกว่าอัตราที่กาหนดข้างต้นได้ โดยขึ้นอยูก่ บั ผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่องของบริ ษทั และความจาเป็ นในการขยายการดาเนินงานของบริ ษทั และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการบริ หารกิจการ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลแต่ละปี ในอัตราไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ของกาไร สุ ทธิ ภายหลังการหักภาษีเงินได้นิติบุคคลและการจัดสรรทุนสารองตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ย่อย อาจกาหนดให้การจ่ายเงิ นปั นผลมีอตั ราน้อยกว่าอัตราที่กาหนดข้างต้นได้ โดยขึ้นอยู่กบั ผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่องของบริ ษทั และความจาเป็ นในการขยายการดาเนิ นงานของบริ ษทั และใช้เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการบริ หารกิจการ
115
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
127
แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2561 _____________________________________________________________________________________________________
อัตราการจ่ ายเงินปันผลของปี 2557, 2558, 2559 และ 2560
รายละเอียดการจ่ายปันผล
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560 ระหว่ างกาล
1. กาไรสุทธิตามงบการเงินรวม
236.31
272.35
2. จานวนหุน้ ที่จ่ายเงินปันผล
676.75
676.75
676.75
0.20
0.22
4. รวมเงินปันผลจ่ายทั้งสิ้น
135.35
148.89
- อัตราหุน้ ปั นผล: 0.2000 (5 หุน้ เดิม : 1 หุน้ ปันผล) - อัตราปั นผลเงินสด:0.02222222222** 150.38
5. อัตราเงินปันผลจ่ายต่อ
57.28%
54.67%
130.71%
(ล้านบาท)
- กาไรสุทธิ = 113.32* - กาไรสะสมก่อนจ่ายปั นผล 729.47*
ประจาปี
525.41 812.09
(ล้านหุน้ )
3. เงินปันผลที่จ่ายต่อหุน้ (บาทต่อหุน้ )
0.15
0.30
121.81
243.63
(ล้านบาท)
70.05%
กาไรสุทธิ
6. เป็ น / ไม่เป็ น ไปตาม
นโยบายการจ่ายเงินปั นผล (ระบุสาเหตุ)
เป็ นไปตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริ ษทั
หมายเหตุ: * ปี 2559 จ่ ายปั นผลจากกาไรสุทธิ ตามงบการเงินรวมและกาไรสะสมของบริ ษัท **บริ ษัทนาเงินปั นผลในส่ วนที่ เป็ นเงินสดชาระภาษีหัก ณ ที่ จ่าย ตามอัตราที่ กฎหมายกาหนด
128
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
116
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
8. โครงสร้ างการจัดการ
8. โครงสร้ างการจัดการ (1) โครงสร้ างองค์ กร (1)คณะกรรมการบริ โครงสร้ างองค์ กร ษท ั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุ ดย่อยรวมทั้งหมด 5 ชุ ด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ แต่งตั้งคณะกรรมการชุ ดย่บอยรวมทั ้ งหมด 5 ชุ ด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสีษ่ ยทั งได้คณะกรรมการธรรมาภิ าล คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ หาร เพื่อดาเนินการเฉพาะเรื่ องตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้ และคณะกรรมการบริ หาร เพื่อดาเนินการเฉพาะเรื่ องตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้ การดาเนิ นธุรกิจเป็ นไปอย่างราบรื่ น และสอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยมีกรรมการผูจ้ ดั การเป็ น การดาเนินธุรกิจเป็ นไปอย่างราบรื่ น และสอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยมีกรรมการผูจ้ ดั การเป็ น ผูบ้ ริ หารสู ดของบริ ษทั ษทัทั ้ งนีทั้ ้งกรรมการบริ ารระดั งของบริ ษทั เคยเป็ ไม่เคยเป็ พนัหรืกงาน ้ ส่ วน ผูบ้ ริงหสุารสู งสุ ดของบริ นี้ กรรมการบริษษทั ทั และผู และผูบ้ บ้ ริริหหารระดั บสูบงสูของบริ ษทั ไม่ นพนักนงาน อหุ น้ หรื ส่ วอนหุ น ของบริของบริ ษทั สอบบั ญชีภญายนอกที ่บริ่บษริทั ษใช้ นช่ววงง22ปี ปีทีที่ผา่ ่ผนมา า่ นมา ษทั สอบบั ชีภายนอกที ทั ใช้บบริริกการอยู ารอยูใใ่่ นช่ คณะกรรมการบริ ษษทั ทั คณะกรรมการบริ
เลขานุการบริ ษทั
เลขานุการบริ ษทั
(สานักกรรมการ)
(สานักกรรมการ)
คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการบริ ความเสี่ห ยงาร
คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ
ความเสี่ ยง
ตรวจสอบ
สานักบริ หารความเสี่ ยง
สานักตรวจสอบภายใน
สานักบริ หารความเสี่ ยง
สานักตรวจสอบภายใน
คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริ หาร
คณะกรรมการบริ กรรมการผูจ้ ดั การหาร
คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล
คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล นักลงทุนสัมพันธ์
กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ รองผูจ้ ดั การอาวุโส รองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุน กลุ่มการลงทุน ในประเทศ ในประเทศ กรรมการ กรรมการ ด้านธุรกิจ ด้านพลังงาน รองผูจ้ ดั การอาวุ โส รองผูจ้ ดั การอาวุโส การเกษตร
กลุ่มการลงทุน ในประเทศ ด้านธุรกิจ การเกษตร
กลุ่มการลงทุน ในประเทศ ด้านพลังงาน
กรรมการ รองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุน ในประเทศ กรรมการ ด้านพาณิ ชย์
รองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุน ในประเทศ ด้านพาณิ ชย์
กรรมการ รองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุน ต่างประเทศ กรรมการ (ด้านธุรกิจเกษตร รองผูจ้ ดั การอาวุโส พลังงาน และด้านอื่น ๆ
กลุ่มการลงทุน ต่างประเทศ (ด้านธุรกิจเกษตร 117 พลังงาน และด้านอื่น ๆ
รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มการเงิน และปฏิบตั ิการ
นักลงทุ นสัมพันธ์ รองกรรมการ
ผูจ้ ดั การ ด้านต่างประเทศ และนโยบาย รองกรรมการผูจ้ ดั การ อุตสาหกรรม รองกรรมการ
กลุ่มการเงิน
รองกรรมการผูจ้ ดั การ และปฏิบตั ิการ กลุ่มบริ หารการเงิน และบริ หารความเสี่ ยง
รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มบริ หารการเงิน และบริ หารความเสี่ ยง
117ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
ผูจ้ ดั การ
ผูช้ ่วยกรรมการ ด้านต่างประเทศ ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายบัและนโยบาย ญชี
(ผูค้ วบคุมการทาบัญชี)
อุตสาหกรรม
ผูช้ ่วยกรรมการ ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายบัญชี
(ผูค้ วบคุมการทาบัญชี)
129
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
(2) โครงสร้ างการจัดการ
(2) โครงสร้ างการจัดการ
2.1 คณะกรรมการบริษัท
2.1 คณะกรรมการบริษัท
ณ วัณนทีวัน่ 31ที่ 31 ธันธัวาคม 2561 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั จานวน 11 คน แบ่งเป็ นกรรมการบริ ษทั ที่ไม่ นวาคม 2561 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั จานวน 11 คน แบ่งเป็ นกรรมการบริ ษทั ที่ไม่ เป็ นผูเป็บ้ นริผูหบ้ ารริ ห5ารคน5 คน หรืหรื อร้ออร้ยละ คนหรืหรือร้ออร้ยละ อยละ54.55 54.55 โดยในจ านวนนี อยละ45.45 45.45และกรรมการบริ และกรรมการบริษษทัทั ทีที่เ่เป็ป็ นนผูผูบ้ บ้ ริริหหาราร66คน โดยในจ านวนนี ้ ้ มีกรรมการอิ สระสระ 5 คน หรืหรื อร้ออร้ยละ หมดนอกจากนั นอกจากนั ตามรายชื ด้าานล่ มีกรรมการอิ 5 คน อยละ45.45 45.45ของจ ของจานวนกรรมการบริ านวนกรรมการบริ ษษทั ทั ทัทั้ ง้ งหมด ่ อด้่าอนล่ งนีา้ งนี้ ้ น ้ นตามรายชื มีกรรมการบริ ษทั ษในล าดัาดั บทีบ่ ที8 ่ และ าดับบทีที่ 9่ 9และ และ1111มีมีความรู ความรู า้ นการเงิ น และล มีกรรมการบริ ทั ในล 8 และ9 9เป็เป็นผู นผูม้ ม้ ีคีความรู วามรู้ด้ดา้ า้ นบั นบัญ ญชีชี ลลาดั ้ดา้ ้ดนการเงิ น และล าดับาดับ ที่ 10ทีด้่ 10านการก ากับากัดูบแดูลกิแลกิ จการที ่ดี ่ดสี สาหรั วามรู้แ้และประสบการณ์ ละประสบการณ์เกี่เยกีวกั่ยวกั กิจของบริ ด้านการก จการที าหรับบลลาดัาดับบอือื่น่น ๆๆ เป็ นผูม้ ีความรู บธุบรธุกิจรของบริ ษทั ษทั ชื่อ-นามสกุ ชื่อ-นามสกุ ล ล 1. นายประจวบ ไชยสาส์ 1. นายประจวบ ไชยสาส์ นน 2. นายอนั ตั้งตรงเวชกิ 2. นายอนั นต์ ตัน้ งต์ตรงเวชกิ จ จ 3. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
3. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
ตาแหน่ าแหน่งง ประธานกรรมการบริษษทั ทั (กรรมการอิ (กรรมการอิสสระ) ประธานกรรมการบริ ระ)และประธานกรรมการ และประธานกรรมการ ตรวจสอบ ตรวจสอบ กรรมการบริษษทั ทั , ,ประธานกรรมการบริ ประธานกรรมการบริ หหาร, หารหาร กรรมการบริ าร,ประธานกรรมการบริ ประธานกรรมการบริ ความเสี่ ยง่ ยงและกรรมการผู และกรรมการผูจ้ จ้ ดั ดั การ การ (กรรมการผู ความเสี (กรรมการผูม้ ม้ ีอีอานาจลงนาม/ านาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร) เป็ นผูบ้ ริ หาร) กรรมการบริ ษทั (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร) กรรมการบริ ษทั (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร)
วันทีวัไ่ นด้ทีรไั่บด้แต่รับงตัแต่้ง งตั้ง 15 ตุ15ลาคม 25552555 ตุลาคม 13 กั13นยายน 25312531 กันยายน
พ้นพ้ตาแหน่ งตามวาระปี 2562 2562 นตาแหน่ งตามวาระปี
7 กรกฎาคม 2555
7 กรกฎาคม 2555
พ้นตาแหน่ งตามวาระปี 2562
พ้นตาแหน่ ตามวาระปี 2562 กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง และ 11 พฤศจิ กายนง2553 4. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล กรรมการบริ ษทั ,จ้ กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง และ 11 พฤศจิกายน 2553 ่มการลงทุ กรรมการรองผู ดั การอาวุโส กลุ นในประเทศ กรรมการรองผู จ้ ดั การอาวุ โส กลุ่มม้ การลงทุ นในประเทศ ด้านธุรกิจการเกษตร (กรรมการผู ีอานาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร) ด้ า นธุ ร กิ จ การเกษตร (กรรมการผู ม ้ ี อ านาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ่ ยหง,าร) 5. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี 12 พฤษภาคม 2538 5. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษ ท ั , กรรมการบริ ห าร, กรรมการบริ ห ารความเสี ่ ย ง, พฤษภาคม 25382562 ตาแหน่ งตามวาระปี กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน, กรรมการธรรมาภิบาล และ พ้น12 กรรมการสรรหาและพิ จารณาค่ ่มการลงทุนกรรมการธรรมาภิ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุ โส กลุาตอบแทน, ในประเทศ ด้านพาณิบชาลย์ และ พ้นตาแหน่ งตามวาระปี 2562 (กรรมการผูม้ ีอจ้ านาจลงนาม/ บ้ ริ หาร) นในประเทศ ด้านพาณิ ชย์ กรรมการรองผู ดั การอาวุโส เป็กลุน่มผูการลงทุ 6. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ทั , กรรมการบริเป็หนาร,ผูบ้ กรรมการบริ (กรรมการผู ม้ ีอษานาจลงนาม/ ริ หาร) หารความเสี่ ยง และ 25 มิถุนายน 2547 ตาแหน่ ่มการลงทุ กรรมการรองผู ดั การอาวุโส กลุ นต่างประเทศ 6. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั ,จ้ กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง และ พ้น25 มิถุนงตามวาระปี ายน 25472562 (กรรมการผูม้ ีอจ้ านาจลงนาม/ บ้ ริ หาร) นต่างประเทศ พ้นตาแหน่ งตามวาระปี 2562 กรรมการรองผู ดั การอาวุโส เป็กลุน่มผูการลงทุ 7. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษ ท ั , กรรมการบริ ห าร, กรรมการบริ ห ารความเสี ่ ย ง, 25 มิ ถุนายน 2547 (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร) กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน, กรรมการธรรมาภิบาล และ 7. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง, 25 มิถุนายน 2547 กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านพลังงาน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน, กรรมการธรรมาภิบาล และ (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร) กรรมการรองผู จ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านพลังงาน 3 ตุลาคม 2557 8. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการสรรหาและ (กรรมการผู ีอานาจลงนาม/ เป็ นผูบ้ ริ หาร) พิจารณาค่าม้ ตอบแทน และประธานกรรมการธรรมาภิ บาล 8. นางสี น วล ทั ศ น์ พ น ั ธุ ์ กรรมการอิ ส ระ, กรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการสรรหาและ 3 ตุลาคม2556 2557 9. นายศิริชยั สมบัติศิริ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 10 มกราคม พิจกรรมการอิ ารณาค่าตอบแทน และประธานกรรมการธรรมาภิ บาล 10. รศ. ดร. ชิต เหล่าวัฒนา สระ และกรรมการธรรมาภิ บาล 25 เมษายน 2561 9. นายศิ ร ิ ช ย ั สมบั ต ิ ศ ิ ร ิ กรรมการอิ ส ระ และกรรมการตรวจสอบ 10 มกราคม 11. นายวิเชฐ ตันติวานิช กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 25 เมษายน 25612556
4. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล
10. รศ. ดร. ชิต เหล่าวัฒนา 11. นายวิเชฐ ตันติวานิช
กรรมการอิสระ และกรรมการธรรมาภิบาล กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
118
130
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
118
25 เมษายน 2561 25 เมษายน 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริษัท 1. นายอนันต์ 3. นางจิรวรรณ 5. นายสฤษดิ์
ตั้งตรงเวชกิจ พงษ์พิชิตกุล ตั้งตรงเวชกิจ
2. นางวันเพ็ญ 4. นางสาวจิตติมา 6. นายอดิศกั ดิ์
ปุญญนิรันดร์ ตั้งตรงเวชกิจ ตั้งตรงเวชกิจ
“กรรมการสองในหกคนนี้ลงลายมือชื่อร่ วมกัน และประทับตราสาคัญของบริ ษทั ” กฎบัตรคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษ ทั น้ าตาลบุ รีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“บริ ษ ทั ”) ครั้ งที่ 7/2561 เมื่ อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 มี มติ อนุ ม ตั ิ การทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบริ ษ ทั เพื่ อจัดท าและรวบรวม องค์ประกอบ การแต่งตั้ง และคุณสมบัติของคณะกรรมการบริ ษทั รวมถึงวาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจาก ตาแหน่ง การประชุม การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน และเรื่ องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการทบทวนขอบเขตและ อ านาจหน้ า ที่ ของคณะกรรมการบริ ษัท ให้ ท ันต่ อสถานการณ์ ปั จจุ บ ัน เพื่ อเป็ นแนวทางปฏิ บ ัติ ส าหรั บ คณะกรรมการบริ ษทั ต่อไป โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1 องค์ ประกอบ การแต่ งตั้ง และคุณสมบัติ 1.1 คณะกรรมการบริ ษทั ต้องประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั อย่างน้อย 5 คน และกรรมการบริ ษทั ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการบริ ษทั ทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยูใ่ นราชอาณาจักรไทย 1.2 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั ที่เป็ นผูบ้ ริ หาร และกรรมการบริ ษทั ที่ไม่ได้ เป็ นผู้บ ริ หาร ซึ่ งต้ อ งเป็ นกรรมการอิ ส ระที่ มี คุ ณ สมบัติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ที่ ส านั ก งาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สานักงาน ก.ล.ต.”) กาหนด รวมทั้งต้อง มีกรรมการอิสระมากกว่า หรื อเท่ากับ 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด 1.3 กรรมการบริ ษทั ต้องเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกาหนด และไม่มีลกั ษณะต้องห้ามที่แสดง ถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้วางใจให้บริ หารจัดการกิจการที่มีมหาชนเป็ นผูถ้ ือหุ ้น ตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) กาหนด 1.4 กรรมการบริ ษทั ต้องมาจากผูท้ รงคุณวุฒิหลากหลายสาขาอาชี พที่จาเป็ นสาหรับบริ หารกิ จการ ของกลุ่ ม บริ ษ ัท น้ า ตาลบุ รี รั ม ย์ (“กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ”) ซึ่ งควรประกอบด้ว ยผูท้ ี่ มี ค วามรู้ ห รื อ มี ประสบการณ์ในธุ รกิจน้ าตาล พืชเกษตรโดยเฉพาะอ้อย พลังงานชี วมวล ด้านกฎหมาย ด้านบัญชี และการเงิน รวมทั้งการมีคุณสมบัติที่สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั 1.5 ห้ามไม่ให้กรรมการบริ ษทั เข้าถือหุ ้น ประกอบกิจการ หรื อเป็ นกรรมการบริ ษทั ในห้างหุ ้นส่ วน หรื อ บริ ษ ัท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ อัน มี ส ภาพอย่า งเดี ย วกัน หรื อ เป็ นการแข่ ง ขัน กับ กิ จ การของ กลุ่มบริ ษทั ฯ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง 119 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
131
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.6 การเลือกตั้งกรรมการบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกระบวนการสรรหาและการแต่งตั้งที่บริ ษทั กาหนด ซึ่ งต้องมีความโปร่ งใสและชัดเจน อย่างไรก็ตาม ในการสรรหากรรมการบริ ษทั กาหนดให้ใช้ บริ ษทั ที่ปรึ กษา (Professional Search Firm) หรื อฐานข้อมูล Director Pool ของสมาคมส่ งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) เพื่อประกอบการพิจารณาสรรหาด้วย ทั้งนี้ การแต่งตั้งและ ถอดถอนกรรมการบริ ษ ทั ต้องเป็ นไปโดยที่ ประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้น ตามหลัก เกณฑ์และวิธี ก ารใน ข้อบังคับบริ ษทั ข้อ 14 ซึ่ งกาหนดให้ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นเป็ นผูเ้ ลื อกตั้งกรรมการบริ ษทั โดยใช้ เสี ยงข้างมาก และการลงคะแนนให้ 1 หุ ้น มี 1 เสี ยง และให้ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งกรรมการบริ ษทั เป็ นรายบุ ค คล โดยให้ผู้ที่ ไ ด้รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตามล าดับ ลงมาเป็ นผู้ไ ด้รั บ เลื อ กเป็ น กรรมการบริ ษ ทั และในกรณี ที่บุ คคลซึ่ งได้รับการเลื อกตั้ง ในลาดับ ถัดลงมามี ค ะแนนเสี ย ง เท่ ากัน ซึ่ งเกิ นกว่า จานวนกรรมการบริ ษทั ที่ พึง มีหรื อจะพึงเลื อกตั้ง ในครั้ง นั้น ให้ประธาน ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เป็ นผูอ้ อกเสี ยงชี้ขาด 1.7 ให้คณะกรรมการบริ ษทั เลือกกรรมการบริ ษทั คนใดคนหนึ่งเป็ นประธานกรรมการบริ ษทั หรื อ เห็นสมควรจะเลือกกรรมการบริ ษทั คนใดคนหนึ่ง หรื อหลายคนเป็ นรองประธานกรรมการบริ ษทั ก็ได้ 2. วาระการดารงตาแหน่ งและการพ้นจากตาแหน่ ง 2.1 กรรมการบริ ษทั มีวาระการดารงตาแหน่ งตามข้อบังคับบริ ษทั ข้อ 15 ซึ่ งกาหนดให้ในการประชุ ม สามัญประจาปี ทุกครั้ง ให้กรรมการบริ ษทั คนที่อยู่ในตาเหน่งนานที่สุดนั้นเป็ นผูอ้ อกจากตาแหน่ ง จานวน 1 ใน 3 ถ้าจานวนกรรมการบริ ษทั ที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็ นสามส่ วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจานวน ใกล้ที่สุดกับส่ วน1 ใน 3 และกรรมการบริ ษทั ที่ออกตามวาระนั้น อาจได้รับเลือกเข้ามาดารงตาแหน่งใหม่ก็ได้ 2.2 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการบริ ษทั จะพ้นจากตาแหน่งเมื่อ - ตาย ลาออก - ขาดคุณสมบัติ หรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ มีมติให้ออก - ศาลมีคาสัง่ ให้ออก 2.3 กรรมการบริ ษทั ที่ลาออกจากตาแหน่งจะต้องยื่นใบลาออก ซึ่ งการลาออกจะมีผลนับตั้งแต่วนั ที่ใบลาออก ถึงบริ ษทั 2.4 ในกรณี ที่ ต าแหน่ ง กรรมการบริ ษัท ว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ นนอกจากถึ งคราวออกตามวาระให้ คณะกรรมการบริ ษ ทั เลื อกบุ คคลที่ มี คุณสมบัติ และไม่ มี ล ักษณะต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็ น กรรมการบริ ษทั แทนในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั คราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการบริ ษทั ที่แทนนั้นเหลือน้อยกว่า 2 เดือน ทั้งนี้ บุคคลที่เข้าเป็ นกรรมการบริ ษทั แทนดังกล่าว จะอยูใ่ นตาแหน่ง กรรมการบริ ษทั ได้เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการบริ ษทั ที่ตนแทน โดยการลงมติในวาระนี้ ต้องประกอบด้วยคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ที่ยงั คงเหลืออยู่ 2.5 ที่ ประชุ มผู้ถื อหุ ้ นอาจลงมติ ให้ กรรมการบริ ษ ัทออกจากต าแหน่ งก่ อนถึ งคราวออกตามวาระ ด้วยคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนผูถ้ ือหุ ้นซึ่ งมาประชุมและมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนน 132
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
120
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
และมี หุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่ งหนึ่ งของจานวนหุ ้นที่ถือโดยผูถ้ ื อหุ ้นที่มาประชุ มและมีสิทธิ ออกเสี ยง 3. บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษ ัทได้พิ จารณาแบ่ งอ านาจหน้าที่ และความรั บผิ ดชอบในการก าหนดนโยบาย การกากับดูแลการดาเนิ นงานเชิ งนโยบายในภาพรวม และการบริ หารงานออกจากกันอย่างชัดเจน โดยปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ ษทั ไม่ได้เป็ นกรรมการบริ ษทั ที่เป็ นผูบ้ ริ หาร ตลอดจนไม่มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษ ทั และไม่ไ ด้เป็ นบุ ค คลเดี ย วกันกับ กรรมการผูจ้ ดั การ รวมทั้ง ไม่ไ ด้ร่วมบริ หารงานปกติ ป ระจาวัน แต่ใ ห้ การสนับสนุ น และให้คาแนะนาในการดาเนิ นธุ รกิ จของฝ่ ายจัดการผ่านทางผูบ้ ริ หารอย่างสม่ าเสมอ ในขณะที่ กรรมการผูจ้ ดั การรั บผิ ดชอบเกี่ ยวกับการบริ หารจัดการบริ ษ ัทและบริ ษ ัทย่อย ภายใต้กรอบอานาจที่ ได้รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ทั้งนี้ ประธานกรรมการบริ ษทั มีอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. รับผิดชอบในฐานะผูน้ าของคณะกรรมการบริ ษทั ในการกากับ ติดตาม ดูแลการปฏิ บตั ิงาน ของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย 2. เป็ นประธานในที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ในกรณี ที่คะแนนเสี ยงเท่ากันให้ประธาน กรรมการบริ ษทั ออกเสี ยงเพิ่มขึ้นอีกเสี ยงหนึ่งเป็ นเสี ยงชี้ขาด 3. เรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ ษทั หรื ออาจมอบหมายให้บุคคลอื่นดาเนินการแทน 4. เป็ นประธานในที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ควบคุมการประชุ มให้เป็ นไปตามข้อบังคับของบริ ษทั ว่าด้วยการประชุ ม ดาเนิ นการประชุ มให้เป็ นไปตามลาดับระเบียบวาระที่กาหนดไว้ใน หนังสื อนัดประชุม เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติให้เปลี่ยนลาดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสี ยง ไม่นอ้ ยกว่าสองในสามของจานวนผูถ้ ือหุน้ ซึ่งมาประชุม 5. ปฏิบตั ิการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย สาหรับคณะกรรมการบริ ษทั มีขอบเขตอานาจหน้าที่ ดังนี้ ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริษัท 1. บริ หารกิจการบริ ษทั ให้เป็ นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดแก่ผถู้ ือหุ น้ โดยในการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต และปฏิบตั ิตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริ ษทั ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น และมติของที่ประชุม คณะกรรมการบริ ษทั 2. พิจารณาและอนุมตั ิในเรื่ องที่สาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษทั เช่น วิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุ รกิจ เป้ าหมายและแผนการดาเนินงาน เป้ าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม
121ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
133
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3. กากับดู แลการดาเนิ นธุ รกิ จตามปกติของบริ ษทั และกากับดูแลให้ฝ่ายจัดการดาเนิ นการให้เป็ นไป ตามวิสัยทัศน์ ภารกิ จ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุ รกิ จ เป้ าหมาย และแผนการดาเนิ นงาน เป้ าหมายทาง การเงิน และงบประมาณของบริ ษทั 4. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิ น และการสอบบัญชี รวมทั้งดูแลให้มีระบบการควบคุ ม ภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบบริ หารความเสี่ ยง และระบบป้ องกันการทุจริ ต รวมถึงกาหนดให้มี มาตรการในการติดตามผลการดาเนิ นงานของบริ ษ ทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษ ทั ร่ วมที่เหมาะสมให้มี ประสิ ทธิภาพและรัดกุมเพียงพอ 5. จัดให้มี รายงานประจาปี ของบริ ษ ทั และ/หรื อของคณะกรรมการบริ ษ ทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 6. กากับดู แล และจัดให้มี กลไกในการกากับดู แล ไม่ให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง ผูม้ ีส่วนได้เสี ยกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม 7. พิจารณาและอนุมตั ิ และ/หรื อ พิจารณาและให้ความเห็น เพื่อเสนอต่อที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นให้พิจารณา และอนุ ม ัติ การเข้าท าธุ รกรรมที่ มี นั ยส าคัญต่ อบริ ษัท และการเข้า ท ารายการที่ เกี่ ยวโยงกั น ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และ/หรื อข้อบังคับบริ ษทั ของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม 8. แต่งตั้งกรรมการบริ ษ ทั คนใดคนหนึ่ งเป็ นประธานกรรมการบริ ษ ทั และแต่ งตั้งกรรมการบริ ษ ัท ตามจานวนที่คณะกรรมการบริ ษทั เห็นสมควรเป็ นรองประธานกรรมการบริ ษทั 9. กาหนด และ/หรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการบริ ษทั ผูม้ ีอานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริ ษทั 10. สรรหาและแต่ งตั้งบุ คคลที่ มี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมี คุ ณสมบัติ ครบถ้วน ตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เข้าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั ในกรณี ที่ตาแหน่งกรรมการบริ ษทั ว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ 11. สรรหาบุ คคลที่ มี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมี คุ ณสมบัติ ครบถ้วนตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ให้พิจารณาและแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั 12. การแต่งตั้งหรื อเสนอชื่อบุคคลเป็ นกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อย และ/หรื อบริ ษทั ร่ วม อย่างน้อยตามสั ดส่ วนการถื อหุ ้นของบริ ษทั ในบริ ษ ทั ย่อยและบริ ษ ทั ร่ วม ทั้งนี้ กรรมการบริ ษ ทั หรื อผูบ้ ริ หารตามวรรคข้างต้นที่ได้รับการเสนอชื่ อหรื อแต่งตั้งนั้น ต้องมีคุณสมบัติบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตลอดจนไม่มีลกั ษณะขาดความน่ าไว้วางใจ ตามประกาศคณะกรรมการกากับ หลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ว่าด้วยการก าหนดลักษณะขาดความน่ าไว้วางใจของกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั 13. พิจารณาการจ่ายเงินปั นผลประจาปี และเงินปั นผลระหว่างกาลของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม 14. พิจารณาและก าหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษ ทั กรรมการชุ ดย่อย และ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง
134
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
122
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
15. พิจารณาจานวนค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั ตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ให้พิจารณาและอนุมตั ิ 16. ประเมินผลงานของกรรมการผูจ้ ดั การ และพิจารณาและกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การ ตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด 17. แต่ งตั้งคณะกรรมการชุ ดย่ อย โดยสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการบริ ษ ัท หรื อบุ คคลที่ มี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่คณะกรรมการบริ ษทั เห็นสมควร เข้าดารง ตาแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อย รวมทั้งกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อย 18. แต่งตั้งกรรมการบริ ษทั คนใดคนหนึ่งที่ดารงตาแหน่งกรรมการบริ หารเป็ นกรรมการผูจ้ ดั การ รวมทั้ง กาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ของกรรมการผูจ้ ดั การ 19. แต่งตั้งกรรมการบริ ษทั หรื อบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่คณะกรรมการบริ ษทั เห็นสมควรเป็ นเลขานุการบริ ษทั 20. กาหนดให้มีแผนการสื บทอดตาแหน่ งของกรรมการผูจ้ ดั การ โดยทบทวนแผนดังกล่ าวเป็ น ประจาทุกปี 21. แต่งตั้ง และ/หรื อ มอบอานาจให้กรรมการบริ ษทั หรื อบุคคลใดบุคคลหนึ่ งหรื อหลายคน มี อานาจ ด าเนิ นการใด ๆ ที่ อยู่ภายในขอบเขตอ านาจของกรรมการบริ ษ ัท ตามที่ คณะกรรมการบริ ษ ัท เห็นสมควรโดยที่คณะกรรมการบริ ษทั อาจยกเลิก เพิกถอน หรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงอานาจดังกล่าวได้ 22. กากับดูแลให้มีช่องทางในการสื่ อสารกับผูถ้ ือหุน้ แต่ละกลุ่ม และผูม้ ีส่วนได้เสี ยของบริ ษทั 23. กากับดูแลให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่ งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกัน และน่าเชื่อถือ 24. กาหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงระเบียบ และข้อบังคับภายในของบริ ษทั ในเรื่ องต่าง ๆ 25. มีอานาจ หน้าที่ และความรั บผิดชอบอื่ นใดตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ ยวข้อง ข้อบังคับบริ ษทั และมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 26. กาหนดนโยบาย ทบทวน และสนับสนุ นให้มีระบบป้ องกันการคอร์ รัปชันที่มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้ง ควบคุมดูแลผูบ้ ริ หาร และฝ่ ายจัดการให้ปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันและคู่มือการกากับดูแล กิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจ ตลอดจนเป็ นแบบอย่างด้านการต่อต้านคอร์ รัปชันและปลูกฝังจน เป็ นวัฒนธรรมองค์กร ทั้งนี้ ในกรณี ที่มีหลักฐานว่ากรรมการบริ ษทั มีการกระทาอันเป็ นการดาเนินการ หรื อยอมรั บ หรื อให้ การสนับสนุ นให้ มี การคอร์ รั ปชันเกิ ดขึ้ น บริ ษ ัทจะด าเนิ นการทางวิ นั ย เพื่อพิจารณาลงโทษตามระเบียบข้อบังคับในการทางาน ซึ่ งมีโทษสู งสุ ดคือเลิกจ้าง หรื อยกเลิกสัญญา ทั้งนี้ หากกรณี ที่เกี่ ยวข้องนั้นเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมาย ผูท้ ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย อาจถูก ดาเนินการตามกระบวนการบังคับใช้กฎหมายนั้น ๆ
123ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
135
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
27. ก าหนดนโยบาย และทบทวนหลักการก ากับดู แลกิ จการที่ ดี และจรรยาบรรณธุ รกิ จของบริ ษ ัท และตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผูน้ าในการสร้างคุ ณค่าให้แก่กิจการอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนมี หน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดทาแผนพัฒนาด้านการกากับดูแลกิจการให้เหมาะสมกับธุ รกิจ ทั้ง นี้ ในการด าเนิ น การเรื่ องใดที่ ค ณะกรรมการบริ ษัท หรื อผู ้รั บ มอบอ านาจจาก คณะกรรมการบริ ษทั มีส่วนได้เสี ยหรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษทั และ/ หรื อ บริ ษ ัท ย่อ ย และ/หรื อ บริ ษ ัท ที่ เ กี่ ย วข้อ ง คณะกรรมการบริ ษ ัท หรื อ ผู ้รั บ มอบอ านาจจาก คณะกรรมการบริ ษทั ไม่มีอานาจอนุมตั ิการดาเนินการในเรื่ องดังกล่าว เว้นแต่เป็ นการอนุ มตั ิรายการ ที่เป็ นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อที่ประชุมผูถ้ ื อหุ ้น (แล้วแต่ กรณี ) พิจารณาและอนุมตั ิไว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริ ษทั 4. การประชุ มของคณะกรรมการบริษัท 4.1 คณะกรรมการบริ ษ ัท ต้อ งประชุ ม กันอย่า งน้อ ย 4 ครั้ งต่ อ ปี เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ ม ัติ ง บการเงิ น ประจาปี และรายไตรมาส รวมทั้งเรื่ องสาคัญอื่น ๆ และมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจาเป็ น และเหมาะสม รวมทั้งมีการกาหนดวาระประจาของแต่ละครั้งไว้อย่างชัดเจน เช่น การพิจารณา อนุมตั ิงบการเงินที่ผา่ นการสอบทาน หรื อตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี เป็ นต้น 4.2 ก าหนดปฏิ ทิ น การประชุ ม ประจ าปี ของปี ถั ด ไปล่ ว งหน้ า ทุ ก สิ้ น ปี ส าหรั บ การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุ ดย่ อ ย เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อย ตลอดจนผูบ้ ริ หารสามารถกาหนดตารางการทางาน และสามารถเข้าร่ วม ประชุม เพื่อให้ความเห็นหรื อพิจารณาอนุมตั ิในเรื่ องสาคัญต่าง ๆ ได้ทุกคราว 4.3 ในการเรี ยกประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ให้ประธานกรรมการบริ ษทั หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย ส่ งหนังสื อเชิญประชุมกรรมการบริ ษทั ไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันประชุ ม เว้นแต่ในกรณี มีความจาเป็ น เร่ งด่วน หรื อเพื่อรักษาสิ ทธิ์ และประโยชน์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ อาจนัดประชุมด้วยวิธีการอื่น หรื อ กาหนดวันประชุ ม เร็ วกกว่านั้นได้ ทั้งนี้ กรรมการบริ ษทั 2 คนขึ้นไป อาจร้ องขอประธาน กรรมการบริ ษทั ให้เรี ยกประชุมได้ โดยกาหนดวันประชุมภายใน 14 วัน นับแต่วนั ที่มีการร้องขอ 4.4 คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับข้อมูลที่เพียงพอ ครบถ้วน และทันเวลา โดยเลขานุการบริ ษทั จะดูแล ให้ก รรมการบริ ษ ทั ได้รับ วาระการประชุ ม และเอกสารประกอบการประชุ ม ล่ วงหน้า ก่ อน การประชุ มเป็ นเวลาที่ เพี ย งพอส าหรั บการศึ ก ษาและพิ จารณาเรื่ องที่ ต้องให้ความเห็ นและ การออกเสี ยงลงคะแนน 4.5 มี ก ารจดบัน ทึ ก การประชุ ม เป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษร และจัด เก็ บ รายงานการประชุ ม ที่ ผ่า น การรับรองจากคณะกรรมการบริ ษทั พร้อมให้คณะกรรมการบริ ษทั และผูท้ ี่เกี่ ยวข้องสามารถ ตรวจสอบได้ 4.6 ต้องมีกรรมการบริ ษทั มาประชุ มไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ งของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมดจึงจะ ครบเป็ นองค์ประชุม หากประธานกรรมการบริ ษทั ไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้รองประธาน 136
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
124
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กรรมการบริ ษทั เป็ นประธานที่ประชุ ม และหากรองประธานกรรการบริ ษทั ไม่สามารถปฏิบตั ิ หน้าที่ได้ให้กรรมการบริ ษทั ซึ่ งมาประชุ มเลือกกรรมการบริ ษทั คนใดคนหนึ่งที่มาประชุมเป็ น ประธานที่ประชุม 4.7 การลงมติ ในที่ ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั กาหนดให้จานวนองค์ประชุ มขั้นต่ า ณ ขณะที่ คณะกรรมการบริ ษทั จะลงมติในที่ประชุม จะต้องมีจานวนกรรมการบริ ษทั อยูไ่ ม่นอ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด 4.8 ในการลงคะแนนให้กรรมการบริ ษทั 1 คน มี 1 เสี ยง กรรมการบริ ษทั ที่มีส่วนได้เสี ยในเรื่ องใด ไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงในเรื่ องนั้น และการวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ให้ถือ เสี ยงข้างมาก ทั้งนี้ หากคะแนนเสี ยงเท่ากันให้ประธานที่ประชุ มออกเสี ยงเพิ่มอีกหนึ่ งเสี ยง เป็ นเสี ยงชี้ขาด 4.9 ให้เลขานุการบริ ษทั ซึ่งทาหน้าที่เป็ นเลขานุการที่ประชุมเป็ นผูบ้ นั ทึกรายงานการประชุม 5. การรายงานของคณะกรรมการบริษัท 5.1 คณะกรรมการบริ ษทั ต้องจัด ให้มีการทารายงานผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในรู ปแบบรายงานประจาปี ให้ผถู้ ือหุน้ ได้รับทราบ 5.2 คณะกรรมการบริ ษทั ต้องจัดทารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ต่อรายงาน ทางการเงิ น และแสดงควบคู่กบั รายงานของผูส้ อบบัญชี โดยเปิ ดเผยไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) และรายงานประจาปี 5.3 คณะกรรมการบริ ษ ัท ต้องดาเนิ น การให้ก รรมการบริ ษ ทั ทุ ก รายเปิ ดเผยประวัติข องตนเอง อย่ า งครบถ้ ว น และเป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุ น ที่ ท จ.38/2559 เรื่ องหลักเกณฑ์ เงื่ อนไข และวิธีการรายงานการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ ยวกับฐานะการเงิ นและผล การดาเนินงานของบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 8) เพื่อประโยชน์แก่ผถู ้ ือหุ ้น นักลงทุน และ สาธารณะชน ในแบบแสดงรายการข้อมู ล ประจ าปี (แบบ 56-1) รายงานประจ าปี และใน Website ของบริ ษทั 6. การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุ ดย่อย และกรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริ ษทั ต้องจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการบริ ษทั เป็ นประจาทุกสิ้ นปี โดยแบ่งเป็ นการประเมินคณะกรรมการบริ ษทั รายคณะ (As a Whole) และแบบประเมินตนเองของกรรมการบริ ษทั รายบุคคล (Self-assessment) ตามแนวทางการกากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อทบทวนการทางาน ปั ญหาและอุปสรรค ที่พบ และเพื่อประเมินผลการปฏิบตั ิงานในปี ที่ผา่ นมา และหาแนวทางในการปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพในการทางาน ของคณะกรรมการบริ ษทั ในปี ต่อ ๆ ไป โดยหลักเกณฑ์ในแบบการประเมินคณะกรรมการบริ ษทั รายคณะ และการประเมินตนเองของกรรมการบริ ษทั รายบุ คคล ได้อ้างอิ งมาจากตัวอย่างแบบประเมิ นตนเองของคณะกรรมการบริ ษ ทั ของตลาดหลักทรั พย์แห่ ง 125 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
137
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ประเทศไทย เดือนกุมภาพันธ์ 2558 โดยนามาปรับใช้ให้เข้ากับธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ ซึ่ งมีรายละเอียดหัวข้อใน การประเมินดังนี้ - แบบประเมินคณะกรรมการบริ ษทั รายคณะ แบ่งด้านการประเมิน ดังนี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริ ษทั 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั 3. การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 4. การทาหน้าที่ของกรรมการบริ ษทั 5. ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการบริ ษทั และการพัฒนาผูบ้ ริ หาร - แบบประเมินตนเองของกรรมการบริ ษทั รายบุคคล แบ่งด้านการประเมิน ดังนี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริ ษทั 2. การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั สาหรับกระบวนการประเมินนั้น สานักกรรมการ/เลขานุ การบริ ษทั จะดาเนิ นการจัดส่ งแบบประเมิน ทั้ง 2 แบบ พร้อมคาอธิ บายและเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละข้อแก่กรรมการบริ ษทั รายบุคคลในช่ วงต้นเดื อน ธันวาคมของทุ กปี และกาหนดให้นาส่ งคื นภายในกลางเดื อนธันวาคมของปี นั้น ๆ จากนั้นส านักกรรมการ/ เลขานุการบริ ษทั จะสรุ ปผลการประเมิน โดยจะสรุ ปผลคะแนนออกเป็ นรายบุคคลและแบ่งเป็ นแต่ละหมวดหมู่ สาหรับการประเมินทั้ง 2 แบบ และรายงานผลให้แก่คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับทราบในการประชุม เพื่อวิเคราะห์ สาเหตุและหาแนวทางพัฒนาแต่ละด้านต่อไป โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน : 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ หรื อไม่มีการดาเนิ นการในเรื่ องนั้น 1 = ไม่เห็นด้วย หรื อมีการดาเนินการในเรื่ องนั้นเล็กน้อย 2 = เห็นด้วย หรื อมีการดาเนิ นการในเรื่ องนั้นพอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรื อมีการดาเนินการในเรื่ องนั้นดี 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรื อมีการดาเนิ นการในเรื่ องนั้นอย่างดีเยีย่ ม นอกจากนั้น คณะกรรมการบริ ษทั จะจัดให้มีการประเมินคณะกรรมการชุ ดย่อยเพิ่มเติม โดยเริ่ ม ในปี 2560 เป็ นต้นไป ซึ่ งมีแบบการประเมิน รวมถึงหลักเกณฑ์และกระบวนการประเมินเช่ นเดี ยวกันกับ การประเมินคณะกรรมการบริ ษทั สาหรับการประเมินกรรมการผูจ้ ดั การ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดให้มีการประเมินเป็ นประจาทุกปี โดยใช้แบบประเมินผลงานประจาปี ซึ่ งอ้างอิงมาจากศูนย์พฒั นาการกากับดูแลกิ จการบริ ษทั จดทะเบียนปี 2554 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรื อศึกษาเพิ่มเติมแบบประเมินขององค์กรอื่น ๆ ที่ใช้ได้ผลดีมาแล้ว และจะพิจารณาจากผลประกอบการรวมของบริ ษทั เป็ นหลักเพิ่มเติมอีกด้วย ทั้งนี้ จะจัดส่ งแบบประเมินให้แก่ 138
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
126
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กรรมการบริ ษทั ทุกท่าน เพื่อทาการประเมินในช่วงต้นเดือนมกราคมของปี ถัดไป เพื่อนาผลประกอบการรวมของ บริ ษทั มาประกอบการประเมิ น และกาหนดให้ส่งคื นแก่สานักกรรมการ/เลขานุ การบริ ษทั ในช่ วงกลางเดื อน มกราคมของปี นั้น ๆ เพื่อสรุ ปผลการประเมิน และนาเสนอแก่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาอนุมตั ิค่าตอบแทน ก่อนนาเสนอแก่คณะกรรมการบริ ษทั ต่อไป 7. ค่ าตอบแทนของกรรมการบริษัท กรรมการชุ ดย่อย และผู้บริหารระดับสู ง คณะกรรมการบริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การก าหนดค่ า ตอบแทนให้ แ ก่ ก รรมการบริ ษัท กรรมการ ชุ ดย่อย และผูบ้ ริ หาร อย่างเหมาะสมกับหน้าที่ ความรั บผิดชอบ โดยให้ สอดคล้องกับผลประกอบการรวม ของบริ ษทั ด้วยความโปร่ งใส ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้มีมติ แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน เพื่อท าหน้าที่ ในการกาหนดและทบทวนนโยบาย หลักเกณฑ์ และรู ปแบบการพิ จารณาการจ่าย ค่ าตอบแทนหรื อผลประโยชน์ อื่ น ๆ แก่ ก รรมการบริ ษ ัท กรรมการชุ ดย่ อย และผู ้บริ หาร ก่ อนน าเสนอ คณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิตามลาดับต่อไป โดยการก าหนดค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณาจากผลประกอบการรวมของบริ ษัท การปฏิ บ ั ติ ง าน และความรับผิดชอบ ซึ่ งจะนาผลการประเมินการปฏิบตั ิงาน และนาข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนเปรี ยบเทียบกับ การจ่ายค่าตอบแทนของธุ รกิจหรื ออุตสาหกรรมในประเภทเดียวกันกับบริ ษทั หรื อใกล้เคียงกับบริ ษทั และอ้างอิง ข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จดทะเบียนตามเอกสารสรุ ปผลสารวจข้อมูลกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จดทะเบียนปี 2558 ซึ่งจัดทาขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั และกรรมการชุ ดย่อยจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั ิ จากที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้น และสาหรั บค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารระดับสู ง จะเป็ นไปตามหลัก การและนโยบายที่ คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดไว้ ซึ่ งจะพิจารณาจากภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ รวมถึงผลการปฏิบตั ิงาน ของผู้บ ริ หารแต่ ล ะท่ า น และผลการด าเนิ น งานของบริ ษัท โดยกรรมการบริ ษ ัท กรรมการชุ ด ย่ อ ย และผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง จะได้รั บ ค่า ตอบแทนในอัต ราที่เ หมาะสมตามหน้า ที่ และความรับ ผิด ชอบใน การดาเนินงาน ซึ่งเป็ นไปตามมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 8. การพัฒนากรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสู ง คณะกรรมการบริ ษทั มี นโยบายส่ ง เสริ ม และอานวยความสะดวกให้มี การฝึ กอบรม และการให้ ความรู ้แก่กรรมการบริ ษทั และผูเ้ กี่ยวข้องในระบบการกากับดูแลกิจการของกลุ่มบริ ษทั ฯ อาทิ กรรมการบริ ษทั กรรมการตรวจสอบ และผูบ้ ริ หาร เป็ นต้น เพื่อให้มีการปรับปรุ งและพัฒนาการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่ องและ มี ประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้ น ซึ่ งกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ต้องผ่านการอบรมหลักสู ตรกรรมการบริ ษทั ได้แก่ Director Accreditation Program (DAP) และ/หรื อ Director Certification Program (DCP) จากสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (Thai Institute of Directors Association: IOD) นอกจากนั้น สานักกรรมการ/เลขานุการบริ ษทั จะจัดทาแผนการอบรมประจาปี ของปี ถัดไปล่วงหน้า ทุ ก สิ้ นปี ร่ วมกับ ฝ่ ายทรั พ ยากรบุ ค คลและธุ รการ เพื่อให้ค ณะกรรมการบริ ษ ัทพิ จารณาอนุ ม ตั ิ หลัก สู ต ร 127ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
139
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การอบรมที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ก่อนการนาใช้ในปี ถัดไป โดยแบ่งเป็ นหลักสู ตรการอบรมภาคบังคับ ที่ กรรมการบริ ษทั และกรรมการชุ ดย่อย ต้องเข้าอบรมในปี นั้น ๆ และหลักสู ตรการอบรมที่เป็ นตัวเลื อก ตามความสนใจ ซึ่ งในแต่ละปี จะสนับสนุ นให้มีกรรมการบริ ษทั อย่างน้อย 1 คน รวมถึ งกรรมการชุ ดย่อย และผูบ้ ริ ห ารเข้า อบรมหลัก สู ต ร หรื อ เข้า ร่ ว มกิ จ กรรมสั ม มนาของตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหน่วยงานหรื อองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มพูนความรู ้ในการปฏิบตั ิงาน 9. การปฐมนิเทศกรรมการบริษัททีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งใหม่ คณะกรรมการบริ ษทั ต้องจัดให้มีการปฐมนิ เทศกรรมการบริ ษทั ที่ ได้รับการแต่งตั้งใหม่ ภายหลัง การคัดเลือกผูท้ ี่จะเข้ามาดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั โดยจัดให้กรรมการผูจ้ ดั การเป็ นผูแ้ นะนา ให้กรรมการบริ ษ ทั ที่ไ ด้รับการแต่ ง ตั้ง ใหม่รู้จกั กับ ฝ่ ายจัดการ และกรรมการบริ ษ ทั ท่ า นอื่ น ๆ พร้ อมทั้ง นาเสนอข้อมูล ทัว่ ไปของกลุ่ ม บริ ษทั ฯ อาทิ โครงสร้ างองค์ก ร และลัก ษณะการประกอบธุ รกิ จ เป็ นต้น ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น คู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ เพื่อให้ทราบถึงบทบาทและขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริ ษทั จรรยาบรรณในการดาเนินงาน และการใช้ข ้อมูล ภายใน เป็ นต้น โดยจะจัดทาเป็ นคู่ มื อส าหรั บ กรรมการบริ ษ ทั ที่ ได้รับการแต่ง ตั้ง ใหม่ เพื่อประกอบการปฐมนิเทศและการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป นอกจากนี้ หากกรรมการบริ ษทั ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ ยังไม่ได้อบรมหลักสู ตรเกี่ยวกับการปฏิบตั ิ หน้าที่ของกรรมการบริ ษทั จะจัดให้กรรมการบริ ษทั ที่ ได้รับการแต่ง ตั้งใหม่ดงั กล่าวเข้าอบรมหลักสู ตร ที่จาเป็ นในการปฏิบตั ิหน้าที่กรรมการบริ ษทั อันได้แก่ หลักสู ตร Director Accreditation Program (DAP) หรื อ Director Certification Program (DCP) และหลักสู ตร Audit Committee Program (ACP) (กรณี เป็ น กรรมการตรวจสอบ) จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษ ทั ไทย (Thai Institute of Directors Association: IOD) รวมถึงหลักสู ตรการอบรมอื่น ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ 10. ความเป็ นอิสระของคณะกรรมการบริษัทและคานิยามกรรมการอิสระ 10.1คณะกรรมการบริ ษทั ต้องทาหน้าที่โดยวางตัวเป็ นกลาง ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผูบ้ ริ หาร หรื อฝ่ ายจัดการ หรื อโดยกลุ่มบุคคลหรื อนิติบุคคลที่มีอานาจควบคุม เนื่ องจากกรรมการบริ ษทั เป็ นเสมือนตัวแทนของผูถ้ ือหุน้ ที่ได้รับเลือกเข้ามาเพื่อปกป้ องรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ ทุกราย 10.2คณะกรรมการบริ ษ ัท ควรมี ภ าวะผู้น า วิ สั ย ทัศ น์ และมี ค วามเป็ นอิ ส ระในการตัด สิ น ใจ เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของกลุ่มบริ ษทั ฯ และผูถ้ ื อหุ ้นทุกราย โดยประธานกรรมการบริ ษทั ต้อง สามารถควบคุมการดาเนินงานของผูบ้ ริ หาร หรื อฝ่ ายจัดการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 10.3คณะกรรมการบริ ษัท ควรจัด ให้ มี ก ารแบ่ ง แยกบทบาทหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบระหว่ า ง คณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายจัดการที่ชดั เจน
140
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
128
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
10.4ต้องมีการถ่ วงดุ ลอานาจภายในคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้กรรมการบริ ษทั ทุ กคนสามารถ แสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ า งอิ ส ระ ดัง นั้ นองค์ ป ระกอบของคณะกรรมการบริ ษัท ต้อ ง ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั ที่เป็ นผูบ้ ริ หารและไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร 10.5กรรมการอิสระจะต้องเข้าถึงข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทางธุ รกิจอย่างเพียงพอ เพื่อให้ความเห็น ได้อย่างเป็ นอิสระ และรักษาประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้นทุกราย รวมทั้งประโยชน์ของบริ ษทั 10.6กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติความเป็ นอิสระ ตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งมีคุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่กาหนด โดยองค์ประกอบและการแต่งตั้ง กรรมการอิสระ คณะกรรมการบริ ษทั จะร่ วมกันพิจารณาเบื้องต้นถึงคุณสมบัติของบุคคลที่จะมา ดารงตาแหน่ ง เป็ นกรรมการอิ ส ระ ซึ่ ง จะพิจารณาจากคุ ณสมบัติ และลัก ษณะต้องห้า มของ กรรมการบริ ษทั ตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุ น รวมถึ งประกาศ ข้อบังคับ และ/หรื อ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้อ ง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษ ัท จะพิ จ ารณาคัด เลื อกกรรมการอิ ส ระ จากผูท้ รงคุณวุฒิ ประสบการณ์การทางาน และความเหมาะสมด้านอื่น ๆ ประกอบกัน จากนั้น จะนาเสนอต่อที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั ต่อไป ทั้งนี้ บริ ษทั มี นโยบายในการแต่งตั้งกรรมการอิ สระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด และต้องมี จานวนไม่น้อยกว่า 3 ท่าน โดยคุ ณสมบัติของกรรมการอิสระจะต้องสอดคล้องกับ ประกาศคณะกรรมการก ากับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ที่ ทจ.28/2551 เรื่ อ งการขอ อนุ ญาตและการอนุ ญาตให้เสนอขายหุ ้นที่ ออกใหม่ ฉ บับลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ดังนี้ ถื อหุ ้นไม่เกิ นร้ อยละ 1 ของจานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ทั้งนี้ ให้นบั รวม การถือหุน้ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้น ๆ ด้วย ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการบริ ษทั ที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลู กจ้าง พนักงาน ที่ ปรึ กษาที่ได้ เงินเดือนประจา หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อย ลาดับเดี ยวกัน ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อของผูม้ ี อานาจควบคุ มของบริ ษทั เว้นแต่จะได้พน้ จาก การมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ยื่นคาขออนุ ญาตต่อสานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณี ที่กรรมการอิสระเคยเป็ นข้าราชการ หรื อที่ปรึ กษา ของส่ วนราชการซึ่ งเป็ นผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ไม่ เ ป็ นบุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พัน ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการจดทะเบี ย นตามกฎหมาย ในลัก ษณะที่ เ ป็ นบิ ด า มารดา คู่ ส มรส พี่ น้ อ ง และบุ ต ร รวมทั้ง คู่ ส มรสของบุ ต รของ ผูบ้ ริ ห าร ผูถ้ ื อ หุ ้น รายใหญ่ ผูม้ ี อ านาจควบคุ ม หรื อ บุ ค คลที่ จ ะได้รั บ การเสนอให้ เ ป็ น ผูบ้ ริ หาร หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย
129 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
141
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่ หรื อ ผูม้ ี อ านาจควบคุ ม ของบริ ษ ัท ในลัก ษณะที่ อ าจเป็ นการขัด ขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนยั หรื อผูม้ ีอานาจ ควบคุมของผูท้ ี่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่ หรื อผูม้ ี อานาจควบคุ ม ของบริ ษ ทั เว้นแต่จะได้พ น้ จากการมี ล ัก ษณะดัง กล่ า ว มาแล้วไม่ น้อยกว่า 2 ปี ก่ อนวันที่ ยื่นคาขออนุ ญาตต่ อส านัก งาน ก.ล.ต. ความสัม พันธ์ ทางธุ รกิ จดังกล่าวรวมถึ งการทารายการทางการค้าที่กระทาเป็ นปกติ เพื่อประกอบกิ จการ การเช่า หรื อให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ หรื อบริ การ หรื อการให้หรื อ รั บ ความช่ วยเหลื อทางการเงิ นด้วยการรั บหรื อให้กู้ยืม ค้ า ประกัน การให้สิ นทรั พ ย์เป็ น หลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทานองเดียวกัน ซึ่ งเป็ นผลให้บริ ษทั หรื อคู่สัญญา มีภาระหนี้ที่ตอ้ งชาระต่ออีกฝ่ ายหนึ่งตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไปแล้วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทั้งนี้ การคานวณภาระหนี้ดงั กล่าว ให้เป็ นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ กากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน โดยอนุ โลมแต่ในการ พิ จ ารณาภาระหนี้ ดัง กล่ า วให้ นับ รวมภาระหนี้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่า งหนึ่ ง ปี ก่ อ นวัน ที่ มี ความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบุคคลเดียวกัน ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อ ผูม้ ี อ านาจควบคุ ม ของบริ ษ ัท และไม่ เ ป็ นผูถ้ ื อ หุ ้น ที่ มี นัย ผูม้ ี อ านาจควบคุ ม หรื อ หุ น้ ส่ วนของสานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผสู้ อบบัญชีของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุ มของบริ ษ ทั สัง กัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ยนื่ คาขออนุญาตต่อสานักงาน ก.ล.ต. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้บ ริ ก ารทางวิช าชี พ ใด ๆ ซึ่ งรวมถึ ง การให้บ ริ ก ารเป็ นที่ ปรึ ก ษา กฎหมายหรื อที่ปรึ กษาทางการเงิ น ซึ่ งได้รับค่าบริ การเกิ นกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั และ ไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนยั ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อหุ ้นส่ วนของผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชี พนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ยนื่ คาขออนุ ญาต ต่อสานักงานก.ล.ต. ไม่เป็ นกรรมการบริ ษทั ที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้ นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ่งเป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ ้นส่ วนที่ มีนัยในห้างหุ ้นส่ วน หรื อเป็ นกรรมการบริ ษทั ที่มี ส่ วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่รับเงินเดือนประจา หรื อถือหุ ้นเกินร้อยละ 1 ของจานวนหุ ้น ที่ มี สิ ท ธิ ออกเสี ย งทั้ง หมดของบริ ษ ัท อื่ น ซึ่ งประกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพ อย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย
142
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
130
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ ยวกับการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ไม่เป็ นกรรมการบริ ษ ทั ที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ตดั สิ นใจในการ ดาเนินกิจการของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั 11. การกาหนดจานวนบริษัทจดทะเบียนทีก่ รรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการไปดารงตาแหน่ ง คณะกรรมการบริ ษ ทั ตระหนักถึ งความส าคัญในการอุ ทิ ศตนและเวลาเพื่ อการปฏิ บ ตั ิ หน้าที่ อย่างมี ประสิ ทธิ ภ าพของกรรมการบริ ษัท และกรรมการผู้จ ัด การ ทั้ง นี้ เพื่ อให้ บ ริ ษัท ได้ รั บ ประโยชน์ สู ง สุ ด จากความสามารถของกรรมการบริ ษทั และกรรมการผูจ้ ดั การดังกล่ าว คณะกรรมการบริ ษ ทั จึ งได้มี นโยบาย กาหนดจานวนบริ ษทั จดทะเบี ยนและบริ ษทั จากัดอื่น ๆ ที่กรรมการบริ ษทั และกรรมการผูจ้ ดั การ สามารถไป ดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารได้โดยกาหนดให้สอดคล้องตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ 11.1กาหนดให้กรรมการบริ ษทั สามารถดารงตาแหน่งในบริ ษทั จดทะเบียนอื่นได้ไม่เกิน 5 แห่ ง โดยธุ รกิ จนั้นต้องไม่เป็ นประเภทธุ รกิจที่เป็ นการแข่งขันกับกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมทั้งต้องสามารถ อุทิศตน เวลา และกาลังความคิดในการทางานให้แก่บริ ษทั ได้อย่างเพียงพอและมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งนี้ การเข้าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั ในบริ ษทั จดทะเบียนอื่น จะต้องนาเสนอให้ที่ประชุม คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบด้วย 11.2กรรมการผูจ้ ดั การ จะเข้าดารงตาแหน่ งกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษ ทั จากัด หรื อ บริ ษ ัท จดทะเบี ย นอื่ น ที่ ไ ม่ ใ ช่ บ ริ ษ ทั ย่อ ยในกลุ่ ม บริ ษ ัท น้ า ตาลบุ รี รั ม ย์ จะต้อ งน าเสนอให้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาให้ความเห็นชอบถึงความเหมาะสมของประเภทธุ รกิจ ซึ่ งต้องไม่เป็ นประเภทธุ รกิจที่เป็ นการแข่งขันกับกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมถึงความสามารถในการอุทิศตน เวลา และกาลังความคิดในการทางานให้แก่บริ ษทั นั้นมีเพียงพอหรื อไม่ 12. การจัดตั้งคณะกรรรมการชุ ดย่ อย คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้แต่ง ตั้ง คณะกรรมการชุ ดย่อยรวมทั้ง หมด 5 ชุ ด ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ หาร เพื่อดาเนินการเฉพาะเรื่ องตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น ธุ ร กิ จ เป็ นไปอย่ า งราบรื่ น และสอดคล้อ งกับ หลัก การก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทั้ง นี้ ได้กาหนดให้มีการจัดทากฎบัตรของคณะกรรมการชุ ดย่อยดังกล่ าว เพื่อกาหนดองค์ประกอบและหน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อย และให้มีการทบทวนกฎบัตรเป็ นประจาทุกปี
131ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
143
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั มีจานวน 3 คน ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง 1. นายประจวบ ไชยสาส์น ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายศิริชยั สมบัติศิริ กรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ : นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ และนายศิริชยั สมบัติศิริ เป็ นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู ้และประสบการณ์เพียงพอ ที่จะสามารถทาหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้
โดยมี นางสาวณัฐชยา ยัง่ ยืนรัตน์ ผูจ้ ดั การสานักตรวจสอบภายใน เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ และ มี รายละเอี ยดกฎบัตร ซึ่ งได้ผ่านการอนุ มตั ิ ทบทวนจากที่ ประชุ มคณะกรรมการบริ ษ ทั ครั้ งที่ 7/2561 เมื่ อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 ดังนี้ 1. กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบปฏิ บตั ิ หน้าที่ใ ห้ความเห็ นและ ข้อเสนอแนะอย่างเป็ นอิสระด้านการกากับดูแลกิจการที่ดีโดยมุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน การสอบทาน ความถูกต้องเชื่ อถื อได้ของรายงานทางการเงิ น การควบคุมภายใน การบริ หารความเสี่ ยง การตรวจสอบ ภายใน การปฏิบตั ิตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเชื่ อมัน่ ว่า การดาเนิ นงาน ของบริ ษทั เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผล และโปร่ งใส องค์ ประกอบ 1.1 คณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูถ้ ื อหุ ้นเป็ นผูแ้ ต่งตั้งประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และกรรมการ ตรวจสอบ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1.2 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 3 ท่าน โดยต้องประกอบด้วยผูม้ ีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอในการทาหน้าที่สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้อย่างน้อย 1 ท่าน 1.3 ผูจ้ ดั การสานักตรวจสอบภายในเป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ คุณสมบัติ เป็ นกรรมการอิ ส ระตามหลักเกณฑ์ เงื่ อนไข และข้อบังคับที่ ตลาดหลัก ทรั พย์แห่ งประเทศไทย กาหนดและสามารถให้ความเห็นหรื อรายงานผลการปฏิ บตั ิงานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายอย่างอิ สระ รวมทั้งสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างเพียงพอในฐานะเป็ นกรรมการตรวจสอบ 2. วาระการดารงตาแหน่ ง 2.1 กรรมการตรวจสอบมี ว าระการด ารงต าแหน่ ง เพื่ อ ปฏิ บ ัติ ง านตามวาระการด ารงต าแหน่ ง กรรมการบริ ษทั
144
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
132
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2.2 กรณี มี เหตุ ให้ กรรมการตรวจสอบพ้นจากต าแหน่ ง อันส่ งผลให้ จ านวนของคณะกรรมการ ตรวจสอบไม่ครบถ้วนตามที่กาหนดในกฎบัตรฉบับนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ต้องแต่งตั้งกรรมการ ตรวจสอบรายใหม่ เพื่ อให้ครบตามจานวนภายในระยะเวลา 3 เดื อน นับตั้งแต่วนั ที่ มีจานวน กรรมการตรวจสอบไม่ครบถ้วน 3. การประชุ ม 3.1 กาหนดให้มี การประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปี ละ 4 ครั้ง ทั้ง นี้ อาจมี การจัด การประชุ มเพิ่มเติม จากที่กาหนดได้ตามที่เห็นสมควร โดยมีการประชุ มอย่างน้อยปี ละ1 ครั้ง ระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบกับสานักตรวจสอบภายใน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ พิ จารณาอนุ ม ตั ิ แผนงานตรวจสอบภายใน งบประมาณ และก าลัง พลของส านัก ตรวจสอบ ภายใน รวมทั้งสอบทานผลการปฏิบตั ิงาน และการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตรวจสอบของ สานักตรวจสอบภายใน 3.2 องค์ประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการเข้าร่ วมในการประชุ มแต่ ละครั้ ง ไม่ น้อยกว่ากึ่ งหนึ่ งของจ านวนกรรมการทั้งหมด จึ งจะครบเป็ นองค์ประชุ ม ทั้งนี้ กรรมการ ตรวจสอบทุกท่านจะต้องเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจานวน ครั้งที่มีการประชุมในปี นั้น ๆ 3.3 คณะกรรมการตรวจสอบอาจเชิ ญฝ่ ายจัดการหรื อผูท้ ี่เกี่ ยวข้องเข้าร่ วมประชุ ม ให้ความเห็ นหรื อ จัดส่ งเอกสารตามความจาเป็ นได้ 3.4 กรรมการตรวจสอบที่มีส่วนได้เสี ยในเรื่ องใด กรรมการตรวจสอบท่านนั้นจะไม่เข้าร่ วมประชุ ม หรื องดการแสดงความเห็นในเรื่ องดังกล่าว 4. หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ 4.1 การควบคุมภายใน 1) สอบทานให้ บ ริ ษัท มี ก ระบวนการภายในเกี่ ย วกับ การรั บ แจ้ง เบาะแส และการรั บ ข้อร้ องเรี ยน รวมทั้งสอบทานนโยบายและการควบคุ มภายในของกระบวนการประเมิน ความเสี่ ยงเกี่ยวกับการคอร์รัปชัน เพื่อให้มนั่ ใจว่ามีแนวทางสามารถป้ องกันการคอร์ รัปชัน สอดคล้องตามที่สานักตรวจสอบภายในได้ตรวจสอบและประเมินแล้ว และรายงานไว้ใน แบบประเมินตนเองของสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย 2) สอบทานให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมทั้งด้านประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล 3) สอบทานให้บริ ษทั มีกระบวนการทางาน การบริ หารความเสี่ ยง การควบคุม การกากับดูแล ด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการรั ก ษาความมั่น คงปลอดภัย ของข้อ มู ล และระบบ เครื อข่ายสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ผล 4) สอบทานให้ก รรมการตรวจสอบมี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บ ตั ิ ง านของคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยรวม และการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองเป็ นประจาทุกปี 133 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
145
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4.2 การตรวจสอบภายใน 1) พิจารณาแบบประเมินความเพีย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน ซึ่ งส านักตรวจสอบ ภายในได้ตรวจสอบและประเมินแล้ว เพื่อให้มนั่ ใจว่าบริ ษทั มี ระบบการควบคุ มภายใน ที่เพียงพอ และนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณา 2) พิจารณาความเป็ นอิสระของสานักตรวจสอบภายใน โดยพิจารณาจากการปฏิบตั ิหน้าที่และ รายงานต่ าง ๆ รวมทั้งสายการบังคับ บัญชา ตลอดจนให้ความเห็ นชอบในการแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย หรื อเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานสานักตรวจสอบภายใน หรื อหน่ วยงานอื่นใด ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 4.3 รายงานทางการเงินและการสอบบัญชี 1) สอบทานให้บริ ษทั มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ โดยการประสานงาน กับผูส้ อบบัญชีภายนอก และผูบ้ ริ หารที่รับผิดชอบการจัดทารายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาส และประจ าปี คณะกรรมการตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ ผู้ส อบบัญ ชี ส อบทานหรื อ ตรวจสอบรายการใด ๆ ที่เห็นว่าจาเป็ น และเป็ นเรื่ องสาคัญในระหว่างการตรวจสอบบัญชี ของบริ ษทั ก็ได้ 2) พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งหรื อเลิกจ้างบุคคลซึ่ งมีความเป็ นอิสระ เพื่อทาหน้าที่เป็ น ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่ วมประชุ มกับ ผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 3) ให้ ค าแนะน าแก่ ค ณะกรรมการบริ ษ ัท และฝ่ ายจัด การในการปรั บ ปรุ ง กระบวนการ ปฏิ บตั ิงาน หรื อระบบงานเพื่อลดความเสี่ ยงในเรื่ องต่าง ๆ ทาให้ได้รายงานทางการเงิ น ที่ถูกต้อง และใช้ประโยชน์ได้ดี เพื่อให้บริ ษทั มีระบบการปฏิบตั ิงานที่มีประสิ ทธิภาพ 4.4 การปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง 1) สอบทานให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั 2) พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน หรื อรายการที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ นไปตามกฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ และข้อ ก าหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและ เป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อบริ ษทั รวมทั้งพิจารณาการเปิ ดเผยข้อมูลของบริ ษทั ในกรณี ที่เกิด รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องครบถ้วน 3) จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ซึ่ งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประกอบด้วย ข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั
146
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
134
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 - ความเห็ น เกี่ ย วกับ การปฏิ บ ัติ ต ามกฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์
ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จ านวนครั้ งของการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้า ร่ ว มประชุ ม ของ กรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิ บตั ิหน้าที่ ตามกฎบัตร (Charter) - รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่า ผูถ้ ื อ หุ ้น และผูล้ งทุ น ทั่ว ไปควรทราบภายใต้ข อบเขตหน้า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 4) ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรื อมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการ หรื อ การกระทาดังต่อไปนี้ ซึ่ งอาจมีผลกระทบอย่างมี นยั สาคัญต่อฐานะการเงิน และผลการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อดาเนิ นการ ปรับปรุ งแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร - รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
- การทุจริ ต หรื อมีสิ่งผิดปกติ หรื อมีความบกพร่ องที่สาคัญในระบบควบคุมภายใน
- การฝ่ าฝื นกฎหมายว่ า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ข้อ ก าหนดของตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั
หากคณะกรรมการบริ ษัท หรื อ ผู ้บ ริ หารไม่ ด าเนิ น การให้ มี ก ารปรั บ ปรุ งแก้ไ ขภายในเวลา ตามวรรคหนึ่ ง กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่ งอาจรายงานว่ามีรายการ หรื อการกระทาตามวรรคหนึ่ ง ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4.5 หน้าที่อื่น ๆ 1) คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นที่เป็ นอิสระจากที่ปรึ กษาทางวิชาชีพอื่น ใด เมื่อเห็นว่าจาเป็ นโดยบริ ษทั เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย 2) ทบทวนและปรับปรุ งกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 3) ปฏิ บ ัติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายด้ ว ยความเห็ น ชอบจา ก คณะกรรมการตรวจสอบ การรายงาน 1. รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั ภายในเวลาที่เหมาะสม เพื่อดาเนิ นการปรั บปรุ งแก้ไข กรณี ที่มี การกระทาที่อาจมีผลกระทบต่อองค์กรอย่างมีนยั สาคัญ ทั้งในเรื่ องฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) 135
147
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์การทุจริ ต ข้อบกพร่ องต่าง ๆ ที่เกี่ ยวกับระบบการควบคุ มภายใน การปฏิบตั ิที่ขดั ต่อกฎหมาย หรื อต่อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์หรื อกฎระเบียบของหน่วยงานราชการ 2. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อรายงานผลการปฏิ บตั ิหน้าที่หรื อความเห็นต่าง ๆ ต่อการดาเนิ นงานตามที่ ได้รับรายงาน โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ซึ่ งรายงาน ดังกล่าวลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 3. จัดทารายงานการกากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ซึ่ งรายงานดังกล่าวลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 2.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั มีจานวน 5 คน ประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง
โดยมี นางสาวนิ ภารั ต น์ เวชพั น ธ์ ผู้ จ ั ด การส านั ก บริ หารความเสี่ ยง เป็ นเลขานุ การ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง และมีรายละเอีย ดกฎบัตร โดยได้ผ่านการอนุ มตั ิทบทวนจากที่ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2561 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 ซึ่ งไม่ได้มีมติให้แก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้ กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง กฎบัตรคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงฉบับนี้มีผลบังคับใช้ต้งั แต่วนั ที่ 2 มีนาคม 2560 วัตถุประสงค์ คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงนั้น เพื่อกาหนดนโยบายด้านการบริ หาร ความเสี่ ยงให้ครอบคลุมทัว่ ทั้งองค์กร รวมทั้งกากับดู แลให้มีระบบหรื อกระบวนการบริ หารจัดการความเสี่ ยง เพื่ อ ลดผลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท อย่ า งเหมาะสม โดยได้ก าหนดองค์ ป ระกอบหน้ า ที่ ไ ด้อ ย่ า งมี ประสิ ทธิผล ตามที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้มอบหมาย องค์ ประกอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง 1. คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูแ้ ต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง และประธานกรรมการบริ หาร ความเสี่ ยงโดยคัดจากกรรมการบริ ษทั และ/หรื อผูบ้ ริ หาร และ/หรื อผูท้ รงคุ ณวุฒิที่มีความรู้
148
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
136
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ความชานาญด้านการบริ หารความเสี่ ยง หรื อความรู้ความชานาญในอุตสาหกรรมที่บริ ษทั ดาเนิ น ธุ รกิจอยู่ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงประกอบด้วยกรรมการบริ หารอย่างน้อย 3 ท่าน 2. คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงเป็ นผูแ้ ต่งตั้งเลขานุการคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง โดยอาจ เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาสู งสุ ดที่ดูแลสานักบริ หารความเสี่ ยง หรื อบุคคลอื่นที่คณะกรรมการบริ หาร ความเสี่ ยงเห็นสมควร เพื่อช่วยเหลือการดาเนินงานของคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงเกี่ยวกับ การนัดประชุม จัดเตรี ยมวาระการประชุม นาส่ งเอกสารการประชุมและการบันทึกการประชุ ม วาระการดารงตาแหน่ ง 1. คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงมีวาระการดารงตาแหน่ งตามวาระของการเป็ นกรรมการบริ ษทั และเมื่ อครบวาระดารงตาแหน่ งอาจได้รับการพิจารณาแต่ งตั้งให้ดารงตาแหน่ งใหม่ได้ตามที่ คณะกรรมการบริ ษทั เห็นว่าเหมาะสม 2. กรรมการบริ หารความเสี่ ยงที่พน้ ตาแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งให้กลับเข้ามาดารงตาแหน่ง ได้อีก หากได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษทั 3. นอกจากนี้การพ้นตาแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการบริ หารความเสี่ ยงพ้นจากตาแหน่งเมื่อ - ตาย - ลาออก - ขาดคุ ณสมบัติ หรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และพระราชบัญ ญัติ ห ลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้ง ที่ ไ ด้มี การแก้ไขเพิ่มเติม) - ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ลงมติให้ออก - ศาลมีคาสั่งให้ออก ขอบเขตหน้ าที่ 1. นาเสนอและให้การสนับสนุ นคณะกรรมการบริ ษทั ในการกาหนดนโยบายการบริ หารความเสี่ ยง และระดับความเสี่ ยงที่บริ ษทั ยอมรับได้ 2. น าเสนอภาพรวมความเสี่ ยงของบริ ษัท วิ ธี ก ารจัด การ และผลการติ ด ตามความเสี่ ยงต่ อ คณะกรรมการบริ ษทั 3. สอบทานรายงานการบริ หารความเสี่ ยง และดาเนินการเพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าการจัดการความเสี่ ยง มีความเพียงพอ เหมาะสม สามารถจัดการความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 4. ประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบ โดยการแลกเปลี่ยนความรู ้และข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ ยง และการควบคุมภายในที่มีผลหรื ออาจกระทบต่อบริ ษทั 5. ตัดสิ นใจและให้คาแนะนาเกี่ยวกับปั ญหาสาคัญที่เกิดขึ้นในกระบวนการบริ หารความเสี่ ยง 6. สนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการบริ หารความเสี่ ยงในองค์กร
137 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
149
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
7. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง รายงานผลการประเมินประจาปี ต่อ คณะกรรมการบริ ษทั 8. สอบทานและทบทวนความเหมาะสมของกฎบัตรอย่างสม่าเสมอเป็ นประจาทุกปี เพื่อให้มนั่ ใจว่า เนื้อหาในกฎบัตรมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ในการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั 9. พิ จารณาสอบทานความเสี่ ยง และแนวทางการจัดการความเสี่ ย งของบริ ษ ทั ตามที่ หน่ วยงาน เจ้าของความเสี่ ยงได้ประเมินไว้รวมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรุ งแก้ไข 10. กากับดูแลความมีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั โดยการติดตามและ ตอบทานอย่างต่อเนื่ อง 11. ให้ต้ งั คณะทางานบริ หารความเสี่ ยงได้ตามที่เห็นสมควร 12. ให้การสนับสนุ นเกี่ยวกับกระบวนการบริ หารความเสี่ ยงด้านคอร์ รัปชัน และนโยบายการต่อต้าน คอร์รัปชัน (Anti-Corruption Policy) ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยตรง ตามหน้าที่และ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และคณะกรรมการบริ ษทั ยังคงต้องมีความรับผิดชอบในการดาเนินงาน ของบริ ษทั ต่อบุคคลภายนอก การประชุ ม 1. จัดให้มี การประชุ ม อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ ง โดยอาจเชิ ญฝ่ ายจัดการ หรื อผูบ้ ริ หารหรื อ พนักงานของบริ ษทั ที่เกี่ ยวข้อง หรื อผูท้ ี่เห็นสมควรมาร่ วมประชุ ม ให้ความเห็น หรื อส่ งเอกสาร ข้อมูลตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องหรื อจาเป็ น 2. ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงทุ ก ครั้ ง องค์ ป ระชุ ม ต้ อ งประกอบด้ ว ย กรรมการบริ หารความเสี่ ยง เป็ นจานวนไม่นอ้ ยกว่าสองในสามของจานวนกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ทั้งหมดที่มีอยูใ่ นตาแหน่งขณะนั้น จึงจะถือว่าครบองค์ประชุม 3. กรรมการบริ หารความเสี่ ยงที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยในเรื่ องที่พิจารณาเรื่ องใด มิให้เข้าร่ วมพิจารณา หรื อออกเสี ยงลงคะแนนในเรื่ องนั้น ๆ 4. ในการออกเสี ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ลงมติ โดยมี สิทธิ ออกเสี ยงคนละ 1 เสี ยงและใช้ คะแนนเสี ยงข้างมากเป็ นเกณฑ์ ในกรณี ที่การลงมติมีเสี ยงเท่ากัน ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง มีสิทธิออกเสี ยงอีก 1 เสี ยง เพื่อเป็ นการชี้ขาด การรายงาน รายงานผลการปฏิ บตั ิงานของคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงให้คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบ และจัดทารายงานของคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงเพื่อเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั และลงนาม โดยประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง
150
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
138
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง จะทาการประเมินผลการปฏิ บตั ิงานของคณะกรรมการบริ หาร ความเสี่ ยง และรายงานผลการประเมินประจาปี ต่อคณะกรรมการบริ ษทั 2.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการธรรมาภิ บาลของบริ ษ ทั มี จานวน 4 คน ซึ่ ง มี สั ดส่ วน กรรมการอิสระคิดเป็ นร้อยละ 50 ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล 1. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ 2. รศ.ดร. ชิต เหล่าวัฒนา 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ) *ได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561
กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการธรรมาภิบาล
โดยมี น างสาวพัช รี โคสนาม ผู้จ ัด การส านัก กรรมการและเลขานุ ก ารบริ ษ ัท เป็ นเลขานุ ก าร คณะกรรมการธรรมาภิ บ าล และมี ร ายละเอี ย ดกฎบัต ร โดยได้ผ่ า นการอนุ ม ัติ ท บทวนจากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2561 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 ซึ่งไม่ได้มีมติให้แก้ไขเพิม่ เติม ดังนี้ องค์ ประกอบ การแต่ งตั้ง และคุณสมบัติ 1. องค์ประกอบ และการแต่งตั้ง 1.1 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั อย่างน้อย 3 คน โดยส่ วนใหญ่ตอ้ งเป็ นกรรมการอิ สระ ทั้งนี้ หากองค์กรยังมีขนาดเล็กและจานวนบุ คลากรกรรมการอิ สระไม่ เพียงพอ กาหนดให้ต้องมี กรรมการอิสระ อย่างน้อย 1 คน ในคณะกรรมการธรรมาภิบาล โดยคณะกรรมการธรรมาภิบาล ต้องพิจารณาคัดเลือกกรรมการอิสระ 1 คน เป็ นประธานกรรมการธรรมาภิบาลเท่านั้น 1.2 คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริ ษทั เพื่อทาหน้าที่คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล ทั้งนี้ หากคณะกรรมการธรรมาภิบาลพ้นจากตาแหน่ งตามวาระอาจได้รับ การแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริ ษทั ได้อีก 1.3 ให้บริ ษ ทั คัดเลือกและเสนอชื่ อพนัก งานบริ ษ ทั เพื่อทาหน้าที่เลขานุ ก ารคณะกรรมการ ธรรมาภิบาล โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการธรรมาภิบาล 2. คุณสมบัติ 2.1 ดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั มีความเป็ นกลางและมีความเป็ นอิสระตามหลักการกากับ ดูแลกิจการที่ดี 2.2 มีความรู ้ ความสามารถในการทาหน้าที่ดา้ นธรรมาภิบาล การกากับดูแลกิ จการที่ดี การให้ คาปรึ กษาแก่คณะกรรมการบริ ษทั ตลอดจนกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของกรรมการบริ ษทั 139ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
151
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ผูบ้ ริ หาร และฝ่ ายจัดการ ให้เป็ นไปตามจรรยาบรรณธุ รกิจ และนโยบายกากับดูแลกิจการที่ดี รวมถึ ง นโยบายต่ อต้า นทุ จ ริ ตคอร์ รั ป ชัน รวมถึ ง ความรู้ ใ นธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้องกับ บริ ษ ัท ตลอดจนประสบการณ์การทางาน และเข้าใจถึ งบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการธรรมาภิบาลอย่างแท้จริ ง 2.3 สามารถอุ ทิ ศ เวลาอย่า งเพี ย งพอในการปฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ เพื่ อ ให้ บ รรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ข อง การดาเนินงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาล วาระการดารงตาแหน่ งและการพ้นจากตาแหน่ ง 1. วาระการดารงตาแหน่ง 1.1 กรรมการธรรมาภิบาลมีวาระการดารงตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิงานตามวาระการดารงตาเหน่ง กรรมการบริ ษทั 1.2 กรณี มีเหตุให้กรรมการธรรมาภิบาลพ้นจากตาแหน่ง อันส่ งผลให้จานวนของคณะกรรมการ ธรรมาภิ บาลไม่ ครบถ้วนตามที่ ก าหนดในกฎบัตรฉบับนี้ คณะกรรมการบริ ษ ทั ต้อ งแต่ ง ตั้ง คณะกรรมการธรรมาภิบาลรายใหม่ เพื่อให้ครบตามจานวน ภายในระยะเวลา 3 เดื อน นับแต่ วันที่มีจานวนกรรมการธรรมาภิบาลไม่ครบถ้วน 2. การพ้นจากตาแหน่ง 2.1 กรรมการธรรมาภิบาลจะพ้นจากตาแหน่ง เมื่อเกิดกรณี ดังนี้ - เสี ยชีวติ - ลาออก - พ้นจากการเป็ นกรรมการบริ ษทั - คณะกรรมการบริ ษทั มีมติให้พน้ จากตาแหน่ง - ขาดคุ ณ สมบัติ ข องการเป็ นกรรมการธรรมาภิ บ าล หรื อ มี ล ัก ษณะต้อ งห้า มตามที่ กฎหมายกาหนด 2.2 ในกรณี ลาออก กรรมการธรรมาภิบาลจะต้องยื่นใบลาออกต่อประธานกรรมการบริ ษ ทั และมีผลตั้งแต่วนั ที่ประธานกรรมการบริ ษทั ลงนามพิจารณาอนุมตั ิการลาออกเป็ นต้นไป ขอบเขตอานาจหน้ าที่ 1. กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวทางด้านจรรยาบรรณธุ รกิ จ และการกากับดูแลกิจการที่ ดี เพื่อเป็ นมาตรฐานในการกาหนดระเบียบปฏิบตั ิของบริ ษทั และการปฏิบตั ิตนของกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน 2. ให้ ค าปรึ ก ษาแก่ ค ณะกรรมการบริ ษัท ก ากับ ดู แ ล ติ ด ตามและประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ต าม จรรยาบรรณธุ รกิจและนโยบายกากับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนทบทวนจรรยาบรรณ และหลักการ กากับดูแลกิจการดังกล่าวเป็ นประจาทุกปี และเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั
152
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
140
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3. ดูแลการปฏิ บตั ิงานของกรรมการบริ ษ ทั ผูบ้ ริ หาร และฝ่ ายจัดการ ให้เป็ นไปตามจรรยาบรรณ ธุรกิจ และนโยบายกากับดูแลกิจการที่ดี 4. กาหนดแนวทางการกากับดูแลการดาเนิ นงานที่เกี่ยวกับการต่อต้านทุจริ ตคอร์รัปชัน 5. จัดทารายงานการกากับดูแลกิจการ และผลการปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการธรรมาภิบาล เสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษทั และเปิ ดเผยข้อมูลในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ทั้งนี้ ในการดาเนินการเรื่ องใดที่คณะกรรมการธรรมาภิบาล หรื อผูร้ ับมอบอานาจจากคณะกรรมการ ธรรมาภิบาล มี ส่วนได้เสี ยหรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษทั และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย และ/หรื อ บริ ษทั ที่เกี่ ยวข้อง คณะกรรมการธรรมาภิบาล หรื อผูร้ ับมอบอานาจจากคณะกรรมการธรรมาภิบาล ไม่มีอานาจอนุ มตั ิการดาเนิ นการในเรื่ องดังกล่าว เว้นแต่เป็ นการอนุ มตั ิรายการที่เป็ นไปตามนโยบายและ หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อ ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น (แล้วแต่กรณี ) พิจารณาและอนุ มตั ิไว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริ ษทั การประชุ ม 1. การจัดประชุม 1.1 คณะกรรมการธรรมาภิบาล ต้องประชุมอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง หรื ออาจจัดให้มีการประชุม เพิ่มเติมตามที่ ประธานกรรมการบริ ษทั เห็ นสมควร โดยต้องเข้าร่ วมประชุ มไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของจานวนการประชุมคณะกรรมการธรรมาภิบาลทั้งหมด 1.2 ประธานกรรมการธรรมาภิบาล อาจเรี ยกประชุมเป็ นกรณี พิเศษได้ หากกรรมการธรรมาภิบาล หรื อประธานกรรมการบริ ษทั มีวาระจาเป็ นที่ตอ้ งหารื อร่ วมกัน 2. ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม 2.1 การประชุ ม คณะกรรมการธรรมาภิ บ าล ต้องมี ก รรมการธรรมาภิ บ าล เข้า ร่ ว มประชุ ม ไม่น้อยกว่ากึ่ งหนึ่ งของจานวนกรรมการดัง กล่าวทั้งหมดจึงจะครบองค์ประชุ ม และให้ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล เป็ นประธานที่ประชุม 2.2 ในกรณี ที่ประธานกรรมการธรรมาภิบาล ไม่อยู่ในที่ประชุ มหรื อไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้กรรมการธรรมาภิบาล ที่มาประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็ นประธานที่ประชุม 2.3 กรณี ที่เลขานุการคณะกรรมการธรรมาภิบาลมีเหตุให้ไม่สามารถเข้าร่ วมประชุ มได้ บริ ษทั ต้อง มอบหมายบุคคลเข้าร่ วมประชุมแทน 3. การลงคะแนนเสี ยง 3.1 มติ ที่ ป ระชุ ม ให้ถื อเสี ย งข้า งมากของกรรมการธรรมาภิ บาลที่ ม าประชุ ม และออกเสี ย ง ลงคะแนน ในกรณี ที่คะแนนเสี ยงเท่ากันให้ประธานที่ประชุ มออกเสี ยงเพิ่มอีกหนึ่ งเสี ยง เป็ นเสี ยงชี้ขาด 3.2 กรรมการธรรมาภิบาล ที่มีส่วนได้เสี ยในวาระใด ๆ จะต้องงดออกเสี ยงในวาระนั้น ๆ
141ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
153
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4. บันทึกรายงานการประชุม ให้เลขานุการกรรมการธรรมาภิบาล หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมายทาหน้าที่บนั ทึกรายงานการประชุม การรายงาน 1. คณะกรรมการธรรมาภิ บาล จะต้อ งเสนอและรายงานผลการพิ จ ารณานโยบายต่ า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านจรรยาบรรณธุ รกิจ การกากับดูแลกิจการที่ดี และการต่อต้านทุจริ ตคอร์ รัปชัน ตลอดจนการดาเนิ นงานด้านธรรมาภิบาล แก่ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา อนุ ม ัติ และ/หรื อ การน าเสนอวาระอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การปฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาหรื อรับทราบต่อไป 2. ประธานกรรมการธรรมาภิบาลต้องรายงานผลการปฏิบตั ิหน้าที่ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นรับทราบไว้ ในรายงานประจ าปี และแบบแสดงรายการข้อ มู ล ประจ าปี (แบบ 56-1) โดยเปิ ดเผย รายละเอียด ดังนี้ 2.1 จานวนครั้งการประชุม 2.2 จานวนครั้งที่กรรมการธรรมาภิบาลเข้าร่ วมประชุมเป็ นรายบุคคล 2.3 ผลการปฏิบตั ิงานตามที่ได้กาหนดไว้ในกฎบัตรฉบับนี้ การประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลต้อ งประเมิ นผลการปฏิ บ ัติง านของตนเองและของคณะกรรมการ ธรรมาภิบาล และรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ตลอดจนปั ญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั ิหน้าที่ (ถ้ามี) ให้กบั คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับทราบ ค่ าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการธรรมาภิ บาล จะได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่ เหมาะสมตามหน้าที่ และความรั บผิดชอบ ในการดาเนินงาน ซึ่งเป็ นไปตามมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.5 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทนของบริ ษทั มีจานวน 4 คน ซึ่ งมีสัดส่ วนกรรมการอิสระคิดเป็ นร้อยละ 50 ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล 1. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) *ได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2. นายวิเชฐ ตันติวานิช 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 154
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
142
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
โดยมี น างสาวพัช รี โคสนาม ผู้จ ัด การส านัก กรรมการและเลขานุ ก ารบริ ษ ัท เป็ นเลขานุ ก าร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และมีรายละเอียดกฎบัตร โดยได้ผา่ นการอนุมตั ิทบทวนจาก ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2561 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 ซึ่งไม่ได้มีมติให้แก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้ 1. องค์ ประกอบ การแต่ งตั้ง และคุณสมบัติ 1.1 องค์ประกอบ และการแต่งตั้ง 1.1.1 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั อย่างน้อย 3 คน โดยส่ วนใหญ่ตอ้ งเป็ นกรรมการอิสระ ทั้ง นี้ หากองค์ ก รยัง มี ข นาดเล็ ก และจ านวนบุ ค ลากรกรรมการอิ ส ระไม่ เ พี ย งพอ ก าหนดให้ต้อ งมี ก รรมการอิ ส ระ อย่า งน้อ ย 1 คน ในคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ต้องพิจารณา คัดเลือกกรรมการอิสระ 1 คน เป็ นประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเท่านั้น 1.1.2 คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริ ษทั เพื่อทาหน้าที่คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทั้งนี้ หากกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน พ้นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริ ษทั ได้อีก 1.1.3 ให้บริ ษทั คัดเลือกและเสนอชื่อพนักงานบริ ษทั เพื่อทาหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 1.2 คุณสมบัติ 1.2.1 ดารงตาแหน่ งกรรมการบริ ษทั มี ความเป็ นกลางและมีความเป็ นอิสระตามหลักการ กากับดูแลกิจการที่ดี 1.2.2 มีความรู้ ความสามารถในการทาหน้าที่ส รรหากรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู ง และ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนรวมถึ ง ความรู้ ใ นธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษัท ตลอดจน ประสบการณ์ ก ารท างาน และเข้า ใจถึ ง บทบาทหน้า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนอย่างแท้จริ ง 1.2.3 สามารถอุ ทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิ บตั ิ หน้าที่ เพื่อให้บรรลุ วตั ถุ ประสงค์ของ การดาเนินงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. วาระการดารงตาแหน่ งและการพ้นจากตาแหน่ ง 2.1 วาระการดารงตาแหน่ง 2.1.1 กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมี วาระการดารงตาแหน่ งเพื่อปฏิ บตั ิ งาน ตามวาระการดารงตาเหน่งกรรมการบริ ษทั 2.1.2 กรณี มีเหตุให้กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนพ้นจากตาแหน่ง อันส่ งผลให้ จานวนของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนไม่ครบถ้วนตามที่กาหนด 143ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
155
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในกฎบัตรฉบับ นี้ คณะกรรมการบริ ษ ทั ต้องแต่ง ตั้ง กรรมการสรรหาและพิ จารณา ค่าตอบแทนรายใหม่ เพื่อให้ครบตามจานวน ภายในระยะเวลา 3 เดื อน นับแต่วนั ที่มี จานวนกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนไม่ครบถ้วน 2.2 การพ้นจากตาแหน่ง 2.2.1 กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะพ้นจากตาแหน่ง เมื่อเกิดกรณี ดังนี้ - เสี ยชีวติ
- ลาออก
- พ้นจากการเป็ นกรรมการบริ ษทั
- คณะกรรมการบริ ษทั มีมติให้พน้ จากตาแหน่ง
- ขาดคุณสมบัติของการเป็ นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หรื อมีลกั ษณะ ต้องห้ามตามที่กฎหมายกาหนด 2.2.2 ในกรณี ลาออก กรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทน จะต้องยื่นใบลาออกต่อ ประธานกรรมการบริ ษทั และมีผลตั้งแต่วนั ที่ประธานกรรมการบริ ษทั ลงนามพิจารณา อนุมตั ิการลาออกเป็ นต้นไป 3. ขอบเขตอานาจหน้ าที่ 3.1 ด้านการสรรหา 3.1.1 กาหนดนโยบาย หลัก เกณฑ์ รู ปแบบ และกระบวนการในการคัดเลื อกและสรรหา กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารระดับสู ง รวมทั้งการคัดเลื อกกรรมการชุ ดย่อยเพื่อให้ คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาแต่งตั้ง โดยพิจารณาจากคุ ณสมบัติ การศึกษา ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์การทางานในธุ รกิจที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริ ษทั ตลอดจนความเป็ นอิสระของกรรมการบริ ษทั ตามหลักเกณฑ์ที่บริ ษทั กาหนด เพื่ อ เป็ นหลัก เกณฑ์แ ละแนวทางประกอบการพิจ ารณาสรรหา เพื่ อ ให้ การดาเนิ นงานของบริ ษทั บรรลุ ได้ตามเป้ าหมาย และวิสัยทัศน์และพันธกิ จที่ต้ งั ไว้ นอกจากนั้น หลักเกณฑ์ รู ปแบบและกระบวนการในการคัดเลื อกและสรรหาจะต้อง เป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี 3.1.2 พิ จ ารณาคัด เลื อ กและสรรหากรรมการบริ ษัท และผู้บ ริ หารระดับ สู ง รวมถึ ง การคัดเลือกกรรมการชุ ดย่อยที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามหลักเกณฑ์การพิจารณาและ นาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งตามลาดับ 3.1.3 พิจารณาและเสนอแนะโครงสร้า ง ขนาด และองค์ประกอบของคณะกรรมการบริ ษทั ให้มีความเหมาะสมกับบริ ษทั เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของ ธุ รกิจ และสถานการณ์ภายในประเทศและสังคมโลก 3.1.4 กาหนดแผนและจัดให้มีการปฐมนิ เทศให้แก่กรรมการบริ ษทั ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ รวมไปถึงการจัดทาแผนพัฒนาความรู้ความสามารถของกรรมการบริ ษทั อย่างต่อเนื่ อง 156
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
144
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.1.5 จัดทาและทบทวนแผนการสื บทอดตาแหน่ง (Succession Plan) ของกรรมการผูจ้ ดั การ รวมทั้ง ผูบ้ ริ หารระดับสู ง เพื่อเตรี ยมความพร้อมในการสื บทอดงาน เพื่อให้การบริ หารและ การดาเนินงานของบริ ษทั เป็ นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิ ทธิ ภาพ โดยให้เสนอแผน ดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาต่อไป 3.1.6 สนับสนุนให้บริ ษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ น้ รายย่อยมีส่วนร่ วมในการเสนอรายชื่อบุคคล เพื่อเข้ารับการพิจารณาเป็ นกรรมการบริ ษทั 3.1.7 เปิ ดเผยข้อมูลในการพิจารณาสรรหาและการคัดเลือกกรรมการบริ ษทั กรรมการชุดย่อยและ ผูบ้ ริ หารระดับสู งในรายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) 3.2 ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน 3.2.1 กาหนดและทบทวนนโยบาย หลักเกณฑ์ และรู ปแบบการพิจารณาการจ่ายค่าตอบแทน หรื อผลประโยชน์อื่น ๆ แก่กรรมการบริ ษทั กรรมการชุ ดย่อย และผูบ้ ริ หารระดับสู ง ให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยให้สอดคล้องกับผลประกอบการโดยรวม ของบริ ษทั ด้วยความโปร่ งใส 3.2.2 เสนอค่ า ตอบแทนที่ เหมาะสม และ/หรื อ ผลประโยชน์อื่น ใดของกรรมการบริ ษ ัท กรรมการชุ ดย่อยและผูบ้ ริ หารระดับสู ง เพื่อสร้ า งแรงจูงใจและรั กษากรรมการที่ มี ความสามารถและศัก ยภาพ โดยให้ส อดคล้อ งกับ ผลประกอบการของบริ ษ ัท และ ผลประโยชน์ของผูถ้ ื อหุ ้นเป็ นสาคัญ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น เพื่อพิจารณาอนุมตั ิตามลาดับ 3.2.3 กาหนดหลักเกณฑ์และรู ป แบบการประเมินผลการปฏิ บตั ิ งานของกรรมการบริ ษ ทั กรรมการชุดย่อยและผูบ้ ริ หารระดับสู ง เพื่อประกอบการพิจารณาผลตอบแทนประจาปี 3.2.4 เปิ ดเผยหลักเกณฑ์และรู ปแบบการพิจารณาค่าตอบแทน และข้อมูลค่าตอบแทน และ/หรื อ ผลประโยชน์ อื่น ๆ ของกรรมการบริ ษ ทั กรรมการชุ ดย่อย และผูบ้ ริ หารระดับ สู ง รวมทั้งจัดทารายงานการกาหนดค่าตอบแทนและความเห็นของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) 3.2.5 ทบทวนนโยบาย หลักเกณฑ์ และรู ปแบบการสรรหาและพิ จารณาค่ าตอบแทนและ ผลประโยชน์ อื่ น ๆ ของกรรมการบริ ษัท กรรมการชุ ดย่อย และผู้บ ริ หารระดับสู ง เป็ นประจาทุกปี 3.2.6 รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ทั้งนี้ การมอบอานาจให้แก่ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะไม่ รวมถึ ง อานาจ ในการอนุมตั ิรายการใดที่อาจมีความขัดแย้ง หรื อรายการใดที่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หรื อบุคคลที่เกี่ยวโยงกับคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีส่วนได้เสี ยหรื อได้ผลประโยชน์ ในลัก ษณะอื่ นใด อัน เป็ นการขัด แย้ง กับ บริ ษ ัท ตามหลัก เกณฑ์ข องตลาดหลัก ทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย 145ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
157
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ซึ่งการอนุมตั ิรายการในลักษณะดังกล่าวจะต้องเสนอต่อที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อ ที่ประชุ ม ผูถ้ ือหุ ้น เพื่อพิจารณาอนุมตั ิตามข้อบังคับของบริ ษทั หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องเท่านั้น เว้นแต่เป็ นการอนุมตั ิ รายการที่เป็ นลักษณะการดาเนิ นธุ รกรรมการค้าปกติทวั่ ไปของบริ ษทั ที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดกรอบ การพิจารณาไว้ชดั เจน 4. การประชุ ม 4.1 การจัดประชุม 4.1.1 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต้องประชุมอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง หรื อ อาจจัดให้มีการประชุมเพิ่มเติมตามที่ประธานกรรมการบริ ษทั เห็นสมควร โดยต้องเข้า ร่ วมประชุมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 ของจานวนการประชุ มคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนทั้งหมด 4.1.2 ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนอาจเรี ยกประชุ มเป็ นกรณี พิเศษได้ หากกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หรื อประธานกรรมการบริ ษทั มีวาระ จาเป็ นที่ตอ้ งหารื อร่ วมกัน 4.2 ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม 4.2.1 การประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต้องมีกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนเข้าร่ วมประชุ มไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการดังกล่าว ทั้ง หมดจึ ง จะครบองค์ ป ระชุ ม และให้ ป ระธานกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทนเป็ นประธานที่ประชุม 4.2.2 ในกรณี ที่ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนไม่อยูใ่ นที่ประชุมหรื อไม่ สามารถปฏิ บตั ิ หน้าที่ ได้ ให้กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนที่ มาประชุ ม เลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็ นประธานที่ประชุม 4.2.3 กรณี ที่เลขานุ การคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีเหตุให้ไม่สามารถ เข้าร่ วมประชุมได้ บริ ษทั ต้องมอบหมายบุคคลเข้าร่ วมประชุมแทน 4.3 การลงคะแนนเสี ยง 4.3.1 มติที่ประชุ มให้ถือเสี ยงข้างมากของกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนที่มา ประชุ มและออกเสี ยงลงคะแนน ในกรณี ที่คะแนนเสี ยงเท่ากันให้ประธานที่ประชุ ม ออกเสี ยงเพิ่มอีกหนึ่งเสี ยงเป็ นเสี ยงชี้ขาด 4.3.2 กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนที่มีส่วนได้เสี ยในวาระใด ๆ จะต้องงดออกเสี ยง ในวาระนั้น ๆ
158
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
146
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4.4 บันทึกรายงานการประชุม 4.4.1 ให้เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย ทาหน้าที่บนั ทึกรายงานการประชุม 5. การรายงาน 5.1 คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่า ตอบแทนจะต้องเสนอและรายงานผลการพิ จารณา การสรรหากรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และกรรมการชุ ดย่อย รวมถึ งค่าตอบแทนแก่ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษัท เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ ม ัติ ตลอดจนการน าเสนอวาระอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าที่ เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาหรื อรับทราบต่อไป 5.2 ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต้องรายงานผลการปฏิบตั ิหน้าที่ในการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ รับทราบไว้ในรายงานประจาปี และแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) โดยเปิ ดเผยรายละเอียด ดังนี้ 5.2.1 จานวนครั้งการประชุม 5.2.2 จานวนครั้งที่กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเข้าร่ วมประชุมเป็ นรายบุคคล 5.2.3 ผลการปฏิบตั ิงานตามที่ได้กาหนดไว้ในกฎบัตรฉบับนี้ 6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนต้องประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองและของ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ตลอดจนปั ญหาและอุปสรรค ในการปฏิบตั ิหน้าที่ (ถ้ามี) ให้กบั คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับทราบ 7. ค่ าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่เหมาะสมตามหน้าที่ และความรับผิดชอบในการดาเนินงาน ซึ่งเป็ นไปตามมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.6 คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริ หารของบริ ษทั มีจานวน 5 คน ประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร
147ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
159
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
โดยมี น างสาวพัช รี โคสนาม ผู้จ ัด การส านัก กรรมการ และเลขานุ ก ารบริ ษ ัท เป็ นเลขานุ ก าร คณะกรรมการบริ หาร และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2561 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 มีมติ อนุมตั ิทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบริ หาร ซึ่งไม่ได้มีมติให้แก้ไขเพิ่มเติม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. องค์ ประกอบ การแต่ งตั้ง และคุณสมบัติ 1.1 องค์ประกอบ และการแต่งตั้ง 1.1.1 คณะกรรมการบริ หารจะต้องเป็ นกรรมการบริ ษทั และ/หรื อผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ซึ่ งได้รับ การแต่ ง ตั้ง จากคณะกรรมการบริ ษัท โดยมี จ านวนตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษัท เห็นสมควร ซึ่ งต้องประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั และ/หรื อผูบ้ ริ หาร อย่างน้อย 3 คน และให้คณะกรรมการบริ ษทั แต่งตั้งกรรมการบริ หารคนหนึ่งเป็ นประธานกรรมการบริ หาร 1.1.2 คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริ ษทั และ/หรื อผูบ้ ริ หาร เพื่อทา หน้าที่คณะกรรมการบริ หาร ทั้งนี้ หากคณะกรรมการบริ หารพ้นจากตาแหน่ งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริ ษทั ได้อีก 1.1.3 ให้ บ ริ ษั ท คั ด เลื อ กและเสนอชื่ อพนั ก งานบริ ษั ท เพื่ อ ท าหน้ า ที่ เ ลขานุ การ คณะกรรมการบริ หาร โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ หาร 1.2 คุณสมบัติ 1.2.1 มีจริ ยธรรมและธรรมาภิ บาล รวมทั้งปฏิ บตั ิ หน้าที่ด้วยความโปร่ งใส เป็ นธรรมและ คานึงถึงประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ และองค์กรเป็ นสาคัญ 1.2.2 มีความรู้ ความสามารถ และมีความเชี่ ยวชาญในการทาหน้าที่ ของกรรมการบริ หาร ตลอดจนมี ความรู ้ และมีประสบการณ์ ที่เกี่ ยวข้องด้านการบริ หาร การเงิ น การบัญชี หรื อธุ รกิจที่เกี่ ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุ รีรัมย์ (“กลุ่มบริ ษทั ฯ”) รวมทั้งเข้าใจถึ ง บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ หารอย่างแท้จริ ง 1.2.3 สามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิ บตั ิหน้าที่ เพื่อให้บรรลุ วตั ถุ ประสงค์และ เป้ าหมายของบริ ษทั 2. วาระการดารงตาแหน่ งและการพ้นจากตาแหน่ ง 2.1 วาระการดารงตาแหน่ง 2.1.1 กรรมการบริ หารมีวาระการดารงตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิงานตามวาระการดารงตาเหน่ ง ของกรรมการบริ ษทั หรื อการดารงตาแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารของบริ ษทั 2.1.2 กรณี มี เ หตุ ใ ห้ ก รรมการบริ หารพ้ น จากต าแหน่ ง อั น ส่ งผลให้ จ านวนของ คณะกรรมการบริ หารไม่ครบถ้วนตามที่กาหนดในกฎบัตรฉบับนี้ คณะกรรมการบริ ษทั
160
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
148
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารรายใหม่ เพื่อให้ครบตามจานวน ภายในระยะเวลา 3 เดือน นับแต่วนั ที่มีจานวนกรรมการบริ หารไม่ครบถ้วน 2.2 การพ้นจากตาแหน่ง 2.2.1 กรรมการบริ หารจะพ้นจากตาแหน่ง เมื่อเกิดกรณี ดังนี้ - พ้นจากการเป็ นกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หาร
- เสี ยชีวติ
- คณะกรรมการบริ ษทั มีมติให้พน้ จากตาแหน่ง
- ลาออก
- ขาดคุณสมบัติของการเป็ นกรรมการบริ หาร หรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกาหนด 2.2.2 ในกรณี ล าออก กรรมการบริ หารจะต้องยื่ นใบลาออกต่ อประธานกรรมการบริ ษัท และมีผลตั้งแต่วนั ที่ประธานกรรมการบริ ษทั ลงนามพิจารณาอนุมตั ิการลาออกเป็ นต้นไป 3. ขอบเขตอานาจหน้ าที่ 3.1 พิจารณา ก าหนด และให้ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ วิสัยทัศ น์ ภารกิ จ นโยบาย กลยุท ธ์ ทางธุ รกิ จ เป้ าหมายและแผนการดาเนินงาน เป้ าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริ ษทั เพื่อเสนอ และขออนุมตั ิต่อคณะกรรมการบริ ษทั 3.2 กากับดูแล ตรวจสอบ และติดตามการดาเนินกิจการของบริ ษทั ให้เป็ นไปตาม วิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ เป้ าหมายและแผนการด าเนิ นงาน เป้ าหมายทางการเงิ นและ งบประมาณของบริ ษทั ที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั 3.3 กาหนดโครงสร้ า งองค์ก ร และนโยบายเกี่ ย วกับการบริ หารจัดการบริ ษ ทั รวมถึ ง นโยบาย เกี่ ยวกับการคัดเลื อก การฝึ กอบรม การว่าจ้าง และการเลิ กจ้างพนักงานที่มีตาแหน่ งสู งกว่า ผูจ้ ดั การฝ่ ายของบริ ษทั โดยอาจมอบหมายให้กรรมการผูจ้ ดั การของบริ ษทั และ/หรื อ ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและธุรการเป็ นผูม้ ีอานาจแทนบริ ษทั ในการลงนามในสัญญาจ้างแรงงาน 3.4 ศึกษาความเป็ นไปได้ในการลงทุนในโครงการใหม่ ๆ และมีอานาจในการพิจารณาและอนุมตั ิ ให้บริ ษทั ลงทุน หรื อเข้าร่ วมลงทุนกับบุคคล นิติบุคคล หรื อองค์กรทางธุ รกิจอื่นใด ในรู ปแบบ ที่คณะกรรมการบริ หารเห็ นสมควร เพื่อดาเนิ นกิ จการตามวัตถุประสงค์ของบริ ษทั ตลอดจน การพิจารณาและอนุ มตั ิการใช้จ่ายเงิ นเพื่อการลงทุนดังกล่าว การเข้าทานิ ติกรรมสัญญา และ/หรื อ การดาเนิ นการใด ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับเรื่ องดังกล่าวจนเสร็ จการ ในจานวนเงิ นในแต่ละรายการ ตั้ง แต่ 20 ล้า นบาท แต่ ไม่ เกิ น 100 ล้า นบาท ทั้ง นี้ ต้องไม่เกิ นงบประมาณประจาปี ที่ ได้รับ อนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั 3.5 พิจารณาและอนุ มตั ิ การเข้าทาธุ รกรรมทางการเงิ นกับสถาบันการเงิ นในการเปิ ดบัญชี กู้ยืม ขอสิ นเชื่อ จานา จานอง ค้ าประกัน และการอื่น รวมถึงการซื้ อขายและจดทะเบียนกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดิ น ใด ๆ ตามวัต ถุ ป ระสงค์ข องบริ ษ ัท เพื่ อ ประโยชน์ ในการด าเนิ น กิ จ การของบริ ษ ัท ตลอดจนการเข้าทานิ ติกรรมสัญญา และ/หรื อการดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องดังกล่าว 149 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
161
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
จนเสร็ จการ ในจานวนเงินในแต่ละรายการตั้งแต่ 20 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 1,000 ล้านบาท ทั้งนี้ ต้องไม่เกินงบประมาณประจาปี ที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั 3.6 พิจารณาและอนุมตั ิการเข้าทาสัญญาหรื อตราสารทางการเงิน เช่น สัญญาสิ ทธิ ที่จะซื้ อหรื อขาย น้ า ตาลทรายล่ วงหน้า สั ญญาซื้ อขายต่า งประเทศล่ วงหน้า เป็ นต้น เพื่ อป้ องกันความเสี่ ย ง ทางการเงินของบริ ษทั 3.7 พิ จ ารณาและให้ข ้อ เสนอแนะ หรื อ ความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท เกี่ ย วกับ โครงการ ข้อเสนอ หรื อการเข้าทาธุ รกรรมใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั ที่มีมูลค่าเกินกว่า จานวนเงิ นที่ ได้กาหนดไว้ และ/หรื อ ตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง หรื อข้อบังคับบริ ษทั ที่ได้กาหนดให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ หรื อคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาและอนุมตั ิ 3.8 พิ จ ารณาและอนุ ม ัติ แ นวนโยบายการบริ ห ารงาน และการด าเนิ น กิ จ การของบริ ษ ัท หรื อ การดาเนินการใด ๆ อันอาจมีผลผูกพันบริ ษทั 3.9 มอบอานาจให้กรรมการผูจ้ ดั การ ดาเนิ นกิ จการของบริ ษทั ตามขอบเขตอานาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการบริ หาร 3.10 แต่ ง ตั้ง และ/หรื อมอบหมายให้ก รรมการบริ หาร หรื อบุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง หรื อหลายคน มี อ านาจด าเนิ น การใด ๆ ที่ อ ยู่ ภ ายในขอบอ านาจของคณะกรรมการบริ หาร ตามที่ คณะกรรมการบริ หารเห็นสมควร โดยที่คณะกรรมการบริ หารอาจยกเลิก เพิกถอน หรื อแก้ไข เปลี่ยนแปลงอานาจดังกล่าวได้ 3.11 พิจารณาและอนุมตั ิคู่มืออานาจดาเนินการ เพื่อให้ผทู้ ี่ได้รับการแต่งตั้ง และ/หรื อ ผูท้ ี่ได้รับมอบ อานาจทราบถึ ง ขอบเขตความรับ ผิดชอบ และอานาจของตนเอง และเพื่อ ใช้เ ป็ นคู่มือ ใน การปฏิบตั ิงาน โดยมีเอกสารอ้างอิง และเป็ นไปตามขั้นตอนอย่างมีระบบ 3.12 มีอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบใด ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย หรื อตามนโยบายที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 3.13 มีหน้าที่ส่งเสริ มและจัดทาให้มรี ะบบป้ องกันการคอร์ รัปชันที่มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งสื่ อสาร เรื่ องการต่อต้านคอร์ รัปชันไปยังพนักงานและควบคุ มดูแลให้พนักงานปฏิบตั ิตามนโยบาย ต่อต้านคอร์ รัปชันและคู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจ ตลอดจนเป็ นผูน้ า และเป็ นแบบอย่างแก่ พนักงานในด้านการต่อต้านคอร์ รัปชัน ทั้ง นี้ ในกรณี ที่มีหลักฐานว่า กรรมการบริ หารมีการกระทาอันเป็ นการดาเนิ นการ หรื อ ยอมรับ หรื อให้การสนับสนุนให้มี การคอร์ รัปชันเกิดขึ้น บริ ษทั จะดาเนินการทางวินยั เพื่อพิจารณาลงโทษตามระเบียบข้อบังคับ ในการทางาน ซึ่ ง มี โทษสู งสุ ดคือเลิ กจ้า ง หรื อยกเลิ ก สัญญา ทั้ง นี้ หากกรณี ที่เกี่ ยวข้องนั้น เป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมาย ผู้ที่ ฝ่ าฝื นหรื อไม่ ป ฏิ บ ัติ ต ามกฎหมาย อาจถู ก ด าเนิ น การตาม กระบวนการบังคับใช้กฎหมายนั้น ๆ
162
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
150
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.14 ศึกษาและปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจของบริ ษทั รวมทั้ง กฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ในการดาเนิ นการเรื่ องใดที่คณะกรรมการบริ หาร หรื อผูร้ ับมอบอานาจ จากคณะกรรมการบริ หาร มีส่วนได้เสี ย หรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษทั และ/หรื อบริ ษทั ย่อย และ/หรื อบริ ษทั ที่ เ กี่ ย วข้อ ง คณะกรรมการบริ หาร หรื อ ผูร้ ั บ มอบอ านาจจากคณะกรรมการบริ ห าร ไม่ มี อ านาจอนุ ม ัติ การดาเนิ นการในเรื่ องดัง กล่ า ว เว้นแต่ เ ป็ นการอนุ ม ตั ิ รายการที่ เป็ นไปตามนโยบาย และหลัก เกณฑ์ที่ คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น (แล้วแต่กรณี ) พิจารณาและอนุ มตั ิไว้แล้ว โดยอยู่ภายใต้ หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริ ษทั 4. การประชุ ม 4.1 การจัดประชุม 4.1.1 กรรมการบริ หารต้องเข้าร่ วมประชุ มไม่น้อยกว่าร้ อยละ 75 ของจานวนการประชุ ม คณะกรรมการบริ หารทั้งหมด 4.2 ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม 4.2.1 การประชุ มคณะกรรมการบริ หาร ต้องมีกรรมการบริ หารเข้าร่ วมประชุ มไม่น้อยกว่า กึ่ งหนึ่ งของจานวนกรรมการดังกล่าวทั้งหมดจึงจะครบองค์ประชุ ม และให้ประธาน กรรมการบริ หาร เป็ นประธานที่ประชุม 4.2.2 ในกรณี ที่ประธานกรรมการบริ หาร ไม่อยูใ่ นที่ประชุมหรื อไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้กรรมการบริ หารที่มาประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็ นประธานที่ประชุม 4.2.3 กรณี ที่เลขานุการคณะกรรมการบริ หาร มีเหตุให้ไม่สามารถเข้าร่ วมประชุ มได้ บริ ษทั ต้องมอบหมายบุคคลเข้าร่ วมประชุมแทน 4.3 การลงคะแนนเสี ยง 4.3.1 มติ ที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย งข้า งมากของกรรมการบริ ห ารที่ ม าประชุ ม และออกเสี ย ง ลงคะแนน ในกรณี ที่ค ะแนนเสี ย งเท่า กัน ให้ป ระธานที่ป ระชุ ม ออกเสี ย งเพิ่ม อีก หนึ่ งเสี ยงเป็ นเสี ยงชี้ขาด 4.3.2 กรรมการบริ หารที่มีส่วนได้เสี ยในวาระใด ๆ จะต้องงดออกเสี ยงในวาระนั้น ๆ 4.4 บันทึกรายงานการประชุม 4.4.1 ให้เลขานุการกรรมการบริ หาร หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมายทาหน้าที่บนั ทึกรายงานการประชุม 5. การรายงาน 5.1 คณะกรรมการบริ หารจะต้องเสนอและรายงานผลการพิจารณานโยบาย หรื อการดาเนิ นงาน ในเรื่ องต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นเรื่ องส าคัญและมี ผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิ จ ตามขอบเขตอานาจ
151ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
163
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
หน้าที่ของคณะกรรมการบริ หารที่พึงรายงาน หรื อขอการพิจารณาอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั โดยนาเสนอแก่ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ และ/หรื อเพื่อรับทราบต่อไป 5.2 คณะกรรมการบริ หารและฝ่ ายจัดการต้องจัดทาบทวิเคราะห์และคาอธิ บายของฝ่ ายจัดการ (MD&A) ส าหรั บ ผลการดาเนิ นงานของปี ที่ ผ่า นมา และเปิ ดเผยให้ผูถ้ ื อหุ ้นรั บ ทราบไว้ใ น รายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) 6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริ หารจะต้องประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองและของคณะกรรมการบริ ห าร ทั้ง คณะและรายงานผลการปฏิ บ ตั ิ ง าน ตลอดจนปั ญหาและอุ ป สรรคในการปฏิ บ ตั ิ หน้า ที่ (ถ้ามี ) ให้ก ับ คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับทราบ 7. ค่ าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริ หาร จะได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่เหมาะสมตามหน้าที่ และความรั บผิดชอบ ในการดาเนินงาน ซึ่งเป็ นไปตามมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.7 ผู้บริหาร ผูบ้ ริ ห ารตามนิ ย ามในประกาศคณะกรรมการตลาดทุ น ที่ ทจ. 23/2551 ซึ่ งหมายถึ ง “ผูจ้ ัด การ หรื อผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารสี่ รายแรกนับต่อจากผูจ้ ดั การลงมา ผูซ้ ่ ึ งดารงตาแหน่งเทียบเท่ากับผูด้ ารง ตาแหน่งระดับบริ หารรายที่สี่ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารในสายงานบัญชี หรื อการเงินที่เป็ นระดับผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้นไปหรื อเที ยบเท่า” ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ตามนิยามในประกาศคณะกรรมการตลาดทุนดังกล่าว มีจานวน 7 ท่าน ซึ่งมีรายนามดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
164
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายพิทกั ษ์ ชาวสวน นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ตาแหน่ ง กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านธุรกิจการเกษตร กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านพาณิ ชย์ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านพลังงาน กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนต่างประเทศ รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มการเงินและปฏิบตั ิการ (CFO) รองกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ด้านต่างประเทศและนโยบาย อุตสาหกรรม
152
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทั้งนี้ กรรมการผูจ้ ดั การ (CEO) มีองค์ประกอบและการแต่งตั้ง รวมทั้งขอบเขตและอานาจหน้าที่ ดังนี้ องค์ ประกอบและการแต่ งตั้งกรรมการผู้จัดการ (CEO) ในการสรรหากรรมการผูจ้ ดั การ (CEO) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็ น ผูพ้ ิจารณาเบื้ องต้นในการกลัน่ กรองสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วน เหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ทัก ษะ และประสบการณ์ ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ การด าเนิ น งานของบริ ษ ัท และเข้า ใจในธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท เป็ นอย่างดี และสามารถบริ หารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดไว้ได้ รวมทั้งนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ ขอบเขตและอานาจหน้ าทีข่ องกรรมการผู้จัดการ (CEO) 1. รับผิดชอบดูแลเรื่ องการดาเนิ นงาน และ/หรื อการบริ หารงานตามปกติประจาวัน (Day To Day Operation) ของบริ ษัท รวมถึ ง การก ากั บ ดู แ ลการด าเนิ น งานโดยรวม เพื่ อ ให้ เ ป็ นไปตาม วัตถุ ป ระสงค์ และข้อบัง คับ ของบริ ษ ทั ตลอดจนวิสั ย ทัศ น์ ภารกิ จ นโยบาย กลยุท ธ์ ท างธุ รกิ จ เป้ าหมายและแผนการดาเนิ นงาน เป้ าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริ ษทั ที่ได้รับอนุ มตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษทั 2. พิ จ ารณา เจรจาต่ อ รอง และอนุ ม ัติ ก ารเข้า ท านิ ติ ก รรมสั ญ ญา และ/หรื อ การด าเนิ น การใด ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด าเนิ น งาน และ/หรื อการบริ หารงานตามปกติ ป ระจ าวัน ของบริ ษั ท ในจานวนเงินในแต่ละรายการไม่เกิน 20 ล้านบาท แต่ไม่เกินงบประมาณประจาปี ที่ได้รับอนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษทั 3. พิ จ ารณาและให้ ข้อ เสนอแนะในการเข้า ท านิ ติ ก รรมสั ญ ญา และ/หรื อการ ด าเนิ น การใด ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับการดาเนิ นงาน และ/หรื อการบริ หารงานตามปกติประจาวันของบริ ษทั ที่มีมูลค่าเกินกว่า จานวนเงิ นที่ ได้กาหนดไว้ รวมถึ งให้ความเห็ น และเสนอเรื่ องดังกล่ า วต่อคณะกรรมการบริ ษ ทั และ/หรื อคณะกรรมการบริ หาร เพื่อพิจารณากลัน่ กรอง และหาข้อสรุ ปต่อไป 4. ศึกษาความเป็ นไปได้ในการลงทุนในโครงการใหม่ ๆ และมีอานาจในการพิจารณาและอนุ มตั ิให้ บริ ษ ทั ลงทุ น หรื อเข้า ร่ วมลงทุ นกับ บุ ค คล นิ ติบุค คล หรื อองค์ก รทางธุ รกิ จอื่ นใด ในรู ป แบบที่ คณะกรรมการบริ ห ารเห็ น สมควร เพื่ อ ด าเนิ น กิ จ การตามวัต ถุ ป ระสงค์ ข องบริ ษ ัท ตลอดจน การพิ จ ารณาและอนุ ม ัติ ก ารใช้ จ่ า ยเงิ น เพื่ อ การลงทุ น ดัง กล่ า ว การเข้า ท านิ ติ ก รรมสั ญ ญา และ/หรื อ การดาเนิ นการใด ๆ ที่เกี่ ย วข้องกับ เรื่ องดัง กล่ าวจนเสร็ จการ ในจานวนเงิ นในแต่ล ะ รายการไม่เกิน 20 ล้านบาท 5. พิ จ ารณาและอนุ ม ัติ ก ารเข้า ท าธุ ร กรรมทางการเงิ น กับ สถาบัน การเงิ น ในการเปิ ดบัญ ชี กู้ยื ม ขอสิ นเชื่ อ จานา จานอง ค้ าประกัน และการอื่น รวมถึงการซื้ อขาย และจดทะเบียนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน ใด ๆ ตามวัตถุ ประสงค์ของบริ ษทั เพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั ตลอดจนการเข้าทา
153 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
165
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นิ ติกรรมสัญญา และ/หรื อการดาเนิ นการใด ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับเรื่ องดังกล่าวจนเสร็ จการ ในจานวนเงิ น ในแต่ละรายการไม่เกิน 20 ล้านบาท 6. ก าหนดเงื่ อ นไขทางการค้า เช่ น วงเงิ น เครดิ ต ระยะเวลาการช าระเงิ น การท าสั ญ ญาซื้ อ ขาย การเปลี่ ย นแปลงเงื่ อ นไขการค้า เป็ นต้น ในจ านวนเงิ น ในแต่ ล ะรายการไม่ เ กิ น 20 ล้า นบาท แต่ไม่เกินงบประมาณประจาปี ที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั 7. พิจารณาจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย เลิ กจ้าง กาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ และผลประโยชน์ตอบแทน ที่ เ หมาะสมของพนัก งานของบริ ษ ัท ที่ มี ต าแหน่ ง ผูจ้ ัด การฝ่ ายหรื อ ต่ า กว่า ตามแนวนโยบาย ที่กาหนดโดยคณะกรรมการบริ หาร 8. แต่ ง ตั้ง ที่ ป รึ ก ษาด้า นต่ า ง ๆ ที่ จ าเป็ นต่ อ การด าเนิ น กิ จ การ และ/หรื อ การบริ ห ารงานตามปกติ ประจาวันของบริ ษทั 9. แต่งตั้ง และ/หรื อมอบหมายให้บุคคลใดบุ คคลหนึ่ งหรื อหลายคน มีอานาจดาเนิ นการใด ๆ ที่ อยู่ ภายในขอบเขตอ านาจของกรรมการผู้ จ ั ด การ ตามที่ ก รรมการผู้ จ ั ด การเห็ น สมควร โดยที่กรรมการผูจ้ ดั การอาจยกเลิก เพิกถอน หรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงอานาจดังกล่าวได้ 10. มี อ านาจ หน้า ที่ และความรั บ ผิด ชอบใด ๆ ตามที่ ไ ด้รั บ มอบหมาย หรื อ ตามนโยบายที่ ไ ด้รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อ คณะกรรมการบริ หาร 11. จัดทาให้มีระบบป้ องกันการคอร์ รัปชันที่มีประสิ ทธิ ภาพ และควบคุมไม่ให้มีการคอร์ รัปชันภายใน องค์กร ตามนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันและคู่มือการกากับดูแลกิ จการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิ จ ตลอดจนเป็ นผูน้ าและแบบอย่างแก่พนักงานในด้านการต่อต้านคอร์ รัปชัน ทั้งนี้ ในการดาเนินการเรื่ องใดที่กรรมการผูจ้ ดั การหรื อผูร้ ับมอบอานาจจากกรรมการผูจ้ ดั การมีส่วนได้เสี ย หรื ออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษทั และ/หรื อบริ ษทั ย่อย และ/หรื อบริ ษทั ที่เกี่ ยวข้อง กรรมการผูจ้ ดั การ หรื อผูร้ ับมอบอานาจจากกรรมการผูจ้ ดั การ ไม่มีอานาจอนุมตั ิการดาเนินการในเรื่ องดังกล่าว เว้นแต่เป็ นการอนุมตั ิรายการที่เป็ นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อ ที่ประชุม ผูถ้ ือหุ ้น (แล้วแต่กรณี ) พิจารณาและอนุ มตั ิไว้แล้ว โดยอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ข้อบังคับของบริ ษทั 2.8 เลขานุการบริษัท ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ครั้ งที่ 8/2558 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติแต่งตั้งนางสาวพัชรี โคสนาม ดารงตาแหน่งเลขานุการบริ ษทั เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรา 89/15 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึงที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) โดยนางสาวพัชรี โคสนาม เป็ นผูผ้ ่านการอบรมหลักสู ตรด้านการทางานของเลขานุ การบริ ษทั จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) และหลักสู ตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
166
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
154
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
หลักสู ตร Company Secretary Program (CSP) รุ่ นที่ 50/2013 หลักสู ตร Effective Minute Taking (EMT) รุ่ นที่ 25/2013 หลักสู ตร Board Reporting Program (BRP) รุ่ นที่ 10/2013 หลักสู ตร Company Reporting Program (CRP) รุ่ นที่ 5/2013 หลักสู ตรผูป้ ฏิบตั ิงานเลขานุการบริ ษทั (Advances for Corporate Secretaries) รุ่ นที่ 2/2559 ของสมาคมบริ ษทั จดทะเบียนไทย
ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดการแต่งตั้ง หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั ดังนี้ การแต่งตั้ง หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษัท ได้ แ ต่ ง ตั้ง เลขานุ ก ารบริ ษัท เพื่ อ ท าหน้ า ที่ ส นับ สนุ น การท างานของ คณะกรรมการบริ ษทั ในด้านต่าง ๆ อาทิ การจัดการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั และการประชุ ม ผู้ถื อ หุ ้ น การจัด ท ารายงานการประชุ ม การจัด เก็ บ เอกสารส าคัญ ตามที่ ก ฎหมายก าหนด และการจัดท ารายงานประจาปี รวมทั้ง งานด้า นการก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดี และการให้ค าแนะนา เบื้องต้นในข้อกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ แก่คณะกรรมการบริ ษทั โดยเลขานุการบริ ษทั จะด ารงต าแหน่ ง เป็ นผู ้จ ัด การส านัก กรรมการ ทั้ง นี้ บริ ษ ัท ได้ก าหนดคุ ณ สมบัติ แ ละหน้า ที่ ความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั ดังนี้ 1. การศึกษาและการอบรม - ต้ อ งจบการศึ กษาระดั บ ปริ ญญาตรี หรื อปริ ญญาโทด้ า นกฎหมาย บั ญ ชี การเงิ น และสาขาที่เกี่ยวข้อง หรื อ - ได้รับ การฝึ กอบรมหลัก สู ต รที่ เ กี่ ย วกับ การปฏิ บ ัติง านด้า นเลขานุ ก ารบริ ษ ัท โดยเฉพาะ หลัก สู ตรพื้ นฐานจากสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษ ทั ไทย (IOD) อาทิ หลัก สู ตร Company Secretary Program (CSP), หลักสู ตร Effective Minute Taking (EMT), หลักสู ตร Board Reporting Program (BRP) และหลักสู ตร Company Reporting Program (CRP) เป็ นต้น 2. หน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั - ให้ ค าแนะน าเบื้ อ งต้น แก่ ค ณะกรรมการบริ ษัท และผู ้บ ริ หารในข้อ กฎหมาย ระเบี ย บ และข้อ บัง คับ ต่ า ง ๆ ของบริ ษ ัท ที่ บ ริ ษ ัท ต้อ งปฏิ บ ัติ ต าม ดู แ ลให้ ก ารด าเนิ น กิ จ การของ คณะกรรมการบริ ษ ัท เป็ นไปอย่า งราบรื่ น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสอดคล้อ งกับ กฎหมาย และข้อกาหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - รั บ ผิ ด ชอบในการจัด การประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้ น และประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท ให้ เ ป็ นไป ตามกฎหมาย และข้อบังคับของบริ ษทั - บันทึกรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้น และการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั รวมทั้งติดตามให้มี การปฏิบตั ิตามมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั
155ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
167
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
- จัดทาและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการบริ ษทั รายงานประจาปี ของบริ ษทั หนังสื อนัดประชุม ผูถ้ ือหุ ้น หนังสื อนัดประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั รายงานการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น และรายงาน การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั - เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ยที่รายงานโดยกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หาร พร้อมทั้งจัดส่ ง สาเนารายงานการมีส่วนได้เสี ยให้ประธานกรรมการบริ ษทั และประธานกรรมการตรวจสอบ ภายใน 7 วันทาการ นับแต่วนั ที่บริ ษทั ได้รับรายงานนั้น - ดาเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด - ดาเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย
168
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
156
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
169
การ ผูผูจ้ จ้ ดั ดั การ ายผลิตต ฝ่ฝ่ายผลิ
ั การฝ่ายาย ผูผูจ้ ดัจ้ ดการฝ่ ควบคุมมคุณ คุณภาพ ภาพ ควบคุ
ยกรรมการผูจ้ จดั้ ดัการ การสายงานผลิ สายงานผลิต ต ผูผูช้ ช้ ่ว่วยกรรมการผู
รองกรรมการผูจ้ จดั้ ดัการ การสายงานผลิ สายงานผลิต ต รองกรรมการผู
กรรมการรองผูจ้ จด้ั ดั การอาวุ การอาวุโสโสสายงานผลิ สายงานผลิต ต กรรมการรองผู นายสฤษดิ์ ตั์ ตั้ งตรงเวชกิ ้ งตรงเวชกิจ จ นายสฤษดิ
ดั การ ผูจ้ ผูดั จ้ การ ฝ่ ายเชื ้ อเพลิ ฝ่ ายเชื งง ้ อเพลิ
้ ดั การ ผูจ้ ผูดั จการ ฝ่ ายขายในประเทศ ฝ่ ายขายในประเทศ 157157
กรรมการรองผู ดั การอาวุ ส สายงานการตลาด กรรมการรองผู จ้ ดั จ้การอาวุ โสโสายงานการตลาด นางสาวจิ ตั้งตรงเวชกิ นางสาวจิ ตติตมติามตัา้ งตรงเวชกิ จ จ
กรรมการผู้จดั การ กรรมการผู้จดั การ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิ จ
คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท
จ้ ดั การ ผูจ้ ดั ผูการ ฝ่ ายขายต่ างประเทศ ฝ่ ายขายต่ างประเทศ
รองกรรมการผู จ้ ดั การ ฝ่ ายขายต่ างประเทศ รองกรรมการผู จ้ ดั การ ฝ่ ายขายต่ างประเทศ นายภั ทรพงศ์ นายภั ทรพงศ์ พงศ์พงศ์ สวัสสดิ์วัสดิ์
ผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายสิฝ่นายสิ เชื่อนเชื่อ
รองกรรมการผู รองกรรมการผู จ้ ดั การจ้ ดั การ กลุห่มารการเงิ บริ หารการเงิ กลุ่มบริ น น นายอดุ นายอดุ ลย์ สุลรวุย์ฒสุิกรลุ วุฒิกลุ
(3) รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่ อย (3) รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่ อย รายชื่ อกรรมการในแต่ละบริ ษทั ย่อย นับเฉพาะบริ ษทั ย่อยที่มีนยั สาคัญ โดยมีรายได้รวมเกิ นกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกาไรขาดทุนรวมของปี บัญชี ล่าสุ ด รายชื่ อกรรมการในแต่ละบริ ษทั ย่อย นับเฉพาะบริ ษทั ย่อยที่มีนยั สาคัญ โดยมีรายได้รวมเกิ นกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกาไรขาดทุนรวมของปี บัญชี ล่าสุ ด ได้แก่ บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (BSF) โดยรายละเอียดเกี่ยวกับการดารงตาแหน่งกรรมการของบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด มีดงั นี้ ได้แก่ บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (BSF) โดยรายละเอียดเกี่ยวกับการดารงตาแหน่งกรรมการของบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด มีดงั นี้
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
คณะกรรมการของบริษัท โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด (BSF) (บริษัททีป่ ระกอบธุรกิจหลัก) คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ที่ประกอบธุ รกิจหลัก มีจานวน 5 คนประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริ หารของบริ ษทั ที่ประกอบธุ รกิจหลัก มีจานวน 5 คนประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร
ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ที่ประกอบธุ รกิจหลัก มีจานวน 7 คน ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 3. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายยรรยง กิตติธชั พงศ์พร 5. นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์ 6. นายอดุลย์ สุ รวุฒิกุล 7. นายนพอนันต์ พูลทรัพย์
170
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ตาแหน่ ง กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส สายงานการตลาด กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส สายงานผลิต รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต รองกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ ายขายต่างประเทศ รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มบริ หารการเงิน (สิ นเชื่อ) ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต
157
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
(4) ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัทของบริษัทย่ อย ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 6/2557 เมื่อวันที่ 22 สิ งหาคม 2557 มีมติกาหนดขอบเขตอานาจและ หน้าที่ของคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อยไว้ดงั นี้ 1. บริ หารกิจการบริ ษทั ย่อยให้เป็ นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดแก่ผถู ้ ื อหุ ้น โดยในการดาเนิ นกิ จการของบริ ษทั ย่อย คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อยต้องปฏิ บตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่ อสัตย์สุจริ ต และ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริ ษทั ย่อย ตลอดจนมติของที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น และมติ ของที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 2. กากับดูแลการดาเนิ นธุ รกิ จตามปกติของบริ ษทั ย่อย และกากับดูแลให้ฝ่ายบริ หารดาเนิ นการให้เป็ นไปตาม วิสัยทัศน์ ภารกิ จ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุ รกิจ เป้ าหมายและแผนการดาเนิ นงาน เป้ าหมายทางการเงิน และ งบประมาณของบริ ษทั ใหญ่ 3. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี รวมทั้งดูแลให้มีระบบการควบคุ มภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบบริ หารความเสี่ ยง และระบบป้ องกันการทุจริ ต รวมถึ งกาหนดให้มีมาตรการ ในการติดตามผลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยให้มีประสิ ทธิภาพและรัดกุมเพียงพอ 4. ก ากั บ ดู แ ล และจัด ให้ มี ก ลไกในการก ากับ ดู แ ล ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ร ะหว่ า ง ผูม้ ีส่วนได้เสี ยกับบริ ษทั 5. แต่ ง ตั้ง กรรมการบริ ษัท คนใดคนหนึ่ งเป็ นประธานกรรมการบริ ษัท และแต่ ง ตั้ง กรรมการบริ ษัท ตามจานวนที่คณะกรรมการบริ ษทั เห็นสมควรเป็ นรองประธานกรรมการบริ ษทั 6. กาหนด และ/หรื อ แก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการบริ ษทั ผูม้ ีอานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริ ษทั ย่อย 7. พิจารณาและกาหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารระดับสู ง 8. สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ให้พิจารณาและแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั 9. พิจารณาจานวนค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั ตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ให้พิจารณาและอนุมตั ิ 10. ประเมินผลงานของกรรมการผูจ้ ดั การ และผูบ้ ริ หารระดับสู ง พิจารณาและกาหนดค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หาร ระดับสู งตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด 11. แต่งตั้ง และ/หรื อ มอบอานาจให้กรรมการบริ ษทั หรื อบุคคลใดบุคคลหนึ่ งหรื อหลายคนมีอานาจดาเนิ นการ ใด ๆ ที่ อ ยู่ภ ายในขอบเขตอ านาจของกรรมการบริ ษ ัท ตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษ ัท เห็ น สมควร โดยที่ คณะกรรมการบริ ษทั อาจยกเลิก เพิกถอน หรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงอานาจดังกล่าวได้ 12. เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ ยวกับฐานะทางการเงินและผลการดาเนิ นงานการทารายการที่เกี่ ยวโยงกันของบริ ษทั ย่อย ตลอดจนการได้ม าหรื อจาหน่ ายไปซึ่ ง สิ นทรั พ ย์ และ/หรื อรายการที่ มี นัย ส าคัญให้แก่ บ ริ ษทั ใหญ่ท ราบ โดยครบถ้วน ถูกต้อง และภายในกาหนดเวลาที่สมควรตามที่บริ ษทั ใหญ่กาหนด
158
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
171
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
13. เปิ ดเผยและนาส่ งข้อมูลส่ วนได้เสี ยของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องต่อคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อย ให้ ท ราบถึ ง ความสั ม พัน ธ์ แ ละการท าธุ ร กรรมกับ บริ ษ ัท หรื อ บริ ษ ัท ใหญ่ ในลัก ษณะที่ อ าจก่ อ ให้เ กิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ภายในกาหนดเวลาที่บริ ษทั ใหญ่กาหนด 14. รายงานแผนการประกอบธุรกิจ การขยายธุรกิจ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ตามที่ได้รับอนุ มตั ิจากบริ ษทั ใหญ่ ตลอดจน การเข้า ร่ วมลงทุ นกับ ผูป้ ระกอบการรายอื่ น ๆ ต่อบริ ษทั ใหญ่ ผ่า นรายงานผลการดาเนิ นงาน ประจาเดือนและเข้าชี้แจง และ/หรื อนาส่ งเอกสารประกอบการพิจารณา กรณี ดงั กล่าวในกรณี ที่บริ ษทั ใหญ่ ร้องขอ 15. เข้าชี้แจง และ/หรื อนาส่ งข้อมูลหรื อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานให้แก่บริ ษทั ใหญ่ เมื่อได้รับการร้องขอ ตามความเหมาะสม 16. เข้าชี้ แจง และ/หรื อนาส่ งข้อมูลหรื อเอกสารที่เกี่ ยวข้องให้แก่ บริ ษทั ใหญ่ ในกรณี ที่บริ ษทั ใหญ่ตรวจพบ ประเด็นที่มีนยั สาคัญใด ๆ 17. มีอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบอื่นใดตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ข้อบังคับ ของบริ ษทั และมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ทั้งนี้ ในการดาเนินการเรื่ องใดที่คณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูร้ ับมอบอานาจจากคณะกรรมการบริ ษทั มีส่วนได้เสี ย หรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ที่เกี่ ยวข้อง คณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูร้ ับมอบ อานาจจากคณะกรรมการบริ ษทั ไม่มีอานาจอนุ มตั ิการดาเนิ นการในเรื่ องดังกล่าว เว้นแต่เป็ นการอนุ มตั ิรายการที่ เป็ นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ใหญ่ และ/หรื อที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ (แล้วแต่กรณี ) พิจารณาและอนุมตั ิไว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริ ษทั ย่อย (5) การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่อย เพื่อให้บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) สามารถกากับดูแล และบริ หารจัดการกิจการของบริ ษทั ย่อย รวมถึงการติดตามดูแลให้บริ ษทั ย่อยมีการปฏิบตั ิตามมาตรการและกลไกต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ได้เสมือนเป็ นหน่วยงาน ของบริ ษทั เอง และเป็ นไปตามนโยบายของบริ ษทั ทั้งนี้ เพื่อรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริ ษทั ในบริ ษทั ย่อย ดังกล่าว และเกิดประโยชน์ตอบแทนสู งสุ ดแก่บริ ษทั ในภาพรวม บริ ษทั จึงมีกลไกการกากับดูแลการดาเนิ นงานของ บริ ษทั ย่อย ดังต่อไปนี้ 1. บริ ษทั จะแต่งตั้งหรื อเสนอชื่ อบุคคลเป็ นกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อย และ/หรื อบริ ษทั ร่ วม อย่า งน้อยตามสั ดส่ วนการถื อหุ ้นของบริ ษ ทั ในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม โดยให้ก รรมการบริ ษ ทั และ ผูบ้ ริ หารที่บริ ษทั เสนอชื่ อ หรื อแต่งตั้งมีดุลยพินิจในการพิจารณาออกเสี ยงในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษ ทั ย่อย และ/หรื อบริ ษ ทั ร่ วม ในเรื่ องที่ เกี่ ยวกับ การบริ หารจัดการทัว่ ไป และการดาเนิ นธุ รกิ จ ตามปกติของบริ ษทั ย่อย และ/หรื อบริ ษทั ร่ วมได้ ตามแต่ที่กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อย และ/หรื อ บริ ษทั ร่ วมจะเห็นสมควร เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ทั้งนี้ กรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารตามนั้นต้องมี คุณสมบัติ บทบาท หน้าที่ และความรับผิ ดชอบ ตลอดจนไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจ ตามประกาศ
172
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
159
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกาหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของ กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั 2. ในกรณี ดงั ต่อไปนี้ ต้องได้รับการอนุ มตั ิจากที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ใหญ่ หรื อที่ประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ (แล้วแต่กรณี ) ก่อนที่ จะได้รับการอนุ มตั ิจากที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ของ บริ ษทั ย่อยนั้น ๆ หรื อที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ย่อยนั้น ๆ (แล้วแต่กรณี ) (1) กรณี ที่ตอ้ งขออนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ใหญ่ หรื อที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั ใหญ่ (แล้วแต่กรณี ) ก่อนที่บริ ษทั ย่อยนั้น ๆ จะเข้าทารายการ (ก) การจ่ายเงินปั นผลประจาปี และเงินปันผลระหว่างกาล (หากมี) ของบริ ษทั ย่อย (ข) การแก้ไขข้อบังคับของบริ ษทั ย่อย (ค) การอนุมตั ิงบประมาณประจาปี ของบริ ษทั ย่อย รายการตั้งแต่ขอ้ (ง) ถึงข้อ (ฏ) นี้ เป็ นรายการที่ถือว่ามีสาระสาคัญ และหากบริ ษทั ย่อยเข้าทารายการ จะมี ผ ลกระทบอย่ า งมี นัย ส าคัญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และผลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท ย่อ ย โดยน า หลัก เกณฑ์ที่ ก าหนดไว้ตามประกาศที่ เกี่ ย วข้องของคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุ น และประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เรื่ องการได้มาหรื อจาหน่ ายไปซึ่ งทรัพย์สิน และ/หรื อ การทารายการที่เกี่ยวโยงกัน (แล้วแต่กรณี ) มาใช้บงั คับโดยอนุ โลม ทั้งนี้ ต้องเป็ นกรณี ที่เมื่อคานวณ ขนาดของรายการที่บริ ษทั ย่อยเข้าทารายการเปรี ยบเทียบกับขนาดของบริ ษทั ใหญ่ตามหลักเกณฑ์ ดังกล่าวแล้ว อยูใ่ นเกณฑ์ที่ตอ้ งได้รับการพิจารณาอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ย ซึ่งรายการดังต่อไปนี้คือ (ง) กรณี ที่บริ ษทั ย่อยตกลงเข้าทารายการที่ เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการที่เกี่ ยวกับการได้มาหรื อ จาหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินของบริ ษทั ย่อย (จ) การโอนหรื อ สละสิ ท ธิ ป ระโยชน์ รวมตลอดถึ ง การสละสิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งที่ มี ต่ อ ผู ้ที่ ก่ อ ความเสี ยหายแก่บริ ษทั ย่อย (ฉ) การขายหรื อโอนกิจการของบริ ษทั ย่อยทั้งหมดหรื อบางส่ วนที่สาคัญให้แก่บุคคลอื่น (ช) การซื้อหรื อการรับโอนกิจการของบริ ษทั อื่นมาเป็ นของบริ ษทั ย่อย (ซ) การเข้า ทา แก้ไ ข หรื อเลิ ก สัญญาเกี่ ย วกับ การให้เช่ า กิ จการของบริ ษทั ย่อยทั้งหมดหรื อ บางส่ วนที่สาคัญ การมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าจัดการธุ รกิจของบริ ษทั ย่อย หรื อการรวมกิจการกับบุคคลอื่น (ฌ) การให้เช่าหรื อการให้เช่าซื้อกิจการหรื อทรัพย์สินของบริ ษทั ย่อยทั้งหมด หรื อส่ วนที่มีสาระสาคัญ (ญ) การกูย้ มื เงิน การให้กยู้ มื เงิน การให้สินเชื่อ การค้ าประกัน การทานิติกรรมผูกพันบริ ษทั ย่อย ให้ตอ้ งรับภาระทางการเงินเพิ่มขึ้น หรื อการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินในลักษณะอื่นใด แก่บุคคลอื่น และมิใช่ธุรกิจปกติของบริ ษทั ย่อย 160 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
173
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
(ฎ) การเลิกกิจการของบริ ษทั ย่อย (ฏ) รายการอื่นใดที่ไม่ใช่รายการธุรกิจปกติของบริ ษทั ย่อย และเป็ นรายการที่จะมีผลกระทบต่อ บริ ษทั ย่อยอย่างมีนยั สาคัญ (2)
174
เรื่ องที่ตอ้ งได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ ก่อนบริ ษทั ย่อยเข้าทารายการ ทั้งนี้ ให้นาหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ตามประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาใช้บงั คับโดยอนุ โลม ซึ่ งต้อง เป็ นกรณี ที่เมื่อคานวณขนาดของรายการที่บริ ษทั ย่อยเข้าทารายการเปรี ยบเทียบกับขนาดของ บริ ษ ัท ใหญ่ ต ามหลัก เกณฑ์ ดัง กล่ า วแล้ว อยู่ใ นเกณฑ์ที่ ต้อ งได้รั บ การพิ จ ารณาอนุ ม ัติ จ าก ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ย (ก) กรณี ที่บริ ษทั ย่อยตกลงเข้าทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน หรื อรายการที่เกี่ ยวกับการได้มาหรื อ จาหน่ายไปซึ่ งทรัพย์สินของบริ ษทั หลัก (ข) การเพิ่มทุนโดยการออกหุ ้นเพิ่มทุนและการจัดสรรหุ ้นของบริ ษทั หลัก รวมทั้งการลดทุน จดทะเบียนของบริ ษทั หลัก ซึ่ งไม่เป็ นไปตามสัดส่ วนการถือหุ ้นเดิมของผูถ้ ือหุ ้นอันจะเป็ นผล ให้สัดส่ วนการใช้สิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนของบริ ษทั ใหญ่ ทั้งทางตรงและ/หรื อทางอ้อม ในที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ย่อยไม่วา่ ในทอดใด ๆ ลดลงเกินกว่าร้อยละ 10 ของจานวน เสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ย่อย หรื อเป็ นผลให้สัดส่ วนการใช้สิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนของ บริ ษทั ใหญ่ ทั้งทางตรงและ/หรื อทางอ้อมในที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั หลักไม่วา่ ในทอด ใด ๆ ลดลงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 50 ของจานวนเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั หลัก (ค) การด าเนิ น การอื่ น ใดอัน จะเป็ นผลให้ สั ด ส่ ว นการใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนนของ บริ ษทั ใหญ่ ทั้งทางตรงและ/หรื อทางอ้อมในที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั หลักไม่วา่ ในทอด ใด ๆ ลดลงเกิ นกว่า ร้ อยละ 10 ของจานวนเสี ยงทั้ง หมดของบริ ษ ทั หลัก หรื อเป็ นผลให้ สัดส่ วนการใช้สิ ทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนของบริ ษทั ใหญ่ ทั้งทางตรงและ/หรื อทางอ้อม ในที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ย่อยไม่วา่ ในทอดใด ๆ ลดลงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 50 ของ จานวนเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ย่อย ในการเข้าทารายการอื่นใดที่มิใช่ รายการธุ รกิจปกติของ บริ ษทั หลัก (ง) การเลิกกิจการของบริ ษทั หลัก (จ) รายการอื่นใดที่ไม่ใช่ รายการธุ รกิจปกติของบริ ษทั หลัก และเป็ นรายการที่จะมีผลกระทบ ต่อบริ ษทั หลักอย่างมีนยั สาคัญ (ฉ) การแก้ไ ขข้อบังคับของบริ ษทั ย่อยในเรื่ องที่อาจส่ งผลกระทบอย่า งมี นัยส าคัญต่อฐานะ การเงิ น และผลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท หลัก ซึ่ งรวมถึ ง แต่ ไ ม่ จ ากัด เพี ย งการแก้ไ ข ข้อบังคับของบริ ษทั ย่อยที่ส่งผลกระทบต่อสิ ทธิ ของบริ ษทั ใหญ่ในการเสนอชื่ อหรื อแต่งตั้ง บุคคลเป็ นกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อยตามสัดส่ วนการถือหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
161
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในบริ ษทั หลัก การออกเสี ยงลงคะแนนของกรรมการบริ ษทั ที่เสนอชื่ อหรื อแต่งตั้งโดย บริ ษทั ใหญ่ในที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั หลัก การออกเสี ยงลงคะแนนของ บริ ษทั ใหญ่ในที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั หลัก และ/หรื อการจ่ายเงินปันผลของบริ ษทั หลัก เป็ นต้น 3. กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยมีหน้าที่ดงั ต่อไปนี้ (ก)เปิ ดเผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ฐานะทางการเงิ น และผลการด าเนิ น งานการท ารายการ ที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษทั ของตนเอง ตลอดจนการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ และ/หรื อ รายการที่มีนยั สาคัญให้แก่บริ ษทั ใหญ่ทราบโดยครบถ้วน ถูกต้อง และภายในกาหนดเวลา ที่สมควรตามที่บริ ษทั ใหญ่กาหนด อนึ่ ง ให้คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อยพิจารณา การเข้าทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน การได้มาหรื อจาหน่ ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่มีนยั สาคัญของ บริ ษทั ของตนเอง โดยนาหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ตามประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการ กากับตลาดทุน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาใช้บงั คับ โดยอนุโลม (ข) เปิ ดเผยและนาส่ งข้อมูลส่ วนได้เสี ยของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องต่อคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ของตนเอง ให้ทราบถึงความสัมพันธ์และการทาธุ รกรรมกับบริ ษทั ของตนเอง หรื อบริ ษทั ใหญ่ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และหลีกเลี่ยง การท ารายการที่อาจก่ อให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ก ับบริ ษทั ของตนเองหรื อ บริ ษัท ใหญ่ โดยคณะกรรมการบริ ษัท ของบริ ษัท ย่ อ ยมี ห น้ า ที่ แ จ้ง เรื่ องดัง กล่ า วให้ คณะกรรมการของบริ ษทั ใหญ่ทราบ ภายในก าหนดเวลาที่บริ ษทั ใหญ่กาหนด เพื่อเป็ น ข้อ มู ล ประกอบการพิ จ ารณาตัด สิ น หรื อ อนุ ม ัติ ใ ด ๆ ซึ่ งการพิ จ ารณานั้น จะค านึ ง ถึ ง ประโยชน์โดยรวมของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ใหญ่ เป็ นสาคัญ ทั้งนี้ กรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อยต้องไม่มีส่วนร่ วมอนุ มตั ิในเรื่ องที่ตนเองมีส่วนได้เสี ยหรื อมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อมนั้นด้วย อนึ่ ง การกระทาดังต่อไปนี้ ซ่ ึ งเป็ นผลให้กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มี ความเกี่ยวข้องของบริ ษทั ย่อย ได้รับประโยชน์ทางการเงินอื่นนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรื อเป็ นเหตุให้ บริ ษ ทั ย่อยหรื อบริ ษ ทั ใหญ่ ไ ด้รับ ความเสี ย หาย ให้สัน นิ ษ ฐานว่า เป็ นการกระท าที่ ขดั หรื อแย้ง กับ ผลประโยชน์ของบริ ษทั ย่อยอย่างมีนยั สาคัญ (ก) การทาธุ รกรรมระหว่างบริ ษทั ย่อย กับกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร ผูบ้ ริ หาร หรื อ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง โดยมิได้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน (ข) การใช้ขอ้ มูลของบริ ษทั ของตนเอง หรื อบริ ษทั ใหญ่ที่ล่วงรู้มา เว้นแต่เป็ นข้อมูลที่เปิ ดเผยต่อ สาธารณชนแล้ว 162
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
175
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
(ค) การใช้ทรัพย์สิน หรื อโอกาสทางธุ รกิ จของบริ ษทั ของตนเองหรื อบริ ษทั ใหญ่ในลักษณะ เดียวกันกับที่บริ ษทั ใหญ่กระทา และเป็ นการฝ่ าฝื นหลักเกณฑ์ หรื อหลักปฏิบตั ิทวั่ ไปตามที่ คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด (ง) รายงานแผนการประกอบธุ รกิ จ การขยายธุ รกิ จ โครงการลงทุนขนาดใหญ่ ตามที่ได้รับ อนุ มตั ิจากบริ ษทั ใหญ่ ตลอดจนการเข้าร่ วมลงทุนกับผูป้ ระกอบการรายอื่น ๆ ต่อบริ ษทั ใหญ่ ผ่ า นรายงานผลการด าเนิ น งานประจ าเดื อ น และเข้า ชี้ แจง และ/หรื อน าส่ ง เอกสาร ประกอบการพิจารณากรณี ดงั กล่าวในกรณี ที่บริ ษทั ใหญ่ร้องขอ (จ) เข้าชี้แจงและ/หรื อนาส่ งข้อมูลหรื อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานให้แก่บริ ษทั ใหญ่ เมื่อได้รับการร้องขอตามความเหมาะสม (ฉ) เข้าชี้ แจงและ/หรื อนาส่ งข้อมูลหรื อเอกสารที่เกี่ ยวข้องให้แก่บริ ษทั ใหญ่ ในกรณี ที่บริ ษทั ใหญ่ ตรวจพบประเด็นที่มีนยั สาคัญใด ๆ (ช) ดูแลรับผิดชอบให้บริ ษทั ของตนเองมีระบบการควบคุ มภายใน ระบบบริ หารความเสี่ ยง และระบบป้ องกันการทุจริ ตอย่างเหมาะสม มีประสิ ทธิภาพและรัดกุมเพียงพอที่ทาให้มนั่ ใจ ได้วา่ การดาเนินการต่าง ๆ ของบริ ษทั หลักจะเป็ นไปตามนโยบายของบริ ษทั ใหญ่ ข้อบังคับ ในหมวดนี้ กฎหมายและประกาศเรื่ องการก ากับ ดูแลกิ จการที่ ดีข องบริ ษ ทั จดทะเบี ย น รวมถึงประกาศข้อบังคับและหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการกากับตลาดทุน ส านัก งานคณะกรรมการก ากับ หลัก ทรั พ ย์และตลาดหลัก ทรั พ ย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ แห่ งประเทศไทยได้อย่างแท้จริ ง รวมทั้งการจัดให้มีระบบงานที่ชัดเจน เพื่อแสดงได้ว่า บริ ษทั หลักมีระบบเพียงพอในการเปิ ดเผยข้อมูล การทารายการที่มีนยั สาคัญตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดได้อย่างต่อเนื่องและน่าเชื่อถือ และมีช่องทางให้กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารของ บริ ษทั ใหญ่สามารถได้รับข้อมูลของบริ ษทั หลักในการติดตามดูแลผลการดาเนิ นงานและ ฐานะการเงิ น การท ารายการระหว่า งบริ ษ ทั กับ กรรมการบริ ษ ทั กรรมการบริ หาร และ ผู ้บ ริ หารของบริ ษัท ย่ อ ย และการท ารายการที่ มี นัย ส าคัญ ของบริ ษัท ย่ อ ยได้ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี้ ต้องจัดให้มีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวในบริ ษทั หลัก โดยให้ผูต้ รวจสอบภายใน และกรรมการอิสระของบริ ษ ทั ใหญ่สามารถเข้าถึ งข้อมูลได้ โดยตรง และให้มีการรายงานผลการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวให้กรรมการบริ ษทั และ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ใหญ่ เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ บริ ษทั ย่อยมีการปฏิบตั ิตามระบบงานที่จดั ทาไว้ อย่างสม่าเสมอ 4. ห้ามมิให้กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร ผูบ้ ริ หาร พนักงาน ลูกจ้าง หรื อผูร้ ับมอบหมายของบริ ษทั หลัก รวมถึ งคู่ส มรสและบุ ตรที่ ยงั ไม่ บรรลุ นิติภ าวะของบุคคลดังกล่าว ใช้ข ้อมูลภายในของบริ ษ ทั หลักและ บริ ษ ทั ใหญ่ ทั้งที่ ไ ด้ม าจากการกระทาตามหน้า ที่ หรื อในทางอื่ นใด ที่มี หรื ออาจจะมี ผลกระทบอย่า งมี
176
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
163
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 อมูลประจาปีอ2561 นัยสาคัญต่อบริ ษทั และ/หรื อ บริ ษทั ใหญ่ เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรืแบบแสดงรายการข้ อผูอ้ ื่นไม่ว่าทางตรงหรื ทางอ้อม และไม่วา่ จะได้รับผลตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม
นัยสาคัญต่อบริ ษทั และ/หรื อ บริ ษทั ใหญ่ เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรื อผูอ้ ื่ นไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้อม
5. กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องของบริ ษทั ย่อย จะกระทาธุ รกรรม และไม่วา่ จะได้รับผลตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม กับบริ ษทั ของตนเองได้ต่อเมื่อธุ รกรรมดังกล่าว ได้รับอนุ มตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ตนเอง ่ยวข้องของบริ ษทั ย่อย จะกระทาธุ รกรรม 5.และ/หรื กรรมการบริ ษทั กรรมการบริษหทั าร ผูบ้ ริ หษารทั ใหญ่ หรื อบุและ/หรื คคลที่มีคอวามเกี อ คณะกรรมการบริ ของบริ ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ตนเอง และ/หรื อ ที่ กับบริ ษทั ของตนเองได้ต่อเมื่อธุ รกรรมดังกล่าว ได้รับอนุ มตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ตนเอง ประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่ (แล้วแต่กรณี ) ตามแต่ขนาดรายการที่คานวณได้ และ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ใหญ่ และ/หรื อที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ตนเอง และ/หรื อ ที่ โดยน าหลั ที่กาหนดไว้ ามประกาศที ่เกี่ ยวข้ขอนาดรายการที งของคณะกรรมการก ประชุ มผูกถ้ เกณฑ์ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่ต(แล้ วแต่กรณี ) ตามแต่ ่คานวณได้ ากับตลาดทุ น และประกาศ
คณะกรรมการตลาดหลั กทรัพย์ตแามประกาศที ห่ งประเทศไทย งการได้มาหรื อจาหน่ากัาบยไปซึ ่ งทรั พย์สิน และ/หรื อ ่ เกี่ ยวข้เรือ่ องของคณะกรรมการก ตลาดทุ น และประกาศ โดยนาหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ การท ารายการที่เกี่ยวโยงกักนทรั(แล้ กรณี ) มาใช้บเรืงั ่ อคังการได้ บโดยอนุ โลมอจทัาหน่ นแต่่เงป็ทรันการท รกรรมที ้ งนี้ เว้ คณะกรรมการตลาดหลั พย์แวห่แต่งประเทศไทย มาหรื ายไปซึ พย์สินาธุและ/หรื อ ่เป็ น ข้อการท ตกลงทางการค้ กษณะเดี วกักบรณีที่ว) ิญมาใช้ ํู ชบนจะพึ งกระทโลม ากับทัคู้ งนี่ส้ ัญเว้ญาทั ารายการที่เกีา่ยในลั วโยงกั น (แล้วยแต่ งั คับโดยอนุ นแต่เว่ ป็ไปในสถานการณ์ นการทาธุ รกรรมที่เเป็ดีนยวกัน ด้วข้ยออตกลงทางการค้ านาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจากอิ ่ตนมีากัสบถานะเป็ นกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ าในลักษณะเดี ยวกับที่วทิญธิํูพชลในการที นจะพึงกระท คู่สัญญาทั ว่ ไปในสถานการณ์ เดี ยวกัน หาร ผูบ้ ด้ริวหยอารานาจต่ หรื อบุอครองทางการค้ คลที่มีความเกี องของบริ ทั ย่อย (แล้ วแต่สถานะเป็ กรณี ) และเป็ นข้อตกลงทางการค้ าที่ปยวข้ ราศจากอิ ทธิ พษลในการที ่ตนมี นกรรมการบริ ษทั กรรมการบริาหทีาร่ ได้รับ หาร หรื่ประชุ อบุคมคลที ่ มีความเกี่ ยวข้องของบริ ษทั ย่ษอทั ยใหญ่ (แล้วแต่ ) และเป็ นข้อกตกลงทางการค้ าที่ได้รับ ษทั อนุผูมบ้ ตั ริิ จากที คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ หรืกอรณี เป็ นไปตามหลั การที่ คณะกรรมการบริ อนุมษตั ิ ทั จากที ษทั ของบริ ษทั ใหญ่ หรื อเป็ นไปตามหลักการที่ คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ใหญ่่ประชุ อนุมมตั คณะกรรมการบริ ิไว้แล้ว ของบริ ษทั ใหญ่ อนุมตั ิไว้แล้ว
(6) การกาหนดอานาจอนุมัติวงเงิน
(6) การกาหนดอานาจอนุมัติวงเงิน
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย กาหนดอานาจอนุ มตั ิวงเงิ นสาหรั บการดาเนิ นงาน บริ ษทั นาตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย กาหนดอานาจอนุ มตั ิวงเงิ นสาหรั บการดาเนิ นงาน ที่ เ ป็ นธุ ร กรรมปกติ้ ข องบริ ษัท และส าหรั บ การรั บ หรื อการให้ ข องขวัญ ของก านั ล หรื อประโยชน์ อื่ น ใด ที่ เ ป็ นธุ ร กรรมปกติ ข องบริ ษัท และส าหรั บ การรั บ หรื อการให้ ข องขวัญ ของก านั ล หรื อประโยชน์ อื่ น ใด ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูม้ อบหมายอานาจในการอนุ มตั ิให้กรรมการผูไ้ ด้รับมอบหมาย อันได้แก่ ประธาน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูม้ อบหมายอานาจในการอนุ มตั ิให้กรรมการผูไ้ ด้รับมอบหมาย อันได้แก่ ประธาน กรรมการบริ หารหารกรรมการบริ การทัทั้ ง้ งนีนี้ กรรมการผู ับมอบหมายจะมอบอ านาจต่ ้ กรรมการผู กรรมการบริ กรรมการบริหหารารและกรรมการผู และกรรมการผูจ้ จ้ ดั ดั การ ไ้ ด้ไ้ รด้ั บรมอบหมายจะมอบอ านาจต่ อให้ อให้ พนักพนั งานตามที ่เห็น่เห็เหมาะสม กงานตามที นเหมาะสมโดยสามารถสรุ โดยสามารถสรุปปได้ ได้ดดงังั นีนี้ ้
6.1 6.1 อานาจอนุ มัตมิวัตงเงิ นสนาหรั นธุรรกรรมปกติ กรรมปกติ อานาจอนุ ิวงเงิ สาหรับบการด การดาเนิ าเนินนงานที งานทีเ่เ่ ป็ป็ นธุ การอนุ มตั มิ ตั ิ การอนุ
คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริ บริหหาร าร
1. ค่1.าใช้ค่จา่าใช้ย จ่าย บการด นงาน ค่าใช้ค่จา่าใช้ยเกีจ่า่ยยเกี วกั่ยบวกัการด าเนิาเนิ นงาน ่ายทัจ่าว่ ยทั และค่และค่ าใช้จาใช้ ไปว่ ไป 2. การจั 2. การจั ดซื้อดซื้อ - การจัดซื้อสิ นทรัพย์ถาวร - การจัดซื้อสิ นทรัพย์ถาวร - การลงนามในเอกสารสั่งซื้อต่าง ๆ - การลงนามในเอกสารสั่งซื้อต่าง ๆ 3. การเงิน 3. การเงิน การเบิกเงินทดรองจ่ายต่อครั้ง การเบิ เงินทดรองจ่ายต่อครั้ง 4. ทักว่ ไป 4. ทัว่ ไปการจาหน่ายสิ นทรัพย์อื่น ๆ วงเงินเกิน 1 แสนบาท การจการปรั าหน่าบยสิปรุนงทรั พ ย์ อ ่ ื น ๆ วงเงิ อาคาร วงเงินนเกิเกินน15แสนบาท แสนบาท การปรับปรุ งอาคาร วงเงินเกิน 5 แสนบาท
กรรมการผู้จดั้จการ ดั การ กรรมการผู
อนุมตั ินอกงบประมาณ อนุมตั ินอกงบประมาณ เกิน 1,000,000 บาท
เกิน 1,000,000 บาท
กรรมการรองผู ้จดั การ/ ผู้ช่วยกรรมการ ผู้ช่วยกรรมการ กรรมการรองผู ้จดั การ/ รองกรรมการผู ้จดั การ ผู้จดั การ รองกรรมการผู ้จดั การ ผู้จดั การ เกินเกิ100,000 บาทบาท น 100,000
20,00020,000 - 100,000 บาท บาท - 100,000
เกิน 100,000 บาท เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 1,000,000 บาท
ไม่เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 500,000 บาท
เกิน 100,000 บาท
20,000 - 100,000 บาท
ไม่เกิน 1,000,000 บาท เกิน 100,000 บาท
วงเงินไม่เกิน 1 แสนบาท ไม่มีอานาจอนุมตั ิ วงเงินนไม่ไม่เกิเกินน5 1แสนบาท แสนบาท ไม่มไม่ีอานาจอนุ มีอานาจอนุ วงเงิ มตั ิ มตั ิ
วงเงินไม่เกิน 5 แสนบาท
ไม่มีอานาจอนุมตั ิ
ไม่เกิน 500,000 บาท 20,000 - 100,000 บาท
ไม่มีอานาจอนุมตั ิ มีอานาจอนุ ไม่มีอไม่ านาจอนุ มตั ิ มตั ิ
ไม่มีอานาจอนุมตั ิ
164
164 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
177
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
6.2 อานาจอนุมัติวงเงินสาหรั บการรับหรือการให้ ของขวัญ ของกานัล หรือประโยชน์ อนื่ ใด หลักเกณฑ์ เกีย่ วกับการรับของขวัญ ของกานัล หรือประโยชน์ อนื่ ใด มีดังนี้ 1) สิ่ งที่ไม่เป็ นตัวเงิน 2) สิ่ งที่จดั ทาขึ้นเพื่อส่ งเสริ มการขาย ซึ่งประทับตราบริ ษทั นั้น ๆ (เช่น ปากกา หมวก เสื้ อยืด สมุด และถุงผ้า เป็ นต้น) 3) สิ่ งที่ทาขึ้นเพื่อแจกทัว่ ไป (เช่น แจกพนักงาน แจกผูถ้ ือหุน้ หรื อแจกลูกค้าของคู่คา้ ) 4) สิ่ งที่ทาขึ้นหรื อซื้ อมา เพื่อแจก/มอบให้ตามเทศกาลจากคู่คา้ (เช่น ปฏิทิน สมุด ร่ ม ขนม และกระเช้าของขวัญ เป็ นต้น) 5) ประโยชน์สิทธิพิเศษอื่น ๆ ที่พึงให้ได้ เพื่อส่ งเสริ มการขายจากคู่คา้ 6) สิ่ งของที่มีมูลค่าไม่เกินมูลค่าตามตาราง ดังนี้ หมวด อานาจดาเนินการ 2 ค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับการดาเนินธุรกิจ 2.5 การรับของขวัญต่อราย มูลค่าไม่เกิน 3,000 บาท
กจก.
ระดับตาแหน่ ง กรก. รจก. ชจก.
ผจ.
หลักเกณฑ์ เกีย่ วกับระเบียบการมอบอานาจปฏิบัติการ ตามวงเงินการให้ ของขวัญ ของกานัล หรือประโยชน์ อนื่ ใด ดังนี้ หมวด อานาจดาเนินการ 2 ค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับการดาเนินธุรกิจ 2.4 การให้ของขวัญต่อครั้ง 2.4.1 สาหรับหน่วยงานภาคเอกชน
กจก.
กรก.
มูลค่าตั้งแต่ 20,000 บาทขึ้นไป
2.4.2 สาหรับหน่วยงานภาครัฐ หมายเหตุ : ความหมายของอักษรย่อในช่องผูม้ ีอานาจ กจก. = กรรมการผูจ้ ดั การ รจก. = รองกรรมการผูจ้ ดั การ
ระดับตาแหน่ ง รจก.
ชจก.
มูลค่าไม่เกิน มูลค่าไม่เกิน มูลค่าไม่เกิน 20,000 บาท 15,000 บาท 10,000 บาท มูลค่าไม่เกิน 3,000 บาท กรก. = กรรมการรองผูจ้ ดั การ ชจก.= ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ
ผจ. มูลค่าไม่เกิน 5,000 บาท
ผจ. = ผูจ้ ดั การฝ่ าย
(7) ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 7.1 ค่ าตอบแทนคณะกรรมการของบริษัท ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2561 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 ได้มีมติกาหนดค่าตอบแทนกรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อย ในปี 2561 ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษทั ได้ร่วมกันพิจารณากาหนดค่าตอบแทนจากผลประกอบการ ของบริ ษทั รวมถึงการปฏิบตั ิงานและความรับผิดชอบของกรรมการ โดยเปรี ยบเทียบอ้างอิงกับธุ รกิ จหรื ออุตสาหกรรม ในประเภทเดี ยวกับบริ ษทั หรื อใกล้เคี ยงกับบริ ษทั และอ้างอิงข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั
178
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
165
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
จดทะเบียนปี 2555 ซึ่งจัดทาขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยรวมจ่ายค่าตอบแทนทั้งสิ้ น 6,410,000 บาท ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ปี 2561
ตาเหน่ ง
ค่าตอบแทนประจา (บาท/เดือน) 15,000 10,000 15,000 10,000 15,000 10,000 15,000 10,000
ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร
โบนัสประจาปี (บาท) 400,000 150,000 150,000 100,000 150,000 100,000 150,000 100,000
สาหรับอัตราค่าตอบแทนกรรมการธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ปี 2561 ที่เสนอจ่ายค่าตอบแทนเป็ นเบี้ยประชุมต่อครั้งการประชุมมีดงั นี้ ตาเหน่ ง ประธานกรรมการธรรมาภิบาล กรรมการธรรมาภิบาล ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ปี 2561 เบี้ยประชุม (บาท/ครั้ง) 15,000 10,000 15,000 10,000
ค่ าตอบแทนและสิ ทธิประโยชน์ อนื่ ๆ นอกจากค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน อันได้แก่ ค่าตอบแทนประจา (รายเดือน), โบนัสพิเศษประจาปี และค่าเบี้ย ประชุ มแล้ว บริ ษัทไม่ ได้ จ่ายค่ าตอบแทนรู ปแบบอื่ น อาทิ สวัสดิ การ หรื อสิ ทธิ ประโยชน์ อื่นใด ให้แก่กรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อย
166 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
179
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในปี 2560 และปี 2561 บริ ษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อย ดังนี้ ชื่อกรรมการ 1.นายประจวบ ไชยสาส์น 2.นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 3.นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 4.นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 5.นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ
6.นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 7.นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
8.นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์
9.นายศิริชยั สมบัติศิริ 10. รศ. ดร. ชิต เหล่าวัฒนา 11.นายวิเชฐ ตันติวานิช
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ ษทั , ประธานกรรมการบริ หาร และประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร และกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง, กรรมการธรรมาภิบาล และกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร และกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง, กรรมการธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ), กรรมการ ตรวจสอบ, ประธานกรรมการธรรมาภิบาล และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน รวม
ค่ าตอบแทน (บาท) ปี 2561 ปี 2560 910,000 910,000 930,000
930,000
270,000 710,000
270,000 710,000
710,000
750,000
710,000
710,000
710,000
750,000
490,000
550,000
490,000
490,000
-
170,000
-
170,000
5,930,000
6,410,000
หมายเหตุ : ค่าตอบแทนปี 2561 มียอดรวมสู งขึ้นกว่าปี 2560 เนื่ องจากการเพิ่มจานวนกรรมการบริ ษทั และจากการจ่ายค่าเบี้ยประชุม ให้แก่กรรมการธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
180
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
167
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
7.2 ค่ าตอบแทนกรรมการของบริษัท โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) (บริษัททีป่ ระกอบธุรกิจหลัก) ในปี 2560 และปี 2561 BSF จ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการบริษัท ดังนี้ ชื่อกรรมการ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั รวม
ปี 2560 580,000 270,000 270,000 270,000 270,000 1,660,000
ค่ าตอบแทน (บาท) ปี 2561 580,000 270,000 270,000 270,000 270,000 1,660,000
ในปี 2560 และปี 2561 BSF จ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการบริหาร ดังนี้ ชื่อกรรมการ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร รวม
ปี 2560 330,000 220,000 220,000 220,000 220,000 1,210,000
ค่ าตอบแทน (บาท) ปี 2561 330,000 220,000 220,000 220,000 220,000 1,210,000
หมายเหตุ : ปี 2561 และปี 2560 มีการจ่ายค่าตอบแทนรายเดือนและโบนัสพิเศษประจาปี ในจานวนเท่ากันให้แก่กรรมการบริ ษทั และกรรมการบริ หาร โดยไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนและสิ ทธิประโยชน์อื่นใด นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น
7.3 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร สาหรั บการก าหนดโครงสร้ างเงิ นเดื อนของผูบ้ ริ หารและพนักงานของบริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่อยจะก าหนดโดย เปรี ยบเทียบจากบริ ษทั ที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน หน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และหลักเกณฑ์อื่น ๆ ตามที่ บริ ษทั กาหนด โดยในปี 2560 และ ปี 2561 บริ ษทั และ BSF ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่ประกอบธุ รกิจหลัก จ่ายค่าตอบแทน ผูบ้ ริ หาร รวมเงินเดือน โบนัส กองทุนสารองเลี้ยงชีพ และสวัสดิการต่าง ๆ เป็ นจานวนเงินดังนี้ BRR จานวนผูบ้ ริ หาร (ราย) จานวนเงินค่าตอบแทน (บาท)
ปี 2560 9 31,053,852
BSF ปี 2561 9 30,370,789
ปี 2560 7 18,695,845
ปี 2561 7 17,469,958
หมายเหตุ: ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารของบริ ษทั และ BSF ได้รวมค่าตอบแทนของนายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิ จ กรรมการผูจ้ ดั การ แล้ว ซึ่ งนอกจากนี้ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิ จ ยังได้รับค่าตอบแทนจากการเป็ นกรรมการบริ ษทั และกรรมการชุดย่อยของบริ ษทั และ BSF ตามที่ปรากฎในข้อ 7.1 และ 7.2 อีกด้วย
168 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
181
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
(8) บุคลากร บุ ค ลากรเป็ นทรั พ ยากรอันมี ค่ า และมี ความส าคัญยิ่งในการพัฒนาและนาพาองค์ก รไปสู่ ค วามส าเร็ จได้ ตามเป้ าหมาย กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จึงมีนโยบายที่มุ่งเน้นส่ งเสริ มและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู ้ และทางาน อย่า งเป็ นมื ออาชี พ เพื่ อถ่ า ยทอดความรู้ ใ ห้แก่ เกษตรกรชาวไร่ อ้อ ย สร้ า งความมัน่ ใจ และนาบริ ก ารที่ ดี สู่ ลู ก ค้า ตลอดจนคานึงถึงผูม้ ีส่วนได้เสี ยและมีส่วนร่ วมในการช่วยเหลือสังคม 8.1 จานวนพนักงานและค่ าตอบแทนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ มีจานวนบุคลากรประจา รวมทั้งสิ้ น 790 คน และ พนักงานรายวัน จานวน 1,056 คน ดังนี้ ปี 2560 กลุ่มธุรกิจ
รายวัน (คน)
ปี 2561
BRR
รายเดือน (คน) 139
BSF
284
901
1,185
BEC
66
0
KBF
51
BRD
85
รวม จานวนเงิน (คน) (ล้ านบาท) 224 89.50
รายเดือน (คน)
รายวัน (คน)
รวม (คน)
จานวนเงิน (ล้ านบาท)
142
77
219
90.52
186.69
285
906
1,191
207.55
66
20.49
65
0
65
19.21
29
80
17.75
44
31
75
15.80
144
42
186
51.11
148
42
190
53.68
BPC
53
1
54
14.13
55
0
55
13.53
BPP
51
0
51
12.29
51
0
51
12.29
788
1,058
1,846
391.96
790
1,056
1,846
412.58
รวม
หมายเหตุ: บริ ษทั ย่อยอีก 2 บริ ษทั ได้แก่ บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (BSC) และบริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด (CSF) ยังไม่ได้เริ่ มดาเนิ นการ จึงยังไม่มี พนักงานและไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนพนักงาน ส่วนบริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด (SEW) อยูร่ ะหว่างเตรี ยมการจัดหาและโอนย้ายพนักงาน บางคนไปทางานใน SEW
สาหรับค่ าตอบแทนของพนักงานตามข้อมูล ข้างต้น อยู่ในระดับที่ เหมาะสมกับ อัตราค่า ตอบแทนของ ตลาดแรงงาน โดยการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานในปี 2560 และปี 2561 นั้น ประกอบด้วยเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าทางานกะ ค่าทางานล่วงเวลา โบนัส เงินเบี้ยเลี้ยง และเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
182
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
169
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
8.2 กองทุนสารองเลีย้ งชี พ และสวัสดิการอืน่ ๆ กองทุนสารองเลีย้ งชี พ กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พ เมื่อวันที่ 22 สิ งหาคม 2556 โดยมีบริ ษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุนไทยพาณิ ชย์ จากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุนสารองเลี้ ยงชี พ ซึ่ งมี วตั ถุ ประสงค์เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงาน เก็ บ ออมเงิ น ระยะยาว และสร้ า งหลัก ประกัน ให้ก ับ พนัก งานและครอบครั ว ในกรณี อ อกจากงาน เกษี ย ณอายุ ทุพพลภาพ หรื อเสี ยชีวติ นอกจากนี้ กองทุนสารองเลี้ยงชีพยังเป็ นแรงจูงใจให้พนักงานทางานกับกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นเวลานาน เนื่องจาก มีผลตอบแทนระยะยาว ซึ่ งจะนาความยัง่ ยืนในด้านบุคลากร และการบริ หารจัดการทรัพยากรบุคคลแก่กลุ่มบริ ษทั ฯ อีกด้วย โดยพนักงานและกลุ่มบริ ษทั ฯ จะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพเป็ นรายครึ่ งเดือน หรื อราย 15 วัน ตามรอบการจ่า ยเงิ นเดื อน ซึ่ ง ในปี 2561 กลุ่ม บริ ษทั น้ า ตาลบุ รีรัมย์ ได้จ่า ยเงิ นสมทบเข้า กองทุ นสารองเลี้ ย งชี พ จานวน 5,414,135 บาท และมี จานวนพนักงานเป็ นสมาชิ ก กองทุ นสารองเลี้ ยงชี พ เพื่อการออมทรัพย์ระยะยาว ประเภทนี้จานวน 583 คน จากจานวนพนักงานประจาทั้งหมด 790 คน สาหรับเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ประกอบด้วยเงิน 4 ส่ วน ได้แก่ เงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์เงินสะสม และผลประโยชน์เงินสมทบ โดยมีอตั ราเงินสมทบของบริ ษทั ให้แก่พนักงาน ดังนี้ อายุงาน/อายุสมาชิก น้อยกว่า 5 ปี ครบ 5 ปี ขึ้นไป แต่นอ้ ยกว่า 10 ปี ครบ 10 ปี ขึ้นไป แต่นอ้ ยกว่า 15 ปี ครบ 15 ปี ขึ้นไป
อัตราเงินสะสม (ร้อยละ) 2 2,3 2,3,4 2,3,4,5
เงินสมทบบริ ษทั (ร้อยละ) 2 3 4 5
ในรอบปี บัญชี สิ้นสุ ด ณ 31 ธันวาคม 2561 มีการจ่ายเงิ นสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พให้กบั พนักงาน กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จานวน 5,414,135 บาท ซึ่ งแบ่งเป็ นเงินสมทบที่จ่ายให้ผบู้ ริ หารระดับสู ง (ตั้งแต่ระดับผูช้ ่วย กรรมการผูจ้ ดั การขึ้นไป) ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ปี 2560 เปรี ยบเทียบ ปี 2561 มีรายละเอียดดังนี้ เงินสมทบกองทุนสารอง เลีย้ งชีพของผู้บริหารระดับสู ง BRR BSF
ปี 2560 จานวนราย จานวนเงิน 9 894,944 7 817,231
ปี 2561 จานวนราย 9 7
จานวนเงิน 909,803 856,867
170 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
183
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สวัสดิการอืน่ ๆ ส าหรั บ สวัส ดิ ก ารและผลตอบแทนอื่ น ๆ นั้ น ประกอบด้ ว ย ค่ า ช่ ว ยเหลื อ บุ ต ร ค่ า เล่ า เรี ยนบุ ต ร ค่ารักษาพยาบาล ค่าเวชภัณฑ์ ประกันชี วิต ประกันอุบตั ิเหตุและสุ ขภาพ การตรวจสุ ขภาพประจาปี และสวัสดิการ สิ่ งอานวยความสะดวกอื่น ๆ อาทิ รถรับส่ งพนักงาน และบ้านพักพนักงาน เป็ นต้น รถรับส่ งพนักงาน บริ ษ ทั ได้จ ัดรถบัส รั บ ส่ ง พนัก งานไปกลับ จากโรงงาน ถึ ง อ าเภอเมื อ งบุ รี รัม ย์ พนัก งานทุ ก คน สามารถขึ้นรถรับส่ งได้ตามเส้นทางที่บริ ษทั กาหนด บ้านพักสวัสดิการพนักงาน เพื่ อ เป็ นสวัส ดิ ก ารด้า นที่ พ ัก ให้ก ับ พนัก งานที่ ไ ม่ มี ที่ พ ัก หรื อ มี แ ต่ ไ ม่ ส ะดวกต่ อ การเดิ น ทาง มาปฏิบตั ิงาน โดยสิ ทธิ์ การเข้าพักจะคานึงถึงความจาเป็ น และความเพียงพอของห้องพักที่มีอยู่ ประกันอุบตั ิเหตุและประกันสุ ขภาพพนักงาน - ประกันอุบตั ิเหตุพนักงาน บริ ษทั จะจัดทาประกันอุบตั ิเหตุให้กบั พนักงานรายเดือนทุกคนที่ผา่ น การทดลองงาน โดยแยกตามระดับชั้นพนักงาน - ประกัน สุ ข ภาพพนัก งาน บริ ษ ัท จะจัด ท าประกัน สุ ข ภาพให้ ก ับ พนัก งานรายเดื อ นที่ ผ่า น การทดลองงานตั้งแต่ระดับผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้นไป ห้องพยาบาลและพยาบาลประจาสถานประกอบการ บริ ษ ัท จัด ให้ มี ห้ อ งพยาบาลและพยาบาลประจ าบริ ษ ัท เพื่ อ ดู แ ลพนัก งานกรณี เ จ็ บ ป่ วยทั่ว ไป ปฐมพยาบาลเบื้องต้น หากเกิดอุบตั ิเหตุร้ายแรงทางบริ ษทั จะมีรถพร้ อมอุปกรณ์การปฐมพยาบาล นาส่ งโรงพยาบาลใกล้เคียงต่อไป การให้ทุนการศึกษา บริ ษทั ได้ให้ทุนการศึกษาเพื่อให้พนักงานได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เพื่อนาความรู ้และทักษะ กลับมาใช้ในการปฏิบตั ิงาน ซึ่งพนักงานที่ประสงค์จะขอรับทุนจะต้องมีคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้ ในระเบียบขอรับทุนการศึกษาของบริ ษทั กีฬาสี และงานเลี้ยงสังสรรค์ เพื่อสุ ขภาพของพนักงาน บริ ษทั จึงได้สนับสนุนและส่ งเสริ มการเล่นกีฬาของพนักงาน โดยจัดให้มี กีฬาสี เพื่อเชื่ อมความสัมพันธ์และมิ ตรภาพ นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมีนโยบายจัดงานเลี้ ยงสังสรรค์ ประจาปี โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเชื่ อมความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูบ้ ริ หารและพนักงานทุกระดับ ร้านค้าสวัสดิการพนักงาน บริ ษทั ได้จดั ตั้งร้ านค้าสวัสดิ การ เพื่อให้พนักงานสมัครเป็ นสมาชิ กรั บสิ ทธิ ซ้ื อสิ นค้าและบริ การ พร้ อมทั้งได้รับเงิ นปั นผลในสิ้ นปี ซึ่ งการสมัครสมาชิ ก ทางคณะกรรมการร้ านค้า สวัสดิ การจะ กาหนดให้ซ้ือหุน้ ในแต่ละปี 184
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
171
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
8.3 การส่ งเสริมสุ ขภาพและความปลอดภัย สุ ขภาพและความปลอดภัยของผูม้ ีส่วนได้เสี ยของบริ ษทั มีความสาคัญเป็ นอันดับต้น บริ ษทั จึงดาเนิ นงาน โดยปฏิบตั ิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสุ ขภาพและความปลอดภัยอย่างเคร่ งครัด และมุ่งพัฒนายกระดับคุณภาพของบริ ษทั ตั้ง แต่ การผลิ ตจนถึ ง การจัดจาหน่ า ย โดยจัดให้มี ก ารตรวจสอบระบบการผลิ ตอย่างต่ อเนื่ อง เพื่ อความมัน่ ใจใน คุณภาพของสิ นค้าแก่ลูกค้า และการดูแลระบบปฏิบตั ิงานในโรงงาน เพื่อความปลอดภัยแก่พนักงาน กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ มีความห่วงใย และตระหนักถึงความปลอดภัยของคุณภาพชีวิตของพนักงานที่อาจ ได้รับผลกระทบจากการดาเนินงาน จึงได้มีการทบทวนและร่ างนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่ งแวดล้อม ในปี 2559 และบรรจุ ในคู่มือการกากับดูแลกิ จการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิ จ ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) มีมติอนุมตั ิเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีรายละเอียดที่เกี่ ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ดังนี้ นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่ งแวดล้อม 1. มุ่ง มั่น มี ส่ ว นร่ ว มในความรั บ ผิด ชอบต่ อ พนัก งานและสั ง คม เรื่ อ งความปลอดภัย และอาชี ว อนามัย อย่างจริ งจังและต่อเนื่อง 2. ปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก ในเรื่ องความปลอดภัย และอาชี ว อนามัย ให้ เ กิ ด ขึ้ นในหมู่ พ นั ก งานทุ ก ระดับ อย่างจริ งจังและต่อเนื่อง 3. ดาเนินการป้ องกันอุบตั ิเหตุ และควบคุมการดาเนินการให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 4. จัด หาหลัก เกณฑ์ก ารท างานที่ ป ลอดภัย ต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์สิ น ของพนัก งาน รวมถึ ง ความเพี ย งพอ และคุณภาพของเครื่ องมือเครื่ องใช้ และการดูแลบารุ งรักษาอย่างเหมาะสม 5. กาหนดให้ป ฏิ บ ตั ิ ตามกฎแห่ ง ความปลอดภัย และสวมใส่ อุป กรณ์ ป้ องกันอันตรายส่ วนบุ ค คลตามที่ กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนด 6. ให้ความรู ้และฝึ กอบรมพนักงาน รวมทั้งสร้างความตระหนักให้แก่พนักงานในเรื่ องสิ่ งแวดล้อม 7. ดาเนินธุรกิจด้วยความใส่ ใจและคานึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 8. สนับสนุ นให้พนักงานมีส่วนร่ วมในการทากิจกรรมเพื่อรักษาสิ่ งแวดล้อม อาทิ กิจกรรมด้านการลดการใช้ และนากลับมาใช้ใหม่ แนวทางปฏิบัติเรื่องการดูแลความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้ แก่พนักงาน 1. ก่อนเริ่ มงานจะให้การอบรมและความรู ้เกี่ ยวกับความปลอดภัย และชี้ บ่งจุ ดอันตรายของแต่ละแผนก เพื่อให้พนักงานระวังขณะปฏิบตั ิงาน 2. มีการประเมินสภาพหน้างานเพื่อหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมให้พนักงานสวมใส่ 3. มี ก ารแต่ ง ตั้ง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชี ว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานขึ้ น มา เพื่อบริ หารและดาเนินงานด้านความปลอดภัยตามแผนงานความปลอดภัยประจาปี 4. มีการตรวจประเมินด้านความปลอดภัย พร้อมหามาตรการป้ องกันและแก้ไข 172 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
185
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
5. จัดเตรี ย มและจัดหาอุ ป กรณ์ ป้องกันระงับ อัค คี ภยั เพื่อความปลอดภัย ของพนัก งาน และเพื่อป้ องกัน ความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นกับทรัพย์สินกรณี เกิดไฟไหม้ และมีการอบรมให้ความรู ้เกี่ยวกับการดับเพลิง และซ้อมแผนหนีไฟ 6. มีกิจกรรม Safety talk ก่อนเริ่ มงานแต่ละแผนก 7. มีการจัดน้ าดื่มที่ถูกสุ ขลักษณะให้พนักงานเพียงพอต่อความต้องการ 8. มีการจัดห้องน้ าที่ถูกสุ ขลักษณะให้พนักงานเพียงพอต่อความต้องการ 9. มีการตรวจสุ ขภาพประจาปี ให้กบั พนักงาน เพื่อเฝ้ าระวังกรณี พบผูผ้ ดิ ปกติ วิธีดูแลและมาตรการป้องกัน กรณีเกิดการเจ็บป่ วยหรืออุบัติเหตุ 1. มีการจัดห้องพยาบาลและเจ้าหน้าที่ประจาตลอด 24 ชัว่ โมง พร้อมยาและเวชภัณฑ์ 2. มีการจัดรถนาส่ งกรณี เกิดอุบตั ิเหตุในงานหรื อนอกงาน 3. มี การติ ดตามและติ ดต่ อเจ้าหน้าที่ ของโรงพยาบาลเกี่ ยวกับการรั กษาสิ ทธิ์ การรั กษาของพนักงานที่ มี พร้ อมจัดส่ งเอกสารที่เกี่ ยวข้องที่ สานักงานประกันสังคม พร้ อมดูแลตลอดการรั กษา เช่ น จัดรถนาส่ ง กรณี ที่หมอนัดทั้งในงานและนอกงาน พร้อมมีของเยีย่ มไข้ท้ งั ที่ขณะพักรักษาตัวอยูท่ ี่โรงพยาบาลหรื อที่บา้ น 4. มีการติดตาม สอบสวน และรายงานอุบตั ิเหตุ เพื่อหาแนวทางแก้ไขไม่ให้เกิดซ้ า สถิติการเกิดอุบัติเหตุ/ การเจ็บป่ วยจากอุบัติเหตุ และอัตราการหยุดงาน ในปี 2561 การเกิดอุบตั ิเหตุ/ การเจ็บป่ วยจากอุบตั ิเหตุ และการเจ็บป่ วยจากอุบตั ิเหตุถึงขั้นต้องหยุดพักรักษาตัวนั้น มี อตั ราเพิ่มขึ้ นจากปี 2560 ทั้งนี้ ได้หาสาเหตุ การเกิ ดอุบตั ิ เหตุ ที่เพิ่มขึ้น และให้ส่วนงานที่เกี่ ยวข้องหามาตรการ ป้ องกันไม่ให้เกิ ดซ้ า รวมทั้งรณรงค์ให้พนักงานปฎิ บตั ิตามกฏระเบีย บความปลอดภัย และอาชี วอนามัย อย่างเคร่ ง ครั ด และจัดกิ จกรรมอบรมที่ ให้ความรู้ และการปฏิ บตั ิ จริ ง แก่พ นัก งานในด้านความปลอดภัย อย่า งต่ อ เนื ่ อ ง นอกจากนั้ น บริ ษ ทั ยัง ได้จ ดั ให้ม ี ค ณะกรรมการความปลอดภัย อาชี ว อนามัยและ สภาพแวดล้อมการทางาน ดาเนิ นกิจกรรมด้านความปลอดภัย ซึ่ งได้ลงพื้นที่เพื่อตรวจความปลอดภัยในการทางาน ร่ วมกันเป็ นประจา สถิติการเกิดอุบัติเหตุ/ การเจ็บป่ วยจากอุบัติเหตุ และอัตราการหยุดงาน อัตราปี 2560 (%) อัตราปี 2561 (%) กรณี การเกิดอุบตั ิเหตุ/ การเจ็บป่ วยจากอุบตั ิเหตุ การหยุดงาน
186
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
173
46.67 33.33
53.33 66.67
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมการทางาน มีการประชุมทุกเดือนและลง พื้นที่เพื่อตรวจความปลอดภัยในการทางานร่ วมกันเป็ นประจา
กิจกรรมด้ านความปลอดภัยประจาปี 2561 กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จัดให้มีกิจกรรมด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ความรู ้แก่พนักงาน ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบตั ิ ดังนี้ หลักสู ตรปฐมพยาบาลเบือ้ งต้ น เมื่อวันที่ 14 สิ งหาคม 2561 พนักงานเข้าร่ วมอบรมจานวน 59 คน สถานที่อบรม ณ ห้องอบรม บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลคูเมือง
หลักสู ตรการทางานในทีอ่ บั อากาศ อบรมเมื่อวันที่ 14-15 กันยายน 2561 พนักงานเข้าร่ วมอบรมจานวน 30 คน สถานที่ อบรม ณ ห้องอบรม ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล โดยทีมงานบริ ษทั เอ็นเอสเอ โซลูชนั่ จากัด เป็ นวิทยากร
174 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
187
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
หลักสู ตรเทคนิคการดับเพลิงขั้นสู ง อบรมหลัก สู ต รเทคนิ ค การดับ เพลิ ง ขั้น สู ง ให้ก ับ พนัก งานแผนกหม้อ ไอน้ า ยานยนต์ ซ่ อ มบ ารุ ง ไฟฟ้ า เชื้ อเพลิงและพลังงาน ในวันที่ 31 สิ งหาคม - 2 กันยายน 2561 ณ ศูนย์ฝึกอบรมดับเพลิงและกูภ้ ยั คลองหลวงแพ่ง โดยห้างหุน้ ส่ วนจากัด ฉายาวรรณ ไฟร์เซอร์วสิ
ทีมงานดับเพลิงขั้นสู งหลังจากผ่านการอบรมที่ศูนย์ฝึกฯมีการฝึ กทบทวนที่บริ ษทั ฯเป็ นประจาเพื่อเพิ่มทักษะ
หลักสู ตรดับเพลิงขั้นต้ นและอพยพหนีไฟ อบรมให้กบั บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด เมื่อวันที่ 29 สิ งหาคม 2561 จานวน 60 คน และบริ ษทั โรงงาน น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด เมื่อวันที่ 28-29 กันยายน 2561 จานวน 60 คน และกลุ่มบริ ษทั โรงไฟฟ้ า เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2561 จานวน 60 คน สถานที่อบรม ณ บริ เวณลานกิจกรรม และห้องอบรมของแต่ละบริ ษทั โดยวิทยากรจากบริ ษทั เอ็นอาร์ไฟน์ เซฟตี้ แมนเนจเม้นท์ จากัด
188
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
175
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กิจกรรมสั ปดาห์ ความปลอดภัย/Big Cleaning Day ประจาปี 2561 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561) กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้จดั กิจกรรมเพื่อให้พนักงานตระหนักถึงความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน เพื่อลดการสู ญเสี ย โดยจัดรู ปแบบกิ จกรรมที่ให้ท้ งั สาระและความสนุ กสนาน ตลอดจนการให้รางวัลกับแผนกที่ไม่มีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้น ประจาปี 2561 และรางวัลหัวหน้าแผนกสวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันส่ วนบุคคลดีเด่น หรื อรางวัล 5 ส ดีเด่น ประจาปี 2561 เป็ นต้น โดยจัดงานร่ วมกับทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ สานักงานประกันสังคม
การตรวจสุ ขภาพ ประจาปี 2561
การทดสอบเครนชนิดอยู่กบั ที/่ อบรมผู้ทที่ างานกับเครนเพือ่ ความปลอดภัย
176 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
189
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น ยังได้รับรางวัลชนะเลิ ศ สาขาสถานประกอบการดี เด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน ในปี 2559, ปี 2560 และ ปี 2561 ระดับจังหวัด จากกระทรวงแรงงาน 8.4 การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาบุคลากรเป็ นหนึ่งในเป้ าหมายการดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืนของกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ ดังนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้กาหนด “นโยบายการพัฒนาบุคลากร” ซึ่ งรวบรวมอยูใ่ น “คู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจ” ทั้งนี้ ได้ประกาศและนาใช้นโยบายดังกล่าวในปี 2560 โดยรายละเอียด “นโยบายการพัฒนาบุคลากร” ปรากฏในส่ วนที่ 1 ข้อที่ 1. นโยบาย ภาพรวม และเป้ าหมายการประกอบธุ รกิ จ ในส่ วนเป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิ จอย่างยัง่ ยืน ของรายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) เล่มนี้ และสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของบริ ษทั สาหรับแนวปฏิบัติในการพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้ดาเนินการดังนี้ การอบรมเพือ่ เสริมสร้ างความรู้ ในแต่ ล ะปี ทุ ก แผนกจะมี ง บประมาณส าหรั บ การอบรมภายนอกของพนัก งาน เพื่ อ พัฒ นาความรู้ ทางวิ ช าชี พ รวมทั้ง มี ก ารจัด อบรมภายในบริ ษัท ซึ่ งจัด โดยบริ ษัท เอง หรื อ การเชิ ญ ผู้เ ชี่ ย วชาญ จากภายนอกมาเป็ นวิทยากร การร่ วมมือกับองค์ กรภายนอกเพือ่ พัฒนาพนักงาน อาทิ การร่ วมมือกับศูนย์พฒั นาฝี มือแรงงานในการฝึ กอบรมพนักงาน หากพนักงานผ่านมาตรฐานของ กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน จะได้รับการปรับอัตราเงินเดือนตามอัตราขั้นต่าที่กรมพัฒนาฝี มือแรงงานกาหนด การให้ ทุนศึกษาต่ อ บริ ษทั ให้ทุนศึกษาต่อสาหรับพนักงานในระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษา ซึ่ งมีเงื่อนไขให้พนักงานนา ความรู ้กลับมาทางานให้กบั บริ ษทั เพื่อเป็ นการใช้ทุนคืน การอบรม ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปั จุจุบนั กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้จดั ทาแผนอบรมตามหลักการบริ หารด้านคุณภาพ ISO 9001: 2015 เป็ นแนวทางเบื้ องต้นในการพัฒนาบุ คลากร ซึ่ งครอบคลุ มทั้งด้านส านักงาน โรงงาน ฝ่ ายไร่ และหน่ วยงาน สนับสนุนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง ตลอดจนจัดทา Training courses ภายในองค์กร โดยจัดให้มีการพัฒนา ในกลุ่ มพนักงาน ระดับกลุ่ มบริ หาร กลุ่ มจัดการ และกลุ่ มปฏิ บ ัติ การ จัดท าหลักสู ตรการอบรม ทั้งด้านการผลิ ต การบารุ งรักษา การให้ความรู ้ ด้านเทคโนโลยี เกี่ ยวกับอุตสาหกรรมน้ าตาล และธุ รกิ จพลังงานที่ เกี่ ยวข้อง ทั้งนี้ หัวใจ สาคัญของการฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร คือ การติดตามและวัดผลความรู้ ที่ได้รับ รวมถึงการถ่ายทอดความรู้ ให้กบั 190
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
177
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ผูเ้ กี่ยวข้อง โดยมีแนวทางพัฒนาบนหลักการ 10/20/70 ซึ่ งเชื่อมโยงกับระบบการบริ หารสายอาชี พ กล่าวคือ ได้รับความรู้ และทักษะจากการอบรม ร้อยละ 10 จากนั้นผูบ้ งั คับบัญชาให้คาแนะนา/สอนงาน อีกร้ อยละ 20 และร้อยละ 70 ต้องนา ความรู้และทักษะที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในงานที่รับผิดชอบด้วยตนเอง หรื อแลกเปลี่ยนความรู้และทักษะใหม่กบั ผูอ้ ื่น แนวทางการพัฒนาองค์ กร กลุ่มบริ ษทั ฯ ดาเนินงานและยกระดับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่ องในการส่ งเสริ ม พนักงาน ทั้งการให้ทุนการศึกษา เพื่อศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท สนับสนุนและเข้าร่ วมศึกษาและดูงาน ในองค์ก รชั้น น าในอุ ต สาหกรรมประเภทเดี ย วกัน ดัง ข้อ มู ล สรุ ป จานวนชั่ว โมงในการพัฒ นาส าหรั บบุ ค ลากร ในกลุ่มบริ ษทั ฯ และหลักสู ตรที่เกี่ยวเนื่องที่ยกระดับและพัฒนาความรู้ ความสามารถให้กบั บุคลากรในกลุ่มบริ ษทั ฯ จานวนชั่วโมงในการพัฒนาสาหรับบุคลากรต่ อคน/ปี (ปี 2561)
สรุ ปประเภทหลักสู ตรการอบรม จานวนผู้อบรมและชั่วโมงการอบรม ของพนักงานกลุ่มบริษัทนา้ ตาลบุรีรัมย์ ปี 2561 หลักสู ตร
จานวน ผู้อบรม
ด้านสิ่ งแวดล้อม ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการควบคุมคุณภาพ ด้านธรรมาภิบาลและจริ ยธรรม/กฎหมาย/การต่อต้านคอร์รัปชัน ด้านการพัฒนาทักษะและความรู ้ในการทางาน/ ความเป็ นผูน้ า/ ทักษะการสื่ อสาร และอื่น ๆ รวม
127 541 614 1,057
จานวนชั่วโมง จานวนชั่วโมง การฝึ กอบรม รวม 216 1,434 221 4,363 348 7,770 115 7,076
960
1,312
24,324
3,299
2,212
44,967
178 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
191
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ตัวอย่ างหลักสู ตรการอบรมทั้งภายในองค์ กร และภายนอกองค์ กร ปี 2561 ระดับบริหาร อาทิ Financial statements for directors (FSD) Drone Pilot Workshop Workshop Process Innovation Management and Industry Transformation Food Innovation and New Business Opportunity Boardroom success through financing &Investment การบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง Strategic CFO in Capital markets ระดับจัดการ อาทิ ISO 14001:2015 Internal Audit FSSC 22000 Version 4.1 Requirment &Interpretation การจัดทาระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025:2017 ประจาฤดูการผลิตปี 2560/2561 การเตรี ยมความพร้อมสาหรับการเปิ ดหีบอ้อย ฤดูการผลิตปี 2561/2562 ผูค้ วบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานตามกฎหมายสามัญ ระดับปฏิบัติการ อาทิ ปลุกพลังแห่งความสาเร็ จThe Power of Change โปรแกรม SAP Code of Conduce จรรยาบรรณ ธรรมาภิบาล ระบบ GMP/HACCP ตามหลักสาธารณสุ ข Requirment and Interpretation of ISO 9001:2015 ดับเพลิงเบื้องต้นและอพยพหนีไฟ ผูป้ ฏิบตั ิงานประจาระบบบาบัดมลพิษน้ า สาหรั บกิจกรรมในปี 2561 กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้จดั “โครงการพัฒนาระบบปฏิบตั ิการสารสนเทศภายในองค์กร โดยใช้โปรแกรม SAP B1” ซึ่ งส่ งเสริ มและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในการนาระบบสารสนเทศ SAP ตั้งแต่กระบวนการจัดซื้ อจัดจ้าง กระบวนการขาย การบริ หารสิ นค้าคงคลัง กระบวนการบัญชี รับและจ่าย จนถึ ง การควบคุ มต้นทุน และงบประมาณ ดังนั้นบุ คลากรทุ กส่ วนงานจะได้รับการพัฒนาความรู้ และความสามารถให้ ปฏิบตั ิงานได้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กรในครั้งนี้
192
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
179
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 2562 แผนพัฒนาบุคลากร ในปี 2562 ของทั้งกลุ่มบริ ษทั ฯ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบงานคุณภาพ ตามระบบ ISO 9001, ISO 14000, ISO 18000, GMP, HACCP การจัดการสัตว์พาหะ และระบบความปลอดภัย รวมถึงหลักสู ตร ตามข้อกาหนดของกฎหมาย อาทิ หลัก สู ตรการดับเพลิ งขั้นต้น การอพยพหนี ไฟ การปฐมพยาบาล การควบคุ ม หม้อไอน้ า และหลักสู ตรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตลอดจนการพัฒนาแบบ GDP (Group Development Plan) การพัฒนาแบบข้ามสายงาน CFT (Cross Functional Team) ภายใต้ Project Based และนโยบายองค์กร และมุ่งเน้น การสร้างความตระหนักในการทางาน ทั้งการปลูกจิตสานึกรักองค์กร การบริ หารความเสี่ ยง จริ ยธรรม ธรรมาภิบาล หลักสู ตรพัฒนาทักษะการทางานตามแต่ละสายงานตามความจาเป็ น และการจัดอบรมทั้งภายในองค์กร และการอบรม กับสถาบันภายนอก 8.5 สิ ทธิมนุษยนและแรงงาน กลุ่ ม บริ ษ ทั น้ า ตาลบุ รีรัมย์ ให้ค วามส าคัญและคานึ งถึ งการเคารพสิ ทธิ ม นุ ษ ยชนและแรงงาน จึ ง ได้ร่า ง นโยบายที่ เ กี่ ย วกับ เรื่ อ งดัง กล่ า ว ในปี 2559 และบรรจุ ใ นคู่มื อการก ากับ ดู แ ลกิ จการที่ ดี และจรรยาบรรณธุ ร กิ จ โดยมีรายละเอียดที่เกี่ยวกับสิ ทธิมนุษยนและแรงงาน ดังนี้ นโยบายการเคารพสิ ทธิมนุษยชนและด้ านแรงงาน การเคารพสิ ทธิมนุษยชน 1. กลุ่มบริ ษทั ฯ ไม่สนับสนุ นกิจกรรมที่ละเมิดสิ ทธิ มนุ ษยชนทุกประการ รวมทั้งให้ความสาคัญและ ส่ งเสริ มการเคารพสิ ทธิมนุษยชน 2. ปฏิบตั ิต่อทุกคนอย่างเท่าเทียม ด้วยความเคารพและให้เกี ยรติซ่ ึ งกันและกัน โดยไม่แบ่งแยก เชื้ อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ ภาษา อายุ สี ผวิ การศึกษา สถานะทางสังคม ลักษณะทางกายภาพ หรื อเรื่ องอื่นใด 3. พนักงานทุกคนต้องไม่กระทาการใด ๆ ที่ละเมิดหรื อคุกคามบุคคลอื่น ทั้งทางวาจาหรื อการกระทา และพึงหลีกเลี่ยงการกระทาที่ละเมิดสิ ทธิมนุษยชน 4. ปฏิ บตั ิ หน้าที่ ด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้ องกันการละเมิดสิ ทธิ มนุ ษยชน หากพบเห็ น การกระทา ที่ละเมิด หรื ออาจละเมิดสิ ทธิ มนุษยชน ให้รายงานแก่ผบู้ งั คับบัญชา 180 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
193
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
5. กลุ่มบริ ษทั ฯ จะรักษาข้อมูลส่ วนบุคคลของพนักงาน หากมีความจาเป็ นในการเปิ ดเผยสู่ สาธารณะ จะต้อง ได้รับความยินยอมจากพนักงานผูน้ ้ นั ก่อน เว้นแต่กระทาการตามข้อบังคับบริ ษทั หรื อกฎหมาย ด้ านแรงงาน 1. ปฏิบตั ิต่อพนักงานตามกฎหมายแรงงานและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียม 2. ไม่เลือกปฏิบตั ิ และปฏิบตั ิดา้ นการจ้างงานอย่างเท่าเทียม ทั้งกระบวนการสรรหา การจ่ายค่าตอบแทน สวัสดิการ เวลาทางาน วันหยุด การมอบหมายงาน การฝึ กอบรม และการประเมินผลงาน เป็ นต้น 3. ไม่ใช้แรงงานเด็ก แรงงานต่างด้าวที่ผดิ กฎหมาย หรื อแรงงานจากการค้ามนุษย์ 4. ห้ามมิให้ลงโทษพนักงานที่เป็ นการทารุ ณทางร่ างกายหรื อจิ ตใจ อาทิ การคุ กคามข่มขู่ การกักขัง หน่วงเหนี่ยว หรื อการใช้ความรุ นแรงอื่นใด 5. มีกระบวนการสอบสวนความผิดพนักงานอย่างถูกต้อง และเป็ นขั้นตอนชัดเจนก่อนเลิกจ้างพนักงาน เพื่อให้ทุกคนได้รับความเป็ นธรรมสู งสุ ด 6. ในการว่าจ้างบริ ษทั ผูร้ ับเหมามาดาเนินการใด ๆ ให้แก่กลุ่มบริ ษทั ฯ จะพิจารณาคัดเลือกเฉพาะบริ ษทั ที่สามารถปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องได้เท่านั้น และจะหลีกเลี่ยง การว่าจ้างบริ ษทั รับเหมาใด ๆ ที่มีประวัติกระทาผิดกฎหมายแรงงาน กฎหมายอื่น ๆ หรื อเสี่ ยงต่อ การทุจริ ตและคอร์รัปชัน
บริษทั ร่ วมกับหน่ วยงานภาครัฐจังหวัดบุรีรัมย์ และสมาคมชาวไร่ อ้อยจังหวัดบุรีรัมย์ ต่ อต้ านการใช้ แรงงานเด็กในไร่ อ้อย
การต่ อต้ านการใช้ แรงงานเด็กในไร่ อ้อย ตั้งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบนั กลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ มุ่งมัน่ และรณรงค์ต่อต้านการใช้แรงงานเด็กในไร่ ออ้ ย โดยได้ล งนามข้อ ตกลงความร่ วมมื อการป้ องกัน และแก้ไ ขปั ญ หาแรงงานเด็ก และแรงงานที่ ถู ก บัง คับ ร่ ว มกับ หน่วยงานภาครัฐจังหวัดบุรีรัมย์ และสมาคมชาวไร่ ออ้ ยจังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2559 เพื่อร่ วมกันรณรงค์ ต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก และสร้างความตระหนักให้แก่เกษตรกร สังคม และทุกภาคส่ วนเห็นถึงปั ญหาและร่ วมกัน หาแนวทางป้ องกันแก้ไขอย่างจริ งจังต่อไป โดยบริ ษทั ได้ทากิจกรรมลงพื้นที่เขตส่ งเสริ มการปลูกอ้อยของบริ ษทั เพื่อรณรงค์การต่อต้านแรงงานเด็ก พร้ อมติ ดป้ ายรณรงค์ท้ งั ในเขตส่ งเสริ มการปลูกอ้อยและบริ เวณรอบโรงงาน อีกทั้งร่ วมกับสานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดบุรีรัมย์ ลงพื้นที่เก็บข้อมูลปั ญหาการใช้แรงงานเด็ก ในไร่ ออ้ ยที่อยูใ่ กล้เคียงกับสถานประกอบการ
194
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
181
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้รณรงค์ต่อต้านการใช้แรงงานเด็กอย่างต่อเนื่อง โดยได้ขอความร่ วมมือและสร้างข้อตกลงกับ ชาวไร่ ออ้ ย ซึ่ งมีสมาคมชาวไร่ ออ้ ยเป็ นตัวกลางในการดูแล และควบคุมชาวไร่ ออ้ ยในเรื่ องดังกล่าว อีกทั้ง ได้สื่อสาร โดยการติดป้ ายรณรงค์ต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก ตามเขตส่ งเสริ มการปลูกอ้อย ซึ่ งเป็ นหน่วยงานของกลุ่ มบริ ษทั ฯ ที่มี หน้าที่ดูแลและประสานงาน ตลอดจนให้ขอ้ มูลแก่ชาวไร่ ออ้ ย และเมื่อมีการฝึ กอบรมในหัวข้อต่าง ๆ ยังได้สอดแทรกเรื่ อง การไม่ใช้แรงงานเด็กในการอบรม รวมทั้งรณรงค์ผา่ นการทากิจกรรมร่ วมกับโรงเรี ยนภายในเขตส่ งเสริ มการปลูกอ้อย และสานักมวลชนสัมพันธ์และสื่ อสารองค์กรได้บรรจุเรื่ องนี้ไว้ในแผนปฏิบตั ิงานประจาปี อีกด้วย นอกจากนั้น บริ ษทั ยังได้ติดตามการปฏิบตั ิตามแนวทางที่ถูกต้อง โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลในประเด็นการใช้ แรงงานเด็กในไร่ ออ้ ย ร่ วมกับสานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดบุรีรัมย์ และได้พยายามขับเคลื่อนผ่าน กิจกรรมเพื่อสังคมต่าง ๆ เพื่อกระจายความรู้ ไปสู่ สถานศึกษาเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและมอบความรู้ ให้แก่ เยาวชนและนักเรี ยนในท้องถิ่นได้มีโอกาสเข้าถึ งการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน โดยสามารถดูกิจกรรมเพิ่มเติมได้ใน หัวข้อ 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม
กลุ่มบริษัทฯ ลงพืน้ ทีบ่ ริเวณเขตส่ งเสริมการปลูกอ้ อย เพือ่ ประชาสัมพันธ์ และให้ ความรู้ เรื่องการต่อต้ านการใช้ แรงงานเด็กในไร่ อ้อย เพือ่ สร้ างความเข้ าใจให้ กบั ชาวไร่ อ้อย
กลุ่มบริษัทฯ ขับเคลือ่ นกิจกรรมเพือ่ สังคมต่ าง ๆ เพื่อกระจายความรู้ ไปสู่ สถานศึกษา เพือ่ เพิม่ โอกาสทางการศึกษาและมอบความรู้ ให้ แก่ เยาวชนและนักเรียนในท้ องถิ่น
182
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
195
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษทั ตระหนักและให้ความสาคัญในการดาเนิ นธุ รกิจตามหลักธรรมาภิบาล โดยมุ่งมัน่ ที่จะดาเนิ นธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ (“ กลุ่มบริ ษทั ฯ ”) อย่างโปร่ งใส เป็ นธรรม และคานึ งถึงผูม้ ี ส่ วนได้เสี ย เพื่อสร้างความเชื่ อมัน่ แก่ผถู ้ ือหุ ้น นักลงทุน และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับทราบหลักปฏิ บตั ิ ตามหลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดีสาหรั บบริ ษทั จดทะเบียนปี 2560 (Corporate Governance Code : “CG Code”) ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สานักงาน ก.ล.ต.”) และตระหนักถึ งบทบาทหน้าที่ในฐานะผูน้ า (Governing body) ในการสร้างคุ ณค่า ให้แก่กิจการอย่างยัง่ ยืน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริ ษทั มีกระบวนการทบทวนการนา CG Code ไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกับบริ บททางธุรกิจ ในปี 2561 และต้นปี 2562 บริ ษทั ได้ทบทวนและปรั บ ปรุ งนโยบายการก ากับดู แลกิ จการที่ ดี ตลอดจนจรรยาบรรณธุ รกิ จและข้อพึ งปฏิ บ ตั ิท างจริ ยธรรมของกรรมการบริ ษ ทั ผูบ้ ริ หารและพนัก งาน รวมทั้งนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 ได้มีมติอนุ มตั ิ ทบทวนคู่มือการกากับดู แลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิ จ ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 3 ปี 2562 (“คู่มือ CG”) โดยได้เผยแพร่ ในเว็บไซต์ของบริ ษ ัท www.buriramsugar.com และส่ งทาง Email เพื่อให้พนักงาน ผูถ้ ือหุน้ ผูม้ ีส่วนได้เสี ย และสาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวกและเท่าเทียมกัน สาหรับการทบทวนและปรับปรุ งนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ได้จดั ทาขึ้นตามแนวทางของCG Code ปี 2560 ซึ่งครอบคลุมหลักการสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดีท้ งั 8 ข้อ แต่ยงั คงจัดหมวดหมู่แบ่งเป็ น 5 ข้อ ดังนี้ 1. สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ 2. การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย 4. การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่ งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ทั้ง นี้ สามารถอ่า นรายละเอี ย ดหลักเกณฑ์เพิ่ม เติ ม ของแต่ล ะหมวดได้ใน “คู่มื อการก ากับ ดู แล กิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิ จ” ในเว็บไซต์ของบริ ษทั โดยการดาเนิ นงานของบริ ษัทด้ านการกากับดูแล กิจการที่ดี ในปี 2561 มีดังนี ้ 1) สิ ทธิของผู้ถือหุ้น กลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักและให้ความสาคัญกับสิ ทธิ พ้ืนฐานของผูถ้ ือหุ ้น ได้แก่ การซื้ อขายหรื อโอน หลักทรัพย์ การได้รับข้อมูลของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอย่างเพียงพอ การเข้าร่ วมประชุ มเพื่อการใช้สิทธิ ออก เสี ยงในที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นเกี่ ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของบริ ษทั เป็ นต้น คณะกรรมการบริ ษทั จึงได้ 196
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
182
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กาหนดแนวทางดาเนิ นการต่าง ๆ เพื่อรักษาสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น รวมถึ งส่ งเสริ มและอานวยความสะดวกใน การใช้สิทธิของผูถ้ ือหุน้ โดยในปี 2561 ได้ดาเนินการดังนี้ บริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อการประชุมผูถ้ ือหุ ้น โดยจัดสถานที่ที่เหมาะสมและสะดวกต่อการเดินทาง ของผูถ้ ื อหุ ้น ทั้งนี้ บริ ษทั ได้จดั การประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2561 เมื่อวันพุธที่ 25 เมษายน 2561 เวลา 10.00 น. ณ ห้องอโนมา 2-3 ชั้น 3 โรงแรมอโนมา กรุ ง เทพฯ ซึ่ ง ตั้ง อยู่ใ จกลางเมื อง กรุ งเทพมหานคร ย่านราชประสงค์ จึงเป็ นสถานที่ที่สะดวกต่อการเดิ นทาง โดยผูถ้ ื อหุ ้นสามารถ เดินทางมาประชุ มได้หลายวิธีท้ งั ทางรถไฟฟ้ า (BTS) รถเมล์โดยสารสาธารณะ หรื อรถยนต์รับจ้าง สาธารณะ (Taxi) หรื อทางเรื อ เป็ นต้น สาหรับผูถ้ ือหุ ้นที่อยูใ่ นเขตพื้นที่สานักงานใหญ่ของบริ ษทั คือ จังหวัดบุรีรัมย์ บริ ษทั ได้จดั บริ การรถตูร้ ับ-ส่ งของบริ ษทั จานวน 2 คัน เพื่ออานวยความสะดวก ให้กบั ผูถ้ ือหุ น้ ที่สนใจเข้าร่ วมประชุม บริ ษทั ได้จดั ทาปฎิ ทินการประชุ มประจาปี ล่ วงหน้า ก่อนการประชุ มในปี ถัดไป โดยได้ก าหนด วันประชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้นไว้ล่ วงหน้าแล้ว เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับ ทราบ และแจ้งมติ คณะกรรมการบริ ษ ัท ซึ่ งก าหนดวัน จัด ประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น ประจ าปี 2561 ให้ผูถ้ ื อ หุ ้น ทราบ ล่วงหน้าก่อนวันประชุ ม 2 เดือน ซึ่ งจะทาให้ผถู้ ือหุ ้นสามารถวางแผนและจัดสรรเวลาในการเข้าร่ วม ประชุ มได้ โดยแจ้งผูถ้ ื อหุ ้นตั้งแต่ วนั ที่ 26 กุ มภาพันธ์ 2561 ผ่า นระบบการแจ้งข่า วของตลาด หลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย (Set Portal) และบนเว็บไซต์ของบริ ษ ัท www.buriramsugar.com รวมทั้งแจ้งการกาหนดรายชื่ อผูถ้ ื อหุ ้นที่มีสิทธิ เข้าร่ วมประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2561 และ สิ ทธิในการรับเงินปันผล (Record Date) ตลอดจนวันกาหนดจ่ายเงินปั นผล ซึ่ งการแจ้งข่าวดังกล่าว เป็ นวันเดียวกับที่ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิ ในกรณี ที่ผูถ้ ื อหุ ้นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุ มด้วยตนเองได้ บริ ษทั ได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นสามารถ มอบฉันทะให้กรรมการอิสระหรื อบุคคลใด ๆ เข้าร่ วมประชุ มแทนได้ โดยใช้หนังสื อมอบฉันทะที่ได้ จัดส่ งไปพร้ อมกับหนังสื อเชิ ญประชุ ม โดยในการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจาปี 2561 บริ ษทั ได้ให้ นายประจวบ ไชยสาส์ น ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ (สัดส่ วนการถื อหุ ้น ณ วันประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2561 ถื อหุ ้นร้ อยละ 0.05) และนางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล และประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (ณ วันประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2561 ไม่มีสัดส่ วนการถือหุ ้น) เป็ นผูร้ ั บมอบฉันทะ ทั้งนี้ ได้ระบุ ขอ้ มูลเกี่ ยวกับกรรมการคนดังกล่ าว อาทิ ชื่ อ-นามสกุ ล อายุ ที่อยู่ ประวัติการทางานและการศึกษา สัดส่ วนการถือหุน้ วาระดารงตาแหน่ง การไม่มีคุณสมบัติตอ้ งห้าม และ การมี/ไม่มีส่วนได้เสี ย เป็ นต้น ประธานกรรมการบริ ษทั จะจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอ โดยในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2561 มีวาระเพื่อพิจารณาจานวน 10 วาระ และวาระเพื่อทราบจานวน 1 วาระ โดยใช้เวลา 183 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
197
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในการประชุ มประมาณ 2 ชัว่ โมง ตั้งแต่เวลา 10.00 น. - 12.00 น. และดาเนิ นการประชุ มอย่างโปร่ งใส โดยระหว่างการประชุม จะเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ น้ มีสิทธิ อย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น และซัก ถามอย่า งทัว่ ถึ ง ซึ่ งกรรมการบริ ษ ทั และผูบ้ ริ หารที่ เกี่ ย วข้องจะเข้า ร่ วมประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้น เพื่อให้ผถู้ ือหุน้ สามารถซักถามในเรื่ องที่เกี่ ยวข้องได้ โดยระหว่างการประชุ ม หากมีคาถามที่ ไม่ เกี่ ย วข้อ งกับ การพิจารณาวาระนั้น ๆ ประธานที่ ประชุ ม จะขอให้นาไปถามหรื อตอบข้อซักถามใน วาระเรื่ องอื่น ๆ เพื่อให้สามารถใช้เวลาพิจารณาแต่ละวาระได้อย่างเพียงพอ และไม่เป็ นการรบกวน เวลาหรื อกระทบสิ ทธิ์ ของผูถ้ ือหุ น้ ท่านอื่น ก่อนเริ่ มการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั จะชี้แจงวิธีการใช้สิทธิ ลงคะแนนและนับคะแนนตามที่ระบุไว้ อย่างชัดเจนในข้อบังคับบริ ษทั การลงคะแนนเสี ยงในการประชุมผูถ้ ือหุ ้น กาหนดให้ใช้บตั รยืนยัน การลงคะแนนเสี ยงในทุกวาระ และในวาระเลือกตั้งกรรมการบริ ษทั เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นสามารถลงมติ เลื อกกรรมการบริ ษทั ได้เป็ นรายบุคคล บริ ษทั จึงได้กาหนดให้ใช้บตั รลงคะแนนแยกกันเพื่อเลือก กรรมการบริ ษ ัท แต่ ล ะคน รวมทั้ง น าระบบบาร์ โ ค้ด (Barcode) มาใช้ใ นการนับ คะแนนเสี ย ง เพื่อความสะดวก รวดเร็ ว และโปร่ งใส รวมทั้งจัดให้มีผสู้ อบบัญชีของบริ ษทั และที่ปรึ กษากฎหมาย ที่เป็ นอิสระจากภายนอกเป็ นสักขีพยานในการนับคะแนนเสี ยง และเปิ ดเผยไว้ในรายงานการประชุม ผูถ้ ือหุ น้ อย่างชัดเจน พร้อมทั้งคะแนนเสี ยงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสี ยง และบัตรเสี ย ในทุกวาระ ที่ตอ้ งมีการลงคะแนนเสี ยง นอกจากนั้น ยังเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้น หรื อผูร้ ับมอบฉันทะจากผูถ้ ือหุ ้น ในการเข้าร่ วมประชุม สามารถเสนอให้ตนเองทาหน้าที่เป็ นสักขีพยานในการตรวจนับ คะแนนเสี ยง ได้อีก ด้วย โดยในการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2561 มีผูส้ อบบัญชี ของบริ ษ ทั คือ บริ ษ ทั ไพร้ซ วอเตอร์ เฮาส์ คูเปอร์ ส เอบี เอเอส จากัด เข้าร่ วมประชุ ม และที่ปรึ กษากฎหมายที่เป็ นอิสระ ภายนอกจากบริ ษทั กุดนั่ แอนด์ พาร์ทเนอร์ ส จากัด ทาหน้าที่เป็ นผูต้ รวจการประชุม (Inspector) ให้ ดาเนินการได้อย่างโปร่ งใส และเป็ นไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกาหนดไว้ เปิ ดเผยมติ ที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น ให้ ผูถ้ ื อ หุ ้ น นัก ลงทุ น และสาธารณชนรั บ ทราบโดยเท่ า ที ย มกัน ผ่านระบบข่าว (SET Portal) ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ก่อนเวลา 09.00 น. ของวันทาการถัดไป นับแต่วนั ประชุม อย่างไรก็ตาม ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ปี 2561 ที่ผา่ นมา บริ ษทั ได้แจ้งมติที่ประชุมให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบในวันเดียวกันกับวันประชุ ม เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นได้รับทราบ มติ ที่ประชุ มได้อย่างรวดเร็ ว รวมทั้งจัดทาบันทึ กรายงานการประชุ ม อย่างถูก ต้องและครบถ้วน และเผยแพร่ รายงานการประชุมผ่านเว็บไซต์ของบริ ษทั ภายใน 14 วันนับแต่วนั ประชุม เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้น สามารถตรวจสอบได้ พร้อมทั้งนาส่ งให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และสานักงานก.ล.ต. และกระทรวง พาณิ ชย์ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และสม่าเสมอ ผ่านเว็บไซต์ของบริ ษทั และช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และสานักงานก.ล.ต. อยูเ่ สมอ โดยในปี 2561 บริ ษทั ได้แจ้งข่า ว การกาหนดวัน ประชุ ม ผู ถ้ ื อ หุ ้น การจ่า ยปั น ผล และเรื่ อ งตามหลัก เกณฑ์ก ารเปิ ดเผยข้อ มูล ที่ 198
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
184
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ตลาดหลักทรัพย์ฯ กาหนด และตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีแล้ว อาทิ การทารายการเกี่ยงโยงกับ บุคคลเกี่ยวโยง การลงทุนในโครงการต่าง ๆ และการจัดตั้งบริ ษทั เป็ นต้น นอกจากนั้น ผู ถ้ ื อ หุ ้น ทุก รายของบริ ษ ทั สามารถใช้สิ ท ธิ ใ นฐานะเจ้า ของควบคุ ม การทางาน ของบริ ษทั โดยผ่านคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งผูถ้ ือหุ ้นมีสิทธิ เสนอชื่ อบุคคลเข้ารับการคัดเลือกเป็ น กรรมการบริ ษทั และสามารถลงคะแนนเสี ยงเลือกกรรมการบริ ษทั ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นได้ เป็ นประจาทุกปี โดยตามข้อบังคับ บริ ษทั ข้อ 14 (1) กาหนดให้ 1 หุ ้น มี 1 เสี ยง นอกจากนั้น ยังมี สิ ทธิ ในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของบริ ษทั อีกด้วย บริ ษทั ส่ งเสริ มให้ผถู ้ ือหุ น้ ได้รับสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานอื่น ๆ ที่พึงได้รับ อาทิ การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นทุกราย โดยเท่าเที ยมกัน การเปิ ดโอกาสให้นาเสนอวาระการประชุ ม และเสนอชื่ อบุ คคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั รวมทั้งคาถามและข้อเสนอแนะล่วงหน้า สาหรับการประชุมสามัญประจาปี โดยจะเผยแพร่ หลักเกณฑ์และวิธีการในการนาเสนอวาระและ ชื่ อบุคคลล่วงหน้าในเว็บไซต์ของบริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 30 ตุลาคม 2560 จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2561 เป็ นระยะเวลา 3 เดือน เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้นมีเวลาที่เพียงพอในการพิจารณาและดาเนิ นการเรื่ องดังกล่าว และนาเสนอที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาก่อนนาเสนอแก่ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นต่อไป โดยในปี 2561 ไม่มีผถู ้ ือหุ ้นรายใดนาเสนอวาระการประชุม ชื่อบุคคลเข้ารับพิจารณาเลือกตั้งเป็ น กรรมการบริ ษทั และเสนอคาถามและข้อเสนอแนะล่วงหน้า ทั้งนี้ ได้แจ้งให้คณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ รับทราบแล้ว ผูถ้ ื อหุ ้นมี สิ ท ธิ แสดงความคิ ดเห็ นและซัก ถามในการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น เพื่อให้ที่ ป ระชุ ม ร่ วมกัน ตัด สิ น ใจให้ค ณะกรรมการบริ ษ ทั หรื อ ผู บ้ ริ ห ารได้ต อบข้อ สงสั ย หรื อ อธิ บ ายเพิ่ม เติ ม อาทิ การพิ จารณาค่ าตอบแทนของกรรมการบริ ษ ทั และกรรมการชุ ดย่อยทุ กรู ป แบบ วาระพิจารณา การจ่ายเงิ นปั นผล โดยจะแจ้งนโยบายการจ่ายปั นผล อัตราปั นผลที่เสนอจ่ายเปรี ยบเทียบการจ่าย ปั นผลกับ ปี ที่ ผ่านมา เหตุ ผลและข้อมูล ประกอบอื่ น ๆ ที่ส าคัญ วาระการเลื อกกรรมการบริ ษ ทั ที่ ส ามารถเลื อ กกรรมการบริ ษ ัท เป็ นรายบุ ค คลและพิ จ ารณาคุ ณ สมบัติ การศึ ก ษา การอบรม การดารงตาแหน่งในบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั จานวนและรายละเอียดการดารงตาแหน่งเป็ น กรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารบริ ษทั จดทะเบียนอื่น บริ ษทั จากัด หรื อองค์กรอื่น ๆ หลักเกณฑ์และ วิธีการสรรหา ประเภทกรรมการบริ ษทั ที่เสนอ เช่ น เป็ นกรรมการบริ ษทั หรื อเป็ นกรรมการอิสระ การไม่มีคุณสมบัติตอ้ งห้าม ในกรณี ที่เสนอชื่อกรรมการบริ ษทั เดิมกลับเข้าดารงตาแหน่งใหม่ จะให้ ข้อ มู ล การเข้า ร่ ว มประชุ ม ในปี ที่ ผ่า นมา และวัน เดื อ น ปี ที่ ไ ด้รั บ การแต่ ง ตั้ง รวมถึ ง จ านวน ระยะเวลาที่ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการบริ ษทั วาระกาหนดค่าตอบแทน จะนาเสนอหลักเกณฑ์ การก าหนดค่ า ตอบแทนของกรรมการบริ ษ ัท และกรรมการชุ ดย่อ ยแต่ ล ะต าแหน่ ง ส่ ว นวาระ การแต่งตั้งผูส้ อบบัญชีและกาหนดค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี จะนาเสนอรายชื่อผูส้ อบบัญชีหลักและ ผูส้ อบบัญชี สารองจานวน 2 คน รวมเป็ น 3 คน เพื่อให้ส ามารถทาหน้า ที่แทนกันได้ใ นกรณี ที่ 185
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
199
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ผูส้ อบบัญชี หลักมีเหตุให้ไม่สามารถดาเนินงานตรวจสอบบัญชี ให้บริ ษทั ได้ โดยจะระบุความเห็น ในการทาหน้าที่ของผูส้ อบบัญชี และการไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และผูท้ ี่ เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ตลอดจนเปรี ยบเทียบค่าสอบบัญชีของปี ที่นาเสนอและปี ที่ผา่ นมา โดย แยกเป็ นค่าสอบบัญชี (Audit Fee) และค่าบริ การอื่น ๆ (Non-Audit Fee) พร้อมทั้งคาอธิ บายเหตุผล ในกรณี ที่ค่าบริ การสอบบัญชีเพิ่มขึ้น เป็ นต้น โดยในการประชุมผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั จะไม่มีการเพิ่มวาระ อื่นใดที่ไม่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้าในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ือหุ ้น เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้นได้มีโอกาสศึกษา ข้อมูลประกอบวาระก่อนตัดสิ นใจอย่างเพียงพอ นอกจากนั้น บริ ษทั ได้อานวยความสะดวกให้นกั ลงทุนสถาบันสามารถเข้าร่ วมการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ได้อีกด้วย โดยในวันประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น บริ ษัทได้อานวยความสะดวกให้ท้ งั ผูถ้ ื อหุ ้นและนักลงทุน สถาบันอย่า งเท่า เที ย มกันทุ ก ราย โดยให้ก ารต้อนรั บและอานวยความสะดวก การจัดจุ ดตรวจ เอกสาร จุดลงทะเบียนอย่างเพียงพอ โดยลงทะเบียนด้วยระบบบาร์ โค้ด (Barcode) ซึ่ งสะดวกและ รวดเร็ ว ผูถ้ ือหุ ้นสามารถลงทะเบียนเข้าร่ วมประชุ มก่อนเวลาประชุ มได้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง 30 นาที จนกว่าการประชุ มจะแล้วเสร็ จ ทั้งนี้ บริ ษทั ยังได้จดั เตรี ยมอากรแสตมป์ ไว้สาหรับการมอบ ฉันทะของผูถ้ ื อหุ ้น เพื่ออานวยความสะดวก และเพื่ อการจัดทาเอกสารอย่างถูกต้อง อีกทั้งไม่ มี การเรี ยกดูเอกสารเพื่อประกอบการเข้าร่ วมประชุ มนอกเหนื อจากที่ได้กาหนดไว้โดยปกติ อาทิ การขอดู บ ัต รประชาชนตัว จริ ง ของผู้ม อบฉัน ทะ (ของผู ้ถื อ หุ ้ น ) ตลอดจนการจัด อาหารว่า ง เพื่อรับรองผูเ้ ข้าร่ วมประชุมอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ ประธานกรรมการบริ ษทั และกรรมการบริ ษทั ทุ กคนให้ความสาคัญกับการประชุมผูถ้ ื อหุ ้น โดยในปี ที่ผา่ นมา (2561) สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันพุธที่ 25 เมษายน 2561 ประธาน กรรมการบริ ษทั และกรรมการบริ ษทั เข้าร่ วมประชุ มทั้งหมด 9 ท่าน คิดเป็ นร้อยละ 100 รวมทั้ง กรรมการชุ ด ย่อ ยทุ ก ชุ ด ได้แ ก่ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร ประธานกรรมการธรรมาภิบาล กรรมการธรรมาภิบาล ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่ า ตอบแทน และกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน รวมทั้ง กรรมการผู จ้ ัด การ คณะผูบ้ ริ หารระดับสู ง ของบริ ษ ทั ผูบ้ ริ หารสู งสุ ด ด้านบัญชี และการเงิ น และเลขานุ ก ารบริ ษ ทั เพื่อการพบปะและตอบคาถามผูถ้ ือหุน้ ที่ปรึ กษากฎหมายที่เป็ นอิสระภายนอกจาก บริ ษทั กุดนั่ แอนด์ พาร์ ทเนอร์ ส จากัด ซึ่ งบริ ษทั ได้เชิญ มาเป็ นสัก ขีพ ยานในการประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น เพื่อ ทาหน้า ที่ดูแ ลให้ก ารประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น ดาเนิ น ไป อย่า งโปร่ งใส เป็ นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของบริ ษทั การสังเกตและตรวจสอบเอกสาร ลงทะเบียนเข้าร่ วมประชุ ม วิธีการนับคะแนน ซึ่ งต้องสอดคล้องกับข้อบังคับบริ ษทั หรื อกฎหมาย ที่กาหนดไว้ มีหน้าที่ตรวจสอบผลการลงมติ การแสดงผลนับคะแนนให้ที่ประชุ มรับทราบ รวมทั้ง การพิจารณาวาระต่าง ๆ ให้ดาเนินไปอย่างถูกต้อง 200
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
186
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การพิจารณาวาระการประชุ ม ได้ดาเนิ นไปตามลาดับวาระที่กาหนดไว้ตามหนังสื อเชิ ญประชุ ม เพื่อให้ผถู้ ือหุ น้ สามารถพิจารณาในวาระที่ตนเองมีความประสงค์ได้ อย่างเช่นกรณี ที่ผถู ้ ือหุ ้นอาจเข้า ร่ วมประชุ มหลังจากดาเนิ นการประชุมไปแล้ว แต่จะเข้าร่ วมประชุ มเฉพาะในช่วงเวลาที่พิจารณา วาระที่ตอ้ งการลงคะแนนเสี ยง ผูถ้ ื อหุ ้นสามารถลงทะเบียนเข้าร่ วมประชุ มได้ภายหลังเริ่ มการประชุ มแล้ว โดยมีสิทธิ ออกเสี ยง ลงคะแนนในวาระที่กาลังพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้นมัน่ ใจว่าบริ ษทั มีโครงสร้างการดาเนิ นงานที่โปร่ งใสและตรวจสอบได้ บริ ษทั จึงได้ เปิ ดเผยโครงสร้างการถือหุน้ ในบริ ษทั ย่อยไว้อย่างชัดเจนในเว็บไซต์ของบริ ษทั ในรายงานประจาปี รวมทั้งแบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) 2) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน กลุ่ ม บริ ษัท ฯ ได้ ก าหนดให้ มี ก ารปฏิ บ ัติ ต่ อ ผู้ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย มกัน และเป็ นธรรม โดยคณะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิทบทวนนโยบายดังกล่าว เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 และการดาเนินงาน ในด้านนี้ของบริ ษทั ในปี 2561 มีดงั นี้ เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อ หุ ้น รายเดี ย วหรื อ รายหลายซึ่ ง ถื อ หุ ้น ขั้น ต่ า 10,000 หุ ้น ขึ้ น ไป และถื อ หุ ้น อย่างต่อเนื่องจนถึงวันกาหนดรายชื่อผูถ้ ือหุน้ (Record Date) เพื่อสิ ทธิในการเข้าร่ วมประชุ ม ซึ่ งเป็ น ระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน สามารถเสนอเพิ่มวาระการประชุมและชื่ อกรรมการบริ ษทั รวมทั้ง คาถามและข้อเสนอแนะได้ล่ ว งหน้า ก่ อนการประชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้น ซึ่ ง จะเผยแพร่ หลัก เกณฑ์ การเสนอระเบียบวาระการประชุ มและเสนอชื่อผูท้ รงคุณวุฒิเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั ผ่า นเว็บ ไซต์ ข องบริ ษ ัท เป็ นระยะเวลา 3 เดื อ น จากนั้น คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่าตอบแทน และ/หรื อ คณะกรรมการธรรมาภิบาล จะกลัน่ กรองก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาต่อไป ทั้งนี้ กรณี บรรจุวาระในหนังสื อเชิ ญประชุ ม จะระบุว่าเป็ นวาระที่กาหนดโดย ผูถ้ ือหุ ้น และหากคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาแล้วเห็นควรไม่บรรจุวาระของผูถ้ ื อหุ ้นในหนังสื อ เชิ ญประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั จะชี้ แจงเหตุ ผลให้ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นทราบ ทั้งนี้ ในการ ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2561 ไม่มีผถู้ ือหุ ้นรายใดเสนอวาระการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น หรื อเสนอ ชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั รวมทั้งคาถามและข้อเสนอแนะ บริ ษทั ได้ ดาเนิ นการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวข้างต้นทุกประการ เพื่อให้สิทธิ ผถู้ ื อหุ ้นทั้งรายใหญ่และ รายย่อยอย่างเท่าเทียมกัน บริ ษทั ได้จดั ส่ งหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุ มให้แก่ผูถ้ ือหุ ้น เป็ นการล่ วงหน้าตามที่ กฎหมายและข้อบังคับบริ ษทั กาหนด ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นมีเวลาศึกษาข้อมูลล่วงหน้าอย่างครบถ้วนและเพียงพอ โดยได้ระบุวนั เวลา สถานที่ ประชุ ม และมีรายละเอีย ดระเบีย บวาระการประชุ ม ซึ่ งระบุว ตั ถุ ประสงค์ของวาระที่นาเสนอ 187
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
201
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
พร้ อ มความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั และเอกสารประกอบระเบียบวาระต่าง ๆ อาทิ หนังสื อ มอบฉันทะ แบบ ก. แบบ ข. และ แบบ ค. ตามแบบที่กรมพัฒนาธุ รกิ จการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ กาหนด คาชี้แจงวิธีการมอบฉันทะ ข้อบังคับบริ ษทั ที่เกี่ยวกับการประชุมผูถ้ ือหุ ้น หลักเกณฑ์และวิธี ปฏิบ ตั ิใ นการเข้า ร่ ว มประชุ ม การมอบฉัน ทะและการออกเสี ย งลงคะแนน เอกสารประกอบ การพิจารณาแต่ละวาระ และแผนที่ที่จดั ประชุม เป็ นต้น นอกจากนั้น ได้ประกาศเชิ ญประชุมผูถ้ ือหุ ้น ผ่านทางหนังสื อพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน ตั้งแต่วนั ที่ 2-4 เมษายน 2561 ก่อนวันประชุ มไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน ตามข้อบังคับบริ ษทั รวมทั้งได้เผยแพร่ หนังสื อเชิญประชุม พร้อมเอกสารประกอบทางเว็บไซต์ของ บริ ษทั www.buriramsugar.com ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในวันที่ 22 มีนาคม 2561 ซึ่ ง เป็ นข้อมูล เดี ย วกับ ที่บ ริ ษทั มอบให้บ ริ ษ ทั ศูนย์รับฝากหลัก ทรัพ ย์ (ประเทศไทย) จากัด ซึ่ งเป็ น นายทะเบียนหุ ้นของบริ ษทั เป็ นผูจ้ ดั ส่ งให้ผถู้ ือหุ ้นในรู ปแบบเอกสาร (เป็ นภาษาอังกฤษกรณี ผถู ้ ือหุ ้น เป็ นชาวต่างชาติ) ล่วงหน้าในวันที่ 4 เมษายน 2561 ก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุ น้ ในการประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อหุ ้น ปี 2561 บริ ษทั ได้พิจารณาและลงคะแนนเสี ย งตามวาระที่ กาหนด โดยไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูลสาคัญ หรื อเพิ่มวาระการประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผถู้ ือหุ ้นทราบล่วงหน้า โดยไม่จาเป็ น เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบวาระก่อนการตัดสิ นใจ (คาอธิ บาย เพิ่มเติมในข้อ 1 สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ) ส าหรั บ ผูถ้ ื อหุ ้นที่ ไ ม่ ส ามารถเข้า ร่ วมประชุ ม ได้ด้ว ยตนเอง ให้ผูถ้ ื อหุ ้นสามารถมอบฉันทะให้ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรื อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เข้าร่ วมประชุมและลงมติแทนได้ และแจ้ง รายชื่อกรรมการอิสระดังกล่าวไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น (คาอธิ บายเพิ่มเติมในข้อ 1 สิ ทธิ ของผูถ้ ือหุน้ ) กาหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และได้แจ้ง แนวทางดังกล่าวให้ทุกคนในกลุ่มบริ ษทั ฯ ถื อปฏิบตั ิ และกาหนดให้กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร ทุกคนมี หน้า ที่รายงานการถื อครองหลักทรั พย์ตามกฎหมาย และมีหน้า ที่จดั ส่ งรายงานดังกล่ า ว ให้แก่คณะกรรมการบริ ษทั โดยแนวทางปฏิบตั ิและการรายงานเป็ นไปตามรายละเอียดที่ปรากฎใน ส่ วนที่ 3 จรรยาบรรณธุ รกิจ ข้อ 2.2 เรื่ องความขัดแย้งทางผลประโยชน์และการรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ โดยในปี 2561 นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั และกรรมการผูจ้ ดั การ และนางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อย ได้ซ้ื อหุน้ ของบริ ษทั จานวนหนึ่ง ทั้งนี้ การทารายการดังกล่าว ได้แจ้งรายงานการเปลี่ ยนแปลงการถื อหลักทรั พย์ของบริ ษ ทั (แบบ 59-2) ให้แก่ คณะกรรมการบริ ษ ัท เพื่อรับทราบ และได้นาส่ งรายงานดังกล่าวให้แก่สานักงาน ก.ล.ต. แล้ว บริ ษทั ได้ดาเนิ นการประสานงานเรื่ องเอกสารและหลักฐานที่ ตอ้ งใช้สาหรั บการเข้าร่ วมประชุ ม และลงคะแนนเสี ย งของผูถ้ ื อ หุ ้น ที่เ ป็ นนัก ลงทุน สถาบัน หรื อ ผู ้ถื อ หุ ้น ต่า งชาติ ซึ่ ง ได้แ ต่ง ตั้ง คัส โตเดี ย น (Custodian) ในประเทศไทยเป็ นผู ร้ ั บ ฝากและดู แ ลหุ ้น เพื่อ ให้เ อกสารเป็ นไป 202
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
188
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
อย่า งเรี ยบร้ อยและนามาแสดงล่วงหน้าก่อนเปิ ดลงทะเบียน เพื่อให้การลงทะเบียนในวันประชุ ม เป็ นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ ว จัด ท าหนัง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ถื อ หุ ้ น และรายงานประจ าปี เป็ น 2 ภาษา ได้แ ก่ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ รวมทั้งในวันประชุมผูถ้ ือหุ ้นได้จดั เตรี ยมพนักงานที่มีความรู้ดา้ นภาษาให้การต้อนรับ และแปลข้อมู ล ระหว่างประชุ ม ให้แก่ผูถ้ ื อหุ ้นต่างชาติ (ถ้ามี ) ได้รับทราบ เข้าใจ และออกเสี ย ง ลงคะแนนได้อย่างถูกต้อง จัดให้มีบตั รลงคะแนนเสี ยงทุกระเบียบวาระ โดยเฉพาะวาระเลือกตั้งกรรมการบริ ษทั ที่จดั ให้มีบตั ร ลงคะแนนแยกการเลื อกตั้งกรรมการบริ ษทั เป็ นรายบุคคล การใช้ระบบบาร์ โค้ด (Barcode) ในการ ลงทะเบียนเข้าร่ วมประชุ ม การบันทึกและแสดงผลการนับคะแนน การจัดให้มีที่ปรึ กษากฎหมาย อิสระจากภายนอก และเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้นเป็ นสักขีพยานในการตรวจสอบการนับคะแนนและ ประกาศผลการลงมติในแต่ละวาระ การให้สิทธิ ผถู้ ือหุ ้นมีสิทธิ ออกเสี ยงเท่าเทียมกัน โดย 1 หุ ้น มี 1 เสี ยง (คาอธิบายเพิ่มเติม และการดาเนิ นงานในด้านดังกล่าวเมื่อปี 2561 ของบริ ษทั สามารถดูขอ้ มูล ได้ในข้อ 1 สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ) สรุ ปผลการลงคะแนนเสี ยงของผู้ถือหุ้นในแต่ ละวาระ ของการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2561 เมือ่ วันพุธที่ 25 เมษายน 2561 วาระที่
เห็นด้วย เสียง
ไม่ เห็นด้วย ร้ อยละ
เสียง
บัตรเสีย
งดออกเสียง ร้ อยละ
เสียง
ร้ อยละ
เสียง
ร้ อยละ 800
-
-
800
-
-
800
-
0.2027
800
-
0.0000
800
-
-
4,040
-
0
-
4,040
-
0.0000
0
-
4,040
-
0
0.0000
6,000
-
4,040
-
100.0000
0
0.0000
6,000
-
4,040
-
621,756,561
99.9997
0
0.0000
2,000
800
-
10
621,756,561
100.0000
0
0.0000
2,000
800
-
11
621,756,561
99.9997
0
0.0000
2,000
800
-
1
621,722,172
100.0000
0
0.0000
0
3
621,758,529
100.0000
0
0.0000
0
4
620,498,529
99.7973
1,260,000
0.2027
0
5
620,498,529
99.7973
0
0.0000
1,260,000
6
621,758,559
100.0000
0
0.0000
0
7.1
621,350,319
100.0000
0
0.0000
0
7.2
588,866,319
100.0000
0
0.0000
7.3
588,866,319
100.0000
0
8.1
621,749,320
100.0000
8.2
621,749,320
9
0.0000
0.0003
0.0003
หมายเหตุ : วาระที่ 2 เป็ นวาระเพื่อทราบ จึงไม่มีการลงคะแนนเสี ยง 189
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
203
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3) บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสี ย กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ตระหนัก และให้ค วามส าคัญ ต่อ สิ ท ธิ ข องผูม้ ี ส่ วนได้เสี ย ทุ ก กลุ่ ม ที่ เ กี่ ย วข้องกับ กลุ่มบริ ษทั ฯ ทั้งผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายใน ได้แก่ ผูถ้ ือหุน้ พนักงาน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คู่คา้ คู่แข่ งทางการค้า เจ้าหนี้ ชุ มชนใกล้เคี ย งและสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนหน่ วยงานราชการและองค์ก รต่า ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ จะปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ย ดังกล่าวได้รับการดูแลเป็ นอย่างดี คณะกรรมการบริ ษทั จึงมีนโยบาย ดังนี้ ผูถ้ ือหุน้
พนักงาน
ลูกค้า
คู่คา้ และคูส่ ัญญา
คู่แข่งทางการค้า
เจ้าหนี้
204
มุ่งเน้นการปฏิ บตั ิหน้าที่ ด้วยความซื่ อสัตย์ และโปร่ ง ใสในการเปิ ดเผยข้อมูล ที่สาคัญ ทั้งข้อมูลทางการเงิ น และข้อมูลอื่ นที่เกี่ ยวข้องต่อผูถ้ ื อหุ ้นอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและ ทันเวลา รวมทั้งการปฏิ บตั ิต่อผูถ้ ื อหุ ้นทุกรายอย่างเท่าเที ยมกันและเป็ นธรรม คานึ งถึ ง สิ ท ธิ ข้ ัน พื้ น ฐานของผู้ถื อ หุ ้ น อาทิ สิ ท ธิ ใ นการเข้า ประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้ น และออกเสี ย ง ลงคะแนน และสิ ทธิตามที่กฎหมายหรื อข้อบังคับบริ ษทั กาหนด เป็ นต้น ปฏิ บ ัติ ต่ อ พนัก งานทุ ก คนอย่า งเป็ นธรรม โดยมี ก ารให้ค่ า ตอบแทนและสวัส ดิ ก าร ที่ เ หมาะสม ก าหนดนโยบายการดู แ ลความปลอดภั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการทางาน รวมทั้งสนับสนุ นการพัฒนาความรู้และศักยภาพของพนักงานให้พร้อม สาหรับการปฏิบตั ิงานและพัฒนาองค์กร ให้ ค วามส าคัญ ในการผลิ ต และจัด จ าหน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ แ ละการบริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพ ได้มาตรฐาน ปลอดภัย และมีราคาที่เหมาะสม ภายใต้เงื่อนไขที่เป็ นธรรม รวมทั้งรักษา ความลับของลูกค้า โดยไม่นาไปเปิ ดเผย หรื อใช้ประโยชน์ในทางมิชอบ ตลอดจนการจัด ช่องทางการติดต่อสาหรับลูกค้า เพื่อแนะนาติชม หรื อแจ้งข้อร้องเรี ยน ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขทางธุ รกิจต่อคู่คา้ ที่ได้ตกลงกันไว้อย่างเป็ นธรรม และมีจรรยาบรรณ ที่ ดีในการดาเนิ นธุ รกิ จ ตลอดจนปฏิ บตั ิ ตามข้อก าหนดของกฎหมายและกฎระเบี ย บ ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ ง รวมทั้ง การดู แ ลคู่ สั ญ ญาในเรื่ อ งสภาพแวดล้อ มความปลอดภัย ในการทางาน และผลตอบแทนที่เหมาะสม ส่ ง เสริ มนโยบายการแข่ งขันทางการค้า อย่างเสรี และเป็ นธรรม โดยจะปฏิ บตั ิ ภ ายใต้ กรอบกติ ก าการแข่ ง ขัน ที่ ดี ไม่ แ สวงหาข้อ มู ล ที่ เ ป็ นความลับ ของคู่ แ ข่ ง ทางการค้า ด้วยวิธีการที่ ไม่สุจริ ตหรื อไม่เหมาะสม และไม่พยายามทาลายชื่ อเสี ยงของคู่แข่งทาง การค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้ายโดยปราศจากความจริ งและไม่เป็ นธรรม ปฏิ บตั ิต่อเจ้าหนี้ ตามสัญญา ข้อตกลง หรื อเงื่อนไขต่าง ๆ อย่างเคร่ งครัด และปฏิบตั ิต่อ เจ้าหนี้ทุกรายด้วยความเสมอภาคและเป็ นธรรม และดาเนินการให้เจ้าหนี้มนั่ ใจในฐานะ ทางการเงิน และความสามารถในการชาระหนี้ รวมทั้งการให้ขอ้ มูลทางการเงินที่ถูกต้อง ครบถ้วน และสม่าเสมอ
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
190
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ชุมชน สังคม และสิ่ งแวดล้อม
ให้ความสาคัญและรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ กับชุ มชน ที่กลุ่มบริ ษทั ฯ ดาเนินธุ รกิจอยู่ รวมทั้งปฏิบตั ิตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ เกี่ ย วกับ สิ่ ง แวดล้อ มอย่า งเคร่ ง ครั ด และวางแนวทางในการควบคุ ม ผลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการให้ความรู้และฝึ กอบรมพนักงานด้านสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนดาเนินธุรกิจด้วยความใส่ ใจและคานึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้อม และสนับสนุ นให้พนักงานมี ส่วนร่ วมในการท ากิ จกรรมกับชุ มชนและ กิจกรรมรักษาสิ่ งแวดล้อม
หน่วยงานราชการ และองค์กรต่าง ๆ
ให้ค วามร่ ว มมื อหน่ วยงานราชการและองค์ก รต่ า ง ๆ ในด้า นวิช าการหรื อกิ จกรรม ที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม หรื อกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และกาหนดนโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อให้ดาเนินการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
โดยในปี 2560 เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิแก่กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน ในการ ปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ ายอย่างถูกต้อง โปร่ งใส เป็ นธรรม และเท่าเทียม ตลอดจนการปฏิบตั ิให้เห็นผล อย่างเป็ นรู ปธรรม กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้จดั ทาจรรยาบรรณต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย โดยได้บรรจุในคู่มือ CG และได้ ทบทวนนโยบายดังกล่าวในปี 2561 รวมทั้งได้เผยแพร่ ขอ้ มูลผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั และประกาศให้ บุ ค ลากรในองค์ก รรั บ ทราบและถื อ ปฏิ บ ตั ิ ต ามโดยทัว่ กัน นอกจากนั้น บริ ษทั ยังได้จดั ทารายงานแห่ ง ความยัง่ ยืนตั้งแต่ปี 2558 - ปัจจุบนั โดยสามารถดูขอ้ มูลรายงานแห่งความยัง่ ยืนได้ในส่ วนนักลงทุนสัมพันธ์ ของเว็บไซต์บริ ษทั ส าหรั บ การจัดท ารายงานประจาปี และแบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) ประจาปี 2561 บริ ษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูลที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยดังนี้ 1. นโยบายและแนวปฏิบตั ิการส่ งเสริ มสุ ขภาพและความปลอดภัยของพนักงานและผูม้ ีส่วนได้เสี ย โดยมีขอ้ มูลนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่ งแวดล้อม แนวทางปฏิบตั ิเรื่ องการดูแล ความปลอดภัยและอาชี วอนามัยให้แก่พนักงาน วิธีดูแลและมาตรการป้ องกันกรณี เกิดการเจ็บป่ วย หรื ออุบตั ิเหตุ และกิจกรรมด้านความปลอดภัยประจาปี 2561 (รายละเอียดปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ ในส่ วนที่ 8. บุคลากร) 2. การพัฒนาบุคลากร โดยมีขอ้ มูลนโยบายการพัฒนาบุคลากร แนวปฏิบตั ิในการพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ อาทิ การอบรมเพื่อเสริ มสร้างความรู ้ การร่ วมมือกับองค์กรภายนอกเพื่อพัฒนาพนักงาน การให้ทุน ศึกษาต่อ แนวทางการพัฒนาองค์กร หลักสู ตรการอบรม จานวนผูอ้ บรมและชัว่ โมงการอบรม ของพนักงานกลุ่มบริ ษทั ฯ ปี 2561 ตัวอย่างหลักสู ตรการอบรมทั้งภายในองค์กร และภายนอก องค์กร และกิ จกรรมพัฒนาบุคลากร ในปี 2561 และแผนพัฒนาบุคลากร ปี 2562 รายละเอียด ปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ ในส่ วนที่ 8.บุคลากร และนโยบายการพัฒนา 191
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
205
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
บุคลากร ปรากฏในส่ วนที่ 1 ข้อ 1. นโยบาย ภาพรวม และเป้ าหมายการประกอบธุ รกิจ ในส่ วน เป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจอย่างยัง่ ยืน) 3. ด้านสิ ทธิมนุษยนและแรงงาน โดยมี ข ้อ มู ล นโยบายและแนวปฏิ บ ัติ ใ นการเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและด้า นแรงงาน และรายละเอี ย ดกิ จ กรรมที ่ก ลุ ่ม บริ ษ ทั ฯ ได้ด าเนิ น การอย่า งจริ ง จัง และต่อ เนื ่ อ งคื อ การต่อต้า นการใช้แรงงานเด็กในไร่ ออ้ ย ร่ วมกับหน่วยงานภาครัฐจังหวัดบุรีรัมย์ และสมาคม ชาวไร่ ออ้ ยจังหวัดบุรีรัมย์ (รายละเอียดปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ ในส่ วนที่ 8.บุคลากร) 4. นโยบายและแนวปฏิ บตั ิเกี่ ยวกับการไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาและลิ ขสิ ทธิ์ (รายละเอียด ปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 9. การกากับดูแลกิ จการ เรื่ องนโยบายและแนวปฏิบตั ิเกี่ ยวกับการไม่ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา) 5. การอบรมบุ ค ลากรในองค์ก ร ด้านนโยบายและแนวปฏิ บ ตั ิ ในการต่ อต้า นทุจริ ตคอร์ รัป ชัน (รายละเอียดปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 9. การกากับดูแลกิจการ เรื่ องนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชัน) 6. นโยบายด้านสิ่ งแวดล้อม และการฝึ กอบรมพนักงานด้านสิ่ งแวดล้อม สามารถดูรายละเอียดได้ ในหัวข้อส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ ในส่ วนที่ 8.บุคลากร และการปฏิบตั ิและดูแล เอาใจใส่ สิ่งแวดล้อม สามารถดูขอ้ มูลได้ในรายงานแห่งความยัง่ ยืน ปี 2561 ซึ่ งปรากฏข้อมูลใน เว็บไซต์บริ ษทั 7. บริ ษทั ได้ระบุช่องทางที่ผมู้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถเสนอแนะและร้ องเรี ยนเรื่ องที่อาจเป็ น ปัญหาให้กบั ประธานกรรมการธรรมาภิบาล (ซึ่ งเป็ นกรรมการอิสระ) ได้โดยตรง หรื อส่ งให้แก่ สานักตรวจสอบภายใน พร้อมด้วยรายละเอียดในการติดต่อ ซึ่ งข้อมูลปราฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 9. การกากับดูแลกิจการ และในส่ วนที่ 1 ข้อ 6. ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสาคัญอื่น ทั้งนี้ ในปี 2561 ไม่ ป รากฏข้อ ร้ อ งเรี ยนหรื อข้อ เสนอแนะใด ๆ จากผู ้มี ส่ ว นได้ เ สี ย โดยได้ร ายงานให้ คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบแล้ว 8. บริ ษทั ได้เปิ ดเผยกระบวนการในการจัดการเรื่ องที่ มีก ารร้ องเรี ย นว่า อาจเป็ นการกระทาผิด ซึ่งข้อมูลปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 9. การกากับดูแลกิจการ สาหรับจรรยาบรรณต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย มีรายละเอียดดังนี้ จรรยาบรรณต่ อผู้มีส่วนได้ เสี ย 3.1 การปฏิบัติด้านความรับผิดชอบต่ อสั งคม ตามนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: “CSR”) ของกลุ่ม บริ ษ ทั ฯ ซึ่ ง มุ่ ง มัน่ ที่ จ ะสร้ า งให้ธุ ร กิ จ เติ บ โตอย่า งยัง่ ยืน ควบคู ่ก ับ การพัฒ นาสภาพชี วิต ความเป็ นอยู่ 206
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
192
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ของเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยและชุ มชนข้างเคียงให้ดีข้ ึน โดยได้เปิ ดเผยรายละเอียดการดาเนินงานดังกล่าวใน ส่ วนที่ 2 ข้อ 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม ในรายงานประจาปี เล่มนี้ และแบบ 56-1 ปี 2561 พันธกิจ กลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ เล็งเห็ นถึ ง ความส าคัญของการดาเนิ นธุ ร กิ จให้เจริ ญเติบโตควบคู่ กบั ชุ ม ชนและ สั ง คมอย่า งยัง่ ยืน โดยมี ก ระบวนการบริ ห ารจัด การด้า นวัต ถุ ดิ บ และส่ ง เสริ ม ความเป็ นเลิ ศ ด้า น วิชาการในกระบวนการปลูกอ้อย อันจะนามาซึ่ งความมัน่ คงด้านผลผลิตอ้อย และสร้ างชี วิตที่ดีแก่ชาวไร่ เพื่อนามาผลิตน้ าตาลและพลังงานทดแทนที่ได้มาตรฐาน ทั้งด้านคุณภาพ ความปลอดภัย และเป็ นมิตรกับ สิ่ งแวดล้อม ซึ่ งเป็ นไปตามกฎหมาย และข้อกาหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งการนาผลพลอยได้มาจัดการให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด เพื่อให้บรรลุนโยบายดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ฯ จะดาเนินการ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
สร้างกระบวนการทาความเข้าใจกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยอย่างเท่าทัน ร่ วมสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูม้ ีส่วนได้เสี ยขององค์กร สนับสนุนส่ งเสริ มวัฒนธรรมประเพณี อนั ดีงามร่ วมกับชุมชน ส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านการศึกษา พัฒนาและส่ งเสริ มการจัดการด้านสิ่ งแวดล้อมที่ไม่ส่งผลกระทบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย จัดการเผยแพร่ ข่าวสารต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยอย่างต่อเนื่อง เฝ้ าระวังและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิ ทธิและการใช้แรงงานเด็ก
3.2 นโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น กลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ มี ค วามมุ่ง มัน่ ในการดาเนิ นธุ รกิ จตาม CG Code 2560 ด้วยความซื่ อสัตย์สุ จริ ต โปร่ งใส และเป็ นธรรม เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ดีแก่ผถู้ ือหุ ้นหรื อเจ้าของกิจการทุกราย อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน ทั้งนี้ จึงได้กาหนดนโยบายการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้น เพื่อให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ถือปฏิบตั ิ สื บไป 1. ปฏิบตั ิหน้าที่และประกอบธุ รกิจด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต ตัดสิ นใจดาเนิ นการใด ๆ ด้วยความสุ จริ ตใจ และเป็ นธรรม ต่อผูถ้ ือหุ น้ ทั้งรายใหญ่และรายย่อย โดยคานึงถึงประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้นทุกราย เป็ นสาคัญ 2. ตัดสิ นใจดาเนิ นการใด ๆ บนพื้นฐานข้อมูลที่เพียงพอ ถูกต้อง ไม่มีส่วนได้เสี ยทั้งทางตรง และทางอ้อม กระทาด้วยความสุ จริ ตใจ และไม่ดาเนิ นการในลักษณะใด ๆ ที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมทั้งดาเนินการภายใต้ขอบเขตอานาจหน้าที่ เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของกลุ่มบริ ษทั ฯ 3. บริ หารกิจการให้เจริ ญก้าวหน้าอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน โดยยึดถือหลักการธรรมาภิบาล
193 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
207
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
4. ทาหน้าที่ดว้ ยความสามารถและความระมัดระวังเยี่ยงผูท้ ี่มีความรู้ประสบการณ์ และความชานาญ พึงกระทา 5. จัดการดูแลไม่ให้ทรัพย์สินใด ๆ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ สู ญค่าหรื อสู ญเสี ยไปโดยเปล่าประโยชน์ รวมทั้งสู ญหายโดยมิชอบ ตลอดจนดาเนินการให้มีระบบควบคุมภายใน และการจัดการความเสี่ ยง ที่มีประสิ ทธิภาพ 6. แจ้ง และรายงานข้อ มูล ข่า วสาร สารสนเทศ และผลการดาเนิ น งานตามความเป็ นจริ ง อย่า งสม่าเสมอ ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา และทันต่อสถานการณ์ รวมทั้งรายงานแนวโน้ม ทั้งด้านบวก และด้านลบของกลุ่มบริ ษทั ฯ บนพื้นฐานของความสมเหตุสมผล และความน่าเชื่ อถือ และมีขอ้ มูลสนับสนุนเพียงพอ โดยแจ้งให้แก่ผถู้ ือหุน้ ทุกรายทราบโดยเท่าเทียมกัน 7. ไม่เปิ ดเผยสารสนเทศที่ เป็ นความลับ ของกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ ต่อผูอ้ ื่ นโดยมิช อบ โดยเฉพาะต่อ คู่แข่งขันทางการค้า 8. จัดหาข้อมูลและคาอธิบายข้อมูลที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ิหน้าที่ของผูส้ อบบัญชี 9. ไม่ใช้หรื อเปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศภายในที่มีผลต่อการเปลี่ ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ ซึ่งยังมิได้เปิ ดเผยผูล้ งทุนทัว่ ไป เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรื อบุคคลอื่น 10. อานวยความสะดวก และปฏิบตั ิต่อผูถ้ ื อหุ ้นซึ่ งมาติดต่อกับกลุ่มบริ ษทั ฯ ด้วยความเสมอภาค โดยไม่ชกั ช้า อย่างเต็มใจ และเต็มความสามารถ 11. เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ ทุกรายมีส่วนร่ วมในการดูแลบริ หารกิจการ ตลอดจนให้ความเห็นและ ข้อเสนอแนะต่อการดาเนิ นกิจการอย่างเท่าเทียม 12. จัดให้มีช่ องทางที่ หลากหลายและสะดวกสาหรั บผูถ้ ื อหุ ้น ในการรับ ทราบข้อมูล ข่า วสาร และการเสนอความคิ ด เห็ น และข้อ เสนอแนะต่ อ การบริ ห ารกิ จ การ การน าเสนอวาระ การประชุมผูถ้ ือหุน้ และการเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับเลือกเป็ นกรรมการบริ ษทั 13. จัดให้มีช่องทางสาหรับการแจ้งเบาะแสการกระทาทุจริ ต การคอร์ รัปชัน และข้อร้องเรี ยนต่าง ๆ ส าหรั บ ผูถ้ ื อ หุ ้น และบุ ค คลทั้ง ภายในและภายนอกองค์ก ร รวมทั้ง กระบวนการรั บ เรื่ อ ง การตอบกลับผูร้ ้องเรี ยน การคุม้ ครองผูร้ ้องเรี ยน และแจ้งผลการสอบสวนและการดาเนินการ แก่ผรู้ ้องเรี ยนอย่างมีระบบและยุติธรรม ในปี 2561 บริ ษทั เคารพต่อสิ ทธิข้นั พื้นฐานของผูถ้ ือหุ ้นตามที่กาหนดไว้โดยกฎหมาย ข้อบังคับและ จรรยาบรรณของบริ ษทั โดยปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน บริ ษทั มีกลไกที่ทาให้ผถู้ ือหุ ้นมีความเชื่อมัน่ ว่าจะได้รับข้อมูลที่ ถูกต้อง และผลตอบแทนที่เหมาะสมและเป็ นธรรม ตามนโยบายการจ่า ยเงิ นปั นผล ของบริ ษทั มีการควบคุมการทารายการระหว่างกัน มีมาตรการป้ องกันการขัดแย้งทางผลประโยชน์ ป้ องกัน การใช้ขอ้ มูลภายในเกี่ ยวกับข่าวสารที่เป็ นความลับ และห้ามกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และผูป้ ฏิบตั ิงานที่ 208
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
194
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
รับทราบข้อมูลภายในนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน เพื่อการซื้ อขายหลักทรัพย์ ของบริ ษ ทั ในช่ ว ง 1 เดื อ นก่ อ นเผยแพร่ ง บการเงิ น แก่ส าธารณชน นอกจากนี้ บริ ษ ทั ยัง ได้ร ายงานผล การดาเนินงานของกิจการเป็ นประจาทุกไตรมาส และเปิ ดเผยการทารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงในเงื่อนไข ที่เสมือนทากับบุคคลภายนอกให้รับทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ ของบริ ษทั อีกด้วย 3.3 นโยบายปฏิบัติต่อพนักงาน กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ถื อ ว่า พนัก งานเป็ นปั จ จัย ส าคัญ ประการหนึ่ งที่ จ ะน าองค์ก รไปสู่ ค วามส าเร็ จ จึง มุ่ง มัน่ ในการพัฒนา เสริ ม สร้ า งวัฒนธรรม และบรรยากาศการทางานที่ดี รวมทั้ง ส่ ง เสริ ม การทางาน เป็ นที ม เพื่อสร้ างความมัน่ ใจให้พนักงานทุ กคน โดยปราศจากการเลื อกปฏิ บตั ิ ที่ไม่ เป็ นธรรมและเคารพใน ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ รวมถึงการจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับการทางาน มีสวัสดิการที่ดีให้กบั พนักงาน และสนับสนุ นส่ งเสริ มการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาปรับใช้ในการทางาน โดยมีรายละเอี ยด ดังนี้ 1. กลุ่มบริ ษทั ฯ มีมาตรการคุม้ ครองพนักงานที่ให้ขอ้ มูลแก่ทางการกรณี พบผูก้ ระทาผิดกฎหมาย หรื อผิ ด พระราชบัญ ญัติ ห ลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ซึ่ งจะได้ รั บ ความคุ ้ม ครอง เพื่อป้ องกันการถูกปฏิบตั ิโดยไม่เป็ นธรรม ไม่วา่ จะเป็ นการเปลี่ยนตาแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ทางาน สั่งพักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบตั ิงาน เลิกจ้าง (มาตรา 89/2) อันเนื่องมาจาก สาเหตุแห่งการแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทาผิดกฎหมายหรื อการผิดจรรยาบรรณ 2. กลุ่มบริ ษทั ฯ จะปฏิบตั ิต่อพนักงานทุกคนโดยเสมอภาคกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ ไม่แบ่งแยกถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ เพศ อายุ สี ผวิ ศาสนา และการศึกษา 3. กลุ่ม บริ ษ ทั ฯ ตระหนัก ว่า พนัก งานเป็ นปั จ จัย สาคัญ ในการสร้ า งผลิ ต ภัณ ฑ์คุ ณ ภาพแก่ กลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ จึ ง ให้ค วามสาคัญ ในการปฏิ บ ตั ิ ต่อ พนัก งานอย่า งเป็ นธรรม โดยยึด หลัก ความเท่าเทียมและเสมอภาค ทั้งในเรื่ องการจ้างงาน ผลตอบแทน การแต่งตั้ง โยกย้ายและ การพัฒนาศักยภาพควบคู่กบั การพัฒนาคุณธรรม เพื่อให้พนักงานเป็ นผูม้ ีความสามารถและ เป็ นคนดีของสังคม กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้กาหนดหลักการปฏิบตั ิต่อพนักงานดังนี้ 3.1 ปฏิบตั ิตามกฎหมายแรงงาน และข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่ งครัด 3.2 ปฏิ บ ัติ ต่อ พนัก งานด้ว ยความสุ ภ าพ ให้ค วามเคารพต่ อ ความเป็ นปั จ เจกชนและ ศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ตามหลักสิ ทธิมนุษยชนสากล 3.3 คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร สนับสนุ นและส่ งเสริ มให้บุคลากรทุกคนแสดง ความสามารถอย่างเต็มที่ โดยจัดผลตอบแทนที่เหมาะสม และสร้ างแรงกระตุน้ ใน การทางาน ทั้งในรู ปเงิ นเดื อน โบนัส และสวัสดิ การที่เหมาะสมตามระเบียบของ
195 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
209
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.4 3.5
3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 3.11
3.12 3.13
3.14
3.15 3.16
210
กลุ่มบริ ษทั ฯ อีกทั้งให้โอกาสบุคลากรได้มีโอกาสศึกษาเพิ่มเติมและการอบรมพัฒนา อย่างต่อเนื่อง จัด เงื่ อ นไขการจ้า งงานที่ เ ป็ นธรรมส าหรั บ พนั ก งานและให้ พ นั ก งานได้ รั บ ค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักยภาพ การแต่งตั้งและโยกย้าย รวมถึงการให้รางวัลและการลงโทษพนักงาน ต้องกระทา ด้วยความเสมอภาค สุ จริ ต และตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของความรู ้ ความสามารถ และความเหมาะสม รวมทั้งการกระทาหรื อการปฏิบตั ิของพนักงานนั้น ๆ ดูแลรั ก ษาสภาพแวดล้อม และจัดระบบการทางานให้พ นัก งานมี ความปลอดภัย ในชีวติ และทรัพย์สิน รวมถึงมีสุขอนามัยที่ดี ให้ความสาคัญกับการพัฒนาพนักงานเพื่อฝึ กทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพ โดยเปิ ด โอกาสให้พนักงานมีการเรี ยนรู้อย่างทัว่ ถึงและสม่าเสมอ กลุ่มบริ ษทั ฯ จัดให้มีกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับพนักงาน ให้ ข ้อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกับ การด าเนิ น งานและสถานภาพของกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ให้ พนักงานรับทราบอย่างสม่าเสมอ สร้างจิตสานึกที่ดีให้พนักงานรู้จกั การเป็ นผูใ้ ห้ และเป็ นพลเมืองดีของสังคม จัดให้มีช่องทางให้พนักงานสามารถร้องเรี ยน ในกรณี ไม่ได้รับความเป็ นธรรม หรื อ แจ้งเบาะแสเกี่ยวกับเรื่ องที่อาจเป็ นการกระทาผิดกฎหมาย และมีกระบวนการแก้ไข รวมถึงมาตรการคุม้ ครองพนักงานผูร้ ้องเรี ยนที่เป็ นระบบและยุติธรรม กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ และตัว แทนองค์ ก รต้อ งสนับ สนุ น การใช้สิ ท ธิ ท างการเมื อ งของ พนักงานด้วยความเป็ นกลาง ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของพนักงานในการเสนอแนะและแนวทางในการปฏิบตั ิงาน และ/หรื อข้อตกลงต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ าย และสร้างความสัมพันธ์อนั ดี ในการทางานร่ วมกัน ภายใต้วฒั นธรรมองค์กรที่ดีร่วมกัน ตลอดจนมีความสามัคคี ภายในองค์กร ส่ งเสริ มให้พนักงานเข้าร่ วมกิ จกรรมทั้งภายในและภายนอกซึ่ งเป็ นประโยชน์ต่อ องค์กร และสังคมเพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมและความผูกพันต่อองค์กร ตามความเหมาะสม และดุลพินิจของผูบ้ งั คับบัญชา การเปิ ดโอกาสรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ซึ่ งตั้งอยูบ่ นพื้นฐานวิชาชีพของ พนักงานทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค มีช่องทางให้พนักงานสามารถแจ้งเรื่ องที่ส่อไปในทางผิดระเบียบและกฎหมายได้ โดยมีมาตรการป้ องกันพนักงานผูท้ ี่แจ้ง
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
196
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจากนั้น การบริ หารงานทรัพยากรบุคคลถือเป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญยิ่งต่อความสาเร็ จทางธุ รกิจ และการเจริ ญเติ บ โตอย่า งยัง่ ยืน เพื่อการกาหนดทิศทางในการพัฒนาและบริ หารบุ คลากรขององค์ก ร อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ระดับนโยบายไปสู่ ระดับปฏิบตั ิการ ในปี 2561 กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้ดาเนินงานด้านต่าง ๆ ตามที่เปิ ดเผยในส่ วนที่ 2 ข้อ 8.โครงสร้างการจัดการ ในส่ วนที่ 8.บุคคลากร 3.4 นโยบายการปฏิบัติต่อลูกค้ า 1. ปฏิบตั ิตามสัญญา ข้อตกลง หรื อเงื่อนไขต่าง ๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่ งครัด กรณี ที่ไม่สามารถ ปฏิ บตั ิได้ตอ้ งรี บเจรจากับลูกค้าเป็ นการล่วงหน้า เพื่อร่ วมกันหาแนวทางแก้ไขและป้ องกัน ไม่ให้เกิดความเสี ยหาย 2. สนองความพึงพอใจ และความต้องการของลูกค้า โดยมุ่งมัน่ ที่จะผลิตสิ นค้าและบริ การที่มี คุณภาพดีเลิศและได้มาตรฐานมีความปลอดภัยในราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ตรงกับความต้องการ ของลูกค้า รวมทั้งยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและจริ งจัง 3. ให้ความคุม้ ครองด้านสุ ขภาพและความปลอดภัยของลูกค้าหรื อผูบ้ ริ โภค รวมถึงให้การดูแล กลุ่มผูท้ ี่ตอ้ งได้รับการดูแลเป็ นพิเศษ โดยการผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย 4. สนับสนุนการบริ โภคอย่างยัง่ ยืน ด้วยการผลิตผลิตภัณฑ์และการบริ การที่เป็ นประโยชน์และ ลดผลกระทบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม เช่น การใช้วสั ดุที่เป็ นมิตรกับธรรมชาติ ย่อยสลายง่าย เป็ นต้น 5. ดาเนิ น การด้า นการตลาดที่เ ป็ นธรรม เปิ ดเผยข้อ มูล ข่า วสารเกี่ ย วกับ สิ น ค้า และบริ ก าร อย่า งครบถ้วน ถู ก ต้อง ทันเหตุ ก ารณ์ และไม่ บิ ดเบื อนข้อเท็จจริ ง รวมถึ ง การปฏิ บ ตั ิ ท าง สัญญาที่เป็ นธรรมแก่ลูกค้า เช่ น ไม่เข้าร่ วมในการกระทาใด ๆ ที่เป็ นการหลอกลวง ทาให้ เข้าใจผิด หรื อไม่เป็ นธรรม รวมถึงปกปิ ดข้อมูลที่จาเป็ น 6. ตั้ง มัน่ ในความซื่ อสั ตย์ สุ จริ ต และเที่ ย งธรรมต่อลู ก ค้า รวมถึ ง ไม่เรี ย ก ไม่รับ หรื อไม่ใ ห้ ผลประโยชน์ใด ๆ ที่ทุจริ ตกับลูกค้า 7. จัดระบบการป้ องกันก่ อนการเกิ ดข้อร้ องเรี ย นของลูกค้าหรื อผูบ้ ริ โภค รวมถึ งการกาหนด ระบบการสื่ อสาร เพื่อรับฟั งความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ที่ลูกค้าร้องเรี ยนความไม่พอใจและ ดาเนิ นการตอบสนองความต้องการของลูกค้า แก้ไขปั ญหาอย่างดีที่สุดตามมาตรฐานสากล เพื่อให้ลูกค้าได้รับการตอบสนองอย่างรวดเร็ วที่สุด พร้อมทั้งชี้แจงข้อมูลที่ถูกต้องแก่ลูกค้า 8. กระบวนการเรี ยกคืนสิ นค้าหากพบความผิดปกติเกี่ยวกับคุณภาพสิ นค้า 9. ให้ค วามส าคัญในการปกป้ อง และรัก ษาข้อมูล ความลับ และความเป็ นส่ วนตัวของลู ก ค้า หรื อผูบ้ ริ โภคอย่างจริ งจังและสม่าเสมอ และไม่นาข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่อผลประโยชน์ของ ตนเองและผูเ้ กี่ยวข้อง 197 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
211
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
10. แสวงหาลู่ ทางอย่างไม่หยุดยั้งที่จะเพิ่มประโยชน์ให้แก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่ อง เช่น การพัฒนา คุณภาพสิ นค้าให้ดีข้ ึนอย่างต่อเนื่อง ในปี 2561 ไม่ปรากฏข้อร้องเรี ยนจากลูกค้าที่เป็ นนัยสาคัญ ส่ วนข้อร้องเรี ยนอื่น ๆ บริ ษทั ได้นามา วิเคราะห์หาสาเหตุ เพื่อดาเนิ นการแก้ไข ป้ องกัน ติดตาม และปรับใช้กบั ทั้งองค์กร เพื่อมิให้ขอ้ บกพร่ องนั้น เกิดขึ้นอีก รวมทั้งได้จดั ให้มีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าอีกด้วย ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้ การสารวจความพึงพอใจของลูกค้าปี 2560/2561 บริ ษทั ได้จดั ส่ งแบบสอบถามเพื่อประเมินผล โดยมีจานวนลูก ค้า เข้า ประเมิน 34 ราย และกาหนดหัว ข้อ ประเมิน แบ่ง เป็ น 3 หัว ข้อ 1. ผลิ ต ภัณ ฑ์ 2. การให้บริ การของฝ่ ายขายในประเทศ และ 3. การให้บริ การของฝ่ ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเกณฑ์การวัด คะแนน แบ่งเป็ น 1. พอใจมาก 2. พอใจปานกลาง และ 3. ไม่แสดงความคิดเห็น ซึ่งสรุ ปผลคะแนนดังนี้ ผลิตภัณฑ์ อยู่ในเกณฑ์ พอใจ ร้อยละ 52.94 โดยส่ วนใหญ่เป็ นคะแนนในส่ วนหัวข้อคุณภาพ สิ นค้าไม่มีสิ่งปนเปื้ อน ร้อยละ 85.30 การให้บริ การของฝ่ ายขายในประเทศ อยู่ในเกณฑ์ พอใจมาก ร้อยละ 88 โดยส่ วนใหญ่เป็ น คะแนนในส่ วนการบริ การที่ตอบสนองตรงต่อความต้องการลูกค้า ความสุ ภาพในการสื่ อสาร และความถูกต้องในส่ วนเอกสารขาย ร้อยละ 79.41 การให้บริ การของฝ่ ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อยูใ่ นเกณฑ์ พอใจมาก ร้ อยละ 50 โดยส่ วนใหญ่เป็ น คะแนนในส่ วนการให้บริ การของพนักงงานห้องชัง่ และคลังสิ นค้า ร้อยละ 52.94 3.5 นโยบายการปฏิบัติต่อคู่ค้า 1. ปฏิบตั ิต่อคู่คา้ อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่ เป็ นธรรมต่อทั้งสองฝ่ าย หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ทาให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทั้งปฏิบตั ิตามสัญญา ข้อตกลง หรื อเงื่ อนไขต่าง ๆ ที่มีต่อคู่คา้ อย่างเคร่ งครัด กรณี ไม่ สามารถปฏิบตั ิได้ ต้องรี บเจรจากับคู่คา้ ล่วงหน้า เพื่อร่ วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขและ ป้ องกันไม่ให้เกิดความเสี ยหาย 2. ดาเนิ นการอย่า งโปร่ ง ใสในการท าธุ รกิ จกับ คู่ค ้า โดยให้ขอ้ มูล ที่ เป็ นจริ ง และพิ จารณา คัดเลือกคู่คา้ ตั้งอยูบ่ นพื้นฐานความเสมอภาคและเป็ นธรรม 3. ไม่เรี ยก ไม่รับ หรื อไม่ให้ผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่สุจริ ตกับคู่คา้ รวมทั้งวางตัวเป็ นกลาง ไม่ใกล้ชิดกับคู่คา้ จนทาให้มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจ ในปี 2561 บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามข้อตกลงเงื่อนไขทางการค้าและให้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง มีการสร้าง สัมพันธภาพและความเข้าใจที่ดีต่อกัน รวมถึงแลกเปลี่ ยนความรู ้ ร่ วมกันพัฒนาสิ นค้าเพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ สิ นค้า ไม่เรี ยก รับ หรื อยินยอมที่จะรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใด ซึ่ ง อยูน่ อกเหนื อข้อตกลงทางการค้า ทาให้ใ นปี 2561 ไม่ป รากฏว่า มี ก รณี ที่บ ริ ษ ทั ไม่ป ฏิ บ ตั ิ ต ามสัญ ญาที่ มีต่อ คู่ค า้ รวมทั้ง ความร่ ว มมือ ใน การปฏิบตั ิตามนโยบายการต่อต้านคอรรัปชันของบริ ษทั 212
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
198
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.6 นโยบายการปฏิบัติต่อเจ้ าหนี้ 1. ปฏิบตั ิต่อเจ้าหนี้ อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทน ที่เป็ นธรรมต่อทั้งสองฝ่ าย รวมทั้งปฏิบตั ิตามสัญญา ข้อตกลง หรื อเงื่อนไขต่าง ๆ ที่มีต่อเจ้าหนี้ อย่างเคร่ งครัด กรณี ไม่สามารถปฏิบตั ิได้ตอ้ งรี บเจรจากับเจ้าหนี้ ล่วงหน้า เพื่อร่ วมกันพิจารณา หาแนวทางแก้ไข และป้ องกันไม่ให้เกิดความเสี ยหาย 2. ดาเนินธุรกิจเพื่อให้เจ้าหนี้มนั่ ใจในฐานะทางการเงิน และความสามารถในการชาระหนี้ที่ดี 3. รายงานข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง ครบถ้วน ถูกต้อง และสม่าเสมอ ในปี 2561 บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้ อย่างเคร่ งครัด และบริ ษทั จ่ายเงินให้กบั เจ้าหนี้ การค้าตรงตามเครดิตการค้าที่ได้ตกลงไว้ล่วงหน้าตามที่ระบุไว้ในสัญญา โดยไม่มีการผิดนัดชาระแต่อย่างใด ซึ่ งตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา บริ ษทั ไม่เคยมีขอ้ พิพาทใด ๆ ในเรื่ องที่เกี่ยวกับเจ้าหนี้ 3.7 นโยบายการปฏิบัติต่อคู่แข่ งทางการค้ า กลุ่มบริ ษทั ฯ มีการดาเนิ นธุ รกิจอย่างมีจริ ยธรรม โปร่ งใส ประพฤติปฏิบตั ิภายใต้กรอบกติกาของ การแข่งขันที่ดี ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็ นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริ ตหรื อไม่เหมาะสม โดยจะรวบรวมและค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่งจากแหล่งข้อมูลที่มีการเปิ ดเผยต่อสาธารณะ ข้อมูลที่เผยแพร่ ในระบบอิ นเทอร์ เนต หรื อการสอบถามที่ ไม่ล ะเมิ ดกฎหมาย และไม่พยายามทาลายชื่ อเสี ย งของคู่แข่ ง ทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้ายโดยปราศจากความจริ งและไม่เป็ นธรรม ในปี 2561 บริ ษทั ดาเนิ นธุ รกิจโดยปฏิบตั ิตามกรอบกติกาของการแข่งขันทางการค้าโดยสุ จริ ตและ เป็ นธรรมภายใต้กรอบของกฎหมายอย่างเคร่ งครัด ซึ่ งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริ ษทั ไม่มีขอ้ พิพาทใด ๆ ในเรื่ องที่เกี่ยวกับคู่แข่งทางการค้า 3.8 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่ งแวดล้อม กลุ่มบริ ษทั ฯ มีความห่ วงใย และตระหนักถึ งความปลอดภัยของคุ ณภาพชี วิตของพนักงานที่อาจ ได้รั บ ผลกระทบจากการดาเนิ น งาน รวมถึ ง การรั ก ษาสิ่ ง แวดล้อ ม จึ ง เห็ น ควรให้มี ก ารดาเนิ น การ ตามรายละเอียดดังนี้ 1. มุ่ง มัน่ มี ส่ ว นร่ ว มในความรั บ ผิด ชอบต่อ พนัก งานและสัง คม ในเรื่ อ งความปลอดภัย และอาชี ว อนามัย อย่างจริ งจังและต่อเนื่ อง 2. ปลูกฝังจิตสานึ กในเรื่ องความปลอดภัยและอาชี วอนามัย ให้เกิ ดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับ อย่างจริ งจังและต่อเนื่อง 3. ดาเนินการป้ องกันอุบตั ิเหตุ และควบคุมการดาเนิ นการให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 4. จัดหาหลักเกณฑ์การทางานที่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน รวมถึงความเพียงพอ และคุณภาพของเครื่ องมือเครื่ องใช้ และการดูแลบารุ งรักษาอย่างเหมาะสม 199 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
213
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
5. กาหนดให้ปฏิ บตั ิตามกฎแห่ งความปลอดภัย และสวมใส่ อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล ตามที่กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนด 6. ให้ ค วามรู ้ และฝึ กอบรมพนั ก งาน รวมทั้ง สร้ า งความตระหนั ก ให้ แก่ พ นั ก งานในเรื่ อง สิ่ งแวดล้อม 7. ดาเนินธุ รกิจด้วยความใส่ ใจและคานึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม 8. สนับสนุ นให้ พนักงานมี ส่ วนร่ วมในการท ากิ จกรรมเพื่ อรั กษาสิ่ งแวดล้อม อาทิ กิ จกรรม ด้านการลดการใช้ และนากลับมาใช้ใหม่ ในปี 2561 บริ ษทั ได้กาหนดแนวปฏิ บตั ิ ดา้ นความปลอดภัย และจัดกิ จกรรมด้านความปลอดภัย ให้กบั พนักงาน ตลอดจนเปิ ดเผยสถิ ติอุบ ตั ิเหตุ ในส่ วนที่ 2 หัวข้อ 8 โครงสร้ างการจัดการ ข้อที่ 8.3 การส่ งเสริ มสุ ขภาพและความปลอดภัย นอกจากนี้ บริ ษทั ยังส่ งเสริ มให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และการอนุ รักษ์พลังงาน ให้กบั พนักงานอย่างต่อเนื่ อง เพื่อเพิ่มความตระหนักและสร้างจิตสานึกในการใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์ สู งสุ ดในทุกกิจกรรมขององค์กร ครอบคลุมทั้งการใช้พลังงานไฟฟ้ า น้ า กระดาษ และอุปกรณ์สิ้นเปลืองอื่น ๆ เช่น การปิ ดเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ไม่จาเป็ นในช่วงพักงาน หรื อช่วงที่ไม่ได้อยูใ่ นห้องทางานเป็ นเวลานาน การใช้ กระดาษสองหน้า เป็ นต้น การกระทาดังกล่ าวแม้จะไม่ส่งผลชัดเจนในเชิ งตัวเลขค่าพลังงาน หรื อตัวเลข ค่าใช้จ่ายที่ลดลง แต่ช่วยในเรื่ องการปลูกฝังให้เป็ นนิสัยส่ วนตัวและในชีวิตประจาวันต่อครอบครัวและสังคม บริ ษ ทั มี ก ารปลู ก ฝั ง จิต สานึ ก ความรับ ผิด ชอบต่อ ชุ ม ชนและสัง คมโดยส่ ว นรวมอย่า งต่อ เนื่ อ ง และกากับดูแลไม่ให้สร้างปั ญหาแก่สิ่งแวดล้อม ตามที่บริ ษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูลในหัวข้อ 10. ความรับผิดชอบต่อ สังคม และรายงานความยัง่ ยืนประจาปี 2561 3.9 ความรับผิดชอบต่ อชุ มชนและสั งคม การดาเนิ นงานด้านความรั บผิดชอบต่อสังคมของกลุ่มบริ ษทั น้ าตาลบุ รีรัมย์ เริ่ มต้นจากภายใน องค์กรและขยายออกสู่ ชุมชนใกล้เคียง ตลอดจนสังคมในระดับประเทศ โดยมีกลยุทธ์หลักในการดาเนินงาน 4 ประการ ได้แก่ 1. สร้างสานึ กจิตสาธารณะในพนักงาน และกระตุน้ ให้เกิ ดการมีส่วนร่ วมในโครงการจิตอาสา ต่าง ๆ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ 2. เน้นการทากิจกรรมหรื อโครงการ CSR กับชุมชนในเชิงลึก 3. ทาโครงการ CSR ร่ วมกับสถาบันเอกชนหรื อหน่วยงานราชการ องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร และชุมชนรอบ ๆ บริ เวณกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่เป็ นผูน้ าทางด้านความคิดทางสังคม 4. นาผลพลอยได้ที่เหลื อจากกระบวนการผลิ ตน้ าตาลทราย ไปทาโครงการด้าน CSR ให้เป็ น ประโยชน์ท้งั ต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ และสังคม
214
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
200
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในปี 2557-ปั จจุบนั กลุ่มบริ ษทั ฯ มีเจตนารมณ์ในการมีส่วนร่ วมพัฒนาสังคมให้ยงั่ ยืน เพื่อสร้าง ความเชื่ อมัน่ การยอมรับ และความไว้วางใจจากชุ มชนและสังคม ต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ชุ มชนและ สังคม บนพื้นฐานแนวคิดนโยบายของกลุ่มบริ ษทั ฯ ยึดหลักแนวปฏิบตั ิ “การพัฒนาธุ รกิจควบคู่กบั การรักษา สิ่ งแวดล้อม และสร้างความเจริ ญให้กบั ชุมชนอย่างยัง่ ยืน” มุ่งมัน่ ที่จะสร้างให้ธุรกิจมีการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ควบคู่กบั การพัฒนาสภาพชี วิตความเป็ นอยู่ของเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยและชุ มชนข้างเคียงให้ดีข้ ึน จึงได้ร่วม จัดทาโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ร่ วมกับหน่วยงานภายนอกทั้งเอกชนและหน่วยงานของรัฐที่เป็ นผูน้ าด้าน ความคิ ด ซึ่ งเป็ นโครงการและกิ จกรรมที่ ก่ อให้เกิ ดประโยชน์ต่อชุ มชน หน่ วยงานเอกชน หน่ วยงานรั ฐ รวมถึงกลุ่มบริ ษทั ฯ เอง ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยได้รับความร่ วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ เป็ นอย่างดี 4) การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ให้ ค วามส าคัญ กับ ข้อ มู ล ข่ า วสารที่ ต้อ งแจ้ง แก่ ต ลาดหลัก ทรั พ ย์ฯ ส านั ก งาน คณะกรรมการก ากับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ (“ส านัก งานก.ล.ต.”) ผู้ถื อ หุ ้น และหน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ฯ มีนโยบายเปิ ดเผยข้อมูลที่สาคัญอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่ งใส ดังนี้
เปิ ดเผยข้อ มู ล สารสนเทศทางการเงิ น และข้อ มู ล อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ธุ ร กิ จ และผล ประกอบการตามความเป็ นจริ ง ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา โดยงบการเงิ นจะต้องผ่า น การสอบทานหรื อตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ว่าถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี ซึ่ งเป็ นที่ ยอมรับโดยทัว่ ไป และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษทั ก่อนการเผยแพร่ ต่อสานักงานก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ ผูถ้ ือหุ น้ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เปิ ดเผยข้อ มู ล ผ่า นช่ อ งทางต่ า ง ๆ ได้แ ก่ เว็บ ไซต์ข องบริ ษ ัท ตลาดหลัก ทรั พ ย์ฯ และ สานักงานก.ล.ต. เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้น และผูท้ ี่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ได้ทราบข้อมูลของกลุ่มบริ ษทั ฯ อย่างทัว่ ถึง
เปิ ดเผยบทบาทและหน้าที่ ของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุ ดย่อย รวมทั้ง ข้อ มู ล จ านวนครั้ งที่ ก รรมการบริ ษ ัท แต่ ล ะคนเข้า ร่ ว มประชุ ม และนโยบายการจ่ า ย ค่าตอบแทนและประเภทค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร ไว้ในแบบแสดง รายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) และรายงานประจาปี เล่มนี้แล้ว
ในส่ ว นงานด้า นนัก ลงทุ น สั ม พัน ธ์ บริ ษ ัท ได้จ ัด ตั้ง หน่ ว ยงานเฉพาะขึ้ น เพื่ อ ท าหน้า ที่ ติ ด ต่ อ และให้ขอ้ มูลกับ ผูถ้ ื อหุ ้น นักลงทุ นสถาบัน และนักวิเคราะห์ รวมถึ งหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง นอกจากนั้น การเปิ ดเผยข้อมูลที่สาคัญต่าง ๆ จะเป็ นไปตามรายละเอียดที่ปรากฏในหมวดจรรยาบรรณกรรมการบริ ษทั และบุคลากรในองค์กร ในหัวข้อความขัดแย้งทางผลประโยชน์และการรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ
ในด้านการเปิ ดเผยข้อมูลให้แก่ผลู ้ งทุน ในปี 2561 ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ของบริ ษทั ได้ทา หน้าที่สื่อสารข้อมูลสาคัญต่อนักลงทุน นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายย่อย ผูถ้ ือหุ ้น และ นัก วิเ คราะห์ ห ลัก ทรั พ ย์ท้ งั ในและต่ า งประเทศ โดยได้จ ัด ท าข้อ มู ล ทั้ง ภาษาไทยและ 201 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
215
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ภาษาอังกฤษสาหรับการนาเสนอให้ผลู้ งทุนได้ทราบ โดยให้ความสาคัญและตระหนักถึง การเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และโปร่ งใส ทั้งนี้ บริ ษทั ได้แจ้งรายละเอียด การติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ไว้ในเว็บไซต์ของบริ ษทั และในส่ วนที่ 1 ข้อ 6. ข้อมูล ทัว่ ไปและข้อมูลสาคัญอื่น ทั้งนี้ กิจกรรมของฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์มีดงั นี้ กิจกรรมปี 2561
จานวนครั้งต่ อปี
- Company Visit - ผูถ้ ือหุ น้ - นักวิเคราะห์
- นักลงทุนต่างชาติที่สนใจจานวน 8 ครั้ง - นักวิเคราะห์ 10 ครั้ง
Conference Call / Telephone Call
80 - 100 สาย
การติดต่อสอบถามข้อมูลทาง E-mail (ฉบับ)
40 ฉบับ
Analyst Briefing
10 ครั้ง
International Roadshow
-
Domestic Roadshow
-
นอกจากนั้น บริ ษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูลเป้ าหมายในการดาเนิ นธุ รกิ จ ซึ่ งแบ่งเป็ นเป้ าหมายระยะสั้น เป้ าหมายระยะยาว และเป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิจอย่างยัง่ ยืนในรายงานประจาปี และในแบบ 56-1 ฉบับนี้ เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้น นักลงทุน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ ายได้รับทราบทิศทางการดาเนินงานและ เป้ าหมายของบริ ษทั ซึ่ งปรากฏในส่ วนที่ 1 การประกอบธุ รกิ จ ข้อ 1. นโยบาย ภาพรวม และ เป้ าหมายการประกอบธุ รกิจ บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดการถือครองหุ ้นของบริ ษทั ของกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร ปี 2561 ซึ่งข้อมูลปรากฏในเอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร ผูม้ ีอานาจควบคุม และเลขานุการบริ ษทั 9.2 คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุ ดย่อย 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั มีความรับผิดชอบต่อผูถ้ ือหุ น้ เกี่ยวกับการดาเนินธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ การกากับ ดูแลกิจการให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุ ประสงค์ ข้อบังคับบริ ษทั และมติที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ด้วยความซื่ อสัตย์ สุ จริ ตและระมัดระวัง โดยคานึงถึงประโยชน์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการชุดย่อย ผูบ้ ริ หาร เลขานุ การบริ ษทั อันได้แก่ รายนามกรรมการ จานวนกรรมการ และข้อมูล 216
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
202
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ในกฎบัตร อาทิ องค์ประกอบ คุ ณ สมบัติ การแต่งตั้ง วาระการดารงตาแหน่ ง การพ้นจากตาแหน่ ง และ ขอบเขตอานาจหน้าที่ มีรายละเอียดปรากฏในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้ างการจัดการ โดยในหัวข้อนี้ จะ กล่าวถึงเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของกรรมการบริ ษทั ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้
ด้ านการประชุ มของคณะกรรมการบริษัท ได้กาหนดให้คณะกรรมการบริ ษทั ต้องประชุมกันอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี เพื่อพิจารณาอนุ มตั ิ งบการเงิ นประจาปี และรายไตรมาส รวมทั้ง เรื่ องส าคัญอื่ น ๆ และมี ก ารประชุ ม พิ เศษ เพิ่มเติมตามความจาเป็ นและเหมาะสม ทั้งนี้ บริ ษทั ได้กาหนดปฏิทินการประชุ มประจาปี ของปี ถัดไปล่วงหน้าทุกสิ้ นปี นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับเอกสารประกอบการประชุ ม คณะกรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมคณะกรรมการบริ ษทั อย่างน้อย 7 วัน สาหรับการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท และคณะกรรมการชุ ด ย่อ ย เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษัท และ คณะกรรมการชุดย่อย ตลอดจนผูบ้ ริ หารสามารถกาหนดตารางการทางาน และสามารถเข้า ร่ วมประชุม เพื่อให้ความเห็นหรื อพิจารณาอนุ มตั ิในเรื่ องสาคัญต่าง ๆ ได้ทุกคราว สาหรับ การประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดช่ วงวันก่อนการส่ งงบการเงิ นแต่ละไตรมาส ได้แก่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ วันที่ 15 พฤษภาคม วันที่ 14 สิ งหาคม และวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 รวมทั้ งได้ ก าหนดวั น ประชุ ม ของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยให้ ส อดคล้ อ งกั บ คณะกรรมการบริ ษทั และสาหรับคณะกรรมการบริ หารและการประชุมของฝ่ ายจัดการจะมี การจัดประชุ มทุกวันพุธและศุกร์ ที่ 3 ของทุกเดือน รวมทั้งการกาหนดวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยไว้ล่วงหน้าด้วยเช่นกัน
การกาหนดนโยบายเกีย่ วกับจานวนองค์ ประชุ มขั้นต่า ณ ขณะที่ ค ณะกรรมการบริ ษัท จะลงมติ ใ นที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท จะต้อ งมี กรรมการบริ ษทั อยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษ ัทได้ก าหนดนโยบายดังกล่า วแล้ว ความว่า “การลงมติใ นที่ ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดให้จานวนองค์ประชุ มขั้นต่า ณ ขณะที่คณะกรรมการบริ ษทั จะลงมติในที่ประชุ ม จะต้องมีจานวนกรรมการบริ ษทั อยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวน กรรมการบริ ษทั ทั้งหมด”
203
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
217
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 แบบแสดงรายการข้ ประจาปีาปี2561 2561 แบบแสดงรายการข้ ออมูมูลลประจ
รายละเอียดการเข้ าร่ วมประชุ มของกรรมการแต่ ละท่าน ในปี 2561 มีดังนี้ รายละเอี ยดการเข้ าร่ วามประชุ มของกรรมการแต่ ลละท่ะท่าาน้ งนทีในปี 2561ม มีมีดดังังนีนี้ ้ รายละเอี ยดการเข้ ร่ วมประชุ มของกรรมการแต่ ในปี จานวนครั เ่ ข้ าประชุ
ชื่อกรรมการ
ชื่อกรรมการ
ชื่อกรรมการ
ปีประชุ 2561ม จานวนครั้ งที้ งทีเ่ ข้เ่ ข้าาประชุ จานวนครั ม คณะ คณะ คณะ 2561 ประชุม คณะ คณะ ปี ปี2561 กรรมการ คณะกรรมการ คณะ กรรมการ คณะ คณะ กรรมการ คณะ คณะ คณะ ผู้ถมือหุ้น คณะ กรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและ ประชุ ประชุม คณะ คณะ าลกรรมการ คณะกรรมการ บริหาร กรรมการบริหารกรรมการ กรรมการธรรมาภิบกรรมการ พิจารณาคณะกรรมการ กรรมการ บริษัท กรรมการ ตรวจสอบ ผู้ถือหุ้น กรรมการ สรรหาและ ผู้ถือหุ้น กรรมการ กรรมการ สรรหาและค่ าตอบแทน บริหารความเสีธรรมาภิ บริหาร ่ยง บาล พิจารณา บริหาร ธรรมาภิบาล บริหาร บริษัท ตรวจสอบ พิย จารณา ่ยง จานวน ร้อบริ ย ษัทจานวน ตรวจสอบ ร้อย จานวน ร้อความเสี ย จานวน ร้อย จานวน ค่ร้าอตอบแทน จานวน ร้อย จานวน ร้อยละ ความเสี ่ยครั ง ้ ง ละ ครั้ง ค่ละาตอบแทน ครั้ง ครั้ง ละ ครั้ง ละ ครั้ง ละ ครั้ง ละ จานวน
ร้อย
จานวน
ร้อย
จานวน
ร้อย
จานวน
ร้อย
จานวน
จานวน ร้อย จานวน ครั้ง ร้อย ละ จานวนครั้ง ร้อยละ จานวน อละ ย จานวน ครั้ง ร้4/4 ครั 100 7/7 100 100้ ง 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิครัจ้ ง ครั้งละ1/1 ละ ครั ง ละ ครั ง ละ ครั ง ละ ครั ้ ้ ้ ้ง 1/1 100 7/7 100 4/4 100 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 1/1 100 7/7 100 2. นางวั น เพ็ ญ ปุ ญ ญนิ ร ั น ดร์ 1/1 100 7/7 7/7 100 100 4/4 100 1. นายอนั2.นนางวั ต์ ตั้งนตรงเวชกิ เพ็ญ ปุญจญนิรันดร์ 1/1 100 7/7 100 3/4 75 นางจิ วรรณ กุล 1/11001/1 100 100 7/7 7/7 100 100 2. นางวัน3.3.เพ็นางจิ ญ ปุรญรวรรณ ญนิรพงษ์ ันพงษ์ ดร์พิชพิติชกุิตล1/1 3/4 75 1/1 100 6/7 86 4/4 100 4. น.ส.จิพงษ์ ตติมา ตักุ้ งตรงเวชกิ 3/44/4 75100 2/2 3. นางจิร4.วรรณ ล จ1/1จ 1/1100 100 7/7 6/7 100 86 น.ส.จิตติมพาิชตัิต้ งตรงเวชกิ 7/7 100 4/4 100 จ 1/11001/1 100 100 ้ งตรงเวชกิ 6/7 7/7 86 100 4/44/4 100 2/2 100 ์ ตั์ ตั้ งตรงเวชกิ 4. น.ส.จิต5.5.ตินายสฤษดิ มนายสฤษดิ า ตั้งตรงเวชกิ จ จ 1/1 1/1 100 7/7 100 4/4 100 นายอดิ 100 2/2 4/44/4 100 6.6. นายอดิ ศศกั กั ดิ์ดิตั์ ้ตังตรงเวชกิ จ1/1จ 1/1100 100 7/7 7/7 100 100 ์ ตั้งตรงเวชกิ 5. นายสฤษดิ จ้ งตรงเวชกิ 1/1 100 7/7 100 5/6 100 ไชยสาส์ ไชยสาส์ 6. นายอดิ7.7.ศกนายประจวบ ั นายประจวบ ดิ์ ตั้งตรงเวชกิ จ น น1/1 1/1100 100 7/7 7/7 100 100 5/6 100 4/4 100 2/2 7/7 100 5/6 100 1/1 1/1 100 100 นายศิไชยสาส์ สมบั 8. นายศิ รริ ชิ ชยั ยั สมบั 7/7 7/7 100 100 5/6 5/6 100100 7. นายประจวบ นติศติรศิ ิริ 1/1 100 1/1 1/1 100 100 7/7 7/7 100 1006/6 6/6100 100 2/2 นางสี 7/7 100 5/6 100 8. นายศิร9.ิ ชยันางสี สมบันนตวลวล ิศิรทัิ ทัศน์ศน์พพนั ธุนั ์ ธุ์ 1/1 100 0/0 5/5 100 100 10. รศ.ดร.ชิ ต เหล่าวัาฒวันา* ฒนา*1/1 0/01000/0 - 7/7- 5/5 100 6/6 100 2/2 9. นางสี น10. วลรศ.ดร.ชิ ทัศน์พนั ตธุเหล่ ์ 0/0 0/0 - - 4/5 4/5 80 80 11. เชฐ ตัตันนติวติานิ ช* 11.ตนายวิ นายวิ 5/5 100 0/0 10. รศ.ดร.ชิ เหล่าเชฐ วัฒนา* วานิ ช*0/0 หมายเหตุ0/0 * ได้รับ-การแต่งตั4/5 ง้ เป็ นกรรมการบริ ษ ท ั ณ วั น ประชุ ม ผู ถ ้ ื อ หุ น ้ เมื ่ อ วั น ที ่ 25 เม.ย. 2561 80
ร้อย ร้ละอย
ละ
จานวน ร้อย จานวน ละ ร้อย 12/14 ร้อยละ ครั้ง 12/14ครั้ง 86 ละ
จานวน ร้อยละ จครัานวน ้ง
ครั้ง
12/14
2/2
100
2/2
86 13/14
93
12/14
86
13/14
93
100 14/14 14/14 13/14 100 93
100
13/14
100
93
100
2/2
100
13/14 86 93 12/14
100 2/2 100
2/2 100 2/2
100 2/2 100
12/14 93 86 13/14
100
2/2
100
100 2/2
2/2 100
100 2/2
-0/0 100
2/2
-
0/0
100
-0/0
14/14 100 -
11. นายวิเชฐ ตันติวานิ ช* หมายเหตุ * ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั ณ วันประชุมผูถ้ ือหุ้น เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2561 0/0 ษทั ได้เปิ ดโอกาสให้ มีกมารประชุ างกรรมการบริ ษทั ที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร ้งนี*้ คณะกรรมการบริ หมายเหตุทัทั รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ณ วันประชุ ผูถ้ มือีกหุารประชุ ้น เมืม่อระหว่ วันทีม ่ 25 เม.ย. 2561 ษทั ได้ษเปิทั ดโอกาสให้ ระหว่ างกรรมการบริ ษทั ที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร ้งนีได้้ คณะกรรมการบริ โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุม ซึ่งในปี 2561 มีการประชุมดังกล่าว 1 ครั้ง
โดยไม่ มีฝ่ายจัดการเข้าร่ษวมประชุ ม ซึ่งในปี 2561 มีการประชุ มดัางงกรรมการบริ กล่าว 1 ครั้ง ษทั ที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ทั ได้เปิ ดโอกาสให้ มีการประชุ มระหว่ ด้ านการรายงานของคณะกรรมการบริษัท โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ ม ซึ่งในปี 2561 มีการประชุมดัษงัทกล่าว 1 ครั้ง าร่ วด้มประชุ านการรายงานของคณะกรรมการบริ
218
ในปี 2561 คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ทารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อ ในปี 2561 คณะกรรมการบริ ผิดชอบของคณะกรรมการต่ อ ด้ านการรายงานของคณะกรรมการบริ ษทั ัทได้จดั ทารายงานความรั รายงานทางการเงิ น เพื่อสร้างความมัน่ ษใจและความเชื ่อถือให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ บและนั กลงทุน โดยเปิ ดเผย รายงานทางการเงิ น เพื่อสร้ งความมั น่ ใจและความเชื่อถืบอผิให้ แก่อผรายงานทางการเงิ ถู ้ ือหุ น้ และนักลงทุ น โดยเปิ 5 รายงานความรั นและ ในปี ในเอกสารแนบ 2561 คณะกรรมการบริ ษทั าได้ จบดั ผิทดชอบของคณะกรรมการต่ ารายงานความรั ดชอบของคณะกรรมการต่ อ ดเผย ในเอกสารแนบ รายงานความรั บผิดชอบของคณะกรรมการต่ รายงานทางการเงิ คณะกรรมการชุ ย่อ5ายงความมั ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ หารความเสี ยง นและ รายงานทางการเงิ น เพื่อดสร้ น่ ใจและความเชื ่อถือให้แก่คณะกรรมการบริ ผถู้ ือหุ น้ และนักอลงทุ น โดยเปิ ่ดเผย คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่ าตอบแทน และคณะกรรมการธรรมาภิ บาล ได้หจนดั ารความเสี ทและ า คณะกรรมการชุ ดย่อย ได้ ่ ยง ในเอกสารแนบ 5 รายงานความรั บแก่ผิดคณะกรรมการตรวจสอบ ชอบของคณะกรรมการต่ อคณะกรรมการบริ รายงานทางการเงิ รายงานผลการปฏิ ิงานส บปี จ2561 โดยปรากฏรายละเอี ยดในเอกสารแนบ ห6-9ารความเสี ตามลาดั บ่ ยงได้จดั ทา คณะกรรมการสรรหาและพิ ารณาค่ าตอบแทน และคณะกรรมการธรรมาภิ บาล คณะกรรมการชุ ดย่อบยตั ได้ แก่าหรั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ
รายงานผลการปฏิ บตั ิงจานส าหรัาบตอบแทน ปี 2561 ดในเอกสารแนบ คณะกรรมการสรรหาและพิ ด้ านการประเมิ นตนเองของคณะกรรมการบริ ษัทโดยปรากฏรายละเอี คณะกรรมการชุ ดย่อยยและกรรมการผู การ6-9 ารณาค่ และคณะกรรมการธรรมาภิ บาล้จัดได้ จดั ตามล ทา าดับ ษ ัทาหรั ต้อ งจั มี กโดยปรากฏรายละเอี ารประเมิ นษผลการปฏิ บ ัติ ง านของกรรมการบริ รายงานผลการปฏิ บตั ิงนานส บปีด ให้ 2561 ยดในเอกสารแนบ 6-9 ตามลษาดััทบ้จัดการ คณะกรรมการบริ ด้ านการประเมิ ตนเองของคณะกรรมการบริ ัท คณะกรรมการชุ ดย่อย และกรรมการผู เป็ นประจาทุกสิ้ นปี โดยแบ่งเป็ นการประเมินคณะกรรมการบริ ษทั รายคณะ (As a Whole) คณะกรรมการบริ ษ ัท ต้อ งจัด ให้มษี กัทารประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของกรรมการบริ ษ ัท ด้ านการประเมิ นตนเองของคณะกรรมการบริ คณะกรรมการชุ ดย่อย และกรรมการผู ้จัดการ และแบบประเมินตนเองของกรรมการบริ ษทั รายบุคคล (Self-assessment) ตามแนวทาง
เป็ นประจาทุษกัทสิต้้ นอปีงจัโดยแบ่ นการประเมิ นคณะกรรมการบริ ษทั รายคณะ (Asษaัท Whole) คณะกรรมการบริ ด ให้มงี กเป็ารประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของกรรมการบริ 204 และแบบประเมิ นตนเองของกรรมการบริ ษทั รายบุคคลษ(Self-assessment) ตามแนวทาง เป็ นประจ าทุกสิ้ นปี โดยแบ่ งเป็ นการประเมินคณะกรรมการบริ ทั รายคณะ (As a Whole) และแบบประเมินตนเองของกรรมการบริ 204 ษทั รายบุคคล (Self-assessment) ตามแนวทาง
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
204
86
100
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ ทบทวนการท างาน ปั ญ หาและอุ ป สรรคที่ พ บ และเพื่ อ ประเมินผลการปฏิ บ ตั ิงานในปี ที่ ผ่า นมา และหาแนวทางในการปรับปรุ งประสิ ท ธิ ภาพ ในการทางานของคณะกรรมการบริ ษทั ในปี ต่อ ๆ ไป โดยหลักเกณฑ์ในแบบการประเมิน คณะกรรมการบริ ษ ทั และคณะกรรมการชุ ดย่อยรายคณะ และการประเมิ น ตนเองของกรรมการรายบุ ค คล ได้อ้า งอิ ง มาจากตัว อย่า งแบบประเมิ น ตนเองของ คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เดือนกุมภาพันธ์ 2558 และปรับปรุ งเพิ่มเติมตาม CG Code 2560 โดยนามาปรับใช้ให้เข้ากับธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ ซึ่ งมีรายละเอียด หัวข้อในการประเมินดังนี้ แบบประเมินคณะกรรมการบริ ษทั รายคณะ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริ ษทั 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั 3. การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 4. การทาหน้าที่ของกรรมการบริ ษทั 5. ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการบริ ษทั และการพัฒนาผูบ้ ริ หาร แบบประเมินตนเองของกรรมการบริ ษทั รายบุคคล 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริ ษทั 2. การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั สาหรับกระบวนการประเมินนั้น สานักกรรมการ/เลขานุ การบริ ษทั จะดาเนิ นการจัดส่ งแบบประเมิน ทั้ง 2 แบบ พร้ อมคาอธิ บาย และเกณฑ์ก ารให้คะแนนในแต่ล ะข้อแก่ ก รรมการบริ ษทั รายบุ ค คลในช่ วง ต้นเดือนธันวาคมของทุกปี และกาหนดให้นาส่ งคืนภายในกลางเดือนธันวาคมของปี นั้น ๆ จากนั้นสานัก กรรมการ/เลขานุ การบริ ษทั จะสรุ ปผลการประเมิน โดยจะสรุ ปผลคะแนนออกเป็ นรายบุคคลและแบ่งเป็ น แต่ละหมวดหมู่ สาหรับการประเมินทั้ง 2 แบบ และรายงานผลให้แก่คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับทราบในการประชุม เพื่อวิเคราะห์สาเหตุและหาแนวทางพัฒนาแต่ละด้านต่อไป โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ หรื อไม่มีการดาเนินการในเรื่ องนั้น 1 = ไม่เห็นด้วย หรื อมีการดาเนินการในเรื่ องนั้นเล็กน้อย 2 = เห็นด้วย หรื อมีการดาเนินการในเรื่ องนั้นพอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรื อมีการดาเนินการในเรื่ องนั้นดี 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรื อมีการดาเนินการในเรื่ องนั้นอย่างดีเยีย่ ม 205 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
219
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เกณฑ์การประเมิน คะแนนเฉลีย่ (ร้ อยละ) 0 – 20 21 – 40 41 – 60 61 – 80 81 – 100
หมายเหตุ ควรปรับปรุ งอย่างยิ่ง ควรปรับปรุ ง พอใช้ ดี ดีมาก
ในปี 2561 สรุ ปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริ ษทั ดังนี้ การประเมิ นตนเองของกรรมการบริ ษั ท ในภาพรวม เห็ นว่า กรรมการบริ ษ ทั ส่ วนใหญ่ ปฏิบตั ิอยูใ่ นเกณฑ์ “ดีมาก” มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 91.88 การประเมิ นผลคณะกรรมการบริ ษัทรายคณะในภาพรวม เห็ นว่าประสิ ท ธิ ภาพในการ ทางานอยูใ่ นเกณฑ์ “ดีมาก” มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 94.24 การประเมินตนเองของคณะกรรมการชุ ดย่อย โดยใช้หวั ข้อการประเมินดังนี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการชุดย่อย 2. การประชุมคณะกรรมการชุดย่อย 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2561 ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการชุ ดย่อยทุกชุด สรุ ปได้ดงั นี้ คณะกรรมการชุดย่ อย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริ หาร
ผลประเมิน (ร้ อยละ) 83.53 85.00 85.29 85.96 88.33
สาหรับการประเมินกรรมการผูจ้ ดั การ ปี 2561 มีหวั ข้อ เกณฑ์ และผลการประเมิน ดังนี้ - ข้อ 1 : ความเป็ นผูน้ า 95.50% (ดีมาก) - ข้อ 2 : การกาหนดกลยุทธ์และการปฏิบตั ิตามกลยุทธ์ 94.25% (ดีมาก) - ข้อ 3 : การวางแผนและผลปฏิบตั ิทางการเงิน 96.67% (ดีมาก) - ข้อ 4 : ความสัมพันธ์กบั คณะกรรมการและความสัมพันธ์กบั ภายนอกองค์กร 95.45% (ดีมาก) - ข้อ 5 : การบริ หารงานและความสัมพันธ์กบั บุคลากร 93.75% (ดีมาก) - ข้อ 6 : การสื บทอดตาแหน่ง 86.25% (ดีมาก) - ข้อ 7 : ความรู้ดา้ นธุ รกิจ ผลิตภัณฑ์และบริ การของบริ ษทั 96.88% (ดีมาก) - ข้อ 8 : คุณลักษณะส่ วนตัว 95.50% (ดีมาก) 220
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
206
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
เกณฑ์การประเมิน: 0 - 20% หมายถึง ควรปรับปรุ งอย่างยิง่ 41 - 60% หมายถึง พอใช้ 81 - 100% หมายถึง ดีมาก
21 - 40% หมายถึง ควรปรับปรุ ง 61 - 80% หมายถึง ดี
การแต่ งตั้งกรรมการชุ ดย่ อย บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอี ยดในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ 12. การจัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อย การจัดทาแผนสื บทอดตาแหน่ ง บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอีย ดในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ วนที่ 2 ข้อ 9. การกากับดูแลกิจการ หัวข้อแผนการสื บทอดตาแหน่ง และนโยบายการสรรหากรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร การกาหนดจานวนบริษัทจดทะเบียนทีก่ รรมการบริษัทและกรรมการผู้จัดการไปดารงตาแหน่ ง บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้ างการจัดการ หัวข้อ 11. การกาหนดจานวนบริ ษทั จดทะเบียนที่ กรรมการบริ ษทั และ กรรมการผูจ้ ดั การไปดารงตาแหน่ ง ทั้งนี้ ข้อมู ลการไปดารงตาแหน่ งของกรรมการบริ ษทั และ กรรมการผูจ้ ดั การ ในปี 2561 ยังคงอยูใ่ นหลักเกณฑ์ดงั กล่าวข้างต้น ซึ่ งสามารถดูขอ้ มูลได้จากเอกสาร แนบ 1 รายละเอี ยดเกี่ ยวกับกรรมการบริ ษ ัท ผู้บริ หาร ผูม้ ี อ านาจควบคุ ม และเลขานุ การบริ ษ ัท ในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ฉบับนี้ การปฐมนิเทศกรรมการบริษัททีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งใหม่ บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ 9. การปฐมนิเทศกรรมการบริ ษทั ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ ทั้งนี้ ในปี 2561 บริ ษทั ได้ปรับโครงสร้างคณะกรรมการบริ ษทั จาก 9 ท่าน เป็ น 11 ท่าน โดยแต่งตั้งกรรมการบริ ษทั ใหม่เพิ่มจานวน 2 ท่าน ได้แก่ รศ.ดร.ชิ ต เหล่ าวัฒนา กรรมการอิ สระ และนายวิเชฐ ตันติวานิ ช กรรมการอิสระ เนื่ องจากการขยายตัวของธุ รกิจของบริ ษทั และเพื่อให้โครงสร้างของคณะกรรมการบริ ษทั มีประสิ ทธิ ภาพ มีความหลากหลายและเชี่ ยวชาญเฉพาะด้านมากขึ้น และได้จดั การปฐมนิเทศให้แก่ กรรมการบริ ษ ทั ทั้ง สองท่ านเพื่ อให้เข้าใจลักษณะธุ รกิ จ และเป้ าหมายการดาเนิ นงานบริ ษ ทั ตลอดจนข้อบังคับและหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั เป็ นต้น การพัฒนากรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสู ง คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายส่ งเสริ มและอานวยความสะดวกให้มีการฝึ กอบรม และการให้ ความรู ้แก่กรรมการบริ ษทั และผูเ้ กี่ยวข้องในระบบการกากับดูแลกิจการของกลุ่มบริ ษทั ฯ ซึ่ งได้ เปิ ดเผยรายละเอียดในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ 8. การพัฒนากรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารระดับสู ง 207
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
221
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
รายนาม รายนาม นายประจวบ นายประจวบ ไชยสาส์ ไชยสาส์นน นายอนั นายอนันนต์ต์ ตัตั้ ง้ งตรงเวชกิ ตรงเวชกิจจ นางวันเพ็ญ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ นางจิพริชวรรณ พงษ์ ิตกุล พงษ์ พ ช ิ นางสาวจิิตตกุติลมา ตันางสาวจิ ้ งตรงเวชกิตจติมา
ตั้งตรงเวชกิจ
นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์
นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์
การเข้ าอบรมของกรรมการบริ ษัทและกรรมการชุ ย่ อยาปีประจ การเข้ าอบรมของกรรมการบริ ษัทและกรรมการชุ ดย่ อย ดประจ 2561าปี 2561 ตาแหน่ กสู ตรอบรม ตาแหน่ ง ง หลักสูหลั ตรอบรม วันที่ วันที่ สถานที่ สถานที่ อบรม อบรม ประธานกรรมการบริ ทั (กรรมการBoardroom Boardroom งเสริ มสถาบันกรรมการ ประธานกรรมการบริ ษทั ษ(กรรมการ SuccessSuccess throughthrough 19-20 19-20 สมาคมส่งสมาคมส่ เสริ มสถาบั นกรรมการ อิสอิระ)/ Financing and Investment (BFI) (BFI) มิ.ย. มิบริ สระ)/ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ Financing and Investment .ย.ษทั ไทยบริ(IOD) ษทั ไทย (IOD) ตรวจสอบ ตรวจสอบ กรรมการบริ ษทั ษ/ ทประธาน กรรมการบริ ั / ประธาน กรรมการบริ ห าร/ ประธาน กรรมการบริ หาร/ ประธาน 1. การจัดการธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์ ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง 1. การจัดการธุรกิจอย่างมีกลยุท18 ธ์ เม.ย. 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร 2.การบริ หารธุรกิจแบบมืออาชีพ 1 มิ.ย. กรรมการบริ ษทั 2.การบริ หารธุรกิจแบบมืออาชีพ 1 มิ.ย. กรรมการบริ ษทั สาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง สาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ หารความเสี ่ ยง กรรมการบริ ารความเสี่ ยงหาร 1. การจัดการธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์ 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร กรรมการบริ ษทั ห/ กรรมการบริ กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร 2.การบริ 1. การจั รกิจออย่ างมี กรรมการบริ หารความเสี ่ ยง/ หารธุดรการธุ กิจแบบมื อาชี พ กลยุท1ธ์ มิ.ย. 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร กรรมการบริ หารความเสี หารธุบรสูกิงจแบบมืออาชีพ 1 มิ.ย. กรรมการสรรหาและพิ จารณา่ ยง/ สาหรั2.การบริ บผูบ้ ริ หารระดั ค่ากรรมการสรรหาและพิ ตอบแทน/ กรรมการธรรมาภิ บาล 3. Board Nomination & บสูง 6-7 มี.ค สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ จารณา สาหรั บผูบ้ ริ หารระดั (BNCP) (IOD) งเสริ มสถาบันกรรมการ ค่าตอบแทน/ กรรมการธรรมาภิบาลCompensation 3. Board Program Nomination & 6-7บริ มี.คษทั ไทยสมาคมส่ รุ่ น 3/2018 Compensation Program (BNCP) บริ ษทั ไทย (IOD) รุ่ นด3/2018 กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ 1. การจั การธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์ 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง
หารธุรกิจแบบมืออาชีพ กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/2.การบริ 1. การจั ดการธุรกิจอย่างมีกลยุท1ธ์ มิ.ย. 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร สาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง กรรมการบริ หารความเสี่ ยง 2.การบริ หารธุรกิจแบบมืออาชีพ 1 มิ.ย. 3. ทูมอร์โรว์ สเกลเลอร์ 12 มิ.ย.- บริ ษทั ทูมอร์โรว์ กรุ๊ ป จากัด สาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง 29 ส.ค. 3. ทู ม อร์ โ รว์ สเกลเลอร์ 12 มิ.ย.- บริ ษทั ทูมอร์โรว์ กรุ๊ ป จากัด กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ 1. การจัดการธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์ 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง/ 2.การบริ หารธุรกิจแบบมืออาชีพ 1 มิ.ย. 29 ส.ค. กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ การธุบรสูกิงจอย่างมีกลยุทธ์ 18 เม.ย. ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร กรรมการสรรหาและพิ จารณา หาร/สาหรั1.บผูการจั บ้ ริ หดารระดั หารความเสี่ ยง/บาล 3. Board 2.การบริ หารธุร&กิจแบบมืออาชีพ6-7 มี.ค 1 มิสมาคมส่ .ย. ค่ากรรมการบริ ตอบแทน/ กรรมการธรรมาภิ Nomination งเสริ มสถาบันกรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณา Compensation สาหรับผูบ้Program ริ หารระดั บสูง (BNCP) บริ ษทั ไทย (IOD) ค่าตอบแทน/ กรรมการธรรมาภิบาลรุ่ น 3/2018 3. Board Nomination & 6-7 มี.ค สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ ไทย น(IOD) กรรมการอิสระ/ กรรมการ BoardCompensation Nomination & Program (BNCP)6-7 มี.ค สมาคมส่งบริ เสริษมทั สถาบั กรรมการ ตรวจสอบ /ประธานกรรมการ Compensation บริ ษทั ไทย (IOD) รุ่ น 3/2018Program (BNCP)
สรรหาและพิ าตอบแทน/ กรรมการอิจสารณาค่ ระ/ กรรมการ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล
ตรวจสอบ /ประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล
รุ่ น 3/2018 Board Nomination &
Compensation Program (BNCP) รุ่ น 3/2018 208
222
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
208
6-7 มี.ค
สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
223
2/2000
239/2017
242/2017
239/2017
243/2017
242/2017
สมบัติศิริ
เหล่าวัฒนา
ตันติวานิช
5. นายวิเชฐ
7. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
8. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล
9. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ
ตั้งตรงเวชกิจ
4. นายชิต
6. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตั้งตรงเวชกิจ
3. นายศิริชยั
10. นายสฤษดิ์
11. นายอดิศกั ดิ์
246/2017
93/2007
-
79/2007
ทัศน์พนั ธุ์
2. นางสี นวล
83/2007
ไชยสาส์น
Director Certification Program (DCP)
1. นายประจวบ
รายชื่อ
หลักสูตร
98/2012
98/2012
98/2012
98/2012
98/2012
99/2012
25//2004
55/2006
54/2006
Director Accreditatio n Program (DAP)
4/2016
Risk Management Program for Coporate Leaders (RCL)
30/2016
AntiCorruption: The Practical Guide (ACPG)
3/2018
3/2018
3/2018
Board Nomination & Compensation Program (BNCP) 4/2018
Boardroom Success through Financing and Investment (BFI)
2008
Finance for Non-Finance Director (FN)
1/2009
Monitoring Fraud Risk Management (MFM)
7/2009
Monitoring Internal Audit Function, MIA
2008
Understanding the Fundamental of Finance Statement (UFS)
209
แผนการฝึ กอบรมปี 2561 ของกรรมการบริษัทและกรรมการชุ ดย่ อย เพือ่ นามาประยุกต์ ใช้ กับการปฏิบัตหิ น้ าที่
29/2009
17/2007
Audit Committee Program (ACP)
การเข้ าร่ วมอบรมหลักสู ตรของกรรมการบริษทั ที่จดั โดยสมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
19/2008
Roles of Chairman Program
7/2009
Monitoring the System of Internal and Risk Management (MIR)
9/2009
Monitoring Financial Reporting (MFR)
3/2011
Financial Institutions Governance Program (FGP)
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
TRAINING LIST 2562 TRAININGLIST LIST2562 2562 TRAINING Course
No. No.
1 2
แผนการฝึ กอบรมปี 2562 ของกรรมการบริษัทและกรรมการชุ ดย่ อย แผนการฝึกอบรมปี กอบรมปี2562 2562ของกรรมการบริ ของกรรมการบริ ัทและกรรมการชุ แผนการฝึ ษัทษและกรรมการชุ ดย่ อดยย่ อย
Course Course
Board Nomination & Compensation Program (BNCP) 1
Board Board Nomination Nomination&&Compensation CompensationProgram Program(BNCP) (BNCP) Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL)
Risk Program Leaders (RCL) Risk Management Management Program forCorporate Corporate Leaders (RCL) 3 2 Successful Formulation and for Execution of Strategy (SFE) Successful Formulation ofofStrategy (SFE) Successful Formulation andExecution Execution Strategy (SFE) 4 33 Financial Statements forand Directors (FSD)
No. of Institute Project Matched Course No.No. of of Institute Project Matched Institute Project Matched Course Course TBC IOD Nomination & Remuneration Directors TBC TBC 15/2019 15/2019 15/2019 TBC TBC TBC 38/2019
4 Financial Statements for (FSD) Financial Statements forDirectors Directors 5 4 Ethical Leadership Program (ELP) (FSD)
38/2019 38/2019 15/2019
5 65 6 76 7 7
15/2019 15/2019 TBC TBC TBC 21/2019 21/2019 21/2019
Ethical Program (ELP) Ethical Leadership Leadership Program (ELP) (CGE) Corporate Governance for Executives Corporate Governance for Executives (CGE) Corporate Governance for Executives (CGE) How to Develop a Risk Management Plan (HRP) How to Develop a Risk Management Plan (HRP) How to Develop a Risk Management Plan (HRP)
Date DateDate
TBC
Recommendation Recommendation Recommendation In case of appointment new NR director
IODIOD Nomination & Remuneration Directors TBC TBC In case appointment NR director Nomination & Remuneration Directors In of case of appointment new NR/ director Mr.Anant / new Mrs.Jirawan IOD Risk Management Directors 11-12 Feb 2019 Ms.Chittima / Mr.Sarit Mr.Anant / Mrs.Jirawan / Mr.Anant / Mrs.Jirawan / IOD Management 11-1211-12 FebTBC 2019 IOD Risk Risk Management Directors Feb 2019 Mr.Anant/ Mrs.Jirawan / Mr.Adisak IOD Directors, MD Directors Ms.Chittima / Mr.Sarit Ms.Chittima / Mr.Sarit Mrs. Wanpen/ Mrs.Jirawan / IOD MD MD TBCMar Mrs.Jirawan / Mr.Adisak IOD Directors, Directors, TBC2019 Mr.Anant/ Mr.Anant/ Mrs.Jirawan / Mr.Adisak IOD Directors 28-29 Ms.Chittima /Mrs.Jirawan Mr.Sarit / Mr.Adisak Mrs. Wanpen/ / Mrs. Wanpen/ Mrs.Jirawan / IODIOD Directors 28-2928-29 Mar 2019 Directors Mar 2019 / Mr.Sarit / Mr.Adisak IOD CAC, Corporate Governance Directors 15 Mar 2019 Ms.Chittima Ms.Chittima Ms.Chittima / Mr.Sarit / Mr.Adisak IODIOD CAC, Corporate Governance Directors 15 Mar 2019 Ms.Chittima Mrs.Seenual / Mr.Anant / CAC, Corporate Governance Directors 15TBC Mar 2019 Ms.Chittima IOD Corporate Governance Directors, MD Ms.Chittima // Mr.Anant Mr.Adisak/ Mrs.Seenual / Dr.Djit Mrs.Seenual / Mr.Anant / IODIOD Corporate Governance Directors, MD TBC Corporate Governance Directors, MD 24-25 Jan TBC2019 Ms.Chittima / Mr.Adisak/ Dr.Djit Dr.Djit IOD Risk Management Directors Mr.Adisak Ms.Chittima / Mr.Adisak/ IOD Risk Management Directors IOD Risk Management Directors
24-25 Jan 2019 24-25 Jan 2019
Mr.Adisak Mr.Adisak
ความเป็ นอิสสระของคณะกรรมการบริ ระของคณะกรรมการบริษัท และคานิานิยามกรรมการอิ ยามกรรมการอิ สระ สระ ความเป็ ความเป็นอิ นอิสระของคณะกรรมการบริษัทษัทและค และคานิยามกรรมการอิ สระ บริ ษ ท ั ได้ เ ปิ ดเผยรายละเอี ย ดในรายงานประจ าปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ ว นที บริ าปีาปีและแบบ ปี 2561 ว นที 2 ่ ข้2่ อ2ข้ข้8.ออ8.8. บริษษัทัทได้ ได้เปิเปิดเผยรายละเอี ดเผยรายละเอีย ดในรายงานประจ ย ดในรายงานประจ และแบบ56-156-1 ปี 2561 ในส่ในส่ ว่ นที โครงสร้ างการจัดดการ การ หัวข้อ 10. ความเป็นนอิอิสสระของคณะกรรมการบริ ระของคณะกรรมการบริษทั ษทั และค และค ยามกรรมการอิ โครงสร้ านิานิ ยานิ ามกรรมการอิ สระสสระระ โครงสร้าางการจั งการจัดการหัหัวข้วข้ออ10.10.ความเป็ ความเป็ นอิสระของคณะกรรมการบริ ษทั และค ยามกรรมการอิ ทัทั้ ง้ งนีนี้ ้ ในรอบระยะเวลาบั ญชี ที่ผ่านมากรรมการอิสสระของบริ ระของบริษทษั ทั ไม่ไม่มีคมวามสั ีความสั ทางธุ จหรื อ มพัมมนพัพัธ์นทนธ์างธุ รกิรจรกิหรื ่านมากรรมการอิสระของบริ ทั้งนี้ในรอบระยะเวลาบั ในรอบระยะเวลาบัญญชีชีทที่ผ่าี่ผนมากรรมการอิ ษทั ไม่มีความสั ธ์ทางธุ กิจอหรื อ การให้ บริ ก ารทางวิชชาชี าชี พ หรื อบุคคลที่ไ่ได้ด้รรับับการแต่ การแต่งตัง้ งตัให้ ป็ นกรรมการอิ สระไม่ อเคยมี ้ งให้เป็เนกรรมการอิ การให้ สระไม่ มีหมรืมี หอี หรืเคยมี การให้บบริริกการทางวิ ารทางวิชาชีพพ หรืหรือบุอบุคคลที คคลที่ ได้รับการแต่ งตั้งให้ เป็ นกรรมการอิ สระไม่ รื อเคยมี ความสั างธุรรกิกิจจ หรื หรืออการให้ การให้บบริริกการทางวิ ารทางวิชชาชีาชีพพในมู ในมูลค่ลาค่เกิาเกินกว่ นกว่ าหลั กเกณฑ์ ี่ กาหนดใน ความสัมมพัพันนธ์ธ์ททางธุ าหลั กเกณฑ์ ที่กทาหนดใน ความสัมพันธ์ ทางธุ รกิ จ หรื อการให้บ ริ การทางวิชาชี พในมูลค่าเกิ นกว่าหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน ประกาศคณะกรรมการก ากับบตลาดทุ ตลาดทุนนว่ว่าาด้ด้ววยการขออนุ ยการขออนุญญาตและการอนุ าตและการอนุญาตให้ ญาตให้ เสนอขายหุ ่ออกใหม่ ประกาศคณะกรรมการกากั เสนอขายหุ ้นที้น่อทีอกใหม่ ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุ ญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ ้นที่ออกใหม่ (รวมทั ขเพิ่ม่มเติเติมม)) (รวมทั้ งที่ได้มีการแก้ไขเพิ (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ฝ่ฝ่ายจั ายจัดดการ การ ฝ่ ายจัดการ องค์ประกอบและการแต่ ระกอบและการแต่ งงตัตั้ ง้ งกรรมการผู องค์ กรรมการผู้จ้จัดัดการ การ องค์ ประกอบและการแต่ งตั้งกรรมการผู้จัดการ บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอี ดเผยรายละเอียยดองค์ จ้ ดั จ้ การ านาจ บริ ดองค์ปประกอบและการแต่ ระกอบและการแต่งตัง้ งตักรรมการผู ดั การขอบเขตและอ ขอบเขตและอ านาจ ้ งกรรมการผู บริ ษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดองค์ประกอบและการแต่งตั้งกรรมการผูจ้ ดั การ ขอบเขตและอานาจ หน้าาทีที่ข่ของกรรมการผู องกรรมการผูจ้ ดั การในรายงานประจ ่ 2 ่ ข้2อข้8.อ 8.โครงสร้ างการจั ดการ หน้ การในรายงานประจาปีาปี และแบบ และแบบ56-1 56-1ปี ปี2561 2561ในส่ ในส่วนที วนที โครงสร้ างการจั ดการ หน้ า ที ่ ข องกรรมการผู จ ้ ด ั การในรายงานประจ าปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ในส่ ว นที ่ 2 ข้ อ 8. โครงสร้ า งการจั ดการ 2.7 ผูผูบ้ ริ หาร หัหัววข้ข้ออ 2.7 หัวข้อ 2.7 ผูบ้ ริ หาร การประเมินนกรรมการผู กรรมการผู้จ้ จัดัดการ การประเมิ การ การประเมิ น กรรมการผู ้ จ ั ด การ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดให้มีการประเมินเป็ นประจาทุกปี าหรับบการประเมิ การประเมินนกรรมการผู สสาหรั กรรมการผูจ้ จ้ ดั ดั การ การ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดให้มีการประเมินเป็ นประจาทุกปี ส าหรั บ การประเมิ น กรรมการผู จ ้ ด ั การ คณะกรรมการบริ ษทั ได้าปีกาหนดให้ มีการประเมิ นเป็ในส่ นประจ าทุ โดยหลักกเกณฑ์ เกณฑ์แและกระบวนการประเมิ ละกระบวนการประเมินนได้ วนที ่ 2 ก่ 2ปี โดยหลั ได้เปิเปิดเผยในรายงานประจ ดเผยในรายงานประจาปีและแบบ และแบบ56-1 56-1ปี ปี2561 2561 ในส่ วนที โดยหลัโครงสร้ กเกณฑ์างการจั และกระบวนการประเมิ นได้เปิ ดเผยในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561ดย่ในส่ วนที่ 2 ข้ข้ออ8.8. โครงสร้ างการจัดดการ การ หัหัววข้ข้ออ 6.6.การประเมิ การประเมินนตนเองของคณะกรรมการบริ ตนเองของคณะกรรมการบริษทั ษทัคณะกรรมการชุ คณะกรรมการชุ ดอยและ ย่อยและ ข้อ 8. โครงสร้ างการจั ดการ หัวข้อน6.ปรากฏตามหั การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการชุ ดย่ษอัทยและ กรรมการผู การ งผลการประเมิ กรรมการผู จ้ จ้ ดั ดั การ ซึซึ่่ งผลการประเมิ นปรากฏตามหัววข้ข้ออ “ด้“ด้านการประเมิ านการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริ นตนเองของคณะกรรมการบริ ษ ัท กรรมการผู จ ้ ด ั การ ซึ ่ งผลการประเมิ น ปรากฏตามหั ว ข้ อ “ด้ า นการประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการบริ ษ ัท คณะกรรมการชุดดย่ย่ออยย และกรรมการผู และกรรมการผูจ้ จ้ ดั ดั การ” คณะกรรมการชุ การ”ข้ข้าางต้งต้นน คณะกรรมการชุดย่อย และกรรมการผูจ้ ดั การ” ข้างต้น
210 210 210
224
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
9.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสู ง แผนการสื บทอดตาแหน่ ง และนโยบายการสรรหากรรมการบริษัทและผู้บริ หาร กลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักถึ งการเตรี ยมการด้านบุคลากร เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการสื บทอดงาน เพื่อให้ การบริ หารและการดาเนินงานของกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นไปอย่างราบรื่ นและต่อเนื่ อง ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั จึงได้มี มติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ รู ปแบบ และ กระบวนการในการคัดเลือกและสรรหากรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารระดับสู ง รวมทั้งการคัดเลื อกกรรมการ ชุ ดย่อย เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาแต่งตั้งต่อไป รวมทั้งทาหน้าที่จดั ทาและทบทวนแผนการสื บทอด ตาแหน่ง (Succession Plan) ของผูบ้ ริ หารระดับสู ง เพื่อเตรี ยมความพร้อมในการสื บทอดงานอีกด้วย แผนการสื บทอดตาแหน่ ง กลุ่ม บริ ษ ทั ฯ มี แ ผนการคัด เลื อ กบุ ค ลากรที่ จ ะรับ ผิด ชอบในตาแหน่ ง งานบริ ห ารที่สาคัญ ของ กลุ่ม บริ ษทั ฯ โดยการสรรหากรรมการผูจ้ ดั การ (CEO) และผูบ้ ริ หารระดับสู งจะเป็ นไปตามกระบวนการ สรรหาที่พิจารณาจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร ทั้งนี้ กระบวนการสรรหากรรมการผูจ้ ดั การ (CEO) และผูบ้ ริ หารระดับสู งจะพิจารณาจากคุณสมบัติ การศึกษา ความรู้ความสามารถ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์การทางานในธุ รกิจที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่มบริ ษทั ฯ เข้ามาร่ วมงาน ซึ่ งมีระบบการสรรหาบุคคลากรทุกระดับอย่างเหมาะสมและโปร่ งใส เพื่อให้ มั่น ใจว่า กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ จะมี บุ ค ลากรที่มี คุ ณ ภาพ เป็ นมื อ อาชี พ และมี จ ริ ย ธรรม ซึ่ งจะช่ ว ยผลัก ดัน ให้ การดาเนินธุ รกิจมีความก้าวหน้าและเติบโตอย่างยัง่ ยืน ส าหรั บ บุ ค ลากรภายในองค์ก ร จะพิ จ ารณาสรรหาผูท้ ี่ เ หมาะสมจากกลุ่ ม ผูส้ ื บ ทอด หรื อ กลุ่ ม Successor ซึ่ งบุคลากรเหล่านี้ จะเป็ นพนักงานที่กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้ประเมินแล้วว่ามีศกั ยภาพ และมีการพัฒนา ความสามารถเพื่อเตรี ยมพร้อมสาหรับการทาหน้าที่แทนบุคคลในตาแหน่งงานที่สาคัญขององค์กร ในกรณี ลาออก หรื อพ้นจากตาแหน่งตามอายุงานหรื อเหตุอื่นใด การสรรหากรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสู ง การสรรหากรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารระดับสู ง จะสรรหาและคัดเลือกจากผูท้ รงคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ จากหลากหลายอาชี พ นอกจากนั้นยังพิจารณาจากการเป็ นผูม้ ีคุณธรรมและจริ ยธรรม มีประวัติการทางานที่ โปร่ งใส โดยใช้ตาราง Board Skill Matrix เป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาสรรหากรรมการบริ ษทั เพื่อกาหนด คุณสมบัติของกรรมการบริ ษทั ที่ตอ้ งการสรรหา โดยพิจารณาจากความรู้ ความชานาญที่จาเป็ นที่ยงั ขาดอยูใ่ น คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั สามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
211 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
225
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
9.4 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่ วม การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่อย เพื่อให้บริ ษทั น้ าตาลบุ รีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) สามารถกากับดู แล และบริ หารจัดการ กิ จการของบริ ษ ทั ย่อย รวมถึ ง การติ ดตามดู แลให้ บริ ษ ทั ย่อยมี ก ารปฏิ บ ตั ิตามมาตรการและกลไกต่ า ง ๆ ที่ กาหนดไว้ได้เสมือนเป็ นหน่ วยงานของบริ ษทั เอง และเป็ นไปตามนโยบายของบริ ษทั ทั้งนี้ เพื่อรั กษา ผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริ ษทั ในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวให้เกิดผลตอบแทนสู งสุ ด บริ ษทั จึงมีกลไกการกากับ ดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อย โดยรายละเอียดเปิ ดเผยในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้ างการจัดการ หัวข้อ (5) การกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริษัทของบริษัทย่อย ที่ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ทั ครั้ งที่ 6/2557 เมื่ อวันที่ 22 สิ งหาคม 2557 มี ม ติ ก าหนดขอบเขต อานาจและหน้า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษ ัท ของบริ ษ ัท ย่อ ย โดยรายละเอี ย ดเปิ ดเผยในส่ วนที่ 2 ข้อ 8. โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ (4) ขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อย นโยบายการพัฒนาบุคลากร กลุ่มบริ ษทั ฯ มีแนวทางในการส่ งเสริ มให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานได้รับการพัฒนา ความรู้ ทักษะ และศักยภาพ ที่จาเป็ นในการปฏิบตั ิงานทั้งในปั จจุบนั และในอนาคต เนื่ องจากกลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนัก ดี ว่า ทรั พ ยากรบุ ค คลเป็ นสิ น ทรั พ ย์ที่ มี ค่ า สู ง สุ ด ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ดัง นั้น แนวคิ ด เกี่ ย วกับ การพัฒนาบุคลากรควรเป็ นการลงทุ นอย่างต่อเนื่ องระยะยาว โดยรายละเอี ยดเปิ ดเผยในส่ วนที่ 1 ข้อ 1. นโยบาย ภาพรวม และเป้ าหมายการประกอบธุ รกิจ หัวข้อ เป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจยัง่ ยืน ข้อ 1. การพัฒนาบุคลากร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คณะกรรมการบริ ษทั มีบทบาทหน้าที่สาคัญในการชี้ แนะทิศทางการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ติ ดตามดู แลการทางานของฝ่ ายจัดการ จัดให้มีนโยบายการกากับดูแลกิ จการที่ดี จรรยาบรรณ ธุ รกิจ และนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชัน รวมถึงกฎหมายหรื อกฎเกณฑ์ขอ้ บังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การกากับ ดูแลกิจการเพื่อผลประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้น พร้อมดูแลให้บริ ษทั มีการดาเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ในปี 2561 ไม่ ปรากฏว่าบริ ษทั มีการกระทาที่ขดั ต่อกฎระเบียบที่ร้ายแรงตามกฎระเบียบของสานักงานก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ มีการกระทาผิดด้านการทุจริ ตหรื อกระทาผิดจริ ยธรรม มีกรณี ที่กรรมการบริ ษทั ที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หารลาออก เนื่องจากประเด็นการกากับดูแลกิจการของบริ ษทั มีกรณี เกี่ยวกับชื่ อเสี ยงในทางลบของบริ ษทั เนื่ องจากความล้มเหลวในการทาหน้าที่สอดส่ องดูแล ของคณะกรรมการบริ ษทั
226
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
212
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
จรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจ แนวทางการดาเนินธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักถึงความสาคัญในการดาเนิ นธุ รกิจตามหลักธรรมาภิบาล โดยคณะกรรมการบริ ษทั มีความมุ่ งมัน่ ที่ จะปฏิ บตั ิ ตามนโยบายการก ากับ ดู แลกิ จการที่ดี จรรยาบรรณธุ รกิ จ และนโยบายต่อต้า น คอร์ รัปชัน รวมถึงกฎหมายหรื อกฎเกณฑ์ขอ้ บังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดาเนิ นธุ รกิจอย่างโปร่ งใส ยุติธรรม และคานึงถึงประโยชน์ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยเป็ นสาคัญ เพื่อสร้างความยัง่ ยืนแก่ธุรกิจ และความเชื่ อมัน่ ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้น นักลงทุน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้กาหนดจรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อเป็ นข้อพึงปฏิบตั ิ ทางจริ ยธรรมแก่กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารและพนักงาน อันจะนาไปสู่ การเป็ นองค์กรที่ยงั่ ยืน มีธรรมาภิบาล และปราศจากการคอร์รัปชันอย่างแท้จริ ง ซึ่งมีแนวปฏิบตั ิ 7 ประการ ดังนี้ 1. การคานึงถึงประโยชน์ และการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ เสี ยทุกฝ่ ายอย่างยุติธรรม ดาเนินธุรกิจด้วยการคานึงถึงประโยชน์และมุ่งปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย อาทิ ลูกค้า คู่คา้ ผูถ้ ื อ หุ ้ น หรื อ เจ้า ของกิ จ การ พนัก งาน เจ้า หนี้ รั ฐ บาล และสั ง คมโดยรวมอย่า งยุ ติ ธ รรม นอกจากนี้ ต้องปฏิบตั ิอย่างเท่าเทียมกันระหว่างผูถ้ ือหุ ้นหรื อเจ้าของกิจการทุกราย ทั้งรายใหญ่ หรื อรายเล็ก หรื อชนชาติใด เพราะผูถ้ ือหุ น้ ทุกรายล้วนมีความสาคัญต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ ทั้งสิ้ น 2. การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใสสามารถตรวจสอบได้ ความเชื่ อมัน่ ของนักลงทุน เจ้าหนี้ และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง เกิดจากความโปร่ งใสในการดาเนิ นงาน ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่สามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งการเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน และทันกาล ให้แก่ ผูท้ ี่ เ กี่ ย วข้อง โดยข้อ มูล ที่ เปิ ดเผยต้องมีค วามสม่า เสมอ ได้รับ การจัดทาและบันทึ ก ด้วยหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็ นมาตรฐานสามารถเปรี ยบเทียบกับข้อมูลจากแหล่งอื่นได้ 3. การลดความเสี่ ยง แม้วา่ กลุ่มบริ ษทั ฯ จะมีการกาหนดวัตถุประสงค์ไว้อย่างชัดเจน และมีการวางแผนการปฏิบตั ิ ตลอดจนกาหนดกระบวนการควบคุมตรวจสอบการปฏิบตั ิงานไว้อย่างรัดกุมแล้ว แต่ยงั คงต้อง มีกระบวนการบริ หารความเสี่ ยง ซึ่ งต้องถือปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอ โดยวิเคราะห์ความเสี่ ยงของ การดาเนิ นธุ รกิจ และกาหนดระดับความสาคัญของความเสี่ ยง มาตรการควบคุม และขั้นตอน การปฏิบตั ิอย่างเข้มงวด เพื่อลดอัตราความเสี่ ยงให้เหลือน้อยที่สุด 4. มุ่งส่ งเสริมหลักการปฏิบัติอนั เป็ นเลิศในองค์ กร และการพัฒนาผลผลิตและยกระดับมาตรฐาน สู่ ความเป็ นหนึ่งด้ านการบริหารจัดการคุณภาพอ้อย และธุรกิจผลิตผลพลอยได้ มุ่ ง น าการปฏิ บ ัติ อ ัน เป็ นเลิ ศ ซึ่ งใช้ไ ด้ผ ลดี ม าแล้ว จากหน่ ว ยงานอื่ น ๆ มาประยุ ก ต์ใ ช้ใ ห้ เหมาะสมกับสภาพของกลุ่ มบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ ยงั คงต้องส่ งเสริ มการปฏิ บตั ิอนั เป็ นเลิ ศแก่ บุคลากรทุกฝ่ าย โดยผลักดันทุกหน่วยงานให้พยายามพัฒนาตนเองตลอดเวลา รวมทั้งการตั้งเป้ าหมาย ในการพัฒนาผลผลิ ตและยกระดับมาตรฐานสู่ ความเป็ นหนึ่ งด้านการบริ หารจัดการคุณภาพอ้อย 213 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
227
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
โดยการส่ งเสริ มการปลูกอ้อยและขยายพื้นที่การเพาะปลูกอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริ มความแข็งแกร่ ง และความมัน่ คงให้แก่ชุมชนชาวไร่ ออ้ ย อันจะส่ งผลให้เกิดประสิ ทธิ ภาพให้แก่ผลผลิ ตอ้อย อย่า งยัง่ ยืน ตลอดจนการคิ ด ค้น และพัฒ นาต่อ ยอดอุต สาหกรรม ธุ ร กิ จ ผลิ ต ผลพลอยได้ และการสร้างมูลค่าเพิ่ม 5. การให้ ผลตอบแทนทีย่ งั่ ยืนแก่เจ้ าของกิจการหรื อผู้ถือหุ้น กลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักถึงการสร้างมูลค่าขององค์กรในระยะยาว ไม่คานึ งแต่ผลงานระยะสั้น รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุ งกระบวนการบริ หารงานให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นอย่างไม่หยุดนิ่ง อันหมายถึ ง ความเพีย รพยายามที่จะให้เ จ้า ของกิ จ การหรื อผูถ้ ื อหุ ้นได้รับ ผลตอบแทนที่ ดี อย่างสม่าเสมอและยัง่ ยืน 6. ความรับผิดชอบต่ อสั งคมและประเทศชาติ กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ เชื่ อ ว่า การพัฒ นาธุ ร กิ จ จ าเป็ นต้อ งควบคู่ ก ับ การพัฒ นาสั ง คม ในฐานะเป็ น ส่ วนหนึ่ งของสังคมและประเทศชาติ ควรคืนกาไรสู่ สังคมผ่านกิ จกรรมสาธารณกุศลต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ตลอดจนมี ส่ วนร่ วมในการดู แลรั ก ษาสภาพแวดล้อม และสนับ สนุ น กิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ที่ยงั่ ยืนต่อสังคมและประเทศชาติอย่างเป็ นรู ปธรรม 7. การต่ อต้ านคอร์ รัปชัน กรรมการบริ ษ ทั ผูบ้ ริ หาร และพนัก งานทุ ก คน ต้องมุ่ง ปฏิ บตั ิ ตามนโยบายการก ากับ ดู แล กิจการที่ดี จรรยาบรรณธุ รกิจ และนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชัน รวมถึงกฎหมาย กฎเกณฑ์ และ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนให้ความสาคัญในการสร้างระบบการทางานในองค์กรให้ เข้มแข็ง การปลูกจิตสานึ กที่ดี รวมทั้งสนับสนุ นให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่ วมในการต่อต้าน คอร์ รัปชัน นอกจากนั้น ต้องดาเนินธุ รกิจโดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย และการเปิ ดโอกาสให้ ผูม้ ี ส่ วนได้เสี ย แจ้ง ข้อ ร้ องเรี ย น การรั บฟั งความคิ ด เห็ น และจัดท า มาตรการคุม้ ครองบุคคลดังกล่าว เพื่อกาจัดคอร์ รัปชันให้สิ้นจากองค์กร และพัฒนาให้องค์กร เติบโตอย่างยัง่ ยืน ด้วยความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย คณะกรรมการบริ ษทั จึง มีหน้าที่กากับดูแลผูบ้ ริ หาร หรื อฝ่ ายจัดการ และผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการต้องมีหน้าที่กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายต่าง ๆ อีกขั้นหนึ่ง นโยบายต่ อต้ านคอร์ รัปชัน กลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญในการดาเนิ นธุ รกิจด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต ยึดมัน่ ในความรับผิดชอบต่อ สังคมและผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม โดยยึดหลักธรรมาภิบาล จรรยาบรรณธุ รกิจ และปฏิบตั ิตามข้อกาหนดกฎหมาย อย่างเคร่ งครัด ดังนั้น กลุ่ มบริ ษทั ฯ จึ งกาหนดนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันขึ้น โดยสื่ อสารและประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสาคัญของนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันกับกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารและ พนักงานของกลุ่มบริ ษทั ฯ เพื่อให้มีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิตามแนวทางการปฏิบตั ิที่ชดั เจนในการดาเนินธุ รกิจ 228
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
214
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันฉบับนี้ ถือเป็ นส่ วนเพิ่มเติมของคู่มือ CG ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ซึ่ งได้รับ อนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั แล้ว 1. วัตถุประสงค์ เพื่อ แสดงถึ ง เจตนารมณ์ แ ละความมุ่ง มัน่ ของกลุ่ม บริ ษ ทั ฯ ในการต่อ ต้า นคอร์ รั ป ชัน ทุกรู ปแบบไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อม เพื่อเป็ นการกาหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบตั ิ และหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน ได้รับทราบและถือปฏิบตั ิในการต่อต้านและป้ องกันคอร์ รัปชัน กับทุกกิจกรรมทางธุ รกิจอย่างเคร่ งครัด เพื่อเป็ นการสร้างความเชื่อมัน่ ต่อลูกค้า คู่คา้ หรื อพันธมิตรทางธุรกิจ และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ 2. คานิยาม คอร์ รัป ชัน (Corruption) หมายถึ ง การใช้อานาจที่ ได้ม าโดยหน้าที่ ใ นการหาประโยชน์ ส่ วนตัว หรื อการทุ จริ ตโดยใช้ห รื ออาศัย ต าแหน่ ง หน้า ที่ อ านาจและอิ ท ธิ พ ลที่ ต นมี อ ยู่ เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ ต นเองและหรื อผู ้อื่ น หรื อการเสนอ การให้ หรื อสั ญ ญาว่ า จะให้ ผลประโยชน์ ทั้งในรู ปของเงิ น สิ่ งของ และสิ่ งตอบแทนต่าง ๆ เพื่อเป็ นแรงจูงใจให้เกิด การทาผิดกฎหมายหรื อศีลธรรมอันดี รวมถึงการนาเงินหรื อสิ่ งของที่ได้รับมอบหมายให้ใช้ ในราชการ มาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรื อเพื่อกิ จกรรมอื่ นที่ ไม่เกี่ ยวข้อง (ที่มาข้อมูล : องค์กรความโปร่ งใสสากล Transparency International – TI ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1993) 3. ขอบเขต นโยบายนี้ ใช้บงั คับกับพนักงานทุกคน ซึ่ งครอบคลุมตั้งแต่กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารและ พนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ิตาม รวมทั้งนโยบายอื่นที่เกี่ยวข้องกับคู่มือ CG ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ด้วย กลุ่มบริ ษทั ฯ คาดหวังว่าลูกค้า คู่คา้ หรื อพันธมิตรทางธุ รกิจ ที่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับ กลุ่มบริ ษทั ฯ จะร่ วมถือปฏิบตั ิตามนโยบายฉบับนี้ 4. หน้ าที่และความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริ ษทั มีหน้าที่และรับผิดชอบในการกาหนดนโยบายและกากับดูแลให้มี ระบบที่สนับสนุ นการต่อต้านคอร์ รัปชันที่มีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้มนั่ ใจว่าฝ่ ายบริ หารได้ ตระหนักและให้ความสาคัญกับการต่อต้านคอร์รัปชันและปลูกฝังจนเป็ นวัฒนธรรมองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่และรับผิดชอบในการสอบทานรายงานทางการเงินและบัญชี ระบบการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน และการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อให้มนั่ ใจว่า การดาเนิ นงานมีความรัดกุม เหมาะสม และมีประสิ ทธิ ภาพเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ที่ รับรองโดยทัว่ ไป อีกทั้งกากับดูแลนโยบายและมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน เพื่อให้มนั่ ใจ ว่ากลุ่มบริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎหมายและคู่มือ CG ที่กาหนดไว้ 215 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
229
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ประธานกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร มีหน้าที่และรับผิดชอบใน การกาหนดให้มี ร ะบบการส่ ง เสริ ม และการสนับ สนุ น นโยบายต่ อ ต้า นคอร์ รั ป ชัน เพื่อ สื่ อสารไปยังพนักงานและผูเ้ กี่ ยวข้องทุกฝ่ าย รวมทั้ง ทบทวนความเหมาะสมของ ระบบและมาตรการต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของธุ รกิจ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อกาหนดของกฎหมาย สานัก ตรวจสอบภายในมี ห น้า ที่ แ ละรั บ ผิด ชอบในการตรวจสอบและสอบทาน การปฏิ บ ัติ ง านว่ า เป็ นไปอย่ า งถู ก ต้อ ง ตรงตามนโยบาย ประกาศ แนวทางปฏิ บ ัติ กฎระเบียบที่กาหนดไว้ เพื่อให้มนั่ ใจว่าระบบควบคุมมีความเหมาะสมและเพียงพอต่อ ความเสี่ ย งด้านคอร์ รัป ชันที่ อาจเกิ ดขึ้ น และรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริ ษทั ทราบ พนักงานทุกคน มีหน้าที่ ปฏิ บตั ิตามนโยบาย และแนวทางปฏิบตั ิในการต่อต้านคอร์ รัปชัน อย่างเคร่ งครัด โดยต้องลงนามรับทราบและถือปฏิบตั ิตามนโยบายนี้ และส่ งให้ฝ่ายทรัพยากร บุคคลและธุ รการจัดเก็บไว้เป็ นหลักฐาน เพื่อยืนยันว่าพนักงานทุกคนรับทราบ เข้าใจ และ พร้ อมจะนานโยบายนี้ ไปปฏิบตั ิ ในกรณี มีขอ้ สงสัยหรื อพบเห็นการฝ่ าฝื นนโยบายนี้ จะต้อง รายงานต่ อผูบ้ ังคับบัญชา หรื อผ่านช่ องทางส าหรั บการร้ องเรี ยนของกลุ่ มบริ ษ ทั ฯ ทั้งนี้ หน่ วยงานรั บข้อร้ องเรี ยนจะเก็ บรั กษาข้อมู ลที่ รายงานเป็ นความลับ และส่ งต่ อข้อมู ลถึ ง หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องด้วยความระมัดระวัง 5. ข้ อกาหนดในการดาเนินการ การดาเนินการใด ๆ ตามนโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันให้ใช้แนวปฏิบตั ิตามที่กาหนดไว้ใน คู่มือ CG ของกลุ่มบริ ษทั ฯ นโยบาย และแนวปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม ระเบียบ คู่มือปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง และแนวทางปฏิบตั ิอื่นใดที่กลุ่มบริ ษทั ฯ จะกาหนดขึ้นต่อไป นโยบายต่อต้านคอร์ รัปชันฉบับนี้ ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของ กลุ่มบริ ษทั ฯ โดยกาหนดให้ผบู้ งั คับบัญชาทุกระดับสื่ อสารทาความเข้าใจกับพนักงาน เพื่อใช้ ในกิจกรรมทางธุ รกิ จที่อยู่ในความรั บผิดชอบ และควบคุ มดูแลการปฏิ บตั ิให้เป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิภาพ กาหนดให้มีการประเมินความเสี่ ยงต่อการเกิดคอร์ รัปชันทัว่ ทั้งองค์กรเป็ นประจาทุกปี เพื่ อความชัดเจนในการดาเนิ นการเรื่ องความเสี่ ยงกับ การคอร์ รัป ชัน กรรมการบริ ษ ทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานในกลุ่มบริ ษทั ฯ ทุกระดับต้องปฏิบตั ิดว้ ยความระมัดระวังในเรื่ อง ต่อไปนี้ 1.
230
ของขวัญ ของกานัล การเลี้ยงรับรองและค่าใช้จ่าย การให้ มอบ หรื อรับของกานัล การเลี้ ยงรับรอง ให้เป็ นไปตามที่ กาหนดในคู่มือ CG ของกลุ่มบริ ษทั ฯ
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
216
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2.
เงินบริ จาคเพื่อการกุศล หรื อเงินสนับสนุน การให้หรื อรับเงินบริ จาค หรื อเงินสนับสนุน ต้องเป็ นไปอย่างโปร่ งใสและถูกต้อง ตามกฎหมาย โดยต้องมัน่ ใจว่า เงิ นบริ จาค หรื อเงิ นสนับสนุ นไม่ได้ถูก นาไปใช้ เพื่อเป็ นข้ออ้างในการติดสิ นบน โดยให้เป็ นไปตามที่กาหนดในคู่มือ CG
3.
ความสัมพันธ์ทางธุรกิจและการจัดซื้อจัดจ้าง ห้า มให้หรื อรั บ สิ นบนในการดาเนิ น ธุ รกิ จ ทุ ก ชนิ ด กับ คู่ค ้า คู่ สั ญ ญา หน่ วยงาน ภาครัฐ หรื อหน่ วยงานที่ดาเนิ นธุ รกิ จกับกลุ่มบริ ษทั ฯ ต้องดาเนิ นการให้ เป็ นไป อย่างโปร่ งใส ซื่ อสัตย์ และถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้ ในปี 2561 กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้ดาเนินกิจกรรมส่ งเสริ มธรรมาภิบาลและการต่อต้านคอร์ รัปชัน ดังนี้ จัดอบรมเรื่ องคอร์ รัป ชันให้ ท้ งั พนักงานเก่ า และพนัก งานใหม่อย่า งต่อเนื่ อง ในหัวข้อ การอบรม “จริ ยธรรม ธรรมาภิบาล และการต่อต้านคอร์รัปชัน” เพื่อปลูกฝังจิตสานึกคุณธรรม และจริ ยธรรม กิจกรรมในการส่ งเสริ มธรรมาภิบาลให้พนักงานในปี 2561 อาทิ กิจกรรมโรงทานในวันเข้าพรรษา และวันออกพรรษา และกิจกรรมงานบุญทอดกฐิน เป็ นต้น ในปี 2561 บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวอย่างเคร่ งครัด ไม่พบความผิดปกติ หรื อข้อร้องเรี ยน การทุจริ ตและคอร์ รัปชัน หรื อข้อร้องเรี ยนการเรี ยกรับ หรื อการให้ของขวัญ รางวัล ที่อาจทาให้เกิด อิทธิพลในการตัดสิ นใจต่อธุรกิจ หรื อเข้าข่ายการทุจริ ตและคอร์รัปชันแต่อย่างใด กระบวนการในการจัดการข้ อร้ องเรียน (ทีอ่ าจเป็ นการกระทาผิด) คณะกรรมการบริ ษทั มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน โดยกาหนดให้คณะกรรมการสอบสวน มี หน้าที่ ส อบสวนข้อเท็จจริ ง ประมวลผล กลัน่ กรองข้อมูลตามพยานหลัก ฐาน และพฤติการณ์ ต่าง ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง ซึ่ งคณะกรรมการสอบสวนรวบรวมได้ เพื่อพิจารณาขั้นตอน และวิธีการจัดการที่เหมาะสมในแต่ละ เรื่ องตามหลักเกณฑ์ ซึ่ งคณะกรรมการสอบสวนของบริ ษทั ประกอบด้วยผูบ้ ริ หารระดับสู ง และผูจ้ ดั การ ในฝ่ ายการเงินและบัญชี ฝ่ ายจัดซื้อ ฝ่ ายกฎหมาย สานักบริ หารความเสี่ ยง และสานักตรวจสอบภายใน คณะกรรมการสอบสวน ต้องดาเนิ นการสอบสวน รวบรวมข้อเท็จจริ ง ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐาน ที่เกี่ ยวข้อง แจ้งข้อกล่าวหาและสรุ ปพยานหลักฐานให้ผถู้ ูกกล่าวหาทราบ รับฟังคาชี้ แจงของผูถ้ ูกกล่าวหาแล้ว เก็ บรวบรวมไว้ในส านวนการสอบสวน และท ารายงานการสอบสวนพร้ อมความเห็ นเสนอผู้สั่ งแต่ งตั้ง คณะกรรมการสอบสวนหรื อประธานกรรมการบริ ษ ัท ทั้งนี้ ต้องให้แล้วเสร็ จภายในหกสิ บวันนับแต่ วนั ที่ ประธานกรรมการรับทราบ การดาเนินงานเกี่ยวกับคณะกรรมการสอบสวน มีหน้าที่และความรับผิดชอบ คือสอบสวนและพิจารณา ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่กาหนด เพื่อแสวงหาความจริ งในเรื่ องที่ก ล่า วหาและดูแลให้มี ความยุติธ รรมตลอดจนกระบวนการสอบสวน โดยให้ค ณะกรรมการสอบสวนรวบรวมประวัติแ ละ 217 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
231
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ความประพฤติของผูถ้ ูกกล่าวหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่กล่าวหาเท่าที่จาเป็ น เพื่อประกอบการพิจารณา และจัดทา บันทึกรายละเอียดที่มีการสอบสวนไว้ทุกครั้ง ซึ่งในการสอบสวนและพิจารณาห้ามมิให้มีบุคคลอื่นอยูห่ รื อร่ วมด้วย เว้นแต่เป็ นการสอบปากคา 1.
ให้ประธานกรรมการจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครั้งแรกภายใน 7 วัน นับแต่ วัน ที่ ป ระธานกรรมการรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น ในกรณี ที่ ไ ม่ อ าจจัด ประชุ ม ได้ภ ายในก าหนด ให้รายงานเหตุผลและความจาเป็ นให้ผสู้ ั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทราบ
2.
การประชุ มคณะกรรมการสอบสวน ให้คณะกรรมการสอบสวนกาหนดประเด็นและวางแนวทาง การสอบสวน และการรวบรวมพยานหลักฐาน แล้วให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนิ นการ ดังต่อไปนี้ 2.1 รวบรวมข้อเท็จจริ ง ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง โดยไม่รับฟั งแต่เพียง ข้ออ้างหรื อพยานหลักฐานของผูก้ ล่าวหาหรื อผูถ้ ูกกล่าวหาเท่านั้น 2.2 แจ้งข้อกล่าวหาและสรุ ปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผถู้ ูกกล่าวหาทราบ 2.3 ให้โอกาสผูถ้ ูกกล่าวหาได้ช้ ีแจง แสดงพยานหลักฐานเพื่อแก้ขอ้ กล่าวหา 2.4 พิจารณาทาความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่สอบสวน 2.5 ทารายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอต่อผูส้ ั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
232
3.
การสอบปากคาผูถ้ ูกกล่าวหาหรื อพยานให้สอบปากคาคราวละหนึ่ งคน และการสอบปากคา ต้องมีกรรมการสอบสวนไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการสอบสวนทั้งหมดจึงจะทา การสอบปากคาได้ แต่ในกรณี ที่ก่ ึงหนึ่งของจานวนกรรมการสอบสวนทั้งหมดมีมากกว่าสามคน จะให้กรรมการสอบสวนไม่นอ้ ยกว่าสามคนทาการสอบปากคาก็ได้
4.
การสอบปากคา ต้องมีการบันทึกถ้อยคาของผูใ้ ห้ถอ้ ยคาตามแบบฟอร์ มที่กาหนด แล้วอ่านให้ ผูใ้ ห้ถ้อยค าฟั ง หรื อ ให้ผูใ้ ห้ถ้อยค าอ่า นเองก็ไ ด้ แล้วให้ผูใ้ ห้ถ้อยค า ผูบ้ นั ทึ ก ถ้อ ยคา และ กรรมการสอบสวนซึ่ งอยู่ร่วมในการสอบปากคาลงลายมื อชื่ อในบันทึกถ้อยคานั้นไว้เป็ น หลักฐาน ในกรณี ที่บนั ทึกถ้อยคาใดมีหลายหน้า ให้ผใู้ ห้ถอ้ ยคาและกรรมการสอบสวนซึ่ งอยูร่ ่ วม ในการสอบปากคาหนึ่ งคนลงลายมือชื่ อกากับไว้ในบันทึกถ้อยคาทุ กหน้า โดยการบันทึก ถ้อยคา ห้ามมิให้ขูด ลบ หรื อบันทึกข้อความทับข้อความที่ได้บนั ทึกไว้แล้ว ถ้าจะต้องแก้ไข หรื อเพิ่มเติม ให้ใช้วิธีขีดฆ่าข้อความเดิ มและเพิ่มเติมข้อความใหม่ แล้วให้ผใู้ ห้ถอ้ ยคาและ กรรมการสอบสวนซึ่ งอยู่ร่ ว มในการสอบปากค าหนึ่ ง คนลงลายมื อ ชื่ อ ก ากับ ไว้ต รงที่ มี การแก้ไขเพิ่มเติมทุกแห่ ง ในกรณี ที่ผใู้ ห้ถ้อยคาไม่ยอมลงลายมือชื่ อ ให้บนั ทึกเหตุที่ไม่ลง ลายมือชื่อนั้นไว้ในบันทึกถ้อยคาด้วย
5.
การสอบปากค า ห้า มมิ ใ ห้ บุ ค คลอื่ น อยู่ใ นที่ ส อบปากค า เว้น แต่ เ ป็ นบุ ค คลซึ่ งกรรมการ สอบสวนที่ ทาการสอบปากคาอนุ ญาตให้อยู่ในที่สอบสวนเพื่อประโยชน์ในการสอบสวน
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
218
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
หรื อเป็ นทนายความ หรื อที่ ปรึ กษาของผู้ถู กกล่ าวหาตามจ านวนที่ กรรมการสอบสวนที่ ท า การสอบปากคาเห็นสมควรให้เข้ามาในการสอบปากคาผูถ้ ูกกล่าวหา 6.
ห้ามมิ ให้กรรมการสอบสวนท าหรื อจัดให้ท าการใด ๆ ซึ่ งเป็ นการให้ ค ามั่นสั ญญา ขู่ เข็ ญ หลอกลวง บังคับ หรื อกระทาโดยมิชอบไม่วา่ ด้วยประการใด เพื่อจูงใจให้ผถู ้ ูกกล่าวหาหรื อพยาน ให้ถอ้ ยคาอย่างใด
7.
การแจ้งข้อกล่ าวหาและสรุ ปพยานหลักฐานที่สนับสนุ นข้อกล่ าวหา ให้ทาเป็ นบันทึกระบุ ข้อเท็จจริ งและพฤติการณ์ของผูถ้ ูกกล่าวหาว่าได้กระทาการใด เมื่อใด อย่างไร เป็ นความผิด วินัยในกรณี ใด และสรุ ปพยานหลักฐานที่สนับสนุ นข้อกล่าวหา โดยจะระบุชื่อพยานด้วย หรื อ ไม่ ก็ ไ ด้ รวมทั้ง แจ้ง ให้ท ราบสิ ท ธิ ข องผูถ้ ู ก กล่ า วหาที่ จ ะให้ถ ้อ ยคาหรื อ ยื่น คาชี้ แ จง แก้ข อ้ กล่ า วหาเป็ นหนัง สื อ สิ ท ธิ ที่จ ะแสดงพยานหลัก ฐานหรื อ จะอ้า งพยานหลัก ฐาน เพื่อขอให้เรี ยกพยานหลักฐานนั้นมาได้ แล้วแจ้งให้ผถู้ ูกกล่าวหาทราบ โดยให้ทาเป็ นสองฉบับ มีขอ้ ความตรงกัน ให้ประธานกรรมการและกรรมการอีกอย่างน้อยหนึ่งคนลงลายมือชื่ อใน บันทึกนั้นด้วย
8.
ให้คณะกรรมการสอบสวนมีหนังสื อเรี ยกผูถ้ ู กกล่าวหามาพบตามวัน เวลา และสถานที่ ที่ คณะกรรมการสอบสวนกาหนด เพื่อแจ้งข้อกล่าวหาและสรุ ปพยานหลักฐานที่สนับสนุ น ข้อกล่ าวหาให้ผูถ้ ู กกล่ าวหาทราบ เมื่อผูถ้ ูกกล่ าวหาได้มาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งข้อกล่าวหาพร้อมทั้งอธิ บายข้อกล่าวหาและสรุ ปพยานหลักฐาน ที่ ส นับ สนุ นข้อกล่ า วหาให้ผูถ้ ู ก กล่ า วหาทราบ และให้ผูถ้ ู ก กล่ า วหารั บ ทราบข้อกล่ า วหา โดยลงลายมือชื่อพร้อมทั้งวันเดือนปี ในบันทึกนั้น แล้วมอบบันทึกนั้นให้ผถู้ ูกกล่าวหาหนึ่งฉบับ และอีกฉบับหนึ่งเก็บไว้ในสานวนการสอบสวน
ในปี 2561 บริ ษทั ได้รับการรับรองฐานะสมาชิ กแนวร่ วมปฏิ บตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริ ต (Collective Action Coalition Against Corruption หรื อ CAC) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2561 ทั้งนี้ บริ ษทั มีความมุ่งมัน่ สานต่อการดาเนินตามนโยบายการต่อต้านคอร์ รัปชัน ตลอดจนการสื่ อสารและประกาศ เรื่ องดังกล่าวไปยังคู่คา้ และผูเ้ กี่ยวข้องทุกภาคส่ วน รวมทั้งได้จดั อบรมให้บุคลากรและรณรงค์ภายในองค์กร อย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ได้เปิ ดช่ องทางการแจ้งข้อร้ องเรี ยนและข้อเสนอแนะ (Whistleblowing) เพื่อรับข้อ ร้องเรี ยนจากผูม้ ีส่วนได้เสี ย ผ่านกล่องรับความคิดเห็นและทางไปรษณี ย ์ ซึ่ งส่ งถึงประธานกรรมการธรรมาภิบาล โดยตรง โดยในปี ที่ผ่านมาไม่ป รากฏข้อร้ องเรี ยนจากผูม้ ีส่ วนได้เสี ย จรรยาบรรณกรรมการบริษัทและบุคลากรในองค์ กร การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้ อบังคับบริษัท และกฎเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้ อง และการเคารพสิ ทธิมนุษยชนและด้ านแรงงาน กลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญและกาหนดให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ข้อบังคับบริ ษทั และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของทางราชการ และหน่ วยงานกากับดูแลที่เกี่ยวข้อง รวมถึง 219 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
233
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ระเบียบข้อบังคับการทางาน (“ระเบียบฯ”) อย่างเคร่ งครัด และต้องหลีกเลี่ยงการมีส่วนร่ วมหรื อให้การสนับสนุ น กิ จกรรมที่มิชอบด้วยกฎหมาย หรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยของสังคม หรื อ ศี ล ธรรมอัน ดี ข องประชาชน การใช้อานาจหน้า ที่ พนัก งาน หรื อ ทรั พ ย์สิ น ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ เพื่ อ วัตถุประสงค์ที่ผิดกฎหมาย เป็ นเรื่ อง ต้องห้ามโดยเด็ดขาด ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.
ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับบริ ษทั ระเบียบฯ และกฎเกณฑ์ที่เกี่ ยวข้องในการดาเนิ นธุ รกิจ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ดังนี้ 1.1 กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน จะต้องปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับบริ ษ ั ท ระเบี ย บฯ และกฎเกณฑ์ ข องตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย และส านัก งาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 1.2 กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนัก งาน ต้องไม่ หลี ก เลี่ ย งการปฏิ บตั ิ ตามกฎหมาย ข้อบังคับบริ ษทั ระเบียบฯ และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 1.3 กรรมการบริ ษ ทั ผูบ้ ริ หาร และพนัก งาน จะต้อ งให้ค วามร่ ว มมื อ กับ ฝ่ ายกฎหมาย ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ สานักตรวจสอบภายใน และสานักกรรมการที่กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนดขึ้น และรายงานข้อมูลเกี่ยวกับการฝ่ าฝื นการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับบริ ษทั ระเบี ยบฯ และกฎเกณฑ์ ต่ าง ๆ ตลอดจนการกระท าผิดด้านทุ จริ ตและคอร์ รั ปชันต่ อ หน่วยงานนั้น ๆ
2.
การฝ่ าฝื นกฎหมาย มติที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น มติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ข้อบังคับบริ ษทั ระเบียบฯ คาสั่งของกลุ่มบริ ษทั ฯ โดยอ้างว่าเป็ นการกระทาเพื่อเพิ่มผลกาไรให้แก่กลุ่มบริ ษทั ฯ หรื อเหตุผลอื่นใด มิใช่เหตุผลที่จะพึงรับฟัง พนักงานต้องปฏิบตั ิหน้าที่ของตนด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต โดยคานึ งถึ งประโยชน์อนั ชอบธรรม ของกลุ่มบริ ษทั ฯ แม้จะมีช่องว่างของกฎหมาย หรื อช่องว่างของข้อบังคับบริ ษทั ระเบียบฯ และคาสั่งของกลุ่มบริ ษทั ฯ หรื อกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ก็ตาม
3.
234
4.
รักษาข้อมูลที่เป็ นความลับของกลุ่มบริ ษทั ฯ ไม่ให้รั่วไหลไปยังบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง ซึ่ งอาจ ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่กลุ่มบริ ษทั ฯ หรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ย ยกเว้นกรณี ที่เป็ นไปตามกฎหมาย
5.
การได้มาหรื อจาหน่ ายไปซึ่ งหลักทรัพย์จดทะเบียนของกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร รวมถึ ง คู่ สมรสหรื อผูท้ ี่ อยู่กิ นด้วยกันฉันสามี ภรรยา บุ ตรที่ ย งั ไม่บรรลุ นิติภาวะ และนิ ติบุ คคลของ บุ ค คลเหล่ า นั้น ให้ ปฏิ บ ัติ ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลัก ทรั พ ย์แห่ งประเทศไทย เรื่ องการปฏิ บตั ิเกี่ ยวกับการได้มาหรื อการจาหน่ายไปซึ่ งหลักทรัพย์ของกรรมการและพนักงาน พ.ศ. 2547
6.
พนัก งานต้องท าความเข้า ใจกฎหมาย ข้อ บัง คับ บริ ษ ัท และระเบี ย บฯ ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ตลอดจนกฎเกณฑ์ของหน่ วยงานก ากับดู แลที่ เกี่ ยวข้อง รวมทั้งท าความเข้าใจถึ งบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของตนให้ถี่ถว้ น และต้องปฏิบตั ิตามอย่างเคร่ งครัด หากไม่แน่ใจ
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
220
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ให้ขอคาปรึ กษาจากฝ่ ายกฎหมาย หรื อหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ห้ามปฏิบตั ิตามความเข้าใจ ของตนเองโดยไม่มีคาแนะนา 7.
การเคารพสิ ทธิมนุษยชน 7.1 กลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ ไม่ ส นับ สนุ นกิ จกรรมที่ ล ะเมิ ดสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนทุ ก ประการ รวมทั้ง ให้ ความสาคัญและส่ งเสริ มการเคารพสิ ทธิ มนุษยชน 7.2 ปฏิ บตั ิ ต่อทุกคนอย่างเท่าเที ยม ด้วยความเคารพและให้เกี ยรติ ซ่ ึ งกันและกัน โดยไม่ แบ่งแยก เชื้ อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ ภาษา อายุ สี ผิว การศึกษา สถานะทางสังคม ลักษณะทางกายภาพ หรื อเรื่ องอื่นใด 7.3 พนักงานทุกคนต้องไม่กระทาการใด ๆ ที่ละเมิดหรื อคุกคามบุคคลอื่น ทั้งทางวาจาหรื อ การกระทาและพึงหลีกเลี่ยงการกระทาที่ละเมิดสิ ทธิมนุษยชน 7.4 ปฏิ บตั ิหน้าที่ดว้ ยความระมัดระวัง เพื่อป้ องกันการละเมิดสิ ทธิ มนุ ษยชน หากพบเห็น การกระทาที่ละเมิด หรื ออาจละเมิดสิ ทธิมนุษยชน ให้รายงานแก่ผบู้ งั คับบัญชา 7.5 กลุ่มบริ ษทั ฯ จะรักษาข้อมูลส่ วนบุคคลของพนักงาน หากมีความจาเป็ นในการเปิ ดเผย สู่ สาธารณะ จะต้องได้รับความยินยอมจากพนักงานผูน้ ้ นั ก่อน เว้นแต่กระทาการตาม ข้อบังคับบริ ษทั หรื อกฎหมาย
8.
ด้านแรงงาน 8.1 ปฏิ บตั ิ ต่อพนักงานตามกฎหมายแรงงานและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้องอย่างเป็ นธรรม และเท่าเทียม 8.2 ไม่เลื อกปฏิ บตั ิ และปฏิบตั ิดา้ นการจ้างงานอย่างเท่าเทียม ทั้งกระบวนการสรรหา การจ่าย ค่ า ตอบแทน สวัส ดิ ก าร เวลาท างาน วัน หยุ ด การมอบหมายงาน การฝึ กอบรม และการประเมินผลงาน เป็ นต้น 8.3 ไม่ใช้แรงงานเด็ก แรงงานต่างด้าวที่ผดิ กฎหมาย หรื อแรงงานจากการค้ามนุษย์ 8.4 ห้ามมิให้ลงโทษพนักงานที่เป็ นการทารุ ณทางร่ างกายหรื อจิตใจ อาทิ การคุกคามข่มขู่ การกักขังหน่วงเหนี่ยว หรื อการใช้ความรุ นแรงอื่นใด 8.5 มี ก ระบวนการสอบสวนความผิด พนัก งานอย่า งถู ก ต้อ ง และเป็ นขั้น ตอนชัด เจน ก่ อนเลิกจ้างพนักงาน เพื่อให้ทุกคนได้รับความเป็ นธรรมสู งสุ ด 8.6 ในการว่า จ้า งบริ ษ ัท ผูร้ ั บ เหมามาด าเนิ น การใด ๆ ให้แ ก่ ก ลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ จะพิ จ ารณา คัดเลือกเฉพาะบริ ษทั ที่สามารถปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้องได้เท่านั้น และจะหลีกเลี่ยงการว่าจ้างบริ ษทั รับเหมาใด ๆ ที่มีประวัติกระทาผิด กฎหมายแรงงาน กฎหมายอื่น ๆ หรื อเสี่ ยงต่อการทุจริ ตและคอร์รัปชัน
221 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
235
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
9.5 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการรักษาข้ อมูลอันเป็ นความลับ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อ ให้ก รรมการบริ ษ ทั ผูบ้ ริ ห าร และพนัก งานของกลุ่ม บริ ษ ทั ฯ มีแนวทางในการปฏิบตั ิหน้าที่ อย่างสุ จริ ต ไม่แสวงหาประโยชน์ส่วนตน และ/หรื อ ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง จึ งได้กาหนดนโยบายและแนวปฏิ บตั ิด้าน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ดังนี้ 1.
2.
3. 4.
เปิ ดเผยและน าส่ ง ข้อ มู ล ส่ ว นได้เ สี ย ของตนและผู ้ที่ เ กี่ ย วข้อ งต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท ให้ทราบถึ งความสัมพันธ์ และการทาธุ รกรรมกับกลุ่ มบริ ษทั ฯ ในลักษณะที่ อาจก่อให้เกิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทนั ทีที่มีการทารายการ ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ กลุ่มบริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลและตรวจสอบเรื่ องดังกล่าวเป็ นประจา จึงได้กาหนดให้เลขานุ การบริ ษทั มีหน้าที่สารวจรายการที่มีส่วนได้เสี ยเป็ นประจาทุกสิ้ นปี โดยการสารวจจะดาเนินการทั้งกับ กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อ ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง รวมถึงผูจ้ ดั การฝ่ าย และพนักงานที่มีส่วน เกี่ ย วข้อ งและนาเสนอข้อ มูล ให้ค ณะกรรมการธรรมาภิบ าล คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษทั รับทราบอย่างน้อยปี ละครั้ง หลี กเลี่ ยงการทารายการเกี่ยวโยงกับตนเอง และ/หรื อ ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ก ับ กลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ และไม่ก ระท าการในลัก ษณะใด ๆ อัน เป็ นการขัดต่ อ ผลประโยชน์ ข องกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ หรื อ เป็ นการแสวงหาผลประโยชน์ ส่ ว นตน และ/หรื อ ผูท้ ี่ เกี่ยวข้อง กรรมการบริ ษทั ต้องไม่มีส่วนร่ วมอนุ มตั ิในเรื่ องที่ ตนเองมีส่วนได้เสี ย หรื อมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อม การกระท าดัง ต่ อ ไปนี้ ซึ่ งเป็ นผลให้ ก รรมการบริ ษ ัท ผูบ้ ริ ห าร หรื อ ผูท้ ี่ เ กี่ ย วข้อ ง ได้รั บ ประโยชน์ทางการเงินอื่นนอกเหนื อจากที่พึงได้ตามปกติ หรื อเป็ นเหตุให้กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้รับ ความเสี ยหาย ให้สันนิ ษฐานว่าเป็ นการกระทาที่ ขดั แย้งกับผลประโยชน์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ อย่างมีนยั สาคัญ ดังนี้ (ก) การท าธุ ร กรรมระหว่ า งกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ กับ กรรมการบริ ษ ัท ผู้บ ริ ห าร หรื อ ผู ้ที่ เกี่ยวข้องโดยมิได้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน (ข) การใช้ขอ้ มูลของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่ล่วงรู้มา เว้นแต่เป็ นข้อมูลที่เปิ ดเผยต่อสาธารณชนแล้ว (ค) การใช้ทรัพย์สิน หรื อโอกาสทางธุ รกิ จของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่ฝ่าฝื นหลักเกณฑ์ หรื อ หลักปฏิบตั ิทวั่ ไปตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด
5.
236
กรณี ที่เป็ นรายการธุ รกรรมปกติ เช่ น รายการซื้ อขายสิ นค้า วัตถุ ดิบ ให้บริ การ หรื อให้เงิ น สนับสนุนการปลูกอ้อย (เงินเกี๊ยว) เป็ นต้น กลุ่มบริ ษทั ฯ สามารถทาธุ รกรรมกับบุคคลที่อาจมี
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
222
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ความขัดแย้งได้ หากธุ รกรรมดังกล่าวนั้น มีขอ้ ตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทัว่ ไป ในลักษณะที่วิญญูชนพึงกระทากับคู่สัญญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอานาจต่อรอง ทางการค้าที่ปราศจากอิทธิ พลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่ เกี่ ย วข้อง โดยค านึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข องกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ เป็ นส าคัญ ซึ่ ง ต้องจัดท าสรุ ป รายการ ดังกล่ าวให้คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั รับทราบ และให้ความเห็ น ทุกไตรมาสที่มีการทารายการดังกล่าว 6.
กรณี รายการธุ รกรรมอื่ น ๆ นอกเหนื อจากรายการธุ รกรรมปกติ กาหนดให้คณะกรรมการ ตรวจสอบเป็ นผูพ้ ิจ ารณา และให้ค วามเห็ น เกี่ ย วกับ ความจาเป็ นในการเข้า ทารายการ และความเหมาะสมด้า นราคาของรายการนั้น โดยพิจารณาเงื่ อนไขต่า ง ๆ ว่าเป็ นไปตาม ลัก ษณะการค้ า ขายปกติ ใ นตลาด ซึ่ งสามารถเปรี ยบเที ย บได้ ก ั บ ราคาที่ เ กิ ด ขึ้ นกั บ บุคคลภายนอก และเป็ นไปตามราคายุติธรรม มีความสมเหตุ สมผล ทั้งนี้ การเข้าทารายการ ธุ รกรรมอื่น ๆ ระหว่างกลุ่มบริ ษทั ฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยเมื่อ ผ่า นการพิ จ ารณาจากคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว จะต้อ งได้รั บ อนุ ม ัติ จ ากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั หรื อที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นต่อไป ซึ่ งขึ้ นอยู่กบั ขนาดของรายการ โดยนา หลัก เกณฑ์ ที่ ก าหนดไว้ต ามประกาศที่ เ กี่ ย วข้อ งของคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุ น และ ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาใช้บงั คับ โดยกรรมการบริ ษทั ที่มี ส่ วนได้เสี ยจะไม่เข้าร่ วมประชุ มและไม่ลงมติในวาระนั้น ๆ ในกรณี ที่กรรมการตรวจสอบ ไม่มีความชานาญในการพิจารณารายการดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ฯ จะจัดให้ผเู้ ชี่ยวชาญอิสระเป็ น ผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับรายการดังกล่าว เพื่อใช้ประกอบการตัดสิ นใจของคณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูถ้ ือหุ น้ ตามแต่กรณี
7.
กากับดูแลและรับผิดชอบให้กลุ่มบริ ษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน ระบบบริ หารความเสี่ ยง และระบบป้ องกัน การทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชันอย่า งเหมาะสม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและรั ด กุ ม เพียงพอที่ทาให้มนั่ ใจได้ว่า การดาเนิ นการต่าง ๆ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ จะเป็ นไปตามนโยบาย ข้อบังคับบริ ษทั กฎหมายและประกาศเรื่ องการกากับดู แลกิจการที่ดีของบริ ษทั จดทะเบียน รวมถึงข้อบังคับและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการกากับตลาดทุน สานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้อย่างแท้จริ ง คณะกรรมการบริ ษทั จะต้องกากับดูแลให้กลุ่มบริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ ข้อ บัง คับ ประกาศ คาสั่ ง หรื อ กฎเกณฑ์ ข องตลาดหลัก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย สานัก งานคณะกรรมการก ากับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ และคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุ น นอกจากนี้ กลุ่ มบริ ษ ทั ฯ จะต้องเปิ ดเผยข้อมู ลการท า
8.
223 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
237
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
9.
รายการที่เกี่ยวโยงกันในสาระสนเทศต่าง ๆ ตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วย จัดให้มีระบบงานที่ ชัดเจน เพื่อแสดงว่า บริ ษ ทั ย่อย มีระบบเพีย งพอในการเปิ ดเผยข้อมูล การทารายการที่มีนัยสาคัญตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดได้อย่างต่อเนื่ องและน่ าเชื่ อถื อ และมี ช่องทางให้กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“BRR”) สามารถได้รับข้อมูลของบริ ษทั ย่อย เพื่อติดตามดู แลผลการดาเนิ นงานและฐานะการเงิ น การทารายการระหว่างบริ ษทั ย่อยกับกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร และการทารายการที่มี นัย ส าคัญ ของบริ ษ ัท ย่ อ ยได้อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ต้อ งจัด ให้ มี ก ลไกในการ ตรวจสอบระบบงานดังกล่าวในบริ ษทั ย่อย โดยให้กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ผูต้ รวจสอบภายใน ของ BRR สามารถเข้าถึ ง ข้อ มูล ได้โ ดยตรง และให้มี ก ารรายงาน ผลการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวให้กรรมการบริ ษทั กรรมการตรวจสอบ และผูบ้ ริ หาร ของ BRR รับทราบ เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ บริ ษทั ย่อยมีการปฏิบตั ิตามระบบงานที่จดั ทาไว้อย่างสม่าเสมอ
10. การค้ าประกันตามสัญญากูย้ มื เงินที่เกิดขึ้นระหว่างกลุ่มบริ ษทั ฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง จะคงมีอยูต่ ่อไป เนื่องจากความจาเป็ นในการขอวงเงินสิ นเชื่อจากสถาบันการเงิน เพื่อใช้ซ้ื อ วัตถุดิบและให้เงินสนับสนุนการปลูกอ้อยแก่เกษตกร และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ซึ่ งเป็ นเงื่ อนไขปกติของธนาคารพาณิ ชย์ในการให้สินเชื่ อธุ รกิจ โดยที่กลุ่มบริ ษทั ฯ จะไม่มี ค่าใช้จ่ายจากการรับการค้ าประกันดังกล่าว 11. การกู้ยืมเงิ นจากบุ คคลที่ อาจมีความขัดแย้ง จะเกิ ดขึ้นตามความจาเป็ นในการดาเนิ นธุ รกิ จ ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ฯ จะให้มีการจัดทาสัญญากูย้ ืมเงิน และกาหนดเงื่อนไขที่ชดั เจน โดยคานึงถึง ประโยชน์ข องกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นสาคัญ นอกจากนี้ กลุ่ มบริ ษทั ฯ ไม่ มีนโยบายให้เงิ นกู้ยืม และ/หรื อการค้ าประกันหนี้ใด ๆ นอกเหนือจากเงินสนับสนุนการปลูกอ้อยให้กบั บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง 12. รายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริ ษ ทั จะต้อ งปฏิ บ ัติ ใ ห้ เป็ นไปตามกฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์และตลาด หลักทรั พย์ และข้อบังคับ ค าสั่ ง หรื อกฎเกณฑ์ ของตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยและ คณะกรรมการกากับตลาดทุน ตลอดจนถึงการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลการ ทารายการเกี่ยวโยงกันและการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ 13. พึงหลีกเลี่ยงการถือหุน้ การเป็ นกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร หรื อที่ปรึ กษา ในกิจการที่ประกอบ ธุรกิจลักษณะเดียวกันกับกลุ่มบริ ษทั ฯ หรื อกิจการที่เป็ นคู่แข่งทางการค้า ทั้งนี้ สามารถถือหุ ้น เป็ นกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร หรื อที่ปรึ กษาในองค์กรอื่นได้ หากการถือหุ ้นหรื อการดารง ตาแหน่งนั้น ไม่ขดั ต่อผลประโยชน์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ และการปฏิบตั ิหน้าที่โดยตรงในกลุ่มบริ ษทั ฯ
238
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
224
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทั้งนี้ ในปี 2561 กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร มีการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่ งเป็ นรายการได้มาซึ่ ง สิ นทรัพย์ โดยบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2555 เรื่ อง หลักเกณฑ์ ในการทารายการที่ เกี่ ย วโยงกัน (รวมทั้ง ที่ แก้ไ ขเพิ่ม เติม ) และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลและการปฏิบตั ิการของบริ ษทั จดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ.2546 (รวมทั้งที่แก้ไขเพิ่มเติม) โดยรายละเอียดเปิ ดเผยในส่ วนที่ 12 หัวข้อ รายการระหว่างกันกับบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง และในสารสนเทศที่ได้เผยแพร่ บนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การใช้ ข้อมูลภายใน กลุ่ มบริ ษทั ฯ มีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ในการนาข้อมูล ภายในของกลุ่มบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนและบุคคลอื่น ดังนี้ 1.
ห้า มมิ ใ ห้ก รรมการบริ ษ ัท ผูบ้ ริ ห าร พนัก งาน และลู ก จ้า งของกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ น าความลับ และ/หรื อ ข้อมูล ภายในของกลุ่ ม บริ ษทั ฯ ไปเปิ ดเผยหรื อแสวงหาผลประโยชน์แก่ ตนเอง หรื อ เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ บุ ค คลอื่ น ใด ไม่ ว่า โดยทางตรงหรื อ ทางอ้อ ม และไม่ ว่า จะได้รั บ ผลประโยชน์ตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม
2.
ห้ามเปิ ดเผยข้อมูลภายใน และจงใจหรื อเจตนาบิดเบือนข้อความให้เป็ นเท็จเกี่ยวกับข้อมูลของ กลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ โดยมี เจตนาหลอกลวงให้ผูอ้ ื่ น ส าคัญผิด อาทิ การผลัก ดันราคาหลัก ทรั พ ย์ โดยพยายามทาให้ราคาหลักทรัพย์ปรับตัวสู งขึ้น เพื่อหวังประโยชน์ที่จะขายหลักทรัพย์ได้ใน ราคาสู ง
3.
ให้ความรู ้แก่กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร รวมถึงผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารในสายงานบัญชี หรื อการเงินที่เป็ นระดับผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้นไปหรื อเทียบเท่า เกี่ยวกับหน้าที่ที่ตอ้ งจัดทาและส่ ง รายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรสหรื อผูท้ ี่อยูก่ ินด้วยกันฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ ต่อ สานัก งานคณะกรรมการกากับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ตามมาตรา 59 และบทกาหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึงฉบับที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม)
4.
กาหนดให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร รวมถึ งผูด้ ารงตาแหน่ งระดับบริ หารในสายงานบัญชี หรื อการเงิ นที่ เป็ นระดับ ผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้ นไปหรื อเทีย บเท่า รวมทั้ง ผูป้ ฏิ บตั ิ ง านที่ เกี่ ย วข้อง หรื อพนักงานที่รู้ขอ้ มูลภายใน จะต้องระงับการซื้ อ และ/หรื อ การขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“BRR”) ในช่วง 1 เดือนก่อนที่ BRR จะมีการเผยแพร่ ขอ้ มูล เกี่ยวกับผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน หรื อข้อมูลข่าวสารที่เป็ นสาระสาคัญ ซึ่ งมีผลต่อ การเปลี่ ย นแปลงราคาหลัก ทรั พ ย์ จนกว่า BRR จะได้เ ปิ ดเผยข้อ มู ล ภายในดัง กล่ า วต่ อ สาธารณชนแล้ว
5.
กาหนดให้กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร รวมถึ งผูด้ ารงตาแหน่ งระดับบริ หารในสายงานบัญชี หรื อการเงิ นที่ เป็ นระดับผูจ้ ดั การฝ่ ายขึ้ นไปหรื อเที ยบเท่า จัดทาและนาส่ งรายงานการถื อ 225 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
239
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
และการเปลี่ ย นแปลงการถื อหลัก ทรัพ ย์และสัญญาซื้ อขายล่ วงหน้า ของ BRR ซึ่ งบุคคล ดังกล่าว รวมถึงคู่สมรสหรื อผูท้ ี่อยูก่ ินด้วยกันฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ รวมถึ งนิ ติบุ คคลซึ่ ง บุ ค คลดัง กล่ า วเป็ นผูถ้ ื อหุ ้นเกิ นร้ อยละ 30 ของจานวนสิ ท ธิ ออกเสี ย ง ทั้งหมดของนิติบุคคลดังกล่าว โดยให้นบั รวมสิ ทธิ ออกเสี ยงของคู่สมรสหรื อผูท้ ี่อยูก่ ินด้วยกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลนั้น ถืออยู่ มายังเลขานุการบริ ษทั โดยให้ จัด ทาและนาส่ ง ภายใน 30 วัน ทาการ ภายหลัง เข้า รั บ ตาแหน่ ง และรายงานทุ ก ครั้ งที่ มี การเปลี่ ยนแปลงการถื อหลักทรั พย์และสัญญาซื้ อขายล่ วงหน้าของ BRR ต่อส านัก งาน คณะกรรมการกากับ หลัก ทรั พ ย์และตลาดหลัก ทรัพ ย์ ภายใน 3 วัน ทาการ นับ แต่ว นั ที่มี การซื้ อ ขาย โอน หรื อ รั บ หลัก ทรั พ ย์น้ ัน ตามที่ พ ระราชบัญ ญัติ ห ลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด หลัก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึ ง ฉบับ ที่ มี ก ารแก้ไ ขเพิ่ ม เติ ม ) ก าหนด ทั้ง นี้ ต้อ งแจ้ง ให้ เลขานุ การบริ ษทั ทราบอย่างน้อย 1 วันล่วงหน้าก่อนทาการซื้ อ ขาย โอน หรื อรับหลักทรัพย์ พร้อมทั้งจัดส่ งสาเนารายงานการเปลี่ ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้ อขายล่วงหน้า ให้แก่เลขานุ การบริ ษทั ในวันเดียวกันกับวันที่ส่งรายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และรายงานให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั รับทราบเป็ น รายไตรมาส 6.
ห้ามเปิ ดเผยข้อมูลความลับทางธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ แก่บุคคลอื่น แม้พน้ สภาพจากการเป็ น กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ฯ แล้ว
7.
กาหนดให้ผบู้ ริ หาร ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ และเลขานุ การบริ ษทั เป็ นตัวแทนของกลุ่มบริ ษทั ฯ ในการให้ขอ้ มูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์แก่ผถู ้ ือหุ ้น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ผูจ้ ดั การกองทุน และสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องเป็ นเรื่ องที่ได้รับมติอนุ มตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น หรื อที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ทั แล้วแต่ ก รณี และเป็ นข้อมูล ที่ ส ามารถเปิ ดเผยให้แก่ สาธารณชนรับทราบได้ โดยต้องเปิ ดเผยให้รับทราบอย่างเท่าเทียมกัน
กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ผูท้ ี่ฝ่าฝื นนโยบายการใช้ขอ้ มูลภายในจะต้องถูกลงโทษ ทางวินยั และ/หรื อ กฎหมายแล้วแต่กรณี โดยการพิจารณาจากเจตนาของการกระทาและความร้ายแรงของ ความผิดนั้น ๆ ในขณะเดียวกัน บริ ษทั ยังได้พฒั นาระบบการควบคุมการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ก าหนดระดับ การเข้าถึ ง ข้อมูล ภายในให้เหมาะสมกับ หน้า ที่ และความรั บผิดชอบของ พนักงานแต่ละระดับ ทั้งนี้ ในปี 2561 ไม่ปรากฏกรณี ที่กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั มีการซื้ อ ขาย โอน และรับโอนหลักทรัพย์โดยใช้ขอ้ มูลภายใน ความรับผิดชอบต่ อข้ อมูลและทรัพย์ สินของกลุ่มบริษัทฯ และทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ฯ หมายถึง สังหาริ มทรัพย์ อสังหาริ มทรัพย์ เทคโนโลยี ความรู้ ทางวิชาการ ข้อมู ล สิ ท ธิ สิ ท ธิ บ ตั ร อนุ สิ ท ธิ บ ัตร ลิ ข สิ ท ธิ์ เครื่ องหมายทางการค้า ความลับ ทางการค้า หรื อ วิธี ก าร 240
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
226
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ประกอบธุ รกิ จที่ เป็ นความลับตลอดจนทรัพ ยากรใด ๆ ของกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ หรื อที่ ก ลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ มี สิ ท ธิ อ ยู่ รวมถึ ง ผลงานที่ เ กิ ด จากการปฏิ บ ตั ิ ง านตามหน้า ที่ เว้น แต่ ก รณี ที่ ก ลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ ได้อ นุ ญ าตอย่า งชัดเจน ว่าให้ถือเป็ นผลงานของผูค้ ิดค้น ผูป้ ระดิษฐ์ ผูว้ จิ ยั หรื อบุคคลอื่นได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.
พนักงานมีหน้าที่ และความรับผิดชอบในการใช้ทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ฯ อย่างประหยัด เพื่อให้เกิ ดประโยชน์แก่กลุ่มบริ ษทั ฯ อย่างสู งสุ ด และดูแลมิให้เสื่ อมเสี ย สู ญหาย รวมทั้งไม่นา ทรัพย์สินใด ๆ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรื อบคุ คลอื่น หรื อนาไป เผยแพร่ โดยไม่ได้รับอนุญาต
2.
ข้อ มู ล และเอกสารทางธุ ร กิ จ เป็ นทรั พ ย์สิ น ที่ ส าคัญ ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ หน่ ว ยงานแต่ ล ะ หน่ วยงานต้องกาหนดระยะเวลาการเก็บเอกสาร ชั้นความลับของเอกสาร รวมทั้งเก็บรักษา เอกสารดังกล่าวให้ถูกต้องครบถ้วน สามารถตรวจสอบได้ โดยไม่ให้ถูกล่วงละเมิดและไม่ เปิ ดเผยให้กบั ผูใ้ ด เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากกรรมการบริ ษทั
3.
พนัก งานต้อ งจัด ทาเอกสารทางธุ ร กิ จ บัญ ชี แ ละการเงิ น และรายงานต่ า งๆ ที่ นาส่ ง ส่ ว นราชการ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง และบุคคลอื่นๆ ด้วยความรอบคอบและสุ จริ ต และต้อง บันทึกตามวิธีการทางบัญชีของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีที่กาหนด
4.
ช่วยกันดูแลมิให้ทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ฯ เสื่ อมค่าหรื อสู ญหายโดยมิชอบ
5.
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลต่าง ๆ เป็ นทรัพย์สินของ กลุ่มบริ ษทั ฯ ผูบ้ ริ หารและพนักงานไม่ควรใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว 5.2 ห้ามเปลี่ยนแปลง ทาซ้ า ลบทิ้ง หรื อทาลายข้อมูลของกลุ่มบริ ษทั ฯ โดยไม่ได้รับอนุญาต 5.3 ห้ามนาซอฟต์แวร์ ที่ผิดกฎหมายมาใช้ และห้ามคัดลอกซอฟต์แวร์ ลิขสิ ทธิ์ โดยไม่ได้ รับอนุญาตจากบริ ษทั ผูผ้ ลิตซอฟแวร์น้ นั ๆ 5.4 ห้ามติดตั้งอุปกรณ์ใด ๆ นอกเหนื อจากอปุกรณ์มาตรฐานที่กลุ่มบริ ษทั ฯ ติดตั้งให้ และ ห้ามปรับแต่งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ยกเว้นได้รับอนุญาต 5.5 ห้ามเปิ ดเผยข้อมูลทางธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ หรื อคัดลอกข้อมูลใส่ ในสื่ อบันทึกข้อมูล ส่ วนตัวโดยไม่ได้รับอนุญาต 5.6 ห้า มใช้อีเมล์ข องกลุ่ ม บริ ษ ทั ฯ ส่ ง ต่ อข้อความที่ ก ล่ าวร้ าย หรื อ ท าให้ผูอ้ ื่ นเสื่ อมเสี ย รวมทั้งข้อความหยาบคาย ลามก ข่มขู่ ก่อกวน หรื อสร้างความราคาญให้กบั ผูอ้ ื่น 5.7 ควรใช้อิ น เทอร์ เ น็ ต แสวงหาข้อ มู ล และความรู ้ ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ การปฏิ บ ัติ ง าน และต้องหลีกเลี่ยงเว็บไซต์ที่ผดิ กฎหมาย หรื อละเมิดศีลธรรม 5.8 ควรใช้ ร ะบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและอุ ป กรณ์ สื่ อ สารที่ ก ลุ่ ม บริ ษัท ฯ จัด ให้ ด้วยความรับผิดชอบและระมัดระวัง โดยคานึงถึงประโยชน์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นสาคัญ 227 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
241
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
5.9 ห้า มเข้า ระบบหรื อ เข้า ถึ ง ข้อ มู ล ที่ ไ ม่ไ ด้รั บ อนุ ญ าต หรื อ ล่ ว งรู ้ ม าตรการป้ องกัน การเข้าถึงข้อมูลและระบบคอมพิวเตอร์ที่ไม่ได้มีไว้สาหรับตน 5.10 กลุ่ มบริ ษทั ฯ หรื อหน่ วยงานที่ได้รับมอบหมาย ขอสงวนสิ ทธิ์ ตรวจสอบการใช้งาน ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศของกลุ่มบริ ษทั ฯ ตามความเหมาะสม 6.
กลุ่มบริ ษทั ฯ มีนโยบายเป็ นกลางทางการเมือง พนักงานต้องไม่นาทรัพยากรของกลุ่มบริ ษทั ฯ ไปสนับสนุนกิจกรรมทางการเมืองของพรรคการเมือง กลุ่มการเมือง หรื อนักการเมือง
7.
พนักงานมีหน้าที่ให้ความร่ วมมือและช่ วยเหลือในการแสดงสิ ทธิ หรื อขอรับความคุม้ ครอง สิ ทธิ ของทรัพย์สินทางปั ญญาที่กลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นเจ้าของ
8.
การนาข้อมูลของบุคคลอื่นมาใช้อา้ งอิงภายในกลุ่มบริ ษทั ฯ บุคคลผูน้ ้ นั สามารถขอตรวจสอบ การนาใช้ขอ้ มูลได้ตามสิ ทธิ อนั ชอบธรรม ทั้งนี้ เพื่อลดโอกาสการเกิดกรณี ละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญาของผูอ้ ื่น
9.
พนักงานมีหน้าที่รายงานต่อผูบ้ งั คับบัญชา เมื่อพบเห็นการกระทาที่ละเมิด หรื อการกระทาที่ อาจนาไปสู่ ก ารละเมิ ดทรั พ ย์สิ น ทางปั ญญา รวมถึ ง การกระท าที่ อาจก่ อให้ เกิ ดข้อพิ พ าท เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาของกลุ่มบริ ษทั ฯ
10. พนัก งานต้องให้ค วามเคารพ และไม่ล ะเมิ ดทรั พ ย์สิ น ทางปั ญญาของผูอ้ ื่ น รวมทั้ง ไม่น า ทรัพย์สินทางปัญญา อาทิ งานวิจยั หรื อนวัตกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ไปทาซ้ า ดัดแปลง หรื อกระทาการใด ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรื อเพื่อประโยชน์ของผูอ้ ื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต จากกลุ่มบริ ษทั ฯ บริ ษทั มีกฎระเบียบการใช้งานคอมพิวเตอร์ ของบริ ษทั ซึ่ งสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง การไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเป็ นแนวทางให้พนักงานปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด ซึ่ งหากพนักงานฝ่ าฝื น จะได้รับ โทษทางวินัย ตามความหนัก เบาของการกระทานั้น ๆ ทั้ง นี้ ในปี 2561 บริ ษ ทั ไม่เกี่ ย วข้องกับ การละเมิดลิขสิ ทธิ์ และหรื อทรัพย์สินทางปั ญญาแต่อย่างใด ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ ยง และรายงานทางบัญชีและการเงิน กลุ่มบริ ษทั ฯ มุ่งมัน่ ที่จะสร้างความมัน่ คงให้แก่กิจการอย่างยัง่ ยืน ซึ่ งสอดคล้องกับ CG Code 2560 เพื่อให้บรรลุผลสาเร็ จดังกล่าว จึงกาหนดให้มีระบบการควบคุมและตรวจสอบภายในที่มีท้ งั ประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล ซึ่ งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและการบริ หารความเสี่ ยงให้อยู่ใ นระดับ ที่ เหมาะสม เพื่อ สามารถบริ หารจัดการความเสี่ ยงที่ สาคัญต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ การบรรลุ วตั ถุ ป ระสงค์ข องกลุ่ มบริ ษ ทั ฯ รวมทั้ง มีระบบการติดตามและประเมินผลที่ดี มี การสอบทาน ระบบงานอย่างสม่าเสมอ ภายใต้การตรวจสอบของผูต้ รวจสอบภายใน และการสอบทานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และมีการจัดทารายงานทางบัญชีและการเงินที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และน่าเชื่อถือ
242
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
228
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทั้งงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินรายปี โดยจัดทาตามมาตรฐานบัญชี ที่รับรองโดยทัว่ ไปและเป็ นไป ตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่งเป็ นส่ วนสาคัญที่จะทาให้ผถู ้ ือหุ ้นและนักลงทุนมีความเชื่ อมัน่ ต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ ในปี 2561 การดาเนิ นการด้านระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริ หารความเสี่ ยง และรายงานทางบัญชี และการเงิน ได้เปิ ดเผยรายละเอียดในส่ วนที่ 2 ข้อ 11. การควบคุมภายในและการบริ หาร ความเสี่ ยง ของรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 เล่มนี้ จรรยาบรรณพนักงาน 1. การปฏิบัติต่อตนเอง 1.1 ปฏิบตั ิงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต และรายงานตามความเป็ นจริ ง 1.2 เคารพและปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับของกลุ่มบริ ษทั ฯ อย่าง เคร่ งครัด 1.3 ปฏิ บ ัติ ง านด้ว ยความระมัด ระวัง ซื่ อ สั ต ย์สุ จ ริ ต และไม่ ใ ช้ ต าแหน่ ง หน้ า ที่ ห า ผลประโยชน์ในทาง มิชอบ 1.4 ต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ รอบคอบ ทุ่มเทกาลังกาย และกาลังความคิด ในการทางาน โดยถือประโยชน์ของกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นสาคัญ 1.5 ต้องปฏิ บตั ิ หน้าที่ดว้ ยความขยันหมัน่ เพียร รวมทั้งแสวงหาแนวทางในการพัฒนา และปรับปรุ งงานให้มีประสิ ทธิ ภาพอยูเ่ สมอ 1.6 พึงรักษาเกียรติของตนให้เป็ นที่ยอมรับในสังคม 2
การปฏิบัติต่อลูกค้ า และผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง 2.1 ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่ อสัตย์สุจริ ต และเที่ยงธรรมต่อลูกค้า รวมถึงไม่เรี ยก ไม่รับ หรื อไม่ให้ผลประโยชน์ใด ๆ ที่ทุจริ ตกับลูกค้า 2.2 อ านวยความสะดวกและปฏิ บ ัติ ต่ อ ผูม้ าติ ด ต่ อ ด้ว ยความสุ ภ าพเรี ย บร้ อ ย เต็ ม ใจ และเต็มความสามารถ 2.3 ยินดีรับฟั งความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรื อคาแนะนาจากบุคคลอื่น และพร้อมที่จะ ชี้แจงข้อมูลที่ถูกต้องตามสถานะแห่งตน 2.4 เห็นคุณค่าของบุคคลอื่น ปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่นด้วยความเสมอภาค และให้เกียรติผอู ้ ื่นอยูเ่ สมอ 2.5 มี ส่วนร่ วมในการสร้ างสรรค์และพัฒนาสังคมส่ วนรวมให้เจริ ญก้าวหน้า โดยไม่ ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่องานและภาพพจน์ขององค์กร 2.6 ให้ความสาคัญในการปกป้ องและรักษาความลับของลูกค้า คู่คา้ และองค์กรอย่างเคร่ งครัด 2.7 ให้ความเอาใจใส่ ที่จะรักษาสภาพแวดล้อมในการทางานให้มีความสะอาด ปลอดภัย และน่ารื่ นรมย์อยูเ่ สมอ
3. การปฏิบัติระหว่างพนักงาน 3.1 ไม่ชกั จูงหรื อชี้นาการตัดสิ นใจของเพื่อนร่ วมงานในสิ ทธิเรื่ องการเมือง 3.2 มีน้ าใจกับเพื่อนร่ วมงาน ช่วยเหลือการงานอื่น ๆ ตามความเหมาะสม 229 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
243
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
3.3 ใช้สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างสุ ภาพและเหมาะสม 3.4 เสริ มสร้ า งการทางานเป็ นที มโดยให้ค วามร่ วมมือช่ วยเหลื อเกื้ อกูล ซึ่ ง กันและกัน เพื่อประโยชน์ต่องานของกลุ่มบริ ษทั ฯ โดยส่ วนรวม 3.5 ผูบ้ งั คับ บัญชาพึ ง ปฏิ บ ตั ิ ตนให้เป็ นที่ เคารพนับถื อของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา โดยเป็ น แบบอย่างที่ดีต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 3.6 ปฏิ บ ตั ิ ต่อ ผู บ้ งั คับ บัญ ชาด้ว ยความเคารพนับ ถื อ และปฏิ บ ตั ิ ต่อ เพื่อ นร่ ว มงาน ด้วยความมีน้ าใจ และเคารพในศักดิ์ศรี ของผูอ้ ื่น 4. การปฏิบัติต่อองค์ กร 4.1 ทางานด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ 4.2 ใช้ท รั พ ย์สิ น และสวัส ดิ ก ารต่า ง ๆ ขององค์ก ร ด้ว ยความประหยัด และรู ้ คุ ณ ค่า ตามระเบียบข้อบังคับการทางานของกลุ่มบริ ษทั ฯ 4.3 เมื่อพบเห็นเหตุการณ์ทุจริ ต ประพฤติมิชอบ คอร์ รัปชั น หรื อเหตุการณ์ที่อาจทาให้ เกิดความเสี ยหายต่อองค์กร ต้องรายงานทันทีผา่ นช่องทางที่องค์กรกาหนดไว้ 4.4 ตั้งใจเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาตนเองให้กา้ วหน้า 4.5 ติดตามข่าวสารเพื่อใช้เป็ นเหตุผลในการพูดคุย 4.6 ขอให้ป ฏิ บ ตั ิ ต ามกฎแห่ ง ความปลอดภัย และสวมใส่ อุป กรณ์ ป้ องกัน อัน ตราย ส่ วนบุคคลตามที่กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนด 5. การรับหรือการให้ ของขวัญ ของกานัล หรือประโยชน์ อนื่ ใด กลุ่มบริ ษทั ฯ มีนโยบายห้ามกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน เรี ยกรับ หรื อให้ผลประโยชน์ ใด ๆ ที่ไม่สุจริ ตกับลูกค้า คู่คา้ หรื อพันธมิตรทางธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมทั้งวางตัวเป็ นกลางไม่ใกล้ชิดจน ทาให้มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจ 5.1 ไม่ เรี ยกร้ อง หรื อขอเรี่ ยไรของขวัญ ของก านัล หรื อประโยชน์ อื่นใด เช่ น การเลี้ ยง รับรอง การให้บริ การ การสนับสนุ นทางการเงิ น หรื อเงิ นรางวัลจากลูกค้า คู่ค ้า หรื อ พันธมิตรทางธุ รกิจ 5.2 ไม่ให้รับของขวัญ ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใดจากลูกค้า คู่คา้ หรื อพันธมิตรทางธุ รกิจ โดยมิ ชอบ เพื่ อจูงใจให้ปฏิ บ ตั ิ หรื อละเว้นการปฏิ บตั ิ ใด ๆ เว้นแต่ในโอกาสหรื อ เทศกาลอันเป็ นประเพณี นิยมที่ ค นทัว่ ไปพึง ปฏิ บ ตั ิต่อกัน และไม่ผิดต่อกฎหมาย โดยของขวัญ ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใดนั้น ต้องมีราคาหรื อมูลค่าการรับในแต่ละ โอกาส มีมูลค่าตามรายละเอียดในตารางด้านล่าง โดยผูร้ ับจะต้องกรอกรายละเอียดใน “แบบฟอร์ มการรับ/ให้ของขวัญ ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใด” (“แบบฟอร์ มฯ”) ส่ ง ให้ผูบ้ งั คับ บัญชาหรื อผูม้ ีอานาจอนุ ม ตั ิ และนาส่ ง แบบฟอร์ ม ฯ และของขวัญ 244
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
230
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใดให้แก่สานักกรรมการ หรื อฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและ ธุ รการ เพื่ อ รวบรวมแบบฟอร์ ม ฯ ให้ แก่ ส านัก ตรวจสอบภายใน เพื่ อดาเนิ นการ ตรวจสอบต่อ ไป ทั้ง นี้ การรับ สิ่ ง ของดัง กล่ า วต้อ งไม่มีอิท ธิ พ ลต่อ การตัดสิ นใจ โดยไม่เป็ นธรรมต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ 5.3 การรับของขวัญ ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใด ที่ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5.2 ให้ผรู ้ ับดาเนิ นการส่ งคืนแก่ผใู้ ห้โดยทันที หากไม่สามารถส่ งคืนได้เนื่ องจากมี ความจาเป็ นที่ตอ้ งรักษาสัมพันธภาพอันดีระหว่างบุคคลหรื อระหว่างบริ ษทั โดยผูร้ ับ จะต้อ งกรอกรายละเอี ย ดใน “แบบฟอร์ ม การรั บ /ให้ ข องขวัญ ของก านัล หรื อ ประโยชน์อื่นใด” ส่ ง ให้แก่ ผูบ้ งั คับ บัญชาหรื อผูม้ ี อานาจอนุ ม ตั ิ และนาส่ ง ส านัก กรรมการ หรื อฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและธุ รการ พร้อมสิ่ งของที่ได้รับภายใน 3 วันทาการ นับ แต่ ว นั ที่ ไ ด้รั บ และให้ ถื อ เป็ นสิ ท ธิ และทรั พ ย์สิ น ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ รวมถึ ง ของขวัญ และของก านัล ที่ ม อบให้ ต ัว แทนกลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ และมี คุ ณ ค่ า ระลึ ก ถึ ง เหตุการณ์ที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั ฯ เช่น การรับรางวัลทรงเกียรติ การรับของที่ระลึก จากกิ จกรรมช่วยเหลื อสังคมและอื่น ๆ จากนั้นสานักกรรมการ หรื อฝ่ ายทรัพยากร บุ ค คลและธุ รการนาส่ ง แบบฟอร์ ม ฯ ให้ส านัก ตรวจสอบภายใน เพื่ อด าเนิ นการ ตรวจสอบต่อไป หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรับของขวัญ ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใด มีดงั นี้ (1) สิ่ งที่ไม่เป็ นตัวเงิน (2) สิ่ งที่จดั ทาขึ้นเพื่อส่ งเสริ มการขาย ซึ่ งประทับตราบริ ษทั นั้น ๆ (เช่ น ปากกา หมวก เสื้ อยืด สมุด และถุงผ้า เป็ นต้น) (3) สิ่ งที่ทาขึ้นเพื่อแจกทัว่ ไป (เช่น แจกพนักงาน แจกผูถ้ ือหุน้ หรื อแจกลูกค้าของคู่คา้ ) (4) สิ่ งที่ทาขึ้นหรื อซื้ อมา เพื่อแจก/มอบให้ตามเทศกาลจากคู่คา้ (เช่น ปฏิทิน สมุด ร่ ม ขนม และกระเช้าของขวัญ เป็ นต้น) (5) ประโยชน์สิทธิพิเศษอื่น ๆ ที่พึงให้ได้ เพื่อส่ งเสริ มการขายจากคู่คา้ (6) สิ่ งของที่มีมูลค่าไม่เกินมูลค่าตามตาราง ดังนี้ หมวด 2
2.5
อานาจดาเนินการ ค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับการดาเนินธุรกิจ การรับของขวัญต่อราย มูลค่าไม่เกิน 3,000 บาท
กจก.
ระดับตาแหน่ ง กรก. รจก. ชจก.
ผจ.
หมายเหตุ : ความหมายของอักษรย่อในช่องผูม้ ีอานาจ กจก. = กรรมการผูจ้ ดั การ กรก. = กรรมการรองผูจ้ ดั การ ชจก. = ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ รจก. = รองกรรมการผูจ้ ดั การ ผจ. = ผูจ้ ดั การฝ่ าย 231 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
245
แบบแสดงรายการข้ แบบแสดงรายการข้ ออมูมูลลประจ ประจาปี าปี 2561 2561 แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
5.4 ่ งของ ผลประโยชน์ 5.45.4 ไม่ ไม่ไม่ใให้ห้ให้เเสนอสิ สนอสิ ผลประโยชน์ หรื หรื ออสิสิ่ งงจูจูงงใจในรู ใจในรู ปปแบบใด แบบใด ๆๆ ทัทั้ งงสิสิ้ นน ต่ต่ออบุบุคคคลภายนอก คลภายนอก เสนอสิ่ งของ ่ งของ ผลประโยชน์ หรื อสิ่ ่ งจูงใจในรู ปแบบใด ๆ ทั้ง้ สิ้ น้ ต่อบุคคลภายนอก เพื ปฏิ บตั ิในทางที่่มมิิชชอบ และก่ออให้ เกิ ดความขั แย้ แต่ นโอกาส เพืเพื่่ออ่จูจูองงจูใจให้ ใจให้ ความขัดดดแย้ แย้งงง เว้เว้ เว้นนนแต่ แต่ใใในโอกาส นโอกาส งใจให้ปปฏิฏิบบตั ตั ิ ใิในทางที นทางที่มิชอบ อบ และก่ และก่อให้ ให้เเกิกิดดความขั หรื น เป็ นประเพณี นนิิ ยย มที ่ ค นทั่่วว ไปพึ ง ปฏิ และไม่ หรืหรือออเทศกาลอั เทศกาลอั ปฏิบบบัตััตติ ติิ ตต่ อ่่ ออกักักันนน และไม่ และไม่ผผผิ ดิิ ดดต่ต่ต่อออ เทศกาลอันนเป็เป็นประเพณี นประเพณี นิ ยมที มที่ ค่ คนทั นทั่ว ไปพึ ไปพึ งงปฏิ กฎหมาย โดยของขวัญ ของกานั ล หรื ออประโยชน์ อื่นใดนั งได้ อนุ กฎหมาย ใดนั้ น้้ นน ต้ต้ต้ออองได้ งได้รรรับัับบอนุ อนุมมมตั ตตัั ิโิิโโดยดย ดย กฎหมายโดยของขวั โดยของขวัญญของก ของกานั านัลล หรื หรื อประโยชน์ ประโยชน์ออื่นื่นใดนั ผูผูบบ้้ งงัั คัคับบบับัญ ชาหรื ออผูผูมม้้ ีีออานาจอนุ มตั ิตามระเบียยบการมอบอ านาจปฏิ ารและผู านาจปฏิบบบตั ตตัั ิกิิกการและผู ารและผูใ้ ห้ใใ้้ ห้ห้ ผูบ้ งั คับบัญญชาหรื ชาหรื อผูม้ ีอานาจอนุ านาจอนุมมตั ตั ิติตามระเบี ามระเบียบการมอบอ บการมอบอานาจปฏิ จะต้ /ให้ องขวั ของก านั จะต้ งกรอกรายละเอี ดใน “แบบฟอร์ การรั /ให้ขขของขวั องขวัญญ ญ ของก ของกานั านัลลลหรืหรื หรือออ จะต้ออองกรอกรายละเอี งกรอกรายละเอียยยดใน ดใน “แบบฟอร์ “แบบฟอร์มมมการรั การรั บบบ/ให้ ประโยชน์ ชาหรื านาจอนุ ประโยชน์ ใด” (“แบบฟอร์ ฯ”) ให้แแก่ก่ผผูููบบบ้้้ งังงัั คัคัคับบบบับับัญญ ญชาหรื ชาหรือออผูผูผูม้ มม้้ ีอีีออานาจอนุ านาจอนุมมมตั ตตัั ิ ิิ ประโยชน์อออื่ื่ นนื่นใด” ใด”(“แบบฟอร์ (“แบบฟอร์มมมฯ”) ฯ”) ส่ส่ งงให้ จากนั หรืออฝ่ฝ่ ายทรั ายทรั ยากรบุ คลและธุ การ จากนั าส่าส่งงแบบฟอร์ แบบฟอร์ ให้ านั กรรมการ หรื ายทรัพพพยากรบุ ยากรบุคคคคลและธุ คลและธุรรรการ การ จากนั้้ นน้ นนนาส่ งแบบฟอร์มมมฯฯฯให้ ให้แแแก่ก่ก่สสสานั านักกกกรรมการ เพื านั ตรวจสอบภายใน เพื่อ่อดดดาเนิ าเนินนนการตรวจสอบต่ การตรวจสอบต่อออไปไป ไป เพืเพื่อ่อรวบรวมแบบฟอร์ รวบรวมแบบฟอร์ ให้ าเนิ การตรวจสอบต่ ่อรวบรวมแบบฟอร์มมมฯฯฯให้ ให้แแแก่ก่ก่สสสานั านักกกตรวจสอบภายใน ตรวจสอบภายใน เพื หลัหลั เกณฑ์ วกั่ยวกั ระเบี บการมอบอ านาจปฏิ ารารตามวงเงิ ตามวงเงิ การให้ องขวัญ ญ ของก ของกานั านัลลลหรื หรือออประโยชน์ ประโยชน์อออื่นื่ื่นนใดดั ใดดังนีงงนีนี้ ้้ กเกณฑ์ บระเบียยบการมอบอ ยบการมอบอานาจปฏิ านาจปฏิบบบตตัั ตั ิิกกิการ ตามวงเงินนนการให้ การให้ขของขวั หลั กกเกณฑ์ เเกีกี่่ยยเกีวกั บบระเบี หรื ประโยชน์ ใดดั หมวด หมวด หมวด 22 2 2.4 2.4 2.4
ออานาจด าเนิ นนการ อานาจด นการ านาจด าเนิาเนิ การ ค่ค่ าาใช้ ยย่่ วกั บบการด าเนิ นนธุธุนรรธุกิกิรจจกิจ ค่ าจจใช้่่ าายเกี จ่ายเกี บการด ใช้ ยเกี วกัย่ วกั การด าเนิาเนิ การให้ ขของขวั ญ ้้ งง ้ ง การให้ ของขวั อครั การให้ องขวั ญต่ต่ญออต่ครั ครั 2.4.1 สสาหรั บบหน่ ววยงานภาคเอกชน 2.4.1 สาหรั บหน่ วยงานภาคเอกชน 2.4.1 าหรั หน่ ยงานภาคเอกชน 2.4.2 สาหรั บหน่ วยงานภาครั 2.4.2 สสาหรั บบหน่ ววยงานภาครั ฐฐ ฐ 2.4.2 าหรั หน่ ยงานภาครั
กจก. กจก. กจก.
กรก. กรก. กรก.
มูมูมูลลลค่ค่ค่าาตัตัาตั้้ งง้ งแต่ 20,000 แต่แต่20,000 20,000 บาทขึ บาทขึ้้ นน้ นไป ไป บาทขึ ไป
ระดั าแหน่ ระดับบตตาแหน่ าแหน่งงง รจก. รจก.
ชจก. ชจก. ชจก.
ผจ. ผจ. ผจ.
มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาไม่ ไม่ าาไม่ ไม่เเกิกินน มูมูลลค่ค่าาไม่ ไม่ ไม่เเเกิกิกินนน มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาไม่ ไม่เกิเเกิกินนน มูมูมูลลลค่ค่ค่าไม่ ไม่เกิเเนกิกินน 20,000 บาท 10,000 บาท 5,000 บาท 20,000 บาท 15 10,000 20,000 บาท 15,,000 000 บาท บาท 10,000บาท บาท 5,000 5,000บาท บาท มูมูลลค่ค่าาไม่ 3,000 บาท ไม่เเกิกินน 3,000 3,000 บาท บาท
หมายเหตุ:: ความหมายของอั : ความหมายของอั ษรย่อออในช่ ในช่ออองผู านาจ หมายเหตุ กกกษรย่ หมายเหตุ ความหมายของอั ษรย่ ในช่ งผูงผูมม้้ ม้ ีีออีอานาจ านาจ กจก.== =กรรมการผู กรรมการผูจจ้้ ดดััจ้ ดัการ การ กจก. กจก. กรรมการผู การ รจก. = รองกรรมการผูจ้ จดั้ ดั การ การ รจก. รจก. == รองกรรมการผู รองกรรมการผูจ้ ดั การ ผจ. = ผูจ้ ดั การฝ่ายาย ผจ. ผจ. == ผูผูจจ้้ ดดัั การฝ่ การฝ่ าย
กรก. == กรรมการรองผู กรรมการรองผูจ้ จจ้้ ดั ดดัั การ กรก. การ กรก. กรรมการรองผู การ ่ ชจก.= ผู ช ้ ว ยกรรมการผู จ ้ ด ั การ ชจก.= ชจก.= ผูผูชช้้ ่่ววยกรรมการผู ยกรรมการผูจจ้้ ดดัั การ การ
การใช้ สิทธิทางการเมือองง 6.6. 6. การใช้ การใช้ สสิิ ททธิธิททางการเมื างการเมือง 6.1 ควรใช้ สิทธิ ของตนเองในฐานะพลเมือองดี งดี ตามกฎหมายรัฐฐธรรมนู ญ และกฎหมายอื ่น ๆ 6.1 6.1 ควรใช้ ควรใช้สสิิ ททธิธิ ขของตนเองในฐานะพลเมื องตนเองในฐานะพลเมืองดี ตามกฎหมายรั ตามกฎหมายรัฐธรรมนู ธรรมนูญ ญ และกฎหมายอื และกฎหมายอื่่นน ๆๆ ่ยวข้อง ทีที่่เเทีกีกี่เ่่ยยกีวข้ วข้อองง 6.2 ไม่เป็เป็นนกรรมการในพรรคการเมื กรรมการในพรรคการเมือง หรืออเป็เป็นตั นตัวแทนในการทากิ จกรรมสาธารณะต่างางๆๆ 6.2 6.2 ไม่ ไม่เป็ นกรรมการในพรรคการเมือองง หรื หรื อเป็ นตัววแทนในการท แทนในการทากิ ากิจจกรรมสาธารณะต่ กรรมสาธารณะต่าง ๆ โดยการเข้าร่ วมกิจกรรมใด ๆ ซึ่ งอาจก่อให้เกิ ดความเข้าใจว่ากลุ่มบริ ษทั ฯ มี ส่วน โดยการเข้ โดยการเข้าาร่ร่ ววมกิ มกิจจกรรมใด กรรมใด ๆๆ ซึซึ่่ งงอาจก่ อาจก่ ออให้ ให้เเกิกิ ดดความเข้ ความเข้าาใจว่ ใจว่าากลุ กลุ่่ มมบริ บริ ษษททัั ฯฯ มีมี สส่่ ววนน เกี่ ย วข้อง หรื อให้ก ารสนับ สนุ นพรรคการเมืองใดพรรคการเมื องหนึ่ ง หรื อกลุ่ ม ่่ ยย วข้ เกี หรื กก ารสนั บบสนุ นพรรคการเมืองใดพรรคการเมื องหนึ่ ง หรื อกลุ่่ ม เกีการเมื วข้ออองงงใดกลุ หรื ออให้ ให้ ารสนั สนุ ่มการเมื องหนึ ่ ง นพรรคการเมื องใดพรรคการเมื องหนึ่ ง หรื อกลุ ม การเมื การเมือองใดกลุ งใดกลุ่่มมการเมื การเมือองหนึ งหนึ่่ งง 6.3 ไม่ใช้ชื่อของกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมถึงไม่นาทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ฯ เพื่อใช้สนับสนุ น ่มบริ ษททัั ฯฯ เพื 6.3 ชชื่ื่ออของกลุ ททัั ฯฯ รวมถึ พพย์ย์สสิิ นนของกลุ เพื่่ออใช้ ใช้สนับสนุ น 6.3 ไม่ ไม่กิใใจช้ช้กรรมทางการเมื ของกลุ่่มมบริ บริอษษงของพรรคการเมื รวมถึงงไม่ ไม่นนอาทรั าทรั ของกลุ ่มการเมื ง กลุ อง หรื่มอบรินักษการเมื อง สนับสนุ น กรรมทางการเมือองของพรรคการเมื กิกิจจกรรมทางการเมื งของพรรคการเมือองง กลุ กลุ่่มมการเมื การเมือองง หรื หรื ออนันักกการเมื การเมือองง 6.4 ไม่ใช้อานาจหน้าที่ช้ ีชวน กดดัน หรื อบังคับให้เพื่อนร่ วมงาน รวมทั้งผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 6.4 าที่่ชช้้ ีีชชวน น หรื ให้ งผูใใ้้ ต้ต้บบงงัั คัคับบบับัญ ชา 6.4 ไม่ ไม่ให้ใใช้ช้สออนัานาจหน้ านาจหน้ วน กดดั กดดั หรื ออบับังงคัคัอบบงของพรรคการเมื ให้เเพืพื่่ออนร่ นร่ ววมงาน มงาน อรวมทั รวมทั บ สนุ นกิาจทีกรรมใด ๆ นทางการเมื ง กลุ้้ ง่มผูการเมื อง หรืญอชา ให้ ให้นัสสกนัการเมื นับบสนุ สนุอนนง กิกิ จจกรรมใด กรรมใด ๆๆ ทางการเมื ทางการเมือองของพรรคการเมื งของพรรคการเมือองง กลุ กลุ่่มมการเมื การเมือองง หรื หรื ออ นันักกการเมื การเมือองง 232 246
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
232 232
แบบแสดงรายการข้ แบบแสดงรายการข้ ออมูมูลลประจ ประจาปี าปี 2561 2561 แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
7.7. การบริ การบริจจาคเพื าคเพืออ่่ การกุ การกุศศลล และการให้ และการให้ เเงิงินนสนั สนับบสนุ สนุนน 7. การบริจาคเพือ่ การกุ ศล และการให้ เงินสนับสนุ น กลุ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ฯฯ มีมีนนโยบายให้ โยบายให้เเงิงินนบริ บริ จจาคเพื าคเพื่อ่อการกุ การกุศศลล หรื หรื ออการให้ การให้เเงิงินนสนั สนับบสนุ สนุนน โดยกลุ โดยกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ฯฯ จะให้ จะให้ กลุ่มบริ ษทั ฯบมีสนุ นโยบายให้ เงินบริ จาคเพื่อการกุศลถูหรื อการให้เงินสนับสนุ น โดยกลุ่มบริาการในสิ ษทั ฯ จะให้ เงิเงินนบริ บริ จจาคและเงิ าคและเงินนสนั สนับสนุนนอย่ อย่าางเหมาะสมและโปร่ งเหมาะสมและโปร่ งงใส ใส ถูกกต้ต้อองตามกฎหมาย งตามกฎหมาย และจะไม่ และจะไม่กกระท ระทาการในสิ่่ งงทีที่่ เงินบริ จาคและเงิ นสนับสนุนวอย่ างเหมาะสมและโปร่ งใส ถูกต้องตามกฎหมาย และจะไม่กระทาการในสิ่ งที่ อาจเกิ อาจเกิดดผลเสี ผลเสี ยยหายต่ หายต่ออสัสังงคมส่ คมส่ วนรวม นรวม อาจเกิดผลเสี ยหายต่อสังคมส่ วนรวม กรรมการบริ กรรมการบริ ษษททัั ผูผูบบ้้ ริริ หหาร าร และพนั และพนักกงาน งาน ต้ต้อองระมั งระมัดดระวั ระวังงในการบริ ในการบริ จจาคเพื าคเพื่่ออการกุ การกุศศลล เพราะอาจมี เพราะอาจมี กรรมการบริ ษ ท ั ผู บ ้ ริ ห าร และพนั ก งาน ต้ อ งระมั ด ระวั ง ในการบริ จ าคเพื ่ อ การกุ ศ ล เพราะอาจมี ความเสี ความเสี่่ ยยงที งที่่ออาจใช้ าจใช้เเป็ป็ นนข้ข้อออ้อ้าางในการคอร์ งในการคอร์รรััปปชัชันน หรื หรื ออถูถูกกนนาไปใช้ าไปใช้เเป็ป็ นข้ นข้อออ้อ้าางในการติ งในการติดดสิสิ นนบน บน ดัดังงนันั้้ นน กลุ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ฯฯ ่ ยงที่อาจใช้เป็ นข้ออ้างในการคอร์ รัปชัน หรืจอาคเพื ถูกนาไปใช้เป็ศนข้ ออ้างในการติดสิ นบบน ดังนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ จึจึงงความเสี กกาหนดนโยบายและหลั าหนดนโยบายและหลักกเกณฑ์ เกณฑ์เเกีกี่่ยยวกั วกับบการบริ การบริ จาคเพื่อ่อการกุ การกุศลและการให้ ลและการให้เเงิงินนสนั สนับสนุ สนุนน ดัดังงนีนี้้ จึงกาหนดนโยบายและหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริ จาคเพื่อการกุศลและการให้เงินสนับสนุน ดังนี้ 7.1 จจาคเพื 7.17.1 การบริ การบริ าคเพื่อ่อการกุ การกุศศลล การบริ จาคเพื่อการกุศล -- ต้ต้อองพิ สูจน์ไ ด้ว่ามี กิจกรรมตามโครงการดังงกล่ วจริ และเป็ นการด าเนิ การ กล่าาาวจริ วจริงงง และเป็ และเป็นการด นการดาเนิ าเนินนนการ การ - ต้องพิงพิสสู จู จน์น์ไได้ด้วว่า่ามีมีกกิ จิ จกรรมตามโครงการดั กรรมตามโครงการดังกล่ เพื่่ออสนั สนับ สนุ นนให้ ให้วตั ถุ ป ระสงค์ขข องโครงการประสบผลส องโครงการประสบผลส าเร็ าเร็ จจ และก่ และก่ อให้เกิ ด เพื เพื่อสนับบสนุ สนุ นให้ววตั ตั ถุถุปประสงค์ ระสงค์ข องโครงการประสบผลส าเร็ จ และก่ ออให้ให้เกิเกิดด ประโยชน์ตต ่่ออ สัสังง คมอย่ คมอย่า งแท้จจ ริริ งง หรื หรื อ เพื เพื ่่ออ เป็ เป็ นไปตามวั นไปตามวัตต ถุถุ ปป ระสงค์ ระสงค์ข อง ประโยชน์ ประโยชน์ต ่อ สัง คมอย่าางแท้ งแท้จ ริ ง หรื ออ เพื ่อ เป็ นไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ขขององ การดาเนิ าเนินงานด้าานความรั นความรับผิดชอบต่ออสัสังงคม คม (Corporate (Corporate Social Social Responsibility: Responsibility: CSR) CSR) การด การดาเนินนงานด้ งานด้านความรับบผิผิดดชอบต่ ชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) งพิสสูู จจน์น์ไได้ด้วว่่าาไม่ ไม่มีส่วนเกี่่ ยยวข้ วข้องกับบผลประโยชน์ ผลประโยชน์ต่างตอบแทนให้ งตอบแทนให้กกบบัั บุบุคคคลใด คลใด -- - ต้ต้ต้ออองพิ งพิสูจน์ได้ว่าไม่มมี สีส่ ว่ วนเกี นเกี่ ยวข้อองกั งกับผลประโยชน์ตต่า่างตอบแทนให้ กบั บุคคลใด หรืหรือออหน่ หน่ วยงานใด ยกเว้ นการประกาศเกี ยรติ รติคคคุณุุณ ณตามธรรมเนี ตามธรรมเนียยยมธุ มธุรรรกิกิกิจจจทัทัทัววว่่ ไปไป ไป เช่ น หรื ตามธรรมเนี มธุ หน่ววยงานใด ยงานใดยกเว้ ยกเว้นนการประกาศเกี การประกาศเกียยรติ ่ เช่เช่นน การติ ตราสั ญญลัลัลักกกษณ์ ษณ์ (Logo) การประกาศรายชือ่่ ออ ณณ ณ สถานที สถานที่ จ่่ จจดั ดดัั งานหรื งานหรือออจัจัจัดดด การติ สถานที งานหรื การติดดดตราสั ตราสัญ ษณ์ (Logo) (Logo) การประกาศรายชื กรรม หรืหรือออในสื ในสื เพืเพื่อ่อ่อประชาสั ประชาสั พันนธ์ธ์ออื่ื่นน เป็เป็ นนต้ต้นน กิกิกิจจกรรม จกรรมหรื ในสื่่ ออ่ อเพื ประชาสัมมพั หมวด หมวด หมวด 22 2 2.2 2.2 2.2
หลัหลักกเกณฑ์ เกณฑ์ วกั ระเบี บการมอบอ านาจปฏิ าร ตามวงเงิ ตามวงเงินนนบริ บริจจจาคการกุ าคการกุศศศลลลดัดัดังงงนีนีนี้ ้้ ่ยวกับบบระเบี หลั บริ าคการกุ กเกณฑ์เเกีกีเกี่่ยยวกั ระเบียยยบการมอบอ บการมอบอานาจปฏิ านาจปฏิบบตตัั ิิกการ
ออานาจด าเนิ อานาจด นการ านาจด าเนิาเนินนการ การ ค่ค่ าาค่ใช้ ยย่่ วกั บบการด ่ ายเกี ย่ วกั บการดาเนิ ใช้าจจใช้่่ าาจยเกี ยเกี วกั การด าเนิาเนินนนธุธุรรธุกิกิรจจกิจ การบริ จจาคการกุ ศศลต่ ออราย การบริ จาคการกุ ศลต่ อราย การบริ าคการกุ ลต่ ราย
กจก. กจก. กจก. มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาตัตัตั้้ งง้ งแต่ แต่20 ,000 แต่ 2020,,000 000 บาทขึ บาทขึ้้ นน้ นไป ไป บาทขึ ไป
ระดับบตตาแหน่ าแหน่ ระดั าแหน่งงง กรก. รจก. รจก. กรก. รจก. มูมูมูลลค่ค่าาไม่ ไม่ ไม่เเกิกินน มูมูลลค่ค่ค่าาาไม่ ไม่เเเกิกิกินนน 20 15 000 บาท 20,,000 000 บาท 15 20 000 บาท 15,,,000 000 บาท บาท
หมายเหตุ หมายเหตุ:: ความหมายของอั : ความหมายของอัก ษรย่อออในช่ ในช่ออองผู งผูมม้้ ม้ ีีออีอานาจ านาจ หมายเหตุ ความหมายของอั กกษรย่ ษรย่ ในช่ งผู านาจ กจก. กจก.== =กรรมการผู กรรมการผูจจ้้ จดด้ัั ดั การ การ กจก. กรรมการผู การ รจก. รจก.== =รองกรรมการผู รองกรรมการผูจจ้้ จ้ ดดัั ดั การ การ รจก. รองกรรมการผู การ ดั การฝ่าย ผจ. ผจ.ผจ.== =ผูผูจจ้้ผูดดัั จ้ การฝ่ การฝ่ ายาย
ชจก. ผจ. ชจก. ผจ. ชจก. ผจ. าาไม่ มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาไม่ไม่ ไม่เกิเเกิกินนน มูมูมูลค่ลลาค่ค่ไม่ ไม่เกิเเนกิกินน ,,000 บาท ,,000 บาท 1010 10,000 000บาท บาท 5,55000 000บาท บาท
กรก. กรรมการรองผู การ กรก. == กรรมการรองผู กรรมการรองผูจ้ จจ้้ ดั ดดัั การ การ ่ ชจก.= ผู ช ้ ว ยกรรมการผู จ ้ ด ั การ ชจก.= ผูช้ ่วยกรรมการผู ยกรรมการผูจ้ จ้ ดั ดั การ การ
การให้เเงิงิเนนงินสนั สนับบบสนุ สนุนนน 7.2 7.27.2 การให้ การให้ สนั สนุ กรรมตามโครงการดังงกล่ -- - ต้ต้ต้ออองพิ วจริ และเป็ นการด าเนิ การ งพิงพิสสสูู จจู จน์น์น์ไไได้ด้ด้ววว่่าา่ามีมีมีกกกิิ จจิ จกรรมตามโครงการดั กรรมตามโครงการดั กล่าาวจริ วจริงงง และเป็ และเป็นการด นการดาเนิ าเนินนนการ การ เพื ่ อ สนั บ สนุ น ให้ ว ต ั ถุ ป ระสงค์ ข องโครงการประสบผลส าเร็ จ และก่ อ ให้ เ กิ ด เพื เพื่่ ออสนั สนับบ สนุ สนุ นนให้ ให้ววตตัั ถุถุ ปประสงค์ ระสงค์ขของโครงการประสบผลส องโครงการประสบผลส าเร็ าเร็ จจ และก่ และก่ ออให้ ให้เเกิกิ ดด ประโยชน์ ต ่อ สัง คมอย่าางแท้ งแท้จ ริ ง หรื ออ เพื ่อ เป็ นไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ขขององ ประโยชน์ ประโยชน์ ตต ่่ออ สัสังง คมอย่ คมอย่า งแท้จจ ริริ งง หรื หรื อ เพื เพื ่่ออ เป็ เป็ นไปตามวั นไปตามวัตต ถุถุ ปป ระสงค์ ระสงค์ข อง การด าเนิ น งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) การด การดาเนิ าเนินนงานด้ งานด้าานความรั นความรับบผิผิดดชอบต่ ชอบต่ออสัสังงคม คม (Corporate (Corporate Social Social Responsibility: Responsibility: CSR) CSR) 233 233 233 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
247
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
-
การให้เงินสนับสนุน ต้องพิสูจน์ได้ว่าเงินสนับสนุนหรื อประโยชน์อื่นใดที่สามารถ คานวณเป็ นตัวเงินได้ เช่น การให้ที่พกั และอาหาร เป็ นต้น ไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องกับ ผลประโยชน์ต่า งตอบแทนให้ก ับบุค คลใดหรื อหน่ วยงานใด ยกเว้นการประกาศ เกียรติคุณตามธรรมเนียมธุรกิจทัว่ ไป
-
การเป็ นผูใ้ ห้เงิ นสนับ สนุ น จะต้องจัดทาบันทึก คาขอ ระบุ ชื่ อผูร้ ั บเงิ นสนับสนุ น และวัตถุ ประสงค์ข องการสนับสนุ น พร้ อมแนบเอกสารประกอบทั้งหมดให้ผูม้ ี อานาจอนุมตั ิของกลุ่มบริ ษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ
การแจ้ งข้ อร้ องเรียน และข้ อเสนอแนะ คณะกรรมการบริ ษทั เปิ ดโอกาสให้พนักงานและผูม้ ีส่วนได้เสี ย มีช่องทางการร้องเรี ยน การแสดง ความเห็น และแจ้งเบาะแสการกระทาผิดกฎหมาย หรื อกรณี พบพฤติกรรมที่อาจเป็ นการฝ่ าฝื น หรื อการไม่ ปฏิ บ ตั ิ ต ามคู่มื อ CG โดยกาหนดให้สานัก ตรวจสอบภายในทาหน้าที่ เป็ นหน่ วยงานรั บข้อร้ องเรี ยนด้าน การกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ ดังนี้ 1.
ช่ องทางการแจ้ งข้ อร้ องเรียน และข้ อเสนอแนะ 1.1 ทางไปรษณี ย:์ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) อาคารพญาไทพลาซ่า เลขที่ 128/77-78 ชั้น 7 ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 หรื อ
สานักตรวจสอบภายใน บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) อาคารพญาไทพลาซ่า เลขที่ 128/77-78 ชั้น 7 ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 1.2 กล่องรับความคิดเห็น 2.
กระบวนการดาเนินการเมื่อได้ รับข้ อร้ องเรียน 2.1 ผูร้ ับข้อร้ องเรี ยนจะดาเนิ นการรวบรวมข้อเท็จจริ งที่เกี่ยวข้องกับการฝ่ าฝื น หรื อการไม่ ปฏิบตั ิตามคู่มือ CG นั้นด้วยตนเอง 2.2 ผูร้ ั บข้อร้ องเรี ยนรายงานข้อเท็ จจริ งต่ อคณะกรรมการสอบสวน ซึ่ งปฏิ บ ัติ หน้าที่ สอบสวนข้อเท็จจริ ง ประมวลผล และกลัน่ กรองข้อมูล เพื่อพิจารณาขั้นตอนและวิธีการ จัดการที่ เหมาะสมในแต่ละเรื่ อง โดยคณะกรรมการสอบสวนจะได้รับการแต่งตั้งจาก คณะกรรมการบริ ษทั 2.3 ผูร้ ั บ ข้อร้ องเรี ย นนาเสนอคณะกรรมการสอบสวน เพื่ อสอบสวนข้อเท็จจริ ง และ กาหนดมาตรการดาเนินการระงับการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือ CG โดยคานึงถึง ความเสี ยหายโดยรวมทั้งหมด
248
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
234
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2.4 ผูร้ ับข้อร้องเรี ยนมีหน้าที่รายงานผลให้ผรู้ ้ องเรี ยนทราบ หากผูร้ ้ องเรี ยนเปิ ดเผยตนเอง ทั้ง นี้ ในกรณี ที่ เ ป็ นเรื่ องส าคัญ ให้ ร ายงานผลต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริ ษทั ทราบ 3.
มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียนหรือผู้ทใี่ ห้ ความร่ วมมือในการตรวจสอบ
กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ก าหนดมาตรการคุ ้ม ครองผูร้ ้ องเรี ย น หรื อ ผูท้ ี่ ใ ห้ค วามร่ วมมื อในการตรวจสอบ ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 3.1 ผูร้ ้องเรี ยนหรื อผูท้ ี่ให้ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริ ง สามารถเลือกที่จะไม่ เปิ ดเผยตนเองได้ หากเห็ นว่า การเปิ ดเผยนั้นจะไม่ปลอดภัย แต่หากมีการเปิ ดเผย ตนเองก็จะทาให้กลุ่มบริ ษทั ฯ สามารถรายงานความคืบหน้าและชี้แจงข้อเท็จจริ งให้ทราบ 3.2 ผูร้ ้ องเรี ยนหรื อผูท้ ี่ให้ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริ ง กลุ่มบริ ษทั ฯ จะไม่ เปิ ดเผยข้อมูลส่ วนตัว หรื อข้อมูลอื่นใดที่สามารถระบุผรู ้ ้องเรี ยนได้ และดาเนิ นการ สอบสวนข้อเท็จจริ ง 3.3 ผูร้ ับข้อร้ องเรี ยนต้องเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็ นความลับ และจะเปิ ดเผยเท่าที่จาเป็ น โดยคานึ งถึงความปลอดภัยและความเดื อดร้ อนเสี ยหายของผูร้ ้องเรี ยนหรื อผูท้ ี่ให้ ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริ ง แหล่งที่มาของข้อมูล หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้อง 3.4 กรณี ผรู ้ ้องเรี ยนหรื อผูท้ ี่ให้ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริ งเห็นว่าอาจได้รับ ความไม่ปลอดภัย หรื ออาจเกิดความเดือดร้อนเสี ยหาย สามารถร้องขอให้กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนดมาตรการคุม้ ครองที่เหมาะสมได้ หรื ออาจกาหนดมาตรการคุม้ ครอง หากเห็นว่า มีแนวโน้มที่จะเกิดความไม่ปลอดภัย หรื อความเดือดร้อนเสี ยหาย 3.5 ผูท้ ี่ได้รับความเดือดร้อนเสี ยหายจะได้รับการบรรเทาความเสี ยหายตามกระบวนการ ที่เหมาะสม และเป็ นธรรม ในปี 2561 การดาเนินธุรกิจของบริ ษทั ไม่ปรากฏว่าถูกดาเนินการโดยหน่วยงานกากับดูแล เนื่องจาก ไม่ได้ประกาศข้อมูลจากเหตุการณ์สาคัญภายในระยะเวลาที่ทางการกาหนด รวมถึงไม่ปรากฏกรณี ที่บริ ษทั ฝ่ าฝื นกฎหมายด้านแรงงาน การจ้างงาน ผูบ้ ริ โภค การแข่งขันทางการค้า และสิ่ งแวดล้อม หรื อข้อร้ องเรี ยน จากผูถ้ ือหุ น้ และผูม้ ีส่วนได้เสี ย วินัย
กลุ่มบริ ษทั ฯ ถือว่าคู่มือ CG เป็ นวินยั อย่างหนึ่ง กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน จึงมีหน้าที่ ต้องปฏิบตั ิตามด้วยความเข้าใจ ยอมรับ ระมัดระวัง และหลี กเลี่ ยงมิให้มีการประพฤติผิด โดยกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารต้องประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ ดี และต้องปฏิบตั ิตามคู่มือ CG นี้ อย่างเคร่ งครัด การฝ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือดังกล่าว รวมถึงข้อบังคับบริ ษทั และกฎระเบียบอื่นของกลุ่มบริ ษทั ฯ จะถูกพิจารณา โทษทางวินยั ตามที่กาหนดไว้ใน “ระเบียบข้อบังคับการทางานของบริ ษทั ” 235 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
249
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ข้อแนะนาเกี่ยวกับคู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจ ฉบับปรับปรุ ง ครั้งที่ 3 ปี 2562 (“คู่มือ CG”) 1. ทาความเข้าใจเนื้อหาสาระของคู่มือ CG ฉบับนี้ 2. เรี ยนรู้เนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบของตน 3. ทบทวนความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระของคู่มือ CG ฉบับนี้อย่างสม่าเสมอ 4. ให้ความรู้ความเข้าใจกับบุคคลอื่นที่ตอ้ งปฏิบตั ิหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบริ ษทั ฯ หรื ออาจเกิด ผลกระทบต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ 5. เมื่ อ มี ข ้อ สงสั ย หรื อ ข้อ ซัก ถามเกี่ ย วกับ วิ ธี ป ฏิ บ ัติ ต ามคู่ มื อ CG ให้ป รึ ก ษาผู้บ ัง คับ บัญ ชา และ/หรื อฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและธุ รการ และ/หรื อบุคคลที่กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนดให้มีหน้าที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดตามการปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 6. แจ้งให้ผบู ้ งั คับบัญชาหรื อผูท้ ี่รับผิดชอบทราบ เมื่อพบเห็นการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 7. ให้ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริ งต่าง ๆ กับหน่ วยงานหรื อบุคคลที่กลุ่มบริ ษทั ฯ มอบหมาย 8. ผูบ้ ัง คับ บัญ ชาทุ ก ระดับ ต้อ งเป็ นผูน้ าและแบบอย่า งในการปฏิ บ ัติ ตามคู่ มื อ CG ตลอดจน ส่ งเสริ มสภาพแวดล้อมในการทางานให้พนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องเข้าใจว่าการปฏิบตั ิตาม คู่มือ CG เป็ นสิ่ งที่ถูกต้องและต้องปฏิ บตั ิตามอย่างเคร่ งครั ด ไม่สามารถอ้างได้ว่าไม่ทราบ แนวปฏิบตั ิที่กาหนดไว้ในคู่มือ CG ฉบับนี้ พนักงานทุกคนมีหน้าที่ตอ้ งปฏิ บตั ิตาม และส่ งเสริ มให้ผูอ้ ื่นปฏิบตั ิตามคู่มือ CG ฉบับนี้ ทั้งนี้ การกระทาต่อไปนี้ถือว่าเป็ นการกระทาที่เข้าข่ายผิดกฎเกณฑ์ที่ระบุในคู่มือ CG 1. ไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 2. แนะนาส่ งเสริ มหรื อสนับสนุนให้ผอู้ ื่นไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 3. ละเลยเพิ ก เฉยเมื่ อ พบเห็ น การฝ่ าฝื นหรื อ การไม่ ป ฏิ บ ัติ ต ามคู่ มื อ CG ในกรณี ที่ ต นทราบ หรื อควรทราบ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับงานที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของตน 4. ไม่ให้ความร่ วมมื อหรื อขัดขวางการสื บสวนสอบสวนข้อเท็จจริ ง เพื่อตรวจสอบการฝ่ าฝื น หรื อการไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 5. การกระทาอันไม่เป็ นธรรมต่อผูอ้ ื่ น เนื่ องจากการที่ ผนู้ ้ ันรายงานการไม่ปฏิ บตั ิ ตามคู่มือ CG ทั้งนี้ ผูท้ ี่ทาผิดคู่มือ CG จะต้องได้รับการพิจารณาโทษทางวินยั ตามระเบียบที่กลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนดไว้ นอกจากนี้ อาจได้รับโทษตามกฎหมายหากการกระทานั้นเป็ นความผิดตามกฎหมาย บุคคลที่มีหน้าที่ดูแลและส่ งเสริ มให้มีการปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 1. กรรมการบริ ษ ัท มี ห น้า ที่ รั บ ผิด ชอบในการจัด ทาคู่ มื อ CG ทบทวนและปรั บ ปรุ ง ให้มี ความเหมาะสมเป็ นประจาทุกปี รวมทั้งจัดให้มีการประเมินการปฏิบตั ิตามคู่มือดังกล่าว 250
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
236
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
2. ผูบ้ ริ หารทุกระดับ มีหน้าที่ดงั นี้ 2.1 ส่ งเสริ มให้มีการปฏิบตั ิตามคู่มือ CG และปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี 2.2 ถ่ า ยทอดนโยบายและวิธี ป ฏิ บ ตั ิ รวมถึ ง รั บ ฟั ง ความเห็ น อย่า งเปิ ดกว้า งเกี่ ย วกับ การปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 2.3 ฝึ กอบรมพนักงานให้มีความรู้ ความเข้าใจ และจัดให้มีระบบจัดการที่ สอดคล้องกับ กฎหมาย กฎระเบียบของกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมถึงการปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 2.4 กากับดูแลให้การปฏิบตั ิงานของหน่วยงานเป็ นไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3. ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ หรื อหน่วยงานที่ดูแลด้านทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการชี้แจงพนักงานให้ทราบถึงหน้าที่ในการปฏิบตั ิตามคู่มือ CG 4. สานักตรวจสอบภายในมีหน้าที่สอบทานข้อมูลเบื้องต้น ในกรณี มีเหตุเชื่อถือได้วา่ จะเกิดการฝ่ าฝื น กฎระเบียบ และคู่มือ CG เพื่อรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 5. พนักงานทุ กคนมี หน้าที่ ปฏิ บ ัติ ตาม ดู แล และส่ งเสริ มให้ ทุ กคนปฏิ บ ัติ ตามคู่ มื อ CG อี กทั้ง เสนอแนะข้อคิ ดเห็ นและอุ ปสรรคต่ าง ๆ ในการปฏิ บ ัติ ตามคู่ มื อ CG ต่ อผูบ้ ริ หารหรื อส านัก ตรวจสอบภายใน เพื่อนาเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริ ษทั ต่อไป ทั้งนี้ ในปี 2561 จากผลการกากับดูแล การติดตามและการประเมินผลการปฏิ บตั ิตามจรรยาบรรณ ธุ รกิ จ และนโยบายกากับดู แลกิ จการที่ ดีของกลุ่มบริ ษทั ฯ ไม่ปรากฎว่า กรรมการบริ ษทั ฝ่ ายจัดการและ พนักงาน มีการกระทาที่เข้าข่ายละเมิดกฎเกณฑ์ที่ระบุ ไว้ในคู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ ธุรกิจ แต่อย่างใด 9.6 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ตั้งแต่ปี 2554 ถึงปั จจุบนั กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้วา่ จ้างบริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด ในการตรวจสอบบัญชี และให้คาปรึ กษามาโดยตลอด ซึ่ งในปี 2561 กลุ่มบริ ษทั ฯ ชาระค่าสอบบัญชี (Audit Fee) และค่าบริ การอื่น ๆ (Non-Audit Fee) เป็ นจานวนเงินรวม 6,302,789 บาท ให้แก่บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์ คู เ ปอร์ ส เอบี เ อเอส จากัด ทั้ง นี้ ค่า ใช้จ่า ยดัง กล่า วแบ่งเป็ นค่าสอบบัญชี ของบริ ษทั จานวน 1,500,000 บาท ค่ าสอบบัญชี ของบริ ษ ัทย่อยทั้ง 9 บริ ษ ัท จ านวน 3,910,000 บาท และค่ าใช้จ่ ายจริ งอื่ น ๆ (out-of-pocket expenses) อาทิ ค่าเดินทาง และค่าที่พกั เพื่อไปตรวจสอบด้านบัญชี และการเงิน ณ สานักงานใหญ่ จังหวัด บุรีรัมย์ ค่าสาเนาเอกสาร ค่าสอบบัญชี สาหรับโครงการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) ของบริ ษทั ย่อย เป็ นต้น จานวน 892,789 บาท ทั้งนี้ นอกเหนือจากค่าบริ การดังกล่าว บริ ษทั ไม่มีค่าบริ การอื่นที่ตอ้ งชาระให้กบั ผูส้ อบ บัญชี สานักงานสอบบัญชีที่ผสู้ อบบัญชีสังกัด และบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกับผูส้ อบบัญชี
237 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
251
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ตารางเปรี ยบเทียบการจ่ายค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ปี 2560 และ ปี 2561 รายการ
ปี 2560
ค่าสอบบัญชี (Audit Fee) - BRR - บริ ษทั ย่อย
*ปี 2560 มีบริ ษทั ย่อย 8 บริ ษทั และปี 2561 มีบริ ษทั ย่อย 9 บริ ษทั
ค่าบริ การอื่น ๆ (Non-Audit Fee)
ปี 2561 (เริ่มใช้ ระบบบัญชี SAP)
1,190,000 *3,408,000
1,500,000 *3,910,000
1,429,428
892,789
6,027,428
6,302,789
อาทิ ค่าใช้จ่ายจริ งอื่น ๆ (out-of-pocket expenses) และค่าบริ การ ตรวจทานเอกสารของโครงการต่าง ๆ ที่อยูน่ อกเหนือขอบเขต การบริ การสอบบัญชี โดยปี 2560 มีค่าสอบทานงบการเงินไตรมาส 1/2560 ของบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด และบริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด และตรวจสอบการเข้าทารายการสาหรับโครงการกองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่มน้ าตาลบุรีรัมย์ (BRRGIF) และปี 2561 มีค่าสอบบัญชีสาหรับโครงการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) ของ บริ ษทั ย่อย
รวมทั้งหมด
9.7 การปฏิบัติตามและการปรับใช้ หลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ีของบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (CG Code) การดูแลให้ มีการปฏิบัติตามและการทบทวน กลุ่ ม บริ ษัท ฯ ก าหนดให้ เ ป็ นหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการบริ ษั ท ผู ้บ ริ หาร และพนักงานทุกคนที่จะต้องศึกษาทาความเข้าใจ และปฏิบตั ิตามนโยบายที่กาหนดไว้ในคู่มือ CG อย่างเคร่ งครัด มิใ ช่ ก ารปฏิ บ ตั ิ ต ามสมัค รใจ และไม่ส ามารถอ้า งว่า ไม่ทราบแนวปฏิ บตั ิที่กาหนดขึ้น โดยต้องลงนาม เพื่อยืนยันว่าได้อ่านคู่มือ CG ของกลุ่มบริ ษทั ฯ แล้ว และยอมรับที่จะปฏิบตั ิตามข้อกาหนดที่ได้ระบุไว้ ผูบ้ ริ หารทุกระดับจะต้องดูแลรับผิดชอบ และถือเป็ นเรื่ องสาคัญที่จะดาเนินการให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชา ของแต่ละหน่ วยงานรับทราบ เข้าใจ และปฏิ บตั ิตามคู่มือ CG อย่างเคร่ งครัด ซึ่ งถ้าหากกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานที่กระทาการฝ่ าฝื น หรื อยินยอมให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาฝ่ าฝื นคู่มือ CG จะถูกพิจารณา ลงโทษทางวินยั โดยอาจรวมถึงการเลิกจ้าง การให้ชดเชยความเสี ยหาย และโทษตามกฎหมาย คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการธรรมาภิบาล กาหนดให้ทบทวนคู่มือการกากับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจเป็ นประจาทุกปี
252
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
238
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ทั้งนี้ ในปี 2561 และในต้นปี 2562 คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการธรรมาภิบาลได้ทบทวน การนา CG Code 2560 มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะการดาเนินธุรกิจแล้วในเบื้องต้น ดังนี้ คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบหลักปฏิบตั ิของ CG Code 2560 ของสานักงาน ก.ล.ต. และตระหนัก ถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผูน้ า (Governing body) ในการสร้างคุณค่าให้แก่กิจการอย่างยัง่ ยืน คณะกรรมการบริ ษทั ได้ศึกษา และกรรมการบริ ษทั จานวน 2 ท่าน ได้รับฟั งคาบรรยายหลักปฏิบตั ิ ตามหลักการ CG Code 2560 จนเข้าใจประโยชน์และหลักปฏิบตั ิในการนาไปใช้สร้างคุณค่าให้แก่ กิจการอย่างยัง่ ยืนเป็ นอย่างดีแล้ว นอกจากนั้น คณะกรรมการบริ ษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลประเมินการปฏิบตั ิตาม CG Code 2560 แต่ละข้อ เพื่อให้มนั่ ใจว่ามีกระบวนการที่ได้ปรับใช้หรื อมีแผนพัฒนาให้เหมาะสม กับธุ รกิจแล้ว โดยกาหนดให้มีกระบวนการทบทวนการนา CG Code 2560 ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับ บริ บททางธุ รกิ จเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ ง ซึ่ งในปี 2561 คณะกรรมการธรรมาภิบาลได้ ประเมินการปฏิบตั ิตาม CG Code ในภาพรวมแล้ว ซึ่ งขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการทาแผน CG Code GAP Analysis เพิ่มเติม 9.8 การปฏิบัติตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ีในเรื่องอืน่ ๆ บริ ษทั ตระหนักและคานึ ง ถึ งการปฏิ บ ตั ิตามหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี เพราะเชื่ อว่าจะทาให้ สามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างยัง่ ยืน ทั้งนี้ บริ ษทั ได้นาหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียน ปี 2560 ซึ่ งออกโดยส านัก งานคณะกรรมการก ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์ มาปรั บใช้ เพื่อเป็ น แนวทางในการปฏิบตั ิ โดยในปี 2561 บริ ษทั ได้นาหลักการในเรื่ องดังนี้มาปฏิบตั ิตามและกาหนดในคู่มือ CG ของบริ ษทั อย่างไรก็ตาม ยังคงมีเรื่ องที่บริ ษทั ยังไม่สามารถปฏิบตั ิตามหลักการดังกล่าวได้ดงั นี้ เรื่องทีป่ ฏิบัติตามและกาหนดในคู่มือ CG ของบริษัทปี 2561 เพิ่ม เติ ม คุ ณสมบัติ ข องกรรมการบริ ษ ทั ที่ จะสรรหาและแต่ง ตั้ง ให้ส อดคล้องกับ กลยุท ธ์ และ เป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ในกระบวนการสรรหากรรมการบริ ษทั ให้เพิ่มเติมการใช้บริ ษทั ที่ปรึ กษา (Professional Search Firm) หรื อฐานข้อมูล Director Pool ของสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) เรื่องทีย่ งั ไม่ สามารถปฏิบัติตามหลักการ CG ได้ ในปี 2561 การกาหนดวิธีการลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งกรรมการบริษัท แบบ Cumulative Voting ตามข้อบังคับ ของบริ ษทั ข้อที่ 14 ได้กาหนดให้ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นเป็ นผูเ้ ลือกตั้งกรรมการบริ ษทั โดยใช้เสี ยงข้างมาก เป็ นมติที่ประชุ ม และข้อ 14(1) กาหนดให้ผถู้ ือหุ ้นรายหนึ่ งมีคะแนนเสี ยงเท่ากับจานวนหุ ้นที่ตนถื อ ดังนั้น บริ ษทั จึงไม่ได้กาหนดและนาใช้วิธีการนี้ อย่างไรก็ดี บริ ษทั ได้กาหนดและมีวิธีการดูแล 239 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
253
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สิ ทธิของผูถ้ ือหุ น้ รายย่อย อาทิ สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ในการนาเสนอวาระการประชุมผูถ้ ือหุ ้น และการเสนอ ชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการบริ ษทั เป็ นต้น คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทนประกอบด้ วยกรรมการอิสระเป็ นส่ วนใหญ่ (มากกว่ า ร้ อยละ 50) ประธานกรรมการสรรหาและพิจ ารณาค่า ตอบแทน เป็ นกรรมการอิส ระ โดยทา หน้าที่ เป็ นกรรมการตรวจสอบด้วย และในปี 2561 คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งกรรมการอิสระ จานวน 1 ท่าน เป็ นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทั้งนี้ จานวนกรรมการอิสระใน คณะกรรมการชุดดังกล่าวจึงมีจานวนคิดเป็ นร้อยละ 50 กรรมการอิสระมีคุณสมบัติเพียงพอและ เหมาะสมในการพิจารณาและแสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิสระ ถ่วงดุ ลการสรรหากรรมการบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน นอกจากนี้ กรรมการทุกคนเป็ นกรรมการที่มีความรู้ ในการทาหน้าที่ ดังกล่าว อีกทั้งได้ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ซื่ อสัตย์สุจริ ต และไม่ได้ออกเสี ยงในวาระที่ ตนมีส่วนได้เสี ย คณะกรรมการบริ ษัท ควรประกอบด้ วยกรรมการบริ ษัทที่ไม่ เป็ นผู้บริ หารมากกว่ าร้ อยละ 66 และ คณะกรรมการบริษัท ควรประกอบด้ วยกรรมการบริษัทที่เป็ นอิสระมากกว่ าร้ อยละ 50 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วย กรรมการบริ ษทั ที่เป็ นผูบ้ ริ หารจานวน 6 คน หรื อร้อยละ54.54 และกรรมการบริ ษทั ที่ ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร ซึ่ งดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการอิสระด้วยนั้นมีจานวน 5 คน หรื อร้อยละ 45.46 ซึ่ ง เป็ นไปตามองค์ป ระกอบของคณะกรรมการบริ ษ ทั และกรรมการอิ ส ระ และมี คุณสมบัติตาม หลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กาหนด ซึ่ งระบุว่า ต้องมีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 3 คน การจั ดทารายงานแบบบูรณาการ (Integrated Report) เป็ นรู ปแบบการจัดทารายงานที่รวม รายงานประจาปี และรายงานความยัง่ ยืนเข้าด้วยกัน โดยมีกรอบการจัดทาตาม IIRC (International Integrated Reporting Council) ซึ่ งการจัดทาต้องมีเนื้ อหาที่เชื่ อมโยงกัน รวมทั้งเชื่ อมโยงสู่ กลยุทธ์ ขององค์กรได้อย่างเป็ นรู ปธรรม ทั้งนี้ การจัดทารายงานดังกล่าวต้องอาศัยจานวนบุคลากรที่ เพี ย งพอ มี ค วามเชี่ ย วชาญ และมี ระยะเวลาในการจัด ทา ซึ่ งบริ ษ ทั ยัง ไม่ มี บุ คลากรที่ เพี ย งพอ สาหรั บการจัดทารายงานดังกล่ าว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ยังคงทุ่มเทและตั้งใจที่จะจัดทารายงาน ประเภทอื่นทั้งรายงานประจาปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) รายงานความยัง่ ยืน และรายงานประเภทอื่นให้มีคุณภาพ ถูกต้อง และเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เพื่อเป็ นประโยชน์ แก่ผถู้ ือหุ น้ นักลงทุน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย
254
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
240
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
10. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม ความรับผิดชอบต่ อสั งคม (CSR) กลุ่มบริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ (“กลุ่มบริ ษทั ฯ”) มีเจตนำรมณ์ อนั แน่ วแน่ในกำรมีส่วนร่ วมพัฒนำสังคมให้ ยัง่ ยื นเพื่ อสร้ ำงควำมเชื่ อมั่น กำรยอมรั บและควำมไว้วำงใจจำกชุ ม ชนและสั งคม ควบคู่ ก ับกำรต่ อยอด สร้ ำงมูลค่ำเพิ่มให้กบั ชุ มชน สังคม และบริ ษทั บนพื้นฐำนแนวคิ ดและแนวปฏิบตั ิ “กำรพัฒนำธุ รกิ จควบคู่กบั กำรรักษำสิ่ งแวดล้อม และสร้ ำงควำมเจริ ญให้กบั ชุ มชนอย่ำงยัง่ ยืน” บริ ษทั ยังมีควำมมุ่งมัน่ ที่จะสร้ ำงให้ธุรกิจ เติ บโตอย่ำงยัง่ ยืน ควบคู่กบั กำรพัฒนำสภำพชี วิตควำมเป็ นอยู่ของเกษตรกรชำวไร่ อ้อย ชุ มชนข้ำงเคี ยงและ พนักงำนให้ดีข้ ึน จึงได้จดั ทำโครงกำรและกิ จกรรมต่ำง ๆ ร่ วมกับหน่ วยงำนภำยนอกทั้งภำครัฐและภำคเอกชน โดยโครงกำรพัฒนำเหล่ำนี้ได้รับควำมร่ วมมือจำกหน่วยงำนต่ำง ๆ เป็ นอย่ำงดี กลุ่ มบริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ ได้กำหนดแนวนโยบำยควำมรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility-CSR) โดยยึดหลักแนวคิดตั้งแต่เริ่ มก่อตั้งในปี 2507 คือ กรอบปณิธาน GCECS โปร่ งใส รับผิดชอบ สิ่ งแวดล้อม ชุ มชน ยัง่ ยืน G - Governance
“โปร่ งใสในกำรประกอบธุรกิจ”
C - Commitment
“มุ่งมัน่ รับผิดชอบ”
E - Environment
“รักษำสิ่ งแวดล้อม”
C - Community
“สู่ จุดหมำยพร้อมชุมชน”
S - Sustainable
“อยูด่ ว้ ยกันอย่ำงยัง่ ยืน”
นอกจำกนั้น กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้ประสำนควำมร่ วมมือกับผูเ้ กี่ ยวข้อง เพื่อกำรดำเนิ นงำนเพื่อสังคม ในด้ำนต่ำง ๆ อย่ำงเป็ นรู ปธรรม ได้แก่ ควำมรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนกำรผลิต (CSR In-Process) และโครงกำรเพื่อสัง คมและสิ่ ง แวดล้อมที่น อกเหนื อ จำกกำรดำเนิ นธุ รกิ จปกติ (CSR After-process) อย่ำ งต่อเนื่ อง เพื่อสร้ำงสัมพันธภำพที่ดีระหว่ำงองค์กรกับชุ มชนต่อยอดสู่ กำรสร้ำงมูลค่ำเพิ่มให้แก่ชุมชน และสังคมบนแนวคิด ‘น้ ำตำลสร้ำงในไร่ ’ โดยครอบคลุมกิจกรรม ดังนี้ 1. ความรับผิดชอบต่ อสั งคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) เริ่ มตั้งแต่ตน้ น้ ำคือกำรพัฒนำคุณภำพอ้อยซึ่งเป็ นวัตถุดิบหลักให้มีคุณภำพดี เพื่อป้ อนเข้ำสู่ กระบวนกำรผลิต โดยให้กำรส่ งเสริ มปั จจัยกำรผลิ ตในกำรปลูกอ้อยแก่เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ย เพื่อให้ได้ออ้ ยเข้ำหี บทั้งในเชิ ง ปริ มำณและคุณภำพตำมเป้ ำหมำย เป็ นผูใ้ ห้คำแนะนำ ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ ดำ้ นเทคโนโลยีกำรผลิ ตและ พัฒ นำเกษตรกรชำวไร่ อ้อ ยให้ ป ลู ก อ้อ ยอย่ำ งถู ก วิ ธี เหมำะสม และถู ก เวลำ ส่ ง ผลให้เ กษตรกรได้รั บ ผลตอบแทนคุม้ ค่ำจำกอำชีพปลูกอ้อย ทำให้มีคุณภำพชีวติ ที่ดีข้ ึน และปลูกอ้อยเป็ นอำชีพอย่ำงยัง่ ยืน อีกทั้งมี
240 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
255
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
กำรพัฒนำบุคลำกรในสำยกำรจัดหำวัตถุดิบให้มีควำมชำนำญ มีศกั ยภำพในกำรดูแลอ้อย และให้คำแนะนำ ด้ำนกำรปลูกอ้อย รวมทั้งกำรแก้ไขปัญหำและช่วยเหลือเกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ นอกจำกกำรพัฒนำเกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยให้มีควำมรู ้เป็ นมืออำชี พมำกยิ่งขึ้น และประกอบอำชีพได้ อย่ำงยัง่ ยืนและมีควำมสุ ขแล้ว กลุ่มบริ ษทั ฯ ยังเป็ นผูศ้ ึกษำและพัฒนำรู ปแบบกำรปลูกอ้อยแผนใหม่ กำรจัดหำ พันธุ์ออ้ ย และปั จจัยกำรผลิตที่เหมำะสมให้กบั เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยในแต่ละเขตพื้นที่ส่งเสริ มกำรปลูกอ้อย ของกลุ่มบริ ษทั ฯ เพื่อทำให้ชำวไร่ ออ้ ยสำมำรถลดต้นทุนกำรผลิตและเพิ่มผลผลิ ตต่อไร่ ให้สูงขึ้น รวมทั้ง กำรรักษำพื้นที่ปลูกอ้อยเดิมให้คงอยูไ่ ม่เปลี่ยนเป็ นกำรปลูกพืชชนิดอื่น โดยกำรทำให้เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยมี กำไรคุม้ ค่ำ จำกกำรเพิ่มผลผลิ ต ลดต้นทุนกำรผลิ ต และกำรทำเกษตรแม่นยำให้ได้ผลผลิ ตตำมเป้ ำหมำย รวมถึงกำรจัดกำรในเรื่ องปัจจัยหลักที่มีควำมสำคัญต่อกระบวนกำรผลิตอ้อย กำรใช้เครื่ องมือและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภำพ อี กทั้ง กลุ่ มบริ ษทั ฯ ยังได้จดั ให้มีพนักงำนส่ งเสริ มกำรปลูก อ้อย เพื่อ ถ่ ำยทอดองค์ควำมรู้ ให้ก ับ ชำวไร่ ออ้ ยได้เข้ำใจกระบวนกำรผลิตอ้อยและน้ ำตำลทรำย ทั้งนี้ เพื่อสร้ำงแนวควำมคิดและกำรมีส่วนร่ วม กำรดำเนินงำนจะใช้ระบบกำรตรวจติดตำมแปลงอ้อยตำมงวดงำนและกิจกรรมที่ออ้ ยต้องกำร โดยใช้ระบบ สำรสนเทศภูมิศำสตร์ ในกำรบริ หำรจัดกำร (Smart Farm System) มีกำรปรับปรุ งโครงสร้ำงดินด้ว ยปุ๋ ย อินทรี ยเ์ คมี และโดโลไมท์ เพื่อปรับค่ำ pH เพิ่มควำมสำมำรถในกำรใช้ปุ๋ย และเพื่อปรับปรุ งสภำพทำง โครงสร้ ำงของดินให้เอื้ออำนวยต่อกำรเจริ ญเติบโตของพืชได้อย่ำงเหมำะสม มีกำรทำงำนวิจยั กำรใช้ปุ๋ย ตำมค่ำวิเครำะห์ดิน เพื่อให้พ้ืนที่ปลูกอ้อยแต่ละแปลงได้รับปุ๋ ยที่เหมำะสม ได้ผลผลิตเพิ่มและลดต้นทุนกำรผลิต รวมทั้งกำรปรับพันธุ์ออ้ ยให้เหมำะสมต่อช่ วงเวลำกำรเก็บเกี่ยว และกำลังกำรผลิตของโรงงำน เพื่อให้ได้ วัตถุดิบที่ดีที่สุด สำหรับกำรผลิตน้ ำตำลที่มีประสิ ทธิ ภำพมำกที่สุด มีกำรจัดทำแปลงทดสอบพันธุ์ออ้ ย เพื่อคัด พันธุ ์ออ้ ยให้เหมำะสมกับพื้นที่เพำะปลูกของเกษตรกรมำกที่สุด และกำรใช้ชีววิธี (Biological Control) เพื่อป้ องกันและกำจัดศัตรู ออ้ ย
256
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
241
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
นอกจำกกิจกรรมต่ำง ๆ แล้ว กลุ่มบริ ษทั ฯ ยังมีโครงกำรรณรงค์ตดั อ้อยสด เนื่องจำกกำรเผำอ้อยนั้น มีขอ้ เสี ยหลำยประกำร อำทิ กำรเผำอ้อยจะทำให้ตออ้อยถูกทำลำยมำกขึ้น อ้อยงอกช้ำกว่ำปกติหรื อไม่งอกเลย อ้อยเจริ ญเติบโตช้ำและไม่ทนต่อสภำพควำมแห้งแล้ง อีกทั้งทำให้แมลงที่เป็ นประโยชน์ถูกทำลำย แมลงที่ กำจัดแมลงศัตรู พืชถูกทำลำย และเป็ นผลให้เกิดกำรระบำดของแมลงศัตรู ออ้ ย เช่ น หนอนกออ้อย เป็ นต้น ดัง นั้น กำรเผำอ้อยเป็ นกำรท ำลำยสิ่ ง แวดล้อมเป็ นอย่ำงมำก และเกิ ดผลเสี ย ต่อสุ ข ภำพของคนและสัตว์ รวมทั้งอำจเกิดควำมเสี ยหำยต่อทรัพย์สิน และผิดกฎหมำย และอำจเป็ นข้ออ้ำงให้แก่ประเทศผูน้ ำเข้ำน้ ำตำล ปฏิเสธกำรซื้ อน้ ำตำลจำกประเทศไทย เพรำะทำให้เกิดภำวะโลกร้อนจำกกำรเผำอ้อยซึ่งเป็ นข้ออ้ำงที่รุนแรง ด้ำ นกำรพัฒ นำแหล่ ง น้ ำ กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ได้พ ฒ ั นำและส่ ง เสริ ม กำรใช้น้ ำ ในไร่ อ้อ ยทุ ก รู ป แบบ เนื่ องจำกพื้นที่ปลูกอ้อยของจังหวัดบุรีรัมย์ เป็ นพื้นที่กำรเพำะปลูกที่ไม่มีระบบชลประทำนและอำศัยน้ ำฝน เพียงอย่ำ งเดี ยว ซึ่ งท ำให้ไ ม่สำมำรถพัฒนำเพิ่มผลผลิ ตได้ตำมเป้ ำหมำย จึ ง ทำให้ตอ้ งมี กำรส่ ง เสริ มและ พัฒนำกำรใช้น้ ำของเกษตรกรให้เหมำะสมกับพื้นที่และแหล่งน้ ำที่มีอยู่ รวมถึงจัดหำแหล่งเงินกูด้ อกเบี้ยต่ ำ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย กระทรวงอุตสำหกรรม เพื่อเพิ่มทำงเลือกและช่วยเหลือ ด้ำนปั จจัยกำรผลิตทั้งวัสดุอุปกรณ์ของระบบน้ ำและกำรขุดเจำะบ่อบำดำล เพื่อนำน้ ำใต้ดินมำใช้ในกรณี ที่ เกษตรกรไม่มีแหล่งน้ ำธรรมชำติหรื อบ่อน้ ำของตนเอง ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปั ญหำภัยแล้งและพัฒนำเพิ่มผลผลิ ต โดยไม่ตอ้ งรอฝนเพียงอย่ำงเดียว ซึ่ งจะทำให้ผลผลิตอ้อยของบริ ษทั เพิ่มขึ้นทุกปี ตำมเป้ ำหมำยอีกด้วย ทั้งนี้ เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยมีกำรใช้น้ ำในกำรเพิ่มผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งมีพ้นื ที่ใช้น้ ำกว่ำร้อยละ 8 ในปี 2560/61
กลุ่มบริ ษทั ฯ ยังได้สอดแทรกจิตสำนึ กแห่งควำมรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนกำรผลิต (CSR InProcess) ภำยใต้แนวคิดในกำรจัดกำรของเสี ยให้เป็ นศูนย์ในทุกกระบวนกำรผลิต (Zero Waste Management) ด้วย โดยตระหนัก ถึ ง คุ ณ ค่ ำ ของทรั พ ยำกรและกำรน ำทรั พ ยำกรมำใช้อ ย่ ำ งคุ ้ม ค่ ำ กำรให้ ค วำมส ำคัญ กับ กระบวนกำรที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม และกำรนำของเสี ยที่ได้จำกกระบวนกำรผลิต มำสร้ำงมูลค่ำเพิ่มเป็ น ผลิ ตภัณฑ์ผลพลอยได้ต่ำง ๆ ซึ่ งเป็ นกำรใช้ทรั พยำกรที่ มีอยู่ใ ห้เกิ ดประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภำพสู งสุ ด และช่วยยกระดับรำคำพืชผลทำงกำรเกษตรอีกด้วย
242 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
257
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ความรับผิดชอบต่ อสั งคมในกระบวนการผลิต โดยการสร้ างมูลค่ าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ มดี ังนี้ กากนา้ ตาล หรือโมลาส (Molasses) เป็ นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จำกกระบวนกำรเคี่ยวน้ ำตำล ซึ่ งเป็ นของเหลวที่เหลือหลังจำก กำรแยกเอำผลึ กของน้ ำตำลออกแล้ว มีลกั ษณะเหนียวข้นสี น้ ำตำลเข้ม องค์ประกอบส่ วนใหญ่เป็ น น้ ำ ตำลซู โครสที่ ไ ม่ ตกผลึ ก ในกระบวนกำรผลิ ตน้ ำ ตำลทรำยจะได้ก ำกน้ ำ ตำลประมำณ 40-45 กิ โลกรัมต่อปริ มำณอ้อยเข้ำหี บ 1 ตัน ทั้งนี้ กำกน้ ำตำลสำมำรถนำไปใช้เป็ นวัตถุดิบในกำรผลิ ต อำหำรและเครื่ องดื่ม อำทิ กำรผลิตแอลกอฮอล์ ยีสต์ ผงชูรส อำหำรสัตว์ น้ ำส้มสำยชู ซี อิ๊ว และซอส ปรุ งรส เป็ นต้น โดยกลุ่มบริ ษทั ฯ ได้จำหน่ำยกำกน้ ำตำลให้แก่อุตสำหกรรมอำหำรและเครื่ องดื่ม กากอ้อย เป็ นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จำกกระบวนกำรหี บอ้อย ประกอบด้วยธำตุคำร์ บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมำะสมที่สำมำรถใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้อย่ำงดี เมื่อนำกำกอ้อย ไปตำกจนแห้งจะสำมำรถใช้เป็ นเชื้ อเพลิงในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ ำได้ ปั จจุบนั โรงงำนน้ ำตำลได้ จำหน่ ำยกำกอ้อยให้แก่โรงไฟฟ้ ำในกลุ่มบริ ษทั ฯ และรั บซื้ อไฟฟ้ ำที่ เหลื อจำกกำรจำหน่ ำยให้แก่ กำรไฟฟ้ ำส่ วนภูมิภำค (“กฟภ.”) เพื่อนำมำใช้ในโรงงำนน้ ำตำลต่อไป ธุ รกิ จโรงไฟฟ้ ำชี วมวล ดำเนิ น งำนโดย บริ ษทั บุ รีรัม ย์พ ลังงำน จำกัด (“BEC”) บริ ษ ทั บุรีรัมย์เพำเวอร์ จำกัด (“BPC”) และบริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์ พลัส จำกัด (“BPP”) โดยมีแนวคิด “พลัง งำนไฟฟ้ ำเพื่ อ ชุ ม ชนและสั ง คม” ซึ่ งยึ ด ถื อ มำโดยตลอด นอกจำกกำรผลิ ต ไฟฟ้ ำที่ มี ประสิ ทธิ ภำพแล้ว กำรรักษำสิ่ งแวดล้อมและกำรคำนึงถึงชุ มชน รวมทั้งผูม้ ีส่วนได้เสี ย ยังเป็ นพันธกิจ สำคัญในกำรดำเนินธุ รกิจของโรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ ำตำลบุรีรัมย์ อันจะเห็นได้จำกรำงวัลหรื อกำรรับรอง คุ ณภำพที่กลุ่มโรงไฟฟ้ ำได้รับ อำทิ รำงวัลธรรมำภิบำลธุ รกิจดีเด่นระดับจังหวัด ประจำ ปี 2559 กำรรับรองอุตสำหกรรมสี เขียวระดับ 2 ปฏิบตั ิกำรสี เขียว (Green Activity) และระดับ 3 ระบบ สี เขียว (Green System) เป็ นต้น นอกจำกนั้น กลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ยัง มี แ ผนกำรลงทุ น ในปี 2561 โดยจัด ตั้ง บริ ษ ัท ชู ก ำร์ เ คน อี โคแวร์ จำกัด (“SEW”) เพื่ อผลิ ต บรรจุ ภณ ั ฑ์และเครื่ องใช้จำกชำนอ้อย เพื่ อสุ ขภำพที่ ดีของ ผูบ้ ริ โภคและรักษำสิ่ งแวดล้อม ซึ่งเป็ นธุรกิจต่อเนื่องโดยกำรนำผลิตภัณฑ์จำกอ้อยมำต่อยอดไม่ให้มี ของเหลื อ ทิ้ ง เพื่ อ กำรดู แลรั ก ษำสิ่ ง แวดล้อ ม และพัฒ นำผลผลิ ต อ้อยให้มี คุ ณภำพ ซึ่ งจะท ำให้ เกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยมีรำยได้สูงขึ้น ยกระดับคุณภำพชีวติ และพึ่งพำตนเองได้ กากตะกอนหม้ อกรอง (Filter Cake ) บริ ษ ทั ปุ๋ ยตรำกุญแจ จำกัด (“KBF”) ซึ่ ง เป็ นบริ ษทั ในกลุ่ มบริ ษ ทั น้ ำตำลบุ รีรัม ย์ ได้เริ่ ม ดำเนิ นธุ รกิ จผลิ ตและจำหน่ ำยปุ๋ ยอิ นทรี ย ์ เมื่อเดือนธันวำคม 2555 โดยใช้กำกหม้อกรองซึ่ งเป็ น
258
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
243
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จำกกำรผลิตน้ ำตำลมำเป็ นวัตถุ ดิบในกำรผลิ ตปุ๋ ยอิน ทรี ย ์ และได้เริ่ ม ผลิ ต และจำหน่ ำ ยเพื่อ ตอบสนองควำมต้องกำรของชำวไร่ อ้อยในกำรบำรุ งอ้อยให้มีประสิ ทธิ ภำพ โดยโรงงำนปุ๋ ยตั้งอยู่ใกล้กบั โรงงำนน้ ำตำล เพื่ออำนวยควำมสะดวกในกำรขนส่ งกำกหม้อกรอง ที่เป็ นวัตถุ ดิบ หลัก ทั้งยังสำมำรถประหยัดค่ำขนส่ งวัตถุ ดิบได้อีกด้วย โดยก่อนนำผลิ ตภัณฑ์ไ ป จำหน่ำย KBF ได้วิจยั และทดลองกำรใช้งำนกับแปลงสำธิ ต เพื่อศึกษำถึงกำรตอบสนอง และอัตรำ กำรเติบโตของอ้อย เมื่อพบว่ำมีประสิ ทธิ ภำพจึงแนะนำให้ชำวไร่ ออ้ ยนำไปใช้ ตลอดระยะเวลำ ที่ผ่ำนมำจนถึ งปั จจุ บนั ผลิ ตภัณฑ์ของ KBF ส่ งผลต่อกำรเจริ ญเติบโตของอ้อยเป็ นอย่ำงดี และมี คุณภำพตำมมำตรฐำนพระรำชบัญญัติปุ๋ย พุทธศักรำช 2518 รวมทั้งมีตน้ ทุนต่ำและเป็ นที่ยอมรับ ของเกษตรกรชำวไร่ ออ้ ย ไอนา้ เป็ นผลิ ตภัณฑ์ผลพลอยได้ที่เกิดจำกกระบวนกำรผลิ ต ซึ่ งใช้ประโยชน์ในกำรขับเคลื่อน เครื่ องจักร รวมถึงกำรผลิตไอน้ ำ โดยบริ ษทั โรงงำนน้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (BSF) มีกำลังกำรผลิ ต ไฟฟ้ ำจำกไอน้ ำ สู งสุ ดรวม 18.5 เมกะวัตต์ ซึ่ งปั จจุ บนั ผลิ ตไฟฟ้ ำจริ ง เฉ ลี่ ย 14.5-15 เมกะวัตต์ สำหรับใช้ภำยในโรงงำนน้ ำตำล เพื่อช่วยลดต้นทุนค่ำไฟฟ้ ำ และเป็ นกำรบริ หำรทรัพยำกรที่มีอยู่ เพื่อประโยชน์สูงสุ ดแก่บริ ษทั 2. โครงการเพื่อสั งคมและสิ่ งแวดล้ อมที่นอกเหนือจากการดาเนินธุรกิจปกติ (CSR After-process) ด้ านสั งคม กำรแบ่ ง ปั น โอกำสให้แ ก่ ค นในชุ ม ชนเป็ นพันธกิ จที่ ก ลุ่ ม บริ ษ ัท ฯ ให้ค วำมส ำคัญ แก่ ทุ ก ชุ มชน ในพื้นที่รอบสถำนประกอบกำรและพื้นที่ส่งเสริ มกำรปลูกอ้อย โดยเฉพำะกำรให้โอกำสทำงด้ำนกำรศึกษำ ผ่ำ นโครงกำรคื นควำมรู ้ สู่ เยำวชน กำรต่ อต้ำ นกำรใช้แรงงำนเด็ก ภำยในไร่ อ้อย กำรสนับ สนุ นทุ นและ งบประมำณทำงด้ำนกำรศึกษำให้แก่โรงเรี ยนในเขตพื้นที่กำรปฏิบตั ิกำรของกลุ่มบริ ษทั ฯ อีกทั้งยังให้โอกำส เข้ำถึงบริ กำรด้ำนสำธำรณสุ ขแก่คนในชุมชน โดยในปี ที่ผำ่ นมำได้จดั โครงกำรหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ครั้งที่ 4 ร่ วมกับโรงพยำบำลส่ งเสริ มสุ ขภำพตำบลหิ นเหล็กไฟ โครงกำรส่ งเสริ มสุ ขภำพในช่องปำกให้แก่ผสู ้ ู งอำยุ ร่ วมกับกองสำธำรณสุ ข เทศบำลตำบลหิ นเหล็กไฟ รวมทั้งยังมีกำรสร้ำงบ้ำนให้แก่ผดู้ อ้ ยโอกำสในชุ มชม รอบสถำนประกอบกำร เพื่อให้คนในชุมชนมีสุขอนำมัยและคุณภำพชีวติ ที่ดีข้ ึน
244 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
259
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การศึกษา สำนัก มวลชนสัมพันธ์ และสื่ อสำรองค์ก รร่ วมกับ พนัก งำนจิ ตอำสำของแต่ล ะบริ ษทั ในเครื อจัด โครงกำร “คืนควำมรู ้สู่เยำวชน ครั้งที่ 4” ซึ่ งจัดตำมโรงเรี ยนในเขตรัศมี 5 กิโลเมตร รอบสถำนประกอบกำร ประกอบด้ว ย โรงเรี ย นบ้ำ นสำวเอ้ โรงเรี ย นบ้ำนหิ นเหล็ก ไฟ โรงเรี ย นบ้ำนคู บอน และโรงเรี ย นบ้ำ น สระประคำ-ถำวร ซึ่ งเป็ นโครงกำรที่ ให้ควำมรู้ เกี่ ยวกับสิ่ งแวดล้อม ยำเสพติด กำรรณรงค์ต่อต้ำนกำรใช้ แรงงำนเด็ ก ในไร่ อ้อ ย และกิ จ กรรมละลำยพฤติ ก รรมระหว่ำ งพนัก งำน นอกจำกนั้น ยัง มี กิ จ กรรมให้ ทุนกำรศึกษำตำมโอกำสต่ำง ๆ ซึ่ งให้ทุนในระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำ เช่ น ในกิ จกรรมวันเด็ก แห่งชำติ งำนตำมโอกำสต่ำง ๆ อีกทั้งยังมีกิจกรรมโรงทำนในวันนั้นด้วย นอกจำกนั้น ยังได้สนับสนุ นกิจกรรม “BRR ลดเวลำเรี ยน เพิ่มเวลำรู ้ สู่ ควำมยัง่ ยืน” ให้แก่โรงเรี ยน บ้ำนหนองขวำง ซึ่ งได้เป็ นตัวแทนภำคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ เข้ำร่ วมงำนศิลปะหัตกรรมนักเรี ยน ครั้งที่ 67 และได้รับรำงวัลชนะเลิศติดต่อกันเป็ นเวลำ 4 ปี รวมทั้งยังได้นำร่ องไปสู่ เขตพื้นที่ส่งเสริ มกำรปลูกอ้อยของ กลุ่มบริ ษทั ฯ ไม่ว่ำจะเป็ นโครงกำรเกษตรอินทรี ยแ์ บบบูรณำกำรเพื่ออำหำรกลำงวันของนักเรี ยนในเขต ส่ งเสริ มกำรปลูกอ้อย โครงกำรสร้ำงบ้ำนให้แก่นกั เรี ยนที่ยำกจนในเขตพื้นที่ส่งเสริ มกำรปลูกอ้อย เพรำะกลุ่ม บริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์เชื่อว่ำ “รำกฐำนของสังคมที่มีคุณภำพนั้นต้องเริ่ มจำกกำรศึกษำ”
การส่ งเสริมสุ ขภาพ ในปี ที่ผ่ำนมำ กลุ่มบริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์จดั ตรวจสุ ขภำพประจำปี ให้แก่พนักงำน โดยพนักงำนทุกคน ให้ค วำมร่ ว มมื อ ในกำรเข้ำ รับ กำรตรวจสุ ข ภำพประจำปี เป็ นอย่ำ งดี นอกจำกนี้ ยัง มีก ำรจัด กิ จ กรรม หน่ วยแพทย์เคลื่อนที่ ครั้งที่ 4 โดยตรวจสุ ขภำพให้กบั ประชำชนที่อยูใ่ นเขตรัศมี 5 กิโลเมตร รอบสถำน ประกอบกำร อีกทั้งสำนักมวลชนสัมพันธ์ และสื่ อสำรองค์กรยังได้ร่วมผลิ ตสื่ อส่ งเสริ มสุ ขภำพ สำหรั บ เผยแพร่ ใ ห้แ ก่ โ รงเรี ย น โรงพยำบำลส่ ง เสริ ม สุ ข ภำพต ำบลและหน่ ว ยงำนรำชกำรในเขตรอบสถำน ประกอบกำรของกลุ่มบริ ษทั ฯ รวมทั้งยังมีกำรลงพื้นที่สำรวจควำมเป็ นอยูข่ องชุมชนรอบสถำนประกอบกำร เพื่อสร้ำงควำมสัมพันธ์กบั ชุมชนให้แน่นแฟ้ นมำกยิง่ ขึ้น
260
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
245
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การส่ งเสริมอาชีพ กลุ่มบริ ษทั ฯ ตระหนักถึงควำมรับผิดชอบต่อชุมชนรอบพื้นที่ปฏิบตั ิกำรของกลุ่มบริ ษทั ฯ มำตั้งแต่ เริ่ มดำเนิ นธุ รกิ จ โดยกำรช่วยส่ งเสริ มให้ชุมชนบริ เวณรอบสถำนประกอบกำรมีอำชี พเสริ มนอกเหนื อจำก อำชีพเกษตรกร ดังนี้
โครงกำรส่ งเสริ มอำชีพเกษตรปุ๋ ยหมักอินทรี ยช์ ุมชนโนนเต่ำทอง โครงกำรส่ งเสริ มอำชีพเกษตรอินทรี ยช์ ุมชนโนนกลำง (มะลิปลอดสำร) โครงกำรส่ งเสริ มอำชีพเกษตรอินทรี ยช์ ุมชนสำวเอ้ (ดอกรักปลอดสำร) โครงกำรส่ งเสริ มอำชีพกำรทอผ้ำซิ่นตีนแดงทอมือของชุมชนคูบอน โครงกำรส่ งเสริ มอำชีพเสื่ อกกทอมือโรงเรี ยนบ้ำนสำวเอ้
กำรส่ งเสริ มอำชี พในโครงกำรดังกล่ำ วตำมข้ำ งต้น รวมทั้งอำชี พอื่ น ๆ ให้แก่ชุมชนบริ เวณรอบ สถำนประกอบกำรและเขตส่ งเสริ มกำรปลูกอ้อยของกลุ่มบริ ษทั ฯ เป็ นกำรสร้ ำงควำมเข็ม แข็ง ให้แก่ก ลุ่ม คนในชุมชน อีกทั้งยังสร้ำงควำมเชื่อมัน่ กำรยอมรับ และควำมไว้วำงใจของชุมชนที่มีต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ อีกด้วย
การรักษาวัฒนธรรมประเพณี กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้ร่วมจัดกิจกรรมตำมวันสำคัญทำงศำสนำและประเพณี ต่ำง ๆ ของชุมชนรอบสถำน ประกอบกำร โดยมุ่งเน้นกำรทำงำนอย่ำงมีส่วนร่ วมตั้งแต่กำรวำงแผนจนถึงกำรลงมือทำกิจกรรมระหว่ำง กลุ่มบริ ษทั ฯ และชุ มชน เช่ น กิ จกรรมรดน้ ำ ดำหัวผูใ้ หญ่ ซึ่ ง จัดในช่ วงวันสงกรำนต์ข องทุ ก ปี กิ จกรรม วัน เข้ำ พรรษำเป็ นกิ จกรรมที่ ทำงกลุ่ มบริ ษทั น้ ำ ตำลบุ รีรัมย์ ได้เข้ำร่ วมโดยกำรจัดขบวนแห่ เทียนพรรษำ ประจำทุกปี กิจกรรมโรงทำนในวันเข้ำพรรษำ กิจกรรมวันลอยกระทง กำรประกวดนำงนพมำศของเทศบำล ตำบลหิ นเหล็กไฟ กิ จกรรมโรงทำน งำนวันออกพรรษำ กิ จกรรมงำนบุ ญทอดกฐิ น เพื่อสร้ำงสิ่ งก่อสร้ ำง ให้แก่วดั สำวเอ้ ซึ่ งเป็ นวัดในชุมชน กิจกรรมวันสงกรำนต์และวันผูส้ ู งอำยุ ณ วัดศิลำเรื อง บ้ำนหิ นเหล็กไฟ เป็ นประจำทุกปี ซึ่ งทุกกิจกรรมได้รับควำมร่ วมมือจำกพนักงำนในกลุ่มบริ ษทั ฯ และชุมชนเป็ นอย่ำงดี
246 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
261
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ด้ านสิ่ งแวดล้อม กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้เข้ำไปมี ส่วนร่ วมในกำรนำประชำกรนกกระเรี ยนพันธุ์ไทยกลับคืนสู่ ธรรมชำติ ร่ วมกับองค์กำรสวนสัตว์แห่ งประเทศไทยและส่ วนรำชกำรที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งกำรเข้ำร่ วมในโครงกำรนี้ ถือว่ำ เป็ นประวัติ ศ ำสตร์ ใ หม่ ข องงำนทำงด้ ำ นกำรอนุ รั ก ษ์ สั ต ว์ป่ ำของประเทศไทยที่ พ ยำยำมพลิ ก ฟื้ น กลุ่มประชำกรสัตว์ป่ำที่เคยสู ญพันธุ์จำกธรรมชำติให้กลับมำอีกครั้งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็ นกำรเชื่อมต่อถิ่นอำศัย และแผนที่กำรกระจำยของประชำกรนกกระเรี ยนพันธุ์ไทยในเอเชี ย ตะวันออกเฉี ยงใต้ที่เคยขำดหำยไป รวมทั้งลดกำรสู ญเสี ยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและควำมหลำกหลำยทำงพันธุ กรรม ซึ่ งจะมีผลดีต่อกลุ่ม ประชำกรนกกระเรี ยนพันธุ์ไทยในอนำคต นอกจำกนี้ ด้วยควำมที่นกกระเรี ยนพันธุ์ไทยเป็ นสัตว์ที่สูญพันธุ์ ไปแล้วตำมธรรมชำติและมีถิ่นอำศัยจำกัดอยูเ่ ฉพำะกลุ่มแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ทำให้เป็ นหนึ่ง ในนกที่นกั ดูนกจำกประเทศต่ำงๆ ทัว่ โลก รวมถึงประเทศไทยเองให้ควำมสนใจ ด้ว ยตระหนัก ถึ ง ควำมส ำคัญ ของควำมหลำยหลำยทำงชี วภำพและกำรอนุ รั ก ษ์สิ่ ง แวดล้อ ม โดยร่ วมกับ องค์ก ำรสวนสั ตว์แ ห่ ง ประเทศไทย กรมชลประทำน และส่ วนรำชกำรของจังหวัดบุ รีรัม ย์ จึ งได้จ ัดสร้ ำ งศู นย์อนุ รัก ษ์พ้ื นที่ ชุ่ ม น้ ำ และนกกระเรี ย นพัน ธุ์ ไ ทย บริ เวณเขตห้ำ มล่ ำ สัตว์ป่ ำอ่ ำงเก็บ น้ ำ ห้วยจระเข้มำก จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ งอยู่ระหว่ำงก่ อสร้ ำง ทั้งนี้ เพื่อให้ควำมรู้ กบั คนท้องถิ่ น ผูท้ ี่สนใจ และ บรรดำนักดูนกจำกทัว่ โลก กล่ำวได้ว่ำกำรมีนกกระเรี ยนพันธุ์ไทยอยู่ในธรรมชำติ ยังสำมำรถต่อยอดไปสู่ กำรท่องเที่ ยวเชิ งอนุ รักษ์ โดยเป็ นรู ปแบบกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวที่คำนึ งถึ งสภำพแวดล้อม รวมทั้งช่ วย สนับสนุ นให้ชุมชนท้องถิ่ นได้เข้ำมำมีส่วนร่ วมในกำรอนุ รักษ์ และเป็ นกำรเพิ่มรำยได้และพัฒนำระบบ เศรษฐกิ จของชุ มชนให้ดีข้ ึน รวมถึ งลูกหลำนคนไทยในอนำคตจะมีโอกำสได้เห็นนกกระเรี ยนพันธุ์ไทย ในธรรมชำติอีกด้วย
จำกกำรดำเนิ นงำนด้ำนควำมรั บผิดชอบต่อสังคมตำมข้ำงต้นนี้ เพรำะกลุ่ มบริ ษ ทั น้ ำตำลบุรีรัม ย์ มีควำมเชื่อว่ำควำมรับผิดชอบต่อสังคมคือหนึ่ งในกุญแจสำคัญที่จะนำพำองค์กรให้เติบโตอย่ำงยัง่ ยืน ควบคู่ กับกำรพัฒนำสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประเทศชำติ สืบไป ทั้งนี้ ได้รวบรวมรำยละเอียดกิจกรรม และกำรทำงำนด้ำนควำมรับผิดชอบต่อสังคมตลอดปี 2561 ไว้ในรำยงำนแห่ งควำมยัง่ ยืน ซึ่ งเผยแพร่ ใน www.buriramsugar.com หัวข้อกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน
262
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
247
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง 1. การควบคุมภายใน 1.1 การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในโดยคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบเข้าร่ วมประชุมด้วย คณะกรรมการได้ประเมินระบบควบคุมภายใน โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ าย บริ หารเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ทั้ง 5 ส่ วน คือ 1) องค์กรและสภาพแวดล้อม 2) การบริ หารความเสี่ ยง 3) การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร 4) ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้อมูล 5) ระบบการติดตาม ภายหลังจากการประเมินแล้ว คณะกรรมการมีความเห็ นว่า บริ ษทั มีระบบควบคุมภายในในเรื่ อง การทาธุ รกรรมกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวอย่างเพียงพอแล้ว และมีระบบควบคุมภายในในด้านต่าง ๆ ทั้ง 5 ส่ วน ที่มีความเหมาะสมและเพียงพอในการที่จะป้ องกัน ทรัพย์สินอันเกิดจากการที่ผบู ้ ริ หารนาไปใช้โดยมิชอบหรื อโดยไม่มีอานาจ รวมถึงมีระบบการตรวจสอบ ภายในที่มีความอิสระในการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมีระบบการจัดเก็บ เอกสารสาคัญที่ทาให้กรรมการ ผูส้ อบบัญชี และผูม้ ีอานาจตามกฎหมายสามารถตรวจสอบได้ภายใน ระยะเวลาอันควร 1.2 การดาเนินการเกีย่ วกับระบบควบคุมภายในของบริษัท บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยให้ความสาคัญกับระบบการควบคุมภายในที่ดีและเพียงพอ เนื่องจากจะช่วย ให้การดาเนินงานของบริ ษทั เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยได้มีการจัดทานโยบาย ระเบียบ และคู่มือการปฏิบตั ิงานที่ครอบคลุ มทุกกระบวนการทางานสาคัญ รวมทั้งมีการแบ่งแยกอานาจ หน้าที่การดาเนินงานตามหลักการการตรวจสอบและถ่วงดุล (check and balance) ในปี 2561 สานักตรวจสอบภายในได้ดาเนินการตรวจสอบ การตรวจติดตาม ระบบควบคุมภายใน ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย การตรวจสอบนโยบายและกระบวนการต่าง ๆ ที่สาคัญ เพื่อมาตรการต่อต้าน การคอร์ รัปชันในองค์กร การตรวจสอบและรายงานผลการปฏิ บตั ิงาน ข้อสังเกต ความเห็ น และ ข้อเสนอแนะที่ตรวจพบ โดยรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และสาเนารายงานต่อผูบ้ ริ หาร ซึ่ งที่ ผ่านมา ผูบ้ ริ หารได้ให้ความสาคัญ และบริ ษทั ได้ดาเนินการแก้ไขปรับปรุ งระบบการปฏิบตั ิงานในฝ่ ายต่าง ๆ ตามข้อเสนอแนะของผูต้ รวจสอบภายในมาโดยตลอด 247 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
263
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.3 ข้ อสั งเกตของผู้ตรวจสอบภายใน ในปี 2561 สานักตรวจสอบภายในได้ทาการตรวจสอบความเพียงพอและความมีประสิ ทธิ ภาพของ การควบคุมภายใน และนาเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยพิจารณาเข้าตรวจตามลาดับผลกระทบที่มี ต่อการดาเนินกิจการ ทั้งนี้ ในช่วงเวลาดังกล่าว ผูต้ รวจสอบภายในได้เข้าทาการตรวจสอบระบบการควบคุม ภายในของกระบวนการหลัก ดังนี้ 1) กระบวนการผลิตบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด, บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด และบริ ษทั บุรีรัมย์ เพาเวอร์พลัส จากัด 2) กระบวนการผลิตบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด 3) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบกระบวนการผลิตบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด 4) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบกระบวนการผลิตบริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด 5) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบกระบวนการบริ หารทรัพยากรบุคคลและเงินเดือน 6) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบกระบวนการผลิ ตบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด และบริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด 7) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อและการจ่ายชาระเงิน 8) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบกระบวนการปิ ดบัญชีและการจัดทารายงานทางการเงิน 9) การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบกระบวนการด้า นสิ น เชื่ อ (เงิ น เกี๊ ย ว) และกระบวนการ ด้านส่ งเสริ มชาวไร่ 10) การตรวจติดตามผลการตรวจสอบมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชันของการควบคุมภายใน โดยการสั ง เกตการณ์ สั ม ภาษณ์ เปรี ย บเที ย บข้อ มู ล และสอบทานขั้น ตอนการปฏิ บ ัติ ง าน และตรวจสอบข้อมู ล ต่า ง ๆ เกี่ ย วกับ เรื่ องที่ ทาการตรวจสอบ หลัง จากนั้น ได้มี ก ารสรุ ป ประเด็น ที่ พ บ จากการตรวจสอบ และหารื อร่ วมกันกับเจ้าหน้าที่ของบริ ษทั เพื่อพิจารณาปั ญหาและวิธีการปรับปรุ งแก้ไข จนได้ขอ้ สรุ ปซึ่ งเห็นชอบร่ วมกัน ทั้งนี้ ข้อสังเกตของผูต้ รวจสอบภายใน การดาเนิ นการของบริ ษทั และ สรุ ปผลการติดตาม เป็ นดังนี้ ข้ อสั งเกต/ข้ อเสนอแนะ
ผลการตรววจสอบ/ตรวจติดตาม
1.
ภาพรวมของการก าหนดและติ ด ตั้ง ระบบ 1. บริ ษัท มี ก ารสื่ อสารนโยบายต่ า ง ๆ ใน กระบวนการธุ รกิ จ ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ นโยบาย การควบคุมภายในระดับองค์กร การต่อต้านทุจริ ตคอร์ รัปชัน นโยบายการรับและให้ ของขวัญ นโยบายการแจ้ง เรื่ องร้ อ งเรี ยน หรื อ เบาะแส เป็ นต้น
248 264
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ข้ อสั งเกต/ข้ อเสนอแนะ
ผลการตรววจสอบ/ตรวจติดตาม
2. การติ ด ตามการพัฒ นาและปรั บ ปรุ งระบบ การควบคุมภายในแต่ละกระบวนการทางธุรกิจ
2.1 กระบวนการผลิ ต บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด , บริ ษ ัท บุ รี รั ม ย์เ พาเวอร์ จ ากัด และบริ ษ ัท บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จากัด
2.2 กระบวนการผลิ ต บริ ษทั โรงงานน้ า ตาล บุรีรัมย์ จากัด
2.3 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ กระบวนการผลิ ต บริ ษ ัท โรงงานน้ า ตาลบุ รี รั ม ย์ จากัด
2. บริ ษทั เริ่ มใช้ระบบงาน SAP เมื่อ กรกฎาคม 2561 เพื่ อ รองรั บ การปฏิ บ ัติ ง านให้ ก ั บ หน่ ว ยงานใน องค์ ก ร การจัด ท ารายงานทางการเงิ น และการ ตรวจสอบข้อมูลให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ สาหรับประเด็น ข้อตรวจพบในกระบวนการทาง ธุ รกิ จ ทั้ง 10 กระบวนการ โดยบริ ษทั ได้มี ก าร ปรับปรุ ง แก้ไข และมีการนาไปปฏิ บตั ิ (บางส่ วน) แล้ว ทั้งนี้ สรุ ปผลการติดตามได้ดงั นี้ 1. การควบคุมของเสี ย (Scrap/Waste) โดยควรจัด ให้ มี พ้ื น ที่ จ ั ด เก็ บ ให้ เ พี ย งพอ/แนวทางปฏิ บ ั ติ เกี่ยวกับการควบคุม/การจัดการของเสี ย 2. การบ ารุ ง รั ก ษาเครื่ องจัก ร และซ่ อ มแซม เครื่ อ งจัก ร ควรมี ก ารทบทวนรายการเครื่ อ งจัก ร ความครบถ้วน/ความเหมาะสมในการบารุ งรักษา 1. การวางแผนการผลิ ต และการรายงานผลมี การบันทึกและได้รับอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจอย่างเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร และเหมาะสม 2. ควรมีการวางแผนการบริ หารจัดการเชื้อเพลิงให้ เพียงพอและเหมาะสม 3. การควบคุ ม ของเสี ย (Scrap/Waste) โดยควรจัด ให้ มี พ้ื น ที่ จ ั ด เก็ บ ให้ เ พี ย งพอ/แนวทางปฏิ บ ั ติ เกี่ยวกับการควบคุม/การจัดการของเสี ย 4. บริ ษทั จัดให้มีก ารสอบเทียบเครื่ องมือวัด และ จัด เก็บ ใบรั บ รองผลการสอบเที ย บ รวมทั้ง มี ก าร พิจารณาระยะเวลาในการสอบเทียบเครื่ องมือต่าง ๆ 5. ควรจัดให้มีการทบทวน การบารุ งรักษาอุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร ให้ครบถ้วนและเหมาสม 1. บริ ษ ัท ด าเนิ น การปรั บ ปรุ งประวัติ เ ครื่ องจัก ร ถู ก ต้อ งตามบัญ ชี ร ายชื่ อ เครื่ องจัก ร และบัน ทึ ก รายการซ่อมบารุ งอย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
249 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
265
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ข้ อสั งเกต/ข้ อเสนอแนะ
ผลการตรววจสอบ/ตรวจติดตาม
2.4 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ กระบวนการผลิตบริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด
2.5 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ กระบวนการบริ หารทรัพยากรบุคคลและเงินเดือน
2.6 ก า ร ต ร ว จ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ กระบวนการผลิตบริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด และ บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด
2.7 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ กระบวนการจัดซื้อและการจ่ายชาระเงิน
266
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
2. บริ ษั ท อยู่ ร ะหว่ า งจัด ตั้ง คณะท างานจัด การ ทรัพย์สิน 1. บริ ษทั กาหนดให้มีการบันทึกอุ ณหภูมิเตาอบปุ๋ ย อย่างสม่าเสมอ 2. บริ ษทั จัดทาระเบียบปฏิ บตั ิการควบคุ มคุ ณภาพ อย่างเป็ นประจาสม่าเสมอ โดยนาปุ๋ ยไปทดสอบกับ หน่วยงานภายนอก เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้มนั่ ใจใน คุณภาพ 3. บริ ษ ทั จัดทาแผนผัง โกดัง แทนการติ ดป้ ายบ่ง ชี้ เนื่ องจากจานวนวัตถุดิบวางในโกดังมีปริ มาณมาก ไม่สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย 1. บริ ษทั มีการปรับปรุ ง Lay-out ที่ต้ งั ถังดับเพลิ ง และให้มีการตรวจสอบเครื่ องดับเพลิ งเป็ นประจา ทุกเดือน 2. บ ริ ษั ท มี ก า ร ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น เ ห็ น ความสาคัญในการสวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่ วนบุคคล โดยจัดทากิจกรรม Safety Take จัดทา แผน Morning Take และมีการประชุ มรายงานผล เป็ นประจา 3. บริ ษมั มี การจัดทาคู่มือพนักงาน ระบุ ระเบีย บ ข้อ บัง คับ ในการท างาน และสวัส ดิ ก ารพนัก งาน รวมถึงมีการสื่ อสารให้พนักงานทราบ 1. บริ ษัท ควรจัด ให้ มี ก ารบ ารุ งรั ก ษา อุ ป กรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักรให้ครบถ้วน เหมาะสม 2. ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ อ้ า ง อิ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล การปฏิบตั ิงานส่ วนงานซ่อมบารุ ง 3. บริ ษ ัท จัดท านโยบายสิ่ ง แวดล้อ มเป็ นแนวทาง ปฏิบตั ิการจัดการ/ควบคุมของเสี ย บริ ษ ทั ก าหนดให้มีก ารประเมิ นคุ ณภาพผูข้ ายเป็ น ประจาสม่าเสมอ
250
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ข้ อสั งเกต/ข้ อเสนอแนะ
ผลการตรววจสอบ/ตรวจติดตาม
2.8 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ บริ ษทั จัดทาระบบเก็บข้อมูลลูกหนี้รายตัวใหม่ กระบวนการปิ ดบัญ ชี แ ละการจัด ท ารายงานทาง โดยยกเลิกการเก็บข้อมูลแบบ manual เป็ นเก็บ การเงิน ข้อมูลในระบบ SAP รองรับการบันทึกข้อมูลการ์ ด ลูกหนี้รายตัว 2.9 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ 1. บริ ษทั ได้กาหนดระเบียบวิธีปฏิบตั ิการพิจารณา ก ระ บว นก าร ด้ า นสิ นเ ชื่ อ (เ งิ น เกี๊ ย ว ) แล ะ สิ น เ ชื่ อ แ ก่ บุ ค ค ล โ ด ย จั ด ท า เ ป็ น ขั้ น ต อ น กระบวนการด้านส่ งเสริ มชาวไร่ การปฏิบตั ิงานด้านสิ นเชื่อที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2. บริ ษทั ได้ดาเนิ นการจัดทาระบบการคียข์ อ้ มู ล สัญญาการค้ าประกันให้ชาวไร่ สามารถค้ าประกัน ผูก้ ูไ้ ด้ไม่เกิ น 4 ราย ในฤดูการจ่ายเงินส่ งเสริ มในปี นั้น ๆ 2.10 การตรวจติ ด ตามผลการตรวจสอบ การตรวจสอบและตรวจติดตามกระบวนการต่าง ๆ มาตรการต่ อ ต้า นการคอร์ รั ป ชันของการควบคุ ม ที่สาคัญได้แก่ ภายใน กระบวนการขายและการตลาด กระบวนการจัดซื้อและการทาสัญญา กระบวนการบริ หารบุคลากร กระบวนการประเมินความเสี่ ยงเกี่ยวกับ มาตรการต่อต้านคอร์ รัปชัน 2. การบริหารจัดการความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษ ัท เป็ นผู้ก าหนดนโยบายและกระบวนการบริ ห าร ความเสี่ ยงให้สานักบริ หารความเสี่ ยงนาไปปฏิบตั ิ สานักบริ หารความเสี่ ยงเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการกาหนด และออกแบบระบบงาน รวมทั้งระบุ ปัจจัย ความเสี่ ยง ซึ่ งการวางแผนการดาเนิ นธุ รกิ จหรื อปฏิ บตั ิงาน โดยคานึงถึงปัจจัยเสี่ ยง จะช่วยให้สานักบริ หารความเสี่ ยงสามารถออกแบบระบบที่มีจุดควบคุม เพื่อควบคุม ความเสี่ ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ ซึ่ งสอดคล้องกับการบริ หารความเสี่ ยงตามมาตรฐาน COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ที่กาหนดไว้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงได้ตระหนักถึงการบริ หารความเสี่ ยงจึงได้แต่งตั้งให้มีสานักบริ หาร ความเสี่ ยง เพื่อเป็ นหน่วยงานที่ทาหน้าที่บริ หารจัดการความเสี่ ยงตามกรอบการกากับดูแลการบริ หารความเสี่ ยง ที่เรี ยกว่า Three Line of Defence หรื อหลักปราการ 3 ด่าน พร้อมสร้างการตระหนักรู้ให้พนักงานทุกคนทัว่ ทั้ง องค์กรได้ตระหนักถึงความสาคัญในการบริ หารความเสี่ ยง โดยจัดให้มีการอบรม in-house training ขึ้น 251 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
267
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ซึ่ ง ในปี 2561 กลุ่ มบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ได้มุ่งเน้นถึ งการจัดการด้านชี วอนามัยและความปลอดภัยของ พนักงานเป็ นสาคัญ นอกจากนี้ ยังมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงานอย่างสม่าเสมอสาหรับพื้นฐานการบริ หารความเสี่ ยง องค์กร เพื่อให้ระดับปฏิบตั ิการเข้าใจถึงกระบวนการบริ หารความเสี่ ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตอบสนอง ความเสี่ ยงด้วยวิธีการของ 4T’s Strategic และกิจกรรมการควบคุม (Control Activities) ทั้ง 4 กิจกรรมในการควบคุม 1. Preventive Control (การควบคุ มแบบป้ องกัน) 2. Detective Control (การควบคุ มแบบค้นพบ) 3. Corrective Control (การควบคุมแบบแก้ไข) และ 4. Directive Control (การควบคุมแบบส่ งเสริ ม) เพื่อให้ ระดับปฏิบตั ิการได้มีความรู้ความเข้าใจที่จะทาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กรที่ได้วางไว้ และเป็ นไป ในทิศทางเดียวกัน
268
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
252
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
12. รายการระหว่ างกัน บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ประกอบด้วย กรรมการ ผูถ้ ือหุ ้นและ/หรื อ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั รวมถึงผูเ้ กี่ยวข้อง และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องซึ่ งหมายถึงบริ ษทั ที่อาจมีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั ดังกล่าว ซึ่ งสามารถสรุ ปลักษณะความสัมพันธ์ได้ดงั นี้ ลาดับที่
บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
ลักษณะความสั มพันธ์
1.
นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ
เป็ นกรรมการของบริ ษทั และถือหุน้ บริ ษทั ร้อยละ 4.08
2.
นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ
เป็ นกรรมการของบริ ษทั และถือหุน้ บริ ษทั ร้อยละ 4.05
3.
นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
เป็ นกรรมการของบริ ษทั และถือหุน้ บริ ษทั ร้อยละ 4.05
4.
นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
เป็ นกรรมการของบริ ษทั และถือหุน้ บริ ษทั ร้อยละ 4.05
5.
นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล
เป็ นกรรมการของบริ ษทั และถือหุน้ บริ ษทั ร้อยละ 4.05
6.
นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
เป็ นกรรมการของบริ ษทั และถือหุน้ บริ ษทั ร้อยละ 4.06
7.
พ.ต.อ.ชาญชัย พงษ์พิชิตกุล
เป็ นคู่สมรสของนางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล
8.
นายปอนด์ รัตนพันธ์ศกั ดิ์
เป็ นคู่สมรสของนางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ
9.
นายภาคภูมิ พงษ์พิชิตกุล
เป็ นบุตรของนางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล
10.
บริ ษทั บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินลั โลจิสติกส์ จํากัด
มีบุคคลลําดับที่ 1-6 เป็ นผูถ้ ือหุ น้ และมีกรรมการร่ วมกับ บริ ษทั 2 ท่านคือ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ และนางสาวกรกนก ปุญญนิรันด์ (ซึ่งเป็ นบุตรของนางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อย) เป็ นกรรมการ
11.
บริ ษทั ค้าผลผลิตนํ้าตาล จํากัด
มีกรรมการร่ วมกับบริ ษทั 1 ท่านคือ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และBSF ซึ่งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ถือหุน้ อยูร่ ้อยละ 4.26
12.
บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จํากัด
มีกรรมการร่ วมกับบริ ษทั 6 ท่านคือ บุคคลลําดับที่ 1-6 และบริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จํากัด ถือหุ น้ บริ ษทั อยูร่ ้อยละ 50.49
251 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
269
270
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
2. กรรมการ 6 ท่านคือ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
1. บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล
บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
9,618,895
- เจ้าหนี้การค้า
252
95,196,868
- ลูกหนี้การค้า/ลูกหนี้อื่น
สิ้ น สุ ด ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2561 กรรมการ 6 ท่ า น ยัง มี สถานะเป็ นผูค้ ้ าํ ประกันสิ นเชื่ อ เช่ า ซื้ อ รถยนต์ 20 คัน และ เครื่ องจักรที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายวัสดุของกลุ่มบริ ษทั รวม 2 คัน กับ ธนาคารพาณิ ช ย์แ ละบริ ษ ัท เช่ า ซื้ อ รวม 22 คัน ยอดคํ้า ประกันรวม 43,161,941 บาท และเครื่ องถ่ายเอกสาร 11 เครื่ อง จํานวนเงิน 654,840 บาท
5,148,973
- ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร (ค่าธรรมเนี ยมในการเป็ น ตัว แทนส่ ง ออก ค่ า ธรรมเนี ย มในการเป็ นตัว แทนซื้ อ ขาย เครื่ องมือทางการเงิน ค่าดําเนินการส่งสิ นค้าที่ท่าเรื อ ค่าดําเนิ น เอกสารส่งออกและพิธีการทางศุลกากร)
3,207,490,010
มูลค่ า (บาท)
7,913,988
ลักษณะรายการ
- รายได้อื่น
- รายได้จากการขาย
รายการกับบริ ษทั
รายการระหว่ างงกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง
-
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การคํ้าประกันสิ นเชื่อเป็ นเงื่อนไขปกติของบริ ษทั ผูใ้ ห้เช่าซื้อ เป็ นความจําเป็ นในการดําเนิ นธุ รกิจปกติของ กิ จ การ และไม่ มี การคิ ด ค่ า ธรรมเนี ย มการคํ้า ประกัน บริ ษ ัทและบริ ษ ัทย่อ ยไม่ เ สี ย ผลประโยชน์จ าก การดําเนินการดังกล่าว
อั ต ราค่ า บริ การจากการเป็ นตั ว แทนการส่ ง ออกและอั ต ราดอกเบี้ ยระหว่ า งกั น เป็ นอั ต ราที่ มี ความสมเหตุสมผล - การเช่าซื้อดังกล่าวเป็ นไปเพื่อการบริ หารงานและดําเนินงานของบริ ษทั
-
การแต่งตั้ง บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล เป็ นตัวแทนการส่ งออกและการรับเงินสนับสนุ นสิ นเชื่ อเพื่อการส่ งออก จากธนาคารพาณิ ช ย์ผ่ า น บจ .ค้า ผลผลิ ต นํ้า ตาลนั้น เป็ นไปตามความจํา เป็ นทางธุ ร กิ จ เพื่ อ ปฏิ บัติ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
ของ บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล เพื่อรับการสนับสนุนทางการเงิน บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล จะโอนเงินที่ได้รับตาม วงเงิ น สิ นเชื่ อ เพื่ อ การส่ ง ออกจากธนาคารพาณิ ชย์ใ ห้บ ริ ษ ัท โดยบริ ษ ัท ออกตั๋ว สัญ ญาใช้เงิ น ให้ แ ก่ บจ.ค้าผลผลิ ตนํ้าตาล เพื่อเป็ นหลักฐานการรั บเงิ น อัต ราดอกเบี้ ยที่ บริ ษทั จ่ ายให้บจ.ค้าผลผลิ ตนํ้าตาล ตามตัว๋ สัญญาใช้เงินเป็ นอัตราเดียวกับอัตราดอกเบี้ยที่บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาลจ่ายให้กบั ธนาคารพาณิ ชย์
- บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล เป็ นผูเ้ ข้าทําสัญญาสิ นเชื่อเพื่อการส่งออกกับธนาคารพาณิ ชย์ให้แก่บริ ษทั ในนาม
ซึ่ง บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล คิดจากผูร้ ับบริ การทุกรายเท่ากัน
- ค่าบริ การการจัดการสินค้าและการส่งออกที่บริ ษทั จ่ายให้ บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล เป็ นอัตรากลางอัตราเดียว
จัดการสิ นค้าและดําเนินการเรื่ องเอกสารเกี่ยวกับส่งออกเท่านั้น
- การส่งออกนํ้าตาลนั้น บริ ษทั เป็ นผูด้ าํ เนิ นการติดต่อลูกค้าเอง ส่วน บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาลให้บริ การเรื่ อง
บจ.ค้า ผลผลิ ต นํ้า ตาล ตามสั ด ส่ ว นปริ ม าณการส่ ง ออกของแต่ ละบริ ษ ัท นอกจากนั้น กรรมการของ บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล ประกอบด้วย ตัวแทนผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ละ 1 ท่าน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของแต่ละบริ ษทั
- บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล เกิดจากการรวมตัวของบริ ษทั โรงงานนํ้าตาล 22 โรง โดยแต่ละบริ ษทั ถือหุ ้นใน
ตาม พรบ. อ้อยและนํ้าตาล ให้เป็ นตัวแทนดําเนินการจัดส่งนํ้าตาลออกไปยังต่างประเทศให้แก่บริ ษทั
- บริ ษัทแต่ง ตั้ง บจ.ค้า ผลผลิ ตนํ้าตาล ซึ่ ง เป็ นบริ ษัทที่ กอน. อนุ ญาตให้เป็ นบริ ษัทส่ งออกนํ้า ตาลได้
เหตุผลและความจาเป็ นของรายการ
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
271
ลักษณะรายการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กรรมการ 6 ท่าน ยังมี สถานะเป็ น ผูค้ ้ าํ ประกันวงเงิ นกูย้ ืมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยกับธนาคาร พาณิ ชย์แห่งหนึ่ง มูลค่าการคํ้าประกัน 320 ล้านบาท
ลูกหนี้ชาวไร่ – เงินเกี๊ยว ในปี การผลิ ต 2560/2561 บจ.โรงงานนํ้า ตาลบุ รี รัม ย์ ได้ใ ห้ เงินเกี๊ ยวแก่กรรมการของบริ ษทั และญาติ สนิ ท โดยมี กาํ หนด จ่ายชําระคืนเมื่อนําอ้อยส่งโรงงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ - เงินกูย้ ืมต้นงวด - กูย้ ืมเพิ่มระหว่างงวด - รวมเงินกูย้ ืมทั้งสิ้น - จ่ายชําระระหว่างงวด - ลูกหนี้เงินเกี๊ยวคงเหลือ - ลูกหนี้ การค้า - มูลค่าอ้อยที่ซ้ือ - มูลค่าปุ๋ ยและปัจจัยการผลิตที่จาํ หน่าย - เจ้าหนี้อื่น
บริ ษัท ว่ า จ้ า งบจ. บี .อาร์ . เอส เทรนเทอร์ มิ นั ล โลจิ ส ติ ก ส์ ในการขนส่งสิ นค้าให้กบั บริ ษทั บจ. บี.อาร์.เอส เทรนเทอร์ มินลั โลจิ สติกส์ เช่าพื้นที่ของบริ ษทั เพื่อใช้เป็ นสํานักงาน - ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง - ค่าเช่าโกดัง - รายได้ค่าปรับนํ้าตาลหาย/ค่าเช่าที่ - ลูกหนี้อื่น ณ สิ้นงวด - เจ้าหนี้การค้า ณ สิ้นงวด
บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง 3. กรรมการ 6 ท่าน คือ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
4. กรรมการ 4 ท่าน คือ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และญาติสนิทของกรรมการ 3 ท่าน คือ พ.ต.อ.ชาญชัย พงษ์พชิ ิตกุล นายปอนด์ รัตนพันธ์ศกั ดิ์ นายภาคภูมิ พงษ์พชิ ิตกุล
5. บจ. บี.อาร์.เอส เทรนเทอร์มินลั โลจิสติกส์
วงเงินกูย้ ืมเพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการผลิตและเป็ นเงินกูเ้ พื่อซื้อทรัพย์สินในการดําเนินงานของ บริ ษทั ย่อย โดยไม่มีการคิดค่าธรรมเนียมการคํ้าประกันแต่อย่างใด
เหตุผลและความจาเป็ นของรายการ
253
57,545,081 1,287,374 577,009 180,000 10,636,372
- บริ ษทั มีความจําเป็ นต้องส่งสิ นค้าของบริ ษทั ไปให้กบั ลูกค้า จึงได้วา่ จ้าง BRS ส่งสิ นค้าให้กบั บริ ษทั - เพื่อความสะดวกในการดู แลการขนส่ งสิ นค้าของบริ ษทั จึ งให้ BRS เช่าพื้นที่ ส่วนหนึ่ งของบริ ษทั เป็ น สํานักงาน โดยมีการคิดอัตราค่าเช่าใกล้เคียงราคาอัตราค่าเช่าพื้นที่ในอาคารเดียวกัน - สําหรั บรายได้ค่ าปรั บนํ้าตาลหายจะคิ ด จากปริ ม าณนํ้าตาลที่ สูญเสี ย ไประหว่างขนส่ ง โดยคิ ดในราคา กิโลกรั มละ 20 บาท โดยบริ ษทั ต้องบันทึกนํ้าตาลที่ สูญเสี ยระหว่างขนส่ งเป็ นการขายนํ้าตาลในราคา ขายปลี กซึ่ งเท่ ากับ 19 บาท ต่ อกิ โลกรั ม และในส่ ว นที่ เหลื อ อี ก 1 บาท ต่อ กิ โลกรั ม เป็ นค่ าใช้จ่ายที่ ประมาณการให้ชดเชยการดําเนินงานด้านเอกสารต่าง ๆ - เนื่องจากธุ รกิจของ บจ. บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์ มินลั โลจิ สติกส์ คือ ธุ รกิจขนส่ งทางรถไฟ และโกดัง ซึ่ งมี ความเสี่ ยงสู งเนื่ องจากสัญญาเช่าเป็ นสัญญาระยะสั้น หากยกเลิกสัญญา สิ นทรัพย์ท้ งั หมดจะตกเป็ นของ การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย นอกจากนี้ การขนส่ ง และการใช้ โ กดั ง สํ า หรั บ เก็ บ ของกลุ่ ม บริ ษัท ฯ
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การคํ้าประกันสินเชื่อเป็ นเงื่อนไขปกติของธนาคารพาณิ ชย์ เป็ นความจําเป็ นในการดําเนินธุ รกิจปกติของ กิ จ การ และไม่ มี การคิ ด ค่ า ธรรมเนี ย มการคํ้าประกัน บริ ษ ัทและบริ ษ ัทย่อ ยไม่ เสี ย ผลประโยชน์จ าก การดําเนินการดังกล่าว - การให้เงินกูย้ ืมชาวไร่ ออ้ ยเพื่อเป็ นทุนหมุนเวียนชาวไร่ ออ้ ยในการปลูกอ้อยเพื่อมาจําหน่ายแก่โรงงาน นํ้าตาล หรื อที่เรี ยกกันว่าเงินเกี๊ยว เป็ นการดําเนินงานตามปกติของโรงงานนํ้าตาลทัว่ ไป ซึ่ งเงื่อนไขการให้ เงินเกี๊ยวกับกรรมการและญาติสนิทนั้นเป็ นไปตามเงื่อนไขเดียวกับชาวไร่ รายอื่น ๆ - การรับซื้ออ้อยนั้นเป็ นธุรกิจปกติของบริ ษทั และราคาที่ซ้ือจากกรรมการและญาติสนิทของกรรมการ 40,388,370 เป็ นราคาเดียวกันกับที่รับซื้อจากชาวไร่ ออ้ ยรายอื่น ๆ 8,892,966 49,281,336 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 21,085,535 - การให้เงินเกี๊ยวและการซื้ออ้อยเป็ นการดําเนินงานตามปกติของธุ รกิจโรงงานนํ้าตาล ซึ่ งราคาและเงื่อนไข 28,195,801 นั้นเป็ นไปตามที่ตกลงกับบุคคลทัว่ ไป 639,589 18,302,564 6,683,349 33,614
มูลค่ า (บาท)
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
272
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
6. กรรมการ 1 ท่าน คือ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
การเช่าทรัพย์สิน 1. บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จํากัด ได้ทาํ สัญญาเช่าที่ดินจํานวน 6 ไร่ - งาน 69 ตารางวา จากกรรมการของบริ ษทั ค่าเช่า 24,690 บาท/ปี 2. บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จํากัด ได้ทาํ สัญญาเช่าที่ดินจํานวน 13 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา จากกรรมการของบริ ษทั ค่าเช่า 55,420 บาท/ปี 3. บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จํากัด ได้ทาํ สัญญาเช่าที่ดินจํานวน 10 ไร่ - งาน 26 ตารางวา จากกรรมการของบริ ษทั ค่าเช่า 40,260 บาท/ปี
ลักษณะรายการ
254
เหตุผลและความจาเป็ นของรายการ ไม่จาํ เป็ นต้องใช้ BRS เท่านั้น นอกจากนี้ BRS สามารถดําเนิ นธุ รกิจเองได้โดยไม่ตอ้ งพึ่ง BRR ดังนั้น ผูบ้ ริ หารจึงไม่นาํ BRS เข้ามาในจากกลุ่ม BRR - สําหรั บ การว่า จ้าง BRS ในอนาคตจะดําเนิ น การให้ มี การเสนอและเปรี ย บเที ย บราคาจากผู ้รับจ้า ง ไม่นอ้ ยกว่า 4 ราย และต้องรายงานผลการเปรี ยบเทียบให้คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ นอกจากนี้ บริ ษทั จะไม่วา่ จ้าง BRS ขนส่งนํ้าตาลเกินกว่าร้อยละ 30 ของปริ มาณนํ้าตาลส่งออกของบริ ษทั
-
การเช่าที่ดินระยะยาวเพื่อใช้สาํ หรับก่อสร้างโรงงานถือเป็ นส่วนหนึ่งในการดําเนินธุ รกิจ โดยอัตราค่าเช่า นั้นใกล้เคียงกับอัตราค่าเช่าที่ดินในพื้นที่ใกล้เคียง
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - บริ ษทั ไม่ได้นาํ BRS เข้ามารวมในกลุ่ม เนื่ องจากธุ รกิ จไม่ได้มีความจําเป็ นต่อการดําเนิ นงานของบริ ษทั นอกจากนี้ ธุรกิ จของ BRS มี ความไม่แน่ นอนสู ง ซึ่ งการไม่นาํ BRS เข้ามาร่ วมอยู่ในกลุ่มเป็ นการลด ความเสี่ ยงในการดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั - การว่าจ้างบุ ค คลอื่ นให้ข นส่ ง สิ นค้า เป็ นกิ จ กรรมปกติ ข องบริ ษ ัท และมี ค วามจํา เป็ นทางธุ รกิ จ ราคา ว่าจ้างบจ. บี.อาร์.เอส เทรนเทอร์มินลั โลจิสติกส์ เป็ นราคาที่เทียบเคียงได้กบั การว่าจ้างบุคคลอื่น - สําหรับการให้เช่าพื้นที่น้ นั เพื่อสนับสนุนการดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั โดยอัตราค่าเช่าเป็ นราคาที่เทียบเคียง ได้กบั ราคาค่าเช่าในพื้นที่ใกล้เคียง - บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จํากัด ได้ทาํ สัญญาเช่าที่ดินระยะเวลา 25 ปี เพื่อใช้ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าจากกากอ้อย 120,370 ซึ่งเป็ นผลพลอยได้จากการผลิตนํ้าตาล โดยมีราคาค่าเช่าอยูท่ ี่ 10 บาทต่อตารางวาต่อปี โดยจ่ายชําระ 2 ครั้ง ต่อปี ทั้งนี้ ในปี 2558 บริ ษทั มีการจ่ายชําระค่าเช่าในเดือนมกราคม และได้บนั ทึกเป็ นค่าเช่าของครึ่ งปี หลัง ที่จ่ายชําระล่วงหน้าในเดือนมิถุนายนเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดหกเดือนแรกปี 2558 แล้ว
มูลค่ า (บาท)
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
มาตรการการทารายการระหว่างกัน กรณี ที่ เป็ นรายการธุ รกรรมปกติ เช่ น รายการซื้ อ ขายสิ น ค้า วัต ถุ ดิบ ให้บ ริ ก าร หรื อ ให้เ งิ น สนับ สนุ น การปลู ก อ้อย (เงิ นเกี๊ ย ว ) เป็ นต้น บริ ษ ัท หรื อ บริ ษ ทั ย่อยสามารถทํา ธุ รกรรมกับ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ง ได้ หากธุ รกรรมดัง กล่ า วนั้นมี ข ้อตกลงทางการค้า ที่ มี เงื่ อนไขการค้า โดยทัว่ ไปในลัก ษณะที่ วิญํู ช นพึง กระทํา กับ คู่สัญญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดี ยวกัน ด้วยอํานาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิ พลในการที่ตนมีสถานะเป็ น กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยบริ ษทั จะจัดสรุ ปรายการดังกล่าวให้คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ ทุกไตรมาสที่เกิดรายการ ทั้ง นี้ บริ ษ ัท ได้ก ํา หนดนโยบายการทํา ธุ ร กรรมประเภทเงิ น เกี๊ ย วกับ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ง ให้ มี การควบคุมดูแลดังนี้ 1. การกําหนดขอบเขตอํานาจอนุมตั ิ 2. การสอบทานรายการที่เกิดขึ้น การกาหนดขอบเขตอานาจอนุมัติ ลักษณะเงิ นเกี๊ยวเพื่อช่ วยเหลื อเกษตรกรในการผลิต ได้แก่ ค่าปลูก ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ ย ค่าสารเคมีการเกษตร ค่าเช่ า ที่ดิน ค่าอ้อย ค่าระบบนํ้าหยด ค่าที่ดินเพื่อการปลูกอ้อย ค่าเครื่ องจักรกลการเกษตร รถไถ รถตัดอ้อย และรถบรรทุก เป็ นต้น ผูบ้ ริ ห ารจะไม่ มี อ าํ นาจอนุ ม ัติ เ งิ น เกี๊ ย วที่ ไ ม่ ไ ด้เ ป็ นไปเพื่ อ สนับ สนุ น การปลู ก อ้อ ย โดยที่ ก ารซื้ อ อ้อ ย ไม่นบั เป็ นการสนับสนุ นการปลูก การให้เงินเกี๊ยวที่นอกเหนื อเป็ นค่าใช้จ่ายหรื อสนับสนุนการปลูกอ้อย จะต้องให้ คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นชอบก่อนเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูถ้ ือหุ ้นอนุ มตั ิ โดยขึ้นอยูก่ บั ขนาด ของรายการ โดยนําหลักเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้ตามประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาใช้บงั คับ การสอบทานรายการทีเ่ กิดขึน้ ผูต้ รวจสอบภายในจะดําเนินการตรวจสอบรายการโดย 1. ตรวจสอบความครบถ้วนของรายการโดยให้นาํ รายชื่ อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งเปรี ยบเทียบกับบัญชี เงินเกี๊ยวรายบุคคล 2. นํารายชื่ อที่ตรวจพบไปตรวจสอบว่า การเบิกเงินเกี๊ยวมีลกั ษณะรายการ เอกสารประกอบ ราคา เงื่อนไข และขั้นตอนการอนุมตั ิตามนโยบายของบริ ษทั หรื อไม่ 3. จัดทําสรุ ปผลการตรวจสอบนําเสนอคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจําทุกไตรมาส สําหรับการทํารายการว่าจ้างขนส่ งนํ้าตาลกับบริ ษทั บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินลั โลจิสติกส์ จํากัด ซึ่งเป็ น บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง กําหนดให้มีการดําเนินการดังนี้
255 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
273
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1. จัดให้มีการเสนอราคาจากผูใ้ ห้บริ การไม่นอ้ ยกว่า 4 ราย 2. ต้องมีก ารกํา หนดขอบเขตของการให้บ ริ การที่ชัดเจน เช่ น สถานที่ตน้ ทางปลายทาง ปี การผลิ ต หรื อ บริ การเสริ มอื่น เป็ นต้น 3. จัดให้มีการทําสัญญาที่ระบุราคาและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ชดั เจน 4. ให้ส รุ ป เหตุ ผ ลในการเลื อกผูใ้ ห้บ ริ ก ารแต่ล ะราย เปรี ย บเที ย บกับ ผูท้ ี่ ไ ม่ ไ ด้รั บ เลื อกเพื่ อ รายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบทราบ กรณี รายการธุ รกรรมอื่น ๆ นอกเหนือจากรายการธุ รกรรมปกติ บริ ษทั กําหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูพ้ ิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับความจําเป็ นในการเข้าทํารายการและความเหมาะสมด้านราคาของรายการนั้น โดยพิจารณาเงื่ อนไขต่าง ๆ ว่าเป็ นไปตามลักษณะการค้าขายปกติในตลาด ซึ่ งสามารถเปรี ยบเที ยบได้กบั ราคาที่ เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอกและเป็ นไปตามราคายุติธรรมและมีความสมเหตุสมผล ทั้งนี้ การเข้าทํารายการธุ รกรรมอื่น ๆ ระหว่ า งบริ ษ ัท หรื อ บริ ษ ัท ย่ อ ยกับ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ จ ะต้อ งผ่ า นการพิ จ ารณาจาก คณะกรรมการตรวจสอบ และจะต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสี ยจะไม่เข้าร่ วม ประชุมในวาระนั้น ๆ ในกรณี ที่กรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการดังกล่าว บริ ษทั จะจัดให้ ผูเ้ ชี่ยวชาญอิสระให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการดังกล่าว เพื่อใช้ในการประกอบการตัดสิ นใจของคณะกรรมการบริ ษทั หรื อผูถ้ ือหุ น้ ตามแต่กรณี ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั จะต้องดูแลให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรื อข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อของสํานักงานกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ หรื อของคณะกรรมการกํา กับ หลัก ทรั พ ย์และตลาดหลัก ทรั พ ย์ หรื อคณะกรรมการกํา กับ ตลาดทุน นอกจากนี้ บริ ษทั จะมีการเปิ ดเผยข้อมูลการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันตามสารสนเทศต่าง ๆ ตามข้อกําหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นโยบายการทารายการระหว่างกัน บริ ษ ทั หรื อบริ ษ ทั ย่อยคาดว่า ในอนาคตจะยัง คงมี รายการระหว่า งกันเกิ ดขึ้ นอี ก ซึ่ ง เป็ นไปตามลัก ษณะ การประกอบธุ รกิ จปกติ ได้แก่ การรั บซื้ ออ้อย และการให้เงิ นสนับสนุ นการปลูกอ้อย เป็ นต้น โดยมีการกําหนด นโยบายการคิดราคาระหว่างกันอย่างชัดเจน ตามราคาและเงื่อนไขตลาดที่เหมาะสมในลักษณะที่วิญํูชนพึงกระทํา กับคู่สัญญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอํานาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิ พลในการที่ตนมีสถานะเป็ น กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุ คคลที่เกี่ ย วข้อง โดยคํา นึ งถึ งประโยชน์ของบริ ษทั เป็ นสําคัญ รวมทั้ง มีคณะกรรมการ ตรวจสอบให้ความเห็นในการทํารายการดังกล่าว การคํ้าประกันตามสัญญากูย้ ืมเงินที่เกิดขึ้นระหว่างบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งจะคง มีอยูต่ ่อไป เนื่องจากความจําเป็ นในการขอวงเงินสิ นเชื่ อจากสถาบันการเงิน เพื่อใช้ซ้ื อวัตถุดิบและให้เงินสนับสนุ น
256 274
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การปลูกอ้อยกับเกษตรกร และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ซึ่ งเป็ นเงื่อนไขปกติของธนาคารพาณิ ชย์ในการให้ สิ นเชื่อธุ รกิจ โดยที่บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยจะไม่มีค่าใช้จ่ายจากการรับการคํ้าประกันดังกล่าว การกูย้ ืมเงินจากบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งจะเกิดขึ้นตามความจําเป็ นในการดําเนิ นธุ รกิจ ซึ่ งบริ ษทั จะให้มี การจัดทําสัญญากู้ยืม เงิ น และกําหนดเงื่ อนไขที่ชัดเจน โดยคํา นึ ง ถึ ง ประโยชน์ข องบริ ษทั เป็ นสําคัญ นอกจากนี้ บริ ษทั หรื อบริ ษ ทั ย่อยไม่มีนโยบายให้เงิ นกู้ยืม และ/หรื อ การคํ้า ประกันหนี้ ใ ด ๆ นอกเหนื อจากเงิ นสนับ สนุ น การปลูกอ้อยให้กบั บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้ง นี้ รายการระหว่ า งกัน ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ นในอนาคตนั้ น คณะกรรมการบริ ษทั จะต้องปฏิบตั ิ ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ คําสั่ง หรื อข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ตลอดจนถึงการปฏิบตั ิ ตามข้อกําหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูล การทํารายการเกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ของ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย
257 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
275
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
13. ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 13.1 สรุปรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีในระยะเวลา 3 ปี ทีผ่ ่านมา งบการเงินรวมสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2560 ตรวจสอบโดยนายประสิ ทธิ์ เยื่องศรี กุล ผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาต ทะเบียนเลขที่ 4174 และงบการเงิ นรวมสาหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ตรวจสอบโดยนายสง่า โชคนิ ติสวัสดิ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 11251 จากบริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด ซึ่ งผูส้ อบบัญชี ได้ให้ความเห็นว่างบแสดงฐานะการเงิน ผลการดาเนิ นงานและ กระแสเงิ นสด ส าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันเดี ย วกันของบริ ษ ทั นั้นถู ก ต้องตามที่ ควรในสาระส าคัญตามมาตรฐาน รายงานทางการเงิน 13.2 ตารางสรุปงบการเงิน ตารางแสดงรายการงบแสดงฐานะการเงิ น งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ และงบกระแสเงินสด ในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559, 2560 และ 2561 ซึ่ งเป็ นงบการเงินรวมประกอบด้วยบริ ษทั ย่อย จานวน 9 แห่ง ตามตารางด้านล่าง
259 276
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
งบแสดงฐานะการเงิน
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2559 (งบรวม) จานวนเงิน ร้ อยละ
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า-สุทธิ รายได้คา้ งรับ - สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ลูกหนี้ชาวไร่ สุทธิ สิ นค้าคงเหลือ ส่วนของเงินกูร้ ะยะยาวแก่ลูกหนี้ ชาวไร่ ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาวอื่น-สุทธิ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินกูร้ ะยะยาวแก่ลูกหนี้ ชาวไร่ -สุทธิ ลูกหนี้ชาวไร่ ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้อื่น-กองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน – สุทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี – สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2560 (งบรวม) จานวนเงิน ร้ อยละ
ปี 2561 (งบรวม) จานวนเงิน ร้ อยละ
85.35 214.99 990.07 581.63
1.18 2.97 13.70 8.05
229.07 255.56 868.43 1,060.77
2.48 2.77 9.40 11.49
179.13 360.41 301.51 598.55 1,337.51
1.74 3.51 2.93 5.82 13.02
175.77
2.43
224.92
2.44
134.93
1.31
48.24 2,096.05
0.67 29.00
16.75 2,655.50
0.18 28.76
58.48 2,970.52
0.57 28.91
1.99 203.03 4,684.63 27.75 195.81 17.60 5,130.81 7,226.86
0.03 2.81 64.83 0.38 2.71 0.24 71.00 100.00
2.14 1,227.13 308.24 4,810.70 26.23 194.43 8.37 6,577.24 9,232.74
0.02 13.29 3.34 52.1 0.28 2.11 0.09 71.24 100.00
2.05 1,208.11 272.94 27.11 148.08 3.97 5,432.15 31.09 162.60 17.60 7,305.71 10,276.23
0.02 11.76 2.66 0.26 1.44 0.04 52.86 0.30 1.58 0.17 71.09 100.00
260 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
277
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 (หน่วย : ล้านบาท)
หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี เงินกูย้ ืมระยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม ที่ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วน ที่ครบกาหนดชาระภายใน 1 ปี หุ น้ กู้ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ิ นไม่หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมะยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม-สุ ทธิ จากส่ วนที่ครบกาหนด ชาระภายใน 1 ปี หนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ-สุ ทธิ จากส่วนที่ครบกาหนดชาระ ภายใน 1 ปี หุ น้ กู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี-สุ ทธิ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานหลังการเลิกจ้างหรื อ เกษียณอายุ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิ นไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุ น้ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ กาไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว-สารองตามกฎหมาย ที่ยงั ไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น
ปี 2559 (งบรวม) จานวนเงิน ร้ อยละ
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ปี 2561 (งบรวม) จานวนเงิน ร้ อยละ
602.36 1,710.25
8.33 23.67
716.12 1,136.30
7.76 12.31
0.34 817.89 2,617.91
0.00 7.96 25.48
508.67
7.04
450.39
4.88
384.14
3.74
-
-
172.59
1.87
202.51
1.97
10.11
0.14
10.87
0.12
10.89
0.11
850.00 422.16
11.76 5.84
-
-
-
-
9.34
0.13
7.72
0.08
7.50
0.07
4.24 15.75 4,132.88
0.06 0.22 57.19
30.89 24.53 2,549.41
0.33 0.27 27.61
6.46 14.42 4,062.06
0.06 0.14 39.53
961.04
13.30
805.27
8.72
487.79
4.75
-
-
3,356.80
36.36
3,177.32
30.92
15.63
0.21
14.43
0.16
10.50
0.10
0.44
0.01
-
-
-
-
23.24
0.32
34.29
0.37
38.04
0.37
0.86 1,001.21 5,134.09
0.01 13.85 71.04
4,210.79 6,760.20
45.61 73.22
3,713.65 7,775.72
36.14 75.67
676.75 676.75 954.67 39.68 420.83 0.01 0.83 2,092.77 7,226.86
9.36 9.36 13.21 0.55 5.83 0.00 0.01 28.96 100.00
812.10 812.10 954.67 51.76 652.55 0.13 1.33 2,472.52 9,232.74
8.80 8.80 10.34 0.56 7.07 0.00 0.01 26.78 100.00
812.10 812.10 954.67 56.60 675.70 0.06 1.38 2,500.51 10,276.23
7.90 7.90 9.29 0.55 6.58 0.00 0.01 24.33 100
261 278
ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2560 (งบรวม) จานวนเงิน ร้ อยละ
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ปี 2559 (งบรวม) (ตรวจสอบ) จานวนเงิน ร้ อยละ
ปี 2560 (งบรวม) (ตรวจสอบ) จานวนเงิน ร้ อยละ
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2561 (งบรวม) (ตรวจสอบ) จานวนเงิน ร้ อยละ
รายได้ รายได้จากการขายและบริ การ
4,579.21
97.73
5,740.44
97.37
5,555.97
95.06
106.32
2.27
155.31
2.63
288.84
4.94
รวมรายได้
4,685.54
100.00
5,895.75
100.00
5,844.81
100
ต้นทุนขายสิ นค้าและให้บริ การ
3,818.64
81.49
4,428.22
75.11
4,508.87
77.14
ค่าใช้จ่ายในการขาย
170.63
3.64
193.67
3.28
321.61
5.50
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
376.96
8.05
411.05
6.97
388.31
6.64
4,366.23
93.18
5,032.94
85.37
5,218.79
89.29
176.70
3.77
283.78
4.81
385.99
6.60
-
-
32.42
0.55
71.85
1.23
กาไรก่อนภาษีเงินได้
142.61
3.04
611.45
9.64
311.88
5.34
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
29.29
0.63
86.03
1.46
40.21
0.69
113.32
2.42
525.41
8.91
271.67
4.65
0.42
0.01
0.11
0.00
-0.07
-0.00
1.74
0.04
-8.73
0.15
-
-
115.48
2.46
516.80
8.77
271.60
4.65
113.08
2.41
524.73
8.90
271.62
4.65
0.24
0.01
0.69
0.01
0.05
0.00
รายได้อื่น ค่าใช้ จ่าย
รวมค่าใช้ จ่าย ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม
กาไร (ขาดทุน)สุ ทธิสาหรับปี กาไรจากการวัดมูลค่ าเงินลงทุนเผือ่ ขาย, สุ ทธิทางภาษี กาไร(ขาดทุน)จาการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จสาหรับปี การแบ่ งปันกาไร ส่วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ย ที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรต่ อหุ้น (บาท)**
0.17
0.65
0.33
หมายเหตุ ** กาไรต่อหุน้ คานวณโดยกาไรสุ ทธิสาหรับปี เฉพาะส่ วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่หารด้วยจานวนหุน้ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก ณ วันสิ้ นปี
262 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
279
280
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ปี 2559 (ตรวจสอบ)
ปี 2560 (ตรวจสอบ)
ปี 2561 (ตรวจสอบ)
จานวนเงิน -31.49
จานวนเงิน -56.30
จานวนเงิน -49.10
-174.12
-238.12
-376.29
397.43
470.31
-120.76
47.22
100.75
82.89
0.15 96.15 -268.34 1.9 -655.04 -20.23 -798.19
0.15 -1,194.71 128.03 -282.4 2.92 -399.25 -3.44 -1,647.95
91.08 226.45 -101.16 2.70 -3.97 -907.20 -11.71 -620.92
235.07 502.24 -304.86 -
-573.95 289 3,539.75 -925.22 -10.36 -850
1,481.95 -383.72 -149.55 -
-11.39
-10.97
-13.16
เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญจากส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม เงินสดจ่ายเจ้าหนี้ คา่ หุ้น
-
-
-
-
-
-
เงินกูย้ มื กรรมการเพิม่ ขึ้น (ลดลง)
-
-
-
-148.88
-136.89
-243.78
272.18 -128.58 213.92 85.34
1,321.36 143.72 85.35 229.07
691.74 -49.94 229.07 179.13
- ภาษีเงินได้ - ต้นทุนทางการเงิน เงินสดสุ ทธิได้ มา (ใช้ ไป) จากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (ต่ อ) เงินปันผลรับ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินสดรับจากเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่ลูกหนี้ ชาวไร่ เงินสดจ่ายจากเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่ลูกหนี้ ชาวไร่ เงินสดรับจากการจาหน่ ายที่ดินอาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้ ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ดอกเบี้ยจ่ายที่บนั ทึกรวมเป็ นต้นทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดสุ ทธิได้มา (ใช้ ไป) จากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม เงินสดรับจากการออกหุ ้นกู้ จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม เงินสดจ่ายชาระหุ ้นกู้ เงินสดจ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้ อ
จ่ายเงินปันผล เงินสดสุ ทธิได้มา (ใช้ ไป) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันสิ้นปี
264 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
281
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
อัตราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561
อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่ วนสภาพคล่อง (เท่า)
0.51
1.04
0.73
อัตราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว (เท่า)
0.37
0.63
0.40
อัตราส่ วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า)
0.19
0.14
0.09
อัตราส่ วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)
19.59
22.36
16.99
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)
18.38
16.10
21.19
5.89
5.39
3.76
61.13
66.76
95.74
6.85
6.72
5.88
ระยะเวลาชาระหนี้ (วัน)
52.54
53.59
61.24
Cash Cycle (วัน)
26.97
29.27
55.69
อัตรากาไรขั้นต้น (%)
16.61
22.86
18.85
อัตรากาไรจากการดาเนิ นงาน (%)
11.73
20.11
17.77
2.27
2.63
4.94
73.99
40.74
-12.23
อัตรากาไรสุทธิ (%)
2.42
8.91
4.65
อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุ้น (%)
5.37
23.02
10.93
อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (%)
1.62
6.38
2.79
อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ถาวร (%)
7.35
16.46
10.96
อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ (เท่า)
0.67
0.72
0.60
อัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (เท่า)
2.45
2.73
3.11
อัตราส่ วนความสามารถชาระดอกเบี้ย (เท่า)
2.73
4.02
2.03
130.71
70.05
45.45
อัตราส่ วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่ วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า)
อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability ratio)
อัตรากาไรอื่น อัตราส่ วนเงินสดต่อการทากาไร (%)
อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio)
อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio)
อัตราการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ (%)
265 282
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
283
รำยงำนของผู้สอบบัญชี รับอนุญำต เสนอผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) ควำมเห็น ข้ำพเจ้ำเห็ น ว่ำ งบกำรเงิ น รวมของบริ ษ ัท น้ ำ ตำลบุ รีรัมย์ จำกัด (มหำชน) (บริ ษ ัท ) และบริ ษ ัท ย่อ ย (กลุ่ ม กิ จกำร) และงบกำรเงิ น เฉพำะกิจกำรของบริ ษทั แสดงฐำนะกำรเงินรวมของกลุ่มกิจกำรและฐำนะกำรเงินเฉพำะกิจกำรของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 และผลกำรดำเนิ นงำนรวมและผลกำรดำเนิ นงำนเฉพำะกิ จกำร กระแสเงิน สดรวมและกระแสเงิ นสดเฉพำะกิ จกำรสำหรั บปี สิ้ นสุ ด วันเดียวกัน โดยถูกต้องตำมที่ควรในสำระสำคัญตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน
งบกำรเงินทีต่ รวจสอบ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรประกอบด้วย งบแสดงฐำนะกำรเงินรวมและงบแสดงฐำนะกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพำะกิจกำรสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ำของรวมและงบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ำของเฉพำะกิ จกำรสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพำะกิจกำรสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน และ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรซึ่ งรวมถึงหมำยเหตุสรุ ปนโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญ
เกณฑ์ ในกำรแสดงควำมเห็น ข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิงำนตรวจสอบตำมมำตรฐำนกำรสอบบัญชี ควำมรับผิดชอบของข้ำพเจ้ำได้กล่ำวไว้ในส่ วนของควำมรั บผิดชอบของ ผูส้ อบบัญชีต่อกำรตรวจสอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรในรำยงำนของข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำมีควำมเป็ นอิสระจำกกลุ่มกิจกำร และบริ ษทั ตำมข้อกำหนดจรรยำบรรณของผูป้ ระกอบวิชำชีพบัญชีในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับกำรตรวจสอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิน เฉพำะกิจกำรที่กำหนดโดยสภำวิชำชีพบัญชีในพระบรมรำชูปถัมภ์ และข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิตำมควำมรับผิดชอบด้ำนจรรยำบรรณอื่น ๆ ซึ่ งเป็ นไปตำมข้อกำหนดเหล่ำนี้ ข้ำพเจ้ำเชื่ อว่ำหลักฐำนกำรสอบบัญชีที่ขำ้ พเจ้ำได้รับเพียงพอและเหมำะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในกำรแสดง ควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ
เรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบ เรื่ อ งสำคัญในกำรตรวจสอบคื อเรื่ อ งต่ำ ง ๆ ที่ มีนัยส ำคัญที่ สุ ดตำมดุ ล ยพินิ จเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชำชี พของข้ำพเจ้ำในกำรตรวจสอบ งบกำรเงิน รวมและงบกำรเงิน เฉพำะกิ จกำรสำหรั บปี ปั จจุบ ัน ข้ำพเจ้ำได้ระบุ เรื่ องกำรกำรประมำณกำรค่ ำเผื่อ หนี้ สงสัยจะสู ญ ลูกหนี้ ชำวไร่ และกำรประเมินมูลค่ำต้นทุนค่ำวัตถุดิบ - รำคำค่ำอ้อย เป็ นเรื่ องสำคัญในกำรตรวจสอบและได้นำเรื่ องนำเรื่ องนี้ มำ พิจำรณำในบริ บทของกำรตรวจสอบงบกำรเงิน รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรโดยรวมและในกำรแสดงควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ ทั้งนี้ ข้ำพเจ้ำไม่ได้แสดงควำมเห็นแยกต่ำงหำกสำหรับเรื่ องนี้
284
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบ
วิธีกำรตรวจสอบ
ค่ ำเผื่อหนี้สงสั ยจะสู ญ - ลูกหนี้ชำวไร่ อ้ำงถึงหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะ ข้ำพเจ้ำได้ประเมินควำมเหมำะสมของกำรประมำณกำรค่ำ เผื่อ กิจกำร ข้อ 2.6 เรื่ องนโยบำยกำรบัญชี ที่เกี่ ยวข้องกับลูกหนี้ กำรค้ำ หนี้สงสัยจะสู ญ - ลูกหนี้ชำวไร่ ดังนี้ และลูกหนี้ชำวไร่ และ ข้อ 10 เรื่ องลูกหนี้ชำวไร่ - สุ ทธิ สอบถำมผูบ ้ ริ หำรเกี่ ยวกับควำมเหมำะสมและหลักเกณฑ์ กลุ่มกิจกำรมีลูกหนี้ ชำวไร่ - สุ ทธิ และลูกหนี้ ชำวไร่ ไม่หมุนเวียน ในกำรประมำณกำรค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ในงบกำรเงินรวม มูลค่ำ 598.55 ล้ำนบำท และ 27.11 ล้ำนบำท ตำมลำดับ ซึ่ งคิ ดเป็ นร้ อ ยละ 6.09 ของสิ น ทรั พย์ท้ งั หมด ทดสอบควำมน่ ำเชื่ อถือของรำยงำนกำรวิเครำะห์อำยุลูกหนี้ โดยผูบ้ ริ หำรมีน โยบำยในกำรประเมิน ควำมสำมำรถในกำร ชำวไร่ ที่ น ำมำใช้เป็ นข้อ มูล เบื้ อ งต้น ในกำรประมำณกำร ช ำระหนี้ ของลู ก หนี้ ชำวไร่ แ ละก ำหนดควำมเหมำะสมของ ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ - ลูกหนี้ ชำวไร่ ซึ่ งอ้ำงอิงจำกยอดที่เกิ น กำหนดชำระ ประสบกำรณ์ในกำรชำระเงินในอดีต หลักทรัพย์ ประเมินควำมสมเหตุสมผลของข้อมูลกำรรั บชำระเงิน จำก ค้ ำประกัน และที่ ค ำดว่ำ จะได้รับ ชำระเงิ น ในอนำคต ณ วัน ที่ ลูกหนี้ชำวไร่ ในอดีต รวมถึงโอกำสที่จะได้รับชำระในอนำคต 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 กลุ่ มกิ จกำรมีค่ำเผื่อ หนี้ ส งสั ยจะสู ญ และพิจำรณำเหตุผลของผูบ้ ริ หำรที่ ใช้ในกำรประมำณกำร ลูกหนี้ชำวไร่ ท้ งั หมด 84.02 ล้ำนบำท ควำมเพียงพอของค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญสำหรั บลูกหนี้ คำ้ ง ค่ ำ เผื่อ หนี้ สงสั ยจะสู ญ คำนวณเบื้ อ งต้น จำกมูล ค่ ำของลูก หนี้ ชำระเกินกำหนดที่พิจำรณำเป็ นรำยบุคคล และ ชำวไร่ ที่คำ้ งชำระเกินกำหนดเวลำชำระเงินมำกกว่ำ 2 ปี หักด้วย มูลค่ำของหลักทรั พย์ค้ ำประกันซึ่ งเปรี ยบเทียบจำกรำคำตลำด ทดสอบมู ล ค่ ำ ของหลัก ทรั พ ย์ค้ ำ ประกัน แต่ ล ะชนิ ด โดย เปรี ยบเที ย บกั บ แหล่ ง ข้ อ มู ล ภำยนอกที่ น่ ำ เชื่ อ ถื อ และ กับ มู ล ค่ ำ ตำมบัญ ชี และมี ก ำรประเมิ น รำคำใหม่ ใ นแต่ ล ะปี สำมำรถเปรี ยบเทียบกันได้กบั รำคำตลำด นอกจำกนี้ ผบู้ ริ หำรยังพิจำรณำมูลค่ำ ลูกหนี้ ชำวไร่ ที่ค้ำงชำระ เกิ น ก ำหนดเวลำในรำยที่ ย อดหนี้ มี มู ล ค่ ำ สู ง เป็ นรำยบุ ค คล โดยอ้ำงอิ งจำกประสบกำรณ์ ในกำรชำระเงิ น ในอดี ต โอกำส จำกวิธีกำรทดสอบของข้ำพเจ้ำข้ำงต้น ข้ำพเจ้ำพบว่ำกำรประมำณกำร ที่ จ ะได้รั บ ช ำระเงิ น และปรั บ ปรุ งค่ ำ เผื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ - ลูกหนี้ชำวไร่ มีควำมสอดคล้องกับข้อมูล ในอดีตและมีควำมสมเหตุสมผลตำมหลักฐำนที่มีอยู่ ตำมควำมเหมำะสมในแต่ละปี ข้ำ พเจ้ำ ให้ค วำมส ำคัญ ในเรื่ อ งนี้ เนื่ อ งจำกมู ล ค่ ำ ของค่ ำ เผื่ อ หนี้ สงสัยจะสู ญดังกล่ำวมีสำระสำคัญ และเกี่ยวข้องกับกำรใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู้บ ริ หำรในกำรพิ จ ำรณำควำมสมเหตุ ส มผล ของสมมุติฐำนที่ใช้ในกำรพิจำรณำมูลค่ำของหลักทรัพย์ค้ ำประกัน และควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ในอนำคต
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
285
เรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบ
วิธีกำรตรวจสอบ
กำรประเมินมูลค่ ำต้ นทุนค่ ำวัตถุดบิ - รำคำค่ ำอ้อย อ้ำงถึงหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงินเฉพำะ ข้ำพเจ้ำได้ประเมิน ควำมเหมำะสมของมูลค่ำต้น ทุนค่ำวัตถุดิบ กิจกำร ข้อ 2.7 เรื่ องนโยบำยกำรบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสิ นค้ำคงเหลือ รำคำค่ำอ้อย ดังนี้ และ ข้อ 11 เรื่ องสิ นค้ำคงเหลือ - สุ ทธิ สอบถำมผูบ ้ ริ หำรเพื่อทำควำมเข้ำใจในวิธีกำรปฏิบตั ิทำงบัญชี กลุ่มกิจกำรมีสินค้ำคงเหลือมูลค่ำสุ ทธิ จำนวน 1,337.51 ล้ำนบำท ลักษณะของรำยกำรในกำรคำนวณต้น ทุน ค่ำ วัตถุดิบ และ หลักเกณฑ์ที่ ใช้ใ นกำรคำนวณ รวมถึ ง ควำมสม่ำ เสมอ ซึ่ งประกอบด้วยวัตถุดิบมูล ค่ำ สุ ทธิ จำนวน 36.15 ล้ำนบำท ในกำรใช้หลักเกณฑ์ ผูบ้ ริ หำรได้ประเมินกำรคำนวณต้นทุนค่ำวัตถุดิบของรำคำค่ำอ้อย ซึ่ งค ำนวณมำจำกรำคำตลำดที่ ป ระกำศโดยรั ฐ บำลส ำหรั บ ทดสอบควำมถูกต้อง และควำมเหมำะสมของข้อมูลที่นำมำใช้ ในกำรประเมินมูลค่ำ รวมถึงทดสอบกำรคำนวณ ฤดูกำรผลิ ตปี ก่ อ นหน้ำ และประมำณกำรรำคำสำหรั บฤดูกำร ผลิตปี ปั จจุ บนั โดยประมำณกำรรำคำดังกล่ำวมำจำกแหล่งข้อมูล ทดสอบควำมสมเหตุ ส มผลของสมมุ ติ ฐ ำนที่ ผู้บ ริ หำร ใช้ในกำรประเมินมูลค่ำต้นทุนวัตถุดิบ โดยเปรี ยบเทียบกับ ภำยนอกที่ เชื่ อถื อได้ในอุตสำหกรรมน้ ำตำล และใช้ดุล ยพินิ จ ข้อมูลภำยนอกที่น่ำเชื่อถือ ข้ำพเจ้ำพิจำรณำว่ำ มีควำมสอดคล้อง ของผูบ้ ริ หำรเกี่ ยวกับ ข้อ สมมุติฐำน เช่ น อุ ปสงค์และอุ ปทำน ของปริ มำณน้ ำตำลทั้ งภำยในประเทศและต่ ำ งประเทศ กับ ข้อ มูล ในอดี ต ข้อ มูล ปั จ จุ บ ัน และกลุ่ ม อุ ต สำหกรรม รำคำน้ ำตำลตลำดโลกล่ วงหน้ำ เป็ นต้น เพื่อ นำมำใช้ในกำร ประเภทเดียวกัน ประมำณกำรต้นทุนวัตถุดิบดังกล่ำว จำกวิธีกำรทดสอบของข้ำพเจ้ำข้ำงต้น ข้ำพเจ้ำพบว่ำข้อสมมุติฐำนที่ ข้ำพเจ้ำให้ควำมสำคัญในเรื่ องนี้ เนื่ องจำกมูลค่ำสิ นค้ำคงเหลือมี ผูบ้ ริ หำรใช้ในกำรคำนวณต้น ทุน วัตถุ ดิบ มีควำมสมเหตุ ส มผล จำนวนเงินที่เป็ นสำระสำคัญ และเกี่ยวข้องกับกำรใช้ดุลยพินิจ ตำมหลักฐำนที่มีอยู่ ของผูบ้ ริ หำรในกำรพิจำรณำควำมสมเหตุสมผลของสมมุติฐำน ที่ใช้ในกำรประเมินมูลค่ำของต้นทุนวัตถุดิบ
286
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ข้ อมูลอืน่ กรรมกำรเป็ นผูร้ ั บผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วย ข้อมูลซึ่ งรวมอยู่ในรำยงำนประจำปี แต่ไม่รวมถึงงบกำรเงินรวมและ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร และรำยงำนของผูส้ อบบัญชีที่อยู่ในรำยงำนนั้น ข้ำพเจ้ำคำดว่ำข้ำพเจ้ำจะได้รับรำยงำนประจำปี ภำยหลังวันที่ ในรำยงำนของผูส้ อบบัญชีน้ ี ควำมเห็นของข้ำพเจ้ำต่องบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่น และข้ำพเจ้ำไม่ได้ให้ควำมเชื่อมัน่ ต่อข้อมูลอื่น ควำมรับผิดชอบของข้ำพเจ้ำที่เกี่ยวเนื่องกับกำรตรวจสอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรคือ กำรอ่ำนและพิจำรณำว่ำข้อมูลอื่น มีควำมขัดแย้งที่มีสำระสำคัญกับงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หรื อกับควำมรู้ ที่ได้รับจำกกำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำ หรื อปรำกฏว่ำข้อมูลอื่นมีกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสำระสำคัญหรื อไม่ เมื่อข้ำพเจ้ำได้อ่ำนรำยงำนประจำปี หำกข้ำพเจ้ำสรุ ปได้ว่ำมีกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสำระสำคัญ ข้ำพเจ้ำต้องสื่ อสำร เรื่ องดังกล่ำวกับคณะกรรมกำรตรวจสอบ
ควำมรับผิดชอบของกรรมกำรต่องบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กรรมกำรมีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรจัดทำและนำเสนองบกำรเงิน รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเหล่ำนี้ โดยถูกต้องตำมที่ควรตำม มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น และรั บผิดชอบเกี่ ยวกับกำรควบคุ มภำยในที่ กรรมกำรพิจำรณำว่ำจำเป็ น เพื่อให้ส ำมำรถจัดท ำ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรที่ปรำศจำกกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสำระสำคัญไม่ว่ำจะเกิดจำกกำรทุจริ ต หรื อข้อผิดพลำด ในกำรจัดทำงบกำรเงิน รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กรรมกำรรับผิดชอบในกำรประเมินควำมสำมำรถของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ในกำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ อง เปิ ดเผยเรื่ องที่เกี่ ยวกับ กำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ อง (ตำมควำมเหมำะสม) และกำรใช้เกณฑ์กำรบัญชี สำหรั บ กำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ อง เว้นแต่กรรมกำรมีควำมตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั หรื อหยุดดำเนิ นงำน หรื อไม่สำมำรถดำเนิ นงำน ต่อเนื่องต่อไปได้ คณะกรรมกำรตรวจสอบมีหน้ำที่ช่วยกรรมกำรในกำรสอดส่ องดูแลกระบวนกำรในกำรจัดทำรำยงำนทำงกำรเงินของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั
ควำมรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อกำรตรวจสอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ควำมเชื่อมัน่ อย่ำงสมเหตุสมผลว่ำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรโดยรวม ปรำศจำกกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสำระสำคัญหรื อไม่ ไม่ว่ำจะเกิดจำกกำรทุจริ ตหรื อข้อผิดพลำด และเสนอรำยงำน ของผูส้ อบบัญชี ซ่ ึ งรวมควำมเห็ น ของข้ำ พเจ้ำ อยู่ด้วย ควำมเชื่ อ มัน่ อย่ำ งสมเหตุ ส มผลคื อ ควำมเชื่ อ มัน่ ในระดับสู ง แต่ ไม่ได้เป็ น กำรรับประกันว่ำกำรปฏิบตั ิงำนตรวจสอบตำมมำตรฐำนกำรสอบบัญชีจะสำมำรถตรวจพบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสำระสำคัญ ที่ มี อ ยู่ไ ด้เ สมอไป ข้อ มูล ที่ ขัด ต่ อ ข้อ เท็ จ จริ งอำจเกิ ด จำกกำรทุ จ ริ ตหรื อข้อ ผิ ด พลำด และถื อ ว่ ำ มี ส ำระส ำคัญ เมื่ อ คำดกำรณ์ อย่ำงสมเหตุสมผลได้ว่ำรำยกำรที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ละรำยกำร หรื อทุกรำยกำรรวมกันจะมีผลต่อกำรตัดสิ นใจทำงเศรษฐกิจของผูใ้ ช้ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเหล่ำนี้
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
287
ในกำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำตำมมำตรฐำนกำรสอบบัญชี ข้ำพเจ้ำได้ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชำชีพและกำรสังเกต และสงสัยเยี่ยง ผูป้ ระกอบวิชำชีพตลอดกำรตรวจสอบ กำรปฏิบตั ิงำนของข้ำพเจ้ำรวมถึง
ระบุและประเมินควำมเสี่ ยงจำกกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสำระสำคัญในงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ไม่วำ่ จะเกิดจำกกำรทุจริ ตหรื อข้อผิดพลำด ออกแบบและปฏิบตั ิงำนตำมวิธีกำรตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อควำมเสี่ ยงเหล่ำนั้น และได้หลักฐำนกำรสอบบัญชี ที่เพียงพอและเหมำะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในกำรแสดงควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ ควำมเสี่ ยงที่ไม่พบ ข้อมูลที่ ขดั ต่อ ข้อ เท็จจริ งอัน เป็ นสำระส ำคัญซึ่ งเป็ นผลมำจำกกำรทุ จริ ตจะสู งกว่ำ ควำมเสี่ ยงที่เกิ ดจำกข้อผิดพลำด เนื่ องจำก กำรทุจริ ตอำจเกี่ยวกับกำรสมรู้ร่วมคิด กำรปลอมแปลงเอกสำรหลักฐำน กำรตั้งใจละเว้นกำรแสดงข้อมูล กำรแสดงข้อมูลที่ไม่ตรง ตำมข้อเท็จจริ งหรื อกำรแทรกแซงกำรควบคุมภำยใน ทำควำมเข้ำใจในระบบกำรควบคุมภำยในที่เกี่ยวข้องกับกำรตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีกำรตรวจสอบที่เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรแสดงควำมเห็นต่อควำมมีประสิ ทธิผลของกำรควบคุมภำยในของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ประเมินควำมเหมำะสมของนโยบำยกำรบัญชีที่กรรมกำรใช้และควำมสมเหตุสมผลของประมำณกำรทำงบัญชี และกำรเปิ ดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดทำขึ้นโดยกรรมกำร สรุ ปเกี่ยวกับควำมเหมำะสมของกำรใช้เกณฑ์กำรบัญชี สำหรับกำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ องของกรรมกำรและจำกหลักฐำนกำรสอบบัญชี ที่ได้รับ และประเมินว่ำมีควำมไม่แน่ นอนที่มีสำระสำคัญที่เกี่ ยวกับเหตุกำรณ์หรื อสถำนกำรณ์ที่อำจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัย อย่ำงมีนัยสำคัญต่อควำมสำมำรถของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ในกำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ องหรื อไม่ ถ้ำข้ำพเจ้ำได้ขอ้ สรุ ปว่ำมีควำมไม่ แน่นอนที่มีสำระสำคัญ ข้ำพเจ้ำต้องกล่ำวไว้ในรำยงำนของผูส้ อบบัญชีของข้ำพเจ้ำโดยให้ขอ้ สังเกตข้อมูลในงบกำรเงินรวมและ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำรที่เกี่ยวข้อง หรื อถ้ำกำรเปิ ดเผยดังกล่ำวไม่เพียงพอ ควำมเห็นของข้ำพเจ้ำจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของ ข้ำพเจ้ำขึ้นอยูก่ บั หลักฐำนกำรสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรำยงำนของผูส้ อบบัญชีของข้ำพเจ้ำ อย่ำงไรก็ตำม เหตุกำรณ์หรื อ สถำนกำรณ์ในอนำคตอำจเป็ นเหตุให้กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ต้องหยุดกำรดำเนินงำนต่อเนื่อง ประเมินกำรนำเสนอ โครงสร้ ำงและเนื้ อหำของงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ จกำรโดยรวม รวมถึ งกำรเปิ ดเผยว่ำ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรแสดงรำยกำร และเหตุกำรณ์ในรู ปแบบที่ทำให้มีกำรนำเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตำมที่ควร หรื อไม่ ได้รับหลักฐำนกำรสอบบัญชีที่เหมำะสมอย่ำงเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทำงกำรเงินของกิจกำรภำยในกลุ่มหรื อกิจกรรมทำงธุ รกิจ ภำยในกลุ่มกิจกำรเพื่อแสดงควำมเห็นต่องบกำรเงินรวม ข้ำพเจ้ำรับผิดชอบต่อกำรกำหนดแนวทำงกำรควบคุมดูแลและกำรปฏิบตั ิงำน ตรวจสอบกลุ่มกิจกำร ข้ำพเจ้ำเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวต่อควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ
ข้ำพเจ้ำได้สื่อสำรกับคณะกรรมกำรตรวจสอบในเรื่ องต่ำงๆ ที่สำคัญซึ่ งรวมถึงขอบเขตและช่ วงเวลำของกำรตรวจสอบตำมที่ได้วำงแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยสำคัญที่พบจำกกำรตรวจสอบ และข้อบกพร่ องที่มีนัยสำคัญในระบบกำรควบคุมภำยในหำกข้ำพเจ้ำได้พบในระหว่ำง กำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำได้ให้คำรับรองแก่ คณะกรรมกำรตรวจสอบว่ำ ข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิตำมข้อกำหนดจรรยำบรรณที่เกี่ยวข้องกับควำมเป็ นอิสระและ ได้สื่อสำรกับคณะกรรมกำรตรวจสอบเกี่ ยวกับควำมสัมพันธ์ท้ งั หมด ตลอดจนเรื่ องอื่นซึ่ งข้ำพเจ้ำเชื่ อว่ำมีเหตุผลที่บุคคลภำยนอก อำจพิจำรณำว่ำกระทบต่อควำมเป็ นอิสระของข้ำพเจ้ำและมำตรกำรที่ขำ้ พเจ้ำใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ขำ้ พเจ้ำขำดควำมเป็ นอิสระ
288
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
จำกเรื่ องที่ สื่ อสำรกับคณะกรรมกำรตรวจสอบ ข้ำพเจ้ำได้พิจำรณำเรื่ องต่ ำง ๆ ที่ มีนัยส ำคัญที่ สุ ดในกำรตรวจสอบงบกำรเงิ นรวมและ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำรในงวดปัจจุบนั และกำหนดเป็ นเรื่ องสำคัญในกำรตรวจสอบ ข้ำพเจ้ำได้อธิ บำยเรื่ องเหล่ำนี้ ในรำยงำนของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมำยหรื อข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสำธำรณะเกี่ยวกับเรื่ องดังกล่ำว หรื อในสถำนกำรณ์ที่ยำกที่จะเกิดขึ้น ข้ำพเจ้ำพิจำรณำว่ำ ไม่ควรสื่ อสำรเรื่ องดังกล่ำวในรำยงำนของข้ำพเจ้ำเพรำะกำรกระทำดังกล่ำวสำมำรถคำดกำรณ์ได้อย่ำงสมเหตุผลว่ำจะมีผลกระทบ ในทำงลบมำกกว่ำผลประโยชน์ต่อส่ วนได้เสี ยสำธำรณะจำกกำรสื่ อสำรดังกล่ำว บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮำส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด
-------------ลงนำม-------------
สง่ ำ โชคนิติสวัสดิ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญำตเลขที่ 11251 กรุ งเทพมหำนคร 27 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2562
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
289
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
หมำยเหตุ
สินทรัพย์
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น - สุทธิ รายได้คา้ งรับ - สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ลูกหนี้ชาวไร่ - สุทธิ สิ นค้าคงเหลือ - สุทธิ ส่วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ส่วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่ลูกหนี้ ชาวไร่ ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น
7 8, 32 9 10, 32 11 32 (ค) 16, 32 (ง) 12
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
179,126,261 229,068,711 360,413,837 255,555,054 301,507,431 598,552,754 868,428,756 1,337,505,832 1,060,772,238
15,830,327 214,607,562 -
18,193,199 313,054,963 -
-
-
144,000,000
120,000,000
134,926,615 58,483,589
224,921,212 16,752,433
4,472,347
5,001,824
2,970,516,319 2,655,498,404
378,910,236
456,249,986
-
-
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้ชาวไร่ ไม่หมุนเวียน รายได้คา้ งรับไม่หมุนเวียน - สานักงานกองทุนอ้อย และน้ าตาลทราย เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย - สุทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่ลูกหนี้ ชาวไร่ - สุทธิ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
27,105,440 9 15 13 14 32 (ค) 16, 32 (ง) 17 18 19 20
-
148,080,796 2,052,236 2,136,915 644,461 729,140 1,208,109,474 1,227,127,544 1,194,706,819 1,194,706,819 - 1,450,476,300 1,445,476,600 - 2,221,786,767 2,259,654,765 272,940,066 308,242,107 3,971,127 3,971,127 5,432,152,570 4,810,700,305 27,810,732 23,154,842 31,092,103 26,231,454 16,530,690 11,046,137 162,602,059 194,433,310 12,326,658 20,008,746 17,602,992 8,368,062 2,913,702 499,810 7,305,708,863 6,577,239,697 4,931,167,256 4,955,276,859 10,276,225,182 9,232,738,101 5,310,077,492 5,411,526,845
กรรมการ ________________________________ วันที่
________________________________
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
290
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 7
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
หมำยเหตุ
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
หนีส้ ินและส่ วนของเจ้ ำของ หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน กิจการที่เกี่ยวข้องกันและอื่นๆ ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินและอื่นๆ ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริ ษทั ย่อย ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้ อ ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ส่วนของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้ สินหมุนเวียนอื่น
22 21, 32
343,161 817,893,134
22, 32 (จ)
716,121,941
180,492,000
44,705,951
2,617,912,052 1,136,304,878
748,000
90,688,878
22
384,135,916
450,385,877
-
-
22, 32 (ฉ)
202,512,995
172,589,789
-
-
22, 32 (ช)
-
-
376,000,000
198,000,000
22
10,893,729
10,872,088
2,313,356
1,611,748
24
7,495,294 6,462,099 14,415,779
7,721,815 30,889,265 24,530,790
2,605,538 3,282,078
2,399,177 6,429,546
4,062,064,159 2,549,416,443
565,440,972
343,835,300
23
รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินและอื่นๆ - สุทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม - สุทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริ ษทั ย่อย - สุทธิ หนี้ สินตามสัญญาเช่าซื้ อ - สุทธิ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน - สุทธิ
22 22, 32 (ฉ) 22, 32 (ช) 22 24
487,792,626 805,266,914 3,177,323,563 3,356,799,640 - 2,370,119,162 2,548,119,162 10,497,447 14,433,900 5,842,066 5,350,331 38,040,201 34,285,227 13,331,406 11,996,787
รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน
3,713,653,837 4,210,785,681 2,389,292,634 2,565,466,280
รวมหนีส้ ิน
7,775,717,996 6,760,202,124 2,954,733,606 2,909,301,580
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
291 8
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 งบกำรเงินรวม หมำยเหตุ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
บำท
บำท
บำท
บำท
812,099,845
812,100,000
812,099,845
812,100,000
812,099,845
812,099,845
812,099,845
812,099,845
954,665,813
954,665,813
954,665,813
954,665,813
56,601,140
51,760,392
56,601,140
51,760,392
675,700,077
652,547,941
531,916,635
683,571,019
60,453
128,196
60,453
128,196
หนีส้ ินและส่ วนของเจ้ ำของ (ต่อ) ส่ วนของเจ้ ำของ ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ ้นสามัญจานวน 812,099,845 หุ ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 : หุ ้นสามัญจานวน 812,100,000 หุ ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท)
25
ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุ้นสามัญจานวน 812,099,845 หุ ้น มูลค่าชาระแล้วเต็มจานวนหุ ้นละ 1 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 : หุ ้นสามัญจานวน 812,099,845 หุ ้น มูลค่าชาระแล้วเต็มจานวนหุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ รวมส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของของบริษทั ใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของเจ้ ำของ รวมหนีส้ ินและส่ วนของเจ้ ำของ
27
2,499,127,328 2,471,202,187 2,355,343,886 2,502,225,265 1,379,858
1,333,790
-
-
2,500,507,186 2,472,535,977 2,355,343,886 2,502,225,265 10,276,225,182 9,232,738,101 5,310,077,492 5,411,526,845
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
292
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 9
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
บำท
บำท
บำท
บำท
5,555,969,176
5,740,443,011
-
-
(4,508,873,193)
(4,428,224,954)
-
-
1,047,095,983
1,312,218,057
-
-
253,049,160
151,720,484
425,840,143
508,961,801
35,793,513
3,591,619
(10,914)
9,759
ค่าใช้จ่ายในการขาย
(321,610,076)
(193,671,029)
-
-
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
(388,305,625)
(411,053,917)
(140,930,720)
(148,045,752)
ต้นทุนทางการเงิน
(385,994,757)
(283,777,311)
(180,384,517)
(125,472,233)
71,854,032
32,420,725
-
-
311,882,230
611,448,628
104,513,992
235,453,575
(40,213,584)
(86,034,878)
(7,699,024)
6,137,934
271,668,646
525,413,750
96,814,968
241,591,509
หมำยเหตุ รายได้จากการขายและการให้บริ การ ต้นทุนขายและการให้บริ การ กำไรขั้นต้น รายได้อื่น
28
กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ
ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม
13
กำไรก่อนภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี
30
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
293 10
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 งบกำรเงินรวม หมำยเหตุ กำไรสำหรั บปี (ต่อ)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
บำท
บำท
บำท
บำท
271,668,646
525,413,750
96,814,968
241,591,509
-
(10,909,588)
-
(4,019,683)
-
2,181,918
-
803,937
-
(8,727,670)
-
(3,215,746)
(84,679)
141,181
(84,679)
141,181
16,936
(28,236)
16,936
(28,236)
(67,743)
112,945
(67,743)
112,945
(67,743)
(8,614,725)
(67,743)
(3,102,801)
271,600,903
516,799,025
96,747,225
238,488,708
271,621,488
524,725,886
96,814,968
241,591,509
47,158
687,864
-
-
271,668,646
525,413,750
96,814,968
241,591,509
271,553,745
516,115,331
96,747,225
238,488,708
47,158
683,694
-
-
271,600,903
516,799,025
96,747,225
238,488,708
0.33
0.65
0.12
0.30
กำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็ จอืน่ : รายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ไปยังกาไร หรื อขาดทุนในภายหลัง การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน
24
ภาษีเงินได้เกี่ยวกับการวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์พนักงาน รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยังกาไร หรื อขาดทุนในภายหลัง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของเงินลงทุนเผื่อขาย ภาษีเงินได้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ของเงินลงทุนเผื่อขาย
ขำดทุนเบ็ดเสร็ จอืน่ สำหรั บปี - สุ ทธิจำกภำษี กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี กำรแบ่ งปันกำไร ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
กำรแบ่ งปันกำไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
กำไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน
31
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
294
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 11
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
295
812,099,845
954,665,813
-
954,665,813
954,665,813
-
954,665,813
ส่ วนเกิน มูลค่ ำหุ้นสำมัญ บำท
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
26 27
812,099,845
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 กำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของสำหรับปี พ.ศ. 2561 เงินปันผลจ่าย สารองตามกฎหมาย ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมเพิ่มขึ้น กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี
135,349,845 -
676,750,000
812,099,845
25, 26 26 27
หมำยเหตุ
ทุนที่ออกและ ชำระแล้ ว บำท
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 กำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของสำหรับปี พ.ศ. 2560 หุ้นปันผล เงินปันผลจ่าย สารองตามกฎหมาย กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของ
บริ ษัท นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน)
56,601,140
4,840,748 -
51,760,392
51,760,392
12,079,525 -
39,680,867
จัดสรรแล้ ว ทุนสำรองตำม กฎหมำย บำท
675,700,077
(243,628,604) (4,840,748) 271,621,488
652,547,941
652,547,941
(135,349,845) (136,853,832) (12,079,525) 516,002,386
420,828,757
ยังไม่ ได้ จัดสรร บำท
กำไรสะสม
60,453
(67,743)
128,196
128,196
112,945
15,251
องค์ ประกอบอื่น ของส่ วนของเจ้ ำของ กำรปรับ มูลค่ ำยุตธิ รรม เงินลงทุนเผื่อขำย บำท
งบกำรเงินรวม
2,499,127,328
(243,628,604) 271,553,745
2,471,202,187
2,471,202,187
(136,853,832) 516,115,331
2,091,940,688
1,379,858
(1,390) 300 47,158
1,333,790
1,333,790
(180,671) 683,694
830,767
รวมส่ วนของ ผู้เป็ นเจ้ ำของ ส่ วนได้ เสียที่ไม่ มี ของบริษทั ใหญ่ อำนำจควบคุม บำท บำท
2,500,507,186
(243,629,994) 300 271,600,903
2,472,535,977
2,472,535,977
(137,034,503) 516,799,025
2,092,771,455
รวม บำท
12
296
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 812,099,845
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 16 ถึง 86 เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
954,665,813
-
-
26 27
954,665,813
812,099,845
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 กำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของสำหรั บปี พ.ศ. 2561 เงินปั นผลจ่าย สารองตามกฎหมาย กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี
-
135,349,845 954,665,813
954,665,813
676,750,000
ส่ วนเกินมูลค่ ำ หุ้นสำมัญ บำท
812,099,845
25, 26 26 27
หมำยเหตุ
ทุนที่ออกและ ชำระแล้ ว บำท
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 กำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของสำหรั บปี พ.ศ. 2560 หุ้นปั นผล เงินปั นผลจ่าย สารองตามกฎหมาย กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี
สำหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
งงบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของ
บบริ ษัท นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน)
56,601,140
4,840,748 -
51,760,392
51,760,392
12,079,525 -
39,680,867
531,916,635
(243,628,604) (4,840,748) 96,814,968
683,571,019
683,571,019
(135,349,845) (136,853,832) (12,079,525) 238,375,763
729,478,458
กำไรสะสม จัดสรรแล้ ว ทุนสำรองตำม กฎหมำย ยังไม่ ได้ จัดสรร บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
60,453
(67,743)
128,196
128,196
112,945
15,251
องค์ ประกอบอื่น ของส่ วนของเจ้ ำของ กำรปรับ มูลค่ ำยุติธรรม เงินลงทุนเผื่อขำย บำท
2,355,343,886
(243,628,604) 96,747,225
2,502,225,265
2,502,225,265
(136,853,832) 238,488,708
2,400,590,389
รวม บำท
13
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสด สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
หมำยเหตุ กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำน กำไรก่อนภำษีเงินได้ รำยกำรปรับปรุ งกำไรก่อนภำษีเงินได้ เป็ นเงินสดสุ ทธิ จำกกิจกรรมดำเนินงำน - ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย - ดอกเบี้ยรับ - เงินปันผลรับ - (กลับรำยกำร) ค่ำเผือ่ หนี้ สงสัยจะสูญ - ค่ำเผือ่ กำรลดมูลค่ำสิ นค้ำคงเหลือ (กลับรำยกำร) - (กำไร) ขำดทุนจำกกำรจำหน่ำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ - ขำดทุนจำกกำรตัดจำหน่ำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ - ต้นทุนทำงกำรเงิน - ส่ วนแบ่ง (กำไร) จำกเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม - ค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์พนักงำน
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
311,882,230
611,448,628
104,513,992
235,453,575
289,555,157 (82,887,779) (204,680) (5,947,375) 12,271,688 (1,581,442) 11,164,417 385,994,757 (71,854,032) 5,132,990
259,098,486 (100,750,755) (153,510) 5,385,453 (340,662) 779,452 25,889,474 283,777,311 (32,420,725) 3,795,319
3,191,159 (147,516,523) (203,790,892) (8,014,525) (469,293) 5 180,384,517 1,649,550
2,506,464 (165,197,408) (230,507,419) 3,622,216 590 5,274 125,472,233 1,302,744
853,525,931
1,056,508,471
(70,052,010)
(27,341,731)
(103,545,050) (301,507,431) 274,509,644 (289,005,282) (25,423,096) (27,105,440)
(37,150,968) 112,843,805 (478,802,063) 31,492,649 -
40,014,352 7,527,533 4,838,936 -
(47,474,300) 6,677,784 2,956,685 -
(148,080,796) (9,234,930) 92,212,246 (10,115,011) (1,604,537) -
9,228,386 67,965,640 8,780,550 (5,277,997) (856,000)
(2,413,892) 533,624 (3,147,468) (108,570) -
(342,910) (1,615,779) (1,910,894) (2,279,839) -
เงินสดได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงำน - จ่ำยภำษีเงินได้ - จ่ำยดอกเบี้ย
304,626,248 (49,100,622) (376,287,312)
764,732,473 (56,301,683) (238,117,150)
(22,807,495) (4,309,459) (45,162,874)
(71,330,984) (2,781,823) (91,044,618)
กระแสเงินสดสุ ทธิ (ใช้ไปใน) ได้มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน
(120,761,686)
470,313,640
(72,279,828)
(165,157,425)
กระแสเงินสดก่อนกำรเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงำน กำรเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดำเนินงำน - ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้ อื่น - รำยได้คำ้ งรับ - สำนักงำนกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำย - ลูกหนี้ชำวไร่ - สิ นค้ำคงเหลือ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น - ลูกหนี้ชำวไร่ ไม่หมุนเวียน - รำยได้คำ้ งรับไม่หมุนเวียน -สำนักงำนกองทุนอ้อย และน้ ำตำลทรำย - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - เจ้ำหนี้ กำรค้ำและเจ้ำหนี้ อื่น - หนี้สินหมุนเวียนอื่น - จ่ำยผลประโยชน์พนักงำน - หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น
18, 19, 29 28 28 8, 10 11
13 24
9
24
หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรในหน้ำ 16 ถึง 86 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
297 14
บริษทั นำ้ ตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสด สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล จ่ำยซื้ อเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม จ่ำยซื้ อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจำกเงินให้กยู้ ืมระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ำยเงินให้กยู้ ืมระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินสดรับจำกเงินให้กยู้ ืมระยะยำวแก่ลูกหนี้ ชำวไร่ เงินสดจ่ำยเงินให้กยู้ ืมระยะยำวแก่ลูกหนี้ ชำวไร่ เงินสดจ่ำยเพื่อซื้ออสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เงินสดรับจำกกำรจำหน่ำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ เงินสดจ่ำยเพื่อซื้อที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ดอกเบี้ยจ่ำยที่บนั ทึกรวมเป็ นต้นทุนของที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์
หมำยเหตุ
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท 82,887,779 91,076,782 226,452,097 (101,155,459) (3,971,127) 2,700,935
100,750,755 153,510 (1,194,706,819) 128,034,322 (282,400,440) 2,916,355
94,347,515 315,879,941 (4,999,700) 255,867,998 (242,000,000) (3,971,127) 1,588,785
163,870,401 (1,194,706,819) 2,345,008,987 (1,976,800,000) 468
(907,204,434) (11,707,336)
(399,252,127) (3,444,007)
(11,246,497) -
(4,084,572) -
(620,920,763)
(1,647,948,451)
405,466,915
(666,711,535)
1,481,950,335 (383,724,249) (149,552,871) (13,155,023)
(573,948,277) 289,000,000 (925,219,463) 3,539,747,642 (10,358,213) (850,000,000) (10,971,251)
(89,940,878) (2,011,259)
(913,264,277) 2,746,119,162 (850,000,000) (571,846)
300 (243,778,493)
(136,892,935)
(243,597,822)
(136,712,264)
กระแสเงินสดสุทธิได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหำเงิน
691,739,999
1,321,357,503
(335,549,959)
845,570,775
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด (ลดลง) เพิ่มขึน้ สุ ทธิ คงเหลือต้นปี
(49,942,450) 229,068,711
143,722,692 85,346,019
(2,362,872) 18,193,199
13,701,815 4,491,384
คงเหลือปลำยปี
179,126,261
229,068,711
15,830,327
18,193,199
9,240,211 -
10,541,840 135,349,845
3,204,602 -
6,504,143 135,349,845
13 14 32 (ค) 32 (ค) 16 16 17
กระแสเงินสดสุทธิ (ใช้ไปใน) ได้มำจำกกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน และอื่นๆเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจำกเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินและอื่นๆ เงินสดจ่ำยคืนเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินและอื่นๆ เงินสดรับจำกเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกบริ ษทั ร่ วม เงินสดจ่ำยคืนเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกบริ ษทั ร่ วม เงินสดรับจำกเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ำยชำระหุ้นกู้ เงินสดจ่ำยชำระหนี้สินตำมสัญญำเช่ำซื้ อ เงินสดรับจำกกำรออกหุ ้นสำมัญ จำกส่ วนได้เสี ยไม่มีอำนำจควบคุม จ่ำยเงินปันผล
รำยกำรทีไ่ ม่กระทบเงินสด หนี้สินตำมสัญญำเช่ำซื้ อเพิ่มขึ้นจำกกำรซื้ อที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ หุ้นปันผล
22 22 22 22 22 22 22
25, 26
หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรในหน้ำ 16 ถึง 86 เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบกำรเงินนี้
298
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 1
ข้ อมูลทั่วไป บริ ษ ัท น้ ำ ตำลบุ รีรั มย์ จำกัด (มหำชน) (บริ ษัท) เป็ นบริ ษ ัท มหำชนจำกัด ที่ จ ดทะเบี ย นในตลำดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ งประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นและดำเนินกิจกำรในประเทศไทย และมีที่อยูต่ ำมที่ได้จดทะเบียนไว้ ดังนี้ สำนักงำนใหญ่: ตั้งอยูเ่ ลขที่ 237 หมู่ 2 ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 สำนักงำนสำขำ: ตั้งอยูเ่ ลขที่ 128/77-78 ชั้น 7 อำคำรพญำไทพลำซ่ำ แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุ งเทพมหำนคร 10400 เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรรำยงำนข้อมูลจึงรวมเรี ยกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยว่ำ “กลุ่มกิจกำร” กำรประกอบกำรธุรกิจของกลุ่มกิจกำรสำมำรถสรุ ปได้ดงั นี้ 1) 2) 3) 4)
ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยและกำกน้ ำตำล ธุรกิจจำหน่ำยวัสดุกำรเกษตร ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยไฟฟ้ ำและไอน้ ำ ธุรกิจอื่นๆ
งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรได้รับกำรอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรบริ ษทั เมื่อวันที่ 27 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2562 2
นโยบำยกำรบัญชี นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญซึ่งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้
2.1
เกณฑ์ ในกำรจัดทำงบกำรเงิน งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ จกำรได้จดั ทำขึ้นตำมหลักกำรบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปภำยใต้พระรำชบัญญัติกำรบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมำยควำมถึงมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่ออกภำยใต้พระรำชบัญญัติวชิ ำชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกำหนดของคณะกรรมกำร กำกับ หลักทรั พย์และตลำดหลักทรั พย์ว่ำด้วยกำรจัดท ำและน ำเสนอรำยงำนทำงกำรเงิน ภำยใต้พระรำชบัญญัติหลักทรั พย์และ ตลำดหลักทรัพย์ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรได้จดั ทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์รำคำทุนเดิมในกำรวัดมูลค่ำขององค์ประกอบของงบกำรเงินยกเว้น เรื่ องที่อธิบำยในนโยบำยกำรบัญชีในลำดับต่อไป กำรจัดทำงบกำรเงินให้สอดคล้องกับหลักกำรบัญชีที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย กำหนดให้ใช้ประมำณกำรทำงบัญชี ที่สำคัญและ กำรใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หำรซึ่ งจัดทำขึ้นตำมกระบวนกำรในกำรนำนโยบำยกำรบัญชี ของกลุ่มกิ จกำรไปถื อปฏิบตั ิ รวมทั้งก ำหนดให้ ต้องเปิ ดเผยข้อมูลเรื่ องกำรใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หำร หรื อควำมซับซ้อน หรื อ เกี่ ยวกับข้อสมมติฐำนและประมำณกำรที่มีนัยสำคัญต่อ งบกำรเงินรวมตำมที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุขอ้ 4 งบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จกำรฉบับ ภำษำอังกฤษจัดท ำขึ้ น จำกงบกำรเงิ น ตำมกฎหมำยที่ เ ป็ นภำษำไทย ในกรณี ที่มีเนื้อควำมขัดแย้งกันหรื อมีกำรตีควำมในสองภำษำแตกต่ำงกันให้ใช้งบกำรเงินตำมกฎหมำยฉบับภำษำไทยเป็ นหลัก
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
16
299
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่ อ)
2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง 2.2.1 มำตรฐำนกำรบัญชี และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น ฉบับ ที่ มีก ำรปรั บ ปรุ งใหม่ ซึ่ งจะมีผลบังคับ ใช้ส ำหรั บ รอบ ระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 ที่มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงมีสำระสำคัญและเกี่ยวข้องกับ กลุ่มกิจกำร มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2560) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2560) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2560)
เรื่ อง งบกระแสเงินสด เรื่ อง ภำษีเงินได้ เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจกำรอื่น
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2560) ได้มีกำรปรับปรุ งกำรเปิ ดเผยข้อมูลเพิม่ เติมเกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงในหนี้สิน ของกิจกำรที่เกิดขึ้นจำกกิจกรรมจัดหำเงินทั้งที่เป็ นรำยกำรที่เป็ นเงินสดและรำยกำรที่ไม่ใช่เงินสด มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2560) ได้มีกำรอธิ บำยให้ชดั เจนในเรื่ องวิธีกำรบัญชีสำหรับภำษีเงินได้รอตัดบัญชี กรณี มีสินทรัพย์ที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมที่มีจำนวนต่ำกว่ำมูลค่ำฐำนภำษีของสิ นทรัพย์ในเรื่ องดังต่อไปนี้ -
-
กรณี สิน ทรั พย์ที่วดั ด้วยมูลค่ ำยุติธรรมมีมูลค่ำต่ ำกว่ำฐำนภำษีของสิ นทรั พย์น้ ัน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน จะถือว่ำมีผลแตกต่ำงชัว่ ครำวที่ใช้หกั ภำษีเกิดขึ้น ในกำรประมำณกำรกำไรทำงภำษีในอนำคต กิจกำรสำมำรถสันนิษฐำนว่ำจะได้รับประโยชน์จำกสิ นทรัพย์ในมูลค่ำ ที่สูงกว่ำมูลค่ำตำมบัญชีได้ ในกรณี ที่กฎหมำยภำษีอ ำกรมีข้อ จำกัดเกี่ ยวกับ แหล่ งที่ มำของกำไรทำงภำษี ที่ ส ำมำรถใช้ป ระโยชน์สิ น ทรั พย์ ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีได้เฉพำะในประเภทที่กำหนด กำรพิจำรณำกำรจะได้ใช้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชีจะต้องนำไปประเมินรวมกันกับสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เป็ นประเภทเดียวกันเท่ำนั้น ในกำรประมำณกำไรทำงภำษีในอนำคตจะไม่รวมจำนวนที่ใช้หักภำษีที่เกิ ดจำกกำรกลับรำยกำรของผลแตกต่ำง ชัว่ ครำวที่ใช้หกั ภำษีน้ นั
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2560) ได้มีกำรอธิ บำยให้ชดั เจนว่ำกำรเปิ ดเผยตำมข้อกำหนดของ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น ฉบับ นี้ ให้ถื อ ปฏิ บ ัติ กับ ส่ ว นได้เ สี ย ที่ ถู ก จัด ประเภทเป็ นสิ น ทรั พ ย์ที่ ถื อ ไว้เ พื่ อ ขำย ตำมขอบเขตของมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2560) ยกเว้นกำรเปิ ดเผยข้อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ป ผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิจกำรได้ประเมินและพิจำรณำว่ำมำตรฐำนที่ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่ำวข้ำงต้นไม่มีผลกระทบที่มีนัยสำคัญ ต่อกลุ่มกิจกำร ยกเว้นเรื่ องกำรเปิ ดเผยข้อมูล
300
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ ก)
สภำวิชำชีพบัญชีได้ประกำศมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 เรื่ อง รำยได้จำกสัญญำที่ทำกับลูกค้ำ ซึ่ งจะ มีผลบังคับใช้ส ำหรั บ รอบระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวัน ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 กลุ่ มกิ จกำรไม่ได้น ำ มำตรฐำนที่ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่ำวมำถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 เรื่ อง รำยได้จำกสัญญำที่ทำกับลูกค้ำ ใช้แทนมำตรฐำนกำรบัญชีและ กำรตีควำมมำตรฐำนบัญชีดงั ต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2560) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2560) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2560) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2560) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2560) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2560)
เรื่ อง สัญญำก่อสร้ำง เรื่ อง รำยได้ เรื่ อง รำยได้-รำยกำรแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ กำรโฆษณำ เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้ำ เรื่ อง สัญญำสำหรับกำรก่อสร้ำงอสังหำริ มทรัพย์ เรื่ อง กำรโอนสิ นทรัพย์จำกลูกค้ำ
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับใหม่น้ ี อำ้ งอิงหลักกำรว่ำ รำยได้จะรับรู้เมื่อกำรควบคุมในสิ นค้ำหรื อบริ กำร ได้โอนไปยังลูกค้ำ ซึ่งแนวคิดของกำรควบคุมได้นำมำใช้แทนแนวคิดของควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนที่ใช้อยูเ่ ดิม กำรรับรู้รำยได้ตอ้ งปฏิบตั ิตำมหลักกำรสำคัญ 5 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1) 2) 3) 4) 5)
ระบุสัญญำที่ทำกับลูกค้ำ ระบุแต่ละภำระที่ตอ้ งปฏิบตั ิในสัญญำ กำหนดรำคำของรำยกำรในสัญญำ ปันส่ วนรำคำของรำยกำรให้กบั แต่ภำระที่ตอ้ งปฏิบตั ิ และ รับรู้รำยได้ขณะที่กิจกำรเสร็ จสิ้ นกำรปฏิบตั ิตำมแต่ละภำระที่ตอ้ งปฏิบตั ิ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
301
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) ก)
สภำวิชำชีพบัญชีได้ประกำศมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 เรื่ อง รำยได้จำกสัญญำที่ทำกับลูกค้ำ ซึ่ งจะ มีผลบังคับใช้ส ำหรั บ รอบระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวัน ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 กลุ่ มกิ จกำรไม่ได้น ำ มำตรฐำนที่ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่ำวมำถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) กำรเปลี่ยนแปลงที่สำคัญจำกวิธีปฏิบตั ิในปัจจุบนั ได้แก่ • •
• • •
สิ นค้ำหรื อบริ กำรที่แตกต่ำงกันแต่นำมำขำยรวมกัน จะต้องรับรู้รำยกำรแยกกัน และกำรให้ส่วนลดหรื อกำรให้ ส่ วนลดภำยหลัง จำกรำคำตำมสัญญำจะต้องถูกปันส่ วนไปยังแต่ละองค์ประกอบของแต่ละสิ นค้ำหรื อบริ กำร รำยได้อำจจะต้องถูกรับรู้เร็ วขึ้นกว่ำกำรรับรู้รำยได้ภำยใต้มำตรฐำนปั จจุบนั หำกสิ่ งตอบแทนมีควำมผันแปร ด้วยเหตุผลบำงประกำร (เช่น เงินจูงใจ กำรให้ส่วนลดภำยหลัง ค่ำธรรมเนี ยมที่กำหนดจำกผลกำรปฏิบตั ิ งำน ค่ำสิ ทธิ ควำมสำเร็ จของผลงำน เป็ นต้น) - จำนวนเงินขั้นต่ำของสิ่ งตอบแทนผันแปรจะต้องถูกรั บรู้รำยได้ หำกไม่ได้มีควำมเสี่ ยงที่มีนยั สำคัญที่จะกลับรำยกำร จุดที่รับรู้รำยได้อำจมีกำรเปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม : รำยได้บำงประเภทที่ในปั จจุบนั รับรู้ ณ เวลำใดเวลำหนึ่ ง ณ วันสิ้ นสุ ดสัญญำอำจจะต้องเปลี่ยนเป็ นรับรู้รำยได้ตลอดช่วงอำยุสัญญำ หรื อในกรณี ตรงกันข้ำม มีขอ้ กำหนดใหม่ที่เฉพำะเจำะจงสำหรับรำยได้จำกกำรให้สิทธิ กำรรับประกัน ค่ำธรรมเนี ยมเริ่ มแรกที่ไม่สำมำรถ เรี ยกคืนได้ และสัญญำฝำกขำย เนื่องจำกเป็ นมำตรฐำนฉบับใหม่จึงมีกำรเปิ ดเผยข้อมูลที่เพิ่มมำกขึ้น
กิจกำรมีทำงเลือกในกำรปรับใช้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับนี้ โดยกำรปรับปรุ งย้อนหลังตำมมำตรฐำน กำรบัญชีฉบับที่ 8 เรื่ อง นโยบำยกำรบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรทำงบัญชีและข้อผิดพลำดโดยมีขอ้ อนุ โลม หรื อปรับปรุ งโดยรับรู้ผลกระทบสะสมย้อนหลัง กับกำไรสะสม ณ วันต้นงวดของรอบระยะเวลำรำยงำนที่เริ่ มต้นใช้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับนี้ประกอบกับกำรเปิ ดเผยข้อมูลเพิ่มเติม ผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิจกำรอยูร่ ะหว่ำงกำรประเมินผลกระทบของกำรนำมำตรฐำนฉบับนี้มำใช้เป็ นครั้งแรก
302
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) ข)
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำง กำรเงิน ซึ่ งจะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชีที่เริ่ มต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 ที่มีเกี่ยวข้อง กับกลุ่มกิจกำร กลุ่มกิจกำรไม่ได้นำมำถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2561) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2561) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2561) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 22
เรื่ อง กำรจ่ำยโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เรื่ อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำ เรื่ อง อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เรื่ อง รำยกำรที่เป็ นเงินตรำต่ำงประเทศและสิ่ งตอบแทนจ่ำย ล่วงหน้ำ
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 2 มีกำรอธิบำยให้ชดั เจนขึ้นเกี่ยวกับ - กำรวัดมูลค่ำของรำยกำรจ่ำยโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ที่ชำระด้วยเงินสด กิจกำรต้องไม่นำเงื่อนไขกำรได้รับสิ ทธิ ซึ่งอยูน่ อกเหนือเงื่อนไขทำงตลำดมำพิจำรณำในกำรประมำณมูลค่ำยุติธรรมของกำรจ่ำยโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ที่ชำระด้วยเงินสด ณ วันที่วดั มูลค่ำ แต่ตอ้ งนำมำปรับปรุ งจำนวนผลตอบแทนที่รวมอยู่ในจำนวนที่วดั มูลค่ำ ของหนี้สินที่เกิดขึ้นจำกรำยกำรดังกล่ำว - เมื่อกิจกำรต้องหักจำนวนภำระผูกพันภำษีเงินได้ของพนักงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรจ่ำยโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ และ นำส่ งภำษีที่หกั ไว้ดงั กล่ำวซึ่งโดยปกติเป็ นเงินสด กิจกำรต้องจัดประเภทรำยกำรดังกล่ำวเป็ นรำยกำรจ่ำยโดยใช้ หุน้ เป็ นเกณฑ์ที่ชำระด้วยตรำสำรทุนทั้งหมด เสมือนว่ำไม่มีลกั ษณะของกำรชำระด้วยยอดสุ ทธิ - กำรบัญชีสำหรับกำรปรับปรุ งเงื่อนไขของรำยกำรจ่ำยโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ที่เปลี่ยนกำรจัดประเภทจำกกำรจ่ำย ชำระด้วยเงินสดเป็ นกำรจ่ำยชำระด้วยตรำสำรทุน มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 ได้มีกำรอธิบำยให้ชดั เจนว่ำกิจกำรร่ วมลงทุน กองทุนรวม กองทรัสต์ และกิจกำรที่มี ลักษณะคล้ำยคลึงกันที่สำมำรถเลือกวิธีกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อกำรร่ วมค้ำด้วยวิธีมูลค่ำยุติธรรม ผ่ำนกำไรหรื อขำดทุน โดยกิจกำรต้องเลือกวิธีกำรนี้ในแต่ละบริ ษทั ร่ วมหรื อกำรร่ วมค้ำ ณ วันที่รับรู้รำยกำรครั้งแรก ของบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
303
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) ข)
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำง กำรเงิน ซึ่ งจะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชีที่เริ่ มต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 ที่มีเกี่ยวข้อง กับกลุ่มกิจกำร กลุ่มกิจกำรไม่ได้นำมำถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 40 ได้มีกำรอธิบำยให้ชดั เจนเกี่ยวกับกำรโอนอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนไปยังบัญชีอื่นๆ หรื อโอนจำกบัญชี อื่นๆ มำเป็ นอสังหำริ มทรั พย์เพื่อกำรลงทุนจะทำได้ก็ต่อเมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้งำนของ อสั ง หำริ ม ทรั พ ย์น้ ัน โดยมีห ลัก ฐำนสนับ สนุ น กำรเปลี่ ย นแปลงในกำรใช้ง ำนจะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ อสั ง หำริ ม ทรั พ ย์ เข้ำเงื่อนไข หรื อสิ้ นสุ ดกำรเข้ำเงื่อนไขของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน กำรเปลี่ยนแปลงในควำมตั้งใจเพียงอย่ำงเดียว ไม่เพียงพอที่จะสนับสนุนว่ำเกิดกำรโอนเปลี่ยนประเภทของสิ นทรัพย์น้ นั กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 22 ได้ให้หลักเกณฑ์ว่ำควรใช้อตั รำแลกเปลี่ยน ณ วันใดมำใช้ สำหรั บ กำรรั บ รู้ มูล ค่ ำ เมื่อ เริ่ มแรกของสิ น ทรั พย์ ค่ ำใช้จ่ำ ยหรื อ รำยได้ที่ เกี่ ยวข้อ งกับ กำรจ่ ำ ยช ำระหรื อรั บ ช ำระ สิ่ งตอบแทนล่วงหน้ำที่เป็ นสกุลเงินต่ำงประเทศ โดยกำหนดให้ใช้อตั รำแลกเปลี่ยน ณ วันที่กิจกำรรับรู้สินทรัพย์ ที่ไม่เป็ นตัวเงิน เช่ น เงินจ่ำยล่วงหน้ำ หรื อหนี้ สินที่ไม่เป็ นตัวเงิน เช่ น รำยได้รับล่วงหน้ำ ที่เกิ ดจำกกำรจ่ำยหรื อ รับชำระสิ่ งตอบแทนล่วงหน้ำนั้น กรณี ที่มีกำรจ่ำยสิ่ งตอบแทนล่วงหน้ำหลำยงวดให้ใช้อตั รำแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิด กำรรับรู้สินทรัพย์ที่ไม่เป็ นตัวเงินหรื อหนี้สินที่ไม่เป็ นตัวเงินในแต่ละงวดของกำรจ่ำยสิ่ งตอบแทนล่วงหน้ำ
ค)
กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องมือทำงกำรเงินที่จะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2563 ประกอบด้วยมำตรฐำนกำรบัญชีและมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ดังต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินกลุ่มนี้สำมำรถนำมำใช้ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้เฉพำะสำหรับรอบระยะเวลำ ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 32 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 7 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 9 กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 16 กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 19
304
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เรื่ อง กำรแสดงรำยกำรเครื่ องมือทำงกำรเงิน เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเครื่ องมือทำงกำรเงิน เรื่ อง เครื่ องมือทำงกำรเงิน เรื่ อง กำรป้ องกันควำมเสี่ ยงของเงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่วยงำนต่ำงประเทศ เรื่ อง กำรชำระหนี้สินทำงกำรเงินด้วยตรำสำรทุน
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) ค)
กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องมือทำงกำรเงินที่จะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2563 ประกอบด้วยมำตรฐำนกำรบัญชีและมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ดังต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินกลุ่มนี้สำมำรถนำมำใช้ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้เฉพำะสำหรับรอบระยะเวลำ ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 (ต่อ) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ดงั กล่ำวข้ำงต้น จะนำมำใช้แทนและยกเลิกมำตรฐำนกำรบัญชีดงั ต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 101 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 103 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 104 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 105 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 106 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 107
เรื่ อง หนี้สงสัยจะสู ญและหนี้สูญ เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลในงบกำรเงินของธนำคำรและสถำบันกำรเงิน ที่คล้ำยคลึงกัน เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำ เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตรำสำรหนี้และตรำสำรทุน เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับกิจกำรที่ดำเนินธุรกิจเฉพำะด้ำนกำรลงทุน เรื่ อง กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิ ดเผยข้อมูลสำหรับเครื่ องมือทำงกำรเงิน
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่ อง กำรแสดงรำยกำรเครื่ องมือทำงกำรเงิน กำหนดหลักกำรเกี่ ยวกับกำรแสดง รำยกำรเครื่ อ งมือทำงกำรเงิ นเป็ นหนี้ สิ นหรื อส่ วนของเจ้ำของ และกำรหักกลบสิ น ทรั พย์ท ำงกำรเงิ นกับหนี้ สิ น ทำงกำรเงิน มำตรฐำนกำรบัญชีฉบับนี้ใช้กบั กำรจัดประเภทเครื่ องมือทำงกำรเงินในมุมของผูอ้ อกเครื่ องมือทำงกำรเงิน เพื่อจัดเป็ นสิ นทรั พย์ท ำงกำรเงิ น หนี้ สินทำงกำรเงิ น และตรำสำรทุน รวมถึงกำรจัดประเภทดอกเบี้ย เงินปั นผล ผลกำไรและขำดทุนที่เกี่ยวข้อง และสถำนกำรณ์ที่ทำให้สินทรัพย์ทำงกำรเงินและหนี้สินทำงกำรเงินต้องหักกลบกัน มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 7 เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเครื่ องมือทำงกำรเงิน กำหนดให้กิจกำรต้อง เปิ ดเผยข้อมูลเพื่อให้ผใู้ ช้งบกำรเงินสำมำรถประเมินเกี่ยวกับควำมมีนัยสำคัญของเครื่ องมือทำงกำรเงินที่มีต่อฐำนะ กำรเงิ นและผลกำรดำเนิ น ของกิ จกำร และลัก ษณะและระดับ ของควำมเสี่ ยงที่ เกิ ดขึ้น จำกเครื่ องมือทำงกำรเงิ น ที่กิจกำรเปิ ดรับระหว่ำงรอบระยะเวลำรำยงำนและ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน รวมทั้งแนวทำงกำรบริ หำรควำมเสี่ ยง ดังกล่ำว
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
305
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2 2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ 2.2.2 ใหม่ มำตรฐำนกำรบั ญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ที่มีกำรประกำศแล้ ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ)นที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องมือทำงกำรเงินที่จะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชี ที่เกี่ย2563 วข้อประกอบด้ งกับเครื่ องมื อทำงกำรเงินที่จญะมีชีแผละมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบันญชี ทีกลุ ่เริ่ ่มมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคมนพ.ศ. วยมำตรฐำนกำรบั ต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. วยมำตรฐำนกำรบั ญชีงแคัละมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ่มนี้สประกอบด้ ดัทีง่เต่ริ่อมไปนี นกลุ2563 ำมำรถนำมำใช้ ก่อนวันที่มีผลบั บใช้เฉพำะสำหรับรอบระยะเวลำ น ้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ไปนี้ อมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ นกลุ (ต่่มอนี) ้ สำมำรถนำมำใช้ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้เฉพำะสำหรับรอบระยะเวลำ ทีดั่เงริต่่ มอในหรื หลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 (ต่อ) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 9 เรื่ อง เครื่ องมือทำงกำรเงิน กล่ำวถึงกำรจัดประเภทรำยกำร กำรวัดมูลค่ำ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น นฉบัและหนี บที่ 9 ้ เรืสิ่นองทำงกำรเงิ เครื่ องมือนทำงกำรเงิ น กล่ำวถึองยค่กำรจั ดประเภทรำยกำร กำรวั ดมูลค่ำ กำรตั ดรำยกำรสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ กำรคำนวณกำรด้ ำของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ น และ กำรตัญดชีรำยกำรสิ นทรัพ่ย์ยทง ำงกำรเงิ น้และหนี้ สินทำงกำรเงิน กำรคำนวณกำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิน และ กำรบั ป้องกันควำมเสี ดังต่อไปนี กำรบัญชีป้องกันควำมเสี่ ยง ดังต่อไปนี้ - กำรจัดประเภทรำยกำรและกำรวัดมูลค่ำ ดประเภทรำยกำรและกำรวั - -กำรจักำรจั ดประเภทรำยกำรและกำรวั ดมูดลมูค่ลำ ค่ำสิ นทรั พย์ทำงกำรเงินประเภทตรำสำรหนี้ แบ่งออกเป็ นสำมประเภท แก่ ดรำคำทุ นตัดจำหน่ำย มูลค่ำยุตดิธมูรรมผ่ ขำดทุนนมูประเภทตรำสำรหนี ลค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรขำดทุ นเบ็นสำมประเภท ดเสร็ จอื่น - ได้ กำรจั ประเภทรำยกำรและกำรวั ลค่ำสิำนก นทรัำไรหรื พย์ทอำงกำรเงิ ้ แบ่งออกเป็ โดยขึ อยู่กบั โมเดลธุ รกิำจยของกิ กำรสิ นอทรั พย์ทนำงกำรเงิ ได้แก่้ นรำคำทุ นตัดจำหน่ มูลค่จำยุกำรในกำรจั ติธรรมผ่ำนกดำไรหรื ขำดทุ มูลค่ำยุตนิธและลั รรมผ่กำษณะของกระแสเงิ นกำไรขำดทุนเบ็ดนเสร็สดจอื่น ตำมสั นทรัพรย์กิทจำงกำรเงิ นั้น โดยขึญ้ นญำของสิ อยู่กบั โมเดลธุ ของกิจนกำรในกำรจั ดกำรสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินและลักษณะของกระแสเงินสด - กำรจั ดมูลนค่นัำ้สินนทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทตรำสำรทุน ต้องวัดมูลค่ำด้วยมูลค่ำ ตำมสัดประเภทรำยกำรและกำรวั ญญำของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ ติธรรมผ่ ำนกำไรหรื อขำดทุน โดยกิ อกรั บรูน้สประเภทตรำสำรทุ ิ นทรั พย์ทำงกำรเงินนประเภทตรำสำรทุ - ยุกำรจั ดประเภทรำยกำรและกำรวั ดมูลจค่กำรสำมำรถเลื ำสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ ต้องวัดมูลค่ำด้วยมูนลค่ำ ด้ยุวตยมู ลค่ำยุตำนก ิธรรมผ่ ำนกอำไรขำดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่นโดยไม่สำมำรถโอนไปเป็ นในภำยหลัง น ิธรรมผ่ ำไรหรื ขำดทุน โดยกิ จกำรสำมำรถเลื อกรั บรู้สินทรั พนย์ทกำไรหรื ำงกำรเงิอขำดทุ นประเภทตรำสำรทุ นจัดำประเภทรำยกำรและวั ด้วยวิธสี รำมำรถโอนไปเป็ ำคำทุนตัดจำหน่นำยกยกเว้ นง - หนี ้ สินทำงกำรเงิ ด้ว้ สยมูิ นลทำงกำรเงิ ค่ำยุติธรรมผ่ นกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ดมูจอืล่นค่ำโดยไม่ ำไรหรืนหนี อขำดทุ นในภำยหลั ่ตอ้ ้ สงวัิ นดทำงกำรเงิ มูลค่ำด้วนยมูจัดลประเภทรำยกำรและวั ค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรหรื น หรื อ กิ จกำรเลื กวัดำมูยลยกเว้ ค่ ำด้นวยมู ติธรรม น - ทีหนี ดมูอลขำดทุ ค่ำด้วยวิ ธีรำคำทุ นตัดจอำหน่ หนีล้ สค่ิ นำยุทำงกำรเงิ ผ่ทีำนก นเมืล่อค่เข้ำ ยุำตเงืิ ธ่อรรมผ่ นไขทีำ่กนก ำหนด ่ตอ้ ำไรหรื งวัดมูลอค่ขำดทุ ำ ด้วยมู ำไรหรื อ ขำดทุ น หรื อ กิ จกำรเลื อกวัดมูลค่ ำด้วยมูลค่ ำยุติธรรม - ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ จ ด ั ประเภทและวั ด มู ล ค่ ำ ด้ ว ยวิธีมลู ค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรหรื อขำดทุน ผ่ำนกำไรหรื อขำดทุนเมื่อเข้ำเงื่อนไขที่กำหนด - ตรำสำรอนุพนั ธ์จดั ประเภทและวัดมูลค่ำด้วยวิธีมลู ค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรหรื อขำดทุน - ข้อ ก ำหนดกำรด้อ ยค่ ำ กล่ ำ วถึ งกำรบัญชี ส ำหรั บ ผลขำดทุ น ด้ำนเครดิ ต ที่ ค ำดว่ำ จะเกิ ดขึ้ น ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ นที่วดั มูลอค่ยค่ ำด้วำยวิ ำคำทุ นตัดญ จำหน่ ำย หรืบอผลขำดทุ สิ นทรัพย์นทด้ำงกำรเงิ วยพ ย์ - ทำงกำรเงิ ข้อ ก ำหนดกำรด้ กล่ธำีรวถึ งกำรบั ชี ส ำหรั ำ นเครดินตประเภทตรำสำรหนี ที่ ค ำดว่ำ จะเกิ ดขึ้ น้ ทต่ี่วอดั มูลสิค่ำนด้ทรั วิธีมลู ค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำ และสิ นทรัพย์ที่เกิดจำกภำระผูกพันวงเงิน ทำงกำรเงินที่วดั มูลค่ำด้วยวิธีรำคำทุนตัดจำหน่ำย หรื อสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทตรำสำรหนี้ ที่วดั มูลค่ำด้วย สิ นเชื่อและสัญญำค้ ำประกันทำงกำรเงิน โดยไม่จำเป็ นต้องรอให้เกิดเหตุกำรณ์ดำ้ นเครดิตขึ้นก่อน กิจกำรต้อง วิธีมลู ค่ำยุติธรรมผ่ำนกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำ และสิ นทรัพย์ที่เกิดจำกภำระผูกพันวงเงิน พิจำรณำกำรเปลี่ยนแปลงในคุณภำพเครดิตของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินเป็ นสำมระดับ ในแต่ละระดับจะกำหนด สิ นเชื่อและสัญญำค้ ำประกันทำงกำรเงิน โดยไม่จำเป็ นต้องรอให้เกิดเหตุกำรณ์ดำ้ นเครดิตขึ้นก่อน กิจกำรต้อง วิธีกำรวัดค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำและกำรคำนวณวิธีดอกเบี้ยที่แท้จริ งที่แตกต่ำงกันไป โดยมีขอ้ ยกเว้นสำหรับลูกหนี้ พิจำรณำกำรเปลี่ยนแปลงในคุณภำพเครดิตของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินเป็ นสำมระดับ ในแต่ละระดับจะกำหนด กำรค้ำหรื อสิ นทรัพย์ที่เกิดจำกสัญญำภำยใต้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับที่ 15 ที่ไม่มีองค์ประกอบ วิธีกำรวัดค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำและกำรคำนวณวิธีดอกเบี้ยที่แท้จริ งที่แตกต่ำงกันไป โดยมีขอ้ ยกเว้นสำหรับลูกหนี้ เกี่ ยวกับกำรจัดหำเงินที่ มีนัยส ำคัญ และลูก หนี้ ตำมสัญญำเช่ ำ จะใช้วิธีก ำรอย่ำงง่ำย (simplified approach) กำรค้ำหรื อสิ นทรัพย์ที่เกิดจำกสัญญำภำยใต้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับที่ 15 ที่ไม่มีองค์ประกอบ ในกำรพิจำรณำค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ เกี่ ยวกับกำรจัดหำเงินที่ มีนัยส ำคัญ และลูก หนี้ ตำมสัญญำเช่ ำ จะใช้วิธีก ำรอย่ำ งง่ำย (simplified approach) จำรณำค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ ÃÒ§ҹ»ÃШํในกำรพิ Ò»‚ 2561 23 ค) ค)
306
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.2 2.2
มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ 2.2.2 ใหม่ มำตรฐำนกำรบั ญชี มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ที่มีกำรประกำศแล้ ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) นที่มีกำรปรับปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับ ใหม่ที่มีกำรประกำศแล้ว แต่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ (ต่อ) ค) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องมือทำงกำรเงินที่จะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชี ค) ทีกลุ ที่เกี่ย2563 วข้อประกอบด้ งกับเครื่ องมื อทำงกำรเงินที่จญะมีชีแผละมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบันญชี ่เริ่ ่มมต้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคมนพ.ศ. วยมำตรฐำนกำรบั ต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. วยมำตรฐำนกำรบั ญชีงคัแบละมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ่มนี้สประกอบด้ ดัทีง่เต่ริอ่ มไปนี นกลุ2563 ำมำรถนำมำใช้ ก่อนวันที่มีผลบั ใช้เฉพำะสำหรับรอบระยะเวลำ น ้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ไปนี้ อมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ นกลุ ทีดั่เงริต่่ มอในหรื หลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 (ต่่มอนี) ้ สำมำรถนำมำใช้ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้เฉพำะสำหรับรอบระยะเวลำ ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2562 (ต่อ) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 9 เรื่ อง เครื่ องมือทำงกำรเงิน กล่ำวถึงกำรจัดประเภทรำยกำร กำรวัดมูลค่ำ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น นฉบั บที่ 9 ้ สเรืิ น่ อทำงกำรเงิ ง เครื่ องมือนทำงกำรเงิ น กล่ำวถึองยค่กำรจั ดประเภทรำยกำร กำรวั ดมูลค่ำ กำรตั ดรำยกำรสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ และหนี กำรคำนวณกำรด้ ำของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ น และ กำรตัญดชีรำยกำรสิ นทรัพ่ ยย์งทดัำงกำรเงิ กำรบั ป้องกันควำมเสี งต่อไปนีน้ และหนี (ต่อ) ้ สินทำงกำรเงิน กำรคำนวณกำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิน และ กำรบัญชีป้องกันควำมเสี่ ยง ดังต่อไปนี้ (ต่อ) - กำรบัญชีป้องกันควำมเสี่ ยงมีวตั ถุประสงค์เพื่อแสดงผลกระทบในงบกำรเงิน ซึ่ งเกิดจำกกิ จกรรมกำรบริ หำร ่ใช้่ เยครืงมี่ อวงมื ดกำรฐำนะเปิ ดที่เกิ ดขึน้ นซึจำกควำมเสี ้ นๆ ซึ่ งอำจหำร - ควำมเสี กำรบัญ่ ยชีงของกิ ป้องกัจนกำรที ควำมเสี ตั ถุอปทำงกำรเงิ ระสงค์เพืน่อในกำรจั แสดงผลกระทบในงบกำรเงิ ่ งเกิดจำกกิ่ ยจงนั กรรมกำรบริ ส่ควำมเสี งผลกระทบต่ น อ(หรื อ กำไรขำดทุ น เบ็ดกำรฐำนะเปิ เสร็ จอื่ น ในกรณี น ลงทุ น ในตรำสำรทุ ่ ยงของกิอ กจำไรหรื กำรที่ใช้อ ขำดทุ เครื่ องมื ทำงกำรเงิ นในกำรจั ดที่เกิขดองเงิ ขึ้นจำกควำมเสี ่ ยงนั้นๆ ซึ่ งนอำจ ทีส่่กงิ จผลกระทบต่ กำรเลือกแสดงกำรเปลี ลค่ำอยุตกิธำไรขำดทุ รรมในกำไรขำดทุ จอื่น)ขวิองเงิ ธีกำรดั งกล่นำวมี เป้ ำหมำย น อ ก ำไรหรื อ่ยนแปลงมู ขำดทุ น (หรื น เบ็ดเสร็นจเบ็ อื่ นดเสร็ ในกรณี น ลงทุ ในตรำสำรทุ ในกำรแสดงถึ งบริ บ ทของเครื่ยนแปลงมู ่ อ งมือ ที่ ใช้ลปค่้ ำองกั ควำมเสี่ ยำไรขำดทุ งภำยใต้กนำรบั งเพืำวมี ่อ ให้ กิ ด ที่กิจกำรเลือกแสดงกำรเปลี ยุติธนรรมในก เบ็ดญเสร็ชี ปจ้ องกั อื่น) นวิควำมเสี ธีกำรดัง่ ยกล่ เป้ เำหมำย ควำมเข้ ำใจถึงวัตงถุบริ ประสงค์ และผลกระทบที ขึ้น น ควำมเสี่ ยงภำยใต้ก ำรบัญชี ป้ องกัน ควำมเสี่ ยงเพื่อ ให้เกิ ด ในกำรแสดงถึ บ ทของเครื ่ อ งมือ ที่ ใช้่เกิป้ดองกั
ควำมเข้ำใจถึงวัตถุประสงค์และผลกระทบที่เกิดขึ้น กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 16 เรื่ อง กำรป้ องกันควำมเสี่ ยงของเงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่ วยงำน บ กำรป้ น ควำมเสี ่ ย งของเงิ สุ ท ธิวใยงำน น ต่กำรตี ำ งประเทศ ให้ค วำมชัด เจนเกี่ ย วกับ วิธี กนำรทำงบั ควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ ฉบับทีญ่ 16ชี ทเรืี่ เ่ อกี่งยวกั กำรป้ องกันองกั ควำมเสี ่ ยงของเงิ นลงทุนนสุลงทุ ทธินในหน่ หน่ ยงำนต่ำงประเทศ โดยให้ แนวทำงในกำรระบุ ควำมเสี ่ยนเงิ นตรำต่ำ่ ยงประเทศที ่เข้ำเงืน่อสุนไข ่ ย วกับ วิธี ก ำรทำงบั ด เจนเกี ญชี่ ยงของอั ที่ เ กี่ ยวกัตรำแลกเปลี บ กำรป้ องกั น ควำมเสี งของเงิ น ลงทุ ท ธิ ใ น ต่ ำวงประเทศ ให้ค วำมชั ่ ให้ แ นวทำงเกี ย วกั บ เครื ่ อ งมื อ ป้ องกั น ควำมเสี ่ ย งในกำรป้ องกั น ควำมเสี ่ ย งของเงิ น ลงทุ น สุ ท ธิ ใ นหน่ ว ยงำน หน่วยงำนต่ำงประเทศ โดยให้แนวทำงในกำรระบุควำมเสี่ ยงของอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศที่เข้ำเงื่อนไข ่มกิ จกำรมิองกั ต่ให้ ำงประเทศ ว่ำสำมำรถถื ใช่ เฉพำะเพี ยงบริ ษทั ใหญ่นเท่ลงทุ ำนั้นน สุและให้ แนวทำง ่ ย วกับ เครือ่ อโดยกิ แ นวทำงเกี งมื อ จป้ กำรใดๆภำยในกลุ องกัน ควำมเสี่ ย งในกำรป้ น ควำมเสี ่ ย งของเงิ ท ธิ ใ นหน่ ว ยงำน ในกำรที ่ จ ะระบุ ม ล ู ค่ ำ ที ่ จ ะจั ด ประเภทรำยกำรใหม่ จ ำกส่ ว นของเจ้ ำ ของไปยั ง ก ำไรหรื อ ขำดทุ น ส ำหรั บ ทั ง เครื ่ อ งมื อ ้ ต่ำงประเทศ ว่ำสำมำรถถือโดยกิ จกำรใดๆภำยในกลุ่มกิ จกำรมิใช่ เฉพำะเพียงบริ ษทั ใหญ่เท่ำนั้น และให้แนวทำง ป้ในกำรที องกันควำมเสี ่มีกำรป้ องกันควำมเสีจ่ ยำกส่ ง วนของเจ้ำของไปยังกำไรหรื อขำดทุนสำหรับทังเครื่ องมือ ่จะระบุ่ ยงและรำยกำรที มูลค่ำที่จะจัดประเภทรำยกำรใหม่ ้ ป้ องกันควำมเสี่ ยงและรำยกำรที่มีกำรป้ องกันควำมเสี่ ยง กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 19 เรื่ อง กำรชำระหนี้ สินทำงกำรเงินด้วยตรำสำรทุน ให้ขอ้ กำหนด ทำงบัญชี ส ำหรั บ กรณี ที่ กิ จกำรออกตรำสำรทุ น ให้แก่ เจ้ำหนี้ เพื่อ ชำระหนี้ สิ น ทำงกำรเงิ น ทั้งหมดหรื อ บำงส่ วน กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 19 เรื่ อง กำรชำระหนี้ สินทำงกำรเงินด้วยตรำสำรทุน ให้ขอ้ กำหนด กิ จกำรต้อ งวัดมูลค่ำ ตรำสำรทุ นที่อ อกให้แก่ เจ้ำหนี้ ดว้ ยมูลค่ ำยุติธรรม กิ จกำรต้องตัดรำยกำรหนี้ สิ นทำงกำรเงิ น ทำงบัญชี ส ำหรั บ กรณี ที่ กิ จกำรออกตรำสำรทุ น ให้แ ก่ เจ้ำ หนี้ เพื่อ ชำระหนี้ สิ น ทำงกำรเงิ น ทั้งหมดหรื อ บำงส่ วน ทั้งหมดหรื อบำงส่ วนเมื่อเป็ นไปตำมข้อกำหนดของมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 9 ผลต่ำงระหว่ำงมูลค่ำ กิ จกำรต้อ งวัดมูลค่ำ ตรำสำรทุ นที่อ อกให้แก่ เจ้ำหนี้ ดว้ ยมูลค่ ำยุติธรรม กิ จกำรต้องตัดรำยกำรหนี้ สิ นทำงกำรเงิ น ตำมบัญชีของหนี้ สินทำงกำรเงิน (หรื อบำงส่ วนของหนี้ สินทำงกำรเงิน) ที่ชำระและมูลค่ำยุติธรรมของตรำสำรทุน ทั้งหมดหรื อบำงส่ วนเมื่อเป็ นไปตำมข้อกำหนดของมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 9 ผลต่ำงระหว่ำงมูลค่ำ ที่ออกต้องรับรู้ในกำไรหรื อขำดทุน ตำมบัญชีของหนี้ สินทำงกำรเงิน (หรื อบำงส่ วนของหนี้ สินทำงกำรเงิน) ที่ชำระและมูลค่ำยุติธรรมของตรำสำรทุน องรับรู่ม้ในก ำไรหรืร่ อะหว่ ขำดทุ น ผูทีบ้ ่อริอกต้ หำรของกลุ กิจกำรอยู ำงกำรประเมิ นผลกระทบของกำรนำมำตรฐำนกลุ่มเครื่ องมือทำงกำรเงินฉบับเหล่ำนี้
มำใช้เป็ นครั้งแรก ผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิจกำรอยูร่ ะหว่ำงกำรประเมินผลกระทบของกำรนำมำตรฐำนกลุ่มเครื่ องมือทำงกำรเงินฉบับเหล่ำนี้ มำใช้เป็ นครั้งแรก 24307 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.3
บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม (1) บริษัทย่ อย บริ ษ ัทย่อยหมำยถึ งกิ จกำร (ซึ่ งรวมถึ งกิ จกำรเฉพำะกิ จ) ที่ก ลุ่มกิ จกำรควบคุม กลุ่มกิ จกำรควบคุ มกิ จกำรเมื่อ กลุ่มกิ จกำร มีกำรเปิ ดรับหรื อมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจำกกำรเกี่ยวข้องกับผูไ้ ด้รับกำรลงทุนและมีควำมสำมำรถทำให้เกิดผลกระทบ ต่อผลตอบแทนจำกกำรใช้อำนำจเหนื อผูไ้ ด้รับกำรควบคุม กลุ่มกิจกำรรวมงบกำรเงินของบริ ษทั ย่อยไว้ในงบกำรเงินรวมตั้งแต่ วันที่กลุ่มกิจกำรมีอำนำจในกำรควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิจกำรจะไม่นำงบกำรเงินของบริ ษทั ย่อยมำรวมไว้ในงบกำรเงินรวม นับจำกวันที่กลุ่มกิจกำรสู ญเสี ยอำนำจควบคุม กลุ่มกิจกำรบันทึกบัญชีกำรรวมธุ รกิจโดยถือปฏิบตั ิตำมวิธีซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้สำหรับกำรซื้ อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วย มูลค่ ำยุติธรรมของสิ น ทรั พย์ที่ผูซ้ ้ื อ โอนให้และหนี้ สิ นที่ ก่อ ขึ้น เพื่อจ่ ำยชำระให้แก่ เจ้ำ ของเดิมของผูถ้ ูก ซื้ อ และส่ วนได้เสี ย ในส่ วนของเจ้ำของที่ออกโดยกลุ่มกิจกำร สิ่ งตอบแทนที่โอนให้รวมถึงมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรั พย์ หรื อหนี้ สินที่ผซู้ ้ื อคำดว่ำ จะต้องจ่ำยชำระตำมข้อตกลง ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้อจะรับรู้เป็ นค่ำใช้จ่ำยเมื่อเกิดขึ้น มูลค่ำเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ ที่ได้มำ และหนี้สินและหนี้สินที่อำจจะเกิดขึ้นในกำรรวมธุ รกิจจะถูกวัดมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ ในกำรรวมธุ รกิจ แต่ละครั้ง กลุ่มกิ จกำรวัดมูลค่ำของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อด้วยมูลค่ำยุติธรรม หรื อมูลค่ำของสิ นทรั พย์สุทธิ ที่ระบุได้ของผูถ้ ูกซื้อตำมสัดส่ วนของหุน้ ที่ถือ โดยส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม ส่ วนเกินของมูลค่ำสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ำยุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิจ ของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้ำของของผูถ้ ูกซื้ อที่ผซู้ ้ื อถืออยู่ก่อนกำรรวมธุ รกิจที่มำกกว่ำมูลค่ำยุติธรรมสุ ทธิ ณ วันที่ซ้ื อของ สิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุได้ที่ได้มำ ต้องรับรู้ เป็ นค่ำควำมนิ ยม หำกมูลค่ำของมูลค่ำสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ไม่มี อำนำจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ำยุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้ำของของผูถ้ ูกซื้ อที่ผซู้ ้ื อถืออยู่ก่อน กำรรวมธุรกิจ น้อยกว่ำมูลค่ำรำคำยุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยที่ได้มำเนื่ องจำกกำรซื้ อในรำคำต่ำกว่ำมูลค่ำยุติธรรม จะรับรู้ส่วนต่ำงโดยตรงไปยังกำไรขำดทุน กิ จกำรจะตัดรำยกำรบัญชี ระหว่ำ งกัน ยอดคงเหลื อและกำไรที่ ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ้ นจริ งระหว่ำ งกันในกลุ่มกิ จกำร ขำดทุ นที่ ยงั ไม่เกิ ดขึ้นจริ งก็จะตัดรำยกำรในทำนองเดียวกัน เว้นแต่รำยกำรนั้นมีหลักฐำนว่ำสิ นทรั พย์ที่โอนระหว่ำงกันเกิ ดกำรด้อยค่ ำ นโยบำยกำรบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถูกปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชีของกลุ่มกิจกำร รำยชื่ อของบริ ษทั ย่อยหลักของกลุ่มกิ จกำรและผลกระทบทำงกำรเงินจำกกำรซื้ อและกำรจำหน่ ำยบริ ษทั ย่อยได้แสดงไว้ใน หมำยเหตุขอ้ 14
308
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดนน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษัทบนปี ้ำสิตำลบุ (มหำชน) สำหรั ้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวัรีนรัมทีย์่ 31จำกัธันดวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ ป น รวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร ส2 ำหรับปีนโยบำยกำรบั สิ้นสุ ดวันที่ 31ญชีธัน(ต่วำคม อ) พ.ศ. 2561 2 นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 2 นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 2.3 บัญชีกลุ่มกิจกำร นในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม (ต่อ) 22.3 นโยบำยกำรบั ญชี --(ต่เงิเงิอนน)ลงทุ บัญชีกลุ่มกิจกำร ลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม (ต่อ) 2.3 บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม (ต่อ) บส่ -วนได้ เสี ยทีน่ไในบริ ม่ มีอำนำจควบคุ ม ษัทร่ วม (ต่อ) 2.3 (2) บัญชีรำยกำรกั กลุ่มกิจกำร เงินลงทุ ัทย่ อยและบริ (2) รำยกำรกั บส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มีอษำนำจควบคุ ม (2) รำยกำรกับส่ วนได้เสี ยที่ไม่ มีอำนำจควบคุม กลุ่มกิจกำรปฏิ บตั ิตเสี่อยรำยกำรกั บส่ วนได้เสี มยที่ไม่มีอำนำจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่ วนที่เป็ นของเจ้ำของกลุ่มกิจกำรสำหรับกำรซื้ อ (2) รำยกำรกั บส่ วนได้ ที่ไม่ มีอำนำจควบคุ กลุ่มกิจกำรปฏิ บตั ิต่อรำยกำรกั บส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่ วนที่เป็ นของเจ้ำของกลุ่มกิจกำรสำหรับกำรซื้ อ ส่กลุว่มนได้ เสี ยที่ไบม่ตัมิตีอ่อำนำจควบคุ ม ผลต่ และมู ตำมบั ชีของสิ นทรัพ่มย์กิสจุ ทกำรส ธิ ของหุ ่ซ้ื อมำ้ อ ่ งตอบแทนที กิ จ กำรปฏิ รำยกำรกั นได้ำำเงระหว่ สี ยที่ไม่ำำมงสิ ีอำนำจควบคุ มเช่่่จจน่่ำำยให้ เดียวกั นกับลลส่ค่ค่วำำนที ่เป็ นญ ำของกลุ ำหรั้น้นบทีทีกำรซื ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุบมส่ วผลต่ งระหว่ งสิ ยให้ และมู ตำมบั ญของเจ้ ชีของสิ นทรัพย์สุทธิ ของหุ ่ซ้ื อมำ ่ งตอบแทนที กลุว่มนได้ กิจษกำรปฏิ บม่ตัมิตีอก่อำนำจควบคุ บมส่ววนของเจ้ นได้ำเงระหว่ สี ยำทีของ ่ไม่ำมงสิ ีอำนำจควบคุ น่ำยให้ เดียนวกั นกับลส่ค่วำนที ่เป็ นญวของเจ้ กำรส ำหรั้นบทีมกำรซื ในบริ ทั สีย่ยอทียจะถู บัรำยกำรกั นทึกในส่ และก ำไรหรื มอเช่ ขำดทุ จำกกำรขำยในส่ นได้ เำสีของกลุ ยนทีทรั่ไม่พ่มย์กิีอสจำนำจควบคุ จะถู ชี ข องสิ ุ ท ธิ ข องหุ ส่ในบริ เ ่ ไ ผลต่ ง ตอบแทนที ่ จ แ ละมู ตำมบั ้ื อมำ้ กกอ ่ ษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้ำของ และกำไรหรื อขำดทุนจำกกำรขำยในส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม่ซจะถู ส่ นวนได้ เทั สีย่ยอวทีนของเจ้ ่ไม่มีอกำนำจควบคุ ผลต่ำงระหว่ ่จ่ำยให้นแจำกกำรขำยในส่ ละมูลค่ำตำมบัญวชีนได้ ของสิ ุ ทธิ ของหุ ้นทีม่ซจะถู ้ื อมำก ่ งตอบแทนที บัในบริ ทึกในส่ ยจะถู บัำำของ นทึกในส่มวนของเจ้ ำของำงสิ และก ำไรหรื อขำดทุ เสี ยนทีทรั่ไม่พมย์ีอสำนำจควบคุ บันทึกษในส่ วนของเจ้ ของ ในบริ ทั ย่อวนของเจ้ ยจะถูกบัำของ นทึกในส่ วนของเจ้ำของ และกำไรหรื อ ขำดทุนจำกกำรขำยในส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมจะถูก บันทึกษในส่ (3) กำรจ ษัทย่ อำยของ บันทึกำหน่ ในส่ำำยบริ วนของเจ้ (3) กำรจ ำหน่ ยบริ ษัทย่ อย (3) กำรจำหน่ ำยบริษัทย่ อย ่มกิจกำรสูษัทญย่เสีอยยกำรควบคุม ส่ วนได้เสี ยในกิจกำรที่เหลืออยู่จะวัดมูลค่ำใหม่โดยใช้รำคำยุติธรรม กำรเปลี่ยนแปลงใน เมื่อกลุำหน่ (3) กำรจ เมื่อกลุ่มกิำจยบริ กำรสู ญเสี ยกำรควบคุม ส่ วนได้เสี ยในกิจกำรที่เหลืออยู่จะวัดมูลค่ำใหม่โดยใช้รำคำยุติธรรม กำรเปลี่ยนแปลงใน มูเมืล่อค่กลุ ำจะรั บจรูกำรสู ้ในกำไรหรื อขำดทุน มูลค่ำยุติธรรมนั อเป็ นมู ำตำมบั ญมูชีลเค่ริ่ำมใหม่ แรกของมู ำของเงิ ลงทุน เพื่อวั่ยตนแปลงใน ถุประสงค์ ้ นจะถื ่ ่จะวัดญ ม กิ ญเสี ยกำรควบคุ เสี ยในกิ จกำรที หลืลลอค่ค่อยู โดยใช้ลลรค่ค่ำคำยุ ติธนนรรม มูลค่ำจะรับรู้ในกำไรหรื อขำดทุน มูมลส่ค่วำนได้ ยุติธรรมนั อเป็ ่เนมู ำตำมบั ชี เริ่ มแรกของมู ำของเงิ ลงทุกำรเปลี น เพื่อวัตถุประสงค์ ้ นจะถื ่มดกิบมูจรูกำรสู ่จษะวั ญเสี ยกำรควบคุ เทีสี่เยหลื ในกิออยู จกำรที โวดยใช้ ่ในรู ป่เหลื ในกำรวั ลค่ำในเวลำต่ อมำของเงิ ลงทุ ของบริ ทั ร่ดวมูมลค่กิำจใหม่ กำรร่ มค้ำ รหรื อสิตนิธทรั พย์ทกำรเปลี ำงกำรเงิ ำหรั บ มูเมื ล่อค่กลุ ำจะรั ำไรหรื อขำดทุ น มูมลส่นนค่วลงทุ ำนได้ ยุติธนนรรมนั ลอค่อยู ำตำมบั แรกของมู ค่ำคำยุ ำของเงิ นรรม ลงทุ เพื่อวั่ยตนแปลงใน ถุนนปสสระสงค์ ในกำรวั ดมูล้ใค่นก ำในเวลำต่ อมำของเงิ ที่เหลื้ นอจะถื อยู่ใอนรูเป็ปนมู ของบริ ษทั ร่ญวมชี เกิริ่ จมกำรร่ วมค้ำลหรื อสิ นทรั พย์ทนำงกำรเงิ ำหรั บ มูทุในกำรวั ลกค่จำนวนที ำจะรัดบมูรูล่เ้คยรั ใค่นก ขำดทุ น มูนลเบ็นค่ลงทุ ติธจรรมนั ลอค่งกัำตำมบั ญวมชี เกิริ้ น่ จมจะถู แรกของมู ค่ิเสมื ำของเงิ ลงทุ เพื่อวักตำรจ ถุนปสระสงค์ ้ นจะถื ่มกินจกำรมี บำไรหรื รู้ในกอำไรขำดทุ ดำยุเสร็ อื่นในส่ วนที ่เกี่ยนมู วข้ บกิจกำรนั กปฏิ อนว่ ำนกลุ ำหน่ ่ใอนรูเป็ ของบริ กำรร่ มค้บบำลตตัั หรื นทรั ำหรัำำบยย ำในเวลำต่ อมำของเงิ ทุกจำนวนที ่เคยรั บรู้ในกำไรขำดทุ นเบ็ดเสร็นจทีอื่นเหลื ในส่ออยู วนที ่เกีป่ยวข้ องกับษกิทั จร่กำรนั กวปฏิ ิเสมืออสินว่ ำกลุพ่มย์กิทจำงกำรเงิ กำรมีกำรจ ำหน่ ้ นจะถู ่ในรู่เกีป่ยวข้ ำในเวลำต่ มำของเงิ นลงทุ ของบริ วม กิ้ นจจะถู กำรร่กวปฏิ มค้บำตั หรื นทรั น สำหน่ ำหรัำบย ่ยอวข้ นทรั พย์ดหมูรืลอค่หนี องนั้นออกไป ้ สินที่เกีำไรขำดทุ ทุสิสิในกำรวั ำนวนที ดเสร็นจทีอื่น่เหลื ในส่ออยู วนที องกับษกิทั จร่กำรนั ิเสมืออสินว่ ำกลุพ่มย์กิทจำงกำรเงิ กำรมีกำรจ นกจทรั พย์หรื่เคยรั อหนีบ้ สรูิ น้ในก ที่เกี่ยวข้องนั้นเบ็ ออกไป ำนวนที ดเสร็ จอื่นในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับกิจกำรนั้นจะถูกปฏิบตั ิเสมือนว่ำกลุ่มกิจกำรมีกำรจำหน่ ำย ทุสิ นกจทรั ่ยวข้องนั้นนเบ็ พย์หรื่เคยรั อหนีบ้ สรูิ น้ในก ที่เกีำไรขำดทุ ออกไป (4) บริ สิ นษษทรััทัทร่ร่พววย์มมหรื อหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้นออกไป (4) บริ (4) บริษัทร่ วม บริ ษษทัทั ร่ร่ ววมเป็ ่กลุ่มกิจกำรมีอิทธิพลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่ งโดยทัว่ ไปก็คือกำรที่ กลุ่มกิจกำรถือหุ ้น (4) บริ ม นนกิกิจจกำรที บริ ษทั ร่ วมเป็ กำรที่กลุ่มกิจกำรมีอิทธิพลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่ งโดยทัว่ ไปก็คือกำรที่ กลุ่มกิจกำรถือหุ ้น ่ วนได้อเหุสี้นย ที่มษีสัิ ทร่ธิวอมเป็ อกเสี ยงอยู ร่ ะหว่ อยละ ถึงร้อยละำงเป็ 50 ของสิ ทธิำคั ออกเสี เงินลงทุ ในบริว่ ษไปก็ ทั ร่ วมรั บรู้โดยใช้ บริ จกำรที ่กลุำำ่มงร้ กำรมี20 สำระส ญแต่ยยไงทั ม่ถ้้ งงึงหมด กับควบคุ มซึ่ งนนโดยทั ือกำรที ่ กลุ่มววกิิธิธจีี สสกำรถื ่ วนได้เสี ย ที่มีสิทธิออกเสีนกิยงอยู ร่ ะหว่ งร้กิอจยละ 20อิทถึธิงพร้อลอย่ ยละ 50 นของสิ ทธิ ออกเสี งทั หมด เงินลงทุ ในบริ ษทั ร่ วคมรั บรู้โดยใช้ บริ จกำรที ่กนลุำ่มรวม กิอจยละ กำรมี20อิทถึธิงพร้อลอย่ ำงเป็ นสำระส ำคั ญแต่ยไงทั ม่ถ้ งึงหมด กับควบคุ มซึ่ งนโดยทั ว่ ษไปก็ คมรั ือกำรที ่ กลุ่มวกิิธจี สกำรถื ่ ยละ 50 ของสิ ท ธิ อ อกเสี เงิ น ลงทุ ในบริ ท ั ร่ ว บ รู ้ โ ดยใช้ วนได้อเหุสี้นย ทีในกำรแสดงในงบกำรเงิ ่ในกำรแสดงในงบกำรเงิ มษีสทัิ ทร่ธิวอมเป็ อกเสีนกิยงอยู ร่ ะหว่ งร้ นรวม ที่มีสิทธิออกเสี ยงอยูร่ ะหว่นำรวม งร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งหมด เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมรับรู้โดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย ในกำรแสดงในงบกำรเงิ (5) กำรบั นทึกเงินลงทุนตำมวินธรวม ีส่วนได้เสี ย ในกำรแสดงในงบกำรเงิ (5) กำรบั นทึกเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ย (5) กำรบันทึกเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ย ภำยใต้นวทึธิ กีสเงิ่ วนนได้ กลุ่มธกิีสจ่ วกำรรั นเมื่อเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนนี้ จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง (5) กำรบั ลงทุเเสีสีนยยตำมวิ นได้บบเสีรูรูย้้เเงิงินนลงทุ ภำยใต้วธิ ีส่วนได้ กลุ่มกิจกำรรั ลงทุนเมื่อเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนนี้ จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง ในภำยหลั นที่ไเสีด้ยมำด้ วนแบ่บงกรู้ำไรหรื รับกำรลงทุ ดส่ญวชีนที ่ผลู้ งทุนลงทุ นมีส่วนได้ เสี่มยขึอยู้ น่ หรื เงินลงทุ ภำยใต้วธิ ีสงง่ ววัวันได้ กลุวว่มยส่ เงินลงทุออนขำดทุ เมื่อเรินน่ มของผู แรกด้ไไ้้ วด้ด้ยรำคำทุ น มูนนลค่ตำมสั ำตำมบั ของเงิ ลดลงนน ้ จะเพิ ในภำยหลั นที่ได้มำด้ ยส่กิจวกำรรั นแบ่งกำไรหรื ขำดทุ ของผู รับกำรลงทุ ตำมสั ดส่ วนที ่ผลู้ งทุนมีสน่ วนีนได้ เสี ยอยู่ เงินอลงทุ ภำยใต้ษวทั ธิ ีร่สงว่ ววัมของกลุ นได้ กลุ เงิควำมนิ นลงทุนยมที เมื่อ่รเริะบุ มูนลค่ตำมสั ญชีของเงินลงทุนนี้ จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง ในบริ กิวจ่มกำรรวมถึ ไแรกด้ ด้ ณ ววัยรำคำทุ นที่ซ้ือเงิน ลงทุ นำตำมบั ในภำยหลั นที่ไเสีด้ยม่่มมำด้ ยส่กิจวกำรรั นแบ่บงงกค่ค่รู้ำำำไรหรื น่ มของผู ในบริ ษทั ร่ วมของกลุ กิจกำรรวมถึ ควำมนิอยขำดทุ มที่ระบุ ได้ ณไ้ วัด้นรับทีกำรลงทุ ่ซ้ือเงินลงทุ น ดส่ วนที่ผลู้ งทุนมีส่วนได้เสี ยอยู่ เงินลงทุน ในภำยหลั นที่ได้ม่มำด้กิจวกำรรวมถึ ยส่ วนแบ่งงกค่ำำไรหรื นของผู นตำมสั ในบริ ษทั ร่งววัมของกลุ ควำมนิอยขำดทุ มที่ระบุ ได้ ณไ้ วัด้นรับทีกำรลงทุ ่ซ้ือเงินลงทุ น ดส่ วนที่ผลู้ งทุนมีส่วนได้เสี ยอยู่ เงินลงทุน ถ้ำส่ วนได้ ยของเจ้ำ่มของในบริ ษทั งร่ค่วำมนั ยงั ไคงมี นัยนสำคัญ กิจกำรต้องจัดประเภทรำยกำรที่เคยรับรู้ ้ นลดลงแต่ ในบริ ษทั ร่เเวสีสีมของกลุ กิจกำรรวมถึ ควำมนิ ยมที่ระบุ ด้ ณออิิวัททนธิธิทีพพ่ซลอย่ ลงทุ ้ือเงิำำนงมี ถ้ำส่ วนได้ ยของเจ้ำของในบริ ษทั ร่ วมนั ยงั คงมี ลอย่ งมี นัยสำคัญ กิจกำรต้องจัดประเภทรำยกำรที่เคยรับรู้ ้ นลดลงแต่ ในก นของเจ้ เบ็ดเสร็ จอื่นเข้ำกษำไรหรื อขำดทุ นเฉพำะสั ดส่อวินในส่ วนได้ เสีนยัยของเจ้ ่ลดลง นจำกกำรลด ถ้ในก ำส่ วำไรขำดทุ นได้ เ สี ย ำ ของในบริ ท ั ร่ ว มนั น ลดลงแต่ ย ง ั คงมี ท ธิ พ ลอย่ ำ งมี สำคัญำำของที กิจกำรต้ องจักกดำไรและขำดทุ ประเภทรำยกำรที ่เคยรับรู้ ้ ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นเข้ำกำไรหรื อขำดทุนเฉพำะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้ ของที ่ลดลง ำไรและขำดทุ นจำกกำรลด ย ง ั คงมี อ ิ ท ธิ พ ลอย่ ำ งมี น ั ย ส ำคั ญ กิ จ กำรต้ อ งจั ด ประเภทรำยกำรที ่เคยรับรู้ ถ้สัในก ำดส่ส่วำไรขำดทุ นได้ เ สี ย ของเจ้ ำ ของในบริ ษ ท ั ร่ ว มนั น ลดลงแต่ ้ น วนในบริ ษทั ร่ วมจะรั ำไรหรืออขำดทุ ขำดทุ จอืบบ่นรูรูเข้้้ใในก ำกำไรหรื สัดส่ วนในบริ ษนทัเบ็ร่ดวเสร็ มจะรั นก ำไรหรื อขำดทุนนเฉพำะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้ำของที่ลดลง กำไรและขำดทุนจำกกำรลด จอืบ่นรูเข้้ในก ำกำไรหรื สัในก ดส่ำไรขำดทุ วนในบริ ษนทัเบ็ร่ดวเสร็ มจะรั ำไรหรืออขำดทุ ขำดทุนนเฉพำะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้ำของที่ลดลง กำไรและขำดทุนจำกกำรลด ่ ส่สัดวส่นแบ่ ง ก ำไรหรื อ ขำดทุ น ของกลุ ม กิ จ กำรในบริ ่ เกิ ดขึ้ น ภำยหลังกำรได้มำจะรวมไว้ในกำไรหรื อ ขำดทุ น และ วนในบริ ษทั ร่ วอมจะรั ้ในกำไรหรื ขำดทุน ษษ ัทัท ร่ร่ ววมที ่ มกิ จอกำรในบริ ส่ วนแบ่ งก ำไรหรื ขำดทุบนรูของกลุ มที่ เกิ ดขึ้ น ภำยหลังกำรได้มำจะรวมไว้ในกำไรหรื อ ขำดทุ น และ ส่ วนแบ่ งกในก ำไรขำดทุ ด เสร็ จ่ มอืกิ่ นจทีกำรในบริ ่ เกิ ดขึ้ น ภำยหลั งกำรได้ ในกำไรขำดทุ น เบ็ใดนกเสร็ำไรหรื จอื่ น ผลสะสมของ ำไรหรื อ ขำดทุนนนเบ็ ษ ัท ร่ วมที ่ เกิ ดขึมม้ นำจะรวมไว้ ภำยหลังกำรได้ มำจะรวมไว้ ขำดทุ น และ ส่ วนแบ่ งในก ำไรขำดทุ เบ็ของกลุ ด เสร็ จอื่ น ที่ เกิ ดขึ้ น ภำยหลั งกำรได้ ำจะรวมไว้ ในกำไรขำดทุ น เบ็ดเสร็ จอื่ น อผลสะสมของ ่ มกิงกล่ กในก ำไรหรื อ ขำดทุนงกำรได้ นเบ็ของกลุ จกำรในบริ ัท ร่ วมที ่ เกิ ดงขึกั้ นบรำคำตำมบั ภำยหลังกำรได้ มองเงิ ำจะรวมไว้ กำรเปลี ำ วข้ำงต้ นษจะปรั บ ปรุ ญชี ขำไรขำดทุ นลงทุ นใเมื ่อำไรหรื ส่ วนแบ่ งขำดทุ ขำดทุนนและ ของ ส่ส่ ววนแบ่ นแบ่่่ ยยงงนแปลงภำยหลั ำไรขำดทุ ด เสร็มมจำดั ดนกเสร็ อื่ น อผลสะสมของ ้ น ภำยหลั กำรเปลี นแปลงภำยหลั งกำรได้ ำดัอืง่ นกล่ทีำ่ เกิวข้ดำขึงต้ น จะปรังบกำรได้ ปรุ งกัมบำจะรวมไว้ รำคำตำมบัใญนก ชี ของเงินลงทุนนเบ็เมื ่อส่ จวนแบ่ งขำดทุนของ ดเสร็ ่ น ผลสะสมของ ส่กำรเปลี ในก ำไรขำดทุ นงกำรได้ เบ็ ที่ เอกิเกิดำขึนงต้ ้ นกว่ภำยหลั กลุว่มนแบ่ กิจกำรในบริ ษทั ร่ วมมี มูลดค่เสร็ ำเท่จำอืกั่งนบกล่ หรื ำมูลค่ำงส่บกำรได้ วนได้ ยของกลุ่มกิใญจนก กำรในบริ ษทั นร่เบ็ วมนั งส่ วนได้ เสี ย ้ นซึจ่ งอืรวมถึ ่ ยงนแปลงภำยหลั งกัเเมบสีสีำจะรวมไว้ ชี ขำไรขำดทุ องเงินลงทุ เมื นของ กลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วมมี มูลค่ำเท่มำดั ำกับหรืำอวข้ เกิ นกว่นำมูจะปรั ลค่ำส่ วปรุ นได้ ยรำคำตำมบั ของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่นวมนั รวมถึงงขำดทุ ส่ วนได้ เสี ย ้่อนส่ซึว่ งนแบ่ กำรเปลี ่ ยนแปลงภำยหลั กำรได้ ำนงต้ งนกัสุเบสีทยรำคำตำมบั ของเงินลงทุ ส่ซึว่ ง่มนแบ่ งงขำดทุ นรของ ระยะยำวใดๆซึ ่ งโดยเนื องหำแล้ เป็งบกล่ นส่ นหนึ ของเงิ ลงทุ ธิ ของกลุ่ม่มกิญกิจกำรในบริ จชีกำรในบริ ษทั นร่ วเมืม้่อนกลุ กิ จกำรจะไม่ ั บ รู้ กลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ ว้้ มมี มูลค่ววำเท่มถืถืำดั ำออกัเป็ หรืำอวววข้ เกิ กว่่่ งงนของเงิ ำมูจะปรั ลค่ำนนส่บลงทุ วปรุ นได้ ส่ วนได้ ่มรวมถึ ระยะยำวใดๆซึ ่ งโดยเนื อ หำแล้ นส่ นหนึ นสุ ทธิของกลุ ของกลุ่มกิ จกำรในบริษทัษร่ทั วร่มนั วม กลุ กิ จกำรจะไม่ รเั บสี รูย้ ่มกิจกำรในบริ ค่ำกเท่ลุำ่มกักิบจหรื อวเกิ กว่่ งของเงิ ำมูกพัลค่นำในหนี วนได้ ม่มกิกิจกำรในบริ ร่ทั วร่มนั ซึ่ ง่มรวมถึ ้ นกลุ ส่กลุวนแบ่ งขำดทุนอีษกทั ต่อร่ วไป เว้มนูลแต่ กำรมี ภนำระผู ทั ร่ ว่มหรื อรับว่ำจะจ่ษำทัษยหนี ษทั ร่ วงมส่ วนได้รเั บสี รูย้ ้ ของบริ ้ แทนบริ อ หำแล้ นหนึ นส่ลงทุ สุเสีทยธิของกลุ ขษษองกลุ ้ มมี ส่ระยะยำวใดๆซึ วนแบ่งขำดทุน่ งอีโดยเนื กต่อไป เว้นแต่วกถืลุอ่มเป็กิจนส่ กำรมี ภำระผู กพันในหนี ทั ร่ วมหรื อจรักำรในบริ บว่ำจะจ่ำยหนี ษกิทั จร่กำรจะไม่ วม ้ ขนองบริ ้ วแมทนบริ ่มกิอจกำรในบริ วนหนึ ่ งของเงิ น ลงทุ้ ขนองบริ สุ ทธิ ขษองกลุ ทั ร่้ วแมทนบริ กลุ่มษกิทั จร่กำรจะไม่ รับ รู้ ้ อ หำแล้ ส่ระยะยำวใดๆซึ วนแบ่งขำดทุน่ งอีโดยเนื กต่อไป เว้นแต่วกถืลุอ่มเป็กิจนส่ กำรมี ภำระผู กพันในหนี ทั ร่ วมหรื รับว่ำจะจ่ำษยหนี วม 26 ºÃÔ É · Ñ ¹ํ Ò ้ µÒÅºØ Ã Ã Õ Á Ñ Â ¨ํ Ò ¡Ñ ´ (ÁËÒª¹) 309 26 ส่ วนแบ่งขำดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มกิจกำรมีภำระผูกพันในหนี้ของบริ ษทั ร่ วมหรื อรับว่ำจะจ่ำยหนี้แทนบริ ษทั ร่ วม 26
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.3
บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม (ต่อ) (5) กำรบันทึกเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ย (ต่อ) กลุ่มกิจกำรมีกำรพิจำรณำทุกสิ้ นรอบระยะเวลำบัญชีวำ่ มีขอ้ บ่งชี้ที่แสดงว่ำเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมเกิดกำรด้อยค่ำหรื อไม่ หำกมี ข้อบ่งชี้เกิดขึ้นกลุ่มกิจกำรจะคำนวณผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ โดยเปรี ยบเทียบมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนกับมูลค่ำตำมบัญชี ของเงินลงทุน และรับรู้ผลต่ำงไปที่ส่วนแบ่งกำไร (ขำดทุน) ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกำไรขำดทุน รำยกำรกำไรที่ยงั ไม่ได้เกิดขึ้นจริ งระหว่ำงกลุ่มกิจกำรกับบริ ษทั ร่ วมจะตัดบัญชีตำมสัดส่ วนเท่ำที่กลุ่มกิจกำรมีส่วนได้เสี ยใน บริ ษทั ร่ วมนั้น รำยกำรขำดทุนที่ยงั ไม่ได้เกิดขึ้นจริ งก็จะตัดบัญชีในทำนองเดียวกัน เว้นแต่รำยกำรนั้นมีหลักฐำนว่ำสิ นทรัพย์ ที่โอนระหว่ำงกันเกิ ดกำรด้อยค่ำ บริ ษทั ร่ วมจะเปลี่ยนนโยบำยกำรบัญชีเท่ำที่จำเป็ นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชี ของกลุ่มกิจกำร กำไรและขำดทุนจำกกำรลดสัดส่ วนในบริ ษทั ร่ วมจะรับรู้ในกำไรหรื อขำดทุน (6) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม จะบันทึกบัญชี ดว้ ยรำคำทุนหักค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ต้นทุนจะมีกำรปรับเพื่อสะท้อนกำรเปลี่ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่เกิดขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำของสิ่ งตอบแทนที่คำดว่ำต้อง จ่ำย ต้นทุนจะรวมต้นทุนทำงตรงที่เกี่ยวข้องจำกกำรได้มำของเงินลงทุนนี้
2.4
กำรแปลงค่ ำเงินตรำต่ ำงประเทศ (ก)
สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำนและสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบกำรเงิน รำยกำรที่รวมในงบกำรเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มกิจกำรถูกวัดมูลค่ำโดยใช้สกุลเงินของสภำพแวดล้อมทำงเศรษฐกิจหลัก ที่บ ริ ษ ัท ดำเนิ น งำนอยู่ (สกุล เงิ น ที่ ใช้ในกำรดำเนิ น งำน) งบกำรเงิ น แสดงในสกุล เงิ น บำท ซึ่ งเป็ นสกุล เงิ น ที่ ใช้ในกำร ดำเนินงำนและสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบกำรเงินของบริ ษทั
(ข)
รำยกำรและยอดคงเหลือ รำยกำรที่ เป็ นสกุลเงินตรำต่ำ งประเทศแปลงค่ำเป็ นสกุลเงินที่ ใช้ในกำรดำเนิ นงำนโดยใช้อตั รำแลกเปลี่ ยน ณ วัน ที่เกิ ด รำยกำรหรื อวันที่ตีรำคำหำกรำยกำรนั้นถูกวัดมูลค่ำใหม่ รำยกำรกำไรและรำยกำรขำดทุนที่เกิดจำกกำรรับหรื อจ่ำยชำระที่ เป็ นเงินตรำต่ำงประเทศ และที่เกิดจำกกำรแปลงค่ำสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เป็ นตัวเงินซึ่ งเป็ นเงินตรำต่ำงประเทศด้วยอัตรำ แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นปี ได้บนั ทึกไว้ในกำไรหรื อขำดทุน เมื่อมีกำรรับรู้รำยกำรกำไรหรื อขำดทุนของรำยกำรที่ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในรำยกำรกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น องค์ประกอบของ อัตรำแลกเปลี่ ยนทั้งหมดของกำไรหรื อ ขำดทุ น นั้นจะรั บ รู้ ไว้ในรำยกำรกำไรขำดทุ น เบ็ดเสร็ จอื่ น ด้วย ในทำงตรงข้ำ ม กำรรับรู้กำไรหรื อขำดทุนของรำยกำรที่ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกำไรหรื อขำดทุน องค์ประกอบของอัตรำแลกเปลี่ยนทั้งหมดของ กำไรหรื อขำดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในกำไรขำดทุนด้วย
310
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.5
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด ในงบกระแสเงิ นสด เงินสดและรำยกำรเที ยบเท่ำ เงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำ ยคืนเมื่อทวงถำม และ เงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภำพคล่องสู งซึ่ งมีอำยุไม่เกินสำมเดือนนับจำกวันที่ได้มำ และเงินเบิกเกิ นบัญชีจะแสดงไว้ในส่ วนของ หนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐำนะกำรเงิน
2.6
ลูกหนี้กำรค้ ำและลูกหนี้ชำวไร่ ลูกหนี้ กำรค้ำรั บรู้เริ่ มแรกด้วยมูลค่ำตำมใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่ำต่อมำด้วยจำนวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งประมำณจำกกำรสอบทำนยอดคงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ค่ ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญหมำยถึงผลต่ ำงระหว่ำงรำคำตำมบัญชี ของลูกหนี้ กำรค้ำ เปรี ยบเทียบกับมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับจำกลูกหนี้ กำรค้ำ หนี้ สูญที่เกิ ดขึ้นจะรับรู้ไว้ในกำไรหรื อขำดทุนโดยถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของ ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร ลูกหนี้ ชำวไร่ แสดงตำมมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับ กลุ่มกิ จกำรมีนโยบำยในกำรตั้งค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญโดยพิจำรณำจำกระยะเวลำที่ ค้ำงชำระหนี้ของลูกหนี้ ประวัติกำรชำระหนี้ หลักประกัน และกำรคำดกำรณ์เกี่ยวกับกำรรับชำระหนี้ในอนำคตของลูกหนี้แต่ละรำย โดยกลุ่มกิจกำรจะตั้งค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญเต็มจำนวน (หลังหักมูลค่ำประเมินของหลักประกันของลูกหนี้ ) ลูกหนี้ จะถูกตัดจำหน่ ำย ออกจำกบัญชีเมื่อทรำบว่ำเป็ นหนี้สูญ
2.7
สิ นค้ ำคงเหลือ สิ นค้ำคงเหลือแสดงด้วยรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ รำคำทุนของสิ นค้ำคำนวณโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ ำหนัก ต้นทุนของกำรซื้ อประกอบด้วยรำคำซื้ อ และค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับกำรซื้ อสิ นค้ำนั้น เช่ น ค่ำอำกรขำเข้ำและค่ำขนส่ ง หักด้วยส่ วนลดที่เกี่ ยวข้องทั้งหมด ส่ วนยอมให้หรื อเงินที่ได้รับคืน ต้นทุนของสิ นค้ำสำเร็ จรู ปและงำนระหว่ำงทำประกอบด้วย ค่ำวัตถุดิบ ค่ำแรงทำงตรง ค่ำใช้จ่ำยอื่นทำงตรง และค่ำโสหุ ้ยในกำรผลิต ซึ่ งเป็ นส่ วนตำมเกณฑ์กำรดำเนิ นงำนตำมปกติ แต่ไม่รวม ต้นทุนกำรกูย้ มื มูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับประมำณจำกรำคำปกติที่คำดว่ำจะขำยได้ตำมปกติธุรกิ จหักด้วยค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ นเพื่อให้สินค้ำนั้นสำเร็ จรู ป รวมถึงค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย กลุ่มกิจกำรบันทึกบัญชีค่ำเผือ่ กำรลดมูลค่ำสำหรับสิ นค้ำเก่ำ ล้ำสมัย หรื อเสื่ อมคุณภำพตำมควำมจำเป็ น
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
311
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.8
เงินลงทุนอืน่ กลุ่มกิจกำรจัดประเภทเงินลงทุนที่นอกเหนือจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เป็ น 2 ประเภท คือ 1. เงินลงทุนเผื่อขำย และ 2. เงินลงทุนทัว่ ไป กำรจัดประเภทขึ้นอยู่กบั จุดมุ่งหมำยขณะลงทุน ฝ่ ำยบริ หำรจะเป็ นผูก้ ำหนดกำรจัดประเภทที่เหมำะสมสำหรับเงินลงทุน ณ เวลำลงทุน และทบทวนกำรจัดประเภทอย่ำงสม่ำเสมอ (1)
เงินลงทุนเผื่อขำย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลำและอำจขำยเพื่อเสริ มสภำพคล่องหรื อเมื่ออัตรำดอกเบี้ ย เปลี่ ยนแปลง ได้แ สดงรวมไว้ในสิ นทรั พย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่ กรณี ที่ ฝ่ำยบริ หำรแสดงเจตจำนงที่จะถือ ไว้ในช่ วงเวลำ น้อยกว่ำ 12 เดือนนับแต่วนั สิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ก็จะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน หรื อเว้นแต่กรณี ที่ฝ่ำยบริ หำร มีควำมจำเป็ นที่ตอ้ งขำยเพื่อเพิ่มเงินทุนดำเนินงำนจึงจะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน
(2)
เงินลงทุนทัว่ ไป คือ เงินลงทุนในตรำสำรทุนที่ไม่มีตลำดซื้อขำยคล่องรองรับ
เงินลงทุนทั้ง 2 ประเภทรับรู้มลู ค่ำเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน ซึ่งหมำยถึงมูลค่ำยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มำซึ่ งเงินลงทุน นั้นรวมทั้งค่ำใช้จ่ำยในกำรทำรำยกำร เงินลงทุนเผื่อขำยวัดมูลค่ำในเวลำต่อมำด้วยมูลค่ำยุติธรรม มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนวัดตำมรำคำเสนอซื้ อที่อำ้ งอิงจำกตลำด หลักทรั พย์แ ห่ งประเทศไทย ณ วัน ท ำกำรสุ ดท้ำ ยของวัน สิ้ น รอบระยะเวลำรำยงำน โดยอ้ำ งอิ งรำคำเสนอซื้ อ ล่ ำ สุ ดจำกตลำด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รำยกำรกำไรและขำดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งของเงินลงทุนเผือ่ ขำยรับรู้ในส่ วนของกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น เงินลงทุนทัว่ ไปแสดงด้วยรำคำทุนหักค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) กลุ่มกิจกำรจะทดสอบค่ำเผือ่ กำรลดลงของมูลค่ำของเงินลงทุนเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ว่ำเงินลงทุนนั้นอำจมีกำรด้อยค่ำเกิดขึ้น หำกรำคำตำม บัญชีของเงินลงทุนสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน กลุ่มกิจกำรจะบันทึกรำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำรวมไว้ในงบกำไรขำดทุน ในกำรจำหน่ำยเงินลงทุน ผลต่ำงระหว่ำงมูลค่ำยุติธรรมของผลตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจำกกำรจำหน่ ำยเมื่อเปรี ยบเทียบกับรำคำตำม บัญชีของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในกำไรหรื อขำดทุน กรณี ที่จำหน่ ำยเงินลงทุนที่ถือไว้ในตรำสำรหนี้ หรื อตรำสำรทุนชนิ ด เดียวกันออกไปบำงส่ วน รำคำตำมบัญชี ของเงินลงทุนที่จำหน่ ำยจะกำหนดโดยใช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักของรำคำตำมบัญชี จำก จำนวนทั้งหมดที่ถือไว้
312
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริ บริษษัทัท นน้ำ้ำตำลบุ ตำลบุรรีีรรััมมย์ย์ จจำกั ำกัดด (มหำชน) (มหำชน) บริ ษ ท ั น ำ ้ ตำลบุ ร ี ร ั ม ย์ จ ำกั ด หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน(มหำชน) รวมและงบกำรเงินนเฉพำะกิ เฉพำะกิจจกำร กำร บริ ษ ท ั น ำ ้ ตำลบุ ร ี ร ั ม ย์ จ ำกั ด (มหำชน) หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จ กำร สสำหรั บ ปี สิ ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วำคม พ.ศ. 2561 ำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร ส2 ำหรับปีนโยบำยกำรบั สิ้นสุ ดวันที่ 31 ชีธัน(ต่วำคม พ.ศ. 2561 2 นโยบำยกำรบัญ ญชี (ต่ออ)) 2 นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 2.9 นน 22.9 อสั นโยบำยกำรบั อ) อสั งงหำริ หำริมมทรั ทรัพพญย์ย์ชีเเพืพื(ต่ออ่่ กำรลงทุ กำรลงทุ 2.9 อสั งหำริมทรัพย์ เพือ่ กำรลงทุน ทรั ครองโดยกลุ 2.9 อสั น ่่มมกิกิจจกำรเพื อสังงหำริ หำริมมทรั ทรัพพพย์ย์ย์เททพืี่ี่ถถอ่ ืืออกำรลงทุ ครองโดยกลุ กำรเพื่่ออหำประโยชน์ หำประโยชน์จจำกรำยได้ ำกรำยได้คค่่ำำเช่ เช่ำำ หรื หรื ออจำกกำรเพิ จำกกำรเพิ่่มมขึขึ้้ นนของมู ของมูลลค่ค่ำำของสิ ของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์หหรืรื ออทัทั้้ งง สองอย่ ว้ว้ใใช้ช้งงำนโดยกิ กิกิจจกำร ดดประเภทเป็ มมทรั งงหำริ อสังหำริำำงงมและไม่ ทรัพย์ทไได้ด้ี่ถมมือีไีไครองโดยกลุ จกำรเพื่อ่่มมหำประโยชน์ ค่ำเช่นน ำอสั อจำกกำรเพิ นของมูลนนค่รวมถึ ำของสิงงอสั นทรั พย์มมหทรั รื อพพทั้ย์ย์ง สองอย่ และไม่ ำนโดยกิ่มจจกิกำรในกลุ กำรในกลุ กำร จะถู จะถูกกจจัจัำกรำยได้ ประเภทเป็ อสัหรืงงหำริ หำริ ทรัพพย์ย์เเพืพื่ม่อ่อขึ้กำรลงทุ กำรลงทุ รวมถึ อสั หำริ ทรั ่มจกิกำรในกลุ อสั พย์ทได้ี่ถำงหรื จกำรเพื ่อ่มหำประโยชน์ จจัำกรำยได้ ค่ำเช่น ำอสัหรืงหำริ อจำกกำรเพิ นของมูลนค่รวมถึ ำของสิงอสั นทรั พย์มหทรั รื อพทั้ย์ง ทีที่่ออยูยูงหำริ รร่่ ะหว่ ำำทรั งก่ นำเพื หำริ ทรักำร กำรลงทุ ในอนำคต สองอย่ ำงมและไม่ มือีไครองโดยกลุ ว้ใออช้พั กิมมจทรั ดประเภทเป็ มทรัพย์เพื่ม่อขึ้กำรลงทุ งหำริ พพย์ย์จะถู เเพืพื่อ่อกกำรลงทุ นนในอนำคต ะหว่ งก่ออสร้ สร้ำงหรื พังฒ ฒำนโดยกิ นำเพื่อ่อเป็ เป็ นนอสั อสังงหำริ สองอย่ ำง และไม่ มีไว้ใอช้พังฒำนโดยกิ จัดประเภทเป็ น อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน รวมถึงอสังหำริ มทรัพย์ ที่อยูร่ ะหว่ ำงก่อสร้ได้ำงหรื นำเพื่อเป็จกำรในกลุ นอสังหำริ่มกิมจทรักำร พย์จะถู เพื่อกกำรลงทุ นในอนำคต อสั เเพืพืำ่อ่องหรื กำรลงทุ รัรับบรูรู่อ้้รรำยกำรเมื เริเริ่่ มมมแรกด้ ีีรรำคำทุ งงต้ต้นนทุทุนนในกำรท ที่องงยูหำริ ร่ ะหว่มมทรั ำงก่พพอย์ย์สร้ อพัฒนนนำเพื เป็ นอสัง่อ่อหำริ ทรัพย์ววเยวิ พื่อธธกำรลงทุ ในอนำคต อสั หำริ ทรั กำรลงทุ ำยกำรเมื แรกด้ ยวิ ำคำทุนนนรวมถึ รวมถึ ในกำรทำรำยกำร ำรำยกำร อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนรับรู้รำยกำรเมื่อเริ่ มแรกด้วยวิธีรำคำทุน รวมถึงต้นทุนในกำรทำรำยกำร กำรรวมรำยจ่ งงเข้ เป็บรูนมู นมู ญ่อชีชีเริขข่ มองสิ องสิ ทรั ะกระท ำก็ เมืงต้่่ออนมีมีทุคคนวำมเป็ วำมเป็ นไปได้ นข้ำำงแน่ งแน่ ทที่ี่กกลุลุ่่มมกิกิจจกำรจะได้ กำรจะได้รรัั บบ อสั งหำริ มทรัพำำยในภำยหลั ย์เพื่อกำรลงทุ ้รำยกำรเมื แรกด้ วยวิพพธย์ย์ีจจระกระท ำคำทุน ำก็ รวมถึ ในกำรท ำรำยกำร กำรรวมรำยจ่ ยในภำยหลั เข้นำำรัเป็ ลลค่ค่ำำบับัญ นนทรั ตต่่ออเมื นไปได้ คค่่ออนข้ ประโยชน์ เศรษฐกิ ในอนำคตในรำยจ่ ยนั และต้ สำมำรถวั ได้่อมีออคย่ย่ำำวำมเป็ งน่ ำำเชื เชืนไปได้ มแซมและบ ำรุ ษำทั้งงหมด หมด กำรรวมรำยจ่ ยในภำยหลั งเข้ำเป็ นมูลค่ำบัำำยนั ญชี้้ นนขและต้ องสิ นนนทรัทุทุนนพสำมำรถวั ย์จะกระทดดำก็มูมูลลตค่ค่่อำำเมืได้ ำงแน่ ที่กลุ่ำรุ มกิงงจรัรักำรจะได้ ประโยชน์ เเชิชิงงำเศรษฐกิ จจในอนำคตในรำยจ่ งน่ ่่ออถืถืออ ค่ค่ำำคซ่ซ่่อออนข้ มแซมและบ กกษำทั ้ รับ กำรรวมรำยจ่ ำใช้ยในภำยหลั ลำรเปลี ค่ำบัำยนั ญ่ยชี้ นนแทนชิ ขและต้ องสิ นน้นทรัทุส่นพวนของอสั ย์จะกระทงดหำริ ำก็มูลตมค่่อทรั ำงแน่ตำมบั ที่กลุญ่ำรุ มกิจกำรจะได้ รับ จะรั ยเมืจ่อ่อในอนำคตในรำยจ่ เกิดดงขึขึเข้้้ นนำเป็เมื เมืนมู กำรลงทุ จะตั องส่ นที ประโยชน์ สำมำรถวั ำเมืได้่อพพมีอย์ย์คย่เเพืพืำวำมเป็ งน่ ำเชืนไปได้ ่อถือนนค่จะตั ำคซ่่ออนข้ กษำทัววนที ้ งหมด งหำริ มทรั ่อ่อกำรลงทุ ดดมแซมและบ มูมูลลค่ค่ำำตำมบั ญชีชีงขขรัองส่ ่่ถถููกก จะรั บบรูรู้้เเป็ป็ นนเชิค่ค่งำำเศรษฐกิ ใช้จจ่่ำำยเมื เกิ ่อ่อมีมีกกำรเปลี ่ยนแทนชิ ้นส่ วนของอสั ประโยชน์ ำยนั่ย้ นนแทนชิ และต้น้นทุส่นวนของอสั สำมำรถวังดหำริ มูลมค่ทรั ำได้พอย์ย่เพืำงน่ ำเชื่อถือนค่จะตั ำซ่ อดมแซมและบ กษำทัวนที ้ งหมด เปลี่่ยยบนแทนออก นแทนออก จะรั รู้เป็ นเชิค่งำเศรษฐกิ ใช้จ่ำยเมืจ่อในอนำคตในรำยจ่ เกิดขึ้น เมื่อมีกำรเปลี ่อกำรลงทุ มูลค่ำตำมบัญำรุชีงขรัองส่ ่ ถู ก เปลี จะรั รู้เป็ นค่ำใช้จ่ำยเมื่อเกิดขึ้น เมื่อมีกำรเปลี่ยนแทนชิ้นส่ วนของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน จะตัดมูลค่ำตำมบัญชีของส่ วนที่ถูก เปลี่ยบนแทนออก หลั บบรูรู้้เเมืมื่อ่อเริเริ่่ มมแรก เปลี นแทนออก หลังง่ยจำกกำรรั จำกกำรรั แรก อสั อสังงหำริ หำริ มมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่อ่อกำรลงทุ กำรลงทุนนจะบั จะบันนทึทึกกด้ด้ววยวิ ยวิธธีีรรำคำทุ ำคำทุนน หัหักก ค่ค่ำำเสื เสื่่ ออมรำคำสะสม มรำคำสะสม และค่ และค่ำำเผื เผื่่ออผลขำดทุ ผลขำดทุนน จำกกำรด้ ออยค่ หลั งจำกกำรรั จำกกำรด้ ยค่บำำ รู้เมื่อเริ่ มแรก อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนจะบันทึกด้วยวิธีรำคำทุน หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม และค่ำเผื่อผลขำดทุน หลั งจำกกำรรั จำกกำรด้ อยค่บำ รู้เมื่อเริ่ มแรก อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนจะบันทึกด้วยวิธีรำคำทุน หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม และค่ำเผื่อผลขำดทุน ทีทีจำกกำรด้ ่่ดดิินนไม่ ำรหั ไม่มมอีกีกยค่ ำรหัำ กกค่ค่ำำเสื เสื่่ ออมรำคำ มรำคำ ค่ค่ำำเสื เสื่่ ออมรำคำของอสั มรำคำของอสังงหำริ หำริ มมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่่ออกำรลงทุ กำรลงทุนนอือื่่นน ๆๆ จะค จะคำนวณตำมวิ ำนวณตำมวิธธีี เเส้ส้นนตรง ตรง เพื เพื่่ออทีที่่ปปัั นนส่ส่ ววนรำคำ นรำคำ ทุทุที่นนดินตลอดประมำณกำรอำยุ ก ำรให้ ป ระโยชน์ ไม่ ม ก ี ำรหั ก ค่ ำ เสื ่ อ มรำคำ ค่ ำ เสื ่ อ มรำคำของอสั ง หำริ ม ทรั พ ย์ เ พื ่ อ กำรลงทุ น อื ่ น ๆ จะค ำนวณตำมวิ ธ ี เ ส้ น ตรง เพื ่ อ ที ่ ป ั น ส่ ว นรำคำ ตลอดประมำณกำรอำยุกำรให้ประโยชน์ ไม่มีกำรหักค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำเสืประโยชน์ ่ อมรำคำของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนอื่น ๆ จะคำนวณตำมวิธีเส้นตรง เพื่อที่ปันส่ วนรำคำ ทุที่นดินตลอดประมำณกำรอำยุ กำรให้ 2.10 อำคำรและอุ 2.10 ทุทีที่ด่ดนนนิิ ตลอดประมำณกำรอำยุ อำคำรและอุปปกรณ์ กรณ์ กำรให้ประโยชน์ 2.10 ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ กรณ์ และต่ออมำแสดงด้ มำแสดงด้ววยรำคำทุ ยรำคำทุนนหัหักกค่ค่ำำเสื เสื่่ ออมรำคำสะสม มรำคำสะสม และค่ และค่ำำเผื เผืออ่่ กำรด้ กำรด้ออยค่ ยค่ำำ ต้ต้นนทุทุนน 2.10 ทีที่ด่ดิินน อำคำรและอุ อำคำรและอุปปกรณ์ กรณ์รรัับบรูรู้้เเริริ่่ มมแรกด้ แรกด้ววยรำคำทุ ยรำคำทุนน และต่ แรกจะรวมต้ ทำงตรงอื ๆที่่เเกีกีว่่ยยยรำคำทุ วข้อองกั งกับบนกำรซื กำรซื ทรัพพย์ย์นน้ นนัั วยรำคำทุนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสม และค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ ต้นทุน อำคำรและอุนนปทุทุกรณ์ รับรู้เริ ม่่นนแรกด้ และต่ เริทีเริ่ด่ มมินแรกจะรวมต้ นนทำงตรงอื ๆที วข้ ทรั ้้ ออสิสิอนนมำแสดงด้ ้ ทีเริ่ด่ มินแรกจะรวมต้ อำคำรและอุนปทุกรณ์ รับรู้เริ่ ม่นแรกด้ และต่ ๆที่เกี่วยยรำคำทุ วข้องกับนกำรซื ทรัพย์น้ นั วยรำคำทุนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสม และค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ ต้นทุน นทำงตรงอื ้ อสิอนมำแสดงด้ ต้ต้เรินน่ มทุทุแรกจะรวมต้ นนทีที่่เเกิกิดดขึขึ้้ นนภำยหลั งงจะรวมอยู นมู ำำตำมบั ชีชีขของสิ องกัญ นทุนทำงตรงอื ภำยหลั จะรวมอยู่นใใ่่ ๆที นมู่เกีลล่ยค่ค่วข้ ตำมบั ญบกำรซื องสิ้ อสินนนทรั ทรัทรัพพพย์ย์หหย์นรืรื ้ออนั รัรับบรูรู้้แแยกเป็ ยกเป็ นอี นอีกกสิสิ นนทรั ทรัพพย์ย์หหนึนึ่่ งงตำมควำมเหมำะสมเมื ตำมควำมเหมำะสมเมื่่ออต้ต้นนทุทุนนนันั้้ นน ำำจะให้ ปประโยชน์ เเชิชิงงลเศรษฐกิ ในอนำคตแก่ ำำวสำมำรถวั ดดมูมูลลค่ค่ำำได้ ต้เกิ ่เกิดขึ้นภำยหลั ค่ำตำมบัจจญ ชีของสิ นทรักกพลุลุย์่่มมหกิกิรืจจอกำรและต้ รับรู้แยกเป็นนทุทุนอีนนกดัดัสิงงกล่ นทรั พย์หนึ่ งตำมควำมเหมำะสมเมื ่อต้่่ออนถืถืทุออนและ นั้น เกินดดทุขึขึน้้ นทีและคำดว่ และคำดว่ จะให้งจะรวมอยู ระโยชน์ใ่ นมู เศรษฐกิ ในอนำคตแก่ กำรและต้ กล่ วสำมำรถวั ได้ออย่ย่ำำงน่ งน่ ำำเชื เชื และ ่ ต้เกิ น ทุ น ที ่ เ กิ ด ขึ น ภำยหลั ง จะรวมอยู ใ นมู ล ค่ ำ ตำมบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ ห รื อ รั บ รู ้ แ ยกเป็ นอี ก สิ น ทรั พ ย์ ห นึ ่ ง ตำมควำมเหมำะสมเมื ่ อ ต้ น ทุ น นั่ถ้ นูก ้ จะมี ดดรำยกำรชิ นส่ วนที นที่่ถถููกกเปลี เปลี นแทนออกด้ ยมูลลค่ค่กำำตำมบั ตำมบั ญชีชีคคงเหลื งเหลืนออทุของชิ ของชิ นส่ ววนนั นนั้นน มูมูลลค่ค่ดำำมูตำมบั ตำมบั ญอชีชีย่ขขำองชิ องชิ นส่ วนที ดขึกก้ นำรตั และคำดว่ ำจะให้ เชิงเศรษฐกิ จในอนำคตแก่ ลุ่มกิจกำรและต้ นดังกล่ ลค่ำได้ญ งน่ ำเชื อ และ จะมี ำรตั รำยกำรชิ ่่ยยนแทนออกด้ ววยมู ญ ่ ถู ก ้้นส่ปวระโยชน์ ้้นส่ำวสำมำรถวั ้ ้้นส่่อวถืนที ่ เกิ ดขึ่ยก้ นนแทนที และคำดว่ ำจะให้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง เศรษฐกิ จ ในอนำคตแก่ ก ลุ ม กิ จ กำรและต้ น ทุ น ดั ง กล่ ำ วสำมำรถวั ด มู ล ค่ ำ ได้ อ ย่ ำ งน่ ำ เชื ่ อ ถื อ และ ่ ่ เปลี ่ จ ะถู ก ตั ด รำยกำรออกส ำหรั บ ค่ ำ ซ่ อ มแซมและบ ำรุ ง รั ก ษำอื ่ น ๆ กลุ ม กิ จ กำรจะรั บ รู ้ ต น ้ ทุ น ดั ง กล่ ำ วเป็ นค่ ำ ใช้ จ ำ ยในก ำไร จะมี ำรตั ด รำยกำรชิ น ส่ ว นที ่ ถ ู ก เปลี ่ ย นแทนออกด้ ว ยมู ล ค่ ำ ตำมบั ญ ชี ค งเหลื อ ของชิ น ส่ ว นนั น มู ล ค่ ำ ตำมบั ญ ชี ข องชิ น ส่ ว นที ่ ถู ก ้ บรู้ต้ น้ ทุนดังกล่ำวเป็ นค่ำใช้จ้ ่ำยในกำไร เปลี่ยนแทนที่จะถูกตัด้ รำยกำรออกสำหรับค่ำซ่อมแซมและบำรุ งรักษำอื่นๆ กลุ่มกิจกำรจะรั จะมี ำรตัดนรำยกำรชิ ้ นส่ วนที่ถูก เปลี่ยนแทนออกด้วยมูลค่ำ ตำมบัญชี คงเหลื อของชิ้นส่ วนนั้น มูล ค่ำตำมบัญชี ของชิ้นส่ วนที่ถูก หรื เกิ เปลีออ่ยกขำดทุ นแทนที หรื ขำดทุ นเมื เมื่จ่อ่อะถู เกิกดดตัขึขึด้้ นนรำยกำรออกสำหรับค่ำซ่อมแซมและบำรุ งรักษำอื่นๆ กลุ่มกิจกำรจะรับรู้ตน้ ทุนดังกล่ำวเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำไร เปลี นแทนที หรื อ่ยขำดทุ นเมื่จ่อะถูเกิกดตัขึด้ นรำยกำรออกสำหรับค่ำซ่อมแซมและบำรุ งรักษำอื่นๆ กลุ่มกิจกำรจะรับรู้ตน้ ทุนดังกล่ำวเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำไร ทีที่่ดดอิินนขำดทุ ไม่ หรื เกิ่่ ดออขึมรำคำ ้ น ค่ค่ำำเสื ไม่มมีีคคนิิดดเมืค่ค่่อำำเสื เสื มรำคำ เสื่่ ออมรำคำของสิ มรำคำของสิ นนทรั ทรั พพย์ย์ออื่ื่นนคคำนวณด้ ำนวณด้ววยวิ ยวิธธีี เเส้ส้นนตรงเพื ตรงเพื่่ออลดรำคำทุ ลดรำคำทุนนตลอดอำยุ ตลอดอำยุกกำรให้ ำรให้ปประโยชน์ ระโยชน์ทที่ี่ ไได้ด้ ขของสิ นนทรั ะชนิ ทีประมำณกำรไว้ ่ดินไม่มีคิดค่ำเสื ่ อมรำคำ นทรั้้ พย์อื่นคำนวณด้วยวิธีเส้นตรงเพื่อลดรำคำทุนตลอดอำยุกำรให้ประโยชน์ที่ ได้ ประมำณกำรไว้ องสิ ทรัพพค่ย์ย์ำแแเสืต่ต่่ อลลมรำคำของสิ ะชนิดด ดัดังงต่ต่ออไปนี ไปนี ทีประมำณกำรไว้ ่ดินไม่มีคิดค่ำเสื ่ อมรำคำ นทรั้ พย์อื่นคำนวณด้วยวิธีเส้นตรงเพื่อลดรำคำทุนตลอดอำยุกำรให้ประโยชน์ที่ ได้ ของสิ นทรัพค่ย์ำแเสืต่่ อลมรำคำของสิ ะชนิด ดังต่อไปนี ส่ส่ประมำณกำรไว้ ววนปรั 10 นปรับบปรุ ปรุ งงทีที่่ดดขิินนองสิ นทรัพย์แต่ละชนิด ดังต่อไปนี้ 10 -- 30 30 ปีปี อำคำรและส่ ส่อำคำรและส่ วนปรับปรุ ววงทีนปรั ่ดินบบปรุ 1022 -- 40 30 นปรั ปรุ งงอำคำร อำคำร 40 ปีปี ส่อำคำรและส่ วนปรักบรและอุ ปรุ วงทีนปรั ่ดปินกรณ์ 102 -- 30 ปี เครื 30 บปรุ งอำคำร เครื่่ อองจั งจักรและอุ ปกรณ์ 2 - 40 30 ปีปี อำคำรและส่ นปรัแบละเครื ปรุ งอำคำรอทำงกำรเกษตร 22 -- 40 ปี เครื อุอุปปวกรณ์ งจั 30 เครื่่ อองมื งมืกออรและอุ กรณ์ปกรณ์ และเครื่่ อองมื งมือทำงกำรเกษตร 2 - 10 10 ปีปี เครื ่ องจั กอรและอุ 232 -- 30 ปี เครื งตกแต่ ติติดดปตัตักรณ์ และเครื ่่ อองใช้ สสำนั อุปงงกรณ์ แ้้ งงละเครื อทำงกำรเกษตร 10 เครื่่ อองมื งตกแต่ และเครื่ องมื งใช้ ำนักกงำน งำน 3 - 20 20 ปีปี เครื ่่ อองมื อ อุปงกรณ์ อทำงกำรเกษตร 253 -- 10 ปี ยำนพำหนะ เครื งตกแต่ ติดตัแ้ งละเครื และเครื่ องมื ่ องใช้ สำนักงำน 20 ยำนพำหนะ 5 - 10 10 ปีปี เครื ่ องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่ องใช้สำนักงำน 35 -- 20 ยำนพำหนะ 10 ปีปี ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) 313 ยำนพำหนะ 5 - 10 ปี30 30 30
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.10 ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ (ต่อ) ทุกสิ้ น รอบระยะเวลำรำยงำน กลุ่ มกิ จกำรได้มีก ำรทบทวนและปรั บ ปรุ งมูลค่ ำคงเหลือ และอำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ น ทรั พย์ ให้เหมำะสม ในกรณี ที่มลู ค่ำตำมบัญชีสูงกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน มูลค่ำตำมบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ำกับมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนทันที ผลกำไรหรื อขำดทุนที่ เกิ ดจำกกำรจำหน่ ำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ คำนวณโดยเปรี ยบเทียบจำกสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจำก กำรจำหน่ำยสิ นทรัพย์กบั มูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์ และจะรับรู้บญั ชีผลกำไร (ขำดทุน) อื่นสุ ทธิในกำไรหรื อขำดทุน 2.11 สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน 2.11.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิ ทธิกำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซ้ือมำจะบันทึกเป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนโดยคำนวณจำกต้นทุนในกำรได้มำและกำรดำเนิ นกำร ให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ น้ ันสำมำรถน ำมำใช้งำนได้ตำมประสงค์ ค่ ำตัดจำหน่ ำยคำนวณโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอำยุกำรให้ ประโยชน์ในระยะเวลำ 5 ปี 2.11.2 สิ ทธิในกำรใช้ สำยส่ งไฟฟ้ ำ รำยจ่ ำ ยเพื่อ ให้ได้รับ สิ ท ธิ ในกำรใช้ส ำยส่ ง ไฟฟ้ ำ ได้บ ัน ทึ ก เป็ นสิ น ทรั พย์ไม่มีตัวตนและตัดจำหน่ ำ ยตลอดอำยุกำรให้ ประโยชน์เป็ นเวลำ 20 ปี 2.12
กำรด้อยค่ ำของสิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ที่มีอำยุกำรให้ประโยชน์ไม่ทรำบแน่ ชดั (เช่น เครื่ องหมำยกำรค้ำและใบอนุ ญำต) ซึ่ งไม่มีกำรตัดจำหน่ ำยจะถูกทดสอบ กำรด้อยค่ำเป็ นประจำทุกปี สิ นทรัพย์อื่นที่มีกำรตัดจำหน่ำยจะมีกำรทบทวนกำรด้อยค่ำ เมื่อมีเหตุกำรณ์หรื อสถำนกำรณ์บ่งชี้ว่ำรำคำ ตำมบัญชี อำจสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน รำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำจะรั บรู้ เมื่อรำคำตำมบัญชี ของสิ นทรั พย์สูงกว่ำมูลค่ำ ที่คำดว่ำจะได้รับคืน ซึ่ งหมำยถึงจำนวนที่สูงกว่ำระหว่ำงมูลค่ำยุติธรรมหักต้นทุนในกำรขำยเทียบกับมูลค่ำจำกกำรใช้ สิ นทรั พย์ จะถูกจัดเป็ นหน่ วยที่เล็กที่สุดที่สำมำรถแยกออกมำได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของกำรประเมินกำรด้อยค่ำ สิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่ สินทรั พย์ ทำงกำรเงินนอกเหนือจำกเครื่ องหมำยกำรค้ำและใบอนุญำตซึ่งรับรู้ รำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำไปแล้ว จะถูกประเมินควำมเป็ นไปได้ ที่จะกลับรำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ ณ ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน
314
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 31
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.13
สั ญญำเช่ ำระยะยำว - กรณีที่กลุ่มกิจกำรเป็ นผู้เช่ ำ สัญญำระยะยำวเพื่อเช่ ำสิ นทรั พย์ซ่ ึ งผูใ้ ห้เช่ ำเป็ นผูร้ ับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญำเช่ำนั้น ถือเป็ นสัญญำเช่ำดำเนินงำน เงินที่ตอ้ งจ่ำยภำยใต้สัญญำเช่ำดังกล่ำว (สุ ทธิ จำกสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจำกผูใ้ ห้เช่ำ) จะบันทึกในงบ กำไรหรื อขำดทุนโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอำยุของสัญญำเช่ำนั้น สัญญำเช่ำที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ซ่ ึงผูเ้ ช่ำเป็ นผูร้ ับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของเกือบทั้งหมดถือเป็ นสัญญำเช่ำ กำรเงิน ซึ่งจะบันทึกเป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่ำ หรื อมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ ของจำนวนเงินที่ตอ้ งจ่ำยตำม สัญญำเช่ำ แล้วแต่มลู ค่ำใดจะต่ำกว่ำ จำนวนเงินที่ตอ้ งจ่ำยดังกล่ำวจะปั นส่ วนระหว่ำงหนี้ สินและค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินเพื่อให้ได้อตั รำดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้ สินคงค้ำงอยู่ โดยพิจำรณำแยกแต่ละสัญญำ ภำระผูกพันตำมสัญญำเช่ำหักค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินจะบันทึกเป็ นหนี้ สินระยะยำว ส่ วนดอกเบี้ยจ่ำยจะ บันทึกในงบกำไรหรื อขำดทุนตลอดอำยุของสัญญำเช่ ำเพื่อทำให้อตั รำดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็ นอัตรำคงที่สำหรั บยอดคงเหลือของ หนี้สินทรัพย์ที่เหลืออยู่ สิ นทรัพย์ที่ได้มำตำมสัญญำเช่ำกำรเงินจะคิดค่ำเสื่ อมรำคำตลอดอำยุกำรใช้งำนของสิ นทรัพย์ที่เช่ำหรื ออำยุ ของสัญญำเช่ำ แล้วแต่ระยะเวลำใดจะน้อยกว่ำ
2.14 สั ญญำเช่ ำระยะยำว - กรณีที่กลุ่มกิจกำรเป็ นผู้ให้ เช่ ำ สิ นทรัพย์ที่ให้เช่ำตำมสัญญำเช่ำกำรเงินบันทึกเป็ นลูกหนี้สัญญำเช่ำทำงกำรเงินด้วยมูลค่ำปัจจุบนั ของจำนวนเงินที่จ่ำยตำมสัญญำเช่ำ ผลต่ำงระหว่ำงยอดรวมของลูกหนี้ เบื้องต้นกับมูลค่ำปั จจุบนั ของลูกหนี้ บนั ทึกเป็ นรำยได้ทำงกำรเงินค้ำงรับ รำยได้จำกสัญญำเช่ ำ ระยะยำวรับรู้ตลอดอำยุของสัญญำเช่ำโดยใช้วิธีเงินลงทุนสุ ทธิ ซ่ ึ งสะท้อนอัตรำผลตอบแทนคงที่ทุกงวด ต้นทุนทำงตรงเริ่ มแรกจะ รวมอยูใ่ นกำรวัดมูลค่ำลูกหนี้สัญญำเช่ำทำงกำรเงินเริ่ มแรกและจะทยอยรับรู้โดยลดจำกรำยได้ตลอดอำยุของสัญญำเช่ำ สิ นทรัพย์ที่ให้เช่ำตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำนรวมแสดงอยูใ่ นงบแสดงฐำนะกำรเงินในส่ วนที่ดิน อำคำร และอุปกรณ์ และตัดค่ำเสื่ อม รำคำตลอดอำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ดว้ ยเกณฑ์เดียวกันกับรำยกำรที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ของกลุ่มกิจกำรซึ่ งมีลกั ษณะ คล้ำยคลึงกัน รำยได้ค่ำเช่ำ (สุ ทธิจำกสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ำยให้แก่ผเู้ ช่ำ) รับรู้ดว้ ยวิธีเส้นตรงตลอดช่วงเวลำกำรให้เช่ำ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
315
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.15 เงินกู้ยืม เงินกูย้ มื และหุน้ กูร้ ับรู้เริ่ มแรกด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนกำรจัดทำรำยกำรที่เกิดขึ้น เงินกูย้ ืมและหุ ้นกู้ วัดมูลค่ำในเวลำต่อมำด้วยวิธีรำคำทุนตัดจำหน่ำยตำมวิธีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ผลต่ำงระหว่ำงเงิน (หักด้วยต้นทุนกำรจัดทำรำยกำร ที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่ำที่จ่ำยคืนเพื่อชำระหนี้น้ นั จะรับรู้ในงบกำไรขำดทุนตลอดช่วงเวลำกำรกูย้ มื ค่ำธรรมเนียมที่จ่ำยไปเพื่อให้ได้เงินกูม้ ำจะรับรู้เป็ นต้นทุนกำรจัดทำรำยกำรเงินกูใ้ นกรณี ที่มีควำมเป็ นไปได้ที่จะใช้วงเงินกูบ้ ำงส่ วน หรื อทั้งหมด ในกรณี น้ ี ค่ำธรรมเนี ยมจะรอกำรรั บรู้ จนกระทัง่ มีก ำรถอนเงิน หำกไม่มีหลักฐำนที่มีควำมเป็ นไปได้ที่จะใช้วงเงิ น บำงส่ วนหรื อทั้งหมด ค่ำธรรมเนียมจะรับรู้เป็ นค่ำใช้จ่ำยจ่ำยล่วงหน้ำสำหรับกำรให้บริ กำรสภำพคล่องและจะตัดจำหน่ ำยตำมระยะเวลำ ของวงเงินกูท้ ี่เกี่ยวข้อง เงินกูย้ มื จัดประเภทเป็ นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มกิจกำรไม่มีสิทธิ อนั ปรำศจำกเงื่อนไขให้เลื่อนชำระหนี้ ออกไปอีกเป็ นเวลำไม่น้อยกว่ำ 12 เดือน นับจำกวันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน 2.15.1 ต้ นทุนกำรกู้ยืม ต้นทุน กำรกู้ยืมที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับ กำรได้มำ กำรก่ อสร้ ำง หรื อกำรผลิตสิ นทรั พย์ที่เข้ำเงื่อ นไขต้องนำมำรวมเป็ น ส่ วนหนึ่งของรำคำทุนของสิ นทรัพย์น้ นั โดยสิ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขคือสิ นทรัพย์ที่จำเป็ นต้องใช้ระยะเวลำนำนในกำรเตรี ยม สิ นทรั พย์น้ นั ให้อยู่ในสภำพพร้อมที่จะใช้ได้ตำมประสงค์หรื อพร้ อมที่จะขำย กำรรวมต้นทุนกำรกู้ยืมเป็ นรำคำทุนของ สิ นทรัพย์ตอ้ งสิ้ นสุ ดลงเมื่อกำรดำเนินกำรส่ วนใหญ่ ที่จำเป็ นในกำรเตรี ยมสิ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขให้อยู่ในสภำพพร้อมที่จะ ใช้ได้ตำมประสงค์หรื อพร้อมที่จะขำยได้เสร็ จสิ้ นลง รำยได้จำกกำรลงทุนที่เกิดจำกกำรนำเงินกู้ยืมที่กมู้ ำโดยเฉพำะ ที่ยงั ไม่ได้นำไปเป็ นรำยจ่ำยของสิ นทรั พย์ที่เข้ำเงื่อนไขไป ลงทุนเป็ นกำรชัว่ ครำวก่อน ต้องนำมำหักจำกต้นทุนกำรกูย้ มื ที่สำมำรถตั้งขึ้นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนกำรกูย้ มื ประกอบด้วย
ดอกเบี้ยที่เกิดจำกเงินกูย้ มื ระยะยำว รวมทั้งภำษีที่เกี่ยวข้องที่ผกู้ ตู้ อ้ งรับภำระ จำนวนที่ตดั บัญชีรำยจ่ำยที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรกูย้ มื
ต้นทุนกำรกูย้ มื อื่นๆ ต้องถือเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงวดที่เกิดขึ้น
316
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.16 ภำษีเงินได้งวดปัจจุบันและภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้สำหรับงวดประกอบด้วย ภำษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ภำษีเงินได้จะรับรู้ในกำไรหรื อ ขำดทุน ยกเว้นส่ วนภำษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับรำยกำรที่รับรู้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อรำยกำรที่รับรู้โดยตรงไปยังส่ วนของ เจ้ำของ ในกรณี น้ ี ภำษีเงินได้ตอ้ งรับรู้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของเจ้ำของตำมลำดับ ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คำนวณจำกอัตรำภำษีตำมกฎหมำยภำษีที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่คำดได้ค่อนข้ำงแน่ ว่ำจะมีผลบังคับใช้ ภำยในสิ้ นรอบระยะเวลำที่รำยงำนในประเทศที่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยดำเนินงำนอยู่ และเกิดรำยได้เพื่อเสี ยภำษี ผูบ้ ริ หำรจะประเมิน สถำนะของกำรยื่นแบบแสดงรำยกำรภำษีเป็ นงวด ๆ ในกรณี ที่มีสถำนกำรณ์ที่กำรนำกฎหมำยภำษีไปปฏิบตั ิข้ ึนอยู่กับกำรตีควำม และจะตั้งประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยภำษีที่เหมำะสมจำกจำนวนที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยชำระภำษีแก่หน่วยงำนจัดเก็บ ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีต้ งั เต็มจำนวนตำมวิธีหนี้ สิน เมื่อเกิดผลต่ำงชัว่ ครำวระหว่ำงฐำนภำษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน และรำคำตำม บัญชีที่แสดงอยูใ่ นงบกำรเงิน อย่ำงไรก็ตำมกลุ่ มกิ จกำรจะไม่รับ รู้ ภ ำษีเงิ น ได้รอตัดบัญชี ที่เกิ ดจำกกำรรั บ รู้ เริ่ มแรกของรำยกำรสิ น ทรั พย์หรื อรำยกำรหนี้ สิ น ที่เกิ ดจำกรำยกำรที่ไม่ใช่ กำรรวมธุ รกิ จ และ ณ วันที่เกิดรำยกำร รำยกำรนั้นไม่มีผลกระทบต่อกำไรหรื อขำดทุนทั้งทำงบัญชี หรื อ ทำงภำษี ภำษี เงิ นได้รอตัดบัญชี คำนวณจำกอัตรำภำษี และกฎหมำยภำษี อ ำกรที่ มีผลบังคับ ใช้อ ยู่ หรื อ ที่ คำดได้ค่อ นข้ำ งแน่ ว่ำ จะมีผลบังคับใช้ภำยในสิ้ นรอบระยะเวลำที่รำยงำน และคำดว่ำอัตรำภำษีดงั กล่ำวจะนำไปใช้เมื่อสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีกำรจ่ำยชำระ สิ นทรั พย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรั บรู้ หำกมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ ว่ำกลุ่มกิ จกำรจะมีกำไรทำงภำษีเพียงพอที่จะนำจำนวน ผลต่ำงชัว่ ครำวนั้นมำใช้ประโยชน์ กลุ่มกิจกำรได้ต้ งั ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลต่ำงชัว่ ครำวของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เว้นแต่ กลุ่มกิจกำรสำมำรถควบคุมจังหวะเวลำของกำรกลับรำยกำรผลต่ำงชัว่ ครำวและกำรกลับรำยกำรผลต่ำงชัว่ ครำวมีควำมเป็ นไปได้ ค่อนข้ำงแน่วำ่ จะไม่เกิดขึ้นภำยในระยะเวลำที่คำดกำรณ์ได้ในอนำคต สิ น ทรั พ ย์ภ ำษี เ งิ น ได้ร อตัด บัญ ชี แ ละหนี้ สิ น ภำษี เ งิ น ได้ร อตัด บัญ ชี จ ะแสดงหัก กลบกัน ก็ ต่ อ เมื่ อ กิ จ กำรมี สิ ท ธิ ต ำมกฎหมำย ที่จะนำสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั มำหักกลบกับหนี้สินภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และทั้งสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี และ หนี้ สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่ วยงำนจัดเก็บภำษีหน่ วยงำนเดียวกันโดยกำรเรี ยกเก็บเป็ น หน่วยภำษีเดียวกันหรื อหน่วยภำษีต่ำงกันซึ่งตั้งใจจะจ่ำยหนี้สินและสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
317
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.17 ผลประโยชน์ พนักงำน กลุ่ มกิ จกำรได้จัดให้มี โครงกำรผลประโยชน์ หลังออกจำกงำนในหลำยรู ปแบบ กลุ่ มกิ จกำรมี ท้ งั โครงกำรสมทบเงิ นและโครงกำร ผลประโยชน์ สำหรับโครงกำรสมทบเงิน กลุ่มกิจกำรจะจ่ำยเงินสมทบให้กองทุนในจำนวนเงินที่คงที่ กลุ่มกิจกำรไม่มีภำระผูกพันทำงกฎหมำย หรื อภำระผูกพันจำกกำรอนุ มำนที่จะต้องจ่ำยเงินเพิ่มเมื่อได้จ่ำยเงินสมทบไปแล้ว ถึงแม้กองทุนไม่มีสินทรัพย์เพียงพอที่จะจ่ำยให้ พนักงำนทั้งหมดสำหรับกำรให้บริ กำรจำกพนักงำนทั้งในอดีตและปั จจุบนั กลุ่มกิจกำรจะจ่ำยสมทบให้กบั กองทุนสำรองเลี้ยงชี พ ซึ่งบริ หำรโดยผูจ้ ดั กำรกองทุนภำยนอกตำมเกณฑ์และข้อกำหนดของ พระรำชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 เงินสมทบ จะถูกรับรู้เป็ นค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์พนักงำนเมื่อถึงกำหนดชำระสำหรับเงินสมทบจ่ำยล่วงหน้ำจะถูกรับรู้เป็ นสิ นทรัพย์จนกว่ำจะมี กำรได้รับเงินคืนหรื อหักออกเมื่อครบกำหนดจ่ำย สำหรับโครงกำรผลประโยชน์คือโครงกำรผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุที่ไม่ใช่โครงกำรสมทบเงิน ซึ่ งจะกำหนดจำนวนเงินผลประโยชน์ ที่พนักงำนจะได้รับเมื่อเกษียณอำยุ โดยส่ วนใหญ่จะขึ้นอยูก่ บั หลำยปัจจัย เช่น อำยุ จำนวนปี ที่ให้บริ กำรและค่ำตอบแทน หนี้ สินสำหรั บโครงกำรผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุจะรั บรู้ ในงบแสดงฐำนะกำรเงินด้วยมูลค่ำปั จจุบนั ของภำระผูกพัน ณ วันที่ สิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำนหักด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์โครงกำร ภำระผูกพันนี้ คำนวณโดยนักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัยอิสระทุกปี ด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที่ประมำณกำรไว้ ซึ่ งมูลค่ำปั จจุบนั ของโครงกำรผลประโยชน์จะประมำณโดยกำรคิดลดกระแสเงินสด ออกในอนำคต โดยใช้อ ัต รำผลตอบแทนของพัน ธบัต รรั ฐ บำลที่ มี ก ำหนดเวลำใกล้เ คี ย งกับ ระยะเวลำของหนี้ สิ น ดัง กล่ ำ ว โดยประมำณกำรกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยในอนำคตนั้นประมำณกำรจำกเงินเดือนพนักงำน อัตรำกำรลำออก อัตรำกำรตำย อำยุงำน และปัจจัยอื่น กำไรและขำดทุนจำกกำรวัดมูลค่ำใหม่ที่เกิดขึ้นจำกกำรปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐำนและจะรับรู้ในส่ วนของเจ้ำของผ่ำน กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ต้นทุนบริ กำรในอดีตจะถูกรับรู้ทนั ทีในกำไรหรื อขำดทุน
318
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.18 ประมำณกำรหนี้สิน กลุ่มกิ จกำรจะบันทึกประมำณกำรหนี้ สิ น (ยกเว้นเรื่ องผลประโยชน์พนักงำน) เป็ นภำระผูกพันในปั จจุบนั ตำมกฎหมำยหรื อ ตำมข้อตกลงที่จดั ทำไว้อนั เป็ นผลสื บเนื่ องมำจำกเหตุกำรณ์ในอดีตซึ่ งกำรชำระภำระผูกพันนั้นมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ ว่ำจะ ส่ งผลให้กลุ่มกิ จกำรต้องสู ญเสี ยทรั พยำกรออกไปและตำมประมำณกำรที่น่ำเชื่ อถือของจำนวนที่ตอ้ งจ่ำย ในกรณี ที่กลุ่มกิ จกำร คำดว่ำจะได้รับคืนประมำณกำรหนี้สินที่เป็ นรำยจ่ำยที่จะได้รับคืน กลุ่มกิจกำรจะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์แยกต่ำงหำก เมื่อคำดว่ำจะได้รับ รำยจ่ำยนั้นคืนอย่ำงแน่นอน ในกรณี ที่มีภำระผูกพันที่คล้ำยคลึงกันหลำยรำยกำร กลุ่มกิจกำรกำหนดควำมน่ ำจะเป็ นที่จะสู ญเสี ยทรัพยำกรเพื่อจ่ำยชำระภำระผูกพัน เหล่ ำนั้น โดยพิจำรณำจำกควำมน่ ำ จะเป็ นโดยรวมของภำระผูก พัน ทั้งประเภท แม้ว่ำควำมเป็ นไปได้ค่อ นข้ำงแน่ ที่ก ลุ่ม กิ จกำร จะสู ญเสี ยทรัพยำกรเพื่อชำระภำระผูกพันบำงรำยกำรที่จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกันจะมีระดับต่ำ กลุ่มกิจกำรจะวัดมูลค่ำของจำนวนประมำณกำรหนี้ สิน โดยใช้มูลค่ำปั จจุบนั ของรำยจ่ำยที่คำดว่ำจะต้องนำมำจ่ำยชำระภำระผูกพัน โดยใช้อตั รำก่อนภำษีซ่ ึ งสะท้อนถึงกำรประเมินสถำนกำรณ์ตลำดในปั จจุบนั ของมูลค่ำของเงินตำมเวลำและควำมเสี่ ยงเฉพำะของ หนี้สินที่กำลังพิจำรณำอยู่ กำรเพิ่มขึ้นของประมำณกำรหนี้สินเนื่องจำกมูลค่ำของเงินตำมเวลำ จะรับรู้เป็ นดอกเบี้ยจ่ำย 2.19 กำรรับรู้ รำยได้ การขายสินค้ าและการให้ บริ การ รำยได้ประกอบด้วยมูลค่ำตำมใบแจ้งหนี้ที่จะได้รับจำกกำรขำยสิ นค้ำและบริ กำรซึ่งเกิดขึ้นจำกกำรกิจกรรมตำมปกติของกลุ่มกิจกำร โดยเป็ นจำนวนเงินที่สุทธิ จำกเงินคืนและส่ วนลด และไม่รวมรำยกำรขำยภำยในกลุ่มกิจกำรสำหรับงบกำรเงินรวม รำยได้จำกกำร ขำยสิ นค้ำรับรู้เมื่อผูซ้ ้ือได้รับโอนควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนที่เป็ นสำระสำคัญของควำมเป็ นเจ้ำของสิ นค้ำ รำยได้จำกกำรให้บริ กำร รับรู้เป็ นรำยได้เมื่อได้ให้บริ กำรแก่ลูกค้ำแล้ว ดอกเบี้ยรั บและเงินปันผล รำยได้ดอกเบี้ยต้องรับรู้ตำมเกณฑ์อตั รำผลตอบแทนที่แท้จริ ง ส่ วนรำยได้เงินปันผลรับรู้เมื่อสิ ทธิที่จะได้รับเงินปันผลนั้นเกิดขึ้น รายได้อื่น รำยได้อื่นบันทึกในงบกำไรขำดทุนตำมเกณฑ์คงค้ำง 2.20 กำรจ่ ำยเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ำยไปผูถ้ ือหุน้ ของของบริ ษทั จะรับรู้ในด้ำนหนี้สินในงบกำรเงินของกลุ่มกิจกำรในรอบระยะเวลำบัญชีซ่ ึ งที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั ได้อนุมตั ิกำรจ่ำยเงินปันผล
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
319
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 2
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ)
2.21 ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ส่ วนงำนดำเนิ นงำนได้ถูกรำยงำนในลัก ษณะเดี ยวกับ รำยงำนภำยในที่นำเสนอให้ผมู้ ีอ ำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ นงำน ผูม้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ นงำนหมำยถึงบุคคลที่มีหน้ำที่ในกำรจัดสรรทรัพยำกรและประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำนของ ส่ วนงำนดำเนินงำน ซึ่งพิจำรณำว่ำคือกรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ ที่ทำกำรตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์ กลุ่มกิจกำรนำเสนอข้อมูลทำงกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำนโดยแสดงส่ วนงำนธุรกิจเป็ นรู ปแบบหลักในกำรรำยงำน โดยพิจำรณำจำก โครงสร้ ำงกำรบริ หำรและกำรรำยงำนทำงกำรเงิ นภำยในของกลุ่มกิ จกำรเป็ นเกณฑ์ในกำรก ำหนดส่ วนงำน (ดูรำยละเอี ยดใน หมำยเหตุขอ้ 6) 3
กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน
3.1
ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน กิ จกรรมของกลุ่ มกิ จกำรย่อ มมีควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน ที่หลำกหลำยซึ่ งได้แก่ ควำมเสี่ ยงจำกตลำด (รวมถึ ง ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำ แลกเปลี่ยน ควำมเสี่ ยงด้ำนมูลค่ำยุติธรรมอันเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงในอัตรำดอกเบี้ย ควำมเสี่ ยงด้ำนกระแสเงินสดอันเกิดจำก กำรเปลี่ยนแปลงอัตรำดอกเบี้ย และควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำ) ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้สินเชื่ อและควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง แผนกำร จัดกำรควำมเสี่ ยงโดยรวมของกลุ่มกิจกำร จึงมุ่งเน้นควำมผันผวนของตลำดกำรเงินและแสวงหำวิธีกำรลดผลกระทบที่ทำให้เสี ยหำย ต่อผลกำรดำเนินงำนทำงกำรเงินของกลุ่มกิจกำรให้เหลือน้อยที่สุดเท่ำที่เป็ นไปได้ 3.1.1 ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลีย่ น เนื่ องจำกกลุ่มกิ จกำรดำเนิ นงำนระหว่ำงประเทศจึงย่อมมีควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศซึ่ งเกิ ดจำก สกุลเงินที่หลำกหลำย โดยมีสกุ ลเงินหลักเป็ นเงินสกุลดอลล่ำร์ สหรัฐฯ ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นจำกรำยกำร ธุ รกรรมในอนำคต กลุ่มกิ จกำรใช้สัญญำอัตรำแลกเปลี่ ยนล่วงหน้ำเพื่อป้ องกัน ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ ยนเงิน ตรำ ต่ำงประเทศ 3.1.2 ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบีย้ รำยได้และกระแสเงินสดจำกกำรดำเนิ นงำนของกลุ่มกิ จกำรส่ วนใหญ่ไม่ข้ ึนกับกำรเปลี่ยนแปลงอัตรำดอกเบี้ยในตลำด ธุ รกรรม ทั้งหมดที่ใช้อนุพนั ธ์ดำ้ นอัตรำดอกเบี้ยต้องได้รับอนุ มตั ิจำกผูอ้ ำนวยกำรฝ่ ำยกำรเงินก่อนเข้ำทำรำยกำร กลุ่มกิจกำรไม่มีสินทรัพย์ ที่ตอ้ งอ้ำงอิงอัตรำดอกเบี้ยอย่ำงมีนยั สำคัญ กลุ่มกิจกำรสำมำรถระดมทุนโดยกำรกูย้ มื ระยะยำวด้วยอัตรำดอกเบี้ยลอยตัว
320
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 3
กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ)
3.1
ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 3.1.3 ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้ สินเชื่อ กลุ่มกิจกำรไม่มีกำรกระจุกตัวอย่ำงมีนัยสำคัญของควำมเสี่ ยงทำงด้ำนสิ นเชื่อ กลุ่มกิ จกำรมีนโยบำยที่เหมำะสมเพื่อทำให้ เชื่อมัน่ ได้วำ่ ได้ขำยสิ นค้ำและให้บริ กำรแก่ลูกค้ำที่มีประวัติสินเชื่ออยู่ในระดับที่เหมำะสม โดยกลุ่มกิจกำรมีนโยบำยจำกัด วงเงินกำรทำธุรกรรมกับสถำบันกำรเงินแต่ละแห่งอย่ำงเหมำะสม 3.1.4 ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่องอย่ำงรอบคอบหมำยถึงกำรดำรงไว้ซ่ ึ งเงินสดและหลักทรัพย์ที่มีตลำดรองรับอย่ำงเพียงพอ ควำมสำมำรถในกำรหำแหล่งเงินทุนที่เพียงพอและควำมสำมำรถในกำรบริ หำรควำมเสี่ ยง ส่ วนงำนบริ หำรเงินของกลุ่มกิจกำร ตั้งเป้ ำหมำยจะดำรงควำมยืดหยุ่นในกำรระดมเงินทุนโดยกำรรักษำวงเงินสิ นเชื่อให้มีควำมเพียงพอ เนื่ องจำกลักษณะปกติ ทำงธุรกิจของกลุ่มกิจกำรมีกระแสเงินสดเข้ำออกเป็ นจำนวนเงินค่อนข้ำงสู ง
3.2
ปัจจัยควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ 3.2.1 ควำมเสี่ ยงจำกควำมผันผวนของรำคำน้ำตำลทรำยและรำคำอ้อย กลุ่ มกิ จกำรมีควำมเสี่ ยงจำกควำมผัน ผวนของรำคำน้ ำ ตำลทรำยและรำคำอ้อ ย เนื่ อ งจำกอุ ตสำหกรรมอ้อ ยและน้ ำ ตำล ในประเทศไทยเป็ นอุตสำหกรรมที่ถูกควบคุมและกำกับดูแลจำกภำครั ฐ ผ่ำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำยภำยใต้ พระรำชบัญญัติออ้ ยและน้ ำตำลทรำย พ.ศ. 2527 โดยมีกำรจัดสรรส่ วนแบ่งรำยได้สุทธิ ของระบบระหว่ำงเกษตรกรชำวไร่ ออ้ ย และโรงงำนน้ ำตำลภำยใต้ระบบแบ่งปั นผลประโยชน์ โดยเกษตรกรชำวไร่ ออ้ ยจะได้รับส่ วนแบ่งรำยได้ร้อยละ 70 ซึ่ งคือ รำคำอ้อย และโรงงำนจะได้รับส่ วนแบ่งรำยได้ร้อยละ 30 ซึ่งคือผลตอบแทนกำรผลิต รำยได้สุทธิ ของระบบอ้อยและน้ ำตำลทรำยคำนวณจำกรำยได้จำกกำรจำหน่ ำยน้ ำตำลทรำยภำยในประเทศ และรำยได้จำก กำรจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยต่ำงประเทศ หักด้วยค่ำใช้จ่ำยของอุตสำหกรรมอ้อยและน้ ำตำลทรำย โดยในปัจจุบนั สัดส่ วนน้ ำตำล ส่ งออกเทียบกับน้ ำตำลขำยภำยในประเทศประมำณ 70:30 ทั้งนี้รำคำจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยจะเป็ นไปตำมกลไกกำรค้ำเสรี
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
321
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 3 3
กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ)
3.3 3.3
กำรบัญชีสำหรับอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน กำรบัญชีสำหรับอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน กลุ่มกิจกำรเป็ นคู่สัญญำในอนุ พนั ธ์ที่เป็ นเครื่ องมือทำงกำรเงินซึ่ งส่ วนมำกจะประกอบด้วยสัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ กลุ่มกิจกำรเป็ นคู่สัญญำในอนุ พนั ธ์ที่เป็ นเครื่ องมือทำงกำรเงินซึ่ งส่ วนมำกจะประกอบด้วยสัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ ล่วงหน้ำ เครื่ องมือทำงกำรเงินดังกล่ำวไม่รับรู้ในงบกำรเงินในวันเริ่ มแรกและจะรับรู้เมื่อครบกำหนดตำมสัญญำ ล่วงหน้ำ เครื่ องมือทำงกำรเงินดังกล่ำวไม่รับรู้ในงบกำรเงินในวันเริ่ มแรกและจะรับรู้เมื่อครบกำหนดตำมสัญญำ สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ำช่ วยป้ องกันกลุ่มกิ จกำรจำกควำมเคลื่อนไหวของอัตรำแลกเปลี่ยนด้วยกำรกำหนด สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ำช่ วยป้ องกันกลุ่มกิ จกำรจำกควำมเคลื่อนไหวของอัตรำแลกเปลี่ยนด้วยกำรกำหนด อัตรำที่จะใช้รับสิ นทรัพย์หรื ออัตรำที่จะจ่ำยหนี้ สินที่เป็ นสกุลเงินต่ำงประเทศ จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลงจำกจำนวนเงินที่จะได้รับ อัตรำที่จะใช้รับสิ นทรัพย์หรื ออัตรำที่จะจ่ำยหนี้ สินที่เป็ นสกุลเงินต่ำงประเทศ จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลงจำกจำนวนเงินที่จะได้รับ จำกสิ นทรัพย์หรื อที่จะต้องจ่ำยชำระหนี้สินจะนำไปหักกลบกับมูลค่ำของสัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำที่เกี่ยวข้อง รำยกำรกำไร จำกสิ นทรัพย์หรื อที่จะต้องจ่ำยชำระหนี้สินจะนำไปหักกลบกับมูลค่ำของสัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำที่เกี่ยวข้อง รำยกำรกำไร และขำดทุนจำกอนุ พนั ธ์ซ่ ึ งเกี่ ยวข้อ งกับ เงิน กู้ยืมจะน ำมำหักกลบกันในกำรนำเสนอรำยงำนทำงกำรเงิน โดยแสดงอยู่ในต้นทุ น และขำดทุนจำกอนุ พนั ธ์ซ่ ึ งเกี่ ยวข้อ งกับ เงิน กู้ยืมจะน ำมำหักกลบกันในกำรนำเสนอรำยงำนทำงกำรเงิน โดยแสดงอยู่ในต้นทุ น ทำงกำรเงินในงบกำไรขำดทุน ส่ วนรำยกำรกำไรและขำดทุนจำกอนุ พนั ธ์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับรำยกำรค้ำปกติจะนำมำหักกลบกันในกำร ทำงกำรเงินในงบกำไรขำดทุน ส่ วนรำยกำรกำไรและขำดทุนจำกอนุ พนั ธ์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับรำยกำรค้ำปกติจะนำมำหักกลบกันในกำร นำเสนอรำยงำนทำงกำรเงินโดยแสดงอยูใ่ นรำยได้อื่น - สุ ทธิในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ นำเสนอรำยงำนทำงกำรเงินโดยแสดงอยูใ่ นรำยได้อื่น - สุ ทธิในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ
3.4 3.4
กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม กำรวิเครำะห์เครื่ องมือทำงกำรเงินที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมจำแนกตำมวิธีกำรประมำณมูลค่ำ ควำมแตกต่ำงของระดับข้อมูล กำรวิเครำะห์เครื่ องมือทำงกำรเงินที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมจำแนกตำมวิธีกำรประมำณมูลค่ำ ควำมแตกต่ำงของระดับข้อมูล สำมำรถแสดงได้ดงั นี้ สำมำรถแสดงได้ดงั นี้ ข้อมูลระดับที่ 1 : รำคำเสนอซื้ อขำย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลำดที่มีสภำพคล่องสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินอย่ำงเดียวกัน ข้อมูลระดับที่ 1 : รำคำเสนอซื้ อขำย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลำดที่มีสภำพคล่องสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินอย่ำงเดียวกัน ข้อมูลระดับที่ 2 : ข้อมูลอื่นนอกเหนื อจำกรำคำเสนอซื้ อขำยซึ่ งรวมอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลระดับที่ 2 : ข้อมูลอื่นนอกเหนื อจำกรำคำเสนอซื้ อขำยซึ่ งรวมอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลรำคำ) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่คำนวณมำจำกรำคำ) สำหรับสิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้น ข้อมูลรำคำ) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่คำนวณมำจำกรำคำ) สำหรับสิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้น ข้อมูลระดับที่ 3 : ข้อมูลสำหรั บสิ นทรั พย์หรื อหนี้ สินซึ่ งไม่ได้มำจำกข้อมูลที่สำมำรถสังเกตได้จำกตลำด (ข้อมูลที่ไม่สำมำรถ ข้อมูลระดับที่ 3 : ข้อมูลสำหรั บสิ นทรั พย์หรื อหนี้ สินซึ่ งไม่ได้มำจำกข้อมูลที่สำมำรถสังเกตได้จำกตลำด (ข้อมูลที่ไม่สำมำรถ สังเกตได้) สังเกตได้)
4 4
ประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญ ข้ อสมมติฐำน และกำรใช้ ดุลยพินิจ ประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญ ข้ อสมมติฐำน และกำรใช้ ดุลยพินิจ กำรประมำณกำร ข้อสมมติฐำน และกำรใช้ดุลยพินิจได้มีกำรประเมินทบทวนอย่ำงต่อเนื่ องและอยู่บนพื้นฐำนของประสบกำรณ์ในอดีต กำรประมำณกำร ข้อสมมติฐำน และกำรใช้ดุลยพินิจได้มีกำรประเมินทบทวนอย่ำงต่อเนื่ องและอยู่บนพื้นฐำนของประสบกำรณ์ในอดีต และปัจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงกำรคำดกำรณ์ถึงเหตุกำรณ์ในอนำคตที่เชื่อว่ำมีเหตุผลในสถำนกำรณ์ขณะนั้น และปัจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงกำรคำดกำรณ์ถึงเหตุกำรณ์ในอนำคตที่เชื่อว่ำมีเหตุผลในสถำนกำรณ์ขณะนั้น
4.1 4.1
ค่ ำเผื่อหนี้สงสั ยจะสู ญของลูกหนี้กำรค้ ำ และลูกหนี้ชำวไร่ ค่ ำเผื่อหนี้สงสั ยจะสู ญของลูกหนี้กำรค้ ำ และลูกหนี้ชำวไร่ ในกำรประมำณค่ ำ เผื่อ หนี้ สงสั ยจะสู ญของลูก หนี้ ฝ่ ำยบริ หำรจำเป็ นต้อ งใช้ดุล ยพินิ จในกำรประมำณกำรผลขำดทุ น ที่ คำดว่ำ ในกำรประมำณค่ ำเผื่อ หนี้ สงสั ยจะสู ญของลูกหนี้ ฝ่ ำยบริ หำรจำเป็ นต้อ งใช้ดุล ยพินิ จในกำรประมำณกำรผลขำดทุ น ที่ คำดว่ำ จะเกิดขึ้นจำกลูกหนี้แต่ละรำย โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์กำรเก็บเงินในอดีต อำยุของหนี้ที่คงค้ำง หลักประกัน และสภำวะเศรษฐกิจ จะเกิดขึ้นจำกลูกหนี้แต่ละรำย โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์กำรเก็บเงินในอดีต อำยุของหนี้ที่คงค้ำง หลักประกัน และสภำวะเศรษฐกิจ ที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น ที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น กลุ่มกิจกำรมีนโยบำยในกำรตั้งค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญโดยพิจำรณำจำกระยะเวลำที่คำ้ งชำระหนี้ ของลูกหนี้ โดยบริ ษทั จะตั้งค่ำเผื่อ กลุ่มกิจกำรมีนโยบำยในกำรตั้งค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญโดยพิจำรณำจำกระยะเวลำที่คำ้ งชำระหนี้ ของลูกหนี้ โดยบริ ษทั จะตั้งค่ำเผื่อ หนี หนสงสย ้ สงสัยจะสู ญเต็มจำนวน (หลังหักมูลค่ำประเมินของหลักประกันของลูกหนี้) หนี้สงสัยจะสู ญเต็มจำนวน (หลังหักมูลค่ำประเมินของหลักประกันของลูกหนี้)
322
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 39
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 4 4
ประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญ ข้ อสมมติฐำน และกำรใช้ ดุลยพินิจ (ต่อ) ประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญ ข้ อสมมติฐำน และกำรใช้ ดุลยพินิจ (ต่อ)
4.2 4.2
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน ฝ่ ำยบริ หำรเป็ นผูป้ ระมำณกำรของอำยุกำรใช้งำนและมูลค่ำซำกสำหรับอำคำรและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนของกลุ่มกิจกำร ฝ่ ำยบริ หำรเป็ นผูป้ ระมำณกำรของอำยุกำรใช้งำนและมูลค่ำซำกสำหรับอำคำรและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนของกลุ่มกิจกำร โดยฝ่ ำยบริ หำรจะมีกำรทบทวนค่ำเสื่ อมรำคำเมื่ออำยุกำรใช้งำนและมูลค่ำซำกมีควำมแตกต่ำงไปจำกกำรประมำณกำรในงวดก่อน โดยฝ่ ำยบริ หำรจะมีกำรทบทวนค่ำเสื่ อมรำคำเมื่ออำยุกำรใช้งำนและมูลค่ำซำกมีควำมแตกต่ำงไปจำกกำรประมำณกำรในงวดก่อน หรื อมีกำรตัดจำหน่ ำยสิ นทรั พย์ที่เสื่ อ มสภำพหรื อไม่ได้ใช้งำนโดยกำรขำยหรื อเลิกใช้ และกลุ่มกิ จกำรทดสอบกำรด้อยค่ำของ หรื อมีกำรตัดจำหน่ ำยสิ นทรั พย์ที่เสื่ อ มสภำพหรื อไม่ได้ใช้งำนโดยกำรขำยหรื อเลิกใช้ และกลุ่มกิ จกำรทดสอบกำรด้อยค่ำของ สิ นทรัพย์เมื่อมีเหตุกำรณ์หรื อสถำนกำรณ์บ่งชี้วำ่ รำคำตำมบัญชีอำจสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน สิ นทรัพย์เมื่อมีเหตุกำรณ์หรื อสถำนกำรณ์บ่งชี้วำ่ รำคำตำมบัญชีอำจสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน
4.3 4.3
ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ พนักงำน ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ พนักงำน มูลค่ ำปั จจุ บ ันของกำรประมำณกำรหนี้ สิ นผลประโยชน์พนักงำนขึ้ นอยู่กับหลำยปั จจัยที่ ใช้ในกำรคำนวณตำมหลักคณิ ตศำสตร์ มูลค่ ำปั จจุ บ ันของกำรประมำณกำรหนี้ สิ นผลประโยชน์พนักงำนขึ้ นอยู่กับหลำยปั จจัยที่ ใช้ในกำรคำนวณตำมหลักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัยโดยมีขอ้ สมมติฐำนหลำยตัว รวมถึงข้อสมมติฐำนเกี่ ยวกับอัตรำคิดลด อัตรำกำรขึ้นเงินเดือน อัตรำกำรตำย และอัตรำ ประกันภัยโดยมีขอ้ สมมติฐำนหลำยตัว รวมถึงข้อสมมติฐำนเกี่ ยวกับอัตรำคิดลด อัตรำกำรขึ้นเงินเดือน อัตรำกำรตำย และอัตรำ กำรลำออก กำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐำนเหล่ำนี้ จะมีผลต่อภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน กำรลำออก กำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐำนเหล่ำนี้ จะมีผลต่อภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน กลุ่มกิจกำรได้กำหนดอัตรำคิดลดที่เหมำะสมในแต่ละปี ซึ่ งได้แก่อตั รำดอกเบี้ยที่ควรจะใช้ในกำรคำนวณมูลค่ำปั จจุบนั ของกระแสเงินสด กลุ่มกิจกำรได้กำหนดอัตรำคิดลดที่เหมำะสมในแต่ละปี ซึ่ งได้แก่อตั รำดอกเบี้ยที่ควรจะใช้ในกำรคำนวณมูลค่ำปั จจุบนั ของกระแสเงินสด ที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยประมำณกำรหนี้ สินผลประโยชน์พนักงำน ในกำรกำหนดอัตรำคิดลดที่เหมำะสมดังกล่ำว กลุ่มกิจกำรใช้อตั รำ ที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยประมำณกำรหนี้ สินผลประโยชน์พนักงำน ในกำรกำหนดอัตรำคิดลดที่เหมำะสมดังกล่ำว กลุ่มกิจกำรใช้อตั รำ ดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบำลที่มีอำยุครบกำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลำที่ตอ้ งชำระของหนี้สินค่ำตอบแทนพนักงำน ดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบำลที่มีอำยุครบกำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลำที่ตอ้ งชำระของหนี้สินค่ำตอบแทนพนักงำน รำยละเอียดสมมติฐำนที่สำคัญอื่นๆ เปิ ดเผยอยูใ่ นหมำยเหตุขอ้ 24 รำยละเอียดสมมติฐำนที่สำคัญอื่นๆ เปิ ดเผยอยูใ่ นหมำยเหตุขอ้ 24
4.4 4.4
ประมำณกำรรำคำวัตถุดบิ ประมำณกำรรำคำวัตถุดบิ กลุ่มกิ จกำรรั บซื้ ออ้อยสำหรั บฤดูกำรผลิตปี 2560/2561โดยใช้ประกำศรำคำอ้อยขั้นต้นของฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 ตำมประกำศ กลุ่มกิ จกำรรั บซื้ ออ้อยสำหรั บฤดูกำรผลิตปี 2560/2561โดยใช้ประกำศรำคำอ้อยขั้นต้นของฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 ตำมประกำศ สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย ลงวันที่ 13 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ซึ่ งปรั บด้วยระดับควำมหวำนของอ้อยที่รับซื้ อใน สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย ลงวันที่ 13 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ซึ่ งปรั บด้วยระดับควำมหวำนของอ้อยที่รับซื้ อใน กำรบันทึกค่ำอ้อยและเจ้ำหนี้ค่ำอ้อยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 และจนถึงวันที่คณะกรรมกำรบริ ษทั ได้อนุ มตั ิให้ออกงบกำรเงินนี้ กำรบันทึกค่ำอ้อยและเจ้ำหนี้ค่ำอ้อยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 และจนถึงวันที่คณะกรรมกำรบริ ษทั ได้อนุ มตั ิให้ออกงบกำรเงินนี้ สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำยยังไม่ได้ประกำศรำคำอ้อยขั้นสุ ดท้ำยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำยยังไม่ได้ประกำศรำคำอ้อยขั้นสุ ดท้ำยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 กลุ่มกิ จกำรรั บซื้ ออ้อยสำหรั บฤดูกำรผลิตปี 2561/2562โดยใช้ประกำศรำคำอ้อยขั้นต้นของฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 ตำมประกำศ กลุ่มกิ จกำรรั บซื้ ออ้อยสำหรั บฤดูกำรผลิตปี 2561/2562โดยใช้ประกำศรำคำอ้อยขั้นต้นของฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 ตำมประกำศ สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย ลงวันที่ 6 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ซึ่ งปรับด้วยระดับควำมหวำนของอ้อยที่รับซื้ อใน สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย ลงวันที่ 6 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ซึ่ งปรับด้วยระดับควำมหวำนของอ้อยที่รับซื้ อใน กำรบันทึกค่ำอ้อยและเจ้ำหนี้ ค่ำอ้อยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 และจนถึงวันที่คณะกรรมกำรบริ ษทั ได้อนุ มตั ิให้ออกงบกำรเงินนี้ กำรบันทึกค่ำอ้อยและเจ้ำหนี้ ค่ำอ้อยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 และจนถึงวันที่คณะกรรมกำรบริ ษทั ได้อนุ มตั ิให้ออกงบกำรเงินนี้ สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำยยังไม่ได้ประกำศรำคำอ้อยขั้นสุ ดท้ำยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 เนื่ องจำกยังไม่ สำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำยยังไม่ได้ประกำศรำคำอ้อยขั้นสุ ดท้ำยสำหรับฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 เนื่ องจำกยังไม่ สิ้ นสุ ดฤดูกำรผลิต สิ้ นสุ ดฤดูกำรผลิต
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
323 40
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 5 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงในส่ วนของทุน กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงในส่ วนของทุน วัตถุป ระสงค์ของกลุ่มกิ จกำรในกำรบริ หำรทุนของบริ ษทั นั้นเพื่อ ดำรงไว้ซ่ ึ งควำมสำมำรถในกำรดำเนิ นงำนอย่ำงต่ อเนื่ อ งของ ่มกิ จกำรในกำรบริ วัตถุ่มปกิ จระสงค์ นของบริ ษทั นั้นเพืต่อ่อดผูำรงไว้ ่ ึ งควำมสำมำรถในกำรด ำเนิ นซงำนอย่ ำงต่ำองของทุ เนื่ อ งของ กลุ กำรเพืข่อองกลุ สร้ ำงผลตอบแทนต่ อผูถ้ หือำรทุ หุ ้นและเป็ นประโยชน์ ท้ ี่มีส่วซนได้ เสี ยอื่น และเพื่อดำรงไว้ ่ ึ งโครงสร้ นที่ ่ ่ ่ กลุ ม กิ จ กำรเพื ่ อ สร้ ำ งผลตอบแทนต่ อ ผู ถ ้ ื อ หุ น ้ และเป็ นประโยชน์ ต อ ผู ท ้ ่ ี ม ี ส ว นได้ เ สี ย อื ่ น และเพื ่ อ ด ำรงไว้ ซ ่ ึ ง โครงสร้ ำ งของทุ นที่ เหมำะสมเพื่อลดต้นทุนของเงินทุน เหมำะสมเพื่อลดต้นทุนของเงินทุน ในกำรดำรงไว้หรื อปรับโครงสร้ำงของทุน กลุ่มกิจกำรอำจปรับนโยบำยกำรจ่ำยเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุ ้น กำรคืนทุนให้แก่ผถู้ ือหุ ้น ในกำรด หรืหรื อปรัอกำรขำยทรั บโครงสร้ำพงของทุ กลุ่มกิจกำรอำจปรั กำรออกหุำรงไว้ น้ ใหม่ ย์สินเพืน่อลดภำระหนี ้ สิน บนโยบำยกำรจ่ำยเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุ ้น กำรคืนทุนให้แก่ผถู้ ือหุ ้น กำรออกหุน้ ใหม่ หรื อกำรขำยทรัพย์สินเพื่อลดภำระหนี้สิน
6 6
ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ส่ วนงำนที่รำยงำนอ้ำ งอิ งจำกรำยงำนภำยในของกลุ่ มกิ จกำรซึ่ งถูกสอบทำนโดยผูม้ ีอำนำจตัดสิ น ใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ น งำน ส่ซึ่งวก็นงำนที ่รำยงำนอ้ำ งอิ งจำกรำยงำนภำยในของกลุ ม้ ีอำนำจตั ดสิดนสรรทรั ใจสู งสุพดยำกรและประเมิ ด้ำนกำรดำเนิ นนงำน คือประธำนกรรมกำรที ่บริ หำรและเป็ นผูม้ ีอำนำจตั่ มดกิสิจนกำรซึ ใจสู่ งงสุถูกดสอบทำนโดยผู ด้ำนกำรดำเนิ นงำนเพื ่อกำรจั ผล ซึกำรปฏิ ่ งก็คือบประธำนกรรมกำรที ่ บ ริ ห ำรและเป็ นผู ม ้ ี อ ำนำจตั ด สิ น ใจสู ง สุ ด ด้ ำ นกำรด ำเนิ น งำนเพื ่ อ กำรจั ด สรรทรั พ ยำกรและประเมิ น ผล ตั ิงำนของส่ วนงำน กำรปฏิบตั ิงำนของส่ วนงำน ผูม้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนินงำนได้พิจำรณำแล้วว่ำส่ วนงำนที่รำยงำนมีดงั นี้ ผูม้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนินงำนได้พิจำรณำแล้วว่ำส่ วนงำนที่รำยงำนมีดงั นี้ ----
ธุรกิจผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำยและกำกน้ ำตำล ธุธุรรกิกิจจผลิ ตและจ ำยน้ ำตำลทรำยและกำกน้ ำตำล จำหน่ ำยวัสำหน่ ดุกำรเกษตร ธุธุรรกิกิจจจผลิำหน่ ำยวัสำหน่ ดุกำรเกษตร ตและจ ำยไฟฟ้ ำและไอน้ ำ ธุธุรรกิกิจจผลิ ต และจ ำหน่ ำ ยไฟฟ้ ำและไอน้ ำ อื่นๆ ธุรกิจอื่นๆ
ทั้งนี้ผมู้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนินงำนใช้กำไรจำกกำรดำเนินงำนตำมส่ วนงำนในกำรพิจำรณำผลกำรดำเนินงำน ทั้งนี้ผมู้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนินงำนใช้กำไรจำกกำรดำเนินงำนตำมส่ วนงำนในกำรพิจำรณำผลกำรดำเนินงำน นโยบำยกำรบัญชี ส ำหรั บส่ วนงำนดำเนิ นงำนเป็ นไปตำมนโยบำยกำรบัญชี ที่ กล่ ำ วไว้ในหัวข้อสรุ ปนโยบำยกำรบัญชี ที่ สำคัญ ญชี ส ำหรั ส่ วนงำนด ำเนิเป็นนงำนเป็ ญชี ที่ กล่ ำ วไว้ในหัวข้อสรุ ปนโยบำยกำรบัญชี ที่ สำคัญ ่ำยส่ วนกลำง ต้นโยบำยกำรบั นทุนที่ไม่สำมำรถปั นส่ วบนได้ ส่วนใหญ่ ค่ำใช้จนไปตำมนโยบำยกำรบั ต้นทุนที่ไม่สำมำรถปันส่ วนได้ส่วนใหญ่เป็ นค่ำใช้จ่ำยส่ วนกลำง ข้ อมูลเกีย่ วกับภูมิศำสตร์ ข้ อมูลเกีย่ วกับภูมิศำสตร์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำยกำรขำยกับลูกค้ำภำยนอกส่ วนใหญ่ประมำณร้ อยละ 57.72 ของกลุ่มกิ จกำรเป็ นกำรขำย ณ วันที่ 31 โดยรำยกำรขำยต่ ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำยกำรขำยกั กค้ำภำยนอกส่ วนใหญ่ปยระมำณร้ อยละ 57.72 กำรเป็ นกำรขำย ่มกิจกำร ต่ำงประเทศ ำงประเทศส่ วนใหญ่บมลูำจำกประเทศในแถบเอเชี นอกจำกนี พย์ไของกลุ ม่หมุน่มเวีกิยจนของกลุ ้ สิ นทรั ่มกิจกำร ต่อยูำงประเทศ โดยรำยกำรขำยต่ ำ งประเทศส่ ว นใหญ่ ม ำจำกประเทศในแถบเอเชี ย นอกจำกนี สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เวี ย นของกลุ ้ ใ่ นประเทศไทย อยูใ่ นประเทศไทย ลูกค้ ำรำยใหญ่ ลูกค้ ำรำยใหญ่ กลุ่มกิจกำรไม่มีรำยได้จำกรำยกำรขำยกับลูกค้ำภำยนอกรำยใดรำยหนึ่งที่มำกกว่ำร้อยละ 10 ของรำยได้ของกลุ่มกิจกำร จึงมิได้มีกำร ่มกิจกำรไม่ กลุ ำยได้ เปิ ดเผยข้ อมูลเกีม่ยีรวกั บลูจกำกรำยกำรขำยกั ค้ำรำยใหญ่ บลูกค้ำภำยนอกรำยใดรำยหนึ่งที่มำกกว่ำร้อยละ 10 ของรำยได้ของกลุ่มกิจกำร จึงมิได้มีกำร เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้ำรำยใหญ่
324
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
41
6
พ.ศ. 2561 พ.ศ. พ.ศ. 2560 พ.ศ. พ.ศ.2560 2561 พ.ศ. พ.ศ.2561 2560 พ.ศ. พ.ศ.2560 2561 2561
1,220 3,431 2,020 6,671
รำยได้จำกกำรขำยและกำรให้ บริ กำร บริ กำร รำยได้จำกกำรขำยและกำรให้ - ในประเทศ 1,402 - ในประเทศ - ต่ำงประเทศ 3,207 - ต่ำงประเทศ รวม 4,609 รวม กำไรจำกกำรด ำเนิ นงำนตำมส่ นงำน วนงำน 350 กำไรจำกกำรด ำเนิ นวงำนตำมส่ รำยได้อื่น รำยได้อื่น ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำยและกำรบริ หำร ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำยและกำรบริ หำร ต้นทุนทำงกำรเงิน ต้นทุนทำงกำรเงิน ส่วนแบ่งกำไรจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ส่วนแบ่งกำไรจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้ กำไรสำหรับปี กำไรสำหรับปี
ณ วันที่ 31 ธันวำคม ณ อวัน- ทีสุ ท่ 31ธิ ธันวำคม สิ นค้ำคงเหลื สิ นค้ำคงเหลื ที่ดิน อำคำรและอุ ปกรณ์อ -- สุสุททธิธิ ที ่ ด ิ น อำคำรและอุ ปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์อื่น - สุ ทธิ สิ นทรัพย์รสิวมนทรัพย์อื่น - สุ ทธิ สิ นทรัพย์รวม
พ.ศ. 2561 2560 พ.ศ.
พ.ศ. พ.ศ. 2561 2560
933 1,220 2,933 3,431 2,032 2,020 5,898 6,671
1,728 1,402 3,122 3,207 4,850 4,609 350788
113 933105 2,933513 2,032731 5,898
1,728727 3,122 4,850727 78893
126 113 109 105 622 513 857 731
740 727 -740 727 9399
7 126 1,608 109 5,299 622 6,914 857
974 740 -974 740 410 99
9 7 1,713 1,608 5,025 5,299 6,747 6,914
815 974 -815 974 230 410
1 3039 1,713 5,310 5,025 5,614 6,747
285 815 -285 815 39 230
หน่ วย : ล้ ำนบำท หน่ วย : ล้ ำนบำท
711 303 5,390 5,310 5,461 5,614
238 285 -238 285 4339
1,341 5,447 13,14271 5,390 19,930 5,461
3,388 238 3,207 6,595 238 89243
1,068 1,341 4,826 5,447 13,069 13,142 18,963 19,930
3,521 3,388 3,122 3,207 6,643 6,595 1,160892
(3) 1,068 (15) 4,826 (9,636) 13,069 (9,654) 18,963
(1,039) 3,521 3,122 (1,039) 6,643 155 1,160
(7) (15) (3) (9,708)(15) (9,636) (9,730) (9,654)
(903) (1,039) - (903) (1,039) 152155
1,338 5,432 (7) 3,506(15) (9,708) 10,276 (9,730)
2,349(903) 3,207 5,556(903) 1,047152 253 (674) (386) 72 (40) 272
325
42
1,061 4,8111,338 3,3615,432 9,2333,506 10,276
2,6182,349 3,1223,207 5,7405,556 1,3121,047 152 253 (601) (674) (284) (386) 32 72 (86) (40) 525 272
42
1,061 4,811 3,361 9,233
2,618 3,122 5,740 1,312 152 (601) (284) 32 (86) 525
รวม ธุรกิจอืน่ ๆ รวม รำยกำรระหว่ ำงกันรำยกำรระหว่ ำงบกำรเงิ งกัน นรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 25612560 พ.ศ.พ.ศ. 25602561 พ.ศ. 2560 พ.ศ.2560 2561 พ.ศ. พ.ศ.2561 2560 พ.ศ. พ.ศ.2560 2561 พ.ศ. พ.ศ.2561 2560 พ.ศ.พ.ศ. 2561 พ.ศ.พ.ศ.
ธุรกิจผลิตและจ ธุรกิำหน่ จผลิำตยและจำหน่ ำธุยรกิจจำหน่ ำยธุรกิจจำหน่ ำย ธุรกิจผลิตและ ธุรกิจผลิตและ นำ้ ตำลทรำยและกำกน ำ้ ตำล วัสดุกำรเกษตรวัสดุกำรเกษตร จำหน่ ำยไฟฟ้ำและไอน ำ้ ้ ำและไอนธุรำ้ กิจอืน่ ๆ นำ้ ตำลทรำยและกำกน ำ้ ตำล จำหน่ ำยไฟฟ
สุ ดธัวันนวำคม ที่ 31 ธันวำคม สำหรับปีสสิำหรั ้นสุ ดบวัปีนสิที้น่ 31
่มกิจกำร อมูบลกำรด เกี่ยวกั ำเนินงำนตำมประเภทส่ วนงำนทำงธุ ข้อมูลเกี่ยข้วกั ำเนิบนกำรด งำนตำมประเภทส่ วนงำนทำงธุ รกิจของกลุร่มกิกิจจของกลุ กำร แสดงดั งนี้ แสดงดังนี้
ข้ อมูลจำแนกตำมส่ ข้6อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน (ต่วอนงำน ) (ต่อ)
ษัท นรีร้ำัมตำลบุ ย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท นบริ ้ำตำลบุ ย์ จำกัรีรดัม(มหำชน) ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิจกำร หมำยเหตุหมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิจนกำร สุ ดธัวันนวำคม ที่ 31 ธัพ.ศ. นวำคม สำหรับปีสสิำหรั ้นสุ ดบวัปีนสิที้น่ 31 2561พ.ศ. 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษ ท ั น ำ ้ ตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 7 เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด 7 เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด 7 เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด
8 8 8
326
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงิ น รวม งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 งบกำรเงิ น รวม งบกำรเงิ น เฉพำะกิ จกำร2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. บำท บำท บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท เงินสดในมือ 440,000 410,000 80,000 80,000 บำท บำท บำท บำท เงิเงินนสดในมื อ 440,000 410,000 80,000 80,000 ฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม 178,686,261 228,658,711 15,750,327 18,113,199 เงินสดในมื อ 440,000 228,658,711 410,000 80,000 80,000 ฝำกธนำคำรประเภทจ่ ำยคืนเมื่อทวงถำม 178,686,261 15,750,327 18,113,199 179,126,261 229,068,711 15,830,327 18,193,199 เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม 178,686,261 15,750,327 18,113,199 179,126,261 228,658,711 229,068,711 15,830,327 18,193,199 179,126,261 229,068,711 15,830,327 18,193,199 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำมมีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ งถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักร้ อยละ ณ วันต่ทีอ่ ปี31(พ.ศ. ธันวำคม 25610.38 เงินต่ฝำกธนำคำรประเภทจ่ ำยคืนเมื่อทวงถำมมีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ งถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักร้ อยละ 0.38 2560พ.ศ. : ร้อยละ อปี ) ณ วั น ที ่ 31 ธั น วำคม พ.ศ. 2561 เงิ น ฝำกธนำคำรประเภทจ่ ำยคืนเมื่อทวงถำมมีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ งถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักร้ อยละ 0.38 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 0.38 ต่อปี ) 0.38 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 0.38 ต่อปี ) ลูกหนี้กำรค้ ำและลูกหนี้อนื่ - สุ ทธิ ลูกหนี้กำรค้ ำและลูกหนี้อนื่ - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ลูกหนี้กำรค้ ำและลูกหนี้อนื่ - สุ ทธิ งบกำรเงิ น รวม งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 นรวมพ.ศ. 2560 งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 พ.ศ. 2561 บำท บำท บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท ลูกหนี้กำรค้ำ - กิจกำรอื่น - สุ ทธิ บำท บำท บำท บำท ลูยังกไม่ หนีถ้ กึงำรค้ ำ - กิจำระ กำรอื่น - สุ ทธิ กำหนดช 80,272,312 48,648,870 ลูยัค้งกำไม่ หนี ก ำรค้ ำ กิ จ กำรอื ่ น สุ ท ธิ ้ ถ ึ ง ก ำหนดช ำระ 80,272,312 48,648,870 -งชำระไม่เกิน 3 เดือน 5,989,284 2,027,649 ยัค้ค้งำำไม่ ถึงกำหนดช 80,272,312 48,648,870 --งช อนไม่เกิน 12 เดือน 5,989,284 2,027,649 งชำระไม่ ำระเกิ นเกิ3นเดื3ำระ อเดืนแต่ 668,528 73,710 ค้ค้ำำงช งชำระมำกกว่ ำระไม่ เดืนแต่ อเดืนอไนม่เกิน 12 เดือน 5,989,284 2,027,649 ำระเกินเกิ3นเดืำ3อ12 668,528 73,710 18,424,714 19,738,447 7,763,4318,250,423ค้ำงชำระมำกกว่ ำระเกิน 3 เดืำ อ12นแต่ 668,528 73,710 เดือไนม่เกิน 12 เดือน 18,424,714 19,738,447 7,763,431 8,250,423 105,354,838 70,488,676 7,763,431 8,250,423 ค้ำงชำระมำกกว่ำ 12 เดือน 18,424,714 19,738,447 7,763,431 8,250,423 105,354,838 70,488,676 7,763,431 8,250,423 หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ (18,424,722) (19,738,455) (7,763,431) (8,250,423) 105,354,838 70,488,676 7,763,431 8,250,423 หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ (18,424,722) (7,763,431)(8,250,423) 86,930,116 (19,738,455) 50,750,221 หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ (18,424,722) (7,763,431)(8,250,423)86,930,116 (19,738,455) 50,750,221 ลูกหนี้กำรค้ำ - กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน 86,930,116 50,750,221 ่ ลูยังกไม่ หนีถ้ กึงำรค้ ำ กิ จ กำรที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น กำหนดชำระ 54,916,556 27,099,100 ่ยวข้องกัน ลูยัค้งกำไม่ หนี ก ำรค้ ำ กิ จ กำรที ่ เ กี ้ ถ ึ ง ก ำหนดช ำระ 54,916,556 27,099,100 -งชำระไม่เกิน 3 เดือน 6,153,449 ยัค้ค้งำำไม่ ถึงกำหนดช 54,916,556 27,099,100---งช อนไม่เกิน 12 เดือน 6,153,449 งชำระไม่ ำระเกิ นเกิ3นเดื3ำระ อเดืนแต่ 16,142 ค้ำงชำระไม่ อนไม่เกิน 12 เดือน 6,153,449 ำระเกินเกิ3นเดื3อเดืนแต่ 16,142 61,086,147 27,099,100 ค้ำงชำระเกิน 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน 16,142 --61,086,147 27,099,100 ลูกหนี้อื่น 61,086,147 27,099,100 ลูรำยได้ กหนี้คอำื่น้ งรับ - กิจกำรอื่น 52,940,876 52,293,627 3,507 ลูรำยได้ ก หนี อ ่ ื น ้ ค ำ ้ งรั บ กิ จ กำรอื ่ น 52,940,876 52,293,627 3,507 -รำยได้คำ้ งรับ - กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน 34,161,886 659,402 6,955,000 รำยได้ กิจกำรอื 52,940,876 52,293,627 3,507กำรที 34,161,886 659,402 6,955,000 ลูกหนี้คอำื่น้ งรั- บกิจ-กำรอื ่น ่นเกี่ยวข้องกัน 482,413 9,718,235 48,030รำยได้ กิจกำรที ่เกี่ยอวข้ 34,161,886 659,4026,955,000 ลูลูกกหนี ่น่เกี่ยวข้ 482,413 9,718,235 48,030หนี้้ คออำื่ื่นน้ งรั-- บกิกิจจ-กำรอื กำรที งกัอนงกัน 768,423 5,983,23654,771,588 ลูเงิกนหนี 482,413 9,718,235-48,030้ อื่น - กิำยจกำรอื กำรที่นเกี่ยวข้องกัน 768,423 5,983,236-54,771,588 ทดรองจ่ 330,000 ่ ลูเงิค่กำนใช้ หนี ื่น ำ- ยล่ กิำยจวกำรที 768,423 5,983,236 54,771,588 ทดรองจ่ 330,000 115,034,469จ้ อ่ำยจ่ งหน้ำ่เกียวข้องกัน 123,713,976 2,966,105615,590เงิค่ดอกเบี ำยบวงหน้ 330,000- 115,034,469-ำนใช้ทดรองจ่ จ่ำ้ ยยจ่ ำ ่เกี่ยวข้องกัน 123,713,976 2,966,105615,590ค้ำำงรัยล่ - กิจกำรที 80,281,344 27,112,336 ่ ยจ่ ค่ดอกเบี ำจกำรที่เกี่เ่ยกีวข้ 123,713,976-- 115,034,469-- 118,418,370 2,966,105 230,507,419 615,590 ค้ำำงรัยล่ - กิ- จกิกำรที องกั นน 80,281,344 27,112,336 ่ยวข้ เงิำนใช้ปันจำ้ ยผลค้ ำงรับวบงหน้ องกั ดอกเบี ค้ำงรัำงรับ บ- กิ- จกิกำรที องกั นน 80,281,344 27,112,336 ่ยวข้ เงินปัน้ ยผลค้ จกำรที่เกี่เยกีวข้ องกั 212,397,574 177,705,733 118,418,370 214,607,562 230,507,419 313,054,963 เงินปันผลค้ำงรับ - กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน - 118,418,370 230,507,419 212,397,574 ลูกหนี หนกำ 360,413,837 177,705,733 255,555,054 214,607,562 214,607,562 313,054,963 313,054,963 ้ กำรค้ำและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ 212,397,574 ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ 360,413,837 177,705,733 255,555,054 214,607,562 214,607,562 313,054,963 313,054,963 ลูกหนีÃÒ§ҹ»ÃШํ - สุ ทธิ 360,413,837 255,555,054 214,607,562 313,054,963 ้ กำรค้ำและลูกหนีÒ»‚ ้ อื่น2561 43 43
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษัทบนปี ้ำสิตำลบุ สำหรั สุ ดวัรีนรัมทีย์่ 31จำกัธันดวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ ป้นระกอบงบกำรเงิ น(มหำชน) รวมและงบกำรเงิ สหมำยเหตุ ำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ส9 ำหรับปีรำยได้ สิ้นสุ ดควั้ ำนงรัทีบ่ 31- สธัำนั นวำคม พ.ศ. 2561 กงำนกองทุ นอ้อยและน้ำตำลทรำย 9 รำยได้ค้ำงรับ - สำนักงำนกองทุนอ้อยและน้ำตำลทรำย 9 รำยได้ค้ำงรับ - สำนักงำนกองทุนอ้อยและน้ำตำลทรำย รำยได้คำ้ งรั บจำกสำนักงำนกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำยเป็ นเงินชดเชยที่กลุ่มกิ จกำรคำดว่ำจะได้รับชดเชยจำกกองทุนอ้อยและ 9 รำยได้ สำนัำนั กงำนกองทุ นอ้อนยและน ้ำตำลทรำย รำยได้คค้ ำำ้ งรั งรับบ-จำกส กงำนกองทุ อ้อยและน ำตำลทรำยเป็ นเงินชดเชยที่กลุ่มกิ จกำรคำดว่ำจะได้รับชดเชยจำกกองทุนอ้อยและ นรำยได้ ซึ ่ ง ประกอบด้ ว ยผลต่ ำ งรำคำอ้ อ ยขั ท้ำยต่ำกว่ำรำคำอ้ ยขั้นต้นตำมประกำศส ำนักำงำนคณะกรรมกำรอ้ อยและนน้ ำตำลทรำย ้ นสุ้้ ำดตำลทรำยเป็ ้ ำตำลทรำย คำ้ งรั บจำกสำนักงำนกองทุนอ้อยและน นเงินอชดเชยที ่กลุ่มกิ จกำรคำดว่ จะได้รับชดเชยจำกกองทุ อ้อยและ นรำยได้ ำตำลทรำย ซึ ่ ง ประกอบด้ ว ยผลต่ ำ งรำคำอ้ อ ยขั น สุ ด ท้ ำ ยต ่ ำ กว่ ำ รำคำอ้ อ ยขั น ต้ น ตำมประกำศส ำนั ก งำนคณะกรรมกำรอ้ อยและนน้ ำตำลทรำย ้ ้ ้และเงิ ่ ค ำ ้ งรั บ จำกส ำนั ก งำนกองทุ น อ้ อ ยและน ำ ตำลทรำยเป็ นเงิ น ชดเชยที ่ ก ลุ ม กิ จ กำรคำดว่ ำ จะได้ ร ั บ ชดเชยจำกกองทุ อ้่มอกิยและ ตำลทรำย เนื ่ อ งจำกในฤดู ก ำรผลิ ต ปี 2560/2561 ฝ่ ำยบริ ห ำรของกลุ จกำร น ชดเชยค่ ำ ผลตอบแทนกำรผลิ ต และจ ำหน่ ำ ยน ำ น้ ำตำลทรำย ซึ่งประกอบด้วยผลต่ำงรำคำอ้อยขั้นสุ้ ดท้ำยต้ ่ำกว่ำรำคำอ้อยขั้นต้นตำมประกำศสำนักงำนคณะกรรมกำรอ้อยและน้ ำตำลทรำย ่มกิจกำร ตำลทรำย เนื ่ อ งจำกในฤดู ก ำรผลิ ต ปี 2560/2561 ฝ่ ำยบริ ห ำรของกลุ และเงิ น ชดเชยค่ ำ ผลตอบแทนกำรผลิ ต และจ ำหน่ ำ ยน ำ ้ นและเงิ ซึอ่ งยขั ประกอบด้ ยผลต่่ำำกว่ งรำคำอ้ อยขัอ้ ยขั นำหน่ สุ้ นดต้ท้ำนำยน ยตซึ้ ำ่ งำตำลทรำย กว่ ำรำคำอ้เนื อยขั งำนคณะกรรมกำรอ้ ยและน ตำลทรำย คำดว่ ำนรำคำอ้ สุ ดท้ำวยจะต ำรำคำอ้ ตำมพระรำชบั ิออ้ ยและน พ.ศ. ฝ่2527 56 ก้ ำำหนดให้ ้ นญต้ญันตตำมประกำศส ้ ำตำลทรำย ่มกิจกำร ่ องจำกในฤดู กำรผลิ้ ำตำลทรำย ตำนัปี ก2560/2561 ำยบริมำตรำ หอำรของกลุ ชดเชยค่ ำ้ นผลตอบแทนกำรผลิ ตและจ คำดว่ ำ รำคำอ้ อ ยขั น สุ ด ท้ ำ ยจะต ่ ำ กว่ ำ รำคำอ้ อ ยขั น ต้ น ซึ ่ ง ตำมพระรำชบั ญ ญั ต ิ อ อ ้ ยและน ำ ตำลทรำย พ.ศ. 2527 มำตรำ 56 ก ำหนดให้ ้ ้ ้ ่มกิจกำร และเงิำนรำคำอ้ ผลตอบแทนกำรผลิ ตและจ ำหน่ ตำลทรำย ก้ นำรผลิ ปี ่ำ2560/2561 ในกรณี ทชดเชยค่ ี่รำคำอ้ ท้ำยและผลตอบแทนกำรผลิ ำหน่ำเนืยน่ อ้ ำงจำกในฤดู ตำลทรำยขั สุ ดท้้ ำตำลทรำย ำตยต กว่ำรำคำอ้ อำยบริ ยขั้นมำตรำ ต้หนำรของกลุ และผลตอบแทน คำดว่ อยขัอำ้ นยขั สุ้ นดสุท้ดำยจะต ่ำกว่ำรำคำอ้ อยขั ตำมพระรำชบั ญญัติออ้ ยและน พ.ศ. ฝ่2527 56 กำหนดให้ ้ นต้ำนยนซึต้ ำ่ งและจ ในกรณี ท ่ ี ร ำคำอ้ อ ยขั น สุ ด ท้ ำ ยและผลตอบแทนกำรผลิ ต และจ ำหน่ ำ ยน ำ ตำลทรำยขั น สุ ด ท้ ำ ยต ่ ำ กว่ ำ รำคำอ้ อ ยขั น ต้ น และผลตอบแทน ้ ้ ้ ้ ยขั้นนต้จ่นำยเงิ ซึต่ งและจ ญญัติออ้ ำยและน 56 กำหนดให้ คำดว่ำตรำคำอ้ อำหน่ ยขัอ้ นยขั สุ้ นด้ ำสุท้ตำลทรำยขั ่ำกว่้ นำต้รำคำอ้ กำรผลิ ำยน นให้กอองทุ นตำมพระรำชบั ชดเชยให้ กั้ นบสุส่ ดวนต่ ำงดั่ำกว่ งกล่ำรำคำอ้ ำพ.ศ. ว อย่ำ2527 ตต้ำม กำรประมำณกำร ในกรณี ทและจ ี่รำคำอ้ ดำยจะต ท้ำยและผลตอบแทนกำรผลิ ำหน่ำแยนก่โ้ ำรงงำนเท่ ตำลทรำยขั ท้้ ำตำลทรำย ำยต องไรก็ ยขั้นมำตรำ นและผลตอบแทน กำรผลิ ต และจ ำหน่ ำ ยน ำ ตำลทรำยขั น ต้ น ให้ ก องทุ น จ่ ำ ยเงิ น ชดเชยให้ แ ก่ โ รงงำนเท่ ำ กั บ ส่ ว นต่ ำ งดั ง กล่ ำ ว อย่ ำ งไรก็ ต ำม กำรประมำณกำร ้ ในกรณี ำยและผลตอบแทนกำรผลิ ำหน่ำแยน ตำลทรำยขั ท้ำยต ่ำกว่ ยขัเป็้ นนต้ นนและผลตอบแทน รำคำอ้ตอทและจ ยขัี่รำคำอ้ ดอท้ยขั ำยน ยยั มีดคท้วำมไม่ ต่ตำและจ ในอนำคต น รำคำขำยและอั ทำให้รำคำอ้อย ้ น้้ ำงสุตำลทรำยขั ้ นสุำหน่ กำรผลิ ให้กองทุนจจ่จัำยยเงิ นงๆชดเชยให้ ก่โ้ ำเช่ รงงำนเท่ ำกั้ นบสุส่ ดวนต่ ำตงดัรำแลกเปลี งกล่ำรำคำอ้ ำว อย่่ยำอนงไรก็ ตต้ำม กำรประมำณกำร ้แนน่ต้นอนจำกปั รำคำอ้ อ ยขั น สุ ด ท้ ำ ยยั ง มี ค วำมไม่ แ น่ น อนจำกปั จ จั ย ต่ ำ งๆ ในอนำคต เช่ น รำคำขำยและอั ต รำแลกเปลี ่ ย น เป็ นต้ น ทำให้รำคำอ้อย ้ กำรผลิ ให้กองทุ นจจ่จัำย่ปยเงิ แก่โเช่ รงงำนเท่ ำกับส่ วนต่ำตงดัรำแลกเปลี งกล่ำว อย่่ยำนงไรก็ ตำมนกำรประมำณกำร ขัรำคำอ้ ำยขั ยที้ น่จสุำหน่ ะประกำศอำจแตกต่ ำนวนที ้ นสุ ดท้ตอและจ ดท้ำยน ยยั้ ำงตำลทรำยขั มีควำมไม่ำ้แนงไปจำกจ น่ต้นอนจำกปั ต่ระมำณกำรไว้ ำนงๆชดเชยให้ ในอนำคต น รำคำขำยและอั เป็ นต้ ทำให้รำคำอ้อย ขัรำคำอ้ ยทีน่จสุะประกำศอำจแตกต่ ำ งไปจำกจ ำนวนที ่ ป ระมำณกำรไว้ ้ นสุ ดท้อำยขั ดท้ำยยังมีควำมไม่ำแงไปจำกจ น่ นอนจำกปั จจัย่ปต่ระมำณกำรไว้ ำงๆ ในอนำคต เช่ น รำคำขำยและอัตรำแลกเปลี่ยน เป็ นต้น ทำให้รำคำอ้อย ขั้นสุ ดท้ำยที้ ่จะประกำศอำจแตกต่ ำนวนที ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2561 กลุ่ ม กิ จ กำรได้บ ัน ทึ ก รำยได้ค้ำ งรั บ ส ำหรั บ เงิ น ชดเชยค่ ำ อ้อ ยในงบกำรเงิ น รวมด้ว ยผลต่ ำ ง ขัณ้ นวัสุนดทีท้่ ำ31 ยที่ธัจะประกำศอำจแตกต่ งไปจำกจ ำนวนทีบ่ปันระมำณกำรไว้ ่ ม กิ จ กำรได้ น วำคม พ.ศ. 2561ำกลุ ทึ ก รำยได้ค้ำ งรั บ ส ำหรั บ เงิ น ชดเชยค่ ำ อ้อ ยในงบกำรเงิ น รวมด้ว ยผลต่ ำ ง รำคำอ้ ท้ำยต่ำพ.ศ. กว่ำรำคำอ้ อยู่ในส่บวันนของสิ นทรัคพ้ำ ย์งรัหบมุสนำหรั เวียนบและบั นทึกเงินำ อ้ชดเชยค่ ำผลตอบแทนกำรผลิ ตและ ณ วัน ทีอ่ ยขั 31้ นธัสุนดวำคม 2561 อกลุยขั่ ม้ นกิต้จนกำรได้ ทึ ก รำยได้ เงิ น ชดเชยค่ อ ยในงบกำรเงิ น รวมด้ว ยผลต่ ำง ่ รำคำอ้ อ ยขั น สุ ด ท้ ำ ยต ่ ำ กว่ ำ รำคำอ้ อ ยขั น ต้ น อยู ใ นส่ ว นของสิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย น และบั น ทึ ก เงิ น ชดเชยค่ ำ ผลตอบแทนกำรผลิ ต และ ้ ้ ่ ม้ นกิพต้จนย์กำรได้ วันำทีอยน ่ ยขั 31้ ำ้ ตำลทรำยเป็ 2561 อกลุ ก รำยได้ บมุสนำหรั เงิ น ชดเชยค่ อ ยในงบกำรเงิ น รวมด้ว ยผลต่ ำง นยขัทรั ไอยู ม่ห่ในส่ มุนบเวี ยทึนในงบกำรเงิ นหรวม จณ ำหน่ นกว่ส่ำวรำคำอ้ นของสิ รำคำอ้ นธัสุนดวำคม ท้ำยต่ำพ.ศ. วันนของสิ นทรัคพ้ำ ย์งรั เวียนบและบั นทึกเงินำ อ้ชดเชยค่ ำผลตอบแทนกำรผลิ ตและ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เวี ย นในงบกำรเงิ น รวม จรำคำอ้ ำหน่ำอยนยขั้ ำตำลทรำยเป็ น ส่ ว นของสิ นสุ ดท้ำยต่ำนกว่ส่ำวรำคำอ้ วนของสิ นทรั พย์นหรวม มุนเวียน และบันทึกเงินชดเชยค่ำผลตอบแทนกำรผลิตและ ้ นพต้นย์ไอยู ม่ห่ในส่ มุนเวี ยนในงบกำรเงิ จำหน่ำยน้ ำ้ ตำลทรำยเป็ นของสิอนยขัทรั 10 ลูจำหน่ กหนีำ้ชยน ำวไร่ สุ ท ธิ ้ ำตำลทรำยเป็ 10 ลูกหนี้ชำวไร่ - สุ ทธิ นส่ วนของสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนในงบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 10 ลูกหนี้ชำวไร่ - สุ ทธิ งบกำรเงิ น รวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 10 ลูกหนี้ชำวไร่ - สุ ทธิ พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 นรวมพ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. บำท นรวมพ.ศ. 2560 บำท บำท บำท งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2561 2560 บำท บำท บำท บำท ลูกหนี้ชำวไร่ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท ลูก- หนี ช ำวไร่ ้ บุค้ ชคลอื 677,255,984 70,030,056 77,557,589 บำท 939,084,435 บำท บำท บำท ลูกหนี ำวไร่่น -- บุบุคคคลอื ่ น 677,255,984 939,084,435 70,030,056 77,557,589 คลที 5,313,980 939,084,435 17,995,173 ลูก- หนี ำวไร่่น่เกี่ยวข้องกัน บุค้ ชคลอื 677,255,984 70,030,05677,557,589- บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 5,313,980 17,995,173 682,569,964 70,030,05677,557,589- บุคคลอื 677,255,984 939,084,435 คลที่นเกี่ยวข้องกัน 5,313,980 957,079,608 17,995,173 682,569,964 957,079,608 70,030,056- (77,557,589) 77,557,589(84,017,210) หัก- บุค่คำคลที เผือ่ หนี ่เกี่ย้ สวข้งสัอยงกัจะสู นญ 5,313,980 (88,650,852) 17,995,173 (70,030,056) 682,569,964 957,079,608 70,030,056 77,557,589 (84,017,210) (88,650,852) (70,030,056) (77,557,589) หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 598,552,754 868,428,756 682,569,964 (88,650,852) 957,079,608 (70,030,056) 70,030,056 (77,557,589) 77,557,589(84,017,210) หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 598,552,754 868,428,756 (84,017,210) หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 598,552,754 (88,650,852) 868,428,756 (70,030,056)- (77,557,589)ลูกหนี้ชำวไร่ บุคคลอื่น สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุหนี้ที่คำ้ งชำระได้ ดงั นี้ 598,552,754 868,428,756 ลูกหนี้ชำวไร่ บุคคลอื่น สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุหนี้ที่คำ้ งชำระได้ ดงั นี้ ลูกหนี้ชำวไร่ บุคคลอื่น สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุหนี้ที่คำ้ งชำระได้ดงั นี้ นรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ลูกหนี้ชำวไร่ บุคคลอื่น สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุหนี้ที่คำ้ งชำระได้ดงั นี้งบกำรเงิ งบกำรเงิ น รวม งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 นรวมพ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 งบกำรเงิ นเฉพำะกิจกำร2560 พ.ศ. 2561 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท นรวมพ.ศ. บำท บำท บำท งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 บำท บำท บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำทบำทบำทฤดูกำรผลิตปี 2562/2563 84,098,910 ฤดู กำรผลิตตปีปี 2562/2563 84,098,910 บำท บำทบำท-บำท-ฤดู 466,105,500 ฤดูกกำรผลิ ำรผลิตปี 2561/2562 2562/2563 84,098,910 130,215,544ฤดู กกำรผลิ ตตปีปี 2561/2562 466,105,500 130,215,544 --ฤดู ำรผลิ 2560/2561 12,351,894 634,582,199 2562/2563 84,098,910 130,215,544ฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 466,105,500 ฤดู กกำรผลิ ตตปีปี 2560/2561 12,351,894 634,582,199 --ฤดู ำรผลิ 2559/2560 12,898,951 54,166,125 ฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 466,105,500 2560/2561 12,351,894 130,215,544 634,582,199 ฤดู กกำรผลิ ตตปีปี 2559/2560 12,898,951 54,166,125 --ฤดู ำรผลิ 2558/2559 15,697,985 21,059,584 ฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 12,351,894 2559/2560 12,898,951 634,582,199 54,166,125 ฤดู กกำรผลิ ตตปีปี 2558/2559 15,697,985 21,059,584 --ฤดู ำรผลิ 2557/2558 11,817,381 16,874,739 ฤดูกำรผลิตปี 2559/2560 12,898,951 54,166,125 2558/2559 15,697,985 21,059,584 ฤดู กกำรผลิ ตตก่ปี อ2557/2558 11,817,381 16,874,739 74,285,363 82,186,244 70,030,056 77,557,589 ฤดู ำรผลิ นปี 2557/2558 15,697,985 21,059,584 ฤดูกำรผลิตปี 2558/2559 2557/2558 11,817,381 16,874,739 74,285,363 939,084,435 82,186,244 70,030,056 77,557,589 ฤดูกำรผลิตก่อนปี 2557/2558 677,255,984 70,030,056 77,557,589 ฤดูกำรผลิตก่ปี อ2557/2558 11,817,381 16,874,739 74,285,363 82,186,244 นปี 2557/2558 677,255,984 939,084,435 70,030,056 77,557,589 (84,017,210) (88,650,852) (70,030,056) (77,557,589) หัฤดูกกำรผลิ ค่ำเผือ่ ตหนี ยจะสู ญ 74,285,363 939,084,435 82,186,244 70,030,056 77,557,589 ก่อ้ สนปีงสั2557/2558 677,255,984 (84,017,210) (88,650,852) (70,030,056) (77,557,589) หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 593,238,774 850,433,583 677,255,984 (88,650,852) 939,084,435 (70,030,056) 70,030,056- (77,557,589) 77,557,589(84,017,210) หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 593,238,774 850,433,583 (84,017,210) หัก ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 593,238,774 (88,650,852) 850,433,583 (70,030,056)- (77,557,589)44ºÃÔ593,238,774 ÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØ850,433,583 ÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) 327 44 44
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 10
ลูกหนี้ชำวไร่ - สุ ทธิ (ต่อ) ลูกหนี้ชำวไร่ - บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุหนี้ที่คำ้ งชำระได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ฤดูกำรผลิตปี 2562/2563 ฤดูกำรผลิตปี 2561/2562 ฤดูกำรผลิตปี 2560/2561 ฤดูกำรผลิตปี 2559/2560
11
สิ นค้ ำคงเหลือ - สุ ทธิ
วัตถุดิบ สิ นค้ำสำเร็ จรู ป สิ นค้ำซื้อมำเพื่อขำย สิ นค้ำระหว่ำงผลิต วัสดุโรงงำน
3,164,043 2,149,937 5,313,980
1,950,960 15,749,191 295,022 17,995,173
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท 36,762,018 32,673,276 1,216,829,562 901,766,586 36,824,331 84,049,651 14,111,742 8,197,714 50,436,432 39,849,552 1,354,964,085 1,066,536,779
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท -
-
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท -
-
(732,420) (1,351,181) (3,325,016) (355,924)
-
-
(13,482,642) (18,036,229) (5,764,541) 577,976 1,337,505,832 1,060,772,238
-
-
หัก ค่ำเผือ่ กำรลดมูลค่ำของสิ นค้ำคงเหลือ สิ นค้ำเก่ำและเสื่ อมสภำพ - วัตถุดิบ - สิ นค้ำซื้อมำเพื่อขำย - สิ นค้ำระหว่ำงผลิต - วัสดุโรงงำน มูลค่ำสุ ทธิที่คำดว่ำจะได้รับต่ำกว่ำรำคำทุน - สิ นค้ำสำเร็ จรู ป สิ นค้ำระหว่ำงทำง
328
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
(613,480) (2,814,693) (1,125,414)
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 11
สิ นค้ ำคงเหลือ - สุ ทธิ (ต่อ) ต้นทุนของสิ นค้ำคงเหลือ สำหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ที่รับรู้ เป็ นค่ำใช้จ่ำยและรวมอยู่ในต้นทุนขำยเป็ นจำนวน 4,338.83 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 4,120.39 ล้ำนบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิจกำรบันทึกค่ำเผื่อกำรลดมูลค่ำของสิ นค้ำคงเหลือ - น้ ำตำลทรำยดิบเทกอง ให้เท่ำกับมูลค่ำ สุ ทธิ ที่คำดว่ำจะได้รับเป็ นจำนวนเงิน 13.37 ล้ำนบำท เนื่ องจำกรำคำขำยน้ ำ ตำลทรำยดิบตลำดนิ วยอร์ ก หมำยเลข 11 ปรับตัว ลดลงทำให้มลู ค่ำสุ ทธิที่คำดว่ำจะได้รับต่ำกว่ำรำคำทุน โดยประมำณจำกรำคำขำยที่คำดว่ำจะได้ตำมปกติของธุ รกิจหักด้วยค่ำใช้จ่ำย ในกำรขำยที่จำเป็ นต้องจ่ำยไปเพื่อให้ขำยสิ นค้ำนั้นได้ ซึ่ งกลุ่มกิ จกำรได้บนั ทึกค่ำเผื่อดังกล่ำวเป็ นค่ำใช้จ่ำยซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของ ต้นทุนขำยสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
12
สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอืน่
ลูกหนี้กรมสรรพำกร ภำษีซ้ือขอคืน ภำษีซ้ือยังไม่ถึงกำหนด อื่นๆ
13
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
53,096,478 4,965,999 421,112 58,483,589
4,309,459 162,888 4,472,347
9,269,886 7,442,547 40,000 16,752,433
4,007,324 16,648 977,852 5,001,824
เงินลงทุนในบริษัทร่ วม จำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐำนะกำรเงินมีดงั นี้ งบกำรเงินรวม วิธีส่วนได้เสี ย พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวำคม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร วิธีรำคำทุน พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
1,208,109,474 1,227,127,544 1,194,706,819 1,194,706,819 1,208,109,474 1,227,127,544 1,194,706,819 1,194,706,819
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
329
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษ ท ั น ำ ้ ตำลบุ ร ี ร ั ม ย์ จ ำกั ด (มหำชน) หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 13 เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) 13 เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) 13 จเงิำนวนที นลงทุน่รในบริ ษัทร่ วำไรขำดทุ ม (ต่อ) นเบ็ดเสร็ จมีดงั นี้ ับรู้ในงบก จำนวนที่รับรู้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จมีดงั นี้ จำนวนที่รับรู้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จมีดงั นี้
330
งบกำรเงินรวม นรวม พ.ศ. งบกำรเงิ 2561 งบกำรเงินรวมพ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท 71,854,032 32,420,725 71,854,032 32,420,725 71,854,032 32,420,725 71,854,032 32,420,725 71,854,032 32,420,725 71,854,032 32,420,725
บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วม ณ บริวัษนทั ทีร่่ ว31ม ธันวำคม ณ วันที่ 31 ธันวำคม ณ นที่ 31 ธันนวำคม ลักวัษณะของเงิ ลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวำคม มีดงั ต่อไปนี้ ลักษณะของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวำคม มีดงั ต่อไปนี้ ลักษณะของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ สถำนที วันที่ 31่ปธัระกอบ นวำคม มีดงั ต่อไปนี สั ด้ ส่ วนของ สถำนที ่ประกอบ่ สั ดส่เสีวยนของ ธุรกิจ/ประเทศที ส่ วนได้ ทำงตรง ลักษณะ สถำนที ป ่ ระกอบ สั ด ส่ ว นของ ธุรกิจ/ประเทศที ส่ วนได้ ยทำงตรง ลักษณะ ชื่อกิจกำร จดทะเบี ยนจัดตั้ง่ (ร้เอสียละ) ควำมสั มพันธ์ วิธีกำรวัดมูลค่ ำ ธุ ร กิ จ /ประเทศที ่ ส่ ว นได้ เ สี ย ทำงตรง ลักษณะ ชื่อกิจกำร จดทะเบียนจัดตั้ง (ร้ อยละ) ควำมสั มพันธ์ วิธีกำรวัดมูลค่ ำ ชื ่ อ กิ จ กำร จดทะเบี ย นจั ด ตั ้ ง (ร้ อ ยละ) ควำมสั ม พั น ธ์ วิวิธธีกีสำรวั ดมูเลสีค่ยำ ่ วนได้ กองทุนรวมโครงสร้ำงพื้นฐำน ประเทศไทย 33.05 บริ ษทั ร่ วม กองทุ นรวมโครงสร้ ำงพื้นรีฐำน ประเทศไทย 33.05 บริ ษทั ร่ วม วิธีส่วนได้เสี ย โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ ำตำลบุ รัมย์ กองทุ น รวมโครงสร้ ำ งพื น ฐำน ประเทศไทย 33.05 บริ ษ ท ั ร่ ว ม วิธีส่วนได้เสี ย ้ โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ ำตำลบุรีรัมย์ ำกลุม่มีหนนี้ ำ้ ตำลบุ ี รัมย์ดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม ่มกิจกำรไม่ กลุโรงไฟฟ้ สินที่อรำจเกิ กลุ่มกิจกำรไม่มีหนี้ สินที่อำจเกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม กลุ กำรไม่มีหนนีโดยสรุ นซึษ่ งัทเกีร่่ยววข้ ส่ วนได้ ้ สินทีป่อำจเกิ ข้ อ่มมูกิลจทำงกำรเงิ สำหรัดบขึ้บริ มทีอ่มงกัีสบำระส ำคัญเสี ยของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม ข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปสำหรับบริษัทร่ วมที่มีสำระสำคัญ ข้งบแสดงฐำนะกำรเงิ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ัทร่ วมที ่มีสำระส น ณปวัสนำหรั ที่ 31บบริ ธันษวำคม โดยสรุ ป ำคัญ งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม โดยสรุ ป กองทุนรวมโครงสร้ ำงพืน้ ฐำน งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม โดยสรุ ป กองทุ นรวมโครงสร้ ำงพืรน้ ีรฐำน โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุ ัมย์ กองทุ น รวมโครงสร้ ำ งพื น ้ ฐำน โรงไฟฟ้ ีรัมย์ 2560 พ.ศ.ำกลุ 2561่ มน้ำตำลบุรพ.ศ. โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุรีรัมย์ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท สิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิเงินนทรั พย์ หมุนเวียน ยบเท่ำเงินสด สดและรำยกำรเที 7,519,466 7,849,283 สิเงินนทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย น สดและรำยกำรเที 7,519,466 7,849,283 สิ นทรั พย์หมุนเวียนอืย่นบเท่ำเงินสด 245,124,078 118,406,239 เงิสิ นนทรั สดและรำยกำรเที ย บเท่ ำ เงิ น สด 7,519,466 7,849,283 ่น 245,124,078 118,406,239 สิ นทรัพพย์ย์หหมุมุนนเวี เวียยนอื นรวม 252,643,544 126,255,522 สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 245,124,078 118,406,239 สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม 252,643,544 126,255,522 252,643,544 3,586,000,000 126,255,522 3,402,000,000 สิ นทรัพย์หไม่มุหนมุเวีนยเวีนรวม ยน 3,402,000,000 3,586,000,000 สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน 3,402,000,000 3,586,000,000 สิ นทรั ย์ ไนม่เวีหยมุน เวียน หนี ้สินพหมุ หนี น ่น หนี้้สสิินนหมุ หมุนนเวี เวียยนอื 2,816,914 2,884,181 หนี ส ้ ิ น หมุ น เวี ย น ่น หนี ส ิ น หมุ น เวี ย นอื 2,816,914 2,884,181 ้ หนี้สินหมุนเวียนรวม 2,816,914 2,884,181 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 2,816,914 2,884,181 หนี้สินหมุนเวียนรวม 2,816,914 2,884,181 สินพหมุ 2,816,914 3,709,371,341 2,884,181 3,651,826,630 สิหนีน้ทรั ย์ สนุ ทเวีธิยนรวม 3,651,826,630 3,709,371,341 สิ นทรัพย์ สุทธิ 3,651,826,630 3,709,371,341 สิ นทรัพย์ สุทธิ ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 47 47
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษ ท ั น ำ ้ ตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงิ จกำร สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นนเฉพำะกิ หมำยเหตุ น รวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ จกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 13 เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) 13 เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) 13 เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) ข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปสำหรับบริษัทร่ วมที่มีสำระสำคัญ (ต่อ) ข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปสำหรับบริษัทร่ วมที่มีสำระสำคัญ (ต่อ) ข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปสำหรับบริษัทร่ วมที่มีสำระสำคัญ (ต่อ) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคมโดยสรุ ป งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคมโดยสรุ ป งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคมโดยสรุ ป
กองทุนรวมโครงสร้ ำงพืน้ ฐำน กองทุ นรวมโครงสร้ ำงพืรน้ ีรฐำน โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุ ัมย์ กองทุ น รวมโครงสร้ ำงพืรน้ ีรฐำน โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุ ัมย์ พ.ศ.ำกลุ 2561่ มน้ำตำลบุรพ.ศ. โรงไฟฟ้ ีรัมย์ 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท รำยได้ดอกเบี้ย 264,175,036 114,410,069 รำยได้ดอกเบี้ย 264,175,036 114,410,069 รำยได้ 264,175,036 114,410,069 รำยได้รดวม อกเบี้ย 264,175,036 114,410,069 รำยได้รวม 264,175,036 114,410,069 ค่รำยได้ ำใช้จร่ำยรวม (27,291,191) (10,864,363) วม 264,175,036 114,410,069 ค่(ขำดทุ ำใช้จ่ำนยรวม (27,291,191) (10,864,363) ) ก ำไรที ่ ย ง ั ไม่ เ กิ ด ขึ น จำกกำรวั ด มู ล ค่ ำ เงิ น ลงทุ น (19,468,556) 825,635 ้ ค่(ขำดทุ ำใช้จ่ำนยรวม (27,291,191) (10,864,363) ) กำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน (19,468,556) 825,635 217,415,289 104,371,341 ก(ขำดทุ ำไรเบ็นด)เสร็ จรวม่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน กำไรที (19,468,556) 825,635 217,415,289 104,371,341 กำไรเบ็ดเสร็จรวม 217,415,289 104,371,341 กำไรเบ็ดเสร็จรวม ข้อมูลข้ำงต้นเป็ นจำนวนที่รวมอยู่ในงบกำรเงินของบริ ษทั ร่ วม (ซึ่ งไม่ใช่เพียงแค่ส่วนแบ่งของกลุ่มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วมดังกล่ำว) ่ในงบกำรเงินของบริ ่มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วมดังกล่ำว) ข้อมูลข้บำงต้ ่รวมอยูำงของนโยบำยกำรบั ร่ วม ่(ซึ ใช่เพียงแค่ ่ยนจ และปรั ปรุนนงเกีเป็ วกัำนวนที บควำมแตกต่ ญชีษษขททัั องกลุ มกิ่่ งงจไม่ กำรและบริ ษทั สสร่่่ วววนแบ่ ม งงของกลุ ่ ่มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วมดังกล่ำว) ข้และปรั อมูลข้บำงต้ เป็ นจ ำนวนที ่ ร วมอยู ใ นงบกำรเงิ น ของบริ ร่ ว ม (ซึ ไม่ ใ ช่ เ พี ย งแค่ นแบ่ ของกลุ ปรุ งเกี่ยวกับควำมแตกต่ำงของนโยบำยกำรบัญชีของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ร่ วม และปรับปรุ งเกี่ยวกับควำมแตกต่ำงของนโยบำยกำรบัญชีของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ร่ วม กำรกระทบยอดรำยกำรข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ป กำรกระทบยอดรำยกำรข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ป กำรกระทบยอดรำยกำรข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ป กำรกระทบยอดรำยกำรระหว่ำงข้อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปกับมูลค่ำตำมบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม กำรกระทบยอดรำยกำรระหว่ำงข้อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปกับมูลค่ำตำมบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม กำรกระทบยอดรำยกำรระหว่ำงข้อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปกับมูลค่ำตำมบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม กองทุนรวมโครงสร้ ำงพืน้ ฐำน กองทุ นรวมโครงสร้ ำงพืรน้ ีรฐำน โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุ ัมย์ กองทุ น รวมโครงสร้ ำงพืรน้ ีรฐำน โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุ ัมย์ พ.ศ.ำกลุ 2561่ มน้ำตำลบุรพ.ศ. โรงไฟฟ้ ีรัมย์ 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท3,709,371,341 สิ นทรัพย์ สุทธิ ณ วันต้ นปี 3,709,371,341- 3,605,000,000สิกำรซื นทรั้ อพเงิย์นสลงทุ ุ ทธิ ณ น วัวันนต้ต้ นนปีปี 3,709,371,341- 3,605,000,000สิกำรซื นทรั้ อพเงิย์นสลงทุ ุ ทธิ ณ น เงิกำรซื นปันอผลจ่ ำ ย (274,960,000)- 3,605,000,000เงินลงทุ เงิกำไรขำดทุ นปัน้ ผลจ่ ำนยเบ็นดเสร็ จ (274,960,000) 217,415,289 104,371,341-เงิกำไรขำดทุ นปันผลจ่นำยเบ็ดเสร็ จ (274,960,000) 217,415,289 104,371,341 3,651,826,630 สิกำไรขำดทุ นทรัพย์ สนุ ทเบ็ ธิ ณ วันจสิ้นปี ดเสร็ 217,415,289 3,709,371,341 104,371,341 3,651,826,630 3,709,371,341 สิส่นวนได้ ทรัพเย์สีสยุ ในบริ ทธิ ณษวัทั นร่สิว้นมปี(ร้อยละ 33.05%) 1,208,109,474 1,223,873,226 3,651,826,630 3,709,371,341 สิส่นวนได้ ทรัพเย์สีสยุ ในบริ ทธิ ณษวัทั นร่สิว้นมปี(ร้อยละ 33.05%) 1,208,109,474 1,223,873,226 ผลต่ ำ งของรำคำซื อ หน่ ว ยลงทุ น 3,254,318 ้ ส่ผลต่ วนได้ เ สี ย ในบริ ษ ท ั ร่ ว ม (ร้ อ ยละ 33.05%) 1,208,109,474 ำงของรำคำซื้อหน่วยลงทุน - 1,223,873,226 3,254,318 1,208,109,474- 1,227,127,544 มูผลต่ ลค่ำำงของรำคำซื ตำมบัญชี ้ อหน่วยลงทุน 3,254,318 1,208,109,474 1,227,127,544 มูลค่ ำตำมบัญชี 1,208,109,474 1,227,127,544 มูลค่ ำตำมบัญชี
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
331 48 48
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 13
เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) รำยกำรเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม สำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม
รำคำตำมบัญชีตน้ ปี ลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินปันผลรับจำกบริ ษทั ร่ วม ส่ วนแบ่งกำไรจำกกำรลงทุนในบริ ษทั ร่ วม รำคำตำมบัญชีปลำยปี
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
1,227,127,544 (90,872,102) 71,854,032 1,208,109,474
1,194,706,819 32,420,725 1,227,127,544
กองทุนรวมโครงสร้ ำงพืน้ ฐำนโรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ำตำลบุรีรัมย์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั น้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) มีเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ยในกองทุนรวมโครงสร้ำงพื้นฐำน โรงไฟฟ้ ำกลุ่มน้ ำตำลบุรีรัมย์ (“กองทุนรวมฯ”) เป็ นจำนวนรวมทั้งสิ้ น 115,672,228 หน่ วย รวมเป็ นจำนวนเงิน 1,208.11 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 1,227.13 ล้ำนบำท) คิดเป็ นสัดส่ วนกำรลงทุนร้อยละ 33.05 ของจำนวนหน่ วยลงทุนทั้งหมดของกองทุนรวมฯ ที่มีกำรเสนอขำยต่อสำธำรณะ 14
เงินลงทุนในบริษัทย่ อย รำยกำรเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย สำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท รำคำตำมบัญชีตน้ ปี ลงทุนเพิ่มขึ้น รำคำตำมบัญชีปลำยปี
332
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
1,445,476,600 4,999,700 1,450,476,300
1,445,476,600 1,445,476,600
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 14
เงินลงทุนในบริษัทย่ อย (ต่อ) เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทยทั้งหมดที่แสดงในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร มีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท
ทุนเรียกชำระแล้ ว
สั ดส่ วนกำรถือหุ้น
วิธีรำคำทุน
เงินปันผลรับ
พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ล้ ำนบำท ล้ ำนบำท
พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ร้ อยละ ร้ อยละ
พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ล้ ำนบำท ล้ ำนบำท
พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ล้ ำนบำท ล้ ำนบำท
บริ ษทั โรงงำนน้ ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนำอ้อย จำกัด บริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์พลัส จำกัด บริ ษทั โรงงำนน้ ำตำลชำนิ จำกัด บริ ษทั ปุ๋ ยตรำกุญแจ จำกัด บริ ษทั น้ ำตำลทุนบุรีรัมย์ จำกัด บริ ษทั ชูกำร์ เคน อีโคแวร์ จำกัด บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงำน จำกัด และบริ ษทั ย่อย - บริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์ จำกัด รวม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย
1,050 71 160 5 15 10 5 136 170
1,050 71 160 5 15 10 136 170
99.90 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99
99.90 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99
1,049 70 160 5 15 10 5 136 1,450
1,049 70 160 5 15 10 136 1,445
18 95 113
189 10 31 230
บริษัท ชู กำร์ เคน อีโคแวร์ จำกัด เมื่อวันที่ 16 มกรำคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั ชูกำร์ เคน อีโคแวร์ จำกัด ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั กับกระทรวงพำณิ ชย์ดว้ ยทุนจดทะเบียน รวม 5,000,000 บำท เป็ นหุ ้นสำมัญจำนวน 50,000 หุ ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 100 บำท ซึ่ งได้ชำระเต็มจำนวนแล้ว บริ ษทั ได้ลงทุน ในหุน้ สำมัญของบริ ษทั ชูกำร์เคน อีโคแวร์ จำกัด ในสัดส่ วนกำรถือหุน้ ร้อยละ 99.99 คิดเป็ นจำนวนเงินทั้งสิ้ น 4,999,700 บำท 15
เงินลงทุนระยะยำวอืน่ - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
726,965 (84,679) 642,286
585,784 141,181 726,965
726,965 (84,679) 642,286
585,784 141,181 726,965
เงินลงทุนทัว่ ไป - ตรำสำรทุน
1,409,950
1,409,950
2,175
2,175
เงินลงทุนระยะยำวอืน่ - สุ ทธิ
2,052,236
2,136,915
644,461
729,140
หลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ตรำสำรทุน มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุน (ลดลง) เพิ่มขึ้น
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
333
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 15
เงินลงทุนระยะยำวอืน่ - สุ ทธิ (ต่อ) รำยกำรเคลื่อนไหวของเงินลงทุนระยะยำวอื่น สำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม
รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุน (ลดลง) รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ
เงินลงทุน ทั่วไป บำท
หลักทรั พย์ เผื่อขำย บำท
รวม บำท
1,409,950 1,409,950
726,965 (84,679) 642,286
2,136,915 (84,679) 2,052,236
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุน (ลดลง) รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ
เงินลงทุน ทั่วไป บำท
หลักทรั พย์ เผื่อขำย บำท
รวม บำท
2,175 2,175
726,965 (84,679) 642,286
729,140 (84,679) 644,461
กำรวัดมูลค่ำยุติธรรมของหลักทรั พย์เผื่อขำยใช้รำคำเสนอซื้ อล่ำสุ ดที่ อำ้ งอิงจำกตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ณ วันทำกำร สุ ดท้ำยของวันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ซึ่งจัดเป็ นข้อมูลระดับ 1 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม
334
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 16
เงินให้ ก้ยู ืมระยะยำวแก่ ลูกหนี้ชำวไร่ - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม
ส่ วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยำว ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
134,926,615 272,940,066 407,866,681
224,921,212 308,242,107 533,163,319
-
-
กำรเปลี่ยนแปลงของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ยอดยกมำ เงินให้กยู้ มื เพิ่ม รับคืนเงินกูย้ มื ยอดยกไป
533,163,319 101,155,459 (226,452,097) 407,866,681
378,797,201 282,400,440 (128,034,322) 533,163,319
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท -
-
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ มีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 7.02 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 7.02 ต่อปี ) เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ - บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ส่ วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยำว ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ
10,434,000 12,447,820 22,881,820
11,445,376 10,947,820 22,393,196
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท -
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
-
335
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 17
อสั งหำริมทรั พย์ เพื่อกำรลงทุน งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
ที่ดนิ บำท
ที่ดนิ บำท
-
-
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำคำตำมบัญชีตน้ งวด - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น กำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชีปลำยงวด - สุ ทธิ
3,971,127 3,971,127
3,971,127 3,971,127
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำคำทุน หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
3,971,127 3,971,127
3,971,127 3,971,127
มูลค่ำยุติธรรม
4,784,000
4,784,000
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 รำคำทุน หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
ในระหว่ำงปี พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจกำรไม่มีอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน มูลค่ำยุติธรรมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนอ้ำงอิงจำกวิธีเปรี ยบเทียบกับข้อมูลตลำดในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม โดยนำรำคำขำย ของที่ดินที่เปรี ยบเทียบกันได้ในบริ เวณใกล้เคียงกันมำปรับปรุ งด้วยควำมแตกต่ำงของคุณสมบัติที่สำคัญ เช่น ขนำดและสถำนที่ต้ งั มูลค่ำยุติธรรมอยูใ่ นระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม
336
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
337
18
1,058,908,805 (110,673,542) 948,235,263
240,491,636 (6,601,139) 233,890,497 233,890,497 67,363,323 2,167,023 (4,215,669) 299,205,174 310,021,982 (10,816,808) 299,205,174
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ ซื้ อสิ นทรัพย์ โอนสิ นทรัพย์เข้ำ (ออก) จำหน่ำยสิ นทรัพย์ - สุทธิ ตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - สุทธิ กำรจัดประเภทรำยกำรใหม่ ค่ำเสื่ อมรำคำ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
1,115,814,228 (150,641,482) 965,172,746
948,235,263 2,339,924 59,498,240 (3,331,527) (41,569,154) 965,172,746
อำคำรและ ส่ วนปรับปรุ ง อำคำร บำท
ที่ดนิ และ ส่ วนปรับปรุง ที่ดนิ บำท
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
3,913,241,230 (638,359,014) 3,274,882,216
3,260,087,167 23,798,692 183,262,125 (2,198,793) (20,092,049) (169,974,926) 3,274,882,216
3,773,270,451 (33,202,236) (479,981,048) 3,260,087,167
เครื่องจักร และอุปกรณ์ บำท
89,453,964 (43,419,557) 46,034,407
49,088,158 14,223,311 1,548,960 (1,894,643) (16,931,379) 46,034,407
85,236,934 (36,148,776) 49,088,158
89,921,191 (43,926,696) 45,994,495
45,300,558 11,476,255 3,485,586 (1,057) (571,255) (13,695,592) 45,994,495
81,085,501 (35,784,943) 45,300,558
งบกำรเงินรวม เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องตกแต่ ง และเครื่องมือ ติดตั้งและ กำรเกษตร อุปกรณ์ สำนักงำน บำท บำท
127,481,920 (62,481,916) 65,000,004
60,427,072 15,745,910 (1,430,537) (9,742,441) 65,000,004
115,335,010 (54,907,938) 60,427,072
ยำนพำหนะ บำท
115,094,067 (682,804) 114,411,263
87,598,251 283,311,251 (249,961,934) (6,536,305) 114,411,263
88,281,055 (682,804) 87,598,251
สินทรัพย์ ระหว่ำงก่ อสร้ ำง บำท
54
5,761,028,582 (682,804) (949,645,473) 4,810,700,305
4,684,626,966 418,258,666 (3,630,387) (25,889,474) (6,536,305) (256,129,161) 4,810,700,305
5,442,609,392 (33,885,040) (724,097,386) 4,684,626,966
รวม บำท
338
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 299,205,174 965,172,746 965,172,746 3,274,882,216 3,274,882,216 299,205,174 108,455,972 12,704,939 12,704,939 19,257,235 19,257,235 108,455,972 8,548,606 28,518,895 28,518,895 274,716,852 274,716,852 8,548,606 - - - (494,200) (10,659,159) (10,659,159) - (494,200) 883,877 (883,877) 883,877 (883,877) - (4,696,788) (45,926,569) (45,926,569) (196,003,052) (196,003,052) (4,696,788) 412,396,841 959,091,934 959,091,934 3,362,194,092 3,362,194,092 412,396,841
427,026,560 1,156,345,936 1,156,345,936 4,191,739,067 4,191,739,067 427,026,560 - - - (14,629,719) (197,254,002) (197,254,002) (829,544,975) (829,544,975) (14,629,719) 412,396,841 959,091,934 959,091,934 3,362,194,092 3,362,194,092 412,396,841
นทีธั่ 31 ธันวำคม ณ วันณทีวั่ 31 นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 รำคำทุ รำคำทุ น น เผื่อกำรด้ หัก หัค่กำเผืค่อ่ ำกำรด้ อยค่ำอยค่ำ เสื่ อมรำคำสะสม ค่ำเสืค่่ อำมรำคำสะสม รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชี -ญสุชีท-ธิสุทธิ
่ดนิ และ อำคำรและ อำคำรและ ที่ดนิ ทีและ ส่ วนปรั ส่ วนปรั ส่ วนปรั บปรุบง ปรุ ง ส่ วนปรั บปรุบง ปรุ ง อำคำร ที่ดนิ ที่ดนิ อำคำร บำทบำท บำทบำท
101,316,579 101,316,579 - (59,957,540) (59,957,540) 41,359,039 41,359,039
46,034,407 46,034,407 10,781,223 10,781,223 1,092,092 1,092,092 - (1) (1) (292,222) (292,222) (16,256,460) (16,256,460) 41,359,039 41,359,039
4,810,700,305 4,810,700,305 920,834,953 920,834,953 - (1,119,493) (1,119,493) (11,164,417) (11,164,417) (292,222) (292,222) (286,806,556) (286,806,556) 5,432,152,570 5,432,152,570
รวมรวม บำทบำท
55 55
100,407,221 122,714,570 122,714,570 553,840,816 553,840,816 6,653,390,749 6,653,390,749 100,407,221 (682,804) (682,804) - - (682,804) (682,804) (57,771,346) (61,397,793) (61,397,793) (1,220,555,375) (57,771,346) - -(1,220,555,375) 42,635,875 61,316,777 61,316,777 553,158,012 553,158,012 5,432,152,570 5,432,152,570 42,635,875
114,411,263 114,411,263 752,228,732 752,228,732 (313,481,983) (313,481,983) - - - - 553,158,012 553,158,012
สินทรัสินพทรั ย์ พย์ ยำนพำหนะระหว่ระหว่ งก่ำองสร้ ำง ยำนพำหนะ ำงก่ อำสร้ บำทบำท บำทบำท
45,994,495 65,000,004 65,000,004 45,994,495 9,942,043 7,464,809 9,942,043 7,464,809 605,538 605,538 - (1,119,493) - - (1,119,493) (11,052) (11,052) (5) (5) - - (13,895,149) (10,028,538) (10,028,538) (13,895,149) 42,635,875 61,316,777 61,316,777 42,635,875
งบกำรเงิ งบกำรเงิ นรวมนรวม อุปกรณ์ เครื่อเครื ่องตกแต่ เครื่อเครื งมือ่ออุงมืปอกรณ์ งตกแต่ ง ง และเครื ดตั้งและ เครื่อเครื งจัก่อรงจักร และเครื ่องมือ่องมือ ติดตัติ้งและ ปกรณ์ กำรเกษตร อุปกรณ์ อุปกรณ์ ำนักงำน และอุและอุ ปกรณ์ กำรเกษตร สำนัสกงำน บำทบำท บำทบำท บำทบำท
นทีธั่ 31 ธันวำคม สำหรัสบำหรั ปี สิบ้นปีสุสิด้นวัสุนดทีวั่ 31 นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชีตญน้ ชีปีต-น้ สุปีท-ธิสุทธิ สิ นพทรั ซื้ อสิซืน้ อทรั ย์ พย์ เข้ำ (ออก) โอนสิโอนสิ นทรันพทรั ย์เข้พำย์(ออก) จำหน่จำหน่ ำยสิ นำยสิ ทรันพทรั ย์ -พสุย์ท-ธิสุทธิ ตัดจำหน่ ตัดจำหน่ ำยสิ นำยสิ ทรันพทรั ย์ -พสุย์ท-ธิสุทธิ ดประเภทรำยกำรใหม่ กำรจักำรจั ดประเภทรำยกำรใหม่ - สุท-ธิสุทธิ เสื่ อมรำคำ ค่ำเสืค่่ อำมรำคำ รำคำตำมบั ชีปลำยปี รำคำตำมบั ญชีปญลำยปี - สุท-ธิสุทธิ
่ดนิ อำคำรและอุ ปกรณ์ ทธิอ)(ต่อ) 18 18 ที่ดนิ ทีอำคำรและอุ ปกรณ์ - สุ ท-ธิสุ(ต่
น้ำตำลบุ ย์ ดจำกั ด (มหำชน) บริษบริ ัท นษ้ำัทตำลบุ รีรัมรย์ีรจัมำกั (มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ จกำรจกำร ธันวำคม สำหรัสำหรั บปี สิบ้นปีสุสิด้นวัสุนดทีวั่ น31ทีธั่ 31 นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 18
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สิ นทรัพย์ที่มีรำคำตำมบัญชีสุทธิ จำนวน 49.19 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 48.93 ล้ำนบำท) รวมอยูใ่ นหนี้สินสัญญำเช่ำซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 อำคำรและอุปกรณ์รำคำทุนจำนวน 72.28 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 51.93 ล้ำนบำท) ได้ตดั ค่ำ เสื่ อมรำคำหมดแล้วทั้งจำนวนแต่ยงั คงใช้งำนอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์คิดเป็ นรำคำตำมบัญชีสุทธิ จำนวน 1,715.67 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 1,812.05 ล้ำนบำท) ได้นำไปวำงเป็ นหลักประกันเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงิน (หมำยเหตุขอ้ 22) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ต้นทุนกำรกูย้ ืมจำนวน 11.71 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 3.44 ล้ำนบำท) เกิ ดจำกเงินกูย้ ืม และ ได้บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์รวมอยูใ่ นรำยกำรซื้อสิ นทรัพย์ โดยมีอตั รำดอกเบี้ย อยูท่ ี่ร้อยละ 5.15 - 5.78 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 5.15)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
339
340
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชีญ- ชีสุ ท- สุธิ ทธิ
ณ วัณนทีวัน่ 31ที่ ธั31นวำคม ธันวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25602560 รำคำทุ รำคำทุ นน หักหัค่กำเสืค่ำ่ อเสืมรำคำสะสม ่ อมรำคำสะสม
รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชีญปชีลำยปี ปลำยปี - สุ ท- สุธิ ทธิ
สำหรั สำหรั บปี บสิ้ปีนสิสุ้นดวัสุนดทีวัน่ 31ที่ ธั31นวำคม ธันวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25602560 รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชีญตน้ชีตปี น้ -ปีสุ ท- สุธิ ทธิ ซื้อสิซื้นอสิทรันพทรัย์พย์ โอนสิ โอนสิ นทรันพทรัย์เพข้ย์ำเข้(ออก) ำ (ออก) จำหน่ จำหน่ ำยสิำนยสิทรันพทรัย์พ-สุย์ท-สุธิ ทธิ ตัดจตัำหน่ ดจำหน่ ำยสิำนยสิทรันพทรัย์พ- ย์สุ ท- สุธิ ทธิ ค่ำเสืค่ำ่ อเสืมรำคำ ่ อมรำคำ
รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชีญ- ชีสุ ท- สุธิ ทธิ
ณ วัณนทีวัน่ 1ทีมกรำคม ่ 1 มกรำคม พ.ศ.พ.ศ. 25602560 รำคำทุ รำคำทุ นน หักหัค่กำเสืค่ำ่ อเสืมรำคำสะสม ่ อมรำคำสะสม
นิ อำคำรและอุ ปกรณ์ 18 18 ที่ดทีนิ ่ดอำคำรและอุ ปกรณ์ - สุ ท- สุธิ ท(ต่ธิอ(ต่) อ)
บริษบริัทษนัท้ำตำลบุ น้ำตำลบุ รีรัมรย์ีรัมจย์ำกัจดำกั(มหำชน) ด (มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ นเฉพำะกิ จกำร จกำร หหมำยเหตุ สำหรั บปี บสิ้ปีนสิสุ้นดวัสุนดทีวัน่ 31ที่ ธั31นวำคม ธันวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 สำหรั
14,807,604 14,807,604 (8,621,483) (8,621,483) 6,186,121 6,186,121
6,385,334 6,385,334 - 69,840 69,840 - - (269,053) (269,053) 6,186,121 6,186,121
14,737,764 14,737,764 (8,352,430) (8,352,430) 6,385,334 6,385,334
7,105,788 7,105,788 (1,752,492) (1,752,492) 5,353,296 5,353,296
4,936,076 4,936,076 1,136,043 1,136,043 - (1,057) (1,057) (5,274) (5,274) (712,492) (712,492) 5,353,296 5,353,296
6,000,671 6,000,671 (1,064,595) (1,064,595) 4,936,076 4,936,076
อำคำรและ อำคำรและ เครืเครื ่องตกแต่ ่องตกแต่ ง ง ส่ วนปรั ส่ วนปรั บปรุบงปรุ ง ติดตัติ้งดและ ตั้งและ อำคำร อำคำร อุปกรณ์ อุปกรณ์ สำนัสกำนังำน กงำน บำทบำท บำทบำท
32,909,804 32,909,804 (21,335,113) (21,335,113) 11,574,691 11,574,691
4,242,751 4,242,751 8,375,727 8,375,727 - - - (1,043,787) (1,043,787) 11,574,691 11,574,691
24,534,077 24,534,077 (20,291,326) (20,291,326) 4,242,751 4,242,751
40,734 40,734 - 40,734 40,734
69,840 69,840 40,734 40,734 (69,840) (69,840) - - - 40,734 40,734
69,840 69,840 - 69,840 69,840
สิ นสิทรันพทรัย์พย์ ยำนพำหนะ ยำนพำหนะ ระหว่ ระหว่ ำงก่ำองก่สร้อำสร้ง ำง บำทบำท บำทบำท
งบกำรเงิ งบกำรเงิ นเฉพำะกิ นเฉพำะกิ จกำร จกำร
57 57
54,863,930 54,863,930 (31,709,088) (31,709,088) 23,154,842 23,154,842
15,634,001 15,634,001 9,552,504 9,552,504 - (1,057) (1,057) (5,274) (5,274) (2,025,332) (2,025,332) 23,154,842 23,154,842
45,342,352 45,342,352 (29,708,351) (29,708,351) 15,634,001 15,634,001
รวมรวม บำทบำท
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
341
14,807,604 14,807,604 (8,888,854) (8,888,854) 5,918,750 5,918,750
ธันวำคม ณ วัณนทีวั่ น31ทีธั่ 31นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 รำคำทุ รำคำทุ น น ่ อมรำคำสะสม หัก หัค่กำเสืค่่ อำเสื มรำคำสะสม รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชี ญ- สุชีท- ธิสุ ทธิ
8,185,983 8,185,983 (3,217,899) (3,217,899) 4,968,084 4,968,084
5,353,296 5,353,296 1,039,461 1,039,461 40,734 40,734 - - (292,222) (292,222) (1,173,185) (1,173,185) 4,968,084 4,968,084
28,494,753 28,494,753 (15,267,386) (15,267,386) 13,227,367 13,227,367
11,574,691 11,574,691 4,267,107 4,267,107 - (1,119,492) (1,119,492) (5) (5) - (1,494,934) (1,494,934) 13,227,367 13,227,367
3,696,531 3,696,531 - 3,696,531 3,696,531
40,734 40,734 3,696,531 3,696,531 (40,734) (40,734) - - - - 3,696,531 3,696,531
ธันวำคม อำคำรและอุ ปกรณ์ รำคำทุ นจำนวน ล้ำนบำท : จำนวน ล้ำนบำท) ่ อมรำคำหมดแล้ ยงั คงใช้ งำนอยู ้ งจำนวนแต่ ่ ่ ณ วัณนทีวั่ น31ที่ธั31นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 อำคำรและอุ ปกรณ์ รำคำทุ นจำนวน 11.9011.90 ล้ำนบำท (พ.ศ.(พ.ศ. 25602560 : จำนวน 15.6715.67 ล้ำนบำท) ได้ตได้ ดั ค่ตำดั เสืค่่ อำเสื มรำคำหมดแล้ วทั้งวจทัำนวนแต่ ยงั คงใช้ งำนอยู
ธันวำคม สิ นพทรั นรำคำตำมบั ธิจำนวน ล้ำนบำท : จำนวน ล้ำนบำท) รวมอยู ใ่ นหนี สัญญำเช่ ณ วัณนทีวั่ น31ที่ธั31นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 สิ นทรั ย์คพิดย์เป็คิดนเป็รำคำตำมบั ญชีสญุ ทชีธิสจุ ทำนวน 12.5612.56 ล้ำนบำท (พ.ศ.(พ.ศ. 25602560 : จำนวน 9.629.62 ล้ำนบำท) รวมอยู ใ่ นหนี ำซื้อำซื้อ ้ สินสั้ สญิ นญำเช่
6,186,121 6,186,121 - - - - - (267,371) (267,371) 5,918,750 5,918,750
งบกำรเงิ นเฉพำะกิ งบกำรเงิ นเฉพำะกิ จกำรจกำร อำคำรและ เครื่อเครื ่องตกแต่ อำคำรและ งตกแต่ ง ง ส่ วนปรั ตั้งและ สิ นพทรัย์ พย์ ส่ วนปรั บปรุบงปรุ ง ติดตัติ้งดและ สิ นทรั อำคำร อุปกรณ์ อุปกรณ์ ยำนพำหนะ ระหว่ระหว่ อำคำร สำนัสกำนั งำนกงำน ยำนพำหนะ ำงก่อำงก่ สร้อำสร้ ง ำง บำทบำท บำทบำท บำทบำท บำทบำท
ธันวำคม สำหรัสำหรั บปี สิบ้นปีสุสิด้นวัสุนดทีวั่ น31ทีธั่ 31นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 รำคำตำมบั รำคำตำมบั ญชีตญน้ ชีปีตน้ - ปีสุ ท- ธิสุ ทธิ สิ นพทรั ซื้อสิซืน้ อทรั ย์ พย์ โอนสิ ข้ำ (ออก) โอนสิ นทรันพทรั ย์เข้พำย์เ(ออก) จำหน่ พย์ท-สุ จำหน่ ำยสิำนยสิทรันพทรั ย์ -สุ ธิ ทธิ ดจำหน่ ตัดจตัำหน่ ำยสิำนยสิทรันพทรั ย์ -พสุย์ท- ธิสุ ทธิ จัดประเภทรำยกำรใหม่ จัดประเภทรำยกำรใหม่ - สุ ท- ธิสุ ทธิ ่ อมรำคำ ค่ำเสืค่่ อำเสื มรำคำ รำคำตำมบั ชีปลำยปี รำคำตำมบั ญชีปญลำยปี - สุ ท- ธิสุ ทธิ
นิ อำคำรและอุ ปกรณ์ ทธิอ(ต่ 18 18 ที่ดนิ ที่ดอำคำรและอุ ปกรณ์ - สุ ท-ธิสุ (ต่ ) อ)
น้ำตำลบุ ย์ จดำกั(มหำชน) ด (มหำชน) บริษบริ ัท ษนัท้ำตำลบุ รีรัมรย์ีรจัมำกั หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ จกำรจกำร ธันวำคม สำหรัสำหรั บปี สิบ้นปีสุสิด้นวัสุนดทีวั่ น31ทีธั่ 31นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561
58 58
55,184,871 55,184,871 (27,374,139) (27,374,139) 27,810,732 27,810,732
23,154,842 23,154,842 9,003,099 9,003,099 - (1,119,492) (1,119,492) (5) (5) (292,222) (292,222) (2,935,490) (2,935,490) 27,810,732 27,810,732
รวมรวม บำทบำท
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 18
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ค่ำเสื่ อมรำคำสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม แสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ค่ำเสื่ อมรำคำที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ - ต้นทุนขำย - ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร
19
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
260,108,390 26,698,166 286,806,556
231,492,881 24,636,280 256,129,161
2,935,490 2,935,490
2,025,332 2,025,332
สิ นทรัพย์ ระหว่ ำงติดตั้ง บำท
รวม บำท
สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้อสิ นทรัพย์ ค่ำตัดจำหน่ำย รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
342
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บำท
สิ ทธิบัตร บำท
สิ ทธิกำรใช้ สิ นทรัพย์ บำท
10,500,491 (4,288,296) 6,212,195
82,474 (6,999) 75,475
12,567,324 (1,091,032) 11,476,292
9,986,625 9,986,625
33,136,914 (5,386,327) 27,750,587
6,212,195 1,140,881 (2,333,148) 5,019,928
75,475 (8,241) 67,234
11,476,292 (627,936) 10,848,356
9,986,625 309,311 10,295,936
27,750,587 1,450,192 (2,969,325) 26,231,454
11,641,372 (6,621,444) 5,019,928
82,474 (15,240) 67,234
12,567,324 (1,718,968) 10,848,356
10,295,936 10,295,936
34,587,106 (8,355,652) 26,231,454
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 19
สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ (ต่อ)
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บำท สำหรับปี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้อสิ นทรัพย์ จัดประเภทรำยกำรใหม่ - สุ ทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
งบกำรเงินรวม สิ ทธิกำรใช้ สิ ทธิบัตร สิ นทรัพย์ บำท บำท
สิ นทรัพย์ ระหว่ ำงติดตั้ง บำท
รวม บำท
5,019,928 2,001,828 292,222 (2,112,424) 5,201,554
67,234 (8,241) 58,993
10,848,356 (627,936) 10,220,420
10,295,936 5,315,200 15,611,136
26,231,454 7,317,028 292,222 (2,748,601) 31,092,103
13,643,199 (8,441,645) 5,201,554
82,474 (23,481) 58,993
12,567,324 (2,346,904) 10,220,420
15,611,136 15,611,136
41,904,134 (10,812,031) 31,092,103
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
343
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 19
สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ (ต่อ) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้อสิ นทรัพย์ ค่ำตัดจำหน่ำย รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้อสิ นทรัพย์ จัดประเภทรำยกำรใหม่ - สุ ทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
344
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บำท
สิ นทรัพย์ ระหว่ ำงติดตั้ง บำท
รวม บำท
1,236,160 (731,727) 504,433
9,986,625 9,986,625
11,222,785 (731,727) 10,491,058
504,433 726,900 (481,132) 750,201
9,986,625 309,311 10,295,936
10,491,058 1,036,211 (481,132) 11,046,137
1,963,060 (1,212,859) 750,201
10,295,936 10,295,936
12,258,996 (1,212,859) 11,046,137
750,201 132,800 292,222 (255,669) 919,554
10,295,936 5,315,200 15,611,136
11,046,137 5,448,000 292,222 (255,669) 16,530,690
2,095,860 (1,176,306) 919,554
15,611,136 15,611,136
17,706,996 (1,176,306) 16,530,690
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 20
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์และหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีสำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
สิ นทรัพย์ ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่จะใช้ประโยชน์ เกินกว่ำ 12 เดือน
162,617,172
194,465,359
12,341,771
20,040,795
หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่จะจ่ำยชำระเกินกว่ำ 12 เดือน
(15,113)
(32,049)
(15,113)
(32,049)
162,602,059
194,433,310
12,326,658
20,008,746
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ รำยกำรเคลื่อนไหวของภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีดงั นี้
งบกำรเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกรำคม เพิ่ม (ลด) ในกำไรหรื อขำดทุน เพิ่มในกำไรหรื อขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
194,433,310 (31,848,187) 16,936 162,602,059
195,362,892 (3,083,264) 2,153,682 194,433,310
20,008,746 (7,699,024) 16,936 12,326,658
10,667,628 8,565,417 775,701 20,008,746
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
345
346
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 งบกำรเงิ งบกำรเงิ นรวม นรวม
160,139,805 160,139,805 8,401,408 8,401,408 21,677,862 21,677,862 1,152,908 1,152,908 (25,946,520) (25,946,520) 705,691 705,691 (7,593,790) (7,593,790) 2,454,338 2,454,338 134,193,285 134,193,285 9,107,099 9,107,099 14,084,072 14,084,072 3,607,246 3,607,246
ณ วันณทีวั่ น1 ทีมกรำคม ่ 1 มกรำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 เพิ่ม เพิ(ลด) ในกในก ำไรหรื ำไรหรื อขำดทุ อขำดทุ นเบ็นดเสร็ เบ็ดจเสร็ จ ่ม (ลด) ณ วันณทีวั่ น31ทีธั่ 31 นวำคม ธันวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561
รวมรวม บำทบำท
9,4579,457 - 9,4579,457
63 63
136,561 136,561 2,947,358 2,947,358194,465,359 194,465,359 - - (1,467,906) (1,467,906)(31,848,187) (31,848,187) 136,561 136,561 1,479,452 1,479,452162,617,172 162,617,172
9,4579,457 6,777,008 6,777,008 4,442,429 4,442,429195,366,705 195,366,705 - - (6,640,447) (6,640,447) (1,495,071) (1,495,071) (3,083,264) (3,083,264) - - - - 2,181,918 2,181,918 9,4579,457 136,561 136,561 2,947,358 2,947,358194,465,359 194,465,359
สิ นทรั สิ นพทรั ย์ภพำษีย์ภเงิำษี นได้ เงินรได้ อตัรดอตั บัญดชีบัสญำหรั ชีสำหรั บรำยกำรผลขำดทุ บรำยกำรผลขำดทุ นสะสมทำงภำษี นสะสมทำงภำษี ที่จะยกไปรั ที่จะยกไปรั บรู้ไบม่รูเกิ้ไนม่จเกิำนวนที นจำนวนที ่เป็ น่เไปได้ ป็ นไปได้ ค่อนข้ ค่อำนข้ งแน่ำงแน่ วำ่ จะมี วำ่ จะมี กำไรทำงภำษี กำไรทำงภำษี ในอนำคตเพี ในอนำคตเพี ยงพอที ยงพอที ่จะใช้่จปะใช้ ระโยชน์ ประโยชน์ ทำงภำษี ทำงภำษี น้ นั น้ นั
- - - -
162,132,172 162,132,172 6,136,449 6,136,449 11,712,698 11,712,698 1,221,041 1,221,041 2,935,451 2,935,451 (1,992,367) (1,992,367) 83,041 83,041 9,965,164 9,965,164 (68,133) (68,133) (2,935,451) (2,935,451) - - 2,181,918 2,181,918 - - - 160,139,805 160,139,805 8,401,408 8,401,408 21,677,862 21,677,862 1,152,908 1,152,908 - -
สิ นทรั สิ นพทรั ย์ ภพำษีย์ ภเงิำษี นได้ เงินรอตั ได้รดอตั บัญดชีบัญ- สุชีท-ธิสุ ทธิ ณ วันณทีวั่ น1 ทีมกรำคม ่ 1 มกรำคม พ.ศ.พ.ศ. 25602560 เพิ่ม เพิ(ลด) ในกในก ำไรหรื ำไรหรื อขำดทุ อขำดทุ นเบ็นดเสร็ เบ็ดจเสร็ จ ่ม (ลด) เพิ่มในก เพิ่มในก ำไรหรื ำไรหรื อขำดทุ อขำดทุ นเบ็นดเสร็ เบ็ดจเสร็ อื่นจอื่น ณ วันณทีวั่ น31ทีธั่ 31 นวำคม ธันวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25602560
ภำระผู ภำระผู กพันกพัน ค่ ำเผืค่่อำเผื่อ ค่ ำเผืค่่อำเผื่อ ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ ค่ ำเผืค่่อำเผื่อ กำรลดมู กำรลดมู ลค่ ำลค่ ำ ผลขำดทุ ผลขำดทุ น น กำรด้กำรด้ อยค่อำยค่ ำ สิ นทรั สิ นพทรั ย์ พย์ ค่ ำเสืค่่ อำมรำคำ เสื่ อมรำคำ พนักพนั งำนกงำนหนี้สหนี งสั้สยงสั จะสูยจะสู ญ ญสิ นค้สิำนคงเหลื ค้ ำคงเหลื อ อสะสมทำงภำษี สะสมทำงภำษีรำยได้ รำยได้ รอตัรดอตั บัญดชีบัญชีของสิของสิ นทรันพทรั ย์ พย์ ไม่ มไม่ ีตัวมตน ีตัวตน บำทบำท บำทบำท บำทบำท บำทบำท บำทบำท บำทบำท บำทบำท บำทบำท
รำยกำรเคลื ่อนไหวของสิ ย์และหนี เงินรได้ รำยกำรเคลื ่อนไหวของสิ นทรันพทรั ย์แพละหนี เงินได้ อตัรดอตั บัญดชีบัมญีดชีงั มนีีด้ งั นี้ ้ สินภำษี ้ สินภำษี
เงินรอตั ได้รดอตั ทธิอ)(ต่อ) 20 20 ภำษีภำษี เงินได้ บัญดชีบัญ- สุชีท-ธิสุ(ต่
บริษบริ ัท นษ้ำัทตำลบุ รีรัมรย์ีรจัมำกั (มหำชน) น้ำตำลบุ ย์ ดจำกั ด (มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ จกำรจกำร หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ สำหรัสำหรั บปี สิบ้นปีสุสิด้นวัสุนดทีวั่ น31ทีธั่ 31 นวำคม พ.ศ.พ.ศ. 25612561 ธันวำคม
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 20
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ (ต่อ)
งบกำรเงินรวม กำรปรับมูลค่ ำยุติธรรม เงินลงทุนเผื่อขำย บำท
หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 เพิ่มในกำไรหรื อขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560
3,813 28,236 32,049
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 (ลด) ในกำไรหรื อขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
32,049 (16,936) 15,113 งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ภำระผูกพัน ผลประโยชน์ พนักงำน บำท
ค่ ำเผื่อหนี้สงสั ย จะสู ญ บำท
รวม บำท
สิ นทรัพย์ ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 เพิ่ม (ลด) ในกำไรหรื อขำดทุนเบ็ดเสร็ จ เพิ่มในกำไรหรื อขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560
2,138,935 (63,679) 803,937 2,879,193
8,532,506 8,629,096 17,161,602
10,671,441 8,565,417 803,937 20,040,795
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 เพิ่ม (ลด) ในกำไรหรื อขำดทุนเบ็ดเสร็ จ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
2,879,193 308,196 3,187,389
17,161,602 (8,007,220) 9,154,382
20,040,795 (7,699,024) 12,341,771
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
347
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 20 20
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ (ต่อ) ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ (ต่อ) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงิ กำรปรับนมูเฉพำะกิ ลค่ ำยุตจิธกำร รรม
กำรปรัเงิบนมูลงทุ ลค่ ำนยุเผืติธ่อรรม ขำย เงินลงทุนเผื่อบำท ขำย บำท
หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ หนีวั้สนิ นทีภำษี เงินได้รอตั ญชี - สุ ทธิ ณ ่ 1 มกรำคม พ.ศ.ดบั2560 ณ นที่ 1ำไรหรื มกรำคม พ.ศ.นเบ็ 2560 เพิ่มวัในก อขำดทุ ดเสร็ จอื่น เพิ ม ในก ำไรหรื อ ขำดทุ น เบ็ ดเสร็ จอื่น ่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560
3,813 3,813 28,236 28,236 32,049 32,049
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 ณ วันที่ 1ำไรหรื มกรำคม พ.ศ.น2561 (ลด)ในก อขำดทุ เบ็ดเสร็ จอื่น (ลด)ในก อขำดทุ ดเสร็ จอื่น ณ วันที่ 31ำไรหรื ธันวำคม พ.ศ.นเบ็2561 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 21 21
32,049 32,049 (16,936) (16,936) 15,113 15,113
เจ้ ำหนี้กำรค้ ำและเจ้ ำหนี้อนื่ เจ้ ำหนี้กำรค้ ำและเจ้ ำหนี้อนื่ งบกำรเงินรวม พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 นรวม พ.ศ. 2560
เจ้ำหนี้กำรค้ำ - กิจกำรอื่น เจ้ กิจกำรอื เจ้ำำหนี หนี้้ กอื่ำรค้ น - กิำ จ- กำรอื ่น ่น เจ้ เจ้ำำหนี หนี้้ ออื่ื่นน -- กิกิจจกำรอื กำรที่น่เกี่ยวข้องกัน เจ้ - กิจำกำรที องกันกำร - กิจกำรอื่น เงินำหนี รับ้ อล่ื่นวงหน้ ค่ำสิ น่เกีค้่ยำวข้ และบริ เงิดอกเบี นรับล่้ ยวค้งหน้ ค้ำและบริ ำงจ่ำำยค่-ำกิสิจนกำรอื ่น กำร - กิจกำรอื่น ดอกเบี กำรอื่เกี่น่ยวข้อง ดอกเบี้ย้ ยค้ค้ำำงจ่งจ่ำำยย--กิกิจจกำรที ดอกเบี ่เกี่ย่นวข้อง ค่ำใช้จ้ ย่ำค้ยค้ำงจ่ ำงจ่ำยำย- กิ- จกิกำรที จกำรอื ค่ค่ำำใช้ ใช้จจ่่ำำยค้ ยค้ำำงจ่ งจ่ำำยย -- กิกิจจกำรอื กำรที่น่เกี่ยวข้องกัน ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย - กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน
348
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
พ.ศ. 2561 บำท บำท 135,490,905 135,490,905 381,231,236 381,231,236 5,179,208 5,179,208 114,096,615 114,096,615 5,613,260 5,613,260 57,807,262 57,807,262 111,391,844 111,391,844 7,082,804 7,082,804 817,893,134 817,893,134
พ.ศ. 2560 บำท บำท 331,795,937 331,795,937 105,425,640 105,425,640 310,282 310,282 148,201,218 148,201,218 4,356,140 4,356,140 49,356,937 49,356,937 72,606,499 72,606,499 4,069,288 4,069,288 716,121,941 716,121,941
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงิ นเฉพำะกิจพ.ศ. กำร 2560 พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2561 บำท บำท 1,575 1,575 3,937,475 3,937,475 177,352 177,352-175,025,628175,025,628 1,347,260 1,347,260 2,710 2,710 180,492,000 180,492,000
พ.ศ. 2560 บำท บำท 3,405,3403,405,340 244,406 244,406-39,803,98539,803,985 1,252,220 1,252,22044,705,95144,705,951
65
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 22 22
เงินกู้ยืม เงินกู้ยืม
งบกำรเงินรวม พ.ศ.งบกำรเงิ 2561 นรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 บำท บำท
พ.ศ. 2560 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงิ นเฉพำะกิพ.ศ. จกำร2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2561 บำท บำท
พ.ศ. 2560 บำท บำท
ส่ วนของหมุนเวียน ส่เงิวนนของหมุ เบิกเกินบันญเวีชียน 343,161 เงิเงินนเบิ นบัญ้ นชี จำกสถำบันกำรเงิน 343,161 1,131,740,878-กูย้ กมื เกิระยะสั 2,457,300,000 89,940,878เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะสั กำรเงิ่เกีน่ยวข้องกัน 2,457,300,000 1,131,740,878 89,940,878 ระยะสั้้ นนจำกสถำบั จำกกำรกิจนกำรที เงิน(หมำยเหตุ กูย้ มื ระยะสั ขอ้ ้ น32จำกกำรกิ (จ)) จกำรที่เกี่ยวข้องกัน 37,367,370 ขอ้ ้ น32อื่น(จ)) 37,367,370 เงิน(หมำยเหตุ กูย้ มื ระยะสั ๆ 123,244,682 4,564,000748,000748,000เงิส่ วนนของเงิ กูย้ มื ระยะสั นอื่นๆ ่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี 123,244,682 4,564,000 748,000 748,000 นกูร้ ้ ะยะยำวที ส่ ว- นของเงิ กูร้ ะยะยำวที สถำบันนกำรเงิ น ่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี 381,700,455 448,001,141 -- สถำบั น กำรเงิ น 381,700,455 448,001,141 -บริ ษทั ร่ วม (หมำยเหตุขอ้ 32 (ฉ)) 202,512,995 172,589,789 -- บริ (หมำยเหตุขขออ้้ 32 32 (ช)) (ฉ)) 202,512,995- 172,589,789- 376,000,000- 198,000,000บริ ษษททัั ร่ย่วอมย (หมำยเหตุ -- บริ อื่นษๆทั ย่อย (หมำยเหตุขอ้ 32 (ช)) 2,435,4612,384,736- 376,000,000- 198,000,000-- อืหนี ่น้ๆสินตำมสัญญำเช่ำซื้อ 2,435,461 10,872,088 2,384,736 10,893,729 2,313,3561,611,74810,893,729 1,770,152,632 10,872,088 379,061,356 2,313,356 290,300,626 1,611,748 ิ นตำมสั ญำเช่ำซื้อ 3,215,797,853 เงิน- หนี กูย้ มื ้ สหมุ นเวียญนรวม 3,215,797,853 1,770,152,632 379,061,356 290,300,626 เงินกูย้ มื หมุนเวียนรวม ส่ วนของไม่ หมุนเวียน ส่เงิวนนของไม่ หมุนเวียน นกำรเงิน - สุ ทธิ กูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบั 482,760,264 797,799,091 เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยำวจำกสถำบั น กำรเงิ น สุ ท ธิ 482,760,264 797,799,091 -ระยะยำวจำกบริ ษทั ร่ วม - สุ ทธิ (หมำยเหตุขอ้ 32 (ฉ)) 3,177,323,563 3,356,799,640 เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยำวจำกบริ (หมำยเหตุขขอ้อ้ 32 32 (ช)) (ฉ)) 3,177,323,563- 3,356,799,640- 2,370,119,162- 2,548,119,162ระยะยำวจำกบริ ษษททัั ร่ย่วอมย -- สุสุททธิธิ (หมำยเหตุ เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยำวจำกบริ ระยะยำวอื่นๆ - ษสุ ททั ย่ธิอย - สุ ทธิ (หมำยเหตุขอ้ 32 (ช)) 5,032,3627,467,823- 2,370,119,162- 2,548,119,162เงิหนีน้ สกูิย้นมื ตำมสั ระยะยำวอื 5,032,362 14,433,900 7,467,823 10,497,447 5,842,0665,350,331ญญำเช่่นำๆซื-้ อสุ-ทสุธิทธิ 10,497,447 4,176,500,454 14,433,900 2,375,961,228 5,842,066 2,553,469,493 5,350,331 หนี ำซื้อ - สุ ทธิ 3,675,613,636 เงิน้ สกูิย้นมื ตำมสั ไม่หมุญนญำเช่ เวียนรวม 3,675,613,636 4,176,500,454 2,375,961,228 2,553,469,493 เงินกูย้ มื ไม่หมุนเวียนรวม 6,891,411,489 5,946,653,086 2,755,022,584 2,843,770,119 รวมเงินกู้ยืม 6,891,411,489 5,946,653,086 2,755,022,584 2,843,770,119 รวมเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2560 เงินกูย้ มื ของกลุ่มกิจกำรทั้งหมดเป็ นสกุลเงินบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2560 เงินกูย้ มื ของกลุ่มกิจกำรทั้งหมดเป็ นสกุลเงินบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินค้ ำประกันโดยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ที่มีรำคำตำมบัญชีสุทธิ วันที่ 1,715.67 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นกูย้ มื : ระยะยำวจำกสถำบั กำรเงิน(หมำยเหตุ ค้ ำประกันขโดยที จณำนวน ล้ำนบำท (พ.ศ.เงิ2560 จำนวน 1,812.05 ล้นำนบำท) อ้ 18)่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ที่มีรำคำตำมบัญชีสุทธิ จำนวน 1,715.67 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 1,812.05 ล้ำนบำท) (หมำยเหตุขอ้ 18) ภำยใต้เงื่อนไขสัญญำเงินกูย้ ืมระยะยำว กลุ่มกิจกำรต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขและข้อกำหนดที่กำหนดไว้ เช่น กำรดำรงสัดส่ วนกำรถือหุ ้น ภำยใต้ เงื่อนไขสั ญญำเงิ กลุด่มส่กิวจนควำมสำมำรถในกำรช กำรต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขและข้ อกำหนดที่กำหนดไว้ น กำรดยำรงสั ดส่ วนกำรถื กำรดำรงสั ดส่ วนหนี กำรดำรงสั ำระหนี้ กำรคงสถำนะเป็ นบริ ษทั เช่จดทะเบี นในตลำดหลั กทรัอหุพ้นย์ ้ สินนต่กูอย้ ทุืมนระยะยำว กำรด ำรงสัดส่ วนหนี้สินต่ษอทั ทุใหญ่ น กำรด ำรงสั่มดกิส่จวกำร นควำมสำมำรถในกำรช ำระหนี้ กำรคงสถำนะเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์ ของกลุ เป็ นต้น แห่ งประเทศไทยของบริ แห่งประเทศไทยของบริ ษทั ใหญ่ของกลุ่มกิจกำร เป็ นต้น ทั้งนี้ภำยใต้สัญญำเงินกูย้ มื ระยะยำวระหว่ำงบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งและสถำบันกำรเงิน บริ ษทั จะต้องดำรงอัตรำส่ วนหนี้ สินที่มีดอกเบี้ย ทัต่อ้ งนีทุ้ ภนำยใต้ กูย้ :มื 1ระยะยำวระหว่ ำงบรินษจะไม่ ทั ย่อยแห่ งหนึ่งและสถำบั นกำรเงิน บริดษตัทั ้ งจะต้ องด ำรงอัตรำส่ วนหนี ิ นที่มีดอกเบี้ยำ ไม่ให้สสัญู งญำเงิ เกิน น2.5 โดยสถำบันกำรเงิ นบั รวมหนี กองทุ นรวมโครงสร้ ำงพื้น้ สฐำนโรงไฟฟ้ ้ สินระยะยำวจำกกำรจั ต่อ่มทุนน้ ำไม่ ให้สรีูรงัเกิ โดยสถำบั นกำรเงิ นบั รวมหนี้ ย้ สินระยะยำวจำกกำรจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้ำงพื้นฐำนโรงไฟฟ้ ำ กลุ ตำลบุ มย์นเป็2.5นส่: ว1นหนึ ่ งของหนี อ้ งชำระดอกเบี ้ สินทีน่ตจะไม่ กลุ่มน้ ำตำลบุรีรัมย์ เป็ นส่ วนหนึ่งของหนี้สินที่ตอ้ งชำระดอกเบี้ย
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
349 66
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะสั้ น ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินกูย้ ืมระยะสั้นเป็ นตัว๋ แลกเงินและตัว๋ สัญญำใช้เงินกับสถำบันกำรเงินจำนวน 2,457.30 ล้ำนบำท ในงบกำรเงินรวม มีอตั รำดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 2.52 - 4.53 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : จำนวน 1,131.74 ล้ำนบำท ในงบกำรเงินรวม และ จำนวน 89.94 ล้ำนบำท ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร มีอตั รำดอกเบี้ยอยูท่ ี่ร้อยละ 2.70 - 4.53 ต่อปี ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินกูย้ มื ระยะสั้นอื่นเป็ นเงินกูย้ ืมจำกสำนักงำนกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำยจำนวน 121. 25 ล้ำนบำท มีอตั รำดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 0.10 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ไม่มี) และเงินกูย้ ืมไม่มีดอกเบี้ยจำกหน่ วยงำนรัฐบำลแห่ งหนึ่ ง และค้ ำประกัน โดยกรรมกำรบริ ษทั จำนวน 1.99 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 4.56 ล้ำนบำท) เงินกู้ยืมระยะยำว เงินกู้ยืมระยะยำวจำกบริษัทร่ วม เมื่อวันที่ 2 สิ งหำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงำน จำกัด และ บริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์ จำกัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้เข้ำทำสัญญำ โอนสิ ทธิรำยได้สุทธิจำกกำรประกอบกิจกำรโรงไฟฟ้ ำ (“สัญญำโอนสิ ทธิ รำยได้สุทธิ ฯ”) และสัญญำตกลงดำเนิ นกำรกับกองทุนรวม โครงสร้ำงพื้นฐำนโรงไฟฟ้ ำกลุ่มโรงงำนน้ ำตำลบุรีรัมย์ (กองทุนรวมฯ) ซึ่งครอบคลุมระยะเวลำตั้งแต่วนั ที่ 2 สิ งหำคม พ.ศ. 2560 ถึง วันที่ 6 เมษำยน พ.ศ. 2578 และได้โอนสิ ทธิ ในรำยได้สุทธิ จำกกำรประกอบกิจกำรโรงไฟฟ้ ำให้แก่กองทุนรวมฯ เสร็ จสิ้ นภำยใน วันเดียวกัน สัญญำดังกล่ำวจะสิ้ นสุ ดในวันที่ 6 เมษำยน พ.ศ. 2578 ตำมเงื่อนไขในสัญญำโอนสิ ทธิ รำยได้สุทธิ ฯ กำหนดให้มีกำรชำระคืนเงินภำยใน 2 เดือน นับแต่เดือนที่มีรำยได้จำกกำรประกอบ กิจกำรโรงไฟฟ้ ำ และเมื่อครบวันสิ้ นสุ ดของสัญญำหำกมีจำนวนที่คำ้ งชำระแก่กองทุนรวมฯ ตำมสัญญำอยู่ ให้ถือว่ำภำระหนี้ สิน ของกลุ่มกิจกำรบนส่ วนที่คำ้ งอยูด่ งั กล่ำวเป็ นอันสิ้ นสุ ดลง เงินกู้ยืมระยะยำวอืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินกูย้ มื ระยะยำวอื่นเป็ นเงินกูย้ มื เงินจำกสำนักงำนกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำย จำนวน 7.47 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : จำนวน 9.85 ล้ำนบำท) มีอตั รำดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 2 ต่ อปี (พ.ศ. 2560 : ร้ อยละ 2 ต่อ ปี ) ทั้งนี้ เงินกู้ยืมมีระยะเวลำ ชำระคืน ภำยใน 4 ปี
350
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) กำรเคลื่อนไหวของเงินกูย้ มื ระยะยำว (ไม่รวมหนี้สินตำมสัญญำเช่ำซื้อ) สำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม ประกอบด้วยรำยละเอียด ดังนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ยอดยกมำ รับเงินกูย้ มื เพิ่ม จ่ำยคืนเงินกูย้ มื ยอดยกไป
4,785,042,220 2,741,872,254 - 3,828,747,642 (533,277,120) (1,785,577,676) 4,251,765,100 4,785,042,220
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท 2,746,119,162 2,746,119,162
850,000,000 2,746,119,162 (850,000,000) 2,746,119,162
ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ยของเงินกูย้ มื ระยะยำว (ไม่รวมหนี้สินตำมสัญญำเช่ำซื้อ) มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม
เงินกูย้ มื ระยะยำว - อัตรำคงที่ - อัตรำลอยตัว รวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
139,935,790 4,111,829,310 4,251,765,100
275,260,109 4,509,782,111 4,785,042,220
2,746,119,162 2,746,119,162
2,746,119,162 2,746,119,162
อัตรำดอกเบี้ยที่แท้จริ งถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนัก ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ร้ อยละ ร้ อยละ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นอื่นๆ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกบริ ษทั ย่อย เงินกูย้ มื ระยะยำวอื่นๆ
3.02 0.10 2.57 4.83 2.00
3.27 2.70 4.75 2.00
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ร้ อยละ ร้ อยละ 6.55 -
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
2.95 6.55 -
351
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) ระยะเวลำครบกำหนดของเงินกูย้ ืมระยะยำว (ไม่รวมหนี้สินตำมสัญญำเช่ำซื้อ) มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ครบกำหนดใน 1 ปี ครบกำหนดเกินกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกำหนดหลังจำก 5 ปี
586,648,911 1,380,197,579 2,284,918,610 4,251,765,100
622,975,666 1,687,705,744 2,474,360,810 4,785,042,220
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท 376,000,000 712,000,000 1,658,119,162 2,746,119,162
198,000,000 712,000,000 1,836,119,162 2,746,119,162
วงเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิจกำรมีวงเงินตำมสัญญำเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินในประเทศรวมทั้งสิ้ นจำนวน 1,860.20 ล้ำนบำท ซึ่งมีอตั รำดอกเบี้ยอ้ำงอิงตำมอัตรำตลำด โดยกลุ่มกิจกำรมีวงเงินตำมสัญญำเงินกูย้ มื ดังกล่ำวที่ยงั ไม่ได้เบิกใช้เป็ น จำนวน 994.89 ล้ำนบำท หนี้สินตำมสั ญญำเช่ ำซื้อ - สุ ทธิ ภำระผูกพันที่จะต้องจ่ำยค่ำเช่ำขั้นต่ำตำมสัญญำเช่ำซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยทั้งสิ้น ตำมสัญญำเช่ำซื้อ หัก ดอกเบี้ยตำมสัญญำเช่ำซื้อรอตัดบัญชี
352
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
ไม่ เกิน 1 ปี บำท
พ.ศ. 2560 2 - 5 ปี บำท
รวม บำท
12,064,738 (1,192,650) 10,872,088
15,411,632 (977,732) 14,433,900
27,476,370 (2,170,382) 25,305,988
ไม่ เกิน 1 ปี บำท
พ.ศ. 2560 2 - 5 ปี บำท
รวม บำท
2,005,476 (393,728) 1,611,748
5,897,677 (547,346) 5,350,331
7,903,153 (941,074) 6,962,079
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) หนี้สินตำมสั ญญำเช่ ำซื้อ - สุ ทธิ (ต่อ) ภำระผูกพันที่จะต้องจ่ำยค่ำเช่ำขั้นต่ำตำมสัญญำเช่ำซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม มีดงั นี้ (ต่อ)
ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยทั้งสิ้ น ตำมสัญญำเช่ำซื้อ หัก ดอกเบี้ยตำมสัญญำเช่ำซื้อรอตัดบัญชี
งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2561
ไม่ เกิน 1 ปี บำท
2 - 5 ปี บำท
รวม บำท
ไม่ เกิน 1 ปี บำท
2 - 5 ปี บำท
รวม บำท
11,633,402 (739,673) 10,893,729
11,008,662 (511,215) 10,497,447
22,642,064 (1,250,888) 21,391,176
2,673,861 (360,505) 2,313,356
6,212,881 (370,815) 5,842,066
8,886,742 (731,320) 8,155,422
มูลค่ำยุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะสั้นที่มีอตั รำดอกเบี้ยคงที่มีมูลค่ำใกล้เคียงกับรำคำตำมบัญชีเนื่ องจำกระยะเวลำครบกำหนดที่ส้ ัน เงินกูย้ ืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินและอื่นๆ ที่มีอตั รำดอกเบี้ยลอยตัว มีมูลค่ำยุติธรรมใกล้เคียงกับรำคำตำมบัญชี ส่ วนเงินกูย้ ืม ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินและหุ ้นกู้ที่มีอตั รำดอกเบี้ยคงที่ มีมูลค่ำยุติธรรมใกล้เคียงกับรำคำตำมบัญชี เนื่ องจำกอัตรำดอกเบี้ย ปัจจุบนั ของเงินกูย้ มื ที่มีกำหนดระยะเวลำชำระคืนใกล้เคียงกับเงินกูย้ ืมของกลุ่มกิจกำร มีอตั รำใกล้เคียงกับอัตรำดอกเบี้ยคงที่ที่ระบุ ตำมสัญญำ ซึ่งมูลค่ำยุติธรรมอยูใ่ นระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม 23
หนี้สินหมุนเวียนอืน่ งบกำรเงินรวม
ภำษีมลู ค่ำเพิ่มค้ำงจ่ำย ภำษีขำยที่ยงั ไม่ถึงกำหนด ภำษีหกั ณ ที่จ่ำยค้ำงจ่ำย อื่นๆ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
6,376,831 5,889,805 2,149,143 14,415,779
8,157,202 6,951,600 7,412,518 2,009,470 24,530,790
203,418 846,188 2,157,049 75,423 3,282,078
3,583,188 2,846,358 6,429,546
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
353
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 24 24
ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน
งบแสดงฐำนะกำรเงิน งบแสดงฐำนะกำรเงิน ส่ วนของหมุนเวียน ส่ วนของหมุนเวียน ส่ วนที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี ส่ วนที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน ส่ วนของไม่ หมุนเวียน ส่ วนของไม่ หมุนเวียน ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน - สุ ทธิ ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน - สุ ทธิ งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ ค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์พนักงำน ค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์พนักงำน งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ขำดทุนจำกกำรประมำณกำรตำมหลัก ขำดทุนจำกกำรประมำณกำรตำมหลัก คณิ ตศำสตร์ประกันภัย คณิ ตศำสตร์ประกันภัย
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท
7,495,294 7,495,294
7,721,815 7,721,815
2,605,538 2,605,538
2,399,177 2,399,177
38,040,201 38,040,201 45,535,495 45,535,495
34,285,227 34,285,227 42,007,042 42,007,042
13,331,406 13,331,406 15,936,944 15,936,944
11,996,787 11,996,787 14,395,964 14,395,964
5,132,990 5,132,990
3,795,319 3,795,319
1,649,550 1,649,550
1,302,744 1,302,744
-
10,909,588 10,909,588
-
4,019,683 4,019,683
รำยกำรเคลื่อนไหวของภำระผูกพันผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุในระหว่ำงปี มีดงั ต่อไปนี้ รำยกำรเคลื่อนไหวของภำระผูกพันผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุในระหว่ำงปี มีดงั ต่อไปนี้
ยอดยกมำต้นปี ยอดยกมำต้นปี ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ต้นทุนดอกเบี้ย่ ผลประโยชน์จำยระหว่ำงปี ผลประโยชน์จ่ำยระหว่ำงปี ขำดทุนจำกกำรประมำณกำรตำมหลัก ขำดทุนจำกกำรประมำณกำรตำมหลัก คณิ ตศำสตร์ประกันภัย คณิ ตศำสตร์ประกันภัย ยอดยกไปสิ้ นปี ยอดยกไปสิ้ นปี
354
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท 42,007,042 32,580,132 42,007,042 32,580,132 3,724,460 2,572,024 3,724,460 2,572,024 1,408,530 1,223,295 1,408,530 1,223,295 (1,604,537) (5,277,997) (1,604,537) (5,277,997)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท 14,395,964 11,353,376 14,395,964 11,353,376 1,170,115 877,123 1,170,115 877,123 479,435 425,621 479,435 425,621 (108,570) (2,279,839) (108,570) (2,279,839)
45,535,495 45,535,495
15,936,944 15,936,944
10,909,588 10,909,588 42,007,042 42,007,042
4,019,683 4,019,683 14,395,964 14,395,964
71
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 24 24
ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน (ต่อ) ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน (ต่อ) ข้อสมมติฐำนหลักในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ประกันภัยที่ใช้ มีดงั นี้ ข้อสมมติฐำนหลักในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ประกันภัยที่ใช้ มีดงั นี้
อัตรำคิดลด อัอัตตรำกำรขึ รำคิดลด้ นเงินเดือนในอนำคต อัอัตตรำกำรขึ ้ นเงินเดือนในอนำคต รำกำรลำออกตำมช่ วงอำยุของพนักงำน อัตรำกำรลำออกตำมช่วงอำยุของพนักงำน
อัตรำคิดลด อัอัตตรำคิ ดลด ่มขึ้น รำกำรเพิ อัตของเงิ รำกำรเพิ นเดื่มอขึน้ น นเดือนนเวียน อัตของเงิ รำกำรหมุ อัตรำกำรหมุนเวียน
อัตรำคิดลด อัอัตตรำคิ ดลด ่มขึ้น รำกำรเพิ อัตของเงิ รำกำรเพิ นเดื่มอขึน้ น นเดือนนเวียน อัตของเงิ รำกำรหมุ อัตรำกำรหมุนเวียน
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ.ร้ อ2561 พ.ศ.ร้ อ2560 ยละ ยละ ร้ อยละ ร้ อยละ ร้อยละ 3.08 ร้อยละ 3.08 ร้ร้ออยละ 3.08 ร้ร้ออยละ ยละ 4.43 ยละ 3.08 4.43 ร้ อ ยละ 4.43 ร้ อ ยละ ร้อยละ 0 - 12 ร้อยละ 0 4.43 - 12 ร้อยละ 0 - 12 ร้อยละ 0 - 12
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ.ร้ อ2561 พ.ศ.ร้ อ2560 ยละ ยละ ร้ อยละ ร้ อยละ ร้อยละ 3.08 ร้อยละ 3.08 ร้ร้ออยละ 3.08 ร้ร้ออยละ ยละ 4.43 ยละ 3.08 4.43 ร้ อ ยละ 4.43 ร้ อ ยละ ร้อยละ 0 - 12 ร้อยละ 0 4.43 - 12 ร้อยละ 0 - 12 ร้อยละ 0 - 12
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ กำรเปลี่ยนแปลงในข้ อสมมติ กำรเพิม่ ขึน้ ของข้ อสมมติ กำรลดลงของข้ อสมมติ กำรเปลี่ยนแปลงในข้ อสมมติ กำรเพิม่ ขึน้ ของข้ อสมมติ กำรลดลงของข้ อสมมติ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5 ลดลง ร้อยละ 4.4 ลดลง ร้อยละ 4.4 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.7 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.7 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5 ลดลง ร้อยละ 4.4 ลดลง ร้อยละ 4.4 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.7 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.7 ร้อยละ 0.5 ร้ร้ออยละ ยละ 0.5 0.5 ร้อยละ 0.5
ร้อยละ 0.5 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.6 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.6 ลดลง ร้อยละ 4.3 ร้ร้ออยละ ม่ ขึ้น ร้ร้ออยละ ม่ ขึ้น ร้ร้ออยละ ยละ 0.5 0.5 เพิลดลง ยละ 4.6 4.6 เพิลดลง ยละ 4.6 4.6 เพิลดลง ยละ 4.3 4.9 ่มขึ้นร้ร้ออยละ ร้อยละ 0.5 ลดลง ร้อยละ 4.6 ลดลง ร้อยละ 4.6 เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 4.9
ลดลง ร้อยละ 4.3 เพิลดลง ยละ 4.3 4.9 ่มขึ้นร้ร้ออยละ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.9
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ กำรเปลี่ยนแปลงในข้ อสมมติ กำรเพิม่ ขึน้ ของข้ อสมมติ กำรลดลงของข้ อสมมติ กำรเปลี่ยนแปลงในข้ อสมมติ กำรเพิม่ ขึน้ ของข้ อสมมติ กำรลดลงของข้ อสมมติ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5 ลดลง ร้อยละ 4.3 ลดลง ร้อยละ 4.3 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.6 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.6 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.5 ลดลง ร้อยละ 4.3 ลดลง ร้อยละ 4.3 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.6 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.6 ร้อยละ 0.5 ร้ร้ออยละ ยละ 0.5 0.5 ร้อยละ 0.5
ร้อยละ 0.5 เพิ่มขึ้น ร้อยละ4.5 เพิ่มขึ้น ร้อยละ4.5 ลดลง ร้อยละ 4.3 ร้ร้ออยละ ม่ ขึ้นร้ร้ออยละ ยละ4.5 ม่ ขึ้นร้ร้ออยละ ยละ4.5 4.3 ยละ 0.5 0.5 เพิลดลง 4.5 เพิลดลง 4.5 เพิลดลง ยละ 4.8 ่มขึ้น ร้ร้ออยละ ร้อยละ 0.5 ลดลง ร้อยละ 4.5 ลดลง ร้อยละ 4.5 เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 4.8
ลดลง ร้อยละ 4.3 4.3 เพิลดลง ยละ 4.8 ่มขึ้น ร้ร้ออยละ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.8
กำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวข้ำงต้นนี้ อำ้ งอิงจำกกำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที่ให้ขอ้ สมมติอื่นคงที่ ในทำงปฏิบตั ิสถำนกำรณ์ ำงต้นนี้ อ่ ยำ้ นแปลงในข้ งอิงจำกกำรเปลี ่ยนแปลงข้ สมมติมขณะที ขอ้ สมมติำนวณกำรวิ อื่นคงที่ ในทำงปฏิ ั ิสถำนกำรณ์ ดักำรวิ งกล่เำครำะห์ วยำกทีค่ จวำมอ่ ะเกิ ดอขึนไหวข้ อสมมติ อำจมีคอวำมสั พันธ์ก่ใันห้ในกำรค เครำะห์บคตวำมอ่ อ นไหว ้ น และกำรเปลี ั ดัของภำระผู งกล่ ำวยำกที ่ จ ะเกิ ด ขึ น และกำรเปลี ่ ย นแปลงในข้ อ สมมติ อ ำจมี ค วำมสั ม พั น ธ์ ก น ในกำรค ำนวณกำรวิ เ ครำะห์ ค วำมอ่ นไหวจ ้ กพันผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ที่มีต่อกำรเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดียวกับกำรคำนวณหนี้ สินบอำเหน็ ผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ ่ยนแปลงในข้อสมมติ วิธีเดียวกับกกำรค ำนวณหนี้ สินบำเหน็ จ พันโครงกำรผลประโยชน์ บของภำระผู ำนำญที่รับกรูพั้ ในนงบแสดงฐำนะกำรเงิ น ณ ทวัี่มนีตสิ่อ้ นกำรเปลี รอบระยะเวลำรำยงำน (มูลค่หำปัลัจกจุได้บนใั ช้ของภำระผู ค่ำปั จจุMethod)) บนั ของภำระผูก พันโครงกำรผลประโยชน์ บที่กำนำญที ่รับครูำนวณด้ ้ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิ น ณวยที วัน่ปสิระมำณกำรไว้ (มูลCredit ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ำหนดไว้ วยวิธีคิดลดแต่ละหน่ (Projected Unit ที่กำหนดไว้คำนวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมำณกำรไว้ (Projected Unit Credit Method)) วิธีกำรและประเภทของข้อสมมติที่ใช้ในกำรจัดทำกำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวไม่ได้เปลี่ยนแปลงจำกปี ก่อน วิธีกำรและประเภทของข้อสมมติที่ใช้ในกำรจัดทำกำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวไม่ได้เปลี่ยนแปลงจำกปี ก่อน
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
355 72
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 24
ภำระผูกพันผลประโยชน์ พนักงำน (ต่อ) กลุ่มกิจกำรมีควำมเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับโครงกำรผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุที่กำหนดไว้ โดยควำมเสี่ ยงที่มีนยั สำคัญมีดงั ต่อไปนี้ กำรเปลี่ยนแปลงในอัตรำผลตอบแทนที่แท้จริ งของพันธบัตร อัตรำผลตอบแทนที่แท้จริ งของพันธบัตรรัฐบำล ที่ลดลงจะทำให้หนี้สินของโครงกำรเพิ่มสู งขึ้น ระยะเวลำถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักของภำระผูกพันตำมโครงกำรผลประโยชน์คือ 17 ปี (พ.ศ. 2560 : 17 ปี ) กลุ่มกิจกำรใช้กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำนมำจ่ำยผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ กำรวิเครำะห์กำรครบกำหนดของกำรจ่ำยชำระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุที่กำหนดไว้ : งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ ำ 1 ปี ล้ำนบำท
ระหว่ ำง 1-5 ปี ล้ำนบำท
เกินกว่ ำ 5 ปี ล้ำนบำท
รวม ล้ำนบำท
ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ - พ.ศ. 2560
8.53
7.58
52.53
68.64
ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ - พ.ศ. 2561
0.71
10.98
48.70
60.39
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
356
น้ อยกว่ ำ 1 ปี ล้ำนบำท
ระหว่ ำง 1-5 ปี ล้ำนบำท
เกินกว่ ำ 5 ปี ล้ำนบำท
รวม ล้ำนบำท
ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ - พ.ศ. 2560
2.53
2.76
18.52
23.81
ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ - พ.ศ. 2561
0.20
4.08
17.01
21.29
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 25
ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน จำนวนหุ้น สำมัญ หุ้น
ทุนที่ออกและชำระแล้ว จำนวนหุ้น ส่ วนเกิน สำมัญ มูลค่ ำหุ้นสำมัญ มูลค่ ำหุ้นสำมัญ หุ้น บำท บำท
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 กำรออกหุน้ จำกหุน้ ปันผล ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560
676,750,000 135,350,000 812,100,000
676,750,000 135,349,845 812,099,845
676,750,000 135,349,845 812,099,845
954,665,813 954,665,813
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 กำรลดทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561
812,100,000 (155) 812,099,845
812,099,845 812,099,845
812,099,845 812,099,845
954,665,813 954,665,813
เมื่อวันที่ 24 เมษำยน พ.ศ. 2560 ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี พ.ศ. 2560 ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุ มตั ิกำรเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จำกทุ นจดทะเบี ยนจำนวน 676,750,000 บำท เป็ น 812,100,000 บำท โดยกำรออกหุ ้น สำมัญใหม่จำนวน 135,350,000 หุ ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท คิดเป็ นมูลค่ำจำนวน 135,350,000 บำท เพื่อรองรับสำหรั บกำรจ่ำยหุ ้นปั นผล ซึ่ งบริ ษทั ได้รำยงำน จำนวนหุน้ สำมัญ ที่ จัด สรรเป็ นหุ ้น ปั น ผลจริ ง จำนวน 135,349,845 หุ ้น แก่ ต ลำดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยเรี ย บร้ อ ยแล้ว เมื่ อ วัน ที่ 25 พฤษภำคม พ.ศ. 2560 เมื่อวันที่ 25 เมษำยน พ.ศ. 2561 ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี พ.ศ. 2561 ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุ มตั ิกำรลดทุนจดทะเบียนของกิจกำร จำกทุนจดทะเบียนจำนวน 812,100,000 บำท เป็ น 812,099,845 บำท โดยกำรลดหุน้ สำมัญจดทะเบียนจำนวน 155 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้ หุ ้นละ 1 บำท รวมเป็ นจำนวนเงิน 155 บำท ที่เหลือจำกกำรออกหุ ้นเพื่อรองรับสำหรับกำรจ่ำยหุ ้นปั นผลเมื่อวันที่ 24 พฤษภำคม พ.ศ. 2560 โดยบริ ษทั ได้ดำเนินกำรจดทะเบียนรำยกำรดังกล่ำวกับกระทรวงพำณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 4 พฤษภำคม พ.ศ. 2561 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 หุ ้นสำมัญจดทะเบียนมีจำนวน 812,099,845 หุ ้น (พ.ศ. 2560 : จำนวน 812,100,000 หุ ้น) มูลค่ำที่ตรำไว้ หุน้ ละ 1 บำท (พ.ศ. 2560 : มูลค่ำตรำไว้หุน้ ละ 1 บำท) หุน้ ที่ออกเป็ นหุน้ ที่ชำระเต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 812,099,845 หุน้
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
357
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 26 26
เงินปันผลจ่ ำย เงินปันผลจ่ ำย เมื่อวันที่ 24 เมษำยน พ.ศ. 2560 ที่ประชุ มสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี พ.ศ. 2560 ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุ มตั ิ กำรจ่ำยเงินปั นผลสำหรั บผล เมื่อวันที่ 24 เมษำยน พ.ศ. 2560 ที่ประชุ มสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี พ.ศ. 2560 ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุ มตั ิ กำรจ่ำยเงินปั นผลสำหรั บผล กำรดำเนินงำนประจำปี พ.ศ. 2559 ในรู ปของเงินสดและหุน้ ปันผลในอัตรำ 0.22222222222 บำทต่อหุน้ โดยแบ่งจ่ำยเงินปันผลดังนี้ กำรดำเนินงำนประจำปี พ.ศ. 2559 ในรู ปของเงินสดและหุน้ ปันผลในอัตรำ 0.22222222222 บำทต่อหุน้ โดยแบ่งจ่ำยเงินปันผลดังนี้ ก) ก) ข) ข)
จ่ำยเป็ นเงินสดในอัตรำหุน้ ละ 0.02222222222 บำทต่อหุน้ คิดเป็ นมูลค่ำจำนวน 15,038,889 บำท และ จ่ำยเป็ นเงินสดในอัตรำหุน้ ละ 0.02222222222 บำทต่อหุน้ คิดเป็ นมูลค่ำจำนวน 15,038,889 บำท และ จ่ำยเป็ นหุ ้นปั นผลในอัตรำ 5 หุ ้นสำมัญเดิมต่อ 1 หุ ้นปั นผล หรื อคิดเป็ นมูลค่ำกำรจ่ำยปั นผลเท่ำกับ 0.20 บำทต่อหุ ้น รวมเป็ น จ่ำยเป็ นหุ ้นปั นผลในอัตรำ 5 หุ ้นสำมัญเดิมต่อ 1 หุ ้นปั นผล หรื อคิดเป็ นมูลค่ำกำรจ่ำยปั นผลเท่ำกับ 0.20 บำทต่อหุ ้น รวมเป็ น หุน้ สำมัญที่ออกใหม่จำนวน 135,350,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ทังนี้ ในกรณี ที่ผถู้ ือหุ ้นรำยใดมีเศษหุ ้นเดิมหลังจำก หุน้ สำมัญที่ออกใหม่จำนวน 135,350,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ทั้้ งนี้ ในกรณี ที่ผถู้ ือหุ ้นรำยใดมีเศษหุ ้นเดิมหลังจำก กำรจัดสรรหุน้ ปันผลแล้ว ให้จ่ำยเงินปันผลเป็ นเงินสดแทนในอัตรำหุน้ ละ 0.20 บำท กำรจัดสรรหุน้ ปันผลแล้ว ให้จ่ำยเงินปันผลเป็ นเงินสดแทนในอัตรำหุน้ ละ 0.20 บำท
โดยบริ ษทั ได้จ่ำยเงินปันผลดังกล่ำวแล้วเมื่อวันที่ 24 พฤษภำคม พ.ศ. 2560 โดยเงินปันผลจ่ำยจริ งเป็ นจำนวนดังต่อไปนี้ โดยบริ ษทั ได้จ่ำยเงินปันผลดังกล่ำวแล้วเมื่อวันที่ 24 พฤษภำคม พ.ศ. 2560 โดยเงินปันผลจ่ำยจริ งเป็ นจำนวนดังต่อไปนี้ ก) ก) ข) ข)
จ่ำยเป็ นเงินสด รวมเป็ นจำนวนเงิน 15,038,930 บำท และ จ่ำยเป็ นเงินสด รวมเป็ นจำนวนเงิน 15,038,930 บำท และ จ่ำยเป็ นหุน้ ปันผล รวมเป็ นหุน้ สำมัญที่ออกใหม่จำนวน 135,349,845 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1 บำท จ่ำยเป็ นหุน้ ปันผล รวมเป็ นหุน้ สำมัญที่ออกใหม่จำนวน 135,349,845 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1 บำท
เมื่อวันที่ 10 สิ งหำคม พ.ศ. 2560 ที่ประชุมคณะกรรมกำรของบริ ษทั ครั้งที่ 7/2560 มีมติอนุมตั ิกำรจ่ำยเงินปันผลระหว่ำงกำลสำหรับ เมื่อวันที่ 10 สิ งหำคม พ.ศ. 2560 ที่ประชุมคณะกรรมกำรของบริ ษทั ครั้งที่ 7/2560 มีมติอนุมตั ิกำรจ่ำยเงินปันผลระหว่ำงกำลสำหรับ ผลกำรดำเนินงำนงวดวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 30 มิถุนำยน พ.ศ. 2560 ในอัตรำหุน้ ละ 0.15 บำทต่อหุน้ สำหรับหุ ้นสำมัญ ผลกำรดำเนินงำนงวดวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 30 มิถุนำยน พ.ศ. 2560 ในอัตรำหุน้ ละ 0.15 บำทต่อหุน้ สำหรับหุ ้นสำมัญ จำนวน 812,099,845 หุ ้น รวมเป็ นจำนวนเงิน 121,814,901.75 บำท โดยบริ ษทั ได้จ่ำยเงินปั นผลดังกล่ำวแล้วเมื่อวันที่ 8 กันยำยน จำนวน 812,099,845 หุ ้น รวมเป็ นจำนวนเงิน 121,814,901.75 บำท โดยบริ ษทั ได้จ่ำยเงินปั นผลดังกล่ำวแล้วเมื่อวันที่ 8 กันยำยน พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2560 เมื่อ วัน ที่ 25 เมษำยน พ.ศ. 2561 ที่ ป ระชุ มสำมัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น ประจำปี พ.ศ. 2561 ผูถ้ ื อ หุ ้น มีม ติ อ นุ ม ตั ิ ก ำรจ่ ำ ยเงิ น ปั น ผลสำหรั บ เมื่อ วัน ที่ 25 เมษำยน พ.ศ. 2561 ที่ ป ระชุ มสำมัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น ประจำปี พ.ศ. 2561 ผูถ้ ื อ หุ ้น มีม ติ อ นุ ม ตั ิ ก ำรจ่ ำ ยเงิ น ปั น ผลสำหรั บ ผลกำรดำเนิ นงำนประจำปี พ.ศ. 2560 ในอัตรำ 0.30 บำทต่ อหุ ้น สำหรั บหุ ้นสำมัญจำนวน 812,099,845 หุ ้นรวมเป็ นจำนวนเงิ น ผลกำรดำเนิ นงำนประจำปี พ.ศ. 2560 ในอัตรำ 0.30 บำทต่ อหุ ้น สำหรั บหุ ้นสำมัญจำนวน 812,099,845 หุ ้นรวมเป็ นจำนวนเงิ น 243,629,954 บำท โดยบริ ษ ัท ได้จ่ำ ยเงิ น ปั น ผลดังกล่ ำ วแล้วเมื่อ วัน ที่ 24 พฤษภำคม พ.ศ. 2561 243,629,954 บำท โดยบริ ษ ัท ได้จ่ำยเงิ น ปั น ผลดังกล่ ำ วแล้วเมื่อ วัน ที่ 24 พฤษภำคม พ.ศ. 2561 27 27
สำรองตำมกฎหมำย สำรองตำมกฎหมำย
ณ วันที่ 1 มกรำคม ณ วันที่ 1 มกรำคม จัดสรรระหว่ำงปี จัดสรรระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม ณ วันที่ 31 ธันวำคม
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท
51,760,392 51,760,392 4,840,748 4,840,748 56,601,140 56,601,140
51,760,392 51,760,392 4,840,748 4,840,748 56,601,140 56,601,140
39,680,867 39,680,867 12,079,525 12,079,525 51,760,392 51,760,392
39,680,867 39,680,867 12,079,525 12,079,525 51,760,392 51,760,392
ตำมพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ต้องสำรองตำมกฎหมำยอย่ำงน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุ ทธิ หลังจำกหักส่ วน ตำมพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ต้องสำรองตำมกฎหมำยอย่ำงน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุ ทธิ หลังจำกหักส่ วน ของขำดทุนสะสมยกมำ (ถ้ำมี) จนกว่ำสำรองนี้ จะมีมูลค่ ำไม่น้อยกว่ำร้ อยละ 10 ของทุน จดทะเบียน สำรองนี้ ไม่ส ำมำรถนำไป ของขำดทุนสะสมยกมำ (ถ้ำมี) จนกว่ำสำรองนี้ จะมีมูลค่ ำไม่น้อยกว่ำร้ อยละ 10 ของทุน จดทะเบียน สำรองนี้ ไม่ส ำมำรถนำไป จ่ำยเงินปันผลได้ จ่ำยเงินปันผลได้
358
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 75
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 28
รำยได้อนื่ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ดอกเบี้ยรับ รำยได้ค่ำบริ กำรอื่น กลับรำยกำรค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ เงินปันผลรับ กำไรจำกกำรขำยสิ นทรัพย์ รำยได้เงินชดเชยค่ำสิ นไหมทดแทน รำยได้เงินชดเชยจำกลูกค้ำเนื่องจำก กำรผิดสัญญำขำยน้ ำตำล รำยได้เงินชดเชยค่ำผลตอบแทน กำรผลิตและจำหน่ำยน้ ำตำลทรำย อื่นๆ
29
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
82,887,779 1,098,740 204,680 1,581,442 -
100,750,755 3,587,440 153,510 34,900,043
147,516,523 73,200,000 205,800 203,790,892 469,293 -
165,197,408 112,300,000 178,920 230,507,419 -
7,989,039
649,872
-
-
148,080,796 11,206,684 253,049,160
11,678,864 151,720,484
657,635 425,840,143
778,054 508,961,801
ค่ ำใช้ จ่ำยตำมลักษณะ รำยกำรบำงรำยกำรที่รวมอยูใ่ นกำไรจำกกำรดำเนินงำน สำมำรถนำมำแยกตำมลักษณะได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย ค่ำซ่อมแซมและบำรุ งรักษำ ค่ำขนส่ ง ค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับพนักงำน ค่ำรักษำเสถียรภำพ ค่ำธรรมเนียมวิจยั และเงินนำส่ งกองทุนอ้อยและน้ ำตำลทรำย
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
3,338,649,518 289,555,157 248,596,246 258,330,976 452,790,916
3,315,467,479 259,098,486 211,510,954 170,647,492 424,759,768
1,770,954 3,191,159 472,647 108,170,247
1,952,597 2,506,464 759,640 104,582,763
235,125,778
365,411,842
-
364,800
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
359
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 30
ภำษีเงินได้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ภำษีเงินได้งวดปัจจุบนั : ภำษีเงินได้งวดปัจจุบนั สำหรับกำไรทำงภำษี สำหรับปี
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท
รวมภำษีเงินได้งวดปัจจุบัน
(15,793,112) (15,793,112)
(82,951,614) (82,951,614)
-
(2,399,247) (2,399,247)
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี: รำยกำรที่เกิดจำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำว รวมภำษีเงินได้รอตัดบัญชี
(24,420,472) (24,420,472)
(3,083,264) (3,083,264)
(7,699,024) (7,699,024)
8,537,181 8,537,181
ภำษีเงินได้
(40,213,584)
(86,034,878)
(7,699,024)
6,137,934
ค่ำใช้จ่ำยภำษี เงิน ได้ส ำหรั บกำไรก่ อ นหัก ค่ำใช้จ่ำ ยภำษีเงิ นได้ของกลุ่มกิ จกำรมียอดจำนวนเงิ นที่แตกต่ำ งจำกกำรคำนวณกำไร ทำงบัญชีคูณกับภำษีของประเทศที่บริ ษทั ใหญ่ต้ งั อยู่ โดยมีรำยละเอียดดังนี้ งบกำรเงินรวม
360
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
กำไรก่อนภำษีเงินได้
311,882,230
611,448,628
104,513,992
235,453,575
ภำษีคำนวณจำกอัตรำภำษีร้อยละ 20 (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 20)
(62,376,446)
(122,289,726)
(20,902,798)
(47,090,715)
ผลกระทบ: รำยได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภำษี ค่ำใช้จ่ำยที่ไม่สำมำรถหักภำษี ภำษีเงินได้
31,907,617 (9,744,755) (40,213,584)
51,734,596 (15,479,748) (86,034,878)
13,851,619 (647,845) (7,699,024)
55,877,993 (2,649,344) 6,137,934
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 31
กำไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐำน กำไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐำนคำนวณโดยกำรหำรกำไรสุ ทธิที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ สำมัญของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ยจำนวนหุ ้นสำมัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนัก ที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ ในระหว่ำงปี งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ส่ วนแบ่งกำไรสำหรับปี ที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่ (บำท) จำนวนหุน้ สำมัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ ระหว่ำงปี (หุน้ ) กำไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐำน (บำทต่อหุน้ )
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560
271,621,488
524,725,886
96,814,968
241,591,509
812,099,845 0.33
812,099,845 0.65
812,099,845 0.12
812,099,845 0.30
บริ ษทั ไม่มีกำรออกหุน้ สำมัญเทียบเท่ำปรับลดในระหว่ำงปี ที่นำเสนอรำยงำน 32
รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน บุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ ยวข้องกันกับบริ ษทั หมำยถึง บุคคลหรื อกิ จกำรที่มีอำนำจควบคุมบริ ษทั ถูกควบคุมโดยบริ ษทั ไม่ว่ำจะเป็ น โดยทำงตรงหรื อทำงอ้อม หรื ออยูภ่ ำยใต้กำรควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ที่ทำหน้ำที่ถือหุ ้น บริ ษทั ย่อย และกิจกำรที่เป็ น บริ ษทั ย่อยในเครื อเดียวกัน นอกจำกนี้ บุคคลหรื อกิ จกำรที่เกี่ ยวข้องกันยังหมำยรวมถึง บริ ษ ัทร่ วมและบุคคลซึ่ งถือหุ ้นที่มีสิท ธิ ออกเสี ยงไม่ว่ำทำงตรงหรื อทำงอ้อม และมีอิทธิ พลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญกับบริ ษทั ผูบ้ ริ หำรสำคัญ กรรมกำรหรื อพนักงำนของบริ ษทั ตลอดทั้งสมำชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่ำว และกิจกำรที่เกี่ยวข้องกับบุคคลเหล่ำนั้น ในกำรพิจำรณำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันกับบริ ษทั แต่ละรำยกำร บริ ษทั คำนึ งถึงเนื้ อหำของควำมสัมพันธ์ มำกกว่ำรู ปแบบทำงกฎหมำย ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ของบริ ษทั ได้แก่ บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จำกัด ซึ่ งถือหุ ้นในอัตรำร้อยละ 50 (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 50)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
361
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 32
รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ก)
รำยกำรค้ ำกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน งบกำรเงินรวม ในระหว่ ำงปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
รำยกำรค้ ำกับบริษัทร่ วม เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยจ่ำย
266,938,451
116,372,829
90,872,102 -
-
รำยกำรค้ ำกับบริษัทย่ อย เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ รำยได้อื่น ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร
-
-
112,918,790 146,630,172 73,200,000 2,382,678
230,507,419 164,717,922 112,343,780 2,216,418
3,211,259,220 8,566,052 7,238,034 60,365,811
3,125,069,962 2,719,050 3,695,560 102,802,929
-
90,616 -
รำยกำรค้ ำกับบุคคลหรือ กิจกำรที่เกีย่ วข้ องกันอืน่ ๆ รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำและกำรให้บริ กำร รำยได้อื่น ต้นทุนขำยและกำรให้บริ กำร ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย
362
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 32
รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ข)
ยอดค้ ำงชำระที่เกิดจำกกำรซื้อและขำยสิ นค้ ำและบริกำร งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม ลูกหนี้กำรค้ ำ กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อนื่ ดอกเบีย้ ค้ ำงรับและรำยได้ค้ำงรับ บริ ษทั ย่อย กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน
ลูกหนีช้ ำวไร่ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เงินปันผลค้ ำงรับ บริ ษทั ย่อย เจ้ ำหนี้อนื่ ดอกเบี้ยค้ ำงจ่ ำยและค่ ำใช้ จ่ำยค้ ำงจ่ ำย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
61,086,147
27,099,100
-
-
34,930,309 34,930,309
659,402 659,402
93,219,580 93,219,580
81,883,924 81,883,924
5,313,980
17,995,173
-
-
-
-
118,418,370
230,507,419
57,807,262 12,262,012 70,069,274
49,356,937 4,379,570 53,736,507
175,196,818 8,872 175,205,690
40,042,403 5,988 40,048,391
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
363
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 32 32
รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ค) ค)
เงินให้ ก้ยู ืมระยะยำวแก่บริษัทย่ อย เงินให้ ก้ยู ืมระยะยำวแก่บริษัทย่ อย งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท ส่ วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยำว ส่ วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยำว ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ
-
-
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท 144,000,000 144,000,000 2,221,786,767 2,221,786,767 2,365,786,767 2,365,786,767
120,000,000 120,000,000 2,259,654,765 2,259,654,765 2,379,654,765 2,379,654,765
กำรเปลี่ยนแปลงของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย มีดงั นี้ กำรเปลี่ยนแปลงของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย มีดงั นี้
ยอดยกมำ ยอดยกมำ เงินให้กยู้ มื เพิ่ม เงินให้กยู้ มื เพิ่ม รับคืนเงินกูย้ มื รับคืนเงินกูย้ มื ยอดยกไป ยอดยกไป
งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท -
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท 2,379,654,765 2,747,863,752 2,379,654,765 2,747,863,752 242,000,000 1,976,800,000 242,000,000 1,976,800,000 (255,867,998) (2,345,008,987) (255,867,998) (2,345,008,987) 2,365,786,767 2,379,654,765 2,365,786,767 2,379,654,765
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินให้กยู้ ืมระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยมีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 6.55 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 5.78 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินให้กยู้ ืมระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยมีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 6.55 ต่อปี (พ.ศ. 2560 : ร้อยละ 5.78 6.55 ต่อปี ) 6.55 ต่อปี )
364
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 81
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 32 32
รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ง) ง)
เงินให้ ก้ยู ืมระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ เงินให้ ก้ยู ืมระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท ส่ วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยำว ส่ วนของเงินให้กยู้ มื ระยะยำว ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ
10,434,000 10,434,000 12,447,820 12,447,820 22,881,820 22,881,820
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท
11,445,376 11,445,376 10,947,820 10,947,820 22,393,196 22,393,196
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ มีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 7.02 ต่อปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่ลูกหนี้ชำวไร่ มีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 7.02 ต่อปี จ) จ)
เงินกู้ยืมระยะสั้ นจำกกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้ นจำกกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน
37,367,370 37,367,370
-
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท -
-
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันมีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 2.30 - 2.70 ต่อปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันมีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 2.30 - 2.70 ต่อปี ฉ) ฉ)
เงินกู้ยืมระยะยำวจำกบริษัทร่ วม เงินกู้ยืมระยะยำวจำกบริษัทร่ วม งบกำรเงินรวม งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำว ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำว ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ เงินกูย้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ
202,512,995 202,512,995 3,177,323,563 3,177,323,563 3,379,836,558 3,379,836,558
172,589,789 172,589,789 3,356,799,640 3,356,799,640 3,529,389,429 3,529,389,429
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท -
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
-
365 82
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 32
รำยกำรกับกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรที่มีสำระสำคัญกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ช)
เงินกู้ยืมระยะยำวจำกบริษัทย่ อย งบกำรเงินรวม
ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำว ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยำว - สุ ทธิ
ซ)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
-
-
376,000,000 2,370,119,162 2,746,119,162
198,000,000 2,548,119,162 2,746,119,162
ค่ ำตอบแทนกรรมกำรและผู้บริหำร งบกำรเงินรวม
ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
พ.ศ. 2561 บำท
พ.ศ. 2560 บำท
48,185,057 1,032,020 49,217,077
50,377,803 718,091 51,095,894
22,969,046 476,980 23,446,026
23,955,968 332,423 24,288,391
ค่ำตอบแทนกรรมกำรและผูบ้ ริ หำรรวมเงินเดือน ค่ำเบี้ยประชุมและผลตอบแทนอื่น ฌ)
สั ญญำซื้อขำยเงินตรำต่ ำงประเทศล่ วงหน้ ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งได้ทำสัญญำซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ำ ผ่ำนบริ ษทั ค้ำผลผลิต น้ ำตำล จำกัด ซึ่ งเป็ นกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน มีมูลค่ำตำมสัญญำเป็ นจำนวน 0.92 ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐฯ (พ.ศ. 2560 : จำนวน 1.60 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐฯ)
366
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 33
สิ ทธิประโยชน์ จำกกำรส่ งเสริมกำรลงทุน บริ ษทั ย่อยได้รับบัตรส่ งเสริ มกำรลงทุน จำกคณะกรรมกำรส่ งเสริ มกำรลงทุน โดยได้รับสิ ทธิประโยชน์ตำมพระรำชบัญญัติส่งเสริ ม กำรลงทุน พ.ศ. 2520 โดยสิ ทธิ ประโยชน์ที่ได้รับรวมถึงกำรได้รับยกเว้นภำษีเงินได้สำหรั บกำไรสำหรับปี ที่ได้จำกกำรประกอบ กิจกำรที่ได้รับกำรส่ งเสริ ม โดยมีกำหนด 8 ปี นับตั้งแต่วนั ที่เริ่ มมีรำยได้จำกกิจกำรที่ได้รับกำรส่ งเสริ ม ตำมรำยละเอียด ดังนี้ บัตรส่ งเสริม เลขที่
มำตรำทีไ่ ด้ รับสิ ทธิประโยชน์
ลงวันที่
2003(1) / 2554 1006(1) / 2558 59-0604-1-00-1-0
25,26,28,31,34,35 25,26,28,31,34,35 25,26,28,31,34,35
17 ส.ค. 2554 5 ม.ค. 2558 4 พ.ค. 2559
ประเภทกิจกำรทีส่ ่ งเสริม
วันทีเ่ ริ่มมี รำยได้
วันหมดอำยุ
ผลิตไฟฟ้ ำจำกเชื้อเพลิงชีวมวลประเภท 7.1 ผลิตไฟฟ้ ำจำกเชื้อเพลิงชีวมวลประเภท 7.1 ผลิตไฟฟ้ ำจำกเชื้อเพลิงชีวมวลประเภท 7.1
11 พ.ค .2555 7 เม.ย. 2558 31 ธ.ค. 2559
11 พ.ค. 2563 7 เม.ย. 2566 31 ธ.ค. 2567
นอกจำกนี้ ตำมบัตรส่ งเสริ มเลขที่ 2003(1) / 2554, 1006(1) / 2558 และ 59-0604-1-00-1-0 บริ ษทั ย่อยได้สิทธิ ในกำรลดหย่อนภำษีเงินได้ ในอัตรำร้อยละ 50 ของอัตรำปกติ กำหนด 5 ปี นับจำกวันที่ได้รับกำรยกเว้นภำษีเงินได้หมดอำยุ 34
ภำระผูกพันและหนี้สินที่อำจเกิดขึน้ (ก)
ภำระผูกพันที่เป็ นรำยจ่ ำยฝ่ ำยทุน รำยจ่ำยฝ่ ำยทุนเกี่ยวกับภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัด ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงินแต่ไม่รับรู้ในงบกำรเงิน ดังนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
329,362,799 2,905,533 332,268,332
73,763,165 1,892,515 75,655,680
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท 7,106,476 2,905,533 10,012,009
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
1,892,515 1,892,515
367
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริ ษัท น้ำตำลบุ รีรัมย์ จำกัดนน(มหำชน) หมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิจกำร หมำยเหตุ น รวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 34 ภำระผูกพันและหนี้สินที่อำจเกิดขึน้ (ต่อ) 34 ภำระผูกพันและหนี้สินที่อำจเกิดขึน้ (ต่อ) 34 ภำระผูกพันและหนี้สินที่อำจเกิดขึน้ (ต่อ) (ข) ภำระผูกพันภำยใต้ สัญญำบริ กำร (ข) ภำระผูกพันภำยใต้ สัญญำบริ กำร (ข) ภำระผูกพันภำยใต้ สัญญำบริ กำร สัญญำบริ กำรที่ไม่สำมำรถยกเลิกได้เกี่ยวกับกำรได้รับบริ กำรจำกบุคคลภำยนอกมีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยในอนำคต ดังนี้ สัญญำบริ กำรที่ไม่สำมำรถยกเลิกได้เกี่ยวกับกำรได้รับบริ กำรจำกบุคคลภำยนอกมีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยในอนำคต ดังนี้ สัญญำบริ กำรที่ไม่สำมำรถยกเลิกได้เกี่ยวกับกำรได้รับบริ กำรจำกบุคคลภำยนอกมีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยในอนำคต ดังนี้ ข้ อมูลทำงกำรเงินรวม ข้ อมูลทำงกำรเงินเฉพำะกิจกำร ข้ อมูลทำงกำรเงินรวม ข้ อมูลทำงกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 นเฉพำะกิ พ.ศ. 2560 ข้ อมูล2561 ทำงกำรเงินรวม ลทำงกำรเงิ จกำร พ.ศ. พ.ศ. 2560 ข้ อมูพ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 บำท บำท บำท บำท บำท บำท บำท บำท ภำยใน 1 ปี 18,024,069 21,388,720 1,602,000 4,072,560 ภำยใน 1 ปี 18,024,069 21,388,720 1,602,000 4,072,560 เกิ นกว่ำ11ปีปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 69,412,971 66,210,767 1,303,200 2,361,600 ภำยใน 18,024,069 21,388,720 1,602,000 4,072,560 เกินกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 69,412,971 66,210,767 1,303,200 2,361,600 เกิ น กว่ ำ 5 ปี 11,474,167 เกิ น กว่ ำ 1 ปี แต่ ไ ม่ เ กิ น 5 ปี 69,412,971 66,210,767 1,303,200 2,361,600-เกินกว่ำ 5 ปี 11,474,167 87,437,04099,073,654 2,905,2006,434,160เกินกว่ำ 5 ปี 11,474,167 87,437,040 99,073,654 2,905,200 6,434,160 87,437,040 99,073,654 2,905,200 6,434,160 (ค) ภำระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญำขำยสิ นค้ ำทีย่ ังไม่ ส่งมอบ (ค) ภำระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญำขำยสิ นค้ ำทีย่ ังไม่ ส่งมอบ (ค) ภำระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญำขำยสิ นค้ ำทีย่ ังไม่ ส่งมอบ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งมีภำระผูกพันเกี่ ยวกับสัญญำขำยน้ ำตำลที่ยงั ไม่ได้ส่งมอบจำนวน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งมีภำระผูกพันเกี่ ยวกับสัญญำขำยน้ ำตำลที่ยงั ไม่ได้ส่งมอบจำนวน 90,213 (พ.ศ.พ.ศ. 2560 : จบริ ำนวน เมตริ น) ทีก่ชพั่วนงรำคำระหว่ ง 8,375 ้ ำถึตำลที ง 17,628 อเมตริำนวน กตัน ณ วันทีเมตริ ่ 31 กกธัตัตันนนวำคม ษทั ย่181,981 อยแห่ งหนึ ่ งมีกกภตัตัำระผู เกี่ ยวกับสัญำำญำขำยน ่ยงั ไม่ไบำทต่ ด้ส่งมอบจ 90,213 เมตริ (พ.ศ. 25602561 : จำนวน 181,981 เมตริ น) ที่ช่วงรำคำระหว่ ง 8,375 ถึง 17,628 บำทต่ อเมตริ กตัน (พ.ศ. 2560 ถึง181,981 19,388 บำทต่ ) และยังไม่ไำงด้ก8,375 ำหนดรำคำจ ำนวน บำทต่ 46,000 เมตริ กกตัตันน 90,213 เมตริ:: กช่ช่ตัววนงรำคำระหว่ (พ.ศ. 2560ำำงง :12,388 จำนวน เมตริ กออตัเมตริ น) ทีกก่ชตัตั่วนนงรำคำระหว่ ถึง 17,628 (พ.ศ. 2560 งรำคำระหว่ 12,388 ถึง 19,388 บำทต่ เมตริ ) และยังไม่ได้กำหนดรำคำจ ำนวน 46,000อเมตริ เมตริ กตัน (พ.ศ. 2560 : ช่จำนวน 156,500ำงเมตริ กตันถึง) โดยอ้ ำงอิบำทต่ งรำคำจำกรำคำน บด้ตลำดนิ วยอร์ กำนวน หมำยเลข 11 เมตริ หรื อรำคำ ้)ำตำลทรำยดิ (พ.ศ. 2560 : ว งรำคำระหว่ 12,388 19,388 อ เมตริ ก ตั น และยั ง ไม่ ไ ก ำหนดรำคำจ 46,000 กตัน (พ.ศ. 2560 : จำนวน 156,500 เมตริ กตัน) โดยอ้ำงอิงรำคำจำกรำคำน้ ำตำลทรำยดิบตลำดนิ วยอร์ ก หมำยเลข 11 หรื อรำคำ น(พ.ศ. หมำยเลข ตำมงวดที ่มีกำรส่ งมอบ ้ ำตำลทรำยดิบตลำดนิ วยอร์ ก หมำยเลข 11 หรื อรำคำ ้ ำตำลทรำยขำวตลำดลอนดอน 2560 : จำนวน 156,500 เมตริ กตัน) 55โดยอ้ ำงอิงรำคำจำกรำคำน น้ ำตำลทรำยขำวตลำดลอนดอน หมำยเลข ตำมงวดที ่มีกำรส่ งมอบ น้ ำตำลทรำยขำวตลำดลอนดอน หมำยเลข 5 ตำมงวดที่มีกำรส่ งมอบ (ง) ภำระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญำซื้อขำยไฟฟ้ ำ (ง) ภำระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญำซื้อขำยไฟฟ้ ำ (ง) ภำระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญำซื้อขำยไฟฟ้ ำ เมื่อวันที่ 20 กันยำยน พ.ศ. 2559 บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงำน จำกัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้แก้ไขเพิ่มเติมสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับ เมื่อวันที่ 20 กันยำยน พ.ศ. 2559 บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงำน จำกัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้แก้ไขเพิ่มเติมสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับ กำรไฟฟ้ มิภำคพ.ศ. (กฟภ.) ่อเปลี งงำนไฟฟ้ ำระเงิ ำเป็ นวิ ้ อขำยไฟฟ้ เมื่อวันที่ ำส่ 20ววกันภู นยำยน 2559เพื ษทั ่่ยยบุนวิ รีรธธั มีี กกย์ำรค พลังำนวณปริ งำน จำกัมมดำณพลั ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อำและกำรช ย ได้แก้ไขเพิ ำกับธธีี ้ อขำยไฟฟ้ ่มเตินนมสัค่ค่ำำญซืซืญำซื กำรไฟฟ้ ำส่ นภู มิภำค (กฟภ.) เพืบริ ่อเปลี นวิ ำรค ำนวณปริ ำณพลั งงำนไฟฟ้ ำและกำรช ำระเงิ ำเป็ นวิ ้ อขำยไฟฟ้ “Feed-in ำส่ Tariff” ญญำซื้อเพืขำยไฟฟ้ ำเดิธมี กมีำรค อำยุสัญญำเป็ นมระยะเวลำ 5 ปี เริ่ มำและกำรช ตั้งแต่วนั ที่ 11 พฤษภำคม พ.ศ. 2555 และธี กำรไฟฟ้ วนภูม(FiT) ิภำค สัสั(กฟภ.) ่อเปลี่ยนวิ ำณพลังงำนไฟฟ้ นค่ำซื้ อขำยไฟฟ้ ำเป็ นวิ “Feed-in Tariff” (FiT) ญญำซื้อขำยไฟฟ้ ำเดิมมีอำยุำนวณปริ สัญญำเป็ นระยะเวลำ 5 ปี เริ่ มตั้งแต่วนั ทีำระเงิ ่ 11 พฤษภำคม พ.ศ. 2555 และ สำมำรถต่ อ สั ญ ญำออกไปได้ อ ี ก ครั งละ 5 ปี กำรแก้ ไ ขสั ญ ญำซื อ ขำยไฟฟ้ ำดั ง กล่ ำ วมี ผ ลท ำให้ อ ำยุ ส ั ญ ญำคงเหลื อ 12 ปี ้ ้ “Feed-in (FiT) สัญญำซือีก้ อครั ขำยไฟฟ้ มีอำยุสไัญขสั ญำเป็ นระยะเวลำ 5 ปีำดัเริง่ มกล่ตั้งำแต่ ที่ ำให้ 11 พฤษภำคม พ.ศ. 2555 สำมำรถต่Tariff” อสัญญำออกไปได้ ญญำซื วมีวผนั ลท อำยุสัญญำคงเหลื อ 12และปี ้ อขำยไฟฟ้ ้ งละ 5ำเดิปีมกำรแก้ 5 เดือน โดยกำรค ำนวณด้วยวิธอี ีกFiT ่ งมีผ5ลย้ปีอนหลั งตั้ไงแต่ ที่ 11้ อมีขำยไฟฟ้ นำคม พ.ศ. สำมำรถต่ อสัญญำออกไปได้ ครั้ซึซึงละ กำรแก้ ขสัววญนนัั ญำซื ำดัง2559 กล่ำวมีผลทำให้อำยุสัญญำคงเหลือ 12 ปี 5 เดือน โดยกำรค ำนวณด้วยวิธี FiT ่ งมีผลย้อนหลั งตั้งแต่ ที่ 11 มีนำคม พ.ศ. 2559 5 เดือน โดยกำรคำนวณด้วยวิธี FiT ซึ่งมีผลย้อนหลังตั้งแต่วนั ที่ 11 มีนำคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์ จำกัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ทำสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับกำรไฟฟ้ ำส่ วนภูมิภำค (กฟภ.) เป็ นระยะเวลำ บริ ษทั บุรีรัมย์เพำเวอร์ จำกัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ทำสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับกำรไฟฟ้ ำส่ วนภูมิภำค (กฟภ.) เป็ นระยะเวลำ 20 แต่ย์เวพำเวอร์ นั ที่ 7 เมษำยน พ.ศ. 2558 โดยภำยใต้ เงื่อนไขตำมสั ญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำบริ ยและ กฟภ. ต้องปฏิ บตั ิตำม บริ ษปีปี ทั เริเริ่่บุมมรตัตัี ร้้ งงัมแต่ จำกัด ซึพ.ศ. ่ งเป็ นบริ ทั ย่อยได้ทำสั ญำซื้ อขำยไฟฟ้ บกำรไฟฟ้ำบริ ำส่ษษวททัั นภูย่ย่ออมยและ ิภำค (กฟภ.) นระยะเวลำ 20 วนั ที่ 7 เมษำยน 2558ษโดยภำยใต้ เงื่อญนไขตำมสั ญญำซืำกั กฟภ. ต้เป็องปฏิ บตั ิตำม ้ อขำยไฟฟ้ เงื่อนไขกำรซื ขำยไฟฟ้ ำตำมระบุ ในสั ญญำ เริ่ มตั้งแต่้้ ออวขำยไฟฟ้ นั ที่ 7 เมษำยน พ.ศ. 2558 เงื20่อปีนไขกำรซื ำตำมระบุ ในสั ญญำโดยภำยใต้เงื่อนไขตำมสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำบริ ษทั ย่อยและ กฟภ. ต้องปฏิบตั ิตำม เงื่อนไขกำรซื้อขำยไฟฟ้ ำตำมระบุในสัญญำ (จ) หนังสื อคำ้ ประกันจำกธนำคำร (จ) หนังสื อคำ้ ประกันจำกธนำคำร (จ) หนังสื อคำ้ ประกันจำกธนำคำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิจกำรมีหนี้ สินที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรที่กลุ่มกิ จกำรได้ให้สถำบันกำรเงินในประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิจกำรมีหนี้ สินที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรที่กลุ่มกิ จกำรได้ให้สถำบันกำรเงินในประเทศ ออกหนั ญำค้ ำประกั นแก่ กกลุ ำรไฟฟ้ ำส่ วนภู ่อค้ ำดประกั นกำรใช้่กไลุฟฟ้่มกิำเป็ นจำนวนเงิ นทั้นงสิกำรเงิ ล้ำนบำท ้ น 6.20 ่มกิจกำรมี ณ วันที่ งง31สืสื ออธัสัสันญ พ.ศ. 2561 หนีมม้ สิิภภิ นำคเพื ที่อำจเกิ ขึ้นจำกกำรที จกำรได้ ให้สถำบั นในประเทศ ออกหนั ญวำคม ญำค้ ำประกั นแก่ กำรไฟฟ้ ำส่ วนภู ำคเพื ่อค้ ำประกั นกำรใช้ไฟฟ้ ำเป็ นจำนวนเงิ นทั้งสิ้ น 6.20 ล้ำนบำท ( นที่ 31งธัสืนอวำคม (วั พ.ศ. 2560น: แก่ จำนวน 6.20ำส่ล้ำวนบำท) ออกหนั สั ญ ญำค ำ ประกั ก ำรไฟฟ้ นภู ม ิ ภ ำคเพื ่ อ ค ำ ประกั น กำรใช้ ไ ฟฟ้ ำเป็ นจ ำนวนเงิ น ทั ง สิ น 6.20 ล้ำนบำท ้ ้ ้ ้ (วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 : จำนวน 6.20 ล้ำนบำท) (วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 : จำนวน 6.20 ล้ำนบำท) 368 ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 85 85
บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 35
เหตุกำรณ์ ภำยหลังวันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน กำรเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษัทย่ อย เมื่อวันที่ 7 มกรำคม พ.ศ. 2562 ที่ประชุมวิสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี พ.ศ. 2562 ของบริ ษทั ชูกำร์ เคน อีโคแวร์ จำกัด ผูถ้ ือหุ ้นมีมติ อนุ มตั ิ ก ำรเพิ่มทุน จดทะเบี ยนของบริ ษทั โดยกำรเพิ่มทุ นจดทะเบียนจำกหุ ้นสำมัญจำนวน 50,000 หุ ้น เป็ นหุ ้น สำมัญ จำนวน 750,000 หุ ้นมูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 100 บำท คิดรวมเป็ นมูลค่ำจำนวน 75 ล้ำนบำท โดยบริ ษทั ได้ดำเนิ นกำรจดทะเบียนรำยกำร ดังกล่ำวกับกระทรวงพำณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 17 มกรำคม พ.ศ. 2562 เงินปันผล ตำมมติที่ประชุมคณะกรรมกำรบริ ษทั ครั้งที่ 1/2562 วันที่ 27 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2562 ได้อนุ มตั ิเสนอให้จ่ำยเงินปั นผลจำกกำไรสุ ทธิ ของปี พ.ศ. 2561 สำหรับหุ ้นสำมัญจำนวน 812,099,845 หุ ้น ในอัตรำหุ ้นละ 0.15 บำทต่อหุ ้น เป็ นจำนวนเงินรวม 121,814,976.75 บำท ทั้งนี้กำรอนุมตั ิเสนอให้จ่ำยเงินปั นผลดังกล่ำวจะได้นำเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ผถู้ ือหุ ้นประจำปี พ.ศ. 2562 เพื่อพิจำรณำอนุ มตั ิ ต่อไป โดยบริ ษทั จะจ่ำยเงินปันผลภำยในวันที่ 24 พฤษภำคม พ.ศ. 2562
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
369
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ 14.1 ภาพรวมของผลการดาเนินงานทีผ่ ่านมา ในระหว่างปี 2561 การเปลี่ยนแปลงของผลการดาเนินงานที่ผา่ นมามีรายละเอียดดังนี้ ปริ มาณพื้นที่เพาะปลูกอ้อยรวมถึงจานวนชาวไร่ ที่ขายอ้อยให้กบั บริ ษทั มีเพิ่มสู งขึ้นทุกปี เนื่ องมาจาก นโยบายของกลุ่ ม บริ ษ ัท ที่ เน้นการส่ ง เสริ ม ชาวไร่ อ้อยในพื้น ที่ บ ริ เ วณรอบโรงงานให้มี ผลผลิ ตต่ อไร่ สู ง มีคุณภาพดี และมีการพัฒนาระบบบริ หารจัดการ เพื่อความมัน่ คงของผลผลิตและผลกาไรของชาวไร่ และเพื่อให้ กลุ่มบริ ษทั สามารถผลิตน้ าตาลได้เพิ่มมากขึ้น สาหรับรายได้รวมของบริ ษทั ในปี 2559 ปี 2560 และ ปี 2561 เท่ากับ 4,685.53 ล้านบาท 5,895.76 และ 5,844.81 ล้านบาท ตามลาดับ เนื่องจากรายได้หลักของกลุ่มบริ ษทั ฯ มีรายได้หลักจากการจาหน่ายน้ าตาล ประมาณร้ อ ยละ 72 ถึ ง ร้ อ ยละ 80 ของรายได้ จ ากการจ าหน่ า ยน้ าตาลเป็ นรายได้ ส่ งออกน้ าตาล ไปยังตลาดโลก กลุ่มบริ ษทั ฯ จึงได้รับผลกระทบจากความผันผวนของราคาน้ าตาลตลาดโลก ที่มีการปรับตัว เพิ่มขึ้นในช่วงต้นปี 2560 อยูท่ ี่ประมาณ 20 เซนต์ต่อปอนด์ แต่ในปี 2561 ได้ปรับลดลงอย่างรวดเร็ ว อยูท่ ี่ 1213 เซนต์ต่อปอนด์ แม้วา่ ในปี 2561 บริ ษทั จะมีปริ มาณขายน้ าตาลเพิ่มขึ้นมาก แต่ดว้ ยราคาขายที่ลดลงทาให้ รายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลลดงลงไปด้วย แต่บริ ษทั มีรายได้จากการจาหน่ายไฟฟ้ าและปุ๋ ยเพิ่มขึ้น ชดเชย รายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลที่ลดลง จึงทาให้ภาพรวมของรายได้ลดลงจากปี ก่อนไม่มากนัก กาไรสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั ในปี 2559, ปี 2560 และปี 2561 เท่ากับ 113.32 ล้านบาท 525.41 ล้านบาท และ 271.67 ล้า นบาท ตามล าดับ ในปี 2560 ก าไรสุ ท ธิ เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากการผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ า ตาล กากน้ าตาล และผลผลิตพลอยได้อื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้น และราคาน้ าตาลในตลาดโลกที่ปรับตัวสู งขึ้น ส่ วนในปี 2561 กาไรสุ ทธิ ลดลงเนื่ องจากการลอยตัวของราคาขายน้ าตาลในประเทศที่เป็ นไปตามทิศทางเดียวกับราคาน้ าตาล ตลาดโลก ส่ งผลให้บริ ษทั มีราคาขายน้ าตาลเฉลี่ยลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน สิ นทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 เท่ากับ 7,226.85 ล้านบาท 9,232.74 ล้าน และ 10,276.23 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่ งการเพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์รวม ส่ วนใหญ่มาจากลูกหนี้ การค้าที่ส่งมอบน้ าตาล ส่ งออกช่ วงสิ้ นปี 2561 และการลงทุนในส่ วนของที่ดิน อาคาร และอุ ปกรณ์ เพื่อเตรี ยมรองรับการขยายธุ รกิ จ โรงสี น้ าตาลทรายขาวและโรงผลิตบรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อย และในปี 2561 มีการรับรู้รายได้คา้ งรับจากสานักงาน กองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ซึ่ งเป็ นเงิ นชดเชยที่บริ ษทั จะได้รับจากกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย เนื่ องจากในฤดู การผลิต 2560/2561 ราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายและผลตอบแทนการผลิ ตและจาหน่ายน้ าตาลทรายขั้นสุ ดท้ายจะต่ากว่า ขั้นต้น ตามพระราชบัญญัติออ้ ยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527 มาตรา 56 กาหนดให้กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจ่าย ชดเชยส่ วนของค่าอ้อยและเงิ นชดเชยค่าผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ ายน้ าตาลทรายให้กบั บริ ษทั ฯ เท่ากับส่ วน ต่างดังกล่าว
370
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
266
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
หนี้ สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 เท่ากับ 5,134.08 ล้านบาท 6,760.20 ล้านบาท และ 7,775.72 ล้านบาท ตามล าดับ โดยการเพิ่ม ขึ้ นของหนี้ สิ นรวมส่ วนใหญ่ เนื่ องมาจากการเพิ่ ม ขึ้ นของ เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เพราะจานวนชาวไร่ เพิ่มขึ้น และการขยายการลงทุนทั้งโรงงานน้ าตาล และโรงงานไฟฟ้ า ส่ งผลให้ตอ้ งกูย้ มื มาเพื่อจ่ายเงินเกี๊ยวเพิม่ ขึ้น ส่ ว นของผูถ้ ื อ หุ ้ น รวม ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 เท่ า กับ 2,092.77 ล้า นบาท 2,472.54 ล้านบาท และ 2,500.51 ล้านบาท ตามลาดับ โดยส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง เนื่องจากมี ผลการดาเนินงานที่ดีและมีการเพิ่มทุน โดยเฉพาะการจ่ายหุน้ ปั นผลในปี 2560 เนื่ องจากในปี 2561 มี ม าตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับ ใหม่ห ลายฉบับ ที่ จ ะมี ผ ลบัง คับ ใช้ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสาคัญต่องบการเงินของบริ ษทั 14.2 วิเคราะห์ ผลการดาเนินงาน ก. รายได้ งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 2560 2561 ล้ านบาท ร้ อยละ ล้ านบาท ร้ อยละ ล้ านบาท ร้ อยละ 1. รายได้ จากการขายและให้ บริการ 1.1 รายได้ จากการขายนา้ ตาลและกากนา้ ตาล 1.1.1 นา้ ตาล ในประเทศ น้ าตาลทรายขาวสี รา รวมรายได้ จากการขายนา้ ตาลในประเทศ ต่ างประเทศ น้ าตาลทรายขาว น้ าตาลทรายดิบ รวมรายได้ จากการขายนา้ ตาลในต่ างประเทศ รวมรายได้ จากการขายนา้ ตาล 1.1.2 กากนา้ ตาล ในประเทศ รวมรายได้ จากการขายกากนา้ ตาลทราย รวมรายได้ จากการขายนา้ ตาลทรายและกากนา้ ตาล 1.2.1 รายได้จากการขายไฟฟ้ า 1.2.2 รายได้จากการขายปุ๋ ย 1.2.3 รายได้จากการขายและบริ การอื่น ๆ รวมรายได้ จากธุรกิจเกีย่ วเนื่องอืน่ ๆ รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ 2. รายได้ อนื่ ๆ 3. กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้ รวม
1,162.02 1,162.02
24.80 24.80
1,144.94 1,144.94
19.42 19.42
658.77 658.77
11.27 11.27
53.29 2,230.29 2,283.58 3,445.60
1.14 47.60 48.74 73.54
6.67 3,114.99 3,121.66 4,266.60
0.11 52.83 52.95 72.37
3,207.49 3,207.49 3,866.26
54.88 54.88 66.15
283.60 283.60 3,729.19 383.81 328.83 137.38 850.02 4,579.21 95.22 11.09 4,685.52
6.05 6.05 79.59 8.19 7.02 2.93 18.14 97.73 2.03 0.24 100.00
437.44 437.44 4,704.04 492.14 335.51 208.75 1,036.40 5,740.44 151.72 3.59 5,895.76
7.42 7.42 79.79 8.35 5.69 3.54 17.58 97.37 2.57 0.06 100.00
499.28 499.28 4,365.54 556.57 370.70 263.16 1,190.43 5,555.97 253.05 35.79 5,844.81
8.54 8.54 74.69 9.52 6.34 4.50 20.37 95.06 4.33 0.61 100.00
267ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
371
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
รายได้ จากการขายและให้ บริการ สาหรับปี บัญชี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 ถึ ง 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มบริ ษทั มี รายได้จากการขายและ ให้บริ การเท่ากับ 4,579.21 ล้านบาท 5,740.44 ล้านบาท และ 5,555.97 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่ งในปี 2560 มีรายได้ จากการจาหน่ายและให้บริ การเพิ่มขึ้น 1,161.23 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 25.36 ในขณะที่ปี 2561 ลดลง 184.47 ล้าน บาท คิดเป็ นร้อยละ 3.21 เนื่ องจากความผันผวนของราคาน้ าตาลตลาดโลก ที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่ วงต้นปี 2560 แต่ในปี 2561 ปรับลดลงอย่างรวดเร็ ว แม้วา่ ในปี 2561 บริ ษทั จะมีปริ มาณขายน้ าตาลเพิ่มขึ้นมาก แต่ดว้ ยราคา ขายที่ลดลง ทาให้รายได้จากการขายน้ าตาลลดงลงไปด้วย แต่บริ ษ ทั มี รายได้จากการขายไฟฟ้ าและปุ๋ ยเพิ่มขึ้ น ชดเชยรายได้จากการขายน้ าตาลที่ลดลง จึงทาให้ภาพรวมของรายได้ลดลงจากปี ก่อนไม่มากนัก 1.1 รายได้ จากการขายนา้ ตาลและกากนา้ ตาล รายได้จากการขายน้ าตาลทรายและกากน้ าตาลถือเป็ นรายได้หลักของบริ ษทั โดยคิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 80 ถึงร้อยละ 85 ของรายได้รวมทั้งหมด ตารางแสดงราคาเฉลี่ยและปริ มาณของน้ าตาลทรายและกากน้ าตาลที่บริ ษทั จาหน่าย งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 บาทต่ อตัน 19,084 14,737 13,951 3,898 พันตัน 60.82 3.62 171.10 72.75
ราคาเฉลีย่ ต่ อตัน น้ าตาลทรายขาวสี ราในประเทศ น้ าตาลทรายขาวสี ราต่างประเทศ น้ าตาลทรายดิบต่างประเทศ กากน้ าตาล ปริมาณนา้ ตาลที่จาหน่ าย น้ าตาลทรายขาวสี ราในประเทศ น้ าตาลทรายขาวสี ราต่างประเทศ น้ าตาลทรายดิบต่างประเทศ กากน้ าตาล
31 ธันวาคม 2560 บาทต่ อตัน 19,143 19,057 16,727 4,464 พันตัน 59.81 0.35 186.23 98.00
31 ธันวาคม 2561 บาทต่ อตัน 17,146 10,597 3,750
พันตัน 38.42 302.68 133.12
1.1.1 รายได้ จากการขายนา้ ตาล สาหรั บ ปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่ ม บริ ษ ทั มี รายได้จากการขายน้ า ตาล 4,266.60 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันปี 2559 เท่ากับ 821.00 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 23.84 แต่ในปี 2561 มี รายได้จากการขายน้ าตาล 3,866.26 ล้านบาท ลดลงจากปี 2560 เท่ากับ 400.34 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 9.38 ล้านบาทแม้วา่ บริ ษทั จะมีปริ มาณขายน้ าตาลในปี 2561 สู งกว่าปี 2560 แต่เนื่องจากความผันผวนของราคา น้ าตาลตลาดโลก ที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงต้นปี 2560 ปรับลดลงอย่างรวดเร็ วในปี 2561 ทาให้รายได้จาก การขายน้ าตาลลดงลงไปด้วย
372
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
268
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1.1.2 รายได้ จากการขายกากนา้ ตาล สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากการขายกากน้ าตาล 437.44 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันปี 2559 เท่ากับ 153.84 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 54.25 เนื่องจากปริ มาณ ขายเพิ่มขึ้นตามการผลิตน้ าตาลที่เพิ่มขึ้น และราคาขายต่อหน่วยเพิ่มขึ้น 566 บาทต่อตัน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากการขายกากน้ าตาล 499.28 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันปี 2560 เท่ากับ 61.84 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 14.14 เนื่องจากปริ มาณ ขายเพิ่มขึ้นตามการผลิตน้ าตาลที่เพิ่มขึ้น แม้วา่ ราคาขายต่อหน่วยจะลดงลง 766 บาทต่อตัน 1.2 รายได้ จากธุรกิจเกีย่ วเนื่องอืน่ ๆ 1.2.1 รายได้ จากการขายไฟฟ้า ตั้งแต่ปี 2559 ถึ ง 2561 กลุ่มบริ ษทั มี รายได้จากการขายไฟฟ้ าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง จากการ เดิ นเครื่ องจักรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทาให้ปริ มาณที่ ผลิตได้สูงขึ้ นทุกปี โดยปี 2559 ถึ ง 2561 มีปริ มาณขาย ไฟฟ้ า 94 ล้านกิโลวัตต์ 109 ล้านกิโลวัตต์ และ 122 ล้านกิโลวัตต์ ตามลาดับ 1.2.2 รายได้ จากการขายปุ๋ ย กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากการจาหน่ายปุ๋ ยในลักษณะที่เป็ นส่ วนหนึ่งของการส่ งเสริ มชาวไร่ ออ้ ย เพื่ อ ให้ ช าวไร่ อ้อยสามารถปลู ก อ้อ ยเพื่อ มาจ าหน่ า ยให้ก ับ กลุ่ ม บริ ษ ัท ได้ และเพื่อ เป็ นการลดความเสี่ ย ง ด้านวัตถุดิบของกลุ่มบริ ษทั สาหรับในปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากการจาหน่ายปุ๋ ยเท่ากับ 328.83 ล้านบาท 335.51 ล้านบาท และ 370.71 ล้านบาท ตามลาดับ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง จากแผนการส่ งเสริ มชาวไร่ เพื่อให้ได้ผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้นตามความต้องการของบริ ษทั 1.2.3 รายได้ จากการขายและบริการอืน่ ๆ รายได้ จ ากการขายและบริ การอื่ น ๆ ส่ ว นหลัก ประกอบด้ว ยการจ าหน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ ผลพลอยได้จากการปลูกอ้อย เช่น กากอ้อย และจาหน่ายวัสดุส่งเสริ มเพื่อการปลูกอ้อยของชาวไร่ เช่น น้ ามันดีเซล สาหรับใช้ในเครื่ องจักรกลการเกษตร ยาปราบศัตรู พืช และรายได้ค่าบริ การตัดอ้อย เป็ นต้น 1.3 รายได้ อนื่ ๆ รายได้อื่น ๆ ของบริ ษทั สาหรับปี บัญชี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 บริ ษทั มี รายได้อื่น ๆ จานวน 95.22 ล้านบาท 151.72 ล้านบาท และ 253.05 ล้านบาท ตามลาดับ รายได้อื่น ๆ โดยหลัก ประกอบด้วย กาไรจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ หนี้ สูญได้รับคืน และดอกเบี้ยรับ เป็ นต้น ในปี 2560 รายได้อื่น เพิ่มขึ้น 56.50 ล้านบาท เนื่องจากบริ ษทั มีรายได้ดอกเบี้ยรับจากการปล่อยเงินเกี๊ยวให้ชาวไร่ 53 ล้านบาท สาหรับปี 2561 รายได้อื่นเพิ่มขึ้น 101.33 ล้านบาท เนื่องจากบริ ษทั รับรู้ รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและ จาหน่ายน้ าตาลทรายในปี 2561 จานวน 148 ล้านบาท ซึ่ งเป็ นเงินชดเชยที่บริ ษทั จะได้รับจากกองทุนอ้อยและ 269 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
373
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
น้ าตาลทราย เนื่ องจากในฤดูการผลิต 2560/2561 ราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายและผลตอบแทนการผลิ ตและจาหน่ าย น้ า ตาลทรายขั้น สุ ด ท้า ยจะต่ า กว่า ขั้นต้น ตามพระราชบัญ ญัติ อ้อ ยและน้ า ตาลทราย พ.ศ.2527 มาตรา 56 กาหนดให้กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจ่ายชดเชยส่ วนของค่าอ้อยและเงินชดเชยค่าผลตอบแทนการผลิตและ จาหน่ายน้ าตาลทรายให้กบั บริ ษทั ฯ เท่ากับส่ วนต่างดังกล่าว โดยชาวไร่ ออ้ ยไม่ตอ้ งส่ งคืนค่าอ้อยที่ได้รับเกิน ข. ต้ นทุนขายสิ นค้ าและให้ บริการ 1. ธุรกิจผลิตและจาหน่ ายนา้ ตาลทรายและกากนา้ ตาล 31 ธ.ค. 2559 วัตถุดิบ (อ้อย) ค่าภาชนะหี บห่อ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต เงินนาส่งสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย รวมต้ นทุนการผลิตนา้ ตาลและกากนา้ ตาล
ล้านบาท 2,271.82 36.67 130.56 349.99 347.99 3,137.03
(%) 72.43 1.16 4.16 11.15 11.10 100.00
งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 2560 ล้านบาท 2,684.30 44.41 142.51 409.96 347.02 3,628.20
(%) 73.98 1.22 3.93 11.30 9.57 100.00
31 ธ.ค. 2561 ล้านบาท
(%)
2,421.77
63.80
44.62
1.18
169.91
4.48
932.96
24.58
226.84
5.98
3,796.10
100
โดยต้นทุนวัตถุดิบสาหรับปี บัญชีปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 คิดเป็ นร้อยละ 72.43 ร้อยละ 73.98 และ ร้อยละ 63.80 ตามลาดับ ในปี 2561 ต้นทุนวัตถุดิบอ้อยลดลงอย่างมาก เนื่ องจากราคาอ้อยที่ปรับลดลงตาม ราคาน้ าตาลตลาดโลก 2. ธุรกิจเกีย่ วเนื่องอืน่ ๆ ต้นทุนขายของธุ รกิ จเกี่ยวเนื่ องอื่น ๆ ที่สาคัญประกอบด้วยต้นทุนจากธุ รกิจผลิ ตและจาหน่ายไฟฟ้ า และต้นทุนธุ รกิจผลิตและจาหน่ายปุ๋ ย และต้นทุนการจาหน่ายอื่น ๆ ต้น ทุ น หลัก ของธุ ร กิ จ ผลิ ต และจ าหน่ า ยไฟฟ้ า ได้ แ ก่ กากอ้ อ ยและค่ า เสื่ อมราคาของอาคาร และเครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้ า ต้นทุ น ธุ รกิ จผลิ ตและจาหน่ า ยปุ๋ ย จะมี 2 ส่ วน คื อ ปุ๋ ยเคมี แ ละปุ๋ ยอิ น ทรี ย ์เคมี ที่ ซ้ื อ มาจ าหน่ า ยต่ อ และปุ๋ ยอินทรี ยท์ ี่ผลิ ตขึ้นเอง โดยต้นทุนปุ๋ ยที่ผลิ ตขึ้ นเองนั้น จะประกอบด้วย กากหม้อกรอง ค่าเสื่ อมราคา ของอาคาร และเครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิต รวมทั้งสารเคมีธาตุอาหารพืชที่ผสมเพื่อเพิม่ คุณภาพปุ๋ ยอินทรี ย ์ ต้นทุนการจาหน่ายอื่น ๆ ส่ วนใหญ่จะประกอบด้วย ต้นทุนวัสดุการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลง พันธุ์ออ้ ย ที่ ซ้ื อมาใช้ใ นกิ จกรรมสนับ สนุ นเกษตรกรชาวไร่ อ้อย รวมถึ ง น้ า มันดี เซลที่ จาหน่ า ยให้ช าวไร่ อ้อยใช้ใ น เครื่ องจักรทางการเกษตร
374
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
270
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561 งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2560
31 ธันวาคม 2559 ล้ านบาท
ร้ อยละ
ล้ านบาท
ร้ อยละ
31 ธันวาคม 2561 ล้ านบาท
ร้ อยละ
ต้ นทุนการจาหน่ ายไฟฟ้า 132.73
52.34
162.83
47.34
226.25
40.15
ค่าแรงทางตรง
22.34
8.82
27.30
7.94
36.83
6.54
ค่าใช้จ่ายในการผลิต
98.48
38.84
153.81
44.72
300.40
53.31
253.55
100.00
343.94
100.00
563.48
100
214.45
73.18
224.07
85.82
257.09
85.48
ค่าแรงทางตรง
11.45
3.91
10.92
4.18
10.41
3.46
ค่าใช้จ่ายในการผลิต
31.45
10.83
26.09
10.00
33.26
11.06
สิ นค้าที่ซ้ือมาจาหน่าย
35.39
12.08
-
-
0.00
0.00
-
-
-
-
-
-
293.04
100.00
261.08
100.00
300.76
100
129.51
95.91
186.32
95.54
390.92
98.84
5.51
4.09
8.68
4.46
4.57
1.16
135.02
100.00
195.00
100.00
395.49
100
วัตถุดิบ
รวมต้ นทุนการจาหน่ ายไฟฟ้า ต้ นทุนการจาหน่ ายปุ๋ ย วัตถุดิบ
ต้นทุนอื่น ๆ รวมต้ นทุนการจาหน่ ายปุ๋ ย ต้ นทุนการจาหน่ ายอืน่ ๆ สิ นค้าที่ซ้ือมาจาหน่าย ต้นทุนอื่น ๆ รวมต้ นทุนการจาหน่ ายอืน่ ๆ
ค. กาไรขั้นต้ น สาหรับปี 2559 กาไรขั้นต้นเท่ากับ 760.57 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 16.61 โดยอัตรากาไรขั้นต้นลดลง เนื่ องจากการปรับขึ้นของราคาน้ าตาลในตลาดโลก และส่ งผลให้ตน้ ทุนค่าอ้อย ซึ่ งเป็ นวัตถุดิบหลักมีการปรับขึ้นตามด้วย สาหรับปี 2560 กาไรขั้นต้นเท่ากับ 1,312.22 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 22.85 โดยอัตรากาไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น เนื่ องจากการปรับขึ้นของราคาน้ าตาลในตลาดโลกช่ วงครึ่ งปี แรกของปี 2561 สาหรับปี 2561 กาไรขั้นต้นเท่ากับ 1,047.10 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 18.84 โดยอัตรากาไรขั้นต้นลดลง เนื่องจากการปรับลดของราคาน้ าตาลในตลาดโลกในปี 2561 อัตรากาไรขั้นต้ นตามรายได้ แต่ ละประเภทของบริษัท
ธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายและกากน้ าตาล ธุรกิจผลิตและจาหน่ายไฟฟ้ า ธุรกิจผลิตและจาหน่ายปุ๋ ย ธุรกิจขายและบริ การอื่น ๆ
31 ธันวาคม 2559 15.82 33.94 10.88 3.37
สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2560 22.87 30.11 22.18 6.58
(หน่วย: ร้อยละ) 31 ธันวาคม 2561 7.59 42.09 12.79 13.68
271ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
375
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
1. ธุรกิจผลิตและจาหน่ ายนา้ ตาลทรายและกากนา้ ตาล อัตรากาไรขั้นต้นของธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลมีผลมาจากปั จจัยหลัก 3 ประการคือ 1) ราคา น้ าตาลในตลาดโลก 2) ส่ วนต่างของราคาจาหน่ายน้ าตาลโควตา ค ของบริ ษทั เมื่อเทียบกับราคาน้ าตาลเฉลี่ ย ของโควตา ข และ 3) ปริ มาณน้ าตาลที่ผลิตได้ต่อหนึ่งตันอ้อย ต้นทุ นการผลิ ตน้ าตาลจะแบ่งเป็ น 2 ส่ วน คือ ต้นทุนวัตถุ ดิบอ้อยและต้นทุนการแปรรู ปอ้อย เป็ นน้ าตาล โดยต้นทุนวัตถุดิบอ้อยจะแปรผันไปตามระบบแบ่งปั นผลประโยชน์ 70:30 คือหากราคาน้ าตาล ปรับตัวสู งขึ้น ต้นทุนวัตถุดิบอ้อยจะปรับตัวสู งขึ้นตามไปด้วย ในขณะเดียวกันหากราคาน้ าตาลปรับตัวลดลง ต้นทุนวัตถุดิบอ้อยจะปรับตัวลดลงตาม แต่อย่างไรก็ตาม ต้นทุนการแปรรู ปอ้อยเป็ นน้ าตาล ไม่ได้ปรับตัวตาม ราคาน้ าตาลในตลาดโลก ดังนั้น หากราคาน้ าตาลในตลาดโลกปรับตัวสู งขึ้น กาไรขั้นต้นของธุ รกิจน้ าตาลก็จะ เพิ่มขึ้น ในทางกลับกัน หากราคาน้ าตาลในตลาดโลกปรับตัวลดลง กาไรขั้นต้นของธุ รกิจน้ าตาลก็จะลดลง ตามระบบ 70:30 ราคาน้ าตาลเฉลี่ยของโควตา ข จะถูกใช้เป็ นตัวแปรในการกาหนดราคาวัตถุดิบอ้อย โดยจะนาราคาน้ าตาลเฉลี่ยของโควตา ข ในการคานวณรายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลส่ งออกของประเทศไทย ทั้งหมด หลังจากนั้นจะหักค่าใช้จ่ายในการแปรรู ปอ้อยเป็ นน้ าตาล แล้วแบ่งส่ วนที่เหลือให้ชาวไร่ ร้อยละ 70 และโรงงานน้ าตาลร้อยละ 30 โดยส่ วนร้อยละ 70 ของชาวไร่ ออ้ ยจะถูกนาไปเป็ นราคาขั้นต่าของวัตถุดิบอ้อย ซึ่ งจะทาให้ราคาต่อหน่ วยของวัตถุ ดิบทั้งอุตสาหกรรมเท่ากัน แต่เนื่ องจากน้ าตาลส่ งออกส่ วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ 85 ของน้ าตาลส่ งออกจะเป็ นน้ าตาลโควตา ค โดยที่เหลือประมาณร้อยละ 15 จะเป็ นน้ าตาลโควตา ข ดังนั้น หากผูจ้ าหน่ายน้ าตาลรายใดสามารถจาหน่ายน้ าตาลโควตา ค ได้สูงกว่าราคาน้ าตาลเฉลี่ยของโควตา ข ก็จะมีอตั รากาไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น แต่ท้ งั นี้ ส่วนต่างของราคาจาหน่ ายน้ าตาลโควตา ค เมื่อเทียบกับราคาน้ าตาล เฉลี่ยของโควตา ข จะไม่สม่าเสมอตามสถานการณ์และการตัดสิ นใจจาหน่ายของผูผ้ ลิตในแต่ละครั้ง เนื่องจากปริ มาณน้ าตาลที่ผลิตได้ต่อหนึ่งตันอ้อยไม่เท่ากันทุกปี ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั คุณภาพของวัตถุดิบ แต่ตน้ ทุนการแปรรู ปอื่น ๆ จะไม่แปรผันตามคุ ณภาพน้ าตาล ดังนั้น หากบริ ษทั สามารถเพิ่มผลผลิตน้ าตาล จากอ้อย 1 ตัน ได้เพิ่มขึ้น ก็จะมีรายได้เพิ่มขึ้นและส่ งผลให้อตั รากาไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น อัตรากาไรขั้นต้นของธุ รกิจน้ าตาลในปี 2560 และ 2561 เท่ากับ 22.85 และ 7.59 ตามลาดับ ลดลง ร้อยละ 15.26 เกิ ดจากการที่ กลุ่มบริ ษทั มี การจาหน่ ายน้ าตาลส่ งออกประมาณร้ อยละ 70 ถึง 80 ของปริ มาณ น้ าตาลที่จาหน่ายทั้งหมด ในขณะที่ราคาน้ าตาลในตลาดโลกในปี 2561 ปรับตัวลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับปี ก่อน ทาให้ราคาจาหน่ายเฉลี่ยของน้ าตาลของกลุ่มบริ ษทั ลดลงตามไปด้วย ส่ งผลให้กาไรขั้นต้นลดลง 2. ธุรกิจเกีย่ วเนื่องอืน่ ๆ อัตรากาไรขั้นต้นสาหรับธุรกิจผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยมีการเปลี่ยนแปลงไม่แน่นอน เนื่องจากธุ รกิจ มีการดาเนินการทั้งในส่ วนที่มีการผลิตปุ๋ ยอินทรี ยเ์ พื่อจาหน่ายเอง และซื้ อปุ๋ ยเคมีมาจาหน่าย โดยการผลิตปุ๋ ย อินทรี ยเ์ พื่อจาหน่ายจะมีการตั้งราคาจาหน่ายโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนการผลิต (Cost Plus Method) ในขณะที่ การซื้ อปุ๋ ยเคมีมาจาหน่ายจะเป็ นการซื้ อปุ๋ ยเคมีมาเป็ นจานวนมากในแต่ละครั้ง และทยอยจาหน่ายให้กบั ชาวไร่ ออ้ ย 376
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
272
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
โดยกาหนดราคาให้เท่ากับราคาปุ๋ ยเคมีในท้องตลาดในช่วงเวลานั้น ๆ ดังนั้น ในบางช่วงบริ ษทั อาจจะจาหน่าย ปุ๋ ยเคมีในราคาต่ ากว่าทุนได้ ทาให้อตั รากาไรขั้นต้นของธุ รกิ จผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยไม่แน่ นอน แต่อย่างไรก็ตาม ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจ าหน่ า ยปุ๋ ยนั้น เป็ นการด าเนิ น งานโดยมี ว ตั ถุ ป ระสงค์ห ลัก เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ชาวไร่ ที่ ไ ด้รั บ การส่ งเสริ มให้สามารถเพิ่มผลผลิตและคุณภาพให้สูงขึ้น ซึ่ งจะส่ งผลให้ธุรกิ จผลิตและจาหน่ายน้ าตาลและ กากน้ าตาลของบริ ษทั มีผลผลิตและคุณภาพที่ดีข้ ึน รวมถึงธุรกิจผลพลอยได้ เช่น ไฟฟ้ า มีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้น ง. ค่ าใช้ จ่ายในการขาย งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 2560 31 ธ.ค. 2561 ล้านบาท % ล้านบาท %
31 ธ.ค. 2559 ล้านบาท % ค่าขนส่ง และค่าใช้จ่ายในการส่ งออก ค่าฝากน้ าตาลทรายและกากน้ าตาล ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวม
138.45
81.13
166.78
86.11
258.33
80.29
16.23
9.51
9.67
4.99
37.87
11.77
15.95
9.34
17.22
8.89
25.53
7.94
170.63
100.00
193.67
100.00
321.73
100.00
ค่าใช้จ่ายในการขายส่ วนใหญ่ ได้แก่ ค่าขนส่ งและค่าใช้จ่ายในการส่ งออก โดยปั จจัยที่มีผลกระทบต่อ ค่าขนส่ ง คือ อัตราค่าขนส่ งเฉลี่ยต่อเที่ยว และปริ มาณน้ าตาลที่จาหน่ายได้ในแต่ละปี โดยในปี 2561 ค่าใช้จ่าย ในการส่ งออกเพิ่มขึ้นตามปริ มาณส่ งออกน้ าตาลที่เพิ่มขึ้น มีปริ มาณน้ าตาลส่ งออก จานวน 0.3 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี ก่อน 0.1 ล้านตัน นอกจากนี้ยงั มีค่าขนส่ งน้ าตาลจากโรงงานไปยังโกดังเก็บของล่วงหน้ารวมอยู่ ในค่าใช้จ่ายส่ งออกเพื่อเตรี ยมขายและส่ งมอบในปี 2562 อีกด้วย จ. ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร
เงินเดือนและค่าจ้าง และค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ/ค่าที่ปรึ กษา ค่าใช้จ่ายยานพาหนะ ค่าซ่อมแซม วัสดุสานักงานสิ้นเปลือง ค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ ค่าใช้จ่ายในการวิจยั และพัฒนา ค่าใช้จ่ายรับรองและบริ จาคสาธารณะกุศล ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ สารองเพื่อการเกษียณอายุพนักงาน ค่าธรรมเนียมส่งเสริ มอ้อยและน้ าตาล
31 ธ.ค. 2559 ล้านบาท ร้ อยละของ ค่าใช้ จ่าย ในการบริหาร 162.81 43.19 27.23 7.22 15.29 4.06 6.40 1.70 12.25 3.25 23.96 6.35 2.39 0.67 6.31 1.67 14.02 3.72 42.66 11.32 4.08 1.08 2.41 0.64
งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 2560 ล้านบาท ร้ อยละของ ค่าใช้ จ่าย ในการบริหาร 184.22 44.82 34.01 8.27 22.79 5.54 5.21 1.27 8.55 2.08 26.33 6.41 2.10 0.51 6.74 16.40 8.93 2.17 17.38 4.23 4.19 1.02 0.00 0.00
31 ธ.ค. 2561 ล้านบาท ร้ อยละของ ค่าใช้ จ่าย ในการบริหาร 181.62 46.95 32.55 8.41 18.62 4.81 7.52 1.95 8.79 2.27 23.92 6.18 2.92 0.75 8.29 2.14 -4.57 -1.18 11.17 2.89 5.13 1.33 -
273ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
377
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ค่าใช้จ่ายตัดจ่ายอื่น ค่าไฟฟ้ า อื่น ๆ รวมค่าใช้ จ่ายในการบริหาร
31 ธ.ค. 2559 ล้านบาท ร้ อยละของ ค่าใช้ จ่าย ในการบริหาร 2.91 0.77 2.51 0.07 51.73 13.72 376.96 100.00
งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 2560 ล้านบาท ร้ อยละของ ค่าใช้ จ่าย ในการบริหาร 2.17 0.53 2.23 0.54 86.19 20.97 411.05 100.00
31 ธ.ค. 2561 ล้านบาท ร้ อยละของ ค่าใช้ จ่าย ในการบริหาร 3.30 0.85 2.64 0.68 84.94 21.96 386.85 100
ค่าใช้จ่ายในการบริ หารหลัก ๆ ประกอบด้วย เงิ นเดือน ค่าจ้าง และค่าใช้จ่ายเกี่ ยวกับพนักงานและ ค่าธรรมเนียม หรื อค่าที่ปรึ กษา ส าหรั บ ปี 2560 ยอดค่ า ใช้จ่า ยการบริ หารเพิ่ม ขึ้ นจากปี 2559 เท่ า กับ 34.09 ล้านบาท หรื อคิ ดเป็ น ร้อยละ 9.04 จากสาเหตุดงั ต่อไปนี้ 1) เงิ น เดื อ นและค่ า จ้า ง และค่ า ใช้จ่ า ยพนัก งาน เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 21.41 ล้า นบาท หรื อ คิ ด เป็ น การเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.82 เนื่องจากการปรับฐานเงินเดือนขึ้นของปี 2561 และการจ่ายโบนัสที่ เพิ่มขึ้น 2) มีการยกเลิกการใช้สินทรัพย์ที่ชารุ ดหรื อสู ญหาย ทาให้เกิดขาดทุนจากการเลิกใช้ทรัพย์สิน 17.37 ล้านบาท ส าหรั บ ปี 2561 ยอดค่ า ใช้จ่า ยการบริ หารลดลงจากปี 2560 จานวน 24.20 ล้า นบาท หรื อ คิ ดเป็ น ร้อยละ 5.89 เนื่ องจากในปี 2561 มีการรับชาระหนี้จากลูกหนี้ที่ในอดี ตเคยมีการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญไว้ แล้ว เมื่อได้รับชาระหนี้จึงต้องกลับรายการค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญที่เคยบันทึกไว้ ทาให้รายการค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสู ญที่รับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในปี นี้มียอดติดลบ จึงค่าใช้จ่ายในการบริ หารปี 2561 ลดลง ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินของกลุ่มบริ ษทั สาหรับปี บัญชี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 เท่ากับ 176.70 ล้านบาท 283.78 ล้านบาท และ 385.99 ล้านบาท ตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของต้นทุนทางการเงิน เกิดจากกลุ่มบริ ษทั มีการใช้เงินกูย้ ืมระยะสั้นเพิ่มขึ้น เพื่อใช้ในการผลิตน้ าตาลที่เพิ่มสู งขึ้น การใช้เงินส่ งเสริ ม สิ นเชื่อที่เพิม่ ตามพื้นที่เพาะปลูกที่เพิม่ ขึ้น ฉ. กาไรก่อนภาษีเงินได้ สาหรั บปี บัญชี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 บริ ษทั มี กาไรก่ อนภาษีเงิ นได้ จานวน 142.61 ล้านบาท 611.45 บาท และ 311.88 บาท ตามลาดับ โดยการเพิ่มขึ้นหรื อลดลงในแต่ละปี ของ กาไรก่อนภาษีเงินได้ เนื่องจากการเพิ่มขึ้นหรื อลดลงของกาไรขั้นต้นของแต่ละปี
378
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
274
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ช. ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ส าหรั บ ในปี 2559 กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ภาษี เ งิ น ได้นิติ บุ ค คลจ านวน 29.28 ล้านบาท ลดลงจากงวด เดียวกันของปี ก่อน จากผลประกอบการที่มีกาไรลดลงอันเนื่ องมาจากกาไรของธุ รกิจน้ าตาล ซึ่ งต้องเสี ยภาษี ลดลง ในขณะที่กาไรของธุ รกิจไฟฟ้ าซึ่ งได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ทางภาษีใกล้เคียงกับปี ก่อน ทาให้โดยรวมแล้ว ภาษีเงินได้นิติบุคคลลดลง สาหรับ ในปี 2560 กลุ่ ม บริ ษ ทั มีภาษี เงิ นได้นิติบุค คลจานวน 86.03 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น จากงวด เดียวกันของปี ก่อน จากผลประกอบการที่มีกาไรเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากกาไรของธุ รกิจน้ าตาลซึ่ งต้องเสี ยภาษี เพิ่มขึ้น ในขณะที่กาไรของธุ รกิจไฟฟ้ าในส่ วนที่ไม่ได้รับสิ ทธิประโยชน์ทางภาษีก็เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ส าหรั บ ในปี 2561 กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ภาษี เ งิ น ได้นิติ บุ ค คลจ านวน 40.21 ล้านบาท ลดลงจากงวด เดียวกันของปี ก่อน จากผลประกอบการที่มีกาไรลดลง อันเนื่องมาจากกาไรของธุ รกิจน้ าตาลซึ่ งต้องเสี ยภาษี ลดลง ซ. กาไรสุ ทธิ สาหรั บปี บัญชี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ถึ ง 2561 กลุ่มบริ ษทั มีกาไรสุ ทธิ จานวน 113.32 ล้านบาท 525.41 ล้านบาท และ 217.67 ล้านบาท ตามลาดับ ในปี 2560 การเพิ่มขึ้นของกาไรสุ ทธิ มาจากปั จจัย หลักคือ การเพิ่มการผลิตและจาหน่ายน้ าตาล กากน้ าตาล และผลผลิตพลอยได้อื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้นและราคาน้ าตาล ในตลาดโลกที่ปรับตัวสู งขึ้น ในขณะที่ปี 2561 ราคาน้ าตาลในตลาดโลกปรับลดลง เป็ นผลให้กาไรสุ ทธิ ลดลง ตามไปด้วย 14.3
การวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน ก. สิ นทรัพย์
เนื่องจากธุ รกิจน้ าตาลเป็ นธุรกิจที่มีการดาเนินงานค่อนข้างจะแตกต่างจากธุ รกิจโดยทัว่ ไป และมี ลัก ษณะเป็ นฤดู ก าลตามการปลู กและเก็บ เกี่ ยวอ้อย ซึ่ ง จะเริ่ มปลู ก ในเดื อนตุ ล าคม และเก็ บ เกี่ ย วในเดื อน พฤศจิกายนของปี ถัดไปถึงเดือนเมษายนของปี ถัด ๆ ไป ในขณะที่โรงงานน้ าตาลจะรับซื้ ออ้อยและผลิตน้ าตาล ในเฉพาะช่วงที่มีการเก็บเกี่ยว ทาให้สินทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั และโรงงานน้ าตาลอื่น ๆ มีรายการพิเศษที่ไม่มี ในธุ รกิ จอื่น รายการพิเศษที่สาคัญสาหรับธุ รกิ จโรงงานน้ าตาล คือ ลูกหนี้ ชาวไร่ หมายถึ ง เงินจ่ายล่วงหน้า ที่จ่ายให้ชาวไร่ เพื่อสนับสนุ นการปลูกอ้อยในรู ปแบบต่าง ๆ ทั้งเงินเกี๊ยว การให้ปุ๋ย หรื อให้บริ การจักรกลเกษตร เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ ยวชาวไร่ จะนาอ้อยมาส่ งให้แก่ โรงงานเพื่อหักเงินจ่ายล่วงหน้า โดยชาวไร่ จะเริ่ มได้รับเงิ น ล่วงหน้านี้ต้งั แต่เริ่ มเพาะปลูก กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 เท่ากับ 7,226.86 ล้านบาท 9,232.74 ล้านบาท และ 10,276.23 ล้านบาท ตามลาดับ 275 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
379
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สิ นทรัพย์รวมของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เพิ่มขึ้นจากปี ก่อน จานวน 1,043.49 ล้านบาท หรื อเพิ่มขึ้นเฉลี่ ยร้ อยละ 11.30 โดยมีการเปลี่ ยนแปลงที่สาคัญ คือ รายได้คา้ งรับจากสานักงานกองทุนอ้อยและ น้ าตาลทราย จานวน 301.51 ล้านบาท เป็ นเงินชดเชยที่บริ ษทั จะได้รับจากกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย เนื่องจากใน ฤดูการผลิต 2560/2561 ราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายขั้นสุ ดท้ายจะต่ากว่า ขั้นต้น ตามพระราชบัญญัติออ้ ยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527 มาตรา 56 กาหนดให้กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจ่าย ชดเชยส่ วนของค่าอ้อยและเงิ นชดเชยค่าผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ ายน้ าตาลทรายให้กบั บริ ษทั ฯ เท่ากับส่ วน ต่างดังกล่าว และการเพิ่มขึ้นของทรัพย์สินถาวร เนื่องจากการลงทุนในที่ดินและเครื่ องจักรเพื่อเตรี ยมรองรับการ ขยายธุรกิจโรงสี น้ าตาลทรายขาวและโรงผลิตบรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อย 1. สิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์หมุนเวียนของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 เท่ากับ 2,096.05 ล้านบาท 2,655.50 ล้านบาท และ 2,970.52 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่งสิ นทรัพย์หมุนเวียนส่ วนใหญ่ประกอบด้วย ลูกหนี้ ชาวไร่ และสิ นค้าคงเหลือ โดยในปี 2561 มีรายได้คา้ งรับจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย จานวน 301.51 ล้านบาท เป็ นเงินชดเชยที่บริ ษทั จะได้รับจากกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย เนื่องจากในฤดูการผลิต 2560/2561 ราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายและผลตอบแทนการผลิ ตและจ าหน่ า ยน้ าตาลทรายขั้นสุ ดท้า ยจะต่ ากว่ า ขั้นต้น ตาม พระราชบัญญัติออ้ ยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527 มาตรา 56 กาหนดให้กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจ่ายชดเชยส่ วนของ ค่าอ้อยและเงินชดเชยค่าผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายให้กบั บริ ษทั ฯ เท่ากับส่ วนต่างดังกล่าว ลูกหนี้การค้า กลุ่มบริ ษทั มีลูกหนี้ การค้าหลักประกอบด้วย ลูกหนี้ การค้าจากธุ รกิจผลิ ตและจาหน่ ายน้ าตาลทราย และธุ รกิ จเกี่ ย วเนื่ องอื่ น ๆ ได้แก่ การขายไฟฟ้ า ลู ก ค้า ของกลุ่ ม บริ ษ ทั ส่ วนใหญ่เ ป็ นบริ ษ ทั ผูจ้ ดั จาหน่ า ย ต่ า งประเทศรายใหญ่ แ ละรั ฐ วิ ส าหกิ จ ซึ่ งมี ฐ านะทางการเงิ น ที่ ดี และบริ ษัท จัด ให้ มี ก ารตรวจสอบ การเปลี่ยนแปลงของฐานะทางการเงินของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ กลุ่มบริ ษทั จึงไม่เคยมีปัญหาเรื่ องหนี้สูญ ระยะเวลาการเก็บหนี้ เฉลี่ ยของกลุ่มบริ ษทั สาหรับ ปี 2559 ถึงปี 2561 มีระยะเวลา 5 วัน ถึ ง 6 วัน ซึ่ งระยะเวลาการเก็บหนี้ของบริ ษทั สอดคล้องกับการให้เทอมเครดิตที่บริ ษทั ให้แก่ลูกค้า ซึ่ งกาหนดที่ 3 วัน ถึง 7 วัน สาหรับลูกค้าน้ าตาลในประเทศ 3 วัน ถึง 15 วัน สาหรับลูกค้าน้ าตาลในต่างประเทศ 30 วัน สาหรับธุ รกิจผลิต และจาหน่ายไฟฟ้ า เนื่ องจากระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยสั้น ทาให้มูลค่าของลูกหนี้การค้า ณ วันสิ้ นงวด ขึ้นอยูก่ บั รายได้จากการจาหน่ ายในช่ วงใกล้วนั สิ้ นงวด โดยที่ลูกหนี้ การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เท่ากับ 360.41 ล้านบาท สู งกว่าปี 2559 และ 2560 เนื่องจากมีการจาหน่ายน้ าตาลใกล้วนั สิ้ นงวด ลูกหนี้ชาวไร่ -สุ ทธิ ในการประกอบธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาล กลุ่มบริ ษทั จะให้การสนับสนุ นเงินเกี๊ยว เพื่อส่ งเสริ ม ชาวไร่ ออ้ ย โดยให้เงินล่วงหน้าเพื่อให้ชาวไร่ ออ้ ยสามารถนาเงินส่ วนดังกล่าวไปลงทุนสาหรับการปลูกอ้อยได้ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 ลูกหนี้ ชาวไร่ ออ้ ย-สุ ทธิ มีจานวน 990.06 ล้านบาท 868.43 380
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
276
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ล้านบาท และ 598.55 ล้านบาท ตามลาดับ โดยในปี 2559 ลูกหนี้ชาวไร่ ออ้ ย-สุ ทธิ สู งกว่าปี 2560 และปี 2561 เนื่ องจากโรงงานน้ าตาลเปิ ดฤดูการผลิตปี 2559/2560 ช้ากว่าปี ที่ผ่านมา ซึ่ งในช่ วงการผลิตชาวไร่ ออ้ ยจะนาอ้อย มาจาหน่ายให้บริ ษทั และจ่ายคืนเงินเกี๊ยว ซึ่ งจะทาให้ลูกหนี้ชาวไร่ ลดลงจากส่ วนที่หกั จากค่าอ้อย นอกจากนี้ การเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่ปลูกอ้อย และการเบิกเงินเกี๊ยวของเกษตรกรทาให้ลูกหนี้เพิ่มขึ้น ลูกหนี้ชาวไร่ ของกลุ่มบริ ษทั สามารถแบ่งตามอายุหนี้คา้ งชาระได้ดงั นี้ งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 ล้านบาท ร้ อยละของ ล้านบาท ร้ อยละของ ลูกหนี้ ลูกหนี้ ชาวไร่ รวม ชาวไร่ รวม ฤดูกาลผลิต 2562/2563 ฤดูกาลผลิต 2561/2562 ฤดูกาลผลิต 2560/2561 ฤดูกาลผลิต 2559/2560 ฤดูกาลผลิต 2558/2559 ฤดูกาลผลิต 2557/2558 ฤดูกาลผลิตก่อนปี 2557/2558 ลูกหนีช้ าวไร่ รวม ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนีช้ าวไร่ สุทธิ
330.48 585.51 39.87 24.29 3.33 1,069.92 (79.86) 990.06
30.88 54.73 3.73 2.28 0.32 100.00 (7.46) 92.54
132.17 650.33 54.46 21.06 16.87 2.74 957.08 (88.65) 868.43
13.81 67.95 5.69 2.20 1.76 0.29 100.00 (9.26) 90.74
31 ธันวาคม 2561 ล้านบาท ร้ อยละของ ลูกหนี้ ชาวไร่ รวม 87.09 12.77 467.77 68.60 12.35 1.81 12.90 1.89 15.70 2.30 11.82 1.73 74.29 10.89 681.92 100.00 (84.02) (12.32) 597.90 87.68
กลุ่ ม บริ ษ ัท มี นโยบายการปล่ อยสิ นเชื่ อ ชาวไร่ อย่า งรั ด กุม โดยพิจารณาจากหลายปั จจัย ที่ ไ ด้ จากประสบการณ์ ก ารเก็บ หนี้ ข องกลุ่ ม บริ ษ ทั ในอดี ต ได้แก่ ความสามารถในการช าระหนี้ ปริ ม าณพื้นที่ ปลู ก อ้อ ยของลู ก หนี้ อัตราผลผลิ ต ต่ อ ไร่ รวมถึ ง การส่ ง พนัก งานของบริ ษ ทั เข้า ไปตรวจสอบดู แ ลแปลง ของชาวไร่ อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าลูกหนี้จะสามารถส่ งอ้อยชาระหนี้ได้ ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั จะตั้งสารอง หนี้สงสัยจะสู ญ เมื่อพิจารณาแล้วว่าชาวไร่ รายนั้นไม่สามารถจ่ายชาระเงินกูย้ มื ได้ เช่น ค้างชาระหนี้งวดฤดูกาลผลิต ก่อนหน้าเป็ นเวลา 2 งวดฤดูกาลผลิต หรื อรายได้ของลูกหนี้ในอนาคตที่ทางบริ ษทั ประมาณการแสดงว่าชาวไร่ รายนั้น มีกาไรไม่เพียงพอกับการชาระหนี้ สินให้หมดภายในระยะเวลา 5 ปี หรื อชาวไร่ รายดังกล่าวเลิกปลูกอ้อย หรื อมีเหตุการณ์อื่น ๆ ที่แสดงว่าชาวไร่ รายดังกล่าวไม่สามารถชาระหนี้ได้อย่างแน่นอน เป็ นต้น
277ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
381
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สิ นค้าคงเหลือ
สิ นค้าสาเร็ จรู ป ผลผลิตพลอยได้ สิ นค้าซื้อมาเพื่อขาย สิ นค้าคงเหลือ - คลังพัสดุ สิ นค้าระหว่างผลิต วัสดุโรงงาน สิ นค้าระหว่างทาง รวมสิ นค้าคงเหลือ หักค่าเผื่อการลดมูลค่า สินค้าคงเหลือ – สุ ทธิ
31 ธันวาคม 2559 ล้านบาท ร้ อยละของ สินค้า คงเหลือ 471.55 80.23 0.00 38.47 6.55 22.55 3.84 8.83 1.50 46.31 7.88 587.73 100.00 (6.11) (1.04) 581.63 98.96
งบตรวจสอบ สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2560 ล้านบาท ร้ อยละของ สินค้า คงเหลือ 901.77 84.55 0.00 84.05 7.88 32.67 3.06 8.20 0.77 39.85 3.74 1,066.54 100.00 (5.76) (0.54) 1,060.78 99.46
31 ธันวาคม 2561 ล้านบาท ร้ อยละของ สินค้า คงเหลือ 1,216.83
89.77
-
0.00
36.82
2.72
36.76
2.71
14.11
1.04
50.44
3.72
0.58
0.04
1,355.54
100.00
(18.04)
(1.33)
1,337.50
98.67
สิ นค้าสาเร็ จรู ปส่ วนใหญ่ประกอบด้วยน้ าตาล ในส่ วนผลผลิตพลอยได้ คือ กากน้ าตาล กากอ้อย และกากหม้อกรอง กลุ่มบริ ษทั จะจาหน่ าย และเก็บไว้เป็ นวัตถุ ดิบในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ า และผลิ ตปุ๋ ยอินทรี ย ์ ตามล าดับ ในส่ วนของสิ นค้าที่ ซ้ื อมาเพื่อขายประกอบด้วย น้ า มันเชื้ อเพลิ ง ซึ่ ง มี ไ ว้ส าหรั บเครื่ องจัก รกล การเกษตร ปุ๋ ยเคมี และยาปราบศัตรู พืช สาหรับจาหน่ายให้กบั ชาวไร่ ในรู ปของเงินล่วงหน้าค่าอ้อย ณ สิ้ นปี 2560 กลุ่มบริ ษทั มีสินค้าสาเร็ จรู ป 901.77 ล้านบาท สู งกว่าปี 2559 เท่ากับ 430.22 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 91.23 เนื่องจากในปี 2560 เปิ ดรับอ้อยในฤดูการผลิตเร็ วกว่าปี 2559 และจากการขยายกาลัง การผลิตต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2559 ทาให้ผลผลิตน้ าตาลเพิ่มขึ้นจากปริ มาณอ้อยเข้าหีบ ณ สิ้ นปี 2561 กลุ่มบริ ษทั มีสินค้าสาเร็ จรู ป 1,216.83 ล้านบาท สู งกว่าปี 2560 เท่ากับ 315.06 ล้าน บาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 31.94 เนื่องจากในปี 2561 มีปริ มาณอ้อยเข้าหี บสู งกว่าปี 2560 ผลผลิตน้ าตาลที่ได้จึง สู งขึ้นตามไปด้วย แต่เนื่องจากราคาตลาดโลกที่ปรับตัวลดลง จึงชะลอการขายและส่ งมอบ 2. สิ นทรัพย์ไม่ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559, 2560 และ 2561 เท่ากับ 5,130.81 ล้านบาท 6,577.24 ล้านบาท และ 7,305.71 ล้านบาท ตามลาดับ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนของกลุ่มบริ ษทั โดยส่ วนใหญ่ คือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คิดเป็ นร้อยละ 91.30, ร้อยละ 73.14 และร้อยละ 74.35 ของสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทั้งหมด ตามลาดับ
382
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
278
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ณ 31 ธันวาคม 2560 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เพิ่มขึ้น เนื่องจากกลุ่มบริ ษทั มีการสร้างถังโมลาสใหม่ เพื่อรองรั บการขยายกาลังการผลิ ตน้ าตาล การซื้ อที่ดินสาหรับก่อสร้ างโรงงานน้ าตาลแห่ งใหม่ของบริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด (BSC) และมีการสั่งซื้ อเครื่ องจักรสาหรับสร้างโรงงานไฟฟ้ าของกลุ่มบริ ษทั ทั้ง 3 แห่ง ณ 31 ธัน วาคม 2561 ที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ เพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากมี ก ารลงทุ น ในที่ ดิ น และ เครื่ องจักรเพื่อเตรี ยมรองรับการขยายธุรกิจโรงสี น้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ และโรงผลิตบรรจุภณั ฑ์จากชานอ้อย ข. แหล่งทีม่ าของเงินทุน ความเหมาะสมของโครงสร้ างเงินทุน สาหรับปี 2559, ปี 2560 และปี 2561 ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเท่ากับ 2,092.77 ล้านบาท 2,472.52 ล้านบาท และ 2,500.51 ล้านบาท ตามลาดับ อัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของเจ้าของกลุ่ มบริ ษทั เพิ่มขึ้นเป็ น 2.73 เท่า ณ สิ้ นปี 2560 และ 3.11 เท่า ณ สิ้ นปี 2561 เนื่องจากกลุ่มบริ ษทั มีหนี้สินจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นเพิ่มขึ้น เพื่อใช้ใน การผลิตน้ าตาลที่เพิ่มสู งขึ้น และการใช้เงินส่ งเสริ มสิ นเชื่อที่เพิ่มตามพื้นที่เพาะปลูกที่เพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม สถาบันการเงินซึ่ งเป็ นเจ้าหนี้ ของบริ ษทั จะไม่นบั รวมหนี้ สินระยะยาวจากการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้าง พื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่มน้ าตาลบุรีรัมย์ เป็ นส่ วนหนึ่งของหนี้สินที่ตอ้ งชาระดอกเบี้ย ทั้งนี้ สามารถดูขอ้ มูลเพิ่มเติม ได้ใน ข้อ 3. ปั จจัยความเสี่ ยง หัวข้อ ความเสี่ ยงอื่น ๆ 1.1 ความเสี่ ยงจากการมีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ สู ง ในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 ฉบับนี้ ค. หนีส้ ิ น กลุ่มบริ ษทั มีหนี้ สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559, 2560 และ 2561 จานวน 5,134.09 ล้านบาท 6,760.20 ล้านบาท และ 7,775.72 ล้านบาท ตามลาดับ โดยหนี้ สินส่ วนใหญ่คือ เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น เงินกูย้ มื ระยะสั้นและเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 กลุ่มบริ ษทั มีเจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น จานวน 602.35 ล้า นบาท 716.12 และ 817.89 ล้า นบาท ตามล าดับ ซึ่ งส่ ว นใหญ่ เ ป็ นเจ้า หนี้ ค่ า วัต ถุ ดิ บ อ้อ ย ทั้ง นี้ การเปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น ลดลงของเจ้า หนี้ ค่ า วัต ถุ ดิ บ อ้อ ยจะขึ้ น อยู่ก ับ ปริ ม าณอ้อ ยที่ รั บ ซื้ อ เพิ่ ม ขึ้ น หรื อลดลงในช่ วงวันใกล้สิ้นงวดของแต่ละงวด โดยจะมีการเปลี่ ยนแปลงไปตามปริ มาณของอ้อยที่พร้ อม เก็บเกี่ยว และตัดมาจาหน่ายให้กบั บริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559, 2560 และ 2561 บริ ษทั มีเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จานวน 1,710.25 ล้านบาท 1,136.30 ล้านบาท และ 2,617.91 ล้านบาท ตามลาดับ ทั้งนี้ ในปี 2561 เงินกูย้ ืมระยะสั้น จากสถาบันการเงินที่เพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากมีเกษตรกรเข้าร่ วมโครงการส่ งเสริ มมากขึ้น ทาให้บริ ษทั ต้องให้เงิน สนับสนุนการปลูกอ้อยเพิ่มขึ้น จึงต้องกูย้ มื เงินเพื่อใช้ในกิจกรรมดังกล่าว รวมถึงใช้ในการผลิตสิ นค้าสาเร็ จรู ป สาหรับจาหน่ายด้วย 279ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
383
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 กลุ่มบริ ษทั มีเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จานวน 1,891.67 ล้านบาท และ 1,247.07 ล้านบาท และ 864.46 ล้านบาท ตามลาดับ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีรายละเอียดวงเงินกูด้ งั ต่อไปนี้ ยอดวงเงิน (ล้ านบาท) 460.00 300.00 365.00 300.00 400.00 30.00 5.20
วงเงินที่ 1 2 3 4 5 6 7
อัตราดอกเบีย้ MLR-1.25 MLR-2.375 MLR-2.50 MLR-1.00 3.80% MLR MLR-1.00
ยอดเงินกู้คงเหลือ (ล้ านบาท) 244.00 125.00 182.30 169.00 133.33 8.38 3.31
ง. ส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559, 2560 และ 2561 เท่า กับ 2,092.77 ล้านบาท 2,472.54 ล้านบาท และ 2,500.51 ล้านบาท ตามลาดับ ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเพิ่มขึ้นโดยมีสาเหตุหลักมาจากกาไร จากผลการดาเนินงานของบริ ษทั และการจ่ายหุน้ ปันผล จ. สภาพคล่อง
(หน่วย : ล้านบาท) สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 2559 31 ธ.ค. 2560 550.04 1,056.51
รายละเอียด กระแสเงินสดก่อนการเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สิน และหนี้สินดาเนินงาน กระแสเงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุ ทธิเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ
397.43 (798.19) 272.18 (128.58)
470.31 (1,647.95) 1,321.36 143.72
31 ธ.ค. 2561 853.53 (120.76) (620.92) 691.74 (49.94)
กระแสเงินสดที่มาจากกิจกรรมดาเนินงาน สาหรับปี สิ้ นสุ ด 31 ธันวาคม 2560 กระแสเงินสดก่อนการเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน ดาเนิ นงาน และกระแสเงินสดจากการดาเนิ นงานสู งกว่าปี ก่อน เนื่องจากบริ ษทั มีกาไรเพิ่มขึ้นจากธุ รกิ จผลิต และจาหน่ายน้ าตาล ซึ่งเป็ นผลมาจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้นและราคาน้ าตาลในตลาดโลกปรับตัวสู งขึ้น
384
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
280
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
สาหรับปี สิ้ นสุ ด 31 ธันวาคม 2561 กระแสเงินสดก่อนการเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน ดาเนินงาน และกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่ากว่าปี ก่อน เนื่องจากบริ ษทั มีกาไรลดลงจากธุ รกิจผลิตและ จาหน่ายน้ าตาล ซึ่ งเป็ นผลมาจากราคาน้ าตาลในตลาดโลกปรับตัวลดลง กระแสเงินสดที่ใช้ไปในกิจกรรมลงทุน ในปี 2559 บริ ษทั ใช้เงินลงทุนประมาณ 800 ล้านบาท เพื่อก่อสร้างโรงไฟฟ้ าชีวมวลแห่งที่ 3 ซึ่ งมี กาลังการผลิตต่อเนื่องจากปี 2558 ในปี 2560 บริ ษทั ใช้เงิ นลงทุนประมาณ 1,600 ล้านบาท เพื่อลงทุนในกองทุนรวมโครงสร้ าง พื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่ มน้ าตาลบุ รีรัมย์ ซึ่ งถื อเป็ นบริ ษทั ร่ วม และลงทุนในทรั พย์สินเพื่อการผลิ ตของธุ รกิ จ ผลิตน้ าตาลและไฟฟ้ า ในปี 2561 บริ ษทั ใช้เงิ นลงทุนประมาณ 900 ล้านบาท เพื่อลงทุนในที่ดินและเครื่ องจักรเพื่อ เตรี ยมรองรับการขยายธุ รกิจโรงสี น้ าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ และโรงผลิตบรรจุภณั ฑ์จากชานอ้อย กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน สาหรับปี สิ้ นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 272.18 ล้านบาท โดยเงิ นกู้ยืม ระยะยาวใช้เพื่ อขยายการลงทุ นส าหรั บ การผลิ ต น้ า ตาลของกลุ่ ม บริ ษ ัท และส าหรั บสิ นเชื่ อ เพื่อการปลูกอ้อยที่เพิ่มขึ้น ส าหรั บปี สิ้ นสุ ด 31 ธันวาคม 2560 กลุ่ มบริ ษ ัทมี กระแสเงิ นสดจากกิ จกรรมจัดหาเงิ น 1,321.36 ล้านบาท โดยเป็ นเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากบริ ษทั ร่ วม คือ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้ ากลุ่มน้ าตาล บุรีรัมย์ และนาไปชาระเงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงินบางส่ วน สาหรับปี สิ้ นสุ ด 31 ธันวาคม 2561 กลุ่มบริ ษทั มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน 691.74 ล้าน บาท โดยเป็ นเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินที่เพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากมีเกษตรกรเข้าร่ วมโครงการส่ งเสริ ม มากขึ้น ทาให้บริ ษทั ต้องให้เงิ นสนับสนุ นการปลู กอ้อยเพิ่มขึ้น จึ งต้องกู้ยืมเงิ นเพื่อใช้ในกิ จกรรมดังกล่าว รวมถึงใช้ในการผลิตสิ นค้าสาเร็ จรู ปสาหรับจาหน่ายด้วย อัตราส่ วนสภาพคล่อง หน่ วย อัตราส่ วนสภาพคล่อง อัตราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย ระยะเวลาชาระหนี้ Cash Cycle
(เท่า) (เท่า) (วัน) (วัน) (วัน) (วัน)
31 ธ.ค. 2559
สาหรับปี สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 2560
31 ธ.ค. 2561
0.51
1.04
0.73
0.31
0.63
0.35
6
5
6
72
67
62
71
54
61.24
-7
-18
55.10
281ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
385
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนสภาพคล่องน้อย จากประเภทรายการหุ ้นกู้ที่ ครบชาระคืน ส่ วนปี 2560 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนสภาพคล่องดีข้ ึน จากการชาระคืนหุ ้นกูท้ ี่ครบกาหนด และปี 2561 บริ ษทั มีอตั ราส่ วนสภาพคล่องลดลง เนื่องจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินที่เพิ่มขึ้น อัตราส่ วนความสามารถในการทากาไร สาหรับปี บัญชีสิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 อัตรากาไรขั้นต้นและกาไรสุ ทธิ ของบริ ษทั ลดลง เนื่องจาก ต้นทุนต่อหน่วยของน้ าตาลที่เพิ่มขึ้นจากปั ญหาภัยแล้ง และในปี 2560 อัตรากาไรขั้นต้นและกาไรสุ ทธิ ของ บริ ษทั เพิ่มขึ้นจากราคาน้ าตาลที่สูงขึ้นตามราคาตลาดโลก และในปี 2561 อัตรากาไรขั้นต้นและกาไรสุ ทธิ ของ บริ ษทั ลดลงจากราคาน้ าตาลที่ลดลงตามราคาตลาดโลก อัตราส่ วนแสดงประสิ ทธิภาพในการดาเนินงาน สาหรับปี บัญชี สิ้นสุ ด 31 ธันวาคม 2559 2560 และ 2561 บริ ษทั มีอตั ราการหมุนของสิ นทรัพย์ เท่ากับ 0.67 เท่า 0.62 เท่า และ 0.54 เท่า ตามลาดับ ซึ่งการลดลงของอัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ เกิดจากการที่ บริ ษทั มีการลงทุนเพื่อขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทั้งขยายกาลังการผลิตน้ าตาล และการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้ าชีว มวล การขยายธุ รกิ จโรงสี น้ า ตาลทรายขาวบริ สุท ธิ์ และโรงผลิ ตบรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อยท าให้มูล ค่า ของ สิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น ในขณะที่รายได้ของบริ ษทั ไม่เพิ่มขึ้นมากนัก เนื่องจากราคาน้ าตาลในตลาดโลกลดลง อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน อัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ปี 2559, ปี 2560 และปี 2561 เท่ากับ 2.45 เท่า 2.73 เท่า และ 3.11 เท่าตามลาดับ แม้ว่าอัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นจะเพิ่มสู งขึ้นทุกปี แต่เกิ ดจากการก่อหนี้ ระยะสั้น ไม่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงอย่างมีนยั สาคัญต่อบริ ษทั หนีส้ ิ นทีอ่ าจจะเกิดขึน้ และภาระผูกพัน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2561 บริ ษ ัท มี ห นี้ สิ น ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น จากการใช้ ห นัง สื อ รั บ รองธนาคาร เพื่อการซื้ อไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค 6.20 ล้านบาท ปัจจัยและอิทธิพลหลักทีอ่ าจมีผลกระทบต่ อผลการดาเนินงานในอนาคต ราคาน้ าตาลในตลาดโลก เนื่องจากรายได้หลักของบริ ษทั ประมาณร้อยละ 60 ของรายได้รวม เป็ นรายได้จากการส่ งออกน้ าตาล ไปยังต่างประเทศ ราคาน้ าตาลในตลาดโลกจึ งมีผลกระทบต่อยอดขายของบริ ษทั ความผันผวนของราคา ตลาดโลกขึ้นอยู่กบั ปริ มาณอุปสงค์และอุปทานในตลาด ถึงแม้ว่าราคาน้ าตาลจะมีผลกระทบต่อรายได้ของ บริ ษ ทั การค านวณราคาอ้อ ยซึ่ งเป็ นวัต ถุ ดิบ ในการผลิ ต น้ า ตาลในอุ ต สาหกรรมอ้อ ยและน้ า ตาลไทยนั้น จะเป็ นไปตามระบบแบ่งปั นผลประโยชน์ 70:30 ดังนั้น หากราคาน้ าตาลตลาดโลกต่าลง ราคาอ้อยก็จะต่าลง ตามไปด้วย หรื อหากราคาน้ าตาลตลาดโลกสู งขึ้น ราคาอ้อยก็จะสู งขึ้นตามไปด้วย
386
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
282
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
ต้นทุนค่าอ้อย อุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทรายในประเทศไทย ได้กาหนดระบบจัดสรรผลประโยชน์ระหว่าง ชาวไร่ ออ้ ยและโรงงานน้ าตาล ที่อตั ราส่ วน 70:30 ซึ่ งโรงงานน้ าตาลจะต้องจ่ายค่าอ้อยให้ชาวไร่ ตามราคาที่ คานวณโดยสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย เพื่อแบ่งผลประโยชน์จากการผลิตน้ าตาลทรายให้ชาวไร่ ได้ผลประโยชน์ 70 ส่ วนจาก 100 ส่ วน คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายคานวณค่าอ้อยที่โรงงานน้ าตาลต้องจ่ายให้ชาวไร่ โดยอ้างอิงจาก ราคาน้ าตาลเฉลี่ยที่บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด (อนท.) ขายได้จริ งจากโควตา ข. ดังนั้น ต้นทุนวัตถุดิบจึง แปรผันกับราคาที่บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด สามารถขายได้ และหากบริ ษทั ขายน้ าตาลทรายในตลาด ต่างประเทศได้ต่ากว่าราคาที่บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด ขายได้จริ ง บริ ษทั ต้องจ่ายค่าอ้อยในราคาที่สูง เมื่อเทียบกับยอดขายของบริ ษทั ส่ งผลให้อตั รากาไรของบริ ษทั ลดลง แต่หากบริ ษทั ขายได้ราคาสู งกว่าราคาเฉลี่ย ที่บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด ขายได้จริ ง บริ ษทั ก็จะมีผลกาไรและอัตรากาไรเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม บริ ษทั มีการบริ หารความเสี่ ยงดังกล่าวโดยติดตามช่วงเวลารวมถึ งราคาขายที่บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด ขายอย่างใกล้ชิด เพื่อวางแผนการขายและให้แน่ ใจว่าราคาที่บริ ษทั ขายน้ าตาล ในโควตา ค. นั้น เป็ นราคาที่เหมาะสมและเน้นให้ได้ราคาไม่ต่ากว่าราคาเฉลี่ ยที่บริ ษทั อ้อยและน้ าตาลไทย จากัด ขายได้ การจัดหาวัตถุดิบ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริ มาณอ้อย อาทิเช่น ก. ปริ มาณพื้นที่ในการเพาะปลูกอ้อยที่เปลี่ยนแปลง ซึ่ งอาจเกิดจากเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยเปลี่ ยนไป ปลู ก พื ช ชนิ ดอื่ นที่ ใ ห้ผลตอบแทนสู ง กว่า หรื ออาจเกิ ดจากนโยบายการส่ ง เสริ ม ของภาครั ฐผ่า นนโยบาย ส่ งเสริ มการปลูกพืชพลังงานทดแทนอื่น ๆ เช่น ส่ งเสริ มปาล์มน้ ามันและยางพารา เป็ นต้น ข. สภาพภูมิอากาศ ปริ มาณฝน ระบบชลประทาน ความสมบูรณ์ ของดิน พันธุ์ออ้ ย โรคของอ้อย และปั จจัยอื่น ๆ ต่างส่ งผลต่อปริ มาณอ้อยที่จะปลูกได้ต่อไร่ หากปั จจัยต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงอาจจะทาให้ ปริ มาณอ้อยต่อไร่ ลดลงได้ ค. การแย่งอ้อยในพื้นที่ หากโรงงานน้ าตาลบริ เวณใกล้เคียงเสนอราคารับซื้ ออ้อยจากชาวไร่ ที่ราคา สู งกว่าที่บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) เสนอให้ ชาวไร่ ออ้ ยอาจนาอ้อยไปขายให้แก่โรงงาน นั้น ๆ แทน ทาให้ BSF มีจานวนอ้อยเข้าหีบลดลง หากผลผลิ ตอ้อยซึ่ งเป็ นวัตถุดิบในการผลิตน้ าตาลทรายมีปริ มาณที่ลดลง บริ ษทั อาจไม่สามารถผลิต น้ าตาลทรายในปริ มาณที่เพียงพอในการจัดจาหน่ายได้ อีกทั้งหากปริ มาณอ้อยไม่เพียงพอต่อกาลังการผลิ ต อาจทาให้ตน้ ทุนต่อหน่วยในการผลิตของบริ ษทั สู งขึ้น และทาให้บริ ษทั มีกาไรต่อหน่วยและมีกาไรสุ ทธิ ลดลง ตามลาดับ 283 ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
387
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2561
การถูกควบคุมจากภาครัฐ เนื่องจากอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทรายในประเทศไทย เป็ นอุตสาหกรรมที่ถูกควบคุมและกากับ ดูแลโดยคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย ภายใต้พระราชบัญญัติออ้ ยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527 ซึ่ งเป็ น กฎหมายที่กากับดูแลระบบอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทราย ตั้งแต่การบริ หารจัดการในไร่ ออ้ ย การผลิ ต ในโรงงานน้ าตาล และการส่ งออก การจัดสรรปริ มาณการขายน้ าตาลทรายตามโควตา (โควตา ก. ขายใน ประเทศ โควตา ข. และ โควตา ค. ขายต่า งประเทศ) ราคาจาหน่ า ยน้ าตาลทรายขายปลี ก ภายในประเทศ ตลอดจนการแบ่ ง ปั น ผลประโยชน์ ร ะหว่ า งชาวไร่ อ้อ ยและโรงงานน้ าตาลในอัต ราส่ ว น 70:30 ทั้ง นี้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุ ตสาหกรรม รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงพาณิ ชย์ เป็ นผูร้ ักษาการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ดังนั้น ในกรณี ที่นโยบายการปรับราคาขายน้ าตาล ภายในประเทศ หรื อ หากเกิ ดการเปลี่ ย นแปลงในกฎระเบี ย บ หรื อนโยบายของพระราชบัญ ญัติดัง กล่ า ว อาจส่ งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริ ษทั และบริ ษทั ที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมน้ าตาลนี้ อย่างมีนยั สาคัญ ทั้งนี้ ตามที่มีการเปลี่ยนแปลงระบบการบริ หารจัดการอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทราย ตั้งแต่วนั ที่ 15 มกราคม 2561 ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรี ยบร้อยแห่งชาติที่ 1/2561 เรื่ องการแก้ไขกฎหมาย เพื่อรองรับการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทรายทั้งระบบ สามารถอ่านบทวิเคราะห์เพิ่มเติม ได้ในหัวข้อ 2. ลักษณะการประกอบธุ รกิจ และหัวข้อ 3. ปั จจัยความเสี่ ยง ในรายงานประจาปี และแบบแสดง รายการข้อมูลประจาปี 2561 ฉบับนี้ อัตราแลกเปลี่ยน บริ ษทั รับรู ้รายได้จากการส่ งออกน้ าตาลเป็ นสกุลดอลลาร์ สหรัฐอเมริ กา เป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 80 ของรายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลและกากน้ าตาลทั้งหมด ดังนั้น บริ ษทั จึงมีความเสี่ ยงจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยน ซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริ ษทั และรายได้ของบริ ษทั โครงการในอนาคต บริ ษทั มีแผนที่จะลงทุนในโครงการโรงงานน้ าตาลแห่งใหม่ เพื่อเป็ นการลงทุนให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ในกระบวนการผลิตอ้อย ซึ่งหากโครงการดังกล่าวสาเร็ จก็จะช่วยเพิ่มรายได้ให้กบั บริ ษทั ในอนาคต ข้ อมูลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ อง - ไม่มี -
388
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
284
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
389
คุณวุฒิทางการศึกษา
-หลักสูตร Boardroom Success through Financing and Investment (BFI) รุ่ นที่ 4/2018 สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
- ปริ ญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริ ญญาดุษฏีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 54/2006 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 83/2007 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
คุณสมบัติต้องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่ เกี่ ยวกับทรั พย์ซ่ ึ งได้ กระทาโดยทุ จริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่ อาจเกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 7/7 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ 6/6 ครั้ง
สัญชาติ: ไทย อายุ: 74 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 15 ตุลาคม 2555
1. นายประจวบ ไชยสาส์น ประธานกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และประธาน กรรมการตรวจสอบ
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
0.0499 % (405,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ไม่มีความสัมพันธ์
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
ประธานกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) / ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการตรวจสอบ
ปี 2546 – ปัจจุบนั
บริ ษทั เดอะ สตีล จากัด (มหาชน)
บริ ษทั ไทยเอทานอลพาวเวอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
บริษัท
กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2549 – ปี 2560
บริ ษทั ไท่ผิง เอทานอล จากัด
บริ ษทั ปากซอง ไฮแลนด์ จากัด
บริ ษทั เบสตั้น โกลบอล ฟู๊ ด (ไทยแลนด์) จากัด สมาคมการค้าผูผ้ ลิตเอทานอลไทย
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ที่ปรึ กษา
กรรมการบริ ษทั ปี 2559 – ปัจจุบนั
ปี 2560 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 3 บริษัท และ 1 สมาคม
กรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการตรวจสอบ
ปี 2549 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : จานวน 2 บริษัท
ปี 2555 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 1 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 1 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
390
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
- หลักสูตร Board Nomination & Compensation Program (BNCP) รุ่ นที่ 3/2018 สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
- ปริ ญญาตรี นิติศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริ ญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ -หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 55/2006 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) -หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 79/2007 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่ นที่ 17/2007 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2974
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ซ่ ึงได้ กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 7/7 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ 6/6 ครั้ง คณะกรรมการธรรมาภิบาล 2/2 ครั้ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2/2 ครั้ง
สัญชาติ: ไทย อายุ: 74 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 3 ตุลาคม 2557
2. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ ์ กรรมการอิสระ, กรรมการ ตรวจสอบ, ประธานกรรมการ ธรรมาภิบาล และประธาน กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) ไม่มีความสัมพันธ์
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
กรรมการอิสระ/ กรรมการ ตรวจสอบ/ ประธานกรรมการ ธรรมาภิบาล/ ประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริ ษทั / กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
บริ ษทั เดอะสตีล จากัด (มหาชน)
กรรมการบริ ษทั
บริ ษทั ไท่ผิง เอทานอล จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2555 – ปี 2559
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 1 บริษัท
ปี 2549 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : จานวน 1 บริษัท
ปี 2557 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 1 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 2 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
391
คุณวุฒิทางการศึกษา
7/7 ครั้ง
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้กระทา โดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
คณะกรรมการบริ ษทั
- ปริ ญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริ ญญาโท บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน (M.B.A. Finance) University of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริ กา - จบการศึกษาหลักสูตรพิเศษ Advanced Management Program Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริ กา - Certificate, The Joint State Private Sector Regular Course National Defense College, Class 15 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 25/2004 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - Capital Market Academy Leadership Program รุ่ นที่ 5 Capital Market Academy
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ 6/6 ครั้ง
สัญชาติ: ไทย อายุ: 65 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 10 มกราคม 2556
3. นายศิริชยั สมบัติศิริ กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
0.0499% (405,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) ไม่มีความสัมพันธ์
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
กรรมการอิสระ/ กรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ)
ปี 2552 – ปัจจุบนั ปี 2557 – ปัจจุบนั ปี 2559 - ปัจจุบนั
บริษัท
บริ ษทั พรี บิลท์ จากัด (มหาชน)
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮาส์ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั โอเอชทีแอล จากัด (มหาชน)
ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: -ไม่ มี-
รองผูจ้ ดั การใหญ่กลุ่มลูกค้าธุ รกิจ
ปี 2552 – ปี 2556
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : จานวน 4 บริษัท
ปี 2556 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 1 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 3 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
392
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
สัญชาติ: ไทย อายุ: 57 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 25 เมษายน 2561
4. รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา กรรมการอิสระ และกรรมการ ธรรมาภิบาล
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
- สัมมนาหลักสู ตรสาหรับคณะกรรมการตรวจสอบ AC Hot Update
Director Certification Program (DCP), 93/2007 Finance For Non-Finance Director (FN), 2008 Understanding the Fundamental of Finance Statement (UFS), 2008 Role of Chairman Program, 19/2008 Audit Committee Program, 29/2009 Monitoring Fraud Risk Management, (MFM) 1/2009 Monitoring Internal Audit Function, (MIA) 7/2009 Monitoring the System of Internal and Risk Management, (MIR) รุ่ น 7/2009 Monitoring Financial Reporting, MFR 9/2009 Financial Institutions Governance Program, FGP 3/2011
- ปริ ญญาตรี วศิ วกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - กลศาสตร์ แม่นยา มหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น - ปริ ญญาเอก มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้เมลลอน สหรัฐอเมริ กา - ประกาศนียบัตรการจัดการทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม สถาบันเทคโนโลยีแห่ งมลรัฐแมสซาซูเซสต์ (MIT) สหรัฐอเมริ กา - ประกาศนียบัตรหลักสู ตร ‚การกากับดูแลกิจการสาหรับ กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งของรัฐวิสาหกิจและองค์การ มหาชน‛ รุ่ นที่ 3/2010 สถาบันพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หาร ระดับสู งภาครัฐ (PDI) - ประกาศนียบัตร หลักสู ตรผูบ้ ริ หารระดับสูง รุ่ นที่ 15/2013 สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) - สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา
ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ไม่มีความสัมพันธ์
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
กรรมการอิสระ/ กรรมการ ธรรมาภิบาล
ที่ปรึ กษาทางเทคโนโลยี
ปี 2555 -2557
ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั กันกุลเอ็นจิเนียริ่ ง จากัด (มหาชน)
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
บริษัท
กรรมการบริ ษทั กูรูนกั วิชาการ รายการ ‚สมรภูมิ ไอเดีย‛ ที่ปรึ กษา ประธานคณะกรรมการวิชาการ
สมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ABU Robocon (Thailand)
บริ ษทั ไทยเอนจิเนียริ่ ง จากัด สถานีโทรทัศน์ ช่อง 3
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2547 – ปัจจุบนั ปี 2545 – ปัจจุบนั
ปี 2553 – ปัจจุบนั ปี 2548 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 2 บริษัท และ 2 สมาคม
กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการกากับดูแล กิจการที่ดี
ปี 2557 – ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2557 – 2558
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : จานวน 2 บริษัท
ปี 2561 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 1 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 4 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
393
คุณวุฒิทางการศึกษา
5. นายวิเชฐ ตันติวานิช - ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ กรรมการอิสระ และกรรมการ การเงินและการคลัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน - MBA, Finance & Marketing University of Hartford Connecticut, U.S.A. สัญชาติ: ไทย - หลักสูตรสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่ นที่ 1 อายุ: 57 ปี - หลักสูตรผูน้ านาการเปลี่ยนแปลงรุ่ นที่ 1 วันที่ได้รับแต่งตั้ง 25 เมษายน 2561 - หลักสูตรผูบ้ ริ หารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิ ชย์ (TEPCOT) รุ่ นที่ 3 - หลักสูตรวิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่ นที่ 56 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่ นที่ 2/2000 DCP2 Fellow Member สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้กระทา โดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: คณะกรรมการบริ ษทั 5/5 ครั้ง และคณะกรรมการธรรมาภิบาล 0/0 ครั้ง (เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 และกรรมการธรรมา ภิบาล เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561)
ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) ไม่มีความสัมพันธ์
และผู้บริหาร
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ตาแหน่ ง
กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์จากัด (มหาชน)
บริษัท
ปี 2555 – 2560
ปี 2555 – ปัจจุบนั
ปี 2560 – ปัจจุบนั
ปี 2560 – ปัจจุบนั
ปี 2561 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการบริ ษทั / กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการ สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ ประธาน กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริ ษทั / กรรมการอิสระ / ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง ผูช้ ่วยกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่
บริ ษทั ไทยเบฟเวอเรจ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั ภัทรลิสซิ่ง จากัด (มหาชน)
บริ ษทั เจดับเบิล้ ยูดี อินโฟโลจิสติกส์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ไทย อิงเกอร์ โฮลดิ้ง จากัด (มหาชน)
บริ ษทั เอเชีย เอวิเอชัน่ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : จานวน 4 บริษัท และอีก 2 บริษัท สิ้นสุ ดวาระแล้ว
ปี 2561 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 1 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 5 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
394
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
กรรมการอิสระ/ กรรมการ ตรวจสอบ
บริ ษทั เอ็ม พิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นส์ จากัด (มหาชน)
ปี 2560 - ปี 2561 ปี 2560 - ปี 2561
ปี 2560 – 2562
ปี 2560 – ปัจจุบนั ปี 2560 – ปัจจุบนั ปี 2555 – ปัจจุบนั ปี 2555 – ปัจจุบนั
ปี 2560 – ปัจจุบนั
ปี 2561 - ปัจจุบนั
ปี 2561 - ปัจจุบนั
ปี 2561 – ปัจจุบนั
ปี 2561 – ปัจจุบนั
กรรมการอิสระ/ประธาน กรรมการบริ หาร กรรมการอิสระ/กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ สถาบัน วิทยาการตลาดทุน (วตท.) ประธานกรรมการบริ ษทั / กรรมการอิสระ/ ประธาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการอิสระ/ประธาน คณะอนุกรรมการด้านการตลาด และประชาสัมพันธ์
ประธานกรรมการบริ ษทั / กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการ สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการกากับดูแล กิจการและความยัง่ ยืน ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ กลุ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ กรรมการ
สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
บริ ษทั หลักทรัพย์ จี เอ็ม โอ-แซด คอม (ประเทศไทย) จากัด
บริ ษทั เคพีเอ็น อะคาเดมี จากัด บริ ษทั พีเอ็มจี คอร์ปอเรชัน่ บริ ษทั ซี เอ ซี จากัด (C asean) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริ ษทั วินด์ เอนเนอร์ยี่ โฮลดิ้ง จากัด
มูลนิธิศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด เชียงใหม่ บริ ษทั เดอะซิกเนเจอร์ แบรนด์ จากัด
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
บริ ษทั ไทยแอร์เอเชีย จากัด
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 9 บริษัท และ 13 องค์ กร
ปี 2555 – 2558
เอกสารแนบ 1 : หน้า 6 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
395
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้กระทา โดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: คณะกรรมการบริ ษทั 4/5 ครั้ง และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 0/0 ครั้ง (เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561)
ที่ปรึ กษา ประธานกรรมการบริ หาร ที่ปรึ กษาตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) รองประธานคณะกรรมการ อานวยการ กรรมการ อนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ที่ปรึ กษารัฐมนตรี วา่ การ กระทรวงพาณิ ชย์ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และ กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการที่ปรึ กษาด้านงานวิจยั และกากับดูแลกิจการ
ปี 2551 - ปี 2560 ปี 2553 - ปี 2560 ปี 2553 - ปี 2560
ปี 2558 - ปี 2560
ปี 2557 - ปี 2558
สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่ง ประเทศไทย (ธสน) บริ ษทั ธนารักษ์พฒั นาสิ นทรัพย์ จากัด
สมาคมนักวางแผนการเงินไทย (TFPA) สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ กระทรวงพาณิ ชย์
สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)
หอการค้านานาชาติ ประเทศไทย (International Chamber of CommerceThailand) สมาคม ไทย-ญี่ป่ ุน สถาบันพัฒนาผูป้ ระกอบการเชิงสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2556 - ปี 2558
ปี 2558 - ปี 2560
ปี 2555 - ปี 2560 ปี 2556 - ปี 2560
ปี 2553 - ปี 2560
กรรมการและประธาน คณะทางานด้านธุ รกิจการเงิน
ปี 2548 - ปี 2560
เอกสารแนบ 1 : หน้า 7 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
396
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - ปริ ญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์การเมือง การปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคาแหง - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เทคโนโลยีของน้ าตาล รุ่ นที่ 1 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ สัญชาติ: ไทย 99/2012 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) อายุ: 54 ปี - หลักสูตรผูบ้ ริ หารระดับสูง รุ่ นที่ 15 สถาบันวิทยาการ วันที่ได้รับแต่งตั้ง 13 กันยายน 2531 ตลาดทุน (CMA) - หลักสูตรการป้ องกันราชอาณาจักร รุ่ นที่ 56 วิทยาลัย ป้ องกันราชอาณาจักร (วปอ.) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 239/2017 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตรการบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง และหลักสูตรการจัดการธุ รกิจอย่างมีกลยุทธ์ โดย ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร
6. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั , ประธานกรรมการบริ หาร, ประธานกรรมการบริ หาร ความเสี่ ยง และกรรมการผูจ้ ดั การ (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ นับรวมคู่สมรส หรื อบุคคลที่อยู่ กินกันฉันสามีภรรยา และบุตรที่ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
4.0788% (33,124,320 หุ น้ ) (ตนเอง 33,099,000 หุ น้ และ นางสุ รีวรรณ ตั้งตรงเวชกิจ ภรรยา 25,320 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) เป็ นพี่นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ และนาย อดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
และผู้บริหาร
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ตาแหน่ ง
บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด บริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด
ประธานกรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการบริ หาร/ กรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ ษทั / ประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรการบริ ษทั ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ปี 2554 - ปัจจุบนั
ปี 2553 - ปัจจุบนั ปี 2548 - ปัจจุบนั ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2561 – ปัจจุบนั
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์ เพาเวอร์พลัส จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด
บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
ประธานกรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ ษทั / ประธาน กรรมการบริ หารความเสี่ ยง/ กรรมการผูจ้ ดั การ
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
บริษัท
ปี 2555 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 10 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 8 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
397
คุ ณสมบัติตอ้ งห้าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่ เกี่ ยวกับทรั พย์ ซึ่ งได้ กระทาโดยทุ จริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่ อาจเกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 7/7 ครั้ง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 4/4 ครั้ง คณะกรรมการบริ หาร 12/14 ครั้ง
กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ)
บริ ษทั ไทยฟู้ ดส์ กรุ๊ ป จากัด (มหาชน)
กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั ประธานกรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ ษทั ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ปี 2537 - ปัจจุบนั ปี 2553 - ปัจจุบนั ปี 2552 –ปัจจุบนั
บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด บริ ษทั เนเชอรัล แดรี่ จากัด บริ ษทั บีอาร์ โมลาส เทรดดิ้ง จากัด
สมาคมผูผ้ ลิตน้ าตาล บริ ษทั ค้าผลผลิตน้ าตาล จากัด บริ ษทั บี.อาร์ .เอส. เทรนเทอร์มินลั โลจิสติกส์ จากัด บริ ษทั สุ รีวรรณ เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด บริ ษทั สี พนั ดอนบอลิเวนพัฒนา จากัด บริ ษทั ทีพลัส พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2555 –ปัจจุบนั ปี 2560 –ปัจจุบนั ปี 2561 –ปัจจุบนั
กรรมการ กรรมการบริ ษทั ประธานกรรมการบริ ษทั
ปี 2518 – ปัจจุบนั ปี 2538 - ปัจจุบนั ปี 2557 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 10 บริษัท
ปี 2559 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : จานวน 1 บริษัท
เอกสารแนบ 1 : หน้า 9 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
398
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้ กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 7/7 ครั้ง
- มัธยมศึกษาปี ที่ 2โรงเรี ยนมารี วิทยาปราจีนบุรี - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ่ นที่ 98/2012 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย รุ (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม) (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ สัญชาติ: ไทย 242/2017 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย อายุ: 52 ปี (IOD) วันที่ได้รับแต่งตั้ง 7 กรกฎาคม 2555 - หลักสูตรการบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง และหลักสูตรการจัดการธุ รกิจอย่างมีกลยุทธ์ โดย ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร
7. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ กรรมการบริ ษทั
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
4.0560% (32,939,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) เป็ นน้องของนายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และเป็ นพี่ของ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการผูจ้ ดั การ
ปี 2555 – ปัจจุบนั
บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด
กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั
บริ ษทั บ่อทอง สตีล จากัด คณะบุคคลโรงแรมเปรมสุ ข บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2547 - ปัจจุบนั ปี 2550 - ปัจจุบนั ปี 2555 - ปัจจุบนั
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 3 บริษัท
กรรมการบริ ษทั
ปี 2554 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 2 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 10 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
399
คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริ ญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยมหิดล -ปริ ญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (MPPM) สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริ หารศาสตร์ -หลักสู ตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 98/2012 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 239/2017 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตรการบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง และหลักสูตรการจัดการธุ รกิจอย่างมีกลยุทธ์ โดย ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้ กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 7/7 ครั้ง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 3/4 ครั้ง คณะกรรมการบริ หาร 13/14 ครั้ง
สัญชาติ: ไทย อายุ: 50 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 11 พฤศจิกายน 2553
8. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านธุ รกิจการเกษตร (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
4.0499% (32,889,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) เป็ นน้องของนายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และนาง วันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ และ เป็ นพี่ของนางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ และนาย อดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
และผู้บริหาร
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ตาแหน่ ง
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2539 - ปัจจุบนั ปี 2548 - ปัจจุบนั ปี 2554 – ปัจจุบนั ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั
บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์ เพาเวอร์พลัส จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์เพาวเวอร์ จากัด
บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
กรรมการบริ ษทั
บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2555 – ปัจจุบนั
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : : -ไม่ มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 1 บริษัท
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง/ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศด้านธุ รกิจ การเกษตร
ปี 2553 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 9 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 11 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
400
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
- ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัย ราชภัฎบุรีรัมย์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 98/2012 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Anti-Corruption The Practical Guide (ACPG) รุ่ นที่ 30/2016 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 243/2017 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Board Nomination & Compensation Program (BNCP) รุ่ นที่ 3/2018 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตรการบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง และหลักสูตรการจัดการธุ รกิจอย่างมีกลยุทธ์ โดย ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร
คุณวุฒิทางการศึกษา
คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้ กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 6/7 ครั้ง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 4/4 ครั้ง คณะกรรมการบริ หาร 12/14 ครั้ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2/2 ครั้ง คณะกรรมการธรรมาภิบาล 2/2 ครั้ง
สัญชาติ: ไทย อายุ: 48 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 12 พฤษภาคม 2538
9. น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน กรรมการ ธรรมาภิบาล และกรรมการ รองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านพาณิ ชย์ (กรรมการผูม้ ี อานาจลงนาม)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
4.0499% (32,889,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) เป็ นน้องของนายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ และนาง จิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล และ เป็ นพี่ของนายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ และนาย อดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
และผู้บริหาร
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ตาแหน่ ง
กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2561 - ปัจจุบนั
บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด บริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด
บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
กรรมการบริ ษทั
บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2555 – ปัจจุบนั
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 1 บริษัท
กรรมการบริ ษทั
กรรมการบริ ษทั
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง/ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน/ กรรมการธรรมาภิบาล/ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่ม การลงทุน ในประเทศด้านพาณิ ชย์ กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการรองผูจ้ ดั การ สายงานการตลาด
ปี 2548 - ปัจจุบนั
ปี 2553 - ปัจจุบนั
ปี 2554 - ปัจจุบนั
ปี 2538 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 10 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 12 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
401
คุณวุฒิทางการศึกษา
- ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจบัณฑิต (การจัดการ) มหาวิทยาลัย ราชภัฎบุรีรัมย์ - ปริ ญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคาแหง - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 98/2012 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 242/2017 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตรทูมอร์ โรว์ สเกลเลอร์ - หลักสูตรการบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง และหลักสูตรการจัดการธุ รกิจอย่างมีกลยุทธ์ โดย ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร
คุณสมบัติตอ้ งห้าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้กระทา โดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 6/7 ครั้ง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 4/4 ครั้ง คณะกรรมการบริ หาร 13/14 ครั้ง
สัญชาติ: ไทย อายุ: 47 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 25 มิถุนายน 2547
10. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนต่างประเทศ (กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร
เป็ นน้องของนายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ พงษ์พิชิตกุล และนางสาว คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และ ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ เป็ นพี่ของนายอดิศกั ดิ์ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ตั้งตรงเวชกิจ ในบริ ษทั )
4.0499% (32,889,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) ตาแหน่ ง
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส สายงานผลิต กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ปี 2554 - ปัจจุบนั
ปี 2553 - ปัจจุบนั ปี 2548 - ปัจจุบนั ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั
บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จากัด บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
บริ ษทั สี พนั ดอนบอลิเวนพัฒนา จากัด World International Network Co., Ltd บริ ษทั บุรีรัมย์ พรี เมียม ไบค์ จากัด บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2553 – ปัจจุบนั ปี 2553 - ปัจจุบนั ปี 2557 - ปัจจุบนั ปี 2555 –ปัจจุบนั
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น: -ไม่ มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 4 บริษัท
กรรมการบริ ษทั /กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนต่างประเทศ
ปี 2547 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 9 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 13 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
402
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
- ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย - ปริ ญญาโท บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเบลล์วิวล์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 98/2012 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL) รุ่ นที่ 4/2016 สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่ นที่ 246/2017 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตร Board Nomination & Compensation Program (BNCP) รุ่ นที่ 3/2018 สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) - หลักสูตรการบริ หารธุ รกิจแบบมืออาชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง และหลักสูตรการจัดการธุ รกิจอย่างมีกลยุทธ์ โดย ดร. ธนัย ชริ นทร์สาร
คุณวุฒิทางการศึกษา
ประวัติการเข้าร่ วมประชุมปี 2561: สามัญผูถ้ ือหุ น้ 1/1 ครั้ง คณะกรรมการบริ ษทั 7/7 ครั้ง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 4/4 ครั้ง คณะกรรมการบริ หาร 14/14 ครั้ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2/2 ครั้ง คณะกรรมการธรรมาภิบาล 2/2 ครั้ง คุณสมบัตติ ้ องห้ าม: ไม่มีประวัติการกระทาความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้กระทา โดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
สัญชาติ: ไทย อายุ: 45 ปี วันที่ได้รับแต่งตั้ง 25 มิถุนายน 2547
11. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน กรรมการ ธรรมาภิบาล และกรรมการ รองผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ ด้านพลังงาน (กรรมการผูม้ ี อานาจลงนาม)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
4.0499% (32,889,000 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%) เป็ นน้องของนายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาว จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง/ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน/ กรรมการธรรมาภิบาล/ กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโสกลุ่ม การลงทุนในประเทศ ด้านพลังงาน กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั /กรรมการบริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ ษทั / กรรมการบริ หาร/ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลชานิ จากัด บริ ษทั น้ าตาลทุนบุรีรัมย์ จากัด บริ ษทั ชูการ์ เคน อีโคแวร์ จากัด
บริ ษทั บุรีรัมย์ เพาเวอร์พลัส จากัด
บริ ษทั ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด บริ ษทั บุรีรัมย์เพาเวอร์ จากัด
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด บริ ษทั บุรีรัมย์วิจยั และพัฒนาอ้อย จากัด บริ ษทั บุรีรัมย์พลังงาน จากัด
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
บริษัท
กรรมการบริ ษทั รองประธานกรรมการ กรรมการบริ ษทั
สภาอุตสาหกรรม จังหวัดบุรีรัมย์ บริ ษทั ทุนบุรีรัมย์ จากัด
บริ ษทั บี.อาร์ .เอส. เทรนเทอร์ มินลั โลจิสติกส์ จากัด
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2550 - ปัจจุบนั ปี 2557 - ปัจจุบนั ปี 2555 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: จานวน 2 บริษัท และ 1 องค์ กร
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ มี-
ปี 2558 - ปัจจุบนั ปี 2558 – ปัจจุบนั ปี 2561 - ปัจจุบนั
ปี 2558 – ปัจจุบนั
ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2554 – ปัจจุบนั
ปี 2554 - ปัจจุบนั ปี 2553 - ปัจจุบนั ปี 2548 - ปัจจุบนั
ปี 2547 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: จานวน 10 บริษัท
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 14 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
403
- หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP) โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
- ปริ ญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Master of Art (International Relations) University of Wollongong, Australia
คุณวุฒิทางการศึกษา
ไม่มีประวัติการกระทา ความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ซ่ ึงได้กระทาโดยทุจริ ต และไม่ มีประวัติการทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผ่านมา
คุณสมบัติต้องห้ าม
สัญชาติ: ไทย อายุ: 50 ปี
12. นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านต่างประเทศและนโยบาย อุตสาหกรรม และนักลงทุน สัมพันธ์
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ไม่มีความสัมพันธ์
และผู้บริหาร
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ตาแหน่ ง
รองกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านต่างประเทศและนโยบาย อุตสาหกรรม และนักลงทุนสัมพันธ์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส ด้านต่างประเทศและนโยบาย อุตสาหกรรม และนักลงทุนสัมพันธ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ ายขาย ต่างประเทศ
กรรมการ กรรมการบริ ษทั ผูจ้ ดั การ เลขานุการ
บริษัท
สมาคมผูผ้ ลิตน้ าตาล และชีวพลังงานไทย บริ ษทั ไทยชูการ์มิลเลอร์ จากัด สมาคมผูผ้ ลิตน้ าตาล และชีวพลังงานไทย คณะกรรมการประสานงาน 3 สมาคม โรงงานน้ าตาลทราย
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ปี 2556 – ปัจจุบนั ปี 2557 – ปัจจุบนั ปี 2546 – ปี 2556 ปี 2548 – ปี 2556
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น:
ปี 2561 – ปัจจุบนั
ปี 2556 – ปี 2560
ปี 2560 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย:
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 15 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
404
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
สัญชาติ: ไทย อายุ: 45 ปี
13. นายพิทกั ษ์ ชาวสวน รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มการเงินและปฏิบตั ิการ (CFO)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
- ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัย รามคาแหง - ปริ ญญาโท บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต (บริ หารธุ รกิจ) มหาวิทยาลัยรามคาแหง - หลักสูตรของสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ 1. Thai Financial Reporting Standards ทุกฉบับ ปี 2560 (หลักสูตรย่อย 601) 2. Thai Financial Reporting Standards ทุกฉบับ ปี 2560 (หลักสูตรย่อย 503) 3. Thai Financial Reporting Standards ทุกฉบับ ปี 2560 (หลักสูตรย่อย 502) - Strategic CFO in Capital marketsรุ่ นที่4 ตลาดหลักทรัพย์ฯ - หลักสูตรของบจ. ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส 1. PWC Thailand Symposium 2017 ‘Dealing with disruption and adapting to survive and thrive’ 2. ปัญหาการกาหนดราคาโอน Transfer Pricing Documentation - หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP) โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา
(ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกัน ฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
0.0004% (3,240 หุ น้ )
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
ไม่มีความสัมพันธ์
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายปฏิบตั ิการ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส กลุ่มการเงินและปฏิบตั ิการ ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน
ปี 2555 – 2561
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
ไม่มีประวัติการกระทา ความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ซ่ ึงได้กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติ การทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
คุณสมบัติต้องห้ าม
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: -ไม่ มี-
ปี 2549 – ปี 2555
ปี 2556 – 2560
ปี 2560 - 2561
รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มการเงินและปฏิบตั ิการ/ ผูบ้ ริ หารสูงสุ ดด้านบัญชีและ การเงิน: CFO รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มการเงินและปฏิบตั ิการ
ปี 2561 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย:
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 16 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
405
-ปริ ญญาตรี อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยศิลปากร -หลักสู ตรเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของเลขานุการบริ ษทั จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ดังนี้ • Company Secretary Program (CSP) รุ่ นที่ 50/2013 • Effective Minute Taking (EMT) รุ่ นที่ 25/2013 • Board Reporting Program (BRP) รุ่ นที่ 10/2013 • Company Reporting Program (CRP) รุ่ นที่ 5/2013 - หลักสู ตรผูป้ ฏิบตั ิงานเลขานุการบริ ษทั (Advances for Corporate Secretaries) รุ่ นที่ 2/2559 ของสมาคมบริ ษทั จดทะเบียนไทย - Assist your BOD in Leading Through disruption with CG Perspective, Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Co.,Ltd.
15. น.ส.พัชรี โคสนาม ผูจ้ ดั การสานักกรรมการ/ เลขานุการบริ ษทั
วันที่ได้รับแต่งตั้ง 12 พฤศจิกายน 2558
สัญชาติ: ไทย อายุ: 33 ปี
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็ น ผูค้ วบคุมการทาบัญชี 21 พฤศจิกายน 2561
สัญชาติ: ไทย อายุ: 33 ปี
- ปริ ญญาตรี บัญชีบณั ฑิต เกียตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - หลักสู ตรของสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ 1. CFO in Practice Certification รุ่ นที่ 8 2. Orientation Course CFO Focus on Financial Reporting รุ่ น4 3. Orientation Course For Chief Accountants Focusing On Financial on Financial report (สมุห์บญั ชี) - หลักสู ตรของบจ. ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส เอบีเอเอส 1. PwC Thailand Symposium 2018 ‚Managing challenges to unleash corporate growth‛ 2. PwC Thailand Symposium 2017 ‘Dealing with disruption and adapting to survive and thrive’ - หลักสู ตรของบจ. ฝึ กอบรมและสัมมนาธรรมนิติ 1. The Professional Tax Planning Strategies สุ ดยอดกลยุทธ์ การวางแผนภาษี 2. กลยุทธ์การวิเคราะห์งบการเงินแบบมืออาชีพ
คุณวุฒิทางการศึกษา
14. นายสมยศ ชัง่ ยงสุ วรรณ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานบัญชี (ผูค้ วบคุมดูแลการทาบัญชี)
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/ วันที่ได้รับการแต่ งตั้ง
ไม่มีความสัมพันธ์
ไม่มีความสัมพันธ์
ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร ตาแหน่ ง
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงาน บัญชี (ผูค้ วบคุมดูแลการทาบัญชี) ผูจ้ ดั การอาวุโสฝ่ ายบัญชีและ การเงิน ผูจ้ ดั การอาวุโสฝ่ ายบัญชีตน้ ทุน
ผูจ้ ดั การสานักกรรมการ/ เลขานุการบริ ษทั ผูช้ ่วยเลขานุการบริ ษทั
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ มี-
ปี 2554 – ปี 2557
ปี 2558 – ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย:
ตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ มี-
บริ ษทั กลุ่มเซ็นทรัล จากัด
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ไม่มีประวัติการกระทา ความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ซ่ ึงได้กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติ การทารายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา
คุณสมบัติต้องห้ าม
บริษัท
บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่มีตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: -ไม่มีตาแหน่ งในกิจการที่แข่ งขัน/ที่เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่มี-
ปี 2557 – 2559
ปี 2560 – 2561
ปี 2561 - ปัจจุบนั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย:
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ ทางาน 5 ปี ย้ อนหลัง
ไม่มีประวัติการกระทา ความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์ ตาแหน่ งในบริ ษัทจากัด/หน่ วยงานอื่น: ซึ่งได้กระทาโดยทุจริ ต และไม่มีประวัติการทารายการที่อาจเกิด ปี 2557 – ปี 2558 เลขานุการ รองกรรมการ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ในรอบปี ที่ผา่ นมา ผูจ้ ดั การใหญ่ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร
คุณสมบัติต้องห้ าม
ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
สั ดส่ วน การถือหุ้น ในบริษัท (%)
เอกสารแนบ 1 : หน้า 17 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
406
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
นอกจากนี้ เลขานุการบริ ษทั ยังมีหน้าที่อื่นตามที่บริ ษทั (หรื อคณะกรรมการบริ ษทั ) มอบหมายดังนี้ • ให้คาแนะนาด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อพึงปฏิบตั ิดา้ นการกากับดูแลในการดาเนินกิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย • ทาหน้าที่ในการดาเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และการประชุมผูถ้ ือหุน้ • ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในบริ ษทั ให้ปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการบริ ษทั และมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ • ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่กากับดูแล เช่น สานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และดูแลการเปิ ดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานที่กากับดูแล และสาธารณชน ให้ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมาย • หน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั และบริ ษทั
3. ดาเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด
2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ยที่รายงานโดยกรรมการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หาร และจัดส่งสาเนารายงานการมีส่วนได้เสี ยตามมาตรา 89/14 ให้ประธานกรรมการบริ ษทั และประธานกรรมการ ตรวจสอบ ทราบ ภายใน 7 วันทาการนับแต่วนั ที่บริ ษทั ได้รับรายงานนั้น
หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท เลขานุการบริ ษทั จะต้องปฏิ บตั ิหน้าที่ตามที่กาหนดในมาตรา 89/15 และมาตรา 89/16 ของพระราชบัญญัติหลักทรั พย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่ งมีผลใช้บงั คับ ในวันที่ 31 สิ งหาคม 2551 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่ อสัตย์สุจริ ต รวมทั้งต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ของบริ ษทั มติคณะกรรมการบริ ษทั ตลอดจนมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ทั้งนี้ หน้าที่ตามกฎหมายของเลขานุการบริ ษทั มีดงั นี้ 1. จัดทาและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ ก. ทะเบียนกรรมการ ข. หนังสื อนัดประชุมคณะกรรมการบริ ษทั รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และรายงานประจาปี ของบริ ษทั ค. หนังสื อนัดประชุมผูถ้ ือหุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้
เอกสารแนบ 1 : หน้า 18 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
407
BEC X // / / / // / // /// -
// = กรรมการบริหาร
BRD X // / // /// / / // / -
/ = กรรมการบริษทั
BSF X // /// //// / // / // //// / // //// / // //// /// = กรรมการผู้จัดการ
BPC X // / / / // / // /// //// = ผู้บริหาร
บริษทั ย่อย KBF X // / // /// / // / / / BPP X // / / / // / // /// -
CSF X / / / / -
BSC X / / / / -
SEW X / / -
1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
ประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั
ตาแหน่ ง
คณะกรรมการบริษัท BSF ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการของบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด มีจานวน 5 ท่าน ประกอบด้วย
รายชื่อกรรมการบริษัทและผู้บริหารของบริษัทย่ อยทีเ่ ป็ นบริษัททีป่ ระกอบธุรกิจหลัก บริ ษทั ย่อยที่เป็ นบริ ษทั ที่ประกอบธุรกิจหลัก ได้แก่ บริษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) ซึ่งมีรายได้รวมเกินกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกาไรขาดทุนรวมของปี บัญชีล่าสุด
หมายเหตุ: X = ประธานกรรมการบริษทั
รายชื่อ นายประจวบ ไชยสาส์น นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ นายศิริชยั สมบัติศิริ ดร.ชิต เหล่าวัฒนา นายวิเชฐ ตันติวานิช นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์ นายพิทกั ษ์ ชาวสวน
บริษทั BRR X / / / / / // /// //// / / // //// / // //// / // //// / // //// //// ////
การดารงตาแหน่ งเป็ นกรรมการบริษัทหรือผู้บริหารในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วม หรือบริษัททีเ่ กีย่ วข้ อง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 19 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
408
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561 ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร
ตาแหน่ ง
กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส สายงานการตลาด กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส สายงานผลิต รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต รองกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ ายขายต่างประเทศ รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มบริ หารการเงิน (สิ นเชื่ อ) ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต
กรรมการผูจ้ ดั การ
ตาแหน่ ง
โดยรายละเอียดกรรมการบริ ษทั และกรรมการบริ หารของบริ ษทั ย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักได้แสดงไว้แล้วในตารางรายละเอียดกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร ผูม้ ีอานาจควบคุม และเลขานุการบริ ษทั ของบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) ข้างต้น และสาหรับรายละเอียดผูบ้ ริ หารลาดับที่ 1-3 และ 5 มีรายละเอียดอยูใ่ นตารางรายละเอียดกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร ผูม้ ีอานาจควบคุม และเลขานุการบริ ษทั ของบริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) เช่นกัน ส่วนรายละเอียดผูบ้ ริ หารลาดับที่ 4, 6 และ 7 มีขอ้ มูลตามตารางด้านล่าง
2. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 3. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายยรรยง กิตติธชั พงศ์พร 5. นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์ 6. นายอดุลย์ สุรวุฒิกุล 7. นายนพอนันต์ พูลทรัพย์
1.
ชื่อ-นามสกุล นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ
ผู้บริหาร BSF ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด มีจานวน 7 ท่าน ประกอบด้วย
ชื่อ-นามสกุล 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 5. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
คณะกรรมการบริหาร BSF ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริ หารของบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด มีจานวน 5 ท่าน ประกอบด้วย
เอกสารแนบ 1 : หน้า 20 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
409
- ปริ ญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Master of Business Administration (MIS), St.Joseph’s University, USA - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่ นที่ 136/2017 และหลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP) โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) - ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาเคมี มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ลาดับ 6 นายอดุลย์ สุ รวุฒิกุล รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มบริ หาร การเงิน (สิ นเชื่อ)
สัญชาติ : ไทย อายุ : 53 ปี
ลาดับ 7 นายนพอนันต์ พูลทรัพย์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต
สัญชาติ: ไทย อายุ: 55 ปี
สัญชาติ: ไทย อายุ: 67 ปี
- ปริ ญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP) โดยสมาคมส่งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา
ลาดับ 4 นายยรรยง กิตติธชั พงศ์พร รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต
ชื่อ-สกุล/ ตาแหน่ ง/ สั ญชาติ/ อายุ/
0.0037% (30,600 หุ น้ ) (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ คู่สมรส หรื อบุคคลที่ อยูก่ ินกันฉันสามีภรรยา และ บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั
0.0098% (80,040 หุ น้ ) (ตนเอง 62,040 หุ น้ และ นางขนิษฐา กิตติธชั พงศ์พร ภรรยา 18,000 หุ น้ ) (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561/ นับรวมคู่สมรส หรื อ บุคคลที่อยูก่ ินกันฉันสามี ภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุ นิติภาวะ ไม่มีหุน้ ในบริ ษทั )
สัดส่ วน การถือหุ้น ในบริษทั BRR (%)
ไม่มีความสัมพันธ์
ไม่มีความสัมพันธ์
ไม่มีความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ ทาง ครอบครัวระหว่ าง กรรมการบริษทั / ผู้บริหาร/ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต
ตาแหน่ ง
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
บริษทั
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: ปี 2540 – ปัจจุบนั ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานผลิต ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ ม-ี ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอืน่ : -ไม่ ม-ี ตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ ม-ี
บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย: ปี 2558 – ปัจจุบนั รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มบริ หารการเงิน (สิ นเชื่อ) บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ ม-ี ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอืน่ : -ไม่ มี ตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ ม-ี
ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอืน่ : -ไม่ ม-ี ตาแหน่ งในบริษัทจากัด/หน่ วยงานอืน่ : -ไม่ ม-ี ตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท: -ไม่ ม-ี
ปี 2554 – ปัจจุบนั ปี 2552 – ปี 2553
ตาแหน่ งในบริษัทและบริษัทย่ อย:
ช่ วงเวลา
ประสบการณ์ทางาน 5 ปี ย้อนหลัง
เอกสารแนบ 1 : หน้า 21 ของจานวน 21 หน้า (ส่วนที่ 1)
410
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร และ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง (เป็ นผูบ้ ริ หาร)
กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง, กรรมการ ธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (เป็ นผูบ้ ริ หาร) กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร และ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง (เป็ นผูบ้ ริ หาร)
กรรมการบริ ษทั , กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หารความเสี่ ยง, กรรมการ ธรรมาภิบาล และกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (เป็ นผูบ้ ริ หาร)
3. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์
4. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล
5. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ
7. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
6. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
กรรมการบริ ษทั (เป็ นผูบ้ ริ หาร)
2. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ
ตาแหน่ ง
ประธานกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ ษทั , ประธานกรรมการบริ หาร และประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง (กรรมการผูจ้ ดั การ/ เป็ นผูบ้ ริ หาร)
1. นายประจวบ ไชยสาส์น
ชื่อ
รายละเอียดการถือครองหุ้นของกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ปี 2561
32,889,000
32,889,000
32,889,000
32,889,000
32,889,000
*(นับรวมหุ้นของ นางสุรีวรรณ ตั้งตรง เวชกิจ ภรรยา จานวน 25,320 หุ้น แล้ว)
33,034,320
405,000
จานวน หุ้นสามัญ ณ 29 ธันวาคม 2560
-
-
-
-
-
-
-
ซื้อ
-
-
-
-
-
-
-
ขาย
-
-
-
-
-
-
-
รับ โอน
-
-
-
-
-
-
-
โอน ออก
รายการเปลีย่ นแปลงระหว่ างปี 2561 จานวน (หุ้น)
32,889,000
32,889,000
32,889,000
32,889,000
**32,939,000
*(นับรวมหุ้นของ นางสุรีวรรณ ตั้งตรง เวชกิจ ภรรยา จานวน 25,320 หุ้น แล้ว)
**33,124,320
405,000
จานวน หุ้นสามัญ ณ 28 ธันวาคม 2561
4.0499
4.0499
4.0499
4.0499
4.0560
4.0788
0.0499
ร้ อยละของ จานวนหุ้น ที่มสี ิ ทธิ ออกเสี ยง
เอกสารแนบ 1 (ส่วนที่ 2): หน้า 1 ของจานวน 2 หน้า
หมายเหตุ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
411
กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, ประธาน กรรมการธรรมาภิบาล และประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการอิสระ และกรรมการธรรมาภิบาล
กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
รองกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ และด้านต่างประเทศ และนโยบายอุตสาหกรรม รองกรรมการผูจ้ ดั การ กลุ่มการเงินและปฏิบตั ิการ (CFO)
9. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์
10. รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา
11. นายวิเชฐ ตันติวานิช
12. นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์ -
-
-
-
3,240
405,000
จานวน หุ้นสามัญ ณ 29 ธันวาคม 2560
-
-
-
-
-
-
ซื้อ
-
-
-
-
-
-
ขาย
-
-
-
-
-
-
รับ โอน
-
-
-
-
-
-
โอน ออก
รายการเปลีย่ นแปลงระหว่ างปี 2561 จานวน (หุ้น)
-
-
-
-
3,240
405,000
จานวน หุ้นสามัญ ณ 28 ธันวาคม 2561
0.0004
-
-
-
-
0.0499
ร้ อยละของ จานวนหุ้น ที่มสี ิ ทธิ ออกเสี ยง
หมายเหตุ : - *จานวนหุน้ สามัญนับรวมผูท้ ี่มีหน้าที่รายงานการถือหลักทรัพย์ของผูบ้ ริ หารตามมาตรา 59 แล้ว ได้แก่ คู่สมรส หรื อบุคคลที่อยูก่ ินกันฉันสามีภรรยา และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ - **กรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารลาดับที่ 2 และ 3 ซื้อหุน้ ของ BRR เพิ่มเติม ซึ่งได้จดั ทารายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และนาส่งก.ล.ต. แล้ว เมื่อวันที่ 22 และ 23 มกราคม 2561 ตามลาดับ - รายนามผูบ้ ริ หารข้างต้นเป็ นไปตามนิยามในประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ.23/2551
13. นายพิทกั ษ์ ชาวสวน
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
ตาแหน่ ง
8. นายศิริชยั สมบัติศิริ
ชื่อ
หมายเหตุ
ไม่ได้ถือหุน้ ใน BRR
ไม่ได้ถือหุน้ ใน BRR
ไม่ได้ถือหุน้ ใน BRR
ไม่ได้ถือหุน้ ใน BRR
เอกสารแนบ 1 (ส่วนที่ 2): หน้า 2 ของจานวน 2 หน้า
เอกสารแนบ 2: หน้า 1 ของจานวน 1 หน้า __________________________________________________________________________________
รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่ อย รายชื่ อกรรมการในแต่ละบริ ษทั ย่อย นับเฉพาะบริ ษทั ย่อยที่มีนยั สาคัญ โดยมีรายได้รวมเกินกว่า ร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกาไรขาดทุนรวมของปี บัญชี ล่าสุ ด ได้แก่ บริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุ รีรัมย์ จ ากัด (BSF) ซึ่ งทางบริ ษัท ได้แ สดงรายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ การด ารงต าแหน่ ง ของกรรมการบริ ษ ัท กรรมการบริ หาร และผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั โรงงานน้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด ไว้ในเอกสารแนบ 1 แล้ว
412
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
413
นางสาวณัฐชยา ยัง่ ยืนรัตน์
ชื่อ-สกุล
อายุ (ปี ) 41
ผูจ้ ดั การฝ่ ายตรวจสอบภายใน
ผูจ้ ดั การฝ่ ายตรวจสอบภายใน
ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจ สาขา 2558-2561 บัญชี สถาบันราชภัฏเพชรบุรี 2555-2558
คุณวุฒิทางการศึกษา
บริ ษทั สิ นทรัพย์ประกันภัย จากัด (มหาชน) / ประกันวินาศภัย
บริ ษทั เจ้าพระยาประกันภัย จากัด (มหาชน) / ประกันวินาศภัย
ประสบการณ์ ทางาน (5 ปี ย้อนหลัง) ช่ วงระยะเวลา ตาแหน่ ง องค์ กร / ประเภทการดาเนินธุรกิจ ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สาขา 2561 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การสานักตรวจสอบภายใน บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) บัญชีบริ หาร มหาวิทยาลัยบูรพา / Holding Company
รายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน
เอกสารแนบ 3: หน้า 1 ของจานวน 1 หน้า
__________________________________________________________________________________
รายละเอียดเกีย่ วกับรายการประเมินราคาทรัพย์ สิน - ไม่ มี -
414
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 5: หน้า 1 ของจานวน 1 หน้า
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่ อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย และงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในแบบแสดง รายการข้อมูลประจาปี และรายงานประจาปี 2561 โดยงบการเงิ นดังกล่าวได้จดั ทาตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมซึ่งถือปฏิบตั ิมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งการจัดทางบการเงินดังกล่าวได้ใช้ ดุลยพินิจและประมาณการอย่างสมเหตุสมผล และเปิ ดเผยข้อมูลสาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่ งผูส้ อบบัญชี ได้สอบทานและตรวจสอบงบการเงิ น และแสดงความเห็ นในรายงานของผูส้ อบบัญชี แล้วว่า มี ค วามถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ตลอดจนได้เปิ ดเผยคาอธิ บายและ การวิเคราะห์ฐานะการเงิ น และผลการดาเนินงานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอย่างโปร่ งใส เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อผูถ้ ือหุน้ และนักลงทุนทัว่ ไป นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้สนับสนุนให้บริ ษทั มีการกากับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนการพัฒนา และส่ ง เสริ ม องค์ค วามรู้ ด้า นธรรมาภิ บ าลแก่ ค ณะกรรมการบริ ษ ัท อย่า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ง ได้จ ัด ให้มี ร ะบบ การควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อให้ขอ้ มูลทางการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ และมี ประสิ ทธิ ภาพ โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งประกอบด้วยกรรมการอิสระจานวน 3 ท่าน ทาหน้าที่ สอบทานคุณ ภาพและกากับ ดูแลงบการเงิ น ข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายการระหว่างกัน รวมทั้ง สอบทานและประเมินความเพีย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในให้มี ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ท ธิ ผล และรายงานผลต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้แสดง ความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องดังกล่าวไว้ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว คณะกรรมการบริ ษ ทั มีค วามเห็ นว่า ระบบการควบคุ มภายในและการตรวจสอบภายในของบริ ษ ทั โดยรวมมีประสิ ทธิ ภาพน่าพอใจ และสามารถสร้างความเชื่ อมัน่ ได้ว่างบการเงินรวมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีความถูกต้อง เพียงพอ เชื่อถือได้ และเป็ นไป ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป รวมทั้งถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
_________________________
_________________________
(นายประจวบ ไชยสาส์น) ประธานกรรมการบริ ษทั
(นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ) ประธานกรรมการบริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
415
เอกสารแนบ 6: หน้า 1 ของจานวน 3 หน้า
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรี ยน ท่านผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบได้รับการแต่งตั้งตามมติของคณะกรรมการบริ ษทั ให้มีบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบในการสอบทานรายงาน ซึ่ งประกอบด้วยกรรมการอิสระจานวน 3 ท่าน ได้แก่ 1. นายประจวบ ไชยสาส์น ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายศิริชยั สมบัติศิริ กรรมการตรวจสอบ 3. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ กรรมการตรวจสอบ ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบมี การประชุ มร่ วมกับฝ่ ายจัดการ หน่ วยงานตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีจานวน 6 ครั้ง ซึ่ งรายละเอียดการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านมีดงั นี้ ชื่อ-นามสกุล นายประจวบ ไชยสาส์น นายศิริชยั สมบัติศิริ นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์
จานวนครั้ง 6/6 6/6 6/6
โดยมีการพิจารณาพร้อมให้ความเห็นสรุ ปเรื่ องสาคัญดังนี้ สอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจาปี การเปิ ดเผย ข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายการบัญชีกบั บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ประจาปี 2561 ซึ่ ง ได้ผ่า นการสอบทานและตรวจสอบข้อมูลโดยผูส้ อบบัญ ชี ซึ่ งได้จัดท าขึ้ นอย่า งถูกต้อ ง มีความเหมาะสมเพียงพอ เชื่อถือได้และเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป สอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานระบบการควบคุ ม ภายในร่ วมกั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี และหน่ วยงานตรวจสอบภายใน เห็ นว่าบริ ษทั มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยสร้าง ความเชื่ อมั่นได้ว่ าบริ ษ ัท สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ใ นการดาเนิ นงานและการปฏิ บั ติตาม กฎระเบียบ นโยบายบริ ษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้พิจารณาเห็ นชอบให้นา แนวปฏิบตั ิดา้ นการควบคุมภายใน COSO-Internal Control Integrated Framework 2013 มาใช้เ ป็ นแนวทางในการประเมิ น ระบบการควบคุ ม ภายในส าหรั บ ปี 2561 และมุ่ ง เน้ น เสริ มสร้างบริ ษทั ให้มีการควบคุมภายในให้ดียงิ่ ขึ้น
416
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 6: หน้า 2 ของจานวน 3 หน้า
สอบทานการปฏิบตั ิตามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบได้ส อบทานการปฏิ บ ัติ ต ามกฎหมาย ไม่ พ บประเด็ น ใดที่ เ ป็ น สาระสาคัญที่แสดงว่าบริ ษทั มีการปฏิบตั ิที่ขดั ต่อกฎหมาย ระเบียบและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั สอบทานความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ไพร้ซ์วอเตอร์ เฮ้าส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด ได้ปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพการสอบบัญชี มี ความเป็ นอิสระ รวมทั้ ง มี คุ ณ สมบั ติ แ ละประสบการณ์ ที่ เ หมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบพิ จ ารณา และเห็ นควรที่ เสนอให้คณะกรรมการบริ ษ ัท ขออนุ มตั ิผูถ้ ือหุ ้นแต่ งตั้งผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ไพร้ซ์วอเตอร์เฮ้าส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จากัด เป็ นผูส้ อบบัญชี ประจาปี 2562 สอบทานการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้ส อบทานรายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ และเห็นว่าเป็ นรายการจริ งทางการค้าอันเป็ นธุรกิจปกติทวั่ ไป มีการเปิ ดเผย รายการที่ เ กี่ ย วโยงกัน ในงบการเงิ น และหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ไว้อ ย่ า งถู ก ต้อ ง และครบถ้ว น ตามข้อ ก าหนดและแนวทางปฏิ บัติ ข องตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย และสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สอบทานการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบได้ส อบทานและให้ค วามส าคัญ ในการบริ ห ารงานตามหลัก การ การก ากับ ดู แ ลกิ จ การให้ ส อดคล้อ งกับ แนวปฏิ บัติ ที่ ดี ตลอดจนได้ส อบทานให้ บ ริ ษัท มีการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว สอบทานการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้พิ จารณาและสอบทานเกณฑ์ประเมิ นความเสี่ ยงระดับองค์ก ร ตามแนว COSO-ERM จากสานักบริ หารความเสี่ ยง เพื่อใช้ในการประเมินปั จจัยเสี่ ยงที่อาจจะ ส่ งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้ บริ ษทั ได้เปิ ดเผย ปั จจัยเสี่ ยงที่สาคัญต่าง ๆ ไว้ภายใต้หัวข้อปัจจัยเสี่ ยงในรายงานประจาปี 2561 สอบทานให้บริ ษทั มีกระบวนการภายในเกี่ยวกับการรับแจ้งเบาะแสและการรับข้อร้องเรี ยน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิ จารณาและสอบทานช่ องทางการรั บ แจ้ง เบาะแสและการรั บ ข้อร้องเรี ยน โดยได้มีช่องทางการร้องเรี ยน การแสดงความเห็น และแจ้งเบาะแสการกระทาผิด กฎหมาย หรื อกรณีพบพฤติกรรมที่อาจเป็ นการฝ่ าฝื น หรื อการไม่ปฏิบตั ิตามคู่มือการกากับดูแล
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
417
เอกสารแนบ 6: หน้า 3 ของจานวน 3 หน้า
กิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ โดยกาหนดให้สานักตรวจสอบภายในทาหน้าที่เป็ นหน่ วยงาน รับข้อร้องเรี ยนด้านการกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ดังนี้ ช่ องทางการแจ้ งข้ อร้ องเรียน และข้ อเสนอแนะ 1. ทางไปรษณีย ์ : ส่ ง ถึ ง ประธานกรรมการธรรมาภิ บ าล หรื อ ส านั ก ตรวจสอบภายใน บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) อาคารพญาไทพลาซ่า เลขที่ 128/77-78 ชั้น 7 ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 2. กล่องรับความคิดเห็น สอบทานนโยบายและการควบคุมภายในของกระบวนการประเมินความเสี่ ยงเกี่ยวกับการคอร์ รัปชัน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและสอบทานเพื่อให้มนั่ ใจว่ามีแนวทางสามารถป้ องกัน การคอร์ รั ป ชั น สอดคล้อ งตามที่ ส านั ก ตรวจสอบภายในได้ ต รวจสอบและประเมิ น ไว้ในแบบประเมินตนเองของสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย
……………………………………… (นายประจวบ ไชยสาส์น) ประธานกรรมการตรวจสอบ
418
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 7: หน้า 1 ของจานวน 2 หน้า
รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง เรี ยน ท่านผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั น้ าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสาคัญของการบริ หารความเสี่ ยงที่มีผลกระทบ ต่อการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั และกลุ่มธุ รกิจให้บรรลุวตั ถุ ประสงค์และประสบความสาเร็ จ จึงได้กาหนดเป็ น นโยบายและได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับธุ รกิ จเป็ นอย่างดี โดยมี ประธานกรรมการบริ หารของกลุ่มน้ าตาลบุรีรัมย์เป็ นประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้แก่ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และกรรมการบริ หารความเสี่ ยงอีก 4 ท่าน คือ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ และนายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ ในปี 2561 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ย งได้มีการประชุ ม ทุก ไตรมาส ซึ่ งรายละเอียดการเข้าร่ วม ประชุมของกรรมการแต่ละท่านมีดงั นี้ รายชื่อกรรมการบริหารความเสี่ ยง 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 5. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ
จานวนครั้ง 4/4 3/4 4/4 4/4 4/4
คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้กาหนดนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงตลอดจนกิจกรรมการควบคุม ที่มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ เพื่อให้ค รอบคลุ ม การปฏิ บตั ิ ง านหลัก ที่ เป็ นสาระส าคัญต่ อการดาเนิ นธุ รกิ จ และรายงาน แผนการบริ หารความเสี่ ยงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั ทราบ เพื่อให้มนั่ ใจได้ว่าจะ สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ ยนแปลงและหาโอกาสในการดาเนิ นธุ รกิ จที่มีอยู่และธุ รกิ จใหม่ ๆ ที่กาลังจะ เกิดขึ้น โดยมีวาระสาคัญในการประชุมประจาปี 2561 ดังนี้ 1. แผนการบริหารความเสี่ ยงประจาปี 2561 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ได้ให้มีการกาหนด Risk Appetite สาหรับการบริ หารความเสี่ ยงในแต่ละ ด้าน เช่น เรื่ องความสามารถในการหี บอ้อยต่อวัน ประสิ ทธิ ภาพในการผลิตน้ าตาล การจ่ายไอดีและไอเสี ยของ โรงไฟฟ้ าให้กบั โรงงานน้ าตาล การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ าตาลในตลาดโลก และความเสี่ ยงด้านสิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น จากนั้นแจ้งให้กบั เจ้าของหน่วยงานที่รับผิดชอบ (Risk Owner) ได้รับทราบ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
419
เอกสารแนบ 7: หน้า 2 ของจานวน 2 หน้า
2. บริหารจัดการความเสี่ ยง กรรมการบริ หารความเสี่ ยงประกอบด้วยผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ดของแต่ละ Business Unit ในกลุ่มบริ ษทั ฯ เพื่อทาหน้าที่ในการกาหนดนโยบาย เสนอะแนะ และผลักดันการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อให้การดาเนินการงาน ด้านการบริ หารความเสี่ ยงเกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลที่สุด 3. ติดตามกากับดูแลแผนการบริหารความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง มอบหมายให้สานักบริ หารความเสี่ ยงติดตามแผนการจัดการบริ หาร ความเสี่ ยง พร้อมกาหนด นาส่ งรายงานดัชนีช้ ี วดั ความเสี่ ยงหรื อ Key Risk Indicator เพื่อให้การจัดการบริ หาร ความเสี่ ยงให้ทนั ต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 4. คณะทางานบริหารความเสี่ ยง คณะทางานบริ หารความเสี่ ยงประกอบด้วยผูเ้ ชี่ ยวชาญในการปฏิ บตั ิงานในแต่ละสายงาน โดยมีบทบาท หน้าที่ดงั นี้ 1. ประสานงาน เพื่อให้การนานโยบายและระบบบริ หารความเสี่ ยงสู่ การปฏิบตั ิในส่ วนงานและฝ่ ายงาน 2. ระบุ วิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ ยง 3. สอบทานรายงานการบริ หารความเสี่ ยงว่าการจัดการความเสี่ ยงมีความเพียงพอและเหมาะสม 4. ติดตามและรายงานความคืบหน้าของแผนจัดการความเสี่ ยง 5. สนับสนุนงานการบริ หารความเสี่ ยง 6. ให้การสนับสนุนงานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง จากข้างต้นคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงเป็ นผูก้ ากับดูแล เพื่อให้แนวทางการพัฒนาระบบบริ หาร ความเสี่ ยงมีความเหมาะสม เกิดประโยชน์ในระยะยาวแก่บริ ษทั และกลุ่มธุ รกิจ และเกิดความมัน่ ใจในการดาเนิ น ธุ รกิ จ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ย งคาดว่า กิ จกรรมบริ หารความเสี่ ย งที่ บริ ษ ทั และกลุ่ มธุ รกิ จ ได้พ ฒ ั นา อย่า งต่ อ เนื่ องและนาพาให้ บ ริ ษ ัท และกลุ่ ม ธุ ร กิ จ สามารถบรรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ใ นการดาเนิ น ตามแผนธุ ร กิ จ ที่กาหนด ถื อเป็ นการสร้ างและรักษาไว้ซ่ ึ งมูลค่าขององค์กร เพื่อส่ งมอบให้แก่ท้ งั ผูถ้ ือหุ ้นและผูท้ ี่มีส่วนได้เสี ย ของบริ ษทั และกลุ่มธุรกิจต่อไป
(นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ) ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง
420
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 8: หน้า 1 ของจานวน 3 หน้า
รายงานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน เรี ยน ท่านผูถ้ ือหุ น้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีกรรมการจานวน 3 ท่าน ประกอบด้วยนางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ กรรมการอิสระ เป็ นประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และนางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และนายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริ ษทั เป็ นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยในปี 2561 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีการประชุมจานวน 2 ครั้ง ซึ่ งรายละเอียด การเข้าร่ วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านมีดงั นี้ ชื่อ-นามสกุล 1. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
จานวนครั้ง 2/2 2/2 2/2
คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนได้ป ฏิ บ ัติห น้า ที่ แ ละมี ค วามรั บ ผิด ชอบตามที่ คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย และตามที่กาหนดในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยในปี 2561 ได้ปฏิบตั ิหน้าที่ในด้านการสรรหาและการกาหนดค่าตอบแทนดังนี้ ด้ านการสรรหากรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่ าตอบแทน ได้ปฏิ บตั ิ หน้าที่ ใ นการพิจารณาและสรรหา กรรมการบริ ษทั แทนกรรมการบริ ษทั ที่ พน้ จากตาแหน่ ง ตามวาระ โดยพิ จารณาจากบุคคลที่มี คุณสมบัติ การศึกษา ความรู้ความสามารถ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์การทางานในธุ รกิจที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจ ของบริ ษทั มีภาวะผูน้ า วิสัยทัศน์กว้างไกล รวมทั้งมีประวัติการทางานที่โปร่ งใส มีคุณธรรมและจริ ยธรรม ตามหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี และสามารถอุทิศเวลาได้อย่างเพียงพอ ตลอดจนไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และ/หรื อกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง กาหนด และสาหรับกรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติ ความเป็ นอิสระ ตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลักเกณฑ์ความเป็ นอิสระ ของคณะกรรมการบริ ษทั และนิยามกรรมการอิสระของบริ ษทั รวมทั้งมีคุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่กาหนด โดยในการพิจารณาสรรหากรรมการบริ ษทั ยังได้ใช้ตาราง Board Skill Matrix เป็ นข้อมูลประกอบ เพื่อกาหนดคุ ณสมบัติของกรรมการบริ ษทั ที่ตอ้ งการสรรหา โดยพิจารณาจากความรู้ ความชานาญที่จาเป็ น และที่ยงั ขาดอยูใ่ นคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั สามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อยมีส่วนร่ วมในการเสนอชื่ อบุ คคลเพื่อเป็ นกรรมการบริ ษทั ล่วงหน้า เป็ นระยะเวลา 3 เดือน ซึ่ งในปี 2561 ไม่มีผถู้ ือหุ ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
421
เอกสารแนบ เอกสารแนบ 8: 8: หน้ หน้าา 22 ของจ ของจานวน านวน 33 หน้ หน้าา
โดยได้ โดยได้แแจ้จ้งงแก่ แก่ทที่ี่ปประชุ ระชุมมคณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ ษษททัั และที และที่่ปประชุ ระชุมมผูผูถถ้้ ืืออหุหุ ้น้นรัรับบทราบก่ ทราบก่ออนการพิ นการพิจจารณาอนุ ารณาอนุมมตตัั ิิแแต่ต่งงตัตั้้ งง กรรมการบริ กรรมการบริ ษษททัั แทนกรรมการบริ แทนกรรมการบริ ษษททัั ทีที่่พพนน้้ จากต จากตาแหน่ าแหน่งงตามวาระแล้ ตามวาระแล้วว นอกจากนั้้ นน ยัยังงได้ ได้ดดาเนิ าเนินนงานดั งานดังงนีนี้้ นอกจากนั ทบทวนนโยบาย หลั หลักกเกณฑ์ เกณฑ์ รูรู ปปแบบ แบบ และกระบวนการในการคั และกระบวนการในการคัดดเลื เลืออกและสรรหากรรมการบริ กและสรรหากรรมการบริ ษษททัั ทบทวนนโยบาย และการคั และการคัดดเลื เลื ออกกรรมการชุ กกรรมการชุ ดด ย่ย่ออยย ซึซึ่่ งง ได้ ได้เเพิพิ่่มมเติ เติ มมหลั หลักกเกณฑ์ เกณฑ์ใในการคั นการคัดดเลื เลื ออกและการสรรหา กและการสรรหา บุบุคคคลเพื คลเพื่อ่อพิพิจจารณาแต่ ารณาแต่งงตัตั้้งงเป็ เป็ นนกรรมการบริ กรรมการบริ ษษททัั ดัดังงนีนี้้ ---
ควรมี ควรมีคคุุณ ณสมบั สมบัตติิทที่ี่สสอดคล้ อดคล้อองกั งกับบกลยุ กลยุททธ์ธ์แและเป้ ละเป้ าหมายการด าหมายการดาเนิ าเนินนธุธุรรกิกิจจของบริ ของบริ ษษททัั ในการสรรหากรรมการบริ ในการสรรหากรรมการบริ ษษททัั กกาหนดให้ าหนดให้ใใช้ช้บบริริ ษษททัั ทีที่่ปปรึรึ กกษา ษา (Professional (Professional Search Search Firm) Firm) หรื หรื ออฐานข้ ฐานข้ออมูมูลล Director Director Pool Pool ของสมาคมส่ ของสมาคมส่ งงเสริ เสริ มมสถาบั สถาบันนกรรมการบริ กรรมการบริ ษษททัั ไทย ไทย (IOD) (IOD) เพื เพื่อ่อประกอบ ประกอบ การพิ การพิจจารณาสรรหาด้ ารณาสรรหาด้ววยย
ทบทวนโครงสร้ ทบทวนโครงสร้าางง ขนาด ขนาด และองค์ และองค์ปประกอบของคณะกรรมการบริ ระกอบของคณะกรรมการบริ ษษททัั ให้ ให้มมีีคความเหมาะสมกั วามเหมาะสมกับบบริ บริ ษษททัั ได้ ได้เเสนอให้ สนอให้มมีีกการแต่ ารแต่งงตัตั้้งงนายวิ นายวิเเชฐ ชฐ ตัตันนติติววานิ านิชช กรรมการอิ กรรมการอิสสระ ระ ดดารงต ารงตาแหน่ าแหน่งงเป็เป็ นนกรรมการสรรหาและ กรรมการสรรหาและ พิพิจจารณาค่ าล ารณาค่าาตอบแทน ตอบแทน และรศ.ดร.ชิ และรศ.ดร.ชิ ตต เหล่ เหล่าาวัวัฒ ฒนา นา กรรมการอิ กรรมการอิสสระ ระ เป็ เป็ นกรรมการธรรมาภิ นกรรมการธรรมาภิบบาล เพื่่ออให้ ให้กการปฏิ ารปฏิบบตตัั ิิหหน้น้าาทีที่่มมีีปประสิ ระสิ ททธิธิ ภภาพยิ เพื าพยิ่่งงขึขึ้้ นน ซึซึ่่ งงคณะกรรมการทั คณะกรรมการทั้้ งงสองชุ สองชุดดนีนี้้ จจะประกอบด้ ะประกอบด้ววยย กรรมการอิ กรรมการอิสสระจ ระจานวนร้ านวนร้ออยละ ยละ 50 50 โดยนายวิ โดยนายวิเเชฐ ชฐ ตัตันนติติววานิ านิชช และดร.ชิ และดร.ชิตต เหล่ เหล่าาวัวัฒ ฒนา นา ได้ ได้รรัับบแต่ แต่งงตัตั้้ งง จากที จากที่่ปประชุ ระชุ มมคณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ ษษททัั ครั ครั้้ งงทีที่่ 7/2561 7/2561 เมื เมื่่ออวัวันนพุพุธธทีที่่ 19 19 ธัธันนวาคม วาคม 2561 2561 ให้ ให้ดดารงต ารงตาแหน่ าแหน่ งง ดัดังงกล่ กล่าาวว
กกาหนดแผนการอบรมของกรรมการบริ าหนดแผนการอบรมของกรรมการบริ ษษททัั และกรรมการชุ และกรรมการชุ ดดย่ย่ออยย ประจ ประจาปี าปี 2562 2562 เพื เพื่่ออสนั สนับบสนุ สนุ นน ประสิ ประสิ ททธิธิภภาพในการท าพในการทางานของคณะกรรมการชุ างานของคณะกรรมการชุดดต่ต่าางง ๆๆ ทบทวนรู ทบทวนรู ปปแบบและรายละเอี แบบและรายละเอี ยยดแบบประเมิ ดแบบประเมินนผลการปฏิ ผลการปฏิ บบตตัั ิิ งงานของกรรมการบริ านของกรรมการบริ ษษททัั กรรมการ กรรมการ ชุชุดดย่ย่ออยย และกรรมการผู และกรรมการผูจจ้้ ดดัั การ การ ตามนโยบายการต่ ตามนโยบายการต่ออต้ต้าานคอร์ นคอร์ รรััปปชัชันนและหลั และหลักกการก การกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการ การ ทีที่่ดดีีขของบริ องบริ ษษททัั และส และสานั านักกงานคณะกรรมการก งานคณะกรรมการกากั ากับบหลั หลักกทรั ทรัพพย์ย์แและตลาดหลั ละตลาดหลักกทรั ทรัพพย์ย์ ทัทั้้งงนีนี้้ ได้ ได้เเปิปิ ดเผยการเข้ ดเผยการเข้าาร่ร่ ววมอบรม มอบรม และผลประเมิ และผลประเมินนการปฏิ การปฏิบบตตัั ิิงงานของกรรมการบริ านของกรรมการบริ ษษททัั กรรมการชุ กรรมการชุดดย่ย่ออยย และกรรมการผู และกรรมการผูจจ้้ ดดัั การ การ ไว้ ไว้ใในรายงานประจ นรายงานประจาปี าปี และแบบ และแบบ 56-1 56-1 ปีปี 2561 2561 แล้ แล้วว
ด้ด้ าานการก นการกาหนดค่ าหนดค่ าาตอบแทน ตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิ คณะกรรมการสรรหาและพิ จจ ารณาค่ ารณาค่ าา ตอบแทนได้ ตอบแทนได้ทท บทวนนโยบาย บทวนนโยบาย หลั หลักก เกณฑ์ เกณฑ์แแ ละรู ละรู ปป แบบ แบบ การพิ รรมการบริ ษษ ททัั และกรรมการชุ และกรรมการชุ ดด ย่ย่ออ ยให้ ยให้ออ ยูยู่่ การพิจจารณาก ารณากาหนดค่ าหนดค่าาตอบแทนหรื ตอบแทนหรื ออผลประโยชน์ ผลประโยชน์ออื่ื่นน ๆๆ แก่ แก่ กก รรมการบริ ในระดับบ ทีที่่ เเ หมาะสมกั หมาะสมกับบ หน้ หน้าา ทีที่่ คค วามรั วามรับบผิผิดดชอบ ชอบ ผลการด ผลการดาเนิ าเนิ นนงานของบริ งานของบริ ษษ ททัั และผลการปฏิ และผลการปฏิ บบตตัั ิิ งงาน าน ในระดั รวมถึ งง สามารถเที สามารถเที ยย บเคี บเคี ยย งได้ งได้กก ัับบ บริ บริ ษษ ัทัท ทีที่่ ออ ยูยู่่ใใ นอุ นอุ ตต สาหกรรม/ธุ สาหกรรม/ธุ รร กิกิ จจ เดี เดี ยย วกั วกันน และที และที่่ มมีี ขขนาดใกล้ นาดใกล้เเคีคี ยยงกั งกันน รวมถึ โดยค่าาตอบแทนดั ตอบแทนดังงกล่ กล่าาวเพี วเพียยงพอที งพอที่่สสามารถสร้ ามารถสร้าางแรงจู งแรงจูงงใจให้ ใจให้เเกิกิดดประสิ ประสิ ททธิธิ ภภาพในการท าพในการทางานเพื างานเพื่่ออบรรลุ บรรลุเเป้ป้ าหมาย าหมาย โดยค่ 422
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 8: หน้า 3 ของจานวน 3 หน้า
ที่บริ ษทั กาหนด และรักษาบุคคลที่มีความรู้ความสามารถให้อยูก่ บั บริ ษทั โดยสอดคล้องกับผลประกอบการ ของบริ ษทั และผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ เป็ นสาคัญ และได้นาเสนอเรื่ องดังกล่าวต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิตามลาดับ นอกจากนี้ ย งั ได้พิจารณาทบทวนกฎบัตรเป็ นประจาทุ กปี และประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งานเป็ น รายบุคคลและรายคณะ รวมทั้งปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และเป็ น อิสระตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้กระบวนการสรรหาบุคคลและกาหนดค่าตอบแทนมีความโปร่ งใส สร้ างความมัน่ ใจให้แก่ผถู้ ื อหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย ทั้งนี้ ได้เปิ ดเผยค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั กรรมการชุ ดย่อย และผูบ้ ริ หารระดับสู งไว้ในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 ปี 2561 แล้ว
………………………………………..……..………… (นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์)
ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
423
เอกสารแนบ 9: หน้า 1 ของจานวน 2 หน้า เอกสารแนบ 9: หน้า 1 ของจานวน 2 หน้า
รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาล รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาล
เรี ยน ท่านผูถ้ ือหุน้ เรี ยน ท่านผูถ้ ือหุน้ ในปี 2561 คณะกรรมการธรรมาภิบาล มีการประชุ มจานวน 2 ครั้ง ซึ่ งรายละเอียดการเข้าร่ วม ในปี 2561 คณะกรรมการธรรมาภิบาล มีการประชุ มจานวน 2 ครั้ง ซึ่ งรายละเอียดการเข้าร่ วม ประชุมของกรรมการแต่ละท่านมีดงั นี้ ประชุมของกรรมการแต่ละท่านมีดงั นี้ ชื่อ-นามสกุล ชื่อ-นามสกุล 1. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล 1. นางสี นวล ทัศน์พนั ธุ์ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล 2. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการธรรมาภิบาล 2. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการธรรมาภิบาล 3. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการธรรมาภิบาล 3. นายอดิศกั ดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการธรรมาภิบาล
424
จานวนครั้ง จานวนครั้ง 2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 2/2
คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลได้ ป ฏิ บ ัติ ห น้า ที่ ต ามที่ ไ ด้รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษ ัท คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลได้ ป ฏิ บ ัติ ห น้า ที่ ต ามที่ ไ ด้รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษ ัท ซึ่งกาหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาล โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการกากับดูแลการดาเนิ นงาน ซึ่งกาหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาล โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการกากับดูแลการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร ฝ่ ายจัดการ และพนักงานให้เป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ของบริ ษทั กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร ฝ่ ายจัดการ และพนักงานให้เป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณธุ ร กิ จ และนโยบายต่ อ ต้า นคอร์ รั ป ชัน เพื่ อ ให้อ งค์ก รมี ก ารบริ ห ารจัด การอย่ า งโปร่ ง ใส จรรยาบรรณธุ ร กิ จ และนโยบายต่ อ ต้า นคอร์ รั ป ชัน เพื่ อ ให้อ งค์ก รมี ก ารบริ ห ารจัด การอย่ า งโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ และมีความเป็ นธรรมกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม อันจะเป็ นรากฐานในการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ตรวจสอบได้ และมีความเป็ นธรรมกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม อันจะเป็ นรากฐานในการเติบโตอย่างยัง่ ยืน โดยคณะกรรมการธรรมาภิบาลได้ปฏิบตั ิหน้าที่ในปี 2561 ดังนี้ โดยคณะกรรมการธรรมาภิบาลได้ปฏิบตั ิหน้าที่ในปี 2561 ดังนี้ ทบทวนวิสัย ทัศ น์ พันธกิ จ ปรั ชญา ค่า นิ ย มองค์กร และกลยุท ธ์ (เป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิ จ) ทบทวนวิสัย ทัศ น์ พันธกิ จ ปรั ชญา ค่า นิ ย มองค์กร และกลยุท ธ์ (เป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิ จ) ในด้านที่เกี่ยวข้องกับการกากับดูแลกิจการที่ดี อย่างไรก็ตาม ในปี 2561 นี้ ยังไม่มีขอ้ เสนอให้ ในด้านที่เกี่ยวข้องกับการกากับดูแลกิจการที่ดี อย่างไรก็ตาม ในปี 2561 นี้ ยังไม่มีขอ้ เสนอให้ ปรั บ ปรุ ง เรื่ องดัง กล่ า ว เนื่ อ งจากเห็ น ว่า หลัก การดัง กล่ า วยัง สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ ปรั บ ปรุ ง เรื่ องดัง กล่ า ว เนื่ อ งจากเห็ น ว่า หลัก การดัง กล่ า วยัง สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ การดาเนินงานของบริ ษทั และสถานการณ์ในปั จจุบนั รวมทั้งส่ งเสริ มการกากับดูแลกิ จการที่ดี การดาเนินงานของบริ ษทั และสถานการณ์ในปั จจุบนั รวมทั้งส่ งเสริ มการกากับดูแลกิ จการที่ดี และยังคงมีแนวทางที่นาไปสู่ การดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน และยังคงมีแนวทางที่นาไปสู่ การดาเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ทบทวนกฎบัต รคณะกรรมการธรรมาภิ บ าล รวมทั้ง กฎบัต รของคณะกรรมการบริ ษัท ทบทวนกฎบัต รคณะกรรมการธรรมาภิ บ าล รวมทั้ง กฎบัต รของคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการบริ หาร และขอบเขตอานาจหน้าที่ของกรรมการผูจ้ ดั การ โดยได้เสนอให้ปรับปรุ ง คณะกรรมการบริ หาร และขอบเขตอานาจหน้าที่ของกรรมการผูจ้ ดั การ โดยได้เสนอให้ปรับปรุ ง กฎบัต รของคณะกรรมการบริ ษ ัท ในด้า นองค์ป ระกอบ คุ ณ สมบัติ และการแต่ ง ตั้ง เพื่ อ ให้ กฎบัต รของคณะกรรมการบริ ษ ัท ในด้า นองค์ป ระกอบ คุ ณ สมบัติ และการแต่ ง ตั้ง เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ตามที่สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย สอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ตามที่สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ได้ประเมินและให้ขอ้ เสนอแนะในโครงการสารวจการกากับดูแลกิ จการบริ ษทั จดทะเบียน (IOD) ได้ประเมินและให้ขอ้ เสนอแนะในโครงการสารวจการกากับดูแลกิ จการบริ ษทั จดทะเบียน ไทย (“CGR”) ประจาปี 2561 ไทย (“CGR”) ประจาปี 2561 เสนอให้มีการแต่งตั้ง รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา กรรมการอิสระ ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการธรรมาภิบาล เสนอให้มีการแต่งตั้ง รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา กรรมการอิสระ ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการธรรมาภิบาล เพื่อให้การปฏิบตั ิหน้าที่ มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น ซึ่ งคณะกรรมการชุดนี้ จะประกอบด้วยกรรมการ เพื่อให้การปฏิบตั ิหน้าที่ มีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น ซึ่ งคณะกรรมการชุดนี้ จะประกอบด้วยกรรมการ อิสระจานวนร้อยละ 50 อิสระจานวนร้อยละ 50 ปรับปรุ งคู่มือการกากับดูแลกิ จการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจของบริ ษทั เพื่อให้สอดคล้องกับ ปรับปรุ งคู่มือการกากับดูแลกิ จการที่ดีและจรรยาบรรณธุ รกิจของบริ ษทั เพื่อให้สอดคล้องกับ หลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี สาหรับบริ ษทั จดทะเบียนปี 2560 ของสานักงานคณะกรรมการ หลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี สาหรับบริ ษทั จดทะเบียนปี 2560 ของสานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“CG Code”) และตามที่สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“CG Code”) และตามที่สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ได้ประเมินและให้ขอ้ เสนอแนะในโครงการ CGR ประจาปี 2561 ไทย (IOD) ได้ประเมินและให้ขอ้ เสนอแนะในโครงการ CGR ประจาปี 2561 ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ เอกสารแนบ 9: 9: หน้ หน้าา 22 ของจ ของจานวน านวน 22 หน้ หน้าา
จัจัดดททาแผน าแผน CG CG Code Code GAP GAP Analysis Analysis เพื เพื่อ่อวิวิเเคราะห์ คราะห์ถถึึงงหลั หลักกการ การ CG CG Code Code เพื เพื่่ออทีที่่จจะน ะนามาปรั ามาปรับบใช้ ใช้ใให้ห้ เหมาะสมกั เหมาะสมกับบธุธุรรกิกิจจของบริ ของบริ ษษททัั ต่ต่ออไป ไป พิพิจจารณาผลการประเมิ ารณาผลการประเมินนคุคุณ ณภาพการจั ภาพการจัดดประชุ ประชุมมสามั สามัญ ญผูผูถถ้้ ืืออหุหุ ้น้น ประจ ประจาปี าปี 2561 2561 (AGM (AGM Checklist) Checklist) ทีที่่ จจ ัดัด โดยสมาคมส่ โดยสมาคมส่ งง เสริ เสริ มม ผูผูลล้้ งทุ งทุ นน ไทย ไทย และส และส านั านักก งานคณะกรรมการก งานคณะกรรมการก ากั ากับบ หลั หลักก ทรั ทรั พพ ย์ย์แแ ละ ละ ตลาดหลั ตลาดหลักกทรั ทรัพพย์ย์ ซึซึ่่ งงบริ บริ ษษททัั ได้ ได้ 100 100 คะแนน คะแนน จาก จาก 100 100 คะแนนเต็ คะแนนเต็มม
กกากั ากับบดูดูแแลและสนั ลและสนับบสนุ สนุนนให้ ให้บบริริ ษษททัั และบุ และบุคคลากรในองค์ ลากรในองค์กกรปฏิ รปฏิบบตตัั ิิตตามหลั ามหลักกการก การกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการที การที่่ดดีี ซึซึ่่ งงส่ส่ งงผลให้ ผลให้บบริริ ษษททัั ได้ ได้รรัับบผลคะแนนการประเมิ ผลคะแนนการประเมินนการก การกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการ การ เฉลี เฉลี่่ ยยร้ร้ออยละ ยละ 93 93 หรื หรื ออใน ใน ระดั ระดับบ “ดี “ดีเเลิลิศศ”” ในโครงการส ในโครงการสารวจการก ารวจการกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการบริ การบริ ษษททัั จดทะเบี จดทะเบียยนไทยประจ นไทยประจาา ปีปี 2561 2561 ซึซึ่่ งงจัจัดด โดยสมาคมส่ โดยสมาคมส่ งงเสริ เสริ มมสถาบั สถาบันนกรรมการบริ กรรมการบริ ษษททัั ไทย ไทย (IOD) (IOD) กกากั ากับบดูดูแแลและสนั ลและสนับบสนุ สนุ นนให้ ให้บบริริ ษษททัั และบุ และบุคคลากรในองค์ ลากรในองค์กกรปฏิ รปฏิ บบตตัั ิิ ตตามนโยบายต่ ามนโยบายต่ออต้ต้าานคอร์ นคอร์ รรัั ปปชัชันน โดยให้ โดยให้เเป็ป็ นส่ นส่ ววนหนึ นหนึ่่ งงในวั ในวัฒ ฒนธรรมองค์ นธรรมองค์กกรร พร้ พร้ ออมทั มทั้้ งงให้ ให้ผผููตต้้ รวจสอบภายในเข้ รวจสอบภายในเข้าาตรวจสอบระบบ ตรวจสอบระบบ การควบคุ การควบคุ มมภายใน ภายใน กระบวนการท กระบวนการทางาน างาน และนโยบายต่ และนโยบายต่าางง ๆๆ ทีที่่ สสาคั าคัญ ญ เพื เพื่่ ออการต่ การต่ ออต้ต้าานคอร์ นคอร์ รรัั ปปชัชันน ในองค์ ในองค์กกรร ซึซึ่่ งงได้ ได้เเปิปิ ดเผยรายละเอี ดเผยรายละเอียยดในส่ ดในส่ ววนที นที่่ 22 ข้ข้ออทีที่่ 11 11 การควบคุ การควบคุมมภายในและการบริ ภายในและการบริ หหารความเสี ารความเสี่่ ยยงง ของรายงานประจ ของรายงานประจาปี าปี และแบบ และแบบ 56-1 56-1 ประจ ประจาปี าปี 2561 2561 ทัทั้้ งงนีนี้้ สสาหรั าหรับบการเข้ การเข้าาร่ร่ ววมโครงการแนวร่ มโครงการแนวร่ ววมม ปฏิ ปฏิ บบ ตตัั ิิ ขข องภาคเอกชนไทยในการต่ องภาคเอกชนไทยในการต่ออต้ต้าา นการทุ นการทุ จจริริ ตต (Collective (Collective Action Action Coalition Coalition Against Against Corruption Corruption หรื หรื ออ CAC) CAC) บริ บริ ษษททัั ได้ ได้รรัับบ การรั การรับบรองฐานะสมาชิ รองฐานะสมาชิ กก แนวร่ แนวร่ ววมปฏิ มปฏิ บบตตัั ิิขของภาคเอกชน องภาคเอกชน ไทยในการต่ ไทยในการต่ออต้ต้าานการทุ นการทุจจริริ ตต เมื เมื่่ออวัวันนทีที่่ 77 มิมิถถุุนนายน ายน 2561 2561
รัรั บบ พิพิ จจ ารณาและติ ารณาและติ ดดตามข้ ตามข้ออ ร้ร้ ออ งเรี งเรี ยย นและข้ นและข้ออเสนอแนะจากผู เสนอแนะจากผูมม้้ ีี สส่่ วว นได้ นได้เเ สีสี ยย ตามที ตามที่่ ไไ ด้ด้กก าหนด าหนด ช่ช่ อองทางการแจ้ งทางการแจ้งงข้ข้ออร้ร้ อองเรี งเรี ยยนและข้ นและข้ออเสนอแนะ เสนอแนะ (Whistleblowing) (Whistleblowing) ผ่ผ่าานกล่ นกล่ อองรั งรับบความคิ ความคิ ดดเห็ เห็ นน และทางไปรษณี และทางไปรษณี ยย ์์ ซึซึ่่ งงให้ ให้สส่่ งงถึถึ งงประธานกรรมการธรรมาภิ ประธานกรรมการธรรมาภิบบาล าล หรื หรื ออผูผูจจ้้ ดดัั การส การสานั านักกตรวจสอบ ตรวจสอบ ภายใน ภายใน โดยได้ โดยได้เเปิปิ ดเผยช่ ดเผยช่ อองทางในเว็ งทางในเว็บบ ไซต์ ไซต์ขของบริ องบริ ษษททัั www.buriramsugar.com www.buriramsugar.com และในคู และในคู่่มมืื ออ การก การก ากั ากับบ ดูดู แแ ลกิ ลกิ จจ การที การที่่ ดดีี แแ ละจรรยาบรรณธุ ละจรรยาบรรณธุ รร กิกิ จจ ของบริ ของบริ ษัษัทท ทัทั้้ งง นีนี้้ ในปี ในปี 2561 2561 ไม่ ไม่ ปป รากฏ รากฏ งเรี ยยนหรื นหรื ออข้ข้ออเสนอแนะใด เสนอแนะใด ๆๆ จากผู จากผูมม้้ ีีสส่่ ววนได้ นได้เเสีสี ยย ข้ข้ออร้ร้อองเรี คณะกรรมการธรรมาภิ คณะกรรมการธรรมาภิบบาลเชื าลเชื่่ ออมัมันน่่ ว่ว่าาบริ บริ ษษททัั มีมีกการด ารดาเนิ าเนิ นนธุธุ รรกิกิจจตามหลั ตามหลักกการก การกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิ จจการที การที่่ดดีี และมุ และมุ่ง่งมัมันน่่ ทีที่่จจะพั ะพัฒ ฒนาและยกระดั นาและยกระดับบด้ด้าานการก นการกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการของบริ การของบริ ษษททัั อย่ อย่าางต่ งต่ออเนื เนื่่อองง ซึซึ่่ งงจะเป็ จะเป็ นปั นปั จจจัจัยยสสาคั าคัญ ญ ทีที่่สสนันับบสนุ สนุนนการด การดาเนิ าเนินนงานให้ งานให้มมีีปประสิ ระสิ ททธิธิ ภภาพอย่ าพอย่าางยั งยังง่่ ยืยืนน ตลอดจนส่ ตลอดจนส่ งงเสริ เสริ มมให้ ให้บบริริ ษษททัั ได้ ได้รรัับบความไว้ ความไว้ววางใจจากผู างใจจากผูมม้้ ีี ส่ส่ ววนได้ นได้เเสีสี ยยทุทุกกกลุ กลุ่่มม ทัทั้้ งงนีนี้้ ได้ ได้เเปิปิ ดเผยรายละเอี ดเผยรายละเอียยดการด ดการดาเนิ าเนิ นนงานด้ งานด้าานการก นการกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการที การที่่ดดีีขของบริ องบริ ษษททัั ดัดังงกล่ กล่าาวในส่ วในส่ ววนที นที่่ 22 ข้ข้ออ 99 การก การกากั ากับบดูดูแแลกิ ลกิจจการ การ ไว้ ไว้ใในรายงานประจ นรายงานประจาปี าปี และแบบ และแบบ 56-1 56-1 ประจ ประจาปี าปี 2561 2561 ……………………………………..……..……… ……………………………………..……..……… ((นางสี นางสี นนวล วล ทัทัศศน์น์พพนนัั ธุธุ์์))
ประธานกรรมการธรรมาภิ ประธานกรรมการธรรมาภิบบาล าล
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
425
เอกสารแนบ เอกสารแนบ 10: 10: หน้ หน้าา 11 ของจ ของจานวน านวน 10 10 หน้ หน้าา
แบบประเมิ แบบประเมินนความเพี ความเพียยงพอของระบบการควบคุ งพอของระบบการควบคุมมภายใน ภายใน การควบคุ (Control Environment) Environment) การควบคุมมภายในองค์ ภายในองค์ กกรร (Control
1.1. องค์ องค์ กกรแสดงถึ รแสดงถึงงความยึ ความยึดดมัมั่น่นในคุ ในคุณ ณค่ค่ าาของความซื ของความซื่่ออตรง ตรง (Integrity) (Integrity) และจริ และจริยยธรรม ธรรม คคาถาม าถาม 1.1 ารกาหนดแนวทางและมี าหนดแนวทางและมีกการปฏิ ตรง 1.1 คณะกรรมการและผู คณะกรรมการและผูบบ้้ ริริ หหารก ารปฏิบบตตัั ิิทที่ี่ออยูยูบบ่่ นหลั นหลักกความซื ความซื่่ออตรง และการรักกษาจรรยาบรรณในการด ษาจรรยาบรรณในการดาเนิ าเนินนงานที งานที่่คครอบคลุ รอบคลุมมถึถึงง และการรั 1.1.1 การปฏิ การปฏิบบตตัั ิิหหน้น้าาทีที่่ปประจ ระจาวั าวันน และการตั และการตัดดสิสิ นนใจในเรื ใจในเรื่่ อองต่ งต่าางง ๆๆ 1.1.1 1.1.2 การปฏิบบตตัั ิิตต่่ออคูคู่ค่คาา้้ ลูลูกกค้ค้าา และบุ และบุคคคลภายนอก คลภายนอก 1.1.2 การปฏิ 1.2 ลายลักกษณ์ ษรให้ผผบบูู้้ ริริ หหารและพนั ารและพนักกงานปฏิ งานปฏิบบตตัั ิิหหน้น้าาทีที่่ 1.2 มีมีขขออ้้ กกาหนดที าหนดที่่เเป็ป็ นนลายลั ษณ์ออกกัั ษรให้ ยความซื่่ออตรงและรั ตรงและรักกษาจรรยาบรรณที ษาจรรยาบรรณที่่คครอบคลุ รอบคลุมมถึถึงง ด้ด้ววยความซื
1.2.1 มีมีขขออ้้ กกาหนดเกี าหนดเกี่่ยยวกั วกับบจริ จริ ยยธรรม ธรรม (Code (Code of of conduct) conduct) สสาหรั าหรับบผูผูบบ้้ ริริ หหารและพนั ารและพนักกงาน งาน 1.2.1 หมาะสม ทีที่่เเหมาะสม 1.2.2 มีมีขขออ้้ กกาหนดห้ าหนดห้าามผู มผูบบ้้ ริริ หหารและพนั ารและพนักกงานปฏิ งานปฏิบบตตัั ิิตตนในลั นในลักกษณะที ษณะที่่ออาจก่ าจก่ออให้ ให้เเกิกิดด 1.2.2 ความขัดดแย้ แย้งงทางผลประโยชน์ ทางผลประโยชน์กกบบัั กิกิจจการ การ ซึซึ่่ งงรวมถึ รวมถึงงการห้ การห้าามคอร์ มคอร์รรัปัปชัชันนอัอันนททาให้ าให้เเกิกิดด ความขั ความเสี ยยหายต่ หายต่ออองค์ องค์กกรร ความเสี 1.2.3 มีมีบบทลงโทษที ทลงโทษที่เ่เหมาะสมหากมี หมาะสมหากมีกการฝ่ ารฝ่ าฝื าฝื นนข้ข้ออกกาหนดข้ าหนดข้าางต้ งต้นน 1.2.3 1.2.4 มีมีกการสื ารสื่่ออสารข้ สารข้ออกกาหนดและบทลงโทษข้ าหนดและบทลงโทษข้าางต้ งต้นนให้ ให้ผผบูบู้้ ริริ หหารและพนั ารและพนักกงานทุ งานทุกกคน 1.2.4 คน รัรับบทราบ ทราบ เช่ เช่นน รวมอยู รวมอยูใใ่่ นการปฐมนิ นการปฐมนิเเทศพนั ทศพนักกงานใหม่ ให้ พ นั ก งานลงนามรั บ ทราบข้ อ ก าหนด งานใหม่ ให้พนักงานลงนามรับทราบข้อกาหนด และบทลงโทษเป็ นนประจ ประจาทุ าทุกกปีปี รวมทั รวมทั้้งงมีมีกการเผยแพร่ ารเผยแพร่ Code Code of of Conduct Conduct ให้ ให้แแก่ก่พพนันักกงานและ งานและ และบทลงโทษเป็ คลภายนอกรับบทราบ ทราบ บุบุคคคลภายนอกรั 1.3 1.3 มีมีกกระบวนการติ ระบวนการติดดตามและประเมิ ตามและประเมินนผลการปฏิ ผลการปฏิบบตตัั ิิตตาม าม Code Code of of Conduct Conduct 1.3.1 หน่ววยงานก ยงานกากั ากับบ 1.3.1 การติ การติดดตามและประเมิ ตามและประเมินนผลโดยหน่ ผลโดยหน่ววยงานตรวจสอบภายในหรื ยงานตรวจสอบภายในหรื ออหน่ ลการปฏิบบตตัั ิิ (Compliance (Compliance unit) unit) ดูดูแแลการปฏิ 1.3.2 การประเมิ การประเมินนตนเองโดยผู ตนเองโดยผูบบ้้ ริริ หหารและพนั ารและพนักกงาน งาน 1.3.2 1.3.3 1.3.3 การประเมิ การประเมินนโดยผู โดยผูเเ้้ ชีชี่่ยยวชาญที วชาญที่่เเป็ป็ นนอิอิสสระจากภายนอกองค์ ระจากภายนอกองค์กกรร 1.4 1.4 มีมีกการจั ารจัดดการอย่ การอย่าางทั งทันนเวลา เวลา หากพบการไม่ หากพบการไม่ปปฏิฏิบบตตัั ิิตตามข้ ามข้ออกกาหนดเกี าหนดเกี่่ยยวกั วกับบความซื ความซื่่ ออตรง ตรง และการรั ก ษาจรรยาบรรณ และการรักษาจรรยาบรรณ 1.4.1 1.4.1 มีมีกกระบวนการที ระบวนการที่่ททาให้ าให้สสามารถตรวจพบการฝ่ ามารถตรวจพบการฝ่ าฝื าฝื นนได้ ได้ภภายในเวลาที ายในเวลาที่่เเหมาะสม หมาะสม 1.4.2 1.4.2 มีมีกกระบวนการที ระบวนการที่่ททาให้ าให้สสามารถลงโทษหรื ามารถลงโทษหรื ออจัจัดดการกั การกับบการฝ่ การฝ่ าฝื าฝื นนได้ ได้ออย่ย่าางเหมาะสม งเหมาะสม และภายในเวลาอั น ควร และภายในเวลาอันควร 426
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ใช่ ใช่
ไม่ ไม่ ใใช่ช่
เอกสารแนบ 10: หน้า 2 ของจานวน 10 หน้า
คาถาม 1.4.3 มีการแก้ไขการกระทาที่ขดั ต่อหลักความซื่ อตรงและการรักษาจรรยาบรรณ อย่างเหมาะสม และภายในเวลาอันควร
ใช่
ไม่ ใช่
2. คณะกรรมการมีความเป็ นอิสระจากฝ่ ายบริหาร และทาหน้ าที่กากับดูแล (Oversight) และพัฒนาการดาเนินการ ด้ านการควบคุมภายใน คาถาม 2.1 มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการแยกจากฝ่ ายบริ หาร โดยได้สงวนสิ ทธิ์ อานาจเฉพาะของคณะกรรมการไว้อย่างชัดเจน
ใช่
2.2 คณะกรรมการกากับดูแลให้มีการกาหนดเป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจที่ชดั เจนและวัดผลได้ เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารและพนักงาน
2.3 คณะกรรมการกากับดูแลให้บริ ษทั กาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและผูบ้ ริ หาร ให้ถูกต้องตามกฎหมาย กฎบัตร ซึ่งครอบคลุมบทบาทที่สาคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ ผูส้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายใน และผูร้ ับผิดชอบต่อรายงานทางการเงิน 2.4 คณะกรรมการเป็ นผูม้ ีความรู ้เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษทั และมีความเชี่ยวชาญที่เป็ น ประโยชน์ต่อบริ ษทั หรื อสามารถขอคาแนะนาจากผูเ้ ชี่ยวชาญในเรื่ องนั้น ๆ ได้ 2.5 คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการอิสระที่มีความรู้ ความสามารถน่าเชื่อถือ และมี ความเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างแท้จริ ง เช่น ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ไม่มีความสัมพันธ์อื่นใด อันอาจมีอิทธิพลต่อการใช้ดุลยพินิจและปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นอิสระ ในจานวนที่เหมาะสมเพียงพอ
2.6 คณะกรรมการกากับดูแลการพัฒนาและปฏิบตั ิเรื่ องการควบคุมภายในองค์กร ซึ่งครอบคลุมทั้งการสร้างสภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ ยง กิจกรรม การควบคุม ข้อมูลและการสื่ อสาร และการติดตาม
ไม่ ใช่
3. ฝ่ ายบริ หารได้ จัดให้ มีโครงสร้ างสายการรายงาน การกาหนดอานาจในการสั่ งการและความรั บผิดชอบที่ เหมาะสม เพือ่ ให้ องค์ กรบรรลุวตั ถุประสงค์ ภายใต้ การกากับดูแล (Oversight) ของคณะกรรมการ คาถาม
ใช่
3.1 ผูบ้ ริ หารระดับสู งกาหนดโครงสร้างองค์กรที่สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริ ษทั โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมทั้งทางธุรกิจและกฎหมาย รวมถึงการจัดให้มีการควบคุม ภายในอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่น แบ่งแยกหน้าที่ในส่ วนงานที่สาคัญ ซึ่ งทาให้เกิด การตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างกัน มีงานตรวจสอบภายในที่ข้ ึนตรงกับกรรมการตรวจสอบ และมีสายการรายงานที่ชดั เจน เป็ นต้น
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
ไม่ ใช่
427
เอกสารแนบ 10: หน้ า 3 ของจานวน 10 หน้ า เอกสารแนบ เอกสารแนบ 10: 10: หน้ หน้าา 33 ของจ ของจานวน านวน 10 10 หน้ หน้าา
คคาถาม คาถาม าถาม 3.2 ผูบ้ ริ หารระดับบสูสู งงกกาหนดสายการรายงานในบริ ษทั โดยพิจจารณาถึ งความเหมาะสม 3.2 3.2 ผูผูบบ้้ ริริ หหารระดั ารระดับสู งกาหนดสายการรายงานในบริ าหนดสายการรายงานในบริ ษษททัั โดยพิ โดยพิจารณาถึ ารณาถึงงความเหมาะสม ความเหมาะสม ่ เกี ย วกั บ อ านาจหน้ า ที ่ ความรั บ ผิ ด ชอบ และการสื ่ อ สารข้ อ มู ล เกี เกี่่ยยวกั วกับบออานาจหน้ านาจหน้าาทีที่่ ความรั ความรับบผิผิดดชอบ ชอบ และการสื และการสื่่ ออสารข้ สารข้ออมูมูลล 3.3 มีการก าหนด มอบหมาย และจ ากั านาจหน้ ละความรั ชอบอย่ งเหมาะสม 3.3 ารกาหนด าหนด มอบหมาย มอบหมาย และจ และจากั ากัดดดอออานาจหน้ านาจหน้าาาทีทีที่่่แแและความรั ละความรับบบผิผิผิดดดชอบอย่ ชอบอย่าาางเหมาะสม งเหมาะสม 3.3 มีมีกการก ระหว่ างคณะกรรมการบริ ษษททัั ผูผูบบ้้ ริริ หหารระดั บสู ง ผูบ้ ริ หาร และพนั กงาน ระหว่ ระหว่าางคณะกรรมการบริ งคณะกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารระดั ารระดับบสูสู งง ผูผูบบ้้ ริริ หหาร าร และพนั และพนักกงาน งาน 4.4. องค์ กรแสดงถึงงความมุ ่ งมั่นในการจูงงใจ พัฒ นาและรักกษาบุ คลากรทีมม่่ ีคีความรู ้ ความสามารถ 4. องค์ องค์ กกรแสดงถึ รแสดงถึงความมุ ความมุ่่ งงมัมั่น่นในการจู ในการจูงใจ ใจ พั พัฒ ฒนาและรั นาและรักษาบุ ษาบุคคลากรที ลากรทีม่ ีความรู วามรู้้ คความสามารถ วามสามารถ คคาถาม คาถาม าถาม 4.1 บริ 4.1 บริ ษษษทททััั มีมีมีนนนโยบายและวิ โยบายและวิธธธีีีกกการปฏิ ารปฏิบบบตตตััั ิิิเเเพืพืพื่อ่อ่อจัจัจัดดดหา หา พั พัฒ ฒนา นา และรั และรักกกษาบุ ษาบุคคคลากรที ลากรที่่่มมมีีีคคความรู วามรู้้้ 4.1 บริ โยบายและวิ ารปฏิ หา พั ฒ นา และรั ษาบุ ลากรที วามรู และความสามารถที ระบวนการสอบทานนโยบายและวิธธีีกการปฏิ ารปฏิบตั ิน้ นั และความสามารถที่่่เเเหมาะสม หมาะสม และมี และมีกกกระบวนการสอบทานนโยบายและวิ และความสามารถที หมาะสม และมี ระบวนการสอบทานนโยบายและวิธีการปฏิบบตตัั ิินน้้ นนัั อย่ างสม่่าาเสมอ อย่ อย่าางสม งสม่าเสมอ เสมอ 4.2 บริ ษษททัั มีมีกกระบวนการประเมิ ระบวนการประเมินผลการปฏิบบตตัั ิิงงาน าน การให้แแรงจู รงจูงใจหรื ออรางวั รางวัลต่อบุคลากร 4.2 4.2 บริ บริ ษทั มีกระบวนการประเมินนผลการปฏิ ผลการปฏิบตั ิงาน การให้ การให้แรงจูงงใจหรื ใจหรื อรางวัลลต่ต่ออบุบุคคลากร ลากร ทีที่่มมีีผผลการปฏิ บ ต ั ิ ง านดี และการจั ด การต่ อ บุ ค ลากรที ่ ม ี ผ ลงานไม่ บ รรลุ เ ป้ าหมาย รวมถึ ง ลการปฏิบบตตัั ิิงงานดี านดี และการจั และการจัดดการต่ การต่ออบุบุคคลากรที ลากรที่่มมีีผผลงานไม่ ลงานไม่บบรรลุ รรลุเเป้ป้ าหมาย าหมาย รวมถึ รวมถึงง ที่มีผลการปฏิ การสื ่ อ สารกระบวนการเหล่ า นี ใ ห้ ผ บ ู ้ ริ ห ารและพนั ก งานทราบ ้ การสื การสื่่ ออสารกระบวนการเหล่ สารกระบวนการเหล่าานีนี้้ ใให้ห้ผผบบูู้้ ริริ หหารและพนั ารและพนักกงานทราบ งานทราบ 4.3 บริ ษ ท ั มี ก ระบวนการแก้ ไ ขปั ญ หาหรื อ เตรี ย มพร้ อ มสาหรั าหรับบการขาดบุ การขาดบุคคลากรที ลากรที่่มมีีคความรู ้้ 4.3 บริ ษ ท ั มี ก ระบวนการแก้ ไ ขปั ญ หาหรื อ เตรี ย มพร้ อ มส วามรู 4.3 บริ ษทั มีกระบวนการแก้ไขปัญหาหรื อเตรี ยมพร้อมสาหรับการขาดบุคลากรที่มีความรู้ และความสามารถที ่เหมาะสมอย่าางทั นเวลา และความสามารถที และความสามารถที่่เเหมาะสมอย่ หมาะสมอย่างทั งทันนเวลา เวลา 4.4 บริ เช่นน การจั 4.4 บริ ษษษทททััั มีมีมีกกกระบวนการสรรหา ระบวนการสรรหา พั พัฒ ฒนา นา และรั และรักกกษาผู ษาผูบบบ้้้ ริริริ หหหารและพนั ารและพนักกกงานทุ งานทุกกกคน คน เช่ การจัดดด 4.4 บริ ระบวนการสรรหา พั ฒ นา และรั ษาผู ารและพนั งานทุ คน เช่น การจั ระบบที ่่ปปรึรึ กกษา (Mentoring) และการฝึ กกอบรม ระบบที ษา (Mentoring) และการฝึ ระบบที่ปรึ กษา (Mentoring) และการฝึ กอบรม อบรม 4.5 บริ ษ ท ั มี แ ผนและกระบวนการสรรหาผู สส้้ ืื บบทอดต าแหน่ งง (Succession plan) ทีที่่สสาคั ญ 4.5 บริ ษ ท ั มี แ ผนและกระบวนการสรรหาผู ทอดต าแหน่ (Succession plan) าคั 4.5 บริ ษทั มีแผนและกระบวนการสรรหาผูส้ ื บทอดตาแหน่ง (Succession plan) ที่สาคัญ ญ
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ ใช่ ไม่ ไม่ ใใช่ช่
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ ใช่ ไม่ ไม่ ใใช่ช่
5.5. องค์ กกรก าหนดให้ บบุุคคลากรมี หหน้น้ าาทีทีแแ่่ ละความรั บบผิผิดดชอบในการควบคุ มมภายใน เพื ออ่่ ให้ บบรรลุ ตตามวั ตตถุถุปประสงค์ ขขององค์ กกรร องค์ รก าหนดให้ ลากรมี ละความรั ชอบในการควบคุ ภายใน เพื ให้ รรลุ ามวั ระสงค์ ององค์ 5. องค์ กรกาหนดให้ บุคลากรมีหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการควบคุมภายใน เพือ่ ให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ขององค์ กร คคาถาม ใช่ ไม่ ใช่ ใช่ ไม่ คาถาม าถาม ใช่ ไม่ ใใช่ช่ 5.1 คณะกรรมการและผู บบ้้ ริริ หหารมี กกระบวนการและการสื ่่ ออสารเชิ งงบับังงคัคับบให้ บบุุคคลากรทุ กกคน 5.1 คณะกรรมการและผู ารมี ระบวนการและการสื สารเชิ ให้ ลากรทุ คน 5.1 คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารมีกระบวนการและการสื่ อสารเชิงบังคับให้บุคลากรทุกคน มีมีคความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การควบคุ ม ภายใน และจั ด ให้ ม ี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขกระบวนการปฏิ บ ต ั ิ มีความรั วามรับบผิผิดดชอบต่ ชอบต่ออการควบคุ การควบคุมมภายใน ภายใน และจั และจัดดให้ ให้มมีีกการปรั ารปรับบปรุ ปรุ งงแก้ แก้ไไขกระบวนการปฏิ ขกระบวนการปฏิบบตตัั ิิ ในกรณี ท ่ ี จ าเป็ น ในกรณี ในกรณี ทที่ี่จจาเป็ าเป็ นน 5.2 คณะกรรมการและผู บบ้้ ริริ หหารก าหนดตั ววชีชี้้ ววดดัั ผลการปฏิ บบตตัั ิิงงาน การสร้ าางแรงจู งงใจ 5.2 คณะกรรมการและผู ารก าหนดตั ผลการปฏิ าน การสร้ งแรงจู ใจ 5.2 คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารกาหนดตัวชี้วดั ผลการปฏิบตั ิงาน การสร้างแรงจูงใจ และการให้ ร างวั ล ที ่ เ หมาะสม โดยพิ จ ารณาทั ง เรื ่ อ งการปฏิ บ ต ั ิ ต าม Code of Conduct ้ และการให้ และการให้รรางวั างวัลลทีที่่เเหมาะสม หมาะสม โดยพิ โดยพิจจารณาทั ารณาทั้้ งงเรืเรื่่ อองการปฏิ งการปฏิบบตตัั ิิตตาม าม Code Code of of Conduct Conduct และวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นระยะสั น และระยะยาวของบริ ษ ท ั ้ และวั และวัตตถุถุปประสงค์ ระสงค์ใในระยะสั นระยะสั้้ นนและระยะยาวของบริ และระยะยาวของบริ ษษททัั 5.3 คณะกรรมการและผูบบ้้ ริริ หหารประเมิ นแรงจูงงใจและการให้ รางวัลลอย่ อย่างต่ออเนื เนื่อง โดยเน้นน 5.3 5.3 คณะกรรมการและผู คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารประเมิ ารประเมินนแรงจู แรงจูงใจและการให้ ใจและการให้รรางวั างวัลอย่าางต่ งต่อเนื่่ อองง โดยเน้ โดยเน้น ให้ ส ามารถเชื ่ อ มโยงกั บ ความส าเร็ จ ของหน้ า ที ่ ใ นการปฏิ บ ต ั ิ ต ามการควบคุ ม ภายในด้ ว ย ให้ ให้สสามารถเชื ามารถเชื่่ออมโยงกั มโยงกับบความส ความสาเร็ าเร็ จจของหน้ ของหน้าาทีที่่ใในการปฏิ นการปฏิบบตตัั ิิตตามการควบคุ ามการควบคุมมภายในด้ ภายในด้ววยย 5.4 คณะกรรมการและผู บบ้้ ริริ หหารได้ พพิจิจารณาไม่ ใให้ห้มมีีกการสร้ ารสร้าางแรงกดดั งแรงกดดันนทีที่่มมากเกิ ากเกินนไป 5.4 คณะกรรมการและผู ารได้ ารณาไม่ ไป 5.4 คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารได้พิจารณาไม่ให้มีการสร้างแรงกดดันที่มากเกินไป ในการปฏิ ฏ บ ต ั ิ ห น้ า ที ่ ข องบุ ค ลากรแต่ ล ะคน ในการปฏิ ในการปฏิบบตตัั ิิหหน้น้าาทีที่่ขของบุ องบุคคลากรแต่ ลากรแต่ลละคน ะคน 428
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 10: หน้า 4 ของจานวน 10 หน้า
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) 6. องค์ ก รก าหนดวัต ถุป ระสงค์ ไ ว้ อ ย่ า งชั ด เจนเพียงพอ เพื่อให้ ส ามารถระบุ และประเมินความเสี่ ยงต่ า ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์ กร คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ 6.1 บริ ษทั สามารถปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป และเหมาะสมกับธุรกิจ ในขณะนั้น โดยแสดงได้วา่ รายการในรายงานทางการเงินมีตวั ตนจริ ง ครบถ้วน แสดงถึงสิ ทธิ หรื อภาระผูกพันของบริ ษทั ได้ถูกต้อง มีมูลค่าเหมาะสม และเปิ ดเผยข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง
6.2 บริ ษทั กาหนดสาระสาคัญของรายการทางการเงิน โดยพิจารณาถึงปั จจัยที่สาคัญ เช่น ผูใ้ ช้รายงานทางการเงิน ขนาดของรายการ แนวโน้มของธุ รกิจ
6.3 รายงานทางการเงินของบริ ษทั สะท้อนถึงกิจกรรมการดาเนินงานของบริ ษทั อย่างแท้จริ ง
6.4 คณะกรรมการหรื อคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง อนุมตั ิและสื่ อสารนโยบาย การบริ หารความเสี่ ยงให้ผบู ้ ริ หารและพนักงานทุกคนรับทราบและถือปฏิบตั ิ จนเป็ นส่ วนหนึ่ง ของวัฒนธรรมขององค์กร
7. องค์ กรระบุและวิเคราะห์ ความเสี่ ยงทุกประเภทที่อาจกระทบต่ อการบรรลุวัตถุประสงค์ ไว้ อย่ างครอบคลุม ทัว่ ทั้งองค์ กร คาถาม
ใช่
7.1 บริ ษทั ระบุความเสี่ ยงทุกประเภทซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการดาเนินธุ รกิจทั้งระดับองค์กร หน่วยธุ รกิจ ฝ่ ายงาน และหน้าที่งานต่าง ๆ 7.2 บริ ษทั วิเคราะห์ความเสี่ ยงทุกประเภทที่อาจเกิดจากทั้งปั จจัยภายในและปัจจัยภายนอก องค์กร ซึ่งรวมถึงความเสี่ ยงด้านกลยุทธ์ การดาเนินงาน การรายงาน การปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
7.3 ผูบ้ ริ หารทุกระดับมีส่วนร่ วมในการบริ หารความเสี่ ยง
7.4 บริ ษทั ได้ประเมินความสาคัญของความเสี่ ยง โดยพิจารณาทั้งโอกาสเกิดเหตุการณ์ และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
7.5 บริ ษทั มีมาตรการและแผนปฏิบตั ิงานเพื่อจัดการความเสี่ ยง โดยอาจเป็ นการยอมรับ ความเสี่ ยงนั้น (Acceptance) การลดความเสี่ ยง (Reduction) การหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง (Avoidance) หรื อการร่ วมรับความเสี่ ยง (Sharing)
ไม่ ใช่
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
429
เอกสารแนบ 10: หน้า 5 ของจานวน 10 หน้า
8. องค์ กรได้ พจิ ารณาถึงโอกาสทีจ่ ะเกิดการทุจริต ในการประเมินความเสี่ ยงทีจ่ ะบรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์ กร คาถาม
ใช่
8.1 บริ ษทั ประเมินโอกาสที่จะเกิดการทุจริ ตขึ้น โดยครอบคลุมการทุจริ ตแบบต่าง ๆ เช่น การจัดทารายงานทางการเงินเท็จ การทาให้สูญเสี ยทรัพย์สิน การคอร์รัปชัน การที่ผบู้ ริ หาร สามารถฝ่ าฝื นระบบควบคุมภายใน (Management override of internal controls) การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในรายงานที่สาคัญ การได้มาหรื อใช้ไปซึ่งทรัพย์สินโดยไม่ถูกต้อง เป็ นต้น
8.2 บริ ษทั ได้ทบทวนเป้ าหมายการปฏิบตั ิงานอย่างรอบคอบ โดยพิจารณาความเป็ นไปได้ของ เป้ าหมายที่กาหนดแล้ว รวมทั้งได้พิจารณาความสมเหตุสมผลของการให้สิ่งจูงใจหรื อ ผลตอบแทนแก่พนักงานแล้วด้วยว่า ไม่มีลกั ษณะส่ งเสริ มให้พนักงานกระทาไม่เหมาะสม เช่น ไม่ต้งั เป้ าหมายยอดขายของบริ ษทั ไว้สูงเกินความเป็ นจริ ง จนทาให้เกิดแรงจูงใจ ในการตกแต่งตัวเลขยอดขาย เป็ นต้น
8.3 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและสอบถามผูบ้ ริ หารเกี่ยวกับโอกาสในการเกิด ทุจริ ต และมาตรการที่บริ ษทั ดาเนินการเพื่อป้ องกันหรื อแก้ไขการทุจริ ต
8.4 บริ ษทั ได้สื่อสารให้พนักงานทุกคนเข้าใจและปฏิบตั ิตามนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ที่กาหนดไว้
ไม่ ใช่
9. องค์ กรสามารถระบุและประเมินความเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจมีผลกระทบต่ อระบบการควบคุมภายใน คาถาม
ใช่
9.1 บริ ษทั ประเมินการเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายนอกองค์กรที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนิน ธุรกิจ การควบคุมภายใน และรายงานทางการเงิน ตลอดจนได้กาหนดมาตรการตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเพียงพอแล้ว
9.2 บริ ษทั ประเมินการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการทาธุรกิจที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ การควบคุมภายใน และรายงานทางการเงิน ตลอดจนได้กาหนดมาตรการตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเพียงพอแล้ว
9.3 บริ ษทั ประเมินการเปลี่ยนแปลงผูน้ าองค์กรที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ การควบคุมภายใน และรายงานทางการเงิน ตลอดจนได้กาหนดมาตรการตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเพียงพอแล้ว
430
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ไม่ ใช่
เอกสารแนบ 10: หน้า 6 ของจานวน 10 หน้า
การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) 10. องค์ กรมีมาตรการควบคุมทีช่ ่ วยลดความเสี่ ยงทีจ่ ะไม่ บรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์ กร ให้ อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ คาถาม
ใช่
10.1 มาตรการควบคุมของบริ ษทั มีความเหมาะสมกับความเสี่ ยง และลักษณะเฉพาะของ องค์กร เช่น สภาพแวดล้อม ความซับซ้อนของงาน ลักษณะงาน ขอบเขตการดาเนิ นงาน รวมถึงลักษณะเฉพาะอื่น ๆ 10.2 บริ ษทั มีมาตรการควบคุมภายในที่กาหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และครอบคลุม กระบวนการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น มีนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับธุ รกรรม ด้านการเงิน การจัดซื้ อ และการบริ หารทัว่ ไป ตลอดจนกาหนดขอบเขต อานาจหน้าที่ และ ลาดับชั้นการอนุมตั ิของผูบ้ ริ หารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน รัดกุม เพื่อให้สามารถป้ องกัน การทุจริ ตได้ เช่น มีการกาหนดขนาดวงเงินและอานาจอนุมตั ิของผูบ้ ริ หารแต่ละระดับ ขั้นตอนในการอนุมตั ิโครงการลงทุน ขั้นตอนการจัดซื้ อและวิธีการคัดเลือกผูข้ าย การบันทึก ข้อมูลรายละเอียดการตัดสิ นใจจัดซื้ อ ขั้นตอนการเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ หรื อการเบิกใช้ เครื่ องมือต่าง ๆ เป็ นต้น โดยได้จดั ให้มีกระบวนการสาหรับกรณี ต่าง ๆ ดังนี้ 10.2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และผูท้ ี่ เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว รวมทั้งบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อประโยชน์ในการติดตามและ สอบทานการทารายการระหว่างกัน หรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทั้ง มีการปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั เสมอ 10.2.2 กรณี ที่บริ ษทั อนุมตั ิธุรกรรมหรื อทาสัญญากับผูท้ ี่เกี่ยวข้องในลักษณะที่มีผล ผูกพันบริ ษทั ในระยะยาวไปแล้ว เช่น การทาสัญญาซื้ อขายสิ นค้า การให้กยู้ มื การค้ าประกัน บริ ษทั ได้ติดตามให้มนั่ ใจแล้วว่า มีการปฏิบตั ิเป็ นไปตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ตลอด ระยะเวลา ที่มีผลผูกพันบริ ษทั เช่น ติดตามการชาระคืนหนี้ตามกาหนด หรื อมีการทบทวน ความเหมาะสมของสัญญา เป็ นต้น
ไม่ ใช่
10.3 บริ ษทั กาหนดให้การควบคุมภายในมีความหลากหลายอย่างเหมาะสม เช่น การควบคุม แบบ Manual และ Automated หรื อการควบคุมแบบป้ องกันและติดตาม
10.4 บริ ษทั กาหนดให้มีการควบคุมภายในในทุกระดับขององค์กร เช่น ทั้งระดับกลุ่มบริ ษทั หน่วยธุ รกิจ สายงาน ฝ่ ายงาน แผนก หรื อกระบวนการ 10.5 บริ ษทั มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้านต่อไปนี้ออกจากกัน โดยเด็ดขาด เพื่อเป็ นการตรวจสอบซึ่ งกันและกัน กล่าวคือ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
431
คาถาม คคาถาม าถาม
เอกสารแนบ 10: หน้า 7 ของจานวน 10 หน้า เอกสารแนบ เอกสารแนบ 10: 10: หน้ หน้าา 77 ของจ ของจานวน านวน 10 10 หน้ หน้าา
ใช่ ใช่ ใช่
ไม่ ใช่ ไม่ ไม่ ใใช่ช่
(1) หน้าที่อนุมตั ิ (1) หน้าาทีที่่ออนุนุมมตตัั ิิ (1) (2) หน้ หน้าที่บนั ทึกรายการบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และ (2) หน้ าาทีที่่บบนนัั ทึทึกกรายการบั ญ ชีชีแและข้ ออมูมูลลสารสนเทศ และ (2) หน้ รายการบั ญ ละข้ สารสนเทศ และ (3) หน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน (3) (3) หน้ หน้าาทีที่่ใในการดู นการดูแแลจั ลจัดดเก็ เก็บบทรั ทรัพพย์ย์สสิิ นน 11. องค์ กรเลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทั่วไปด้ วยระบบเทคโนโลยี เพือ่ ช่ วยสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ 11. 11. องค์ องค์ กกรเลื รเลืออกและพั กและพัฒ ฒนากิ นากิจจกรรมการควบคุ กรรมการควบคุมมทัทั่ว่วไปด้ ไปด้ ววยระบบเทคโนโลยี ยระบบเทคโนโลยี เพื เพืออ่่ ช่ช่ ววยสนั ยสนับบสนุ สนุนนการบรรลุ การบรรลุววัตัตถุถุปประสงค์ ระสงค์ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คคาถาม ใช่ ไม่ าถาม ใช่ ไม่ ใใช่ช่ 11.1 บริ ษทั ควรกาหนดความเกี่่ยวข้องกันระหว่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 11.1 บริ ษ ท ั ควรก าหนดความเกี ย วข้ อ งกั น ระหว่ า งการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ่ 11.1 บริ ษ ท ั ควรก าหนดความเกี ย วข้ อ งกั น ระหว่ า งการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ในกระบวนการปฏิบตั ิงานและการควบคุมทัว่ ไปของระบบสารสนเทศ ในกระบวนการปฏิ ในกระบวนการปฏิบบตตัั ิิงงานและการควบคุ านและการควบคุมมทัทัวว่่ ไปของระบบสารสนเทศ ไปของระบบสารสนเทศ 11.2 บริ ษทั ควรกาหนดการควบคุมของโครงสร้างพื้นฐานของระบบเทคโนโลยีให้มี 11.2 บริ ษ ท ั ควรก าหนดการควบคุ ม ของโครงสร้ า งพื น ฐานของระบบเทคโนโลยี ใ ห้ ม ี ้ 11.2 บริ ษ ท ั ควรก าหนดการควบคุ ม ของโครงสร้ า งพื น ฐานของระบบเทคโนโลยี ใ ห้ ม ี ้ ความเหมาะสม ความเหมาะสม ความเหมาะสม 11.3 บริ ษทั ควรกาหนดการควบคุมด้านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีให้มี 11.3 บริ ษ ท ั ควรก าหนดการควบคุ ม ด้ า นความปลอดภั ย ของระบบเทคโนโลยี ใ ห้ ม ี 11.3 บริ ษทั ควรกาหนดการควบคุมด้านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีให้มี ความเหมาะสม ความเหมาะสม ความเหมาะสม 11.4 บริ ษทั ควรกาหนดการควบคุมกระบวนการได้มา การพัฒนา และการบารุ งรักษาระบบ 11.4 บริ ษททัั ควรก ควรกาหนดการควบคุ าหนดการควบคุมมกระบวนการได้ กระบวนการได้มมาา การพั การพัฒ ฒนา นา และการบ และการบารุ ารุ งงรัรักกษาระบบ ษาระบบ 11.4 บริ ษ เทคโนโลยีให้มีความเหมาะสม เทคโนโลยี เทคโนโลยีใให้ห้มมีีคความเหมาะสม วามเหมาะสม
12. องค์ กรจั ดให้ มีกิจกรรมการควบคุมผ่ านทางนโยบาย ซึ่ งได้ กาหนดสิ่ งที่ค าดหวังและขั้นตอนการปฏิบัติ 12. องค์ กกรจั มมีีกกิิจจกรรมการควบคุ มมผ่ผ่ าานทางนโยบาย ซึ่ งได้ กาหนดสิ่ งที่ค าดหวังและขั้นตอนการปฏิบัติ รจั ดดก่ ให้ ให้ กรรมการควบคุ เพือ่ 12. ให้ นองค์ โยบายที าหนดไว้ น้ ันสามารถนาไปสู ่ กนทางนโยบาย ารปฏิบัติได้ ซึ่ งได้ กาหนดสิ่ งที่ค าดหวังและขั้นตอนการปฏิบัติ เพื เพืออ่่ ให้ ให้ นนโยบายที โยบายทีกก่่ าหนดไว้ าหนดไว้ นน้้ ัันนสามารถน สามารถนาไปสู าไปสู่่ กการปฏิ ารปฏิบบัตัติไิได้ด้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คคาถาม ใช่ ไม่ าถาม ใช่ ไม่ ใใช่ช่ 12.1 บริ ษทั มีนโยบายที่รัดกุมเพื่อติดตามให้การทาธุรกรรมของผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ กรรมการ 12.1 บริ ษษททัั มีมีนนโยบายที ่่รรััดดกุกุมมเพื ่อ่อติติดดตามให้ กการท าธุ รรกรรมของผู ถถ้้ ืืออหุหุนน้้ รายใหญ่ กรรมการ 12.1 บริ โยบายที เพื ตามให้ ารท าธุ กรรมของผู รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ต้องผ่านขั้นตอนการอนุมตั ิที่กาหนด เช่น ผูผูบบ้้ ริริ หหาร หรื วข้ บุบุคคคลดั าาวว ต้ต้อองผ่ านขั้้ นนตอนการอนุ มมตตัั ิิทที่ี่กกาหนด เช่นน หรื ออผูผูทท้้ ษี่ี่เเกีกีทั ่ยยเกณฑ์ วข้อองกั งกัขบบองตลาดหลั คลดังงกล่ กล่กทรั ตอนการอนุ าหนด ข้อบังคัารบของบริ พย์แงผ่ห่างนขั ประเทศไทย เกณฑ์ ของส านักเช่ งานฯลฯ ข้ข้ออบับังงคัคับบของบริ ษ ท ั เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เกณฑ์ ข องส านั ก งานฯลฯ ษทั เกณฑ์ของตลาดหลั กทรัพย์ขแองบริ ห่งประเทศไทย เพื่อป้ องกัของบริ นการหาโอกาสหรื อนาผลประโยชน์ ษทั ไปใช้ส่่ วเกณฑ์ นตัว ของสานักงานฯลฯ เพื เพื่อ่อป้ป้ องกั องกันนการหาโอกาสหรื การหาโอกาสหรื ออนนาผลประโยชน์ าผลประโยชน์ขของบริ องบริ ษษททัั ไปใช้ ไปใช้สส่ววนตั นตัวว 12.2 บริ ษทั มีนโยบายเพื่อให้การพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมกระทาโดยผูท้ ี่ไม่มีส่่ วนได้เสี ย 12.2 บริ ษ ท ั มี น โยบายเพื ่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณาอนุ ม ต ั ิ ธ ุ ร กรรมกระท าโดยผู ท ้ ่ ี ไ ม่ ม ี ส ว นได้ เ สี ย 12.2 บริ ษทั มี้ นนโยบายเพื่อให้การพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมกระทาโดยผูท้ ี่ไม่มีส่วนได้เสี ย ในธุรกรรมนั ในธุ ในธุรรกรรมนั กรรมนั้้ นน 12.3 บริ ษทั มีนโยบายเพื่อให้การพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมคานึงถึงประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั 12.3 บริ ษ ท ั มี น โยบายเพื ่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณาอนุ ม ต ั ิ ธ ุ ร กรรมค านึ ง ถึ ง ประโยชน์ ส ู ง สุ ด ของบริ ษ ท ั 12.3 บริ ษ ท ั มี น โยบายเพื ่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณาอนุ ม ต ั ิ ธ ุ ร กรรมค านึ ง ถึ ง ประโยชน์ ส ู ง สุ ด ของบริ ษ ท ั เป็ นสาคัญ และพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ นรายการที่กระทากับบุคคลภายนอก (At arms’ เป็ นนสสาคั ญ เป็ าคัbasis) ญ และพิ และพิจจารณาโดยถื ารณาโดยถืออเสมื เสมืออนเป็ นเป็ นนรายการที รายการที่่กกระท ระทากั ากับบบุบุคคคลภายนอก คลภายนอก (At (At arms’ arms’ length length length basis) basis) 12.4 บริ ษทั มีกระบวนการติดตามดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วม รวมทั้ง 12.4 บริ ษ ท ั มี ก ระบวนการติ ด ตามดู แ ลการด าเนิ น งานของบริ ษ ท ั ย่ อ ยหรื อ บริ ษ ท ั ร่ ว ม รวมทั ง ้ 12.4 บริ ษ ท ั มี ก ระบวนการติ ด ตามดู แ ลการด าเนิ น งานของบริ ษ ท ั ย่ อ ยหรื อ บริ ษ ท ั ร่ ว ม รวมทั ง ้ กาหนดแนวทางให้บุคคลที่บริ ษทั แต่งตั้งให้เป็ นกรรมการหรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อยหรื อ กกาหนดแนวทางให้ บุคคลที่่บบริริ ษษททัั แต่ งงตัตั้้งงให้ เป็ นนกรรมการหรื อผูบบ้้ ริริ หหารในบริ ษททัั ย่ย่ออยหรื ออ กรรมการหรื บริาหนดแนวทางให้ ษทั ร่ วมนั้นถือปฏิบบุคตคลที ั ิ (หากบริ ษแต่ ัทไม่ มให้ ีเงินเป็ลงทุ นในบริ ษัทย่ออผูยหรื อารในบริ บริ ษัทร่ วษมไม่ ตยหรื ้ องตอบ บริ ษทั ร่ วมนั้นถือปฏิบตั ิ (หากบริ ษัทไม่ มีเงินลงทุนในบริ ษัทย่ อยหรื อบริ ษัทร่ วมไม่ ต้องตอบ บริ ข้ อษนีท)ั้ ร่ วมนั้นถือปฏิบตั ิ (หากบริ ษัทไม่ มีเงินลงทุนในบริ ษัทย่ อยหรื อบริ ษัทร่ วมไม่ ต้องตอบ ข้ข้ ออนีนี))้้ 432
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 10: หน้า 8 ของจานวน 10 หน้า
คาถาม
ใช่
12.5 บริ ษทั กาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบในการนานโยบายและกระบวนการไปปฏิบตั ิ โดยผูบ้ ริ หารและพนักงาน 12.6 นโยบายและกระบวนการปฏิบตั ิของบริ ษทั ได้รับการนาไปใช้ในเวลาที่เหมาะสม โดยบุคลากรที่มีความสามารถ รวมถึงการครอบคลุมกระบวนการแก้ไขข้อผิดพลาด ในการปฏิบตั ิงาน 12.7 บริ ษทั ทบทวนนโยบายและกระบวนการปฏิบตั ิให้มีความเหมาะสมอยูเ่ สมอ
ไม่ ใช่
ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้ อมูล (Information & Communication) 13. องค์ กรข้ อมูลทีเ่ กี่ยวข้ องและมีคุณภาพ เพือ่ สนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไปได้ ตามทีก่ าหนดไว้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ 13.1 บริ ษทั กาหนดข้อมูลที่ตอ้ งการใช้ในการดาเนินงาน ทั้งข้อมูลจากภายในและภายนอก องค์กรที่มีคุณภาพและเกี่ยวข้องต่องาน
13.2 บริ ษทั พิจารณาทั้งต้นทุนและประโยชน์ที่จะได้รับ รวมถึงปริ มาณและความถูกต้อง ของข้อมูล
13.3 บริ ษทั ดาเนินการเพื่อให้คณะกรรมการมีขอ้ มูลที่สาคัญอย่างเพียงพอสาหรับใช้ประกอบ การตัดสิ นใจ ตัวอย่างข้อมูลที่สาคัญ เช่น รายละเอียดของเรื่ องที่เสนอให้พิจารณา เหตุผล ผลกระทบต่อบริ ษทั ทางเลือกต่าง ๆ
13.4 บริ ษทั ดาเนินการเพื่อให้กรรมการบริ ษทั ได้รับหนังสื อนัดประชุมหรื อเอกสาร ประกอบการประชุมที่ระบุขอ้ มูลที่จาเป็ นและเพียงพอต่อการพิจารณาก่อนการประชุม ล่วงหน้าอย่างน้อยภายในระยะเวลาขั้นต่าตามที่กฎหมายกาหนด
13.5 บริ ษทั ดาเนินการเพื่อให้รายงานการประชุมคณะกรรมการมีรายละเอียดตามควร เพื่อให้ สามารถตรวจสอบย้อนหลังเกี่ยวกับความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าที่ของกรรมการแต่ละ ราย เช่น การบันทึกข้อซักถามของกรรมการ ความเห็นหรื อข้อสังเกตของกรรมการในเรื่ องที่ พิจารณา ความเห็นของกรรมการรายที่ไม่เห็นด้วยกับเรื่ องที่เสนอพร้อมเหตุผล เป็ นต้น
13.6 บริ ษทั มีการดาเนินการดังต่อไปนี้ 13.6.1 มีการจัดเก็บเอกสารสาคัญไว้อย่างครบถ้วนเป็ นหมวดหมู่ 13.6.2 กรณี ที่ได้รับแจ้งจากผูส้ อบบัญชีหรื อผูต้ รวจสอบภายในว่ามีขอ้ บกพร่ อง ในการควบคุมภายใน บริ ษทั ได้แก้ไขข้อบกพร่ องนั้นอย่างครบถ้วนแล้ว
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
433
เอกสารแนบ 10: หน้า 9 ของจานวน 10 หน้า เอกสารแนบ 10: หน้า 9 ของจานวน 10 หน้า
14. องค์ ก รสื่ อ สารข้ อ มู ล ภายในองค์ ก ร ซึ่ ง รวมถึ งวัต ถุป ระสงค์ และความรั บ ผิดชอบต่ อ การควบคุ ม ภายใน 14. องค์ ก รสื่ อ สารข้ อ มู ล ภายในองค์ ก ร ซึ่ ง รวมถึ งวัต ถุป ระสงค์ และความรั บ ผิดชอบต่ อ การควบคุ ม ภายใน ทีจ่ าเป็ นต่ อการสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไปได้ ตามทีว่ างไว้ ทีจ่ าเป็ นต่ อการสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไปได้ ตามทีว่ างไว้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ 14.1 บริ ษทั มีกระบวนการสื่ อสารข้อมูลภายในอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และมีช่องทางการสื่ อสาร 14.1 บริ ษทั มีกระบวนการสื่ อสารข้อมูลภายในอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และมีช่องทางการสื่ อสาร ที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน ที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน 14.2 บริ ษทั มีการรายงานข้อมูลที่สาคัญถึงคณะกรรมการบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ และ 14.2 บริ ษทั มีการรายงานข้อมูลที่สาคัญถึงคณะกรรมการบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ และ คณะกรรมการบริ ษทั สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน หรื อสอบทาน คณะกรรมการบริ ษทั สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน หรื อสอบทาน รายการต่าง ๆ ตามที่ตอ้ งการ เช่น การกาหนดบุคคลที่เป็ นศูนย์ติดต่อ เพื่อให้สามารถติดต่อ รายการต่าง ๆ ตามที่ตอ้ งการ เช่น การกาหนดบุคคลที่เป็ นศูนย์ติดต่อ เพื่อให้สามารถติดต่อ ขอข้อมูลอื่นนอกจากที่ได้รับจากผูบ้ ริ หาร รวมทั้งการติดต่อสอบถามข้อมูลจากผูส้ อบบัญชี ขอข้อมูลอื่นนอกจากที่ได้รับจากผูบ้ ริ หาร รวมทั้งการติดต่อสอบถามข้อมูลจากผูส้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายใน การจัดประชุมระหว่างคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารตามที่คณะกรรมการ ผูต้ รวจสอบภายใน การจัดประชุมระหว่างคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารตามที่คณะกรรมการ ร้องขอ การจัดกิจกรรมพบปะหารื อระหว่างคณะกรรมการและผูบ้ ริ หาร นอกเหนือจาก ร้องขอ การจัดกิจกรรมพบปะหารื อระหว่างคณะกรรมการและผูบ้ ริ หาร นอกเหนือจาก การประชุมคณะกรรมการ เป็ นต้น การประชุมคณะกรรมการ เป็ นต้น 14.3 บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษหรื อช่องทางลับเพื่อให้บุคคลต่าง ๆ ภายใน 14.3 บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษหรื อช่องทางลับเพื่อให้บุคคลต่าง ๆ ภายใน บริ ษทั สามารถแจ้งข้อมูลหรื อเบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรื อทุจริ ตภายในบริ ษทั บริ ษทั สามารถแจ้งข้อมูลหรื อเบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรื อทุจริ ตภายในบริ ษทั (Whistle-blower hotline) ได้อย่างปลอดภัย (Whistle-blower hotline) ได้อย่างปลอดภัย 15. องค์ กรได้ สื่อสารกับหน่ วยงานภายนอก เกี่ยวกับประเด็นทีอ่ าจมีผลกระทบต่ อการควบคุมภายใน 15. องค์ กรได้ สื่อสารกับหน่ วยงานภายนอก เกี่ยวกับประเด็นทีอ่ าจมีผลกระทบต่ อการควบคุมภายใน คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ 15.1 บริ ษทั มีกระบวนการสื่ อสารข้อมูลกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายนอกองค์กรอย่างมี 15.1 บริ ษทั มีกระบวนการสื่ อสารข้อมูลกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายนอกองค์กรอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ และมีช่องทางการสื่ อสารที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน เช่น ประสิ ทธิภาพ และมีช่องทางการสื่ อสารที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน เช่น จัดให้มีเจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ศูนย์รับเรื่ องร้องเรี ยน เป็ นต้น จัดให้มีเจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ศูนย์รับเรื่ องร้องเรี ยน เป็ นต้น 15.2 บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษ หรื อช่องทางลับ เพื่อให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยภายนอก 15.2 บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษ หรื อช่องทางลับ เพื่อให้ผมู้ ีส่วนได้เสี ยภายนอก องค์กรสามารถแจ้งข้อมูลหรื อเบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรื อทุจริ ต (Whistle-blower hotline) องค์กรสามารถแจ้งข้อมูลหรื อเบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรื อทุจริ ต (Whistle-blower hotline) แก่บริ ษทั ได้อย่างปลอดภัย แก่บริ ษทั ได้อย่างปลอดภัย ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) 16. องค์ ก รติ ด ตามและประเมิ น ผลการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า การควบคุ ม ภายในยั ง ด าเนิ น ไป 16. องค์ ก รติ ด ตามและประเมิ น ผลการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า การควบคุ ม ภายในยั ง ด าเนิ น ไป อย่างครบถ้ วน เหมาะสม อย่างครบถ้ วน เหมาะสม คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ 16.1 บริ ษทั จัดให้มีกระบวนการติดตามการปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมธุ รกิจและข้อกาหนด 16.1 บริ ษทั จัดให้มีกระบวนการติดตามการปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมธุรกิจและข้อกาหนด ห้ามฝ่ ายบริ หารและพนักงานปฏิบตั ิตนในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ห้ามฝ่ ายบริ หารและพนักงานปฏิบตั ิตนในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง 434
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 10: หน้า 10 ของจานวน 10 หน้า
คาถาม ผลประโยชน์ เช่น กาหนดให้แต่ละส่ วนงานติดตามการปฏิบตั ิและรายงานผูบ้ งั คับบัญชา หรื อมอบหมายให้หน่วยงานตรวจสอบภายในติดตามการปฏิบตั ิและรายงานต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ เป็ นต้น
ใช่
16.2 บริ ษทั จัดให้มีการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ โดยการประเมินตนเอง และ/หรื อการประเมินอิสระโดยผูต้ รวจสอบภายใน
16.3 ความถี่ในการติดตามและประเมินผลมีความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของบริ ษทั
16.4 ดาเนินการติดตามและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน โดยผูท้ ี่มีความรู้และ ความสามารถ
16.5 บริ ษทั กาหนดแนวทางการรายงานผลการตรวจสอบภายในให้ข้ ึนตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ
16.6 บริ ษทั ส่ งเสริ มให้ผตู้ รวจสอบภายในปฏิบตั ิหน้าที่ตามมาตรฐานสากลการปฏิบตั ิงาน วิชาชีพการตรวจสอบภายใน (International Standards for the Professional Practice of Internal Auditing, IIA)
ไม่ ใช่
17. องค์ กรประเมินและสื่ อสารข้ อบกพร่ องของการควบคุมภายในอย่างทันเวลาต่ อบุคคลที่รับผิดชอบ ซึ่ งรวมถึง ผู้บริหารระดับสู งและคณะกรรมการตามความเหมาะสม คาถาม
ใช่
17.1 บริ ษทั ประเมินผลและสื่ อสารข้อบกพร่ องของการควบคุมภายใน และ ดาเนินการเพื่อติดตามแก้ไขอย่างทันท่วงที หากผลการดาเนินงานที่เกิดขึ้นแตกต่าง จากเป้ าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีนยั สาคัญ 17.2 บริ ษทั มีนโยบายการรายงาน ดังนี้ 17.2.1 ฝ่ ายบริ หารต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยพลัน ในกรณี ที่เกิดเหตุการณ์ หรื อสงสัยว่ามีเหตุการณ์ทุจริ ตอย่างร้ายแรง มีการปฏิบตั ิที่ฝ่าฝื นกฎหมาย หรื อมีการกระทาที่ ผิดปกติอื่น ซึ่ งอาจกระทบต่อชื่อเสี ยงและฐานะการเงินของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ 17.2.2 รายงานข้อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญ พร้อมแนวทางการแก้ไขปั ญหา (แม้วา่ จะได้ เริ่ มดาเนินการจัดการแล้ว) ต่อคณะกรรมการบริ ษทั /คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณา ภายในระยะเวลาอันควร 17.2.3 รายงานความคืบหน้าในการปรับปรุ งข้อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญต่อ คณะกรรมการบริ ษทั /คณะกรรมการตรวจสอบ ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
ไม่ ใช่
435
เอกสารแนบ 11: หน้า 1 ของจานวน 11 หน้า
รางวัลและการรับรองคุณภาพ บริษัท นา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) (“BRR”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ รางวัลชนะเลิศ สาขาสถาน ประกอบการดีเด่น
AGM Checklist ปี 2561 100 คะแนนเต็ม
ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย กระทรวงแรงงาน รางวั ล ชนะเลิ ศ สาขาสถาน ประกอบการดี เ ด่ น ด้ า นความ ปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ สภาพแวดล้ อ มในการท างาน ติ ด ต่ อ กั น 3 ปี ซ้ อ น (ปี 25592561) ระดับจังหวัด
สมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทยและ ผลการประเมินคุ ณภาพการจัด ส านัก งานคณะกรรมการก ากับ ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2561 (AGM Checklist) บริ ษทั ได้ 100 คะแนนเต็ม
ผลคะแนนการประเมินการกากับดูแล ส ม า ค ม ส่ ง เ ส ริ ม ส ถ า บั น บ ริ ษั ท ไ ด้ ผ ล ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย ร้อยละ 93 หรื อได้ระดับ “ดีเลิศ” กิจการ (CGR) ปี 2561 ระดับ “ดีเลิศ” กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ในโครงการสารวจการกากับดูแล กิ จ การบริ ษัท จดทะเบี ย นไทย ประจาปี 2561 (CGR) BRR ได้รับเลือกเป็ นหลักทรัพย์ของ คณะกรรมการกาหนดหลักทรัพย์ BRRไ ด้ รั บ คั ด เ ลื อ ก เ ป็ น และกองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย หลั ก ทรั พย์ ข องกองทุ นรวม กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย จาก 11 บริ ษทั หลักทรัพย์จดั การ ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ไ ท ย ( Stock กองทุน Universe of Thai CG Funds) เป็ น ครั้งแรก ณ วันที่ 1 สิ งหาคม 2561 (ติ ด อั น ดั บ 172 บ ริ ษั ท จ ด ทะเบียน)
436
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 11: หน้า 2 ของจานวน 11 หน้า
บริษัท โรงงานนา้ ตาลบุรีรัมย์ จากัด (“BSF”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ใบรับรองคุณภาพด้านการจัดการ บริ ษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) เป็ นการรับรองคุ ณภาพเกี่ยวกับ ระบบบริ หารคุณภาพ (ISO 9001:2015) จากัด ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ง า น คุ ณ ภ า พ มาตรฐานสากล
ใบรับรองคุณภาพ มาตรฐานการผลิต บริ ษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) เป็ นการรั บ รองคุ ณ ภาพด้ า น ระบบการบริ หาร และการจัดการ (GMP) จากัด โรงงาน รวมทั้งการผลิ ต มุ่ งเน้น การควบคุ มคุ ณภาพของวัตถุ ดิ บ ความสะอาดของโรงงานและ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต และ สุ ขอนามั ย ของผู้ ป ฏิ บั ติ งาน และยังครอบคลุ มไปถึ งการใช้ อุปกรณ์และเทคนิ คการผลิ ตที่ ได้ มาตรฐาน น่าเชื่ อถือ และปลอดภัย สาหรับการผลิตสิ นค้า โดยเฉพาะ อาหารและยา เพื่อการผลิ ตสิ นค้า ที่เชื่อถือได้และมีมาตรฐานสู งสุ ด ใบรับรองคุณภาพ ด้านระบบ บริ ษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) เ ป็ น ก า ร รั บ ร อ ง คุ ณ ภ า พ ด้า นการควบคุ ม กระบวนการ วิเคราะห์อนั ตราย และจุดวิกฤตที่ตอ้ ง จากัด ผลิตในระบบวิเคราะห์อนั ตราย ควบคุมในการผลิตอาหาร (HACCP) และจุ ด วิ ก ฤตที่ ต้ อ งควบคุ ม ในการผลิตอาหาร
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
437
เอกสารแนบ 11: หน้า 3 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ใบรับรองคุณภาพมาตรฐาน ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร สั ง กั ด เป็ นการรั บ รองคุ ณ ภาพระบบ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ความปลอดภัยด้านการผลิต (GMP) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โรงงานผลิ ต มุ่งเน้นที่ จะควบคุ ม คุณภาพของวัตถุดิบ ความสะอาด ของโรงงาน อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ใ น การผลิต รวมไปถึงสุ ขอนามัยของ ผู้ ป ฏิ บั ติ งานทุ กคน และยั ง ครอบคลุ มไปถึ งการใช้อุ ปกรณ์ แ ล ะ เ ท ค นิ ค ก า ร ผ ลิ ต ที่ ไ ด้ มาตรฐาน มี ความน่ าเชื่ อถื อและ ปลอดภัยที่จะใช้ในการผลิตสิ นค้า ใบรับรองคุณภาพระบบวิเคราะห์ ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร สั ง กั ด เป็ นการ รั บรองคุ ณภาพ ใ น การจั ด การด้ า นการควบคุ ม อันตราย และจุดวิกฤตที่ตอ้ งควบคุม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระบวนการผลิต ในการผลิตอาหาร (HACCP)
ใบรับรองคุณภาพโรงงานผลิต สิ นค้าพืช
ใบรับรองคุณภาพโรงงานแปรรู ป สิ นค้าเกษตร
438
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร สั ง กั ด ก า ร ขึ้ น ท ะ เ บี ย น ใ บ รั บ ร อ ง คุ ณ ภาพนี้ เป็ นไปตามประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิ ช าการเกษตร ว่ า ด้ ว ย หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่ อนไข การขึ้ นทะเบี ย นโรงงานผลิ ต สิ นค้าพืช พ.ศ. 2559 ก ร ม วิ ช า ก า ร เ ก ษ ต ร สั ง กั ด ใบ รั บ รอ ง คุ ณ ภา พ โร งง า น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แปรรู ป สิ น ค้า เกษตรนี้ ใช้เ พื่ อ ประกอบการออกใบรั บ รอง สุ ขอนามัยพืช
เอกสารแนบ 11: หน้า 4 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ รางวัลธรรมาภิบาลสิ่ งแวดล้อม
ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ส านัก งานคณะกรรมการอ้อ ย บริ ษ ัท โรงงานน้ า ตาลบุ รี รั ม ย์ จากัด แสดงออกถึ งเจตนารมณ์ ที่ และน้ าตาลทราย มุ่ ง มั่ น จ ะ ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร โดยค านึ งถึ งการจั ด การด้ า น มลภาวะอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และสามารถเปิ ดเผยข้ อ มู ล การจัดการมลภาวะอย่างโปร่ งใส โดยให้ ป ระชาชนมี ส่ วนร่ วม เสนอแนะในการแก้ ปั ญ หาได้ มี การบริ หารจัดการเพื่ ออนุ รั กษ์ พลั ง งาน และจั ด สรรการใช้ ท รั พ ย า ก ร ร่ ว ม กั บ ชุ ม ช น อย่างเหมาะสม มี ช่ องทางรั บฟั ง ข้ อ คิ ดเห็ น และตอบส นอง ข้อร้ องเรี ยน รวมถึ ง การแสดง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม อย่างเป็ นธรรม เป็ นการรั บ รองการเป็ นสถาน ใบรับรองอุตสาหกรรมสี เขียว ระดับ 2 กระทรวงอุตสาหกรรม ประกอบการที่ มี ก าร พั ฒ นา (ปฏิบตั ิการสี เขียว Green Activity) แ ผ น ง า น ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เพื่อลดผลกระทบ
ใบรับรองอุตสาหกรรมสี เขียว ระดับ 3 กระทรวงอุตสาหกรรม (ระบบสี เขียว Green System)
เป็ นการรั บ รองการเป็ นสถาน ประกอบการที่ มี ก ารบริ หาร จัด การสิ่ งแวดล้ อ มอย่ า งเป็ น ระบบ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
439
เอกสารแนบ 11: หน้า 5 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ประกาศนียบัตรโครงการจัดการน้ า สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เป็ นการรั บรองด้านการจัดการ อย่างยัง่ ยืนด้วย Water Footprint การใช้น้ าอย่างยัง่ ยืน ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่ งออก
ได้รับใบรับรองฉลากลดโลกร้อน (Carbon Footprint Label 2016-2020)
กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ เป็ นการรั บรองการลดปริ มาณ และสิ่ ง แวดล้อ ม และองค์ ก าร ก๊าซเรื อนกระจกที่ ปล่ อยออกมา บริ หารจัดการก๊ า ซเรื อนกระจก จากการผลิต (องค์การมหาชน) (TGO)
ใบรับรองคุณภาพด้านความปลอดภัย ส า ธ า รณ สุ ข จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ ง ใ น ส่ ว น ของอาหาร (อย.) สังกัดกระทรวงสาธารณสุ ข ผลิ ต ภัณ ฑ์ น้ า ตาลตรากุ ญ แจคู่ แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ า ต า ล ตรา BRUM ใบรับรองคุณภาพด้านมาตรฐาน ส า นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น เพื่ อ แสดงว่ า ผลิ ตภั ณ ฑ์ ข อง ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ าตาลทราย ผลิ ต ภัณ ฑ์อุ ต สาหกรรม สั ง กัด บริ ษัท โรงงานน้ าตาลบุ รี รั ม ย์ (มอก.56-2552) กระทรวงอุตสาหกรรม จากัด เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน ตามที่ก ระทรวง อุตสาหกรรมกาหนด
440
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 11: หน้า 6 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ใบรับรองฮาลาล
ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ส านัก งานคณะกรรมการกลาง เพื่ อ แสดงว่ า ผลิ ตภั ณ ฑ์ ข อง อิสลามแห่งประเทศไทย บริ ษัท โรงงานน้ าตาลบุ รี รั ม ย์ จากัด เป็ นอาหารที่ไม่ขดั กับหลัก ศาสนาอิสลามสามารถบริ โภคได้
บริษัท บุรีรัมย์วจิ ัยและพัฒนาอ้อย จากัด (“BRD”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ
นายเดชาวัต แก้วระหัน ชาวไร่ ออ้ ยดีเด่นประจาปี 2561 รางวัลรองชนะเลิศประเภท การบริ หารจัดการปัจจัยการผลิตที่มี ประสิ ทธิภาพ ด้านการจัดการดินน้ า กลุ่มที่ 1 (พื้นที่ปลูก 1-59 ไร่ )
นายบรม เพชรกล้า ชาวไร่ ออ้ ยดีเด่นประจาปี 2561 รางวัลชนะเลิศประเภทผลผลิตและ คุณภาพอ้อยดีเด่น กลุ่มที่ 1 (พื้นที่ปลูก 1-59 ไร่ )
ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ส านั ก งานคณะกรรมการอ้อ ย เ ป็ น ร า ง วั ล ที่ ม อ บ ใ ห้ แ ก่ เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยที่มีความรู้ และน้ าตาลทราย ความสามารถในการบริ หาร จัด การน้ า มี ก ารใช้ น้ าอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภาพ มี ก ารเก็บรั กษา ความชื้ นในดิ นและมีผลผลิ ตที่ สู งเมื่อมีระบบการให้น้ า
ส านั ก งานคณะกรรมการอ้อ ย เ ป็ น ร า ง วั ล ที่ ม อ บ ใ ห้ แ ก่ เกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยที่มีผลผลิต และน้ าตาลทราย และคุ ณ ภาพสู ง สุ ด โดยมี ก าร พัฒนาด้านการผลิ ตอ้อยโดยใช้ หลักวิชาการ มีการตัดอ้อยที่ให้ อ้ อ ย ค ง คุ ณ ภ า พ สู ง สุ ด แ ล ะ บริ หารจัดการด้านการผลิตอ้อย ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
441
เอกสารแนบ 11: หน้า 7 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ
ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ส านั ก งานคณะกรรมการอ้อ ย เ ป็ น ร า ง วั ล ที่ ม อ บ ใ ห้ แ ก่ เ ก ษ ต ร ก ร ช า ว ไ ร่ อ้ อ ย ที่ มี และน้ าตาลทราย การบริ หารจัด การไร่ อ้อยแบบ บูร ณาการในหลายด้า น ตั้ง แต่ เรื่ องการอนุ รั ก ษ์ ดิ น และน้ า นายกิมหงวน ชึรัมย์ การจัด การศัต รู อ้อ ยด้ว ยชี ว วิธี ชาวไร่ ออ้ ยดีเด่นประจาปี 2561 การจัดการด้านความปลอดภัย รางวัลรองชนะเลิศประเภท ทั้ง ตนเองและสภาพแวดล้อ ม การบริ หารจัดการไร่ ออ้ ย เป็ นมิตรกับ มีการอนุรักษ์ดินโดยการตัดอ้อย สิ่ งแวดล้อม กลุ่มที่ 3 (พื้นที่ปลูก สดและไว้ใบ ตั้งแต่ 200 ไร่ ข้ ึนไป) บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จากัด (“BEC”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9001:2015 บริ ษทั SGS (ประเทศไทย) จากัด การรั บ รองเกี่ ย วกั บ ระบบ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ มาตรฐานสากล
ระบบการจัดการด้านสิ่ งแวดล้อม ISO 14001:2015
442
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
บริ ษทั SGS (ประเทศไทย) จากัด
การรั บ รองเกี่ ย วกั บ ระบบ การจัดการด้านสิ่ งแวดล้อม
เอกสารแนบ 11: หน้า 8 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย น า ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล รางวัลธรรมาภิบาลสิ่ งแวดล้อม 2557 กระทรวงอุตสาหกรรม สิ่ ง แวดล้อมมาปฏิ บ ตั ิ ใ นการ ประกอบกิจการให้เป็ นไปตาม หลั ก เก ณฑ์ ที่ ก าหนดแล ะ มุ่งเน้นการป้ องกันและรั กษา สิ่ งแวดล้อมร่ วมกับชุ มชนและ สังคมท้องถิ่น อุตสาหกรรมสี เขียวระดับ 2 : 2558
กระทรวงอุตสาหกรรม
เป็ นการรับรองการเป็ นสถาน ประกอบการที่ มี ก ารพัฒ นา แผนงานด้ า นสิ่ งแวดล้ อ ม เพื่อลดผลกระทบ
อุตสาหกรรมสี เขียวระดับ 3 : 2559
กระทรวงอุตสาหกรรม
เป็ นการรั บรองการเป็ นสถาน ประกอบการที่ มี ก ารบริ ห าร จัด การสิ่ ง แวดล้อ มอย่า งเป็ น ระบบ
รางวัลThailand Energy Awards 2017 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ ได้ รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ ประเภทโรงไฟฟ้ าพลัง งาน อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ความร้อนร่ วม กระทรวงพลังงาน
รางวัล ASEAN Energy Awards 2017 35th ASEAN Ministers on Energy ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภท Meeting (35 AMEM) ณ ประเทศ โรงไฟฟ้ าพลัง งานความร้ อน ร่ วม ฟิ ลิปปิ นส์
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
443
เอกสารแนบ 11: หน้า 9 ของจานวน 11 หน้า
บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จากัด (“BPC”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9001:2015 บริ ษทั SGS (ประเทศไทย) จากัด การรั บ รองเกี่ ย วกั บ ระบบ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ มาตรฐานสากล
รางวัลธรรมาภิบาลสิ่ งแวดล้อม 2558 กระทรวงอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมสี เขียวระดับ 2 : 2559
กระทรวงอุตสาหกรรม
น า ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล สิ่ ง แวดล้อมมาปฏิ บ ตั ิ ใ นการ ประกอบกิจการให้เป็ นไปตาม หลั ก เก ณฑ์ ที่ ก าหนดแล ะ มุ่งเน้นการป้ องกันและรั กษา สิ่ งแวดล้อมร่ วมกับชุมชนและ สังคมท้องถิ่น เป็ นการรับรองการเป็ นสถาน ประกอบการที่ มี ก ารพัฒ นา แผนงานด้านสิ่ งแวดล้อมเพื่อ ลดผลกระทบ
รางวัล Thailand Energy Awards2018 กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและ ได้รั บ รางวัล ดี เ ด่ น ประเภท โรงไฟฟ้ าพลัง งานความร้ อน อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ร่ วม กระทรวงพลังงาน
รางวัล ASEAN Energy Awards 2018 36th ASEAN Ministers on Energy ได้ รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ Meeting (36 AMEM) ณ ประเทศ ประเภทโรงไฟฟ้ าพลัง งาน ความร้อนร่ วม สิ งคโปร์
444
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
เอกสารแนบ 11: หน้า 10 ของจานวน 11 หน้า
บริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ พลัส จากัด (“BPP”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9001:2015 บริ ษทั SGS (ประเทศไทย) จากัด การรั บ รองเกี่ ย วกั บ ระบบ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ มาตรฐานสากล
รางวัลธรรมาภิบาลสิ่ งแวดล้อม 2561 กระทรวงอุตสาหกรรม
น า ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล สิ่ ง แวดล้อมมาปฏิ บ ตั ิ ใ นการ ประกอบกิจการให้เป็ นไปตาม หลั ก เก ณฑ์ ที่ ก าหนดแล ะ มุ่งเน้นการป้ องกันและรั กษา สิ่ งแวดล้อมร่ วมกับชุ มชนและ สังคมท้องถิ่น
อุตสาหกรรมสี เขียวระดับ 1 : 2561
เป็ นการรับรองการเป็ นสถาน ประกอบการที่มีความมุ่งมัน่ ที่ จ ะ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ งแวดล้อมและมี การสื่ อสาร ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ใ ห้ ท ร า บ โดยทัว่ กัน
กระทรวงอุตสาหกรรม
บริษัท ปุ๋ ยตรากุญแจ จากัด (“KBF”) รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ใบรับรองมาตรฐานสิ นค้า Q ปุ๋ ยหมัก ก ร ม พั ฒ น า ที่ ดิ น สั ง กั ด เ พื่ อ แ ส ด ง ว่ า บ ริ ษั ท ปุ๋ ย (เกรด 2) ชนิดเม็ด เลขที่ 11150/2561 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต ร า กุ ญ แ จ จ า กั ด ไ ด้ ผ่ า น การรั บ รองมาตรฐานและมี คุ ณ ภาพตามที่ ก าหนด ในด้า น ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ºÃÔÉÑ· ¹ํ้ÒµÒźØÃÕÃÑÁ ¨ํÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
445
เอกสารแนบ 11: หน้า 11 ของจานวน 11 หน้า
รางวัล/ใบรับรองคุณภาพ ผู้มอบ/หน่ วยงานรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ใบรับรองมาตรฐานสิ นค้า Q ปุ๋ ยหมัก ก ร ม พั ฒ น า ที่ ดิ น สั ง กั ด เ พื่ อ แ ส ด ง ว่ า บ ริ ษั ท ปุ๋ ย (เกรด 2) ชนิดเม็ด เลขที่ 11192/2561 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต ร า กุ ญ แ จ จ า กั ด ไ ด้ ผ่ า น การรั บ รองมาตรฐานและมี คุ ณ ภาพตามที่ ก าหนด ในด้า น ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
รางวัลธรรมาภิบาลสิ่ งแวดล้อม 2561 กระทรวงอุตสาหกรรม
446
ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2561
น า ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล สิ่ ง แวดล้ อ มมาปฏิ บ ัติ ใ นการ ประกอบกิ จการให้เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กาหนดและมุ่งเน้น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ รั ก ษ า สิ่ ง แวดล้อมร่ วมกับ ชุ มชนและ สังคมท้องถิ่น